สรุปผลการดาเนินงานและการประเมินผลของโครงการ “ช่วยเหลือครัวเรือนเพื่อนซังโกะ” ประจาปี 2557 ในการจัดทาโครงงาน ช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายดังนี้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นสวัสดิการช่วยเหลือและอานวยความสะดวก ให้แก่พนักงาน ผู้ที่ทางานเกีย่ วเนื่องกับบริษัทฯ และผู้ที่มาติดต่อ บริษัท ตลอดจนผู้เข้ามาเยี่ยมเยียนและบุคคลทั่วไปทีเ่ ข้ามาภายในบริษัท 2. เพื่อเป็นการช่วยเหลือค่าครองชีพให้กับพนักงานหรือผู้ที่ทางานเกี่ยวเนื่องกับบริษัทฯในการซื้อสินค้าอุปโภค และบริโภค ในราคาถูก 3. เพื่อจัดหาสินค้าราคาถูกมาจาหน่ายให้กับพนักงานและผู้ที่ทางานเกี่ยวเนื่องกับบริษัทฯ 4. เพื่อให้พนักงานและครอบครัว สามารถนาสินค้าที่ผลิตมาวางจาหน่ายในร้านค้า ซึง่ เป็นการเพิ่มรายได้ให้กบั ครอบครัว ของพนักงาน เป้าหมายของการทากิจกรรม ผู้ใช้บริการเป็นพนักงาน ผู้ที่ทางานเกีย่ วเนื่องกับบริษัทฯ และผู้ที่มาติดต่อบริษัท ตลอดจนผู้เข้ามาเยี่ยมเยียนและ บุคคลทัว่ ไปทีเ่ ข้ามาภายในบริษัท ประมาณการ ไม่น้อยกว่า 100 คน/เดือน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม พนักงานทุกแผนก โดยเฉพาะพนักงานรายวันของฝ่ายผลิต งบประมาณที่ใช้จริง (งบประมาณที่ยื่นขออนุมัติ 0 บาท) ไม่ของบประมาณเพิ่มเนื่องจากใช้งบประมาณที่ใช้ต่อเนื่องจาก โครงการ OTOP ของดี ระยอง5ดาวซึ่งเป็นส่วน กาไรที่ได้จากโครงการฯ คุณค่าที่ได้รับจากการทาโครงการ ช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ พนักงานสามารถลดค่าใช้จา่ ยจากการซื้อของใช้ที่จาเป็นกับครัวเรือนได้มาก โดยเฉพะ ข้าวสาร ไข่ไก่ และน้ามัน พืช ซึ่งมีราคาถูกกว่าท้องตลาดเป็นอย่างมากและมีคุณภาพดีกว่าด้วย ผลที่เกิดจากการทางานที่ได้รับ 1. พนักงานได้รับสินค้าอุปโภค บริโภคที่มีราคาถูกกว่าท้องตลาด 2. ช่วยพนักงานลดภาระค่าใช้จ่ายและหนี้สินในการซื้อสินค้ากับร้านค้าภายนอกบริษัท 3. ช่วยสงเคราะห์ซึ่งกันและกัน เพื่อเป็นการแลกเปลีย่ น มิได้ประสงค์กาไรหรือรายได้ 4. สามารถเชื่อมโยงระบบสวัสดิการของพนักงานและร้านค้าชุมชนตลอดจนเครือในหมู่บ้านฯทุกระดับ 5. เป็นโครงการหนึ่งในการส่งเสริมด้าน Happy workplace ในสถานประกอบการด้าน Happy Money ปัญหาและอุปสรรค - การซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคสามารถซื้อได้จากัดและไม่หลากหลาย เนื่องจากเงินทุนมีจากัด - การไปซื้อสินค้า สามารถไปซื้อได้ 1 ครั้งต่อเดือน - ไม่มีพนักงานขายประจา จึงทาให้การบริการ โครงการช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ ประจาปี 2557 วันที่ 1 ธันวาคม 2557
1
