sanko : รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2556

Page 1

รายงาน การจัดการพลังงาน ประจาปี 2556

ชื่อนิตบิ คุ คล:

บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน)

ชื่อโรงงานควบคุม:

โรงงาน ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) TSIC-ID: 38439-0256

ส่งรายงาน ภายในมีนาคม ปี 2557

ปรับปรุง ครัง้ ที่ 3 วันที่ 10 ตุลาคม 2555


ใบคารับรองการจัดทารายงานการจัดการพลังงาน ของโรงงานควบคุม บริษัท ซังโกะไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) 1. ประธานคณะทางานด้านการจัดการพลังงาน ข้าพเจ้าในฐานะประธานคณะทางานด้านการจัดการพลังงานของโรงงานควบคุมขอรับรองว่า ได้ดาเนินการจัดการพลังงานให้เป็นไปตามที่กฎกระทรวงกาหนดทุกประการ ลงชื่อ …………………………………. ( นายอนันต์ ตั้งสุนทรธรรม ) วันที่ …12.../…มี.ค.../…2557....

2. ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ข้าพเจ้าในฐานะผู้รับผิดชอบด้านพลังงานของโรงงานควบคุมขอรับรองว่าได้ดาเนินการจัดการ พลังงานให้เป็นไปตามที่กฎกระทรวงกาหนดทุกประการ ลงชื่อ …………………………………. ( นายราชัน สนิทโต ) ตาแหน่ง ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ ทะเบียนเลขที่ ผชร.7468 วันที่ …12.../…มี.ค.../…2557....

ลงชื่อ ……………………….……….……. ( …………………….……….…. ) ตาแหน่ง ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส ทะเบียนเลขที่ …..... .... วันที่ ....../……....../…2557....

3. เจ้าของโรงงานควบคุม ข้าพเจ้าในฐานะเจ้าของโรงงานควบคุม/ผู้รับมอบอานาจ ขอรับรองว่าได้ดาเนินการจัดการ พลังงานให้เป็นไปตามที่กฎกระทรวงกาหนดทุกประการ ลงชื่อ …………………………………. ( นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล ) วันที่ …12.../…มี.ค.../…2557....


สารบัญ หน้า ข้อมูลเบือ้ งต้น

1

ข้อมูลด้านการจัดการพลังงาน ขั้นตอนที่ 1 คณะทางานด้านการจัดการพลังงาน ขั้นตอนที่ 2 การประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบือ้ งต้น

3 3 7

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4

นโยบายอนุรักษ์พลังงาน การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน

8 10

ขั้นตอนที่ 5

การกาหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน และแผนการฝึกอบรมและ กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน

21

ขั้นตอนที่ 6

การดาเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน การตรวจสอบและวิเคราะห์การ ปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน และแผนการฝึกอบรมและ กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน

42

ขั้นตอนที่ 7

การตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงาน

53

ขั้นตอนที่ 8

การทบทวน วิเคราะห์และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน

58

ภาคผนวก ภาคผนวก ก. ภาคผนวก ข. ภาคผนวก ค. ภาคผนวก ง. ภาคผนวก จ. ภาคผนวก ฉ. ภาคผนวก ช. ภาคผนวก ซ.

ข้อมูลระบบไฟฟ้า ปี 2556 ข้อมูลผลผลิต ปี 2555 และ 2556 ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า ปี 2555 และ 2556 ข้อมูลปริมาณการใช้เชื้อเพลิง ปี 2555 และ 2556 ข้อมูลปริมาณการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ปี 2555 และ 2556 ข้อมูลสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า ปี 2555 และ 2556 ข้อมูลสัดส่วนการใช้พลังงานความร้อน ปี 2555 และ 2556 การประเมินศักยภาพของเครื่องจักร/อุปกรณ์ทมี่ ีนัยสาคัญ เพื่อนาไปค้นหามาตรการ อนุรักษ์พลังงาน


ข้อมูลเบื้องต้น ข้อมูลทั่วไป 1 ชื่อนิตบิ ุคคล : บริษัท ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ชื่อโรงงานควบคุม : โรงงาน ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) TSIC-ID : 38439-0256 2

ระบุกลุ่มโรงงานควบคุม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 (ขนาดเล็ก) : โรงงานควบคุมที่ใช้เครื่องวัดไฟฟ้าหรือติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้ารวมกันน้อยกว่าสามพันกิโลวัตต์หรือสามพันห้าร้อย สามสิบกิโลโวลต์แอมแปร์หรือโรงงานควบคุมที่ใช้พลังงานไฟฟ้า พลังงานความร้อนจากไอน้า หรือพลังงานสิ้นเปลืองอื่นๆ โดยมีปริมาณ พลังงานเทียบเท่าพลังงานไฟฟ้าต่ากว่าหกสิบล้านเมกะจูล/ปี กลุ่มที่ 2 (ขนาดใหญ่): โรงงานควบคุมที่ใช้เครื่องวัดไฟฟ้าหรือติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้ารวมกันตั้งแต่สามพันกิโลวัตต์หรือสามพันห้าร้อย สามสิบกิโลโวลต์แอมแปร์ขึ้นไปหรือโรงงานควบคุมที่ใช้พลังงานไฟฟ้า พลังงานความร้อนจากไอน้า หรือพลังงานสิ้นเปลืองอื่นๆ โดยมี ปริมาณพลังงานเทียบเท่าพลังงานไฟฟ้าตั้งแต่หกสิบล้านเมกะจูล/ปีขึ้นไป

3

ที่อยูโ่ รงงาน เลขที่ 3/14 หมู่ 2 ถนน บ้านค่าย-บ้านบึง ตาบล หนองบัว อาเภอ บ้านค่าย จังหวัด ระยอง รหัสไปรษณีย์ 21120 โทรศัพท์: .....038-961-877-880....... โทรสาร: ……038-961-876..... อีเมล์: ….....fs@sankothai.net...........

4

ที่อยูส่ านักงาน เลขที่ 3/14 หมู่ 2 ถนน บ้านค่าย-บ้านบึง ตาบล หนองบัว อาเภอ บ้านค่าย จังหวัด ระยอง รหัสไปรษณีย์ 21120 โทรศัพท์: .....038-961-877-880....... โทรสาร: ……038-961-876..... อีเมล์: ….....fs@sankothai.net...........

1


5

6 7

8

ประเภทอุตสาหกรรม หิน กรวด ดิน ทราย กระดาษ ผลิตภัณฑ์จากโลหะ

สิง่ ทอ อโลหะ การไฟฟ้าและก๊าซ

โรงงานเริ่มดาเนินการผลิต เมือ่ ม.ค.-39 450 คน จานวนพนักงาน จานวน 17 แผนก/ฝ่าย เวลาทางาน ส่วนสานักงาน: จานวนชัว่ โมงทางาน 8 ชัว่ โมง/วัน จานวนวันทางาน 312 วัน/ปี รวมจานวนชัว่ โมงทางาน 2,496 ชัว่ โมง/ปี ส่วนโรงงาน: จานวนชัว่ โมงทางาน 24 ชัว่ โมง/วัน จานวนวันทางาน 312 วัน/ปี รวมจานวนชัว่ โมงทางาน 7,488 ชัว่ โมง/ปี สาหรับโรงงานที่ไม่ได้ดาเนินการผลิตต่อเนือ่ งตลอดทั้งปี ระบุระยะเวลาที่ดาเนินการจริง ตัง้ แต่ เดือน …………….. ถึง เดือน …………………… รวมเป็น ผูร้ ับผิดชอบด้านพลังงาน ชือ่ -นามสกุล

ลาดับที่ 1

อาหาร เครื่องดืม่ และยาสูบ เคมี การผลิตอืน่ ๆ

นายราชัญ สนิทโต

คุณสมบัติ*** ผูร้ ับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ ผูร้ ับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส

……….

ไม้ ล โลหะมู ฐาน การประปา

เดือน

ทะเบียนเลขที่ ผชร.7468

ผูร้ ับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ

2

ผูร้ ับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส ผูร้ ับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ

3

ผูร้ ับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส

***คุณสมบัติผรู้ บั ผิดชอบด้านพลังงาน ผูร้ บั ผิดชอบด้าน เป็นผูไ้ ด้รบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูงและมีประสบการณ์การทางานในโรงงานอย่างน้อยสามปีโดยมีผลงานด้านการอนุรกั ษ์พลังงาน พลังงานสามัญ (ก) ตามการรับรองของเจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุม (ข) (ค) (ง) (จ) ผูร้ บั ผิดชอบด้าน พลังงานอาวุโส

(ก) (ข)

เป็นผูไ้ ด้รบั ปริญญาทางวิศวกรรมศาสตร์ หรือทางวิทยาศาสตร์ โดยมีผลงานด้านการอนุรกั ษ์พลังงานตามการรับรองของเจ้าของโรงงาน ควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุม เป็นผูส้ าเร็จการฝึกอบรมด้านการอนุรกั ษ์พลังงานหรือการฝึกอบรมทีม่ ีวตั ถุประสงค์คล้ายคลึงกันทีอ่ ธิบดีให้ความเห็นชอบ เป็นผูส้ าเร็จการฝึกอบรมหลักสูตรผูร้ บั ผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส ทีอ่ ธิบดีให้ความเห็นชอบ เป็นผูท้ สี่ อบได้ตามเกณฑ์ทกี่ าหนดจากการจัดสอบผูร้ บั ผิดชอบด้านพลังงาน ซึง่ จัดโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรกั ษ์พลังงาน เป็นผูส้ าเร็จการฝึกอบรมหลักสูตรผูร้ บั ผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส ทีอ่ ธิบดีให้ความเห็นชอบ เป็นผูท้ สี่ อบได้ตามเกณฑ์ทกี่ าหนดจากการจัดสอบผูร้ บั ผิดชอบด้านพลังงาน ซึง่ จัดโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน

2


ข้อมูลด้านการจัดการพลังงาน ขั้นตอนที่ 1 คณะทางานด้านการจัดการพลังงาน 1.1 โครงสร้างคณะทางานด้านการจัดการพลังงาน

รูปที่ 1-1 ผังโครงสร้างคณะทางานด้านการจัดการพลังงาน

3


1.2 การแต่งตัง้ คณะทางานด้านการจัดการพลังงาน และอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ

รูปที่ 1-2 คาสั่งแต่งตั้งคณะทางานด้านการจัดการพลังงาน หมายเหตุ โปรดแนบสาเนาคาสั่งแต่งตั้งคณะทางานด้านการจัดการพลังงาน และอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ

4


1.3 วิธกี ารเผยแพร่คณะทางานด้านการจัดการพลังงาน ติดประกาศ จานวนติดประกาศ …5.. แห่ง เอกสารเผยแพร่ แผ่นพับ/วารสาร ........ฉบับ จดหมายอิเล็คทรอนิกส์ จานวนผูไ้ ด้รับ …58.. คน ระดับของผูไ้ ด้รับ…ระดับ Supervisor ขึน้ ไป…. อืน่ ๆ (ระบุ) …กิจกรรมผูบ้ ริหารพบพนักงาน…………..

โปสเตอร์ จานวนติดประกาศ ….. แห่ง เสียงตามสาย สัปดาห์ละ ….. ครัง้ ช่วงเวลา…... การประชุมพนักงาน เดือนละ …1.. ครัง้

เอกสาร หลักฐานต่างๆ ที่แสดงถึงการเผยแพร่คณะทางานด้านการจัดการพลังงาน

(ก) .......ติดประกาศ จานวน 5 แห่ง ได้แก่ สวน Relex และหน้าแผนกต่างๆ ได้แก่ DI FS MC และ MT…..

(ข) .......กิจกรรม ผูบ้ ริหารพบพนักงาน เดือนละ 1 ครั้ง.....

5


(ค) .......จดหมายอิเล็คทรอนิกส์.....................

(ง) .......ประชุมพนักงานเดือนละ 1 ครั้ง..................... รูปที่ 1-3 ภาพการเผยแพร่คณะทางานด้านการจัดการพลังงาน หมายเหตุ : กรณีมีวธิ กี ารเผยแพร่มากกว่า 2 วิธกี าร โรงงานสามารถเพิ่มจานวนการแสดงเอกสาร หลักฐานรูปภาพต่างๆเพิ่มเติม 6


ขั้นตอนที่ 2 การประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องต้น ผลการประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบือ้ งต้น ตารางที่ 2.1 การประเมินการจัดการพลังงานขององค์กร

ระดับ คะแนน

4

นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน

1

3.94

การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ

3.89

มีนโยบายการจัดการพลังงานจากฝ่าย บริหารและถือเป็นส่วนหนึ่งของนโยบาย ของบริษัท

มีการจัดองค์กรและเป็นโครงสร้างส่วน หนึ่งของฝ่ายบริหารกาหนดหน้าที่ความ รับผิดชอบไว้ชัดเจน

มีนโยบายและมีการสนับสนุนเป็นครั้ง คราวจากฝ่ายบริหาร

ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานรายงานโดยตรง คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงานเป็น ต่อคณะกรรมการจัดการพลังงาน ซึ่ง ช่องทางหลักในการดาเนินงาน ประกอบด้วยหัวหน้าฝ่ายต่างๆ

ไม่มีการกาหนดนโยบายที่ชัดเจน โดย ผู้บริหารหรือผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน

มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานรายงานต่อ คณะกรรมการเฉพาะกิจ แต่สายงาน บังคับบัญชาไม่ชัดเจน

3.44

3

2

การจัดองค์กร

มีการประสานงานระหว่างผู้รับผิดชอบ ด้านพลังงาน และทีมงานทุกระดับอย่าง สม่าเสมอ

ระบบข้อมูลข่าวสาร

ประชาสัมพันธ์

3.46

กาหนดเป้าหมายที่ครอบคลุม ติดตามผล ประชาสัมพันธ์คุณค่าของการประหยัด หาข้อผิดพลาดประเมินผล และควบคุม พลังงาน และผลการดาเนินงานของการ การใช้งบประมาณ จัดการพลังงาน

จัดสรรงบประมาณโดยละเอียด โดย พิจารณาถึงความสาคัญของโครงการ

แจ้งผลการใช้พลังงานจากมิเตอร์ยอ่ ยให้ แต่ละฝ่ายทราบ แต่ไม่มีการแจ้งถึงผล การประหยัด

ใช้ระยะเวลา คุ้มทุนเป็นหลักในการ พิจารณาการลงทุน

3.18

คณะกรรมการเฉพาะกิจเป็นผู้ดาเนินการ ทารายงานติดตามประเมินผล โดยดูจาก มิเตอร์ให้คณะกรรมการเฉพาะกิจเข้ามา เกี่ยวข้องกับการตั้งงบประมาณ

ให้พนักงานรับทราบโครงการอนุรักษ์ พลังงาน และให้มีการประชาสัมพันธ์ อย่างสม่าเสมอ

มีการสรุปรายงานด้านค่าใช้จ่ายการใช้ พลังงานเพือ่ ใช้กนั ภายในฝ่ายวิศวกรรม

ไม่มีนโยบายที่ ชัดเจน

ไม่มีระบบรวบรวมข้อมูลและบัญชีการใช้ ไม่มีการสนับสนุนการประหยัดพลังงาน พลังงาน

ไม่มีการติดต่อกับผู้ใช้พลังงาน

0

แจ้งให้พนักงานทราบอย่างไม่เป็นทางการ พิจารณาเฉพาะมาตรการที่ลงทุนต่า เพือ่ ส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพ

หมายเหตุ: 1. ข้อมูลการประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบือ้ งต้นประเมินจาก.......19...........แผนก ของจานวนทัง้ หมด......19.....แผนก หรือบุคลากรจานวน.....250............คน จากทัง้ หมด......380...........คน คิดเป็นร้อยละ …65.79......... 2. ในกรณีทโี่ รงงานควบคุมพัฒนาระบบการจัดการพลังงานในรอบทีส่ อง ในขัน้ ตอนนีโ้ รงงานควบคุมจะดาเนินการหรือไม่ดาเนินการก็ได้ หากดาเนินการประเมิน สถานภาพการจัดการพลังงานภายในองค์กรต่อเนือ่ งทุกๆปี จะทาให้ทราบสถานภาพการจัดการพลังงานทีม่ ีการเปลี่ยนแปลงได้ดียงิ่ ขึน้ 3. การประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานในภาพรวมของโรงงานควบคุม หากทางโรงงานมีวธิ กี ารอืน่ ทีเ่ หมาะสมกว่า ก็สามารถนามาใช้แทนตารางด้านบนได้ 7

3.28

จัดฝึกอบรมให้พนักงานรับทราบเป็นครั้ง ลงทุนโดยดูมาตรการที่มีระยะเวลาคุ้มทุน คราว เร็ว

ไม่มีแนวทางปฏิบัตทิ ี่ทาไว้เป็นลายลักษณ์ ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานมีขอบเขตหน้าที่ มีการติดต่ออย่างไม่เป็นทางการระหว่าง อักษร ความรับผิดชอบจากัด วิศวกรกับผู้ใช้พลังงาน (พนักงาน)

ไม่มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน

การลงทุน

ไม่มีการลงทุนใดๆในการปรับปรุง ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน


ขั้นตอนที่ 3 นโยบายอนุรกั ษ์พลังงาน 3.1 นโยบายอนุรักษ์พลังงานขององค์กร เพื่อแสดงเจตจานงและความมุง่ มัน่ ในการดาเนินการด้านการอนุรักษ์พลังงาน โรงงานควบคุมได้ กาหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงานตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงาน ซึ่งสอดคล้องกับ สถานภาพการใช้พลังงานและเหมาะสมกับโรงงานควบคุม ดังต่อไปนี้

รูปที่ 3-1 นโยบายอนุรักษ์พลังงาน หมายเหตุ โปรดแนบสาเนาคาสั่งประกาศนโยบายอนุรักษ์พลังงาน

8


3.2 การเผยแพร่นโยบายอนุรกั ษ์พลังงาน เพื่อให้พนักงานทุกคนรับทราบและปฏิบัติตามนโยบายอนุรักษ์พลังงานของโรงงานควบคุม จึงได้ดาเนินการ เผยแพร่และดาเนินการดังต่อไปนี้ วิธีการเผยแพร่นโยบายอนุรักษ์พลังงาน ติดประกาศ โปสเตอร์ จานวนติดประกาศ …2... แห่ง จานวนติดประกาศ ….... แห่ง เอกสารเผยแพร่ เสียงตามสาย แผ่นพับ/วารสาร .....ฉบับ สัปดาห์ละ ….. ครั้ง ช่วงเวลา…... จดหมายอิเล็คทรอนิกส์ การประชุมพนักงาน จานวนผู้ได้รับ …53.. คน สัปดาห์ละ …1.. ครั้ง ระดับของผู้ได้รับ ตั้งแต่ Supervisor ขึ้นไป……. อื่นๆ (ระบุ) …………….. หลักฐานหรือเอกสารต่างๆ ทีแ่ สดงถึงการเผยแพร่นโยบายอนุรักษ์พลังงานให้กับพนักงานในโรงงานควบคุม

(ก) .......จดหมายอิเล็คทรอนิกส์..................

(ข) ..ติดโปสเตอร์บริเวณห้องรับแขกและโชว์รูมของโรงงาน................ รูปที่ 3-2 ภาพการเผยแพร่นโยบายอนุรักษ์พลังงาน หมายเหตุ : กรณีมีวิธีการเผยแพร่มากกว่า 2 วิธีการ โรงงานสามารถเพิม่ จานวนการแสดงเอกสาร หลักฐานรูปภาพต่างๆเพิม่ เติม 9


ขั้นตอนที่ 4 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานของโรงงานควบคุมแบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ คือ (ก) การประเมินระดับองค์กร (ข) การประเมินระดับผลิตภัณฑ์ (ค) การประเมินระดับเครื่องจักร/อุปกรณ์ โดยมีแนวทางดาเนินการดังต่อไปนี้

10


4.1 การประเมินระดับองค์กร ก. เปรียบเทียบข้อมูลการใช้พลังงาน kWh

450,000 400,000 350,000 300,000 250,000

2555

200,000

2556

150,000 100,000 50,000 ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เดือน

รูปที่ 4-1 กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบการใช้พลังงานไฟฟ้ารายเดือน ปี 2555 และ ปี 2556

หมายเหตุ : รายละเอียดอ้างอิงอยูใ่ นภาคผนวก ค. MJ 6,000 5,000 4,000 2555 3,000

2556

2,000 1,000 -

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

รูปที่ 4-2 กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบการใช้พลังงานความร้อนจากเชื้อเพลิงรายเดือน ปี 2555 และ ปี 2556

หมายเหตุ : รายละเอียดอ้างอิงอยูใ่ นภาคผนวก ง.

11

พ.ย.

ธ.ค.

เดือน


MJ 1.2 1 0.8

ไม่ มกี ารใช้ เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้ า

0.6

ปี 2555 ปี 2556

0.4 0.2 0 ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เดือน

รูปที่ 4-3 กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบการใช้พลังงานเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้ารายเดือน ปี 2555 และ ปี 2556 หมายเหตุ : รายละเอียดอ้างอิงอยูใ่ นภาคผนวก จ.

12


kWh

60 50 40 30 20 10 0

2555 2556

ระบบ

รูปที่ 4-4 กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า ปี 2555 และ ปี 2556 หมายเหตุ : รายละเอียดอ้างอิงอยูใ่ นภาคผนวก ฉ. MJ

66,000,000 64,000,000 62,000,000 60,000,000 58,000,000 56,000,000 54,000,000 52,000,000 50,000,000

2555 2556 ระบบ

2555

2556

รูปที่ 4-5 กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใช้พลังงานความร้อน ปี 2555 และ ปี 2556 หมายเหตุ : รายละเอียดอ้างอิงอยูใ่ นภาคผนวก ช.

ไฟฟ้า (MJ)

ไฟฟ้า (MJ)

ความร้อน (MJ)

ความร้อน (MJ)

สัดส่วนการใช้พลังงาน ปี 2554

สัดส่วนการใช้พลังงาน ปี 2555

รูปที่ 4-6 กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใช้พลังงาน ปี 2555 และ ปี 2556

13


ข. เปรียบเทียบข้อมูลการใช้พลังงานหรือดัชนีการใช้พลังงานเทียบกับค่าเป้าหมายภายในโรงงาน หรือเปรียบเทียบข้อมูล การใช้พลังงานกับโรงงานอืน่ (ถ้ามี)

45.00 40.00 35.00 30.00 25.00 20.00 15.00 10.00 5.00 SEC ปี 2555

SEC เป้ าหมาย

ค่าตา่ ทีส ่ ด ุ

ค่าเฉลีย ่

รูปที่ 4-7 กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบข้อมูลการใช้พลังงานหรือดัชนีการใช้พลังงานเทียบกับค่าเป้าหมายภายในโรงงานหรือเปรียบเทียบข้อมูล (ถ้ามี)

14


4.2 การประเมินระดับผลิตภัณฑ์ 4.2.1 ผลิตภัณฑ์ที่ 1 (ระบุได้มากกว่า 1 ผลิตภัณฑ์ทมี่ กี ารใช้พลังงานรวมกันสูงเกินกว่า 80% ของการใช้พลังงานทัง้ หมด) กระบวนการผลิต Ingot Aluminium ก๊าซธรรมชาติ , NG หลอมอลูมิเนียมแท่ง

ไฟฟ้า

หล่อขึ้นรูปอลูมิเนียม

ไฟฟ้า

ตัดเศษครีบชิ้นงาน

ไฟฟ้า

เจียร ขัดตบแต่งผิวชิ้นงาน

ไฟฟ้า

ปาดผิว กลึงผิว และทาเกลียว

ไฟฟ้า

ตรวจสอบคุณภาพด้วยเครื่องวัดและด้วยสายตา

ไฟฟ้า ไฟฟ้า

บรรจุชิ้นงาน ติดใบ Tag ส่งเข้าคลังสินค้า/ลูกค้า

รูปที่ 4-8 แผนผังกระบวนการผลิตชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ คาอธิบายกระบวนการผลิต เริ่มจากการนาวัตถุดิบแท่งอลูมิเนียมมาหลอมให้เป็นน้าแล้วนามาหล่อขึน้ รูปด้วยเครื่องฉีดอลูมิเนียม แล้วผ่าน ขัน้ ตอนตัดครีบและตกแต่ง จากนั้นผ่านขัน้ ตอนเจาะ ขึน้ เกลียว ปาดผิวด้วยเครื่อง CNC สุดท้ายเข้าขัน้ ตอนการจัดเก็บสินค้ารอส่ง และเมื่อลูกค้าต้องการสินค้า ก็ทาการขนส่งสินค้า ไปยังลูกค้า

หมายเหตุ : ส่วนที่เป็น Runner gate หรือทางเข้าน้าอลูมิเนียม ส่วนที่เป็น Over Flow และส่วนที่เป็นงานที่หล่อไม่ได้ ขนาดตามต้องการ สามารถนาไป Re-melt ต่อได้อกี หมายเหตุ กรณีมหี ลายผลิตภัณฑ์ให้เพิม่ แผนผังกระบวนการผลิตตามจานวนของผลิตภัณฑ์หลัก

15


4.2.2 ค่าการใช้พลังงานจาเพาะต่อหน่วยผลผลิต ตารางที่ 4.1 ปริมาณการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิตของ ในรอบปี 2555 และ ปี 2556 ปริมาณผลผลิต เดือน

(Kgs)

ค่าการใช้พลังงาน จาเพาะ(SEC) (เมกะจูล/หน่วย)

ปริมาณพลังงานทีใ่ ช้ ไฟฟ้า

ความร้อน

(กิโลวัตต์-ชัว่ โมง)

(เมกะจูล)

ม.ค. 55 ก.พ. 55 มี.ค. 55 เม.ย. 55 พ.ค. 55 มิ.ย. 55 ก.ค. 55 ส.ค. 55 ก.ย. 55 ต.ค. 55 พ.ย. 55 ธ.ค. 55 รวม

172,215.00 167,228.70 184,227.50 169,739.50 170,634.85 159,923.05 213,416.00 131,894.60 171,101.50 171,212.00 153,790.00 111,019.50

369,320.00 393,420.00 437,820.00 356,800.00 416,440.00 410,940.00 446,200.00 408,420.00 412,600.00 371,240.00 361,240.00 272,400.00

5,728,650.00 5,340,410.00 5,372,060.00 4,580,810.00 5,043,955.00 5,235,965.00 6,249,820.00 5,786,675.00 5,512,375.00 5,318,255.00 5,265,505.00 4,045,925.00

1,976,402.20

4,656,840.00

63,480,405.00

เฉลีย่

164,700.18

388,070.00

5,290,033.75

:

น เ (SEC) =

(

-

) x (เ

/

(น )

)+

40.9848 40.4041 37.7154 34.5547 38.3459 41.9911 36.8114 55.0211 40.8982 38.8683 42.6944 45.2764

ปริมาณผลผลิต เดือน

อน (เ

กรณีมีหลายผลิตภัณฑ์หลักให้เพิม่ ตารางตามจานวนชนิดของผลิตภัณฑ์

16

ไฟฟ้า

ความร้อน

(กิโลวัตต์-ชัว่ โมง)

(เมกะจูล)

ม.ค. 56 ก.พ. 56 มี.ค. 56 เม.ย. 56 พ.ค. 56 มิ.ย. 56 ก.ค. 56 ส.ค. 56 ก.ย. 56 ต.ค. 56 พ.ย. 56 ธ.ค. 56 รวม

157,591.70 144,848.00 139,910.00 119,652.00 133,248.00 141,709.00 155,334.00 104,939.00 141,496.00 143,926.00 187,583.00 168,646.00

362,660 333,380 321,440 266,220 313,020 323,420 309,840 242,600 278,440 322,840 359,440 331,160

5,561,569.65 4,747,500.00 4,336,050.00 3,794,835.00 4,565,839.55 5,005,975.00 5,114,640.00 4,032,210.00 4,399,350.00 4,824,515.00 4,759,105.00 4,608,240.00

1,738,882.70

3,764,460.00

55,749,829.20

เฉลีย่

144,906.89

313,705.00

4,645,819.10

41.1305 น

(kgs)

ปริมาณพลังงานทีใ่ ช้

)

ค่าการใช้พลังงาน จาเพาะ(SEC) (เมกะจูล/หน่วย)

43.5756 41.0614 39.2626 39.7254 42.7227 43.5420 40.1075 46.7469 38.1759 41.5960 32.2689 34.3940 40.2649


เปรียบเทียบค่า SEC ของผลิตภัณฑ์ ปี 2555 และ ปี 2556

SEC Energy (MJ/หน่วย)

60.0

40.0 20.0

0.0 ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

SEC ENERGY 55

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

SEC ENERGY 56

รูปที่ 4-8 กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบค่า SEC ของผลิตภัณฑ์ ปี 2555 และ ปี 2556

17

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.


4.3 การประเมินระดับเครือ่ งจักร/อุปกรณ์ การค้นหาการใช้พลังงานที่มีนัยสาคัญในเครือ่ งจักร/อุปกรณ์หลัก โรงงานควบคุมได้ดาเนินการโดยการ ตรวจวัดหาข้อมูลปริมาณการใช้พลังงาน ชั่วโมงการทางาน และวิเคราะห์หาค่าประสิทธิภาพและการสูญเสีย พลังงานในแต่ละเครือ่ งจักร/อุปกรณ์หลักที่มีการใช้ในโรงงานควบคุม ซึ่งมีผลสรุปได้ดงั นี้

18


ตารางที่ 4.2 แบบบันทึกข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าทีม่ ีนัยสาคัญของเครื่องจักร/อุปกรณ์หลัก ปี 2556 พิกดั ระบบทีใ่ ช้พลังงาน

ชือ่ เครือ่ งจักร/ อุปกรณ์หลัก

ค่าประสิทธิภาพหรือสมรรถนะ จานวน

ขนาด

หน่วย

อายุการใช้งาน (ปี)

ชัว่ โมงใช้งาน เฉลีย่ /ปี

ปริมาณการใช้ พลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์-ชัว่ โมง/ปี)

สัดส่วนการใช้ พลังงานในระบบ

หมายเหตุ ค่าพิกดั

หน่วย

ใช้งานจริง

หน่วย

ระบบผลิต

Die Cast

22

kW

7

5

2000

308,000

8.18

n/a

kW

n/a

kW

ไม่มเี ครื่องมือวัด

ระบบผลิต

Die Cast

22

kW

9

4

7056

435,888

11.58

n/a

kW

25.87

kW/m3/min

มีเครื่องมือวัด

ระบบอัดอากาศ

Air comp.

37

kW

9

3

7,056

1,060,937

28.18

0.16

kW/m3/min

0.25

kW/m3/min

มีเครื่องมือวัด

ระบบอัดอากาศ

Air comp.

