รายงานประจำปี 2557

Page 1



สารบัญ ภาพรวมธุรกิจ สารจากประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร รูปภาพคณะกรรมการบริษัท ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน กราฟข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน ธุรกิจของบริษัท โครงสร้างการถือหุ้น นโยบายการจ่ายเงินปันผล ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัท ปัจจัยความเสี่ยง การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โครงสร้างองค์กร คณะกรรมการ และเลขานุการบริษัท การก�ำกับดูแลกิจการ สิทธิของผู้ถือหุ้น การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสูง การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยและ บริษัทร่วม การก�ำกับดูแลการใช้ข้อมูลภายใน

2 5 7 8 9 10 11 13 22 23 28 28 30 30 31 32 35 42 46 47

ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีอื่นๆ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง รายการระหว่างกัน รายงานความรับผิดชอบต่อสังคม ข้อมูลทางการเงิน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการ ด�ำเนินงาน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อมูลเพิ่มเติม เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอ�ำนาจควบคุม และเลขานุการบริษัท เอกสารแนบ 2 : รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษทั ย่อย เอกสารแนบ 3 : รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานตรวจสอบ ภายใน และหัวหน้างานก�ำกับดูแลของบริษัท รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

48 48 48 50 53

57 58 66 68 80

141 152 153 154


สาส์นจากประธานกรรมการ ตลาดพลังงานทัว่ โลกในรอบปีทผี่ า่ นมา มีความผันผวนเป็นอย่างยิง่ หลังราคา น�้ำมันดิบในตลาดโลกทรุดลง จากระดับราคา 100 ดอลลาร์ต่อบาร์เรลลงมาสู่ ระดับราคาต�่ำกว่า 50 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล ทั้งนี้สืบเนื่องจากการปรับความ สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทานภายใต้ภาวะเศรษฐกิจทั่วโลกที่ยังซบเซา ในขณะที่ปริมาณการผลิตน�้ำมันทั้งจากแหล่งผลิตเดิมในกลุ่มประเทศโอเปค และแหล่งผลิตใหม่จาก Shale Oil ในสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นอย่างมาก ส่งผล ต่อปริมาณน�้ำมันล้นตลาดโลก ท�ำให้ราคาลดต�่ำลงอย่างต่อเนื่อง ผลพวงจากราคาน�ำ้ มันทีล่ ดลง น่าจะเอือ้ ประโยชน์ตอ่ การฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจ โดยรวมของไทย เนื่องจากน�้ำมันเป็นต้นทุนส�ำคัญในภาคการผลิตและ อุตสาหกรรมต่างๆ ด้วยเหตุผลดังกล่าวต้นทุนการผลิตสินค้าในภาคการผลิต และค่าใช้จา่ ยในภาคบริการ โดยเฉพาะด้านค่าขนส่งน่าจะส่งผลให้ตน้ ทุนของ สินค้าโดยรวมและค่าใช้จ่ายในการประกอบธุรกิจลดลงด้วย ซึ่งจะกลายเป็น ภาคอุตสาหกรรม ท�ำให้บริษัท สแกน อินเตอร์ แรงขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจให้ฟื้นตัวเร็วขึ้น จ�ำกัด (มหาชน) มีความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่มี หากมองในมิติภาคเอกชนที่เป็นผู้ประกอบการในธุรกิจและอุตสาหกรรม ส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและสร้างความมั่นคง พลังงาน ราคาน�ำ้ มันทีต่ กต�ำ่ ในรอบปีทผี่ า่ นมา อาจสร้างปัญหาและผลขาดทุน ด้านพลังงานของประเทศชาติ ตลอดจนการเพิ่ม ต่อบริษัทน�้ำมันและโรงกลั่นขนาดใหญ่ ซึ่งมีการส�ำรองน�ำ้ มันน�ำเข้าก่อนหน้า ประสิทธิภาพอย่างเต็มที่ในการใช้ประโยชน์จาก ในต้ น ทุ น ราคาสู ง แต่ ห ากมองในมุ ม กลั บ ปรากฏการณ์ ร าคาน�้ ำมั น ถู ก ก๊าซธรรมชาติเพื่อประโยชน์ของผู้บริโภคได้อย่าง ในปัจจุบันนี้จะเป็นโอกาสดีส�ำหรับผู้ประกอบการทั้งหลายในการทบทวน แท้จริง และปรับกลยุทธ์แผนการลงทุน เพื่อรับมือความผันผวนที่คงจะมีขึ้นอย่าง ต่อเนื่องในอนาคต ซึ่งในฐานะที่ประเทศไทยเป็นผู้น�ำเข้าน�้ำมันเชื้อเพลิงสุทธิ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นบริษัท และยังต้องพึ่งพาการใช้พลังงานอย่างมากในกระบวนการพัฒนาประเทศ ที่ประกอบธุรกิจหลักเกี่ยวกับก๊าซธรรมชาติและ ผู้ประกอบการภาคเอกชนและภาครัฐบาลจึงควรร่วมกันก�ำหนดนโยบาย ธุรกิจเกี่ยวเนื่องแบบครบวงจร ทั้งนี้รวมถึงธุรกิจ และมาตรการในระยะยาว ในการเสาะแสวงหาและพัฒนาแหล่งน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง ต่างๆ เกี่ยวกับพลังงานทางเลือกและพลังงาน ใหม่ๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการสร้างความมั่นคงด้านพลังงานแก่ประเทศ ทดแทน ที่มีความเชี่ยวชาญเป็นอย่างยิ่ง ในอนาคตระยะยาว บนพื้นฐานการคาดการณ์ว่าปรากฏการณ์น�้ำมันราคาต�่ำ คงไม่ดำ� เนินอยูต่ อ่ เนือ่ งเป็นเวลานาน และท้ายทีส่ ดุ ราคาน�ำ้ มันในตลาดโลกก็ ผมและทีมผูบ้ ริหารพร้อมให้ความเชือ่ มัน่ ว่า เราจะ สามารถเติบโตต่อไปได้อีกมากควบคู่ไปกับการ คงจะปรับตัวสูงขึ้น ถึงแม้ว่าอาจไม่สูงถึงเหมือนในอดีต เติบโตของอุตสาหกรรมและจะเป็นบริษัทฯ ที่เป็น หากมองในบริบทของบริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) เรามีภารกิจ ทางเลือกในการลงทุนให้กับนักลงทุนทุกท่านได้ ส�ำคัญในการมีส่วนร่วมกับผู้ประกอบการรายอื่นๆ และภาครัฐบาลในการ เป็นอย่างดี” แสวงหาแหล่งน�้ำมันและเชื้อเพลิงใหม่ๆ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงทาง พลังงานของประเทศ และในขณะเดียวกันเรายังสามารถใช้เทคโนโลยี นายทนง พิทยะ และนวัตกรรมใหม่ๆ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปก๊าซธรรมชาติให้ ประธานกรรมการ เหมาะสมกับความต้องการของผู้บริโภคกลุ่มต่างๆ ทั้งภาคการขนส่งและ

2

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


สาส์นจากประธานกรรมการบริหาร ปี 2557 เป็นปีทบี่ ริษทั สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ยังคงมีอตั ราการเติบโต ของธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง วัดได้จากรายได้จาก ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติเพิ่มขึ้นเป็น 1,534.97 ล้านบาท คิดเป็น 70.34% ของรายได้ทั้งหมดในปี 2557 เทียบกับ 1,188.64 ล้านบาท คิดเป็น 53.23% ของรายได้ทั้งหมดในปี 2556 แม้ว่ารายได้จากธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับรถยนต์ ธุรกิจติดตั้ง ระบบก๊าซในรถยนต์ และธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์จะลดลงอันเป็นผลสืบเนือ่ งจาก ภาวะเศรษฐกิจและการชะลอตัวของอุตสาหกรรมรถยนต์ภายหลังการสิ้นสุด โครงการรถยนต์คนั แรก รวมทัง้ บริษทั ได้ลงนามในสัญญาขายหุน้ สามัญร้อยละ 99.99 ของ SFEE ให้กับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งหนึ่งซึ่ง ไม่เป็นบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท ส่งผลให้บริษัทไม่มีรายได้จากธุรกิจ โรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ต่อไป อย่างไรก็ตามบริษัทยังสามารถรักษาระดับก�ำไรขั้นต้นส�ำหรับปี 2557 สูงถึง 488.73 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 134.61 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 38.01 จาก ปี 2556 โดยก�ำไรขัน้ ต้นจากธุรกิจเกีย่ วเนือ่ งกับก๊าซธรรมชาติมสี ดั ส่วนสูงสุด ในก�ำไรขัน้ ต้นรวมของบริษทั คิดเป็นร้อยละ 77.24 ของก�ำไรขัน้ ต้นของบริษทั เมื่อหักค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ต้นทุนทางการเงิน และภาษีเงินได้ แล้ว บริษัทมีก�ำไรสุทธิส�ำหรับปี สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 เท่ากับ 401.31 ล้านบาท คิดเป็นอัตราก�ำไรสุทธิร้อยละ 18.39 หากค�ำนวณก�ำไรสุทธิโดยไม่ คิดรวมก�ำไรจากการด�ำเนินงานที่ยกเลิก 158.92 ล้านบาทแล้ว บริษัทยังคง มีก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงานเท่ากับ 242.39 ล้านบาท หรือคิดเป็นอัตรา ก�ำไรสุทธิร้อยละ 11.11 คิดเป็นอัตราเติบโตร้อยละ 142.39 ซึ่งสูงเป็น ประวัติการณ์

ต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ซึ่งเป็น โอกาสของบริษัทฯ ที่จะเข้าไปด�ำเนินการติดตั้ง เครื่องลดความดันก๊าซให้แก่โรงงานอุตสาหกรรม เพือ่ ให้ลกู ค้าสามารถใช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิง ได้ ขณะเดียวกัน บริษทั ฯ ยังให้บริการตัง้ แต่การสูบอัด ก๊าซจากท่อก๊าซธรรมชาติของ ปตท. จนถึงลูกค้า ปลายทาง ซึ่งประกอบด้วยธุรกิจสถานีบริการก๊าซ ธรรมชาติหลักเพื่อให้บริการอัดก๊าซธรรมชาติแก่ ปตท. พร้อมบริการขนส่งก๊าซ NGV จากสถานีกา๊ ซ ธรรมชาติหลักไปยังสถานีบริการลูกของ ปตท. (Gas Supply Chain & Logistics) และจัดหาพร้อม บริ การขนส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ใ ห้ แ ก่ ก ลุ ่ ม โรงงาน อุตสาหกรรมทีอ่ ยูน่ อกแนวท่อก๊าซของ ปตท. รวม ถึงยังเป็นผู้ออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อม อุปกรณ์ตามสถานีก๊าซ NGV และอุปกรณ์เกี่ยวกับ ระบบก๊าซธรรมชาติอื่นๆ

รายได้และก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินกิจการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับก๊าซธรรมชาติอย่าง ครบวงจรที่เติบโตอย่างแข็งแกร่ง มาจากการส่งมอบงานธุรกิจออกแบบ รับ เหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซ NGV ได้ตรงตามก�ำหนด รวมทั้งราย ได้จากการให้บริการสูบอัดก๊าซจากท่อก๊าซธรรมชาติของ ปตท. จนถึงลูกค้า ปลายทางยังมีอัตราการเติบโตได้ดี ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความแข็งแกร่งและ ความเชี่ยวชาญในการด�ำเนินธุรกิจก๊าซธรรมชาติของ SCN ได้เป็นอย่างดี แผนด�ำเนินงานในปี 2558 บริษัทฯ จะน�ำนวัตกรรมเทคโนโลยีก๊าซธรรมชาติ โดยแผนการด�ำเนินงานในปีนี้ ที่เรามีเป้าหมาย ทีบ่ ริษทั ฯ เป็นเจ้าของสิทธิบตั รไปต่อยอดสร้างรายได้ให้แก่ธรุ กิจเพิม่ เติม โดย ขยายฐานลูกค้ากลุม่ โรงงานอุตสาหกรรมทีอ่ ยูน่ อก เฉพาะกลุ่มลูกค้าโรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่นอกแนวท่อก๊าซและมีความ แนวท่อก๊าซให้มากขึ้น ซึ่งจะเป็นแรงผลักดันให้ รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

3


บริษัทฯตั้งเป้าหมายที่จะ เติบโตในปีนี้ 20%

ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ที่ มอบให้แก่บริษัทที่เข้าร่วมโครงการ “หุ้นใหม่ความภูมิใจของจังหวัด” โดย นอกเหนือจากความส�ำเร็จด้านผลประกอบการแล้ว SCN ถื อ เป็ น ตั ว แทนบริ ษั ท ในจั ง หวั ด นนทบุ รี ที่ เ ข้ า จดทะเบี ย นใน ในปีที่ผ่านมาบริษัทไม่ได้ละเลยที่จะมีส่วนร่วมใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การดูแลชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยให้การ สนับสนุนการด�ำเนินกิจกรรมอาสาที่เกี่ยวข้องกับ ในนามของคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร พนักงาน และบริษัทในเครือ ผม การพัฒนาชุมชนและสังคม เช่น การบริจาคเงิน ขอให้ค�ำมั่นว่า บริษัทจะยึดมั่นในการด�ำเนินธุรกิจภายใต้หลักธรรมาภิบาล และสิ่งของสนับสนุนองค์กรการกุศล โรงเรียนใน เพื่อสร้างความแข็งแกร่งและการเติบโตของบริษัทอย่างมั่นคงและยั่งยืน และ บริเวณใกล้เคียง เช่น กาชาด มูลนิธติ า่ ง ๆ เป็นต้น ขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า พันธมิตรทางธุรกิจ รวมทั้งผู้มีส่วนได้ จากความมุ่งมั่นด�ำเนินธุรกิจด้วยมาตรฐานระดับ ส่วนเสียทุกฝ่ายที่มอบความไว้วางใจและเชื่อมั่นในศักยภาพของบริษัทด้วยดี สากล ท�ำให้บริษัทสแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ตลอดมา ได้รับ Certificate of Authorization จาก The American Society of Mechanical Engineers (ASME) , Certificate ISO 9001:2008 จาก Bureau Veritas Certification Holding SAS-UK Branch, สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ถังที่ช่วยรักษาระดับความ นายธัญชาติ กิจพิพิธ ดันของก๊าซธรรมชาติให้คงที่ และ ระบบลดความ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ดันก๊าซธรรมชาติ รวมทั้งได้รับโล่รางวัลจาก

4

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


คณะกรรมการบริษัท

4

2

3

1

01 ธัญชาติ กิจพิพิธ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่

04 ช�ำนาญ วังตาล

02 พีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

05 ดร.ทนง พิทยะ

กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

5

ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ

03 พล.ต.อ.สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์

กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

5


คณะกรรมการบริหาร

6

4

2

5

01 สมชัย ลีเชวงวงศ์

05 ดร.ฤทธี กิจพิพิธ

02 โชคดี วงษ์แก้ว

06 พิมพ์วนิฏา จรัสปรีดา

03 สมเกียรติ วีตระกูล

07 นริศรา กิจพิพิธ

กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง

04 ประทีป แสงหิรัญวัฒนา

6

3

1

กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

7

กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง เลขานุการบริษัท

กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง


ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน

หน่วย : ล้านบาท รายการ

งบการเงินรวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2556 2557

สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม รายได้จากการขายและบริการ รายได้รวม ต้นทุนขายและบริการ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ก�ำไรขั้นต้น ก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงานต่อเนื่อง ก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงานที่ยกเลิก ก�ำไรสุทธิรวม

3,070 2,333 1,570 1,592 1,226 213 344 94 94

3,067 2,205 2,152 2,176 1,840 191 312 85 30 115

3,018 1,764 2,112 2, 147 1,650 203 462 228 173 401

21.88

14.52

21.89

5.91

3.91

10.62

11.21 3.19 22.38 3.16

14.34 3.74 25.16 2.56

37.94 13.19 42.00 1.41

อัตราส่วนทางการเงิน

อัตราก�ำไรขั้นต้น (%) (ไม่รวมธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์) อัตราก�ำไรสุทธิ (%) (ไม่รวมธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (%) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ถาวร (%) อัตราหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

7


กราฟข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน สินทรัพย์รวม (ล้านบาท)

หนี้สินรวม (ล้านบาท)

1,764

3,018

2,333

3,070

2,205

3,067

ส่วนของผู้ถือหุ้น (ล้านบาท)

ก�ำไรสุทธิ ไม่รวมส่วนได้เสียที่ ไม่มีอ�ำนาจควบคุม

94

1,253 738

115 401

862

ก�ำไรสุทธิ (ไม่รวมธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์)

94 228 85

8

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

2557 2556 2555


โครงสร้างการถือหุ้น

ปัจจุบัน บริษัทฯ มีบริษัทในกลุ่มจ�ำนวน 3 บริษัท โดยมีรายละเอียดดังนี้ ชื่อบริษัท

บริษัท สยามวาสโก จ�ำกัด

บริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด

บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน ช�ำระแล้ว

ธุรกิจจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ได้แก่ น�้ำมันหล่อลื่น 20.00 ล้านบาท ยางรถยนต์ แบตเตอรีร่ ถยนต์ เป็นต้น โดยจัดจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวส่วนใหญ่ให้แก่ลกู ค้าภายในประเทศ ธุรกิจจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ได้แก่ กระจก สแตนเลส 1.00 ล้านบาท ยางรถยนต์ แบตเตอรีร่ ถยนต์ เป็นต้น โดยจัดจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวส่วนใหญ่ให้แก่ลกู ค้าในต่างประเทศ เช่น ประเทศลาว ประเทศกัมพูชา เป็นต้น ธุรกิจสถานีบริการก๊าซ NGV ในประเทศไทย 5.00 ล้านบาท

สัดส่วนการ ถือหุ้น (ร้อยละ)

99.99

99.99

49.99

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

9


นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ

บริษัทฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 40.00 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะกิจการ หลัง หักภาษีเงินได้นิติบุคคลและการจัดสรรทุนส�ำรองตามกฎหมาย บริษัทย่อยของบริษัทฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 40.00 ตามก�ำไรสุทธิของงบการเงิน เฉพาะกิจการของบริษัทย่อยแต่ละบริษัท หลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคลและการจัดสรรทุนส�ำรองตามกฎหมาย อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ และบริษัทย่อยอาจพิจารณาจ่ายเงินปันผลในอัตราน้อยกว่าอัตราที่ก�ำหนดข้างต้นหรืองดจ่าย เงินปันผล โดยขึ้นอยู่กับภาวะเศรษฐกิจ ผลการด�ำเนินงาน ฐานะการเงิน สภาพคล่อง แผนการลงทุน ความจ�ำเป็นในการใช้เงิน ทุนหมุนเวียนเพื่อด�ำเนินธุรกิจ ขยายกิจการของบริษัทฯ และบริษัทย่อย และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาเห็นสมควรหรือเหมาะสม และเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น โดยการจ่ายเงินปันผลนั้น ต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ มีอ�ำนาจอนุมัติให้ ด�ำเนินการได้ นโยบายการจ่ายเงินปันผลของ บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด

บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นตามก�ำไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะกิจการของ บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด หลังการจัดสรรทุนส�ำรองตามกฎหมาย โดยการจ่ายเงินปันผลนั้นต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่ เป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลซึ่งคณะกรรมการของ บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด มีอ�ำนาจอนุมัติให้ด�ำเนินการได้ การจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ ในปี 2557

เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2558 มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้ แก่ผู้ถือหุ้นในอัตรา 0.70 บาทต่อหุ้น จากก�ำไรสะสมและก�ำไรของบริษัท งวดระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2557 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2557 ส�ำหรับหุ้นสามัญจ�ำนวน 900,000,000 หุ้น คิดเป็นเงินปันผลรวม 630 ล้านบาท โดยจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัท ในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558 และให้จัดสรรก�ำไรสะสมเป็นทุนส�ำรองตามกฎหมายจ�ำนวน 15 ล้านบาท ดังนั้น บริษัทจึงมีทุนส�ำรอง ตามกฎหมายเต็มจ�ำนวนตามที่กฎหมายก�ำหนดไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

10

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

บริษทั ฯ มุง่ เน้นการประกอบธุรกิจพลังงาน โดยเฉพาะธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับก๊าซธรรมชาติแบบครบวงจร ได้แก่ ธุรกิจสถานี บริการก๊าซธรรมชาติหลักโดยเอกชน ธุรกิจขนส่งก๊าซ NGV ธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับยานยนต์ ธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซ NGV ธุรกิจติดตั้งระบบก๊าซในรถยนต์ ธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ และธุรกิจอื่นๆ ซึ่งสามารถ จ�ำแนกได้ดังนี้ (1) ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ

ธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลักโดยเอกชน (Private Mother Station (PMS)) บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลักซึ่งเป็นสถานีบริการที่ตั้งอยู่ตามแนวท่อจัดจ�ำหน่าย ก๊าซธรรมชาติ โดยให้บริการอัดก๊าซธรรมชาติส�ำหรับรถขนส่งก๊าซ NGV เพื่อขนส่งไปให้สถานีบริการลูก (Daughter Station) n ธุรกิจขนส่งก๊าซ NGV (Third Party Logistics (TPL)) บริษัทฯ ให้บริการขนส่งก๊าซ NGV จากสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลัก อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ไปยังสถานีบริการลูกตามที่บริษัทฯ และ ปตท. ตกลงร่วมกัน n ธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับยานยนต์ (Private Brand Station (PBS)) บริษัทฯ ให้บริการสถานีบริการตามแนวท่อ (Conventional Station) จ�ำนวน 1 แห่ง ตั้งอยู่บริเวณพื้นที่ด้าน หน้าของสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลัก อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ภายใต้ชอื่ “สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ สแกน อินเตอร์” n ธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซ NGV บริษทั ฯ ให้บริการออกแบบ รับเหมา ติดตัง้ และซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ตามสถานีบริการก๊าซ NGV โดยการออกแบบ ระบบก๊าซธรรมชาติ และจัดหาวัสดุอปุ กรณ์เพือ่ น�ำไปติดตัง้ ทีส่ ถานีบริการก๊าซ NGV และอุปกรณ์เกีย่ วกับระบบ ก๊าซ NGV อื่นๆ n

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

11


n

ธุรกิจติดตั้งระบบก๊าซในรถยนต์ บริษัทฯ ให้บริการจ�ำหน่ายและติดตั้งชุดอุปกรณ์ก๊าซ NGV และก๊าซ LPG รวมถึงให้บริการดูแลรักษาและซ่อม บ�ำรุงระบบก๊าซในรถยนต์ และจ�ำหน่ายอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องต่างๆ อย่างครบวงจร

(2) ธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ (3) ธุรกิจอื่นๆ

ได้ดังนี้

โครงสร้างรายได้ของบริษัทฯ ส�ำหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2555 2556 และ 2557 สามารถจ�ำแนก ปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ธุรกิจ

1. ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ 1.1 ธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ หลักโดยเอกชน 1.2 ธุรกิจขนส่งก๊าซ NGV 1.3 ธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ ส�ำหรับยานยนต์ 1.4 ธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้ง และซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซ NGV 1.5 ธุรกิจติดตั้งระบบก๊าซในรถยนต์ 2. ธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ 3. ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ 4. ธุรกิจอื่นๆ ได้แก่ ธุรกิจร้านสะดวก ซื้อ และธุรกิจค้าแบตเตอรี่ รวมรายได้ รายได้อื่น รายได้รวม หมายเหตุ :

2555

2556

ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท

2557 ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

1,385.22 89.80 1,386.40 87.07 1,188.64 53.23 1,534.97 70.34 135.63 8.79 123.32 7.99

154.77 9.72 183.95 11.55

204.46 209.52

9.16 9.38

236.99 10.86 226.27 10.37

124.74 8.09

194.14 12.19

203.26

9.10

198.32

567.27 434.26 -

464.34 389.20 97.43 3.12

401.57 17.98 169.83 7.61 693.04 31.04 56.89 2.55

36.78 28.15 0.00 0.00

29.16 24.44 6.12 0.20

9.09

809.56 37.10 63.83 2.93 487.01 22.32 34.89 1.60

142.81 9.26 83.07 5.22 271.12 12.14 90.03 4.13 1,528.03 99.06 1,570.02 98.60 2,209.69 98.95 2,146.90 98.38 14.48 0.94 22.32 1.40 23.40 1.05 35.31 1.62 1,542.51 100.00 1,592.34 100.00 2,233.09 100.00 2,182.21 100.00

เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 บริษัทฯ ได้จ�ำหน่ายเงินลงทุนในบริษัท สแกน อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่ ด�ำเนินธุรกิจผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ให้แก่บุคคลภายนอก เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทได้ซื้อเงินลงทุนในบริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทที่ด�ำเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการส่ง ออกผลิตภัณฑ์แบตเตอร์รี่และกระจก และเป็นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกับกลุ่มบริษัท ยอดรวมรายได้ข้างต้นยังไม่ได้รวมรายได้จากการจ�ำหน่ายธุรกิจโรงงานไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ จ�ำนวน 199.89 ล้านบาท (ก่อนหักภาษี)

12

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


ปัจจัยความเสี่ยง

ปัจจัยความเสีย่ งส�ำหรับกลุม่ บริษทั ฯทีอ่ าจจะมีผลกระทบต่อผลตอบแทนจากการลงทุนของผูล้ งทุนอย่างมีนยั ส�ำคัญสามารถ สรุปได้ดังนี้ ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ

ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ สามารถจ�ำแนกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ความเสี่ยงที่กระทบต่อผู้ประกอบ ธุรกิจพลังงานโดยเฉพาะธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติทั้งระบบ (Systematic Risk) และความเสี่ยงเฉพาะของกลุ่มบริษัทฯ (Unsystematic Risk) โดยรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ความเสี่ยงเฉพาะของกลุ่มบริษัทฯ (Unsystematic Risk)

1.1 ความเสี่ยงในธุรกิจเกี่ยวเนือ่ งกับก๊าซธรรมชาติ 1.1.1 ความเสี่ยงการพึ่งพิงลูกค้ารายใหญ่ บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติกับลูกค้ารายใหญ่ 1 ราย ได้แก่ ปตท. ซึ่งเป็นผู้จัด จ�ำหน่ายก๊าซ NGV รายเดียวของประเทศ ในขณะทีบ่ ริษทั ฯ เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญในธุรกิจเกีย่ วเนือ่ งกับก๊าซธรรมชาติ จึงมีการให้บริการทางธุรกิจกันมาโดยตลอด โดยในปี 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีรายการทางการค้ากับ ปตท. มีรายละเอียด ดังนี้ - รายได้จากธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับก๊าซธรรมชาติ ได้แก่ ธุรกิจสถานีบริการหลักโดยเอกชน ธุรกิจขนส่ง ก๊าซ NGV ธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้ง และซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซ NGV จ�ำนวน 640.55 ล้านบาท และ 812.10 ล้านบาท ตามล�ำดับ หรือคิดเป็นร้อยละ 29.75 และร้อยละ 38.45 ของ รายได้รวม ตามล�ำดับ

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

13


- ยอดสั่งซื้อก๊าซ NGV จากธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับยานยนต์ จ�ำนวน 162.62 ล้านบาท และ 154.98 ล้านบาท ตามล�ำดับ หรือคิดเป็นร้อยละ 11.02 และร้อยละ 13.34 ของ ยอดสั่งซื้อรวม ตามล�ำดับ หาก ปตท. ไม่จัดจ้างบริษัทฯ ในธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติอีกต่อไป จะส่งผลให้รายได้และ ก�ำไรของบริษัทฯ ลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามสัญญาว่าจ้างอย่างเคร่งครัด ส่งมอบงานและบริการทีม่ คี ณ ุ ภาพและการด�ำเนินงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง บริษทั ฯ จึงได้รบั การว่าจ้างจาก ปตท. อย่างต่อเนื่องจนกระทั่งปัจจุบัน โดยบริษัทฯ และปตท. เป็นคู่ค้าที่ดีต่อกันโดยท�ำการค้าต่อกันมามากกว่า 21 ปี และไม่เคยมีเหตุการณ์ท�ำให้เกิดการเลิกจ้างบริษัทฯ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ตระหนักถึงความเสี่ยงนี้ จึงได้ขยายขอบเขตการด�ำเนินธุรกิจ เพื่อสร้างรายได้จากธุรกิจอื่นๆ เพิ่มเติม ได้แก่ ธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ ธุรกิจติดตั้งระบบก๊าซในรถยนต์ นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมีแผนการขยายกลุ่มลูกค้าไปยังโรงงานอุตสาหกรรม ในอนาคต โดยบริษัทฯ เริ่มมีโครงการจัดหาและขนส่งก๊าซธรรมชาติให้แก่โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น 1.1.2 ความเสี่ยงจากเครื่องอัดก๊าซธรรมชาติเกิดความเสียหาย ในสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลัก อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี มีเครื่องอัดก๊าซธรรมชาติจ�ำนวน 11 เครื่อง ที่ใช้อัดก๊าซให้กับรถขนส่งก๊าซ NGV เพื่อขนส่งไปยังสถานีบริการลูก สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ หลักเปิดด�ำเนินการ 24 ชั่วโมง ตลอด 365 วันต่อปี โดยบริษัทฯ ตกลงกับ ปตท. เกี่ยวกับปริมาณอัดก๊าซ ไม่ต�่ำกว่า 350 ตันต่อวัน และมีก�ำลังส�ำรองการผลิตร้อยละ 25 ตลอดอายุสัญญา และต้องอัดก๊าซ NGV ให้ รถขนส่งก๊าซ NGV ได้อย่างน้อย 10 คันพร้อมกัน และมีอตั ราการเติมไม่นอ้ ยกว่า 12 ตันต่อชัว่ โมง หากบริษทั ฯ ไม่สามารถท�ำได้ตามที่ได้ตกลงไว้ บริษัทฯ ต้องชดเชยค่าเสียหายในส่วนที่ขาดให้กับ ปตท. ในอัตรา 1.5 เท่า ของค่าตอบแทนการอัดก๊าซ ดังนั้น หากเกิดความเสียหายกับสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลัก หรือเครื่อง อัดก๊าซธรรมชาติ จนกระทั่งบริษัทฯ ไม่สามารถอัดก๊าซ NGV ได้ตามที่ตกลงกันไว้กับ ปตท. จะส่งผลให้ รายได้ของบริษัทฯ ลดลงและเกิดรายจ่ายเพิ่มขึ้นจากค่าชดเชยความเสียหาย ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ไม่เคยต้องจ่ายค่าชดเชยความเสียหายให้แก่ ปตท. เนื่องจาก ความผิดพลาดจากการด�ำเนินงานของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีการซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาเครื่อง อัดก๊าซธรรมชาติที่สถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลักอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัทฯ มีการบริหารจัดการด�ำเนินงาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัย เช่น มีการสับเปลี่ยนการใช้เครื่องอัดก๊าซธรรมชาติเพื่อให้เครื่องอัดก๊าซธรรมชาติ แต่ละเครื่องมีอายุการใช้งานเฉลี่ยใกล้เคียงกัน มีการวางแผนตรวจสอบและซ่อมบ�ำรุงเครื่องอัดก๊าซธรรมชาติ สม�่ำเสมอ เป็นต้น นอกจากนั้น บริษัทฯ มีวงเงินประกันภัยความเสี่ยงภัยทรัพย์สินจ�ำนวน 150.00 ล้านบาทซึ่งครอบคลุม สิ่งปลูกสร้าง อาคารสถานี อุปกรณ์และเครื่องจักรที่สถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลักของบริษัทฯ และประกันภัย ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก 1.1.3 ความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุในสถานีบริการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับยานยนต์และสถานีบริการ ก๊าซธรรมชาติหลักโดยเอกชน ในสถานีบริการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับยานยนต์ อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี มีลูกค้าซึ่งเป็นบุคคล ภายนอกเข้ามาใช้บริการเติมก๊าซ NGV จ�ำนวนมาก หากไม่มกี ารควบคุมอย่างเคร่งครัดอาจเกิดอุบตั เิ หตุระหว่าง การเติมก๊าซ NGV ได้ และอาจส่งผลกระทบต่อสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลักโดยเอกชนทีอ่ ยู่ในบริเวณเดียวกัน อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ มีการก�ำหนดมาตรการความปลอดภัยภายในสถานีบริการก๊าซธรรมชาติสำ� หรับยานยนต์ และปฏิบตั ติ ามคูม่ อื มาตรฐานสถานีบริการก๊าซที่ ปตท.ก�ำหนด และก�ำหนดให้พนักงานปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด รวมถึงการควบคุมบุคคลภายนอกเมื่อเข้ามาใช้บริการเติมก๊าซ

14

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


โดยในระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมาตั้งแต่ปี 2554 - 2556 และ 2557 บริษัทฯ ไม่เคยเกิดอุบัติเหตุร้ายแรง ที่สถานีบริการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับยานยนต์ของบริษัทฯ นอกจากนั้น บริษัทฯ มีวงเงินประกันทรัพย์สินจ�ำนวน 24.48 ล้านบาท ซึ่งครอบคลุมสิ่งปลูกสร้าง อาคารสถานี อุปกรณ์และเครื่องจักรที่สถานีบริการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับยานยนต์ วงเงินประกันภัยทรัพย์สิน จ�ำนวน 150.00 ล้านบาท ซึ่งครอบคลุมสิ่งปลูกสร้าง อาคารสถานี อุปกรณ์และเครื่องจักรที่สถานีบริการ ก๊าซธรรมชาติหลักโดยเอกชน และประกันภัยความรับผิดต่อบุคคลภายนอก 0.30 ล้านบาทต่อคน และค่ารักษา พยาบาล 0.05 ล้านบาทต่อคน รวมกันไม่เกิน 20.00 ล้านบาทต่อครั้ง 1.1.4 ความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุของรถขนส่งก๊าซ NGV ในการด�ำเนินธุรกิจขนส่งก๊าซ NGV รถขนก๊าซ NGV ของบริษัทฯ ต้องขนส่งก๊าซ NGV ให้แก่ ปตท. ประมาณ 120 เที่ยวต่อวัน ตลอด 24 ชั่วโมง จึงมีความเสี่ยงที่รถขนส่งก๊าซ NGV อาจเกิดอุบัติเหตุระหว่าง การขนส่งได้ และอาจจะส่งผลต่อการยกเลิกสัญญาหรือไม่ต่อสัญญาจ้างขนส่งก๊าซฯ กับบริษัทฯ รวมถึงการ เรียกร้องค่าเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ในปี 2554 - 2557 รถขนส่งก๊าซ NGV ของบริษัทฯ ไม่เคยมีอุบัติเหตุที่ ร้ายแรงเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ตระหนักถึงความเสี่ยงนี้และให้ความส�ำคัญอย่างสูงสุด โดยจัดให้มีระบบ คอมพิวเตอร์ Supervisory Control And Data Acquisition (SCADA) ท�ำหน้าทีค่ วบคุมก�ำกับดูแลและเก็บข้อมูล ผ่านระบบ Global Positioning System (GPS) เพื่อติดตามรถขนส่งเพื่อให้ทราบต�ำแหน่งปัจจุบัน รวมทั้ง ตรวจวัดระยะทางในการขนส่ง พร้อมๆ กับการวัดระดับความเร็วของรถ โดยมีขอบเขตความเร็วจ�ำกัดที่ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง นอกจากนั้น บริษัทฯ จัดให้มีพนักงานประจ�ำรถ 2 คนในทุกเที่ยวเพื่อช่วยเหลือในการดู เส้นทางและอื่นๆ ที่จ�ำเป็น โดยบริษัทฯ จะมีการอบรมพนักงานขับรถก่อนให้ปฏิบัติงานจริง และก�ำชับให้ต้อง ปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยของ ปตท. อย่างเคร่งครัด และห้ามการจอดรถระหว่างทางการขนส่งก๊าซ จากสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลักไปยังสถานีปลายทาง นอกจากนั้น บริษัทฯ ได้จัดท�ำประกันภัยเพื่อคุ้มครองทรัพย์สินในวงเงิน 219.90 ล้านบาท และ ประกันภัยคุ้มครองความเสียหายของคู่กรณีตามพระราชบัญญัติประกันภัย 1.1.5 ความเสี่ยงจากการถูกยกเลิกสัญญาก่อนก�ำหนด บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจภายใต้สญั ญาทีส่ ำ� คัญต่างๆ ได้แก่ สัญญาจ้างอัดก๊าซฯ สัญญาจัดตัง้ สถานีบริการฯ สัญญาจ้างขนส่งก๊าซฯ สัญญาโครงการในธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงสถานีบริการก๊าซ NGV ซึ่งมีรายได้รวมกันในปี 2554 - 2556 และปี 2557 จ�ำนวน 950.96 ล้านบาท 997.20 ล้านบาท 1,018.81 ล้านบาท และ 1,471.15 ล้านบาท ตามล�ำดับ หรือคิดเป็นสัดส่วนรายได้ร้อยละ 61.65 ร้อยละ 62.62 ร้อยละ 45.62 และร้อยละ 67.42 ของรายได้รวม ตามล�ำดับ หากบริษัทฯ ถูกยกเลิกสัญญาก่อนก�ำหนดจะส่งผลให้ รายได้ของบริษัทฯ ลดลง สาเหตุของการถูกยกเลิกสัญญามีได้หลายประการ เช่น การที่บริษัทฯ ปฏิบัติผิด สัญญาและมิได้แก้ไขได้ทันตามก�ำหนดเวลา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ตระหนักถึงความเสี่ยงนี้มาโดยตลอด ซึ่งบริษัทฯ มีมาตรการลดความเสี่ยงใน ปัจจัยที่บริษัทฯ สามารถควบคุมได้ โดยการควบคุมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามสัญญาต่างๆ อย่างเคร่งครัด รวมถึงปฏิบัติตามมาตรฐานสากล ได้แก่ มาตรฐาน BS OHSAS 18001 มาตรฐาน ISO 9001:2008 มาตรฐาน TIS 18001:2001 และมาตรฐานและข้อก�ำหนดของ ปตท. ในการปฏิบัติงาน อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมา บริษัทฯ ไม่เคยถูกยกเลิกสัญญาใดๆ มาก่อน