แนวทางในการแก้ปญ ั หา ต้องเพิ่มเงินทุนในการซื้อสินค้า และจัดหาคนมาให้บริการเพิ่ม เพื่อสร้างความสะดวก รวดเร็ว และมีความถูกต้องใน การขายสินค้ามากขึ้น ผู้ที่ให้ความช่วยเหลือในการทาโครงการ 1. พ่อบ้านและแม่บ้านที่เสร็จจากการทางานแล้ว 2. น้องฝึกงาน ผลลัพธ์ของโครงการ ช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ จากการประเมินผลการทาโครงการ โดยใช้แบบประเมินผลการทางาน แบบสังเกตพฤติกรรม และแบบบันทึกผลการ ทากิจกรรม สรุปได้ดังนี้ 1. การประเมินผลในเชิงปริมาณ เกณฑ์การประเมินอาจกาหนดในรูปของ 1.1 ยอดขาย โครงการนี้ เริ่มงานเมื่อปลายเดือนมิถุนายน 2557 โดยซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค เช่นสบู่ ยาสีฟัน ผงซักฟอก น้ายาปรับผ้านุ่ม ข้าวสาร ไข่ และน้ามันเป็นต้น จึงทาให้ในเดือนกรกฎาคม ใช้เงินซื้อสินค้าในปริมาณที่มาก แต่ยอดขายต่า ราคารซื้อ อาจเป็นผลมาจากการที่ไม่ได้ประชาสัมพันธ์ให้พนักงานทราบ ทาให้รู้เฉพาะในส่วนที่พนักงาน เข้ามาติดต่อสอบถามเองเป็นส่วนใหญ่ แต่เมื่อมีการทราบกันมากขึ้น พนักงานก็จะเข้ามาใช้บริการกันมากขึ้น ดังจะเห็นได้ ในเดือนถัด ๆไป ซึ่งผลการดาเนินงานตัง้ แต่เดือนกรกฎาคม 57 สาหรับยอดการซื้อสินค้า เป็นเงิน 284,357 บาท ยอดขาย สินค้า เป็นเงิน 276,412 บาท โดยในเดือนตุลาคม 2557 เป็นเดือนที่มียอดการซื้อสินค้า สูงที่สดุ คือ 85,031 บาท และขายสินค้าใกล้เคียงกับเดือนกันยายน คือ 87,529 บาท (เดือนกันยายน เป็นเงิน 87,958 บาท) เริ่มโครงการ
87,958.00 87,529.00 85,031.00 80,798.00
90,000.00 80,000.00 70,000.00 60,000.00 50,000.00 40,000.00 30,000.00 20,000.00
65,318.00 59,319.00 53,210.00 50,811.00 32,904.00 41,606.00 37,276.00 32,391.00 41,296.00 31,420.00 35,681.00 26,727.00 29,216.00 25,023.00 15,260.00 15,689.00
ยอดซื้อสินค้า ยอดขายสินค้า
10,000.00 ธ.ค.-57
พ.ย.-57
ต.ค.-57
ก.ย.-57
ส.ค.-57
ก.ค.-57
มิ.ย.-57
พ.ค.-57
เม.ย.-57
มี.ค.-57
ก.พ.-57
ม.ค.-57
-
2
โครงการช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ ประจาปี 2557 วันที่ 1 ธันวาคม 2557
1.2 จานวนผู้เข้ารับบริการต่อเดือน โครงการนี้เริ่มดาเนินการ มีพนักงานมาใช้บริการ จานวน 112 คน ซึง่ ค่อนข้าง สูงและเมื่อเข้าในเดือนตุลาคม ซึง่ เป็นเดือนที่ 4 ของการดาเนินการโครงการ พบว่า มีพนักงานใช้บริการกันมากขึ้น จานวน 176 คน คิดเป็น 57%
จานวนคนที่รับบริการ 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0
176
161 135
131 98
107
112
111
80 จำนวนคนที่รับบริ กำร
46
1.3 ผลกาไร จากการทาโครงการ เริ่มมีผลกาไรลดลง เนื่องจากเป็นการช่วยเหลือพนักงานให้ได้รับสินค้าที่ราคา ถูกและมีคุณภาพ ดังนั้นผลกาไรจะคิดที่ 5%ของราคาซื้อ นั่นคือ ในเดือนก.ค. ได้กาไร เป็นเงิน 9,471 บาท และเพิ่มขึ้น 68 % 162% และ 163% ตามลาดับ
ผลกาไรที่ได้รับตั้งแต่เริ่มทาโครงการ ช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ 32,549.00
15,986.00
1.4 ประเมินจากคาตอบที่ได้รับจากการสารวจโดยใช้แบบสอบถาม จากการสอบถามพนักงานจานวน 70 คน แยกเป็นเพศชาย 26 สัปดาห์ จะมาซื้อสินค้าที่โครงการนี้ ทุกครั้งที่มีสินค้าลง จานวน 15 1 ครัง้ ต่อสัปดาห์ จานวน 25 2 ครัง้ ต่อสัปดาห์ จานวน 18 3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ จานวน 5 4 ครัง้ ต่อสัปดาห์ จานวน 7
