รายงานประจําปี 2559
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)
สารบัญ หน้ า 1. สารจากประธานคณะกรรมการ 2. สารจากประธานเจ้ าหน้ าที บริ หาร 3. คณะกรรมการบริ ษัท 4. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 5. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 6. ปั จจัยความเสี ยง 7. ข้ อมูลทัว ไปและข้ อมูลสําคัญอื น 8. ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น 9. นโยบายการจ่ายเงินปั นผล 10. โครงสร้ างการจัดการ 11. การกํากับดูแลกิจการ 12. ความรับผิดชอบต่อสังคม 13. การควบคุมภายในและการบริ หารจัดการความเสี ยง 14. รายการระหว่างกัน 15. ข้ อมูลทางการเงินที สําคัญ 16. รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 17. รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน 18. รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจําปี 2559 19. การวิเคราะห์ฐานะและคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ
3 4 10 17 37 43 44 46 47 71 81 89 92 98 143 152 153 156
หมายเหตุ: ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้ อมูลของบริ ษัทที ออกหลักทรัพย์เพิ มเติมได้ จากแบบแสดงรายการข้ อมูลประจําปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที แสดงไว้ ใน www.sec.or.th หรื อ เว็บไซต์ของบริ ษัท www.sankothai.net
สารจากประธานคณะกรรมการ เรี ยน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ตลอดระยะเวลานับตังแต่ Q ที บริ ษัทได้ เข้ ามาจดทะเบียน ในตลาดหลักทรั พ ย์ เอ็ ม เอ ไอ จนมาถึง ปี RRS บริ ษั ทได้ รั บ ผลกระทบอันเนื องมาจากภาวะเศรษฐกิจโลก และปั ญหาด้ าน การเมือง และปั ญหาเศรษฐกิจภายในประเทศเป็ นอย่างมาก ทํา ให้ ผลประกอบการไม่เป็ นไปตามที บริ ษัทได้ ม่งุ หวังไว้ การดําเนิน ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท จึง ต้ อ งมี ค วามระมัด ระวัง มากยิ ง ขึ นQ เพื อ ให้ บริ ษั ท สามารถฟั นฝ่ า ปั ญ หาและอุ ป สรรคเหล่ า นั นQ ไปได้ คณะกรรมการบริ ษัทเองได้ ร่วมกับผู้บริ หารอย่างใกล้ ชิดในการกําหนดและปรับปรุ งนโยบายและกลยุทธ์ เพื อให้ สามารถแข่ง ขันได้ ในตลาด ภายใต้ การกํ ากับดูแลและการควบคุมภายในที ดี รวมถึงการพัฒนา ศักยภาพทางธุรกิจของบริ ษัทให้ ประสบความสาเร็ จตามเป้าหมาย มีการเติบโตอย่างยัง ยืน เพื อประโยชน์ ต่อผู้เกี ยวข้ องทุกฝ่ ายอย่างเต็มกําลังความสามารถ ในนามคณะกรรมการบริ ษัท ขอขอบพระคุณผู้ถือหุ้น ลูกค้ า สถาบันการเงิน ผู้บริ หาร พนักงาน และผู้เกี ยวข้ องทุกฝ่ าย ที ให้ การสนับสนุนการดําเนินธุรกิจของบริษัทด้ วยดีเสมอมา
นายมาซามิ คัต ซูโมโต ประธานคณะกรรมการ
สารจากประธานเจ้ าหน้ าที บ ริห าร เรี ยน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ในปี RRS ที ผ่ า นมาภาพรวมของเศรษฐกิ จ โลก และ ภายในประเทศ รวมทังQ อุต สาหกรรมยานยนต์ ยัง ไม่ฟืQน ตัว ดี นัก บริ ษั ท จึ ง ได้ พ ยายามเพิ ม ช่ อ งทางการตลาด โดยการหาตลาด ต่างประเทศมากขึ Qน จากปี RRV ที บริ ษัทมีรายได้ จากการส่งออกอยู่ ที ประมาณร้ อยละ W ของยอดขายรวม มาเป็ นร้ อยละ X ในปี RRS และคาดว่าในปี RXY และปี ถัดไปยอดขายตลาดต่างประเทศก็จะ เพิ มขึ Qนเรื อยๆ สําหรับเรื องการลงทุนของปี RXY นันQ บริ ษัทมีแผนลงทุนซื Qอเครื องจักร สําหรับซ่อมแซมแม่พิมพ์ ทําแม่พิมพ์ และ JIG & FIXTURE ที ใช้ ในกระบวนการผลิต ซึ งเป็ นการลดค่าใช้ จ่ายและต้ นทุนลงได้ ส่วน หนึง ซึง จะทําให้ ผลประกอบการบริษัทดีขึ Qนได้ ในฐานะฝ่ ายบริ หารกระผมได้ ตระหนักถึงภาวะความรับผิดชอบที มีต่อผู้มีส่วนเกี ยวข้ องทุกๆท่าน กระผมจึงขอมุ่งมัน ทํางานอย่างเต็มความสามารถ ซื อสัตย์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และขอขอบคุณที ให้ การ สนับสนุนบริษัทเป็ นอย่างดี
นายรั ฐวัฒน์ ศุข สายชล ประธานเจ้ าหน้ าที บ ริห าร
คณะกรรมการบริษัท
5 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
4
3
นายมาซามิ คัต ซูโมโต นายนาโอะอิโ ร ฮามาดา นายรั ฐวัฒน์ ศุข สายชล นางพูน ศรี ปั ท มวรกุล ชัย นายยุท ธนา แต่ ป างทอง นางสาววลัยภรณ์ กณิก นัน ต์ นายสัน ติ เนียมนิล นายนิพ ัน ธ์ ตัง9 พิรุฬ ห์ ธ รรม
1
2
6
7
8
ประธานคณะกรรมการบริษัท กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิส ระ กรรมการอิส ระ กรรมการอิส ระ
นายมาซามิ คัต ซูโมโต ประธานคณะกรรมการ
อายุ 68 ปี วัน ที ไ ด้ ร ับ แต่ งตัง9 28 เมษายน 2557 สัด ส่ ว นการถือ หุ้น 7.57% (22,632,800หุ้น) การศึก ษา 2510 : High School attached to the Faculty of Education, The University of Tokyo 2514 : Mechanical Engineering, College of Science and Technology Nihon University การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ น 83/2553 ประสบการณ์ ก ารทํางาน 5 ปี ที ผ่ านมา ปัจจุบนั ประธานคณะกรรมการและประธานบริ ษัท บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ -
นายนาโอะฮิโร ฮามาดา กรรมการ
อายุ 75 ปี วัน ที ไ ด้ ร ับ แต่ งตัง9 28 เมษายน 2558 สัด ส่ ว นการถือ หุ้น 0.98% (2,916,000 หุ้น) การศึก ษา 2502 : Commerce Course, Shiwko Sensor High School 2506 : English Course, Pal more Institution การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ น 83/2553 ประสบการณ์ ก ารทํางาน 5 ปี ที ผ่ านมา 2558 – ปัจจุบนั กรรมการบริ ษัท TIP Metel Industries Ltd. 2555 – ปัจจุบนั กรรมการบริ ษัท Shinyama (Thailand) Co., Ltd. 2555 – RRV กรรมการผู้จดั การและกรรมการบริ ษัท Excel Metal Forging Co., Ltd. 2550 – ปัจจุบนั กรรมการบริ ษัท บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) 2550 – ปัจจุบนั กรรมการผู้จดั การและกรรมการบริ ษัท Thai Industrial Parts Ltd. การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ 4 บริ ษัท
นายรั ฐวัฒน์ ศุข สายชล กรรมการ
นางพูน ศรี ปั ท มวรกุล ชัย กรรมการ
อายุ 59 ปี วัน ที ไ ด้ ร ับ แต่ งตัง9 28 เมษายน 2558 สัด ส่ ว นการถือ หุ้น 0.60% (1,784,577หุ้น) การศึก ษา 2522 : นิตศิ าสตร์ บณ ั ฑิต กฎหมาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรม IOD -หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)77/2552 -หลักสูตร Financial Statement for Directors (FSD) 6/2552 -หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 128/2553 -หลักสูตร Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE) 13/2554 -หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) 15/2555 -หลักสูตร Role of the Nomination and Governance committee (RNG) 3/2555 การอบรม อื น ๆ -หลักสูตร Strategy CFO in Capital Markets Program 2558 ประสบการณ์ ก ารทํางาน 5 ปี ที ผ่ านมา 2544 – ปัจจุบนั กรรมการบริ ษัทและประธานเจ้ าหน้ าที บริ หาร บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ อายุ 63 ปี วัน ที ไ ด้ ร ับ แต่ งตัง9 28 เมษายน 2559 สัด ส่ ว นการถือ หุ้น 0.00% การศึก ษา 2520 : ปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยรามคําแหง การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)121/2558 ประสบการณ์ ก ารทํางาน 5 ปี ที ผ่ านมา 2558 – ปัจจุบนั กรรมการบริ ษัท บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) 2546 – 2557 ผู้จดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน หสม.สมศักดิ กรุ๊ ป การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ -
นายยุท ธนา แต่ ป างทอง กรรมการ
อายุ 44 ปี วัน ที ไ ด้ ร ับ แต่ งตัง9 28 เมษายน 2559 สัด ส่ ว นการถือ หุ้น 0.00% การศึก ษา 2542 : ปริ ญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)120/2558 ประสบการณ์ ก ารทํางาน 5 ปี ที ผ่ านมา 2559 - ปัจจุบนั กรรมการบริ ษัท บจก.105 โซล่า เพาเวอร์ 2558 - ปัจจุบนั กรรมการผู้จดั การและกรรมการบริ ษัท บมจ. แอดวานซ์ คอนเนคชัน คอร์ ปอเรชัน 2557- ปัจจุบนั กรรมการบริ ษัท บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ บริ ษัท บจก.เอซีซี อีเลคทริ ค 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ บริ ษัท บจก. เอซีซี แลนด์มาร์ ค 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ บริ ษัท บจก. เอซีซี กรี น เอนเนอร์ จี 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ บริ ษัท บจก. ดับบลิว. โซลา 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ บริ ษัท บจก. บางปะกง โซล่า เพาเวอร์ 2557 - ปัจจุบนั กรรมการ บริ ษัท บจก. ซี.อี.ไอ. (เชียงใหม่) 2557- ปัจจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจก.แฮปปี กQ รอบรู ป 168 2556 - ปัจจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจก. นิว&เฟิ ร์ส ครี เอชัน 2537 - 2557 ผู้อํานวยการฝ่ ายบัญชีและการเงิน บมจ. จูบลิ ลี เอ็นเตอร์ ไพรส์ 2556 - 2556 กรรมการตรวจสอบ บจก. อุตสาหกรรม อีเล็กโทนิคส์ จํากัด การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 2 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ 7 บริ ษัท
นางสาววลัยภรณ์ กณิก นัน ต์ กรรมการอิส ระ/ ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ
นายนิพ ัน ธ์ ตัง9 พิรุฬ ห์ ธ รรม กรรมการอิส ระ/ กรรมการตรวจสอบ
อายุ 61 ปี วัน ที ไ ด้ ร ับ แต่ งตัง9 28 เมษายน 2557 สัด ส่ ว นการถือ หุ้น 0.00% การศึก ษา 2521: ปริ ญญาตรี บัญชีบณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2522 : ประกาศนียบัตรชันสู Q งทางการสอบบัญชี มหาวิทยาลัยธรรม ศาสตร์ การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 80/2552 ประสบการณ์ ก ารทํางาน 5 ปี ที ผ่ านมา 2552 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) 2550 – ปัจจุบนั ที ปรึกษาด้ านบัญชี บจก. เอสซี ซิสเต็ม เน็ตเวิร์ค 2550 – ปัจจุบนั ที ปรึกษาด้ านบัญชี บจก. ไอซิน คลัทช์ดสิ ค์ 2550 – มีนาคม 2560 ที ปรึกษาด้ านบัญชี บจก.พีเอ็มซี แมนเนจเม้ นท์ แอนด์ คอนซัลแตนท์ การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ -
อายุ 56 ปี วัน ที ไ ด้ ร ับ แต่ งตัง9 28 เมษายน 2559 สัด ส่ ว นการถือ หุ้น 0.00% การศึก ษา 2522: นิตศิ าสตร์ บณ ั ฑิต กฎหมายมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 80/2552 ประสบการณ์ ก ารทํางาน 5 ปี ที ผ่ านมา 2552 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระและกรรมกาตรวจสอบ บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) 2543 - ปัจจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจก. มาสเตอร์ โกลฟ อินดัสตรี 2536 - ปัจจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจก. โรส แอนด์กรี น 2543 - ปัจจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจก. ซุปเปอร์ โกลฟ อินดัสทรี การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ -
นายสัน ติ เนียมนิล กรรมการอิส ระ/ กรรมการตรวจสอบ
อายุ 48 ปี วัน ที ไ ด้ ร ับ แต่ งตัง9 28 เมษายน 2558 สัด ส่ ว นการถือ หุ้น 0.00% การศึก ษา 2536 : นิตศิ าสตร์ บณ ั ฑิต กฎหมาย มหาวิทยาลัยรามคําแหง การอบรม IOD หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 80/2552 ประสบการณ์ ก ารทํางาน 5 ปี ที ผ่ านมา 2552 – ปัจจุบนั กรรมการอิสระและกรรมกาตรวจสอบ บมจ. ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) 2545 – ปัจจุบนั กรรมการ บจ. ยูเซ็นต์แอร์ แอนด์ ซี เซอร์ วสิ แมนเนจเม้ นท์(ประเทศไทย) 2546 – 2558 กรรมการผู้จดั การ บจ. เอนก แอดโวเคท การดํารงตําแหน่ งกรรมการ บริ ษัทจดทะเบียน 1 บริ ษัท บริ ษัทอื นๆ -
4.นโยบายและภาพรวมการประกอบธุร กิจ 4.1 วิส ัยทัศ น์ พัน ธกิจ และค่ านิยมองค์ ก ร บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) เริ มก่อตังเมื Q อ เดือน มกราคม 2539 และเริ มดําเนินการ ผลิต เดือน เมษายน 2540 โดยดําเนินการผลิต ชิ Qนส่วนยานยนต์ ชิ Qนส่วนเครื องใช้ ไฟฟ้าและอื นๆ โดยกระบวนการฉีดหล่อ ขึ Qนรูปแรงดันสูง (HPDC) โดยใช้ แม่พิมพ์ จากวัตถุดิบอลูมิเนียม และสังกะสี
วิส ัยทัศน์ บริ ษัท Sanko มุ่ง มั น สู่ค วามเป็ นผู้น ําในอุต สาหกรรม Diecasting ให้ เ ป็ นที ยอมรั บ ในระดับ สากล รวมทัง9 ร่ วมสร้ างนวั ต กรรมใหม่ ใ นทุก ด้ า น จนสามารถสร้ าง ผลิต ภัณ ฑ์ ภ ายใต้ เครื อ งหมายการค้ าของบริ ษัท ให้ เ ป็ นที ย อมรั บ ในด้ านคุณ ภาพและ บริก ารจากลูก ค้ าอย่ างยั งยืน พัน ธกิจ • สร้ างความเป็ นเลิศในทุก ๆ ด้ าน • นําเทคโนโลยีใ หม่ นวัต กรรมใหม่ ม าใช้ ใ นเรื อ งการออกแบบ การ พัฒนากระบวนการผลิต • นําศัก ยภาพและความสามารถของพนัก งานในองค์ ก รร่ วมสร้ าง เครื อ งหมายการค้ าให้ ไ ด้ ภ ายในปี 2562 ค่ านิยมองค์ ก ร • • • •
การคิด เชิงนวัต กรรม การทํางานเชิงรุ ก ความมุ่งมั น สู่ค วามสําเร็จ มีค วามรู้ ส ึก เป็ นเจ้ าขององค์ ก าร
กลยุท ธ์ อ งค์ ก ร •
•
•
•
•
ด้ านคุณภาพ บริษัทสามารถผลิตชิ Qนส่วนได้ ตามมาตรฐานคุณภาพที ผ้ ผู ลิตชิ Qนส่วนลําดับที 1 หรื อ ผู้ผลิตยานยนต์ยอมรับ อีกทังQ บริษัทยังได้ รับการรับรองจากมาตรฐานสากล ISO 9001:2008 และ ISO/TS 16949:2009 เพื อสร้ างการยอมรับและสร้ างความเชื อมัน ให้ แก่ลกู ค้ าในระยะยาว ด้ านความรู้และเทคโนโลยี บริ ษัทมีความเชี ยวชาญในการออกแบบแม่พิมพ์ ซึง เป็ น Know-How ที ได้ รับการถ่ายทอดจากรุ่นสูร่ ุ่น อีกทังยั Q งมีการพัฒนากระบวนการผลิตอย่างต่อเนื อง เพื อให้ บริษัท สามารถตอบสนองต่อความต้ องการที ลกู ค้ ายอมรับ ด้ านการผลิต การออกแบบสายการผลิตให้ สามารถปรับเปลีย นชิ Qนงานที ผลิตได้ อย่างรวดเร็ว ไม่ ยุง่ ยาก ทําให้ บริ ษัทสามารถผลิตชิ Qนงานรองรับกลุม่ ลูกค้ าได้ หลากหลายอุตสาหกรรม ซึง สะท้ อน ถึงการเติบโตอย่างต่อเนื องของรายได้ ของบริ ษัท ด้ านการตลาด ขยายตลาดไปยังต่างประเทศ เพื อลดความเสีย งด้ านปั จจัยเศรษฐกิจ ภายในประเทศ ซึง เป็ นการเพิ มความต้ องการของลูกค้ าในกลุม่ ที กว้ างขึ Qน ประกอบกับการขยาย ฐานลูกค้ าภายในประเทศสูก่ ลุม่ ลูกค้ าในธุรกิจอื นนอกเหนือจากอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยเน้ น กลุม่ ลูกค้ าทีใ ช้ วิธีการผลิตที บริ ษัทมีความชํานาญในการให้ บริ การ ด้ านผลิตภัณฑ์ เพิ มสายการผลิต โดยเพิ มผลิตภัณฑ์โดยวิธีการหล่อแบบใหม่ คือการหล่อแบบ Gravity เพื อความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ และลดข้ อจํากัดในการผลิต เพื อสามารถตอบโจทย์ ความต้ องการของลูกค้ าได้ อย่างหลากหลายมากขึ Qน การเพิม เครื องจักรในกระบวนการผลิต ซึง บริ ษัทมีความเชี ยวชาญในการผลิตนันQ จึงเป็ นการสร้ างความครบวงจรในการให้ บริ การแก่ลกู ค้ า
4.2 การเปลี ยนแปลงและพัฒนาการที ส าํ คัญ ปี 2539 มกราคม
:
ตุลาคม
:
ปี 2547 เมษายน
:
นายมาซามิ คัตซูโมโตได้ ทาํ การซื Qอหุ้นของบริ ษัทจํานวน 244,895 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 27.83 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมดของบริ Q ษัท ณ ขณะนันQ จากบริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง อินดัสตรี จํากัด (ประเทศญี ปน) ุ่
ปี 2548 มิถนุ ายน
:
บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง อินดัสตรี จํากัด (ประเทศญี ปน)ได้ ุ่ ทาํ การจําหน่ายหุ้นของบริ ษัท ทังหมด Q 235,101 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 26.72 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมดของ Q
จดทะเบียนก่อตังบริ Q ษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) จํากัด ด้ วยทุนจดทะเบียน 11.50 ล้ านบาท แบ่งเป็ นหุ้นสามัญจํานวน 115,000 หุ้น มูลค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 100 บาท เรี ยกชําระ เต็มมูลค่า โดยมีกลุม่ ผู้ถือหุ้นหลักคือ บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง อินดัสตรี จํากัด (ประเทศ ญี ปน) ุ่ บริ ษัท เอสบีซีเอส จํากัด และบริ ษัท วัฒนาอินเตอร์ เทรด จํากัด เพิ มทุน จดทะเบียนและชํ าระแล้ ว เป็ น 88 ล้ านบาทจากผู้ถือหุ้นเดิมและกองทุนเจเอไอซี นิปปอน เอเชีย 2 และกองทุน เซาท์-อีส เอเชีย ไพรเวท อีควิตี Q (จีบีอาร์ )
บริ ษัท ณ ขณะนันQ ให้ แก่บริษัท อะซึเทค จํากัด นอกจากนี Q กองทุนเจเอไอซี นิปปอน เอเชีย 2 และกองทุน เซาท์-อีส เอเชีย ไพรเวท อีควิตี Q (จีบีอาร์ ) ได้ จําหน่ายหุ้นทังหมดจํ Q านวน 400,000 หุ้น และนายมาซามิ คัตซูโมโตได้ จําหน่ายหุ้นจํานวน 54,017 หุ้น รวมกันทังสิ Q Qน 454,017 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 61.38 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมดของบริ Q ษัท ณ ขณะนันQ ให้ แก่ บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด และบริ ษัท จุฑาวรรณ จํากัด ปี 2549 เมษายน
:
: ปี RRW มีนาคม
:
เมษายน
:
กรกฎาคม
:
:
ตุลาคม
:
ปี 2552 เมษายน
:
:
ได้ รับใบรับรองระบบการบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2000 จากสถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง ได้ รับใบรับรองระบบบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002 จากสถาบัน IATF โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง บริ ษัท อะซึเทค จํากัด ได้ จําหน่ายหุ้นทังหมดจํ Q านวน 235,101 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 26.72 ของ ทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมดของบริ Q ษัท ณ ขณะนันQ ให้ แก่บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด (“TIP”) ได้ จําหน่ายหุ้นที รับโอนมาจากบริ ษัท อะซึเทค จํากัดจํานวน 235,101 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 26.72 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมด Q ของบริ ษัท ณ ขณะนันQ ให้ กบั ผู้บริ หารของกลุม่ ปิ นทองและผู้ถือหุ้นรายย่อย บริ ษัท จุฑาวรรณ จํากัด ได้ จําหน่ายหุ้นทังหมดจํ Q านวน 228,996 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 26.02 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมดของบริ Q ษัท ณ ขณะนันQ ให้ แก่บริ ษัท เจทีดบั บลิว แอ๊ ซเซท จํากัด ได้ รับใบรับรองระบบการจัดการสิง แวดล้ อมตามมาตรฐาน ISO 14001:2004 จากสถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริษัท ยูไนเต็ด รีจิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ น ผู้ให้ การรับรอง บริ ษัท วีเน็ท แคปปิ ทอล จํากัดได้ เข้ าร่วมทุนในบริ ษัทโดยการซื Qอหุ้นจากกลุม่ ปิ นทอง จํานวน 246,000 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 27.95 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมดของบริ Q ษัท ณ ขณะนันQ ได้ รับใบรับรองระบบการบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 จากสถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง ได้ รับใบรับรองระบบบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO/TS 16949:2009 จากสถาบัน IATF โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง
ธันวาคม
:
:
:
ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครังQ ที 2/2552 จัดขึ Qนเมื อวันที 15 ธันวาคม 2552 ได้ มีมติพิเศษให้ แปรสภาพเป็ นบริ ษัทมหาชนจํากัด และได้ มีมติให้ เปลีย นมูลค่าทีต ราไว้ ของหุ้นสามัญจากหุ้น ละ 100 บาท เป็ น หุ้นละ 1 บาท ได้ รั บ ใบรั บ รองระบบการจัด การอาชี ว อนามัย และความปลอดภัย ตามมาตรฐาน TIS 18001:1999 โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นผู้ให้ การ รับรอง ได้ รับใบรับรองระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน OHSAS 18001:2007 จากสถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริ ษัท ยูไนเต็ด รี จิสตร้ า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นผู้ให้ การรับรอง
ปี 2554 มิถนุ ายน
:
ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครังQ ที 1/2554 จัดขึ Qนเมื อวันที 10 มิถนุ ายน 2554 ได้ มีมติให้ เปลีย นแปลงมูลค่าหุ้นของบริษัท จากหุ้นละ 1.00 บาท เป็ นหุ้นละ 0.50 บาท และมีมติพิเศษ ให้ บริ ษัทเพิม ทุนจดทะเบียนเป็ น 113 ล้ านบาท ประกอบด้ วยหุ้นสามัญจํานวน 226 ล้ านหุ้น มูลค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50บาท
ปี 2555 พฤษภาคม
:
มิถนุ ายน
:
ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครังQ ที 1/2555 จัดขึ Qนเมื อวันที 30 พฤษภาคม 2555 ได้ มีมติอนุมตั ิ การออกและเสนอขายหุ้นสามัญให้ แก่ประชาชนทัว ไปจํานวน 44 ล้ านหุ้น มูลค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาทต่อหุ้น และออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที จะซื Qอหุ้นสามัญของบริษัท ให้ แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัทจํานวน 6 ล้ านหน่วย โดยมีห้ นุ ที รองรับการใช้ สทิ ธิ ทังหมด Q 6 ล้ านหุ้น มูลค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาท และมีมติอนุมตั ิให้ นาํ หุ้นสามัญของบริ ษัท จดทะเบียนเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ บริ ษัทได้ ทําการซื Qอที ดินพร้ อมอาคารโรงงานในเขตอุตสาหกรรมโรจนะ ตําบลหนองบัว อําเภอ บ้ านค่าย จังหวัดระยองขนาดพื Qนที 3 ไร่ โดยมีพื Qนที ติดกับพื Qนที โรงงานของบริ ษัท เพื อ ปรับปรุงและแปรสภาพเป็ นพื Qนที คลังสินค้ า หน่วยงานเจาะ ขัดตกแต่งขอบและผิวชิ Qนงาน
ปี 2556 พฤษภาคม กันยายน
: :
บริ ษัทได้ มีการนําหุ้นของบริษัทเข้ าซื Qอขายวันแรกในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริ ษัทได้ ทําสัญญาซื Qอขายที ดินในเขตอุตสาหกรรมโรจนะ ตําบลหนองบัว อําเภอบ้ านค่าย จังหวัดระยองขนาดพื Qนที 5.1585 ไร่ โดยมีพื Qนที ติดกับพื Qนที โรงงานของบริษัท เพื อรองรับการ ขยายโรงงานต่อไป โดยได้ จ่ายมัดจําไปแล้ วบางส่วน และจะจ่ายที เหลือทังหมดพร้ Q อมรับโอน ภายในต้ นปี 2557
ปี 2557 เมษายน
:
บริ ษัทได้ ดําเนินการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ ซื Qอที ดิน จาก บริ ษัทสวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) โฉนดที ดินเลขที 41107, 41741 เลขที ดิน 342, 355 หน้ าสํารวจ 3990,
4057 ตําบลหนองบัว อําเภอบ้ านค่าย จังหวัดระยอง เนื Qอที 3 ไร่ 1 งาน 73.5 ตารางวา, 1 ไร่ 2 งาน 89.9 ตารางวา ตามลําดับ โดยวัตถุเพื อเป็ นสถานทีต งโรงงาน ัQ ผลิตภัณฑ์อลูมิเนียมฉีด ขึ Qนรูป ปี 2558 กรกฎาคม
:
สิงหาคม
:
พฤศจิกายน
:
ปี 2559 พฤษภาคม
:
พฤศจิกายน
:
ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครังQ ที 1/2558 จัดขึ Qนเมื อวันที 9 กรกฎาคม 2558 ได้ มีมติอนุมตั ิการ เพิ มทุนจดทะเบียน จํานวน 37,340,812.50 บาท คิด 74,681,625 หุ้น ทําให้ ทนุ จดทะเบียน จาก 113,000,000 บาท เป็ น 150,340,812.50 บาท คิดเป็ นจํานวนหุ้นทังสิ Q Qน 300,609,625 โดยมีมลู ค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาท โดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า กระทรวงพาณิชย์ได้ รับจด ทะเบียนเปลีย นแปลงทุนจดทะเบียนแล้ วดังกล่าวเมื อวันที WX กรกฎาคม RRV บริ ษัทได้ ดําเนินการจดทะเบียนเปลี ยนแปลงทุนชํ าระแล้ วเนื องจากมีการเพิ มทุน จากทุน ชําระแล้ วเดิม จํานวน 111,138,579 บาท เป็ นทุนชําระแล้ วใหม่จํานวน 148,184,772 บาท มูลค่าที ตราไว้ 0.50 บาท โดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า กระทรวงพาณิชย์ได้ รับจดทะเบียน เปลีย นแปลงการเพิ มทุนชําระแล้ วดังกล่าว เมื อวันที 17 สิงหาคม 2558 บริ ษัทได้ ดําเนินการจดทะเบียนเปลี ยนแปลงทุนชํ าระแล้ วเนื องจากมีการแปลงใบสําคัญ แสดงสิทธิ ที จะซื Qอหุ้นสามัญเพิ มทุนของบริ ษัทเสนอขายให้ แก่กรรมการและพนักงานของ บริ ษัท (ESOP) จากทุนชําระแล้ วเดิม จํานวน 148,184,772 บาท เป็ นทุนชําระแล้ วใหม่ จํ านวน 148,903,972 บาท มูลค่า ที ตราไว้ 0.50 บาท โดยกรมพัฒ นาธุร กิ จการค้ า กระทรวงพาณิชย์ได้ รับจดทะเบียนเปลี ยนแปลงการเพิ มทุนชําระแล้ วดังกล่าว เมื อวันที 24 พฤศจิกายน 2558 บริ ษัทได้ ดําเนินการจดทะเบียนเปลี ยนแปลงทุนชํ าระแล้ วเนื องจากมีการแปลงใบสําคัญ แสดงสิทธิ ที จะซื Qอหุ้นสามัญเพิ มทุนของบริ ษัทเสนอขายให้ แก่กรรมการและพนักงานของ บริ ษัท (ESOP) จากทุนชําระแล้ วเดิม จํานวน W V,SY ,S บาท เป็ นทุนชําระแล้ วใหม่ จํ านวน W V,S21,662 บาท มูล ค่าที ตราไว้ 0.50 บาท โดยกรมพัฒนาธุรกิ จการค้ า กระทรวงพาณิชย์ได้ รับจดทะเบียนเปลี ยนแปลงการเพิ มทุนชําระแล้ วดังกล่าว เมื อวันที 24 พฤษภาคม 2559 บริ ษัทได้ ดําเนินการจดทะเบียนเปลี ยนแปลงทุนชํ าระแล้ วเนื องจากมีการแปลงใบสําคัญ แสดงสิทธิ ที จะซื Qอหุ้นสามัญเพิ มทุนของบริ ษัทเสนอขายให้ แก่กรรมการและพนักงานของ บริ ษัท (ESOP) จากทุนชําระแล้ วเดิม จํานวน W V,S21,662 บาท เป็ นทุนชําระแล้ วใหม่ จํ านวน W 9,494,502 บาท มูลค่าที ตราไว้ 0.50 บาท โดยกรมพัฒนาธุร กิ จการค้ า กระทรวงพาณิชย์ได้ รับจดทะเบียนเปลี ยนแปลงการเพิ มทุนชําระแล้ วดังกล่าว เมื อวันที 17 พฤศจิกายน 2559
4.3 โครงสร้ างการถือ หุ้น ของกลุ่ม บริษัท บริ ษัทไม่มีบริ ษัทย่อยหรื อบริ ษัทร่วม
4.4 ความสัม พัน ธ์ ก ับ กลุ่ม ธุร กิจ ของผู้ถ ือ หุ้น ใหญ่ 4.4.1 แผนภาพโครงสร้ างธุร กิจ โดยรวมของธุร กิจ ในเครือ ของผู้ถ อื หุ้น ใหญ่ ณ วัน ที 31 ธัน วาคม 2559 กลุม่ ปิ นทอง (40.32%) ประกอบธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ธุระกิจเหล็กและโลหะ ธุรกิจชิ Qนส่วนสําหรับภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจขนส่งและ รถเช่า
บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด (14.75%) จําหน่ายเหล็กสแตนเลสและเหล็กกล้ า
บริ ษัท เจทีดบั บลิว แอ็ชเซท จํากัด (18.29%) โฮลดิ Qง
บุคคลที มีความเกี ยวข้ อง (7.28%)
บมจ.ซังโกะ ไดคาซติง9 (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)
กลุม่ ปิ นทองมีการประกอบธุรกิจที มีผลิตภัณฑ์ใกล้ เคียงกันกับของบริ ษัท คือ ธุรกิจผลิตชิ Qนส่วนโดยการขึ Qนรู ปด้ วย วิธีอดั ด้ วยความร้ อน (Hot Forging) และการอัดแบบเย็น (Stamping) สําหรับอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมยาน ยนต์ และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื องใช้ ไฟฟ้า เป็ นต้ น และยังประกอบธุรกิจชิ Qนส่วนและส่วนประกอบสําหรับ แม่พิมพ์โลหะอีกด้ วย ซึง ในอนาคต กลุม่ บริ ษัทดังกล่าวมีโอกาสที จะเกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ โดยทําการแข่งขัน ทางอ้ อมกับบริ ษัทได้ แต่ทงั Q นีบQ ริ ษัทในกลุ่มปิ นทองดังกล่าว ไม่มีนโยบายที จะดําเนินธุรกิจผลิตชิ นQ ส่วนอลูมิเนียมและ สังกะสีฉีดขึ Qนรูปด้ วยแม่พิมพ์ฉีดหล่อความดันสูง ซึง เป็ นการแข่งขันโดยตรงกับธุรกิจของบริ ษัท 4.4.2 ลัก ษณะความสัม พัน ธ์ บริ ษัทมีการทํารายการกับบุคคลที อาจมีความขัดแย้ งต่างๆ ซึง รายการระหว่างกันที เกิดขึ Qนนันเป็ Q นการทํารายการ กับกรรมการ และ/หรื อ ผู้บริ หาร และ/หรื อ ผู้ถือหุ้นของบริ ษัท และบริ ษัทที เกี ยวข้ องกันซึง มีบคุ คลที มาความขัดแย้ งเป็ น กรรมการ และ/หรื อ ผู้บริ หาร และ/หรื อ ผู้ถือหุ้นของบริ ษัท ซึง สามารถสรุปลักษณะความสัมพันธ์ได้ ดังนี Q
บุค คลที อ าจมีค วามขัด แย้ ง บริ ษัท จุฑาวรรณ จํากัด
บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด
บริ ษัท ริ ก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรี ทเม้ นท์ จํากัด
บริ ษัท อําพน จํากัด
บริ ษัท เจทีดบั บลิว แอ็กเซท จํากัด
บริ ษัท ปิ นทอง สตีล จํากัด
ความสัม พัน ธ์ อยู่ภายใต้ การควบคุมของกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ นทองW/ ซึง ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ Q อมในบริ ษัทร้ อยละ 40.32 ของทุนจดทะเบียนและชําระ แล้ วทังหมด Q มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษัทคือ นายนาโอะฮิโร ฮามาดา อยู่ภายใต้ การควบคุมของ กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ นทองW/ ซึง ถือหุ้นทังทางตรงและ Q ทางอ้ อมในบริ ษัทร้ อยละ 40.32 ของทุนจดทะเบียนและชําระแล้ วทังหมด Q อยู่ภายใต้ การควบคุมของกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ นทองW/ ซึง ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ Q อมในบริ ษัทร้ อยละ 40.32 ของทุนจดทะเบียนและชําระ แล้ วทังหมด Q อยู่ภายใต้ การควบคุมของกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ นทองW/ ซึง ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ Q อมในบริ ษัทร้ อยละ 40.32 ของทุนจดทะเบียนและชําระ แล้ วทังหมด Q อยู่ภายใต้ การควบคุมของกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ นทองW/ ซึง ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ Q อมในบริ ษัทร้ อยละ 40.32 ของทุนจดทะเบียนและชําระ แล้ วทังหมด Q อยู่ภายใต้ การควบคุมของกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ นทองW/ ซึง ถือหุ้นทังทางตรงและทางอ้ Q อมในบริ ษัทร้ อยละ 40.32 ของทุนจดทะเบียนและชําระ แล้ วทังหมด Q
หมายเหตุ : W/ กลุม่ ปิ นทองประกอบธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ธุรกิจเหล็กและโลหะ ธุรกิจชิ Qนส่วนสําหรับภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจขนส่งและรถเช่า
5. ลัก ษณะการประกอบธุร กิจ 5.1 ภาพรวมการประกอบธุร กิจ ของบริษัท บริ ษัทประกอบธุรกิจผลิตชิ Qนส่วนอลูมิเนียมฉีดขึ Qนรู ปและชิ Qนส่วนสังกะสีฉีดขึ Qนรู ปตามคําสัง ซื Qอของลูกค้ า โดยมี กลุ่มลูก ค้ า หลัก เป็ น ผู้ผลิตชิ นQ ส่ว นให้ กับอุต สาหกรรมยานยนต์ ประกอบด้ ว ยอุต สาหกรรมรถยนต์ แ ละอุต สาหกรรม รถจักรยานยนต์ ทังนี Q Q ธุรกิจการผลิตชิ Qนส่วนยานยนต์จะมีข้อได้ เปรี ยบจากยอดการสัง ซื Qอค่อนข้ างแน่นอนเนื องจากการ สัง ซื Qอชิ Qนส่วนของยานยนต์รุ่นหนึง (Model) มักจะเป็ นการสัง ซื Qอชิ Qนส่วนจนกระทัง ยานยนต์รุ่นนันเลิ Q กการผลิตซึง จะใช้ เวลา ส่วนใหญ่ประมาณ 3 ปี ขึ Qนไป นอกจากนี Q บริ ษัทยังได้ มีการผลิตชิ Qนส่วนประกอบกล้ องโทรทัศน์วงจรปิ ด ชิ Qนส่วนประกอบ กล้ องถ่ายวิดีโอ และชิ Qนส่วนประกอบระบบสือ สารภายใน (Intercom System) สําหรับอุตสาหกรรมเครื องใช้ ไฟฟ้า และได้ มีการผลิตชิ Qนส่วนประกอบเครื องตัดหญ้ าและชิ Qนส่วนประกอบรถแทรกเตอร์ สาํ หรับอุตสาหกรรมเครื องจักรกลเกษตร ทังนี Q Q ในการผลิตชินQ ส่วนต่างๆ บริ ษัทได้ มีการบริ การออกแบบและจัดหาแม่พิมพ์เพื อรองรับความต้ องการของลูกค้ าได้ อย่าง ครบถ้ วน ทังนี Q Q ในปั จจุบนั บริ ษัทไม่มีบริ ษัทย่อยหรื อบริ ษัทร่วมแต่อย่างใด 5.1.1 โครงสร้ างรายได้ ข องบริษัท โครงสร้ างรายได้ ของบริ ษัทแบ่งตามสายผลิตภัณฑ์หลักระหว่างปี 2557 ถึงปี 2559 มีสดั ส่วน ดังนี Q
W. รายได้ จ ากการขายชิน9 ส่ วน ชิ Qนส่วนรถยนต์ ชิ Qนส่วนรถจักรยานยนต์ ชิ Qนส่วนเครื องใช้ ไฟฟ้า ชิ Qนส่วนเครื องจักรกลเกษตรและอื นๆ Y. รายได้ จ ากการขายแม่ พ ิม พ์ ชิ Qนส่วนรถยนต์ ชิ Qนส่วนรถจักรยานยนต์ ชิ Qนส่วนเครื องใช้ ไฟฟ้า ชิ Qนส่วนเครื องจักรกลเกษตรและอื นๆ รวมรายได้ จ ากการขาย รายได้ จากการให้ บริ การW/
ปี 2557 จํานวน ร้ อ ยละ 328.18 90.04 210.20 57.67 55.58 15.25 38.39 10.53 24.01 6.59 24.70 6.77 13.43 3.68 8.39 2.30 1.05 0.29 1.83 0.50 352.88 96.81 4.01 1.10
รวมรายได้ จ ากการขายและให้ บ ริก าร รายได้ อื น / รายได้ ร วม
356.89 7.61 364.50
รายได้
ปี 2558 จํานวน ร้ อ ยละ 382.19 89.51 276.71 64.81 40.71 9.53 46.61 10.92 18.16 4.25 34.40 8.06 9.30 2.18 22.87 5.36 1.33 0.31 0.90 0.21 416.59 97.57 3.92 0.92
ปี 2559 จํานวน ร้ อ ยละ 382.74 92.32 265.29 64.00 53.26 12.84 40.68 9.81 23.51 5.67 24.23 5.84 12.27 2.96 8.15 1.97 2.87 0.69 0.94 0.22 406.97 98.16 3.49 0.84
97.91 420.51 98.49 410.47 99.00 2.09 6.45 1.51 4.11 1.00 100.00 426.96 100.00 414.58 100.00 (หน่วย: ล้ านบาท)
หมายเหตุ :
1/
รายได้ จากการให้ บริ การในปี 2557 2558 และ 2559 เป็ นรายได้ จากข้ อตกลงให้ ความช่วยเหลือด้ านเทคนิคให้ กับบริ ษัทผลิต ชิ Qนส่วนรถจักรยานยนต์แห่งหนึง ในประเทศอินเดีย มูลค่าตามสัญญาทังสิ Q Qน 24.60 ล้ านบาท / รายได้ อื นของบริ ษัทประกอบด้ วยรายได้ จากการขายเศษวัตถุดบิ จากการผลิต กําไรจากการขายสินทรัพย์ การกลับรายการค่า เผื อลูกหนี Qสงสัยจะสูญ ดอกเบี Qยรับ และรายได้ อื น เป็ นต้ น
5.1.2 ลัก ษณะผลิต ภัณฑ์ แ ละบริก าร บริ ษัทประกอบธุรกิจผลิตชิ Qนส่วนอลูมิเนียมและสังกะสีในรู ปแบบที ลกู ค้ ากําหนดตามคําสัง ซื Qอของลูกค้ า โดย กระบวนการขึ Qนรูปด้ วยแม่พิมพ์ฉีดหล่อความดันสูง (High-Pressure Diecasting หรื อ “HPDC”) โดยบริ ษัทมีการให้ บริ การ ออกแบบและว่าจ้ างบริ ษัทผู้ผลิตแม่พิมพ์เพื อทําการผลิตแม่พิมพ์ให้ กับลูกค้ าเพื อให้ สามารถผลิตชิ นQ งานตามที ลูกค้ า กําหนด ซึง กรรมสิทธิ ในแม่พิมพ์จะเป็ นไปตามที ระบุในข้ อตกลงระหว่างบริ ษัทกับลูกค้ าแต่ละราย ซึง แบ่งออกตามลักษณะ ของข้ อตกลงได้ ดังนี Q 1) ออกแบบและจําหน่ายแม่พิมพ์ บริ ษัทจะจําหน่ายแม่พิมพ์ที ผลิตแล้ วให้ กบั ลูกค้ า โดยกรรมสิทธิ ในแม่พิมพ์ จะเป็ นของลูกค้ า ซึง ลูกค้ าจะว่าจ้ างบริ ษัทให้ ดําเนินการผลิตชิ Qนงานจากแม่พิมพ์ดงั กล่าว 2) ออกแบบแม่พิมพ์และผลิตชิ Qนงาน ลูกค้ าจะว่าจ้ างบริ ษัทในการออกแบบแม่พิมพ์พร้ อมกับผลิตชิ Qนงานจาก แม่พิมพ์ดงั กล่าว โดยกรรมสิทธิ ในแม่พิมพ์ยงั คงเป็ นของบริ ษัท โดยบริ ษัทจะมีการคิดกําไรส่วนเพิ มเพื อ ชดเชยค่าใช้ จ่ายในการออกแบบและจัดทําแม่พิมพ์ดงั กล่าว ทังนี Q Qรายได้ ของบริ ษัทส่วนใหญ่มาจากรายได้ จากการขายชิ Qนส่วนอลูมิเนียมและแม่พิมพ์ สําหรับรายได้ จากการ ขายชิ Qนส่วน แยกออกเป็ นรายได้ จากการขายชิ Qนส่วนอลูมิเนียมและสังกะสี ในปี RRV เป็ นสัดส่วนเท่ากับ ร้ อยละ W.SR และร้ อยละ WX.XY ของรายได้ จากการขายและบริ การรวม และปี RRS ร้ อยละ .VS และร้ อยละ W .YX ตามลําดับ โดย ผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทสามารถแบ่งออกเป็ นประเภทตามการใช้ งานของผลิตภัณฑ์ ดังนี Q 5.1.2.1 กลุ่ม ผลิต ภัณฑ์ ช นิ 9 ส่ วนรถยนต์ ตัวอย่ างผลิต ภัณฑ์ ช นิ 9 ส่ วนรถยนต์ หมวดสิน ค้ า ผลิต ภัณฑ์ รายละเอียดผลิต ภัณฑ์ ภาพตัวอย่ างสิน ค้ า ชุดกําเนิดไฟฟ้า ฝาครอบหลัง ส่วนประกอบด้ านหลัง ของอัล กระแสสลับในรถยนต์ (Rear cover) เตอร์ เนเตอร์ (Alternator)
สตาร์ ทเตอร์ (Starter)
ฝาครอบหน้ า (Front cover)
ส่วนประกอบด้ านหน้ าของอัล เตอร์ เนเตอร์
ตัวเรื อน (Housing)
ส่วนประกอบตัวเรื อนของ สตาร์ ทเตอร์
หมวดสิน ค้ า
ตั ว ยึ ด คอมเพรสเซอร์ แอร์ ในรถยนต์ (Bracket Compressor)
ใบพัดเครื องยนต์ (Fan Clutch)
ผลิต ภัณฑ์
รายละเอียดผลิต ภัณฑ์
ฝาครอบหลัง (Rear cover)
ส่วนประกอบด้ านหลังของ สตาร์ ทเตอร์
ตัวเรื อนเกียร์ (Gear case)
ส่วนประกอบของชุดเฟื องใน สตาร์ ทเตอร์
ฐานจับยึด คอมเพรสเซอร์ (Bracket compressor) ตัวจับยึดด้ านล่าง (Lower bracket)
ส่วนประกอบในการยึดจับ ระหว่างเครื องยนต์และ คอมเพรสเซอร์
ชิ Qนส่วนปรับตังQ สายพาน (Bracket tension) ฝาครอบ (Cover)
ฝาหลัง (Case)
จานรี ดนํ Qามันชุด ระบายความร้ อน (Disk) ตัวยึดท่อแอร์ ในรถยนต์ อุปกรณ์ ยึดจับท่อแอร์ (Hanging Air Pipe) รถยนต์ (Flange flex)
ภาพตัวอย่ างสิน ค้ า
ส่วนประกอบในการยึดจับ ระหว่างแผงระบายความร้ อน ระบบปรับอากาศกับตัวถัง รถยนต์ ส่วนประกอบในการปรับตังQ สายพานคอมเพรสเซอร์ ฝาครอบของส่วนประกอบของชุด ใบพัดระบายความร้ อนของ เครื องยนต์ ฝาหลังของส่วนประกอบของชุด ใบพัดระบายความร้ อนของ เครื องยนต์ ชิ Qนส่วนสําหรับการทํางานของชุด ใบพัดระบายความร้ อนของ เครื องยนต์อตั โนมัติ ชิ Qนส่วนสําหรับยึดจับท่อแอร์ ใน รถยนต์ เพื อช่วยในการยึดจับ
หมวดสิน ค้ า
ผลิต ภัณฑ์
รายละเอียดผลิต ภัณฑ์
เข็มขัดนิรภัย (Safety Belt)
ดุมม้ วนสาย (Guide drum)
ชิ Qนส่วนล็อคสายพานเข็มขัด นิรภัยในรถยนต์
วิทยุรถยนต์ (Audio)
แผงระบายความร้ อน (Heat sink)
แผงระบายความร้ อนของระบบ เครื องเสียงในรถยนต์
ชุดระบายความร้ อนไฟ แผงระบายความร้ อน หน้ า ไฟหน้ า (Main heatsink Bi-LED) ชุดบังคับแกนใบปัด ตัวยึดจับแกนปัด นํ Qาฝน นํ Qาฝนด้ านซ้ าย (Bracket B)
ภาพตัวอย่ างสิน ค้ า
แผงระบายความร้ อนไฟหน้ า LED แกนหมุนชุดใบปั ดนํ Qาฝน ด้ านซ้ าย
ตัวยึดจับแกนปัด นํ Qาฝนด้ านขวา (Bracket C)
แกนหมุนชุดใบปั ดนํ Qาฝน ด้ านขวา
ตัวยึดจับแกนปัด นํ Qาฝนก้ านเดี ยว (Bracket A)
แกนหมุนชุดใบปั ดนํ Qาฝนชนิดก้ าน เดี ยว
สินค้ าในกลุม่ นี Qเป็ นชิ Qนส่วนและแม่พิมพ์สาํ หรับอุปกรณ์และชิ Qนส่วนรถยนต์ซงึ ประกอบด้ วย ชิ Qนส่วนของชุดกําเนิด ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternator) สตาร์ ทเตอร์ (Starter) ตัวยึดคอมเพรซเซอร์ (Bracket Compressor) ใบพัดเครื องยนต์ ตัว แขวนท่อแอร์ ในรถยนต์ เข็มขัดนิรภัย และชุดบังคับแกนใบปั ดนํ Qาฝน เป็ นต้ น โดยมีกลุม่ ลูกค้ าหลักเป็ นกลุม่ บริ ษัทผลิต ชิ Qนส่วนรถยนต์ซึ งจะนําไปประกอบเป็ นชินQ ส่วนและอุปกรณ์ เพื อส่งมอบแก่บริ ษัทประกอบรถยนต์อีกทอดหนึ ง ซึ งรายได้
จากกลุ่มผลิตภัณฑ์นี Qเป็ นรายได้ หลักของบริ ษัท โดยมีสดั ส่วนรายได้ ในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 มีจํานวน 223.63 ล้ านบาท 286.01 ล้ านบาท และ 277.56 ล้ านบาทตามลําดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 61.35 ร้ อยละ 66.99 และร้ อยละ 66.96 ของรายได้ จากการขายและให้ บริ การรวมในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลําดับ 5.1.2.2 กลุ่ม ผลิต ภัณฑ์ ช นิ 9 ส่ วนรถจัก รยานยนต์ ตัวอย่ างผลิต ภัณฑ์ ช นิ 9 ส่ วนรถจัก รยานยนต์ หมวดสิน ค้ า ผลิต ภัณฑ์ รายละเอียดผลิต ภัณฑ์ ชุดผสมเชื Qอเพลิงกับ ฝาครอบระบบผสม ส่วนประกอบของชุดผสมนํ Qามัน อากาศ (Carburetor) นํ Qามัน กับอากาศ (Cover reed valve) ตัวเรื อนระบบผสม ส่วนประกอบของชุดผสมนํ Qามัน นํ Qามัน กับอากาศ (Body reed valve) ฝาครอบ (Top) ส่วนประกอบของชุดผสมนํ Qามัน กับอากาศ ระบบคลัตช์ (Manual Clutch System)
ระบบเกียร์ อตั โนมัติ
ภาพตัวอย่ างสิน ค้ า
ส่ว นประกอบชิ นQ กลาง ส่วนประกอบของแผ่นคลัตช์ ของแผ่นคลัตช์ (Center clutch) ส่วนปิ ดชุดส่งกําลัง ส่ ว นประกอบของฝาปิ ดแผ่ น (PR plate) คลัตช์ด้านบน ฝาครอบชุดส่งกําลัง (PR outer)
ส่วนประกอบฝาครอบชุดคลัตช์ ด้ านข้ าง
ฝาล็อดส่งกําลัง (PR lifter)
ส่วนประกอบล็อคชุดแผ่นคลัตช์
ตัวปรับรอบ ส่วนประกอบของระบบเกียร์ (Prim sliding sheave) อัตโนมัติ CVT ในการปรับรอบ สายพาน ตัวขับ ส่วนประกอบของระบบเกียร์ (Sheave prim fixed) อัตโนมัติ CVT ในการขับ สายพาน
หมวดสิน ค้ า ฝาครอบชุดส่งกําลัง
ผลิต ภัณฑ์ ฝาครอบข้ อเหวี ยง (Crank case)
รายละเอียดผลิต ภัณฑ์ ฝาครอบข้ อเหวี ยง
ระบบปั มนํ Qาระบาย ความร้ อน
ฝาครอบปั มนํ Qา (Cover water pump)
ฝาครอบชุดปั มนํ Qาระบายความ ร้ อน
ภาพตัวอย่ างสิน ค้ า
สินค้ าในกลุม่ นี Qเป็ นชิ Qนส่วนและแม่พิมพ์สําหรับอุปกรณ์และชิ Qนส่วนรถจักรยานยนต์ซึ งประกอบด้ วย ระบบคลัตช์ (Clutch System) ชุดผสมเชื Qอเพลิงกับอากาศ (Carburetor) และสตาร์ ทเตอร์ (Starter) เป็ นต้ น โดยกลุม่ ลูกค้ าของกลุม่ ผลิตภัณฑ์ นี Qประกอบด้ วยบริ ษัทผลิตชิ นQ ส่วนรถจักรยานยนต์ และบริ ษัทประกอบรถจักรยานยนต์ ทังQ นี Q บริ ษัทมีรายได้ จากกลุ่ม ผลิตภัณฑ์นี Qในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 เท่ากับ63.97 ล้ านบาท 63.58 ล้ านบาท และ 61.41 ล้ านบาท ตามลําดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 17.55 ร้ อยละ 14.89 และร้ อยละ 14.89ของรายได้ จากการขายและให้ บริ การรวมในช่วงเวลา เดียวกัน ตามลําดับ 5.1.2.3 กลุ่ม ผลิต ภัณฑ์ ช นิ 9 ส่ วนอุป กรณ์ เ ครื อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ตัวอย่ างผลิต ภัณฑ์ ช นิ 9 ส่ วนอุป กรณ์ เ ครื อ งใช้ ไ ฟฟ้ า หมวดสิน ค้ า ผลิต ภัณฑ์ รายละเอียดผลิต ภัณฑ์ กล้ องวงจรปิ ด ฝาครอบหน้ า ส่วนประกอบของฝาครอบกล่อง (Box CCTV Camera) (Front frame) รับสัญญาณกล้ องวงจรปิ ด กล้ องวงจรปิ ดมุมกว้ าง ฝาครอบ (Dome CCTV Camera) (Chassis cover)
ส่วนประกอบของกล้ องวงจรปิ ด มุมกว้ าง
ฝาปิ ดโครง (Bracket case)
ส่วนประกอบของกล้ องวงจรปิ ด มุมกว้ าง
ฝาครอบหลัก (Main Cover)
ส่วนประกอบของ CCTV Dome
ภาพตัวอย่ างสืน ค้ า
หมวดสิน ค้ า
ผลิต ภัณฑ์ ฝาครอบหลัง (Rear cover)
รายละเอียดผลิต ภัณฑ์ ส่วนประกอบของ CCTV Dome
ระบบสือ สารภายใน (Intercom System)
หน้ าการแผงปุ่ มกด (Panel)
ส่วนประกอบของระบบสือ สาร ภายใน
คอมเพรสเซอร์ เครื องปรับอากาศ
ข อ บ ห น้ า ก า ก แ ผ ง ส่วนประกอบของระบบสือ สาร ปุ่ มกด ภายใน (Panel frame) แผ่นครอบยางกันซึม ฝาครอบลูกสูบคอมเพรสเซอร์ แอร์ (Plate lower seal)
ชุดกล่องควบคุมปั มนํ Qา
กล่องอลูมิเนียม (Aluminum case)
ภาพตัวอย่ างสืน ค้ า
กล่องควบคุมการทํา งานของปั ม นํ Qาอัตโนมัติ
สิน ค้ า ในกลุ่ม นี เQ ป็ น ชิ นQ ส่ว นและแม่พิ ม พ์ สํ า หรั บ ชิ นQ ส่ว นอุป กรณ์ เ ครื อ งใช้ ไ ฟฟ้า ต่ า งๆ เช่ น กล้ อ งวงจรปิ ด กล้ องถ่ายวิดีโอ ชุดฝาครอบคอมเพรซเซอร์ เครื องปรับอากาศ และระบบสือ สารภายใน (Intercom) เป็ นต้ น โดยกลุม่ ลูกค้ า ของกลุม่ ผลิตภัณฑ์นี Qประกอบด้ วยบริ ษัทผลิตชิ Qนส่วนอุปกรณ์เครื องใช้ ไฟฟ้าต่างๆ ทังนี Q Qบริ ษัทมีรายได้ จากกลุม่ ผลิตภัณฑ์นี Q ในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 เท่ากับ 39.44 ล้ านบาท47.94 ล้ านบาท และ 43.55 ล้ านบาทตามลําดับ หรื อคิดเป็ น สัดส่วน ร้ อยละ 10.82 ร้ อยละ 11.23 และร้ อยละ 10.50 ของรายได้ จากการขายและให้ บริ การรวมในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลําดับ
5.1.2.4 กลุ่ม ผลิต ภัณฑ์ ช นิ 9 ส่ วนเครื อ งจัก รกลเกษตรและอื น ๆ ตัวอย่ างผลิต ภัณฑ์ ช นิ 9 ส่ วนเครื อ งจัก รกลเกษตร หมวดสิน ค้ า ผลิต ภัณฑ์ รายละเอียดผลิต ภัณฑ์ รถแทรกเตอร์ ฝาครอบแกนขับ ส่วนประกอบชุดฝาครอบแกนไฮ (Propeller shaft ดรอลิกในรถแทรกเตอร์ case) ตัวยึดพัดลม ส่วนประกอบใบจับยึดชุดใบพัด (Flange fan) ในรถแทรกเตอร์
หัวจ่ายนํ Qามันเชื Qอเพลิง
ตัวยึดกรองนํ Qามัน (Bracket Filter)
ส่วนประกอบในระบบกรอง นํ Qามันรถแทรกเตอร์
ตัวยึดฝาครอบ (Support diff)
เป็ นส่วนประกอบสําหรับยึดชุด คลัตช์
ฐานเกียร์ หลัก (Base main shift)
เป็ นส่วนประกอบฝาครอบคัน เกียร์ รถแทรกเตอร์
ฝาปิ ดล้ อหลัง (Plug rear wheel)
เป็ นส่วนประกอบฝาครอบ แกนเพลาล้ อหลัง
ภาพตัวอย่ างสิน ค้ า
ชุดแขวนหัวจ่ายนํ Qามัน เป็ นส่วนประกอบของทีแ ขวนหัว จ่ายนํ Qามัน ข้ อต่อวาล์วหัวจ่าย
เป็ นส่วนประกอบของหัวจ่าย นํ Qามัน
ข้ องอหัวจ่าย
เป็ นส่วนประกอบของหัวจ่าย นํ Qามัน
สินค้ าในกลุม่ นี Qเป็ นชิ Qนส่วนเครื องจักรกลเกษตรต่างๆ เช่น ชิ Qนส่วนรถแทร็ กเตอร์ และชิ Qนส่วนสําหรับอุตสาหกรรม อื นๆ เช่น ที แขวนหัวจ่ายนํ Qามันสําหรับสถานีบริ การนํ Qามันเป็ นต้ น โดยกลุม่ ลูกค้ าของกลุม่ ผลิตภัณฑ์นี Qประกอบด้ วยบริ ษัท ผลิต เครื อ งจักรกลเกษตรและอื น ๆ ทังQ นีบQ ริ ษัท มีร ายได้ จากกลุ่มผลิต ภัณ ฑ์ นีใQ นปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 เท่ากับ 25.84 ล้ านบาท 19.06 ล้ านบาท และ 24.45 ล้ านบาทตามลําดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 7.08 ร้ อยละ 4.46 และ ร้ อย ละ 5.90 ของรายได้ จากการขายและให้ บริ การรวมในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลําดับ นอกจากนี Q ในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 บริ ษัทได้ มีการทําข้ อตกลงให้ ความช่วยเหลือด้ านเทคนิคให้ กับบริ ษัท Exedy Clutch India Pvt. Ltd. ซึ งเป็ นบริ ษัทผลิตชิ Qนส่วนรถจักรยานยนต์แห่งหนึ งในประเทศอินเดีย มูลค่าตามสัญญา ทังสิ Q Qน 24.60 ล้ านบาท โดยบริ ษัทจะให้ ความช่วยเหลือในด้ านการเลือก และติดตังเครื Q องฉีดอลูมิเนียมและสังกะสี รวมถึง ให้ การฝึ กอบรมในด้ านกระบวนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ โดยมีข้อตกลงว่าบริ ษัทดังกล่าวจะไม่ทําการแข่งขันใน ด้ านชิ Qนส่วนอลูมิเนียมที ขึ Qนรูปด้ วยการฉีดสําหรับรถจักรยานยนต์ในประเทศไทยกับบริ ษัท ซึ งบริ ษัทได้ ทําข้ อตกลงกับห้ าง หุ้นส่วนจํากัด ไอซีซี คอนซัลท์ ในการสนันสนุนการและให้ ความช่วยเหลือแก่บริ ษัท Exedy Clutch India Pvt. Ltd. ตาม ข้ อตกลงให้ บริ การทางด้ านเทคนิคดังกล่าว โดยในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทได้ ทําการรับรู้รายได้ จากการบริ การตามข้ อตกลงนี Qเท่ากับ 4.01 ล้ าน บาท 3.92 ล้ านบาท และ 3.49 ล้ านบาทตามลําดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 1.13 ร้ อยละ 0.92 และร้ อยละ 0.84 ของ รายได้ จากการขายและให้ บริ การรวมในช่วงเวลาเวลาเดียวกัน 5.1.3 สิท ธิป ระโยชน์ จ ากบัต รส่ งเสริม การลงทุน จากคณะกรรมการส่ งเสริม การลงทุน การประกอบธุรกิจของบริ ษัทได้ รับสิทธิ ประโยชน์จากสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน (BOI) ซึ งมี รายละเอียดดังนี Q เจ้ าของบัต รส่ งเสริม บัตรส่งเสริ มเลขที 1. วันที ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุน 2. วันที เริ มใช้ สิทธิตามบัตรส่งเสริ มการ ลงทุน 3. ประเภทกิจการที ได้ รับการส่งเสริ มการ ลงทุน 4. สิทธิประโยชน์สําคัญที บริ ษัทได้ รับ 4.1 การยกเว้ นอากรขาเข้ าสําหรับ เครื องจักร 4.2 การยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง9 จํากัด (มหาชน) 1090(2)/2554 26 มกราคม 2554 1 เมษายน 2554 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์โลหะรวมทังQ ชิ Qนส่วนโลหะ