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

15


1.1.6 ความเสี่ยงจากการไม่ได้เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายแต่เพียงผู้เดียวในสินค้าหลัก ปัจจุบัน บริษัทฯ เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายและประกอบ รวมทั้งบริการซ่อมบ�ำรุงเครื่องอัดก๊าซธรรมชาติ Knox Western ในประเทศไทย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้รับแต่งตั้งเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายเครื่องอัดก๊าซ CNG รุ่น Knox Western 3000 แต่เพียงผู้เดียวในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจ�ำหน่ายให้แก่ ปตท. ซึ่ง Knox Western เป็นแบรนด์เครื่องอัดก๊าซธรรมชาติที่มีชื่อเสียง ท�ำให้บริษัทฯ มีความได้เปรียบในการแข่งขันใน การจัดหาชิน้ ส่วนอะไหล่ รวมถึงการซ่อมแซมบ�ำรุงรักษาเครือ่ งอัดก๊าซธรรมชาติในสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ ของ ปตท. โดยที่ผ่านมาบริษัทฯ ได้รับสัญญาโครงการที่เกี่ยวข้องกับชิ้นส่วนอุปกรณ์ของ Knox Western ในปี 2555 - 2556 และปี 2557 เป็นมูลค่าสัญญา 120.00 ล้านบาท 27.48 ล้านบาท และ 120.00 ล้านบาท ตามล�ำดับ หากบริษัทฯ ไม่ได้เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายแต่เพียงรายเดียวในประเทศไทย (Sole Distributor) และบริษัท คู่แข่งอื่นสามารถจัดจ�ำหน่ายชิ้นส่วนอะไหล่ของ Knox Western ได้ บริษัทฯ จะมีคู่แข่งในการเข้าร่วมประมูล และบริษทั ฯ อาจสูญเสียโอกาสในการได้รบั การว่าจ้างอย่างทีผ่ า่ นมา ซึง่ ส่งผลกระทบต่อรายได้จากธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซ NGV ทั้งนี้ สัญญาแต่งตั้งเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายของ Knox Western ไม่ได้ระบุเงื่อนไขการยกเลิกสัญญา อย่างไรก็ดี บริษัทฯ และ Knox Western มีความสัมพันธ์ทางการค้าที่ดีต่อกันตั้งแต่ บริษัทฯ เริ่มท�ำ ธุรกิจกับ ปตท. โดยท�ำการค้าต่อกันมามากกว่า 7 ปี และบริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามข้อตกลงอย่างเคร่งครัด และ สั่งซื้อชิ้นส่วนและอุปกรณ์ ได้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้น บริษัทฯ เชื่อว่าด้วยประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญและ ชือ่ เสียงในประเทศ บริษทั ฯ จะสามารถรักษาความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ Knox Western ได้ในระยะยาวในอนาคต 1.1.7 ความเสี่ยงจากความต่อเนือ่ งของรายได้จากงานโครงการ ในธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์สถานีบริการก๊าซ NGV บริษัทฯ จะต้องเข้า ประมูลงานจากเจ้าของโครงการ ซึ่งผลการประมูลมีความไม่แน่นอน รวมถึงจ�ำนวนโครงการที่บริษัทฯ รับจ้าง มีความผันผวนตามปริมาณงาน ซึ่งจะส่งผลให้ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ มีความผันผวนตามปริมาณงาน ที่บริษัทฯ ประมูลได้และระยะเวลาการส่งมอบงานในแต่ละปี มีดังนี้

ทั้งนี้ ภาพรวมขอบเขตการให้บริการในธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซ NGV

ลักษณะการให้บริการ

งานออกแบบ รับเหมา ติดตั้งอุปกรณ์ก๊าซ NGV

n

งานซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ งานจัดหาอะไหล่

n n

16

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

มูลค่าโครงการโดย ประมาณ

ระยะเวลาการให้บริการโดยประมาณ

2.00 - 450.00 ล้านบาท 1 เดือน - 1 ปี และบางโครงการระยะเวลา สิ้นสุดโครงการขึ้นอยู่กับขั้นตอนการปฏิบัติ งานของ ปตท. เช่น การก�ำหนดที่ตั้งของ สถานีบริการก๊าซ NGV แห่งใหม่ เป็นต้น 0.10 - 480.00 ล้านบาท 6 เดือน - 2 ปี 0.30 - 25.00 ล้านบาท 1 สัปดาห์ - 6 เดือน


ในปี 2554 - 2556 บริษัทฯ มีรายได้จากธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซ NGV จ�ำนวน 567.27 ล้านบาท 464.34 ล้านบาท และ 401.57 ล้านบาท ตามล�ำดับหรือคิดเป็นการลดลง ร้อยละ 18.14 ระหว่างปี 2554 - 2555 และลดลงร้อยละ 13.52 ระหว่างปี 2555 - 2556 ตามล�ำดับ นอกจากนี้ รายได้ใน ปี 2557เท่ากับ 809.56 ล้านบาท หรือคิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 101.60 อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ตระหนักถึงความเสี่ยงนี้ บริษัทฯ จึงมุ่งเน้นรักษาชื่อเสียงของบริษัทฯ และสร้าง ความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า โดยการส่งมอบงานที่มีคุณภาพและมาตรฐานในราคาที่เหมาะสม ตามระยะเวลา ที่ก�ำหนด ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้รับเชิญให้เข้าร่วมประมูลโครงการใหม่อย่างต่อเนื่อง และมีชื่อเสียงที่ดีในวงการ อุตสาหกรรมซึง่ ท�ำให้บริษทั ฯ มีความสามารถในการแข่งขันสูงในธุรกิจนี้ ส่งผลถึงความสามารถในการประมูลงาน และการได้รับจ้างงานโครงการใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง 1.1.8 ความเสี่ยงจากการขาดแคลนพนักงานที่มีทักษะความช�ำนาญ ธุรกิจของบริษัทฯ เกี่ยวข้องกับงานเชิงวิศวกรรมและเทคนิคด้านเครื่องกลและก๊าซธรรมชาติ บริษัทฯ จึงจ�ำเป็นต้องมีบคุ ลากรทีม่ ปี ระสบการณ์และความเชีย่ วชาญทางด้านวิศวกรรมและเทคนิค ได้แก่ การออกแบบ ระบบก๊าซ การประกอบเครื่องอัดก๊าซธรรมชาติ การเชื่อมต่อระบบก๊าซธรรมชาติ การทดสอบและการควบคุม การท�ำงานของระบบและอุปกรณ์ต่างๆ การสูญเสียบุคลากรเฉพาะทาง เช่น หัวหน้าโครงการ หรือหัวหน้า วิศวกร หรือพนักงานในต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นๆ เป็นต้น จะส่งผลให้การด�ำเนินงานของบริษัทฯ อาจมีความล่าช้า และไม่ต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บริษัทฯ ยึดมั่นว่าบุคลากรทุกคนเป็นทรัพยากรที่มีค่าและเป็นปัจจัยส�ำคัญในการด�ำเนินงานและผลักดันให้บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมายและแผนธุรกิจที่วางไว้ได้ บริษัทฯ จึงให้ความส�ำคัญกับการก�ำหนดนโยบายการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ในด้านการพัฒนาบุคลากร การพัฒนาทักษะและความสามารถ รวมถึงความรับผิดชอบ ของบุคลากร การวางแนวทางอาชีพ (Career Path) ของบุคลากรในแต่ละระดับ รวมถึงการให้ผลตอบแทนที่ เหมาะสมกับความรู้ความสามารถของแต่ละบุคคลเพื่อรักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่มีคุณภาพ 1.1.9 ความเสี่ยงจากการส่งมอบงานให้ลูกค้าไม่ทันก�ำหนดเวลา ในธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซ NGV บริษัทฯ จะรับจ้างเป็นผู้จัดหาชิ้น ส่วนอุปกรณ์ หรือผลิตชิ้นงาน เช่น การประกอบรถหางตู้ขนส่งก๊าซ NGV การติดตั้งเครื่องอัดก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีความเสี่ยงในการเสียค่าปรับหากไม่สามารถส่งมอบงานได้ทันตามก�ำหนดเวลา เนือ่ งจากสาเหตุทอี่ าจจะเกิดขึน้ เช่น การส่งมอบวัตถุดบิ ล่าช้าจากผูจ้ ดั จ�ำหน่าย ความล่าช้าในการน�ำเข้าวัตถุดบิ เป็นต้น ซึ่งหากเกิดเหตุการณ์ข้างต้น บริษัทฯ จะต้องเสียค่าปรับโดยทั่วไปในอัตราร้อยละ 0.10 ต่อวัน ของ ราคาค่าจ้างที่ยังไม่ได้ส่งมอบงาน โดยในปี 2556 และปี 2557 บริษัทฯ ช�ำระค่าปรับจากงานออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซ NGV จ�ำนวน 0.34 ล้านบาท และ 1.20 ล้านบาท ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อก�ำหนดเวลาการส่งมอบงานเป็นอย่างมาก โดยบริษัทฯ ลดความเสี่ยงดังกล่าวโดยมีการวางแผนการปฏิบัติงานอย่างละเอียด ควบคุมขั้นตอนการด�ำเนินงานให้เป็นไป ตามแผนงานที่วางไว้ และมีการประชุมเพื่อติดตามผลความก้าวหน้าของโครงการอย่างสม�่ำเสมอ นอกจากนั้น ในการน�ำเข้าวัตถุดิบเพื่อด�ำเนินโครงการ บริษัทฯ จะเผื่อเวลาในการน�ำเข้าวัตถุดิบไว้ในแผนงานและจะติดต่อ ผูจ้ ดั จ�ำหน่ายตัง้ แต่การประมูลโครงการเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าวัตถุดบิ ทีส่ ำ� คัญสามารถน�ำเข้าได้ทนั เวลาทีก่ ำ� หนดอีกทัง้ บริษัทฯ ยังมีคณะท�ำงานที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินงาน ทั้งที่โรงงานของบริษัทฯ และสถานที่ก่อสร้าง

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

17


1.1.10 ความเสี่ยงจากค่าชดเชยความเสียหายจากการรับประกันผลงาน ในธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซ NGV ชิ้นส่วนอุปกรณ์ที่บริษัทฯ น�ำมาใช้ ต้องได้มาตรฐานการผลิตและมาตรฐานจากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เพราะต้องถูกน�ำมาใช้งานในสภาวะแวดล้อม ทีม่ คี วามดันสูง อีกทัง้ ก๊าซ NGV มีคณ ุ สมบัตสิ ามารถติดไฟได้ หากเกิดความบกพร่องในการท�ำงานของอุปกรณ์ อาจเกิดความเสียหายอย่างรุนแรงต่ออุปกรณ์ เครื่องจักร และพนักงานหรือลูกค้าได้ โดยบริษัทฯ จะต้องรับ ประกันผลงานเป็นระยะเวลา 1 ปี นับจากวันส่งมอบงาน อย่างไรก็ดี ผู้ผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์จะมีการรับประกัน ชิน้ ส่วนอุปกรณ์เป็นระยะเวลา 1 ปี นับจากวันส่งมอบของ และบริษทั ฯ ยังมีการค�ำนวณโอกาสเกิดความเสียหาย ของชิ้นส่วนอุปกรณ์ เมื่อมีการคิดราคาค่าบริการจากลูกค้าแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ ไม่มีคดีที่ถูกฟ้องร้องหรือค้างพิจารณาอยู่ในศาล เกี่ยวกับค่าเสีย หายจากการรับประกันผลงานของบริษัทฯ 1.1.11 ความเสี่ยงจากเจ้าของที่ดินเช่าที่ศูนย์ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซส�ำหรับรถยนต์ สาขาชินเขตไม่ ต่อสัญญา ศูนย์ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซส�ำหรับรถยนต์ สาขาชินเขต ให้บริการติดตั้งระบบก๊าซในรถยนต์ ประเภททั่วไป ตั้งอยู่บนที่ดินพื้นที่ 2 งาน กรรมสิทธิ์ของบริษัทฯ และที่ดินพื้นที่ 2 งาน ซึ่งเป็นที่ดินเช่าของ บุคคลอืน่ ที่ไม่ได้เป็นบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วโยงกับบริษทั ฯ โดยสัญญาเช่าทีด่ นิ ดังกล่าวมี 2 ฉบับ รายละเอียดดังนี้ โฉนดเลขที่

ระยะเวลา พื้นที่เช่า การเช่า

1. 1573 และ 1 งาน 1574 2. 62374 และ 1 งาน 62450

1 ปี 3 ปี

ระยะเวลาสิ้นสุด สัญญาเช่า

กรรมสิทธิ์ที่ดินเช่า

31 ธันวาคม 2558 ผู้ให้เช่าที่ดินแก่บริษัทฯ เป็นเจ้าของที่ดินนี้ 16 สิงหาคม 2560 ผู้ให้เช่าที่ดินแก่บริษัทฯ ไม่ได้เป็นเจ้าของที่ดินนี้ โดยได้ เ ช่ า ช่ ว งมาจาก เจ้าของทีด่ นิ อีกทอดหนึง่

การใช้งาน

ที่จอดรถ ส่ ว นหนึ่ ง ของศู น ย์ บริ ก ารและติ ด ตั้ ง อุปกรณ์ก๊าซส�ำหรับ รถยนต์

โดยในปี 2556 และปี 2557 รายได้จากศูนย์ตดิ ตัง้ และซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์กา๊ ซส�ำหรับรถยนต์ สาชาชินเขต มีจ�ำนวน 79.26 ล้านบาท และ 41.56 ล้านบาท ตามล�ำดับ ที่ดินเช่าดังกล่าวถูกใช้เป็นที่จอดรถเพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่ลูกค้าที่มาใช้บริการ และส่วนหนึ่งของ ศูนย์ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซส�ำหรับรถยนต์ สาขาชินเขต ดังนั้น หากบริษัทฯ ไม่ได้รับการต่อสัญญา การเช่าที่ดิน จะไม่มีผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ อย่างมีนัยส�ำคัญ นอกจากนี้ บริษัทฯ ตระหนัก ถึงความเสี่ยงนี้มาตลอด และมีแผนการย้ายศูนย์ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซดังกล่าวไปตั้งอยู่บนที่ดินที่ บริษัทฯ เป็นเจ้าของทั้งหมด ซึ่งแผนการดังกล่าวได้อนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริหารครั้งที่ 8/2557 1.1.12 ความเสี่ยงจากการฟ้องร้องค่าเสียหายที่เกิดจากอุปกรณ์ก๊าซที่บริษัทฯ ติดตั้งในรถยนต์ ความเสีย่ งนีเ้ กิดจากลูกค้าทีต่ ดิ ตัง้ ระบบก๊าซในรถยนต์ของบริษทั ฯ เกิดอุบตั เิ หตุและมีความเสียหายเกิด ขึ้น และฟ้องร้องค่าเสียหายกับบริษัทฯ ซึ่งหากมีค�ำตัดสินให้บริษัทฯ ต้องชดเชยค่าเสียหายแก่ลูกค้าดังกล่าว จะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ เพิ่มขึ้น

18

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


ทั้งนี้ บริษัทฯ รับประกันชุดอุปกรณ์ติดตั้งก๊าซโดยมีรายละเอียด ดังนี้ - รถยนต์มิตซูบิชิที่ติดชุดอุปกรณ์ติดตั้งก๊าซ - บริษัทฯ ประกันภัยชุดอุปกรณ์ติดตั้งก๊าซ 36 เดือน หรือ 100,000 กิโลเมตร - ชุดอุปกรณ์ติดตั้งก๊าซระบบ สแกน พาวเวอร์ พลัส - บริษัทฯ ประกันภัยชุดอุปกรณ์ติดตั้งก๊าซ 36 เดือน หรือ 100,000 กิโลเมตร - ชุดอุปกรณ์ติดตั้งก๊าซส�ำหรับรถแท็กซี่ - บริษัทฯ รับประกันเป็นระยะเวลา 6 เดือนนับตั้งแต่ติดตั้ง ชุดอุปกรณ์ติดตั้งก๊าซ - ชุดอุปกรณ์ติดตั้งก๊าซส�ำหรับรถยนต์ทั่วไป - บริษัทฯ รับประกันเป็นระยะเวลา 1 ปีนับตั้งแต่ติดตั้ง ชุดอุปกรณ์ติดตั้งก๊าซ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีการท�ำประกันภัยกับบริษัทประกันเพื่อชดเชยค่าเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ฯ ไม่มคี ดีทถี่ กู ฟ้องร้องหรือค้างพิจารณาอยู่ในศาล เกีย่ วกับค่าเสียหาย ที่เกิดจากอุปกรณ์ก๊าซของบริษัทฯ 1.2 ความเสี่ยงในธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ 1.2.1 ความเสี่ยงจากการแข่งขันของผู้ผลิตรถยนต์และผู้จ�ำหน่าย ความเสีย่ งนีเ้ กิดจากจ�ำนวนผูผ้ ลิตและผูจ้ ำ� หน่ายรถยนต์มจี ำ� นวนมาก จึงเกิดการแข่งขันค่อนข้างสูง ซึง่ บริษทั ฯ เป็นผูจ้ ำ� หน่ายและให้บริการศูนย์ซอ่ มและบ�ำรุงรักษารถยนต์มติ ซูบชิ ิ ต้องแข่งขันกับรถยนต์แบรนด์อนื่ นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังต้องแข่งขันภายในกับผู้จ�ำหน่ายรถยนต์มิตซูบิชิรายอื่นในเขตจังหวัดนนทบุรีและ กรุงเทพฯ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีการบริหารความเสี่ยงนี้โดยมีการท�ำโปรโมชั่นอย่างสม�่ำเสมอ มีทีมขายที่ คอยติดตามสถานการณ์ของคู่แข่งขันเพื่อการปรับแผนการตลาดอย่างทันท่วงที และมีการให้บริการหลังการ ขายที่ดี อีกทั้ง มิตซูบิชิ มีการก�ำหนดพื้นที่ขายของผู้จ�ำหน่ายแต่ละรายเพื่อป้องกันการแข่งขันของผู้จ�ำหน่าย รถยนต์มิตซูบิชิด้วยกัน 1.2.2 ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผู้จัดหาสินค้า บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจเป็นผู้จ�ำหน่ายรถยนต์มิตซูบิชิ โดย มิตซูบิชิ เป็นผู้จัดหารถยนต์ และอะไหล่ให้กับ บริษัทฯ เพียงรายเดียว โดยมีการต่ออายุสัญญาคราวละ 1 ปี ในปี 2556 และปี 2557 บริษัทฯ มีการสั่งซื้อ รถยนต์และอะไหล่จาก มิตซูบชิ ิ จ�ำนวน 709.55 ล้านบาท และ 420.65 ล้านบาท ตามล�ำดับ หรือคิดเป็นร้อยละ 48.09 และร้อยละ 36.20 ของยอดสั่งซื้อ ตามล�ำดับ หาก มิตซูบิชิ ยกเลิกสัญญาผู้จ�ำหน่ายรถยนต์และสัญญาอื่นที่เกี่ยวข้อง จะส่งผลให้รายได้ของบริษัทฯ ลดลง อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามสัญญาอย่างเคร่งครัด สามารถสร้างยอดขายได้อย่างต่อเนือ่ ง อีกทัง้ ยังส่งมอบสินค้าและบริการคุณภาพดี อันเป็นการสร้างภาพลักษณ์ทดี่ ีให้กบั มิตซูบชิ ิ บริษทั ฯ เชือ่ ว่าจะสามารถ ขยายสัญญาต่อไปได้ในอนาคต

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

19


2. ความเสี่ยงที่กระทบต่อผู้ประกอบธุรกิจพลังงานโดยเฉพาะธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติทั้งระบบ (Systematic Risk)

2.1 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของนโยบายราคาก๊าซ NGV บริษัทฯ ประกอบธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในปี 2554 – 2556 และปี 2557 บริษัทฯ มีรายได้จาก ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติจ�ำนวน 1,385.22 ล้านบาท 1,386.40 ล้านบาท 1,188.64 ล้านบาท และ 1,534.97 ล้านบาท ตามล�ำดับ ผลการด�ำเนินงานจะเกี่ยวโยงกับราคาก๊าซ NGV โดยตรง ซึ่งราคาก๊าซ NGV จะถูกก�ำหนดโดย รัฐบาล ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ครม. มีมติออกมาหลายครั้งต่อราคาก๊าซ NGV เช่น เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2557 ที่ประชุม กบง. มีมติปรับขึ้นราคาก๊าซ NGV 1.00 บาทต่อกิโลกรัมเป็น 11.50 บาทต่อกิโลกรัม และล่าสุดเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2557 ที่ประชุม กบง. มีมติปรับราคาขายปลีกก๊าซ NGV ขึ้นอีก 1.00 บาทต่อกิโลกรัม จากเดิมราคา 11.50 บาทต่อกิโลกรัม เป็นราคา 12.50 บาทต่อกิโลกรัม และปรับขึ้นราคาอีกครั้ง เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2558 เป็นราคา 13 บาทต่อกิโลกรัม ปตท. ในฐานะผู้ขายก๊าซ NGV กล่าวว่ายังประสบผลขาดทุนจากการด�ำเนินธุรกิจจ�ำหน่ายก๊าซ NGV เพราะมีต้นทุนการด�ำเนินการประมาณ 16.00 บาทต่อกิโลกรัม ไม่จูงใจในการขยายสถานีบริการก๊าซ NGV1 จึงไม่สามารถแก้ปัญหาความไม่เพียงพอของสถานีบริการก๊าซ NGV ต่อความต้องการใช้ของประชาชนหลังจาก ประชาชนหันมาใช้ก๊าซ NGV เพิ่มมากยิ่งขึ้นจากปัญหาน�้ำมันราคาแพง2 ดังนั้น จะเห็นได้ว่านโยบายราคาก๊าซ NGV มีโอกาสเปลี่ยนแปลงได้และมีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับราคาก๊าซ NGV ในอนาคต บริษัทฯ และผู้บริหารบริษัทฯ บริหารความเสีย่ งนี้โดยการติดตามข่าว นโยบายของรัฐบาล กระทรวงพลังงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กรมธุรกิจพลังงาน กรมการขนส่งทางบก ปตท. และหน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างใกล้ชดิ รวมถึงการสอบถามผูป้ ระกอบการ ผูข้ ายสินค้า ลูกค้า และแหล่งข้อมูลภายในต่างๆ เพื่อเตรียมการและแผนการรองรับการเปลี่ยนแปลงไว้ล่วงหน้า 2.2 ความเสี่ยงจากผลต่างระหว่างราคาน�้ำมันและราคาก๊าซ NGV ลดลง หากผลต่างระหว่างราคาน�้ำมันและราคาก๊าซ NGV ลดลง อาจส่งผลให้การขยายตัวของการใช้ก๊าซ NGV เป็น เชื้อเพลิงในรถยนต์ลดลง ซึ่งจะส่งผลต่อธุรกิจของบริษัทฯ ดังนี้ ธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลัก ธุรกิจขนส่งก๊าซ NGV และธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับ ยานยนต์ เมื่อประชาชนมีแรงจูงใจในการใช้ก๊าซ NGV ลดลง อาจส่งผลให้การขยายตัวของปริมาณก๊าซ NGV ที่จ�ำหน่ายที่สถานีบริการก๊าซNGV ลดลง ส่งผลต่อโอกาสในการขยายตัวของปริมาณการอัดก๊าซ ปริมาณการขนส่งก๊าซ NGV และปริมาณจ�ำหน่ายก๊าซ NGV ส�ำหรับยานยนต์ ซึง่ จะส่งผลต่อการเติบโตของ รายได้ของบริษัทฯ โดยตรง ธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงสถานีบริการก๊าซ NGV เมื่อประชาชนมีแรงจูงใจในการเปลี่ยน มาใช้ก๊าซ NGV ลดลง ปริมาณก๊าซ NGV ที่จ�ำหน่ายที่สถานีบริการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับยานยนต์อาจมี การขยายตัวลดลง ปตท. และผู้ประกอบการสถานีบริการก๊าซ NGV เอกชนอาจไม่มีแรงจูงใจในการเพิ่ม จ�ำนวนสถานีบริการก๊าซ NGV ธุรกิจติดตั้งระบบก๊าซในรถยนต์ เมื่อประชาชนไม่มีแรงจูงใจในการเปลี่ยนมาใช้ก๊าซ NGV อาจท�ำให้บริษัทฯ จ�ำหน่าย ติดตั้ง และให้บริการดูแลรักษาและซ่อมบ�ำรุงชุดอุปกรณ์ก๊าซในรถยนต์ ได้ลดลง รวมถึงจ�ำนวน รถบรรทุกที่จะมาใช้บริการติดตั้งชุดถังก๊าซลดน้อยลง n

n

n

1 2

20

บทความ NGV Secret, วารสาร NGV Focus ฉบับที่ 39 ปีที่ 9 เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2557 ผู้บริหารระดับสูงของ ปตท.ให้สัมภาษณ์ “ปตท.เผยปั๊ม NGV ไม่เพียงพอความต้องการ”, www.voicetv.co.th, 28 เมษายน 2554

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


2.3 ความเสี่ยงจากการขาดแคลนก๊าซธรรมชาติ ธุรกิจเกีย่ วเนือ่ งกับก๊าซธรรมชาติตอ้ งอาศัยก๊าซธรรมชาติเป็นวัตถุดบิ หลัก หากก๊าซธรรมชาติเกิดการขาดแคลน เนื่องจากสาเหตุใดๆ ก็ตาม เช่น ปตท. มีปัญหาในการจัดหาก๊าซธรรมชาติ3 ระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติเกิดการช�ำรุด เสียหาย เป็นต้น จะส่งผลให้รายได้ของบริษัทฯ ลดลง อย่างไรก็ตามบริษัทฯ เชื่อว่าโอกาสเกิดการขาดแคลนก๊าซ NGV มีคอ่ นข้างน้อย เนือ่ งจากก๊าซธรรมชาติมสี ว่ นส�ำคัญในการขับเคลือ่ นการพัฒนาประเทศ กระทรวงพลังงาน โดยส�ำนักงาน นโยบายและแผนพลังงานให้ความส�ำคัญต่อความมัน่ คงด้านพลังงาน โดยก�ำหนดแผนยุทธศาสตร์ทเี่ น้นการสร้างความ สมดุลระหว่างความต้องการใช้พลังงานกับการจัดหาพลังงาน นอกจากนั้น ปตท. ซึ่งเป็นผู้จัดหาก๊าซธรรมชาติของ ประเทศ ยังก�ำหนดพันธกิจในการสร้างความมัน่ คงด้านพลังงานในระยะยาวโดยการจัดหาพลังงานในปริมาณทีเ่ พียงพอ มีคุณภาพได้มาตรฐาน และราคาเป็นธรรมเพื่อเสริมสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ 2.4 ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบ การให้บริการของบริษัทฯ ในธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติจะต้องใช้วัตถุดิบส่วนใหญ่เป็นอะไหล่เครื่องอัด ก๊าซธรรมชาติ ชิน้ ส่วนอุปกรณ์ประกอบเครือ่ งอัดก๊าซธรรมชาติ ถังก๊าซ และเหล็กรูปพรรณ ซึง่ มีเหล็กเป็นส่วนประกอบ หลัก ดังนั้น หากราคาเหล็กในตลาดโลกมีการปรับตัวสูงขึ้น ส่งผลให้ต้นทุนการด�ำเนินโครงการของบริษัทฯ จะเพิ่มขึ้น โดยในช่วง ปี 2556 และ ปี 2557 บริษัทฯ สั่งซื้อกลุ่มวัตถุดิบดังกล่าวโดยมีสัดส่วนประมาณร้อยละ 23 และ 21 ของยอดสั่งซื้อรวม อย่างไรก็ตามผูบ้ ริหารลดความเสีย่ งนี้โดยบริษทั ฯ จะคิดค�ำนวณผลกระทบจากความเสีย่ งของความผันผวนของ ราคาวัตถุดิบรวมไว้ในการค�ำนวณต้นทุนของโครงการ และติดตามแนวโน้มราคาเหล็กในตลาดโลกอย่างใกล้ชิดเพื่อ ด�ำเนินการวางแผนการสั่งซื้อวัตถุดิบส�ำหรับโครงการ ทั้งนี้ราคาของชิ้นส่วนและอุปกรณ์ที่ท�ำมาจากเหล็กที่บริษัทฯ ใช้ในการด�ำเนินงานมีความผันผวนต�่ำเมื่อเทียบกับราคาเหล็ก 2.5 ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ บริษทั ฯ มีการสัง่ ซือ้ วัตถุดบิ จากต่างประเทศ โดยในปี 2556 และปี 2557 บริษทั ฯ มีการสัง่ ซือ้ วัตถุดบิ จากต่างประเทศ ร้อยละ 23.78 และร้อยละ 15.68 ของยอดการสั่งซื้อรวม ตามล�ำดับ บริษัทฯ จะสั่งซื้อในเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ และ ยูโร ในขณะที่รายได้เกือบทั้งหมดเป็นการขายภายในประเทศ ท�ำให้บริษัทฯ มีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ในกรณี ที่อัตราแลกเปลี่ยนมีความผันผวนอาจส่งผลกระทบต่อผลก�ำไรของบริษัทฯ ได้ โดยหากเงินบาทมีแนวโน้มอ่อนค่าลง ต้นทุนของการซื้อวัตถุดิบจะเพิ่มขึ้น ซึ่งจะท�ำให้อัตราก�ำไรของบริษัทฯ ลดลง ทั้งนี้ในปี 2554 - 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจ�ำนวน 1.29 ล้านบาท 1.19 ล้านบาท 2.34 ล้านบาท และ 1.00 ล้านบาท ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความเสี่ยงดังกล่าว ในการประเมินราคาเพื่อก�ำหนดราคาโครงการต่างๆ บริษัทฯ ได้เผื่อความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนไว้ในการค�ำนวณต้นทุนวัตถุดิบแล้ว เพื่อครอบคลุมความเสี่ยงของ อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศในระดับหนึง่ และบริษทั ฯ จะพิจารณาท�ำสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้าเงินตราต่างประเทศ เพื่อการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนส�ำหรับการสั่งซื้อมูลค่าสูง นอกจากนี้ ในเดือนสิงหาคม 2557 บริษัทฯ ได้จัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ท�ำหน้าที่กลั่นกรองนโยบายและแนวทางการบริหารความเสี่ยงในด้านต่างๆ ซึ่งรวมถึงความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน เพื่อป้องกันความเสี่ยงด้านต่างๆ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ 3

ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจของปตท. แบบแสดงรายการประจ�ำปี 2556 (แบบ 56-1) ของ ปตท., www.sec.or.th

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

21


22

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

ฝ่ายบัญชี (นางจุฑามาศ สิงห์เขียว)

ฝ่ายการเงิน

ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการสายงาน การเงินและบัญชี

(นายประทีป แสงหิรัญวัฒนา)

ผู้อ�ำนวยการสายงาน การเงินและบัญชี

ฝ่ายสถานีก๊าซธรรมชาติอัด ฝ่ายโลจิสติกส์ ฝ่ายสถานีบริการ NGV

ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่ายจ�ำหน่ายรถยนต์ ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์

ฝ่ายจัดซื้อ

ฝ่ายคลังสินค้า

ฝ่ายติดตั้งก๊าซยานยนต์

ฝ่ายผลิตและซ่อมบ�ำรุง

(นายโชคดี วงษ์แก้ว)

ผู้อ�ำนวยการสายงาน ผลิตและปฏิบัติการ

ฝ่ายการตลาด

(ดร.ฤทธี กิจพิพิธ)

ผู้อ�ำนวยการสายงาน บริหารและการตลาด

ส�ำนักงานวิจัยและพัฒนา

(นายสมชัย ลีเชวงวงศ์)

ส�ำนักงานความปลอดภัย ชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน

(นางสาวนริศรา กิจพิพิธ)

ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักเลขานุการบริษัทฯ

คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน

ผู้อ�ำนวยการสายงาน กลยุทธ์

คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง

ฝ่ายวิศวกรรมและก่อสร้าง

(นายสมเกียรติ วีตระกูล)

ผู้อ�ำนวยการสายงาน วิศวกรรมและก่อสร้าง

กรรมการผู้จัดการใหญ่

ส�ำนักงานตรวจสอบภายใน (นายธัญชาติ กิจพิพิธ)

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริษัท

ส�ำนักงานบริหารจัดการ ด้านคุณภาพ

โครงสร้างองค์กร


คณะกรรมการ และเลขานุการบริษัท

1.