75

kW

1

1

2,940

75,730

2.01

0.17

kW/m3/min

0.15

kW/m3/min

มีเครื่องมือวัด

ระบบบาบัดน้าเสีย

มอเตอร์

10.5

kW

1

2

7,056

78,624.00

2.09

n/a

kW

n/a

kW

ไม่มเี ครื่องมือวัด

หมายเหตุ : ให้ดาเนินการบันทึกเฉพาะเครื่องจักร/อุปกรณ์หลักทีม่ นี ยั สาคัญ

19


ตารางที่ 4.3 แบบบันทึกข้อมูลการใช้พลังงานความร้อนทีม่ นี ยั สาคัญของอุปกรณ์/เครื่องจักร พิกัด ระบบทีใ่ ช้พลังงาน

ชือ่ อุปกรณ์/ เครื่องจักรหลัก

การใช้เชือ้ เพลิง จานวน

ขนาด

หน่วย

อายุการใช้งาน (ปี)

ชัว่ โมงใช้งาน เฉลี่ยต่อปี

ชนิด

หน่วย

ค่าประสิทธิภาพหรือสมรรถนะ ปริมาณการใช้พลังงาน สัดส่วนการใช้ ความร้อน (เมกะจูล/ปี) พลังงานในระบบ

หมายเหตุ ค่าพิกัด

หน่วย

ใช้งานจริง

หน่วย

ระบบผลิต

Furnace Center

980,000

Kcal

1

2

3,000

ก๊าซธรรมชาติ

MMBTU

12,300,960.00

22.06

n/a

Kcal

n/a

Kcal

ระบบผลิต

Furnace hold

150,000

Kcal

5

4

2,000

ก๊าซธรรมชาติ

MMBTU

6,276,000.00

11.52

n/a

Kcal

n/a

Kcal

ระบบผลิต

Furnace hold

150,000

Kcal

7

3

3,400

ก๊าซธรรมชาติ

MMBTU

14,936,880.00

26.79

n/a

Kcal

n/a

Kcal

ระบบผลิต

Furnace Melt

200,000

Kcal

8

2

3,300

ก๊าซธรรมชาติ

MMBTU

22,091,520.00

39.63

n/a

Kcal

n/a

Kcal

หมายเหตุ : ให้ดาเนินการบันทึกเฉพาะเครื่องจักร/อุปกรณ์หลักที่มีนัยสาคัญ

20

ไม่มีเครื่องวัด Gas Flow meter ติดตั้งที่ เตาหลอมแต่ละจุด


ขั้นตอนที่ 5 การกาหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน และแผนการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน โรงงานควบคุมได้กาหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน โดยมีรายละเอียดการดาเนินการดังต่อไปนี้ 5.1 การกาหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงาน ค่าเป้าหมาย

การกาหนดเป้าหมาย

ร้อยละที่ลดลงของปริมาณพลังงานที่ใช้เดิม

2

ระดับของค่าการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิต ที่ 1 ระดับของค่าการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิต ที่ 2 ระดับของค่าการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิต ที่ 3 ระดับของค่าการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิต ที่ …. หมายเหตุ : กรณีเลือกเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานเป็นค่าการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิตและมีหลายผลผลิตให้ ระบุให้ครบตามผลผลิตที่โรงงานดาเนินการ

21


ตารางที่ 5.1 มาตรการและเป้าหมายในการดาเนินการอนุรักษ์พลังงาน เป้าหมายการประหยัด ลาดับที่

มาตรการ

ไฟฟ้า

ร้อยละผล ระยะเวลา เงินลงทุน (บาท) ประหยัด คืนทุน (ปี)

เชือ้ เพลิง

กิโลวัตต์

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี

บาท/ปี

ชนิด

ปริมาณMJ/ปี

หน่วย

บาท/ปี

ด้านไฟฟ้า 1

การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพักกลางวันของอาคาร Stock MC

2.00

624.00

2,184.00

-

-

-

-

4.17

3,115.00

1.43

2

การเปลีย่ นหลอด Fluorescent 125 W เป็นหลอดตะเกียบ 80 W ของอาคาร Stock MC

2.00

8,424.00

29,484.00

-

-

-

-

36.00

0.00

0

3

การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพักกลางวันของอาคาร DI2

3.86

1,205.57

4,219.49

-

-

-

-

4.17

3,665.00

0.87

4

การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพักกลางวันของอาคาร D3และ MT

2.69

838.66

2,935.30

-

-

-

-

4.17

0.00

0

5

การเปลีย่ นหลอด LED ทดแทนการใช้หลอด Fluorescent T8 ในห้องทางานแผนก MT

0.31

2,306.30

8,072.06

-

-

-

-

70.00

14,690.00

1.82

6

การติดตัง้ ตัวควบคุมอุณหภูมเิ พื่อควบคุมการทางานของใบพัด ของหอหล่อเย็น หมายเลข 2 (Cooling Tower)

1.49

5,064.68

17,726.39

-

-

-

-

49.45

0.00

0

-

-

-

NG

789.71

MJ

332,774.22

39.16

3,000,000.00

9.02

789.71

MJ

332,774.22

39.16

3,021,470.00

9.02

332,774.22

207.11

3,021,470.00

13.14

ด้านความร้อน 1

การเปลีย่ นวิธีการหลอมจากการใช้เตาหลอมเดีย่ วประเภทเตา Crusible มาเป็นเตาหลอมรวม ( Holding Center) รวม รวมทัง้ หมด

18,463.21

64,621.24

หมายเหตุ: 1. %ประหยัด คิดเทียบจากข้อมูลการใช้พลังงานรวมในปีที่ผ่านมา 2. อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ย .........3.50............. บาท/กิโลวัตต์-ชั่วโมง (ปี 2555) 3. อัตราค่าเชื้อเพลิง ...........421.39........... บาท/ MMBTU (ปี 2555)

22

789.71


ตารางที่ 5.2 แผนอนุรักษ์พลังงานด้านไฟฟ้า ระยะเวลา ลาดับที่

มาตรการ

วัตถุประสงค์

เริ่มต้น (เดือน/ปี)

สิ้นสุด (เดือน/ปี)

เงินลงทุน (บาท)

ผู้รับผิดชอบ

1

การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพักกลางวันของอาคาร Stock MC

เพื่อลดการใช้ไฟฟ้า

เม.ย.-56

มี.ค.-57

3,000.00

ราชัน สนิทโต

2

การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพักกลางวันของอาคาร DI2 การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพักกลางวันของอาคาร D3และ MT การเปลี่ยนหลอด Fluorescent 125 W เป็นหลอดตะเกียบ 80 W ของอาคาร Stock MC การติดตั้งตัวควบคุมอุณหภูมิเพือ่ ควบคุมการทางานของใบพัดของ หอหล่อเย็น (Cooling Tower) การเปลี่ยนหลอด LED ทดแทนการใช้หลอด Fluorescent T8 ใน ห้องทางานแผนก MT

เพื่อลดการใช้ไฟฟ้า

เม.ย.-56

มี.ค.-57

0.00

ราชัน สนิทโต

เพื่อลดการใช้ไฟฟ้า

เม.ย.-56

มี.ค.-57

3,000.00

ราชัน สนิทโต

เพื่อลดการใช้ไฟฟ้า

เม.ย.-56

มี.ค.-57

0.00

ราชัน สนิทโต

เพื่อลดการใช้ไฟฟ้า

เม.ย.-56

มี.ค.-57

10,000.00

พงศ์พริ ัชย์ เสนากลาง

เพื่อลดการใช้ไฟฟ้า

เม.ย.-56

มี.ค.-57

0.00

พงศ์พริ ัชย์ เสนากลาง

3 4 5 6

หมายเหตุ : ผู้รับผิดชอบ หมายถึง บุคคลทีร่ ับผิดชอบมาตรการ

23


ตารางที่ 5.3 แผนอนุรักษ์พลังงานด้านความร้อน ระยะเวลา ลาดับที่

1

มาตรการ การเปลี่ยนวิธีการหลอมจาการใช้เตาหลอม เดี่ยวประเภทเตา Crusible มาเป็นเตาหลอม รวม ( Holding Center)

วัตถุประสงค์

เริ่มต้น (เดือน/ปี)

สิ้นสุด (เดือน/ปี)

เงินลงทุน (บาท)

ผู้รับผิดชอบ

ลดการใช้ก๊าซธรรมชาติ

มิ.ย.-56

มี.ค.-57

3,000,000.00

พงศ์พริ ัชย์ เสนากลาง

หมายเหตุ : ผู้รับผิดชอบ หมายถึง บุคคลทีร่ ับผิดชอบมาตรการ

24


รายละเอียดมาตรการอนุรักษ์พลังงาน (สาหรับมาตรการด้านไฟฟ้า) 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7)

มาตรการลาดับที:่ .................1.......................... ชื่อมาตรการ: …… การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพักกลางวัน อาคาร Stock MC…............................... ผู้รับผิดชอบมาตรการ: คุณราชัน สนิทโต ตาแหน่ง .....ผชร.................. อุปกรณ์ทปี่ รับปรุง: ……….... หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ T5 (80 W)....................... จานวนอุปกรณ์ทปี่ รับปรุง: ……………….25 หลอด.................. สถานทีป่ รับปรุง: ……..............อาคาร Stock MC..................................................... สาเหตุการปรับปรุง: …….......พักกลางวันพนักงานไม่ปิดไฟ......................... กิโลวัตต์ 2.00 2.00

8) 9) 10) 11) 12)

เป้าหมายเชิงปริมาณ ระดับการใช้พลังงานอ้างอิงก่อนการปรับปรุง ระดับการใช้พลังงานเป้าหมายหลังการปรับปรุง เงินลงทุนทัง้ หมด ระยะเวลาคืนทุน

13)

รายละเอียดการดาเนินการปรับปรุง :

14)

ติดตั้ง Timmer ปิด-เปิด ไฟแสงสว่าง(จันทร์ -อาทิตย์) ปิดทีเ่ วลา 11.00 น. และ เปิดที่ เวลา 12.00 น. วิธีการตรวจสอบผลการประหยัดหลังปรับปรุง ตรวจดูจาก มิเตอร์ไฟฟ้า

15)

แสดงวิธีการคานวณประกอบ เอกสารแนบหน้าถัดไป

25

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี 624.00 14,976.00 14,352.00 3,115.00 1.43

บาท/ปี 2,184.00 52,416.00 50,232.00 บาท ปี


การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพักกลางวัน อาคาร Stock MC รายละเอียดการคานวณ รายการ

สัญลักษณ์

สูตร

FL T5 80 W

หน่วย

ชนิดหลอด

-

ข้อมูลสารวจ

FL

-

พิกัดหลอด

kW

ข้อมูลสารวจ

80

W

กาลังไฟฟ้า

dL

กาลังไฟฟ้าหลอด+บัลลสาต์

80

W

จานวนหลอด

N

ข้อมูลสารวจ

25

หลอด

ชั่วโมงที่เปิด

hr

ข้อมูลสารวจ

23

ชม./วัน

ชั่วโมงที่ปดิ ได้

hrSave

ข้อมูลสารวจ

1

ชม./วัน

วันทางาน

D

ข้อมูลสารวจ

312

วัน/ปี

เปอร์เซนต์การใช้งาน

%

ข้อมูลสารวจ

-

%

อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ย ปี 55

CE

ข้อมูลสารวจ

3.50

บาท/kWh

P

dL x N / 1000

2.00

kW

EBefore

P x hr x day

14,976.00

kWh/ปี

EAfter

P x hr x day

14,352.00

kWh/ปี

พลังงานไฟฟ้าที่ประหยัดได้

ESAVE

P x hrSave x %

ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้

MSAVE

ESAVE x CE

ข้อมูล

การคานวณ กาลังไฟฟ้า ก่อนการปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ก่อนการปรับปรุง หลังการปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้หลังการปรับปรุง

624.00 2,184.00

kWh/ปี

3,115.00 1.43

บาท

บาท/ปี

เงินลงทุน มีเงินลงทุน ระยะเวลาคืนทุน

หมายเหตุ : สามารถลดลงได้ ประมาณ 4.17% เมื่อเทียบกับปริมาณไฟฟ้าทีใ่ ช้ก่อนการปรับปรุง

26

ปี


รายละเอียดมาตรการอนุรกั ษ์พลังงาน (สาหรับมาตรการด้านไฟฟ้า) 1) มาตรการลาดับที:่ ...........2................................... 2) ชื่อมาตรการ: ……การเปลี่ยนโคมไฟ Fluorescent ขนาด 125 วัตต์ เป็นหลอดไฟแบบตะเกียบ ขนาด 80 วัตต์ ที่ อาคาร Stock MC............ สนิทโต..... ตาแหน่ง .........ผชร............. 3) ผู้รับผิดชอบมาตรการ: ......ราชัน 4) อุปกรณ์ทปี่ รับปรุง: ..............หลอดไฟแบบตะเกียบ ขนาด 80 วัตต์ .............. 5) จานวนอุปกรณ์ทปี่ รับปรุง: ............จานวน 25 หลอด............ 6) สถานทีป่ รับปรุง: ……. อาคาร Stock MC...................................... 7) สาเหตุการปรับปรุง: …ไม่มกี ารใช้พลังงานในช่วงพักกลางวัน......................... 8) 9) 10) 11) 12) 13)

กิโลวัตต์ 3.13 2.00

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี 8,424.00 23,400.00 14,976.00 0 0

เป้าหมายเชิงปริมาณ ระดับการใช้พลังงานอ้างอิงก่อนการปรับปรุง ระดับการใช้พลังงานเป้าหมายหลังการปรับปรุง เงินลงทุนทัง้ หมด ระยะเวลาคืนทุน รายละเอียดการดาเนินการปรับปรุง : ติดตั้ง Timmer เพื่อตั้งเวลาในการปิดเปิดไฟในบริเวณนี้ โดยจะปิดตั้งแต่ 12.00-13.00 น.

14) วิธีการตรวจสอบผลการประหยัดหลังปรับปรุง ตรวจดูจาก มิเตอร์ไฟฟ้า 15) แสดงวิธีการคานวณประกอบ เอกสารแนบหน้าถัดไป

27

บาท/ปี 29,484.00 81,900.00 52,416.00 บาท ปี


การเปลีย่ นโคมไฟ Fluorescent ขนาด 125 วัตต์ เป็นหลอดไฟแบบตะเกียบขนาด 80 วัตต์ ที่ อาคาร Stock MC รายละเอียดการคานวณ รายการ

สัญลักษณ์

สูตร

รายละเอียด

หน่วย

ชนิดหลอด

-

ข้อมูลสารวจ

FL

-

พิกัดหลอด

kW

ข้อมูลสารวจ

125

W

กาลังไฟฟ้า

dL

กาลังไฟฟ้าหลอด+บัลลสาต์

125

W

จานวนหลอด

N

ข้อมูลสารวจ

25

หลอด

ชนิดหลอด

-

ข้อมูลสารวจ

ตะเกียบ

-

พิกัดหลอด

kW

ข้อมูลสารวจ

80

W

กาลังไฟฟ้า

dL

กาลังไฟฟ้าหลอด+บัลลสาต์

80

W

จานวนหลอด

N

ข้อมูลสารวจ

25

หลอด

วันทางาน

D

ข้อมูลสารวจ

312

วัน/ปี

เปอร์เซนต์การใช้งาน

%

ข้อมูลสารวจ

-

%

อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ย ปี 55

CE

ข้อมูลสารวจ

3.50

บาท/kWh

กาลังไฟฟ้าก่อนปรับปรุง

P

dL x N / 1000

3.13

kW

กาลังไฟฟ้าหลังปรับปรุง

P

dL x N / 1001

2.00

kW

ก่อนการปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ก่อนการปรับปรุง

EBefore

P x hr x day

23,400.00

kWh/ปี

หลังการปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้หลังการปรับปรุง

EAfter

P x hr x day

14,976.00

kWh/ปี

พลังงานไฟฟ้าที่ประหยัดได้

ESAVE

P x hrSave x %

ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้

MSAVE

ESAVE x CE

ข้อมูล ก่อนปรับปรุง

หลังปรับปรุง

การคานวณ

8,424.00 29,484.00

kWh/ปี บาท/ปี

เงินลงทุน มีเงินลงทุน ระยะเวลาคืนทุน

0.00 0.00

หมายเหตุ : สามารถลดลงได้ ประมาณ 36.0% เมื่อเทียบกับปริมาณไฟฟ้าทีใ่ ช้ก่อนการปรับปรุง

28

บาท ปี


รายละเอียดมาตรการอนุรกั ษ์พลังงาน (สาหรับมาตรการด้านไฟฟ้า) 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13)

