SANKO : Annual Report 2015 (th)

Page 1

2015


สารบัญ 1. สารจากประธานคณะกรรมการ

2. สารจากประธานเจ้ าหน้ าที บริ หาร

หน้ า 2

3

3. คณะกรรมการบริ ษัท

4

5. ลักษณะการประกอบธุรกิจ

17

4. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

10

6. ปั จจัยความเสี ยง

37

8. ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น

43

10. โครงสร้ างการจัดการ

46

12. ความรับผิดชอบต่อสังคม

64

7. ข้ อมูลทัว ไปและข้ อมูลสําคัญอื น 9. นโยบายการจ่ายเงินปั นผล 11. การกํากับดูแลกิจการ

13. การควบคุมภายในและการบริ หารจัดการความเสี ยง

42

45

54

70

14. รายการระหว่างกัน

73

16. รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

128

18. รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจําปี 2558

135

15. ข้ อมูลทางการเงินที สําคัญ

17. รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน 19. การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

80

134 138

หมายเหตุ: ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้ อมูลของบริ ษัทที ออกหลักทรัพย์เพิ มเติมได้ จากแบบแสดงรายการข้ อมูลประจําปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที แสดงไว้ ใน www.sec.or.th หรื อ เว็บไซต์ของบริ ษัท www.sankothai.net 1


สารจากประธานคณะกรรมการ เรี ยน ท่านผู้ถือหุ้น บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ 2ง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

จากประสบการณ์ 20 ปี ที บริ ษัท ได้ สงั สมมาทําให้ บริ ษัท SANKO ก้ าวต่อไปได้ อย่างมัน คง สร้ างองค์กร สู่ความเป็ นสากล ในธุ ร กิ จ ผลิ ต ชิ น2 ส่ ว นยานยนต์ แ ละอิ เ ล็ ค ทริ ค บริ ษั ท SANKO มุ่ง มั น ในการวางรากฐานบริ ษั ท ฯให้ มี ค วามมั น คงทัง2 ในด้ า น รายได้ และกํ า ไร และมี ก ารกระจายความเสี ย งในการดํ า เนิ น ธุรกิจ จากภาวะความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ โดยตังแต่ 2 ปี 2558 เป็ นต้ นมา บริ ษัท SANKO ได้ มีการขยายตลาดไปต่างประเทศ มากขึ 2น คณะกรรมการของบริ ษัท SANKO มี ความตังใจจริ 2 งที จะร่ วมผลักดันธุรกิจของบริ ษัทฯให้ เติบโต อย่างมัน คง โดยใช้ เทคโนโลยี ทักษะ และกระบวนการพัฒนาธุรกิจ เพื อสร้ างความมัง คัง ด้ านรายได้ และ สร้ างความมัน คงให้ กบั บริ ษัทฯ ผู้ถือหุ้น และพนักงานต่อไปในอนาคต ในนามของคณะกรรมการบริ ษัท SANKO ขอขอบพระคุณลูกค้ าผู้มีอปุ การะคุณ รวมทังผู 2 ้ ถือหุ้นที ร่วมลงทุนใน กิจการของบริ ษัทฯ อันเป็ นกําลังหลักของการพัฒนาธุรกิจ ตลอดจนผู้ให้ การสนับสนุนทุกภาค ส่วนที ช่วยผลักดันให้ บริ ษัทฯ สามารถเติบโต และการขยายตลาดสู่ต่างประเทศ ได้ สําเร็ จ ซึ งบริ ษัทฯ จะ รักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น และทุกท่านที มีส่วนร่ วมในความสําเร็ จของบริ ษัทฯ พร้ อมกับมีความตังใจ 2 จริ งที จะทําให้ บริ ษัท SANKO เจริ ญเติบโตก้ าวหน้ าต่อไปอย่างยัง ยืนพร้ อมกับรับผิดชอบ ต่อสังคมควบคูไ่ ป ด้ วย

นายมาซามิ คัตซูโมโต ประธานคณะกรรมการ

2


สารจากประธานเจ้ าหน้ าที บริหาร เรี ยน ท่านผู้ถือหุ้น บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ 2ง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

ตลอดระยะเวลา 3 ปี ที ผ่านมา (2556 - 2558) เศรษฐกิจโลก และภายในประเทศเราเองทรุ ดตัวอย่างรุ นแรง ทํ าให้ อุต สาหกรรม ยานยนต์ได้ รับผลกระทบอย่างมาก ยอดผลิตและยอดขายตกลงถึง ประมาณร้ อยละ 30-40 เนื อ งจากความต้ อ งการของตลาดลดลง รวมทังความสามารถหรื 2 อกําลังซื 2อของคนภายในประเทศก็ลดลงด้ วย เช่นกัน บริ ษัท SANKO ในฐานะผู้ผลิตชิ 2นส่วนในอุตสาหกรรมยาน

ยนต์ก็ได้ รับผลกระทบด้ วยเช่นกัน ในฐานะของฝ่ ายบริ ห ารของบริ ษั ท SANKO จึงจํ าเป็ นต้ องวางกลยุท ธใหม่ เพื อหาทางชดเชย ยอดขายของสินค้ าของบริ ษัทฯ โดยจากเดิมที ขายอยูเ่ ฉพาะตลาดในประเทศ (Domestic) เป็ นการหาตลาด ในต่างประเทศเพิ ม ซึ งก็ได้ เริ มส่งออกไปแล้ วบ้ าง ในช่วงปลายปี 2558 และก็ยงั มีหลายดีล ที อยู่ระหว่าง เจรจาอยู่ คาดว่า ปี ใหม่นีก2 ็ จะมี ย อดขายในต่างประเทศเพิ ม ขึน2 อี ก นอกจากนี 2 บริ ษัท ฯยัง ได้ มี มาตรการ ควบคุมเข้ มด้ านต้ นทุนการผลิต ให้ มีประสิทธิภาพดียิ งขึ 2น ซึง จะเห็นได้ จากอัตราส่วนทางการเงินที สําคัญ ดี ขึ 2นอย่างเห็นได้ ชดั อย่างมีนยั สําคัญ ซึ งถ้ าหากทุกอย่างเป็ นไปตามที คาดการณ์ เชื อว่าปี นี 2จะมีข่าวดีในด้ าน ผลประกอบการ กระผมในฐานะฝ่ ายบริ หารที เข้ ามารับผิดชอบ ตระหนักดีถึงความต้ องการ ความปรารถนาและ ความเป็ นห่วงเป็ นใยของผู้ถือหุ้นทุกท่าน จะขอมุ่งมัน บริ หารงานอย่างเต็มความสามารถเพื อทําให้ บริ ษัท SANKO เจริ ญรุ่งเรื อง ก้ าวหน้ า สืบไป

นายรั ฐวัฒน์ ศุขสายชล ประธานเจ้ าหน้ าที#บริหาร 3


คณะกรรมการบริษัท

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

5

4

3

นายมาซามิ คัตซูโมโต นายนาโอะอิโร ฮามาด้ า นายรั ฐวัฒน์ ศุขสายชล นางพูนศรี ปั ทมวรกุลชัย นายยุทธนา แต่ ปางทอง นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์ นายสันติ เนียมนิล นายนิพันธ์ ตัง. พิรุฬห์ ธรรม

1

2

6

7

8

ประธานคณะกรรมการบริ ษัท กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

4


นายมาซามิ คัตซูโมโต ประธานคณะกรรมการ

นายนาโอะฮิโร ฮามาดา กรรมการ

อายุ 67 ปี วันที ได้ รับแต่ งตัง 28 เมษายน 2557 สัดส่ วนการถือหุ้น 6.75% (20,090,600 หุ้น) การศึกษา 2510 : High School attached to the Faculty of Education, The University of Tokyo 2514 : Mechanical Engineering, College of Science and Technology Nihon University การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ น 83/2553 ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ที ผ่านมา 2539 – 2559 ประธานคณะกรรมการและประธานเจ้ าหน้ าที บริ หาร บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ &ง (ประเทศไทย) ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการ บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ &ง (ประเทศไทย) การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ -

อายุ 74 ปี วันที ได้ รับแต่ งตัง 28 เมษายน 2558 สัดส่ วนการถือหุ้น 0.96% (2,858,800 หุ้น) การศึกษา 2502 : Commerce Course, Shiwko Sensor High School 2506 : English Course, Pal more Institution การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ น 83/2553 ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ที ผ่านมา 2550 – ปั จจุบนั กรรมการบริ ษัท บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ &ง (ประเทศไทย) 2553 – 2554 กรรมการบริ ษัท Excel Metal Forging Co., Ltd. 2550 – 2554 กรรมการผู้จดั การ Thai Industry Parts Ltd. การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ 1 บริ ษัท

5


นายรั ฐวัฒน์ ศุขสายชล กรรมการ

นางพูนศรี ปั ทมวรกุลชัย กรรมการ

อายุ 58 ปี วันที ได้ รับแต่ งตัง 28 เมษายน 2558 สัดส่ วนการถือหุ้น 0.57% (1,709,577 หุ้น) การศึกษา 2522 : นิตศิ าสตร์ บณ ั ฑิต กฎหมาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรม IOD -หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)77/2552 -หลักสูตร Financial Statement for Directors (FSD) 6/2552 -หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 128/2553 -หลักสูตร Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE) 13/2554 -หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) 15/2555 -หลักสูตร Role of the Nomination and Governance committee (RNG) 3/2555 การอบรม อื นๆ -หลักสูตร Strategy CFO in Capital Markets Program 2558 ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ที ผ่านมา 2544 – 2559 กรรมการและรองประธานเจ้ าหน้ าที บริ หาร บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ &ง (ประเทศไทย) ปั จจุบนั กรรมการและประธานเจ้ าหน้ าที บริ หาร บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ &ง (ประเทศไทย) การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ อายุ 62 ปี วันที ได้ รับแต่ งตัง 25 กุมภาพันธ์ 2558 สัดส่ วนการถือหุ้น 0.00% การศึกษา 2520 : ปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยรามคําแหง การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)121/2558 ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ที ผ่านมา 2558 – ปั จจุบนั กรรมการบริ ษัท บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ &ง (ประเทศไทย) 2546 – 2557 ผู้จดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน หจก.สมศักดิM กรุ๊ ป การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ -

6


นายยุทธนา แต่ ปางทอง กรรมการ

อายุ 43 ปี วันที ได้ รับแต่ งตัง 8 สิงหาคม 2557 สัดส่ วนการถือหุ้น 0.00% การศึกษา 2542 : ปริ ญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)120/2558 ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ที ผ่านมา 2559 - ปั จจุบนั กรรมการบริ ษัทบจก.105 โซล่า เพาเวอร์ 2558 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การและกรรมการบริ ษัท บมจ. แอดวานซ์ คอนเนคชัน คอร์ ปอเรชัน 2557- ปั จจุบนั กรรมการบริ ษัท บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ &ง (ประเทศไทย) 2558 - ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษัท บจก.เอซีซี อีเลคทริ ค 2558 - ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษัท บจก. เอซีซี แลนด์มาร์ ค 2558 - ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษัท บจก. เอซีซี กรี น เอนเนอร์ จี 2558 - ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษัท บจก. ดับบลิว. โซลา 2558 - ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษัท บจก. บางปะกง โซล่า เพาเวอร์ 2557 - ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษัท บจก. ซี.อี.ไอ. (เชียงใหม่) 2557- ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจก.แฮปปี ก& รอบรู ป 168 2556 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจก. นิว&เฟิ ร์ส ครี เอชัน 2537 - 2557 ผู้อํานวยการฝ่ ายบัญชีและการเงิน บมจ. จูบลิ ลี เอ็นเตอร์ ไพรส์ 2556 - 2556 กรรมการตรวจสอบ บจก. อุตสาหกรรม อีเล็กโทนิคส์ จํากัด การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 2 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ 7 บริ ษัท

7


นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์ กรรมการอิสระ/ ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ

นายนิพันธ์ ตัง. พิรุฬห์ ธรรม กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

อายุ 60 ปี วันที ได้ รับแต่ งตัง 28 เมษายน 2557 สัดส่ วนการถือหุ้น 0.00% การศึกษา 2521: ปริ ญญาตรี บัญชีบณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2522 : ประกาศนียบัตรชันสู & งทางการสอบบัญชี มหาวิทยาลัยธรรม ศาสตร์ การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 80/2552 ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ที ผ่านมา 2552 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ &ง (ประเทศไทย) 2550 – ปั จจุบนั ที ปรึกษาด้ านบัญชี บจก. เอสซี ซิสเต็ม เน็ตเวิร์ค 2550 – ปั จจุบนั ที ปรึกษาด้ านบัญชี บจก. ไอซิน คลัทช์ดสิ ค์ 2550 – ปั จจุบนั ที ปรึกษาด้ านบัญชี บจก.พีเอ็มซี แมนเนจเม้ นท์ แอนด์ คอนซัลแตนท์ การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ -

อายุ 55 ปี วันที ได้ รับแต่ งตัง 11 เมษายน 2556 สัดส่ วนการถือหุ้น 0.00% การศึกษา 2522: นิตศิ าสตร์ บณ ั ฑิต กฎหมายมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 80/2552 ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ที ผ่านมา 2552 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระและกรรมกาตรวจสอบ บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ &ง (ประเทศไทย) 2543 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจก. มาสเตอร์ โกลฟ อินดัสตรี 2536 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจก. โรส แอนด์กรี น 2543 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจก. ซุปเปอร์ โกลฟ อินดัสทรี การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ -

8


นายสันติ เนียมนิล กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

อายุ 47 ปี วันที ได้ รับแต่ งตัง 28 เมษายน 2558 สัดส่ วนการถือหุ้น 0.00% การศึกษา 2536 : นิตศิ าสตร์ บณ ั ฑิต กฎหมาย มหาวิทยาลัยรามคําแหง การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 80/2552 ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ที ผ่านมา 2552 – ปั จจุบนั กรรมการอิสระและกรรมกาตรวจสอบ บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ &ง (ประเทศไทย) 2545 – ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ยูเซ็นต์แอร์ แอนด์ ซี เซอร์ วสิ แมนเนจเม้ นท์(ประเทศไทย) 2546 – 2558 กรรมการผู้จดั การ บจ. เอนก แอดโวเคท การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ -

9


4.นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 4.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่ านิยมองค์ กร

บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ =ง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) เริ มก่อตังเมื = อ เดือน มกราคม 2539 และเริ มดําเนินการ ผลิต เดือน เมษายน 2540 โดยดําเนินการผลิต ชิ =นส่วนยานยนต์ ชิ =นส่วนเครื องใช้ ไฟฟ้ าและอื นๆ โดยกระบวนการฉีดหล่อ ขึ =นรูปแรงดันสูง (HPDC) โดยใช้ แม่พิมพ์ จากวัตถุดิบอลูมิเนียม และสังกะสี

วิสัยทัศน์ บริ ษัท Sanko มุ่งมั นสู่ความเป็ นผู้นําในอุตสาหกรรม Diecasting ให้ เป็ นที ยอมรั บในระดับสากล รวมทัง% ร่ วมสร้ างนวั ตกรรมใหม่ ในทุกด้ าน จนสามารถสร้ าง ผลิตภัณฑ์ ภายใต้ เครื องหมายการค้ าของบริ ษัทให้ เป็ นที ยอมรั บในด้ านคุณภาพและ บริการจากลูกค้ าอย่ างยั งยืน พันธกิจ

• สร้ างความเป็ นเลิศในทุกๆด้ าน • นําเทคโนโลยีใหม่ นวัตกรรมใหม่ มาใช้ ในเรื องการออกแบบ การ พัฒนากระบวนการผลิต • นําศักยภาพและความสามารถของพนักงานในองค์ กรร่ วมสร้ าง เครื องหมายการค้ าให้ ได้ ภายในปี 2562

ค่ านิยมองค์ กร • • • •

การคิดเชิงนวัตกรรม การทํางานเชิงรุ ก ความมุ่งมั นสู่ความสําเร็จ มีความรู้ สึกเป็ นเจ้ าขององค์ การ

10


กลยุทธ์ องค์ กร

• • • •

ด้ านคุณภาพ บริษัทสามารถผลิตชิ =นส่วนได้ ตามมาตรฐานคุณภาพที ผ้ ผู ลิตชิ =นส่วนลําดับที 1 หรื อ ผู้ผลิตยานยนต์ยอมรับ อีกทัง= บริษัทยังได้ รับการรับรองจากมาตรฐานสากล ISO 9001:2008 และ ISO/TS 16949:2009 เพื อสร้ างการยอมรับและสร้ างความเชื อมัน ให้ แก่ลกู ค้ าในระยะยาว ด้ านความรู้และเทคโนโลยี บริ ษัทมีความเชี ยวชาญในการออกแบบแม่พิมพ์ ซึง เป็ น Know-How ที ได้ รับการถ่ายทอดจากรุ่นสูร่ ุ่น อีกทังยั = งมีการพัฒนากระบวนการผลิตอย่างต่อเนื อง เพื อให้ บริษัท สามารถตอบสนองต่อความต้ องการที ลกู ค้ ายอมรับ ด้ านการผลิต การออกแบบสายการผลิตให้ สามารถปรับเปลีย นชิ =นงานที ผลิตได้ อย่างรวดเร็ว ไม่ ยุง่ ยาก ทําให้ บริ ษัทสามารถผลิตชิ =นงานรองรับกลุม่ ลูกค้ าได้ หลากหลายอุตสาหกรรม ซึง สะท้ อน ถึงการเติบโตอย่างต่อเนื องของรายได้ ของบริ ษัท ด้ านการตลาด ขยายตลาดไปยังต่างประเทศ เพื อลดความเสีย งด้ านปั จจัยเศรษฐกิจ ภายในประเทศ ซึง เป็ นการเพิ มความต้ องการของลูกค้ าในกลุม่ ที กว้ างขึ =น ประกอบกับการขยาย ฐานลูกค้ าภายในประเทศสูก่ ลุม่ ลูกค้ าในธุรกิจอื นนอกเหนือจากอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยเน้ น กลุม่ ลูกค้ าทีใ ช้ วิธีการผลิตที บริ ษัทมีความชํานาญในการให้ บริ การ ด้ านผลิตภัณฑ์ เพิ มสายการผลิต โดยเพิ มผลิตภัณฑ์โดยวิธีการหล่อแบบใหม่ คือการหล่อแบบ Gravity เพื อความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ และลดข้ อจํากัดในการผลิต เพื อสามารถตอบโจทย์ ความต้ องการของลูกค้ าได้ อย่างหลากหลายมากขึ =น การเพิม เครื องจักรในกระบวนการผลิต ซึง บริ ษัทมีความเชี ยวชาญในการผลิตนัน= จึงเป็ นการสร้ างความครบวงจรในการให้ บริ การแก่ลกู ค้ า

4.2 การเปลี#ยนแปลงและพัฒนาการที#สาํ คัญ

ปี 2539 มกราคม

:

ตุลาคม

:

ปี 2547 เมษายน

:

ปี 2548 มิถนุ ายน

:

จดทะเบียนก่อตังบริ = ษัท ซังโกะ ไดคาซติ =ง (ประเทศไทย) จํากัด ด้ วยทุนจดทะเบียน 11.50 ล้ านบาท แบ่งเป็ นหุ้นสามัญจํานวน 115,000 หุ้น มูลค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 100 บาท เรี ยกชําระ เต็มมูลค่า โดยมีกลุม่ ผู้ถือหุ้นหลักคือ บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ =ง อินดัสตรี จํากัด (ประเทศ ญี ปน) ุ่ บริ ษัท เอสบีซีเอส จํากัด และบริ ษัท วัฒนาอินเตอร์ เทรด จํากัด เพิ มทุน จดทะเบียนและชํ าระแล้ ว เป็ น 88 ล้ านบาทจากผู้ถือหุ้นเดิมและกองทุนเจเอไอซี นิปปอน เอเชีย 2 และกองทุน เซาท์-อีส เอเชีย ไพรเวท อีควิตี = (จีบีอาร์ ) นายมาซามิ คัตซูโมโตได้ ทาํ การซื =อหุ้นของบริ ษัทจํานวน 244,895 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 27.83 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมดของบริ = ษัท ณ ขณะนัน= จากบริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ =ง อินดัสตรี จํากัด (ประเทศญี ปน) ุ่

บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ =ง อินดัสตรี จํากัด (ประเทศญี ปน)ได้ ุ่ ทาํ การจําหน่ายหุ้นของบริ ษัท ทังหมด = 235,101 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 26.72 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมดของ = 11


ปี 2549 เมษายน

: :

ปี 2551 มีนาคม

:

เมษายน

:

กรกฎาคม

: :

ตุลาคม

:

ปี 2552 เมษายน

: :

บริ ษัท ณ ขณะนัน= ให้ แก่บริษัท อะซึเทค จํากัด นอกจากนี = กองทุนเจเอไอซี นิปปอน เอเชีย 2 และกองทุน เซาท์-อีส เอเชีย ไพรเวท อีควิตี = (จีบีอาร์ ) ได้ จําหน่ายหุ้นทังหมดจํ = านวน 400,000 หุ้น และนายมาซามิ คัตซูโมโตได้ จําหน่ายหุ้นจํานวน 54,017 หุ้น รวมกันทังสิ = =น 454,017 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 61.38 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมดของบริ = ษัท ณ ขณะนัน= ให้ แก่ บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด และบริ ษัท จุฑาวรรณ จํากัด

ได้ รับใบรับรองระบบการบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2000 จากสถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง ได้ รับใบรับรองระบบบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002 จากสถาบัน IATF โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง

บริ ษัท อะซึเทค จํากัด ได้ จําหน่ายหุ้นทังหมดจํ = านวน 235,101 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 26.72 ของ ทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมดของบริ = ษัท ณ ขณะนัน= ให้ แก่บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด (“TIP”) ได้ จําหน่ายหุ้นที รับโอนมาจากบริ ษัท อะซึเทค จํากัดจํานวน 235,101 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 26.72 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมด = ของบริ ษัท ณ ขณะนัน= ให้ กบั ผู้บริ หารของกลุม่ ปิ นทองและผู้ถือหุ้นรายย่อย บริ ษัท จุฑาวรรณ จํากัด ได้ จําหน่ายหุ้นทังหมดจํ = านวน 228,996 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 26.02 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมดของบริ = ษัท ณ ขณะนัน= ให้ แก่บริ ษัท เจทีดบั บลิว แอ๊ ซเซท จํากัด ได้ รับใบรับรองระบบการจัดการสิง แวดล้ อมตามมาตรฐาน ISO 14001:2004 จากสถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริษัท ยูไนเต็ด รีจิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ น ผู้ให้ การรับรอง บริ ษัท วีเน็ท แคปปิ ทอล จํากัดได้ เข้ าร่วมทุนในบริ ษัทโดยการซื =อหุ้นจากกลุม่ ปิ นทอง จํานวน 246,000 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 27.95 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมดของบริ = ษัท ณ ขณะนัน= ได้ รับใบรับรองระบบการบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 จากสถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง ได้ รับใบรับรองระบบบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO/TS 16949:2009 จากสถาบัน IATF โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง

12


ธันวาคม

: : :

ปี 2554 มิถนุ ายน

:

ปี 2555 พฤษภาคม

:

มิถนุ ายน

:

ปี 2556 พฤษภาคม กันยายน

: :

ปี 2557 เมษายน

:

ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง= ที 2/2552 จัดขึ =นเมื อวันที 15 ธันวาคม 2552 ได้ มีมติพิเศษให้ แปรสภาพเป็ นบริ ษัทมหาชนจํากัด และได้ มีมติให้ เปลีย นมูลค่าทีต ราไว้ ของหุ้นสามัญจากหุ้น ละ 100 บาท เป็ น หุ้นละ 1 บาท ได้ รั บ ใบรั บ รองระบบการจัด การอาชี ว อนามัย และความปลอดภัย ตามมาตรฐาน TIS 18001:1999 โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นผู้ให้ การ รับรอง ได้ รับใบรับรองระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน OHSAS 18001:2007 จากสถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง= ที 1/2554 จัดขึ =นเมื อวันที 10 มิถนุ ายน 2554 ได้ มีมติให้ เปลีย นแปลงมูลค่าหุ้นของบริษัท จากหุ้นละ 1.00 บาท เป็ นหุ้นละ 0.50 บาท และมีมติพิเศษ ให้ บริ ษัทเพิม ทุนจดทะเบียนเป็ น 113 ล้ านบาท ประกอบด้ วยหุ้นสามัญจํานวน 226 ล้ านหุ้น มูลค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50บาท

ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง= ที 1/2555 จัดขึ =นเมื อวันที 30 พฤษภาคม 2555 ได้ มีมติอนุมตั ิ การออกและเสนอขายหุ้นสามัญให้ แก่ประชาชนทัว ไปจํานวน 44 ล้ านหุ้น มูลค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาทต่อหุ้น และออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที จะซื =อหุ้นสามัญของบริษัท ให้ แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัทจํานวน 6 ล้ านหน่วย โดยมีห้ นุ ที รองรับการใช้ สทิ ธิ ทังหมด = 6 ล้ านหุ้น มูลค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาท และมีมติอนุมตั ิให้ นาํ หุ้นสามัญของบริ ษัท จดทะเบียนเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ บริ ษัทได้ ทําการซื =อที ดินพร้ อมอาคารโรงงานในเขตอุตสาหกรรมโรจนะ ตําบลหนองบัว อําเภอ บ้ านค่าย จังหวัดระยองขนาดพื =นที 3 ไร่ โดยมีพื =นที ติดกับพื =นที โรงงานของบริ ษัท เพื อ ปรับปรุงและแปรสภาพเป็ นพื =นที คลังสินค้ า หน่วยงานเจาะ ขัดตกแต่งขอบและผิวชิ =นงาน

บริ ษัทได้ มีการนําหุ้นของบริษัทเข้ าซื =อขายวันแรกในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริ ษัทได้ ทําสัญญาซื =อขายที ดินในเขตอุตสาหกรรมโรจนะ ตําบลหนองบัว อําเภอบ้ านค่าย จังหวัดระยองขนาดพื =นที 5.1585 ไร่ โดยมีพื =นที ติดกับพื =นที โรงงานของบริษัท เพื อรองรับการ ขยายโรงงานต่อไป โดยได้ จ่ายมัดจําไปแล้ วบางส่วน และจะจ่ายที เหลือทังหมดพร้ = อมรับโอน ภายในต้ นปี 2557 บริ ษัทได้ ดําเนินการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ\ซื =อที ดิน จาก บริ ษัทสวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) โฉนดที ดินเลขที 41107, 41741 เลขที ดิน 342, 355 หน้ าสํารวจ 3990, 13


ปี 2558 กรกฎาคม

:

สิงหาคม

:

พฤศจิกายน

:

4057 ตําบลหนองบัว อําเภอบ้ านค่าย จังหวัดระยอง เนื =อที 3 ไร่ 1 งาน 73.5 ตารางวา, 1 ไร่ 2 งาน 89.9 ตารางวา ตามลําดับ โดยวัตถุเพื อเป็ นสถานทีต งโรงงาน ั= ผลิตภัณฑ์อลูมิเนียมฉีด ขึ =นรูป

ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง= ที 1/2558 จัดขึ =นเมื อวันที 9 กรกฎาคม 2558 ได้ มีมติอนุมตั ิการ เพิ มทุนจดทะเบียน จํานวน 37,340,812.50 บาท คิด 74,681,625 หุ้น ทําให้ ทนุ จดทะเบียน จาก 113,000,000 บาท เป็ น 150,340,812.50 บาท คิดเป็ นจํานวนหุ้นทังสิ = =น 300,609,625 โดยมีมลู ค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาท โดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า กระทรวงพาณิชย์ได้ รับจด ทะเบียนเปลีย นแปลงทุนจดทะเบียนแล้ วดังกล่าวเมื อวันที 16 กรกฎาคม 2558 บริ ษัทได้ ดําเนินการจดทะเบียนเปลี ยนแปลงทุนชํ าระแล้ วเนื องจากมีการเพิ มทุน จากทุน ชําระแล้ วเดิม จํานวน 111,138,579 บาท เป็ นทุนชําระแล้ วใหม่จํานวน 148,184,772 บาท มูลค่าที ตราไว้ 0.50 บาท โดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า กระทรวงพาณิชย์ได้ รับจดทะเบียน เปลีย นแปลงการเพิ มทุนชําระแล้ วดังกล่าว เมื อวันที 17 สิงหาคม 2558 บริ ษัทได้ ดําเนินการจดทะเบียนเปลี ยนแปลงทุนชํ าระแล้ วเนื องจากมีการแปลงใบสําคัญ แสดงสิทธิ\ ที จะซื =อหุ้นสามัญเพิ มทุนของบริ ษัทเสนอขายให้ แก่กรรมการและพนักงานของ บริ ษัท (ESOP) จากทุนชําระแล้ วเดิม จํานวน 148,184,772 บาท เป็ นทุนชําระแล้ วใหม่ จํ านวน 148,903,972 บาท มูลค่า ที ตราไว้ 0.50 บาท โดยกรมพัฒ นาธุร กิ จการค้ า กระทรวงพาณิชย์ได้ รับจดทะเบียนเปลี ยนแปลงการเพิ มทุนชําระแล้ วดังกล่าว เมื อวันที 24 พฤศจิกายน 2558

4.3 โครงสร้ างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท บริ ษัทไม่มีบริ ษัทย่อยหรื อบริ ษัทร่วม

14


4.4 ความสัมพันธ์ กับกลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นใหญ่

4.4.1 แผนภาพโครงสร้ างธุรกิจโดยรวมของธุรกิจในเครือของผู้ถอื หุ้นใหญ่ ณ วันที) 31 ธันวาคม 2558 กลุม่ ปิ นทอง (37.20%) ประกอบธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ธุระกิจเหล็กและโลหะ ธุรกิจชิ นส่วนสําหรับภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจขนส่งและ รถเช่า

บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด (14.81%) จําหน่ายเหล็กสแตนเลสและเหล็กกล้ า

บริ ษัท เจทีดบั บลิว แอ็ชเซท จํากัด (18.36%) โฮลดิ #ง

บุคคลที'มีความเกี'ยวข้ อง (4.03%)

บมจ.ซังโกะ ไดคาซติง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

กลุม่ ปิ นทองมีการประกอบธุรกิจที มีผลิตภัณฑ์ใกล้ เคียงกันกับของบริ ษัท คือ ธุรกิจผลิตชิ =นส่วนโดยการขึ =นรู ปด้ วย วิธีอดั ด้ วยความร้ อน (Hot Forging) และการอัดแบบเย็น (Stamping) สําหรับอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมยายนต์ และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื องใช้ ไฟฟ้ า เป็ นต้ น และยังประกอบธุรกิจชิ =นส่วนและส่วนประกอบสําหรับแม่พิมพ์ โลหะอีกด้ วย ซึง ในอนาคต กลุม่ บริ ษัทดังกล่าวมีโอกาสที จะเกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ โดยทําการแข่งขันทางอ้ อม กับบริ ษัทได้ แต่ทงนี ั = =บริ ษัทในกลุม่ ปิ นทองดังกล่าว ไม่มีนโยบายที จะดําเนินธุรกิจผลิตชิ =นส่วนอลูมิเนียมและสังกะสีฉีดขึ =น รูปด้ วยแม่พิมพ์ฉีดหล่อความดันสูง ซึง เป็ นการแข่งขันโดยตรงกับธุรกิจของบริ ษัท

15


4.4.2 ลักษณะความสัมพันธ์ บริ ษัทมีการทํารายการกับบุคคลที อาจมีความขัดแย้ งต่างๆ ซึง รายการระหว่างกันที เกิดขึ =นนันเป็ = นการทํารายการ กับกรรมการ และ/หรื อ ผู้บริ หาร และ/หรื อ ผู้ถือหุ้นของบริ ษัท และบริ ษัทที เกี ยวข้ องกันซึง มีบคุ คลที มาความขัดแย้ งเป็ น กรรมการ และ/หรื อ ผู้บริ หาร และ/หรื อ ผู้ถือหุ้นของบริ ษัท ซึง สามารถสรุปลักษณะความสัมพันธ์ได้ ดังนี = บุคคลที อาจมีความขัดแย้ ง

บริ ษัท จุฑาวรรณ จํากัด

บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด บริ ษัท ริ ก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรี ทเม้ นท์ จํากัด

บริ ษัท ทีไอพี เมททัล อินดัสทรี ส์ จํากัด บริ ษัท อําพน จํากัด บริ ษัท จุฑาวรรณ เมทัล แล็บ จํากัด บริ ษัท เจทีดบั บลิว แอ็กเซท จํากัด

ความสัมพันธ์

มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษัทคือ นายพีระ ปั ทมวรกุลชัย อยู่ภายใต้ การควบคุมของ กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ นทอง1/ ซึง ถือหุ้นทังทางตรงและ & ทางอ้ อมในบริ ษัทร้ อยละ 37.20 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมด & มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษัทคือ นายนาโอะฮิโร ฮามาดา อยู่ภายใต้ การควบคุมของ กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ นทอง1/ ซึง ถือหุ้นทังทางตรงและ & ทางอ้ อมในบริ ษัทร้ อยละ 37.20 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมด & อยู่ภายใต้ การควบคุมของกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ นทอง1/ ซึง ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ & อมในบริ ษัทร้ อยละ 37.20 ของทุนจดทะเบียนและชําระ แล้ วทังหมด & มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษัทคือ นายนาโอะฮิโร ฮามาดา อยู่ภายใต้ การควบคุมของ กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ นทอง1/ ซึง ถือหุ้นทังทางตรงและ & ทางอ้ อมในบริ ษัทร้ อยละ 37.20 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมด & อยู่ภายใต้ การควบคุมของกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ นทอง1/ ซึง ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ & อมในบริ ษัทร้ อยละ 37.20 ของทุนจดทะเบียนและชําระ แล้ วทังหมด & อยู่ภายใต้ การควบคุมของกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ นทอง1/ ซึง ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ & อมในบริ ษัทร้ อยละ 37.20 ของทุนจดทะเบียนและชําระ แล้ วทังหมด & อยู่ภายใต้ การควบคุมของกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ นทอง1/ ซึง ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ & อมในบริ ษัทร้ อยละ 37.20 ของทุนจดทะเบียนและชําระ แล้ วทังหมด &

หมายเหตุ : 1/ กลุม่ ปิ นทองประกอบธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ธุรกิจเหล็กและโลหะ ธุรกิจชิ นส่วนสําหรับภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจขนส่งและรถเช่า

16


5. ลักษณะการประกอบธุรกิจ

5.1 ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัท

บริ ษัทประกอบธุรกิจผลิตชิ =นส่วนอลูมิเนียมฉีดขึ =นรู ปและชิ =นส่วนสังกะสีฉีดขึ =นรู ปตามคําสัง ซื =อของลูกค้ า โดยมี กลุ่มลูก ค้ า หลัก เป็ นผู้ผลิตชิ น= ส่ว นให้ กับอุต สาหกรรมยานยนต์ ประกอบด้ ว ยอุต สาหกรรมรถยนต์ แ ละอุต สาหกรรม รถจักรยานยนต์ ทังนี = = ธุรกิจการผลิตชิ =นส่วนยานยนต์จะมีข้อได้ เปรี ยบจากยอดการสัง ซื =อค่อนข้ างแน่นอนเนื องจากการ สัง ซื =อชิ =นส่วนของยานยนต์รุ่นหนึง (Model) มักจะเป็ นการสัง ซื =อชิ =นส่วนจนกระทัง ยานยนต์รุ่นนันเลิ = กการผลิตซึ งจะใช้ เวลา ส่วนใหญ่ประมาณ 3 ปี ขึ =นไป นอกจากนี = บริ ษัทยังได้ มีการผลิตชิ =นส่วนประกอบกล้ องโทรทัศน์วงจรปิ ด ชิ =นส่วนประกอบ กล้ องถ่ายวิดีโอ และชิ =นส่วนประกอบระบบสือ สารภายใน (Intercom System) สําหรับอุตสาหกรรมเครื องใช้ ไฟฟ้ า และได้ มีการผลิตชิ =นส่วนประกอบเครื องตัดหญ้ าและชิ =นส่วนประกอบรถแทรกเตอร์ สาํ หรับอุตสาหกรรมเครื องจักรกลเกษตร ทังนี = = ในการผลิตชิน= ส่วนต่างๆ บริ ษัทได้ มีการบริ การออกแบบและจัดหาแม่พิมพ์เพื อรองรับความต้ องการของลูกค้ าได้ อย่าง ครบถ้ วน ทังนี = = ในปั จจุบนั บริ ษัทไม่มีบริ ษัทย่อยหรื อบริ ษัทร่วมแต่อย่างใด 5.1.1 โครงสร้ างรายได้ ของบริษัท โครงสร้ างรายได้ ของบริ ษัทแบ่งตามสายผลิตภัณฑ์หลักระหว่างปี 2556 ถึงปี 2558 มีสดั ส่วน ดังนี = (หน่วย: ล้ านบาท) ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 รายได้ จํานวน ร้ อยละ จํานวน ร้ อยละ จํานวน ร้ อยละ 1. รายได้ จากการขายชิน5 ส่ วน 335.62 81.66 328.18 90.04 385.49 89.60 ชิ =นส่วนรถยนต์ 211.95 51.57 210.20 57.67 280.01 65.08 ชิ =นส่วนรถจักรยานยนต์ 71.34 17.36 55.58 15.25 40.71 9.46 ชิ =นส่วนเครื องใช้ ไฟฟ้ า 33.63 8.18 38.39 10.53 46.61 10.83 ชิ =นส่วนเครื องจักรกลเกษตรและอื นๆ 18.70 4.55 24.01 6.59 18.16 4.22 2. รายได้ จากการขายแม่ พิมพ์ 60.13 14.63 24.70 6.78 34.40 8.00 ชิ =นส่วนรถยนต์ 22.69 5.52 13.43 3.68 9.30 2.16 ชิ =นส่วนรถจักรยานยนต์ 33.22 8.08 8.39 2.30 22.87 5.32 ชิ =นส่วนเครื องใช้ ไฟฟ้ า 4.23 1.03 1.05 0.30 1.33 0.31 ชิ =นส่วนเครื องจักรกลเกษตรและอื นๆ 1.83 0.50 0.90 0.21 รวมรายได้ จากการขาย 395.75 96.29 352.88 96.82 419.89 97.59 1/ รายได้ จากการให้ บริ การ 7.69 1.87 4.01 1.10 3.92 0.91 รวมรายได้ จากการขายและให้ บริการ รายได้ อื น2/ รายได้ รวม

403.44 7.54 410.98

98.17 356.89 97.92 423.81 98.50 1.83 7.61 2.08 6.45 1.50 100.00 364.50 100.00 430.26 100.00

17


หมายเหตุ :

รายได้ จากการให้ บริ การในปี 2556 2557 และ 2558 เป็ นรายได้ จากข้ อตกลงให้ ความช่วยเหลือด้ านเทคนิคให้ กับบริ ษัทผลิต ชิ #นส่วนรถจักรยานยนต์แห่งหนึง' ในประเทศอินเดีย มูลค่าตามสัญญาทังสิ # #น 24.60 ล้ านบาท 2/ รายได้ อื'นของบริ ษัทประกอบด้ วยรายได้ จากการขายเศษวัตถุดบิ จากการผลิต กําไรจากการขายสินทรัพย์ การกลับรายการค่า เผื'อลูกหนี #สงสัยจะสูญ ดอกเบี #ยรับ และรายได้ อื'น เป็ นต้ น 1/

5.1.2 ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ บริ ษัทประกอบธุรกิจผลิตชิ =นส่วนอลูมิเนียมและสังกะสีในรู ปแบบที ลกู ค้ ากําหนดตามคําสัง ซื =อของลูกค้ า โดย กระบวนการขึ =นรูปด้ วยแม่พิมพ์ฉีดหล่อความดันสูง (High-Pressure Diecasting หรื อ “HPDC”) โดยบริ ษัทมีการให้ บริ การ ออกแบบและว่าจ้ างบริ ษัทผู้ผลิตแม่พิมพ์เพื อทําการผลิตแม่พิมพ์ให้ กับลูกค้ าเพื อให้ สามารถผลิตชิ น= งานตามที ลูกค้ า กําหนด ซึง กรรมสิทธิ\ในแม่พิมพ์จะเป็ นไปตามที ระบุในข้ อตกลงระหว่างบริ ษัทกับลูกค้ าแต่ละราย ซึง แบ่งออกตามลักษณะ ของข้ อตกลงได้ ดังนี = 1) ออกแบบและจําหน่ายแม่พิมพ์ บริ ษัทจะจําหน่ายแม่พิมพ์ที ผลิตแล้ วให้ กบั ลูกค้ า โดยกรรมสิทธิ\ในแม่พิมพ์ จะเป็ นของลูกค้ า ซึง ลูกค้ าจะว่าจ้ างบริ ษัทให้ ดําเนินการผลิตชิ =นงานจากแม่พิมพ์ดงั กล่าว 2) ออกแบบแม่พิมพ์และผลิตชิ =นงาน ลูกค้ าจะว่าจ้ างบริ ษัทในการออกแบบแม่พิมพ์พร้ อมกับผลิตชิ =นงานจาก แม่พิมพ์ดงั กล่าว โดยกรรมสิทธิ\ ในแม่พิมพ์ยงั คงเป็ นของบริ ษัท โดยบริ ษัทจะมีการคิดกําไรส่วนเพิ มเพื อ ชดเชยค่าใช้ จ่ายในการออกแบบและจัดทําแม่พิมพ์ดงั กล่าว ทัง= นี ร= ายได้ ข องบริ ษั ท ส่ว นใหญ่ ม าจากรายได้ จ ากการขายชิ น= ส่ว นอลูมิ เ นี ย มและแม่พิ ม พ์ สํ า หรั บ ชิ น= ส่ว น อลูมิเนียม โดยมีรายได้ จากการขายชิ =นส่วนสังกะสีและแม่พิมพ์สาํ หรับชิ =นส่วนสังกะสีในปี 2557 และปี 2558 เป็ นสัดส่วน เท่ากับ ร้ อยละ 10.83 และร้ อยละ 16.48 ของรายได้ จากการขายรวมและบริ การ ตามลําดับ โดยผลิตภัณฑ์ของบริ ษัท สามารถแบ่งออกเป็ นประเภทตามการใช้ งานของผลิตภัณฑ์ ดังนี =

5.1.2.1 กลุ่มผลิตภัณฑ์ ชนิ 5 ส่ วนรถยนต์ ตัวอย่ างผลิตภัณฑ์ ชนิ 5 ส่ วนรถยนต์ หมวดสินค้ า ผลิตภัณฑ์ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ชุดกําเนิดไฟฟ้ า ฝาครอบหลัง ส่วนประกอบด้ านหลัง ของอัล กระแสสลับในรถยนต์ (Rear cover) เตอร์ เนเตอร์ (Alternator)

ฝาครอบหน้ า (Front cover)

ภาพตัวอย่ างสินค้ า

ส่วนประกอบด้ านหน้ าของอัล เตอร์ เนเตอร์

18


หมวดสินค้ า สตาร์ ทเตอร์ (Starter)

ผลิตภัณฑ์ ตัวเรื อน (Housing)

รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ส่วนประกอบตัวเรื อนของ สตาร์ ทเตอร์

ฝาครอบหลัง (Rear cover)

ส่วนประกอบด้ านหลังของ สตาร์ ทเตอร์

ตัวเรื อนเกียร์ (Gear case)

ตั ว ยึ ด คอมเพรสเซอร์ แอร์ ในรถยนต์ (Bracket Compressor)

ใบพัดเครื องยนต์ (Fan Clutch)

ฐานจับยึด คอมเพรสเซอร์ (Bracket compressor) ตัวจับยึดด้ านล่าง (Lower bracket)

ชิ =นส่วนปรับตัง= สายพาน (Bracket tension) ฝาครอบ (Cover) ฝาหลัง (Case)

จานรี ดนํ =ามันชุด ระบายความร้ อน (Disk)

ภาพตัวอย่ างสินค้ า

ส่วนประกอบของชุดเฟื องใน สตาร์ ทเตอร์

ส่วนประกอบในการยึดจับ ระหว่างเครื องยนต์และ คอมเพรสเซอร์ ส่วนประกอบในการยึดจับ ระหว่างแผงระบายความร้ อน ระบบปรับอากาศกับตัวถัง รถยนต์ ส่วนประกอบในการปรับตัง= สายพานคอมเพรสเซอร์ ฝาครอบของส่วนประกอบของชุด ใบพัดระบายความร้ อนของ เครื องยนต์ ฝาหลังของส่วนประกอบของชุด ใบพัดระบายความร้ อนของ เครื องยนต์

ชิ =นส่วนสําหรับการทํางานของชุด ใบพัดระบายความร้ อนของ เครื องยนต์อตั โนมัติ 19


หมวดสินค้ า ผลิตภัณฑ์ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ตัวยึดท่อแอร์ ในรถยนต์ อุปกรณ์ ยึดจับท่อแอร์ ชิ =นส่วนสําหรับยึดจับท่อแอร์ ใน (Hanging Air Pipe) รถยนต์ (Flange flex) รถยนต์ เพื อช่วยในการยึดจับ

เข็มขัดนิรภัย (Safety Belt)

ดุมม้ วนสาย (Guide drum)

ชิ =นส่วนล็อคสายพานเข็มขัด นิรภัยในรถยนต์

วิทยุรถยนต์ (Audio)

แผงระบายความร้ อน (Heat sink)

แผงระบายความร้ อนของระบบ เครื องเสียงในรถยนต์

ชุดระบายความร้ อนไฟ แผงระบายความร้ อน หน้ า ไฟหน้ า (Main heatsink Bi-LED)

แผงระบายความร้ อนไฟหน้ า LED

ชุดบังคับแกนใบปั ด นํ =าฝน

ตัวยึดจับแกนปั ด นํ =าฝนด้ านซ้ าย (Bracket B)

แกนหมุนชุดใบปั ดนํ =าฝน ด้ านซ้ าย

ตัวยึดจับแกนปั ด นํ =าฝนด้ านขวา (Bracket C)

แกนหมุนชุดใบปั ดนํ =าฝน ด้ านขวา

ตัวยึดจับแกนปั ด นํ =าฝนก้ านเดี ยว (Bracket A)

แกนหมุนชุดใบปั ดนํ =าฝนชนิดก้ าน เดี ยว

ภาพตัวอย่ างสินค้ า

20


สินค้ าในกลุม่ นี =เป็ นชิ =นส่วนและแม่พิมพ์สาํ หรับอุปกรณ์และชิ =นส่วนรถยนต์ซงึ ประกอบด้ วย ชิ =นส่วนของชุดกําเนิด ไฟฟ้ ากระแสสลับ (Alternator) สตาร์ ทเตอร์ (Starter) ตัวยึดคอมเพรซเซอร์ (Bracket Compressor) ใบพัดเครื องยนต์ ตัว แขวนท่อแอร์ ในรถยนต์ เข็มขัดนิรภัย และชุดบังคับแกนใบปั ดนํ =าฝน เป็ นต้ น โดยมีกลุม่ ลูกค้ าหลักเป็ นกลุม่ บริ ษัทผลิต ชิ =นส่วนรถยนต์ซึ งจะนําไปประกอบเป็ นชิน= ส่วนและอุปกรณ์ เพื อส่งมอบแก่บริ ษัทประกอบรถยนต์อีกทอดหนึ ง ซึ งรายได้ จากกลุ่มผลิตภัณฑ์นี =เป็ นรายได้ หลักของบริ ษัท โดยมีสดั ส่วนรายได้ ในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 มีจํานวน 234.64 ล้ านบาท 223.63 ล้ านบาท และ 289.31 ล้ านบาทตามลําดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 58.16 ร้ อยละ 63.37 และร้ อยละ 68.90 ของรายได้ จากการขายและให้ บริ การรวมในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลําดับ

5.1.2.2 กลุ่มผลิตภัณฑ์ ชนิ 5 ส่ วนรถจักรยานยนต์ ตัวอย่ างผลิตภัณฑ์ ชนิ 5 ส่ วนรถจักรยานยนต์ หมวดสินค้ า ผลิตภัณฑ์ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ชุดผสมเชื =อเพลิงกับ ฝาครอบระบบผสม ส่วนประกอบของชุดผสมนํ =ามัน อากาศ (Carburetor) นํ =ามัน กับอากาศ (Cover reed valve) ตัวเรื อนระบบผสม ส่วนประกอบของชุดผสมนํ =ามัน นํ =ามัน กับอากาศ (Body reed valve) ฝาครอบ (Top) ส่วนประกอบของชุดผสมนํ =ามัน กับอากาศ ระบบคลัตช์ (Manual Clutch System)

ระบบเกียร์ อตั โนมัติ

ภาพตัวอย่ างสินค้ า

ส่ว นประกอบชิ น= กลาง ส่วนประกอบของแผ่นคลัตช์ ของแผ่นคลัตช์ (Center clutch) ส่วนปิ ดชุดส่งกําลัง ส่ ว นประกอบของฝาปิ ดแผ่ น (PR plate) คลัตช์ด้านบน ฝาครอบชุดส่งกําลัง (PR outer)

ส่วนประกอบฝาครอบชุดคลัตช์ ด้ านข้ าง

ฝาล็อดส่งกําลัง (PR lifter)

ส่วนประกอบล็อคชุดแผ่นคลัตช์

ตัวปรับรอบ ส่วนประกอบของระบบเกียร์ (Prim sliding sheave) อัตโนมัติ CVT ในการปรับรอบ สายพาน 21


หมวดสินค้ า

ผลิตภัณฑ์

ตัวขับ (Sheave prim fixed)

ฝาครอบชุดส่งกําลัง

ฝาครอบข้ อเหวี ยง (Crank case)

ระบบปั` มนํ =าระบาย ความร้ อน

ฝาครอบปั` มนํ =า (Cover water pump)

รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ส่วนประกอบของระบบเกียร์ อัตโนมัติ CVT ในการขับ สายพาน ฝาครอบข้ อเหวี ยง

ภาพตัวอย่ างสินค้ า

ฝาครอบชุดปั` มนํ =าระบายความ ร้ อน

สินค้ าในกลุม่ นี =เป็ นชิ =นส่วนและแม่พิมพ์สาํ หรับอุปกรณ์และชิ =นส่วนรถจักรยานยนต์ซึ งประกอบด้ วย ระบบคลัตช์ (Clutch System) ชุดผสมเชื =อเพลิงกับอากาศ (Carburetor) และสตาร์ ทเตอร์ (Starter) เป็ นต้ น โดยกลุม่ ลูกค้ าของกลุม่ ผลิตภัณฑ์นี =ประกอบด้ วยบริ ษัทผลิตชิ =นส่วนรถจักรยานยนต์ และบริ ษัทประกอบรถจักรยานยนต์ ทังนี = = บริ ษัทมีรายได้ จาก กลุ่ม ผลิต ภัณฑ์ นี ใ= นปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 เท่า กับ 104.56 ล้ า นบาท 63.97 ล้ า นบาท และ 63.58 ล้ า นบาท ตามลําดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 25.92 ร้ อยละ 18.12 และร้ อยละ 15.14ของรายได้ จากการขายและให้ บริ การรวม ในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลําดับ

5.1.2.3 กลุ่มผลิตภัณฑ์ ชนิ 5 ส่ วนอุปกรณ์ เครื)องใช้ ไฟฟ้า ตัวอย่ างผลิตภัณฑ์ ชนิ 5 ส่ วนอุปกรณ์ เครื)องใช้ ไฟฟ้า หมวดสินค้ า ผลิตภัณฑ์ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ กล้ องวงจรปิ ด ฝาครอบหน้ า ส่วนประกอบของฝาครอบกล่อง (Box CCTV Camera) (Front frame) รับสัญญาณกล้ องวงจรปิ ด กล้ องวงจรปิ ดมุมกว้ าง ฝาครอบ ส่วนประกอบของกล้ องวงจรปิ ด (Dome CCTV Camera) (Chassis cover) มุมกว้ าง ฝาปิ ดโครง (Bracket case) ฝาครอบหลัก (Main Cover)

ภาพตัวอย่ างสืนค้ า

ส่วนประกอบของกล้ องวงจรปิ ด มุมกว้ าง

ส่วนประกอบของ CCTV Dome

22


หมวดสินค้ า

ผลิตภัณฑ์ ฝาครอบหลัง (Rear cover)

รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ส่วนประกอบของ CCTV Dome

ระบบสือ สารภายใน (Intercom System)

หน้ าการแผงปุ่ มกด (Panel)

ส่วนประกอบของระบบสือ สาร ภายใน

คอมเพรสเซอร์ เครื องปรับอากาศ

ข อ บ ห น้ า ก า ก แ ผ ง ส่วนประกอบของระบบสือ สาร ปุ่ มกด ภายใน (Panel frame) แผ่นครอบยางกันซึม ฝาครอบลูกสูบคอมเพรสเซอร์ แอร์ (Plate lower seal)

ชุดกล่องควบคุมปั` มนํ =า

กล่องอลูมิเนียม (Aluminum case)

ภาพตัวอย่ างสืนค้ า

กล่องควบคุมการทํา งานของปั` ม นํ =าอัตโนมัติ

สิน ค้ า ในกลุ่ม นี เ= ป็ นชิ น= ส่ว นและแม่พิ ม พ์ สํ า หรั บ ชิ น= ส่ว นอุป กรณ์ เ ครื อ งใช้ ไ ฟฟ้ าต่ า งๆ เช่ น กล้ อ งวงจรปิ ด กล้ องถ่ายวิดีโอ ชุดฝาครอบคอมเพรซเซอร์ เครื องปรับอากาศ และระบบสือ สารภายใน (Intercom) เป็ นต้ น โดยกลุม่ ลูกค้ า ของกลุม่ ผลิตภัณฑ์นี =ประกอบด้ วยบริ ษัทผลิตชิ =นส่วนอุปกรณ์เครื องใช้ ไฟฟ้ าต่างๆ ทังนี = =บริ ษัทมีรายได้ จากกลุม่ ผลิตภัณฑ์นี = ในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 เท่ากับ 37.86 ล้ านบาท 39.44 ล้ านบาทและ 47.94 ล้ านบาทตามลําดับ หรื อคิดเป็ น สัดส่วน ร้ อยละ 9.38 ร้ อยละ 11.17 และร้ อยละ 11.42 ของรายได้ จากการขายและให้ บริ การรวมในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลําดับ

5.1.2.4 กลุ่มผลิตภัณฑ์ ชนิ 5 ส่ วนเครื)องจักรกลเกษตรและอื)นๆ ตัวอย่ างผลิตภัณฑ์ ชนิ 5 ส่ วนเครื)องจักรกลเกษตร หมวดสินค้ า ผลิตภัณฑ์ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ รถแทรกเตอร์ ฝาครอบแกนขับ ส่วนประกอบชุดฝาครอบแกนไฮ (Propeller shaft ดรอลิกในรถแทรกเตอร์ case)

ภาพตัวอย่ างสินค้ า

23


หมวดสินค้ า

หัวจ่ายนํ =ามันเชื =อเพลิง

ผลิตภัณฑ์ ตัวยึดพัดลม (Flange fan)

รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ส่วนประกอบใบจับยึดชุดใบพัด ในรถแทรกเตอร์

ตัวยึดกรองนํ =ามัน (Bracket Filter)

ส่วนประกอบในระบบกรอง นํ =ามันรถแทรกเตอร์

ตัวยึดฝาครอบ (Support diff)

เป็ นส่วนประกอบสําหรับยึดชุด คลัตช์

ฐานเกียร์ หลัก (Base main shift)

เป็ นส่วนประกอบฝาครอบคัน เกียร์ รถแทรกเตอร์

ฝาปิ ดล้ อหลัง (Plug rear wheel)

เป็ นส่วนประกอบฝาครอบ แกนเพลาล้ อหลัง

ภาพตัวอย่ างสินค้ า

ชุดแขวนหัวจ่ายนํ =ามัน เป็ นส่วนประกอบของทีแ ขวนหัว จ่ายนํ =ามัน ข้ อต่อวาล์วหัวจ่าย ข้ องอหัวจ่าย

เป็ นส่วนประกอบของหัวจ่าย นํ =ามัน เป็ นส่วนประกอบของหัวจ่าย นํ =ามัน

สินค้ าในกลุม่ นี =เป็ นชิ =นส่วนเครื องจักรกลเกษตรต่างๆ เช่น ชิ =นส่วนรถแทร็ กเตอร์ และชิ =นส่วนสําหรับอุตสาหกรรม อื นๆ เช่น ที แขวนหัวจ่ายนํ =ามันสําหรับสถานีบริ การนํ =ามันเป็ นต้ น โดยกลุม่ ลูกค้ าของกลุม่ ผลิตภัณฑ์นี =ประกอบด้ วยบริ ษัท ผลิตเครื องจักรกลเกษตรและอื นๆ ทังนี = =บริ ษัทมีรายได้ จากกลุม่ ผลิตภัณฑ์นี =ในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 เท่ากับ 18.70 ล้ านบาท 25.84 ล้ านบาทและ 19.06 ล้ านบาทตามลําดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 4.64 ร้ อยละ 7.32 และ ร้ อยละ4.54 ของรายได้ จากการขายและให้ บริ การรวมในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลําดับ นอกจากนี = ในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 บริ ษัทได้ มีการทําข้ อตกลงให้ ความช่วยเหลือด้ านเทคนิคให้ กับบริ ษัท Exedy Clutch India Pvt. Ltd. ซึ งเป็ นบริ ษัทผลิตชิ =นส่วนรถจักรยานยนต์แห่งหนึ งในประเทศอินเดีย มูลค่าตามสัญญา 24


ทังสิ = =น 24.60 ล้ านบาท โดยบริ ษัทจะให้ ความช่วยเหลือในด้ านการเลือก และติดตังเครื = องฉีดอลูมิเนียมและสังกะสี รวมถึง ให้ การฝึ กอบรมในด้ านกระบวนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ โดยมีข้อตกลงว่าบริ ษัทดังกล่าวจะไม่ทําการแข่งขันใน ด้ านชิ =นส่วนอลูมิเนียมที ขึ =นรูปด้ วยการฉีดสําหรับรถจักรยานยนต์ในประเทศไทยกับบริ ษัท ซึ งบริ ษัทได้ ทําข้ อตกลงกับห้ าง หุ้นส่วนจํากัด ไอซีซี คอนซัลท์ ในการสนันสนุนการและให้ ความช่วยเหลือแก่บริ ษัท Exedy Clutch India Pvt. Ltd. ตาม ข้ อตกลงให้ บริ การทางด้ านเทคนิคดังกล่าว โดยในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทได้ ทําการรับรู้รายได้ จากการบริ การตามข้ อตกลงนี =เท่ากับ 7.69 ล้ าน บาท 4.01 ล้ านบาท และ 3.92 ล้ านบาทตามลําดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 1.94 ร้ อยละ 1.13 และร้ อยละ 0.92 ของ รายได้ จากการขายและให้ บริ การรวมในช่วงเวลาเวลาเดียวกัน