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบด้วย กรรมการ 11 ท่าน โดยเป็นกรรมการที่เป็นผู้บริหาร 7 ท่าน และกรรมการที่ไม่ ได้เป็นผู้บริหาร 4 ท่าน ที่เป็นกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร หมายถึง กรรมการที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการบริหารงาน ไม่ได้มีต�ำแหน่งเป็นผู้บริหารหรือ เป็นพนักงานประจ�ำของบริษัทฯ รวมทั้งไม่มีอ�ำนาจลงนามผูกพันใด ๆ ตามข้อบังคับของบริษัทฯ กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร 4 ท่าน โดยทั้ง 3 ท่าน เป็นกรรมการอิสระและด�ำรงต�ำแหน่งเป็นคณะกรรมการตรวจสอบ คอยตรวจสอบระบบการควบคุมภายใน รายงานทางการเงิน ตลอดจนการปฏิบัติตามระเบียบและนโยบายต่างๆ ที่ได้วางไว้ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร หมายถึง กรรมการที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารงานของบริษัทฯ เป็นพนักงานที่ได้รับเงินเดือน ประจ�ำ และมีอ�ำนาจลงนามผูกพันตามข้อบังคับของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 11 ท่าน ดังนี้ รายชื่อ

1. ดร.ทนง พิทยะ 2. นายช�ำนาญ วังตาล(1)

การเข้าประชุม 2556 2557

ต�ำแหน่ง

ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธาน กรรมการบริหารความเสี่ยง และประธานกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน 3. พลต�ำรวจเอกสวัสดิ์ อมรวิวฒั น์ กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 4. นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 5. นายธัญชาติ กิจพิพิธ กรรมการ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และ ประธานกรรมการบริหาร 6. ดร.ฤทธี กิจพิพิธ กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการบริหารความเสี่ยง 7. นายโชคดี วงษ์แก้ว กรรมการ และกรรมการบริหาร 8. นายสมเกียรติ วีตระกูล กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการบริหารความเสี่ยง 9. นางสาวนริศรา กิจพิพิธ กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการบริหารความเสี่ยง 10. นายประทีป แสงหิรัญวัฒนา กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการบริหารความเสี่ยง 11. นายสมชัย ลีเชวงวงศ์(2) กรรมการ และกรรมการบริหาร 12. นายสุคนธ์ กาญจนหัตถกิจ(3) กรรมการบริษทั ฯ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ

3/3

6/7

3/3

4/4 5/7

3/3

5/7

3/3 3/3 3/3 3/3 3/3 3/3 2/2 3/3

7/7 7/7 7/7 7/7 7/7 7/7 6/7 2/2

หมายเหตุ: (1) นายช�ำนาญ วังตาล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2557 (2) นายสมชัย ลีเชวงวงศ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2556 (3) นายสุคนธ์ กาญจนหัตถกิจ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ โดยมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 3/2555 เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2555 และลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2557

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

23


กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามแทนบริษัทฯ นายธัญชาติ กิจพิพิธ ลงลายมือชื่อร่วมกับกรรมการคนใดคนหนึ่งในสี่คน ดังนี้ นายสมเกียรติ วีตระกูล หรือนายโชคดี วงษ์แก้ว หรือนายสมชัย ลีเชวงวงศ์ หรือนายประทีป แสงหิรัญวัฒนา รวมเป็น สองคน และประทับตราส�ำคัญของบริษัทฯ หรือ นายฤทธี กิจพิพิธ หรือนางสาวนริศรา กิจพิพิธ คนใดคนหนึ่ง ลงลายมือชื่อร่วมกับกรรมการอีกสองในสี่คน ดังนี้ นายสมเกียรติ วีตระกูล หรือนายโชคดี วงษ์แก้ว หรือ นายสมชัย ลีเชวงวงศ์ หรือนายประทีป แสงหิรัญวัฒนา รวมเป็นสามคน และประทับตรา ส�ำคัญของบริษัทฯ 2.

คณะกรรมการบริหาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ มีกรรมการบริหาร 7 ท่าน ประกอบด้วย รายชื่อ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

นายธัญชาติ กิจพิพิธ ดร.ฤทธี กิจพิพิธ นายโชคดี วงษ์แก้ว นายสมเกียรติ วีตระกูล นายประทีป แสงหิรัญวัฒนา นายสมชัย ลีเชวงวงศ์ นางสาวนริศรา กิจพิพิธ

ต�ำแหน่ง

กรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้อ�ำนวยการสายงานบริหารและการตลาด ผู้อ�ำนวยการสายงานผลิตและปฏิบัติการ ผู้อ�ำนวยการสายงานวิศวกรรมและก่อสร้าง ผู้อ�ำนวยการสายงานการเงินและบัญชี ผู้อ�ำนวยการสายงานกลยุทธ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักเลขานุการบริษัทฯ

3. เลขานุการบริษัทฯ

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557 มีมติแต่งตั้ง นางพิมพ์วนิฏา จรัสปรีดา เป็นเลขานุการบริษัทฯ โดยมีหน้าที่และความรับผิดชอบตามที่ก�ำหนดในมาตรา 89/15 และมาตรา 89/16 ของพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึ่งมีผลบังคับใช้ในวันที่ 31 สิงหาคม 2551 ด้วยความรับผิดชอบ ความ ระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับบริษัทฯ มติที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยคุณสมบัติของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเลขานุการบริษัทฯ ปรากฏใน เอกสารแนบ 1 ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของเลขานุการบริษัทฯ (1) เลขานุการบริษทั ฯ มีขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีด่ งั นี้ ให้คำ� แนะน�ำเบือ้ งต้นแก่กรรมการเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข้อก�ำหนด กฎระเบียบ และข้อบังคับของบริษัทฯ และติดตามดูแลให้มีการปฏิบัติอย่างถูกต้องและสม�่ำเสมอ (2) ดูแลการเปิดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศในส่วนทีร่ บั ผิดชอบตามระเบียบและข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และส�ำนักงาน ก.ล.ต. (3) จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการและรายงานการประชุมคณะกรรมการ หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นและรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น รายงานประจ�ำปี

24

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


(4) เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการและผู้บริหาร (5) ด�ำเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนด (6) จัดส่งส�ำเนารายงานการมีส่วนได้เสียตามมาตรา 89/14 ซึ่งจัดท�ำโดยกรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ ให้กับ ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันท�ำการ นับแต่วันที่บริษัทฯ ได้รับรายงานนั้น 4. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

(1) ค่าตอบแทนกรรมการ - ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2557 ได้อนุมัติค่าตอบแทนของคณะกรรมการ บริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2557 ได้อนุมัติค่าตอบแทนของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน กรรมการที่ไม่ได้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้บริหาร (1) ค่าเบี้ยประชุม (เฉพาะกรรมการที่เข้าร่วมประชุม) คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร บริษัท ตรวจสอบ ความเสี่ยง

ค่าเบี้ยประชุม จ�ำนวนเงิน (บาท)/ครั้ง - ประธานกรรมการ - กรรมการ

30,000 18,000

22,500 18,000

15,000 10,000

คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่า ตอบแทน

15,000 10,000

(2) ค่าตอบแทนรายไตรมาส คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร บริษัท ตรวจสอบ ความเสี่ยง

คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่า ตอบแทน

ค่าตอบแทนรายไตรมาส จ�ำนวนเงิน (บาท)/ไตรมาส - ประธานกรรมการ 120,000 80,000 - กรรมการ 64,000 64,000 หมายเหตุ : ค่าตอบแทนคณะกรรมการชุดย่อยอืน่ ๆ เป็นไปตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด แต่ทงั้ นี้ ไม่เกินกว่าอัตราค่าเบี้ยประชุมของคณะกรรมการ

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

25


26

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

90,000 54,000 54,000 58,500 256,500

54,000 54,000 67,500 175,500

-

480,000 256,000 256,000 320,000 1,312,000

180,000 72,000 90,000 90,000 36,000 468,000

67,500 90,000 90,000 67,500 315,000

15,000 15,000

- 480,000 - 160,000 - 256,000 - 256,000 - 160,000 - 1,312,000

ค่าตอบแทน ปี 2557 (บาท) ค่าเบี้ยประชุม ค่าเบี้ยประชุม กรรมการ ค่าเบี้ยประชุม ค่าเบี้ยประชุม กรรมการ สรรหาและ กรรมการ กรรมการ บริหาร พิจารณาค่า ค่าตอบแทน บริษัทฯ ตรวจสอบ ความเสี่ยง ตอบแทน รายไตรมาส

(3) บ�ำเหน็จกรรมการ กรรมการบริษัทฯ มีสิทธิได้รับเงินบ�ำเหน็จเป็นรายปีในอัตราไม่เกินร้อยละ 1.00 ของก�ำไรสุทธิของบริษัทฯ ในปีนั้น โดยให้คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้พิจารณา จัดสรรกันเองตามที่เห็นสมควร ทั้งนี้ โดยขึ้นอยู่กับการอนุมัติโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น

หมายเหตุ: (1) นายช�ำนาญ วังตาล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ โดยมติท่ีประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2557 (2) นายสมชัย ลีเชวงวงศ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2556 (3) นายสุคนธ์ กาญจนหัตถกิจ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ โดยมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 3/2555 เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2555 และลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2557

1. ดร.ทนง พิทยะ 2. นายช�ำนาญ วังตาล(1) 3. พลต�ำรวจเอกสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ 4. นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน 5. นายสุคนธ์ กาญจนหัตถกิจ(2) รวม

รายชื่อ

ค่าเบี้ยประชุม ค่าเบี้ยประชุม ค่าเบี้ยประชุม ค่าเบี้ยประชุม กรรมการ กรรมการ กรรมการสรรหา กรรมการ ตรวจสอบ บริหาร และพิจารณา ค่าตอบแทน บริษัทฯ ความเสี่ยง ค่าตอบแทน รายไตรมาส

ค่าตอบแทน ปี 2556 (บาท)

ณ 31 ธันวาคม 2557 ผลตอบแทนของกรรมการที่ไม่ใช่ผู้บริหาร มีดังต่อไปนี้


กรรมการที่ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหารหรือพนักงานของบริษัทฯ จะไม่มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนที่เป็นเบี้ยประชุมและค่า ตอบแทนรายไตรมาสในการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทฯ รวมถึงกรรมการชุดย่อยอื่นๆ แต่อาจได้รับค่า ตอบแทนในรูปของเงินบ�ำเหน็จตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้พิจารณาก�ำหนด (1) ค่าตอบแทนที่ไม่เป็นตัวเงิน ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 8/2555 มีมติอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ จ�ำนวน 100.00 ล้านบาท จากเดิมจ�ำนวน 350.00 ล้านบาท เป็น 450.00 ล้านบาท โดยการออกหุ้นสามัญจ�ำนวน 1.00 ล้านหุ้น ในราคาหุ้นละ 100.00 บาท เพื่อเสนอขายต่อผู้ถือหุ้นเดิม การเพิ่มทุนในครั้งดังกล่าว นายธัญชาติ กิจพิพิธ ผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทฯ ให้สิทธิกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานในการใช้สทิ ธิจองซือ้ หุน้ สามัญเพิม่ ทุนของบริษทั ฯ โดยไม่คดิ มูลค่า โดยผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ของบริษัทฯ ได้ให้เงินสดตามจ�ำนวนมูลค่าหุ้นเพิ่มทุนที่ได้รับจัดสรรให้กับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน แต่ละราย โดยกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานดังกล่าว มีการท�ำข้อตกลงกับผู้ถือหุ้นใหญ่โดยมีระยะเวลา ห้ามขาย 2 ปี นับจากวันที่หุ้นของบริษัทฯ เข้าจดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ ณ 31 ธันวาคม 2557 สัดส่วนการถือหุ้นของกรรมการและผู้บริหารดังกล่าว มีรายละเอียดดังนี้ ผู้ถือหุ้น

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ดร.ฤทธี กิจพิพิธ นางสาวนริศรา กิจพิพิธ นายสมเกียรติ วีตระกูล นายโชคดี วงษ์แก้ว นายสมชัย ลีเชวงวงศ์ ดร.ทนง พิทยะ นายประทีป แสงหิรัญวัฒนา รวม

จ�ำนวนหุ้นที่ถือ (หุ้น)

สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ)

10,000,000 10,000,000 1,000,000 1,000,000 800,000 400,000 200,000 23,400,000

1.11 1.11 0.11 0.11 0.09 0.04 0.02 2.60

(2) ค่าตอบแทนผู้บริหาร ในปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีการจ่ายค่าตอบแทนให้กับผู้บริหาร (ไม่รวมถึงผู้จัดการฝ่ายบัญชีและผู้จัดการฝ่ายการเงิน) มีรายละเอียดดังตารางดังต่อไปนี้ ค่าตอบแทนผู้บริหาร (บาท) ปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ ปีบัญชี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2557

จ�ำนวนราย (คน) เงินเดือน โบนัส เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ผลประโยชน์อื่น เช่น เงินประกัน สังคม

7 14,490,000 1,845,000 209,000 50,400

7 16,950,000 2,700,000 296,400 63,000

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

27


นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ

1.

นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ

บริษัทฯ ตระหนักและให้ความส�ำคัญต่อการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เพราะแสดงให้เห็นถึงการมีระบบบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ซึ่งช่วยสร้างความเชื่อมั่นและความมั่นใจต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย ผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกฝ่าย และน�ำไปสู่ความมั่นคงเจริญก้าวหน้า เป็นเครื่องมือเพื่อเพิ่มมูลค่าและส่งเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ ได้น�ำแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555 (The Principles of Good Corporate Governance for Listed Companies 2012) ที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ก�ำหนด ซึ่งครอบคลุมหลักการ 5 หมวด ได้แก่ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 3. บทบาทผู้มีส่วนได้เสีย 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น

บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยบริษัทฯ ด�ำเนินการเพื่อให้มั่นใจได้ว่าผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิขั้นพื้นฐาน ของผู้ถือหุ้นได้อย่างครบถ้วน ได้แก่ การซื้อขายหรือโอนหุ้น การมีส่วนแบ่งในก�ำไรของกิจการ การได้รับข่าวสารข้อมูลของกิจการ อย่างเพียงพอ การเข้าร่วมประชุมเพื่อใช้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี และเรื่องที่มีผลกระทบต่อบริษัทฯ เช่น การจัดสรรเงินปันผล การก�ำหนดหรือการแก้ไขข้อบังคับและหนังสือบริคณห์สนธิ การลด ทุนหรือเพิ่มทุน และการอนุมัติรายการพิเศษ เป็นต้น โดยก�ำหนดแนวปฏิบัติที่ดีไว้ดังนี้

28

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


(1) การประชุมผู้ถือหุ้น n

n

n

n

เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสได้ศึกษาสารสนเทศของบริษัทฯ ที่เกี่ยวข้องกับการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จะจัด ส่งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นและเอกสารประกอบให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน ก่อน วันประชุม (หรือระยะเวลาอื่นใดตามที่กฎหมายก�ำหนด) โดยหนังสือเชิญประชุมมีรายละเอียดข้อมูล วัน เวลา สถานที่และวาระการประชุม โดยมีค�ำชี้แจงและเหตุผลประกอบในแต่ละวาระหรือประกอบมติที่ ขออนุมัติ พร้อมความเห็นของคณะกรรมการบริษัทฯ หนังสือมอบฉันทะ และรายชื่อของกรรมการอิสระ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกที่จะมอบฉันทะให้เข้าประชุมแทนได้ บริษัทฯ จะอ�ำนวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิเข้าร่วมประชุมและออกเสียงอย่างเต็มที่ และละเว้น การกระท�ำใดๆ ที่เป็นการจ�ำกัดโอกาสการเข้าประชุมของผู้ถือหุ้น เช่น การเข้าประชุมเพื่อออกเสียงลงมติ ไม่ควรมีวธิ กี ารทีย่ งุ่ ยากหรือมีคา่ ใช้จา่ ยมากเกินไป สถานทีจ่ ดั ประชุมผูถ้ อื หุน้ สะดวกต่อการเดินทาง เป็นต้น บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่งค�ำถามล่วงหน้าก่อนวันประชุม โดยจะก�ำหนดหลักเกณฑ์การส่งค�ำถาม ล่วงหน้าให้ชัดเจน และจะแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบถึงการส่งค�ำถามล่วงหน้าพร้อมกับการน�ำส่งหนังสือ เชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ นอกจากนี้ บริษทั ฯ จะเผยแพร่หลักเกณฑ์การส่งค�ำถามล่วงหน้าดังกล่าวไว้บนเว็บไซต์ ของบริษัทฯ ด้วย ในกรณีทผี่ ถู้ อื หุน้ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ บริษทั ฯ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ สามารถมอบฉันทะให้กรรมการ อิสระหรือบุคคลใดๆ เข้าร่วมประชุมแทนตนได้ โดยใช้หนังสือมอบฉันทะแบบหนึ่งแบบใดที่ บริษัทฯ ได้จัด ส่งไปพร้อมหนังสือนัดประชุม

(2) การด�ำเนินการในวันประชุมผู้ถือหุ้น n n

n

n

n

บริษัทฯ สนับสนุนให้กรรมการบริษัทฯ ทุกคนเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น และตอบข้อซักถามของผู้ถือหุ้น ในการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จะจัดให้มีการลงมติเป็นแต่ละรายการในกรณีที่วาระนั้นมีหลายรายการ เช่น วาระการแต่งตั้งกรรมการ บริษัทฯ จะจัดให้มีบุคคลที่เป็นอิสระเป็นผู้ตรวจนับหรือตรวจสอบคะแนนเสียงในการประชุมผู้ถือหุ้น และ เปิดเผยให้ที่ประชุมทราบพร้อมบันทึกไว้ในรายงานการประชุม บริษัทฯ จะจัดให้มีการใช้บัตรลงคะแนนเสียงในวาระที่ส�ำคัญ เช่น การท�ำรายการเกี่ยวโยง การท�ำรายการ ได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ เป็นต้น เพื่อความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ในกรณีมีข้อโต้แย้งใน ภายหลัง ประธานในที่ประชุมจะจัดสรรเวลาให้เหมาะสม และส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสในการแสดงความเห็น และ ตั้งค�ำถามต่อที่ประชุมในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ได้

(3) การจัดท�ำรายงานการประชุมและการเปิดเผยมติการประชุมผู้ถือหุ้น

ภายหลังการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จะจัดท�ำรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น โดยบันทึกรายละเอียด วาระการประชุม มติที่ประชุม การลงคะแนนเสียง ตลอดจนประเด็นซักถามและข้อคิดเห็นที่ส�ำคัญไว้ในรายงานการประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถ ตรวจสอบได้ และจะเผยแพร่รายงานการประชุมดังกล่าวผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ ภายใน 14 วันนับแต่วันประชุมผู้ถือหุ้น รวม ถึงบันทึกรายชื่อกรรมการผู้เข้าร่วมประชุมและกรรมการที่ลาประชุมด้วย

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

29


หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

บริษัทฯ ปฏิบัติผู้ถือหุ้นทุกรายทั้งผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหารและผู้ถือหุ้นที่ไม่เป็นผู้บริหาร รวมทั้งผู้ถือหุ้นต่างชาติอย่างเท่า เทียมกันและเป็นธรรม โดยก�ำหนดแนวปฏิบัติที่ดีไว้ดังนี้ อ�ำนวยความสะดวกให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยสามารถเสนอเพิม่ วาระการประชุมล่วงหน้าก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ แสดง n ถึงความเป็นธรรมและความโปร่งใสในการพิจารณาว่าจะเพิ่มวาระที่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเสนอหรือไม่ อ�ำนวยความสะดวกให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยสามารถเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั ฯ โดยส่งข้อมูล n ด้านคุณสมบัติและความยินยอมของผู้ได้รับการเสนอชื่อไปยังประธานกรรมการบริษัทฯ ล่วงหน้า 3 เดือน ก่อนวัน ประชุมผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหารจะไม่เพิ่มวาระการประชุมที่ไม่ได้แจ้งเป็นการล่วงหน้าโดยไม่จ�ำเป็น โดยเฉพาะวาระส�ำคัญ n ที่ผู้ถือหุ้นต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลก่อนตัดสินใจ คณะกรรมการบริษัทฯ จะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิในการแต่งตั้งกรรมการเป็นรายคน n คณะกรรมการบริษทั ฯ จะก�ำหนดแนวทางในการเก็บรักษาและป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในเป็นลายลักษณ์อกั ษร และ n แจ้งแนวทางดังกล่าวให้ทุกคนในองค์กรถือปฏิบัติ และก�ำหนดให้กรรมการทุกคนและผู้บริหารที่มีหน้าที่รายงาน การถือครองหลักทรัพย์ตามกฎหมายจัดส่งรายงานดังกล่าวให้แก่คณะกรรมการเป็นประจ�ำ รวมทัง้ ให้มกี ารเปิดเผย ในรายงานประจ�ำปี กรรมการที่มีส่วนได้เสียอย่างมีนัยส�ำคัญในลักษณะที่อาจท�ำให้กรรมการรายดังกล่าวไม่สามารถให้ความเห็นได้ n อย่างอิสระควรงดเว้นจากการมีส่วนร่วมในการประชุมพิจารณาในวาระนั้น หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ ทุกกลุ่ม โดยก�ำหนดนโยบายให้มีการปฏิบัติ ต่อผู้มีส่วนได้เสียดังกล่าวตามสิทธิที่มีตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง หรือตามข้อตกลงที่มีกับบริษัทฯ ไม่กระท�ำการใดๆ ที่เป็นการ ละเมิดสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียเหล่านั้น และก�ำหนดมาตรการชดเชยกรณีผู้มีส่วนได้เสียได้รับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิ โดยได้มีการก�ำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ดังนี้ (1) ผู้ถือหุ้น

บริษัทฯ จะปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียม รักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น และไม่กระท�ำการใดๆ อันเป็นการ ละเมิดหรือริดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น ตลอดจนมุ่งมั่นที่จะสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับผู้ถือหุ้น โดยค�ำนึงถึงการเจริญเติบโตของ บริษัทฯ อย่างยั่งยืน เพือ่ สร้างมูลค่าเพิ่ม และให้ผลตอบเเทนทีเ่ หมาะสมอย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ ยึดมัน่ การด�ำเนินธุรกิจตามหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (2) พนักงาน n

n n

30

ปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม ทั้งในด้านโอกาส ผลตอบแทน สวัสดิการ และการพัฒนา ศักยภาพรวมทั้งมีการจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพพนักงาน ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในการท�ำงานให้มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน แต่งตั้ง โยกย้าย รวมถึงการให้ผลตอบแทนและการลงโทษพนักงานด้วยความเป็นธรรม สามารถวัดผลได้ ภายใต้หลักเกณฑ์ที่บริษัทฯ ก�ำหนด

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


n n

รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานความรู้ทางวิชาชีพของพนักงาน ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับพนักงานอย่างเคร่งครัด

(3) ลูกค้า n

n

n n

มุ่งมั่นสร้างความพึงพอใจและความมั่นใจให้กับลูกค้า เอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้า โดยลูกค้าจะต้องได้ รับสินค้า/บริการที่ดี มีคุณภาพ มีความปลอดภัย ในระดับราคาที่เหมาะสม และเป็นไปตามมาตรฐานที่ ก�ำหนดไว้ ปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อตกลงที่มีต่อลูกค้าอย่างเคร่งครัด มีการพัฒนายกระดับมาตรฐานสินค้าและ บริการให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อรักษาสัมพันธภาพที่ดีและยั่งยืนกับลูกค้า รักษาความลับของลูกค้า และไม่น�ำไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้ที่เกี่ยวข้องโดยมิชอบ ให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง เพียงพอ และทันต่อเหตุการณ์แก่ลูกค้า เพื่อให้ทราบเกี่ยวกับบริการที่บริษัทฯ ให้กับลูกค้าโดยไม่มีการโฆษณาเกินความเป็นจริงที่เป็นเหตุให้ลูกค้าเข้าใจผิดเกี่ยวกับคุณภาพหรือเงื่อนไข ใดๆ ของบริการของบริษัทฯ

(4) คู่ค้า และ/หรือเจ้าหนี้ n

n

ค�ำนึงถึงความเสมอภาค เป็นธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบ และมีความซื่อสัตย์ในการด�ำเนินธุรกิจ โดยค�ำนึง ถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ บนพื้นฐานของการได้รับผลตอบแทนที่เป็นธรรมทั้งสองฝ่าย ปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ที่ตกลงกันไว้อย่างเคร่งครัด กรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อใดได้ต้องรีบ แจ้งให้เจ้าหนี้ทราบล่วงหน้าเพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหา

(5) คู่แข่งขัน n n n

ประพฤติปฏิบัติภายใต้กรอบกติกาและกฎหมายเกี่ยวกับหลักปฏิบัติของการแข่งขันที่ดี ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็นความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริตหรือไม่เหมาะสม ไม่กีดกันผู้อื่นในการเข้าร่วมการแข่งขันทางธุรกิจ และไม่ท�ำลายชื่อเสี่ยงของคู่แข่งทางการค้าด้วยการ กล่าวหาในทางร้าย

(6) ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม

บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะด�ำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม ทัง้ ในด้านความปลอดภัย คุณภาพชีวิต และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตระหนักถึงคุณภาพชีวติ ของชุมชน และสังคม หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส

บริษทั ฯ มีนโยบายเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ฯ ทัง้ ข้อมูลทางการเงินและข้อมูลทีม่ ิใช่ขอ้ มูลทางการเงินอย่าง ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่งใส ผ่านช่องทางที่เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มีความเท่าเทียมกันและน่าเชื่อถือ ตามข้อก�ำหนดของ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยก�ำหนดแนวปฏิบัติที่ดีไว้ดังนี้ (1) คณะกรรมการบริษทั ฯ จะจัดให้มกี ลไกทีจ่ ะดูแลให้มนั่ ใจได้วา่ ข้อมูลทีเ่ ปิดเผยต่อนักลงทุนถูกต้อง ไม่ทำ� ให้สำ� คัญผิด และเพียงพอต่อการตัดสินใจของนักลงทุน

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

31


(2) นอกจากการเผยแพร่ข้อมูลตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดและผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ แบบแสดงรายการข้อมูล ประจ�ำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจ�ำปีแล้ว บริษัทฯ จะเปิดเผยข้อมูลทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษผ่าน ช่องทางอื่นด้วย เช่น เว็บไซต์ของบริษัทฯ โดยจะเปิดเผยข้อมูลอย่างสม�ำ่ เสมอ พร้อมทั้งน�ำเสนอข้อมูลที่เป็น ปัจจุบัน โดยข้อมูลบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ อย่างน้อยจะประกอบด้วยข้อมูลขั้นต�่ำตามที่ก�ำหนดในหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555 (The Principles of Good Corporate Governance for Listed Companies 2012) ของตลาดหลักทรัพย์ฯ (3) คณะกรรมการบริษัทฯ จะจัดให้บริษัทฯ จัดท�ำค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ (Management Discussion and Analysis (MD&A)) เพื่อประกอบการเปิดเผยงบการเงินทุกไตรมาส ทั้งนี้เพื่อให้นักลงทุน ได้รับทราบข้อมูล และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ในแต่ละ ไตรมาสได้ดียิ่งขึ้น นอกเหนือจากข้อมูลตัวเลขในงบการเงินเพียงอย่างเดียว (4) บริษัทฯ มีนโยบายในการป้องกันและขจัดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้น โดยก�ำหนดให้การท�ำ รายการ และ/หรือธุรกรรมที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จะต้องเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง บริษัทฯ จะด�ำเนินการให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และ/หรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ แล้วแต่กรณี ไม่ประกอบธุรกิจทีค่ ล้ายคลึง หรือแข่งขัน ซึ่งส่งผลให้ความสามารถในการแข่งขันของบริษัทฯ ลดลง หรือมีรายการระหว่างกันในลักษณะที่มี ผลประโยชน์อื่นที่อาจขัดแย้งกับผลประโยชน์ที่ดีที่สุดกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย โดยกรรมการ ผู้บริหาร และ/หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ แล้วแต่กรณี จะต้องรายงานต่อบริษัทฯ หากกรรมการ ผู้บริหาร และ/หรือผู้ถือหุ้น รายใหญ่ เข้าไปถือหุน้ บริษทั ทีม่ วี ตั ถุประสงค์ในการด�ำเนินงานคล้ายคลึงกับบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย เพือ่ ให้บริษทั ฯ และคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาว่าการถือหุ้นดังกล่าวขัดต่อผลประโยชน์ที่ดีที่สุดของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือไม่ (5) บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญกับระบบการควบคุมภายในทีด่ ี และได้จดั ให้มฝี า่ ยตรวจสอบภายในเพือ่ ตรวจสอบการปฏิบตั ิ งานของแต่ละสายงาน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด และการปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความโปร่งใส โดยมีการ ตรวจสอบเป็นระยะและจัดท�ำรายงานส่งให้คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณา หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (1) โครงสร้างคณะกรรมการบริษัทฯ

คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 5 คน โดยมีกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจ�ำนวน กรรมการทั้งหมดของบริษัทฯ แต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน โดยประธานกรรมการบริษัทฯ เป็นกรรมการอิสระ และเป็นคนละบุคคล กับกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เพือ่ เป็นการแบ่งแยกหน้าที่ในการก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ านของฝ่ายบริหารและหน้าที่ในการบริหารการ ปฏิบัติงานบริษัทฯ ซึ่งจะท�ำให้เกิดการถ่วงดุลในการออกเสียงในการพิจารณาเรื่องต่างๆ คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยบุคคลที่มีคุณสมบัติหลากหลาย ทั้งในด้านทักษะ ความรู้ความสามารถ และ ประสบการณ์ ที่สามารถเอื้อประโยชน์ ให้กับบริษัทฯ โดยเป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบายและภาพรวมขององค์กร รวมทั้งมีบทบาทส�ำคัญในการก�ำกับดูแล ตรวจสอบ ประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ตลอดจน ด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีจริยธรรม ภายใต้จรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจ รวมทัง้ การก�ำกับดูแลให้การบริหารจัดการของฝ่ายบริหารเป็นไปตามเป้าหมายและแนวทาง ที่ได้ก�ำหนดไว้ และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น

32

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีการระบุขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการชุดย่อยและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ที่เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อก�ำหนดขอบเขตการด�ำเนินงานและความรับผิดชอบของคณะกรรมการชุดต่างๆ ที่ชัดเจน เพื่อความโปร่งใสและความรัดกุมในการตัดสินใจ (2) คณะกรรมการชุดย่อย

บริษัทฯ มีคณะกรรมการชุดย่อย 4 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง และคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน n

n

n

n

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยสมาชิกอย่างน้อย 3 คน โดยทุกคนต้องเป็นกรรมการอิสระ เพื่อท�ำ หน้าที่ก�ำกับดูแลการบริหารงานของบริษัทฯ โดยใช้วิธีตรวจสอบและสอบทานให้การบริหารจัดการของ บริษัทฯเป็นไปเพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้นโดยรวม ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีขอบเขต หน้าที่ และความ รับผิดชอบ ตามที่ได้ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ กรรมการตรวจสอบอย่างน้อย หนึง่ คนจะต้องมีความรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะสามารถท�ำหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของ งบการเงินได้ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารประกอบด้วยสมาชิกจ�ำนวน 7 ท่าน โดยคณะกรรมการบริหารมีหน้าที่และบทบาทที่ ส�ำคัญในการด�ำเนินการให้เป็นไปตามวิสยั ทัศน์ พันธกิจ รวมถึงเป้าหมายและกลยุทธ์ในการด�ำเนินงานของ บริษทั ฯ และมีอำ� นาจหน้าทีค่ วบคุมดูแลกิจการของบริษทั ฯ ตลอดจนด�ำเนินการต่างๆ ตามทีค่ ณะกรรมการ บริษัทฯ มอบหมาย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงประกอบด้วยสมาชิกจ�ำนวน 5 ท่าน มีหน้าที่พิจารณากลั่นกรองนโยบาย และแนวทางการบริหารความเสีย่ งองค์กร รวมถึงก�ำกับดูแลและสนับสนุนให้มกี ารด�ำเนินงานด้านการบริหาร ความเสี่ยงองค์กรสอดคล้องกับกลยุทธ์และเป้าหมายทางธุรกิจ รวมถึงสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนประกอบด้วยสมาชิกจ�ำนวน 3 ท่าน โดยประธานกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีหน้าที่พิจารณาหลักเกณฑ์และกระบวนการในการสรรหา บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารระดับสูง รวมทั้งคัดเลือกบุคคลตาม กระบวนการสรรหาที่ได้ก�ำหนดไว้ และเสนอชื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นแต่งตั้ง นอกจากนี้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนยังมีบทบาทส�ำคัญในการพิจารณาหลักเกณฑ์ใน การก�ำหนดและรูปแบบค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูง เพือ่ ให้มคี วามเหมาะสม และสะท้อน ถึงความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการและผู้บริหารให้เป็นไปตามเป้าหมาย

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

33


(3) บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

บริษัทฯ ก�ำหนดให้กรรมการของบริษัทฯ ปฏิบัติตามข้อพึงปฏิบัติที่ดีส�ำหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน (Code of Best Practice for Directors of Listed Companies) ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยคณะกรรมการต้องเข้าใจและทราบ ถึงบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของตน และต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัทฯ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น กฎบัตรของคณะกรรมการ ตลอดจนนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นเป็นส�ำคัญ ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้ก�ำหนดนโยบาย เป้าหมายการ ด�ำเนินธุรกิจ แผนธุรกิจ ตลอดจนงบประมาณของบริษัทฯ และก�ำกับดูแลให้ฝ่ายจัดการด�ำเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ก�ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นโดยรวม (4) การประชุมคณะกรรมการ

บริษัทฯ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ตามที่ก�ำหนดในพระราชบัญญัติ บริษทั มหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) รวมถึงข้อบังคับของบริษทั ฯ โดยบริษทั ฯ จัดให้มกี ำ� หนดการประชุม และวาระการประชุมคณะกรรมการเป็นการล่วงหน้า และแจ้งให้กรรมการแต่ละท่านทราบก�ำหนดการดังกล่าว โดยจัดส่งเอกสาร ประกอบการประชุมให้แก่กรรมการเป็นการล่วงหน้าอย่างน้อย 5 วันท�ำการก่อนวันประชุม จ�ำนวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ นั้น จะเป็นไปตามความเหมาะสมกับภาระหน้าที่และความรับผิด ชอบของคณะกรรมการ และลักษณะการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ แต่ไม่น้อยกว่า 6 ครั้งต่อปี (5) การประเมินตนเองของคณะกรรมการ

ภายหลังจากบริษัทฯ เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ คณะกรรมการจะจัดให้มีการประเมินผลการ ปฏิบตั งิ านทัง้ คณะเป็นประจ�ำทุกปีอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ เพือ่ ประเมินผลการปฏิบตั งิ านในปีทผี่ า่ นมา และหาแนวทางในการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการท�ำงานของคณะกรรมการในปีต่อๆ ไป (6) ค่าตอบแทน

ค่าตอบแทนกรรมการจะต้องได้รับการพิจารณาอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยก�ำหนดเป็นนโยบายประกอบด้วย หลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังนี้ 1) ผลประกอบการของบริษัทฯ โดยเทียบเคียงได้กับค่าตอบแทนกรรมการของบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ฯ ที่ประกอบธุรกิจและมีขนาดธุรกิจในลักษณะที่ใกล้เคียงกัน 2) ประสบการณ์ บทบาท ภาระหน้าที่ และขอบเขตความรับผิดชอบของกรรมการแต่ละท่าน 3) ประโยชน์ที่คาดว่าบริษัทฯ จะได้รับจากกรรมการแต่ละท่าน 4) ค่าตอบแทนที่ก�ำหนดขึ้นนั้นจะต้องสามารถจูงใจกรรมการที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับความจ�ำเป็นและ สถานการณ์ของบริษัทฯ มาเป็นกรรมการได้ (7) การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร

คณะกรรมการบริษัทฯ มีนโยบายส่งเสริมและอ�ำนวยความสะดวกให้มีการให้ความรู้แก่กรรมการ ทั้งในประเด็น กฎหมายส�ำคัญที่ควรทราบส�ำหรับการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการบริษัทจดทะเบียน และการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ รวมถึงกรรมการตรวจสอบ ผู้บริหาร และจัดให้มีการอบรมเพื่อให้มีการปรับปรุงการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง และในกรณีที่มี การเปลี่ยนแปลงกรรมการหรือแต่งตั้งกรรมการใหม่ ฝ่ายจัดการจะจัดให้มีเอกสารและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ของกรรมการใหม่ รวมถึงการจัดให้มีการแนะน�ำลักษณะธุรกิจ และแนวทางการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ให้แก่กรรมการ ใหม่ด้วย

34

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


(8) การควบคุมภายใน

คณะกรรมการบริษัทฯ จัดให้บริษัทฯ มีระบบควบคุมภายในที่ครอบคลุมทั้งด้านการเงินและการปฏิบัติงาน ให้เป็น ไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง และจัดให้มีกลไกการตรวจสอบและถ่วงดุลที่มีประสิทธิภาพ เพียงพอใน การปกป้องดูแลรักษาทรัพย์สินของบริษัทฯ อยู่เสมอ จัดให้มีการก�ำหนดล�ำดับขั้นของอ�ำนาจอนุมัติ และความรับผิดชอบของ ผูบ้ ริหารและพนักงานทีม่ กี ารตรวจสอบและถ่วงดุลในตัว ก�ำหนดระเบียบการปฏิบตั งิ านอย่างเป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยมีหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน และ/หรือหน่วยงานภายนอกที่ท�ำหน้าที่ตรวจสอบภายใน ท�ำหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานของทุกหน่วยงาน ให้เป็นไปตามระเบียบทีว่ างไว้ รวมทัง้ ประเมินประสิทธิภาพและความเพียงพอของการควบคุมภายในของหน่วยงานต่างๆ ในบริษทั ฯ (9) การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน

บริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายการใช้ข้อมูลของบริษัทฯ ตามที่ปรากฏในนโยบายการใช้ข้อมูลภายใน (10) รายงานประจ�ำปี

คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท�ำรายงานทางการเงินของบริษัทฯ และสารสนเทศทางการเงินที่ ปรากฏในรายงานประจ�ำปี ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองโดยทัว่ ไป โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีทเี่ หมาะสมและถือปฏิบตั สิ ม�ำ่ เสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังในการจัดท�ำ รวมทั้งก�ำหนดให้มีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน โดยคณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้ดูแลเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และเป็นผู้ให้ความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ 2.

