บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน)
รายงาน ประจาปี 2561
“We deliver the best for your satisfactions�
www.sankothai.net
สารบัญ หน้ า 1. สารจากประธานคณะกรรมการ 2. สารจากประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร 3. คณะกรรมการบริษัท 4. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 5. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 6. ปั จจัยความเสี่ยง 7. ข้ อมูลทัว่ ไปและข้ อมูลสาคัญอื่น 8. ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น 9. นโยบายการจ่ายเงินปั นผล 10. โครงสร้ างการจัดการ 11. การกากับดูแลกิจการ 12. ความรับผิดชอบต่อสังคม 13. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง 14. รายการระหว่างกัน 15. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ 16. รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 17. รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน 18. รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจาปี 2561 19. รายงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 20. การวิเคราะห์ฐานะและคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ
2 3 4 9 17 38 43 44 49 50 63 92 110 114 122 185 197 198 201 204
หมายเหตุ: ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้ อมูลของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์เพิ่มเติมได้ จากแบบแสดงรายการ ข้ อมูลประจาปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที่แสดงไว้ ใน www.sec.or.th หรื อ เว็บไซต์ของบริษัท www.sankothai.net
1
สารจากประธานคณะกรรมการ เรี ยน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ในปี 2561 ลูกค้ าชิ ้นส่วนยานยนต์ของเราเพิ่มคาสั่งซือ้ ร้ อยละ 24 เมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2560 เราชื่ น ชมลู ก ค้ าและ ความสัมพันธ์ ที่ดีกับผู้ผลิตของเรา และในปี 2562 เราได้ ลงทุน เครื่ องจักรและขยายโรงงานเพื่อเพิ่มกาลังการผลิตและรองรับคา สัง่ ซื ้อที่เพิ่มขึ ้นจากลูกค้ า จากนี ้ไปเราจะสนับสนุนข้ อเท็จจริ งของ ลูกค้ าและรักษาความสัมพันธ์ทางธุรกิจ ในนามคณะกรรมการบริ ษัท ขอขอบพระคุณผู้ถือหุ้น นักลงทุน ลูกค้ า สถาบันการเงินต่างๆ ผู้บริ หาร พนักงาน และผู้เกี่ยวข้ องทุกฝ่ าย ที่ให้ การสนับสนุนและไว้ วางใจใน การดาเนินงานของบริ ษัทด้ วยดีเสมอมา ทัง้ นี บ้ ริ ษัทพร้ อมที่ จ ะพัฒ นาขี ดความสามารถอย่างต่อเนื่ อง เพื่อให้ สามารถแข่งขันในโลกการค้ ายุคปั จจุบนั ได้ อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน
นายมาซามิ คัตซูโมโต ประธานคณะกรรมการ
2
สารจากประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร เรี ยน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) เศรษฐกิจไทยในปี 2561 ในมุมมองของกระผม จะพบว่าเศรษฐกิจ ไทยยังขยายตัวได้ อีก จากตัวเลข GDP ไตรมาสแรกที่ขยายตัวได้ ถึง ร้ อยละ 4.9 ขณะที่ไตรมาสที่สองยังคงขยายตัวอยู่ที่ 4.6 และคาดว่า ทัง้ ปี ก็ มี แ นวโน้ ม ที่ ข ยายตัว มากกว่ า ปี ที่ ผ่ า นมาค่อ นข้ า งแน่ น อน โดยเฉพาะทิ ศ ทางตลาดรถยนต์ ข องไทยในระยะยาวจากการ ปรับเปลี่ยนนโยบายของทางการไทยที่จะหันไปให้ ความสาคัญกับ การพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้าและการวางเป้าหมายให้ ไทยเป็ นฐานการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าที่สาคัญใน ภูมิภาค ดังนันการที ้ ่บริษัทฯได้ วางแผนพัฒนาระบบการผลิตในโรงงานรวมทังปรั ้ บเปลี่ยนเครื่ องจักรเก่าเป็ น เครื่ องจักรใหม่ เพื่ อเพิ่ม ประสิ ทธิ ภ าพการผลิต รวมทัง้ วางรากฐานเรื่ องการพัฒ นาคน อันหมายถึ ง บุคลากรของบริ ษัทฯให้ ได้ มีความรู้ ทักษะ เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อสามารถที่จะทาให้ บริ ษัทเติบโตอย่าง ยัง่ ยืนได้ ซึง่ จะเห็นได้ จากยอดขายของบริษัทฯที่เติบโตมาตลอดในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา รวมทังเริ ้ ่ มทากาไรได้ แล้ ว 2 ปี ติดต่อกัน อันเป็ นสัญญาณที่ดีวา่ เราเดินมาถูกทางแล้ ว ในฐานะของฝ่ ายบริหาร กระผมจะพัฒนาและสร้ างบริ ษัทฯให้ เติบโตแข็งแรง ก้ าวหน้ าอย่างยัง่ ยืน ต่อไป เพื่อให้ บริษัทก้ าวไปสูค่ วามเป็ นเลิศในทุกๆด้ านและสร้ างผลตอบแทนเป็ นที่นา่ พอใจให้ กบั ผู้ถือหุ้น
นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล ประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร
3
คณะกรรมการบริษัท
5 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
4
นายมาซามิ คัตซูโมโต นายนาโอะฮิโร ฮามาดา นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล นางพูนศรี ปั ทมวรกุลชัย นายยุทธนา แต่ ปางทอง นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์ นายสันติ เนียมนิล นายนิพันธ์ ตัง้ พิรุฬห์ ธรรม
3
1
2
6
7
8
ประธานคณะกรรมการบริษัท กรรมการ กรรมการ/กรรมการสรรหาและพิจารณาค่ าตอบแทน กรรมการ กรรมการ/กรรมการสรรหาและพิจารณาค่ าตอบแทน กรรมการอิสระ/ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/ประธาน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่ าตอบแทน
4
นายมาซามิ คัตซูโมโต ประธานคณะกรรมการ
นายนาโอะฮิโร ฮามาดา กรรมการ
อายุ 70 ปี วันที่ได้ รับแต่ งตัง้ 27 เมษายน 2560 สัดส่ วนการถือหุ้น 6.96% (20,822,800 หุ้น) การศึกษา 2510 : High School attached to the Faculty of Education, The University of Tokyo 2514 : Mechanical Engineering, College of Science and Technology Nihon University การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 83/2553 ประสบการณ์ การทางาน 5 ปี ที่ผ่านมา 2559 – ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการและประธานบริ ษัท บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) 2539 – 2559 ประธานคณะกรรมการและประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) การดารงตาแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื่นๆ อายุ 78 ปี วันที่ได้ รับแต่ งตัง้ 27 เมษายน 2560 สัดส่ วนการถือหุ้น 0.97% (2,916,000 หุ้น) การศึกษา 2502 : Commerce Course, Shiwko Sensor High School 2506 : English Course, Pal more Institution การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 83/2553 ประสบการณ์ การทางาน 5 ปี ที่ผ่านมา 2558 – ปั จจุบนั กรรมการบริ ษัท TIP Metel Industries Ltd. 2555 – ปั จจุบนั กรรมการบริ ษัท Shinyama (Thailand) Co.,Ltd. 2555 – 2558 กรรมการผู้จดั การและกรรมการบริ ษัท Excel Metal Forging Co., Ltd. 2550 – ปั จจุบนั กรรมการบริ ษัท บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) 2543 – ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การและกรรมการบริ ษัท Thai Industrial Parts Ltd. การดารงตาแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื่นๆ 3 บริ ษัท
5
นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล กรรมการ/กรรมการสรรหา และพิจารณาค่ าตอบแทน
นางพูนศรี ปั ทมวรกุลชัย กรรมการ
อายุ 62 ปี วันที่ได้ รับแต่ งตัง้ 27 เมษายน 2561 สัดส่ วนการถือหุ้น 0.81% (2,412,576 หุ้น) การศึกษา 2522 : นิติศาสตร์ บณ ั ฑิต กฎหมาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)77/2552 หลักสูตร Financial Statement for Directors (FSD) 6/2552 หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 128/2553 หลักสูตร Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE) 13/2554 หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) 15/2555 หลักสูตร Role of the Nomination and Governance committee (RNG) 3/2555 การอบรม อื่นๆ หลักสูตร Strategy CFO in Capital Markets Program 2558 หลักสูตรวิทยาการ การจัดการสาหรับนักบริ หารระดับสูง (วบส.) รุ่นที่ 1 ประสบการณ์ การทางาน 5 ปี ที่ผ่านมา 2560 – ปั จจุบนั กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) 2559 – ปั จจุบนั กรรมการและประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) 2544 – 2559 กรรมการและรองประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) การดารงตาแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื่นๆ อายุ 66 ปี วันที่ได้ รับแต่ งตัง้ 28 เมษายน 2559 สัดส่ วนการถือหุ้น 0.00% การศึกษา 2520 : ปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยรามคาแหง การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)121/2558 ประสบการณ์ การทางาน 5 ปี ที่ผ่านมา 2558 – ปั จจุบนั กรรมการบริ ษัท บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) 2546 – 2557 ผู้จดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน หจก.สมศักดิ์ กรุ๊ป การดารงตาแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื่นๆ -
6
อายุ 46 ปี นายยุทธนา แต่ ปางทอง กรรมการ/กรรมการสรรหาและ วันที่ได้ รับแต่ งตัง้ 27 เมษายน 2561 สัดส่ วนการถือหุ้น 0.00% พิจารณาค่ าตอบแทน
นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์ กรรมการอิสระ/ ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ
การศึกษา 2542 : ปริ ญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)120/2558 หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 233/2560 หลักสูตร Risk Management Program for Corporate Leaders (RCL) 9/2560 ประสบการณ์ การทางาน 5 ปี ที่ผ่านมา 2561 – ปั จจุบนั กรรมการตรวจสอบ บมจ. วี. แอล เอ็นเตอร์ ไพรส์ 2560 – ปั จจุบนั กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) 2557 – ปั จจุบนั กรรมการบริ ษัท บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) 2558 – 2561 กรรมการผู้จดั การและกรรมการบริ ษัท บมจ. แอดวานซ์ คอนเนคชัน่ คอร์ ปอเรชัน่ 2537 – 2557 ผู้อานวยการฝ่ ายบัญชีและการเงิน บมจ. จูบิลลี่ เอ็นเตอร์ ไพรส์ 2556 – 2556 กรรมการตรวจสอบ บจก. อุตสาหกรรม อีเล็กโทนิคส์ จากัด การดารงตาแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 2 บริ ษัท บริ ษัทอื่นๆ - บริ ษัท อายุ 63 ปี วันที่ได้ รับแต่ งตัง้ 27 เมษายน 2560 สัดส่ วนการถือหุ้น 0.00% การศึกษา 2521: ปริ ญญาตรี บัญชีบณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2522 : ประกาศนียบัตรชันสู ้ งทางการสอบบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 80/2552 ประสบการณ์ การทางาน 5 ปี ที่ผ่านมา 2552 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) 2550 – ปั จจุบนั ที่ปรึกษาด้ านบัญชี บจก. เอสซี ซิสเต็ม เน็ตเวิร์ค 2550 – ปั จจุบนั ที่ปรึกษาด้ านบัญชี บจก. ไอซิ่น คลัทช์ดิสค์ 2550 – 2560 ที่ปรึกษาด้ านบัญชี บจก.พีเอ็มซี แมนเนจเม้ นท์ แอนด์ คอนซัลแตนท์ การดารงตาแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื่นๆ -
7
นายนิพันธ์ ตัง้ พิรุฬห์ ธรรม อายุ 59 ปี วันที่ได้ รับแต่ งตัง้ 28 เมษายน 2559 กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ประธาน สัดส่ วนการถือหุ้น 0.00% คณะกรรมการสรรหาและ การศึกษา 2522: นิติศาสตร์ บณ ั ฑิต กฎหมาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิจารณาค่ าตอบแทน
การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 80/2552 ประสบการณ์ การทางาน 5 ปี ที่ผ่านมา 2560 – ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) 2552 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) 2543 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจก. มาสเตอร์ โกลฟ อินดัสตรี 2536 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจก. โรส แอนด์กรี น 2543 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจก. ซุปเปอร์ โกลฟ อินดัสทรี การดารงตาแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื่นๆ -
นายสันติ เนียมนิล กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ
อายุ 50 ปี วันที่ได้ รับแต่ งตัง้ 27 เมษายน 2561 สัดส่ วนการถือหุ้น 0.00% การศึกษา 2536 : นิติศาสตร์ บณ ั ฑิต กฎหมาย มหาวิทยาลัยรามคาแหง การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 80/2552 ประสบการณ์ การทางาน 5 ปี ที่ผ่านมา 2552 – ปั จจุบนั กรรมการอิสระและกรรมกาตรวจสอบ บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) 2559 – ปั จจุบนั กรรมการตรวจสอบ บมจ.ผลธัญญะ 2545 – 2558 กรรมการ บจ. ยูเซ็นต์แอร์ แอนด์ ซี เซอร์ วิส แมนเนจเม้ นท์(ประเทศไทย) 2546 – 2558 กรรมการผู้จดั การ บจ. เอนก แอดโวเคท การดารงตาแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 2 บริ ษัท บริ ษัทอื่นๆ -
8
4.นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 4.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่ านิยมองค์ กร บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) เริ่ มก่อตังเมื ้ ่อ เดือน มกราคม 2539 และเริ่ มดาเนินการ ผลิต เดือน เมษายน 2540 โดยดาเนินการผลิต ชิ ้นส่วนยานยนต์ ชิ ้นส่วนเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าและอื่นๆ โดยกระบวนการฉีดหล่อ ขึ ้นรูปแรงดันสูง (HPDC) โดยใช้ แม่พิมพ์ จากวัตถุดิบอลูมิเนียม และสังกะสี
วิสัยทัศน์ บริ ษัท Sanko มุ่งมั่นสู่ความเป็ นผู้นาในอุตสาหกรรม Diecasting ให้ เป็ นที่ ยอมรั บในระดับสากล รวมทัง้ ร่ วมสร้ างนวั ตกรรมใหม่ ในทุกด้ าน จนสามารถสร้ าง ผลิตภัณฑ์ ภายใต้ เครื่ องหมายการค้ าของบริ ษัทให้ เป็ นที่ยอมรั บในด้ านคุณภาพและ บริการจากลูกค้ าอย่ างยั่งยืน พันธกิจ • สร้ างความเป็ นเลิศในทุกๆด้ าน • นาเทคโนโลยีใหม่ นวัตกรรมใหม่ มาใช้ ในเรื่ องการออกแบบ การ พัฒนากระบวนการผลิต • นาศักยภาพและความสามารถของพนักงานในองค์ กรร่ วมสร้ าง เครื่ องหมายการค้ าให้ ได้ ภายในปี 2562 ค่ านิยมองค์ กร • • • •
การคิดเชิงนวัตกรรม การทางานเชิงรุ ก ความมุ่งมั่นสู่ความสาเร็จ มีความรู้ สึกเป็ นเจ้ าขององค์ การ
9
กลยุทธ์ระดับบริ ษัท (Corporate Strategy) แบบเน้ นการเติบโต Growth Strategy เป็ นการดาเนินธุรกิจให้ ธุรกิจเติบโตด้ วยวิธี ขยายฐานลูกค้ าทังในประเทศ ้ และต่างประเทศ เพื่อลดความเสีย่ งด้ านปั จจัยเศรษฐกิจภายในประเทศ ซึ่งเป็ นการเพิ่มความต้ องการของลูกค้ าในกลุม่ ที่ กว้ างขึ ้น ประกอบกับการขยายฐานลูกค้ าภายในประเทศสูก่ ลุม่ ลูกค้ าในธุรกิจอื่นนอกเหนือจากอุตสาหกรรมยานยนต์ โดย เน้ นกลุม่ ลูกค้ าที่ใช้ วิธีการผลิตที่บริ ษัทมีความชานาญในการให้ บริ การ กลยุทธ์ระดับธุรกิจ (Business Strategy) และกลยุทธิ์ระดับหน้ าที่ (Functional Strategy)
•
•
•
•
ด้ านคุณภาพ บริ ษัทสามารถผลิตชิน้ ส่วนได้ ตามมาตรฐานคุณภาพที่ผ้ ผู ลิตชิ ้นส่วนลาดับที่ 1 หรื อผู้ผลิต ยานยนต์ ย อมรั บ อี กทัง้ บริ ษั ทยังได้ รั บการรั บรองจากมาตรฐานสากล ISO 9001:2008 และ ISO/TS 16949:2009 เพื่อสร้ างการยอมรับและสร้ างความเชื่อมัน่ ให้ แก่ลกู ค้ าในระยะยาว ด้ านความรู้ และเทคโนโลยี บริ ษัทมีความเชี่ยวชาญในการออกแบบแม่พิมพ์ ซึ่งเป็ น Know-How ที่ได้ รับ การถ่ายทอดจากรุ่ นสู่รุ่น อีกทัง้ ยังมีการพัฒนากระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ บริ ษัทสามารถ ตอบสนองต่อความต้ องการที่ลกู ค้ ายอมรับ - บริ ษัทมีแผนพัฒนาสินค้ าตัวใหม่เพื่อเพิ่มยอดขายและผลตอบแทนที่ดีขึน้ กว่าเดิม รวมทัง้ เพื่อ กระจายความเสีย่ งจากการพึง่ พิงลูกค้ ารายเดิม-สินค้ าแบบเดิม - บริ ษัทมีนโยบายพัฒนาให้ เป็ นองค์ กรแห่งนวัตกรรม โดยการนาเทคโนโลยีห่นุ ยนต์ เข้ ามาใช้ ใน กระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางานให้ ดียิ่งขึ ้น ด้ านต้ นทุนและกาไร บริ ษัทเน้ นความเข้ มงวดในการบริ ห ารต้ นทุน และกาไรเป็ นสาคัญ โดยนาระบบ Budget control เข้ ามาใช้ ควบคุมการดาเนินงานในทุกแผนกเพื่อให้ มีประสิทธิภาพในการบริ หารต้ นทุน และกาไรที่ดีเทียบเท่าสากล ด้ านการผลิต การออกแบบสายการผลิตให้ สามารถปรับเปลีย่ นชิ ้นงานที่ผลิตได้ อย่างรวดเร็ ว ไม่ย่งุ ยาก ทา ให้ บริ ษัทสามารถผลิตชิ ้นงานรองรับกลุ่มลูกค้ าได้ หลากหลายอุตสาหกรรม ซึ่งสะท้ อนถึงการเติบโตอย่าง ต่อเนื่องของรายได้ ของบริ ษัท
10
•
ด้ านการตลาด ขยายตลาดไปยังต่างประเทศ เพื่อลดความเสีย่ งด้ านปั จจัยเศรษฐกิจภายในประเทศ ซึง่ เป็ น การเพิ่มความต้ องการของลูกค้ าในกลุม่ ที่กว้ างขึ ้น ประกอบกับการขยายฐานลูกค้ าภายในประเทศสูก่ ลุม่ ลูกค้ าในธุรกิจอื่นนอกเหนือจากอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยเน้ นกลุม่ ลูกค้ าที่ใช้ วิธีการผลิตที่บริ ษัทมีความ ชานาญในการให้ บริ การ ด้ านผลิตภัณฑ์ เพิ่มสายการผลิต โดยเพิ่มผลิตภัณฑ์โดยวิธีการหล่อแบบใหม่ คือการหล่อแบบ Gravity และการหล่อโลหะแบบ SAND CASTING , LOST WAX CASTING. เพื่อความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ และลดข้ อจากัดในการผลิต เพื่อสามารถตอบโจทย์ความต้ องการของลูกค้ าได้ อย่างหลากหลายมากขึ ้น การเพิ่มเครื่ องจักรในกระบวนการผลิต ซึ่งบริ ษัทมีความเชี่ยวชาญในการผลิตนัน้ จึงเป็ นการสร้ างความ ครบวงจรในการให้ บริ การแก่ลกู ค้ า
•
4.2 การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สาคัญ ปี 2539 มกราคม
:
ตุลาคม
:
ปี 2547 เมษายน
:
นายมาซามิ คัตซูโมโตได้ ทาการซื ้อหุ้นของบริ ษัทจานวน 244,895 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 27.83 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้ วทังหมดของบริ ้ ษัท ณ ขณะนัน้ จากบริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง อินดัสตรี จากัด (ประเทศญี่ปน) ุ่
ปี 2548 มิถนุ ายน
:
บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง อินดัสตรี จากัด (ประเทศญี่ ปุ่น)ได้ ทาการจาหน่ายหุ้นของบริ ษัท ทังหมด ้ 235,101 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 26.72 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้ วทังหมดของ ้ บริ ษัท ณ ขณะนัน้ ให้ แก่บริ ษัท อะซึเทค จากัด นอกจากนี ้ กองทุนเจเอไอซี นิปปอน เอเชีย 2 และกองทุน เซาท์-อีส เอเชีย ไพรเวท อีควิตี ้ (จีบีอาร์ ) ได้ จาหน่ายหุ้นทังหมดจ ้ านวน 400,000 หุ้น และนายมาซามิ คัตซูโมโตได้ จาหน่ายหุ้นจานวน 54,017 หุ้น รวมกันทังสิ ้ ้น 454,017 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 61.38 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้ วทังหมดของบริ ้ ษัท ณ ขณะนัน้ ให้ แก่ บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด และบริ ษัท จุฑาวรรณ จากัด
ปี 2549 เมษายน
:
ได้ รับใบรับรองระบบการบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2000 จากสถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง
จดทะเบียนก่อตังบริ ้ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด ด้ วยทุนจดทะเบียน 11.50 ล้ านบาท แบ่งเป็ นหุ้นสามัญจานวน 115,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 100 บาท เรี ยกชาระ เต็มมูลค่า โดยมีกลุ่มผู้ถือหุ้นหลักคือ บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ อินดัสตรี จากัด (ประเทศ ญี่ปน) ุ่ บริ ษัท เอสบีซีเอส จากัด และบริ ษัท วัฒนาอินเตอร์ เทรด จากัด เพิ่มทุน จดทะเบียนและชาระแล้ ว เป็ น 88 ล้ านบาทจากผู้ถือหุ้นเดิมและกองทุนเจเอไอซี นิปปอน เอเชีย 2 และกองทุน เซาท์-อีส เอเชีย ไพรเวท อีควิตี ้ (จีบีอาร์ )
11
:
ได้ รับใบรับรองระบบบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002 จากสถาบัน IATF โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง
ปี 2551 มีนาคม
:
เมษายน
:
กรกฎาคม
:
บริ ษัท อะซึเทค จากัด ได้ จาหน่ายหุ้นทังหมดจ ้ านวน 235,101 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 26.72 ของ ทุนจดทะเบียนและชาระแล้ วทังหมดของบริ ้ ษัท ณ ขณะนัน้ ให้ แก่บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด (“TIP”) ได้ จาหน่ายหุ้นที่รับโอนมาจากบริ ษัท อะซึเทค จากัดจานวน 235,101 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 26.72 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้ วทังหมด ้ ของบริ ษัท ณ ขณะนัน้ ให้ กบั ผู้บริ หารของกลุม่ ปิ่ นทองและผู้ถือหุ้นรายย่อย บริ ษัท จุฑาวรรณ จากัด ได้ จาหน่ายหุ้นทังหมดจ ้ านวน 228,996 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 26.02 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้ วทัง้ หมดของบริ ษัท ณ ขณะนัน้ ให้ แก่บริ ษัท เจทีดับบลิว แอ๊ ซเซท จากัด ได้ รับใบรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมตามมาตรฐาน ISO 14001:2004 จากสถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จากัด เป็ น ผู้ให้ การรับรอง บริ ษัท วีเน็ท แคปปิ ทอล จากัดได้ เข้ าร่วมทุนในบริ ษัทโดยการซื ้อหุ้นจากกลุม่ ปิ่ นทอง จานวน 246,000 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 27.95 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้ วทังหมดของบริ ้ ษัท ณ ขณะนัน้
:
ตุลาคม
:
ปี 2552 เมษายน
:
: ธันวาคม
:
:
:
ได้ รับใบรับรองระบบการบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 จากสถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง ได้ รับใบรับรองระบบบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO/TS 16949:2009 จากสถาบัน IATF โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง้ ที่ 2/2552 จัดขึ ้นเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2552 ได้ มีมติพิเศษให้ แปรสภาพเป็ นบริ ษัทมหาชนจากัด และได้ มีมติให้ เปลีย่ นมูลค่าที่ตราไว้ ของหุ้นสามัญจากหุ้น ละ 100 บาท เป็ น หุ้นละ 1 บาท ได้ รั บ ใบรั บ รองระบบการจัด การอาชี ว อนามัย และความปลอดภัย ตามมาตรฐาน TIS 18001:1999 โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จากัด เป็ นผู้ให้ การ รับรอง ได้ รับใบรับรองระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน OHSAS 18001:2007 จากสถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง
12
ปี 2554 มิถนุ ายน
:
ที่ ป ระชุ ม วิ ส ามัญ ผู้ถื อ หุ้ นครั ง้ ที่ 1/2554 จัด ขึ น้ เมื่ อ วัน ที่ 10 มิ ถุน ายน 2554 ได้ มี ม ติ ใ ห้ เปลีย่ นแปลงมูลค่าหุ้นของบริ ษัท จากหุ้นละ 1.00 บาท เป็ นหุ้นละ 0.50 บาท และมีมติพิเศษ ให้ บริ ษัทเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 113 ล้ านบาท ประกอบด้ วยหุ้นสามัญจานวน 226 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50บาท
ปี 2555 พฤษภาคม
:
มิถนุ ายน
:
ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง้ ที่ 1/2555 จัดขึ ้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ได้ มีมติอนุมตั ิ การออกและเสนอขายหุ้นสามัญให้ แก่ประชาชนทัว่ ไปจานวน 44 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาทต่อหุ้น และออกและเสนอขายใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญของบริ ษัท ให้ แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัทจานวน 6 ล้ านหน่วย โดยมีห้ ุนที่รองรับการใช้ สิทธิ ทังหมด ้ 6 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาท และมีมติอนุมตั ิให้ นาหุ้นสามัญของบริ ษัท จดทะเบียนเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ บริ ษัทได้ ทาการซื ้อที่ดินพร้ อมอาคารโรงงานในเขตอุตสาหกรรมโรจนะ ตาบลหนองบัว อาเภอ บ้ า นค่า ย จัง หวัด ระยอง ขนาดพื น้ ที่ 3 ไร่ โดยมี พื น้ ที่ ติ ด กับพื น้ ที่ โรงงานของบริ ษัท เพื่ อ ปรับปรุงและแปรสภาพเป็ นพื ้นที่คลังสินค้ า หน่วยงานเจาะ ขัดตกแต่งขอบและผิวชิ ้นงาน
ปี 2556 พฤษภาคม กันยายน
: :
บริ ษัทได้ มีการนาหุ้นของบริ ษัทเข้ าซื ้อขายวันแรกในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริ ษัทได้ ทาสัญญาซื ้อขายที่ดินในเขตอุตสาหกรรมโรจนะ ตาบลหนองบัว อาเภอบ้ านค่าย จังหวัดระยองขนาดพื ้นที่ 5.1585 ไร่ โดยมีพื ้นที่ติดกับพื ้นที่โรงงานของบริ ษัท เพื่อรองรับการ ขยายโรงงานต่อไป โดยได้ จ่ายมัดจาไปแล้ วบางส่วน และจะจ่ายที่เหลือทังหมดพร้ ้ อมรับโอน ภายในต้ นปี 2557
ปี 2557 เมษายน
:
บริ ษัทได้ ดาเนินการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ ซื ้อที่ดิน จาก บริ ษัทสวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) โฉนดที่ดินเลขที่ 41107, 41741 เลขที่ดิน 342, 355 หน้ าสารวจ 3990, 4057 ตาบลหนองบัว อาเภอบ้ านค่าย จังหวัดระยอง เนื ้อที่ 3 ไร่ 1 งาน 73.5 ตารางวา, 1 ไร่ 2 งาน 89.9 ตารางวา ตามลาดับ โดยวัตถุเพื่อเป็ นสถานที่ตงโรงงาน ั้ ผลิตภัณฑ์อลูมิเนียมฉีด ขึ ้นรูป
ปี 2558 กรกฎาคม
:
สิงหาคม
:
ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง้ ที่ 1/2558 จัดขึ ้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2558 ได้ มีมติอนุมตั ิการ เพิ่มทุนจดทะเบียน จานวน 37,340,812.50 บาท คิด 74,681,625 หุ้น ทาให้ ทนุ จดทะเบียน จาก 113,000,000 บาท เป็ น 150,340,812.50 บาท คิดเป็ นจานวนหุ้นทังสิ ้ ้น 300,609,625 โดยมีมลู ค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาท โดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า กระทรวงพาณิชย์ได้ รับจด ทะเบียนเปลีย่ นแปลงทุนจดทะเบียนแล้ วดังกล่าวเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2558 บริ ษัทได้ ดาเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชาระแล้ วเนื่ องจากมีการเพิ่มทุน จากทุน ชาระแล้ วเดิม จานวน 111,138,579 บาท เป็ นทุนชาระแล้ วใหม่จานวน 148,184,772 บาท
13
มูลค่าที่ตราไว้ 0.50 บาท โดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า กระทรวงพาณิชย์ได้ รับจดทะเบียน เปลีย่ นแปลงการเพิ่มทุนชาระแล้ วดังกล่าว เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2558 บริ ษัทได้ ดาเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชาระแล้ วเนื่องจากมีการแปลงใบสาคัญ แสดงสิทธิ์ ที่จะซื ้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริ ษัทเสนอขายให้ แก่กรรมการและพนักงานของ บริ ษัท (ESOP) จากทุนชาระแล้ วเดิม จานวน 148,184,772 บาท เป็ นทุนชาระแล้ วใหม่ จ านวน 148,903,972 บาท มู ล ค่ า ที่ ต ราไว้ 0.50 บาท โดยกรมพัฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า กระทรวงพาณิชย์ได้ รับจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงการเพิ่มทุนชาระแล้ วดังกล่าว เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2558
พฤศจิกายน
:
ปี 2559 พฤษภาคม
:
พฤศจิกายน
:
ปี 2560 พฤษภาคม
:
บริ ษัทได้ ดาเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชาระแล้ วเนื่องจากมีการแปลงใบสาคัญ แสดงสิทธิ์ ที่จะซื ้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริ ษัทเสนอขายให้ แก่กรรมการและพนักงานของ บริ ษั ท (ESOP) จากทุนช าระแล้ ว เดิม จ านวน 149,494,502 บาท เป็ นทุนช าระแล้ ว ใหม่ จานวน 149,547,481.50 บาท มูลค่าที่ตราไว้ 0.50 บาท โดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า กระทรวงพาณิชย์ได้ รับจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงการเพิ่มทุนชาระแล้ วดังกล่าว เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2560
ปี 2561 ตุลาคม
:
บริ ษัทได้ ดาเนินการจดทะเบียนเปลีย่ นแปลงทุนจดทะเบียนเนื่องจากมีการเพิ่มทุน จากทุนจด ทะเบียนเดิม จานวน 150,340,812.50 บาท เป็ นทุนจดทะเบียนใหม่จานวน 199,396,642 บาท มูลค่าที่ตราไว้ 0.50 บาท โดยกรมพัฒนาธุรกิ จการค้ า กระทรวงพาณิ ชย์ได้ รับจด ทะเบียนเปลีย่ นแปลงการเพิ่มทุนแล้ วดังกล่าว เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2561
บริ ษัทได้ ดาเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชาระแล้ วเนื่องจากมีการแปลงใบสาคัญ แสดงสิทธิ์ ที่จะซื ้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริ ษัทเสนอขายให้ แก่กรรมการและพนักงานของ บริ ษัท (ESOP) จากทุนชาระแล้ ว เดิม จานวน 148,903,972 บาท เป็ นทุนชาระแล้ วใหม่ จ านวน 148,921,662 บาท มูล ค่ า ที่ ต ราไว้ 0.50 บาท โดยกรมพัฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า กระทรวงพาณิชย์ได้ รับจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงการเพิ่มทุนชาระแล้ วดังกล่าว เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2559 บริ ษัทได้ ดาเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชาระแล้ วเนื่องจากมีการแปลงใบสาคัญ แสดงสิทธิ์ ที่จะซื ้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริ ษัทเสนอขายให้ แก่กรรมการและพนักงานของ บริ ษัท (ESOP) จากทุน ชาระแล้ วเดิ ม จ านวน 148,921,662 บาท เป็ นทุน ชาระแล้ วใหม่ จ านวน 149,494,502 บาท มูล ค่ า ที่ ต ราไว้ 0.50 บาท โดยกรมพัฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า กระทรวงพาณิชย์ได้ รับจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงการเพิ่มทุนชาระแล้ วดังกล่าว เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2559
14
4.3 โครงสร้ างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท บริ ษัทไม่มีบริ ษัทย่อยหรื อบริ ษัทร่วม
4.4 ความสัมพันธ์ กับกลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นใหญ่ 4.4.1 แผนภาพโครงสร้ างธุรกิจโดยรวมของธุรกิจในเครื อของผู้ถือหุ้นใหญ่ ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561 กลุม่ ปิ่ นทอง (53.45%) ประกอบธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ธุระกิจเหล็กและโลหะ ธุรกิจ ชิ ้นส่วนสาหรับภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจขนส่งและรถเช่า
บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด (24.74%) จาหน่ายเหล็กสแตนเลสและเหล็กกล้ า
บุคคลที่มีความเกี่ยวข้ อง (28.71%)
บมจ.ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) กลุม่ ปิ่ นทองมีการประกอบธุรกิจที่มีผลิตภัณฑ์ใกล้ เคียงกันกับของบริ ษัท คือ ธุรกิจผลิตชิ ้นส่วนโดยการขึ ้นรู ปด้ วย วิธีอดั ด้ วยความร้ อน (Hot Forging) และการอัดแบบเย็น (Stamping) สาหรับอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมยาน ยนต์ และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่ องใช้ ไฟฟ้ า เป็ นต้ น และยังประกอบธุรกิจชิ ้นส่วนและส่วนประกอบสาหรับ แม่พิมพ์โลหะอีกด้ วย ซึง่ ในอนาคต กลุม่ บริ ษัทดังกล่าวมีโอกาสที่จะเกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ โดยทาการแข่ งขัน ทางอ้ อมกับบริ ษัทได้ แต่ทงั ้ นีบ้ ริ ษัทในกลุ่มปิ่ นทองดังกล่าว ไม่มีนโยบายที่จะดาเนินธุรกิจผลิตชิ น้ ส่วนอลูมิเนียมและ สังกะสีฉีดขึ ้นรูปด้ วยแม่พิมพ์ฉีดหล่อความดันสูง ซึง่ เป็ นการแข่งขันโดยตรงกับธุรกิจของบริ ษัท 4.4.2 ลักษณะความสัมพันธ์ บริ ษัทมีการทารายการกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ งต่างๆ ซึง่ รายการระหว่างกัน ที่เกิดขึ ้นนันเป็ ้ นการทารายการ กับกรรมการ และ/หรื อ ผู้บริ หาร และ/หรื อ ผู้ถือหุ้นของบริ ษัท และบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกันซึ่งมีบคุ คลที่มาความขัดแย้ งเป็ น กรรมการ และ/หรื อ ผู้บริ หาร และ/หรื อ ผู้ถือหุ้นของบริ ษัท ซึ่งสามารถสรุปลักษณะความสัมพันธ์ได้ ดังนี ้ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง ความสัมพันธ์ บริ ษัท จุฑาวรรณ จากัด อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของกลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุม่ เดียวกัน คือ กลุม่ ปิ่ นทอง 1/ ซึง่ ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ ้ อมในบริ ษัทร้ อยละ 53.45 ของทุนจดทะเบียนและ ชาระแล้ วทังหมด ้
15
บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด
บริ ษัท ริ ก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรี ทเม้ นท์ จากัด
บริ ษัท อาพน จากัด
บริ ษัท เจทีดบั บลิว แอ็กเซท จากัด
บริ ษัท ปิ่ นทอง สตีล จากัด
บริ ษัท ปิ่ นทอง อินดัสเตรี ยล พาร์ ค จากัด (มหาชน) บริ ษัท จุฑาวรรณ เมทัลแล็บ จากัด
บริ ษัท แอล.เอช.โลจิสติกส์ จากัด
บริ ษัท ฟอร์ เอเวอร์ ออพอิวเลนซ์ จากัด
ความสัมพันธ์ มีกรรมการร่วมกันกับบริ ษัทคือ นายนาโอะฮิโร ฮามาดา อยูภ่ ายใต้ การควบคุม ของกลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุม่ เดียวกัน คือ กลุม่ ปิ่ นทอง1/ ซึง่ ถือหุ้นทังทางตรง ้ และทางอ้ อมในบริ ษัทร้ อยละ 53.45 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้ วทังหมด ้ อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของกลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุม่ เดียวกัน คือ กลุม่ ปิ่ นทอง 1/ ซึง่ ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ ้ อมในบริ ษัทร้ อยละ 53.45 ของทุนจดทะเบียนและ ชาระแล้ วทังหมด ้ อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของกลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุม่ เดียวกัน คือ กลุม่ ปิ่ นทอง 1/ ซึง่ ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ ้ อมในบริ ษัทร้ อยละ 53.45 ของทุนจดทะเบียนและ ชาระแล้ วทังหมด ้ อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของกลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุม่ เดียวกัน คือ กลุม่ ปิ่ นทอง 1/ ซึง่ ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ ้ อมในบริ ษัทร้ อยละ 53.45 ของทุนจดทะเบียนและ ชาระแล้ วทังหมด ้ อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของกลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุม่ เดียวกัน คือ กลุ่มปิ่ นทอง1/ ซึง่ ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ ้ อมในบริ ษัทร้ อยละ 53.45 ของทุนจดทะเบียนและ ชาระแล้ วทังหมด ้ อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของกลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุม่ เดียวกัน คือ กลุม่ ปิ่ นทอง1/ ซึง่ ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ ้ อมในบริ ษัทร้ อยละ 53.45 ของทุนจดทะเบียนและ ชาระแล้ วทังหมด ้ อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของกลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุม่ เดียวกัน คือ กลุม่ ปิ่ นทอง1/ ซึง่ ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ ้ อมในบริ ษัทร้ อยละ 53.45 ของทุนจดทะเบียนและ ชาระแล้ วทังหมด ้ อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของกลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุม่ เดียวกัน คือ กลุม่ ปิ่ นทอง1/ ซึง่ ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ ้ อมในบริ ษัทร้ อยละ 53.45 ของทุนจดทะเบียนและ ชาระแล้ วทังหมด ้ มีผ้ ถู ือหุ้นและผู้บริ หารของ บริ ษัทฟอร์ เอเวอร์ จากัด ดารงตาแหน่งเป็ นผู้บริ หาร ระดับกลางของบริ ษัท
หมายเหตุ :1/กลุม่ ปิ่ นทองประกอบธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ธุรกิจเหล็กและโลหะ ธุรกิจชิ ้นส่วนสาหรับภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจขนส่งและรถเช่า
16
5. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 5.1 ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัท บริ ษัทประกอบธุรกิจผลิตชิ ้นส่วนอลูมิเนียมฉีดขึ ้นรู ปและชิ ้นส่วนสังกะสีฉีดขึ ้นรู ปตามคาสัง่ ซื ้อของลูกค้ า โดยมี กลุ่มลูก ค้ า หลัก เป็ นผู้ผลิตชิ น้ ส่ว นให้ กับอุต สาหกรรมยานยนต์ ประกอบด้ ว ยอุต สาหกรรมรถยนต์ แ ละอุต สาหกรรม รถจักรยานยนต์ ทังนี ้ ้ ธุรกิจการผลิตชิ ้นส่วนยานยนต์จะมีข้อได้ เปรี ยบจากยอดการสัง่ ซื ้อค่อนข้ างแน่นอนเนื่องจากการ สัง่ ซื ้อชิ ้นส่วนของยานยนต์รุ่นหนึง่ (Model) มักจะเป็ นการสัง่ ซื ้อชิ ้นส่วนจนกระทัง่ ยานยนต์รุ่นนันเลิ ้ กการผลิตซึ่ งจะใช้ เวลา ส่วนใหญ่ประมาณ 3 ปี ขึ ้นไป นอกจากนี ้ บริ ษัทยังได้ มีการผลิตชิ ้นส่วนประกอบกล้ องโทรทัศน์วงจรปิ ด ชิ ้นส่วนประกอบ กล้ องถ่ายวิดีโอ และชิ ้นส่วนประกอบระบบสือ่ สารภายใน (Intercom System) สาหรับอุตสาหกรรมเครื่ องใช้ ไฟฟ้ า และได้ มีการผลิตชิ ้นส่วนประกอบเครื่ องตัดหญ้ าและชิ ้นส่วนประกอบรถแทรกเตอร์ สาหรับอุตสาหกรรมเครื่ องจักรกลเกษตร ทังนี ้ ้ ในการผลิตชิน้ ส่วนต่างๆ บริ ษัทได้ มีการบริ การออกแบบและจัดหาแม่พิมพ์เพื่อรองรับความต้ องการของลูกค้ าได้ อย่าง ครบถ้ วน ทังนี ้ ้ ในปั จจุบนั บริ ษัทไม่มีบริ ษัทย่อยหรื อบริ ษัทร่วมแต่อย่างใด 5.1.1 โครงสร้ างรายได้ ของบริษัท โครงสร้ างรายได้ ของบริ ษัทแบ่งตามสายผลิตภัณฑ์หลักระหว่างปี 2559 ถึงปี 2561 มีสดั ส่วน ดังนี ้ (หน่วย: ล้ านบาท) ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 รายได้ จานวน ร้ อยละ จานวน ร้ อยละ จานวน ร้ อยละ 1. รายได้ จากการขายชิน้ ส่ วน 382.74 92.32 405.47 91.65 508.59 93.04 ชิ ้นส่วนรถยนต์ 265.29 64.00 314.94 71.19 362.41 66.30 ชิ ้นส่วนรถจักรยานยนต์ 53.26 12.84 32.30 7.30 79.66 14.57 ชิ ้นส่วนเครื่ องใช้ ไฟฟ้ า 40.68 9.81 33.48 7.57 42.91 7.85 ชิ ้นส่วนเครื่ องจักรกลเกษตรและอื่นๆ 23.51 5.67 24.75 5.59 23.61 4.32 2. รายได้ จากการขายแม่ พิมพ์ 24.23 5.84 32.43 7.33 35.86 6.56 ชิ ้นส่วนรถยนต์ 12.27 2.96 24.60 5.56 27.02 4.94 ชิ ้นส่วนรถจักรยานยนต์ 8.15 1.97 5.48 1.24 3.91 0.72 ชิ ้นส่วนเครื่ องใช้ ไฟฟ้ า 2.87 0.69 1.95 0.44 2.59 0.47 ชิ ้นส่วนเครื่ องจักรกลเกษตรและอื่นๆ 0.94 0.22 0.40 0.09 2.34 0.43 รวมรายได้ จากการขาย 406.97 98.16 437.90 98.98 544.45 99.60 1/ รายได้ จากการให้ บริ การ 3.49 0.84 รวมรายได้ จากการขายและให้ บริการ 410.47 99.00 437.90 98.98 544.45 99.60 2/ รายได้ อื่น 4.11 1.00 4.52 1.02 2.20 0.40 รายได้ รวม 414.58 100.00 442.42 100.00 546.65 100.00 หมายเหตุ : 1/รายได้ จากการให้ บริการในปี 2559 เป็ นรายได้ จากข้ อตกลงให้ ความช่วยเหลือด้ านเทคนิคให้ กบั บริษัทผลิตชิ ้น ส่วนรถจักรยานยนต์แห่งหนึ่งในประเทศอินเดีย มูลค่าตามสัญญาทังสิ ้ ้น 24.60 ล้ านบาทและสัญญาได้ สิ ้นสุดในต้ นปี 2560
17
2/
รายได้ อื่นของบริ ษัทประกอบด้ วยรายได้ จากการขายเศษวัต ถุดิบจากการผลิต กาไรจากการขายสินทรัพย์ การกลับ รายการค่าเผื่อลูกหนี ้สงสัยจะสูญ ดอกเบี ้ยรับ และรายได้ อื่น เป็ นต้ น
ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ บริ ษัทประกอบธุรกิจผลิตชิ ้นส่วนอลูมิเนียมและสังกะสีในรู ปแบบที่ลกู ค้ ากาหนดตามคาสัง่ ซื ้อของลูกค้ า โดย กระบวนการขึ ้นรูปด้ วยแม่พิมพ์ฉีดหล่อความดันสูง1. (High-Pressure Diecasting หรื อ “HPDC”) 2. การหล่อแบบเทหล่อ (Gravity Casting) โดยบริ ษัทมีการให้ บริ การออกแบบและว่าจ้ างบริ ษัทผู้ผลิตแม่พิมพ์เพื่อทาการผลิตแม่พิมพ์ให้ กบั ลูกค้ า เพื่อให้ สามารถผลิตชิ ้นงานตามที่ลกู ค้ ากาหนด ซึ่งกรรมสิทธิ์ในแม่พิมพ์จะเป็ นไปตามที่ระบุในข้ อตกลงระหว่างบริ ษัทกับ ลูกค้ าแต่ละราย ซึง่ แบ่งออกตามลักษณะของข้ อตกลงได้ ดังนี ้ 1) ออกแบบและจาหน่ายแม่พิมพ์ บริ ษัทจะจาหน่ายแม่พิมพ์ที่ผลิตแล้ วให้ กบั ลูกค้ า โดยกรรมสิทธิ์ในแม่พิมพ์ จะเป็ นของลูกค้ า ซึง่ ลูกค้ าจะว่าจ้ างบริ ษัทให้ ดาเนินการผลิตชิ ้นงานจากแม่พิมพ์ดงั กล่าว 2) ออกแบบแม่พิมพ์และผลิตชิ ้นงาน ลูกค้ าจะว่าจ้ างบริ ษัทในการออกแบบแม่พิมพ์พร้ อมกับผลิตชิ ้นงานจาก แม่พิมพ์ดงั กล่าว โดยกรรมสิทธิ์ ในแม่พิมพ์ยงั คงเป็ นของบริ ษัท โดยบริ ษัทจะมีการคิดกาไรส่วนเพิ่มเพื่อ ชดเชยค่าใช้ จ่ายในการออกแบบและจัดทาแม่พิมพ์ดงั กล่าว ทังนี ้ ้รายได้ ของบริ ษัทส่วนใหญ่มาจากรายได้ จากการขายชิ ้นส่วนอลูมิเนียมและแม่พิมพ์ สาหรับรายได้ จากการ ขายชิน้ ส่วน แยกออกเป็ นรายได้ จากการขายชิน้ ส่วนอลูมิเนียมและสังกะสี ในปี 2560 ร้ อยละ 83.61 และร้ อยละ 8.99 และ ปี 2561 เป็ นสัดส่วนเท่ากับ ร้ อยละ 87.11 และร้ อยละ 6.29 ของรายได้ จากการขายและบริ การรวม ตามลาดับ โดย ผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทสามารถแบ่งออกเป็ นประเภทตามการใช้ งานของผลิตภัณฑ์ ดังนี ้ กลุ่มผลิตภัณฑ์ ชิน้ ส่ วนรถยนต์ ตัวอย่ างผลิตภัณฑ์ ชิน้ ส่ วนรถยนต์ หมวดสินค้ า ผลิตภัณฑ์ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ภาพตัวอย่ างสินค้ า ระบบเกียร์ ออโต้ ตัวปรับรอบ ส่วนประกอบของระบบเกียร์ รถยนต์ (Wheel Stator) อัตโนมัติในการปรับรอบ รถยนต์ แหวนควบคุมตัวปรับ ส่วนประกอบของระบบเกียร์ รอบ (Piston) อัตโนมัติรถยนต์ ระบบน ้าระบายความ ร้ อน
ฝาครอบระบบ ระบาย ความร้ อน ชุดกาเนิดไฟฟ้า ฝาครอบหลัง กระแสสลับในรถยนต์ (Rear cover) (Alternator) ฝาครอบหน้ า (Front cover)
ส่วนประกอบชุดท่อระบบ ระบายความร้ อน ส่วนประกอบด้ านหลัง ของอัล เตอร์ เนเตอร์ ส่วนประกอบด้ านหน้ าของอัล เตอร์ เนเตอร์
18
หมวดสินค้ า สตาร์ ทเตอร์ (Starter)
ตัว ยึด คอมเพรสเซอร์ แอร์ ในรถยนต์ (Bracket Compressor)
ผลิตภัณฑ์ ตัวเรื อน (Housing)
รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ส่วนประกอบตัวเรื อนของ สตาร์ ทเตอร์
ฝาครอบหลัง (Rear cover)
ส่วนประกอบด้ านหลังของ สตาร์ ทเตอร์
ตัวเรื อนเกียร์ (Gear case)
ส่วนประกอบของชุดเฟื องใน สตาร์ ทเตอร์
ฐานจับยึด คอมเพรสเซอร์ (Bracket compressor) ตัวจับยึดด้ านล่าง (Lower bracket)
ส่วนประกอบในการยึดจับ ระหว่างเครื่ องยนต์และ คอมเพรสเซอร์
ชิ ้นส่วนปรับตัง้ สายพาน (Bracket tension) ใบพัดเครื่ องยนต์ (Fan Clutch)
ส่วนประกอบในการยึดจับ ระหว่างแผงระบายความร้ อน ระบบปรับอากาศกับตัวถัง รถยนต์ ส่วนประกอบในการปรับตัง้ สายพานคอมเพรสเซอร์
ฝาครอบ (Cover)
ฝาครอบของส่วนประกอบของ ชุดใบพัดระบายความร้ อนของ เครื่ องยนต์
ฝาหลัง (Case)
ฝาหลังของส่วนประกอบของ ชุดใบพัดระบายความร้ อนของ เครื่ องยนต์
จานรี ดน ้ามันชุด ระบายความร้ อน (Disk) ตัวยึดท่อแอร์ ใน อุปกรณ์ยดึ จับท่อแอร์ รถยนต์ (Hanging Air รถยนต์ Pipe) (Flange flex)
ภาพตัวอย่ างสินค้ า
ชิ ้นส่วนสาหรับการทางานของ ชุดใบพัดระบายความร้ อนของ เครื่ องยนต์อตั โนมัติ ชิ ้นส่วนสาหรับยึดจับท่อแอร์ ในรถยนต์ เพื่อช่วยในการยึด จับ
19
หมวดสินค้ า
ผลิตภัณฑ์
รายละเอียดผลิตภัณฑ์
เข็มขัดนิรภัย (Safety Belt)
ดุมม้ วนสาย (Guide drum)
วิทยุรถยนต์ (Audio)
แผงระบายความร้ อน แผงระบายความร้ อนของ (Heat sink) ระบบเครื่ องเสียงในรถยนต์
ภาพตัวอย่ างสินค้ า
ชิ ้นส่วนล็อคสายพานเข็มขัด นิรภัยในรถยนต์
ชุ ด ระบายความร้ อน แผงระบายความร้ อน แผงระบายความร้ อนไฟหน้ า ไฟหน้ า ไฟหน้ า (Main LED heatsink Bi-LED) แผงระบายความร้ อน แผงระบายความร้ อน ระบบแอร์ รถยนต์ ระบบแอร์ รถยนต์ ระบบ (Ghem Heat Sink) ออโต้ เมติก แผงระบายความร้ อน แผงระบายความร้ อน ระบบแอร์ รถยนต์ ระบบแอร์ รถยนต์ ระบบ (Fblo Heat Sink) ออโต้ เมติก ชุดบังคับแกนใบปั ด น ้าฝน
ตัวยึดจับแกนปั ด น ้าฝนด้ านซ้ าย (Bracket B)
แกนหมุนชุดใบปั ดน ้าฝน ด้ านซ้ าย
ตัวยึดจับแกนปั ด น ้าฝนด้ านขวา (Bracket C)
แกนหมุนชุดใบปั ดน ้าฝน ด้ านขวา
ตัวยึดจับแกนปั ด น ้าฝนก้ านเดี่ยว (Bracket A)
แกนหมุนชุดใบปั ดน ้าฝนชนิด ก้ านเดี่ยว
20
สิน ค้ า ในกลุ่ม นี เ้ ป็ นชิ น้ ส่ว นและแม่พิ ม พ์ สาหรั บ อุป กรณ์ แ ละชิ น้ ส่ว นรถยนต์ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ชิ น้ ส่ว นของ ชุด ก าเนิ ด ไฟฟ้ ากระแสสลับ (Alternator) สตาร์ ท เตอร์ (Starter) ตัว ยึ ด คอมเพรซเซอร์ (Bracket Compressor) ใบพัดเครื่ องยนต์ ตัวแขวนท่อแอร์ ในรถยนต์ เข็มขัดนิรภัย และชุดบังคับแกนใบปั ดน ้าฝน เป็ นต้ น โดยมีกลุม่ ลูกค้ าหลักเป็ น กลุม่ บริ ษัทผลิตชิ ้นส่วนรถยนต์ซึ่งจะนาไปประกอบเป็ นชิ ้นส่วนและอุปกรณ์เพื่อส่งมอบแก่บริ ษัทประกอบรถยนต์อีกทอด หนึ่ง ซึ่งรายได้ จากกลุ่มผลิตภัณฑ์นีเ้ ป็ นรายได้ หลักของบริ ษัท โดยมีสดั ส่วนรายได้ ในปี 2559 ปี 2560 และปี 2561 มี 277.56 ล้ านบาท 339.54 ล้ านบาทและ 389.43 ล้ านบาทตามลาดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 66.96 ร้ อยละ 76.75 และร้ อยละ 71.24 ของรายได้ จากการขายและให้ บริ การรวมในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลาดับ กลุ่มผลิตภัณฑ์ ชิน้ ส่ วนรถจักรยานยนต์ ตัวอย่ างผลิตภัณฑ์ ชิน้ ส่ วนรถจักรยานยนต์ หมวดสินค้ า ผลิตภัณฑ์ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ภาพตัวอย่ างสินค้ า ชุดเครื่ องยนต์ ฝาครอบบนเครื่ องยนต์ ฝาครอบบนเครื่ องยนต์ (Engine) (Cover Head) ระบบวาล์ว
ระบบปั๊ มน ้าระบาย ความร้ อน
ฝาครอบระบบชาร์ จไฟ (Cover Generator)
ฝาครอบระบบชาร์ จไฟฟ้ า แบตเตอรี่
ฝาครอบชุดวาล์ว แคมชาร์ ฟ (Cap bearings)
ฝาครอบชุดวาล์วแคมชาร์ ฟ ของระบบฝาสูบ
ตัวเรื อนปั ม้ น ้า (Housing)
ส่วนประกอบกับฝาครอบปั ม้ น ้า
ฝาครอบปั๊ มน ้า (Cover water pump)
ฝาครอบชุดปั๊ มนา้ ระบายความ ร้ อน
21
หมวดสินค้ า ชิ ้นส่วนภายนอก รถจักรยานยนต์
ผลิตภัณฑ์ ชิ ้นส่วนที่พกั เท้ าคูห่ น้ า (Step)
รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ที่พกั เท้ าคูห่ น้ า ข้ างซ้ ายแลขวา
ชุดผสมเชื ้อเพลิงกับ อากาศ (Carburetor)
ฝาครอบระบบผสม น ้ามัน (Cover reed valve) ตัวเรื อนระบบผสม น ้ามัน (Body reed valve) ฝาครอบ (Top)
ส่วนประกอบของชุดผสมน ้ามัน กับอากาศ
ระบบคลัตช์ (Manual Clutch System)
ระบบเกียร์ อตั โนมัติ
ฝาครอบชุดส่งกาลัง ระบบปั๊ มน ้าระบาย ความร้ อน
ภาพตัวอย่ างสินค้ า
ส่วนประกอบของชุดผสมน ้ามัน กับอากาศ ส่วนประกอบของชุดผสมน ้ามัน กับอากาศ
ส่ว นประกอบชิ น้ กลาง ส่วนประกอบของแผ่นคลัตช์ ของแผ่นคลัตช์ (Center clutch) ส่วนปิ ดชุดส่งกาลัง ส่ ว นประกอบของฝาปิ ดแผ่ น (PR plate) คลัตช์ด้านบน ฝาครอบชุดส่งกาลัง (PR outer)
ส่วนประกอบฝาครอบชุดคลัตช์ ด้ านข้ าง
ฝาล็อดส่งกาลัง (PR lifter)
ส่วนประกอบล็อคชุดแผ่นคลัตช์
ตัวปรับรอบ ส่วนประกอบของระบบเกียร์ (Prim sliding sheave) อัตโนมัติ CVT ในการปรับรอบ สายพาน ตัวขับ ส่วนประกอบของระบบเกียร์ (Sheave prim fixed) อัตโนมัติ CVT ในการขับ สายพาน ฝาครอบข้ อเหวี่ยง ฝาครอบข้ อเหวี่ยง (Crank case) ฝาครอบปั๊ มน ้า (Cover water pump)
ฝาครอบชุดปั๊ มนา้ ระบายความ ร้ อน
22
สินค้ าในกลุม่ นี ้เป็ นชิ ้นส่วนและแม่พิมพ์สาหรับอุปกรณ์และชิ ้นส่วนรถจักรยานยนต์ซึ่งประกอบด้ วย ระบบคลัตช์ (Clutch System) ชุดผสมเชื ้อเพลิงกับอากาศ (Carburetor) และสตาร์ ทเตอร์ (Starter) เป็ นต้ น โดยกลุม่ ลูกค้ าของกลุ่ม ผลิตภัณฑ์นี ้ประกอบด้ วยบริ ษัทผลิตชิ ้นส่วนรถจักรยานยนต์ และบริ ษัทประกอบรถจักรยานยนต์ ทังนี ้ ้ บริ ษัทมีรายได้ จาก กลุม่ ผลิตภัณฑ์นี ้ในปี 2559 ปี 2560และปี 2561 เท่ากับ 61.41 ล้ านบาท 37.78 ล้ านบาทและ 83.57 ล้ านบาท ตามลาดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 14.89 ร้ อยละ 8.54 และร้ อยละ 15.29 ของรายได้ จากการขายและให้ บริ การรวมในช่วงเวลา เดียวกัน ตามลาดับ กลุ่มผลิตภัณฑ์ ชิน้ ส่ วนอุปกรณ์ เครื่องใช้ ไฟฟ้า ตัวอย่ างผลิตภัณฑ์ ชิน้ ส่ วนอุปกรณ์ เครื่องใช้ ไฟฟ้า หมวดสินค้ า ผลิตภัณฑ์ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ภาพตัวอย่ างสินค้ า กล้ องวงจรปิ ด ฝาครอบหน้ า ส่วนประกอบของฝาครอบกล่อง (Box CCTV Camera) (Front frame) รับสัญญาณกล้ องวงจรปิ ด กล้ องวงจรปิ ดมุมกว้ าง ฝาครอบ ส่วนประกอบของกล้ องวงจรปิ ด (Dome CCTV Camera) (Chassis cover) มุมกว้ าง ฝาปิ ดโครง (Bracket case)
ส่วนประกอบของกล้ องวงจรปิ ด มุมกว้ าง
ฝาครอบหลัก (Main Cover)
ส่วนประกอบของ CCTV Dome
ฝาครอบหลัง (Rear cover)
ส่วนประกอบของ CCTV Dome
ระบบสือ่ สารภายใน (Intercom System)
หน้ าการแผงปุ่ มกด (Panel)
ส่วนประกอบของระบบสือ่ สาร ภายใน ส่วนประกอบของระบบสือ่ สาร ภายใน
คอมเพรสเซอร์ เครื่ องปรับอากาศ
ขอบหน้ ากากแผง ปุ่ มกด (Panel frame) แผ่นครอบยางกันซึม (Plate lower seal)
ฝาครอบลูกสูบคอมเพรสเซอร์ แอร์
23
หมวดสินค้ า ชุดกล่องควบคุมปั๊ มน ้า
ผลิตภัณฑ์ กล่องอลูมิเนียม (Aluminum case)
รายละเอียดผลิตภัณฑ์ กล่องควบคุมการทางานของปั๊ ม น ้าอัตโนมัติ
ภาพตัวอย่ างสินค้ า
สิน ค้ า ในกลุ่ม นี เ้ ป็ นชิ น้ ส่ว นและแม่พิ ม พ์ ส าหรั บ ชิ น้ ส่ว นอุป กรณ์ เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ าต่ า งๆ เช่ น กล้ อ งวงจรปิ ด กล้ องถ่ายวิดีโอ ชุดฝาครอบคอมเพรซเซอร์ เครื่ องปรับอากาศ และระบบสือ่ สารภายใน (Intercom) เป็ นต้ น โดยกลุม่ ลูกค้ า ของกลุม่ ผลิตภัณฑ์นี ้ประกอบด้ วยบริ ษัทผลิตชิ ้นส่วนอุปกรณ์เครื่ องใช้ ไฟฟ้ าต่างๆ ทังนี ้ ้บริ ษัทมีรายได้ จากกลุม่ ผลิตภัณฑ์นี ้ ในปี 2559 ปี 2560 และปี 2561 เท่ากับ 43.55 ล้ านบาท 35.43 ล้ านบาทและ 45.50 ล้ านบาทตามลาดับ หรื อคิดเป็ น สัดส่วน ร้ อยละ 10.50 ร้ อยละ 8.01 และร้ อยละ 8.32 ของรายได้ จากการขายและให้ บริ ก ารรวมในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลาดับ กลุ่มผลิตภัณฑ์ ชิน้ ส่ วนเครื่องจักรกลเกษตรและอื่นๆ ตัวอย่ างผลิตภัณฑ์ ชิน้ ส่ วนเครื่องจักรกลเกษตร หมวดสินค้ า ผลิตภัณฑ์ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ภาพตัวอย่ างสินค้ า รถแทรกเตอร์ ฝาครอบแกนขับ ส่วนประกอบชุดฝาครอบแกนไฮ (Propeller shaft ดรอลิกในรถแทรกเตอร์ case) ตัวยึดพัดลม ส่วนประกอบใบจับยึดชุดใบพัด (Flange fan) ในรถแทรกเตอร์ ตัวยึดกรองน ้ามัน (Bracket Filter)
ส่วนประกอบในระบบกรอง น ้ามันรถแทรกเตอร์
ตัวยึดฝาครอบ (Support diff)
เป็ นส่วนประกอบสาหรับยึดชุด คลัตช์
ฐานเกียร์ หลัก (Base main shift)
เป็ นส่วนประกอบฝาครอบคัน เกียร์ รถแทรกเตอร์
ฝาปิ ดล้ อหลัง (Plug rear wheel)
เป็ นส่วนประกอบฝาครอบ แกนเพลาล้ อหลัง
24
หมวดสินค้ า หัวจ่ายน ้ามันเชื ้อเพลิง
ผลิตภัณฑ์ ชุดแขวนหัวจ่ายน ้ามัน
รายละเอียดผลิตภัณฑ์ เป็ นส่วนประกอบของทีแ่ ขวนหัว จ่ายน ้ามัน
ข้ อต่อวาล์วหัวจ่าย
เป็ นส่วนประกอบของหัวจ่าย น ้ามัน
ข้ องอหัวจ่าย
เป็ นส่วนประกอบของหัวจ่าย น ้ามัน
ภาพตัวอย่ างสินค้ า
สินค้ าในกลุม่ นี ้เป็ นชิ ้นส่วนเครื่ องจักรกลเกษตรต่างๆ เช่น ชิ ้นส่วนรถแทร็ กเตอร์ และชิ ้นส่วนสาหรับอุตสาหกรรม อื่นๆ เช่น ที่แขวนหัวจ่ายน ้ามันสาหรับสถานีบริ การน ้ามันเป็ นต้ น โดยกลุม่ ลูกค้ าของกลุ่ มผลิตภัณฑ์นี ้ประกอบด้ วยบริ ษัท ผลิตเครื่ องจักรกลเกษตรและอื่นๆ ทังนี ้ ้บริ ษัทมีรายได้ จากกลุม่ ผลิตภัณฑ์นี ้ในปี 2559 ปี 2560 และปี 2561 เท่ากับ 24.45 ล้ านบาท 25.15 ล้ านบาทและ 25.95 ล้ านบาทตามลาดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 5.90 ร้ อยละ 5.68 และร้ อยละ 4.75 ของรายได้ จากการขายและให้ บริ การรวมในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลาดับ 5.1.2 สิทธิประโยชน์ จากบัตรส่ งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่ งเสริมการลงทุน การประกอบธุรกิ จของบริ ษัทได้ รับสิทธิ ประโยชน์จากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน (BOI) ซึ่งมี รายละเอียดดังนี ้ เจ้ าของบัตรส่ งเสริม บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1090(2)/2554 1010(2)/2557 1. วันที่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุน 26 มกราคม 2554 7 มกราคม 2557 2. วันที่ เริ่ มใช้ สิท ธิ ตามบัตรส่งเสริ ม การ 15 พฤศจิกายน 2553 14 ตุลาคม 2556 ลงทุน 3. ประเภทกิจการที่ได้ รับการส่งเสริ มการ กิจการผลิตผลิตภัณฑ์โลหะรวมทัง้ กิ จ การผลิต ผลิต ภัณ ฑ์ โลหะรวมทัง้ ลงทุน ชิ ้นส่วนโลหะ ชิ ้นส่วนโลหะ 4. สิทธิประโยชน์สาคัญที่บริ ษัทได้ รับ 4.1 การยกเว้ นอากรขาเข้ าส าหรั บ จะต้ องน าเข้ ามาก่ อ นวั น ที่ 26 จ ะ ต้ อ ง น า เ ข้ า ม า ก่ อ น วั น ที่ 7 เครื่ องจักร กรกฎาคม 2558 กรกฎาคม 2562
25
เจ้ าของบัตรส่ งเสริม 4.2 การยกเว้ นภาษี เ งิ น ได้ นิ ติบุค คล ส าหรั บ ก าไรสุ ท ธิ ที่ ไ ด้ จากการ ประ ก อ บกิ จ ก า รที่ ไ ด้ รั บก า ร ส่ง เสริ ม นับแต่วัน ที่ มี รายได้ จ าก การประกอบกิจการนัน้
4.3 การยกเว้ น ไม่ ต้ อ งน าเงิ น ปั น ผล จากกิจการที่ได้ รับการส่งเสริ มซึ่ง ได้ รั บ การยกเว้ นภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุคคลตามข้ อ 4.2 ไปรวมคานวณ เพื่อเสียภาษี เงินได้ 4.4 การอนุญ าตให้ หัก ค่ า ขนส่ง ค่ า ไฟฟ้ า และค่าประปา สองเท่าของ ค่าใช้ จ่าย นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้ จากการประกอบกิจการ
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) รวมกันไม่เกินร้ อยละ 100 ของเงิน ลง ทุ น ไ ม่ ร ว ม ค่ า ที่ ดิ น แ ละ ทุ น หมุนเวียนมีกาหนดเวลา 8 ปี และยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบคุ คลใน อัต ราร้ อยละ 50 ของอัต ราปกติ มี กาหนดเวลา 5 ปี นับจากวันที่พ้น กาหนดตามวรรคแรก 8 ปี
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) รวมกัน ไม่ เ กิ น ร้ อยละ 100 ของเงิ น ล ง ทุ น ไ ม่ ร ว ม ค่ า ที่ ดิ น แ ล ะ ทุ น หมุนเวียนมีกาหนดเวลา 8 ปี และยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุค คลใน อัตราร้ อยละ 50 ของอัต ราปกติ มี ก าหนดเวลา 5 ปี นับ จากวัน ที่ พ้ น กาหนดตามวรรคแรก 8 ปี
10 ปี
10 ปี
การตลาดและการแข่ งขัน บริ ษั ท ด าเนิ น ธุ ร กิ จ ผลิต ชิ น้ ส่ว นอลูมิ เ นี ย มฉี ด ขึน้ รู ป และชิ น้ ส่ว นสัง กะสีฉีด ขึน้ รู ป ให้ แ ก่ ลูก ค้ า ในหลายกลุ่ม อุตสาหกรรม ซึ่งมีกลุ่มอุตสาหกรรมหลัก ได้ แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเครื่ องใช้ ไฟฟ้ า และอุตสาหกรรม ชิ ้นส่วนเครื่ องจักรทางการเกษตร มีก ารจาหน่ายสินค้ าส่วนใหญ่โดยการขายตรงให้ กับผู้ผลิตชิ ้นส่วนลาดับที่ 1 ซึ่งมีการ ดาเนินงานในประเทศไทยเป็ นหลักผ่านทีมงานการตลาดและการขายของบริ ษัท ซึ่งประกอบด้ วยทีมงานทังชาวไทยและ ้ ชาวต่างชาติที่มีประสบการณ์ในการทางานมากกว่า 30 ปี โดยมีการแบ่งการดูแลรับผิดชอบเป็ นทีมงานในการหาลูกค้ า ใหม่และทีมงานที่รับผิดชอบลูกค้ าปั จจุบนั ของบริ ษัท ซึ่งทีมงานจะทาการติดต่อโดยตรงกับลูกค้ าอย่างใกล้ ชิด โดยศึกษา ความต้ องการของลูกค้ า และอาจมีการร่วมดัดแปลงแบบของชิ ้นงานตามการอนุมตั ิของลูกค้ าหากมีความจาเป็ น เพื่อเพิ่ม ประสิท ธิ ภ าพและความเป็ นไปได้ ใ นการผลิต โดยยัง รั ก ษาคุณ สมบัติ ข องชิ น้ งานและประโยชน์ ก ารใช้ ง านไว้ ต าม วัตถุประสงค์ของลูกค้ า นอกจากนี ้ยังมีช่องทางในการจาหน่ายอื่นๆ เช่น 1) บริ ษั ท มี ก ารประชาสัม พัน ธ์ ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ ข องบริ ษั ท ผ่ า นสื่ อ โฆษณาต่ า งๆ อาทิ หนัง สื อ รวบรวมรายชื่ อ ผู้ประกอบการ (Directory) และวารสารต่างๆที่เกี่ยวข้ องกับวงการอุตสาหกรรมและชิ ้นส่วนที่บริ ษัทผลิต เช่น ทาเนียบอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย เป็ นต้ น นอกจากนี ้ บริ ษัทได้ จดั ทาเว็บไซต์ www.sankothai.net เพื่อ เป็ นการเพิ่มช่องทางการสือ่ สารให้ กบั ลูกค้ าของบริ ษัทและเป็ นการประชาสัมพันธ์บริ ษัทอีกช่องทางหนึง่ ด้ วย
26
2) บริ ษัทได้ เข้ าร่ วมเป็ นสมาชิกของสมาคมผู้ผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์ไทย สถาบันยานยนต์ และสมาคมต่างๆที่ เกี่ยวข้ องกับอุตสาหกรรมยานยนต์ เพื่อให้ มีโอกาสทาความรู้จกั กับกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายมากขึ ้น 3) Online Automotive Portal เป็ นช่องทางเผยแพร่ ฐานข้ อมูลซัพพลายเออร์ ชนน ั ้ าด้ านอุปกรณ์ยานยนต์มีไว้ สาหรับการใช้ งานโดยผู้เชี่ยวชาญด้ านอุตสาหกรรมที่หลากหลายรวมถึงผู้บริ หารระดับสูงที่ปรึ กษาและ นักวิจยั ฯลฯ สาหรับผู้ผลิตและประกอบชิ ้นส่วนยานยนต์ กลยุทธ์ การแข่ งขัน บริ ษัทกาหนดกลยุทธ์ ทางการแข่งขัน โดยมุ่งเน้ นการสร้ างความพึงพอใจในคุณภาพสินค้ าและการบริ การแก่ ลูกค้ าเพื่อสร้ างความสัมพันธ์ที่ดีและก่อให้ เกิดการดาเนินธุรกิจร่วมกันอย่างต่อเนื่องในระยะยาว ซึง่ สามารถสรุปกลยุทธ์ใน การแข่งขันของบริ ษัทได้ ดงั นี ้ 1. การรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ สินค้ าของบริ ษัทเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ต้องมีความละเอียดและแม่นยาในการผลิต เนื่องจากเป็ นชิ ้นส่วนที่นาไปใช้ ใน การประกอบกับชิ ้นส่วนอื่นๆ ดังนัน้ บริ ษัทจึงมีนโยบายที่มงุ่ เน้ นและให้ ความสาคัญกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ โดยบริ ษัทมี ระบบการควบคุมคุณภาพ (Quality Control: QC) ที่ได้ มาตรฐานระดับสากล ISO9001:2015 และ ISO/TS 16949:2016 ซึ่งบริ ษัทได้ มีการควบคุมคุณภาพผลิต ภัณฑ์ ตัง้ แต่การคัดสรรวัตถุดิบที่ มีคุณภาพ และมี การตรวจสอบคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์ ในทุกๆขันตอนอย่ ้ างเข้ มงวด ด้ วยเครื่ องมือและอุปกรณ์ ตรวจสอบที่มีความแม่นยา รวมทัง้ มีการฝึ กอบรม บุคลากรอย่างสม่าเสมอเพื่อเป็ นการพัฒนาความรู้ และสร้ างมาตรฐานในการปฏิบตั ิงานทาให้ บริ ษัทได้ รับความไว้ วางใจ จากลูกค้ าในการสัง่ ซื ้อสินค้ าจากบริ ษัทอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี ้ ยังมีการศึกษาและพัฒนาระบบมาตรฐานยานยนต์ เยอรมัน (VDA 6.3) เพื่อยกระดับมาตรฐานและเพิ่มช่องทางของการตลาดส่งออก 2. การจัดส่งผลิตภัณฑ์ตรงต่อเวลา เนื่องจากสินค้ าที่บริ ษัทผลิตเป็ นชิ ้นส่วนที่นาไปใช้ ประกอบกับชิ ้นส่วนอื่นๆ ดังนัน้ บริ ษัทจึงเน้ นการจัดส่งสินค้ าให้ ถูกต้ องและตรงต่อเวลา (Just in Time) เพื่อมิให้ เกิดผลกระทบต่อขันตอนการประกอบชิ ้ ้นส่วนอื่นๆของลูกค้ า บริ ษัทมี นโยบายการจัดส่งผลิตภัณฑ์ถึงลูกค้ าในเวลาที่กาหนด ซึ่งบริ ษัทมีการควบคุมตัง้ แต่การวางแผนการผลิต การจัดซือ้ วัต ถุดิ บ การตรวจสอบคุณภาพวัต ถุดิ บ ขัน้ ตอนการผลิต และการจัด ส่ง สิน ค้ า ให้ กับ ลูก ค้ า บริ ษัท จึ ง สามารถจัด ส่ง ผลิตภัณฑ์ให้ ลกู ค้ าได้ ตรงต่อเวลา 3. ความยืดหยุน่ ในการวางแผนการผลิต เนื่องจากบริ ษัทเน้ นในด้ านความยืดหยุน่ ในการผลิต โดยออกแบบสายการผลิตให้ สามารถปรับเปลี่ยนชิ ้นงานที่ ผลิตได้ คอ่ นข้ างรวดเร็ ว และไม่ยงุ่ ยาก ทาให้ บริ ษัทสามารถผลิตชิ ้นงานได้ หลากหลาย และสามารถรองรับได้ หลากหลาย อุตสาหกรรม โดยปั จจุบนั บริ ษัทมีเครื่ องฉีด (Diecasting Machine) ทังหมด ้ 17 เครื่ อง การเพิ่ม sub supplier เพื่อรองรับ การผลิตทังแบบที ้ ่มี Volume น้ อยไปถึงมาก และรองรับการผันผวนของยอดการสัง่ ซื ้อในตลาดยานยนต์ 4. การสร้ างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ลูกค้ า บริ ษัทมุง่ เน้ นในการสร้ างความสัมพันธ์ที่ดีกบั ลูกค้ าโดยการจัดเจ้ าหน้ าที่การตลาดและการขายให้ รับผิดชอบดูแล ลูกค้ าและผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้ างความมัน่ ใจให้ กับลูกค้ าว่าจะได้ รับบริ การที่ดีมีคุณภาพตามที่ลกู ค้ าต้ องการ นอกจากนี ้ บริ ษัทยังมีนโยบายการสารวจความพึงพอใจของลูกค้ าอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ เพื่อนามาพิจารณาปรับปรุ งคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์และการให้ บริ การกับลูกค้ าต่อไป
27
5. การเข้ าร่วมเป็ นสมาชิกของสมาคมและองค์กรต่างๆ เพื่อขยายฐานลูกค้ า ปั จจุบนั บริ ษัทได้ เข้ าเป็ นสมาชิกของสมาคมและองค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้ องกับวงการอุตสาหกรรมและชิ ้นส่วนที่ ผลิต ที่เป็ นกลุม่ ลูกค้ าโดยตรงของบริ ษัท เช่น สมาคมผู้ผลิตชิ ้นส่วนยานยนต์ไทย สถาบันยานยนต์ เป็ นต้ น ทาให้ บริ ษัทสามารถ รับรู้ขา่ วสารที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจในอุตสาหกรรมนันๆ ้ และสามารถขยายฐานลูกค้ าในกลุม่ อุตสาหกรรมดังกล่าวได้
5.2 อุตสาหกรรมยานยนต์ และชิน้ ส่ วนยานยนต์ อุตสาหกรรมยานยนต์ และชิน้ ส่ วนยานยนต์ อุตสาหกรรมยานยนต์เป็ นอุตสาหกรรมที่คอ่ นข้ างโดดเด่นเป็ นอย่างมากในภูมิภาคเอเชียและอาเซียน เนื่องจาก มีปริ มาณการผลิตรถยนต์ ที่มากกว่าครึ่ งหนึ่งของปริ มาณการผลิตทั่วโลก ซึ่งในส่วนนี ้มีประเทศสมาชิ กอาเซียนที่เป็ น ประเทศผู้ผลิตยานยนต์ ประกอบด้ วย 5 ประเทศ ได้ แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ ไทย และเวียดนาม โดยประเทศ สมาชิกอาเซียน มีลกั ษณะการผลิตยานยนต์ และตลาดในประเทศที่แตกต่างกัน ซึง่ สามารถจัดกลุม่ ได้ เป็ น 2 กลุม่ ดังนี ้ กลุม่ ประเทศทีเ่ ป็ นฐานการผลิต กลุม่ ประเทศที่ไม่ได้ เป็ นฐานการผลิต ประเทศสมาชิกอาเซียนมีอตั ราการเติบโตของปริ มาณการผลิตเฉลี่ย (Compound Annual growth Rate: CAGR) เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ด้ วยประเทศสมาชิกอาเซียนมีพื ้นฐานทางเศรษฐกิจที่ไม่ซบั ซ้ อน จึงมีความยึด หยุน่ ในการปรับตัวสูง ผสมผสานกับการดาเนินนโยบายการเงินและการคลังเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ทาให้ สามารถพลิกพื ้น กลับสูร่ ะดับปกติได้ เร็ ว ส่งผลให้ มีการลงทุนในอุตสาหกรรมชิ ้นส่วนฯ ที่เกี่ยวเนื่องกับเครื่ องยนต์และชิน้ ส่วนอื่นๆ ในไทย อย่างต่อเนื่องบริ ษัทข้ ามชาติรายใหญ่ ของโลกที่เข้ ามาตังฐานผลิ ้ ตเพื่อส่งออกในไทย อาทิ Robert Bosch, Denso, Magna, Continental, ZF, Aisin Seiki เป็ นต้ น ด้ วยเหตุนี ้อุตสาหกรรมการผลิตชิ ้นส่วนฯในไทยจึงสามารถตอบสนอง ความต้ อ งการชิ น้ ส่วนฯ ภายในประเทศได้ สมบูร ณ์ ทัง้ ในตลาดเพื่อ การประกอบยานยนต์ (Original Equipment Manufacturer: OEM) และตลาดชิน้ ส่วนฯทดแทนหรื ออะไหล่ยานยนต์ (Replacement Equipment Manufacturer: REM) ทังนี ้ ้ ตลาดชิ ้นส่วนยานยนต์ ภายในประเทศมีสดั ส่วนรวมประมาณ 70-75% จากรายได้ ของอุตสาหกรรมการผลิต ชิ ้นส่วนฯ ในไทย(ที่มา : www.krungsri.com) ปั จจุบนั อุตสาหกรรมชิ น้ ส่วนยานยนต์ ในประเทศไทยสร้ างงานให้ กับแรงงานจานวนกว่า ซึ่งส่วนมากผู้ผลิต ดังกล่าวจะกระจุกตัวอยู่ในเขตอุตสาหกรรมในกรุ งเทพฯ และจังหวัดใกล้ เคียง เช่น สมุทรปราการ ซึ่งพบว่ามีจานวนของ ผู้ผลิตชิ ้นส่วนประกอบตังโรงงานอยู ้ ่มากที่สดุ รองลงมาคือ จังหวัดระยองและจังหวัดอื่นๆ เช่น ฉะเชิงเทรา ชลบุรี เป็ นต้ น โดยโรงงานดังกล่าวมักตังอยู ้ ใ่ กล้ กบั โรงงานผลิตยานยนต์ โดยทัว่ ไปผู้ผลิตชิ ้นส่วนยานยนต์ จะมีตลาดในการจัดจาหน่ายชิ ้นส่วนอยู่ 2 ตลาดหลัก ได้ แก่ 1. ตลาดชิน้ ส่วนเพื่อนาไปใช้ ประกอบยานยนต์ (Original Equipment Market: OEM) โดยผู้ผลิตต้ องผลิต ชิ ้นส่วนยานยนต์ป้อนให้ กับรถยนต์และจักรยานยนต์รุ่นใหม่ๆ สาหรับค่ายยานยนต์ที่เข้ ามาตังฐานการผลิ ้ ตในไทยเพื่อ ประกอบยานยนต์สง่ ออกและจาหน่ายในประเทศ ทังนี ้ ความต้ องการใช้ ชิ ้นส่วนยานยนต์ในกลุม่ นี ้ขึ ้นอยู่กบั ปริ มาณการ ผลิตรถยนต์และรถจักรยานยนต์ 2. ตลาดชิ ้นส่วนทดแทน หรื ออะไหล่ทดแทน (Replacement Equipment Market : REM) เป็ นตลาดชิ ้นส่วน อะไหล่เพื่อการทดแทนชิ น้ ส่วนเดิ มที่เสีย หรื อสึกหรอตามสภาพการใช้ งาน ซึ่งชิน้ ส่วนแต่ละชิ น้ จะมีอายุการใช้ งานที่ แตกต่างกัน ผู้ผลิตที่ทาการผลิตเพื่อป้อนให้ กบั ตลาดทดแทนนี ้มีทงผู ั ้ ้ ประกอบการขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก จึง
28
ทาให้ ชิ ้นส่วนที่ผลิตได้ นนมี ั ้ คณ ุ ภาพที่หลากหลายทังอะไหล่ ้ แท้ อะไหล่ปลอม และอะไหล่เทียม ซึ่งจะทาการจัดจาหน่าย ให้ กบั ศูนย์บริ การอะไหล่ของค่ายยานยนต์ต่างๆ โดยปกติศูนย์บริ การจะมีการจัดเก็บสต็อกอะไหล่ทดแทนไม่มากนัก จะ เน้ นเก็บเฉพาะอะไหล่ที่ใช้ ในการซ่อมยานยนต์บอ่ ยครัง้ เท่านัน้
ด้ านข้ อมูลผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมชิน้ ส่วนยานยนต์ของไทย ปั จจุบนั มีจานวน ผู้ผลิตมากกว่า 2,000 ราย (ที่มา: สถาบันยานยนต์) ผู้ผลิตชิ ้นส่วนฯ Tier-1 เป็ นผู้ผลิตที่มีการผลิตชิ ้นส่วนฯ คุณภาพสูงตามมาตรฐาน ที่กาหนดโดยบริ ษัท ผู้ผลิตยานยนต์เพื่อ ใช้ ในโรงงานประกอบยานยนต์(ตลาดOEM) และบางส่วนยังจาหน่ายในตลาดชิ ้นส่วนฯ ทดแทน (ตลาด REM) ปั จจุบนั มี ผู้ประกอบการจานวน 720 ราย เป็ นทุนข้ ามชาติ 47% ของจานวน ผู้ประกอบการทังหมดในกลุ ้ ่มนี ้ บริ ษัทร่ วมทุน 30% และทุนไทย 23% โดย ผู้ผลิตชิ ้นส่วนฯ Tier-1 ส่วนใหญ่เป็ นผู้ผลิตชิ ้นส่วนรถยนต์คิด เป็ นสัดส่วน 54% จากจานวนผู้ผลิต ชิ ้นส่วนฯ Tier-1 ทังหมดผู ้ ้ ผลิตชิ ้นส่วนรถจักรยานยนต์สดั ส่วน 28% และผู้ผลิตทังชิ ้ ้นส่วนรถยนต์และจักรยานยนต์ สัดส่วน 18%ผู้ผลิตชิ ้นส่วนฯ Tier-2 และTier-3 ส่วนใหญ่เป็ น SME ทุนไทยที่มีการลงทุนวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตใน ระดับต่ากว่าเมื่อเทียบกับผู้ผลิตชิ ้นส่วนฯ Tier-1 จึงเสียเปรี ยบในการเข้ าถึงตลาดเพื่อการประกอบยานยนต์ (ตลาด OEM) ผู้ผลิตชิ ้นส่วนฯ กลุม่ นี ้จึงเป็ นเพียงผู้จดั หาวัตถุดิบ และ/หรื อ ผลิตส่วนประกอบให้ กบั ผู้ผลิตชิ ้นส่วนฯ Tier-1 และ/หรื อ เป็ น ผู้ผลิตชิน้ ส่วนฯ ทดแทนหรื ออะไหล่ ยานยนต์ (ตลาด REM) ปั จจุบนั มีผ้ ปู ระกอบการมากกว่า 1,100 ราย ทาการผลิต ชิน้ ส่วนฯ 2 ประเภทหลัก คือ 1) อะไหล่แท้ คือชิ น้ ส่วนฯหรื อส่วนประกอบที่บริ ษัทยานยนต์ว่าจ้ างให้ ทาการผลิตตาม มาตรฐานที่กาหนด และ 2) อะไหล่เทียม คือชิ ้นส่วนฯที่ผลิตขึ ้นโดยไม่มีการควบคุมมาตรฐานโดยค่ายยานยนต์ (ชิ ้นส่วนฯ มีคณ ุ ภาพต่า กว่าอะไหล่แท้ ) ซึง่ เป็ นชิ ้นส่วนที่เน้ นตลาดระดับล่างเนื่องจากมีราคาถูกกว่า (ที่มา : www.krungsri.com)
29
อุตสาหกรรมชิ ้นส่วนยานยนต์ไทยมีต้นทุนแรงงานค่อนข้ างสูงเมื่ อเทียบกับฐานการผลิตยานยนต์ใหม่ๆ ในอาเซียนอย่าง อินโดนีเซียและเวียดนาม โดยชิ ้นส่วนฯ ส่งออกหลักของไทย อาทิ เครื่ องยนต์ ชุดสายไฟ ตัวถัง กระจก ชุดเกียร์ ยางรถยนต์ รวมทังชิ ้ ้นส่วนฯ ที่ผลิตจากยางพารา ถือได้ ว่ามีศกั ยภาพสูงในการแข่งขันในตลาดโลก โดยอาศัยความได้ เปรี ยบจากการ พัฒนาห่วงโซ่อปุ ทานที่คอ่ นข้ างสมบูรณ์ก่อให้ เกิดการประหยัดต่อขนาด สามารถผลิตชิ ้นส่วนฯที่มีคณ ุ ภาพตามมาตรฐาน โลก และไทยยังมีความได้ เปรี ยบด้ านที่ตงจากการเป็ ั้ นศูนย์กลางภูมิภาคอาเซียน ทาให้ อตุ สากรรมชิ ้นส่วนยานยนต์ไทย เป็ นประเทศศูนย์กลางการผลิตชิ ้นส่วนยานยนต์ของภูมิภาคอาเซียน และเป็ นหนึง่ ใน Global Sourcing ของโลก ทังนี ้ ้ ไทย มีสถานะเป็ นผู้สง่ ออกชิ ้นส่วนฯ ทุกประเภทเป็ นอันดับ 1 ของอาเซียน และเป็ นผู้สง่ ออกชิ ้นส่วนฯ อันดับ 14 ของโลก (เป็ น อันดับ 4 ของโลกในการส่งออกชิน้ ส่วน รถจักรยานยนต์ (ไม่รวมเครื่ องยนต์และยางยานพาหนะ) เป็ นอันดับ 5 ในการ ส่งออกยางยานพาหนะ เป็ นอันดับ 11 ในการส่งออกเครื่ องยนต์ และเป็ น อันดับ 14 ในการส่งออกชิ ้นส่วนรถยนต์ (ไม่รวม เครื่ องยนต์และยางยานพาหนะ)) มีการส่งออกไปยังฐานผลิตยานยนต์ในอาเซียน (โดยเฉพาะมาเลเซีย อินโดนีเซีย และ เวียดนาม) สัดส่วนรวมกัน 28% ของมูลค่าส่งออกชิ ้นส่วนฯ รวมของไทย และมีการส่งออกชิ ้นส่วนฯ ไปยังฐานการผลิตยาน ยนต์ที่สาคัญอื่นๆ ของโลก อาทิ สหรัฐฯ (สัดส่วน 15%) ญี่ปนุ่ (สัดส่วน 8%) เป็ นต้ น โดยรายรับจากการส่งออกมีสดั ส่วน ประมาณ 30-35% ของรายรับรวมของอุตสาหกรรมการผลิตชิ ้นส่วนฯในไทยแบ่งเป็ นการส่งออกชิ ้นส่วนฯเพื่อประกอบยาน ยนต์ (OEM) สัดส่วน 80-85%ของมูลค่าส่งออกชิ ้นส่วนยานยนต์ของไทย และชิ ้นส่วนฯ ทดแทน (REM) สัดส่วน15-20% (ที่มา : www.krungsri.com) แนวโน้ มการแข่งขันทางเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมยานยนต์ในตลาดโลกได้ มาถึงจุดเปลี่ยนภายใต้ กระแส อนุรักษ์ สงิ่ แวดล้ อม การประหยัดพลังงาน และการลดภาวะโลกร้ อน โดยที่ตลาดยานยนต์โลกได้ เปลีย่ นแปลงไปสูร่ ถยนต์ที่ มีข นาดเล็ก ลงทาให้ ต้อ งมองหาฐานการผลิตที่ ใช้ ต้น ทุน ต่ า โดยมีแ นวโน้ ม ที่ ผ้ ูผลิต จะลงทุน พัฒ นารถยนต์ ไฟฟ้ าและ แบตเตอรี่ เพิ่มขึ ้นเป็ นลาดับ อย่างไรก็ตามการพัฒนาอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้ าอย่างเป็ นรูปธรรมยังมีปัญหาเชิงโครงสร้ าง ตังแต่ ้ การ พัฒนาเทคโนโลยีแบตเตอรี่ (ทดแทนการผลิตเครื่ องยนต์สนั ดาป) รวมทังแนวโน้ ้ มพฤติกรรมการใช้ รถยนต์ใน ตลาดเป้าหมายในแถบเอเชียแปซิฟิกและตะวันออกกลางที่คาดว่าจะยังไม่เปลีย่ นสูส่ งั คมรถยนต์ไฟฟ้ าเร็ วนัก ดังนันจึ ้ งคาด ว่าการ พัฒนารถยนต์ไฟฟ้ าจะไม่เปลีย่ นแปลงก้ าวกระโดดเช่นที่เคยเกิดขึ ้นในยุค Eco-car ในอดีต ซึง่ จากการประเมินคาด ว่าอาจกินระยะเวลาไม่ ต่ากว่า 10 ปี กว่ารถยนต์ไฟฟ้ าจะมีบทบาทสาคัญในอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ อุตสาหกรรมเครื่องใช้ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ การส่งออกเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าของไทยในปี 2560 มีมลู ค่า 23,503 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ เติบโต 6.5 % YoY เนื่องจาก เศรษฐกิจประเทศตลาดส่งออกหลัก คือ สหรัฐฯ ยุโรป ญี่ปนุ่ และจีน (สัดส่วนส่งออกรวมกัน 47% ของมูลค่าการส่งออก
30