5.1.3 สิทธิประโยชน์ จากบัตรส่ งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่ งเสริมการลงทุน การประกอบธุรกิจของบริ ษัทได้ รับสิทธิ ประโยชน์จากสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน (BOI) ซึ งมี รายละเอียดดังนี = เจ้ าของบัตรส่ งเสริม

บัตรส่งเสริ มเลขที 1. วันที ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุน 2. วันที เริ มใช้ สิทธิตามบัตรส่งเสริ มการ ลงทุน 3. ประเภทกิจการที ได้ รับการส่งเสริ มการ ลงทุน 4. สิทธิประโยชน์สําคัญที บริ ษัทได้ รับ 4.1 การยกเว้ นอากรขาเข้ าสําหรับ เครื องจักร 4.2 การยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล สําหรับกําไรสุทธิที ได้ จากการ ประกอบกิจการที ได้ รับการส่งเสริ ม นับแต่วนั ที มีรายได้ จากการประกอบ กิจการนัน& 4.3 การยกเว้ นไม่ต้องนําเงินปั นผลจาก กิจการที ได้ รับการส่งเสริ มซึง ได้ รับ การยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลตาม ข้ อ 4.2 ไปรวมคํานวณเพื อเสียภาษี เงินได้ 4.4 การอนุญาตให้ หกั ค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า

บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง จํากัด (มหาชน) 1090(2)/2554 26 มกราคม 2554 1 เมษายน 2554 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์โลหะรวมทัง& ชิ &นส่วนโลหะ

จะต้ องนําเข้ ามาก่อนวันที 26 กรกฎาคม 2556 รวมกันไม่เกินร้ อยละ 100 ของเงินลงทุน ไม่รวมค่าที ดนิ และทุนหมุนเวียนมี กําหนดเวลา 8 ปี และยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลในอัตรา ร้ อยละ 50 ของอัตราปกติมีกําหนดเวลา 5 ปี นับจากวันที พ้นกําหนดตามวรรค แรก 8 ปี

10 ปี

บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง จํากัด (มหาชน) 1010(2)/2557 7 มกราคม 2557 ยังไม่ได้ เริ มดําเนินการใช้ สิทธิ บัตร ส่งเสริ มการลงทุน กิจการผลิตผลิตภัณฑ์โลหะรวมทังชิ & &นส่วน โลหะ จะต้ องนําเข้ ามาก่อนวันที 7กรกฎาคม 2559 รวมกันไม่เกินร้ อยละ 100 ของเงินลงทุน ไม่รวมค่าที ดนิ และทุนหมุนเวียนมี กําหนดเวลา 8 ปี และยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลในอัตรา ร้ อยละ 50 ของอัตราปกติมีกําหนดเวลา 5 ปี นับจากวันที พ้นกําหนดตามวรรคแรก 8 ปี

10 ปี

25


เจ้ าของบัตรส่ งเสริม และค่าประปา สองเท่าของ ค่าใช้ จ่าย นับแต่วนั ที เริ มมีรายได้ จากการประกอบกิจการ

บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง จํากัด (มหาชน)

บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง จํากัด (มหาชน)

5.2 การตลาดและการแข่ งขัน

บริ ษั ท ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ผลิต ชิ น= ส่ว นอลูมิ เ นี ย มฉี ด ขึน= รู ป และชิ น= ส่ว นสัง กะสีฉี ด ขึน= รู ป ให้ แ ก่ ลูก ค้ า ในหลายกลุ่ม อุตสาหกรรม ซึ งมีกลุ่มอุตสาหกรรมหลัก ได้ แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเครื องใช้ ไฟฟ้ า และอุตสาหกรรม ชิ =นส่วนเครื องจักรทางการเกษตร มีการจําหน่ายสินค้ าส่วนใหญ่โดยการขายตรงให้ กับผู้ผลิตชิ =นส่วนลําดับที 1 ซึ งมีการ ดําเนินงานในประเทศไทยเป็ นหลักผ่านทีมงานการตลาดและการขายของบริ ษัท ซึ งประกอบด้ วยทีมงานทังชาวไทยและ = ชาวต่างชาติที มีประสบการณ์ในการทํางานมากกว่า 30 ปี โดยมีการแบ่งการดูแลรับผิดชอบเป็ นทีมงานในการหาลูกค้ า ใหม่และทีมงานที รับผิดชอบลูกค้ าปั จจุบนั ของบริ ษัท ซึ งทีมงานจะทําการติดต่อโดยตรงกับลูกค้ าอย่างใกล้ ชิด โดยศึกษา ความต้ องการของลูกค้ า และอาจมีการร่วมดัดแปลงแบบของชิ =นงานตามการอนุมตั ิของลูกค้ าหากมีความจําเป็ น เพื อเพิ ม ประสิท ธิ ภ าพและความเป็ นไปได้ ใ นการผลิต โดยยัง รั ก ษาคุณ สมบัติ ข องชิ น= งานและประโยชน์ ก ารใช้ ง านไว้ ต าม วัตถุประสงค์ของลูกค้ า นอกจากนี =ยังมีช่องทางในการจําหน่ายอื นๆ เช่น 1) บริ ษัทมีการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทผ่านสื อโฆษณาต่างๆ อาทิ สมุดหน้ าเหลือง หนังสือรวบรวม รายชื อผู้ประกอบการ (Directory) และวารสารต่างๆที เกี ยวข้ องกับวงการอุตสาหกรรมและชิ =นส่วนที บริ ษัท ผลิ ต เช่ น ทํ า เนี ย บอุ ต สาหกรรมยานยนต์ ไ ทย เป็ นต้ น นอกจากนี = บริ ษั ท ได้ จั ด ทํ า เว็ บ ไซต์ www.sankothai.net เพื อเป็ นการเพิ มช่องทางการสือ สารให้ กบั ลูกค้ าของบริ ษัทและเป็ นการประชาสัมพันธ์ บริ ษัทอีกช่องทางหนึง ด้ วย 2) บริ ษัทได้ เข้ าร่ วมเป็ นสมาชิกของสมาคมผู้ผลิตชิน= ส่วนยานยนต์ไทย สถาบันยานยนต์ และสมาคมต่างๆที เกี ยวข้ องกับอุตสาหกรรมยานยนต์ เพื อให้ มีโอกาสทําความรู้จกั กับกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายมากขึ =น 5.2.1 กลยุทธ์ การแข่ งขัน บริ ษัทกําหนดกลยุทธ์ ทางการแข่งขัน โดยมุ่งเน้ นการสร้ างความพึงพอใจในคุณภาพสินค้ าและการบริ การแก่ ลูกค้ าเพื อสร้ างความสัมพันธ์ที ดีและก่อให้ เกิดการดําเนินธุรกิจร่วมกันอย่างต่อเนื องในระยะยาว ซึง สามารถสรุปกลยุทธ์ใน การแข่งขันของบริ ษัทได้ ดงั นี = 1. การรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ สินค้ าของบริ ษัทเป็ นผลิตภัณฑ์ที ต้องมีความละเอียดและแม่นยําในการผลิต เนื องจากเป็ นชิ =นส่วนที นําไปใช้ ใน การประกอบกับชิ =นส่วนอื นๆ ดังนัน= บริ ษัทจึงมีนโยบายที มงุ่ เน้ นและให้ ความสําคัญกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ โดยบริ ษัทมี ระบบการควบคุมคุณภาพ (Quality Control: QC) ที ได้ มาตรฐานระดับสากล ISO9001:2008 และ ISO/TS 16949:2009 ซึ งบริ ษัทได้ มีการควบคุมคุณภาพผลิต ภัณฑ์ ตัง= แต่การคัดสรรวัตถุดิบที มีคุณภาพ และมี การตรวจสอบคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์ ในทุกๆขันตอนอย่ = างเข้ มงวด ด้ วยเครื องมือและอุปกรณ์ ตรวจสอบที มีความแม่นยํา รวมทัง= มีการฝึ กอบรม 26


บุคลากรอย่างสมํ าเสมอเพื อเป็ นการพัฒนาความรู้ และสร้ างมาตรฐานในการปฏิบตั ิงานทําให้ บริ ษัทได้ รับความไว้ วางใจ จากลูกค้ าในการสัง ซื =อสินค้ าจากบริ ษัทอย่างต่อเนื อง 2. การจัดส่งผลิตภัณฑ์ตรงต่อเวลา เนื องจากสินค้ าที บริ ษัทผลิตเป็ นชิ =นส่วนที นําไปใช้ ประกอบกับชิ =นส่วนอื นๆ ดังนัน= บริ ษัทจึงเน้ นการจัดส่งสินค้ าให้ ถูกต้ องและตรงต่อเวลา (Just in Time) เพื อมิให้ เกิดผลกระทบต่อขันตอนการประกอบชิ = =นส่วนอื นๆของลูกค้ า บริ ษัทมี นโยบายการจัดส่งผลิตภัณฑ์ถึงลูกค้ าในเวลาที กําหนด ซึ งบริ ษัทมีการควบคุมตัง= แต่การวางแผนการผลิต การจัดซือ= วัต ถุดิ บ การตรวจสอบคุณภาพวัต ถุดิ บ ขัน= ตอนการผลิต และการจัด ส่ง สิน ค้ า ให้ กับ ลูก ค้ า บริ ษัท จึ ง สามารถจัด ส่ง ผลิตภัณฑ์ให้ ลกู ค้ าได้ ตรงต่อเวลา 3. ความยืดหยุน่ ในการวางแผนการผลิต เนื องจากบริ ษัทเน้ นในด้ านความยืดหยุน่ ในการผลิต โดยออกแบบสายการผลิตให้ สามารถปรับเปลี ยนชิ =นงานที ผลิตได้ คอ่ นข้ างรวดเร็ ว และไม่ยงุ่ ยาก ทําให้ บริ ษัทสามารถผลิตชิ =นงานได้ หลากหลาย และสามารถรองรับได้ หลากหลาย อุตสาหกรรม โดยปั จจุบนั บริ ษัทมีเครื องฉีด (Diecasting Machine) ทังหมด = 16 เครื อง 4. การสร้ างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ลูกค้ า บริ ษัทมุง่ เน้ นในการสร้ างความสัมพันธ์ที ดกี บั ลูกค้ าโดยการจัดเจ้ าหน้ าที การตลาดและการขายให้ รับผิดชอบดูแล ลูกค้ าและผลิตภัณฑ์ เพื อสร้ างความมัน ใจให้ กับลูกค้ าว่าจะได้ รับบริ การที ดีมีคุณภาพตามที ลกู ค้ าต้ องการ นอกจากนี = บริ ษัทยังมีนโยบายการสํารวจความพึงพอใจของลูกค้ าอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง= เพื อนํามาพิจารณาปรับปรุ งคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์และการให้ บริ การกับลูกค้ าต่อไป 5. การเข้ าร่วมเป็ นสมาชิกของสมาคมและองค์กรต่างๆ เพื อขยายฐานลูกค้ า ปั จจุบนั บริ ษัทได้ เข้ าเป็ นสมาชิกของสมาคมและองค์กรต่างๆที เกี ยวข้ องกับวงการอุตสาหกรรมและชิ =นส่วนที ผลิต ที เป็ นกลุม่ ลูกค้ าโดยตรงของบริ ษัท เช่น สมาคมผู้ผลิตชิ =นส่วนยานยนต์ไทย สถาบันยานยนต์ เป็ นต้ น ทําให้ บริ ษัทสามารถ รับรู้ขา่ วสารที เกี ยวข้ องกับธุรกิจในอุตสาหกรรมนันๆ = และสามารถขยายฐานลูกค้ าในกลุม่ อุตสาหกรรมดังกล่าวได้ 5.2.2 อุตสาหกรรมยานยนต์ และชิน5 ส่ วนยานยนต์ อุตสาหกรรมยานยนต์ และชิน5 ส่ วนยานยนต์ แนวโน้ มการแข่งขันทางเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมยานยนต์ในตลาดโลกได้ มาถึงจุดเปลี ยนภายใต้ กระแส อนุรักษ์ สงิ แวดล้ อม การประหยัดพลังงาน และการลดภาวะโลกร้ อน โดยที ตลาดยานยนต์โลก ได้ เปลี ยนแปลงไปสูร่ ถยนต์ ที มีขนาดเล็กลง ทําให้ ต้องมองหาฐานการผลิตที ใช้ ต้นทุนตํ า อุตสาหกรรมยานยนต์เป็ นอุตสาหกรรมที คอ่ นข้ างโดดเด่นเป็ นอย่างมากในภูมิภาคเอเชียและอาเซียน เนื องจากมี

ปริ มาณการผลิตรถยนต์ที มากกว่าครึ งหนึง ของปริ มาณการผลิตทัว โลก ซึง ในส่วนนี =มีประเทศสมาชิกอาเซียนที เป็ นประเทศ

ผู้ผลิตยานยนต์ ประกอบด้ วย 5 ประเทศ ได้ แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ ไทย และเวียดนาม โดยประเทศสมาชิก

อาเซียน มีลกั ษณะการผลิตยานยนต์ และตลาดในประเทศที แตกต่างกัน ซึง สามารถจัดกลุม่ ได้ เป็ น 2 กลุม่ ดังนี = กลุม ่ ประเทศทีเ ป็ นฐานการผลิต กลุม ่ ประเทศที ไม่ได้ เป็ นฐานการผลิต

27


ประเทศสมาชิกอาเซียนมีอตั ราการเติบโตของปริ มาณการผลิตเฉลี ย (Compound Annual growth Rate:

CAGR) เพิ มขึ =นอย่างต่อเนื องมาโดยตลอด ด้ วยประเทศสมาชิกอาเซียนมีพื =นฐานทางเศรษฐกิจที ไม่ซบั ซ้ อน จึงมีความยึด หยุน่ ในการปรับตัวสูง ผสมผสานกับการดําเนินนโยบายการเงินและการคลังเพื อกระตุ้นเศรษฐกิจ ทําให้ สามารถพลิกพื =น

กลับสูร่ ะดับปกติได้ เร็ ว จากข้ อมูล ณ เดือนเมษายน พ.ศ. 2556 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ปรับประมาณการ เศรษฐกิจโลกปี 2556 ขยายตัวร้ อยละ 3.3 ในขณะที เศรษฐกิจของเอเชีย สูงกว่าร้ อยละ 7 และกลุม่ อาเซียนที ประเมินว่าจะ

ขยายตัวเฉลีย ร้ อยละ 5.3 หากพิจารณาเศรษฐกิจในช่วงปี 2556 – 2560 เศรษฐกิจอาเซียนมีอตั ราการเติบโตเฉลี ยร้ อยละ

5.8 ต่อปี โดยกลุม่ อาเซียนเดิม 6 ประเทศ [ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิ ลปิ ปิ นส์ สิงคโปร์ และบรู ไน] ขยายตัวที ร้อยละ 4 – 6 ต่อปี ส่วนกลุม่ อาเซียนใหม่ (CLMV) [กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม] มีแนวโน้ มขยายตัวในอัตราเร่งมากกว่าที ร้อยละ 5 - 6 ต่อปี ซึง เป็ นผลจากการก้ าวสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที กําลังเกิดขึ =นในปลายปี 2558 ที เอื =อให้ การค้ า การ ลงทุนของกลุม่ ขยายตัวมากขึ =น และต่อยอดไปถึงการเป็ นที นา่ สนใจของประเทศต่างๆ ซึง ต้ องการเข้ ามาร่วมมือทางการค้ า และเศรษฐกิจมากยิ งขึ =น

ปั จจุบนั อุตสาหกรรมชิน= ส่วนยานยนต์ในประเทศไทยสร้ างงานให้ กบั แรงงานจํานวนกว่า 100,000คน มีผ้ ผู ลิต

2,289 ราย ซึ งส่วนมากผู้ผ ลิต ดัง กล่าวจะกระจุก ตัว อยู่ในเขตอุตสาหกรรมในกรุ ง เทพฯ และจังหวัด ใกล้ เ คีย ง เช่ น สมุทรปราการ ซึง พบว่ามีจํานวนของผู้ผลิตชิ =นส่วนประกอบตังโรงงานอยู = ม่ ากที สดุ รองลงมาคือ จังหวัดระยองและจังหวัด อื นๆ เช่น ฉะเชิงเทรา ชลบุรี เป็ นต้ น โดยโรงงานดังกล่าวมักตังอยู = ใ่ กล้ กบั โรงงานผลิตยานยนต์

โดยทัว ไปผู้ผลิตชิ =นส่วนยานยนต์ จะมีตลาดในการจัดจําหน่ายชิ =นส่วนอยู่ 2 ตลาดหลัก ได้ แก่

1. ตลาดชิ =นส่วนเพื อนําไปใช้ ประกอบยานยนต์ (Original Equipment Market: OEM) โดยผู้ผลิตต้ องผลิต

ชิ =นส่วนยานยนต์ป้อนให้ กบั รถยนต์และจักรยานยนต์รุ่นใหม่ๆ

สําหรับค่ายยานยนต์ทเี ข้ ามาตังฐานการผลิ = ตในไทยเพื อ

ประกอบยานยนต์สง่ ออกและจําหน่ายในประเทศ ทังนี = = ความต้ องการใช้ ชิ =นส่วนยานยนต์ในกลุม่ นี =ขึ =นอยูก่ บั ปริ มาณการ ผลิตรถยนต์และรถจักรยานยนต์

2. ตลาดชิ =นส่วนทดแทน หรื ออะไหล่ทดแทน (Replacement Equipment Market : REM) เป็ นตลาดชิ =นส่วน

อะไหล่เพื อการทดแทนชิ =นส่วนเดิมที เสีย

หรื อสึกหรอตามสภาพการใช้ งาน

ซึง ชิ =นส่วนแต่ละชิ =นจะมีอายุการใช้ งานที

แตกต่างกัน ผู้ผลิตที ทําการผลิตเพื อป้อนให้ กบั ตลาดทดแทนนี =มีทงผู ั = ้ ประกอบการขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก จึง

ทําให้ ชิ =นส่วนที ผลิตได้ นนมี ั = คณ ุ ภาพที หลากหลายทังอะไหล่ = แท้ อะไหล่ปลอม และอะไหล่เทียม ซึง จะทําการจัดจําหน่าย

ให้ กบั ศูนย์บริการอะไหล่ของค่ายยานยนต์ตา่ งๆ โดยปกติศนู ย์บริ การจะมีการจัดเก็บสต็อกอะไหล่ทดแทนไม่มากนัก จะ เน้ นเก็บเฉพาะอะไหล่ที ใช้ ในการซ่อมยานยนต์บอ่ ยครัง= เท่านัน=

28


สัดส่ วนโครงสร้ างห่ วงโซ่ อุปทานของอุตสาหกรรมยานยนต์ และชิน5 ส่ วนไทย

โครงสร้ างภาพรวมของอุตสาหกรรมยานยนต์ แบ่งออกเป็ นผู้ประกอบรถยนต์และผู้ผลิตชิ =นส่วน โดยผู้ประกอบ ยานยนต์จะทําการว่าจ้ างผู้ประกอบชิ =นส่วนลําดับที 1 ในการผลิตชิ =นส่วนรถยนต์และรถจักรยานยนต์ที ใช้ ในการประกอบ โดยบริ ษัทผู้ผลิตชิ =นส่วนลําดับที 1 ดังกล่าวจะผลิตชิ =นส่วนบางอย่างเองและบางชิ =นส่วนจะว่าจ้ างผู้ผลิตชิ =นส่วนลําดับที 2 ผลิตชิ =นส่วนย่อยหรื อจัดหาวัตถุดบิ ในการผลิต โดยอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยประกอบด้ วยกลุม่ ผู้ประกอบ รถยนต์และรถจักรยานยนต์จํานวน 23 บริ ษัท ผู้ผลิตชิ =นส่วนลําดับที 1 (First-Tier) จํานวน 648 บริ ษัท และผู้ผลิตชิ =นส่วน ลําดับที 2 และ 3 (Second-Tier and Third-Tier) จํานวน 1,641 บริ ษัท โดยมีบริ ษัทที ผลิตชิ =นส่วนโดยการฉีดขึ =นรูปด้ วย แม่พิมพ์ฉีดหล่อความดันสูง (High-Pressure Diecasting หรื อ “HPDC”) หลายราย และบริษัทเป็ นบริ ษัทขนาดเล็กถึง กลางในกลุม่ ผู้ผลิตดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริ ษัทถือได้ วา่ มีความได้ เปรี ยบในการแข่งขัน เนื องจากบริ ษัทมีผ้ เู ชี ยวชาญที มี ความรู้และทักษะในการออกแบบแม่พิมพ์ ซึง ถือได้ วา่ มีจํานวนไม่มากในประเทศไทย ในปี 2558 ยอดการผลิตรวม (มกราคม – พฤศจิกายน) ของภูมิภาคอาเซียนลดลงประมาณ ร้ อยละ 1.9 มียอด การผลิตไม่ถึง 4 ล้ านคัน จากเดิมที ประมาณการณ์ไว้ วา่ อาเซียนจะมียอดผลิตรวมสูงกว่า 4 ล้ านคัน โดยในจํานวนนี =เป็ น การผลิตจากไทยประมาณ 1.8 ล้ านคัน คิดเป็ นสัดส่วนกว่า ร้ อยละ 48 ของการผลิตในอาเซียนทังหมด = รองลงมาเป็ น ประเทศอินโดนีเซีย มียอดผลิต 1.0 ล้ านคัน และมาเลเซียประมาณ 6 แสนคัน โดยปั จจัยหลักที ฉดุ ภาพรวมของภูมิภาคมา จากอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยในปี ที ผา่ นมาค่อนข้ างซบเซา จากสถานการณ์เศรษฐกิจที อยูใ่ นระดับตํ า ปริมาณการผลิตรถยนต์ ของประเทศอาเซียนในปี 2557 เทียบกับปี 2558

ที'มา: ASEAN AUTOMOTIVE FEDERATION

29


ปี 2558 ยอดผลิตรถยนต์มีจํานวนทังสิ = =น 1,913,002 คัน ตํ ากว่าเป้าซึ งตังไว้ = ที 1,950,000 คัน หรื อตํ ากว่าเป้า ร้ อยละ 1.9 โดยแบ่งเป็ นยอดขายในประเทศ 799,592 คัน จากเป้าที ตงไว้ ั = 750,000 800,000 คัน ถึงแม้ ว่า ผู้บริ โภค ตัดสินใจเร่ งซื =อ เนื องจากมีรถบางรุ่ นที จะมีราคาสูงขึ =นจากการปรับโครงสร้ างภาษี สรรพสามิตรถยนต์ใหม่ โดยเฉพาะรถ PPV หรื อรถกระบะดัดแปลง ที มียอดขายเพิ มขึ =นถึงร้ อยละ 251 รวมทังมี = ยอดจองรถยนต์ในงานมหกรรมยานยนต์เมื อ ธันวาคม 2558 มากว่า 3.9 หมื นคัน ส่งผลให้ ยอดขายรถยนต์ภายในประเทศของเดือนธันวาคม 2558 มีจํานวนทังสิ = =น 101,424 คัน ถือเป็ นระดับ ยอดขายเกิน 1 แสนคัน เป็ นครัง= แรกในรอบ 24 เดือน แต่ก็ยงั ไม่เพียงพอที จะทําให้ ยอดขายรวม ทะลุเป้าที ตงไว้ ั= เนื องจากสภาพเศรษฐกิจของประเทศชะลอตัว ประกอบกับหนี =ภาคครัวเรื อนยังคงอยู่ในระดับสูง และผลกระทบ จากถูกดึงกําลังซื =อไปใช้ ในโครงการรถคันแรกก่อหน้ านี = แม้ ว่าจะมีการคาดการณ์เบื =องต้ นว่าอาจส่งผลกระทบเพียง 1-2 ปี แต่ปัจจุบนั ผ่านมา 3ปี แล้ ว ผลกระทบดังกล่าวก็ยงั ไม่จางหาย อย่างไรก็ตาม การส่งออกมีการขยายตัว อยู่ที 1,204,895 คัน มีมลู ค่ากว่า 592,550 ล้ านบาท จากเป้าที ตงไว้ ั = 1,200,000 คัน ซึง เป็ นการเพิ มขึ =นของตลาดในประเทศแถบโอเชียเนีย ยุโรป และอเมริ กาเหนือ โดยเป็ นการส่งออกรถยนต์นงั และรถกระบะเป็ นหลัก สําหรับปี 2559 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ประเมินว่าจะมีทงสิ ั = =น 2 ล้ านคัน แบ่งเป็ นการผลิต เพื อขายในประเทศ 750,000 - 780,000 คัน และการผลิตเพื อ ส่งออกจะเพิ มขึ =นเล็กน้ อยอยู่ที 1,220,000-1,250,000 คัน ตามการเติบโตของเศรษฐกิจโลก ที ระดับร้ อยละ 2.9 ที จะมีผลกระทบต่อการส่งออก สําหรับการปรับโครงสร้ างภาษี สรรพสามิตใหม่ที ประกาศใช้ ตงแต่ ั = วนั ที 1 มกราคม 2559 นี = โดยพิจารณาจากการ ปล่อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์เป็ นหลัก ทําให้ รถยนต์สว่ นใหญ่ต้องปรับขึ =นราคาอย่างน้ อยร้ อยละ 5-10 คาดว่าอาจมีผล ต่อการปรับโครงสร้ างรถยนต์บางส่วน โดยผู้บริ โภคมีแนวโน้ มที จะซื =อรถยนต์ที เหมาะสมกับวัตถุประสงค์การใช้ งานจริ ง มากขึ =น โดยรถยนต์นงั ขนาดเล็ก เช่น อีโคคาร์ อาจจะมีสว่ นแบ่งทางการตลาดมากขึ =น รวมไปถึงรถยนต์นงั อเนกประสงค์ กลุม่ MPV B-SUV และ SUV เพื อการใช้ งานที หลากหลายมากขึ =น แทนการใช้ รถ PPV ซึ งจะ มีการปรับราคาเพิ มขึ =น ค่อนข้ างมาก ให้ เหลือเพียงผู้ซื =อที มีความจําเป็ นและชื นชอบการใช้ งานที สมบุกสมบันของรถยนต์ ประเภทดังกล่าว นอกจากนี = ค่ายรถยนต์มีโอกาสที จะปรับรุ่ นรถยนต์นงั ของตนให้ สามารถใช้ พลังงานทางเลือก เช่น อี 85 มาก ขึ =น เพื อลด อัตราภาษี สรรพสามิตลงถึงร้ อยละ 5 โดยในส่วนของประเด็นเรื องการปรับภาษี สรรพสามิตที จะส่งผ่านไปยังการปรับระดับ ราคารถยนต์ประเภทต่างๆตังแต่ = ต้ นปี 2559 นัน= แม้ ว่าในช่วงต้ นปี ประชาชนอาจมีโอกาสชะลอการซื =อรถเพื อรอดูความ ชัดเจนของราคา และสิทธิประโยชน์ตา่ งๆ ที จะได้ รับ แต่โดยรวมทังปี = คาดว่าประเด็นดังกล่าวอาจไม่กระทบมากต่อจํานวน ยอดขายรถยนต์โดยรวมทว่าจะไปกระทบต่อการผลิตรถยนต์สาํ หรับขายในประเทศเป็ นบางรุ่ น โดยหากพิจารณาแบ่งเป็ น ยอดขายตามประเภทรถยนต์แล้ ว รถยนต์ในกลุม่ อีโค คาร์ อาจมีจํานวนยอดขายที ปรับระดับเพิ มขึ =นจากในปี นี = ขณะที รถ PPV ซึ งถูกปรับเพิ มภาษี ขึ =นและส่งผลต่อราคาขายที ปรับเพิ มขึ =นมากนัน= น่าจะมีทิศทางที หดตัวลงในปี หน้ านี = เนื องจาก ผู้บริ โภคส่วนหนึ งน่าจะเร่ งซื =อรถในกลุม่ นี =ไปก่อนล่วงหน้ าในช่วงปลายปี 2558 ที ระดับภาษี สรรพสามิตยังไม่ปรับขึ =น ซึ ง จํานวนยอดขายที ปรับเพิ มขึ =นและลดลงของรถยนต์แต่ละประเภทนี = ทําให้ โดยเฉลี ยแล้ วการขึ =นภาษี สรรพสามิตอาจจะ ไม่ใช่ปัจจัยหลักที กระทบต่อยอดขายรถยนต์โดยตรง เท่ากับปั จจัยด้ านกําลังซื =อ ของผู้บริ โภคที ยงั อยู่ในระดับตํ าและความ เข้ มงวดในการปล่อยสินเชื อรถยนต์ที นา่ จะยังอยูใ่ นระดับสูง

30


โครงสร้ างภาษี สรรพสามิตสําหรับรถยนต์ที จะบังคับ ใช้ 1 มกราคม 2559

ที มา: กรมสรรพสามิต, รวบรวมโดยศูนย์วิจยั กสิกรไทย

อุตสาหกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ในปี 2558 ปรับตัวลดลงร้ อยละ 3.56 ซึง มาจากอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ ที ปรับตัว ลดลงร้ อยละ 2.98 สินค้ าอิเล็กทรอนิกส์ที ปรับตัวลดลง ได้ แก่ HDD, Other IC และ Semiconductor เนื องจากความต้ องการคอมพิวเตอร์ และโน้ ตบุ๊กในตลาดโลกลดลง ประกอบกับเศรษฐกิจโลกชะลอตัว ทําให้ ความต้ องการผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์ในตลาดโลกลดลง ขณะที อตุ สาหกรรมไฟฟ้ าปรับตัวลดลงร้ อยละ 4.13 กลุม่ เครื องใช้ ไฟฟ้ าส่วนใหญ่ที ปรับตัวลดลงมากที สดุ 3 อันดับแรก ได้ แก่ เครื องรับโทรทัศน์ กระติกนํ =าร้ อน และเตาอบ ไมโครเวฟ เนื องมาจากกําลังซื =อในประเทศชะลอตัวลง จึงส่งผลให้ ความต้ องการเครื องใช้ ไฟฟ้ าลดลงตามไปด้ วย สําหรับ เครื องรับโทรทัศน์มีผ้ ผู ลิตบางรายย้ ายฐานการผลิตไปประเทศในกลุม่ อาเซียน ในปี 2559 คาดว่าอุตสาหกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์มีการผลิตเพิ มขึ =นร้ อยละ 0.81 โดยอุตสาหกรรมไฟฟ้ า และอิเล็กทรอนิกส์จะเริ มฟื น= ตัวในไตรมาส 3 ของปี 2559 ซึง คาดว่าไตรมาส 3 ของปี 2559 จะปรับตัวเพิ มขึ =นร้ อยละ 6.55 โดยปรับตัวเพิ มขึ =นจากสินค้ าหลายรายการ โดยเฉพาะสินค้ าอิเล็กทรอนิกส์ เช่น IC ซึ งเป็ นชิ =นส่วนสําคัญในอุปกรณ์หรื อ ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์สาํ เร็ จรูป แนวโน้ มตัวเลขการส่งออกในปี 2559 คาดว่าจะปรับตัวดีขึ =น กลับมาเป็ นบวก อยู่ที ร้อย ละ 1-2 หรื อมีมลู ค่าส่งออกราว 5.4 หมื นล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ โดยสาเหตุมาจากเศรษฐกิจโลกฟื น= ตัว โดยเฉพาะตลาดจีน ตลาดอาเซียน และตลาดสหรัฐฯ ฟื น= ตัว ซึง จะส่งผลให้ กลุม่ อุตสาหกรรมเครื องใช้ ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ปรับตัวดีขึ =นตาม โดยเฉพาะการมองเห็นสัญญาณที ดีในส่วนของยอดขายเครื องปรับอากาศและตู้เย็นจะเป็ นสินค้ าที มีแนวโน้ มเติบโตในปี หน้ า อุตสาหกรรมชิน5 ส่ วนเครื)องจักรกลเกษตร ประเทศไทยมีขนาดของตลาด (Market size) รถแทรกเตอร์ การเกษตรปี ละประมาณ 70,000 คัน โดยมีการ ประกอบรถในประเทศ 60,000 คัน นําเข้ า 16,917 คัน ส่งออก 7,891 คัน โดยปั จจุบนั มีผ้ ผู ลิตหลักในประเทศเพียง 2 ราย ที เหลือเป็ นรายเล็กที นําเข้ าชิ =นส่วนสําเร็ จมาประกอบในประเทศ ผู้ผลิตภายในประเทศมีสดั ส่วนการตลาดประมาณ ร้ อยละ 70 ของปริ มาณการขายและที เหลือตลาดเป็ นของผู้นําเข้ า (รวมการนําเข้ ารถใหม่และรถมือสอง) และหากประเมิน โครงสร้ างตลาดจําแนกตามภาค พบว่า ภาคอีสานเป็ นตลาดที ใหญ่ที สดุ คิดเป็ นสัดส่วนตลาดประมาณ ร้ อยละ 60 ของ การขายรถแทรกเตอร์ ทงหมด ั= (ที มา : สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม) 31


เนื องจากประเทศเพื อนบ้ านของไทยเป็ นประเทศ กําลังพัฒนาทําให้ มีความต้ องการใช้ เครื องจักรกลเป็ นจํานวน มาก และเป็ นเครื องจักรกลเกือบทุกประเภท ทังเครื = องจักรกลในภาคการเกษตร ซึ งกิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วนใหญ่ยงั มา จากภาคเกษตร ยกตัวอย่างเช่น เมียนมาร์ เครื องจักรกลการเกษตรมีแนวโน้ มขยายตัวอย่างต่อเนื องตามโครงสร้ างทาง เศรษฐกิจของเมียนมาร์ ที ภาคเกษตรกรรมมีบทบาทสูงถึงร้ อยละ 44 ของ GDP และรัฐบาลยังให้ การสนับสนุนการพัฒนา ภาคเกษตรกรรม เพื อให้ เมียนมาร์ มีศกั ยภาพในการผลิตและส่งออกในตลาดโลก โดยเฉพาะข้ าว ซึง เป็ นพืชเกษตรสําคัญที เมียนมาร์ ตังเป = ้ าส่งออกเป็ น 2 ล้ านตันในปี 2556 จึงเป็ นโอกาสสําหรับการส่งออกสินค้ าเครื องจักรกลทางการเกษตรของ ไทย ไปเมียนมาร์ อาทิรถไถนาเดินตาม รถแทรกเตอร์ เครื องพ่นยาฆ่าแมลง เครื องสูบน้ํ า และเครื องสีข้าวขนาดเล็ก เป็ นต้ น โดยสินค้ าไทยในกลุม่ นี =นับว่าได้ เปรี ยบจีนพอสมควรในด้ านคุณภาพและอายุการใช้ งานที ยาวนานกว่าตลอดจนสามารถ ถอดและประกอบเพื อซ่อมบํารุ งเองได้ ง่ายแม้ จะเสียเปรี ยบด้ านราคาต่อจีนก็ตาม ขณะที ความ ต้ องการเครื องจักรกลใน ภาคอุตสาหกรรมก็มีเพิ มขึ =นจากการขยายการลงทุนของประเทศในสมาชิกอาเซียนและ ประเทศที ไม่ใช่สมาชิกอาเซียนที ต้ องการเข้ ามาขยายฐานการลงทุนในอาเซียนในปี 2558 การส่งออกเครื องจักรกลการเกษตรมีมลู ค่ารวมเป็ น 27,576 ล้ าน บาท โดยสินค้ าที มีมลู ค่าการส่งออกสูงสุดได้ แก่ เครื องเก็บเกี ยวและส่วนประกอบ ซึ งมีมลู ค่าการส่งออกอยู่ที 1,054 ล้ าน บาท

5.2.3 แนวโน้ มเศรษฐกิจในปี 2559 จากข้ อมูลของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม คาดการณ์วา่ แนวโน้ มเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมในปี 2559 จะมีปัจจัยสนับสนุนที สาํ คัญคือ แรงขับเคลือ นจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจภาครัฐ การทยอย ฟื น= ตัวอย่างช้ าๆ ของเศรษฐกิจโลกและราคาสินค้ าส่งออก โดยกองทุนการเงินระหว่างประเทศหรือ IMF คาดว่าเศรษฐกิจ โลกปี 2559 จะขยายตัวร้ อยละ 3.6 จากปี 2558 ที คาดว่าจะขยายตัวร้ อยละ 3.1 รวมถึงการอ่อนค่าของเงินบาท และราคา นํ =ามันที ยงั ทรงตัวอยูใ่ นระดับตํา ขณะที ปัจจัยเสีย งในปี 2559 เริ มจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน โดย IMF คาดว่า เศรษฐกิจจีน ปี 2559 จะขยายตัวร้ อยละ 6.3 จากปี 2558 ที คาดว่าจะขยายตัวร้ อยละ 6.8 รวมทังผลกระทบจาก = สถานการณ์ภยั แล้ ง เงินทุนไหลออกจากตลาดเกิดใหม่ หลังธนาคารกลางของสหรัฐอเมริ กา หรื อ Fed ทยอยขึ =นอัตรา ดอกเบี =ย โดยธนาคารกลางสหรัฐฯ ประกาศขึ =นอัตราดอกเบี =ยมาตรฐานเป็ นครัง= แรกในรอบ 9 ปี ช่วงกลางเดือนธันวาคม 2558 และมีสญ ั ญาทยอยปรับอัตราขึ =นอย่างช้ าๆ ในอนาคต ในส่วนของอุตสาหกรรมรถยนต์จะมียอดรวมการผลิตรถยนต์ประมาณ 2,150,000 คัน เพิ มขึ =นร้ อยละ 10.26 แบ่งเป็ นการผลิตเพื อจําหน่ายในประเทศประมาณ 900,000 คัน เพิ มขึ =นร้ อยละ 6.67 และเป็ นการผลิตเพื อการส่งออก ประมาณ 1,250,000 คัน เพิม ขึ =นร้ อยละ 4.17 ส่วนอุตสาหกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ คาดว่าการผลิตจะปรับตัวเพิ มขึ =น ร้ อยละ 0.81

5.3 การจัดหาผลิตภัณฑ์ และบริการ

5.3.1 โรงงานและสํานักงาน โรงงานและสํานักงานของบริษัท ตังอยู = ภ่ ายในเขตอุตสาหกรรมโรจนะ ตําบลหนองบัว อําเภอบ้ านค่าย จังหวัด ระยอง ณ ปี 2558 มีเนื =อที 14 ไร่ 149.6 ตารางวา มีอาคารทังหมดจํ = านวน 8 อาคาร เป็ นอาคารสํานักงาน 2 อาคาร ประกอบด้ วยอาคารสํานักงานชันเดี = ยว และอาคารสํานักงาน 3 ชัน= พร้ อมอาคารโรงงานและคลังสินค้ า 6 อาคาร ใน 32


5.3.2 กําลังการผลิต บริ ษัทมีกําลังการผลิตรวมในช่วงปี 2556 ถึงปี 2558 ดังนี = กําลังการผลิต* ปริ มาณการผลิต อัตราการใช้ กําลังการผลิต (ร้ อยละ)

ปี 2556

2,700 1,619 60

ปี 2557 2,500 1,265 51

หน่วย: ตัน ปี 2558 2600 1460 56

หมายเหตุ: *กําลังการผลิตของบริษัทคํานวณโดยใช้ ปริมาณการใช้ วตั ถุดบิ ในการผลิตของเครื องแต่ละขนาดคูณกับจํานวนเครื องแต่ละขนาดใน ช่วงเวลานันๆ

ในปี 2556 มีการลงทุนติดตังเครื = องจักรในการผลิตเพิ มขึ =น ทําให้ มีกําลังการผลิตเพิ มขึ =น แต่ปริ มาณการผลิต ปี 2556 ลดลงจากช่วงปี 2555 เนื องจากการฟื น= ตัวจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยจากอุทกภัยในปี 2554 ส่งผลทําให้ อตั ราการ ผลิตในปี 2556 ลดลง ส่วนปี 2557 กําลังการผลิตลดลงเนื องจากมีการขายเครื องจักรที เก่าชํารุ ดออกไป และจากการที ประสบปั ญหาทางเศรษฐกิจต่อเนื องจากปี 2557 ทําให้ ยอดการสัง ซื =อลดลง

5.3.3 ขัน5 ตอนการผลิต บริ ษัทเป็ นผู้รับจ้ างผลิตชิ =นส่วนอลูมิเนียมและสังกะสีตามคําสัง ซื =อของลูกค้ า โดยบริ ษัทจะรับแบบหรื อตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์ และปริ มาณการผลิตเพื อตรวจสอบความสามารถในการออกแบบแม่พิมพ์และความเป็ นไปได้ ในการผลิตสินค้ า ตามแบบที กําหนด จากนันบริ = ษัทจะวิเคราะห์ต้นทุนในการออกแบบแม่พิมพ์ ต้ นทุนการจัดทําแม่พิมพ์ และต้ นทุนการผลิต แล้ วนําส่งใบเสนอราคาชิ =นงาน และ/หรื อ แม่พิมพ์ให้ ลกู ค้ าพิจารณา โดยขึ =นอยู่กบั ลักษณะการว่าจ้ าง เมื อลูกค้ าอนุมตั ิใบ เสนอราคา บริ ษัทจะนําแบบหรื อตัวอย่างผลิตภัณฑ์มาออกแบบแม่พิมพ์โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื อทําการคํานวณและ ขึ =นรูปแม่พิมพ์เป็ นภาพ 3 มิติ แล้ วจึงส่งให้ บริ ษัทผู้ผลิตแม่พิมพ์ทําการเสนอราคามาให้ กบั บริ ษัท ภายหลังจากการคัดเลือก บริ ษัทผู้ผลิตแม่พิมพ์แล้ วทางบริ ษัทผู้ผลิตแม่พิมพ์จะใช้ ระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในการผลิตแม่พิมพ์ จากนันทางบริ = ษัท จะมีการตรวจสอบแม่พิมพ์ร่วมกับลูกค้ าโดยการทดลองฉี ดชิน= งานด้ วยแม่พิมพ์ดงั กล่าวและนําชิ น= ส่วนที ผลิตได้ มาวัด ขนาดด้ วยเครื องวัด 3 แกน (CMM: Co-ordinate Measuring Machine) และนําชิ =นงานที ผา่ นการตรวจสอบไปส่งให้ ลกู ค้ า ตรวจสอบคุณภาพ และทดลองนําไปประกอบกับชิ =นงานส่วนอื นๆ เมื อชิ =นงานดังกล่าวผ่านการพิจารณาจากลูกค้ าแล้ วทางฝ่ ายขายและการตลาดจะติดต่อลูกค้ าเพื อขอรับใบสัง ซื =อ และแผนการจัดส่งสินค้ า โดยปกติลกู ค้ าจะสัง ซื =อสินค้ าและกําหนดระยะเวลาในการจัดส่งสินค้ าล่วงหน้ าเป็ นระยะเวลา 1 เดือน และลูกค้ าจะวางแผนการผลิตล่วงหน้ า 1 ปี เพื อให้ บริ ษัทสามารถวางแผนการผลิตและสัง ซื =อวัตถุดิบ และเตรี ยม อุปกรณ์ตา่ งๆได้ อย่างเหมาะสมและสอดคล้ องกับความต้ องการของลูกค้ า

33


การผลิตชิ =นงานของบริ ษัท มีขนตอนดั ั= งต่อไปนี = จัดเตรี ยมวัตถุดิบ

ฉี ดขึ นรู ป

ตรวจสอบคุณภาพชิ นงานขึ นรู ป

การกลึง เจาะ และการเจียรผิวด้วย เครื( องจักร

ตรวจสอบคุณภาพชิ นงาน

ตกแต่งชิ นงาน

ตรวสอบคุณภาพ ชิ นงานสําเร็ จ บรรจุ หี บห่ อ

• การคัดเลือกและจัดเตรี ยมวัตถุดิบ บริ ษัทจะทําการคัดเลือกผู้จําหน่ายวัตถุดิบตามมาตรฐานวัต ถุดิบที ลูกค้ า ซึ งเมื อบริ ษัทได้ รับวัตถุดิบจากผู้ จําหน่ายแล้ วจะทําตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบเปรี ยบเทียบกับใบรั บประกันคุณภาพวัตถุดิบที ได้ รับจากผู้จัดจําหน่าย วัตถุดิบ เพื อให้ มนั ใจว่าวัตถุดิบดังกล่าวมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการผลิตชิน= งานดังกล่าว จากนันจึ = งนํายอดสัง ซื =อจาก ลูกค้ าไปคํานวณปริ มาณวัตถุดิบที ต้องสัง ซื =อและวางแผนการผลิตต่อไป • การฉีดขึ =นรูปผลิตภัณฑ์ พนักงานประจําเครื องฉีดจะทําการติดตังแม่ = พิมพ์และเตรี ยมเครื องจักรให้ พร้ อมใช้ งาน จากนันจะนํ = าวัตถุดิบมา เข้ าเตาหลอมโดยใช้ ก๊าซธรรมชาติเป็ นเชื =อเพลิงในการให้ ความร้ อน เพื อหลอมให้ เป็ นของเหลวตามอุณภูมิที กําหนด แล้ ว เครื องฉีดจะทําการฉีดนํ =าโลหะที หลอมเหลวแล้ วเข้ าไปในแม่พิมพ์ด้วยแรงดันสูง แล้ วทําการลดอุณหภูมิแม่พิมพ์เพื อให้ ชิ =นงานแข็งตัว เมื อชิ =นงานเย็นตัวลงแล้ วพนักงานประจําเครื องฉีดจะนําชิ =นงานออกจากแม่พิมพ์และตกแต่งชิ =นงานเบื =องต้ น โดยตัดเศษครี บและทางเดินนํ =าโลหะสําหรับการฉีดขึ =นรู ปที เกินออกแล้ วนําเศษดังกล่าวไปหลอมในเตาหลอมเพื อนํามา ผลิตใหม่อีกครัง= • การตรวจสอบคุณภาพชิ =นงานขึ =นรูป พนักงานควบคุมคุณภาพสินค้ าจะทําการสุม่ ตรวจสอบขนาดและลักษณะภายนอกของชิ =นงานให้ เป็ นไปตามที กําหนดโดยมีการกําหนดตําแหน่งสําคัญที ต้องตรวจเช็คสําหรับแต่ละชิ =นงานด้ วยเครื องมือต่างๆที กําหนด โดยจะมีการสุม่ ตรวจเช็คทุก 1-2 ชัว โมง • การตกแต่งชิ =นงาน ชิ =นงานที ผา่ นการตรวจสอบจะถูกนํามาตกแต่งโดยพนักงาน ซึง จะมีการตกแต่งผิวชิ =นงาน ขัดตกแต่งขอบ เจาะรู และตกแต่งผิวชิ =นงาน ตามวิธีการทํางานที กําหนดสําหรับแต่ละชิ =นงาน ทังนี = = บริ ษัทอาจทําการว่าจ้ างบริ ษัทภายนอกในการ ตกแต่งชิ =นงาน หากกําลังการผลิตของบริ ษัทไม่เพียงพอ หรื อมีลกั ษณะของการตกแต่งที เครื องมือของบริ ษัทไม่สามารถทํา ได้ เป็ นต้ น 34


• การตรวจสอบคุณภาพชิ =นงานตกแต่ง ในการตรวจสอบนี =จะมีพนักงานควบคุมคุณภาพสินค้ าสุม่ ตรวจเช็คตามข้ อกําหนดในการตรวจเช็คผลิตภัณฑ์แต่ ละชนิด ทังในด้ = านของรู ปแบบชิน= งานและพื =นผิวตามที กําหนด โดยจะมีการทําคู่มือระบุตําแหน่งที ต้องตรวจเช็คและวิธี ตรวจเช็คของแต่ละชิ =นงานตามที กําหนด ซึง จะมีการสุม่ ตรวจเช็คทุก 1-2 ชัว โมง และมีการตรวจสอบความเรี ยบร้ อยจาก การตกแต่งทุกชิ =นอีกครัง= • การกลึง เจาะ และเจียรผิวด้ วยเครื องจักร (Machining) เนื องจากชิ น= งานบางส่วนจํ าเป็ นจะต้ องมีการตกแต่งด้ วยเครื องจักรเพื อให้ มีความแม่นยําเป็ นพิเศษและได้ คุณภาพตามที ลกู ค้ ากําหนด บริ ษัทจะนําชิ =นงานที ได้ รับการตกแต่งโดยพนักงานและได้ มีการตรวจสอบคุณภาพแล้ วมา ตกแต่ง เจาะ และเจียรผิวด้ วยเครื องกลึงที ควบคุมด้ วยคอมพิวเตอร์ (Computer Numerical Control หรื อ CNC) ทังใน = แบบ 2 แกน และ 3 แกน ในจุดที กําหนดตามรูปแบบผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด เพื อให้ สามารถนําไปประกอบกับชิ =นงานอื นตาม แบบที กําหนดได้ โดยจะมีฝ่ายตรวจสอบคุณภาพทําการสุม่ ตรวจสอบขนาดและลักษณะชิ =นงานหน้ าเครื องจักรทุกชัว โมง และมีการตรวจสอบโดยใช้ แท่นยึดกําหนดตําแหน่ง (Jig Gauge) เพื อตรวจสอบขนาดและตําแหน่งของส่วนที จะใช้ ประกอบกับชิ =นส่วนอื นๆว่าเป็ นไปตามที กําหนดทุกชิ =น ทัง= นี = บริ ษั ท อาจทํ า การว่า จ้ า งบริ ษั ท ภายนอกในการตกแต่ ง ชิ น= งานด้ ว ยเครื อ งจัก ร หากชิ น= งานบางส่ว น จําเป็ นต้ องได้ รับการตกแต่งด้ วยเครื องจักรที มีความแม่นยําเป็ นพิเศษ หรื อมีลกั ษณะที ต้องการการตกแต่งที เครื องจักรของ บริ ษัทไม่สามารถดําเนินการได้ หรื อกําลังการผลิตของบริ ษัทไม่เพียงพอ เป็ นต้ น • การตรวจสอบคุณภาพชิ =นงานสําเร็ จ ชิ =นงานที ได้ ผา่ นขันตอนการตกแต่ = งด้ วยเครื องจักรจะได้ รับการสุม่ ตรวจคุณภาพโดยละเอียด โดยใช้ เครื องมือวัด 3 แกน และเครื องมือต่างๆ ก่อนที จะส่งไปยังคลังสินค้ าเพื อบรรจุหีบห่อต่อไป • การบรรจุหีบห่อ พนักงานแผนกคลังสินค้ าจะทําการตรวจนับจํานวนสินค้ าให้ ตรงกับป้ายสินค้ า แล้ วบรรจุหีบห่อตามที กําหนด เพื อเตรี ยมการจัดส่งสินค้ าให้ กบั ลูกค้ าต่อไป โดยบริ ษัทมีมาตรการตรวจสอบต้ นทุนโดยกําหนดนโยบายสําหรั บการพิจารณาสําหรั บรายการสินค้ าที ขาย ขาดทุน ซึง ระบุให้ ฝ่ายบัญชีต้นทุนทําการวิเคราะห์ทกุ สิ =นงวดไตรมาส และมีการติดตามผลของรายการสินค้ าที ขายขาดทุน พร้ อมรายงานให้ แก่ผ้ บู ริ หารทุกๆสิ =นเดือน 5.3.4 การจัดหาวัตถุดิบในการผลิต บริ ษัทเป็ นผู้ผลิตชิ =นส่วนอลูมิเนียมฉีดขึ =นรู ปและชิ =นส่วนสังกะสีฉีดขึ =นรู ปตามคําสัง ซื =อของลูกค้ า โดยอลูมิเนียม และสังกะสีซึ งเป็ นวัตถุดิบของบริ ษัทจะเป็ นอลูมิเนียมอัลลอยและสังกะสีอลั ลอย ซึ งอลูมิเนียมและสังกะสีซึ งมีสว่ นผสม ของธาตุอื นๆ ทําให้ มีลกั ษณะและคุณสมบัติที แตกต่างกันตามความเหมาะสมของแต่ละชิ =นงาน ดังนัน= สัดส่วนการสัง ซื =อ วัตถุดิบจะขึ =นอยูก่ บั ปริ มาณการสัง ซื =อสินค้ าแต่ละประเภท โดยที ผา่ นมาชิ =นงานส่วนใหญ่ที บริ ษัทได้ รับคําสัง ซื =อเป็ นชิ =นงาน อลูมิเนียม โดยบริ ษัทมีการสัง ซือ= อลูมิเนียมจากผู้จัดจํ าหน่ายทัง= หมด 7 ราย ซึ งเป็ นผู้จัดจํ าหน่ายในประเทศทัง= หมด เนื องจากบริ ษัทมีนโยบายในการกระจายการสัง ซื =อวัตถุดิบเพื อป้องกันความเสี ยงจากการพึ งพิงผู้จดั จําหน่ายรายใดราย หนึง จึงได้ กระจายการสัง ซื =อวัตถุดิบจากผู้จดั จําหน่ายครัง= ละหลายราย โดยปริ มาณการสัง ซื =อแต่ละรายจะแตกต่างกันตาม 35


ราคาขายวัตถุดิบที ผ้ จู ดั จําหน่ายแต่ละรายเสนอมาซึ งบริ ษัทจะได้ รับใบเสนอราคาวัตถุดิบจากผู้จดั จําหน่ายแต่ละรายทุก เดือน ในการจัดหาวัตถุดิบนัน= บริ ษัทจะให้ ความสําคัญกับคุณภาพวัตถุดิบเป็ นอย่างมาก ทังนี = = วัตถุดิบที สงั ซื =อจะต้ อง อยูใ่ นระดับมาตรฐานตามที กําหนดไว้ โดยบริ ษัทจะดําเนินการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบเบื =องต้ นจากใบรับรองคุณภาพ วัตถุดิบจากผู้จดั จําหน่ายที มาพร้ อมกับการนําส่งวัตถุดบิ ในแต่ละครัง= จากนันบริ = ษัทจะตัดชิ =นส่วนวัตถุดิบไปตรวจสอบว่ามี คุณภาพตามมาตรฐานที ผ้ จู ดั จําหน่ายแจ้ งไว้ ตามใบรับรองหรื อไม่ โดยมีระยะเวลาการสัง ซื =อสินค้ าประมาณ 1-2 วัน ในการคัดเลือกผู้ขายวัตถุดิบนัน= บริ ษัทจะทําการประเมินผู้ขายวัตถุดิบว่าผ่านเกณฑ์การประเมินของบริ ษัท หรื อไม่ แล้ วจึงรวบรวมรายชื อผู้ที ผา่ นประเมินไว้ ในรายชื อผู้ขายวัตถุดิบ จากนัน= เมื อจะมีการสัง ซื =อวัตถุดิบดังกล่าว จะทํา การเทียบราคาจากผู้ขายวัตถุดิบในรายชื อที รวบรวมไว้ อย่างน้ อย 2 ราย แล้ วจึงทําการคัดเลือกผู้ขายวัตถุดิบที มีราคาและ เงื อนไขที ดีที สดุ โดยบริ ษัทจะทําการประเมินผู้ขายวัตถุดิบทุกปี ปี ละครัง=

5.3.5 ผลกระทบต่ อสิ)งแวดล้ อม บริ ษัทตระหนักถึงผลกระทบที อาจเกิดขึ =นต่อสิ งแวดล้ อมและมีมาตรการในการป้องกันปั ญหามลภาวะต่างๆ เพื อให้ แน่ใจว่าการผลิตของบริ ษัทจะไม่ก่อให้ เกิดผลกระทบต่อสิ งแวดล้ อม นอกจากนี =บริ ษัทยังได้ จดั สรรงบประมาณใน การดูแลสิง แวดล้ อมอย่างเพียงพอ โดยได้ สร้ างบ่อบําบัดนํ =าเสียภายในโรงงาน และได้ วา่ จ้ างบริ ษัทภายนอก เข้ ามาจัดการ และกําจัดของเสียจากกระบวนการผลิตของบริ ษัท เช่น นํ =ามันใช้ แล้ ว ภาชนะปนเปื อ= น และกากตะกอนจากการบําบัดนํ =า เสีย เป็ นต้ น นอกจากนี = บริ ษัทยังได้ รับการรับรองการจัดการสิ งแวดล้ อมของบริ ษัทตามมาตรฐานสากล ISO 14001:2004 เมื อวันที 15 กรกฎาคม 2551 และยังได้ รับเกียรติบตั รการเป็ นสถานประกอบการอุตสาหกรรมที ดําเนินงานตามหลักเกณฑ์ ธรรมาภิบาลสิ งแวดล้ อม ในโครงการธรรมาภิบาลสิ งแวดล้ อม กระทรวงอุตสาหกรรม และใบรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที 3 จากการบริ หารจัดการสิ งแวดล้ อมอย่างเป็ นระบบ มีมาตรการประเมินผล และทบทวนเพื อการพัฒนาอย่าง ต่อเนื อง และได้ รับรางวัล CSR DIW จากกระทรวงอุตสาหกรรม เมื อเดือนกันยายนปี 2556 ซึ งเทียบเท่ากับ ISO 26000 เป็ นการพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมให้ มีความรับผิดชอบร่วมกันของสังคม

5.4 งานที#ยังไม่ ได้ ส่งมอบ

แม่พิมพ์สาํ หรับผลิตงานเพื อจําหน่ายให้ กบั ลูกค้ า โดยมีมลู ค่าจ่ายล่วงหน้ า 9,060,600 บาท เนื องมาจากการทํา ข้ อตกลงในการชําระค่าสินค้ ามีการแบ่งจ่ายเป็ นงวด โดยงวดสุดท้ ายคืออนุมตั ิชิ =นงานเพื อทําการผลิต

36


6. ปั จจัยความเสี ยง

ปั จจัยความเสี ยงในการประกอบธุรกิจของบริ ษัทที อาจมีผลกระทบต่อการดําเนินงานและผลประกอบการของ บริ ษัทอย่างมีนยั สําคัญ และแนวทางในการป้องกันความเสีย ง สามารถสรุปได้ ดงั นี =