คณะกรรมการชุดย่อย 2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ

ปัจจุบัน คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการตรวจสอบจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ รายชื่อ 1. นายชำ�นาญ วังตาล(1) 2. พลตำ�รวจเอกสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ 3. นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน(2)

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

โดยมี นางพิมพ์วนิฏา จรัสปรีดา ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ: (1) นายช�ำนาญ วังตาล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ โดยมติที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2557 (2) นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน ด�ำรงต�ำแหน่งรองกรรมการผู้จัดการใหญ่หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติของ ปตท. เป็นต�ำแหน่งสุดท้าย ก่อนเกษียณอายุในวันที่ 30 กันยายน 2555 โดย ปตท. เป็นคู่ค้ารายใหญ่อันมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง ยาวนาน ทัง้ นีท้ ปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 16/2555 ณ วันที่ 25 กันยายน 2555 และทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 3/2555 ณ วันที่ 4 ตุลาคม 2555 ได้พิจารณาตามหลักในมาตรา 89/7 แล้วว่า การแต่งตั้งบุคคลดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติ หน้าที่และการให้ความเห็นที่เป็นอิสระ

ทั้งนี้ นายช�ำนาญ วังตาล เป็นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้และประสบการณ์ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการ เงินของบริษัทฯ

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

35


ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบดังนี้ (1) สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินที่ถูกต้องและเปิดเผยอย่างเพียงพอ โดยการประสานงานกับผู้สอบ บัญชีภายนอก และผู้บริหารที่รับผิดชอบในการจัดท�ำรายงานทางการเงิน ทั้งรายไตรมาสและประจ�ำปี โดย คณะกรรมการตรวจสอบอาจเสนอแนะให้ผู้สอบบัญชีสอบทานหรือตรวจสอบรายการใดๆ ที่เห็นว่าจ�ำเป็นและเป็น เรื่องส�ำคัญในระหว่างการตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ ก็ได้ (2) สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้างานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับ ผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน (3) สอบทานให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงประกาศของคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ประกาศของคณะกรรมการตลาด หลักทรัพย์ฯ และข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (4) พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอ ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (5) พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ประกาศ ของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ประกาศของ คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ และข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุ สมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อ บริษัทฯ (6) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายและคณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบด้วย เช่น ทบทวน นโยบายการบริหารทางการเงินและการบริหารความเสีย่ ง ทบทวนการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณทางธุรกิจของผูบ้ ริหาร ทบทวนร่วมกับผู้บริหารของบริษัทฯ ในรายงานส�ำคัญที่ต้องเสนอต่อสาธารณชนตามที่กฎหมายก�ำหนด ได้แก่ บทรายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร เป็นต้น (7) จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ และระบบบริหารความเสี่ยง รวมถึง การป้องกันการเกิดโอกาสทุจริต ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตรของ คณะกรรมการตรวจสอบ รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ

36

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


(8) ในกรณีที่พบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระท�ำซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อฐานะการเงินและ ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ดังต่อไปนี้ ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อ ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติ หรือมีความบกพร่องที่ส�ำคัญในระบบควบคุมภายใน การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ประกาศของคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ และ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ เมื่อครบก�ำหนดเวลาที่ก�ำหนดไว้ร่วมกันข้างต้น หากคณะกรรมการตรวจสอบพบว่ามีการเพิกเฉยต่อการด�ำเนินการแก้ไข ดังกล่าวโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระท�ำตามข้างต้น ต่อ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์ฯ ในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวข้างต้นคณะกรรมการตรวจสอบมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ตามหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ในขณะที่ความรับผิดชอบในกิจกรรมทุกประการของบริษัทฯ ต่อบุคคลภายนอกยังคงเป็นของคณะกรรมการบริษัทฯ ทั้งคณะ 2.2 คณะกรรมการบริหาร

ปัจจุบัน คณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการบริหารจ�ำนวน 7 ท่าน ดังนี้ รายชื่อ

1. นายธัญชาติ กิจพิพิธ 2. ดร.ฤทธี กิจพิพิธ 3. นายโชคดี วงษ์แก้ว 4. นายสมเกียรติ วีตระกูล 5. นางสาวนริศรา กิจพิพิธ 6. นายประทีป แสงหิรัญวัฒนา 7. นายสมชัย ลีเชวงวงศ์

ต�ำแหน่ง

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

โดยมี นางพิมพ์วนิฏา จรัสปรีดา ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารมีขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบดังนี้ (1) ตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และมติที่ประชุม ผู้ถือหุ้น

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

37


(2) พิจารณาก�ำหนดภารกิจ วิสัยทัศน์ นโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจและงบประมาณของบริษัทฯ และบริษัท ย่อย เป็นประจ�ำทุกปี เพื่อน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติหรือให้ความเห็นชอบ รวมทั้งก�ำกับ ดูแลให้ฝ่ายจัดการด�ำเนินธุรกิจไปตามแผนที่กำ� หนดอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งนี้อาจมีการทบทวน กลยุทธ์และเป้าหมายให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของบริษัทฯ (3) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ และ/หรือคณะท�ำงาน เพื่อการด�ำเนินกิจการหรือการบริหารงานของบริษัทฯ และก�ำหนด อ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะอนุกรรมการ และ/หรือ คณะท�ำงาน รวมถึงควบคุมก�ำกับดูแลให้การ ด�ำเนินงานของคณะอนุกรรมการ และ/หรือคณะท�ำงานที่แต่งตั้งบรรลุตามนโยบายและเป้าหมายที่ก�ำหนด (4) ติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้ และก�ำกับดูแลให้การด�ำเนิน งานมีคุณภาพและประสิทธิภาพ (5) พิจารณาเรื่องการจัดสรรงบประมาณประจ�ำปีตามที่ฝ่ายจัดการเสนอ ก่อนที่จะน�ำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาและอนุมัติ (6) พิจารณาอนุมัติการด�ำเนินงานที่เป็นธุรกรรมปกติธุรกิจ ตลอดจนการด�ำเนินงานที่เป็นรายการสนับสนุนธุรกิจปกติ ของบริษทั ฯ ซึง่ มีเงือ่ นไขทางการค้าทัว่ ไป ในวงเงินไม่เกินงบประมาณที่ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ หรือ ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติอนุมัติในหลักการไว้แล้ว ทั้งนี้ ภายใต้บังคับของหลักเกณฑ์ของส�ำนักงาน ก.ล.ต. รวมถึงตลาดหลักทรัพย์ฯ เกีย่ วกับการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันและรายการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ รวมตลอดจนตารางอ�ำนาจการอนุมัติ (Table of Authority) ตามที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ (7) พิจารณาผลก�ำไรและขาดทุนของบริษัทฯ การเสนอจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล หรือเงินปันผลประจ�ำปีเพื่อน�ำเสนอ ต่อคณะกรรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ (8) พิจารณาก�ำหนดโครงสร้างองค์กร การบริหารองค์กร รวมถึงการแต่งตั้ง การว่าจ้าง การโยกย้าย การเลิกจ้าง การ ก�ำหนดเงินค่าจ้าง ค่าตอบแทน โบนัสพนักงานระดับผู้บริหาร ตั้งแต่ระดับผู้อ�ำนวยการฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไป ยกเว้นต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ (9) คณะกรรมการบริหารอาจมอบอ�ำนาจให้กรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนหรือบุคคลอื่นใด ปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่าง ใดแทนคณะกรรมการบริหารได้ โดยอยู่ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการบริหาร หรืออาจมอบอ�ำนาจเพื่อให้ บุคคลดังกล่าวมีอ�ำนาจตามที่คณะกรรมการบริหารเห็นสมควร และภายในระยะเวลาตามที่คณะกรรมการบริหาร เห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการบริหารอาจยกเลิก เพิกถอน เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขการมอบอ�ำนาจนั้นๆ ได้ตามที่ เห็นสมควร (10) ด�ำเนินการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายเป็นคราวๆ ไป ทั้งนี้ การมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารดังกล่าวข้างต้น ต้องไม่มีลักษณะเป็น การมอบอ�ำนาจหรือมอบอ�ำนาจช่วงที่ท�ำให้กรรมการบริหาร หรือผู้ได้รับมอบอ�ำนาจใดๆ สามารถพิจารณาและอนุมัติรายการ ที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ในลักษณะอื่นใดที่จะท�ำกับบริษัทฯ หรือบริษทั ย่อย (ตามทีน่ ยิ ามไว้ในประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือคณะกรรมการก�ำกับตลาด ทุน และ/หรือตลาดหลักทรัพย์ฯ และ/หรือประกาศอื่นใดของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) โดยเรื่องดังกล่าวจะต้องเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) เพื่ออนุมัติต่อไป เว้นแต่เป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตาม ธุรกิจปกติ ตลอดจนการด�ำเนินงานทีเ่ ป็นรายการสนับสนุนธุรกิจปกติของบริษทั ฯ ซึง่ มีเงือ่ นไขทางการค้าทัว่ ไป ซึง่ เป็นตามประกาศ ของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และ/หรือตลาดหลักทรัพย์ฯ และ/หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก�ำหนด

38

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


2.3 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ปัจจุบัน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการบริหารความเสี่ยงจ�ำนวน 5 ท่าน ดังนี้ รายชื่อ

1. นายช�ำนาญ วังตาล 2. ดร.ฤทธี กิจพิพิธ 3. นายสมเกียรติ วีตระกูล 4. นางสาวนริศรา กิจพิพิธ 5. นายประทีป แสงหิรัญวัฒนา

ต�ำแหน่ง

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง

โดยมี นางพิมพ์วนิฏา จรัสปรีดา ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบดังนี้ (1) พิจารณากลั่นกรองนโยบายและแนวทางการบริหารความเสี่ยงโดยรวมของบริษัทฯ ซึ่งครอบคลุมถึงความเสี่ยง ประเภทต่างๆ ทีส่ ำ� คัญ เช่น ความเสีย่ งด้านการเงิน ความเสีย่ งด้านการลงทุน ความเสีย่ งในการด�ำเนินธุรกิจ เป็นต้น รวมทั้งประเมิน ติดตาม ทบทวนความเพียงพอของนโยบายและระบบบริหารความเสี่ยงรวมถึงความมีประสิทธิผล ของระบบและการปฏิบัติตามนโยบายที่ก�ำหนดเพื่อน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ (2) ก�ำกับดูแลและสนับสนุนให้การบริหารความเสี่ยงประสบความส�ำเร็จ โดยมุ่งเน้นการค�ำนึงถึงความเสี่ยงในแต่ละ ปัจจัยเพื่อประกอบการตัดสินใจอย่างเหมาะสม (3) พิจารณาความเสี่ยงที่ส�ำคัญของบริษัทฯ ที่สอดคล้องกับธุรกิจของบริษัทฯ เช่น ความเสี่ยงด้านการลงทุน ด้าน การบริหารจัดการ ด้านการเงิน ด้านความปลอดภัยของข้อมูล ด้านกฎหมายและกฎระเบียบ รวมถึงเสนอแนะ วิธีป้องกัน และวิธีลดผลกระทบจากความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ตลอดจนติดตามประเมินผล และปรับปรุง แผนการด�ำเนินงานเพื่อลดโอกาสการเกิดความเสี่ยงและผลกระทบอย่างต่อเนื่องให้เหมาะสมกับสภาวะการ ด�ำเนินธุรกิจ (4) รายงานผลการประเมินความเสีย่ งและการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงาน การปฏิบตั ติ ามมาตรการการควบคุม และ/หรือ การบริหารจัดการความเสี่ยงที่ก�ำหนด ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบเป็นประจ�ำ และในกรณีที่มีเรื่องส�ำคัญ ซึ่งอาจส่งผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงจะรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณามาตรการการควบคุมและ/หรือการบริหารจัดการ ความเสี่ยงโดยเร็วที่สุด (5) ให้ตั้งคณะท�ำงานได้ตามที่เห็นสมควร (6) ด�ำเนินการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนดในเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

39


2.4 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

ปัจจุบัน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนของบริษัทฯ ประกอบด้วยสมาชิกจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ รายชื่อ

1. นายช�ำนาญ วังตาล 2. นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน 3. นายธัญชาติ กิจพิพิธ

ต�ำแหน่ง

ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

โดยมี นางพิมพ์วนิฏา จรัสปรีดา ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบดังนี้ (1) การสรรหา พิจารณาโครงสร้าง ขนาด และองค์ประกอบคณะกรรมการบริษัทฯ ให้มีความเหมาะสมกับองค์กร ธุรกิจ และ สภาพแวดล้อม ก�ำหนดกระบวนการและหลักเกณฑ์ในการสรรหา รวมทั้งคุณสมบัติของผู้ที่ควรได้รับการเสนอชื่อเพื่อรับการ คัดเลือกเป็นกรรมการบริษัทฯ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ุ สมบัตเิ หมาะสมเป็นกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ พิจารณาคัดเลือกและกลัน่ กรองบุคคลทีม่ คี ณ และเสนอแนะต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ (2) การก�ำหนดค่าตอบแทน ก�ำหนดนโยบาย และพิจารณาหลักเกณฑ์การก�ำหนดค่าตอบแทนทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่ได้เป็นตัวเงินของ กรรมการบริษัทฯ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ให้มีความเหมาะสมและเป็นธรรม และเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมายอันเกีย่ วเนือ่ งกับการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน ของกรรมการและผู้บริหารระดับสูง 2.5 กรรมการผู้จัดการใหญ่ ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการใหญ่ กรรมการผู้จัดการใหญ่มีขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบดังนี้ (1) ดูแล บริหาร ด�ำเนินงาน และปฏิบตั งิ านประจ�ำตามปกติธรุ กิจเพือ่ ประโยชน์ของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนระเบียบ มติ นโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ก�ำหนดโดยที่ประชุม คณะกรรมการ และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ภายใต้กรอบกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องและขอบอ�ำนาจซึง่ คณะกรรมการก�ำหนด (2) ควบคุมดูแลการด�ำเนินกิจการ และ/หรือบริหารงานประจ�ำวันของบริษัทฯ

40

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


(3) จัดท�ำและน�ำเสนอนโยบายทางธุรกิจ แผนธุรกิจ เป้าหมาย แผนการด�ำเนินงาน กลยุทธ์ทางธุรกิจ งบประมาณ ประจ�ำปีของบริษัทฯ ที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ งบประมาณรายงานประจ�ำปี และก�ำหนดอ�ำนาจการบริหารงาน เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการบริษัทฯ (4) รับเอานโยบายของคณะกรรมการบริษัทฯ มาก�ำหนดทิศทาง แนวทาง กลยุทธ์ และเป้าหมายทางธุรกิจเพื่อก�ำหนด ภารกิจหลัก (Mission) ส�ำหรับฝ่ายบริหารและฝ่ายจัดการน�ำไปด�ำเนินการ (5) ควบคุม ตรวจสอบและติดตามผลการด�ำเนินงานของฝ่ายบริหารและฝ่ายจัดการ และเสนอแนะแนวทางการแก้ไข ปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อให้ผู้บริหาร และฝ่ายจัดการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์และแผนธุรกิจที่วางไว้ เพื่อให้ เป็นไปตามนโยบายของบริษัทฯ (6) ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานของฝ่ายบริหารและฝ่ายจัดการ และรายงานผลการด�ำเนินงานการบริหาร จัดการ ความคืบหน้าในการด�ำเนินงานต่อคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษทั ฯ อย่างสม�่ำเสมอ (7) ออกค�ำสั่ง ระเบียบ ประกาศ และบันทึกความเข้าใจเพื่อให้แน่ใจว่าการด�ำเนินงานของบริษัทฯ เป็นไปตามนโยบาย และเป็นไปเพื่อผลประโยชน์ของบริษัทฯ รวมถึงเพื่อรักษาระเบียบวินัยภายในองค์กร (8) ก�ำหนดโครงสร้างองค์กร วิธีการบริหาร โดยให้ครอบคลุมถึงรายละเอียดในการคัดเลือก การฝึกอบรม การว่าจ้าง และเลิกจ้างพนักงานของบริษทั ฯ และก�ำหนดอัตราค่าจ้าง เงินเดือน ค่าตอบแทน โบนัส และสวัสดิการต่างๆ ส�ำหรับ พนักงาน (9) มีอ�ำนาจในการแต่งตั้ง และถอดถอน เจ้าหน้าที่ของบริษัทฯ ในต�ำแหน่งที่ต�่ำกว่าต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ (10) พิจารณาอนุมัติการด�ำเนินงานที่เป็นธุรกรรมปกติธุรกิจ ตลอดจนการด�ำเนินงานที่เป็นรายการสนับสนุนธุรกิจปกติ ของบริษทั ฯ ซึง่ มีเงือ่ นไขทางการค้าทัว่ ไป ในวงเงินไม่เกินงบประมาณที่ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/ หรือคณะกรรมการบริหาร หรือตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือคณะกรรมการบริหาร ได้มีมติอนุมัติใน หลักการไว้แล้ว ทั้งนี้ ภายใต้บังคับของหลักเกณฑ์ของส�ำนักงาน ก.ล.ต. รวมถึงตลาดหลักทรัพย์ฯ เกี่ยวกับการท�ำ รายการที่เกี่ยวโยงกันและรายการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ รวมตลอดจนตารางอ�ำนาจการอนุมัติ (Table of Authority) ตามที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ (11) ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริหาร หรือคณะกรรมการบริษัทฯเป็น คราวๆ ไป ทั้งนี้ ในการด�ำเนินการเรื่องใดที่กรรมการผู้จัดการใหญ่หรือผู้รับมอบอ�ำนาจจากกรรมการผู้จัดการใหญ่หรือบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง (ตามนิยามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์ฯ และ/หรือหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องก�ำหนด) มีส่วนได้ส่วนเสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กับบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อย และ/หรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ไม่มีอ�ำนาจอนุมัติการด�ำเนินการในเรื่องดังกล่าว โดยเรื่องดังกล่าวจะต้องเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) เพื่ออนุมัติต่อไป ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการธุรกิจปกติและเป็นไปตามเงื่อนไข การค้าปกติซึ่งเป็นไปตามประกาศของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์ฯ และ/หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ก�ำหนด ตารางอ�ำนาจการอนุมัติ (Table of Authority)

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557 ได้มีมติอนุมัติตารางอ�ำนาจการอนุมัติ (Table of Authority) โดยมีรายละเอียดส�ำคัญ ดังนี้

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

41


กรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษัทฯ

§ การจ�ำหน่ายทรัพย์สินถาวรของบริษัทฯ (มูลค่าตามบัญชีต่อรายการ) § การจัดซื้อวัตถุดิบ อะไหล่ และสินค้าอื่นๆ เพื่อผลิต หรือจ�ำหน่าย (ต่อครั้ง) § การลงทุนนอกงบประมาณในสินทรัพย์ถาวร § การลงทุนหรือร่วมทุนในกิจการใหม่ § การจัดหาแหล่งเงินกู้จากสถาบันการเงิน

≤ 10 ล้านบาท

≤ 20 ล้านบาท

ทุกขนาดรายการ

≤ 20 ล้านบาท

≤ 50 ล้านบาท

ทุกขนาดรายการ

≤ 20 ล้านบาท ≤ 50 ล้านบาท ≤ 80 ล้านบาท

≤ 100 ล้านบาท ≤ 100 ล้านบาท ≤ 130 ล้านบาท

ทุกขนาดรายการ ทุกขนาดรายการ ทุกขนาดรายการ

ทั้งนี้ หากการท�ำรายการใดมีลักษณะเป็นรายการเกี่ยวโยงกัน หรือรายการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของบริษัทฯ บริษัทฯ มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องของส�ำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ 3.

การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสูงสุด คณะกรรมการบริษัทฯ

องค์ประกอบและการสรรหา แต่งตั้ง ถอดถอน หรือพ้นจากต�ำแหน่งกรรมการของบริษัทฯ นั้นได้ก�ำหนดไว้ในกฎบัตร คณะกรรมการของบริษัทฯ ซึ่งผ่านการอนุมัติโดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557 กฎบัตรดังกล่าวก�ำหนดคุณสมบัติของกรรมการบริษัทฯ ซึ่งสามารถสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ (1) คณะกรรมการบริษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 5 คน โดยกรรมการไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนกรรมการ ทั้งหมดจะต้องมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย (2) กรรมการบริษัทฯ จะเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ หรือไม่ก็ได้ (3) กรรมการต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินธุรกิจ มีความ ซื่อสัตย์สุจริต มีจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ และมีเวลาเพียงพอที่จะอุทิศความรู้ ความสามารถ และปฏิบัติหน้าที่ ให้แก่บริษัทฯ อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ กรรมการต้องมีคุณสมบัติครบถ้วน และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามพระราช บัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่ ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม) พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม) ประกาศที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน โดยจะต้องเป็นบุคคลที่มีชื่ออยู่ในระบบข้อมูล รายชื่อกรรมการและผู้บริหารของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วย หลักเกณฑ์การแสดงชื่อบุคคลในระบบข้อมูลรายชื่อกรรมการและผู้บริหารของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (4) โครงสร้างคณะกรรมการบริษัทฯ ต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมดแต่ต้อง ไม่น้อยกว่า 3 คน โดยกรรมการอิสระจะต้องมีความเป็นอิสระจากการควบคุมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และต้องไม่มี ส่วนเกี่ยวข้องหรือส่วนได้เสียในทางการเงินและการบริหารกิจการ อีกทั้งมีคุณสมบัติครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ คุณสมบัตกิ รรมการอิสระตามทีก่ ำ� หนดในประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนที่ ทจ.28/2551 เรือ่ งการขออนุญาต และการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ (“ประกาศ ทจ. 28/2551”) ตามที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม

42

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


(5) คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการตรวจสอบไม่น้อยกว่า 3 คนโดยคณะกรรมการตรวจสอบนี้ต้องมี คุณสมบัติครบถ้วนตามประกาศ ทจ. 28/2551 อีกทั้งมีขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบตามที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ประกาศก�ำหนด (6) คณะกรรมการบริษัทฯ จะเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการบริษัทฯในกรณีที่คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาเห็นสมควรอาจจะเลือกกรรมการบริษัทฯ คนหนึ่งหรือหลายคนเป็นรองประธานกรรมการบริษัทฯ ก็ได้ การแต่งตั้งกรรมการบริษัทฯ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) ทั้งนี้ การแต่งตั้งกรรมการบริษัทฯ จะเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก�ำหนดในข้อบังคับของบริษัทฯ โดยมี รายละเอียดดังนี้ ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจ�ำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากต�ำแหน่งจ�ำนวน 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการ ในขณะนั้น ถ้าจ�ำนวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับ 1 ใน 3 และ กรรมการซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งอาจได้รับเลือกให้กลับเข้ามารับต�ำแหน่งอีกได้ กรรมการที่จะต้องออกจากต�ำแหน่ง ในปีแรกและปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ให้จัดสรรโดยการจับฉลาก ส่วนปีต่อๆไป ให้กรรมการคนที่อยู่ ในต�ำแหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการบริษัทฯ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ (1) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับ 1 หุ้นต่อ 1 เสียง (2) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการ ก็ได้ ในกรณีที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเป็นกรรมการ จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลที่ได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมาเป็นผู้ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการที่จะ พึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่า กันเกินจ�ำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ประธานที่ประชุมเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด ในกรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลซึ่งมี คุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจ�ำกัดและกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการผู้นั้นจะ เหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดยบุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยู่ในต�ำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนเข้ามาแทน กรรมการคนใดจะลาออกจากต�ำแหน่ง ให้ยื่นใบลาออกต่อบริษัทฯ โดยการลาออกนั้นจะมีผลนับแต่วันที่ใบลาออก ส่งไปถึงบริษัทฯ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอาจลงมติให้กรรมการคนใดออกจากต�ำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ ด้วยคะแนนเสียงไม่ น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจ�ำนวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง คณะกรรมการอิสระ

คณะกรรมการบริษัทฯ จะร่วมกันพิจารณาคุณสมบัติของบุคคลที่จะมาด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการอิสระโดยพิจารณาจาก คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของกรรมการตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัดพ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม) พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ที่ได้มกี ารแก้ไขเพิม่ เติม) ประกาศทีเ่ กีย่ วข้องของคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน รวมถึงประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือระเบียบที่เกี่ยวข้อง

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

43


นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัท ฯ จะพิจารณาคัดเลือกกรรมการอิสระจากผู้ทรงคุณวุฒิ ประสบการณ์การท�ำงาน และความเหมาะ สมด้านอื่นๆ ประกอบกัน จากนั้นจะน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการของบริษัทฯ ต่อไปบริษัทฯ มี นโยบายการแต่งตั้งกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด และต้องมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 3 ท่าน ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ก�ำหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระดังนี้ (1) ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการ อิสระรายนั้นๆ ด้วย (2) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มี อ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขอ อนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษาของส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท (3) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คูส่ มรส พีน่ อ้ ง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตร ของกรรมการรายอืน่ ผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหารหรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย (4) ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มี อ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็น หรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. (5) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจ ควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมี ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษัทฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. (6) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการให้บริการเป็นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการ เงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทาง วิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. (7) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่ง เป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (8) ไม่ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย หรือไม่ เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงิน เดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่ มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย (9) ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ

44

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


คณะกรรมการตรวจสอบ

องค์ประกอบและการสรรหา แต่งตั้ง ถอดถอน หรือพ้นจากต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบนั้นได้ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรคณะ กรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ซึ่งผ่านการอนุมัติโดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557 (1) คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้คัดเลือกแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ โดยประกอบด้วยกรรมการตรวจ สอบอย่างน้อย 3 ท่าน กรรมการตรวจสอบนั้นแต่งตั้งจากกรรมการอิสระของบริษัทฯ ที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงประกาศข้อบังคับ และ/หรือระเบียบของตลาดหลักทรัพย์ฯ (2) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการของ บริษัทฯ บริษัท ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ (3) ไม่เป็นกรรมการของบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย หรือบริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน เฉพาะที่เป็นบริษัทจดทะเบียน (4) มีความรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะสามารถท�ำหน้าที่ในฐานะกรรมการตรวจสอบตามภารกิจที่ได้รบั มอบหมาย โดยกรรมการตรวจสอบต้องสามารถอุทิศเวลาอย่างเพียงพอในการด�ำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ (5) มีกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยหนึ่งคนที่มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถท�ำหน้าที่ในการสอบทาน ความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ (6) เมื่อกรรมการตรวจสอบครบวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง หรือมีเหตุท่ีกรรมการตรวจสอบไม่สามารถอยู่ได้จนครบวาระ และมีผลให้จ�ำนวนสมาชิกน้อยกว่า 3 คน คณะกรรมการบริษัทฯ จะแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบทดแทนให้ครบถ้วน ภายใน 3 เดือน นับแต่วนั ทีจ่ ำ� นวนสมาชิกไม่ครบถ้วน เพือ่ ให้เกิดความต่อเนือ่ งในการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ ตรวจสอบ (7) กรรมการตรวจสอบแต่ละท่านจะมีวาระด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี อย่างไรก็ตาม กรรมการตรวจสอบอาจได้รับการ แต่งตั้งต่อไปตามวาระที่คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ คณะกรรมการบริหาร

องค์ประกอบและการสรรหา แต่งตัง้ ถอดถอน หรือพ้นจากต�ำแหน่งกรรมการบริหารนัน้ ได้กำ� หนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการ บริหารของบริษัทฯ ซึ่งผ่านการอนุมัติโดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557 รายละเอียด สรุปได้ดังนี้ (1) คณะกรรมการบริหารประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน (2) คณะกรรมการบริษทั ฯ จะเลือกกรรมการบริหารคนหนึง่ เป็นประธานกรรมการบริหารในกรณีทคี่ ณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาเห็นสมควรอาจเลือกกรรมการบริหารคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นรองประธานกรรมการบริหารก็ได้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557 ได้มีมติอนุมัติให้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงขึ้นชุดหนึ่ง ประกอบด้วยกรรมการ และ/หรือผู้บริหารจ�ำนวนหนึ่งที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เพื่อก�ำหนดนโยบายด้านการ บริหารความเสี่ยงให้ครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร รวมทั้งก�ำกับดูแลให้มีระบบหรือกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อควบคุม ความเสีย่ งและลดผลกระทบของความเสีย่ งต่อธุรกิจของบริษทั ฯ โดยมีหน้าทีส่ ำ� คัญในการระบุความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการประกอบ ธุรกิจของบริษัทฯ ก�ำหนดมาตรการป้องกัน และติดตามดูแลการปฏิบัติตามมาตรการดังกล่าว คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัทฯ มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปีนับแต่วันที่ได้รับ แต่งตั้ง อย่างไรก็ตาม กรรมการบริหารความเสี่ยงอาจได้รับการแต่งตั้งต่อไปตามวาระที่คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

45


คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2557 ได้มีมติอนุมัติให้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน โดยประกอบด้วยกรรมการ และ/หรือผู้บริหารจ�ำนวนหนึ่งที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เพื่อพิจารณา หลักเกณฑ์และกระบวนการในการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารระดับสูง รวมทั้งคัดเลือกบุคคลตามกระบวนการสรรหาที่ได้กำ� หนดไว้ และเสนอชื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นแต่งตั้ง นอกจากนี้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนยังมีบทบาทส�ำคัญในการพิจารณาหลักเกณฑ์ในการก�ำหนดและรูปแบบ ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารระดับสูง เพื่อให้มีความเหมาะสม และสะท้อนถึงความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของ กรรมการและผู้บริหารระดับสูงให้เป็นไปตามเป้าหมาย คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนประกอบด้วยกรรมการและผู้บริหารจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน สมาชิก ส่วนใหญ่เป็นกรรมการอิสระ คณะกรรมการบริษทั ฯ จะแต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน โดยจะเลือกกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนคนหนึง่ เป็นประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทนมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปีนบั แต่วนั ที่ได้รบั แต่งตัง้ อย่างไรก็ตาม กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน อาจได้รับการแต่งตั้งต่อไปตามวาระที่คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ กรรมการผู้จัดการใหญ่

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2557 ได้มีมติอนุมัตินโยบายในการสรรหาและแต่งตั้ง กรรมการผู้จัดการใหญ่ ในการสรรหากรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะเป็นผู้พิจารณาเบื้องต้นในการ กลั่นกรองสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วน เหมาะสม มีความรู้ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ และเข้าใจในธุรกิจของบริษัทฯ เป็นอย่างดี และสามารถบริหารงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่ คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนดไว้ได้ และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ 4.

การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม

นโยบายการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษัทฯ มีนโยบายที่จะลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักของบริษัทฯ ที่บริษัทฯ เห็นว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์ร่วม หรือสนับสนุนการด�ำเนินของบริษัทฯ เพื่อเพิ่มช่องทางในการหารายได้ และเพิ่มความสามารถในการท�ำก�ำไรของบริษัทฯ ทั้งนี้ใน การบริหารงานของบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วมดังกล่าว โดยบริษัทฯ มีกลไกในการก�ำกับดูแลการจัดการและการรับผิดชอบการ ด�ำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมดังนี้ บริษัทฯ จะแต่งตั้งตัวแทนจากบริษัทฯ เข้าไปร่วมเป็นกรรมการตามสัดส่วนการถือหุ้น และเข้าร่วมประชุมในฐานะ ผู้ถือหุ้น โดยผู้แทนของบริษัทฯ มีหน้าที่ออกเสียงในที่ประชุมตามแนวทางหรือทิศทางที่คณะกรรมการบริษัทฯ ได้พิจารณาไว้ เพื่อก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ให้เป็นไปในทิศทางที่เหมาะสม และ เกิดประโยชน์ตอบแทนสูงสุดแก่บริษัทฯ ในภาพรวม ตัวแทนที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทฯ จะดูแลให้บริษัทย่อยและบริษัทร่วม ปฏิบัติตามประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน และ/หรือการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งทรัพย์สิน และ/หรือ การท�ำรายการส�ำคัญอื่นใดของบริษัทดังกล่าว ให้ครบถ้วนถูกต้อง

46

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


ตัวแทนที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทฯ จะดูแลให้มีการจัดเก็บข้อมูล และการบันทึกบัญชีของบริษัทย่อยและบริษัท ร่วม ให้บริษัทฯ สามารถตรวจสอบและรวบรวมมาจัดท�ำงบการเงินรวมได้ทันก�ำหนดด้วย นอกจากนี้ บริษัทฯ จะติดตามอย่างใกล้ชิดถึงผลประกอบการและการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมดัง กล่าว และน�ำเสนอผลการวิเคราะห์รวมถึงแสดงความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัทฯ คณะ กรรมการบริษทั ย่อยหรือบริษทั ร่วมนัน้ ๆ เพือ่ ใช้ประกอบการพิจารณาก�ำหนดนโยบายหรือปรับปรุงส่งเสริมให้ธรุ กิจ ของบริษัทย่อย บริษัทร่วม มีการพัฒนาและเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง

ข้อตกลงระหว่างบริษัทฯ กับผู้ถือหุ้นอื่น ในการบริหารจัดการบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษัทฯ ได้ลงนามในสัญญาร่วมทุนกิจการสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ NGV กับ ซัสโก้ เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2556 เพื่อจัด ตั้งและเป็นกรอบในการบริหารจัดการ บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด 5.