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง9 จํากัด (มหาชน) 1010(2)/2557 7 มกราคม 2557 ยังไม่ได้ เริ มดําเนินการใช้ สิทธิ บัตร ส่งเสริ มการลงทุน กิจการผลิตผลิตภัณฑ์โลหะรวมทังชิ Q Qนส่วน โลหะ
จะต้ องนําเข้ ามาก่อนวันที 26 กรกฎาคม จะต้ องนําเข้ ามาก่อนวันที 7กรกฎาคม 2556 2560 รวมกันไม่เกินร้ อยละ 100 ของเงินลงทุน รวมกันไม่เกินร้ อยละ 100 ของเงินลงทุน
เจ้ าของบัต รส่ งเสริม
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง9 จํากัด (มหาชน) สําหรับกําไรสุทธิที ได้ จากการ ไม่ ร วมค่ า ที ดิ น และทุ น หมุ น เวี ย นมี ประกอบกิจการที ได้ รับการส่งเสริ ม กําหนดเวลา 8 ปี นับแต่วนั ที มีรายได้ จากการประกอบ และยกเว้ นภาษีเงินได้ นิติบุคคลในอัตรา กิจการนันQ ร้ อยละ 50 ของอัตราปกติมีกําหนดเวลา 5 ปี นั บ จ าก วั น ที พ้ น กํ า ห น ด ต า ม วรรคแรก 4.3 การยกเว้ นไม่ต้องนําเงินปันผลจาก 8 ปี กิจการที ได้ รับการส่งเสริ มซึง ได้ รับ การยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลตาม ข้ อ 4.2 ไปรวมคํานวณเพื อเสียภาษี เงินได้ 4.4 การอนุญาตให้ หกั ค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า 10 ปี และค่าประปา สองเท่าของ ค่าใช้ จ่าย นับแต่วนั ที เริ มมีรายได้ จากการประกอบกิจการ
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง9 จํากัด (มหาชน) ไ ม่ ร ว ม ค่ า ที ดิ น แ ล ะ ทุ น ห มุ น เ วี ย น มี กําหนดเวลา 8 ปี และยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบุคคลในอัตรา ร้ อยละ 50 ของอัตราปกติมีกําหนดเวลา 5 ปี นับจากวันที พ้นกําหนดตามวรรคแรก 8 ปี
10 ปี
5.2 การตลาดและการแข่ งขัน บริ ษั ท ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ผลิต ชิ นQ ส่ว นอลูมิ เ นี ย มฉี ด ขึนQ รู ป และชิ นQ ส่ว นสัง กะสีฉี ด ขึนQ รู ป ให้ แ ก่ ลูก ค้ า ในหลายกลุ่ม อุตสาหกรรม ซึ งมีกลุ่มอุตสาหกรรมหลัก ได้ แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเครื องใช้ ไฟฟ้า และอุตสาหกรรม ชิ Qนส่วนเครื องจักรทางการเกษตร มีการจําหน่ายสินค้ าส่วนใหญ่โดยการขายตรงให้ กับผู้ผลิตชิ Qนส่วนลําดับที 1 ซึ งมีการ ดําเนินงานในประเทศไทยเป็ นหลักผ่านทีมงานการตลาดและการขายของบริ ษัท ซึ งประกอบด้ วยทีมงานทังชาวไทยและ Q ชาวต่างชาติที มีประสบการณ์ในการทํางานมากกว่า Y ปี โดยมีการแบ่งการดูแลรับผิดชอบเป็ นทีมงานในการหาลูกค้ า ใหม่และทีมงานที รับผิดชอบลูกค้ าปั จจุบนั ของบริ ษัท ซึ งทีมงานจะทําการติดต่อโดยตรงกับลูกค้ าอย่างใกล้ ชิด โดยศึกษา ความต้ องการของลูกค้ า และอาจมีการร่วมดัดแปลงแบบของชิ Qนงานตามการอนุมตั ิของลูกค้ าหากมีความจําเป็ น เพื อเพิ ม ประสิท ธิ ภ าพและความเป็ น ไปได้ ใ นการผลิต โดยยัง รั ก ษาคุณ สมบัติ ข องชิ นQ งานและประโยชน์ ก ารใช้ ง านไว้ ต าม วัตถุประสงค์ของลูกค้ า นอกจากนี Qยังมีช่องทางในการจําหน่ายอื นๆ เช่น 1) บริ ษัทมีการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทผ่านสื อโฆษณาต่างๆ อาทิ สมุดหน้ าเหลือง หนังสือรวบรวม รายชื อผู้ประกอบการ (Directory) และวารสารต่างๆที เกี ยวข้ องกับวงการอุตสาหกรรมและชิ Qนส่วนที บริ ษัท ผลิ ต เช่ น ทํ า เนี ย บอุ ต สาหกรรมยานยนต์ ไ ทย เป็ นต้ น นอกจากนี Q บริ ษั ท ได้ จั ด ทํ า เว็ บ ไซต์
www.sankothai.net เพื อเป็ นการเพิ มช่องทางการสือ สารให้ กบั ลูกค้ าของบริ ษัทและเป็ นการประชาสัมพันธ์ บริ ษัทอีกช่องทางหนึง ด้ วย 2) บริ ษัทได้ เข้ าร่ วมเป็ นสมาชิกของสมาคมผู้ผลิตชินQ ส่วนยานยนต์ไทย สถาบันยานยนต์ และสมาคมต่างๆที เกี ยวข้ องกับอุตสาหกรรมยานยนต์ เพื อให้ มีโอกาสทําความรู้จกั กับกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายมากขึ Qน 5.2.1 กลยุท ธ์ ก ารแข่ งขัน บริ ษัทกําหนดกลยุทธ์ ทางการแข่งขัน โดยมุ่งเน้ นการสร้ างความพึงพอใจในคุณภาพสินค้ าและการบริ การแก่ ลูกค้ าเพื อสร้ างความสัมพันธ์ที ดีและก่อให้ เกิดการดําเนินธุรกิจร่วมกันอย่างต่อเนื องในระยะยาว ซึง สามารถสรุปกลยุทธ์ใน การแข่งขันของบริ ษัทได้ ดงั นี Q 1. การรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ สินค้ าของบริ ษัทเป็ นผลิตภัณฑ์ที ต้องมีความละเอียดและแม่นยําในการผลิต เนื องจากเป็ นชิ Qนส่วนที นําไปใช้ ใน การประกอบกับชิ Qนส่วนอื นๆ ดังนันQ บริ ษัทจึงมีนโยบายที มงุ่ เน้ นและให้ ความสําคัญกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ โดยบริ ษัทมี ระบบการควบคุมคุณภาพ (Quality Control: QC) ที ได้ มาตรฐานระดับสากล ISO9001:2008 และ ISO/TS 16949:2009 ซึ งบริ ษัทได้ มีการควบคุมคุณภาพผลิต ภัณฑ์ ตังQ แต่การคัดสรรวัตถุดิบที มีคุณภาพ และมี การตรวจสอบคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์ ในทุกๆขันตอนอย่ Q างเข้ มงวด ด้ วยเครื องมือและอุปกรณ์ ตรวจสอบที มีความแม่นยํา รวมทังQ มีการฝึ กอบรม บุคลากรอย่างสมํ าเสมอเพื อเป็ นการพัฒนาความรู้ และสร้ างมาตรฐานในการปฏิบตั ิงานทําให้ บริ ษัทได้ รับความไว้ วางใจ จากลูกค้ าในการสัง ซื Qอสินค้ าจากบริ ษัทอย่างต่อเนื องนอกจากนี Q ยังมีการศึกษาและพัฒนาระบบมาตรฐานยานยนต์ เยอรมัน (VDA 6.3) เพื อยกระดับมาตรฐานและเพิ มช่องทางของการตลาดส่งออก
2. การจัดส่งผลิตภัณฑ์ตรงต่อเวลา เนื องจากสินค้ าที บริ ษัทผลิตเป็ นชิ Qนส่วนที นําไปใช้ ประกอบกับชิ Qนส่วนอื นๆ ดังนันQ บริ ษัทจึงเน้ นการจัดส่งสินค้ าให้ ถูกต้ องและตรงต่อเวลา (Just in Time) เพื อมิให้ เกิดผลกระทบต่อขันตอนการประกอบชิ Q Qนส่วนอื นๆของลูกค้ า บริ ษัทมี นโยบายการจัดส่งผลิตภัณฑ์ถึงลูกค้ าในเวลาที กําหนด ซึ งบริ ษัทมีการควบคุมตังQ แต่การวางแผนการผลิต การจัดซือQ วัต ถุดิ บ การตรวจสอบคุณภาพวัต ถุดิ บ ขันQ ตอนการผลิต และการจัด ส่ง สิน ค้ า ให้ กับ ลูก ค้ า บริ ษัท จึ ง สามารถจัด ส่ง ผลิตภัณฑ์ให้ ลกู ค้ าได้ ตรงต่อเวลา 3. ความยืดหยุน่ ในการวางแผนการผลิต เนื องจากบริ ษัทเน้ นในด้ านความยืดหยุน่ ในการผลิต โดยออกแบบสายการผลิตให้ สามารถปรับเปลี ยนชิ Qนงานที ผลิตได้ คอ่ นข้ างรวดเร็ ว และไม่ยงุ่ ยาก ทําให้ บริ ษัทสามารถผลิตชิ Qนงานได้ หลากหลาย และสามารถรองรับได้ หลากหลาย อุตสาหกรรม โดยปั จจุบนั บริ ษัทมีเครื องฉีด (Diecasting Machine) ทังหมด Q 16 เครื องการเพิ ม sub supplier เพื อรองรับ การผลิตทังแบบที Q มี Volume น้ อยไปถึงมาก และรองรับการผันผวนของยอดการสัง ซื Qอในตลาดยานยนต์ 4. การสร้ างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ลูกค้ า บริ ษัทมุง่ เน้ นในการสร้ างความสัมพันธ์ที ดกี บั ลูกค้ าโดยการจัดเจ้ าหน้ าที การตลาดและการขายให้ รับผิดชอบดูแล ลูกค้ าและผลิตภัณฑ์ เพื อสร้ างความมัน ใจให้ กับลูกค้ าว่าจะได้ รับบริ การที ดีมีคุณภาพตามที ลกู ค้ าต้ องการ นอกจากนี Q
บริ ษัทยังมีนโยบายการสํารวจความพึงพอใจของลูกค้ าอย่างน้ อยปี ละ 1 ครังQ เพื อนํามาพิจารณาปรับปรุ งคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์และการให้ บริ การกับลูกค้ าต่อไป 5. การเข้ าร่วมเป็ นสมาชิกของสมาคมและองค์กรต่างๆ เพื อขยายฐานลูกค้ า ปั จจุบนั บริ ษัทได้ เข้ าเป็ นสมาชิกของสมาคมและองค์กรต่างๆที เกี ยวข้ องกับวงการอุตสาหกรรมและชิ Qนส่วนที ผลิต ที เป็ นกลุม่ ลูกค้ าโดยตรงของบริ ษัท เช่น สมาคมผู้ผลิตชิ Qนส่วนยานยนต์ไทย สถาบันยานยนต์ เป็ นต้ น ทําให้ บริ ษัทสามารถ รับรู้ขา่ วสารที เกี ยวข้ องกับธุรกิจในอุตสาหกรรมนันๆ Q และสามารถขยายฐานลูกค้ าในกลุม่ อุตสาหกรรมดังกล่าวได้ 5.2.2 อุต สาหกรรมยานยนต์ แ ละชิน9 ส่ วนยานยนต์ อุต สาหกรรมยานยนต์ แ ละชิน9 ส่ วนยานยนต์ แนวโน้ มการแข่งขันทางเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมยานยนต์ในตลาดโลกได้ มาถึงจุดเปลี ยนภายใต้ กระแส อนุรักษ์ สงิ แวดล้ อม การประหยัดพลังงาน และการลดภาวะโลกร้ อน โดยที ตลาดยานยนต์โลก ได้ เปลี ยนแปลงไปสูร่ ถยนต์ ที มีขนาดเล็กลง ทําให้ ต้องมองหาฐานการผลิตที ใช้ ต้นทุนตํ า อุตสาหกรรมยานยนต์เป็ นอุตสาหกรรมที คอ่ นข้ างโดดเด่นเป็ นอย่างมากในภูมิภาคเอเชียและอาเซียน เนื องจากมี ปริ มาณการผลิตรถยนต์ที มากกว่าครึ งหนึง ของปริ มาณการผลิตทัว โลก ซึง ในส่วนนี Qมีประเทศสมาชิกอาเซียนที เป็ นประเทศ ผู้ผลิตยานยนต์ ประกอบด้ วย 5 ประเทศ ได้ แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ ไทย และเวียดนาม โดยประเทศสมาชิก อาเซียน มีลกั ษณะการผลิตยานยนต์ และตลาดในประเทศที แตกต่างกัน ซึง สามารถจัดกลุม่ ได้ เป็ น 2 กลุม่ ดังนี Q กลุม ่ ประเทศทีเ ป็ นฐานการผลิต กลุม ่ ประเทศที ไม่ได้ เป็ นฐานการผลิต ประเทศสมาชิกอาเซียนมีอตั ราการเติบโตของปริ มาณการผลิตเฉลี ย (Compound Annual growth Rate: CAGR) เพิ มขึ Qนอย่างต่อเนื องมาโดยตลอด ด้ วยประเทศสมาชิกอาเซียนมีพื Qนฐานทางเศรษฐกิจที ไม่ซบั ซ้ อน จึงมีความยึด หยุน่ ในการปรับตัวสูง ผสมผสานกับการดําเนินนโยบายการเงินและการคลังเพื อกระตุ้นเศรษฐกิจ ทําให้ สามารถพลิกพื Qน กลับสูร่ ะดับปกติได้ เร็ ว จากข้ อมูล ณ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ประมาณการฟื นQ ตัว ทางเศรษฐกิจจะดีขึ Qนอย่างค่อยเป็ นค่อยไป โดยคาดว่าจะขยายตัวที 3% ในปี 2559 และ 3.2% ในปี 2560 ทังนี Q Q ความ เชื อมัน ที ปรับดีขึ Qนและราคาพลังงานที อยูใ่ นระดับตํ าจะมีสว่ นช่วยสนับสนุนการฟื นQ ตัวของการบริ โภคภาคเอกชน อีกทังการ Q ลงทุนภาครั ฐ ยัง จะเป็ นแรงส่ง ทางเศรษฐกิ จ ที สํา คัญ โดยการลงทุนภาครั ฐ ที เพิ ม ขึนQ จะมี ส่วนช่ วยกระตุ้นการลงทุน ภาคเอกชนในระยะต่อไป ในส่วนของอัตราเงินเฟ้อทัว ไป คาดว่าจะกลับเป็ นบวกได้ ในปี 2559 แต่อาจใช้ เวลาในการปรับ เข้ าสู่ค่ากลางของเป้าหมายเงินเฟ้อ สําหรับดุลบัญชีเดินสะพัดคาดว่าจะทยอยปรับลดลงในระยะปานกลางตามอัตรา การค้ าที ลดลง และอุปสงค์ในประเทศที ปรับดี ปั จจุบนั อุตสาหกรรมชินQ ส่วนยานยนต์ในประเทศไทยสร้ างงานให้ กบั แรงงานจํานวนกว่า 100,000คน มีผ้ ผู ลิต 2,289 ราย ซึ งส่วนมากผู้ผ ลิต ดัง กล่าวจะกระจุก ตัว อยู่ในเขตอุตสาหกรรมในกรุ ง เทพฯ และจังหวัด ใกล้ เ คีย ง เช่ น สมุทรปราการ ซึง พบว่ามีจํานวนของผู้ผลิตชิ Qนส่วนประกอบตังโรงงานอยู Q ม่ ากที สดุ รองลงมาคือ จังหวัดระยองและจังหวัด อื นๆ เช่น ฉะเชิงเทรา ชลบุรี เป็ นต้ น โดยโรงงานดังกล่าวมักตังอยู Q ใ่ กล้ กบั โรงงานผลิตยานยนต์ โดยทัว ไปผู้ผลิตชิ Qนส่วนยานยนต์ จะมีตลาดในการจัดจําหน่ายชิ Qนส่วนอยู่ 2 ตลาดหลัก ได้ แก่
1. ตลาดชิ Qนส่วนเพื อนําไปใช้ ประกอบยานยนต์ (Original Equipment Market: OEM) โดยผู้ผลิตต้ องผลิต ชิ Qนส่วนยานยนต์ปอ้ นให้ กบั รถยนต์และจักรยานยนต์รุ่นใหม่ๆ สําหรับค่ายยานยนต์ทเี ข้ ามาตังฐานการผลิ Q ตในไทยเพื อ ประกอบยานยนต์สง่ ออกและจําหน่ายในประเทศ ทังนี Q Q ความต้ องการใช้ ชิ Qนส่วนยานยนต์ในกลุม่ นี Qขึ Qนอยูก่ บั ปริ มาณการ ผลิตรถยนต์และรถจักรยานยนต์ 2. ตลาดชิ Qนส่วนทดแทน หรื ออะไหล่ทดแทน (Replacement Equipment Market : REM) เป็ นตลาดชิ Qนส่วน อะไหล่เพื อการทดแทนชิ Qนส่วนเดิมที เสีย หรื อสึกหรอตามสภาพการใช้ งาน ซึง ชิ Qนส่วนแต่ละชิ Qนจะมีอายุการใช้ งานที แตกต่างกัน ผู้ผลิตที ทําการผลิตเพื อป้อนให้ กบั ตลาดทดแทนนี Qมีทงผู ั Q ้ ประกอบการขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก จึง ทําให้ ชิ Qนส่วนที ผลิตได้ นนมี ั Q คณ ุ ภาพที หลากหลายทังอะไหล่ Q แท้ อะไหล่ปลอม และอะไหล่เทียม ซึง จะทําการจัดจําหน่าย ให้ กบั ศูนย์บริการอะไหล่ของค่ายยานยนต์ตา่ งๆ โดยปกติศนู ย์บริ การจะมีการจัดเก็บสต็อกอะไหล่ทดแทนไม่มากนัก จะ เน้ นเก็บเฉพาะอะไหล่ที ใช้ ในการซ่อมยานยนต์บอ่ ยครังQ เท่านันQ สัด ส่ วนโครงสร้ างห่ วงโซ่ อ ุป ทานของอุต สาหกรรมยานยนต์ แ ละชิน9 ส่ วนไทย
โครงสร้ างภาพรวมของอุตสาหกรรมยานยนต์ แบ่งออกเป็ นผู้ประกอบรถยนต์และผู้ผลิตชิ Qนส่วน โดยผู้ประกอบ ยานยนต์จะทําการว่าจ้ างผู้ประกอบชิ Qนส่วนลําดับที 1 ในการผลิตชิ Qนส่วนรถยนต์และรถจักรยานยนต์ที ใช้ ในการประกอบ โดยบริ ษัทผู้ผลิตชิ Qนส่วนลําดับที 1 ดังกล่าวจะผลิตชิ Qนส่วนบางอย่างเองและบางชิ Qนส่วนจะว่าจ้ างผู้ผลิตชิ Qนส่วนลําดับที 2 ผลิตชิ Qนส่วนย่อยหรื อจัดหาวัตถุดบิ ในการผลิต โดยอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยประกอบด้ วยกลุม่ ผู้ประกอบ รถยนต์และรถจักรยานยนต์จํานวน 23 บริ ษัท ผู้ผลิตชิ Qนส่วนลําดับที 1 (First-Tier) จํานวน 648 บริ ษัท และผู้ผลิตชิ Qนส่วน ลําดับที 2 และ 3 (Second-Tier and Third-Tier) จํานวน 1,641 บริ ษัท โดยมีบริ ษัทที ผลิตชิ Qนส่วนโดยการฉีดขึ Qนรูปด้ วย แม่พิมพ์ฉีดหล่อความดันสูง (High-Pressure Diecasting หรื อ “HPDC”) หลายราย และบริษัทเป็ นบริ ษัทขนาดเล็กถึง กลางในกลุม่ ผู้ผลิตดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริ ษัทถือได้ วา่ มีความได้ เปรี ยบในการแข่งขัน เนื องจากบริ ษัทมีผ้ เู ชี ยวชาญที มี ความรู้และทักษะในการออกแบบแม่พิมพ์ และมีมาตรฐานเป็ นที ยอมรับทังในประเทศและต่ Q างประเทศ ซึง ถือได้ วา่ มี จํานวนไม่มากในประเทศไทย ในช่วง WY เดือนของปี RRS (ม.ค.-ต.ค.RS) มียอดส่งออกรถยนต์สาํ เร็ จรูป ลดลงร้ อยละ W. R จากระยะเวลา เดียวกันในปี ก่อน มูลค่าการส่งออก เพิ มขึ Qนร้ อยละ V. จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน โดยจํานวนรถยนต์ที ผลิตได้ ในเดือน ม.ค.-ต.ค.RS มีจํานวนทังสิ Q Qน เพิม ขึ Qนร้ อยละ .RR จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน และตังแต่ Q เดือน ม.ค.-ต.ค.RS ตลาดรถยนต์ ในประเทศมียอดขาย ลดลงร้ อยละ Y. จากระยะเวลาเดียวกันของปี ก่อน โดยสภาอุตสาหกรรมคาดว่า ยอดการผลิต
รถยนต์ในปี RRS จะได้ ตามเป้าหมายที กําหนดไว้ ล้ านคัน ส่วนยอดส่งออกรถยนต์ในปี นี Qคาดว่าจะได้ ตามเป้าหมายที กําหนดไว้ W. ล้ านคันเช่นกัน ในปี RXY คาดว่าการส่งออกรถยนต์จะอยูท่ ี W. ล้ านคัน ส่วนยอดขายรถยนต์ในประเทศจะเพิ มเป็ น .V แสนคัน อย่างไรก็ตาม คาดว่ายอดขายภายในประเทศปี RXY จะเพิ มสูงกว่าปี RRS เนื องจากรถยนต์ในโครงการรถคัน แรงจะครบอายุการถือครอง R ปี ในช่วงกลางปี RXY ซึง คาดว่าจะมียอดซื Qอรถยนต์เพิม ขึ Qนประมาณ W- หมื นคัน และจะ ค่อยๆ ทยอยเพิ มขึ Qนตามมาอีกมาก เพราะรถยนต์ในโครงการรถคันแรกมีกว่า W. R ล้ านคัน และในจํานวนนี Qคาดว่าจะ เปลีย นรถรุ่นใหม่ร้อยละ WY- Y หรื อประมาณ W. R – .R แสนคัน (ที มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) ปริ มาณการผลิตรถยนต์ของประเทศไทยในช่วง WY เดือนแรกของปี RRS (ม.ค.-ต.ค.) มีปริ มาณการผลิตรถยนต์ W,X ,V W คัน เมื อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน ซึ งมีปริ มาณการผลิต W,RS ,W Yคัน เพิ มขึนQ ร้ อยละ .RRโดยมี ปริ มาณการผลิตรถยนต์นงั XVY, V คัน รถยนต์ปิกอัพ S ,S คัน เพิ มขึ Qนร้ อยละR.VXและY. Sตามลําดับ ส่วนรถยนต์ เพื อการพาณิชย์อื นๆ S,R คัน ลดลงร้ อยละ . ปริ มาณการผลิตรถจักรยานยนต์มีจํานวน 1,516,811คัน เมื อเทียบ กับช่วงเดียวกันของปี ก่อน ลดลงร้ อยละ 0.28 เป็ นการผลิตรถจักรยานยนต์แบบครอบครัว 1,144,487คัน ลดลงร้ อยละ 5.60 แต่มีการผลิตรถจักรยานยนต์แบบสปอร์ ต 372,324คัน เพิ มขึ Qนร้ อยละ 20.57 อย่างไรก็ตามตลาดในประเทศและตลาดส่งออกชะลอตัว เนื องจากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศซึ งสอดคล้ อง กับที สํานักงานเศรษฐกิจการคลังประมาณการเศรษฐกิจภาพรวมไว้ ว่าจะขยายตัวร้ อยละ 3.3 ส่วนตลาดส่งออกเป็ นการ ลดลงในประเทศแถบตะวันออกกลาง ยุโรปอเมริ กากลาง และอเมริ กาใต้ โดยเฉพาะการส่งออกรถกระบะ 1 ตัน ซึง เป็ นการ ลดลงในประเทศแถบเอเชีย ตะวันออกกลาง และแอฟริ กา ส่วนประมาณการอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์ของปี 2560 คาดว่า การผลิต จะขยายตัว ประมาณร้ อยละ 10 หรื อคิดเป็ นปริ มาณการผลิตรถจักรยานยนต์ประมาณ2,000,000 คัน เนื องจากเศรษฐกิจในประเทศและเศรษฐกิจโลกมีแนวโน้ มปรับตัวดีขึ Qนทังนี Q Q จากปริ มาณการผลิต ที คาดการณ์ไว้ ข้างต้ นจะ เป็ นการผลิตเพื อจําหน่ายในประเทศ ประมาณร้ อยละ 85-90 และการผลิตเพื อการส่งออกร้ อยละ 10-15 (ที มา: สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม) สําหรับปี 2560 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) สําหรับประมาณการของอุตสาหกรรมรถยนต์ในปี RXYจากข้ อมูลของกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย คาดว่าการผลิตรถยนต์ ประมาณ ,YYY,YYY คัน เพิ มขึ Qน ร้ อยละ .RX โดยแบ่งเป็ นการผลิตเพื อจําหน่ายในประเทศประมาณ VYY,YYY คัน เพิ มขึ Qนร้ อยละ X.X และเป็ นการผลิตเพื อการส่งออกประมาณ W, YY,YYY คัน ซึ งสอดคล้ องกับที สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดการณ์อตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP) ปี RXY ว่าจะขยายตัวร้ อยละ สําหรั บตลาดส่งออกมีแนวโน้ มดีขึนQ ตามการฟื Qนตัวของเศรษฐกิ จโลก โดยแบ่งเป็ นการผลิตเพื อจําหน่ายในประเทศ ประมาณร้ อยละ Y- R และการผลิตเพื อการส่งออกประมาณร้ อยละ RR-XY สําหรับการปรับโครงสร้ างภาษี สรรพสามิตใหม่ที ประกาศใช้ ตงแต่ ั Q วนั ที 1 มกราคม 2559 นี Q โดยพิจารณาจาก การปล่อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์เป็ นหลัก ทําให้ รถยนต์สว่ นใหญ่ต้องปรับขึ Qนราคาอย่างน้ อยร้ อยละ 5-10 คาดว่าอาจมี ผลต่อการปรับโครงสร้ างรถยนต์บางส่วน โดยผู้บริ โภคมีแนวโน้ มที จะซื Qอรถยนต์ที เหมาะสมกับวัตถุประสงค์การใช้ งานจริง มากขึ Qน โดยรถยนต์นงั ขนาดเล็ก เช่น อีโคคาร์ อาจจะมีสว่ นแบ่งทางการตลาดมากขึ Qน รวมไปถึงรถยนต์นงั อเนกประสงค์ กลุม่ MPV B-SUV และ SUV เพื อการใช้ งานที หลากหลายมากขึ Qน แทนการใช้ รถ PPV ซึง จะ มีการปรับราคาเพิ มขึ Qน ค่อนข้ างมาก ให้ เหลือเพียงผู้ซื Qอที มีความจําเป็ นและชื นชอบการใช้ งานทีส มบุกสมบันของรถยนต์ ประเภทดังกล่าว
นอกจากนี Q ค่ายรถยนต์มีโอกาสที จะปรับรุ่นรถยนต์นงั ของตนให้ สามารถใช้ พลังงานทางเลือก เช่น อี 85 มาก ขึ Qน เพื อลด อัตราภาษี สรรพสามิตลงถึงร้ อยละ 5 โดยในส่วนของประเด็นเรื องการปรับภาษี สรรพสามิตที จะส่งผ่านไปยังการปรับระดับ ราคารถยนต์ประเภทต่างๆตังแต่ Q ต้ นปี 2559 นันQ แม้ วา่ ในช่วงต้ นปี ประชาชนอาจมีโอกาสชะลอการซื Qอรถเพื อรอดูความ ชัดเจนของราคา และสิทธิประโยชน์ตา่ งๆ ที จะได้ รับ แต่โดยรวมทังปี Q คาดว่าประเด็นดังกล่าวอาจไม่กระทบมากต่อจํานวน ยอดขายรถยนต์โดยรวมทว่าจะไปกระทบต่อการผลิตรถยนต์สาํ หรับขายในประเทศเป็ นบางรุ่น โดยหากพิจารณาแบ่งเป็ น ยอดขายตามประเภทรถยนต์แล้ ว รถยนต์ในกลุม่ อีโค คาร์ อาจมีจํานวนยอดขายที ปรับระดับเพิม ขึ Qนจากในปี นี Q ขณะที รถ PPV ซึง ถูกปรับเพิม ภาษีขึ Qนและส่งผลต่อราคาขายที ปรับเพิ มขึ QนมากนันQ น่าจะมีทิศทางที หดตัวลงในปี หน้ านี Q เนื องจาก ผู้บริ โภคส่วนหนึง น่าจะเร่งซื Qอรถในกลุม่ นี Qไปก่อนล่วงหน้ าในช่วงปลายปี 2558 ที ระดับภาษี สรรพสามิตยังไม่ปรับขึ Qน ซึง จํานวนยอดขายที ปรับเพิม ขึ Qนและลดลงของรถยนต์แต่ละประเภทนี Q ทําให้ โดยเฉลีย แล้ วการขึ Qนภาษี สรรพสามิตอาจจะ ไม่ใช่ปัจจัยหลักที กระทบต่อยอดขายรถยนต์โดยตรง เท่ากับปั จจัยด้ านกําลังซื Qอ ของผู้บริ โภคที ยงั อยูใ่ นระดับตํ าและความ เข้ มงวดในการปล่อยสินเชื อรถยนต์ที นา่ จะยังอยูใ่ นระดับสูง โครงสร้ างภาษี สรรพสามิตสําหรับรถยนต์ที จะบังคับ ใช้ 1 มกราคม 2559
ที มา: กรมสรรพสามิต, รวบรวมโดยศูนย์วิจยั กสิกรไทย
อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในปี RRS มีดชั นีผลผลิตอยู่ที ระดับ WWY. R เพิ มขึ Qน ร้ อยละ X. X เมื อเทียบกับปี ก่อน โดยกลุม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปรับตัวเพิ มขึ Qนร้ อยละ W.RRเมื อเทียบกับ ปี ก่อน เนื องจาก IC เป็ นชิ Qนส่วนส าคัญในการพัฒนาสินค้ าที มีการใช้ เทคโนโลยีที สงู ขึ Qน ส่วนกลุม่ อุตสาหกรรม ไฟฟ้ามีการปรับตัวเพิ มขึ Qนร้ อย ละ W . W เมื อเทียบกับปี ก่อน เนื องจากเครื องปรับอากาศสามารถขยายตัวได้ ทังตลาดในประเทศและตลาดส่ Q งออกหลัก ต่อเนื องมาตังแต่ Q ต้นปี และเครื องซักผ้ ามีการขยายตัวอย่างมากใน ไตรมาสที เนื องจากผู้ผลิตบางรายมีการขยายก าลัง การผลิต โดยเริ มผลิตและส่งออกตังแต่ Q เดือนสิงหาคมที ผ่านมา การส่งออกเครื องใช้ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในปี RRS มี มูลค่า R , R ล้ านเหรี ยญสหรัฐ ลดลงร้ อยละ W.W เมื อเทียบกับปี ก่อน โดยการส่งออกไปตลาดหลักปรับตัวลดลงเกือบ ทังหมด Q ได้ แก่ อาเซียน สหภาพยุโรป จีน และญี ปนุ่ ยกเว้ นสหรัฐอเมริ กาที ปรับตัวเพิ มขึ Qน ในปี RXY คาดว่าอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์มกี ารผลิตเพิ มขึ Qนร้ อยละ . เมื อเทียบกับปี ก่อน โดย อุตสาหกรรมไฟฟ้าคาดว่ามีการผลิตเพิ มขึ Qนร้ อยละ . เมื อเทียบกับปี ก่อน จากการฟื นQ ตัวของตลาดใน ประเทศและการ
ส่งออกตามภาวะเศรษฐกิจที ดขี ึ Qน ส าหรับอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์จะมีการผลิตเพิ มขึ Qน ร้ อยละ . เมื อเทียบกับปี ก่อน เนื องจากIC เป็ นชิ Qนส่วนสําคัญในการพัฒนาสินค้ าที มกี ารใช้ เทคโนโลยีที สูงขึ Qน (ที มา : สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม) อุต สาหกรรมชิน9 ส่ วนเครื อ งจัก รกลเกษตร ประเทศไทยมีขนาดของตลาด (Market size) รถแทรกเตอร์ การเกษตรปี ละประมาณ 70,000 คัน โดยมีการ ประกอบรถในประเทศ 60,000 คัน นําเข้ า 16,917 คัน ส่งออก 7,891 คัน โดยปั จจุบนั มีผ้ ผู ลิตหลักในประเทศเพียง 2 ราย ที เหลือเป็ นรายเล็กที นําเข้ าชิ Qนส่วนสําเร็ จมาประกอบในประเทศ ผู้ผลิตภายในประเทศมีสดั ส่วนการตลาดประมาณ ร้ อยละ 70 ของปริ มาณการขายและที เหลือตลาดเป็ นของผู้นําเข้ า (รวมการนําเข้ ารถใหม่และรถมือสอง) และหากประเมิน โครงสร้ างตลาดจําแนกตามภาค พบว่า ภาคอีสานเป็ นตลาดที ใหญ่ที สดุ คิดเป็ นสัดส่วนตลาดประมาณ ร้ อยละ 60 ของ การขายรถแทรกเตอร์ ทงหมด ัQ (ที มา : สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม) ในปี RRV ประเทศไทยส่งออกเครื องจักรกลการเกษตรมูลค่า Y,W S ล้ านบาท และคาดว่าในปี RRS การ ส่งออกจะขยายตัวเพิ มขึ Qนร้ อยละ WY หรื อ คิดเป็ นมูลค่า ,WS ล้ านบาท โดยในครึ งแรก(ม.ค.- มิ.ย.) ของปี นี Q ส่งออก WR,VWR ล้ านบาท ไปยังกว่า Y ประเทศทัว โลก ตามนโยบายส่งเสริ มอุตสาหกรรมสินค้ าเครื องจักรกลการเกษตรไทย เนื องจากเป็ นอุตสาหกรรมที มีความสําคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และสร้ างมูลค่าเพิ มของอุตสาหกรรมให้ สูง ขึนQ สินค้ า เครื องจักรกลการเกษตรออกที สํา คัญได้ แก่ แทรกเตอร์ เ ดิน ตาม รองลงมาคือ เครื อ งสีแ ละขัดธัญ พื ช แทรกเตอร์ เพื อการเกษตร เครื องสูบนํ Qา และเครื องเกี ยวนวดข้ าว เป็ นต้ น สินค้ าดังกล่าวเดิมทีเป็ นสินค้ าที กลุม่ ประเทศใน อาเซียนต้ องการ เพื อใช้ ทํานาและทําไร่ ธัญพืช แต่กลุม่ เป้าหมายใหม่ที มีความสนใจในสินค้ าเครื องจักรกลเกษตรไทย อาทิ ประเทศในแถบแอฟริ กา ที ภาครัฐมีนโยบายพัฒนาการเกษตรในประเทศคล้ ายคลึงกับการทําเกษตรของไทย จึงให้ ความสนใจในนวัตกรรมของเราเป็ นอย่างมาก ขณะเดียวกันประเทศเพื อนบ้ านอย่างกัมพูชามีสภาพเศรษฐกิจที ขยายตัว อย่างต่อเนื อง ผู้บริ โภคระดับบนเริ มหันมาสนใจสุขภาพมากขึ Qน ต้ องการสินค้ าเพื อสุขภาพ โดยเฉพาะผักและผลไม้ ที ปลอดสารพิษ ประกอบกับนโยบายภาครัฐยังส่งเสริ มให้ มีการสร้ างมูลค่าเพิ มให้ สนิ ค้ าเกษตร เพื อขจัดปั ญหาความยากจน ทําให้ ภาคเกษตรต้ องการเครื องจักรกลและอุปกรณ์ทางการเกษตรที มีประสิทธิภาพมากยิ งขึ Qน (ที มา : กรมส่งเสริ มการค้ า ระหว่างประเทศ) 5.2.3 แนวโน้ ม เศรษฐกิจ ในปี 2560 ทิศทางของภาคอุตสาหกรรมในปี RXY คาดว่าน่าจะมีแรงส่งที ดีขึ Qนจากภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศที นา่ จะ ฟื นQ ตัวได้ ตอ่ เนื องจากปี RRS นําโดยการลงทุนภาครัฐ และภาคการท่องเที ยว ด้ านอุปสงค์ภายในประเทศนันQ การบริ โภค และการใช้ จา่ ยภาคเอกชนคาดว่าจะเร่งขึ Qนจากรายได้ ของเกษตรกรที ปรับดีขึ Qนจากผลของราคาสินค้ าเกษตรที กลับมามี ทิศทางขยายตัวได้ อกี ครังQ ประกอบกับภาครัฐน่าจะมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจออกมาอย่างต่อเนื อง ส่วนการลงทุน ภาคเอกชน จะสามารถเติบโตได้ ตามการลงทุนของภาครัฐ โดยเฉพาะการลงทุนโครงสร้ างพื Qนฐานด้ านการคมนาคมทีเ ม็ด เงินลงทุนจะสามารถเข้ าสูร่ ะบบได้ มากยิ งขึ Qนในปี RXY รวมถึง การสนับสนุนการลงทุนใน WY อุตสาหกรรมเป้าหมาย กลไกขับเคลือ นเศรษฐกิจไทย, การส่งเสริ มการลงทุนภายใต้ แผนการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (ECC), การ ส่งเสริ มการลงทุนในเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื อยกระดับประเทศเข้ าสู่ “ประเทศไทย .Y” ขณะที อปุ สงค์จากต่างประเทศ มีความเป็ นไปได้ วา่ จะสามารถขยายตัวได้ ดกี ว่าในปี RRS จากการฟื นQ ตัวที แข็งแกร่งขึ Qนของภาวะเศรษฐกิจและการค้ าโลก นําโดยการเติบโตของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที คาดว่าจะมีทิศทางที ดขี ึ QนภายหลังจากการเลือกตังQ และอีกปั จจัยทีค าดว่าจะ
สนับสนุนความต้ องการสินค้ าในภาคอุตสาหกรรมก็คือ การท่องเที ยวในปี RXY ทีย งั ขยายตัวได้ ดี โดยกระทรวงการ ท่องเที ยวและกีฬาได้ ตงเป้ ั Q าหมายรายได้ จากการท่องเที ยวในปี RXY ไว้ ที .R ล้ านบาท เพิ มขึ Qนจากปี RRS ที มเี ป้าหมาย รายได้ . ล้ านบาท ซึง จะมีการกระตุ้นการท่องเที ยวอย่างต่อเนือ ง เช่น มาตราการยกเว้ นค่าทําเนียมการตรวจลงตรา (วี ซ่า) ให้ นกั ท่องเทีย วต่างชาติ W,YYY บาทต่อคนเป็ นการชัว คราวที จะช่วยเพิ มจํานวนนักท่องเที ยวได้ , การจัดรูปแบบ กิจกรรมรื นเริงต่าง ๆ ให้ เหมาะสมกับสถานการณ์และเข้ ากับบรรยากาศของประเทศ เป็ นต้ น ด้ านปั จจัยที ต้องให้ ความสําคัญอย่างต่อเนื องในปี RXY ประกอบด้ วย แนวโน้ มการค้ าโลกที ยงั มีความไม่แน่นอน จากการดําเนินนโยบายด้ านการค้ าของสหรัฐฯ ภายใต้ ประธานาธิ บดีคนใหม่ที มีแนวโน้ มกีดกันการค้ า, การขอแยกตัว ของสหราชอาณาจักรจากสหภาพยุโรป (Brexit), การฟื Qนตัวของเศรษฐกิ จยุโรป ญี ปุ่น และจี น ที อาจไม่เป็ นไปตาม คาดหมาย, ความผันผวนของตลาดเงินตลาดทุนจากความแตกต่างของนโยบายการเงิน การคลัง ในประเทศเศรษฐกิจแกน หลักของโลก รวมทังQ แนวโน้ มการปรั บขึนQ อัตราดอกเบียQ ของธนาคารกลางสหรั ฐฯ เป็ นต้ น (ที มา : สภาอุตสาหกรรม เศรษฐกิจไทย)
5.3 การจัด หาผลิต ภัณฑ์ แ ละบริก าร 5.3.1 โรงงานและสํานัก งาน โรงงานและสํานักงานของบริษัท ตังอยู Q ภ่ ายในเขตอุตสาหกรรมโรจนะ ตําบลหนองบัว อําเภอบ้ านค่าย จังหวัด ระยอง ณ ปี 2559 มีเนื Qอที 14 ไร่ 149.6 ตารางวา มีอาคารทังหมดจํ Q านวน 8 อาคาร เป็ นอาคารสํานักงาน 2 อาคาร ประกอบด้ วยอาคารสํานักงานชันเดี Q ยว และอาคารสํานักงาน 3 ชันQ พร้ อมอาคารโรงงานและคลังสินค้ า 6 อาคาร ใน 5.3.2 กําลังการผลิต บริ ษัทมีกําลังการผลิตรวมในช่วงปี 2557 ถึงปี 2559 ดังนี Q หน่วย: ตัน ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 กําลังการผลิต* ,RYY ,XYY 2,600 ปริ มาณการผลิต W, XR W, XY 1,456 อัตราการใช้ กําลังการผลิต (ร้ อยละ) RW RX 56 หมายเหตุ: *กําลังการผลิตของบริษัทคํานวณโดยใช้ ปริมาณการใช้ วตั ถุดบิ ในการผลิตของเครื องแต่ละขนาดคูณกับจํานวนเครื องแต่ละขนาดใน ช่วงเวลานันๆ Q
จะเห็นได้ ว่า กําลังการผลิต และปริ มาณการผลิต ในปี RRS ไม่แตกต่างกันกับปี RRV แต่ในรายละเอียดนันQ ช่วงต้ นปี มีปริ มาณการผลิตน้ อยกว่า ส่วนในช่วงปลายปี (ไตรมาสที )มีการใช้ กําลังการผลิตที สงู ขึ Qน ซึ งแนวโน้ มในปี RXY นันQ จะมีการใช้ กําลังการผลิตที สงู ขึ Qนเช่นกัน ส่งผลให้ มีการจัดทําแผนการสัง ซื Qอเครื องจักรใหม่เพื อเพิ มกําลังการผลิต ในปี RXY ให้ สอดคล้ องกับความต้ องการของลูกค้ า
5.3.3 ขัน9 ตอนการผลิต
บริ ษัทเป็ นผู้รับจ้ างผลิตชิ Qนส่วนอลูมิเนียมและสังกะสีตามคําสัง ซื Qอของลูกค้ า โดยบริ ษัทจะรับแบบหรื อตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์ และปริ มาณการผลิตเพื อตรวจสอบความสามารถในการออกแบบแม่พิมพ์และความเป็ นไปได้ ในการผลิตสินค้ า ตามแบบที กําหนด จากนันบริ Q ษัทจะวิเคราะห์ต้นทุนในการออกแบบแม่พิมพ์ ต้ นทุนการจัดทําแม่พิมพ์ และต้ นทุนการผลิต แล้ วนําส่งใบเสนอราคาชิ Qนงาน และ/หรื อ แม่พิมพ์ให้ ลกู ค้ าพิจารณา โดยขึ Qนอยู่กบั ลักษณะการว่าจ้ าง เมื อลูกค้ าอนุมตั ิใบ เสนอราคา บริ ษัทจะนําแบบหรื อตัวอย่างผลิตภัณฑ์มาออกแบบแม่พิมพ์โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื อทําการคํานวณและ ขึ Qนรูปแม่พิมพ์เป็ นภาพ 3 มิติ แล้ วจึงส่งให้ บริ ษัทผู้ผลิตแม่พิมพ์ทําการเสนอราคามาให้ กบั บริ ษัท ภายหลังจากการคัดเลือก บริ ษัทผู้ผลิตแม่พิมพ์แล้ วทางบริ ษัทผู้ผลิตแม่พิมพ์จะใช้ ระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในการผลิตแม่พิมพ์ จากนันทางบริ Q ษัท จะมีการตรวจสอบแม่พิมพ์ร่วมกับลูกค้ าโดยการทดลองฉี ดชินQ งานด้ วยแม่พิมพ์ดงั กล่าวและนําชิ นQ ส่วนที ผลิตได้ มาวัด ขนาดด้ วยเครื องวัด 3 แกน (CMM: Co-ordinate Measuring Machine) และนําชิ Qนงานที ผา่ นการตรวจสอบไปส่งให้ ลกู ค้ า ตรวจสอบคุณภาพ และทดลองนําไปประกอบกับชิ Qนงานส่วนอื นๆ เมื อชิ Qนงานดังกล่าวผ่านการพิจารณาจากลูกค้ าแล้ วทางฝ่ ายขายและการตลาดจะติดต่อลูกค้ าเพื อขอรับใบสัง ซื Qอ และแผนการจัดส่งสินค้ า โดยปกติลกู ค้ าจะสัง ซื Qอสินค้ าและกําหนดระยะเวลาในการจัดส่งสินค้ าล่วงหน้ าเป็ นระยะเวลา 1 เดือน และลูกค้ าจะวางแผนการผลิตล่วงหน้ า 1 ปี เพื อให้ บริ ษัทสามารถวางแผนการผลิตและสัง ซื Qอวัตถุดิบ และเตรี ยม อุปกรณ์ตา่ งๆได้ อย่างเหมาะสมและสอดคล้ องกับความต้ องการของลูกค้ า การผลิตชิ Qนงานของบริ ษัท มีขนตอนดั ัQ งต่อไปนี Q จัดเตรี ยมวัตถุดิบ
ฉี ดขึ นรู ป
ตรวจสอบคุณภาพชิ นงานขึ นรู ป
การกลึง เจาะ และการเจียรผิวด้วย เครื3 องจักร
ตรวจสอบคุณภาพชิ นงาน
ตกแต่งชิ นงาน
ตรวสอบคุณภาพ ชิ นงานสําเร็ จ บรรจุ หี บห่อ
• การคัดเลือกและจัดเตรี ยมวัตถุดิบ บริ ษัทจะทําการคัดเลือกผู้จําหน่ายวัตถุดิบตามมาตรฐานวัต ถุดิบที ลูกค้ า ซึ งเมื อบริ ษัทได้ รับวัตถุดิบจากผู้ จําหน่ายแล้ วจะทําตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบเปรี ยบเทียบกับใบรั บประกันคุณภาพวัตถุดิบที ได้ รับจากผู้จัดจําหน่าย วัตถุดิบ เพื อให้ มนั ใจว่าวัตถุดิบดังกล่าวมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการผลิตชินQ งานดังกล่าว จากนันจึ Q งนํายอดสัง ซื Qอจาก ลูกค้ าไปคํานวณปริ มาณวัตถุดิบที ต้องสัง ซื Qอและวางแผนการผลิตต่อไป • การฉีดขึ Qนรูปผลิตภัณฑ์
พนักงานประจําเครื องฉีดจะทําการติดตังแม่ Q พิมพ์และเตรี ยมเครื องจักรให้ พร้ อมใช้ งาน จากนันจะนํ Q าวัตถุดิบมา เข้ าเตาหลอมโดยใช้ ก๊าซธรรมชาติเป็ นเชื Qอเพลิงในการให้ ความร้ อน เพื อหลอมให้ เป็ นของเหลวตามอุณภูมิที กําหนด แล้ ว เครื องฉีดจะทําการฉีดนํ Qาโลหะที หลอมเหลวแล้ วเข้ าไปในแม่พิมพ์ด้วยแรงดันสูง แล้ วทําการลดอุณหภูมิแม่พิมพ์เพื อให้ ชิ Qนงานแข็งตัว เมื อชิ Qนงานเย็นตัวลงแล้ วพนักงานประจําเครื องฉีดจะนําชิ Qนงานออกจากแม่พิมพ์และตกแต่งชิ Qนงานเบื Qองต้ น โดยตัดเศษครี บและทางเดินนํ Qาโลหะสําหรับการฉีดขึ Qนรู ปที เกินออกแล้ วนําเศษดังกล่าวไปหลอมในเตาหลอมเพื อนํามา ผลิตใหม่อีกครังQ • การตรวจสอบคุณภาพชิ Qนงานขึ Qนรูป พนักงานควบคุมคุณภาพสินค้ าจะทําการสุม่ ตรวจสอบขนาดและลักษณะภายนอกของชิ Qนงานให้ เป็ นไปตามที กําหนดโดยมีการกําหนดตําแหน่งสําคัญที ต้องตรวจเช็คสําหรับแต่ละชิ Qนงานด้ วยเครื องมือต่างๆที กําหนด โดยจะมีการสุม่ ตรวจเช็คทุก 1-2 ชัว โมง • การตกแต่งชิ Qนงาน ชิ Qนงานที ผา่ นการตรวจสอบจะถูกนํามาตกแต่งโดยพนักงาน ซึง จะมีการตกแต่งผิวชิ Qนงาน ขัดตกแต่งขอบ เจาะรู และตกแต่งผิวชิ Qนงาน ตามวิธีการทํางานที กําหนดสําหรับแต่ละชิ Qนงาน ทังนี Q Q บริ ษัทอาจทําการว่าจ้ างบริ ษัทภายนอกในการ ตกแต่งชิ Qนงาน หากกําลังการผลิตของบริ ษัทไม่เพียงพอ หรื อมีลกั ษณะของการตกแต่งที เครื องมือของบริ ษัทไม่สามารถทํา ได้ เป็ นต้ น • การตรวจสอบคุณภาพชิ Qนงานตกแต่ง ในการตรวจสอบนี Qจะมีพนักงานควบคุมคุณภาพสินค้ าสุม่ ตรวจเช็คตามข้ อกําหนดในการตรวจเช็คผลิตภัณฑ์แต่ ละชนิด ทังในด้ Q านของรู ปแบบชินQ งานและพื Qนผิวตามที กําหนด โดยจะมีการทําคู่มือระบุตําแหน่งที ต้องตรวจเช็คและวิธี ตรวจเช็คของแต่ละชิ Qนงานตามที กําหนด ซึง จะมีการสุม่ ตรวจเช็คทุก 1-2 ชัว โมง และมีการตรวจสอบความเรี ยบร้ อยจาก การตกแต่งทุกชิ QนอีกครังQ • การกลึง เจาะ และเจียรผิวด้ วยเครื องจักร (Machining) เนื องจากชิ นQ งานบางส่วนจํ าเป็ นจะต้ องมีการตกแต่งด้ วยเครื องจักรเพื อให้ มีความแม่นยําเป็ นพิเศษและได้ คุณภาพตามที ลกู ค้ ากําหนด บริ ษัทจะนําชิ Qนงานที ได้ รับการตกแต่งโดยพนักงานและได้ มีการตรวจสอบคุณภาพแล้ วมา ตกแต่ง เจาะ และเจียรผิวด้ วยเครื องกลึงที ควบคุมด้ วยคอมพิวเตอร์ (Computer Numerical Control หรื อ CNC) ทังใน Q แบบ 2 แกน และ 3 แกน ในจุดที กําหนดตามรูปแบบผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด เพื อให้ สามารถนําไปประกอบกับชิ Qนงานอื นตาม แบบที กําหนดได้ โดยจะมีฝ่ายตรวจสอบคุณภาพทําการสุม่ ตรวจสอบขนาดและลักษณะชิ Qนงานหน้ าเครื องจักรทุกชัว โมง และมีการตรวจสอบโดยใช้ แท่นยึดกําหนดตําแหน่ง (Jig Gauge) เพื อตรวจสอบขนาดและตําแหน่งของส่วนที จะใช้ ประกอบกับชิ Qนส่วนอื นๆว่าเป็ นไปตามที กําหนดทุกชิ Qน ทังQ นี Q บริ ษั ท อาจทํ า การว่า จ้ า งบริ ษั ท ภายนอกในการตกแต่ ง ชิ นQ งานด้ ว ยเครื อ งจัก ร หากชิ นQ งานบางส่ว น จําเป็ นต้ องได้ รับการตกแต่งด้ วยเครื องจักรที มีความแม่นยําเป็ นพิเศษ หรื อมีลกั ษณะที ต้องการการตกแต่งที เครื องจักรของ บริ ษัทไม่สามารถดําเนินการได้ หรื อกําลังการผลิตของบริ ษัทไม่เพียงพอ เป็ นต้ น • การตรวจสอบคุณภาพชิ Qนงานสําเร็ จ ชิ Qนงานที ได้ ผา่ นขันตอนการตกแต่ Q งด้ วยเครื องจักรจะได้ รับการสุม่ ตรวจคุณภาพโดยละเอียด โดยใช้ เครื องมือวัด แกน และเครื องมือต่างๆ ก่อนที จะส่งไปยังคลังสินค้ าเพื อบรรจุหีบห่อต่อไป
• การบรรจุหีบห่อ พนักงานแผนกคลังสินค้ าจะทําการตรวจนับจํานวนสินค้ าให้ ตรงกับป้ายสินค้ า แล้ วบรรจุหีบห่อตามที กําหนด เพื อเตรี ยมการจัดส่งสินค้ าให้ กบั ลูกค้ าต่อไป โดยบริ ษัทมีมาตรการตรวจสอบต้ นทุนโดยกําหนดนโยบายสําหรั บการพิจารณาสําหรั บรายการสินค้ าที ขาย ขาดทุน ซึง ระบุให้ ฝ่ายบัญชีต้นทุนทําการวิเคราะห์ทกุ สิ Qนงวดไตรมาส และมีการติดตามผลของรายการสินค้ าที ขายขาดทุน พร้ อมรายงานให้ แก่ผ้ บู ริ หารทุกๆสิ Qนเดือน 5.3.4 การจัด หาวัต ถุด ิบ ในการผลิต บริ ษัทเป็ นผู้ผลิตชิ Qนส่วนอลูมิเนียมฉีดขึ Qนรู ปและชิ Qนส่วนสังกะสีฉีดขึ Qนรู ปตามคําสัง ซื Qอของลูกค้ า โดยอลูมิเนียม และสังกะสีซึ งเป็ นวัตถุดิบของบริ ษัทจะเป็ นอลูมิเนียมอัลลอยและสังกะสีอลั ลอย ซึ งอลูมิเนียมและสังกะสีซึ งมีสว่ นผสม ของธาตุอื นๆ ทําให้ มีลกั ษณะและคุณสมบัติที แตกต่างกันตามความเหมาะสมของแต่ละชิ Qนงาน ดังนันQ สัดส่วนการสัง ซื Qอ วัตถุดิบจะขึ Qนอยูก่ บั ปริ มาณการสัง ซื Qอสินค้ าแต่ละประเภท โดยที ผา่ นมาชิ Qนงานส่วนใหญ่ที บริ ษัทได้ รับคําสัง ซื Qอเป็ นชิ Qนงาน อลูมิเนียม โดยบริ ษัทมีการสัง ซือQ อลูมิเนียมจากผู้จัดจํ าหน่ายทังQ หมด 7 ราย ซึ งเป็ นผู้จัดจํ าหน่ายในประเทศทังQ หมด เนื องจากบริ ษัทมีนโยบายในการกระจายการสัง ซื Qอวัตถุดิบเพื อป้องกันความเสี ยงจากการพึ งพิงผู้จดั จําหน่ายรายใดราย หนึง จึงได้ กระจายการสัง ซื Qอวัตถุดิบจากผู้จดั จําหน่ายครังQ ละหลายราย โดยปริ มาณการสัง ซื Qอแต่ละรายจะแตกต่างกันตาม ราคาขายวัตถุดิบที ผ้ จู ดั จําหน่ายแต่ละรายเสนอมาซึ งบริ ษัทจะได้ รับใบเสนอราคาวัตถุดิบจากผู้จดั จําหน่ายแต่ละรายทุก เดือน ในการจัดหาวัตถุดิบนันQ บริ ษัทจะให้ ความสําคัญกับคุณภาพวัตถุดิบเป็ นอย่างมาก ทังนี Q Q วัตถุดิบที สงั ซื Qอจะต้ อง อยูใ่ นระดับมาตรฐานตามที กําหนดไว้ โดยบริ ษัทจะดําเนินการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบเบื Qองต้ นจากใบรับรองคุณภาพ วัตถุดิบจากผู้จดั จําหน่ายที มาพร้ อมกับการนําส่งวัตถุดบิ ในแต่ละครังQ จากนันบริ Q ษัทจะตัดชิ Qนส่วนวัตถุดิบไปตรวจสอบว่ามี คุณภาพตามมาตรฐานที ผ้ จู ดั จําหน่ายแจ้ งไว้ ตามใบรับรองหรื อไม่ โดยมีระยะเวลาการสัง ซื Qอสินค้ าประมาณ 1-2 วัน ในการคัดเลือกผู้ขายวัตถุดิบนันQ บริ ษัทจะทําการประเมินผู้ขายวัตถุดิบว่าผ่านเกณฑ์การประเมินของบริ ษัท หรื อไม่ แล้ วจึงรวบรวมรายชื อผู้ที ผา่ นประเมินไว้ ในรายชื อผู้ขายวัตถุดิบ จากนันQ เมื อจะมีการสัง ซื Qอวัตถุดิบดังกล่าว จะทํา การเทียบราคาจากผู้ขายวัตถุดิบในรายชื อที รวบรวมไว้ อย่างน้ อย 2 ราย แล้ วจึงทําการคัดเลือกผู้ขายวัตถุดิบที มีราคาและ เงื อนไขที ดีทสี ดุ โดยบริ ษัทจะทําการประเมินผู้ขายวัตถุดิบทุกปี ปี ละครังQ 5.3.5 ผลกระทบต่ อ สิ งแวดล้ อ ม บริ ษัทตระหนักถึงผลกระทบที อาจเกิดขึ Qนต่อสิ งแวดล้ อมและมีมาตรการในการป้องกันปั ญหามลภาวะต่างๆ เพื อให้ แน่ใจว่าการผลิตของบริ ษัทจะไม่ก่อให้ เกิดผลกระทบต่อสิ งแวดล้ อม นอกจากนี Qบริ ษัทยังได้ จดั สรรงบประมาณใน การดูแลสิง แวดล้ อมอย่างเพียงพอ โดยได้ สร้ างบ่อบําบัดนํ Qาเสียภายในโรงงาน และได้ วา่ จ้ างบริ ษัทภายนอก เข้ ามาจัดการ และกําจัดของเสียจากกระบวนการผลิตของบริ ษัท เช่น นํ Qามันใช้ แล้ ว ภาชนะปนเปื อQ น และกากตะกอนจากการบําบัดนํ Qา เสีย เป็ นต้ น นอกจากนี Q บริ ษัทยังได้ รับการรับรองการจัดการสิ งแวดล้ อมของบริ ษัทตามมาตรฐานสากล ISO 14001:2004 เมื อวันที 15 กรกฎาคม 2551 และยังได้ รับเกียรติบตั รการเป็ นสถานประกอบการอุตสาหกรรมที ดําเนินงานตามหลักเกณฑ์
ธรรมาภิบาลสิ งแวดล้ อม ในโครงการธรรมาภิบาลสิ งแวดล้ อม กระทรวงอุตสาหกรรม และใบรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที 3 จากการบริ หารจัดการสิ งแวดล้ อมอย่างเป็ นระบบ มีมาตรการประเมินผล และทบทวนเพื อการพัฒนาอย่าง ต่อเนื อง และได้ รับรางวัล CSR DIW จากกระทรวงอุตสาหกรรม เมื อเดือนกันยายนปี 2556 ซึ งเทียบเท่ากับ ISO 26000 เป็ นการพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมให้ มีความรับผิดชอบร่วมกันของสังคม
5.4 งานที ยังไม่ ไ ด้ ส่ งมอบ แม่พิมพ์สาํ หรับผลิตงานเพื อจําหน่ายให้ กบั ลูกค้ า โดยมีมลู ค่าจ่ายล่วงหน้ า 9,060,600 บาท เนื องมาจากการทํา ข้ อตกลงในการชําระค่าสินค้ ามีการแบ่งจ่ายเป็ นงวด โดยงวดสุดท้ ายคืออนุมตั ิชิ Qนงานเพื อทําการผลิต
6. ปั จ จัย ความเสี ย ง ปั จจัยความเสี ยงในการประกอบธุรกิจของบริ ษัทที อาจมีผลกระทบต่อการดําเนินงานและผลประกอบการของ บริ ษัทอย่างมีนยั สําคัญ และแนวทางในการป้องกันความเสีย ง สามารถสรุปได้ ดงั นี Q
6.1 ความเสี ยงจากการพึ งพิงลูก ค้ ารายใหญ่ บริ ษัทประกอบธุรกิจในลักษณะผลิตสินค้ าตามคําสัง ซื Qอของลูกค้ า โดยในปี 2559 บริ ษัทมีลกู ค้ ารายใหญ่ซึ งมี สัดส่วนยอดขายต่อรายได้ จากการขายรวมมากกว่าร้ อยละ 10 จํานวน 2 ราย คิดเป็ นสัดส่วนรายได้ เท่ากับร้ อยละ 38.32 ของรายได้ จากการขายและให้ บริ การทังหมด Q โดยในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีรายได้ จากกลุ่มลูกค้ าที มี ยอดขายสูงสุด 10 อันดับแรก คิดเป็ นสัดส่วนร้ อยละ 82.94 ร้ อยละ 85.22 และร้ อยละ 80.63 ของรายได้ จากการขายและ ให้ บริ การทังหมด Q ทําให้ รายได้ ของบริ ษัทอาจได้ รับผลกระทบหากกลุม่ ลูกค้ ารายใหญ่ดงั กล่าวมีการเปลี ยนแปลงนโยบาย ในซื Qอสินค้ าของบริ ษัท อย่างไรก็ตาม กลุม่ ลูกค้ ารายใหญ่ดงั กล่าวได้ มีการซื Qอสินค้ าบริ ษัทอย่างต่อเนื องมาเป็ นระยะเวลานาน โดยบริ ษัท มีการประสานงานกับลูกค้ าอย่างสมํ าเสมอเพื อที จะทราบแนวโน้ มการเปลีย นแปลงคําสัง ซื Qอสินค้ าจากลูกค้ า ซึ งลูกค้ าส่วน ใหญ่จะมีการประมาณการณ์ยอดผลิตล่วงหน้ าให้ แก่บริ ษัทเป็ นเวลาประมาณ 1 เดือน จึงทําให้ บริ ษัทสามารถคาดการณ์ การเปลี ยนแปลงของยอดสัง ซื Qอจากลูกค้ าแต่ละรายได้ ในระดับหนึ ง อีกทังQ บริ ษัทมีการกําหนดนโยบายด้ านสัดส่วนของ ยอดขายต่อลูกค้ าแต่ละรายต้ องไม่เกินร้ อยละ 30 ของยอดขายรวม เพื อป้องกันผลกระทบต่อรายได้ หากมีการเปลีย นแปลง ยอดผลิตของลูกค้ ารายใหญ่
6.2 ความเสี ยงจากความผัน ผวนของราคาวัต ถุด บิ บริ ษั ทฯ ดําเนินธุ รกิ จ ผลิต ชิ นQ ส่วนเพื อใช้ เป็ นส่ว นประกอบรถยนต์ รถจัก รยานยนต์ อุปกรณ์ เครื องใช้ ไ ฟฟ้า เครื องจักรกลเกษตรและอื นๆ ซึ งต้ องใช้ อลูมิเนียมแท่งเป็ นวัตถุดิบหลักซึ งโดยคิดเป็ นสัดส่วนของต้ นทุนขายในปี 2559 ประมาณร้ อยละ 33.14 ของต้ นทุนขายและให้ บริ การทังหมด Q โดยในช่วงตังแต่ Q ปี 2554 ราคาอลูมิเนียมมีความผันผวน เกิดขึ Qนเล็กน้ อย โดยจะเห็นได้ จากราคาอลูมิเนียมในตลาดโลกที ลดลงจาก 2,024 ดอลลาร์ สหรัฐฯต่อตัน ในเดือนธันวาคม 2554 เป็ น 1,727 ดอลลาร์ สหรัฐฯต่อตัน ในเดือนธันวาคม 2559 หรื อลดลงร้ อยละ 14.65 ในช่วงเวลาดังกล่าว และการ เปลีย นแปลงของราคาวัตถุดิบหลักเป็ นผลมาจากความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจโลกและความกังวลในเรื องของหนี Q สาธารณะในกลุม่ ยูโรโซน และผู้บริ โภคที เป็ นตลาดหลัก เช่น สหรัฐอเมริ กา สหภาพยุโรป และญี ปนุ่ ประสบภาวะเศรษฐกิจ ชะลอตัวก็เป็ นปั จจัยที ทําให้ ราคาอลูมิเนียมมีการปรับตัวลดลง โดยในเดือนธันวาคม 2559 ราคาอลูมิเนียมในตลาดโลก เท่ากับ 1,727 ดอลลาร์ สหรัฐฯต่อตัน ซึง จากระยะเวลา 5 ปี ที ผ่านมามีแนวโน้ มเป็ นไปได้ ที ราคาอลูมิเนียมจะผันผวนปรับ ขึ Qนลงต่อไปตามสถานการณ์โลก
ราคาอลูม ิเ นียมระหว่ างเดือ นธัน วาคม 2554 – เดือ นธัน วาคม 2559
ที มา: Monthly world prices of commodities and indices, World Bank ปั จจัยหลักของราคาทีผ นั ผวนเป็ นผลมาจากการผลิตที เกินความต้ องการของตลาดจากนโยบายการควบคุมการ ส่งออกวัตถุดิบในหลายประเทศ ซึ งรวมถึงการห้ ามส่งออกอะลูมินาของอินโดนีเซีย ที มีผลบังคับใช้ ตงแต่ ั Q ช่วงต้ นปี พ.ศ. RR หลังจากที สต็อกวัตถุดิบในการผลิตอะลูมิเนียม เริ มปรับลดลง จากการที มีการกักตุนเข้ าไปมากในช่วงก่อนสิ Qนปี พ.ศ. RRX เพื อรองรับมาตรการห้ ามส่งออกอะลูมินาของอินโดนีเซียดังกล่าว โดยมีการประเมินว่าแนวโน้ มราคาโลหะ อะลูมิเนียมจะปรั บเพิ มขึนQ เฉลี ย R.YR% ต่อปี ตลอดช่วง ปี พ.ศ. RR – พ.ศ. RX จากอิทธิ พลของความต้ องการใช้ อะลูมิเนียมในโลกที ยงั คงปรับเพิ มขึ Qนอย่างต่อเนื อง ขณะที ระดับการผลิตอะลูมิเนียมของทังโลกจะขยายตั Q วในอัตราที ต่า กว่า .WR% ต่อปี ตลอดช่วงเวลาเดียวกัน ทังนี Q Q จากความต้ องการใช้ อะลูมิเนียมที มีทิศทางเพิ มขึ Qน แต่ในด้ านการผลิต อะลูมิเนียมของผู้ผลิตในโลกกลับมีแนวโน้ มการผลิตที ไม่เพียงพอกับความต้ องการใช้ โดยประเมินว่าปี พ.ศ.2557 – พ.ศ. RRS จะเกิดอุปทานขาดแคลนและในช่วงปี พ.ศ.2561 – พ.ศ. RX จะมีอปุ ทานขาดแคลนราว Y.W , .YR และ .S ล้ าน ตัน ตามลําดับ และจากปั จจัยดังกล่าวทําให้ คาดการณ์ว่าทิศทางราคาของโลหะอะลูมิเนียมจะต่าสุดที ประมาณ W, YY เหรี ยญสหรัฐฯต่อตันใน ปี พ.ศ. RXW ทังนี Q Q จากการที ราคาอลูมิเนียมลดลงส่งผลกระทบเชิงบวกกับบริ ษัทด้ านต้ นทุนการผลิตลดลงมีการตกลงกับ ลูกค้ าบางรายให้ สามารถเปลีย นแปลงราคาของสินค้ าให้ สอดคล้ องกับราคาวัตถุดิบได้ เมื อราคาวัตถุดบิ เพิ มขึ Qนจนถึงระดับ ตามที ตกลงไว้ หรื อมีการทบทวนราคาขายเป็ นระยะตามรอบเวลาที กําหนด อย่างไรก็ตาม บริ ษัทอาจมีความเสี ยงในกรณี ที ไม่สามารถปรับราคาสินค้ าให้ สอดคล้ องกับราคาวัตถุดิบที เปลี ยนไปได้ ทงหมด ัQ เช่น ราคาของวัตถุดิบมิได้ เปลี ยนแปลง จนถึงระดับที กําหนดไว้ หรื อต้ นทุนในการผลิตเพิ มขึ Qนในขณะที ยงั ไม่ถึงรอบระยะเวลาทบทวนราคาขาย ทังนี Q Q บริ ษัทได้ มี การติดตามความเคลือ นไหวราคาอลูมิเนียมในตลาดอย่างใกล้ ชิด เพื อป้องกันผลกระทบจากความผันผวนดังกล่าว ในด้ านของการสัง ซื Qออลูมิเนียมซึ งวัตถุดิบหลักในการผลิตนันQ บริ ษัทได้ มีการวางแผนการสัง ซื Qอวัตถุดิบล่วงหน้ า ตามแผนการผลิตของบริ ษัท นอกจากนี Qบริ ษัทได้ คดั เลือกผู้จัดจําหน่ายอลูมิเนียมที มีคณ ุ สมบัติและคุณภาพตามความ ต้ องการในการผลิตไว้ ทงสิ ั Q Qน 13 ราย เพื อกระจายการสัง ซื Qอในแต่ละงวด เป็ นการลดความเสี ยงจากการขาดแคลนวัตถุดิบ ในการผลิต
6.3 ความเสี ย งจากการที แ ม่ พ มิ พ์ ท เี ป็ นกรรมสิท ธิ\ข องลูก ค้ าเสื อ มสภาพ เนื องจากแม่พิมพ์ ที บริ ษัทใช้ ผลิตชิ นQ งานมีทงั Q ส่วนที เป็ นกรรมสิทธิ ของบริ ษัทและเป็ นกรรมสิทธิ ของลูกค้ าซึ ง แม่พิมพ์ที เป็ นกรรมสิทธิ ของลูกค้ านันต้ Q องได้ รับความยินยอมจากลูกค้ าก่อนที จะสามารถทําการซ่อมแซมหรื อจัดทําใหม่ได้ หากแม่พิมพ์ดงั กล่าวเสือ มสภาพและบริ ษัทดําเนินการผลิตชิ Qนงานดังกล่าวต่อไปเพื อรักษาสัมพันธภาพกับลูกค้ าบริ ษัทจะ มีต้นทุนที เพิ มขึ Qนจากการตกแต่งชินQ งานเพิ มเติมหรื อชินQ งานที ไม่ได้ คุณภาพ ซึ งหากบริ ษัทใช้ เวลาในการซ่อมแซมหรื อ จัดทําแม่พิมพ์ ใหม่ล่าช้ า เนื องจากลูกค้ าใช้ เวลานานในการอนุมตั ิหรื อผู้รับจ้ างทําแม่พิมพ์จัดทําได้ ช้าก็ตาม จะส่งผล กระทบต่อผลการดําเนินงานของบริ ษัทได้ อย่างไรก็ตาม บริ ษัทได้ กําหนดอายุการใช้ งานของแม่พิมพ์และจะทําการติดต่อ เจรจากับลูกค้ าก่อนที แม่พิมพ์จะหมดสภาพ เพื อให้ ลกู ค้ าทราบเงื อนไขดังกล่าวและประมาณการณ์ระยะเวลาในการจัดทํา แม่พิมพ์ใหม่ในส่วนที ลกู ค้ าอาจมีความล่าช้ าในการอนุมตั ิการจัดทําแม่พิมพ์ใหม่