เครื่ องใช้ ไฟฟ้ าทังหมด) ้ ฟื น้ ตัวต่อเนื่อง โดยเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าประเภทหลักที่สง่ ออกได้ เพิ่มขึ ้น อาทิ ตู้เย็น มูลค่า 1,935 ล้ าน ดอลลาร์ สหรัฐฯ (+2.7% YoY) (+14% YoY) เครื่ องซักผ้ า มูลค่า 1,600 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ (+39.4 % YoY) โทรทัศน์ มูลค่า 2,855 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ (+0.7 % YoY) วิทยุ มูลค่า 520 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ (+2.0% YoY) และเครื่ องใช้ ไฟฟ้ า อื่นๆ (เช่น พัดลม ไมโครเวฟ เครื่ องทาน ้าอุ่น เป็ นต้ น ) มูลค่ารวม 10,859 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ (+10.1 YoY) ส่วนการ ส่งออกเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าที่ลดลง คือ เครื่ องปรับอากาศ มูลค่า 4,824 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ (-1.0%YoY) และคอมเพรสเซอร์ มูลค่า 911 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ (-5.6% YoY) ตลาดรวมเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าในประเทศปี 2560 หดตัวประมาณ 9.2% ในเชิงมูลค่า และมียอดจาหน่าย 14.7ล้ าน หน่วย แต่มีมลู ค่าใกล้ เคียงกับปี ก่อน เนื่องจากอุณหภูมิที่ลดต่า กว่าปี ก่อน และผลจากการเร่ งซื ้อเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าทาความ เย็นไปแล้ วก่อนหน้ าในช่วงเกิดปรากฏการณ์ El Nino ในช่วงปี 2558-2559 ทาให้ ยอดจาหน่ายเครื่ องปรับอากาศและ คอมเพรสเซอร์ ลดลงมาก (-13.9% YoYและ -9.8% YoY ตามลาดับ) ขณะที่ยอดจาหน่ายเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าอื่นๆ อาทิ ตู้เย็น โทรทัศน์ หม้ อหุงข้ าว เครื่ องซักผ้ า เป็ นต้ น หดตัว 6.1% YoY ตามภาวะตลาดอสังหาริ มทรัพย์ที่ยงั ซบเซา ปริ มาณการผลิตเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าของไทยในปี 2561 มีแนวโน้ มหดตัว 1-3% YoY แต่จะกลับมาขยายตัว 3-5% ต่อ ปี ในปี 2562-2563 โดยการ ส่ง ออกเครื่ อ งใช้ ไฟฟ้ าคาดว่า จะขยายตัว ต่อ เนื่ อ งตามทิ ศ ทางเศรษฐกิ จ ประเทศคู่ค้ า โดยเฉพาะในภูมิภาคอาเซียน (สัดส่วนส่งออก 22% ของมูลค่าส่งออก เครื่ องใช้ ไฟฟ้ าทังหมด) ้ ส่วนตลาดเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าใน ประเทศจะทยอยปรับดีขึ ้นนับจากปี 2562 (กระเตื ้องขึ ้นช้ ากว่าคาด เนื่องจากตลาดเครื่ องปรับอากาศยังมี ข้ อจากัดการ เติบโตจากสภาพอากาศที่ไม่เอื ้อ) ทังนี ้ ้ ปั จจัยหนุนการขยายตัวของตลาดในปี 2562-2563 มาจากภาวะเศรษฐกิจฟื น้ ตัว และกาลังซื ้อภาคครัวเรื อน ปรับดีขึ ้นภายหลังจากภาระหนี ้โครงการรถคันแรกทยอยครบกาหนด ตลาดอสังหาริ มทรั พย์ที่ ทยอยฟื น้ ตัว ทาให้ มีความต้ องการเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าเพิ่มขึ ้น และผู้บริ โภคบางส่วนจะมีความต้ องการเปลี่ยนเครื่ องใช้ ไฟฟ้ า ใหม่ตาม Replacement cycle ประกอบกับคาดว่าผู้ผลิตและผู้ค้าเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าจะมีกลยุทธ์ การตลาดช่วยกระตุ้นการ ตัดสินใจซื ้อของผู้บริ โภคเพิ่มขึ ้น หลังจากตลาดซบเซาต่อเนื่องมาหลายปี อย่างไรก็ตามการแข่งขันด้ านการตลาดที่รุนแรง อาจเป็ นภาระต้ นทุนและบัน่ ทอนอัตรากาไรของผู้ประกอบการ มูลค่าส่งออกเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าจะเติบโตต่อเนื่องเหตุจากเศรษฐกิจโลกฟื น้ ตัวดี ประกอบกับไทยเป็ นฐานการส่งออก เครื่ องใช้ ไฟฟ้าประเภททาความเย็นที่สาคัญของโลก และบริ ษัทข้ ามชาติรายใหญ่ยงั มีแผนขยายการลงทุนในไทยต่อเนื่อง เพื่อเป็ นฐานการผลิตและส่งออกในระยะปานกลาง - ยาว อุตสาหกรรมเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าของไทยยังมีโอกาสเติบโตอีกมาก เนื่องจากความต้ องการเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าที่ใช้ เทคโนโลยีขนสู ั ้ งแนวโน้ มมากขึ ้น สอดคล้ องกับการพัฒนาพื ้นที่โครงการระเบียง เศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) ที่ภาครัฐให้ ความสาคัญกับอุตสาหกรรมใหม่แห่งอนาคต หรื อ อุตสาหกรรม 4.0 จะช่วย ดึงดูดเม็ดเงินลงทุนพัฒนานวัตกรรมการผลิตเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าเข้ ามาลงทุนในไทยเพิ่มขึ ้น โดยเฉพาะเครื่ องใช้ ไฟฟ้ ากลุม่ ที่ ไทยมีศกั ยภาพในการแข่งขันสูง อาทิ กลุม่ เครื่ องทาความเย็นและกลุม่ เครื่ องใช้ ไฟฟ้ าในครัวเรื อน (White goods) (ที่มา: www.krungsri.com) อุตสาหกรรมชิน้ ส่ วนเครื่องจักรกลเกษตร ปั จจุบนั มีผ้ ผู ลิตหลักในประเทศเพียง 2 ราย ที่เหลือเป็ นรายเล็กที่นาเข้ าชิน้ ส่วนสาเร็ จมาประกอบในประเทศ ผู้ผลิตภายในประเทศมีสดั ส่วนการตลาดประมาณ ร้ อยละ 70 ของปริ มาณการขายและที่เหลือตลาดเป็ นของผู้นาเข้ า (รวม การนาเข้ ารถใหม่และรถมือสอง) และหากประเมินโครงสร้ างตลาดจาแนกตามภาค พบว่า ภาคอีสานเป็ นตลาดที่ใหญ่ ที่ สุด คิ ด เป็ นสัด ส่ว นตลาดประมาณ ร้ อยละ 60 ของการขายรถแทรกเตอร์ ทัง้ หมด (ที่ ม า : ส านัก งานเศรษฐกิ จ อุตสาหกรรม)
31
อุตสาหกรรมเครื่ องจักรกลการเกษตร เครื่ องจักรกลการเกษตรมีมลู ค่านาเข้ าเป็ น 2,918 ล้ นบาท โดยสินค้ าที่มี การนาเข้ าสูงสุด ได้ แก่ เครื่ องบารุ งรักษาและส่วนประกอบ ซึ่งมีมลู ค่าการนาเข้ าอยู่ที่ 1,747 ล้ านบาท และมีมลู ค่าการ ส่งออกเป็ น 2,769 ล้ านบาท โดยสินค้ าที่มีมูลค่าการส่งออกสูงสุด ได้ แก่ แทรกเตอร์ และส่วนประกอบ ซึ่งมีมูลค่าการ ส่งออกอยู่ที่ 957 ล้ านบาท เครื่ องจักรกลการเกษตรมีแนวโน้ มการนาเข้ าเพิ่มสูงขึ ้นเรื่ อยๆ ทั ง้ ในส่วนของเครื่ องจักรกล การเกษตรราคาไม่แพงจากจีน ที่จบั ตลาดเกษตรกรรายย่อย รวมถึงเครื่ องจักรขนาดใหญ่เพื่อรองรับโครงการเกษตรแปลง ใหญ่หรื อเกษตรกรรายใหญ่ที่ใช้ ในพื ้นที่ของตนเอง รวมถึงผู้ให้ บริ การรับจ้ างเครื่ องจักรการเกษตรกับเกษตรกรทัว่ ไป (ที่มา : ศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมเครื่ องจักรกล, สิงหาคม 2561) พร้ อมกันนี ้ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย คาดว่าในอนาคตสัดส่วนการส่งออกมีแนวโน้ มจะลดลง เนื่องจากผู้ผลิตเครื่ องจักรกลการเกษตรไทยออกไปขยายการ ลงทุนในอาเซียนมากขึ ้น อาทิ เมียนมา สปป.ลาว กัมพูชา อินโดนีเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ ล่าสุดพบว่ามีผ้ ผู ลิตราว 10 ราย ออกไปลงทุนในต่างประเทศแล้ ว ทังนี ้ ้ เครื่ องจักรกลการเกษตรไทยที่ได้ รับความนิยม อาทิ เครื่ องสีข้าวที่ใช้ ในโรงงานขนาด ใหญ่ เครื่ องสีข้าวขนาดเล็กที่ใช้ ในครัวเรื อน รวมไปถึงเครื่ องเก็บเกี่ยวอ้ อยและเครื่ องเก็บเกี่ยวมันสาปะหลัง (ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ, 19 ก.พ. 2561) ประเทศไทยส่งออกเครื่ องจักรกลการเกษตรไปยังต่างประเทศกว่า 40 ประเทศทัว่ โลก ตามนโยบายส่งเสริ ม อุตสาหกรรมสินค้ าเครื่ องจักรกลการเกษตรไทย เนื่องจากเป็ นอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศ และสร้ างมูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรมให้ สงู ขึ ้น สินค้ าเครื่ องจักรกลการเกษตรออกที่สาคัญได้ แก่ แทรกเตอร์ เดิน ตาม รองลงมาคือ เครื่ องสีและขัดธัญพืช แทรกเตอร์ เพื่อการเกษตร เครื่ องสูบน ้า และเครื่ องเกี่ยวนวดข้ าว เป็ นต้ น สินค้ า ดังกล่าวเดิมทีเป็ นสินค้ าที่กลุม่ ประเทศในอาเซียนต้ องการ เพื่อใช้ ทานาและทาไร่ธญ ั พืช แต่กลุม่ เป้าหมายใหม่ที่มีความ สนใจในสินค้ าเครื่ องจักรกลเกษตรไทย อาทิ ประเทศในแถบแอฟริ กา ที่ภาครัฐมีนโยบายพัฒนาการเกษตรในประเทศ คล้ ายคลึงกับการทาเกษตรของไทย จึงให้ ความสนใจในนวัตกรรมของเราเป็ นอย่างมาก ขณะเดียวกันประเทศเพื่อนบ้ าน อย่างกัมพูชามีสภาพเศรษฐกิจที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ผู้บริ โภคระดับบนเริ่ มหันมาสนใจสุขภาพมากขึ ้น ต้ องการสินค้ า เพื่อสุขภาพ โดยเฉพาะผักและผลไม้ ที่ปลอดสารพิษ ประกอบกับนโยบายภาครัฐยังส่งเสริ มให้ มีการสร้ างมูลค่าเพิ่มให้ สิน ค้ า เกษตร เพื่ อขจัด ปั ญ หาความยากจน ท าให้ ภาคเกษตรต้ อ งการเครื่ อ งจัก รกลและอุป กรณ์ ท างการเกษตรที่ มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น (ที่มา : กรมส่งเสริ มการค้ าระหว่างประเทศ) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เปิ ดเผยว่า กลุ่มเครื่ องจักรกลการเกษตรเตรี ยมลงนามข้ อตกลง (MOU) 2 ฉบับ โดยฉบับแรกเพื่อจัดตังศู ้ นย์ทดสอบและพัฒนานวัตกรรมปั ญญาประดิษฐ์ เครื่ องจักรกลการเกษตรกับสถาบันวิจัย วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) และฉบับที่ 2 จะลงนามร่ วมกับ วว.และสมาคมไอโอทีแห่งประเทศไทย เพื่อพัฒนาและเสริ มสร้ างนวัตกรรมปั ญญาประดิษฐ์ เครื่ องจักรกลการเกษตร ทังนี ้ ้ กลุ่มเครื่ องจักรกลการเกษตรนับเป็ น ธุรกิจของคนไทยเป็ นส่วนใหญ่ผ้ ปู ระกอบการมีความกังวลในเรื่ องของการส่งออกสินค้ าไปยังต่างประเทศในอนาคต เช่น เครื่ องเกี่ยวนวดข้ าว รถไถเดินตาม ฯลฯ อาจต้ องได้ รับมาตรฐานสากลก่อนการส่งออก ซึ่งปั จจุบนั การรับรองมาตรฐาน คุณภาพผลิตภัณฑ์เครื่ องจักรกลการเกษตรจาเป็ นต้ องผ่านการทดสอบจากศูนย์ทดสอบที่ได้ รับการยอมรับโดยเฉพาะจาก ANTAM ซึ่งจัดตังศู ้ นย์การทดสอบที่ประเทศจีน ทาให้ ผ้ ปู ระกอบการไทยมีต้นทุนสูงเพราะต้ องนาส่งสินค้ าจากไทยไป ทดสอบที่จีน ดังนันจึ ้ งต้ องการผลักดันให้ เกิดการจัดตังศู ้ นย์ทดสอบฯ ในไทยขึ ้น (ที่มา : MGR Online, 17 ส.ค. 2561) 2.2.3 แนวโน้ มเศรษฐกิจในปี 2562 เศรษกิจในปี ้ 2562 สงครามการค้ าจะมีผลกระทบกับภาคส่งออกของไทยมากขึ ้นกว่าในปี 2561 และคาดว่าจะมี ผลกระทบต่อมูลค่าการค้ าของไทยราว 3.1 พันล้ านดอลลาร์ ฯ และยังมีความไม่แน่นอนในประเด็น Brexit สถานการณ์การ
32
คลังของอิตาลี และความผันผวนของค่าเงินในกลุม่ ตลาดเกิดใหม่อย่างเช่น ตุรกี อินโดนีเซีย ฟิ ลปิ ปิ นส์ และอินเดีย ซึง่ จะ ทาให้ เกิดความผันผวนในตลาดการเงินโลกต่อเนื่อง ประเด็นสงครามการค้ าโลกเป็ นตัวแปรสาคัญที่กระทบตัวเลขส่งออก ไทยในปี 2562 ทาให้ เห็นตัวเลขการส่งออกร้ อยละ 4.5 เทียบกับร้ อยละ 7.7 ในปี 2561 และคาดว่าเศรษฐกิจไทยจะมีอตั รา การเติบโตที่ประมาณร้ อยละ 4.0 (ที่มา : ข่าวประชาสัมพันธ์ (KBankPR) 11 ธ.ค. 2561) ด้ านปั จจัยที่ต้องให้ ความสาคัญ อย่างต่อเนื่อง ประกอบด้ วย การฟื น้ ตัวของเศรษฐกิจยุโรป ญี่ปนุ่ และจีน ที่อาจไม่เป็ นไปตามคาดหมาย, ความผันผวนของ ตลาดเงินตลาดทุนจากความแตกต่างของนโยบายการเงิน การคลัง ในประเทศเศรษฐกิจแกนหลักของโลก รวมทังแนวโน้ ้ ม การปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ เป็ นต้ น (ที่มา : สภาอุตสาหกรรมเศรษฐกิจไทย) การจาหน่ายชิ ้นส่วนฯ ในประเทศปี 2561-2562 จะเติบโตในระดับ ใกล้ เคียงกันที่ 8-12% ต่อปี ตามทิศทางความ ต้ องการชิ ้นส่วนเพื่อใช้ ในการประกอบยานยนต์ (OEM) ที่เติบโตดีตามปริ มาณการผลิตยานยนต์ในประเทศโดยการผลิต รถยนต์ในปี 2562จะเติบโต 5-8% เนื่องจากการฟื น้ ตัวของเศรษฐกิจในประเทศและการเร่ งผลิตตามแผนการส่งเสริ มการ ลงทุน Eco-car ส่วนการผลิตรถจักรยานยนต์ในปี 2561 จะขยายตัวชะลอลงอยู่ที่ 3-5% เนื่องจากกาลังซื ้อผู้บริ โภคปรับดี ขึ ้นจากการปรับขึ ้นค่าแรงขันต ้ ่าทัว่ ประเทศ นโยบายช่วยเหลือผู้มีรายได้ น้อยของรัฐบาลผ่านโครงการรัฐสวัสดิการ และการ กระตุ้นเศรษฐกิจผ่านการลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ นอกจากนี ้ยังมีปัจจัยหนุนเพิ่มเติมจากเม็ดเงินสะพัดในช่วงหา เสียงเลือกตัง้ (คาดว่าจะมีการเลือกตังในไทยช่ ้ วงต้ นปี 2562) และการผลิตรถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่ที่มีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้น ตามการย้ ายฐานการผลิต เพื่อส่งออกขอุการเพิ่มขึ ้นในอัตราเร่งของ จานวนรถยนต์สะสมที่มีอายุมากกว่า 5 ปี (รถยนต์ใน โครงการรถคันแรกมีอายุครบ 5 ปี ) ซึ่งเป็ นกลุม่ เป้าหมายที่ต้องเปลี่ยนชิ ้นส่วนฯ เพิ่มขึ ้นเพื่อบารุ ง /ซ่อมแซมตามอายุและ ระยะทางการใช้ งาน การส่งออกชิ ้นส่วนฯมีแนวโน้ มเติบโตดีตอ่ เนื่องตามความต้ องการชิ ้นส่วนฯที่เพิ่มขึ ้นจากการกระจายฐานการผลิต อื่นในภูมิภาคอาเซียนและการย้ ายฐานเข้ ามาลงทุนในไทยเพิ่มขึ ้นของผู้ผลิตชิ ้นส่วนฯต่างชาติโดยเฉพาะญี่ปนซึ ุ่ ่งมีความ พร้ อมด้ านเงินทุนเทคโนโลยีและเป็ นโครงข่ายเชื่อมโยงกับฐานการผลิตยานยนต์ทวั่ โลกส่งผลให้ อตุ สาหกรรมชิ ้นส่วนฯไทย ยกระดับคุณภาพและเทคโนโลยีการผลิตที่สงู ขึ ้นและสามารถขยายการส่งออกของไทยได้ ตอ่ เนื่องอย่างไรก็ตามผู้ประกอบ การสัญชาติไทยที่มีกว่า 1,100 ราย ส่วนใหญ่เป็ นผู้ผลิตชิ ้นส่วนฯ Tier 2-Tier 3 ซึง่ ผลิตชิ ้นส่วน REM อาจมีความเสี่ยงจาก การ ที่ผ้ ผู ลิตต่างชาติโดยเฉพาะ SME ญี่ปนเข้ ุ่ ามาตังฐานการผลิ ้ ตในไทยและแข่งขันในตลาด REM มากขึ ้น (ที่มา: www.krungsri.com) 5.3 การจัดหาผลิตภัณฑ์ และบริการ 5.3.1 โรงงานและสานักงาน โรงงานและสานักงานของบริ ษัท ตังอยู ้ ่ภายในเขตอุตสาหกรรมโรจนะ ตาบลหนองบัว อาเภอบ้ านค่าย จังหวัด ระยอง ณ ปี 2561 มีเนื ้อที่ 14 ไร่ 149.6 ตารางวา มีอาคารทังหมดจ ้ านวน 8 อาคาร เป็ นอาคารสานักงาน 2 อาคาร ประกอบด้ วยอาคารสานักงานชันเดี ้ ยว และอาคารสานักงาน 3 ชัน้ พร้ อมอาคารโรงงานและคลังสินค้ า 6 อาคาร 5.3.2 กาลังการผลิต บริ ษัทมีกาลังการผลิตรวมในช่วงปี 2559 ถึงปี 2561 ดังนี ้
33
2559 กาลังการผลิต* ปริ มาณการผลิต อัตราการใช้ กาลังการผลิต (ร้ อยละ)
หน่วย: ตัน 2561 2,800 2,200 75.5
2560 2,600 1,500 58
2,700 1,700 63
หมายเหตุ: *กาลังการผลิตของบริษัทคานวณโดยใช้ ปริมาณการใช้ วตั ถุดิบในการผลิตของเครื่องแต่ละขนาดคูณกับจานวนเครื่องโดยอ้ างอิงการ คานวนการผลิตแบบเต็มกาลังความสามารถของเครื่องจักรทุกเครื่อง
จะเห็ น ได้ ว่า ก าลัง การผลิต และปริ ม าณการผลิต ในปี 2561 เพิ่ม ขึน้ จากปี 2559 และ 2560 ตามลาดับ เนื่องจากมีการสัง่ ซื ้อเครื่ องจักรใหม่เพิ่มขึ ้นและสัง่ ซื ้อทดแทนเครื่ องจักรเก่าเพื่อนามาใช้ ผลิตสินค้ าตามคาสัง่ ซื ้อของลูกค้ าที่ เพิ่มขึ ้น ทังนี ้ ้บริ ษัทฯมีแผนพัฒนาปรับปรุ งประสิทธิภาพเครื่ องจักรอยู่เสมอ และพยายามปรับเปลี่ยนกาลังการผลิตและ ปริ มาณการผลิตให้ สอดคล้ องกับความต้ องการของลูกค้ าในทุกๆปี จึงทาให้ ไม่สง่ ผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือและความ พึงพอใจจากลูกค้ า 5.3.3 ขัน้ ตอนการผลิต บริ ษัทเป็ นผู้รับจ้ างผลิตชิ ้นส่วนอลูมิเนียมและสังกะสีตามคาสัง่ ซื ้อของลูกค้ า โดยบริ ษัทจะรับแบบหรื อตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์ และปริ มาณการผลิตเพื่อตรวจสอบความสามารถในการออกแบบแม่พิมพ์และความเป็ นไปได้ ในการผลิตสินค้ า ตามแบบที่กาหนด จากนันบริ ้ ษัทจะวิเคราะห์ต้นทุนในการออกแบบแม่พิมพ์ ต้ นทุนการจัดทาแม่พิมพ์ และต้ นทุนการผลิต แล้ วนาส่งใบเสนอราคาชิ ้นงาน และ/หรื อ แม่พิมพ์ให้ ลกู ค้ าพิจารณา โดยขึ ้นอยู่กบั ลักษณะการว่าจ้ าง เมื่อลูกค้ าอนุมตั ิใบ เสนอราคา บริ ษัทจะนาแบบหรื อตัวอย่างผลิตภัณฑ์มาออกแบบแม่พิมพ์โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อทาการคานวณและ ขึ ้นรูปแม่พิมพ์เป็ นภาพ 3 มิติ แล้ วจึงส่งให้ บริ ษัทผู้ผลิตแม่พิมพ์ทาการเสนอราคามาให้ กบั บริ ษัท ภายหลังจากการคัดเลือก บริ ษัทผู้ผลิตแม่พิมพ์แล้ วทางบริ ษัทผู้ผลิตแม่พิมพ์จะใช้ ระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในการผลิตแม่พิมพ์ จากนันทางบริ ้ ษัท จะมีการตรวจสอบแม่พิมพ์ร่วมกับลูกค้ าโดยการทดลองฉี ดชิน้ งานด้ วยแม่พิมพ์ดงั กล่าวและนาชิ น้ ส่วนที่ผลิตได้ มาวัด ขนาดด้ วยเครื่ องวัด 3 แกน (CMM: Co-ordinate Measuring Machine) และนาชิ ้นงานที่ผา่ นการตรวจสอบไปส่งให้ ลกู ค้ า ตรวจสอบคุณภาพ และทดลองนาไปประกอบกับชิ ้นงานส่วนอื่นๆ เมื่อชิ ้นงานดังกล่าวผ่านการพิจารณาจากลูกค้ าแล้ วทางฝ่ ายขายและการตลาดจะติดต่อลูกค้ าเพื่อขอรับใบสัง่ ซื ้อ และแผนการจัดส่งสินค้ า โดยปกติลกู ค้ าจะสัง่ ซื ้อสินค้ าและกาหนดระยะเวลาในการจัดส่งสินค้ าล่วงหน้ าเป็ นระยะเวลา 1 เดือน และลูกค้ าจะวางแผนการผลิตล่วงหน้ า 1 ปี เพื่อให้ บริ ษัทสามารถวางแผนการผลิตและสัง่ ซื ้อวัตถุดิบ และเตรี ยม อุปกรณ์ตา่ งๆได้ อย่างเหมาะสมและสอดคล้ องกับความต้ องการของลูกค้ า
34
การผลิตชิ ้นงานของบริ ษัท มีขนตอนดั ั้ งต่อไปนี ้ จัดเตรียมวัตถุดิบ
ฉีดขึ ้นรูป
ตรวจสอบคุณภาพชิ ้นงานขึ ้นรูป
การกลึง เจาะ และการเจียรผิวด้ วย เครื่องจักร
ตรวจสอบคุณภาพชิ ้นงาน
ตกแต่งชิ ้นงาน
ตรวสอบคุณภาพ ชิ ้นงานสาเร็จ
บรรจุ หีบห่อ
การคัดเลือกและจัดเตรี ยมวัตถุดิบ บริ ษัทจะทาการคัดเลือกผู้จาหน่ายวัตถุดิบตามมาตรฐานวัต ถุดิบที่ลูกค้ า ซึ่งเมื่อบริ ษัทได้ รับวัตถุดิบจากผู้ จาหน่ายแล้ วจะทาตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบเปรี ยบเทียบกับใบรั บประกันคุณภาพวัตถุดิบที่ได้ รับจากผู้จัดจาหน่าย วัตถุดิบ เพื่อให้ มนั่ ใจว่าวัตถุดิบดังกล่าวมีคุณสมบัติเ หมาะสมกับการผลิตชิน้ งานดังกล่าว จากนันจึ ้ งนายอดสัง่ ซื ้อจาก ลูกค้ าไปคานวณปริ มาณวัตถุดิบที่ต้องสัง่ ซื ้อและวางแผนการผลิตต่อไป การฉีดขึ ้นรูปผลิตภัณฑ์ พนักงานประจาเครื่ องฉีดจะทาการติดตังแม่ ้ พิมพ์และเตรี ยมเครื่ องจักรให้ พร้ อมใช้ งาน จากนันจะน ้ าวัตถุดิบมา เข้ าเตาหลอมโดยใช้ ก๊าซธรรมชาติเป็ นเชื ้อเพลิงในการให้ ความร้ อน เพื่อหลอมให้ เป็ นของเหลวตามอุณภูมิที่กาหนด แล้ ว เครื่ องฉีดจะทาการฉีดน ้าโลหะที่หลอมเหลวแล้ วเข้ าไปในแม่พิมพ์ด้วยแรงดันสูง แล้ วทาการลดอุณหภูมิแม่พิมพ์เพื่อให้ ชิ ้นงานแข็งตัว เมื่อชิ ้นงานเย็นตัวลงแล้ วพนักงานประจาเครื่ องฉีดจะนาชิ ้นงานออกจากแม่พิมพ์และตกแต่งชิ ้นงานเบื ้องต้ น โดยตัดเศษครี บและทางเดินน ้าโลหะสาหรับการฉีดขึ ้นรู ปที่เกินออกแล้ วนาเศษดังกล่าวไปหลอมในเตาหลอมเพื่อนามา ผลิตใหม่อีกครัง้ การตรวจสอบคุณภาพชิ ้นงานขึ ้นรูป พนักงานควบคุมคุณภาพสินค้ าจะทาการสุม่ ตรวจสอบขนาดและลักษณะภายนอกของชิ ้นงานให้ เป็ นไปตามที่ กาหนดโดยมีการกาหนดตาแหน่งสาคัญที่ต้องตรวจเช็คสาหรับแต่ละชิ ้นงานด้ วยเครื่ องมือต่างๆที่กาหนด โดยจะมีการสุม่ ตรวจเช็คทุก 1-2 ชัว่ โมง การตกแต่งชิ ้นงาน ชิ ้นงานที่ผา่ นการตรวจสอบจะถูกนามาตกแต่งโดยพนักงาน ซึง่ จะมีการตกแต่งผิวชิ น้ งาน ขัดตกแต่งขอบ เจาะรู และตกแต่งผิวชิ ้นงาน ตามวิธีการทางานที่กาหนดสาหรับแต่ละชิ ้นงาน ทังนี ้ ้บริ ษัทอาจทาการว่าจ้ างบริ ษัทภายนอกในการ ตกแต่งชิ ้นงาน หากกาลังการผลิตของบริ ษัทไม่เพียงพอ หรื อมีลกั ษณะของการตกแต่งที่เครื่ องมือของบริ ษัทไม่สามารถทา ได้ เป็ นต้ น
35
การตรวจสอบคุณภาพชิ ้นงานตกแต่ง ในการตรวจสอบนี ้จะมีพนักงานควบคุมคุณภาพสินค้ าสุม่ ตรวจเช็คตามข้ อกาหนดในการตรวจเช็คผลิตภัณฑ์แต่ ละชนิด ทังในด้ ้ านของรู ปแบบชิน้ งานและพื ้นผิวตามที่กาหนด โดยจะมีการทาคู่มือระบุตาแหน่งที่ต้องตรวจเช็คและวิธี ตรวจเช็คของแต่ละชิ ้นงานตามที่กาหนด ซึง่ จะมีการสุม่ ตรวจเช็ คทุก 1-2 ชัว่ โมง และมีการตรวจสอบความเรี ยบร้ อยจาก การตกแต่งทุกชิ ้นอีกครัง้ การกลึง เจาะ และเจียรผิวด้ วยเครื่ องจักร (Machining) เนื่องจากชิ น้ งานบางส่วนจาเป็ นจะต้ องมีการตกแต่งด้ วยเครื่ องจักรเพื่อให้ มีความแม่นยาเป็ นพิเศษและได้ คุณภาพตามที่ลกู ค้ ากาหนด บริ ษัทจะนาชิ น้ งานที่ได้ รับการตกแต่งโดยพนักงานและได้ มีการตรวจสอบคุณภาพแล้ วมา ตกแต่ง เจาะ และเจียรผิวด้ วยเครื่ องกลึงที่ควบคุมด้ วยคอมพิวเตอร์ (Computer Numerical Control หรื อ CNC) ทังใน ้ แบบ 2 แกน และ 3 แกน ในจุดที่กาหนดตามรูปแบบผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด เพื่อให้ สามารถนาไปประกอบกับชิ ้นงานอื่นตาม แบบที่กาหนดได้ โดยจะมีฝ่ายตรวจสอบคุณภาพทาการสุม่ ตรวจสอบขนาดและลักษณะชิ ้นงานหน้ าเครื่ องจักรทุกชัว่ โมง และมีการตรวจสอบโดยใช้ แท่นยึดกาหนดตาแหน่ง (Jig Gauge) เพื่อตรวจสอบขนาดและตาแหน่งของส่วนที่จะใช้ ประกอบกับชิ ้นส่วนอื่นๆว่าเป็ นไปตามที่กาหนดทุกชิ ้น ทัง้ นี ้ บริ ษั ท อาจท าการว่า จ้ า งบริ ษั ท ภายนอกในการตกแต่ ง ชิ น้ งานด้ ว ยเครื่ อ งจัก ร หากชิ น้ งานบางส่ว น จาเป็ นต้ องได้ รับการตกแต่งด้ วยเครื่ องจักรที่มีความแม่นยาเป็ นพิเศษ หรื อมีลกั ษณะที่ต้องการการตกแต่งที่เครื่ องจักรของ บริ ษัทไม่สามารถดาเนินการได้ หรื อกาลังการผลิตของบริ ษัทไม่เพียงพอ เป็ นต้ น การตรวจสอบคุณภาพชิ ้นงานสาเร็ จ ชิ ้นงานที่ได้ ผา่ นขันตอนการตกแต่ ้ งด้ วยเครื่ องจักรจะได้ รับการสุม่ ตรวจคุณภาพโดยละเอียด โดยใช้ เครื่ องมือวัด 3 แกน และเครื่ องมือต่างๆ ก่อนที่จะส่งไปยังคลังสินค้ าเพื่อบรรจุหีบห่อต่อไป การบรรจุหีบห่อ พนักงานแผนกคลังสินค้ าจะทาการตรวจนับจานวนสินค้ าให้ ตรงกับป้ายสินค้ า แล้ วบรรจุหีบห่อตามที่กาหนด เพื่อเตรี ยมการจัดส่งสินค้ าให้ กบั ลูกค้ าต่อไป โดยบริ ษัทมีมาตรการตรวจสอบต้ นทุนโดยกาหนดนโยบายสาหรั บการพิจารณาสาหรั บรายการสินค้ าที่ขาย ขาดทุน ซึง่ ระบุให้ ฝ่ายบัญชีต้นทุนทาการวิเคราะห์ทกุ สิ ้นงวดไตรมาส และมีการติดตามผลของรายการสินค้ าที่ขายขาดทุน พร้ อมรายงานให้ แก่ผ้ บู ริ หารทุกๆสิ ้นเดือน 5.3.4 การจัดหาวัตถุดิบในการผลิต บริ ษัทเป็ นผู้ผลิตชิ ้นส่วนอลูมิเนียมฉีดขึ ้นรู ปและชิ ้นส่วนสังกะสีฉีดขึ ้นรู ปตามคาสัง่ ซื ้อของลูกค้ า โดยอลูมิเ นียม และสังกะสีซึ่งเป็ นวัตถุดิบของบริ ษัทจะเป็ นอลูมิเนียมอัลลอยและสังกะสีอลั ลอย ซึ่งอลูมิเนียมและสังกะสีซึ่งมีสว่ นผสม ของธาตุอื่นๆ ทาให้ มีลกั ษณะและคุณสมบัติที่แตกต่างกันตามความเหมาะสมของแต่ละชิ ้นงาน ดังนัน้ สัดส่วนการสัง่ ซื ้อ วัตถุดิบจะขึ ้นอยูก่ บั ปริ มาณการสัง่ ซื ้อสินค้ าแต่ละประเภท โดยที่ผา่ นมาชิ ้นงานส่วนใหญ่ที่บริ ษัทได้ รับคาสัง่ ซื ้อเป็ นชิ ้นงาน อลูมิเนียม โดยบริ ษัทมีการสัง่ ซื ้ออลูมิเนียมจากผู้จัดจาหน่ายทังหมด ้ 13 ราย ซึ่งเป็ นผู้จัดจาหน่ายในประเทศทังหมด ้ เนื่องจากบริ ษัทมีนโยบายในการกระจายการสัง่ ซื ้อวัตถุดิบเพื่อป้ องกันความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผู้จดั จาหน่ายรายใดราย หนึง่ จึงได้ กระจายการสัง่ ซื ้อวัตถุดิบจากผู้จดั จาหน่ายครัง้ ละหลายราย โดยปริ มาณการสัง่ ซื ้อแต่ละรายจะแตกต่างกันตาม ราคาขายวัตถุดิบที่ผ้ จู ดั จาหน่ายแต่ละรายเสนอมาซึ่งบริ ษัทจะได้ รับใบเสนอราคาวัตถุดิบจากผู้จดั จาหน่ายแต่ละรายทุก เดือน
36
ในการจัดหาวัตถุดิบนัน้ บริ ษัทจะให้ ความสาคัญกับคุณภาพวัตถุดิบเป็ นอย่างมาก ทังนี ้ ้ วัตถุดิบที่สงั่ ซื ้อจะต้ อง อยูใ่ นระดับมาตรฐานตามที่กาหนดไว้ โดยบริ ษัทจะดาเนินการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบเบื ้องต้ นจากใบรับรองคุณภาพ วัตถุดิบจากผู้จดั จาหน่ายที่มาพร้ อมกับการนาส่งวัตถุดิบในแต่ละครัง้ จากนันบริ ้ ษัทจะตัดชิ ้นส่วนวัตถุดิบไปตรวจสอบว่ามี คุณภาพตามมาตรฐานที่ผ้ จู ดั จาหน่ายแจ้ งไว้ ตามใบรับรองหรื อไม่ โดยมีระยะเวลาการสัง่ ซื ้อสินค้ าประมาณ 1 - 2 วัน ในการคัดเลือกผู้ขายวัตถุดิบนัน้ บริ ษัทจะทาการประเมินผู้ขายวัตถุดิบว่าผ่านเกณฑ์การประเมิ นของบริ ษัท หรื อไม่ แล้ วจึงรวบรวมรายชื่อผู้ที่ผา่ นประเมินไว้ ในรายชื่อผู้ขายวัตถุดิบ จากนัน้ เมื่อจะมีการสัง่ ซื ้อวัตถุดิบดังกล่าว จะทา การเทียบราคาจากผู้ขายวัตถุดิบในรายชื่อที่รวบรวมไว้ อย่างน้ อย 2 ราย แล้ วจึงทาการคัดเลือกผู้ขายวัตถุดิบที่มีราคาและ เงื่อนไขที่ดีที่สดุ โดยบริ ษัทจะทาการประเมินผู้ขายวัตถุดิบทุกปี ปี ละครัง้ 5.3.5 ผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อม บริ ษัทตระหนักถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ ้นต่อสิ่งแวดล้ อมและมีมาตรการในการป้องกันปั ญหามลภาวะต่างๆ เพื่อให้ แน่ใจว่าการผลิตของบริ ษัทจะไม่ก่อให้ เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม โดยดาเนินการตามกฎหมายด้ านสิ่งแวดล้ อม อย่างเคร่งครัดพร้ อมทังยั ้ งได้ ผา่ นการรับรองการจัดการด้ านสิ่งแวดล้ อมของบริ ษัทตามมาตรฐานสากล ISO 14001:2015 ซึง่ ระบบดังกล่าวสามารถบ่งบอกได้ ถึงการบริ หารจัด การด้ านสิ่งแวดล้ อมของบริ ษัทเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การ กาจัดของเสียอันตราย , การบาบัดน ้าเสียก่อนออกจากโรงงาน , การปลดปล่อยมลพิษออกจากโรงงาน เป็ นต้ น จึงเห็นได้ ว่าทางบริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) มีความมุ่งหวังและตระหนักอย่างแท้ จริ งในการดาเนิน กิจการไม่ให้ เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อมรวมถึงชุมชนใกล้ เคียงโดยไม่มีข้อร้ องเรี ยนใด ๆ เกิดขึ ้นจากชุมชนข้ างเคียงเลยใน รอบหลายปี ที่ผ่านมา และทางบริ ษัทยังมีแผนการปรับปรุ งการดาเนินการด้ วนสิ่งแวดล้ อมให้ ดียิ่งขึ ้นในอนาคตเพื่อให้ บริ ษัทสามารถประกอบกิจการไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพและเป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อมอย่างแท้ จริ ง 5.3.6 งานที่ยงั ไม่ ได้ ส่งมอบ แม่พิมพ์สาหรั บผลิตงานเพื่อจาหน่ายให้ กับลูกค้ า โดยมีมูลค่าจ่ายล่วงหน้ า 16,843,144 เนื่องมาจากการทา ข้ อตกลงในการชาระค่าสินค้ ามีการแบ่งจ่ายเป็ นงวด โดยงวดสุดท้ ายคืออนุมตั ิชิ ้นงานเพื่อทาการผลิต
37
6. ปั จจัยความเสี่ยง ปั จจัยความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจของบริ ษัทที่อาจมีผลกระทบต่อการดาเนินงานและผลประกอบการของ บริ ษัทอย่างมีนยั สาคัญ และแนวทางในการป้องกันความเสีย่ ง สามารถสรุปได้ ดงั นี ้ 6.1 ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงลูกค้ ารายใหญ่ บริ ษัทประกอบธุรกิจในลักษณะผลิตสินค้ าตามคาสัง่ ซื ้อของลูกค้ า โดยในปี 2561 บริ ษัทมีลกู ค้ ารายใหญ่ซึ่งมี สัดส่วนยอดขายต่อรายได้ จากการขายรวมมากกว่าร้ อยละ 10 จานวน 3 ราย คิดเป็ นสัดส่วนรายได้ เท่ากับร้ อยละ 47.56 ของรายได้ จากการขายและให้ บริ การทัง้ หมด โดยในปี 2559 ปี 2560 และปี 2561 บริ ษัทมีรายได้ จากกลุ่มลูกค้ าที่มี ยอดขายสูงสุด 10 อันดับแรก คิดเป็ นสัดส่วนร้ อยละ 80.63 ร้ อยละ 83.25 และร้ อยละ 85.32 ของรายได้ จากการขายและ ให้ บริ การทังหมด ้ ทาให้ รายได้ ของบริ ษัทอาจได้ รับผลกระทบหากกลุม่ ลูกค้ ารายใหญ่ดงั กล่าวมีการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ในซื ้อสินค้ าของบริ ษัท อย่างไรก็ตาม กลุม่ ลูกค้ ารายใหญ่ดงั กล่าวได้ มีการซื ้อสินค้ าบริ ษัทอย่างต่อเนื่องมาเป็ นระยะเวลานาน โดยบริษัท มีการประสานงานกับลูกค้ าอย่างสม่าเสมอเพื่อที่จะทราบแนวโน้ มการเปลีย่ นแปลงคาสัง่ ซื ้อสินค้ าจากลูกค้ า ซึ่งลูกค้ าส่วน ใหญ่จะมีการประมาณการณ์ยอดผลิตล่วงหน้ าให้ แก่บริ ษัทเป็ นเวลาประมาณ 1 เดือน จึงทาให้ บริ ษัทสามารถคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงของยอดสัง่ ซื ้อจากลูกค้ าแต่ละรายได้ ในระดับหนึ่ง อีกทัง้ บริ ษัทมีการกาหนดนโยบายด้ านสัดส่วนของ ยอดขายต่อลูกค้ าแต่ละรายต้ องไม่เกินร้ อยละ 30 ของยอดขายรวม เพื่อป้องกันผลกระทบต่อรายได้ หากมีการเปลีย่ นแปลง ยอดผลิตของลูกค้ ารายใหญ่ 6.2 ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบ บริ ษั ทฯ ดาเนินธุ รกิ จ ผลิต ชิ น้ ส่วนเพื่อใช้ เป็ นส่ว นประกอบรถยนต์ รถจัก รยานยนต์ อุปกรณ์ เครื่ องใช้ ไฟฟ้ า เครื่ องจักรกลเกษตรและอื่นๆ ซึ่งต้ องใช้ อลูมิเนียมแท่งเป็ นวัตถุดิบหลักซึ่งโดยคิดเป็ นสัดส่วนของต้ นทุนขายในปี 2561 ประมาณร้ อยละ 33.65ของต้ นทุนขายและให้ บริ การทังหมด ้ โดยในช่วงตังแต่ ้ ปี 2557 ราคาอลูมิเนียมมีความผันผวน เกิดขึ ้น โดยจะเห็นได้ จากราคาอลูมิเนียมในตลาดโลกที่ เพิ่มขึ ้นจาก 1,867ดอลลาร์ สหรัฐฯต่อตัน ในเดือนธันวาคม 2557 เป็ น 2,122 ดอลลาร์ สหรัฐฯต่อตัน ในเดือนธันวาคม 2561 หรื อเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 13.66 ในช่วงเวลาดังกล่าว ราคาอลูมิเนียมระหว่ างเดือนธันวาคม 2557 – เดือนธันวาคม 2561
ที่มา: Monthly world prices of commodities and indices, World Bank
38
ปั จจัยหลักของราคาที่ผนั ผวนเป็ นผลมาจากความต้ องการใช้ อะลูมิเนียมทัว่ โลกมีแนวโน้ มขยายตัวต่อเนื่องกว่าปี ละ 4%CAGR ในช่วงปี 2018-2020 โดยมีการเติบโตของอุปสงค์ในจีนเป็ นปั จจัยสนับสนุนหลัก หากกล่าวถึงโลหะที่นิยม ใช้ กันมากในภาคอุตสาหกรรม แน่นอนว่าคนทั่วไปย่อมนึกถึงเหล็กเป็ นลาดับแรก เนื่องจากเหล็กเป็ นวัสดุที่สามารถ ประยุกต์ใช้ งานได้ หลากหลายและมีราคาที่ ไม่สงู เกินไปนัก อย่างไรก็ตาม ด้ วยคุณสมบัติ ที่โดดเด่นของอะลูมิเนียม ทังน ้ น ้าหนักที่เบากว่าเหล็ก เมื่อเปรี ยบเทียบที่ความ แข็งแรงเท่ากัน และความต้ านทานต่อการกัดกร่ อนที่ระดับสูง ทาให้ อะลูมิเนียมถูกนาไปใช้ ประโยชน์อย่างกว้ างขวางขึ ้นในหลายอุตสาหกรรม ตังแต่ ้ ปี 2011 ความต้ องการใช้ อะลูมิเนียมทัว่ โลกได้ ขยายตัวมากกว่า 40% มาอยู่ที่ 63 ล้ านตันในปี 2017 ซึ่งกว่า 80% ของ ความต้ องการใช้ งานที่มากขึ ้นเป็ นการ เติบโตในจี นเป็ นหลัก ทัง้ นี ้คาดการณ์ ว่าแนวโน้ มการขยายตัวของการก่อสร้ างที่อยู่ อาศัยและอาคารสานักงานในจี น รวมถึงการเพิ่มขึ ้นของปริ มาณการผลิตรถยนต์จีน จะเป็ นปจัจยั สนับสนุนหลักให้ การใช้ อะลูมิเนียมทัว่ โลกขยายตัวได้ 4%CAGR ในช่วงปี 2018-2020 อย่างไรก็ตาม อุปทานส่วนเกินที่เกิดขึ ้นจากการขยายตัวอย่างรวดเร็ วของกาลังการผลิต ในจีน ได้ ผลักดันให้ รัฐบาลจีนออกมาตรการลดกาลังการผลิต ซึง่ อาจทาให้ ราคาอะลูมิเนียมปรับตัวสูงขึ ้น ทังนี ้ ้ จากการที่ราคาอลูมิเนียมปรับเพิ่มขึ ้นหรื อลดลงส่งผลกระทบทางด้ านต้ นทุนการผลิตสินค้ านัน้ บริ ษัทได้ มี การตกลงกับลูกค้ าบางรายให้ สามารถเปลี่ยนแปลงราคาของสินค้ าให้ สอดคล้ องกับราคาวัตถุดิบได้ เมื่อราคาวัตถุดิบ เพิ่มขึ ้นจนถึงระดับตามที่ตกลงไว้ หรื อมีการทบทวนราคาขายเป็ นระยะตามรอบเวลาที่กาหนด อย่างไรก็ตาม บริ ษัทอาจมี ความเสีย่ งในกรณีที่ ไม่สามารถปรับราคาสินค้ าให้ สอดคล้ องกับราคาวัตถุดิบที่เปลีย่ นไปได้ ทงหมด ั้ เช่น ราคาของวัตถุดิบ มิได้ เปลีย่ นแปลงจนถึงระดับที่กาหนดไว้ หรื อต้ นทุนในการผลิตเพิ่มขึ ้นในขณะที่ยงั ไม่ถึงรอบระยะเวลาทบทวนราคาขาย ทังนี ้ ้บริ ษัทได้ มีการติดตามความเคลือ่ นไหวราคาอลูมิเนียมในตลาดอย่างใกล้ ชิด เพื่อป้องกันผลกระทบจากความผันผวน ดังกล่าว ในด้ านของการสัง่ ซื ้ออลูมิเนียมซึ่งวัตถุดิบหลักในการผลิตนัน้ บริ ษัทได้ มีการวางแผนการสัง่ ซื ้อวัตถุดิบล่วงหน้ า ตามแผนการผลิตของบริ ษัท นอกจากนี ้บริ ษัทได้ คดั เลือกผู้จัดจาหน่ายอลูมิเนียมที่มีคุณสมบัติและคุณภาพตามความ ต้ องการในการผลิตไว้ ทงสิ ั ้ ้น 13 ราย เพื่อกระจายการสัง่ ซื ้อในแต่ละงวด เป็ นการลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนวัตถุดิบ ในการผลิต ในความเสีย่ งในด้ านต้ นทุนแรงงานและวัตถุดิบ ตามที่คณะรัฐมนตรี ได้ มีมติให้ ปรับค่าแรงขันต ้ ่าทัว่ ประเทศ โดย มีผลเริ่ มบังคับใช้ ในวันที่ 1 เมษายน 2561 นัน้ ส่งผลกระทบกับต้ นทุนการผลิตและราคาวัตถุดิบที่บริ ษัทจัดซื ้อจากผู้ขายที่
39
จะต้ อ งมี ก ารปรั บ ราคาให้ สูง ขึน้ ตามค่า แรงขัน้ ต่ า ที่ เ พิ่ ม ขึ น้ ภาวะดัง กล่า วส่ง ผลกระทบให้ บ ริ ษั ทได้ รั บ ก าไรน้ อ ยลง ขณะเดียวกันบริ ษัทได้ มงุ่ เน้ นเพิ่มศักยภาพของพนักงานให้ สงู ขึ ้น และได้ คงจานวนพนักงานไว้ เท่าเดิมหรื อลดน้ อยลงเพื่อ ทดแทนอัตราค่าแรงที่เพิ่มขึ ้น 6.3 ความเสี่ยงจากการที่แม่ พิมพ์ ท่ เี ป็ นกรรมสิทธิ์ของลูกค้ าเสื่อมสภาพ เนื่องจากแม่พิมพ์ ที่บริ ษัทใช้ ผลิตชิ น้ งานมีทงั ้ ส่วนที่เป็ นกรรมสิทธิ์ ของบริ ษัทและเป็ นกรรมสิทธิ์ ของลูกค้ าซึ่ง แม่พิมพ์ที่เป็ นกรรมสิทธิ์ของลูกค้ านันต้ ้ องได้ รับความยินยอมจากลูกค้ าก่อนที่จะสามารถทาการซ่อมแซมหรื อจัดทาใหม่ได้ หากแม่พิมพ์ดงั กล่าวเสือ่ มสภาพและบริ ษัทดาเนินการผลิตชิ ้นงานดังกล่าวต่อไปเพื่อรักษาสัมพันธภาพกับลูกค้ าบริ ษัทจะ มีต้นทุนที่เพิ่มขึ ้นจากการตกแต่งชิน้ งานเพิ่มเติมหรื อชิน้ งานที่ไม่ได้ คุณภาพ ซึ่งหากบริ ษัทใช้ เวลาในการซ่อมแซมหรื อ จัดทาแม่พิมพ์ ใหม่ล่าช้ า เนื่องจากลูกค้ าใช้ เวลานานในการอนุมตั ิหรื อผู้รับจ้ างทาแม่พิมพ์จัดทาได้ ช้าก็ตาม จะส่งผล กระทบต่อผลการดาเนินงานของบริ ษัทได้ อย่างไรก็ตาม บริ ษัทได้ กาหนดอายุการใช้ งานของแม่พิมพ์และจะทาการติดต่อ เจรจากับลูกค้ าก่อนที่แม่พิมพ์จะหมดสภาพ เพื่อให้ ลกู ค้ าทราบเงื่อนไขดังกล่าวและประมาณการณ์ระยะเวลาในการจัดทา แม่พิมพ์ใหม่ในส่วนที่ลกู ค้ าอาจมีความล่าช้ าในการอนุมตั ิการจัดทาแม่พิมพ์ใหม่ 6.4 ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผู้บริหารและบุคลากรที่มีประสบการณ์ และความสามารถ ธุรกิจของบริ ษัทเป็ นธุรกิจที่ต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ รวมถึงประสบการณ์ของบุคลากรในการดาเนินงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้ านการออกแบบแม่พิมพ์ ซึ่งจะมีผลกระทบโดยตรงต่อความเป็ นไปได้ ในการผลิต คุณภาพของ ชิ ้นงาน และของเสียที่อาจจะเกิดขึ ้นจากการผลิต ซึง่ ต้ องอาศัยความรู้ และความชานาญเฉพาะด้ านของบุคลการเป็ นหลัก โดยเฉพาะวิศวกรผู้เชี่ยวชาญในด้ านการออกแบบแม่พิมพ์ที่มีประสบการณ์ การสูญเสียบุคลากรเหล่านี ้ย่อมส่งผลกระทบ ต่อการดาเนินงานและความสามารถในการแข่งขันของบริ ษัท ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษัทมีบคุ ลากรที่มีความรู้ และทัก ษะในการออกแบบแม่ พิ ม พ์ จ านวน 10 คน โดยมี ร ะยะเวลาในการท างานกับ บริ ษั ท เฉลี่ ย กว่ า 9 ปี และมี ประสบการณ์ทางานด้ านแม่พิมพ์เฉลีย่ 18 ปี อย่างไรก็ ตาม บริ ษัทมีก ารมอบหมายหน้ าที่และความรั บ ผิดชอบในการท างานให้ แก่ผ้ ูบริ หารท่านอื่น และ พนักงานแต่ละฝ่ ายงานอย่างชัดเจน มีระบบการจัดเก็บข้ อมูลและฐานข้ อมูลที่ดี ตลอดจนมีการแลกเปลี่ยนข้ อมูลข่าวสาร ต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องระหว่างผู้บริ หารและพนักงานบริ ษัทอย่างสม่าเสมอ รวมทังมี ้ การฝึ กอบรมพนักงานให้ เกิดความรู้ ความ เข้ าใจด้ านคุณภาพและมาตรฐานการตรวจสอบต่างๆ และส่งพนักงานเข้ ารับการอบรมภายนอก เป็ นการลงทุนด้ านการ พัฒนาบุคลากรของบริ ษัท ให้ มีความรู้ความเข้ าใจในการดาเนินงานของบริ ษัทเป็ นอย่างดี โดยเฉพาะความรู้ และทักษะใน การออกแบบแม่พิมพ์ ซึง่ บริ ษัทได้ จดั การให้ มีการถ่ายทอดความรู้ทงในหน่ ั้ วยงานและจัดให้ มีการฝึ กอบรมภายนอกบริ ษัท ซึง่ สามารถลดความเสีย่ งจากการพึง่ พิงผู้บริ หารและบุคลากรหลักของบริ ษัทได้ 6.5 ความเสี่ยงจากการควบคุมคุณภาพ คุ ณ ภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ป็ นหนึ่ ง ในปั จจั ย ที่ ส าคั ญ ในอุ ต สาหกรรมการยานยนต์ ที่ ผ้ ู ผลิ ต รถยนต์ แ ละ รถจักรยานยนต์ให้ ความสาคัญเป็ นอย่างมาก เนื่องจากจะมีผลโดยตรงทังด้ ้ านชื่อเสียงและยอดขายของผู้ผลิตรถยนต์และ รถจักรยานยนต์ดงั กล่าวโดยตรง ซึง่ ความผิดพลาดในด้ านคุณภาพนัน้ อาจทาให้ บริ ษัทสูญเสียลูกค้ า และอาจถูกยกเลิก สัญญาหากไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ได้ ตรงตามมาตรฐาน ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานและความน่าเชื่อถือของ บริ ษัทในอุตสาหกรรม ด้ วยเหตุนี ้บริ ษัทจึงได้ ตงเป ั ้ ้ าหมายที่จะลดข้ อผิดพลาดในด้ านคุณภาพของผลิตภัณฑ์โดยกาหนด KPI ด้ านของเสียอย่างชัดเจน อีกทังบริ ้ ษัทได้ เน้ นถึงความสาคัญด้ านคุณภาพโดยได้ ลงทุนในอุปกรณ์สาหรับตรวจสอบ
40
และควบคุมคุณภาพให้ เป็ นไปตามมาตรฐานตามที่ลกู ค้ ากาหนดไว้ เพื่อสร้ างความพึงพอใจให้ กบั ลูกค้ า รวมทังสามารถ ้ สร้ างความน่าเชื่อถือในการดาเนินธุรกิจภายใต้ มาตรฐานสากลอีกด้ วย 6.6 ความเสี่ยงจากการเปิ ดเสรีทางการค้ าระหว่ างประเทศและการเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาล เนื่องจากบริ ษัททาธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับการผลิตและจาหน่ายชิ ้นส่วนยานยนต์ บริ ษัทจึงอาจได้ รับผลกระทบทังใน ้ เชิงบวกและในเชิงลบจากการเปลี่ยนแปลงของภาษี ศลุ กากรและการกีดกันทางการค้ า เช่น การเปลี่ยนแปลงภาษี นาเข้ า ของชิ ้นส่วนยานยนต์จะกระทบความสามารถของบริ ษัทในการแข่งขันกับผู้ผลิตจากต่างประเทศ ยกตัวอย่างเช่น การลด ภาษี นาเข้ าชิ น้ ส่วนอาจทาให้ ค่แู ข่งต่างประเทศสามารถแข่งขันกับบริ ษัททางด้ านราคาและต้ นทุนได้ มากขึ ้น ทังนี ้ ้ ใน ปั จจุบนั รัฐบาลได้ มีการตกลงกับประเทศในอาเซียนเกี่ยวกับการเปิ ดเสรี ของอุตสาหกรรมรถยนต์ภายใต้ สนธิสญ ั ญาการ เปิ ดเสรี ทางการค้ า AFTA ภายใต้ ข้อตกลงสิทธิพิเศษทางภาษี ปกติ (CEPT) ซึ่งการเปิ ดเสรี ภายใต้ ระบบ AFTA ทาให้ ภาษี ศุลกากรสาหรับชิน้ ส่วนรถยนต์ที่ผลิตภายในอาเซียน ลดเหลือร้ อยละ 0 ถึงร้ อยละ 5 และคาดว่าจะทาให้ ประเทศคู่ค้า ภายในอาเซียนใช้ ประโยชน์ทางภาษี นี ้เพื่อเพิ่มการค้ าระหว่างกัน ทังนี ้ ้เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้ มขยายตัวชัดเจนและต่อเนื่องที่ร้อยละ 4.4 และ 4.2 ในปี 2561 และ 2562 ตามลาดับ โดยแรงขับเคลื่อนหลักมาจากการใช้ จ่ายภาคเอกชนทังการบริ ้ โภคอุปโภค และการลงทุนที่มีแนวโน้ มขยายตัวดีขึ ้น จาก การจ้ างงานที่เพิ่มขึ ้นแบบกระจายตัว (broad-based) มากขึ ้น และแรงสนับสนุนจากโครงการลงทุนภาครัฐที่ชดั เจนมาก ขึ ้น ประกอบกับการส่งออกสินค้ าและการท่องเที่ยวยังขยายตัวดี ทังนี ้ ้ รัฐบาลประเมินว่านโยบายกีดกันทางการค้ าอาจทวี ความรุ นแรงขึ ้นและเปลี่ยนแปลงได้ อย่างรวดเร็ ว ซึ่งจะกดดันบรรยากาศการค้ าและการลงทุนระหว่างประเทศ รวมทัง้ ส่งผลกระทบต่อการส่งออกของไทยทังทางตรงและทางอ้ ้ อม จึงต้ องติดตามพัฒนานโยบายและการเจรจาทางการค้ า , ผลกระทบต่อห่วงโซ่การผลิต (supply chain) รวมทังผลกระทบต่ ้ อภาคธุรกิจไทยอย่างใกล้ ชิด 6.7 ปั ญหาด้ านการขาดแคลนแรงงาน ปั จจุบนั สถานประกอบการต่างๆมีการแข่งขันในการจ้ างแรงงานที่มีทกั ษะ ทาให้ บริ ษัทมีความเสี่ยงที่จะขาด แคลนแรงงานในการดาเนินงานหรื อต้ องว่าจ้ างพนักงานในอัตราค่าตอบแทนที่สงู ขึ ้น หรื ออาจจะสูญเสียแรงงานที่มีทกั ษะ ซึ่งจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อการดาเนินงานของบริ ษัท อย่างไรก็ตาม ปั จจุบนั บริ ษัทได้ คานึงถึงสวัสดิภาพของพนักงาน โดยมีสวัสดิการต่างๆ เช่น โรงอาหาร ค่าอาหารกลางวัน ค่าเดินทาง และรถรั บส่งพนักงาน เป็ นต้ น เพื่อป้องกันการ เคลื่อนย้ า ยแรงงานโดยเฉพาะแรงงานที่ใ ช้ ทักษะซึ่ง เป็ นก าลังสาคัญ ของบริ ษัท ทัง้ นี บ้ ริ ษัทยังสามารถว่า จ้ า งสถาน ประกอบการอื่นในการดาเนินงานที่ต้องใช้ แรงงานเป็ นหลัก เช่น งานตกแต่งชิน้ งาน ฉีดพ่นทาสี เป็ นต้ น เพื่อเพิ่มความ ยืดหยุน่ ในการผลิตและลดผลกระทบจากการแข่งขันด้ านแรงงาน 6.8 ความเสี่ยงจากการที่กลุ่มผู้ถอื หุ้นใหญ่ ทาธุรกิจที่ใกล้ เคียงกับธุรกิจของบริษัท เนื่ องจากกลุ่ม ปิ่ นทอง ซึ่ง เป็ นผู้ถือ หุ้น ใหญ่ ข องบริ ษัท ในสัดส่วนร้ อยละ 53.45 ของทุน จดทะเบี ยนชาระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ซึง่ ประกอบด้ วยบริ ษัทที่ดาเนินธุรกิจผลิตชิ ้นส่วนยานยนต์เช่นเดียวกับบริ ษัท ดังนี ้ ชื่อ ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริ ษัท ฟุตาบะ เจทีดบั บลิว(ประเทศไทย) จากัด ผลิตชิ ้นส่วนวัสดุ และส่วนประกอบสาหรับแม่พิมพ์โลหะ บริ ษัท เอ็กซ์เซลเมทัลฟอจจิ ้ง จากัด
ผลิตชิ ้นส่วนยานยนต์ เครื่ องมือกล เครื่ องทุน่ แรงทุกชนิด โดย การปั ม้ ชิ ้นงาน
บริ ษัท จุฑาวรรณ โมลิเทค (ไทยแลนด์) จากัด
ผลิตและจาหน่ายสายไฟแบบม้ วนกลับได้ และสปริ งสาหรับ เครื่ องดูดฝุ่ น
41
ชื่อ บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยลพาร์ ท จากัด
ลักษณะการประกอบธุรกิจ ผลิตชิ ้นส่วนอุปกรณ์เครื่ องใช้ ไฟฟ้ า ชิ ้นส่วนยานยนต์ด้วยการ ขึ ้นรูปด้ วยวิธีอดั ด้ วยความร้ อน (Hot Forging) และอัดแบบ เย็น (Stamping) บริ ษัท จุฑาวรรณ เมทัลแล็บ จากัด ชุบแข็งโลหะทุกชนิด บริ ษัท เอส.เค.เจ เมตัล อินดัสตรีส์ จากัด ผลิตเพลา และลวดสแตนเลส บริ ษัท อาร์ คิเท็ค เมทัล เวิร์ค จากัด ออกแบบและผลิตผลิตภัณฑ์สแตนเลส เนื่องจากบริ ษัทในกลุม่ ปิ่ นทองมีกระบวนการผลิตและใช้ วตั ถุดิบที่แตกต่างจากของบริ ษัท ซึ่งแต่ละกระบวนการ จะมีความเหมาะสมกับประเภทของชิน้ งานที่ต่างกัน และได้ ชิน้ งานที่มีคุณสมบัติแตกต่างกัน จึงไม่มีความเสี่ยงที่กลุ่ม บริ ษัทดังกล่าวจะมีการดาเนินงานที่แข่งขันกับบริ ษัท แต่เป็ นการสนับสนุนกันในด้ านการเปิ ดโอกาสให้ ได้ พบปะลูกค้ าทีเ่ คย ใช้ บริ การกลุม่ บริ ษัทดังกล่าวและมีความสนใจผลิตผลิตภัณฑ์ที่บริ ษัทดาเนินการอยู่ เป็ นการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจให้ กับ บริ ษัทด้ วย
42
7. ข้ อมูลทั่วไปและข้ อมูลสาคัญอื่น 7.1 ข้ อมูลทั่วไป ชื่อบริ ษัทภาษาไทย ชื่อบริ ษัทภาษาอังกฤษ เลขทะเบียนบริ ษัทที่ ลักษณะการประกอบธุรกิจ
: : : :
ที่ตงส ั ้ านักงานใหญ่
:
โทรศัพท์ โทรสาร Homepage ทุนจดทะเบียน ทุนที่เรี ยกชาระแล้ ว มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ
: : : : : :
นายทะเบียนหลักทรัพย์
บริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด เลขที่ 93 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 02-009- 9000 โทรสาร. 02- 009- 9991 บริ ษัท เอ็นพีเอส สยาม สอบบัญชี จากัด 555/5-6 อาคารเอสเอสพีทาวเวอร์ ชัน้ 5 ถนน สุขมุ วิท 63 (เอกมัย) แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 66(2) 711 5300 โทรสาร 66(2) 711 5866 http://www.npssiam.co.th นางสาวชนิดาภา ประดิษฐสิน
ผู้สอบบัญชี
ที่ปรึกษากฎหมาย
บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) Sanko Diecasting (Thailand) Public Company Limited 0107552000235 ประกอบธุรกิจผลิตชิ ้นส่วนอลูมิเนียมฉีดขึ ้นรูปและชิ ้นส่วนสังกะสีฉีดขึ ้น รูป 3/14 หมู่ 2 สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ตาบลหนองบัว อาเภอบ้ านค่าย จังหวัดระยอง 21120 033-010-701-05 033-010-706 www.sankothai.net 199,396,642 บาท 149,494,502.00 บาท 0.50 บาท
43
8. ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น 8.1 จานวนทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้ ว 1) หุ้นสามัญของบริษัท บริ ษัทมีทนุ จดทะเบียนเท่ากับ 199,396,642 บาท (หนึ่งร้ อยเก้ าสิบเก้ าล้ านสามแสนเก้ าหมื่นหกพันหกร้ อยสี่สิบ สองบาทถ้ วน) แบ่งเป็ นหุ้นสามัญจานวน 398,793,284 หุ้น (สามร้ อยเก้ าสิบแปดล้ านเจ็ดแสนเก้ าหมื่นสามพันสองร้ อย แปดสิบสี่ห้ นุ ) มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ เท่ากับหุ้นละ 0.50 บาท (ห้ าสิบสตางค์ ) โดยปั จจุบนั มีทุนจดทะเบียนชาระแล้ วเท่ากับ 149,547,481.50บาท (หนึง่ ร้ อยสีส่ บิ เก้ าล้ านห้ าแสนสีห่ มื่นเจ็ดพันสีร่ ้ อยแปดสิบเอ็ดบาทห้ าสิบสตางค์) 2) ใบสาคัญแสดงสิทธิท่ จี ะซือ้ หุ้นสามัญของบริษัท ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง้ ที่ 1/2555 จัดขึ ้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ได้ มีมติอนุมตั ิการออกและจัดสรร ใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญของบริ ษัท ประเภทระบุชื่อผู้ถือและไม่สามารถโอนเปลี่ยนมือได้ ให้ แก่กรรมการและ พนักงานของบริ ษัท (“ใบสาคัญแสดงสิทธิ ”) จานวน 6,000,000 หน่วย ซึ่งจะทาการจัดสรรพร้ อมกับการเสนอขายหุ้น สามัญแก่ประชาชนทัว่ ไปในครัง้ นี ้โดยมีราคาเสนอขาย 0 บาทต่อหน่วย และใบสาคัญแสดงสิทธิมีอายุ 5 ปี นับแต่วนั ที่ออก และเสนอขายใบสาคัญแสดงสิทธิ โดยใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสทิ ธิซื ้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในราคาใช้ สิทธิ 0.50 บาท ต่อหุ้น (เว้ นแต่จะมีการปรับสิทธิตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนด) มีการกาหนดเงื่อนไขในการใช้ สทิ ธิ โดยนับจากวันที่ ออกและเสนอขายใบสาคัญแสดงสิทธิ 0.5 ปี ผู้ถือใบสาคัญแสดงสิทธิสามารถใช้ สิทธิครัง้ แรกได้ ไม่เกินร้ อยละ 25 ของ ใบสาคัญแสดงสิทธิทงหมดที ั้ ่ผ้ ถู ือใบสาคัญแสดงสิทธิแต่ละคนได้ รับการจัดสรรจากบริ ษัท และในทุก ๆ 12 เดือน หลังจาก การใช้ สทิ ธิครัง้ แรก ผู้ถือใบสาคัญแสดงสิทธิสามารถใช้ สทิ ธิได้ ไม่เกินร้ อยละ 50 ร้ อยละ 75 และ ร้ อยละ 100 ของใบสาคัญ แสดงสิทธิ ทงหมดที ั้ ่ผ้ ถู ือใบสาคัญแสดงสิทธิแต่ละคนได้ รับจัดสรรจากบริ ษัท ตามลาดับ ซึ่งจะทาให้ ทนุ จดทะเบียนและ ชาระแล้ วของบริ ษัทเท่ากับ 113,000,000 บาท ประกอบด้ วยหุ้นสามัญทังหมด ้ 226,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาท ภายหลังจากการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแก่ประชาชนทัว่ ไปในครัง้ นี ้และการใช้ สทิ ธิของใบสาคัญแสดงสิทธิที่ ออกให้ แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัททังหมด ้ ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง้ ที่ 1/2558 จัดขึ ้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2558 ได้ มีมติปรับอัตราการใช้ สทิ ธิในการซื ้อ หุ้นสามัญของใบสาคัญแสดงสิทธิ โดยใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสิทธิ ซื ้อหุ้นสามัญได้ 1.16 หุ้น ราคาใช้ สิทธิ 0.43 บาท เนื่องจากการขายหุ้นเพิ่มทุนให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นเดิม (Right Offering) ในราคาต่ากว่าราคาตลาด ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง้ ที่ 5/2558 จัดขึ ้นเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2558 ได้ มีมติปรับราคาการใช้ สิทธิไป เป็ น 0.50 บาท เนื่องจากพบว่าไม่สามารถกาหนดราคาใช้ สทิ ธิให้ ต่ากว่าราคาพาร์ ได้ ขัดต่อข้ อกาหนดสิทธิเดิม 3) ใบสาคัญแสดงสิทธิท่ จี ะซือ้ หุ้นสามัญของบริษัท (SANKO-W1) ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง้ ที่ 1/2561 จัดขึ ้นเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2561 ได้ มีมติอนุมตั ิการออกและเสนอขาย ใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญของบริ ษัทฯ ครัง้ ที่ 1 (SANKO-W1) จานวนไม่เกิน 99,698,321 หน่วย ให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น เดิมของบริ ษัท (Rights Offering) ในอัตราส่วน 3 หุ้นสามัญเดิมต่อใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย โดยไม่คิดมูลค่า กรณีมี เศษให้ ปัดทิ ้ง โดยมีอตั ราการใช้ สทิ ธิใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย ต่อหุ้นสามัญ 1 หุ้น และด้ วยราคาใช้ สิทธิซื ้อหุ้นสามัญที่ 1 บาทต่อหุ้น (หนึ่งบาท) ผู้ถือใบสาคัญแสดงสิทธิ สามารถใช้ สิทธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิได้ 4 ครัง้ ทังนี ้ ้กาหนดการใช้
44
สิทธิในวันที่ใบสาคัญแสดงสิทธิมีอายุครบ 2 ปี นับแต่วนั ที่ออกใบสาคัญแสดงสิทธิ คือวันที่ 31 ตุลาคม 2561 โดยครัง้ ที่ 1 จะใช้ สทิ ธิในวันที่ 29 เมษายน 2562 ครัง้ ที่ 2 จะใช้ สิทธิในวันที่ 30 ตุลาคม 2562 ครัง้ ที่ 3 จะใช้ สิทธิในวันที่ 29 เมษายน 2563 ครัง้ สุดท้ าย จะใช้ สทิ ธิในวันที่ 30 ตุลาคม 2563 8.2 โครงสร้ างผู้ถอื หุ้นของบริษัท 10 รายแรก ที่มีช่ อื ปรากฏตามสมุดทะเบียนผู้ถอื หุ้น ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561 ประกอบด้ วย ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561 ลาดับ รายชื่อ จานวนหุ้น ร้ อยละ 1
กลุม่ ปิ่ นทอง1/
2 3 4 5 6 7 8 9 10
บริ ษัท ที เอ็นจิเนียร์ ริ่ง คอร์ เปอร์ เรชัน่ จากัด (มหาชน) กลุม่ นายมาซามิ คัตซูโมโต นางสาวบุญธิดา เจริ ญสวัสดิ์ นายจักรณัถเทพ กริ นชัย นางสุพิชฌาย์ วาสประเสริ ฐสุข นายจักรพงษ์ โลหะเจริ ญทรัพย์ นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล นายธีรธร คูหารุ่งโรจน์ อื่นๆ
159,857,530 30,170,000 20,997,074 15,002,000 3,406,900 3,000,000 2,850,300 2,412,576 2,360,000 59,038,583
53.45 10.09 7.02 5.02 1.14 1.00 0.95 0.81 0.79 19.74
รวม
299,094,963
100.00
หมายเหตุ: 1/กลุม่ ปิ่ นทอง อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของกลุม่ ตระกูลปั ทมวรกุลชัย ประกอบธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ธุรกิจเหล็กและโลหะ ธุรกิจ ชิ ้นส่วนสาหรับภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจขนส่งและรถเช่า
45
8.3 รายงานข้ อมูลการถือครองหลักทรัพย์ ของกรรมการ และผู้บริหาร ประจาปี 2561 ข้ อมูลจากการรวบรวมรายชื่อ วันให้ สิทธิผ้ ถู อื หุ้น (Record Date) ลาดับ
รายชื่อกรรมการและ ผู้บริหาร
ตาแหน่ ง
ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561 จานวน(หุ้น)
1
นายมาซามิ คัตซูโมโต
ประธานคณะกรรมการ
20,822,800
ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2560
สัดส่ วน การถือหุ้น (%) 6.96%
จานวน(หุ้น)
22,632,800
หมายเหตุ การได้ มาและจาหน่ ายไป ระหว่ างปี
สัดส่ วน การถือหุ้น (%) 7.57% - ซื ้อในตลาดหลักทรัพย์ วันที่ 15 มีนาคม 2561 จานวน 1,000 หุ้น
- ขายในตลาดหลักทรัพย์ วันที่ 8 มิถนุ ายน 2561 จานวน 250,000 หุ้น - ขายในตลาดหลักทรัพย์ วันที่ 4 ตุลาคม 2561 จานวน 1,600,000 หุ้น - ซื ้อในตลาดหลักทรัพย์ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2561 จานวน 11,000 หุ้น 2 3
นายนาโอะฮิโร ฮามาดา นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล
กรรมการ กรรมการ/กรรมการสรรหาและ
2,916,000 2,412,576
0.97% 0.81%
2,916,000 2,012,576
0.97% _ 0.67% - ซื ้อในตลาดหลักทรัพย์
46
คูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุ นิติภาวะไม่ได้ ถือครอง หลักทรัพย์
ลาดับ
รายชื่อกรรมการและ ผู้บริหาร
ตาแหน่ ง
ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561 จานวน(หุ้น)
ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2560
สัดส่ วน การถือหุ้น (%)
จานวน(หุ้น)
หมายเหตุ
สัดส่ วน การถือหุ้น (%)
พิจารณาค่าตอบแทน
การได้ มาและจาหน่ ายไป ระหว่ างปี
วันที่ 8 มิถนุ ายน 2561 จานวน 250,000 หุ้น - ซื ้อในตลาดหลักทรัพย์ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2561 จานวน 150,000 หุ้น
4 5
นางพูนศรี ปั ทมวรกุลชัย นายยุทธนา แต่งปางทอง
กรรมการ กรรมการ/กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน
-
-
-
- - ซื ้อในตลาดหลักทรัพย์ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2561 จานวน 83,300 หุ้น - ขายในตลาดหลักทรัพย์ วันที่ 14 พฤษภาคม 2561 จานวน 83,300 หุ้น
6
นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์
กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ
-
-
-
-
47
-
ลาดับ
รายชื่อกรรมการและ ผู้บริหาร
ตาแหน่ ง
ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561 จานวน(หุ้น)
ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2560
7
นายนิพนั ธ์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ/ประธาน คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน
-
สัดส่ วน การถือหุ้น (%) -
8
นายสันติ เนียมนิล
-
9
นายชิเกฮิโร คัตซูโมโต
10 11
นายประถม ต่อฑีฆะ นายเกียรติภมู ิ ภูมินนั ท์
12
นางสาวประภาพรรณ ชนะพาล
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ ที่ปรึกษาด้ านการขายและ การตลาด ผู้จดั การฝ่ ายโรงงาน ผู้จดั การฝ่ ายการขายและ การตลาด ผู้จดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน
จานวน(หุ้น)
หมายเหตุ การได้ มาและจาหน่ ายไป ระหว่ างปี
-
สัดส่ วน การถือหุ้น (%) -
-
-
-
-
174,274
0.06%
174,274
0.06%
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
48
-
9.นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล บริ ษัทมีนโยบายในการจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ื อหุ้น ในอัตราไม่ต่ากว่าร้ อยละ 30 ของกาไรสุทธิหลังหักภาษี เงิน ได้ นิติบุคคลและทุนสารองต่างๆ ทัง้ หมดแล้ ว ซึ่งการจ่ายเงินปั นผลนันจะต้ ้ องไม่มีผลกระทบต่อการดาเนินงาน ฐานะ การเงิน สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ ความจาเป็ น ความเหมาะสมอื่นใดในอนาคต และปั จจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องในการ บริ หารงานของบริ ษัท ตามที่คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาเห็นสมควรหรื อเหมาะสม ทังนี ้ ้ การดาเนินการดังกล่าวจะต้ อง ก่อให้ เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผู้ถือหุ้น มติคณะกรรมการบริ ษัทซึง่ พิจารณาเรื่ องการจ่ายเงินปั นผลต้ องนาเสนอที่ประชุมผู้ถือ หุ้นเพื่อขออนุมตั ิ ยกเว้ น กรณีการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาล คณะกรรมการบริ ษัทมีอานาจอนุมตั ิให้ ดาเนินการได้ เมื่อเห็น ว่าบริ ษัทมีกาไรสมควรพอที่จะจ่ายโดยไม่มีผลกระทบต่อการดาเนินงานของบริ ษัท แล้ วรายงานให้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบ ในการประชุมคราวต่อไป
49
10. โครงสร้ างการจัดการ 10.1 คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่ อย คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีจานวนทังสิ ้ ้น 8 ท่าน ซึง่ ประกอบด้ วย ชื่อ – สกุล 1. นายมาซามิ 2. นายนาโอะฮิโร/1 3. นายรัฐวัฒน์ 4. นางพูนศรี /1 5. นายยุทธนา 6. นางสาววลัยภรณ์ 7. นายนิพนั ธ์ 8. นายสันติ หมายเหตุ
1/
คัตซูโมโต ฮามาดา ศุขสายชล ปั ทมวรกุลชัย แต่งปางทอง กณิกนันต์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม เนียมนิล
ตาแหน่ ง ประธานคณะกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ
นางพูนศรี ปั ทมวรกุลชัย และนายนาโอะฮิโร ฮามาดา เป็ นกรรมการที่เป็ นตัวแทนจากกลุม่ ปิ่ นทอง โดยมีนางสาวสกุลทิพย์ ห่อมณีทาหน้ าที่เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริษัท
กรรมการซึง่ มีอานาจลงลายมือชื่อแทนบริ ษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กรรมการผู้มีอ านาจลงนามผูก พันบริ ษัท มี 3 คน คื อ นายมาซามิ คัต ซู โมโต หรื อ นายนาโอะฮิ โร ฮามาดา หรื อ นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล ลงลายมือชื่อร่วมกันเป็ นสองคนและประทับตราสาคัญของบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีจานวนทังสิ ้ ้น 3 ท่าน ซึง่ ประกอบด้ วย ชื่อ – สกุล นางสาววลัยภรณ์ นายนิพนั ธ์ นายสันติ
กณิกนันต์* ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม เนียมนิล
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
หมายเหตุ : *นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์เป็ นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้ ความสามารถเพียงพอที่จะสามารถทาหน้ าที่ในการสอบทาน ความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ โดยสาเร็ จการศึกษา ระดับปริ ญญาตรี สาขาบัญชี และประกาศนียบัตรขัน้ สูงทางการสอบบัญชี และมี ประสบการณ์ทางานในด้ านการเป็ นที่ปรึ กษาทางด้ านบัญชี เช่น เป็ นที่ปรึกษาทางด้ านบัญชีให้ แก่บริ ษัท เอสซี ซิสเต็ม เน็ตเวิร์ค จากัด แ ละ บริษัท ไอซิ่น คลัทช์ ดิสค์ เป็ นต้ น
โดยมีการแต่งตังนางสาวประภาพรรณ ้ ชนะพาล มาทาหน้ าที่เป็ นเลขาคณะกรรมการตรวจสอบ
50
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่ าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีจานวนทังสิ ้ ้น 3 ท่าน ซึง่ ประกอบด้ วย ชื่อ สกุล ตาแหน่ ง นายนิพนั ธ์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน นายยุทธนา แต่ปางทอง กรรมการ นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล กรรมการ โดยมีการแต่งตังนางสาวสกุ ้ ลทิพย์ ห่อมณี มาทาหน้ าที่เป็ นเลขาคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริ หาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีจานวนทังสิ ้ ้น 3 ท่าน ซึง่ ประกอบด้ วย ชื่อ สกุล ตาแหน่ ง นายมาซามิ คัตซูโมโต ประธานคณะกรรมการบริ หาร นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล กรรมการ นายยุทธนา แต่ปางทอง กรรมการ โดยมีการแต่งตังนางสาวพิ ้ มพร ชากิจดี เป็ นเลขานุการคณะกรรมการ 10.2 คณะผู้บริหาร คณะผู้บริ หาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีจานวนทังสิ ้ ้น 6 ท่าน ซึง่ ประกอบด้ วย ชื่อ – สกุล ตาแหน่ ง นายมาซามิ คัตซูโมโต ประธานบริ ษัท นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารและ ผู้จดั การฝ่ ายบริ หารงานทัว่ ไป นายชิเกฮิโร คัตซูโมโต ที่ปรึกษาด้ านการขายและการตลาด นายเกียรติภมู ิ ภูมินนั ท์ ผู้จดั การฝ่ ายการขายและการตลาด นางสาวประภาพรรณ ชนะพาล ผู้จดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน นายอนันต์ ตังสุ ้ นทรธรรม รักษาการผู้จดั การฝ่ ายวิศวกรรม ขอบเขตอานาจหน้ าที่ของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร จะขออนุมตั ิ 1. เป็ นผู้บริ หารจัดการและควบคุมดูแลการดาเนินกิจการที่เกี่ยวข้ องกับการบริ หารงานทัว่ ไปของบริ ษัทฯ 2. ดาเนินการตามที่คณะกรรมการบริ ษัทฯได้ มอบหมาย 3. มีอานาจจ้ าง แต่งตัง้ โยกย้ าย ปลดออก เลิกจ้ าง กาหนดอัตราค่าจ้ าง ให้ บาเหน็จรางวัล ปรับขึ ้น เงินเดือน ค่าตอบแทน เงินโบนัส ของพนักงานทังหมดของบริ ้ ษัทฯตังแต่ ้ ตาแหน่งรองประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารลงไป 4. มีอานาจพิจารณาอนุมตั ิรายการกู้ยืมเงินระยะสัน้ ภายในวงเงินสาหรับแต่ละรายการที่ไม่เกิน 20 ล้ านบาท ต่อปี
51
5. มีอานาจอนุมัติ แก่การดาเนินการใดๆในการบริ หารกิจการของบริ ษัท ตามปกติและอันจาเป็ นแก่ การ บริหารกิจการของบริษัทเป็ นการทั่วไป เช่น การขายและการให้ บริ การ, การจัดซื ้อวัตถุดิบ, การจ้ างผลิต และว่าจ้ างทาของ, การใช้ จ่ายเงินในการบริ หารงานทุกประเภทที่เป็ นค่าใช้ จ่ายในการผลิตอื่น ๆ, การอนุมตั ิ การซ่อมแซมเครื่ องจักร/สาธารณูปโภค ต่าง ๆ และการเช่า/เช่าซื ้อ เครื่ องจักรอุปกรณ์ในการผลิต ,รถขนส่ง พนักงาน,รถขนส่งสินค้ า,วัสดุอปุ กรณ์, เครื่ องมือเครื่ องใช้ ตา่ งๆ รวมถึงการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ เป็ นต้ น 6. มีอานาจอนุมตั ิ การดาเนินการใด ๆ ในลักษณะเป็ นการลงทุนในโครงการที่เกี่ยวกับการพัฒนาระบบ การผลิตหรือซือ้ เครื่องจักร ที่มีมลู ค่าไม่เกิน 7 ล้ านบาทต่อปี 7. มีอานาจออกคาสัง่ ระเบียบ ประกาศ บันทึก เพื่อให้ การปฏิบตั ิงานเป็ นไปตามนโยบายและผลประโยชน์ข อง บริ ษัทฯ และเพื่อรักษาระเบียบวินยั การทางานภายในองค์กร 8. มีอ านาจกระท าการและแสดงตนเป็ นตัว แทนบริ ษั ทฯต่อ บุค คลภายนอกในกิ จการที่ เ กี่ ย วข้ อ งและเป็ น ประโยชน์ตอ่ บริ ษัทฯ 9. อนุมตั ิการแต่งตังที ้ ่ปรึกษาด้ านต่างๆ ที่จาเป็ นต่อการดาเนินงาน 10. ปฏิบตั ิหน้ าที่อื่นๆ ตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัทฯเป็ นคราวๆ ไป การอนุมตั ิเพื่อดาเนินการ ตลอดจนการมอบหมายจากประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารให้ ดาเนินการเพื่อเข้ าทารายการ ดังกล่าวข้ างต้ น จะต้ องไม่มีลกั ษณะเป็ นการดาเนินการเพื่อเข้ าทารายการที่ทาให้ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารหรื อผู้รับ มอบหมายจากประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารสามารถดาเนินการอนุมตั ิเพื่อเข้ าทารายการที่ตนหรื อบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง มีสว่ นได้ เสีย หรื ออาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อย ซึ่งการอนุมตั ิดาเนินการเพื่อเข้ าทา รายการในลักษณะดังกล่าวจะต้ องเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการและ/หรื อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาและอนุมตั ิ และ สอบทานรายการดังกล่าวโดยคณะกรรมการตรวจสอบ ตามข้ อบังคับของบริ ษัทและตามที่สานักงาน ก.ล.ต. และ/หรื อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกาหนด
52
โครงสร้ างของบริษัท ณ ปั จจุบนั จนถึงวันที่รายงาน (31 ธันวาคม 2561)
53
10.3 เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัทได้ มีมติแต่งตังให้ ้ นางสาวสกุลทิพย์ ห่อมณี ดารงตาแหน่งเป็ นเลขานุการบริ ษัท ตังแต่ ้ วนั ที่ 18 กันยายน 2552 10.4 ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร 1. ค่ าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน ก. ค่าตอบแทนคณะกรรมการ ที่ป ระชุม สามัญ ผู้ถื อ หุ้น ประจ าปี 2561 เมื่ อ วัน ที่ 27 เมษายน 2561 ได้ มี ม ติ อนุมัติ การก าหนดค่าตอบแทน กรรมการประจาปี 2561 โดยมีรายละเอียดดังนี ้ รายนามคณะกรรมการ
จานวนค่ าตอบแทน
คณะกรรมการบริ ษัท ค่าเบี ้ยประชุมคณะกรรมการบริ ษัท การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ค่าเบี ้ยประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ค่าตอบแทนรายเดือน
5,000 บาทต่อครัง้ 5,000 บาทต่อครัง้ 5,000 บาทต่อเดือน
ในปี 2561 จ่ายค่าตอบแทนกรรมการบริ ษัทสรุปได้ ดังนี ้ ชื่อ - สกุล 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
นายมาซามิ นายนาโอะฮิโร นายรัฐวัฒน์ นางพูนศรี นายยุทธนา นางสาววลัยภรณ์ นายนิพนั ธ์
8. นายสันติ
คัตซูโมโต ฮามาดา ศุขสายชล ปั ทมวรกุลชัย แต่ปางทอง กณิกนันต์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม เนียมนิล
รวม
ค่ าตอบแทนกรรมการ (บาท) ค่ าเบีย้ ประชุม รายเดือน (บาท) (บาท)
รวม (บาท)
40,000 40,000 40,000 40,000 40,000 40,000 35,000 40,000
กณิกนั60,000 นต์ 60,000 60,000
40,000 40,000 40,000 40,000 40,000 100,000 95,000 100,000
315,000
180,000
495,000
54
ข. ค่าตอบแทนคณะกรรมการกลุม่ ย่อย ในปี 2561 จ่ายค่าตอบแทนกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนสรุปได้ ดังนี ้ ชื่อ - สกุล 1. นายนิพนั ธ์ 2. นายยุทธนา 3. นายรัฐวัฒน์
ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม แต่ปางทอง ศุขสายชล รวม
ค่ าเบีย้ ประชุม คัตซูโมโต
10,000 10,000 10,000 30,000
ค. ค่าตอบแทนผู้บริ หาร ในปี 2561 บริ ษัทได้ จ่ายค่าตอบแทนประกอบด้ วย เงินเดือนและโบนัส ให้ กบั ผู้บริ หารจานวน 7 ราย รวม ทังสิ ้ ้น 14.33 ล้ านบาท แยกเป็ น เงินเดือน 12.75 ล้ านบาท โบนัส 1.58 ล้ านบาท 2. ค่ าตอบแทนอื่นที่ไม่ ใช่ ตวั เงิน/สิทธิประโยชน์ อ่ ืนๆ ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง้ ที่ 1/2555 จัดขึ ้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ได้ มีมติอนุมตั ิการออกและจัดสรร ใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญของบริ ษัท ประเภทระบุชื่อผู้ถือและไม่สามารถโอนเปลี่ยนมือได้ (“ใบสาคัญแสดง สิทธิ ”) ให้ แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัท จานวน 6,000,000 หน่วย ซึ่งจะทาการจัดสรรพร้ อมกับการเสนอขายหุ้น สามัญแก่ประชาชนทัว่ ไปในครัง้ นี ้โดยมีราคาเสนอขาย 0 บาทต่อหน่วย และใบสาคัญแสดงสิทธิมีอายุ 5 ปี นับแต่วนั ที่ออก และเสนอขายใบสาคัญแสดงสิทธิ โดยใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสทิ ธิซื ้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในราคาใช้ สิทธิ 0.50 บาท ต่อหุ้น (เว้ นแต่จะมีการปรับสิทธิ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อ นไขที่กาหนด) และมีมติอนุมตั ิแต่งตังคณะกรรมการพิ ้ จารณา ค่าตอบแทนสาหรับพิจารณาจัดสรรใบสาคัญแสดงสิทธิที่จดั สรรให้ แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัทแต่ละรายที่ได้ รับ จัดสรรเกินกว่าร้ อยละ 5 ของจานวนใบสาคัญแสดงสิทธิทงหมด ั้ ซึ่งประกอบด้ วยคณะกรรมการตรวจสอบจานวน 3 ท่าน โดยมีมติกาหนดค่าตอบแทนพิเศษให้ ท่านละ 50,000 บาท โดยจะทาการจ่ายให้ ภายหลังจากการเสนอขายหุ้นเพิ่มทุน ให้ แก่ประชาชนทัว่ ไปเป็ นครัง้ แรก ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง้ ที่ 1/2558 จัดขึ ้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2558 ได้ มีมติพิจารณาจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่ม ทุนจานวนไม่เกิ น 589,239 หุ้น โดยมีมูลค่าที่ตราไว้ ห้ ุนละ 0.50 บาท เพื่อเตรี ยมไว้ สาหรั บรองรั บการปรั บสิทธิ ของ ใบส าคัญ แสดงสิ ท ธิ ที่ จ ะซื อ้ สามัญ เพิ่ ม ทุน ของบริ ษั ท เสนอขายแก่ ก รรมการและพนัก งานของบริ ษั ท (ESOP) อัน เนื่องมาจากออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน ดังนี ้ อัต ราส่ว นการใช้ สิท ธิ เดิ ม 1:1 (1 ใบสาคัญ แสดงสิท ธิ ฯ มี สิท ธิ ซื อ้ หุ้นสามัญ ได้ 1 หุ้น)เป็ น อัตราส่วนการใช้ สทิ ธิใหม่ 1 : 1.16 (1 ใบสาคัญแสดงสิทธิฯ มีสทิ ธิซื ้อหุ้นสามัญได้ 1.16 หุ้น) ราคาใช้ สิทธิซื ้อหุ้นสามัญเดิมหุ้นละ 0.50 บาท เป็ นราคาใช้ สิทธิ ซื ้อหุ้นสามัญใหม่ห้ นุ ละ 0.43 บาท ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง้ ที่ 5/2558 จัดขึ ้นเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2558 ได้ มีมติปรับราคาการใช้ สิทธิไป เป็ น 0.50 บาท เนื่องจากพบว่าไม่สามารถกาหนดราคาใช้ สทิ ธิให้ ต่ากว่าราคาพาร์ ได้ ขัดต่อข้ อกาหนดสิทธิเดิม
55
ทังนี ้ ้ รายละเอียดของกรรมการและผู้บริ หารที่ได้ รับการจัดสรรใบสาคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซื ้อหุ้นสามัญของบริ ษัท มี ดังนี ้ ชื่อ-สกุล
ตาแหน่ ง (31 มีนาคม 2559)
1. นายมาซามิ คัตซูโมโต ประธานกรรมการ 2. นายนาโอะฮิโร ฮามาดา กรรมการบริษัท 3. นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล กรรมการบริษัท / ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร 4. นายชิเกฮิโร คัตซูโมโต ที่ปรึกษาด้ านการขายและ การตลาด
600,000 200,000 600,000
ร้ อยละของจานวน ใบสาคัญแสดงสิทธิท่ ี จัดสรรให้ แก่ กรรมการและ พนักงาน (ร้ อยละ) 10.00 3.33 10.00
150,000
2.50
จานวนใบสาคัญ แสดงสิทธิท่ ไี ด้ รับ จัดสรร (หน่ วย)
หมายเหตุ : เป็ นตัวเลขการจัดสรรครัง้ แรกที่ได้ รับอนุมตั ิ ได้ สิทธิแปลงสภาพ 1:1 และเมื่อเพิ่มทุนแล้ ว ได้ รับสิทธิในการแปลงสภาพ เป็ น 1:1.16
10.5 บุคลากร ด้ านบุคลากร ในปี 2561 บริ ษัทมีพนักงานทังหมด ้ 462 คน (ข้ อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561) บริ ษัทได้ จ่าย ผลตอบแทนให้ แก่พนักงาน จานวนทังสิ ้ ้น 128.98 ล้ านบาท ได้ แก่ เงินเดือน ค่าแรง ค่าล่วงเวลา ค่ากะ เงินช่วยเหลือค่า เดินทาง เงินโบนัส เบี ้ยเลี ้ยง เบี ้ยขยัน เป็ นต้ น จานวนคน ค่ าตอบแทน เฉลี่ยต่ อคน พนักงาน (บาท : คน : ปี ) (ล้ านบาท) พนักงานสายงานผลิต 406 81.94 201,811 พนักงานสายงานบริ หารและสนับสนุน 56 47.04 840,047 รวม 462 128.98 279,173 หมายเหตุ: พนักงานสายการผลิต ได้ แก่ DI FS MC QC PC MT WH JIG R&D การเปลี่ยนแปลงด้ านแรงงานในรอบ 3 ปี ที่ผ่านมา จานวนบุคลากร ปี 2559 จานวน 331 คน พนักงานสัญญาจ้ าง 72 คน(ข้ อมูล ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2559) จานวนบุคลากร ปี 2560 จานวน 337 คน (ข้ อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) จานวนบุคลากร ปี 2561 จานวน 462 คน (ข้ อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561) ข้ อพิพาทด้ านแรงงานในปี 2561 –ไม่มีด้ านการพิจารณาปรับผลตอบแทน ปี ที่ ผ่า นมาบริ ษั ท ฯ ใช้ ผลการประเมิ น ผลการปฏิ บัติ ง านประจ าปี มาใช้ ใ นการเป็ นหลัก เกณฑ์ ใ นการปรั บ ผลตอบแทนประจาปี เพื่อเป็ นการสร้ างขวัญกาลังใจ และ ตอบแทนการทางานของพนักงาน
56
ด้ านสวัสดิการพนักงาน บริ ษัทฯ จัดให้ มี ค่ากะ ค่าความร้ อน (เงินช่วยเหลือสาหรับพนักงานควบคุม เตาหลอมและเครื่ องจักรที่มีความร้ อน) เบี ้ยขยัน การตรวจสุขภาพประจาปี เครื่ องแบบ เงินช่วยเหลือ กรณีพนักงานสมรส คลอดบุตร บุคคลในครอบครัวเสียชีวิต กองทุนสารองเลี ้ยงชีพพนักงาน สวัสดิการรักษาพยาบาล (ประกันกลุม่ ) และค่าของเยี่ยมกรณีเจ็บป่ วยเข้ ารับการรักษาเป็ น ผู้ป่วยใน และ บริ ษัทฯ ยังสนับสนุนให้ มีการจัดตัง้ สหกรณ์ออมทรัพย์ซงั โกะไทย เพื่อส่งเสริ มการออม และการช่วยเหลือกันของ พนักงาน ด้ านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บริ ษัทฯ ได้ สนับสนุนให้ พนักงานได้ พฒ ั นา ทังในสายงานและอาชี ้ พที่ทาอยู่ พัฒนาคุณธรรม ยกระดับจิตใจ และ สร้ างความสุขในการทางาน ผ่านกิจกรรมและการอบรม สัมนา อาทิเช่น 1. การปฐมนิเทศพนักงานใหม่ บริ ษัทฯ จัดให้ มีการอบรม เพื่อให้ พนักงานมีความรู้ ความเข้ าใจ เกี่ยวกับ องค์กร สิทธิ สวัสดิการต่างๆ ในการเป็ นพนักงานของบริ ษัทฯ มาตรฐานการทางาน และมาตรฐานด้ าน ความปลอดภัยในการทางาน รวมถึงวัฒนธรรมต่างๆ ภายในองค์กร และยังมีการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ระหว่างทดลองงาน เพื่อ เป็ นการติดตามความลงตัว และการปรั บตัวให้ เข้ ากับองค์ กร และหน้ าที่ของ พนักงานใหม่ 2. การพัฒนาทักษะ และความรู้ในงาน ผ่านกระบวนการอบรม และ กระบวนการสอนงาน ตามหน้ าที่ (On the job training) โดยใช้ ระบบพี่เลี ้ยง (Coaching) 3. พัฒนาความสามารถตามลักษณะงานที่รับผิดชอบ (Functional Expertise) เพื่อให้ พนักงานมีความรู้ และมี ความสามารถในงานที่รับผิดชอบ สามารถสอนงานต่อให้ ผ้ อู ื่นได้ และสามารถเติบโตในสายงานของตนได้ (Career Path) 4. พัฒ นาบุค ลากร ตามวัฒ นธรรมองค์ กร (Core Values) บริ ษั ท ฯ ได้ จัด กิ จ กรรมส่ง เสริ ม ให้ พ นักงานมี พฤติกรรมพึงประสงค์ตามกรอบของวัฒนธรรมองค์กร ดังนี ้ การคิดเชิงนวัตกรรม (Innovation) การทางานเชิงรุก (Proactive Working) ความมุง่ มัน่ สูค่ วามสาเร็ จ (Achievement Orientation) มีความรู้สกึ เป็ นเจ้ าขององค์การ ( Sense of Belonging) โดยในปี 2561 บริ ษัทฯจัดให้ พนักงาน ผู้บริ หาร คณะกรรมการและเลขานุการบริ ษัท เข้ าร่ วมการอบรมทัง้ ภายในองค์กรและเข้ าร่วมอบรมกับสถาบันภายนอก คิดเป็ นชัว่ โมงอบรมรวม 24,892 ชัว่ โมงโดยมีรายละเอียดดังนี ้ 1. การจัดฝึ กอบรมภายในบริษัท โดยวิทยากรของบริษัทเอง ระดับผู้เข้ าร่ วม/จานวนผู้เข้ าร่ วม ลาดับ
1 2
หัวข้ อ โครงการอนุรักษ์ การได้ ยินและการ จัดเก็บสารเคมี กิจกรรม 5 ส และการทิ ้งขยะ
พนักงาน ผลิต
พนักงาน สนับสนุน
หัวหน้ า งาน
วิศวกร
ผช.ผจกเลขานุการ ผจก.