การก�ำกับดูแลการใช้ข้อมูลภายใน

บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการใช้ข้อมูลภายในตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อความโปร่งใสและป้องกัน การแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตนจากการใช้ข้อมูลภายในของบริษัทฯ ที่ยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน โดยก�ำหนดนโยบายการใช้ ข้อมูลภายในของบริษัทฯ ดังนี้ (1) ให้ความรูแ้ ก่กรรมการ ผูบ้ ริหาร รวมถึงผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินทีเ่ ป็นระดับผูจ้ ดั การ ฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า เกี่ยวกับหน้าที่ที่ต้องจัดท�ำและส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยัง ไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 และบทก�ำหนดโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) (2) ผู้บริหาร รวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปหรือ เทียบเท่า จัดท�ำและน�ำส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ของตน คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ให้แก่เลขานุการ ของบริษัทฯ เพื่อน�ำส่งให้แก่ส�ำนักงาน ก.ล.ต. โดยให้จัดท�ำและน�ำส่งภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้งให้ ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ภายใน 3 วันท�ำการนับ แต่วันที่มีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย์นั้น (3) ก�ำหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร รวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการ ฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง ที่ได้รับทราบข้อมูลภายในที่เป็นสาระส�ำคัญ ซึ่งมีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ จะต้องระงับการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ในช่วงเวลาก่อนที่จะเผยแพร่งบการ เงินหรือเผยแพร่เกี่ยวกับฐานะการเงินและสถานะของบริษัทฯ จนกว่าบริษัทฯ จะได้เปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชน แล้ว โดยบริษัทฯ จะแจ้งให้กรรมการและผู้บริหาร รวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงิน ที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า งดการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษรเป็น เวลาอย่างน้อย 30 วันล่วงหน้าก่อนการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชน และควรรอคอยอย่างน้อย 24 ชั่วโมงภายหลัง การเปิดเผยข้อมูลให้แก่สาธารณชนแล้ว รวมทั้งห้ามไม่ให้เปิดเผยข้อมูลที่เป็นสาระส�ำคัญนั้นต่อบุคคลอื่น (4) นอกจากกรรมการ ผู้บริหาร รวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการ ฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่าแล้ว บริษัทฯ ยังมีระเบียบ ข้อบังคับ ให้พนักงานและลูกจ้างของบริษัทฯ ทั่วไปรักษาความ ลับ และ/หรือข้อมูลภายในของบริษัทฯ ไม่น�ำความลับ และ/หรือข้อมูลภายในของบริษัทฯ ไปเปิดเผยหรือแสวงหา ประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อื่น ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม และไม่ว่าจะได้รับผลตอบแทนหรือไม่ก็ตาม รวมทั้ง

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

47


ต้องไม่ท�ำการซื้อขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย์ของบริษัทฯ โดยใช้ความลับ และ/หรือข้อมูลภายใน และ/หรือ เข้าท�ำนิติกรรมอื่นใดโดยใช้ความลับ และ/หรือข้อมูลภายในของบริษัทฯ อันก่อให้เกิดความเสียหายต่อบริษัทฯ ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม (5) ก�ำหนดบทลงโทษทางวินัยหากมีการฝ่าฝืนน�ำข้อมูลภายในไปใช้หาประโยชน์ส่วนตน ซึ่งบทลงโทษอาจเป็นการ ตักเตือนด้วยวาจา การตักเตือนเป็นหนังสือ ตัดค่าจ้าง พักงานชั่วคราวโดยไม่ได้รับค่าจ้าง หรือให้ออกจากงาน เท่าที่กฎหมายอนุญาตให้ท�ำได้ ซึ่งการลงโทษจะพิจารณาจากเจตนาของการกระท�ำและความร้ายแรงของความผิด นั้นๆ 6.

ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี

บริษัทฯ จ่ายค่าตอบแทนจากการสอบบัญชีให้แก่บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ เอบีเอเอส จ�ำกัด ส�ำหรับการตรวจสอบ งบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 เท่ากับ 3,510,000 บาท และ 2,980,000 บาท ตามล�ำดับ และส�ำหรับการตรวจสอบการปฏิบัติตามเงื่อนไขของบัตรส่งเสริมของบริษัทฯ และบริษัทย่อยส�ำหรับ ปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 เท่ากับ 100,000 บาท นอกจากนี้ บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด บริษัทร่วมทุน ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 49.99 จ่ายค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี ให้แก่บริษัทไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ เอบีเอเอส จ�ำกัด ส�ำหรับการตรวจสอบงบการเงินของบริษัทส�ำหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 เท่ากับ 40,000 บาท และบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ส�ำหรับการตรวจสอบงบการเงินของ บริษัทส�ำหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 เท่ากับ 100,000 บาท ทั้งนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้สอบบัญชีและส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัดข้างต้นไม่เป็นบุคคลหรือ กิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ และบริษัทย่อย 7.

การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีในเรื่องอื่นๆ

คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ได้รบั การแต่งตัง้ โดยมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 4/2557 เมือ่ วันที่ 14 สิงหาคม 2557 และภายหลังบริษัทฯ ได้แปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557 ได้มีมติอนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงชุดเดียวกันอีกครั้ง ดังนั้น ส�ำหรับปี 2556 และไตรมาสที่ 1 2 และ 3 ปี 2557 จึงยังมิได้มีการจัดประชุมแต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้มีการประชุมคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ได้รับการแต่งตั้งโดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2557 เมื่อ วันที่ 4 ธันวาคม 2557 ดังนั้น ส�ำหรับปี 2556 และไตรมาสที่ 1 2 และ 3 ปี 2557 จึงยังมิได้มีการจัดประชุมแต่อย่างใด 8.

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง

บริษัทฯ มีการจัดการและดูแลเพื่อให้แน่ใจว่าบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการตรวจสอบมาจากคณะกรรมการอิสระคอยท�ำหน้าที่ติดตาม ตรวจสอบ และประสานงานกับคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงและให้รายงานตรงต่อคณะกรรมการบริษัท

48

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


บริษทั ฯ มีกรรมการอิสระรวมทัง้ สิน้ จ�ำนวน 4 ท่าน หรือคิดเป็น 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการบริษทั ทัง้ หมด โดยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ท�ำหน้าที่เป็นคณะกรรมการตรวจสอบ ได้แก่ นายช�ำนาญ วังตาล, พลต�ำรวจเอกสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ และนายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน ปฏิบัติหน้าที่อย่างมีอิสระ ไม่มีข้อจ�ำกัดในการได้รับข้อมูล ข่าวสาร ตลอดจนได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี ทั้งจาก ผู้บริหาร และพนักงานที่เกี่ยวข้อง โดยหน้าที่ดังกล่าวรวมถึงการสอบทานงบการเงินของบริษัทฯ ให้มีความโปร่งใส เชื่อถือได้และ ถูกต้อง ซึ่งบริษัทได้แต่งตั้ง บริษัท สอบบัญชีธรรมนิติ จ�ำกัด (“ผู้ตรวจสอบภายใน”) ซึ่งเป็นหน่วยงานอิสระ เพื่อท�ำการประเมิน ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ซึ่งผู้ตรวจสอบภายในได้รายงานผลการประเมินความเพียงพอและ ประสิทธิผลของการควบคุมภายในของบริษัทฯ ต่อคณะกรรมการตรวจสอบและร่วมประชุมกับคณะกรรมการตรวจสอบอย่าง สม�่ำเสมอ นอกจากนี้ กรรมการอิสระ 1 ท่าน คือ นายช�ำนาญ วังตาล ยังร่วมท�ำหน้าที่เป็นคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ภายใต้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง มีคณะอนุกรรมการ ประกอบไปด้วยตัวแทนของแต่ละหน่วยงานในบริษทั ฯ ขึน้ ตรงต่อคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง ท�ำหน้าที่รายงานความเสี่ยงต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยตรงต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและคณะกรรมการ ของบริษทั ซึง่ คณะอนุกรรมการบริหารความเสีย่ ง มีหน้าทีใ่ นการรายงานความเสีย่ ง ประสานงาน และให้คำ� แนะน�ำกับหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งการจัดท�ำแผนป้องกันและควบคุมความเสี่ยงขึ้นมาปฏิบัติ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบสอบทานความเหมาะสมและความมีประสิทธิผลของ ระบบควบคุมภายใน เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ ระบบการควบคุมภายในของกลุม่ บริษทั ฯ มีความเหมาะสมเพียงพอ และเป็นไปตามหลักการ การควบคุมภายในของ COSO (The Committee of Sponsoring Organisation of the Treadway Commission) โดยครอบคลุม การควบคุมภายในด้านการบริหาร (Management Control) การด�ำเนินงาน (Operational Control) การบัญชีและการเงิน (Accounting and Financial Control) และการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง (Compliance Control) ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557 โดยมีกรรมการตรวจสอบจ�ำนวน 2 ท่าน เข้าร่วมประชุมด้วย คณะกรรมการได้ประเมินระบบการควบคุมภายใน โดยการซักถามข้อมูลจากฝ่ายบริหาร ซึง่ สรุปได้วา่ จากการ ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ในด้านต่างๆ 5 ส่วน ได้แก่ (1) องค์กรและสภาพแวดล้อม (Organizational Control and Environment Measures) (2) การบริหารความเสี่ยง (Risk Management Measure) (3) การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร (Management Control Activities) (4) ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล (Information and Communication Measure) (5) ระบบการติดตาม (Monitoring) คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษทั มีความเห็นว่า บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในและการจัดให้มบี คุ ลากร อย่างเพียงพอและเหมาะสมที่จะด�ำเนินการตามระบบควบคุมภายในได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถท�ำให้การด�ำเนินกิจการ ของบริษัทฯ เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) มีความโปร่งใสและเป็นธรรมสามารถ ตรวจสอบได้

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

49


50

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) ลักษณะรายการ ระหว่างกัน

บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน

จ�ำหน่ายรถ Porsche รุน่ Panamera S Hybrid ให้ แก่กรรมการ

จ�ำหน่ายรถ Porsche รุน่ Cayenne S Hybrid แก่ กรรมการ บริษทั ฯ จ่ายค่าเบีย้ ประกัน กรมธรรม์ประกันอัคคีภยั และภัยพิบตั ิ แก่บคุ คลที่ เกี่ยวโยงกัน

กรรมการ ผู้บริหาร และผู้ถือ เงินกู้ยืมจากกรรมการ หุ้นใหญ่ของบริษัทฯ เงินให้กู้ยืมแก่กรรมการ

ลักษณะความสัมพันธ์

3. นางสาวนริศรา กิจพิพิธ กรรมการ และผู้บริหาร ของบริษัทฯ

2. นางณัชชา กิจพิพิธ

1. นายธัญชาติ กิจพิพิธ

บุคคล/ นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง

3.256

0.007

-

0.007

-

-

0.409 3.565

-

2557

25.000

2556

มูลค่ารายการ(ล้านบาท)

n

n

n

n

รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วย เหลือทางการเงินแก่บริษัทฯ เป็น รายการที่ มี ค วามจ� ำ เป็ น และเป็ น ประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ รายการดังกล่าวเป็นรายการจ�ำหน่าย รถยนต์ ในราคามูลค่าทางบัญชีสุทธิ หลังหักค่าเสื่อมราคาสะสม รายการดังกล่าวเป็นรายการจ่ายค่า เบี้ยประกันกรมธรรม์ประกันอัคคีภัย และภั ย พิ บั ติ แก่ ท รั พ ย์ สิ น ซึ่ ง เป็ น ทรัพย์สินที่ใช้เป็นหลักประกันวงเงิน สินเชือ่ ที่ บริษทั ฯ มีกบั ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) และการท�ำประกันภัย ดังกล่าวเป็นไปตามเงือ่ นไขทีท่ างธนาคาร ก�ำหนด รายการดังกล่าวเป็นรายการจ�ำหน่าย รถยนต์ ในราคามูลค่าทางบัญชีสุทธิ หลังหักค่าเสื่อมราคาสะสม

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการ

รายการระหว่างกันของบริษัทฯ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งประจ�ำปี 2556 และ 2557 สามารถสรุปรายละเอียดได้ดังนี้

n

n

n

การท�ำรายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้นใน อดีต อย่างไรก็ดี บริษัทฯ จะด�ำเนินการไม่ให้มี รายการดังกล่าวอีกในอนาคต

การท�ำรายการดังกล่าวเป็นรายการทีเ่ กิดขึน้ ในอดีต บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการแก้ไขชือ่ ผูเ้ อาประกันภัยตาม กรมธรรม์ฉบับดังกล่าวเป็นนางณัชชา กิจพิพิธ เรียบร้อยแล้ว และนางณัชชา กิจพิพิธ จะเป็น ผู้ช�ำระค่าเบี้ยประกันกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าว ในอนาคตอย่างไรก็ดี บริษัทฯ จะด�ำเนินการไม่ให้ มีรายการดังกล่าวอีกในอนาคต

การท�ำรายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือ ทางการเงินแก่บริษัทฯ ในอดีต และเห็นว่าเป็น รายการที่มีความจ�ำเป็นและเป็นประโยชน์ ในการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อย่างไรก็ดี บริษัทฯ จะ ด�ำเนินการไม่ให้มีรายการดังกล่าวอีกในอนาคต

ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ

รายการระหว่างกัน


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

51

ลักษณะความสัมพันธ์

มีกรรมการร่วมกัน 3 ท่าน ได้แก่ นายธัญชาติ กิจพิพิธ ดร.ฤทธี กิจพิพิธ, และ นางสาวนริศรา กิจพิพิธ

บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน

6. บริษทั เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด (ประกอบกิจการสถานีบริการ ก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย (ยังไม่ด�ำเนินกิจการ)

7. นายชนน วังตาล

5. บริษทั ศรีสวัสดิ์ พาวเวอร์ มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน 1979 จ�ำกัด (มหาชน) ได้แก่ ดร.ทนง พิทยะ

4. บริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด เป็นบริษัทย่อย โดยบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 99.99

บุคคล/ นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง

ขายรถมิตซูบิชิ ปาเจโร สปอร์ ต ให้ แ ก่ บุ ค คล เกี่ยวโยงกัน

-

2.500

0.030

เจ้าหนี้การค้า เงินมัดจ�ำ เงินลงทุนในบริษัทร่วม

5.760

0.515

ขายรถยนต์ให้บริษทั ย่อย

จ�ำหน่ายรถกระบะ

0.392 0.037 3.325 0.278 0.392

2556

1.154

-

-

-

-

0.360 0.030 3.271 0.332 0.048

2557

มูลค่ารายการ(ล้านบาท)

ค่าเช่าส�ำนักงาน ค่าเช่าส�ำนักงานค้างจ่าย ค่าบริการขนส่งสินค้า ค่ า บริ การขนส่ ง สิ น ค้ า ค้างจ่าย ค่าสินค้า

ลักษณะรายการ ระหว่างกัน

n

n

n

n

n

n

รายการดังกล่าวเป็นรายการธุรกิจ ปกติของบริษทั ฯ ในราคาและเงือ่ นไข การค้าเป็นไปตามราคาและเงื่อนไข การค้าตลาด

รายการดังกล่าวเป็นรายการระหว่าง บริ ษั ท กั บ บริ ษั ท ย่ อ ยที่ ถื อ หุ ้ น โดย บริษัทฯ ร้อยละ 49.99 และเป็นการ ด�ำเนินธุรกิจทางการค้าปกติ

รายการดั ง กล่ า วเป็ น รายการเช่ า ระหว่างบริษทั และบริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริ ษั ท ฯ ร้ อ ยละ 99.99 และ เป็นการด�ำเนินธุรกิจทางการค้าปกติ รายการดังกล่าวเป็นรายการจ�ำหน่าย สแตนเลสให้กับบริษัทย่อยที่ถือหุ้น โดยบริษัทฯ ร้อยละ 99.99 โดยคิด ราคาจากต้นทุนสินค้าบวกอัตราก�ำไร และค่าด�ำเนินการ รายการดังกล่าวเป็นรายการจ�ำหน่าย รถยนต์ ในราคาและเงื่อนไขการค้า เป็นไปตามราคาและเงื่อนไขการค้า ตลาด รายการดังกล่าวเป็นรายการธุรกิจ ปกติของบริษทั ฯ ในราคาและเงือ่ นไข การค้าเป็นไปตามราคาและเงื่อนไข การค้าตลาด

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการ

n

n

n

n

n

n

การท�ำรายการดังกล่าวเป็นรายการธุรกิจปกติของ บริษัทฯ ซึ่งมีราคาและเงื่อนไขเป็นไปตามราคา และเงื่อนไขการค้าตลาด

การท�ำรายการดังกล่าวเป็นไปตามนโยบายการ ลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมของบริษัทฯ

การท�ำรายการดังกล่าวเป็นรายการธุรกิจปกติ ของบริษัทฯ ซึ่งมีราคาและเงื่อนไขเป็นไปตาม ราคาและเงื่อนไขการค้าตลาด

การท�ำรายการดังกล่าวเป็นรายการธุรกิจปกติของ บริษัทฯ ซึ่งมีราคาและเงื่อนไขเป็นไปตามราคา และเงื่อนไขการค้าตลาด

การท� ำ รายการดั ง กล่ า วถื อ เป็ น รายการเช่ า อสังหาริมทรัพย์ของบริษัทฯ ซึ่งมีอัตราค่าเช่า และเงื่อนไขการเช่าเป็นไปตามราคาและเงื่อนไข การค้าตลาด การท�ำรายการดังกล่าวเป็นรายการธุรกิจปกติของ บริษัทฯ ซึ่งมีราคาและเงื่อนไขเป็นไปตามราคา และเงื่อนไขการค้าตลาด

ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ


นโยบายหรือแนวโน้มการท�ำรายการระหว่างกันในอนาคต

หากบริษัทฯ ประสงค์จะเข้าท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการระหว่างของกลุ่มบริษัทฯ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ มีส่วนได้ส่วนเสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคต บริษัทฯจะปฏิบัติตามนโยบายและขั้นตอน ที่ได้กล่าวไว้ขา้ งต้นอย่างเคร่งครัด โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ให้แนวทางในการพิจารณาโดย พิจารณาความจ�ำเป็นของรายการ ต่อการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ และพิจารณาเปรียบเทียบราคากับรายการเทียบเคียงทีท่ ำ� กับบุคคลภายนอก (หากมี) รวมถึงพิจารณา สาระส�ำคัญของขนาดรายการด้วย อย่างไรก็ดี หากมีการเข้าท�ำรายการระหว่างกัน บริษทั ฯ จะจัดให้คณะกรรมการตรวจสอบให้ความเห็นเกีย่ วกับความเหมาะสม ของรายการดังกล่าว ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความช�ำนาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่เกิดขึ้น บริษัทฯ จะจัดให้มีบุคคลที่มีความรู้ ความช�ำนาญพิเศษ เช่น ผู้สอบบัญชีหรือผู้ประเมินราคาทรัพย์สินที่มีความเป็นอิสระเป็นผู้ให้ความเห็น เกี่ยวกับรายการระหว่างกัน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบหรือบุคคลที่มีความรู้ความช�ำนาญพิเศษ จะถูกน�ำไปใช้ ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษัทฯ หรือผู้ถือหุ้น แล้วแต่กรณี เพื่อให้มีความมั่นใจว่าการเข้าท�ำรายการดังกล่าวจะไม่ เป็นการโยกย้าย หรือถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริษัทฯ หรือผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ แต่เป็นการท�ำรายการที่บริษัทฯ ได้ค�ำนึงถึง ประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นทุกราย

52

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


ความรับผิดชอบต่อสังคม

บริษัทฯ ประกอบกิจการด้วยความดูแลใส่ใจต่อผู้มีส่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ตลอดจนมีธรรมาภิบาลเป็นเครือ่ งก�ำกับให้การด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ เป็นไปด้วยความซือ่ สัตย์ สุจริต โปร่งใส และ ยุติธรรม มีความตระหนักถึงผลกระทบทางลบต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยพร้อมจะแก้ไขเพื่อลดผลกระทบดังกล่าว เพื่อผลดีต่อความยั่งยืนของกิจการ ผู้มีส่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง ทั้งนี้ บริษัทฯ มีนโยบายความ รับผิดชอบต่อสังคมดังนี้

1. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม

บริษัทฯ ยึดมั่นในการด�ำเนินธุรกิจที่สุจริตและเป็นธรรม ตามกรอบกติกาการแข่งขัน ภายใต้กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้อง โดยค�ำนึงถึงสัมพันธภาพระหว่างบริษัทฯ ต่อผู้มีส่วนได้เสีย ได้แก่ ผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า นักลงทุน เจ้าหนี้ และชุมชนโดยรอบบริษัทฯ เป็นต้น โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบัติดังนี้ การมีจริยธรรมในการประกอบธุรกิจ บริษัทฯ ยึดมั่นในแนวทางการด�ำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส ตั้งอยู่บนพื้นฐานความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต ถูกต้องและ เป็นธรรม โดยก�ำหนดจรรยาบรรณทางธุรกิจเพื่อรณรงค์ ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานเห็นความส�ำคัญของการต่อต้าน การทุจริต รวมทั้งการกรรโชกและการให้สินบนในทุกรูปแบบ ไม่ท�ำความตกลงใดๆ กับคู่แข่งหรือบุคคลใดในการสมยอมราคา บริษัทฯ ส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรี หลีกเลี่ยงพฤติกรรมการเล่นพรรคเล่นพวก และไม่มีนโยบายในการ เสนอราคาโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะจูงใจให้ร่วมด�ำเนินการใดๆ อันเป็นการให้ประโยชน์แก่ผู้ใดผู้หนึ่งเป็นผู้มีสิทธิ รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

53


ด�ำเนินธุรกิจตามกรอบกติกาที่เป็นธรรมอย่างมืออาชีพ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ต้องไม่แสวงหาความลับทางการค้าของคู่แข่ง หรือข้อมูลจ�ำเพาะของคู่แข่ง โดยวิธีการ อันมิชอบด้วยกฎหมาย เช่น การขโมย การโจรกรรม หรือการละเมิดข้อตกลงที่จะไม่เปิดเผยข้อมูลของคู่แข่ง ไม่ว่าจะได้จากลูกค้า หรือบุคคลอื่น ปฏิบัติต่อคู่ค้าตามเงื่อนไขการค้าอย่างครบถ้วน กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการค้าที่มตี ่อคู่คา้ อย่างซื่อตรง เป็นธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบ ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขได้ ต้องแจ้งต่อคู่ค้าเพื่อร่วมหาแนวทางแก้ไขอย่างเป็นธรรม รักษาความลับลูกค้า บริษัทฯ ยึดถือเป็นนโยบายป้องกันการรั่วไหลของข้อมูลที่เป็นความลับของลูกค้า ต้องไม่มีการน�ำข้อมูลลูกค้าไปเปิดเผย หากไม่ได้รับอนุญาตจากลูกค้า หรือเป็นไปตามที่กฎหมายก�ำหนด 2. การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

บริษัทฯ มุ่งมั่นสร้างวัฒนธรรมการต่อต้านการกระท�ำฉ้อฉล โดยมุ่งเน้นส่งเสริมการด�ำเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรม มีจริยธรรม มีความซื่อสัตย์ และมีความแน่วแน่ที่จะระงับยับยั้ง ป้องกัน และแก้ไขการกระท�ำทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยได้ มีการก�ำหนดประมวลจริยธรรมทางธุรกิจและนโยบายและการด�ำเนินการในการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่นควบคุมการทุจริตให้ พนักงานทุกคนยึดถือปฏิบัติ ดังนี้ บริษัทฯ จะจัดให้มีการอบรมให้ความรู้พนักงานทุกคนเกี่ยวกับนโยบายและการด�ำเนินการในการต่อต้านทุจริต คอร์รัปชั่นในช่วงการปฐมนิเทศเพื่อเริ่มงาน บริษัทฯ สนับสนุนให้พนักงานรายงานสิ่งที่ต้องสงสัย หรือการรับทราบการกระท�ำผิดต่อผู้บังคับบัญชาตาม ล�ำดับขั้น ยกเว้นมีเหตุผลที่ควรเชื่อว่าผู้บังคับบัญชาอาจมีส่วนรู้เห็นการทุจริตให้แจ้งเบาะแสโดยตรงต่อผู้จัดการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังจัดให้มีกล่องรับความคิดเห็นเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการให้เบาะแส การกระท�ำทุจริต เมือ่ พบเหตุการณ์ทจุ ริต ฝ่ายทรัพยากรบุคคลจะจัดให้มกี ระบวนการสืบสวนสอบสวนให้ได้ขอ้ เท็จจริงหรือการรายงาน ที่ถูกต้อง โดยผู้ถูกกล่าวหาต้องถูกพักงานทันที และให้ผู้บังคับบัญชารักษาการแทนผู้ถูกกล่าวหา บริษทั ฯ มีนโยบายเลิกจ้างผูบ้ ริหารหรือพนักงานทีป่ ระพฤติมชิ อบร้ายแรง ทุจริตต่อหน้าทีห่ รือกระท�ำความผิดอาญา โดยเจตนาจงใจท�ำให้บริษัทฯ เสียหาย หรือประมาทเลินเล่อท�ำให้บริษัทฯ เสียหายอย่างร้ายแรง บริษัทฯ ส่งเสริมให้ผู้บริหารและพนักงานหลีกเลี่ยงการให้หรือรับสิ่งของ หรือประโยชน์ใดๆ จากคู่ค้า หรือผู้มีส่วน เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ เว้นแต่ในเทศกาลหรือประเพณีนิยม ในมูลค่าที่เหมาะสม ทั้งนี้ หากผู้บริหารหรือ พนักงานได้รับของขวัญในรูปของเงินหรือสิ่งของที่มีมูลค่าสูง จะต้องแจ้งผู้บังคับบัญชาตามล�ำดับขั้นทราบและ ส่งคืนของขวัญนั้น 3. การเคารพสิทธิมนุษยชน

บริษทั ฯ ประกอบธุรกิจด้วยความเคารพต่อสิทธิมนุษยชนโดยมีการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิเสรีภาพตลอดจนปฏิบตั ติ อ่ กัน อย่างเสมอภาค ซึ่งเป็นรากฐานของการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบัติ ดังนี้

54

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


บริษทั ฯ มีการว่าจ้างคนพิการเพือ่ ปฏิบตั งิ านให้กบั บริษทั ฯ เพือ่ เป็นการส่งเสริมอาชีพและคุม้ ครองการมีงานท�ำของ คนพิการ เพือ่ ให้คนพิการได้มโี อกาสใช้ความสามารถ มีรายได้ และพึง่ พาตนเองได้ และลดภาระของครอบครัวและ สังคมที่ต้องให้การอุปการะเลี้ยงดู บริษัทฯ สนับสนุนและเคารพในการปกป้องสิทธิมนุษยชน โดยหมั่นตรวจสอบดูแลมิให้ธุรกิจของตนเข้าไปมีส่วน เกี่ยวข้องกับการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน เช่น ไม่สนับสนุนการบังคับใช้แรงงาน (Forced Labour) ต่อต้านการ ใช้แรงงานเด็ก (Child Labour) เป็นต้น บริษัทฯ เคารพสิทธิในการแสดงความคิดเห็นของพนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงการมีอิสระในการให้ความเห็นโดย ปราศจากการแทรกแซง การได้รับข้อมูลหรือความคิดเห็นผ่านสื่อต่างๆ รวมทั้งจัดให้มีช่องทางการสื่อสารเพื่อ รับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียอย่างเสรี

4. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม

บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการพัฒนาบุคลากรว่าเป็นหัวใจส�ำคัญส�ำหรับการพัฒนาที่ย่ังยืน บริษัทฯ จึงให้ ความส�ำคัญกับการก�ำหนดนโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทตี่ งั้ อยูบ่ นพืน้ ฐานความเป็นธรรม ทัง้ ในด้านการสรรหา การพัฒนา บุคลากร รวมถึงการให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมกับความรู้ความสามารถของแต่ละบุคคล เพื่อรักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่มีคุณภาพ โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบัติดังนี้ 4.1 การสรรหา บริษัทฯ มีการก�ำหนดคุณสมบัติของพนักงานอย่างชัดเจนตามลักษณะงาน ไม่น�ำความแตกต่างด้านเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาวะ ศาสนา สัญชาติ ภูมิหลังของบุคคล ความคิดเห็นทางการเมือง อายุหรือความทุพพลภาพ มาเป็นปัจจัยในการพิจารณา และตัดสินการจ้างงาน โดยจะคัดเลือกผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมตามกระบวนการคัดเลือกตามวิธีการที่ก�ำหนดไว้ นอกจากนี้ หากมีต�ำแหน่งงานว่างลงหรือมีต�ำแหน่งงานใหม่เกิดขึ้น บริษัทฯ มีนโยบายที่จะสรรหาบุคลากรที่เหมาะสมจากพนักงานภายใน ของบริษทั ฯ ก่อนการคัดเลือกจากบุคลากรภายนอกยกเว้นแต่ไม่มบี คุ คลทีเ่ หมาะสม บริษทั ฯ จึงจะคัดเลือกและบรรจุบคุ คลภายนอก 4.2 การจ่ายค่าตอบแทนในการท�ำงาน บริษทั ฯ จัดให้มเี งือ่ นไขการจ้างงานทีเ่ ป็นธรรมส�ำหรับพนักงาน และให้พนักงานได้รบั ค่าตอบแทนทีเ่ หมาะสมตามศักยภาพ ต�ำแหน่งหน้าที่ และความรับผิดชอบ นอกจากนี้ บริษัทฯ มีนโนบายพิจารณาปรับเพิ่มค่าตอบแทนตามเกณฑ์ที่บริษัทฯ ตั้งไว้ โดยแบ่งเป็น 2 กรณี คือ การปรับเพิ่มเงินเดือนตามความสามารถ และการปรับเพิ่มเงินเดือนเมื่อมีการเลื่อนต�ำแหน่งงานหรือ ได้รับวุฒิการศึกษาที่ดีขึ้น 4.3 การฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของพนักงาน โดยมีนโยบายพัฒนาพนักงานเพื่อฝึกฝนทักษะและเพิ่มพูนศักยภาพ โดย เปิดโอกาสให้พนักงานมีการเรียนรู้และเลื่อนต�ำแหน่งเมื่อมีโอกาสที่เหมาะสม โดยแบ่งหลักสูตรการฝึกอบรมออกเป็น 3 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรทั่วไป (General Course) หลักสูตรเฉพาะด้าน (Function Course) และหลักสูตรส�ำหรับผู้บริหาร (Management Course)

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

55


4.4 สุขภาพและความปลอดภัยในการท�ำงาน บริษัทฯ จัดให้มีระบบการท�ำงานที่มุ่งเน้นความปลอดภัยและสุขอนามัยในสถานที่ท�ำงานอย่างเหมาะสม เช่น การมี ระบบป้องกันมลพิษที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการปฏิบัติงาน การจัดให้มีสถานที่ท�ำงานที่สะอาดเพื่อความปลอดภัยจากอันตราย ที่อาจเกิดขึ้น ทั้งจากอุบัติภัยและโรคภัย 5. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค

บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของสิทธิของผู้บริโภค กล่าวคือ ผลิตสินค้าและบริการที่ปลอดภัยต่อชีวิตและสุขอนามัย ของผู้บริโภค อีกทั้งยังมุ่งมั่นท�ำการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมของสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภค โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบัติดังนี้ บริษัทฯ ปฏิบัติตามมาตรฐานและกฎระเบียบข้อบังคับด้านความปลอดภัย เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุที่สืบเนื่องจาก สินค้าและบริการนั้น โดยบริษัทฯ ได้รับการรับรองมาตรฐานทั้งระดับสากลและระดับประเทศ ได้แก่ มาตรฐาน BS OHSAS 18001:2007 ISO 9001:2008 และ TSI 18001:2011 บริษัทฯ มีนโยบายก�ำหนดราคาสินค้าและบริการอย่างสมเหตุสมผล มีการให้ข้อมูลแก่ผู้บริโภคที่ตรงความจริงและ เพียงพอ รวมทั้งให้ความรู้เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการ บริษัทฯ มีการก�ำหนดช่วงเวลารับประกันสินค้าให้เป็นไปตามกรอบของกฎหมาย และเหมาะสมกับอายุการใช้งาน ของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์แต่ละประเภท เช่น การติดตั้งชุดอุปกรณ์ก๊าซ NGV และก๊าซ LPG ในรถยนต์ภายใต้ชื่อ “สแกน พาวเวอร์ พลัส” มีเงื่อนไขการรับประกันชุดอุปกรณ์ติดตั้งและเครื่องยนต์ในระยะเวลา 3 ปี หรือ 100,000 กิโลเมตร 6. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม

บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อบังคับเกีย่ วกับการจัดการสิง่ แวดล้อมอย่างเคร่งครัด และมีการก�ำหนดมาตรการป้องกัน และแก้ไขเมื่อเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากการด�ำเนินงานของบริษัทฯ รวมทั้งพัฒนากระบวนการด�ำเนินธุรกิจให้ สามารถลดผลกระทบ พร้อมกับปกป้องและบูรณะฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม 7. การร่วมพัฒนาชุมชนหรือสังคม

บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญกับการร่วมมือและการมีสว่ นร่วมระหว่างกิจการกับชุมชนและสังคม โดยให้การสนับสนุนการด�ำเนิน กิจกรรมอาสาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชนและสังคม เช่น การบริจาคเงินและสิ่งของสนับสนุนองค์กรการกุศลและโรงเรียนใน บริเวณใกล้เคียง เช่น กาชาด มูลนิธิต่างๆ เป็นต้น

56

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญและรับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินรวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงิน ปรากฏใน รายงานประจ�ำปีของบริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งได้จัดท�ำขึ้นเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้แสดงฐานะการเงิน ผลการ ด�ำเนินงานและกระแสเงินสดโดยรวมที่เป็นจริง และรายงานทางการเงินนี้ได้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดย พิจารณาเลือกใช้นโยบายบัญชีทเี่ หมาะสมและสอดคล้องกับกิจการซึง่ ถือปฏิบตั อิ ย่างสม�ำ่ เสมอ และใช้ดลุ ยพินจิ อย่างระมัดระวังใน การจัดท�ำ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญในด้านคุณภาพของงบการเงิน ด้วยการให้มีการสอบทานข้อมูลทาง การเงิน และจัดให้มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีที่ถูกต้องครบถ้วนเพียงพอ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลที่ส�ำคัญเพิ่มเติมอย่างเพียงพอ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน มีค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไปในการใช้งบ การเงิน ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบบริหารความเสี่ยงและระบบควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้ มัน่ ใจอย่างมีเหตุผลว่าข้อมูลบริษทั มีความถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอทีจ่ ะด�ำรงรักษาไว้ซงึ่ ทรัพย์สนิ ตลอดจนเพือ่ ไม่ให้เกิดการ ทุจริตหรือการด�ำเนินงานทีผ่ ดิ ปกติอย่างมีสาระส�ำคัญ รวมถึงได้ตงั้ คณะกรรมการตรวจสอบซึง่ ประกอบด้วยกรรมการทีม่ คี วามเป็น อิสระและไม่ได้เป็นผู้บริหารจ�ำนวน 3 ท่าน ซึ่งมีคุณสมบัติครบถ้วนตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2551) และข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนให้เข้ามาท�ำหน้าที่สอบทานงบการเงิน ดูแลให้มีการปฏิบัติตาม มาตรฐานการบัญชี สอบทานระบบควบคุมภายใน ระบบการตรวจสอบภายในและการบริหารความเสี่ยงให้มีความเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ มีการปฏิบตั งิ านที่โปร่งใสเป็นไปตามระเบียบของบริษทั ฯ และเป็นไปตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทั้งดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตลอดจนพิจารณาและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ งบการเงินของบริษัทฯ ได้รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาตของบริษัทฯ คือบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ เอบีเอเอส จ�ำกัด ในการตรวจสอบนั้น ทางคณะกรรมการบริษัทได้สนับสนุนข้อมูลและเอกสารต่าง เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถตรวจสอบและ แสดงความเห็นได้ตามมาตรฐานการสอบบัญชีทั่วไป โดยความเห็นของผู้สอบบัญชีได้ปรากฏในรายงานของผู้สอบบัญชี ซึ่งแสดง ไว้ในรายงานประจ�ำปีแล้ว จากโครงสร้างการบริหารและระบบการควบคุมภายใน ตลอดจนผลการตรวจสอบของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ท�ำให้คณะกรรมการ บริษัทเชื่อได้ว่างบการเงินของบริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ได้แสดงฐานะการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และกระแสเงินสด โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และปฏิบัติถูกต้องตาม กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง วันที่ 16 มีนาคม 2558 ในนามคณะกรรมการบริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน)

(นายทนง พิทยะ) ประธานกรรมการ

(นายธัญชาติ กิจพิพิธ) กรรมการผู้จัดการใหญ่

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

57


การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ

การวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน

ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 เป็นต้นมา บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 เรื่องการประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ ซึ่งธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลักของบริษัทฯ เข้าเกณฑ์ตาม มาตรฐานดังกล่าว ส่งผลให้บริษัทฯ แสดงรายได้จากธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลักในลักษณะสัญญาเช่าทางการเงินและ สัญญาเช่าด�ำเนินงาน 1.