6.4 ความเสี ยงจากการพึ งพิงผู้บ ริห ารและบุค ลากรที ม ีป ระสบการณ์ แ ละความสามารถ ธุรกิจของบริ ษัทเป็ นธุรกิจที ต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ รวมถึงประสบการณ์ของบุคลากรในการดําเนินงาน โดยเฉพาะอย่างยิ งในด้ านการออกแบบแม่พิมพ์ ซึ งจะมีผลกระทบโดยตรงต่อความเป็ นไปได้ ในการผลิต คุณภาพของ ชิ Qนงาน และของเสียที อาจจะเกิดขึ Qนจากการผลิต ซึง ต้ องอาศัยความรู้ และความชํานาญเฉพาะด้ านของบุคลการเป็ นหลัก โดยเฉพาะวิศวกรผู้เชี ยวชาญในด้ านการออกแบบแม่พิมพ์ที มีประสบการณ์ การสูญเสียบุคลากรเหล่านี Qย่อมส่งผลกระทบ ต่อการดําเนินงานและความสามารถในการแข่งขันของบริ ษัท ซึ ง ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทมีบคุ ลากรที มีความรู้ และทัก ษะในการออกแบบแม่ พิ ม พ์ จํ า นวน 10 คน โดยมี ร ะยะเวลาในการทํ า งานกับ บริ ษั ท เฉลี ย กว่ า 8 ปี และมี ประสบการณ์ทํางานด้ านแม่พิมพ์เฉลีย 18 ปี อย่างไรก็ ตาม บริ ษัทมีก ารมอบหมายหน้ าที และความรั บ ผิดชอบในการทํ างานให้ แก่ผ้ ูบริ หารท่านอื น และ พนักงานแต่ละฝ่ ายงานอย่างชัดเจน มีระบบการจัดเก็บข้ อมูลและฐานข้ อมูลที ดี ตลอดจนมีการแลกเปลี ยนข้ อมูลข่าวสาร ต่างๆ ที เกี ยวข้ องระหว่างผู้บริ หารและพนักงานบริ ษัทอย่างสมํ าเสมอ รวมทังมี Q การฝึ กอบรมพนักงานให้ เกิดความรู้ ความ เข้ าใจด้ านคุณภาพและมาตรฐานการตรวจสอบต่างๆ และส่งพนักงานเข้ ารับการอบรมภายนอก เป็ นการลงทุนด้ านการ พัฒนาบุคลากรของบริ ษัท ให้ มีความรู้ความเข้ าใจในการดําเนินงานของบริ ษัทเป็ นอย่างดี โดยเฉพาะความรู้ และทักษะใน การออกแบบแม่พิมพ์ ซึง บริ ษัทได้ จดั การให้ มีการถ่ายทอดความรู้ทงในหน่ ัQ วยงานและจัดให้ มีการฝึ กอบรมภายนอกบริ ษัท ซึง สามารถลดความเสีย งจากการพึง พิงผู้บริ หารและบุคลากรหลักของบริ ษัทได้
6.5 ความเสี ยงจากการควบคุม คุณภาพ คุ ณ ภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ป็ นหนึ ง ในปั จ จั ย ที สํ า คั ญ ในอุ ต สาหกรรมการยานยนต์ ที ผ้ ู ผลิ ต รถยนต์ แ ละ รถจักรยานยนต์ให้ ความสําคัญเป็ นอย่างมาก เนื องจากจะมีผลโดยตรงทังด้ Q านชื อเสียงและยอดขายของผู้ผลิตรถยนต์และ รถจักรยานยนต์ดงั กล่าวโดยตรง ซึง ความผิดพลาดในด้ านคุณภาพนันQ อาจทําให้ บริ ษัทสูญเสียลูกค้ า และอาจถูกยกเลิก สัญญาหากไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ได้ ตรงตามมาตรฐาน ซึง จะส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานและความน่าเชื อถือของ บริ ษัทในอุตสาหกรรม ด้ วยเหตุนี Qบริ ษัทจึงได้ ตงเป้ ั Q าหมายที จะลดข้ อผิดพลาดในด้ านคุณภาพของผลิตภัณฑ์โดยกําหนด KPI ด้ านของเสียอย่างชัดเจน อีกทังบริ Q ษัทได้ เน้ นถึงความสําคัญด้ านคุณภาพโดยได้ ลงทุนในอุปกรณ์สําหรับตรวจสอบ
และควบคุมคุณภาพให้ เป็ นไปตามมาตรฐานตามที ลกู ค้ ากําหนดไว้ เพื อสร้ างความพึงพอใจให้ กบั ลูกค้ า รวมทังสามารถ Q สร้ างความน่าเชื อถือในการดําเนินธุรกิจภายใต้ มาตรฐานสากลอีกด้ วย
6.6 ความเสี ย งจากการเปิ ดเสรี ท างการค้ าระหว่ างประเทศและการเปลี ย นแปลงนโยบาย ของรั ฐบาล เนื องจากบริ ษัททําธุรกิจเกี ยวเนื องกับการผลิตและจําหน่ายชิ Qนส่วนยานยนต์ บริ ษัทจึงอาจได้ รับผลกระทบทังใน Q เชิงบวกและในเชิงลบจากการเปลี ยนแปลงของภาษี ศลุ กากรและการกีดกันทางการค้ า เช่น การเปลี ยนแปลงภาษี นําเข้ า ของชิ Qนส่วนยานยนต์จะกระทบความสามารถของบริ ษัทในการแข่งขันกับผู้ผลิตจากต่างประเทศ ยกตัวอย่างเช่น การลด ภาษี นําเข้ าชิ นQ ส่วนอาจทําให้ ค่แู ข่งต่างประเทศสามารถแข่งขันกับบริ ษัททางด้ านราคาและต้ นทุนได้ มากขึ Qน ทังนี Q Q ใน ปั จจุบนั รัฐบาลได้ มีการตกลงกับประเทศในอาเซียนเกี ยวกับการเปิ ดเสรี ของอุตสาหกรรมรถยนต์ภายใต้ สนธิสญ ั ญาการ เปิ ดเสรี ทางการค้ า AFTA ภายใต้ ข้อตกลงสิทธิพิเศษทางภาษี ปกติ (CEPT) ซึ งการเปิ ดเสรี ภายใต้ ระบบ AFTA ทําให้ ภาษี ศุลกากรสําหรับชินQ ส่วนรถยนต์ที ผลิตภายในอาเซียน ลดเหลือร้ อยละ 0 ถึงร้ อยละ 5 และคาดว่าจะทําให้ ประเทศคู่ค้า ภายในอาเซียนใช้ ประโยชน์ทางภาษี นี Qเพื อเพิ มการค้ าระหว่างกัน นอกจากนี Q ความท้ าทายของธุรกิจผลิตชิ Qนส่วนรถยนต์ เกี ยวกับการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ (FDI) ในหมวดยานยนต์ยังคงเพิ มขึนQ โดยในปี RRS ที ผ่านมามีจํานวน โครงการจากต่างประเทศที ได้ รับการอนุมตั ิการส่งเสริ มการลงทุนในส่วนของธุรกิจที เกี ยวข้ องกับอุตสาหกรรมยานยนต์ ทังหมดจํ Q านวน WRY โครงการ ด้ วยวงเงินลงทุนรวมทังสิ Q Qน X ,WVR ล้ านบาท นอกจากนี Q ถ้ าหากจะเปรี ยบเทียบการลงทุน ทางตรงจากต่างประเทศ มายังประเทศต่างๆ ใน อาเซียนโดยดูจากการลงทุนของนักลงทุนญี ปนุ่ ซึ งถือว่า เป็ นชาติที นกั ลงทุนเข้ ามา ลงทุนในอุตสาหกรรมยานยนต์ในภูมิภาคสูงสุดนันQ พบว่า มีมูลค่าการเข้ ามา ลงทุนในไทยในสัดส่วนที สงู อย่างต่อเนื อง และมากกว่าประเทศคู่แข่งอย่างอินโดนีเซียค่อนข้ างชัดเจน แสดงให้ เห็นว่าไทยเป็ นฐานการลงทุนหลักใน อุตสาหกรรมยานยนต์ของภูมิภาค อีกทังปั Q จจุบนั รัฐบาลได้ มีนโยบายเห็นชอบในหลักการปรับโครงสร้ างภาษี สรรพสามิต รถยนต์ บังคับใช้ W มค. RRS โดยคํานึงถึงการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เป็ นมิตรกับสิ งแวดล้ อม ความปลอดภัย การใช้ พลังงานทดแทนและประสิทธิภาพของรถยนต์ ในการปล่อย CO2Emission โดยยังคงส่งเสริ มอุตสาหกรรมรถยนต์ อย่างต่อเนื อง ไม่ว่าจะเป็ นโครงการลดภาษี สําหรั บรถยนต์อีโคคาร์ รถยนต์พลังงานร่ วมที ให้ ก๊าชเอ็นจีวีร่วมกับนําQ มัน รถยนต์ไฮบริ ด และรถยนต์ที ใช้ แก๊ สโซฮอล์อี 85 เป็ นต้ น ซึ งเป็ นปั จจัยสําคัญต่อทิศทางของอุตสาหกรรมรถยนต์ไทยใน ระยะยาว ซึ งการเปลี ยนแปลงในนโยบายดังกล่าว ส่งผลกระทบเชิงบวกโดยตรงต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ซึ งเป็ นกลุ่ม ลูกค้ าหลักของบริ ษัท อย่างไรก็ตาม บริ ษัทได้ มงุ่ เน้ นในการพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์ และทักษะของบุคคลากรอย่าง เช่น การส่งบุคลากรเข้ าร่วมอบรมสัมมนาต่างๆ รวมทังบริ Q ษัทยังได้ จดั ตังศู Q นย์การเรี ยนรู้ภายในบริ ษัท เพื อเป็ นแหล่งความรู้ ด้ า นเทคโนโลยี ใ นภาคอุต สาหกรรมและการผลิต และให้ เ กิ ด การเรี ยนรู้ การพัฒ นาบุคลากรอย่างต่อเนื องเพื อ เพิ ม ความสามารถในการแข่งขันและเตรี ยมความพร้ อมสําหรับภาวะการแข่งขันที รุนแรงมากขึ Qน และสามารถรองรับการผลิต ของกลุม่ อุตสาหกรรมที หลากหลายมากขึ Qน
6.7 ปั ญหาด้ านการขาดแคลนแรงงาน ปั จจุบนั สถานประกอบการต่างๆมีการแข่งขันในการจ้ างแรงงานที มีทกั ษะ ทําให้ บริ ษัทมีความเสี ยงที จะขาด แคลนแรงงานในการดําเนินงานหรื อต้ องว่าจ้ างพนักงานในอัตราค่าตอบแทนที สงู ขึ Qน หรื ออาจจะสูญเสียแรงงานที มีทกั ษะ ซึ งจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อการดําเนินงานของบริ ษัท อย่างไรก็ตาม ปั จจุบนั บริ ษัทได้ คํานึงถึงสวัสดิภาพของพนักงาน โดยมีสวัสดิการต่างๆ เช่น โรงอาหาร ค่าอาหารกลางวัน ค่าเดินทาง และรถรั บส่งพนักงาน เป็ นต้ น เพื อป้องกันการ เคลื อนย้ า ยแรงงานโดยเฉพาะแรงงานที ใ ช้ ทักษะซึ ง เป็ นกํ าลังสํา คัญ ของบริ ษัท ทังQ นี บQ ริ ษัทยังสามารถว่า จ้ า งสถาน ประกอบการอื นในการดําเนินงานที ต้องใช้ แรงงานเป็ นหลัก เช่น งานตกแต่งชินQ งาน ฉี ดพ่นทําสี เป็ นต้ น เพื อเพิ มความ ยืดหยุน่ ในการผลิตและลดผลกระทบจากการแข่งขันด้ านแรงงาน
6.8 ความเสี ยงจากการที ก ลุ่ม ผู้ถ ือ หุ้น ใหญ่ ท าํ ธุร กิจ ที ใ กล้ เ คียงกับ ธุร กิจ ของบริษัท เนื องจากกลุ่มปิ นทอง ซึ งเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ ของบริ ษัท ในสัดส่วนร้ อยละ 40.32 ของทุนจดทะเบียนชําระ ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 ซึง ประกอบด้ วยบริ ษัทที ดําเนินธุรกิจผลิตชิ Qนส่วนยานยนต์เช่นเดียวกับบริ ษัท ดังนี Q ชื อ ลัก ษณะการประกอบธุร กิจ บริ ษัท ฟุตาบะ เจทีดบั บลิว(ประเทศไทย) จํากัด ผลิตชิ Qนส่วนวัสดุ และส่วนประกอบสําหรับแม่พิมพ์โลหะ บริ ษัท เอ็กซ์เซลเมทัลฟอจจิ Qง จํากัด
ผลิตชิ Qนส่วนยานยนต์ เครื องมือกล เครื องทุน่ แรงทุกชนิด โดย การปั มQ ชิ Qนงาน
บริ ษัท จุฑาวรรณ โมลิเทค (ไทยแลนด์) จํากัด
ผลิตและจําหน่ายสายไฟแบบม้ วนกลับได้ และสปริ งสําหรับ เครื องดูดฝุ่ น บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยลพาร์ ท จํากัด ผลิตชิ Qนส่วนอุปกรณ์เครื องใช้ ไฟฟ้า ชิ Qนส่วนยานยนต์ด้วยการ ขึ Qนรูปด้ วยวิธีอดั ด้ วยความร้ อน (Hot Forging) และอัดแบบ เย็น (Stamping) บริ ษัท จุฑาวรรณ เมทัลแล็บ จํากัด ชุบแข็งโลหะทุกชนิด บริ ษัท เอส.เค.เจ เมตัล อินดัสตรีส์ จํากัด ผลิตเพลา และลวดสแตนเลส บริ ษัท อาร์ คิเท็ค เมทัล เวิร์ค จํากัด ออกแบบและผลิตผลิตภัณฑ์สแตนเลส เนื องจากบริ ษัทในกลุม่ ปิ นทองมีกระบวนการผลิตและใช้ วตั ถุดิบที แตกต่างจากของบริ ษัท ซึ งแต่ละกระบวนการ จะมีความเหมาะสมกับประเภทของชินQ งานที ต่างกัน และได้ ชินQ งานที มีคุณสมบัติแตกต่างกัน จึงไม่มีความเสี ยงที กลุ่ม บริ ษัทดังกล่าวจะมีการดําเนินงานที แข่งขันกับบริ ษัท แต่เป็ นการสนับสนุนกันในด้ านการเปิ ดโอกาสให้ ได้ พบปะลูกค้ าที เคย ใช้ บริ การกลุม่ บริ ษัทดังกล่าวและมีความสนใจผลิตผลิตภัณฑ์ที บริ ษัทดําเนินการอยู่ เป็ นการเพิ มโอกาสทางธุรกิจให้ กับ บริ ษัทด้ วย
7. ข้ อ มูล ทั วไปและข้ อ มูล สําคัญอื น 7.1 ข้ อ มูล ทั วไป ชื อบริ ษัทภาษาไทย ชื อบริ ษัทภาษาอังกฤษ เลขทะเบียนบริ ษัทที ลักษณะการประกอบธุรกิจ ที ตงสํ ั Q านักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร Homepage ทุนจดทะเบียน ทุนที เรี ยกชําระแล้ ว มูลค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ นายทะเบียนหลักทรัพย์
ผู้สอบบัญชี
ที ปรึกษากฎหมาย
: : : :
บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) Sanko Diecasting (Thailand) Public Company Limited 0107552000235 ประกอบธุรกิจผลิตชิ Qนส่วนอลูมิเนียมฉีดขึ Qนรูปและชิ Qนส่วนสังกะสีฉีดขึ Qน รูป : 3/14 หมู่ 2 สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ตําบลหนองบัว อําเภอบ้ านค่าย จังหวัดระยอง 21120 : 038-961-877-80 : Y38-961-624 : www.sankothai.net : 150,340,812.50 บาท : 149,494,502.00 บาท : 0.50 บาท บริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด เลขที 93 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 02 009 9000 โทรสาร. 02 009 9991 บริ ษัท สยาม ทรูธ สอบบัญชี จํากัด 100/2 ชันที Q 22 อาคารว่องวานิช บี ถนนพระราม 9 แขวงห้ วยขวาง เขตห้ วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 02-645-0065 นางสาวชนิดาภา ประดิษฐสิน
8. ข้ อ มูล หลัก ทรัพ ย์ แ ละผู้ถ ือ หุ้น 8.1 จํานวนทุน จดทะเบีย นและทุน ชําระแล้ ว หุ้น สามัญของบริษัท บริ ษัทมีทนุ จดทะเบียนเท่ากับ 150,340,812.50 บาท (หนึง ร้ อยห้ าสิบล้ านสามแสนสีห มื นแปดร้ อยสิบสองบาท ห้ าสิบสตางค์) แบ่งเป็ นหุ้นสามัญจํานวน 300,681,625 หุ้น (สามร้ อยล้ านหกแสนแปดหมื นหนึง พันหกร้ อยยี สบิ ห้ าหุ้น) มูลค่าหุ้นที ตราไว้ เท่ากับหุ้นละ 0.50 บาท (ห้ าสิบสตางค์) โดยปั จจุบนั มีทนุ จดทะเบียนชําระแล้ วเท่ากับ 149,494,502 บาท (หนึง ร้ อยสีส บิ เก้ าล้ านสีแ สนเก้ าหมื นสีพ นั ห้ าร้ อยสองบาทถ้ วน) ใบสําคัญแสดงสิท ธิท จี ะซือ9 หุ้น สามัญของบริษัท ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครังQ ที 1/2555 จัดขึ Qนเมื อวันที 30 พฤษภาคม 2555 ได้ มีมติอนุมตั กิ ารออกและจัดสรร ใบสําคัญแสดงสิทธิที จะซื Qอหุ้นสามัญของบริ ษัท ประเภทระบุชื อผู้ถือและไม่สามารถโอนเปลีย นมือได้ ให้ แก่กรรมการและ พนักงานของบริ ษัท (“ใบสําคัญแสดงสิทธิ”) จํานวน 6,000,000 หน่วย ซึง จะทําการจัดสรรพร้ อมกับการเสนอขายหุ้น สามัญแก่ประชาชนทัว ไปในครังQ นี Qโดยมีราคาเสนอขาย 0 บาทต่อหน่วย และใบสําคัญแสดงสิทธิมอี ายุ 5 ปี นับแต่วนั ที ออก และเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสทิ ธิซื Qอหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในราคาใช้ สทิ ธิ 0.50 บาท ต่อหุ้น (เว้ นแต่จะมีการปรับสิทธิตามหลักเกณฑ์และเงื อนไขที กําหนด) มีการกําหนดเงื อนไขในการใช้ สทิ ธิ โดยนับจากวันที ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ 0.5 ปี ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิสามารถใช้ สทิ ธิครังQ แรกได้ ไม่เกินร้ อยละ 25 ของ ใบสําคัญแสดงสิทธิทงหมดที ัQ ผ้ ถู ือใบสําคัญแสดงสิทธิแต่ละคนได้ รับการจัดสรรจากบริษัท และในทุก ๆ 12 เดือน หลังจาก การใช้ สทิ ธิครังQ แรก ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิสามารถใช้ สทิ ธิได้ ไม่เกินร้ อยละ 50 ร้ อยละ 75 และ ร้ อยละ 100 ของใบสําคัญ แสดงสิทธิทงหมดที ัQ ผ้ ถู ือใบสําคัญแสดงสิทธิแต่ละคนได้ รับจัดสรรจากบริษัท ตามลําดับ ซึง จะทําให้ ทนุ จดทะเบียนและ ชําระแล้ วของบริ ษัทเท่ากับ 113,000,000 บาท ประกอบด้ วยหุ้นสามัญทังหมด Q 226,000,000 หุ้น มูลค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาท ภายหลังจากการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ มทุนแก่ประชาชนทัว ไปในครังQ นี Qและการใช้ สทิ ธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที ออกให้ แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัททังหมด Q ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครังQ ที 1/2558 จัดขึ Qนเมื อวันที 9 กรกฎาคม 2558 ได้ มีมติปรับอัตราการใช้ สทิ ธิในการซื Qอ หุ้นสามัญของใบสําคัญแสดงสิทธิ โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ W หน่วยมีสทิ ธิซื Qอหุ้นสามัญได้ 1.16 หุ้น ราคาใช้ สทิ ธิ 0.43 บาท เนื องจากการขายหุ้นเพิม ทุนให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นเดิม (Right Offering) ในราคาตํา กว่าราคาตลาด ที ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครังQ ที 5/2558 จัดขึ Qนเมื อวันที 13 สิงหาคม 2558 ได้ มีมติปรับราคาการใช้ สทิ ธิไป เป็ น 0.50 บาท เนื องจากพบว่าไม่สามารถกําหนดราคาใช้ สทิ ธิให้ ตํ ากว่าราคาพาร์ ได้ ขัดต่อข้ อกําหนดสิทธิเดิม
8.2 ลําดับ W R X V S WY
ผู้ถ ือ หุ้น ของบริษัท ที ม ีช ือ ปรากฏตามสมุด ทะเบีย นผู้ถ ือ หุ้น ณ วัน ที 30 ธัน วาคม 2559 ประกอบด้ วย รายชื อ
กลุม่ ปิ นทองW/ บริ ษัทไทยบริ การอุตสาหกรรมและวิศวกรรม จํากัด (มหาชน) กลุม่ นายมาซามิ คัตซูโมโต นางสาวบุญธิดา เจริ ญสวัสดิ นายจักรพงษ์ โลหะเจริ ญทรัพย์ นางอภิญาดี อมาตยกุล นายศุภชัย วัฒนาสุวิสทุ ธิ นางสุพิชฌาย์ วาสประเสริ ฐสุข นายเสกสรร ชุโนทัยสวัสดิ อื นๆ รวม
ณ วัน ที ^_ ธัน วาคม Y``a จํานวนหุ้น ร้ อ ยละ W Y,RR ,W Y , S , YY ,VY ,Y WX,X ,VYY S,S ,WYY X,XXX,XXX , RR,WYY ,YYY,YYY ,S ,W XV, WS,VY 298,989,004
Y. W .VV .X R.RX . . W.WX W.YY W.YY .VV 100
หมายเหตุ: W/กลุม่ ปิ นทอง อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของกลุม่ ตระกูลปัทมวรกุลชัย ประกอบธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ธุรกิจเหล็ก และโลหะ ธุรกิจชิ Qนส่วนสําหรับภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจขนส่งและรถเช่า
9.นโยบายการจ่ ายเงิน ปั น ผล บริ ษัทมีนโยบายในการจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น ในอัตราไม่ตํ ากว่าร้ อยละ 30 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี เงิน ได้ นิติบุคคลและทุนสํารองต่างๆ ทังQ หมดแล้ ว ซึ งการจ่ายเงินปั นผลนันจะต้ Q องไม่มีผลกระทบต่อการดําเนินงาน ฐานะ การเงิน สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ ความจําเป็ น ความเหมาะสมอื นใดในอนาคต และปั จจัยอื นๆ ที เกี ยวข้ องในการ บริ หารงานของบริ ษัท ตามที คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาเห็นสมควรหรื อเหมาะสม ทังนี Q Q การดําเนินการดังกล่าวจะต้ อง ก่อให้ เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผู้ถือหุ้น มติคณะกรรมการบริ ษัทซึง พิจารณาเรื องการจ่ายเงินปั นผลต้ องนําเสนอที ประชุมผู้ถือ หุ้นเพื อขออนุมตั ิ ยกเว้ น กรณีการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาล คณะกรรมการบริ ษัทมีอํานาจอนุมตั ิให้ ดําเนินการได้ เมื อเห็น ว่าบริ ษัทมีกําไรสมควรพอที จะจ่ายโดยไม่มีผลกระทบต่อการดําเนินงานของบริ ษัท แล้ วรายงานให้ ที ประชุมผู้ถือหุ้นทราบ ในการประชุมคราวต่อไป
10. โครงสร้ างการจัด การ 10.1 คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัท ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 มีจํานวนทังสิ Q Qน 8 ท่าน ซึง ประกอบด้ วย
ชื อ – สกุล W. นายมาซามิ . นายนาโอะฮิโร/W . นายรัฐวัฒน์ . นางพูนศรี /W R. นายยุทธนา X. นางสาววลัยภรณ์
ตําแหน่ ง คัตซูโมโต ฮามาดา ศุขสายชล ปั ทมวรกุลชัย แต่งปางทอง กณิกนันต์
การประชุม คณะกรรมการ จํานวนครัง9 การ จํานวนครัง9 ที เ ข้ า ประชุม ร่ วมประชุม 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4
ประธานคณะกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิ ส ระ / ประธาน 5 4 กรรมการตรวจสอบ . นายนิพนั ธ์ ตังพิ Q รุฬห์ธรรม กรรมการอิ ส ระ / กรรมการ 5 5 ตรวจสอบ V. นายสันติ เนียมนิล กรรมการอิ ส ระ / กรรมการ 5 5 ตรวจสอบ 1/ หมายเหตุ นางพูนศรี ปั ทมวรกุลชัย และนายนาโอะฮิโร ฮามาดา เป็ นกรรมการที เป็ นตัวแทนจากกลุม่ ปิ นทอง โดยมีนางสาวสกุลทิพย์ ห่อมณีทําหน้ าที เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริ ษัท กรรมการซึง มีอาํ นาจลงลายมือชื อแทนบริ ษัท ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริ ษัท มี 3 คน คือ นายมาซามิ คัตซูโมโต หรื อนายนาโอะฮิโร ฮามาดา หรื อนาย รัฐวัฒน์ ศุขสายชล ลงลายมือชื อร่วมกันเป็ นสองคนและประทับตราสําคัญของบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 มีจํานวนทังสิ Q Qน 3 ท่าน ซึง ประกอบด้ วย การประชุม คณะกรรมการ ชื อ – สกุล ตําแหน่ ง จํานวนครัง9 การ จํานวนครัง9 ที เ ข้ าร่ วม ประชุม ประชุม นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์* ประธานกรรมการตรวจสอบ 4 4 นายนิพนั ธ์ ตังพิ Q รุฬห์ธรรม กรรมการตรวจสอบ 4 4 นายสันติ เนียมนิล กรรมการตรวจสอบ 4 4 หมายเหตุ : *นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์เป็ นกรรมการตรวจสอบที มีความรู้ ความสามารถเพียงพอที จะสามารถทําหน้ าที ในการสอบทานความน่าเชื อถือของงบการเงินได้ โดยสําเร็ จการศึกษา ระดับปริ ญญาตรี สาขาบัญชี และประกาศนียบัตร
ขันสู Q งทางการสอบบัญชี และมีประสบการณ์ ทํางานในด้ านการเป็ นที ปรึ กษาทางด้ านบัญชี เช่น เป็ นที ปรึ กษาทางด้ าน บัญชีให้ แก่บริ ษัท เอสซี ซิสเต็ม เน็ตเวิร์ค จํากัด และบริ ษัท ไอซิ น คลัทช์ ดิสค์ เป็ นต้ น โดยมีการแต่งตังนางสาวประภาพรรณ Q ชนะพาล มาทําหน้ าที เป็ นเลขาคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริห าร คณะกรรมการบริ หาร ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 มีจํานวนทังสิ Q Qน 4 ท่าน ซึง ประกอบด้ วย ชื อ สกุล ตําแหน่ ง นายมาซามิ คัตซูโมโต ประธานคณะกรรมการบริ หาร นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล กรรมการ นายยุทธนา แต่ปางทอง กรรมการ นายประถม ต่อฑีฆะ กรรมการ โดยมีการแต่งตังนางสาวพิ Q มพร ชากิจดี เป็ นเลขานุการคณะกรรมการ
10.2 คณะผู้บ ริห าร คณะผู้บริ หาร ณ วันที 31 มีนาคม 2560 มีจํานวนทังสิ Q Qน 6 ท่าน ซึง ประกอบด้ วย ชื อ – สกุล ตําแหน่ ง นายมาซามิ คัตซูโมโต ประธานบริ ษัท นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล ประธานเจ้ าหน้ าที บริ หารและ ผู้อํานวยการฝ่ ายบริ หารงานทัว ไป นายชิเกฮิโร คัตซูโมโต ที ปรึกษาด้ านการขายและการตลาด นายประถม ต่อฑีฆะ ผู้อํานวยการฝ่ ายโรงงาน นายเกียรติภมู ิ ภูมินนั ท์ ผู้อํานวยการฝ่ ายการขายและการตลาด นางสาวประภาพรรณ ชนะพาล ผู้อํานวยการฝ่ ายบัญชีและการเงิน ขอบเขตอํานาจหน้ าที ของประธานเจ้ าหน้ าที บริ หาร 1. เป็ นผู้บริ หารจัดการและควบคุมดูแลการดําเนินกิจการที เกี ยวข้ องกับการบริ หารงานทัว ไปของบริ ษัท 2. ดําเนินการตามที คณะกรรมการบริ ษัทได้ รับมอบหมาย 3. มีอํานาจจ้ าง แต่งตังQ โยกย้ าย ปลดออก เลิกจ้ าง กําหนดอัตราค่าจ้ าง ให้ บําเหน็จรางวัล ปรับขึ Qนเงินเดือน ค่าตอบแทน เงินโบนัส ของพนักงานทังหมดของบริ Q ษัทตังแต่ Q ตําแหน่งรองประธานเจ้ าหน้ าที บริ หารลงไป 4. มีอํานาจพิจารณาอนุมตั ิรายการกู้ยืมเงินระยะสันQ ภายในวงเงินสําหรับแต่ละรายการที ไม่เกิน 20 ล้ านบาท ต่อปี 5. .อํานาจอนุมตั แิ ก่การดําเนินการใดๆในการบริ หารกิจการของบริ ษัทตามปกติแ ละอัน จําเป็ นแก่ ก ารบริห าร กิจ การของบริ ษัท เป็ นการทั ว ไป เช่น การขายและการให้ บริ การ, การจัดซื Qอวัตถุดิบ, การจ้ างผลิต และ ว่าจ้ างทําของ, การใช้ จ่ายเงินในการบริ หารงานทุกประเภทที เป็ นค่าใช้ จ่ายในการผลิตอื นๆ, การอนุมตั ิการ
ซ่อ มแซมเครื องจัก ร/สาธารณูป โภค ต่าง ๆ และการเช่ า เครื อ งจัก รอุปกรณ์ ในการผลิต /ค่า เช่ า รถขนส่ง พนักงาน/ค่าเช่ารถขนส่งสินค้ า/วัสดุอปุ กรณ์/เครื องมือเครื องใช้ ตา่ งๆ รวมถึงการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ เป็ นต้ นมี อํานาจออกคําสัง ระเบียบ ประกาศ บันทึก เพื อให้ การปฏิบตั ิงานเป็ นไปตามนโยบายและผลประโยชน์ของ บริ ษัท และเพื อรักษาระเบียบวินยั การทํางานภายในองค์กร 6. มีอํานาจกระทําการและแสดงตนเป็ นตัวแทนบริ ษัทต่อบุคคลภายนอกในกิจการที เกี ยวข้ องและเป็ นประโยชน์ ต่อบริ ษัท 7. อนุมตั ิการแต่งตังที Q ปรึกษาด้ านต่างๆ ที จําเป็ นต่อการดําเนินงาน 8. ปฏิบตั ิหน้ าที อื นๆ ตามที ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัทเป็ นคราวๆไป การอนุมตั ิเพื อดําเนินการ ตลอดจนการมอบหมายจากประธานเจ้ าหน้ าที บริ หารให้ ดําเนินการเพื อเข้ าทํารายการ ดังกล่าวข้ างต้ น จะต้ องไม่มีลกั ษณะเป็ นการดําเนินการเพื อเข้ าทํารายการที ทําให้ ประธานเจ้ าหน้ าที บริ หารหรื อผู้รับ มอบหมายจากประธานเจ้ าหน้ าที บริ หารสามารถดําเนินการอนุมตั ิเพื อเข้ าทํารายการที ตนหรื อบุคคลที อาจมีความขัดแย้ ง มีสว่ นได้ เสีย หรื ออาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์อื นใดกับบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อย ซึ งการอนุมตั ิดําเนินการเพื อเข้ าทํา รายการในลักษณะดังกล่าวจะต้ องเสนอต่อที ประชุมคณะกรรมการและ/หรื อที ประชุมผู้ถือหุ้นเพื อพิจารณาและอนุมตั ิ และ สอบทานรายการดังกล่าวโดยคณะกรรมการตรวจสอบ ตามข้ อบังคับของบริ ษัทและตามที สํานักงาน ก.ล.ต. และ/หรื อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกําหนด
ณ ปั จจุบนั จนถึงวันที รายงาน (31 ธันวาคม 2559)
10.3 เลขานุก ารบริษัท คณะกรรมการบริ ษัทได้ มีมติแต่งตังให้ Q นางสาวสกุลทิพย์ ห่อมณี ดํารงตําแหน่งเป็ นเลขานุการบริ ษัท ตังแต่ Q วนั ที 18 กันยายน 2552 โดยคุณสมบัติของผู้ดํารงตําแหน่งเป็ นเลขานุการบริ ษัทปรากฎในเอกสารแนบ 1
10.4 ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บ ริห าร 1. ค่ าตอบแทนที เ ป็ นตัวเงิน ก. ค่าตอบแทนคณะกรรมการ ที ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2559 เมื อวันที 28 เมษายน 2559 ได้ มีมติอนุมตั ิการกําหนด ค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2559 โดยมีรายละเอียดดังนี Q รายนามคณะกรรมการ
จํานวนค่ าตอบแทน
คณะกรรมการบริ ษัท ค่าเบี Qยประชุมคณะกรรมการบริ ษัท การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ค่าเบี Qยประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ค่าตอบแทนรายเดือน
5,000 บาทต่อครังQ 5,000 บาทต่อครังQ 5,000 บาทต่อเดือน
ในปี RRS จ่ายค่าตอบแทนกรรมการสรุปได้ ดังนี Q ชื อ - สกุล 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
นายมาซามิ นายนาโอะฮิโร นายรัฐวัฒน์ นางพูนศรี นายยุทธนา นางสาววลัยภรณ์ นายนิพนั ธ์
8. นายสันติ
คัตซูโมโต ฮามาดา ศุขสายชล ปั ทมวรกุลชัย แต่ปางทอง กณิกนันต์ ตังพิ Q รุฬห์ธรรม เนียมนิล
รวม
ค่ าตอบแทนกรรมการ (บาท) ค่ าเบีย9 ประชุม ค่ าตอบแทน รายเดือ น
รวม
Y,YYY Y,YYY Y,YYY Y,YYY R,YYY R,YYY Y,YYY Y,YYY
XY,YYY XY,YYY XY,YYY
Y,YYY Y,YYY Y,YYY Y,YYY R,YYY VR,YYY SY,YYY SY,YYY
Y,YYY
WVY,YYY
WY,YYY
ข. ค่าตอบแทนผู้บริ หาร ในปี 2559 บริ ษัทได้ จา่ ยค่าตอบแทนประกอบด้ วย เงินเดือนและโบนัส ให้ กบั ผู้บริ หารจํานวน 6 ราย รวมทังสิ Q Qน 13.29 ล้ านบาท แยกเป็ น เงินเดือน 12.13 ล้ านบาท โบนัส 1.17 ล้ านบาท 2. ค่ าตอบแทนอื น ที ไ ม่ ใช่ ต วั เงิน /สิท ธิป ระโยชน์ อ นื ๆ ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครังQ ที 1/2555 จัดขึ Qนเมื อวันที 30 พฤษภาคม 2555 ได้ มีมติอนุมตั ิการออกและ จัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที จะซื Qอหุ้นสามัญของบริ ษัท ประเภทระบุชื อผู้ถือและไม่สามารถโอนเปลี ยนมือได้ (“ใบสําคัญ แสดงสิทธิ”) ให้ แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัท จํานวน 6,000,000 หน่วย ซึง จะทําการจัดสรรพร้ อมกับการเสนอขาย หุ้นสามัญแก่ประชาชนทัว ไปในครังQ นี Qโดยมีราคาเสนอขาย 0 บาทต่อหน่วย และใบสําคัญแสดงสิทธิมีอายุ 5 ปี นับแต่วนั ที ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสิทธิซื Qอหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในราคาใช้ สิทธิ 0.50 บาท ต่อหุ้น (เว้ นแต่จะมีการปรับสิทธิตามหลักเกณฑ์และเงื อนไขทีก ําหนด) และมีมติอนุมตั ิแต่งตังคณะกรรมการพิ Q จารณา ค่าตอบแทนสําหรับพิจารณาจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที จดั สรรให้ แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัทแต่ละรายที ได้ รับ จัดสรรเกินกว่าร้ อยละ 5 ของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทงหมด ัQ ซึ งประกอบด้ วยคณะกรรมการตรวจสอบจํานวน 3 ท่าน โดยมีมติกําหนดค่าตอบแทนพิเศษให้ ท่านละ 50,000 บาท โดยจะทําการจ่ายให้ ภายหลังจากการเสนอขายหุ้นเพิ มทุน ให้ แก่ประชาชนทัว ไปเป็ นครังQ แรก ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครังQ ที 1/2558 จัดขึ Qนเมื อวันที 9 กรกฎาคม 2558 ได้ มีมติพิจารณาจัดสรรหุ้น สามัญเพิ มทุนจํานวนไม่เกิน 589,239 หุ้น โดยมีมลู ค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ 0.50 บาท เพื อเตรี ยมไว้ สําหรับรองรับการปรับสิทธิ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ที จะซื Qอสามัญเพิ มทุนของบริ ษัทเสนอขายแก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัท (ESOP) อัน เนื องมาจากออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ มทุน ดังนี Q • อัต ราส่ว นการใช้ สิทธิ เ ดิ ม 1:1 (1 ใบสํา คัญแสดงสิท ธิ ฯ มี สิท ธิ ซือQ หุ้น สามัญ ได้ 1 หุ้น )เป็ น อัตราส่วนการใช้ สทิ ธิใหม่ 1 : 1.16 (1 ใบสําคัญแสดงสิทธิฯ มีสทิ ธิซื Qอหุ้นสามัญได้ 1.16 หุ้น) • ราคาใช้ สิทธิซื Qอหุ้นสามัญเดิมหุ้นละ 0.50 บาท เป็ นราคาใช้ สิทธิซื Qอหุ้นสามัญใหม่ห้ นุ ละ 0.43 บาท ที ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครังQ ที 5/2558 จัดขึ Qนเมื อวันที 13 สิงหาคม 2558 ได้ มีมติปรับราคาการ ใช้ สทิ ธิไปเป็ น 0.50 บาท เนื องจากพบว่าไม่สามารถกําหนดราคาใช้ สทิ ธิให้ ตาํ กว่าราคาพาร์ ได้ ขัดต่อข้ อกําหนดสิทธิเดิม
ทังนี Q Q รายละเอียดของกรรมการและผู้บริ หารที ได้ รับการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิทจี ะซื Qอหุ้นสามัญของบริ ษัท มีดงั นี Q
ชื อ -สกุล
1. นายมาซามิ คัตซูโมโต 2. นายนาโอะฮิโร ฮามาดา 3. นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล 4. นายชิเกฮิโร
คัตซูโมโต
ตําแหน่ ง (31 มีน าคม 2559) ประธานกรรมการ กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท / ประธานเจ้ าหน้ าที บริ หาร ที ปรึกษาด้ านการขายและ การตลาด
จํานวนใบสําคัญ แสดงสิท ธิท ไี ด้ ร ับ จัด สรร (หน่ วย) 600,000 200,000 600,000
ร้ อ ยละของจํานวน ใบสําคัญแสดงสิท ธิท ี จัด สรรให้ แ ก่ ก รรมการ และพนัก งาน (ร้ อ ยละ) 10.00 3.33 10.00
150,000
2.50
หมายเหตุ : เป็ นตัวเลขการจัดสรรครังQ แรกที ได้ รับอนุมตั ิ ได้ สทิ ธิแปลงสภาพ W:W และเมื อเพิ มทุนแล้ ว ได้ รับสิทธิในการแปลงสภาพ เป็ น W:W.WX
10.5 บุค ลากร ด้ านบุคลากร ในปี 2559 บริ ษัทมีพนักงานทังหมด Q 331 คน พนักงานสัญญาจ้าง คน (ข้ อมูล ณ วันที 26 ธันวาคม 2559) บริ ษัทได้ จ่ายผลตอบแทนให้ แก่พนักงาน จํานวนทังสิ Q Qน 104.63 ล้ านบาท ได้ แก่ เงินเดือน ค่าแรง ค่า ล่วงเวลา ค่ากะ เงินช่วยเหลือค่าเดินทาง เงินโบนัส เบี Qยเลี Qยง เบี Qยขยัน เป็ นต้ น จํานวนคน ค่ าตอบแทน เฉลี ยต่ อ คน พนัก งาน (บาท : คน : ปี ) (ล้ านบาท) พนักงานสายงานผลิต W XY.X W , SX. R พนักงานสายงานบริ หารและสนับสนุน X .YY YS,X . รวม Y WY .X RS,XW . X หมายเหตุ: พนักงานสายการผลิต ได้ แก่ DI FS MC QC PC MT WH
การเปลีย นแปลงด้ านแรงงานในรอบ 3 ปี ที ผา่ นมา จํานวนบุคลากร ปี 2557 จํานวน 371 คน (ข้ อมูล ณ วันที 26 ธันวาคม 2557) จํานวนบุคลากร ปี 2558 จํานวน 381 คน (ข้ อมูล ณ วันที 26 ธันวาคม 2558) จํานวนบุคลากร ปี RRS จํานวน W คน พนักงานสัญญาจ้ าง คน(ข้ อมูล ณ วันที X ธันวาคม RRS) ข้ อพิพาทด้ านแรงงานในปี 2559 –ไม่ม-ี
ด้ านการพิจารณาปรับผลตอบแทน ปี ที ผา่ นมาบริ ษัทฯ ใช้ ผลการประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจําปี มาใช้ ในการ เป็ นหลักเกณฑ์ในการปรับผลตอบแทนประจําปี เพื อเป็ นการสร้ างขวัญกําลังใจ และ ตอบแทนการทํางานของพนักงาน ด้ านสวัสดิการพนักงาน บริ ษัทฯ จัดให้ มี ค่ากะ ค่าความร้ อน (เงินช่วยเหลือสําหรับพนักงานควบคุมเตาหลอม และเครื องจักรที มีความร้ อน) เบี Qยขยัน การตรวจสุขภาพประจําปี เครื องแบบ เงินช่วยเหลือ กรณีพนักงานสมรส คลอดบุตร บุคคลในครอบครัวเสียชีวิต กองทุนสํารองเลี Qยงชีพพนักงาน สวัสดิการรักษาพยาบาล (ประกันกลุม่ ) และค่าของเยี ยมกรณี เจ็บป่ วยเข้ ารับการรักษาเป็ นผู้ป่วยใน และ บริ ษัทฯ ยังสนับสนุนให้ มีการจัดตังQ สหกรณ์ออมทรัพย์ซงั โกะไทย เพื อส่งเสริ ม การออม และการช่วยเหลือกันของพนักงาน ด้ านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บริ ษัทฯ ได้ สนับสนุนให้ พนักงานได้ พฒ ั นา ทังในสายงานและอาชี Q พที ทําอยู่ พัฒนาคุณธรรม ยกระดับจิตใจ และสร้ างความสุขในการทํางาน ผ่านกิจกรรมและการอบรม สัมนา อาทิเช่น 1. การปฐมนิเทศพนักงานใหม่ บริ ษัทฯ จัดให้ มีการอบรม เพื อให้ พนักงานมีความรู้ ความเข้ าใจ เกี ยวกับ องค์กร สิทธิ สวัสดิการต่างๆ ในการเป็ นพนักงานของบริ ษัทฯ มาตรฐานการทํางาน และมาตรฐานด้ าน ความปลอดภัยในการทํางาน รวมถึงวัฒนธรรมต่างๆ ภายในองค์กร และยังมีการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ระหว่างทดลองงาน เพื อ เป็ นการติดตามความลงตัว และการปรั บตัวให้ เข้ ากับองค์ กร และหน้ าที ของ พนักงานใหม่ 2. การพัฒนาทักษะ และความรู้ในงาน ผ่านกระบวนการอบรม และ กระบวนการสอนงาน ตามหน้ าที (On the job training) โดยใช้ ระบบพี เลี Qยง (Coaching) 3. พัฒนาความสามารถตามลักษณะงานที รับผิดชอบ (Functional Expertise) เพื อให้ พนักงานมีความรู้ และมี ความสามารถในงานที รับผิดชอบ สามารถสอนงานต่อให้ ผ้ อู ื นได้ และสามารถเติบโตในสายงานของตนได้ (Career Path) 4. พัฒนาบุคลากร ตามวัฒนธรรมองค์ กร (Core Values) บริ ษัทฯ ได้ จัดกิ จกรรมส่งเสริ มให้ พนักงานมี พฤติกรรมพึงประสงค์ตามกรอบของวัฒนธรรมองค์กร ดังนี Q • การคิดเชิงนวัตกรรม (Innovation) • การทํางานเชิงรุก (Proactive Working) • ความมุง่ มัน สูค่ วามสําเร็ จ (Achievement Orientation) • มีความรู้สกึ เป็ นเจ้ าขององค์การ ( Sense of Belonging) โดยในปี 2559 บริ ษัทฯจัดให้ พนักงาน ผู้บริ หาร คณะกรรมการและเลขานุการบริ ษัท เข้ าร่วมการอบรมทังQ ภายในองค์กรและเข้ าร่วมอบรมกับสถาบันภายนอก คิดเป็ นชัว โมงอบรมรวม 13,912 ชัว โมงโดยมีรายละเอียดดังตาราง ต่อไปนี
1. การจัด ฝึ กอบรมภายในบริษัท โดยวิท ยากรของบริษัท เอง ระดับ ผู้เ ข้ าร่ วม/จํานวนผู้เ ข้ าร่ วม ลําดับ
หัวข้ อ
พนัก งาน ผลิต
พนัก งาน สนับ สนุน
หัวหน้ า งาน
วิศวกร
W
R ส และความปลอดภัย SANKO QUALITY MANAGEMENT SYSTEM การคัดแยกขยะ การใช้ เครื องมือเครื องจักรอย่างถูกต้ อง และปลอดภัย การใช้ โปรแกรม Excel เพื อเพิม ประสิทธิภาพในการทํางาน การทํางานกับเครื องจักรและการใช้ เครื องปั มQ โลหะอย่างถูกต้ อง ผู้บริ หารพบพนักงาน
X W
W
-
V
WR W
WW
W -
-
-
-
S
-
-
-
W
Y
W
Y
Y
Y
S
W
X
W
W
-
-
-
-
R
W
W
Y
Y
Y
WY
ขันตอนกาปฏิ Q บตั งิ าน ชิ Qนงานรุ่น P PULEY B WI-MCEX001 ความรู้เบื Qองต้ นในการปฏิบตั ิงาน (Basic Training) จริ ยธรรมทางธุรกิจ Code of Ethics
W
X
Y
Y
W
Y
WW
ซ้ อมแผนฉุกเฉินสารเคมีรั วไหล
XR
Y
Y
Y
Y
W
นโยบาลด้ านอาชีวอนามัย ความ ปลอดภัยและสิง แวดล้ อม
W
Y
Y
Y
R X V S
ผช.ผจกเลขานุก าร ผจก.
2. การจัด ฝึ กอบรมภายใน โดยเชิญวิท ยากรภายนอกมาให้ ก ารอบรม ระดับผู้เข้ าร่วม/จํานวนผู้เข้ าร่วม (คน) ผช. ค่าใช้ จา่ ย ลําดับ คอร์ ส สถาบัน พนักงาน พนักงาน หัวหน้ า (บาท) วิศวกร ผจกผลิต สนับสนุน งาน ผจก. การจัดระบบการจัดการด้ าน บริ ษัท เอ็นพีซี WR W พลังงาน ISO 50001:2011 เซฟตี Q แอนด์ W เอ็นไงรอน เมนทอล เซอร์ วิส จํากัด การตรวจประเมินภายในระบบ บริ ษัท เอ็นพีซี W WY การจัดการพลังงาน (ISO เซฟตี Q แอนด์ RYYYW: YWW) เอ็นไงรอน เมนทอล เซอร์ วิส จํากัด เทคนิคการขับขี เชิงป้องกัน คุณธีรยุทธ์ W W ,RYY เกียรติถาวรชัย Positive Thinking ดร.วาสิตา บุญ R WS ,R Y สาธร SQA Academy for Die Mr.Claude R casting Jippe การทํางานเป็ นทีมและการ ค่ายฝึ กหาดยาว W W W WW ,VSY.V X ทํางานร่วมกัน (team building) สัตหีบ STEMMA W WW R, SW. Y การตรวจประเมิน VDA 6.3
3. การส่ งกรรมการ ผู้บ ริห ารและพนัก งานไปอบรมกับ หน่ วยงานภายนอกบริษัท
ลําดับ
คอร์ ส
ระดับกรรมการบริ ษัท W MT&RPT
R
สัมมนาเพื อการประชุมและแลกเปลีย น ความคิดเห็นกับผู้บริ หารของบริ ษัท จดทะเบียนเกี ยวกับความสําคัญของ การมีระบบควบคุมภายในที ดี กฎหมายทรัพย์สนิ ทางปั ญญาในภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรม บุกตลาดแอฟริ กาใต้ ลาตินอเมริ กา CLMV ฮังการี และยุโรปตะวันออก ทิศทางและ โอกาสสําหรับชิ Qนส่วนยานยนต์ไทย, อนาคตตลาดอะไหล่ยนต์ในการค้ าปลีก ส่งออกรูปแบบใหม่ เข้ าร่วมประชุมสามัญประจําปี TMA
X
V S
W
SEC
W
SET
W
ค่าใช้ จา่ ย
-
ศาลทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและ การค้ าระหว่างประเทศกลาง TAPA
W
-
W -
W
-
Audit Committee Forum
IOD
W
-
เทคนิคการจัดการอินไซด์แบบฉบับนักบริ หาร มืออาชีพ” หลักสูตร Corporate and Expat Tax Planning for Business Expansion อบรม Smart Disclosure Program (SDP)
SET
W
TMA
W
SET
W
SEC
W
สมาคมสโมสรนักลงทุน
W
-
บริ ษัท พีวี ออดิท จํากัด
W
-
“รู้จกั กฎหมายหลักทรัพย์ฉบับใหม่ ปฏิบตั ิ อย่างไรให้ ถกู ต้ อง” ระดับผู้บริ หาร WW กฏหมายการค้ าระหว่างประเทศ
W
จํานวน ผู้เข้ าร่วม
TMA
WY
W
สถาบัน
ความรู้เกี ยวกับบญชี TFRS for SME
รู้ลกึ รู้จริ ง ภาษี เงินได้ นิติบคุ คล BOI Free Zone หอการค้ าจังหวัดระยอง DTA การจัดระบบการจัดการด้ านพลังงาน ISO บริ ษัท เอ็นพีซี เซฟตี Q แอนด์ เอ็น RYYYW: YWW ไงรอนเมนทอล เซอร์ วิส จํากัด
W W
-
-
Mr.Claude Jippe
จํานวน ผู้เข้ าร่วม
ค่ายฝึ กหาดยาว สัตหีบ
W
STEMMA
-
-
เลขานุการบริ ษัท/เลขานุการผู้บริ หาร WV ประชุม Issuer
TSD
W
-
ติวเข้ มให้ เต็มร้ อย
SEC
-
“How to Write an Effective MD&A”
SET
W
MAI
W
SET
SET
W
Company Snapshort : เครื องมือใหม่ตอบโจทย์ การลงทุน อบรมโครงการ Smart Disclosure Program (SDP) การอบรมการใช้ งานระบบ SCP Straight through CGR
IOD
W
-
R
AGM Checklist ปี RXY
สมาคมส่งเสริ มผู้ลงทุนไทย
-
SET
TAPA
W
ลําดับ WR WX W
WS Y W
คอร์ ส SQA Academy for Die casting การทํางานเป็ นทีมและการทํางานร่วมกัน (team building) การตรวจประเมิน VDA 6.3
การอบรมการใช้ งานระบบการเปิ ดเผยข้ อมูลของ บริ ษัทจดทะเบียน (SET Portal) ที ปรับปรุงใหม่ บุกตลาดแอฟริกาใต้ ลาตินอเมริกา CLMV ฮังการี และยุโรปตะวันออก ทิศทางและโอกาส สําหรับชิ Qนส่วนยานยนต์ไทย, อนาคตตลาด อะไหล่ยนต์ในการค้ าปลีกส่งออกรูปแบบใหม่ ระดับผู้ช่วยผู้จดั การฝ่ าย - ผู้จดั การฝ่ าย V Certified VDA 6.3 process auditor X
S
Y
TAPMA HRD Forum 2016 การเพิม ขีดความสามารถในการแข่งขันเชิงธุรกิจ ด้ วยแนวคิดการพัฒนากระบวนการและการ จัดการที เป็ นมิตรต่อสิง แวดล้ อม
สถาบัน
ค่าใช้ จา่ ย -
-
-
-
GAB
-
X ,XYY
สมาคมผู้ผลิตชิ Qนส่วนยานยนต์ ไทย สํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิง แวดล้ อม
-
-
-
-
คอร์ ส
สถาบัน
การออกแบบแม่พิมพ์หล่อฉีดปริมาณสูงโดยใช้ เทคนิค CAE ในการจําลอง โครงการประชุมชี Qแจงให้ ความรู้งานประกันสังคม
สถาบันไทย-เยอรมัน
จํานวน ผู้เข้ าร่วม -
ประกันสังคมจังหวัดระยอง
-
-
โครงการเสริ มสร้ างวินยั ในการทํางานใน ภาคอุตสาหกรรมสําหรับแรงงานโยกย้ ายถิ นฐาน ประชุมชี Qแจงสถานประกอบการเกี ยวกับการ ปฏิบตั ิตามกฏหมายการจ้ างงานคนพิการ ผู้รับผิดชบด้ านพลังงานอาวุโส ภาคปฏิบตั ิ
สํานักงานสวัสดิการคุ้มครอง แรงงาน จังหวัดระยอง พัฒนาสังขคมและความมัน คง ของมนุษย์ กระทรวงพลังงาน
-
-
-
-
-
RY
พลิกโฉมบริ การรับรองหลักสูตรการฝึ กอบรมด้ วย สถาบันพัฒนาฝี มือแรงงาน วิธีการทางอิเล้ กทรอนิกส์ จังหวัด วัตถุประสงค์งานกํากับดูแลและส่งเสริ มการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์ พลังงานตามกฏหมายสําหรับโรงงาน อนุรักษ์ พลังงาน ควบคุม ระดับวิศวกร การบริ หารและควบคุมคุณภาพระบบทรายหล่อ สมาคมอุตสาหกรรม หล่อโลหะ V อย่างไร เพื องานที มคี ณ ุ ภาพ ไทย การประชุมระดมสมองการส่งเสริมการวิจยั และ สถาบันยานยนต์ พัฒนา R&D ในอุตสาหกรรมชิ Qนส่วนยานยนต์ S ไทย
-
-
-
-
W
-
-
กระทรวงพลังงาน
W
-
ipartner
W
R, Y
Industry 4.0 Inte lligent Manu Facturing
Microsoft
-
CHIQ
-
MANU TECH UPDATE 2016 : AGE OF DIGITAL - DRIVEN กฏหมายการค้ าระหว่างประเทศ
สมาคมสโมสรนักลงทุน
W ,XRR
R
ความรู้เกี ยวกับบญชี TFRS for SME
บริ ษัท พีวี ออดิท จํากัด
W
-
ลําดับ W R X
ระดับ Supervisor วัสดุ เครื องจักร อุปกรณ์ในโรงงาน /อาคาร Y ควบคุม Refresh PRE ระดับ หัวหน้ างาน W Basic Fortigate Hands
ค่าใช้ จา่ ย -
ความปลอดภัยและสุข ภาพของพนัก งาน นโยบายการจัด การด้ านอาชีว อนามัย และความปลอดภัย ของบริ ษัท (Occupational Health And Safety Management Policy (OHSAS18001:2007/TIS18001:2011)) จากความมุง่ มัน ในการประกอบธุรกิจของบริ ษัทฯ ให้ เป็ นไปในลักษณะที สง่ เสริ มความปลอดภัยและดูแลด้ านอาชี วอนามัยให้ แก่พนักงานทุกคนและผู้ที มีสว่ นได้ เสียทุกระดับ โดยมีนโยบาย ดังต่อไปนี Q 1. บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) จะพยายามป้องกันและลดการเกิดอุบตั ิการณ์ การเกิดอุบตั ิเหตุ การบาดเจ็บและการเจ็บป่ วยหรื อเกิดโรคอันเนื องจากการทํางาน ด้ วยความร่วมมืออย่างจริ งจังของพนักงานทุกคน 2. บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) มุง่ สร้ างความตระหนักและจิตสํานึกที จะพยาม ยามอย่างต่อเนื อง เพื อตรวจหาให้ พบ และขจัดหรื อควบคุมความไม่ปลอดภัยที เกี ยวข้ องกับกระบวนการผลิตหรื อเกี ยวข้ องกับการ ดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ และเพื อดําเนินการตามนโยบายที กล่าวมานี Q บริ ษัทฯ จะ 2.1. ดําเนิ นการและพัฒนาระบบการจัดการด้ านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน มอก. WVYYW และ OHSAS18001 อย่า งเหมาะสมและสอดคล้ องกับ ข้ อ กํ า หนดของกฎหมาย และ ข้ อกําหนดอื นๆที องค์กรได้ ทําข้ อตกลงไว้ 2.2. ดําเนิ นการปรั บปรุ งและป้ องกันอั นตรายจากเครื องจักร เครื องมือ อัคคีภยั สารเคมี และ อันตรายอื นๆที เกี ยวข้ องกับการทํางาน รวมทังลดการเกิ Q ดโรคจากการทํางานด้ วย ซึ งมีความเสี ยงตังแต่ Q ระดับปานกลางขึ Qนไป รวมทังควบคุ Q มความเสี ยง ทุกระดับในองค์กร โดยกําหนดเป็ นมาตรการด้ านอาชีวอ นามัยและความปลอดภัยประจําปี และสื อสารให้ ผ้ ทู ึ เกี ยวข้ องทุกคนนําไปปฏิบตั ิ เพื อให้ เกิดการพัฒนา อย่างต่อเนื อง 2.3. ให้ การสนั บสนุ นทรั พยากรทั งในเรื) องบุคคลากร เวลา งบประมาณและการฝึ กอบรมที เหมาะสมและเพียงพอ 2.4. กล่ าวยํา ให้ พนักงาน ผู้รับเหมา และผู้ทเ)ี ข้ ามาปฏิบัติงานในบริษัท ทราบว่าการรักษาความ ปลอดภัยเป็ นหน้ าที ความรับผิดชอบของทุกคนรวมทังความปลอดภั Q ยนอกงาน 2.5. ทําการทบทวนและประเมินผล การดําเนินงานตามความเหมาะสมและต่อเนื องสมํ าเสมอ เพื อทราบความก้ าวหน้ าและเพื อให้ แน่ใจว่าปฏิบตั ิตามนโยบายเกี ยวกับความปลอดภัยเหล่านี Qเป็ นประจํา ทุกปี ความปลอดภัยถือเป็ นสิง ที สาํ คัญที สดุ ของพนักงานทุกคน ทุกระดับ รวมถึงผู้มีสว่ นได้ เสียอื นๆ ที เกี ยวข้ อง ดังนันQ บริ ษัทฯจึงมีระบบการบริ หารความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทํางานที เป็ นระบบตามมาตรฐาน OHSAS18001 พร้ อมทังพั Q ฒนาบุคลากรให้ มีความสามารถในการปฏิบตั ิงานด้ วยความปลอดภัย สามารถหยัง รู้ อนั ตราย ล่วงหน้ าได้ ด้วยตนเองส่งเสริ มให้ พนักงานมีส่วนร่ วมในการประเมินความเสี ยงในงานที ปฏิบตั ิ มีการตรวจประเมิน และ ทบทวนโดยฝ่ ายบริ หารสูงสุด เพื อสนับสนุนทรั พยากรที จําเป็ น และปรั บปรุ งอย่า งต่อเนื อง โดยบริ ษัท ฯ มีเ ป้ าหมาย อุบ ัต ิเ หตุจ ากการทํางานเป็ นศูน ย์ (Zero-Accident)
Start Safe
Work Safe
Finish Safe
Zero -Accident
กรอบการบริ หารด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทํางาน • พนัก งาน,หัวหน้ างาน, คปอ.,จป. • ปฏิบตั ิงานด้ วยความปลอดภัย แจ้ งปั ญหา ดําเนินการ ป้องกันและแก้ ไข,ติดตาม และประเมินผล
ACTION
Plan
CHECK
Do
• ผู้บ ริห าร • กําหนดนโยบายความ ปลอดภัยฯ,กําหนด เป้าหมาย,ทบทวนการ • ดําเนินการ
• หัวหน้ างาน&ผู้ป ฏิบ ัต งิ าน • ประเมินความเสีย ง,กําหนด วิธีการที ปลอดภัย,ให้ ความรู้ กับผู้ปฏิบตั ิงานและนําไปใช้ งานจริ ง
• พนัก งาน,หัวหน้ างาน, คปอ.,จป. • ตรวจความปลอดภัยก่อน ปฏิบตั ,ิ ควบคุมการปฏิบตั ิให้ ปลอดภัย,ตรวจวัด สภาพแวดล้ อมในการทํางาน ตารางแสดงสถิต ิก ารเกิด อุบ ัต เิ หตุในการทํางานเปรียบเทียบ ^ ปี ย้ อ นหลัง ความรุนแรง/ความเสียหาย ได้ รับบาดเจ็บเล็กน้ อย (ไม่หยุดงาน) ได้ รับบาดเจ็บเล็กน้ อย (หยุดงาน< วัน) ได้ รับบาดเจ็บรุนแรงถึงขันหยุ Q ดงาน (หยุดงาน> วัน) รวมจํานวน (ครังQ ) รวมจํานวนวันหยุดงานจากอุบตั หิ ตุในการทํางาน (วัน)
พ.ศ. RR W Y V S W
จํานวนครังQ /ปี พ.ศ. RRV W W R X
พ.ศ. RRS Y Y Y Y Y
จากตารางแสดงสถิติการเกิดอุบตั ิเหตุในการทํางานปี RRS พบว่า ลดตํ าลงจนเป็ นศูนย์ เนื องจากทางบริ ษัทฯ ได้ จดั การรณรงค์ได้ เรื องความปลอดภัยมนการทํางานอย่างเข้ มข้ น โดยการออกมาตรการคุมเข้ มให้ จป.หัวหน่างาน ข้ นไป มีหน้ าที ในการแจ้ งกับทางฝ่ ายบุคคลให้ สามารถออกใบเตือนดังกล่าวข้ ามสายงานได้ และหากพนักงานได้ รับใบเตือนครบ ครัง้ จะส่งผลต่อการประเมินผลปลายปี จากมาตรการดังกล่าวทํา ให้ จํานวนอุบตั ิเหตุลดลงตังแต่ Q ต้นปี และในปี RXY บริ ษัทฯ ได้ จดั ทํามาตรการนี Qต่อเนื องและเพิม แผนการสร้ างวัฒนธรรมความปลอดภัย ด้ วยการรณรงค์สง่ เสริ มให้ ทกุ คนใน องค์กรตลอดจนผู้มีสว่ นได้ เสียที เกี ยวข้ อง ปฏิบตั ิงานด้ วยความปลอดภัยอย่างทัว ถึง ด้ วยความตระหนักรู้ได้ ด้วยตนเอง การจัด การด้ านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทํางาน บริ ษัทฯ มีความมุง่ มัน ที จะส่งเสริ มความปลอดภัยให้ แก่พนักงาน และผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียที เกี ยวข้ องเพื อป้องกัน การเกิดอุบตั ิเหตุ การบาดเจ็บ และการเจ็บป่ วยในการทํางาน และมีความพยายามอย่างต่อเนื องที จะตรวจหาให้ พบ และ ขจัด หรื อควบคุมความไม่ ปลอดภัยที เกี ยวข้ องกับการดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯโดยได้ กําหนดนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการ ทํางาน เพื อเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิของพนักงาน พร้ อมทังเผยแพร่ Q ให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ ส่วนเสียได้ รับทราบทาง www.sankothai.net กิจ กรรมรณรงค์ ส่ งเสริม ด้ านความปลอดภัย ดังต่ อ ไปนี 9 1.) กิจ กรรมวัน แห่ งความปลอดภัย และพลังงาน ( SAFETY & ENERGY DAY) เป็ นกิจกรรมที จดั ขึ Qนภายในองค์กรอย่างต่อเนื อง เพื อสร้ างและส่งเสริ มความตระหนักด้ านความ ปลอดภัย และ สุขภาพของพนักงาน เมือ วันที 27 ธันวาคม 2559
2.) การฝึ กอบรมต่ างๆ ตามกฎหมาย เป็ นการอบรมพนักงานให้ ได้ รับความรู้ ความเข้ าใจในทํางานที เกี ยวข้ องกับเครื องจักร อุปกรณ์ทจี ําเพาะด้ านให้ เกิดขึ Qน เพื อจะเกิดการทํางานได้ อย่างถูกต้ อง ปลอดภัยและไม่มีอนั ตรายจากการทํางาน ได้ แก่ การฝึ กอพยพ ซ้ อมหนีไฟ การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี การอบรมการใช้ เครนอย่างถูกต้ อง อบรมจิตสํานึกด้ านความปลอดภัย และอบรมการใช้ ปลัก ลดเสียงอย่างถูกต้ อง เป็ นต้ น
3.) การตรวจสภาพแวดล้ อ มในพืน9 ที ท าํ งาน บริ ษัทฯ จะตรวจสภาพแวดล้ อมต่างๆเช่น เสียง แสง ความร้ อนในบริ เวณทํางาน และมลภาวะทางอากาศ เป็ น ประจําทุกปี
4.) การตรวจสุข ภาพประจําปี ษริ ษัทฯ จัดโปรมแกรมในการตรวจเพิม เติมให้ กบั พนักงานที มีอายุเกิน Y ปี เป็ นพิเศษ และตรวจสุขภาพตาม ปั จจัยเสีย งให้ กบั พนักงานในแต่ละพื Qนที ด้วย
5.) การตรวจและให้ ค วามรู้เ กี ยวกับ ระบบท่ อ ก๊ าซ ซึง ต้ องมีการตรวจเป็ นประจําทุกวันโดยเจ้ าหน้ าที ความ ปลอดภัย และรอบปี โดยคณะทีมงานจากปตท.