มาตรการลาดับที:่ ....................3......... ชื่อมาตรการ: ………การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพักกลางวัน อาคาร DI2..... ผู้รับผิดชอบมาตรการ: .....ราชัน สนิทโต................. ตาแหน่ง.......ผชร......... อุปกรณ์ทปี่ รับปรุง: ………...หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ T8 (184 W)..................................... จานวนอุปกรณ์ทปี่ รับปรุง: ...........21 หลอด................ สถานทีป่ รับปรุง: ……อาคาร DI2................................ สาเหตุการปรับปรุง: ............ไม่มกี ารใช้พลังงานในช่วงพักกลางวัน......... เป้าหมายเชิงปริมาณ ระดับการใช้พลังงานอ้างอิงก่อนการปรับปรุง ระดับการใช้พลังงานเป้าหมายหลังการปรับปรุง เงินลงทุนทัง้ หมด ระยะเวลาคืนทุน รายละเอียดการดาเนินการปรับปรุง :

กิโลวัตต์ 3.86 3.86

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี 1,205.57 28,933.63 27,728.06 3,665.00 0.87

บาท/ปี 4,219.49 101,267.71 97,048.21 บาท ปี

ติดตั้ง Timmer เพื่อตั้งเวลาในการปิดเปิดไฟในบริเวณนี้ โดยจะปิดตั้งแต่ 12.00-13.00 น. 14) วิธีการตรวจสอบผลการประหยัดหลังปรับปรุง ดูจาก Meter ไฟฟ้า 15) แสดงวิธีการคานวณประกอบ เอกสารแนบ หน้าถัดไป

29


การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพักกลางวัน อาคาร DI2 รายละเอียดการคานวณ รายการ

สัญลักษณ์

สูตร

FL T8 184 W

หน่วย

ชนิดหลอด

-

ข้อมูลสารวจ

FL

-

พิกัดหลอด

kW

ข้อมูลสารวจ

184

W

กาลังไฟฟ้า

dL

กาลังไฟฟ้าหลอด+บัลลสาต์

184

W

จานวนหลอด

N

ข้อมูลสารวจ

21

หลอด

ชั่วโมงที่เปิด ชั่วโมงที่ปดิ ได้

hr hrSave

ข้อมูลสารวจ ข้อมูลสารวจ

23 1

ชม./วัน ชม./วัน

วันทางาน

D

ข้อมูลสารวจ

312

วัน/ปี

เปอร์เซนต์การใช้งาน

%

ข้อมูลสารวจ

-

%

อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ย ปี 55

CE

ข้อมูลสารวจ

3.50

บาท/kWh

P

dL x N / 1000

3.86

kW

ก่อนการปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ก่อนการปรับปรุง

EBefore

P x hr x day

28,933.63

kWh/ปี

หลังการปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้หลังการปรับปรุง

EAfter

P x hr x day

27,728.06

kWh/ปี

พลังงานไฟฟ้าที่ประหยัดได้

ESAVE

P x hrSave x %

ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้

MSAVE

ESAVE x CE

ข้อมูล

การคานวณ กาลังไฟฟ้า

1,205.57 4,219.49

kWh/ปี บาท/ปี

เงินลงทุน มีเงินลงทุน ระยะเวลาคืนทุน หมายเหตุ : สามารถลดลงได้ ประมาณ 4.167% เมื่อเทียบกับปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ก่อนการปรับปรุง

30

3,665.00 0.87

บาท ปี


รายละเอียดมาตรการอนุรกั ษ์พลังงาน (สาหรับมาตรการด้านไฟฟ้า) 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13)

มาตรการลาดับที:่ ............4.............. ชื่อมาตรการ: ………การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพักกลางวัน อาคาร DI3 รวมพื้นที่ Mold...... ผู้รับผิดชอบมาตรการ: .......พงศ์พิรัชย์ เสนากลาง................ ตาแหน่ง......ผู้ชว่ ยผู้จัดการแผนกซ่อมบารุง อุปกรณ์ทปี่ รับปรุง: ………..หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ T5 (112 W)...................................... จานวนอุปกรณ์ทปี่ รับปรุง: ........24 หลอด.............. สถานทีป่ รับปรุง: …… อาคาร DI3 รวมพื้นที่ Mold...................................................... สาเหตุการปรับปรุง: ............ไม่มกี ารใช้พลังงานในช่วงพักกลางวัน......... เป้าหมายเชิงปริมาณ ระดับการใช้พลังงานอ้างอิงก่อนการปรับปรุง ระดับการใช้พลังงานเป้าหมายหลังการปรับปรุง เงินลงทุนทัง้ หมด ระยะเวลาคืนทุน รายละเอียดการดาเนินการปรับปรุง :

กิโลวัตต์ 2.69 2.69

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี 838.66 20,127.74 19,289.09 0.00 0.00

ติดตั้ง Timmer เพื่อตั้งเวลาในการปิดเปิดไฟในบริเวณนี้ โดยจะปิดตั้งแต่ 12.00-13.00 น. 14) วิธีการตรวจสอบผลการประหยัดหลังปรับปรุง ดูจาก Meter ไฟฟ้า 15) แสดงวิธีการคานวณประกอบ เอกสารแนบ หน้าถัดไป

31

บาท/ปี 2,935.30 70,447.09 67,511.82 บาท ปี


การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพักกลางวัน อาคาร DI3 รวมพื้นที่ Mold รายละเอียดการคานวณ รายการ

สัญลักษณ์

สูตร

FL T5 112 W

หน่วย

ชนิดหลอด

-

ข้อมูลสารวจ

FL

-

พิกัดหลอด

kW

ข้อมูลสารวจ

112

W

กาลังไฟฟ้า

dL

กาลังไฟฟ้าหลอด+บัลลสาต์

112

W

จานวนหลอด

N

ข้อมูลสารวจ

24

หลอด

ชั่วโมงที่เปิด ชั่วโมงที่ปดิ ได้

hr hrSave

ข้อมูลสารวจ ข้อมูลสารวจ

23 1

ชม./วัน ชม./วัน

วันทางาน

D

ข้อมูลสารวจ

312

วัน/ปี

เปอร์เซนต์การใช้งาน

%

ข้อมูลสารวจ

-

%

อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ย ปี 55

CE

ข้อมูลสารวจ

3.50

บาท/kWh

P

dL x N / 1000

2.69

kW

ก่อนการปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ก่อนการปรับปรุง

EBefore

P x hr x day

20,127.74

kWh/ปี

หลังการปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้หลังการปรับปรุง

EAfter

P x hr x day

19,289.09

kWh/ปี

พลังงานไฟฟ้าที่ประหยัดได้

ESAVE

P x hrSave x %

ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้

MSAVE

ESAVE x CE

ข้อมูล

การคานวณ กาลังไฟฟ้า

838.66 2,935.30

kWh/ปี บาท/ปี

เงินลงทุน มีเงินลงทุน

0.00

บาท

ระยะเวลาคืนทุน

0.00

ปี

หมายเหตุ : สามารถลดลงได้ ประมาณ 4.167% เมื่อเทียบกับปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ก่อนการปรับปรุง

32


รายละเอียดมาตรการอนุรกั ษ์พลังงาน (สาหรับมาตรการด้านไฟฟ้า) 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7)

8) 9) 10) 11) 12) 13)

มาตรการลาดับที:่ .........5......... ชื่อมาตรการ: ……การทดลองติดตั้งหลอด LED แทนการใช้หลอดผอม Fluorescent T8 ในห้องทางานแผนก MT…..... ผู้รับผิดชอบมาตรการ: .......พงศ์พิรัชย์ เสนากลาง................ ตาแหน่ง......ผช.ผู้จัดการแผนกซ่อมบารุง อุปกรณ์ทปี่ รับปรุง: ………...หลอด LED ( ขนาด 12 W)...................................... จานวนอุปกรณ์ทปี่ รับปรุง: ..........11 หลอด........... สถานทีป่ รับปรุง: ……...ห้องทางานแผนก MT............................ สาเหตุการปรับปรุง: …....ทดลองเปรียบเทียบผลประหยัดในการใช้หลอด LED แทนหลอดผอม Fluorescent T8 ............ กิโลวัตต์ 0.44 0.13

เป้าหมายเชิงปริมาณ ระดับการใช้พลังงานอ้างอิงก่อนการปรับปรุง ระดับการใช้พลังงานเป้าหมายหลังการปรับปรุง เงินลงทุนทัง้ หมด ระยะเวลาคืนทุน รายละเอียดการดาเนินการปรับปรุง :

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี 2,306.30 3,294.72 988.42 14,690.00 1.82

ทาการเปลี่ยนหลอดผอม Fluorescent T8 ทัง้ ทีห่ ลอดผอมยังไม่เสีย 14) วิธีการตรวจสอบผลการประหยัดหลังปรับปรุง ดูจาก Meter ไฟฟ้า 15) แสดงวิธีการคานวณประกอบ เอกสารแนบ หน้าถัดไป

33

บาท/ปี 8,072.06 11,531.52 3,459.47 บาท ปี


การทดลองติดตัง้ หลอด LED แทนการใช้หลอดผอม Fluorescent T8 ในห้องทางานแผนก MT รายละเอียดการคานวณ รายการ

สัญลักษณ์

สูตร

จานวน

หน่วย

ชนิดหลอด

-

ข้อมูลสารวจ

FL

-

พิกัดหลอด

kW

ข้อมูลสารวจ

40

W

กาลังไฟฟ้า

dL

กาลังไฟฟ้าหลอด+บัลลสาต์

40

W

จานวนหลอด

N

ข้อมูลสารวจ

11

หลอด

ชนิดหลอด

-

ข้อมูลสารวจ

LED

-

พิกัดหลอด

kW

ข้อมูลสารวจ

12

W

กาลังไฟฟ้า

dL

กาลังไฟฟ้าหลอด+บัลลสาต์

12

W

จานวนหลอด

N

ข้อมูลสารวจ

11

หลอด

วันทางาน

D

ข้อมูลสารวจ

312

วัน/ปี

เปอร์เซนต์การใช้งาน

%

ข้อมูลสารวจ

-

%

อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ย ปี 55

CE

ข้อมูลสารวจ

3.50

บาท/kWh

กาลังไฟฟ้าก่อนปรับปรุง

P

dL x N / 1000

0.44

kW

กาลังไฟฟ้าหลังปรับปรุง

P

dL x N / 1001

0.13

kW

ก่อนการปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ก่อนการปรับปรุง

EBefore

P x hr x day

3,294.72

kWh/ปี

หลังการปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้หลังการปรับปรุง

EAfter

P x hr x day

988.42

kWh/ปี

พลังงานไฟฟ้าที่ประหยัดได้

ESAVE

P x hrSave x %

ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้

MSAVE

ESAVE x CE

ข้อมูล ก่อนปรับปรุง

หลังปรับปรุง

การคานวณ

2,306.30 8,072.06

kWh/ปี บาท/ปี

เงินลงทุน มีเงินลงทุน ระยะเวลาคืนทุน

14,690.00 1.82

หมายเหตุ : สามารถลดลงได้ ประมาณ 70.00% เมื่อเทียบกับปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ก่อนการปรับปรุง

34

บาท ปี


รายละเอียดมาตรการอนุรกั ษ์พลังงาน (สาหรับมาตรการด้านไฟฟ้า) 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7)

8) 9) 10) 11) 12) 13)

มาตรการลาดับที:่ ..........6............. ชื่อมาตรการ: ........การติดตั้งตัวควบคุมอุณหภูมเิ พื่อควบคุมการทางานของใบพัด ในหอหล่อเย็น หมายเลข 2 (Cooling Tower#2)..... ผู้รับผิดชอบมาตรการ: .......พงศ์พิรัชย์ เสนากลาง................ ตาแหน่ง......ผช.ผู้จัดการแผนกซ่อมบารุง อุปกรณ์ทปี่ รับปรุง: ....ตัวควบคุมอุณหภูมเิ พื่อควบคุมการทางานของใบพัดหอหล่อเย็น หมายเลข 2........ จานวนอุปกรณ์ทปี่ รับปรุง: ......... 1 ชุด....... สถานทีป่ รับปรุง: …...หอหล่อเย็น หมายเลข 2 (Cooling Tower#2)........................................... สาเหตุการปรับปรุง: …ต้องเปิดพัดลมในหอหล่อเย็น ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้น้ามีความเย็นก่อนเข้าในระบบฉีด................. กิโลวัตต์ 1.49 1.49

เป้าหมายเชิงปริมาณ ระดับการใช้พลังงานอ้างอิงก่อนการปรับปรุง ระดับการใช้พลังงานเป้าหมายหลังการปรับปรุง เงินลงทุนทัง้ หมด ระยะเวลาคืนทุน รายละเอียดการดาเนินการปรับปรุง :

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี 5,064.68 10,241.09 5,064.68 0.00 0.00

ติดตั้งตัวควบคุมอุณหภูมิ เพื่อควบคุมการทางานของใบพัด ซึง่ ถ้าน้ามีอุณหภูมติ ามทีก่ าหนด ใบพัดจะไม่ทางาน 14) วิธีการตรวจสอบผลการประหยัดหลังปรับปรุง ดูจาก Meter ไฟฟ้า 15) แสดงวิธีการคานวณประกอบ เอกสารแนบ หน้าถัดไป

35

บาท/ปี 17,726.39 35,843.82 17,726.38 บาท ปี


การติดตัง้ ตัวควบคุมอุณหภูมิเพื่อควบคุมการทางานของใบพัดในหอหล่อเย็น หมายเลข 2 (Cooling Tower#2) รายละเอียดการคานวณ รายการ ข้อมูล ชนิด พัดลม พิกดั พัดลม กาลังไฟฟ้า จานวนพัดลม ชั่วโมงทีเ่ ปิดก่อนปรับปรุง ชั่วโมงทีเ่ ปิดหลังปรับปรุง วันทางาน เปอร์เซนต์การใช้งาน อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ย ปี 55 การคานวณ

สัญลักษณ์

สูตร

FL T5 1492 W

หน่วย

kW dL N hr hr D % CE

ข้อมูลสารวจ ข้อมูลสารวจ กาลังไฟฟ้า+บัลลสาต์ ข้อมูลสารวจ ข้อมูลสารวจ ข้อมูลสารวจ ข้อมูลสารวจ ข้อมูลสารวจ ข้อมูลสารวจ

FL 1,492 1,492 1 22 11 312 3.50

W W ตัว ชม./วัน ชม./วัน วัน/ปี % บาท/kWh

กาลังไฟฟ้า ก่อนการปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าทีใ่ ช้กอ่ นการปรับปรุง

P

dL x N / 1000

1.49

kW

EBefore

P x hr x day

10,241.09

kWh/ปี

หลังการปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าทีใ่ ช้หลังการปรับปรุง

EAfter

P x hr x day

5,064.68

kWh/ปี

พลังงานไฟฟ้าทีป่ ระหยัดได้ ค่าไฟฟ้าทีป่ ระหยัดได้

ESAVE MSAVE

P x hrSave x % ESAVE x CE

5,064.68 17,726.39

kWh/ปี บาท/ปี

เงินลงทุน มีเงินลงทุน 0.00 ระยะเวลาคืนทุน 0.00 หมายเหตุ : สามารถลดลงได้ ประมาณ 49.45% เมื่อเทียบกับปริมาณไฟฟ้าทีใ่ ช้ก่อนการปรับปรุง

36

บาท ปี


รายละเอียดมาตรการอนุรกั ษ์พลังงาน (สาหรับมาตรการด้านความร้อน) 1) มาตรการลาดับที:่ .....................1............................... 2) ชื่อมาตรการ: ..........การเปลี่ยนวิธีการหลอมจากการใช้เตาหลอมเดี่ยวประเภทเตา Crusible มาเป็นเตาหลอมรวม ( Holding Center)....... 3) 4) 5) 6) 7)

8) 9) 10) 11) 12) 13)