รายได้รวม

รายได้ทั้งหมดของบริษัทฯ สามารถสรุปได้ดังนี้ รายได้รวม

รายได้ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ ธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลักโดยเอกชน ธุรกิจขนส่งก๊าซ NGV ธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับยานยนต์ ธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซ NGV ธุรกิจติดตั้งระบบก๊าซในรถยนต์ รายได้ธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ รายได้ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ รายได้ธุรกิจอื่น รวมรายได้จากการขายและบริการ รายได้อื่น รวม

2556 ล้านบาท ร้อยละ

1,188.64 204.46 209.52 203.26 401.57 169.83 693.04 56.89 271.12 2,209.69 23.40 2,233.09

53.23 9.16 9.38 9.11 17.98 7.61 31.04 2.55 12.14 98.95 1.05 100.00

2557 ล้านบาท ร้อยละ

1,534.97 236.99 226.27 198.32 809.56 63.83 487.01 34.89 90.03 2,146.90 35.31 2,182.21

70.34 10.86 10.37 9.09 37.10 2.93 22.32 1.60 4.13 98.38 1.62 100.00

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีรายได้จากการขายและให้บริการเท่ากับ 2,209.69 ล้านบาท และ 2,146.90 ล้านบาท ตามล�ำดับ ลดลง 62.79 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 2.84 สาเหตุหลักมาจากยอดจ�ำหน่ายรถยนต์ที่ ลดลงตามภาวะเศรษฐกิจ (1) รายได้จากธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 เท่ากับ 1,188.64 ล้านบาท และ 1,534.97 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิ่มขึ้น 346.33 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.14 รายได้จาก ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ สามารถอธิบายตามธุรกิจย่อยได้ดังนี้

58

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


ธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลักโดยเอกชน (Private Mother Station (PMS) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีรายได้จากธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลัก เท่ากับ 204.46 ล้านบาท และ 236.99 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 9.16 และร้อยละ 10.86 ของ รายได้ตามล�ำดับ โดยรายได้จากธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลักเพิ่มขึ้น 32.53 ล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.91 สาเหตุหลักเนื่องจากบริษัทฯ ร้บจ้างอัดก๊าซปริมาณมากขึ้น จาก 145,198 ตัน เป็น 173,283 ตัน

n

ธุรกิจขนส่งก๊าซ NGV (Third Party Logistics (TPL) ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษทั ฯ มีรายได้จากธุรกิจขนส่งก๊าซ NGV เท่ากับ 209.52 ล้านบาท และ 226.27 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 9.38 และร้อยละ 10.37 ของรายได้ ตามล�ำดับ โดยรายได้จากธุรกิจขนส่งก๊าซ NGV เพิ่มขึ้น 16.75 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.99 สาเหตุหลักเนื่องจาก บริษัทฯ ร้บจ้างขนส่งก๊าซ NGV เพิ่มจ�ำนวนมากขึ้นจาก 133,619 ตัน เป็น 145,310 ตัน

n

ธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับยานยนต์ (Private Brand Station (PBS) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีรายได้จากธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ ส�ำหรับยานยนต์ เท่ากับ 203.36 ล้านบาท และ 198.32 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 9.11 และร้อยละ 9.09 ของรายได้ ตามล�ำดับ โดยรายได้จากธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับยานยนต์ลดลง 5.04 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 2.48 สาเหตุหลักเนื่องจากบริษัทฯ จ�ำหน่ายก๊าซ NGV ในจ�ำนวนที่ลดลงจาก 20,615 ตัน เป็น 19,522 ตัน

n

ธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซ NGV ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีรายได้จากธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและ ซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ก๊าซ NGV เท่ากับ 401.57 ล้านบาท และ 809.56 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17.98 และร้อยละ 37.10 ของรายได้ ตามล�ำดับ โดยรายได้จากธุรกิจออกแบบ รับเหมา ติดตั้งและซ่อมบ�ำรุง อุปกรณ์ก๊าซ NGV เพิ่มขึ้น 407.99 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 101.60 สาเหตุหลักเนื่องจากบริษัทฯ ได้สง่ มอบงานประกอบและติดตัง้ ชุดถังก๊าซส�ำหรับรถกึง่ พ่วงที่ใช้ในการขนส่งก๊าซ NGV ในไตรมาสที่ 1 ปี 2557 และการรับรู้รายได้โครงการจ้างปฏิบัติการและบ�ำรุงรักษาสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ พื้นที่ภูมิภาค

n

ธุรกิจติดตั้งระบบก๊าซในรถยนต์ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีรายได้จากธุรกิจติดตั้งระบบก๊าซในรถยนต์ เท่ากับ 169.83 ล้านบาท และ 63.83 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 7.61 และร้อยละ 2.93 ของรายได้ ตาม ล�ำดับ โดยรายได้จากธุรกิจติดตั้งระบบก๊าซในรถยนต์ลดลง 106 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 62.42 สาเหตุหลัก เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงเนื่องจากความไม่แน่นอนทางการเมืองในช่วงครึ่งปีแรกของ ปี 2557 ท�ำให้นโยบายเกี่ยวกับก๊าซ NGV ของรัฐบาลยังมีความไม่ชัดเจน ส่งผลให้ผู้บริโภคชะลอการติดตั้งชุดอุปกรณ์ ก๊าซในรถยนต์ และสภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรมการติดตั้งอุปกรณ์ก๊าซในรถยนต์ยังคงรุนแรง

n

(2) รายได้จากธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 เท่ากับ 693.04 ล้านบาท และ 487.01 ล้านบาท ตามล�ำดับ ลดลง 206.03 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 29.73 โดยบริษัทได้ส่งมอบรถยนต์ ภายใต้โครงการรถยนต์คันแรกสิ้นสุดในสิ้นปี 2555 โดยรับรู้รายได้เสร็จสิ้นในปี 2556 ในขณะที่ปี 2557 สภาวะ ตลาดรถยนต์ในประเทศชะลอตัวลง

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

59


รายได้จากธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ สามารถจ�ำแนกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ n รายได้จากการขาย คือ รายได้จากการขายรถยนต์มิตซูบิชิ ซึ่งเป็นรายได้หลักของธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ รายได้จากการขายในปี 2557 ลดลงจากปี 2556 จ�ำนวน 215.78 ล้านบาท สาเหตุหลักเนื่องจาก ในช่วงปี 2556 สภาวะตลาดรถยนต์ยังได้รับผลกระทบจากโครงการรถคันแรกของรัฐบาลที่สิ้นสุดในสิ้นปี 2555 โดยบริษัทฯ ได้ส่งมอบรถยนต์ภายใต้โครงการรถคันแรกในปี 2556 ในขณะที่กับสภาวะตลาดของรถยนต์ ใน ประเทศชะลอตัวลงในปี 2557 รายได้จากการให้บริการ คือ รายได้จากการให้บริการซ่อม บ�ำรุงรักษา และขายอะไหล่รถยนต์มิตซูบิชิ โดยรายได้จากการให้บริการเพิ่มขึ้น 6.57 ล้านบาท มีสาเหตุหลักเนื่องจากบริษัทฯ มีฐานลูกค้าที่เพิ่มขึ้นตาม ยอดขายรถยนต์มิตซูบิชิของบริษัทฯ ที่เริ่มด�ำเนินการตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2555

n

รายได้อื่น ได้แก่ รายได้ส่งเสริมการขายที่บริษัทฯ ได้รับจาก มิตซูบิชิ โดยรายได้อื่นเพิ่มขึ้น 3.18 ล้านบาท เนื่องมาจาก มิตซูบิชิ มีแผนการปรับโฉมรถยนต์มิตซูบิชิหลายรุ่นในประเทศไทย ดังนั้น มิตซูบิชิ จึงเพิ่มอัตรา ค่าส่งเสริมการขายที่จ่ายให้แก่บริษัทฯ เพื่อกระตุ้นยอดรถยนต์มิตซูบิชิก่อนการปรับโฉมดังกล่าว

n

(3) รายได้จากธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 เท่ากับ 56.89 ล้านบาท และ 34.89 ล้านบาท ตามล�ำดับ ลดลง 22.00 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 38.67 เนื่องจากโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์สามารถผลิตไฟฟ้าลดลง อนึ่ง เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 บริษัทฯ ได้ลงนามในสัญญาซื้อขายหุ้นสามัญร้อยละ 99.99 ของ SFEE ให้กับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ แห่งหนึ่งซึ่งไม่เป็นบุคคลเกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ ซึ่งจะส่งผลให้ บริษัทฯ ไม่มีรายได้จากธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ต่อไป (4) รายได้จากธุรกิจอื่นๆ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 เท่ากับ 271.12 ล้านบาท และ 90.03 ล้านบาท ตามล�ำดับ ลดลง 181.09 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 66.79 ตามล�ำดับ มีสาเหตุหลัก คือ บริษัทขาย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ในปริมาณที่ลดลง และการจ�ำหน่ายแบตเตอรี่ในปริมาณที่ลดลงเช่นกัน ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ไม่มแี ผนในการเติบโตในธุรกิจอืน่ อย่างมีนยั ส�ำคัญ เนือ่ งจากการจัดตัง้ ธุรกิจดังกล่าว มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ สนับสนุนการประกอบธุรกิจหลักของบริษทั ฯ เท่านัน้ เช่น ธุรกิจร้านสะดวกซือ้ 108 shop ซึง่ ตัง้ อยูบ่ นสถานี บริการก๊าซธรรมชาติหลัก อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เป็นต้น 2.

รายได้อื่น

รายได้อื่น ประกอบด้วยรายการหลัก ได้แก่ รายได้ดอกเบี้ยรับ รายได้ค่านายหน้าจากบริษัท ลีซซิ่ง และก�ำไรจากการขาย สินทรัพย์ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีรายได้อื่นเท่ากับ 23.40 ล้านบาท และ 35.31 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยรายได้อื่นเพิ่มขึ้น 11.91 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 50.90 สาเหตุหลักเนื่องมาจากบริษัทฯ มีก�ำไรจากการ จ�ำหน่ายรถขนส่งก๊าซ NGV จ�ำนวน 10 คัน

60

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


3.

ต้นทุนขาย

ต้นทุนขายของบริษัทฯ แบ่งตามกลุ่มธุรกิจสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ 2556 ต้นทุนขาย

ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ ธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ ธุรกิจอื่น รวม

ล้านบาท

2557 ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

962.55 643.16 15.26 234.61

51.87 34.66 0.82 12.64

1,157.49 420.65 8.50 71.53

69.81 25.37 0.51 4.31

1,855.58

100.00

1,658.17

100.00

ต้นทุนขายรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 เท่ากับ 1,855.58 ล้านบาท และ 1,658.17 ล้านบาท ตามล�ำดับ ลดลง 197.42 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 10.64 ต้นทุนขายจากธุรกิจเกี่ยวเนือ่ งกับก๊าซธรรมชาติ ต้นทุนขายจากธุรกิจเกีย่ วเนือ่ งกับก๊าซธรรมชาติมอี งค์ประกอบหลัก ได้แก่ วัตถุดบิ ค่าใช้จา่ ยบุคลากร และค่าเสือ่ มราคา

n

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 ต้นทุนขายจากธุรกิจ เกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ เท่ากับร้อยละ 80.98 และ ร้อยละ 75.41 ของรายได้ ตามล�ำดับ สาเหตุหลักที่สัดส่วนต้นทุนเมื่อเทียบกับรายได้ลดลง เนื่องจาก บริษัทฯ ได้ส่งมอบและรับรู้รายได้งานประกอบและติดตั้งชุดถังก๊าซ ส�ำหรับรถกึ่งพ่วงที่ใช้ในงานขนส่งก๊าซ NGV ซึ่งมี ผลก�ำไรสูง ประกอบกับการบริหารจัดการวัตถุดิบที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้การตั้งส�ำรองสินค้าเคลื่อนไหวช้าลดลง ตามล�ำดับ ต้นทุนขายจากธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ ต้นทุนขายจากธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ที่ส�ำคัญ ได้แก่ รถยนต์ อะไหล่ และค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยของวงเงินสินเชื่อส�ำหรับ การขายรถยนต์ (Floor Plan)

n

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 ต้นทุนขายจากธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ เท่ากับ 643.16 ล้านบาท และ 420.65 ล้านบาท ตามล�ำดับ ลดลง 222.51 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 34.60 สาเหตุหลักเนื่องจากต้นทุนรถยนต์และ อะไหล่ลดลงตามรายได้จาการขายรถยนต์ที่ลดลงตามสภาวะตลาดรถยนต์ในประเทศที่ชะลอตัว ต้นทุนขายจากธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 ต้นทุนขายจากธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ เท่ากับ 15.26 ล้านบาท และ 8.50 ล้านบาท ตามล�ำดับ ลดลง 6.77 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 44.30 ซึ่งเป็นไปตามการลดลงของ รายได้จากธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ในงวดเดียวกัน

n

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

61


อนึ่ง เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 บริษัทฯ ได้ลงนามในสัญญาซื้อขายหุ้นสามัญร้อยละ 99.99 ของ SFEE ให้กับบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ แห่งหนึ่งซึ่งไม่เป็นบุคคลเกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ ซึ่งจะส่งผลให้บริษัทฯ ไม่มีต้นทุน จากธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ต่อไป ต้นทุนขายจากธุรกิจอื่น ต้นทุนขายจากธุรกิจอื่นๆ มีองค์ประกอบหลัก ได้แก่ ต้นทุนค่าสินค้า เนื่องจากลักษณะการด�ำเนินธุรกิจของกลุ่มธุรกิจ อื่นๆ ส่วนใหญ่จะเป็นการจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ หรือสินค้า ในลักษณะซื้อมา-ขายไป เช่น ธุรกิจร้านสะดวกซื้อ 108 shop ธุรกิจการขายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ธุรกิจการขายกระจกและแบตเตอรี่ เป็นต้น

n

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 ต้นทุนขายจากธุรกิจอื่น เท่ากับ 234.61 ล้านบาท และ 71.53 ล้านบาท ตามล�ำดับ ลดลง 163.08 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 69.51 ทัง้ นีต้ น้ ทุนขายรวมจากธุรกิจอืน่ มีความสอดคล้อง กับรายได้จากธุรกิจอื่น 4.

ก�ำไรขั้นต้นและอัตราก�ำไรขั้นต้น

ก�ำไรขั้นต้นรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 เท่ากับ 354.12 ล้านบาท และ 488.73 ล้านบาท ตาม ล�ำดับ เพิ่มขึ้น 134.61 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 38.01 โดยก�ำไรขั้นต้นและอัตราก�ำไรขั้นต้นของบริษัทฯ แบ่งตามกลุ่มธุรกิจ สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ 2556 ล้านบาท อัตราก�ำไรขั้นต้น

2557 ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ก�ำไรขั้นต้น อัตราก�ำไรขั้นต้นของธุรกิจ ก�ำไรขั้นต้น อัตราก�ำไรขั้นต้นของธุรกิจ

ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ ธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์(1) ธุรกิจอื่น รวม(2)

226.09 49.87 41.63 36.53 354.12

19.02 7.20 73.18 13.47 16.02

377.47 66.37 26.39 18.50 488.73

24.59 13.63 75.64 20.55 22.76

หมายเหตุ : (1) รวมรายได้จาก Adder (2) ก�ำไรขัน้ ต้นรวมแตกต่างจากก�ำไรขัน้ ต้นในงบก�ำไรขาดทุน เนือ่ งจากงบก�ำไรขาดทุนแยกแสดงรายการก�ำไรขัน้ ต้นธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสง อาทิตย์ในการด�ำเนินงานที่ยกเลิก

(1) ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ ก�ำไรขั้นต้นจากธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ มีสัดส่วนสูงสุดในก�ำไรขั้นต้นรวมของบริษัทฯ คิดเป็นร้อยละ 63.85 และร้อยละ 77.24 ของก�ำไรขั้นต้นทั้งหมดของบริษัทฯ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 ตามล�ำดับ

62

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


ทั้งนี้ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 อัตราก�ำไรขั้นต้นจากธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ เท่ากับร้อยละ 19.02 และร้อยละ 24.59 ตามล�ำดับ การเพิ่มขึ้นของอัตราก�ำไรขั้นต้นเป็นการเพิ่มขึ้นของก�ำไรจาก ธุรกิจสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลักโดยเอกชน เนื่องจากบริษัทฯ มีอัตราการอัดก๊าซ (Utization rate) ที่เพิ่มสูง ขึ้นจากความต้องการก๊าซธรรมชาติอัดของ ปตท. และบริษัทฯ มีต้นทุนการซื้อก๊าซธรรมชาติที่ต�่ำลง เนื่องจาก ค่าความถ่วงจ�ำเพาะเฉลี่ยของก๊าซธรรมชาติที่บริษัทซื้อจาก ปตท. มีค่าลดลง นอกจากนี้บริษัทฯ สามารถส่งมอบติดตั้งถังก๊าซส�ำหรับรถกึ่งพ่วงที่ใช้ในการขนส่งก๊าซ NGV ให้กับบริษัทเอกชน รายหนึ่งในไตรมาสที่ 1 ของปี 2557 นอกจากนั้น บริษัทฯ มีการกลับรายการค่าเผื่อสินค้าเคลื่อนไหวช้า จ�ำนวน 29.23 ล้านบาท เนื่องจากชิ้นส่วนและอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับเครื่องอัดก๊าซธรรมชาติ ที่ถูกตั้งสินค้าเคลื่อนไหวช้าแล้ว นั้น ได้ถูกน�ำไปใช้ประโยชน์ในโครงการต่าง ๆ ของบริษัท เช่น โครงการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น (2) ธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 อัตราก�ำไรขั้นต้นจากธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ เท่ากับร้อยละ 7.20 และร้อยละ 13.63 ตามล�ำดับ การเพิม่ ขึน้ ของอัตราก�ำไรขัน้ ต้นจากธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์อย่างมีนยั ส�ำคัญ มีสาเหตุ มาจากในปี 2557 มิตซูบิชิ มีการออกรถยนต์รุ่นใหม่ ดังนั้น มิตซูบิชิ จึงเพิ่มอัตราค่าส่งเสริมการขายที่จ่ายให้ แก่บริษัทฯ เพื่อกระตุ้นยอดจ�ำหน่ายรถยนต์มิตซูบิชิดังกล่าว นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมีรายได้จากการให้บริการ ซ่อม และบ�ำรุงรักษารถยนต์ที่เพิ่มมากขึ้น (3) ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ ส�ำหรับส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 อัตราก�ำไรขั้นต้นจากธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ เท่ากับร้อยละ 73.18 และร้อยละ 75.64 ตามล�ำดับ การเพิ่มขึ้นของอัตราก�ำไรขั้นต้นจากธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสง อาทิตย์ มีสาเหตุมาจากรายได้จากการผลิตไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อย ในขณะที่ต้นทุนอยู่ในระดับที่ไม่เปลี่ยนแปลง

เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 บริษัทฯ ได้ลงนามในสัญญาซื้อขายหุ้นสามัญร้อยละ 99.99 ของ SFEE ให้กับบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ แห่งหนึง่ ซึง่ ไม่เป็นบุคคลเกีย่ วโยงกันของบริษทั ฯ ซึง่ จะส่งผลให้บริษทั ฯ ไม่มกี ำ� ไร ขั้นต้นจากธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ต่อไป (4) ธุรกิจอื่นๆ ส�ำหรับส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 อัตราก�ำไรขั้นต้นจากธุรกิจอื่นๆ เท่ากับร้อยละ 13.47 และร้อยละ 20.55 ตามล�ำดับ โดยอัตราก�ำไรขั้นต้นของธุรกิจอื่นๆ ขึ้นอยู่กับประเภทสินค้า และเงื่อนไขที่ได้ตกลง กับลูกค้า ซึ่งจะส่งผลให้อัตราก�ำไรขั้นต้นมีความผันผวนไปตามประเภทสินค้าและลูกค้าที่บริษัทฯ ได้ท�ำรายการใน แต่ละปี 5.

ค่าใช้จ่ายในการขาย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายในการขายเท่ากับ 45.65 ล้านบาท และ 62.21 ล้านบาท ตามล�ำดับ หรือคิดเป็นร้อยละ 2.04 และร้อยละ 2.85 ของรายได้รวมทั้งหมดของบริษัท

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

63


ค่าใช้จ่ายในการขายของบริษัทฯ จ�ำแนกตามรายการหลักสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ 2556

2557

ค่าใช้จ่ายในการขาย

ล้านบาท

ร้อยละ(1)

ล้านบาท

ร้อยละ(1)

ค่าโฆษณาและส่งเสริมการขาย เงินเดือนและสวัสดิการ ค่าใช้จ่ายเดินทางติดต่อ ค่านายหน้า อื่นๆ รวม

20.22 11.55 7.80 3.75 2.33 45.65

44.29 25.30 17.09 8.21 5.10 100.00

43.59 7.00 6.31 1.51 3.80 62.21

70.07 11.25 10.14 2.43 6.11 100.00

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 เทียบกับ 2557 บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายในการขายเพิ่มขึ้น 16.56 ล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.28 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของค่าโฆษณาและส่งเสริมการขาย โดยในปี 2557 มิตซูบิชิ มีแผนการปรับโฉมใน รถยนต์มติ ซูบชิ หิ ลายรุน่ ในประเทศไทย ดังนัน้ มิตซูบชิ ิ จึงเพิม่ อัตราค่าส่งเสริมการขายทีจ่ า่ ยให้แก่บริษทั ฯ เพือ่ กระตุน้ ยอดรถยนต์ มิตซูบิชิก่อนการปรับโฉมดังกล่าว ดังนั้นบริษัทฯ จึงเพิ่มค่าโฆษณาและส่งเสริมการขายเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าว 6.

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายในการบริหารเท่ากับ 145.78 ล้านบาท และ 140.47 ล้านบาท ตามล�ำดับ หรือคิดเป็นร้อยละ 6.53 และร้อยละ 6.44 ของรายได้รวม ตามล�ำดับ ค่าใช้จ่ายในการบริหารของบริษัทฯ จ�ำแนกตามรายการหลักสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ 2556 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

ค่าบุคลากรและสวัสดิการ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าธรรมเนียมธนาคารและค่าธรรมเนียมอื่น ค่าสาธารณูปโภค ค่าซ่อมบ�ำรุง ค่าประกันภัย อื่นๆ รวม หมายเหตุ : (1) ร้อยละของค่าใช้จ่ายในการบริหาร

64

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

ล้านบาท

60.95 20.22 8.96 6.54 2.1 12.03 34.98 145.78

2557 ร้อยละ(1)

41.81 13.87 6.15 4.49 1.44 8.25 23.99 100.00

ล้านบาท

64.98 18.99 11.76 6.1 1.27 1.22 36.15 140.47

ร้อยละ (1)

46.26 13.52 8.37 4.34 0.9 0.87 25.74 100.00


ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายในการบริหารลดลง 5.31 ล้านบาท หรือลดลง ร้อยละ 3.64 ซึ่งถือว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยส�ำคัญ 7.

ต้นทุนทางการเงิน

ต้นทุนทางการเงินส่วนใหญ่เกิดจากค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ยืมจากธนาคารพาณิชย์สัญญาเช่าทางการเงิน และเงินเบิก เกินบัญชีในรูปของเงินทุนหมุนเวียน เช่น ทรัสต์รซี ที และสินเชือ่ เพือ่ การน�ำเข้า ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีวงเงินสินเชือ่ เป็นเงินทุนหมุนเวียน และวงเงินสินเชื่อระยะยาวกับธนาคารพาณิชย์หลายแห่งในประเทศ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีต้นทุนทางการเงินเท่ากับ 74.85 ล้านบาท และ 45.42 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยต้นทุนทางการเงินลดลง 29.43 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 39.32 สาเหตุหลักเนื่องจากการช�ำระคืนเงิน เบิกเกินบัญชี เงินกู้ยืมระยะสั้น และเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 8.

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ส�ำหรับส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคล เท่ากับ (15.64) และ 21.45 ล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลที่แท้จริง (Effective Tax Rate) เท่ากับร้อยละ (22.54) และร้อยละ 8.60 ตามล�ำดับ ทั้งนี้ สาเหตุที่ภาษีเงินได้นิติบุคคลที่แท้จริงส�ำหรับปี 2557 เพิ่มขึ้นอย่างมาก มีสาเหตุมาจากนโยบายทางบัญชี โดยเป็น การค�ำนวณจากผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหว่างมูลค่าของสินทรัพย์และหนี้สินรอการตัดบัญชีที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง 9.

ก�ำไรสุทธิ

ส�ำหรับส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทฯ มีก�ำไรสุทธิเท่ากับ 114.73 ล้านบาท และ 401.31 ล้านบาท คิดเป็นอัตราก�ำไรสุทธิร้อยละ 5.14 และร้อยละ 18.39 ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม หากค�ำนวณก�ำไรสุทธิโดยไม่คิดรวมก�ำไรจากการขายธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ (ก�ำไรจากจากการ ขายธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์หลังหักภาษีเท่ากับ 158.92 ล้านบาท) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทฯ จะมีก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงานเท่ากับ 114.73 ล้านบาท และ 242.39 ล้านบาท คิดเป็นอัตราก�ำไรสุทธิร้อยละ 5.14 และ ร้อยละ 11.11 ตามล�ำดับ และคิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 142.39

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

65


รายงานของผู้สอบบัญชี

เสนอผู้ถือหุ้นของบริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทของบริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และ ของเฉพาะบริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะ บริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และงบก�ำไรขาดทุนรวมและงบก�ำไรขาดทุนเฉพาะบริษัท งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม และงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะบริษัท งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของ ผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุป นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆ ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินและรับผิดชอบเกีย่ วกับการควบคุมภายในทีผ่ บู้ ริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพือ่ ให้สามารถจัดท�ำงบการเงินทีป่ ราศจากการแสดง ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงาน ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งก�ำหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อก�ำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและ ปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็น สาระส�ำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูล ในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูล ทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญของงบการเงินไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสีย่ งดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการ ควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุ สมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการน�ำเสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

66

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะบริษทั ของบริษทั สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และผลการด�ำเนินงานรวมและผลการด�ำเนินงานเฉพาะบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน วรรคเน้นเหตุการณ์ ตามที่เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทข้อ 2.1 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท ที่แนบมานี้ได้รวมข้อมูลเปรียบเทียบซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง “การน�ำเสนองบการเงิน” งบการเงินรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 ที่น�ำเสนอเป็นข้อมูลเปรียบเทียบไม่ได้ผ่านการ ตรวจสอบ

ชัยศิริ เรืองฤทธิ์ชัย ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4526 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด กรุงเทพมหานคร 2 มีนาคม พ.ศ. 2558

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

67


งบแสดงฐานะการเงิน

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

งบการเงินรวม ปรับใหม่ ปรับใหม่ ยังไม่ได้ตรวจสอบ ยังไม่ได้ตรวจสอบ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 1 มกราคม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2556

31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ปรับใหม่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ปรับใหม่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556

8 9

88,251,811 10,252,343

139,560,128 10,037,232

63,341,023 -

71,098,266 -

93,787,061 -

58,690,587 -

10

419,119,512

363,284,990

363,809,722

403,432,626 343,875,080

344,548,808

11 38 12 13

13,393,102 672,164,612 4,292,401

12,562,999 11,636,468 408,662 995,826,981 1,195,271,920 10,253,858 15,867,545

หมายเหตุ

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุ่นเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ ส่วนของลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึง ก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี - สุทธิ เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ - สุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

งบการเงินเฉพาะบริษัท

13,393,102 12,562,999 11,636,468 408,662 668,781,285 990,595,614 1,185,466,124 2,397,045 7,068,085 14,733,279

1,207,473,781 1,531,526,188 1,650,335,340 1,159,102,324 1,447,888,839 1,615,483,928

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพัน ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในกิจการร่วมค้า อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

21 11 15 15 16 17 18 19 20

117,475,392 115,211,369 123,210,961 110,973,616 108,790,285 116,915,586 183,049,217 195,358,250 207,921,247 183,049,217 195,358,250 207,921,247 - 20,999,600 48,469,300 19,999,800 2,270,628 2,297,020 2,500,000 2,500,000 40,321,621 37,778,086 39,235,429 30,024,141 27,480,606 28,937,949 1,434,411,380 1,148,413,604 1,036,859,517 1,431,890,353 1,142,639,094 1,034,720,069 14,957,833 12,869,725 5,466,067 14,753,088 12,623,718 5,208,896 1,131,812 5,570,427 4,042,706 3,372,358 16,479,330 17,689,097 3,351,220 16,477,530 17,687,297 3,276,845

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

1,810,097,213 1,535,187,578 1,420,087,147 1,810,667,545 1,558,920,908 1,416,980,392

รวมสินทรัพย์

3,017,570,994 3,066,713,766 3,070,422,487 2,969,769,869 3,006,809,747 3,032,464,320

68

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

หมายเหตุ

งบการเงินรวม ปรับใหม่ ปรับใหม่ ยังไม่ได้ตรวจสอบ ยังไม่ได้ตรวจสอบ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 1 มกราคม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2556

งบการเงินเฉพาะบริษัท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ปรับใหม่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ปรับใหม่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ส่วนของเงินกู้ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ส่วนของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึง ก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี - สุทธิ เงินกู้ยืมจากกรรมการ ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย ประมาณการหนี้สินส�ำหรับการ รับประกันสินค้าและบริการ หนี้สินหมุนเวียนอื่น

21 22

538,222,459 326,498,871

958,935,792 1,215,019,977 483,150,865 478,452,439

532,332,459 954,035,792 1,213,282,741 320,530,888 475,287,773 479,388,330

23

182,133,404

155,313,300

138,534,118

182,133,404 155,313,300

23 38

62,368,577 34,636,014

36,711,311 7,746

17,846,854 25,000,000 15,743,462

61,862,543 34,535,323

36,065,939 -

17,846,854 25,000,000 14,854,584

10,512,461 1,043,003

11,228,140 3,825,525

9,100,000 32,762,826

10,512,461 983,741

11,228,140 3,386,281

9,100,000 32,502,096

24

รวมหนี้สินหมุนเวียน

138,534,118

1,155,414,789 1,649,172,679 1,932,459,676 1,142,890,819 1,635,317,225 1,930,508,723

หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

23 23 19 25

340,268,887 229,989,747 7,890,445 15,251,852 15,572,597

472,563,933 68,827,712 13,996,359 -

341,140,101 32,993,322 15,377,251 10,627,622 -

340,268,887 472,563,933 228,580,978 67,091,640 7,890,445 12,945,752 12,497,136 15,572,597 -

341,140,101 32,993,322 9,799,910 7,936,770 -

608,973,528

555,388,004

400,138,296

605,258,659 552,152,709

391,870,103

1,764,388,317 2,204,560,683 2,332,597,972 1,748,149,478 2,187,469,934 2,322,378,826

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

69


งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

หมายเหตุ

งบการเงินรวม ปรับใหม่ ปรับใหม่ ยังไม่ได้ตรวจสอบ ยังไม่ได้ตรวจสอบ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 1 มกราคม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2556

งบการเงินเฉพาะบริษัท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ปรับใหม่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ปรับใหม่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,200,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท (31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555: หุน้ สามัญ 4,500,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท)

26

600,000,000

450,000,000

450,000,000

600,000,000 450,000,000

450,000,000

450,000,000 36,000,000

450,000,000 36,000,000

450,000,000 36,000,000

450,000,000 450,000,000 36,000,000 36,000,000

450,000,000 36,000,000

60,000,000 665,387,528 41,794,548

45,000,000 279,685,346 40,318,676

45,000,000 166,522,686 32,422,884

60,000,000 45,000,000 655,538,534 272,925,781 20,081,857 15,414,032

45,000,000 168,339,288 10,746,206

รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม

1,253,182,076 601

851,004,022 11,149,061

729,945,570 1,221,620,391 819,339,813 7,878,945 -

710,085,494 -

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

1,253,182,677

862,153,083

737,824,515 1,221,620,391 819,339,813

710,085,494

รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

3,017,570,994 3,066,713,766 3,070,422,487 2,969,769,869 3,006,809,747 3,032,464,320

ทุนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว หุ้นสามัญ 900,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท (31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555: หุน้ สามัญ 4,500,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ก�ำไรสะสม ส�ำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

70

29

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


งบก�ำไรขาดทุน

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด) ส�ำหรับปิสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม

หมายเหตุ

รายได้ ต้นทุนขาย ก�ำไรขั้นต้น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ส่วนแบ่งขาดทุนจากกิจการร่วมค้า ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน รายได้อื่น ก�ำไรก่อนต้นทุนทางการเงินและ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ก�ำไรส�ำหรับปีจากการด�ำเนินงานต่อเนื่อง ก�ำไรส�ำหรับปีจากการด�ำเนินงานที่ยกเลิก

29 30

15 33 35 34

งบการเงินเฉพาะบริษัท

ปรับใหม่ ยังไม่ได้ตรวจสอบ พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556

2,112,005,473 (1,649,670,171) 462,335,302 (62,206,232) (140,474,049) (26,392) 996,680 34,312,217

พ.ศ. 2557

ปรับใหม่ พ.ศ. 2556

2,152,803,291 1,944,587,969 1,977,738,269 (1,840,314,430) (1,507,893,510) (1,690,008,429) 312,488,861 436,694,459 (45,654,296) (58,589,571) (145,780,610) (124,016,200) (202,980) 2,337,775 1,011,024 21,060,635 33,896,295

287,729,840 (43,157,470) (130,091,990) 2,247,830 20,269,917

294,937,526 (45,417,743) 249,519,783 (21,454,647) 228,065,136 173,244,599

144,249,385 (74,854,495) 69,394,890 15,644,383 85,039,273 29,687,925

288,996,007 (44,991,126) 244,004,881 (19,395,066) 224,609,815 173,244,599

136,998,127 (74,648,494) 62,349,633 13,047,601 75,397,234 29,687,925

401,309,735

114,727,198

397,854,414

105,085,159

ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ก�ำไรส�ำหรับปีจากการด�ำเนินงานต่อเนื่อง ก�ำไรส�ำหรับปีจากการด�ำเนินงานที่ยกเลิก ก�ำไรส�ำหรับปีส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม

227,699,244 173,244,599 400,943,843 365,892

82,749,537 29,687,925 112,437,462 2,289,736

224,609,815 173,244,599 397,854,414 -

75,397,234 29,687,925 105,085,159 -

ก�ำไรสุทธิส�ำหรับปี

401,309,735

114,727,198

397,854,414

105,085,159

0.25 0.19 0.44

0.09 0.03 0.12

0.25 0.19 0.44

0.09 0.03 0.12

36 14

ก�ำไรสุทธิส�ำหรับปี การแบ่งปันก�ำไร(ขาดทุน)

ก�ำไรต่อหุ้นที่เป็นของบริษัทใหญ่ ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท) จากการด�ำเนินงานต่อเนื่อง จากการด�ำเนินงานที่ยกเลิก ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่

37

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

71


งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด) ส�ำหรับปิสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม

หมายเหตุ

ก�ำไรสุทธิส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนจาก การแปลงค่างบการเงิน ก�ำไร(ขาดทุน)จากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของ ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี

งบการเงินเฉพาะบริษัท

ปรับใหม่ ยังไม่ได้ตรวจสอบ พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556

401,309,735

พ.ศ. 2557

ปรับใหม่ พ.ศ. 2556

114,727,198 397,854,414 105,085,159

(3,327,800)

3,327,800

-

-

25

(302,076)

906,554

(302 ,076)

(623,333)

36

60,415

(181,310)

60,415

124,667

397,740,274

118,780,242 397,612,753 104,586,493

ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม

397,474,216 266,058

116,390,626 397,612,753 104,586,493 2,389,616 -

ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี

397,740,274

118,780,242 397,612,753 104,586,493

การแบ่งปันก�ำไรเบ็ดเสร็จรวม

72

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

73

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ตามที่รายงานไว้เดิม ผลกระทบจากการน�ำนโยบายการบัญชีใหม่มาใช้ปฏิบัติ การแก้ไขข้อผิดพลาด ผลกระทบจากเงินลงทุนในกิจการภายใต้การควบคุมเดียวกัน ตามที่ปรับปรุงใหม่ ค่าใช้จ่ายพนักงานโดยการให้หุ้นสามัญแก่พนักงาน จ่ายเงินคืนทุนของบริษัทย่อยให้แก่ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม การซื้อบริษัทย่อยที่อยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกัน การจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยให้แก่ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ส�ำรองตามกฎหมาย ก�ำไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด) ส�ำหรับปิสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