6.) กิจ กรรมส่ งพนัก งานกลับ บ้ านในวัน สงกรานต์ ซึง เป็ นกิจกรรมที สร้ างความตระหนักในด้ านการขับขี รถหรื อใช้ รถอย่างปลอดภัยให้ พนักงานในช่วงวันหยุด นักขัตฤกษ์
การตรวจวัด ด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อ มในการทํางาน บริ ษัทฯ ได้ ดําเนินการตรวจวัดสภาพแวดล้ อมในการทํางาน และตรวจสุขภาพพนักงานทังแบบทั Q ว ไปและแบบ เฉพาะเจาะจงตามปัจจัยเสีย งเพือ เป็ นการเฝ้าระวัง และการวางแผนในการปรับปรุง ความถี ในการตรวจวัดเป็ นไปตาม ข้ อกําหนดของระวัง และการวางแผนในการปรับปรุง ความถี ในการตรวจวัดเป็ นไปตามข้ อกําหนดของกฎหมาย เช่น ผลการตรวจวัดสภาพแวดล้ อมในบริ เวณการทํางานเปรียบเทียบย้ อนหลัง ปี ค่าความร้ อน (˚C) (WBGT) บริ เวณที ตรวจวัด ลักษณะงาน RR RRV RRS 1.Diecastingหน้ าเตาหลอมW งานปานกลาง V. W. 2.Diecastingหน้ าเตาหลอม งานปานกลาง S.W W.R 3.Diecastingหน้ าเครื องจักรX งานปานกลาง V.X Y.X W. 4.Diecastingหน้ าเครื องจักรW งานปานกลาง V. W.X W. 5.Diecastingหน้ าเครื องจักรWX งานปานกลาง V. Y.S W.W 6. machine 1 งานปานกลาง .W S.R Y. 7. machine 2 งานปานกลาง .X V. Y.V 8.Finishing Line งานปานกลาง V. S. Y.W 9.IQC งานปานกลาง S. Y. Y.R 10.Maintenance/Mold งานปานกลาง V.Y Y. W. 11.WH งานปานกลาง V. Y. Y. W .อาคารอนุรักษ์ งานปานกลาง Y.V Y. W.Y มาตรฐาน < .Y ผลการประเมิน ผ่าน ผ่าน ผ่าน
ผลการตรวจวัดระดับเสียงดังเฉลีย V ชัว โมงในสถานประกอบการเปรี ยบเทียบย้ อนหลัง ปี ผลการตรวจวัดระดับเสียง (dB(A)) บริ เวณที ตรวจ ปี RR ปี RRV ปี RRS Leq 8 Hrs. L max Leq 8 Hrs. L max Leq 8 Hrs. L max 1.Diecasting หน้ าเตาหลอมW VY.Y SW.V V .X WYV. 2.Diecasting หน้ าเตาหลอม . S . VY. WYY.S 3.Diecasting หน้ าเครื องจักรX VW.W SV. V .W S .Y V .S WYW.R 4.Diecasting หน้ าเครื องจักรW VV.Y WYY.S V .V WYW. V .V WYV.W 5.Diecasting หน้ าเครื องจักรWX VR.V VS. X. SY. V.R SR.
บริ เวณที ตรวจ 6. Diecasting วัดที ตวั บุคคล 7. machine 1 8. machine 2 9. machine 1 วัดที ตวั บุคคล 10. machine 2 วัดที ตวั บุคคล 11.Finishing /Line 12.Finishing /เครื องเจียร 13.IQC 14.Maintenance/Mold 15.Diecasting ทางเดินโรงW 16.Diecasting ทางเดินโรง 17.Diecasting ทางเดินโรง 18.WH มาตรฐาน ผลการประเมิน
จุดตรวจวัด W.ด้ านหน้ าโรงงาน .ด้ านหลังโรงงาน มาตรฐาน ผลการประเมิน
ผลการตรวจวัดระดับเสียง (dB(A)) ปี RR ปี RRV ปี RRS Leq 8 Hrs. L max Leq 8 Hrs. L max Leq 8 Hrs. L max V .W VS. VY.R WYW.S VV. WYX.X .X VR.X S.Y V .X V .R WYW. VR.S SR.W .V S .W VX.Y W X.R VV. S .W W.W VS. VX.R WYW.X VV.Y S .Y .X VX.Y VY. S . V . SX.R R .V VY. V .Y SX.R V . WYV.S XW.S VW. V .S SS. V.X VX.W Y.S VV. S.Y WW .S V .W SV.S V .X SX. V .V WYR.X VX.R S . .S SW.R S.V SY. V .S VX.X .W S . VS.R WY . V . S . Y.S SY.V V . S .Y VY.W WYY.X X . VY.W W.W VS.X <SY <W Y <SY <W Y <SY <W Y ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผลการตรวจวัดระดับเสียงทัว ไป เปรี ยบเทียบย้ อนหลัง ปี ผลการตรวจวัดระดับเสียง (dB(A)) ปี RR ปี RRV ปี RRS Leq 24Hrs. L max Leq24 Hrs. L max Leq24 Hrs. L max XX. S .S XX.X S .S XV.X S . X . SX.W X . VX.V X .V S . < Y <WWR < Y <WWR < Y <WWR ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน
ผลการตรวจวัดปริ มาณฝุ่ นในบรรยากาศการทํางานเปรี ยบเทียบย้ อนหลัง ปี ผลการประเมิน บริ เวณที ตรวจวัด 1. Diecasting W (หน้ าเตา หลอม)
2. Diecasting (หน้ าเตา หลอม)
3. Diecasting X (หน้ า เครื องจักร)
4.Diecast ing12 (หน้ า เครื องจักร)
ดัชนีที ตรวจวัด
ปี RR
หน่วย
ปี RRV
ค่า มาตรฐาน
ปี RRS
ครังQ ที W
ครังQ ที
ครังQ ที W
ครังQ ที
ครังQ ที W
ครังQ ที
Y.W Y
Y.YS
-
Y.YR
Y.W
-
R
Zinc Oxide
mg/m
Lead (Pb)
mg/m Y.YW
Y.Y
-
Y.YWV
Y.YRW
-
Y.
Aluminium
mg/m
Y.Y
Y.Y X
-
Y.Y X
Y.W R
-
R
CO
ppm
.Y
.
-
.V
.Y
-
RY
Zinc Oxide
mg/m
-
-
Y.WR
-
Y.W R
Y.Y R
R
Lead (Pb)
mg/m
-
-
Y.Y.WV
-
Y.Y
Y.Y S
Y.
Aluminium
mg/m
-
-
Y.Y V
-
Y.W
Y.Y R
R
CO
ppm
-
-
.
-
.Y
W .
RY
Silic as Totaldust
mg/m
Y.YWY
Y.YW
Y.YW
Y.YWX
Y.Y
-
R
Fe Fume
mg/m
Y. WS
Y. YW
Y. W
Y.WYX
Y. R
-
WY
Zinc Oxide
mg/m
Y.Y
<Y.YW
Y.Y
<Y.YW
Y.W W
-
R
CO
ppm
W .Y
S.Y
.Y
X.R
.Y
-
RY
Silicaas Totaldust
mg/m
Y.YW
Y.YW
Y.Y
Y.YW
Y.YW
Y.Y
R
Fe Fume
mg/m
Y. V
Y.WV
Y. R
Y.WRY
Y. W
Y. Y
WY
Zinc Oxide
mg/m
Y.Y
<Y.YW
Y.Y
<Y.YW
Y.W
Y.Y W
R
CO
ppm
X.Y
R.Y
R.Y
R.W
W.Y
.
RY
ผลการประเมิน บริ เวณที ตรวจวัด 5. Diecasting1 X(หน้ า เครื องจักร)
6. Diecasting (บุคคล)
7.Machine1
8.Machine2
9.Finishing/ Line
ดัชนีที ตรวจวัด
ปี RR
หน่วย
ปี RRV
ค่า มาตรฐาน
ปี RRS
ครังQ ที W
ครังQ ที
ครังQ ที W
ครังQ ที
ครังQ ที W
ครังQ ที
Silicaas Totaldust
mg/m
Y.YWY
Y.YW
Y.YW
Y.Y
Y.Y
-
R
Fe Fume
mg/m
Y. VR
Y.
Y. W
Y. YX
Y. W
-
WY
Zinc Oxide
mg/m
Y.Y
<Y.YW
Y.Y
<Y.YW
Y.WW
-
R
CO
ppm
S.Y
S.Y
.Y
V.
W.Y
-
RY
Silicaas Totaldust
mg/m
Y.YW
Y.YW
Y.YYV
Y.YWX
Y.YW
Y.Y W
R
Fe Fume
mg/m
Y.YX
Y.Y Y
Y.WYW
Y.Y
Y. W
Y.YWV
WY
Zinc Oxide
mg/m
Y.Y
<Y.YW
Y.Y
<Y.YW
Y.W
Y.Y
R
CO
ppm
V.Y
X.Y
.Y
.
<Y.W
.W
RY
Phosphorus
mg/m
<Y.YYW <Y.YYW <Y.YYW <Y.YYW
Y.YY
<Y.YYW
Y.W
IPA
mg/m
.S W
<Y.W
.Y W
<Y.YW
<Y.W
<Y.YW
SVY
Oil Mist
ppm
<Y.YW
Y.Y V
<Y.YW
Y.Y W
Y.YW
Y.Y Y
-
Phosphorus
mg/m
<Y.YYW <Y.YYW <Y.YYW <Y.YYW
Y.YY
<Y.YYW
Y.W
IPA
mg/m
W.V
<Y.W
W.
<Y.YW
<Y.W
<Y.YW
SVY
Oil Mist
ppm
<Y.YW
Y.Y R
<Y.YW
Y.Y
Y.YWW
Y.Y X
-
Total Dust
mg/m
Y.YY
-
Y.Y
-
Y.Y
-
WR
RespirableDu st
mg/m
Y.YY
-
Y.Y
-
Y.Y W
-
R
ผลการประเมิน บริ เวณที ตรวจวัด 10.FS/ เครื องเจียร
11.Finishing /SB
12.MTMold 13.WH
14.FS/Line B
15.FS/Line L
16.FS/เจียร ตังโต๊ Q ะ
80
ดัชนีที ตรวจวัด
ปี RR
หน่วย
ปี RRV
ค่า มาตรฐาน
ปี RRS
ครังQ ที W
ครังQ ที
ครังQ ที W
ครังQ ที
ครังQ ที W
ครังQ ที
Total Dust
mg/m
-
-
-
-
Y.YV
-
WR
RespirableDu st
mg/m
-
-
-
-
Y.YX
-
R
Total Dust
mg/m
Y.YWY
Y.YW
Y.Y
Y.YVX
Y.YX
Y.Y R
WR
RespirableDu st
mg/m
Y.YWW
Y.Y R
Y.Y R
Y.Y S
Y.Y R
Y.Y
R
Oil Mist
ppm
Y.
Y.Y R
Y.
Y.Y
Y.YWW
Y.Y V
-
Total Dust
mg/m
Y.YYS
-
Y.YW
-
Y.YW
-
WR
RespirableDu st
mg/m
Y.YWW
-
Y.Y R
-
Y.YWW
-
R
Total Dust
mg/m
-
Y.Y
-
Y.Y
-
Y.Y
WR
RespirableDu st
mg/m
-
Y.Y R
-
Y.YWV
-
Y.Y
R
Total Dust
mg/m
-
Y.YYV
-
Y.Y W
-
Y.YRV
WR
RespirableDu st
mg/m
-
Y.Y
-
Y.Y
-
Y.Y
R
Total Dust
mg/m
Y.YY
Y.Y
Y.YYV
Y.Y X
-
Y.YX
WR
RespirableDu st
mg/m
Y.YYX
Y.YW
Y.YWW
Y.Y Y
-
Y.YRY
R
Total Dust
mg/m
-
Y.Y
-
Y.Y
-
Y.YRV
WR
ผลการประเมิน บริ เวณที ตรวจวัด
ดัชนีที ตรวจวัด
ปี RR
หน่วย
ปี RRV
ปี RRS
ครังQ ที W
ครังQ ที
ครังQ ที W
ครังQ ที
ครังQ ที W
ครังQ ที
-
Y.Y
-
Y.YWY
-
Y.Y
ผ่าน
ผ่าน
ผ่าน
ผ่าน
ผ่าน
ผ่าน
ค่า มาตรฐาน
17.IQC RespirableDu st ผลการประเมิน
mg/m
R
ผลการตรวจวัดตามปัจจัยเสีย งของการทํางานเปรี ยบเทียบย้ อนหลัง ปี รายการตรวจ ปี Y``a ปี Y``~ ปี Y`` การตรวจสุข ภาพทั วไป เฝ้ าระวัง ผิด ปกติ เฝ้ าระวัง ผิด ปกติ เฝ้ าระวัง ผิด ปกติ ตรวจทดสอบความแข็งแรงของกล้ ามเนื Qอมือ : HGD Y Y ตรวจทดสอบความแข็งแรงของกล้ ามเนื Qอขา : LSD Y Y ตรวจคัดกรองสมรรถภาพการได้ ยิน : Audiometry V WY R R R ตรวจคัดกรองสมรรถภาพปอด : Spirometry X S R XW W ตรวจหาระดับสารอลูมเิ นียมในเลือด : Al in Blood Y Y Y Y Y Y (Al) ตรวจหาระดับสารตะกัว ในเลือด : Lead in Blood Y Y Y Y Y Y (Pb) ตรวจทดสอบความแข็งแรงของกล้ ามเนื Qอมือ : HGD Y Y Y Y Y Y สําหรับการตรวจสุขภาพตามปั จจัยเสีย งที มีผลผิดปกติ เราได้ เชิญแพทย์ผ้ เู ชี ยวชาญด้ านอาชีวเวชศาสตร์ เข้ ามา ซักประวัติ และให้ คําแนะนําในการดูแลสุขภาพของพนักงานที มีผลผิดปกติ - ผลการตรวจสมรรถภาพการได้ ยิน ผิดปกติ คน คิดเป็ น Y.Y % ในปี RRS และมีแนวโน้ มลดลง เนื องจากเรา ได้ ปรับเปลีย นพนักงานที มีความเสีย งไปทํางานยังจุดที มีความเสียงน้ อย - ผลสมรรถภาพปอด ผิดปกติ W คน คิดเป็ น X.XX% ในปี RRS เราได้ สง่ ตรวจซํ Qา แพทย์ลงความเห็นว่า เป็ นโรคหอบหืด จํานวน R คน และสูบบุหรี จดั จํานวน คน และมีอาการเป็ นหวัด จํานวน คน แพทย์ให้ คําแนะนํา ในการดูแลสุขภาพและหลีกเลีย งชนิดของงานที ทํางานสัมผัสกับฝุ่ น - ส่วนผลตรวจผิดปกติอื นๆ ไม่พบในความเสีย งใดๆ
11. การกํากับ ดูแ ลกิจ การ 11.1 นโยบายการกํากับ ดูแ ลกิจ การ บริ ษัทตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที ดี (Good Corporate Governance) โดยเชื อว่า การ กํากับดูแลกิจการที ดีแสดงถึงการมีระบบบริ หารจัดการที มีประสิทธิ ภาพ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ ซึ งช่วยสร้ างความเชื อมัน และความมัน ใจต่อผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้มีสว่ นได้ เสีย และผู้ที เกี ยวข้ องทุกฝ่ าย อันจะนําไปสูก่ ารเพิ มมูลค่าและการเติบโตของ บริ ษัทในระยะยาวอย่างยัง ยืน บริ ษัทได้ ดําเนินการอย่างต่อเนื องในการส่งเสริ มให้ มีระบบการกํากับดูแลกิจการที ดี โดย มุง่ หวังให้ คณะกรรมการและฝ่ ายจัดการของบริ ษัท พัฒนาระดับการกํากับดูแลกิจการและปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแล กิจการที ดี ให้ สอดคล้ องกับแนวทางที เป็ นมาตรฐานสากล โดยนําหลักการกํ ากับดูแลกิจการที ดีซึ งกํ าหนดโดยตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มากําหนดเป็ นนโยบายการกํากับดูแลกิจการที ดีของบริ ษัท และกําหนดให้ มีการติดตามเพื อ ปรับปรุ งนโยบายดังกล่าวให้ สอดคล้ องกับแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ งอาจมีการเปลี ยนแปลงใน อนาคต เพื อให้ มีความเหมาะสมและสอดคล้ องกับสภาพการณ์ที เปลี ยนแปลงไป โดยมีแนวปฏิบตั ิซึ งครอบคลุมหลักการ 5 หมวด ดังต่อไปนี Q 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น บริ ษัทได้ ตระหนักและให้ ความสําคัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยไม่กระทําการใดๆที เป็ นการละเมิดหรื อริ ดรอนสิทธิ ของผู้ถือหุ้น รวมถึงส่งเสริ มให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ ใช้ สทิ ธิของตน โดยสิทธิขนพื ั Q Qนฐานของผู้ถือหุ้น ได้ แก่ การซื Qอขายหรื อการโอนหุ้น การมีสว่ นแบ่งในกําไรของบริ ษัท การได้ รับข่าวสารข้ อมูลของบริ ษัทอย่างเพียงพอ การเข้ าร่ วมประชุมเพื อใช้ สิทธิออก เสียงในที ประชุมผู้ถือหุ้นเพื อแต่งตังหรื Q อถอดถอนกรรมการ แต่งตังผู Q ้ สอบบัญชี และเรื องที มีผลกระทบต่อบริ ษัท เช่น การ จัดสรรเงิ นปั นผล การกํ าหนดหรื อการแก้ ไขข้ อบังคับและหนังสือบริ คณห์ สนธิ การลดทุนหรื อเพิ มทุน และการอนุมัติ รายการพิเศษ เป็ นต้ น บริ ษัทมีนโยบายส่งเสริ มและอํานวยความสะดวกให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นรวมถึงนักลงทุนสถาบัน ในการเข้ าร่ วมประชุมผู้ ถือหุ้น โดยบรษัทคัดเลือกสถานที จดั การประชุมซึ งมีระบบขนส่งมวลชนเข้ าถึงและเพียงพอเพื อให้ ผ้ ถู ือหุ้นสามารถเดิน ทางเข้ าร่ วมการประชุมได้ อย่างสะดวก บริ ษัทมีการให้ ข้อมูล วัน เวลา สถานที และวาระการประชุม ตลอดจนข้ อมูล ทังหมดที Q เกี ยวข้ องกับเรื องที ต้องตัดสินใจในที ประชุมแก่ผ้ ถู ือหุ้นเป็ นการล่วงหน้ า และแจ้ งให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบกฎเกณฑ์ต่างๆ ที ใช้ ในการประชุม รวมถึงขันตอนการออกเสี Q ยงลงมติ บริ ษัทมีการอํานวยความสะดวกให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ ใช้ สทิ ธิในการเข้ าร่ วม ประชุมและออกเสียงอย่างเต็มที และส่งเสริ มให้ ผ้ ถู ือหุ้นมีโอกาสในการแสดงความเห็นและตังคํ Q าถามต่อที ประชุมในเรื องที เกี ยวข้ องกับบริ ษัท ได้ รวมทังเปิ Q ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นส่งคําถามล่วงหน้ าและมีโอกาสเสนอวาระการประชุมก่อนวันประชุม รวมถึงมีสทิ ธิมอบฉันทะให้ ผ้ อู ื นเข้ าร่วมประชุม 2. การปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริ ษัทมีการปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็ นธรรม ทังผู Q ้ ถือหุ้นที เป็ นผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นที ไม่เป็ น ผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นต่างชาติ และผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย และสร้ างความมัน ใจให้ กบั ผู้ถือหุ้นว่าคณะกรรมการและฝ่ ายจัดการได้ ดูแลให้ การใช้ เงินของผู้ถือหุ้นเป็ นไปอย่างเหมาะสม ด้ วยเชื อว่าเป็ นปั จจัยสําคัญต่อความมัน ใจในการลงทุนกับบริ ษัท โดย คณะกรรมการบริ ษัทมีหน้ าที กํากับดูแลให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ รับการปฏิบตั ิ และปกป้องสิทธิขนพื ั Q Qนฐานอย่างเท่าเทียมกัน
คณะกรรมการบริ ษัท ได้ จดั กระบวนการประชุมผู้ถือหุ้นในลักษณะที สนับสนุนให้ มีการปฏิบตั ิต่อผู้ถือหุ้นทุกราย อย่างเท่าเทียมกัน และเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นส่วนน้ อยสามารถเสนอชื อบุคคลเพื อเข้ าดํารงตําแหน่งกรรมการบริ ษัท เป็ น การล่วงหน้ าในเวลาอันสมควร รวมถึงเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นที ไม่สามารถเข้ าประชุมด้ วยตนเอง สามารถใช้ สิทธิออกเสียง โดยมอบฉันทะให้ ผ้ อู ื นมาประชุมและออกเสียงลงมติแทนได้ คณะกรรมการบริ ษัทได้ กําหนดแนวทางในการเก็บรักษาและป้องกันการใช้ ข้อมูลภายในเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และแจ้ งแนวทางดังกล่าวให้ ทกุ คนในองค์กรถือปฏิบตั ิ 3. บทบาทของผู้มีสว่ นได้ เสีย บริ ษัทตระหนักถึงความรับผิดชอบและการปฏิบตั ิต่อผู้มีสว่ นได้ เสียกลุ่มต่างๆ และประสานประโยชน์ร่วมกัน อย่างเหมาะสม เพื อให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียทุกกลุม่ มัน ใจว่าสิทธิดงั กล่าวได้ รับการคุ้มครอง และปฏิบตั ิด้วยดี โดยได้ กําหนดเป็ น แนวทางที ต้องปฏิบตั ิเพื อตอบสนองความต้ องการของผู้มีส่วนได้ เสียแต่ละกลุ่มไว้ อย่างชัดเจนใน “ข้ อ พึง ปฏิบ ัต ิแ ละ จริยธรรมทางธุร กิจ ” พร้ อมทังเผยแพร่ Q และรณรงค์ให้ คณะกรรมการบริ ษัท ฝ่ ายบริ หาร ตลอดจนผู้ปฏิบตั ิงาน ยึดถือเป็ น หลักปฏิบตั ิในการดําเนินงาน และถือเป็ นภาระหน้ าที ที สาํ คัญของทุกคน 4. การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่งใส บริ ษัทให้ ความสําคัญกับการเปิ ดเผยข้ อมูลสําคัญที เกี ยวข้ องกับบริ ษัท ทังข้ Q อมูลทางการเงินและข้ อมูลที มิใช่ ข้ อมูลทางการเงินอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน ทันเวลา โปร่ งใส ผ่านช่องทางที เข้ าถึงข้ อมูลได้ ง่าย มีความเท่าเทียมกันและ น่าเชื อถือ ด้ ว ยบริ ษั ท เชื อ ว่า คุณ ภาพของรายงานทางการเงิ น เป็ น เรื อ งที ผ้ ูถื อ หุ้น และบุค คลภายนอกให้ ค วามสํา คัญ คณะกรรมการบริ ษัท จึงดูแลเพื อให้ เกิดความมัน ใจว่า ข้ อมูลที แสดงในรายงานทางการเงินมีความถูกต้ อง เป็ นไปตาม มาตรฐานการบัญชีที รับรองโดยทัว ไป และผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีที เป็ นอิสระ โดยได้ แต่งตังคณะกรรมการ Q ตรวจสอบ ซึ งประกอบด้ วยกรรมการที เป็ นอิสระเป็ นผู้รับผิดชอบดูแลเกี ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบ การควบคุมภายใน ทังนี Q Qรายงานของคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานของผู้สอบบัญชี มี รายละเอียดปรากฏในรายงานประจําปี 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัท มีบทบาทสําคัญในการกํากับดูแลกิจการเพื อประโยชน์สงู สุดของบริ ษัท คณะกรรมการ บริ ษัท มีความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบตั ิหน้ าที ตอ่ ผู้ถือหุ้นและเป็ นอิสระจากฝ่ ายจัดการ คณะกรรมการบริ ษัท มีภาวะผู้นํา วิสยั ทัศน์ และมีความเป็ นอิสระในการตัดสินใจเพื อประโยชน์สงู สุดของบริ ษัท และผู้ถือหุ้นโดยรวม จึงจัดให้ มีระบบแบ่งแยกบทบาทหน้ าที ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริ ษัท และฝ่ ายจัดการ ที ชดั เจน และดูแลให้ บริ ษัท มีระบบงานที ให้ ความเชื อมัน ได้ ว่ากิจกรรมต่างๆ ของบริ ษัท ได้ ดําเนินไปในลักษณะที ถกู ต้ อง ตามกฎหมายและมีจริ ยธรรม คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้ ว ยกรรมการที มี คุณ สมบัติ ห ลากหลาย ทังQ ในด้ า นทัก ษะ ประสบการณ์ ความสามารถเฉพาะด้ านที เป็ นประโยชน์กับบริ ษัท รวมทังการอุ Q ทิศเวลาและความพยายามในการปฏิบตั ิหน้ าที เพื อ เสริ มสร้ างให้ บริ ษัท มีคณะกรรมการที เข้ มแข็ง กระบวนการสรรหาผู้ดํารงตําแหน่งกรรมการบริ ษัท เพื อให้ ที ประชุมผู้ถือหุ้นเป็ นผู้แต่งตังQ เป็ นไปอย่างโปร่ งใส ปราศจากอิทธิพลของผู้ถือหุ้นที มีอํานาจควบคุมหรื อฝ่ ายจัดการ และสร้ างความมัน ใจให้ กบั บุคคลภายนอก
เพื อให้ การปฏิบตั ิหน้ าที ของคณะกรรมการบริ ษัท มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล คณะกรรมการบริ ษัท จึงจัด ให้ มีคณะกรรมการตรวจสอบ เพื อทําหน้ าที ช่วยคณะกรรมการบริ ษัท ในการปฏิบตั ิหน้ าที กํากับดูแลเกี ยวกับความถูกต้ อง ของรายงานทางการเงิ น ประสิทธิ ภาพระบบการควบคุมภายใน และการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และหลัก จรรยาบรรณต่างๆ เพื อส่งเสริ มให้ เกิดการกํากับดูแลกิจการที ดี กรรมการบริ ษัท ทุกคนมีความเข้ าใจเป็ นอย่างดีถึงหน้ าที ความรับผิดชอบของกรรมการและลักษณะการดําเนิน ธุรกิ จของบริ ษัท พร้ อมที จ ะแสดงความคิด เห็ นของตนอย่างเป็ นอิ สระและปรั บ ปรุ งตัวเองให้ ทัน สมัยอยู่ต ลอดเวลา กรรมการบริ ษัท มีการปฏิบตั ิหน้ าที ด้วยความซื อสัตย์สจุ ริ ต ระมัดระวังและรอบคอบ โดยคํานึงถึงประโยชน์สงู สุดของ บริ ษัท และเป็ นธรรมต่อผู้ถือหุ้นทุกคน โดยได้ รับข้ อมูลที ถกู ต้ องและครบถ้ วน
11.2 คณะกรรมการชุด ย่ อ ย 1. คณะกรรมการบริษัท ขอบเขตอํานาจหน้ าที ของคณะกรรมการบริ ษัท อํานาจ หน้ าที และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษัทที สาํ คัญโดยสรุปตามมติที ประชุมวิสามัญ ผู้ถือหุ้น ครังQ ที 2/2552 เมื อวันที 15 ธันวาคม 2552 1) จัดการบริ ษัทให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้ อบังคับ มติของที ประชุมผู้ถือหุ้น ด้ วยความสุจริ ต ระมัดระวัง และรักษาผลประโยชน์ของบริ ษัท 2) มีอํานาจแต่งตังกรรมการ Q และ/หรื อ ผู้บริ หารของบริ ษัท จํานวนหนึง ให้ เป็ นฝ่ ายบริ หารเพื อดําเนินการอย่าง หนึง อย่างใดหรื อหลายอย่างได้ เพือ ปฏิบตั ิงานตามที ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัทรวมทังมี Q อํานาจแต่งตังประธานเจ้ Q าหน้ าทีบ ริ หาร และคณะกรรมการอื นๆตามความเหมาะสม 3) กําหนดเป้าหมาย แนวทาง นโยบาย แผนงาน และงบประมาณของบริ ษัท ควบคุมดูแลการบริ หารและการ จัดการฝ่ ายบริ หาร หรื อบุคคลที ได้ รับมอบหมาย ให้ เป็ นไปตามนโยบายที คณะกรรมการบริ ษัทได้ ให้ ไว้ 4) พิจารณาทบทวนและอนุมตั ินโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ แผนงานการดําเนินธุรกิจ โครงการลงทุนขนาดใหญ่ ของบริ ษัท ที เสนอโดยฝ่ ายบริ หาร 5) ติดตามผลการดําเนินงานให้ เป็ นไปตามแผนงานและงบประมาณอย่างต่อเนื อง 6) พิจารณาและอนุมตั ิกิจการอื นๆ ที สาํ คัญอันเกี ยวกับบริ ษัท หรื อทีเ ห็นสมควรจะดําเนินการนันๆ Q เพื อให้ เกิด ประโยชน์สงู สุดแก่บริษัท เว้ นแต่อํานาจในการดําเนินการดังต่อไปนี Q จะกระทําได้ ก็ตอ่ เมื อได้ รับอนุมตั ิจากที ประชุมผู้ถือหุ้นก่อน ทังนี Q Q เรื องที กรรมการมีส่วนได้ เสีย หรื อมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์อื นใดกับบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ให้ กรรมการซึง มีสว่ นได้ เสีย หรื อมีความขัดแข้ งทางผลประโยชน์ดงั กล่าวไม่มีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในเรื องนันQ (ก) เรื องที กฎหมายกําหนดให้ ต้องได้ รับมติที ประชุมผู้ถือหุ้น (ข) การทํารายการที กรรมการมีสว่ นได้ เสียและอยูใ่ นข่ายที กฎหมาย หรื อข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยระบุให้ ต้องได้ รับอนุมตั ิจากที ประชุมผู้ถือหุ้น
เรื องต่อไปนี Qจะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากที ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทด้ วยคะแนนเสียงข้ างมากของกรรมการ ที เข้ าร่วมประชุม และจากที ประชุมผู้ถือหุ้นด้ วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทังหมดของผู Q ้ ถือหุ้นที เข้ า ประชุมและมีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนน (ก) การขายหรื อโอนกิจการของบริษัททังหมดหรื Q อบางส่วนที สาํ คัญ (ข) การซื Qอหรื อรับโอนกิจการของบริ ษัทอื นหรื อบริ ษัทเอกชนมาเป็ นของบริ ษัท (ค) การทํ า แก้ ไ ข หรื อ เลิกสัญ ญาเกี ยวกับการให้ เ ช่า กิ จ การของบริ ษัท ทังQ หมดหรื อบางส่วนที สํา คัญ การ มอบหมายให้ บุคคลอื นเข้ าจัดการธุรกิจของบริ ษัทหรื อการรวมกิจการกับบุคคลอื นโดยมีวตั ถุประสงค์จะ แบ่งกําไรขาดทุนกัน (ง) การแก้ ไขเพิม เติมหนังสือบริ คณห์สนธิหรื อข้ อบังคับ (จ) การเพิม ทุน การลดทุน การออกหุ้นกู้ การควบหรื อเลิกบริ ษัท (ฉ) การอื นใดที กําหนดไว้ ภายใต้ บทบัญญัติของกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์ และ/หรื อ ข้ อกําหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยให้ ต้องได้ รับความเห็นชอบจากที ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทและที ประชุมผู้ถือ หุ้นด้ วยคะแนนเสียงดังกล่าวข้ างต้ น 2. คณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขตอํานาจหน้ าทีข องคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้ บริ ษัทมีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้ องและเพียงพอ 2. สอบทานให้ บริ ษัทมีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจน ให้ ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตังQ โยกย้ าย เลิกจ้ างหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรื อหน่วยงาน อื นใดที รับผิดชอบเกี ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้ บริ ษัทปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที เกี ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตังบุ Q คคลซึง มีความเป็ นอิสระเพื อทําหน้ าที เป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัท และเสนอ ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทังเข้ Q าประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้ าร่ วมประชุมด้ วย อย่างน้ อยปี ละ 1 ครังQ 5. พิจารณารายการที เกี ยวโยงกันหรื อรายการที อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ให้ เป็ นไปตามกฎหมายและ ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทังนี Q Q เพื อให้ มนั ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์สงู สุด ต่อบริ ษัท 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจําปี ของบริ ษัท ซึ งรายงานดังกล่าว ต้ องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้ องประกอบด้ วยข้ อมูลอย่างน้ อยดังต่อไปนี Q - ความเห็นเกี ยวกับความถูกต้ อง ครบถ้ วน เป็ นที เชื อถือได้ ของรายงานทางการเงินของบริ ษัท - ความเห็นเกี ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริ ษัท
- ความเห็นเกี ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ ข้ อกํ าหนดตลาด หลักทรัพย์ หรื อกฎหมายที เกี ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท - ความเห็นเกี ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี - ความเห็นเกี ยวกับรายการที อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ - จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้ าร่ วมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบแต่ละ ท่าน - ความเห็ นหรื อข้ อ สังเกตโดยรวมที ค ณะกรรมการตรวจสอบได้ รั บ จากการปฏิบัติ ห น้ า ที ตามกฏบัต ร (charter) - รายการอื นที เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทัว ไปควรทราบภายใต้ ขอบเขตหน้ าที และความรับผิดชอบที ได้ รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท 7. ปฏิบตั ิการอื นใดตามที คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมายด้ วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ในการปฏิบตั ิหน้ าที ตามวรรคหนึ ง คณะกรรมการตรวจสอบมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ ษัทโดยตรง และคณะกรรมการของบริ ษัทยังคงมีความรับผิดชอบในการดําเนินงานของบริ ษัทต่อบุคคลภายนอก ในกรณีที มีการเปลี ยนแปลงหน้ าที ของคณะกรรมการตรวจสอบ ให้ บริ ษัทแจ้ งมติเปลี ยนแปลงหน้ าที และจัดทํา รายชื อและขอบเขตการดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบที มีการเปลี ยนแปลงตามแบบที ตลาดหลักทรัพย์กําหนด และนําส่งต่อตลาดหลักทรัพย์ภายใน วันทําการนับแต่วนั ที มีการเปลี ยนแปลงดังกล่าวโดยวิธีการตามข้ อกําหนดของ ตลาดหลักทรัพย์วา่ ด้ วยการรายงานโดยผ่านสือ อิเล็กทรอนิกส์ 3. คณะกรรมการบริห าร ขอบเขตอํานาจหน้ าที ของคณะกรรมการบริ หาร 1. คณะกรรมการบริ หารมีอํานาจในการกําหนด นโยบาย เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนการดําเนินงาน งบประมาณ ประจําปี ทังนี Q Qให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์การประกอบกิจการของบริ ษัทและในการบริ หารกิจการของบริ ษัท ดังกล่าวจะต้ องเป็ นไปตามนโยบาย ข้ อบังคับ หรื อคําสัง ใดๆที คณะกรรมการบริ ษัทกําหนด นอกจากนี Q ให้ คณะกรรมการบริ หารมีหน้ าที ในการพิจารณา กลัน กรอง ตรวจสอบ ติดตามเรื องต่างๆ ที จะนําเสนอต่อ คณะกรรมการบริ ษัทเพื อพิจารณาอนุมตั ิหรื อให้ ความเห็นชอบ 2. คณะกรรมการบริ หารมีอํานาจในการกําหนดโครงสร้ างองค์กรและการบริ หารจัดการที มีประสิทธิภาพ โดยครอบคลุมทังเรื Q องการคัดเลือก การฝึ กอบรม สวัสดิการ การว่าจ้ าง และการเลิกจ้ างพนักงานของบริ ษัทฯ 3. คณะกรรมการบริ หารอาจแต่งตังหรื Q อมอบหมายให้ บุคคลใดบุคคลหนึ งหรื อหลายคนกระทําการอย่างหนึ ง อย่ า งใดแทนคณะกรรมการบริ ห ารตามที เ ห็ น สมควรได้ และคณะกรรมการบริ ห ารสามารถยกเลิ ก เปลีย นแปลง หรื อ แก้ ไขอํานาจนันๆ Q ได้
11.3 การสรรหาและแต่ งตัง9 กรรมการและผู้บ ริห ารระดับ สูงสุด การสรรหากรรมการและผู้บ ริห าร W.คณะกรรมการบริษัท สําหรับการคัดเลือกบุคคลที จะเข้ าดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการของบริ ษัทฯไม่ได้ ผา่ นการสรรหาจากคณะกรรมการ สรรหา การสรรหากรรมการเป็ นหน้ าที และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษัทฯ ซึ งจะพิจารณาคัดเลือกตามเกณฑ์ คุณสมบัติตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจํากัด พ.ศ.2535 และตามประกาศคณะกรรมการกํ ากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที เกี ยวข้ อง นอกจากนี Qยังพิจารณาคัดเลือกกรรมการจากผู้ทรงคุณวุฒิที มีพื Qนฐานและ ความเชี ยวชาญจากหลากหลายด้ านซึ งจะส่งผลดีต่อการดําเนินงานของบริ ษัทฯ ในการให้ คําแนะนํา ข้ อคิดเห็นในเรื อง ต่างๆ ในมุมมองของผู้ทมี ีประสบการณ์ตรง มีภาวะผู้นํา วิสยั ทัศน์กว้ างไกล มีคณ ุ ธรรมและจริ ยธรรม มีประวัติการทํางานที โปร่ งใส และมีความสามารถในการแสดงความคิดเห็นอย่างเป็ นอิสระ จากนันQ จึงนํารายชื อเสนอที ประชุมผู้ถือหุ้นเพื อ พิจารณาแต่งตังQ ในการเลือกตังคณะกรรมการของบริ Q ษัทฯ จะกระทําโดยทีป ระชุมผู้ถือหุ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี Q (ก) ผู้ถือหุ้นคนหนึง มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง หุ้นต่อหนึง เสียง (ข) ในการเลือกตังกรรมการบริ Q ษัท วิธีการออกเสียงลงคะแนน อาจใช้ การลงคะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ไู ด้ รับการเสนอ ชื อเป็ นรายบุคคล หรื อหลายคนในคราวเดียวกันแล้ วแต่ที ประชุมผู้ถือหุ้นจะเห็นสมควร แต่ในการออกเสียง ลงคะแนนหรื อมีมติใดๆ ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้ สิทธิ ตามคะแนนเสียงที มีอยู่ทงหมดตามข้ ัQ อ 1 แต่จะแบ่ง คะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ใู ดมากน้ อยเพียงใดไม่ได้ (ค) บุคคลซึง ได้ รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเป็ นผู้ได้ รับการเลือกตังเป็ Q นกรรมการเท่าจํานวนกรรมการ ที จะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตังในครั Q งQ นันQ ในกรณีที บคุ คลซึ งได้ รับการเลือกตังในลํ Q าดับถัดลงมามีคะแนนเสียง เท่ากันเกินจํานวนกรรมการที จะพึงมีหรื อพึงเลือกตังในครั Q งQ นันให้ Q ผ้ เู ป็ นประธานเป็ นผู้ออกเสียงชี Qขาด นอกจากนี Q ในการประชุมสามัญประจําปี ทกุ ครังQ ให้ กรรมการออกจากตําแหน่ง 1 ใน 3 ถ้ าจํานวนกรรมการที จะ ออกไม่อาจแบ่งให้ ตรงเป็ นจํานวนได้ ก็ให้ ออกโดยจํานวนใกล้ เคียงที สดุ กับสัดส่วน 1 ใน 3 กรรมการซึง พ้ นจากตําแหน่งแล้ ว อาจได้ รับเลือกเข้ ารับตําแหน่งอีกก็ได้ กรรมการที จะต้ องออกจากตําแหน่งในปี แรกและปี ที สองภายหลังจดทะเบียนบริ ษัทฯ นันให้ Q ใช้ วิธีจับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนในปี หลังๆต่อไปให้ กรรมการคนที อยู่ในตําแหน่งนานที สดุ นันเป็ Q นผู้ออกจาก ตําแหน่ง กรรมการที ออกตามวาระนันอาจถู Q กเลือกเข้ ามาดํารงตําแหน่งใหม่ได้ กรณี ที ตํ าแหน่ง กรรมการว่า งลงเพราะเหตุอื นนอกจากถึงคราวออกตามวาระให้ ก รรมการเลือ กบุค คลซึ ง มี คุณสมบัติและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ าม ตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เข้ าเป็ นกรรมการ แทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้ นแต่วาระของกรรมการเหลือน้ อยกว่า 2 เดือน บุคคลซึ งเข้ าเป็ นกรรมการ แทนดังกล่าวจะอยู่ในตําแหน่งกรรมการได้ เพียงเท่าวาระที ยังเหลืออยู่ของกรรมการซึ งตนแทนและต้ องได้ รับมติของ คณะกรรมการด้ วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของกรรมการที ยงั เหลืออยู่ นอกจากนี Q คณะกรรมการบริ ษัทต้ องประกอบด้ วยกรรมการอิสระอย่างน้ อย 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทังหมด Q ของบริ ษัท แต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน
คํานิยาม “กรรมการอิสระ” “กรรมการอิสระ” คือบุคคลที ไม่มีส่วนเกี ยวข้ องใดๆทังสิ Q Qนกับการบริ หารงานบริ ษัทฯ และ/หรื อการดําเนิน ธุรกิจของบริ ษัทฯ เป็ นบุคลที มีความเป็ นอิสระจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่และผู้บริ หารของบริ ษัทฯ รวมทังญาติ Q สนิทของ บุคคลเหล่านันQ และสามารถแสดงความเห็นได้ อย่างเป็ นอิสระ โดยคํานึงถึงผลประโยชน์ของบริ ษัทฯและผู้ถือหุ้นเป็ น สําคัญ (ก) คุณสมบัต ขิ องกรรมการอิส ระ 1. เป็ นบุคคลที มีคณ ุ สมบัติไม่ขดั ต่อกฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ รวมทังกฎหมายต่ Q างๆที เกี ยวข้ อง 2. ถือหุ้นไม่เกินร้ อยละ 1 ของจํานวนหุ้นที มีสทิ ธิออกเสียงทังหมดของบริ Q ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบคุ คลที อาจมีความขัดแย้ ง โดยให้ นบั รวมหุ้นที ถือโดยผู้ที เกี ยวข้ องด้ วย 3. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการที มีสว่ นร่วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนักงาน ที ปรึกษาที ได้ เงินเดือนประจํา หรื อผู้มี อํานาจควบคุมของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม บริ ษัทย่อยลําดับเดียวกัน หรื อนิติบคุ คลที อาจ มีความขัดแย้ ง เว้ นแต่จะได้ พนั จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที ได้ รับการแต่งตังQ 4. ไม่เป็ นบุคคลที มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที เป็ น บิดา มารดา คู่สมรส พี น้อง และบุตร รวมทังคู Q ่สมรสของบุตร ของผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอํานาจควบคุม หรื อบุคคลที จะได้ รับการเสนอให้ เป็ นผู้บริ หารหรื อผู้มีอํานาจควบคุม ของบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย 5. ไม่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วมหรื อนิติบุคคลที อาจมี ความขัดแย้ ง ในลักษณะที อาจเป็ นการขัดขวางการใช้ วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทังไม่ Q เป็ นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ กรรมการซึ งไม่ใช่กรรมการอิสระ หรื อผู้บริ หาร ของผู้ที มีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัท ใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบุคคลที อาจมีความขัดแย้ ง เว้ นแต่ได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที ได้ รับการแต่งตังQ 6. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบคุ คลที อาจมีความ ขัดแย้ ง และไม่เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริ หาร หรื อหุ้นส่วนผู้จดั การของ สํานักงานสอบบัญชี ซึ งมีผ้ สู อบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบุคคลที อาจมี ความขัดแย้ งสังกัดอยู่ เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวัน ก่อนวันที ได้ รับการแต่งตังQ 7. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพใดๆ ซึ งรวมถึงการให้ บริ การเป็ นที ปรึ กษากฎหมายหรื อที ปรึ กษา ทางการเงิน ซึง ได้ รับค่าบริ การเกินกว่าสองล้ านบาทต่อปี จากบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อ นิติบคุ คลที อาจมีความขัดแย้ ง รวมทังไม่ Q เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริ หาร หรื อหุ้นส่วนผู้จดั การ ของผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพนันด้ Q วย เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที ได้ รับการแต่งตังQ 8. ไม่เป็ นกรรมการที ได้ รับแต่งตังขึ Q Qนเพื อเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริ ษัทผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้ถือหุ้นซึ ง เป็ นผู้ที เกี ยวข้ องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัท 9. ไม่มีลกั ษณะอื นใดที ทําให้ ไม่สามารถให้ ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกี ยวกับการดําเนิน งานของบริ ษัท
10. ไม่ประกอบกิจการที มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที มีนยั กับกิจการของผู้ขอนุญาตหรื อบริ ษัท ย่อย หรื อไม่เป็ นหุ้นส่วนที มีนยั ในห้ างหุ้นส่วน หรื อเป็ นกรรมการที มีสว่ นร่ วมบริ หารงานลูกจ้ าง พนักงาน ที ปรึ กษาที รับเงินเดือนประจํา หรื อถือหุ้นเกินร้ อยละหนึ งของจํานวนหุ้นที มีสิทธิออกเสียงทังหมดของบริ Q ษัท อื น ซึ งประกอบกิจการที มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที มีนยั กับกิจการของผู้ขออนุญาตหรื อ บริ ษัทย่อย 11. กรรมการอิสระจะต้ องรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษัทฯ โดยทันทีหากเห็นว่ามีเหตุการณ์ใดๆที อาจจะทําให้ ตนต้ องขาดคุณสมบัติความเป็ นอิสระในฐานะกรรมการอิสระ ภายหลังได้ รับการแต่งตังให้ Q เป็ นกรรมการอิสระที มีลกั ษณะเป็ นไปตามคุณสมบัติข้างต้ นแล้ วกรรมการอิสระ อาจได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ ตดั สินใจในการดําเนินกิจการของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม บริ ษัทย่อยลําดับเดียวกัน หรื อนิติบคุ คลที อาจมีความขัดแย้ ง โดยมีการตัดสินใจในรู ปแบบขององค์คณะ (Collective decision) ได้ 2. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ ษั ทหรื อ ที ประชุม ผู้ถื อ หุ้น ของบริ ษั ทเป็ น ผู้มีอํ า นาจแต่งตังQ คณะกรรมการตรวจสอบขึนQ ซึ ง คณะกรรมการตรวจสอบจะต้ องมีคณ ุ สมบัติตามที กฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงประกาศ ข้ อบังคับ และ/ หรื อระเบียบของตามหลักเกณฑ์ที สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กําหนด โดยมีจํานวนไม่ น้ อยกว่า 3 คน ทังนี Q Q กรรมการตรวจสอบอย่างน้ อย 1 คน ต้ องเป็ นผู้มีความรู้ด้านบัญชีและการเงิน 3. คณะกรรมการบริห าร องค์ประกอบและคุณสมบัติ 1.1 คณะกรรมการบริ หารประกอบด้ วย ประธานเจ้ าหน้ าที บริ หารโดยตําแหน่ง และบุคคลอื นอีก ไม่เกิน 4 คน ตามที ประธานเจ้ าหน้ าที บริ หารเสนอชื อ โดยต้ องได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริ ษัท ทังนี Q Qให้ คณะกรรมการบริ หาร คัดเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ งในคณะกรรมการบริ หารด้ วยกัน เป็ นประธานกรรมการบริ หารและอีกบุคคลหนึ งเป็ นรอง ประธานกรรมการบริ หาร 1.2 คณะกรรมการบริ หารเป็ นผู้แต่งตังเลขานุ Q การคณะกรรมการบริ หาร โดยให้ เลขานุการคณะกรรมการบริ หาร มี หน้ าที จดั การประชุมคณะกรรมการบริ หาร รวบรวมเอกสารที ใช้ ในการประชุม รวมทังทํ Q ารายงานการประชุมนําเสนอต่อที ประชุมทุกครังQ 1.3 คณะกรรมการบริ หารจะต้ องจัดให้ มีการประชุมตามที เห็นสมควร แต่ต้องไม่น้อยกว่า 1 ครังQ ต่อเดือน 1.4 ประธานคณะกรรมการบริ หารเป็ นผู้เรี ยกประชุมคณะกรรมการบริ หาร กรณีที ประธานกรรมการบริ หารไม่สามารถ ปฏิบตั ิหน้ าที ได้ ให้ รองประธานกรรมการบริ หารเป็ นผู้เรี ยกประชุมคณะกรรมการบริ หารแทน วาระการดํารงตําแหน่ง 2.1 กรณีกรรมการบริ หารที เป็ นกรรมการบริ ษัท ให้ มีวาระการดํารงตําแหน่งตามวาระที ดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการบริ ษัท 2.2 กรณีกรรมการบริ หารที เป็ นผู้บริ หารของบริ ษัท ให้ มีวาระการดํารงตําแหน่งเท่าที ดํารงตําแหน่งเป็ นผู้บริ หารของบริ ษัท 2.3 กรณีกรรมการบริ หารที เป็ นบุคคลภายนอกอื นซึ งมิได้ ดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการหรื อผู้บริ หารของบริ ษัทหรื อเป็ น บุคคลภายนอกอื น ให้ มีวาระการดํารงตําแหน่งตามที คณะกรรมการบริ ษัทจะมีมติ
11.4 การปฐมนิเ ทศกรรมการใหม่ ในการเข้ ารับตําแหน่งกรรมการบริ ษัท/ กรรมการอิสระ กรรมการแต่ละท่านจะได้ รับคู่มือกรรมการและรับทราบ ข้ อมูลต่างๆที สาํ คัญเกี ยวกับบริ ษัท ทังข้ Q อบังคับบริ ษัทที ระบุถึงขอบเขต หน้ าที และความรับผิดชอบของกรรมการ คําแนะนํา ทางด้ านกฎหมาย กฎระเบียบ และเงื อนไขต่างๆในการเป็ นกรรมการบริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงได้ รับความรู้ความเข้ าใจเกี ยวกับธุรกิจของบริ ษัท 11.5 นโยบายการในการซือ9 ขายหลัก ทรัพ ย์ ข องบริษัท และการใช้ ข้ อ มูล ภายใน การถือ ครองหลัก ทรัพ ย์ 1. ให้ ความรู้แก่กรรมการและผู้บริ หาร ให้ รับทราบเกี ยวกับหน้ าที ที ต้องรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของ ตน คู่สมรส และบุตรที ไม่บรรลุนิติภาวะ ตามมาตรา RS รวมถึงบทกําหนดโทษตามมาตรา R แห่ง พรบ.หลักทรัพย์ พ.ศ. R R และตามข้ อกําหนดของ ตลท. 2. กรรมการและผู้บริ หาร ต้ องแจ้ งการซื Qอขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทล่วงหน้ าอย่างน้ อย W วันก่อนทําการซื Qอ ขายหุ้น โดยแจ้ งผ่านเลขานุการบริ ษัทให้ ทราบ และเลขานุการบริ ษัทต้ องแจ้ งต่อคณะกรรมการให้ ทราบ และเมื อซื Qอขายเรี ยบร้ อยแล้ ว ให้ มีการเพื อจัดทํารายงานการถือครองหลักทรัพย์นําส่งคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และให้ กรรมการและผู้บริ หารรายงานการเปลี ยนแปลงการถือ หลักทรัพย์ให้ ที ประชุมคณะกรรมการทราบ เพื อป้องกันการซื Qอหรื อขายหุ้นโดยใช้ ข้อมูลภายใน และเพื อ หลีกเลีย งข้ อครหาเกี ยวกับความเหมาะสมของการซื Qอหรื อขายหุ้นของบุคคลภายใน การใช้ ข้ อ มูล ภายในบริษัท 1. กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานพึ งหลีกเลี ยงการใช้ ข้อมูลภายใน เพื อประโยชน์ของตนในการซื Qอหรื อ ขายหุ้นของบริ ษัท หรื อให้ ข้อมูลภายในแก่บคุ คลอื น เพื อประโยชน์ในการซื Qอหรื อขายหุ้นของบริ ษัท 2. กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน ควรละเว้ นการซื Qอขายหุ้นของบริ ษัทในช่วงเวลาก่อน W เดือนที จะ เผยแพร่งบการเงิน หรื อเผยแพร่สถานะของบริ ษัท รวมถึงข้ อมูลสําคัญอื น ๆ และควรรอคอยอย่างน้ อย ชัว โมงภายหลังการเปิ ดเผยข้ อมูลให้ แก่สาธารณชนแล้ ว ก่อนที จะซื Qอหรื อขายหุ้นของบริ ษัท 3. กรณี ที มี การฝ่ าฝื นในการนํา ข้ อมูลภายในของบริ ษั ทไปใช้ เ พื อ ประโยชน์ ส่วนตัว มี โทษตังQ แต่ก าร ตักเตือนด้ วยวาจาจนถึงขันให้ Q ออกจากงาน
11.6 ค่ าตอบแทนของผู้ส อบบัญชี 1. ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี (Audit Fee) ที ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี RR เมื อวันที V เมษายน RR ได้ มีมติอนุมตั ิการกําหนดค่าตอบแทน ผู้สอบบัญชีปี RR เป็ นจํานวนเงิน VYY,YYY บาท (แปดแสนบาทถ้ วน) ที ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี RRV เมื อวันที เมษายน RRV ได้ มีมติอนุมตั ิการกําหนดค่าตอบแทนผู้สอบ บัญชีปี RRV เป็ นจํานวนเงิน VYY,YYY บาท (แปดแสนบาทถ้ วน) ที ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี RRS เมื อวันที V เมษายน RRS ได้ มีมติอนุมตั ิการกําหนดค่าตอบแทนผู้สอบ บัญชีปี RRS เป็ นจํานวนเงิน SYY,YYY บาท (เก้ าแสนบาทถ้ วน)
2. ค่าบริ การอื น ๆ (Non Audit Fee) - ไม่มี –
11.7 การปฏิบ ัต ติ ามหลัก การกํากับ ดูแ ลกิจ การที ด ีใ นเรื อ งอื น ๆ การเข้ าร่วมการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบปี 2559 ชื อ – สกุล W. นางสาววลัยภรณ์
กณิกนันต์
. นายนิพนั ธ์ . นายสันติ
ตังพิ Q รุฬห์ธรรม เนียมนิล
ตําแหน่ ง ประธานกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
การประชุม คณะกรรมการ จํานวนครัง9 การ จํานวนครัง9 ที เ ข้ าร่ วม ประชุม ประชุม 4
4
4 4
4 4
12. ความรับ ผิด ชอบต่ อ สังคม (Corporate Social Responsibilities: CSR) 12.1 นโยบายภาพรวม และการดําเนิน งาน คณะกรรมการบริ ษัทฯมีนโยบายให้ การดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯและบริ ษัทย่อยเป็ นไปด้ วยความ รับผิดชอบต่อ สังคม สิง แวดล้ อม และกลุม่ ผู้มีสว่ นได้ เสีย โดยในปี 2559 ได้ มกี ารทบทวนวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และ เป้าหมาย เปิ ดเผยใน เว็บไซต์ของบริ ษัทฯในหัวข้ อ “ข้ อมูลบริ ษัทฯ” เพื อใช้ เป็ นหลักในการประพฤติปฏิบตั ิของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน โดยการคํานึงถึงสิทธิของ ผู้มีสว่ นได้ เสียทุกกลุม่ ภายใต้ กรอบกฎหมาย ระเบียบปฏิบตั ิของบริษัทฯ ความมีจริ ยธรรม ความ ยุติธรรมและความเสมอภาค วัตถุประสงค์เพื อให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานของบริ ษัทฯ มีแนวทางในการประพฤติปฏิบตั ิที ถูกต้ องเป็ นที ยอมรับของสังคม ซึง จะส่งผลให้ การประกอบธุรกิจของบริ ษัทฯ เติบโตอย่างยัง ยืน
12.2 แนวทางการดําเนิน งาน ภายใต้ ค วามรับ ผิด ชอบต่ อ สังคมและสิ งแวดล้ อ ม (CSR) บริ ษัทฯ มุง่ หมายทีจ ะดําเนินธุรกิจภายใต้ จรรยาบรรณและการการกํากับดูแลกิจการทีด ี ควบคูไ่ ปกับการใส่ใจ และดูแลรักษาสังคมและสิง แวดล้ อม เพื อที จะนําพาให้ บริ ษัทฯ มีการพัฒนาธุรกิจอย่างยัง ยืน ด้ วยการปฏิบตั ิตามหลักแห่ง ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจหรื อ Corporate Social Responsibility (“CSR”) ซึง บริ ษัทฯ เชื อว่าการสร้ าง “ความ ยัง ยืนขององค์กร (Corporate Sustainability) ”เป็ นสิง สําคัญยิง ในการบริ หารจัดการองค์กรธุรกิจสมัยใหม่ การกําหนด นโยบายของ CSR เพื อให้ ผ้ บู ริหารและพนักงานของบริษัทฯ ใช้ เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิตอ่ ชุมชน สังคม และผู้มีสว่ น เกี ยวข้ อง จะก่อให้ เกิดคุณประโยชน์ในหลายด้ านแก่บริ ษัทฯ เช่น การสร้ างความน่าเชื อถือให้ แก่บริ ษัทฯ การสร้ าง ภาพลักษณ์ของบริ ษัทฯ ที ดีตอ่ สังคม เป็ นต้ น โดยบริ ษัทฯ มีนโยบายและแนวทางการปฏิบตั ิที เป็ นไปตามหลักการ 8 ข้ อ ของแนวทางความรับผิดชอบ ของกิจการที จดั ทําโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังนี Q 1. การประกอบกิจ การด้ วยความเป็ นธรรม บริ ษัทฯมีการกําหนดข้ อพึงปฏิบตั ิที แสดงถึงการประกอบกิจการด้ วยความเป็ นธรรมกับคู่ค้าและคู่แข่งทางธุรกิจ รวมทังQ การดําเนินธุรกิจตามกฎหมายอย่างเคร่ งครัด เพื อให้ กรรมการผู้บริ หารและพนักงานได้ ปฏิบตั ิ ไว้ ในข้ อกํ าหนด เกี ยวกับจริ ยธรรมทางธุรกิจ (Code of Ethics) ฉบับปี 2558 และในข้ อพึงปฏิบตั ิ (Code of Conduct) ของ ข้ อที 1. นโยบายความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ข้ อที 7. นโยบายในการปฏิบตั ิติอลูกค้ าและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ข้ อที 8. นโยบายและการปฏิบตั ิตอ่ คูค่ ้ าและ/หรื อเจ้ าหนี Q และข้ อที 9. นโยบายและการปฏิบตั ิตอ่ คูแ่ ข่งทางการค้ า 2. การต่ อ ต้ านการทุจ ริต ข้ อพึงปฏิบตั ิเรื องการต่อต้ านการคอร์ รัปชั น และการร่ วมสร้ างจิตสํานึกที ส่งเสริ มความซื อสัตย์สจุ ริ ตภายใต้ ระบบงานที เข้ มแข็งและระบบการควบคุมภายในที มีประสิทธิ ภาพดังข้ อพึงปฏิบตั ิ ข้ อที 13. นโยบายการต่อต้ านการ คอร์ รัปชัน ฉบับปี 2558 และช่องทางการร้ องเรี ยนหรื อแจ้ งเบาะแสในเรื อง ดังปรากฎในหัวข้ อการติดตามดูแลให้ มีการ ปฏิบตั ิ ข้ อที 3 วิธีการสอบถามข้ อสงสัยและการรายงานในกรณีที สงสัยว่าจะมีการกระทําผิดจริ ยธรรมของบริ ษัท โดยการ รับข้ อร้ องเรี ยน ซึง อาจจะจัดให้ มีหลายช่องทางก็ได้ ทังนี Q Q ในปี 2558 ไม่มีการร้ องเรี ยน หรื อแจ้ งเบาะแสที เกี ยวข้ องกับการทุจริ ตหรื อคอร์ รัปชัน ต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบแต่อย่างใด
3. การเคารพสิท ธิมนุษยชน บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ไม่เกี ยวข้ องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน และไม่เลือกปฏิบตั ิ ระหว่างเพศ ศาสนา เชือQ ชาติ อายุ และถิ นกําเนิด , มีการว่าจ้ างคนพิการทางการได้ ยิน , พิการทางร่ างกาย มาเป็ น พนักงานประจําการจ้ างงานโดยไม่กําหนดเฉพาะเพศใดเพศหนึง ปรากฏดังข้ อพึงปฏิบตั ิ ข้ อที 10. นโยบายและการปฏิบตั ิ ต่อพนักงาน และให้ เสรี ภาพแก่พนักงานในการแสดงความคิดเห็น และการแสดงออกทางการเมืองโดยอิสระ ปรากฏดังข้ อ พึงปฏิบตั ิ ข้ อที 11. นโยบายในการปฏิบตั ิตนของพนักงานและการปฏิบตั ิตอ่ พนักงานอื น หัวข้ อ การใช้ สทิ ธิทางการเมือง 4. การปฏิบ ัต ติ ่ อ แรงงานอย่ างเป็ นธรรม แนวปฏิบตั ิที เกี ยวข้ องกับการปฏิบตั ิในเรื องจริ ยธรรมของพนักงาน ในด้ านการปฏิบตั ิต่อตนเอง การปฏิบตั ิต่อ ลูกค้ า ผู้ที เกี ยวข้ องและสังคม การปฏิบตั ิระหว่างพนักงาน การปฏิบตั ิตอ่ องค์กรและการใช้ สทิ ธิทางการเมือง โดยบริ ษัทฯ มี นโยบายในการจ้ างพนักงาน ด้ วยการยึดหลักในการจ้ างแรงงานที ถูกต้ องตามกฎหมาย และให้ การเคารพหลักสิทธิ มนุษยชนของแรงงาน โดยครอบคลุมในเรื องการจ้ างงาน การคุ้มครองทางสังคม เสรี ภาพในการสมาคมทางสังคม สุขภาพ และความปลอดภัย เป็ นต้ น ปรากฏดังข้ อพึงปฏิบตั ิ ข้ อที 11. นโยบายในกรปฏิบตั ิตนของพนักงานและการปฏิบตั ิต่อ พนักงานอื น และการปฏิบัติที เ กี ยวกับการดูแลสภาพแวดล้ อ มในการทํา งานให้ มี ความปลอดภัยต่อชี วิ ต ทรั พย์ สิน และ คุณภาพชีวิตของพนักงานทุกคน รวมทังบริ Q ษัทฯ ได้ จดั ให้ มีสวัสดิการ และค่าจ้ างแก่พนักงานของบริ ษัทฯ อย่างถูกต้ องตาม กฎหมายแรงงาน มีการจัดกิจกรรมสันทนาการเพื อการผ่อนคลาย การฝึ กอบรมให้ กบั พนักงานเพื อเพิ มพูนความรู้ การจัด ให้ มีกองทุนสํารองเลี Qยงชีพ เป็ นต้ น นอกจากนี Q บริ ษัทฯ ให้ ความเคารพในสิทธิต่างๆ ของพนักงาน โดยไม่มีการกลัน แกล้ ง หรื อข่มขู่ใดๆ เช่น การให้ สิทธิ การลาหยุดพักร้ อน สิทธิในการหยุดลากิจ การให้ สิทธิลาป่ วย การให้ สิทธิในการแสดง ความเห็นต่อนโยบายการปฏิบตั ิงานต่างๆ ซึ งพนักงานสามารถเสนอความเห็นผ่านทางฝ่ ายบุคคลของบริ ษัทฯ หรื อผ่าน ทางผู้บงั คับบัญชาของตนเองได้ ปรากฏดังข้ อพึงปฏิบตั ิ ข้ อที 10. นโยบายและการปฏิบตั ิตอ่ พนักงาน 5. ความรับ ผิด ชอบต่ อ ผู้บ ริโ ภค กลุม่ บริ ษัทฯ ตระหนักยิ งถึงการให้ บริ การที มีประสิทธิ ภาพ เพื อส่งมอบงานต่อลูกค้ าที เป็ นไปตามความความ ต้ องการ ภายในระยะเวลาที กําหนดภายใต้ มาตรฐานความปลอดภัยอย่างยิ งงวด ปรากฏดังข้ อพึงปฏิบตั ิ ข้ อที 7. นโยบาย ในการปฏิบตั ิต่อลูกค้ าและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ บริ ษัทฯ มีการสํารวจความพึงพอใจของลูกค้ าเป็ นประจําทุกปี เดือน โดยการใช้ แบบสอบถามความพึงพอใจของลูกค้ า ซึง แบ่งออกเป็ น 4 แผนกที ประเมิน คือ แผนกขาย , แผนกผลิต , แผนก วางแผน/จัดส่ง และแผนกคุณภาพ โดยครอบคลุมต่างๆ ดังต่อไปนี Q W.การให้ ข้อมูลก่อนรับงาน 2. การติดต่อสือ สาร 3. ความพร้ อมของเอกสารสนับสนุน 4. การประสานแก้ ไขปั ญหาและความสะดวกรวดเร็ ว 5. การส่งมอบตรงเวลา 6. งานถูกต้ องตามความต้ องการในการจัดส่งและเอกสารที เกี ยวข้ อง . ความสะอาด/เรี ยบร้ อยของบรรจุภณ ั ฑ์ 8. ความพึงพอใจในคุณภาพของสินค้ า
และความเห็นจากลูกค้ าจะถูกนําเสนอต่อฝ่ ายจัดการ เพื อรับทราบ และใช้ เป็ นแนวทางในการพัฒนาและ ปรับปรุงการให้ บริ การที สามารถตอบสนองความพอใจของลูกค้ าให้ ดียิ งขึ Qน การให้ ความเอาใจใส่ตอ่ การให้ บริ การแก่ลกู ค้ า ด้ วยการติดตามผลการปฏิบตั ิงานว่าเป็ นไปตามเป้าหมายหรื อไม่ โดยการให้ บริ การต่างๆ แก่ลกู ค้ าจะต้ องเป็ นไปด้ วยความระมัดระวัง รอบคอบ ถูกต้ องตามหลักของกฎหมาย และ กฎระเบียบต่างๆ ที เกี ยวข้ องรวมทังหากมี Q ปัญหาใดๆ จะต้ องร่ วมกันกับลูกค้ าในการหารื อ เพื อกําหนดแนวทางแก้ ไข หาทางออกร่วมกัน โดยไม่ปล่อยให้ ลกู ค้ ารับภาระหรื อแก้ ไขปั ญหาแต่เพียงผู้เดียวผลสําเร็ จของการบริ หารงานของบริ ษัทฯ มาจากความพึงพอใจของลูกค้ าเป็ นสําคัญ บริ ษัทฯ จึงต้ องสร้ างความสัมพันธ์ ที ดีต่อลูกค้ าด้ วยการปฏิบตั ิต่อลูกค้ าใน แนวทางต่างๆ ปรากฏดังข้ อพึงปฏิบตั ิ ข้ อที 7. นโยบายในการปฏิบตั ิตอ่ ลูกค้ าและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ หัวข้ อ นโยบาย การปฏิบตั ิตอ่ ลูกค้ า 6. การมีส่ วนร่ วมพัฒนาชุม ชนและสังคม บริ ษัทฯ มีความมุ่งมัน ในการดําเนินงานด้ วยความรับผิดชอบต่อผลกระทบในด้ านต่างๆที เกิดจากการประกอบ กิ จ การขององค์ กร โดยยึด หลัก การดํา เนิน ธุ รกิ จ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ มี จริ ย ธรรม เคารพต่อหลักสิท ธิ ม นุษยชนและ ผลประโยชน์ของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย คํานึงผลกระทบต่อชุมชนและสิ งแวดล้ อม เพื อสร้ างรากฐานของความรับผิดชอบต่อ สังคมอย่างต่อเนื องและยั งยืน ปรากฏดังข้ อพึงปฏิบัติ ข้ อที 12. นโยบายความรั บผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม โดยผ่าน กิจกรรมและโครงการต่างๆ ดังนี Q การดําเนินธุรกิ จของบริ ษัทฯ มุ่งมัน ที จะเป็ นสมาชิกที ดีต่อสังคมและผู้มีส่วนได้ เสียของบริ ษัทและการดําเนิน ธุรกิจได้ ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ร่ วมแบ่งปั นผลเพื อตอบแทนและสร้ างสรรค์ชุมชนและสังคม เพื อให้ ธุรกิจ ชุมชน และสังคมเติบโตคูก่ นั อย่างยัง ยืน โดยผ่านกิจกรรมและโครงการต่างๆ ดังนี Q W). กิจกรรมวัน เด็ก บริ ษัทฯมอบตุ๊กตาและขนม ให้ กบั นักเรี ยน จํานวน โรงเรียน ได้ แก่ ได้ แก่ โรงเรี ยนวัดหนองกรับ โรงเรี ยนบ้ าน หินโค่งประชานุเคราะห์ และโรงเรี ยนบ้ านแม่นํ Qาคู้
Y.) สร้ างฝายชะลอนํา9 บริ ษัทฯ ร่วมกับลูกค้ าก๊ าซธรรมชาติ กลุม่ อุตสาหกรรมและผลิตไฟฟ้าใช้ เอง บริษัท ปตท.จํากัด(มหาชน) ร่วม กิจกรรมสร้ างฝายชะลอนํ Qาจํานวน WY จุดณ บ้ านห้ วยมะหาด บ้ านฉาง ระยอง
^.) กิจกรรมบริจ าคโลหิต ปี ๒๕๕๙ งาน “๑๐๐ ปี สหกรณ์ ไ ทย ร้ อ ยใจสหกรณ์ ร ะยอง” บริ ษัทฯร่วมกับสหกรณ์ออมทรัพย์ซงั โกะไทย จํากัด ได้ นําพนักงานจํานวน ๘ ราย เพื อไปบริ จาคโลหิต ณ สหกรณ์ออมทรัพย์ตํารวจจังหวัดระยอง จํากัด