ผู้รับผิดชอบมาตรการ: .......พงศ์พิรัชย์ เสนากลาง................ ตาแหน่ง......ผช.ผู้จัดการแผนกซ่อมบารุง อุปกรณ์ทปี่ รับปรุง: ………เตาหลอมรวม (Holding Center)…....................... จานวนอุปกรณ์ทปี่ รับปรุง: …………..1 ชุด............... สถานทีป่ รับปรุง: …......…เครื่อง DI11,12,13,17,18 และ 19 อาคาร DI2................ สาเหตุการปรับปรุง: มีการใช้แก๊ส NG ปริมาณมาก เนื่องจากต้องใช้ในการหลอมอลูมเิ นียมหลายจุด MMBTU/ปี 789.70 2,016.72 1,227.02

เป้าหมายเชิงปริมาณ ระดับการใช้พลังงานอ้างอิงก่อนการปรับปรุง ระดับการใช้พลังงานเป้าหมายหลังการปรับปรุง เงินลงทุนทัง้ หมด ระยะเวลาคืนทุน รายละเอียดการดาเนินการปรับปรุง :

เมกะจูล/ปี 833,133.50 2,127,639.60 1,294,506.10 3,000,000 9.02

บาท/ปี 332,774.22 849,825.64 517,053.96 บาท ปี

ติดตั้งเตาจากพหลอมรวม (Holding Center) 1 ชุด แล้วนาเตาหลอมเดี่ยวประเภทเตา Crusible จานวน 6 เตา ออกจากพื้นที่ 14) วิธีการตรวจสอบผลการประหยัดหลังปรับปรุง ใช้ Flow Meter เพื่อวัดปริมาณการใช้ก๊าซ ในแต่ละช่วงเวลาของแต่ละเครื่อง 15) แสดงวิธีการคานวณประกอบ เอกสารแนบ หน้าถัดไป

37


การเปลี่ยนวิธีการหลอมจากการใช้เตาหลอมเดี่ยวประเภทเตา Crusible มาเป็นเตา หลอมรวม ( Holding Center) แสดงวิธีการคานวณประกอบ (ก่อนปรับปรุง) เตา Crucible ของเครือ่ ง DI11, DI12, DI13,DI17,DI18,DI19

หน่วย

เวลาทางาน

24

ชั่วโมง/วัน

จานวนวันทางาน

60

วัน/ปี

ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ต่อวัน

33.61

(MMBTU/วัน)

ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ต่อปี

2,016.72

(MMBTU/ปี)

เวลาทางาน

24

ชั่วโมง/วัน

จานวนวันทางาน

60

วัน/ปี

ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ต่อวัน

20.45

(MMBTU/วัน)

ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ต่อปี

1,227.02

(MMBTU/ปี)

421.39

บาท/MMBTU

789.71 332,774.22

(MMBTU/ปี)

3,000,000.00

บาท

9.02

ปี

(หลังปรับปรุง) เตา Center

สรุปประหยัดได้ อัตราค่าเชื้อเพลิงเฉลี่ย ปี 55 คิดเป็นปริมาณเชื้อเพลิงที่ลดลง คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ต่อปี

(บาท/ปี)

เงินลงทุน มีเงินลงทุน ระยะเวลาคืนทุน

หมายเหตุ : สามารถลดลงได้ ประมาณ 39.16% เมื่อเทียบกับปริมาณเชื้อเพลิงทีใ่ ช้ก่อนการปรับปรุง

38


5.2 แผนการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ตารางที่ 5.4 แผนการฝึกอบรมการอนุรักษ์พลังงาน ประจาปี 2556 ลาดับที่

หลักสูตร

กลุม่ ผูเ้ ข้าอบรม

เดือน จานวนผู้ เข้าอบรม เม.ย.-56 พ.ค.-56 มิ.ย.-56 ก.ค.-56 ส.ค.-56 ก.ย.-56 ต.ค.-56 พ.ย.-56 ธ.ค.-56 ม.ค.-57 ก.พ.-57 มี.ค.-57

ผูร้ ับผิดชอบ

1

การใช้ก๊าซธรรมชาติอย่างปลอดภัยในโรงงาน

แผนก MT และ DI

20

คุณเพ็ญอาภา บุญมาดี

2

เจาะลึก ISO 50001 : 2011 การจัดการพลังงาน และ ISO 14001 New Version

ผูด้ ูแลด้านพลังงาน

2

คุณรุจิรัตน์ สราญฤทธิชัย

3

สัมมนาเผยแพร่ความรู้และผลการดาเนินงาน โครงการการตรวจประเมินเพือ่ รับรองระบบการจัด การพลังงาน (Energy Management System)

ผูร้ ับผิดชอบพลังงาน

1

คุณรุจิรัตน์ สราญฤทธิชัย

5

การสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์พลังงานพืน้ ฐาน สาหรับพนักงาน

ทุกแผนก

400

คุณรุจิรัตน์ สราญฤทธิชัย

ตารางที่ 5.5 แผนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ประจาปี 2556 เดือน จานวน ผูเ้ ข้าร่วม ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม กิจกรรมฯ เม.ย.-56 พ.ค.-56 มิ.ย.-56 ก.ค.-56 ส.ค.-56 ก.ย.-56 ต.ค.-56 พ.ย.-56 ธ.ค.-56 ม.ค.-57 ก.พ.-57 มี.ค.-57 กลุม่

ลาดับที่

กิจกรรม

ผูร้ ับผิดชอบ

1

จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์การอนุรักษ์พลังงาน

ทุกแผนก

300-380

คุณเสาวรส คาไพรินทร์

2

จัดกิจกรรมวัน Safety CSR & Energy Day Y13

ทุกแผนก

250-380

คุณเพ็ญอาภา บุญมาดี

3

กิจกรรมผูบ้ ริหารพบพนักงาน

ทุกแผนก

250-380

คุณเนาวรัตน์ บุตรเรียง

4

กิจกรรม Morning Talk

ทุกแผนก

250-380

ผจก.ทุกแผนก

5

เดินรณรงค์การร่วมกิจกรรมลดการใช้พลังงานในช่วง วิกฤตพลังงาน ตัง้ แต่วันที่ 5 -14 เม.ย. 56

ทุกแผนก

250-380

คุณรุจิรัตน์ สราญฤทธิชัย

6

จัดทาคอลัมภ์การประหยัดพลังงานในวารสาร SDT NEWS

ทุกแผนก

250-380

คุณรุจิรัตน์ สราญฤทธิชัย

หมายเหตุ : ผู้รับผิดชอบ หมายถึง บุคคลที่รับผิดชอบหลักสูตร/กิจกรรม 39


5.3 การเผยแพร่แผนการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน เพือ่ ให้พนักงานทุกคนรับทราบและเข้าร่วมดาเนินการตามแผนฝึกอบรมและกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงานขององค์กร โดยโรงงานได้ดาเนินการเผยแพร่และดาเนินการดังต่อไปนี้ วิธกี ารเผยแพร่แผนการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน ติดประกาศ โปสเตอร์ จานวนติดประกาศ ….. แห่ง จานวนติดประกาศ ….. แห่ง เอกสารเผยแพร่ การจัดอบรมภายในบริษัท แผ่นพับ/วารสาร ..1....ฉบับ ปีละ …2... ครั้ง จดหมายอิเล็คทรอนิกส์ การประชุมพนักงาน เดือนละ ...1... ครั้ง จานวนผู้ได้รบั ….. คน ระดับของผู้ได้รบั ……. อื่นๆ (ระบุ) ……จัดกิจกรรม Safety CSR & Energy Day …….. เอกสาร หลักฐานต่างๆ ที่แสดงถึงการเผยแพร่แผนการฝึกอบรม

(ก) .......การจัดกิจกรรม Morning Talk.............

(ข) ......ประชุมผู้บริหารพบพนักงานทุกเดือน.................... รูปที่ 5-1 เผยแพร่แผนการฝึกอบรม หมายเหตุ : กรณีมีวธิ กี ารเผยแพร่มากกว่า 2 วิธกี าร โรงงานสามารถเพิ่มจานวนการแสดงเอกสาร หลักฐานรูปภาพต่างๆเพิ่มเติม 40


เอกสาร หลักฐานต่างๆ ที่แสดงถึงการเผยแพร่แผนกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน

(ก) .......จัดทาวารสาร SDT NEWS รายเดือนเมษายน 2556...

(ข) ......จัดกิจกรรม Safety CSR & Enery day วันที่ 8 ตุลาคม 2556........

(ค) ......เดินรณรงค์กจิกรรมลดการใช้พลังงานในช่วงวิกฤตพลังงาน วันที่ 5-14 เมษายน 2556........ รูปที่ 5-2 เผยแพร่แผนกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน หมายเหตุ : กรณีมีวธิ กี ารเผยแพร่มากกว่า 2 วิธกี าร โรงงานสามารถเพิ่มจานวนการแสดงเอกสาร หลักฐานรูปภาพต่างๆเพิ่มเติม 41


ขัน้ ตอนที่ 6 การดาเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน การตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบตั ติ าม เป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน และแผนการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน 6.1 สรุปผลการติดตามการดาเนินการของมาตรการอนุรักษ์พลังงาน คณะทางานด้านการจัดการพลังงานได้ดาเนินการติดตามความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานตามแผนและมาตรการ อนุรักษ์พลังงาน โดยผลการดาเนินการสรุปได้ดังต่อไปนี้ ลาดับที่

ตารางที่ 6.1 สรุปผลการติดตามการดาเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน มาตรการ สถานภาพการดาเนินการ

1

การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพัก กลางวันของอาคาร Stock MC

2

การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพัก กลางวันของอาคาร DI2

3

การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพัก กลางวันของอาคาร D3และ MT

4

การเปลี่ยนหลอด Fluorescent 125 W เป็นหลอดตะเกียบ 80 W ของอาคาร Stock MC

5

การติดตั้งตัวควบคุมอุณหภูมิเพื่อ ควบคุมการทางานของใบพัดของ หอหล่อเย็น (Cooling Tower)

6

การเปลี่ยนหลอด LED ทดแทน การใช้หลอด Fluorescent T8 ในห้องทางานแผนก MT

7

การเปลี่ยนวิธีการหลอมโดยใช้ เตาหลอมเดี่ยวประเภทเตา Crusible มาเป็นเตาหลอมรวม ( Holding Center)

หมายเหตุ

ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ล่าช้า เนื่องจาก..........……...............…………. ............................................................................... ............................................................................... ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก.................................. ............................................................................... ............................................................................... ล่าช้า เนื่องจาก..........……...............…………. ............................................................................... ............................................................................... ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก.................................. ............................................................................... ............................................................................... ล่าช้า เนื่องจาก..........……...............…………. ............................................................................... ............................................................................... ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก.................................. ............................................................................... ............................................................................... ล่าช้า เนื่องจาก..........……...............…………. ............................................................................... ............................................................................... ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก.................................. ............................................................................... ............................................................................... ล่าช้า เนื่องจาก..........……...............…………. ............................................................................... ............................................................................... ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก.................................. ............................................................................... ............................................................................... ล่าช้า เนื่องจาก..........……...............…………. ............................................................................... ............................................................................... ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก.................................. ............................................................................... ............................................................................... ล่าช้า เนื่องจาก..........……...............…………. ............................................................................... ............................................................................... 42


ตรวจสอบการปฎิบตั ติ ามเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงาน ตารางที่ 6.2 สรุปผลการตรวจสอบการปฎิบัตติ ามเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงาน

การติดตามการดาเนินการ

แผนการอนุรักษ์พลังงาน ตามเป้าหมาย

ผลการอนุรักษ์พลังงานที่ เกิดขึ้นจริง

2

17.71

ร้อยละทีล่ ดลงของปริมาณพลังงานที่ ใช้เดิม ระดับของค่าการใช้พลังงานต่อหน่วย ผลผลิต ที่ 1 ระดับของค่าการใช้พลังงานต่อหน่วย ผลผลิต ที่ 2 ระดับของค่าการใช้พลังงานต่อหน่วย ผลผลิต ที่ 3 ระดับของค่าการใช้พลังงานต่อหน่วย ผลผลิต ที่ …….

43


ตารางที่ 6.3 ผลการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์พลังงาน สาหรับมาตรการด้านไฟฟ้า ชื่อมาตรการ: …....การปิดไฟแสงสว่างช่วงพักกลางวัน อาคาร Stock MC......................... มาตรการลาดับที:่ .....................1....................................... จากจานวนทัง้ หมด: ระยะเวลาดาเนินการ ตามแผนดาเนินการ

ที่เกิดขึ้นจริง

เม.ย.56- มี.ค.57 เม.ย.56- มี.ค.57

สถานภาพการ ดาเนินการ

ผลการอนุรักษ์พลังงาน

เงินลงทุน ตามแผน(บาท)

ลงทุนจริง (บาท)

ดาเนินการแล้ว 3,000.00 3,115.00 เสร็จตามแผนงาน

.......6.......... มาตรการ

ตามเป้าหมาย

ทีเ่ กิดขึ้นจริง

ไฟฟ้า

ไฟฟ้า

กิโลวัตต์

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี

บาท/ปี

กิโลวัตต์

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี

บาท/ปี

2.00

624.00

2,184.00

2.00

624.00

2,184.00

หมายเหตุ: ระบุมาตรการเรียงตามลาดับ โดยกรอก 1 แผ่น ต่อ 1 มาตรการ

ปัญหาและอุปสรรคทีเ่ กิดขึ้นระหว่างดาเนินการ: ไม่มีปัญหาใดๆ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ: ควรจัดทาแผนการตรวจสอบตัว Timmer เดือนละ 1 ครั้ง เพือ่ ป้องกันการทางานผิดปกติของ Timmer

44


ตารางที่ 6.3 ผลการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์พลังงาน สาหรับมาตรการด้านไฟฟ้า ชื่อมาตรการ: …...การเปลี่ยนโคมไฟ Fluorescent ขนาด 125 วัตต์ เป็นหลอดไฟแบบตะเกียบขนาด 80 วัตต์ ที่ อาคาร Stock MC มาตรการลาดับที:่ ....................2................................................... ........6........ มาตรการ จากจานวนทัง้ หมด: ระยะเวลาดาเนินการ ตามแผนดาเนินการ

ที่เกิดขึ้นจริง

เม.ย.56- มี.ค.57 เม.ย.56- มี.ค.57

สถานภาพการ ดาเนินการ

ดาเนินการแล้ว เสร็จตามแผนงาน

ผลการอนุรักษ์พลังงาน

เงินลงทุน ตามแผน(บาท)

0.00

ลงทุนจริง (บาท)

0.00

ตามเป้าหมาย

ทีเ่ กิดขึ้นจริง

ไฟฟ้า

ไฟฟ้า

กิโลวัตต์

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี

บาท/ปี

กิโลวัตต์

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี

บาท/ปี

2.00

6,318.00

22,113.00

2.00

6,318.00

22,113.00

หมายเหตุ: ระบุมาตรการเรียงตามลาดับ โดยกรอก 1 แผ่น ต่อ 1 มาตรการ

ปัญหาและอุปสรรคทีเ่ กิดขึ้นระหว่างดาเนินการ: - ในบางวันทีอ่ ากาศมืดครึ้มหรือฝนตก จะปิดไฟ 20-24 ชั่วโมงต่อวัน แต่จะเป็นในบางเดือนเท่านั้น ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ: - ควรลดการเปิดไฟฟ้าในช่วงตอนกลางวันลง โดยกาหนดเวลาปิด-เปิด ตั้งแต่ 18.00-6.00 น. เท่านั้น

45


ตารางที่ 6.3 ผลการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์พลังงาน สาหรับมาตรการด้านไฟฟ้า ชื่อมาตรการ: …..........การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพักกลางวัน อาคาร DI2..................... มาตรการลาดับที:่ ........................3............................................... จากจานวนทัง้ หมด: ระยะเวลาดาเนินการ ตามแผนดาเนินการ

ที่เกิดขึ้นจริง

เม.ย.56- มี.ค.57 เม.ย.56- มี.ค.57

สถานภาพการ ดาเนินการ

มาตรการ

ผลการอนุรักษ์พลังงาน

เงินลงทุน ตามแผน(บาท) ลงทุนจริง (บาท)

ดาเนินการแล้ว 3,000.00 3,665.00 เสร็จตามแผนงาน

........6........