-
-
พ.ย.-57
ธ.ค.-57
ต.ค.-57
กาไร
ส.ค.-57
ก.ค.-57
9,471.00
มิ.ย.-57
พ.ค.-57
เม.ย.-57
มี.ค.-57
16,464.00 13,612.00
ก.พ.-57
24,821.00 24,917.00
23,090.00
21,049.00
ก.ย.-57
28,673.00
ม.ค.-57
35,000.00 30,000.00 25,000.00 20,000.00 15,000.00 10,000.00 5,000.00 -
คน เพศหญิง 44 คน พบว่า โดยเฉลีย่ ใน 1 คน คน คน คน คน
โครงการช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ ประจาปี 2557 วันที่ 1 ธันวาคม 2557
3
ซึ่งจะเห็นว่า พนักงานที่เข้ามาใช้บริการจะเป็นผูห้ ญิงมากกว่าผูช้ าย และจะเข้ามาใช้บริการ สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง เนื่องจากเป็นสินค้าเกี่ยวกับอุปโภค บริโภคในครัวเรือน เป็นส่วนใหญ่ 2. การประเมินผลในเชิงคุณภาพ การประเมินผลการทาโครงการ ทาได้ 2 วิธี คือ 2.1 การสังเกตการณ์ (วัดความพึงพอใจโดยใช้วิธีการสังเกต) เนื่องจากโครงการนี้ เกิดขึ้นจากแรงผลักดันของพนักงาน เพื่อแก้ปัญหาการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคในราคาแพง และบางครั้งจะถูกบวกดอกเบีย้ ร้อยละ 15 หากจ่ายเงินสิ้นเดือน ดังนั้นผู้จัดโครงการต้องการแก้ไขปัญหานี้จงึ ได้จัดทา โครงการและทาการประชาสัมพันธ์แบบปากต่อปากเป็นส่วนใหญ่ และมีการติดป้ายเชิญชวนหน้าห้องบ้าง และเนื่องจาก ราคาขายสินค้ามีราคาถูกกว่าท้องตลาดและสามารถใช้เครดิตได้ จึงทาให้มีผู้มาใช้บริการจากโครงการนี้สูงขึ้นเรื่อยๆ คาด ว่า เมื่อครบปี จะมีพนักงานมาใช้บริการถึงร้อยละ 90 2.2 การประเมินผลโดยใช้แบบประเมิน จากแบบสอบถาม โครงการช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ ประจาปี 2557 โดยผู้ประเมินเป็นพนักงานที่ใช้ บริการ จานวน 70 ท่าน สรุปผลได้ 1. ประเภทของพนักงานที่มาใช้บริการ 1.1 เพศ - ผู้ตอบส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มากกว่าเพศชาย โดยเป็นเพศหญิง 44 คน คิดเป็นร้อยละ 62.86 และเป็นเพศชาย จานวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 37.14 1.2 ความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าทีผ่ ู้ให้บริการ - พนักงานส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการบริการของเจ้าหน้าทีผ่ ู้ให้บริการในระดับดี ร้อยละ 94.29 รองลงมา มีความพึงพอใจระดับปานกลาง ร้อยละ 4.29 และพอใช้ ร้อยละ 1.43 ตามลาดับ ระดับความพึงพอใจ
ความถี่
ร้อยละ
ดี
66
94.29
ปานกลาง
3
4.29
พอใช้
1
1.43
ร้อยละ ร้อยละ 94.29 4.29 ดี
ปานกลาง
1.43 พอใช้
โครงการช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ ประจาปี 2557 วันที่ 1 ธันวาคม 2557
4
1.3 ความพึงพอใจต่อกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ - พนักงานส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อกระบวนการขั้นตอนการให้บริการของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการใน ระดับดี ร้อยละ 88.57 รองลงมา มีความพึงพอใจระดับปานกลาง ร้อยละ 7.14 และพอใช้ ร้อยละ 4.29 ระดับความพึงพอใจ