219
13
6
-
2
-
45
7
1
-
-
-
57
ระดับผู้เข้ าร่ วม/จานวนผู้เข้ าร่ วม ลาดับ
หัวข้ อ
พนักงาน ผลิต
พนักงาน สนับสนุน
หัวหน้ า งาน
วิศวกร
154
-
-
-
-
-
59
2
-
-
-
-
402
2
-
-
1
-
32
3
1
-
-
-
36
1
1
-
1
-
252
28
6
3
6
-
32
3
1
-
-
--
10
โครงการ Energy Mind Safety & CSR Award ครัง้ ที่ 1 ความสาคัญของระบบการจัด การพลังงาน ISO 50001 ความรู้เบื ้องต้ นในการปฏิบตั ิงาน(Basic Training) แผนการฝึ กซ้ อมตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน กรณีก๊าซ NG รั่วไหลประจาปี 2560 จิตสานึกด้ านคุณภาพ (Quality Awareness) การทางานกับเครื่ องจักรและการใช้ เครื่ องปั ม้ โลหะอย่างถูกต้ อง แผนป้องกันและระงับเหตุฉกุ เฉินเตา ระเบิดและอลูมิเนียมรั่วไหล 2561 Leadership
-
8
4
-
8
-
11
Production & Quality Awareness
168
-
-
-
-
-
280
35
8
2
4
-
11
2
-
-
1
-
14
การทางานกับสารเคมีอย่างถูกต้ องและ ปลอดภัย การปฐมพยาบาลเบื ้องต้ นและการช่วย ฟื น้ คืนชีพ CPR การยกเคลือ่ นย้ ายวัสดุอย่างปลอดภัย
285
29
8
2
4
-
15
การคัดแยกขยะ
210
19
4
1
7
-
16
การอบรมบังคับปั น้ จัน่ ผู้ยดึ เกาะวัสดุ และผู้ให้ สญ ั ญาณ (ทฤษฎี)
8
-
-
-
-
-
3 4 5 6 7 8 9
12 13
ผช.ผจกเลขานุการ ผจก.
58
2. การจัดฝึ กอบรมภายใน โดยเชิญวิทยากรภายนอกมาให้ การอบรม ระดับผู้เข้ าร่ วม/จานวนผู้เข้ าร่ วม (คน) ค่ าใช้ จ่าย ลาดับ คอร์ ส สถาบัน ผช. (บาท) พนักงาน พนักงาน หัวหน้ า วิศวกร ผจกผลิต สนับสนุน งาน ผจก. AS9100 QMS REQUIREMENT Mr.Prasong 16 18 30 1 Suksavasdi Automotive Core Tools ดร.สุภา ศรี สวัสดิ์ 5 7 2 6 2 Implementation Technique อ.ศุภวัฒน์ with IATF 16949 : 2016 น ้าดอกไม้ Excellent Leadership โค้ ชโส โสชัจจ์ งาม 15 2 18 3 Program นุรักษ์ ดับเพลิงขันต้ ้ นและซ้ อมอพยพหนี คุณมานะ ผิวอ่อน 233 36 27 3 15,000 4 ไฟ The Power Up เติมไฟ เติม อ.จตุพล ชมพูนิช 191 31 1 1 8 5 ความคิด พิชิตการทางาน การวิเคราะห์ระบบการวัด MSA ดร.ทอง พุทธลอด 4 4 3 6 และการควบคุมกระบวนการโดย ใช้ เทคนิคทางสถิติ SPC การวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้ า เพือ่ อ.เกตุพงศ์ 16 5 1 1 22,000 7 มุง่ สู่ Zero Defect ข้ อกาหนดและการประยุกต์ ดร.สุภา ศรี สวัสดิ์ 14 11 1 16 8 ระบบการบริ หารคุณภาพ IATF 16949 ความเข้ าใจระบบและโปรแกรม คุณสุวฒ ั น์ บริ ษัท 11 6 0 24 30,000 9 ข้ อมูล ERP Double M 6 Training Scanpak CMM การใช้ K'Setsada 1 1 1 10 งานตาม Program ของ CMM การจัดการความเสีย่ งในระบบ ดร.สุภา ศรี สวัสดิ์ 15 8 1 15 11 การบริ หารคุณภาพ IATF 16949 (Risk Management) การใช้ เครื่ องฉีด Diecast และ คุณอดิศกั ดิ์ บุญวัน 4 2 12 การบารุงรักษา Toshiba 350 T (New)
59
ลาดับ
13 14 15
คอร์ ส
สถาบัน
การใช้ งานและการบารุงรักษา เครื่ องจักร CNC TV-500 การตรวจติดตามภายใน มาตรฐานระบบการบริ หาร คุณภาพ IATF 16949 การบันทึกข้ อมูลแม่พิมพ์ในระบบ ERP
คุณกันตภณ รูปสี, คุณชาตรี วรรณภพ ดร.สุภา ศรี สวัสดิ์
ระดับผู้เข้ าร่ วม/จานวนผู้เข้ าร่ วม (คน) ค่ าใช้ จ่าย ผช. (บาท) พนักงาน พนักงาน หัวหน้ า วิศวกร ผจกผลิต สนับสนุน งาน ผจก. 2 8 -
คุณสุวฒ ั น์ บริ ษัท Double
-
14
11
1
16
-
-
5
1
2
6
-
3. การส่ งกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานไปอบรมกับหน่ วยงานภายนอกบริษัท
ลาดับ
คอร์ ส
ระดับกรรมการบริษัท 1 วบส. ระดับผู้บริหาร 1 International Conference-The Future of ASEANs Energy Journey 2 Automation Control Forum ระบบการผลิตอัตโนมัติสาหรับ โรงงานผลิตอัจฉริ ยะ 3 โครงการ Smart Disclosure Program 4 5
Updated COSO Enterprise Risk Management: Integrating with Strategy and Performance การอบรมการใช้ งานระบบ SETPortal
เลขานุการบริษัท/เลขานุการผู้บริหาร 1 กลยุทธ์การจัดซื ้ออย่างชาญฉลาดสาหรับโรงงานอัจฉริ ยะ
จานวน ค่ าใช้ จ่าย ผู้เข้ าร่ วม
สถาบัน
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์
1
59,000
UBM Asia (Thailand) Co.,Ltd.
1
2,140
Thailand Industrial Forum 2018
1
-
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
1
-
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
2
-
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
1
-
บริ ษัท กรี นเวิลด์ พับลิเคชัน่ จากัด
1
-
2
การซักซ้ อมความเข้ าใจมาตรการเตือนผู้ลงทุน
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
1
-
3
Updated COSO Enterprise Risk Management: Integrating with Strategy and Performance อบรม CG
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
1
-
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
2
-
4
60
5
อบรม การประชุมบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ ประจาปี 2561
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 5 ก.พ.(อบรมของ TSD ) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 26 ก.ย. (อบรมของ IOD) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 18 ธ.ค. (อบรมของ TSD )
2
-
2
-
สถาบันยานยนต์
1
6,000
บริ ษัทริ โก้ (ประเทศไทย)จากัด
1
-
องค์การบริ หารการจัดการก๊ าซเรือน กระจก บ.แกลลัพ
1
-
1
-
ฝ่ ายมาตรฐานการบัญชี
1
-
บริ ษัท ชไนเดอร์ อิเล็คทริ ค (ไทย แลนด์) จากัด วิทยาลัยเทคนิคระยอง
1
-
1
-
สถาบันพัฒนาฝี มือ แรงงาน 17 ระยอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้ าธนบุรี ดร.ทอง พุทธลอด
1
-
1
-
2
1,800
บริ ษัทสเต็มม่า
2
4,400
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
1
-
สมาคมอุตสาหกรรมหล่อโลหะไทย
1
-
Factory Max
1
-
สัมมนาเชิงวิชาการลูกค้ าก๊ าซธรรมชาติ
ปตท.
1
-
ผู้ปฏิบตั ิงานในสถานที่ใช้ ก๊าซธรรมชาติ
บริ ษัทเอ็นพีซี เซฟตี ้ แอนด์ เอ็นไว รอนเมน
1
5,500
6
สัมมนา CGR Workshop 3/2561 “Enhancing Good Corporate Governance based on CGR Scorecard” 7 เข้ าร่วมรับฟั งข้ อมูล เรื่ อง การส่งรายงานประจาปี ในรูปแบบ QR Code และ Listed Company Solution ระดับผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ าย - ผู้จัดการฝ่ าย การวางแผนคุณภาพผลิตภัณฑ์ใหม่ Advance Products 1 Quality Planning (APQP) The Digital Innovation to Transform Your Businees#4 2 3
ระยองโมเดล บทบาทพื ้นที่สเี ขียวต่อการลดโลกร้ อนระดับโลก
4
กุญแจสาคัญในการสร้ างความผูกพันในองค์กร
5
The Final Countdown to TFRS 9 Focus Group
6 7 8 9 10 11 12
การสตาร์ ทมอเตอร์ เพื่อความปลอดภัยและประสิทธิภาพสูงสุด ตามมาตรฐาน IEC สร้ างความเข้ าใจการจัดการศึกษาทวิภาคีร่วมกันและสิทธิ ประโยชน์ให้ กบั สถานประกอบการ โครงการสัมมนาการเตรี ยมความพร้ อมด้ านกี่พฒ ั นาศักยภาพ แรงงานเพื่อเพิม่ ขีดความสามารถ โครงการส่งเสริ มดาเนินมาตรกบารอนุรักษ์ พลังงานด้ วยกลไก การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานตามกฏหมาย ISO 9001/14001/45001 ข้ อกาหนด Requiement IA MRW/Risk Assesment การบารุงรักษาเครื่ องจักรและเครื่องมือตามระบบ IATF 16949 การอบรมการใช้ งานระบบ SETPortal
ระดับวิศวกร การควบคุมคุณสมบัติทรายที่เหมาะสมสาหรับงานหล่อโลหะ 1 2 3 4
Mold Repairing Solution
61
2
-
ระดับ หัวหน้ างาน ISO 9001/14001/45001 ข้ อกาหนด Requiement IA 1 MRW/Risk Assesment Mold Repairing Solution 2 3
ผู้ปฏิบตั ิงานในสถานที่ใช้ ก๊าซธรรมชาติ
4
สัมมนาเชิงวิชาการลูกค้ าก๊ าซธรรมชาติ
5
สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจ เป็ นสุข
6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
NCDs โรคร้ ายที่เราสร้ างเอง การสอบเทียบ Small Tools ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 ที่ผ้ ู ประกอบกิจการโรงงานต้ องรู้ การสร้ างเสริ มความรู้การเลือกบริ การตรวจสุขภาพที่มี คุณภาพ มาตรฐานการติดตังทางไฟฟ้ ้ าสาหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 (มาตรฐานฉบับใหม่) กลยุทธ์บริ หารงานจัดซื ้อเพื่อรับมืออุตสาหกรรมยุคดิจิทลั การพัฒนาบุคลากรเพื่อยกระดับความสามารถละสร้ าง เครื อข่ายผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน การบริ หารจัดการกากอุตสาหกรรมอย่างถูกต้ อง Working Standard , View Point และ Basic Safety machine การสัมมนาเพื่อเผยแพร่ข้อมูลการปลดปล่อยและเคลือ่ นย้ าย มลพิษในพื ้นที่ จังหวัดระยอง
ดร.ทอง พุทธลอด
1
1,800
Factory Max
1
-
บริ ษัทเอ็นพีซี เซฟตี ้ แอนด์ เอ็นไว รอนเมน ปตท.
1
5,500
1
-
โรงพยาบาลระยอง
2
-
บริ ษัท ทีทีไลฟ์ อินชัวรันซ์ โบรกเกอร์ (ไทยแลนด์) จากัด ศูนย์สอบเทียบเครื่ องมือวัดสาหรับ อุตสาหกรรม ม.บูรพา กรมโรงงานอุตสาหกรรม
1
-
1
4,000
1
-
งานบริ การสัมพันธ์ โรงพยาบาล ระยอง วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
1
-
1
5,500
บริ ษัท กรี นเวิลด์ พับลิเคชัน่ จากัด
1
-
กรมพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดระยอง
1
-
1
-
บริ ษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย)
1
-
กรมควบคุมมลพิษ
1
-
62
11. การกากับดูแลกิจการ 11.1 นโยบายการกากับดูแลกิจการ บริ ษัทตระหนักถึงความสาคัญของการกากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) โดยเชื่อว่า การ กากับดูแลกิจการที่ดีแสดงถึงการมีระบบบริ หารจัดการที่มีประสิทธิ ภาพ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ ซึ่งช่วยสร้ างความเชื่อมัน่ และความมัน่ ใจต่อผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้มีสว่ นได้ เสีย และผู้ที่เกี่ยวข้ องทุกฝ่ าย อันจะนาไปสูก่ ารเพิ่มมูลค่าและการเติบโตของ บริ ษัทในระยะยาวอย่างยัง่ ยืน บริ ษัทได้ ดาเนินการอย่างต่อเนื่องในการส่งเสริ มให้ มีระบบการกากับดูแลกิจการที่ดี โดย มุง่ หวังให้ คณะกรรมการและฝ่ ายจัดการของบริ ษัท พัฒนาระดับการกากับดูแลกิจการและปฏิ บตั ิตามหลักการกากับดูแล กิจการที่ดี ให้ สอดคล้ องกับแนวทางที่เป็ นมาตรฐานสากล โดยนาหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีซึ่งกาหนดโดยตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มากาหนดเป็ นนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษัท และกาหนดให้ มีการติดตามเพื่อ ปรับปรุ งนโยบายดังกล่าวให้ สอดคล้ อ งกับแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงใน อนาคต เพื่อให้ มีความเหมาะสมและสอดคล้ องกับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมีแนวปฏิบตั ิซึ่งครอบคลุมหลักการ 5 หมวด ดังต่อไปนี ้ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น บริ ษัทได้ ตระหนักและให้ ความสาคัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยไม่กระทาการใดๆที่เป็ นการละเมิดหรื อริ ดรอนสิทธิ ของผู้ถือหุ้น รวมถึงส่งเสริ มให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ ใช้ สทิ ธิของตน โดยสิทธิขนพื ั ้ ้นฐานของผู้ถือหุ้น ได้ แก่ การซื ้อขายหรื อการโอนหุ้น การมีสว่ นแบ่งในกาไรของบริ ษัท การได้ รับข่าวสารข้ อมูลของบริ ษัทอย่างเพียงพอ การเข้ าร่ วมประชุมเพื่อใช้ สิทธิออก เสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อแต่งตังหรื ้ อถอดถอนกรรมการ แต่งตังผู ้ ้ สอบบัญชี และเรื่ องที่มีผลกระทบต่อบริ ษัท เช่น การ จัดสรรเงิ นปั นผล การกาหนดหรื อการแก้ ไขข้ อบังคับและหนังสือบริ คณห์ สนธิ การลดทุนหรื อเพิ่มทุน และการอนุมัติ รายการพิเศษ เป็ นต้ น บริ ษัทมีนโยบายส่งเสริ มและอานวยความสะดวกให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นรวมถึงนักลงทุนสถาบัน ในการเข้ าร่ วมประชุมผู้ ถือหุ้น โดยบรษัทคัดเลือกสถานที่จดั การประชุมซึ่งมีระบบขนส่งมวลชนเข้ าถึงและเพียงพอเพื่อให้ ผ้ ถู ือหุ้นสามารถเดิน ทางเข้ าร่ วมการประชุมได้ อย่างสะดวก บริ ษัทมีการให้ ข้อมูล วัน เวลา สถานที่ และวาระการประชุม ตลอดจนข้ อมูล ทังหมดที ้ ่เกี่ยวข้ องกับเรื่ องที่ต้องตัดสินใจในที่ประชุมแก่ผ้ ถู ือหุ้นเป็ นการล่วงหน้ า และแจ้ งให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ใช้ ในการประชุม รวมถึงขันตอนการออกเสี ้ ยงลงมติ บริ ษัทมีการอานวยความสะดวกให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ ใช้ สทิ ธิในการเข้ าร่ วม ประชุมและออกเสียงอย่างเต็มที่ และส่งเสริ มให้ ผ้ ถู ือหุ้นมีโอกาสในการแสดงความเห็นและตังค ้ าถามต่อที่ประชุมในเรื่ องที่ เกี่ยวข้ องกับบริ ษัท ได้ รวมทังเปิ ้ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นส่งคาถามล่วงหน้ าและมีโอกาสเสนอวาระการประชุมก่ อนวันประชุม รวมถึงมีสทิ ธิมอบฉันทะให้ ผ้ อู ื่นเข้ าร่วมประชุม 2. การปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริ ษัทมีการปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็ นธรรม ทังผู ้ ้ ถือหุ้นที่เป็ นผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นที่ไม่เป็ น ผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นต่างชาติ และผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย และสร้ างความมัน่ ใจให้ กบั ผู้ถือหุ้นว่าคณะกรรมการและฝ่ ายจัดการได้ ดูแลให้ การใช้ เงินของผู้ถือหุ้นเป็ นไปอย่างเหมาะสม ด้ วยเชื่อว่าเป็ นปั จจัยสาคัญต่อความมัน่ ใจในการลงทุนกับบริ ษัท โดย คณะกรรมการบริ ษัทมีหน้ าที่กากับดูแลให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ รับการปฏิบตั ิ และปกป้องสิทธิขนพื ั ้ ้นฐานอย่างเท่าเทียมกัน คณะกรรมการบริ ษัท ได้ จดั กระบวนการประชุมผู้ถือหุ้นในลักษณะที่สนับสนุนให้ มีการปฏิบตั ิต่อผู้ถือหุ้นทุกราย อย่างเท่าเทียมกัน และเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นส่วนน้ อยสามารถเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ าดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษัท เป็ น
63
การล่วงหน้ าในเวลาอันสมควร รวมถึงเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นที่ไม่สามารถเข้ าประชุมด้ วยตนเอง สามารถใช้ สิทธิออกเสียง โดยมอบฉันทะให้ ผ้ อู ื่นมาประชุมและออกเสียงลงมติแทนได้ คณะกรรมการบริ ษัทได้ กาหนดแนวทางในการเก็บรักษาและป้องกันการใช้ ข้อมูลภายในเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และแจ้ งแนวทางดังกล่าวให้ ทกุ คนในองค์กรถือปฏิบตั ิ 3. บทบาทของผู้มีสว่ นได้ เสีย บริ ษัทตระหนักถึง ความรับผิดชอบและการปฏิบตั ิต่อผู้มีสว่ นได้ เสียกลุ่มต่างๆ และประสานประโยชน์ร่วมกัน อย่างเหมาะสม เพื่อให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียทุกกลุม่ มัน่ ใจว่าสิทธิดงั กล่าวได้ รับการคุ้มครอง และปฏิบตั ิด้วยดี โดยได้ กาหนดเป็ น แนวทางที่ต้องปฏิบัติเพื่อตอบสนองความต้ องการของผู้มีส่วนได้ เสี ยแต่ละกลุ่มไว้ อย่างชัดเจนใน “ข้ อพึงปฏิบัติและ จริยธรรมทางธุรกิจ” พร้ อมทังเผยแพร่ ้ และรณรงค์ให้ คณะกรรมการบริ ษัท ฝ่ ายบริ หาร ตลอดจนผู้ปฏิบตั ิงาน ยึดถือเป็ น หลักปฏิบตั ิในการดาเนินงาน และถือเป็ นภาระหน้ าที่ที่สาคัญของทุกคน แนวทางที่ต้องปฏิบตั ิเพื่อตอบสนองความต้ องการ ของผู้มีสว่ นได้ เสียแต่ละกลุม่ มีดงั นี ้ การปฏิบัติต่อผู้ถอื หุ้น (1) บริ ษัทฯ เปิ ดโอกาสให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นที่ไม่สามารถเข้ าร่ วมประชุมด้ วยตนเอง สามารถมอบฉันทะให้ กรรมการ อิสระหรื อบุคคลอื่นเข้ าร่วมประชุมและออกเสียงแทนผู้ถือหุ้นได้ (2) เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นมีสทิ ธิเสนอเรื่ องเพื่อบรรจุเป็ นวาระ และเสนอชื่อบุคคลเข้ ารับการเลือกตังเป็ ้ นกรรมการ ในการประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้ า ตามหลักเกณฑ์ ที่บริ ษัทฯ กาหนด ซึ่งได้ เผยแพร่ รายละเอียดในเว็บไซต์ ของบริ ษัทฯ ที่ www.sankothai.net โดยให้ เสนอมายังบริ ษัทฯ ล่วงหน้ า ภายใน 31 ธันวาคม (3) บริ ษัทฯ ไม่มีการเพิ่มวาระการประชุมที่ไม่มีการแจ้ งให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบล่วงหน้ า โดยไม่จาเป็ น โดยเฉพาะวาระที่ มีความสาคัญที่ผ้ ถู ือหุ้นต้ องใช้ เวลาในการศึกษาข้ อมูลก่อนการตัดสินใจ (4) คณะกรรมการเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ ใช้ สิทธิในการแต่งตังกรรมการเป็ ้ นรายคน และสนับสนุนให้ มีการใช้ บัตรลงคะแนนเสียง เพื่อความโปร่งใสและตรวจสอบได้ (5) คณะกรรมการบริ ษัทฯ ได้ กาหนดมาตรการป้องกันการใช้ ข้อมูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) ของ บุคคลที่เกี่ยวข้ องซึ่งรวมถึง กรรมการ ผู้บริ หาร พนักงาน และลูกจ้ าง รวมตลอดถึงคู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ของบุคคลดังกล่าวที่เกี่ยวข้ องกับข้ อมูลรวมถึงได้ กาหนดบทลงโทษเกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้ อมูลของบริ ษัทฯ หรื อนาข้ อมูล ของบริ ษัทฯ ไปใช้ เพื่อประโยชน์สว่ นตนไว้ แล้ วตามนโยบายการป้องกันการนาข้ อมูลภายในไปใช้ ประโยชน์ (6) การให้ ความรู้ แก่คณะกรรมการและผู้บริ หารของบริ ษัทฯ เกี่ยวกับภาระหน้ าที่ในการรายงานการถือครอง หลักทรัพย์ในบริ ษัทฯ ของตนเอง คู่สมรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ตลอดจนการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือ ครองหลักทรัพย์ตอ่ สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรั พย์ตามมาตรา รวมถึงบทกาหนดโทษตาม มาตรา 275 แห่ง พรบ.หลักทรัพย์ พ.ศ.2535 และตามข้ อกาหนดของ ตลท. (7) คณะกรรมการบริ ษัทฯและผู้บริ หาร ต้ องแจ้ งการซื ้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯล่วงหน้ าอย่างน้ อย 1 วันก่อน ทาการซื ้อขายหุ้นโดยแจ้ งผ่านเลขานุการบริ ษัทฯให้ ทราบ และเลขานุการบริ ษัทฯต้ องแจ้ งต่อคณะกรรมการให้ ทราบ และ เมื่อซื ้อขายเรี ยบร้ อยแล้ ว ให้ มีการเพื่อจัดทารายงานการถือครองหลักทรัพย์นาส่งคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์และให้ กรรมการและผู้บริ หารรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์ให้ ที่ประชุมคณะกรรมการทราบ เพื่อป้องกันการซื ้อหรื อขายหุ้นโดยใช้ ข้อมูลภายใน และเพื่อหลีกเลีย่ งข้ อครหาเกี่ยวกับความเหมาะสมของการซื ้อหรื อขาย หุ้นของบุคคลภายใน
64
การปฏิบัติต่อลูกค้ า (1) ให้ การเอาใจใส่และรับผิดชอบลูกค้ าทุกรายด้ วยความเป็ นธรรม โดยเน้ นการผลิตสินค้ าที่มีคุณภาพ ได้ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าได้ อย่างครบถ้ วน รักษาความลับของลูกค้ า และไม่นาไปเพื่อใช้ ประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่นก่อนได้ รับอนุญาตยินยอมจากลูกค้ า รวมทังให้ ้ บริ การที่มีคณ ุ ภาพด้ วยความเชี่ยวชาญใน อาชีพ ในราคาที่เหมาะสมและเป็ นธรรมแก่ลกู ค้ าอย่างเท่าเทียมกัน (2) น าเสนอผลิตภัณ ฑ์ ที่ตรงต่อความต้ องการของลูกค้ า และมีคุณภาพ เปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ ยวกับสินค้ าอย่า ง ครบถ้ วน ถูกต้ อง และมีช่องทางการรับข้ อร้ องเรี ยน เพื่อเปิ ดโอกาสให้ ลกู ค้ าสามารถร้ องเรี ยนเกี่ยวกับการบริ การ และ ดาเนินการอย่างดีที่สดุ เพื่อให้ ลกู ค้ าได้ รับการตอบสนองผลอย่างรวดเร็ ว (3) ให้ บริ การที่เป็ นเลิศ ด้ วยคุณภาพ และประสิทธิภาพที่สร้ างความพึงพอใจให้ ลกู ค้ า (4) ให้ การดูแลและรักษาผลประโยชน์ของลูกค้ าอย่างเหมาะสมและยุติธรรม (5) ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขต่างๆ ที่มีตอ่ ลูกค้ าอย่างเคร่งครัด กรณีที่ไม่สามารถปฏิบตั ิตามเงื่อนไขข้ อใดได้ ต้องรี บแจ้ ง ให้ ลกู ค้ าทราบเพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ ไขปั ญหา (6) ปฏิบตั ิกบั ลูกค้ าด้ วยความสุภาพ เป็ นที่วางใจได้ ของลูกค้ า (7) ส่งมอบสินค้ าที่มีคณ ุ ภาพ ตรงตามเวลาที่กาหนด (8) สนับสนุนการดาเนินงานด้ านความรับผิดชอบต่อสังคมของลูกค้ า การปฏิบัติต่อคู่ค้าและ/หรือเจ้ าหนี ้ (1) ไม่เรี ยกร้ อง ไม่รับหรื อจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สจุ ริ ตในการค้ ากับคูค่ ้ า หรื อเจ้ าหนี ้และปฏิบตั ิ ตามเงื่อนไขอย่างเหมาะสมและเป็ นธรรม (2) การจัดหา จัดซื ้อ จัดจ้ างกับบริ ษัทและ/บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง หรื อมีความสัมพันธ์กบั กรรมการ ผู้บริ หาร พนักงานทุกระดับชัน้ จะต้ องอยูภ่ ายใต้ หลักการความเสมอภาค โปร่งใส เป็ นธรรม เพื่อประโยชน์สงู สุดของบริ ษัท และจะต้ องดาเนินการตามระเบียบของบริ ษัท พร้ อมทังเปิ ้ ดเผยข้ อมูลสามารถตรวจสอบได้ (3) หลีกเลีย่ งการจัดหา จัดซื ้อ จัดจ้ างที่จะขัดกับผลประโยชน์โดยรวมของบริ ษัท (4) ผู้เกี่ยวข้ องกับกิจกรรมจัดหา จัดซื ้อ จัดจ้ างต้ องไม่รับประโยชน์ไม่วา่ ทางตรง หรื อทางอ้ อมจากคูค่ ้ า และต้ องวางตัวเป็ นกลาง ไม่มีความสัมพันธ์ใกล้ ชิดจนอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจ (5) หากพบเหตุที่จะทาให้ ไม่สามารถดาเนินการตามข้ อตกลงหรื อสัญญาได้ ผู้รับผิดชอบต้ องรี บ รายงานต่อผู้บงั คับบัญชาทันที และต้ องรับแจ้ งให้ ค่คู ้ า และ/ หรื อเจ้ าหน้ าที่ทราบล่วงหน้ า เพื่อร่ วมกันพิจารณาหาแนว ทางการแก้ ไข (6) มุง่ มัน่ ที่จะรักษาสัมพันธภาพที่ยงั่ ยืนกับคูค่ ้ าและคูส่ ญ ั ญาที่มีวตั ถุประสงค์ชดั เจนในเรื่ องของ คุณภาพสินค้ า และให้ ความเชื่อถือซึง่ กันและกัน (7) ปฏิบตั ิตอ่ เจ้ าหนี ้การค้ าอย่างเสมอภาคและเป็ นธรรม และตังอยู ้ บ่ นพื ้นฐานของการได้ ผลตอบแทน ที่เป็ นธรรมต่อทังสองฝ่ ้ าย การปฏิบัตติ ่ อคู่แข่ งทางการค้ า (1) ประพฤติปฏิบตั ิภายใต้ กรอบกติกาของการแข่งขันด้ วยความเป็ นธรรม (2) ไม่ทาลายชื่อเสียงของคูแ่ ข่งทางการค้ าด้ วยการกล่าวหาในทางร้ าย (3) ไม่ละเมิดทรัพย์สนิ ทางปั ญญา/ลิขสิทธ์
65
(4) ไม่แสวงหาข้ อมูลที่เป็ นความลับของคูแ่ ข่งทางการค้ า ด้ วยวิธีไม่สจุ ริ ต หรื อไม่เหมาะ (5) ประพฤติปฏิบตั ิตอ่ คูแ่ ข่งทางการค้ าตามกฎหมายและกติกาต่างๆบนมาตรฐานที่ยอมรับของสากล (6) สร้ างความสัมพันธ์ที่ดีตอ่ คูแ่ ข่ง ซึง่ อาจจะพัฒนามาเป็ นพันธมิตรทางการค้ า การปฏิบัติต่อพนักงาน (1) ปฏิบตั ิตามกฎหมายแรงงาน และข้ อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับพนักงานอย่างเคร่งครัด (2) ให้ ผลตอบแทนที่เหมาะสมกับหน้ าที่ผลงานและความรับผิดชอบ (3) จัดให้ มีสวัสดิการที่เหมาะสมแก่พนักงาน (4) จัดให้ มีการดูแลรักษาสภาพแวดล้ อมในการทางานให้ มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สนิ ของพนักงาน (5) จัดให้ มีระบบการบริ หารทรัพยากรบุคคล รับฟั งข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของพนักงาน (6) ส่งเสริ มและพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะของพนักงาน โดยให้ โอกาสอย่างทัว่ ถึง และสม่าเสมอ ตลอดจนส่งเสริ มให้ พนักงานสามารถเลี ้ยงดูตนเองได้ เมื่อเกษี ยณอายุแล้ ว (7) บริ หารงานโดยหลีกเลีย่ งการกระทาใดๆ ที่ไม่เป็ นธรรมและปฎิบตั ิตอ่ พนักงานด้ วยความ สุภาพ ให้ ความเป็ นปั จเจกชน และศักดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์ ตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล (8) ให้ ความเป็ นธรรมและส่งเสริ มสนับสนุนให้ พนักงานมีความเจริ ญก้ าวหน้ า (9) จัดให้ มีกองทุนสารองเลี ้ยงชีพสาหรับพนักงาน (10) แต่ ง ตัง้ โยกย้ า ย ให้ รางวัล และลงโทษพนัก งาน ด้ ว ยความสุจ ริ ต และตัง้ อยู่บ นพื น้ ฐานของความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมของพนักงาน การปฏิบัตติ ่ อชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้ อม (1) ไม่ให้ ความร่วมมือ หรื อสนับสนุนลูกค้ าที่ทาธุรกิจไม่ชอบด้ วยกฎหมาย หรื อเป็ นภัยต่อสังคม และประเทศชาติ (2) เปิ ดโอกาสให้ ชุมชนและผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้ อง มีสว่ นร่ วมในการให้ ข้อคิดเห็นสาหรับโครงการต่างๆที่อาจส่งผล กระทบต่อชุมชน และเสนอความคิดเห็นหรื อข้ อร้ องเรี ยนต่างๆที่เป็ นผลมาจากการดาเนินงานของบริ ษัทฯ (3) ให้ ความร่ วมมือในการดาเนินงานตามมาตรฐาน หรื อข้ อตกลงระดับสากลในเรื่ องต่างๆ ที่จดั ทาข้ นเพื่อช่วย ป้องกัน หรื อลดผลกระทบด้ านสิง่ แวดล้ อม (4) ออกแบบและพัฒ นากระบวนการผลิ ต เครื่ อ งจัก ร อุ ป กรณ์ ให้ ส ามารควบคุม และ/ลดมลพิ ษ โดยให้ ครอบคลุมเรื่ องน ้าเสีย ฝุ่ นละออง อากาศ รวมทังของเสี ้ ยต่างๆ (5) ผู้ที่มีหน้ าที่รับผิดชอบที่เกี่ยวข้ องกับกระบวนการผลิต เครื่ องจักร อุปกรณ์ ต้ องควบคุมดูแลไม่ให้ เกิดผล กระทบต่อสิง่ แวดล้ อมเกินกว่ามาตรฐานที่กาหนดไว้ (6) ให้ ความร่วมมือในการลดการเกิดขยะหรื อของเสียทังจากกระบวนการผลิ ้ ตและการใช้ งานทัว่ ไป (7) ผู้ที่เกี่ยวข้ องกับกระบวนการผลิตหรื อเครื่ องจักร มีหน้ าที่ดูแล ปรับปรุ ง และบารุ งรักษากระบวนการผลิต หรื อเครื่ องจักรให้ อยูใ่ นมาตรฐานที่กาหนดไว้ เพื่อลดการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ (8) ให้ ความร่วมมือกับมาตรการด้ านการอนุรักษ์ พลังงานของบริ ษัทฯ (9)สร้ างจิตสานึกในเรื่ องความรับผิดชอบต่อสังคม และสิง่ แวดล้ อมให้ เกิดขึ ้นกับพนักงานทุกระดับอย่างต่อเนื่อง (10) ดาเนินกิจกรรมเพื่อร่วมสร้ างสรรสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้ อมอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ ชุมชนที่อ งค์กรตังอยู ้ ่มี คุณภาพชีวิต ที่ดีขึ ้น ทังที ้ ่ดาเนินการเองและร่วมมือกับรัฐและชุมชน
66
นโยบายการจัดการด้ านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ของบริษัท (Occupational Health And Safety Management Policy (OHSAS18001:2007/TIS18001:2011)) จากความมุ่งมัน่ ในการประกอบธุรกิจของบริ ษัทฯ ให้ เป็ นไปในลักษณะที่ส่งเสริ มความปลอดภัยและดูแลด้ าน อาชีวอนามัยให้ แก่พนักงานทุกคนและผู้ที่มีสว่ นได้ เสียทุกระดับ โดยมีนโยบายดังต่อไปนี ้ 1. บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) จะพยายามป้องกันและลดการเกิดอุบต ั ิการณ์ การเกิดอุบตั ิเหตุ การบาดเจ็บและการเจ็บป่ วยหรื อเกิดโรคอันเนื่องจากการทางาน ด้ วยความร่ วมมืออย่าง จริ งจังของพนักงานทุกคน 2. บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) มุง่ สร้ างความตระหนักและจิตสานึกที่จะพยาม ยามอย่างต่อเนื่อง เพื่อตรวจหาให้ พบ และขจัดหรื อควบคุมความไม่ปลอดภัยที่เกี่ยวข้ องกับกระบวนการ ผลิตหรื อเกี่ยวข้ องกับการดาเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ และเพื่อดาเนินการตามนโยบายที่กล่าวมานี ้ บริ ษัทฯ จะ 2.1. ดาเนินการและพัฒนาระบบการจัดการด้ านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน มอก. 18001 และ OHSAS18001 อย่า งเหมาะสมและสอดคล้ อ งกับ ข้ อ ก าหนดของกฎหมาย และ ข้ อกาหนดอื่นๆที่องค์กรได้ ทาข้ อตกลงไว้ 2.2. ดาเนิ นการปรั บปรุ งและป้องกั นอันตรายจากเครื่ องจักร เครื่ องมือ อัคคีภยั สารเคมี และ อันตรายอื่นๆที่เกี่ยวข้ องกับการทางาน รวมทังลดการเกิ ้ ดโรคจากการทางานด้ วย ซึ่งมีความเสี่ยงตังแต่ ้ ระดับปานกลางขึ ้นไป รวมทังควบคุ ้ มความเสี่ยง ทุกระดับในองค์กร โดยกาหนดเป็ นมาตรการด้ านอาชีวอ นามัยและความปลอดภัยประจาปี และสื่อสารให้ ผ้ ทู ึ่เกี่ ยวข้ องทุกคนนาไปปฏิบตั ิ เพื่อให้ เกิดการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง 2.3. ให้ การสนั บสนุ นทรั พยากรทั้งในเรื่ องบุคคลากร เวลา งบประมาณและการฝึ กอบรมที่ เหมาะสมและเพียงพอ 2.4. กล่ าวยา้ ให้ พนักงาน ผู้รับเหมา และผู้ที่เข้ ามาปฏิบัติงานในบริษัท ทราบว่าการรักษาความ ปลอดภัยเป็ นหน้ าที่ความรับผิดชอบของทุกคนรวมทังความปลอดภั ้ ยนอกงาน 2.5.ทาการทบทวนและประเมินผล การดาเนินงานตามความเหมาะสมและต่อเนื่องสม่าเสมอ เพื่อ ทราบความก้ าวหน้ าและเพื่อให้ แน่ใจว่าปฏิบตั ิตามนโยบายเกี่ยวกับความปลอดภัยเหล่านี ้เป็ นประจาทุกปี ความปลอดภัยถือเป็ นสิง่ ที่สาคัญที่สดุ ของพนักงานทุกคน ทุกระดับ รวมถึงผู้มีสว่ นได้ เสียอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง ดังนัน้ บริ ษัทฯจึงมีระบบการบริ หารความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางานที่เป็ นระบบตามมาตรฐาน OHSAS18001 พร้ อมทังพั ้ ฒนาบุคลากรให้ มีความสามารถในการปฏิบตั ิงานด้ วยความปลอดภัย สามารถหยัง่ รู้ อนั ตราย ล่วงหน้ าได้ ด้วยตนเองส่งเสริ มให้ พนักงานมีส่วนร่ วมในการประเมินความเสี่ยงในงานที่ปฏิบตั ิ มีการตรวจประเมิน และ ทบทวนโดยฝ่ ายบริ หารสูงสุดเพื่อสนับสนุนทรัพยากรที่จาเป็ น และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยบริ ษัทฯ มี
67
เป้าหมายอุบัติเหตุจากการทางานเป็ นศูนย์ (Zero-Accident)
Start Safe
Work Safe
Finish Safe
Zero -Accident
กรอบการบริ หารด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางาน • พนักงาน,หัวหน้ างาน,คปอ.,จป. • ปฏิบตั ิงานด้ วยความปลอดภัย แจ้ ง ปั ญหา ดาเนินการ ป้องกันและ แก้ ไข, ติดตามและประเมินผล
• ผู้บริ หาร • กาหนดนโยบายความปลอดภัยฯ, กาหนดเป้าหมาย • ทบทวนการดาเนินการ ACTION
Plan
CHECK
Do
• พนักงาน,หัวหน้ างาน,คปอ.,จป. • ตรวจความปลอดภัยก่อนปฏิบตั ิ, ควบคุมการปฏิบตั ิให้ ปลอดภัย,ตรวจวัด สภาพแวดล้ อมในการทางาน
• หัวหน้ างาน & ผู้ปฏิบัติงาน
• ประเมินความเสี่ยง,กาหนดวิธีการที่ ปลอดภัย,ให้ ความรู้กบั ผู้ปฏิบตั ิงาน และนาไปใช้ งานจริง
ตารางแสดงสถิติการเกิดอุบัตเิ หตุในการทางานเปรียบเทียบ 3 ปี ย้ อนหลัง จานวนครัง้ /ปี พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 ได้ รับบาดเจ็บเล็กน้ อย (ไม่หยุดงาน) 0 4 3 ได้ รับบาดเจ็บเล็กน้ อย (หยุดงาน<3 วัน) 0 0 1 ได้ รับบาดเจ็บรุนแรงถึงขันหยุ ้ ดงาน (หยุดงาน>3 วัน) 0 1 0 รวมจานวน (ครัง้ ) 0 5 4 รวมจานวนวันหยุดงานจากอุบตั หิ ตุในการทางาน (วัน) 0 3 3 ในปี 2561 ที่ผ่านมาสถิติการเกิดอุบตั ิเหตุและเหตุฉกุ เฉินต่าง ๆ ภายในองค์กรนัน้ มีแนวโน้ มไปในทิศทงที่ดีขึ ้น อย่างต่อเนื่อง โดยเห็นได้ จากองค์กรมีสถิติการเกิดอุบตั ิเหตุและเหตุฉกุ เฉินลดลงและมี lost time ที่มีการหยุดงานจานวน 3 วัน เพียงแค่ 1 ครัง้ เหตุฉกุ เฉินต่าง ๆ เช่น การเกิดอัคคีภยั , สารเคมีรั่วไหล , เตาระเบิด ไม่มี case เกิดขึ ้นเลยภายในปี ที่ ผ่า นมา เพราะเกิ ดจากพนักงานในทุก ระดับให้ ความสาคัญ และตระหนัก ในเรื่ อ งความปลอดภัย อาชี ว อนามัยและ สภาพแวดล้ อมในการทางาน ตังแต่ ้ ระดับ ผู้บริ หารระดับสูง ฝ่ ายบริ หาร หัวหน้ างาน พนักงานทุ กคน ให้ ความสาคัญและ ความรุ นแรง/ความเสียหาย
68
ตระหนักในเรื่ องความปลอดภัยอาชีวอนามัย แสภาพแวดล้ อมในการทางาน รวมทังยั ้ งทราบถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ ้นเมื่อ เกิดอุบตั ิเหตุหรื อเหตุฉกุ เฉินที่เกิดขี ้น ซึ่งจะทาให้ เกิดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินขององค์กร จึงทาให้ ทุกภาคส่วน ร่วมมือร่วมใจกันปฏิบตั ิตามกฎรเบียบความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้ อมในการทางานอย่างเคร่งครัด การจัดการด้ านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน บริ ษัทฯ มีความมุ่งมัน่ ที่จะส่งเสริ มความปลอดภัยให้ แก่พนักงาน และผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียที่เกี่ยวข้ องเพื่อป้องกัน การเกิดอุบตั ิเหตุ การบาดเจ็บ และการเจ็บป่ วยในการทางาน และปฏิบตั ิตามกฏหมายด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางานที่ทางราชการกาหนดขึ ้นอย่างเคร่งครับ รวมถึงมีความพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะค้ นหา อันตรายตรวจหาให้ พบ และประเมินความเสี่ยงขจัด หรื อควบคุมความไม่ ปลอดภัยที่เ กี่ยวข้ องกับการดาเนินธุรกิจของ บริ ษัทฯโดยได้ กาหนดนโยบายความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการ ทางาน เพื่อเป็ นแนวทางในการ ปฏิบตั ิของพนักงาน พร้ อมทังเผยแพร่ ้ ให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ สว่ นเสียได้ รับทราบทาง www.sankothai.net กิจกรรมรณรงค์ ส่งเสริมด้ านความปลอดภัย ดังต่ อไปนี ้ 1.) กิจกรรม Safety Morning Talk เป็ นกิจกรรมที่ทุกแผนกต้ องปฏิบตั ิก่อนเริ่ มงานในทุก ๆ วัน โดยจะเป็ นการพูดคุยเรื่ องการปฏิบิบตั ิงานที่จะ เกิดขึ ้นในแต่ละวันรวมถึงในเรื่ องความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้ อมในการทางาน ซึ่งกิจกรรม ดังกล่าวสามารถที่จะลดความผิดพลาดของกระบวนการผลิตและลดจานวนอุบตั ิเหตุที่เกิดขึ ้นได้ เพราะมีการย ้า เตือนและชี ้แจงถึงข้ อผิดพลาดที่เกิดขึ ้นในแต่ละวัน
2.) การอบรมหลักสูตรความปลอดภัยที่เกี่ยวเนื่องกับกฎหมาย ทางองค์กรเล็งเห็นความสาคัญในการฝึ กอบรมในเรื่ องความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้ อมในการ ทางานให้ กบั พนักงาน ทาให้ พนักงานมีความรู้เพิ่มมากขึ ้นสามารถที่จะปฏิบตั ิงานได้ อย่างปลอดภัยและยังเป็ น การปฏิบตั ิตามกฎหมายความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้ อมอย่างเคร่ งครัดด้ วย อีกทังยั ้ งเป็ นการ ลดต้ นทุนในการดาเนินการส่งพนักงานออกไปอบรมที่หน่วยงานภายนอกโดยให้ พนักงานที่มีคณ ุ สมบัติตรงตาม หลักสูตรนัน้ ๆ ได้ เป็ นผู้อบรมภายในให้ กบั พนักงานภายในองค์กรด้ วย 2.1 อบรมการขับรถยก ( Froklift ) อย่างปลอดภัย
69
2.2 อบรมการฝึ กอบรมผู้บงั คับปั น้ จั่น ผู้ให้ สญ ั ญาณแก่ผ้ บู งั คับปั น้ จัน่ ผู้ยึดเกาะวัสดุ ผู้ควบคุ มการใช้ ปั น้ จัน่ ชนิดปั น้ จัน่ เหนือศีรษะ ปั น้ จัน่ ขาสูง และปั น้ จัน่ ชนิดอยู่กบั ที่ชนิดอื่น และทบทวนการทางาน เกี่ยวกับปั น้ จัน่ ตามกฎหมาย
2.3 กิจกรรม SAFETY & ENERGY DAY 2018 ณ ห้ องมรกต อาคารศูนย์การเรี ยนรู้ โดยมีวตั ถุประสงค์ สาคัญในการรณรงค์ส่งเสริ มให้ ทุกส่วนงานมีความมุ่งมัน่ ในการป้องกันการเกิ ดอุบัติเหตุจากการ ทางานบนพื ้นฐานแนวคิดที่วา่ อุบตั ิเหตุที่เกี่ยวเนื่องกับการทางานสามารถป้องกันได้ ภายในงานมีการ จัดกิจกรรมเล่นเกมส์ตามซุ้มต่าง ๆ และยังมีรางวัลแจกให้ พนักงานที่เข้ าร่ วมกิจกรรมอีกมากมายอีก ด้ วย
2.4 การปฐมพยาบาลและปฏิ บัติ ก ารช่ ว ยชี วิ ต ขัน้ พื น้ ฐาน(First Aid And Basic Life Support Workshop)
70
3.) การฝึ กซ้ อมแผนเตรียมความพร้ อมตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน เพื่อเป็ นการเตรี ยมพร้ อมรับสถานการณ์ฉกุ เฉินที่จะเกิดขึ ้นภายในองค์กรจึงมีความจาเป็ นอย่างยิ่งที่ต้องอบรม พนักงานให้ ได้ รับความรู้ ความเข้ าใจในทางานที่เกี่ยวข้ องกับเครื่ องจักร อุปกรณ์ที่จาเพาะด้ านให้ เกิดขึ ้น เพื่อจะ เกิดการทางานได้ อย่างถูกต้ อง ปลอดภัยและไม่มีอันตรายจากการทางาน ได้ แก่ การฝึ กอพยพซ้ อมหนีไฟ , สารเคมีรั่วไหล , ก๊ าซรั่วไหล เป็ นต้ น เพื่อเมื่อเกิ ดเหตุฉุกเฉินพนักงานสามารถที่ที่จะปฏิบัติตนในการตอบโต้ สถานการณ์ฉกุ เฉินได้ อย่างถูกต้ องเพื่อลดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สนิ ที่อาจจะเกิดขึ ้น 3.1 ฝึ กซ้ อมดับเพลิงและฝึ กซ้ อมอพยพหนีไฟประจาปี 2561
3.2 ฝึ กซ้ อมตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน กรณีก๊าซ NG รั่วไหลประจาปี 2561
3.3 ฝึ กซ้ อมแผนป้องกันและระงับเหตุฉกุ เฉินเตาระเบิดประจาปี 2561
4.) การตรวจสภาพแวดล้ อมในพืน้ ที่ทางานและการตรวจอุปกรณ์ เครื่องจักรตามกฎหมาย เพื่อเป็ นการเตรี ยมความพร้ อมและยืดอายุการใช้ งาน ของอุปกรณ์เครื่ องมือเครื่ องจักรที่ใช้ ในกระบวนการผลิต รวมทังสภาพแวดล้ ้ อมการทางานที่มีผลกระทบโดยตรงต่อตัวผู้ปฏิบตั ิงาน องค์กรได้ ให้ ความสาคัญเป็ นอย่าง มากในเรื่ องดังกล่าวนี ้ ทางบริ ษัทได้ จดั ทาแผนการตรวจสภาพแวดล้ อมต่างๆเช่น เสียง แสง ความร้ อนในบริ เวณ ทางาน และมลภาวะทางอากาศ และการแผนการทดสอบเครื่ องจักรเป็ นประจาทุกปี
71
4.1 การตรวจสภาพแวดล้ อมในการทางานประจาปี 2561
4.2 การทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั น้ จัน่ ตามกฎหมาย
4.3 การทดสอบและตรวจสอบสถานที่ใช้ ก๊าซธรรมชาติ เพื่อต่ออายุประจาปี 2561
5.) การตรวจสุขภาพประจาปี บริ ษัทฯ ดาเนินการตรวจสุขภาพพนักงานและผู้รับเหมาช่วงเป็ นประจาทุกปี อีกทังยั ้ งมีโปรแกรมตรวจตามปั จจัย เสีย่ งของแต่ละพื ้นที่การทางาน เพื่อเป็ นการเฝ้ าระวังโรคต่าง ๆ ที่เกิดจากการทางานที่จะส่งผลต่อตัวพนักงาน และยังเป็ นการปฏิบตั ิตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดอีกด้ วย
สาหรับการตรวจสุขภาพตามปั จจัยเสีย่ งที่มีผลผิดปกติ เราได้ เชิญแพทย์ผ้ เู ชี่ยวชาญด้ านอาชีวเวชศาสตร์ เข้ ามา ซักประวัติ และให้ คาแนะนาในการดูแลสุขภาพของพนักงานที่มีผลผิดปกติ โดยผลการตรวจพบพนักงานที่ตรวจตามปั จจัย เสีย่ งแล้ วผลตรวจผิดปกติลดลงจากปี 2560 เนื่องจากทางบริ ษัทได้ มีการปรับปรุ งสภาพแวดล้ อมในการทางานให้ มีความ
72
ปลอดภัย ต่อผู้ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องและอบรมให้ ความรู้ ให้ กับพนัก งานให้ ปฏิบัติงานได้ อย่างถูกต้ อ งให้ สามารถ ปฏิบตั ิงานได้ อย่างปลอดภัย การตรวจวัดด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางาน บริ ษัทฯ ได้ ดาเนินการตรวจวัดสภาพแวดล้ อมในการทางาน และตรวจสุขภาพพนักงานทังแบบทั ้ ว่ ไปและแบบ เฉพาะเจาะจงตามปั จจัยเสี่ยงเพื่อเป็ นการเฝ้ าระวัง และการวางแผนในการปรับปรุ ง ความถี่ในการตรวจวัดเป็ นไปตาม ข้ อกาหนดของระวัง และการวางแผนในการปรับปรุง ความถี่ในการตรวจวัดเป็ นไปตามข้ อกาหนดของกฎหมาย เช่น ผลการตรวจวัดสภาพแวดล้ อมในบริเวณการทางานเปรียบเทียบย้ อนหลัง 3 ปี ค่ าความร้ อน (˚C) (WBGT) บริเวณที่ตรวจวัด ลักษณะงาน 2559 2560 2561 1.Diecastingหน้ าเตาหลอม1 งานปานกลาง 31.4 31.3 2.Diecastingหน้ าเตาหลอม2 งานปานกลาง 31.5 31.1 3.Diecastingหน้ าเครื่ องจักร8 งานปานกลาง 31.4 29.6 31.4 4.Diecastingหน้ าเครื่ องจักร11 งานปานกลาง 31.2 30.8 32.9 5.Diecastingหน้ าเครื่ องจักร16 งานปานกลาง 31.1 31.7 31.2 6. machine 1 งานปานกลาง 30.3 28.4 32 7. machine 2 งานปานกลาง 30.8 28 28.2 8.Finishing Line งานปานกลาง 30.1 29.9 32.6 9.IQC งานปานกลาง 30.5 30. 29.1 10.Maintenance/Mold งานปานกลาง 31.2 30.2 31.9 11.WH งานปานกลาง 30.2 31.4 30.3 12.อาคารอนุรักษ์ งานปานกลาง 31 29.7 33.6 13.Jig & Mold งานปานกลาง 22.5 มาตรฐาน < 32.0 ผลการประเมิน ผ่ าน ผ่ าน ผ่ าน ผลการตรวจวัดระดับเสียงดังเฉลี่ย 8 ชั่วโมงในสถานประกอบการเปรียบเทียบย้ อนหลัง 3 ปี ผลการตรวจวัดระดับเสียง (dB(A)) ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 บริเวณที่ตรวจ Leq 8 L max Leq 8 L max Leq 8 L max Hrs. Hrs. Hrs. 1.Diecasting หน้ าเตาหลอม1 84.6 108.2 83.1 107.3 2.Diecasting หน้ าเตาหลอม2 80.3 100.9 74.5 95.7 3.Diecasting หน้ าเครื่ องจักร7 87.9 101.5 86.5 99.6 86.2 103.5 4.Diecasting หน้ าเครื่ องจักร11 84.8 108.1 82.5 99.2 78.6 92.7 5.Diecasting หน้ าเครื่ องจักร16 78.5 95.2 85.7 102.7 84.6 92.7
73
บริเวณที่ตรวจ 6. Diecasting วัดที่ตวั บุคคล 7. machine 1 8. machine 2 9. machine 1 วัดที่ตวั บุคคล 10. machine 2 วัดที่ตวั บุคคล 11.Finishing /Line 12.Finishing /เครื่ องเจียร 13.IQC 14.Maintenance/Mold 15.Diecasting ทางเดินโรง1 16.Diecasting ทางเดินโรง2 17.Diecasting ทางเดินโรง3 18.WH 19 Jig & Mold มาตรฐาน ผลการประเมิน
ปี Leq 8 Hrs. 88.4 84.5 86.0 86.5 80.4 84.0 83.9 79.0 84.8 79.8 89.5 84.3 71.1 <90 ผ่ าน
ผลการตรวจวัดระดับเสียง (dB(A)) 2559 ปี 2560 ปี 2561 L max Leq 8 L max Leq 8 L max Hrs. Hrs. 106.6 84.9 100.3 82.1 100.5 101.7 85.7 102.7 81.7 87.1 126.5 85 100.9 79.5 90.7 101.6 87 102.4 86.5 101.3 93.7 86.8 105.4 82.6 104.1 96.5 81.1 110.1 78.6 86.4 99.3 86.9 100.1 82.3 100.5 117.9 69.1 94.2 75.5 91.7 105.6 75 101.6 79 88.7 90.2 80.8 101.9 70.5 90.5 107.2 86.7 102.6 84.5 92.4 94.0 83.6 101.2 66.9 85.7 89.6 69.8 86.9 72 90.9 73.5 95.1 <140 <90 <140 <90 <140 ผ่ าน ผ่ าน ผ่ าน ผ่ าน ผ่ าน
ผลการตรวจวัดระดับเสียงทั่วไป เปรียบเทียบย้ อนหลัง 3 ปี ผลการตรวจวัดระดับเสียง (dB(A)) จุดตรวจวัด ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 Leq 24Hrs. L max Leq24 Hrs. L max Leq24 Hrs. L max 1.ด้ านหน้ าโรงงาน 68.6 93.4 68.8 95.8 67.1 92.5 2.ด้ านหลังโรงงาน 64.8 93.7 64.2 93.9 63.8 91.7 มาตรฐาน <70 <115 <70 <115 <70 <115 ผลการประเมิน ผ่ าน ผ่ าน ผ่ าน ผ่ าน ผ่ าน ผ่ าน
74
ผลการตรวจวัดปริมาณฝุ่ นในบรรยากาศการทางานเปรียบเทียบย้ อนหลัง 3 ปี ผลการประเมิน ดัชนีท่ ี ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 บริเวณที่ตรวจวัด หน่ วย ตรวจวัด ครัง้ ที่ ครัง้ ที่ ครัง้ ที่ ครัง้ ที่ ครัง้ ที่ ครัง้ ที่ 1 2 1 2 1 2 1.Diecasting 1 (หน้ าเตาหลอม)
2.Diecasting 2 (หน้ าเตาหลอม)
3.Diecasting 6 (หน้ าเครื่องจักร)
4.Diecasting12 (หน้ าเครื่องจักร)
5.Diecasting16 (หน้ าเครื่องจักร)
6.Diecasting (บุคคล)
7.Machine1
8.Machine2
9.Finishing/Line
ค่ า มาตรฐาน
Zinc Oxide
mg/m3
0.132
-
-
-
0.002
-
15
Lead (Pb)
mg/m
3
Aluminium
mg/m
3
0.051 0.125
-
-
-
0.001 0.022
-
0.05 15
CO Zinc Oxide Lead (Pb) Aluminium(Al) CO Silic as Totaldust Fe Fume Zinc Oxide CO Silicaas Totaldust Fe Fume Zinc Oxide CO Silicaas Totaldust Fe Fume Zinc Oxide CO Silicaas Totaldust Fe Fume Zinc Oxide CO Phosphorus IPA Oil Mist Phosphorus IPA Oil Mist Total Dust
ppm mg/m3 mg/m3 mg/m3 ppm mg/m3 mg/m3 mg/m3 ppm mg/m3
2.0 0.145 0.023 0.134 3.0 0.024 0.253 0.141 2.0 0.012
0.035 0.079 0.045 14.7 0.033
0.785 0.518 0.037 8.0 <0.01 0.579 0.575 11.0 <0.01
0.094 0.062 0.033 6.6 0.020 0.450 0.050 2.4 0.028
1.0 8.0 <0.01 0.006 0.002 1.0 <0.01
-
50 5 0.2 5 50 0.025 10 15 50 0.025
mg/m3 mg/m3 ppm
0.241 0.123 1.0 0.024
0.307 0.031 7.3 -
1.898 0.831 6.0 <0.01
0.583 0.064 3.5 0.018
0.004 0.001 1.0 <0.01
-
10 15 50 0.025
mg/m3 mg/m3 ppm mg/m3
0.241 0.114 1.0 0.014
0.021
0.519 0.861 <0.1 <0.01
0.386 0.047 0.8 <0.01
0.001 0.001 1.0 <0.01
0.047 -
10 15 50 0.02
mg/m3 mg/m3 ppm mg/m3 mg/m3 ppm mg/m3 mg/m3 ppm mg/m3
0.221 0.132 <0.1 0.002 <0.1 0.012 0.003 <0.1 0.011 0.047
0.018 0.027 2.1 <0.01 <0.01 0.020 <0.01 <0.01 0.046 -
0.186 0.048 <0.1 0.004 <0.1 <0.01 0.006 <0.1 <0.01 0.198
0.112 <0.01 2.8 <0.01 3.38 0.025 <0.01 3.55 0.038 0.106
<0.01 <0.01 1.0 <0.01 <0.05 0.625 <0.01 <0.0.5 0.833 0.67
-
10 15 50 1 400 5.0 1.0 400 5.0 15
mg/m3
75
บริเวณที่ตรวจวัด
10.FS/เครื่องเจียร 11.Finishing/SB 12.MTMold 13.WH 14.FS/Line B 15.FS/Line L 16.FS/เจียรตังโต๊ ้ ะ 17.IQC
ดัชนีท่ ี ตรวจวัด
หน่ วย
RespirableDust Total Dust RespirableDust Total Dust RespirableDust Oil Mist Total Dust RespirableDust Total Dust RespirableDust Total Dust RespirableDust Total Dust RespirableDust Total Dust RespirableDust
mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3 ppm mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3
ผลการประเมิน
ผลการประเมิน ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ครัง้ ที่ ครัง้ ที่ ครัง้ ที่ ครัง้ ที่ ครัง้ ที่ ครัง้ ที่ 1 2 1 2 1 2 0.021 0.083 0.062 0.067 0.045 0.011 0.017 0.011 -
0.075 0.033 0.038 0.033 0.024 0.058 0.033 0.067 0.050 0.058 0.022
0.157 0.183 0.017 0.167 0.108 <0.01 0.177 0.095 -
0.036 0.149 0.065 0.092 0.023 0.010 0.106 0.036 0.118 0.040 0.149 0.065 0.094 0.062
0.29 1.08 0.39 0.49 0.086 0.417 0.54 0.20 0.089 0.028 0.094 0.038 0.128 0.058 0.086 0.058
ผ่ าน
ผ่ าน
ผ่ าน
ผ่ าน
ผ่ าน
-
ค่ า มาตรฐาน 5 15 5 15 5 5 15 5 15 5 15 5 15 5 15 5
ผ่ าน
ผลการตรวจวัดตามปั จจัยเสี่ยงของการทางานเปรียบเทียบย้ อนหลัง 3 ปี ปี 2561 ปี 2559 ปี 2560 รายการตรวจ เฝ้า ผิด เฝ้า ผิด เฝ้า ผิด การตรวจสุขภาพทั่วไป ระวัง ปกติ ระวัง ปกติ ระวัง ปกติ ตรวจทดสอบความแข็งแรงของกล้ ามเนื ้อมือ : HGD 0 0 0 0 0 0 ตรวจทดสอบความแข็งแรงของกล้ ามเนื ้อขา : LSD 0 0 0 0 0 0 ตรวจคัดกรองสมรรถภาพการได้ ยิน : Audiometry 45 7 14 4 7 0 ตรวจคัดกรองสมรรถภาพปอด : Spirometry 61 14 53 8 16 0 ตรวจหาระดับสารอลูมเิ นียมในเลือด : Al in Blood (Al) 0 0 0 0 0 0 ตรวจหาระดับสารตะกัว่ ในเลือด : Lead in Blood (Pb) 0 0 0 0 0 0 ตรวจทดสอบความแข็งแรงของกล้ ามเนื ้อมือ : HGD 0 0 0 0 0 0 สาหรับการตรวจสุขภาพตามปั จจัยเสีย่ งที่มีผลผิดปกติ เราได้ เชิญแพทย์ผ้ เู ชี่ยวชาญด้ านอาชีวเวชศาสตร์ เข้ ามา ซักประวัติ และให้ คาแนะนาในการดูแลสุขภาพของพนักงานที่มีผลผิดปกติ - ส่วนผลตรวจผิดปกติอื่นๆ ไม่พบในความเสีย่ งใดๆ
76
4. การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่งใส บริ ษัทให้ ความสาคัญกับการเปิ ดเผยข้ อมูลสาคัญที่เกี่ยวข้ องกับบริ ษัท ทังข้ ้ อมูลทางการเงินและข้ อมูลที่มิใช่ ข้ อมูลทางการเงินอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน ทันเวลา โปร่ งใส ผ่านช่องทางที่เข้ าถึงข้ อมูลได้ ง่าย มีความเท่าเทียมกันและ น่าเชื่อถือ ด้ ว ยบริ ษั ท เชื่ อ ว่า คุณ ภาพของรายงานทางการเงิ น เป็ นเรื่ อ งที่ ผ้ ูถื อ หุ้น และบุค คลภายนอกให้ ค วามสาคัญ คณะกรรมการบริ ษัท จึงดูแลเพื่อให้ เกิดความมัน่ ใจว่า ข้ อมูลที่แสดงในรายงานทางการเงินมีความถูกต้ อง เป็ นไปตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทัว่ ไป และผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีที่เป็ นอิสระ โดยได้ แต่งตั ง้ คณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้ วยกรรมการที่เป็ นอิสระเป็ นผู้รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบ การควบคุมภายใน ทังนี ้ ้รายงานของคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานของผู้สอบบัญชี มี รายละเอียดปรากฏในรายงานประจาปี (56-2) นอกจากบริ ษั ท จะมี ก ารเผยแพร่ ข้ อ มูล ส าคัญ ๆต่ า งๆผ่ า นทาง www.sankothai.net ทัง้ ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษแล้ ว ในปี ที่ผ่านมาทางผู้บริ หารของบริ ษัทได้ มีการพบปะนักวิเคราะห์และนักลงทุน และผู้ถือหุ้น ตามวาระ และโอกาสต่างๆอย่างเหมาะสม เช่น งาน mai Forum ของตลาดหลักทรั พย์ mai และมีการนัดหมายขอเข้ าพบเพื่อ สัมภาษณ์จากสือ่ และนักวิเคราะห์นกั ลงทุน ในหลายๆครัง้ และก็เผยแพร่ผา่ นสือ่ สิง่ พิมพ์ตา่ งๆด้ วย 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัท มีบทบาทสาคัญในการกากับดูแลกิจการเพื่อประโยชน์สงู สุดของบริ ษัท คณะกรรมการ บริ ษัท มีความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบตั ิหน้ าที่ตอ่ ผู้ถือหุ้นและเป็ นอิสระจากฝ่ ายจัดการ คณะกรรมการบริ ษัท มีภาวะผู้นา วิสยั ทัศน์ และมีความเป็ นอิสระในการตัดสินใจเพื่อประโยชน์สงู สุดของบริ ษัท และผู้ถือหุ้นโดยรวม จึงจัดให้ มีระบบแบ่งแยกบทบาทหน้ าที่ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริ ษัท และฝ่ ายจัดการ ที่ชดั เจน และดูแลให้ บริ ษัท มีระบบงานที่ให้ ความเชื่อมัน่ ได้ ว่ากิจกรรมต่างๆ ของบริ ษัท ได้ ดาเนินไปในลักษณะที่ถกู ต้ อง ตามกฎหมายและมีจริ ยธรรม คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้ ว ยกรรมการที่ มี คุณ สมบัติ ห ลากหลาย ทัง้ ในด้ า นทัก ษะ ประสบการณ์ ความสามารถเฉพาะด้ านที่เป็ นประโยชน์กับบริ ษัท รวมทังการอุ ้ ทิศเวลาและความพยายามในการปฏิบตั ิหน้ าที่ เพื่อ เสริ มสร้ างให้ บริ ษัท มีคณะกรรมการที่เข้ มแข็ง กระบวนการสรรหาผู้ดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษัท เพื่อให้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็ นผู้แต่งตัง้ เป็ นไปอย่างโปร่ งใส ปราศจากอิทธิพลของผู้ถือหุ้นที่มีอานาจควบคุมหรื อฝ่ ายจัดการ และสร้ างความมัน่ ใจให้ กบั บุคคลภายนอก เพื่อให้ การปฏิบตั ิหน้ าที่ของคณะกรรมการบริ ษัท มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล คณะกรรมการบริ ษัท จึงจัด ให้ มีคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทาหน้ าที่ช่วยคณะกรรมการบริ ษัท ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ กากับดูแลเกี่ยวกับความถูกต้ อง ของรายงานทางการเงิ น ประสิท ธิ ภาพระบบการควบคุม ภายใน และการปฏิ บัติ ต ามกฎหมาย ระเบี ย บ และหลัก จรรยาบรรณต่างๆ เพื่อส่งเสริ มให้ เกิดการกากับดูแลกิจการที่ดี กรรมการบริ ษัท ทุกคนมีความเข้ าใจเป็ นอย่างดีถึงหน้ าที่ความรับผิดชอบของกรรมการและลักษณะการดาเนิน ธุรกิ จของบริ ษัท พร้ อมที่จ ะแสดงความคิด เห็ นของตนอย่างเป็ นอิ สระและปรั บ ปรุ งตัวเองให้ ทัน สมัยอยู่ต ลอดเวลา กรรมการบริ ษัท มีการปฏิบตั ิหน้ าที่ด้วยความซื่อสัตย์สจุ ริ ต ระมัดระวังและรอบคอบ โดยคานึงถึงประโยชน์สงู สุดของ บริ ษัท และเป็ นธรรมต่อผู้ถือหุ้นทุกคน โดยได้ รับข้ อมูลที่ถกู ต้ องและครบถ้ วน
77
11.2 คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่ อย คณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการบริษัท ขอบเขตอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริ ษัท อานาจ หน้ าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษัทที่สาคัญโดยสรุ ปตามมติที่ประชุมวิสามัญ ผู้ถือหุ้น ครัง้ ที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2552 1) จัดการบริ ษัทให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้ อบังคับ มติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้ วยความสุจริ ต ระมัดระวัง และรักษาผลประโยชน์ของบริ ษัท 2) มีอานาจแต่งตังกรรมการ ้ และ/หรื อ ผู้บริ หารของบริ ษัท จานวนหนึ่งให้ เป็ นฝ่ ายบริ หารเพื่อดาเนินการอย่าง หนึ่งอย่างใดหรื อหลายอย่างได้ เพื่อปฏิบตั ิงานตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัทรวมทัง้ มี อานาจแต่งตังประธานเจ้ ้ าหน้ าที่บริ หาร และคณะกรรมการอื่นๆตามความเหมาะสม 3) กาหนดเป้าหมาย แนวทาง นโยบาย แผนงาน และงบประมาณของบริ ษัท ควบคุมดูแลการบริ หารและการ จัดการฝ่ ายบริ หาร หรื อบุคคลที่ได้ รับมอบหมาย ให้ เป็ นไปตามนโยบายที่คณะกรรมการบริ ษัทได้ ให้ ไว้ 4) พิจารณาทบทวนและอนุมตั ินโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ แผนงานการดาเนินธุรกิจ โครงการลงทุนขนาดใหญ่ ของบริ ษัท ที่เสนอโดยฝ่ ายบริ หาร 5) ติดตามผลการดาเนินงานให้ เป็ นไปตามแผนงานและงบประมาณอย่างต่อเนื่อง 6) พิจารณาและอนุมตั ิกิจการอื่นๆ ที่สาคัญอันเกี่ยวกับบริ ษัท หรื อที่เห็นสมควรจะดาเนินการนันๆ ้ เพื่อให้ เกิด ประโยชน์สงู สุดแก่บริ ษัท เว้ นแต่อานาจในการดาเนินการดังต่อไปนี ้ จะกระทาได้ ก็ตอ่ เมื่อได้ รับอนุมตั ิจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อน ทังนี ้ ้ เรื่ องที่ กรรมการมีส่วนได้ เสีย หรื อมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ให้ กรรมการซึ่งมีสว่ นได้ เสีย หรื อมีความขัดแข้ งทางผลประโยชน์ดงั กล่าวไม่มีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่ องนัน้ (ก) เรื่ องที่กฎหมายกาหนดให้ ต้องได้ รับมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น (ข) การทารายการที่กรรมการมีส่วนได้ เสียและอยู่ในข่ายที่กฎหมาย หรื อข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยระบุให้ ต้องได้ รับอนุมตั ิจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น เรื่ องต่อไปนี ้จะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทด้ วยคะแนนเสียงข้ างมากของกรรมการ ที่เข้ าร่วมประชุม และจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้ วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจานวนเสียงทังหมดของผู ้ ้ ถือหุ้นที่เข้ า ประชุมและมีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนน (ก) การขายหรื อโอนกิจการของบริ ษัททังหมดหรื ้ อบางส่วนที่สาคัญ (ข) การซื ้อหรื อรับโอนกิจการของบริ ษัทอื่นหรื อบริ ษัทเอกชนมาเป็ นของบริ ษัท (ค) การท า แก้ ไข หรื อ เลิกสัญ ญาเกี่ ยวกับการให้ เ ช่า กิ จ การของบริ ษัท ทัง้ หมดหรื อบางส่วนที่สาคัญ การ มอบหมายให้ บุคคลอื่นเข้ าจัดการธุรกิจของบริ ษัทหรื อการรวมกิจ การกับบุคคลอื่นโดยมีวตั ถุประสงค์จะ แบ่งกาไรขาดทุนกัน (ง) การแก้ ไขเพิ่มเติมหนังสือบริ คณห์สนธิหรื อข้ อบังคับ (จ) การเพิ่มทุน การลดทุน การออกหุ้นกู้ การควบหรื อเลิกบริ ษัท
78
(ฉ) การอื่นใดที่กาหนดไว้ ภายใต้ บทบัญญัติของกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์ และ/หรื อ ข้ อกาหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยให้ ต้องได้ รับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทและที่ประชุมผู้ถือ หุ้นด้ วยคะแนนเสียงดังกล่าวข้ างต้ น 2. คณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขตอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้ บริ ษัทมีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้ องและเพียงพอ 2. สอบทานให้ บริ ษัทมีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจน ให้ ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้ าย เลิกจ้ างหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรื อหน่วยงาน อื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้ บริ ษัทปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตังบุ ้ คคลซึง่ มีความเป็ นอิสระเพื่อทาหน้ าที่เป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัท และเสนอ ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทังเข้ ้ าประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้ าร่ วมประชุมด้ วย อย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ให้ เป็ นไปตามกฎหมายและ ข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทังนี ้ ้ เพื่อให้ มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์สงู สุด ต่อบริ ษัท 6. จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจาปี ของบริ ษัท ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้ องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้ องประกอบด้ วยข้ อมูลอย่างน้ อยดังต่อไปนี ้ - ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้ อง ครบถ้ วน เป็ นที่เชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงินของบริ ษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริ ษัท - ความเห็นเกี่ ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ ข้ อกาหนดตลาด หลักทรัพย์ หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี - ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ - จานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้ าร่ วมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบแต่ละ ท่าน - ความเห็ นหรื อข้ อ สังเกตโดยรวมที่ค ณะกรรมการตรวจสอบได้ รั บ จากการปฏิบัติ ห น้ า ที่ ตามกฏบัต ร (charter) - รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทัว่ ไปควรทราบภายใต้ ขอบเขตหน้ าที่และความรับผิดชอบที่ได้ รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท 7. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมายด้ วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
79
ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการตรวจสอบมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ ษัทโดยตรง และคณะกรรมการของบริ ษัทยังคงมีความรับผิดชอบในการดาเนินงานของบริ ษัทต่อบุคคลภายนอก คณะกรรมการชุดย่ อย 1. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่ าตอบแทน ขอบเขตอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ปฏิบตั ิหน้ าที่ตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท โดย มีขอบเขตอานาจหน้ าที่และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี ้ 1. การสรรหา 1. กาหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหากรรมการบริ ษัท และกรรมการชุดย่อย โดยพิจารณา ความเหมาะสมของจานวน โครงสร้ าง และองค์ประกอบของคณะกรรมการ กาหนดคุณสมบัติของกรรมการ เพื่อ เสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัท และ/หรื อเสนอขออนุมตั ิตอ่ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้ วแต่กรณี 2. พิจารณาสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลที่เหมาะสมให้ ดารงตาแหน่ง กรรมการบริ ษัทที่ครบวาระ และ/หรื อ มีตาแหน่งว่างลง และ/หรื อ แต่งตังเพิ ้ ่ม 3. ปฏิบตั ิการอื่นใดเกี่ยวกับการสรรหาตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย 4. กาหนดหลักเกณฑ์ในการสรรหา และประเมินผลการปฏิบตั ิงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร เพื่อ เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัททราบเพื่อพิจารณาอนุมตั ิ 2. การกาหนดค่ าตอบแทน 1. จัดทาหลักเกณฑ์และนโยบายในการกาหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษัทกรรมการชุดย่อย และประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัท และ/หรื อเสนอขออนุมตั ิต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น แล้ วแต่กรณี 2. กาหนดค่าตอบแทนที่จาเป็ นและเหมาะสมทังที ้ ่เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงินของคณะกรรมการบริ ษัท เป็ นรายบุคคล โดยการกาหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษัทให้ พิจารณาความเหมาะสมกับภาระหน้ าที่ ความรับผิดชอบ ผลงาน และเปรี ยบเทียบกับบริ ษัทในธุรกิจที่คล้ ายคลึงกัน และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับจาก กรรมการ เพื่อเสนอให้ คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาและนาเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมตั ิ 3. รั บ ผิ ด ชอบต่อ คณะกรรมการบริ ษั ท และมี ห น้ า ที่ ใ ห้ ค าชี แ้ จง ตอบค าถามกับ ค่า ตอบแทนของ กรรมการบริ ษัทในที่ประชุมผู้ถือหุ้น 4. รายงานนโยบาย หลัก การ/เหตุผลของการก าหนดค่า ตอบแทนกรรมการและผู้บ ริ ห าร ตาม ข้ อก าหนดของตลาดหลัก ทรั พ ย์ ฯ โดยเปิ ดเผยไว้ ในแบบแสดงรายการข้ อ มูลประจาปี (56-1) และรายงาน ประจาปี ของบริ ษัทฯ 5. ปฏิบตั ิการอื่นใดที่เกี่ยวข้ องกับการกาหนดค่าตอบแทนตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย โดยฝ่ ายบริ หาร และหน่วยงานต่างๆ จะต้ องรายงานหรื อนาเสนอข้ อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้ องต่อ คณะกรรมการ สรรหาและกาหนดค่าตอบแทน เพื่อสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของ คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ให้ บรรลุ ตามหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมาย
80
3. การรายงาน คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน รายงานต่อคณะกรรมการบริ ษัท 4. การประชุม 1. คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน จัดให้ มีหรื อเรี ยกประชุมตามที่เห็นสมควร อย่างน้ อยปี ละ 2 ครัง้ และมีอานาจในการเรี ยกประชุมเพิ่มได้ ตามความจาเป็ น โดยองค์ประชุมประกอบด้ วย กรรมการสรรหาและ กาหนดค่าตอบแทน ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึง่ ของจานวนกรรมการทังหมด ้ 2. กรรมการทุกท่านควรเข้ า ร่ วมประชุมทุกครั ง้ ยกเว้ นมี เหตุจ าเป็ นไม่อาจเข้ า ร่ วมประชุมได้ ควรแจ้ ง ให้ ประธานกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ทราบล่วงหน้ า 3. ประธานกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน เป็ นประธานที่ประชุม ในกรณีที่ ประธานกรรมการสรรหา และกาหนดค่าตอบแทน ไม่อยูใ่ นที่ประชุมหรื อไม่อาจปฏิบตั ิหน้ าที่ได้ ให้ กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ที่มาประชุมเลือก กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน คนหนึง่ เป็ นประธานที่ประชุม 4. การลงมติของ กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กระทาได้ โดยถือเสียงข้ างมาก ทังนี ้ ้ กรรมการสรร หาและกาหนดค่าตอบแทน ที่มีสว่ นได้ เสียใดๆ ในเรื่ องที่พิจารณา จะต้ องไม่เข้ าร่วมในการแสดงความเห็น และไม่ มีสทิ ธิออกเสียงลงมติในเรื่ องนันๆ ้ 5. การจัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้ แก่ กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ให้ จัดส่งล่วงหน้ าก่อนการ ประชุม เว้ นแต่ในกรณีจาเป็ นหรื อเร่ งด่วน จะแจ้ งการนัดประชุมโดยวิธีอื่น หรื อกาหนดวันประชุมให้ เร็ วกว่านันได้ ้ โดยให้ เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน เป็ นผู้บนั ทึกรายงานการประชุม 6. คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน สามารถเชิญผู้ที่เกี่ยวข้ องเข้ าร่วมประชุมเพื่อชี ้แจงข้ อเท็จจริ ง ต่างๆ ให้ แก่ที่ประชุม คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ทราบได้ 2. คณะกรรมการบริหาร ขอบเขตอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริ หาร 1. คณะกรรมการบริ หารมีอานาจในการกาหนด นโยบาย เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนการดาเนินงาน งบประมาณ ประจาปี ทังนี ้ ้ให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์การประกอบกิจการของบริ ษัทและในการบริ หารกิจการของบริ ษัท ดังกล่าวจะต้ องเป็ นไปตามนโยบาย ข้ อบังคับ หรื อคาสัง่ ใดๆที่คณะกรรมการบริ ษัทกาหนด นอกจากนี ้ ให้ คณะกรรมการบริ หารมีหน้ าที่ในการพิจารณา กลัน่ กรอง ตรวจสอบ ติดตามเรื่ องต่างๆ ที่จะนา เสนอต่อ คณะกรรมการบริ ษัทเพื่อพิจารณาอนุมตั ิหรื อให้ ความเห็นชอบ 2. คณะกรรมการบริ หารมีอานาจในการกาหนดโครงสร้ างองค์กรและการบริ หารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โดยครอบคลุมทังเรื ้ ่ องการคัดเลือก การฝึ กอบรม สวัสดิการ การว่าจ้ าง และการเลิกจ้ างพนักงานของบริ ษัทฯ 3. คณะกรรมการบริ หารอาจแต่งตังหรื ้ อมอบหมายให้ บุคคลใดบุคคลหนึ่งหรื อหลายคนกระทาการอย่างหนึ่ง อย่ า งใดแทนคณะกรรมการบริ ห ารตามที่ เ ห็ น สมควรได้ และคณะกรรมการบริ ห ารสามารถยกเลิ ก เปลีย่ นแปลง หรื อ แก้ ไขอานาจนันๆ ้ ได้
81
11.3 การสรรหาและแต่ งตัง้ กรรมการและผู้บริหารระดับสูงสุด การสรรหากรรมการและผู้บริ หาร 1.คณะกรรมการบริษัท สาหรับการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ าดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการของบริ ษัทฯได้ ผ่านการสรรหาจากคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ซึง่ จะพิจารณาคัดเลือกตามเกณฑ์คณ ุ สมบัติตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัท มหาชนจากัด พ.ศ.2535 และตามประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้ อง นอกจากนี ้ยัง พิจารณาคัดเลือกกรรมการจากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีพื ้นฐานและความเชี่ยวชาญจากหลากหลายด้ านซึ่ งจะส่งผลดีต่อการ ดาเนินงานของบริ ษัทฯ ในการให้ คาแนะนา ข้ อคิดเห็นในเรื่ องต่างๆ ในมุมมองของผู้ที่มีประสบการณ์ ตรง มีภาวะผู้นา วิสยั ทัศน์กว้ างไกล มีคณ ุ ธรรมและจริ ยธรรม มีประวัติการทางานที่โปร่ งใส และมีความสามารถในการแสดงความคิดเห็น อย่างเป็ นอิสระ จากนันจึ ้ งนารายชื่อเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาแต่งตัง้ ในการเลือกตังคณะกรรมการของบริ ้ ษัทฯ จะกระทาโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี ้ (ก) ผู้ถือหุ้นคนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุ้นต่อหนึง่ เสียง (ข) ในการเลือกตังกรรมการบริ ้ ษัท วิธีการออกเสียงลงคะแนน อาจใช้ การลงคะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ไู ด้ รับการเสนอ ชื่อเป็ นรายบุคคล หรื อหลายคนในคราวเดียวกันแล้ วแต่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะเห็นสมควร แต่ในการออกเสียง ลงคะแนนหรื อมีมติใดๆ ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้ สิทธิ ตามคะแนนเสียงที่มีอยู่ ทงหมดตามข้ ั้ อ 1 แต่จะแบ่ง คะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ใู ดมากน้ อยเพียงใดไม่ได้ (ค) บุคคลซึง่ ได้ รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลาดับลงมาเป็ นผู้ได้ รับการเลือกตังเป็ ้ นกรรมการเท่าจานวนกรรมการ ที่จะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตังในครั ้ ง้ นัน้ ในกรณีที่บคุ คลซึ่งได้ รับการเลือกตังในล ้ าดับถัดลงมามีคะแนนเสียง เท่ากันเกินจานวนกรรมการที่จะพึงมีหรื อพึงเลือกตังในครั ้ ง้ นันให้ ้ ผ้ เู ป็ นประธานเป็ นผู้ออกเสียงชี ้ขาด นอกจากนี ้ ในการประชุมสามัญประจาปี ทุกครัง้ ให้ กรรมการออกจากตาแหน่ง 1 ใน 3 ถ้ าจานวนกรรมการที่จะ ออกไม่อาจแบ่งให้ ตรงเป็ นจานวนได้ ก็ให้ ออกโดยจานวนใกล้ เคียงที่สดุ กับสัดส่วน 1 ใน 3 กรรมการซึง่ พ้ นจากตาแหน่งแล้ ว อาจได้ รับเลือกเข้ ารับตาแหน่งอีกก็ได้ กรรมการที่จะต้ องออกจากตาแหน่งในปี แรกและปี ที่สองภายหลังจดทะเบียนบริ ษัทฯ นันให้ ้ ใช้ วิธีจับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนในปี หลังๆต่อไปให้ กรรมการคนที่อยู่ในตาแหน่งนานที่สดุ นันเป็ ้ นผู้ออกจาก ตาแหน่ง กรรมการที่ออกตามวาระนันอาจถู ้ กเลือกเข้ ามาดารงตาแหน่งใหม่ได้ กรณี ที่ต าแหน่ง กรรมการว่า งลงเพราะเหตุอื่ นนอกจากถึงคราวออกตามวาระให้ ก รรมการเลือ กบุค คลซึ่ง มี คุณสมบัติและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ าม ตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 เข้ าเป็ นกรรมการ แทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้ นแต่วาระของกรรมการเหลือน้ อยกว่า 2 เดือน บุคคลซึ่งเข้ าเป็ นกรรมการ แทนดังกล่าวจะอยู่ในตาแหน่งกรรมการได้ เพียงเท่าวาระที่ยังเหลือ อยู่ของกรรมการซึ่งตนแทนและต้ องได้ รับมติของ คณะกรรมการด้ วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของกรรมการที่ยงั เหลืออยู่ นอกจากนี ้ คณะกรรมการบริ ษัทต้ องประกอบด้ วยกรรมการอิสระอย่างน้ อย 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการทังหมด ้ ของบริ ษัท แต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน คานิยาม “กรรมการอิสระ” “กรรมการอิสระ” คือบุคคลที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้ องใดๆทังสิ ้ ้นกับการบริ หารงานบริ ษัทฯ และ/หรื อการดาเนิน ธุรกิจของบริ ษัทฯ เป็ นบุคลที่มีความเป็ นอิสระจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่และผู้บริ หารของบริ ษัทฯ รวมทังญาติ ้ สนิทของ