6.1 ความเสี#ยงจากการพึ#งพิงลูกค้ ารายใหญ่

บริ ษัทประกอบธุรกิจในลักษณะผลิตสินค้ าตามคําสัง ซื =อของลูกค้ า โดยในปี 2558 บริ ษัทมีลกู ค้ ารายใหญ่ซึ งมี สัดส่วนยอดขายต่อรายได้ จากการขายรวมมากกว่าร้ อยละ 10 จํานวน 3 ราย คิดเป็ นสัดส่วนรายได้ เท่ากับร้ อยละ 50.19 ของรายได้ จากการขายและให้ บริ การทังหมด = โดยในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีรายได้ จากกลุ่มลูกค้ าที มี ยอดขายสูงสุด 10 อันดับแรก คิดเป็ นสัดส่วนร้ อยละ 72.04 ร้ อยละ 82.94 และร้ อยละ 85.22 ของรายได้ จากการขายและ ให้ บริ การทังหมด = ทําให้ รายได้ ของบริ ษัทอาจได้ รับผลกระทบหากกลุม่ ลูกค้ ารายใหญ่ดงั กล่าวมีการเปลี ยนแปลงนโยบาย ในซื =อสินค้ าของบริ ษัท อย่างไรก็ตาม กลุม่ ลูกค้ ารายใหญ่ดงั กล่าวได้ มีการซื =อสินค้ าบริ ษัทอย่างต่อเนื องมาเป็ นระยะเวลานาน โดยบริ ษัท มีการประสานงานกับลูกค้ าอย่างสมํ าเสมอเพื อที จะทราบแนวโน้ มการเปลีย นแปลงคําสัง ซื =อสินค้ าจากลูกค้ า ซึ งลูกค้ าส่วน ใหญ่จะมีการประมาณการณ์ยอดผลิตล่วงหน้ าให้ แก่บริ ษัทเป็ นเวลาประมาณ 1 เดือน จึงทําให้ บริ ษัทสามารถคาดการณ์ การเปลี ยนแปลงของยอดสัง ซื =อจากลูกค้ าแต่ละรายได้ ในระดับหนึ ง อีกทัง= บริ ษัทมีการกําหนดนโยบายด้ านสัดส่วนของ ยอดขายต่อลูกค้ าแต่ละรายต้ องไม่เกินร้ อยละ 30 ของยอดขายรวม เพื อป้องกันผลกระทบต่อรายได้ หากมีการเปลีย นแปลง ยอดผลิตของลูกค้ ารายใหญ่

6.2 ความเสี#ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดบิ

บริ ษั ทฯ ดําเนินธุ รกิ จ ผลิต ชิ น= ส่วนเพื อใช้ เป็ นส่ว นประกอบรถยนต์ รถจัก รยานยนต์ อุปกรณ์ เครื องใช้ ไ ฟฟ้ า เครื องจักรกลเกษตรและอื นๆ ซึ งต้ องใช้ อลูมิเนียมแท่งเป็ นวัตถุดิบหลักซึ งโดยคิดเป็ นสัดส่วนของต้ นทุนขายในปี 2558 ประมาณร้ อยละ 33.27 ของต้ นทุนขายและให้ บริ การทังหมด = โดยในช่วงตังแต่ = ปี 2554 ราคาอลูมิเนียมมีความผันผวน เกิดขึ =น โดยจะเห็นได้ จากราคาอลูมิเนียมในตลาดโลกที ลดลงจาก 2,440 ดอลลาร์ สหรัฐฯต่อตัน ในเดือนมกราคม 2554 เป็ น 1,553 ดอลลาร์ สหรั ฐฯต่อตัน ในเดือนกรกฎาคม 2558 หรื อลดลงร้ อยละ 36.35 ในช่วงเวลาดังกล่าว และการ เปลีย นแปลงของราคาวัตถุดิบหลักเป็ นผลมาจากความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจโลกและความกังวลในเรื องของหนี = สาธารณะในกลุม่ ยูโรโซน และผู้บริ โภคที เป็ นตลาดหลัก เช่น สหรัฐอเมริ กา สหภาพยุโรป และญี ปนุ่ ประสบภาวะเศรษฐกิจ ชะลอตัวก็เป็ นปั จจัยที ทําให้ ราคาอลูมิเนียมมีการปรับตัวลดลง โดยในเดือนธันวาคม 2558 ราคาอลูมิเนียมในตลาดโลก เท่ากับ 1,504 ดอลลาร์ สหรัฐฯต่อตัน ซึง จากระยะเวลา 5 ปี ที ผา่ นมามีแนวโน้ มเป็ นไปได้ ที ราคาอลูมิเนียมจะลดลงต่อไป

37


ราคาอลูมิเนียมระหว่ างเดือนมกราคม 2554 – เดือนธันวาคม 2558

ที มา: Monthly world prices of commodities and indices, World Bank เนื องจากกระบวนการผลิตอลูมิเนียมมีการใช้ พลังงานสูงมาก ดังนัน= การเปลี ยนแปลงของ ราคานํ =ามันดิบก็จะ ส่งผลต่อราคาของอะลูมิเนียมด้ วย สําหรับปี 2554 นอกจากราคานํ =ามันดิบแล้ ว ความไม่แน่นอนของภาวะ เศรษฐกิจโลก และความกังวลในเรื องของหนี =สาธารณะในกลุม่ ยูโรโซนก็เป็ นปั จจัยที ทําให้ ราคาอลูมิเนียมมีการปรับตัวลดลง ในช่วงครึ งปี หลัง และในปี 2555 ราคาอลูมิเนียมก็ยงั คงผันผวนอยู่ตลอดเวลา เนื องจากผู้บริ โภคที เป็ นตลาดหลัก เช่น สหรัฐอเมริ กา สหภาพยุโรป และญี ปุ่น ประสบภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว และยังมีปัญหาหนี =สาธารณะของกลุ่มยูโรโซน รวมทัง= ราคา พลังงานก็มีราคาเพิ มสูงขึ =น ส่งผลให้ ผ้ ผู ลิตรายใหญ่บางรายต้ องประกาศตัดลดกําลังการผลิตลง เพราะราคาพลังงาน เพิ มขึ =น แต่ราคาอลูมิเนียมกลับลดลง และในปี 2556 ราคาอลูมิเนียมก็ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื อง เนื องจากเศรษฐกิจใน ประเทศ โซนยุโรปและอเมริ กายังไม่กลับสูภ่ าวะปกติก่อนจะปรับตัวขึ =นเล็กน้ อยในช่วงปี 2557 ทังนี = = จากการที ราคาอลูมิเนียมลดลงส่งผลกระทบเชิงบวกกับบริ ษัทด้ านต้ นทุนการผลิตลดลงมีการตกลงกับ ลูกค้ าบางรายให้ สามารถเปลีย นแปลงราคาของสินค้ าให้ สอดคล้ องกับราคาวัตถุดิบได้ เมื อราคาวัตถุดบิ เพิ มขึ =นจนถึงระดับ ตามที ตกลงไว้ หรื อมีการทบทวนราคาขายเป็ นระยะตามรอบเวลาที กําหนด อย่างไรก็ตาม บริ ษัทอาจมีความเสี ยงในกรณี ที ไม่สามารถปรับราคาสินค้ าให้ สอดคล้ องกับราคาวัตถุดิบที เปลี ยนไปได้ ทงหมด ั= เช่น ราคาของวัตถุดิบมิได้ เปลี ยนแปลง จนถึงระดับที กําหนดไว้ หรื อต้ นทุนในการผลิตเพิ มขึ =นในขณะที ยงั ไม่ถึงรอบระยะเวลาทบทวนราคาขาย ทังนี = = บริ ษัทได้ มี การติดตามความเคลือ นไหวราคาอลูมิเนียมในตลาดอย่างใกล้ ชิด เพื อป้องกันผลกระทบจากความผันผวนดังกล่าว ในด้ านของการสัง ซื =ออลูมิเนียมซึ งวัตถุดิบหลักในการผลิตนัน= บริ ษัทได้ มีการวางแผนการสัง ซื =อวัตถุดิบล่วงหน้ า ตามแผนการผลิตของบริ ษัท นอกจากนี =บริ ษัทได้ คดั เลือกผู้จัดจําหน่ายอลูมิเนียมที มีคณ ุ สมบัติและคุณภาพตามความ ต้ องการในการผลิตไว้ ทงสิ ั = =น 16 ราย เพื อกระจายการสัง ซื =อในแต่ละงวด เป็ นการลดความเสี ยงจากการขาดแคลนวัตถุดิบ ในการผลิต

38


6.3 ความเสี#ยงจากการที#แม่ พม ิ พ์ ท# เี ป็ นกรรมสิทธิ;ของลูกค้ าเสื#อมสภาพ เนื องจากแม่พิมพ์ ที บริ ษัทใช้ ผลิตชิ น= งานมีทงั = ส่วนที เป็ นกรรมสิทธิ\ ของบริ ษัทและเป็ นกรรมสิทธิ\ ของลูกค้ าซึ ง แม่พิมพ์ที เป็ นกรรมสิทธิ\ของลูกค้ านันต้ = องได้ รับความยินยอมจากลูกค้ าก่อนที จะสามารถทําการซ่อมแซมหรื อจัดทําใหม่ได้ หากแม่พิมพ์ดงั กล่าวเสือ มสภาพและบริ ษัทดําเนินการผลิตชิ =นงานดังกล่าวต่อไปเพื อรักษาสัมพันธภาพกับลูกค้ าบริ ษัทจะ มีต้นทุนที เพิ มขึ =นจากการตกแต่งชิน= งานเพิ มเติมหรื อชิ น= งานที ไม่ได้ คุณภาพ ซึ งหากบริ ษัทใช้ เวลาในการซ่อมแซมหรื อ จัดทําแม่พิมพ์ ใหม่ล่าช้ า เนื องจากลูกค้ าใช้ เวลานานในการอนุมตั ิหรื อผู้รับจ้ างทําแม่พิมพ์จัดทําได้ ช้าก็ตาม จะส่งผล กระทบต่อผลการดําเนินงานของบริ ษัทได้ อย่างไรก็ตาม บริ ษัทได้ กําหนดอายุการใช้ งานของแม่พิมพ์และจะทําการติดต่อ เจรจากับลูกค้ าก่อนที แม่พิมพ์จะหมดสภาพ เพื อให้ ลกู ค้ าทราบเงื อนไขดังกล่าวและประมาณการณ์ระยะเวลาในการจัดทํา แม่พิมพ์ใหม่ในส่วนที ลกู ค้ าอาจมีความล่าช้ าในการอนุมตั ิการจัดทําแม่พิมพ์ใหม่

6.4 ความเสี#ยงจากการพึ#งพิงผู้บริหารและบุคลากรที#มีประสบการณ์ และความสามารถ

ธุรกิจของบริ ษัทเป็ นธุรกิจที ต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ รวมถึงประสบการณ์ของบุคลากรในการดําเนินงาน โดยเฉพาะอย่างยิ งในด้ านการออกแบบแม่พิมพ์ ซึ งจะมีผลกระทบโดยตรงต่อความเป็ นไปได้ ในการผลิต คุณภาพของ ชิ =นงาน และของเสียที อาจจะเกิดขึ =นจากการผลิต ซึง ต้ องอาศัยความรู้ และความชํานาญเฉพาะด้ านของบุคลการเป็ นหลัก โดยเฉพาะวิศวกรผู้เชี ยวชาญในด้ านการออกแบบแม่พิมพ์ที มีประสบการณ์ การสูญเสียบุคลากรเหล่านี =ย่อมส่งผลกระทบ ต่อการดําเนินงานและความสามารถในการแข่งขันของบริ ษัท ซึ ง ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 บริ ษัทมีบคุ ลากรที มีความรู้ และทัก ษะในการออกแบบแม่ พิ ม พ์ จํ า นวน 10 คน โดยมี ร ะยะเวลาในการทํ า งานกับ บริ ษั ท เฉลี ย กว่ า 6 ปี และมี ประสบการณ์ทํางานด้ านแม่พิมพ์เฉลีย มากกว่า 15 ปี อย่างไรก็ ตาม บริ ษัทมีก ารมอบหมายหน้ าที และความรั บ ผิดชอบในการทํ างานให้ แก่ผ้ ูบริ หารท่านอื น และ พนักงานแต่ละฝ่ ายงานอย่างชัดเจน มีระบบการจัดเก็บข้ อมูลและฐานข้ อมูลที ดี ตลอดจนมีการแลกเปลี ยนข้ อมูลข่าวสาร ต่างๆ ที เกี ยวข้ องระหว่างผู้บริ หารและพนักงานบริ ษัทอย่างสมํ าเสมอ รวมทังมี = การฝึ กอบรมพนักงานให้ เกิดความรู้ ความ เข้ าใจด้ านคุณภาพและมาตรฐานการตรวจสอบต่างๆ และส่งพนักงานเข้ ารับการอบรมภายนอก เป็ นการลงทุนด้ านการ พัฒนาบุคลากรของบริ ษัท ให้ มีความรู้ความเข้ าใจในการดําเนินงานของบริ ษัทเป็ นอย่างดี โดยเฉพาะความรู้ และทักษะใน การออกแบบแม่พิมพ์ ซึง บริ ษัทได้ จดั การให้ มีการถ่ายทอดความรู้ทงในหน่ ั= วยงานและจัดให้ มีการฝึ กอบรมภายนอกบริ ษัท ซึง สามารถลดความเสีย งจากการพึง พิงผู้บริ หารและบุคลากรหลักของบริ ษัทได้

6.5 ความเสี#ยงจากการควบคุมคุณภาพ

คุ ณ ภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ป็ นหนึ ง ในปั จจั ย ที สํ า คั ญ ในอุ ต สาหกรรมการยานยนต์ ที ผ้ ู ผลิ ต รถยนต์ แ ละ รถจักรยานยนต์ให้ ความสําคัญเป็ นอย่างมาก เนื องจากจะมีผลโดยตรงทังด้ = านชื อเสียงและยอดขายของผู้ผลิตรถยนต์และ รถจักรยานยนต์ดงั กล่าวโดยตรง ซึง ความผิดพลาดในด้ านคุณภาพนัน= อาจทําให้ บริ ษัทสูญเสียลูกค้ า และอาจถูกยกเลิก สัญญาหากไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ได้ ตรงตามมาตรฐาน ซึง จะส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานและความน่าเชื อถือของ บริ ษัทในอุตสาหกรรม ด้ วยเหตุนี =บริ ษัทจึงได้ ตงเป ั = ้ าหมายที จะลดข้ อผิดพลาดในด้ านคุณภาพของผลิตภัณฑ์โดยกําหนด KPI ด้ านของเสียอย่างชัดเจน อีกทังบริ = ษัทได้ เน้ นถึงความสําคัญด้ านคุณภาพโดยได้ ลงทุนในอุปกรณ์สําหรับตรวจสอบ 39


และควบคุมคุณภาพให้ เป็ นไปตามมาตรฐานตามที ลกู ค้ ากําหนดไว้ เพื อสร้ างความพึงพอใจให้ กบั ลูกค้ า รวมทังสามารถ = สร้ างความน่าเชื อถือในการดําเนินธุรกิจภายใต้ มาตรฐานสากลอีกด้ วย

6.6 ความเสี#ยงจากการเปิ ดเสรี ทางการค้ าระหว่ างประเทศและการเปลี#ยนแปลงนโยบาย ของรั ฐบาล

เนื องจากบริ ษัททําธุรกิจเกี ยวเนื องกับการผลิตและจําหน่ายชิ =นส่วนยานยนต์ บริ ษัทจึงอาจได้ รับผลกระทบทังใน = เชิงบวกและในเชิงลบจากการเปลี ยนแปลงของภาษี ศลุ กากรและการกีดกันทางการค้ า เช่น การเปลี ยนแปลงภาษี นําเข้ า ของชิ =นส่วนยานยนต์จะกระทบความสามารถของบริ ษัทในการแข่งขันกับผู้ผลิตจากต่างประเทศ ยกตัวอย่างเช่น การลด ภาษี นําเข้ าชิ น= ส่วนอาจทําให้ ค่แู ข่งต่างประเทศสามารถแข่งขันกับบริ ษัททางด้ านราคาและต้ นทุนได้ มากขึ =น ทังนี = = ใน ปั จจุบนั รัฐบาลได้ มีการตกลงกับประเทศในอาเซียนเกี ยวกับการเปิ ดเสรี ของอุตสาหกรรมรถยนต์ภายใต้ สนธิสญ ั ญาการ เปิ ดเสรี ทางการค้ า AFTA ภายใต้ ข้อตกลงสิทธิพิเศษทางภาษี ปกติ (CEPT) ซึ งการเปิ ดเสรี ภายใต้ ระบบ AFTA ทําให้ ภาษี ศุลกากรสําหรับชิน= ส่วนรถยนต์ที ผลิตภายในอาเซียน ลดเหลือร้ อยละ 0 ถึงร้ อยละ 5 และคาดว่าจะทําให้ ประเทศคู่ค้า ภายในอาเซียนใช้ ประโยชน์ทางภาษี นี =เพื อเพิ มการค้ าระหว่างกัน นอกจากนี = การรวมกลุม่ กันทางเศรษฐกิจของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community หรื อ AEC) ในปี 2558 นี =ทําให้ อตั ราภาษี ระหว่างประเทศในกลุ่ม สมาชิกลดลงเหลือร้ อยละ 0 ซึ งแม้ ว่ามาตรการนี =จะช่วยบริ ษัทในด้ านการส่งออกสินค้ าไปขายในประเทศคู่ค้าภายใน อาเซียน แต่ในทางกลับกันคูแ่ ข่งจากต่างประเทศก็สามารถเข้ ามาแข่งขันในประเทศไทยได้ เพิ มมากขึ =น นอกจากนี =ความไม่ แน่นอนทางการเมืองที เกิดขึ =นภายในประเทศ ซึ งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพของรัฐบาลและความต่อเนื องของนโยบาย อาจส่งผลถึงการตัดสินใจในการลงทุน หรื อย้ ายฐานการผลิตไปในประเทศที มีเสถียรภาพสูงกว่า หรื อมีต้นทุนการผลิตที ตํ า กว่า อีกทังปั = จจุบนั รัฐบาลได้ มีนโยบายเห็นชอบในหลักการปรับโครงสร้ างภาษี สรรพสามิตรถยนต์ โดยคํานึงถึงการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิ ภาพ เป็ นมิตรกับสิ งแวดล้ อม ความปลอดภัย การใช้ พลังงานทดแทนและประสิทธิ ภาพของ รถยนต์ ในการปล่อย CO2Emission โดยยังคงส่งเสริ มอุตสาหกรรมรถยนต์อย่างต่อเนื อง ไม่ว่าจะเป็ นโครงการลดภาษี สําหรับรถยนต์อีโคคาร์ รถยนต์พลังงานร่วมที ให้ ก๊าชเอ็นจีวีร่วมกับนํ =ามัน รถยนต์ไฮบริ ด และรถยนต์ที ใช้ แก๊ สโซฮอล์อี 85 เป็ นต้ น ซึ งเป็ นปั จจัยสําคัญต่อทิศทางของอุตสาหกรรมรถยนต์ไทยในระยะยาว ซึ งหากมีการเปลี ยนแปลงในนโยบาย ดังกล่าว จะส่งผลกระทบโดยตรงต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ซงึ เป็ นกลุม่ ลูกค้ าหลักของบริ ษัท อย่างไรก็ตาม บริ ษัทได้ ม่งุ เน้ น ในการพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์ และทักษะของบุคคลากรอย่าง เช่น การส่งบุคลากรเข้ าร่ วมอบรมสัมมนาต่างๆ รวมทังบริ = ษัทยังได้ จัดตังศู = นย์การเรี ยนรู้ ภายในบริ ษัท เพื อเป็ นแหล่งความรู้ ด้ านเทคโนโลยีในภาคอุตสาหกรรมและการ ผลิต และให้ เกิดการเรี ยนรู้ การพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื องเพื อเพิ มความสามารถในการแข่งขันและเตรี ยมความพร้ อม สําหรับภาวะการแข่งขันที รุนแรงมากขึ =น และสามารถรองรับการผลิตของกลุม่ อุตสาหกรรมที หลากหลายมากขึ =น

6.7 ปั ญหาด้ านการขาดแคลนแรงงาน

ปั จจุบนั สถานประกอบการต่างๆมีการแข่งขันในการจ้ างแรงงานที มีทกั ษะ ทําให้ บริ ษัทมีความเสี ยงที จะขาด แคลนแรงงานในการดําเนินงานหรื อต้ องว่าจ้ างพนักงานในอัตราค่าตอบแทนที สงู ขึ =น หรื ออาจจะสูญเสียแรงงานที มีทกั ษะ ซึ งจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อการดําเนินงานของบริ ษัท อย่างไรก็ตาม ปั จจุบนั บริ ษัทได้ คํานึงถึงสวัสดิภาพของพนักงาน 40


โดยมีสวัสดิการต่างๆ เช่น โรงอาหาร ค่าอาหารกลางวัน ค่าเดินทาง และรถรั บส่งพนักงาน เป็ นต้ น เพื อป้องกันการ เคลื อนย้ า ยแรงงานโดยเฉพาะแรงงานที ใ ช้ ทักษะซึ ง เป็ นกํ าลังสํา คัญ ของบริ ษัท ทัง= นี บ= ริ ษัทยังสามารถว่า จ้ า งสถาน ประกอบการอื นในการดําเนินงานที ต้องใช้ แรงงานเป็ นหลัก เช่น งานตกแต่งชิ =นงาน เป็ นต้ น เพื อเพิ มความยืดหยุ่นในการ ผลิตและลดผลกระทบจากการแข่งขันด้ านแรงงาน

6.8 ความเสี#ยงจากการที#กลุ่มผู้ถือหุ้นใหญ่ ทาํ ธุรกิจที#ใกล้ เคียงกับธุรกิจของบริษัท

เนื องจากกลุ่ม ปิ นทอง ซึ งเป็ นผู้ถือ หุ้น ใหญ่ ของบริ ษั ท ในสัดส่วนร้ อยละ 37.20 ของทุนจดทะเบี ยนชํ า ระ ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 ซึง ประกอบด้ วยบริ ษัทที ดําเนินธุรกิจผลิตชิ =นส่วนยานยนต์เช่นเดียวกับบริ ษัท ดังนี = ชื)อ ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริ ษัท ฟุตาบะ เจทีดบั บลิว(ประเทศไทย) จํากัด ผลิตชิ =นส่วนวัสดุ และส่วนประกอบสําหรับแม่พิมพ์โลหะ บริ ษัท เอ็กซ์เซลเมทัลฟอจจิ =ง จํากัด

บริ ษัท จุฑาวรรณ โมลิเทค (ไทยแลนด์) จํากัด บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยลพาร์ ท จํากัด บริ ษัท จุฑาวรรณ เมทัลแล็บ จํากัด บริ ษัท เอส.เค.เจ เมตัล อินดัสตรีส์ จํากัด บริ ษัท อาร์ คิเท็ค เมทัล เวิร์ค จํากัด

ผลิตชิ =นส่วนยานยนต์ เครื องมือกล เครื องทุน่ แรงทุกชนิด โดย การปั ม= ชิ =นงาน ผลิตและจําหน่ายสายไฟแบบม้ วนกลับได้ และสปริ งสําหรับ เครื องดูดฝุ่ น ผลิตชิ =นส่วนอุปกรณ์เครื องใช้ ไฟฟ้ า ชิ =นส่วนยานยนต์ด้วยการ ขึ =นรูปด้ วยวิธีอดั ด้ วยความร้ อน (Hot Forging) และอัดแบบ เย็น (Stamping) ชุบแข็งโลหะทุกชนิด ผลิตเพลา และลวดสแตนเลส ออกแบบและผลิตผลิตภัณฑ์สแตนเลส

เนื องจากบริ ษัทในกลุม่ ปิ นทองมีกระบวนการผลิตและใช้ วตั ถุดิบที แตกต่างจากของบริ ษัท ซึ งแต่ละกระบวนการ จะมีความเหมาะสมกับประเภทของชิน= งานที ต่างกัน และได้ ชิน= งานที มีคุณสมบัติแตกต่างกัน จึงไม่มีความเสี ยงที กลุ่ม บริ ษัทดังกล่าวจะมีการดําเนินงานที แข่งขันกับบริ ษัท แต่เป็ นการสนับสนุนกันในด้ านการเปิ ดโอกาสให้ ได้ พบปะลูกค้ าที เคย ใช้ บริ การกลุม่ บริ ษัทดังกล่าวและมีความสนใจผลิตผลิตภัณฑ์ที บริ ษัทดําเนินการอยู่ เป็ นการเพิ มโอกาสทางธุรกิจให้ กับ บริ ษัทด้ วย

41


7. ข้ อมูลทั วไปและข้ อมูลสําคัญอื น 7.1 ข้ อมูลทั)วไป

ชื อบริ ษัทภาษาไทย ชื อบริ ษัทภาษาอังกฤษ เลขทะเบียนบริ ษัทที ลักษณะการประกอบธุรกิจ ที ตงสํ ั = านักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร Homepage ทุนจดทะเบียน ทุนที เรี ยกชําระแล้ ว มูลค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ นายทะเบียนหลักทรัพย์

ผู้สอบบัญชี

ที ปรึกษากฎหมาย

: : : :

บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ =ง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) Sanko Diecasting (Thailand) Public Company Limited 0107552000235 ประกอบธุรกิจผลิตชิ =นส่วนอลูมิเนียมฉีดขึ =นรูปและชิ =นส่วนสังกะสีฉีดขึ =น รูป : 3/14 หมู่ 2 สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ตําบลหนองบัว อําเภอบ้ าน ค่าย จังหวัดระยอง 21120 : 038-961-877-80 : 038-961-624 : www.sankothai.net : 150,340,812.50 บาท : 148,903,972.00บาท : 0.50 บาท บริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด เลขที 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 02- 229-2800 โทรสาร. 02-654-5642 บริ ษัท พีวี ออดิท จํากัด 100/19 ชันที = 14 อาคารว่องวานิช บี ถนนพระราม 9 แขวงห้ วยขวาง เขตห้ วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 02-645-0080 โทรสาร 02-645-0020 บริ ษัท เอเค แอนด์ เอ ที ปรึกษากฎหมาย จํากัด สํานักงานใหญ่ 80/2 ตรอกเสถียร ถนนตะนาว แขวงศาลเจ้ าพ่อเสือ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 02-622-0200 โทรสาร 02-622-0199

42


8. ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น 8.1 จํานวนทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล้ ว

หุ้นสามัญของบริษัท บริ ษัทมีทนุ จดทะเบียนเท่ากับ 150,340,812.50 บาท (หนึง ร้ อยห้ าสิบล้ านสามแสนสีห มื นแปดร้ อยสิบสองบาท ห้ าสิบสตางค์) แบ่งเป็ นหุ้นสามัญจํานวน 300,681,625 หุ้น (สามร้ อยล้ านหกแสนแปดหมื นหนึง พันหกร้ อยยี สบิ ห้ าหุ้น) มูลค่าหุ้นที ตราไว้ เท่ากับหุ้นละ 0.50 บาท (ห้ าสิบสตางค์) โดยปั จจุบนั มีทนุ จดทะเบียนชําระแล้ วเท่ากับ 148,903,972 บาท (หนึง ร้ อยสีส บิ แปดล้ านเก้ าแสนสามพันเก้ าร้ อยเจ็ดสิบสองบาทถ้ วน) ใบสําคัญแสดงสิทธิท) จี ะซือ5 หุ้นสามัญของบริษัท ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง= ที 1/2555 จัดขึ =นเมื อวันที 30 พฤษภาคม 2555 ได้ มีมติอนุมตั กิ ารออกและจัดสรร ใบสําคัญแสดงสิทธิที จะซื =อหุ้นสามัญของบริ ษัท ประเภทระบุชื อผู้ถือและไม่สามารถโอนเปลีย นมือได้ ให้ แก่กรรมการและ พนักงานของบริ ษัท (“ใบสําคัญแสดงสิทธิ”) จํานวน 6,000,000 หน่วย ซึง จะทําการจัดสรรพร้ อมกับการเสนอขายหุ้น สามัญแก่ประชาชนทัว ไปในครัง= นี =โดยมีราคาเสนอขาย 0 บาทต่อหน่วย และใบสําคัญแสดงสิทธิมอี ายุ 5 ปี นับแต่วนั ที ออก และเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสทิ ธิซื =อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในราคาใช้ สทิ ธิ 0.50 บาท ต่อหุ้น (เว้ นแต่จะมีการปรับสิทธิตามหลักเกณฑ์และเงื อนไขที กําหนด) มีการกําหนดเงื อนไขในการใช้ สทิ ธิ โดยนับจากวันที ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ 0.5 ปี ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิสามารถใช้ สทิ ธิครัง= แรกได้ ไม่เกินร้ อยละ 25 ของ ใบสําคัญแสดงสิทธิทงหมดที ั= ผ้ ถู ือใบสําคัญแสดงสิทธิแต่ละคนได้ รับการจัดสรรจากบริษัท และในทุก ๆ 12 เดือน หลังจาก การใช้ สทิ ธิครัง= แรก ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิสามารถใช้ สทิ ธิได้ ไม่เกินร้ อยละ 50 ร้ อยละ 75 และ ร้ อยละ 100 ของใบสําคัญ แสดงสิทธิทงหมดที ั= ผ้ ถู ือใบสําคัญแสดงสิทธิแต่ละคนได้ รับจัดสรรจากบริษัท ตามลําดับ ซึง จะทําให้ ทนุ จดทะเบียนและ ชําระแล้ วของบริ ษัทเท่ากับ 113,000,000 บาท ประกอบด้ วยหุ้นสามัญทังหมด = 226,000,000 หุ้น มูลค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาท ภายหลังจากการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ มทุนแก่ประชาชนทัว ไปในครัง= นี =และการใช้ สทิ ธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที ออกให้ แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัททังหมด = ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง= ที 1/2558 จัดขึ =นเมื อวันที 9 กรกฎาคม 2558 ได้ มีมติปรับอัตราการใช้ สทิ ธิในการซื =อ หุ้นสามัญของใบสําคัญแสดงสิทธิ โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสทิ ธิซื =อหุ้นสามัญได้ 1.16 หุ้น ราคาใช้ สทิ ธิ 0.43 บาท เนื องจากการขายหุ้นเพิม ทุนให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นเดิม (Right Offering) ในราคาตํา กว่าราคาตลาด ที ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง= ที 5/2558 จัดขึ =นเมื อวันที 13 สิงหาคม 2558 ได้ มีมติปรับราคาการใช้ สทิ ธิไป เป็ น 0.50 บาท เนื องจากพบว่าไม่สามารถกําหนดราคาใช้ สทิ ธิให้ ตํ ากว่าราคาพาร์ ได้ ขัดต่อข้ อกําหนดสิทธิเดิม

43


8.2 ผู้ถือหุ้นของบริษัท ที#มีช# ือปรากฏตามสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที# 30 ธันวาคม 2558 ประกอบด้ วย ลําดับ 1

2 3 4 5 6 7 8 9 10

กลุ่มปิ) นทอง1/ - บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด - บริ ษัท เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จํากัด - นายพีระ ปั ทมวรกุลชัย - นายนาโอะฮิโร ฮามาดา - นางสมศรี ดวงประทีป - นายสุเรนทร์ สุวรรณวงศ์กิจ - นายสมชาย เบ็ญจาศิริโรจน์ - นางสาวอรุณี เลือ มประพางกูล - นายพีร์ ปั ทมวรกุลชัย - นายชนินทร์ ผู้พิพฒ ั น์หิรัญกุล - นางสาวเกสรา ผู้พิพฒ ั น์หิรัญกุล บริษัทไทยบริการอุตสาหกรรมและวิศวกรรม จํากัด (มหาชน) นางสาวบุญธิดา เจริญสวัสดิE กลุ่มนายมาซามิ คัตซูโมโต - นายมาซามิ คัตซูโมโต - นายชิเกฮิโร คัตซูโมโต นาย จิรัฏฐ์ ปางวิรุฬห์ รักข์

ณ วันที) 30 ธันวาคม 2558 จํานวนหุ้น ร้ อยละ 110,785,930 37.20 44,105,600 54,672,266 6,666,666 2,858,000 650,000 900,066 500,000 200,000 133,333 66,666 33,333 44,490,700 14.94 21,410,800 7.19 20,221,374 6.79 20,090,600 130,774 11,080,066 3.72

นาย จักรพงษ์ โลหะเจริญทรัพย์ นาง อภิญาดี อมาตยกุล นาย ศุภชัย วัฒนาสุวิสุทธิE CREDIT SUISSE AG, SINGAPORE BRANCH อื)นๆ รวม

9,905,100 6,666,666 4,295,100 4,007,630 64,944,578 297,807,944.00

รายชื)อ

3.33 2.24 1.44 1.35 21.81 100.00

หมายเหตุ: 1/กลุม่ ปิ นทอง อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของกลุม่ ตระกูลปั ทมวรกุลชัย ประกอบธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ธุรกิจ เหล็กและโลหะ ธุรกิจชิ =นส่วนสําหรับภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจขนส่งและรถเช่า

44


9.นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล

บริ ษัทมีนโยบายในการจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น ในอัตราไม่ตํ ากว่าร้ อยละ 30 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี เงิน ได้ นิติบุคคลและทุนสํารองต่างๆ ทัง= หมดแล้ ว ซึ งการจ่ายเงินปั นผลนันจะต้ = องไม่มีผลกระทบต่อการดําเนินงาน ฐานะ การเงิน สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ ความจําเป็ น ความเหมาะสมอื นใดในอนาคต และปั จจัยอื นๆ ที เกี ยวข้ องในการ บริ หารงานของบริ ษัท ตามที คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาเห็นสมควรหรื อเหมาะสม ทังนี = = การดําเนินการดังกล่าวจะต้ อง ก่อให้ เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผู้ถือหุ้น มติคณะกรรมการบริ ษัทซึง พิจารณาเรื องการจ่ายเงินปั นผลต้ องนําเสนอที ประชุมผู้ถือ หุ้นเพื อขออนุมตั ิ ยกเว้ น กรณีการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาล คณะกรรมการบริ ษัทมีอํานาจอนุมตั ิให้ ดําเนินการได้ เมื อเห็น ว่าบริ ษัทมีกําไรสมควรพอที จะจ่ายโดยไม่มีผลกระทบต่อการดําเนินงานของบริ ษัท แล้ วรายงานให้ ที ประชุมผู้ถือหุ้นทราบ ในการประชุมคราวต่อไป

45


10. โครงสร้ างการจัดการ 10.1 คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริ ษัท ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 มีจํานวนทังสิ = =น 8 ท่าน ซึง ประกอบด้ วย ชื)อ – สกุล

1. นายมาซามิ 2. นายนาโอะฮิโร/1 3. นายรัฐวัฒน์ 4. นางพูนศรี /1 5. นายยุทธนา 6. นางสาววลัยภรณ์

ตําแหน่ ง คัตซูโมโต ฮามาดา ศุขสายชล ปั ทมวรกุลชัย แต่งปางทอง กณิกนันต์

การประชุมคณะกรรมการ จํานวนครัง5 การ จํานวนครัง5 ที)เข้ า ประชุม ร่ วมประชุม 6 6 6 6 6 5 6 6 6 6

ประธานคณะกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ / ประธาน 6 6 กรรมการตรวจสอบ 7. นายนิพนั ธ์ ตังพิ = รุฬห์ธรรม กรรมการอิสระ / กรรมการ 6 6 ตรวจสอบ 8. นายสันติ เนียมนิล กรรมการอิสระ / กรรมการ 6 6 ตรวจสอบ 1/ หมายเหตุ นางพูนศรี ปั ทมวรกุลชัย และนายนาโอะฮิโร ฮามาดา เป็ นกรรมการที เป็ นตัวแทนจากกลุม่ ปิ นทอง โดยมีนางสาวสกุลทิพย์ ห่อมณีทําหน้ าที เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริ ษัท

กรรมการซึง มีอาํ นาจลงลายมือชื อแทนบริ ษัท ณ วันที 31 มีนาคม 2559 กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริ ษัท มี 3 คน คือ นายมาซามิ คัตซูโมโต หรื อนายนาโอะฮิโร ฮามาดา หรื อนาย รัฐวัฒน์ ศุขสายชล ลงลายมือชื อร่วมกันเป็ นสองคนและประทับตราสําคัญของบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 มีจํานวนทังสิ = =น 3 ท่าน ซึง ประกอบด้ วย การประชุมคณะกรรมการ ชื)อ – สกุล ตําแหน่ ง จํานวนครัง5 การ จํานวนครัง5 ที)เข้ าร่ วม ประชุม ประชุม นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์* ประธานกรรมการตรวจสอบ 5 5 นายนิพนั ธ์ นายสันติ

ตังพิ = รุฬห์ธรรม เนียมนิล

กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

5 5

5 5

46


หมายเหตุ : *นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์เป็ นกรรมการตรวจสอบที มีความรู้ ความสามารถเพียงพอที จะสามารถทําหน้ าที ในการสอบทานความน่าเชื อถือของงบการเงินได้ โดยสําเร็ จการศึกษา ระดับปริ ญญาตรี สาขาบัญชี และประกาศนียบัตร ขันสู = งทางการสอบบัญชี และมีประสบการณ์ ทํางานในด้ านการเป็ นที ปรึ กษาทางด้ านบัญชี เช่น เป็ นที ปรึ กษาทางด้ าน บัญชีให้ แก่บริ ษัท เอสซี ซิสเต็ม เน็ตเวิร์ค จํากัด และบริ ษัท ไอซิ น คลัทช์ ดิสค์ เป็ นต้ น โดยมีการแต่งตังนายสุ = วรรณะ มาญสติ มาทําหน้ าที เป็ นเลขาคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริ หาร ณ วันที 31 มีนาคม 2559 มีจํานวนทังสิ = =น 5 ท่าน ซึง ประกอบด้ วย ชื)อ สกุล ตําแหน่ ง นายมาซามิ คัตซูโมโต ประธานคณะกรรมการบริ หาร นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล กรรมการ นายยุทธนา แต่ปางทอง กรรมการ นายประถม ต่อฑีฆะ กรรมการ โดยมีการแต่งตังนางสาวพิ = มพร ชากิจดี เป็ นเลขานุการคณะกรรมการ

10.2 คณะผู้บริหาร

คณะผู้บริ หาร ณ วันที 31 มีนาคม 2559 มีจํานวนทังสิ = =น 5 ท่าน ซึง ประกอบด้ วย ชื)อ – สกุล ตําแหน่ ง นายมาซามิ คัตซูโมโต ประธานบริ ษัท นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล ประธานเจ้ าหน้ าที บริ หารและ ผู้อํานวยการฝ่ ายบริ หารงานทัว ไป นายชิเกฮิโร คัตซูโมโต ที ปรึกษาด้ านการขายและการตลาด นายประถม ต่อฑีฆะ ผู้อํานวยการฝ่ ายโรงงาน นายเกียรติภมู ิ ภูมินนั ท์ ผู้อํานวยการฝ่ ายการขายและการตลาด

หมายเหตุ

ขอบเขตอํานาจหน้ าที ของประธานเจ้ าหน้ าที บริ หาร

1. เป็ นผู้บริ หารจัดการและควบคุมดูแลการดําเนินกิจการทีเ กี ยวข้ องกับการบริ หารงานทัว ไปของบริ ษัท 2. ดําเนินการตามที คณะกรรมการบริ ษัทได้ รับมอบหมาย

3. มีอํานาจจ้ าง แต่งตัง= โยกย้ าย ปลดออก เลิกจ้ าง กําหนดอัตราค่าจ้ าง ให้ บาํ เหน็จรางวัล ปรับขึ =นเงินเดือน ค่าตอบแทน เงินโบนัส ของพนักงานทังหมดของบริ = ษัทตังแต่ = ตําแหน่งรองประธานเจ้ าหน้ าที บริ หารลงไป

4. มีอํานาจพิจารณาอนุมตั ิรายการกู้ยืมเงินระยะสัน= ภายในวงเงินสําหรับแต่ละรายการที ไม่เกิน 20 ล้ านบาทต่อ ปี

47


5. มีอํานาจแก่การดําเนินการใดๆในการบริ หารกิจการของบริ ษัทตามปกติและอันจําเป็ นแก่การบริ หารกิจการ ของบริ ษัทเป็ นการทัว ไป ตามรายละเอียดดังต่อไปนี =

1) การขายและการให้ บริ การ เช่น การอนุมตั กิ ารขายสินค้ า การอนุมตั ใิ ห้ ทําสัญญารับจ้ างทําของ ตามปกติธุรกิจ เป็ นต้ น ภายในวงเงินต่อลูกค้ ารายละไม่เกิน 10 ล้ านบาทต่อเดือน

2) การจัดซื =อวัตถุดิบ ภายในวงเงินไม่เกิน 5 ล้ านบาทต่อรายต่อเดือน

3) การว่าจ้ างทําของ เช่น แม่พิมพ์ เป็ นต้ น ภายในวงเงินไม่เกิน 5 ล้ านบาทต่อรายต่อเดือน 4) การว่าจ้ างช่วง ภายในวงเงินไม่เกิน 2 ล้ านบาทต่อรายต่อเดือน

5) การใช้ จา่ ยเงินในการบริ หารงานทุกประเภทที เป็ นค่าใช้ จ่ายในการผลิตอื นๆ ไม่เกิน 2 ล้ านบาทต่อราย ต่อเดือน

6) การอนุมตั กิ ารซ่อมแซมเครื องจักร/สาธารณูปโภคต่างๆ ภายในวงเงินไม่เกิน 2 ล้ านบาทต่อรายต่อ เดือน

7) การเช่าเครื องจักรอุปกรณ์ในการผลิต/ค่าเช่ารถขนส่งพนักงาน/ค่าเช่ารถขนส่งสินค้ า/วัสดุอปุ กรณ์/

เครื องมือเครื องใช้ ตา่ งๆ รวมถึงการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ ภายในวงเงินไม่เกิน 1แสนบาทต่อรายต่อ เดือน

8) มีอํานาจอนุมตั ิ การดําเนินการใดๆ ในลักษณะเป็ นการลงทุนในโครงการที เกี ยวกับการพัฒนาระบบ การผลิตหรื อซื =อเครื องจักร ที มีมลู ค่าไม่เกิน 7 ล้ านบาทต่อปี

6. มีอํานาจออกคําสัง ระเบียบ ประกาศ บันทึก เพื อให้ การปฏิบตั งิ านเป็ นไปตามนโยบายและผลประโยชน์ของ บริ ษัท และเพื อรักษาระเบียบวินยั การทํางานภายในองค์กร

7. มีอํานาจกระทําการและแสดงตนเป็ นตัวแทนบริษัทต่อบุคคลภายนอกในกิจการทีเ กี ยวข้ องและเป็ นประโยชน์ ต่อบริ ษัท

8. อนุมตั ิการแต่งตังที = ปรึกษาด้ านต่างๆ ที จําเป็ นต่อการดําเนินงาน

9. ปฏิบตั ิหน้ าที อื นๆ ตามที ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทเป็ นคราวๆไป

การอนุมตั ิเพื อดําเนินการ ตลอดจนการมอบหมายจากประธานเจ้ าหน้ าที บริ หารให้ ดําเนินการเพื อเข้ าทํารายการ

ดังกล่าวข้ างต้ น จะต้ องไม่มีลกั ษณะเป็ นการดําเนินการเพื อเข้ าทํารายการที ทําให้ ประธานเจ้ าหน้ าที บริ หารหรื อผู้รับ มอบหมายจากประธานเจ้ าหน้ าที บริ หารสามารถดําเนินการอนุมตั ิเพื อเข้ าทํารายการที ตนหรื อบุคคลที อาจมีความขัดแย้ ง

มีสว่ นได้ เสีย หรื ออาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์อื นใดกับบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อย ซึ งการอนุมตั ิดําเนินการเพื อเข้ าทํา รายการในลักษณะดังกล่าวจะต้ องเสนอต่อที ประชุมคณะกรรมการและ/หรื อที ประชุมผู้ถือหุ้นเพื อพิจารณาและอนุมตั ิ และ

สอบทานรายการดังกล่าวโดยคณะกรรมการตรวจสอบ ตามข้ อบังคับของบริ ษัทและตามที สํานักงาน ก.ล.ต. และ/หรื อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกําหนด

48


ณ ปั จจุบนั จนถึงวันที รายงาน (31 มีนาคม 2559)

49


10.3 เลขานุการบริษัท

คณะกรรมการบริ ษัทได้ มีมติแต่งตังให้ = นางสาวสกุลทิพย์ ห่อมณี ดํารงตําแหน่งเป็ นเลขานุการบริ ษัท ตังแต่ = วนั ที 18 กันยายน 2552 โดยคุณสมบัติของผู้ดํารงตําแหน่งเป็ นเลขานุการบริ ษัทปรากฎในเอกสารแนบ 1

10.4 ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร 1. ค่ าตอบแทนที)เป็ นตัวเงิน ก. ค่าตอบแทนคณะกรรมการ

ที ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2558 เมื อวันที 28 เมษายน 2558 ได้ มีมติอนุมตั ิการกําหนด

ค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2558 โดยมีรายละเอียดดังนี = คณะกรรมการบริ ษัท ค่าเบี =ยประชุมคณะกรรมการบริ ษัท การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ค่าเบี =ยประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ค่าตอบแทนรายเดือน รายนามคณะกรรมการ

จํานวนค่ าตอบแทน

5,000 บาทต่อครัง=

5,000 บาทต่อครัง= 5,000 บาทต่อเดือน

ในปี 2558 ประกอบด้ วยเบี =ยประชุม ซึง จ่ายตามจํานวนครัง= ที เข้ าประชุม ดังนี =

ชื)อ - สกุล นายมาซามิ คัตซูโมโต นายนาโอะฮิโร ฮามาดา นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล นางพูนศรี ปั ทมวรกุลชัย นายยุทธนา แต่ปางทอง นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์ นายนิพนั ธ์ ตังพิ = รุฬห์ธรรม นายสันติ

เนียมนิล

ค่ าตอบแทนกรรมการ (บาท) ตามจํานวนครัง5 ที)เข้ าร่ วมประชุม ค่ าตอบแทนราย เดือน คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท ตรวจสอบ 30,000 30,000 25,000 30,000 30,000 30,000 60,000 30,000 60,000 30,000 60,000

รวม 30,000 30,000 25,000 30,000 30,000 90,000 90,000 90,000

50


ข. ค่าตอบแทนผู้บริ หาร

ในปี 2558 บริ ษัทได้ จา่ ยค่าตอบแทนประกอบด้ วย เงินเดือนและโบนัส ให้ กบั ผู้บริ หารจํานวน 5 ราย

รวมทังสิ = =น 11.7 ล้ านบาท แยกเป็ น เงินเดือน 10.46 ล้ านบาท โบนัส 1.24 ล้ านบาท 2. ค่ าตอบแทนอื)นที)ไม่ ใช่ ตวั เงิน/สิทธิประโยชน์ อ) นื ๆ

ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง= ที 1/2555 จัดขึ =นเมื อวันที 30 พฤษภาคม 2555 ได้ มีมติอนุมตั ิการออกและ

จัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที จะซื =อหุ้นสามัญของบริ ษัท ประเภทระบุชื อผู้ถือและไม่สามารถโอนเปลี ยนมือได้ (“ใบสําคัญ แสดงสิทธิ”) ให้ แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัท จํานวน 6,000,000 หน่วย ซึง จะทําการจัดสรรพร้ อมกับการเสนอขาย

หุ้นสามัญแก่ประชาชนทัว ไปในครัง= นี =โดยมีราคาเสนอขาย 0 บาทต่อหน่วย และใบสําคัญแสดงสิทธิมีอายุ 5 ปี นับแต่วนั ที

ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสิทธิซื =อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในราคาใช้ สิทธิ 0.50

บาท ต่อหุ้น (เว้ นแต่จะมีการปรับสิทธิตามหลักเกณฑ์และเงื อนไขที กําหนด) และมีมติอนุมตั ิแต่งตังคณะกรรมการพิ = จารณา ค่าตอบแทนสําหรับพิจารณาจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที จดั สรรให้ แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัทแต่ละรายที ได้ รับ

จัดสรรเกินกว่าร้ อยละ 5 ของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทงหมด ั= ซึ งประกอบด้ วยคณะกรรมการตรวจสอบจํานวน 3 ท่าน

โดยมีมติกําหนดค่าตอบแทนพิเศษให้ ท่านละ 50,000 บาท โดยจะทําการจ่ายให้ ภายหลังจากการเสนอขายหุ้นเพิ มทุน ให้ แก่ประชาชนทัว ไปเป็ นครัง= แรก

ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง= ที 1/2558 จัดขึ =นเมื อวันที 9 กรกฎาคม 2558 ได้ มีมติพิจารณาจัดสรรหุ้น

สามัญเพิ มทุนจํานวนไม่เกิน 589,239 หุ้น โดยมีมลู ค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาท เพื อเตรี ยมไว้ สําหรับรองรับการปรับสิทธิ

ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ที จะซื =อสามัญเพิ มทุนของบริ ษัทเสนอขายแก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัท (ESOP) อัน เนื องมาจากออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ มทุน ดังนี =

• อัต ราส่ว นการใช้ สิทธิ เ ดิ ม 1:1 (1 ใบสํา คัญแสดงสิท ธิ ฯ มี สิท ธิ ซือ= หุ้น สามัญ ได้ 1 หุ้น )เป็ น อัตราส่วนการใช้ สทิ ธิใหม่ 1 : 1.16 (1 ใบสําคัญแสดงสิทธิฯ มีสทิ ธิซื =อหุ้นสามัญได้ 1.16 หุ้น)

• ราคาใช้ สิทธิซื =อหุ้นสามัญเดิมหุ้นละ 0.50 บาท เป็ นราคาใช้ สิทธิซื =อหุ้นสามัญใหม่ห้ นุ ละ 0.43 บาท

ที ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง= ที 5/2558 จัดขึ =นเมื อวันที 13 สิงหาคม 2558 ได้ มีมติปรับราคาการ ใช้ สทิ ธิไปเป็ น 0.50 บาท เนื องจากพบว่าไม่สามารถกําหนดราคาใช้ สทิ ธิให้ ตาํ กว่าราคาพาร์ ได้ ขัดต่อข้ อกําหนดสิทธิเดิม

51


ดังนี =

ทังนี = = รายละเอียดของกรรมการและผู้บริ หารที ได้ รับการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิทจี ะซื =อหุ้นสามัญของบริ ษัท มี ชื)อ-สกุล

1. นายมาซามิ

คัตซูโมโต

2. นายนาโอะฮิโร ฮามาดา

ตําแหน่ ง (31 มีนาคม 2559) ประธานกรรมการ

ร้ อยละของจํานวน จํานวนใบสําคัญ ใบสําคัญแสดงสิทธิท) ี แสดงสิทธิท) ไี ด้ รับ จัดสรรให้ แก่ กรรมการ จัดสรร (หน่ วย) และพนักงาน (ร้ อยละ) 600,000

10.00

200,000

กรรมการบริษัท

3.33

3. นายรัฐวัฒน์

ศุขสายชล

กรรมการบริษัท /

600,000

10.00

4. นายชิเกฮิโร

คัตซูโมโต

ที ปรึกษาด้ านการขายและ

150,000

2.50

10.5 บุคลากร

ประธานเจ้ าหน้ าที บริ หาร การตลาด

ด้ านบุคลากร ในปี 2558 บริ ษัทมีพนักงานทังหมด = 381 คน (ข้ อมูล ณ วันที 26 ธันวาคม 2558) บริ ษัทได้ จ่าย

ผลตอบแทนให้ แก่พนักงาน จํานวนทังสิ = =น 90.24 ล้ านบาท ได้ แก่ เงินเดือน ค่าแรง ค่าล่วงเวลา ค่ากะ เงินช่วยเหลือค่า

เดินทาง เงินโบนัส เบี =ยเลี =ยง เบี =ยขยัน เป็ นต้ น

พนักงานสายงานผลิต พนักงานสายงานบริ หารและสนับสนุน รวม

จํานวนคน

หมายเหตุ: พนักงานสายการผลิต ได้ แก่ DI FS MC QC PC MT WH

313 84 397

ค่ าตอบแทน พนักงาน (ล้ านบาท) 55.84 34.40 90.24

เฉลี)ยต่ อคน (บาท : คน : ปี )

178,412 409,515 227,311

การเปลีย นแปลงด้ านแรงงานในรอบ 3 ปี ที ผา่ นมา จํานวนบุคลากร ปี 2556 จํานวนบุคลากร ปี 2557

จํานวนบุคลากร ปี 2558

ข้ อพิพาทด้ านแรงงานในปี 2558

จํานวน 398 คน (ข้ อมูล ณ วันที 21 ธันวาคม 2556)

จํานวน 371 คน (ข้ อมูล ณ วันที 26 ธันวาคม 2557)

จํานวน 381 คน (ข้ อมูล ณ วันที 26 ธันวาคม 2558)

–ไม่ม-ี

52


ด้ านการพิจารณาปรับผลตอบแทน ปี ที ผา่ นมาบริ ษัทฯ ใช้ ผลการประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจําปี มาใช้ ในการ

เป็ นหลักเกณฑ์ในการปรับผลตอบแทนประจําปี เพื อเป็ นการสร้ างขวัญกําลังใจ และ ตอบแทนการทํางานของพนักงาน

ด้ านสวัสดิการพนักงาน บริ ษัทฯ จัดให้ มี ค่ากะ ค่าความร้ อน (เงินช่วยเหลือสําหรับพนักงานควบคุมเตาหลอม

และเครื องจักรที มีความร้ อน) เบี =ยขยัน การตรวจสุขภาพประจําปี เครื องแบบ เงินช่วยเหลือ กรณีพนักงานสมรส คลอดบุตร บุคคลในครอบครัวเสียชีวิต กองทุนสํารองเลี =ยงชีพพนักงาน สวัสดิการรักษาพยาบาล (ประกันกลุม่ ) และค่าของเยี ยมกรณี

เจ็บป่ วยเข้ ารับการรักษาเป็ นผู้ป่วยใน และ บริ ษัทฯ ยังสนับสนุนให้ มีการจัดตัง= สหกรณ์ออมทรัพย์ซงั โกะไทย เพื อส่งเสริ ม การออม และการช่วยเหลือกันของพนักงาน

ด้ านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บริ ษัทฯ ได้ สนับสนุนให้ พนักงานได้ พฒ ั นา ทังในสายงานและอาชี = พที ทําอยู่

พัฒนาคุณธรรม ยกระดับจิตใจ และสร้ างความสุขในการทํางาน ผ่านกิจกรรมและการอบรม สัมนา อาทิเช่น

1. การปฐมนิเทศพนักงานใหม่ บริ ษัทฯ จัดให้ มีการอบรม เพื อให้ พนักงานมีความรู้ ความเข้ าใจ เกี ยวกับ องค์กร สิทธิ สวัสดิการต่างๆ ในการเป็ นพนักงานของบริ ษัทฯ มาตรฐานการทํางาน และมาตรฐานด้ าน

ความปลอดภัยในการทํางาน รวมถึงวัฒนธรรมต่างๆ ภายในองค์กร และยังมีการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน

ระหว่างทดลองงาน เพื อ เป็ นการติดตามความลงตัว และการปรั บตัวให้ เข้ ากับองค์ กร และหน้ าที ของ พนักงานใหม่

2. การพัฒนาทักษะ และความรู้ในงาน ผ่านกระบวนการอบรม และ กระบวนการสอนงาน ตามหน้ าที (On the job training) โดยใช้ ระบบพี เลี =ยง (Coaching)

3. พัฒนาความสามารถตามลักษณะงานที รับผิดชอบ (Functional Expertise) เพื อให้ พนักงานมีความรู้ และมี ความสามารถในงานที รับผิดชอบ สามารถสอนงานต่อให้ ผ้ อู ื นได้ และสามารถเติบโตในสายงานของตนได้ (Career Path)

4. พัฒนาบุคลากร ตามวัฒนธรรมองค์ กร (Core Values) บริ ษัทฯ ได้ จัดกิ จกรรมส่งเสริ มให้ พนักงานมี พฤติกรรมพึงประสงค์ตามกรอบของวัฒนธรรมองค์กร ดังนี = • การคิดเชิงนวัตกรรม (Innovation)

• การทํางานเชิงรุก (Proactive Working)

• ความมุง่ มัน สูค่ วามสําเร็ จ (Achievement Orientation)

• มีความรู้สกึ เป็ นเจ้ าขององค์การ ( Sense of Belonging)

นอกจากนี = ยังจัดให้ มีแผนงานกิจกรรมตามโครงการ Happy Workplace เพื อส่งเสริ มให้ คณ ุ ภาชีวิตของพนักงานให้

สามารถทํางานและใช้ ชีวิตอย่างมีความสุขอีกด้ วย

โดยในปี 2558 บริ ษัทฯจัดให้ พนักงาน ผู้บริ หาร คณะกรรมการและเลขานุการบริ ษัท เข้ าร่วมการอบรมทัง= ภายในองค์กรและเข้ าร่วมอบรมกับสถาบันภายนอก คิดเป็ นชัว โมงอบรมรวม 9,763 ชัว โมง รายละเอียดเพิม เติมพิจารณา ใน แบบแสดงรายการ ประจําปี (56-1 ) 53