.) สนับ สนุน ยานพาหนะเพื อ เคลื อ นย้ ายโต๊ ะ-เก้ าอีส9 าํ หรับ ครู บริ ษัทฯร่ วมกับบริ ษัท Esco Engineering& Service จํากัด และกลุ่มจิตอาสาต่างๆ ได้ แก่ กลุม่ “สองล้ อ. ออก ทริ ป กลุม่ ลิงจันท์มินิไบค์ และกลุม่ Rayong Touring ในการจัดหาโต๊ ะ-เก้ าอี Qสําหรับครู จํานวน S ตัว ค่านํ Qามันรถและ สนับสนุนพาหนะสําหรับเคลือ นย้ าย (รถ X ล้ อ) เพื อไปมอบให้ กบั โรงเรี ยน วัดตะเคียนทอง (เพชโรปถัมภ์) ต.ตะเคียนทอง อ.เขาคิชฌกูฏ จ.จันทบุรี
.) กิจกรรมปลูก ปะการังจํานวน ^_ ก้ อ นด้ วยวิธ ีก ารอนุร ัก ษ์ ป ะการังแบบยั งยืน โดยการใช้ หินฟอสซิลหล่อด้ วยปูนซีเมนต์มาเป็ นแท่นฐานปลูก ณ เกาะไก่เตี Qย เขตอนุรักษ์ ปะการังเขากวาง หาดเตยงาม อ่าวนาวิกโยธิน อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี
) บริจ าคสิ งของให้ ก บั โรงพยาบาลสะเก็ด เงิน บริ ษัทฯ ร่วมกับสหกรณ์ซงั โกะไทย จํากัด บริ จาคสิง ของ อาทิ ผ้ าก็อต RY กล่อง ถุงมือยาง RY กล่อง และสุรา ขาว Y ดีกรี จํานวน R ลัง เพื อใช้ ในการรักษาผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน โดยมีนายเฉลิมพล ศักดิค าํ นายกเทศมนตรี เทศบาล เมืองท่าช้ าง ซึง เป็ นผู้ก่อตังและให้ Q การรักษาผู้ป่วยเป็ นผู้รับ ณ เทศบาลเมืองท่าช้ าง ต.ท่าช้ าง อ.เมือง จ.จันทบุรี
7.) ทอดกฐิน สามัคคีวดั ปิ บผลิวนาราม ประจําปี `a บริ ษัทฯร่วมกับสหกรณ์ซงั โกะไทย จํากัด ร่วมเป็ นเจ้ าภาพร่วมในการทอดกฐิ นสามัคคี เพื อก่อสร้ างมหาเจดีย์ พุทธคยา (จําลองจากประเทศอินเดีย) และสร้ างถนนขึ Qนสูส่ ถานทีก ่อสร้ างมหาเจดีย์พทุ ธคยา นอกจากนี Qยังนําข้ าวเหนียว เหลืองหน้ าปลาย่างและนํ Qาโอลี Qยงมาเลี Qยงผู้มาร่วมงานบุญด้ วย ณ วัดปิ บผลิวนาราม ต.หนองบัว อ.บ้ านค่าย จ.ระยอง
.) จัด บูธ ในกิจ กรรมการแข่ งขัน ทัก ษะทางวิช าการ ปี Y``a เพื อประชาสัมพันธ์โรงงานและร่วมสนับสนุนกิจกรรมการจัดโครงการแข่งขันทักษะทางวิชาการ เพื อเป็ นการสร้ าง การมีสว่ นร่วมในการส่งเสริ มการศึกษาท้ องถิ น ณ โรงเรี ยนวัดปทุมาวาส อ.บ้ านค่าย จ.ระยอง
.) สนับ สนุน ของที ร ะลึก ในการประชุม ใหญ่ ป ระจําปี Y``a บริ ษัทฯร่วมกับสหกรณ์ซงั โกะไทย จํากัด ร่วมสนับสนุนของที ระลึกผ้ าห่ม จํานวน Y ผืน ให้ แก่สมาชิกกองทุนฯ ในงานประชุมใหญ่สามัญประจําปี RRS ของกองทุนสวัสดิการชุมชนตําบลหนอง ณ ลานกิจกรรมวิจิตรธรรมาภิรัต วัดละ หารไร่ ตําบลหนองบัว อําเภอบ้ านค่าย จังหวัดระยอง
~. การดูแ ลรัก ษาสิ งแวดล้ อ ม บริ ษัทฯ มีความมุง่ มัน ในการดําเนินงานด้ านการจัดการสิง แวดล้ อม ซึง เป็ นสิง ทีต ้ องดําเนินการควบคูไ่ ปกับการ ดําเนินธุรกิจเช่นเดียวกัน โดยมุง่ ผลิตชิ Qนส่วนอะไหล่รถยนต์ที ที มีคณ ุ ภาพ ความปลอดภัยต่อผู้บริ โภค คํานึงถึงผลกระทบ ต่อชุมชนและสิง แวดล้ อม โดยปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้ อกําหนดอื นๆ หรื อแนวปฏิบตั ิสากลที เกี ยวข้ อง ปรากฏดังข้ อพึง ปฏิบตั ิ ข้ อที W . นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม นอกจากนี Q บริ ษัทฯ ยังมีนโยบายบริ หารการจัดการด้ านสิง แวดล้ อม (ISO 14001) เพื อลดผลกระทบซึง อาจจะ เกิดขึ Qนจากกระบวนการผลิตหรื อกิจกรรมต่างๆ โดยยึดถือเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิทเี ป็ นมิตรต่อสิง แวดล้ อม ด้ วยการ ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้ อกําหนดอื นๆที เกี ยวข้ องอย่างเคร่งครัด อันจะนําไปสูก่ ารสร้ างความยัง ยืนอย่างแท้ จริ งต่อองค์กร ชุมชนและสังคม โดยมีการปฏิบตั ิ ดังนี Q 1. บริ ษัทฯ ได้ รับการรับรองตามมาตรฐาน ISO 14001 ซึง ครอบคลุมทุกพื Qนที ของบริษัทฯ โดย ได้ รับการตรวจสอบจากผู้ตรวจประเมินภายนอก ซึง มีความเป็ นอิสระจากสถาบัน URS 2. บริ ษัทฯ ได้ จดั ทํารายงานการจัดการพลังงานตามกระทรวงพลังงาน โดยมีการจัดทํามาตรการ ประหยัดพลังงาน ดังต่อไปนี Q 1.) การเปลีย นหลอด LED WV W แทน หลอดTV, X W แผนก IQC เกิดผลประหยัด WY,S V.SS บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน W. ปี
2.) ปรับTap ลดแรงดันหม้ อแปลง 500 kVA ให้ เหมาะสม เกิดผลประหยัด WR, X . บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน Y.R ปี 3. บริ ษัทฯ กําลังจะขอรับการรับรองตามมาตรฐาน ISO 50001 : 2011 โดยเริ มจัดทําระบบนี Q เมื อกลางต้ นปี RRS และคาดว่าจะขอการรับรองในช่วงกลางปี RXY 4. ในปี RR9 บริ ษัทฯ ไม่มีข้อร้ องเรียนด้ านสิง แวดล้ อม หรื อการดําเนินการที ไม่สอดคล้ องตาม กฎหมายทังจากภายในและภายนอก Q . การมีน วัต กรรมและการเผยแพร่ น วัต กรรมจากการดําเนิน ความรับ ผิด ชอบต่ อ สังคม บริ ษัทฯ ได้ นําความรู้ ความคิดสร้ างสรรค์ และประสบการณ์จากการดําเนินธุรกิจ มาพัฒนาปรับใช้ และคิดค้ นให้ เกิด นวัตกรรมทางธุรกิจที สามารถสร้ างประโยชน์เพิ มขีดความสามารถในการแข่งขัน สร้ างมูลค่าเพิม ต่อธุรกิจและสังคมไป พร้ อมๆกัน โดยบริ ษัทฯ ได้ กําหนดไว้ ในพันธกิจหลัก W ใน หัวข้ อหลักที สาํ คัญ กล่าวคือ ในปี RRS ได้ จดั ทําโครงการ เพื อลดต้ นทุนการผลิต จํานวน โครงการ ได้ แก่ โครงการที W การรี ไซเคิล Dross ที เหลือจากการผลิตซึง เรี ยกว่า “Scrap” ซึง ปกติจะขายเป็ นเศษ Scrap ราคา Y บาท/กก. แล้ วจะต้ องซื Qอวัตถุดิบ(Ingot แท่ง)ใหม่เข้ ามาทดแทน ในราคา X บาท/กก. โดยนํา Dross ไปจ้ างให้ ผ้ รู ับ จ้ างช่วงทําการ Recycleเพื อให้ ทําเป็ น ingot แท่งตาม Spec ที บริ ษัทกําหนด จากนันส่ Q งกลับมาใช้ งานใหม่อีกครังQ โดยรี ไซเคิล Dross จํานวน ,YS กิโลกรัม สามารถประหยัดเงินได้ WRX,R บาท
โครงการที การรี ยสู หัวTip ที ผา่ นการใช้ งานแล้ วให้ สามารถใช้ งานใหม่ ใช้ วิธีการกลึงเพื อลดขนาดหัว Tip จากขนาด VY มม. เป็ น Y มม. และขนาด Y มม. เป็ น XY มม. โดยนํา หัว Tip จํานวน YS ชิ Qน สามารถลดต้ นใน การซื QอหัวTip ใหม่ได้ R , บาท
9. การจัด ทํารายงานด้ านสังคมและสิ งแวดล้ อ ม บริ ษัทฯ ได้ ให้ ความสําคัญกับการเปิ ดเผยข้ อมูลที สะท้ อนให้ เห็นถึงการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ที กล่าวมาอย่างครบถ้ วน โดยข้ อมูลนี Qจะเป็ นประโยชน์ต่อผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียทุกฝ่ าย ซึ งทางบริ ษัทฯ ได้ จดั ทํารายงานความ ยัง ยืน (Sustainable Development Report: SD Report) และรายงานเปิ ดเผยการดําเนินงานด้ านสังคมและสิ งแวดล้ อม โดยระบุไว้ ในรายงานประจําปี (RX-W) และได้ เผยแพร่ ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ www.sankothai.net โดยมีเนื Qอหาครอบคลุม ดังนี Q 1. การดําเนินงานด้ านเศรษฐกิจ บริ ษัทฯ ดําเนินธุรกิ จอย่างถูกต้ องตามกฎหมายและกฎระเบียบที เกี ยวข้ อง มีความโปร่ งใสเปิ ดเผยข้ อมูลที สําคัญ ตรวจสอบได้ ปฏิบตั ิตามนโยบายการกํากับกิจการที ดี โดยคํานึงผลประโยชน์ที จะเกิดขึ Qนกับผู้ถือหุ้น พนักงาน ชุมชน สังคม คูค่ ้ า ลูกค้ า คูแ่ ข่งทางการค้ า และผู้ที มีสว่ นได้ สว่ นเสียทุกฝ่ าย 2. การดําเนินงานด้ านสิง แวดล้ อมและความปลอดภัย บริ ษัทฯ มุง่ มัน ในการดําเนินการด้ านสิ งแวดล้ อมและความปลอดภัย โดยคํานึงถึงความปลอดภัยในการทํางาน สุขภาพอนามัยที ดีของพนักงานและร่วมกันรักษาสิง แวดล้ อมทังภายในและภายนอกโรงงาน Q โดยถือเป็ นส่วนหนึ งของการ ดําเนินธุรกิจ จึงได้ จดั ให้ มีระบบการจัดการด้ านสิ งแวดล้ อม (ISO 14001) ระบบการจัดการด้ านอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย (OHSAS/TIS 18001) รวมทังมี Q กระบวนการจัดการของเสียจากกระบวนการผลิตที เป็ นไปตามกฎหมายและ สอดคล้ องกับข้ อกําหนดอื นๆ ที เกี ยวข้ อง 3. การดําเนินงานด้ านสังคม บริ ษัทฯ ปฏิบตั ิตอ่ พนักงานอย่างเป็ นธรรมทังในเรื Q อง การจัดจ้ างโดยไม่ละเมิดสิทธิขนพื ั Q Qนฐาน การให้ ผลตอบแทน ที เหมาะสม การจัดสวัสดิการในการทํางานที ตอบสนองต่อความต้ องการของพนักงาน การพัฒนาศักยภาพของพนักงาน ให้ สอดคล้ อง กับค่านิยมขององค์กร และยังมีโครงการรับนักศึกษาฝึ กงานและสหกิจศึกษาของนักศึกษาสายช่างเทคนิค ของวิทยาลัยเทคนิคของจังหวัดระยองด้ วย
13. การควบคุม ภายในและการบริห ารจัด การความเสี ย ง 13.1. การประเมิน ความเพียงพอของระบบการควบคุม ภายในโดยคณะกรรมการบริษัท ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครั งQ ที 1/2560 เมื อวันที 28 กุมภาพันธ์ 2560 โดยมีคณะกรรมการ ตรวจสอบเข้ าร่ วมประชุมทังQ 3 ท่าน ได้ ให้ ความเห็นเกี ยวกับการควบคุมภายในของบริ ษัท และพิจารณาอนุมตั ิตอบแบบ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ทังQ 5 ส่วน ดังนี Q 1. สภาพแวดล้ อมการควบคุม (Control Environment) 2. การประเมินความเสีย ง (Risk Assessment) 3. มาตรการควบคุม (Control Activities) 4. ระบบสารสนเทศและการสือ สารข้ อมูล (Information and Communication) 5. ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) โดยคณะกรรมการเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทมีความเพียงพอและเหมาะสม โดยบริ ษัทได้ จดั ให้ มีบุคลากรอย่างเพียงพอที จะดําเนินการตามระบบได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ โดยรายละเอียดของแบบประเมินความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริ ษัท สามารถดูได้ ใน เอกสารแนบที 3 ในแบบแสดงรายการประจําปี 2559 (56-1) นอกจากนี Qผู้สอบบัญชีของบริ ษัทคือ นางสาว เขมนันท์ ใจชื Qน(ชื อผู้สอบบัญชีที ลงนาม) ซึ งเป็ นผู้ตรวจสอบงบ การเงิ นรายไตรมาสและงบการเงิ นประจํ าปี RRS ทังQ นีใQ นระหว่างการตรวจสอบงบการเงิ นสําหรั บ ปี สิ Qนสุดวัน ที W ธันวาคม RRS ผู้สอบบัญชีได้ โอนย้ ายจากสํานักงานเดิมมาสังกัดสํานักงาน บริ ษัท สยาม ทรู ธ สอบบัญชี จํากัด ผู้สอบ บัญชีของบริ ษัทได้ ทําการประเมินระบบบัญชีและระบบบควบคุมภายในด้ านบัญชีของบริ ษัท ซึ งผู้สอบบัญชีได้ มีการตังQ ข้ อสังเกตสําหรั บระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทในการตรวจสอบงบการเงิ น และมีการติดตามผลการแก้ ไขตาม ข้ อสังเกตดังกล่าว โดยสามารถสรุปประเด็นที มีสาระสําคัญ ได้ ดงั นี Q ประเด็นข้ อสังเกต W)บริ ษั ท ได้ จั ด ส่ ง รายละเอี ย ดประกอบงบการเงิ น ดังต่อไปนี Q ล้ าช้ า - งบทดลอง - รายละเอียดการพิจารณาค่าเผื อมูลค่าสินค้ าลดลง -รายละเอียดการคํานวณภาษี เงินได้ -รายละเอียดการคํานวณมูลค่ายุติธรรมของสิทธิเลือกซื Qอ หุ้นของพนักงาน
คําชี Qแจงและการดําเนินการของบริ ษัท เนื องจากระหว่างการปิ ดบัญชี เพื อออกรายงานทางการเงิ น และรายละเอียดประกอบงบการเงิน ระบบ ERP ที บ ริ ษั ท ใช้ ในการประมวลผลด้ า นต้ น ทุ น เกิ ด ขัดข้ อง(error) ซึง ต้ องให้ เจ้ าหน้ าที (Programmer) ของบริ ษัท เจ้ าของระบบเข้ าทํ า การแก้ ไขเพื อ ให้ สามารถทํ า การ ประมวลผลได้ ซงึ ใช้ เวลาพอสมควร อย่างไรก็ตามบริ ษัทได้ เร่ ง แก้ ไขจนสําเร็ จและจัดทํารายงานให้ ทนั ตามเวลาและจะทํา การปรั บ ปรุ ง และระมัด ระวังมิ ใ ห้ เ กิ ด เหตุก ารณ์ ใ นลัก ษณะ ดัง กล่า วอี ก ซึ ง ได้ เ ตรี ย มแผนปรั บ ปรุ ง และพัฒ นาให้ ร ะบบ ERP ดีขึ Qนต่อไป )บริ ษัทอยูร่ ะหว่างการเก็บข้ อมูลเพื อปรับปรุงข้ อมูลกําลัง บริ ษั ท ฯ อยู่ ร ะหว่ า งการจั ด เก็ บ ข้ อมู ล ที เ กิ ด ขึ นQ จากอดี ต
ประเด็นข้ อสังเกต คําชี Qแจงและการดําเนินการของบริ ษัท การผลิตปกติให้ เป็ นปั จจุบนั ซึง จะต้ องใช้ ระยะเวลาในการ มาเปรี บ บเทียบ และพัฒนาปรั บปรุ งให้ ระบบ ERP ร่ วมกับ จัดทํา เจ้ าของโปรแกรม ในส่วนของรายการที เกี ยวกับต้ นทุนทังหมด Q ที เกิ ดขึนQ และจะทําการนํามาทดสอบรายการ ซึ งคาดว่าจะ สามารถนํามาปฎิบตั ิได้ ในไตรมาสที ของปี RXY ) บริ ษัทมีเงินมัดจําจ่ายล่วงหน้ า-สินทรัพย์(แม่พิมพ์) ค้ าง บริ ษัทฯ ได้ พิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว อย่างไรก็ตามบริ ษัท นานตังแต่ Q ปี RRV ซึ งยังไม่มีความคืบหน้ าของเงินมัดจํา ฯ ได้ มีการทดสอบผลิตภัณฑ์ที ต้องใช้ แม่พิมพ์นี Qอย่างต่อเนื อง ดังกล่าว ซึ งเป็ นไปตามแผนดําเนินการจัดจําหน่ายของลูกค้ า โดยได้ มี การปรับเปลีย นและขยายเวลาการจัดจําหน่ายออกไปจากเดิม ที คาดว่าจะสามารถจําหน่ายได้ ในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ 2560 (Pro Mass on Feb.17)ไปเป็ น สิงหาคม RXY แทน(Target Mass on Aug.17) จึ ง ส่ ง ผลให้ การอนุ มั ติ แ ละยอมรั บ ผลิตภัณฑ์จากแม่พิมพ์ดงั กล่าวล่าช้ าไป ) บริ ษั ทจํ าแนกรายได้ แ ละค่าใช้ จ่า ยระหว่างกิ จการที บริ ษัทฯอยูร่ ะหว่างการปรับปรุงและพัฒนาระบบ ERP ร่ วมกับ ได้ รั บ การส่ง เสริ ม การลงทุน และกิ จ การที ไ ม่ ไ ด้ รั บ การ เจ้ า ของโปรแกรม เพื อจัดเก็ บข้ อ มูลที เกี ย วข้ อ งและมีค วาม ส่งเสริ มการลงทุนไม่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และเงื อนไข จํ า เป็ นในการนํ า มาใช้ เพื อ ประโยชน์ ข องรายการและทํ า รายงานให้ ถกู ต้ อง โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้ วมีความเห็นว่าบริ ษัทได้ ดําเนินการในการแก้ ไขตามข้ อสังเกตผู้สอบ บัญชีตามรายละเอียดข้ างต้ น และประเด็นที อยูร่ ะหว่างการแก้ ไขนันQ ไม่มีผลกระทบต่อความน่าเชื อถือของงบการเงินและ ระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทอย่างมีนยั สําคัญ
13.2. ตรวจสอบ
การประเมิน ความเพีย งพอของระบบการควบคุ ม ภายในโดยคณะกรรมการ
คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าบริ ษัทมีระบบการควบคุมภายในที เพียงพอและเหมาะสม รวมถึงมี ระบบการควบคุมภายในที เ พียงพอในเรื องของการทํ าธุร กรรมกับผู้ถื อหุ้น รายใหญ่ กรรมการ ผู้บริ ห าร หรื อบุคคลที เกี ยวข้ องกับบุคคลดังกล่าว ทังนี Q Qสามารถพิจารณารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบได้ ตาม ข้ อ 18.
13.3.หัวหน้ างานตรวจสอบภายในของบริษัท ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบเมื อวันที 13 สิงหาคม 2558 ครังQ ที 4/2558 ได้ แต่งตังQ บริ ษัท สอบบัญชี ไทย จํ ากัด ซึ งเป็ นสํานักตรวจสอบจากภายนอก ดํารงตําแหน่ง “ผู้ตรวจสอบภายใน” ในการทําหน้ าที ตรวจสอบการ ปฏิบตั ิงานและกิจกรรมทางการเงินของบริ ษัท ประจําปี 2559 โดยได้ มอบหมายให้ นางสาวรักชนก สําเนียงลํ Qา เป็ น ผู้รับผิดชอบหลักในการปฏิบตั ิหน้ าที ผ้ ตู รรวจสอบภายในของบริ ษัท
คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาคุณสมบัติของบริ ษัท สอบบัญชีไทย จํากัด และนางสาวรักชนก สําเนียงลํ Qา แล้ วเห็นว่า มีความเหมาะสมเพียงพอกับการปฏิบตั ิหน้ าที ดงั กล่าว เนื องจากมีความเป็ นอิสระ และมีประสบการณ์ในการ ปฏิบตั ิงานด้ านการตรวจสอบภายใน และเคยเข้ ารับการอบรมในหลักสูตรที เกี ยวข้ องกับการปฏิบตั ิงานด้ านตรวจสอบ ภายใน ได้ แก่ การอบรม 1) MERGERS & ACQUISITIONS จัดโดย OMEGAWORLDCLASS Research Institute 2) ประกาศนียบัตร กฎหมายภาษี อากร จัดโดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3) ภาษี อากรสาหรับธุรกรรมต่างประเทศ จัดโดย สภาวิชาชีพบัญชีฯ 4) อัพเดท TFRS ทุกฉบับ จัดโดย สภาวิชาชีพบัญชีฯ 5) Pack 5 and Fair value จัดโดย สภา วิชาชีพบัญชีฯ เพื อให้ มนั ใจว่ามีการดําเนินการตามแนวทางที กําหนดอย่างมีประสิทธิ ภาพ รวมถึงตรวจสอบการปฏิบตั ิตาม กฎหมายและข้ อกําหนดที เกี ยวข้ องกับบริ ษัท และเพื อให้ ผ้ ตู รวจสอบภายในมีความเป็ นอิสระ สามารถทําหน้ าที ตรวจสอบ และถ่วงดุลได้ อย่างเต็มที จึงกําหนดให้ ผ้ ตู รวจสอบภายในรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษัทซึง มีหน้ าที กํากับดูแลให้ มีระบบการควบคุมภายในที ดี และสําเนารายงานเรี ยนกรรมการผู้จดั การ เพื อช่วยกํากับดูแลและสัง การให้ ผ้ บู ริ หารที เกี ยวข้ องในแต่ละหน่วยงานดําเนินการปรับปรุ งแก้ ไขตามข้ อเสนอแนะด้ วย ความเรี ยบร้ อย โดยผู้ตรวจสอบภายในจะรายงานผลการตรวจสอบเป็ นประจําทุกไตรมาส ทังนี Q Q การพิจารณาและอนุมตั ิ แต่งตังQ ถอดถอน โยกย้ ายผู้ดํารงตําแหน่งหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายในของ บริ ษัทจะต้ องผ่านการอนุมตั ิเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบโดยคุณสมบัติของผู้ดํารงตําแหน่งหัวหน้ างานตรวจสอบ ภายในเอกสารหัวข้ อ 2. แบบแสดงรายการข้ อมูลประจําปี 2559 ( 56-1)
14. รายการระหว่ างกัน 14.1 รายละเอียดรายการระหว่ างกัน รายการระหว่างกันกับบุคคลและนิติบคุ คลที อาจมีความขัดแย้ งในปี 2558 ถึงปี 2559 มีดงั นี Q บุคคล/นิติบคุ ลที อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ บริษัท จุฑาวรรณ จํากัด : จําหน่ายเหล็กสแตนเลสและเหล็กกล้ า
บริษัท เจทีดบั บลิว แอ๊ ซเซท จํากัด : การให้ เช่า การขาย การซื Qอ และ การ ดําเนินงานด้ านอสังหาริมทรัพย์
ลักษณะและรายละเอียดของรายการ
มูลค่ารายการระหว่างกัน (บาท) 31 ธ.ค. 58
ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ
31 ธ.ค. 59
คํ Qาประกันวงเงินตัว สัญญาใช้ เงินและวงเงินเบิกเกิน บัญชีให้ แก่บริษัท - วงเงินการคํ Qาประกัน - ค่าธรรมเนียมคํ Qาประกันวงเงิน ยอดยกมาต้ นงวด ค่าธรรมเนียมระหว่างงวด ชําระระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด
-
-
29,726.02 253,150.70 282,876.72 -
-
คํ Qาประกันวงเงินตัว สัญญาใช้ เงินและวงเงินเบิกเกิน บัญชี - วงเงินการคํ Qาประกัน - ค่าธรรมเนียมคํ Qาประกันวงเงิน ยอดยกมาต้ นงวด ดอกเบี Qยจ่ายระหว่างงวด
15,000,000 900,000.02
15,000,000 900,000.01
บริษัท จุฑาวรรณ จํากัด ได้ ทําการคํ Qาประกันวงเงินตัว สัญญาใช้ เงินและวงเงินเบิกเกิน บัญชีจากสถาบันการเงินแห่งหนึ งให้ แก่บริ ษัท โดยคิดค่าธรรมเนียมการคํ Qาประกันใน อัต ราร้ อยละ 2 ต่อ ปี ข องวงเงิน คําQ ประกัน ซึ ง บริ ษั ท มีค วามจํา เป็ น ในการใช้ ว งเงิ น ดังกล่า วสํ า หรั บ เป็ น เงิ น ทุน หมุน เวีย น อย่า งไรก็ ต าม บริ ษั ท จะทํา การถอนการคํ าQ ประกันเมื อได้ รับเงื อนไขที ดีกว่าจากสถาบันการเงิน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า การคํ Qาประกันวงเงินตัว สัญญาใช้ เงินและวงเงินเบิกเกินบัญชีดงั กล่าวก่อให้ เกิดผลดีกบั บริ ษัท และมีอัตราค่าธรรมเนียมที เหมาะสมเท่ากับอัตราค่าธรรมเนียมของธนาคาร พาณิชย์ทั วไป นอกจากนีเQ พื อให้ เป็ นไปตามเงื อนไขของธนาคาร จึงมีความจําเป็ นที จะต้ องให้ มีการคํ Qาประกันวงเงินส่วนนี Q บริษัทได้ ก้ ยู ืมระยะสันโดยออกตั Q ว สัญญาใช้ เงิน ให้ แก่ บริษัท เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จํากัด อัตราดอกเบี Qย 6 % ต่อปี โดยออกตัว สัญญาใช้ เงิน เลขที SDT2557/YY3 จํานวน เงิน 15,000,000 บาท ลงวันที 27 พฤศจิกายน 2557 สิ Qนสุดวันที 31 มีนาคม 2558 เมื อตัว สัญญาถึงกําหนดได้ มีการต่อตัว สัญญาใช้ เงิน เลขที SDT2558/YY ลงวันที 13 มีนาคม 2558 สิ Qนสุดวันที 31 ธันวาคม 2558 และ เมื อตัว สัญญาถึงกําหนดได้ มีการต่อ ตัว สัญญาใช้ เงินเลขที SDT2558/009 ลงวันที 31 ธันวาคม 2558 สิ Qนสุดวันที 31
บุคคล/นิติบคุ ลที อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ
ลักษณะและรายละเอียดของรายการ ยอดคงค้ างปลายงวด
บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด : ผลิตชิ Qนส่วนอุปกรณ์เครื องใช้ ไฟฟ้าและ ชิ Qนส่วนยานยนต์ด้วยวิธีอดั ขึ Qนรูป และทําสี ชิ Qนส่วน
คํ Qาประกันวงเงินตัว สัญญาใช้ เงินและวงเงินเบิกเกิน บัญชีให้ แก่บริษัท - วงเงินการคํ Qาประกัน - ค่าธรรมเนียมคํ Qาประกันวงเงิน ยอดยกมาต้ นงวด ค่าธรรมเนียมระหว่างงวด ชําระระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด
บริษัทฯ ได้ ก้ ยู ืมระยะสันโดยออกตั Q ว สัญญาใช้ เงิน กับบริษัท ไทยอินดัสเตรียล จํากัด โดยมี รายละเอียดดังนี Q -ยอดยกมาต้ นงวด -ดอกเบี Qยจ่าย
มูลค่ารายการระหว่างกัน (บาท) 31 ธ.ค. 58
31 ธ.ค. 59 -
ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ - ธันวาคม 2559 ในอัตราดอกเบี Qย 6% ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า กู้ยืม ระยะสันQ โดยออกตั ว สัญ ญาใช้ เงิน ให้ แ ก่ บริ ษั ท เจทีดับ บลิ ว แอ็ซ เซท จํ า กัด ดังกล่าวก่อให้ เกิดผลดีกับบริ ษัท และมีอัตราค่าธรรมเนียมที เหมาะสมเท่ากับอัตรา ค่าธรรมเนียมของธนาคารพาณิชย์ทวั ไป บริษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด ได้ ทําการคํ Qาประกันวงเงินตัว สัญญาใช้ เงินและ วงเงินเบิกเกินบัญชีจากสถาบันการเงินแห่งหนึ งให้ แก่บริ ษัท โดยคิดค่าธรรมเนียมการ - คํ Qาประกันในอัตราร้ อยละ 2 ต่อปี ของวงเงินคํ Qาประกัน ซึง บริษัทมีความจําเป็ นในการใช้ วงเงินดังกล่าวสําหรับเป็ นเงินทุนหมุนเวียน อย่างไรก็ตาม บริ ษัทจะทําการถอนการคํ Qา - ประกันเมื อได้ รับเงื อนไขที ดีกว่าจากสถาบันการเงิน - ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ - คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า - การคํ Qาประกันวงเงินตัว สัญญาใช้ เงินและวงเงินเบิกเกินบัญชีดงั กล่าวก่อให้ เกิดผลดีกบั บริ ษัท และมีอัตราค่าธรรมเนียมที เหมาะสมเท่ากับอัตราค่าธรรมเนียมของธนาคาร พาณิชย์ทั วไป นอกจากนีเQ พื อให้ เป็ นไปตามเงื อนไขของธนาคาร จึงมีความจําเป็ นที จะต้ องให้ มีการคํ Qาประกันวงเงินส่วนนี Q - บริษัทได้ ก้ ยู ืมระยะสันโดยออกตั Q ว สัญญาใช้ เงิน ให้ แก่ บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล จํากัด อัต ราดอกเบียQ 7 % ต่อปี โดยตั ว สัญญาใช้ เงิน เลขที SDT2558/YY6 จํา นวนเงิน 2,000,000 บาท ลงวันที 18 กันยายน 2558 สิ Qนสุดวันที 30 ตุลาคม 2558 , ตัวสัญญา - ใช้ เงิน เลขที SDT2558/007 จํานวนเงิน 2,000,000 บาท ลงวันที 18 กันยายน 2558 - สิ Qนสุดวันที 30 พฤศจิกายน 2558 และ ตัวสัญญาใช้ เงิน เลขที SDT2558/008 จํานวน
29,726.03 253,150.69 282,876.72 -
-
35,671.23 486,027.39
บุคคล/นิติบคุ ลที อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ
ลักษณะและรายละเอียดของรายการ -ดอกเบี Qยค้ างจ่าย
บริษัท ริก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรีทเม้ นท์ จํากัด : ธุรกิจชุบแข็งโลหะ
บริษัทขายสินค้ าให้ บริษัท ไทยอินดัสเตรียล พาร์ ท จํากัด - ยอดยกมาต้ นงวด ขายสินค้ าระหว่างงวด ค่าบริการซ่อมแม่พิมพ์ ภาษีมลู ค่าเพิ ม ชําระเงินระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด บริษัทว่าจ้ างบริษัท ริก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรีทเม้ นท์ จํากัดในการทดลองอบเพิ มความแข็งของตัวอย่าง
มูลค่ารายการระหว่างกัน (บาท) 31 ธ.ค. 58
31 ธ.ค. 59 -
216,948.77 1,540,166.54 107,811.66 1,687,203.85 177,723.12
ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ
- เงิน 2,000,000 บาท ลงวันที 18 กันยายน 2558 สิ Qนสุดวันที 28 ธันวาคม 2558 ซึ ง ต่อมาในวันที 30 ตุลาคม 2558 ทางบริ ษัทฯ ได้ ทําการชําระเงินตามตัว สัญญาใช้ เงิน เลขที SDT2558/006 จํานวนเงิน 2,000,000 บาท , ในวันที 30 พฤศจิกายน 2558 ทาง บริ ษัท ฯ ได้ ทําการชําระเงิน ตามตั ว สัญญาใช้ เงินเลขที SDT2558/007 จํา นวนเงิน 2,000,000 บาท และ ในวันที 28 ธันวาคม 2558 ได้ ทําการชําระเงินตามตัว สัญญาใช้ เงินเลขที SDT2558/008 จํานวนเงิน 2,000,000 บาท พร้ อมจ่ายชําระดอกเบี Qย ให้ กับ บริษัท ไทยอินดัสเตรีลพาร์ ท จํากัด เป็ นจํานวนเงิน 486,027.39 บาทตามสัญญาแล้ ว ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า กู้ยืมระยะสันโดยออกตั Q ว สัญญาใช้ เงิน ให้ แก่ บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล จํากัด ดังกล่าว ก่ อ ให้ เกิ ด ผลดี กั บ บริ ษั ท และมี อั ต ราค่ า ธรรมเนี ย มที เ หมาะสมเท่ า กั บ อั ต รา ค่าธรรมเนียมของธนาคารพาณิชย์ทวั ไป บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัดได้ ว่าจ้ างให้ บริ ษัทผลิตสินค้ าและแม่พิมพ์ตาม การดําเนินธุรกิจปกติ โดยมีการกําหนดราคาขาย และมีเงื อนไขเช่นเดียวกับลูกค้ าราย 177,723.12 อื นๆ ตามนโยบายการทํารายการระหว่างกัน 1,180,583.56 ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ 35,000.00 คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า 85,090.85 รายการดังกล่าวเป็ นรายการที สมควร และเป็ นการทํารายการทางการค้ าปกติ โดยมี 1,323,732.88 การคิดกําไรขันต้ Q นเท่ากับลูกค้ าทัว ไป 154,664.65 บริ ษัทว่าจ้ างบริ ษัท ริ ก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรี ทเม้ นท์ จํากัด (เดิมชื อ “บริ ษัท จุฑาวรรณ เมทัลแลบ จํากัด”) ในการทดลองอบเพิ มความแข็งของตัวอย่างชิ Qนงาน เพื อส่งเป็ น
บุคคล/นิติบคุ ลที อาจมีความขัดแย้ ง / ลักษณะธุรกิจ
บริษัท อําพน จํากัด : ธุรกิจให้ เช่ารถยนต์
บริษัท ปิ นทอง สตีล จํากัด จําหน่ายเหล็กแผ่น และเหล็กทุกชนิด, รับจ้ างตัดเหล็กทุกชนิด
ลักษณะและรายละเอียดของรายการ ชิ Qนงาน - ยอดยกมาต้ นงวด ว่าจ้ างระหว่างงวด ภาษีมลู ค่าเพิ ม ชําระเงินระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด บริษัทเช่ารถยนต์จากบริษัท อําพน จํากัด - ค่าเช่าระหว่างงวด ยอดคงค้ างปลายงวด
บริษัทฯ ได้ ซื Qอเหล็กแผ่น ซื Qอระหว่างงวด ยอดคงเหลือ
มูลค่ารายการระหว่างกัน (บาท) 31 ธ.ค. 58 122,194.39 771,617.22 54,013.21 797,789.84 96,021.77 1,040,040 -
-
31 ธ.ค. 59 96,021.77 701,511.76 49,105.82 635,557.49 120,042.72
ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ ตัวอย่างชิ Qนงานให้ แก่ลกู ค้ า โดยมีราคาและเงือ นไขทางการค้ าทัว ไป ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที สมควร และเป็ นการทํารายการทางการค้ าปกติ โดยมี การเปรียบเทียบราคากับผู้รับจ้ างรายอื น
บริษัททําการเช่ารถยนต์จากบริษัท อําพน จํากัด เพื อใช้ เป็ นรถรับส่งพนักงานจํานวน 1,040,040 คัน และรถประจําตําแหน่งผู้บริ หาร 1 คัน รวมจํานวนทังสิ Q Qน 3 คัน โดยอัตราค่าเช่า - ดังกล่าวเป็ นอัตราที ถกู ที สุดเมื อเทียบกับผู้ประกอบการอื น ภายใต้ เงื อนไขที ใกล้ เคียง กัน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที สมควร และเป็ นการทํารายการเช่าสินทรัพย์ปกติ โดยมี การเปรียบเทียบราคากับผู้ให้ เช่ารายอื น บริ ษั ท ฯ ได้ ซือQ เหล็กแผ่น จากกับ บริ ษั ท ปิ น ทอง สตีล จํา กัด ซึ งมีราคาและเงื อนไข 487,934.00 การค้ าเป็ นไปตามลักษณะการค้ าทัว ไปและมีระยะเวลาเครดิตทางการค้ า 30 วัน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ ว มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที สมควร และเป็ นการทํารายการทางการค้ าปกติ โดยมี การคิดกําไรขันต้ Q นเท่ากับลูกค้ าทัว ไป
14.2 มาตรการหรือ ขัน9 ตอนการอนุม ัต กิ ารทํารายการระหว่ างกัน ตามมติที ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครังQ ที 1/2553 เมื อวันที 4 กุมภาพันธ์ 2553 ได้ กําหนดมาตรการขันตอน Q การทํารายการระหว่างกัน ดังนี Q การทําธุรกรรมระหว่างบริ ษัท กับผู้ที เกี ยวข้ องหรื อบุคคลที อาจมีความขัดแย้ ง จะต้ องเป็ นไปตามเงื อนไขการค้ า โดยทั วไปหรื อเป็ นธุรกรรมที เป็ นข้ อตกลงทางการค้ าในลักษณะเดียวกับที วิญ¡ูชนจะพึงกระทํากับคู่สญ ั ญาทัว ไปใน สถานการณ์เดียวกัน ด้ วยอํานาจต่อรองทางการค้ าที ปราศจากอิทธิพลจากการมีสถานะเป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคล ที มีความเกี ยวข้ อง (แล้ วแต่กรณี) ภายใต้ เงื อนไขที สมเหตุสมผล สามารถตรวจสอบได้ ไม่ก่อให้ เกิดการถ่ายเทผลประโยชน์ กรณีที 1 รายการระหว่างกันทีเ ป็ นธุรกรรมปกติทางการค้ า เช่น รายการซื Qอขายสินค้ าและบริ การที บริ ษัทเป็ นผู้จดั จําหน่ายหรื อให้ บริ การ เป็ นต้ น บริ ษัทสามารถทําธุรกรรม ดังกล่าวกับบุคคลที อาจมีความขัดแย้ งได้ หากธุรกรรมดังกล่าวนันมี Q ข้อตกลงทางการค้ าที มีเงื อนไขการค้ าโดยทัว ไปใน ลักษณะที วิญ¡ูชนจะพึงกระทํากับคู่สญ ั ญาทั วไปในสถานการณ์ เดียวกัน ด้ วยอํานาจต่อรองทางการค้ าที ปราศจาก อิทธิพลในการที ตนมีสถานะเป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลที มีความเกี ยวข้ อง โดยบริ ษัทจะจัดทําสรุ ปรายการดังกล่าว ให้ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริ ษัทรับทราบอย่างน้ อยรายไตรมาส กรณีที 2 รายการระหว่างกันอื นๆที นอกเหนือจากกรณีที 1 บริ ษัทกําหนดให้ คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผู้พิจารณาและให้ ความเห็นเกี ยวกับความจําเป็ นในการเข้ าทํา รายการและความเหมาะสมด้ านราคาของรายการนันQ โดยพิจารณาเงื อนไขต่างๆว่าเป็ นไปตามลักษณะการดําเนินการค้ า ปกติในตลาด ซึ งสามารถเปรี ยบเทียบได้ กับราคาที เกิ ดขึนQ กับบุคคลภายนอกและเป็ นไปตามราคายุติธรรม มีความ สมเหตุสมผล และสามารถตรวจสอบได้ หรื อไม่ ในกรณีที กรรมการตรวจสอบไม่มีความชํานาญในการพิจารณารายการ ระหว่างกันที อาจเกิ ดขึนQ บริ ษัทจะให้ ผ้ ูเชี ยวชาญอิสระหรื อผู้สอบบัญชี ของบริ ษัทเป็ นผู้ให้ ความเห็นเกี ยวกับรายการ ระหว่างกันดังกล่าว เพื อนําไปใช้ ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการหรื อผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี ทังนี Q Qการเข้ าทํารายการ ระหว่างกัน ของบริ ษั ทกับบุคคลที อาจมี ค วามขัดแย้ ง ทางผลประโยชน์ จะต้ อ งผ่านการพิ จารณาจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ และจะต้ องได้ รับการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท ซึ งจะต้ องมีกรรมการตรวจสอบเข้ าร่ วมประชุมด้ วย โดย การออกเสียงในที ประชุมนันๆ Q กรรมการซึง มีสว่ นได้ เสียจะไม่มีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนน ทังนี Q Qคณะกรรมการบริ ษัทจะต้ องดูแลให้ บริ ษัทจะต้ องปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อบังคับ ประกาศ คําสัง หรื อ ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรื อของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรื อของคณะกรรมการ กํากับตลาดทุน รวมถึงการปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดเกี ยวกับกับการเปิ ดเผยข้ อมูลการทํารายการที เกี ยวโยงกันและการได้ มา หรื อจําหน่ายไปซึง ทรัพย์สินที สําคัญของบริ ษัท นอกจากนี Q บริ ษัทจะมีการเปิ ดเผยรายการระหว่างกันดังกล่าวไว้ ในหมาย เหตุประกอบงบการเงินที ได้ รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริ ษัท แบบรายงาน 56-1 และแบบรายงานประจําปี หรื อ สารสนเทศต่าง ๆ ตามข้ อกําหนดตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และของหน่วยงานที เกี ยวข้ อง
12.3 แนวโน้ ม การทํารายการระหว่ างกัน ในอนาคต บริ ษัทอาจมีการทํารายการระหว่างกันกับบุคคลหรื อนิติบคุ คลในอนาคตอย่างต่อเนื อง ซึ งเป็ นไปตามลักษณะ ธุรกิจการค้ าปกติโดยทัว ไป และมีเงื อนไขเป็ นไปตามธุรกิจการค้ าปกติ และสามารถอ้ างอิงได้ กบั เงื อนไขทางธุรกิจประเภท เดียวกันกับบริ ษัทกระทํากับบุคคลภายนอก จะจัดทําสรุ ปรายการดังกล่าวให้ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ บริ ษัทรับทราบอย่างน้ อยรายไตรมาส เพื อทําการสอบทานรายการระหว่างกันโดยเปรี ยบเทียบราคาและเงื อนใขการค้ ากับ บุคคลภายนอกเพื อดูความเหมาะสมของราคาและเงื อนไขการค้ า พิจารณามูลค่าการซื Qอขายเปรี ยบเทียบกับมูลค่าการซื Qอ ขายทังหมดของบริ Q ษัทและบริ ษัทที เกี ยวข้ องกัน และสอบถามผู้บริ หารถึงเหตุผลและความจําเป็ นในการเข้ าทํารายการกับ บุคคลที เกี ยวข้ องกัน อย่างไรก็ตาม สําหรับรายการระหว่างกันที มิได้ เป็ นไปตามธุรกิจปกติที อาจเกิดขึ Qนในอนาคต บริ ษัทจะจัดให้ มี คณะกรรมการตรวจสอบเข้ ามาสอบทานการการปฎิบตั ิตามหลักเกณฑ์และแสดงเหตุผลในการทํารายการดังกล่าวก่อนที บริ ษั ท จะเข้ าทํ า รายการนันQ นอกจากนี Q บริ ษั ท จะดูแ ลการเข้ า ทํ า รายการระหว่า งกันให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายว่า ด้ ว ย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้ อบังคับ ประกาศ คําสัง หรื อข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงการปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดเกี ยวกับการเปิ ดเผยข้ อมูล การทํารายการที เกี ยวโยงกัน และการได้ มา หรื อจําหน่ายซึ งสินทรัพย์ของบริ ษัท (ถ้ ามี) รวมทังปฏิ Q บตั ิตามมาตรฐานการ บัญชีที กําหนดโดยสมาคมนักบัญชี ทังนี Q Q ผู้มีส่วนได้ เสียในรายการดังกล่าวจะไม่มีสิทธิ ในการออกเสียงอนุมตั ิการทํา รายการนันQ ๆและบริ ษั ทจะมี ก ารเปิ ด เผยรายการระหว่า งกัน ดัง กล่า วไว้ ในหมายเหตุป ระกอบงบการเงิ นที ไ ด้ รั บการ ตรวจสอบจากผู้ส อบบัญ ชี ข องบริ ษั ท แบบรายงาน 56-1 และแบบรายงานประจํ า ปี หรื อ สาระสนเทศต่า ง ๆ ตาม ข้ อกําหนดตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และของหน่วยงานที เกี ยวข้ อง
15. ข้ อ มูล ทางการเงิน ที ส าํ คัญ 15.1. รายงานงบการเงิน บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง9 (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วัน ที 31 ธัน วาคม 2559 บาท หมายเหตุ สิน ทรัพ ย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี Qการค้ าและลูกหนี Qอื น สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื น
2558
2558
3 5 4, 6 7 8
21,684,475.71 53,591,616.43 39,197,901.95 9,822,338.23
25,170,709.39 46,479,850.08 46,839,402.11 7,237,135.32
124,296,332.32
125,727,096.90
5,980,000.00 170,894,201.28 1,783,513.31 1,278,255.56
5,980,000.00 187,551,732.06 2,107,369.24 5,423,543.28 6,026,332.15
รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
179,935,970.15
207,088,976.73
รวมสิน ทรัพ ย์
304,232,302.47
332,816,073.63
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารติดภาระหลักประกัน ที ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื น
9 10 11 12
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง9 (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วัน ที 31 ธัน วาคม 2559 บาท หมายเหตุ
2559
2558
หนีส9 นิ และส่ วนของผู้ถ อื หุ้น
3
หนี Qสินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยมื ระยะสันจาก Q สถาบันการเงิน
13
33,935,036.93
37,676,593.76
4, 14
70,559,573.91
63,720,668.78
หนี Qสินส่วนที ถึงกําหนดชําระภายในหนึง ปี
15
7,510,565.37
10,922,562.41
เงินกู้ยืมระยะสันจากกิ Q จการที เกี ยวข้ องกัน
4
15,000,000.00
15,000,000.00
หนี Qสินหมุนเวียนอื น
18
10,950,599.78
10,706,103.89
137,955,775.99
138,025,928.84
เจ้ าหนี Qการค้ าและเจ้ าหนี Qอื น
รวมหนี Qสินหมุนเวียน หนี Qสินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
16
-
1,364,745.19
หนี Qสินระยะยาวภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน
17
2,159,896.58
8,238,493.43
ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน
19
4,436,122.95
3,942,145.72
6,596,019.53
13,545,384.34
144,551,795.52
151,571,313.18
รวมหนี Qสินไม่หมุนเวียน รวมหนีส9 ิน
ส่ วนของผู้ถ อื หุ้น ทุนเรื อนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 300,681,625 หุ้น ในปี 2558 และ 226,000,000 หุ้น ในปี 2557 มูลค่าหุ้นละ 0.50 บาท
20
150,340,812.50
150,340,812.50
149,494,502.00 33,508,086.72 122,305.49
148,903,972.00 52,870,818.28 109,526.53
(23,444,387.26)
2,215,417.96 (22,854,974.32)
รวมส่ วนของผู้ถ อื หุ้น
159,680,506.95
181,244,760.45
รวมหนีส9 ิน และส่ วนของผู้ถ อื หุ้น
304,232,302.47
332,816,073.63
ทุนที ออกและชําระแล้ ว หุ้นสามัญ 298,989,004 หุ้น ในปี 2559 และ 297,807,944 หุ้น ในปี 2558 ชําระเต็มมูลค่า แล้ ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ใบสําคัญแสดงสิทธิ กําไร(ขาดทุน)สะสม จัดสรรแล้ ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้ จดั สรร
21
20 20, 21 20
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง9 (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุน เบ็ด เสร็จ สําหรับ ปี สิน9 สุด วัน ที ^W ธัน วาคม Y``9
รายได้ จ ากการขาย ต้ นทุนขาย กําไรขัน9 ต้ น รายได้ อื น ค่าใช้ จา่ ยในการขาย ค่าใช้ จา่ ยในการบริ หาร ต้ นทุนทางการเงิน กําไร(ขาดทุน )ก่ อ นภาษีเ งิน ได้ รายได้ (ค่าใช้ จ่าย)ภาษี เงินได้ ขาดทุน สําหรับ ปี ขาดทุน ต่ อ หุ้น ขาดทุนต่อหุ้นขันพื Q Qนฐาน
หมาย เหตุ
RR9
,
410,465,525.32 (349,286,413.72)
Y_,`_`,Ya .Y` ( R , ,SV .SW)
, ,
61,179,111.60 4,111,402.20 (7,588,950.60) (71,924,090.37) (4,010,966.09)
,_ _,^W_.^ X, RW, R. R ( ,W ,R .YS) (R , , SX.V ) ( , Y, XX. )
(18,233,493.26) (5,381,013.42)
,XWV,VWY.RY (R, X,WVV. )
(23,614,506.68)
(^,WY~,^~~.~~)
(0.08)
(0.01)
297,970,170
252,325,969
212,649.28
( Y , W .YY)
(42,529.86)
XW,R . Y
170,119.42
(Y ,W a. _)
3 3
จํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลีย ถ่วงนํ Qาหนัก (หุ้น) กําไร(ขาดทุน )เบ็ด เสร็จ อื น รายการที จ ะไม่ ถ กู จัด ประเภทรายการใหม่ เ ข้ าไปไว้ ใ นกําไรหรือ ข ขาดทุน กําไร(ขาดทุน)จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย สําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน ภาษี เงินของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื น สําหรับรายการที จะไม่จดั ประเภทรายการใหม่ กําไร(ขาดทุน )เบ็ด เสร็จ อื น - สุท ธิจ ากภาษีเ งิน ได้ ขาดทุน เบ็ด เสร็จ รวม
RR8
(23,444,387.26)
(^,^~^,` ~.^~)
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง9 (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลี ยนแปลงส่ วนของผู้ถ อื หุ้น สําหรับ สิน9 สุด วัน ที 31 ธัน วาคม 2559 บาท ทุนเรือนหุ้นที ออก หมายเหตุ ยอดยกมา ณ วัน ที 1 มกราคม 2558 หุ้นสามัญที ออกจากการใช้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ
20, 21
ผลตอบแทนพนักงานและปรับปรุงมูลค่ายุติธรรม
21
ขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ยอดคงเหลือ ณ วัน ที 31 ธัน วาคม 2558 ลดขาดทุนสะสม
20, 21
ผลตอบแทนพนักงานและปรับปรุงมูลค่ายุติธรรม
21
ขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ยอดคงเหลือ ณ วัน ที 31 ธัน วาคม 2559
และชําระแล้ ว 111,138,579.00
32,406,239.58
1,152,757.16
2,215,417.96
(19,481,426.95)
127,431,566.75
37,765,393.00
20,464,578.70
(2,315,557.20)
-
-
55,914,414.50
-
-
1,272,326.57
-
-
1,272,326.57
-
-
-
-
(3,373,547.37)
(3,373,547.37)
148,903,972.00
52,870,818.28
109,526.53
2,215,417.96
(22,854,974.32)
181,244,760.45
(2,215,417.96)
22,854,974.32
-
20
หุ้นสามัญที ออกจากการใช้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ
กําไร(ขาดทุน)สะสม
ส่วนเกินมูลค่า หุ้นสามัญ
ใบสําคัญแสดง สิทธิ
จัดสรรแล้ ว
(20,639,556.36)
ยังไม่ได้ จดั สรร
รวม
590,530.00
1,276,824.80
-
-
-
1,867,354.80
-
-
12,778.96
-
-
12,778.96
-
-
-
-
(23,444,387.26)
(23,444,387.26)
149,494,502.00
33,508,086.72
122,305.49
-
(23,444,387.26)
159,680,506.95
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง9 (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงิน สด สําหรับ ปี สิน9 สุด วัน ที 31 ธัน วาคม 2559 บาท 2559 กระแสเงิน สดจากกิจกรรมดําเนิน งาน กําไร(ขาดทุน )ก่ อ นภาษีเ งิน ได้ ปรับกระทบกําไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้ เป็ นเงินสดรับ(จ่าย)จากการ ดําเนินงาน ค่าเสือ มราคาและค่าตัดจําหน่าย ขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้ า(กลับรายการ) ขาดทุนจากการด้ อยค่าทรัพย์สนิ ขาดทุนจากการตัดจําหน่ายสินทรัพย์ ผลตอบแทนพนักงานและปรับมูลค่ายุติธรรมใบสําคัญแสดงสิทธิ ดอกเบี Qยรับ ต้ นทุนทางการเงิน
2558
(18,233,493.26)
2,618,810.50
27,519,018.01 139,277.95 3,866,624.21 4,465,217.13 12,778.96 (104,580.28) 4,010,966.09
27,368,962.84 (2,088,175.61) 992,699.95 1,272,326.57 (129,334.56) 6,764,454.88
กระแสเงิน สดก่ อ นการเปลี ยนแปลงของเงิน ทุน หมุน เวียน การเปลี ยนแปลงของเงิน ทุน หมุน เวียน ลูกหนี Qการค้ าและลูกหนี Qอื น สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื น เจ้ าหนี Qการค้ าและเจ้ าหนี Qอื น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี Qสินหมุนเวียนอื น
21,675,808.81
37,306,055.96
(7,111,766.35) 7,502,222.21 (2,585,202.91) 194,000.00 6,846,654.44 706,626,51 244,495.89
3,496,237.45 2,453,386.80 6,466,063.13 (2,000.00) (14,095,281.69) 643,247.52 (10,100,354.36)
เงิน สดรับ จากการดําเนิน งาน รับดอกเบี Qย รับคืนภาษี เงินได้ จ่ายภาษี เงินได้
27,472,838.60 104,580.28 1,212,420.59 (1,122,970.39)
26,167,354.81 138,533.56 (926,571.60)
เงิน สดสุท ธิไ ด้ ม าจากกิจ กรรมดําเนิน งาน
27,666,869.08
25,379,316.77
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง9 (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงิน สด สําหรับ ปี สิน9 สุด วัน ที 31 ธัน วาคม 2559 บาท 2559
2558
กระแสเงิน สดจากกิจ กรรมลงทุน ซื Qออาคารและอุปกรณ์ ซื Qอสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน จําหน่ายอุปกรณ์
(14,233,944.11) (180,500.00) 9,597.86
(15,807,915.15) (162,000.00) 6,729.30
เงิน สดสุท ธิใ ช้ ไ ปในกิจกรรมลงทุน
(14,404,846.25)
(18,788,479.00)
(3,741,556.83)
(19,022,668.62)
เงินรับจากเงินกู้ยมื ระยะสันจากกิ Q จการที เกี ยวข้ องกัน
-
15,000,000.00
จ่ายชําระเงินกู้ยืมระยะสันจากกิ Q จการทีเ กี ยวข้ องกัน
-
(21,000,000.00)
จ่ายชําระเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน
(2,799,999.96)
(12,439,157.13)
เงินรับจากสัญญาขายและเช่ากลับคืน จ่ายชําระหนี Qสินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน รับชําระค่าหุ้นสามัญที ออกจากการใช้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ จ่ายต้ นทุนทางการเงิน
(8,055,339.12) 1,867,354.80 (4,018,715.40)
9,648,247.92 (12,060,796.99) 55,914,414.50 (6,804,795.13)
(16,748,256.51)
(8,728,933.16)
เงิน สดและรายการเทียบเท่ าเงิน สดเพิ ม ขึน9 (ลดลง)สุท ธิ เงิน สดและรายการเทียบเท่ าเงิน สด ณ วัน ต้ น ปี
(3,486,233.68) 25,170,709.39
18,145,064.08) 7,025,645.31
เงิน สดและรายการเทียบเท่ าเงิน สด ณ วัน ปลายปี
21,684,475.71
25,170,709.39
กระแสเงิน สดจากกิจ กรรมจัด หาเงิน จ่ายชําระเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั Q นการเงิน
เงิน สดสุท ธิไ ด้ ม าจาก(ใช้ ไ ปใน)กิจ กรรมจัด หาเงิน
รายการที ไม่เป็ นตัวเงิน สําหรับปี 2558 - บริ ษัทได้ ทําสัญญาขายและเช่ากลับคืนเครื องจักร (ดูหมายเหตุ 10 และ 17)
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง9 (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) หมายเหตุป ระกอบงบการเงิน สําหรับ ปี สิน9 สุด วัน ที ^W ธัน วาคม Y``a 1. ข้ อ มูล ทั วไป บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) จํ ากัด (มหาชน) (“บริ ษัท”) เป็ นนิติบุคคลที จัดตังQ ขึ Qนในประเทศไทยและมี สํานักงานจดทะเบียนตังอยู Q เ่ ลขที /W หมูท่ ี ตําบลหนองบัว อําเภอบ้ านค่าย จังหวัดระยอง บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยใน “ตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ (mai)” เมื อวันที S พฤษภาคม RRX บริ ษัทดําเนินธุรกิจหลักผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์โลหะและชิ Qนส่วนโลหะ งบการเงินได้ รับการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัทเมื อวันที V กุมภาพันธ์ RXY 2. เกณฑ์ ก ารจัด ทํางบการเงิน งบการเงินนี Qจัดทําขึ Qนตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินไทย (“มาตรฐานการรายงานทางการเงิน”) รวมถึงการ ตีความและแนวปฏิบตั ิทางการบัญชีที ประกาศใช้ โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) และข้ อกําหนดของ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์วา่ ด้ วยการจัดทําและนําเสนอรายงานทางการเงิน งบการเงินนี Qจัดทําและแสดงหน่วยเงินตราเป็ นเงินบาทซึง เป็ นสกุลเงินที ใช้ ในการดําเนินงานของบริษัทและนําเสนอเพื อ วัตถุประสงค์ของการรายงานเพื อใช้ ในประเทศไทยโดยจัดทําเป็ นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ การจัดทํางบการเงินให้ เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริ หารต้ องใช้ การประมาณและข้ อสมมติฐาน หลายประการ ซึ งมีผลกระทบต่อการกําหนดนโยบายและการรายงานจํานวนเงินที เกี ยวกับ สินทรัพย์ หนี Qสิน รายได้ และค่าใช้ จ่าย การประมาณและข้ อสมมติฐานมาจากประสบการณ์ในอดีต และปั จจัยต่าง ๆ ที ผ้ บู ริ หารมีความเชื อมัน อย่างสมเหตุสมผลภายใต้ สภาวการณ์แวดล้ อมนันซึ Q ง ไม่อาจอาศัยข้ อมูลจากแหล่งอื นและนําไปสูก่ ารตัดสินใจเกี ยวกับ การกําหนดจํานวนสินทรัพย์และหนี QสินนันQ ๆ ดังนันQ ผลที เกิดขึ Qนจริ งจากการตังข้ Q อสมมติฐานต่อมูลค่าตามบัญชีของ สินทรัพย์และหนี Qสินอาจแตกต่างไปจากที ประมาณไว้ ประมาณการและข้ อสมมติฐานที ใช้ ในการจัดทํางบการเงินจะได้ รับการทบทวนอย่างสมํ าเสมอ การปรับประมาณการ ทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที การประมาณการดังกล่าวได้ รับการทบทวน หากการปรับประมาณการกระทบเฉพาะ งวดนันQ ๆ และจะบันทึกในงวดที ปรับและงวดในอนาคตหากการปรับประมาณการกระทบทังงวดปั Q จจุบนั และอนาคต มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที อ อกและปรับ ปรุ งใหม่ สภาวิชาชีพบัญชีได้ ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีให้ ใช้ มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การ ตีความมาตรฐานการบัญชี การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง RRV) และฉบับใหม่ และแนวปฏิบตั ิทางการบัญชีที ออกและปรับปรุ งใหม่ ซึ งมีผลบังคับใช้ สําหรับงบการเงินที มีรอบบัญชีเริ มในหรื อหลัง วันที W มกราคม RRS
ระหว่างปี RRS บริ ษัทได้ นํามาตรฐานการรายงานทางการเงินที ออกและปรับปรุ งใหม่ ซึ งมีผลบังคับใช้ สําหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีที เริ มในหรื อหลังวันที W มกราคม RRS มาถือปฏิบตั ิ มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้ รับ การปรับปรุ งหรื อจัดให้ มีขึ Qนเพื อให้ มีเนื Qอหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่วน ใหญ่ เป็ นการปรั บปรุ งถ้ อยคําและคําศัพท์ การตีความและการให้ แนวปฏิบัติทางการบัญชี กับผู้ใช้ มาตรฐานการ รายงานทางการเงิ น การนํ ามาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ดังกล่าวมาถื อ ปฏิ บัตินี ไQ ม่มี ผ ลกระทบอย่า งเป็ น สาระสําคัญต่องบการเงินของบริ ษัท มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที อ อกและปรับ ปรุ งใหม่ แต่ ยงั ไม่ ม ีผ ลบังคับ ใช้ ระหว่างปี RRS สภาวิชาชีพบัญชีได้ ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีให้ ใช้ มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชี การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุ ง (ปรับปรุ ง RRS) และแนวปฏิบตั ิทางการบัญชีที ออกและปรับปรุ งใหม่ ซึ งมีผลบังคับใช้ สําหรับงบการเงินที มีรอบบัญชีเริ มในหรื อหลัง วันที W มกราคม RXY ดังต่อไปนี Q มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทาง เรื อ ง การเงิน / การตีความมาตรฐานการบัญชี/ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน / แนวปฏิบ ัต ทิ างการบัญชี มาตรฐานการบัญชี ฉบับที W (ปรับปรุง RRS) การนําเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที (ปรับปรุง RRS)
สินค้ าคงเหลือ
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที (ปรับปรุง RRS)
งบกระแสเงินสด
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที V (ปรับปรุง RRS) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที WY (ปรับปรุง RRS)
นโยบายการบัญชี การเปลีย นแปลงประมาณการ ทางบัญชีและข้ อผิดพลาด เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที WW (ปรับปรุง RRS)
สัญญาก่อสร้ าง
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที W (ปรับปรุง RRS)
ภาษี เงินได้
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที WX (ปรับปรุง RRS)
ที ดิน อาคารและอุปกรณ์
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที W (ปรับปรุง RRS)
สัญญาเช่า
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที WV (ปรับปรุง RRS)
รายได้
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที WS (ปรับปรุง RRS)
ผลประโยชน์ของพนักงาน
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที Y (ปรับปรุง RRS)
การบัญชีสาํ หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการ เปิ ดเผยข้ อมูลเกี ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลีย นแปลงของอัตรา แลกเปลีย นเงินตราต่างประเทศ
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที W (ปรับปรุง RRS)
มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน / การตีความมาตรฐานการบัญชี/ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน / แนวปฏิบ ัต ทิ างการบัญชี มาตรฐานการบัญชี ฉบับที (ปรับปรุง RRS) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที (ปรับปรุง RRS)
เรื อ ง
ต้ นทุนการกู้ยืม
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที (ปรับปรุง RRS)
การเปิ ดเผยข้ อมูลเกี ยวกับบุคคล หรื อกิจการที เกี ยวข้ องกัน การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์ เมื อออกจากงาน งบการเงินเฉพาะกิจการ
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที V (ปรับปรุง RRS)
เงินลงทุนในบริ ษัทร่วม และการร่วมค้ า
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที S (ปรับปรุง RRS) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที (ปรับปรุง RRS)
การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจทีเ งิน เฟ้อรุนแรง กําไรต่อหุ้น
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที (ปรับปรุง RRS)
งบการเงินระหว่างกาล
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที X (ปรับปรุง RRS)
การด้ อยค่าของสินทรัพย์
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที (ปรับปรุง RRS) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที V (ปรับปรุง RRS)
ประมาณการหนี Qสิน หนี Qสินที อาจเกิดขึ Qน และ สินทรัพย์ที อาจเกิดขึ Qน สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที Y (ปรับปรุง RRS)
อสังหาริ มทรัพย์เพื อการลงทุน
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที W (ปรับปรุง RRS)
เกษตรกรรม
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที WY (ปรับปรุง RRS)
การบัญชีสาํ หรับการปรับโครงสร้ างหนี Qที มีปัญหา
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที WYR (ปรับปรุง RRS)
การบัญชีสาํ หรับเงินลงทุนในตราสารหนี Qและตรา สารทุน การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้ อมูลสําหรับ เครื องมือทางการเงิน การจ่ายโดยใช้ ห้ นุ เป็ นเกณฑ์
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที X (ปรับปรุง RRS)
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที WY (ปรับปรุง RRS) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที (ปรับปรุง RRS) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที (ปรับปรุง RRS) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที (ปรับปรุง RRS)
การรวมธุรกิจ สัญญาประกันภัย
มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน / การตีความมาตรฐานการบัญชี/ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน / แนวปฏิบ ัต ทิ างการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที R (ปรับปรุง RRS) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที X (ปรับปรุง RRS) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที V (ปรับปรุง RRS) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที WY (ปรับปรุง RRS) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที WW (ปรับปรุง RRS) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที W (ปรับปรุง RRS) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที W (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที WY (ปรับปรุง RRS)
การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที WR (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที R (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที S (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที W (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที W (ปรับปรุง RRS)
เรื อ ง
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถ ือไว้ เพื อขายและการ ดําเนินงานที ยกเลิก การสํารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ ส่วนงานดําเนินงาน งบการเงินรวม การร่วมการงาน การเปิ ดเผยข้ อมูลเกี ยวกับส่วนได้ เสียในกิจการ อื น การวัดมูลค่ายุติธรรม ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที ไม่มีความ เกี ยวข้ องอย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรม ดําเนินงาน สัญญาเช่าดําเนินงาน - สิง จูงใจที ให้ แก่ผ้ เู ช่า ภาษี เงินได้ - การเปลีย นแปลงสถานภาพทาง ภาษี ของกิจการหรื อผู้ถือหุ้น การประเมินเนื Qอหาสัญญาเช่าทีท ําขึ Qนตาม รูปแบบกฎหมาย การเปิ ดเผยข้ อมูลของข้ อตกลงสัมปทานบริ การ รายได้ - รายการแลกเปลีย นเกี ยวกับบริ การ โฆษณา สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน - ต้ นทุนเว็บไซต์ การเปลีย นแปลงในหนี Qสินที เกิดขึ Qนจากการรื อQ ถอน การบูรณะ และหนี Qสินที มีลกั ษณะ คล้ ายคลึงกัน
มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน / การตีความมาตรฐานการบัญชี/ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน / แนวปฏิบ ัต ทิ างการบัญชี การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที R (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที WY (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที W (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที W (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที W (ปรับปรุง RRS)
เรื อ ง
การประเมินว่าข้ อตกลงประกอบด้ วยสัญญาเช่า หรื อไม่ สิทธิในส่วนได้ เสียจากกองทุนการรื อQ ถอน การ บูรณะและการปรับปรุงสภาพแวดล้ อม การปรับปรุงย้ อนหลังภายใต้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที S (ปรับปรุง RRS) เรื อง การรายงาน ทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจทีเ งินเฟ้อรุนแรง งบการเงินระหว่างกาลและการด้ อยค่า ข้ อตกลงสัมปทานบริ การ โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลกู ค้ า ข้ อจํากัดสินทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ ข้ อกําหนดเงินทุนขันตํ Q า และปฏิสมั พันธ์ของ รายการเหล่านี Q สําหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับ ที WS (ปรับปรุง RRS) เรื อง ผลประโยชน์ของ พนักงาน สัญญาสําหรับการก่อสร้ างอสังหาริ มทรัพย์
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที WR (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที W การจ่ายสินทรัพย์ที ไม่ใช่เงินสดให้ เจ้ าของ (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที WV การโอนสินทรัพย์จากลูกค้ า (ปรับปรุง RRS) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที Y ต้ นทุนการเปิ ดหน้ าดินในช่วงการผลิตสําหรับ (ปรับปรุง RRS) เหมืองผิวดิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที W เงินที นําส่งรัฐ (ปรับปรุง RRS) แนวปฏิบตั ิทางการบัญชีสาํ หรับการตัดรายการสินทรัพย์ทางการเงินและหนี Qสินทางการเงิน
ฝ่ ายบริ หารของบริ ษัทอยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบต่องบการเงินในปี ที เริ มใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับดังกล่าว 3. สรุ ป นโยบายการบัญชีท สี าํ คัญ เกณฑ์ ก ารวัด ค่ าในการจัด ทํางบการเงิน นอกจากที เปิ ดเผยไว้ ในหัวข้ ออื น ๆ ในสรุปนโยบายการบัญชีที สาํ คัญและหมายเหตุประกอบงบการเงินอื น ๆ เกณฑ์ใน การจัดทํางบการเงินใช้ ราคาทุนเดิม รายได้ การขายสินค้ า รายได้ จะรับรู้ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเมื อได้ โอนความเสีย งและผลตอบแทนที เป็ นสาระสําคัญของความเป็ นเจ้ าของ สินค้ าที มีนยั สําคัญไปให้ กบั ผู้ซื Qอแล้ ว และจะไม่รับรู้รายได้ ถ้าฝ่ ายบริ หารยังมีการควบคุมหรื อบริ หารสินค้ าที ขายไปแล้ ว นันหรื Q อมีความไม่แน่นอนที มีนยั สําคัญในการได้ รับประโยชน์จากรายการบัญชีนนไม่ ั Q อาจวัดมูลค่าของจํานวนรายได้ และต้ นทุนที เกิดขึ Qนได้ อย่างน่าเชื อถือหรื อมีความเป็ นไปได้ คอ่ นข้ างแน่ที จะต้ องรับคืนสินค้ า ดอกเบี Qยรับ ดอกเบี Qยถือเป็ นรายได้ ตามเกณฑ์คงค้ างโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที แท้ จริ ง รายได้ อื น รายได้ อื นรับรู้ตามเกณฑ์คงค้ าง ค่ าใช้ จ่ าย สัญญาเช่าดําเนินงาน รายจ่ายภายใต้ สญ ั ญาเช่าดําเนินงานบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จโดยวิธีเส้ นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ประโยชน์ ที ได้ รับตามสัญญาเช่าจะรับรู้ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเป็ นส่วนหนึง ของค่าเช่าทังสิ Q Qนตามสัญญา ค่าเช่าที อาจเกิดขึ Qน จะบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จในรอบบัญชีที มีรายการดังกล่าว ต้ นทุนทางการเงิน ต้ นทุนการกู้ยืมของเงินกู้ที ใช้ ในการได้ มา การก่อสร้ าง หรื อการผลิตสินทรัพย์ที ต้องใช้ ระยะเวลานานในการแปลงสภาพ ให้ พร้ อมใช้ หรื อขาย ได้ ถกู นําไปรวมเป็ นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นนจะอยู ัQ ใ่ นสภาพพร้ อมที จะใช้ ได้ ตามที มุ่งประสงค์ ส่วนต้ นทุนการกู้ยืมอื นถือเป็ นค่าใช้ จ่ายในงวดที เกิดรายการ ต้ นทุนการกู้ยืมประกอบด้ วยดอกเบี Qย และ ต้ นทุนอื นที เกิดขึ Qนจากการกู้ยืมนันQ ดอกเบี Qยซึง เป็ นส่วนหนึง ของค่างวดตามสัญญาเช่าการเงินบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จโดยใช้ วิธีอตั ราดอกเบี Qยที แท้ จริ ง ค่าใช้ จ่ายรับรู้ตามเกณฑ์คงค้ าง ผลประโยชน์ ข องพนัก งาน ผลประโยชน์ระยะสันQ บริ ษัทรับรู้เงินเดือน ค่าจ้ าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็ นค่าใช้ จ่ายในงวดที เกิดรายการ ผลประโยชน์หลังออกจากงาน – โครงการสมทบเงินที กําหนดไว้ บริ ษัทดําเนินการจัดตังกองทุ Q นสํารองเลี Qยงชีพที เป็ นแผนจ่ายสมทบที กําหนดการจ่ายสมทบไว้ เป็ นกองทุนโดยสินทรัพย์ ของกองทุนแยกออกจากสิน ทรั พ ย์ ข องบริ ษัท กองทุน สํา รองเลียQ งชี พ ดัง กล่าวได้ รับ เงิ น สมทบเข้ ากองทุน จากทังQ
พนักงานและบริ ษัท เงิ นจ่ายสมทบกองทุนสํารองเลี Qยงชี พและภาระหนีสQ ินตามโครงการสมทบเงิ นจะบันทึกเป็ น ค่าใช้ จ่ายใน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที เกี ยวข้ อง ผลประโยชน์หลังออกจากงาน – โครงการผลประโยชน์ที กําหนดไว้ หนี Qสินผลประโยชน์พนักงานส่วนที เป็ นเงินชดเชยตามกฎหมายแรงงานและส่วนที บริ ษัทกําหนดเพิ มเติมบันทึกเป็ น ค่าใช้ จ่ายตลอดอายุการทํางานของพนักงาน โดยการประมาณจํานวนเงินผลประโยชน์ในอนาคตที พนักงานจะได้ รับ จากการทํางานให้ กบั บริ ษัทตลอดระยะเวลาทํางานถึงปี ที เกษี ยณอายุงานในอนาคตตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย โดยผลประโยชน์ดงั กล่าวได้ ถกู คิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั อัตราคิดลดใช้ อตั ราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลเป็ นอัตรา อ้ างอิงเริ มต้ น การประมาณการหนี Qสินดังกล่าวคํานวณตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยโดยใช้ วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) เมื อผลประโยชน์พนักงานมีการเปลี ยนแปลง ส่วนของผลประโยชน์ที เพิ มขึ Qนซึ งเกี ยวข้ องกับการทํางานให้ กบั บริ ษัทใน อดีตของพนักงานจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จตามวิธีเส้ นตรงตามอายุงานคงเหลือโดยเฉลี ยจนกระทั ง ผลประโยชน์ได้ มีการจ่ายจริ ง เมื อข้ อสมมติที ใช้ ในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยมีการเปลี ยนแปลง บริ ษัทรับรู้ ผลกําไร(ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยที เกิดขึ Qนทันทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื นทังจํ Q านวน ผลประโยชน์เมื อเลิกจ้ าง บริ ษัทรับรู้ผลประโยชน์เมื อเลิกจ้ างเป็ นหนี Qสินและค่าใช้ จ่าย เมื อบริ ษัทยกเลิกการจ้ างพนักงานหรื อกลุม่ ของพนักงาน ก่อนวันเกษี ยณตามปกติ ภาษีเ งิน ได้ ค่าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ สาํ หรับปี ประกอบด้ วย ภาษี เงินได้ ปัจจุบนั และภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี ภาษี เงินได้ ปัจจุบนั และ ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุน เว้ นแต่ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีในส่วนที เกี ยวกับรายการที บนั ทึก ในส่วนของผู้ถือหุ้นให้ รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื น ภาษี เงินได้ ปัจจุบนั ได้ แก่ ภาษี ที คาดว่าจะจ่ายชําระหรื อได้ รับชําระ โดยคํานวณจากกําไรหรื อขาดทุนประจําปี ที ต้อง เสียภาษี โดยใช้ อตั ราภาษี ที ประกาศใช้ หรื อที คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันสิ Qนรอบระยะเวลารายงาน ตลอดจนการ ปรับปรุงทางภาษี ที เกี ยวกับรายการในปี ก่อน ๆ ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีบนั ทึกโดยคํานวณจากผลแตกต่างชัว คราวที เกิดขึ Qนระหว่างมูลค่าตามบัญชีและมูลค่าฐาน ภาษี ของสินทรัพย์และหนี Qสิน ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้ อตั ราภาษี ที คาดว่าจะใช้ กบั ผลแตกต่างชัว คราวเมื อมีการกลับรายการโดยใช้ อัตราภาษี ที ประกาศใช้ หรื อที คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันสิ Qนรอบระยะเวลารายงาน การกํ า หนดมูล ค่ า ของภาษี เ งิ น ได้ ปั จ จุ บัน และภาษี เ งิ น ได้ ร อการตัด บัญ ชี บริ ษั ท ต้ อ งคํ า นึ ง ถึ ง ผลกระทบของ สถานการณ์ทางภาษี ที ไม่แน่นอนและอาจทําให้ จํานวนภาษี ที ต้องจ่ายเพิ มขึ Qนและมีดอกเบี Qยที ต้องชําระ บริ ษัทเชื อว่า ได้ ตงภาษี ัQ เงินได้ ค้างจ่ายเพียงพอสําหรับภาษี เงินได้ ที จะจ่ายในอนาคตซึ งเกิดจากการประเมินผลกระทบจากหลาย ปั จจัย รวมถึง การตีความทางกฎหมายภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี Qอยู่บนพื Qนฐานการประมาณ การและข้ อสมมติฐานและอาจเกี ยวข้ องกับการตัดสินใจเกี ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต ข้ อมูลใหม่ ๆ อาจทําให้ บริ ษัท เปลีย นการตัดสินใจโดยขึ Qนอยูก่ บั ความเพียงพอของภาษี เงินได้ ค้างจ่ายที มีอยู่ การเปลีย นแปลงในภาษี เงินได้ ค้างจ่าย จะกระทบต่อค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้ ในงวดที เกิดการเปลีย นแปลง
สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีและหนี Qสินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้ เมื อกิจการมีสิทธิ ตาม กฎหมายที จะนําสินทรัพย์ภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั มาหักกลบกับหนี Qสินภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั และภาษี เงินได้ นี Q ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษี หน่วยงานเดียวกันสําหรับหน่วยภาษี เดียวกันหรื อหน่วยภาษี ต่างกัน สําหรับหน่วย ภาษี ตา่ งกันนันกิ Q จการมีความตังใจจะจ่ Q ายชําระหนี Qสินและสินทรัพย์ภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั ด้ วยยอดสุทธิหรื อตังใจ Q จะรับคืนสินทรัพย์และจ่ายชําระหนี Qสินในเวลาเดียวกัน สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื อมีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่ว่ากําไรเพื อเสียภาษี ในอนาคตจะมี จํานวนเพียงพอกับการใช้ ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว คราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันสิ Qนรอบระยะเวลารายงานและจะถูกปรับลดลงเท่าที ประโยชน์ทางภาษี จะมีโอกาสถูกใช้ จริ ง เงิน สดและรายการเทียบเท่ าเงิน สด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ประกอบด้ วย เงินสด เงินฝากธนาคารกระแสรายวันและออมทรัพย์ เงินฝาก ธนาคารที มีกําหนดระยะเวลาไม่เกิน เดือน และเงินลงทุนระยะสันที Q มีสภาพคล่องสูง โดยไม่รวมเงินฝากธนาคารติด ภาระหลักประกัน ลูก หนีก9 ารค้ าและลูก หนีอ9 นื ลูกหนี Qการค้ าและลูกหนี Qอื นแสดงในราคาตามใบแจ้ งหนี Qหักค่าเผื อหนี Qสงสัยจะสูญ บริ ษัทบันทึกค่าเผื อหนี Qสงสัยจะสูญสําหรับผลขาดทุนโดยประมาณที อาจเกิดขึ Qนจากการเก็บเงินลูกหนี Qไม่ได้ การประมาณค่าเผื อหนี Qสงสัยจะสูญของลูกหนี Q ฝ่ ายบริ หารจําเป็ นต้ องใช้ ดลุ ยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที คาด ว่าจะเกิดขึ Qนจากลูกหนี Qแต่ละราย โดยคํานึงถึงประสบการณ์ การเก็บเงินในอดีต วิเคราะห์อายุของหนี Qที คงค้ างและ ภาวะเศรษฐกิจที เป็ นอยูใ่ นขณะนันQ เป็ นต้ น อย่างไรก็ตามการใช้ ประมาณการและข้ อสมมติฐานที แตกต่างกันอาจมีผล ต่อจํานวนค่าเผื อหนี Qสงสัยจะสูญ ดังนันQ การปรับปรุงค่าเผื อหนี Qสงสัยจะสูญอาจมีขึ Qนได้ ในอนาคต สิน ค้ าคงเหลือ สินค้ าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรื อมูลค่าสุทธิที จะได้ รับแล้ วแต่ราคาใดจะตํ ากว่า โดยวิธีดงั ต่อไปนี Q งานระหว่างทําและสินค้ าสําเร็ จรูป - ตามวีธีถวั เฉลีย วัตถุดิบและอะไหล่ - ตามวิธีเข้ าก่อน - ออกก่อน ต้ นทุนของสินค้ าประกอบด้ วยต้ นทุนที ซื Qอ ต้ นทุนในการดัดแปลงหรื อต้ นทุนอื นเพื อให้ สินค้ าอยู่ในสถานที และสภาพ ปั จจุบนั ในกรณีของสินค้ าสําเร็ จรู ปและสินค้ าระหว่างผลิตที ผลิตเอง ต้ นทุนสินค้ ารวมการปั นส่วนของค่าโสหุ้ยการ ผลิตอย่างเหมาะสม โดยคํานึงถึงระดับกําลังการผลิตตามปกติ มูลค่าสุทธิที จะได้ รับเป็ นการประมาณราคาที จะขายได้ จากการดําเนินธุรกิจปกติหกั ด้ วยค่าใช้ จ่ายที จําเป็ นในการขาย บริ ษัทบันทึกค่าเผื อมูลค่าสินค้ าลดลงสําหรับสินค้ าที เสือ มคุณภาพ เสียหาย ล้ าสมัยและค้ างนาน ที ด ิน อาคารและอุป กรณ์ สินทรัพย์ที เป็ นกรรมสิทธิ ของกิจการ ที ดิน แสดงในราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้ วยราคาทุนหักด้ วยค่าเสื อมราคาสะสมและผลขาดทุนจากการด้ อย ค่าสะสม ราคาทุนรวมถึงต้ นทุนทางตรงที เกี ยวข้ องกับการได้ มาของสินทรัพย์ ต้ นทุนของการก่อสร้ างสินทรัพย์ที กิจการก่อสร้ าง เอง ซึง รวมต้ นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้ นทุนทางตรงอื น ๆ ที เกี ยวข้ องกับการจัดหาสินทรัพย์เพื อให้ สินทรัพย์ นันอยู Q ใ่ นสถานที และสภาพที พร้ อมจะใช้ งานได้ ตามความประสงค์ ต้ นทุนในการรื อQ ถอน การขนย้ าย การบูรณะสถาน
ที ตงของสิ ัQ นทรัพย์ และต้ นทุนการกู้ยืม สําหรับเครื องมือที ควบคุมโดยลิขสิทธิ ซอฟต์แวร์ ซึ งไม่สามารถทํางานได้ โดย ปราศจากลิขสิทธิ ซอฟต์แวร์ นนให้ ั Q ถือว่าลิขสิทธิ ซอฟต์แวร์ ดงั กล่าวเป็ นส่วนหนึง ของอุปกรณ์ ส่วนประกอบของรายการที ดิน อาคารและอุปกรณ์ แต่ละรายการที มีรูปแบบและอายุการให้ ประโยชน์ที ต่างกัน ต้ อง บันทึกแต่ละส่วนประกอบที มีนยั สําคัญแยกต่างหากจากกัน ผลกําไรหรื อขาดทุนจากการจําหน่ายที ดิน อาคารและอุปกรณ์ คือ ผลต่างระหว่างสิ งตอบแทนสุทธิ ที ได้ รับจากการ จําหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของที ดิน อาคารและอุปกรณ์ โดยรับรู้สทุ ธิเป็ นรายได้ หรื อค่าใช้ จ่ายในกําไรหรื อขาดทุน สินทรัพย์ที เช่า การเช่าซึ งบริ ษัทได้ รับความเสี ยงและผลตอบแทนส่วนใหญ่จากการครอบครองสินทรัพย์ที เช่านันQ ๆ จัดประเภทเป็ น สัญญาเช่าการเงิน ที ดิน อาคารและอุปกรณ์ที ได้ มาโดยทําสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็ นสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุติธรรม หรื อมูลค่าปั จจุบนั ของจํานวนเงินขันตํ Q าที ต้องจ่ายตามสัญญาเช่า แล้ วแต่จํานวนใดจะตํ ากว่าหักด้ วยค่าเสื อมราคา สะสมและผลขาดทุนจากการด้ อยค่าสะสม ค่าเช่าที ชําระจะแยกเป็ นส่วนที เป็ นค่าใช้ จ่ายทางการเงินและส่วนที จะหัก จากหนี สQ ิน ตามสัญ ญาเช่ า เพื อ ทํ า ให้ อัต ราดอกเบี ยQ เมื อ เที ย บกับ ยอดหนี ทQ ี ค งเหลือ อยู่ใ นแต่ล ะงวดมี อัต ราคงที ค่าใช้ จ่ายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในกําไรหรื อขาดทุน การจัดประเภทไปยังอสังหาริ มทรัพย์เพื อการลงทุน เมื อมีการเปลีย นแปลงการใช้ งานจากอสังหาริ มทรัพย์ที มีไว้ ใช้ งานเป็ นอสังหาริ มทรัพย์เพื อการลงทุน อสังหาริ มทรัพย์ นันจะถู Q กจัดประเภทใหม่เป็ นอสังหาริ มทรัพย์เพื อการลงทุนด้ วยมูลค่าตามบัญชี ต้ นทุนที เกิดขึ Qนในภายหลัง ต้ นทุนในการเปลี ยนแทนส่วนประกอบจะรับรู้ เป็ นส่วนหนึ งของมูลค่าตามบัญชีของรายการที ดิน อาคารและอุปกรณ์ ถ้ ามีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่ที บริ ษัทจะได้ รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนันQ และสามารถวัด มูลค่าต้ นทุนของรายการนันได้ Q อย่างน่าเชื อถือ ชินQ ส่วนที ถกู เปลี ยนแทนจะถูกตัดออกจากบัญชีด้วยมูลค่าตามบัญชี ต้ นทุนที เกิดขึ Qนในการซ่อมบํารุงทีด ิน อาคารและอุปกรณ์ที เกิดขึ Qนเป็ นประจําจะรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุนเมื อเกิดขึ Qน ค่าเสือ มราคา ค่าเสือ มราคาคํานวณจากจํานวนที คิดค่าเสือ มราคาของรายการที ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซึง ประกอบด้ วยราคาทุนของ สินทรัพย์หรื อมูลค่าอื นที ใช้ แทนราคาทุนหักด้ วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ ค่า เสื อ มราคาบัน ทึก เป็ น ค่า ใช้ จ่ า ยในกํ า ไรหรื อ ขาดทุน คํ านวณโดยวิ ธี เ ส้ น ตรงตามเกณฑ์ อ ายุการให้ ประโยชน์ โดยประมาณของส่วนประกอบของสินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการให้ ประโยชน์ของสินทรัพย์แสดงได้ ดังนี Q อาคารและสิง ปลูกสร้ าง 5 – Y ปี เครื องจักรและอุปกรณ์โรงงาน 5 – Y ปี เครื องตกแต่งและเครื องใช้ สาํ นักงาน R ปี ยานพาหนะ R ปี ค่าเสือ มราคาของสินทรัพย์ที เช่าตามสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็ นค่าใช้ จ่ายในแต่ละงวดบัญชี วิธีการคิดค่าเสือ มราคา ของสินทรัพย์ที เช่าจะเป็ นวิธีการเดียวกันกับการคิดค่าเสือ มราคาของสินทรัพย์ที เป็ นกรรมสิทธิ ของบริ ษัท บริ ษัทไม่คิดค่าเสือ มราคาสําหรับที ดินและสินทรัพย์ที อยูร่ ะหว่างการก่อสร้ าง
วิธีการคิดค่าเสือ มราคา อายุการให้ ประโยชน์ของสินทรัพย์ และมูลค่าคงเหลือ ได้ รับการทบทวนทุกสิ Qนรอบปี บญ ั ชี และ ปรับปรุงตามความเหมาะสม สิน ทรัพ ย์ ไ ม่ ม ีต ัวตน สินทรัพย์ไม่มีตวั ตนอื น สินทรัพย์ไม่มีตวั ตนอื น ๆ ที บริ ษัทซื Qอมาและมีอายุการให้ ประโยชน์ทราบได้ แน่นอนแสดงด้ วยราคาทุนหักด้ วยค่าตัด จําหน่ายสะสมและผลขาดทุนจากการด้ อยค่าสะสม รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรู้ รายการจะรั บรู้ เป็ นสินทรั พย์เมื อก่อให้ เกิดประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในอนาคตโดยรวมเป็ น สินทรัพย์ที สามารถระบุได้ ที เกี ยวข้ องนันQ รายจ่ายอื นรวมถึงค่าความนิยมและตราผลิตภัณฑ์ที เกิดขึ Qนภายในรับรู้ ใน กําไรหรื อขาดทุนเมื อเกิดขึ Qน ค่าตัดจําหน่าย ค่าตัดจําหน่ายคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพย์หรื อมูลค่าอื นที ใช้ แทนราคาทุนหักด้ วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ ค่าตัดจําหน่ายรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้ นตรงซึง โดยส่วนใหญ่จะสะท้ อนรูปแบบที คาดว่าจะได้ รับประโยชน์เชิง เศรษฐกิจในอนาคตจากสินทรัพย์นนตามระยะเวลาที ัQ คาดว่าจะได้ รับประโยชน์จากสินทรัพย์ไม่มีตวั ตนซึ งไม่รวมค่า ความนิยม โดยเริ มตัดจําหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตวั ตนเมื อสินทรัพย์นนพร้ ั Q อมที จะให้ ประโยชน์ ระยะเวลาที คาดว่าจะได้ รับประโยชน์แสดงได้ ดงั นี Q โปรแกรมคอมพิวเตอร์ R ปี บริ ษัทไม่ได้ คิดค่าตัดจําหน่ายสําหรับสินทรัพย์ที อยูร่ ะหว่างการพัฒนา วิธีการตัดจําหน่าย ระยะเวลาที คาดว่าจะได้ รับประโยชน์ และมูลค่าคงเหลือได้ รับการทบทวนทุกสิ Qนรอบปี บญ ั ชีและ ปรับปรุงตามความเหมาะสม การด้ อ ยค่ า มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ของบริ ษัทได้ รับการทบทวนทุกสิ Qนรอบระยะเวลารายงานว่ามีข้อบ่งชีเQ รื องการด้ อยค่า หรื อไม่ ในกรณีที มีข้อบ่งชีจQ ะทําการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที คาดว่าจะได้ รับคืน สําหรับมูลค่าที คาดว่าจะได้ รับคืน ของสินทรัพย์ไม่มีตวั ตนที มีอายุการให้ ประโยชน์ไม่ทราบแน่นอน หรื อยังไม่พร้ อมให้ ประโยชน์จะถูกประมาณทุกปี ใน ช่วงเวลาเดียวกัน ผลขาดทุนจากการด้ อยค่ารับรู้ เมื อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรื อหน่วยสินทรัพย์ที ก่อให้ เกิดเงินสดสูงกว่ามูลค่าที คาดว่าจะได้ รับคืน ผลขาดทุนจากการด้ อยค่าบันทึกในกําไรหรื อขาดทุน เว้ นแต่เมื อมีการกลับรายการการประเมิน มูลค่าของสินทรัพย์เพิ มขึ Qนของสินทรัพย์ชิ Qนเดียวกันกับที เคยรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นและมีการด้ อยค่าในเวลาต่อมา ใน กรณีนี Qรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น การคํานวณมูลค่าที คาดว่าจะได้ รับคืน มูลค่าที คาดว่าจะได้ รับคืนของสินทรัพย์ที ไม่ใช่สนิ ทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง มูลค่าจากการใช้ ของสินทรัพย์หรื อมูลค่า ยุติธรรมของสินทรั พย์หักต้ นทุนในการขายแล้ วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า การประเมินมูลค่าจากการใช้ ของสินทรั พย์ ประมาณจากกระแสเงินสดที จะได้ รับในอนาคตคิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยใช้ อตั ราคิดลดก่อนคํานึงถึงภาษี เงินได้ เพื อให้ สะท้ อนมูลค่าที อาจประเมินได้ ในตลาดปั จจุบนั ซึง แปรไปตามเวลาและความเสีย งที มีตอ่ สินทรัพย์ การกลับรายการด้ อยค่า
ผลขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรัพย์ที ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินอื นๆ ที เคยรับรู้ ในงวดก่อนจะถูกประเมินทุกรอบ ระยะเวลารายงานว่ามีข้อบ่งชี Qเรื องการด้ อยค่าหรื อไม่ ซึง หากมีการเปลีย นแปลงประมาณการที ใช้ ในการคํานวณมูลค่า ที คาดว่าจะได้ รับคืน ผลขาดทุนจากการด้ อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเท่าที มลู ค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่เกินกว่า มูลค่าตามบัญชี ภายหลังหักด้ วยค่าเสื อมราคาสะสมหรื อค่าตัดจําหน่ายสะสม เสมือนหนึ งไม่เคยมีการบันทึกผล ขาดทุนจากการด้ อยค่ามาก่อน สัญญาเช่ าการเงิน บริ ษัทบันทึกสัญญาเช่าการเงินเป็ นสินทรัพย์และหนี Qสินในงบแสดงฐานะการเงินด้ วยจํานวนเท่ากับมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์ที เช่า ณ วันเริ มต้ นของสัญญาเช่า หรื อมูลค่าปั จจุบนั ของจํานวนเงินขันตํ Q าที ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้ วแต่ จํานวนใดจะตํ ากว่า ค่าเช่าที จ่ายชําระจะปั นส่วนเป็ นส่วนของค่าใช้ จ่ายทางการเงินและส่วนที ไปลดเงินต้ น ค่าใช้ จ่าย ทางการเงินจะปั นส่วนไปสูง่ วดต่าง ๆ ตลอดอายุสญ ั ญาเช่า เพื อให้ อตั ราดอกเบี Qยเมื อเทียบกับยอดหนี Qที คงเหลืออยู่ใน แต่ละงวดมีอตั ราคงที เงิน ตราต่ างประเทศ รายการบัญชีที เป็ นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที เป็ นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้ อตั ราแลกเปลีย น ณ วันที เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี Qสินที เป็ นตัวเงินและเป็ นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที ในงบแสดงฐานะการเงิน แปลงค่าเป็ นเงินบาท โดยใช้ อตั ราแลกเปลีย น ณ วันนันQ กําไรหรื อขาดทุนจากการแปลงค่าดังกล่าวได้ รวมอยูใ่ นงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ ประมาณการหนีส9 ิน ประมาณการหนี Qสินจะรับรู้ ในงบแสดงฐานะการเงินก็ต่อเมื อบริ ษัทมีภาระหนี Qสินเกิดขึ Qนจากข้ อพิพาททางกฎหมาย หรื อภาระผูกพันซึง เป็ นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็ นไปได้ คอ่ นข้ างแน่วา่ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้ อง ถูกจ่ ายไปเพื อชํ า ระภาระหนี สQ ินดังกล่าว โดยจํ า นวนภาระหนี สQ ินดังกล่าวสามารถประมาณจํ า นวนเงิ น ได้ อ ย่า ง น่าเชื อถือ ถ้ าผลกระทบดังกล่าวเป็ นนัยสําคัญ ประมาณการกระแสเงินสดที จะจ่ายในอนาคตจะคิดลดเป็ นมูลค่า ปั จจุบนั โดยใช้ อตั ราคิดลดในตลาดปั จจุบนั ก่อนคํานึงภาษี เงินได้ เพื อให้ สะท้ อนมูลค่าที อาจประเมินได้ ในตลาด ปั จจุบนั ซึง แปรไปตามเวลาและความเสีย งที มีตอ่ หนี Qสิน การจ่ ายโดยใช้ ห้ ุน เป็ นเกณฑ์ โครงการให้ สทิ ธิซื Qอหุ้นแก่พนักงานของบริ ษัทอนุญาตให้ กรรมการและพนักงานมีสทิ ธิซื Qอหุ้นของบริ ษัทภายใต้ เงื อนไขที กําหนด จํานวนเงินที ได้ รับจากการใช้ สทิ ธิสทุ ธิจากค่าใช้ จ่ายเกี ยวกับการใช้ สทิ ธิ จะถูกรับรู้ในทุนเรื อนหุ้นและส่วนเกิน มูลค่าหุ้นเมื อมีการใช้ สทิ ธิซื Qอหุ้นแล้ ว มูลค่ายุติธรรมของสิทธิซื Qอหุ้น ณ วันที ให้ สิทธิแก่พนักงานรับรู้ เป็ นค่าใช้ จ่ายพนักงานพร้ อมๆไปกับการเพิ มขึ Qนในส่วน ของผู้ถือหุ้น ตลอดระยะเวลาที พนักงานสามารถเข้ าใช้ สิทธิ ได้ อย่างไม่มีเงื อนไข จํานวนที รับรู้ เป็ นค่าใช้ จ่ายจะถูก ปรับปรุ งเพื อให้ สะท้ อนถึงจํานวนสิทธิซื Qอหุ้นที แท้ จริ งซึ งเงื อนไขการให้ บริ การที เกี ยวข้ องและเงื อนไขการได้ รับสิทธิ ที ไม่ใช่เงื อนไขเรื องตลาดทุน เงิน ปั น ผลจ่ าย เงินปั นผลจ่ายและเงินปั นผลจ่ายระหว่างกาลบันทึกในรอบระยะเวลาบัญชีซงึ ที ประชุมผู้ถือหุ้นและคณะกรรมการของ บริ ษัทได้ อนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผล
ส่ วนเกิน มูล ค่ าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. R R มาตรา RW ในกรณีที บริ ษัทเสนอขายหุ้นสูงกว่า มูลค่าหุ้นที จดทะเบียนไว้ บริ ษัทต้ องนําค่าหุ้นส่วนเกินนี Qตังเป็ Q นทุนสํารอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี Qจะ นําไปจ่ายเป็ นเงินปั นผลไม่ได้ ขาดทุน ต่ อ หุ้น ขัน9 พืน9 ฐาน ขาดทุน ต่อหุ้น ขันQ พื นQ ฐานคํ า นวณโดยการหารขาดทุน สําหรั บ ปี ด้ วยจํ า นวนถัว เฉลี ยถ่ ว งนํ าQ หนัก ของหุ้น สามัญ ที ออกจําหน่ายแล้ วในระหว่างปี สรุปได้ ดงั นี Q สําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS และ RRV 2559 2558
ขาดทุนสําหรับปี (บาท) หุ้น สามัญตามวิธ ีถวั เฉลี ยถ่ วงนํา9 หนัก (หุ้น ) หุ้นสามัญที ออก ณ วันต้ นปี ผลกระทบจากหุ้นที ออกจําหน่าย หุ้นสามัญตามวิธีถวั เฉลีย ถ่วงนํ Qาหนัก ขาดทุนต่อหุ้นขันพื Q Qนฐาน (บาท)
(23,614,506.68)
(3,127,377.77)
297,807,944
222,277,158
162,226 297,970,170
30,048,811 252,325,969
(0.08)
(0.01)
ขาดทุน ต่ อ หุ้น ปรับ ลด ขาดทุนต่อหุ้นปรับลด สําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS และ RRV คํานวณโดยการหารขาดทุนส่วนของผู้ถือหุ้น สามัญด้ วยผลรวมของจํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลีย ถ่วงนํ Qาหนักที ออกจําหน่ายแล้ วในระหว่างปี บวกด้ วยจํานวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลีย ถ่วงนํ Qาหนักที บริ ษัทอาจต้ องออกเพื อแปลงสภาพหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดทังสิ Q Qนให้ เป็ นหุ้นสามัญโดยมิได้ รับ สิง ตอบแทนใด ๆ ทังสิ Q Qน และสมมติวา่ ผู้ถือจะแปลงหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดเป็ นหุ้นสามัญ เมื อราคาตามสิทธิตํ ากว่า มูลค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญ อย่างไรก็ตาม สําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS และ RRV บริ ษัทไม่ได้ คํานวณ ขาดทุนต่อหุ้นปรับลด เนื องจากการแปลงสภาพตราสารดังกล่าวมีผลทําให้ ขาดทุนต่อหุ้นลดลง 4. รายการบัญชีก ับ บุค คลหรือ กิจ การที เ กี ยวข้ อ งกัน บริ ษัทมีรายการบัญชีและรายการค้ าส่วนหนึง กับบุคคลหรื อกิจการที เกี ยวข้ องกัน ซึง บุคคลหรื อกิจการเหล่านี Qเกี ยวข้ อง กันโดยการถือหุ้นและ/หรื อมีผ้ บู ริ หารร่ วมกัน หรื อเป็ นสมาชิกในครอบครัวที ใกล้ ชิด รายการระหว่างกันกับบุคคลหรื อ กิจการที เกี ยวข้ องกันที มีสาระสําคัญที รวมไว้ ในงบการเงินใช้ ราคาตามปกติธุรกิจ โดยถือตามราคาตลาดทัว ไป หรื อใน ราคาที ตกลงกันตามสัญญาหากไม่มีราคาตลาดรองรับ
รายการบัญชี และรายการค้ าที มีสาระสําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที เกี ยวข้ องกัน สําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RR9 และ RR8 มีดงั นี Q
บาท รายได้ จ ากการขาย บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด ซือ9 สิน ค้ าและบริก าร บริ ษัท ริ ก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรี ทเม้ นท์ จํากัด ค่ าเช่ าและบริก าร บริ ษัท อําพน จํากัด ค่ าธรรมเนียม บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด บริ ษัท จุฑาวรรณ จํากัด ค่ าที ป รึก ษา กรรมการ ดอกเบีย9 จ่ าย บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด บริ ษัท เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จํากัด กรรมการ ซือ9 ส่ วนปรับ ปรุ งอาคารและอุป กรณ์ บริ ษัท ปิ นทองสตีล จํากัด
2559
2558
1,215,583.56
1,540,166.54
701,511.76
771,617.22
1,040,040.00
1,040,040.00
-
253,150.69 253,150.70
582,000.00
738,000.00
900,000.01 -
486,027.39 900,000.02 7,945.21
487,934.00
-
ยอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี Qสินที มีสาระสําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที เกี ยวข้ องกัน ณ วันที 3W ธันวาคม RR9 และ RR8 มีดงั นี Q
บาท 2559 ลูก หนีก9 ารค้ า บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด เจ้ าหนีก9 ารค้ าและเจ้ าหนีอ9 นื บริ ษัท ริ ก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรี ทเม้ นท์ จํากัด ค่ าใช้ จ่ ายค้ างจ่ าย กรรมการ เงิน กู้ยมื ระยะสัน9 และดอกเบีย9 ค้ างจ่ าย บริ ษัท เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จํากัด เงินกู้ยืม
2558
154,664.65
177,723.12
120,042.72
96,021.77
-
60,000.00
15,000,000.00
15,000,000.00
เงิน กู้ยมื ระยะสัน9 จากกิจ การที เ กี ยวข้ อ งกัน การเพิ มขึ Qนและลดลงของเงินกู้ยืมระยะสันจากกิ Q จการที เกี ยวข้ องกันสําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS และ RRV มีดงั นี Q
บาท ยอดยกมา
2559 15,000,000.00
2558 21,000,000.00
เพิ มขึ Qน ลดลง คงเหลือ
15,000,000.00
15,000,000.00 (21,000,000.00) 15,000,000.00
บริ ษัทมีเงินกู้ยมื ระยะสันจากกิ Q จการที เกี ยวข้ องกัน โดยการออกตัว สัญญาใช้ เงิน คิดดอกเบี Qยอ้ างอิงอัตราเงินกู้ยืม สถาบันการเงิน และไม่มีหลักประกัน การคํา9 ประกัน บริ ษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด และ บริ ษัท จุฑาวรรณ จํากัด ได้ ร่วมคํ Qาประกันวงเงินสินเชื อของบริ ษัท โดยคิด ผลตอบแทนจากการคํ Qาประกัน อัตราร้ อยละ ต่อปี ของวงเงินสินเชื อ เมื อวันที กันยายน RRV บริ ษัทที เกี ยวข้ อง กันทังสองแห่ Q งดังกล่าวได้ ถอนการคํ Qาประกันวงเงินสินเชื อของบริ ษัท (ดูหมายเหตุ W ) ค่ าตอบแทนผู้บ ริห ารสําคัญ ค่าตอบแทนผู้บริ หารสําคัญ สําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
บาท 2559 13,858,402.01 393,775.93 14,252,177.94
ผลประโยชน์ระยะสั Qน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม
2558 13,074,780.00 246,867.46 13,321,647.46
ค่ าตอบแทนกรรมการ ค่าตอบแทนกรรมการเป็ นผลประโยชน์ที จ่ายให้ แก่กรรมการบริ ษัท ตามมาตรา SY ของพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชน จํากัด โดยไม่รวมเงินเดือนและผลประโยชน์ที เกี ยวข้ องที จ่ายให้ กบั กรรมการซึง ดํารงตําแหน่งเป็ นผู้บริ หารของบริ ษัท ค่าตอบแทนกรรมการ สําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS และ RRV จํานวนเงิน Y. W ล้ านบาท ลัก ษณะความสัม พัน ธ์
ชื อ บริษัท ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จํากัด บริษัท จุฑาวรรณ จํากัด บริษัท อําพน จํากัด บริษัท ริ ก้า เจทีดบั บลิว ฮีททรีทเม้ นท์ จํากัด บริษัท เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จํากัด บริษัท ปิ นทองสตีล จํากัด
ประเทศ ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
ความสัมพันธ์ บริษัทที เกี ยวข้ องกัน บริษัทที เกี ยวข้ องกัน บริษัทที เกี ยวข้ องกัน บริษัทที เกี ยวข้ องกัน บริษัทที เกี ยวข้ องกัน บริษัทที เกี ยวข้ องกัน
ลักษณะความสัมพันธ์ ผู้ถือหุ้นของบริษัทและกรรมการร่วมกัน ผู้ถือหุ้นร่วมกัน ผู้ถือหุ้นร่วมกัน ผู้ถือหุ้นร่วมกัน ผู้ถือหุ้นร่วมกัน ผู้ถือหุ้นร่วมกัน
ลัก เกณฑ์ ใ นการเรียกเก็บ รายได้ แ ละค่ าใช้ จ่ ายระหว่ างกัน
มูลค่าการซื Qอขายสินค้ า บริการและทรัพย์สนิ ค่าใช้ จ่ายในการบริหาร ดอกเบียQ จ่าย
นโยบายการกําหนดราคา ราคาตลาดเทียบเคียงกับราคาซือQ ขายกับบุคคลภายนอก ราคาที ตกลงกันตามสัญญา อ้ างอิงอัตราดอกเบี Qยธนาคารพาณิชย์
5. เงิน สดและรายการเทียบเท่ าเงิน สด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
บาท 2559 เงินสด เงินฝากธนาคาร รวม
133,423.36 21,551,052.35 21,684,475.71
2558 85,730.36 25,084,979.03 25,170,709.39
6. ลูก หนีก9 ารค้ าและลูก หนีอ9 นื ลูกหนี Qการค้ าและลูกหนี Qอื น ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
บาท ลูกหนี Qการค้ า ลูกหนี Qอื น หัก ค่าเผื อหนี Qสงสัยจะสูญ ลูกหนี Qอื น - สุทธิ ลูกหนี Qการค้ าและลูกหนี Qอื น - สุทธิ
2559
2558
52,645,896.60
45,581,782.10
1,400,938.81 (455,218.98) 945,719.83
1,353,286.96 (455,218.98) 898,067.98
53,591,616.43
46,479,850.08
ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV บริ ษัทมียอดลูกหนี Qการค้ า โดยแยกตามจํานวนเดือนที ค้างชําระได้ ดงั นี Q
บาท ยังไม่ถึงกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ น้ อยกว่า 3 เดือน มากกว่า 3 เดือนขึ Qนไป รวม
2559 44,076,568.94
2558 39,782,438.55
8,559,685.35 9,642.31 52,645,896.60
5,306,812.77 492,530.78 45,581,782.10
7. สิน ค้ าคงเหลือ สินค้ าคงเหลือ ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
บาท สินค้ าสําเร็ จรูป งานระหว่างทํา วัตถุดิบ อะไหล่ สินค้ าระหว่างทาง รวม หัก ค่าเผื อมูลค่าสินค้ าลดลง สินค้ าคงเหลือ - สุทธิ
2559 14,974,437.18 17,222,567.80 1,276,255.13 4,050,828.40 2,828,634.78 40,352,723.29 (1,154,821.34) 39,197,901.95
2558 22,754,300.73 18,504,914.89 2,633,415.39 3,962,314.49 47,854,945.50 (1,015,543.39) 46,839,402.11
สําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RR9 และ 2558 ค่าเผื อมูลค่าสินค้ าลดลงมีรายการเคลือ นไหว ดังนี Q
บาท ยอดยกมา บวก ขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้ า หัก กลับรายการขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้ า ยอดคงเหลือ
2559 1,015,543.39 139,277.95 1,154,821.34
2558 3,103,719.00 (2,088,175.61) 1,015,543.39
8. สิน ทรัพ ย์ ห มุน เวียนอื น สินทรัพย์หมุนเวียนอื น ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
บาท เงินจ่ายล่วงหน้ าค่าสินค้ า ภาษี มลู ค่าเพิ มรอใบกํากับภาษี และรอเครดิต ค่าใช้ จ่ายล่วงหน้ า รวม
2559 8,624,600.00 973,624.82 224,113.41 9,822,338.23
2558 5,270,600.00 1,637,604.90 328,930.42 7,237,135.32
9. เงิน ฝากธนาคารติด ภาระหลัก ประกัน เงินฝากธนาคารติดภาระหลักประกัน ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
สถาบัน การเงิน
เงินฝากสถาบัน การเงิน
แห่งที 1
ฝากประจํา
แห่งที 2
ฝากประจํา รวม
บาท ภาระหลักประกัน
หมายเหตุ
2559
2558
การใช้ ไฟฟ้า ซื Qอวัสดุก่อสร้ าง เงินกู้ยืม
29.2
2,230,000.00
2,230,000.00
13
3,750,000.00
3,750,000.00
5,980,000.00
5,980,000.00
10. ที ด ิน อาคารและอุป กรณ์ รายการเปลีย นแปลงของที ดิน อาคารและอุปกรณ์สาํ หรับปี สิ Qนสุดวันที 3W ธันวาคม 2559 และ RR8 สรุปได้ ดงั นี Q บาท ที ดิน
เครื องจักรและ อุปกรณ์โรงงาน
อาคารและ สิ งปลูกสร้ าง
เครื องตกแต่งและ เครื องใช้ สาํ นักงาน
ยานพาหนะ
สินทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้ าง
รวม
ราคาทุน ณ วันที 1 มกราคม 2558
27,902,268.68
ซื Qอ/โอนเข้ า
-
จําหน่าย/โอนออก
-
ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 ซื Qอ/โอนเข้ า จําหน่าย/โอนออก ณ วันที 31 ธันวาคม 2559
27,902,268.68 27,902,268.68
85,227,978.86
273,349,841.76
12,636,097.59
966,978.00
19,418,056.19
881,027.96
(586,912.00)
(84,505.60)
86,194,956.86
292,180,985.95
13,432,619.95
2,243,094.60
12,399,843.60
924,105.91
88,438,051.46
(670,215.39) 303,910,614.16
(245,015.00) 14,111,710.86
2,134,710.09
-
2,134,710.09
271,075.00
401,521,971.98
-
7,785,347.00
29,051,409.15
-
(6,523,322.00)
(7,194,739.60)
1,533,100.00
423,378,641.53
2,183,893.10
17,750,937.21
(2,966,993.10) 750,000.00
(3,882,223.49) 437,247,355.25
2,134,710.09 -
ค่ าเสื อ มราคาสะสม ณ วันที 1 มกราคม 2558
-
32,093,564.01
161,916,994.69
8,707,113.49
1,258,051.00
-
203,975,723.19
ค่าเสื อมราคา
-
3,008,418.60
21,879,209.79
1,791,385.10
183,704.37
-
26,862,717.86
ปรับปรุง
-
-
980,284.22
-
-
980,284.22
จําหน่าย/โอนออก
-
-
(40,354.37)
(71,746.21)
-
-
(112,100.58)
ณ วันที 31 ธันวาคม 2558
-
35,101,982.61
184,736,134.33
10,426,752.38
1,441,755.37
-
231,706,624.69
ค่าเสื อมราคา
-
3,714,677.01
21,625,890.22
1,570,085.15
104,009.70
-
27,014,662.08
จําหน่าย/โอนออก ณ วันที 31 ธันวาคม 2559
-
38,816,659.62
(110,731.99) 206,251,292.56
(244,309.80) 11,752,527.73
1,545,765.07
-
(355,041.79) 258,366,244.98
-
บาท ที ดิน
เครื องจักรและ อุปกรณ์ โรงงาน
อาคารและ สิ งปลูกสร้ าง
เครื องตกแต่งและ เครื องใช้ สาํ นักงาน
ยานพาหนะ
สินทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้ าง
รวม
ค่ าเผื อ การด้ อ ยค่ า ณ วันที 1 มกราคม 2558 บวก ขาดทุนจากการด้ อยค่า
-
-
-
-
จําหน่าย / โอนออก
-
-
ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 บวก ขาดทุนจากการด้ อยค่า
-
-
-
จําหน่าย / โอนออก ณ วันที 31 ธันวาคม 2559
-
4,120,284.78
-
-
-
4,120,284.78
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
4,120,284.78
-
-
-
4,120,284.78
-
3,866,624.21
-
-
-
3,866,624.21
-
7,986,908.99
-
-
-
7,986,908.99
มูล ค่ าสุท ธิท างบัญชี ภายใต้ กรรมสิทธิ บริ ษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2558
27,902,268.68 -
51,092,974.25 -
66,143,531.03 37,181,035.81
2,902,912.98 102,954.59
398,609.22 294,345.50
1,533,100.00 -
149,973,396.16 37,578,335.90
27,902,268.68
51,092,974.25
103,324,566.84
3,005,867.57
692,954.72
1,533,100.00
187,551,732.06
ภายใต้ กรรมสิทธิ บริ ษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2559
27,902,268.68 27,902,268.68
49,621,391.84 49,621,391.84
66,289,385.26 23,383,027.35 89,672,412.61
2,295,757.92 63,425.21 2,359,183.13
400,002.00 188,943.02 588,945.02
750,000.00 750,000.00
147,258,805.70 23,635,395.58
170,894,201.28
บาท 2559
2558
ค่าเสือ มราคาสําหรับปี สิ Qนสุดวันที 31 ธันวาคม แสดงไว้ ใน ต้ นทุนขาย
25,294,550.47
24,989,245.73
ค่าใช้ จ่ายในการบริ หาร
1,720,111.61 27,014,662.08
1,873,472.13 26,862,717.86
72,847,018.91
57,525,685.32
รวม ณ วันที 31 ธันวาคม มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสือ มราคาสะสม ได้ ตดั ค่าเสือ มราคาทั Qงจํานวนแล้ วแต่ยงั คงใช้ งานอยู่
สัญญาเช่าพื Qนที และอุปกรณ์ สัญญาเช่ายานพาหนะ สัญญาเช่าอุปกรณ์โรงงาน
ผู้ให้ เช่า บุคคลภายนอก บุคคลภายนอก บุคคลภายนอก
ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 อัตราค่าเช่าต่อเดือน ระยะเวลา (ล้ านบาท) 2 ปี 0.02 1 - 4 ปี 0.38 0.09 3 ปี
หมายเหตุ สามารถต่อ สัญญาได้ เมื อ หมดอายุสญ ั ญา
ปี RR8 บริ ษัทได้ ทําสัญญาขายและเช่ากลับคืนเครื องจักร มูลค่าตามบัญชี จํานวนเงิน 21.67 ล้ านบาท (ดูหมายเหตุ 1 ) บริ ษัทได้ ว่าจ้ างบริ ษัท สยามแอพเพรซัล แอนด์ เซอร์ วิส จํากัด ซึ งเป็ นผู้ประเมินราคาอิสระให้ ทําการประเมินราคา เครื องจักร มูลค่าตามบัญชี จํานวนเงิน 79.92 ล้ านบาท ซึ งมีราคาประเมินเท่ากับจํานวนเงิน 89.06 ล้ านบาท การ ประเมินราคามีหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน คือ วิธีวิเคราะห์มลู ค่าจากต้ นทุน (Cost Approach) ตามมาตรฐาน วิชาชีพของสมาคมผู้ประเมินค่าทรัพย์สนิ แห่งประเทศไทย ตามรายงานการประเมินราคาทรัพย์สนิ ลงวันที 17 มกราคม 2560 บริ ษัทได้ จดจํานองที ดินพร้ อมสิ งปลูกสร้ างที มีอยู่แล้ วและที จะมีขึ Qนในภายหน้ า เพื อใช้ เป็ นหลักประกันเงินกู้ยืมจาก สถาบันการเงิน (ดูหมายเหตุ 13 และ 1X)
11. สิน ทรัพ ย์ ไ ม่ ม ีต ัวตน สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
บาท โปรแกรม คอมพิวเตอร์
โปรแกรม คอมพิวเตอร์ ระหว่างติดตั Qง
รวม
ราคาทุน ณ วันที 1 มกราคม 2558 ซื Qอ/โอนเข้ า จําหน่าย/โอนออก ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 ซื Qอ/โอนเข้ า จําหน่าย/โอนออก ณ วันที 31 ธันวาคม 2559
4,790,100.00 4,790,100.00 64,500.00 4,854,600.00
ค่ าตัด จําหน่ ายสะสม ณ วันที 1 มกราคม 2558 ค่าตัดจําหน่าย จําหน่าย/โอนออก ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 ค่าตัดจําหน่าย จําหน่าย/โอนออก ณ วันที 31 ธันวาคม 2559
2,575,485.77 506,244.99 3,081,730.76 504,355.93 3,586,086.69
มูล ค่ าสุท ธิท างบัญชี ภายใต้ กรรมสิทธิ ของบริ ษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2558
1,526,118.54 182,250.70 1,708,369.24
399,000.00 399,000.00
1,925,118.54 182,250.70 2,107,369.24
ภายใต้ กรรมสิทธิ ของบริ ษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2559
1,268,513.31 1,268,513.31
515,000.00 515,000.00
1,783,513.31 1,783,513.31
237,000.00 162,000.00 399,000.00 116,000.00 515,000.00
-
5,027,100.00 162,000.00 5,189,100.00 180,500.00 5,369,600.00
2,575,485.77 506,244.99 3,081,730.76 504,355.93 3,586,086.69
บาท 2559
2558
ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี สิ Qนสุดวันที 31 ธันวาคม แสดงไว้ ในค่าใช้ จ่ายในการบริ หาร
504,355.93
506,244.99
ณ วันที 31 ธันวาคม มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าตัดจําหน่ายสะสม ได้ ตดั จําหน่าย ทังจํ Q านวนแล้ วแต่ยงั คงใช้ งานอยู่
1,479,568.99
1,315,800.00
12. ภาษีเ งิน ได้ ร อการตัด บัญชี ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
บาท 2559
2558
สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี
3,998,580.65
10,720,552.43
หนี Qสินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี
(3,998,580.65) -
(5,297,009.15) 5,423,543.28
สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี - สุทธิ
รายการเคลือ นไหวของสินทรัพย์และหนี Qสินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีที เกิดขึ Qนในระหว่างปี มีดงั นี Q บาท 1 มกราคม 2558
กําไร
กําไร
กําไร
ขาดทุน
(ขาดทุน)
เบ็ดเสร็ จอื น
31 ธันวาคม 2558
(ขาดทุน)
เบ็ดเสร็ จอื น
-
159,202.60
6,504.95
788,429.14 9,772,920.69 10,720,552.43
183,855.17 (6,869,802.04) (6,679,441.92)
(5,297,009.15) (5,297,009.15)
1,298,428.50 1,298,428.50
31 ธันวาคม 2559
สิน ทรัพ ย์ ภ าษีเ งิน ได้ ร อการตัด บัญชี สินค้ าคงเหลือ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน
159,202.60
-
ผลขาดทุนทางภาษียกไป รวม
655,170.75 14,039,344.13 14,853,717.48
71,715.99 (4,266,423.44) (4,194,707.45)
หนีส9 ิน ภาษีเ งิน ได้ ร อการตัด บัญชี ที ดิน อาคารและอุปกรณ์ รวม
(3,745,528.33) (3,745,528.33)
(1,551,480.82) (1,551,480.82)
61,542.40 61,542.40
-
165,707.55 (42,529.86) (42,529.86)
-
929,754.45 2,903,118.65 3,998,580.65
(3,998,580.65) (3,998,580.65)
13. เงิน เบิก เกิน บัญชีแ ละเงิน กู้ยมื ระยะสัน9 จากสถาบัน การเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั Q นการเงิน ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
บาท เงินเบิกเกินบัญชี ตัว สัญญาใช้ เงิน ทรัสต์รีซีท รวม วงเงินสินเชื อจากสถาบันการเงิน ประกอบด้ วย วงเงิน(ล้ านบาท) สถาบัน
การเงิน
ประเภทสินเชื อ แห่งที 1 เงินเบิกเกินบัญชี ตัว สัญญาใช้ เงิน
2559 10.00 16.00
แห่งที 2 เลตเตอร์ ออฟ เครดิต 15.00 /ทรัสต์รีซีท /หนังสือคํ Qาประกัน
2558 10.00 16.00
อัตราดอกเบี Qย (ร้ อยละต่อปี ) MOR MLR
2559
2558
3,417,660.75 16,000,000.00 14,517,376.18 33,935,036.93
7,404,526.95 16,000,000.00 14,272,066.81 37,676,593.76
หลักประกัน บริ ษัทได้ จดจํานองที ดินพร้ อมสิง ปลูกสร้ าง ที มีอยูแ่ ล้ วและที จะมีขึ Qนในภายหน้ า เพื อใช้ เป็ นหลักประกัน ตลอดจนผลประโยชน์ จากการทําประกันอัคคีภยั สิง ปลูกสร้ างเพื อเป็ น หลักประกันสินเชื อดังกล่าว
15.00 MLR, SIBOR จํานําสิทธิในการรับเงินตามบัญชีเงินฝากและ/ หรื อ ตัว แลกเงินในสัดส่วนร้ อยละ 25 สําหรับ วงเงินตัว สัญญาใช้ เงิน
14. เจ้ าหนีก9 ารค้ าและเจ้ าหนีอ9 นื เจ้ าหนี Qการค้ าและเจ้ าหนี Qอื น ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
บาท
2559
2558
เจ้ าหนี Qการค้ า เจ้ าหนี Qอื น ค่าใช้ จ่ายค้ างจ่าย เจ้ าหนี Qอื น รวม
56,146,079.56
51,252,454.81
11,895,487.87 2,518,006.48 14,413,494.35
10,808,120.48 1,660,093.49 12,468,213.97
รวมทังหมด Q
70,559,573.91
63,720,668.78
15. หนีส9 ิน ส่ วนที ถ งึ กําหนดชําระภายในหนึ งปี หนี Qสินส่วนที ถึงกําหนดชําระภายในหนึง ปี ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
บาท หมายเหตุ
2559
2558
เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน
16
1,364,745.19
2,799,999.96
หนี Qสินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน รวม
17
6,145,820.18 7,510,565.37
8,122,562.45 10,922,562.41
16. เงิน กู้ยมื จากสถาบัน การเงิน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
บาท เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน หัก ส่วนที ถึงกําหนดชําระภายในหนึง ปี เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
2559 1,364,745.19 (1,364,745.19) -
2558 4,164,745.15 (2,799,999.96) 1,364,745.19
รายละเอียดเงินกู้ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน มีรายละเอียดดังนี Q
วงเงิน เจ้ าหนี Q (ล้ านบาท) ธนาคาร 14.00
มูลหนี Q (ล้ านบาท) 2559 1.36
ระยะเวลา
2558
จ่ายชําระหนี Q 4.16 ก.ค. 2555 - มิ.ย. 2560
อ้ างอิงอัตราดอกเบียQ (ร้ อยละต่อปี ) MLR
การชําระหนี Q เงินต้ นพร้ อมดอกเบียQ รายเดือน เดือนละ 0.23 ล้ านบาท เริ มชําระเดือนที 7 นับตังQ แต่การเบิกเงินกู้ยืมงวดแรก
การเพิม ขึ Qนและลดลงของเงินกู้ยมื จากสถาบันการเงินสําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS และ RRV มีดงั นี Q
บาท 2559 ยอดยกมา เพิ มขึนQ ลดลง ยอดคงเหลือ
2558
4,164,745.15 (2,799,999.96) 1,364,745.19
16,603,902.28 (12,439,157.13) 4,164,745.15
บริ ษัทได้ จดจํานองที ดินพร้ อมสิ งปลูกสร้ างที มีอยู่แล้ วในขณะทําสัญญาและที จะมีขึ Qนต่อไปในภายหน้ า (ดูหมาย เหตุ WY) ตลอดจนผลประโยชน์จากการทําประกันอัคคีภยั สิ งปลูกสร้ างเพื อใช้ เป็ นหลักประกันสินเชื อดังกล่าวในปี RRV บริ ษัทได้ ขอลดวงเงินสินเชื อกับสถาบันการเงินแห่งหนึง พร้ อมทังไถ่ Q ถอนที ดินพร้ อมสิง ปลูกสร้ างที มีอยูแ่ ล้ วและที จะมีขึ Qนใน ภายหน้ า (ดูหมายเหตุ WY) และถอนการคํ Qาประกันของบริ ษัทที เกี ยวข้ องกัน แห่ง (ดูหมายเหตุ )
17. หนีส9 ิน ภายใต้ ส ัญญาเช่ าการเงิน หนี Qสินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย บาท 2559 ปี
มูลค่าปั จจุบนั
ดอกเบี Qยรอตัดบัญชี
2558 ค่าเช่าขั Qนตํ า
มูลค่าปั จจุบนั
ดอกเบี Qยรอตัดบัญชี
ค่าเช่าขั Qนตํ า
สัญญาเช่าการเงิน 1
2,272,328.34
187,338.01
2,459,666.35
2,227,606.49
290,476.86
2,518,083.35
2-5
1,833,502.55 4,105,830.89
48,984.03 236,322.04
1,882,486.58 4,342,152.93
4,038,609.23 6,266,215.72
207,256.02 497,732.88
4,245,865.25 6,763,948.60
สัญญาขายและเช่ากลับคืน 3,873,491.84 1
192,549.45
4,066,041.29
5,894,955.96
560,078.66
6,455,034.62
2-5
326,394.03 4,199,885.87
2,192.00 194,741.45
328,586.03 4,394,627.32
4,199,884.20 10,094,840.16
194,743.13 754,821.79
4,394,627.33 10,849,661.95
1
6,145,820.18
379,887.46
6,525,707.64
8,122,562.45
850,555.52
8,973,117.97
2-5
2,159,896.58
51,176.03
2,211,072.61
8,238,493.43
401,999.15
8,640,492.58
8,305,716.76
431,063.49
8,736,780.25
16,361,055.88
1,252,554.67
17,613,610.55
รวม
บริ ษัทได้ ทําสัญญาเช่าการเงิน เพื อซื Qอเครื องจักร ยานพาหนะ และอุปกรณ์สํานักงาน กํา หนดการผ่อ นชํา ระเป็ น รายเดือน เดือนละ Y. Y ล้ านบาท (ปี RRV: Y.VX ล้ านบาท) หนี Qสินส่วนที ถึงกําหนดชําระภายในหนึง ปี จํานวนเงิน X.WR ล้ านบาท (ปี RRV: V.W ล้ านบาท) แสดงภายใต้ หนี Qสินหมุนเวียน ในปี RRV บริ ษัทได้ ทําสัญญาขายและเช่ากลับคืนเครื องจักร มูลค่าตามสัญญาเช่าการเงิน จํานวนเงิน WR. X ล้ าน บาท 18. หนีส9 ิน หมุน เวียนอื น หนี Qสินหมุนเวียนอื น ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
บาท 2559
2558
เงินรับล่วงหน้ า
9,273,000.00
9,230,280.00
ภาษี เงินได้ หกั ณ ที จ่ายค้ างจ่าย
1,261,405.00
1,059,629.11
416,194.78 10,950,599.78
416,194.78 10,706,103.89
รายได้ รับล่วงหน้ า รวม
19. ภาระผูก พัน ผลประโยชน์ พ นัก งาน การเปลีย นแปลงมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน สําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS และ RRV มีดงั นี Q บาท โครงการผลประโยชน์ ห ลังออกจากงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที 1 มกราคม ส่วนที รับรู้ในกําไรหรื อขาดทุน : ต้ นทุนบริการปั จจุบนั ต้ นทุนดอกเบี Qย ส่วนที รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื น : ผล(กําไร)ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที 31 ธันวาคม
2559
2558
3,942,145.72
2,991,186.20
507,684.65 198,941.86
486,915.47 156,332.05
(212,649.28) 4,436,122.95
307,712.00 3,942,145.72