ตามเป้าหมาย

ทีเ่ กิดขึ้นจริง

ไฟฟ้า

ไฟฟ้า

กิโลวัตต์

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี

บาท/ปี

กิโลวัตต์

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี

บาท/ปี

3.86

1,205.57

4,219.49

3.86

1,205.57

4,219.49

หมายเหตุ: ระบุมาตรการเรียงตามลาดับ โดยกรอก 1 แผ่น ต่อ 1 มาตรการ

ปัญหาและอุปสรรคทีเ่ กิดขึ้นระหว่างดาเนินการ: ไม่พบปัญหาใดๆ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ: ควรจัดทาแผนการตรวจสอบตัว Timmer เดือนละ 1 ครั้ง เพือ่ ป้องกันการทางานผิดปกติของ Timmer

46


ตารางที่ 6.3 ผลการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์พลังงาน สาหรับมาตรการด้านไฟฟ้า ชื่อมาตรการ: …...........การปิดไฟฟ้าแสงสว่างช่วงพักกลางวัน อาคาร DI3 รวมพืน้ ที่ Mold................. มาตรการลาดับที:่ ........................4............................................... จากจานวนทัง้ หมด: ระยะเวลาดาเนินการ ตามแผนดาเนินการ

ที่เกิดขึ้นจริง

เม.ย.56- มี.ค.57 เม.ย.56- มี.ค.57

สถานภาพการ ดาเนินการ

ดาเนินการแล้ว เสร็จตามแผนงาน

ตามแผน(บาท) ลงทุนจริง (บาท)

0.00

มาตรการ

ผลการอนุรักษ์พลังงาน

เงินลงทุน

0.00

........6........

ตามเป้าหมาย

ทีเ่ กิดขึ้นจริง

ไฟฟ้า

ไฟฟ้า

กิโลวัตต์

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี

บาท/ปี

กิโลวัตต์

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี

บาท/ปี

2.69

838.66

2,935.30

2.69

838.66

2,935.30

หมายเหตุ: ระบุมาตรการเรียงตามลาดับ โดยกรอก 1 แผ่น ต่อ 1 มาตรการ

ปัญหาและอุปสรรคทีเ่ กิดขึ้นระหว่างดาเนินการ: ไม่พบปัญหาใดๆ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ: ควรจัดทาแผนการตรวจสอบตัว Timmer เดือนละ 1 ครั้ง เพือ่ ป้องกันการทางานผิดปกติของ Timmer

47


ตารางที่ 6.3 ผลการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์พลังงาน สาหรับมาตรการด้านไฟฟ้า ชื่อมาตรการ: …...........การทดลองติดตั้งหลอด LED แทนการใช้หลอดผอม Fluorescent T8 ในห้องทางานแผนก MT…………… มาตรการลาดับที:่ ........................5............................................... ........6........ จากจานวนทัง้ หมด: ระยะเวลาดาเนินการ ตามแผนดาเนินการ

ที่เกิดขึ้นจริง

เม.ย.56- มี.ค.57 มิ.ย.56-ม.ค.57

สถานภาพการ ดาเนินการ

ผลการอนุรักษ์พลังงาน

เงินลงทุน ตามแผน(บาท) ลงทุนจริง (บาท)

ดาเนินการแล้ว 10,000.00 14,690.00 เสร็จตามแผนงาน

มาตรการ

ตามเป้าหมาย

ทีเ่ กิดขึ้นจริง

ไฟฟ้า

ไฟฟ้า

กิโลวัตต์

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี

บาท/ปี

กิโลวัตต์

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี

บาท/ปี

0.13

2,306.30

8,072.06

0.13

2,306.30

8,072.06

หมายเหตุ: ระบุมาตรการเรียงตามลาดับ โดยกรอก 1 แผ่น ต่อ 1 มาตรการ

ปัญหาและอุปสรรคทีเ่ กิดขึ้นระหว่างดาเนินการ: ไม่พบปัญหาใดๆ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ: - ในการปฏิบัติงานจริง ควรเปลี่ยนเป็นหลอด LED เมื่อหลอดไฟ Fluorescent T8 เสีย เพือ่ เป็นการทะยอยลดการลงทุนลง

48


ตารางที่ 6.3 ผลการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์พลังงาน สาหรับมาตรการด้านไฟฟ้า ชื่อมาตรการ: …..........การติดตั้งตัวควบคุมอุณหภูมิเพือ่ ควบคุมการทางานของใบพัดในหอหล่อเย็น หมายเลข 2 (Cooling Tower#2)………. มาตรการลาดับที:่ ........................6............................................... ........6........ มาตรการ จากจานวนทัง้ หมด: ระยะเวลาดาเนินการ ตามแผนดาเนินการ

ที่เกิดขึ้นจริง

เม.ย.56- มี.ค.57 พ.ค.56- มี.ค.57

สถานภาพการ ดาเนินการ

ดาเนินการแล้ว เสร็จตามแผนงาน

ผลการอนุรักษ์พลังงาน

เงินลงทุน ตามแผน(บาท) ลงทุนจริง (บาท)

0.00

0.00

ตามเป้าหมาย

ทีเ่ กิดขึ้นจริง

ไฟฟ้า

ไฟฟ้า

กิโลวัตต์

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี

บาท/ปี

กิโลวัตต์

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี

บาท/ปี

1.49

5,120.54

17,921.90

1.49

5,120.54

17,921.90

หมายเหตุ: ระบุมาตรการเรียงตามลาดับ โดยกรอก 1 แผ่น ต่อ 1 มาตรการ

ปัญหาและอุปสรรคทีเ่ กิดขึ้นระหว่างดาเนินการ: ไม่พบปัญหาใดๆ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ: ควรจัดทาแผนการตรวจสอบเครื่องควบคุมอุณหภูมิ เดือนละ 1 ครั้ง เพือ่ ป้องกันการทางานผิดปกติของเครื่อง

49


ตารางที่ 6.4 ผลการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์พลังงาน สาหรับมาตรการด้านความร้อน ชื่อมาตรการ: ….........การเปลี่ยนการหลอมอลูมิเนียมจากเตา Crucible มาเป็นเตาแบบ Center.............. มาตรการลาดับที:่ ...................................1................................................. จากจานวนทัง้ หมด: ระยะเวลาดาเนินการ ตามแผนดาเนินการ

ที่เกิดขึ้นจริง

มิ.ย.56- มี.ค.57 ต.ค.56-มี.ค.57

สถานภาพการ ดาเนินการ

ผลการอนุรักษ์พลังงาน

เงินลงทุน ตามแผน

ลงทุนจริง (บาท)

ดาเนินการแล้ว 3,000,000.00 3,000,000.00 เสร็จตามแผนงาน

........1........... มาตรการ

ตามเป้าหมาย

ทีเ่ กิดขึ้นจริง

เชื้อเพลิง

เชื้อเพลิง

ชนิด

ปริมาณ (MMBTU/ปี)

บาท/ปี

ชนิด

ปริมาณ (MMBTU/ปี)

บาท/ปี

NG

789.71

332,774.22

NG

789.71

332,774.22

หมายเหตุ: ระบุมาตรการเรียงตามลาดับ โดยกรอก 1 แผ่น ต่อ 1 มาตรการ

ปัญหาและอุปสรรคทีเ่ กิดขึ้นระหว่างดาเนินการ: - เครื่องวัดประสิทธิภาพแก๊ส เกิดการ Error ทาให้ผลการตรวจวัดผิดพลาดในบางครั้ง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ: - ควร Calibrate เครื่องวัดประสิทธิภาพ ปีละ 1 ครั้ง เพือ่ ป้องกันการ Error

50


6.2 ผลการติดตามการดาเนินงานของแผนการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ตารางที่ 6.5 สรุปสถานภาพการดาเนินงานตามหลักสูตรแผนการฝึกอบรม ลาดับที่

1

2

สถานภาพการดาเนินการ

ชื่อหลักสูตรการฝึกอบรม

จานวนผู้เข้า อบรม

ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก .................................. การใช้ก๊าซธรรมชาติอย่างปลอดภัยในโรงงาน ............................................................................... 12 ............................................................................... ล่าช้า เนื่องจาก ..........……...............…………. ............................................................................... ............................................................................... ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก .................................. ล่าช้า เนื่องจาก

เจาะลึก ISO 50001 : 2011 การจัด การพลังงานและ ISO 14001 New Version

1

..........……...............…………. ............................................................................... ...............................................................................

3

4

สัมมนาเผยแพร่ความรู้และผลการดาเนินงาน โครงการการตรวจประเมินเพื่อรับรองระบบ การจัดการพลังงาน (Energy Management System)

ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก .................................. ล่าช้า เนื่องจาก

2

..........……...............…………. ............................................................................... ............................................................................... ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก .................................. ล่าช้า เนื่องจาก

การสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์พลังงาน พื้นฐานสาหรับพนักงาน

320

..........……...............…………. ............................................................................... ............................................................................... ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก .................................. ล่าช้า เนื่องจาก ..........……...............…………. ............................................................................... ...............................................................................

51

หมายเหตุ อบรมเมื่อ วันที่ 22 พ.ค. 56

อบรมเมื่อ วันที่ 31 ก.ค. 56 อบรมเมื่อ วันที่ 16 ต.ค. 56 อบรมเมื่อ วันที่ 1 เม.ย.-31 พ.ค. 56


6.2 ผลการติดตามการดาเนินงานของแผนการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ตารางที่ 6.6 สรุปสถานภาพการดาเนินงานตามแผนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ลาดับที่

ชื่อกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การอนุรักษ์พลังงาน

สถานภาพการดาเนินการ

จานวน ผู้เข้าร่วม กิจกรรมฯ

หมายเหตุ

ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก 1

จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์การ ............................................................................... ............................................................................... อนุรักษ์พลังงาน ล่าช้า เนื่องจาก..........……...............………….

380

............................................................................... ............................................................................... ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก

2

จัดกิจกรรมวัน Safety CSR & ............................................................................... ............................................................................... Energy Day Y13 ล่าช้า เนื่องจาก..........……...............………….

230

............................................................................... ............................................................................... ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก 3

กิจกรรมผูบ้ ริหารพบพนักงาน ............................................................................... ...............................................................................

280

ล่าช้า เนื่องจาก..........……...............…………. ............................................................................... ............................................................................... ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก 4

กิจกรรม Morning Talk

............................................................................... ...............................................................................

380

ล่าช้า เนื่องจาก..........……...............………….

5

6

............................................................................... ............................................................................... ดาเนินการตามแผน เดินรณรงค์การร่วมกิจกรรม ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก ลดการใช้พลังงานในช่วงวิกฤต ............................................................................... ............................................................................... พลังงาน ตั้งแต่วันที่ 5 -14 ล่าช้า เนื่องจาก..........……...............…………. เม.ย. 56 ............................................................................... ............................................................................... ดาเนินการตามแผน ไม่ได้ดาเนินการ เนื่องจาก จัดทาคอลัมภ์การประหยัด ............................................................................... ............................................................................... พลังงานในวารสาร SDT ล่าช้า เนื่องจาก..........……...............…………. ............................................................................... ...............................................................................

หมายเหตุ : กรณีมีแผนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน มากกว่าลาดับที่กาหนดสามารถเพิ่มเติมได้ 52

380

380

มีพนักงาน บางส่วนเข้ากะดึก ไม่สามารถเข้า ร่วมประชุมได้

มีพนักงาน บางส่วนเข้ากะดึก ไม่สามารถเข้า ร่วมประชุมได้


ขั้นตอนที่ 7 การตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงาน 7.1 คณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร การแต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร

รูปที่ 7-1 คาสั่งแต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร หมายเหตุ โปรดแนบสาเนาคาสั่งแต่งตั้ง

53


7.2 การเผยแพร่ คณะผูต้ รวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร เพือ่ ให้พนักงานทุกคนรับทราบ คาสั่งแต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร โดย โรงงานได้ดาเนินการเผยแพร่และดาเนินการดังต่อไปนี้ วิธกี ารเผยแพร่คณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร ติดประกาศ จานวนติดประกาศ …5.. แห่ง เอกสารเผยแพร่ แผ่นพับ/วารสาร ….......ฉบับ จดหมายอิเล็คทรอนิกส์ จานวนผู้ได้รบั …53.. คน ระดับของผู้ได้รบั ตั้งแต่ Supervisor ขึ้นไป……. อื่นๆ (ระบุ) ……………..

โปสเตอร์ จานวนติดประกาศ ….. แห่ง เสียงตามสาย สัปดาห์ละ ….. ครั้ง ช่วงเวลา…... การประชุมพนักงาน เดือนละ …1..... ครั้ง

หลักฐานหรือเอกสารต่างๆ ทีแ่ สดงถึงการเผยแพร่คณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร ให้กบั พนักงานใน องค์กรได้รบั ทราบอย่างทัว่ ถึง

.

(ก) .....ติดประกาศและจัดบอร์ดทีบ่ ริเวณสวน Relex และหน้าแผนกต่างๆ จานวน 5 แห่ง..

(ข) .......จดหมายอิเล็คทรอนิกส์.....................

(ค) .....การประชุมพนักงาน เดือนละ 1 ครั้ง.....

รูปที่ 7-2 เผยแพร่คาสั่งแต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร หมายเหตุ : กรณีมีวธิ กี ารเผยแพร่มากกว่า 2 วิธกี าร โรงงานสามารถเพิม่ จานวนการแสดงเอกสาร หลักฐานรูปภาพต่างๆเพิม่ เติม

54


7.3 ผลการตรวจประเมินภายใน ตารางที่ 7.1 การตรวจติดตามการดาเนินการจัดการพลังงาน

ข้อกาหนด

สิ่งที่ต้องมีเอกสาร/หลักฐาน

ผลการตรวจสอบ

มี 1. คณะทางานด้านการจัด การพลังงาน

ไม่มี

ความถูกต้องครบถ้วนตาม ข้อกาหนด

ครบ

1. คาสั่งแต่งตั้งคณะทางานด้านการจัดการพลังงาน ที่ระบุโครงสร้าง อานาจ หน้าที่และความ รับผิดชอบของคณะทางาน

P

P

2. เอกสารที่แสดงถึงการเผยแพร่คาสั่งแต่งตั้ง คณะทางานด้านการจัดการพลังงานให้บคุ ลากร รับทราบด้วยวิธกี ารต่างๆ

P

P

P

P

P

P

P

P

3. อื่น ๆ (ระบุ) .................................................... 2. การประเมินสถานภาพการ 1. ผลการประเมินการดาเนินงานด้านพลังงานที่ จัดการพลังงานเบื้องต้น ผ่านมา โดยใช้ ตารางการประเมินการจัด การพลังงาน (Energy Management Matrix) 2. อื่น ๆ (ระบุ) .................................................... 3. นโยบายอนุรักษ์พลังงาน

1. นโยบายอนุรักษ์พลังงาน 2. เอกสารที่แสดงถึงการเผยแพร่นโยบายอนุรักษ์ พลังงานให้บคุ ลากรรับทราบด้วยวิธกี ารต่างๆ 3. อื่น ๆ (ระบุ) ....................................................