11. การกํากับดูแลกิจการ

11.1 นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

บริ ษัทตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที ดี (Good Corporate Governance) โดยเชื อว่า การ กํากับดูแลกิจการที ดีแสดงถึงการมีระบบบริ หารจัดการที มีประสิทธิ ภาพ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ ซึ งช่วยสร้ างความเชื อมัน และความมัน ใจต่อผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้มีสว่ นได้ เสีย และผู้ที เกี ยวข้ องทุกฝ่ าย อันจะนําไปสูก่ ารเพิ มมูลค่าและการเติบโตของ บริ ษัทในระยะยาวอย่างยัง ยืน บริ ษัทได้ ดําเนินการอย่างต่อเนื องในการส่งเสริ มให้ มีระบบการกํากับดูแลกิจการที ดี โดย มุง่ หวังให้ คณะกรรมการและฝ่ ายจัดการของบริ ษัท พัฒนาระดับการกํากับดูแลกิจการและปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแล กิจการที ดี ให้ สอดคล้ องกับแนวทางที เป็ นมาตรฐานสากล โดยนําหลักการกํ ากับดูแลกิจการที ดีซึ งกํ าหนดโดยตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มากําหนดเป็ นนโยบายการกํากับดูแลกิจการที ดีของบริ ษัท และกําหนดให้ มีการติดตามเพื อ ปรับปรุ งนโยบายดังกล่าวให้ สอดคล้ องกับแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ งอาจมีการเปลี ยนแปลงใน อนาคต เพื อให้ มีความเหมาะสมและสอดคล้ องกับสภาพการณ์ที เปลี ยนแปลงไป โดยมีแนวปฏิบตั ิซึ งครอบคลุมหลักการ 5 หมวด ดังต่อไปนี = 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น บริ ษัทได้ ตระหนักและให้ ความสําคัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยไม่กระทําการใดๆที เป็ นการละเมิดหรื อริ ดรอนสิทธิ ของผู้ถือหุ้น รวมถึงส่งเสริ มให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ ใช้ สทิ ธิของตน โดยสิทธิขนพื ั = =นฐานของผู้ถือหุ้น ได้ แก่ การซื =อขายหรื อการโอนหุ้น การมีสว่ นแบ่งในกําไรของบริ ษัท การได้ รับข่าวสารข้ อมูลของบริ ษัทอย่างเพียงพอ การเข้ าร่ วมประชุมเพื อใช้ สิทธิออก เสียงในที ประชุมผู้ถือหุ้นเพื อแต่งตังหรื = อถอดถอนกรรมการ แต่งตั =งผู้สอบบัญชี และเรื องที มีผลกระทบต่อบริ ษัท เช่น การ จัดสรรเงิ นปั นผล การกํ าหนดหรื อการแก้ ไขข้ อบังคับและหนังสือบริ คณห์ สนธิ การลดทุนหรื อเพิ มทุน และการอนุมัติ รายการพิเศษ เป็ นต้ น บริ ษัทมีนโยบายส่งเสริ มและอํานวยความสะดวกให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นรวมถึงนักลงทุนสถาบัน ในการเข้ าร่ วมประชุมผู้ ถือหุ้น โดยบรษัทคัดเลือกสถานที จดั การประชุมซึ งมีระบบขนส่งมวลชนเข้ าถึงและเพียงพอเพื อให้ ผ้ ถู ือหุ้นสามารถเดิน ทางเข้ าร่ วมการประชุมได้ อย่างสะดวก บริ ษัทมีการให้ ข้อมูล วัน เวลา สถานที และวาระการประชุม ตลอดจนข้ อมูล ทังหมดที = เกี ยวข้ องกับเรื องที ต้องตัดสินใจในที ประชุมแก่ผ้ ถู ือหุ้นเป็ นการล่วงหน้ า และแจ้ งให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบกฎเกณฑ์ต่างๆ ที ใช้ ในการประชุม รวมถึงขันตอนการออกเสี = ยงลงมติ บริ ษัทมีการอํานวยความสะดวกให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ ใช้ สทิ ธิในการเข้ าร่ วม ประชุมและออกเสียงอย่างเต็มที และส่งเสริ มให้ ผ้ ถู ือหุ้นมีโอกาสในการแสดงความเห็นและตังคํ = าถามต่อที ประชุมในเรื องที เกี ยวข้ องกับบริ ษัท ได้ รวมทังเปิ = ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นส่งคําถามล่วงหน้ าและมีโอกาสเสนอวาระการประชุมก่อนวันประชุม รวมถึงมีสทิ ธิมอบฉันทะให้ ผ้ อู ื นเข้ าร่วมประชุม 2. การปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริ ษัทมีการปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็ นธรรม ทังผู = ้ ถือหุ้นที เป็ นผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นที ไม่เป็ น ผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นต่างชาติ และผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย และสร้ างความมัน ใจให้ กบั ผู้ถือหุ้นว่าคณะกรรมการและฝ่ ายจัดการได้ ดูแลให้ การใช้ เงินของผู้ถือหุ้นเป็ นไปอย่างเหมาะสม ด้ วยเชื อว่าเป็ นปั จจัยสําคัญต่อความมัน ใจในการลงทุนกับบริ ษัท โดย คณะกรรมการบริ ษัทมีหน้ าที กํากับดูแลให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ รับการปฏิบตั ิ และปกป้องสิทธิขนพื ั = =นฐานอย่างเท่าเทียมกัน 54


คณะกรรมการบริ ษัท ได้ จดั กระบวนการประชุมผู้ถือหุ้นในลักษณะที สนับสนุนให้ มีการปฏิบตั ิต่อผู้ถือหุ้นทุกราย อย่างเท่าเทียมกัน และเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นส่วนน้ อยสามารถเสนอชื อบุคคลเพื อเข้ าดํารงตําแหน่งกรรมการบริ ษัท เป็ น การล่วงหน้ าในเวลาอันสมควร รวมถึงเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นที ไม่สามารถเข้ าประชุมด้ วยตนเอง สามารถใช้ สิทธิออกเสียง โดยมอบฉันทะให้ ผ้ อู ื นมาประชุมและออกเสียงลงมติแทนได้ คณะกรรมการบริ ษัทได้ กําหนดแนวทางในการเก็บรักษาและป้องกันการใช้ ข้อมูลภายในเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และแจ้ งแนวทางดังกล่าวให้ ทกุ คนในองค์กรถือปฏิบตั ิ 3. บทบาทของผู้มีสว่ นได้ เสีย บริ ษัทตระหนักถึงความรับผิดชอบและการปฏิบตั ิต่อผู้มีสว่ นได้ เสียกลุ่มต่างๆ และประสานประโยชน์ร่วมกัน อย่างเหมาะสม เพื อให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียทุกกลุม่ มัน ใจว่าสิทธิดงั กล่าวได้ รับการคุ้มครอง และปฏิบตั ิด้วยดี โดยได้ กําหนดเป็ น แนวทางที ต้องปฏิบัติเพื อตอบสนองความต้ องการของผู้มีส่วนได้ เสียแต่ละกลุ่มไว้ อย่างชัดเจนใน “ข้ อพึงปฏิบัติและ จริ ยธรรมทางธุรกิจ” พร้ อมทังเผยแพร่ = และรณรงค์ให้ คณะกรรมการบริ ษัท ฝ่ ายบริ หาร ตลอดจนผู้ปฏิบตั ิงาน ยึดถือเป็ น หลักปฏิบตั ิในการดําเนินงาน และถือเป็ นภาระหน้ าที ที สาํ คัญของทุกคน 4. การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่งใส บริ ษัทให้ ความสําคัญกับการเปิ ดเผยข้ อมูลสําคัญที เกี ยวข้ องกับบริ ษัท ทังข้ = อมูลทางการเงินและข้ อมูลที มิใช่ ข้ อมูลทางการเงินอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน ทันเวลา โปร่ งใส ผ่านช่องทางที เข้ าถึงข้ อมูลได้ ง่าย มีความเท่าเทียมกันและ น่าเชื อถือ ด้ ว ยบริ ษั ท เชื อ ว่า คุณ ภาพของรายงานทางการเงิ น เป็ นเรื อ งที ผ้ ูถื อ หุ้น และบุค คลภายนอกให้ ค วามสํา คัญ คณะกรรมการบริ ษัท จึงดูแลเพื อให้ เกิดความมัน ใจว่า ข้ อมูลที แสดงในรายงานทางการเงินมีความถูกต้ อง เป็ นไปตาม มาตรฐานการบัญชีที รับรองโดยทัว ไป และผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีที เป็ นอิสระ โดยได้ แต่งตังคณะกรรมการ = ตรวจสอบ ซึ งประกอบด้ วยกรรมการที เป็ นอิสระเป็ นผู้รับผิดชอบดูแลเกี ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบ การควบคุมภายใน ทังนี = =รายงานของคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานของผู้สอบบัญชี มี รายละเอียดปรากฏในรายงานประจําปี 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัท มีบทบาทสําคัญในการกํากับดูแลกิจการเพื อประโยชน์สงู สุดของบริ ษัท คณะกรรมการ บริ ษัท มีความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบตั ิหน้ าที ตอ่ ผู้ถือหุ้นและเป็ นอิสระจากฝ่ ายจัดการ คณะกรรมการบริ ษัท มีภาวะผู้นํา วิสยั ทัศน์ และมีความเป็ นอิสระในการตัดสินใจเพื อประโยชน์สงู สุดของบริ ษัท และผู้ถือหุ้นโดยรวม จึงจัดให้ มีระบบแบ่งแยกบทบาทหน้ าที ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริ ษัท และฝ่ ายจัดการ ที ชดั เจน และดูแลให้ บริ ษัท มีระบบงานที ให้ ความเชื อมัน ได้ ว่ากิจกรรมต่างๆ ของบริ ษัท ได้ ดําเนินไปในลักษณะที ถกู ต้ อง ตามกฎหมายและมีจริ ยธรรม คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้ ว ยกรรมการที มี คุณ สมบัติ ห ลากหลาย ทัง= ในด้ า นทัก ษะ ประสบการณ์ ความสามารถเฉพาะด้ านที เป็ นประโยชน์กับบริ ษัท รวมทังการอุ = ทิศเวลาและความพยายามในการปฏิบตั ิหน้ าที เพื อ เสริ มสร้ างให้ บริ ษัท มีคณะกรรมการที เข้ มแข็ง กระบวนการสรรหาผู้ดํารงตําแหน่งกรรมการบริ ษัท เพื อให้ ที ประชุมผู้ถือหุ้นเป็ นผู้แต่งตัง= เป็ นไปอย่างโปร่ งใส ปราศจากอิทธิพลของผู้ถือหุ้นที มีอํานาจควบคุมหรื อฝ่ ายจัดการ และสร้ างความมัน ใจให้ กบั บุคคลภายนอก 55


เพื อให้ การปฏิบตั ิหน้ าที ของคณะกรรมการบริ ษัท มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล คณะกรรมการบริ ษัท จึงจัด ให้ มีคณะกรรมการตรวจสอบ เพื อทําหน้ าที ช่วยคณะกรรมการบริ ษัท ในการปฏิบตั ิหน้ าที กํากับดูแลเกี ยวกับความถูกต้ อง ของรายงานทางการเงิ น ประสิทธิ ภาพระบบการควบคุมภายใน และการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และหลัก จรรยาบรรณต่างๆ เพื อส่งเสริ มให้ เกิดการกํากับดูแลกิจการที ดี กรรมการบริ ษัท ทุกคนมีความเข้ าใจเป็ นอย่างดีถึงหน้ าที ความรับผิดชอบของกรรมการและลักษณะการดําเนิน ธุรกิ จของบริ ษัท พร้ อมที จ ะแสดงความคิด เห็ นของตนอย่างเป็ นอิ สระและปรั บ ปรุ งตัวเองให้ ทัน สมัยอยู่ต ลอดเวลา กรรมการบริ ษัท มีการปฏิบตั ิหน้ าที ด้วยความซื อสัตย์สจุ ริ ต ระมัดระวังและรอบคอบ โดยคํานึงถึงประโยชน์สงู สุดของ บริ ษัท และเป็ นธรรมต่อผู้ถือหุ้นทุกคน โดยได้ รับข้ อมูลที ถกู ต้ องและครบถ้ วน

11.2 คณะกรรมการชุดย่ อย

1. คณะกรรมการบริษัท ขอบเขตอํานาจหน้ าที ของคณะกรรมการบริ ษัท อํานาจ หน้ าที และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษัทที สาํ คัญโดยสรุปตามมติที ประชุมวิสามัญ ผู้ถือหุ้น ครัง= ที 2/2552 เมื อวันที 15 ธันวาคม 2552 1) จัดการบริ ษัทให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้ อบังคับ มติของที ประชุมผู้ถือหุ้น ด้ วยความสุจริ ต ระมัดระวัง และรักษาผลประโยชน์ของบริ ษัท 2) มีอํานาจแต่งตังกรรมการ = และ/หรื อ ผู้บริ หารของบริ ษัท จํานวนหนึง ให้ เป็ นฝ่ ายบริ หารเพื อดําเนินการอย่าง หนึง อย่างใดหรื อหลายอย่างได้ เพือ ปฏิบตั ิงานตามที ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัทรวมทังมี = อํานาจแต่งตังประธานเจ้ = าหน้ าทีบ ริ หาร และคณะกรรมการอื นๆตามความเหมาะสม 3) กําหนดเป้าหมาย แนวทาง นโยบาย แผนงาน และงบประมาณของบริ ษัท ควบคุมดูแลการบริ หารและการ จัดการฝ่ ายบริ หาร หรื อบุคคลที ได้ รับมอบหมาย ให้ เป็ นไปตามนโยบายที คณะกรรมการบริ ษัทได้ ให้ ไว้ 4) พิจารณาทบทวนและอนุมตั ินโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ แผนงานการดําเนินธุรกิจ โครงการลงทุนขนาดใหญ่ ของบริ ษัท ที เสนอโดยฝ่ ายบริ หาร 5) ติดตามผลการดําเนินงานให้ เป็ นไปตามแผนงานและงบประมาณอย่างต่อเนื อง 6) พิจารณาและอนุมตั ิกิจการอื นๆ ที สาํ คัญอันเกี ยวกับบริ ษัท หรื อทีเ ห็นสมควรจะดําเนินการนันๆ = เพื อให้ เกิด ประโยชน์สงู สุดแก่บริษัท เว้ นแต่อํานาจในการดําเนินการดังต่อไปนี = จะกระทําได้ ก็ตอ่ เมื อได้ รับอนุมตั ิจากที ประชุมผู้ถือหุ้นก่อน ทังนี = = เรื องที กรรมการมีส่วนได้ เสีย หรื อมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์อื นใดกับบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ให้ กรรมการซึ งมีสว่ นได้ เสีย หรื อมีความขัดแข้ งทางผลประโยชน์ดงั กล่าวไม่มีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในเรื องนัน= (ก) เรื องที กฎหมายกําหนดให้ ต้องได้ รับมติที ประชุมผู้ถือหุ้น (ข) การทํารายการที กรรมการมีสว่ นได้ เสียและอยูใ่ นข่ายที กฎหมาย หรื อข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยระบุให้ ต้องได้ รับอนุมตั ิจากที ประชุมผู้ถือหุ้น

56


เรื องต่อไปนี =จะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากที ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทด้ วยคะแนนเสียงข้ างมากของกรรมการ ที เข้ าร่วมประชุม และจากที ประชุมผู้ถือหุ้นด้ วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทังหมดของผู = ้ ถือหุ้นที เข้ า ประชุมและมีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนน (ก) การขายหรื อโอนกิจการของบริษัททังหมดหรื = อบางส่วนที สาํ คัญ (ข) การซื =อหรื อรับโอนกิจการของบริ ษัทอื นหรื อบริ ษัทเอกชนมาเป็ นของบริ ษัท (ค) การทํ า แก้ ไ ข หรื อ เลิกสัญ ญาเกี ยวกับการให้ เ ช่า กิ จ การของบริ ษัท ทัง= หมดหรื อบางส่วนที สํา คัญ การ มอบหมายให้ บุคคลอื นเข้ าจัดการธุรกิจของบริ ษัทหรื อการรวมกิจการกับบุคคลอื นโดยมีวตั ถุประสงค์จะ แบ่งกําไรขาดทุนกัน (ง) การแก้ ไขเพิม เติมหนังสือบริ คณห์สนธิหรื อข้ อบังคับ (จ) การเพิม ทุน การลดทุน การออกหุ้นกู้ การควบหรื อเลิกบริ ษัท (ฉ) การอื นใดที กําหนดไว้ ภายใต้ บทบัญญัติของกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์ และ/หรื อ ข้ อกําหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยให้ ต้องได้ รับความเห็นชอบจากที ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทและที ประชุมผู้ถือ หุ้นด้ วยคะแนนเสียงดังกล่าวข้ างต้ น

2. คณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขตอํานาจหน้ าที ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้ บริ ษัทมีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้ องและเพียงพอ 2. สอบทานให้ บริ ษัทมีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจน ให้ ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง= โยกย้ าย เลิกจ้ างหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรื อหน่วยงาน อื นใดที รับผิดชอบเกี ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้ บริ ษัทปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที เกี ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตังบุ = คคลซึง มีความเป็ นอิสระเพื อทําหน้ าที เป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัท และเสนอ ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทังเข้ = าประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้ าร่ วมประชุมด้ วย อย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง= 5. พิจารณารายการที เกี ยวโยงกันหรื อรายการที อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ให้ เป็ นไปตามกฎหมายและ ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทังนี = = เพื อให้ มนั ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์สงู สุด ต่อบริ ษัท 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจําปี ของบริ ษัท ซึ งรายงานดังกล่าว ต้ องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้ องประกอบด้ วยข้ อมูลอย่างน้ อยดังต่อไปนี = - ความเห็นเกี ยวกับความถูกต้ อง ครบถ้ วน เป็ นที เชื อถือได้ ของรายงานทางการเงินของบริ ษัท - ความเห็นเกี ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริ ษัท

57


- ความเห็นเกี ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ ข้ อกํ าหนดตลาด หลักทรัพย์ หรื อกฎหมายที เกี ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท - ความเห็นเกี ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี - ความเห็นเกี ยวกับรายการที อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ - จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้ าร่ วมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบแต่ละ ท่าน - ความเห็ นหรื อข้ อ สังเกตโดยรวมที ค ณะกรรมการตรวจสอบได้ รั บ จากการปฏิบัติ ห น้ า ที ตามกฏบัต ร (charter) - รายการอื นที เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทัว ไปควรทราบภายใต้ ขอบเขตหน้ าที และความรับผิดชอบที ได้ รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท 7. ปฏิบตั ิการอื นใดตามที คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมายด้ วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ในการปฏิบตั ิหน้ าที ตามวรรคหนึ ง คณะกรรมการตรวจสอบมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ ษัทโดยตรง และคณะกรรมการของบริ ษัทยังคงมีความรับผิดชอบในการดําเนินงานของบริ ษัทต่อบุคคลภายนอก 3. คณะกรรมการบริหาร ขอบเขตอํานาจหน้ าที ของคณะกรรมการบริ หาร 1. คณะกรรมการบริ หารมีอํานาจในการกําหนด นโยบาย เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนการดําเนินงาน งบประมาณ ประจําปี ทังนี = =ให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์การประกอบกิจการของบริ ษัทและในการบริ หารกิจการของบริ ษัท ดังกล่าวจะต้ องเป็ นไปตามนโยบาย ข้ อบังคับ หรื อคําสัง ใดๆที คณะกรรมการบริ ษัทกําหนด นอกจากนี = ให้ คณะกรรมการบริ หารมีหน้ าที ในการพิจารณา กลัน กรอง ตรวจสอบ ติดตามเรื องต่างๆ ที จะนําเสนอต่อ คณะกรรมการบริ ษัทเพื อพิจารณาอนุมตั ิหรื อให้ ความเห็นชอบ 2. คณะกรรมการบริ หารมีอํานาจในการกําหนดโครงสร้ างองค์กรและการบริ หารจัดการที มีประสิทธิภาพ โดยครอบคลุมทังเรื = องการคัดเลือก การฝึ กอบรม สวัสดิการ การว่าจ้ าง และการเลิกจ้ างพนักงานของบริ ษัทฯ 3. คณะกรรมการบริ หารอาจแต่งตังหรื = อมอบหมายให้ บุคคลใดบุคคลหนึ งหรื อหลายคนกระทําการอย่างหนึ ง อย่ า งใดแทนคณะกรรมการบริ ห ารตามที เ ห็ น สมควรได้ และคณะกรรมการบริ ห ารสามารถยกเลิ ก เปลีย นแปลง หรื อ แก้ ไขอํานาจนันๆ = ได้

11.3 การสรรหาและแต่ งตัง. กรรมการและผู้บริ หารระดับสูงสุด

การสรรหากรรมการและผู้บริหาร 1.คณะกรรมการบริษัท สําหรับการคัดเลือกบุคคลที จะเข้ าดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการของบริ ษัทฯไม่ได้ ผา่ นการสรรหาจากคณะกรรมการ สรรหา การสรรหากรรมการเป็ นหน้ าที และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษัทฯ ซึ งจะพิจารณาคัดเลือกตามเกณฑ์ คุณสมบัติตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจํากัด พ.ศ.2535 และตามประกาศคณะกรรมการกํ ากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที เกี ยวข้ อง นอกจากนี =ยังพิจารณาคัดเลือกกรรมการจากผู้ทรงคุณวุฒิที มีพื =นฐานและ 58


ความเชี ยวชาญจากหลากหลายด้ านซึ งจะส่งผลดีต่อการดําเนินงานของบริ ษัทฯ ในการให้ คําแนะนํา ข้ อคิดเห็นในเรื อง ต่างๆ ในมุมมองของผู้ที มีประสบการณ์ตรง มีภาวะผู้นํา วิสยั ทัศน์กว้ างไกล มีคณ ุ ธรรมและจริ ยธรรม มีประวัติการทํางานที โปร่ งใส และมีความสามารถในการแสดงความคิดเห็นอย่างเป็ นอิสระ จากนัน= จึงนํารายชื อเสนอที ประชุมผู้ถือหุ้นเพื อ พิจารณาแต่งตัง= ในการเลือกตังคณะกรรมการของบริ = ษัทฯ จะกระทําโดยที ประชุมผู้ถือหุ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี = (ก) ผู้ถือหุ้นคนหนึง มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง หุ้นต่อหนึง เสียง (ข) ในการเลือกตังกรรมการบริ = ษัท วิธีการออกเสียงลงคะแนน อาจใช้ การลงคะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ไู ด้ รับการเสนอ ชื อเป็ นรายบุคคล หรื อหลายคนในคราวเดียวกันแล้ วแต่ที ประชุมผู้ถือหุ้นจะเห็นสมควร แต่ในการออกเสียง ลงคะแนนหรื อมีมติใดๆ ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้ สิทธิ ตามคะแนนเสียงที มีอยู่ทงหมดตามข้ ั= อ 1 แต่จะแบ่ง คะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ใู ดมากน้ อยเพียงใดไม่ได้ (ค) บุคคลซึง ได้ รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเป็ นผู้ได้ รับการเลือกตังเป็ = นกรรมการเท่าจํานวนกรรมการ ที จะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตังในครั = ง= นัน= ในกรณีที บคุ คลซึ งได้ รับการเลือกตังในลํ = าดับถัดลงมามีคะแนนเสียง เท่ากันเกินจํานวนกรรมการที จะพึงมีหรื อพึงเลือกตังในครั = ง= นันให้ = ผ้ เู ป็ นประธานเป็ นผู้ออกเสียงชี =ขาด นอกจากนี = ในการประชุมสามัญประจําปี ทุกครัง= ให้ กรรมการออกจากตําแหน่ง 1 ใน 3 ถ้ าจํานวนกรรมการที จะ ออกไม่อาจแบ่งให้ ตรงเป็ นจํานวนได้ ก็ให้ ออกโดยจํานวนใกล้ เคียงที สดุ กับสัดส่วน 1 ใน 3 กรรมการซึง พ้ นจากตําแหน่งแล้ ว อาจได้ รับเลือกเข้ ารับตําแหน่งอีกก็ได้ กรรมการที จะต้ องออกจากตําแหน่งในปี แรกและปี ที สองภายหลังจดทะเบียนบริ ษัทฯ นันให้ = ใช้ วิธีจับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนในปี หลังๆต่อไปให้ กรรมการคนที อยู่ในตําแหน่งนานที สดุ นันเป็ = นผู้ออกจาก ตําแหน่ง กรรมการที ออกตามวาระนันอาจถู = กเลือกเข้ ามาดํารงตําแหน่งใหม่ได้ กรณี ที ตํ าแหน่ง กรรมการว่า งลงเพราะเหตุอื นนอกจากถึงคราวออกตามวาระให้ ก รรมการเลือ กบุค คลซึ ง มี คุณสมบัติและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ าม ตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เข้ าเป็ นกรรมการ แทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้ นแต่วาระของกรรมการเหลือน้ อยกว่า 2 เดือน บุคคลซึ งเข้ าเป็ นกรรมการ แทนดังกล่าวจะอยู่ในตําแหน่งกรรมการได้ เพียงเท่าวาระที ยังเหลืออยู่ของกรรมการซึ งตนแทนและต้ องได้ รับมติของ คณะกรรมการด้ วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของกรรมการที ยงั เหลืออยู่ นอกจากนี = คณะกรรมการบริ ษัทต้ องประกอบด้ วยกรรมการอิสระอย่างน้ อย 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทังหมด = ของบริ ษัท แต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน คํานิยาม “กรรมการอิสระ” “กรรมการอิสระ” คือบุคคลที ไม่มีส่วนเกี ยวข้ องใดๆทังสิ = =นกับการบริ หารงานบริ ษัทฯ และ/หรื อการดําเนิน ธุรกิจของบริ ษัทฯ เป็ นบุคลที มีความเป็ นอิสระจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่และผู้บริ หารของบริ ษัทฯ รวมทังญาติ = สนิทของ บุคคลเหล่านัน= และสามารถแสดงความเห็นได้ อย่างเป็ นอิสระ โดยคํานึงถึงผลประโยชน์ของบริ ษัทฯและผู้ถือหุ้นเป็ น สําคัญ (ก) คุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระ 1. เป็ นบุคคลที มีคณ ุ สมบัติไม่ขดั ต่อกฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ รวมทังกฎหมายต่ = างๆที เกี ยวข้ อง 2. ถือหุ้นไม่เกินร้ อยละ 1 ของจํานวนหุ้นที มีสทิ ธิออกเสียงทังหมดของบริ = ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบคุ คลที อาจมีความขัดแย้ ง โดยให้ นบั รวมหุ้นที ถือโดยผู้ที เกี ยวข้ องด้ วย

59


3. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการที มีสว่ นร่วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนักงาน ที ปรึกษาที ได้ เงินเดือนประจํา หรื อผู้มี

อํานาจควบคุมของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม บริ ษัทย่อยลําดับเดียวกัน หรื อนิติบคุ คลที อาจ มีความขัดแย้ ง เว้ นแต่จะได้ พนั จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที ได้ รับการแต่งตัง=

4. ไม่เป็ นบุคคลที มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที เป็ น บิดา

มารดา คู่สมรส พี น้อง และบุตร รวมทังคู = ่สมรสของบุตร ของผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอํานาจควบคุม หรื อบุคคลที จะได้ รับการเสนอให้ เป็ นผู้บริ หารหรื อผู้มีอํานาจควบคุม ของบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย

5. ไม่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วมหรื อนิติบุคคลที อาจมี ความขัดแย้ ง ในลักษณะที อาจเป็ นการขัดขวางการใช้ วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทังไม่ = เป็ นผู้ถือหุ้น

รายใหญ่ กรรมการซึ งไม่ใช่กรรมการอิสระ หรื อผู้บริ หาร ของผู้ที มีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัท

ใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบุคคลที อาจมีความขัดแย้ ง เว้ นแต่ได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที ได้ รับการแต่งตัง=

6. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบคุ คลที อาจมีความ ขัดแย้ ง และไม่เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริ หาร หรื อหุ้นส่วนผู้จดั การของ

สํานักงานสอบบัญชี ซึ งมีผ้ สู อบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบุคคลที อาจมี ความขัดแย้ งสังกัดอยู่ เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวัน ก่อนวันที

ได้ รับการแต่งตัง=

7. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพใดๆ ซึ งรวมถึงการให้ บริ การเป็ นที ปรึ กษากฎหมายหรื อที ปรึ กษา ทางการเงิน ซึง ได้ รับค่าบริ การเกินกว่าสองล้ านบาทต่อปี จากบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อ

นิติบคุ คลที อาจมีความขัดแย้ ง รวมทังไม่ = เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริ หาร หรื อหุ้นส่วนผู้จดั การ ของผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพนันด้ = วย เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที ได้ รับการแต่งตัง=

8. ไม่เป็ นกรรมการที ได้ รับแต่งตังขึ = =นเพื อเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริ ษัทผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้ถือหุ้นซึ ง เป็ นผู้ที เกี ยวข้ องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัท

9. ไม่มีลกั ษณะอื นใดที ทําให้ ไม่สามารถให้ ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกี ยวกับการดําเนิน งานของบริ ษัท

10. ไม่ประกอบกิจการที มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที มีนยั กับกิจการของผู้ขอนุญาตหรื อบริ ษัท

ย่อย หรื อไม่เป็ นหุ้นส่วนที มีนยั ในห้ างหุ้นส่วน หรื อเป็ นกรรมการที มีสว่ นร่ วมบริ หารงานลูกจ้ าง พนักงาน ที

ปรึ กษาที รับเงินเดือนประจํา หรื อถือหุ้นเกินร้ อยละหนึ งของจํานวนหุ้นที มีสิทธิออกเสียงทังหมดของบริ = ษัท

อื น ซึ งประกอบกิจการที มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที มีนยั กับกิจการของผู้ขออนุญาตหรื อ บริ ษัทย่อย

60


11. กรรมการอิสระจะต้ องรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษัทฯ โดยทันทีหากเห็นว่ามีเหตุการณ์ใดๆที อาจจะทําให้ ตนต้ องขาดคุณสมบัติความเป็ นอิสระในฐานะกรรมการอิสระ

ภายหลังได้ รับการแต่งตังให้ = เป็ นกรรมการอิสระที มีลกั ษณะเป็ นไปตามคุณสมบัติข้างต้ นแล้ วกรรมการอิสระ อาจได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ ตดั สินใจในการดําเนินกิจการของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม บริ ษัทย่อยลําดับเดียวกัน หรื อนิติบคุ คลที อาจมีความขัดแย้ ง โดยมีการตัดสินใจในรู ปแบบขององค์คณะ (Collective decision) ได้ 2. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ ษั ทหรื อ ที ประชุม ผู้ถื อ หุ้น ของบริ ษั ทเป็ นผู้มีอํ า นาจแต่งตัง= คณะกรรมการตรวจสอบขึน= ซึ ง คณะกรรมการตรวจสอบจะต้ องมีคณ ุ สมบัติตามที กฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงประกาศ ข้ อบังคับ และ/ หรื อระเบียบของตามหลักเกณฑ์ที สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กําหนด โดยมีจํานวนไม่ น้ อยกว่า 3 คน ทังนี = = กรรมการตรวจสอบอย่างน้ อย 1 คน ต้ องเป็ นผู้มีความรู้ด้านบัญชีและการเงิน 3. คณะกรรมการบริหาร

องค์ประกอบและคุณสมบัติ 1.1 คณะกรรมการบริ หารประกอบด้ วย ประธานเจ้ าหน้ าที บริ หารโดยตําแหน่ง และบุคคลอื นอีก ไม่เกิน 4 คน ตามที ประธานเจ้ าหน้ าที บริ หารเสนอชื อ โดยต้ องได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริ ษัท ทังนี = =ให้ คณะกรรมการบริ หาร คัดเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ งในคณะกรรมการบริ หารด้ วยกัน เป็ นประธานกรรมการบริ หารและอีกบุคคลหนึ งเป็ นรอง ประธานกรรมการบริ หาร 1.2 คณะกรรมการบริ หารเป็ นผู้แต่งตังเลขานุ = การคณะกรรมการบริ หาร โดยให้ เลขานุการคณะกรรมการบริ หาร มี หน้ าที จดั การประชุมคณะกรรมการบริ หาร รวบรวมเอกสารที ใช้ ในการประชุม รวมทังทํ = ารายงานการประชุมนําเสนอต่อที ประชุมทุกครัง= 1.3 คณะกรรมการบริ หารจะต้ องจัดให้ มีการประชุมตามที เห็นสมควร แต่ต้องไม่น้อยกว่า 1 ครัง= ต่อเดือน 1.4 ประธานคณะกรรมการบริ หารเป็ นผู้เรี ยกประชุมคณะกรรมการบริ หาร กรณีที ประธานกรรมการบริ หารไม่สามารถ ปฏิบตั ิหน้ าที ได้ ให้ รองประธานกรรมการบริ หารเป็ นผู้เรี ยกประชุมคณะกรรมการบริ หารแทน วาระการดํารงตําแหน่ง 2.1 กรณีกรรมการบริ หารที เป็ นกรรมการบริ ษัท ให้ มีวาระการดํารงตําแหน่งตามวาระที ดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการบริ ษัท 2.2 กรณีกรรมการบริ หารที เป็ นผู้บริ หารของบริ ษัท ให้ มีวาระการดํารงตําแหน่งเท่าที ดํารงตําแหน่งเป็ นผู้บริ หารของบริ ษัท 2.3 กรณีกรรมการบริ หารที เป็ นบุคคลภายนอกอื นซึ งมิได้ ดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการหรื อผู้บริ หารของบริ ษัทหรื อเป็ น บุคคลภายนอกอื น ให้ มีวาระการดํารงตําแหน่งตามที คณะกรรมการบริ ษัทจะมีมติ

11.4 การปฐมนิเทศกรรมการใหม่

ในการเข้ ารับตําแหน่งกรรมการบริ ษัท/ กรรมการอิสระ กรรมการแต่ละท่านจะได้ รับคู่มือกรรมการและรับทราบ ข้ อมูลต่างๆที สาํ คัญเกี ยวกับบริ ษัท ทังข้ = อบังคับบริ ษัทที ระบุถึงขอบเขต หน้ าที และความรับผิดชอบของกรรมการ คําแนะนํา

61


ทางด้ านกฎหมาย กฎระเบียบ และเงื อนไขต่างๆในการเป็ นกรรมการบริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงได้ รับความรู้ความเข้ าใจเกี ยวกับธุรกิจของบริ ษัท

11.5 การดูแลเรื# องการใช้ ข้อมูลภายใน

บริ ษัทได้ กําหนดนโยบายเรื องการใช้ ข้อมูลภายในของบริ ษัทเพื อป้องกันการใช้ ข้อมูลภายในบริ ษัท ซึง ยังไม่ได้ เปิ ดเผยต่อสาธารณชนไปเปิ ดเผยหรื อแสวงหาประโยชน์แก่ตนเอง หรื อเพื อประโยชน์แก่บคุ คลอื นไม่วา่ โดยทางตรงหรื อโดย ทางอ้ อม และไม่วา่ จะได้ รับผลประโยชน์ตอบแทนหรื อไม่ก็ตาม และอาจเป็ นเหตุให้ สง่ ผลกระทบต่อการเคลือ นไหวของ ราคาซื =อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีสาระสําคัญดังนี = 1. ให้ ความรู้แก่กรรมการและผู้บริ หาร ให้ รับทราบเกี ยวกับหน้ าที ที ต้องรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของตน คู่ สมรส และบุต รที ไ ม่บ รรลุนิ ติ ภ าวะ ตามมาตรา 59 รวมถึ ง บทกํ า หนดโทษตามมาตรา 275 แห่ง พรบ.

หลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และตามข้ อกําหนดของ ตลท.

2. กําหนดให้ ผ้ บู ริ หารรายงานการเปลี ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ต่อ กลต. จัดส่งสําเนารายงานดังกล่าว ให้ แก่บริ ษัทในวันเดียวกับวันที สง่ รายงานต่อ กลต.

3. ใช้ บงั คับเมื อได้ ดําเนินการขายหุ้นให้ สาธารณชนเรี ยบร้ อยแล้ ว

บริ ษัทได้ ดําเนินการแจ้ งให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานของบริ ษัททราบว่า ผู้บริ หารและพนักงานของบริ ษัทที ได้ รับทราบ ข้ อมูลทางการเงินของบริ ษัทหรื อข้ อมูลภายในที เป็ นสาระสําคัญ ที มีผลต่อการเปลี ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ต้องหลีกเลี ยง การซื =อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทในช่วง 1 เดือน ก่อนที งบการเงินหรื อข้ อมูลภายในนันจะเปิ = ดเผยต่อสาธารณชน และห้ าม มิให้ เปิ ดเผยข้ อมูลที เป็ นสาระสําคัญนันต่ = อบุคคลอื น หากมีการกระทําที ฝ่าฝื นระเบียบปฏิบตั ิดงั กล่าวข้ างต้ น บริ ษัทจะ ดําเนินการทางวินยั เพื อพิจารณาลงโทษตามสมควรแก่กรณี ได้ แก่ การตักเตือนด้ วยวาจา ตักเตือนด้ วยหนังสือ ตัดค่าจ้ าง พักงาน เลิกจ้ างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย หรื อดําเนินคดีตามกฎหมาย

11.6 ค่ าตอบแทนของผู้สอบบัญชี

1. ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี (Audit Fee)

ที ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2556 เมื อวันที 11 เมษายน 2556 ได้ มีมติอนุมตั ิการกําหนดค่าตอบแทน ผู้สอบบัญชีปี 2556 เป็ นจํานวนเงิน 650,000 บาท (หกแสนห้ าหมื นบาท) ที ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2557 เมื อ วันที 28 เมษายน 2557 ได้ มีมติอนุมตั ิการกําหนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีปี 2557 เป็ นจํานวนเงิน 800,000 บาท (แปด แสนบาทถ้ วน) ที ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2558 เมื อวันที 27 เมษายน 2558 ได้ มีมติอนุมตั ิการกําหนด ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีปี 2558 เป็ นจํานวนเงิน 800,000 บาท (แปดแสนบาทถ้ วน) 2. ค่าบริ การอื น ๆ (Non Audit Fee) - ไม่มี –

62


11.7 การปฏิบัตติ ามหลักการกํากับดูแลกิจการที#ดีในเรื# องอื#น ๆ

การเข้ าร่วมการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบปี 2558 ชื)อ – สกุล

1. นางสาววลัยภรณ์

กณิกนันต์

2. นายนิพนั ธ์ 3. นายสันติ

ตังพิ = รุฬห์ธรรม เนียมนิล

ตําแหน่ ง ประธานกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

การประชุมคณะกรรมการ จํานวนครัง5 การ จํานวนครัง5 ที)เข้ าร่ วม ประชุม ประชุม 5

5 5

5

5 5

63


12. ความรั บผิดชอบต่ อสังคม (Corporate Social Responsibilities: CSR) 12.1 นโยบายภาพรวม และการดําเนินงาน

คณะกรรมการบริ ษัทฯมีนโยบายให้ การดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯและบริ ษัทย่อยเป็ นไปด้ วยความ รับผิดชอบต่อ

สังคม สิง แวดล้ อม และกลุม่ ผู้มีสว่ นได้ เสีย โดยในปี 2558 ได้ มกี ารทบทวนวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และ เป้าหมาย เปิ ดเผยใน

เว็บไซต์ของบริ ษัทฯในหัวข้ อ “ข้ อมูลบริ ษัทฯ” เพื อใช้ เป็ นหลักในการประพฤติปฏิบตั ิของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน

โดยการคํานึงถึงสิทธิของ ผู้มีสว่ นได้ เสียทุกกลุม่ ภายใต้ กรอบกฎหมาย ระเบียบปฏิบตั ิของบริษัทฯ ความมีจริ ยธรรม ความ

ยุติธรรมและความเสมอภาค วัตถุประสงค์เพื อให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานของบริ ษัทฯ มีแนวทางในการประพฤติปฏิบตั ิที ถูกต้ องเป็ นที ยอมรับของสังคม ซึง จะส่งผลให้ การประกอบธุรกิจของบริ ษัทฯ เติบโตอย่างยัง ยืน

12.2 แนวทางการดําเนินงาน ภายใต้ ความรั บผิดชอบต่ อสังคมและสิ#งแวดล้ อม (CSR)

บริ ษัทฯ มุง่ หมายทีจ ะดําเนินธุรกิจภายใต้ จรรยาบรรณและการการกํากับดูแลกิจการทีด ี ควบคูไ่ ปกับการใส่ใจ และดูแลรักษาสังคมและสิง แวดล้ อม เพื อที จะนําพาให้ บริ ษัทฯ มีการพัฒนาธุรกิจอย่างยัง ยืน ด้ วยการปฏิบตั ิตามหลักแห่ง ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจหรื อ Corporate Social Responsibility (“CSR”) ซึง บริ ษัทฯ เชื อว่าการสร้ าง “ความ ยัง ยืนขององค์กร (Corporate Sustainability) ”เป็ นสิง สําคัญยิง ในการบริ หารจัดการองค์กรธุรกิจสมัยใหม่ การกําหนด นโยบายของ CSR เพื อให้ ผ้ บู ริหารและพนักงานของบริษัทฯ ใช้ เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิตอ่ ชุมชน สังคม และผู้มีสว่ น เกี ยวข้ อง จะก่อให้ เกิดคุณประโยชน์ในหลายด้ านแก่บริ ษัทฯ เช่น การสร้ างความน่าเชื อถือให้ แก่บริ ษัทฯ การสร้ าง ภาพลักษณ์ของบริ ษัทฯ ที ดีตอ่ สังคม เป็ นต้ น โดยบริ ษัทฯ มีนโยบายและแนวทางการปฏิบตั ิที เป็ นไปตามหลักการ 8 ข้ อ ของแนวทางความรับผิดชอบ ของกิจการที จดั ทําโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังนี = 1. การประกอบกิจการด้ วยความเป็ นธรรม บริ ษัทฯมีการกําหนดข้ อพึงปฏิบตั ิที แสดงถึงการประกอบกิจการด้ วยความเป็ นธรรมกับคู่ค้าและคู่แข่งทางธุรกิจ รวมทัง= การดําเนินธุรกิจตามกฎหมายอย่างเคร่ งครัด เพื อให้ กรรมการผู้บริ หารและพนักงานได้ ปฏิบตั ิ ไว้ ในข้ อกํ าหนด เกี ยวกับจริ ยธรรมทางธุรกิจ (Code of Ethics) ฉบับปี 2558 และในข้ อพึงปฏิบตั ิ (Code of Conduct) ของ ข้ อที 1. นโยบายความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ข้ อที 7. นโยบายในการปฏิบตั ิติอลูกค้ าและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ข้ อที 8. นโยบายและการปฏิบตั ิตอ่ คูค่ ้ าและ/หรื อเจ้ าหนี = และข้ อที 9. นโยบายและการปฏิบตั ิตอ่ คูแ่ ข่งทางการค้ า 2. การต่ อต้ านการทุจริต ข้ อพึงปฏิบตั ิเรื องการต่อต้ านการคอร์ รัปชั น และการร่ วมสร้ างจิตสํานึกที ส่งเสริ มความซื อสัตย์สจุ ริ ตภายใต้ ระบบงานที เข้ มแข็งและระบบการควบคุมภายในที มีประสิทธิ ภาพดังข้ อพึงปฏิบตั ิ ข้ อที 13. นโยบายการต่อต้ านการ คอร์ รัปชัน ฉบับปี 2558 และช่องทางการร้ องเรี ยนหรื อแจ้ งเบาะแสในเรื อง ดังปรากฎในหัวข้ อการติดตามดูแลให้ มีการ ปฏิบตั ิ ข้ อที 3 วิธีการสอบถามข้ อสงสัยและการรายงานในกรณีที สงสัยว่าจะมีการกระทําผิดจริ ยธรรมของบริ ษัท โดยการ รับข้ อร้ องเรี ยน ซึง อาจจะจัดให้ มีหลายช่องทางก็ได้ 64


ทังนี = = ในปี 2558 ไม่มีการร้ องเรี ยน หรื อแจ้ งเบาะแสที เกี ยวข้ องกับการทุจริ ตหรื อคอร์ รัปชัน ต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบแต่อย่างใด 3. การเคารพสิทธิมนุษยชน บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ไม่เกี ยวข้ องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน และไม่เลือกปฏิบตั ิ ระหว่างเพศ ศาสนา เชือ= ชาติ อายุ และถิ นกําเนิด , มีการว่าจ้ างคนพิการทางการได้ ยิน , พิการทางร่ างกาย มาเป็ น พนักงานประจําการจ้ างงานโดยไม่กําหนดเฉพาะเพศใดเพศหนึง ปรากฏดังข้ อพึงปฏิบตั ิ ข้ อที 10. นโยบายและการปฏิบตั ิ ต่อพนักงาน และให้ เสรี ภาพแก่พนักงานในการแสดงความคิดเห็น และการแสดงออกทางการเมืองโดยอิสระ ปรากฏดังข้ อ พึงปฏิบตั ิ ข้ อที 11. นโยบายในการปฏิบตั ิตนของพนักงานและการปฏิบตั ิตอ่ พนักงานอื น หัวข้ อ การใช้ สทิ ธิทางการเมือง 4. การปฏิบัตติ ่ อแรงงานอย่ างเป็ นธรรม แนวปฏิบตั ิที เกี ยวข้ องกับการปฏิบตั ิในเรื องจริ ยธรรมของพนักงาน ในด้ านการปฏิบตั ิต่อตนเอง การปฏิบตั ิต่อ ลูกค้ า ผู้ที เกี ยวข้ องและสังคม การปฏิบตั ิระหว่างพนักงาน การปฏิบตั ิตอ่ องค์กรและการใช้ สทิ ธิทางการเมือง โดยบริ ษัทฯ มี นโยบายในการจ้ างพนักงาน ด้ วยการยึดหลักในการจ้ างแรงงานที ถูกต้ องตามกฎหมาย และให้ การเคารพหลักสิทธิ มนุษยชนของแรงงาน โดยครอบคลุมในเรื องการจ้ างงาน การคุ้มครองทางสังคม เสรี ภาพในการสมาคมทางสังคม สุขภาพ และความปลอดภัย เป็ นต้ น ปรากฏดังข้ อพึงปฏิบตั ิ ข้ อที 11. นโยบายในกรปฏิบตั ิตนของพนักงานและการปฏิบตั ิต่อ พนักงานอื น และการปฏิบัติที เ กี ยวกับการดูแลสภาพแวดล้ อ มในการทํา งานให้ มี ความปลอดภัยต่อชี วิ ต ทรั พย์ สิน และ คุณภาพชีวิตของพนักงานทุกคน รวมทังบริ = ษัทฯ ได้ จดั ให้ มีสวัสดิการ และค่าจ้ างแก่พนักงานของบริ ษัทฯ อย่างถูกต้ องตาม กฎหมายแรงงาน มีการจัดกิจกรรมสันทนาการเพื อการผ่อนคลาย การฝึ กอบรมให้ กบั พนักงานเพื อเพิ มพูนความรู้ การจัด ให้ มีกองทุนสํารองเลี =ยงชีพ เป็ นต้ น นอกจากนี = บริ ษัทฯ ให้ ความเคารพในสิทธิต่างๆ ของพนักงาน โดยไม่มีการกลัน แกล้ ง หรื อข่มขู่ใดๆ เช่น การให้ สิทธิ การลาหยุดพักร้ อน สิทธิในการหยุดลากิจ การให้ สิทธิลาป่ วย การให้ สิทธิในการแสดง ความเห็นต่อนโยบายการปฏิบตั ิงานต่างๆ ซึ งพนักงานสามารถเสนอความเห็นผ่านทางฝ่ ายบุคคลของบริ ษัทฯ หรื อผ่าน ทางผู้บงั คับบัญชาของตนเองได้ ปรากฏดังข้ อพึงปฏิบตั ิ ข้ อที 10. นโยบายและการปฏิบตั ิตอ่ พนักงาน 5. ความรับผิดชอบต่ อผู้บริโภค กลุม่ บริ ษัทฯ ตระหนักยิ งถึงการให้ บริ การที มีประสิทธิ ภาพ เพื อส่งมอบงานต่อลูกค้ าที เป็ นไปตามความความ ต้ องการ ภายในระยะเวลาที กําหนดภายใต้ มาตรฐานความปลอดภัยอย่างยิ งงวด ปรากฏดังข้ อพึงปฏิบตั ิ ข้ อที 7. นโยบาย ในการปฏิบตั ิต่อลูกค้ าและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ บริ ษัทฯ มีการสํารวจความพึงพอใจของลูกค้ าเป็ นประจําทุกปี เดือน โดยการใช้ แบบสอบถามความพึงพอใจของลูกค้ า ซึง แบ่งออกเป็ น 4 แผนกที ประเมิน คือ แผนกขาย , แผนกผลิต , แผนก วางแผน/จัดส่ง และแผนกคุณภาพ โดยครอบคลุมต่างๆ ดังต่อไปนี = 1.การให้ ข้อมูลก่อนรับงาน 2. การติดต่อสือ สาร 3. ความพร้ อมของเอกสารสนับสนุน 4. การประสานแก้ ไขปั ญหาและความสะดวกรวดเร็ ว 5. การส่งมอบตรงเวลา 6. งานถูกต้ องตามความต้ องการในการจัดส่งและเอกสารที เกี ยวข้ อง 65


7. ความสะอาด/เรี ยบร้ อยของบรรจุภณ ั ฑ์ 8. ความพึงพอใจในคุณภาพของสินค้ า และความเห็นจากลูกค้ าจะถูกนําเสนอต่อฝ่ ายจัดการ เพื อรับทราบ และใช้ เป็ นแนวทางในการพัฒนาและ ปรับปรุงการให้ บริ การที สามารถตอบสนองความพอใจของลูกค้ าให้ ดียิ งขึ =น การให้ ความเอาใจใส่ตอ่ การให้ บริ การแก่ลกู ค้ า ด้ วยการติดตามผลการปฏิบตั ิงานว่าเป็ นไปตามเป้าหมายหรื อไม่ โดยการให้ บริ การต่างๆ แก่ลกู ค้ าจะต้ องเป็ นไปด้ วยความระมัดระวัง รอบคอบ ถูกต้ องตามหลักของกฎหมาย และ กฎระเบียบต่างๆ ที เกี ยวข้ องรวมทังหากมี = ปัญหาใดๆ จะต้ องร่ วมกันกับลูกค้ าในการหารื อ เพื อกําหนดแนวทางแก้ ไข หาทางออกร่วมกัน โดยไม่ปล่อยให้ ลกู ค้ ารับภาระหรื อแก้ ไขปั ญหาแต่เพียงผู้เดียวผลสําเร็ จของการบริ หารงานของบริ ษัทฯ มาจากความพึงพอใจของลูกค้ าเป็ นสําคัญ บริ ษัทฯ จึงต้ องสร้ างความสัมพันธ์ ที ดีต่อลูกค้ าด้ วยการปฏิบตั ิต่อลูกค้ าใน แนวทางต่างๆ ปรากฏดังข้ อพึงปฏิบตั ิ ข้ อที 7. นโยบายในการปฏิบตั ิตอ่ ลูกค้ าและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ หัวข้ อ นโยบาย การปฏิบตั ิตอ่ ลูกค้ า สรุปคะแนนความพึงพอใจของลูกค้ าต่อการดําเนินงานบริ ษัท รายละเอียดดังต่อไปนี = หน่ วยงาน วางแผน ควบคุมคุณภาพ

ขาย

ผลิต

จัดส่งตรงเวลา

ความสะอาดและ ความสมบูรณ์ของ บรรจุภณ ั ฑ์ A A การตอบสนองต่อ การดําเนินการ ปั ญหา ป้องกันและแก้ ไข B B ความรวดเร็ วใน ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม แ ล ะ กา รทํ า ใบ เส น อ สนับสนุน ราคา B A ความรวดเร็ วใน ให้ ความร่ วมมือใน การทํ า งานและ การแก้ ไขปั ญหา การประสานงาน B A

การจัดส่ง ผลิตภัณฑ์อย่าง ถูกต้ อง A ผู้เข้ าร่วมและ สนับสนุน B ให้ ความร่ วมมื อใน การแก้ ไขปั ญหา B ความถู ก ต้ อ งของ เอกสาร

ความถูกต้ องของ เอกสาร

ผู้เข้ าร่วมและ สนับสนุน

B A ให้ ความร่ วมมือใน ความพึงพอใจใน การแก้ ไขปั ญหา ผลิตภัณฑ์ B B ความถูกต้ อ งของ การเปรี ยบเทียบ เอกสาร ราคากับรายอื'น B

ให้ ความร่ วมมือ ในการแก้ ไข ปั ญหา B

A

A

6. การมีส่วนร่ วมพัฒนาชุมชนและสังคม บริ ษัทฯ มีความมุ่งมัน ในการดําเนินงานด้ วยความรับผิดชอบต่อผลกระทบในด้ านต่างๆที เกิดจากการประกอบ กิ จ การขององค์ กร โดยยึด หลัก การดํา เนิน ธุ รกิ จ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ มี จริ ย ธรรม เคารพต่อหลักสิท ธิ ม นุษยชนและ ผลประโยชน์ของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย คํานึงผลกระทบต่อชุมชนและสิ งแวดล้ อม เพื อสร้ างรากฐานของความรับผิดชอบต่อ สังคมอย่างต่อเนื องและยั งยืน ปรากฏดังข้ อพึงปฏิบัติ ข้ อที 12. นโยบายความรั บผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม โดยผ่าน กิจกรรมและโครงการต่างๆ ดังนี = การดําเนินธุรกิ จของบริ ษัทฯ มุ่งมัน ที จะเป็ นสมาชิกที ดีต่อสังคมและผู้มีส่วนได้ เสียของบริ ษัทและการดําเนิน ธุรกิจได้ ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ร่ วมแบ่งปั นผลเพื อตอบแทนและสร้ างสรรค์ชุมชนและสังคม เพื อให้ ธุรกิจ ชุมชน และสังคมเติบโตคูก่ นั อย่างยัง ยืน โดยผ่านกิจกรรมและโครงการต่างๆ ดังนี = 66


1. กิจกรรม Happy Society ซังโกะปั นรักให้ โลก

บริ ษัทฯ จัดกิจกรรม Happy Society ซังโกะปั นรักให้ โลก ซึง เป็ นส่วนหนึง ของกิจกรรม Happy Workplace โดย รับบริ จาคอุปกรณ์ไฟฟ้ าทีใ ช้ แล้ ว หนังสือ เสื =อผ้ า และเครื องใช้ ตา่ งๆ ไปให้ แก่มลู นิธิกระจกเงา เพื อนําไปมอบให้ กบั ผู้ยากไร้ ต่อไป เมื อวันที 27 มีนาคม 2558

2. กิจกรรมบริจาคโลหิต ประจําปี 2558

พนักงานของบริษัทและบุคคลทัว ไปได้ ร่วมบริ จาคโลหิตให้ กบั เหล่ากาชาดจังหวัดระยองและธนาคารเลือด โรงพยาบาลระยอง จังหวัดระยอง โดยกิจกรรมนี =จัดขึ =นภายในโรงงาน ณ อาคารศูนย์การเรี ยนรู้ เมือ วันที 30 มิถนุ ายน 2558 โดยได้ รับปริ มาณโลหิต จํานวน 39,960 ซีซี. และมีผ้ ทู ี สามารถบริ จาคโลหิตได้ จํานวน 81 ราย

3. ร่ วมสนับสนุนกิจกรรมงานวันเด็ก บริ ษัทฯ ได้ นําอุปกรณ์การเรี ยน ขนมและไอศกรี มไปแจกให้ กบั เด็กๆในโรงเรียนละแวกใกล้ เคียง จํานวน 3 โรงเรี ยน ได้ แก่ โรงเรี ยนวัดหนองกรับ โรงเรี ยนบ้ านหินโค่งประชานุเคราะห์ และโรงเรียนบ้ านคลองยายเมือง เมื อวันที 9 มกราคม 2558 4. โครงการวัดสร้ าง คนสร้ างชาติ พุทธศาสน์ สร้ างใจ บริ ษัทฯร่ วมกับสมาคมส่งเสริ มเทคโนโลยี (ไทย-ญี ปน) ุ่ หรื อ ส.ส.ท. และ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ าง เสริ มสุขภาพ (สสส.) ได้ จดั กิจกรรม 5ส เพื อพัฒนาวัดมีภมู ิทศั น์ที สะอาดตาร่ มรื น น่ามอง ทังยั = งสร้ างความสุขกายและสุข 67


ใจแก่ผ้ พู บเห็น โดยโครงการนี =เริ มดําเนินการตังแต่ = เดือนธันวาคม 2557 ถึง เดือนมิถนุ ายน 2558 ระยะเวลา 7 เดือน ณ วัดปิ บผลิวนาราม ต.หนองบัว อ.บ้ านค่าย จ. ระยอง

7. การดูแลรักษาสิ)งแวดล้ อม บริ ษัทฯ มีความมุง่ มัน ในการดําเนินงานด้ านการจัดการสิง แวดล้ อม ซึง เป็ นสิง ทีต ้ องดําเนินการควบคูไ่ ปกับการ ดําเนินธุรกิจเช่นเดียวกัน โดยมุง่ ผลิตชิ =นส่วนอะไหล่รถยนต์ที ที มีคณ ุ ภาพ ความปลอดภัยต่อผู้บริ โภค คํานึงถึงผลกระทบ ต่อชุมชนและสิง แวดล้ อม โดยปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้ อกําหนดอื นๆ หรื อแนวปฏิบตั ิสากลที เกี ยวข้ อง ปรากฏดังข้ อพึง ปฏิบตั ิ ข้ อที 12. นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม นอกจากนี = บริ ษัทฯ ยังมีนโยบายบริ หารการจัดการด้ านสิง แวดล้ อม (ISO 14001) เพื อลดผลกระทบซึง อาจจะ เกิดขึ =นจากกระบวนการผลิตหรื อกิจกรรมต่างๆ โดยยึดถือเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิทเี ป็ นมิตรต่อสิง แวดล้ อม ด้ วยการ ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้ อกําหนดอื นๆที เกี ยวข้ องอย่างเคร่งครัด อันจะนําไปสูก่ ารสร้ างความยัง ยืนอย่างแท้ จริ งต่อองค์กร ชุมชนและสังคม โดยมีการปฏิบตั ิ ดังนี = 1. บริ ษัทฯ ได้ รับการรับรองตามมาตรฐาน ISO 14001 ซึง ครอบคลุมทุกพื =นที ของบริษัทฯ โดย ได้ รับการตรวจสอบจากผู้ตรวจประเมินภายนอก ซึง มีความเป็ นอิสระจากสถาบัน URS 2. บริ ษัทฯ ได้ รับเข้ าร่วมในโครงการการบริ หารจัดการสิง แวดล้ อมที กอ่ ให้ เกิดกําไร (Profitable