ความถี่
ร้อยละ
ดี
62
88.57
ปานกลาง
5
7.14
พอใช้
3
4.29
ร้อยละ ร้อยละ
88.57
4.29
7.14 ดี
ปานกลาง
พอใช้
1.4 ความพึงพอใจต่อสิง่ อานวยความสะดวก - พนักงานส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อสิ่งอานวยความสะดวก ในระดับดี ร้อยละ 78.57 รองลงมา มี ความพึงพอใจระดับปานกลาง ร้อยละ 20.00 และพอใช้ ร้อยละ 1.43 ตามลาดับ ระดับความพึงพอใจ
ความถี่
ร้อยละ
ดี
55
78.57
ปานกลาง
14
20.00
พอใช้
1
1.43
ร้อยละ ร้อยละ 78.57 20.00
1.43 5
ดี
ปานกลาง
พอใช้
โครงการช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ ประจาปี 2557 วันที่ 1 ธันวาคม 2557
1.5 ความพึงพอใจต่อการปรับปรุงในด้านต่างๆ - พนักงานส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการปรับปรุงในด้านต่างๆ ในระดับดี ร้อยละ 80.00 รองลงมา มีความพึงพอใจระดับปานกลาง ร้อยละ 4.29 และพอใช้ ร้อยละ 1.43 ตามลาดับ ระดับความพึงพอใจ
ความถี่
ร้อยละ
ดี
56
80.00
ปานกลาง
3
4.29
พอใช้
1
1.43
ร้อยละ ร้อยละ
80.00 4.29 ดี
ปานกลาง
1.43 พอใช้
1.6 ความพึงพอใจต่อการจัดทาโครงการนี้ในปีถดั ไป - พนักงานส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการจัดทาโครงการนี้ในปีถัดไป ในระดับดี ร้อยละ 67.14 รองลงมา มีความพึงพอใจระดับปานกลาง ร้อยละ 18.57 และพอใช้ ร้อยละ 14.29 ตามลาดับ ระดับความพึงพอใจ
ความถี่
ร้อยละ
ดี
47
67.14
ปานกลาง
13
18.57
พอใช้
10
14.29
ร้อยละ ร้อยละ 67.14 18.57
14.29 6
ดี
ปานกลาง
พอใช้
โครงการช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ ประจาปี 2557 วันที่ 1 ธันวาคม 2557
ข้อเสนอแนะ - เป็นโครงการทีด่ ีอยูแ่ ล้ว - ควรมีสินค้าที่หลากหลายกว่าเดิม และสินค้าควรบอกวันเดือนปีที่ผลิตและหมดอายุให้ชัดเจน - ห้องขายของควรมีขนาดใหญ่กว่านี้ - ไปซื้อของไม่ทัน ขายไวมากไปอีกวันก็หมดแล้ว ภาพการปฏิบัติงานในการทาโครงการ
7
โครงการช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ ประจาปี 2557 วันที่ 1 ธันวาคม 2557
8
โครงการช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ ประจาปี 2557 วันที่ 1 ธันวาคม 2557
9
โครงการช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ ประจาปี 2557 วันที่ 1 ธันวาคม 2557
ในกำรวิเครำะห์ตน้ ทุนและผลได้ของโครงกำรทำงเศรษฐศำสตร์นั้น มีวัตถุประสงค์หลักคือกำรประเมินมูลค่ำทำงสังคม (Social Value) หรือผลทีต่ กต่อสังคมของโครงกำรลงทุนนั้นๆ วิธีคำนวณอัตรำผลตอบแทนกำรลงทุนทำงสังคม “โครงกำรช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ"
ลำดับ
1
Activities (กิจกรรม/ ขั้นตอน)
ออกแบบและ จัดทาชั้นวาง สินค้า โดยใช้ไม้
Stakeholder (ผู้มีส่วนได้เสีย ของกิจกรรม)
Input (ทรัพยากรที่ต้องใช้)
เวลาของพนักงาน (เวลา ทางาน) 2 คน x (24 ชม. x พนักงาน/บริษทั (10,000 บาท/30 วัน) /8 ชม.)