บริ ษัทกําหนดโครงการผลประโยชน์ที กําหนดไว้ เป็ นไปตามการจ่ายเงินชดเชยตามกฎหมายแรงงานซึ งให้ สิทธิแก่ พนักงานที เกษี ยณอายุและทํางานครบระยะเวลาที กําหนด เช่น WY ปี ขึนQ ไป ได้ รับเงิ นชดเชยไม่น้อยกว่าอัตรา เงินเดือนเดือนสุดท้ าย YY วัน หรื อ WY เดือน ข้ อสมมติในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยที สําคัญ ณ วันที W ธันวาคม RRS และ RRV (แสดงด้ วยค่าเฉลีย ถ่วงนํ Qาหนัก) มีดงั นี Q พนักงานรายเดือน พนักงานรายวัน 2559 2558 2559 2558 อัตราคิดลด (ร้ อยละ) 2.96 - 3.02 4.30 2.96 - 3.02 4.11 เงินเดือนในอนาคตที เพิ มขึ Qน (ร้ อยละ) 4.00 5.00 2.50 5.00 อัตราการลาออก (ร้ อยละ) 0.00-20.00 0.00-30.00 3.00-42.00 0.00-50.00
เกษี ยณอายุ อัตรามรณะ อัตราการทุพพลภาพ
60 ปี 60 ปี 60 ปี 60 ปี ตารางมรณะปี 2551 ตารางมรณะปี 2551 ร้ อยละ 5 ร้ อยละ 10 ร้ อยละ 5 ร้ อยละ 10 ของอัตรามรณะ ของอัตรามรณะ ของอัตรามรณะ ของอัตรามรณะ
ผลกระทบของการเปลีย นแปลงสมมติฐานที สาํ คัญต่อมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจากงาน ของพนักงาน ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 สรุปได้ ดงั นี Q
บาท เพิ มขึนQ
ลดลง
อัตราคิดลด (เปลีย นแปลงร้ อยละ 0.5)
(184,393.00)
201,362.00
อัตราการขึนเงิ Q นเดือน (เปลีย นแปลงร้ อยละ 0.5)
179,870.00
(166,173.00)
อัตราการลาออก (เปลีย นแปลงร้ อยละ 10)
(264,728.00)
306,693.00
20. ทุน เรือ นหุ้น ที ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น เมื อวันที S กรกฎาคม RRV ได้ มีมติอนุมตั ิ ดังต่อไปนี Q 20.1 อนุมตั ิเพิ มทุนจดทะเบียนจากเดิม จํานวนเงิน WW ล้ านบาท เป็ นจํานวนเงิน WRY. ล้ านบาท โดยออกหุ้น สามัญใหม่ จํานวน .XV ล้ านหุ้น มูลค่าที ตราไว้ ห้ นุ ละ Y.RY บาท 20.2 อนุมตั ใิ ห้ จดั สรรหุ้นเพิ มทุน โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี Q - จัดสรรหุ้นเพิ มทุน จํานวนไม่เกิน .YS ล้ านหุ้น เสนอขายให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นเดิมของบริ ษัทในอัตรา หุ้น สามัญเดิมต่อ W หุ้นสามัญใหม่ในราคาหุ้นละ Y. R บาท - จัดสรรหุ้นเพิ มทุน จํานวนไม่เกิน Y.RS ล้ านหุ้น เพื อเตรี ยมไว้ สําหรับรองรับการปรับสิทธิของใบสําคัญ แสดงสิทธิที จะซื Qอหุ้นสามัญเพิ มทุนของบริ ษัทเสนอขายแก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัท (ESOP) ทังนี Q Qให้ คณะกรรมการบริ ษัทหรื อบุคคลที คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมายมีอํานาจในการพิจารณากําหนด และแก้ ไขเปลีย นแปลง กําหนดวันและเวลาที เสนอขาย และรายละเอียดอื น ๆ ที เกี ยวข้ องกับการจัดสรรหุ้น เพิ มทุนดังกล่าว บริ ษัทได้ จดทะเบียนเพิ มทุนจดทะเบียนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์แล้ ว เมื อวันที W กรกฎาคม RRV บริ ษัทจะปรับสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที จะซื Qอหุ้นสามัญของบริ ษัทที เสนอขายแก่กรรมการและพนักงาน ของบริ ษัท (ESOP) (ดูหมายเหตุ W) 20.3 บริ ษัทเปิ ดจองซื Qอหุ้นและชําระเงินในระหว่างวันที - สิงหาคม RRV โดยเสนอขายในราคาหุ้นละ Y. R บาท และเมื อวันที W สิงหาคม RRV บริ ษัทได้ จดทะเบียนเปลี ยนแปลงทุนชําระแล้ วกับกระทรวงพาณิชย์ จากการรับชําระเงินเพิ มทุนหุ้นสามัญดังกล่าวจากเดิมจํานวนเงิน WWW.W ล้ านบาท เป็ นจํานวนเงิน W V.WS ล้ านบาท ที ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เมื อวันที V เมษายน RRS ได้ อนุมตั ิให้ นําสํารองตามกฎหมายและส่วนเกินมูลค่าหุ้น สามัญล้ างขาดทุนสะสม โดยพิจารณาจากงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที W ธันวาคม RRV
21. ใบสําคัญแสดงสิท ธิ เมื อวันที S พฤษภาคม RRX บริ ษัทได้ ออกใบสําคัญแสดงสิทธิที จะซื Qอหุ้นสามัญ (Employee Stock Option Plan: ESOP) จํานวน X,YYY,YYY หน่วยให้ แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษัท โดยรายละเอียดของใบสําคัญแสดงสิทธิ มีดงั นี Q
ประเภทของใบสําคัญแสดงสิทธิ ชนิด อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ จํานวนที ออกและเสนอขาย ราคาเสนอขายต่อหน่วย อัตราการใช้ สทิ ธิ
ราคาการใช้ สทิ ธิ ระยะเวลาการใช้ สทิ ธิ
ระยะเวลาการใช้ สิทธิครังQ สุดท้ าย
: ใบสําคัญแสดงสิทธิ ที จะซื Qอหุ้นสามัญของบริ ษัทเพื อจัดสรรให้ แก่ กรรมการและ พนักงานของบริ ษัท : ระบุชื อผู้ถือและไม่สามารถโอนเปลีย นมือได้ : 5 ปี นับตังแต่ Q วนั ที ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ : X,YYY,YYY หน่วย : หน่วยละ 0 บาท : อัตราส่วนการใช้ สทิ ธิเดิม W:W (W ใบสําคัญแสดงสิทธิซื Qอหุ้นสามัญได้ W หุ้น) เป็ นอัตราส่วนการใช้ สทิ ธิใหม่ W:W.WX ( W ใบสําคัญแสดงสิทธิซื Qอ หุ้นสามัญได้ W.WX หุ้น) (เว้ นแต่จะมีการปรับสิทธิตามหลักเกณฑ์และ เงื อนไขที กําหนด) : Y.RY บาท ต่อหุ้น (เว้ นแต่จะมีการปรับสิทธิตามหลักเกณฑ์และเงื อนไข ที กําหนด) : ครังQ ที W 3 วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิ ครบ Y.R ปี ใช้ สทิ ธิได้ ร้อยละ R ของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที ได้ รับการจัดสรร ครังQ ที วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ W ปี ใช้ สิทธิได้ ร้อยละ R ของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที ได้ รับการจัดสรร ครังQ ที วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ W.R ปี ใช้ สทิ ธิได้ ร้อยละ RY ของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทไี ด้ รับการจัดสรร ครังQ ที วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิ ครบ ปี ใช้ สทิ ธิได้ ร้อยละ RY ของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที ได้ รับการจัดสรร ครังQ ที R วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ .R ปี ใช้ สทิ ธิได้ ร้อยละ R ของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที ได้ รับการจัดสรร ครังQ ที X วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ ปี ใช้ สิทธิได้ ร้อยละ R ของจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที ได้ รับการจัดสรร ครังQ ที วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ .R ปี ใช้ สทิ ธิได้ ทงหมดของจํ ัQ านวนใบสําคัญแสดงสิทธิที ได้ รับการจัดสรร ครังQ ที V วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิ ครบ ปี ใช้ สทิ ธิได้ ทงหมดของจํ ัQ านวนใบสําคัญแสดงสิทธิที ได้ รับการจัดสรร ครังQ ที S วันหลังจากวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิครบ .R ปี ใช้ สทิ ธิได้ ทงหมดของจํ ัQ านวนใบสําคัญแสดงสิทธิที ได้ รับการจัดสรร ครังQ ที WY วันก่อนวันที บริ ษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิ ครบ R ปี ใช้ สิทธิทงหมดของจํ ัQ านวนใบสําคัญแสดงสิทธิที ได้ รับจากการจัดสรร : วันที - V พฤษภาคม 2561
ณ วันที W ธันวาคม RRS ใบสําคัญแสดงสิทธิที ยงั ไม่ได้ ใช้ สิทธิ คงเหลือ จํานวน Y.WW ล้ านหน่วย (ปี RRV: W. ล้ านหน่วย) รายการเคลื อนไหวในระหว่างปี RRS และ RRV ของใบสําคัญแสดงสิทธิและมูลค่ายุติธรรมของใบสําคัญแสดง สิทธิ มีดงั นี Q
2559
2558
จํานวนใบสําคัญ
มูลค่ายุติธรรม
จํานวนใบสําคัญ
มูลค่ายุติธรรม
แสดงสิทธิ
บาท
แสดงสิทธิ
บาท
ณ วันที 1 มกราคม ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ ใช้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ ยกเลิกใบสําคัญแสดงสิทธิ ณ วันที 31 ธันวาคม
1,331,912 (1,181,060)
2,023,174.33 (1,794,030.14)
2,600,542 389,632 (1,438,400)
7,367,335.49 1,103,827.46 (4,074,987.20)
(40,450) 110,402
(61,443.55) 167,700.64
(219,862) 1,331,912
(622,869.05) 3,773,306.70
บริ ษัทได้ ออกหุ้นสามัญเพิ มทุนจากการใช้ สทิ ธิของผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิที จดั สรรให้ แก่กรรมการและพนักงาน (ดู หมายเหตุ 22) โดยมีรายละเอียด ดังนี Q
วันที * 24 พฤศจิกายน 2558 24 พฤษภาคม 2559 17 พฤศจิกายน 2559
จํานวนหุ้นสามัญ เพิ มทุน(หุ้น) 1,438,400 35,380 1,145,680
ทุนชําระแล้ ว(ล้ านบาท) เดิม ใหม่ 148.19 148.90 148.92
148.90 148.92 149.49
* วันที จดทะเบียนเปลีย นแปลงทุนชําระแล้ วกับกระทรวงพาณิชย์ 22. ค่ าใช้ จ่ ายตามลัก ษณะ ค่าใช้ จ่ายตามลักษณะที สาํ คัญสําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
บาท 2559 การเปลีย นแปลงในสินค้ าสําเร็ จรูปและงานระหว่างทํา
2558
9,062,210.64
3,315,923.78
วัตถุดิบและวัสดุสิ Qนเปลืองใช้ ไป
131,225,881.30
144,062,213.90
ค่าใช้ จ่ายเกี ยวกับพนักงาน
104,625,756.76
100,304,351.20
ค่าจ้ างผลิต
104,047,568.64
101,677,323.72
ค่าเสือ มราคาและตัดจําหน่าย
27,519,018.04
27,368,962.84
ค่าสาธารณูปโภค
14,912,876.79
16,643,155.05
ค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา
5,627,180.17
6,246,419.67
ค่าเช่าและค่าบริ การพื Qนที
5,474,660.00
5,803,006.76
ขาดทุนจากการตัดจําหน่ายสินทรัพย์
4,465,217.13
992,699.95
ขาดทุนจากการด้ อยค่าทรัพย์สนิ
3,866,624.21
ค่าที ปรึกษา
4,128,369.53
3,493,281.95
ค่าใช้ จ่ายในการเดินทาง
3,109,699.61
3,360,054.69
-
23. ต้ น ทุน ทางการเงิน ต้ นทุนทางการเงินสําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS และ RRV ประกอบด้ วย
บาท ดอกเบี Qยจ่าย
2559 4,010,966.09
2558 7,270,766.27
24. ภาษีเ งิน ได้ ภาษี เงินได้ นิติบคุ คลของบริ ษัทสําหรับปี สิ Qนสุดวันที 31 ธันวาคม 255S และ 255V คํานวณขึ Qนในอัตราที กําหนดโดย กรมสรรพากรจากกําไรทางบัญชีหลังปรับปรุงเงื อนไขบางประการตามที ระบุในประมวลรัษฎากร บริ ษัทบันทึกภาษี เงินได้ นิติบคุ คลเป็ นค่าใช้ จ่ายทังจํ Q านวนในแต่ละปี บญ ั ชีและบันทึกภาระส่วนที ค้างจ่ายเป็ นหนี Qสินในงบแสดงฐานะ การเงิน
การลดภาษีเ งิน ได้ น ิต ิบ ุค คล พระราชบัญญัติแก้ ไขเพิ มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที 42) พ.ศ. 2559 ลงวันที 3 มีนาคม 2559 ให้ ลดอัตราภาษี เงินได้ นิติบุคคลจากอัตราร้ อยละ 30 เป็ นอัตราร้ อยละ 20 ของกําไรสุทธิสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที เริ มในหรื อ หลังวันที 1 มกราคม 2559 เป็ นต้ นไป โดยมีผลบังคับใช้ ตงแต่ ั Q วนั ที 5 มีนาคม 2559 เป็ นต้ นไป พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้ วยการลดอัตรารัษฎากร ฉบับที 577 พ.ศ. 2557 ลงวันที 3 พฤศจิกายน 2557 ขยายเวลาการลดอัตราภาษี เงินได้ นิติบคุ คลเป็ นร้ อยละ 20 ของกําไรสุทธิสําหรับรอบระยะเวลา บัญชีที เริ มในหรื อหลังวันที 1 มกราคม 2558 แต่ไม่เกินวันที 31 ธันวาคม 2558 ค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้ ที รับรู้ในกําไรหรื อขาดทุนสําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS และ RRV มีดงั นี Q บาท 2559 2558 ภาษีเ งิน ได้ ปั จ จุบ ัน สําหรับปี ปัจจุบนั ภาษีเ งิน ได้ ร อการตัด บัญชี การเปลีย นแปลงผลแตกต่างชัว คราว
(5,381,013.42)
(5,746,188.27)
ค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้
(5,381,013.42)
(5,746,188.27)
ภาษี เงินได้ ที รับรู้ในกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จอื นสําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS และ RRV มีดงั นี Q
ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน
2559 (42,529.86)
บาท 2558 61,542.40
การกระทบยอดเพื อหาอัตราภาษี แท้ จริ ง
2559 อัตราภาษี (ร้ อยละ) กําไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้ จํานวนภาษีตามอัตราภาษี เงินได้ รายจ่ายที ไม่ให้ ถือเป็ นรายจ่ายทางภาษี ค่าใช้ จ่ายที มีสทิ ธิหกั ได้ เพิ มขึนQ ผลขาดทุนปี ปัจจุบนั ภาษี เงินได้ สาํ หรับปี ปัจจุบนั การเปลีย นแปลงผลแตกต่างชัว คราว ค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้
2558 บาท
อัตราภาษี (ร้ อยละ)
(18,233,493.26) 20
30
3,646,698.65 (2,822,415.43) 2,990,885.89 (3,815,169.11) (5,381,013.42) (5,381,013.42)
บาท 2,618,810.50
20
219
(523,762.10) (20,553.59) 3,465,218.30 (2,920,902.61) (5,746,188.27) (5,746,188.27)
25. สํารองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. R R บริ ษัทต้ องจัดสรรกําไรสุทธิ ป ระจํา ปี ส่ว นหนึ ง ไว้ เ ป็ น ทุน สํา รองไม่น้ อ ยกว่า ร้ อยละ R ของกําไรสุทธิ ประจําปี หัก ด้ ว ยยอดเงินขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ า มี) จนกว่า ทุน สํารองนี Qจะมีจํานวนไม่น้อยกว่าร้ อยละ WY ของทุนจดทะเบียน 26. กองทุน สํารองเลีย9 งชีพ บริ ษัทและพนักงานได้ ร่วมกันจัดตังกองทุ Q นสํารองเลี Qยงชีพตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี Qยงชีพ พ.ศ. R Y ซึง ประกอบด้ วยเงินที พนักงานจ่ายสะสมและเงินที บริ ษัทจ่ายสมทบให้ ในปั จจุบนั กองทุนสํารองเลี Qยงชีพนี Qบริ หาร โดยบริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กรุ งไทย จํากัด (มหาชน) กองทุนสํารองเลี Qยงชีพนี Qได้ จดทะเบียนเป็ นกองทุน สํารองเลี Qยงชีพตามข้ อกําหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จดั การกองทุนที ได้ รับอนุญาต 27. สิท ธิท ไี ด้ ร ับ จากการส่ งเสริม การลงทุน บริ ษัทได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนตามพระราชบัญญัติสง่ เสริ มการลงทุน พ.ศ. R Y ในการผลิตชิ Qนส่วนโลหะ ที ทํา จากโลหะฉีดขึ Qนรูป สิทธิและประโยชน์ตามบัตรส่งเสริ มที คงเหลือ โดยได้ รับสิทธิประโยชน์หลัก ๆ ดังนี Q บัตรเลขที WYSY( )/ RR - ได้ รับยกเว้ นอากรขาเข้ าสําหรับเครื องจักรตามที คณะกรรมการอนุมตั ิที นําเข้ ามาภายในวันที X กรกฎาคม RRX - ได้ รั บ ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุค คลสํ า หรั บ กํ า ไรสุท ธิ ที ไ ด้ จากการประกอบกิ จ การที ไ ด้ รั บ การส่ง เสริ ม มี กําหนดเวลา 8 ปี และได้ รับลดหย่อนภาษี ภาษี เงินได้ นิติบคุ คลสําหรับกําไรสุทธิที ได้ จากการประกอบกิจการที ได้ รับการส่งเสริ มในอัตราร้ อยละ 50 ของอัตราปกติ มีกําหนดเวลา 5 ปี นับแต่วนั ที พ้นกําหนดได้ รับยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบคุ คล
- ได้ รับยกเว้ นไม่ต้องนําเงินปั นผลจากกิจการที ได้ รับการส่งเสริ มซึง ได้ รับยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบคุ คลรวม คํานวณ เพื อเสียภาษี เงินได้ - ได้ รับ อนุญ าตให้ หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้าและค่าประปาสองเท่าของค่า ใช้ จ่ ายดัง กล่า วเป็ นระยะเวลา WY ปี นับตังแต่ Q วนั ที เริ มมีรายได้ จากการประกอบกิจการนันQ - ได้ รับอนุญาตให้ หกั เงินลงทุนในการติดตังหรื Q อก่อสร้ างสิ งอํานวยความสะดวกร้ อยละยี สิบห้ าของเงินลงทุน นอกเหนือไปจากการหักค่าเสือ มราคา บัตรเลขที WYWY( )/ RR - ได้ รับยกเว้ นอากรขาเข้ าสําหรับเครื องจักรตามที คณะกรรมการอนุมัติที นําเข้ ามาภายในวันที 7 กรกฎาคม RR9 - ได้ รั บ ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุค คลสํ า หรั บ กํ า ไรสุท ธิ ที ไ ด้ จากการประกอบกิ จ การที ไ ด้ รั บ การส่ง เสริ ม มี กําหนดเวลา 8 ปี และได้ รับลดหย่อนภาษี ภาษี เงินได้ นิติบคุ คลสําหรับกําไรสุทธิที ได้ จากการประกอบกิจการที ได้ รับการส่งเสริ มในอัตราร้ อยละ 50 ของอัตราปกติ มีกําหนดเวลา 5 ปี นับแต่วนั ที พ้นกําหนดได้ รับยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบคุ คล - ได้ รับยกเว้ นไม่ต้องนําเงินปั นผลจากกิจการที ได้ รับการส่งเสริ มซึง ได้ รับยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบคุ คลรวม คํานวณ เพื อเสียภาษี เงินได้ - ได้ รับ อนุญ าตให้ หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้าและค่าประปาสองเท่าของค่า ใช้ จ่ ายดัง กล่า วเป็ นระยะเวลา WY ปี นับตังแต่ Q วนั ที เริ มมีรายได้ จากการประกอบกิจการนันQ - ได้ รับอนุญาตให้ หกั เงินลงทุนในการติดตังหรื Q อก่อสร้ างสิ งอํานวยความสะดวกร้ อยละยี สิบห้ าของเงินลงทุน นอกเหนือไปจากการหักค่าเสือ มราคา ในฐานะที ได้ รับการส่งเสริ ม บริ ษัทจะต้ องปฏิบตั ิตามเงื อนไขต่าง ๆ ที ระบุไว้ ในบัตรส่งเสริ ม รายได้ แยกตามส่วนงานธุรกิจที ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนและไม่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุน สําหรับปี สิ Qนสุด วันที 31 ธันวาคม 2559 และ RR8 ประกอบด้ วย บาท
ธุรกิจที ได้ รับการส่งเสริม
ในประเทศ 117,339,226.74
2559 ต่างประเทศ 7,249,809.58
รวม 124,589,036.32
ธุรกิจที ไม่ได้ รับการส่งเสริม รวม
263,941,446.54 381,280,673.28
21,935,042.46 29,184,852.04
285,876,489.00 410,465,525.32
ในประเทศ 378,074,299.43
2558 ต่างประเทศ 4,114,868.40
รวม 382,189,167.83
28,438,000.00 406,512,299.43
9,878,130.42 13,992,998.82
38,316,130.42 420,505,298.25
28. ข้ อ มูล ทางการเงิน จําแนกตามส่ วนงาน ข้ อมูลส่วนงานดําเนินงานสอดคล้ องกับรายงานภายในสําหรับใช้ ในการตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากรให้ กบั ส่วน งานและประเมินผลการดําเนินงานของส่วนงานของผู้มีอํานาจตัดสินใจสูงสุดด้ านการดําเนินงานของบริ ษัท คือ กรรมการบริ ษัท
บริ ษัทดําเนินธุรกิจหลักเกี ยวกับการผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์โลหะและชิ Qนส่วนโลหะ ดังนันQ บริ ษัทมีส่วนงาน ธุรกิจเพียงส่วนงานเดียว บริ ษัทมีสว่ นงานทางภูมิศาสตร์ ทงในประเทศและในต่ ัQ างประเทศ โดยยอดขายสุทธิในประเทศและต่างประเทศต่อ ยอดขายสุทธิรวม สําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS และ RRV มีดงั นี Q
ร้ อยละต่อยอดขายสุทธิรวม 2559 2558 92.89 96.67 7.11 3.33
ยอดขายสุทธิในประเทศ ยอดขายสุทธิตา่ งประเทศ
ข้ อ มูล เกี ยวกับ ลูก ค้ ารายใหญ่ ระหว่างปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS บริ ษัทมีรายได้ จากลูกค้ ารายใหญ่จํานวน ราย รวมเป็ นจํานวนเงิ น WV . ล้ านบาท 29. ภาระผูก พัน ณ วันที W ธันวาคม RRS บริ ษัทมีภาระผูกพัน ดังต่อไปนี Q 29.1 ภาระผูกพันที ต้องจ่ายตามสัญญา ดังต่อไปนี Q 29.1.1 สัญญาเช่าดําเนินงานสําหรับอาคารและอุปกรณ์ โดยมีจํานวนเงินขันตํ Q าที จะต้ องจ่ายในอนาคต ดังนี Q ระยะเวลา
พันบาท
ระยะเวลาที ไม่เกิน 1 ปี ระยะเวลาที เกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี
4,421 3,063
29.1.2 สัญญาจ้ างที ปรึ กษากับบุคคลและบริ ษัทอื น อัตราค่าบริ การเดือนละ 0.27 ล้ านบาท 29.1.3 สัญญาจ้ างบริ การกับบุคคลและบริ ษัทอื น อัตราค่าบริ การเดือนละ Y.0V ล้ านบาท 29.2 หนังสือคํ Qาประกันที ออกโดยธนาคารเพื อใช้ ในการคํ Qาประกันการใช้ ไฟฟ้า จํานวนเงิน .23 ล้ านบาท (ดู หมายเหตุ S) 30. การเปิ ดเผยเกี ยวกับ เครื อ งมือ ทางการเงิน บริ ษัทไม่มีนโยบายที จะประกอบธุรกรรมตราสารทางการเงินที เป็ นตราสารอนุพนั ธ์เพื อการเก็งกําไรหรื อการค้ า 30.1การบริห ารจัด การทุน นโยบายของคณะกรรมการบริ ษัท คือการรักษาระดับเงินทุนให้ มนั คงเพื อรักษานักลงทุน เจ้ าหนี Qและความ เชื อ มั น ของตลาดและก่ อ ให้ เ กิ ด การพัฒ นาของธุ ร กิ จ ในอนาคต คณะกรรมการได้ มี ก ารกํ า กับ ดูแ ล ผลตอบแทนของเงินทุน ซึง บริ ษัทพิจารณาจากสัดส่วนของผลตอบแทนจากกิจกรรมดําเนินงานต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้น อีกทังยั Q งกํากับดูแลระดับการจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นสามัญ
30.2นโยบายการบัญชี รายละเอียดของนโยบายการบัญชีที สาํ คัญและวิธีปฏิบตั ิทางบัญชี การจัดประเภทสินทรัพย์ทางการเงินและ หนี Qสินทางการเงินรวมถึงการวัดมูลค่า การรับรู้รายได้ และค่าใช้ จ่ายได้ เปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุข้อ ความเสีย งเกี ยวกับเครื องมือทางการเงินที มีสาระสําคัญของบริ ษัท สรุปได้ ดงั ต่อไปนี Q 30.2.1 ความเสี ยงด้ านอัต ราดอกเบีย9 ความเสีย งจากอัตราดอกเบี Qยเกิดขึ Qนจากความผันผวนของอัตราดอกเบี Qยในตลาดในอนาคต ซึ งจะ ส่งผลกระทบต่อผลดําเนินงานและกระแสเงินสดของบริ ษัท บริ ษัทมีความเสี ยงจากอัตราดอกเบี Qย เนื องจากมีเงิ นสดและเงิ นฝากธนาคาร เงิ นเบิกเกิ นบัญชี และเงิ นกู้ยืมจากธนาคาร และหนีสQ ิน ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิ น เนื องจากสินทรั พย์ และหนีสQ ินทางการเงิ น ดังกล่าวส่วนใหญ่ มีอัตรา ดอกเบี Qยที ปรับขึ Qนลงตามอัตราตลาด บริ ษัทจึงมิได้ ทําสัญญาป้องกันความเสีย งไว้ 30.2.2 ความเสี ยงจากอัต ราแลกเปลี ยน บริ ษัทมีความเสีย งจากอัตราแลกเปลี ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ งเกิดจากการซื Qอสินค้ าและการขาย สินค้ าที เป็ นเงินตราต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ฝ่ ายบริ หารเชื อว่าบริ ษัทไม่มีความเสี ยงในอัตรา แลกเปลีย นเงินตราต่างประเทศที เป็ นสาระสําคัญ ดังนันQ บริ ษัทจึงไม่ได้ ใช้ อนุพนั ธ์ ทางการเงินเพื อ ป้องกันความเสีย งของสินทรัพย์และหนี Qสินทางการเงินดังกล่าว 30.2.3 ความเสี ยงด้ านการให้ ส ิน เชื อ ที เ กี ยวเนื อ งกับ ลูก หนีก9 ารค้ า บริ ษัทมีนโยบายป้องกันความเสี ยงด้ านสินเชื อที เกี ยวเนื องกับลูกหนี Qการค้ า โดยบริ ษัทมีนโยบาย การให้ สินเชื อที ระมัดระวังและการกําหนดวิธีการชําระเงินจากการขายสินค้ าและการให้ บริ การ ดังนันQ บริ ษัทจึงคาดว่าจะไม่ได้ รับความเสียหายจากการเรี ยกชําระหนี Qจากลูกหนี Qเหล่านันเกิ Q นกว่า จํานวนที ได้ ตงค่ ั Q าเผื อหนี Qสงสัยจะสูญแล้ ว 30.3มูล ค่ ายุต ิธ รรม เนื องจากสินทรัพย์ทางการเงินโดยส่วนใหญ่ เป็ นเงิ นสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี Qการค้ าและ ลูกหนี Qอื น ซึง มีการให้ สนิ เชื อระยะสันQ และหนี Qสินทางการเงิน โดยส่วนใหญ่เป็ นเจ้ าหนี Qการค้ าและเจ้ าหนี Qอื น เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมจากจากธนาคาร และหนี Qสินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ซึ งมีอตั ราดอกเบี Qย ใกล้ เคียงกับอัตราในตลาด จึงทําให้ ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี Qสินทางการเงินดังกล่าวไม่แตกต่าง กับมูลค่ายุติธรรมอย่างเป็ นสาระสําคัญ
16. รายงานของผู้ส อบบัญชีร ับ อนุญาต 16.1 รายงานของผู้ส อบบัญชีร ับ อนุญาต รายงานของผู้ส อบบัญชีร ับ อนุญาต เสนอ ผู้ถ อื หุ้น ของบริษัท ซังโกะ ไดคาซติง9 (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ความเห็น ข้ าพเจ้ าได้ ตรวจสอบงบการเงินของบริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ซึ งประกอบด้ วย งบแสดงฐานะ การเงิน ณ วันที W ธันวาคม RRS งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ งบแสดงการเปลีย นแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น และงบกระแสเงินสด สําหรับปี สิ Qนสุดวันเดียวกันและหมายเหตุประกอบงบการเงิน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที สาํ คัญ ข้ าพเจ้ าเห็นว่างบการเงินข้ างต้ นนี Qแสดงฐานะการเงินของบริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ณ วันที W ธันวาคม RRS และผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดสําหรับปี สิ Qนสุดวันเดียวกันโดยถูกต้ องตามที ควรในสาระสําคัญตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เกณฑ์ ในการแสดงความเห็น ข้ าพเจ้ าได้ ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้ าพเจ้ าได้ กล่าวไว้ ในส่วนของความ รับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิ นในรายงานของข้ าพเจ้ า ข้ าพเจ้ ามีความเป็ นอิสระจากบริ ษัทตาม ข้ อกําหนดจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีที กําหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในส่วนที เกี ยวข้ อง กับการตรวจสอบงบการเงิน และข้ าพเจ้ าได้ ปฏิบตั ิตามความรับผิดชอบด้ านจรรยาบรรณอื น ๆ ซึ งเป็ นไปตามข้ อกําหนด เหล่านี Q ข้ าพเจ้ าเชื อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที ข้าพเจ้ าได้ รับเพียงพอและเหมาะสมเพื อใช้ เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็น ของข้ าพเจ้ า เรื อ งสําคัญในการตรวจสอบ เรื องสําคัญในการตรวจสอบคือเรื องต่าง ๆ ที มีนัยสําคัญที สุดตามดุลยพินิจเยี ยงผู้ประกอบวิชาชี พของข้ าพเจ้ าในการ ตรวจสอบงบการเงินสําหรับงวดปั จจุบนั ข้ าพเจ้ าได้ นําเรื องเหล่านี Qมาพิจารณาในบริ บทของการตรวจสอบงบการเงินโดยรวม และในการแสดงความเห็นของข้ าพเจ้ า ทังนี Q Q ข้ าพเจ้ าไม่ได้ แสดงความเห็นแยกต่างหากสําหรับเรื องเหล่านี Q การด้อยค่าของเครื องจักร ตามที กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิ นข้ อ WY จากสภาวะเศรษฐกิจที ชะลอตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์ทงั Q ใน ประเทศและต่างประเทศอย่างต่อเนื องมาหลายปี จนถึงปั จจุบนั ทําให้ ความต้ องการของผู้บริ โภคในการซื Qอรถยนต์ลดลงอย่าง มาก เป็ นผลให้ ยอดรายได้ จากการจําหน่ายสินค้ าให้ กับลูกค้ าหลักซึ งเป็ นกลุ่มยานยนต์ ในประเทศลดลง ดังนันQ ปั จจัย ดังกล่าวทําให้ เกิดความเสีย งเกี ยวกับเครื องจักร มูลค่าตามบัญชี S.S ล้ านบาท ซึ งเป็ นสินทรัพย์ที ใช้ ในการผลิตอาจแสดง มูลค่าที ไม่สะท้ อนการด้ อยค่าของสินทรัพย์ ทังนี Q Qการพิจารณาค่าเผื อการด้ อยค่าของสินทรัพย์เกิดจากการประเมินมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์โดยผู้ประเมินราคาอิสระตามมาตรฐานวิชาชีพของสมาคมผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินแห่งประเทศไทย ซึ งตัวแปรและประมาณการดังกล่าวมีลกั ษณะที มีความไม่แน่นอน เหตุการณ์ ดงั กล่าวเป็ นเรื องสําคัญที จะต้ องใช้ ความ ระมัดระวังในการตรวจสอบ
การตอบสนองความเสีย งโดยผูส้ อบบัญชี ข้ าพเจ้ าได้ ประเมินและทดสอบความเหมาะสมของตัวแปรและประมาณการ ประกอบด้ วยข้ อมูลต้ นทุนทดแทนใหม่ ค่าเสื อม ราคาทางกายภาพ ทางประโยชน์ใช้ สอยและทางเศรษฐกิจ อายุตามระยะเวลาที ใช้ งานและอายุการใช้ งานทางกายภาพและ ปั จจัยทางกายภาพ รวมถึงการทดสอบการคํานวณแบบจําลองการคํานวณค่าเผื อการด้ อยค่าของสินทรัพย์ เรื อ งอื น งบการเงินของบริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) สําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRV ที แสดงเป็ น ข้ อมูลเปรี ยบเทียบ ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื น ซึ งแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื อนไข ตามรายงานลงวันที กุมภาพันธ์ RRS ข้ อ มูล อื น ผู้บริ หารเป็ นผู้รับผิดชอบต่อข้ อมูลอื น ประกอบด้ วย ข้ อมูลซึง รวมอยูใ่ นรายงานประจําปี (แต่ไม่รวมถึงงบการเงินและรายงาน ของผู้สอบบัญชี ที อยู่ในรายงานประจํ าปี นนั Q ) ซึ งคาดว่ารายงานประจําปี นนั Q จะถูกจัดเตรี ยมให้ ข้าพเจ้ าภายหลังวันที ใน รายงานของผู้สอบบัญชีนี Q ความเห็นของข้ าพเจ้ าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้ อมูลอื นและข้ าพเจ้ าไม่ได้ ให้ ความเชื อมัน ต่อข้ อมูลอื น ความรับผิดชอบของข้ าพเจ้ าที เกี ยวเนื องกับการตรวจสอบงบการเงินคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้ อมูลอื นมีความขัดแย้ งที มี สาระสําคัญกับงบการเงินหรื อกับความรู้ที ได้ รับจากการตรวจสอบของข้ าพเจ้ า หรื อปรากฏว่าข้ อมูลอื นมีการแสดงข้ อมูลที ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญหรื อไม่ เมื อข้ าพเจ้ าได้ อา่ นรายงานประจําปี หากข้ าพเจ้ าสรุ ปได้ ว่ามีการแสดงข้ อมูลที ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญ ข้ าพเจ้ า ต้ องสือ สารเรื องดังกล่าวกับผู้มีหน้ าที ในการกํากับดูแลเพื อดําเนินการแก้ ไขข้ อมูลที แสดงขัดต่อข้ อเท็จจริ ง ความรับ ผิด ชอบของผู้บ ริห ารและผู้ม ีห น้ าที ในการกํากับ ดูแ ลต่ อ งบการเงิน ผู้บริ หารมีหน้ าที รับผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงินเหล่านี Qโดยถูกต้ องตามที ควรตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน และรับผิดชอบเกี ยวกับการควบคุมภายในที ผ้ บู ริ หารพิจารณาว่าจําเป็ นเพื อให้ สามารถจัดทํางบการเงินที ปราศจาก การแสดงข้ อมูลที ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้ อผิดพลาด ในการจัดทํางบการเงิน ผู้บริ หารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของบริ ษัทในการดําเนินงานต่อเนื อง เปิ ดเผยเรื องที เกี ยวกับการดําเนินงานต่อเนื องและการใช้ เกณฑ์การบัญชีสําหรับการดําเนินงานต่อเนื องเว้ นแต่ผ้ บู ริ หารมีความตังใจที Q จ ะ เลิกบริ ษัทหรื อหยุดดําเนินงานหรื อไม่สามารถดําเนินงานต่อเนื องต่อไปได้ ผู้มีหน้ าที ในการกํากับดูแลมีหน้ าที ในการสอดส่องดูแลกระบวนการในการจัดทํารายงานทางการเงินของบริ ษัท ความรับ ผิด ชอบของผู้ส อบบัญชีต่ อ การตรวจสอบงบการเงิน การตรวจสอบของข้ าพเจ้ ามีวตั ถุประสงค์เพื อให้ ได้ ความเชื อมัน อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวมปราศจากการแสดง ข้ อมูลที ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญหรื อไม่ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้ อผิดพลาด และเสนอรายงานของผู้สอบ บัญชี ซึ งรวมความเห็นของข้ าพเจ้ าอยู่ด้วย ความเชื อมัน อย่างสมเหตุสมผลคือความเชื อมัน ในระดับสูงแต่ไม่ได้ เป็ นการ รับประกันว่าการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบข้ อมูลที ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ น
สาระสําคัญที มีอยู่ได้ เสมอไป ข้ อมูลที ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอาจเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้ อผิดพลาดและถือว่ามีสาระสําคัญเมื อ คาดการณ์ได้ อย่างสมเหตุสมผลว่ารายการที ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งแต่ละรายการหรื อทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจ ทางเศรษฐกิจของผู้ใช้ งบการเงินจากการใช้ งบการเงินเหล่านี Q ในการตรวจสอบของข้ าพเจ้ าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้ าพเจ้ าได้ ใช้ ดลุ ยพินิจและการสังเกตและสงสัยเยี ยงผู้ประกอบ วิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานของข้ าพเจ้ ารวมถึง • ระบุและประเมินความเสี ยงจากการแสดงข้ อมูลที ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญในงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจาก การทุจริ ตหรื อข้ อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั ิงานตามวิธีการตรวจสอบเพื อตอบสนองต่อความเสี ยงเหล่านันQ และได้ หลักฐานการสอบบัญชีที เพียงพอและเหมาะสมเพื อเป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้ าพเจ้ า ความเสี ยงที ไม่พบ ข้ อมูลที ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญซึ งเป็ นผลมาจากการทุจริ ตจะสูงกว่าความเสี ยงที เกิดจากข้ อผิดพลาด เนื องจากการทุจริ ตอาจเกี ยวกับการสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตังใจละเว้ Q นการแสดงข้ อมูลการ แสดงข้ อมูลที ไม่ตรงตามข้ อเท็จจริ งหรื อการแทรกแซงการควบคุมภายใน • ทําความเข้ าใจในระบบการควบคุมภายในที เกี ยวข้ องกับการตรวจสอบ เพื อออกแบบวิธีการตรวจสอบที เหมาะสมกับ สถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของบริ ษัท • ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที ผ้ บู ริ หารใช้ และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีและการ เปิ ดเผยข้ อมูลที เกี ยวข้ องซึง จัดทําขึ Qนโดยผู้บริ หาร • สรุปเกี ยวกับความเหมาะสมของการใช้ เกณฑ์การบัญชีสําหรับการดําเนินงานต่อเนื องของผู้บริ หารและจากหลักฐาน การสอบบัญชีที ได้ รับ สรุ ปว่ามีความไม่แน่นอนที มีสาระสําคัญที เกี ยวกับเหตุการณ์หรื อสถานการณ์ที อาจเป็ นเหตุให้ เกิดข้ อสงสัยอย่างมีนยั สําคัญต่อความสามารถของบริ ษัทในการดําเนินงานต่อเนื องหรื อไม่ ถ้ าข้ าพเจ้ าได้ ข้อสรุ ปว่ามี ความไม่แน่นอนที มีสาระสําคัญ ข้ าพเจ้ าต้ องกล่าวไว้ ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้ าพเจ้ าถึงการเปิ ดเผยที เกี ยวข้ อง ในงบการเงินหรื อถ้ าการเปิ ดเผยดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็นของข้ าพเจ้ าจะเปลี ยนแปลงไป ข้ อสรุ ปของข้ าพเจ้ า ขึ Qนอยูก่ บั หลักฐานการสอบบัญชีที ได้ รับจนถึงวันที ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้ าพเจ้ า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรื อ สถานการณ์ในอนาคตอาจเป็ นเหตุให้ บริ ษัทต้ องหยุดการดําเนินงานต่อเนื อง • ประเมินการนําเสนอโครงสร้ างและเนื Qอหาของงบการเงินโดยรวม รวมถึงการเปิ ดเผยว่างบการเงินแสดงรายการและ เหตุการณ์ในรูปแบบที ทําให้ มีการนําเสนอข้ อมูลโดยถูกต้ องตามที ควร ข้ าพเจ้ าได้ สอื สารกับผู้มีหน้ าที ในการกํากับดูแลเกี ยวกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที ได้ วางแผนไว้ ประเด็น ที มีนยั สําคัญที พบจากการตรวจสอบรวมถึงข้ อบกพร่องที มีนยั สําคัญในระบบการควบคุมภายในซึ งข้ าพเจ้ าได้ พบในระหว่าง การตรวจสอบของข้ าพเจ้ า ข้ าพเจ้ าได้ ให้ คํารับรองแก่ผ้ มู ีหน้ าที ในการกํากับดูแลว่าข้ าพเจ้ าได้ ปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดจรรยาบรรณที เกี ยวข้ องกับความเป็ น อิสระและได้ สอื สารกับผู้มีหน้ าที ในการกํากับดูแลเกี ยวกับความสัมพันธ์ทงหมดตลอดจนเรื ัQ องอื นซึ งข้ าพเจ้ าเชื อว่ามีเหตุผลที บุคคลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็ นอิสระของข้ าพเจ้ าและมาตรการที ข้าพเจ้ าใช้ เพื อป้องกันไม่ให้ ข้าพเจ้ า ขาดความเป็ นอิสระ
จากเรื องที สอื สารกับผู้มีหน้ าที ในการกํากับดูแล ข้ าพเจ้ าได้ พิจารณาเรื องต่าง ๆ ที มีนยั สําคัญมากที สดุ ในการตรวจสอบงบ การเงินในงวดปั จจุบนั และกําหนดเป็ นเรื องสําคัญในการตรวจสอบ ข้ าพเจ้ าได้ อธิบายเรื องเหล่านี Qในรายงานของผู้สอบบัญชี เว้ นแต่กฎหมายหรื อข้ อบังคับไม่ให้ เปิ ดเผยต่อสาธารณะเกี ยวกับเรื องดังกล่าว หรื อในสถานการณ์ที ยากที จะเกิดขึ Qน ข้ าพเจ้ า พิจารณาว่าไม่ค วรสื อสารเรื องดัง กล่าวในรายงานของข้ า พเจ้ าเพราะการกระทํ าดังกล่า วสามารถคาดการณ์ ไ ด้ อ ย่า ง สมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ตอ่ ส่วนได้ เสียสาธารณะจากการสือ สารดังกล่าว (นางสาว เขมนันท์ ใจชื Qน) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน V XY บริ ษัท สยาม ทรูธ สอบบัญชี จํากัด กรุงเทพฯ V กุมภาพันธ์ RXY
16.2. ฐานะการเงิน และผลการดําเนิน งาน 16.2.1. งบการเงิน (ก) ผู้ส อบบัญชีแ ละนโยบายบัญชีท สี าํ คัญ รายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาตประจําปี 2557ถึงปี 2559สามารถสรุปได้ ดงั นี Q รายงานผู้สอบบัญชีสาํ หรับงบการเงินของบริ ษัท งวดบัญชีปี 2557 สิ Qนสุด ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 ซึ ง ตรวจสอบโดย บริ ษัท พีวี ออดิทจํากัดโดยนายไกรสิทธิ ศิลปมงคงกุลผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที 9429 ซึง เป็ นผู้สอบบัญชีที ได้ รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. ได้ ให้ ความเห็นอย่างไม่มีเงื อนไข โดยมีการเน้ นข้ อมูล และเหตุการณ์เกี ยวกับการนํามาตรฐานการบัญชี ฉบับที 12 เรื อง ภาษี เงินได้ มาถือปฏิบตั ิ ตามรายงานลงวันที 26 กุมภาพันธ์ 2557 รายงานผู้สอบบัญชีสาํ หรับงบการเงินของบริ ษัท งวดบัญชีปี 2558 สิ Qนสุด ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 ซึ ง ตรวจสอบโดย บริ ษัท พีวี ออดิทจํากัดโดยนายไกรสิทธิ ศิลปมงคงกุลผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที 9429 ซึง เป็ นผู้สอบบัญชีที ได้ รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. ได้ ให้ ความเห็นอย่างไม่มีเงื อนไข ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 และผลการดําเนินงาน และ กระแสเงินสด สําหรับปี สิ Qนสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้ องตามที ควรในสาระสําคัญ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รายงานผู้สอบบัญชีสาํ หรับงบการเงินของบริ ษัท งวดบัญชีปี 2559 สิ Qนสุด ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 ซึ ง ตรวจสอบโดยนางสาวเขมนันท์ ใจชื Qนผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที 8260 ทังนี Q Qในระหว่างการตรวจสอบงบ การเงินสําหรับปี สิ Qนสุดวันที W ธันวาคม RRS ผู้สอบบัญชีได้ โอนย้ ายจากสํานักงานเดิมมาสังกัดสํานักงาน บริ ษัท สยาม ทรูธ สอบบัญชี จํากัด ซึง เป็ นผู้สอบบัญชีที ได้ รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. ได้ ให้ ความเห็นอย่างไม่ มีเงื อนไขว่า งบการเงินของบริ ษัทแสดงฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน โดยถูกต้ องตามที ควรในสาระสําคัญ ตามหลักการบัญชีที รับรองทัว ไป (ข) ตารางสรุ ป ฐานะการเงิน และผลการดําเนิน งาน (หน่วย : ล้ านบาท) สรุ ป รายการ งบแสดงฐานะทางการเงิน
สิน9 สุด 31 ธ.ค. 57 จํานวน % 7.03 2.10% 49.99 14.92% 47.20 14.09% 12.71 3.79% 116.93 34.91%
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี Qการค้ าและลูกหนี Qอื น สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื น รวมสิน ทรั พ ย์ ห มุน เวีย น เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระหลักประกัน ที ดนิ อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื น รวมสิน ทรั พ ย์ ไ ม่ ห มุน เวีย น รวมสิน ทรั พ ย์ เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั Q นการเงิน
ตรวจสอบแล้ ว สิน9 สุด 31 ธ.ค. 58 จํานวน % 25.17 7.56% 46.48 13.97% 46.84 14.07% 7.24 2.17% 125.73 37.78%
สิน9 สุด 31 ธ.ค. 59 จํานวน % 21.68 7.13% 53.59 17.62% 39.20 12.88% 9.82 3.23% 124.30 40.86%
5.98
1.79%
5.98
1.79%
5.98
1.97%
193.43 2.45 11.11 5.09 218.06 334.99
57.74% 0.73% 3.32% 1.52% 65.09% 100.00%
187.55 2.11 5.42 6.03 207.09 332.82
56.35% 0.63% 1.63% 1.81% 62.22% 100.00%
170.89 1.78 0 1.28 179.93 304.23
56.17% 0.59% 0.00% 0.42% 59.14% 100.00%
56.70
16.93%
37.68
11.32%
33.93
11.15%
สรุ ป รายการ งบแสดงฐานะทางการเงิน
สิน9 สุด 31 ธ.ค. 57 จํานวน % 77.86 23.24% 21.10 6.30% 21.00 6.27% 20.81 6.21% 197.47 58.95% 4.17 1.24% 2.93 0.87% 2.99 0.89% 10.09 3.01% 207.56 61.69%
เจ้ าหนี Qการค้ าและเจ้ าหนี Qอื น หนี Qสินส่วนที ถึงกําหนดชําระภายในหนึง ปี เงินกู้ยืมระยะสันจากบุ Q คคลหรื อกิจการที เกี ยวข้ อง หนี Qสินหมุนเวียนอื น รวมหนีส9 ิน หมุน เวีย น เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี Qสินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงินระยะยาว หนี Qสินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รวมหนีส9 ิน ไม่ ห มุน เวีย น รวมหนีส9 ิน ทุนจดทะเบียน
ตรวจสอบแล้ ว สิน9 สุด 31 ธ.ค. 58 จํานวน % 63.72 19.15% 10.92 3.28% 15.00 4.51% 10.71 3.22% 138.03 41.47% 1.36 0.41% 8.24 2.48% 3.94 1.18% 13.55 4.07% 151.57 45.54%
สิน9 สุด 31 ธ.ค. 59 จํานวน % 70.56 23.19% 7.51 2.47% 15.00 4.93% 10.95 3.60% 137.95 45.35% 2.16 0.71% 4.44 1.46% 6.60 2.17% 144.55 47.52%
113
33.73%
150.34
45.17%
150.34
49.42%
ทุนที ออกและชําระแล้ ว
111.14
33.18%
148.90
44.74%
149,49
49.14%
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ใบสําคัญแสดงสิทธิ สํารองตามกฎหมาย กําไรสะสมที ยงั ไม่ได้ จดั สรร
32.40 1.15 2.22 -19.48
9.67% 0.34% 0.66%% -5.82%
52.87 0.11 2.22 -22.85
15.89% 0.03% 0.67% -6.87%
33.51 0.12 -23.44
11.01% 0.04% -7.71%
รวมส่ วนของเจ้ าของ
127.43
38.04%
181.24
54.46%
159.68
52.49%
รวมหนีส9 ิน และส่ วนของผู้ถ ือ หุ้น
334.99
100.00%
332.82
100.00%
304.23
100.00%
(หน่วย : ล้ านบาท) ตรวจสอบแล้ ว สรุ ป รายการ งบกําไรขาดทุน เบ็ด เสร็จ
ปี 2557 จํานวน
รายได้ จากการขายและบริการ ต้ นทุนขายและบริ การ กําไรขัน9 ต้ น ค่าใช้ จ่ายในการขาย ค่าใช้ จ่ายในการบริ หาร กําไรจากการดําเนิน งาน รายได้ อื น ต้ นทุนทางการเงิน กําไรก่ อ นภาษีเ งิน ได้ ภาษี เงินได้ กําไรสําหรั บ งวด กําไรเบ็ดเสร็ จอื น กําไรเบ็ดเสร็จ สําหรั บ งวด
356.89 -321.50 35.39 -7.26 -49.61 -21.48 7.61 -8.03 -21.90 5.50 -16.40 -16.40
ปี 2558 % 100% -90.08% 9.92% -2.03 -13.90% -6.02% 2.13% -2.25 -6.14% 1.54% -4.60% -4.60%
จํานวน 420.51 - 352.44 68.06 - 7.17 - 57.45 3.44 6.45 - 7.27 2.62 -5.75 - 3.13 -0.24 - 3.37
ปี 2559 % 100.00% -83.81% 16.19% -1.71% -13.66% 0.82% 1.53% -1.73% 0.62% -1.37% -0.74% -0.06% -0.80%
จํานวน
%
410.47 -349.29 61.18 -7.59 -71.92 -18.33 4.11 -4.01 -18.23 -5.38 -23.61 0.17 -23.44
100.00% -85.10% 14.90% -1.85% -17.52% -4.47% 1.00% -0.98% -4.45% -1.31% -5.76% 0.04% -5.72%
ตรวจสอบแล้ ว สรุ ป รายการ งบกําไรขาดทุน เบ็ด เสร็จ
ปี 2557 จํานวน
ปี 2558 %
จํานวน
ปี 2559 %
จํานวน
%
กําไร(ขาดทุน )ต่ อ หุ้น ขัน9 พืน9 ฐาน จํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี ยถ่วงนํ Qาหนัก (หุ้น)
221,004,298
252,325,969
297,970,170
-0.074
-0.012
-0.079
0.50
0.50
0.50
กําไรต่อหุ้น (บาท/หุ้น) ที มลู ค่าที ตราไว้ 0.50 บาท/หุ้น
(หน่วย: ล้ านบาท) ตรวจสอบแล้ ว
สรุ ป รายการงบกระแสเงิน สด ปี 2557 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรก่อนภาษี เงินได้ ปรั บ กระทบกําไรก่ อ นภาษีเ งิน ได้ เ ป็ นเงิน สดสุท ธิไ ด้ ม าจาก (ใช้ ไ ปใน)กิจ กรรมดําเนิน งาน ค่าเสื อมราคาและตัดจําหน่าย ขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้ า(กลับรายการ) ขาดทุนจากการด้ อยค่าทรัพย์สนิ ขาดทุน (กําไร) จากการตัดจําหน่ายสินทรัพย์ ผลตอบแทนพนักงานและปรับมใบสําคัญแสดงสิทธิ ดอกเบี Qยรับ ต้ นทุนทางการเงิน กระแสงเงิน สดก่ อ นการเปลี ย นแปลงของเงิน ทุน หมุน เวีย น การเปลี ย นแปลงเงิน ทุน หมุน เวีย น ลูกหนี Qการค้ าและลูกหนี Qอื น สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื น เจ้ าหนี Qการค้ าและเจ้ าหนี Qอื น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี Qสินหมุนเวียนอื น เงิน สดรั บ จากการดําเนิน งาน รับดอกเบี Qย รับคืนภาษี เงินได้ จ่ายภาษี เงินได้ เงิน สดสุท ธิไ ด้ ม าจากกิจ กรรมดําเนิน งาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน ซื Qออาคารและอุปกรณ์ ซื Qอสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน
ปี 2558
ปี 2559
- 21.90
2.62
-18.23
26.15 1.88 0.36 -0.38
27.37 -2.09 0.99
27.52 0.14 3.87 4.46
0.67
1.27
0.01
- 0.14 7.03 13.67
- 0.13 7.27 37.30
-0.10 4.01 21.68
1.61 -7.92 -2.27 0.01 - 2.32
3.50 2.45 6.47 - 14.10
-7.11 7.50 -2.58 0.19 6.85
0.14
0.64
0.70
12.60 15.52 0.14 - 1.86 13.80
-10.10 26.16 0.14 -0.92 25.38
0.24 27.47 0.10 1.21 -1.12 27.66
- 19.13 -0.16
-15.81 -0.16
-14.23 -0.18
ตรวจสอบแล้ ว
สรุ ป รายการงบกระแสเงิน สด ปี 2557 0.50 - 18.79
ปี 2558 0.01 - 15.96
ปี 2559 0.01 -14.40
- 4.37 23.50
- 19.02 15.00
-3.74 -
จ่ายชําระเงินกู้ยมิ ระยะสันจากบุ Q คคลและกิจการที เกี ยวข้ อง
-2.50
- 21.00
-
จ่ายชําระเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินรับจากสัญญาขายและเช่าคืน จ่ายชําระเงินหนี Qสินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน รับชําระค่าหุ้นสามัญที ออกจากการใช้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ จ่ายต้ นทุนทางการเงิน เงิน สดสุท ธิไ ด้ ม าจาก (ใช้ ไ ปใน) กิจ กรรมจัด หาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ มขึ Qนสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือต้ นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือสิ Qนปี
- 11.98 4.60 -13.12 2.20 - 7.20 -8.87 -13.86 20.88 7.03
- 12.44 9.65 - 12.06 55.91 -7.31 8.73 - 18.15 7.02 25.17
-2.80 -8.05 1.86 -4.02 -16.75 -3.49 25.17 21.68
จําหน่ายอุปกรณ์ เงิน สดสุท ธิใ ช้ ไ ปจากกิจ กรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายชําระเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั Q นการเงิน เงินรับเงินกู้ยิมระยะสันจากบุ Q คคลและกิจการที เกี ยวข้ อง
ตารางแสดงอัต ราส่ วนทางการเงิน ที ส ําคัญ
อัต ราส่ วนทางการเงิน
2557
2558
2559
อัต ราส่ วนสภาพคล่ อ ง (Liquidity ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง
เท่า
0.59
0.91
0.90
อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว
เท่า
0.35
0.57
0.62
อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด
เท่า
0.03
0.18
0.16
อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี Qการค้ า
เท่า
7.03
8.72
8.42
ระยะเวลาเก็บหนี Qเฉลี ย
วัน
51.92
41.86
43.37
อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ
เท่า
7.28
7.50
8.12
ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลี ย* อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี Q ระยะเวลาชําระหนี Q
วัน เท่า วัน
50.14 3.60 101.39
48.67 4.56 80.04
44.95 5.22 69.95
Cash cycle
วัน
0.67
10.49
18.37
อัตรากําไรขันต้ Q น อัตรากําไรจากการดําเนินงาน อัตรากําไรก่อนภาษี เงินได้
% % %
9.92 -6.02 -6.14
16.19 2.35 0.62
14.90 -3.43 -4.44
อัตราส่วนเงินสดต่อการทํากําไร
%
-32.08
256.88
-118.93
อัตรากําไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น
% %
-4.60 -12.87
-0.74 -1.73
-5.75 -14.79
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์
%
-4.90
-0.94
-7.45
อัต ราส่ วนแสดงความสามารถในการทํากําไร (Profitability ratio)
อัต ราส่ วนทางการเงิน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร
%
2557 -7.52
2558 -1.51
2559 -13.18
อัตราการหมุนของสินทรัพย์
เท่า
1.07
1.26
1.35
อัตราส่วนหนี Qสินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
เท่า
1.63
0.84
0.91
อัตราส่วนความสามารถชําระดอกเบี Qย อัตราส่วนความสามารถชําระภาระผูกพัน - Cash basis อัตราการจ่ายเงินปั นผล
เท่า เท่า %
-2.67 0.37 -
0.47 0.32 -
-3.55 0.83 -
อัต ราส่ วนวิเ คราะห์ น โยบายทางการเงิน (Financial policy ratio)
17. รายงานความรับ ผิด ชอบของคณะกรรมการ ต่ อ รายงานทางการเงิน เรี ยน ท่านผู้ถือหุ้น บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริ ษัทได้ ให้ ความสําคัญต่อหน้ าที และความรับผิดชอบดูแลกิจการบริ ษัทฯ ให้ เป็ นไปตามนโยบาย การกํากับดูแลกิจการที ดี การกํากับดูแลงบการเงินและสารสนเทศทางการเงินที ปรากฏในรายงานประจําปี มีข้อมูลที ถกู ต้ อง ครบถ้ วน เปิ ดเผย อย่างเพียงพอ งบการเงินได้ ถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีที รับรองทัว ไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้ นโยบายการบัญชีที เหมาะสม และถือปฏิบตั อิ ย่างสมํ าเสมอ และใช้ ดลุ ยพินิจอย่างระมัดระวัง รวมถึงจัดให้ มีและดํารงรักษา ไว้ ซึ งระบบการควบคุมภายในที มี ประสิทธิผลเพื อให้ เชื อมัน อย่างมีเหตุผลต่อความเชื อถือได้ ของงบการเงิน การดูแลรักษา ทรัพย์สนิ มีระบบการป้องกันที ดีไม่มีรายการ ทุจริ ตหรื อมีการดําเนินการที ผิดปกติรายการทีเ กี ยวโยงกันซึง อาจทําให้ เกิดความ ขัดแย้ งทางผลประโยชน์เป็ นรายการจริ งทางการค้ า อันเป็ นธุรกิจปกติทวั ไปอย่างสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์สงู สุด รวมทังมี Q การปฏิบตั ิตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที เกี ยวข้ อง ซึ งคณะกรรมการตรวจสอบได้ รายงานผลการปฏิบตั ิงานต่อ คณะกรรมการบริ ษัทแล้ ว และได้ รายงานความเห็นเกี ยวกับเรื องนี Q ในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบซึ งปรากฏในรายงาน ประจําปี คณะกรรมการบริ ษัทมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทฯ โดยรวมอยู่ในระดับที น่าพอใจ และ สามารถให้ ความมัน ใจ อย่างมีเหตุผลต่อความเชื อถือได้ ของงบการเงินของบริ ษัทฯ ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 ซึ งผู้สอบ บัญชีของบริ ษัทฯ ได้ ตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชีที รับรองทัว ไป และแสดงความเห็นว่างบการเงินแสดงฐานะ การเงินและผลการดําเนินงานโดยถูกต้ อง ตามที ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที รับรองทัว ไป
นายมาซามิ คัตซูโมโต กรรมการ
นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล กรรมการ
18.รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจําปี 2559 เรี ยน ท่านผู้ถือหุ้น บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท ซังโกะ ไดคาซติ Qง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) จํานวน ท่าน ซึง เป็ นคณะกรรมการอิสระ ที มีคณ ุ สมบัติครบถ้ วนตามข้ อกําหนด และแนวทางปฏิบตั ิที ดีของคณะกรรมการตรวจสอบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย ปั จจุบนั คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษัท ประกอบด้ วย 1. นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายสันติ เนียมนิล กรรมการตรวจสอบ 3. นายนิพนั ธ์ ตังพิ Q รุฬห์ธรรม กรรมการตรวจสอบ โดยปั จจุบนั มี นางสาวประภาพรรณ ชนะพาล เป็ นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ปฏิบตั ิหน้ าที ตามขอบเขต หน้ าที และความรับผิดชอบที ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริ ษัทฯ ซึ งสอดคล้ องกับข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยในรอบปี บญ ั ชี RR9 ได้ จดั ให้ มีการประชุม คณะกรรมการตรวจสอบจํานวน 4 ครังQ และในปี R60 จนถึงวันที รายงาน จํานวน W ครังQ รวมทังสิ Q Qน 5 ครังQ เป็ นการร่ วม ประชุมกับผู้บริ หาร ผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายใน ตามความเหมาะสมซึง สรุปสาระสําคัญได้ ดงั นี Q 1. สอบทานงบการเงิน รายไตรมาสและงบการเงิน ประจําปี Y``9 โดย ประชุมร่ วมกับผู้สอบบัญชี และ ผู้บริ หารของบริ ษัทฯ เพื อพิจารณา ความถูกต้ องครบถ้ วนของงบการเงิน และความเพียงพอในการเปิ ดเผย ข้ อมูล ประกอบงบการเงิน นโยบายการบัญชี รวมทังข้ Q อสังเกตุจาก การตรวจสอบและ สอบทาน งบการเงิน ของผู้สอบบัญชี ซึ งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า งบการเงินดังกล่าว ได้ จดั ทําตามมาตรฐานการ บัญชี มีความถูกต้ องตามที ควรในสาระสําคัญและมีการเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอ รวมทังQ เป็ นไปตาม ข้ อกําหนดและกฎหมายที เกี ยวข้ อง 2. สอบทานข้ อ มูล การดําเนิน งานและระบบการควบคุม ภายใน เพื อประเมินความเพียงพอ เหมาะสม และ ประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน อันจะช่วยส่งเสริ มให้ การดําเนินงานบรรลุตามเป้าหมายที กําหนดไว้ โดยพิจารณาจากการสอบทานผลการประเมินระบบการควบคุมภายในร่ วมกับผู้สอบบัญชี และ ผู้ตรวจสอบ ภายใน ไม่พบจุดอ่อนหรื อข้ อบกพร่ องที เป็ นสาระสําคัญ มีการดูแลรั กษาทรัพย์สินที เหมาะสม และมีการ เปิ ดเผยข้ อมูลอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน และเชื อ ถื อได้ นอกจากนีไQ ด้ ประเมิน ระบบการควบคุมภายในตาม แนวทางที กําหนดโดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยผู้สอบบัญชีและ ผู้ ตรวจสอบภายใน มี ความเห็น ว่า บริ ษัท ฯ มีร ะบบการควบคุม ภายในที ดี และมีก ารพัฒ นาอย่า งต่อเนื อ ง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้ องกับผู้สอบบัญชีและ ผู้ตรวจสอบภายใน 3. สอบทานการตรวจสอบภายในโดยพิจารณา กระบวนการเริ มตังแต่ Q การวางแผน การรายงาน และการ ติดตามผลการปฏิบตั ิตามคําแนะนําของ บริ ษัท สอบบัญชีไทย จํากัด ซึ งเป็ น ผู้ตรวจสอบภายในของบริ ษัท เพื อปรับปรุ งให้ เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล อีกทังได้ Q พิจารณาทบทวนและอนุมตั ิการแก้ ไขกฏบัตรงาน
4.
5.
6.
7.