Environmental Management: PREMA) ภายใต้ โครงการส่งเสริมอุตสาหกรรมชิ =นส่วนยานยนต์สเี ขียวและองค์กรความ ร่วมมือระหว่างประเทศเยอรมัน (GIZ) โดยมีการจัดทํามาตรการประหยัดดังนี = 1.) กําหนดปริ มาณการใส่ผง Fluxที เหมาะสมต่อการใช้ งาน 2.) นํากลับมาหลอมใช้ ใหม่เป็ นแท่ง Ingot ที พร้ อมใช้ งาน (Re-cycle)

3.) นําไปผ่านขบวนการ Recycle เพื อเป็ นแท่ง Al Ingot ที พร้ อมใช้ งาน

4.) ดัดแปลงรางวางชิ =นงานเป็ นแบบประหยัดพลังงาน

5.) ออกแบบการจัดวางตําแหน่งของพัดลมให้ ใช้ งานได้ เต็มที

6.) อากาศที เข้ าไปผสมน้ อยหรื อมากเกินไป ทําให้ เกิดการเผาไหม้ ไม่สมบูรณ์และความร้ อนบางส่วนสูญเสีย

รวมประหยัดสุทธิ 55,443,077.58 บาท/ปี และลดการปลดก๊ าซ CO2 ลงได้ 4,193.42 Ton CO2e/kg ต่อปี

3. ในปี 2558 บริ ษัทฯ ไม่มขี ้ อร้ องเรียนด้ านสิง แวดล้ อม หรื อการดําเนินการที ไม่สอดคล้ องตาม

กฎหมายทังจากภายในและภายนอก =

68


8. การมีนวัตกรรมและการเผยแพร่ นวัตกรรมจากการดําเนินความรับผิดชอบต่ อสังคม บริ ษัทฯ ได้ นําความรู้ ความคิดสร้ างสรรค์ และประสบการณ์จากการ ดําเนินธุรกิจ มาพัฒนาปรับใช้ และคิดค้ นให้ เกิดนวัตกรรมทางธุรกิจที สามารถ สร้ างประโยชน์เพิ มขีดความสามารถในการแข่งขัน สร้ างมูลค่าเพิ มต่อธุรกิ จ และสังคมไปพร้ อมๆกัน โดยบริ ษั ทฯ ได้ กํา หนดไว้ ใ นพันธกิ จหลัก 1 ใน 3 หัวข้ อหลักที สําคัญ กล่าวคือ ในปี 2558 ได้ จดั ทําโต๊ ะเป่ าชิ =นงานในส่วนงาน แผนกฉีดขึ =นรู ป เพื อให้ ใช้ ไฟฟ้ าน้ อยที สดุ โดยสามารถลดการใช้ ไฟฟ้ าได้ 8, 773.44 บาทต่อปี ต่อ 1 โต๊ ะ หรื อคิดเป็ นเงิน 157,921.92 บาทต่อปี ต่อ18 โต๊ ะที ใช้ งาน

9. การจัดทํารายงานด้ านสังคมและสิ)งแวดล้ อม บริ ษัทฯ ได้ ให้ ความสําคัญกับการเปิ ดเผยข้ อมูลที สะท้ อนให้ เห็นถึงการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ที กล่าวมาอย่างครบถ้ วน โดยข้ อมูลนี =จะเป็ นประโยชน์ต่อผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียทุกฝ่ าย ซึ งทางบริ ษัทฯ ได้ จดั ทํารายงานความ ยัง ยืน (Sustainable Development Report: SD Report) และรายงานเปิ ดเผยการดําเนินงานด้ านสังคมและสิ งแวดล้ อม โดยระบุไว้ ในรายงานประจําปี (56-1) และได้ เผยแพร่ ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ www.sankothai.net โดยมีเนื =อหาครอบคลุม ดังนี = 1. การดําเนินงานด้ านเศรษฐกิจ

บริ ษัทฯ ดําเนินธุรกิ จอย่างถูกต้ องตามกฎหมายและกฎระเบียบที เกี ยวข้ อง มีความโปร่ งใสเปิ ดเผยข้ อมูลที สําคัญ ตรวจสอบได้ ปฏิบตั ิตามนโยบายการกํากับกิจการที ดี โดยคํานึงผลประโยชน์ที จะเกิดขึ =นกับผู้ถือหุ้น พนักงาน ชุมชน สังคม คูค่ ้ า ลูกค้ า คูแ่ ข่งทางการค้ า และผู้ที มีสว่ นได้ สว่ นเสียทุกฝ่ าย 2. การดําเนินงานด้ านสิง แวดล้ อมและความปลอดภัย

บริ ษัทฯ มุง่ มัน ในการดําเนินการด้ านสิ งแวดล้ อมและความปลอดภัย โดยคํานึงถึงความปลอดภัยในการทํางาน สุขภาพอนามัยที ดีของพนักงานและร่วมกันรักษาสิง แวดล้ อมทังภายในและภายนอกโรงงาน = โดยถือเป็ นส่วนหนึ งของการ ดําเนินธุรกิจ จึงได้ จดั ให้ มีระบบการจัดการด้ านสิ งแวดล้ อม (ISO 14001) ระบบการจัดการด้ านอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย (OHSAS/TIS 18001) รวมทังมี = กระบวนการจัดการของเสียจากกระบวนการผลิตที เป็ นไปตามกฎหมายและ สอดคล้ องกับข้ อกําหนดอื นๆ ที เกี ยวข้ อง 3. การดําเนินงานด้ านสังคม

บริ ษัทฯ ปฏิบตั ิตอ่ พนักงานอย่างเป็ นธรรมทังในเรื = อง การจัดจ้ างโดยไม่ละเมิดสิทธิขนพื ั = =นฐาน การให้ ผลตอบแทน ที เหมาะสม การจัดสวัสดิการในการทํางานที ตอบสนองต่อความต้ องการของพนักงาน การพัฒนาศักยภาพของพนักงาน ให้ สอดคล้ อง กับค่านิยมขององค์กร และยังมีโครงการรับนักศึกษาฝึ กงานและสหกิจศึกษาของนักศึกษาสายช่างเทคนิค ของวิทยาลัยเทคนิคของจังหวัดระยองด้ วย

69


13. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี ยง

13.1. การประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในโดยคณะกรรมการบริษัท

ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครั ง= ที 2/2559 เมื อวันที 24 กุมภาพันธ์ 2559 โดยมีคณะกรรมการ ตรวจสอบเข้ าร่ วมประชุมทัง= 3 ท่าน ได้ ให้ ความเห็นเกี ยวกับการควบคุมภายในของบริ ษัท และพิจารณาอนุมตั ิตอบแบบ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ทัง= 5 ส่วน ดังนี = 1. สภาพแวดล้ อมการควบคุม (Control Environment) 2. การประเมินความเสีย ง (Risk Assessment) 3. มาตรการควบคุม (Control Activities) 4. ระบบสารสนเทศและการสือ สารข้ อมูล (Information and Communication) 5. ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) โดยคณะกรรมการเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทมีความเพียงพอและเหมาะสม โดยบริ ษัทได้ จดั ให้ มี บุคลากรอย่างเพียงพอที จะดําเนินการตามระบบได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยรายละเอียดของแบบประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายในของบริ ษัท สามารถดูได้ ใน เอกสารแนบที 3 แบบประเมินความเพียงพอของระบบควบคุม ภายใน นอกจากนี =ผู้สอบบัญชีของบริ ษัทคือ บริ ษัท พีวี ออดิท จํากัด ซึ งเป็ นผู้ตรวจสอบงบการเงิ นรายไตรมาสและ ประจําปี 2558 ผู้สอบบัญชีของบริ ษัทได้ ทําการประเมินระบบบัญชีและระบบบควบคุมภายในด้ านบัญชีของบริ ษัท ซึ ง ผู้สอบบัญชีได้ มีการตังข้ = อสังเกตสําหรับระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทในการตรวจสอบงบการเงิน และมีการติดตาม ผลการแก้ ไขตามข้ อสังเกตดังกล่าว โดยสามารถสรุปประเด็นที มีสาระสําคัญ ได้ ดงั นี = ประเด็นข้ อสังเกต คําชี =แจงและการดําเนินการของ บริ ษัท 1)บริ ษัทได้ จดั ส่งรายละเอียดประกอบงบการเงินดังต่อไปนี = ล้ าช้ า เนื องจากปั ญหาเรื องของบุคลากร - รายละเอียดการคํานวณภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี ในหน่ ว ยงานบั ญ ชี ได้ ลาออก -รายละเอียดการคํานวณภาษี เงินได้ กะทันหัน จํานวน 1 ท่าน เป็ นระดับ -รายละเอียดการคํานวณมูลค่ายุติธรรมของสิทธิเลือกซื =อหุ้นของพนักงาน ผู้จัด การฝ่ าย จึ ง ส่ง ผลกระทบต่ อ -รายละเอียดงบทดลอง การส่งเอกสารล่าช้ า ณ ปั จจุบนั ได้ -รายละเอียดบัญชีแยกประเภท ทําการสรรหาพนักงานระดับผู้ช่วย -รายงานกําไรขันต้ = นแยกตามกลุม่ สินค้ า ผู้ จั ด การฝ่ ายทดแทนได้ แล้ ว 1 -รายงานเปรี ยบเทียบต้ นทุนตามนํ =าหนักผลิตกับนํ =าหนัก ขาย อัต รา ในส่ว นของระดับ ผู้จัด การ -รายละเอียดประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน ฝ่ าย อยู่ในระหว่างการสรรหา และ -รายละเอียดผลประโยชน์พนักงาน หากสรรหาได้ ครบ การส่งเอกสาร จะเป็ นไปตามเวลาที กําหนด 2)บริ ษัทอยู่ระหว่างการเก็ บข้ อมูลเพื อปรั บปรุ งข้ อมูลกํ าลังการผลิตปกติให้ เป็ น 1)อยู่ในระหว่างการปรับปรุ งขัอมูล 70


ประเด็นข้ อสังเกต

คําชี =แจงและการดําเนินการของ บริ ษัท ปั จจุบนั ซึง จะต้ องใช้ ระยะเวลาในการจัดทํา กํ า ลัง การผลิต ปกติใ นระบบ ERP ให้ ถกู ต้ อง ภายในไตรมาส 2 2)และจะทํา การสอบทาน ปื ละ 2 คร้ ง= 3)ทํ า การปรั บ ปรั บ ปรุ ง ทุก ครั ง= ที มี การเพิ ม หรื อลดกําลังผลิตปกติเช่น เมื อมีการเพิ มเครื องจักรหลัก 3)บริ ษัทจําแนกรายได้ และค่าใช้ จ่ายระหว่างกิจการที ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุน อยู่ ร ะหว่ า งปรั บ ปรุ ง ระบบ ERP และกิจการที ไม่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนไม่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และเงื อนไข โดย ปั จ จุ บั น ข้ อ มู ล เครื อง จั ก ร Diecasting ที ผลิตงานถูกบันทึกไว้ ในการผลิ ต ทุก ขัน= ตอนของ WIP แล้ ว เหลือในส่วนการบันทึกข้ อมูล ไปยัง FG และ Sale Invoice ซึ งถูก กําหนดแผน ให้ แก้ ไข ร่ วมกับส่วน งาน FG Barcode ภายในไตรมาส ที 2 ปี 2559 โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้ วมีความเห็นว่าบริ ษัทได้ ดําเนินการในการแก้ ไขตามข้ อสังเกตผู้สอบ บัญชีตามรายละเอียดข้ างต้ น และประเด็นที อยูร่ ะหว่างการแก้ ไขนัน= ไม่มีผลกระทบต่อความน่าเชื อถือของงบการเงินและ ระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทอย่างมีนยั สําคัญ

13.2. ตรวจสอบ

การประเมิ น ความเพี ย งพอของระบบการควบคุ ม ภายในโดยคณะกรรมการ

คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าบริ ษัทมีระบบการควบคุมภายในที เพียงพอและเหมาะสม รวมถึงมี ระบบการควบคุมภายในที เ พียงพอในเรื องของการทํ าธุร กรรมกับผู้ถื อหุ้น รายใหญ่ กรรมการ ผู้บริ ห าร หรื อบุคคลที เกี ยวข้ องกับบุคคลดังกล่าว ทังนี = =สามารถพิจารณารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบได้ ตาม ข้ อ 15.

13.3.หัวหน้ างานตรวจสอบภายในของบริษัท

ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบเมื อวันที 13 สิงหาคม 2558 ครัง= ที 4/2558 ได้ แต่งตัง= บริ ษัท สอบบัญชี ไทย จํ ากัด ซึ งเป็ นสํานักตรวจสอบจากภายนอก ดํารงตําแหน่ง “ผู้ตรวจสอบภายใน” ในการทําหน้ าที ตรวจสอบการ ปฏิบตั ิงานและกิจกรรมทางการเงินของบริ ษัท ประจําปี 2559 โดยได้ มอบหมายให้ นางสาวรักชนก สําเนียงลํ =า เป็ น ผู้รับผิดชอบหลักในการปฏิบตั ิหน้ าที ผ้ ตู รรวจสอบภายในของบริ ษัท

71


คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาคุณสมบัติของบริ ษัท สอบบัญชีไทย จํากัด และนางสาวรักชนก สําเนียงลํ =า แล้ วเห็นว่า มีความเหมาะสมเพียงพอกับการปฏิบตั ิหน้ าที ดงั กล่าว เนื องจากมีความเป็ นอิสระ และมีประสบการณ์ในการ ปฏิบตั ิงานด้ านการตรวจสอบภายใน และเคยเข้ ารับการอบรมในหลักสูตรที เกี ยวข้ องกับการปฏิบตั ิงานด้ านตรวจสอบ ภายใน ได้ แก่ การอบรม 1) MERGERS & ACQUISITIONS จัดโดย OMEGAWORLDCLASS Research Institute 2) ประกาศนียบัตร กฎหมายภาษี อากร จัดโดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3) ภาษี อากรสาหรับธุรกรรมต่างประเทศ จัดโดย สภาวิชาชีพบัญชีฯ 4) อัพเดท TFRS ทุกฉบับ จัดโดย สภาวิชาชีพบัญชีฯ 5) Pack 5 and Fair value จัดโดย สภา วิชาชีพบัญชีฯ เพื อให้ มนั ใจว่ามีการดําเนินการตามแนวทางที กําหนดอย่างมีประสิทธิ ภาพ รวมถึงตรวจสอบการปฏิบตั ิตาม กฎหมายและข้ อกําหนดที เกี ยวข้ องกับบริ ษัท และเพื อให้ ผ้ ตู รวจสอบภายในมีความเป็ นอิสระ สามารถทําหน้ าที ตรวจสอบ และถ่วงดุลได้ อย่างเต็มที จึงกําหนดให้ ผ้ ตู รวจสอบภายในรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษัทซึง มีหน้ าที กํากับดูแลให้ มีระบบการควบคุมภายในที ดี และสําเนารายงานเรี ยนกรรมการผู้จดั การ เพื อช่วยกํากับดูแลและสัง การให้ ผ้ บู ริ หารที เกี ยวข้ องในแต่ละหน่วยงานดําเนินการปรับปรุ งแก้ ไขตามข้ อเสนอแนะด้ วย ความเรี ยบร้ อย โดยผู้ตรวจสอบภายในจะรายงานผลการตรวจสอบเป็ นประจําทุกไตรมาส ทังนี = = การพิจารณาและอนุมตั ิ แต่งตัง= ถอดถอน โยกย้ ายผู้ดํารงตําแหน่งหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายในของ บริ ษัทจะต้ องผ่านการอนุมตั ิเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบโดยคุณสมบัติของผู้ดํารงตําแหน่งหัวหน้ างานตรวจสอบ ภายในเอกสารหัวข้ อ 15.

72


14. รายการระหว่ างกัน

14.1 รายละเอียดรายการระหว่ างกัน

รายการระหว่างกันกับบุคคลและนิติบคุ คลที อาจมีความขัดแย้ งในปี 2557 ถึงปี 2558 มีดงั นี !

บุคคล/นิติบคุ ลที อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ

บริษัท จุฑาวรรณ จํากัด : จําหน่ายเหล็กสแตนเลสและเหล็กกล้ า

บริษัท เจทีดบั บลิวแอ๊ ซเซทจํากัด : การให้ เช่า การขาย การซื ,อ และ การ ดําเนินงานด้ านอสังหาริมทรัพย์

ลักษณะและรายละเอียดของรายการ คํ ,าประกันวงเงินตัว- สัญญาใช้ เงินและวงเงินเบิกเกิน บัญชีให้ แก่บริษัท - วงเงินการคํ ,าประกัน - ค่าธรรมเนียมคํ ,าประกันวงเงิน ยอดยกมาต้ นงวด ค่าธรรมเนียมระหว่างงวด ภาษีมลู ค่าเพิ ม ชําระระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด คํ ,าประกันวงเงินตัว- สัญญาใช้ เงินและวงเงินเบิกเกิน บัญชี - วงเงินการคํ ,าประกัน - ค่าธรรมเนียมคํ ,าประกันวงเงิน ยอดยกมาต้ นงวด ดอกเบี ,ยจ่ายระหว่างงวด

มูลค่ารายการระหว่างกัน (บาท)

31 ธ.ค. 57

31 ธ.ค. 58

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ

17,500,000

-

29,726 350,000 24,433 320,273.98 29,726.02

29,726.02 253,150.70 17,720.55 282,876.72 -

15,000,000 86,301.37

15,000,000 900,000

73

บริษัท จุฑาวรรณ จํากัดและบริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด ได้ ทําการคํ ,าประกัน วงเงินตัว- สัญญาใช้ เงินและวงเงินเบิกเกินบัญชีจากสถาบันการเงินแห่งหนึ งให้ แก่บริษัท โดยคิด ค่าธรรมเนียมการคํา, ประกัน ในอัต ราร้ อยละ 2 ต่อปี ของวงเงิน คํา, ประกัน ซึ ง บริ ษัทมีความจําเป็ นในการใช้ วงเงินดังกล่าวสําหรับเป็ นเงินทุนหมุนเวียน อย่างไรก็ ตาม บริษัทจะทําการถอนการคํ ,าประกันเมื อได้ รับเงื อนไขที ดีกว่าจากสถาบันการเงิน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า การคํ ,าประกันวงเงินตัว- สัญญาใช้ เงินและวงเงินเบิกเกินบัญชีดงั กล่าวก่อให้ เกิดผลดีกบั บริ ษัท และมีอัตราค่าธรรมเนียมที เหมาะสมเท่ากับอัตราค่าธรรมเนียมของธนาคาร พาณิชย์ทั วไป นอกจากนีเ, พื อให้ เป็ นไปตามเงื อนไขของธนาคาร จึงมีความจําเป็ นที จะต้ องให้ มีการคํ ,าประกันวงเงินส่วนนี , บริษัทได้ ก้ ยู ืมระยะสันโดยออกตั , ว- สัญญาใช้ เงิน ให้ แก่ บริษัท เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จํากัด อัตราดอกเบี ,ย 6 % ต่อปี โดยออกตัว- สัญญาใช้ เงิน เลขที SDT2557/003 จํานวน เงิน 15,000,000 บาท ลงวันที 27 พฤศจิกายน 2557 สิ ,นสุดวันที 31 มีนาคม 2558 เมื อตัว สัญญาถึงกําหนดได้ มีการต่อตัว- สัญญาใช้ เงิน เลขที SDT2558/002 ลงวันที 13 มีนาคม 2558 สิ ,นสุดวันที 31 ธันวาคม 2558 และ เมื อตัว- สัญญาถึงกําหนดได้ มีการต่อ ตัว- สัญญาใช้ เงินเลขที SDT2558/009 ลงวันที 31 ธันวาคม 2558 สิ ,นสุดวันที 31


บุคคล/นิติบคุ ลที อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ

บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด : ผลิตชิ ,นส่วนอุปกรณ์เครื องใช้ ไฟฟ้ าและ ชิ ,นส่วนยานยนต์ด้วยวิธีอดั ขึ ,นรูป และทําสี ชิ ,นส่วน

ลักษณะและรายละเอียดของรายการ ยอดคงค้ างปลายงวด

คํ ,าประกันวงเงินตัว- สัญญาใช้ เงินและวงเงินเบิกเกิน บัญชีให้ แก่บริษัท - วงเงินการคํ ,าประกัน - ค่าธรรมเนียมคํ ,าประกันวงเงิน ยอดยกมาต้ นงวด ค่าธรรมเนียมระหว่างงวด ภาษีมลู ค่าเพิ ม ชําระระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด บริษัทฯ ได้ ก้ ยู ืมระยะสันโดยออกตั , ว- สัญญาใช้ เงิน กับบริษัท ไทยอินดัสเตรียล จํากัด โดยมี รายละเอียดดังนี , -ยอดยกมาต้ นงวด -ดอกเบี ,ยจ่าย

มูลค่ารายการระหว่างกัน (บาท)

31 ธ.ค. 57

-

17,500,000 29,726 350,000 24,433 320,273.97 29,726.03 6,000,000

340,438.35

31 ธ.ค. 58

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ

- ธันวาคม 2559 ในอัตราดอกเบี ,ย 6% ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า กู้ยืม ระยะสัน, โดยออกตั-วสัญ ญาใช้ เงิน ให้ แก่ บริ ษัท เจทีดับ บลิ ว แอ็ซ เซท จํ ากัด ดังกล่าวก่อให้ เกิดผลดีกับบริ ษัท และมีอัตราค่าธรรมเนียมที เหมาะสมเท่ากับอัตรา ค่าธรรมเนียมของธนาคารพาณิชย์ทวั ไป บริษัท จุฑาวรรณ จํากัดและบริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด ได้ ทําการคํ ,าประกัน วงเงินตัว- สัญญาใช้ เงินและวงเงินเบิกเกินบัญชีจากสถาบันการเงินแห่งหนึ งให้ แก่บริษัท - โดยคิด ค่าธรรมเนียมการคํา, ประกัน ในอัต ราร้ อยละ 2 ต่อปี ของวงเงิน คํา, ประกัน ซึ ง บริ ษัทมีความจําเป็ นในการใช้ วงเงินดังกล่าวสําหรับเป็ นเงินทุนหมุนเวียน อย่างไรก็ 29,726.03 ตาม บริษัทจะทําการถอนการคํ ,าประกันเมื อได้ รับเงื อนไขที ดีกว่าจากสถาบันการเงิน 253,150.69 ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ 17,720.55 คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า 282,876.72 การคํ ,าประกันวงเงินตัว- สัญญาใช้ เงินและวงเงินเบิกเกินบัญชีดงั กล่าวก่อให้ เกิดผลดีกบั - บริ ษัท และมีอัตราค่าธรรมเนียมที เหมาะสมเท่ากับอัตราค่าธรรมเนียมของธนาคาร พาณิชย์ทั วไป นอกจากนีเ, พื อให้ เป็ นไปตามเงื อนไขของธนาคาร จึงมีความจําเป็ นที จะต้ องให้ มีการคํ ,าประกันวงเงินส่วนนี , - บริษัทได้ ก้ ยู ืมระยะสันโดยออกตั , ว- สัญญาใช้ เงิน ให้ แก่ บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล จํากัด อัต ราดอกเบีย, 7 % ต่อปี โดยตั-วสัญญาใช้ เงิน เลขที SDT2558/006 จํานวนเงิน 2,000,000 บาท ลงวันที 18 กันยายน 2558 สิ ,นสุดวันที 30 ตุลาคม 2558 , ตัวสัญญา 35,671.23 ใช้ เงิน เลขที SDT2558/007 จํานวนเงิน 2,000,000 บาท ลงวันที 18 กันยายน 2558 486,027.39 สิ ,นสุดวันที 30 พฤศจิกายน 2558 และ ตัวสัญญาใช้ เงิน เลขที SDT2558/008 จํานวน

74


บุคคล/นิติบคุ ลที อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ

ลักษณะและรายละเอียดของรายการ

-ดอกเบี ,ยค้ างจ่าย

บริษัทขายสินค้ าให้ บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด - ยอดยกมาต้ นงวด ขายระหว่างงวด ภาษีมลู ค่าเพิ ม ชําระเงินระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด บริษัทว่าจ้ างบริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด ทําสีชิ ,นส่วนอลูมิเนียม

มูลค่ารายการระหว่างกัน (บาท)

31 ธ.ค. 57 35,671.23

68,398 1,853,901.32 129,773.09 1,887,823.55 216,948.77

31 ธ.ค. 58

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ

- เงิน 2,000,000 บาท ลงวันที 18 กันยายน 2558 สิ ,นสุดวันที 28 ธันวาคม 2558 ซึ ง ต่อมาในวันที 30 ตุลาคม 2558 ทางบริ ษัทฯ ได้ ทําการชําระเงินตามตัว- สัญญาใช้ เงิน เลขที SDT2558/006 จํานวนเงิน 2,000,000 บาท , ในวันที 30 พฤศจิกายน 2558 ทาง บริ ษัท ฯ ได้ ทําการชําระเงิน ตามตั-วสัญญาใช้ เงินเลขที SDT2558/007 จํานวนเงิน 2,000,000 บาท และ ในวันที 28 ธันวาคม 2558 ได้ ทําการชําระเงินตามตัว- สัญญาใช้ เงินเลขที SDT2558/008 จํานวนเงิน 2,000,000 บาท ทังนี , ใ, นไตรมาสที 4 ปี 2558 และ 2557 บริ ษัทฯ ได้ จ่ายชําระดอกเบีย, ให้ กับ บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ลพาร์ ท จํากัด เป็ นจํานวนเงิน 486,027.39 บาท และ 340,438.35 บาท ตามลําดับ ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า กู้ยืมระยะสันโดยออกตั , ว- สัญญาใช้ เงิน ให้ แก่ บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล จํากัด ดังกล่าว ก่ อ ให้ เกิ ด ผลดี กั บ บริ ษั ท และมี อั ต ราค่ า ธรรมเนี ย มที เ หมาะสมเท่ า กั บ อั ต รา ค่าธรรมเนียมของธนาคารพาณิชย์ทวั ไป บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัดได้ ว่าจ้ างให้ บริ ษัทผลิตสินค้ าและแม่พิมพ์ตาม การดําเนินธุรกิจปกติ โดยมีการกําหนดราคาขาย และมีเงื อนไขเช่นเดียวกับลูกค้ าราย 216,948.77 อื นๆ ตามนโยบายการทํารายการระหว่างกัน 1,540,166.54 ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ 107,811.66 คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า 1,579,392.19 รายการดังกล่าวเป็ นรายการที สมควร และเป็ นการทํารายการทางการค้ าปกติ โดยมี 177,723.12 การคิดกําไรขันต้ , นเท่ากับลูกค้ าทัว ไป บริ ษัทว่าจ้ างบริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด ให้ ทําสีชิน, ส่วนอลูมิเนียมในส่วน ของคําสั งซือ, จากบริ ษัท ไทยอินดัส เตรี ยล พาร์ ท จํากัด ตามเงื อนไขที ตกลงกัน ไว้ ใ น

75


บุคคล/นิติบคุ ลที อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ

บริษัท ริก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรีทเม้ นท์ จํากัด : ธุรกิจชุบแข็งโลหะ

บริษัท อําพน จํากัด : ธุรกิจให้ เช่ารถยนต์

ลักษณะและรายละเอียดของรายการ

- ยอดยกมาต้ นงวด ซื ,อระหว่างงวด ภาษีมลู ค่าเพิ ม ชําระเงินระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด บริษัทว่าจ้ างบริษัท ริก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรีทเม้ นท์ จํากัดในการทดลองอบเพิ มความแข็งของตัวอย่าง ชิ ,นงาน - ยอดยกมาต้ นงวด ว่าจ้ างระหว่างงวด ภาษีมลู ค่าเพิ ม ชําระเงินระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด บริษัทเช่ารถยนต์จากบริษัท อําพน จํากัด - ค่าเช่าระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด

มูลค่ารายการระหว่างกัน (บาท)

31 ธ.ค. 57 81,955 312,465.78 21,872.61 394,420.78 -

135,852 717,833.16 50,248.33 781,739.09 122,194.39 1,072,140 -

31 ธ.ค. 58

-

122,194.39 771,617.22 54,013.21 797,789.84 96,021.77

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ เบื ,องต้ น โดยมีราคาและเงื อนไขทางการค้ าทัว ไป ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที สมควร และเป็ นการทํารายการทางการค้ าปกติ โดยมี การเปรียบเทียบราคากับผู้รับจ้ างรายอื น บริ ษัทว่าจ้ างบริ ษัท ริ ก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรี ทเม้ นท์ จํากัด (เดิมชื อ “บริ ษัท จุฑาวรรณ เมทัลแลบ จํากัด”) ในการทดลองอบเพิ มความแข็งของตัวอย่างชิน, งาน เพื อส่งเป็ น ตัวอย่างชิ ,นงานให้ แก่ลกู ค้ า โดยมีราคาและเงื อนไขทางการค้ าทัว ไป ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที สมควร และเป็ นการทํารายการทางการค้ าปกติ โดยมี การเปรียบเทียบราคากับผู้รับจ้ างรายอื น

บริษัททําการเช่ารถยนต์จากบริษัท อําพน จํากัด เพื อใช้ เป็ นรถรับส่งพนักงานจํานวน 2 1,040,040 คัน และรถประจําตําแหน่งผู้บริ หาร 2 คัน รวมจํานวนทัง, สิน, 4 คัน โดยอัตราค่าเช่า - ดังกล่าวเป็ นอัตราที ถกู ที สุดเมื อเทียบกับผู้ประกอบการอื น ภายใต้ เงื อนไขที ใกล้ เคียง กัน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที สมควร และเป็ นการทํารายการเช่าสินทรัพย์ปกติ โดยมี การเปรียบเทียบราคากับผู้ให้ เช่ารายอื น

76


บุคคล/นิติบคุ ลที อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ

บริษัท จุฑาวรรณ เมทัล แล็บ จํากัด :ธุรกิจ รับจ้ างชุบแข็งโลหะ และ เจียรกลึง ใส ชิ ,นงานเหล็กทุกชนิด

ลักษณะและรายละเอียดของรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกัน (บาท)

31 ธ.ค. 57

31 ธ.ค. 58

77

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ บริษัทฯ ได้ วา่ จ้ างเพื อทําการชุบแข็งโลหะกับบริ ษัท จุฑาวรรณ เมทัล แล็บ จํากัด ซึ งมี ราคาและเงื อนไขการค้ าเป็ นไปตามลักษณะการค้ าทั วไปและมีระยะเวลาเครดิตทาง การค้ า 30 วัน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที สมควร และเป็ นการทํารายการทางการค้ าปกติ โดยมี การคิดกําไรขันต้ , นเท่ากับลูกค้ าทัว ไป


14.2 มาตรการหรื อขัน ตอนการอนุมัตกิ ารทํารายการระหว่ างกัน

ตามมติที ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง ที 1/2553 เมื อวันที 4 กุมภาพันธ์ 2553 ได้ กําหนดมาตรการขันตอน การทํารายการระหว่างกัน ดังนี การทําธุรกรรมระหว่างบริ ษัท กับผู้ที เกี ยวข้ องหรื อบุคคลที อาจมีความขัดแย้ ง จะต้ องเป็ นไปตามเงื อนไขการค้ า โดยทั วไปหรื อเป็ นธุรกรรมที เป็ นข้ อตกลงทางการค้ าในลักษณะเดียวกับที วิญ0ูชนจะพึงกระทํากับคู่สญ ั ญาทัว ไปใน สถานการณ์เดียวกัน ด้ วยอํานาจต่อรองทางการค้ าที ปราศจากอิทธิพลจากการมีสถานะเป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคล ที มีความเกี ยวข้ อง (แล้ วแต่กรณี) ภายใต้ เงื อนไขที สมเหตุสมผล สามารถตรวจสอบได้ ไม่ก่อให้ เกิดการถ่ายเทผลประโยชน์ กรณีที 1 รายการระหว่างกันทีเ ป็ นธุรกรรมปกติทางการค้ า เช่น รายการซื อขายสินค้ าและบริ การที บริ ษัทเป็ นผู้จดั จําหน่ายหรื อให้ บริ การ เป็ นต้ น บริ ษัทสามารถทําธุรกรรม ดังกล่าวกับบุคคลที อาจมีความขัดแย้ งได้ หากธุรกรรมดังกล่าวนันมี ข้อตกลงทางการค้ าที มีเงื อนไขการค้ าโดยทัว ไปใน ลักษณะที วิญ0ูชนจะพึงกระทํากับคู่สญ ั ญาทั วไปในสถานการณ์ เดียวกัน ด้ วยอํานาจต่อรองทางการค้ าที ปราศจาก อิทธิพลในการที ตนมีสถานะเป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลที มีความเกี ยวข้ อง โดยบริ ษัทจะจัดทําสรุ ปรายการดังกล่าว ให้ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริ ษัทรับทราบอย่างน้ อยรายไตรมาส

กรณีที 2 รายการระหว่างกันอื นๆที นอกเหนือจากกรณีที 1 บริ ษัทกําหนดให้ คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผู้พิจารณาและให้ ความเห็นเกี ยวกับความจําเป็ นในการเข้ าทํา รายการและความเหมาะสมด้ านราคาของรายการนัน โดยพิจารณาเงื อนไขต่างๆว่าเป็ นไปตามลักษณะการดําเนินการค้ า ปกติในตลาด ซึ งสามารถเปรี ยบเทียบได้ กับราคาที เกิ ดขึน กับบุคคลภายนอกและเป็ นไปตามราคายุติธรรม มีความ สมเหตุสมผล และสามารถตรวจสอบได้ หรื อไม่ ในกรณีที กรรมการตรวจสอบไม่มีความชํานาญในการพิจารณารายการ ระหว่างกันที อาจเกิ ดขึน บริ ษัทจะให้ ผ้ ูเชี ยวชาญอิสระหรื อผู้สอบบัญชี ของบริ ษัทเป็ นผู้ให้ ความเห็นเกี ยวกับรายการ ระหว่างกันดังกล่าว เพื อนําไปใช้ ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการหรื อผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี ทังนี การเข้ าทํารายการ ระหว่างกัน ของบริ ษั ทกับบุคคลที อาจมี ค วามขัดแย้ ง ทางผลประโยชน์ จะต้ อ งผ่านการพิ จารณาจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ และจะต้ องได้ รับการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท ซึ งจะต้ องมีกรรมการตรวจสอบเข้ าร่ วมประชุมด้ วย โดย การออกเสียงในที ประชุมนันๆ กรรมการซึง มีสว่ นได้ เสียจะไม่มีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนน ทังนี คณะกรรมการบริ ษัทจะต้ องดูแลให้ บริ ษัทจะต้ องปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อบังคับ ประกาศ คําสัง หรื อ ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรื อของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรื อของคณะกรรมการ กํากับตลาดทุน รวมถึงการปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดเกี ยวกับกับการเปิ ดเผยข้ อมูลการทํารายการที เกี ยวโยงกันและการได้ มา หรื อจําหน่ายไปซึง ทรัพย์สินที สําคัญของบริ ษัท นอกจากนี บริ ษัทจะมีการเปิ ดเผยรายการระหว่างกันดังกล่าวไว้ ในหมาย เหตุประกอบงบการเงินที ได้ รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริ ษัท แบบรายงาน 56-1 และแบบรายงานประจําปี หรื อ สารสนเทศต่าง ๆ ตามข้ อกําหนดตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และของหน่วยงานที เกี ยวข้ อง

78


14.3 แนวโน้ มการทํารายการระหว่ างกันในอนาคต

บริ ษัทอาจมีการทํารายการระหว่างกันกับบุคคลหรื อนิติบคุ คลในอนาคตอย่างต่อเนื อง ซึ งเป็ นไปตามลักษณะ ธุรกิจการค้ าปกติโดยทัว ไป และมีเงื อนไขเป็ นไปตามธุรกิจการค้ าปกติ และสามารถอ้ างอิงได้ กบั เงื อนไขทางธุรกิจประเภท เดียวกันกับบริ ษัทกระทํากับบุคคลภายนอก จะจัดทําสรุ ปรายการดังกล่าวให้ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ บริ ษัทรับทราบอย่างน้ อยรายไตรมาส เพื อทําการสอบทานรายการระหว่างกันโดยเปรี ยบเทียบราคาและเงื อนใขการค้ ากับ บุคคลภายนอกเพื อดูความเหมาะสมของราคาและเงื อนไขการค้ า พิจารณามูลค่าการซื อขายเปรี ยบเทียบกับมูลค่าการซื อ ขายทังหมดของบริ ษัทและบริ ษัทที เกี ยวข้ องกัน และสอบถามผู้บริ หารถึงเหตุผลและความจําเป็ นในการเข้ าทํารายการกับ บุคคลที เกี ยวข้ องกัน อย่างไรก็ตาม สําหรับรายการระหว่างกันที มิได้ เป็ นไปตามธุรกิจปกติที อาจเกิดขึ นในอนาคต บริ ษัทจะจัดให้ มี คณะกรรมการตรวจสอบเข้ ามาสอบทานการการปฎิบตั ิตามหลักเกณฑ์และแสดงเหตุผลในการทํารายการดังกล่าวก่อนที บริ ษั ท จะเข้ าทํ า รายการนัน นอกจากนี บริ ษั ท จะดูแ ลการเข้ า ทํ า รายการระหว่า งกันให้ เ ป็ นไปตามกฎหมายว่า ด้ ว ย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้ อบังคับ ประกาศ คําสัง หรื อข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงการปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดเกี ยวกับการเปิ ดเผยข้ อมูล การทํารายการที เกี ยวโยงกัน และการได้ มา หรื อจําหน่ายซึ งสินทรัพย์ของบริ ษัท (ถ้ ามี) รวมทังปฏิ บตั ิตามมาตรฐานการ บัญชีที กําหนดโดยสมาคมนักบัญชี ทังนี ผู้มีส่วนได้ เสียในรายการดังกล่าวจะไม่มีสิทธิ ในการออกเสียงอนุมตั ิการทํา รายการนัน ๆและบริ ษั ทจะมี ก ารเปิ ดเผยรายการระหว่า งกัน ดัง กล่า วไว้ ในหมายเหตุป ระกอบงบการเงิ นที ไ ด้ รั บการ ตรวจสอบจากผู้ส อบบัญ ชี ข องบริ ษั ท แบบรายงาน 56-1 และแบบรายงานประจํ า ปี หรื อ สาระสนเทศต่า ง ๆ ตาม ข้ อกําหนดตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และของหน่วยงานที เกี ยวข้ อง

79


15. ข้ อมูลทางการเงินที สาํ คัญ

15.1. รายงานงบการเงิน บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที% 31 ธันวาคม 2558

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี การค้ าและลูกหนี อื น สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารติดภาระหลักประกัน ที ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

หมายเหตุ 3

5 4, 6 7 8 9 10 11 12

2558 25,170,709.39 46,479,850.08 46,839,402.11 7,237,135.32

บาท

2557 7,025,645.31 49,985,286.53 47,204,613.30 12,715,988.17

125,727,096.90

116,931,533.31

5,980,000.00 187,551,732.06 2,107,369.24 5,423,543.28 6,026,332.15

5,980,000.00 193,425,964.01 2,451,614.23 11,108,189.15 5,097,760.55

207,088,976.73

218,063,527.94

332,816,073.63

334,995,061.25

80


บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที% 31 ธันวาคม 2558

หนีส นิ และส่ วนของผู้ถอื หุ้น

หนี สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยมื ระยะสันจาก สถาบันการเงิน เจ้ าหนี การค้ าและเจ้ าหนี อื น

หนี สินส่วนที ถึงกําหนดชําระภายในหนึง ปี

เงินกู้ยืมระยะสันจากกิ จการที เกี ยวข้ องกัน หนี สินหมุนเวียนอื น

หมายเหตุ 3

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

หนี สินระยะยาวภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน รวมหนี สินไม่หมุนเวียน รวมหนีส ิน

2557

13

37,676,593.76

56,699,262.38

15

10,922,562.41

21,105,325.92

4, 14 4

18

63,720,668.78 15,000,000.00 10,706,103.89

77,856,290.72 21,000,000.00 20,806,458.25

138,025,928.84

197,467,337.27

16

1,364,745.19

4,173,864.47

19

3,942,145.72

2,991,186.20

รวมหนี สินหมุนเวียน

หนี สินไม่หมุนเวียน

2558

บาท

17

8,238,493.43

2,931,106.56

13,545,384.34

10,096,157.23

151,571,313.18

207,563,494.50

81


ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ทุนเรื อนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 300,681,625 หุ้น ในปี 2558 และ 226,000,000 หุ้น ในปี 2557 มูลค่าหุ้นละ 0.50 บาท

ทุนที ออกและชําระแล้ ว หุ้นสามัญ 297,807,944 หุ้น ในปี 2558 และ 222,277,158 หุ้น ในปี 2557 ชําระเต็มมูลค่า แล้ ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ใบสําคัญแสดงสิทธิ กําไร(ขาดทุน)สะสม จัดสรรแล้ ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้ จดั สรร รวมส่ วนของผู้ถอื หุ้น รวมหนีส ินและส่ วนของผู้ถอื หุ้น

20

21

20, 21 21 25

150,340,812.50

113,000,000.00

148,903,972.00 52,870,818.28 109,526.53

111,138,579.00 32,406,239.58 1,152,757.16

2,215,417.96 (22,854,974.32)

2,215,417.96 (19,481,426.95)

181,244,760.45

127,431,566.75

332,816,073.63

334,995,061.25

82


บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปี สิน สุดวันที% 31 ธันวาคม 2558

หมาย เหตุ

2558

4

420,505,298.25

4, 22

(352,444,987.91)

(321,499,639.40)

68,060,310.34

35,388,158.63

6,451,235.35 (7,174,572.09) (57,447,396.83) (7,270,766.27)

7,605,121.78 (7,255,874.40) (49,609,904.30) (8,029,726.80)

3

รายได้ จากการขาย ต้ นทุนขาย กําไรขัน ต้ น รายได้ อื น ค่าใช้ จา่ ยในการขาย ค่าใช้ จา่ ยในการบริ หาร ต้ นทุนทางการเงิน

กําไร(ขาดทุน)ก่ อนภาษีเงินได้ รายได้ (ค่าใช้ จ่าย)ภาษี เงินได้

ขาดทุนสําหรับปี ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื%น รายการที%จะไม่ ถกู จัดประเภทรายการใหม่ เข้ าไปไว้ ในกําไรหรือขาดทุน ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย สําหรับโครงการผลประโยชน์ พนักงาน ภาษี เงินได้ ที เกี ยวกับขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสําหรับโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื%นสําหรับปี - สุทธิจากภาษีเงินได้ ขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

22 4, 22 4, 23 24

2,618,810.50 (5,746,188.27)

(3,127,377.77)

2557 356,887,798.03

(21,902,225.09) 5,496,219.94

(16,406,005.15)

2 -

(307,712.00)

-

61,542.40 (246,169.60)

(3,373,547.37)

(16,406,005.15)

83


ขาดทุนต่ อหุ้น ขาดทุนต่อหุ้นขันพื นฐาน

จํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลีย ถ่วงนํ าหนัก (หุ้น)

3

(0.012)

(0.074)

3

252,325,969

221,004,298

84


บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลี#ยนแปลงส่ วนของผู้ถอื หุ้น สําหรับสิน สุดวันที# 31 ธันวาคม 2558

ยอดยกมา ณ วันที 1 มกราคม 2557 การเปลี ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น เพิ มทุนหุ้นสามัญ

ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

หมายเหตุ 20 21

ขาดทุนสําหรับปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 การเปลี ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น เพิ มทุนหุ้นสามัญ

20

ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

21

ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื นสําหรับปี

2

ขาดทุนสําหรับปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2558

ทุนเรือนหุ้นที ออก และชําระแล้ ว

110,362,391.50 776,187.50 -

บาท

กําไร(ขาดทุน)สะสม

ส่วนเกินมูลค่า หุ้นสามัญ

ใบสําคัญแสดง สิทธิ

1,421,623.50

-

-

-

2,197,811.00

-

-

(16,406,005.15)

(16,406,005.15)

-

55,914,414.50

30,984,616.08

-

482,417.60

จัดสรรแล้ ว

2,215,417.96

670,339.56

-

111,138,579.00

32,406,239.58

1,152,757.16

2,215,417.96

37,765,393.00

20,464,578.70

(2,315,557.20)

-

-

148,903,972.00

-

52,870,818.28

1,272,326.57

-

-

-

109,526.53

85

2,215,417.96

ยังไม่ได้ จดั สรร

(3,075,421.80)

-

(19,481,426.95)

-

รวม

140,969,421.34

670,339.56

127,431,566.75

1,272,326.57

(3,127,377.77)

(3,127,377.77)

(22,854,974.32)

181,244,760.45

(246,169.60)

(246,169.60)


บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

งบกระแสเงินสด

สําหรับปี สิน สุดวันที$ 31 ธันวาคม 2558

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้ ปรับกระทบกําไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้ เป็ นเงินสดสุทธิได้ มาจาก(ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน ค่าเสือ# มราคาและตัดจําหน่าย (กําไร)ขาดทุนจากการขายและตัดจําหน่ายสินทรัพย์ ขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้ า(กลับรายการ) ขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรัพย์ ประมาณการหนี -สินผลประโยชน์พนักงาน ค่าใช้ จา่ ยจากการให้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ ดอกเบี -ยรับ ดอกเบี -ยจ่าย กําไรจากการดําเนินงานก่อนการเปลีย# นแปลงในสินทรัพย์และหนี -สินดําเนินงาน การเปลีย# นแปลงในสินทรัพย์ดําเนินงาน(เพิ#มขึ -น)ลดลง ลูกหนี -การค้ าและลูกหนี -อื#น สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื#น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื#น การเปลีย# นแปลงในหนี -สินดําเนินงานเพิม# ขึ -น(ลดลง) เจ้ าหนี -การค้ าและเจ้ าหนี -อื#น หนี -สินหมุนเวียนอื#น เงินสดรับจากการดําเนินงาน รับดอกเบี -ย จ่ายภาษี เงินได้

เงินสดสุทธิได้ มาจากกิจกรรมดําเนินงาน

2558

บาท

2557

2,618,810.50

(21,902,225.09)

27,368,962.84 992,699.95 (2,088,175.61) 643,247.52 1,272,326.57 (129,334.56) 6,764,454.88

26,149,601.24 (377,086.89) 1,881,424.79 361,958.15 143,391.84 670,339.56 (139,929.27) 7,028,340.65

3,496,237.45 2,453,386.80 6,466,063.13 (2,000.00)

1,613,766.09 (7,921,442.33) (2,271,104.29) 5,500.00

(14,095,281.69) (10,100,354.36)

(2,321,987.79) 12,604,585.86

24,873,005.38

13,804,041.20

37,442,992.09

25,661,043.42 138,533.56 (926,571.60)

13,815,814.98

15,525,132.52 139,929.27 (1,861,020.59)

86


บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สําหรับปี สิน สุดวันที$ 31 ธันวาคม 2558 บาท

2558

2557

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระหลักประกันลดลง ซื -ออาคารและอุปกรณ์ ซื -อสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน ขายอุปกรณ์

(15,807,915.15) (162,000.00) 6,729.30

1,000.00 (19,129,021.00) (162,000.00) 1,542.00

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั นการเงินลดลง

(19,022,668.62)

(4,366,628.97)

(6,000,000.00)

(2,500,000.00)

เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน

เงินกู้ยมื ระยะสันจากกิ จการที#เกี#ยวข้ องกันเพิม# ขึ -น

จ่ายชําระเงินกู้ยืมระยะสันจากกิ จการทีเ# กี#ยวข้ องกัน จ่ายชําระเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน

เงินรับจากสัญญาขายและเช่าคืน จ่ายชําระหนี -สินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน รับชําระค่าหุ้นสามัญ จ่ายดอกเบี -ย เงินสดสุทธิได้ มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิ$มขึน (ลดลง)สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันต้ นปี เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันปลายปี

(15,963,185.85) -

(12,439,157.13)

(18,788,479.00) 23,500,000.00

(11,977,077.16)

9,648,247.92 (12,060,796.99) 55,914,414.50 (6,804,795.13)

4,598,376.80 (13,120,260.85) 2,197,811.00 (7,205,116.65)

9,235,244.55

(8,872,895.83)

18,145,064.08

(13,857,333.63)

25,170,709.39

7,025,645.31

7,025,645.31

20,882,978.94

รายการที#ไม่เป็ นตัวเงิน สําหรับปี 2558 และ 2557 - บริ ษัทได้ ทําสัญญาขายและเช่ากลับคืนเครื# องจักร (ดูหมายเหตุ 10 และ 17) 87


บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิน สุดวันที$ 31 ธันวาคม 2558 1. ข้ อมูลทั$วไป บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ -ง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (“บริ ษัท”) ได้ จดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลที#จดั ตังขึ - -นใน ประเทศไทยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ เมื#อ วันที# 22 มกราคม 2539 ประกอบธุรกิ จผลิตและ จําหน่ายผลิตภัณฑ์โลหะและชิ -นส่วนโลหะ สํานักงานตังอยู - ่เลขที# 3/14 หมู่ที# 2 ตําบลหนองบัว อําเภอบ้ านค่าย จังหวัดระยอง ประเทศไทย เมื#อวันที# 9 พฤษภาคม 2556 บริ ษัทได้ จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยใน “ตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ (mai)” 2. เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน งบการเงินนี -จัดทําขึ -นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินไทย (“มาตรฐานการรายงานทางการเงิน”) รวมถึง การตีความและแนวปฏิบตั ิทางการบัญชีที#ประกาศใช้ โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) เพื#อให้ เป็ นไป ตามหลักการบัญชีที#รับรองทัว# ไปของประเทศไทย การแสดงรายการในงบการเงิน ได้ ทําขึ -นเพื#อให้ เป็ นไปตามข้ อกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้ าลงวันที# 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินของบริ ษัทได้ จดั ทําเป็ นภาษาไทย และมีหน่วยเงินตราเป็ นบาท ซึง# การจัดทํางบการเงินดังกล่าวเป็ นไป ตามวัตถุประสงค์ของการจัดทํารายงานในประเทศ ดังนันเพื - #อความสะดวกของผู้อ่านงบการเงินที#ไม่ค้ นุ เคยกับ ภาษาไทย บริ ษัทได้ จดั ทํางบการเงินฉบับภาษาอังกฤษขึ -นโดยแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทย ในการจัดทํางบการเงินให้ เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริ หารต้ องใช้ การประมาณและข้ อ สมมติฐานหลายประการ ซึง# มีผลกระทบต่อการกําหนดนโยบายและการรายงานจํานวนเงินที#เกี#ยวกับ สินทรัพย์ หนี -สิน รายได้ และค่าใช้ จ่าย การประมาณและข้ อสมมติฐานมาจากประสบการณ์ ในอดีต และปั จจัยต่าง ๆ ที# ผู้บริ หารมีความเชื#อมัน# อย่างสมเหตุสมผลภายใต้ สภาวการณ์ แวดล้ อมนันซึ - #งไม่อาจอาศัยข้ อมูลจากแหล่งอื#น และนําไปสูก่ ารตัดสินใจเกี#ยวกับการกําหนดจํานวนสินทรัพย์และหนี -สินนัน- ๆ ดังนันผลที #เกิดขึ -นจริ งจากการตังข้ อสมมติฐานต่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี -สินอาจแตกต่างไปจากที#ประมาณไว้ ประมาณการและข้ อสมมติฐานที# ใช้ ในการจัดทํ างบการเงิ น จะได้ รับ การทบทวนอย่า งสมํ#า เสมอ การปรั บ ประมาณการทางบัญชี จ ะบัน ทึกในงวดบัญชี ที# ก ารประมาณการดัง กล่า วได้ รั บ การทบทวน หากการปรั บ ประมาณการกระทบเฉพาะงวดนัน- ๆ และจะบันทึกในงวดที#ปรับและงวดในอนาคต หากการปรับประมาณการ กระทบทังงวดปั จจุบนั และอนาคต การประกาศใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ สภาวิชาชีพบัญชีได้ ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีให้ ใช้ กรอบแนวคิดสําหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชี และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที#ออกและปรับปรุงใหม่ ดังต่อไปนี -

88


ก) กรอบแนวคิดสําหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2558) ซึง# มีผลบังคับใช้ ทนั ทีในปี 2558 ข) มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชี และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ซึ#งมีผลบังคับใช้ สําหรับงบการเงินที#มีรอบบัญชีเริ# มในหรื อหลังวันที# 1 มกราคม 2558 ดังต่อไปนี มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี/ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื$อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 1 (ปรับปรุง 2557) การนําเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 2 (ปรับปรุง 2557) สินค้ าคงเหลือ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 7 (ปรับปรุง 2557) งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 8 (ปรับปรุง 2557) นโยบายการบัญชี การเปลีย# นแปลงประมาณ การทางบัญชีและข้ อผิดพลาด มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 10 (ปรับปรุง 2557) เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 11 (ปรับปรุง 2557) สัญญาก่อสร้ าง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 12 (ปรับปรุง 2557) ภาษี เงินได้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 16 (ปรับปรุง 2557) ที#ดิน อาคารและอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 17 (ปรับปรุง 2557) สัญญาเช่า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 18 (ปรับปรุง 2557) รายได้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 19 (ปรับปรุง 2557) ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 20 (ปรับปรุง 2557) การบัญชีสาํ หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการ เปิ ดเผยข้ อมูลเกี#ยวกับความช่วยเหลือจาก รัฐบาลผลกระทบจากการเปลีย# นแปลงของอัตรา มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 21 (ปรับปรุง 2557) แลกเปลีย# นเงินตราต่างประเทศ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 23 (ปรับปรุง 2557) ต้ นทุนการกู้ยืม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 24 (ปรับปรุง 2557) การเปิ ดเผยข้ อมูลเกี#ยวกับบุคคล หรื อกิจการที# เกี#ยวข้ องกัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 26 (ปรับปรุง 2557) การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์ เมื#อออกจากงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 27 (ปรับปรุง 2557) งบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 28 (ปรับปรุง 2557) เงินลงทุนในบริ ษัทร่วม และการร่วมค้ า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 29 (ปรับปรุง 2557) การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจ ที#เงินเฟ้ อรุนแรง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 33 (ปรับปรุง 2557) กําไรต่อหุ้น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 34 (ปรับปรุง 2557) งบการเงินระหว่างกาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 36 (ปรับปรุง 2557) การด้ อยค่าของสินทรัพย์ 89


มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี/ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 37 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 38 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 40 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 2 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 3 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 5 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 6 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 8 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 10 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 11 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 12 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 13 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 10 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 15 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 25 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 27 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 29 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 31 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 32 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 1 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 4

เรื$อง ประมาณการหนี -สิน หนี -สินที#อาจเกิดขึ -น และ สินทรัพย์ที#อาจเกิดขึ -น สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน อสังหาริ มทรัพย์เพื#อการลงทุน การจ่ายโดยใช้ ห้ นุ เป็ นเกณฑ์ การรวมธุรกิจ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถ# ือไว้ เพื#อขายและ การดําเนินงานที#ยกเลิก การสํารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ ส่วนงานดําเนินงาน งบการเงินรวม การร่วมการงาน การเปิ ดเผยข้ อมูลเกี#ยวกับส่วนได้ เสียในกิจการ อื#น การวัดมูลค่ายุติธรรม ความช่วยเหลือจากรัฐบาล – กรณีที#ไม่มีความ เกี#ยวข้ องอย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรม ดําเนินงาน สัญญาเช่าดําเนินงาน-สิง# จูงใจทีใ# ห้ แก่ผ้ เู ช่า ภาษี เงินได้ -การเปลีย# นแปลงสถานภาพทางภาษี ของกิจการหรื อผู้ถือหุ้น การประเมินเนื -อหาสัญญาเช่าทีท# ําขึ -นตาม รูปแบบกฎหมาย การเปิ ดเผยข้ อมูลของข้ อตกลงสัมปทานบริ การ รายได้ -รายการแลกเปลีย# นเกี#ยวกับบริ การ โฆษณา สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน-ต้ นทุนเว็บไซต์ การเปลีย# นแปลงในหนี -สินที#เกิดขึ -นจากการรื อถอน การบูรณะ และหนี -สินที#มีลกั ษณะ คล้ ายคลึงกัน การประเมินว่า ข้ อตกลงประกอบด้ วยสัญญาเช่า 90


มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี/ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 5 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 7 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 10 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 12 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 13 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 14

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 15 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 17 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 18 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 20

เรื$อง

หรื อไม่ สิทธิในส่วนได้ เสียจากกองทุนการรื อ- ถอน การบูรณะและการปรับปรุงสภาพแวดล้ อม การปรับปรุงย้ อนหลังภายใต้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 29 (ปรับปรุง 2557) เรื# องการรายงานทาง การเงินในสภาพเศรษฐกิจทีเ# งินเฟ้ อรุนแรง งบการเงินระหว่างกาลและการด้ อยค่า ข้ อตกลงสัมปทานบริ การ โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลกู ค้ า ข้ อจํากัดสินทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ ข้ อกําหนดเงินทุนขันตํ - า# และปฏิสมั พันธ์ของ รายการเหล่านี - สําหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับ ที# 19 (ปรับปรุง 2557) เรื# อง ผลประโยชน์ของ พนักงาน สัญญาสําหรับการก่อสร้ างอสังหาริ มทรัพย์ การจ่ายสินทรัพย์ที#ไม่ใช่เงินสดให้ เจ้ าของ การโอนสินทรัพย์จากลูกค้ า

ต้ นทุนการเปิ ดหน้ าดินในช่วงการผลิตสําหรับ เหมืองผิวดิน ในระหว่างปี บริ ษัทได้ นํากรอบแนวคิดสําหรั บการรายงานทางการเงิน (ปรั บปรุ ง 2558) และมาตรฐานการ รายงานทางการเงินที#ออกและปรับปรุ งใหม่ ซึ#งมีผลบังคับใช้ สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที#เริ# มในหรื อหลังวันที# 1 มกราคม 2558 มาถือปฏิบตั ิ กรอบแนวคิดสําหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุ ง 2558) และมาตรฐานการ รายงานทางการเงินดังกล่าวได้ รับการปรับปรุงหรื อจัดให้ มีขึ -นเพื#อให้ มีเนื -อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็ นการปรับปรุงถ้ อยคําและคําศัพท์ การตีความและการให้ แนวปฏิบตั ิ ทางการบัญชี กับผู้ใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การนํากรอบแนวคิดสําหรับการรายงานทางการเงิ น