บริษทั
จ่ายค่าไม้พาเลซ เวลาของพนักงาน (เวลา ทางาน) 1 คน x (4 ชม. x (40,000 บาท/30วัน) /8 ชม.)
2
สารวจความ ต้องการของ สินค้าอุปโภค พนักงาน/บริษทั บริโภคที่พนักงาน และหาแหล่งที่มี สินค้าราคาถูก
3
เวลาของพนักงาน 1คน x เขียนโครงการ (8 ชม. x(40,000 บาท/30 และขออนุมัติ วัน /8 ชม.) พนักงาน/บริษทั งบประมาณการ ดาเนินงาน
4
ติดต่อแหล่งขาย สินค้าแบบขาย ส่ง/นาสินค้ามา พนักงาน/บริษทั วางขายที่บริเวณ ห้องบัวตอง
เวลาของพนักงาน (เวลาทางาน) 2 คน x (6 ชม. x (10,000 บาท/30 วัน) /8 ชม.) x 12
ต้นทุน (รายจ่าย ของ โครงการ) (บาท)
Output (ผลโดยตรง หรือ มูลค่าที่ เกิดขึ้น)
ผลได้ (รายได้จาก โครงการ) (บาท)
ชั้นวางสินค้า จานวน 4 4,000 ชั้นจานวน 1 ชิ้น
-
200
Outcome Impact (การ (ผลกระทบ เปลี่ยนแปลง ต่อสังคม โดยรวมใน ในภาพ ระยะยาว) กว้าง) รู้จักการใช้ ทรัพยากรให้ เกิดประโยชน์ สูงสุด เป็นกร นาเอาหลักการ Reuse มาใช้ ภายในโรงงาน
-
ได้รับแหล่ง การซื้อสินค้า 667 ราคาถูก จานวน 4 แห่ง
1,333
-
-
-
6,000
ได้รับสินค้า ที่มาขายใน ราคาถูก
-
-ชุมชนมี รายได้ สามารถ ช่วยเหลือ ตนเองได้ ทาให้ เศรษฐกิจ ของชุมชนดี ขึ้น - พนักงาน และแขก ที่มาเยี่ยม เยียนบริษทั ได้รับสินค้า อุปโภค บริโภคใน ราคาที่ถูก กว่า ท้องตลาด พนักงาน ได้รับความ สะดวกสบาย ในการซื้อ สินค้า เนื่องจากไม่ ต้อง เสียเวลาไป ซื้อในเมือง ซึ่งมีราคา แพงกว่า
สินค้า เนื่องจากไม่ ในกำรวิเครำะห์ตน้ ทุนและผลได้ของโครงกำรทำงเศรษฐศำสตร์นั้น มีวัตถุประสงค์หลักคือกำรประเมินมูลค่ำทำงสังคม (Social ต้อง Value) หรือผลทีต่ กต่อสังคมของโครงกำรลงทุนนั้นๆ เสียเวลาไป ซื้อในเมือง วิธีคำนวณอัตรำผลตอบแทนกำรลงทุนทำงสังคม “โครงกำรช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ" ซึ่งมีราคา า ต้นทุน Outcome แพงกว่ Impact Output ผลได้ Activities Stakeholder (รายจ่าย (การ (ผลกระทบ Input (ผลโดยตรง (รายได้จาก ลำดับ (กิจกรรม/ (ผู้มีส่วนได้เสีย ของ เปลี่ยนแปลง ต่อสังคม (ทรัพยากรที่ต้องใช้) หรือ มูลค่าที่ โครงการ) ขั้นตอน) ของกิจกรรม) โครงการ) โดยรวมใน ในภาพ เกิดขึ้น) (บาท) (บาท) ระยะยาว) กว้าง) จ่ายค่าแผ่นป้าย ประชาสัมพันธ์ จัดทาป้าย เวลาของพนักงาน ประชาสัมพันธ์ (เวลาทางาน) โครงการ พนักงาน/บริษทั 1 คน x (2 ชม. x (40,000 บาท/30 วัน) /8 ชม.) บริษทั
5
6
6,000
เวลาของพนักงานเพื่อใช้ ในการจัดจาหน่าย (เวลา ทางาน) พนักงาน/บริษทั 1 คน x (480 ชม. x (12,000 บาท/30 วัน) /8 ชม.)