55

ไม่ครบ

ข้อควรปรับปรุง/ข้อเสนอแนะ


ตารางที่ 7.1 การตรวจติดตามการดาเนินการจัดการพลังงาน ข้อกาหนด 4. การประเมินศักยภาพการ อนุรักษ์พลังงาน

สิง่ ทีต่ ้องมีเอกสาร/หลักฐาน

ผลการตรวจสอบ ไม่มี

ความถูกต้องครบถ้วน ตามข้อกาหนด ครบ P

ข้อควรปรับปรุง/ข้อเสนอแนะ

1. การประเมินการใช้พลังงานระดับองค์กร

มี P

ไม่ครบ

2. การประเมินการใช้พลังงานระดับผลิตภัณฑ์

P

P

3. การประเมินการใช้พลังงานระดับเครือ่ งจักร/อุปกรณ์

P

P

1. มาตรการและเป้าหมายในการดาเนินการอนุรักษ์พลังงาน

P

P

2. แผนการอนุรักษ์พลังงานด้านไฟฟ้า

P

P

3. แผนการอนุรักษ์พลังงานด้านความร้อน

P

P

4. แผนการฝึกอบรม

P

P

ควรเพิม่ ควำมถีใ่ นกำรอบรมให้กับพนักงำนมำกกว่ำนี้

5. แผนกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน

P

P

ควรเพิม่ หัวข้อทีเ่ ป็น Awareness ทีเ่ สือ่ ทีเ่ ป็นกำรกระตุน้ ถึงในแต่ละระดับของพนักงำน

1. ผลการดาเนินการตามมาตรการอนุรักษ์พลังงาน

P

P

2. สรุปผลการตรวจสอบการปฎิบัติตามเป้าหมายอนุรักษ์พลังงาน

P

P

3. ผลการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและ แผนอนุรักษ์พลังงานสาหรับมาตรการด้านไฟฟ้า

P

P

4. ผลการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและ แผนอนุรักษ์พลังงานสาหรับมาตรการด้านความร้อน

P

P

5. ผลการติดตามการดาเนินการตามแผนฝึกอบรม

P

P

6. ผลการติดตามการดาเนินการตามแผนกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริม การอนุรักษ์พลังงาน

P

P

ควรจัดทำเอกสำรประเมินย่อยๆให้ครบทุกเครือ่ งในเครือ่ งทีเ่ ข้ำมำในปี 56

4. อืน่ ๆ (ระบุ).................................................... 5. การกาหนดเป้าหมายและ แผนอนุรักษ์พลังงาน

6. อืน่ ๆ (ระบุ) การเผยแพร่ 6. การดาเนินการตามแผน อนุรักษ์พลังงาน การ ตรวจสอบและวิเคราะห์ การปฏิบัติตามเป้าหมาย และแผนอนุรักษ์พลังงาน

7. อืน่ ๆ (ระบุ).................................................... 56


ตารางที่ 7.1 การตรวจติดตามการดาเนินการจัดการพลังงาน (ต่อ) ข้อกาหนด

สิ่งที่ต้องมีเอกสาร/หลักฐาน

ผลการตรวจสอบ มี

7. การตรวจติดตามและ ประเมินการจัด การพลังงาน

8. การทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่อง ของการจัดการพลังงาน

ไม่มี

ความถูกต้องครบถ้วน ตามข้อกาหนด ครบ

ข้อควรปรับปรุง/ข้อเสนอแนะ

ไม่ครบ

1. คาสั่งแต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงาน ภายในองค์กร 2. รายงานผลการตรวจประเมิน

P

P

P

P

ควรเพิ่มเติมข้อแนะนาในการทางาน เพื่อนาไปสู่การปรับปรุงให้ มากกว่านี้

3. อื่น ๆ (ระบุ) การเผยแพร่

P

P

ควรนาผลการสรุปทบทวนไปเผยแพร่ให้ทั่วถึงโดยวิธกี ารอื่นๆ เช่น วารสาร SDT NEWS และ Website ของบริษทั ฯ

1. แผนการทบทวนการดาเนินงานการจัดการพลังงาน

P

P

ควรจัดทาทบทวนตามแผนงานที่กาหนกและแจ้งให้ตัวแทนจาก หน่วยงานต่างๆ รับทราบให้รวดเร็วและต่อเนื่อง

2. รายงานสรุปผลการทบทวน วิเคราะห์และแนวทางแก้ไข ข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน

P

P

ควรนาผลการสรุปทบทวนไปเผยแพร่ให้ทั่วถึงโดยวิธกี ารอื่นๆ เช่น วารสาร SDT NEWS และ Website ของบริษทั ฯ

3. อื่น ๆ (ระบุ) การเผยแพร่

P

P

ควรนาผลการสรุปทบทวนไปเผยแพร่ให้ทั่วถึงโดยวิธกี ารอื่นๆ เช่น วารสาร SDT NEWS และ Website ของบริษทั ฯ

ลงชื่อ .................................................................... ( นางรุจิรัตน์

สราญฤทธิชัย )

ประธานคณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร วันที่ ................/................./.................. 57


ขั้นตอนที่ 8 การทบทวน วิเคราะห์และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน โรงงานควบคุมมีการทบทวนผลการดาเนินการด้านการจัดการพลังงานโดยได้มีการประชุมไปแล้ว ....3.... ครั้ง รวมทั้งได้นาข้อมูลที่ได้จากคณะผู้ตรวจ ประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กรมาใช้ร่วมในการปรับปรุงและแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

8.1 การทบทวนการดาเนินงานการจัดการพลังงาน ตารางที่ 8.1 การทบทวนการดาเนินงานการจัดการพลังงาน ประจาปี 2556 ปี 2556-2557 เดือน

ครั้งที่ มี.ค.-56 เม.ย.-56 พ.ค.-56

มิ.ย.-56

ก.ค.-56

ส.ค.-56

1/2556 15 มี.ค.56 2/2556 3/2556

ก.ย.-56

ต.ค.-56

พ.ย.-56

ธ.ค.-56

ม.ค.-57

ก.พ.-57

12 ต.ค.56 23 ก.พ.57

หมายเหตุ : กรณีโรงงานดาเนินการทบทวนภายหลังเดือน ธันวาคม ให้ระบุเพิ่มเติม ครั้งที่ ..1..

เดือน........มีนาคม........พ.ศ.2556

ครั้งที่ ..2..

เดือน....... ตุลาคม........พ.ศ.2556

ครั้งที่ .3...

เดือน........กุมภาพันธ์....พ.ศ.2557

58


ใส่เอกสารวาระการประชุมทบทวนการจัดการพลังงาน

รูปที่ 8-1 เอกสารวาระการประชุมทบทวนด้านการจัดการพลังงาน ครั้งีที่ 1-3/2556 59


59


ตารางที่ 8.2 สรุปผลการทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน ประจาปี 2556 ขั้นตอน

ผลการทบทวน เหมาะสม ควรปรับปรุง P

1. คณะทางานด้านการจัดการพลังงาน

2. การประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบือ้ งต้น 3. นโยบายอนุรักษ์พลังงาน 4. การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน

P

5. การกาหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน

P

6. การดาเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน การตรวจสอบและ วิเคราะห์การปฎิบัติตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน

P

7. การตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงาน

ข้อบกพร่องทีต่ รวจพบ

แนวทางการปรับปรุง

ยังขาดความเอาใจใส่ในการใช้ พลังงานอย่างจริงจัง

ควรเพิม่ แรงกระตุ้นในการ ทางาน โดยให้มีผลต่อการ ประเมินผลการทางานต่อปี หรือให้มีรางวัลเมื่อทาได้ตาม เป้าหมายทีก่ าหนดไว้

หมายเหตุ

คิดเป็นร้อยละ 65.79

P P

ข้อมูลสัดส่วนการใช้พลังงาน จัดหาเครื่องมือวัดเครื่องจักร ส่วนใหญ่ได้มาจากการประเมิน แต่ละประเภทหรือจัดส่งไปยัง สถาบันต่างๆทีไ่ ด้รับการ รับรองตรวจสอบเพือ่ พิสูจน์ ตัวเลขการใช้พลังงานทีแ่ ท้จริง มาตรการส่วนใหญ่ เป็นมาตรการทีต่ ่อ เนื่องมาจากปีทแี่ ล้ว

P

60

มีเวลาการตรวจสอบและ ควรกาหนดแผนการ ติดตามภายในเพียงปีละ 1 ครั้ง ตรวจสอบติดตามภายในเป็น ซึ่งน้อยเกินไป ปีละ 2 ครั้ง


8.2 การเผยแพร่ผลการทบทวนวิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน เพือ่ ให้พนักงานทุกคนรับทราบและติดตามผลการทบทวนวิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัด การพลังงานขององค์กร โดยโรงงานได้ดาเนินการเผยแพร่และดาเนินการดังต่อไปนี้ วิธกี ารเผยแพร่ผลการทบทวนวิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน ติดประกาศ จานวนติดประกาศ ….3. แห่ง เอกสารเผยแพร่ แผ่นพับ/วารสาร ......ฉบับ จดหมายอิเล็คทรอนิกส์ จานวนผู้ได้รับ …53.. คน ระดับของผู้ได้รับ…ตั้งแต่ Supervisor ขึ้นไป…. อื่นๆ (ระบุ) ……………..

โปสเตอร์ จานวนติดประกาศ ….. แห่ง เสียงตามสาย สัปดาห์ละ ….. ครั้ง ช่วงเวลา…... การประชุมพนักงาน เดือนละ …1.. ครั้ง

หลักฐานหรือเอกสารต่างๆ ที่แสดงถึงการเผยแพร่ผลการทบทวนวิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน ให้กับพนักงานในองค์กรได้รับทราบอย่างทั่วถึง

(ก) .......การประชุมพนักงานเดือนละ 1 ครั้ง..................

(ข) ......ติดบอร์ดประชาสัมพันธ์......

(ค) ......จดหมายอิเล็คโทรนิกส์......

รูปที่ 8-2 เผยแพร่ผลการทบทวนวิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงานขององค์กร หมายเหตุ : กรณีมีวธิ กี ารเผยแพร่มากกว่า 2 วิธกี าร โรงงานสามารถเพิ่มจานวนการแสดงเอกสาร หลักฐานรูปภาพต่างๆเพิ่มเติม 61


ภาคผนวก ภาคผนวก ก.

ข้อมูลระบบไฟฟ้า ปี 2556

ภาคผนวก ข.

ข้อมูลผลผลิต ปี 2555 และ ปี 2556

ภาคผนวก ค.

ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า ปี 2555 และ ปี 2556

ภาคผนวก ง.

ข้อมูลปริมาณการใช้เชือ้ เพลิง ปี 2555 และ ปี 2556

ภาคผนวก จ.

ข้อมูลปริมาณการใช้เชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้า ปี 2555 และ ปี 2556

ภาคผนวก ฉ.

ข้อมูลสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า ปี 2555 และ ปี 2556

ภาคผนวก ช.

ข้อมูลสัดส่วนการใช้พลังงานความร้อน ปี 2555 และ ปี 2556

ภาคผนวก ซ.

การประเมินศักยภาพของเครือ่ งจักร/อุปกรณ์ทมี่ ีนัยสาคัญ เพื่อนาไปค้นหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน (ถ้ามี)


ภาคผนวก ก.ข้อมูลระบบไฟฟ้า ข้อมูลหม้อแปลงไฟฟ้า ปี 2556

ลาดับที่

1

หมายเลข ผู้ใช้ไฟฟ้า

0802401890012000

หมายเลข เครื่องวัดไฟฟ้า

25245207

2

3

ประเภท ผู้ใช้ไฟฟ้า

40

อัตรา การใช้ไฟฟ้า

ปกติ TOD TOU ปกติ TOD TOU ปกติ TOD TOU

รวม

หม้อแปลงไฟฟ้า ขนาด

750 kVA จานวน

1 ตัว

ขนาด ขนาด

500 kVA จานวน

2 ตัว

.................. kVA จานวน .............. kVA จานวน .............. kVA จานวน .................. kVA จานวน .............. kVA จานวน .............. kVA จานวน .................. kVA จานวน

....... ตัว .............. ตัว ........ ตัว ....... ตัว .............. ตัว ........ ตัว ....... ตัว

ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด

1,750

ก-1

kVA


ภาคผนวก ข. ข้อมูลผลผลิต ข1) ข้อมูลการผลิต ปริมาณการผลิต ปี 2555 ตารางปริมาณการผลิตจาแนกตามผลิตภัณฑ์ ปี 2555

ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

1

้นส นอ เนี

กาลังผลิตติดตั้ง (หน่วย/ปี)

ปริมาณผลผลิตจริง (หน่วย/ปี)

2,555,000.00

1,976,402.20

รายละเอียดข้อมูลการผลิตในรอบปี 2555 ตารางข้อมูลการผลิตในรอบปี 2555

ชิ้นส่วนอลูมิเนียม

ลาดับที่ 1

อลูมิเนียมแท่ง(Ingot)

วัตถุดิบหลัก เดือนที่ผลิต

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ชั่วโมงทางาน

672

672

744

504

624

720

744

720

720

720

720

624

หน่วยผลผลิต

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

ปริมาณผลผลิตจริง

172,215.00

167,228.70

184,227.50

169,739.50

170,634.85

159,923.05

213,416.00

131,894.60

171,101.50

171,212.00

153,790.00

111,019.50

กาลังผลิตติดตั้ง

217,000.00

196,000.00

217,000.00

210,000.00

217,000.00

210,000.00

217,000.00

217,000.00

210,000.00

217,000.00

210,000.00

217,000.00

หมายเหตุ กรณีมีหลายผลิตภัณฑ์หลักให้เพิม่ ตารางตามจานวนชนิดของผลิตภัณฑ์

ข-1


ข2) ข้อมูลการผลิต ปริมาณการผลิต ปี 2556 ตารางปริมาณการผลิตจาแนกตามผลิตภัณฑ์ ปี 2556

ลาดับที่

ชื่อผลิตภัณฑ์

1

้นส นอ เนี

กาลังผลิตติดตั้ง (หน่วย/ปี)

ปริมาณผลผลิตจริง (หน่วย/ปี)

2,920,000.00

1,738,882.70

รายละเอียดข้อมูลการผลิตในรอบปี 2556 ตารางข้อมูลการผลิตในรอบปี 2556

ชิ้นส่วนอลูมิเนียม

ลาดับที่ 1

อลูมิเนียมแท่ง (Ingot)

วัตถุดิบหลัก เดือนที่ผลิต

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ชั่วโมงทางาน

624

552

624

524

600

600

600

624

600

624

624

648

หน่วยผลผลิต

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

Kg

ปริมาณผลผลิตจริง

157,591.70

144,848.00

139,910.00

119,652.00

133,248.00

141,709.00

155,334.00

104,939.00

141,496.00

143,926.00

187,583.00

168,646.00

กาลังผลิตติดตั้ง

248,000.00

224,000.00

248,000.00

240,000.00

248,000.00

240,000.00

248,000.00

248,000.00

240,000.00

248,000.00

240,000.00

248,000.00

หมายเหตุ กรณีมีหลายผลิตภัณฑ์หลักให้เพิม่ ตารางตามจานวนชนิดของผลิตภัณฑ์

ข-2


ภาคผนวก ค. ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า ตารางข้อมูลการใช้ไฟฟ้าในรอบปี 2555 หมายเลขผู้ใช้ไฟฟ้า

หมายเลขเครื่องวัดไฟฟ้า .....................9801020001607097........................................................................

พลังไฟฟ้าสูงสุด

พลังงานไฟฟ้า

เดือน

P (กิโลวัตต์)

PP/OP1 (กิโลวัตต์)

OP/OP2 (กิโลวัตต์)

ค่าใช้จา่ ย (บาท)

ปริมาณ (กิโลวัตต์-ชั่วโมง)

ค่าใช้จา่ ย (บาท)

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย ธ.ค.