91


(ปรั บ ปรุ ง 2558) และมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ดัง กล่า วมาถื อ ปฏิ บัติ นี ไ- ม่มี ผ ลกระทบอย่า งเป็ น สาระสําคัญต่องบการเงินของบริ ษัท ยกเว้ น มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังต่อไปนี -

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที$ 1 (ปรับปรุ ง 2557) เรื$อง การนําเสนองบการเงิน การเปลี#ยนแปลงที#สําคัญ ได้ แก่ การเพิ#มเติมข้ อกําหนดให้ บริ ษัทจัดกลุ่มรายการที#แสดงอยู่ในรายการกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื#น โดยใช้ เกณฑ์ ว่ารายการดังกล่าวสามารถจัดประเภทรายการใหม่เข้ าไปไว้ ในกํ าไรหรื อ ขาดทุนในภายหลังได้ หรื อไม่ มาตรฐานการบัญชีดงั กล่าวจะมีผลต่อการแสดงรายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื#น ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จของบริ ษัท มาตรฐานการบัญชี ฉบับที$ 19 (ปรับปรุ ง 2557) เรื$อง ผลประโยชน์ ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงนี -กําหนดให้ บริ ษัทต้ องรับรู้ รายการกําไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ ประกันภัยทันทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื#น ในขณะที#มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมอนุญาตให้ บริ ษัท เลือกรับรู้ รายการดังกล่าวทันทีในกําไรหรื อขาดทุน หรื อในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื#น หรื อทยอยรับรู้ ในกําไรหรื อ ขาดทุนได้ ฝ่ ายบริ หารของบริ ษัทได้ ประเมินผลกระทบของการเปลีย# นแปลงโดยปรากฏในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสําหรับปี สิ -นสุดวันที# 31 ธันวาคม 2558 สรุปได้ ดงั นี บาท งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ ต้ นทุนขาย ลดลง 133,693.86 ค่าใช้ จ่ายในการบริหาร ลดลง 174,018.14 ค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้ เพิ มขึน (61,542.40) ขาดทุนสําหรับปี ลดลง 246,169.60 ขาดทุนต่อหุ้นพื นฐาน ลดลง 0.001 ขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื น รายการที จะไม่ ถกู จัดประเภทใหม่ เข้ าไปไว้ ในกําไรหรื อขาดทุน ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน (307,712.00) ภาษีเงินได้ ที เกี ยวกับขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน 61,542.40 ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื นสําหรับปี - สุทธิจากภาษี เงินได้ (246,169.60) มาตรฐานการรายงานทางการเงินที$ออกและปรับปรุ งใหม่ แต่ ยงั ไม่ มีผลบังคับใช้ ในระหว่างปี 2558 สภาวิชาชีพบัญชีได้ ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีให้ ใช้ มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการ รายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชี การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินและแนวปฏิบตั ิ ทางการบัญชีที#ออกและปรับปรุงใหม่ ดังต่อไปนี 92


มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชี การตีความมาตรฐานการ รายงานทางการเงินและแนวปฏิบตั ิทางการบัญชี ซึ#งมีผลบังคับใช้ สําหรับงบการเงินที#มีรอบบัญชีเริ# มในหรื อหลัง วันที# 1 มกราคม 2559 ดังต่อไปนี มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี/ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ แนวปฏิบัตทิ างการบัญชี มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 1 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 2 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 7 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 8 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 10 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 11 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 12 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 16 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 17 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 18 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 19 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 20 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 21 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 23 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 24 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 26 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 27 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 28 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 29 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 33 (ปรับปรุง 2558)

เรื$อง การนําเสนองบการเงิน สินค้ าคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลีย# นแปลงประมาณ การทางบัญชีและข้ อผิดพลาด เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน สัญญาก่อสร้ าง ภาษี เงินได้ ที#ดิน อาคารและอุปกรณ์ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและ การเปิ ดเผยข้ อมูล เกี# ยวกับความช่ว ยเหลือ จากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี# ย นแปลงของอัต รา แลกเปลีย# นเงินตราต่างประเทศ ต้ นทุนการกู้ยืม การเปิ ดเผยข้ อมูลเกี#ยวกับบุคคล หรื อกิจการ ที#เกี#ยวข้ องกัน ก า ร บั ญ ชี แ ล ะ ก า ร ร า ย ง า น โ ค ร ง ก า ร ผลประโยชน์เมื#อออกจากงาน งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริ ษัทร่วม และการร่วมค้ า การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที# เงินเฟ้ อรุนแรง กําไรต่อหุ้น 93


มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี/ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ แนวปฏิบัตทิ างการบัญชี มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 34 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 36 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 37 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 38 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 40 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 41 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 2 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 3 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 4 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 5 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 6 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 8 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 10 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 11 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 12 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 13 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 10 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 15 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 25 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 27 (ปรับปรุง 2558)

เรื$อง งบการเงินระหว่างกาล การด้ อยค่าของสินทรัพย์ ประมาณการหนี -สิน หนี -สินที#อาจเกิดขึ -น และ สินทรัพย์ที#อาจเกิดขึ -น สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน อสังหาริ มทรัพย์เพื#อการลงทุน เกษตรกรรม การจ่ายโดยใช้ ห้ นุ เป็ นเกณฑ์ การรวมธุรกิจ สัญญาประกันภัย สิน ทรั พ ย์ ไ ม่ห มุน เวี ย นที# ถื อ ไว้ เ พื# อ ขายและ การดําเนินงานที#ยกเลิก การสํารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ ส่วนงานดําเนินงาน งบการเงินรวม การร่วมการงาน การเปิ ดเผยข้ อมูล เกี# ย วกั บ ส่ ว นได้ เสี ย ใน กิจการอื#น การวัดมูลค่ายุติธรรม

ความช่ ว ยเหลื อ จากรั ฐ บาล - กรณี ที# ไ ม่ มี ความเกี# ย วข้ องอย่ า งเฉพาะเจาะจงกั บ กิจกรรมดําเนินงาน สัญญาเช่าดําเนินงาน - สิง# จูงใจที#ให้ แก่ผ้ เู ช่า ภาษี เงินได้ -การเปลี#ยนแปลงสถานภาพทาง ภาษี ของกิจการหรื อผู้ถือหุ้น การประเมินเนือ- หาสัญญาเช่าที#ทํ าขึน- ตาม รูปแบบกฎหมาย 94


มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี/ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ แนวปฏิบัตทิ างการบัญชี การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 29 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 31 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที# 32 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 1 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 4 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 5 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 7 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 10 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 12 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 13 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 14 (ปรับปรุง 2558)

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 15 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 17

เรื$อง การเปิ ดเผยข้ อ มู ล ของข้ อตกลงสัม ปทาน บริ การ รายได้ -รายการแลกเปลี#ยนเกี# ยวกับ บริ การ โฆษณา สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน-ต้ นทุนเว็บไซต์ การเปลีย# นแปลงในหนี -สินที#เกิดขึ -นจากการรื อถอน การบู ร ณะ และหนี ส- ิ น ที# มี ล ั ก ษณะ คล้ ายคลึงกัน การประเมินว่าข้ อตกลงประกอบด้ วยสัญญา เช่าหรื อไม่ สิท ธิ ใ นส่ว นได้ เ สี ย จากกองทุน การรื อ- ถอน การบูรณะและการปรับปรุงสภาพแวดล้ อม การปรับปรุ งย้ อนหลังภายใต้ มาตรฐานการ บัญชี ฉบับที# 29 (ปรับปรุ ง 2558) เรื# อง การ รายงานทางการเงิ นในสภาพเศรษฐกิ จ ที# มี ภาวะเงินเฟ้ อรุนแรง งบการเงินระหว่างกาลและการด้ อยค่า ข้ อตกลงสัมปทานบริ การ โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลกู ค้ า ข้ อจํากัดสินทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ ข้ อกําหนดเงินทุนขันตํ - #าและปฏิสมั พันธ์ ของ รายการเหล่านี - สําหรั บมาตรฐานการบัญชี ฉ บั บ ที# 1 9 ( ป รั บ ป รุ ง 2 5 5 8 ) เ รื# อ ง ผลประโยชน์ของพนักงาน สัญญาสําหรับการก่อสร้ างอสังหาริ มทรัพย์ การจ่ายสินทรัพย์ที#ไม่ใช่เงินสดให้ เจ้ าของ 95


มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี/ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ แนวปฏิบัตทิ างการบัญชี เรื$อง (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 18 การโอนสินทรัพย์จากลูกค้ า (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 20 ต้ นทุนการเปิ ดหน้ าดินในช่วงการผลิตสําหรับ (ปรับปรุง 2558) เหมืองผิวดิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที# 21 เงินที#นําส่งรัฐ แนวปฏิบตั ิทางการบัญชีสาํ หรับการวัดมูลค่าและการรับรู้รายการของพืชเพื#อการให้ ผลิตผล ฝ่ ายบริ หารของบริ ษัทอยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบต่องบการเงินในปี ที#เริ# มใช้ มาตรฐานการรายงานทาง การเงินฉบับดังกล่าว

3. สรุ ปนโยบายการบัญชีท$ สี าํ คัญ เกณฑ์ การวัดค่ าในการจัดทํางบการเงิน นอกจากที#เปิ ดเผยไว้ ในหัวข้ ออื#น ๆ ในสรุ ปนโยบายการบัญชีที#สําคัญและหมายเหตุประกอบงบการเงินอื#น ๆ เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงินใช้ ราคาทุนเดิม รายได้ การขายสินค้ า รายได้ จะรับรู้ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเมื#อได้ โอนความเสี#ยงและผลตอบแทนที#เป็ นสาระสําคัญของความเป็ น เจ้ าของสินค้ าที#มีนัยสําคัญไปให้ กับผู้ซือ- แล้ ว และจะไม่รับรู้ รายได้ ถ้าฝ่ ายบริ หารยังมีการควบคุมหรื อบริ หาร สินค้ าที#ขายไปแล้ วนันหรื - อมีความไม่แน่นอนที#มีนยั สําคัญในการได้ รับประโยชน์จากรายการบัญชีนนไม่ ั - อาจวัด มูลค่าของจํานวนรายได้ และต้ นทุนที#เกิดขึ -นได้ อย่างน่าเชื#อถือหรื อมีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่ที#จะต้ องรับคืน สินค้ า ดอกเบี -ยรับ ดอกเบี -ยถือเป็ นรายได้ ตามเกณฑ์คงค้ างโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที#แท้ จริ ง รายได้ อื#นรับรู้ตามเกณฑ์คงค้ าง ค่ าใช้ จ่าย สัญญาเช่าดําเนินงาน รายจ่ายภายใต้ สญ ั ญาเช่าดําเนินงานบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จโดยวิธีเส้ นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ประโยชน์ที#ได้ รับตามสัญญาเช่าจะรับรู้ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเป็ นส่วนหนึ#งของค่าเช่าทังสิ - -นตามสัญญา ค่า เช่าที#อาจเกิดขึ -นจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จในรอบบัญชีที#มีรายการดังกล่าว ต้ นทุนทางการเงิน

ต้ นทุนการกู้ยืมของเงินกู้ที#ใช้ ในการได้ มา การก่อสร้ าง หรื อการผลิตสินทรัพย์ที#ต้องใช้ ระยะเวลานานในการแปลง สภาพให้ พร้ อมใช้ หรื อขาย ได้ ถกู นําไปรวมเป็ นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นนจะอยู ั่ในสภาพพร้ อมที# 96


จะใช้ ได้ ต ามที# มุ่ง ประสงค์ ส่ว นต้ น ทุน การกู้ยื ม อื# น ถื อ เป็ นค่ า ใช้ จ่ า ยในงวดที# เ กิ ด รายการ ต้ น ทุน การกู้ ยื ม ประกอบด้ วยดอกเบี -ย และต้ นทุนอื#นที#เกิดขึ -นจากการกู้ยืมนันดอกเบี -ยซึ#งเป็ นส่วนหนึ#งของค่างวดตามสัญญาเช่าการเงินบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จโดยใช้ วิธีอตั รา ดอกเบี -ยที#แท้ จริ ง ค่าใช้ จ่ายรับรู้ตามเกณฑ์คงค้ าง ผลประโยชน์ ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสันบริ ษัทรับรู้เงินเดือน ค่าจ้ าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็ นค่าใช้ จ่ายในงวดที#เกิดรายการ ผลประโยชน์หลังออกจากงาน – โครงการสมทบเงินที#กําหนดไว้ บริ ษัทดําเนินการจัดตังกองทุ นสํารองเลี -ยงชีพที#เป็ นแผนจ่ายสมทบที#กําหนดการจ่ายสมทบไว้ เป็ นกองทุนโดย สินทรัพย์ของกองทุนแยกออกจากสินทรัพย์ของบริ ษัท กองทุนสํารองเลี -ยงชีพดังกล่าวได้ รับเงินสมทบเข้ ากองทุน จากทังพนั - กงานและบริ ษัท เงินจ่ายสมทบกองทุนสํารองเลี -ยงชี พและภาระหนี -สินตามโครงการสมทบเงินจะ บันทึกเป็ นค่าใช้ จ่ายใน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที#เกี#ยวข้ อง ผลประโยชน์หลังออกจากงาน – โครงการผลประโยชน์ที#กําหนดไว้ หนี -สินผลประโยชน์พนักงานส่วนที#เป็ นเงินชดเชยตามกฎหมายแรงงานและส่วนที#บริ ษัทกําหนดเพิ#มเติมบันทึก เป็ นค่าใช้ จ่ายตลอดอายุการทํางานของพนักงาน โดยการประมาณจํานวนเงินผลประโยชน์ในอนาคตที#พนักงาน จะได้ รั บ จากการทํ า งานให้ กับ บริ ษั ท ตลอดระยะเวลาทํ า งานถึ ง ปี ที# เ กษี ย ณอายุง านในอนาคตตามหลัก คณิตศาสตร์ ประกันภัย โดยผลประโยชน์ดงั กล่าวได้ ถกู คิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั อัตราคิดลดใช้ อตั ราผลตอบแทน ของพันธบัตรรัฐบาลเป็ นอัตราอ้ างอิงเริ# มต้ น การประมาณการหนีส- ินดังกล่าวคํานวณตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยโดยใช้ วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที#ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) เมื#อผลประโยชน์พนักงานมีการเปลี#ยนแปลง ส่วนของผลประโยชน์ที#เพิ#มขึ -นซึ#งเกี#ยวข้ องกับการทํางานให้ กับ บริ ษัทในอดีตของพนักงานจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จตามวิธีเส้ นตรงตามอายุงานคงเหลือโดยเฉลี#ย จนกระทัง# ผลประโยชน์ได้ มีการจ่ายจริ ง เมื#อข้ อสมมติที#ใช้ ในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยมีการเปลี#ยนแปลง บริ ษัทรับรู้ ผลกําไร (ขาดทุน)จากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยที#เกิดขึน- ทันทีในกํ าไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื#นทังจํานวน

ผลประโยชน์เมื#อเลิกจ้ าง บริ ษัทรับรู้ ผลประโยชน์เมื#อเลิกจ้ างเป็ นหนี -สินและค่าใช้ จ่าย เมื#อบริ ษัทยกเลิกการจ้ างพนักงานหรื อกลุ่มของ พนักงานก่อนวันเกษี ยณตามปกติ ภาษีเงินได้ ค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้ สําหรั บปี ประกอบด้ วย ภาษี เงิ นได้ ปัจจุบันและภาษี เงิ นได้ รอการตัดบัญชี ภาษี เงินได้ ปั จจุบัน และภาษี เงิ นได้ รอการตัดบัญชี รับรู้ ในกํ าไรหรื อขาดทุน เว้ นแต่ภาษี เ งิ นได้ ร อการตัดบัญชี ใ นส่วนที# เกี#ยวกับรายการที#บนั ทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นให้ รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื#น

97


ภาษี เงินได้ ปัจจุบนั ได้ แก่ ภาษี ที#คาดว่าจะจ่ายชําระหรื อได้ รับชําระ โดยคํานวณจากกําไรหรื อขาดทุนประจําปี ที# ต้ องเสียภาษี โดยใช้ อตั ราภาษี ที#ประกาศใช้ หรื อที#คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันสิ -นรอบระยะเวลารายงาน ตลอดจน การปรับปรุงทางภาษี ที#เกี#ยวกับรายการในปี ก่อน ๆ ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีบนั ทึกโดยคํานวณจากผลแตกต่างชัว# คราวที#เกิดขึ -นระหว่างมูลค่าตามบัญชีและมูลค่า ฐานภาษี ของสินทรัพย์และหนี -สิน ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้ อตั ราภาษี ที#คาดว่าจะใช้ กบั ผลแตกต่างชัว# คราวเมื#อมีการกลับรายการ โดยใช้ อตั ราภาษี ที#ประกาศใช้ หรื อที#คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันสิ -นรอบระยะเวลารายงาน ในการกําหนดมูลค่าของภาษี เงินได้ ปัจจุบนั และภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี บริ ษัทต้ องคํานึงถึงผลกระทบของ สถานการณ์ทางภาษี ที#ไม่แน่นอนและอาจทําให้ จํานวนภาษี ที#ต้องจ่ายเพิ#มขึ -นและมีดอกเบี -ยที#ต้องชําระ บริ ษัท เชื#อว่าได้ ตงภาษี ั - เงินได้ ค้างจ่ายเพียงพอสําหรับภาษี เงินได้ ที#จะจ่ายในอนาคตซึ#งเกิดจากการประเมินผลกระทบ จากหลายปั จจัย รวมถึง การตีความทางกฎหมายภาษี และจากประสบการณ์ ในอดีต การประเมินนีอ- ยู่บน พื -นฐานการประมาณการและข้ อสมมติฐานและอาจเกี#ยวข้ องกับการตัดสินใจเกี# ยวกับเหตุการณ์ ในอนาคต ข้ อมูลใหม่ ๆ อาจทําให้ บริ ษัทเปลีย# นการตัดสินใจโดยขึ -นอยูก่ บั ความเพียงพอของภาษี เงินได้ ค้างจ่ายที#มีอยู่ การ เปลีย# นแปลงในภาษี เงินได้ ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้ ในงวดที#เกิดการเปลีย# นแปลง สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีและหนี -สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้ เมื#อกิจการมีสิทธิ ตามกฎหมายที#จะนําสินทรัพย์ภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั มาหักกลบกับหนี -สินภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั และ ภาษี เงินได้ นี -ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษี หน่วยงานเดียวกันสําหรับหน่วยภาษี เดียวกันหรื อหน่วยภาษี ต่างกัน สําหรับหน่วยภาษี ต่างกันนันกิ - จการมีความตังใจจะจ่ ายชําระหนี -สินและสินทรัพย์ภาษี เงินได้ ของงวด ปั จจุบนั ด้ วยยอดสุทธิหรื อตังใจจะรั บคืนสินทรัพย์และจ่ายชําระหนี -สินในเวลาเดียวกัน สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื#อมีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่ว่ากําไรเพื#อเสียภาษี ในอนาคต จะมีจํานวนเพียงพอกับการใช้ ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว# คราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีจะ ถูกทบทวน ณ ทุกวันสิ -นรอบระยะเวลารายงานและจะถูกปรับลดลงเท่าที#ประโยชน์ทางภาษี จะมีโอกาสถูกใช้ จริ ง เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ประกอบด้ วย เงินสด เงินฝากธนาคารกระแสรายวันและออมทรัพย์ เงินฝาก ธนาคารที#มีกําหนดระยะเวลาไม่เกิ น 3 เดือน และเงินลงทุนระยะสันที - #มีสภาพคล่องสูง โดยไม่รวมเงิ นฝาก ธนาคารติดภาระหลักประกัน ลูกหนีก ารค้ าและลูกหนีอ $ นื ลูกหนี -การค้ าและลูกหนี -อื#นแสดงในราคาตามใบแจ้ งหนี -หักค่าเผื#อหนี -สงสัยจะสูญ บริ ษัทบันทึกค่าเผื#อหนี -สงสัยจะสูญสําหรับผลขาดทุนโดยประมาณที#อาจเกิดขึ -นจากการเก็บเงินลูกหนี -ไม่ได้ ซึ#ง โดยทัว# ไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุลกู หนี ในการประมาณค่าเผื#อหนี -สงสัยจะสูญของลูกหนี - ฝ่ ายบริ หารจําเป็ นต้ องใช้ ดุลยพินิจในการประมาณการผล ขาดทุนที#คาดว่าจะเกิดขึ -นจากลูกหนี -แต่ละราย โดยคํานึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี -ที#คง ค้ างและภาวะเศรษฐกิ จที#เป็ นอยู่ในขณะนัน- เป็ นต้ น อย่างไรก็ ตามการใช้ ประมาณการและข้ อสมมติฐานที# แตกต่างกันอาจมีผลต่อจํานวนค่าเผื#อหนี -สงสัยจะสูญ ดังนัน- การปรับปรุ งค่าเผื#อหนี -สงสัยจะสูญอาจมีขึ -นได้ ใน อนาคต 98


สินค้ าคงเหลือ บริ ษัทตีราคาสินค้ าคงเหลือในราคาทุนหรื อมูลค่าสุทธิที#จะได้ รับแล้ วแต่ราคาใดจะตํ#ากว่า โดยวิธีดงั ต่อไปนี งานระหว่างทําและสิ นค้าสํา เร็ จรู ป - ตีราคาตามวีธีถวั เฉลี ย วัตถุดิบและอะไหล่ - ตีราคาตามวิธีเข้าก่อน - ออกก่อน ต้ นทุนของสินค้ าประกอบด้ วยต้ นทุนที#ซื -อ ต้ นทุนในการดัดแปลงหรื อต้ นทุนอื#นเพื#อให้ สินค้ าอยู่ในสถานที#และ สภาพปั จจุบนั ในกรณีของสินค้ าสําเร็ จรู ปและสินค้ าระหว่างผลิตที#ผลิตเอง ต้ นทุนสินค้ ารวมการปั นส่วนของค่า โสหุ้ยการผลิตอย่างเหมาะสม โดยคํานึงถึงระดับกําลังการผลิตตามปกติ มูลค่าสุทธิที#จะได้ รับเป็ นการประมาณราคาที#จะขายได้ จากการดําเนินธุรกิจปกติหกั ด้ วยค่าใช้ จ่ายที#จําเป็ นในการ ขาย บริ ษัทบันทึกค่าเผื#อมูลค่าสินค้ าลดลงสําหรับสินค้ าที#เสือ# มคุณภาพ เสียหาย ล้ าสมัยและค้ างนาน ที$ดนิ อาคารและอุปกรณ์ ที#ดินแสดงในราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงในราคาทุนหักค่าเสือ# มราคาสะสมและค่าเผื#อการด้ อยค่า (ถ้ ามี) ค่าเสือ# มราคา ค่าเสือ# มราคาคํานวณโดยวิธีเส้ นตรงตามเกณฑ์อายุการให้ ประโยชน์โดยประมาณของสินทรัพย์ดงั นี -

ประเภทสินทรัพย์

อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร เครื องจักรและอุปกรณ์โรงงาน เครื องตกแต่งและเครื องใช้ สํานักงาน ยานพาหนะ

จํานวนปี 5 - 30 5 - 20 5 5

ค่าเสือ# มราคาของอุปกรณ์โรงงานประเภทแม่พิมพ์ คํานวณจากราคาทุนโดยวิธีรับรู้ ตามจํานวนผลผลิตที#เกิดขึ -น จริ งเปรี ยบเทียบกับประมาณการผลผลิตที#คาดว่าจะได้ รับทังหมดจากการใช้ ประโยชน์จากแม่พิมพ์ ค่าเสื#อมราคารวมอยู่ในการคํานวณผลการดําเนินงานและไม่มีการคิดค่าเสื#อมราคาสําหรับที#ดินและสินทรัพย์ ระหว่างก่อสร้ าง การซ่อมแซมและบํารุ งรักษาจะรับรู้ ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จระหว่างปี บัญชีที#เกิดรายการขึ -น ต้ นทุนของการ ปรับปรุงให้ ดีขึ -นที#สาํ คัญจะบันทึกรวมไว้ ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์หากมีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่ว่าการ ปรับปรุงนันจะทํ - าให้ บริ ษัทได้ ประโยชน์กลับคืนมาเกินกว่ารอบระยะเวลาบัญชี สินทรัพย์ที#ได้ มาจากการปรับปรุง หลักจะตัดค่าเสือ# มราคาตลอดอายุการใช้ ประโยชน์ที#เหลืออยูข่ องสินทรัพย์ที#เกี#ยวข้ อง รายการกําไรและรายการขาดทุนจากการจําหน่ายกําหนดโดยเปรี ยบเทียบสิง# ตอบแทนที#ได้ รับกับราคาตามบัญชี และรวมไว้ อยูใ่ นงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ สินทรัพย์ ไม่ มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตวั ตนแสดงในราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสมและค่าเผื#อการด้ อยค่า (ถ้ ามี) ค่าตัดจําหน่าย

99


ค่าตัดจําหน่ายบันทึกเป็ นค่าใช้ จ่ายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ คํานวณโดยวิธีเส้ นตรงตามเกณฑ์ระยะเวลาที# คาดว่าจะได้ รับ ประโยชน์ เ ชิ งเศรษฐกิ จของสินทรั พย์ ไม่มี ตัวตนแต่ละประเภท ระยะเวลาที# คาดว่า จะได้ รั บ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจโดยประมาณ 5 ปี ค่า ตัด จํ า หน่า ยรวมอยู่ใ นการคํ า นวณผลการดํ า เนิ น งานและไม่มี ก ารคิ ด ค่า ตัด จํ า หน่า ยสํา หรั บ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ ระหว่างติดตัง-

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต้ นทุนที#เกิดจากการพัฒนาและบํารุงดูแลโปรแกรมคอมพิวเตอร์ บนั ทึกเป็ นค่าใช้ จ่ายเมื#อเกิดขึ -น ต้ นทุนที#เกี#ยวข้ อง โดยตรงกับผลิตภัณฑ์โปรแกรมที#ระบุได้ และมีเอกลักษณ์ของโปรแกรมที#บริ ษัทสามารถควบคุมได้ รวมทังมี - ความ เป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่ที#จะก่อให้ เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเกินกว่าต้ นทุนสําหรับช่วงระยะเวลามากกว่าหนึ#งปี บริ ษัทได้ บนั ทึกต้ นทุนนันเป็ - นสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน ต้ นทุนทางตรงรวมไปถึงต้ นทุนพนักงานของคณะทํางานพัฒนา โปรแกรมและค่าใช้ จ่ายการผลิต (โสหุ้ยการผลิต) ที#เกี#ยวข้ องด้ วย ซึง# ได้ ปันส่วนให้ อย่างเหมาะสม รายจ่ายเพื#อเพิ#มหรื อขยายผลการทํางานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้ มีคณ ุ ค่าเพิ#มขึ -นจากคุณลักษณะที#กําหนด ไว้ เมื#อเริ# มต้ นได้ บนั ทึกเป็ นต้ นทุนเพื#อการพัฒนาและบวกรวมไว้ ในต้ นทุนเมื#อเริ# มต้ นของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ นนั การซ่อมแซมและบํารุ งรักษาจะรับรู้ ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จระหว่างปี บัญชีที#เกิดรายการขึ -น ต้ นทุนของการ ปรับปรุงให้ ดีขึ -นที#สาํ คัญจะบันทึกรวมไว้ ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์หากมีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่ว่าการ ปรับปรุงนันจะทํ - าให้ บริ ษัทได้ ประโยชน์กลับคืนมาเกินกว่ารอบระยะเวลาบัญชี สินทรัพย์ที#ได้ มาจากการปรับปรุ ง หลักจะตัดจําหน่ายตลอดอายุการให้ ประโยชน์ที#เหลืออยูข่ องสินทรัพย์ที#เกี#ยวข้ อง รายการกําไรและรายการขาดทุนจากการจําหน่ายกําหนดโดยเปรี ยบเทียบสิง# ตอบแทนที#ได้ รับกับราคาตามบัญชี และรวมไว้ อยูใ่ นงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ การด้ อยค่ าของสินทรัพย์ ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของบริ ษัทได้ รับการทบทวน ณ ทุกวันที#ในงบแสดงฐานะการเงินว่ามีข้อบ่งชี -เรื# องการ ด้ อยค่าหรื อไม่ ในกรณีที#มีข้อบ่งชี -จะทําการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที#คาดว่าจะได้ รับคืน ขาดทุน จากการด้ อ ยค่า รั บ รู้ เมื# อ มูล ค่า ตามบัญ ชี ข องสิน ทรั พ ย์ ห รื อ มูล ค่า ตามบัญ ชี ข องหน่ว ยสิน ทรั พ ย์ ที# ก่อให้ เกิดเงินสดสูงกว่ามูลค่าที#จะได้ รับคืน ขาดทุนจากการด้ อยค่าบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ การคํานวณมูลค่าที#คาดว่าจะได้ รับคืน มูลค่าที#คาดว่าจะได้ รับคืนของสินทรัพย์หมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้ นทุนในการขายของสินทรัพย์หรื อมูลค่าจาก การใช้ ของสินทรัพย์แล้ วแต่มลู ค่าใดจะสูงกว่าในการประเมินมูลค่าจากการใช้ ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแส เงินสดที#จะได้ รับในอนาคตจะคิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยใช้ อตั ราคิดลดก่อนคํานึงภาษีเงินได้ เพื#อให้ สะท้ อนมูล ค่าที#อาจประเมินได้ ในตลาดปั จจุบนั ซึ#งแปรไปตามเวลาและความเสี#ยงที#มีต่อสินทรัพย์ สําหรับสินทรัพย์ที#ไม่ ก่อให้ เกิ ดกระแสเงิ น สดรั บโดยอิ สระจากสินทรั พย์ อื#น ให้ พิ จารณามูลค่า ที#คาดว่าจะได้ รั บคืน รวมกับหน่ว ย สินทรัพย์ที#ก่อให้ เกิดเงินสดที#สนิ ทรัพย์นนมี ั - ความเกี#ยวข้ องด้ วย การกลับรายการด้ อยค่า ขาดทุนจากการด้ อยค่าจะถูกกลับรายการหากมีการเปลี#ยนแปลงประมาณการที#ใช้ ในการคํานวณมูลค่าที#คาด ว่าจะได้ รับคืน 100


ขาดทุนจากการด้ อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเพื#อให้ มลู ค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชี ภายหลังหักค่าเสือ# มราคาหรื อค่าตัดจําหน่าย เสมือนหนึง# ไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้ อยค่ามาก่อน สัญญาเช่ าการเงิน สัญญาเช่าอาคาร และอุปกรณ์ที#ความเสีย# งและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้ าของส่วนใหญ่ได้ โอนไปให้ กบั ผู้เช่า ถือเป็ นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้ วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที#เช่า หรื อมูลค่าปั จจุบนั สุทธิของจํานวนเงินที#ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้ วแต่มลู ค่าใดจะตํ#ากว่าโดยจํานวนเงินที#ต้อง จ่ายจะปั นส่วนระหว่างหนี -สินและค่าใช้ จ่ายทางการเงินเพื#อให้ ได้ อัตราดอกเบี -ยคงที#ต่อหนี -สินคงค้ างอยู่โดย พิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้ จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็ นหนี -สินระยะยาว ส่วนดอกเบี -ยจ่ายจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จตลอดอายุของสัญญาเช่าสินทรัพย์ที#ได้ มาตามสัญญาเช่า การเงิ น จะคิดค่าเสื#อมราคาตลอดอายุการให้ ประโยชน์ ข องสินทรั พย์ ที#เช่ าหรื ออายุข องสัญญาเช่ าแล้ วแต่ ระยะเวลาใดจะตํ#ากว่า เงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชีที#เป็ นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที#เป็ นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้ อตั ราแลกเปลีย# น ณ วันที#เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี -สินที#เป็ นตัวเงินและเป็ นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที#ในงบแสดงฐานะการเงิน แปลงค่าเป็ นเงิน บาทโดยใช้ อตั ราแลกเปลีย# น ณ วันนันกําไรหรื อขาดทุนจากการแปลงค่าดังกล่าวได้ รวมอยูใ่ นงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ ประมาณการหนีส ิน ประมาณการหนีส- ินจะรั บรู้ ในงบแสดงฐานะการเงิ น ก็ ต่อเมื#อ บริ ษัทมีภ าระหนีส- ินเกิ ดขึน- จากข้ อพิ พาททาง กฎหมายหรื อภาระผูกพันซึ#งเป็ นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่ว่าประโยชน์เชิง เศรษฐกิจจะต้ องถูกจ่ายไปเพื#อชําระภาระหนี -สินดังกล่าว โดยจํานวนภาระหนี -สินดังกล่าวสามารถประมาณ จํานวนเงินได้ อย่างน่าเชื#อถือ ถ้ าผลกระทบดังกล่าวเป็ นนัยสําคัญ ประมาณการกระแสเงินสดที#จะจ่ายในอนาคต จะคิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยใช้ อตั ราคิดลดในตลาดปั จจุบนั ก่อนคํานึงภาษี เงินได้ เพื#อให้ สะท้ อนมูลค่าที#อาจ ประเมินได้ ในตลาดปั จจุบนั ซึง# แปรไปตามเวลาและความเสีย# งที#มีตอ่ หนี -สิน การจ่ ายโดยใช้ ห้ ุนเป็ นเกณฑ์ โครงการให้ สิทธิ ซื -อหุ้นแก่พนักงานของบริ ษัทอนุญาตให้ กรรมการและพนักงานมีสิทธิซื -อหุ้นของบริ ษัทภายใต้ เงื#อนไขที#กําหนด จํานวนเงินที#ได้ รับจากการใช้ สทิ ธิสทุ ธิจากค่าใช้ จ่ายเกี#ยวกับการใช้ สิทธิ จะถูกรับรู้ ในทุนเรื อน หุ้นและส่วนเกินมูลค่าหุ้นเมื#อมีการใช้ สทิ ธิซื -อหุ้นแล้ ว มูลค่ายุติธรรมของสิทธิซื -อหุ้น ณ วันที#ให้ สทิ ธิแก่พนักงานรับรู้เป็ นค่าใช้ จ่ายพนักงานพร้ อมๆไปกับการเพิ#มขึ -นใน ส่วนของผู้ถือหุ้น ตลอดระยะเวลาที#พนักงานสามารถเข้ าใช้ สทิ ธิได้ อย่างไม่มีเงื#อนไข จํานวนที#รับรู้ เป็ นค่าใช้ จ่าย จะถูกปรับปรุ งเพื#อให้ สะท้ อนถึงจํานวนสิทธิซื -อหุ้นที#แท้ จริ งซึ#งเงื#อนไขการให้ บริ การที#เกี#ยวข้ องและเงื#อนไขการ ได้ รับสิทธิที#ไม่ใช่เงื#อนไขเรื# องตลาดทุน เงินปั นผลจ่ าย เงิ น ปั นผลจ่ า ยและเงิ น ปั นผลจ่ า ยระหว่ า งกาลบัน ทึ ก ในรอบระยะเวลาบัญ ชี ซึ# ง ที# ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ นและ คณะกรรมการของบริ ษัทได้ อนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผล 101


ส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที#บริ ษัทเสนอขายหุ้นสูง กว่ามูลค่าหุ้นทีจ# ดทะเบียนไว้ บริษัทต้ องนําค่าหุ้นส่วนเกินนี -ตังเป็ - นทุนสํารอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกิน มูลค่าหุ้นนี -จะนําไปจ่ายเป็ นเงินปั นผลไม่ได้ ขาดทุนต่ อหุ้นขัน พืน ฐาน ขาดทุนต่อหุ้นขันพื - -นฐานคํานวณโดยการหารขาดทุนสําหรับปี ด้ วยจํานวนถัวเฉลี#ยถ่วงนํ -าหนักของหุ้นสามัญที# ออกจําหน่ายแล้ วในระหว่างปี สรุปได้ ดงั นี สําหรับปี สิ -นสุดวันที# 31 ธันวาคม 2558 และ 2557

ขาดทุนสําหรับปี (บาท)

หุ้นสามัญตามวิธีถวั เฉลี ยถ่ วงนํา หนัก (หุ้น) หุ้นสามัญที ออก ณ วันต้ นปี

ผลกระทบจากหุ้นที ออกจําหน่ายระหว่างปี หุ้นสามัญตามวิธีถวั เฉลีย ถ่วงนํ #าหนัก (หุ้น) ขาดทุนต่อหุ้นขั #นพื #นฐาน (บาท)

2558

บาท

2557

(3,127,377.77)

(16,406,005.15)

30,048,811

279,515

222,277,158

252,325,969

(0.012)

220,724,783

221,004,298

(0.074)

ขาดทุนต่ อหุ้นปรับลด ขาดทุนต่อหุ้นปรับลด สําหรับปี สิ -นสุดวันที# 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 คํานวณโดยการหารขาดทุนส่วนของผู้ ถือหุ้นสามัญด้ วยผลรวมของจํ านวนหุ้นสามัญถัวเฉลี#ยถ่วงนํา- หนักที#ออกจํ าหน่ายแล้ วในระหว่างปี บวกด้ วย จํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี#ยถ่วงนํ -าหนักที#บริ ษัทอาจต้ องออกเพื#อแปลงสภาพหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดทังสิ - -นให้ เป็ นหุ้นสามัญโดยมิได้ รับสิ#งตอบแทนใด ๆ ทังสิ - -น และสมมติว่าผู้ถือจะแปลงหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดเป็ นหุ้น สามัญ เมื#อราคาตามสิทธิตํ#ากว่ามูลค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญ อย่างไรก็ตาม สําหรับปี สิ -นสุดวันที# 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 บริ ษัทไม่ได้ คํานวณขาดทุนต่อหุ้นปรับลด เนื#องจากการแปลงสภาพตราสารดังกล่าวมีผลทําให้ ขาดทุนต่อหุ้นลดลง 4. รายการบัญชีกับบุคคลหรือกิจการที$เกี$ยวข้ องกัน บริ ษัทมีรายการบัญชีและรายการค้ าส่วนหนึ#งกับบุคคลหรื อกิจการที#เกี#ยวข้ องกัน ซึ#งบุคคลหรื อกิจการเหล่านี เกี#ยวข้ องกันโดยการถือหุ้นและ/หรื อมีผ้ บู ริ หารร่วมกัน หรื อเป็ นสมาชิกในครอบครัวที#ใกล้ ชิด รายการระหว่างกัน กับบุคคลหรื อกิจการที#เกี#ยวข้ องกันที#มีสาระสําคัญที#รวมไว้ ในงบการเงินใช้ ราคาตามปกติธุรกิจ โดยถือตามราคา ตลาดทัว# ไป หรื อในราคาที#ตกลงกันตามสัญญาหากไม่มีราคาตลาดรองรับ ยอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี -สิน และรายการบัญชีและรายการค้ าที#มีสาระสําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที# เกี#ยวข้ องกัน มีดงั นี 102


รายการบัญชีและรายการค้ าที#มสี าระสําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที#เกี#ยวข้ องกัน สําหรับปี สิ -นสุดวันที# 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีดงั นี บาท 2558 2557 รายได้ จากการขาย บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด 1,540,166.54 1,853,901.32 บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด

ซือ สินค้ าและบริการ

บริษัท ริก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรีทเม้ นท์ จํากัด ค่ าเช่ าและบริ การ บริษัท อําพน จํากัด

-

771,617.22

312,465.79

717,833.16

1,040,040.00

1,072,140.00

กรรมการ

738,000.00

300,000.00

บริษัท เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จํากัด

900,000.02

ค่ าธรรมเนียม บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด บริษัท จุฑาวรรณ จํากัด

ค่ าที ปรึกษา

บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด

ดอกเบีย จ่ าย

กรรมการ

253,150.69 253,150.70 486,027.39 7,945.21

350,000.01 350,000.01 340,438.35

86,301.37

17,260.27

103


ยอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี -สินที#มีสาระสําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที#เกี#ยวข้ องกัน ณ วันที# 31 ธันวาคม 2558และ 2557 มีดงั นี -

บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด

ลูกหนีก ารค้ า

บริษัท ริก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรีทเม้ นท์ จํากัด

เจ้ าหนีก ารค้ าและเจ้ าหนีอ นื ค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ าย

บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด บริษัท จุฑาวรรณ จํากัด กรรมการ

บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด

เงินกู้ยืมระยะสัน และดอกเบีย ค้ างจ่ าย เงินกู้ยืม

บริษัท เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จํากัด ดอกเบี ยค้ างจ่าย

เงินกู้ยืม

ดอกเบี ยค้ างจ่าย

บาท

2558

177,723.12

2557

216,948.77

187,394.61

122,194.39

-

29,726.03

-

29,726.03

600,000.00

99,000.00

-

6,000,000.00

-

35,671.23

15,000,000.00

15,000,000.00

-

86,301.37

เงินกู้ยมื ระยะสัน จากกิจการที$เกี$ยวข้ องกัน

การเพิ ม ขึ นและลดลงของเงิน กู้ยืม ระยะสั นจากกิจการที เ กี ย วข้ อ งกัน สํ าหรั บปี สิน สุดวันที 31

ธันวาคม 2558และ 2557 มีดงั นี -

ยอดยกมา

ลดลง คงเหลือ เพิ มขึน

2558

บาท

21,000,000.00 -

(6,000,000.00) 15,000,000.00

2557

-

23,500,000.00

(2,500,000.00) 21,000,000.00

บริ ษัทมีเงินกู้ยมื ระยะสันจากกิ จการที#เกี#ยวข้ องกัน โดยการออกตัวa สัญญาใช้ เงิน คิดดอกเบี -ยอ้ างอิงอัตราเงินกู้ยืม สถาบันการเงิน และไม่มีหลักประกัน 104


การคํา ประกัน บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด และ บริ ษัท จุฑาวรรณ จํากัด ได้ ร่วมคํ -าประกันวงเงินสินเชื#อของบริ ษัท โดย คิดผลตอบแทนจากการคํ -าประกัน อัตราร้ อยละ 2 ต่อปี ของวงเงินสินเชื#อ เมื#อวันที# 22 กันยายน 2558 บริ ษัทที# เกี#ยวข้ องกันทังสองแห่ งดังกล่าวได้ ถอนการคํ -าประกันวงเงินสินเชื#อของบริ ษัทแล้ ว (ดูหมายเหตุ 13) ค่ าตอบแทนผู้บริหารสําคัญ ค่าตอบแทนผู้บริ หารสําคัญสําหรับปี สิ -นสุดวันที# 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย บาท 2558 2557 ผลประโยชน์ระยะสัน 13,074,780.00 9,620,635.33 ผลประโยชน์หลังออกจากงาน 246,867.46 209,601.04 รวม 13,321,647.46 9,830,236.37 ค่ าตอบแทนกรรมการ ค่าตอบแทนกรรมการเป็ นผลประโยชน์ที#จ่ายให้ แก่กรรมการบริ ษัท ตามมาตรา 90 ของพระราชบัญญัติบริ ษัท มหาชนจํากัด โดยไม่รวมเงินเดือนและผลประโยชน์ที#เกี#ยวข้ องที#จ่ายให้ กบั กรรมการซึง# ดํารงตําแหน่งเป็ นผู้บริ หาร ของบริ ษัท ค่าตอบแทนกรรมการ สําหรับปี สิ -นสุดวันที# 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 จํานวนเงิน 0.41 ล้ านบาท และ 0.49 ล้ านบาท ตามลําดับ ลักษณะความสัมพันธ์ ของบริษัท

ชื อ บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด บริษัท จุฑาวรรณ จํากัด บริษัท อําพน จํากัด บริษัท ริก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรีทเม้ นท์ จํากัด บริษัท เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จํากัด

ประเทศ ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

ความสัมพันธ์ บริษัทที เกี ยวข้ องกัน บริษัทที เกี ยวข้ องกัน บริษัทที เกี ยวข้ องกัน บริษัทที เกี ยวข้ องกัน บริษัทที เกี ยวข้ องกัน

ลักษณะความสัมพันธ์ ผู้ถือหุ้นของบริษัทแและกรรมการร่วมกัน ผู้ถือหุ้นร่วมกัน ผู้ถือหุ้นร่วมกัน ผู้ถือหุ้นร่วมกัน ผู้ถือหุ้นร่วมกัน

นโยบายการกําหนดราคา ราคาตลาดเทียบเคียงกับราคาซื อขายกับบุคคลภายนอก ราคาที ตกลงกันตามสัญญา อ้ างอิงอัตราดอกเบี ยธนาคารพาณิชย์

หลักเกณฑ์ ในการเรียกเก็บรายได้ และค่ าใช้ จ่ายระหว่ างกัน

มูลค่าการซื อขายสินค้ าและบริการ ค่าใช้ จ่ายในการบริหาร ดอกเบี ยจ่าย

105


5. เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที# 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย เงินสด

2558

บาท

85,730.36

2557

128,455.11

เงินฝากธนาคาร

25,084,979.03

84,837,424.26

หัก เงินโอนผิดบัญชี บวก เบิกใช้ เงินโอนผิดบัญชี (ดูหมายเหตุ 14) คงเหลือ

25,170,709.39

(87,926,236.78) 9,986,002.72 7,025,645.31

รวม

25,170,709.39

84,965,879.37

เมื#อวันที# 25 ธันวาคม 2557 บริ ษัทแห่งหนึง# (ลูกค้ า) ได้ โอนเงินผิดบัญชีเข้ ามายังบัญชีเงินฝากธนาคารของบริ ษัท จํานวนเงิน 87.93 ล้ านบาท ต่อมาเมื#อวันที# 7 มกราคม 2558 บริ ษัทได้ โอนเงินคืนแก่บริ ษัทดังกล่าวทังจํ - านวน

6. ลูกหนีก ารค้ าและลูกหนีอ $ นื ลูกหนี -การค้ าและลูกหนี -อื#น ณ วันที# 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย

ลูกหนี การค้ า

ลูกหนี อื น รายได้ ค้างรับ ลูกหนี อื น

รวม หัก ค่าเผื อหนี สงสัยจะสูญ ลูกหนี อื น - สุทธิ

ลูกหนี การค้ าและลูกหนี อื น - สุทธิ

2558

45,581,782.10 1,353,286.96

1,353,286.96

บาท

(455,218.98) 898,067.98

46,479,850.08

2557

48,844,113.47 253,199.00 1,343,193.04

1,596,392.04

(455,218.98)

1,141,173.06

49,985,286.53

106


ณ วันที# 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 บริ ษัทมียอดลูกหนี -การค้ าคงเหลือ โดยแยกตามจํานวนเดือนที#ค้างชําระได้ ดังนี -

ลูกหนีก ารค้ า ยังไม่ถงึ กําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ น้ อยกว่า 3 เดือน มากกว่า 3 เดือนขึนไป รวม 7. สินค้ าคงเหลือ สินค้ าคงเหลือ ณ วันที# 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย สินค้ าสําเร็จรูป งานระหว่างทํา วัตถุดิบ อะไหล่ รวม

หัก ค่าเผื อมูลค่าสินค้ าลดลง สินค้ าคงเหลือ - สุทธิ

2558

บาท

39,782,438.55

2557

43,508,403.35

5,306,812.77 492,530.78 45,581,782.10

4,855,037.72 480,672.40 48,844,113.47

บาท

2557 22,754,300.73 18,504,914.89 2,633,415.39 3,962,314.49 47,854,945.50

(1,015,543.39) 46,839,402.11

2557 19,001,911.39 25,573,228.01 1,913,071.26 3,820,121.64 50,308,332.30

(3,103,719.00) 47,204,613.30

สําหรับปี สิ -นสุดวันที# 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ค่าเผื#อมูลค่าสินค้ าลดลงมีรายการเคลือ# นไหว ดังนี บาท 2558 2557 ยอดยกมา 3,103,719.00 1,222,294.21 บวก ขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้ า 1,881,424.79 หัก กลับรายการขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้ า (2,088,175.61) ยอดคงเหลือ 1,015,543.39 3,103,719.00

107


8. สินทรัพย์ หมุนเวียนอื$น

สินทรัพย์หมุนเวียนอื น ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย

บาท

2558 5,270,600.00 1,637,604.90 328,930.42 7,237,135.32

เงินจ่ายล่วงหน้ าค่าสินค้ า ภาษี มลู ค่าเพิ มรอใบกํากับภาษี และรอเครดิต ค่าใช้ จ่ายล่วงหน้ า รวม 9. เงินฝากธนาคารติดภาระหลักประกัน เงินฝากธนาคารติดภาระหลักประกัน 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย

สถาบันการเงิน

เงินฝากสถาบัน การเงิน

แห่งที 2

ฝากประจํา

แห่งที 1

ฝากประจํา

รวม

ภาระหลักประกัน การใช้ ไฟฟ้ า ซื อวัสดุก่อสร้ าง เงินกู้ยืม

หมายเหตุ 29.2 13

2558

2,230,000.00

3,750,000.00

5,980,000.00

2557 11,089,400.00 1,352,133.10 274,455.07 12,715,988.17

บาท

2557

2,230,000.00

3,750,000.00

5,980,000.00

108


10. ที ดิน อาคารและอุปกรณ์ รายการเปลีย นแปลงของที ดิน อาคารและอุปกรณ์สาํ หรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 สรุปได้ ดงั นี ที ดิน ราคาทุน

ณ วันที 1 มกราคม 2557

17,440,780.68

ณ วันที 31 ธันวาคม 2557

27,902,268.68

ซื อ/โอนเข้ า

จําหน่าย/โอนออก ซื อ/โอนเข้ า

จําหน่าย/โอนออก ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 ณ วันที 1 มกราคม 2557 ค่ าเสื อมราคาสะสม

จําหน่าย/โอนออก ค่าเสื อมราคา

ณ วันที 31 ธันวาคม 2557

ปรับปรุ ง

ค่าเสื อมราคา

จําหน่าย/โอนออก ณ วันที 31 ธันวาคม 2558

อาคารและ ส่วนปรับปรุ งอาคาร

ยานพาหนะ

265,643,662.47

12,227,633.61

1,714,710.09

85,227,978.86

273,349,841.76

12,636,097.59

2,134,710.09

-

29,159,802.29

146,338,463.81

6,824,350.66

1,081,999.64

-

32,093,564.01

161,916,994.69

8,707,113.49

1,258,051.00

-

35,101,982.61

(40,354.37) 184,736,134.33

(71,746.21) 10,426,752.38

1,441,755.37

10,461,488.00 -

-

27,902,268.68 -

-

-

-

84,669,126.86

เครื องจักรและ อุปกรณ์โรงงาน

บาท เครื องตกแต่งและ เครื องใช้ สํานักงาน

558,852.00 -

966,978.00

86,194,956.86 2,933,761.72 -

3,008,418.60 -

18,685,306.29

(10,979,127.00) 19,418,056.19

(586,912.00) 292,180,985.95

484,982.98

(76,519.00)

881,027.96

(84,505.60) 13,432,619.95

20,522,503.41

1,956,010.17

21,879,209.79

1,791,385.10

(4,943,972.53) 980,284.22

(73,247.34) -

109

420,000.00 -

-

2,134,710.09 176,051.36

สินทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้ าง

294,693.00

381,990,606.71

271,075.00

401,521,971.98

545,062.00

(568,680.00)

7,785,347.00

(6,523,322.00) 1,533,100.00

31,155,691.27

(11,624,326.00) 29,051,409.15

(7,194,739.60) 423,378,641.53

-

183,404,616.40

-

203,975,723.19

-

(112,100.58) 231,706,624.69

-

-

-

-

-

183,704.37

รวม

-

25,588,326.66

(5,017,219.87)

26,862,717.86 980,284.22


ที ดิน ณ วันที 1 มกราคม 2557 บวก ขาดทุนจากการด้ อยค่า ค่ าเผื อการด้ อยค่ า จําหน่าย / โอนออก

ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 บวก ขาดทุนจากการด้ อยค่า จําหน่าย / โอนออก

ณ วันที 31 ธันวาคม 2558

-

-

-

-

-

-

-

อาคารและ ส่วนปรับปรุ งอาคาร -

เครื องจักรและ อุปกรณ์โรงงาน

บาท เครื องตกแต่งและ เครื องใช้ สํานักงาน

ยานพาหนะ

3,758,326.63

-

-

-

4,120,284.78

-

-

-

4,120,284.78

-

-

-

-

-

361,958.15

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ภายใต้ กรรมสิทธิ"บริษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2557

27,902,268.68 27,902,268.68

53,134,414.85 53,134,414.85

72,314,236.61 34,998,325.68 107,312,562.29

3,224,803.55 704,180.55 3,928,984.10

239,543.15 637,115.94 876,659.09

ภายใต้ กรรมสิทธิ"บริษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2558

27,902,268.68

51,092,974.25

37,181,035.81 103,324,566.84

102,954.59 3,005,867.57

294,345.50 692,954.72

27,902,268.68

51,092,974.25

66,143,531.03

2,902,912.98

110

398,609.22

สินทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้ าง

รวม

-

3,758,326.63

-

4,120,284.78

-

4,120,284.78

-

-

-

-

271,075.00 271,075.00

1,533,100.00

1,533,100.00

361,958.15 -

-

-

157,086,341.84 36,339,622.17 193,425,964.01 149,973,396.16 37,578,335.90 187,551,732.06


ค่าเสือ มราคาสําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม แสดงไว้ ใน

ต้ นทุนขาย

ค่าใช้ จ่ายในการบริหาร

2557

24.99

23.54

1.87

รวม

2.05

26.86

ณ วันที 31 ธันวาคม

สัญญาเช่าพื นที และอุปกรณ์ สัญญาเช่ายานพาหนะ สัญญาเช่าอุปกรณ์โรงงาน

2558

ล้ านบาท

ผู้ให้ เช่า บุคคลภายนอก บุคคลภายนอก บุคคลภายนอก

25.59

ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 อัตราค่าเช่าต่อเดือน ระยะเวลา (ล้ านบาท) หมายเหตุ 2 - 4 ปี สามารถต่อ 0.02 1 - 4 ปี 0.33 สัญญาได้ เมื อ ั ญา 0.09 หมดอายุสญ 3 - 4 ปี

ปี 2558 บริ ษัทได้ ทําสัญญาขายและเช่ากลับคืนเครื องจักร มูลค่าตามบัญชี จํานวนเงิน 21.67 ล้ านบาท (ปี 2557: 5.97 ล้ านบาท) (ดูหมายเหตุ 17)

บริ ษัทได้ จดจํานองที ดินพร้ อมสิ งปลูกสร้ างที มีอยู่แล้ วและที จะมีขึ 0นในภายหน้ า เพื อใช้ เป็ นหลักประกันเงินกู้ยืม จากสถาบันการเงิน (ดูหมายเหตุ 13 และ 16)

111


11. สินทรัพย์ ไม่ มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย ราคาทุน

ณ วันที 1 มกราคม 2557

ซื อ/โอนเข้ า

จําหน่าย/โอนออก

โปรแกรม

คอมพิวเตอร์

4,790,100.00 -

-

บาท

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระหว่างติดตั ง

รวม

75,000.00

4,865,100.00

162,000.00 -

162,000.00 -

ณ วันที 31 ธันวาคม 2557

4,790,100.00

237,000.00

5,027,100.00

ณ วันที 31 ธันวาคม 2558

4,790,100.00

399,000.00

5,189,100.00

ซื อ/โอนเข้ า

จําหน่าย/โอนออก

ค่ าตัดจําหน่ ายสะสม

ณ วันที 1 มกราคม 2557

ค่าตัดจําหน่าย

จําหน่าย/โอนออก

-

-

2,014,211.19

561,274.58 -

162,000.00 -

-

-

-

162,000.00 -

2,014,211.19 561,274.58 -

ณ วันที 31 ธันวาคม 2557

2,575,485.77

-

2,575,485.77

ณ วันที 31 ธันวาคม 2558

3,081,730.76

-

3,081,730.76

ค่าตัดจําหน่าย

จําหน่าย/โอนออก

มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ภายใต้ กรรมสิทธิ ของบริษัท

ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน

506,244.99 -

1,913,363.92

301,250.31

ณ วันที 31 ธันวาคม 2557

2,214,614.23

ณ วันที 31 ธันวาคม 2558

1,708,369.24

ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน

ภายใต้ กรรมสิทธิ ของบริษัท

1,526,118.54

182,250.70

-

-

237,000.00 -

237,000.00

399,000.00 -

399,000.00

506,244.99 -

2,150,363.92

301,250.31

2,451,614.23

1,925,118.54

182,250.70

2,107,369.24

112


2558

ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม แสดงไว้ ในค่าใช้ จ่ายในการบริหาร ณ วันที 31 ธันวาคม

ราคาทุนก่อนหักค่าตัดจําหน่ายสะสม ได้ ตดั จําหน่าย ทังจํ านวนแล้ วแต่ยงั คงใช้ งานอยู่ 12. ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี

2558

ล้านบาท 0.51

0.56

1.32

1.19

10,720,552.43

บาท

(5,297,009.15) 5,423,543.28

สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี - สุทธิ หนี สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี

บาท

2557

2557

14,853,717.48

(3,745,528.33) 11,108,189.15

รายการเคลือ นไหวของสินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีและหนี 0สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีที เกิดขึ 0นในระหว่างปี มีดงั นี 0 สินทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สินค้ าคงเหลือ ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน ผลขาดทุนทางภาษียกไป รวม

หนีส ินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี

รวม

ที ดิน อาคารและอุปกรณ์

1 มกราคม 2557 ณ วันที

188,654.10

569,558.87

กําไร

(ขาดทุน)

(29,451.50) 85,611.88

31 ธันวาคม 2557 ณ วันที

159,202.60

655,170.75

กําไร

(ขาดทุน)

กําไร

-

71,715.99

8,266,330.10 9,024,543.07

5,773,014.03 5,829,174.41

14,039,344.13 14,853,717.48

(4,266,423.44) (4,194,707.45)

(3,412,573.86)

(332,954.47)

(3,745,528.33)

(1,551,480.82)

(3,412,573.86)

(332,954.47)

(3,745,528.33)

(1,551,480.82)

เบ็ดเสร็จอื น

31 ธันวาคม 2558

61,542.40

788,429.14

-

61,542.40 -

-

ณ วันที

159,202.60

9,772,920.69 10,720,552.43

(5,297,009.15)

(5,297,009.15)