2,400
-
8
นาเสนอผลต่อ ผู้บริหาร
พนักงาน
เวลาของพนักงาน 2 คน x 40 ชม. x (12000/30/8)
เวลาของพนักงาน พนักงาน/บริษทั 1คน x (2 ชม. x (40,000 บาท/30 วัน) /8 ชม.)
-
-
-
-
เกิดรายได้ ให้กับโครงการ เพื่อชุมชน เดือนละ 6,000 บาท X เป็น ระยะเวลา 12 เดือน
ชุมชน
ดาเนินการ 7 ติดตามผล
ได้ปา้ ย ประชาสัมพันธ์
333
จ่ายค่าน้ามันรถ 500 บาท x 1 วัน x 1 ครั้ง
บริษทั
ดาเนินการ เผยแพร่/จัด จาหน่ายและ บันทึกการรับ จ่ายเงิน ประจาเดือน
120
72,000
4,000
333
-
แขกผู้มาเยี่ยม เยียนบริษทั และพนักงาน ได้รับสินค้าที่มี ราคาถูกกว่า ท้องตลาด - พนักงาน ได้รับสินค้า ราคาถูกเพื่อ อุปโภคใน ครัวเรือน - พนักงานที่ ไม่มีเงินสด สามารถสินค้า ได้ โดยจ่าย ในช่วงสิ้นเดือน
ในกำรวิเครำะห์ตน้ ทุนและผลได้ของโครงกำรทำงเศรษฐศำสตร์นั้น มีวัตถุประสงค์หลักคือกำรประเมินมูลค่ำทำงสังคม (Social Value) หรือผลทีต่ กต่อสังคมของโครงกำรลงทุนนั้นๆ วิธีคำนวณอัตรำผลตอบแทนกำรลงทุนทำงสังคม “โครงกำรช่วยเหลือครัวเรือน เพื่อนซังโกะ"
ลำดับ
8
Activities (กิจกรรม/ ขั้นตอน)
นาเสนอผลต่อ ผู้บริหาร
Stakeholder (ผู้มีส่วนได้เสีย ของกิจกรรม)
Input (ทรัพยากรที่ต้องใช้)
เวลาของพนักงาน (เวลาทางานได้ ค่าตอบแทนจากโรงงาน) ผู้บริหาร/บริษทั 1 คน x (2 ชม. x (50,0000 บาท/30 วัน) /8 ชม.)
Total Input (ต้นทุนรวม)
ต้นทุน (รายจ่าย ของ โครงการ) (บาท)
Output (ผลโดยตรง หรือ มูลค่าที่ เกิดขึ้น)
ผลได้ (รายได้จาก โครงการ) (บาท)
417
Outcome Impact (การ (ผลกระทบ เปลี่ยนแปลง ต่อสังคม โดยรวมใน ในภาพ ระยะยาว) กว้าง)
-
Total 21,803 Output (ผลได้รวม)
76,000
คานวณผลตอบแทนทางสังคม (SROI) = ( (ผลรวมได้/ต้นทุนรวม) -1 ) x 100 %
ร้อยละ
248.57
จำกกำรลงทุนโครงกำร 1 หน่วย สำมำรถสร้ำงผลตอบแทนทำงสังคมรวมร้อยละ 248.57 หรือ 2.48 หน่วย ลงทุน 1 บำท
ได้กำไร
2.48 บำท