30 15.1 15.2 27 28

4.6 4.6 4.6

หมายเหตุ

450,000,000

450,000,000 450,000,000 -

ทุนที่ออกและ ช�ำระแล้ว

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

36,000,000

36,000,000 36,000,000 -

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น

60,000,000

45,000,000 45,000,000 15,000,000 -

ส�ำรองตาม กฎหมาย

ยังไม่ได้ จัดสรร

665,387,528

231,372,847 63,726,531 (15,414,032) 279,685,346 (15,000,000) 400,702,182

ส่วนของบริษัทใหญ่ ก�ำไรสะสม

งบการเงินรวม

41,794,548

29,239,980 11,078,696 40,318,676 4,667,825 36,013 (3,227,966)

องค์ประกอบ อื่นของส่วน ของผู้ถือหุ้น

792,593,422 63,726,531 (4,335,336) 10,168,466 862,153,083 4,667,825 (880,500) (999,800) (9,498,205) 397,740,274

รวม

601 1,253,182,677

980,595 10,168,466 11,149,061 (880,500) (1,035,813) (9,498,205) 266,058

ส่วนได้เสียที่ ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุม


74

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ตามที่รายงานไว้เดิม ผลกระทบจากการน�ำนโยบายการบัญชีใหม่มาใช้ปฏิบัติ การแก้ไขข้อผิดพลาด ผลกระทบจากเงินลงทุนในกิจการภายใต้การควบคุมเดียวกัน ตามที่ปรับปรุงใหม่ เงินลงทุนในบริษัทย่อยโดยส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ค่าใช้จ่ายพนักงานโดยการให้หุ้นสามัญแก่พนักงาน ก�ำไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด) ส�ำหรับปิสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

30

4.6 4.6 4.6

หมายเหตุ

450,000,000

450,000,000 450,000,000 -

ทุนที่ออกและ ช�ำระแล้ว

36,000,000

36,000,000 36,000,000 45,000,000

45,000,000 45,000,000 -

ส�ำรองตาม กฎหมาย

279,685,346

125,792,339 51,476,525 (10,746,178) 166,522,686 113,162,660

ยังไม่ได้ จัดสรร

งบการเงินรวม ส่วนของบริษัทใหญ่ ก�ำไรสะสม ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

40,318,676

26,012,014 6,410,870 32,422,884 4,667,826 3,227,966

องค์ประกอบ อื่นของส่วน ของผู้ถือหุ้น

11,149,061

211 7,878,734 7,878,945 880,500 2,389,616

ส่วนได้เสียที่ ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุม

862,153,083

682,804,564 51,476,525 (4,335,308) 7,878,734 737,824,515 880,500 4,667,826 118,780,242

รวม


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

75

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ตามที่รายงานไว้เดิม ผลกระทบจากการน�ำนโยบายการบัญชีใหม่มาใช้ปฏิบัติ การแก้ไขข้อผิดพลาด ตามที่ปรับปรุงใหม่ ค่าใช้จ่ายพนักงานโดยการให้หุ้นสามัญแก่พนักงาน ส�ำรองตามกฎหมาย ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

30 28

4.6 4.6

หมายเหตุ

450,000,000

450,000,000 450,000,000 -

ทุนที่ออกและ ช�ำระแล้ว

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

36,000,000

36,000,000 36,000,000 -

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น

60,000,000

45,000,000 45,000,000 15,000,000 -

655,538,534

224,613,282 63,726,531 (15,414,032) 272,925,781 (15,000,000) 397,612,753

20,081,857

15,414,032 15,414,032 4,667,825 -

755,613,282 63,726,531 819,339,813 4,667,825 397,612,753

รวม

20,081,857 1,221,620,391

15,414,032 15,414,032 4,667,825 -

งบการเงินเฉพาะบริษัท องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุน ก�ำไรสะสม เบ็ดเสร็จอื่น ส�ำรองส�ำหรับ รวม ส�ำรอง การจ่ายโดยใช้ ก�ำไรขาดทุน ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร หุ้นเป็นเกณฑ์ เบ็ดเสร็จอื่น


76

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ตามที่รายงานไว้เดิม ผลกระทบจากการน�ำนโยบายการบัญชีใหม่มาใช้ปฏิบัติ การแก้ไขข้อผิดพลาด ตามที่ปรับปรุงใหม่ ค่าใช้จ่ายพนักงานโดยการให้หุ้นสามัญแก่พนักงาน ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

30

4.6 4.6

หมายเหตุ

450,000,000

450,000,000 450,000,000 -

ทุนที่ออกและ ช�ำระแล้ว

36,000,000

36,000,000 36,000,000 -

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

45,000,000

45,000,000 45,000,000 -

272,925,781

127,608,969 51,476,525 (10,746,206) 168,339,288 104,586,493

15,414,032

10,746,206 10,746,206 4,667,826 -

15,414,032

10,746,206 10,746,206 4,667,826 -

งบการเงินเฉพาะบริษัท องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุน ก�ำไรสะสม เบ็ดเสร็จอื่น ส�ำรองส�ำหรับ รวม ส�ำรอง การจ่ายโดยใช้ ก�ำไรขาดทุน ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร หุ้นเป็นเกณฑ์ เบ็ดเสร็จอื่น

819,339,813

658,608,969 51,476,525 710,085,494 4,667,826 104,586,493

รวม


งบกระแสเงินสด

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม หมายเหตุ

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้จากการด�ำเนินงานต่อเนื่อง ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้จากการด�ำเนินงานที่ยกเลิก ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับปรุงก�ำไรสุทธิ ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจ�ำหน่าย ดอกเบี้ยจ่าย ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (กลับรายการ) ค่าเผื่อการลดมูลค่าของสินค้า (กลับรายการ) การตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ค่าใช้จ่ายจากหนี้สินการรับประกันสินค้าและ บริการ (กลับรายการ) (ก�ำไร) ขาดทุนจากการจ�ำหน่ายและตัดจ�ำหน่าย ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ ค่าใช้จ่ายพนักงานโดยการให้หุ้นสามัญแก่พนักงาน ผลประโยชน์พนักงาน ส่วนแบ่งขาดทุนจากกิจการร่วมค้า ดอกเบี้ยรับ การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงาน - ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สินค้าคงเหลือ - สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น - ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน - สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น - เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - หนี้สินหมุนเวียนอื่น - จ่ายผลประโยชน์พนักงาน เงินสดได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก่อนจ่ายดอกเบี้ยและภาษีเงินได้

16, 17 18 14, 32

30 25 15.3 31

25

งบการเงินเฉพาะบริษัท

ปรับใหม่ ยังไม่ได้ตรวจสอบ พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556

249,519,783 213,223,718 462,743,501

69,394,890 29,687,924 99,082,814

168,821,310 1,153,788 54,002,607 (4,504,257) (37,544,027) -

157,623,406 987,835 85,995,351 (6,866,937) 23,420,282 772,948

(715,679)

2,128,140

(14,502,417) 4,667,825 2,713,417 26,392 (3,077,082) 633,785,378

(4,324,142) 4,667,825 4,340,041 202,980 (3,595,438) 364,435,105

(51,474,888) 293,431,186 5,961,457 11,478,930 1,209,767 (225,707,381) (2,140,730) (1,760,000) 664,783,719

พ.ศ. 2557

ปรับใหม่ พ.ศ. 2556

244,004,881 213,223,718 457,228,599

62,349,633 29,687,924 92,037,557

166,804,616 156,456,821 1,112,525 946,487 53,575,990 85,789,351 (324,638) 124,901 (36,655,855) 24,459,995 772,948 (715,679)

2,128,140

(14,040,100) (3,622,592) 4,667,825 4,667,825 1,906,540 4,001,783 (2,476,184) (3,226,262) 631,083,639 364,536,954

6,744,900 (59,377,531) (97,942) 176,024,657 290,694,974 234,560,982 (8,702,274) 4,671,040 (7,189,390) 11,636,466 11,478,930 11,636,466 (14,337,877) 1,209,767 (14,410,452) 3,430,533 (221,102,086) 63,445,251 (30,609,094) (2,402,540) (29,115,815) (64,750) (1,760,000) (64,750) 508,557,666

654,496,193 623,301,304

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

77


งบกระแสเงินสด (ต่อ)

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม หมายเหตุ

เงินสดได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก่อนจ่ายดอกเบี้ยและภาษีเงินได้ - ดอกเบี้ยรับ - จ่ายดอกเบี้ย - จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน การเปลี่ยนแปลงในเงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพัน เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนระยะสั้น เงินสดรับจากเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากการคืนทุนของบริษัทย่อย ซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดจ่ายเพื่อลงทุนในกิจการร่วมค้า ซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดสุทธิจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน จ่ายช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกรรมการ เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน จ่ายคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากการขายสินทรัพย์แล้วเช่ากลับคืน เงินสดจ่ายช�ำระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รับเงินค่าหุ้นจากผู้ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย จ่ายเงินคืนทุนของบริษัทย่อยให้แก่ส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม จ่ายเงินปันผล เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) - สุทธิ

78

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

ปรับใหม่ ยังไม่ได้ตรวจสอบ พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556

664,783,719 3,006,593 (65,694,422) (14,729,922) 587,365,968

36 15.2 15.3

36 23 23

15.1 27

งบการเงินเฉพาะบริษัท

508,557,666 3,432,029 (84,727,458) (1,189,862) 426,072,375

พ.ศ. 2557

ปรับใหม่ พ.ศ. 2556

654,496,193 623,301,304 2,620,806 3,100,084 (65,268,652) (84,520,812) (13,515,645) 578,332,702 541,880,576

(2,264,023) (999,800) (433,997,017) 224,161,419 (2,193,698) (215,293,119)

7,999,592 (2,183,331) 8,125,301 (10,000,000) 408,662 408,662 28,469,500 (999,800) (28,469,500) (2,500,000) - (2,500,000) (235,673,871) (434,784,617) (230,832,389) 53,022,480 223,249,913 52,271,678 (8,400,910) (2,193,698) (8,361,310) (195,144,047) (188,442,033) (209,357,558)

(273,544,983) 209,360,000 (314,834,942) 15,572,597 (45,107,218) -

(222,364,435) (274,534,984) (357,487,582) (25,000,000) - (25,000,000) 278,452,578 209,360,000 278,452,578 (130,249,564) (314,834,942) (130,249,564) 15,572,597 (26,036,353) (47,022,021) (29,422,226) 880,500 -

(880,500) (9,498,205) (418,933,251) (46,860,402)

-

-

-

(124,317,274) (411,459,350) (263,706,794) 106,611,054

(21,568,681)

68,816,224


งบกระแสเงินสด (ต่อ)

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม หมายเหตุ

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) - สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตรา ต่างประเทศคงเหลือสิ้นงวด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี

งบการเงินเฉพาะบริษัท

ปรับใหม่ ยังไม่ได้ตรวจสอบ พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556

พ.ศ. 2557

ปรับใหม่ พ.ศ. 2556

(46,860,402) 138,440,013

106,611,054 28,501,159

(21,568,681) 92,666,947

68,816,224 23,850,723

(3,327,800)

3,327,800

-

-

8

88,251,811

138,440,013

71,098,266

92,666,947

17 12

234,307,963 14,087,851 811,876

80,735,200 64,150,467 -

234,307,963 14,087,851 811,876

80,735,200 64,150,467 -

1,048,196 6,472,135 16,935,243

-

1,048,196 6,472,135 16,935,243

-

รายการที่ไม่กระทบเงินสด รายการซื้อสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน รายการซือ้ สินค้าคงเหลือด้วยสินเชือ่ เพือ่ ผูแ้ ทนจ�ำหน่ายรถยนต์ เจ้าหนี้ค่าซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (รวมอยู่ในเจ้าหนี้อื่น) ค่าเสื่อมราคาส่วนที่บันทึกเป็นต้นทุนสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ระหว่างการพัฒนา โอนสินค้าคงเหลือเป็นสินทรัพย์ถาวร โอนสินทรัพย์ถาวรเป็นสินค้าคงเหลือ

18 17 17

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

79


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 1

ข้อมูลทั่วไป

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) เป็นบริษัทมหาชนจ�ำกัด ซึ่งจัดตั้งและจดทะเบียนในประเทศไทย เมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2531 และมีที่อยู่ตามที่ได้จดทะเบียนคือ เลขที่ 355 ถนนบอนด์สตรีท ต�ำบลบางพูด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เพื่อวัตถุประสงค์ในการรายงานข้อมูล จึงรวมเรียกบริษัทและบริษัทย่อยว่า “กลุ่มบริษัท” บริษทั จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษทั มหาชนจ�ำกัดกับกระทรวงพาณิชย์และได้เปลีย่ นชือ่ เป็นบริษทั สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2557 และจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 กลุ่มบริษัทด�ำเนินธุรกิจหลักในธุรกิจรับจ้างจัดหาและติดตั้งอุปกรณ์การเติมก๊าซธรรมชาติและขนส่งก๊าซธรรมชาติ ธุรกิจ ค้าชิน้ ส่วนอะไหล่ทเี่ กีย่ วข้องกับการติดตัง้ ระบบก๊าซในรถยนต์ ธุรกิจค้ารถยนต์และชิน้ ส่วนอะไหล่ทเี่ กีย่ วข้อง ธุรกิจส่งออก แบตเตอรี่และกระจก ธุรกิจตัวแทนจ�ำหน่ายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซไนโตรเจน เพื่อน�ำไปใช้ในอุตสาหกรรมและ การปรับปรุงคุณภาพของก๊าซธรรมชาติ และจ�ำหน่ายอุปกรณ์ติดตั้งการใช้ก๊าซปิโตรเลียมในรถยนต์ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี

นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญที่ใช้ในการจัดท�ำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทมีดังต่อไปนี้ 2.1 เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดท�ำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งหมายถึงมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และ ข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการจัดท�ำและน�ำเสนอรายงานทางการเงิน ภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดท�ำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของ งบการเงิน ตามรายละเอียดที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 4.1 กลุ่มบริษัทได้ซื้อบริษัทย่อยที่อยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ. 2557 งบการเงินรวมส�ำหรับปี พ.ศ. 2556 ที่แสดงเปรียบเทียบได้จัดท�ำขึ้นใหม่โดยถือเสมือนว่าบริษัทย่อยเหล่านี้ เป็นบริษัทย่อยของกลุ่มบริษัทตั้งแต่ก่อนวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 และได้จัดท�ำขึ้นโดยการใช้งบการเงินรวมของกลุ่ม บริษัทส�ำหรับปี พ.ศ. 2556 ที่เคยได้รับการตรวจสอบและเผยแพร่แล้วในอดีตมารวมกับงบการเงินของบริษัทย่อยดังกล่าว ทัง้ นี้ การจัดท�ำงบการเงินรวมขึน้ ใหม่นเี้ ป็นไปตามแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีสำ� หรับการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน ที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชี งบการเงินรวมส�ำหรับปี พ.ศ. 2556 ที่จัดท�ำขึ้นใหม่นี้ไม่ได้รับการตรวจสอบ การจัดท�ำงบการ เงินรวมส�ำหรับปี พ.ศ. 2556 เพือ่ การเปรียบเทียบขึน้ ใหม่นี้ไม่สง่ ผลกระทบต่องบการเงินเฉพาะบริษทั ส�ำหรับปี พ.ศ. 2556

80

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


การจัดท�ำงบการเงินให้สอดคล้องกับหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปในประเทศไทย ก�ำหนดให้ใช้ประมาณการทางบัญชีทสี่ ำ� คัญ และการใช้ดลุ ยพินจิ ของผูบ้ ริหารซึง่ จัดท�ำขึน้ ตามกระบวนการในการน�ำนโยบายการบัญชีของกลุม่ กิจการไปถือปฏิบตั ิ และ ต้องเปิดเผยเรือ่ งการใช้ดลุ ยพินจิ ของผูบ้ ริหาร หรือความซับซ้อน หรือเกีย่ วกับข้อสมมติฐานและประมาณการทีม่ นี ยั ส�ำคัญ ต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหมายเหตุข้อ 5 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ฉบับภาษาอังกฤษจัดท�ำขึน้ จากงบการเงินตามกฎหมายทีเ่ ป็นภาษาไทย ในกรณี ที่มีเนื้อความขัดแย้งกันหรือมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกันให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเป็นหลัก 2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรางงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง 1)

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุงที่มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 และเกี่ยวข้อง กับกลุ่มบริษัทมีดังนี้ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 เรือ่ ง การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 ก�ำหนดให้มีการพิจารณาว่าข้อตกลงเป็นหรือประกอบด้วย สัญญาเช่าหรือไม่โดยอ้างอิงจากเนื้อหาของข้อตกลง การตีความนี้ก�ำหนดให้ประเมินว่าข้อตกลงเข้าเงื่อนไขต่อไป นี้หรือไม่ (1) การปฏิบัติตามข้อตกลงขึ้นอยู่กับการใช้สินทรัพย์ที่เฉพาะเจาะจง และ (2) ข้อตกลงดังกล่าวเป็นการ ให้สทิ ธิในการใช้สนิ ทรัพย์นนั้ บริษทั ได้ประเมินผลกระทบจากการตีความมาตรฐานฉบับนี้ บริษทั เปิดเผยผลกระทบ จากการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ในหมายเหตุข้อ 4.6

2)

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีม่ กี ารปรับปรุง ซึง่ มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ซึ่งเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทและยังไม่ได้น�ำมาใช้ก่อนวันถือปฏิบัติ ก)

กลุม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีค่ าดว่าจะส่งผลกระทบอย่างมีสาระส�ำคัญต่อกลุม่ บริษทั มีดงั ต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13

เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื่อง การวัดมูลค่ายุติธรรม

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) ก�ำหนดให้รายการชิ้นส่วนอะไหล่ อุปกรณ์ส�ำรองไว้ใช้งาน และอุปกรณ์ที่ใช้ในการซ่อมบ�ำรุง รับรูเ้ ป็นรายการทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์หากรายการนัน้ เข้าค�ำนิยามของ ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ หากไม่เข้าเงือ่ นไขดังกล่าวให้จดั ประเภทเป็นสินค้าคงเหลือ ผูบ้ ริหารอยู่ในระหว่าง การประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติตามมาตรฐานฉบับนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) การเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญได้แก่ (ก) ผลก�ำไรและขาดทุน จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย เปลี่ยนชื่อเป็น “การวัดมูลค่าใหม่” และต้องรับรู้ใน “ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ” ทันที ผลก�ำไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย จะไม่สามารถรับรู้ตามวิธีขอบเขตหรือรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนได้ และ (ข) ต้นทุนบริการในอดีตจะรับรู้ใน งวดที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงการ ผลประโยชน์ที่ยังไม่เป็นสิทธิขาดจะไม่สามารถรับรู้ตลอดระยะเวลาการ ให้บริการในอนาคตได้ ผู้บริหารอยู่ในระหว่างการประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติตามมาตรฐานฉบับนี้

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

81


มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13 มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงและลดความซ�้ำซ้อนของค�ำนิยาม ของมูลค่ายุตธิ รรม โดยการก�ำหนดค�ำนิยามและแหล่งข้อมูลในการวัดมูลค่ายุตธิ รรม และการเปิดเผยข้อมูล ส�ำหรับใช้ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริหารอยู่ในระหว่างการประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติ ตามมาตรฐานฉบับนี้ 2.3 บัญชีกลุ่มบริษัท - เงินลงทุนในบริษัทย่อย และส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า 2.3.1 บริษัทย่อย บริษัทย่อยหมายถึงกิจการ(ซึ่งรวมถึงกิจการเฉพาะกิจ) ที่กลุ่มบริษัทมีอ�ำนาจในการควบคุมนโยบายการเงินและ การด�ำเนินงาน และโดยทัว่ ไปแล้วกลุม่ บริษทั จะถือหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงมากกว่ากึง่ หนึง่ ในการประเมินว่ากลุม่ บริษทั มีการควบคุมบริษัทอื่นหรือไม่ กิจการต้องพิจารณาถึงการมีอยู่และผลกระทบจากสิทธิในการออกเสียงที่เป็นไปได้ ที่กิจการสามารถใช้สิทธิหรือแปลงสภาพตราสารนั้นในปัจจุบันรวมถึงสิทธิในการออกเสียงที่เป็นไปได้ซึ่งกิจการอื่น ถืออยูด่ ว้ ย กลุม่ บริษทั รวมงบการเงินของบริษทั ย่อยไว้ในงบการเงินรวมตัง้ แต่วนั ทีก่ ลุม่ บริษทั มีอำ� นาจในการควบคุม บริษัทย่อย กลุ่มบริษัทจะไม่น�ำงบการเงินของบริษัทย่อยมารวมไว้ในงบการเงินรวมนับจากวันที่กลุ่มบริษัทสูญเสีย อ�ำนาจควบคุม กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชีการรวมธุรกิจโดยใช้วิธีการซื้อ สิ่งตอบแทนที่โอนให้ส�ำหรับการซื้อบริษัทย่อย ต้องวัดด้วย มูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทผี่ ซู้ อื้ โอนให้และหนีส้ นิ ทีก่ อ่ ขึน้ และส่วนได้เสียในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทีอ่ อกโดยกลุม่ บริษทั รวมถึงมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ หรือหนี้สินที่คาดว่าจะต้องจ่ายช�ำระ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อจะรับรู้เป็น ค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น และวัดมูลค่าเริ่มแรกของสินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นใน การรวมธุรกิจด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ ในการรวมธุรกิจแต่ละครั้ง กลุ่มบริษัทวัดมูลค่าของส่วนได้เสียที่ ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในผู้ถูกซื้อด้วยมูลค่ายุติธรรม หรือ มูลค่าของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ของผู้ถูกซื้อตามสัดส่วน ของหุ้นที่ถือ กรณีที่มูลค่าสิ่งตอบแทนที่โอนให้ และมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในผู้ถูกซื้อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วัน ซื้อธุรกิจของส่วนได้เสียในส่วนของผู้ถือหุ้นของผู้ถูกซื้อที่ผู้ซื้อถืออยู่ก่อนการรวมธุรกิจ มากกว่ามูลค่าสุทธิ ณ วัน ที่ซื้อของสินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมา ผู้ซื้อต้องรับรู้ค่าความนิยม หากมูลค่าของมูลค่าสิ่งตอบแทน ที่โอนให้ และมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในผู้ถูกซื้อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้อธุรกิจของส่วนได้เสีย ในส่วนของผู้ถือหุ้นของผู้ถูกซื้อที่ผู้ซื้อถืออยู่ก่อนการรวมธุรกิจ น้อยกว่ามูลค่าราคายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิของ บริษัทย่อยเนื่องจากมีการต่อรองราคาซื้อ จะรับรู้ส่วนต่างโดยตรงไปยังงบก�ำไรขาดทุน กิจการจะตัดรายการบัญชีระหว่างกิจการ ยอดคงเหลือ และรายการก�ำไรหรือขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงระหว่าง กลุ่มบริษัท นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกเปลี่ยนเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัท เงินลงทุนในบริษัทย่อยจะบันทึกบัญชีด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า ต้นทุนจะมีการปรับเพื่อสะท้อนการ เปลี่ยนแปลงสิ่งตอบแทนที่เกิดขึ้นจากสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ ต้นทุนนั้นจะรวมส่วนแบ่งต้นทุนทางตรง

82

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


2.3.2 รายการและส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม กลุ่มบริษัทปฏิบัติต่อรายการที่มีกับส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมเช่นเดียวกันกับรายการที่มีกับส่วนที่เป็นของผู้ ถือหุ้นของกลุ่มบริษัท ส�ำหรับการซื้อส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนที่จ่ายให้และหุ้น ที่ได้มาของมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์สทุ ธิของหุน้ ทีซ่ อื้ มาในบริษทั ย่อยจะถูกบันทึกในส่วนของผูถ้ อื หุน้ และก�ำไร หรือขาดทุนจากการขายในส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมจะถูกบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น เมื่อกลุ่มบริษัทสูญเสียการควบคุมหรือมีอิทธิพลมีนัยส�ำคัญ ส่วนได้เสียในหุ้นที่เหลืออยู่จะวัดมูลค่าใหม่โดย ใช้ราคายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าจะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน มูลค่ายุติธรรมนั้นจะถือเป็นมูลค่าตามบัญชี เริม่ แรกของมูลค่าของเงินลงทุนทีเ่ หลือของบริษทั ร่วม กิจการร่วมค้า หรือสินทรัพย์ทางการเงิน นอกจากนีร้ ายการ ที่เคยรับรู้ ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นที่เกี่ยวข้องกับกิจการเหล่านั้น กลุ่มบริษัทจะบันทึกรายการเหล่านี้เหมือน กับเป็นการขายสินทรัพย์หรือหนี้สินที่เกี่ยวข้องโดยตรง ถ้าส่วนได้เสียของเจ้าของในบริษทั ร่วมนัน้ ลดลงแต่ยงั คงมีอทิ ธิพลอย่างมีนยั ส�ำคัญ กิจการต้องจัดประเภทรายการ ที่เคยรับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเข้าก�ำไรหรือขาดทุนเฉพาะสัดส่วนในส่วนได้เสียของเจ้าของที่ลดลง 2.3.3 กิจการร่วมค้า ส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในกิจการที่ควบคุมร่วมกันแสดงในงบการเงินรวมโดยวิธีตามส่วนได้เสีย กลุ่มบริษัทรับรู้ รายการก�ำไรหรือรายการขาดทุนตามสัดส่วนของกลุม่ บริษทั เมือ่ มีการขายสินทรัพย์ของกลุม่ บริษทั ให้แก่กจิ การร่วม ค้าและได้ขายให้แก่บคุ คลภายนอกแล้ว กลุม่ บริษทั จะยังไม่รบั รูส้ ว่ นแบ่งก�ำไรหรือขาดทุนในสัดส่วนของกลุม่ บริษทั ที่อยู่ในรายการซื้อสินทรัพย์จากกิจการร่วมค้าจนกว่าผู้ร่วมค้าจะขายสินทรัพย์นั้นให้แก่ บุคคลที่สามที่เป็นอิสระ อย่างไรก็ดกี ลุม่ บริษทั รับรูร้ ายการขาดทุนจากการซือ้ สินทรัพย์จากกิจการร่วมค้าทันทีเมือ่ มีหลักฐานแสดงว่ามูลค่า สุทธิของสินทรัพย์นั้นลดลงหรือด้อยค่า ส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้าแสดงในงบการเงินเฉพาะบริษัทตามวิธีราคาทุน รายชื่อของกิจการร่วมค้าหลักได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุข้อ 15.3 2.3.4 การซื้อกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกัน กลุ่มบริษัทใช้วิธีราคาตามบัญชี (Predecessor Values) ส�ำหรับรายการซื้อกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกัน งบการเงินที่แสดงตามวิธีนี้จะรับรู้มูลค่าของกิจการที่ถูกซื้อตามมูลค่าทางบัญชีโดยไม่มีการปรับมูลค่ายุติธรรม ผลแตกต่างระหว่างสิ่งตอบแทนที่จ่ายไปและมูลค่าตามบัญชีสุทธิของสินทรัพย์และหนี้สินที่ได้มาจากการซื้อธุรกิจ ณ วันซื้อจะแสดงเป็นส่วนเกินทุนจากการซื้อธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันในส่วนของผู้ถือหุ้น โดยจะไม่มีค่า ความนิยมจากการซื้อธุรกิจนี้

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

83


2.4 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ (ก) สกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานและสกุลเงินที่ใช้น�ำเสนองบการเงิน รายการทีร่ วมในงบการเงินของแต่ละบริษทั ในกลุม่ บริษทั ถูกวัดมูลค่าโดยใช้สกุลเงินของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ หลักทีบ่ ริษทั ด�ำเนินงานอยู่ (สกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงาน) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั แสดงในสกุล เงินบาท ซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานและสกุลเงินที่ใช้น�ำเสนองบการเงินของบริษัท (ข) รายการและยอดคงเหลือ รายการที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ เกิดรายการหรือวันที่ตีราคาหากรายการนั้นถูกวัดมูลค่าใหม่ รายการก�ำไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับหรือ จ่ายช�ำระที่เป็นเงินตราต่างประเทศ และที่เกิดจากการแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินซึ่งเป็นเงินตรา ต่างประเทศได้บันทึกไว้ในก�ำไรหรือขาดทุน เมือ่ มีการรับรูร้ ายการก�ำไรหรือขาดทุนของรายการที่ไม่เป็นตัวเงินไว้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ องค์ประกอบของ อัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดของก�ำไรหรือขาดทุนนั้นจะรับรู้ไว้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นด้วย ในทางตรงข้ามการรับ รู้ก�ำไรหรือขาดทุนของรายการที่ไม่เป็นตัวเงินไว้ในก�ำไรหรือขาดทุน องค์ประกอบของอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมด ของก�ำไรหรือขาดทุนนั้นจะรับรู้ไว้ในก�ำไรขาดทุนด้วย (ค) กลุ่มบริษัท การแปลงค่าผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงินของบริษัทในกลุ่มบริษัท (ที่มิใช่สกุลเงินของเศรษฐกิจที่มีภาวะ เงินเฟ้อรุนแรง) ซึ่งมีสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานแตกต่างจากสกุลเงินที่ใช้น�ำเสนองบการเงินได้ถูกแปลงค่าเป็น สกุลเงินที่ใช้น�ำเสนองบการเงินดังนี้ สินทรัพย์และหนี้สินที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงินแต่ละงวดแปลงค่าด้วยอัตราปิด ณ วันที่ของแต่ละ งบแสดงฐานะการเงินนั้น รายได้และค่าใช้จ่ายในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ แปลงค่าด้วยอัตราถัวเฉลี่ย และ ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดรับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ค่าความนิยมและการปรับมูลค่ายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อหน่วยงานในต่างประเทศถือเป็นสินทรัพย์และหนี้สินของ หน่วยงานในต่างประเทศนั้นและแปลงค่าด้วยอัตราปิด 2.5 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ในงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝาก ธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินลงทุนระยะสั้นอื่นที่มีสภาพคล่องสูงซึ่งมีอายุไม่เกินสามเดือนนับจากวันที่ ได้มา และเงินเบิกเกินบัญชี เงินเบิกเกินบัญชีจะแสดงไว้ในส่วนของหนี้สินหมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงินรวมและ งบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท

84

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


2.6 เงินลงทุนระยะสั้น เงินลงทุนระยะสัน้ คือ เงินลงทุนเพือ่ จุดมุง่ หมายหลักในการหาก�ำไรจากการเปลีย่ นแปลงราคาในช่วงเวลาสัน้ ไม่เกิน 3 เดือน นับแต่เวลาที่ลงทุน และแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน เงินลงทุนระยะสั้นวัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วยมูลค่ายุติธรรม รายการก�ำไรและขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงของเงินลงทุนระยะสั้นรับรู้ในงบก�ำไรขาดทุน 2.7 ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้ารับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี้ และจะวัดมูลค่าต่อมาด้วยจ�ำนวนเงินที่เหลืออยู่หักด้วยค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ ซึ่งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญหมายถึงผลต่างระหว่างราคา ตามบัญชีของลูกหนี้การค้าเปรียบเทียบกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้การค้า หนี้สูญที่เกิดขึ้นจะรับรู้ไว้ในก�ำไรหรือ ขาดทุนโดยถือเป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายในการขายและบริการ 2.8 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า ราคาทุนของสินค้าค�ำนวณโดยวิธี เข้าก่อนออกก่อน ต้นทุนของการซื้อประกอบด้วยราคาซื้อและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้อสินค้านั้น เช่น ค่าอากรขาเข้าและค่าขนส่ง หักด้วยส่วนลดจากการจ่ายเงินตามเงื่อนไข ส่วนลดจากการรับประกันสินค้า ต้นทุนของสินค้า ส�ำเร็จรูปและงานระหว่างท�ำประกอบด้วยค่าวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายอื่นทางตรง และค่าโสหุ้ยในการผลิต ซึ่งปัน ส่วนตามเกณฑ์การด�ำเนินงานตามปกติ แต่ไม่รวมต้นทุนการกู้ยืม มูลค่าสุทธิที่จะได้รับประมาณจากราคาปกติที่คาดว่าจะ ขายได้ของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จ�ำเป็นเพื่อผลิตสินค้านั้นให้ส�ำเร็จ รวมถึงค่าใช้จ่ายในการขาย กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชี ค่าเผื่อการลดมูลค่าของสินค้าเก่า ล้าสมัยและเสื่อมคุณภาพเท่าที่จ�ำเป็น 2.9 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์ที่ถือครองโดยกลุ่มบริษัทเพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่าหรือจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าของสินทรัพย์ หรือทั้งสองอย่าง และไม่ได้มีไว้ใช้งานโดยกิจการในกลุ่มบริษัท จะถูกจัดประเภทเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน รวมถึงอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่ระหว่างก่อสร้างหรือพัฒนาเพื่อเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนในอนาคต การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนด้วยวิธีราคาทุนรวมถึงต้นทุนในการท�ำรายการและต้นทุน การกู้ยืม ต้นทุนการกู้ยืมที่เกิดขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ของการได้มา การก่อสร้าง หรือผลิตอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนนั้น จะรวมเป็นส่วนหนึง่ ของต้นทุนของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ต้นทุนการกูย้ มื จะถูกรวมในขณะทีก่ ารซือ้ หรือการก่อสร้าง และจะหยุดพักทันทีเมื่อสินทรัพย์นั้นก่อสร้างเสร็จอย่างมีนัยส�ำคัญ หรือระหว่างที่การด�ำเนินการพัฒนาสินทรัพย์ที่ เข้าเงื่อนไขหยุดชะงักลง หลังจากการรับรู้เมื่อเริ่มแรก อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนจะบันทึกด้วยวิธีราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม และค่าเผื่อ ผลขาดทุนจากการด้อยค่า ที่ดินไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนอื่น ๆ จะค�ำนวณตามวิธีเส้นตรง เพื่อการ ปันส่วนราคาทุนตลอดประมาณการอายุการให้ประโยชน์ดังนี้ อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร

5 - 20 ปี รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

85


การรวมรายจ่ายในภายหลังเข้าเป็นมูลค่าบัญชีของสินทรัพย์จะกระท�ำก็ต่อเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กลุ่มบริษัท จะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตในรายจ่ายนั้น และต้นทุนสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ ค่าซ่อมแซม และบ�ำรุงรักษาทั้งหมดจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น เมื่อมีการเปลี่ยนแทนชิ้นส่วนของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน จะตัดมูลค่าตามบัญชีของส่วนที่ถูกเปลี่ยนแทนออก 2.10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดินแสดงด้วยราคาทุน อาคารและอุปกรณ์วัดมูลค่าด้วยราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ต้นทุนเริ่มแรกจะรวมต้นทุน ทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินทรัพย์นั้นรวมถึงต้นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกู้ยืมที่เกิดขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ของ การได้มา การก่อสร้างหรือผลิตอาคารและอุปกรณ์นั้นจะรวมเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนของอาคารและอุปกรณ์ ต้นทุนการ กู้ยืมจะถูกรวมในขณะที่การซื้อหรือการก่อสร้างและจะหยุดพักทันทีเมื่อสินทรัพย์นั้นก่อสร้างเสร็จอย่างมีนัยส�ำคัญ หรือระหว่างที่การด�ำเนินการพัฒนาสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไขหยุดชะงักลง ต้นทุนที่เกิดขึ้นภายหลังจะรวมอยู่ในมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือรับรู้แยกเป็นอีกสินทรัพย์หนึ่งตามความเหมาะสม เมือ่ ต้นทุนนัน้ เกิดขึน้ และคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตแก่บริษทั และกลุม่ บริษทั และต้นทุนดังกล่าวสามารถ วัดมูลค่าได้อย่างน่าเชือ่ ถือ และจะตัดมูลค่าตามบัญชีของชิน้ ส่วนทีถ่ กู เปลีย่ นแทนออก ส�ำหรับค่าซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษา อื่นๆ กลุ่มบริษัทและบริษัทจะรับรู้ต้นทุนดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ที่ดินไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์อื่นค�ำนวณโดยใช้วิธีเส้นตรงเพื่อลดราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ แต่ละชนิดตลอดอายุการให้ประโยชน์ที่ประมาณการไว้ของสินทรัพย์ดังต่อไปนี้ อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร เครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์โรงงาน เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและอุปกรณ์ส�ำนักงาน ยานพาหนะ