113


13. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยมื ระยะสัน" จากสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั 0 นการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย บาท 2558 2557

เงินเบิกเกินบัญชี ตัว สัญญาใช้ เงิน ทรัสต์รีซีท

7,404,526.95 16,000,000.00 14,272,066.81

รวม

37,676,593.76 วงเงิน(ล้ านบาท)

สถาบัน การเงิน ประเภทสินเชื อ แห่งที 1 เงินเบิกเกินบัญชี ตัว% สัญญาใช้ เงิน

2558 10.00 16.00

2557 10.00 16.00

แห่งที 2 เงินเบิกเกินบัญชี

-

5.00

วงเงินสินเชื อจากสถาบันการเงิน ประกอบด้ วย

เลตเตอร์ ออฟ เครดิต /ทรัสต์รีซีท /หนังสือคํ าประกัน ตัว% สัญญาใช้ เงิน

15.00 -

56,699,262.38

อัตราดอกเบี ย (ร้ อยละต่อปี ) หลักประกัน MOR บริษัทได้ จดจํานองที ดินพร้ อมสิ งปลูกสร้ าง MLR ที มอี ยู่แล้ วและที จะมีขึ นในภายหน้ า เพื อใช้ เป็ นหลักประกัน ตลอดจนผลประโยชน์ จากการทําประกันอัคคีภยั สิ งปลูกสร้ างเพื อเป็ น หลักประกันสินเชื อดังกล่าว MOR

30.00 MLR, SIBOR 15.00

4,865,637.62 31,000,000.00 20,833,624.76

MLR

จํานําสิทธิในการรับเงินตามบัญชีเงินฝากและ/ หรือ ตัว% แลกเงินในสัดส่วนร้ อยละ 25 สําหรับ วงเงินตัว% สัญญาใช้ เงิน

ในปี 2558 บริ ษัทได้ ขอลดวงเงินสินเชื อกับสถาบันการเงินแห่งที 2 พร้ อมทังไถ่ 0 ถอนที ดินพร้ อมสิ งปลูกสร้ างที มีอยู่ แล้ วและที จะมีขึ 0นในภายหน้ า (ดูหมายเหตุ 10) และถอนการคํ 0าประกันของบริ ษัทที เกี ยวข้ องกัน 2 แห่ง (ดูหมาย เหตุ 4)

114


14. เจ้ าหนีก" ารค้ าและเจ้ าหนีอ" ' นื เจ้ าหนี 0การค้ าและเจ้ าหนี 0อื น ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย

2558

51,252,454.81

เจ้ าหนี การค้ า เจ้ าหนี อื น ค่าใช้ จ่ายค้ างจ่าย เบิกใช้ เงินโอนผิดบัญชี (ดูหมายเหตุ 5) เจ้ าหนี อื น รวม

บาท

10,808,120.48 1,660,093.49 12,468,213.97

77,856,290.72

15. หนีส" ินส่ วนที'ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ'งปี หนี 0สินส่วนที ถึงกําหนดชําระภายในหนึง ปี ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน

หนี สินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน รวม

หมายเหตุ 16

17

2558

2,799,999.96

เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน หัก ส่วนที ถงึ กําหนดชําระภายในหนึง ปี เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

บาท

8,122,562.45

2557

12,430,037.81

8,675,288.11

10,922,562.41

16. เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย

57,449,947.63

9,136,618.70 9,986,002.72 1,283,721.67 20,406,343.09

63,720,668.78

รวมทั งหมด

2557

21,105,325.92

บาท

2558 4,164,745.15 (2,799,999.96) 1,364,745.19

2557 16,603,902.28 (12,430,037.81) 4,173,864.47

115


วงเงิน

มูลหนี (ล้ านบาท)

รายละเอียดเงินกู้ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน มีรายละเอียดดังนี 0 (ล้ านบาท)

2558

ธนาคาร

26.00

-

6.33

ธนาคาร

14.00

4.16

6.91

4.16

16.60

เจ้ าหนี ธนาคาร

รวม

14.00

-

2557

3.36

ระยะเวลา พ.ย. 2553 - ต.ค. 2558

อ้ างอิงอัตราดอกเบี ย

ก.ค. 2555 - มิ.ย. 2560

MLR

พ.ย. 2553 - ต.ค. 2558

(ร้ อยละต่อปี ) MLR MLR

การชําระหนี เงินต้ นพร้ อมดอกเบี ยรายเดือน ๆ ละ 0.29 ล้ านบาท เริ มชําระเดือนที 7 นับตังแต่ การเบิกเงินกู้ยืมงวดแรก

เงินต้ นพร้ อมดอกเบี ยรายเดือน ๆ ละ 0.54 ล้ านบาท เริ มชําระเดือนที 7 นับตังแต่ การเบิกเงินกู้ยืมงวดแรก

เงินต้ นพร้ อมดอกเบี ยรายเดือน ๆ ละ 0.23 ล้ านบาท เริ มชําระเดือนที 7 นับตังแต่ การเบิกเงินกู้ยืมงวดแรก

บาท

การเพิม ขึ 0นและลดลงของเงินกู้ยมื จากสถาบันการเงินสําหรับปี สิ 0นสุดวันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีดงั นี 0

ยอดยกมา ลดลง

เพิ มขึ น ยอดคงเหลือ

2558

16,603,902.28 -

(12,439,157.13) 4,164,745.15

2557

28,580,979.44 -

(11,977,077.16) 16,603,902.28

บริ ษัทได้ จดจํานองที ดินพร้ อมสิง ปลูกสร้ างที มีอยูแ่ ล้ วในขณะทําสัญญาและที จะมีขึ 0นต่อไปในภายหน้ า (ดูหมาย เหตุ 10) ตลอดจนผลประโยชน์จากการทําประกันอัคคีภยั สิง ปลูกสร้ างเพื อใช้ เป็ นหลักประกันสินเชื อดังกล่าว

116


17. หนีส" ินภายใต้ สัญญาเช่ าการเงิน หนี 0สินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย ปี

มูลค่าปั จจุบนั

สัญญาเช่าการเงิน

2,227,606.49

1

ดอกเบี ยรอตัดบัญชี 290,476.86

2-5

4,038,609.23

207,256.02

1

5,894,955.96

560,078.66

สัญญาขายและเช่ากลับคืน รวม

2558

2-5

6,266,215.72

4,199,884.20

194,743.13

8,122,562.45

850,555.52

10,094,840.16

1

8,238,493.43

2-5

497,732.88

16,361,055.88

บาท

ค่าเช่าขั นตํ า

2,518,083.35

4,245,865.25

2,615,522.34

ดอกเบี ยรอตัดบัญชี

270,869.88

109,931.54 54,696.88

ค่าเช่าขั นตํ า

2,725,453.88

325,566.76

6,763,948.60

2,886,392.22

164,628.42

4,394,627.33

2,660,236.68

81,439.30

2,741,675.98

8,973,117.97

8,675,288.11

499,299.73

9,174,587.84

6,455,034.62

754,821.79

10,849,661.95

401,999.15

8,640,492.58

1,252,554.67

มูลค่าปั จจุบนั

2557

17,613,610.55

6,059,765.77

8,720,002.45

2,931,106.56

11,606,394.67

389,368.19

470,807.49

136,136.18

635,435.91

3,051,020.64

6,449,133.96

9,190,809.94

3,067,242.74

12,241,830.58

บริ ษัทได้ ทําสัญญาเช่าการเงิน เพื อซื 0อเครื องจักร ยานพาหนะ และอุปกรณ์ สํานักงาน กํา หนดการผ่อ นชํา ระ เป็ นรายเดือนๆ ละ 0.86 ล้ านบาท (ปี 2557: 1.14 ล้ านบาท) หนี 0สินส่วนที ถึงกําหนดชําระภายในหนึ งปี จํานวน เงิน 7.80 ล้ านบาท (ปี 2557: 8.68 ล้ านบาท) แสดงภายใต้ หนี 0สินหมุนเวียน ในปี 2558 บริ ษัทได้ ทําสัญญาขายและเช่ากลับคืนเครื องจักร มูลค่าตามสัญญาเช่าการเงิน จํานวนเงิน 15.26 ล้ านบาท (ปี 2557: 6.36 ล้ านบาท) 18. หนีส" ินหมุนเวียนอื'น หนี 0สินหมุนเวียนอื น ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย เงินรับล่วงหน้ า

รายได้ รับล่วงหน้ า

ภาษี เงินได้ หกั ณ ที จ่ายค้ างจ่าย รวม

2558

9,230,280.00

1,059,629.11

416,194.78

10,706,103.89

บาท

2557

19,279,980.00 1,110,283.47

416,194.78

20,806,458.25

117


19. ภาระผูกพันผลประโยชน์ ของพนักงาน การเปลี ยนแปลงมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน สําหรับปี สิ 0นสุดวันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีดงั นี 0 โครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน ณ วันที 1 มกราคม ส่วนที รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน : ต้ นทุนบริการปั จจุบนั ต้ นทุนดอกเบี 'ย ส่วนที รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื น : ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน ณ วันที 31 ธันวาคม

2558

บาท

2557

2,991,186.20

2,847,794.36

307,712.00 3,942,145.72

2,991,186.20

486,915.47 156,332.05

112,473.67 30,918.17

บริ ษัทกําหนดโครงการผลประโยชน์ที กําหนดไว้ เป็ นไปตามการจ่ายเงินชดเชยตามกฎหมายแรงงานซึ งให้ สิทธิแก่ พนักงานที เกษี ยณอายุและทํางานครบระยะเวลาที กําหนด เช่น 10 ปี ขึ 0นไป ได้ รับเงินชดเชยไม่น้อยกว่าอัตรา เงินเดือนเดือนสุดท้ าย 300 วัน หรื อ 10 เดือน ข้ อสมมติในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยที สําคัญ ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 (แสดงด้ วย ค่าเฉลีย ถ่วงนํ 0าหนัก) มีดงั นี 0 พนักงานรายเดือน พนักงานรายวัน อัตราคิดลด (ร้ อยละ) เงินเดือนในอนาคตที เพิ มขึ น (ร้ อยละ) อัตราการลาออก (ร้ อยละ)

4.30 5.00 0.00 - 30.00

อัตราการทุพพลภาพ

ร้ อยละ 10 ของอัตรามรณะ

เกษี ยณอายุ อัตรามรณะ

60 ปี

4.11 5.00 0.00 - 50.00

ตารางมรณะปี 2551

118

60 ปี


ผลกระทบของการเปลี ยนแปลงสมมติฐานที สําคัญต่อมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจาก งานของพนักงาน ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 สรุปได้ ดงั นี 0

บาท

อัตราคิดลด (เปลีย นแปลงร้ อยละ 1)

(318,088.00)

อัตราการลาออก (เปลีย นแปลงร้ อยละ 1)

(265,631.00)

อัตราการขึน เงินเดือน (เปลีย นแปลงร้ อยละ 1)

เพิ มขึน

455,661.00

ลดลง

374,541.00

(392,035.00) 326,101.00

20. ทุนเรือนหุ้น ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น เมื อวันที 9 กรกฎาคม 2558 ได้ มีมติอนุมตั ิ ดังต่อไปนี 0 20.1 อนุมตั ิเพิ มทุนจดทะเบียนจากเดิม จํานวนเงิน 113 ล้ านบาท เป็ นจํานวนเงิน 150.34 ล้ านบาท โดยออก หุ้นสามัญใหม่ จํานวน 74.68 ล้ านหุ้น มูลค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาท 20.2 อนุมตั ิให้ จดั สรรหุ้นเพิ มทุน โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี 0 - จัดสรรหุ้นเพิ มทุน จํานวนไม่เกิน 74.09 ล้ านหุ้น เสนอขายให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นเดิมของบริ ษัทในอัตรา 3 หุ้นสามัญเดิมต่อ 1 หุ้นสามัญใหม่ในราคาหุ้นละ 0.75 บาท - จัด สรรหุ้น เพิ ม ทุน จํ า นวนไม่เ กิ น 0.59 ล้ า นหุ้น เพื อ เตรี ย มไว้ สํา หรั บ รองรั บ การปรั บ สิท ธิ ข อง ใบสําคัญแสดงสิทธิ ที จะซื 0อหุ้นสามัญเพิ มทุนของบริ ษัทเสนอขายแก่กรรมการและพนักงานของ บริ ษัท (ESOP) ทังนี 0 0ให้ คณะกรรมการบริ ษัทหรื อบุคคลที คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมายมีอํานาจในการพิจารณากําหนด และแก้ ไขเปลีย นแปลง กําหนดวันและเวลาที เสนอขาย และรายละเอียดอื น ๆ ที เกี ยวข้ องกับการจัดสรร หุ้นเพิ มทุนดังกล่าว บริ ษัทได้ จดทะเบียนเพิ มทุนจดทะเบียนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์แล้ ว เมื อวันที 17 กรกฎาคม 2558 บริ ษั ทจะปรั บสิท ธิ ข องใบสํา คัญ แสดงสิทธิ ที จะซื อ0 หุ้นสามัญ ของบริ ษั ทที เสนอขายแก่กรรมการและ พนักงานของบริ ษัท (ESOP) (ดูหมายเหตุ 21) 20.3 บริ ษัทเปิ ดจองซื 0อหุ้นและชําระเงินในระหว่างวันที 3 - 7 สิงหาคม 2558 โดยเสนอขายในราคาหุ้นละ 0.75 บาท และเมื อวันที 17 สิง หาคม 2558 บริ ษัท ได้ จดทะเบี ยนเปลี ย นแปลงทุนชํ าระแล้ ว กับ กระทรวง พาณิชย์ จากการรับชําระเงินเพิ มทุนหุ้นสามัญดังกล่าวจากเดิมจํานวนเงิน 111.14 ล้ านบาท เป็ นจํานวน เงิน 148.19 ล้ านบาท 21. ใบสําคัญแสดงสิทธิ

119


เมื อวันที 9 พฤษภาคม 2556 บริ ษัทได้ ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ ที จะซื 0อหุ้นสามัญ (Employee Stock Option Plan: ESOP) จํานวน 6,000,000 หน่วยให้ แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัท โดยรายละเอียดของใบสําคัญ แสดงสิทธิมีดงั นี 0 ประเภทของใบสําคัญแสดงสิทธิ : ใบสําคัญแสดงสิทธิ ที จะซื 0อหุ้นสามัญของบริ ษัทเพื อจัดสรรให้ แก่ กรรมการและ พนักงานของบริ ษัท ชนิด : ระบุชื อผู้ถือและไม่สามารถโอนเปลีย นมือได้ อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ : 5 ปี นับตังแต่ 0 วนั ที ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จํานวนที ออกและเสนอขาย : 6,000,000 หน่วย ราคาเสนอขายต่อหน่วย : หน่วยละ 0 บาท อัตราการใช้ สทิ ธิ : อัตราส่วนการใช้ สทิ ธิเดิม 1:1 (1 ใบสําคัญแสดงสิทธิซื 0อหุ้นสามัญ ได้ 1 หุ้น) เป็ นอัตราส่วนการใช้ สทิ ธิใหม่ 1:1.16 ( 1 ใบสําคัญ แสดงสิทธิซื 0อหุ้นสามัญได้ 1.16 หุ้น) (เว้ นแต่จะมีการปรับสิทธิตาม หลักเกณฑ์และเงื อนไขที กําหนด) ราคาการใช้ สทิ ธิ : 0.50 บาท ต่อหุ้น (เว้ นแต่จะมีการปรั บสิทธิ ตามหลักเกณฑ์ และ เงื อนไขที กําหนด) ระยะเวลาการใช้ สทิ ธิ : ครัง0 ที 1 3 วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ 0.5 ปี ใช้ สิท ธิ ไ ด้ ร้ อยละ 25 ของจํ านวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ที ไ ด้ รั บการ จัดสรร ครัง0 ที 2 3 วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ 1 ปี ใช้ สิท ธิ ไ ด้ ร้ อยละ 25 ของจํ านวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ที ไ ด้ รั บการ จัดสรร ครัง0 ที 3 3 วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ 1.5 ปี ใช้ สิทธิ ได้ ร้อยละ 50 ของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ที ได้ รับการ จัดสรร ครัง0 ที 4 3 วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ 2 ปี ใช้ สิท ธิ ไ ด้ ร้ อยละ 50 ของจํ านวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ที ไ ด้ รั บการ จัดสรร ครัง0 ที 5 3 วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ 2.5 ปี ใช้ สิทธิ ได้ ร้อยละ 75 ของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ที ได้ รับการ จัดสรร ครัง0 ที 6 3 วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ 3 ปี ใช้ สิทธิ ได้ ร้อยละ 75 ของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ที ได้ รับการ จัดสรร

120


ครัง0 ที 7 3 วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ 3.5 ปี ใช้ สิท ธิ ไ ด้ ทัง0 หมดของจํ า นวนใบสํ า คัญ แสดงสิ ท ธิ ที ไ ด้ รั บ การ จัดสรร ครัง0 ที 8 3 วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ 4 ปี ใช้ สทิ ธิได้ ทงหมดของจํ ั0 านวนใบสําคัญแสดงสิทธิที ได้ รับการจัดสรร ครัง0 ที 9 3 วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ 4.5 ปี ใช้ สิท ธิ ไ ด้ ทัง0 หมดของจํ า นวนใบสํ า คัญ แสดงสิ ท ธิ ที ไ ด้ รั บ การ จัดสรร ครัง0 ที 10 7 วันก่อนวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ 5 ปี ใช้ สิทธิทงหมดของจํ ั0 านวนใบสําคัญแสดงสิทธิที ได้ รับจากการจัดสรร ระยะเวลาการใช้ สิทธิครัง0 สุดท้ าย : วันที 2 - 8 พฤษภาคม 2561 ณ วัน ที 31 ธัน วาคม 2558 ใบสํา คัญ แสดงสิท ธิที ย งั ไม่ไ ด้ ใ ช้ ส ิท ธิ คงเหลือ จํ า นวน 1.33 ล้ า นหน่ว ย (ปี 2557:2.60 ล้ านหน่วย) รายการเคลื อนไหวในปี 2558 และ 2557 ของใบสําคัญแสดงสิทธิและมูลค่ายุติธรรมของใบสําคัญแสดงสิทธิ มีดงั นี 0 2558

ณ วันที 1 มกราคม ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ ใช้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ

ยกเลิกใบสําคัญแสดงสิทธิ ณ วันที 31 ธันวาคม

จํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิ

2,600,542 389,632

(1,438,400) (219,862) 1,331,912

มูลค่ายุติธรรม บาท

7,367,335.49 1,103,827.46

(4,074,987.20)

(622,869.05) 3,773,306.70

2557

จํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิ

4,560,217 -

(1,552,375) (407,300) 2,600,542

มูลค่ายุติธรรม บาท

5,882,679.93 -

(2,002,628.25) (525,352.50) 3,354,699.18

บริ ษัทได้ ออกหุ้นสามัญเพิ มทุนจากการใช้ สทิ ธิของผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิที จดั สรรให้ แก่กรรมการและพนักงาน (ดูหมายเหตุ 21) โดยมีรายละเอียด ดังนี 0

121


วันที *

28 พฤษภาคม 2557 14 พฤศจิกายน 2557 24 พฤศจิกายน 2558

จํานวนหุ้นสามัญ เพิ มทุน(หุ้น)

170,950 1,381,425 1,438,400

ทุนชําระแล้ว(ล้ านบาท)

เดิม

ใหม่

110.36 110.48 148.19

110.48 111.14 148.90

* วันที จดทะเบียนเปลีย นแปลงทุนชําระแล้ วกับกระทรวงพาณิชย์

22. ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ ค่าใช้ จ่ายตามลักษณะที สาํ คัญสําหรับปี สิ 0นสุดวันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย ค่าจ้ างผลิต

การเปลีย นแปลงในสินค้ าสําเร็จรูปและงานระหว่างทํา

วัตถุดิบและวัสดุสิ !นเปลืองใช้ ไป ค่าใช้ จ่ายเกี ยวกับพนักงาน ค่าเช่าและค่าบริการพื !นที

ขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรัพย์ ค่าเสือ มราคาและตัดจําหน่าย

ค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา

ค่าใช้ จ่ายในการเดินทาง

ค่าสาธารณูปโภค

2558

3,315,923.78

บาท

101,677,323.72

ค่าธรรมเนียม

รวม

(6,955,741.58)

83,686,303.71

144,062,213.90

135,581,886.98

27,368,962.84

26,149,601.24

3,360,054.69

4,031,441.96

96,946,042.31

5,803,006.76 -

6,246,419.67

16,643,155.05

23. ต้ นทุนทางการเงิน ต้ นทุนทางการเงินสําหรับปี สิ 0นสุดวันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย

ดอกเบี ยจ่าย

2557

2558

5,370,482.26

1,900,284.01

7,270,766.27

90,217,855.31 5,925,367.33 361,958.15

5,452,089.02

15,943,978.48

บาท

2557

7,028,340.65

1,001,386.15

8,029,726.80

122


24. ภาษีเงินได้ ภาษี เงินได้ นิติบคุ คลของบริ ษัทสําหรับปี สิ 0นสุดวันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 คํานวณขึ 0นในอัตราที กําหนด โดยกรมสรรพากรจากกํ าไรทางบัญชีหลังปรับปรุ งเงื อนไขบางประการตามที ระบุในประมวลรัษฎากร บริ ษัท บันทึกภาษี เงินได้ นิติบคุ คลเป็ นค่าใช้ จ่ายทังจํ 0 านวนในแต่ละปี บัญชีและบันทึกภาระส่วนที ค้างจ่ายเป็ นหนี 0สินใน งบแสดงฐานะการเงิน การลดภาษีเงินได้ นิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้ วยการลดอัตราและยกเว้ นรัษฎากร ฉบับที 530 พ.ศ. 2554 ลงวันที 14 ธันวาคม 2554 ให้ ปรับลดอัตราภาษี เงินได้ นิติบคุ คลจากอัตราร้ อยละ 30 ของกําไรสุทธิ เป็ น อัตราร้ อยละ 23 ของกําไรสุทธิสาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีแรกที เริ มในหรื อหลังวันที 1 มกราคม 2555 และอัตรา ร้ อยละ 20 ของกําไรสุทธิสาํ หรับสองรอบระยะเวลาบัญชีถดั มาที เริ มในหรื อหลังวันที 1 มกราคม 2556 เป็ นต้ นไป พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้ วยการลดอัตรารัษฎากร ฉบับที 577 พ.ศ. 2557 ลง วันที 3 พฤศจิกายน 2557 ขยายเวลาการลดอัตราภาษี เงินได้ นิติบคุ คลเป็ นอัตราร้ อยละ 20 ของกําไรสุทธิสาํ หรับ รอบระยะเวลาบัญชีที เริ มในหรื อหลังวันที 1 มกราคม 2558 แต่ไม่เกินวันที 31 ธันวาคม 2558 รายได้ (ค่าใช้ จ่าย)ภาษี เงินได้ ที รับรู้ในกําไรหรื อขาดทุนสําหรับปี สิ 0นสุดวันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีดงั นี 0 บาท 2558 2557 ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน สําหรับปี ปัจจุบนั ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี การเปลีย นแปลงผลแตกต่างชัว คราว รายได้ (ค่าใช้ จ่าย)ภาษีเงินได้

(5,746,188.27) (5,746,188.27)

ภาษี เงินได้ ที รับรู้ในกําไรเบ็ดเสร็ จอื นสําหรับปี สิ 0นสุดวันที 31 ธันวาคม 2558 มีดงั นี 0

ภารผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน

5,496,219.94 5,496,219.94

บาท

61,542.40

123


การกระทบยอดเพื อหาอัตราภาษีที แท้ จริ ง

กําไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้

จํานวนภาษี ตามอัตราภาษี เงินได้

รายจ่ายที ไม่ให้ ถือเป็ นรายจ่ายทางภาษี

อัตราภาษี (ร้ อยละ) 20

ผลขาดทุนปี ปัจจุบนั

รายได้ (ค่าใช้ จ่าย)ภาษีเงินได้

การเปลีย นแปลงผลแตกต่างชัว คราว

25

บาท

2,618,810.50

(523,762.10) (20,553.59)

ค่าใช้ จ่ายที มีสทิ ธิหกั ได้ เพิ มขึน#

ภาษีเงินได้ สําหรับปี ปัจจุบนั

2558

-

อัตราภาษี (ร้ อยละ) 20

3,465,218.30

(2,920,902.61) -

(5,746,188.27) (5,746,188.27)

25

2557

บาท

(21,902,225.09) 4,380,445.02

1,181,044.55

-

1,095,674.88

(6,657,164.45) -

5,496,219.94 5,496,219.94

25. สํารองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจํา กัด พ.ศ. 2535 บริ ษั ท ต้ อ งจัด สรรกํา ไรสุท ธิ ป ระจํา ปี ส่ว นหนึ ง ไว้ เ ป็ น ทุนสํารองไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 5 ของกําไรสุทธิ ประจําปี หักด้ วยยอดเงินขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ ามี) จนกว่า ทุนสํารองนี 0จะมีจํานวนไม่น้อยกว่าร้ อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน 26. กองทุนสํารองเลีย" งชีพ บริ ษัทและพนักงานได้ ร่วมกันจัดตังกองทุ 0 นสํารองเลี 0ยงชีพตามพระราชบัญญัตกิ องทุนสํารองเลี 0ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึง ประกอบด้ วยเงินที พนักงานจ่ายสะสมและเงินที บริ ษัทจ่ายสมทบให้ ในปั จจุบนั กองทุนสํารองเลี 0ยงชีพนี 0บริ หาร โดยบริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กรุงไทย จํากัด (มหาชน) กองทุนสํารองเลี 0ยงชีพนี 0ได้ จดทะเบียนเป็ นกองทุน สํารองเลี 0ยงชีพตามข้ อกําหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จดั การกองทุนที ได้ รับอนุญาต 27. สิทธิท' ไี ด้ รับจากการส่ งเสริมการลงทุน บริ ษัทได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนตามพระราชบัญญัติสง่ เสริ มการลงทุน พ.ศ. 2520 ในการผลิตชิ 0นส่วนโลหะ ที ทําจากโลหะฉีดขึ 0นรูป สิทธิและประโยชน์ตามบัตรส่งเสริ มที คงเหลือ โดยได้ รับสิทธิประโยชน์หลัก ๆ ดังนี 0 - ได้ รับยกเว้ นอากรขาเข้ าสําหรับเครื องจักรตามที คณะกรรมการอนุมตั ิ ที นําเข้ ามาภายในวันที 26 กรกฎาคม 2556 - ได้ รั บ ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุค คลสํา หรั บ กํ า ไรสุท ธิ ที ไ ด้ จ ากการประกอบกิ จ การที ไ ด้ รั บ การส่ง เสริ ม มี กําหนดเวลา 8 ปี - ได้ รับยกเว้ นไม่ต้องนําเงิ นปั นผลจากกิ จการที ได้ รับการส่งเสริ มซึ งได้ รับยกเว้ นภาษี เงิ นได้ นิติบุคคลรวม คํานวณเพื อเสียภาษี เงินได้ 124


- ได้ รับอนุญาตให้ หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้ าและค่าประปาสองเท่าของค่าใช้ จ่ายดังกล่าวเป็ นระยะเวลา 10 ปี นับตังแต่ 0 วนั ที เริ มมีรายได้ จากการประกอบกิจการนัน0 - ได้ รับอนุญาตให้ หกั เงินลงทุนในการติดตังหรื 0 อก่อสร้ างสิ งอํานวยความสะดวกร้ อยละยี สิบห้ าของเงินลงทุน นอกเหนือไปจากการหักค่าเสือ มราคา ในฐานะที ได้ รับการส่งเสริ ม บริ ษัทจะต้ องปฏิบตั ิตามเงื อนไขต่าง ๆ ที ระบุไว้ ในบัตรส่งเสริ ม รายได้ แยกตามส่วนงานธุรกิจที ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนและไม่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุน สําหรับปี สิ 0นสุด วันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้ วย

ธุรกิจที ได้ รับการส่งเสริม

รวม

ธุรกิจที ไม่ได้ รับการส่งเสริม

2558

ในประเทศ

ต่างประเทศ

28,438,000.00

9,878,130.42

378,074,299.43

406,512,299.43

บาท

รวม

2557

ในประเทศ

ต่างประเทศ

76,298,255.46

10,816,000.00

4,114,868.40

382,189,167.83

269,647,936.07

13,992,998.82

420,505,298.25

345,946,191.53

38,316,130.42

รวม

125,606.50

269,773,542.57

10,941,606.50

356,887,798.03

87,114,255.46

28. ข้ อมูลทางการเงินจําแนกตามส่ วนงาน ข้ อมูลส่วนงานดําเนินงานสอดคล้ องกับรายงานภายในสําหรับใช้ ในการตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากรให้ กบั ส่วนงานและประเมินผลการดําเนินงานของส่วนงานของผู้มีอํานาจตัดสินใจสูงสุดด้ านการดําเนินงานของบริ ษัท คือ กรรมการบริ ษัท บริ ษัทดําเนินธุรกิจหลักเกี ยวกับการผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์โลหะและชิ 0นส่วนโลหะ ดังนัน0 บริ ษัทมีสว่ นงาน ธุรกิจเพียงส่วนงานเดียว บริ ษัทมีสว่ นงานทางภูมิศาสตร์ ทงในประเทศและในต่ ั0 างประเทศ โดยยอดขายสุทธิในประเทศและต่างประเทศ ต่อยอดขายสุทธิรวม สําหรับปี สิ 0นสุดวันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีดงั นี 0

ยอดขายสุทธิในประเทศ

ยอดขายสุทธิต่างประเทศ

ร้ อยละต่อยอดขายสุทธิรวม 2558

96.67 3.33

2557

95.79

4.21

29. ภาระผูกพัน ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 บริ ษัทมีภาระผูกพัน ดังต่อไปนี 0 29.1 ภาระผูกพันที ต้องจ่ายตามสัญญา ดังต่อไปนี 0 29.1.1 เช่าทรัพย์สนิ กับบริ ษัทอื น อัตราค่าเช่าเดือนละ 0.44 ล้ านบาท 29.1.2 ว่าจ้ างที ปรึ กษากับบริ ษัทอื น มูลค่าคงเหลือ 6.89 ล้ านบาท และอัตราค่าบริ การเดือนละ 0.01 ล้ านบาท 125


29.1.3 ว่าจ้ างบริ การกับบุคคลและบริ ษัทอื น อัตราค่าบริ การเดือนละ 0.08 ล้ านบาท 29.1.4 สัญญาซื 0อเครื องจักร มูลค่าคงเหลือ 0.96 ล้ านบาท 29.2 หนังสือคํ 0าประกันที ออกโดยธนาคารเพื อใช้ ในการคํ 0าประกันการใช้ ไฟฟ้ าและการชําระค่าวัสดุก่อสร้ าง จํานวนเงิน 2.23 ล้ านบาท (ดูหมายเหตุ 9) 30. การเปิ ดเผยเกี'ยวกับเครื'องมือทางการเงิน บริ ษัทไม่มีนโยบายที จะประกอบธุรกรรมตราสารทางการเงินที เป็ นตราสารอนุพนั ธ์เพื อการเก็งกําไรหรื อการค้ า 30.1 การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริ ษัท คือการรั กษาระดับเงินทุนให้ มั นคงเพื อรั กษานักลงทุน เจ้ าหนีแ0 ละ ความเชื อมัน ของตลาดและก่อให้ เกิดการพัฒนาของธุรกิจในอนาคต คณะกรรมการได้ มีการกํากับดูแล ผลตอบแทนของเงินทุน ซึ งบริ ษัทพิจารณาจากสัดส่วนของผลตอบแทนจากกิจกรรมดําเนินงานต่อส่วน ของผู้ถือหุ้น อีกทังยั 0 งกํากับดูแลระดับการจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นสามัญ 30.2 นโยบายการบัญชี รายละเอียดของนโยบายการบัญชีที สําคัญและวิธีปฏิบตั ิทางบัญชี การจัดประเภทสินทรัพย์ทางการเงิน และหนี 0สินทางการเงินรวมถึงการวัดมูลค่า การรับรู้รายได้ และค่าใช้ จ่ายได้ เปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุข้อ 3 ความเสีย งเกี ยวกับเครื องมือทางการเงินที มีสาระสําคัญของบริ ษัท สรุปได้ ดงั ต่อไปนี 0 30.2.1 ความเสี'ยงด้ านอัตราดอกเบีย" ความเสีย งจากอัตราดอกเบี 0ยเกิดขึ 0นจากความผันผวนของอัตราดอกเบี 0ยในตลาดในอนาคต ซึ ง จะส่งผลกระทบต่อผลดําเนินงานและกระแสเงิ นสดของบริ ษัท บริ ษัทมีความเสี ยงจากอัตรา ดอกเบี 0ยเนื องจากมีเงินสดและเงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมจากธนาคาร และ หนี 0สินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน เนื องจากสินทรัพย์และหนี 0สินทางการเงินดังกล่าวส่วนใหญ่มี อัตราดอกเบี 0ยที ปรับขึ 0นลงตามอัตราตลาด บริ ษัทจึงมิได้ ทําสัญญาป้องกันความเสีย งไว้ 30.2.2 ความเสี'ยงจากอัตราแลกเปลี'ยน บริ ษัทมีความเสี ยงจากอัตราแลกเปลี ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ งเกิดจากการซื 0อสินค้ าและการ ขายสินค้ าที เป็ นเงินตราต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ฝ่ ายบริ หารเชื อว่าบริ ษัทไม่มีความเสี ยงใน อัตราแลกเปลี ยนเงิ นตราต่างประเทศที เป็ นสาระสําคัญ ดังนัน0 บริ ษัทจึงไม่ได้ ใช้ อนุพันธ์ ทาง การเงินเพื อป้องกันความเสีย งของสินทรัพย์และหนี 0สินทางการเงินดังกล่าว 30.2.3 ความเสี'ยงด้ านการให้ สินเชื'อที'เกี'ยวเนื'องกับลูกหนีก" ารค้ า บริ ษัทมีนโยบายป้องกันความเสีย งด้ านสินเชื อที เกี ยวเนื องกับลูกหนี 0การค้ า โดยบริ ษัทมีนโยบาย การให้ สินเชื อที ระมัดระวังและการกําหนดวิธีการชําระเงินจากการขายสินค้ าและการให้ บริ การ ดังนัน0 บริ ษัทจึงคาดว่าจะไม่ได้ รับความเสียหายจากการเรี ยกชําระหนี 0จากลูกหนี 0เหล่านันเกิ 0 นกว่า จํานวนที ได้ ตงค่ ั 0 าเผื อหนี 0สงสัยจะสูญแล้ ว 30.3 มูลค่ ายุติธรรม เนื องจากสินทรัพย์ทางการเงินโดยส่วนใหญ่เป็ นเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี 0การค้ าและ ลูกหนี 0อื น ซึง มีการให้ สนิ เชื อระยะสัน0 และหนี 0สินทางการเงิน โดยส่วนใหญ่เป็ นเจ้ าหนี 0การค้ าและเจ้ าหนี 0 126


อื น เงิ นเบิกเกิ นบัญชี และเงิ นกู้ยืมจากจากธนาคาร และหนีส0 ินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิ น ซึ งมีอัตรา ดอกเบี 0ยใกล้ เคียงกับอัตราในตลาด จึงทําให้ ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี 0สินทางการเงินดังกล่าว ไม่แตกต่างกับมูลค่ายุติธรรมอย่างเป็ นสาระสําคัญ 31. เหตุการณ์ ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ที ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท เมื อวันที 24 กุมภาพันธ์ 2559 ได้ มีมติอนุมัติให้ นําสํารองตามกฎหมายและ ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญมาล้ างขาดทุนสะสม โดยพิจารณาจากงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 32. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี 0ได้ รับอนุมตั ิให้ ออกโดยคณะกรรมการของบริ ษัท เมื อวันที 24 กุมภาพันธ์ 2559

127


16. รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 16.1 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

เสนอ คณะกรรมการและผู้ถอื หุ้น บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง" (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ข้ าพเจ้ าได้ ตรวจสอบงบการเงินของบริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ 0ง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ซึ งประกอบด้ วยงบแสดงฐานะ การเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 และงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ งบแสดงการเปลี ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น และงบกระแส เงินสดสําหรับปี สิ 0นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที สาํ คัญและหมายเหตุเรื องอื น ๆ ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่ องบการเงิน ผู้บริ หารเป็ นผู้รับผิดชอบในการจัดทําและการนําเสนองบการเงินเหล่านี 0โดยถูกต้ องตามที ควรตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน และรับผิดชอบเกี ยวกับการควบคุมภายในที ผ้ บู ริ หารพิจารณาว่าจําเป็ นเพื อให้ สามารถจัดทํางบการเงินที ปราศจาก การแสดงข้ อมูลที ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้ อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้ าพเจ้ าเป็ นผู้รั บผิ ดชอบในการแสดงความเห็ นต่องบการเงิ นดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้ าพเจ้ า ข้ าพเจ้ าได้ ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ งกําหนดให้ ข้าพเจ้ าปฏิบัติตามข้ อกําหนดด้ านจรรยาบรรณ รวมถึง วางแผนและปฏิบตั ิงานตรวจสอบเพื อให้ ได้ ความเชื อมัน อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้ อมูลที ขดั ต่อ ข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญหรื อไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้ วิธีการตรวจสอบเพื อให้ ได้ มาซึง หลักฐานการสอบบัญชีเกี ยวกับจํานวนเงินและการเปิ ดเผยข้ อมูล ในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที เลือกใช้ ขึ 0นอยู่กบั ดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ งรวมถึงการประเมินความเสี ยงจากการแสดง ข้ อมูลที ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญของงบการเงิน ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้ อผิดพลาด ในการประเมินความ เสีย งดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที เกี ยวข้ องกับการจัดทําและการนําเสนองบการเงินโดยถูกต้ องตามที ควรของกิจการ เพื อออกแบบวิธีการตรวจสอบที เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อ ประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที ผู้บริ หารใช้ และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที จัดทําขึ 0นโดยผู้บริ หาร รวมทังการประเมิ 0 นการนําเสนองบ การเงินโดยรวม ข้ าพเจ้ าเชื อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที ข้าพเจ้ าได้ รับเพียงพอและเหมาะสมเพื อใช้ เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของ ข้ าพเจ้ า ความเห็น ข้ าพเจ้ าเห็นว่า งบการเงินข้ างต้ นนี 0แสดงฐานะการเงินของ บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ 0ง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 และผลการดํ าเนิ นงาน และกระแสเงิ นสด สํา หรั บปี สิ น0 สุดวัน เดี ย วกัน โดยถูกต้ องตามที ควรใน สาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (นายไกรสิทธิ_ ศิลปมงคลกุล) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 9429 บริ ษัท พีวี ออดิท จํากัด กรุ งเทพฯ 24 กุมภาพันธ์ 2559 128


16.2. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

16.2.1. งบการเงิน (ก) ผู้สอบบัญชีและนโยบายบัญชีท' สี าํ คัญ รายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาตประจําปี 2556 ถึงปี 2558 สามารถสรุปได้ ดงั นี 0 รายงานผู้สอบบัญชีสําหรับงบการเงินของบริ ษัท งวดบัญชี ปี 2556 สิ 0นสุด ณ วันที 31 ธันวาคม 2556 ซึ ง ตรวจสอบโดย บริ ษัท เอเอ็นเอส ออดิท จํากัด โดยนายประวิทย์ วิวรรณธนานุตร์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที 4917 ซึ งเป็ นผู้สอบบัญชีที ได้ รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. ได้ ให้ ความเห็นอย่างไม่มีเงื อนไขว่า งบการเงินของ บริ ษัทแสดงฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน โดยถูกต้ องตามที ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที รับรองทัว ไป รายงานผู้สอบบัญชีสําหรับงบการเงินของบริ ษัท งวดบัญชี ปี 2557 สิ 0นสุด ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 ซึ ง ตรวจสอบโดย บริ ษัท พีวี ออดิท จํากัด โดยนายไกรสิทธิ_ ศิลปมงคงกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที 9429 ซึ ง เป็ นผู้สอบบัญชีที ได้ รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. ได้ ให้ ความเห็นอย่างไม่มีเงื อนไข โดยมีการเน้ นข้ อมูลและ เหตุการณ์เกี ยวกับการนํามาตรฐานการบัญชี ฉบับที 12 เรื อง ภาษี เงินได้ มาถือปฏิบตั ิ ตามรายงานลงวันที 26 กุมภาพันธ์ 2557 รายงานผู้สอบบัญชีสําหรับงบการเงินของบริ ษัท งวดบัญชี ปี 2558 สิ 0นสุด ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 ซึ ง ตรวจสอบโดย บริ ษัท พีวี ออดิท จํากัด โดยนายไกรสิทธิ_ ศิลปมงคงกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที 9429 ซึ ง เป็ นผู้สอบบัญชีที ได้ รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. ได้ ให้ ความเห็นอย่างไม่มีเงื อนไข ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 และผลการดําเนินงาน และ กระแสเงินสด สําหรับปี สิ 0นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้ องตามที ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน (ข) ตารางสรุ ปฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน สรุ ปรายการ งบแสดงฐานะทางการเงิน

สิน สุด 31 ธ.ค. 56

จํานวน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี การค้ าและลูกหนี อื น สินค้ าคงเหลือ

เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระหลักประกัน ที ดนิ อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื น รวมสินทรั พย์ ไม่ หมุนเวียน

20.88 51.60 41.16

6.12% 15.11% 12.06%

5.98

1.75%

10.35 123.99

สินทรัพย์หมุนเวียนอื น รวมสินทรั พย์ หมุนเวียน

รวมสินทรั พย์

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั นการเงิน เจ้ าหนี การค้ าและเจ้ าหนี อื น

%

194.83 2.85 5.61 8.14 217.41 341.40 61.07 80.36

ตรวจสอบแล้ ว

สิน สุด 31 ธ.ค. 57

จํานวน

7.03 49.99 47.20

2.10% 14.92% 14.09%

5.98

1.79%

3.03% 36.32%

12.71 116.93

57.07% 0.83% 1.64% 2.38% 63.68% 100.00%

193.43 2.45 11.11 5.09 218.06 334.99

17.89% 23.54%

%

56.70 77.86

(หน่วย : ล้ านบาท)

สิน สุด 31 ธ.ค. 58

จํานวน

25.17 46.48 46.84

7.56% 13.97 14.07%

5.98

1.79%

3.79% 34.91%

7.24 125.73

57.74% 0.73% 3.32% 1.52% 65.09% 100.00%

187.55 2.11 5.42 6.03 207.09 332.82

16.93% 23.24%

%

37.68 63.72

2.17% 37.78%

56.35% 0.63% 1.63% 1.81% 62.22% 100.00% 11.32% 19.15%

129


สรุ ปรายการ งบแสดงฐานะทางการเงิน

สิน สุด 31 ธ.ค. 56 %

จํานวน

23.49

6.88%

8.19 173.11 16.62 7.86

2.40% 50.71% 4.87% 2.30%

2.85 27.33 200.44

ทุนที ออกและชําระแล้ ว

110.36

กําไรสะสมที ยงั ไม่ได้ จดั สรร

หนี สินส่วนที ถึงกําหนดชําระภายในหนึง ปี เงินกู้ยืมระยะสันจากบุ คคลหรื อกิจการที เกี ยวข้ อง หนี สินหมุนเวียนอื น รวมหนีส ินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี สินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงินระยะยาว หนี สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รวมหนีส ินไม่ หมุนเวียน ทุนจดทะเบียน

รวมหนีส ิน

0.83% 8.01% 58.71% 32.33%

111.14

-3.08-

-0.90%-

-19.48

341.40

100%

รายได้ จากการขายและบริการ ต้ นทุนขายและบริ การ

กําไรขัน ต้ น ค่าใช้ จ่ายในการขาย ค่าใช้ จ่ายในการบริ หาร กําไรจากการดําเนินงาน รายได้ อื น

ต้ นทุนทางการเงิน กําไรก่ อนภาษีเงินได้ ภาษี เงินได้ กําไรสําหรั บงวด กําไรเบ็ดเสร็ จอื น

33.10%

30.98 0.48 2.22-

สรุ ปรายการ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

%

จํานวน

6.30% 6.27% 6.21% 58.95% 1.24% 0.87% 0.89% 3.01% 61.69%

ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ใบสําคัญแสดงสิทธิ สํารองตามกฎหมาย

9.07% 0.14% 0.65%-

140.96

รวมหนีส ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น

สิน สุด 31 ธ.ค. 57 21.10 21.00 20.81 197.47 4.17 2.93 2.99 10.09 207.56

113

รวมส่ วนของเจ้ าของ

ตรวจสอบแล้ ว

ปี 2556 จํานวน

403.44

-368.12

41.29%

3.28% 4.51% 3.22% 41.47% 0.41% 2.48% 1.18% 4.07% 45.54%

33.18%

148.90

44.74%

-5.82%

-22.85

33.73%

32.40 1.15 2.22

9.67% 0.34% 0.66%%

127.43

38.04%

334.99

%

100%

-91.25%

8.75% -1.59% -12.23% -5.07%

-8.16 -21.05 6.47 -14.58 -

-2.02% -5.22% 1.60% -3.61% -

1.87%

ปี 2557

จํานวน

356.89

-321.50

100.00%

150.34

45.17%

52.87 0.11 2.22

15.89% 0.03% 0.67%

-6.87%

181.24

54.46%

332.82

100.00%

(หน่วย : ล้ านบาท) %

100%

-90.08%

35.39 -7.26 -49.61 -21.48

9.92% -2.03 -13.90% -6.02%

-8.03 -21.90 5.50 -16.40 -

-2.25 -6.14% 1.54% -4.60% -

7.61

%

จํานวน

10.92 15.00 10.71 138.03 1.36 8.24 3.94 13.55 151.57

ตรวจสอบแล้ ว

35.31 -6.41 -49.35 -20.45 7.56

113

สิน สุด 31 ธ.ค. 58

2.13%

ปี 2558 จํานวน

%

420.51

100.00%

68.06 - 7.17 - 57.45 3.44

16.19% -1.71% -13.66% 0.82%

- 352.44

6.45

-83.81%

1.53%

- 7.27 2.62 -5.75 - 3.13 -

-1.73% 0.62% -1.37% -0.74% -

130


สรุ ปรายการ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ กําไรเบ็ดเสร็จสําหรั บงวด กําไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้นขัน พืน ฐาน

จํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี ยถ่วงนํ าหนัก (หุ้น)

ปี 2556 จํานวน

-14.58

ตรวจสอบแล้ ว ปี 2557

%

จํานวน

-3.61%

-16.40

%

-4.60%

ปี 2558 - 3.13

205,204,374

221,004,298

252,325,969

0.50

0.50

0.50

กําไรต่อหุ้น (บาท/หุ้น)

ที มลู ค่าที ตราไว้ 0.50 บาท/หุ้น

-0.07

-0.074

%

จํานวน

-0.74%

-0.012

(หน่วย: ล้ านบาท) สรุ ปรายการงบกระแสเงินสด กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรก่อนภาษี เงินได้

ปรั บกระทบกําไรก่ อนภาษีเงินได้ เป็ นเงินสดสุทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน ค่าเสื อมราคาและตัดจําหน่าย

ขาดทุน (กําไร) จากการตัดจําหน่ายสินทรัพย์ หนี สงสัยจะสูญ

ปี 2556

-21.05 26.37 0.13

ตรวจสอบแล้ ว ปี 2557

- 21.90

ปี 2558

2.62

26.15

27.37

-

-

-0.38

0.99

ขาดทุน (กําไร) จากการตีมลู ค่าสินค้ าลดลง

-6.65

1.88

-2.09

ประมาณการหนี สินผลประโยชน์พนักงาน

1.21

0.14

0.64

ขาดทุน (กําไร) จากการด้ อยค่าสินทรัพย์

2.09

ค่าใช้ จ่ายจากการให้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ

0.48

ดอกเบี ยรับ ดอกเบี ยจ่าย กําไรจากการดําเนินงานก่อนการเปลี ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี สินดําเนินงาน การเปลี2ยนแปลงในสินทรั พย์ ดาํ เนินงาน (เพิ2มขึน ) ลดลง ลูกหนี การค้ าและลูกหนี อื น สินค้ าคงเหลือ

สินทรัพย์หมุนเวียนอื น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื น การเปลี2ยนแปลงในหนีส ินดําเนินงานเพิ2มขึน (ลดลง) เจ้ าหนี การค้ าและเจ้ าหนี อื น หนี สินหมุนเวียนอื น เงินสดรับจากการดําเนินงาน รับดอกเบี ย จ่ายภาษี เงินได้

0.36

-

0.67

1.27

-0.18 8.16 10.56

- 0.14 7.03 13.82

- 0.13 6.76 37.44

12.51

1.61

3.50

7.96

11.01 -5.17

-7.92

-2.27 0.01

2.45

-12.80 -11.59 12.48 0.17

- 2.32 12.60 15.53 0.14

- 14.10 -10.10 25.66 0.14

- 1.92

- 1.86

6.47 -

-0.93

131


สรุ ปรายการงบกระแสเงินสด เงินสดสุทธิได้ มาจากกิจกรรมดําเนินงาน

กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระคํ าประกันเพิ มขึ น

ปี 2556 10.73 -

ซื ออาคารและอุปกรณ์

เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์

เงินสดสุทธิใช้ ไปจากกิจกรรมลงทุน

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

-15.81

14.83

0.50

0.01

- 4.37

- 19.02

-2.50

- 6.00

- 11.98

- 12.44

-

-

เงินสดสุทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน

-

- 11.72

- 8.17 53.35 8.82 0.42 20.46 20.88

- 7.21 2.20 -8.87 -13.86 20.88 7.03

2557

-

9.65 - 12.06

- 6.80 55.91 - 9.24 - 18.15 7.03 25.17

2558

เท่า

0.71

0.59

0.91

เท่า

0.12

0.03

0.18

วัน

52.37

51.92

41.86

41.48 5.08 71.85

50.14 3.60 101.39

48.67 4.56 80.04

เท่า

อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี การค้ า

เท่า

อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ

เท่า

ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลี ย* อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี ระยะเวลาชําระหนี

-

4.60 -13.12

2556

อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว

ระยะเวลาเก็บหนี เฉลี ย

23.50

-8.80

เงินปั นผลจ่าย

อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด

-

- 11.47

เงินรับจากสัญญาขายและเช่าคืน จ่ายชําระเงินหนี สินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน

อัตราส่วนสภาพคล่อง

-

-4.37

จ่ายชําระเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

อัตราส่ วนสภาพคล่ อง (Liquidity ratio)

-0.16

- 15.96

รับเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

อัตราส่ วนทางการเงิน

-

- 19.13

จ่ายชําระเงินกู้ยมิ ระยะสันจากบุ คคลและกิจการที เกี ยวข้ อง

ตารางแสดงอัตราส่ วนทางการเงินที'สาํ คัญ

-

- 18.79

รับเงินกู้ยิมระยะสันจากบุ คคลและกิจการที เกี ยวข้ อง

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ มขึ นสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือต้ นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือสิ นปี

ปี 2558 24.87

- 19.13

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั นการเงินเพิ มขึ น (ลดลง)

ดอกเบี ย รับชําระค่าหุ้นสามัญ

ปี 2557 13.80

- 32.60

- 1.36

ซื อสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน

ตรวจสอบแล้ ว

วัน เท่า วัน

0.47

6.97

8.80

0.35

0.57

7.03

8.72

7.28

7.50

132


Cash cycle

อัตราส่ วนทางการเงิน

2556 วัน

22

อัตรากําไรขันต้ น อัตรากําไรจากการดําเนินงาน อัตรากําไรก่อนภาษี เงินได้

% % %

8.75 -5.07 -5.22

อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการทํากําไร (Profitability ratio)

%

อัตรากําไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น

% %

-99.22

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์

อัตราส่วนเงินสดต่อการทํากําไร อัตราส่ วนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficiency ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร อัตราการหมุนของสินทรัพย์ อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน (Financial policy ratio) อัตราส่วนหนี สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

อัตราส่วนความสามารถชําระดอกเบี ย อัตราส่วนความสามารถชําระภาระผูกพัน - Cash basis อัตราการจ่ายเงินปั นผล

2557

0.67

9.92 -6.02 -6.14

2558

10.49 16.19 2.35 0.62

-3.61 -10.34

-32.08

-4.60 -12.87

256.88

%

-4.27 -6.70 1.18

-4.90

-7.52 1.07

-0.94

-1.51 1.26

เท่า

1.42

1.63

0.84

% เท่า

เท่า เท่า %

-2.51 0.27 -0.6

-0.74 -1.73

-2.67 0.37

0.47 0.32 -

133


17. รายงานความรั บผิดชอบของคณะกรรมการ ต่ อรายงานทางการเงิน เรี ยน ท่านผู้ถือหุ้น บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ 0ง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริ ษัทได้ ให้ ความสําคัญต่อหน้ าทีแ ละความรับผิดชอบดูแลกิจการบริษัทฯ ให้ เป็ นไปตามนโยบาย การกํากับดูแลกิจการที ดี การกํากับดูแลงบการเงินและสารสนเทศทางการเงินที ปรากฏในรายงานประจําปี มีข้อมูลที ถูกต้ อง ครบถ้ วน เปิ ดเผย อย่างเพียงพอ งบการเงินได้ ถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีที รับรองทัว ไปในประเทศไทย โดย เลือกใช้ นโยบายการบัญชีทเี หมาะสม และถือปฏิบตั ิอย่างสมํา เสมอ และใช้ ดลุ ยพินิจอย่างระมัดระวัง รวมถึงจัดให้ มีและ ดํารงรักษาไว้ ซงึ ระบบการควบคุมภายในทีม ี ประสิทธิผลเพื อให้ เชื อมัน อย่างมีเหตุผลต่อความเชื อถือได้ ของงบการเงิน การ ดูแลรักษาทรัพย์สนิ มีระบบการป้องกันที ดีไม่มีรายการ ทุจริ ตหรื อมีการดําเนินการที ผิดปกติรายการที เกี ยวโยงกันซึง อาจทํา ให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์เป็ นรายการจริ งทางการค้ า อันเป็ นธุรกิจปกติทวั ไปอย่างสมเหตุสมผลและเป็ น ประโยชน์สงู สุด รวมทังมี 0 การปฏิบตั ิตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ทเี กี ยวข้ อง ซึง คณะกรรมการตรวจสอบได้ รายงานผลการ ปฏิบตั ิงานต่อคณะกรรมการบริ ษัทแล้ ว และได้ รายงานความเห็นเกี ยวกับเรื องนี 0 ในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบซึง ปรากฏในรายงานประจําปี คณะกรรมการบริ ษัทมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทฯ โดยรวมอยูใ่ นระดับทีน า่ พอใจ และ สามารถให้ ความมัน ใจ อย่างมีเหตุผลต่อความเชื อถือได้ ของงบการเงินของบริ ษัทฯ ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 ซึง ผู้สอบ บัญชีของบริ ษัทฯ ได้ ตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชีที รับรองทัว ไป และแสดงความเห็นว่างบการเงินแสดงฐานะ การเงินและผลการดําเนินงานโดยถูกต้ อง ตามที ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที รับรองทัว ไป

นายมาซามิ คัตซูโมโต กรรมการ

นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล กรรมการ

134


18.รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจําปี 2558 เรี ยน ท่านผู้ถือหุ้น บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ 0ง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ 0ง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) จํานวน 3 ท่าน ซึ งเป็ นคณะกรรมการ อิสระที มีคณ ุ สมบัติครบถ้ วนตามข้ อกําหนด และแนวทางปฏิบตั ิที ดีของคณะกรรมการตรวจสอบของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ปั จจุบนั คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษัท ประกอบด้ วย 1. นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายสันติ เนียมนิล กรรมการตรวจสอบ 3. นายนิพนั ธ์ ตังพิ 0 รุฬห์ธรรม กรรมการตรวจสอบ โดยปั จจุบนั มี นายสุวรรณะ มาญสติ เป็ นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ปฏิบตั ิหน้ าที ตามขอบเขต หน้ าที และความรับผิดชอบที ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริ ษัทฯ ซึง สอดคล้ องกับข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยในรอบปี บัญชี 2558 ได้ จดั ให้ มีการประชุม คณะกรรมการตรวจสอบจํานวน 5 ครัง0 และในปี 2559 จนถึงวันที รายงาน จํานวน 1 ครัง0 รวมทังสิ 0 0น 6 ครัง0 เป็ นการร่วม ประชุมกับผู้บริ หาร ผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายใน ตามความเหมาะสมซึง สรุปสาระสําคัญได้ ดงั นี 0 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจําปี 2558 โดย ประชุมร่ วมกับผู้สอบบัญชี และ ผู้บริ หารของบริ ษัทฯ เพื อพิจารณา ความถูกต้ องครบถ้ วนของงบการเงิน และความเพียงพอในการเปิ ดเผย ข้ อมูล ประกอบงบการเงิน นโยบายการบัญชี รวมทังข้ 0 อสังเกตุจาก การตรวจสอบและ สอบทาน งบการเงิน ของผู้สอบบัญชี ซึง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า งบการเงินดังกล่าว ได้ จดั ทําตามมาตรฐานการ บัญชี มีความถูกต้ องตามที ควรในสาระสําคัญและมีการเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอ รวมทังเป็ 0 นไปตาม ข้ อกําหนดและกฎหมายที เกี ยวข้ อง 2. สอบทานข้ อมูลการดําเนิ นงานและระบบการควบคุมภายใน เพื อประเมินความเพียงพอ เหมาะสม และประสิทธิ ผลของระบบการควบคุมภายใน อันจะช่วยส่งเสริ มให้ การดําเนินงานบรรลุตามเป้าหมายที กําหนดไว้ โดยพิจารณาจากการสอบทานผลการประเมินระบบการควบคุมภายในร่ วมกับผู้สอบบัญชี และ ผู้ตรวจสอบภายใน ไม่พบจุดอ่อนหรื อข้ อบกพร่ องที เป็ นสาระสําคัญ มีการดูแลรักษาทรัพย์สินที เหมาะสม และมีการเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน และเชื อถือได้ นอกจากนี 0ได้ ประเมินระบบการควบคุมภายใน ตามแนวทางที กําหนดโดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยผู้สอบบัญชี และ ผู้ตรวจสอบภายใน มีความเห็น ว่า บริ ษัทฯ มีระบบการควบคุม ภายในที ดีและมีการพัฒนาอย่า ง ต่อเนื อง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้ องกับผู้สอบบัญชีและ ผู้ตรวจสอบภายใน 3. สอบทานการตรวจสอบภายในโดยพิจารณา กระบวนการเริ มตังแต่ 0 การวางแผน การรายงาน และการ ติดตามผลการปฏิบตั ิตามคําแนะนําของ บริ ษัท สอบบัญชีไทย จํากัด ซึ งเป็ น ผู้ตรวจสอบภายในของบริ ษัท 135


4.