82
บุคคลเหล่านัน้ และสามารถแสดงความเห็นได้ อย่างเป็ นอิสระ โดยคานึงถึงผลประโยชน์ของบริ ษัทฯและผู้ถือหุ้นเป็ น สาคัญ คุณสมบัติของกรรมการอิสระ 1. เป็ นบุคคลที่มีคณ ุ สมบัติไม่ขดั ต่อกฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ รวมทังกฎหมายต่ ้ างๆที่เกี่ยวข้ อง 2. ถือหุ้นไม่เกินร้ อยละ 1 ของจานวนหุ้นที่มีสทิ ธิออกเสียงทังหมดของบริ ้ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบคุ คลที่อาจมีความขัดแย้ ง โดยให้ นบั รวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้ องด้ วย 3. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการที่มีสว่ นร่วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้ เงินเดือนประจา หรื อผู้มี อานาจควบคุมของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม บริ ษัทย่อยลาดับเดียวกัน หรื อนิติบคุ คลที่อาจ มีความขัดแย้ ง เว้ นแต่จะได้ พนั จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที่ได้ รับการแต่งตัง้ 4. ไม่เป็ นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็ น บิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทังคู ้ ่สมรสของบุตร ของผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอานาจควบคุม หรื อบุคคลที่จะได้ รับการเสนอให้ เป็ นผู้บริ หารหรื อผู้มีอานาจควบคุม ของบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย 5. ไม่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วมหรื อนิ ติบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ ง ในลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทังไม่ ้ เป็ นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ หรื อผู้บริ หาร ของผู้ที่มีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัท ใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง เว้ นแต่ได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที่ได้ รับการแต่งตัง้ 6. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบคุ คลที่อาจมีความ ขัดแย้ ง และไม่เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริ หาร หรื อหุ้นส่วนผู้จดั การของ สานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผ้ สู อบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ งสังกัดอยู่ เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวัน ก่อนวันที่ ได้ รับการแต่งตัง้ 7. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้ บริ การเป็ นที่ปรึ กษากฎหมายหรื อที่ปรึ กษา ทางการเงิน ซึง่ ได้ รับค่าบริ การเกินกว่าสองล้ านบาทต่อปี จากบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง รวมทังไม่ ้ เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริ หาร หรื อหุ้นส่วนผู้จดั การ ของผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพนันด้ ้ วย เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที่ได้ รับการแต่งตัง้ 8. ไม่เป็ นกรรมการที่ได้ รับแต่ง ตังขึ ้ ้นเพื่อเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริ ษัทผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้ถือหุ้นซึ่ง เป็ นผู้ที่เกี่ยวข้ องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัท 9. ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทาให้ ไม่สามารถให้ ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกี่ยวกับการดาเนิน งานของบริ ษัท 10. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของผู้ขอนุญาตหรื อบริ ษัท ย่อย หรื อไม่เป็ นหุ้นส่วนที่มีนยั ในห้ างหุ้นส่วน หรื อเป็ นกรรมการที่มีสว่ นร่ วมบริ หารงานลูกจ้ าง พนักงาน ที่ ปรึ กษาที่รับเงินเดือนประจา หรื อถือหุ้นเกินร้ อยละหนึ่งของจานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทังหมดของบริ ้ ษัท อื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของผู้ขออนุญาตหรื อ บริ ษัทย่อย
83
11. กรรมการอิสระจะต้ องรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษัทฯ โดยทันทีหากเห็นว่ามีเหตุการณ์ใดๆที่อาจจะทาให้ ตนต้ องขาดคุณสมบัติความเป็ นอิสระในฐานะกรรมการอิสระ ภายหลังได้ รับการแต่งตังให้ ้ เป็ นกรรมการอิสระที่มีลกั ษณะเป็ นไปตามคุณสมบัติข้างต้ นแล้ วกรรมการอิสระ อาจได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ ตดั สินใจในการดาเนินกิจการของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม บริ ษัทย่อยลาดับเดียวกัน หรื อนิติบคุ คลที่อาจมีความขัดแย้ ง โดยมีการตัดสินใจในรู ปแบบขององค์คณะ (Collective decision) ได้ 2. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน จะเป็ นผู้ พิ จ ารณาคั ด เลื อ ก เพื่ อ รั บ รอง และน าเสนอ คณะกรรมการบริ ษัทให้ อนุมตั ิ และนาเสนอให้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริ ษัทเป็ นผู้อนุมตั ิแต่งตังคณะกรรมการตรวจสอบอี ้ ก ครัง้ หนึ่ง ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบจะต้ องมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงประกาศ ข้ อบังคับ และ/หรื อระเบียบของตามหลักเกณฑ์ที่สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กาหนด โดยมีจานวนไม่น้อยกว่า 3 คน ทังนี ้ ้ กรรมการตรวจสอบอย่างน้ อย 1 คน ต้ องเป็ นผู้มีความรู้ด้านบัญชีและการเงิน 3. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่ าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน (Nomination and Remuneration Committee : NRC) ได้ จัด ตังขึ ้ ้นครัง้ แรกโดยมติของที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง้ ที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2560 เพื่อส่งเสริ มหลักการ กากับดูแลกิจการที่ดี โดยรับผิดชอบในการกาหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนกรรมการ บริ ษัท กรรมการชุดย่อย และประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร รวมทังสรรหา ้ คัดเลือก และเสนอบุคคลที่เหมาะสมให้ ดารงตาแหน่ง กรรมการบริ ษัทและกาหนดค่าตอบแทนสาหรับกรรมการบริ ษัท ตลอดจนปฏิบตั ิงานด้ านอื่นๆ ตามที่ได้ รับมอบหมายและ นาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัท และ/หรื อที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้ วแต่กรณี องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน 1. คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ได้ รับการแต่งตังโดยคณะกรรมการบริ ้ ษัท และประกอบด้ วย กรรมการและผู้บริ หาร รวมกันอย่างน้ อย 3 คน 2. กรรมการอิสระ ดารงตาแหน่ง ประธานกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน วาระการดารงตาแหน่ง 1. กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน มีวาระการดารงตาแหน่ง ตามวาระของการดารงตาแหน่งกรรมการ ของบริ ษัท 2. กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน อาจได้ รับการแต่งตังกลั ้ บเข้ ามาดารงตาแหน่งต่อไปได้ อีกตามที่ คณะกรรมการบริ ษัทเห็นว่าเหมาะสม 3. นอกเหนือจากการพ้ นจากตาแหน่งตามข้ อ 3.1 กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน จะพ้ นตาแหน่งเมื่อ 1. ลาออก 2. คณะกรรมการบริ ษัทมีมติให้ พ้นจากตาแหน่ง 4. คณะกรรมการบริ ษัท มีอานาจในการแต่งตัง้ กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน เพิ่มเติม เพื่อประโยชน์ ในการดาเนินการตามวัตถุประสงค์ หรื อเพื่อทดแทน กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ที่ พ้นจากตาแหน่ง ตามข้ อ 1. หรื อ 3. ได้ โดยบุคคลที่ได้ รับการแต่งตังเข้ ้ าเป็ น กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ทดแทนตาม
84
ข้ อ 3. จะอยู่ในตาแหน่งได้ เพียงเท่าวาระที่ยงั เหลืออยู่ของกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ซึ่งตนแทน เท่านัน้ 4. คณะกรรมการบริหาร องค์ประกอบและคุณสมบัติ 1 คณะกรรมการบริ หารประกอบด้ วย ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารโดยตาแหน่ง และบุคคลอื่นอีก ไม่เกิน 4 คน ตามที่ ป ระธานเจ้ าหน้ า ที่ บ ริ ห ารเสนอชื่ อ โดยต้ อ งได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการบริ ษั ท ทัง้ นี ใ้ ห้ คณะกรรมการบริ หารคัดเลือกบุคคลใดบุคคลหนึง่ ในคณะกรรมการบริ หารด้ วยกัน เป็ นประธานกรรมการบริ หาร และอีกบุคคลหนึง่ เป็ นรองประธานกรรมการบริ หาร 2 คณะกรรมการบริ หารเป็ นผู้แต่งตังเลขานุ ้ การคณะกรรมการบริ หาร โดยให้ เลขานุการคณะกรรมการบริ หาร มี หน้ าที่จัดการประชุมคณะกรรมการบริ หาร รวบรวมเอกสารที่ใช้ ในการประชุม รวมทังท ้ ารายงานการประชุม นาเสนอต่อที่ประชุมทุกครัง้ 3 คณะกรรมการบริ หารจะต้ องจัดให้ มีการประชุมตามที่เห็นสมควร แต่ต้องไม่น้อยกว่า 1 ครัง้ ต่อเดือน 4 ประธานคณะกรรมการบริ หารเป็ นผู้เรี ยกประชุมคณะกรรมการบริ หาร กรณีที่ประธานกรรมการบริ หารไม่ สามารถปฏิบตั ิหน้ าที่ได้ ให้ รองประธานกรรมการบริ หารเป็ นผู้เรี ยกประชุมคณะกรรมการบริ หารแทน วาระการดารงตาแหน่ ง 1 กรณีกรรมการบริ หารที่เป็ นกรรมการบริ ษัท ให้ มีวาระการดารงตาแหน่งตามวาระที่ดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการ บริ ษัท 2 กรณีกรรมการบริ หารที่เป็ นผู้บริ หารของบริ ษัท ให้ มีวาระการดารงตาแหน่งเท่าที่ดารงตาแหน่งเป็ นผู้บริ หารของ บริ ษัท 3 กรณีกรรมการบริ หารที่เป็ นบุคคลภายนอกอื่นซึง่ มิได้ ดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการหรื อผู้บริ หารของบริ ษัทหรื อเป็ น บุคคลภายนอกอื่น ให้ มีวาระการดารงตาแหน่งตามที่คณะกรรมการบริ ษัทจะมีมติ การประชุมคณะกรรมการ 1. การเข้ าร่วมการประชุมของคณะกรรมการบริ ษัทปี 2561 การประชุมคณะกรรมการ ชื่อ – สกุล ตาแหน่ ง จานวนครัง้ จานวนครัง้ การประชุม ที่เข้ าร่ วมประชุม 1. นายมาซามิ คัตซูโมโต ประธานคณะกรรมการ 6 6 /1 2. นายนาโอะฮิโร ฮามาดา กรรมการ 6 6 3. นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล กรรมการ 6 6 /1 4. นางพูนศรี ปั ทมวรกุลชัย กรรมการ 6 6 5. นายยุทธนา แต่งปางทอง กรรมการ 6 6 6. นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์ กรรมการอิสระ 6 6 7. นายนิพนั ธ์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม กรรมการอิสระ 6 5 8. นายสันติ เนียมนิล กรรมการอิสระ 6 6
85
2. การเข้ าร่วมการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบปี 2561 ชื่อ – สกุล
ตาแหน่ ง
1. นางสาววลัยภรณ์
กณิกนันต์
ประธานกรรมการตรวจสอบ
2. นายนิพนั ธ์ 3. นายสันติ
ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม กรรมการตรวจสอบ เนียมนิล กรรมการตรวจสอบ
การประชุมคณะกรรมการ จานวนครัง้ จานวนครัง้ การประชุม ที่เข้ าร่ วมประชุม 4 4 4 3 4 4
3.การเข้ าร่วมการประชุมของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนปี 2561 การประชุมคณะกรรมการ ชื่อ สกุล ตาแหน่ ง จานวนครัง้ จานวนครัง้ การประชุม ที่เข้ าร่ วมประชุม นายนิพนั ธ์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม ประธานคณะกรรมการสรร 2 2 หาและพิจารณาค่าตอบแทน นายยุทธนา แต่ปางทอง กรรมการ 2 2 นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล กรรมการ 2 2 11.4 การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ ในการเข้ ารับตาแหน่งกรรมการบริ ษัท / กรรมการอิสระ กรรมการแต่ละท่านจะได้ รับคู่มือกรรมการและรับทราบ ข้ อมูลต่างๆที่สาคัญเกี่ยวกับบริ ษัท ทังข้ ้ อบังคับบริ ษัทที่ระบุถึงขอบเขต หน้ าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ คาแนะนา ทางด้ านกฎหมาย กฎระเบียบ และเงื่อนไขต่างๆในการเป็ นกรรมการบริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงได้ รับความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับธุรกิจของบริ ษัท 11.5 การประเมินตนเอง ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะเป็ นผู้ประเมินผลการปฎิบตั ิงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร และรวมถึงประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารประเมินตนเอง โดยใช้ แบบประเมินผลงาน CEO ตามแบบของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยในไตรมาสที่ 4 ของทุกปี ซึง่ การประเมินแบ่งออกเป็ น 3 หมวด ได้ แก่ 1. ความคืบหน้ าของแผนงาน 2. การวัดผลการปฏิบตั ิงาน 3. การพัฒนา CEO จากนันเสนอคณะกรรรมการบริ ้ ษัทเพื่อขอความเห็นชอบและนาผลการประเมินมาปรับปรุ งแก้ ไขเพื่อพัฒนาการ ปฏิบตั ิงานให้ ดียิ่งขึ ้น และบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ได้ รับมอบหมาย ทังนี ้ ้สรุ ปผลการประเมินการปฏิ บตั ิงานของประธาน เจ้ าหน้ าที่บริ หารในปี 2561 อยูใ่ นเกณฑ์ดีเยี่ยม
86
11.6 การดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน นโยบายการในการซือ้ ขายหลักทรัพย์ ของบริษัท และการใช้ ข้อมูลภายใน 1. ข้ อมูลต่างๆ ที่อาจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ หรื อข้ อมูลที่หากมีการเปิ ดเผยออกไปแล้ วทา ให้ บริ ษัทฯ เสียหายหรื อเสียเปรี ยบ ถือเป็ นข้ อมูลที่เป็ นความลับ และมีความสาคัญ ดังนันการจั ้ ดทาเก็บ รักษาหรื อเปิ ดเผยข้ อมูล ต้ องดาเนินการให้ เหมาะสม โดยคานึงถึงผลกระทบต่ อผู้มีสว่ นได้ เสียโดยรวม และ ความถูกต้ องตามที่กฎหมายกาหนด และต้ องไม่ใช้ ข้อมูลนันเพื ้ ่อประโยชน์ ส่วนตนหรื อบุคคลอื่น ดังนี ้ บริ ษัทฯ ได้ กาหนดมิให้ กรรมการ ผู้บริ หาร พนักงาน กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานรวมถึงคู่สมรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว ซื ้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯในช่วงเวลา1 เดือน ก่อน การเผยแพร่งบการเงิน หรื อเผยแพร่สถานะของบริ ษัทฯ รวมถึงข้ อมูลสาคัญอื่น ๆ และควรรอคอยอย่างน้ อย 24 ชัว่ โมงภายหลังการเปิ ดเผยข้ อมูลให้ แก่สาธารณชนแล้ ว ก่อนที่จะซื ้อหรื อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ 2. ห้ ามมิให้ กรรมการ ผู้บริ หาร พนักงาน และลูกจ้ างของบริ ษัทฯ รวมถึงคูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ ของบุคคลดังกล่าว ใช้ ข้อมูลภายในของบริ ษัทฯ ที่มีหรื ออาจมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงราคา ของ หลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ ซึง่ ยังมิได้ เปิ ดเผยต่อสาธารณชน เพื่อทาการซื ้อขาย เสนอซื ้อ เสนอขาย หรื อชักชวน ให้ บคุ คลอื่นซื ้อขาย เสนอซื ้อหรื อเสนอขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ ไม่ว่าทางตรงหรื อทางอ้ อม ก่อนที่ข้อมูล นันจะได้ ้ มีการเปิ ดเผยต่อสาธารณชน กระทาดังกล่าวโดยตนได้ รับประโยชน์ตอบแทน ผู้ใดฝ่ า ฝื นจะถูก ลงโทษตามมาตรการทางวินยั ของบริ ษัทฯ 3. ห้ ามมิให้ กรรมการ ผู้บริ หาร พนักงาน และลูกจ้ างของบริ ษัทฯ นาความลับ และ/หรื อข้ อมูลภายในของบริ ษัท ฯไปเปิ ดเผยหรื อแสวงหาผลประโยชน์ แก่ตนเองหรื อเพื่อประโยชน์แก่บุคคลอื่นใดไม่ว่าโดยทางตรงหรื อ ทางอ้ อม และไม่วา่ จะได้ รับผลประโยชน์ตอบแทนหรื อไม่ก็ตาม 4. ต้ องรักษาไว้ ซงึ ผลประโยชน์และความลับของบริ ษัทฯ หรื อของลูกค้ า ห้ ามนาความลับของบริ ษัทฯไปเปิ ดเผย แก่บคุ คลภายนอกโดยเฉพาะคูแ่ ข่งขัน แม้ หลังพ้ นสภาพการเป็ นกรรมการ ผู้บริ หารหรื อพนักงานของบริ ษัทฯ ไปแล้ ว 11.7 ค่ าตอบแทนผู้สอบบัญชี 1. ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี (Audit Fee) ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2559 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2559 ได้ มีมติอนุมตั ิการกาหนดค่าตอบแทนผู้สอบ บัญชีปี 2559 เป็ นจานวนเงิน 900,000 บาท (เก้ าแสนบาทถ้ วน) ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2560 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2560 ได้ มีมติอนุมตั ิการกาหนดค่าตอบแทนผู้สอบ บัญชีปี 2560 เป็ นจานวนเงิน 1,300,000 บาท (หนึง่ ล้ านสามแสนบาทถ้ วน) ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2561 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2561 ได้ มีมติอนุมตั ิการกาหนดค่าตอบแทนผู้สอบ บัญชีปี 2561 เป็ นจานวนเงิน 1,330,000 บาท (หนึง่ ล้ านสามแสนสามหมื่นบาทถ้ วน) 2. ค่าบริ การอื่น ๆ (Non Audit Fee) ไม่มี –
87
11.8 การนา CG Code ไปปรับใช้ บริ ษัทได้ ทบทวนนโยบายการกากับดูแลกิจการ (Corporate Governance Policy) โดยอ้ างอิงจากหลักการกากับ ดูแลกิ จการที่ดีสาหรั บบริ ษัทจดทะเบียนปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี สาหรับบริ ษัทจดทะเบียนปี 2560 (CG Code) ของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งฝ่ าย บริ หารได้ พิจารณาพบว่าบริ ษัทได้ นาหลักปฏิบตั ิสว่ นใหญ่มาปรับใช้ แล้ วและนาเสนอคณะกรรมการรับทราบในหลั กการ ใน การประชุมคณะกรรมการครัง้ ที่ 4/2561 วันศุกร์ ที่ 10 สิงหาคม 2561 และทังนี ้ ้ได้ มีการทบทวนขออนุมตั ินโยบายเพิ่มเติม ดังต่อไปนี ้ คือ 1.นโยบายเรื่ องความหลากหลายในโครงสร้ างของกรรมการ 2. นโยบายเรื่ องวาระการดารงตาแหน่งของ กรรมการ 3. นโยบายเรื่ องค่าตอบแทนคณะกรรมการ/กรรมการผู้จดั การ/ผู้บริ หาร 4. นโยบายเรื่ องการดารงตาแหน่งในบริ ษัท จดทะเบียนและบริ ษัทย่อยที่ไม่ใช่บริ ษัทจดทะเบียน 5. นโยบายเรื่ องการพัฒนาองค์ความรู้ แก่กรรมการ 6. นโยบายเรื่ องการ บริ หารงานบุคคล ต่อที่ประชุมคณะกรรมการครัง้ ที่ 6/2561 ในวันศุกร์ ที่ 9 พฤศจิกายน 2561 โดยมีรายละเอียดตามนี ้ นโยบายความหลากหลายในโครงสร้ างของกรรมการ บริ ษั ท ฯ และคณะกรรมการสรรหาและก าหนดค่า ตอบแทนท าหน้ า ที่ ใ นการสรรหาและพิ จ ารณาคัด เลือ ก คุณสมบัติ ของคณะกรรมการแต่ละคณะ ให้ มีความหลากหลายของโครงสร้ างคณะกรรมการ ทังคุ ้ ณสมบัติด้านความรู้ ความเชี่ยวชาญ ในธุรกิจของบริ ษัทฯ และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้ องเป็ นอย่างดี มีวิชาชีพเฉพาะด้ าน มีประสบการณ์ที่เป็ น ประโยชน์ ต่อการดาเนินเนินธุรกิจ อายุ และเพศ รวมถึงทักษะที่มีความจาเป็ นต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้ าหมาย หลักขององค์กร และทักษะที่ยงั ขาดอยู่ (Board Skill Matrix) โดยคณะกรรมการต้ องมีกรรมการที่ไม่ได้ เป็ นผู้บริ หารอย่าง น้ อย 1 คน ที่มีประสบการณ์ในธุรกิจหรื ออุตสาหกรรม เพื่อให้ มนั่ ใจว่าจะได้ คณะกรรมการโดยรวม ที่มีคณ ุ สมบัติเหมาะสม สามารถเข้ าใจ และตอบสนองความต้ องการของผู้มีสว่ นได้ เสียได้ ซึง่ อาจใช้ บริ ษัทที่ปรึ กษา (Professional Search Firm) หรื อฐานข้ อมูลกรรมการ (Director Pool) ของสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการไทย (IOD) ในการสรรหากรรมการ นโยบายเรื่อง วาระการดารงตาแหน่ ง คณะกรรมการบริ ษัท มีวาระในการดารงตาแหน่งคราวละ 3 ปี โดยในการประชุมสามัญประจาปี ทุกครัง้ ให้ กรรมการออกจากตาแหน่งหนึง่ ในสาม (1/3) ถ้ าจานวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ ตรงเป็ นสาม (3) ส่วนไม่ได้ ก็ให้ ออกโดย จานวนใกล้ ที่สดุ กับส่วนหนึ่งในสาม (1/3) กรรมการที่จะต้ องออกจากตาแหน่งในปี แรก และปี ที่สองภายหลังจดทะเบียน บริ ษัทนันให้ ้ ใช้ วิธีจบั สลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปี หลังๆ ต่อไปให้ กรรมการคนที่อยูใ่ นตาแหน่งนานที่สดุ นันเป็ ้ นผู้ออกจาก ตาแหน่ง กรรมการที่ออกตามวาระนันอาจถู ้ กเลือกเข้ ามาดารงตาแหน่งใหม่ก็ได้ สาหรับ กรรมการอิสระซึง่ มีวาระการดารงตาแหน่งต่อเนื่องไม่เกิน 9 ปี หรื อ 3 วาระ นับจากวันที่ได้ รับการแต่งตัง้ ให้ ดารงตาแหน่งกรรมการอิสระครัง้ แรก (นับตังแต่ ้ บริ ษัทเข้ าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์) ในกรณีที่จะแต่งตังกรรมการ ้ อิสระนันให้ ้ ดารงตาแหน่งต่อไป คณะกรรมการควรพิจารณาอย่างสมเหตุสมผลถึงความจาเป็ นดังกล่าว และนาเสนอ เหตุผลต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมตั ิ
88
นโยบายเรื่อง ค่ าตอบแทนคณะกรรมการ / กรรมการผู้จัดการ / ผู้บริหาร ค่ าตอบแทนคณะกรรมการ บริ ษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและว่าจ้ างเป็ นผู้กาหนดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาและกาหนดค่าตอบแทน และ พิจารณาเห็นชอบก่อนเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัท การพิจารณาเป็ นไปอย่างรอบคอบ ชัดเจน โปร่ งใส และเหมาะสม โดยเปรี ยบเทียบอ้ างอิงจากบริ ษัทที่เป็ นอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน ในระดับใกล้ เคียงกัน รวมทังภาระหน้ ้ าที่และความ รับผิดชอบ และพิจารณาจากการขยายตัวทางธุรกิจและการเติบโตทางผลกาไร ของบริ ษัทฯ ซึ่งเพียงพอที่จะดึงดูดและ รักษากรรมการที่มีคุณสมบัติที่ต้องการไว้ ได้ โดยค่าตอบแทนกรรมการประจาปี นันๆ ้ หลังจากคณะกรรมการสรรหาและ ว่าจ้ างได้ พิจารณาและเห็นชอบแล้ วก็จะมีการนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อพิจารณารับรอง แล้ วเสนอต่อที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมตั ิตอ่ ไป ค่ าตอบแทนประธานเจ้ าหน้ าที่บริหารที่มาจากการสรรหา ค่าตอบแทนของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารจะพิจารณาเป็ นประจาทุกปี โดยเป็ นไปตามหลักการและนโยบาย ค่าตอบแทน ที่คณะกรรมการสรรหาและว่าจ้ างกาหนด ทังในระยะสั ้ นและระยะยาว ้ เช่น ค่าตอบแทนเป็ นเงินเดือน โบนัส ประจาปี และผลตอบแทนจูงใจในระยะยาว ซึ่งจะต้ องสอดคล้ องกับผลการปฏิบตั ิงานทางการเงิน และการปฏิบตั ิตาม วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ในระยะยาว การพัฒนาผู้บริ หาร รวมถึงพิจารณาจากการขยายตัวทางธุรกิจและการเติบโต ทาง ผลกาไรของบริ ษัทเป็ นสาคัญฯ ค่ าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนของผู้บริ หาร จะพิจารณาเป็ นประจาทุกปี โดยประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร ทังนี ้ ้ จะเป็ นไปตามหลักการ และนโยบาย ที่คณะกรรมการสรรหาและว่าจ้ างกาหนด นโยบายเรื่อง การดารงตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนและบริษัทย่ อยที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน การดารงตาแหน่ งของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัท ได้ กาหนดนโยบาย การกาหนดจานวนบริ ษัทจดทะเบียนที่กรรมการบริ ษัทแต่ละคน จะไป ดารงตาแหน่งกรรมการได้ ไม่เกิน 5 บริ ษัท ยกเว้ นในกรณีได้ รับมอบหมายจากบริ ษัทฯ ให้ ไปดารงตาแหน่ง และในการไป ดารงตาแหน่งอื่นนัน้ ให้ คณะกรรมการรายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการให้ รับทราบด้ วย การดารงตาแหน่ งของประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร คณะกรรมการบริ ษัท กาหนดให้ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของบริ ษัทฯ สามารถดารงตาแหน่งกรรมการในบริ ษัท จดทะเบียนไม่เกิน 5 บริ ษัท ทังนี ้ ้ ไม่นบั รวมบริ ษัทย่อย บริ ษัทในเครื อ และบริ ษัทร่ วมทุนของบริ ษัทฯ ซึ่งมีความจาเป็ นต้ อง เข้ าไปกากับดูแลการบริ หารจัดการเพื่อรักษาผลประโยชน์ของบริ ษัทฯ นโยบายเรื่อง การพัฒนาองค์ ความรู้แก่ กรรมการ บริ ษัทฯ ส่งเสริ มและสนับสนุนให้ กรรมการทุกชุด รวมถึงกรรมการเข้ าใหม่ มีความรู้ ความสามารถและเข้ าใจ บทบาทหน้ าที่ รวมถึงข้ อกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้ อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจ ซึ่งจัดขึ ้นโดยสานักงานคณะกรรมการ
89
กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการกากับตลาดทุน สมาคมส่งเสริ ม สถาบันกรรมการบริ ษัทไทย เป็ นต้ น บริ ษัทฯได้ กาหนดให้ กรรมการเข้ าใหม่ที่เข้ ารับตาแหน่งกรรมการบริ ษัท / กรรมการอิสระ / กรรมการชุดย่อยต่างๆ ต้ องเข้ ารับการปฐมนิเทศจากคณะกรรมการบริ ษัท ตามแนวทางการปฐมนิเทศกรรมการเข้ าใหม่ของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยเพื่อรั บทราบข้ อมูลที่สาคัญเกี่ ยวกับการดาเนินธุรกิ จของบริ ษัทฯ การปฏิบัติหน้ าที่ และความรั บผิดชอบ คาแนะนาทางด้ านกฎหมาย กฎระเบียบ ประกาศ ข้ อบังคับ และเงื่อนไขต่างๆ ในการเป็ นกรรมการบริ ษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นโยบายเรื่อง การบริหารงานบุคคล การบรรจุพนักงาน บริ ษัทฯ มีนโยบายที่จะบรรจุพนักงานตามความจาเป็ นอันเหมาะสมของงาน ส่วนการบรรจุพนักงานในตาแหน่ง งานที่สงู ขึ ้นไปนัน้ บริ ษัทฯ จะพิจารณาเลื่อนพนักงานภายในของบริ ษัท โดยเลือกจากพนักงานที่มีความสามารถก่อน ส่วนการพิจารณาบรรจุบคุ คลภายนอกจะกระทาต่อเมื่อพนักงานที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั มีไม่พอ หรื อเป็ นตาแหน่งงานที่ต้องการผู้ มีความชานาญเฉพาะอย่าง ซึง่ ไม่สามารถจะหาได้ จากพนักงานภายในของบริ ษัทฯ การบริหารค่ าจ้ างและสวัสดิการ บริ ษัทฯ มีนโยบายที่จะบริ หารค่าจ้ างและสวัสดิการให้ เป็ นไปโดยยุติธรรมและเพียงพอแก่อตั ภาพของพนักงาน เพื่อที่จะให้ พนักงานปฏิบตั ิงานกับบริ ษัทฯ ด้ วยความผาสุข และได้ รับอัตราค่าจ้ างและสวัสดิการที่เหมาะสมกับตาแหน่ง หน้ าที่ความรับผิดชอบของงาน และการควบคุมบังคับบัญชา การกาหนดค่าจ้ างและสวัสดิการนัน้ บริ ษัทฯ ได้ พิจารณาโดย นาปั จจัยต่าง ๆ มาประกอบ ดังนี ้ 1. สภาพทางเศรษฐกิจทัว่ ๆ ไปของประเทศ 2. สภาพของอัตราค่าแรงในตลาดแรงงานในประเทศ 3. อัตราค่าจ้ างและสวัสดิการของบริ ษัทอื่น ๆ ที่มีสถานะใกล้ เคียงกับบริ ษัทฯ 4. ระดับตาแหน่งการบังคับบัญชาของตาแหน่งหน้ าที่ตา่ ง ๆ ภายในบริ ษัทฯ 5. สถานการณ์และความจาเป็ นของบริ ษัทฯ การพัฒนาบุคคลากร บริ ษัทฯ มีนโยบายการพัฒนาพนักงานภายในองค์ กรทุกระดับ ทัง้ ระดับปฏิบตั ิการ ระดับบริ หาร และระดับ จัดการ ตามความเหมาะสมในตาแหน่งหน้ าที่ ความรับผิดชอบ และตามสภาวะการ โดยเน้ นการสร้ างวัฒนธรรมการเรี ยนรู้ ของพนักงานผู้ปฏิบตั ิงาน ไปจนถึงการสืบทดทนแทนตาแหน่งงาน โดยยึดหลักการดาเนินงาน ดังนี ้ 1. การสร้ างวัฒนธรรมการเรี ยนรู้ บริ ษัทฯ มีแนวทางการสร้ างวัฒนธรรมการเรี ยนรู้ ให้ กบั พนักงานผู้ปฏิบตั ิงาน เพื่ อเน้ นให้ พนักงานเป็ นศูนย์กลาง แห่งการเรี ยนรู้ด้วยตนเอง ผ่านกิจกรรมกระตุ้นให้ พนักงานเกิดความต้ องการเรี ยนรู้ ความสนใจต่อความรู้ในการปฏิบตั ิงาน ซึง่ เป็ นแนวทางการพัฒนาสู่ องค์กรแห่งการเรี ยนรู้
90
2. การจัดการฝึ กอบรมตามความจาเป็ น บริ ษัทฯ มีการวิเคราะห์ และประเมินความจาเป็ นในการฝึ กอบรมพนักงานเพื่อให้ สอดคล้ องกับนโยบายและ สภาวะการ ตลอดจนการทดสอบความรู้ ทักษะความสามารถของพนักงาน เพื่อค้ นหาความจาเป็ นต่อการฝึ กอบรม พนักงานให้ มีทกั ษะความรู้ ความสามารถให้ สอดคล้ องกับตาแหน่งหน้ าที่ความรับผิดชอบให้ เกิดประโยชน์สงู สุดทังต่ ้ อผู้ อบรม ต่อองค์กร และสนองตอบต่อความพึงพอใจของลูกค้ าที่ได้ รับสินค้ าและบริ การจากบริ ษัทฯ ไม่เพียงแต่มีการจัดการ อบรมพนักงานทังภายในภายนอกและส ้ าหรับผู้บริ หาร บริ ษัทฯ ยังมีระบบการอบรมด้ วยการ Coaching และ การฝึ กอบรม ผ่านการปฏิบตั ิ On the Job Training โดยดาเนินการตามแผนซึ่งสอดคล้ องและสนับสนุนนโยบายหลักของการพัฒนา บุคคลกรของบริ ษัทฯ 3. แผนการสืบทอดตาแหน่ง บริ ษัทมีการจัดทาแผนการสืบทอดตาแหน่งผู้บริ หารในระดับต่างๆ โดยเฉพาะผู้บริ หารและตาแหน่งในสายงาน หลัก โดยได้ พิจารณากาหนดตัวบุคคลเพื่อรองรับแผนสืบทอดงานโดยกาหนดให้ ผ้ บู ริ หารในระดับสองลงไป เป็ นผู้ทาหน้ าที่ แทนชัว่ คราว แต่สาหรับกรณีถาวร มุง่ เน้ นการสรรหาจากบุคลากรภายในองค์กร เพื่อพัฒนาบุคลากรที่มีผลการปฏิบตั ิงาน ที่ดี และมี ศักยภาพได้ เติ บโตในต าแหน่งที่สูงขึน้ ตามลาดับขัน้ ของพนักงานทัง้ ผู้บริ หารระดับกลางและพนักงาน จะ พิจารณาผ่านคณะกรรมการประกอบด้ วยประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารและผู้บริ หารระดับผู้อานวยการฝ่ ายขึ ้นไป หรื อผู้บริ หาร ระดับกลางเป็ นผู้พิจารณาตามความเหมาะสม และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษัทอยู่ระหว่างพิจารณาทบทวนและปรับปรุ งนโยบายการกากับดูแลกิจการให้ สอดคล้ องกับ CG Code โดยคาดว่าจะแล้ วเสร็ จภายในปี 2562 เพื่อให้ ครอบคลุมและทันต่อพัฒนาการด้ านการกากับดูแล กิจการที่เปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ ว
91
12. ความรับผิดชอบต่ อสังคม (Corporate Social Responsibilities: CSR) 12.1 นโยบายภาพรวม และการดาเนินงาน คณะกรรมการบริ ษัทฯมีนโยบายให้ การดาเนินธุรกิจของบริ ษัทฯและบริ ษัทย่อยเป็ นไปด้ วยความ รับผิดชอบต่อ สังคม สิ่งแวดล้ อม และกลุม่ ผู้มีสว่ นได้ เสีย โดยในปี 2561 ได้ มีการทบทวนวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และ เป้าหมาย เปิ ดเผยใน เว็บไซต์ของบริ ษัทฯในหัวข้ อ “ข้ อมูลบริ ษัทฯ” เพื่อใช้ เป็ นหลักในการประพฤติปฏิบตั ิของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน โดยการคานึงถึงสิทธิของ ผู้มีสว่ นได้ เสียทุกกลุม่ ภายใต้ กรอบกฎหมาย ระเบียบปฏิบตั ิของบริ ษัทฯ ความมีจริ ยธรรม ความ ยุติธรรมและความเสมอภาค วัตถุประสงค์เพื่อให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานของบริ ษัทฯ มีแนวทางในการประพฤติปฏิบตั ิที่ ถูกต้ องเป็ นที่ยอมรับของสังคม ซึง่ จะส่งผลให้ การประกอบธุรกิจของบริ ษัทฯ เติบโตอย่างยัง่ ยืน 12.2 แนวทางการดาเนินงาน ภายใต้ ความรับผิดชอบต่ อสังคมและสิ่งแวดล้ อม (CSR) บริ ษัทฯ มุง่ หมายที่จะดาเนินธุรกิจภายใต้ จรรยาบรรณและการการกากับดูแลกิจการที่ดี ควบคู่ไปกับการใส่ใจ และดูแลรักษาสังคมและสิง่ แวดล้ อม เพื่อที่จะนาพาให้ บริ ษัทฯ มีการพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน ด้ วยการปฏิ บตั ิตามหลักแห่ง ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจหรื อ Corporate Social Responsibility (“CSR”) ซึ่งบริ ษัทฯ เชื่อว่าการสร้ าง “ความ ยัง่ ยืนขององค์กร (Corporate Sustainability) ”เป็ นสิ่งสาคัญยิ่งในการบริ หารจัดการองค์กรธุรกิจสมัยใหม่ การกาหนด นโยบายของ CSR เพื่อให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานของบริ ษัทฯ ใช้ เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิต่อ ชุมชน สังคม และผู้มีสว่ น เกี่ ย วข้ อง จะก่ อให้ เกิ ดคุณประโยชน์ ใ นหลายด้ านแก่บ ริ ษั ทฯ เช่น การสร้ างความน่า เชื่ อถื อให้ แ ก่บริ ษัท ฯ การสร้ าง ภาพลักษณ์ของบริ ษัทฯ ที่ดีต่อสังคม เป็ นต้ น โดยบริ ษัทฯ มีนโยบายและแนวทางการปฏิบตั ิที่เป็ นไปตามหลักการ 8 ข้ อ ของแนวทางความรับผิดชอบ ของกิจการที่จดั ทาโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังนี ้ 1. การประกอบกิจการด้ วยความเป็ นธรรม บริ ษัทฯมีการกาหนดข้ อพึงปฏิบตั ิที่แสดงถึงการประกอบกิจการด้ วยความเป็ นธรรมกับคู่ค้าและคู่แข่งทางธุรกิจ รวมทัง้ การดาเนินธุรกิจตามกฎหมายอย่างเคร่ งครัด เพื่อให้ กรรมการผู้บริ หารและพนักงานได้ ปฏิบตั ิ ไว้ ในข้ อกาหนด เกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุรกิจ (Code of Ethics) ฉบับแก้ ไข ปี 2.2 ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ โดยมีรายละเอียดดังนี ้ ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ บริ ษัทฯมีนโยบายที่มิให้ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานใช้ โอกาสจากการเป็ นกรรมการ ผู้บริ หารหรื อพนักงาน ของบริ ษัทฯ แสวงหาผลประโยชน์สว่ นตน จึงกาหนดข้ อควรปฏิบตั ิไว้ ดังต่อไปนี ้ (1) คณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบและผู้บริ หาร ต้ องพิจารณาความขัดแย้ งของผลประโยชน์ เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกันตามข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์อย่างรอบคอบ ด้ วยความซื่อสัตย์สจุ ริ ต อย่างมีเหตุผล และเป็ นอิสระภายใต้ กรอบจริ ยธรรมที่ดีโดยคานึงถึงประโยชน์ของบริ ษัทฯเป็ นสาคัญเพื่อให้ มนั่ ใจว่า รายการดังกล่าว สมเหตุสมผล และเป็ นไปเพื่อประโยชน์ของบริ ษัทฯเป็ นหลักสาคัญ โดยผู้ที่สว่ นได้ เสียในเรื่ องใดจะไม่สามารถเข้ ามามีสว่ น ในการอนุมตั ิรายการดังกล่าว (2) ต้ องไม่กระทาการใด ๆ อันเป็ นการขัดต่อผลประโยชน์ทางธุรกิจกับบริ ษัทฯ ได้ แก่ การทาให้ บริ ษัทฯ เสีย ผลประโยชน์ หรื อได้ รับประโยชน์น้อยกว่าที่ควร หรื อเป็ นการแบ่งผลประโยชน์จากบริ ษัทฯ (3) ไม่กระทาการใด ๆ อันเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริ ษัทฯ (4) หลีกเลีย่ งการทารายการที่เกี่ยวโยงกับตนเองที่อาจก่อให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์กบั บริ ษัทฯ
92
(5) กรณี ที่จาเป็ นต้ องทารายการนัน้ เพื่อประโยชน์ ข องบริ ษัท ฯ ให้ ทารายการนัน้ เสมือนการทารายการกับ บุคคลภายนอกที่มีข้อตกลงทางการค้ าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนพึงกระทากับคู่สญ ั ญาทัว่ ไปด้ วยอานาจต่อรอง ทางการค้ าที่ปราศจากอิทธิ พลในการที่เป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลที่เกี่ยวข้ องและต้ องไม่มีส่วนในการพิจารณา อนุมตั ิ และมีหน้ าที่ต้องปฏิ บตั ิตามข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ในเรื่ องการเปิ ดเผยข้ อมูลการทารายการเกี่ยวโยง (6) ห้ ามมิให้ กรรมการ ผู้บริ หาร พนักงาน และลูกจ้ างของบริ ษัทฯ รวมถึงคูส่ มรสและบุตรของบุคคล ดังกล่าว แสวงหาผลประโยชน์ในกิจการส่วนตัวกับบริ ษัทฯ เช่น กระทาการใด ๆ เพื่อขายสินค้ าและบริ การ ให้ กบั บริ ษัทฯ หากมีการกระทานันๆ ้ ต้ องทาเอกสารชี ้แจงและเปิ ดเผยข้ อมูลให้ บริ ษัทฯทราบทุกกรณี และในข้ อกาหนดเกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุรกิจ (Code of Ethics) ฉบับแก้ ไขปี 2560 ข้ อที่ 2.8.2 นโยบายในการ ปฏิบตั ิตอ่ ลูกค้ า โดยมีรายละเอียดดังนี ้ (1) ให้ การเอาใจใส่และรั บผิดชอบลูกค้ าทุกรายด้ วยความเป็ นธรรม โดยเน้ นการผลิตสินค้ าที่มีคุณภาพ ได้ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าได้ อย่างครบถ้ วน รักษาความลับของลูกค้ า และไม่นาไปเพื่อใช้ ประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่นก่อนได้ รับอนุญาตยินยอมจากลูกค้ า รวมทังให้ ้ บริ การที่มีคณ ุ ภาพด้ วยความเชี่ยวชาญใน อาชีพ ในราคาที่เหมาะสมและเป็ นธรรมแก่ลกู ค้ าอย่างเท่าเทียมกัน (2) น าเสนอผลิตภัณ ฑ์ ที่ตรงต่อความต้ องการของลูกค้ า และมีคุณภาพ เปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ ยวกับสินค้ าอย่า ง ครบถ้ วน ถูกต้ อง และมีช่องทางการรับข้ อร้ องเรี ยน เพื่อเปิ ดโอกาสให้ ลกู ค้ าสามารถร้ องเรี ยนเกี่ยวกับการบริ การ และ ดาเนินการอย่างดีที่สดุ เพื่อให้ ลกู ค้ าได้ รับการตอบสนองผลอย่างรวดเร็ ว (3) ให้ บริ การที่เป็ นเลิศ ด้ วยคุณภาพ และประสิทธิภาพที่สร้ างความพึงพอใจให้ ลกู ค้ า (4) ให้ การดูแลและรักษาผลประโยชน์ของลูกค้ าอย่างเหมาะสมและยุติธรรม (5) ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขต่างๆ ที่มีตอ่ ลูกค้ าอย่างเคร่งครัด กรณีที่ไม่สามารถปฏิบตั ิตามเงื่อนไขข้ อใดได้ ต้องรี บแจ้ ง ให้ ลกู ค้ าทราบเพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ ไขปั ญหา (6) ปฏิบตั ิกบั ลูกค้ าด้ วยความสุภาพ เป็ นที่วางใจได้ ของลูกค้ า (7) ส่งมอบสินค้ าที่มีคณ ุ ภาพ ตรงตามเวลาที่กาหนด (8) สนับสนุนการดาเนินงานด้ านความรับผิดชอบต่อสังคมของลูกค้ า และในข้ อกาหนดเกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุรกิจ (Code of Ethics) ฉบับแก้ ไขปี 2560 ข้ อที่ 2.8.3 นโยบายและการ ปฏิบตั ิตอ่ คูค่ ้ าและ/หรื อเจ้ าหนี ้ โดยมีรายละเอียดดังนี ้ นโยบายและการปฏิบัติต่อคู่ค้าและ/หรือเจ้ าหนี้ (1) ไม่เรี ยกร้ อง ไม่รับหรื อจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สจุ ริ ตในการค้ ากับคู่ค้า หรื อเจ้ าหนี ้และปฏิบตั ิตามเงื่อนไข อย่างเหมาะสมและเป็ นธรรม (2) การจัดหา จัดซื ้อ จัดจ้ างกับบริ ษัทและ/บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง หรื อมีความสัมพันธ์ กบั กรรมการผู้บริ หาร พนักงาน ทุกระดับชัน้ จะต้ องอยู่ภายใต้ หลักการความเสมอภาค โปร่ งใส เป็ นธรรม เพื่อประโยชน์สงู สุดของบริ ษัท และจะต้ อง ดาเนินการตามระเบียบของบริ ษัท พร้ อมทังเปิ ้ ดเผยข้ อมูลสามารถตรวจสอบได้ (3) หลีกเลีย่ งการจัดหา จัดซื ้อ จัดจ้ างที่จะขัดกับผลประโยชน์โดยรวมของบริ ษัท (4) ผู้เกี่ยวข้ องกับกิจกรรมจัดหา จัดซื ้อ จัดจ้ างต้ องไม่รับประโยชน์ไม่ ว่าทางตรง หรื อทางอ้ อมจากคู่ค้า และต้ อง วางตัวเป็ นกลาง ไม่มีความสัมพันธ์ใกล้ ชิดจนอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจ
93
(5) หากพบเหตุที่จะทาให้ ไม่สามารถดาเนินการตามข้ อตกลงหรื อสัญญาได้ ผู้รับผิดชอบต้ องรี บ รายงานต่อผู้บงั คับบัญชาทันที และต้ องรับแจ้ งให้ ค่คู ้ า และ/ หรื อเจ้ าหน้ าที่ทราบล่วงหน้ า เพื่อร่ วมกันพิจารณาหาแนว ทางการแก้ ไข (6) มุ่งมัน่ ที่จะรักษาสัมพันธภาพที่ยงั่ ยืนกับคู่ค้าและคู่สญ ั ญาที่มีวตั ถุประสงค์ชดั เจนในเรื่ องของคุณภาพสินค้ า และให้ ความเชื่อถือซึง่ กันและกัน (7) ปฏิบตั ิตอ่ เจ้ าหนี ้การค้ าอย่างเสมอภาคและเป็ นธรรม และตังอยู ้ บ่ นพื ้นฐานของการได้ ผลตอบแทนที่เป็ นธรรม ต่อทังสองฝ่ ้ าย และปรากฏในคูม่ ือจริ ยธรรมทางธุรกิจ หัวข้ อที่ 2.8.4 การปฏิบตั ิตอ่ คูแ่ ข่งทางการค้ า โดยมีรายละเอียดดังนี ้ การปฏิบัติต่อคู่แข่ งทางการค้ า (1) ประพฤติปฏิบตั ิภายใต้ กรอบกติกาของการแข่งขันด้ วยความเป็ นธรรม (2) ไม่ทาลายชื่อเสียงของคูแ่ ข่งทางการค้ าด้ วยการกล่าวหาในทางร้ าย (3) ไม่ละเมิดทรัพย์สนิ ทางปั ญญา/ลิขสิทธ์ (4) ไม่แสวงหาข้ อมูลที่เป็ นความลับของคูแ่ ข่งทางการค้ า ด้ วยวิธีไม่สจุ ริ ต หรื อไม่เหมาะ (5) ประพฤติปฏิบตั ิต่อคู่แข่งทางการค้ าตามกฎหมายและกติกาต่างๆบนมาตรฐานที่ยอมรั บของสากลสร้ าง ความสัมพันธ์ที่ดีตอ่ คูแ่ ข่ง ซึง่ อาจจะพัฒนามาเป็ นพันธมิตรทางการค้ า 2. การต่ อต้ านการทุจริต บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด มุ่งมัน่ ในการดาเนินธุรกิจอย่างมีคณ ุ ธรรม โดยยึดมัน่ ในความ รับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ ยวข้ องทุกฝ่ าย บริ ษัทฯ ได้ เข้ าร่ วมเป็ น “แนวร่ วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้ านการ ทุจริ ต” เพื่อแสดงเจตนารมณ์และความมุง่ มัน่ ในการต่อต้ านการคอร์ รัปชัน่ ในทุกรู ปแบบ บริ ษัทฯ มีนโยบายกาหนดความ รับผิดชอบ แนวปฏิบตั ิ และข้ อกาหนดในการดาเนินการอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันการคอร์ รัปชัน่ กับทุกกิจกรรมทางธุรกิจ ของบริ ษัท และเพื่อให้ การตัดสินใจ รวมถึงการดาเนินการทางธุรกิ จที่อาจมีความเสี่ยงด้ านการคอร์ รัปชั่ นได้ รับการ พิจารณาและปฏิบตั ิอย่างรอบคอบ บริ ษัทฯ จึงได้ จดั ทา “นโยบายต่อต้ านการคอร์ รัปชัน่ ” เป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อเป็ น แนวทางการปฏิบตั ิที่ชดั เจนในการดาเนินธุรกิจ และพัฒนาสูอ่ งค์กรแห่งความยัง่ ยืน ทังนี ้ ้ กาหนดให้ คณะกรรมการบริ ษัท ผู้บริ หาร และพนักงานบริ ษัท รวมถึงบุคคลที่เกี่ยวข้ องกับการดาเนินธุรกิจให้ ปฎิบตั ิตามนโยบายการต่อต้ านคอร์ รัปชั่น อย่างเคร่งครัด นโยบายการต่ อต้ านคอร์ รัปชั่น ห้ ามกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานของบริ ษัทฯ ดาเนินการหรื อยอมรับการคอร์ รัปชัน่ ในทุกรู ปแบบทังทางตรง ้ หรื อทางอ้ อมโดยครอบคลุมถึงทุกธุรกิจในทุกประเทศและทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง และให้ มีการสอบทานการปฏิบตั ิตาม นโยบายการต่อต้ านคอร์ รัปชั่นนี ้อย่างสม่าเสมอ ตลอดจนทบทวนแนวทางการปฏิบตั ิและข้ อกาหนดในการดาเนินการ เพือ่ ให้ สอดคล้ องกับการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในการดาเนินธุรกิจ ตลอดจน ระเบียบ ข้ อบังคับ และข้ อกาหนดของกฎหมาย หน้ าที่ความรั บผิดชอบ (1) คณะกรรมการบริ ษั ท มีหน้ าที่และความรั บผิด ชอบในการกาหนดนโยบายและกากับดูแลให้ มีระบบที่ สนับสนุนการต่อต้ านคอร์ รัปชัน่ ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ มนั่ ว่าฝ่ ายบริ หารได้ ตระหนักและให้ ความสาคัญกับการต่อต้ าน คอร์ รัปชัน่ และปลูกฝั งจนเป็ น วัฒนธรรมองค์กร
94
(2) คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้ าที่และความรับผิดชอบในการสอบทานระบบรายงานทางการเงินและบัญชี ระบบการควบคุม ภายใน ระบบตรวจสอบภายใน และกระบวนการอื่นที่เกี่ ยวข้ องกับมาตรการต่อต้ านการคอร์ รัป ชั่น เพื่อให้ มนั่ ใจว่าเป็ นไปตามมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ (3) ผู้บริ หาร มีหน้ าที่และความรั บผิดชอบในการกาหนดให้ มีระบบและให้ การส่งเสริ มและสนับสนุนนโยบาย การต่อต้ านคอร์ รัปชั่น เพื่อสื่อสารไปยังพนักงานและผู้เกี่ยวข้ องทุกฝ่ าย รวมทังทบทวนความเหมาะสมของระบบและ ้ มาตรการต่างๆ เพื่อให้ สอดคล้ องกับการเปลีย่ นแปลงของธุรกิจ ระเบียบ ข้ อบังคับและข้ อกาหนดของกฎหมาย (4) คณะทางานตรวจสอบภายใน มีหน้ าที่และความรับผิดชอบในการตรวจสอบและสอบทานการปฏิบตั ิงานว่า เป็ นไปอย่า งถูกต้ อง ตรงตามนโยบาย แนวปฏิ บัติ อานาจดาเนิ นการ ระเบีย บปฏิบัติ และกฎหมาย ข้ อ กาหนดของ หน่วยงานกากับดูแล เพื่อให้ มนั่ ใจว่ามี ระบบควบคุมที่มีความเหมาะสมและเพีย งพอต่อความเสี่ยงด้ านคอร์ รัปชั่นที่อาจ เกิดขึ ้น และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ แนวทางการปฏิบัติ (1) กรรมการบริ ษัท ผู้บริ หาร พนักงานบริ ษัทฯ ทุกระดับ ต้ องปฏิบัติตามนโยบายการต่อต้ านคอร์ รัปชั่นและ จรรยาบรรณบริ ษัทฯ โดยต้ องไม่เข้ าไปเกี่ยวกับเรื่ องคอร์ รัปชัน่ ไม่ว่าโดยทางตรงหรื อทางอ้ อม (2) พนักงานบริ ษัทฯ ไม่พึงละเลยหรื อเพิกเฉย เมื่อพบเห็นการกระทาที่เข้ าข่ายคอร์ รัปชัน่ ที่เกี่ยวข้ องกับบริ ษัทฯ ต้ องแจ้ งให้ ผู้บงั คับบัญชา หรื อบุคคลที่รับผิดชอบทราบ และให้ ความร่ วมมือในการตรวจสอบข้ อเท็จจริ งต่างๆ หากมีข้อ สงสัยหรื อข้ อซักถามให้ ปรึ กษากับผู้บงั คับบัญชา หรื อบุคคลที่กาหนดให้ ทาหน้ าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการติดตามการ ปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณบริ ษัทฯ ผ่าน ช่องทางต่างๆ ที่บริ ษัท กาหนดไว้ (3) บริ ษัทฯ จะให้ ความเป็ นธรรมและคุ้มครองพนักงานที่ปฏิเสธการคอร์ รัปชัน่ หรื อแจ้ งเรื่ องคอร์ รัปชัน่ ที่เกี่ยวข้ อง กับบริ ษัทฯ โดยใช้ มาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรี ย น หรื อผู้ที่ใ ห้ ความร่ วมมือในการรายงานการคอร์ รั ปชั่นตามที่บ ริ ษัท ฯ กาหนดไว้ ในนโยบายการรับข้ อร้ องเรี ยน (Whistle blower Policy) (4) ผู้ที่กระทาคอร์ รัปชัน่ เป็ นการกระทาผิดจรรยาบรรณบริ ษัทฯ ซึ่งจะต้ องได้ รับการพิจารณาโทษทางวินยั ตาม ระเบียบที่บริ ษัทฯ กาหนดไว้ นอกจากนี ้ อาจจะได้ รับโทษตามกฎหมาย หากการกระทานันผิ ้ ดกฎหมาย (5) บริ ษัทฯ ตระหนักถึงความสาคัญในการเผยแพร่ ให้ ความรู้ และทาความเข้ าใจกับคูค่ ้ าหรื อผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้ อง กับบริ ษัทฯหรื ออาจ เกิดผลกระทบต่อบริ ษัทฯ ในเรื่ องที่ต้องปฏิบตั ิให้ เป็ นไปตามนโยบายการต่อต้ านคอร์ รัปชัน่ นี ้ (6) บริ ษัทฯ มุง่ มัน่ ที่จะสร้ างและรักษาวัฒนธรรมองค์กรที่ยดึ มัน่ ว่าคอร์ รัปชัน่ เป็ นสิง่ ที่ผิดและยอมรับไม่ได้ ทังการ ้ ทาธุรกรรมกับภาครัฐและ/หรื อภาคเอกชน ข้ อกาหนดในการดาเนินการ (1) การดาเนินการใดๆ ตามนโยบายการต่อต้ านคอร์ รัปชัน่ ให้ ใช้ แนวปฏิบตั ิตามที่กาหนดไว้ ในคู่มือจรรยาบรรณ บริ ษัท นโยบายและ แนวปฏิบตั ิต่อผู้มีสว่ นได้ เสียกลุม่ ต่างๆ รวมทัง้ ระเบียบ และคู่มือปฏิบตั ิงานของบริ ษัทฯที่เกี่ยวข้ อง ตลอดจนแนวทางปฏิบตั ิอื่นใดที่บริ ษัทฯจะกาหนดขึ ้นต่อไป (2) เพื่อความชัดเจนในการดาเนินการในเรื่ องที่มีความเสี่ยงสูงกับการเกิดคอร์ รัปชัน่ กรรมการบริ ษัท ผู้บริ หาร และพนักงานบริ ษัทฯ ทุกระดับต้ องปฏิบตั ิด้วยความระมัดระวังในเรื่ องดังต่อไปนี ้ (2.1) ของกานัล การเลี ้ยงรับรองและค่าใช้ จ่ายในการให้ มอบ หรื อรับ ของกานัล การเลี ้ยงรับ รอง ให้ เป็ นไปตามที่ ก าหนดในจรรยาบรรณบริ ษั ท ฯ และนโยบายว่า ด้ ว ยการรั บ การให้ ข องขวัญ ทรั พ ย์ สิน หรื อ ผลประโยชน์อื่นใดของบริ ษัทฯ
95
(2.2) เงินบริ จาคเพื่อการกุศล หรื อเงินสนับสนุน การให้ หรื อรับเงินบริ จาค หรื อเงินสนับสนุนต้ องเป็ นไป อย่างโปร่ งใสและถูกต้ องตามกฎหมาย โดยต้ อ งมัน่ ใจว่าเงินบริ จาค หรื อเงินสนับสนุนไม่ได้ ถกู นาไปใช้ เพื่อเป็ น ข้ ออ้ างในการติดสินบน (2.3) ความสัมพันธ์ ทางธุรกิจและการจัดซื ้อจัดจ้ างกับภาครัฐ ลูกค้ า คู่ค้าหรื อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้ องกับ บริ ษัทฯ ห้ ามให้ หรื อรับสินบนในการดาเนินธุรกิจทุกชนิด การดาเนินงานของบริ ษัทฯ และการติดต่องานกับผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้ องกับบริ ษัทฯ เหล่านัน้ เป็ นไปอย่างโปร่ งใส ซื่อสัตย์ และต้ องดาเนินการให้ เป็ นไปตามกฎหมายที่ เกี่ยวข้ อง การแจ้ งข้ อร้ องเรียนและข้ อเสนอแนะ คณะกรรมการบริ ษัทฯ ได้ เปิ ดโอกาสให้ พนักงานและผู้มีส่วนได้ เสีย มีช่องทางการร้ องเรี ยนการแสดงความ คิดเห็น ข้ อเสนอแนะ ข้ อร้ องเรี ยน หรื อแจ้ งเบาะแสการกระทาผิดกฎหมายที่พบเห็นในเหตุการณ์หรื อการกระทาใดๆ ที่อาจ มีผลต่อการฝ่ าฝื นกฎหมาย กฎระเบียบ ข้ อบังคับ และ/หรื อ ขัดต่อคุณธรรม จริ ยธรรมอันดี ที่จะส่งผลให้ เกิดความเสียหาย โดยรวมต่อบริ ษัทฯ โดยกาหนดให้ สามารถแจ้ งผ่านช่องทางจดหมายถึง ประธานกรรมการบริ ษัท หรื อ กรรมการตรวจสอบ บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย)จากัด (มหาชน) 3/14 หมู่ที่ 2 ตาบลหนองบัว อาเภอบ้ านค่าย จังหวัดระยอง 21120 หรื อ ผ่านหน้ าเวบไซต์ www.sankothai.net/investor ประธานกรรมการบริ ษัท หรื อ กรรมการตรวจสอบ จะรับข้ อมูลเหล่านันโดยตรง ้ โดยให้ ความสาคัญว่าเป็ นข้ อมูล ลับเฉพาะ เพื่อปกป้องคุ้มครองไม่ให้ เกิดผลกระทบต่อผู้มีสว่ นได้ เสียหรื อผู้แจ้ งเบาะแส รวมทังจะด ้ าเนินการอย่างเป็ นธรรม โดยอ้ างอิงข้ อมูลเบาะแสที่ได้ รับ และการพิสจู น์ เพื่อดาเนินการตัดสินใจและจัดการตามความเหมาะสมต่อไป กระบวนการดาเนินการเมื่อได้ รับข้ อร้ องเรียน (1) รวบรวมข้ อเท็จจริ ง ผู้รับข้ อร้ องเรี ยนจะดาเนินการรวบรวมข้ อเท็จจริ ง ที่เกี่ยวกับการฝ่ าฝื น หรื อการไม่ปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณนัน้ ด้ วยตนเอง หรื อมอบหมายให้ บคุ คลที่มีความเหมาะสมดาเนินการ (2) ประมวลผลและกลัน่ กรองข้ อมูล ผู้รับข้ อร้ องเรี ยนจะเป็ นผู้สง่ เรื่ องร้ องเรี ยน ตรวจสอบภายใน 7 วันทาการ นับแต่วนั ที่ได้ รับเรื่ องร้ องเรี ยนจากผู้ แจ้ งเรื่ องร้ องเรี ยน เพื่อพิจารณาขันตอน ้ วิธีการจัดการที่เหมาะสมในแต่ละเรื่ อง โดยอาจ - รายงานต่อบุคคลที่มีอานาจดาเนินการและเกี่ยวข้ องในเรื่ องนันๆ ้ - รายงานข้ อเท็จจริ งต่อคณะกรรมการตรวจสอบ/ผู้ต รวจสอบ เพื่อ สอบสวนหาข้ อเท็จจริ ง ประมวลผลและ กลัน่ กรองข้ อมูล (3) กาหนดมาตรการดาเนินการ ผู้ที่ดาเนินการตามข้ อ (2) กาหนดมาตรการดาเนินการระงับการฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณและ บรรเทาความเสียหายให้ กบั ผู้ที่ได้ รับผลกระทบ โดยคานึงถึงความเดือดร้ อนเสียหายโดยรวมทังหมด ้ หากผู้ร้องเรี ยนไม่พอใจมาตรการดาเนินการเพื่อระงับข้ อร้ องเรี ยนให้ ยื่นอุทธรณ์ภายใน 7 วัน นับตังแต่ ้ วนั ที่ทราบ มาตรการดาเนินการเพื่อระงับข้ อร้ องเรี ยน (4) รายงานผล ผู้รับข้ อร้ องเรี ยนมีหน้ าที่รายงานผลตามข้ อ (3) ให้ ผ้ รู ้ องเรี ยนทราบหากผู้ร้องเรี ยนเปิ ดเผยตน
96
ในกรณีที่เป็ นเรื่ องสาคัญให้ ผ้ รู ับเรื่ องร้ องเรี ยน จะเป็ นผู้รายงานผลต่อประธานกรรมการ และคณะกรรมการบริ ษัท ฯ ทราบ เช่น เป็ นเรื่ องที่กระทบต่อชื่อเสียง ภาพลักษณ์ หรื อฐานะทางการเงินของบริ ษัทฯ หรื อขัดแย้ งกับนโยบายการ ดาเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ หรื อเกี่ยวข้ องกับผู้บริ หารระดับสูง เป็ นต้ น มาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรียน บริ ษัทฯ กาหนดมาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรี ยนตามหลักเกณฑ์ ดังนี ้ (1) ผู้ร้องเรี ยน สามารถเลือกที่จะไม่เปิ ดเผยตนเองได้ หากเห็นว่าการเปิ ดเผยนันจะท ้ าให้ เกิดความไม่ปลอดภัย หรื อเกิ ด ความเสียหายใดๆ แต่ห ากมี การเปิ ดเผยตนเอง ก็ จ ะท าให้ องค์ ก รสามารถรายงานความคื บหน้ า และชี แ้ จง ข้ อเท็จจริ งให้ ทราบได้ สะดวกและรวดเร็ วขึ ้น (2) ผู้รับข้ อร้ องเรี ยน จะเก็บข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องไว้ เป็ นความลับ และจะเปิ ดเผยเท่าที่จาเป็ น โดยคานึงถึงความ ปลอดภัยและความเสียหายของผู้รายงาน แหล่งที่มาของข้ อมูล หรื อบุคคลที่เกี่ยวข้ อง โดยได้ กาหนดมาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรี ยน และ/หรื อ ผู้ที่ให้ ข้อมูล และ/หรื อ ความร่ วมมือในการตรวจสอบ ข้ อมูล โดยจะได้ รับการประกันจากบริ ษัทฯ ว่าจะไม่เป็ นเหตุ หรื อถือเป็ นเหตุที่จะเลิกจ้ าง ลงโทษ หรื อดาเนินการใด ที่ เกิดผลร้ ายต่อพนักงานดังกล่าว (3) กรณีที่ผ้ รู ้ องเรี ยนเห็นว่า ตนอาจได้ รับความไม่ปลอดภัย หรื ออาจเกิดความเดือดร้ อนเสียหาย ผู้ ร้ องเรี ยนสามารถร้ องขอให้ บริ ษัทฯ กาหนดมาตรการคุ้มครองที่เหมาะสมก็ได้ หรื อบริ ษัทฯอาจกาหนดมาตรการคุ้มครอง โดยผู้ร้องเรี ยนไม่ต้องร้ องขอก็ได้ หากเห็นว่าเป็ นเรื่ องที่มีแนวโน้ มที่จะเกิดความเดือนร้ อนเสียหายหรื อความไม่ปลอดภัย ทังนี ้ ้ ในปี 2561 ไม่มีการร้ องเรี ยน หรื อแจ้ งเบาะแสที่เกี่ ยวข้ องกับการทุจริ ตหรื อคอร์ รัปชั่นต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบแต่อย่างใด 3. การเคารพสิทธิมนุษยชน บริ ษัทฯ ให้ ความสาคัญกับการเคารพสิทธิ มนุษยชน ไม่เกี่ยวข้ องกับการละเมิดสิทธิ มนุษยชน และไม่เลือก ปฏิบตั ิระหว่างเพศ ศาสนา เชื ้อชาติ อายุ และถิ่นกาเนิด , มีการว่าจ้ างคนพิการทางการได้ ยิน , พิการทางร่างกาย มาเป็ น พนักงานประจาการจ้ างงานโดยไม่กาหนดเฉพาะเพศใดเพศหนึ่ ง ดังปรากฎในนโยบายสิทธิมนุษยชนในสถานที่ทางาน, นโยบายการบริ หารงานบุคคล ดังนี ้ นโยบายสิทธิมนุษยชนในสถานที่ทางาน การเคารพสิทธิ มนุษยชนและเห็นคุณค่าในความเป็ นมนุษย์ถือเป็ นรากฐานของการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ซึ่ง ทรัพยากรบุคคลถือเป็ นหัวใจสาคัญในการพัฒนาผลผลิตและสร้ างมูลค่าอย่างยัง่ ยืนให้ กบั ธุรกิจ บริ ษัท จึงตระหนักและ เคารพสิทธิมนุษยชนเสมอมา โดยปฏิบตั ิตอ่ พนักงานและผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ไม่มีการแบ่งแยกสีผิว เชือ้ ชาติ เพศ ศาสนา เผ่าพันธุ์ สัญชาติ ความยากจน ความพิการ ผู้ป่วยหรื อเป็ นโรค รวมถึงเคารพและยอมรับความ แตกต่างทางความคิด สังคม สิง่ แวดล้ อม กฎหมาย และวัฒนธรรม เป็ นต้ น ดังนัน้ บริ ษัทฯจึงได้ กาหนดนโยบายสิทธิ มนุษยชน เพื่อให้ กรรมการ ผู้บริ หารและพนักงานทุกคนได้ นาไปเป็ น แนวทางในการปฏิบตั ิอย่างเคร่งครัด ซึง่ มีสาระสาคัญ ดังนี ้ 1. บริ ษัทฯ จะปฏิบัติต่อพนักงานทุกคนด้ วยความเสมอภาค ให้ โอกาสที่เท่าเทียมกันในการทางานภายใต้ กฎระเบียบ ข้ อบังคับในการทางาน ประกาศ และคาสัง่ ต่างๆของบริ ษัทฯที่ชอบด้ วยกฎหมาย 2. บริ ษัทฯ สนับสนุนให้ พนักงานใช้ สิทธิของตนในฐานะพลเมือง โดยชอบตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นๆที่ เกี่ยวข้ อง
97
3. บริ ษัทฯ จะรักษาข้ อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน ไม่เปิ ดเผยหรื อถ่ายโอนข้ อมูลของพนักงานไปยังบุคคลอื่น โดยไม่ได้ รับการยินยอมจากเจ้ าของข้ อมูล เว้ นแต่ได้ กระทาไปตามคาสัง่ ของเจ้ าพนักงานผู้มีอานาจตามกฎหมาย 4. บริ ษัทฯและพนักงานทุกคน จะไม่สนับสนุนและเกี่ยวข้ องกับกิจการใดๆของคู่ค้า ลูกค้ า หรื อผู้มีสว่ นได้ เสีย อื่นๆที่กระทาการละเมิดสิทธิมนุษยชนสากล 5. กรรมการ ผู้บริ หารและพนักงานทุกคนจะไม่กระทาการใดๆ ที่เป็ นการละเมิดหรื อคุกคาม ไม่ว่าจะเป็ นทาง วาจา หรื อการกระทาต่อบุคคลอื่นบนพื ้นฐานด้ านเชือ้ ชาติ สีผิว ศาสนา วัฒนธรรม ชนชัน้ เพศความพิการ สถานภาพ สมรสและอื่นๆตามหลักการพื ้นฐานที่สาคัญของกฎหมายสากลว่าด้ วยสิทธิมนุษยชน การรับข้ อร้ องเรียนด้ านการละเมิดสิทธิมนุษยชน กรณีได้ ประสบ รู้ เห็น เป็ นพยานหรื อได้ ทราบถึงการเลือกปฏิบตั ิและละเมิดสิทธิ มนุษยชน สามารถรายงานสิ่ งที่สงสัยว่า เป็ นการละเมิดนโยบายของบริ ษัทฯหรื อกฎหมายต่อคณะกรรมการตรวจสอบ โดยกาหนดให้ สามารถแจ้ งผ่านช่องทางจด หมายถึงประธานกรรมการบริ ษัทหรื อกรรมการตรวจสอบบริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย)จากัด (มหาชน) 3/14 หมู่ ที่ 2 ตาบลหนองบัว อาเภอบ้ านค่าย จังหวัดระยอง 21120 หรื อ ผ่านหน้ าเวบไซต์ www.sankothai.net/investor นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง(ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ตระหนักดีว่าทรัพยากรบุคคลเป็ นสิ่งที่มีคณ ุ ค่าที่สดุ และ เป็ นปั จจัยสาคัญที่จะนาพาองค์กรไปสู่ความสาเร็ จ จึงมุ่งมัน่ ในการพัฒนาขีดความสามารถของพนักงานควบคู่กับการ ส่งเสริ มให้ พนักงานมีความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้ อม รวมถึงการสร้ างความสุขในการทางานให้ กับพนักงาน บริ ษัทฯจึงได้ กาหนดนโยบายการบริ หารทรัพยากรบุคคลให้ สอดคล้ องกับแนวทางการพัฒนาความยัง่ ยืนองค์กร ดังนี ้ 1. บริ ษัทฯ จะจ้ างและบรรจุพนักงานตามความจาเป็ นและเหมาะสมของงาน โดยไม่เลือกปฏิบตั ิและให้ โอกาส แก่ทกุ คนอย่างเท่าเทียมกัน ครอบคลุมถึงสตรี ผู้พิการ หรื อกลุ่มผู้ด้อ ยโอกาสอื่นๆ พนักงานที่จะได้ รับการจ้ างและบรรจุ ต้ องผ่านการพิจารณาด้ านคุณวุฒิ ประสบการณ์ ความสามารถที่เหมาะสมกับตาแหน่งงาน 2. บริ ษัทฯจะพิจารณาจ้ างผู้พิการที่มีความเหมาะสมกับสภาพการทางานของบริ ษัทฯ หากบริ ษัทฯไม่สามารถ จ้ างผู้พิการที่มีความเหมาะสมได้ จะพิจารณาจ่ายเงินเข้ ากองทุนส่งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการตามที่กฎหมาย กาหนด 3. บริ ษัทฯ ไม่มีนโยบายการหาประโยชน์ที่ไม่ถูกต้ อง โดยละเมิดสิทธิ มนุษยชนของแรงงานเด็ก แต่จะให้ การ สนับสนุน ส่งเสริ มการฝึ กงานหรื อโครงการอบรมที่สอดคล้ องตามระเบียบและกฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้ อง 4. บริ ษัทฯกาหนดให้ พนักงานมีหน้ าที่ที่จะต้ องยึดถือและปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณทางธุรกิจ ตามค่านิยมองค์กร และตามระเบียบข้ อบังคับในการทางานตามประกาศ นโยบาย คาสัง่ ต่างๆ อย่างเคร่งครัด 5. บริ ษัทฯส่งเสริ มให้ พนักงานได้ รับโอกาสในการพัฒนาความสามารถอย่างเท่าเทียมกัน ความก้ าวหน้ าในสาย อาชีพ จะพิจารณาถึงความรู้ ความสามารถของพนักงานเป็ นสาคัญ ซึ่งขึ ้นอยู่กับคุณภาพและผลสาเร็ จของงาน ตาม ตัวชี ้วัด โดยยึดหลักคุณธรรม 6. บริ ษัทฯ จะพิจารณาค่าจ้ าง ค่าตอบแทนแก่พนักงานอย่างเป็ นธรรม โดยคานึงถึงหน้ าที่และความรับผิดชอบ ของตาแหน่งงาน สภาวะทางเศรษฐกิจ สภาวะการครองชีพ อัตราค่าจ้ างแรงงานในตลาดขณะนันและมองภาพการแข่ ้ งขัน ใกล้ เคียงกับบริ ษัทอื่น อันมีลกั ษณะทางธุรกิจที่คล้ ายคลึงกัน 7. บริ ษัทฯจะส่ง เสริ มให้ พนัก งานมีคุณภาพชี วิตที่ดี มีค วามปลอดภัย และมีความสุขในการทางาน โดยให้ พนักงานมีสว่ นร่วมในการปรับปรุง
98
8. บริ ษัทฯจะส่งเสริ มและธารงไว้ ซึ่งความเข้ าใจอันดีระหว่างพนักงานกับผู้บริ หาร และระหว่างพนักงานด้ วย กันเอง ตลอดจนสนใจรับฟั งความคิดเห็นและข้ อเดือดร้ อนของพนักงาน เมื่อบริ ษัทฯได้ รับทราบจะพิจารณาความคิดเห็น และข้ อร้ องทุกข์ของพนักงานโดยทันทีตามระเบียบขันตอนที ้ ่กาหนด ทังนี ้ ้ขอให้ ผ้ บู ริ หาร หัวหน้ างานและพนักงานทุกระดับทาความเข้ าใจและปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าวอย่างเคร่ งครัด เพื่อ การพัฒนาองค์กรร่วมกันอย่างยัง่ ยืน และในข้ อกาหนดเกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุรกิจ (Code of Ethics) ฉบับแก้ ไขปี 2560 ข้ อที่ 3.5 การดาเนินการด้ าน การเมือง ดังนี ้ การดาเนินการด้ านการเมือง บริ ษัทฯ วางตัวเป็ นกลางทางการเมือง โดยไม่กระทาการอันเป็ นการฝั กใฝ่ หรื อสนับสนุนพรรคการเมืองหนึ่งพรรค การเมืองใด หรื อผู้หนึง่ ผู้ใดที่มีอานาจทางการเมือง อย่างไรก็ดี ทางบริ ษัทฯ ตระหนักและให้ ความเคารพในสิทธิเสรี ภาพใน การใช้ สทิ ธิทางการเมืองของพนักงาน โดยบริ ษัทฯ กาหนดแนวปฏิบตั ิ ดังนี ้ (1) สนับสนุนให้ พนักงาน ใช้ สทิ ธิของตนเองในฐานะพลเมืองดีตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมาย อื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง (2) ให้ เสรี ภาพแก่พนักงาน ในการแสดงความคิดเห็น และแสดงออกทางการเมือง โดยอิสระ แต่จะ ต้ องไม่กระทาการโดยอ้ างชื่อของบริ ษัทฯ และไม่กระทบต่อชื่อเสียงของบริ ษัทฯ (3) หลีกเลีย่ งการเข้ าร่วมกิจกรรมทางการเมืองใดๆ และไม่แสดงความคิดเห็นใดๆ ที่อาจก่อให้ เกิด ความเข้ าใจว่าบริ ษัทมีสว่ นเกี่ยวข้ อง หรื อให้ การสนับสนุนพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่ง หรื อกลุม่ พลังใดกลุม่ พลัง หนึง่ อันอาจนาไปสูค่ วามไม่สามัคคีปรองดองภายในบริ ษัทฯ และประเทศชาติ (4) ไม่ใช้ ทรัพย์สนิ เพื่อสนับสนุนพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึง่ หรื อกลุม่ พลังใดกลุม่ พลังหนึง่ เพื่อแลกกับสิทธิพิเศษหรื อผลประโยชน์อนั มิชอบ 4. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่ างเป็ นธรรม แนวปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้ องกับการปฏิบตั ิในเรื่ องจริ ยธรรมของพนักงาน ในด้ านการปฏิบตั ิต่อตนเอง การปฏิบตั ิต่อ ลูกค้ า ผู้ที่เกี่ยวข้ องและสังคม การปฏิบตั ิระหว่างพนักงาน การปฏิบตั ิตอ่ องค์กรและการใช้ สทิ ธิทางการเมือง โดยบริ ษัทฯ มี นโยบายในการจ้ างพนักงาน ด้ วยการยึดหลักในการจ้ างแรงงานที่ถูกต้ องตามกฎหมาย และให้ การเคารพหลักสิท ธิ มนุษยชนของแรงงาน โดยครอบคลุมในเรื่ องการจ้ างงาน การคุ้มครองทางสังคม เสรี ภาพในการสมาคมทางสังคม สุขภาพ และความปลอดภัย เป็ นต้ น ดังปรากฏในข้ อกาหนดเกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุรกิจ (Code of Ethics) ฉบับแก้ ไขปี 2560 ข้ อที่ 3 จรรยาบรรณของพนักงาน ดังรายละเอียด ดังนี ้ จรรยาบรรณพนักงาน บริ ษัทฯตระหนักถึงความสาคัญของจริ ยธรรมในการประกอบธุรกิจ บริ ษัทฯ จึงกาหนดข้ อพึงประพฤติปฏิบตั ิไว้ ให้ พนักงานนาไปใช้ ในการทางานดังนี ้ 3.1 การปฏิบัติต่อตนเอง (1) ปฏิบตั ิหน้ าที่ด้วยความขยันหมัน่ เพียร อดทน เสียสละ มีความคิดสร้ างสรรค์ ตลอดจนพัฒนาตนเองให้ มี ความรอบรู้ในด้ านต่างๆ ทังในหน้ ้ าที่การงานและความรู้ในเชิงธุรกิจ (2) ใช้ เวลาในการปฏิบตั ิงานอย่างเต็มประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลตามที่กาหนด รวมทังไม่ ้ กระทา หรื อชักจูง ผู้อื่นให้ ใช้ เวลาปฏิบตั ิงานเพื่อกิจกรรมอื่นที่ไม่เกี่ยวข้ องกับผลประโยชน์ของบริ ษัท
99
(3) พนักงานไม่พงึ ประกอบกิจการหรื อลงทุนใด ๆ อันเป็ นการแข่งขันหรื อขัดต่อผลประโยชน์ของบริ ษัท (4) รักษาวินยั ด้ วยการประพฤติปฏิบัติตามระเบียบ ข้ อบังคับ ตลอดจนประเพณีอันดีงามของบริ ษั ท รวมทัง้ ปฏิบตั ิตามหน้ าที่ด้วยความซื่อสัตย์สจุ ริ ต 3.2 การปฏิบัติต่อเพื่อนร่ วมงาน (1) รักษาและเสริ มสร้ างความสามัคคีระหว่างผู้ร่วมงานและช่วยเหลือเกื ้อกูล มีน ้าใจไมตรี เอื ้ออาทรซึง่ กันและกัน เพื่อประโยชน์ของบริ ษัทโดยรวม (2) ปฏิบตั ิตอ่ ทุกคนด้ วยความสุภาพและให้ เกียรติ (3) ไม่ทาลายบรรยากาศและสภาพแวดล้ อมในการทางาน (4) แนะนา ให้ ความรู้ และถ่ายทอดประสบการณ์ให้ กนั และกันโดยไม่ปิดบัง (5) ไม่มีพฤติกรรมที่เป็ นการคุกคามทางเพศ (6) ไม่นาเรื่ องส่วนตัวของเพื่อนร่วมงานไปเปิ ดเผย วิจารณ์ ในลักษณะที่ก่อให้ เกิดความเสือ่ มเสียต่อ ผู้อื่นและไม่นาผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้ างเป็ นผลงานของตน (7) เสริ มสร้ างการทางานเป็ นทีม ทาให้ เกิดความรัก ความสามัคคีภายในองค์กร (8) ไม่ชกั จูงหรื อชี ้นาการตัดสินใจของเพื่อนร่วมงานในสิทธิเรื่ องการเมือง 3.3 การปฏิบัติต่อผู้บังคับบัญชา (1) มีวินยั ให้ เกียรติผ้ บู งั คับบัญชา ไม่แสดงกริ ยาก้ าวร้ าว กระด้ างกระเดื่อง ไม่ปฏิบตั ิงานข้ าผู้บงั คับ บัญชา เว้ นแต่เป็ นกรณีจาเป็ นหรื อเร่งด่วนและเป็ นคาสัง่ ของผู้บงั คับบัญชาที่สงู กว่า (2) เคารพ เชื่อฟั ง และปฏิบตั ิตามคาสัง่ ของผู้บงั คับบัญชาที่ชอบด้ วยระเบียบและข้ อบังคับของบริ ษัทฯ (3) เอาใจใส่ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมายให้ ความคิดเห็น และข้ อเสนอแนะต่างๆ ด้ วยความสุจริ ตใจ และพร้ อมรับฟั งความคิดเห็น และข้ อติชมต่างๆ (4) ละเว้ นการให้ ของขวัญ หรื อของกานัลแก่ผ้ บู งั คับบัญชา 3.4 การปฏิบัติต่อผู้ใต้ บังคับบัญชา (1) ส่งเสริ ม และสนับสนุนให้ ผ้ ใู ต้ บงั คับบัญชาทางานด้ วยความซื่อสัตย์ สุจริ ต มีความคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์ (2) เป็ นผู้นา และแบบอย่างที่ดีในการประพฤติ ปฏิบตั ิตน มีวินยั มีความยุติธรรม (3) ใช้ ภาวะผู้นา/วิจารญาณในการพิจารณาแก้ ไขปั ญหาและตัดสินใจเรื่ องต่างๆ อย่างรอบคอบ (4) สอนงาน แนะนางาน ให้ ความรู้ ถ่ายทอดประสบการณ์แก่ผ้ ใู ต้ บงั คับบัญชา และติดตามควบคุ มการทางาน ให้ ประสบผลสาเร็ จ (5) มีคณ ุ ธรรมในการดูแลผู้ใต้ บงั คับบัญชา รับฟั งปั ญหาและข้ อคิดเห็น ให้ คาปรึกษาด้ วยความจริ งใจ และมีเหตุผล และการปฏิบัติที่เ กี่ ยวกับการดูแลสภาพแวดล้ อ มในการทางานให้ มี ความปลอดภัยต่อชี วิ ต ทรั พย์ สิน และ คุณภาพชีวิตของพนักงานทุกคน รวมทังบริ ้ ษัทฯ ได้ จดั ให้ มีสวัสดิการ และค่าจ้ างแก่พนักงานของบริ ษัทฯ อย่างถูกต้ องตาม กฎหมายแรงงาน มีการจัดกิจกรรมสันทนาการเพื่อการผ่อนคลาย การฝึ กอบรมให้ กบั พนักงานเพื่อเพิ่มพูนความรู้ การจัด ให้ มีกองทุนสารองเลี ้ยงชีพ เป็ นต้ น นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ให้ ความเคารพในสิท ธิต่างๆ ของพนักงาน โดยไม่มีการกลัน่ แกล้ ง หรื อข่มขู่ใดๆ เช่น การให้ สิทธิ การลาหยุดพักร้ อน สิทธิ ในการหยุดลากิ จ การให้ สิทธิ ลาป่ วย การให้ สิทธิ ในการแสดง ความเห็นต่อนโยบายการปฏิบตั ิงานต่างๆ ซึ่งพนักงานสามารถเสนอความเห็นผ่านทางฝ่ ายบุคคลของบริ ษัทฯ หรื อผ่าน
100