ตรวจสอบภายในให้ เหมาะสม ทันสมัย และสอดคล้ องกับคู่มื อแนวทางการตรวจสอบภายในของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และได้ อนุมตั ิแผนการตรวจสอบประจําปี ที จัดขึ Qนตามความเสี ยงระดับองค์กร คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริ ษัทฯ มีระบบการตรวจสอบภายในที เพียงพอ เหมาะสม และมี ประสิทธิผล เป็ นไปตามมาตราฐานสากล สอบทานการปฏิบ ัต ิต ามกฎหมาย ว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและกฏหมายที เกี ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัทฯ รวมถึงการปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดของบริ ษัทฯ และข้ อผูกพันที บริ ษัทฯมีไว้ กบั บุคคลภายนอก ซึง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ไม่พบประเด็นที เป็ น สาระสําคัญในเรื องการไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้ อกําหนด และข้ อผูกพันที บริ ษัทฯมีไว้ กบั บุคคลภายนอก สอบทานระบบการบริ ห ารความเสี ย ง ให้ มีความเชื อมโยงกับระบบการควบคุมภายในเพื อจัดการความ เสีย งทัว ทังบริ Q ษัทฯ โดยได้ พิจารณาสอบทานนโยบาย ปั จจัยความเสีย ง แนวทางการบริ หารความเสีย ง รวมถึง ความคืบหน้ าของการบริ หารความเสี ยง ซึ งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริ ษัทให้ ความสําคัญกับ การบริ หารความเสีย ง โดยฝ่ ายบริ หารมีการประเมินความเสีย ง(Risk Assessment) ที อาจมีผลกระทบต่อการ ดําเนินธุรกิจของบริ ษัทอย่างมีนยั สําคัญ ทังที Q มาจากปั จจัยภายในและปั จจัย ภายนอกอย่างสมํ าเสมอ โดย บริ ษัทได้ มีการแต่งตังคณะทํ Q างานดําเนินการบริ หารความเสี ยงมารับผิดชอบทําหน้ าที นี Q บริ ษัทมีการกําหนด กระบวนการบริ หารความเสี ยงไว้ ขันตอน Q ดังนี Q W) การกําหนดวัตถุประสงค์ ) การวิเคราะห์ความเสี ยง ) การประเมินความเสีย ง ) การประเมินมาตรการควบคุม R) การบริ หาร/การจัดการความเสีย ง X) การรายงาน ) การติดตาม ประเมินผล และทบทวน โดยได้ มีการจัดทําคู่มือการบริ หารความเสี ยงเพื อเป็ นแนวทางในการ ดําเนินงาน สอ บท าน แ ละให้ ความเ ห็ น ต่ อ ร ายการ ที เ กี ย วโยงกั น ห รื อ ร ายการ ที อ าจมี ค วามขั ด แ ย้ งท าง ผลประโยชน์ รวมถึง การเปิ ดเผยข้ อ มูล ของรายการดัง กล่ าว ตามข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึง ผู้สอบบัญชีมีความเห็นว่า รายการค้ ากับบริ ษัทที เกี ยวข้ องกันที มีสาระสําคัญได้ เปิ ดเผยและแสดงรายการในงบการเงินและหมายเหตุ ประกอบงบการเงินแล้ ว และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้ องกับผู้สอบบัญชี รวมทังมี Q ความเห็น ว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที สมเหตุสมผล และเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อการดําเนินธุรกิจของบริ ษัท รวมทังQ มีการเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างถูกต้ องและครบถ้ วน พิจ ารณาคัด เลือ ก เสนอแต่ ง ตัง9 และเสนอค่ าตอบแทนผู้ส อบบัญ ชี ประจําปี RR9 เพื อนําเสนอต่อ คณะกรรมการบริ ษัทฯ ให้ อนุมตั ิจากที ประชุมผู้ถือหุ้นประจําปี RR9 ซี งคณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณา ผลการปฏิบตั ิงาน ความเป็ นอิสระและความเหมาะสมของค่าตอบแทนแล้ ว เห็นควรเสนอแต่งตังนาย Q ประวิทย์ วิวรรณธนานุตร์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที SW /หรื อ นายบรรจง พิชญประสาธน์ผ้ สู อบบัญชีรับอนุญาต เลขที 7147 /หรื อ นายไกรสิทธิ ศิลปมงคลกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที S S /หรื อ นางสาวเขมนันท์ ใจ ชื Qน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที V XY และท่านอื นๆ แห่ง บริ ษัท พีวี ออดิท จํากัด เป็ นผู้สอบบัญชีของ บริ ษั ทฯ ประจํ า ปี RR9 พร้ อมด้ วยค่าตอบแทนเป็ น จํ านวนเงิ น รวม 9YY,YYY.-บาท โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นเกี ยวกับการเสนอแต่งตังผู Q ้ สอบบัญชีดงั กล่าวดังนี Q
•
• •
ในรอบปี บญ ั ชีที ผ่านมา ผู้สอบบัญชีได้ ปฏิบตั ิงานด้ วยความรู้ ความสามารถในวิชาชีพ และให้ ข้ อเสนอแนะเกี ยวกับระบบการควบคุมภายในและความเสีย งต่างๆ รวมทังมี Q ความเป็ นอิสระใน การปฏิบตั ิงาน ค่าตอบแทนที เสนอมาเป็ นอัตราที เหมาะสม ผู้สอบบัญชีไม่มีความสัมพันธ์ใดๆกับบริ ษัทฯ
คณะกรรมการตรวจสอบได้ ปฏิบตั ิหน้ าที ด้วยความรอบคอบอย่างเป็ นอิสระ และแสดงความเห็นอย่างตรงไปตรงมา เพื อ ประโยชน์สงู สุดของบริ ษัทฯตามที ได้ ระบุไว้ ในกฏบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัทฯ และมี ความเห็นว่า บริ ษัทฯ ได้ จดั ทํารายงานข้ อมูลทางการเงินอย่างถูกต้ องตามที ควร มีระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบ ภายใน การบริ หารความเสี ยงที เหมาะสมและมีประสิทธิผล มีการปฏิบตั ิตาม กฎหมาย ข้ อกําหนดและข้ อผูกพันต่างๆ มี การเปิ ดเผยรายการที เกี ยวโยงกันอย่างถูกต้ องและมีการปฏิบตั ิงานที สอดคล้ องกับระบบการกํากับดูแลกิจการที ดีอย่าง เพียงพอ โปร่งใส และเชื อถือได้ รวมทังมี Q การพัฒนาปรับปรุ งระบบการปฏิบตั ิงานให้ มีคณ ุ ภาพดีขึ Qนและเหมาะสมกับสภาวะ แวดล้ อม ทางธุรกิจอย่างสมํ าเสมอและต่อเนื อง
ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ
นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์ (ประธานกรรมการตรวจสอบ) 8 กุมภาพันธ์ R60
19. การวิเ คราะห์ ฐานะและคําอธิบ ายของฝ่ ายจัด การ 19.1 ผลการดําเนิน งาน ภาพรวมผลการดําเนิน งานที ผ่ านมา บริ ษัทดําเนินธุรกิจเกี ยวกับการผลิตชิ Qนส่วนอลูมิเนียมและสังกะสีขึ Qนรู ปตามความต้ องการของลูกค้ าในหลายกลุม่ อุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมยายนต์ อุสาหกรรมเครื องใช้ ไฟฟ้า และอุตสาหกรรมชิ Qนส่วนเครื องจักรทางการเกษตร จาก ภาวะเศรษฐกิจในปั จจุบนั โดยรวมทังในประเทศและต่ Q างประเทศ ได้ ชะลอตัวอย่างต่อเนื องมาเป็ นเวลาหลายปี โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมยายนยนต์ ได้ สง่ ผลกระทบทังทางตรงและทางอ้ Q อมต่อผู้ผลิตยานยนต์ ซึง ได้ ลดกําลังการผลิตลงเป็ นจํานวนมาก และได้ สง่ ผลกระทบต่อการดําเนินงานของบริ ษัทในรอบหลายปี ที ผา่ นมา นอกจากภาวะเศรษฐกิจที ชะลอตัวแล้ ว ยังมีปัจจัย อื นที สง่ ผลกระทบต่อการดําเนินงานของบริ ษัทอีก เช่น การแข่งขันทางการตลาดทังด้ Q านราคาและคุณภาพ จากที กล่าวมาข้ างต้ นจึงส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานของบริ ษัท ในรอบ 3 ปี ที ผา่ นมาสรุปได้ ดงั นี Q ในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 มีผลขาดทุนสุทธิมีมลู ค่าเท่ากับ 16.40 ล้ านบาท 3.12 ล้ านบาทและ 23.61 ล้ าน บาทตามลําดับ หรื อคิดร้ อยละ 4.50 ร้ อยละ 0.73 และร้ อยละ 5.70 ของรายได้ รวม ตามลําดับ ปี 2557 บริ ษัทมีผลขาดทุนสุทธิเท่ากับ 16.40 ล้ านบาท เกิดจากมีผลขาดทุนจากการดําเนินงานเท่ากับ 21.90 ล้ าน บาท เนื องจากการปรับใช้ มาตรฐานบัญชีในเรื องภาษี เงินได้ รอตัดบัญชี ซึ งบริ ษัทได้ จัดทําตามหลักการมาตรฐานบัญชีที กําหนดส่งผลให้ บริ ษัทรับรู้ รายได้ ภาษี เงินในงบกําไรขาดทุนสําหรับปี จากการเปลี ยนแปลงผลแตกต่างชัว คราวที ได้ เท่ากับ 5.50 ล้ านบาท ผลขาดทุนจากการดําเนินงานดังกล่าวเพิ มขึ Qนจากปี 2556 เท่ากับ 0.85 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 4.04 อัน เนื องจากค่าใช้ จ่ายในการขายเพิ มขึ Qนเพื อเป็ นการกระตุ้นยอดขาย ปี 2558 บริ ษัทมีกําไรจากการดําเนินงานเท่ากับ 2.62 ล้ านบาท คิดเป็ นอัตรากําไรจากการดําเนินงานเท่ากับร้ อยละ 0.63 ของรายได้ รวม ซึ งไม่รวมการตัดจําหน่ายภาษี เงินได้ รอตัดบัญชีเท่ากับ 5.75 ล้ านบาท อย่างไรก็ตามขาดทุนจากการ ดําเนินงานดังกล่าวนี Qลดลงจากปี ก่อนเท่ากับ 24.52 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 111.96 เนื องจากการขยายฐานการจําหน่ายไป ยังต่างประเทศ และยังคงรักษาระดับคําสัง ซื Qอจากลูกค้ าเดิม และลูกค้ าใหม่ได้ เพิ มขึ Qน ในปี 2559 บริ ษัทมีผลขาดทุนจากการดําเนินงานเท่ากับ 18.23 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 4.40 ของรายได้ รวม และได้ รวมรายการขาดทุนจากการตัดจําหน่ายทรัพย์สนิ เท่ากับ 4.46 ล้ านบาท ขาดทุนจากการด้ อยค่าทรัพย์สนิ เท่ากับ 3.87 ล้ านบาท ซึ งเป็ นรายการทางบัญชี ทังนี Q Qผลขาดทุนจากการดําเนินงานดังกล่าวเพิ มขึ Qนจากปี ก่อนเท่ากับ 20.85 ล้ านบาท เนื องจากต้ นทุนการผลิตสินค้ าที ปรั บราคาสูงขึ Qน เช่น ค่าวัตถุดิบ ค่าแรงในการผลิต รวมถึงค่าใช้ จ่ายในการขายเพิ มขึนQ เนื องจากการปรับเพิ มพนักงานในฝ่ ายขายและการตลาดเพื อขยายฐานลูกค้ าและเพิ มคําสัง ซื Qอ และค่าใช้ จ่ายในการบริ หาร จากการปรับอัตราผลตอบแทนพนักงาน และค่าใช้ จ่ายในการบริ หารอื นเพิ มขึ Qน อย่า งไรก็ ต ามแม้ ว่า ปั จ จัย ที มี ผ ลกระทบจากการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท จะเกี ย วเนื อ งจากภาวะเศรษฐกิ จ ใน อุตสาหกรรมยานยนต์ก็ตาม บริ ษัทยังคงมุง่ มัน และใช้ วิธีการและแนวทางเพื อรักษามาตรฐานการผลิตซึง รวมถึงคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์ และกําลังการผลิตให้ คงที พร้ อมกับควบคุมต้ นทุนของผลิตภัณฑ์โดยรวม ในส่วนของลูกค้ าบริ ษัทมุ่งเน้ นสร้ าง ความสัมพันธ์ ที ดีเพื อให้ ได้ รับความพึงพอใจและมัน ใจในคุณภาพและปริ มาณในการจัดส่งที ตรงต่อเวลา และเข้ ารวมเป็ น สมาชิกของสมาคมและองค์กรต่างๆเพื อขยายฐานลูกค้ าให้ เพิ มขึ Qนรวมถึงขยายกลุม่ อุตสาหกรรมที เกี ยวข้ อง รวมถึงปรับปรุ ง เทคโนโลยีในการผลิตให้ ทนั สมัยและเป็ นที ยอมรับในระดับสูงขึ Qนไป
ตารางแสดงผลการดําเนินงานของบริ ษัท รายการ รายได้
ปี 2557 จํานวน
ปี 2558
ร้ อ ยละ
จํานวน
ปี 2559
ร้ อ ยละ
จํานวน
ร้ อ ยละ
364.50
100.00
426.96
100.00
414.58
100.00
(321.50)
(88.20)
(352.44)
(82.55)
(349.29)
(84.25)
(56.87)
(16.41)
(64.62)
(15.13)
(79.51)
(19.19)
(8.03)
(2.20)
(7.27)
(1.70)
(4.01)
(0.96)
ภาษีเงินได้
5.50
1.51
(5.75)
(1.35)
(5.38)
(1.30)
กําไรสุท ธิ
(16.40)
(4.50)
(3.12)
(0.73)
(23.61)
(5.70)
13.82
3.79
37.31
8.74
21.67
5.22
(13.87)
(3.80)
9.90
2.32
(14.22)
(3.43)
ต้ นทุนขาย ค่าใช้ จา่ ยในการขายและบริหาร ต้ นทุนทางการเงิน
กําไร(ขาดทุน )จากการดําเนิน งาน กําไร(ขาดทุน )ก่ อ นดอกเบีย9 และภาษีเ งิน ได้ อัต รากําไรขัน9 ต้ น
9.92
16.19
14.90
รายได้ ในปี 2557 ปี 2558และปี 2559 บริ ษัทมีรายได้ รวมเท่ากับ 364.50 ล้ านบาท 426.96 ล้ านบาท และ 414.58 ล้ าน บาท ตามลําดับ ในปี 2557 รายได้ รวมของบริ ษัทเท่ากับ 364.50 ล้ านบาท ลดลงจากปี 2556 เท่ากับ 46.49 ล้ านบาท หรื อ ร้ อยละ 11.31 เนื องจากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้ านธุรกิจยานยนต์ที ชะลอตัว อันเนื องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตาม นโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื Qอจากลูกค้ าซึง เลือ นออกไปนอกจากนี Qบริ ษัทยังมีรายได้ จาก การบริ การโดยมีการทําข้ อตกลงให้ ความช่วยเหลือด้ านเทคนิคให้ กบั บริ ษัทผลิตชิ Qนส่วนรถจักรยานยนต์แห่งหนึ งในประเทศ อินเดีย ซึง บริ ษัทรับรู้รายได้ จากข้ อตกลงดังกล่าวสําหรับปี 2557 เท่ากับ 4.01 ล้ านบาท ในปี 2558 รายได้ รวมของบริ ษัทเท่ากับ 426.96 ล้ านบาท เพิ มขึ Qน จากปี 2557 เท่ากับ 62.46 ล้ านบาท หรื อ ร้ อยละ 17.14 เนื องจากมีคําสัง ซื Qอจากลูกค้ าที เพิ มขึ Qน ทังจากลู Q กค้ าเดิมและลูกค้ าใหม่ นอกจากนี Qบริ ษัทยังมีรายได้ จากการบริ การ โดยมีการทําข้ อตกลงให้ ความช่วยเหลือด้ านเทคนิคให้ กบั บริ ษัทผลิตชินQ ส่วนรถจักรานยนต์แห่งหนึ งในประเทศอินเดีย ซึ ง บริ ษัทรับรู้รายได้ จากข้ อตกลงดังกล่าวสําหรับปี 2558 เท่ากับ 3.92 ล้ านบาท ในปี 2559 รายได้ รวมของบริ ษัทเท่ากับ 414.58 ล้ านบาท ลดลง จากปี 2558 เท่ากับ 12.38 ล้ านบาท หรื อ ร้ อยละ 2.90 เนื องจากสภาพเศรษฐกิจที ชะลอตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์ทงในและต่ ัQ างประเทศอย่างต่อเนื อง จึงทําให้ ลกู ค้ าชะลอ คําสัง ซื Qอลง
ประเภทรายได้ ผลิตภัณฑ์แยกตามกลุม่ อุตสาหกรรมได้ ดงั นี Q (หน่วย : ล้ านบาท) รายได้
ปี 2557 จํานวน 328.18 WY. Y RR.RV V. S .YW 24.70 W . V. S W.YR W.V
ร้ อ ยละ 90.04 R .X WR. R WY.R X.RS 6.77 .XV . Y Y. S Y.RY
ปี 2558 จํานวน 382.19 X. W Y. W X.XW WV.WX 34.40 S. Y .V W. Y.SY
ร้ อ ยละ 89.51 X .VW S.53 WY.92 . 5 8.06 .W8 R. 6 Y. W Y. W
ปี 2559 จํานวน 382.74 265.29 53.26 40.68 23.51 24.23 12.27 8.15 2.87 0.94
ร้ อ ยละ 92.32 64.00 12.84 9.81 5.67 5.84 2.96 1.97 0.69 0.22
1. รายได้ จ ากการขายชิน9 ส่ วน ชิ Qนส่วนรถยนต์ ชิ Qนส่วนรถจักรยานยนต์ ชิ Qนส่วนเครื องใช้ ไฟฟ้า ชิ Qนส่วนเครื องจักรกลเกษตรและอื นๆ 2. รายได้ จ ากการขายแม่ พ ิม พ์ ชิ Qนส่วนรถยนต์ ชิ Qนส่วนรถจักรยานยนต์ ชิ Qนส่วนเครื องใช้ ไฟฟ้า ชิ Qนส่วนเครื องจักรกลเกษตรและอื นๆ รวมรายได้ จ ากการขาย 352.88 96.81 416.59 97.57 406.97 98.16 1/ รายได้ จากการให้ บริการ .YW W.WY .S Y.S2 3.49 0.84 รวมรายได้ จ ากการขายและให้ บ ริก าร 356.89 97.91 420.51 98.49 410.47 99.00 2/ รายได้ อื น .XW .YS X. R W.R1 4.11 1.00 รายได้ ร วม 364.50 100.00 426.96 100.00 414.58 100.00 * รายได้ อื น หมายถึง รายได้ จากการขายเศษวัตถุดิบจากการผลิต กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี ยนที ยงั ไม่เกิดขึ Qนจริง กําไร (ขาดทุน) จากการ ตัดจําหน่ายทรัพย์สิน กําไร (ขาดทุน) จากการตีมลู ค่าสินค้ าลดลง ดอกเบี Qยรับ และรายได้ อื น
รายได้ จากการขายและบริ การ บริ ษัทมีรายได้ จากการขายและบริ การ ซึง แบ่งตามประเภทกลุม่ อุตสาหกรรมดังนี Q รายได้ จากการจําหน่ายชิ Qนส่วนและแม่พิมพ์แก่ลกู ค้ าในกลุ่มอุตสาหกรรมรถยนต์ในปี RR ปี RRV และปี RRS เท่ากับ .X ล้ านบาท VX.YW ล้ านบาท และ .RX ล้ านบาท โดยคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ XW. R ร้ อยละ XX.SS และร้ อย ละ XX.SX ของรายได้ รวมตามลําดับ ในปี RR รายได้ จากการขายและบริ การในกลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์ ลดลงจากปี ก่อนเท่ากับ WW.YW ล้ านบาทคิด เป็ นร้ อยละ .XS อันเนื องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคํา สัง ซื Qอจากลูกค้ าซึง เลือ นออกไป ในปี RR8 รายได้ จากการขายและบริ การในกลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์ เพิ มขึ Qนจากปี 2557 เท่ากับ 62.38 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 27.8S เนื องจากบริ ษัทมุ่งเน้ นการขยายฐานลูกค้ าและมีคําสัง ซื Qอจากลูกค้ าที เพิ มขึ Qน ทังจากลู Q กค้ าเดิมและ ลูกค้ าใหม่ ในปี RR9 รายได้ จากการขายและบริ การในกลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์ ลดลงจากปี 2558 เท่ากับ 8.45 ล้ านบาทคิด เป็ นร้ อยละ 2.S5 เนื องจากสภาพเศรษฐกิจที ชะลอตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์ทงในและต่ ัQ างประเทศอย่างต่อเนื อง จึงทําให้ ลูกค้ าชะลอคําสัง ซื Qอลง
รายได้ จากลูกค้ าในกลุม่ อุตสาหกรรมจักรยานยนต์ในปี RR ปี RRV และปี RRS เท่ากับ 63.97 ล้ านบาท 63.58 ล้ านบาท และ 61.41 ล้ านบาท คิดเป็ นอัตราส่วน ร้ อยละ 17.55 ร้ อยละ 14.78 และร้ อยละ 14.81 ของรายได้ รวมตามลําดับ ในปี RR ลดลงจากปี 2556 เท่ากับ 40.59 ล้ านบาทคิดเป็ นร้ อยละ 38.82 อันเนื องจากสถานการณ์ เศรษฐกิ จ ภาคอุตสาหกรรมยานยนต์เริ มซบเซา ผู้บริ โภคชะลอการซื Qอทําให้ ผ้ ผู ลิตรถจักรยานยนต์ลดกําลังการผลิตลง ในปี 2558 รายได้ จากการขายและบริ การในกลุม่ อุตสาหกรรมจักรยานยนต์ยงั คงยอดรายได้ ฯ ที ไม่แตกต่างจากปี 2557 มาก ในปี RR9 รายได้ จากการขายและบริ การในกลุม่ อุตสาหกรรมจักรยานยนต์ ลดลงจากปี 2558 เท่ากับ 2.17 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 3.41 เนื องจากสภาพเศรษฐกิจที ชะลอตัวของอุตสาหกรรมจักรยานยนต์ทงในและต่ ัQ างประเทศอย่างต่อเนื อง รายได้ จากลูกค้ าในกลุม่ อุตสาหกรรมเครื องใช้ ไฟฟ้าในปี RR ปี RRV และปี RRS เท่ากับ 39.44 ล้ านบาท 47.94 ล้ านบาท และ 43.55 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 10.82 ร้ อยละ 11.23 และร้ อยละ 10.50 ของรายได้ รวมตามลําดับและรายได้ จากลูกค้ าในกลุม่ อุตสาหกรรมเครื องจักรกลเกษตรและอื นๆในปี RR ปี RRV และปี RRS เท่ากับ 25.84 ล้ านบาท 19.06 ล้ านบาท และ 24.45 ล้ านบาท คิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 7.09 ร้ อยละ 4.43 และร้ อยละ 5.89 ของรายได้ รวมตามลําดับ ยอด รายได้ ในกลุม่ อุตสาหกรรมทังสองนี Q Q ในแต่ละปี ยงั คงที ซึง อาจไม่ได้ รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจที ชะลอตัวโดยตรง รายได้ อื น ในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีรายได้ อื นจํานวน 7.61 ล้ านบาท 6.45 ล้ านบาท และ 4.11 ล้ านบาท ตามลําดับ ซึง คิดเป็ นสัดส่วนต่อรายได้ รวม ร้ อยละ 2.09 ร้ อยละ 1.50 และร้ อย 1.00 ของรายได้ รวมตามลําดับ โดยรายได้ อื นของบริ ษัท ได้ แก่ รายได้ จากการขายเศษวัตถุดิบจากการผลิต กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลีย นที ยงั ไม่เกิดขึ Qนจริ ง กําไร (ขาดทุน)จากการตัดจําหน่ายทรัพย์สนิ กําไร (ขาดทุน) จากการตีมลู ค่าสินค้ าลดลง ดอกเบี Qยรับ และรายได้ อื น เป็ นต้ น ต้ นทุนขาย และกําไรขันต้ Q น ในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีต้นทุนขายรวม 321.50 ล้ านบาท 352.44 ล้ านบาท และ 349.29 ล้ าน บาท ตามลําดับ คิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 90.08 ร้ อยละ 83.81 และร้ อยละ ในแบบแสดงรายการประจําปี 2559 (56-1)85.10 ของรายได้ รวมตามลําดับ ส่งผลให้ ในปี 2557 ปี 2558 และปี 255ในแบบแสดงรายการประจําปี 2559 (56-1)9 บริ ษัทมีอตั รา กําไรขันต้ Q น ร้ อยละ 9.92 ร้ อยละ 16.19 และร้ อยละ 14.90 ตามลําดับ ต้ นทุนขายผันแปรตามยอดขายของผลิตภัณฑ์ อย่างไรก็ตามในส่วนของต้ นทุนการผลิตได้ รวมต้ นทุนคงที ด้วย ค่าใช้ จ่ายในการขายและการบริ หาร ค่าใช้ จ่ายในการขาย ค่าใช้ จ่ายในการขายส่วนใหญ่ของบริ ษัทเป็ นค่าใช้ จ่ายคงที เช่น ค่าตอบแทนและสวัสดิการพนักงานในฝ่ ายขาย และ ค่าเช่ารถขนส่งสินค้ า รายการส่งเสริ มการขาย และอื นๆ เป็ นต้ น โดยในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 มีค่าใช้ จ่ายในการขาย ของบริ ษัทเท่ากับ 7.26 ล้ านบาท 7.17 ล้ านบาทและ 7.59 ล้ านบาทตามลําดับ หรื อเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 2.03 ร้ อยละ1.71 และร้ อยละ 1.85 ของรายได้ รวมตามลําดับ
ในปี 2557 ค่าใช้ จ่ายในการขายปรับตัวเพิ มขึ Qนร้ อยละ 13.26 เมื อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน เนื องจากการ ปรับทีมงานของฝ่ ายขายโดยการเจาะตลาดและหาฐานลูกค้ ารายใหม่ และพยายามเข้ าเป็ น First Tier ของกลุม่ อุตสาหกรรม งานหล่ออลูมิเนียมประกอบกับการเริ มบุกตลาดเพื อแตกสายการผลิตงานหล่อ และงานฉีดโลหะในแบบอื น ๆ ในปี 2558 ค่าใช้ จ่ายในการขายปรับตัวลดลงร้ อยละ 0.09 เมื อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน เนื องจากการที ทีมงานของฝ่ ายขายยังคงรักษาตลาดและฐานลูกค้ ารายเดิมๆ ในปี 2559 บริ ษัทมีคา่ ใช้ จ่ายในการขายเพิ มขึ Qนจากปี 2558 คิดเป็ นร้ อยละ 5.77 เนื องจากการปรับเพิ มทีมงานฝ่ าย ขายและการตลาดเพื อเจาะตลาดและหาฐานลูกค้ าต่างประเทศเพิ มเติม ค่าใช้ จ่ายในการการบริ หาร ในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 ค่าใช้ จ่ายในการบริ หารของบริ ษัทเท่ากับ 49.61 ล้ านบาท 57.45 ล้ านบาท และ 71.92 ล้ านบาท ตามลําดับ หรื อเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ13.90 ร้ อยละ 13.66 และร้ อยละ17.52 ของรายได้ รวมในช่วงเดียวกัน ตามลําดับ ปี 2557 ค่าใช้ จ่ายในการบริ หารปรับตัวเพิ มขึนQ ร้ อยละ 0.26 เมื อเทียบกับปี 2556 เนื องจากค่าใช้ จ่ายคงที ในปี 2556 บางรายการได้ มีการปรับเพิ มขึ Qน เช่น การปรับเงินเดือนประจําปี ปี 2558 ค่าใช้ จ่ายในการบริ หารปรับตัวเพิ มขึ Qนร้ อยละ 15.80 เมื อเทียบกับปี 2557 เนื องจากค่าใช้ จ่ายคงที ในปี 2558 บางรายการมีการปรับเพิ มขึ Qน เช่น การปรับเงินเดือน และ การจ่ายโบนัสพนักงานประจําปี ร้ อยละ 49.67 และ 57.45 ตามลําดับ ปี 2559 ค่าใช้ จ่ายในการบริ หารเพิ มขึ Qนเท่ากับ 14.48 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 25.20 ซึ งได้ รวมรายการทางบัญชี เกี ยวกับรายการหนี Qสงสัยจะสูญจํานวน 4.47 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 7.78 รายการขาดทุนจากด้ อยค่าของทรัพย์สินจํานวน 3.87 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 6.74 และค่าใช้ จ่ายคงที ในปี 2559 บางรายการได้ ปรับเพิ มขึ Qน เช่นผลตอบแทนพนักงาน ภาษี เงินได้ ภาษี เงินได้ สาํ หรับปี ประกอบด้ วย ภาษีเงินได้ ปัจจุบนั และภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ภาษี เงินได้ ปัจจุบนั และภาษี เงิน ได้ รอการตัดบัญชีรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุน เว้ นแต่ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีในส่วนทีเ กี ยวกับรายการที บนั ทึกในส่วนของผู้ถือ หุ้นให้ รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื น บริ ษัทได้ คํานึงถึงผลกระทบของสถานการณ์ทางภาษี ที ไม่แน่นอนและอาจทําให้ จํานวนภาษี ที ต้องจ่ายเพิ มขึ Qนและมี ดอกเบี Qยทีต ้ องชําระบริษัทเชื อว่าได้ ตงภาษี ั Q เงินได้ ค้างจ่ายเพียงพอสําหรับภาษี เงินได้ ที จะจ่ายในอนาคตซึง เกิดจากการ ประเมินผลกระทบจากหลายปัจจัย รวมถึง การตีความทางกฎหมายภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี Qอยูบ่ น พื Qนฐานการประมาณการและข้ อสมมติฐานและอาจเกี ยวข้ องกับการตัดสินใจเกี ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต ข้ อมูลใหม่ ๆ อาจ ทําให้ บริ ษัทเปลีย นการตัดสินใจโดยขึ Qนอยูก่ บั ความเพียงพอของภาษีเงินได้ ค้างจ่ายที มีอยู่ การเปลีย นแปลงในภาษี เงินได้ ค้าง จ่ายจะกระทบต่อค่าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ ในงวดทีเ กิดการเปลีย นแปลง ในการกําหนดมูลค่าของภาษี เงินได้ ปัจจุบนั และภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีและ หนี Qสินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้ เมือ กิจการมีสทิ ธิตามกฎหมายทีจ ะนําสินทรัพย์ภาษีเงินได้ ของงวด
ปั จจุบนั มาหักกลบกับหนี Qสินภาษีเงินได้ ของงวดปั จจุบนั และภาษีเงินได้ นี Qประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษี หน่วยงาน เดียวกันสําหรับหน่วยภาษี เดียวกันหรื อหน่วยภาษีตา่ งกัน สําหรับหน่วยภาษี ตา่ งกันนันกิ Q จการมีความตังใจจะจ่ Q ายชําระ หนี Qสินและสินทรัพย์ภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั ด้ วยยอดสุทธิหรื อตังใจจะรั Q บคืนสินทรัพย์และจ่ายชําระหนี Qสินในเวลาเดียวกัน สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื อมีความเป็ นไปได้ คอ่ นข้ างแน่วา่ กําไรเพื อเสียภาษีในอนาคตจะมี จํานวนเพียงพอกับการใช้ ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว คราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุก วันสิ Qนรอบระยะเวลารายงานและจะถูกปรับลดลงเท่าที ประโยชน์ทางภาษี จะมีโอกาสถูกใช้ จริ ง ในปี 2556 บริ ษัทได้ นํามาตรฐานการบัญชี ฉบับที 12 ภาษี เงินได้ ซึง เป็ นมาตรฐการรายงานทางการเงินที ออกและ ปรับปรุงใหม่มาถือปฎิบตั ิ มาตรฐานฉบับนี Qกําหนดให้ บริษัทต้ องบันทึกสินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีและหนี Qสินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ในงบการเงิน สินทรัพย์และหนี Qสินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี คือ จํานวนภาษี เงินได้ ที บริ ษัทต้ องได้ รับหรื อจ่ายในอนาคต ตามลําดับ ซึง เกิดจากผลแตกต่างชัว คราวระหว่างมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี Qสินทีแ สดงในงบแสดงฐานะทาง การเงินกับฐานภาษี ของสินทรัพย์และหนี Qสินนันและขาดทุ Q นทางภาษี ที ยงั ไม่ได้ ใช้ บริ ษัทถือปฎิบตั มาตรฐานการบัญชีฉบับนี Q ในรอบระยะเวลาบัญชีที เริ มต้ นตังแต่ Q วนั ที 1 มกราคม 2556 เป็ นต้ นไป บริ ษัทได้ ประมาณผลกระทบต่องบการเงินในปี 2556 ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีสทุ ธิ 5.61 ล้ านบาท ซึง เกิดจากสินทรัพย์ ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีเท่ากับ 9.02 ล้ านบาท และหนี Qสินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีเท่ากับ 3.41 ล้ านบาท และมีผล แตกต่างชัว คราวที รับรู้เป็ นรายได้ ภาษี เงินได้ ในงบกําไรขาดทุนสําหรับปี เท่ากับ 6.47 ล้ านบาท ตามหมายเหตุประกอบงบ การเงินข้ อ 19 และข้ อ 25 และผลกระทบของการเปลีย นแปลงมีการปรับปรุงย้ อนหลังในงบการเงินและปรากฎในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2555 เป็ นภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีสทุ ธิเท่ากับ 1.17 ล้ านบาท ในปี 2557 บริ ษัทได้ จดั ทําประมาณการผลกระทบสินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีเท่ากับ 14.85 ล้ านบาท และ หนี Qสินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีเท่ากับ 3.74 ล้ านบาท สุทธิเป็ นสินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีเท่ากับ 11.11 ล้ านบาท บริ ษัทรับรู้รายได้ ภาษี เงินในงบกําไรขาดทุนสําหรับปี จากการเปลีย นแปลงผลแตกต่างชัว คราวที ได้ เท่ากับ 5.50 ล้ านบาท ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 12 และข้ อ 25 ในปี 2558 บริ ษัทคํานวณภาษี เงินได้ นติ ิบคุ คลในอัตราทีก ําหนดโดยกรมสรรพากรจากกําไรทางบัญชีหลังปรังปรุง เงื อนไขบางประการตามที ระบุในประมาลรัษฎากร บริ ษัทบันทึกภาษี เงินได้ นิติบคุ คลเป็ นค่าใช้ จ่ายทังจํ Q านวนในแต่ละปี และ บันทึกภาระส่วนที เป็ นหนี Qสินในงบแสดงฐานะทางการเงิน และภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้ อตั ราภาษี ทคี าดว่า จะใช้ กบั ผลแตกต่างชัว คราว ซึง ได้ ประกาศตามพระราชกฤษฎีกาขยายเวลาการลดอัตราภาษี เงินได้ นิติบคุ คลสําหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีทเี ริ มในหรื อหลังวันที 1 มกราคม 2558 แต่ไม่เกินวันที 31 ธันวาคม 25558 ทังนี Q Qบริ ษัทได้ คํานวณประมาณ การผลกระทบสินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีเท่ากับ 10.72 ล้ านบาท และหนี Qสินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีเท่ากับ 5.30 ล้ านบาท สุทธิเป็ นสินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีเท่ากับ 5.42 ล้ านบาท และรับรู้เป็ นค่าใช้ จา่ ยภาษี เงินในงบกําไร ขาดทุนสําหรับปี จากการเปลีย นแปลงผลแตกต่างชัว คราวที ได้ เท่ากับ 5.75 ล้ านบาท ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 12 และข้ อ 24 ปี 2559 บริ ษัทคํานวณภาษี เงินได้ นติ ิบคุ คลในอัตราทีก ําหนดโดยกรมสรรพากรจากกําไรทางบัญชีหลังปรังปรุง เงื อนไขบางประการตามที ระบุในประมาลรัษฎากร บริ ษัทบันทึกภาษี เงินได้ นิติบคุ คลเป็ นค่าใช้ จ่ายทังจํ Q านวนในแต่ละปี และ
บันทึกภาระส่วนที เป็ นหนี Qสินในงบแสดงฐานะทางการเงิน และภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้ อตั ราภาษี ทคี าดว่า จะใช้ กบั ผลแตกต่างชัว คราว ทังนี Q Qได้ พระราชบัญญัติแก้ ไขเพิ มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที 42) พ.ศ. 2559 ลงวันที 3 มีนาคม 2559 ให้ ลดอัตราภาษี เงินได้ นิติบคุ คลสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที เริ มในหรื อหลังวันที 1 มกราคม 2559 เป็ นต้ นไป มีผลบังคับใช้ ตงแต่ ั Q วนั ที 5 มีนาคม 2559 เป็ นต้ นไป ทังนี Q Qบริ ษัทได้ คํานวณประมาณการผลกระทบสินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการ ตัดบัญชีเท่ากับ 4.00 ล้ านบาท และหนี Qสินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีเท่ากับ 4.00 ล้ านบาท ดังนันบริ Q ษัทไม่มีภาษีเงินได้ รอ การตัดบัญชีคงเหลือจากการคํานวณ บริ ษัทจึงรับรู้เป็ นค่าใช้ จ่ายภาษี เงินในงบกําไรขาดทุนสําหรับปี จากการเปลีย นแปลงผล แตกต่างชัว คราวที ได้ เท่ากับ 5.38 ล้ านบาท ที เกิดจากการสินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีตงแต่ ั Q ปี 2557 ที คงเหลืออยู่ (ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 12 และข้ อ 24) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น ในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 เท่ากับ ร้ อยละ -12.87 ร้ อยละ -1.73 และร้ อยละ - 14.79ตามลําดับ สํ า หรั บ อัต ราผลตอบแทนผู้ ถื อ หุ้ นในปี 2557 ลดลงจากงวดเดี ย วกั น ในปี 2556 เนื อ งจากสภาพเศรษฐกิ จ ภายในประเทศ ด้ านธุรกิจยานยนต์ที ชะลอตัว อันเนื องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ มีการชะลอตัวของคําสัง ซื Qอจากลูกค้ าซึ งเลื อนออกไป และค่าแรงงานที ปรับเพิ มขึ Qนเป็ นการปรับเพิ มค่าจ้ างแรงงาน ภายในบริ ษัท และภายนอกบริ ษัทซึง ส่งผลมาจากการประกาศใช้ นโยบายค่าแรงงานขันตํ Q าของรัฐบาล สําหรับอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้นในปี 2558 เพิ มขึ Qนจากงวดเดียวกันในปี 2557 เนื องจากในปี 2558 บริ ษัทมีกําไร จากการดําเนินงานเท่ากับ 3.44 ล้ านบาท เพิ มขึ Qนจากการปรับตัวของยอดขายเพิ มขึ Qน ร้ อยละ 17.82 และ อัตรากําไรขันต้ Q นที สูงขึ Qน ร้ อยละ 92.33 จากปี ก่อน สํา หรั บอัตราผลตอบแทนผู้ถือ หุ้น ในปี 2559 ลดลงจากงวดเดีย วกันในปี 2558 เนื องจากสภาพเศรษฐกิ จ ทังQ ภายในประเทศและต่างประเทศ ด้ านธุรกิจอุตสาหกรรมยานยนต์ชะลอตัว ส่งผลให้ ผลการดําเนินในรอบปี 2559 มีผล ขาดทุนจากการดําเนินงานเพิ มขึ Qนเมื อเทียบกับปี ก่อน
19.2 ฐานะทางการเงิน สินทรัพย์ บริ ษัทมีสินทรัพย์รวม ณ สิ Qนปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 เป็ นมูลค่า 344.99 ล้ านบาท 332.88 ล้ านบาทและ 304.238 ล้ านบาท ตามลําดับ ทังนี Q Qสินทรัพย์ของบริ ษัทมีรายละเอียดดังต่อไปนี Q สินทรัพย์หมุนเวียน ณ สิ Qนปี 2557 ปี 2558 และปี 2559เท่ากับ 116.93 ล้ านบาท 125.73 ล้ านบาท และ124.30 ล้ านบาทตามลําดับ หรื อคิดเป็ น ร้ อยละ 33.89 ร้ อยละ 37.78 และร้ อยละ 40.86ของสินทรัพย์รวมของบริ ษัท ตามลําดับ ซึ ง สินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่ของบริ ษัทประกอบด้ วยลูกหนี Qการค้ าและลูกหนี Qอื น และสินค้ าคงเหลือเป็ นหลัก ซึ งเป็ นไปตาม ลักษณะของธุรกิจโรงงานผลิตสินค้ าเพื อจําหน่าย ซึง รายการสินทรัพย์หมุนเวียนดังกล่าวจะปรับตัวไปในทิศทางเดียวกันกับ ยอดขาย ในขณะที สนิ ทรัพย์ไม่หมุนเวียน ของบริ ษัทส่วนใหญ่ประกอบไปด้ วยที ดิน อาคาร และอุปกรณ์ บริ ษัทมีสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ณ สิ Qน ปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 เท่ากับ 218.06 ล้ านบาท 207.09 ล้ านบาท และ 179.94 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ น ร้ อยละ 65.09 ร้ อยละ 62.22 และร้ อยละ 59.14 ของสินทรัพย์รวม ตามลําดับ สินทรัพย์หมุนเวียนประกอบด้ วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด บริ ษัทมีเงินสดและเงินฝากธนาคารเพื อดําเนินงาน คงเหลือ ณ สิ Qนปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 เท่ากับ 7.02 ล้ าน บาท 25.17 ล้ านบาท และ 21.68 ล้ านบาท ในปี 2558 มีเงินสดคงเหลือเพิ มขึ Qนจากปี 2557 เท่ากับ 18.15 ล้ านบาท ซึ งเกิด จากบริ ษัทมีผลขาดทุนจากการดําเนินงานในปี 2557 เท่ากับ 21.90 ซึง สูงกว่าปี 2558 ที ได้ กล่าวไว้ ข้างต้ นแล้ ว แม้ ในปี 2558 และ 2559 บริ ษัทมีเงินสดคงเหลือเท่ากับ 25.17 ล้ านบาท และ 21.68 ล้ านบาท ซึ งเพียงพอต่อการ ชําระหนี Qที บริ ษัทมีค่าใช้ จ่ายดอกเบี Qยก็ตาม แต่บริ ษัทคงเงินสํารองนี Qไว้ เพื อเป็ นเงินทุนหมุนเวียนสําหรับการดําเนินการ ที จําเป็ นเช่น การชําระเจ้ าหนี Qการค้ าค่าสินค้ าตามเงื อนไขที ตกลงกันไว้ ทังนี Q Qบริ ษัทได้ ประเมินผลกระทบที อาจมีขึ Qนหากไม่ชําระ ตามเงื อนไขที ตกลงกันซึง อาจรุนแรงกว่า ลูกหนี Qการค้ าและลูกหนี Qอื น และค่าเผื อหนี Qสงสัยจะสูญ ณ สิ Qนปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีลกู หนี Qการค้ าและลูกหนี Qอื นสุทธิจํานวน 49.99 ล้ านบาท 46.48 ล้ าน บาทและ 53.59 ล้ านบาท ตามลําดับ โดยในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีอตั ราส่วนหมุนเวียนลูกหนี Qการค้ าเท่ากับ 7.03 เท่า 8.72 เท่าและ 8.42 เท่า ตามลําดับ บริ ษัทมีนโยบายการให้ เครดิตหรื อระยะเวลาในการรับชําระจากลูกค้ าระหว่าง 30 ถึง 60 วัน ซึ งบริ ษัทจะพิจารณา การให้ ระยะเวลาการชําระหนี Qของลูกค้ าจากยอดการสัง ซื Qอ และฐานะทางการเงินของลูกค้ าแต่ละราย
หน่วย: ล้ านบาท ระยะเวลาค้ างชําระ ลูกหนี Qการค้ ายังไม่ถึงกําหนดชําระ ค้ างชําระเกินกําหนด 1 – 30 วัน 31 – 60 วัน 61 – 120 วัน มากกว่า 120 วัน ลูก หนีก9 ารค้ าและลูก หนีอ9 ืน ก่ อ นหัก ค่ าหนีส9 งสัย จะ สูญ หัก ค่าเผื อหนี Qสงสัยจะสูญ ลูก หนีก9 ารค้ าและลูก หนีอ9 ืน -สุท ธิ
ปี 2557 มูล ค่ า
ปี 2558
ร้ อ ยละ
มูล ค่ า
ปี 2559
ร้ อ ยละ
มูล ค่ า
ร้ อ ยละ
45.08
S0.18
41.13
V8.4S
44.15
V2.38
.88
9.7X
5.31
11.42
8.56
W5.97
Y.4V 50.44
Y.9X 100.09
Y. 9 46.93
1.05 100.96
1.33 54.04
2.48 100.83
(0.45) 49.99
(0.90) 100.00
(0.45) 46.48
(0.96) 100.00
(0.45) 53.59
(0.83) 100.00
บริ ษัทบันทึกค่าเผื อหนี Qสงสัยจะสูญ โดยประมาณการหนี Qที อาจเกิดขึ Qนจากการเรี ยกเก็บเงินจากลูกหนี Qไม่ได้ ตาม เงื อนไขการชําระเงิน ทังนี Q Qในการประมาณการบริ ษัทคํานึงถึงประสบการณ์ การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี Qที คงค้ าง และ สภาวะเศรษฐกิจในขณะนันQ โดยพิจารณาจากลูกหนี Qที มีอายุการชําระหนี Qเกิน 365 วัน และไม่มีการเคลื อนไหว ซึ งพิจารณา เป็ นรายๆ และจะใช้ อตั ราการตังค่ Q าเผื อหนี Qสงสัยจะสูญร้ อยละ 100 จากยอดหนี Qคงค้ างทังหมด Q สินค้ าคงเหลือ ณ สิ Qนปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีสนิ ค้ าคงเหลือสุทธิประกอบด้ วย สินค้ าสําเร็ จรู ปพร้ อมส่ง งานระหว่าง ทํา วัตถุดิบ อะไหล่และชิ Qนส่วนอื นที ใช้ ประกอบชิ Qนงาน และสินค้ าระหว่างทาง จํานวน 47.20 ล้ านบาท 46.84 ล้ านบาท และ 39.20 ล้ านบาท ตามลําดับ หน่วย : ล้ านบาท ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 รายการ มูล ค่ า ร้ อ ยละ มูล ค่ า ร้ อ ยละ มูล ค่ า ร้ อ ยละ สินค้ าสําเร็จรูป WS.YY Y. R . R V.RV W .S V.WS งานระหว่างทํา R.R R .W WV.RW S.R W . 43.93 วัตถุดิบ W.SW .YR .X R.X W. V 3.26 อะไหล่ .V V.YS .SX V. X .YR 10.33 สินค้ าระหว่างทาง .V 7.22 รวม `_.^_ W_ .`~ ~. ` W_Y.W _.^` W_Y.a^ หักค่าเผื อมูลค่าสินค้ าลดลง ( .WY) (X.R ) (W.Y ) ( .WV) (W.WR) (2.93) สิน ค้ าคงเหลือ -สุท ธิ ~.Y_ W__.00 . ^ W__.00 ^a.Y_ W__.__
ในปี 2559 สินค้ าคงเหลือสุทธิเท่ากับ 39.20 ล้ านบาท โดย ซึ งมีมลู ค่าลดลงเมื อเทียบกับปี 2558 เนื องจากสภาพ เศรษฐกิจทังภายในประเทศและต่ Q างประเทศด้ านธุรกิจอุตสาหกรรมยานยนต์ชะลอตัว ผู้ผลิตยานยนต์ลดกําลังการผลิตลง ส่งผลให้ ลกู ค้ าเลือ นคําสัง ซื Qอออกไป บริ ษัทมีอตั ราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือใน 2557 ปี 2558 และปี 2559 เท่ากับ 7.28 เท่า 7.50 เท่า และ 8.12 เท่า ตามลําดับ อัตราการหมุนเวียนของสินค้ าคงเหลือของบริ ษัทมีความคล่องตัวซึง สามารถจําหน่ายออกไปได้ เร็ ว โดยในแต่ละปี ไม่มีความแตกต่างกันมากนัก บริ ษัทไม่มีสนิ ค้ าล้ าสมัย ค้ างนาน หรื อเสื อมคุณภาพเกิดขึ Qน จะเห็นได้ จากนโยบายการตังค่ Q า เผื อการลดมูลค่าสินค้ าสําหรับสินค้ าเสือ มคุณภาพ เสียหาย ล้ าสมัย หรื อ ค้ างนาน บริ ษัทพิจารณาจากมูลค่าสุทธิที จะได้ รับ (Net Realizable Value) ซึ งจะพิจารณาจากส่วนต่างของต้ นทุนกับราคาขาย ซึ งบริ ษัท จะทําการบันทึก มูลค่าขาดทุนจาก การปรับมูลค่าสินค้ าลดลง เป็ นค่าใช้ จ่ายในงบกําไรขาดทุนอย่างไรก็ตามบริ ษัทดําเนินธุรกิจผลิตและจําหน่ายชิ Qนส่วน ซึ ง ชิ Qนส่วนเสนอขายจะมีลกั ษณะเฉพาะสําหรับสินค้ าของลูกค้ าในแต่ละรุ่ น ส่งผลให้ ค่าเผื อมูลค่าของสินค้ าลดลงอยู่ในระดับที ค่อนข้ างตํ าปี 2557 ปี 25578 และปี 2559 บริ ษัทมีการตังค่ Q าเผื อการลดมูลค่าสินค้ าเท่ากับ 3.10 ล้ านบาท 1.02 ล้ านบาท และ 1.15 ล้ านบาท ตามลําดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วนต่อสินค้ าคงเหลือสุทธิเท่ากับ ร้ อยละ 6.57 ร้ อยละ 2.18 และร้ อยละ 2.93 ตามลําดับ สินทรัพย์หมุนเวียนอื น ณ สิ Qนปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีสินทรัพย์หมุนเวียอื นจํานวน 12.71 ล้ านบาท 7.24 ล้ านบาท และ 9.82 ล้ านบาท ตามลําดับ ซึ งประกอบด้ วย เงินจ่ายล่วงหน้ าค่าแม่พิมพ์ ที บริ ษัทได้ รับการว่างจ้ างเพื อให้ จดั หาแม่พิมพ์เพื อ ผลิตชินQ งานเพิ มขึ Qน ทังนี Q Qบริ ษัทได้ เรี ยกเก็บเงินมัดจําแม่พิมพ์จากลูกค้ าด้ วยโดยบันทึกอยู่ในหนี Qสินหมุนเวียนอื น เพื อนําไป ว่าจ้ างผู้ผลิตแม่พิมพ์ต่อไป ภาษี มูลค่าเพิ มรอใบกํากับภาษี และรอเครดิต และค่าใช้ จ่ายล่วงหน้ า ซึ งมีการเปลี ยนแปลง เพิ มขึ Qนหรื อลดลงในแต่ละปี ตามการค้ าปกติ (ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 8) ที ดินอาคารและอุปกรณ์ ณ สิ Qน ปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีที ดินอาคารและอุปกรณ์สทุ ธิรวมจํานวน 193.43 ล้ านบาท 187.55 ล้ าน บาทและ 170.89 ล้ านบาทตามลําดับ คิดเป็ นสัดส่วนต่อสินทรัพย์รวมเท่ากับ ร้ อยละ 57.74 ร้ อยละ 56.35 และร้ อยละ 56.17 ตามลําดับ ผลแตกต่างเกิดจากการตัดจําหน่ายค่าเสื อมราคาประจําปี และตัดจําหน่ายทรัพย์สินที ไม่สามารถใช้ งาน ได้ รวมทังการลงทุ Q นในทีดินและอุปกรณ์เพิ มขึ Qนเพื อรองรับการผลิตและการขยายงานในอนาคตด้ วย ซึ งในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีการลงทุนในที ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เท่ากับ 19.13 ล้ านบาท 15.81 ล้ านบาท และ 14.23 ล้ านบาท ตามลําดับ สําหรับปี 2559 บริ ษัทได้ ทําการประเมินเครื องจักรโดยผู้ประเมินอิสระ มีหลักเกณฑ์และวิธีการตามมาตรฐาน วิชาชีพของสมาคมผู้ประเมินค่าทรัพย์แห่งประเทศไทยโดย วิธีวิเคราะห์มลู ค่าจากต้ นทุน (Cost Approach) ซึ งทําให้ ราคา ประเมินเครื องจักรมูลค่าทางบัญชีเท่ากับ 79.92 ล้ านบาทมีราคาประเมินเท่ากับ 89.06 ล้ านบาท อย่างไรก็ตามราคาในการ ประเมินรวมจะสูงกว่ามูลค่าทางบัญชีก็ตาม จากรายงานผู้ประเมินพบว่ารายการเครื องจักรที นํามาใช้ ในการผลิตบางรายการ มีมลู ค่าที ตํ ากว่าราคาตามบัญชี เพื อเป็ นไปตามหลักการและมาตรฐานบัญชีฉบับที 36 เรื องการด้ อยค่าของทรัพย์สิน บริ ษัท บันทึกรายการด้ อยค่าของเครื องจักรมูลค่าเท่ากับ 3.86 ล้ านบาท ซึง ได้ รวมอยูใ่ นค่าใช้ จ่ายในการบริ หาร (หมายหตุประกอบ งบการเงิน ข้ อ 10) หนี Qสิน
บริ ษัทมีหนี Qสินรวมในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 เท่ากับ 207.56 ล้ านบาท 151.57 ล้ านบาท และ 144.55 ล้ าน บาท ตามลําดับ ประกอบด้ วย เงินกู้ยืมสถาบันการเงินทังระยะสั Q นและระยะยาว Q เจ้ าหนี Qการค้ าและเจ้ าหนี Qอื น เงินกู้ยืมระยะ สันจากบุ Q คคลหรื อกิจการที เกี ยวข้ อง หนี Qสินหมุนเวียนอื น และภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน แหล่งที มาของเงินทุน เงินกู้ยืมสถาบันการเงินทังระยะสั Q นและระยะยาว Q ซึง รวมเงินเบิกเกินบัญชี ตัว สัญญาใช้ เงิน และเงินกู้ระยะยาว โดย คิดดอกเบี Qยอัตราร้ อยละ MOR/MLR/SBOR/MLR ทังนี Q Qได้ นําที ดินและสิ งปลูกสร้ างใช้ เป็ นหลักประกันเงินกู้ยืมดังกล่าว ใน ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวจะสิ Qนสุดสัญญาในปี 2560 เงินกู้ยืมระยะสันจากบุ Q คคลหรื อกิจการที เกี ยวข้ อง คิดดอกเบี Qยอ้ างอิง อัตราเงินกู้ยืมสถาบันการเงิน และไม่มีหลักประกัน บริ ษัทได้ ทําการเจรจาและขอผ่อนชําระโดยจะเริ มทยอยชําระในปี และ หนี Qสินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน เพื อซื Qอเครื องจักรและอุปกรณ์ เงื อนไขโดยการผ่อนชําระเป็ นรายเดือน และได้ สิ Qนสุดสัญญา ไปบางส่วนแล้ ว อย่างไรก็ตามในปี 2559 บริ ษัทมีหนี Qสินรวมลดลงจากปี ก่อน เนื องจากการชําระเงินกู้ยืมจากสถบันการเงินตาม กําหนดที ระบุในสัญญา หน่วย : ล้ านบาท ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยมื ระยะสันจากสถาบั Q นการเงิน เงินกู้ยืมระยะสันจากบุ Q คคลหรื อกิจการทีเ กี ยวข้ อง เงินกู้ยืมระยะยาว เงินกู้ยืมระยะยาวที ถงึ กําหนดชําระภายใน 1 ปี หนี Qสินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน รวมเงิน กู้ยมื
RX. Y W.YY .W W.WW 2.93 W_5.a1
.XV WR.YY W. X WY.S 8.34 73.30
.S WR.YY .RW 2.16 58.61
ณ สิ Qนปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีอตั ราส่วนหนี Qสินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ 1.63 เท่า 0.84 เท่า และ 0.91 เท่า ตามลําดับ บริ ษัทมีอตั ราส่วนหนี Qสินรวมน้ อยกว่าเมื อเทียบกับส่วนของผู้ถือหุ้น ซึง ทําให้ เกิดความเสีย งลดลง ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทมีมลู ค่าเท่ากับ 127.43 ล้ านบาท ประกอบด้ วยทุนหุ้นสามัญที ออกและชําระแล้ วเท่ากับ 111.14 ล้ านบาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญเท่ากับ 32.41 ล้ านบาท ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1.15 ล้ าน บาท สํารองตามกฎหมายเท่ากับ 2.21 ล้ านบาท และผลขาดทุนสะสมยังไม่ได้ จดั สรรเท่ากับ 19.48 ล้ านบาท ในระหว่างปี บริ ษัทได้ เพิ มทุนหุ้นสามัญเพื อออกใบสําคัญแสดงสิทธิเท่ากับ 0.77 ล้ านบาท โดยมีส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญเท่ากับ 1.42 ล้ านบาท และใบสําคัญแสดงสิทธิเท่ากับ 0.67 ล้ านบาท ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทมีมลู ค่าเท่ากับ 181.24 ล้ านบาท การปรับเพิ มขึ Qนของส่วนของ ผู้ถือหุ้น เป็ นผลมาจากในระหว่างปี 2558 บริ ษัทได้ เพิ มทุนหุ้นสามัญเท่ากับ 37.76 ล้ านบาท ซึ งมีสว่ นเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 20.46 ล้ านบาท และได้ ออกใบสําคัญแสดงสิทธิให้ แก่พนักงานเท่ากับ 1.27 ล้ านบาท และมีผลขาดทุนสําหรับปี เท่ากับ 3.37 ล้ านบาท
ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทมีมลู ค่าเท่ากับ 159.68 ล้ านบาท การปรับลดลงของส่วนของผู้ ถือหุ้นในปี 2559 มีสาเหตุมาจาก ในระหว่างปี บริ ษัทได้ ลดผลขาดทุนสะสมกับส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญเท่ากับ 20.64 ล้ าน บาท และสํารองตามกฎหมายเท่ากับ 2.21 ล้ านบาท ในระหว่างนันบริ Q ษัทได้ เพิ มทุนหุ้นสามัญเพื อออกใบสําคัญแสดงสิทธิ เท่ากับ 0.59 ล้ านบาท และบริ ษัทมีผลขาดทุนสะสมยังไม่ได้ จดั สรรคงเหลือเท่ากับ 23.44 ล้ านบาท สภาพคล่องและกระแสเงินสด กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน ในปี 2557 บริ ษัทมีเงินสดสุทธิที ได้ มาจากกิจกรรมดําเนินงาน 13.80 ล้ านบาท ซึ งเพิ มขึ Qนจากปี ก่อน โดยมีรายการ หลักดังนี Q ขาดทุนก่อนภาษี เงินได้ 21.90 ล้ านบาท ค่าเสือ มราคาและค่าตัดจําหน่าย 26.15 ล้ านบาท ลูกหนี Qการค้ าและลูกหนี Q อื นลดลง 1.61 ล้ านบาท สินค้ าคงเหลือเพิ มขึ Qน 7.92 ล้ านบาท สินทรัพย์หมุนเวียนอื นเพิ มขึ Qน 2.27 ล้ านบาท เจ้ าหนี Qการค้ า และเจ้ าหนี Qอื นลดลง 2.32 ล้ านบาท และหนี Qสินหมุนเวียนอื นเพิ มขึ Qน 12.60 ล้ านบาท ในปี 2558 บริ ษัทมีเงินสดสุทธิที ได้ มาจากการดําเนินงาน 25.38 ล้ านบาท ซึ งเพิ มขึ Qนจากปี ก่อน โดยมีรายการหลัก ดังนี Q กําไรก่อนภาษี เงินได้ 2.62 ล้ านบาท ค่าเสื อมราคาและค่าตัดจํานหน่าย 27.37 ล้ านบาท ลูกหนี Qการค้ า และ ลูกหนี Qอื น เพิ มขึ Qน 3.50 ล้ านบาท สินค้ าคงเหลือเพิ มขึ Qน 2.45 ล้ านบาท สินทรัพย์หมุนเวียนอื นเพิ มขึ Qน 6.47 ล้ านบาท เจ้ าหนี Qการค้ าและ เจ้ าหนี Qอื นลดลง 14.10 ล้ านบาท และหนี Qสินหมุนเวียนอื นลดลง 10.10 ล้ านบาท ในปี 2559 บริ ษัทมีเงินสดสุทธิ ที ได้ มาจากกิ จกรรมดําเนินงาน 27.67 ล้ านบาท ซึ งมาจากขาดทุนจากการ ดําเนินงานก่อนภาษี เงินได้ เท่ากับ 18.23 ล้ านบาท ผลขาดทุนดังกล่าวได้ รวมรายการที ไม่เกี ยวกับเงินสดดังนี Q ค่าเสื อมราคา และค่าตัดจําหน่ายเท่ากับ 27.52 ล้ านบาท ขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้ าคงเหลือเท่ากับ 0.14 ล้ านบาท ขาดทุนจากการ ด้ อยค่าทรัพย์สินเท่ากับ 3.87 ล้ านบาท และขาดทุนจากการตัดจําหน่ายทรัพย์สินเท่ากับ 4.47 ล้ านบาท และรายการ เปลีย นแปลงเงินทุนหมุนเวียนเพิ มขึ Qน ซึง ประกอบด้ วยลูกหนี Qการค้ าและลูกหนี Qอื นเพิ มขึ Qน 7.11 ล้ านบาท สินค้ าคงเหลือลดลง 7.50 ล้ านบาท สินทรัพย์หมุนเวียนอื นเพิ มขึ Qน 2.59 ล้ านบาท เจ้ าหนี Qการค้ าและเจ้ าหนี Qอื นเพิ มขึ Qน 6.85 ล้ านบาท และหนี Qสิน หมุนเวียนอื นเพิ มขึ Qน 0.24 ล้ านบาท กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีการใช้ เงินสดเพื อกิจกรรมลงทุนตามงบการเงินทังสิ Q Qน 18.79 ล้ านบาท 15.96 ล้ านบาทและ 15.81 ล้ านบาท ตามลําดับ โดยมีรายการที สําคัญ คือค่าใช้ จ่ายในการซื Qอเครื องจักรและอุปกรณ์เพื อ เป็ นการทดแทนเครื องเก่าที ไม่สามารถใช้ งานได้ และเครื องใหม่เพื อขยายกําลังการผลิตให้ ทันส่งมอบแก่ลกู ค้ า และซือQ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตนเพื อปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยีให้ ทนั สมัย กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ในปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 บริ ษัทมีเงินสดใช้ ไปจากกิจกรรมจัดหาเงินตามงบการเงินทังสิ Q Qน 8.87 ล้ านบาท 9.24 ล้ านบาท 16.75 ล้ านบาท ตามลําดับ เนื องมาจากการชําระคืนเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั Q นการเงิน การชําระเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน จ่ายชําระหนี Qสินภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน การจ่ายชําระดอกเบี Qย และการรับ เงินจากการจําหน่ายหุ้นสามัญ
อัตราส่วนสภาพคล่อง บริ ษัทมีสินทรัพย์หมุนเวียนที ประกอบไปด้ วย เงินสด ลูกหนี Q และสินค้ าคงเหลือในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 เท่ากับ 104.21 ล้ านบาท 118.49 ล้ านบาท และ 114.48 ล้ านบาท น้ อยกว่าหนี Qหมุนเวียนในแต่ละปี ซงึ มีเท่ากับ 197.48 ล้ าน บาท 138.02 ล้ านบาท และ 137.95 ล้ านบาท ตามลําดับ ซึง อาจทําให้ สภาพคล่องของบริ ษัทอาจไม่เพียงพอ อย่างไรก็ตาม บริ ษัทได้ พิจารณาถึงผลกระทบและความเสีย งทีอาจเกิดขึ Qนเพื อให้ ดําเนินงานต่อไปได้ ในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีอตั ราส่วนสภาพคล่องเท่ากับ 0.59 เท่า 0.91 เท่าและ 0.90 เท่าตามลําดับ และมีอตั ราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ วในช่วงเวลาเดียวกันเท่ากับ 0.35 เท่า 0.57 เท่า และ 0.62 เท่าตามลําดับ จากอัตราส่วนสภาพคล่องของบริ ษัทแสดงให้ เห็นถึงการดาเนินงานตามปกติของบริษัทมีหนี Qสินหมุนเวียนมากกว่า สินทรัพย์หมุนเวียน อย่างไรก็ตามแม้ บริ ษัทประสบปั ญหาในการชําระหนี Qระยะสันตามอั Q ตราส่วนสภาพคล่องก็ตาม หากไม่ รวมเงินกู้ยมื ระยะสันจากบุ Q คคลหรื อกิจการที เกี ยวข้ อง บริ ษัทสามารถชําระหนี Qสินระยะสันได้ Q ในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีระยะเวลาการเก็บหนี Qเฉลี ยเท่ากับ 51.92 วัน 41.86 วัน และ 43.37 วัน ตามลําดับ ซึ งเป็ นไปตามนโยบายการให้ เครดิตหรื อระยะเวลาในการรับชําระจากลูกค้ าระหว่าง 30 ถึง 60 วัน ซึ งบริ ษัท สามารถนําเงินที ได้ รับตามนโยบายนี Qไปใช้ เพื อวางแผนดําเนินงานจัดซื Qอวัตถุดิบและชําระหนี Qสินได้ ทนั เวลา ทังนี Q Qลูกหนี Qการค้ า ของบริ ษัทส่วนมากเป็ นลูกหนี Qชันดี Q ที ชําระหนี Qตรงรอบระยะเวลาการให้ เครดิต ในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีระยะเวลาการขายสินค้ าเฉลี ยเท่ากับ 50.14 วัน 48.67 วันและ 44.95 วัน ตามลํา ดับ ระยะเวลาในการหมุนเวีย นสินค้ า อยู่ในระดับที สามารถผลิต และจัดส่งได้ ทันเวลา และไม่มี สินค้ าค้ างนาน เนื องจากการผลิตสินค้ าของบริ ษัทมีการวางแผนตามความต้ องการของลูกค้ า ซึง มีระยะเวลาการจัดส่งที แน่นอน ในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 บริ ษัทมีระยะเวลาการชําระหนี Qเฉลีย เท่ากับ 101.39 วัน 80.04 วัน และ 69.95 วัน ตามลําดับ การให้ ระยะเวลาการชําระหนี Qของเจ้ าหนี Qเป็ นไปตามที นโยบายบริ ษัทกําหนดซึง อยูร่ ะหว่าง 30 ถึง 90 วัน อัต ราส่ วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว ระยะเวลาเก็บหนี Qเฉลีย ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลีย ระยะเวลาชําระหนี Q Cash Cycle
(เท่า) (เท่า) (วัน) (วัน) (วัน) (วัน)
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
Y.RS Y. R RW.S RY.W WYW. S Y.X
Y.SW Y.R W.VX V.X VY.Y WY. S
Y.SY Y.X . .SR XS.SR WV.
ปั จ จัยและอิท ธิพ ลที อ าจมีผ ลต่ อ การดําเนิน งานหรือ ฐานะการเงิน ในอนาคต ปั จจัยและอิทธิพลที อาจมีผลต่อการดําเนินงานหรื อฐานะการเงินในอนาคตของบริ ษัท นอกเหนือจากที ได้ กล่าวไว้ ใน เรื องปั จจัยความเสี ยง ได้ แก่ สภาวะเศรษฐกิจที ชะลอตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์ทงในประเทศและต่ ัQ างประเทศอย่าง ต่อเนื องมาหลายปี ซึง อาจทําให้ ความต้ องการหรื อกําลังซื Qอของผู้ผลิตในกลุม่ อุตสาหกรรมยายนต์ลดลง อย่างไรก็ตามบริ ษัทได้ ขยายตลาดออกไปยังต่างประเทศที มีฐานการผลิตชินQ ส่วนยานยนต์ทวั โลก โดยเร่ งเพิ มคํา สัง ซื Qอให้ มากขึ Qน ทังนี Q Qบริ ษัทอาจมีความเสีย งในการผันผวนของค่าเงินสกุลต่างๆ บริ ษัทได้ ศึกษาและเฝ้าระวังถึงผลกระทบที อาจเกิดจากการผันผวนของค่าเงินที รุนแรง โดยวิธีตา่ งๆที สถาบันการเงินและบริ ษัทรวมกันตัดสินใจ ด้ านการตลาดในอุตสาหกรรมผลิตชิ Qนส่วนยานยนต์มีการแข่งขันค่อนข้ างสูง บริ ษัทมีค่แู ข่งทางการตลาดสูงเช่นกัน อย่างไรก็ตามบริ ษัทได้ ศึกษาและหามาตรการเพื อกระตุ้นให้ ผ้ รู ับผิดชอบพัฒนาศักยภาพทังเทคโนโลยี Q ที ทนั สมัย เชื อมสาย สัมพันธ์ สร้ างพันธมิตรกับกลุม่ ธุรกิจที สอดคล้ องกัน รวมถึงสร้ างความสัมพันธ์ อนั ดีกับลูกค้ ารายเดิมให้ เหนียวแน่นยิ งขึ Qน พร้ อมกันนี Qบริ ษัทได้ วางแผนขยายสายการผลิตให้ ครอบคลุมอุตสาหกรรมอื นมากขึ Qน เช่น ใบพัดปั มQ นํ Qา ใบพัดเรื อหางยาว และ รับหล่อหุน่ ขี Qผึ Qง เป็ นต้ น ซึง อยูร่ ะหว่างการพัฒนาและวิจยั สายงานการผลิตดังกล่าว รวมถึงการเปิ ดสายงานการผลิตอื น ที จ้างให้ บริ ษัทอื นทําให้ เช่น งานเคลือบสี และให้ บริ การรับซ่อมแม่พิมพ์ เป็ นต้ น ด้ านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และบริ การจัดส่งที ถูกต้ องทันเวลา บริ ษัทยังคงคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ และ ศึกษาพร้ อมกับนําเทคโนโลยีที ทนั สมัยมาใช้ ในกระบวนการผลิตให้ มีประสิทธิภาพมากขึ Qน ตามที ลกู ค้ าให้ ความไว้ วางใจที เลือกบริ ษัทเป็ นผู้ผลิตชิ Qนงานให้ ในส่วนของต้ นทุนการผลิตและค่าใช้ จ่ายในการบริ หารที สงู ขึ Qนตามภาวะเศรษฐกิจและค่าเงิน บริ ษัทเร่ งหามาตรการ และรณรงค์เพื อควบคุมและประหยัดต้ นทุนที เกิดขึ Qนเพื อให้ เกิดประโยชน์ที ค้ มุ ค่า เช่น ในส่วนของพลังงาน บริ ษัทอยู่ระหว่าง ดําเนินการติดตังแผงโซล่ Q าเพื อลดค่าใช้ จ่ายด้ านพลังานที ใช้ ในการผลิต ด้ านแรงงานบริ ษัทวางแผนพัฒนาและจัดสรรกําลัง พลให้ มีประสิทธิภาพและรองรับการขยายงาน
â&#x20AC;&#x153;We deliver the best for your satisfactionsâ&#x20AC;?
www.sankothai.net