5.

6.

7.

เพื อปรับปรุงให้ เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล อีกทังได้ 0 พิจารณาทบทวนและอนุมตั ิการแก้ ไขกฏบัตรงาน ตรวจสอบภายในให้ เหมาะสม ทันสมัย และสอดคล้ องกับคู่มือแนวทางการตรวจสอบภายในของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และได้ อนุมตั ิแผนการตรวจสอบประจําปี ที จดั ขึ 0นตามความเสี ยงระดับองค์กร คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริ ษัทฯ มีระบบการตรวจสอบภายในที เพียงพอ เหมาะสม และมี ประสิทธิผล เป็ นไปตามมาตราฐานสากล สอบทานการปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ว่ า ด้ ว ยหลัก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ ข้ อ กํ า หนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและกฏหมายที เกี ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัทฯ รวมถึงการปฏิบตั ิตามข้ อกําหนด ของบริ ษัทฯ และข้ อผูกพันที บริ ษัทฯมีไว้ กบั บุคคลภายนอก ซึง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ไม่พบ ประเด็นที เป็ นสาระสําคัญในเรื องการไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้ อกําหนด และข้ อผูกพันที บริ ษัทฯมีไว้ กับ บุคคลภายนอก สอบทานระบบการบริหารความเสี'ยง ให้ มีความเชื อมโยงกับระบบการควบคุมภายในเพื อจัดการความ เสี ยงทัว ทังบริ 0 ษัทฯ โดยได้ พิจารณาสอบทานนโยบาย ปั จจัยความเสี ยง แนวทางการบริ หารความเสี ยง รวมถึ ง ความคืบ หน้ า ของการบริ ห ารความเสี ย ง ซึ ง คณะกรรมการตรวจสอบมี ค วามเห็น ว่า บริ ษั ท ให้ ความสําคัญกับการบริ หารความเสีย ง โดยฝ่ ายบริ หารมีการประเมินความเสีย ง(Risk Assessment) ที อาจมี ผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจของบริ ษัทอย่างมีนยั สําคัญ ทังที 0 มาจากปั จจัยภายในและปั จจัย ภายนอก อย่างสมํ าเสมอ โดยบริ ษัทได้ มีการแต่งตังคณะทํ 0 างานดําเนินการบริ หารความเสีย งมารับผิดชอบทําหน้ าที นี 0 บริ ษัทมีการกําหนดกระบวนการบริ หารความเสี ยงไว้ 7 ขันตอน 0 ดังนี 0 1) การกําหนดวัตถุประสงค์ 2) การ วิเคราะห์ความเสีย ง 3) การประเมินความเสีย ง 4) การประเมินมาตรการควบคุม 5) การบริ หาร/การจัดการ ความเสีย ง 6) การรายงาน7) การติดตาม ประเมินผล และทบทวน โดยได้ มีการจัดทําคู่มือการบริ หารความ เสีย งเพื อเป็ นแนวทางในการดําเนินงาน สอบทานและให้ ค วามเห็ น ต่ อรายการที' เ กี' ย วโยงกั น หรื อ รายการที' อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ รวมถึงการเปิ ดเผยข้ อมูลของรายการดังกล่ าว ตามข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ งผู้สอบบัญชีมีความเห็น ว่ารายการค้ ากับบริ ษัทที เกี ยวข้ องกันที มีสาระสําคัญได้ เปิ ดเผยและแสดงรายการในงบการเงินและหมาย เหตุประกอบงบการเงินแล้ ว และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้ องกับผู้สอบบัญชี รวมทังมี 0 ความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที สมเหตุสมผล และเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อการดําเนินธุรกิจของ บริ ษัท รวมทังมี 0 การเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างถูกต้ องและครบถ้ วน พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่ งตัง" และเสนอค่ าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจําปี 2558 เพื อนําเสนอต่อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ให้ อ นุมัติ จ ากที ป ระชุม ผู้ถื อ หุ้น ประจํ า ปี 2558 ซี ง คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาผลการปฏิบตั ิงาน ความเป็ นอิสระและความเหมาะสมของค่าตอบแทนแล้ ว เห็นควรเสนอแต่งตัง0 นาย ประวิทย์ วิวรรณธนานุตร์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที 4917 และ/หรื อ นาย เทิดทอง เทพมังกร ผู้สอบ บัญชีรับอนุญาตเลขที 3787 และ/หรื อ นายไกรสิทธิ_ ศิลปมงคลกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที 9429 แห่ง บริ ษัท พีวี ออดิท จํากัด เป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ ประจําปี 2558 พร้ อมด้ วยค่าตอบแทนเป็ นจํานวน

136


เงิ นรวม 800,000.-บาท โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นเกี ยวกับการเสนอแต่งตัง0 ผู้สอบบัญชี ดังกล่าวดังนี 0 • ในรอบปี บัญชีที ผ่านมา ผู้สอบบัญชีได้ ปฏิบตั ิงานด้ วยความรู้ ความสามารถในวิชาชีพ และ ให้ ข้อเสนอแนะเกี ยวกับระบบการควบคุมภายในและความเสี ยงต่างๆ รวมทังมี 0 ความเป็ น อิสระในการปฏิบตั ิงาน • ค่าตอบแทนที เสนอมาเป็ นอัตราที เหมาะสม • ผู้สอบบัญชีไม่มีความสัมพันธ์ใดๆกับบริ ษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ปฏิบตั ิหน้ าที ด้วยความรอบคอบอย่างเป็ นอิสระ และแสดงความเห็นอย่างตรงไปตรงมา เพื อ ประโยชน์สงู สุดของบริ ษัทฯตามที ได้ ระบุไว้ ในกฏบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัทฯ และมีความเห็นว่า บริ ษัทฯ ได้ จัดทํารายงานข้ อมูลทางการเงินอย่างถูกต้ องตามที ควร มีระบบการควบคุมภายใน การ ตรวจสอบภายใน การบริ หารความเสี ยงที เหมาะสมและมีประสิทธิผล มีการปฏิบตั ิตาม กฎหมาย ข้ อกําหนดและข้ อ ผูกพันต่างๆ มีการเปิ ดเผยรายการที เกี ยวโยงกันอย่างถูกต้ องและมีการปฏิบตั ิงานที สอดคล้ องกับระบบการกํากับดูแล กิจการที ดีอย่างเพียงพอ โปร่ งใส และเชื อถือได้ รวมทังมี 0 การพัฒนาปรับปรุ งระบบการปฏิบตั ิงานให้ มีคุณภาพดีขึ 0นและ เหมาะสมกับสภาวะแวดล้ อม ทางธุรกิจอย่างสมํ าเสมอและต่อเนื อง

ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์ (ประธานกรรมการตรวจสอบ) 24 กุมภาพันธ์ 2559

137


19. การวิเคราะห์ ฐานะและคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ 19.1 ผลการดําเนินงาน

ภาพรวมผลการดําเนินงานที ผา่ นมา ปี 2556 บริ ษัทมีรายได้ รวม 410.98 ล้ านบาท ลดลงจากปี 2555 เท่ากับ 76.08 ล้ านบาท หรื อ ร้ อยละ 15.62 โดย มีสาเหตุหลัก จากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้ านธุรกิจยานยนต์ที ชะลอตัว อันเนื องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื 0อจากลูกค้ าซึง เลือ นออกไป ปี 2557 บริ ษัทมีรายได้ รวม 364.50 ล้ านบาท ลดลงจากปี 2556 เท่ากับ 46.49 ล้ านบาท หรื อ คิดเป็ นร้ อยละ 11.31ของรายได้ รวม โดยมีสาเหตุหลัก จากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้ านธุรกิจยานยนต์ที ชะลอตัว อันเนื องจาก การยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื 0อจากลูกค้ าซึ งเลื อน ออกไป ปี 2558 บริ ษัทมีรายได้ รวม 426.96 ล้ านบาท เพิ มขึ 0นจากปี 2557 เท่ากับ 62.46 ล้ านบาท หรื อ คิดเป็ นร้ อยละ 17.14 ของรายได้ รวม โดยมีสาเหตุหลักเนื องจากมีคําสัง ซื 0อจากลูกค้ าเพิ มขึ 0น ทังจากลู 0 กค้ าเดิมและลูกค้ าใหม่ รายได้

ในปี 2556 ปี 2557และปี 2558 บริ ษัทมีรายได้ รวมเท่ากับ 410.98 ล้ านบาท 364.50 ล้ านบาท และ 426.96 ล้ านบาท ตามลําดับ รายได้ รวมของบริ ษัทสามารถสรุปได้ ดงั นี 0 (หน่วย : ล้ านบาท) รายได้

1. รายได้ จากการขายชิน ส่ วน ชิ นส่วนรถยนต์ ชิ นส่วนรถจักรยานยนต์ ชิ นส่วนเครื'องใช้ ไฟฟ้ า ชิ นส่วนเครื'องจักรกลเกษตรและอื'นๆ 2. รายได้ จากการขายแม่ พิมพ์ ชิ นส่วนรถยนต์ ชิ นส่วนรถจักรยานยนต์ ชิ นส่วนเครื'องใช้ ไฟฟ้ า ชิ นส่วนเครื'องจักรกลเกษตรและอื'นๆ รวมรายได้ จากการขาย รายได้ จากการให้ บริการ1/ รวมรายได้ จากการขายและให้ บริการ รายได้ อื'น2/

ปี 2556

จํานวน 335.62 211.95 71.34 33.63 18.70 60.13 22.69 33.22 4.23 395.75 7.96 403.44 7.54

ร้ อยละ 81.66 51.57 17.36 8.18 4.55 14.63 5.52 8.08 1.03 96.29 1.87 98.17 1.83

ปี 2557

จํานวน 328.18 210.20 55.58 38.39 24.01 24.70 13.43 8.39 1.05 1.83 352.88 4.01 356.89 7.61

ร้ อยละ 90.04 57.67 15.25 10.53 6.59 6.78 3.68 2.30 0.29 0.50 96.81 1.10 98.17 2.09

ปี 2558

จํานวน 382.19 276.71 40.71 46.61 18.16 34.40 9.30 22.87 1.33 0.90 416.59 3.92 420.51 6.45

ร้ อยละ 89.51 64.81 9.46 10.83 4.22 8.00 2.16 5.32 0.31 0.21 97.57 0.91 98.49 1.50

138


รายได้

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

จํานวน ร้ อยละ จํานวน ร้ อยละ จํานวน ร้ อยละ รายได้ รวม 410.98 100 364.5 100 426.96 100 * รายได้ อื'น หมายถึง รายได้ จากการขายเศษวัตถุดิบจากการผลิต กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี'ยนที'ยงั ไม่เกิดขึน จริ ง กําไร (ขาดทุน) จาก การตัดจําหน่ายทรัพย์สิน กําไร (ขาดทุน) จากการตีมลู ค่าสินค้ าลดลง ดอกเบี ยรับ และรายได้ อื'น

รายได้ จากการขายและบริ การ โครงสร้ างรายได้ ของบริ ษัทในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีรายได้ หลักจากการจําหน่ายชิน0 ส่วนและ แม่พิมพ์แก่ลกู ค้ าในกลุม่ อุตสาหกรรมรถยนต์ โดยคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 57.09 ร้ อยละ 61.35 และ ร้ อยละ 66.97 ของ รายได้ รวมตามลําดับ รายได้ จากลูกค้ าในกลุม่ อุตสาหกรรมจักรยานยนต์คิดเป็ นอัตราส่วน ร้ อยละ 22.88 ร้ อยละ 17.55 และร้ อยละ 14.78 ของรายได้ รวมตามลําดับ รายได้ จากลูกค้ าในกลุม่ อุตสาหกรรมเครื องใช้ ไฟฟ้ าคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 9.21 ร้ อยละ 10.82 และร้ อยละ 11.14 ของรายได้ รวมตามลําดับ และรายได้ จากลูกค้ าในกลุม่ อุตสาหกรรมเครื องจักรกล เกษตรและอื นๆ คิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 4.55 ร้ อยละ 7.09 และร้ อยละ 4.43 ของรายได้ รวมตามลําดับ ในปี 2556 รายได้ รวมของบริ ษัทเท่ากับ 410.98 ล้ านบาท ลดลงจากปี 2555 เท่ากับ 76.08 ล้ านบาท หรื อ ร้ อย ละ 15.62 เนื องจากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้ านธุรกิจยานยนต์ที ชะลอตัว อันเนื องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื 0อจากลูกค้ าซึ งเลื อนออกไป นอกจากนี 0บริ ษัทยังมี รายได้ จากการบริ การโดยมีการทําข้ อตกลงให้ ความช่วยเหลือด้ านเทคนิคให้ กบั บริ ษัทผลิตชิ 0นส่วนรถจักรยานยนต์แห่งหนึง ในประเทศอินเดีย ซึง บริ ษัทรับรู้รายได้ จากข้ อตกลงดังกล่าวสําหรับปี 2556 เท่ากับ 7.69 ล้ านบาท ในปี 2557 รายได้ รวมของบริ ษัทเท่ากับ 364.50 ล้ านบาท ลดลงจากปี 2556 เท่ากับ 46.49 ล้ านบาท หรื อ ร้ อย ละ 11.31 เนื องจากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้ านธุรกิจยานยนต์ที ชะลอตัว อันเนื องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื 0อจากลูกค้ าซึ งเลื อนออกไป นอกจากนี 0บริ ษัทยังมี รายได้ จากการบริ การโดยมีการทําข้ อตกลงให้ ความช่วยเหลือด้ านเทคนิคให้ กบั บริ ษัทผลิตชิ 0นส่วนรถจักรยานยนต์แห่งหนึง ในประเทศอินเดีย ซึง บริ ษัทรับรู้รายได้ จากข้ อตกลงดังกล่าวสําหรับปี 2557 เท่ากับ 4.01 ล้ านบาท ในปี 2558 รายได้ รวมของบริ ษัทเท่ากับ 426.96 ล้ านบาท เพิ มขึ 0น จากปี 2557 เท่ากับ 62.46 ล้ านบาท หรื อ ร้ อย ละ 17.14 เนื องจากมีคําสัง ซื 0อจากลูกค้ าที เพิ มขึ 0น ทังจากลู 0 กค้ าเดิมและลูกค้ าใหม่ นอกจากนี 0บริ ษัทยังมีรายได้ จากการ บริ การโดยมีการทําข้ อตกลงให้ ความช่วยเหลือด้ านเทคนิคให้ กับบริ ษัทผลิตชิน0 ส่วนรถจักรานยนต์แห่งหนึ งในประเทศ อินเดีย ซึง บริ ษัทรับรู้รายได้ จากข้ อตกลงดังกล่าวสําหรับปี 2558 เท่ากับ 3.92 ล้ านบาท รายได้ อื น

ในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีรายได้ อื นจํานวน 7.54 ล้ านบาท 7.61 ล้ านบาท และ 6.45 ล้ านบาท ตามลําดับ ซึง คิดเป็ นสัดส่วนต่อรายได้ รวม ร้ อยละ 1.83 ร้ อยละ 2.09 และร้ อย 1.50 ของรายได้ รวมตามลําดับ โดยรายได้ อื นของบริ ษัท ได้ แก่ รายได้ จากการขายเศษวัตถุดิบจากการผลิต กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี ยนที ยงั ไม่เกิดขึ 0นจริ ง กําไร(ขาดทุน)จากการตัดจําหน่ายทรัพย์สิน กําไร (ขาดทุน) จากการตีมลู ค่าสินค้ าลดลง ดอกเบี 0ยรับ และรายได้ อื น เป็ น ต้ น

139


ในปี 2556 รายได้ อื นลดลง 5.05 ล้ านบาท หรื อลดลงร้ อยละ 40.11 เมื อเทียบกับในปี 2555 เนื องจากการลดลง ของรายการขายเศษวัตถุดิบจากการผลิตลดลงจากปี 2556 อันสืบเนื องมากจากปริ มาณการผลิตและขายที ลดลง ในปี 2557 รายได้ อื นเพิ มขึ 0น 0.07 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 0.93 เมื อเทียบกับในปี 2556 เนื องจากรายการ ขายเศษวัตถุดิบจากการผลิตเพิ มขึ 0นจากปี 2556 ในปี 2558 รายได้ อื นลดลง 1.16 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 15.24 เมื อเทียบกับปี 2557 เนื องจากรายการขาย เศษวัตถุดิบจากการผลิตลดลงจากปี 2557 ต้ นทุนขาย และกําไรขันต้ 0 น ในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีต้นทุนขายรวม 368.12 ล้ านบาท 321.50 ล้ านบาท และ 352.44 ล้ าน บาท ตามลําดับ คิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 89.57 ร้ อยละ 90.08 และร้ อยละ 83.81 ของรายได้ รวมตามลําดับ ส่งผลให้ ในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีอตั รากําไรขันต้ 0 น ร้ อยละ 8.75 ร้ อยละ 9.92 และร้ อยละ 16.19 ตามลําดับ ในปี 2556 บริ ษัทมีต้นทุนขายรวมเท่ากับ 368.12 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 91.25 ของยอดขาย ในขณะที ปี 2555 มีต้นทุนขายรวม 400.89 ล้ านบาท ซึ งคิดเป็ นร้ อยละ 84..49 ของยอดขาย ซึ งต้ นทุนขายเพิ มขึ 0นเท่ากับ 32.77 ล้ าน บาท หรื อร้ อยละ 6.75 ส่วนที เพิ มขึ 0นดังนี 0 - ค่าแรงงานเพิ มขึ 0น 8.96 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 2.43 ของต้ นทุนขาย และ ค่าจ้ างแรงงานภายนอกเพิ มขึน0 18.47 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 5.02 ของต้ นทุนขาย ค่าแรงงานที ปรับเพิ มขึ 0นเป็ นการปรับเพิ มค่าจ้ างแรงงาน ภายในบริ ษัท และภายนอกบริ ษัทซึง ส่งผลมาจากการประกาศใช้ นโยบายค่าแรงงานขันตํ 0 าของรัฐบาล - ค่าเสือ มราคาทรัพย์สนิ เพิ มขึ 0น 2.87 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 0.78 ของต้ นทุนขาย อันเป็ นผลมาจากบริ ษัทมีการ ลงทุนในเครื องจักร และอุปกรณ์โรงงานในปี 2556 เพิ มมากขึ 0น ทังนี 0 0เพราะต้ องการเพิ มประสิทธิภาพการผลิต ในปี 2557 บริ ษัทมีต้นทุนขายรวมเท่ากับ 321.50 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 90.08 ของยอดขาย ในขณะที ปี 2556 มีต้นทุนขายรวม 368.12 ล้ านบาท ซึ งคิดเป็ นร้ อยละ 89.57 ของยอดขาย ซึ งต้ นทุนขายลดลงเท่ากับ 46.62 ล้ าน บาท หรื อร้ อยละ 12.66 สาเหตุมาจากยอดขายที ลดลงเท่ากับ 46.54 ล้ านบาทหรื อคิดเป็ นร้ อยละ 11.54 ในปี 2558 บริ ษัทมีต้นทุนขายรวมเท่ากับ 352.44 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 83.81ของยอดขายในขณะที ปี 2557 มีต้นทุนขายรวม 321.50 ล้ านบาท ซึ งคิดเป็ นร้ อยละ 90.08 ของยอดขาย ซึ งต้ นทุนขายเพิ มขึน0 เทากับ 30.94 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 9.62 สาเหตุมาจากยอดขายที เพิ มขึ 0นเท่ากับ 62.46 ล้ านบาท หรื อ คิดเป็ นร้ อยละ 17.83 ค่าใช้ จ่ายในการขายและการบริ หาร ค่าใช้ จ่ายในการขายส่วนใหญ่ของบริ ษัทเป็ นค่าใช้ จ่ายคงที เช่น เงินเดือน ค่าล่วงเวลา โบนัสของพนักงานฝ่ าย ขาย และค่าเช่ารถขนส่งสินค้ า เป็ นต้ น โดยในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 ค่าใช้ จ่ายในการขายของบริ ษัทเท่ากับ 6.41 ล้ านบาท 7.26 ล้ านบาทและ 7.17 ล้ านบาท ตามลําดับ หรื อเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 1.59 ร้ อยละ 2.03 และร้ อยละ1.71 ของ รายได้ รวมตามลําดับ ในปี 2556 ค่าใช้ จ่ายในการขายปรับตัวเพิ มขึ 0นร้ อยละ 10.59 เมื อเทียบกับปี 2555 เนื องจากการปรับทีมงานของ ฝ่ ายขายโดยการเจาะตลาดลูกค้ ารายใหม่ และพยายามเข้ าเป็ น First Tier ของกลุม่ อุตสาหกรรมงานหล่ออลูมิเนียม ประกอบกับการเริ มบุกตลาดเพื อแตกสายการผลิตงานหล่อ และงานฉีดโลหะในแบบอื น ๆ

140


ในปี 2557 ค่าใช้ จ่ายในการขายปรับตัวเพิ มขึ 0นร้ อยละ 13.26 เมื อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน เนื องจากการ ปรับทีมงานของฝ่ ายขายโดยการเจาะตลาดลูกค้ ารายใหม่ และพยายามเข้ าเป็ น First Tier ของกลุม่ อุตสาหกรรมงานหล่อ อลูมิเนียมประกอบกับการเริ มบุกตลาดเพื อแตกสายการผลิตงานหล่อ และงานฉีดโลหะในแบบอื น ๆ ในปี 2558 ค่าใช้ จ่ายในการขายปรับตัวลดลงร้ อยละ 0.09 เมื อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน เนื องจากการปรับ ทีมงานของฝ่ ายขายโดยการเจาะตลาดลูกค้ ารายใหม่ และ พยายามเข้ าเป็ น First Tier ของกลุม่ อุตสาหกรรมงานหล่อ อลูมินเนียมประกอบกับการเริ มบุกตลาดใหม่ๆเพื อแตกสายการผลิตงานหล่อ และงานฉีดโลหะในแบบอื นๆ ในปี ปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 ค่าใช้ จ่ายในการบริ หารของบริ ษัทเท่ากับ 49.35 ล้ านบาท 49.61 ล้ านบาท และ 57.45 ล้ านบาท ตามลําดับ หรื อเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ12.23 ร้ อยละ 13.90 และร้ อยละ13.66 ของรายได้ รวมในช่วง เดียวกันตามลําดับ ปี 2556 ค่าใช้ จ่ายในการบริ หารปรับตัวลดลงร้ อยละ 5.69 เมื อเทียบกับปี 2555 เนื องจากการปรับลดโบนัส พนักงานประจําปี จากที จ่าย 2-3 เดือน เป็ น 1 เดือน เป็ นผลมาจากยอดขายที ลดลงในปี 2556 ปี 2557 ค่าใช้ จ่ายในการบริ หารปรับตัวเพิ มขึ 0นร้ อยละ 0.26 เมื อเทียบกับปี 2556 เนื องจากค่าใช้ จ่ายคงที ในปี 2556 บางรายการได้ มีการปรับเพิ มขึ 0น เช่น การปรับเงินเดือนประจําปี ปี 2558 ค่าใช้ จ่ายในการบริ หารปรับตัวเพิ มขึ 0นร้ อยละ 15.80 เมื อเทียบกับปี 2557 เนื องจากค่าใช้ จ่ายคงที ในปี 2558 บางรายการมีการปรั บเพิ มขึ 0น เช่น การปรั บเงินเดือน และ การจ่ายโบนัสพนักงานประจําปี ร้ อยละ 49.67 และ 57.45 ตามลําดับ อัตรากําไรจากการดําเนินงาน และอัตรากําไรสุทธิ ในปี 2556 บริ ษัทมีการขาดทุนจากการดําเนินงานเท่ากับ 20.45 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราขาดทุนจากการ ดําเนินงานเท่ากับร้ อยละ 5.07 ซึ งการขาดทุนจากการดําเนินงานในช่วงดังกล่าว มีสาเหตุหลักจากอัตรากําไรขันต้ 0 นที ปรับตัวลดลงเนื องจากค่าแรงงานที ปรับเพิ มขึ 0นเป็ นการปรับเพิ มค่าจ้ างแรงงานภายในบริ ษัท และภายนอกบริ ษัทซึ งส่งผล มาจากการประกาศใช้ นโยบายค่าแรงงานขันตํ 0 า ของรัฐบาล ประกอบกับยอดขายลดลงจากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้ านธุรกิจยานยนต์ที ชะลอตัว อันเนื องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการ ชะลอตัวของคําสัง ซื 0อจากลูกค้ าซึง เลือ นออกไป ในปี 2557 บริ ษัทมีการขาดทุนจากการดําเนินงานเท่ากับ 21.90 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราขาดทุนจากการ ดําเนินงานเท่ากับร้ อยละ 6.02 ของรายได้ รวม ซึ งการขาดทุนจากการดําเนินงานในช่วงดังกล่าว มีสาเหตุหลักเนื องจาก ค่าแรงงานที ปรับเพิ มขึ 0นเป็ นการปรับเพิ มค่าจ้ างแรงงานภายในบริ ษัท และภายนอกบริ ษัทซึ งส่งผลมาจากการประกาศใช้ นโยบายค่าแรงงานขันตํ 0 าของรัฐบาล ประกอบกับยอดขายลดลงจากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้ านธุรกิจยานยนต์ที ชะลอตัว อันเนื องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื 0อ จากลูกค้ าซึง เลือ นออกไป ในปี 2558 บริ ษัทมีกําไรจากการดําเนินงานเท่ากับ 3.44 ล้ านบาท หรื อ คิดเป็ นอัตรากําไรจากการดําเนินงาน เท่ากับร้ อยละ 0.82 ของรายได้ รวม เนื องจากการปรับตัวของยอดขายเพิ มขึ 0น ร้ อยละ 17.82 และ อัตรากําไรขันต้ 0 นที สงู ขึ 0น ร้ อยละ 92.33 จากปี ก่อน

141


ในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 กําไรสุทธิ มีมลู ค่าเท่ากับ -14.58 ล้ านบาท -16.40 ล้ านบาท และ -3.13 ล้ าน บาทตามลําดับ หรื อคิด ร้ อยละ -3.61 ร้ อยละ -4.60 และร้ อยละ -0.74 ของรายได้ รวม ตามลําดับ ขาดทุนสุทธิของบริ ษัทในปี 2556 เท่ากับ 14.58 ล้ านบาทหรื อปรับตัวลดลงร้ อยละ 184.52 เมื อเปรี ยบเทียบกับ กําไรสุทธิ 17.24 ล้ านบาทในปี 2555 เนื องจากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้ านธุรกิจยานยนต์ที ชะลอตัว อันเนื องจาก การยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซือ0 จากลูกค้ าซึ งเลื อน ออกไป และค่าแรงงานที ปรับเพิ มขึ 0นเป็ นการปรับเพิ มค่าจ้ างแรงงานภายในบริ ษัท และภายนอกบริ ษัทซึ งส่งผลมาจากการ ประกาศใช้ นโยบายค่าแรงงานขันตํ 0 าของรัฐบาล ขาดทุนสุทธิของบริ ษัทในปี 2557 เท่ากับ 16.40 ล้ านบาทหรื อปรับตัวเพิ มขึ 0นร้ อยละ 12.48 เมื อเปรี ยบเทียบกับ งวดเดียวกันของปี ก่อนที ขาดทุนสุทธิ 14.58 ล้ านบาท เนื องจากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้ านธุรกิจยานยนต์ที ชะลอ ตัว อันเนื องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื 0อจาก ลูกค้ าซึ งเลื อนออกไป และค่าแรงงานที ปรับเพิ มขึ 0นเป็ นการปรับเพิ มค่าจ้ างแรงงานภายในบริ ษัท และภายนอกบริ ษัทซึ ง ส่งผลมาจากการประกาศใช้ นโยบายค่าแรงงานขันตํ 0 าของรัฐบาล ขาดทุนสุทธิของปี 2558 เท่ากับ 3.13 ล้ านบาท หรื อปรับตัวขาดทุนสุทธิลดลงร้ อยละ 80.94 เมื อเปรี ยบเทียบกับ งวดเดีย วกันของปี ก่อนที ข าดทุนสุท ธิ 16.40 ล้ านบาท เนื องจากมียอดขายที เพิ มขึน0 อัตรากํ าไรขัน0 ต้ นที เพิ ม ขึน0 และ ดอกเบี 0ยจ่ายที ลดลง อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น ในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 เท่ากับ ร้ อยละ -10.34 ร้ อยละ -12.87 และร้ อยละ -1.73 ตามลําดับ สํา หรั บ อัต ราผลตอบแทนผู้ถื อ หุ้น ในปี 2556 ลดลงจากงวดเดี ย วกัน ในปี 2555 เนื อ งจากสภาพเศรษฐกิ จ ภายในประเทศ ด้ านธุรกิจยานยนต์ที ชะลอตัว อันเนื องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื 0อจากลูกค้ าซึง เลือ นออกไป และค่าแรงงานที ปรับเพิ มขึ 0นเป็ นการปรับเพิ มค่าจ้ างแรงงาน ภายในบริ ษัท และภายนอกบริ ษัทซึง ส่งผลมาจากการประกาศใช้ นโยบายค่าแรงงานขันตํ 0 าของรัฐบาล นอกจากนี 0บริ ษัทยัง มีการจ่ายเงินปั นผลให้ ผ้ ถู ือหุ้นโดยคิดเป็ นอัตราการจ่ายเงินปั นผลสําหรับผลการดําเนินงานปี 2554 เท่ากับร้ อยละ 56.92 สํา หรั บ อัต ราผลตอบแทนผู้ถื อ หุ้น ในปี 2557 ลดลงจากงวดเดี ย วกัน ในปี 2556 เนื อ งจากสภาพเศรษฐกิ จ ภายในประเทศ ด้ านธุรกิจยานยนต์ที ชะลอตัว อันเนื องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื 0อจากลูกค้ าซึง เลือ นออกไป และค่าแรงงานที ปรับเพิ มขึ 0นเป็ นการปรับเพิ มค่าจ้ างแรงงาน ภายในบริ ษัท และภายนอกบริ ษัทซึง ส่งผลมาจากการประกาศใช้ นโยบายค่าแรงงานขันตํ 0 าของรัฐบาล สําหรั บอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้นในปี 2558 เพิ มขึน0 จากงวดเดียวกันในปี 2557 เนื องจากสภาพเศรษฐกิ จ ภายในประเทศ ด้ านธุรกิจยานยนต์ยงั มีการชะลอตัว อันเนื องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของ รัฐบาล จึงส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื 0อจากลูกค้ าซึ งเลื อนออกไป และค่าแรงงานที มีการปรับเพิ มขึ 0นเป็ นการปรับ เพิ มค่าจ้ างแรงงานภายในบริ ษัท และภายนอกบริ ษัทซึง ส่งผลจากการประกาศใช้ นโยบายค่าแรงขึ 0นตํ าของรัฐบาล

142


สินทรัพย์

19.2 ฐานะทางการเงิน

บริ ษัทมีสินทรัพย์รวม ณ สิ 0นปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 เป็ นมูลค่า 341.40 ล้ านบาท 344.99 ล้ านบาทและ 332.88 ล้ านบาท ตามลําดับ ทังนี 0 0สินทรัพย์ของบริ ษัทมีรายละเอียดดังต่อไปนี 0 สินทรัพย์หมุนเวียน ณ สิ 0นปี 2556 ปี 2557 และปี 2558เท่ากับ 123.73 ล้ านบาท 116.93 ล้ านบาท และ125.73 ล้ านบาทตามลําดับ หรื อคิดเป็ น ร้ อยละ 36.32 ร้ อยละ 33.89 และร้ อยละ 37.78 ของสินทรัพย์รวมของบริ ษัท ตามลําดับ ซึง สินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่ของบริ ษัทประกอบด้ วยลูกหนี 0การค้ าและลูกหนี 0อื น และสินค้ าคงเหลือเป็ นหลัก ซึ งเป็ นไป ตามลักษณะของธุรกิ จโรงงานผลิตสินค้ าเพื อจํ าหน่าย ซึ งรายการสินทรัพย์หมุนเวียนดังกล่าวจะปรับตัวไปในทิศทาง เดียวกันกับยอดขาย ในขณะที สนิ ทรัพย์ไม่หมุนเวียน ของบริ ษัทส่วนใหญ่ประกอบไปด้ วยที ดิน อาคาร และอุปกรณ์ บริ ษัทมีสนิ ทรัพย์ไม่หมุนเวียน ณ สิ 0น ปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 เท่ากับ 217.67 ล้ านบาท 218.06 ล้ านบาท และ 207.09 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ น ร้ อยละ 63.68 ร้ อยละ 65.09 และร้ อยละ 62.22 ของสินทรัพย์รวม ตามลําดับ ลูกหนี 0การค้ า และค่าเผื อหนี 0สงสัยจะสูญ ณ สิ 0นปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีลกู หนี 0การค้ าสุทธิจํานวน 51.60 ล้ านบาท 49.99 ล้ านบาท และ 46.48 ล้ านบาท ตามลําดับ โดยการลดลงของลูกหนี 0การค้ าในปี 2556 เป็ นผลมาจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตาม นโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื 0อจากลูกค้ าซึง เลือ นออกไป โดยในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีอตั ราส่วนหมุนเวียนลูกหนี 0การค้ าเท่ากับ 6.97 เท่า 7.03 เท่า และ 8.72 เท่าตามลําดับ บริ ษัทมีนโยบายการให้ เทอมจ่ายชําระแก่ลกู ค้ าระหว่าง 30 ถึง 60 วัน ซึ งบริ ษัทจะพิจารณาเทอมการจ่ายชําระ เงินจากผลประกอบการที ผา่ นมา ยอดการสัง ซื 0อ และประวัติการชําระเงินในอดีต หน่วย: ล้ านบาท ระยะเวลาค้ างชําระ ลูกหนี การค้ ายังไม่ถึงกําหนดชําระ ค้ างชําระเกินกําหนด 1 – 30 วัน 31 – 60 วัน 61 – 120 วัน มากกว่า 120 วัน

ลูกหนีก ารค้ าก่ อนหักค่ าหนีส งสัยจะสูญ หัก ค่าเผื'อหนี สงสัยจะสูญ ลูกหนีก ารค้ า-สุทธิ

ปี 2556

มูลค่ า

36.76

ร้ อยละ

89.46

ปี 2557

มูลค่ า

43.51

ร้ อยละ

89.09

4.05

9.86

4.86

9.95

0.28 -

0.68 -

0.48 -

41.09

100

48.84

ปี 2558

มูลค่ า

39.78

ร้ อยละ

87.28

0.98 -

5.31 0.49 -

11.65 1.08 -

100

45.58

100

บริ ษัทบันทึกค่าเผื อหนี 0สงสัยจะสูญ โดยประมาณการหนี 0ที อาจเกิดขึ 0นจากการเรี ยกเก็บเงินจากลูกหนี 0ไม่ได้ ตาม เงื อนไขการชําระเงิน ทังนี 0 0ในการประมาณการบริ ษัทคํานึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี 0ที คงค้ าง และ

143


สภาวะเศรษฐกิจในขณะนัน0 โดยพิจารณาจากลูกหนี 0ที มีอายุการชําระหนี 0เกิน 365 วัน และไม่มีการเคลือ นไหว ซึง พิจารณา เป็ นรายๆ และจะใช้ อตั ราการตังค่ 0 าเผื อหนี 0สงสัยจะสูญร้ อยละ 100 จากยอดหนี 0คงค้ างทังหมด 0 สินค้ าคงเหลือ ณ สิ 0นปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีสินค้ าคงเหลือสุทธิ รวมจํานวน 41.16 ล้ านบาท 47.20 ล้ านบาท และ 46.84 ล้ านบาท ตามลําดับ หน่วย : ล้ านบาท รายการ

สินค้ าสําเร็จรูป งานระหว่างทํา วัตถุดิบ อะไหล่ รวม หัก ค่าเผื'อมูลค่าสินค้ าลดลง สินค้ าคงเหลือ-สุทธิ

ปี 2556 มูลค่ า ร้ อยละ 14.14 34.35 23.48 57.05 1.43 3.47 3.33 8.09 42.38 102.96 1.22 2.96 41.16

100

ปี 2557 มูลค่ า ร้ อยละ 19.00 40.25 25.57 54.17 1.91 4.05 3.82 8.09 50.30 106.57 3.10 6.57 47.20

100

ปี 2558 มูลค่ า ร้ อยละ 22.75 48.58 18.51 39.53 2.63 5.62 3.96 8.46 47.85 102.18 1.02 2.18 46.83

100

ในปี 2556 สินค้ าคงเหลือสุทธิเท่ากับ 41.16 ล้ านบาท โดยรายการสินค้ าสําเร็ จรู ป และงานระหว่างทํา คิดเป็ น สัดส่วนร้ อยละ 34.35 และร้ อยละ 57.05 ตามลําดับ ซึ งลดลงเมื อเทียบกับปี 2555 เนื องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื 0อจากลูกค้ าซึง เลือ นออกไป ในปี 2557 สินค้ าคงเหลือสุทธิเท่ากับ 47.20 ล้ านบาท โดยรายการสินค้ าสําเร็ จรู ป และงานระหว่างทํา คิดเป็ น สัดส่วนร้ อยละ 40.25 และร้ อยละ 54.17 ตามลําดับ

ในปี 2558 สินค้ าคงเหลือสุทธิเท่ากับ 46.83 ล้ านบาท โดยรายการ สินค้ าสําเร็ จรู ป และ งานระหว่างทํา คิดเป็ น สัดส่วนร้ อยละ 48.58 และ ร้ อยละ 39.53 ตามลําดับ โดยใน 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีอตั ราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือเท่ากับ 8.80 เท่า 7.28 เท่า 7.50 เท่า ตามลําดับ บริ ษัทมีนโยบายการตังค่ 0 าเผื อการลดมูลค่าสินค้ าสําหรับสินค้ าเสื อมคุณภาพ เสียหาย ล้ าสมัย หรื อ ค้ างนาน โดยบริ ษัทพิจารณาจากมูลค่าสุทธิที จะได้ รับ (Net Realizable Value) ซึง จะพิจารณาจากส่วนต่างของต้ นทุนกับราคาขาย ซึ งบริ ษัท จะทําการบันทึก มูลค่าขาดทุนจากการปรับมูลค่าสินค้ าลดลง เป็ นค่าใช้ จ่ายในงบกําไรขาดทุน อย่างไรก็ตาม บริ ษัทดําเนินธุรกิจผลิตและจําหน่ายชิ 0นส่วน ซึ งชิ 0นส่วนเสนอขายจะมีลกั ษณะเฉพาะสําหรับสินค้ าของลูกค้ าในแต่ละรุ่ น ส่งผลให้ คา่ เผื อมูลค่าของสินค้ าลดลงอยูใ่ นระดับที ค่อนข้ างตํ าปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีการตังค่ 0 าเผื อการลด มูลค่าสินค้ าเท่ากับ 1.22 ล้ านบาท 3.10 ล้ านบาท และ 1.02 ล้ านบาทตามลําดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วนต่อสินค้ าคงเหลือ สุทธิเท่ากับ ร้ อยละ 2.96 ร้ อยละ 6.57 และร้ อยละ 2.18 ตามลําดับ

144


ที ดินอาคารและอุปกรณ์ ณ สิ 0น ปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีที ดินอาคารและอุปกรณ์สทุ ธิรวมจํานวน 194.83 ล้ านบาท 193.43 ล้ านบาท และ 187.55 ล้ านบาทตามลําดับ คิดเป็ นสัดส่วนต่อสินทรัพย์รวมเท่ากับ ร้ อยละ 57.07 ร้ อยละ 57.74 และร้ อย ละ 56.35 ตามลําดับ สําหรับปี 2556 บริ ษัทมีการลงทุนในที ดิน อาคาร และอุปกรณ์เท่ากับ 32.60 ล้ านบาท โดยบริ ษัทมีการลงทุนซื 0อ เครื องจักรหล่อทราย เพื อเพิ มสายการผลิตให้ หลากหลาย และเตาหลอม เพื อลดการใช้ ก๊าซธรรมชาติ (Liquefied Natural Gas หรื อ LNG) ซึง ใช้ เป็ นเชื 0อเพลิงในเตาหลอมมีราคาเพิ มสูงขึ 0น สําหรับปี 2557 บริ ษัทมีการลงทุนในที ดิน อาคาร และอุปกรณ์เท่ากับ 19.13 ล้ านบาท โดยบริ ษัทมีการลงทุนซื 0อ เครื องจักรและที ดิน เพื อรองรับการผลิตและการขยายงานในอนาคต สําหรับปี 2558 บริ ษัทมีการลงทุนในที ดิน อาคาร และอุปกรณ์เท่ากับ 15.81 ล้ านบาทโดยบริ ษัทมีการลงทุนซื 0อ เครื องจักรและที ดิน เพื อรองรับการผลิตและการขยายงานในอนาคต สภาพคล่องกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน ในปี 2556 บริ ษัทมีเงินสดสุทธิที ได้ มาจากกิจกรรมดําเนินงาน 10.73 ล้ านบาท ซึ งลดลงจากปี 2555 เนื องจาก การลดลงของยอดขาย โดยมีรายการหลักดังนี 0 ขาดทุนก่อนภาษี เงินได้ 21.05 ล้ านบาท ค่าเสื อมราคาและค่าตัดจําหน่าย 26.37 ล้ า นบาท ลูก หนี ก0 ารค้ า และลูก หนี อ0 ื น ลดลง 12.51 ล้ า นบาท สิน ค้ า คงเหลือ ลดลง 7.96 ล้ า นบาท สิ น ทรั พ ย์ หมุนเวียนอื นเพิ มขึ 0น 11.01 ล้ านบาท เจ้ าหนี 0การค้ าและเจ้ าหนี 0อื นลดลง 12.80 ล้ านบาท และหนี 0สินหมุนเวียนอื นลดลง 11.59 ล้ านบาท นอกจากนี 0 บริ ษัทมีรายการขาดทุนจากการด้ อยค่าสินทรัพย์ 2.09 ล้ านบาท กําไรจากการกลับรายการ ขาดทุนจากการตีมลู ค่าสินค้ า 6.65 ล้ านบาท ในปี 2557 บริ ษัทมีเงินสดสุทธิ ที ได้ มาจากกิจกรรมดําเนินงาน 13.80 ล้ านบาท ซึ งเพิ มขึ 0นจากปี ก่อน โดยมี รายการหลักดังนี 0 ขาดทุนก่อนภาษี เงินได้ 21.90 ล้ านบาท ค่าเสือ มราคาและค่าตัดจําหน่าย 26.15 ล้ านบาท ลูกหนี 0การค้ า และลูกหนี 0อื นลดลง 1.61 ล้ านบาท สินค้ าคงเหลือเพิ มขึ 0น 7.92 ล้ านบาท สินทรัพย์หมุนเวียนอื นเพิ มขึ 0น 2.27 ล้ านบาท เจ้ าหนี 0การค้ าและเจ้ าหนี 0อื นลดลง 2.32 ล้ านบาท และหนี 0สินหมุนเวียนอื นเพิ มขึ 0น 12.60 ล้ านบาท ในปี 2558 บริ ษัทมีเงินสดสุทธิที ได้ มาจากการดําเนินงาน 24.83 ล้ านบาท ซึ งเพิ มขึ 0นจากปี ก่อน โดยมีรายการ หลักดังนี 0 กําไรก่อนภาษี เงินได้ 2.62 ล้ านบาท ค่าเสื อมราคาและค่าตัดจํานหน่าย 27.37 ล้ านบาท ลูกหนี 0การค้ า และ ลูกหนีอ0 ื นเพิ มขึน0 3.50 ล้ านบาท สินค้ าคงเหลือเพิ มขึน0 2.45 ล้ านบาท สินทรั พย์ หมุนเวียนอื นเพิ มขึน0 6.47 ล้ านบาท เจ้ าหนี 0การค้ าและเจ้ าหนี 0อื นลดลง 14.10 ล้ านบาท และหนี 0สินหมุนเวียนอื นลดลง 10.10 ล้ านบาท กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ในปี 2556 บริ ษัทมีการใช้ เงินสดเพื อกิจกรรมลงทุนตามงบการเงินทังสิ 0 0น 19.13 ล้ านบาท โดยมีรายการที สําคัญ คือ ค่าใช้ จ่ายในการซื 0ออาคาร เครื องจักรและอุปกรณ์จํานวน 32.60 ล้ านบาท และซื 0อสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน 1.36 ล้ านบาท ขายเครื องจักรและเช่ากลับคืนจํานวน 14.83 ล้ านบาท

145


ในปี 2557 บริ ษัทมีการใช้ เงินสดเพื อกิจกรรมลงทุนตามงบการเงินทังสิ 0 0น 18.79 ล้ านบาท โดยมีรายการที สําคัญ คือ ค่าใช้ จ่ายในการซื 0ออาคารและอุปกรณ์จํานวน 19.13 ล้ านบาท และซื 0อสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน 0.16 ล้ านบาทและขาย เครื องจักรและเช่ากลับคืนจํานวน .50 ล้ านบาท ในปี 2558 บริ ษัทมีการใช้ เงินสดเพื อกิจกรรมลงทุนตามงบการเงินทังสิ 0 0น 15.93 ล้ านบาท โดยมีรายการที สําคัญ คือ ค่าใช้ จ่ายในการซื 0ออาคาร และ อุปกรณ์ จํานวน 15.81 ล้ านบาท ซือ0 สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน 0.16 ล้ านบาท และ ขาย เครื องจักรและเช่ากลับคืนจํานวน 0.07 ล้ านบาท กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ในปี 2556 บริ ษัทมีเงินสดใช้ ไปจากกิจกรรมจัดหาเงินตามงบการเงินทังสิ 0 0น 8.82 ล้ านบาท โดยมีสาเหตุหลักจาก การชําระคืนเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั 0 นการเงิน 4.37 ล้ านบาท การชําระเงินกู้ยืมระยะยาวจาก สถาบันการเงิน 11.46 ล้ านบาท จ่ายชําระหนี 0สินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน 11.72 ล้ านบาท การจ่ายเงินปั นผล 8.80 ล้ าน บาท การจ่ายชําระดอกเบี 0ย 8.17 ล้ านบาทและการรับเงินจากการจําหน่ายหุ้นสามัญ 53.35 ล้ านบาท ในปี 2557 บริ ษัทมีเงินสดใช้ ไปจากกิจกรรมจัดหาเงินตามงบการเงินทังสิ 0 0น 8.87 ล้ านบาท โดยมีสาเหตุหลักจาก การชําระคืนเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั 0 นการเงิน 4.37 ล้ านบาท การชําระเงินกู้ยืมระยะยาวจาก สถาบันการเงิน 11.98 ล้ านบาท จ่ายชําระหนี 0สินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน 13.12 ล้ านบาท การจ่ายชําระดอกเบี 0ย 7.21 ล้ านบาทและการรับเงินจากการจําหน่ายหุ้นสามัญ 2.20 ล้ านบาท ในปี 2558 บริ ษัทมีเงินสดใช้ ไปจากกิจกรรมจัดหาเงินตามงบการเงินทังสิ 0 0น 9.24 ล้ านบาท โดยมีสาเหตุหลักจาก การชําระคืนเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั 0 นการเงิน 19.02 ล้ านบาท การชําระเงินกู้ยืมระยะยาวจาก สถาบันการเงิน 12.44 ล้ านบาท จ่ายชําระหนี 0สินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน 12.06 ล้ านบาท การจ่ายชําระดอกเบี 0ย 6.80 ล้ านบาทและการรับเงินจากการจําหน่ายหุ้นสามัญ 55.91 ล้ านบาท อัตราส่วนสภาพคล่อง ในปี บริ ษัทมีอตั ราส่วนสภาพคล่องเท่ากับ 0.71 เท่า 0.59 เท่า และ 0.91 เท่าตามลําดับ และมีอตั ราส่วนสภาพ คล่องหมุนเร็ วในช่วงเวลาเดียวกันเท่ากับ 0.47 เท่า 0.35 เท่า และ 0.57 เท่าตามลําดับ ในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีระยะเวลาการเก็บหนี 0เฉลี ยเท่ากับ 52.37 วัน 51.92 วัน และ 41.86 วัน ตามลําดับ ตังแต่ 0 ปี 2554 เป็ นต้ นมาเศรษฐกิจมีการปรับตัวที ดีขึ 0นตามลําดับ ทําให้ ระยะเวลาการเก็บหนี 0จึงลดลงมาอยู่ ในช่วงตามนโยบายการเรี ยกเก็บเงินปกติ จนถึงปี 2556 มีการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซือ0 จากลูกค้ าซึ งเลื อนออกไป ทําให้ ยอดขายลดลง ทําให้ ระยะเวลาการเก็ บหนี 0เฉลี ย เพิ มขึ 0น ในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีระยะเวลาการขายสินค้ าเฉลี ยเท่ากับ 41.48 วัน 50.14 วัน และ48.67 วันตามลําดับ โดยระยะเวลาในการขายสินค้ าเฉลี ยในปี 2555 จะอยู่ในเกณฑ์ปกติ สําหรับปี 2556 และปี 2557 มีการ ยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื 0อจากลูกค้ าซึง เลือ นออกไป ทํา ให้ ยอดขายลดลง ทําให้ ระยะเวลาการขายสินค้ าเฉลีย เพิ มขึ 0น ในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีระยะเวลาการชําระหนี 0เฉลี ยเท่ากับ 71.85 วัน 101.39 วัน และ80.04 วัน ตามลําดับ ในปี 2554 และปี 2555 วิกฤตการณ์ ทางการเงินมีแนวโน้ มคลี คลาย ส่งผลให้ การรับชําระเงินจากลูกค้ า 146


กลับมาเป็ นปกติ ทําให้ ไม่จําเป็ นต้ องขยายระยะเวลาการชําระหนี 0ออกไป จึงทําให้ ระยะเวลาชําระหนี 0เฉลี ยลดลงมาเป็ น ปกติธุรกิจ ในปี 2556 มีการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื 0อ จากลูกค้ าซึง เลือ นออกไป จึงทําให้ ยอดขายลดลง

อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว ระยะเวลาเก็บหนี เฉลี'ย ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลี'ย ระยะเวลาชําระหนี Cash Cycle

(เท่า) (เท่า) (วัน) (วัน) (วัน) (วัน)

ปี 2556

0.71 0.47 52.37 41.48 71.85 22

ปี 2557

0.59 0.35 51.92 50.14 101.39 0.67

ปี 2558

0.91 0.57 41.86 48.67 80.04 10.49

แหล่งที มาของเงินทุน หนี 0สิน บริ ษั ท มี ห นีส0 ิน หมุน เวี ย นในปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 เท่า กับ 173.11 ล้ า นบาท 197.47 ล้ า นบาท และ 138.03 ล้ านบาท ตามลําดับ และมีหนี 0สินไม่หมุนเวียนเท่ากับ 27.33 ล้ านบาท 10.10 ล้ านบาท และ13.55 ล้ านบาท ตามลําดับ ในปี 2556 บริ ษัทมีหนี 0สินหมุนเวียนเท่ากับ 173.11 ล้ านบาท และมีหนี 0สินไม่หมุนเวียนเท่ากับ 27.33 ล้ านบาท ทังนี 0 0ในส่วนของเงินกู้ยืมยอดรวมลดลงจากปี 2555 โดยมีสาเหตุมาจากการจากชําระเงินกู้ยืม ในปี 2557 บริ ษัทมีหนี 0สินหมุนเวียนเท่ากับ 197.47 ล้ านบาท ประกอบด้ วยรายการที สําคัญดังนี 0 เงินกู้ยืมระยะ สันจากสถาบั 0 นการเงิน 56.70 ล้ านบาท เจ้ าหนี 0การค้ าและเจ้ าหนี 0อื นๆ 77.86 ล้ านบาท หนี 0สินส่วนที ถึงกําหนดชําระภายใน ปี 21.11 ล้ านบาท เงินกู้ยืมระยะสันจากบุ 0 คคลหรื อกิจการที เกี ยวข้ อง 21 ล้ านบาท และหนี 0สินหมุนเวียนอื น 20.81 บาท และมีหนี 0สินไม่หมุนเวียนเท่ากับ 10.10 ล้ านบาท ในปี 2558 บริ ษัทมีหนี 0สินหมุนเวียนเท่ากับ 138.03 ล้ านบาท ประกอบด้ วยการที สําคัญดังนี 0 เงินกู้ยืมระยะสัน0 จากสถาบันการเงิน 37.68 ล้ านบาท เจ้ าหนี 0การค้ าและเจ้ าหนี 0อื นๆ 63.72 ล้ านบาท หนี 0สินส่นที ถึงกําหนดชําระภายในหนึง ปี 10.92 ล้ านบาท เงินกู้ยืมระยะสันจากบุ 0 คคลหรื อกิจการที เกี ยวข้ อง 15.00 ล้ านบาท และหนี 0สินหมุนเวียนอื น 10.71 ล้ าน บาท และมีหนี 0สินไม่หมุนเวียบเท่ากับ 13.55 ล้ านบาท หน่วย : ล้ านบาท เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั นการเงิน เงินกู้ยืมระยะสันจากบุ คคลหรือกิจการที'เกี'ยวข้ อง เงินกู้ยืมระยะยาว เงินกู้ยืมระยะยาวที'ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ปี รวมเงินกู้ยืม

ปี 2556

61.07 16.62 23.49 101.18

ปี 2557

56.70 21.00 4.17 21.11 102.98

ปี 2558

37.68 15.00 1.36 10.92 64.96

147


ณ สิ 0นปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริ ษัทมีอัตราส่วนหนีส0 ินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ 1.42 เท่า 1.63 เท่า และ 0.84 เท่า ตามลําดับ ในปี 2555 อัตราส่วนหนีส0 ินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นมีแนวโน้ มที สูงขึน0 เมื อเทียบกับปี 2554 เนื องจากจากการกู้ยืมเงินเพิ มขึ 0นเพื อเป็ นเงินทุนหมุนเวียนเพื อรองรับการเพิ มขึ 0นของยอดขาย อีกทัง0 ยังมีการลงทุนในที ดิน และสิ งปลูกสร้ างสําหรับส่วนต่อขยายโรงงาน และมีการลงทุนในเครื องจักร เพื อขยายกําลังการผลิต และในปี 2556 อัตราส่วนหนี 0สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นลดลง เนื องจากการออกหุ้นสามัญเพิ มทุน 53.35 ล้ านบาท ทําให้ ส่วนของผู้ถือหุ้น เพิ มขึ 0น ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที 31 ธันวาคม 2556 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทมีมลู ค่าเท่ากับ 140.96 ล้ านบาท การปรับเพิ มขึ 0นของส่วน ของผู้ถือหุ้นเป็ นผลมาจากการขายเสนอขายหุ้นเพิ มทุนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ มูลค่า 53.35 ล้ านบาท การจ่ายเงิน ปั นผลมูลค่า 8.80 ล้ านบาท และผลประกอบการในปี 2556 โดยบริ ษัทมียอดขาดทุนสุทธิเท่ากับ 14.58 ล้ านบาท ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทมีมลู ค่าเท่ากับ 127.43 ล้ านบาท การปรับลดลงของส่วน ของผู้ถือหุ้น มีสาเหตุหลักมาจาก ในปี 2557 บริ ษัทขาดทุนสุทธิ 16.40 ล้ านบาท หุ้นสามัญชําระเพิ ม 0.78 ล้ านบาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 1.43 ล้ านบาท ใบสําคัญแสดงสิทธิ 0.67 ล้ านบาท

ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทมีมลู ค่าเท่ากับ 181.24 ล้ านบาท การปรับเพิ มขึ 0นของส่วน ของผู้ถือหุ้น มีสาเหตุหลักมาจาก ในปี 2558 บริ ษัทมีผลขาดทุน 3.13 ล้ านบาท หุ้นสามัญชํ าระเพิ ม 37.76 ล้ านบาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 20.46 ล้ านบาท ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1.27 ล้ านบาท

19.3 ปั จจัยและอิทธิพลที#อาจมีผลต่ อการดําเนินงานหรื อฐานะการเงินในอนาคต

ปั จจัยและอิทธิพลที อาจมีผลต่อการดําเนินงานหรื อฐานะการเงินในอนาคตของบริ ษัท นอกเหนือจากที ได้ กล่าวไว้ ในเรื องปั จจัยความเสีย ง ได้ แก่การลดลงของกําไรสุทธิตอ่ หุ้นตาม Fully-diluted Basis เนื องจากภายหลังการเสนอขายหุ้น เพิ มทุนต่อประชาชนในครัง0 นี 0 จํานวนหุ้นชําระแล้ วของบริ ษัทจะเพิ มขึ 0นจาก 226 ล้ านหุ้น เป็ น 300 ล้ านหุ้น ซึ งจะทําให้ ขาดทุนสุทธิต่อหุ้นตามงบการเงินในงวดปี 2558 ที คํานวณตามแบบ Fully-diluted Basis โดยใช้ จํานวนหุ้นภายหลังการ เสนอขายต่อประชาชนเป็ นฐานในการคํานวณ จะลดลงเหลือเท่ากับ 0.012 บาทต่อหุ้น จากเดิม 0.074 บาทต่อหุ้น อย่างไรก็ ตามการที จะนํากํ าไรสุทธิ ต่อหุ้นแบบ Fully-diluted Basis มาใช้ นนั 0 ควรต้ องพิจารณาเพิ มเติมถึง ผลตอบแทนที จะได้ รับจากการนําเงินที ได้ รับจากการเพิ มทุนไปใช้ ในการลงทุนเพื อขยายพื 0นที โรงงานและกําลังการผลิต และใช้ เป็ นเงินทุนหมุนเวียนตามที ได้ ระบุไว้ ในวัตถุประสงค์การใช้ เงินด้ วย

148


149


“ We deliver the best for your satisfactions�

www.sankothai.net


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.