ทางผู้บงั คับบัญชาของตนเองได้ ดังปรากฎในข้ อกาหนดเกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุรกิจ (Code of Ethics) ฉบับแก้ ไขปี 2560 ข้ อที่ 2.8.5 การปฏิบตั ิตอ่ พนักงาน มีรายละเอียด ดังนี ้ การปฏิบัติต่อพนักงาน (1) ปฏิบตั ิตามกฎหมายแรงงาน และข้ อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับพนักงานอย่างเคร่งครัด (2) ให้ ผลตอบแทนที่เหมาะสมกับหน้ าที่ผลงานและความรับผิดชอบ (3) จัดให้ มีสวัสดิการที่เหมาะสมแก่พนักงาน (4) จัดให้ มีการดูแลรักษาสภาพแวดล้ อมในการทางานให้ มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สนิ ของพนักงาน (5) จัดให้ มีระบบการบริ หารทรัพยากรบุคคล รับฟั งข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของพนักงาน (6) ส่งเสริ มและพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะของพนักงาน โดยให้ โอกาสอย่างทัว่ ถึง และสม่าเสมอ ตลอดจนส่งเสริ มให้ พนักงานสามารถเลี ้ยงดูตนเองได้ เมื่อเกษี ยณอายุแล้ ว (7) บริ หารงานโดยหลีกเลี่ยงการกระทาใดๆ ที่ไม่เป็ นธรรมและปฎิบตั ิต่อพนักงานด้ วยความสุภาพ ให้ ความ เป็ นปั จเจกชน และศักดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์ ตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล (8) ให้ ความเป็ นธรรมและส่งเสริ มสนับสนุนให้ พนักงานมีความเจริ ญก้ าวหน้ า (9) จัดให้ มีกองทุนสารองเลี ้ยงชีพสาหรับพนักงาน (10) แต่ง ตัง้ โยกย้ า ย ให้ ร างวัลและลงโทษพนัก งาน ด้ ว ยความสุจ ริ ต และตัง้ อยู่บ นพื น้ ฐานของความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมของพนักงาน และในข้ อกาหนดเกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุรกิจ (Code of Ethics) ฉบับแก้ ไขปี 2560 ข้ อที่ 2.8.6 การปฏิบตั ิต่อ ชุมชน สังคมและสิง่ แวดล้ อม มีรายละเอียด ดังนี ้ การปฏิบัติต่อชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้ อม (1) ไม่ให้ ความร่วมมือ หรื อสนับสนุนลูกค้ าที่ทาธุรกิจไม่ชอบด้ วยกฎหมาย หรื อเป็ นภัยต่อสังคม และประเทศชาติ (2) เปิ ดโอกาสให้ ชุมชนและผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้ อง มีสว่ นร่ วมในการให้ ข้อคิดเห็นสาหรับโครงการต่างๆที่อาจส่งผล กระทบต่อชุมชน และเสนอความคิดเห็นหรื อข้ อร้ องเรี ยนต่างๆที่เป็ นผลมาจากการดาเนินงานของบริ ษัทฯ (3) ให้ ความร่ วมมือในการดาเนินงานตามมาตรฐาน หรื อข้ อตกลงระดับสากลในเรื่ องต่างๆ ที่จดั ทาข้ นเพื่อช่วย ป้องกัน หรื อลดผลกระทบด้ านสิง่ แวดล้ อม (4) ออกแบบและพัฒ นากระบวนการผลิ ต เครื่ อ งจัก ร อุ ป กรณ์ ให้ ส ามารควบคุม และ/ลดมลพิ ษ โดยให้ ครอบคลุมเรื่ องน ้าเสีย ฝุ่ นละออง อากาศ รวมทังของเสี ้ ยต่างๆ (5) ผู้ที่มีหน้ าที่รับผิดชอบที่เกี่ยวข้ องกับกระบวนการผลิต เครื่ องจักร อุปกรณ์ ต้ องควบคุมดูแลไม่ให้ เกิดผล กระทบต่อสิง่ แวดล้ อมเกินกว่ามาตรฐานที่กาหนดไว้ (6) ให้ ความร่วมมือในการลดการเกิดขยะหรื อของเสียทังจากกระบวนการผลิ ้ ตและการใช้ งานทัว่ ไป (7) ผู้ที่เกี่ยวข้ องกับกระบวนการผลิตหรื อเครื่ องจักร มีหน้ าที่ดูแล ปรับปรุ ง และบารุ งรักษากระบวนการผลิต หรื อเครื่ องจักรให้ อยูใ่ นมาตรฐานที่กาหนดไว้ เพื่อลดการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ (8) ให้ ความร่วมมือกับมาตรการด้ านการอนุรักษ์ พลังงานของบริ ษัทฯ (9) สร้ างจิตสานึกในเรื่ องความรับผิดชอบต่อสังคม และสิง่ แวดล้ อมให้ เกิดขึ ้นกับพนักงานทุกระดับอย่างต่อเนื่อง (10) ดาเนินกิจกรรมเพื่อร่วมสร้ างสรรสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้ อมอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ ชุมชนที่องค์กรตังอยู ้ ่มี คุณภาพชีวิต ที่ดีขึ ้น ทังที ้ ่ดาเนินการเองและร่วมมือกับรัฐและชุมชน
101
5. ความรับผิดชอบต่ อผู้บริโภค กลุ่มบริ ษัทฯ ตระหนักยิ่งถึงการให้ บริ การที่มีประสิทธิ ภาพ เพื่อส่งมอบงานต่อลูกค้ าที่เป็ นไปตามความความ ต้ องการ ภายในระยะเวลาที่ก าหนดภายใต้ ม าตรฐานความปลอดภัย อย่า งยิ่ งงวด ดังปรากฎในข้ อ กาหนดเกี่ ย วกับ จริ ยธรรมทางธุรกิจ (Code of Ethics) ฉบับแก้ ไขปี 2560 ข้ อที่ 2.8.2 การปฏิบตั ิตอ่ ลูกค้ า ดังรายะเอียดดังนี ้ การปฏิบัติต่อลูกค้ า (1) ให้ การเอาใจใส่และรั บผิดชอบลูกค้ าทุกรายด้ วยความเป็ นธรรม โดยเน้ นการผลิตสินค้ าที่มีคุณภาพ ได้ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าได้ อย่างครบถ้ วน รักษาความลับของลูกค้ า และไม่นาไปเพื่อใช้ ประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่นก่อนได้ รับอนุญาตยินยอมจากลูกค้ า รวมทังให้ ้ บริ การที่มีคณ ุ ภาพด้ วยความเชี่ยวชาญใน อาชีพ ในราคาที่เหมาะสมและเป็ นธรรมแก่ลกู ค้ าอย่างเท่าเทียมกัน (2) นาเสนอผลิตภัณฑ์ ที่ตรงต่อความต้ องการของลูกค้ าและมีคุณภาพ เปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับสินค้ าอย่าง ครบถ้ วน ถูกต้ อง และมีช่องทางการรับข้ อร้ องเรี ยน เพื่อเปิ ดโอกาสให้ ลูกค้ าสามารถร้ องเรี ยนเกี่ยวกับการบริ การ และ ดาเนินการอย่างดีที่สดุ เพื่อให้ ลกู ค้ าได้ รับการตอบสนองผลอย่างรวดเร็ ว (3) ให้ บริ การที่เป็ นเลิศ ด้ วยคุณภาพ และประสิทธิภาพที่สร้ างความพึงพอใจให้ ลกู ค้ า (4) ให้ การดูแลและรักษาผลประโยชน์ของลูกค้ าอย่างเหมาะสมและยุติธรรม (5) ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขต่างๆ ที่มีตอ่ ลูกค้ าอย่างเคร่งครัด กรณีที่ไม่สามารถปฏิบตั ิตามเงื่อนไขข้ อใดได้ ต้องรี บแจ้ ง ให้ ลกู ค้ าทราบเพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ ไขปั ญหา (6) ปฏิบตั ิกบั ลูกค้ าด้ วยความสุภาพ เป็ นที่วางใจได้ ของลูกค้ า (7) ส่งมอบสินค้ าที่มีคณ ุ ภาพ ตรงตามเวลาที่กาหนด (8) สนับสนุนการดาเนินงานด้ านความรับผิดชอบต่อสังคมของลูกค้ า บริ ษัทฯ มีการสารวจความพึงพอใจของลูกค้ าเป็ นประจาทุกปี โดยการใช้ แบบสอบถามความพึงพอใจของลูกค้ า ซึง่ แบ่งออกเป็ น 4 แผนกที่ประเมิน คือ แผนกขาย , แผนกผลิต , แผนกวางแผน/จัดส่ง และแผนกคุณภาพ โดยครอบคลุม ด้ านต่างๆ สาหรับผลการประเมิน ความพึงพอใจของลูกค้ าประจาปี 2561 บริ ษัทได้ รับการประเมินจากลูกค้ าหลัก 15 บริ ษัทดังมีรายละเอียดต่อไปนี ้ Sales Section มีการประเมินใน 5 หัวข้ อผลการประเมินเฉลีย่ 81.12% 1. ความรวดเร็ วของการเสนอราคา : The speed of quotation 2. การเอาใจใส่ การให้ ความช่วยเหลือ : Attendance & Suppot 3. ความร่วมมือในการช่วยแก้ ปัญหาให้ ตรงกับความต้ องการของท่าน : Cooperate to help your problem 4. ความถูกต้ องครบถ้ วนของเอกสาร ( ใบเสนอราคา ) : Correction of document (Quotation) 5. ราคาสินค้ าเมื่อเปรี ยบเทียบกับคูแ่ ข่งขัน : Compare price with copetitor Quality Section มีการประเมินใน 5 หัวข้ อผลการประเมินเฉลีย่ 76.4% 1. การตอบกลับใบแจ้ งปั ญหาและข้ อบกพร่อง : Response of problem 2. การป้องกันและการแก้ ไขการเกิดปั ญหาที่เกิดขึ ้น : Preventive action & Corrective action 3. การเอาใจใส่ การให้ ความช่วยเหลือ : Attendance & Suppot 4. ความร่วมมือในการช่วยแก้ ปัญหาให้ ตรงกับความต้ องการของท่าน : Cooperate to help your problem 5. ความพึงพอใจในคุณภาพของสินค้ า : Satistaction of product
102
Planning/Delivery Sectionมีการประเมินใน 6 หัวข้ อผลการประเมินเฉลีย่ 77% 1. การจัดส่งสินค้ าได้ ตรงตามเวลาที่กาหนด : Intime delivery 2. ความสะอาด / เรี ยบร้ อยของบรรจุภณ ั ฑ์ : Clean & completion of packing 3. ความถูกต้ องของสินค้ าในการจัดส่ง : Correction of product to delivery 4. ความถูกต้ องครบถ้ วนของเอกสารที่เกี่ยวข้ อง (ใบส่งของ,Tag) : Correction of document(delivery bill,Tag) 5. การเอาใจใส่ การให้ ความช่วยเหลือ : Attendance & Suppot 6. ความร่วมมือในการช่วยแก้ ปัญหาให้ ตรงกับความต้ องการของท่าน : Cooperate to help your problem Production Section มีการประเมินใน 3 หัวข้ อผลการประเมินเฉลีย่ 76.33% 1. ความรวดเร็ วในการทางาน ประสานงาน : The speed of working & coordination 2. การเอาใจใส่ การให้ ความช่วยเหลือ: Attendance & Suppot 3. ความร่วมมือในการช่วยแก้ ปัญหาให้ ตรงกับความต้ องการของท่าน: Cooperate to help your problem และผลการประเมินและความเห็นจากลูกค้ าจะถูกนาเสนอต่อฝ่ ายจัดการ เพื่อรับทราบ และใช้ เป็ นแนวทางใน การพัฒนาและปรับปรุงการให้ บริ การที่สามารถตอบสนองความพอใจของลูกค้ าให้ ดียิ่งขึ ้น การให้ ความเอาใจใส่ตอ่ การให้ บริ การแก่ลกู ค้ า ด้ วยการติดตามผลการปฏิบตั ิงานว่าเป็ นไปตามเป้าหมายหรื อไม่ โดยการให้ บริ การต่างๆ แก่ลูกค้ าจะต้ อ งเป็ นไปด้ วยความระมัดระวัง รอบคอบ ถูกต้ องตามหลักของกฎหมาย และ กฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ ยวข้ องรวมทัง้ หากมีปัญหาใดๆ จะต้ องร่ วมกันกับลูกค้ าในการหารื อ เพื่อกาหนดแนวทางแก้ ไข หาทางออกร่วมกัน โดยไม่ปล่อยให้ ลกู ค้ ารับภาระหรื อแก้ ไขปั ญหาแต่เพียงผู้เดียวผลสาเร็ จของการบริ หารงานของบริ ษัทฯ มาจากความพึงพอใจของลูกค้ าเป็ นสาคัญ บริ ษัทฯ จึงต้ องสร้ างความสัมพันธ์ ที่ดีต่อลูกค้ าด้ วยการปฏิบตั ิต่อลูกค้ าใน แนวทางต่างๆ ดังปรากฎในข้ อกาหนดเกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุรกิจ (Code of Ethics) ฉบับแก้ ไขปี 2560 ข้ อที่ 9 การกากับ ดูแลกิจการ ข้ อที่ 3 บทบาทของผู้มีสว่ นได้ เสีย 6. การมีส่วนร่ วมพัฒนาชุมชนและสังคม บริ ษัทฯ มีความมุ่งมัน่ ในการดาเนินงานด้ วยความรับผิดชอบต่อผลกระทบในด้ านต่างๆที่เกิดจากการประกอบ กิ จ การขององค์ กร โดยยึด หลัก การดาเนิน ธุ รกิ จ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ มี จริ ย ธรรม เคารพต่อหลักสิท ธิ ม นุษยชนและ ผลประโยชน์ของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย คานึงผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้ อม เพื่อสร้ างรากฐานของความรับผิดชอบต่อ สังคมอย่างต่อเนื่องและยัง่ ยืน ดังปรากฎในข้ อกาหนดเกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุรกิจ (Code of Ethics) ฉบับแก้ ไขปี 2560 ข้ อที่ 2.8.6 การปฏิบตั ิตอ่ ชุมชน สังคมและสิง่ แวดล้ อม ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ การปฏิบัติต่อชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้ อม (1) ไม่ให้ ความร่วมมือ หรื อสนับสนุนลูกค้ าที่ทาธุรกิจไม่ชอบด้ วยกฎหมาย หรื อเป็ นภัยต่อสังคม และประเทศชาติ (2) เปิ ดโอกาสให้ ชุมชนและผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้ อง มีสว่ นร่ วมในการให้ ข้อคิดเห็นสาหรับโครงการต่างๆที่อาจส่งผล กระทบต่อชุมชน และเสนอความคิดเห็นหรื อข้ อร้ องเรี ยนต่างๆที่เป็ นผลมาจากการดาเนินงานของบริ ษัทฯ (3) ให้ ความร่ วมมือในการดาเนินงานตามมาตรฐาน หรื อข้ อตกลงระดับสากลในเรื่ องต่างๆ ที่จดั ทาข้ นเพื่อช่วย ป้องกัน หรื อลดผลกระทบด้ านสิง่ แวดล้ อม (4) ออกแบบและพัฒ นากระบวนการผลิ ต เครื่ อ งจัก ร อุป กรณ์ ให้ ส ามารควบคุม และ /ลดมลพิ ษ โดยให้ ครอบคลุมเรื่ องน ้าเสีย ฝุ่ นละออง อากาศ รวมทังของเสี ้ ยต่างๆ
103
(5) ผู้ที่มีหน้ าที่รับผิดชอบที่เกี่ยวข้ องกับกระบวนการผลิต เครื่ องจักร อุปกรณ์ ต้ องควบคุมดูแลไม่ให้ เกิดผล กระทบต่อสิง่ แวดล้ อมเกินกว่ามาตรฐานที่กาหนดไว้ (6) ให้ ความร่วมมือในการลดการเกิดขยะหรื อของเสียทังจากกระบวนการผลิ ้ ตและการใช้ งานทัว่ ไป (7) ผู้ที่เกี่ยวข้ องกับกระบวนการผลิตหรื อเครื่ องจักร มีหน้ าที่ดูแล ปรับปรุ ง และบารุ งรักษากระบวนการผลิต หรื อเครื่ องจักรให้ อยูใ่ นมาตรฐานที่กาหนดไว้ เพื่อลดการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ (8) ให้ ความร่วมมือกับมาตรการด้ านการอนุรักษ์ พลังงานของบริ ษัทฯ (9)สร้ างจิตสานึกในเรื่ องความรับผิดชอบต่อสังคม และสิง่ แวดล้ อมให้ เกิดขึ ้นกับพนักงานทุกระดับอย่างต่อเนื่อง (10) ดาเนินกิจกรรมเพื่อร่วมสร้ างสรรสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้ อมอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ ชุมชนที่องค์กรตังอยู ้ ่มี คุณภาพชีวิต ที่ดีขึ ้น ทังที ้ ่ดาเนินการเองและร่วมมือกับรัฐและชุมชน โดยผ่านกิจกรรมและโครงการต่างๆ ดังนี ้ 1) กิจกรรมวันเด็ก ทีมงาน CSR ตัวแทนของบริ ษัทซังโกะ ไดคาซติ ้ง(ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ได้ มอบของขวัญวันเด็กให้ แก่ องค์การบริ หารส่วนตาบลหนองบัวและโรงเรี ยนละแวกใกล้ เคียง จานวน 3 โรงเรี ยน ได้ แก่ โรงเรี ยนวัดหนองกรับ หมู่ 3 อ.บ้ านค่าย โรงเรี ยนบ้ านแม่น ้าคู้ หมู่ 1 อ.ปลวกแดง และโรงเรี ยนบ้ านท่าเสา หมู่ 4 อ.บ้ านค่าย เพื่อเป็ นส่งเสริ มและ สนับสนุนกิจกรรมวันเด็ก เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2561
2) กิจกรรมปลูกปะการังและปล่ อยปูม้าคืนสู่ทะเล (ต่ อเนื่องเป็ นปี ที่ 2) บริ ษัทซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) จัดกิจกรรมปลูกปะการังจานวน 30 ก้ อนด้ วยวิธีการ อนุรักษ์ ปะการังแบบยัง่ ยืน โดยการใช้ หินฟอสซิลหล่อด้ วยปูนซีเมนต์มาเป็ นแท่นฐานปลูกละปล่อยปูม้า จานวน 20 ตัว เพื่อเป็ นการคืนทรัพยากรธรรมชาติกลับสูท่ ้ องทะเล ณ เกาะไก่เตี ้ย เขตอนุรักษ์ ปะการังเขากวาง หาดเตยงาม อ่าวนาวิก โยธิน อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี เมื่อวันศุกร์ ที่ 9 มีนาคม 2561
104
3) สนับสนุนงานระชุมใหญ่ สามัญของอบต.หนองบัวประจา ปี 2561 คุณรุจิรัตน์ สราญฤทธิชยั ผู้จดั การแผนก CSR และทีมงาน CSR ตัวแทนของบริ ษัทซังโกะ ไดคาซติ ้ง(ประเทศ ไทย) จากัด (มหาชน) มอบที่ระลึก เพื่อเป็ นขวัญและกาลังใจให้ แก่สมาชิกกองทุนสวัสดิการชุมชน ต.หนองบัว เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2561 ณ ลานกิจกรรมวิจิตรธรรมาภิรัต วัดละหารไร่ ต.หนองบัว อ.บ้ านค่าย จ.ระยอง เวลา13.00 น.
4) กิจกรรม “ผ้ าป่ ารีไซเคิล” พนักงานบริ ษัทซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ร่วมกับวัดสวนแก้ วทอดผ้ าป่ าขยะรี ไซเคิล (ขยะ รี ไซเคิลและสิ่งของเหลือใช้ ) ได้ แก่พดั ลม เครื่ องคอมพิวเตอร์ โทรทัศน์และกระดาษลัง และสมทบกองทุนผู้สงู วัย วัดสวน แก้ วเพื่อสนับสนุนผู้สงู วัยด้ านการศึกษา การปฏิบตั ิธรรมและดูแลผู้สงู วัยที่ไร้ ญาติ เป็ นจานวนเงิน 4,410 บาท ณ ห้ องสมุดประชาชน เทศบาลนครระยอง (สวนศรี เมือง) อ.เมือง จ.ระยอง เมื่อวันศุกร์ ที่ 22 มิถนุ ายน พ.ศ. 2561
5) กิจกรรม “สนับสนุนโครงการเสริมขวัญแบ่ งปั นรอยยิม้ ฯ โรงพยาบาลระยอง” บริ ษัทซังโกะ ไดคาซติ ้ง(ประเทศไทย) จากัด (มหาชน)และพนักงาน ร่ วมโครงการเสริ มขวัญแบ่งปั นรอยยิ ้มเด็ก และครอบครัวผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ประจาปี 2561 เพื่อแบ่งปั นความเอื ้ออาทรต่อเด็กละครอบครัวด้ อยโอกาสทาง สังคมในจังหวัดระยอง โดยมอบข้ าวสาร จานวน 23 ถุง เป็ นจานวนเงิน 6,900 บาท ณ ห้ องประชุมใหญ่ ชนั ้ H อาคาร บริ การ 12 ชัน้ โรงพยาบาลระยอง วันเสาร์ ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2561
105
7. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้ อม บริ ษัทฯ มีความมุง่ มัน่ ในการดาเนินงานด้ านการจัดการสิง่ แวดล้ อม ซึง่ เป็ นสิง่ ที่ต้องดาเนินการควบคูไ่ ปกับการ ดาเนินธุรกิจเช่นเดียวกัน โดยมุง่ ผลิตชิ ้นส่วนอะไหล่รถยนต์ที่ที่มีคณ ุ ภาพ ความปลอดภัยต่อผู้บริ โภค คานึงถึงผลกระทบ ต่อชุมชนและสิ่งแวดล้ อม โดยปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้ อกาหนดอื่นๆ หรื อแนวปฏิบตั ิสากลที่เกี่ยวข้ อง ปรากฏดังข้ อพึง ปฏิบตั ิ ข้ อที่ 12. นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ยังมีนโยบายบริ หารการจัดการด้ านสิ่งแวดล้ อม (ISO 14001) เพื่อลดผลกระทบซึ่งอาจจะ เกิดขึ ้นจากกระบวนการผลิตหรื อกิจกรรมต่างๆ โดยยึดถือเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม ด้ วยการ ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้ อกาหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้ องอย่างเคร่งครัด อันจะนาไปสูก่ ารสร้ างความยัง่ ยืนอย่างแท้ จริงต่อองค์กร ชุมชนและสังคม โดยมีการปฏิบตั ิ ดังนี ้ บริ ษัทฯ ได้ รับการรับรองระบบการจัดการด้ านสิ่งแวดล้ อมตามมาตรฐาน ISO 14001:2015 ซึ่งครอบคลุมทุก กิจกรรมของบริ ษัทฯ โดย 1. ได้ รับการตรวจสอบจากผู้ตรวจประเมินภายนอก ซึ่งมีความเป็ นอิสระจากสถาบัน URS และได้ ดาเนินการ ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 10 Certificate No. : 17302/A/0001/UK/En Issue No. : 6 Date of issue : (Original) 15 July 2008 Date of issue : 14 September 2018 Expiry Date : 14 July 2020)
2. บริ ษัทฯ ได้ รับการรับรองระบบการจัดการด้ านพลังงานตามมาตรฐาน ISO50001:2011 ซึ่งครอบคลุมทุก กิจกรรมของบริ ษัทฯ โดยได้ รับการตรวจสอบจากผู้ตรวจประเมินภายนอก ซึ่งมีความเป็ นอิสระจากสถาบัน URS และเป็ นปี แรกที่ได้ รับการรับรองระบบการจัดการในระบบนี ้
106
Certificate No. : 17302/E/0001/NA/En Issue No : 1 Date of Issue : 5 January 2018 Expiry Date : 4 January 2021
3. บริ ษัทฯ เข้ ารับการตรวจประเมินภายในด้ านพลังงานตามกฎหมายของกระทรวงพลังงาน จากบริ ษัท วีเอ็มอีซี เลขที่ใบอนุญาต น.0047 ซึง่ นิติบคุ คลที่ได้ รับใบอนุญาตในการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานของ กระทรวงพลังงาน ซึ่งมีตวั แทนจากบริ ษัทฯ ได้ แก่ คุณรุ จิรัตน์ สราญฤทธิชัย ตัวแทนฝ่ ายบริ หาร (EnMR) คุณพงศ์พิรัชย์ เสนากลาง ผู้รับผิดชอบด้ านพลังงานอาวุโสและคุณราชัน สนิทโต ผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน เป็ นผู้ให้ การตอบคาถามของผู้ตรวจสอบด้ านพลังงานจานวน 3 ท่าน เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ณ ห้ อง ทับทิม อาคารศูนย์การเรี ยนรู้ของบริ ษัทซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน)
4. บริ ษัทฯ ได้ จัดทารายงานการจัดการพลังงานตามกระทรวงพลังงานประจาปี 2561โดยดาเนินการตาม มาตรการประหยัดพลังงานทังหมด ้ 8 มาตรการ แบ่งเป็ นด้ านไฟฟ้ า จานวน 5 มาตรการ และด้ านความร้ อน จานวน 3 มาตรการ ซึง่ มีรายละเอียด ดังต่อไปนี ้ 4.1 ด้ านไฟฟ้า จานวน 5 มาตรการ ดังนี ้ 4.1.1 การติ ด ตัง้ Inverter (VSD) มอเตอร์ ปั ม้ น า้ M2 โดยมี เ งิ น ลงทุน 22,000 บาท เกิ ด ผลประหยัด ที่ 16,690.77 kWh/ปี คิดเป็ นเงิน 57,082.44 บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน 4 เดือน 18 วัน 4.1.2 การเปลี่ยนหลอด Hi-bay LED แทน แทนหลอด..Hi-bay หลอดแสงจันทร์ ในพื ้นที่โรง DI1และโรง DI2 โดยใช้ เงินลงทุน 159,000 บาท เกิดผลประหยัดที่ 52,907.75 kWh/ปี คิดเป็ นเงิน 180,944.51 บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน 10 เดือน 16 วัน 4.1.3 การเปลี่ยนหลอด Hi-bay LED แทนหลอดฟลูออเรสเซนต์ T ในพื ้นที่โรง DI3 โดยใช้ เงินลงทุน 46,900 บาท เกิดผลประหยัดที่ 16,572.21 kWh/ปี คิดเป็ นเงิน 56,676.95 บาท ระยะเวลาคืนทุน 9 เดือน 28 วัน 4.1.4 การติดตัง้ Inverter (VSD) มอเตอร์ ปัม้ น ้าสเปร์ ของเครื่ อง Wetscruber โดยใช้ เงินลงทุน 8,600 บาท เกิดผลประหยัดที่ 3,768.00 kWh/ปี คิดเป็ นเงิน 12,886.56 บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน 20 วัน
107
4.1.5 การผลิตไฟฟ้ าแบบติดตังบนหลั ้ งคา Solar Rooftop ขนาด 300 kWp. ของพื ้นที่โรง FS&WH โดยใช้ เงิน ลงทุน 12,550,000 บาท เกิดผลประหยัดที่ 374,922.00 kWh/ปี คิดเป็ นเงิน 1,282,233.00 บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน 9 ปี 9 เดือน 13 วัน รวมเป็ นผลประหยัดพลังงานด้ านไฟฟ้า เป็ น 464,860.73 kWh/ปี เป็ นเงิน 1,589,823.46 บาท/ปี
4.2 ด้ านความร้ อน จานวน 3 มาตรการ ดังนี ้ 4.2.1 การปรั บ จู น Burner หลอมย่ อ ยของเครื่ องฉี ด DI#15 เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการเผาไหม้ โดยไม่ใช้ เงินลงทุนเลย เกิดผลประหยัดที่ 1,317,196.26 MJ/ปี คิดเป็ นเงิน 323,143.82 บาท/ปี 4.2.2 การปรั บ จู น Burner หลอมย่ อ ยของเครื่ องฉี ด DI#16 เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการเผาไหม้ . โดยไม่ใช้ เงินลงทุนเลย เกิดผลประหยัดที่ 585,746.55 MJ/ปี คิดเป็ นเงิน 143,699.45 บาท/ปี 4.2.3 การปรั บจู น Burner เตาอุ่ น ของเครื่ องฉี ด DI# 20 เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภาพการเผาไหม้ โดยไม่ใช้ เงินลงทุนเลย เกิดผลประหยัดที่ 3,315,477.81 MJ/ปี คิดเป็ นเงิน 813,376.27 บาท/ปี รวมเป็ นผลประหยัดพลังงานด้ านความร้ อน เป็ น 5,218,420.62 MJ/ปี เป็ นเงิน 1,280,219.54 บาท/ปี รวมเป็ นผลประหยัดพลังงานทัง้ หมดในโรงงานของปี 2561 = 6,891,919.25 MJ/ปี เป็ นเงิน 2,870,043 บาท/ปี
5. บริ ษัทฯ ได้ จดั กิจกรรม “Safety Energy&CSR Day ปี 2017 เป็ นกิจกรรมที่ให้ พนักงานทุกระดับ ทุกส่วนงาน ส่งความคิดเห็นในการปรับปรุ งหรื อแนะนาลดการใช้ พลังงานภายในโรงงานลดอันตรายที่อาจจะเกิดขึ ้นใน พื ้นที่ทางาน โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็ นการส่งเสริ ม สนับสนุน และสร้ างความตระหนักในบทบาท หน้ าที่ของ พนัก งานทุกคนในการมีส่วนร่ ว มในการลดการใช้ พลังงานและท างานด้ วยความปลอดภั ยต่อชี วิต และ ทรัพย์สนิ ทุกเวลาที่ทางานตลอดเวลา
108
6. ในปี 2561 บริ ษัทฯ ไม่มีข้อร้ องเรี ยนด้ านสิ่งแวดล้ อม หรื อการดาเนินการที่ไม่สอดคล้ องตามกฎหมายรวมทัง้ ข้ อกาหนดต่างๆ ของลูกค้ าทังจากภายในและภายนอกประเทศอย่ ้ างครบถ้ วน 8. การจัดทารายงานด้ านสังคมและสิ่งแวดล้ อม บริ ษัทฯ ได้ ให้ ความสาคัญกับการเปิ ดเผยข้ อมูล ที่สะท้ อนให้ เห็นถึงการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ที่ กล่าวมาอย่างครบถ้ วน โดยข้ อมูลนี จ้ ะเป็ นประโยชน์ ต่อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกฝ่ าย ซึ่งทางบริ ษัทฯ ได้ จัดท ารายงาน ความยั่งยืน (Sustainable Development Report:SD Report) และรายงานเปิ ดเผยการดาเนินงานด้ านสังคมและ สิ่งแวดล้ อม โดยระบุไว้ ในรายงานประจาปี (56-1) และได้ เผยแพร่ ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ www.sankothai.net โดยมีเนื ้อหา ครอบคลุมทัง้ 3 เรื่ อง ทังด้ ้ านเศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้ อม
109
13. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง 13.1. การประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในโดยคณะกรรมการบริษัท ในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครั ง้ ที่ 1/2562 เมื่ อ วัน ที่ 26 กุ ม ภาพัน ธ์ 2562 โดยมี ค ณะกรรมการ ตรวจสอบเข้ าร่ วมประชุมทัง้ 3 ท่าน ได้ ให้ ความเห็นเกี่ยวกับการควบคุมภายในของบริ ษัท และพิจารณาอนุมตั ิตอบแบบ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ทัง้ 5 ส่วน ดังนี ้ 1. สภาพแวดล้ อมการควบคุม (Control Environment) 2. การประเมินความเสีย่ ง (Risk Assessment) 3. มาตรการควบคุม (Control Activities) 4. ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้ อมูล (Information and Communication) 5. ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) โดยคณะกรรมการเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทมีความเพียงพอและเหมาะสม โดยบริ ษัทได้ จดั ให้ มี บุคลากรอย่างเพียงพอที่จะดาเนินการตามระบบได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยรายละเอียดของแบบประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายในของบริ ษัท สามารถดูได้ ใน เอกสารแนบที่ 3 ในแบบแสดงรายการประจาปี 2561 (56-1) นอกจากนี ้ผู้สอบบัญชีของบริ ษัทคือ นายชัยกฤต วรกิ จภรณ์ เป็ นผู้ตรวจสอบงบการเงิ นรายไตรมาสและงบ การเงินประจาปี 2561 ผู้สอบบัญชีของบริ ษัทได้ ทาการประเมินระบบบัญชีและระบบบควบคุมภายในด้ านบัญชีของบริ ษัท ซึง่ ผู้สอบบัญชีได้ มีการตังข้ ้ อสังเกตจากการสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและตรวจสอบงบการเงินสาหรับปี 2561 และมี การติดตามผลการแก้ ไขตามข้ อสังเกตดังกล่าว โดยสามารถสรุปประเด็นที่มีสาระสาคัญ ได้ ดงั นี ้ ประเด็นข้ อสังเกต
คาชีแ้ จงและการดาเนินการของบริษัท
1)บริ ษั ท บัน ทึ ก รายการรั บ ช าระเงิ น จากลูก หนี ก้ ารค้ า เนื่ อ งจากจ านวนเงิ น ที่ รั บ โอนมาจากลูก ค้ า ต่า งประเทศเป็ น ต่างประเทศที่ยงั ไม่โอนเข้ าบัญชีบริ ษัทเป็ นเช็ครับล่วงหน้ า เงิ น ตราต่ า งประเทศที่ ต้ องแปลงเป็ นเงิ น บาทด้ วยอั ต รา แลกเปลีย่ น ณ วันที่เกิดรายการ อย่างไรก็ตาม ณ วันที่ลกู ค้ าได้ จานวนเงินดังกล่าวมาให้ เพื่อชาระหนี ้ บริ ษัทยังไม่ได้ แปลงค่า เป็ นเงิ น บาทจากอัต ราแลกเปลี่ ย นที่ เ กิ ด ขึ น้ จึ ง ยัง ไม่ บัน ทึ ก รายการเงิ น ฝากธนาคารจนกว่าจะได้ อัตราที่พึง พอใจและได้ ประโยชน์ สูง สุด จึ ง บัน ทึก รายการเงิ น เช็ ค รั บ ล่ว งหน้ า เพื่ อ ตัด ลูกหนี ้ออกเพื่อไม่ให้ เกิดรายการลูกหนี ้เกินกาหนดได้
110
ประเด็นข้ อสังเกต 2) การควบคุมสินค้ า 2.1 ในระหว่างปี บริ ษัทเบิกใช้ วัสดุสิ ้นเปลือง โดยไม่ได้ บันทึกตัดเบิกในบัญชี คุมสินค้ าและไม่ได้ บันทึกบัญชี เป็ น ค่าใช้ จ่ายในบัญชีให้ ถกู ต้ องตรงตามข้ อเท็จจริ ง 2.2 บริ ษั ทไม่มี น โยบายให้ มีก ารชั่งน า้ หนัก อลูมิ เนี ย ม ก้ อนที่ซื ้อ และรับเข้ าแต่ละครัง้ 2.3 บริ ษัทจัดทาใบรับสินค้ าตามวันที่เอกสารใบแจ้ งหนี ้ ซึง่ เป็ นวันที่ก่อนบริ ษัทตรวจรับสินค้ าแล้ วเสร็ จทาให้ วนั ที่ใน ใบรับสินค้ าไม่ตรงกับวันที่รับของจริ ง 2.4 บริ ษัทมีสนิ ค้ าที่ไม่เคลือ่ นไหวตังแต่ ้ 1 ปี ขึ ้นไปจานวน 5 ล้ า นบาทและบริ ษั ท ได้ ตัง้ ค่ า เผื่ อ มูล ค่ า สิน ค้ า ลดลงไว้ จานวน 3 ล้ านบาท ทังนี ้ ้หากสินค้ าที่ไม่เคลื่อนไหวดังกล่าว ไม่สามารถจาหน่ายได้ บริ ษัทควรพิจารณาตังค่ ้ าเผื่อมูลค่า สินค้ าลดลงให้ ครบถ้ วน
คาชีแ้ จงและการดาเนินการของบริษัท -
-
-
บริ ษัทได้ ปรับปรุงและบันทึกรายการในงบการเงินสาหรับปี 2561 แล้ ว และจะดาเนินการจัดทานโยบายและอธิบายให้ ผู้จดั ทาและรับผิดชอบทราบต่อไป บริ ษัทจะดาเนินการจัดทาเป็ นนโยบายและนาไปปฎิบตั ิใน ปี 2562 ต่อไป บริ ษัทจะดาเนินการตรวจสอบและปรับปรุ งให้ เป็ นวันที่รับ ของจริ ง บริ ษัทได้ กาหนดนโยบายการตัง้ ค่าเผื่อมูลค่สินค้ าลดลง โดยพิ จ ารณาจากอายุข องสิ น ค้ า และสภาพของสิ น ค้ า อย่ า งไรก็ ต ามเนื่ อ งจากสิ น ค้ าที่ บ ริ ษั ท มี นัน้ เป็ นสิ น ค้ า เฉพาะเจาะจงตามคาสัง่ ซื อ้ ของลูกค้ า ซึ่ง ตามสัญ ญาที่ ลูก ค้ า มี ค าสั่ง ซื อ้ ได้ ร ะบุก ารเก็ บ รั ก ษาสิ น ค้ า ดัง กล่า วไว้ ตังแต่ ้ 10-15 ปี
3) การควบคุมสินทรัพย์ถาวร 3.1 บริ ษัทไม่มีนโยบายการบันทึกค่าซ่อมแซมหรื อต้ นทุน เปลีย่ นแทนให้ ชดั เจน 3.2 การวางแผนการใช้ ประโยชน์จากเครื่ องจักรที่ยงั ไม่ เต็ มก าลังการผลิต ท าให้ บ ริ ษัท มีก ารจ้ า งผลิตสินค้ าจาก บริ ษัทภายนอกเป็ นจานวนที่สงู
3.3 การกาหนดให้ มีนโยบายการพิจารณาการด้ อยค่า ของทรัพย์สนิ อย่างเหมาะสม 4) บริ ษั ทไม่ได้ จัดท าใบเบิก เงิ น ทดลอง(งานปี ใหม่) ตาม นโยบายที่กาหนดไว้ รวมทังบริ ้ ษัทจ่ายเช็คเงินทดลองจ่าย เป็ นเช็คเงินสดโดยไม่ขีดคร่อมหรื อระบุชื่อผู้รับเงิน 5) การกาหนดนโยบายรายการขายสินค้ าระหว่างบริ ษัทที่ เกี่ยวข้ องกันไม่เหมาะสม(ขายต่ากว่าทุน)
บริ ษั ท ฯ จะด าเนิ น การกาหนดนโยบาย การบัน ทึ ก ค่ า ซ่อมแซมหรื อต้ นทุนเปลีย่ นแทนอย่างเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ให้ แล้ วเสร็ จในไตรมาส 1 ปี 2562 - บริ ษั ท อยู่ ร ะหว่ า งการพิ จ ารณาก าลั ง การผลิ ต ของ เครื่ องจักรและจะดาเนินการปรับปรุ งให้ กาลังการผลิตมี ประสิ ท ธิ ภ าพสูง สุด เพื่ อ ลดต้ น ทุน ในการผลิ ต ให้ ต่ า ลง อย่างไรก็ตามในปี 2561 มีคาสัง่ ซื ้อจากลูกค้ าที่เพิ่มขึ ้นมาก ทาให้ เครื่ องจักรที่มีไม่เพียงพอ - บริ ษั ท จะด าเนิ น การจั ด ท าประมาณการรายได้ ให้ สอดคล้ อ งกับ ทรั พ ย์ สิน และพิ จ ารณาประสิท ธิ ภาพของ ทรัพย์สนิ ที่ก่อให้ เกิดรายได้ เพื่อไม่ให้ เกิดการด้ อยค่าต่อไป บริ ษัทฯอยู่ระหว่างการปรั บปรุ งนโยบายการต่างๆใหม่เพื่อให้ สอดคล้ องกับสถานะการณ์ ที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่คาดว่าจะ แล้ วเสร็ จในไตรมาส 2 ปี 2562 บริ ษั ท อยู่ร ะหว่า งการเจรจาปรั บ ราคาสิน ค้ า ซึ่ง เป็ นรายการ ผลิตภัณฑ์ที่ดาเนินการผลิตมาเป็ นเวลานานแล้ วและยังไม่เคยมี การปรับปรุงราคาใหม่
111
ประเด็นข้ อสังเกต
คาชีแ้ จงและการดาเนินการของบริษัท
6) การแยกองค์ ป ระกอบของรายได้ ก ารขายสิ น ค้ า และ บริ ษั ท ฯอยู่ร ะหว่า งการศึก ษาและหารื อ ผู้เ ชี ย วชาญเกี่ ย วกับ แม่พิมพ์ที่ยงั ไม่ชดั เจน สัญญาว่า จ้ า งจัด หาแม่พิ มพ์ ให้ เ ป็ นไปตามมาตรฐานรางาน ทางการเงิน (TFRS15) เรื่ องรายได้ ตามสัญญาที่ทากับลูกค้ า ซึ่ง มีผลบังคับใช้ ตงแต่ ั ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2562 เป็ นต้ นไป 7) นโยบายการควบคุมแม่พิมพ์ของบริ ษัทและของลูกค้ าที่ บริ ษัทฯได้ จดั ทาการลงทะเบียนแม่พิมพ์ที่เป็ นของลูกค้ าและของ ยังไม่ชดั เจน บริ ษัทโดยการตรอกรหัสและชื่อชิ ้นงาน “SDT” เป็ นแม่พิมพ์ของ บริ ษัทส่วน “CUS” เป็ นของลูกค้ า อย่างไรก็ตามบริ ษัทจะดาเนินการจัดทา Name Plate ระบุชื่อ ลูกค้ าให้ ชดั เจนต่อไป 8) ผลกระทบจากการถือปฎิบตั ิตามมาตรฐานการรายงาน บริ ษั ท ฯอยู่ร ะหว่า งการศึก ษาและหารื อ ผู้เ ชี ย วชาญเกี่ ย วกับ ทางการเงิ น ฉบับ ที่ 15 ต่อ งบการเงิ น ที่ บ ริ ษั ท อยู่ร ะหว่า ง สัญญาว่า จ้ า งจัด หาแม่พิ มพ์ ให้ เ ป็ นไปตามมาตรฐานรางาน พิจารณา ทางการเงิน (TFRS15) เรื่ องรายได้ ตามสัญญาที่ทากับลูกค้ า ซึ่ง มีผลบังคับใช้ ตงแต่ ั ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2562 เป็ นต้ นไป โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้ วมีความเห็นว่าบริ ษัทได้ ดาเนินการในการแก้ ไขตามข้ อสังเกตผู้สอบ บัญชีตามรายละเอียดข้ างต้ น และประเด็นที่อยูร่ ะหว่างการแก้ ไขนัน้ ไม่มีผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือของงบการเงินและ ระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทอย่างมีนยั สาคัญ 13.2. การประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในโดยคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าบริ ษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสม รวมถึงมี ระบบการควบคุมภายในที่เ พียงพอในเรื่ องของการท าธุร กรรมกับผู้ถื อหุ้น รายใหญ่ กรรมการ ผู้บริ ห าร หรื อบุคคลที่ เกี่ยวข้ องกับบุคคลดังกล่าว ทังนี ้ ้สามารถพิจารณารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบได้ ตาม ข้ อ 18. 13.3.หัวหน้ างานตรวจสอบภายในของบริษัท ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 ครัง้ ที่ 1/2561 ได้ แต่งตัง้ บริ ษัท สอบ บัญชีไทย จากัด ซึง่ เป็ นสานักตรวจสอบจากภายนอก ดารงตาแหน่ง “ผู้ตรวจสอบภายใน” ในการทาหน้ าที่ตรวจสอบการ ปฏิบัติงานและกิ จกรรมทางการเงิ นของบริ ษัท ประจาปี 2561 โดยได้ มอบหมายให้ นางสาวรั กชนก สาเนียงล ้า เป็ น ผู้รับผิดชอบหลักในการปฏิบตั ิหน้ าที่ผ้ ตู รรวจสอบภายในของบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาคุณสมบัติของบริ ษัท สอบบัญชีไทย จากัด และนางสาวรักชนก สาเนียงล ้า แล้ วเห็นว่า มีความเหมาะสมเพียงพอกับการปฏิบตั ิหน้ าที่ดงั กล่าว เนื่องจากมีความเป็ นอิสระ และมีประสบการณ์ในการ ปฏิบตั ิงานด้ านการตรวจสอบภายใน เพื่อให้ มนั่ ใจว่ามีการดาเนินการตามแนวทางที่กาหนดอย่างมีประสิทธิ ภาพ รวมถึงตรวจสอบการปฏิบตั ิตาม กฎหมายและข้ อกาหนดที่เกี่ยวข้ องกับบริ ษัท และเพื่อให้ ผ้ ตู รวจสอบภายในมีความเป็ นอิสระ สามารถทาหน้ าที่ตรวจสอบ และถ่วงดุลได้ อย่างเต็มที่ จึงกาหนดให้ ผ้ ตู รวจสอบภายในรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษัทซึง่ มีหน้ าที่กากับดูแลให้ มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และสาเนารายงานเรี ยนกรรมการผู้จดั การ
112
เพื่อช่วยกากับดูแลและสัง่ การให้ ผ้ บู ริ หารที่เกี่ยวข้ องในแต่ละหน่วยงานดาเนินการปรับปรุ งแก้ ไขตามข้ อเสนอแนะด้ วย ความเรี ยบร้ อย โดยผู้ตรวจสอบภายในจะรายงานผลการตรวจสอบเป็ นประจาทุกไตรมาส ทังนี ้ ้ การพิจารณาและอนุมตั ิ แต่งตัง้ ถอดถอน โยกย้ ายผู้ดารงตาแหน่งหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายในของ บริ ษัทจะต้ องผ่านการอนุมตั ิเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบโดยคุณสมบัติของผู้ดารงตาแหน่งหัวหน้ างานตรวจสอบ ภายในปรากฎในเอกสารแนบ 2 ของแบบแสดงรายการประจาปี (56-1)
113
14. รายการระหว่ างกัน 14.1 รายละเอียดรายการระหว่ างกัน รายการระหว่างกันกับบุคคลและนิติบคุ คลที่อาจมีความขัดแย้ งในปี 2560 ถึงปี 2561 มีดงั นี ้ บุคคล/นิติบุคลที่อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ บริษัท จุฑาวรรณ จากัด : จาหน่ายเหล็กสแตนเลสและเหล็กกล้ า
ลักษณะและรายละเอียดของรายการ - บริษัทฯ ได้ ซื ้อเหล็กแผ่น ยอดยกมาต้ นงวด ซื ้อระหว่างงวด ชาระระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด
บริษัทขายสินค้ าให้ บริษัท จุฑาวรรณ จากัด ขายสินค้ าระหว่างงวด ภาษีมลู ค่าเพิ่ม ชาระเงินระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด
บริษัท เจทีดบั บลิว แอ๊ ซเซท จากัด : การให้ เช่า การขาย การซื ้อ และ การ ดาเนินงานด้ านอสังหาริมทรัพย์
ตัว๋ สัญญาใช้ เงินให้ แก่บริษัท ยอดยกมาต้ นงวด ชาระคืนระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด ดอกเบี ้ยจ่ายระหว่างงวด
มูลค่ ารายการระหว่ างกัน (บาท) 31 ธ.ค. 60
72,680.00 64,227.00 8,453.00
90,000.00 6,300.00 96,300.00 -
15,000,000.00 7,500,000.00 7,500,000.00 461,096.00
ความจาเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ
31 ธ.ค. 61 8,453.00 276,445.20 252,648.40 32,249.80
-
7,500,000.00 7,500,000.00 11,095.89
บริ ษั ท ฯได้ ซื อ้ เหล็ ก ส าหรั บ ท าแม่พิ ม พ์ จ ากบริ ษั ท จุฑ าวรรณ จ ากัด เพื่ อ ใช้ ส าหรั บ ซ่อมแซมและปรับปรุ งอาคาร ซึ่งมีราคาและเงื่อนไขการค้ าเป็ นไปตามลักษณะการค้ า ทัว่ ไปและมีระยะเวลาเครดิตทางการค้ า 30 วัน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการทางการค้ าปกติ โดยมีการ คิดกาไรขันต้ ้ นเท่ากับลูกค้ าทัว่ ไป บริษัทฯ ได้ จาหน่ายอลูมิเนียมขึ ้นรูปให้ กบั บริษัท จุฑาวรรณ จากัด ตามการดาเนินธุรกิจ ปกติ โดยมีการกาหนดราคาขาย และมีเงื่อนไขการชาระเช่นเดียวกับลูกค้ ารายอื่นๆ ตาม นโยบายการทารายการระหว่างกัน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการทีส่ มควร และเป็ นการทารายการทางการค้ าปกติ โดยมีการ คิดกาไรขันต้ ้ นเท่ากับลูกค้ าทัว่ ไป บริษัทได้ ก้ ยู ืมระยะสันโดยออกตั ้ ว๋ สัญญาใช้ เงิน ให้ แก่ บริษัท เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จากัด อัตราดอกเบี ้ย 6 % ต่อปี โดยออกตั๋วสัญ ญาใช้ SDT2558/009 ลงวันที่ 31 ธัน วาคม 2558 สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯได้ ทาการชาระเงินกู้ยืมตามตั๋วสัญญาใช้ เงินเลขที่ SDT2558/009 เป็ นจานวนเงิน 15,000,000.00 (บาท) และพร้ อมกันนี ้ได้ ออก ตัว๋ สัญญาใช้ เงินเลขที่ SDT2560/001 มูลค่า 7,500,000 (บาท) อัตราดอกเบี ้ย 6.00 %
114
บุคคล/นิติบุคลที่อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ
บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จากัด : ผลิตชิ ้นส่วนอุปกรณ์เครื่องใช้ ไฟฟ้าและ ชิ ้นส่วนยานยนต์ด้วยวิธีอดั ขึ ้นรูป และทา สีชิ ้นส่วน
ลักษณะและรายละเอียดของรายการ
บริษัทฯ ได้ ก้ ยู ืมระยะสันโดยออกตั ้ ว๋ สัญญาใช้ เงิน กับบริษัท ไทยอินดัสเตรียล จากัด โดยมี รายละเอียดดังนี ้ ยอดยกมาต้ นงวด ออกตัว๋ สัญญาใช้ เงินระหว่างงวด ชาระคืนระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด ดอกเบี ้ยจ่ายระหว่างงวด
มูลค่ ารายการระหว่ างกัน (บาท) 31 ธ.ค. 60
7,500,000.00 7,500,000.00 438,904.12
31 ธ.ค. 61
7,500,000.00 10,000,000.00 7,500,000.00 10,000,000.00 595,890.40
ความจาเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ ต่อปี ลงวันที่ 10 มกราคม 2560 สิ ้นสุดวันที่ 10 มกราคม 2561 บริ ษัทฯ ได้ มีการจ่าย ชาระดอกเบีย้ ให้ กับ บริ ษั ท เจทีดับบลิ ว แอ็ซแซท จากัด เป็ นจานวนเงิน 11,095.89 (บาท) ตามสัญญาแล้ ว ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า กู้ยืมระยะสันโดยออกตั ้ ว๋ สัญญาใช้ เงิน ให้ แก่ บริษัท เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จากัด ดังกล่าว ก่อให้ เกิดผลดีกบั บริษัท และมีอตั ราค่าธรรมเนียมที่เหมาะสมเท่ากับอัตราค่าธรรมเนียม ของธนาคารพาณิชย์ทวั่ ไป บริษัทฯได้ ก้ ยู ืมระยะสันโดยออกตั ้ ว๋ สัญญาใช้ เงินเลขที่ SDT2560/002 จานวนเงิน 7,500,000.00 (บาท) อัตราดอกเบี ้ย 6 % ต่อปี ลงวันที่ 10 มกราคม 2560 สิ ้นสุดวันที่ 10 มกราคม 2561 ให้ แก่ บริษัท ไทยอินดัสเตรียล จากัด ในปี 2561 พร้ อมกันนี ้บริษัทฯ ได้ ออกตัว๋ สัญญาใช้ เงินเลขที่ SDT2561/002 จานวนเงิน 10,000,000 (บาท) อัตรา ดอกเบี ้ย 6 % ต่อปี ลงวันที่ 29 มิถนุ ายน 2561 สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และได้ มี การจ่ายชาระดอกเบี ้ย ให้ กบั บริษัท ไทยอินดัสเตรียลพาร์ ท จากัด เป็ นจานวน 595,890.40 (บาท) ตามสัญญาแล้ ว ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า กู้ยืมระยะสันโดยออกตั ้ ว๋ สัญญาใช้ เงิน ให้ แก่ บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล จากัด ดังกล่าว ก่อให้ เกิดผลดีกบั บริษัท และมีอตั ราค่าธรรมเนียมที่เหมาะสมเท่ากับอัตราค่าธรรมเนียม ของธนาคารพาณิชย์ทวั่ ไป
115
บุคคล/นิติบุคลที่อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ
บริษัท ริก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรีทเม้ นท์ จากัด : ธุรกิจชุบแข็งโลหะ
บริษัท อาพน จากัด : ธุรกิจให้ เช่ารถยนต์
ลักษณะและรายละเอียดของรายการ บริษัทขายสินค้ าให้ บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จากัด ยอดยกมาต้ นงวด ขายสินค้ าระหว่างงวด ค่าบริการซ่อมแม่พิมพ์ ภาษีมลู ค่าเพิ่ม ชาระเงินระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด บริษัทว่าจ้ างบริษัท ริก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรีทเม้ นท์ จากัดในการทดลองอบเพิ่มความแข็งของตัวอย่าง ชิ ้นงาน ยอดยกมาต้ นงวด ว่าจ้ างระหว่างงวด ภาษีมลู ค่าเพิ่ม ชาระเงินระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด บริษัทเช่ารถยนต์จากบริษัท อาพน จากัด ค่าเช่าระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด
มูลค่ ารายการระหว่ างกัน (บาท) 31 ธ.ค. 60
154,664.65 1,095,727.53 76,700.93 1,172,428.46 139,473.11
120,042.72 763,012.86 53,410.90 856,990.48 79,476.03 1,107,807.00 -
31 ธ.ค. 61
139,473.11 654,466.00 45,812.62 808,165.33 102,154.29
79,476.03 362,250.00 25,357.50 429,614.27 37,469.26
ความจาเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จากัดได้ ว่าจ้ างให้ บริ ษัทผลิตสินค้ าและแม่พิมพ์ตามการ ดาเนินธุรกิจปกติ โดยมีการกาหนดราคาขาย และมีเงื่อนไขเช่นเดียวกับลูกค้ ารายอื่นๆ ตามนโยบายการทารายการระหว่างกัน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการทางการค้ าปกติ โดยมีการ คิดกาไรขันต้ ้ นเท่ากับลูกค้ าทัว่ ไป บริ ษัทว่าจ้ างบริ ษัท ริ ก้า เจทีดับบลิว ฮีททรี ทเม้ นท์ จากัด (เดิมชื่อ “บริ ษัท จุฑาวรรณ เมทัล แลบ จากัด ”) ในการทดลองอบเพิ่มความแข็ งของตัว อย่างชิน้ งาน เพื่อส่งเป็ น ตัวอย่างชิ ้นงานให้ แก่ลกู ค้ า โดยมีราคาและเงื่อนไขทางการค้ าทัว่ ไป ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการทางการค้ าปกติ โดยมีการ เปรียบเทียบราคากับผู้รับจ้ างรายอื่น
บริ ษัททาการเช่ารถยนต์จากบริ ษัท อาพน จากัด เพื่อใช้ เป็ นรถรับส่งพนักงานจานวน 2 1,142,760.00 คัน และรถประจาต าแหน่ งผู้บ ริ ห าร 1 คัน รวมจานวนทัง้ สิน้ 3 คัน โดยอัต ราค่า เช่า - ดังกล่าวเป็ นอัตราที่ถกู ที่สดุ เมื่อเทียบกับผู้ประกอบการอื่น ภายใต้ เงื่อนไขที่ใกล้ เคียงกัน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการเช่าสินทรัพย์ปกติ โดยมี การเปรียบเทียบราคากับผู้ให้ เช่ารายอื่น
116
บุคคล/นิติบุคลที่อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ
ลักษณะและรายละเอียดของรายการ
มูลค่ ารายการระหว่ างกัน (บาท) 31 ธ.ค. 60
31 ธ.ค. 61
ความจาเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ
บริษัท แอล.เอช.โลจิสติกส์ จากัด : ธุรกิจให้ เช่ารถยนต์
บริษัทเช่ารถยนต์จากบริษัท แอล.เอช.โลจิสติกส์ จากัด ค่าเช่าระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด
บริษัททาการเช่ารถรถบรรทุกจานวน 6 คัน จากบริษัท แอล.เอช.โลจิสติกส์ จากัด เพื่อใช้ เป็ นรถจัดส่งสินค้ าตามการดาเนินธุรกิจปกติ โดยอัตราค่าเช่าดังกล่าวเป็ นอัตราที่ถกู ที่สดุ 594,706.00 เมื่อเทียบกับผู้ประกอบการอื่น ภายใต้ เงื่อนไขที่ใกล้ เคียงกัน - ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการเช่าสินทรัพย์ปกติ โดยมี การเปรียบเทียบราคากับผู้ให้ เช่ารายอื่น
บริษัท จุฑาวรรณ เมทัล แล็บ จากัด : รับจ้ างชุบแข็ง โลหะ และเจียรกลึง ใส ชิ ้นงานเหล็กทุกชนิด
บริษัทว่าจ้ างบริษัท จุฑาวรรณ เมทัล แล็บ จากัด เพื่อทาการชุบแข็งโลหะ ว่าจ้ างระหว่างงวด ชาระเงินระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด
บริษัท ปิ่ นทอง สตีล จากัด : จาหน่ายเหล็กแผ่น และเหล็กทุกชนิด, รับจ้ างตัดเหล็กทุกชนิด
บริษัทฯ ได้ ซื ้อเหล็กแผ่น ยอดยกมาต้ นงวด ซื ้อระหว่างงวด จ่ายระหว่างงวด ยอดคงเหลือ
บริ ษัทฯ ได้ ว่าจ้ างเพื่อทาการชุบแข็งโลหะกับบริ ษัท จุฑาวรรณ เมทัลแล็บ จากัด ในปี 2561 เป็ นจานวน 13,706.70 (บาท) ตามที่ ได้ ตกลงกันไว้ ใ นเบื ้องต้ น ซึ่งมีราคาและ เงื่อนไขการค้ าเป็ นไปตามลักษณะการค้ าทัว่ ไปและมีระยะเวลาเครดิตทางการค้ า 30 วัน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการทางการค้ าปกติ โดยมีการ เปรียบเทียบราคากับผู้รับจ้ างรายอื่น บริษัทฯ ได้ ซื ้อเหล็กแผ่นจากกับบริษัท ปิ่ นทอง สตีล จากัด ซึ่งมีราคาและเงื่อนไขการค้ า เป็ นไปตามลักษณะการค้ าทัว่ ไปและมีระยะเวลาเครดิตทางการค้ า 30 วัน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการทางการค้ าปกติ โดยมีการ คิดกาไรขันต้ ้ นเท่ากับลูกค้ าทัว่ ไป
-
13,706.70 13,706.70 -
99,203.00 70,208.14 28,994.86
28,994.86 464,307.24 446,681.13 46,620.97
117
บุคคล/นิติบุคลที่อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ
ลักษณะและรายละเอียดของรายการ
บริษัท ปิ่ นทอง อินดัสเตรียล ปาร์ ค จากัด (มหาชน) : จัดสรรที่ดินเพื่อที่อยูอ่ าศัย เพื่อ การเกษตร เพื่อการอุตสาหกรรม อาคาร อาคารพาณิชย์ อาคารชุด บ้ านจัดสรร และสิ่งปลูกสร้ างอื่นๆ
บริษัทขายสินค้ าให้ บริษัท ปิ่ นทอง อินดัสเตรียล ปาร์ ค จากัด (มหาชน) ขายสินค้ าระหว่างงวด ภาษีมลู ค่าเพิ่ม ชาระเงินระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด
บริษัท ฟอร์ เอเวอร์ ออพอิวเลนซ์ จากัด : ให้ บริการให้ เช่ารถทัว่ ราชอาณาจักร และบริการตกแต่งชิ ้นงานโลหะ
บริษัทว่าจ้ าง บริษัท ฟอร์ เอเวอร์ ออพอิวเลนซ์ จากัดตกแต่งชิ ้นงาน ยอดยกมาต้ นงวด ว่าจ้ างระหว่างงวด ภาษีมลู ค่าเพิ่ม ชาระเงินระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด บริษัทเช่ารถยนต์จากบริษัท ฟอร์ เอเวอร์ ออพอิว เลนซ์ จากัด ค่าเช่าระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด
นายนิพนั ธ์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม : กรรมการบริษัท
บริษัทฯ ได้ ก้ ยู ืมเงินจากนายนิพนั ธ์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม เงินกู้ยืมระยะสันระหว่ ้ างงวด
มูลค่ ารายการระหว่ างกัน (บาท) 31 ธ.ค. 60
ความจาเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ
31 ธ.ค. 61
210,000.00 14,700.00 224,700.00 -
-
75,200.78 1,214,653.75 85,025.76 1,287,072.34 87,807.95
87,807.95 17,972.00 1,255.94 107,005.89 -
1,440,000.00 -
5,000,000.00
บริ ษัท ฯ ได้ จาหน่ ายอลูมิเนียมขึน้ รู ปให้ กับบริ ษั ท ปิ่ นทอง อิน ดัส เตรี ยล ปาร์ ค จากัด (มหาชน) ตามการดาเนินธุรกิจปกติ โดยมีการกาหนดราคาขาย และมีเงื่อนไขการชาระ เช่นเดียวกับลูกค้ ารายอื่นๆ ตามนโยบายการทารายการระหว่างกัน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการทางการค้ าปกติ โดยมีการ คิดกาไรขันต้ ้ นเท่ากับลูกค้ าทัว่ ไป บริษัทว่าจ้ างบริษัท ฟอร์ เอเวอร์ ออพอิวเลนซ์ จากัด ในการตกแต่งชิ ้นงาน เพื่อส่งชิ ้นงาน ให้ แก่ลกู ค้ าตามกาหนด โดยมีราคาและเงื่อนไขทางการค้ าทัว่ ไป ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการทางการค้ าปกติ โดยมีการ เปรียบเทียบราคากับผู้รับจ้ างรายอื่น
บริษัทฯ ได้ ทาการเช่ารถบรรทุกจานวน 3 คัน จากบริ ษัท ฟอร์ เอเวอร์ ออพอิวเลนซ์ จากัด เพื่อทาการจัดส่งสินค้ าตามการดาเนินธุรกิจปกติ โดยอัตราค่าเช่าดังกล่าวเป็ นอัตราที่ถกู 1,369,772.58 ที่สดุ เมื่อเทียบกับผู้ประกอบการอื่น ภายใต้ เงื่อนไขที่ใกล้ เคียงกัน - ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการเช่าสินทรัพย์ปกติ โดยมี การเปรียบเทียบราคากับผู้ให้ เช่ารายอื่น บริ ษัทได้ ทาสัญญากู้ยืมเงินกับนายนิพนั ธ์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม มูลค่า 5,000,000.00 (บาท) - อัตราดอกเบี ้ย 5.00 % ต่อปี โดยจ่ายชาระดอกเบี ้ย จานวน 62,328.77 บาท ทังนี ้ ้บริ ษัท
118
บุคคล/นิติบุคลที่อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ
ลักษณะและรายละเอียดของรายการ ยอดคงค้ างปลายงวด ดอกเบี ้ยจ่ายระหว่างงวด
มูลค่ ารายการระหว่ างกัน (บาท) 31 ธ.ค. 60 62,328.77
31 ธ.ค. 61
ความจาเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ - ฯได้ ชาระคืนเงินต้ นทังหมดให้ ้ แก่นายนิพนั ธ์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรมเรียบร้ อยแล้ ว - ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า กู้ยืมระยะสันโดยออกตั ้ ว๋ สัญญาใช้ เงิน นายนิพนั ธ์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรมดังกล่าวก่อให้ เกิดผลดี กับบริ ษัท และมีอตั ราค่าธรรมเนียมที่เหมาะสมเท่ากับอัตราค่าธรรมเนียมของธนาคาร พาณิชย์ทวั่ ไป
119
14.2 มาตรการหรือขัน้ ตอนการอนุมัติการทารายการระหว่ างกัน ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง้ ที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2553 ได้ กาหนดมาตรการขันตอน ้ การทารายการระหว่างกัน ดังนี ้ การทาธุรกรรมระหว่างบริ ษัท กับผู้ที่เกี่ยวข้ องหรื อบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง จะต้ องเป็ นไปตามเงื่อนไขการค้ า โดยทั่วไปหรื อเป็ นธุรกรรมที่เป็ นข้ อตกลงทางการค้ าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะพึงกระทากับคู่สญ ั ญาทัว่ ไปใน สถานการณ์เดียวกัน ด้ วยอานาจต่อรองทางการค้ าที่ปราศจากอิทธิพลจากการมีสถานะเป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคล ที่มีความเกี่ยวข้ อง (แล้ วแต่กรณี) ภายใต้ เงื่อนไขที่สมเหตุสมผล สามารถตรวจสอบได้ ไม่ก่อให้ เกิดการถ่ายเทผลประโยชน์ กรณีที่ 1 รายการระหว่างกันที่เป็ นธุรกรรมปกติทางการค้ า เช่น รายการซื ้อขายสินค้ าและบริ การที่บริ ษัทเป็ นผู้จดั จาหน่ายหรื อให้ บริ การ เป็ นต้ น บริ ษัทสามารถทาธุรกรรม ดังกล่าวกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ งได้ หากธุรกรรมดังกล่าวนันมี ้ ข้อตกลงทางการค้ าที่มีเงื่อนไขการค้ าโดยทัว่ ไปใน ลักษณะที่วิญญูชนจะพึงกระทากับคู่สญ ั ญาทั่วไปในสถานการณ์ เดียวกัน ด้ วยอานาจต่อรองทางการค้ าที่ปราศจาก อิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้ อง โดยบริ ษัทจะจัดทาสรุ ปรายการดังกล่าว ให้ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริ ษัทรับทราบอย่างน้ อยรายไตรมาส กรณีที่ 2 รายการระหว่างกันอื่นๆที่นอกเหนือจากกรณีที่ 1 บริ ษัทกาหนดให้ คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผู้พิจารณาและให้ ความเห็นเกี่ยวกับความจาเป็ นในการเข้ าทา รายการและความเหมาะสมด้ านราคาของรายการนัน้ โดยพิจารณาเงื่อนไขต่างๆว่าเป็ นไปตามลักษณะการดาเนินการค้ า ปกติในตลาด ซึ่งสามารถเปรี ยบเทียบได้ กับราคาที่เกิ ดขึน้ กับบุคคลภายนอกและเป็ นไปตามราคายุติธรรม มีความ สมเหตุสมผล และสามารถตรวจสอบได้ หรื อไม่ ในกรณีที่กรรมการตรวจสอบไม่มีความชานาญในการพิจารณารายการ ระหว่างกันที่อาจเกิ ดขึน้ บริ ษัทจะให้ ผ้ ูเชี่ ยวชาญอิสระหรื อผู้สอบบัญชี ของบริ ษัทเป็ นผู้ให้ ความเห็นเกี่ ยวกับรายการ ระหว่างกันดังกล่าว เพื่อนาไปใช้ ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการหรื อผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี ทังนี ้ ้การเข้ าทารายการ ระหว่างกัน ของบริ ษั ทกับบุคคลที่ อาจมี ค วามขัดแย้ ง ทางผลประโยชน์ จะต้ อ งผ่านการพิ จารณาจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ และจะต้ องได้ รับการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท ซึ่งจะต้ องมีกรรมการตรวจสอบเข้ าร่ วมประชุมด้ วย โดย การออกเสียงในที่ประชุมนันๆ ้ กรรมการซึง่ มีสว่ นได้ เสียจะไม่มีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนน ทังนี ้ ้คณะกรรมการบริ ษัทจะต้ องดูแลให้ บริ ษัทจะต้ องปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อบังคับ ประกาศ คาสัง่ หรื อ ข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อของสานักงานคณะกรรมการกากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรื อของคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ หรื อของคณะกรรมการ กากับตลาดทุน รวมถึงการปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดเกี่ยวกับกับการเปิ ดเผยข้ อมูลการทารายการที่เกี่ยวโยงกันและการได้ มา หรื อจาหน่ายไปซึง่ ทรัพย์สินที่สาคัญของบริ ษัท นอกจากนี ้ บริ ษัทจะมีการเปิ ดเผยรายการระหว่างกันดังกล่าวไว้ ในหมาย เหตุประกอบงบการเงินที่ได้ รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริ ษัท แบบรายงาน 56-1 และแบบรายงานประจาปี หรื อ สารสนเทศต่าง ๆ ตามข้ อกาหนดตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และของหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
120
14.3 แนวโน้ มการทารายการระหว่ างกันในอนาคต บริ ษัทอาจมีการทารายการระหว่างกันกับบุคคลหรื อนิติบคุ คลในอนาคตอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็ นไปตามลักษณะ ธุรกิจการค้ าปกติโดยทัว่ ไป และมีเงื่อนไขเป็ นไปตามธุรกิจการค้ าปกติ และสามารถอ้ างอิงได้ กบั เงื่อนไขทางธุรกิจประเภท เดียวกันกับบริ ษัทกระทากับบุคคลภายนอก จะจัดทาสรุ ปรายการดังกล่าวให้ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ บริ ษัทรับทราบอย่างน้ อยรายไตรมาส เพื่อทาการสอบทานรายการระหว่างกันโดยเปรี ยบเทียบราคาและเงื่อนใขการค้ ากับ บุคคลภายนอกเพื่อดูความเหมาะสมของราคาและเงื่อนไขการค้ า พิจารณามูลค่าการซื ้อขายเปรี ยบเทียบกับมูลค่าการซื ้อ ขายทังหมดของบริ ้ ษัทและบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกัน และสอบถามผู้บริ หารถึงเหตุผลและความจาเป็ นในการเข้ าทารายการกับ บุคคลที่เกี่ยวข้ องกัน อย่างไรก็ตาม สาหรับรายการระหว่างกันที่มิได้ เป็ นไปตามธุรกิจปกติที่อาจเกิดขึ ้นในอนาคต บริ ษัทจะจัดให้ มี คณะกรรมการตรวจสอบเข้ ามาสอบทานการการปฎิบตั ิตามหลักเกณฑ์และแสดงเหตุผลในการทารายการดังกล่าวก่อนที่ บริ ษั ท จะเข้ าท ารายการนัน้ นอกจากนี ้ บริ ษั ท จะดูแ ลการเข้ า ท ารายการระหว่า งกันให้ เ ป็ นไปตามกฎหมายว่า ด้ ว ย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้ อบังคับ ประกาศ คาสัง่ หรื อข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงการปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดเกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้ อมูล การทารายการที่เกี่ยวโยงกัน และการได้ มา หรื อจาหน่ายซึ่งสินทรัพย์ของบริ ษัท (ถ้ ามี) รวมทังปฏิ ้ บตั ิตามมาตรฐานการ บัญชีที่กาหนดโดยสมาคมนักบัญชี ทังนี ้ ้ ผู้มีส่ วนได้ เสียในรายการดังกล่าวจะไม่มีสิทธิ ในการออกเสียงอนุมตั ิการทา รายการนัน้ ๆและบริ ษั ทจะมี ก ารเปิ ดเผยรายการระหว่า งกัน ดัง กล่า วไว้ ในหมายเหตุป ระกอบงบการเงิ นที่ ได้ รั บการ ตรวจสอบจากผู้สอบบัญ ชี ข องบริ ษั ท แบบรายงาน 56-1 และแบบรายงานประจ าปี หรื อ สาระสนเทศต่า ง ๆ ตาม ข้ อกาหนดตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และของหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
121
15. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ 15.1. รายงานงบการเงิน บริษทั ซั งโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 สิ นทรัพย์
หมายเหตุ
2561
2560 (บาท)
สินทรั พย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
5
เงินลงทุนชัว่ คราว - เงินฝากประจา
19,191,495
15,371,010
283,638
257,847
ลูกหนี้การค้า
4, 6
76,339,191
62,294,812
ลูกหนี้หมุนเวียนอื่น
7
9,999,294
7,807,080
สินค้าคงเหลือ
8
49,820,351
49,620,290
419,720
1,894,154
156,053,689
137,245,193
214,000,000
199,634,340
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน สินทรั พย์ไม่ หมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
9, 24, 27, 34
สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน
10
2,682,676
3,005,213
เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค้ าประกัน
34
5,082,000
5,082,000
5,877,095
2,902,375
รวมสิ นทรัพย์ไม่ หมุนเวียน
227,641,771
210,623,928
รวมสิ นทรัพย์
383,695,460
347,869,121
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
122
บริษทั ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถื อหุ้น
หมายเหตุ
2561
2560 (บาท)
หนีส้ ินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูย้ ืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น เงินกูย้ ืมระยะยาวที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกาหนดชาระ ภายในหนึ่งปี เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากกิจการที่เ กี่ยวข้องกัน ประมาณการหนี้สินหมุนเวียนสาหรับ ผลประโยชน์พนักงาน
12 4, 13 4, 14 15
41,034,807 66,552,300 28,876,198 3,441,481
34,863,357 65,381,094 23,569,352 3,310,099
16 4
7,850,414 10,000,000
5,840,994 15,000,000
17
หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ิ นหมุนเวียน หนีส้ ินไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะยาว หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หนี้สินภาษีเ งินได้รอตัดบัญชี ประมาณการหนี้สินไม่หมุนเวียนสาหรับ ผลประโยชน์พนักงาน รวมหนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิ น
-
2,174,500
1,204,128 158,959,328
963,004 151,102,400
15 16 11
9,762,089 27,519,689 5,924,928
13,010,601 14,853,659 -
17
5,520,774 48,727,480 207,686,808
3,250,906 31,115,166 182,217,566
123
บริษทั ซั งโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถื อหุ้น
หมายเหตุ
2561
2560 (บาท)
ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ทุนเรื อนหุน้ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชาระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุน้ ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ กาไร(ขาดทุน)สะสม จัดสรรแล้ว ทุนสารองตามกฎหมาย กาไร(ขาดทุน)สะสม รวมส่ วนของผู้ถื อหุ้น รวมหนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถื อหุ้น
18 199,396,642
150,340,813
149,547,482
149,547,482
18, 19
16,104,073
33,612,986
18, 20 18
591,078 9,766,019 176,008,652 383,695,460
390,000 (17,898,913) 165,651,555 347,869,121
124
บริษทั ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 หมายเหตุ
2561
2560 (บาท)
รายได้ รายได้จากการขายสินค้า รายได้บริ การจัดหาแม่พมิ พ์ รายได้อื่น รวมรายได้
508,594,326 35,856,400 2,197,308 546,648,034
405,525,619 32,374,000 1,658,779 439,558,398
423,376,387 23,592,027 8,370,903 66,212,084 2,202,711 4,781,319 528,535,431
345,739,741 18,718,750 7,518,824 57,050,197 4,154,271 433,181,783
11, 29
18,112,603 6,291,044 11,821,559
6,376,615 88,228 6,288,387
17
(1,830,578)
(441,141)
29
366,116 (1,464,462) 10,357,097
88,228 (352,913) 5,935,474
ขั้นพื้นฐาน
0.04
0.02
ปรับลด
0.03
0.02
ค่าใช้ จ่าย ต้นทุนขายสินค้า ต้นทุนบริ การจัดหาแม่พมิ พ์ ต้นทุนในการจัดจาหน่าย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าใช้จ่ายอื่น ต้นทุนทางการเงิน รวมค่าใช้ จ่าย กาไรก่ อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเ งินได้ กาไรสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการที่จะไม่ ถู กจัดประเภทใหม่ ไว้ในกาไรหรือขาดทุนในภายหลั ง : ผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ของผลประโยชน์พนักงาน ที่กาหนดไว้ ภาษีเ งินได้ของรายการที่จะไม่ถูกจัดประเภทใหม่ไว้ในกาไรหรื อ ขาดทุนในภายหลัง ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสาหรับปี -สุ ทธิจากภาษีเงินได้ กาไรเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี กาไรต่อหุ้น
4 22
4, 8, 9 4, 8, 9, 23 4, 8, 9, 24 26 4, 28
30
125
บริษทั ซั งโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลี่ ยนแปลงส่ วนของผู้ถื อหุ้น สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 กาไร(ขาดทุน)สะสม
หมายเหตุ
ทุนที่ออก และชาระแล้ว
ส่วนเกิน มูลค่าหุน้ สามัญ
ใบสาคัญ แสดงสิทธิ
ทุนสารอง ตามกฎหมาย (บาท)
ยังไม่ได้จดั สรร
องค์ประกอบอื่น ของส่วนของผูถ้ ือหุน้ ผลขาดทุนจากการวัด มูลค่าใหม่ของผลประโยชน์ พนักงานที่กาหนดไว้
รวมส่วน ของผูถ้ ือหุน้
สำหรั บปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธั นวำคม 2560 ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560
149,494,502
33,508,087
104,899
122,305
-
(23,444,387)
-
159,680,507
รายการกับผู้ถื อหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถื อหุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถื อหุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ถู ื อหุ้น หุน้ สามัญที่ออกจากการใช้ใบสาคัญแสดงสิทธิ
18
52,980
ผลตอบแทนพนักงานและการปรับมูลค่ายุติธรรม
18
-
รวมเงินทุนที่ได้รับจากผู้ถื อหุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ถู ื อหุ้น
52,980
104,899
-
-
-
157,879
(122,305)
-
-
-
(122,305)
(122,305)
-
-
-
35,574
-
6,288,387
-
กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสาหรับปี กาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
17, 29
-
-
-
-
20
-
-
-
390,000
(390,000)
-
-
390,000
(17,898,913)
-
17, 29
รวมกาไรเบ็ดเสร็จสาหรับปี โอนเข้าขาดทุนสะสม โอนไปทุนสารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
149,547,482
33,612,986
6,288,387
(352,913)
(352,913)
6,288,387
(352,913)
5,935,474
(352,913)
352,913
-
126
165,651,555
บริษทั ซั งโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลี่ ยนแปลงส่ วนของผู้ถื อหุ้น สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 กาไร(ขาดทุน)สะสม
หมายเหตุ
ทุนที่ออก และชาระแล้ว
ส่วนเกิน มูลค่าหุน้ สามัญ
ใบสาคัญ แสดงสิทธิ
33,612,986
-
ทุนสารอง ตามกฎหมาย (บาท)
ยังไม่ได้จดั สรร
องค์ประกอบอื่น ของส่วนของผูถ้ ือหุน้ ผลขาดทุนจากการวัด มูลค่าใหม่ของผลประโยชน์ พนักงานที่กาหนดไว้
รวมส่วน ของผูถ้ ือหุน้
สำหรั บปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธั นวำคม 2561 ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 1 มกราคม 2561
149,547,482
390,000
(17,898,913)
-
165,651,555
11,821,559
-
11,821,559
รายการกับผู้ถื อหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถื อหุ้น กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสาหรับงวด กาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น
17, 29
รวมกาไรเบ็ดเสร็จสาหรับปี
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
11,821,559
(1,464,462)
(1,464,462)
(1,464,462)
10,357,097
ลดส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญและทุนสารองตามกฎหมาย เพือ่ ลดขาดทุนสะสม โอนเข้าขาดทุนสะสม โอนไปทุนสารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561
18
-
17, 29
-
-
-
20
-
-
-
591,078
(591,078)
-
-
591,078
9,766,019
-
149,547,482
(17,508,913)
16,104,073
-
(390,000) -
17,898,913
-
(1,464,462)
1,464,462
127
176,008,652
128
บริษทั ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 หมายเหตุ
2561
2560 (บาท)
รับคืนภาษีเ งินได้ กระแสเงินสดสุ ทธิได้มาจากกิจกรรมดาเนินงาน
42,674,108
581,730 11,599,812
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย เงินลงทุนชัว่ คราว - เงินฝากประจา ซื้ ออุปกรณ์ จาหน่ายอุปกรณ์ ซื้ อสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค้าประกัน กระแสเงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน
82,503 (25,791) (26,985,356) 2,011,683 (310,000) (25,226,961)
86,972 (257,847) (21,879,840) 381,408 (1,175,060) 898,000 (21,946,367)
(4,779,373) 5,521,420 107,282,104 (106,632,074) 2,500,000 (7,500,000) (3,117,131) (6,901,608) (13,626,662)
(4,159,195) 1,193,348 (265,028) 12,500,000 (12,500,000) 17,199,000 (2,243,045) (7,849,870) 157,879 4,033,089
3,820,485 15,371,010 19,191,495
(6,313,466) 21,684,476 15,371,010
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินสดรับจากเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายชาระเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากกิจการที่เ กี่ยวข้องกัน เงินสดจ่ายชาระเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากกิจการที่เ กี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากเงินกูย้ ืมระยะยาว ชาระคืนเงินกูย้ ืมระยะยาว จ่ายชาระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หุน้ สามัญที่ออกจากการใช้ใบสาคัญแสดงสิทธิ กระแสเงินสดสุ ทธิได้มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม รายการที่ไม่ กระทบเงินสด ซื้ อเครื่ องจักรตามสัญญาเช่าการเงิน
16
21,577,058
-
129
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สาหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้ งบการเงินนี ้ได้ รับอนุมตั ิให้ ออกงบการเงินจากคณะกรรมการบริ ษัทเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2562 1
ข้ อมูลทั่วไป บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) “บริ ษัท” เป็ นนิติบุคคลที่จัดตังขึ ้ ้นในประเทศไทย ที่อยู่ สานักงานแห่งใหญ่จดทะเบียนตังอยู ้ เ่ ลขที่ 3/14 หมูท่ ี่ 2 ตาบลหนองบัว อาเภอบ้ านค่าย จังหวัดระยอง บริ ษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย “ตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ (mai)” เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2556 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัท ซึง่ ถือหุ้นตังแต่ ้ ร้อยละ 10 ของทุนที่ชาระแล้ ว ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561 ได้ แก่
กลุม่ ตระกูลปั ทมวรกุลชัย บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด บริ ษัท ที เอ็นจิเนียริ่ ง คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
ร้ อยละของทุนที่ออกและชาระแล้ ว 27.14 24.74 10.09
บริ ษัทดาเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์โลหะและชิ ้นส่วนโลหะ 2
เกณฑ์ การจัดทางบการเงิน
2.1
เกณฑ์ การถือปฏิบัติ งบการเงินนี ้จัดทาขึ ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบตั ิทางการบัญชีที่ประกาศใช้ โดยสภา วิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ เกี่ยวข้ อง
2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่
2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เริ่ มมีผลบังคับใช้ ในปั จจุบนั
130
สภาวิชาชีพบัญชีได้ ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่หลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับใช้ ตงแต่ ั ้ รอบ ระยะเวลาบัญชี ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2561 การนามาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ออกและ ปรับปรุ งใหม่มาถือปฎิบตั ิดงั กล่าวไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสาคัญต่อนโยบาย วิธีการคานวณ และผลการ ดาเนินงานหรื อฐานะการเงินของบริ ษัท 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ประกาศแล้ ว แต่ยงั ไม่มีผลบังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่หลายฉบับได้ มีการประกาศแล้ ว แต่ยงั ไม่มีผลบังคับใช้ ซึง่ บริ ษั ท ไม่ ได้ น ามาใช้ ในการจั ดท างบการเงิ นนี ้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ ออกและปรั บปรุ ง ใหม่ นี ้ อาจเกี่ยวข้ องกับการดาเนินงานของบริ ษัท และถือปฏิบตั ิกบั งบการเงินสาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลัง วันที่ 1 มกราคม 2562 และ 2563 บริ ษัทไม่มีแผนที่จะนามาตรฐานการรายงานทางการเงินนี ้มาใช้ ก่อนวันถือปฏิบตั ิ ขณะนี ้ผู้บริ หารกาลังพิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ ้นจากการถือปฎิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ที่ปรับปรุงใหม่ตอ่ งบการเงิน ทังนี ้ ้ สาหรับมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกใหม่ มีดงั นี ้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่อง มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7* การเปิ ดเผยข้ อมูลเครื่ องมือทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9* เครื่ องมือทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 รายได้ จากสัญญาที่ทากับลูกค้ า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32* การแสดงรายการเครื่ องมือทางการเงิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน การป้องกันความเสีย่ งของเงินลงทุนสุทธิใน ฉบับที่ 16* หน่วยงานต่างประเทศ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน การชาระหนี ้สินทางการเงินด้ วยตราสารทุน ฉบับที่ 19* * มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นทีเ่ กีย่ วข้องกับเครื ่องมือทางการเงิ น