772 776 824 810 766 816 876 854 862 800 818 798

756 772 758 798 740 808 816 830 828 754 756 754

736 726 802 822 776 790 830 802 814 784 792 784

102,621.96 103,153.68 109,534.32 107,673.30 101,824.38 108,470.88 116,446.68 113,522.22 114,585.66 106,344.00 108,736.74 106,078.14 1,298,991.96 108,249.33

369,320.00 393,420.00 437,820.00 356,800.00 416,440.00 410,940.00 446,200.00 408,420.00 412,600.00 371,240.00 361,240.00 272,400.00 4,656,840.00 388,070.00

1,070,207.29 1,139,216.51 1,255,619.75 1,011,751.22 1,208,451.08 1,146,659.88 1,256,675.34 1,162,316.98 1,159,474.07 1,064,903.77 1,044,196.29 776,271.82 13,295,744.00 1,107,978.67

รวม เฉลี่ย หมายเหตุ:

.....................25245207...................................................... ค่าไฟฟ้ารวม (บาท)

ค่าตัวประกอบภาระ (เปอร์เซนต์)

ค่าไฟฟ้าเฉลี่ย (บาท/กิโลวัตต์-ชั่วโมง)

1,175,749.21 1,245,051.81 1,367,583.33 1,122,274.38 1,319,839.25 1,389,154.02 1,517,667.21 1,408,601.83 1,482,176.15 1,359,174.97 1,332,415.68 1,017,731.59 15,737,419.43 1,311,451.62

64.30 75.44 71.42 60.29 72.13 69.94 68.46 64.28 66.48 62.37 61.34 45.88

3.18 3.16 3.12 3.15 3.17 3.38 3.40 3.45 3.59 3.66 3.69 3.74

65.19

3.38

กรณีอัตรา ปกติ ให้กรอกค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด (On Peak) ในช่อง P

อบภ

กรณีอัตรา TOD: P หมายถึง On Peak / PP หมายถึง Partial Peak / OP หมายถึง Off Peak กรณีอัตรา TOU: P หมายถึง Peak / OP1 หมายถึง Off Peak1 / OP2 หมายถึง Off Peak2 กรณีโรงงานมีเครื่องวัดไฟฟ้ามากกว่า 1 เครื่องให้เพิ่มจานวนตารางแสดงข้อมูลการใช้ไฟฟ้าตามจานวนของเครื่องวัดไฟฟ้า

ค-1

=

kWh [Peak Max(kW) x 24(Hr) x น น น นแ

เดือน]

x 100%


ตารางข้อมูลการใช้ไฟฟ้าในรอบปี 2556 หมายเลขผูใ้ ช้ไฟฟ้า

.....................9801020001607097........................................................................หมายเลขเครื่องวัดไฟฟ้า

พลังไฟฟ้าสูงสุด

เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย ธ.ค.

หมายเหตุ:

พลังงานไฟฟ้า

.....................25245207......................................................

ค่าไฟฟ้ารวม

ค่าตัวประกอบภาระ

ค่าไฟฟ้าเฉลี่ย

(บาท)

(เปอร์เซนต์)

(บาท/กิโลวัตต์-ชั่วโมง)

P (กิโลวัตต์)

PP/OP1 (กิโลวัตต์)

OP/OP2 (กิโลวัตต์)

ค่าใช้จา่ ย (บาท)

ปริมาณ (กิโลวัตต์-ชั่วโมง)

ค่าใช้จา่ ย (บาท)

832 876 848 858 844 840 808 768 766 818 810 754

818 800 774 812 814 806 774 746 764 770 746 702

774 776 820 794 824 794 792 736 722 768 768 736

362,660.00 333,380.00 321,440.00 266,220.00 313,020.00 323,420.00 309,840.00 242,600.00 278,440.00 322,840.00 359,440.00 331,160.00 3,764,460.00

1,051,586.50 964,417.06 981,654.90 793,136.71 920,135.20 937,842.13 903,570.98 704,600.67 816,690.16 940,760.30 1,031,167.67 925,274.19 10,970,836.47

1,351,224.76 1,254,666.93 1,272,377.16 1,046,043.78 1,184,509.87 1,201,564.47 1,156,667.59 920,831.07 1,069,184.38 1,224,142.88 1,139,153.21 1,204,642.05 14,025,008.15

58.59 56.63 50.95 43.09 49.85 53.48 51.54 42.46 50.49 53.05 61.63 59.03

3.73 3.76 3.96 3.93 3.78 3.72 3.73 3.80 3.84 3.79 3.17 3.64

รวม

110,597.76 116,446.68 112,724.64 114,053.94 112,192.92 111,661.20 107,407.44 102,090.24 101,824.38 108,736.74 107,673.30 100,229.22 1,305,638.46

เฉลี่ย

108,803.21

313,705.00

914,236.37

1,168,750.68

52.57

3.73

กรณีอัตรา ปกติ ให้กรอกค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด (On Peak) ในช่อง P กรณีอัตรา TOD: P หมายถึง On Peak / PP หมายถึง Partial Peak / OP หมายถึง Off Peak กรณีอัตรา TOU: P หมายถึง Peak / OP1 หมายถึง Off Peak1 / OP2 หมายถึง Off Peak2 กรณีโรงงานมีเครื่องวัดไฟฟ้ามากกว่า 1 เครื่องให้เพิ่มจานวนตารางแสดงข้อมูลการใช้ไฟฟ้าตามจานวนของเครื่องวัดไฟฟ้า

อบภ

ค-2

=

kWh [Peak Max(kW) x 24(Hr) x น น น นแ

เดือน]

x 100%


ภาคผนวก ง. ข้อมูลปริมาณการใช้เชื้อเพลิง ข้อมูลการใช้เชือ้ เพลิงและพลังงานหมุนเวียน ตารางข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงและพลังงานหมุนเวียนในรอบปี 2555 ชนิด พลังงานที่ใช้ น้ามันเตา

ปริมาณการใช้

หน่วย/มูลค่า ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

รวม

ค่าความร้อนเฉลี่ย (เมกะจูล/หน่วย)

ปริมาณพลังงานรวม (เมกะจูล)

ลิตร บาท

น้ามันดีเซล ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน (ชนิด….) ไอน้าที่ซื้อ (.......บาร์ / ......°c) อื่นๆ….

ลิตร บาท กิโลกรัม บาท ล้านบีทียู บาท

5,430.00 5,062.00 5,092.00 4,342.00

4,781.00 4,963.00 5,924.00

5,485.00 5,225.00 5,041.00 4,991.00 3,835.00

60,171.00

2,273,987.89 2,116,771.98 2,153,578.91 1,898,483.92 2,111,499.96 2,152,382.13 2,421,993.04 2,141,869.46 2,016,654.06 1,994,493.83 2,003,108.40 1,510,484.16

24,795,307.74

1055

63,480,405.00

ตัน บาท ตัน บาท หน่วย

บาท รวมการใช้พลังงานความร้อนจากเชื้อเพลิง

พลังงานหมุนเวียน

หน่วย(ระบุ) บาท รวมการใช้พลังงานหมุนเวียน รวมปริมาณพลังงานความร้อนทั้งหมด

หมายเหตุ ในกรณีไม่มีค่าความร้อนเฉลี่ยจากผู้จาหน่าย ให้อ้างอิงค่าความร้อนเฉลี่ยตามที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานกาหนด

ง-1

63,480,405.00


ข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงและพลังงานหมุนเวียน ตาราง ข้อมูลการใช้เชือ้ เพลิงและพลังงานหมุนเวียนในรอบปี 2556 ชนิด พลังงานทีใ่ ช้

หน่วย/มูลค่า

น้ามันเตา (ชนิด.......)

ลิตร

น้ามันดีเซล ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน (ชนิด….) ไอน้าทีซ่ อื้ (.......บาร์ / ......°c)

ปริมาณการใช้ ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

รวม

ค่าความร้อนเฉลีย่ (เมกะจูล/หน่วย)

ปริมาณพลังงานรวม (เมกะจูล)

1055

55,749,827.09

บาท ลิตร บาท กิโลกรัม บาท ล้านบีทยี ู บาท

5,271.63 4,500.00 4,110.00 3,597.00 4,327.81 4,745.00 4,848.00 3,822.00 4,170.00 4,573.00 4,511.00 4,368.00 52,843.44 2,061,866.23 1,699,350.00 1,553,340.39 1,401,838.95 1,643,229.31 1,822,407.00 1,862,548.76 1,480,095.87 1,627,141.51 1,761,492.16 1,762,637.16 1,728,019.68

20,403,967.02

ตัน บาท ตัน บาท

อืน่ ๆ….

หน่วย บาท

พลังงานหมุนเวียน

หน่วย(ระบุ) บาท

รวมการใช้พลังงานความร้อนจากเชือ้ เพลิง

รวมการใช้พลังงานหมุนเวียน รวมปริมาณพลังงานความร้อนทัง้ หมด หมายเหตุ ในกรณีไม่มีค่าความร้อนเฉลีย่ จากผูจ้ าหน่าย ให้อ้างอิงค่าความร้อนเฉลีย่ ตามทีก่ รมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงานกาหนด

ง-2

55,749,827.09


ภาคผนวก จ. ข้อมูลปริมาณการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า [ ] ผลิตสารองกรณีฉุกเฉิน

[ ] ผลิตใช้เองภายในโรงงาน

[ ] ผลิตเพื่อจาหน่าย

ตาราง ข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าในรอบปี 2555

เดือน

ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงหลัก

กาลังผลิตติดตั้ง (กิโลวัตต์) ชนิด

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย ธ.ค.

ปริมาณ

ชั่วโมง การเดินเครือ่ ง หน่วย

ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ (กิโลวัตต์ – ชั่วโมง) สาหรับใช้เอง

ไม่ มกี ารใช้ เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า

รวม

จ-1

สาหรับจาหน่าย

ปริมาณไอน้า (ตัน) ไอน้าที่ผลิต ไอน้าที่จาหน่าย .…บาร์/…. ° C

….บาร์/…. ° C


ภาคผนวก จ. ข้อมูลปริมาณการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า [ ] ผลิตสารองกรณีฉุกเฉิน

[ ] ผลิตใช้เองภายในโรงงาน

[ ] ผลิตเพื่อจาหน่าย

ตาราง ข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าในรอบปี 2556

เดือน

ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงหลัก

กาลังผลิตติดตั้ง (กิโลวัตต์) ชนิด

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย ธ.ค.

ปริมาณ

ชั่วโมง การเดินเครือ่ ง หน่วย

ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ (กิโลวัตต์ – ชั่วโมง) สาหรับใช้เอง

ไม่ มกี ารใช้ เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า

รวม

จ-2

สาหรับจาหน่าย

ปริมาณไอน้า (ตัน) ไอน้าที่ผลิต ไอน้าที่จาหน่าย .…บาร์/…. ° C

….บาร์/…. ° C


ภาคผนวก ฉ. ข้อมูลสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า สัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า ตารางสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าแยกตามระบบปี 2555 การใช้พลังงานไฟฟ้า

ระบบ

วิธีการ

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี 176,764.22

ร้อยละ 3.80%

ประเมิน 

ปรับอากาศสานักงาน* ทาความเย็น

210,703.00

4.52%

148,000.00

3.18%

การผลิต

2,669,436.78

57.33%

อัดอากาศ

1,203,166.00

25.84%

อื่นๆ

248,000.00

5.33%

รวม

4,656,070.00

100.00%

แสงสว่าง

หมายเหตุ * เฉพาะเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน

ฉ-1

ตรวจวัด


สัดส่วนการใช้พลังงานแยกตามระบบ สัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า ตารางสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าแยกตามระบบปี 2556 การใช้พลังงานไฟฟ้า

ระบบ

วิธกี าร

กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี 186,764.22

ร้อยละ 4.96%

ประเมิน 

ปรับอากาศสานักงาน

210,703.00

5.60%

ทาความเย็น

148,000.00

3.93%

การผลิต

1,989,326.00

52.85%

อัดอากาศ

1,136,667.00

30.19%

อื่นๆ

93,000.00

2.47%

รวม

3,764,460.00

แสงสว่าง

100.00%

หมายเหตุ * เฉพาะเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน

ฉ-2

ตรวจวัด

 


ภาคผนวก ช. ข้อมูลสัดส่วนการใช้พลังงานความร้อน ตารางสัดส่วนการใช้พลังงานเชื้อเพลิงแยกตามระบบปี 2555 ระบบ

อุปกรณ์

หล่อชิ้นส่วนอะไหล่ของ เครื่องยนต์

เครื่องฉีดโลหะ

รวม

การใช้พลังงานเชื้อเพลิง ชนิดเชื้อเพลิง เมกะจูล/ปี

ร้อยละ

ประเมิน

ก๊าซธรรมชาติ

63,480,405

100%

ก๊าซธรรมชาติ

63,480,405

100%

ช-1

วิธีการ ตรวจวัด


สัดส่วนการใช้พลังงานเชื้อเพลิง ตารางสัดส่วนการใช้พลังงานเชื้อเพลิงแยกตามระบบปี 2556 ระบบ

อุปกรณ์

หล่อชิน้ ส่วนอะไหล่ของ เครื่องยนต์

เครื่องฉีดโลหะ

รวม

ชนิดเชื้อเพลิง

การใช้พลังงานเชื้อเพลิง เมกะจูล/ปี

วิธีการ ร้อยละ

ประเมิน 

ก๊าซธรรมชาติ

55,749,827.09

100%

ก๊าซธรรมชาติ

55,749,827.09

100%

ช-2

ตรวจวัด


ภาคผนวก ซ. การประเมินศักยภาพของเครื่องจักร/อุปกรณ์ที่มีนัยสาคัญ เพือ่ นาไปค้นหามาตรการอนุรกั ษ์พลังงาน (ถ้ามี) การค้นหาการใช้พลังงานทีม่ นี ยั สาคัญในเครื่องจักร/อุปกรณ์หลัก โรงงานควบคุมได้ดาเนินการโดยการ ตรวจวัดหาข้อมูลขนาดการใช้พลังงาน ชัว่ โมงการทางาน และวิเคราะห์หาค่าประสิทธิภาพและการสูญเสีย พลังงานในแต่ละเครื่องจักร/อุปกรณ์หลักทีม่ กี ารใช้ในโรงงานควบคุม ซึ่งมีผลสรุปได้ดงั นี้ แบบประเมินการใช้พลังงานในเครือ่ งจักร/อุปกรณ์หลัก แผนก…..ซ่อมบารุง.………………………………………

วันที่ ………5 มกราคม 2556……………….….....

P

100

1

Cooling tower

ไฟฟ้า

24

2

เตาไฟฟ้า

ไฟฟ้า

3

4

เตาอบไฟฟ้า

ไฟฟ้า

4

3

เตาหลอมอลูมิเนียม

ความร้อน

P

P

P

100

1

เตาอุน่ อลูมิเนียม

ความร้อน

P

P

P

100

1

หมายเหตุ

P

P

P

P P

มาก

น้อย

มาก

น้อย

มาก

น้อย

P

(3 คะแนน)

P

ปานกลาง (2 คะแนน)

P

(1 คะแนน)

ไฟฟ้า

มากที่สุด (5 คะแนน)

เครื่องฉีดขึ้นรูป

(4 คะแนน)

1

ปานกลาง (3 คะแนน)

100

(2 คะแนน)

P

น้อยที่สุด (1 คะแนน)

P

มากที่สุด (5 คะแนน)

P

(4 คะแนน)

ไฟฟ้า

ปานกลาง (3 คะแนน)

Air Compressor

(2 คะแนน)

ประเภท พลังงาน

น้อยที่สุด (1 คะแนน)

เครื่องจักร/อุปกรณ์ หลัก

ลาดับความสาคัญ

(3) ศักยภาพการปรับปรุง

คะแนนรวม (1) x (2) x (3)

(2) ชัว่ โมงการใช้งาน

มากที่สุด (4 คะแนน)

(1) ขนาดการใช้พลังงาน

P

P

P

1. เครื่องจักร/อุปกรณ์หลัก ที่มีคะแนนรวมมาก ถือว่ามีความสาคัญในการนาไปกาหนดเป็นมาตรการอนุรกั ษ์พลังงาน 2. กรณีมีหลายแผนกให้เพิม่ ตารางตามจานวนแผนกที่มีการใช้พลังงาน 3. แนวทางนี้เป็นข้อแนะนาเท่านั้นท่านสามารถใช้วธิ กี ารอื่นในการประเมินที่มีค่านี้ได้ เช่น การตรวจวัด ,การใช้งานจริง

ซ-1


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.