มีผลบังคับใช้ 2563 2563 2562 2563 2563 2563
- มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 เรื่อง รายได้ จากสัญญาที่ทากับลูกค้ า มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 ให้ ห ลักการโดยรวมในการรับ รู้ รายได้ ทั ้งจานวนเงิน และ ช่วงเวลาที่รับรู้ โดยรายได้ จะรับรู้เมื่อ (หรื อ ณ ขณะที)่ กิจการส่งมอบการควบคุมสินค้ าหรื อบริ การให้ แก่ลกู ค้ า ด้ วยมูลค่าของรายได้ ที่กิจการคาดว่าจะได้ รับ ขณะนี ้ผู้บริ หารกาลังพิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิ ดขึน้ จากการถื อปฎิบัติ ตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินฉบับที่ 15 เป็ นครัง้ แรกต่องบการเงิน
131
- มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้ องกับเครื่องมือทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เหล่า นี ้ให้ ข้ อ กาหนดเกี่ย วกับ นิย ามสิน ทรัพ ย์ท างการเงิน และหนี ้สิน ทางการเงินตลอดจนการรับรู้ การวัดมูลค่า การด้ อยค่าและการตัดรายการ รวมถึงหลักการบัญชีของอนุพนั ธ์ และการบัญชีป้องกันความเสีย่ ง ขณะนี ้ผู้บริ หารกาลังพิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิ ดขึ ้นจากการถือปฏิบตั ิ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้ องกับเครื่ องมือทางการเงินเป็ นครัง้ แรกต่องบการเงิน 2.3
เกณฑ์ การวัดมูลค่ า งบการเงินนี ้จัดทาขึ ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้ นที่กล่าวไว้ ในนโยบายการบัญชี
2.4
สกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงานและนาเสนองบการเงิน งบการเงิ นนีจ้ ัดท าและแสดงหน่วยเงิ นตราเป็ นเงิ นบาท ซึ่งเป็ นสกุลที่ ใช้ ในการด าเนิ นงานของบริ ษัท ข้ อมูล ทาง การเงินทังหมด ้ มีการปั ดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้ แสดงเป็ นหลักพันบาท/ล้ านบาท เว้ นแต่ที่ระบุไว้ อย่างอื่น
2.5
การใช้ ดุลยพินิจและการประมาณการ ในการจัดทางบการเงินให้ เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริ หารต้ องใช้ ดลุ ยพินิจ การประมาณการ และข้ อสมมติหลายประการ ซึง่ มีผลกระทบต่อการกาหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจานวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี ้สิน รายได้ และค่าใช้ จ่าย ผลที่เกิดขึ ้นจริ งอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้ อสมมติที่ใช้ ในการจัดทางบการเงินจะได้ รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทาง บัญชีจะบันทึกโดยวิธีเปลีย่ นทันที เป็ นต้ นไป 2.5.1
การใช้ ดุลยพินิจ ข้ อมูลเกี่ ยวกับการใช้ ดุ ลยพินิจในการเลือกนโยบายการบัญชี ซึ่งมีผลกระทบที่มีนัยสาคัญที่สุดต่อ จานวนเงินที่รับรู้ในงบการเงิน ซึง่ ประกอบด้ วย หมายเหตุประกอบงบการเงินดังต่อไปนี ้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 8 และ 9 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 16 และ 35
การคานวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนของทรัพย์สนิ การจัดประเภทสัญญาเช่า
132
2.5.2
ข้ อสมมติและความไม่ แน่ นอนของการประมาณการ ข้ อมูลเกี่ยวกับความไม่แน่นอนของการประมาณการที่สาคัญซึง่ มีความเสีย่ งอย่างมีนยั สาคัญทีเ่ ป็ นเหตุ ให้ ต้องมีการปรั บปรุ งจานวนเงิ นที่รับรู้ ในงบการเงิน ซึ่งประกอบด้ วยหมายเหตุประกอบงบการเงิ น ดังต่อไปนี ้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 11 และ 29 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 17
หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 32
ภาษี เงินได้ ของปี ปั จจุบนั ภาษีเงินได้ รอการตัด บัญชีและการใช้ ประโยชน์ของขาดทุนทางภาษี ข้ อสมมุติเกี่ยวกับอัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ ้น ของเงินเดือน อัตราการหมุนเวียนพนักงาน และ อัตราทุพพลภาพ การตีมลู ค่าเครื่ องมือทางการเงิน
การประมาณการและการใช้ ดุลยพินิจที่สาคัญ สรุ ปได้ ดังนี ้ การรั บรู้และการตัดรายการสินทรั พย์ และหนี้สิน ในการพิจารณาการรับรู้ หรื อการตัดรายการสินทรัพย์และหนี ้สิน ฝ่ ายบริ หารต้ องใช้ ดุลยพินิจในการพิจารณาว่า บริ ษัทได้ โอนหรื อรับโอนความเสี่ยงและผลประโยชน์ในสินทรัพย์และหนี ้สินดังกล่าวแล้ วหรื อไม่ โดยใช้ ดุลยพินิจบน พื ้นฐานของข้ อมูลที่ดีที่สดุ ที่รับรู้ได้ ในสภาวะปั จจุบนั ค่ าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญของลูกหนี ้เกิดจากการปรับมูลค่าของลูกหนี ้จากความเสี่ยงด้ านเครดิตที่อาจเกิดขึ ้น ฝ่ าย บริ หารได้ ใช้ ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ ้นจากลูกหนี ้แต่ละราย โดยใช้ การวิเคราะห์ สถานะของลูกหนี ้รายตัวประสบการณ์ การเก็บเงิ นในอดีต การวิเคราะห์อายุลกู หนี ้และการเปลี่ยนแปลงของสภาวะ เศรษฐกิจในปั จจุบนั อย่างไรก็ตาม การใช้ ประมาณการและข้ อสมมติที่แตกต่างกันอาจมีผลต่อจานวนค่าเผื่อหนี ้สงสัย จะสูญ ดังนัน้ การปรับปรุงค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญอาจมีขึ ้นได้ ในอนาคต อาคารและอุปกรณ์ และค่ าเสื่อมราคา ในการคานวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ ายบริ หารใช้ การประมาณอายุการให้ ประโยชน์และมูลค่า คงเหลือ เมื่อเลิกใช้ งานของอาคารและอุปกรณ์ และได้ มีการทบทวนอายุการใช้ ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือใหม่ หากมีการเปลีย่ นแปลง
133
การด้ อยค่ าของสินทรั พย์ ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้ องสอบทานการด้ อยค่าของสินทรัพย์ในแต่ละช่วงเวลา และบันทึกขาดทุนจากการด้ อยค่าหาก คาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนต่ากว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นนั ้ ในการนี ้ ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้ องใช้ ดลุ ย พินิจที่เกี่ยวข้ องกับการคาดการณ์รายได้ และค่าใช้ จ่ายในอนาคตซึง่ เกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นนั ้ ผลประโยชน์ พนักงาน หนี ้สินตามโครงการผลประโยชน์ของพนักงานหลังออกจากงาน ประมาณขึ ้นตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยซึ่ง ต้ องอาศัยข้ อสมมติต่างๆ ในการประมาณการนัน้ เช่น อัตราคิดลด อัตราการเพิมขึน้ ของเงิ นเดือน อัตราการ หมุนเวียนพนักงาน อัตรามรณะ และอัตราทุพพลภาพ เป็ นต้ น 2.6
การวัดมูลค่ ายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปิ ดเผยข้ อมูลของบริ ษัทหลายข้ อกาหนดให้ มีการวัดมูลค่ายุติธรรมทัง้ สินทรั พย์และ หนี ้สินทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงิน บริ ษัทกาหนดกรอบแนวคิดของการควบคุมเกี่ยวกับการวัดมูลค่ายุติธรรม กรอบแนวคิดนี ้รวมถึงผู้ประเมินมูลค่า ซึ่ง มีความรับผิดชอบโดยรวมต่อการวัดมูลค่ายุติธรรมที่มีนยั สาคัญ รวมถึงการวัดมูลค่ายุติธรรมระดับ 3 และรายงาน โดยตรงต่อผู้บริ หารสูงสุดทางด้ านการเงิน กลุ่มผู้ประเมิ นมูลค่ามีการทบทวนข้ อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ และปรั บปรุ ง การวัดมูลค่าที่ มีนัยสาคัญอย่า ง สม่าเสมอ หากมีการใช้ ข้อมูลจากบุคคลที่สามเพื่อวัดมูลค่ายุติธรรม เช่น ราคาจากนายหน้ า หรื อการตังราคา ้ กลุม่ ผู้ประเมินได้ ประเมินหลักฐานที่ได้ ม าจากบุคคลที่สามที่สนับสนุนข้ อสรุ ปเกี่ ยวกับการวัดมูลค่ารวมถึงการจัด ระดับชันของมู ้ ลค่ายุติธรรมว่าเป็ นไปตามที่กาหนดไว้ ในมาตรฐานการรายงานทางการเงินอย่างเหมาะสม ประเด็นปั ญหาของการวัดมูลค่าที่มีนยั สาคัญจะถูกรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษัท เมื่อวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หรื อหนี ้สิน บริ ษัทได้ ใช้ ข้อมูลที่สามารถสังเกตได้ ให้ มากที่สดุ เท่าที่จะทาได้ มูลค่า ยุติธรรมเหล่านี ้ถูกจัดประเภทในแต่ละลาดับชันของมู ้ ลค่ายุติธรรมตามข้ อมูลที่ใช้ ในการประเมินมูลค่า ดังนี ้ ข้ อมูลระดับ 1 เป็ นราคาเสนอซื ้อขาย (ไม่ต้องปรับปรุ ง) ในตลาดที่มีสภาพคล่องสาหรับสินทรัพย์หรื อหนี ้สิน อย่างเดียวกัน ข้ อมูลระดับ 2 เป็ นข้ อมูลอื่นที่สงั เกตได้ โดยตรง (เช่น ราคาขาย) หรื อโดยอ้ อม (เช่น ได้ มาจากราคา) สาหรับ สินทรัพย์นนหรื ั ้ อหนี ้สินนันนอกเหนื ้ อจากราคาเสนอซื ้อขายซึง่ รวมอยูใ่ นข้ อมูลระดับ 1
134
ข้ อมูลระดับ 3 เป็ นข้ อมูลสาหรับสินทรั พย์หรื อหนี ้สินที่ไม่ได้ มาจากข้ อมูลที่สงั เกตได้ (ข้ อมูลที่ไม่สามารถ สังเกตได้ )
หากข้ อมูลที่นามาใช้ ในการวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หรื อหนี ้สินถูกจัดประเภทลาดับชันของมู ้ ลค่ายุติธรรมที่ แตกต่างกัน การวัดมูลค่าโดยรวมจะถูกจัดประเภทในภาพรวมในระดับเดียวกันตามลาดับชันของมู ้ ลค่ายุติธรรม ของข้ อมูลที่อยูใ่ นระดับต่าสุดที่มีนยั สาคัญสาหรับการวัดมูลค่ายุติธรรมโดยรวมบริ ษัทรับรู้ การโอนระหว่างลาดับชัน้ ของมูลค่ายุติธรรม ณ วันสิ ้นรอบระยะเวลารายงานที่เกิดการโอนขึ ้น ข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้ อสมมติฐานที่ใช้ ในการวัดมูลค่ายุติธรรม อยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงิน ดังต่อไปนี ้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 32 3
เครื่ องมือทางการเงิน
นโยบายการบัญชีท่ สี าคัญ นโยบายการบัญชีที่นาเสนอดังต่อไปนี ้ได้ ถือปฏิบตั ิโดยสม่าเสมอสาหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน
3.1
เงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชี ทีเ่ ป็ นเงิ นตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็ นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นสกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงานของบริ ษัท โดยใช้ อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี ้สินที่เป็ นตัวเงินและเป็ นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ในรายงาน แปลงค่าเป็ นสกุลเงินบาทที่ใช้ ใน การดาเนินงาน โดยใช้ อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันนัน้ สินทรัพย์และหนี ้สินที่ไม่เป็ นตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ ซึ่งบันทึกตามเกณฑ์ราคา ทุนเดิมแปลงค่าเป็ นสกุลเงินบาทที่ใช้ ในการดาเนินงานโดยใช้ อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันที่เกิดรายการ ผลต่างของอัตราแลกเปลีย่ นที่เกิดขึ ้นจากการแปลงค่าจะรับรู้เป็ นกาไรหรื อขาดทุนในงวดบัญชีนนั ้
135
3.2
เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในงบกระแสเงินสด ประกอบด้ วยยอดเงิ นสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภท เผื่อเรี ยก และเงินลงทุนระยะสันที ้ ่มีสภาพคล่องสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งจะต้ องชาระคืนเมื่อทวงถามถือเป็ น ส่วนหนึง่ ของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด
3.3
ลูกหนี้การค้ าและลูกหนี้หมุนเวียนอื่น ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้หมุนเวียนอื่นแสดงในราคาตามใบแจ้ งหนี ้หักค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการชาระหนี ้ และการคาดการณ์ เกี่ยวกับการชาระหนี ้ใน อนาคตของลูกค้ า ลูกหนี ้จะถูกตัดจาหน่ายบัญชีเมื่อทราบว่าเป็ นหนี ้สูญ
3.4
สินค้ าคงเหลือ สินค้ าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรื อมูลค่าสุทธิที่จะได้ รับแล้ วแต่ราคาใดจะต่ากว่า สินค้ าสาเร็ จรูปและสินค้ าระหว่างผลิตคานวณต้ นทุนโดยวิธีถวั เฉลีย่ วัตถุดิบ อะไหล่และวัสดุโรงงานคานวณโดยวิธี เข้ าก่อนออกก่อน ต้ น ทุน สิ น ค้ า ประกอบด้ ว ย ราคาทุน ที่ ซื อ้ ต้ น ทุน ในการแปลงสภาพหรื อ ต้ น ทุน อื่ น เพื่ อ ให้ สิน ค้ า อยู่ใ นสถานที่ และสภาพปั จจุบนั ในกรณี ของสินค้ าสาเร็ จรู ปและสินค้ าระหว่างผลิตที่ผลิตเอง ต้ นทุนสินค้ าประกอบด้ วย ต้ นทุน วัตถุดิบ ต้ นทุนในการแปลงสภาพ รวมการปั นส่วนของค่าใช้ จ่ายโสหุ้ยการผลิตอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงระดับ การผลิตตามปกติ มูลค่าสุทธิที่จะได้ รับเป็ นการประมาณราคาที่จะขายได้ จากการดาเนินธุรกิจปกติหกั ด้ วยค่าใช้ จ่ายที่จาเป็ นในการขาย
3.5
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ การรับรู้และการวัดค่า สิ นทรัพย์ทีเ่ ป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของกิ จการ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์แสดงด้ วยราคาทุนหักค่าเสือ่ มราคาสะสม และผลขาดทุนจากการด้ อยค่าสะสม
136
ราคาทุนรวมถึงต้ นทุนทางตรงที่เกี่ ยวข้ องกับการได้ มาของสินทรั พย์ ต้ นทุนของการก่อสร้ างสินทรั พย์ ที่กิจการ ก่อสร้ างเอง รวมถึงต้ นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้ นทุนทางตรงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการจัดหาสินทรัพย์ เพื่อให้ สนิ ทรัพย์นนอยู ั ้ ใ่ นสภาพที่พร้ อมจะใช้ งานได้ ตามความประสงค์ ต้ นทุนในการรื อ้ ถอน การขนย้ าย การบูรณะ สถานที่ตงของสิ ั้ นทรัพย์ ส่วนประกอบของรายการอาคารและอุปกรณ์ แต่ละรายการที่มีอายุการให้ ประโยชน์ไม่เท่ากันต้ องบันทึกแต่ละ ส่วนประกอบที่มีนยั สาคัญแยกต่างหากจากกัน กาไรหรื อขาดทุนจากการจาหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ คือผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิ ที่ได้ รับจากการ จาหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยรับรู้สทุ ธิเป็ นรายได้ อื่นในกาไรหรื อขาดทุน สิ นทรัพย์ทีเ่ ช่า การเช่าซึ่งบริ ษัทได้ รับส่วนใหญ่ ของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์ สินที่เช่านัน้ ๆ ให้ จัด ประเภทเป็ นสัญญาเช่าการเงิน อุปกรณ์ที่ได้ มาโดยทาสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็ นสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุติธรรมหรื อ มูลค่าปั จจุบนั ของจานวนเงิ นขันต ้ ่าที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้ วแต่จานวนใดจะต่ากว่า หักด้ วยค่าเสื่อมราคา สะสมและผลขาดทุนจากการด้ อยค่าสะสม ค่าเช่าที่ชาระจะแยกเป็ นส่วนที่เป็ นค่าใช้ จ่ายทางการเงิน และส่วนที่จะ หักจากหนี ้ตามสัญญา เพื่อทาให้ อตั ราดอกเบี ้ยแต่ละงวดเป็ นอัตราคงที่สาหรับยอดคงเหลือของหนี ้สิน ค่าใช้ จ่ายทาง การเงินจะบันทึกโดยตรงในกาไรหรื อขาดทุน ต้นทุนทีเ่ กิ ดขึ้นในภายหลัง ต้ นทุนในการเปลี่ยนแทนส่ว นประกอบจะรั บรู้ เป็ นส่วนหนึ่งของมูลค่า ตามบัญชี ของรายการที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ ถ้ ามีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่ที่บริ ษัทจะได้ รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนัน้ และ สามารถวัดมูลค่าต้ นทุนของรายการนันได้ ้ อย่างน่าเชื่อถือ ชิ ้นส่วนที่ถกู เปลีย่ นแทนจะถูกตัดจาหน่ายตามมูลค่าตาม บัญชี ต้ นทุนที่เกิดขึ ้นในการซ่อมบารุงอาคารและอุปกรณ์ที่เกิดขึ ้นเป็ นประจาจะรับรู้ในกาไรหรื อขาดทุนเมื่อเกิดขึ ้น ค่าเสือ่ มราคา ค่าเสือ่ มราคา คานวณจากมูลค่าเสือ่ มสภาพของรายการอาคารและอุปกรณ์ ซึง่ ประกอบด้ วยราคาทุนของสินทรัพย์ หรื อต้ นทุนในการเปลีย่ นแทนอื่นหักด้ วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์
137
ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็ นค่าใช้ จ่ายในกาไรหรื อขาดทุน คานวณโดยวิธีเส้ นตรงตามเกณฑ์ อายุการให้ ประโยชน์ โดยประมาณของส่วนประกอบของสินทรั พย์ แต่ละรายการ ประมาณการอายุการให้ ประโยชน์ของสินทรั พย์ แสดง ได้ ดงั นี ้ :อาคารและส่วนประกอบอาคาร เครื่ องจักรและอุปกรณ์ แม่พิมพ์ (ตามหน่วยของผลผลิตซึง่ ประมาณไว้ ) เครื่ องตกแต่งและเครื่ องใช้ สานักงาน ยานพาหนะ
5 - 30 ปี 5 - 20 ปี 19,152 ชิ ้น – 500,000 ชิ ้น 3 - 5 ปี 5 ปี
ส่วนประกอบอาคาร ได้ แก่ ระบบสาธารณูปโภคและระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตังบนหลั ้ งคา บริ ษัทไม่คิดค่าเสือ่ มราคาสาหรับที่ดินและส่วนปรับปรุงที่ดิน และสินทรัพย์ที่อยูร่ ะหว่างก่อสร้ าง หน่วยของผลผลิตของแม่พิมพ์ บริ ษัทประมาณการตามกาลังการผลิตของแม่พิมพ์ที่คาดว่าจะผลิตได้ ซึง่ ไม่เกินกว่า จานวนปริ มาณตามคาสัง่ ซื ้อของลูกค้ า วิธีการคิดค่าเสือ่ มราคา อายุการให้ ประโยชน์ของสินทรัพย์และมูลค่าคงเหลือถูกทบทวนอย่างน้ อยที่สดุ ทุกสิ ้นรอบ ปี บัญชีและปรับปรุงตามความเหมาะสม 3.6
สินทรั พย์ ไม่ มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่บริ ษัทซื ้อมาและมีอายุการใช้ งานจากัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจาหน่ายสะสม และขาดทุน จากการด้ อยค่าสะสม ค่าตัดจาหน่าย ค่าตัดจาหน่ายคานวณจากราคาทุนของสินทรัพย์หรื อจานวนอื่นที่ใช้ แทนราคาทุนหักด้ วยมูลค่าคงเหลือ ค่าตัดจาหน่ายรับรู้ในกาไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้ นตรง ซึง่ โดยส่วนใหญ่จะสะท้ อนรูปแบบที่ค าดว่าจะได้ รับประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากสินทรัพย์นนตามระยะเวลาที ั้ ่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์จากสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน โดยเริ่ ม ตัดจาหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตวั ตนเมื่อสินทรัพย์นนพร้ ั ้ อมที่จะให้ ประโยชน์ ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์แสดง ได้ ดงั นี ้
138
ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์
2 - 10 ปี
วิธีการตัดจาหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์ และมูลค่าคงเหลือจะได้ รับการทบทวนทุกสิ ้นรอบปี บัญชี และปรับปรุงตามความเหมาะสม 3.7
การด้ อยค่ า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของบริ ษัทได้ รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่า มีข้อบ่งชี ้เรื่ องการด้ อยค่าหรื อไม่ ในกรณีที่มี ข้ อบ่งชี ้จะทาการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้ รับคืน ขาดทุนจากการด้ อยค่ารับรู้ เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ หรื อมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้ เกิด เงินสดสูงกว่ามูลค่าที่จะได้ รับคืน ขาดทุนจากการด้ อยค่าบันทึกในกาไรหรื อขาดทุน การคานวณมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง มูลค่าจากการใช้ ของสินทรัพย์ หรื อ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หกั ต้ นทุนในการขาย แล้ วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมิน มูลค่าจากการใช้ ของ สินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้ รับในอนาคตจะคิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยใช้ อตั ราคิดลดก่อนคานึง ภาษี เงิ นได้ เพื่ อให้ สะท้ อนมูลค่า ที่อ าจประเมิ นได้ ใ นตลาดปั จจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ย งที่ มีต่อ สินทรัพย์ สาหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้ เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่น จะพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะ ได้ รับคืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้ เกิดเงินสดที่สนิ ทรัพย์นนมี ั ้ ความเกี่ยวข้ องด้ วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สนิ ทรัพย์ทางการเงินอื่นที่เคยรับรู้ในงวดก่ อน จะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชีเ้ รื่ องการด้ อยค่าหรื อไม่ ขาดทุนจากการด้ อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลง ประมาณการที่ใช้ ในการคานวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืน ขาดทุนจากการด้ อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเท่าที่ มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสื่อมราคาหรื อค่าตัดจาหน่าย เสมือนหนึ่ง ไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้ อยค่ามาก่อน
3.8
เจ้ าหนี้การค้ าและเจ้ าหนี้หมุนเวียนอื่น เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหมุนเวียนหนี ้อื่นแสดงในราคาทุน
139
3.9
ผลประโยชน์ ของพนักงาน ก) ผลประโยชน์ระยะสัน้ ของพนักงาน ภาระผูกพันของผลประโยชน์ ระยะสันของพนั ้ กงานซึ่งประกอบด้ วย เงินเดือน ค่าแรง โบนัสและเงินสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดมูลค่าโดยมิได้ คิดลดกระแสเงินสดและเป็ นค่าใช้ จ่ายเมื่อพนักงานทางานให้ หนี ้สิน รับรู้ ด้ วยมูลค่าที่คาดว่าจะจ่ายชาระ หากบริ ษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระผูกพันโดยอนุมานที่ จะต้ องจ่ายอันเป็ นผลมาจากการที่พนักงานได้ ทางานให้ ในอดีต และภาระผูกพันนี ้สามารถประมาณได้ อย่าง สมเหตุสมผล ข) ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน บริ ษัทได้ บนั ทึกผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานจากการตังโครงการสมทบเงิ ้ น (ภายใต้ ข้อกาหนดตาม พระราชบัญญัติกองทุนสารองเลี ้ยงชีพ พ.ศ. 2530) และโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ (ภาระผูกพันเมื่อ พนักงานเกษี ยณอายุตามพระราชบัญญัติค้ มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541) -
โครงการสมทบเงิ น โครงการสมทบเงินเป็ นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน ซึ่งกิจการจ่ายสมทบเป็ น จานวนเงินที่แน่นอนไปอีกกิจการหนึง่ แยกต่างหาก (กองทุนสารองเลี ้ยงชีพ) และจะไม่มีภาระผูกพันตาม กฎหมายหรื อภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้ องจ่ายสมทบเพิ่มเติม ภาระผูกพันในการสมทบเข้ าโครงการ สมทบเงินจะถูกรับรู้ เป็ นค่าใช้ จ่ายพนักงานในกาไรขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานได้ ทางานให้ แก่ กิจการ
-
โครงการผลประโยชน์ทีก่ าหนดไว้ โครงการผลประโยชน์ ที่กาหนดไว้ เป็ นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานนอกเหนือจากโครงการ สมทบเงิน ภาระผูกพันสุทธิของบริ ษัทจากโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ ถกู คานวณจากการประมาณ ผลประโยชน์ ในอนาคตที่เกิ ดจากการทางานของพนักงานในปั จจุบันและในงวดก่อนๆ ผลประโยชน์ ดังกล่าวได้ มีการคิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้ เป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยใช้ อตั รา ณ วันที่รายงานของพันธบัตร รัฐบาล ซึง่ มีระยะเวลาครบกาหนดใกล้ เคียงกับระยะเวลาครบกาหนดชาระภาระพูกพัน ของบริ ษัท และมี สกุลเงิ นเดี ยวกับสกุลเงิ นของผลประโยชน์ ที่คาดว่าจะจ่ าย การค านวณนัน้ จัดท าโดยนัก คณิ ต ศาสตร์ ประกันภัย โดยใช้ วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้
140
บริ ษัทรับรู้ กาไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยทังหมดที ้ ่เกิดขึ ้นจากโครงการ ผลประโยชน์กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นทันที ค) ผลประโยชน์ระยะยาวอืน่ ของพนักงาน ภาระผูกพันสุทธิของบริ ษัทที่เป็ นผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการทางานของพนักงานในปั จจุบนั และใน งวดก่อนๆ ซึง่ ผลประโยชน์นี ้ได้ คิดลดกระแสเงินสด เพื่อให้ เป็ นมูลค่าปั จจุบนั การวัดมูลค่าใหม่จะรับรู้ ไนกาไร หรื อขาดทุนเมื่อเกิดขึ ้น ง) ผลประโยชน์เมื ่อเลิ กจ้าง ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้ างจะรับรู้ เป็ นค่าใช้ จ่ายเมื่อวันใดวันหนึ่งต่อไปนี ้เกิดขึ ้นก่อน เมื่อบริ ษัทไม่สามารถยกเลิก ข้ อเสนอการให้ ผลประโยชน์ ดังกล่ าวได้ อี กต่อไป หรื อเมื่ อบริ ษั ทรั บรู้ ต้ นทุนสาหรั บการปรั บโครงสร้ าง หาก ระยะเวลาการจ่ายผลประโยชน์เกินกว่า 12 เดือนนับจากวันสิ ้นรอบระยะเวลารายงานผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้ างจะ ถูกคิดลดกระแสเงินสด 3.10 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี ้สินที่มีภาระดอกเบี ้ยบันทึกเริ่ มแรกในราคาทุนหักค่าใช้ จ่ายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี ้สิน ภายหลังจากการบันทึก หนี ้สินที่มีภาระดอกเบี ้ยจะบันทึกต่อมาโดยวิธีราคาทุนตัดจาหน่าย ผลต่างระหว่างยอดหนี ้เริ่ มแรก และยอดหนี ้เมื่อ ครบกาหนดไถ่ถอน จะบันทึกในกาไรหรื อขาดทุนตลอดอายุการกู้ยืมโดยวิธีอตั ราดอกเบี ้ยที่แท้ จริ ง 3.11 ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี ้สินจะรับรู้ ก็ต่อเมื่อบริ ษัทมีภาระหนี ้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั หรื อที่ก่อตัวขึ ้นอันเป็ นผล มาจากเหตุก ารณ์ ใ นอดี ต และมี ค วามเป็ นไปได้ ค่อ นข้ างแน่น อนว่า ประโยชน์ เ ชิ งเศรษฐกิ จ จะต้ อ งถูก จ่ า ยไป เพื่อชาระภาระหนี ้สินดังกล่าว ประมาณการหนี ้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้ อตั รา คิดลดในตลาดปั จจุบนั ก่อนคานึงถึงภาษี เงินได้ เพื่อให้ สะท้ อนจานวนที่อาจประเมินได้ ในตลาดปั จจุบนั ซึ่งแปรไปตาม เวลาและความเสีย่ งที่มีตอ่ หนี ้สิน 3.12 การจ่ ายโดยใช้ ห้ ุนเป็ นเกณฑ์ โครงการให้ สิทธิ ซือ้ หุ้นแก่พนักงานของบริ ษัทอนุญาตให้ กรรมการและพนักงานมีสิทธิ ซื ้อหุ้นของบริ ษัทภายใต้ เงื่อนไขที่กาหนด จานวนเงินที่ได้ รับจากการใช้ สทิ ธิสทุ ธิจากค่าใช้ จ่ายเกี่ยวกับการใช้ สิทธิจะรับรู้ ในทุนเรื อนหุ้นและ ส่วนเกินมูลค่าหุ้นเมื่อมีการใช้ สทิ ธิซื ้อหุ้นแล้ ว
141
มูลค่ายุติธรรมของสิทธิซื ้อหุ้น ณ วันที่ให้ สทิ ธิแก่พนักงานรับรู้ เป็ นค่าใช้ จ่ายพนักงานพร้ อมกับการเพิ่มขึ ้นในส่วนของผู้ ถือหุ้น ตลอดระยะเวลาที่พนักงานสามารถใช้ สทิ ธิได้ อย่างไม่มีเงื่อนไข จานวนที่รับรู้เป็ นค่าใช้ จ่ายจะถูกปรับปรุ งเพื่อให้ สะท้ อนถึงจานวนสิทธิซื ้อหุ้นที่แท้ จริ งซึ่งเงื่อนไขการให้ บริ การที่เกี่ยวข้ องและเงื่อนไขการได้ รับสิทธิที่ไม่ใช่เงื่อนไขเรื่ อง ตลาดทุน 3.13 เงินปั นผลจ่ าย เงินปั นผลจ่ายและเงินปั นผลระหว่างกาลจะบันทึกในรอบระยะเวลาบัญชีซงึ่ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นและคณะกรรมการของ บริ ษัทได้ อนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผล 3.14 รายได้ รายได้ ที่รับรู้ไม่รวมภาษี มลู ค่าเพิ่ม และแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้ า รายได้จากการขายสิ นค้า รายได้ จะรับรู้ในกาไรหรื อขาดทุนเมื่อได้ โอนความเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้ าของสินค้ าที่มีนยั สาคัญ ไป ให้ กับผู้ซื ้อแล้ ว และจะไม่รับรู้ รายได้ ถ้าฝ่ ายบริ หารยังมีการควบคุมหรื อบริ หารสินค้ าที่ขายไปแล้ วนันหรื ้ อมีความไม่ แน่นอนที่มีนยั สาคัญในการได้ รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากการขายสินค้ านัน้ ไม่อาจวัดมูลค่าของจานวนรายได้ และ ต้ นทุนที่เกิดขึ ้นได้ อย่างน่าเชื่อถือ หรื อมีความเป็ นไปได้ คอ่ นข้ างแน่นอนที่จะต้ องรับคืนสินค้ า รายได้บริ การจัดหาแม่พิมพ์ รายได้ บริ การจัดหาแม่พิมพ์รับรู้ เป็ นรายได้ เมื่อให้ บริ การจัดหาแม่พิมพ์ แล้ ว และแม่ พิมพ์ผ่านการทดสอบผลผลิตที่ ยอมรับจากลูกค้ าตามเงื่อนไขแล้ ว รายได้ จากการให้ บริ การอื่นรับรู้เมื่อมีการให้ บริ การ ดอกเบีย้ รับและรายได้อืน่ ดอกเบี ้ยรับและรายได้ อื่นบันทึกในกาไรหรื อขาดทุนตามเกณฑ์คงค้ าง 3.15 ค่ าใช้ จ่าย ค่าใช้ จ่ายบันทึกตามเกณฑ์คงค้ าง
142
3.16 สัญญาเช่ าดาเนินงาน รายจ่ายภายใต้ สญ ั ญาเช่าดาเนินงานบันทึกในกาไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้ นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ประโยชน์ที่ ได้ รับตามสัญญาเช่าจะรับรู้ในกาไรหรื อขาดทุนเป็ นส่วนหนึง่ ของค่าเช่าทังสิ ้ ้นตามสัญญาตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ ้นต้ องนามารวมคานวณเงิ นขันต ้ ่าที่ต้องจ่ายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเช่า เมื่อได้ รับ การยืนยันการปรับค่าเช่า การประเมินว่ าข้ อตกลงประกอบด้ วยสัญญาเช่ าหรือไม่ ณ วันที่เริ่ มต้ นข้ อตกลง บริ ษัทจะพิจารณาว่าข้ อตกลงดังกล่าวประกอบด้ วยสัญ ญาเช่าหรื อมีสญ ั ญาเช่าเป็ น ส่วนประกอบหรื อไม่ โดยพิจารณาจากสินทรัพย์ที่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจง ถ้ าการปฏิบตั ิตามข้ อตกลงนันขึ ้ ้นอยู่กบั การใช้ สนิ ทรัพย์ที่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจง และข้ อตกลงนันจะน ้ าไปสูส่ ิทธิในการใช้ สินทรัพย์ ถ้ าทาให้ บริ ษัทมีสิทธิ ในการควบคุมการใช้ สนิ ทรัพย์ ณ วันที่เริ่ มต้ นข้ อตกลง หรื อ มีการประเมิ นข้ อตกลงใหม่ บริ ษัทแยกค่าตอบแทนสาหรับสัญญาเช่าและส่วนที่เป็ น องค์ประกอบอื่นโดยใช้ มลู ค่ายุติธรรมเป็ นเกณฑ์ในการแยก หากบริ ษัทสรุปว่าเป็ นสัญญาเช่าการเงิน แต่ไม่สามารถ แบ่งแยกจานวนดังกล่าวได้ อ ย่างน่า เชื่ อถื อ ให้ รับ รู้ สินทรั พย์ และหนีส้ ินในจานวนที่เท่า กับมูลค่ายุติ ธรรมของ สินทรัพย์ที่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจงนัน้ หลังจากนันจ ้ านวนหนี ้สินจะลดลงตามจานวนที่จ่าย และต้ นทุนทางการเงิน ตามนัยจากหนี ้สินจะรับรู้โดยใช้ อตั ราดอกเบี ้ยเงินกู้ยืมส่วนเพิ่มของบริ ษัท 3.17 ต้ นทุนทางการเงิน ต้ นทุนทางการเงินประกอบด้ วย ดอกเบี ้ยจ่ายของเงินกู้ยืมและประมาณการหนี ้สินส่วนเพิ่มขึ ้น เนื่องจากเวลาที่ผ่าน ไป และสิง่ ตอบแทนที่คาดว่าจะต้ องจ่าย ต้ นทุนการกู้ยืมที่ไม่ได้ เกี่ ยวข้ องกับการได้ มา การก่อสร้ าง หรื อการผลิตสินทรั พย์ ที่เข้ าเงื่ อนไข รับรู้ ในกาไรหรื อ ขาดทุนโดยใช้ วิธีอตั ราดอกเบี ้ยที่แท้ จริ ง
3.18 ภาษีเงินได้ ค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้ สาหรับปี ประกอบด้ วยภาษี เงินได้ ของปี ปั จจุบนั และภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี ภาษี เงินได้ ของปี ปั จจุบนั และภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีรับรู้ในกาไรหรื อขาดทุนเว้ นแต่ในส่วนที่เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวข้ องในการรวม ธุรกิจ หรื อรายการที่รับรู้โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้นหรื อกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น
143
ภาษี เงินได้ ของปี ปั จจุบนั ได้ แก่ ภาษี ที่คาดว่าจะจ่ายชาระหรื อได้ รับชาระ โดยคานวณจากกาไรหรื อขาดทุนประจาปี ที่ต้องเสียภาษี โดยใช้ อตั ราภาษี ที่ประกาศใช้ หรื อที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุ งทาง ภาษี ที่เกี่ยวกับรายการในปี ก่อน ๆ ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีบนั ทึกโดยคานวณจากผลแตกต่างชัว่ คราวที่เกิดขึ ้นระหว่างมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ และหนีส้ ินและจานวนที่ใช้ เพื่อความมุ่งหมายทางภาษี ภาษี เงิ นได้ รอการตัดบัญชี จะไม่ถูกรับรู้ เมื่อเกิดจ ากผล แตกต่างชั่วคราวต่อไปนี ้ เกิดจากการรับรู้ ค่าความนิยมในครัง้ แรก การรับรู้ สินทรัพย์หรื อหนี ้สินในครัง้ แรก ซึ่งเป็ น รายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจและรายการนันไม่ ้ มีผลกระทบต่อกาไรขาดทุนทางบัญชีหรื อทางภาษี และผลแตกต่างที่ เกี่ยวข้ องกับเงินลงทุนในบริ ษัทย่อย หากเป็ นไปได้ วา่ จะไม่มีการกลับรายการในอนาคตอันใกล้ การวัดมูลค่าของภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีต้องสะท้ อนถึงผลกระทบทางภาษี ที่จะเกิดจากลักษณะวิธีการที่บริ ษัท คาดว่าจะได้ รับผลประโยชน์จากสินทรัพย์หรื อจะจ่ายชาระหนี ้สินตามมูลค่าตามบัญชี ณ วันที่สิ ้นรอบระยะเวลาที่ รายงาน ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้ อตั ราภาษี ที่คาดว่าจะใช้ กบั ผลแตกต่างชัว่ คราวเมื่อมีการกลับรายการ โดยใช้ อตั ราภาษี ที่ประกาศใช้ หรื อที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ในการกาหนดมูลค่าของภาษี เงินได้ ของปี ปั จจุบนั และภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี บริ ษัทต้ องคานึงถึงผลกระทบของ สถานการณ์ทางภาษี ที่ไม่แน่นอนและอาจทาให้ จานวนภาษี ที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ ้น และมีดอกเบี ้ยที่ต้องชาระบริ ษัทเชื่อ ว่าได้ ตงภาษี ั้ เงินได้ ค้างจ่ายเพียงพอสาหรับภาษี เงินได้ ที่จะจ่ายในอนาคต ซึ่งเกิดจากการประเมินผลกระทบจาก หลายปั จจัย รวมถึงการตีความทางกฎหมายภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี ้อยู่บนพื ้นฐานการ ประมาณการและข้ อสมมติฐาน และอาจจะเกี่ยวข้ องกับการตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ ในอนาคต ข้ อมูลใหม่ๆ อาจจะทาให้ บริ ษัทเปลีย่ นการตัดสินใจโดยขึ ้นอยูก่ บั ความเพียงพอของภาษี เงินได้ ค้างจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลง ในภาษี เงินได้ ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้ ในงวดที่เกิดการเปลีย่ นแปลง สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีและหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้ เมื่อกิจการมีสิทธิตาม กฎหมายที่จะนาสินทรัพย์ภาษี เงินได้ ของปี ปั จจุบนั มาหักกลบกับหนี ้สินภาษี เงินได้ ของปี ปั จจุบนั และภาษี เงินได้ นี ้ ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษี หน่วยงานเดียวกันสาหรับหน่วยภาษี เดียวกันหรื อหน่วยภาษี ต่างกัน สาหรับ หน่วยภาษี ต่างกันนันกิ ้ จการมีความตังใจจะจ่ ้ ายชาระหนี ้สินและสินทรัพย์ภาษี เงินได้ ของปี ปั จจุบนั ด้ วยยอดสุทธิ หรื อตังใจจะรั ้ บคืนสินทรัพย์และจ่ายชาระหนี ้สินในเวลาเดียวกัน สินทรั พย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี จะบันทึกต่อเมื่อมีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่นอนว่ากาไรเพื่อเสียภาษี ใน อนาคตจะมีจานวนเพียงพอกับการใช้ ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัด บัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลงเท่าที่ประโยชน์ทางภาษี จะมีโอกาสถูกใช้ จริ ง
144
3.19 กาไรต่ อหุ้น กาไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน บริ ษัทแสดงกาไรต่อหุ้นขันพื ้ ้นฐาน คานวณโดยการหารกาไรหรื อขาดทุนของผู้ถือหุ้นสามัญของบริ ษัทด้ วยจานวนหุ้น สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน ้าหนักที่ออกจาหน่ายระหว่างปี กาไรต่อหุน้ ปรับลด บริ ษัทแสดงกาไรต่อหุ้นปรับลด คานวณโดยการหารกาไรหรื อขาดทุน ของผู้ถือหุ้นสามัญของบริ ษัทด้ วยจานวนหุ้น สามัญที่ออกจาหน่ายแล้ วระหว่างปี โดยวิธีถวั เฉลีย่ ถ่วงน ้าหนัก ภายหลังจากที่ได้ ปรับปรุงผลกระทบของหุ้นปรับลด
3.20 รายงานทางการเงินจาแนกตามส่ วนงาน ผลการดาเนินงานของส่วนงานที่รายงานต่อคณะกรรมการบริ ษัท (ผู้มีอานาจตัดสินใจสูงสุดด้ านการดาเนินงาน) จะ แสดงถึงรายการที่เกิดขึ ้นจากส่วนงานดาเนินงานนันโดยตรงรวมถึ ้ งรายการที่ได้ รับการปั นส่วนอย่างสมเหตุสมผล 3.21 เครื่องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพันธ์ สินทรัพย์ทางการเงินและหนี ้สินทางการเงินที่ปรากฏในงบแสดงฐานะการเงิน รวมถึง เงินสดและรายการเทีย บเท่า เงิน สด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี ้การค้ า ลูกหนี ้หมุนเวียนอื่น เจ้ าหนี ้การค้ า เจ้ าหนี ้หมุนเวียนอื่น และเงินกู้ยืม 4
บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน เพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดทางบการเงิน บุคคลหรื อกิจการเป็ นบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกันกับบริ ษัท หากบริ ษัทมี อานาจควบคุมหรื อควบคุมร่วมกันทังทางตรงและทางอ้ ้ อมต่อบุคคลหรื อกิจการในการตัดสินใจทางการเงินและการ บริ หารหรื อในทางกลับกัน หรื อบริ ษัทอยูภ่ ายใต้ การควบคุมเดียวกันหรื ออยูภ่ ายใต้ อิทธิพลอย่างมีนยั สาคัญเกี่ยวกับ บุคคลหรื อกิจการนัน้ การเกี่ยวข้ องกันนี ้อาจเป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกิจการ ความสัมพันธ์ที่บริ ษัทมีกบั บุคคลหรื อผู้บริ หารสาคัญ หรื อกิจการทีเ่ กี่ยวข้ องกัน มีดงั นี ้
145
บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด บริ ษัท จุฑาวรรณ จากัด บริ ษัท จุฑาวรรณ เมทัลแล็บ จากัด บริ ษัท อาพล จากัด บริ ษั ท รี ก้ า เจที ดับ บลิ ว ฮี ท ทรี ท เม้ นท์ จากัด บริ ษัท เจทีดบั บลิว แอ็ซแซท จากัด บริ ษั ท ปิ่ นทอง อิ น ดั ส เตรี ยล ปาร์ ค จากัด (มหาชน) บริ ษัท ปิ่ นทองสตีล จากัด บริ ษัท ฟอร์ เอเวอร์ ออฟอิวเลนซ์ จากัด
10. บริ ษัท แอล.เอช.โลจิสติกส์ จากัด 11. นายนิพนั ธ์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม 12. ผู้บริ หารสาคัญ
ประเทศที่ จัดตัง้ ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
ลักษณะความสัมพันธ์ มีผ้ ถู ือหุ้นและกรรมการร่วมกัน มีผ้ ถู ือหุ้นร่วมกัน มีผ้ ถู ือหุ้นร่วมกัน มีผ้ ถู ือหุ้นร่วมกัน มีผ้ ถู ือหุ้นร่วมกัน
ไทย ไทย
มีผ้ ถู ือหุ้นร่วมกัน มีผ้ ถู ือหุ้นร่วมกัน
ไทย ไทย
มีผ้ ถู ือหุ้นร่วมกัน มีผ้ ถู ือหุ้นและกรรมการ เป็ นผู้บริ หารของบริ ษัท
ไทย ไทย ไทย
มีผ้ ถู ือหุ้นร่วมกัน ผู้ถือหุ้นและกรรมการ บุคคลที่มีอานาจ และความรับผิดชอบ การวางแผนสัง่ การ และควบคุ ม กิ จ กรรมต่ า ง ๆ ของกิ จ การไม่ ว่ า ทางตรงหรื อทางอ้ อม (ทังนี ้ ้รวมถึงกรรมการของ บริ ษัท ไม่วา่ จะทาหน้ าที่เป็ นผู้บริ หารหรื อไม่)
นโยบายการกาหนดราคาสาหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ ดงั ต่อไปนี ้ รายการ
นโยบายการกาหนดราคา ราคาทีต่ กลงร่วมกัน/ราคาทีเ่ ทียบเคียงกับบุคคลภายนอก ราคาทีต่ กลงร่วมกัน/ราคาทีเ่ ทียบเคียงกับบุคคลภายนอก ราคาทีต่ กลงร่วมกัน อัตราร้ อยละ 6 ต่อปี ตามที่ได้ รับอนุมตั ิจากกรรมการและผู้ถือหุ้นของบริ ษัท
รายได้ จากการขาย ซื ้อสินค้ าและบริ การ ค่าเช่าและบริ การ ดอกเบี ้ยจ่าย ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริ หารสาคัญ ได้ แก่ เงินเดือน เบี ้ยประชุม และผลตอบแทนอื่น ๆ รายการที่สาคัญกับบุคคลหรื อผู้บริ หารสาคัญหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน สาหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สรุ ปได้ ดังนี ้
146
2561
2560 (บาท)
รายได้ บริษัทที่เกี่ยวข้ องกัน รายได้ จากการขาย ซื้ออุปกรณ์ บริษัทที่เกี่ยวข้ องกัน ซื ้ออุปกรณ์ ค่ าใช้ จ่าย บริษัทที่เกี่ยวข้ องกัน ซื ้อสินค้ าและบริ การ ค่าเช่ายานพาหนะ ดอกเบี ้ยจ่าย บุคคลที่เกี่ยวข้ องกัน ดอกเบี ้ยจ่าย ผู้บริหารสาคัญ ผลประโยชน์ระยะสัน้ ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม
654,466
1,395,728
-
99,203
1,067,352 3,087,530 606,986
2,050,347 2,547,807 900,000
-
62,329
14,328,645 14,328,645
14,410,902 48,106 14,459,008
ยอดคงเหลือกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี ้ ลูกหนี้การค้ า – กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน 2561
2560 (บาท)
บริษัทที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด รวม
102,154 102,154
1 39,473 139,473
147
เจ้ าหนี้การค้ า – กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน 2561
2560 (บาท)
บริษัทที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษัท รี ก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรี ทเม้ นท์ จากัด บริ ษัท จุฑาวรรณ จากัด บริ ษัท ปิ่ นทองสตีล จากัด บริ ษัท ฟอร์ เอเวอร์ ออฟอิวเลนซ์ จากัด รวม
37,469 32,250 46,621 116,340
79,476 8,453 28,995 87,808 204,732
เจ้ าหนี้หมุนเวียนอืน่ – กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน 2561
2560 (บาท)
ผู้บริหารที่สาคัญ ค่าใช้ จา่ ยค้ างจ่าย รวม
15,000 15,000
15,000 15,000
เงินกู้ยมื ระยะสั้น – กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน 2561
2560 (บาท)
บริษัทที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด บริ ษัท เจทีดบั บลิว แอ็ซแซท จากัด รวม
10,000,000 10,000,000
7,500,000 7,500,000 15,000,000
รายการเคลือ่ นไหวของเงินกู้ยืมระยะสันจากบุ ้ คคลและกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี ้ 2561 ยอด ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ ้นระหว่างปี ลดลงระหว่างปี ยอด ณ วันที่ 31 ธันวาคม
2560
(บาท) 15,000,000 2,500,000 (7,500,000) 10,000,000
148
15,000,000 12,500,000 (12,500,000) 15,000,000
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 เงินกู้ยืมระยะสันจากบริ ้ ษัทที่เกี่ยวข้ องกันจานวน 10 ล้ านบาท เป็ นตัว๋ สัญญาใช้ เงิน ครบ กาหนดชาระคืนในวันที่ 30 มิถนุ ายน 2562 อัตราดอกเบี ้ยร้ อยละ 6 ต่อปี ค่ าตอบแทนกรรมการ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริ ษัท เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2561 มีมติอนุมตั ิค่าตอบแทนกรรมการให้ แก่กรรมการ ประจาปี 2561 แบ่งเป็ นเบี ้ยประชุมคณะกรรมการท่านละ 5,000 บาท ต่อครัง้ และค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจสอบ ท่านละ 5,000 บาท ต่อเดือน และเบี ้ยประชุมคณะกรรมการตรวจสอบท่านละ 5,000 บาท ต่อครัง้ สัญญาสาคัญกับกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษัททาสัญญาเช่ายานพาหนะกับบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกันสามแห่ง (บริ ษัท อาพล จากัด, บริ ษัท ฟอร์ เอเวอร์ ออฟอิว เลนซ์ จากัด และ บริ ษัท แอล.เอช.โลจิสติกส์ จากัด) คงเหลือจานวน 8 สัญญา มีระยะเวลาตังแต่ ้ 3 - 4 ปี กาหนดจ่าย ชาระค่าเช่าทุกเดือนๆ ละ 28,355 บาท ถึง 45,000 บาท 5
เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด 2561 เงินสดและเช็ครับในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ เงินลงทุนระยะสันที ้ ่มีสภาพคล่องสูง รวม
2560
(บาท) 882,224 184,805 16,872,428 1,252,038 19,191,495
156,457 184,805 13,803,134 1,226,614 15,371,010
ยอดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ ดงั นี ้ 2561
2560 (บาท)
สกุลเงินบาท สกุลเงินยูโร รวม
13,682,182 5,509,313 19,191,495
149
15,301,561 69,449 15,371,010
6
ลูกหนีก้ ารค้ า 2561 กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน กิจการอื่น รวม หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ สุทธิ สาหรับปี สิ้ นสุดวันที ่ 31 ธันวาคม หนี ้สงสัยจะสูญ โอนกลับค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ รวม
2560
(บาท) 102,154 76,649,884 76,752,038 (412,847) 76,339,191
412,847 (475,000) (62,153)
139,473 62,630,339 62,769,812 (475,000) 62,294,812
475,000 475,000
การวิเคราะห์อายุลกู หนี ้การค้ า มีดงั นี ้ 2561
2560 (บาท)
ยังไม่ครบกาหนดชาระ เกินกาหนดชาระ น้ อยกว่าหรื อเท่ากับ 90 วัน มากกว่า 90 วัน ถึง 120 วัน มากกว่า 120 วัน ถึง 365 วัน
57,695,051
60,909,467
18,644,140 412,847
619,440 1,209,100 31,805 1,860,345 62,769,812 (475,000) 62,294,812
19,056,987 76,752,038 รวม หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ (412,847) สุทธิ 76,339,191 โดยปกติระยะเวลาการให้ สนิ เชื่อแก่ลกู ค้ าของบริ ษัทมีระยะเวลาตังแต่ ้ 30 วัน ถึง 90 วัน
150
ยอดลูกหนี ้การค้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ ดงั นี ้ 2561
2560 (บาท)
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา สกุลเงินยูโร รวม 7
70,539,476 711,567 5,500,995 76,752,038
58,965,491 3,804,321 62,769,812
2561
2560
ลูกหนีห้ มุนเวียนอื่น (บาท) กิจการอื่น หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ สุทธิ
10,611,094 (611,800) 9,999,294
8,137,345 (330,265) 7,807,080
ลูกหนี ้อื่น เช็ครับล่วงหน้ า เงินจ่ายล่วงหน้ าค่าแม่พิมพ์ ค่าใช้ จา่ ยล่วงหน้ า รวม หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ สุทธิ
882,244 217,500 8,769,550 741,800 10,611,094 (611,800) 9,999,294
1,872,655 5,705,200 559,490 8,137,345 (330,265) 7,807,080
611,800 (330,265) 281,535
(124,954) (124,954)
สาหรับปี สิ้ นสุดวันที ่ 31 ธันวาคม หนี ้สงสัยจะสูญ โอนกลับค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ รวม
ยอดลูกหนี ้หมุนเวียนอื่นทังหมดของบริ ้ ษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 เป็ นสกุลเงินบาท
151
8
สินค้ าคงเหลือ
สินค้ าสาเร็จรูป สินค้ าระหว่างผลิต วัตถุดิบ อะไหล่และวัสดุโรงงาน สินค้ าระหว่างทาง รวม หัก ค่าเผื่อมูลค่าสินค้ าลดลง สุทธิ สาหรับปี สิ้ นสุดวันที ่ 31 ธันวาคม ขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้ า โอนกลับค่าเผื่อมูลค่าสินค้ าลดลง รวม
2561
2560
(บาท) 18,721,896 17,483,469 2,571,084 7,456,168 6,567,765 52,800,382 (2,980,031) 49,820,351
17,247,458 24,110,758 1,986,069 4,502,440 2,591,440 50,438,165 (817,875) 49,620,290
2,162,156 2,162,156
(336,946) (336,946)
ต้ นทุนของสินค้ าคงเหลือที่บนั ทึกเป็ นค่าใช้ จ่ายและได้ รวมในบัญชีต้นทุนขาย 2561 ต้ นทุนขาย บวก รายการการปรับลดมูลค่า (โอนกลับ) รวม
2560
(บาท) 421,214,231 2,162,156 423,376,387
346,076,687 (336,946) 345,739,741
สินค้ าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม เป็ นสินค้ าทีค่ าดว่าจะได้ ประโยชน์ ดังนี ้ 2561 สินค้ าที่คาดว่าจะได้ ประโยชน์ภายใน 1 ปี สินค้ าที่คาดว่าจะได้ ประโยชน์ภายในเกิน 1 ปี รวม
2560 (ล้านบาท) 48 5 53
152
45 5 50
9
ที่ดนิ อาคาร และอุปกรณ์
153
154
155
ในปี 2561 บริ ษั ท ได้ ท ดสอบการด้ อยค่ าของสิ น ทรั พ ย์ โดยการเปรี ย บเที ยบมู ลค่ า ที่ คาดว่ าจะได้ รั บคื น ของสิ นทรั พ ย์ ที่ก่อให้ เกิดเงินสดกับมูลค่าตามบัญชี ทังนี ้ ้ พิจารณาจากการคานวณมูลค่าจากการใช้ สนิ ทรัพย์โดยคานวณมูลค่าปั จจุบนั ของ ประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต (Discounted Cash Flow) (“DCF”) จากการใช้ สินทรัพย์อย่างต่อเนื่อง โดยผู้ประเมิน ราคาอิสระตามรายงานลงวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562 ภายใต้ ข้อสมมติฐานจากผลประกอบการในอดีตที่ผ่านมาเป็ นฐานตังต้ ้ น มีดงั นี ้ รายละเอียด มูลค่ากิจการ
หลักเกณฑ์วิธีการประเมิ น วิธีการรายได้ (Income approach) (ล้ านบาท) อัตราคิดลดกระแสเงินสด (Discounted cash flow) (ร้ อยละต่อปี ) อัตราการเติบโต (ร้ อยละต่อปี ) ระยะเวลาโครงการเหลือ (ปี )
214 10 5 10
ทังนี ้ ้ มูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนต่ากว่ามูลค่าตามบัญชีของทรัพย์สินถาวรของบริ ษัทจานวน 2 ล้ านบาท ดังนัน้ บริ ษัท ได้ บนั ทึกค่าเผื่อการด้ อยค่าของสินทรัพย์ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 จานวน 2 ล้ านบาท ณ วันที่ 31 ธั นวาคม 2561 และ 2560 อาคารและอุปกรณ์ ราคาทุนจ านวน 154 ล้ านบาท และ 89 ล้ านบาท ตามลาดับ คิดค่าเสือ่ มราคาเต็มมูลค่าแล้ ว แต่ยงั คงใช้ งานอยู่ การค้าประกัน ที่ดิน อาคาร และสิ่งปลูกสร้ างที่มีอยู่ในปั จจุบนั และที่จะมีขึ ้นในภายหน้ า ตลอดจนจานวนสิทธิเรี ยกร้ องตามกรมธรรม์ ประกันภัย และระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตังบนหลั ้ งคา มูลค่าตามบัญชี 74 ล้ านบาท ได้ จด ทะเบียนจานองใช้ เป็ นหลักประกันเงิ นกู้ยืมจากธนาคารพาณิ ชย์ ในประเทศแห่งหนึ่ง และโปรดสังเกตหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้ อ 34
156
10
สินทรัพย์ ไม่ มตี ัวตน ค่าลิขสิทธิ์ ซอฟแวร์ ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 เพิ่มขึ ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561 เพิ่มขึ ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ค่ าตัดจาหน่ ายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561
4,854,600 1,805,060 6,659,660 310,000 6,969,660
โปรแกรม ระหว่างติดตัง้ (บาท)
รวม
515,000 225,000 (416,000) 324,000 324,000
5,369,600 2,030,060 (416,000) 6,983,660 310,000 7,293,660
3,586,087 392,360 3,978,447
-
3,586,087 392,360 3,978,447
632,537 4,610,984
-
632,537 4,610,984
2,681,213 2,358,676
324,000 324,000 2561
3,005,213 2,682,676 2560
(บาท) ค่ าตัดจาหน่ ายสาหรับปี แสดงรวมไว้ ใน:ค่าใช้ จา่ ยในการบริ หาร รวม
632,537 632,537
157
392,360 392,360
11
ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี ้ 2561
2560 (บาท)
สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอตัดบัญชี หนี ้สินภาษี เงินได้ รอตัดบัญชี สุทธิ
6,411,753 (6,411,753)
(5,924,928) (5,924,928)
-
รายการเคลือ่ นไหวของสินทรัพย์และหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีที่เกิดขึ ้นในระหว่างปี มีดงั นี ้ บันทึกเป็ นรายจ่าย / รายได้ ใน ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 สินทรั พย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สินค้ าคงเหลือ ประมาณการหนี ้สินไม่หมุนเวียน สาหรับผลประโยชน์พนักงาน ยอดขาดทุนยกไป หนี้สนิ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สุทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561
กาไร(ขาดทุน)
กาไรขาดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น (พันบาท)
ส่วนของ ผู้ถือหุ้น
114
(114)
-
-
-
562 5,736 6,412
(928) (5,736) (6,778)
366 366
-
(6,412) (6,412) -
487 487 (6,291)
366
-
158
(5,925) (5,925) (5,925)
บันทึกเป็ นรายจ่าย / รายได้ ใน ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 สินทรั พย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สินค้ าคงเหลือ ประมาณการหนี ้สินไม่หมุนเวียน สาหรับผลประโยชน์พนักงาน ยอดขาดทุนยกไป หนี้สนิ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สุทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
กาไร(ขาดทุน)
กาไรขาดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น (พันบาท)
ส่วนของ ผู้ถือหุ้น
166
(52)
-
-
114
930 2,903 3,999
(456) 2,833 2,325
88 88
-
562 5,736 6,412
(3,999) (3,999) -
(2,413) (2,413) (88)
88
-
(6,412) (6,412) -
สินทรัพย์และหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีที่เกิดจากผลแตกต่างชั่วคราวที่มิได้ รับรู้ ในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดดังนี ้ 2561
2560 (ล้านบาท)
ผลแตกต่างชัว่ คราว ยอดขาดทุนยกไป รวม
8 20 28
(5) 21 16
ขาดทุนทางภาษี จะสิ ้นอายุในปี 2562 ถึงปี 2566 ผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้ หกั ภาษี ที่ยงั ไม่สิ ้นอายุตามกฎหมาย เกี่ยวกับภาษี เงินได้ ปัจจุบนั นันบริ ้ ษัทยังมิได้ รับรู้ รายการดังกล่าวเป็ นสินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีเนื่องจาก ยังไม่มีความเป็ นได้ คอ่ นข้ างแน่วา่ บริ ษัทจะมีกาไรทางภาษี เพียงพอที่จะใช้ ประโยชน์ทางภาษี ดงั กล่าว
159
12
เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยมื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน 2561
2560 (บาท)
เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร หนี ้สินตามทรัสต์รีซีท ตัว๋ สัญญาใช้ เงิน รวม
10,132,429 14,902,378 16,000,000 41,034,807
4,611,009 14,252,348 16,000,000 34,863,357
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน – ตัว๋ สัญญาใช้ เงิน จานวน 16 ล้ านบาท ครบกาหนด ชาระคืนในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562, วันที่ 8 มีนาคม 2562 และวันที่ 5 เมษายน 2562 อัตราดอกเบี ้ยร้ อยละ MLR – 1.25 ต่อปี รายการเคลือ่ นไหวของเงินกู้ยมื ระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี ้ 2561 ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ ้นระหว่างปี ลดลงระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม
2560
(บาท) 30,252,348 107,282,104 (106,632,074) 30,902,378
30,517,376 (265,028) 30,252,348
ยอดเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 เป็ น สกุลเงินบาท เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงินดังกล่าวมีที่ดิน อาคาร และสิ่งปลูกสร้ างที่มี อยูใ่ นปั จจุบนั และที่จะมีขึ ้นในภายหน้ า ตลอดจนจานวนสิทธิเรี ยกร้ องตามกรมธรรม์ประกันภัยได้ จดทะเบียนจานองไว้ เป็ นหลักประกัน และโปรดสังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 34
160
13
เจ้ าหนีก้ ารค้ า 2561
2560 (บาท)
กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน กิจการอื่นๆ รวม ยอดเจ้ าหนี ้การค้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 เป็ นสกุลเงินบาท 14
116,340 66,435,960 66,552,300
204,732 65,176,362 65,381,094
2561
2560
เจ้ าหนีห้ มุนเวียนอื่น
กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน กิจการอื่นๆ รวม กิ จการอืน่ ๆ เจ้ าหนี ้อื่น ค่าใช้ จา่ ยค้ างจ่าย เงินรับล่วงหน้ าค่าแม่พมิ พ์จากลูกค้ า รายได้ รับล่วงหน้ าอื่น รวม
(บาท) 15,000 15,000 28,861,198 23,554,352 28,876,198 23,569,352
782,231 10,819,628 16,843,144 416,195 28,861,198
2,830,420 9,760,237 10,547,500 416,195 23,554,352
ยอดเจ้ าหนี ้หมุนเวียนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 เป็ นสกุลเงินบาท 15
เงินกู้ยมื ระยะยาว 2561
2560 (บาท)
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หัก ส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึง่ ปี สุทธิ
13,203,570 (3,441,481) 9,762,089
16,320,700 (3,310,099) 13,010,601
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 บริ ษัทมีเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินแห่งหนึง่ จานวน 2 สัญญา มีวงเงินกู้ จานวน 18 ล้ านบาท คงเหลือจานวน 13.20 ล้ านบาท และ 16.32 ล้ านบาท ตามลาดับมีกาหนดผ่อนชาระเงินต้ นทุก เดือนๆ ละ 0.10 – 0.21 ล้ านบาท เริ่ มตังแต่ ้ เดือนกันยายน 2560 ถึงเดือนสิงหาคม 2565 อัตราดอกเบี ้ยร้ อยละ 3.50 และ MLR ต่อปี
161
ภายใต้ สญ ั ญาเงินกู้ยืมดังกล่าว มีข้อจากัดบางประการได้ แก่ การผิดนัดชาระหนี ้ หรื อการไม่สามารถปฏิบตั ิตามสัญญา เงินกู้ยืม เช่น บริ ษัทไม่สามารถชาระหนี ้เมื่อครบกาหนด อาจทาให้ ธนาคารมีสิทธิเร่ งให้ บริ ษัทชาระหนี ้คงเหลือทังหมด ้ ก่อนครบกาหนดได้ ทนั ที เป็ นต้ น นอกจากนี ้สัญญายังกาหนดอัตราส่วนทางการเงิน ดังนี ้
อัตราส่วน หนี ้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ความสามารถในการชาระหนี ้
ตามสัญญา เกินกว่า 2 ต่อ 1 แต่ต้องไม่ต่ากว่า 0 ไม่น้อยกว่า 1.25 เท่า
ตามงบการเงิน ณ 31 ธันวาคม 2561 1.18 11.29
รายการเคลือ่ นไหวของเงินกู้ยมื ระยะยาว สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 มีดงั นี ้ 2561
2560 (บาท)
ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ ้นระหว่างปี ลดลงระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม
16,320,700 (3,117,130) 13,203,570
1,364,745 17,199,000 (2,243,045) 16,320,700
ยอดเงินกู้ยมื ระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 เป็ นสกุลเงินบาท เงินกู้ยืมระยะยาวดังกล่าวมีที่ดิน อาคาร และสิ่งปลูกสร้ างที่มีอยู่ในปั จจุบนั และที่จะมีขึ ้นในภายหน้ า ตลอดจน จานวนสิทธิเรี ยกร้ องตามกรมธรรม์ประกันภัย และระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตังบนหลั ้ งคาได้ จดทะเบียนจานองใช้ เป็ นหลักประกัน และโปรดสังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 34
162
16
หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่ าการเงิน 31 ธันวาคม 2561 มูลค่าอนาคต ของจานวนเงิน ขันต ้ ่าที่ต้องจ่าย ครบกาหนดชาระภายในหนึง่ ปี ครบกาหนดชาระหลังจากหนึง่ ปี แต่ไม่เกินห้ าปี รวม
9,907,087 30,512,658 40,419,745
ดอกเบี ้ย (บาท) 2,056,673 2,992,969 5,049,642
มูลค่าปั จจุบนั ของจานวนเงิน ขันต ้ ่าที่ต้องจ่าย 7,850,414 27,519,689 35,370,103
31 ธันวาคม 2560 มูลค่าอนาคต ของจานวนเงิน ขันต ้ ่าที่ต้องจ่าย ครบกาหนดชาระภายในหนึง่ ปี ครบกาหนดชาระหลังจากหนึง่ ปี แต่ไม่เกินห้ าปี รวม
6,871,989 16,460,421 23,332,410
ดอกเบี ้ย (บาท) 1,030,995 1,606,762 2,637,757
มูลค่าปั จจุบนั ของจานวนเงิน ขันต ้ ่าที่ต้องจ่าย 5,840,994 14,853,659 20,694,653
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 หนีส้ ินตามสัญญาเช่าการเงิ น จ านวน 40 ล้ านบาท และ 23 ล้ านบาท ตามลาดับ เป็ นหนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงินเพื่อซื ้อยานพาหนะ อุปกรณ์สานักงาน และเครื่ องจักรกับสถาบันการเงิน อื่น 4 แห่ง จานวน 17 สัญญา และ 11 สัญญา ตามลาดับ มีระยะเวลา 3 - 5 ปี โดยกาหนดจ่ายชาระทุกเดือนๆ ละ ประมาณ 11,922 บาท ถึง 328,964 บาท ตังแต่ ้ เดือนกุมภาพันธ์ 2559 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2566 ยอดหนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 เป็ นสกุลเงินบาท 17
ประมาณการหนีส้ นิ สาหรับผลประโยชน์ พนักงาน บริ ษัทจ่ายค่าชดเชยผลประโยชน์หลังออกจากงานตามนโยบายของบริ ษัท และตามข้ อกาหนดของพระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการให้ ผลประโยชน์เมื่อเกษี ยณแก่พนักงานตามสิทธิและอายุงาน โครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ มีความเสีย่ งจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ได้ แก่ ความ เสีย่ งของช่วงชีวิต ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบี ้ย และความเสีย่ งจากตลาด (เงินลงทุน)
163
ประมาณการหนี ้สินสาหรับผลประโยชน์พนักงาน ในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561
2560 (บาท)
ผลประโยชน์หลังออกจากงาน เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน รวม
5,520,774 5,520,774
5,425,406 5,425,406
ส่วนที่หมุนเวียน ส่วนที่ไม่หมุนเวียน รวม
5,520,774 5,520,774
2,174,500 3,250,906 5,425,406
การเปลีย่ นแปลงในมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน มีดงั นี ้ 2561
2560 (บาท)
ประมาณการหนี ้สินของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 1 มกราคม รับรู้ในกาไรหรือขาดทุน ต้ นทุนบริ การปั จจุบนั ดอกเบี ้ยจากภาระผูกพัน รับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักณิตศาสตร์ ประกันภัย อื่นๆ ผลประโยชน์จ่าย ประมาณการหนีส้ นิ ของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
5,425,406
4,436,007
349,226 90,064 439,290
446,592 101,666 548,258
1,830,578
441,141
(2,174,500) 5,520,774
5,425,406
164
ค่าใช้ จ่ายที่รับรู้ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จข้ างต้ น สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ได้ แสดงรวมในรายการดังต่อไปนี ้ 2561 ต้ นทุนขาย ต้ นทุนในการจัดจาหน่าย ค่าใช้ จา่ ยในการบริ หาร รวม
2560
(บาท) 373,529 14,466 51,295 439,290
226,873 17,527 303,858 548,258
ผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ของผลประโยชน์พนักงานที่รับรู้ ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ณ วันสิ ้นรอบระยะเวลา รายงานเกิดขึ ้นจาก 2561
2560 (บาท)
สาหรับปี สิ้ นสุดวันที ่ 31 ธันวาคม ข้ อสมมติทางการเงิน 120,385 การปรับปรุงจากประสบการณ์ 223,910 ข้ อสมมติด้านประชากร 1,486,283 รวม 1,830,578 ข้ อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ ประกันภัย ณ วันที่รายงาน
441,141 441,141
2561
2560 (ร้อยละ)
อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ ้นของเงินเดือน อัตราการหมุนเวียนพนักงาน อัตรามรณะ (ตารางมรณะไทย) อัตราทุพพลภาพ
3.23 4.00 2.87 – 34.38 TMO 2017 5 ของอัตรามรณะ
2.94 4.00 0 – 20 และ 3 - 42 TMO 2017 5 ของอัตรามรณะ
การวิเคราะห์ ความอ่ อนไหว การเปลีย่ นแปลงในแต่ละข้ อสมมติที่เกี่ยวข้ องในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยที่อาจเป็ นไปได้ อย่า งสมเหตุสมผล ณ วัน สิน้ รอบระยะเวลา โดยถื อ ว่า ข้ อ สมมติ อื่ น ๆ คงที่ จะมี ผลกระทบต่ อ ภาระผูก พัน ผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ เป็ นจานวนเงินดังต่อไปนี ้
165
ผลกระทบต่อประมาณการหนี ้สินของโครงการผลประโยชน์ สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
2560 (ล้านบาท)
อัตราคิดลด เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 0.5 ลดลงร้ อยละ 0.5 อัตราการเพิ่มขึ ้นของเงินเดือน เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 1 และ 0.5 ลดลงร้ อยละ 1 และ 0.5 อัตราการหมุนเวียนพนักงาน
(0.37) 0.40
(0.23) 0.25
0.81 (0.69)
0.24 (0.22)
เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 20 และ 10
(0.78)
(0.34)
ลดลงร้ อยละ 20 และ 10
0.97
0.39
แม้ ว่าการวิเคราะห์นีไ้ ม่ได้ คานึงการกระจายตัวแบบเต็มรู ปแบบของกระแสเงิ นสดที่คาดหวังภายใต้ โครงการ ดังกล่าวแต่ได้ แสดงประมาณการความอ่อนไหวของข้ อสมมติตา่ ง ๆ จานวนเงินภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์สาหรับปี ปั จจุบนั และสามปี ย้ อนหลังมีดงั นี ้ ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์
การปรับปรุงตามประสบการณ์ (บาท)
ปี 2560 ปี 2559 ปี 2558
5,425,406 4,436,007 3,942,146
-
เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2561 สภานิติบญ ั ญัติแห่งชาติได้ เห็นชอบพระราชบัญญัติค้ มุ ครองแรงงาน และจะมีผลใช้ บังคับเมื่อพ้ น 30 วันนับแต่วนั ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซี่งกาหนดให้ นายจ้ างต้ องจ่ายค่าชดเชยให้ ลกู จ้ าง ที่ถกู เลิกจ้ างเพิ่มเติม หากลูกจ้ างทางานติดต่อกันครบ 20 ปี ขึ ้นไป ลูกจ้ างมีสิทธิได้ รับค่าชดเชยไม่น้อยกว่าค่าจ้ าง อัตราสุดท้ าย 400 วัน จากปั จจุบันอัตราค่าชดเชยสูงสุดคือ 300 วัน โดยหากกฎหมายดังกล่าวมีผลบังคับใช้ ดังนัน้ ฝ่ ายบริ หารของบริ ษัทได้ พิจารณาการแก้ ไขโครงการผลประโยชน์เมื่อเกษี ยณแก่พนักงานเมื่อได้ ประกาศใน ราชกิ จ จานุเ บกษาเรี ย บร้ อย และจะรั บ รู้ ประมาณการหนี ส้ ิ น ไม่ ห มุน เวี ย นสาหรั บ ผลประโยชน์ พ นัก งานใน งบการเงินเพิ่มขึ ้น จานวนประมาณ 1 ล้ านบาท ทาให้ กาไรสุทธิลดลงด้ วยจานวนเดียวกัน
166
18
ทุนเรือนหุ้น / ใบสาคัญแสดงสิทธิท่ จี ะซือ้ หุ้นสามัญของบริษัท
ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ลดทุนจดทะเบียนโดยการ ยกเลิกหุ้นสามัญคงเหลือ จากการเพิ่มทุนเพื่อรองรับ การใช้ สทิ ธิของใบสาคัญ แสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้น สามัญ – วันที่ 11 ตุลาคม 2561
เพิ่มทุนจดทะเบียนโดยการ ออกหุ้นสามัญใหม่เพื่อ รองรับการใช้ สทิ ธิของ ใบสาคัญแสดงสิทธิทจี่ ะ ซื ้อหุ้นสามัญของบริษัท ครัง้ ที่ 1 – วันที่ 12 ตุลาคม 2561 ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ ทุนที่ออกและชาระแล้ ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ออกหุ้นใหม่จากการใช้ สิทธิใบสาคัญแสดงสิทธิ ที่ซื ้อหุ้นสามัญ – วันที่ 15
ราคาตาม มูลค่าหุน้ (บาท)
2561
2560
จานวนหุ้น
มูลค่า
0.50
300,681,625
150,340,813
0.50
(1,586,662)
(793,331)
จานวนหุ้น (หุน้ /บาท)
มูลค่า
300,681,625
150,340,813
-
2561
-
ราคาตาม มูลค่าหุน้ (บาท)
2560
จานวนหุ้น
มูลค่า
0.50
99,698,321
49,849,160
0.50
398,793,284
199,396,642
300,681,625
150,340,813
0.50
299,094,963
149,547,482
298,989,004
149,494,502
จานวนหุ้น (หุน้ /บาท)
-
167
มูลค่า
-
พฤษภาคม 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ
ราคาตาม มูลค่าหุน้ (บาท) 0.50
2561
2560
จานวนหุ้น
มูลค่า -
0.50
299,094,963
จานวนหุ้น (หุน้ /บาท) 105,959
149,547,482
299,094,963
มูลค่า 52,980 149,547,482
ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2561 ได้ มีมติอนุมตั ิ ดังนี ้
ให้ โอนทุนสารองตามกฎหมายจานวน 390,000 บาท และส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญจานวน 17,508,913 บาท เพื่อลดขาดทุนสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จานวน 17,898,913 บาท ดังนัน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คงเหลือส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญจานวน 16,104,073 บาท ให้ ลดทุนจดทะเบียนของบริ ษัทจานวน 793,331 บาท จากเดิมทุนจดทะเบียนจานวน 150,340,812.50 บาท เป็ นทุนจดทะเบียนจานวน 149,547,481.50 บาท โดยการยกเลิกจานวนหุ้นสามัญคงเหลือจากการเพิ่มทุน เพื่อรองรับการใช้ สิทธิของใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญของบริ ษัทที่เสนอขายแก่กรรมการและพนักงาน ของบริ ษัท (ESOP) จานวน 1,586,662 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 0.50 บาท และต่อมาเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2561 บริ ษัทได้ จดทะเบียนลดทุนจดทะเบียนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์แล้ ว ให้ เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริ ษัทจานวน 49,849,160.50 บาท จากเดิมทุนจดทะเบียนจานวน 149,547,481.50 บาท เป็ นทุนจดทะเบียนจานวน 199,396,642 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจานวน 99,698,321 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 0.50 บาท และต่อมาเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2561 บริ ษัทได้ จดทะเบียนเพิ่มทุนจดทะเบียนดังกล่าวกับ กระทรวงพาณิชย์แล้ ว ให้ จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจานวน 99,698,321 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 0.50 บาท เพื่อรองรับการใช้ สิทธิแปลงสภาพ ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่ จะซื อ้ หุ้น สามัญของบริ ษั ทครั ง้ ที่ 1 (SANKO-W1) ให้ แก่ ผ้ ูถื อหุ้นเดิ มจ านวนไม่เกิ น 99,698,321 หน่วย
ใบสาคัญแสดงสิทธิท่ จี ะซือ้ หุ้นสามัญของบริษัท ครัง้ ที่ 1 (SANKO-W1) เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2561 บริ ษัทได้ ออกใบสาคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซื ้อหุ้นสามัญของบริษัท ครัง้ ที่ 1 (SANKO-W1) ให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นเดิมจานวนไม่เกิน 99,698,321 หน่วย ในอัตราส่วน 3 หุ้นสามัญเดิม ต่อ 1 หน่วยใบสาคัญแสดงสิทธิ โดยมีรายละเอียด ดังนี ้ ชนิดใบสาคัญแสดงสิทธิ จานวน ราคาเสนอขาย
: : :
ชนิดระบุชื่อผู้ถือ และสามารถโอนเปลีย่ นมือได้ 99,698,321 หน่วย หน่วยละ 0 บาท
168
อายุใบสาคัญแสดงสิทธิ อัตราการใช้ สทิ ธิ ราคาการใช้ สทิ ธิซื ้อหุ้นสามัญ
: 2 ปี นับจากวันที่ออกและเสนอขายใบสาคัญแสดงสิทธิ : ใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยต่อหุ้นสามัญ 1 หุ้น : 1 บาท ต่อหุ้น (เว้ นแต่กรณีมีการปรับสิทธิตามเงื่อนไขการปรับสิทธิที่ กาหนด) : ครัง้ แรกวันที่ 29 เมษายน 2562, ครัง้ ที่สองวันที่ 30 ตุลาคม 2562, ครัง้ ทีส่ ามวันที่ 29 เมษายน 2563 และครัง้ สุดท้ ายวันที่ 30 ตุลาคม 2563
วันที่กาหนดใช้ สทิ ธิ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ยอดคงเหลือของใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญของบริ ษัท ครัง้ ที่ 1 (SANKO-W1) ที่ยงั ไม่ได้ ใช้ สทิ ธิมีจานวน 99,698,321 หน่วย ใบสาคัญแสดงสิทธิซอื ้ หุ้นสามัญบริษัทให้ แก่ กรรมการและพนักงานของบริษัท (ESOP) เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2556 บริ ษัทได้ ออกใบสาคัญแสดงสิทธิซื ้อหุ้นสามัญบริ ษัทจานวน 6,000,000 หน่วยให้ แก่ กรรมการและพนักงานของบริ ษัท (ESOP) โดยมีรายละเอียดดังนี ้ ชนิดใบสาคัญแสดงสิทธิ จานวน ราคาเสนอขาย อายุใบสาคัญแสดงสิทธิ อัตราการใช้ สทิ ธิ ราคาการใช้ สทิ ธิซื ้อหุ้นสามัญ ระยะเวลาการใช้ สทิ ธิครัง้ สุดท้ าย
: : : : : : :
ชนิดระบุชื่อผู้ถือ และไม่สามารถเปลีย่ นมือได้ 6,000,000 หน่วย หน่วยละ 0 บาท 5 ปี นับจากวันที่ออกและเสนอขายใบสาคัญแสดงสิทธิ ใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยต่อหุ้นสามัญ 1.16 หุ้น 0.50 บาทต่อหุ้น วันที่ 2 – 8 พฤษภาคม 2561
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ยอดคงเหลือของใบสาคัญแสดงสิทธิซื ้อหุ้นสามัญบริ ษัท ให้ แก่กรรมการและพนักงาน ของบริ ษัท (ESOP) ที่ยงั ไม่ได้ ใช้ สทิ ธิมีจานวน 0 หน่วย 19
ส่ วนเกินกว่ ามูลค่ าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณี ที่บริ ษัทเสนอขายหุ้น สูงกว่ามูลค่าหุ้นที่จดทะเบียนไว้ บริ ษัทต้ องนาค่าหุ้นส่วนเกินนี ้ตังเป็ ้ นทุนสารอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ”) ส่วนเกิน มูลค่าหุ้นนี ้จะนาไปจ่ายเป็ นเงินปั นผลไม่ได้ การเคลือ่ นไหวในส่วนเกินกว่ามูลค่าหุ้นแสดงรายการในงบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
169
และโปรดสังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 18 20
ทุนสารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริ ษัทจะต้ องจัดสรรทุนสารอง (“สารองตามกฎหมาย”) อย่างน้ อยร้ อยละ 5 ของกาไรสุทธิประจาปี หลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ ามี) จนกว่า สารองดังกล่าวมีจานวนไม่น้อยกว่าร้ อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสารองนี ้จะนาไปจ่ายเป็ นเงินปั นผลไม่ได้ บริ ษัทได้ จดั สรรทุนสารองตามกฎหมายในอัตราร้ อยละ 5 ของกาไรสุทธิประจาปี 2561 เป็ นจานวน 0.59 ล้ านบาท การเคลือ่ นไหวในทุนสารองตามกฎหมายแสดงรายการในงบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น และโปรดสังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 18
21
ส่ วนงานดาเนินงาน บริ ษัทได้ นาเสนอข้ อมูลทางการเงินจาแนกตามส่วนงานธุรกิจและส่วนงานภูมิศาสตร์ รู ปแบบหลักในการรายงาน พิจารณาจากระบบการบริ หารจัดการ และโครงสร้ างการรายงานทางการเงินภายในของบริ ษัทเป็ นเกณฑ์ในการ กาหนดส่วนงาน ส่ วนงานธุรกิจ ผู้บริ หารเห็นว่าบริ ษัทดาเนินกิจการในส่วนงานธุรกิจเดียว คือ ผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์โลหะและชิ ้นส่วนโลหะและ บริ การจัดหาแม่พิมพ์ที่เกี่ยวข้ องกันกับการผลิตผลิตภัณฑ์ดงั กล่าว ดังนันฝ่ ้ ายบริ หารจึงพิจารณาว่าบริ ษัทมี สว่ นงาน ธุรกิจเพียงส่วนงานเดียว ส่ วนงานภูมิศาสตร์ บริ ษัทดาเนินธุรกิจโดยส่วนใหญ่เฉพาะในประเทศเท่านัน้ ไม่มีรายได้ จากต่างประเทศที่มีสาระสาคัญ ดังนันฝ่ ้ าย บริ หารจึงพิจารณาว่าบริ ษัทมีสว่ นงานทางภูมิศาสตร์ เพียงส่วนงานเดียว
170
ลูกค้ารายใหญ่ บริ ษัทมีรายได้ จากการขายสินค้ าและบริ การจัดหาแม่พิมพ์ให้ กบั ลูกค้ าภายนอกตังแต่ ้ ร้อยละ 10 ของรายได้ จากการ ขายและบริ การในปี 2561 และ 2560 บริ ษัทมีลกู ค้ ารายใหญ่จานวนสามรายเป็ นเงินจานวน 259 ล้ านบาท และ 221 ล้ านบาท ตามลาดับ ยอดรายได้ จากการขายและบริ การในประเทศและต่างประเทศ สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สรุปได้ ดงั นี ้
รายได้ จากการ ขายสินค้ า
ในประเทศ ต่างประเทศ รวม
476,800 31,794 508,594
รายได้ จากการ ขายสินค้ า ในประเทศ ต่างประเทศ รวม 22
375,787 29,739 405,526
2561 รายได้ บริ การ จัดหาแม่พิมพ์
รวม
(พันบาท) 34,588 1,268 35,856
511,388 33,062 544,450
2560 รายได้ บริ การ จัดหาแม่พิมพ์ (พันบาท) 32,294 80 32,374
รวม 408,081 29,819 437,900
รายได้ อ่ ืน 2561
2560 (บาท)
ดอกเบี ้ยรับ กาไรจากอัตราแลกเปลีย่ น กาไรจากการจาหน่ายทรัพย์สนิ อื่น ๆ รวม
82,503 706,095 1,408,710 2,197,308
171
86,972 49,119 177,757 1,344,931 1,658,779
23
ต้ นทุนในการจัดจาหน่ าย 2560
2561 (บาท) ค่าใช้ จา่ ยเกี่ยวกับพนักงาน ค่าใช้ จา่ ยส่งเสริ มการขาย ค่าเช่ายานพาหนะ ค่าใช้ จา่ ยในการเดินทาง อื่นๆ รวม 24
3,224,279 285,942 2,549,161 2,309,181 2,340 8,370,903
3,465,608 405,049 2,037,600 1,603,617 6,950 7,518,824
2561
2560
ค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร
(บาท) ค่าใช้ จา่ ยเกี่ยวกับพนักงาน ค่าที่ปรึกษาและค่าธรรมเนียมวิชาชีพ ค่ารับรอง ค่าเครื่ องเขียนและแบบพิมพ์ ค่ารักษาความปลอดภัยและบริ การอื่น ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเช่า ค่าใช้ จา่ ยในการเดินทาง
43,818,357 4,446,161 1,204,452 1,837,905 1,594,658 1,815,072 2,330,748 2,122,738
40,664,833 4,406,754 646,609 1,494,209 1,489,681 1,749,403 1,973,608 1,832,518
2561
2560 (บาท)
ค่าซ่อมแซมและบารุงรักษา ค่าสาธารณูปโภค ค่าเบี ้ยประกันภัย ค่าธรรมเนียมธนาคารและอื่น ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น อื่นๆ รวม
301,322 1,266,151 352,692 1,648,215 303,636 3,169,977 66,212,084
172
214,181 1,248,668 528,268 909,915 (108,450) 57,050,197
25
ค่ าใช้ จ่ายผลประโยชน์ ตอบแทนของพนักงาน 2560
2561 (บาท) ผู้บริหาร เงินเดือนและโบนัส อื่น ๆ พนักงานอืน่ เงินเดือน ค่าแรง และโบนัส อื่น ๆ รวม
14,040,445 288,200 14,328,645
14,110,902 300,000 14,410,902
66,256,614 48,142,997 114,399,611 128,728,256
54,611,095 41,284,894 95,895,989 110,306,891
ค่าใช้ จา่ ยผลประโยชน์ของพนักงานบางส่วนได้ บนั ทึกรวมไว้ ในต้ นทุนขาย ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริ หารรวมอยูใ่ นงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ ดังนี ้ 2560
2561 (บาท) ค่าใช้ จา่ ยในการบริ หาร รวม
14,328,645 14,328,645
14,410,902 14,410,902
โครงการสมทบเงินทีก่ าหนดไว้ บริ ษัทได้ จัดตังกองทุ ้ นสารองเลี ้ยงชีพสาหรับพนักงานของบริ ษัทบนพื ้นฐานความสมัครใจของพนักงานในการเป็ น สมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้ อยละ 3 ถึง 15 ของเงินเดือนทุกเดือน และบริ ษัทจ่ายสมทบใน อัตราร้ อยละ 3.3 ถึง 5 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนสารองเลี ้ยงชีพนี ้ได้ จดทะเบียนเป็ นกองทุนสารอง เลี ้ยงชีพตามข้ อกาหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จดั การกองทุนที่ได้ รับอนุญาต
173
26
ค่ าใช้ จ่ายอื่น 2560
2561 (บาท) ขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรัพย์ รวม 27
2,202,711 2,202,711
-
ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ งบการเงินได้ รวมการวิเคราะห์คา่ ใช้ จ่ายตามหน้ าที่ ค่าใช้ จ่ายตามลักษณะได้ เปิ ดเผยตามข้ อกาหนดในมาตรฐาน การรายงานทางการเงินได้ ดงั นี ้ 2561 (ล้านบาท) 5 172 19 119 129 15 7 10 30 2 2 4 5 9 528
การเปลีย่ นแปลงในสินค้ าสาเร็จรูปและงานระหว่างทา วัตถุดิบและวัสดุใช้ ไป ค่าเชื ้อเพลิงและพลังงาน ค่าจ้ างผลิตสินค้ าและแม่พมิ พ์ ค่าใช้ จา่ ยผลประโยชน์ตอบแทนของพนักงาน ค่าสาธารณูปโภค ค่าเช่าและบริ การ ค่าซ่อมแซมและบารุงรักษา ค่าเสือ่ มราคาอาคารและค่าตัดจาหน่าย ขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้ าล้ าสมัย ขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรัพย์ (โอนกลับ) ค่าที่ปรึกษาและค่าธรรมเนียมวิชาชีพ ต้ นทุนทางการเงิน อื่นๆ รวม 28
2560 (9) 115 14 116 110 15 6 5 25 (3) 4 4 31 433
ต้ นทุนทางการเงิน 2560
2561 ดอกเบี ้ยจ่าย บุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน สถาบันการเงินอื่น รวม
(บาท) 606,986 4,174,333 4,781,319
174
962,329 3,191,942 4,154,271
29
ภาษีเงินได้ การลดอัตราภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล พระราชบัญญัติแก้ ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร ฉบับที่ 42 พ.ศ. 2559 ลงวันที่ 3 มีนาคม 2559 ให้ ปรับลดอัตรา ภาษี เงินได้ นิติบุคคลเหลืออัตราร้ อยละ 20 ของกาไรสุทธิ สาหรั บรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 เป็ นต้ นไป บริ ษัทคานวณภาษี เงินได้ นิติบคุ คลของกิจการที่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนตามสิทธิประโยชน์ทางภาษี เงินได้ ตาม บัตรส่งเสริ มการลงทุน และโปรดสังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 31 ภาษีเงินได้ ท่ รี ับรู้ในกาไรหรือขาดทุน 2560
2561 (บาท)
ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน สาหรับปี ปั จจุบนั ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี การเปลีย่ นแปลงของผลแตกต่างชัว่ คราว รวมค่ าใช้ จ่ายภาษีเงินได้
-
-
6,291,044 6,291,044
88,228 88,228
ภาษีเงินได้ ที่รับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
ก่อน ภาษี เงินได้ ผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ ของผลประโยชน์พนักงานที่ กาหนดไว้ รวม
(1,830) (1,830)
2561 รายได้ (ค่าใช้ จ่าย) สุทธิจาก ภาษี เงินได้ ภาษี เงินได้
366 366
ก่อน ภาษี เงินได้ (พันบาท)
(1,464) (1,464)
2560 รายได้ (ค่าใช้ จ่าย) สุทธิจาก ภาษี เงินได้ ภาษี เงินได้
(441) (441)
175
88 88
(353) (353)
การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แท้ จริง 2561
กาไรก่อนภาษีเงินได้ จานวนภาษี ตามอัตราภาษี เงินได้ ค่าใช้ จา่ ยต้ องห้ ามทางภาษี ค่าใช้ จา่ ยที่หกั ภาษี ได้ สองเท่า รายได้ ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีที่ เกี่ยวข้ องกับผลแตกต่างชัว่ คราวที่ รับรู้เมื่อเริ่ มแรกและกลับรายการ ผลขาดทุนทางภาษีในปี ปั จจุบนั ที่ ไม่ได้ รับรู้เป็ นสินทรัพย์ภาษี เงินได้ รวม 30
อัตราภาษี (ร้อยละ) 20
2560 (พันบาท) 18,113 3,623 47 (2,327)
อัตราภาษี (ร้อยละ) 20
(พันบาท) 6,377 1,275 (374) (2,396)
(1,343)
-
-
1,495 -
กาไรต่ อหุ้น กาไรต่ อหุ้นขั้นพื้นฐาน กาไรต่อหุ้นขันพื ้ ้นฐานสาหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 คานวณโดยการหารกาไรสาหรับปี ที่ เ ป็ นส่ว นของผู้ถื อ หุ้น สามัญ ของบริ ษั ท และจ านวนหุ้น สามัญ ที่ อ อกจ าหน่า ยแล้ ว ระหว่า งปี โดยวิ ธี ถัว เฉลี่ ย ถ่วงน ้าหนัก แสดงได้ ดงั นี ้ กาไรที่เป็ นส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญของบริ ษัท (ขันพื ้ ้นฐาน) (บาท) จานวนหุ้นสามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน ้าหนักที่ออกจาหน่ายแล้ วระหว่างปี (หุ้น) กาไรต่ อหุ้นขัน้ พืน้ ฐาน (บาท)
2561 11,821,559 299,094,963 0.04
2560 6,288,387 299,056,934 0.02
กาไรต่ อหุ้นปรั บลด กาไรต่อหุ้นปรับลดสาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 คานวณโดยการหารกาไรสาหรับปี ที่เป็ นส่วน ของผู้ถือหุ้นสามัญของบริ ษั ทและจานวนหุ้นสามัญที่ออกจาหน่ายแล้ วระหว่างปี โดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงนา้ หนัก ภายหลังจากที่ได้ ปรับปรุงผลกระทบของหุ้นปรับลด แสดงการคานวณได้ ดงั นี ้
176
กาไรที่เป็ นส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญของบริ ษัท (ขันพื ้ ้นฐาน) (บาท) จานวนหุ้นสามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน ้าหนักที่ออกจาหน่ายแล้ วระหว่างปี ผลกระทบจากการใช้ สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซื ้อหุ้นสามัญ จานวนหุ้นสามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน ้าหนักปรับลด (หุ้น) กาไรต่ อหุ้นปรับลด (บาท) 31
2561 11,821,559
2560 6,288,387
299,094,963 99,698,321 398,793,284 0.03
299,056,934 26,021 299,082,955 0.02
สิทธิประโยชน์ จากการส่ งเสริมการลงทุน คณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุนอนุมตั ิให้ บริ ษัทได้ รับสิทธิประโยชน์หลายประการในฐานะผู้ได้ รับการส่งเสริ มการ ลงทุนตามพระราชบัญญัติสง่ เสริ มการลงทุน พ.ศ. 2520 สรุปสาระสาคัญได้ ดังนี ้
เลขที่บตั รส่งเสริ มการลงทุน 1090 (2) / 2554 1010 (2) / 2557 (ก)
(ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) (ช)
กาลังการผลิต (ชิ ้น/ตัน) 5,000,000 ชิ ้น / 1,000 ตัน -
วันที่เริ่ มมีรายได้ 1 เมษายน 2554 ยังไม่เริ่มมีรายได้
วันที่หมดอายุ 31 มีนาคม 2562 ยังไม่เริ่มมีรายได้
ได้ รับยกเว้ นภาษี เงิ นได้ นิติบุคคลสาหรับกาไรสุทธิ จากการประกอบกิ จการผลิตผลิตภัณฑ์ โลหะ รวมทัง้ ชิ ้นส่วนโลหะ เป็ นเวลา 8 ปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้ จากการประกอบกิจการของแต่ละบัตร โดยมีกาลังการ ผลิตตามบัตรส่งเสริ มการลงทุน รวมทังสามารถน ้ าผลขาดทุนในระหว่างเวลานันไปหั ้ กออกจากกาไรสุทธิที่ เกิดขึ ้นภายหลังระยะเวลาที่ได้ รับยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบุคคล มีกาหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วนั ที่พ้น กาหนดเวลานัน้ ได้ รับลดหย่อนภาษี เงินได้ นิติบคุ คลสาหรับกาไรสุทธิที่ได้ รับการส่งเสริ มในอัตราร้ อยละ 50 ของอัตราปกติ มี กาหนด 5 ปี นับจากวันที่พ้นกาหนดระยะเวลาตามข้ อ (ก) ได้ รับอนุญาตให้ หกั ค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้ า และค่าประปา 2 เท่าของค่าใช้ จ่ายดังกล่าวเป็ นระยะเวลา 10 ปี นับ แต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้ จากการประกอบกิจการ ได้ รับอนุญาตให้ หกั เงินลงทุนในการติดตังหรื ้ อก่อสร้ างสิ่งอานวยความสะดวกร้ อยละ 25 ของเงินลงทุน นอกเหนือไปจากการหักค่าเสือ่ มราคาตามปกติ ได้ รับยกเว้ นอากรขาเข้ าสาหรับวัตถุดิบและวัสดุจาเป็ นที่ต้องนาเข้ ามาจากต่างประเทศเพื่อใช้ ในการผลิต เพื่อการส่งออกเป็ นระยะเวลา 5 ปี นับแต่วนั นาเข้ าครัง้ แรก ได้ รับยกเว้ นอากรขาเข้ าสาหรับของที่ผ้ ไู ด้ รับการส่งเสริ มนาเข้ ามาเพื่ อส่งกลับออกไปเป็ นระยะเวลา 5 ปี นับ แต่วนั นาเข้ าครัง้ แรกของแต่ละบัตร ได้ รับยกเว้ นไม่ต้องนาเงินปั นผลจากกิจการที่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนไปรวมคานวณเพื่อเสียภาษี เงินได้ ตลอดระยะเวลาที่บริ ษัทได้ รับยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบคุ คล
177
เนื่องจากเป็ นกิจการที่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุน บริ ษัทจะต้ องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขและข้ อกาหนดตามที่ระบุไว้ ในบัตร ส่งเสริ มการลงทุน รายได้ แยกตามธุรกิจที่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนและธุรกิจที่ไม่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุน สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ประกอบด้ วย
ธุรกิจที่ได้ รับการส่งเสริ มฯ ธุรกิจที่ไม่ได้ รับการส่งเสริ มฯ รวม
32
ในประเทศ
2561 ต่างประเทศ
285 226 511
19 14 33
2560 ต่างประเทศ
รวม ในประเทศ (ล้านบาท) 304 115 240 293 544 408
9 21 30
เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้ านการเงิน บริ ษัทมีความเสีย่ งจากการดาเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบี ้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ และจากการไม่ปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดตามสัญญาของคู่สญ ั ญา บริ ษัทไม่มีการถือหรื อออกเครื่ องมือ ทางการที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ เพื่อการเก็งกาไรหรื อการค้ า การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริ ษัท คือ การดารงไว้ ซึ่งความสามารถในการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องและดารงไว้ ซึ่ง โครงสร้ างทุนที่เหมาะสม อีกทังยั ้ งกากับดูแลระดับการจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นสามัญ ความเสี่ยงทางด้ านสินเชื่อ ความเสีย่ งทางด้ านสินเชื่อ คือ ความเสีย่ งที่ลกู ค้ าหรื อคูส่ ญ ั ญาไม่สามารถชาระหนี ้แก่บริ ษัทตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้ เมื่อ ครบกาหนด บริ ษัทได้ กาหนดนโยบายทางด้ านสินเชื่อที่เหมาะสม เพื่อควบคุมความเสี่ยงทางด้ านสินเชื่อดังกล่าวโดย สม่าเสมอ โดยการวิเคราะห์ฐานะทางการเงิ นของลูกค้ าทุกรายที่ขอสินเชื่อในระดับหนึ่งๆ ณ วันที่รายงานไม่พบว่ามี ความเสี่ยงจากสินเชื่ อที่เป็ นสาระสาคัญ ความเสี่ยงสูงสุดทางด้ านสินเชื่ อแสดงไว้ ในราคาตามบัญชี ของสินทรั พย์ แต่ละรายการ ณ วันที่รายงาน อย่างไรก็ตามบริ ษัทมีการติดตามการรับชาระเงินจากลูกหนี ้การค้ าอย่างใกล้ ชิดโดย พิจารณาตารางวิเคราะห์อายุลกู หนี ้การค้ าซึง่ มีรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 6
178
รวม 124 314 438
ความเสี่ยงด้ านอัตราดอกเบี้ย ความเสีย่ งด้ านอัตราดอกเบี ้ย หมายถึง ความเสีย่ งที่เกิดจากการเปลีย่ นแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี ้ย ในตลาด ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานและกระแสเงินสดของบริ ษัท เนื่องจากดอกเบีย้ ของเงิ นกู้ยืมส่วนใหญ่ มีอตั ราลอยตัว บริ ษัทอาจมีความเสีย่ งจากอัตราดอกเบี ้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน หากอัตราดอกเบี ้ย เปลีย่ นแปลงอาจมีผลกระทบต่อฐานะการเงินของบริ ษัท อัตราดอกเบี ้ยที่แท้ จริ งของเงินฝากธนาคาร และหนี ้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี ้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะ ที่ครบกาหนดชาระหรื อกาหนดอัตราใหม่ มีดงั นี ้ อัตรา ดอกเบี ้ย ที่แท้ จริ ง (ร้อยละต่อปี ) ปี 2561 หมุนเวียน เงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืม ระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน เงินกู้ยืมระยะสันจากกิ ้ จการที่เกี่ยวข้ องกัน เงินกู้ยืมระยะยาว หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ไม่ หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค ้าประกัน เงินกู้ยืมระยะยาว หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม
0.27
ภายใน 1 ปี
หลังจาก 1 ปี – 5 ปี (ล้านบาท)
รวม
18
-
18
0.5 – 1.25 6 6.25 3.76
(41) (10) (3) (8)
-
(41) (10) (3) (8)
0.83 6.25 3.76
(44)
5 (10) (28) (33)
5 (10) (28) (77)
179
ปี 2560 หมุนเวียน เงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืม ระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน เงินกู้ยืมระยะสันจากกิ ้ จการที่เกี่ยวข้ องกัน เงินกู้ยืมระยะยาว หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ไม่ หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค ้าประกัน เงินกู้ยืมระยะยาว หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม
0.27
15
-
15
0.5 – 1.25 6 6.25 3.76
(35) (15) (3) (6)
-
(35) (15) (3) (6)
0.83 6.25 3.76
(44)
5 (13) (15) (23)
5 (13) (15) (67)
ความเสี่ยงจากเงินตราต่ างประเทศ บริ ษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งเกิดจากการการขายสินค้ าที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ อย่างไรก็ตามฝ่ ายบริ หารเชื่อว่าบริ ษัทไม่มีความเสี่ยงในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่เป็ นสาระสาคัญ ดังนัน้ บริ ษัทจึงไม่ได้ ใช้ อนุพนั ธ์ทางการเงินเพื่อป้องกันความเสีย่ งของสินทรัพย์และหนี ้สินทางการเงินดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 บริ ษัทมีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ เนื่องจากสินทรัพย์ ที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ ดังนี ้ 2561
2560 (ล้านบาท)
เงินยูโร เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี ้การค้ า เงินเหรียญสหรั ฐอเมริกา ลูกหนี ้การค้ า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มคี วามเสี่ยง
6 6
4
1 13
4
180
ความเสี่ยงจากสภาพคล่ อง บริ ษัทมีการควบคุมความเสีย่ งจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ให้ เพียงพอต่อการดาเนินงานของบริ ษัทและเพื่อทาให้ ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง การกาหนดมูลค่ ายุติธรรม มูลค่าตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ และหนี ้สินทางการเงิน รวมถึงลาดับชัน้ มูลค่ายุติธรรมสาหรั บ เครื่ องมือทางการเงินที่วดั ด้ วยมูลค่ายุติธรรม แต่ไม่รวมถึงการแสดงข้ อมูลมูลค่ายุติธรรมสาหรับสินทรัพย์ และ หนีส้ ินทางการเงิ น ที่ไม่ได้ วัดมูลค่าด้ ว ยมูลค่า ยุติ ธรรม หากมูลค่าตามบัญชี ใกล้ เคี ยงกับมูลค่ายุติ ธรรมอย่า ง สมเหตุสมผล สินทรัพย์และหนี ้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของบริ ษัทจัดอยูใ่ นประเภทระยะสัน้ บริ ษัทจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์และหนี ้สินทางการเงินใกล้ เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน 33
ภาระผูกพันกับกิจการที่ไม่ เกี่ยวข้ องกัน 2561
2560 (ล้านบาท)
ภาระผูกพันด้ านรายจ่ ายฝ่ ายทุน :สัญญาที่ยงั ไม่รับรู้ เครื่ องจักรระหว่างติดตัง้ รวม
-
4 4
2561
2560 (ล้านบาท)
ภาระผูกพันตามสัญญาเช่ าดาเนินงานที่ยกเลิกไม่ ได้ ภายใน 1 ปี หลังจาก 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี รวม ภาระผูกพันอื่น ๆ ใบสัง่ ซื ้อสินค้ าและบริ การ หนังสือค ้าประกันจากธนาคารเพือ่ การใช้ ไฟฟ้ า รวม
3 3 6
4 3 7
19 1 20
1 1
181
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษัทมีวงเงินสินเชื่อซึ่งได้ รับจากสถาบันการเงินในประเทศสองแห่งที่ยงั ไม่ได้ เบิกใช้ คงเหลือเป็ นจานวน 11 ล้ านบาท
34
สินทรัพย์ ท่ ใี ช้ เป็ นหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 เงินฝากธนาคารจานวน 5 ล้ านบาท ได้ ใช้ เป็ นหลักประกันการออกหนังสือค ้าประกันการ ใช้ ไฟฟ้ าและหนี ้สินทุกชนิดจากธนาคารพาณิชย์ในประเทศสองแห่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ที่ดิน อาคาร และสิ่งปลูกสร้ างที่มีอยู่ในปั จจุบนั และที่จะมีขึ ้นในภายหน้ า ตลอดจนจานวน สิทธิเรี ยกร้ องตามกรมธรรม์ประกันภัย และระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตังบนหลั ้ งคา มูลค่าตาม บัญชี จานวน 74 ล้ านบาท ได้ จดทะเบียนจานองใช้ เป็ นหลักประกันเงินกู้ยืมจากธนาคารพาณิชย์ในประเทศแห่งหนึง่
35
สัญญาเช่ าดาเนินงาน สัญญาเช่าดาเนิ นงานด้านผูเ้ ช่า บริ ษัทได้ ทาสัญญาเช่าอาคาร ยานพาหนะ และอุปกรณ์หลายสัญญา สัญญาเช่าดังกล่าวมีระยะเวลา 1 ถึง 4 ปี ซึ่ง ถูกจัดประเภทเป็ นสัญญาเช่าดาเนินงาน โดยมีสทิ ธิตอ่ สัญญาเช่าเมื่อสิ ้นสุดสัญญา ค่าเช่าจะมีการทบทวนเพื่อให้ สอดคล้ องกับอัตราตลาด และ บริ ษัทไม่ได้ รับประโยชน์จากมูลค่าคงเหลือของอาคาร ยานพาหนะและอุปกรณ์ ดังนัน้ ความเสีย่ งและผลตอบแทนของอาคารและอุปกรณ์ยงั คงเป็ นของผู้ให้ เช่า
36
เหตุการณ์ ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2562 มีมติอนุมตั ิ ดังนี ้ - จัดสรรเงินทุนสารองตามกฎหมายในอัตราร้ อยละ 5 ของกาไรสุทธิสาหรับปี 2561 เป็ นจานวน 0.59 ล้ านบาท - จ่ายเงินปั นผลจากผลประกอบการของบริ ษัทสาหรับปี 2561 ให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นในอัตราหุ้นละ 0.03 บาท เป็ นจานวน 8.97 ล้ านบาท - ปรับค่าตอบแทนของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารเพิ่มขึ ้นจากเดิมอีกร้ อยละ 15 โดยมีผลตังแต่ ้ เดือนมีนาคม 2562
37
การจัดประเภทรายการใหม่ รายการบางรายการในงบการเงินสาหรับปี 2560ได้ มีการจัดประเภทรายการใหม่เพื่อให้ สอดคล้ องกับการนาเสนอในงบ การเงินสาหรับปี 2561 และบริ ษัทเลือกนาเสนองบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จจาแนกค่าใช้ จ่ายตามหน้ าที่ - ขันเดี ้ ยว (แสดงแบบงบเดียว) มีดงั นี ้
182
ก่ อนจัด ประเภท รายการใหม่ งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์ หมุนเวียน ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ลูกหนี ้การค้ า ลูกหนี ้หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น หนีส้ นิ หมุนเวียน เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น เจ้ าหนี ้การค้ า เจ้ าหนี ้หมุนเวียนอื่น ประมาณการหนี ้สินหมุนเวียนสาหรับ ผลประโยชน์พนักงาน หนี ้สินหมุนเวียนอื่น
จัดประเภท รายการใหม่ (ล้านบาท)
หลังจัด ประเภท รายการใหม่
64 8
(64) 62 8 (6)
62 8 2
(80) -
80 (65) (24)
(65) (24)
(12) (20)
(2) 11 -
(2) (1) (20)
183
ก่ อนจัด ประเภท รายการใหม่ งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายได้ รายได้ จากการขายสินค้ า รายได้ บริ การจัดหาแม่พิมพ์ รายได้ อื่น ค่ าใช้ จ่าย ต้ นทุนขายสินค้ า ต้ นทุนบริ การจัดหาแม่พิมพ์
จัดประเภท รายการใหม่ (ล้านบาท)
หลังจัด ประเภท รายการใหม่
438 5
(32) 32 (3)
406 32 2
(367) 76
22 (19) -
(345) (19) 76
184
16. รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 16.1 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถอื หุ้นของบริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ความเห็น
ข้ าพเจ้ าได้ ตรวจสอบงบการเงินของบริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) (บริ ษัท) ซึง่ ประกอบด้ วย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือ หุ้น และงบกระแสเงิ นสด สาหรั บปี สิ ้นสุดวันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน รวมถึงหมายเหตุสรุ ป นโยบายการบัญชีที่สาคัญ และเรื่ องอื่นๆ ข้ าพเจ้ าเห็นว่างบการเงินข้ างต้ นนี ้ แสดงฐานะการเงินของบริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผลการดาเนินงาน และกระแสเงินสด สาหรับปี สิ ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้ องตามที่ควรใน สาระสาคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เกณฑ์ ในการแสดงความเห็น ข้ าพเจ้ าได้ ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรั บผิดชอบของข้ าพเจ้ าได้ กล่าวไว้ ในวรรคความรับ ผิ ดชอบของผูส้ อบบัญชี ต่อการตรวจสอบงบการเงิ นในรายงานของข้าพเจ้า ข้ าพเจ้ ามีความเป็ นอิ สระจากบริ ษัท ตามข้อกาหนดจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิ ชาชี พบัญชี ที่กาหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี ในส่วนที่เกี่ยวข้ องกับการ ตรวจสอบงบการเงิน และข้ าพเจ้ าได้ ปฏิบตั ิตามความรั บผิดชอบด้ านจรรยาบรรณอื่นๆ ซึง่ เป็ นไปตามข้ อกาหนด เหล่านี ้ ข้ าพเจ้ าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้ าได้ รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้ เป็ นเกณฑ์ในการแสดง ความเห็นของข้ าพเจ้ า เรื ่องสาคัญในการตรวจสอบ เรื่ องสาคัญในการตรวจสอบ คือ เรื่ องต่างๆ ที่มีนยั สาคัญที่สดุ ตามดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพของข้ าพเจ้ าใน การตรวจสอบงบการเงินสาหรับงวดปั จจุบนั ข้ าพเจ้ าได้ นาเรื่ องเหล่านี ้มาพิจารณาในบริ บทของการตรวจสอบงบ การเงินโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้ าพเจ้ า ทังนี ้ ้ ข้ าพเจ้ าไม่ได้ แสดงความเห็นแยกต่างหากสาหรับเรื่ อง เหล่านี ้
185
เรื่องสาคัญในการตรวจสอบ
วิธีท่ ใี ช้ ในการตรวจสอบ
รายได้ จากการขายสิ น ค้ าและรายได้ บริ ก ารจั ด หา แม่ พิมพ์ ผลการดาเนินงานของบริ ษัทส่วนใหญ่ เป็ นธุรกิจผลิตและ จาหน่ายผลิตภัณฑ์โลหะและชิ ้นส่วนโลหะ และบริ การจัดหา แม่พิมพ์ที่เกี่ยวข้ องกันกับผลิตภัณฑ์ดงั กล่าว ซึ่งในปี 2561 บริ ษัทมีรายได้ จากการขายสินค้ าและรายได้ บริ การจัดหา แม่พิมพ์เป็ นจานวน 509 ล้ านบาท และ 36 ล้ านบาท (คิด เป็ นสัด ส่ว นร้ อยละ 93 และร้ อยละ 7 ของรายได้ ร วม) ตามลาดับ ทังนี ้ ้ รายได้ สว่ นใหญ่เป็ นการขายทังในประเทศ ้ และต่างประเทศให้ ตรงกับเงื่อนไขในการส่งมอบสินค้ าและ บริ การ ประกอบกับสภาวะเศรษฐกิจและการขยายตัวของ อุตสาหกรรมในปั จจุบนั บริ ษัทอาจได้ รับผลกระทบ และมี ความเสี่ ย งเกี่ ย วกั บ แผนการขายสิ น ค้ าและบริ การ กระบวนการได้ มาซึ่งลูกค้ าและรายได้ ในอนาคต ตลอดจน ระยะเวลาการส่ง มอบปริ มาณ และการโอนกรรมสิทธิ ใ น สินค้ าและแม่พิมพ์ ความถูกต้ อง และครบถ้ วนของการรับรู้ รายได้ จากการขายสินค้ าและรายได้ บริ การจัดหาแม่พิมพ์ นโยบายการบัญ ชี แ ละรายละเอี ย ดของรายได้ จ ากการ ขายสินค้ าและรายได้ บริ การจัดหาแม่พิมพ์ แสดงไว้ ในหมาย เหตุประกอบงบการเงินข้ อ 3 21 และ 31ตามลาดับ
วิธีการตรวจสอบที่สาคัญรวมถึง ทาความเข้ าใจเกี่ยวกับกระบวนการบันทึก รายได้ และ
เรื่ องที่ เ กี่ ย วข้ อง และระบบการควบคุ ม ภายในที่ เกี่ยวข้ อง สอบทานการออกแบบและการปฏิ บัติ ต ามระบบการ
ควบคุมภายในในเรื่ องดังกล่าว ตรวจสอบเนื ้อหาสาระ ซึง่ ประกอบด้ วย
- วิ เ คราะห์ เ ปรี ย บเที ย บบัญ ชี ร ายได้ เ พื่ อ ตรวจสอบ ความผิดปกติของรายการขายและบริ การตลอดรอบ ระยะเวลาบัญ ชี และรายการบัญ ชี ที่ บัน ทึ ก ผ่ า น ใบสาคัญทัว่ ไป - สุ่ม ตรวจสอบเอกสารที่เ กี่ ย วข้ อ งกับ บัน ทึก รายได้ จากการขายสิ น ค้ าและบริ ก ารจั ด หาแม่ พิ ม พ์ ที่ เกิ ด ขึน้ ในระหว่า งปี เพื่ อ ให้ แ น่ใ จว่า บริ ษั ท บัน ทึ ก รายได้ ถกู ต้ องตรงตามเงื่อนไขการส่งมอบสินค้ าและ บริ การ - ตรวจตัดยอดรายได้ โดยเลือกรายการก่อนและหลัง วันสิ ้นปี กับเอกสารที่เกี่ยวข้ อง และใบลดหนี ้ เพื่อให้ แน่ใจว่าบริ ษัทบันทึกรายได้ จากการขายสินค้ าและ บริ การจัดหาแม่พิมพ์ตรงตามรอบระยะเวลาบัญชี - สอบทานความเพียงพอของการเปิ ดเผยข้ อมูลใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน
การตีราคาสินค้ าคงเหลือและค่ าเผื่อมูลค่ าสินค้ าลดลง ผลการดาเนินงานของบริ ษัทส่วนใหญ่เป็ นธุรกิจเกี่ยวกับการ วิธีการตรวจสอบที่สาคัญรวมถึง ผลิ ต และจ าหน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ ลหะและชิ น้ ส่ ว นโลหะ ทาความเข้ าใจเกี่ยวกับกระบวนการบันทึกรายการรั บ หลา ก ห ลา ย ช นิ ด ต า ม ค า สั่ ง ซื อ้ ข อ ง ลู ก ค้ า ใ น ก ลุ่ ม จ่ า ยสิ น ค้ า ค่ า แรง และค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อง การ อุตสาหกรรมยานยนต์เป็ นหลัก ซึ่งการคานวณราคาทุนต่อ คานวณต้ นทุนต่อหน่วย การประมาณการมูลค่าสุทธิ ที่ หน่ ว ยของแต่ ล ะผลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ ผ้ ูบ ริ ห ารต้ องอาศัย ข้ อมู ล จะได้ รับ การตังค่ ้ าเผื่อมูลค่าสินค้ าลดลง และระบบการ จานวนมาก ความละเอียด และแม่นยา ในเรื่ องการเบิกใช้ ควบคุมภายในที่เกี่ยวข้ อง
186
เรื่องสาคัญในการตรวจสอบ
วิธีท่ ใี ช้ ในการตรวจสอบ
วัตถุดิบ ค่าแรงงาน และเกณฑ์การปั นส่วนค่าใช้ จ่ายในการ สอบทานการออกแบบและการปฏิ บัติ ตามระบบการ ผลิต อย่างเหมาะสม นอกจากนีผ้ ้ ูบริ หารจาเป็ นต้ องผลิต ควบคุมภายในในเรื่ องดังกล่าว สินค้ าเพื่อสารองให้ กับลูกค้ าตามที่กาหนดไว้ ในสัญญา ซึ่ง ทดสอบความมีประสิทธิ ผลของการปฏิ บัติตามระบบ ส่งผลทาให้ บริ ษัทมีสินค้ าสาเร็ จรู ปที่ผลิตเกินคาสัง่ ซื ้อของ ควบคุมภายใน รวมถึ งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ ลูกค้ า และมีสินค้ าไม่เคลื่อนไหวเป็ นเวลานานจานวนมาก เกี่ยวข้ องกับการบันทึกรายการสินค้ า และรวมทังความผั ้ นผวนของภาวะเศรษฐกิจที่อาจกระทบ ตรวจสอบเนื ้อหาสาระ ซึง่ ประกอบด้ วย ซึ่งส่งผลต่อสินค้ าคงเหลือของบริ ษัทที่ต้องรับรู้ ในมูลค่าต่า - สอบถามผู้ บริ หารเกี่ ย วกั บ เกณฑ์ ก ารปั นส่ ว น กว่าราคาทุน และมูลค่าสุทธิ ที่คาดว่าจะได้ รั บ จากปั จจัย ค่าใช้ จ่ายในการผลิตอย่างเหมาะสม ข้ างต้ นผู้บริ หารต้ องอาศัยดุลยพินิจเป็ นสาคัญ ประกอบกับ - เข้ าร่วมสังเกตการณ์การตรวจนับสินค้ าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษัทมีสินค้ าคงเหลือ จานวน 53 ล้ านบาท และค่าเผื่อมูลค่าสินค้ าลดลง จานวน 3 ล้ าน - ทดสอบการค านวณต้ นทุ น ต่ อ หน่ ว ยของแต่ ล ะ บาท (สุท ธิ คิ ด เป็ นร้ อยละ 13 ของสิน ทรั พ ย์ ร วม) ดัง นัน้ ผลิตภัณฑ์ ข้ าพเจ้ าจึงให้ ความสาคัญเกี่ยวกับการตีราคาสินค้ าและค่า - ทดสอบความถูกต้ องของการซือ้ วัตถุดิ บ การจ่า ย เผื่อมูลค่าสินค้ าลดลง ค่ า แรง และค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ เอกสาร ประกอบการบันทึกบัญชีที่เกี่ยวข้ อง นโยบายการบัญชี และรายละเอียดของสินค้ าคงเหลือและ ค่าเผื่อมูลค่าสินค้ าลดลงแสดงไว้ ในหมายเหตุประกอบงบ การเงินข้ อ 3 และ 8 ตามลาดับ
- ทดสอบความถูกต้ องของรายงานการจัดอายุสินค้ า สาเร็ จรู ป และการคานวณค่าเผื่อมูลค่าสินค้ าลดลง ว่าเป็ นไปตามนโยบายของบริ ษัท - เปรี ยบเทียบต้ นทุนต่อหน่วยของแต่ละผลิตภัณฑ์กบั มู ล ค่ า สุท ธิ ที่ จ ะได้ รั บ ซึ่ ง ค านวณจากราคาขาย ผลิ ต ภัณ ฑ์ ณ วัน ที่ ร ายงานหัก ด้ วยค่ า ใช้ จ่ า ยที่ จาเป็ นในการขาย - สอบทานความเพียงพอของการเปิ ดเผยข้ อมูลใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน
187
เรื่องสาคัญในการตรวจสอบ
วิธีท่ ใี ช้ ในการตรวจสอบ
การด้ อยค่ าของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษัทมีราคาตามบัญชีของที่ดิน วิธีการตรวจสอบที่สาคัญรวมถึง อาคาร และอุปกรณ์ จานวน 214 ล้ านบาท (คิดเป็ นร้ อยละ ทาความเข้ าใจกระบวนการในการระบุการด้ อยค่าที่อาจ 55.77 ของสินทรัพย์รวม) ซึ่งการทดสอบการด้ อยค่าของ เกิดขึ ้นและการพิจารณาการประเมินมูลค่าของอาคาร สินทรัพย์ของกิจการโดยคานวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืน เครื่ องจักร และอุปกรณ์ ของสินทรัพย์จากมูลค่าจากการใช้ สนิ ทรัพย์ (Value-in-use) ตรวจสอบเนื ้อหาสาระ ซึง่ ประกอบด้ วย โดยวิธีประมาณการกระแสเงิ นสดที่จะได้ รับในอนาคตให้ - ข้ าพเจ้ าได้ ประเมินความเหมาะสมของข้ อสมมติที่ เป็ นมู ล ค่ า ปั จ จุ บัน (Discounted Cash Flows) อย่ า ง ผู้บริ หารของบริ ษัทใช้ ในการประเมินมูลค่าที่คาดว่า ต่ อ เนื่ อ ง ทัง้ นี ้ ข้ อ สมมติ ห ลายอย่ า งที่ เ กี่ ย วข้ องกับ การ จะได้ รับคืน ที่ได้ กาหนดจากการคานวณจากมูลค่า คานวณประมาณการ ผู้บริ หารต้ องใช้ ดลุ ยพินิจอย่างมากใน จากการใช้ สินทรัพย์จากข้ อมูลในอดีตและอนาคต การกาหนดหลักเกณฑ์ ที่ใ ช้ เช่น อัตราคิด ลดที่เหมาะสม เป็ นจุดเริ่ มต้ นตลอดระยะเวลาที่เหลือของโครงการ อัตราการเติบโตของกิจการ รวมทังการคาดการณ์ ้ เกี่ยวกับ - สอบถามผู้ บริ หารเกี่ ย วกั บ ข้ อสมมติ ที่ ส าคั ญ ที่ ความผันผวนของเศรษฐกิจที่อาจเกิดขึ ้น เกี่ยวข้ องกับการคานวณมูลค่าปั จจุบนั ของประมาณ การกระแสเงินสดที่จะได้ รับในอนาคต (Discounted ดังนัน้ จึงมีความไม่แน่นอนของประมาณการกระแสเงินสด Cash Flows) โดยการเปรี ยบเที ย บกั บ ผล ที่จะได้ รับในอนาคต ข้ าพเจ้ าจึงถื อเป็ นเรื่ องสาคัญในการ ประกอบการที่เกิดขึ ้นจริ งกับตัวเลขที่ประมาณการ ตรวจสอบของข้ าพเจ้ า ไว้ ใ นเรื่ อ งระยะเวลาของโครงการ อัต ราการผลิต รวมทัง้ ความสมเหตุสมผลของอัตราการเติบ โตของ นโยบายการบัญชี และรายละเอียดของที่ดิน อาคารและ กิ จ ก า ร แ ล ะ ก า ร ค า ด ก า ร ณ์ แ น ว โ น้ ม ข อ ง อุปกรณ์ แสดงไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 3 และ อุต สาหกรรม รวมถึ ง อัต ราการคิ ด ลดที่ ใ ช้ ในการ 9 ตามลาดับ คานวณ - ทดสอบการคานวณกระแสเงินสดคิดลดและความ สมเหตุส มผลของการค านวณมูล ค่ า จากการใช้ สินทรัพย์ตามข้ อสมมติของผู้บริ หาร - สอบถามข้ อมูลที่เกี่ยวกับการคานวณมูลค่าปั จจุบนั ของประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้ รับในอนาคต จากผู้ ประเมิ น ราคาในเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ ระยะเวลา โครงการ อัตราการเติบโต และอัตราการคิดลด เป็ น ต้ น - สอบทานความเพียงพอของการเปิ ดเผยข้ อมูลใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน
188
เรื ่องอืน่ งบการเงินของบริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ที่แสดงเป็ น ข้ อมูลเปรี ยบเทียบ ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่น ซึ่งแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข ตามรายงานลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 ข้อมูลอืน่ ผู้บ ริ ห ารเป็ นผู้ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ข้ อมู ล อื่ น ข้ อ มูล อื่ น ประกอบด้ วยข้ อ มูล ซึ่ ง รวมอยู่ ใ นรายงานประจ าปี แต่ ไ ม่ ร วมถึ ง งบการเงินและรายงานของผู้สอบบัญชีที่อยู่ในรายงานนัน้ ซึ่งข้ าพเจ้ าคาดว่ารายงานประจาปี จะถูกจัดเตรี ยมให้ ข้าพเจ้ า ภายหลังวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีนี ้ ความเห็นของข้ าพเจ้ าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้ อมูลอื่น และข้ าพเจ้ าไม่ได้ ให้ ความเชื่อมัน่ ต่อข้ อมูลอื่น ความรับผิดชอบของข้ าพเจ้ าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงิน คือ การอ่านข้ อมูลอื่นตามที่ระบุข้างต้ นเมื่อจัดทาแล้ ว และพิจารณาว่าข้ อมูลอื่นมีความขัดแย้ งที่มีสาระสาคัญกับงบการเงิน หรื อกับความรู้ที่ได้ รับจากการตรวจสอบของข้ าพเจ้ า หรื อปรากฏว่าข้ อมูลอื่นมีการแสดงข้ อมูลที่ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญหรื อไม่ เมื่อข้ าพเจ้ าได้ อา่ นรายงานประจาปี หากข้ าพเจ้ าสรุปได้ วา่ มีการแสดงข้ อมูลที่ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญข้ าพเจ้ า ต้ องสือ่ สารเรื่ องดังกล่าวกับผู้มีหน้ าที่ในการกากับดูแลและขอให้ ทาการแก้ ไขที่เหมาะสมต่อไป ความรับผิ ดชอบของผูบ้ ริ หารและผูม้ ี หน้าทีใ่ นการกากับดูแลต่องบการเงิ น ผู้บริ หารมีหน้ าที่รับผิดชอบในการจัดทาและนาเสนองบการเงินเหล่านี ้โดยถูกต้ องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิ น และรั บผิด ชอบเกี่ ยวกับการควบคุมภายในที่ผ้ ูบ ริ หารพิจารณาว่าจาเป็ น เพื่อ ให้ สามารถจัด ทางบการเงิ น ที่ ปราศจากการแสดงข้ อมูลที่ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้ อผิดพลาด ในการจัดทางบการเงิน ผู้บริ หารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของบริ ษัทในการดาเนินงานต่อเนื่อง เปิ ดเผยเรื่ อง ที่เกี่ยวกับการดาเนินงานต่อเนื่อง (ตามความเหมาะสม) และการใช้ เกณฑ์การบัญชีสาหรับการดาเนินงานต่อเนื่อง เว้ นแต่ ผู้บริ หารมีความตังใจที ้ ่จะเลิกบริ ษัทหรื อหยุดดาเนินงานหรื อไม่สามารถดาเนินงานต่อเนื่องต่อไปได้ ผู้มีหน้ าที่ในการกากับดูแลมีหน้ าที่ในการสอดส่องดูแลกระบวนการในการจัดทารายงานทางการเงินของบริ ษัท
189
ความรับผิ ดชอบของผูส้ อบบัญชี ต่อการตรวจสอบงบการเงิ น การตรวจสอบของข้ าพเจ้ ามีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ ได้ ความเชื่อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวมปราศจากการ แสดงข้ อมูลที่ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญหรื อไม่ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้ อผิดพลาด และเสนอรายงานของ ผู้สอบบัญชีซงึ่ รวมความเห็นของข้ าพเจ้ าอยูด่ ้ วย ความเชื่ อมัน่ อย่างสมเหตุสมผล คือ ความเชื่อมัน่ ในระดับสูงแต่ไม่ได้ เป็ น การรับประกันว่าการปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบข้ อมูลที่ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอัน เป็ นสาระสาคัญที่มีอยูไ่ ด้ เสมอไป ข้ อมูลที่ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอาจเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้ อผิดพลาด และถือว่ามีสาระสาคัญ เมื่อคาดการณ์ ได้ อย่างสมเหตุสมผลว่ารายการที่ขัดต่อข้ อเท็จจริ งแต่ละรายการหรื อทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการ ตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้ งบการเงินจากการใช้ งบการเงินเหล่านี ้ ในการตรวจสอบของข้ าพเจ้ าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้ าพเจ้ าได้ ใช้ ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบ วิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานของข้ าพเจ้ ารวมถึง
ระบุและประเมินความเสีย่ งจากการแสดงข้ อมูลที่ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญในงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจาก การทุจริ ตหรื อข้ อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั ิงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่ อตอบสนองต่อความเสี่ยงเหล่านัน้ และ ได้ หลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้ าพเจ้ า ความเสี่ยงที่ไม่ พบข้ อมูลที่ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญซึง่ เป็ นผลมาจากการทุจริ ตจะสูงกว่าความเสีย่ งที่เกิดจากข้ อผิดพลาด เนื่องจากการทุจริ ตอาจเกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐานการตังใจละเว้ ้ นการแสดงข้ อมูลการ แสดงข้ อมูลที่ไม่ตรงตามข้ อเท็จจริ งหรื อการแทรกแซงการควบคุมภายใน
ทาความเข้ าใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้ องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับ สถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของบริ ษัท
ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผ้ บู ริ หารใช้ และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชี และ การเปิ ดเผยข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องซึง่ จัดทาขึ ้นโดยผู้บริ หาร
สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้ เกณฑ์การบัญชีสาหรับการดาเนินงานต่อเนื่องของผู้บริ หารและจากหลักฐาน การสอบบัญชีที่ได้ รับ สรุปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสาคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณ์หรื อสถานการณ์ที่อาจเป็ นเหตุให้ เกิดข้ อสงสัยอย่างมีนยั สาคัญต่อความสามารถของบริ ษัทในการดาเนินงานต่อเนื่องหรื อไม่ ถ้ าข้ าพเจ้ าได้ ข้อสรุ ปว่ามี ความไม่แน่นอนที่มีสาระสาคัญ ข้ าพเจ้ าต้ องกล่าวไว้ ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้ าพเจ้ าโดยให้ ข้อสังเกตถึงการ เปิ ดเผยข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องในงบการเงิน หรื อถ้ าการเปิ ดเผยดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็นของข้ าพเจ้ าจะเปลี่ ยนแปลง ไป ข้ อสรุ ปของข้ าพเจ้ าขึ ้นอยู่กับหลักฐานการสอบบัญชีที่ได้ รับจนถึงวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้ าพเจ้ า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรื อสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็ นเหตุให้ บริ ษัทต้ องหยุดการดาเนินงานต่อเนื่อง
190
ประเมินการนาเสนอโครงสร้ างและเนื ้อหาของงบการเงินโดยรวม รวมถึงการเปิ ดเผยข้ อมูลว่างบการเงินแสดงรายการ และเหตุการณ์ในรูปแบบที่ทาให้ มีการนาเสนอข้ อมูลโดยถูกต้ องตามที่ควรหรื อไม่
ข้ าพเจ้ าได้ สอื่ สารกับผู้มีหน้ าที่ในการกากับดูแลในเรื่ องต่างๆ ที่สาคัญ ซึ่งรวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบ ตามที่ได้ วางแผนไว้ ประเด็น ที่มีนยั สาคัญที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงข้ อบกพร่ องที่มีนยั สาคัญในระบบการควบคุม ภายในหากข้ าพเจ้ าได้ พบในระหว่างการตรวจสอบของข้ าพเจ้ า ข้ าพเจ้ าได้ ให้ คารับรองแก่ผ้ มู ีหน้ าที่ในการกากับดูแลว่าข้ าพเจ้ าได้ ปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้ องกับความ เป็ นอิสระและได้ สอื่ สารกับผู้มีหน้ าที่ในการกากับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ทงหมดตลอดจนเรื ั้ ่ องอื่น ซึ่งข้ าพเจ้ าเชื่อว่ามี เหตุผลที่บคุ คลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็ นอิสระของข้ าพเจ้ าและมาตรการที่ข้าพเจ้ าใช้ เพื่อป้องกันไม่ให้ ข้ าพเจ้ าขาดความเป็ นอิสระ จากเรื่ องที่สื่อสารกับผู้มี หน้ าที่ ในการกากับ ดูแล ข้ าพเจ้ าได้ พิจารณาเรื่ องต่างๆ ที่มี นัยสาคัญที่สุดในการตรวจสอบ งบการเงินในงวดปั จจุบนั และกาหนดเป็ นเรื่ องสาคัญในการตรวจสอบ ข้ าพเจ้ าได้ อธิบายเรื่ องเหล่านี ้ในรายงานของผู้สอบ บัญชี เว้ นแต่กฎหมายหรื อข้ อบังคับไม่ให้ เปิ ดเผยต่อสาธารณะเกี่ ยวกับเรื่ องดังกล่าว หรื อในสถานการณ์ที่ยากที่ จะเกิดขึ ้น ข้ าพเจ้ าพิจารณาว่าไม่ควรสื่อสารเรื่ องดังกล่าวในรายงานของข้ าพเจ้ า เพราะการกระทาดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้ อย่าง สมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ตอ่ ส่วนได้ เสียสาธารณะจากการสือ่ สารดังกล่าว
(ชัยกฤต วรกิจภรณ์) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 7326 บริ ษัท เอ็นพีเอส สยาม สอบบัญชี จากัด กรุงเทพมหานคร 26 กุมภาพันธ์ 2562
191
16.2. ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน (ก) ผู้สอบบัญชีและนโยบายบัญชีท่ สี าคัญ รายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาตประจาปี 2559 ถึงปี 2561 สามารถสรุปได้ ดงั นี ้ รายงานผู้สอบบัญชีสาหรับงบการเงิ นของบริ ษัท งวดบัญชี ปี 2559 สิ ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ซึ่ง ตรวจสอบโดยนางสาวเขมนันท์ ใจชื ้นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 8260 ทังนี ้ ้ในระหว่างการตรวจสอบงบการเงิน สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผู้สอบบัญชีได้ โอนย้ ายจากสานักงานเดิมมาสังกัดสานักงาน บริ ษัท สยาม ทรู ธ สอบบัญชี จากัด ซึ่งเป็ นผู้สอบบัญชีที่ได้ รับความเห็นชอบจากสานักงาน ก.ล.ต. ได้ ให้ ความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไขว่า งบ การเงินของบริ ษัทแสดงฐานะการเงิน และผลการดาเนินงาน โดยถูกต้ องตามที่ควรในสาระสาคัญตามหลักการบัญชีที่ รับรองทัว่ ไป รายงานผู้สอบบัญชีสาหรับงบการเงิ นของบริ ษัท งวดบัญชี ปี 2560 สิ ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ซึ่ง ตรวจสอบโดย นางสาวเขมนันท์ ใจชื ้นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 8260 ซึง่ เป็ นผู้สอบบัญชีที่ได้ รับความเห็นชอบ จากสานักงาน ก.ล.ต. ได้ ให้ ความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไขว่า งบการเงินของบริ ษัทแสดงฐานะการเงิน และผลการดาเนินงาน โดยถูกต้ องตามที่ควรในสาระสาคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป รายงานผู้สอบบัญ ชี สาหรั บ งบการเงิ น ของบริ ษั ท งวดบัญ ชี ปี 2561 สิน้ สุด ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2561 ซึ่ ง ตรวจสอบโดย บริ ษัท เอ็น พี เอส สยาม สอบบัญชี จากัด โดยนายชัยกฤต วรกิจภรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียน เลขที่ 7326 ซึ่งเป็ นผู้สอบบัญชีที่ได้ รับความเห็นชอบจากสานักงาน ก.ล.ต. ได้ ให้ ความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และผลการดาเนินงาน และ กระแสเงินสด สาหรับปี สิ ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้ องตามที่ควรในสาระสาคัญ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ข) ตารางสรุ ปฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน (หน่วย : ล้ านบาท) สรุ ปรายการ งบแสดงฐานะทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว-เงินฝากประจา ลูกหนี ้การค้ า ลูกหนี ้หหมุนเวียนอื่น สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ หมุนเวียน เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระหลักประกัน ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
สิน้ สุด 31 ธ.ค. 59 จานวน % 21.46 7.05% 0.22 0.07% 51.86 17.05% 7.61 2.50% 39.20 12.88% 1.58 0.53% 121.93 40.08% 5.98 1.97% 170.89 56.17% 1.78 0.59% 0.00% 3.63 1.19% 182.29 59.92% 304.23 100.00%
ตรวจสอบแล้ ว สิน้ สุด 31 ธ.ค. 60 จานวน % 15.37 4.42% 0.26 0.07% 62.29 17.90% 7.81 2.25% 49.62 14.26% 1.89 0.54% 137.25 39.45% 5.08 1.49% 199.63 57.39% 3.01 0.86% 0.00% 2.90 0.83% 210.62 60.55% 347.87 100.00%
192
สิน้ สุด 31 ธ.ค. 61 จานวน % 19.19 5.67% 0.29 0.07% 76.34 19.89% 10.00 2.61% 49.82 12.98% 0.42 0.11% 156.05 40.67% 5.08 1.32% 214.00 55.77% 2.68 0.70% 0.00% 5.88 1.53% 227.64 59.33% 383.70 100.00%
สรุ ปรายการ งบแสดงฐานะทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน เจ้ าหนี ้การค้ า เจ้ าหนี ้หมุนเวียนอื่น หนี ้สินส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึง่ ปี เงินกู้ยืมระยะสันจากบุ ้ คคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้ อง หนี ้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี ้สินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงินระยะยาว หนี ้สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิน ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชาระแล้ ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ใบสาคัญแสดงสิทธิ สารองตามกฎหมาย กาไรสะสมที่ยงั ไม่ได้ จดั สรร
สิน้ สุด 31 ธ.ค. 59 จานวน % 33.93 11.15% 59.53 19.57% 20.72 6.82% 7.51 2.47% 15.00 4.93% 1.26 0.41% 137.95 45.35% 2.16 0.71% 4.44 1.46% 6.60 2.17% 144.55 47.52% 150.34 49.42% 149,49 49.14% 33.51 11.01% 0.12 0.04% -23.44 -7.71%
รวมส่ วนของเจ้ าของ
159.68
52.49%
รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น
304.23 100.00%
ตรวจสอบแล้ ว สิน้ สุด 31 ธ.ค. 60 จานวน % 34.86 10.02% 65.38 18.80% 23.57 6.78% 9.15 2.63% 15.00 4.31% 3.14 0.90% 151.10 43.44% 13.01 3.74% 14.85 4.27% 3.25 0.93% 31.11 8.94% 182.21 52.38% 150.34 44.22% 149.55 42.99% 33.61 9.66% 0.39 0.11% -17.89 -5.14% 165.65
สิน้ สุด 31 ธ.ค. 61 จานวน % 41.03 10.69% 66.55 17.34% 28.88 7.53% 11.29 2.94% 10.00 2.61% 1.20 0.31% 158.96 41.43% 9.76 2.54% 27.52 7.17% 5.92 1.54% 5.52 1.44% 48.73 12.70% 207.69 54.13% 199.40 51.97% 149.55 38.98% 16.10 4.20% 0.00% 0.59 0.15% 9.77 2.55%
47.62%
176.01
45.87%
347.87 100.00%
383.70
100.00%
(หน่วย : ล้ านบาท) ตรวจสอบแล้ ว สรุ ปรายการ งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายได้ จากการขายสินค้ า รายได้ บริการจัดหาแม่พิมพ์ ต้ นทุนขายสินค้ า ต้ นทุนบริการจัดหาแม่พิมพ์ กาไรขัน้ ต้ น รายได้ อื่น ค่าใช้ จา่ ยในการขาย ค่าใช้ จา่ ยในการบริหาร
ปี 2559 จานวน 382. 74 27.73 (333.64) (15.65) 61.18 4.11 (7.59) (71.92)
ปี 2560 % 93.24% 6.76% -81.28% -3.82% 14.90% 1.00% -1.85% -17.52%
จานวน 405.53 32.37 (345.74) (18.72) 73.44 1.66 (7.52) (57.05)
ปี 2561 % 92.61% 7.39% -78.95% -4.28% 16.77% 0.38% -1.72% -13.03%
193
จานวน 508.59 35.86 (423.38) (23.59) 97.48 2.20 (8.37) (68.41)
% 93.41% 6.59% -77.76% -4.34% 17.90% 0.40% -1.54% -12.57%
ตรวจสอบแล้ ว สรุ ปรายการ งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ต้ นทุนทางการเงิน กาไร(ขาดทุน)ก่ อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กาไร(ขาดทุน)สาหรับงวด กาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น กาไร(ขาดทุน)จากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ ประกันภัยสาหรับโครงการผลประโยชน์ พนักงาน ภาษีเงินได้ ที่เกี่ยวกับรายการที่จะไม่จดั ประเภท รายการใหม่เข้ าไปไว้ ในกาไรหรือขาดทุน กาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น – สุทธิจากภาษีเงินได้ กาไร(ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสาหรับงวด กาไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้น ขันพื ้ ้นฐาน ปรับลด จานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน ้าหนัก (หุ้น) ที่มลู ค่าที่ตราไว้ 0.50 บาท/หุ้น
ปี 2559
ปี 2560
ปี 2561
จานวน (4.01) (18.23) (5.38)
% -0.98% -4.45% -1.31%
จานวน (4.15) 6.38 (0.09)
% -0.95% 1.46% -0.02%
จานวน (4.78) 18.11 (6.29)
% -0.88% 3.33% -1.16%
(23.61)
-5.76%
6.29
1.44%
11.82
2.17%
0.21
0.05%
(0.44)
-0.10%
(1.83)
-0.34%
(0.04)
-0.01%
0.09
0.02%
0.37
0.07%
0.17 (23.44)
0.04% -5.72%
(0.35) 5.94
-0.08% 1.36%
(1.46) 10.36
-0.27% 1.90%
-0.08 -0.08
0.02 0.02
0.04 0.03
297,970,170 0.50
299,056,934 0.50
299,094,963 0.50 (หน่วย: ล้ านบาท) ตรวจสอบแล้ ว
สรุ ปรายการงบกระแสเงินสด ปี 2559 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กาไรหลังภาษีเงินได้ ปรับกระทบกาไรก่ อนภาษีเงินได้ เป็ นเงินสดสุทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน)กิจกรรมดาเนินงาน ค่าเสื่อมราคาและตัดจาหน่าย ขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้ า(กลับรายการ) ขาดทุนจากการด้ อยค่าทรัพย์สิน หนี ้สงสัยจะสูญ โอนกลับค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ ขาดทุน (กาไร) จากการตัดจาหน่ายสินทรัพย์ กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่ได้ เกิดขึ ้น ผลตอบแทนพนักงานและปรับมูลค่ายุติธรรมใบสาคัญแสดงสิทธิ ค่าใช้ จา่ ยผลประโยชน์พนักงาน
ปี 2560
2561
-23.61
6.29
11.82
27.52 0.14 3.87 4.46 0.01 -
24.87 (0.34) (2.75) 0.47 (0.12) 0.11 (0.05) (0.12) 0.55
29.86 2.16 2.20 1.02 (0.47) 0.76 0.04 0.44
194
ตรวจสอบแล้ ว
สรุ ปรายการงบกระแสเงินสด ดอกเบี ้ยรับ ดอกเบี ้ยจ่าย ค่าใช้ จา่ ยภาษีเงินได้ กระแสเงินสดก่ อนการเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน การเปลี่ยนแปลงเงินทุนหมุนเวียน ลูกหนี ้การค้ า ลูกหนี ้หมุนเวียนอื่น สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้ าหนี ้การค้ า เจ้ าหนี ้หมุนเวียนอื่น หนี ้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน เงินสดรับจากการดาเนินงาน รับคืนภาษีเงินได้ จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้ มาจากกิจกรรมดาเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน รับดอกเบี ้ย เงินลงทุนชัว่ คราว-เงินฝากประจา ซื ้ออาคารและอุปกรณ์ ซื ้อสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน จาหน่ายอุปกรณ์ เงินฝากธนาคารติดภาระหลักประกันลดลง เงินสดสุทธิใช้ ไปจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี ้ย จ่ายชาระเงินเบิกเกินบัญชี เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน เงินสดจ่ายจากเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสันจากบุ ้ คคลและกิจการที่เกี่ยวข้ อง เงินสดจ่ายจากเงินกู้ยืมระยะสันจากบุ ้ คคลและกิจการที่เกี่ยวข้ อง เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว ชาระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว จ่ายชาระเงินหนี ้สินภตามสัญญาเช่าการเงิน
ปี 2559 (0.10) 4.01 5.38 21.68
ปี 2560 (0.09) 4.15 0.09 33.06
2561 (0.08) 4.78 6.29 58.82
(7.11) 7.50 (0.23) (2.16) 6.85 0.24 0.70 27.47 1.21 (1.12) 27.56
(10.07) (0.47) (10.03) 0.60 (9.54) 5.47 1.96 0.98 11.96 0.58 (0.94) 11.60
(14.02) (2.80) (2.36) 1.47 (1.42) 1.17 5.30 0.24 (2.17) 44.23 (1.56) 42.67
0.10 (14.23) (0.18) 0.01 (14.30)
0.09 (0.26) (21.88) (1.18) 0.38 0.90 (21.95)
0.08 (0.02) (26.99) (0.31) 2.01
(4.02) (3.74) (2.80) (8.05)
(4.16) 1.19 (0.26) 12.50 (12.50) 17.20 (2.24) (7.85)
(4.78) 5.52 107.28 (106.63) 2.50 (7.50) (3.12) (6.90)
195
(25.23)
ตรวจสอบแล้ ว
สรุ ปรายการงบกระแสเงินสด ปี 2559 1.86 (16.75) (3.49) 25.17 21.68
หุ้นสามัญที่ออกจากการใช้ ใบสาคัญแสดงสิทธิ เงินสดสุทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ ้นสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือต้ นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือสิ ้นปี
ปี 2560 0.16 4.04 (6.31) 21.68 15.37
2561 (13.63) 3.82 15.37 19.19
ตารางแสดงอัตราส่ วนทางการเงินที่สาคัญ อัตราส่ วนทางการเงิน อัตราส่ วนสภาพคล่ อง (Liquidity ratio)
2559
2560
2561
อัตราส่วนสภาพคล่อง
เท่า
0.90
0.91
0.98
อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว
เท่า
0.62
0.58
0.67
อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี ้การค้ า ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลี่ย อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลี่ย* อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี ้ ระยะเวลาชาระหนี ้ Cash cycle
เท่า เท่า วัน เท่า วัน เท่า วัน วัน
0.16 8.42 43.37 8.12 44.95 5.22 69.95 18.37
0.10 7.46 48.93 8.27 44.14 4.87 74.88 18.19
0.12 7.85 46.47 8.99 40.60 5.09 71.69 15.38
อัตรากาไรขันต้ ้ น อัตรากาไรจากการดาเนินงาน อัตรากาไรก่อนภาษีเงินได้ อัตราส่วนเงินสดต่อการทากาไร อัตรากาไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร
% % % % % % % %
15.63 5.28 -4.44 -91.83 -5.75 -14.79 -7.76 -13.82
16.77 7.43 1.46 244.43 1.44 3.80 1.81 3.15
17.90 10.72 3.33 162.34 2.17 6.72 3.08 5.52
อัตราการหมุนของสินทรัพย์
เท่า
1.29
1.20
1.49
เท่า เท่า เท่า %
0.91 1.78 0.64 -
1.10 0.64 0.18 -
1.18 1.63 0.67 -
อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการทากาไร (Profitability ratio)
อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน (Financial policy ratio) อัตราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนความสามารถชาระดอกเบี ้ย อัตราส่วนความสามารถชาระภาระผูกพัน - Cash basis อัตราการจ่ายเงินปั นผล
196
17.รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการการต่ อรายงาน ทางการเงิน เรี ยน ท่านผู้ถือหุ้น บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริ ษัทได้ ให้ ความสาคัญต่อหน้ าที่และความรับผิดชอบดูแลกิจการบริ ษัทฯ ให้ เป็ นไปตามนโยบาย การกากับดูแลกิจการที่ดี การกากับดูแลงบการเงินและสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจาปี มีข้อมูลที่ ถูกต้ อง ครบถ้ วน เปิ ดเผย อย่างเพียงพอ งบการเงินได้ ถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปในประเทศไทย โดย เลือกใช้ นโยบายการบัญชีที่เหมาะสม และถือปฏิบตั ิอย่างสม่าเสมอ และใช้ ดลุ ยพิ นิจอย่างระมัดระวัง รวมถึงจัดให้ มีและ ดารงรักษาไว้ ซงึ่ ระบบการควบคุมภายในที่มี ประสิทธิผลเพื่อให้ เชื่อมัน่ อย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ ของงบการเงิน การ ดูแลรักษาทรัพย์สนิ มีระบบการป้องกันที่ดีไม่มีรายการ ทุจริ ตหรื อมีการดาเนินการที่ผิดปกติรายการที่เกี่ยวโยงกัน ซึง่ อาจทา ให้ เกิ ดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ เป็ นรายการจริ งทางการค้ า อันเป็ นธุรกิจปกติทวั่ ไปอย่างสมเหตุสมผลและเป็ น ประโยชน์สงู สุด รวมทังมี ้ การปฏิบตั ิตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้ อง ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้ รายงานผลการ ปฏิบตั ิงานต่อคณะกรรมการบริ ษัทแล้ ว และได้ รายงานความเห็นเกี่ยวกับเรื่ องนี ้ ในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบซึ่ง ปรากฏในรายงานประจาปี คณะกรรมการบริ ษัทมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทฯ โดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจ และ สามารถให้ ความมัน่ ใจ อย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ ของงบการเงินของบริ ษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ซึ่งผู้สอบ บัญชีของบริ ษัทฯ ได้ ตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทัว่ ไป และแสดงความเห็นว่างบการเงินแสดงฐานะ การเงินและผลการดาเนินงานโดยถูกต้ อง ตามที่ควรในสาระสาคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป
นายมาซามิ คัตซูโมโต กรรมการ
นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล กรรมการ
197
18.รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจาปี 2561 เรี ยน ท่านผู้ถือหุ้น บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) จานวน 3 ท่าน ซึ่งเป็ นคณะกรรมการ อิสระที่มีคณ ุ สมบัติครบถ้ วนตามข้ อกาหนด และแนวทางปฏิบตั ิที่ดีของคณะกรรมการตรวจสอบของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ปั จจุบนั คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษัท ประกอบด้ วย 1. นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายสันติ เนียมนิล กรรมการตรวจสอบ 3. นายนิพนั ธ์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม กรรมการตรวจสอบ โดยปั จจุบนั มี นางสาวประภาพรรณ ชนะพาล เป็ นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ตามขอบเขต หน้ าที่ และความรับผิดชอบที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริ ษัทฯ ซึง่ สอดคล้ องกับข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยในรอบปี บัญชี 2561 ได้ จดั ให้ มีการประชุม คณะกรรมการตรวจสอบจานวน 4 ครัง้ และในปี 2562 จนถึงวันที่รายงาน จานวน 2 ครัง้ รวมทังสิ ้ ้น 6 ครัง้ เป็ นการร่ วม ประชุมกับผู้บริ หาร ผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายใน ตามความเหมาะสมซึง่ สรุปสาระสาคัญได้ ดงั นี ้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจาปี 2561 โดย ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชี และผู้บริ หาร ของบริ ษัทฯ เพื่อพิจารณา ความถูกต้ องครบถ้ วนของงบการเงิน และความเพียงพอในการเปิ ดเผยข้ อมูล ประกอบงบการเงิน นโยบายการบัญชี รวมทังข้ ้ อสังเกตุจาก การตรวจสอบและ สอบทาน งบการเงินของ ผู้สอบบัญชี ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า งบการเงินดังกล่าว ได้ จดั ทาตามมาตรฐานการ บัญชี มีความถูกต้ องตามที่ควรในสาระสาคัญและมีการเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอ รวมทังเป็ ้ นไปตาม ข้ อกาหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง 2. สอบทานข้ อมูลการดาเนินงานและระบบการควบคุมภายใน เพื่อประเมินความเพียงพอ เหมาะสม และ ประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน อันจะช่วยส่งเสริ มให้ การดาเนินงานบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนด ไว้ โดยพิจารณาจากการสอบทานผลการประเมิน ระบบการควบคุมภายในร่ วมกับผู้สอบบัญชี และ ผู้ ตรวจสอบภายใน ไม่พบจุดอ่อนหรื อข้ อบกพร่ องที่เป็ นสาระสาคัญ มีการดูแลรักษาทรัพย์สินที่เหมาะสม และมีการเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน และเชื่อถือได้ นอกจากนีไ้ ด้ ประเมินระบบการควบคุมภายใน ตามแนวทางที่กาหนดโดยสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยผู้สอบบัญชี และ ผู้ตรวจสอบภายใน มีความเห็น ว่า บริ ษัทฯ มีระบบการควบคุม ภายในที่ดีและมีการพัฒนาอย่า ง ต่อเนื่อง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้ องกับผู้สอบบัญชีและ ผู้ตรวจสอบภายใน 3. สอบทานการตรวจสอบภายในโดยพิจารณา กระบวนการเริ่ มตัง้ แต่การวางแผน การรายงาน และการ ติดตามผลการปฏิบตั ิตามคาแนะนาของ บริ ษัท สอบบัญชีไทย จากัด ซึ่งเป็ น ผู้ตรวจสอบภายในของบริ ษัท เพื่อปรับปรุงให้ เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล อีกทังได้ ้ พิจารณาทบทวนและอนุมตั ิการแก้ ไขกฏบัตรงาน
198
4.
5.
6.
7.
ตรวจสอบภายในให้ เหมาะสม ทันสมัย และสอดคล้ องกับคู่มือแนวทางการตรวจสอบภายในของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และได้ อนุมตั ิแผนการตรวจสอบประจาปี ที่จดั ขึ ้นตามความเสี่ยงระดับองค์กร คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริ ษัทฯ มีระบบการตรวจสอบภายในที่เพียงพอ เหมาะสม และมี ประสิทธิผล เป็ นไปตามมาตราฐานสากล สอบทานการปฏิบตั ิตามกฎหมาย ว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและกฏหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัทฯ รวมถึงการปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดของบริ ษัทฯ และข้ อผูกพันที่บริ ษัทฯมีไว้ กบั บุคคลภายนอก ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ไม่พบประเด็นที่ เป็ นสาระส าคั ญ ในเรื่ อ งการไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ข้ อก าหนด และข้ อผู ก พั น ที่ บ ริ ษั ท ฯมี ไ ว้ กั บ บุคคลภายนอก สอบทานระบบการบริ หารความเสีย่ ง ให้ มีความเชื่อมโยงกับระบบการควบคุมภายในเพื่อจัดการความเสี่ยง ทัว่ ทังบริ ้ ษัทฯ โดยได้ พิจารณาสอบทานนโยบาย ปั จจัยความเสี่ยง แนวทางการบริ หารความเสี่ยง รวมถึง ความคืบหน้ าของการบริ หารความเสีย่ ง ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริ ษัทให้ ความสาคัญกับ การบริ หารความเสี่ยง โดยฝ่ ายบริ หารมีการประเมินความเสี่ยง(Risk Assessment) ที่อาจมีผลกระทบต่อ การดาเนินธุรกิจของบริ ษัทอย่างมีนยั สาคัญ ทังที ้ ่มาจากปั จจัยภายในและปั จจัย ภายนอกอย่างสม่าเสมอ โดยบริ ษัทได้ มีการแต่งตังคณะท ้ างานดาเนินการบริ หารความเสี่ยงมารับผิดชอบทาหน้ าที่นี ้ บริ ษัทมีการ กาหนดกระบวนการบริ หารความเสีย่ งไว้ 7 ขันตอน ้ ดังนี ้ 1) การกาหนดวัตถุประสงค์ 2) การวิเคราะห์ความ เสีย่ ง 3) การประเมินความเสี่ยง 4) การประเมินมาตรการควบคุม 5) การบริ หาร/การจัดการความเสี่ยง 6) การรายงาน7) การติดตาม ประเมินผล และทบทวน โดยได้ มีการจัดทาคู่มือการบริ หารความเสี่ยงเพื่อเป็ น แนวทางในการดาเนินงาน สอบทานและให้ ความเห็นต่อรายการที่เกี่ ยวโยงกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ รวมถึงการเปิ ดเผยข้ อมูลของรายการดังกล่าว ตามข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งผู้สอบบัญชีมีความเห็นว่า รายการค้ ากับ บริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกันที่มีสาระสาคัญได้ เปิ ดเผยและแสดงรายการในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบ การเงิ นแล้ ว และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้ องกับผู้สอบบัญชี รวมทัง้ มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที่สมเหตุสมผล และเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อการดาเนิ นธุรกิจของบริ ษัท รวมทังมี ้ การเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างถูกต้ องและครบถ้ วน พิ จ ารณาคัด เลื อ ก เสนอแต่ ง ตัง้ และเสนอค่ า ตอบแทนผู้ส อบบัญ ชี ประจ าปี 2561 เพื่ อ น าเสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ให้ อ นุมัติ จ ากที่ ป ระชุม ผู้ถื อ หุ้น ประจ าปี 2561 ซึ่ง คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาผลการปฏิบตั ิงาน ความเป็ นอิสระและความเหมาะสมของค่าตอบแทนแล้ ว เห็นควรเสนอแต่งตัง้ นายณรงค์ หลักฐาน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4700/หรื อ นางสาวมะลิวรรณ พาหุวฒ ั นกร ผู้สอบบัญชี รับอนุญาตเลขที่ 4701/หรื อ นายชัยกฤต วรกิจภรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 7326 แห่งบริ ษัท เอ็นพี เอส สยาม สอบบัญชี จากัดเป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ ประจาปี 2561 พร้ อมด้ วยค่าตอบแทนเป็ นจานวน เงินรวม 1,330,000 บาท ไม่รวมการตรวจสอบการขอใช้ สิทธิ ประโยชน์ที่บริ ษัทได้ รับจากบัตรส่งเสริ มการ
199
ลงทุน (BOI) ในราคาบัตรละ 50,000 บาทโดยคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นเกี่ยวกับการเสนอแต่งตัง้ ผู้สอบบัญชีดงั กล่าวดังนี ้ ในรอบปี บัญชีที่ผ่านมา ผู้สอบบัญชีได้ ปฏิบตั ิงานด้ วยความรู้ ความสามารถในวิชาชีพ และ ให้ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในและความเสี่ยงต่างๆ รวมทังมี ้ ความเป็ น อิสระในการปฏิบตั ิงาน ค่าตอบแทนที่เสนอมาเป็ นอัตราที่เหมาะสม ผู้สอบบัญชีไม่มีความสัมพันธ์ใดๆกับบริ ษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บัติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยความรอบคอบอย่ า งเป็ นอิ สระ และแสดงความเห็ น อย่ า ง ตรงไปตรงมา เพื่อประโยชน์ สูงสุดของบริ ษัทฯตามที่ได้ ระบุไว้ ในกฏบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้ รับอนุมัติจาก คณะกรรมการบริ ษัทฯ และมีความเห็นว่า บริ ษัทฯ ได้ จดั ทารายงานข้ อมูลทางการเงินอย่างถูกต้ องตามที่ควร มีระบบการ ควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การบริ หารความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีประสิทธิ ผล มีการปฏิบตั ิตาม กฎหมาย ข้ อกาหนดและข้ อผูกพันต่างๆ มีการเปิ ดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันอย่างถูกต้ องและมีการปฏิบตั ิงานที่สอดคล้ องกับระบบ การกากับดูแลกิจการที่ดีอย่างเพียงพอ โปร่ งใส และเชื่ อถื อได้ รวมทัง้ มีการพัฒนาปรั บปรุ งระบบการปฏิบัติงานให้ มี คุณภาพดีขึ ้นและเหมาะสมกับสภาวะแวดล้ อม ทางธุรกิจอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง
ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ
นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์ (ประธานกรรมการตรวจสอบ) 26 กุมภาพันธ์ 2562
200
19. รายงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่ าตอบแทน ประจาปี 2561 เรี ยน ท่านผู้ถือหุ้น บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) จานวน 3 ท่าน ซึง่ มีคณ ุ สมบัติครบถ้ วนตามข้ อกาหนด และแนวทางปฏิบตั ิที่ดีของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนของบริ ษัท ประกอบด้ วย 1. นายนิพนั ธ์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 2. นายยุทธนา แต่ปางทอง กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 3. นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน โดยปั จจุบนั มี นางสาวสกุลทิพย์ ห่อมณี เป็ นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ตามขอบเขต หน้ าที่ และความรับผิดชอบที่ได้ รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัทฯ ซึง่ สอดคล้ องกับข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยในรอบปี บัญชี 2561 ได้ จัดให้ มีการประชุมคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจานวน 2 ครัง้ และในปี 2561 จนถึงวันที่ รายงาน จานวน 1 ครัง้ รวมทังสิ ้ ้น 3 ครัง้ ซึง่ สรุปสาระสาคัญได้ ดงั นี ้ การสรรหาและคัดเลือกบุคคล เพื่อเข้ ารั บการเสนอชื่อเป็ นกรรมการแทนกรรมการที่ต้องออกจาก ตาแหน่ งตามวาระ การสรรหาและคัดเลือกบุค คล เพื่อเข้ า รั บการเสนอชื่ อเป็ นกรรมการแทนกรรมการที่ต้องออกจาก ตาแหน่งตามวาระ คณะกรรมการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนทาหน้ าที่ในการสรรหาและคัดเลือก บุคคล เพื่อ เข้ ารั บการเสนอชื่ อเป็ นกรรมการแทนกรรมการที่ต้อ งออกจากต าแหน่งตามวาระ ซึ่ง ปี 2561 มี คณะกรรมการที่ออกตามวาระทังหมด ้ 3 ท่านดังนี ้ 1. นางพูนศรี ปั ทมวรกุลชัย 2.นายมาซามิ คัตซุโมโต และ 3. นายนิพนั ธ์ ตังพิ ้ รุฬห์ธรรม และจากการที่บริ ษัทได้ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นเสนอชื่อบุคคลเพื่อพิจารณาเลือกตังเป็ ้ นกรรมการล่วงหน้ า ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2562 โดยได้ เผยแพร่ ให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและเว็บไซต์ www.sankothai.net ของบริ ษัทฯ ตัง้ แต่วันที่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ปรากฎว่าไม่มีผ้ ถู ือหุ้นเสนอชื่อบุคคลอื่นเข้ ามา ทางคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจึงได้ พิจารณาแล้ ว เห็นว่าคณะกรรมการทัง้ 3 ท่าน ที่ออกจากตาแหน่งตามวาระ ก็ยงั คงมีความเหมาะสมที่จะได้ รับการคัดเลือกให้ ดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษัทได้ อีกวาระหนึง่ โดยทัง้ 3 ท่านมีคณ ุ สมบัติตาม พ.ร.บ.บริ ษัทมหาชนจากัด พ.ศ.2535 พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ และตามคุณสมบัติที่บริ ษัทได้ กาหนดไว้ ตลอดจนเมื่อพิจารณาความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์
201
และความเชี่ยวชาญที่หลากหลาย รวมถึงผลการปฏิบตั ิงานที่ผ่านมาแล้ วเป็ นประโยชน์สงู สุดแก่การดาเนินงาน ของบริ ษัท จึงเห็นชอบในการเสนอแต่งตัง้ ทัง้ 3 ท่านเป็ นคณะกรรมการบริ ษัทอีกวาระหนึ่ง และนาเสนอต่อ คณะกรรมการบริ ษัท เพื่อขออนุมตั ิจากผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นต่อไป การพิจารณาค่ าตอบแทนคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการชุดย่ อย และค่ าตอบแทนประธาน เจ้ าหน้ าที่บริหาร ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการชุดย่อย จะพิจารณาโดยคานึงถึงความเหมาะสม เปรี ยบเทียบอ้ างอิงจากบริ ษัทจดทะเบียนอื่นในอุตสาหกรรม ประเภทเดียวกัน ข้ อมูลการสารวจค่าตอบแทนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การขยายตัวทางเศรษฐกิจ และผลการดาเนินงานของบริ ษัท รวมถึงผลการปฏิบตั ิงาน และภาระหน้ าที่ความรับผิดชอบในปี ที่ผ่านมา และ นาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัท เพื่อขออนุมตั ิจากผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นต่อไป ซึ่งปี นี ้เป็ นปี แรกที่ ได้ มีการพิจารณาปรับขึ ้นค่าเบี ้ยประชุมของคณะกรรมการ และปรับเปลีย่ นค่าตอบแทนคณะกรรมการอิสระ จาก ที่จ่ายทังรายเดื ้ อนและตามจานวนครัง้ ที่เข้ า ประชุม เป็ นจ่ายตามจานวนครัง้ ที่ได้ ประชุมอย่างเดียว แต่ยอดเงิน รวมได้ ปรับให้ เพิ่มขึ ้นเล็กน้ อย โดยการปรับอัตราค่าเยประชุมปี นี ้ก็เพื่อให้ เหมาะสมกับภาวะการณ์ปัจจุบนั ค่าตอบแทนของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร จะพิจารณาโดยคานึงถึงผลการดาเนินงาน และการเติบโตทางผลกาไรของบริ ษัทฯ รวมถึงผลการ ปฏิบตั ิงาน และภาระหน้ าที่ความรับผิดชอบในปี ที่ผา่ นมา และนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทให้ ความเห็นชอบ การประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร คณะกรรมการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนทาหน้ าที่ในการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร ตามแบบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในไตรมาสที่ 4 ซึ่งการประเมินแบ่งออกเป็ น 3 หมวด ได้ แก่ 1. ความคืบหน้ าของแผนงาน 2. การวัดผลการปฏิบตั ิงาน และ3. การพัฒนา CEO ทังนี ้ ้สรุ ปผลการประเมิน การปฏิบตั ิงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารในปี 2561 อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม จากนันเสนอคณะกรรรมการบริ ้ ษัทเพื่อขอ ความเห็นชอบ การทบทวนเรื่ องหลัก เกณฑ์ ก ารพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนคณะกรรมการ กรรมการชุ ดย่ อ ย และ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร คณะกรรมการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนทาหน้ าที่ในการพิจารณาทบทวนเรื่ องหลักเกณฑ์ การพิจารณาค่าตอบแทนคณะกรรมการ กรรมการชุดย่อย และประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร สาหรับปี 2562 เพื่อให้ เป็ นไป ตามภาวะการณ์ปัจจุบนั
202
การพิจารณาทบทวนแบบฟอร์ มประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่า ตอบแทนได้ ท าการทบทวนแบบประเมิ น ตนเองของ คณะกรรมการรายคณะเพื่อใช้ สาหรับการประเมินคณะกรรมการประจาปี 2561 โดยหลักเกณฑ์ในปั จจุบนั แบ่งเป็ นหัวข้ อ หลักดังนี ้ 1.โครงสร้ างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2. การประชุมคณะกรรมการ 3. บทบาท หน้ าที่ และความ รับผิดชอบของคณะกรรมการ 4. เรื่ องอื่นๆ
ในนามคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
นายนิพนั ธ์ ตังพิ ้ รุฬธรรม (ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน) 15 กุมภาพันธ์ 2562
203
20. การวิเคราะห์ ฐานะและคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ 20.1 ผลการดาเนินงาน ภาพรวมผลการดาเนินงานที่ผ่านมา บริ ษัทดาเนินธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตชิน้ ส่วนอลูมิเนียมและสังกะสีขึ ้นรู ปตามความต้ องการของลูกค้ าในหลาย กลุม่ อุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมยายนต์ อุสาหกรรมเครื่ องใช้ ไฟฟ้ า และอุตสาหกรรมชิ ้นส่วนเครื่ องจักรทางการเกษตร จากภาวะเศรษฐกิ จในปั จจุบันโดยรวมทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ได้ ชะลอตัวอย่างต่อเนื่องมาเป็ นเวลาหลายปี โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยายนยนต์ ได้ สง่ ผลกระทบทังทางตรงและทางอ้ ้ อมต่อผู้ผลิตยานยนต์ ซึ่งได้ ลดกาลังการผลิตลง เป็ นจานวนมาก และได้ สง่ ผลกระทบต่อการดาเนินงานของบริ ษัทในรอบหลายปี ที่ผา่ นมา นอกจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอ ตัวแล้ ว ยังมีปัจจัยอื่นที่ส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานของบริ ษัทอีก เช่น การแข่งขันทางการตลาดทังด้ ้ านราคาและ คุณภาพ ทังนี ้ ้ผลการดาเนินงานของบริ ษัท ในปี ปั จจุบนั และปี ที่ผา่ นมาสรุปได้ ดงั นี ้ ในปี 2561 มีกาไรสุทธิมลู ค่าเท่ากับ 11.82 ล้ านบาท และปี 2560 มีกาไรสุทธิมลู ค่าเท่ากับ 6.29 ล้ านบาท ส่วนปี 2559 มีผลขาดทุนสุทธิมีมลู ค่าเท่ากับ 23.61 ล้ านบาท ตามลาดับ หรื อคิดร้ อยละ 2.17 ร้ อยละ 1.42 และร้ อยละ (5.70) ของรายได้ รวม ตามลาดับ ตารางแสดงผลการดาเนินงานของบริ ษัท (หน่วย : ล้ านบาท) รายการ รายได้
ปี 2559 จานวน
ปี 2560
ร้ อยละ
จานวน
ปี 2561
ร้ อยละ
จานวน
ร้ อยละ
414.58
100.00
442.42
100.00
546.65
100.00
(349.29)
(84.25)
(367.32)
(83.03)
(446.98)
(81.77)
(79.51)
(19.19)
(64.57)
(14.59)
ต้ นทุนทางการเงิน
(4.01)
(0.96)
(4.15)
(0.93)
(76.78) (4.78)(๖ (4.78)
(14.04) 100.00 (0.87)
ภาษีเงินได้
(5.38)
(1.30)
(0.09)
(0.02)
((( (6.29)
(1.15) (1.15)
(23.61)
(5.70)
6.29
1.42
11.82
2.17
21.67
5.22
32.52
7.35
42.87
7.84
(14.22)
(3.43)
10.53
2.38
22.89
4.19
ต้ นทุนขาย ค่าใช้ จา่ ยในการขายและบริหาร
กาไร(ขาดทุน)สุทธิสาหรับปี กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนินงาน กาไร(ขาดทุน)ก่ อนดอกเบีย้ และภาษีเงินได้ อัตรากาไรขัน้ ต้ น
14.90
16.12
17.91
ปี 2561 บริ ษัทมีกาไรจากการดาเนินงานเท่ากับ 42.87 ล้ านบาท คิดเป็ นอัตรากาไรจากการดาเนินงานเท่ากับร้ อย ละ 7.84 ของรายได้ รวม ซึง่ ไม่รวมการตัดจาหน่ายภาษี เงินได้ รอตัดบัญชีเท่ากับ 6.29 ล้ านบาท อย่างไรก็ตามกาไรจากการ ดาเนินงานดังกล่าวนี ้เพิมขึ ้นจากปี ก่อนเท่ากับ 10.35 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 31.82 เนื่องจากการขยายฐานการจาหน่าย ไปยังต่างประเทศ และยังคงรักษาระดับคาสัง่ ซื ้อจากลูกค้ าเดิม และลูกค้ าใหม่ได้ เพิ่มขึ ้น ปี 2560 บริ ษัทมีกาไรจากการดาเนินงานเท่ากับ 32.52 ล้ านบาท เนื่องจาก บริ ษัทฯมียอดขายเพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน จานวน 27.43 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 6.86 ของรายได้ ปีก่อน และค่าใช้ จ่ายในการขายและบริ หารลดลงมูลค่า 14.94
204
ล้ านบาทคิดเป็ นร้ อยละ 18.79 ของค่าใช้ จ่ายในการขายและบริ หารปี ก่อน ทังนี ้ ้ในปี นี ้บริ ษัทฯมีกาไรจากการกลับรายการ ขาดทุนจากการด้ อยค่าของทรัพย์สนิ มูลค่า 2.75 ล้ านบาทซึง่ รวมอยูใ่ นค่าใช้ จ่ายในการบริ หาร ในปี 2559 บริ ษัทมีผลกาไรจากการดาเนินงานเท่ากับ 21.69 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 5.22 ของรายได้ รวม และได้ รวมรายการขาดทุนจากการตัดจาหน่ายทรัพย์สินเท่ากับ 4.46 ล้ านบาท ขาดทุนจากการด้ อยค่าทรัพย์สินเท่ากับ 3.87 ล้ านบาท ซึง่ เป็ นรายการทางบัญชี ทังนี ้ ้ผลกาไรจากการดาเนินงานดังกล่าวลดลงจากปี ก่อนเท่ากับ 15.64 ล้ านบาท เนื่องจากต้ นทุนการผลิตสินค้ าที่ปรับราคาสูงขึ ้น เช่น ค่าวัตถุดิบ ค่าแรงในการผลิต รวมถึงค่าใช้ จ่ายในการขายเพิ่มขึ ้น เนื่องจากการปรับเพิ่มพนักงานในฝ่ ายขายและการตลาดเพื่อขยายฐานลูกค้ าและเพิ่มคาสัง่ ซื ้อ และค่าใช้ จ่ายในการบริหาร จากการปรับอัตราผลตอบแทนพนักงาน และค่าใช้ จ่ายในการบริ หารอื่นเพิ่มขึ ้น อย่างไรก็ ตามแม้ ว่าปั จจัยที่มีผลกระทบจากการดาเนิ นงานของบริ ษัทจะเกี่ ย วเนื่อ งจากภาวะเศรษฐกิ จใน อุตสาหกรรมยานยนต์ก็ตาม บริ ษัทยังคงมุ่งมัน่ และใช้ วิธีการและแนวทางเพื่อรักษามาตรฐานการผลิตซึ่งรวมถึงคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์ และกาลังการผลิตให้ คงที่ พร้ อมกับควบคุมต้ นทุนของผลิตภัณฑ์โดยรวม ในส่วนของลูกค้ าบริ ษัทมุ่งเน้ น สร้ างความสัมพันธ์ที่ดีเพื่อให้ ได้ รับความพึงพอใจและมัน่ ใจในคุณภาพและปริ มาณในการจัดส่งที่ตรงต่อเวลา และเข้ ารวม เป็ นสมาชิกของสมาคมและองค์กรต่างๆเพื่อขยายฐานลูกค้ าให้ เพิ่มขึ ้นรวมถึงขยายกลุม่ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้ อง รวมถึง ปรับปรุงเทคโนโลยีในการผลิตให้ ทนั สมัยและเป็ นที่ยอมรับในระดับสูงขึ ้นไป รายได้ ประเภทรายได้ ผลิตภัณฑ์แยกตามกลุม่ อุตสาหกรรมได้ ดงั นี ้ (หน่วย : ล้ านบาท) รายได้ 1. รายได้ จากการขายชิน้ ส่ วน ชิ ้นส่วนรถยนต์ ชิ ้นส่วนรถจักรยานยนต์ ชิ ้นส่วนเครื่องใช้ ไฟฟ้า ชิ ้นส่วนเครื่องจักรกลเกษตรและอื่นๆ 2. รายได้ จากการขายแม่ พิมพ์ ชิ ้นส่วนรถยนต์ ชิ ้นส่วนรถจักรยานยนต์ ชิ ้นส่วนเครื่องใช้ ไฟฟ้า ชิ ้นส่วนเครื่องจักรกลเกษตรและอื่นๆ รวมรายได้ จากการขาย รายได้ จากการให้ บริการ1/ รวมรายได้ จากการขายและให้ บริการ รายได้ อื่น2/ รายได้ รวม
ปี 2559
ปี 2560
ปี 2561
จานวน
ร้ อยละ
จานวน
ร้ อยละ
จานวน
ร้ อยละ
382.74 265.29 53.26 40.68 23.51 24.23 12.27 8.15 2.87 0.94 406.97 3.49 410.47 4.11 414.58
92.32 64.00 12.84 9.81 5.67 5.84 2.96 1.97 0.69 0.22 98.16 0.84 99.00 1.00 100.00
405.47 314.94 32.30 33.48 24.75 32.43 24.60 5.48 1.95 0.40 437.90 437.90 4.52 442.42
91.65 71.19 7.30 7.57 5.59 7.33 5.56 1.24 0.44 0.09 98.98 98.98 1.02 100.00
508.59 362.41 79.66 42.91 23.61 35.86 27.02 3.91 2.59 2.34 544.45 544.45 2.20 546.65
93.04 66.30 14.57 7.85 4.32 6.56. 4.94 0.72 0.47 0.43 99.60 99.60 0.40 100.00
205
* รายได้ อื่น หมายถึง รายได้ จากการขายเศษวัตถุดิบจากการผลิต กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึน้ จริ ง กาไร (ขาดทุน) จาก การตัดจาหน่ายทรัพย์สิน กาไร (ขาดทุน) จากการตีมลู ค่าสินค้ าลดลง ดอกเบี ้ยรับ และรายได้ อื่น
รายได้ จากการขายชิน้ ส่ วนและบริการจัดหาแม่ พิมพ์ ในปี 2561 รายได้ รวมของบริ ษัทเท่ากับ 546.65 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น จากปี 2560 เท่ากับ 104.23 ล้ านบาท หรื อ ร้ อยละ 23.56 เนื่องจากมีคาสัง่ ซื ้อจากลูกค้ าที่เพิ่มขึ ้น ทังจากลู ้ กค้ าเดิมและลูกค้ าใหม่ ซึ่งมัน่ ใจในคุณภาพและราคา ซึ่ง ประกอบด้ วยรายได้ จากการขายชิน้ ส่วนและบริ การจัดหาแม่พิมพ์ โดยเฉพาะกลุม่ สินค้ ายานยนต์ (แม่พิมพ์และชิ ้นส่วน รถยนต์และรถจักรยานยนต์ ) เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนมูลค่า 95.68 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 25.36 ของรายได้ จากการชิ ้นส่วน และบริ การจัดหาแม่พิมพ์กลุม่ ผลิตภัณฑ์ยานยนต์ปีก่อน ส่วนรายได้ จากการขายชิ ้นส่วนเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าและบริ การจัดหา แม่พิมพ์เพิ่มจากปี ก่อนมูลค่า 10.07 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 28.43 ของรายได้ จากการขายชิ ้นส่วนเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าและ บริ การจัดหาแม่พิมพ์ปีก่อน ในปี 2560 รายได้ รวมของบริ ษัทเท่ากับ 442.42 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนมูลค่า 27.84 ล้ านบาท หรื อ ร้ อยละ 6.71 เนื่ อ งจากมี ค าสั่ง ซื อ้ จากลูก ค้ า ที่ เ พิ่ ม ขึ น้ ทัง้ จากลูก ค้ า เดิ ม และลูก ค้ า ใหม่ ซึ่ง มั่น ใจในคุณ ภาพและราคา ซึ่ ง ประกอบด้ วยรายได้ จากการขายชิ ้นส่วนและแม่พิมพ์ โดยเฉพาะกลุ่มสินค้ ายานยนต์ (แม่พิมพ์และชิน้ ส่วนรถยนต์และ รถจักรยานยนต์ ) เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนมูลค่า 38.35 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 11.31 ของรายได้ จากการขายแม่พิมพ์และ ชิ ้นส่วนยานยนต์ปีก่อน ส่วนรายได้ จากการขายแม่พิมพ์และชิ ้นส่วนเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าลดลงจากปี ก่อนมูลค่า 8.12 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 19.96 ของรายได้ จากการขายแม่พิมพ์และชิ ้นส่วนเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าปี ก่อน ส่วนรายได้ จากการบริ การให้ ความ ช่วยเหลือด้ านเทคนิคให้ กบั บริ ษัทผลิตชิ ้นส่วนรถจักรานยนต์แห่งหนึง่ ในประเทศอินเดียได้ สิ ้นสุดสัญญาในปี 2559 ในปี 2559 รายได้ รวมของบริ ษัทเท่ากับ 414.58 ล้ านบาท ลดลง จากปี 2558 เท่ากับ 12.38 ล้ านบาท หรื อ ร้ อย ละ 2.90 เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่ชะลอตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์ทงในและต่ ั้ างประเทศอย่างต่อเนื่อง จึงทาให้ ลกู ค้ า ชะลอคาสัง่ ซื ้อลงประกอบด้ วยรายได้ จากการขายชิ ้นส่วนและแม่พิมพ์กลุม่ สินค้ ายานยนต์ลดลง 10.62 ล้ านบาทคิดเป็ น ร้ อยละ 3.04 และกลุ่มเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าลดลงมูลค่า 4.39 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 9.16 รายได้ จากการขายชิ ้นส่วนและ แม่พิมพ์กลุม่ เครื่ องใช้ ไฟฟ้ า รายได้ อ่ ืน ในปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 บริ ษัทมีรายได้ อื่นจานวน 2.20 ล้ านบาท 1.66 ล้ านบาทและ 1.12 ล้ านบาท ตามลาดับ ซึ่งคิดเป็ นสัดส่วนต่อรายได้ รวม ร้ อยละ 0.27 ร้ อยละ 0.38 และร้ อยละ 0.40 ของรายได้ รวมตามลาดับโดย รายได้ อื่นของบริ ษัท ได้ แก่ กาไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ ้นจริ ง , กาไร(ขาดทุน)จากการตัดจาหน่าย ทรัพย์สนิ , กาไร (ขาดทุน) จากการตีมลู ค่าสินค้ าลดลง, ดอกเบี ้ยรับ และรายได้ อื่นเป็ นต้ น ต้ นทุนขายและอัตรากาไรขัน้ ต้ น ในปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 บริ ษัทมีต้นทุนขายรวม 446.97 ล้ านบาท 364.46 ล้ านบาทและ 346.29 ล้ าน บาทตามลาดับ คิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 82.10 ร้ อยละ 83.23 และร้ อยละ 82.10 ของรายได้ รวมตามลาดับ ส่งผลให้ ในปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 บริ ษัทมีอตั รากาไรขันต้ ้ น ร้ อยละ 17.90 ร้ อยละ 16.77 และร้ อยละ 15.63 ตามลาดับ
206
ค่ าใช้ จ่ายในการขายและการบริหาร ค่ าใช้ จ่ายในการขาย ค่าใช้ จ่ายในการขายส่วนใหญ่ของบริ ษัทเป็ น ค่าตอบแทนและสวัสดิการพนักงานในฝ่ ายขาย และค่าเช่ารถขนส่ง สินค้ า รายการส่งเสริ มการขาย และอื่นๆ เป็ นต้ น โดยในปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 มีค่าใช้ จ่ายในการขายของบริ ษัท เท่ากับ 8.37 ล้ านบาท 7.52 ล้ านบาทและ 7.59 ล้ านบาทตามลาดับ หรื อเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 1.54 ร้ อยละ1.72 และร้ อย ละ 1.85 ของรายได้ รวมตามลาดับ ในปี 2561 ค่าใช้ จ่ายในการขายปรับตัว เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 11.30 จากปี ก่อน เนื่องจากมีการขยายฐานลูกค้ าราย ใหม่ๆ ซึ่งส่งผลให้ ปริ มาณการขนส่ง เพิ่มขึ ้นด้ วย อย่างไรก็ตามบริ ษัทฯ มีค่าใช้ จ่ายในการขายอยู่ในอัตราไม่เกินร้ อยละ 2 ของรายได้ รวม ในปี 2560 ลดลงร้ อยละ 0.92 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน เนื่องจากการที่ทีมงานของฝ่ ายขายยังคง รักษาตลาดและฐานลูกค้ ารายเดิมๆ ในปี 2559 บริ ษัทมีค่าใช้ จ่ายในการขายเพิ่มขึ ้นจากปี 2558 คิดเป็ นร้ อยละ 5.77 เนื่องจากการปรับเพิ่มทีมงาน ฝ่ ายขายและการตลาดเพื่อเจาะตลาดและหาฐานลูกค้ าต่างประเทศเพิ่มเติม ค่ าใช้ จ่ายในการการบริหาร ในปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 ค่าใช้ จ่ายในการบริ หารของบริ ษัทเท่ากับ 68.41 ล้ านบาท 57.05 ล้ านบาท และ 71.92 ล้ านบาท ตามลาดับ หรื อเป็ นสัดส่วนร้ อยละ 12.57 ร้ อยละ 13.03 และร้ อยละ 17.52 ของรายได้ รวมในช่วงเดียวกัน ตามลาดับ ปี 2561 ค่ า ใช้ จ่ า ยในการบริ ห ารปรั บ ตัว เพิ่ ม ขึ น้ ร้ อยละ 19.91 เมื่ อ เที ย บกับ ปี 2560 เนื่ อ งจากในปี 2560 ค่าใช้ จ่ายในการบริ หารได้ รวมรายการกลับรายการค่าเผื่อการด้ อยค่า กลับรายการสารองหนี ้สงสัยจะสูญ และกลับรายการ สารองค่าเผื่อสินค้ าเสือ่ มสภาพลดลง และมีการปรับอัตราเงินเดือน และค่าแรง โบนัสพนักงานประจาปี เพิ่มขึ ้นเฉลี่ยร้ อย ละ 7.71 ปี 2560 ค่าใช้ จ่ายในการบริ หารลดลงร้ อยละ 20.68 เมื่อเทียบกับปี 2559 เนื่องจากบริ ษัทฯมีนโยบายควบคุม ค่าใช้ จ่าย ส่วนรายการทางบัญชีเกี่ยวกับรายการหนี ้สงสัยจะสูญของปี 2559 ลดลง รวมถึงการกลับรายการขาดทุนจาก การด้ อยค่าของทรัพย์สนิ ที่เกิดในปี 2559 จานวน 2.75 ล้ านบาท ปี 2559 ค่าใช้ จ่ายในการบริ หารเพิ่มขึ ้นเท่ากับ 14.48 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 25.20 ซึ่งได้ รวมรายการทางบัญชี เกี่ยวกับรายการหนี ้สงสัยจะสูญจานวน 4.47 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 7.78 รายการขาดทุนจากด้ อยค่าของทรัพย์สิน จานวน 3.87 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 6.74 และค่าใช้ จ่ายคงที่ในปี 2559 บางรายการได้ ปรับเพิ่มขึ ้น เช่นผลตอบแทน พนักงาน ภาษีเงินได้ บริ ษัทได้ รับสิทธิยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบคุ คลสาหรับกาไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการที่ได้ รับการส่งเสริ มการ ลงทุนตามบัตรส่งเสริ มการลงทุนดังนี ้ (ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 29) - บัตรเลขที่ 1090(2)/2554 ได้ รับสิทธิยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบคุ คลสาหรับกาไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการ ที่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนเป็ นเวลา 8 ปี และได้ รับลดหย่อนภาษี เงินได้ บุคคลสาหรับกาไรสุทธิ ที่ได้ จากการประกอบ
207
กิจการที่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนในอัตราร้ อยละ 50 ของอัตราปกติมีกาหนดเวลา 5 ปี นับแต่วนั ที่พ้นกาหนดได้ รับ ยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบคุ คล - บัตรเลขที่ 1010(2)/2557 ได้ รับสิทธิยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบคุ คลสาหรับกาไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการ ที่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนเป็ นเวลา 8 ปี และได้ รับลดหย่อนภาษี เงินได้ บุคคลสาหรับกาไรสุทธิ ที่ได้ จากการประกอบ กิจการที่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนในอัตราร้ อยละ 50 ของอัตราปกติมีกาหนดเวลา 5 ปี นับแต่วนั ที่พ้นกาหนดได้ รับ ยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบคุ คล ภาษี เงินได้ สาหรับปี เป็ นรายการภาษี ในส่วนของกาไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการที่ไม่ได้ รับการส่งเสริ มการ ลงทุน ประกอบด้ วย ภาษี เงินได้ ปัจจุบนั และภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี ภาษี เงินได้ ปัจจุบนั และภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี รับรู้ ในกาไรหรื อขาดทุน เว้ นแต่ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีในส่วนที่เกี่ยวกับรายการที่บนั ทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นให้ รับรู้ ใน กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น บริ ษัทได้ คานึงถึงผลกระทบของสถานการณ์ ทางภาษี ที่ไม่แน่นอนและอาจทาให้ จานวนภาษี ที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ ้น และมีดอกเบี ้ยที่ต้องชาระบริ ษัทเชื่อว่าได้ ตงภาษี ั้ เงินได้ ค้างจ่ายเพียงพอสาหรับภาษี เงินได้ ที่จะจ่ายในอนาคตซึ่งเกิดจาก การประเมินผลกระทบจากหลายปั จจัย รวมถึง การตีความทางกฎหมายภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี ้ อยู่บนพื ้นฐานการประมาณการและข้ อสมมติฐานและอาจเกี่ยวข้ องกับการตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต ข้ อมูล ใหม่ ๆ อาจทาให้ บริ ษัทเปลีย่ นการตัดสินใจโดยขึ ้นอยูก่ บั ความเพียงพอของภาษี เงินได้ ค้างจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงใน ภาษี เงินได้ ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้ ในงวดที่เกิดการเปลีย่ นแปลง ในการกาหนดมูลค่าของภาษี เงินได้ ปัจจุบนั และภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี และหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้ เมื่อกิจการมีสิทธิ ตามกฎหมายที่จะนาสินทรัพย์ภาษี เงินได้ ของ งวดปั จจุบนั มาหักกลบกับหนี ้สินภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั และภาษี เงินได้ นี ้ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษี หน่วยงาน เดียวกันสาหรับหน่วยภาษี เดียวกันหรื อหน่วยภาษี ต่างกัน สาหรับหน่วยภาษี ต่างกันนันกิ ้ จการมีความตังใจจะจ่ ้ ายชาระ หนี ้สินและสินทรั พย์ภาษี เงิ นได้ ของงวดปั จจุบันด้ วยยอดสุทธิ หรื อตัง้ ใจจะรับคืนสินทรัพย์และจ่ายชาระหนี ้สินในเวลา เดียวกัน สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื่อมีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่ว่ากาไรเพื่ อเสียภาษี ในอนาคต จะมีจานวนเพียงพอกับการใช้ ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันสิ ้นรอบระยะเวลารายงานและจะถูกปรับลดลงเท่าที่ประโยชน์ทางภาษี จะมีโอกาสถูกใช้ จริ ง ในปี 2556 บริ ษัทได้ นามาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษี เงินได้ ซึ่งเป็ นมาตรฐการรายงานทางการเงินที่ออก และปรับปรุงใหม่มาถือปฎิบตั ิ มาตรฐานฉบับนี ้กาหนดให้ บริ ษัทต้ องบันทึกสินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีและหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัด บัญชีในงบการเงิน สินทรัพย์และหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี คือ จานวนภาษี เงิ นได้ ที่บริ ษัทต้ องได้ รับหรื อจ่ายใน อนาคต ตามลาดับ ซึ่งเกิดจากผลแตกต่างชัว่ คราวระหว่างมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี ้สินที่แสดงในงบแสดง ฐานะทางการเงินกับฐานภาษี ของสินทรัพย์และหนี ้สินนันและขาดทุ ้ นทางภาษี ที่ยงั ไม่ได้ ใช้ ในปี 2561 บริ ษัทคานวณภาษี เงินได้ นิติบุคคลในอัตราที่กาหนดโดยกรมสรรพากรจากกาไรทางบัญชีหลังปรัง ปรุงเงื่อนไขบางประการตามที่ระบุในประมาลรัษฎากร บริ ษัทบันทึกภาษี เงินได้ นิติบคุ คลเป็ นค่าใช้ จ่ายทังจ ้ านวนในแต่ละ ปี และบันทึกภาระส่วนที่เป็ นหนี ้สินในงบแสดงฐานะทางการเงิน และภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้ อตั ราภาษี ที่
208
คาดว่าจะใช้ กับผลแตกต่างชั่วคราว ซึ่งได้ ประกาศตามพระราชกฤษฎีกาขยายเวลาการลดอัตราภาษี เงินได้ นิติบุคคล สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2561 แต่ไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ทังนี ้ ้บริ ษัทได้ คานวณประมาณการผลกระทบหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีเท่ากับ 5.93 ล้ านบาท และรับรู้ เป็ นค่าใช้ จ่ายภาษี เงินใน งบกาไรขาดทุนสาหรับปี จากการเปลี่ยนแปลงผลแตกต่างชัว่ คราวที่ได้ เท่ากับ 6.29 ล้ านบาท ตามหมายเหตุประกอบงบ การเงินข้ อ 11 และข้ อ 29 ในปี 2560 บริ ษัทได้ จดั ทาประมาณการผลกระทบสินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีและหนี ้สินภาษี เงินได้ รอ การตัดบัญชีเท่ากับ 6.41 ล้ านบาท บริ ษัทรับรู้รายได้ ภาษี เงินในงบกาไรขาดทุนสาหรับปี จากการเปลี่ยนแปลงผลแตกต่าง ชัว่ คราวที่ได้ เท่ากับ (0.09) ล้ านบาท ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 12 และข้ อ 24 ในปี 2559 บริ ษัทคานวณภาษี เงินได้ นิติบคุ คลในอัตราที่กาหนดโดยกรมสรรพากรจากกาไรทางบัญชีหลังปรัง ปรุงเงื่อนไขบางประการตามที่ระบุในประมาลรัษฎากร บริ ษัทบันทึกภาษี เงินได้ นิติบคุ คลเป็ นค่าใช้ จ่ายทังจ ้ านวนในแต่ละ ปี และบันทึกภาระส่วนที่เป็ นหนี ้สินในงบแสดงฐานะทางการเงิน และภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้ อตั ราภาษี ที่ คาดว่าจะใช้ กบั ผลแตกต่างชัว่ คราว ทังนี ้ ้ได้ พระราชบัญญัติแก้ ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 42) พ.ศ. 2559 ลงวันที่ 3 มีนาคม 2559 ให้ ลดอัตราภาษี เงินได้ นิติบคุ คลสาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เ ริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 เป็ น ต้ นไป มีผลบังคับใช้ ตงแต่ ั ้ วนั ที่ 5 มีนาคม 2559 เป็ นต้ นไป ทังนี ้ ้บริ ษัทได้ คานวณประมาณการผลกระทบสินทรัพย์ภาษี เงิน ได้ รอการตัดบัญชีเท่ากับ 4.00 ล้ านบาท และหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีเท่ากับ 4.00 ล้ านบาท ดังนันบริ ้ ษัทไม่มีภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีคงเหลือจากการคานวณ บริ ษัทจึงรับรู้ เป็ นค่าใช้ จ่ายภาษี เงินในงบกาไรขาดทุนสาหรับปี จากการ เปลี่ยนแปลงผลแตกต่างชัว่ คราวที่ได้ เท่ากับ 5.38 ล้ านบาท ที่เกิดจากการสินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีตงแต่ ั ้ ปี 2557 ที่คงเหลืออยู่ (ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 12 และข้ อ 24) 20.2 ฐานะทางการเงิน สินทรัพย์ บริ ษัทมีสินทรัพย์รวม ณ สิ ้นปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 เป็ นมูลค่า 383.70 ล้ านบาท 347.87 ล้ านบาท และ 304.23 ล้ านบาท ตามลาดับ ทังนี ้ ้สินทรัพย์ของบริ ษัทมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ ในปี 2561 บริ ษัทมีสนิ ทรัพย์เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนจานวน 35.83 ล้ านบาท เนื่องจาก ณ สิ ้นปี มีลกู หนี ้คงเหลือจานวน 86.34 ล้ านบาท เพิ่มจากปี ก่อนจานวน 16.24 ล้ านบาท สินค้ าคงเหลือ ณ สิ ้นปี มีมลู ค่าเท่ากับ 49.82 ล้ านบาทสูงกว่าปี ก่อนจานวน 0.20 ล้ านบาท ซึ่งเป็ นไปตามปริ มาณคาสั่งซือ้ และการผลิตที่เพิ่มขึน้ และที ดินอาคารและอุป กรณ์ สุท ธิ 214.00 ล้ านบาทเพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนจานวน 14.37 ล้ านบาทเนื่องจากมีการจัดซื ้ออุปกรณ์โรงงานเพื่อเพิ่มกาลังการผลิตให้ เป็ นไปตามปริ มาณคาสัง่ ซื ้อที่เพิ่มขึ ้น และประเมินการด้ อยค่าของทรัพย์สนิ โดยการเปรี ยบเทียบมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืน ของสินทรัพย์ที่ก่อให้ เกิดเงินสดกับมูลค่าตามบัญชี ส่งผลให้ มลู ค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนต่ากว่าตามบัญชีของทรัพย์สินถาวร ของบริ ษัทจานวน 2.20 ล้ านบาท และบริ ษัทได้ บนั ทึกค่าเผื่อการด้ อยค่าของทรัพย์สนิ ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จด้ วยแล้ ว ลูกหนีก้ ารค้ า และค่ าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ บริ ษัท มี นโยบายการให้ เครดิต หรื อ ระยะเวลาในการรั บช าระจากลูกค้ าระหว่า ง 30 ถึง 60 วัน ซึ่งบริ ษัท จะ พิจารณาการให้ ระยะเวลาการชาระหนี ้ของลูกค้ าจากยอดการสัง่ ซื ้อ และฐานะทางการเงินของลูกค้ าแต่ละราย
209
ณ สิ ้นปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 บริ ษัทมีลกู หนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่นสุทธิจานวน 86.34 ล้ านบาท 70.10 ล้ าน บาทและ 53.59 ล้ านบาท ตามลาดับ โดยมีอตั ราส่วนหมุนเวียนลูกหนี ้การค้ าเท่ากับ 7.85 เท่า 7.46เท่าและ 8.42 เท่า ตามลาดับ หน่วย: ล้ านบาท ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ระยะเวลาค้ างชาระ มูลค่ า ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ ลูกหนี ้การค้ ายังไม่ถึงกาหนดชาระ 44.15 82.38 60.91 97.78 57.70 75.58 ค้ างชาระเกินกาหนด น้ อยกว่าหรื อเท่ากับ 90 วัน 8.56 15.97 0.62 1.00 18.64 24.42 มากกว่า 90 วัน ถึง 120 วัน 1.33 2.48 1.21 1.94 0.41 0.54 มากกว่า 120 วัน 0.03 0.05 ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีอ้ ่ นื ก่ อนหักค่ าหนีส้ งสัย 54.04 100.83 62.77 100.77 76.75 100.54 จะสูญ หักค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ (0.45) (0.83) (0.48) (0.77) (0.41) (0.54) ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีอ้ ่ นื -สุทธิ 53.59 100.00 62.29 100.00 76.34 100.00 บริ ษัทบันทึกค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ โดยประมาณการหนี ้ที่อาจเกิดขึ ้นจากการเรี ยกเก็บเงินจากลูกหนี ้ไม่ได้ ตาม เงื่อนไขการชาระเงิน ทังนี ้ ้ในการประมาณการบริ ษัทคานึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี ้ที่คงค้ าง และ สภาวะเศรษฐกิจในขณะนัน้ โดยพิจารณาจากลูกหนี ้ที่มีอายุการชาระหนี ้เกิน 365 วัน และไม่มีการเคลือ่ นไหว ซึง่ พิจารณา เป็ นรายๆ และจะใช้ อตั ราการตังค่ ้ าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญร้ อยละ 100 จากยอดหนี ้คงค้ างทังหมด ้ สินค้ าคงเหลือ ณ สิ ้นปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 บริ ษัทมีสินค้ าคงเหลือสุทธิ ประกอบด้ วย สินค้ าสาเร็ จรู ปพร้ อมส่ง งาน ระหว่างทา วัตถุดิบ อะไหล่และชิ ้นส่วนอื่นที่ใช้ ประกอบชิ ้นงาน และสินค้ าระหว่างทาง จานวน 49.82 ล้ านบาท 49.62 ล้ าน บาท และ 39.20 ล้ านบาท ตามลาดับ หน่วย : ล้ านบาท ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 รายการ มูลค่ า ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ สินค้ าสาเร็จรูป 14.97 38.19 17.25 34.76 18.72 37.57 งานระหว่างทา 17.22 43.93 24.11 48.59 17.48 35.04 วัตถุดิบ 1.28 3.26 1.99 4.01 2.57 5.16 อะไหล่ 4.05 10.33 4.50 9.07 7.46 14.97 สินค้ าระหว่างทาง 2.83 7.22 2.59 5.22 6.57 13.19 รวม 40.35 102.93 50.44 101.65 52.80 105.38 หักค่าเผื่อมูลค่าสินค้ าลดลง (1.15) (2.93) (0.82) (1.65) (2.98) (5.38) สินค้ าคงเหลือ-สุทธิ 39.20 100.00 49.62 100.00 49.82 100.00
210
ในปี 2561 สินค้ าคงเหลือสุทธิเท่ากับ 49.82 ล้ านบาท โดย ซึ่งมีมลู ค่า เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนจานวน 0.20 ล้ านบาท เนื่องจาก ปริ มาณคาสัง่ ซื ้อและการผลิตที่เพิ่มขึ ้นเพื่อให้ ทนั กาหนดส่งสินค้ าแก่ลกู ค้ าบริ ษัทมีอตั ราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือใน 2561 ปี 2560 และปี 2559 เท่ากับ 8.99 เท่า 8.27 เท่า และ 8.12 เท่าตามลาดับ อัตราการหมุนเวียนของสินค้ าคงเหลือ ของบริ ษัทมีความคล่องตัวซึ่งสามารถจาหน่ายออกไปได้ เร็ ว โดยในแต่ละปี ไม่มีความแตกต่างกันมากนัก บริ ษัทมีสินค้ า ล้ าสมัย ค้ างนาน หรื อเสื่อมคุณภาพเกิดขึ ้น จะเห็นได้ จากนโยบายการตังค่ ้ าเผื่อการลดมูลค่าสินค้ าสาหรับสินค้ าเสื่อม คุณภาพ เสียหาย ล้ าสมัย หรื อ ค้ างนาน และบริ ษัทพิจารณาจากมูลค่าสุทธิที่จะได้ รับ (Net Realizable Value) ซึ่งจะ พิจารณาจากส่วนต่างของต้ นทุนกับราคาขาย ซึ่งบริ ษัท จะทาการบันทึก มูลค่าขาดทุนจากการปรับมูลค่าสินค้ าลดลง จานวน 2.98 ล้ านบาท เป็ นค่าใช้ จ่ายในงบกาไรขาดทุน อย่างไรก็ตามบริ ษัทดาเนินธุรกิจผลิตและจาหน่ายชิน้ ส่วน ซึ่ง ชิ ้นส่วนเสนอขายจะมีลกั ษณะเฉพาะสาหรับสินค้ าของลูกค้ าในแต่ละรุ่น ส่งผลให้ คา่ เผื่อมูลค่าของสินค้ าลดลงอยู่ในระดับ ที่บริ ษัทสามารถบริ หารจัดการให้ สามารถนาวัตถุดิบไปผลิตใหม่ได้ ปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 บริ ษัทมีการตังค่ ้ าเผื่อ การลดมูลค่าสินค้ าเท่ากับ 2.98 ล้ านบาท 0.82 ล้ านบาทและ 1.15 ล้ านบาท ตามลาดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วนต่อสินค้ า คงเหลือสุทธิเท่ากับ ร้ อยละ 5.35 ร้ อยละ 1.65 และร้ อยละ 2.93 ตามลาดับ ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ สาหรับปี 2561 บริ ษัทได้ ทาการประเมิน ทรัพย์สินของบริ ษัทโดยผู้ประเมินอิสระ มีหลักเกณฑ์และวิธีการตาม มาตรฐานวิชาชีพของสมาคมผู้ประเมินค่าทรัพย์แห่งประเทศไทยโดย วิธี การรายได้ (Incom Approach) ซึ่งทาให้ ราคา ทรัพย์สนิ ซึง่ มีมลู ค่าตามบัญชีจานวน 216.20 ล้ านบาทมีราคาประเมินเท่ากับจานวนเงิน 214.00 ล้ านบาท ส่งผลให้ บริ ษัท เกิดรายการด้ อยค่าของทรัพย์สนิ ที่ได้ ประเมินจานวน 2.20 ล้ านบาท อย่างไรก็ตามราคาในการประเมินรวมซึง่ ต่ากว่ามูลค่า ทางบัญชี ทังนี ้ ้บริ ษัทได้ บนั ทึกรายการผลขาดทุนจากการด้ อยค่าของทรัพย์สินจานวนดังกล่าวในงบกาไรขาดทุนสาหรับปี 2561 ซึ่งได้ รวมอยู่ในค่าใช้ จ่ายในการบริ หาร ตามหลักการและมาตรฐานบัญชีฉบับที่ 36 เรื่ องการด้ อยค่าของทรัพย์สิน (หมายหตุประกอบงบการเงิน ข้ อ 9) สาหรับปี 2560 บริ ษัทได้ ทาการประเมินที่ดิน อาคาร และเครื่ องจักรโดยผู้ประเมินอิสระ มีหลักเกณฑ์และวิธีการ ตามมาตรฐานวิชาชีพของสมาคมผู้ประเมินค่าทรัพย์แห่งประเทศไทยโดย วิธีวิเคราะห์มลู ค่าจากต้ นทุน (Cost Approach) ซึง่ ทาให้ ราคาที่ดินซึง่ มีมลู ค่าตามบัญชีจานวน 27.90 ล้ านบาทมีราคาประเมินเท่ากับจานวนเงิน 34.50 ล้ านบาท อาคาร ซึ่งมีมลู ค่าตามบัญชีจานวนเงิน 44.04 ล้ านบาทมีราคาประเมินเท่ากับ 60.34 ล้ านบาท และ เครื่ องจักรมูลค่าทางบัญชี เท่ากับ 86.67 ล้ านบาทมีราคาประเมินเท่ากับ 114.53 ล้ านบาท อย่างไรก็ตามราคาในการประเมินรวมจะสูงกว่ามูลค่ า ทางบัญชีซึ่งจากรายงานผู้ประเมินพบว่าเป็ นรายการรายการเครื่ องจักรที่ได้ นามาใช้ ในการผลิตบางรายการมีมลู ค่าที่สงู กว่าราคาตามบัญชีที่ได้ ประเมินและบันทึกรายการด้ อยค่าของเครื่ องจักรมูลค่าในปี 2559 ตามหลักการและมาตรฐาน บัญชีฉบับที่ 36 เรื่ องการด้ อยค่าของทรัพย์สิน ทัง้ นี ้บริ ษัทได้ บนั ทึกกลับรายการผลขาดทุนจากการด้ อยค่าของทรัพย์สิน จานวน 2.75 ล้ านบาท ซึง่ ได้ รวมอยูใ่ นค่าใช้ จ่ายในการบริ หาร (หมายหตุประกอบงบการเงิน ข้ อ 10) สาหรับปี 2559 บริ ษัทได้ ทาการประเมินเครื่ องจักรโดยผู้ประเมินอิสระ มีหลักเกณฑ์และวิธีการตามมาตรฐาน วิชาชีพของสมาคมผู้ประเมินค่าทรัพย์แห่งประเทศไทยโดย วิธีวิเคราะห์มลู ค่าจากต้ นทุน (Cost Approach) ซึ่งทาให้ ราคา ประเมินเครื่ องจักรมูลค่าทางบัญชีเท่ากับ 79.92 ล้ านบาทมีราคาประเมินเท่ากับ 89.06 ล้ านบาท อย่างไรก็ตามราคาใน การประเมินรวมจะสูงกว่ามูลค่าทางบัญชีก็ตาม จากรายงานผู้ประเมินพบว่ารายการเครื่ องจักรที่นามาใช้ ในการผลิตบาง รายการมีมูลค่าที่ต่ากว่าราคาตามบัญชี เพื่อเป็ นไปตามหลักการและมาตรฐานบัญชีฉบับที่ 36 เรื่ องการด้ อยค่าของ
211
ทรัพย์สนิ บริ ษัทบันทึกรายการด้ อยค่าของเครื่ องจักรมูลค่าเท่ากับ 3.86 ล้ านบาท ซึ่งได้ รวมอยู่ในค่า ใช้ จ่ายในการบริ หาร (หมายหตุประกอบงบการเงิน ข้ อ 10) หนีส้ ิน บริ ษัทมีหนีส้ ินรวมในปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 เท่ากับ 207.69 ล้ านบาท 182.22 ล้ านบาท และ 144.55 ล้ านบาท ตามลาดับ ประกอบด้ วย เงินกู้ยืมสถาบันการเงินทังระยะสั ้ นและระยะยาว ้ เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น เงินกู้ยืม ระยะสันจากบุ ้ คคลหรื อกิ จการที่เกี่ ยวข้ อง หนีส้ ินหมุนเวียนอื่น รวมถึงหนีส้ ินภาษี เงิ นได้ รอตัดบัญชี และภาระผูกพัน ผลประโยชน์ของพนักงาน ในปี 2561 หนี ้สินรวมเพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนจานวน 25.47 ล้ านบาท เนื่องจากบริ ษัทได้ ทาสัญญาเช่าซื ้อเครื่ องจักร จากสถาบันการเพื่อรองรับการขยายกาลังการผลิต ณ สิ ้นปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 บริ ษัทมีอตั ราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ 1.18 เท่า 1.10 เท่า และ 0.91 เท่า ตามลาดับ บริ ษัทมีอตั ราส่วนหนี ้สินรวมสูงกว่าเมื่อเทียบกับส่วนของผู้ถือหุ้นซึง่ ทาให้ เกิดความเสีย่ ง ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทมีมูลค่าเท่ากับ 176.01 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ จากปี ก่อน เนื่องจาก ผลการดาเนินงานที่เป็ นกาไรส่งผลให้ กาไรสะสมยังไม่ได้ จัดสรรคงเหลือเท่ากับ 9.77 ล้ านบาท ในระหว่างปี บริ ษัทได้ จดทะเบียนเพิ่มทุนหุ้นสามัญเพื่อรองรับการออกใบสาคัญแสดงสิทธิ ที่จะซื ้อหุ้นสามัญจานวน 99.70 ล้ านหุ้นคิด เป็ นจานวนเงิน 49.06 ล้ านบาท อย่างไรก็ตามทุนหุ้นสามัญที่ออกและชาระแล้ วมีมลู ค่าเท่ากับ 149.55 ล้ านบาท และล้ าง ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญเท่ากับ 17.51 ล้ านบาท ส่งผลให้ สว่ นเกินมูลค่าหุ้นสามัญเท่ากับ 16.10 ล้ านบาท และสารองตาม กฎหมายเท่ากับ 0.59 ล้ านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทมีมลู ค่าเท่ากับ 165.65 ล้ านบาท การปรับเพิ่มขึ ้นของส่วน ของผู้ถือหุ้น เป็ นผลมาจากในระหว่างปี 2560 บริ ษัทได้ เพิ่มทุนหุ้นสามัญเพื่อออกใบสาคัญแสดงสิทธิ เท่ากับ 0.05 ล้ าน บาท ซึง่ มีสว่ นเกินมูลค่าหุ้นสามัญเท่ากับ 0.11 ล้ านบาท ส่งผลให้ บริ ษัทมีสว่ นเกินมูลค่าหุ้นสามัญเท่ากับ 33.61 ล้ านบาท และ สารองตามกฎหมายเท่ากับ 0.39 ล้ านบาท รวมกับมีผลขาดทุนสะสมยังไม่ได้ จดั สรรคงเหลือเท่ากับ 17.90 ล้ านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทมีมลู ค่าเท่ากับ 159.68 ล้ านบาท การปรับลดลงของส่วน ของผู้ถือหุ้นในปี 2559 มีสาเหตุมาจาก ในระหว่างปี บริ ษัทได้ ลดผลขาดทุนสะสมกับส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญเท่ากับ 20.64 ล้ านบาท และสารองตามกฎหมายเท่ากับ 2.21 ล้ านบาท ในระหว่างนันบริ ้ ษัทได้ เพิ่มทุนหุ้นสามัญเพื่อออกใบสาคัญแสดง สิทธิเท่ากับ 0.59 ล้ านบาท และบริ ษัทมีผลขาดทุนสะสมยังไม่ได้ จดั สรรคงเหลือเท่ากับ 23.44 ล้ านบาท อัตราผลตอบแทนผู้ถอื หุ้น อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น ในปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 เท่ากับร้ อยละ 6.72 ร้ อยละ 3.80 และร้ อยละ-14.79 ตามลาดับ สาหรับอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้นในปี 2561 เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน เนื่องจากบริ ษัทมีกาไรสุทธิเท่ากับ 11.82 ล้ านบาท จากการปรับตัวของยอดขายเพิ่มขึ ้นและ อัตรากาไรขันต้ ้ นที่สงู ขึ ้น จากร้ อยละ 16.77 จากปี ก่อน เป็ นร้ อยละ 17.90 สาหรับอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้นในปี 2560 เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน เนื่องจากผลการดาเนินในปี ปั จจุบนั มีกาไรเพิ่มขึ น้ จากปี ก่อน ซึง่ เกิดจากรายได้ จากการขายที่เพิ่มขึ ้นและควบคุมค่าใช้ จ่าย
212
สาหรั บอัตราผลตอบแทนผู้ถื อหุ้นในปี 2559 ลดลงจากงวดเดีย วกัน ในปี 2558 เนื่อ งจากสภาพเศรษฐกิ จ ทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ ด้ านธุรกิจอุตสาหกรรมยานยนต์ชะลอตัว ส่งผลให้ ผลการดาเนินในรอบปี 2559 มีผล ขาดทุนจากการดาเนินงานเพิ่มขึ ้นเมื่อเทียบกับปี ก่อน แหล่ งที่มาของเงินทุน บริ ษัทมีเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินแต่ละประเภทตามที่ระบุในสัญญา หน่วย : ล้ านบาท ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยมื ระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน 33.94 34.86 41.03 เงินกู้ยืมระยะสันจากบุ ้ คคลหรื อกิจการทีเ่ กี่ยวข้ อง 15.00 15.00 10.00 เงินกู้ยืมระยะยาว 13.01 9.76 เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถงึ กาหนดชาระภายใน 1 ปี 7.51 9.15 11.29 หนี ้สินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน 2.16 14.85 27.52 รวมเงินกู้ยมื 58.61 86.87 99.60 บริ ษัทมีเงินกู้ยืมสถาบันการเงินทังระยะสั ้ นและระยะยาว ้ ซึ่งรวมเงินเบิกเกินบัญชี ตัว๋ สัญญาใช้ เงิน และเงินกู้ระยะยาว โดยคิดดอกเบี ้ยอัตราร้ อยละ MOR/MLR/SBOR/MLR ทังนี ้ ้ได้ นาที่ดินและสิง่ ปลูกสร้ างใช้ เป็ นหลักประกันเงินกู้ยืมดังกล่าว เงินกู้ยืมระยะสันจากบุ ้ คคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ อง คิดดอกเบี ้ยอ้ างอิงอัตราเงินกู้ยืมสถาบันการเงิน และไม่มีหลักประกัน บริ ษัทได้ ทาการเจรจาและขอผ่อนชาระโดยจะเริ่ มทยอยชาระในปี และหนี ้สินภายใต้ สัญญาเช่าการเงิน เพื่อซื ้อเครื่ องจักร และอุปกรณ์ เงื่อนไขโดยการผ่อนชาระเป็ นรายเดือน และได้ สิ ้นสุดสัญญาไปบางส่วนแล้ ว สภาพคล่ องและกระแสเงินสด กระแสเงินสดสุทธิ ในปี 2561 บริ ษัทมีกระแสเงินสุทธิ จานวน 3.82 ล้ านบาท โดยมีรายการหลักดังนี ้ กาไรก่อนภาษี เงินได้ 18.11 ล้ านบาทรายการปรับผลกระทบกาไรก่อนภาษี เงินได้ สทุ ธิจากการดาเนินงานจานวน 40.27 ล้ านบาท รายการเปลีย่ นแปลง เงินทุนหมุนเวียนจานวน -15.62 ล้ านบาทส่งผลให้ บริ ษัทมีกระแสเงินสดสุทธิที่ได้ มาจากการดาเนินงานจานวน 42.76 ล้ านบาท และมีกระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุนจานวน -25.31 ล้ านบาท และกระแสเงินสดจาการจัดหาจานวน 13.63 ล้ านบาท กระแสเงินสดจาการดาเนินงาน ในปี 2561 บริ ษัทมีเงินสดสุทธิ ที่ได้ มาจากกิจกรรมดาเนินงาน 42.76 ล้ านบาท ซึ่งเพิ่มขึน้ จากปี ก่อน จานวน 31.07 ล้ านบาท โดยมีรายการหลักดังนี ้ กาไรสุทธิ ก่อนภาษี เงินได้ 18.11 ล้ านบาท ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย 29.86 ล้ านบาท และต้ นทุนทางการเงิน 4.78 ล้ านบาท ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่นเพิ่มขึ ้น 16.83 ล้ านบาท สินค้ าคงเหลือ เพิ่มขึ ้น 2.36 ล้ านบาท สินทรัพย์หมุนเวียนลดลง 1.47 ล้ านบาท สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ ้น 1.42 ล้ านบาท เจ้ าหนี ้ การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่นเพิ่มขึ ้น 6.48 ล้ านบาท และหนี ้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ ้น 0.24 ล้ านบาท ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ลดลง 1.74 ล้ านบาท ดอกเบี ้ยรับ 0.08 ล้ านบาท และจ่ายภาษี เงินได้ 1.56 ล้ านบาท ในปี 2560 บริ ษัทมีเงินสดสุทธิที่ได้ มาจากกิจกรรมดาเนินงาน 11.69 ล้ านบาท ซึ่งลดลงจากปี ก่อน จานวน 15.98 ล้ านบาท โดยมีรายการหลักดังนี ้ ขาดทุนก่อนภาษี เงินได้ 6.38 ล้ านบาท ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย 24.87 ล้ านบาท และต้ นทุนทางการเงิน 4.15 ล้ านบาท ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่นเพิ่มขึ ้น 10.55 ล้ านบาท สินค้ าคงเหลือเพิ่มขึ ้น 10.03
213
ล้ านบาท สินทรัพย์หมุนเวียนลดลง 0.61 ล้ านบาท สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ ้น 9.54 ล้ านบาท เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้ อื่นเพิ่มขึ ้น 9.60ล้ านบาท และหนี ้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ ้น 0.97 ล้ านบาท ในปี 2559 บริ ษัทมีเงิ นสดสุทธิ ที่ได้ มาจากกิ จกรรมดาเนินงาน 27.67 ล้ านบาท ซึ่งมาจากขาดทุนจากการ ดาเนินงานก่อนภาษี เงินได้ เท่ากับ 18.23 ล้ านบาท ผลขาดทุนดังกล่าวได้ รวมรายการที่ไม่เกี่ยวกับเงินสดดังนี ้ ค่าเสื่อม ราคาและค่าตัดจาหน่ายเท่ากับ 27.52 ล้ านบาท ขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้ าคงเหลือเท่ากับ 0.14 ล้ านบาท ขาดทุน จากการด้ อยค่าทรัพย์สินเท่ากับ 3.87 ล้ านบาท และขาดทุนจากการตัดจาหน่ายทรัพย์สินเท่า กับ 4.47 ล้ านบาท และ รายการเปลี่ยนแปลงเงินทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ ้น ซึ่งประกอบด้ วยลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่นเพิ่มขึ ้น 7.11 ล้ านบาท สินค้ า คงเหลือลดลง 7.50 ล้ านบาท สินทรัพย์หมุนเวียนเพิ่มขึ ้น 0.23 ล้ านบาท สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ ้น 2.16 ล้ านบาท เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่นเพิ่มขึ ้น 6.85 ล้ านบาท และหนี ้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ ้น 0.24 ล้ านบาท กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ในปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 บริ ษัทมีการใช้ เงินสดเพื่อกิจกรรมลงทุนตามงบการเงินทังสิ ้ ้น 25.31 ล้ านบาท 22.03 ล้ านบาทและ 14.40 ล้ านบาท ตามลาดับ โดยมีรายการที่สาคัญ คือค่าใช้ จ่ายในการซื ้อเครื่ องจักรและอุปกรณ์เพื่อ เป็ นการทดแทนเครื่ องเก่าที่ไม่สามารถใช้ งานได้ และเครื่ องใหม่เพื่อขยายกาลังการผลิตให้ ทนั ส่งมอบแก่ลกู ค้ า และซื ้อ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตนเพื่อปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยีให้ ทนั สมัย กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ในปี 2561 ปี 2560 ปี 2559 บริ ษัทมีเงินสดได้ มาจากกิจกรรมจัดหาเงินตามงบการเงินทังสิ ้ ้น -13.63 ล้ านบาท 4.03 ล้ านบาท -16.75 ล้ านบาท ตามลาดับ เนื่องมาจากการชาระคืนเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ น การเงิน การชาระเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน จ่ายชาระหนี ้สินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน การจ่ายชาระดอกเบี ้ย และการรับเงินจากการจาหน่ายหุ้นสามัญ อัตราส่ วนสภาพคล่ อง ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 อัตราส่ วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) 0.88 0.91 0.98 อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) 0.62 0.58 0.67 ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลีย่ (วัน) 43.35 48.93 46.47 ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลีย่ (วัน) 44.95 44.14 40.60 ระยะเวลาชาระหนี ้ (วัน) 69.95 74.88 71.69 Cash Cycle (วัน) 18.37 18.19 15.38 บริ ษัทมีสนิ ทรัพย์หมุนเวียนที่ประกอบไปด้ วย เงินสด ลูกหนี ้ และสินค้ าคงเหลือในปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 เท่ากับ 155.64 ล้ านบาท 135.36 ล้ านบาท และ 114.48 ล้ านบาท น้ อยกว่าหนี ้หมุนเวียนในแต่ละปี ซึ่งมีเท่ากับ 158.96 ล้ านบาท 151.10 ล้ านบาท และ 137.95 ล้ านบาท ตามลาดับ ซึง่ อาจทาให้ สภาพคล่องของบริ ษัทอาจไม่เพียงพอ อย่างไร ก็ตามบริ ษัทได้ พิจารณาถึงผลกระทบและความเสีย่ งทีอาจเกิดขึ ้นเพื่อให้ ดาเนินงานต่อไปได้ ในปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 บริ ษัท มีอัตราส่วนสภาพคล่องเท่ากับ 0.98 เท่า 0.91 เท่าและ 0.90 เท่า ตามลาดับและมีอตั ราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ วในช่วงเวลาเดียวกันเท่ากับ 0.67 เท่า 0.58 เท่า และ 0.62 เท่าตามลาดับ
214
จากอัตราส่วนสภาพคล่องของบริ ษัทแสดงให้ เห็ นถึงการดาเนินงานตามปกติของบริ ษั ท มีหนีส้ ิน หมุนเวีย น มากกว่าสินทรัพย์หมุนเวียน อย่างไรก็ตามแม้ บริ ษัทประสบปั ญหาในการชาระหนี ้ระยะสันตามอั ้ ตราส่วนสภาพคล่องก็ ตาม หากไม่รวมเงินกู้ยืมระยะสันจากบุ ้ คคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ อง บริ ษัทสามารถชาระหนี ้สินระยะสันได้ ้ ในปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 บริ ษัทมีระยะเวลาการเก็บหนี ้เฉลี่ยเท่ากับ 46.47 วัน 48.93 วัน และ 43.35 วัน ตามลาดับ ซึ่งเป็ นไปตามนโยบายการให้ เครดิตหรื อระยะเวลาในการรับชาระจากลูกค้ าระหว่าง 30 ถึง 60 วัน ซึ่งบริ ษัท สามารถนาเงินที่ได้ รับตามนโยบายนี ้ไปใช้ เพื่อวางแผนดาเนินงานจัดซื ้อวัตถุดิบและชาระหนี ้สินได้ ทนั เวลา ทังนี ้ ้ลูกหนี ้ การค้ าของบริ ษัทส่วนมากเป็ นลูกหนี ้ชันดี ้ ที่ชาระหนี ้ตรงรอบระยะเวลาการให้ เครดิต ในปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 บริ ษัทมีระยะเวลาการขายสินค้ าเฉลี่ยเท่ากับ 40.60 วัน 44.14 วันและ 44.95 วัน ตามลาดับ ระยะเวลาในการหมุนเวียนสินค้ าอยู่ในระดับที่สามารถผลิตและจัดส่งได้ ทนั เวลา และไม่มีสินค้ าค้ างนาน เนื่องจากการผลิตสินค้ าของบริ ษัทมีการวางแผนตามความต้ องการของลูกค้ า ซึง่ มีระยะเวลาการจัดส่งที่แน่นอน ในปี 2561 ปี 2560 และปี 2559 บริ ษัทมีระยะเวลาการชาระหนี ้เฉลี่ยเท่ากับ 71.69 วัน 74.88 วัน และ 69.95 วัน ตามลาดับ การให้ ระยะเวลาการชาระหนี ้ของเจ้ าหนี ้เป็ นไปตามที่นโยบายบริ ษัทกาหนดซึง่ อยูร่ ะหว่าง 30 ถึง 90 วัน ปั จจัยและอิทธิพลที่อาจมีผลต่ อการดาเนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต ปั จจัยและอิทธิพลที่อาจมีผลต่อการดาเนินงานหรื อฐานะการเงินในอนาคตของบริ ษัท นอกเหนือจากที่ได้ กล่าวไว้ ในเรื่ องปั จจัยความเสี่ยง ได้ แก่ สภาวะเศรษฐกิ จที่ชะลอตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์ ทงั ้ ในประเทศและต่าง ประเทศ รวมถึ ง การย้ า ยฐานการผลิต ในผลิต ภัณ ฑ์ บางกลุ่ม ไปยัง ต่า งประเทศอย่างไรก็ ต ามบริ ษั ท ได้ ขยายตลาดออกไปยัง ต่างประเทศที่มีฐานการผลิตชิ ้นส่วนยานยนต์ทวั่ โลก โดยเร่งเพิ่มคาสัง่ ซื ้อให้ มากขึ ้น ทังนี ้ ้บริ ษัทอาจมีความเสี่ยงในการผัน ผวนของค่าเงินสกุลต่างๆ บริ ษัทได้ ศึกษาและเฝ้ าระวังถึงผลกระทบที่อาจเกิดจากการผันผวนของค่าเงินที่รุนแรง โดยวิธี ต่างๆที่สถาบันการเงินและบริ ษัทรวมกันตัดสินใจ ด้ านการตลาดในอุตสาหกรรมผลิตชิ ้นส่วนยานยนต์มีการแข่งขันค่อนข้ างสูง บริ ษัทมีคแู่ ข่งทางการตลาดสูงเช่นกัน อย่างไรก็ตามบริ ษัทได้ ศกึ ษาและหามาตรการเพื่อกระตุ้นให้ ผ้ รู ับผิดชอบพัฒนาศักยภาพทังเทคโนโลยี ้ ที่ทนั สมัย เชื่อมสาย สัมพันธ์ สร้ างพันธมิตรกับกลุม่ ธุรกิจที่สอดคล้ องกัน รวมถึงสร้ างความสัมพันธ์ อนั ดีกบั ลูกค้ ารายเดิมให้ เหนียวแน่นยิ่งขึ ้น พร้ อมกันนี ้บริ ษัทได้ วางแผนขยายสายการผลิตให้ ครอบคลุมอุตสาหกรรมอื่นมากขึ ้น เช่น ใบพัดปั ม้ น ้า ใบพัดเรื อหางยาว และ รับหล่อหุน่ ขี ้ผึ ้ง เป็ นต้ น ซึง่ อยูร่ ะหว่างการพัฒนาและวิจยั สายงานการผลิตดังกล่าว รวมถึงการเปิ ดสายงานการผลิต อื่นที่จ้างให้ บริ ษัทอื่นทาให้ เช่น งานเคลือบสี และให้ บริ การรับซ่อมแม่พิมพ์ เป็ นต้ น ด้ านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และบริ การจัดส่งที่ถกู ต้ องทันเวลา บริ ษัทยังคงคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ และ ศึกษาพร้ อมกับนาเทคโนโลยีที่ทนั สมัยมาใช้ ในกระบวนการผลิตให้ มีประสิทธิภาพมากขึ ้น ตามที่ลกู ค้ าให้ ความไว้ วางใจที่ เลือกบริ ษัทเป็ นผู้ผลิตชิ ้นงานให้ ในส่ว นของต้ น ทุน การผลิตและค่า ใช้ จ่ ายในการบริ ห ารที่ สูง ขึน้ ตามภาวะเศรษฐกิ จและค่า เงิ น บริ ษั ทเร่ ง หา มาตรการและรณรงค์เพื่อควบคุมและประหยัดต้ นทุนที่เกิดขึ ้นเพื่อให้ เกิดประโยชน์ที่ค้ มุ ค่า เช่น ในส่วนของพลังงาน บริ ษัท อยูร่ ะหว่างดาเนินการติดตังแผงโซล่ ้ าเพื่อลดค่าใช้ จ่ายด้ านพลังานที่ใช้ ในการผลิต ด้ านแรงงานบริ ษัทวางแผนพัฒนาและ จัดสรรกาลังพลให้ มีประสิทธิภาพและรองรับการขยายงาน
215