5 - 20 ปี 5 - 10 ปี 3 - 5 ปี 5 ปี 5 - 10 ปี

ทุกสิน้ รอบระยะเวลารายงานมูลค่าคงเหลือและอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ได้มกี ารทบทวนและปรับปรุงให้เหมาะสม ในกรณีทมี่ ลู ค่าตามบัญชีสงู กว่ามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน มูลค่าตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน ทันที ผลก�ำไรหรือขาดทุนที่เกิดจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค�ำนวณโดยเปรียบเทียบจากสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับ จากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์กบั มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ และจะรับรูบ้ ญั ชีผลก�ำไรหรือขาดทุนอืน่ สุทธิในก�ำไรหรือขาดทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์วัดมูลค่าด้วยราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ต้นทุนเริ่มแรกจะรวมต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินทรัพย์นั้น ส่วนต้นทุนการกู้ยืมอื่นจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบก�ำไรขาดทุน

86

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


2.11 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 2.11.1 การวิจัยและพัฒนา รายจ่ายเพือ่ การวิจยั รับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยเมือ่ เกิดขึน้ ต้นทุนของโครงการพัฒนา (ซึง่ เกีย่ วข้องกับการออกแบบและการ ทดสอบผลิตภัณฑ์ใหม่หรือการปรับปรุงผลิตภัณฑ์) รับรู้เป็นสินทรัพย์ไม่มีตัวตนในจ�ำนวนไม่เกินต้นทุนที่สามารถ วัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ และเมื่อประเมินแล้วว่าโครงการนั้นจะประสบความส�ำเร็จค่อนข้างแน่นอนทั้งในแง่ การค้าและแง่เทคโนโลยี ส่วนรายจ่ายอืน่ เพือ่ การพัฒนารับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยเมือ่ เกิดขึน้ ต้นทุนการพัฒนาที่ได้รบั รูเ้ ป็น ค่าใช้จ่ายไปแล้วในงวดก่อน จะไม่บันทึกเป็นสินทรัพย์ ในงวดถัดไป การทยอยตัดจ�ำหน่ายรายจ่ายที่เกิดจาก การพัฒนา (ที่กิจการบันทึกไว้เป็นสินทรัพย์) จะเริ่มตั้งแต่เมื่อเริ่มใช้ผลิตภัณฑ์นั้นเพื่อการค้าด้วยวิธีเส้นตรง ตลอดระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากการพัฒนานั้น แต่สูงสุดไม่เกิน 15 ปี 2.11.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สิทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ซื้อมาและมีลักษณะเฉพาะจะบันทึกเป็นสินทรัพย์โดยค�ำนวณจากต้นทุนในการ ได้มาและการด�ำเนินการให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นสามารถน�ำมาใช้งานได้ตามประสงค์ โดยจะตัดจ�ำหน่ายตาม วิธีเส้นตรงตลอดอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณภายในระยะเวลา 5 - 10 ปี ต้นทุนที่ใช้ในการบ�ำรุงรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น 2.12 การด้อยค่าของสินทรัพย์ สินทรัพย์ที่มีอายุการให้ประโยชน์ ไม่ทราบแน่ชัด (เช่น ค่าความนิยม) ซึ่งไม่มีการตัดจ�ำหน่ายจะถูกทดสอบการด้อยค่า เป็นประจ�ำทุกปี สินทรัพย์อื่นที่มีการตัดจ�ำหน่ายจะมีการทบทวนการด้อยค่าเมื่อมีเหตุการณ์หรือสถานการณ์บ่งชี้ว่าราคา ตามบัญชีอาจสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน รายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู้เมื่อราคาตามบัญชีของสินทรัพย์สูง กว่ามูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับคืน ซึ่งหมายถึงจ�ำนวนที่สูงกว่าระหว่างมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายเทียบกับมูลค่า จากการใช้สินทรัพย์จะถูกจัดเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดที่สามารถแยกออกมาได้เพื่อวัตถุประสงค์ของการประเมินการด้อยค่า สินทรัพย์ที่ไม่ใช่สนิ ทรัพย์ทางการเงินนอกเหนือจากค่าความนิยมซึง่ รับรูร้ ายการขาดทุนจากการด้อยค่าไปแล้ว จะถูกประเมิน ความเป็นไปได้ที่จะกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน 2.13 สัญญาเช่าระยะยาว กรณีกลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่า สัญญาระยะยาวเพื่อเช่าสินทรัพย์ซึ่งผู้ให้เช่าเป็นผู้รับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเป็นส่วนใหญ่ สัญญาเช่านั้นถือเป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงาน เงินที่ต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดังกล่าว (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้รับจาก ผู้ให้เช่า) จะบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น สัญญาเช่าทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ซงึ่ ผูเ้ ช่าเป็นผูร้ บั ความเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเกือบทัง้ หมดถือเป็น สัญญาเช่าการเงิน ซึ่งจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่า หรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของ จ�ำนวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต�่ำกว่า

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

87


จ�ำนวนเงินที่ต้องจ่ายดังกล่าวจะปันส่วนระหว่างหนี้สินและค่าใช้จ่ายทางการเงินเพื่อให้ได้อัตราดอกเบี้ยคงที่ต่อหนี้สิน คงค้าง โดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่าเพื่อท�ำให้อัตราดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็นอัตราคงที่ ส�ำหรับยอดคงเหลือของหนี้สินที่เหลืออยู่ สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งาน ของสินทรัพย์ที่เช่าในกรณีที่มีความไม่แน่นอนอย่างสมเหตุสมผลที่ผู้เช่าจะเป็นเจ้าของสินทรัพย์เมื่ออายุสัญญาเช่าสิ้นสุด ลง ผู้เช่าจะตัดค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ตามอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่าหรืออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลา ใดจะน้อยกว่า กรณีกลุ่มบริษัทเป็นผู้ให้เช่า สินทรัพย์ที่ให้เช่าตามสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็นลูกหนี้สัญญาเช่าการเงินด้วยมูลค่าปัจจุบันของจ�ำนวนเงินที่จ่าย ตามสัญญาเช่า ผลต่างระหว่างยอดรวมของลูกหนีเ้ บือ้ งต้นกับมูลค่าปัจจุบนั ของลูกหนีบ้ นั ทึกเป็นรายได้ทางการเงินค้างรับ รายได้จากสัญญาเช่าระยะยาวรับรู้ตลอดอายุของสัญญาเช่าโดยใช้วิธีเงินลงทุนสุทธิซึ่งสะท้อนอัตราผลตอบแทนคงที่ทุก งวด ต้นทุนทางตรงเริ่มแรกที่รวมอยู่ในการวัดมูลค่าลูกหนี้สัญญาเช่าการเงินเริ่มแรกและจะทยอยรับรู้โดยลดจากรายได้ ตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ให้เช่าตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานรวมแสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงินในส่วนที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และตัด ค่าเสือ่ มราคาตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ดว้ ยเกณฑ์เดียวกันกับรายการทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ของกลุม่ บริษทั ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกัน รายได้ค่าเช่า (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้จ่ายให้แก่ผู้ให้เช่า) รับรู้ด้วยวิธีเส้นตรงตลอดช่วง เวลาการให้เช่า การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ ในการประเมินว่าข้อตกลงเป็นสัญญาเช่าหรือมีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบหรือไม่นั้น กลุ่มบริษัทพิจารณาถึงเนื้อหาสาระ ที่ส�ำคัญของข้อตกลงนั้นมากกว่ารูปแบบของสัญญา โดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญา กล่าวคือ ข้อตกลงเป็นสัญญาเช่าหรือ มีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบก็ต่อเมื่อ (ก) การปฏิบัติตามข้อตกลงดังกล่าวขึ้นอยู่กับการใช้สินทรัพย์ที่เฉพาะเจาะจง และ (ข) ข้อตกลงดังกล่าวเป็นการให้สิทธิในการใช้สินทรัพย์ที่เฉพาะเจาะจงนั้น หากกลุ่มบริษัทพิจารณาและพบว่าข้อตกลงใดเป็นสัญญาเช่าหรือมีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบ กลุ่มบริษัทจะแยก จ�ำนวนเงิน ทีจ่ ะได้รบั ตามทีร่ ะบุไว้ในข้อตกลงดังกล่าวเป็นค่าตอบแทนส�ำหรับสัญญาเช่าสินทรัพย์ และค่าตอบแทนส�ำหรับ ส่วนที่เป็นองค์ประกอบอื่น (เช่น ค่าบริการ และต้นทุนของปัจจัยการผลิต) โดยใช้มูลค่ายุติธรรมเป็นเกณฑ์ในการแยก รวมทั้งพิจารณา จัดประเภทส�ำหรับค่าตอบแทนของสัญญาเช่าสินทรัพย์ดังกล่าวว่าเป็นสัญญาเช่าการเงินหรือสัญญา เช่าด�ำเนินงาน สัญญาเช่าสินทรัพย์ซึ่งผู้เช่าเป็นผู้รับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเกือบทั้งหมดถือเป็นสัญญาเช่า การเงิน โดยกลุ่มบริษัทในฐานะผู้ให้เช่ารับรู้ลูกหนี้สัญญาเช่าการเงินด้วยมูลค่าปัจจุบันของจ�ำนวนเงินที่จะได้รับตาม สัญญาเช่าดังกล่าว ผลต่างระหว่างยอดรวมของลูกหนี้เบื้องต้นกับมูลค่าปัจจุบันของลูกหนี้บันทึกเป็นรายได้ทางการเงิน ค้างรับ และรับรู้รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน (ดอกเบี้ยรับจากลูกหนี้สัญญาเช่าการเงิน) ตลอดอายุของสัญญาเช่าโดยใช้ วิธีเงินลงทุนสุทธิซึ่งสะท้อนอัตราผลตอบแทนคงที่ทุกงวด นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทรับรู้รายได้ค่าบริการที่เกี่ยวเนื่องกับ สัญญาเช่าการเงินเป็นรายได้เมือ่ ได้ให้บริการแก่ลกู ค้าแล้วตามสัญญา โดยรายได้คา่ บริการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งประกอบด้วยรายได้ ค่าจ้างอัดก๊าซธรรมชาติและค่าบริการอื่นที่ได้รับจากลูกหนี้สัญญาเช่าการเงินและเกี่ยวเนื่องกับการใช้สินทรัพย์ภายใต้ สัญญาเช่าการเงินดังกล่าว

88

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


สัญญาเช่าสินทรัพย์ซึ่งผู้ให้เช่าเป็นผู้รับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเป็นส่วนใหญ่ สัญญาเช่านั้นถือ เป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงาน กลุ่มบริษัทในฐานะผู้ให้เช่ารับรู้สินทรัพย์ที่ให้เช่าตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานเป็นที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และตัดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ด้วยเกณฑ์เดียวกันกับรายการที่ดิน อาคารและ อุปกรณ์ของ กลุ่มบริษัทซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกัน ส่วนรายได้จากสัญญาเช่าด�ำเนินงานจะรับรู้ในงบก�ำไรขาดทุนโดยใช้ วิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น กลุ่มบริษัทรับรู้รายได้ค่าเช่าที่อาจจะเกิดขึ้นในงบก�ำไรขาดทุนในงวดที่เกิดรายการ โดยรายได้ค่าเช่าที่อาจจะเกิดขึ้น หมายถึงส่วนของจ�ำนวนเงินที่จะต้องจ่ายตามสัญญาเช่าซึ่งไม่ได้ก�ำหนดไว้อย่างคงที่ตามระยะเวลาที่ผ่านไปแต่ก�ำหนด ให้ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น เช่น ปริมาณการขายหรือการผลิต เป็นต้น การขายและเช่ากลับคืน การขายและเช่ากลับคืนคือการที่บริษัทขายสินทรัพย์แล้วและท�ำสัญญาเช่าสินทรัพย์นั้นกลับคืนมา หากรายการขายและ เช่ากลับคืนก่อให้เกิดสัญญาเช่าการเงิน สิ่งตอบแทนจากการขายที่สูงกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์จะบันทึกรับรู้เป็น รายการรอตัดบัญชี และตัดจ�ำหน่ายไปตลอดอายุสัญญาเช่า หากการเช่ากลับคืนถือเป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงาน หากราคา ขายมีจำ� นวนเทียบเท่ากับมูลค่ายุตธิ รรมอย่างเห็นได้ชดั หรือมีจำ� นวนต�ำ่ กว่ามูลค่ายุตธิ รรม บริษทั จะรับรูก้ ำ� ไรหรือขาดทุน จากการขายในงบก�ำไรขาดทุนทันที เว้นแต่บริษัทจะได้รับชดเชยผลขาดทุนที่เกิดขึ้นโดยการจ่ายค่าเช่าในอนาคตที่ต�่ำกว่า ราคาตลาด ในกรณีนี้บริษัทจะบันทึกผลขาดทุนจากการขายเป็นรายการรอการตัดบัญชีและตัดจ�ำหน่ายตามสัดส่วนของ จ�ำนวนค่าเช่าที่จ่ายในแต่ละงวดตามระยะเวลาที่บริษัทคาดว่าจะใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ที่เช่า หากราคาขายมีจ�ำนวน สูงกว่ามูลค่ายุตธิ รรม บริษทั จะรับรูจ้ ำ� นวนทีส่ งู กว่ามูลค่ายุตธิ รรมเป็นรายการรอการตัดบัญชีและจัดจ�ำหน่ายตามระยะเวลา ที่คาดว่าจะใช้ประโยชน์สินทรัพย์ที่เช่า ส�ำหรับจ�ำนวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานถือเป็นรายการตามปกติ ที่บริษัทจะรับรู้ในงบก�ำไรหรือขาดทุนทันที 2.14 เงินกู้ยืม เงินกู้ยืมรับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ได้รับหักด้วยต้นทุนการจัดท�ำรายการที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมา เงินกู้ยืมวัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วยวิธีราคาทุนตัดจ�ำหน่ายตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทน (หักด้วยต้นทุนการจัดท�ำรายการที่เกิดขึ้น) เมื่อเทียบกับมูลค่าที่จ่ายคืนเพื่อช�ำระหนี้นั้นจะรับรู้ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ตลอดช่วงเวลาการกู้ยืม เงินกู้ยืมจัดประเภทเป็นหนี้สินหมุนเวียนเมื่อกลุ่มบริษัทไม่มีสิทธิอันปราศจากเงื่อนไขให้เลื่อนช�ำระหนี้ออกไปอีกเป็นเวลา ไม่น้อยกว่า 12 เดือน นับจากวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน 2.15 ภาษีเงินได้งวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ส�ำหรับงวดประกอบด้วย ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้จะรับรู้ ในก�ำไรหรือขาดทุน ยกเว้นส่วนที่รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือรับรู้โดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น ในกรณีนี้ ภาษีเงินได้ต้องรับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือโดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้นตามล�ำดับ

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

89


ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั ค�ำนวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีอากรที่มผี ลบังคับใช้อยู่ หรือที่คาดได้คอ่ นข้างแน่ว่าจะ มีผลบังคับใช้ภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงานในประเทศที่บริษัทย่อยและบริษัทร่วมของกลุ่มบริษัทได้ด�ำเนินงานและ เกิดรายได้ทางภาษี ผู้บริหารจะประเมินสถานะของการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเป็นงวดๆ โดยค�ำนึงถึงสถานการณ์ที่ สามารถน�ำกฎหมายภาษีอากรไปปฏิบัติซึ่งขึ้นอยู่กับการตีความ และจะตั้งประมาณการค่าใช้จ่ายภาษีอากร หากคาดว่าจะ ต้องจ่ายช�ำระเจ้าหน้าที่ภาษีอากร ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตงั้ เต็มจ�ำนวนตามวิธหี นีส้ นิ เมือ่ เกิดผลต่างชัว่ คราวระหว่างฐานภาษีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ และ ราคาตามบัญชีที่แสดงอยู่ในงบการเงิน อย่างไรก็ตามกลุ่มบริษัทจะไม่รับรู้ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกิดจากการรับรู้เริ่ม แรกของรายการสินทรัพย์หรือรายการหนี้สินที่เกิดจากรายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจ และ ณ วันที่เกิดรายการ รายการนั้น ไม่มผี ลกระทบต่อก�ำไรทางบัญชีและก�ำไร(ขาดทุน)ทางภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีคำ� นวณจากอัตราภาษี (และกฎหมาย ภาษีอากร) ที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรือที่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน และคาดว่า อัตราภาษีดังกล่าว จะน�ำไปใช้เมื่อสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวข้องได้รับประโยชน์หรือหนี้สินภาษีเงินได้ รอตัดบัญชีได้มีการจ่ายช�ำระ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะรับรูห้ ากมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่วา่ กลุม่ บริษทั จะมีกำ� ไรทางภาษีเพียงพอทีจ่ ะน�ำ จ�ำนวนผลต่างชั่วคราวนั้นมาใช้ประโยชน์ กลุ่มบริษัทได้ตั้งภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยพิจารณาจากผลต่างชั่วคราวของ เงินลงทุนในบริษัทร่วมและส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้าที่ต้องเสียภาษี เว้นแต่กลุ่มบริษัทสามารถควบคุมจังหวะเวลาของ การกลับรายการผลต่างชั่วคราวและการกลับรายการผลต่างชั่วคราวมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะไม่เกิดขึ้นได้ภายใน ระยะเวลาที่คาดการณ์ ได้ในอนาคต สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจะแสดงหักลบกันก็ต่อเมื่อกิจการมีสิทธิตามกฎหมาย ที่จะน�ำสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันมาหักลบกับหนี้สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบัน และทั้งสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอ การตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเกี่ยวข้องกับภาษีเงินได้ที่ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงาน เดียวกันโดยการเรียกเก็บเป็นหน่วยภาษีเดียวกันหรือหน่วยภาษีต่างกันซึ่งตั้งใจจะจ่ายหนี้สินและสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของ งวดปัจจุบันด้วยยอดสุทธิ 2.16 ผลประโยชน์พนักงาน บริษัทได้ก�ำหนดโครงการผลประโยชน์พนักงานในหลายรูปแบบ บริษัทมีทั้งโครงการสมทบเงินและโครงการผลประโยชน์ ส�ำหรับโครงการสมทบเงินบริษัทจะจ่ายเงินสมทบให้กองทุนในจ�ำนวนเงินที่คงที่ บริษัทไม่มีภาระผูกพันทางกฎหมายหรือ ภาระผูกพันจากการอนุมานที่จะต้องจ่ายเงินเพิ่ม ถึงแม้กองทุนไม่มีสินทรัพย์เพียงพอที่จะจ่ายให้พนักงานทั้งหมดส�ำหรับ การให้บริการจากพนักงานทั้งในอดีตและปัจจุบัน ส�ำหรับโครงการผลประโยชน์คือโครงการที่ไม่ใช่โครงการสมทบเงิน ซึ่งจะก�ำหนดจ�ำนวนเงินผลประโยชน์ที่พนักงานจะได้รับเมื่อเกษียณอายุ โดยส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น อายุ จ�ำนวนปีที่ให้บริการ และค่าตอบแทน หนี้สินส�ำหรับโครงการผลประโยชน์จะรับรู้ในงบแสดงฐานะการเงินด้วยมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพัน ณ วันที่สิ้นรอบระยะ เวลารายงานหักด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ และปรับปรุงด้วยต้นทุนบริการในอดีตที่ยังไม่รับรู้ ภาระผูกพัน นีค้ ำ� นวณโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยอิสระทุกปีดว้ ยวิธคี ดิ ลดแต่ละหน่วยทีป่ ระมาณการไว้ ซึง่ มูลค่าปัจจุบนั ของโครงการ ผลประโยชน์จะประมาณโดยการคิดลดกระแสเงินสดออกในอนาคต โดยใช้อัตราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเป็นสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินที่จะจ่ายภาระผูกพัน และวันครบก�ำหนดของพันธบัตรรัฐบาลใกล้เคียงกับระยะเวลาที่ต้อง ช�ำระภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน

90

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


ก�ำไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยเกิดขึน้ จากการปรับปรุงหรือเปลีย่ นแปลงข้อสมมติฐาน จะรับรู้ในก�ำไรสะสมผ่านก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในงวดที่เกิด ต้นทุนบริการในอดีตจะถูกรับรู้ทันทีในก�ำไรหรือขาดทุน เว้นแต่การเปลี่ยนแปลงโครงการผลประโยชน์นั้นจะมีเงื่อนไข ซึ่งผูกกับระยะเวลาที่พนักงานยังคงต้องให้บริการตามที่ก�ำหนด (ระยะเวลาการให้สิทธิ) ซึ่งในกรณีนี้ต้นทุนการให้บริการ ในอดีตจะถูกตัดจ�ำหน่ายโดยวิธีเส้นตรงตลอดระยะเวลาการให้สิทธิ ส�ำหรับโครงการสมทบเงิน บริษัทจะจ่ายสมทบให้กับบริษัทเอกชน ตามเกณฑ์ สัญญา หรือตามสมัครใจ บริษัทไม่มี ภาระผูกพันที่จะจ่ายเงินเพิ่มอีกเมื่อได้จ่ายเงินสมทบไปแล้ว เงินสมทบจะถูกรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน เมื่อถึงก�ำหนดช�ำระ ส�ำหรับเงินสมทบจ่ายล่วงหน้าจะถูกรับรู้เป็นสินทรัพย์จนกว่าจะมีการได้รับเงินคืนหรือหักออกเมื่อ ครบก�ำหนดจ่าย 2.17 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ กลุ่มบริษัทด�ำเนินโครงการผลตอบแทนโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่ช�ำระด้วยตราสารทุน โดยที่กลุ่มบริษัทได้รับบริการจาก พนักงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องกันเป็นสิ่งตอบแทน มูลค่ายุติธรรมของบริการที่ได้รับเพื่อแลกเปลี่ยนกับการให้ตราสารทุน จะอ้างอิงจากมูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนที่ได้รับดังกล่าว จ�ำนวนรวมที่จะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายจะค�ำนวณโดยอ้างอิงจาก มูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนที่ได้รับโดย รวมเงื่อนไขทางการตลาด ไม่รวมผลกระทบของการบริการและเงื่อนไขการได้รับสิทธิที่ไม่ใช่เงื่อนไขการตลาด (เช่น ความสามารถใน การท�ำก�ำไร การเติบโตของก�ำไรตามที่ก�ำหนดไว้ และพนักงานจะยังเป็นพนักงานของกิจการในช่วงเวลาที่ ก�ำหนด) และ รวมผลกระทบของเงื่อนไขการได้รับสิทธิที่ไม่ใช่เงื่อนไขการบริการหรือผลงาน (เช่น ความต้องการความ ปลอดภัยของพนักงาน) เงื่อนไขการได้รับสิทธิที่ไม่ใช่เงื่อนไขทางตลาดจะรวมอยู่ในข้อสมมติฐานในการค�ำนวณมูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนด้วย ผลตอบแทนที่พนักงานได้น้ันจะแสดงเป็นค่าใช้จ่ายในงบก�ำไรขาดทุนและส�ำรองส�ำหรับการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ภาย ใต้องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น กลุ่มบริษัทจะทยอยรับรู้ผลตอบแทนที่พนักงานได้รับเป็นค่าใช้จ่ายตามระยะเวลา ที่ได้รับการบริการจากพนักงานที่ได้ตกลงไว้ทั้งสองฝ่าย กลุ่มบริษัทจะทบทวนการประเมินมูลค่ายุติธรรมที่ขึ้นกับเงื่อนไข การได้รับสิทธิที่ไม่ใช่เงื่อนไขการตลาด และจะรับรู้ผลกระทบของการปรับปรุงประมาณการเริ่มแรกในก�ำไรหรือขาดทุน พร้อมกับการปรับปรุงรายการไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่สิ้นรอบระยะเวลาการรายงาน 2.18 ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ก็ต่อเมื่อ กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมายหรือตามข้อตกลงที่จัดท�ำไว้ อันเป็น ผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ ในอดีตซึ่งการช�ำระภาระผูกพันนั้นมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะส่งผลให้กลุ่มบริษัท ต้องสูญเสียทรัพยากรออกไปและสามารถประมาณการจ�ำนวนที่ต้องจ่ายได้อย่างน่าเชื่อถือ ประมาณการหนี้สินจะไม่รับรู้ ส�ำหรับขาดทุนจากการด�ำเนินงานในอนาคต

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

91


ในกรณีทมี่ ภี าระผูกพันทีค่ ล้ายคลึงกันหลายรายการ กลุม่ บริษทั ก�ำหนดความน่าจะเป็นทีก่ ลุม่ บริษทั จะสูญเสียทรัพยากรเพือ่ จ่ายช�ำระภาระผูกพันเหล่านั้น โดยพิจารณาจากความน่าจะเป็นโดยรวมของภาระผูกพันทั้งประเภท แม้ว่าความเป็นไปได้ ค่อนข้างแน่ที่กลุ่มบริษัทจะสูญเสียทรัพยากรเพื่อช�ำระภาระผูกพันบางรายการที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกันจะมีระดับต�่ำ กลุ่มบริษัทจะวัดมูลค่าของจ�ำนวนประมาณการหนี้สินโดยใช้มูลค่าปัจจุบันของรายจ่ายที่คาดว่าจะต้องน�ำมาจ่ายช�ำระภาระ ผูกพัน โดยใช้อัตราก่อนภาษีซึ่งสะท้อนถึงการประเมินสถานการณ์ตลาดในปัจจุบันของมูลค่าของเงินตามเวลาและความ เสี่ยงเฉพาะของหนี้สินที่ก�ำลังพิจารณาอยู่ การเพิ่มขึ้นของประมาณการหนี้สินเนื่องจากมูลค่าของเงินตามเวลาจะรับรู้เป็น ดอกเบี้ยจ่าย 2.19 ทุนเรือนหุ้น หุ้นสามัญจะจัดประเภทไว้เป็นส่วนของผู้ถือหุ้น ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับการออกหุ้นใหม่หรือสิทธิในการซื้อขายหุ้นที่จ่าย ออกไปโดยแสดงรายการดังกล่าวด้วยจ�ำนวนเงินสุทธิจากภาษีไว้เป็นรายการหักในส่วนของผู้ถือหุ้น โดยน�ำไปหักจาก สิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการออกหุ้น 2.20 การรับรู้รายได้ รายได้ประกอบด้วยมูลค่ายุติธรรมที่จะได้รับจากการขายสินค้าและบริการซึ่งเกิดขึ้นจากกิจกรรมตามปกติของกลุ่มบริษัท รายได้จะแสดงด้วยจ�ำนวนเงินสุทธิจาก เงินคืนและส่วนลด โดยไม่รวมรายการขายภายในกลุม่ บริษทั ส�ำหรับงบการเงินรวม รายได้จากการขายสินค้ารับรู้เมื่อผู้ซื้อรับโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เป็นสาระส�ำคัญของความเป็นเจ้าของสินค้า รายได้จากการให้บริการแก่ลูกค้ารับรู้เมื่อการให้บริการหลักนั้นได้ด�ำเนินการแล้ว รายได้ค่านายหน้ารับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง ซึ่งเป็นไปตามเนื้อหาของข้อตกลงที่เกี่ยวข้อง รายได้คา่ เช่ารับรูด้ ว้ ยวิธเี ส้นตรงตลอดช่วงเวลาการให้เช่า ส่วนรายได้ดอกเบีย้ รับรูต้ ามเกณฑ์สดั ส่วนของเวลาโดยพิจารณา จากอัตราดอกเบี้ยตลอดช่วงระยะเวลาจนถึงวันครบอายุและพิจารณาจากจ�ำนวนเงินต้นที่เป็นยอดคงเหลือในบัญชีส�ำหรับ การบันทึกค้างรับของกลุ่มบริษัท รายได้เงินปันผลรับรู้เมื่อสิทธิที่จะได้รับเงินปันผลนั้นเกิดขึ้น เงินอุดหนุนจากรัฐบาลรับรู้ด้วยมูลค่ายุติธรรมเมื่อกลุ่มบริษัทมีความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุผลว่าจะได้รับเงินอุดหนุนนั้นและ กลุม่ บริษทั จะสามารถปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขของเงินอุดหนุนทีก่ ำ� หนดไว้ เงินอุดหนุนทีเ่ กีย่ วข้องกับรายได้จะรับรูเ้ ป็นรายได้ใน งบก�ำไรขาดทุนอย่างเป็นระบบตลอดระยะเวลาซึง่ กลุม่ บริษทั รับรูค้ า่ ใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องกับต้นทุนที่ได้รบั การชดเชย โดยแสดง ไว้ภายใต้หมวดรายได้อื่น 2.21 การจ่ายเงินปันผล เงินปันผลจ่ายบันทึกในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในรอบระยะเวลาบัญชีซึ่งที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทที่ เกี่ยวข้องได้อนุมัติการจ่ายเงินปันผล และที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล 2.22 ข้อมูลจ�ำแนกตามส่วนงาน ส่วนงานด�ำเนินงานได้ถูกรายงานในลักษณะเดียวกับรายงานภายในที่น�ำเสนอให้ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนิน งาน ผูม้ อี ำ� นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงานหมายถึงบุคคลทีม่ หี น้าที่ในการจัดสรรทรัพยากรและประเมินผลการปฏิบตั ิ งานของส่วนงานด�ำเนินงาน ซึ่งพิจารณาว่าคือ คณะกรรมการบริษัท ที่ท�ำการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์

92

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


2.23 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการและบุคคลทีค่ วบคุมบริษทั หรือถูกควบคุมโดยบริษทั หรืออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกับบริษทั ทัง้ ทางตรงหรือทางอ้อม ไม่ว่าจะโดยทอดเดียวหรือหลายทอด กิจการและบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท บริษัทย่อยและ บริษัทย่อยล�ำดับถัดไป บริษัทร่วมและบุคคลที่เป็นเจ้าของส่วนได้เสียในสิทธิออกเสียงของบริษัทซึ่งมีอิทธิพลอย่างเป็น สาระส�ำคัญเหนือกิจการ ผู้บริหารส�ำคัญรวมทั้งกรรมการและพนักงานของบริษัทตลอดจนสมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิด กับบุคคลเหล่านั้น กิจการและบุคคลทั้งหมดถือเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันซึ่งอาจมีขึ้นได้ต้องค�ำนึงถึงรายละเอียดของความ สัมพันธ์มากกว่ารูปแบบความสัมพันธ์ตามกฎหมาย 2.24 เครื่องมือทางการเงิน สินทรัพย์ทางการเงินของกลุ่มบริษัทที่แสดงในงบแสดงฐานะทางการเงินประกอบด้วยเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพัน และเงินให้ กูย้ มื ระยะสัน้ หนีส้ นิ ทางการเงินของกลุม่ บริษทั ทีแ่ สดงอยู่ในงบแสดงฐานะทางการเงินประกอบด้วยเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และเงินกู้ยืมระยะสั้น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินกู้ยืมจากกรรมการ เงินกู้ยืมระยะยาว และหนี้สินตามสัญญาเช่า การเงิน นโยบายการบัญชีเฉพาะส�ำหรับรายการแต่ละรายการได้เปิดเผยแยกไว้ในแต่ละหัวข้อที่เกี่ยวข้อง 3

การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน

3.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน กิจกรรมของกลุ่มบริษัทย่อมมีความเสี่ยงทางการเงินที่หลากหลายซึ่งได้แก่ ความเสี่ยงจากตลาด (รวมถึงความเสี่ยงจาก อัตราแลกเปลีย่ น ความเสีย่ งด้านมูลค่ายุตธิ รรมอันเกิดจากการเปลีย่ นแปลงในอัตราดอกเบีย้ ความเสีย่ งด้านกระแสเงินสด อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย) ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ และความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง แผนการจัดการ ความเสีย่ งโดยรวมของกลุม่ บริษทั จึงมุง่ เน้นความผันผวนของตลาดการเงินและแสวงหาวิธกี ารลดผลกระทบทีท่ ำ� ให้เสียหาย ต่อผลการด�ำเนินงานทางการเงินของกลุ่มบริษัทให้เหลือน้อยที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ 3.1.1 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบแก่กลุ่มบริษัทในงวดปัจจุบันและในงวดต่อไป กลุ่มบริษัทไม่ได้ท�ำสัญญาป้องกันความเสี่ยงไว้เนื่องจาก ผู้บริหารประเมินว่าอัตราแลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนแปลงไปจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อสินทรัพย์และ หนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ 3.1.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการ ด�ำเนินงานแก่กลุม่ บริษทั และบริษทั ในงวดปัจจุบนั และอนาคต โดยกลุม่ บริษทั และบริษทั มีหนีส้ นิ ทีม่ คี วามเสีย่ งจาก อัตราดอกเบี้ยที่ส�ำคัญ ดังนี้

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

93


งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท

เงินกู้ยืมระยะสั้น จากธนาคาร พาณิชย์

538,222

958,936

532,332

เงินกู้ยืมระยะยาว จากธนาคาร พาณิชย์

522,402

627,877

522,402

อัตราดอกเบี้ยต่อปี พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 ร้อยละต่อปี ร้อยละต่อปี

954,035

MOR, MOR-0.5, MOR, MOR-0.4, MOR-1.5, MLR-1.5, MOR-0.5, MOR-1, MOR-1.75, MLR-3.1, MOR-1.5, เงินฝากประจ�ำ+2 MOR, เงินฝากประจ�ำ+2 627,877 MLR-0.5, MLR-0.75, MLR-0.5, MLR-0.75, MLR-1, MLR-1.25, MLR-1, MLR-1.5, MRR+0.25 MLR1.25, MLR-1.5

กลุม่ บริษัทไม่ได้ท�ำสัญญาป้องกันความเสี่ยงไว้เนื่องจากผู้บริหารประเมินว่าอัตราดอกเบี้ยที่เปลี่ยนแปลงไปจะไม่มี ผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อผลการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท 3.1.3 ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ ความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ ของกลุม่ บริษทั คือการขายสินค้าให้ลกู ค้าหลักทัง้ ในและต่างประเทศจ�ำนวนหนึง่ นโยบาย ของกลุ่มบริษัทคือท�ำให้เชื่อมั่นว่าได้ขายสินค้าและให้บริการแก่ลูกค้าที่มีประวัติสินเชื่ออยู่ในระดับที่เหมาะสม คู่สัญญาในอนุพันธ์ทางการเงินและรายการเงินสดได้เลือกที่จะท�ำรายการกับสถาบันการเงินที่มีคุณภาพและมี ความน่าเชื่อถือสูง 3.1.4 ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความสามารถในการหาแหล่งเงินทุนแสดงให้เห็นได้จากการทีม่ วี งเงินอ�ำนวยความสะดวกในการกูย้ มื ที่ได้มกี ารตกลง ไว้แล้ว ส่วนงานบริหารเงินของกลุ่มบริษัทได้ตั้งเป้าหมายว่าจะใช้ความยืดหยุ่นในการระดมเงินทุน โดยการรักษา วงเงินสินเชื่อที่ตกลงไว้ให้เพียงพอในการด�ำเนินกิจการและลงทุนในอนาคต 3.2 มูลค่ายุติธรรม ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินทีร่ ะบุไว้ในหมายเหตุขอ้ 2.24 มีมลู ค่าใกล้เคียงกับมูลค่ายุตธิ รรม ข้อมูล เกี่ยวกับมูลค่ายุติธรรมของเงินกู้ยืมเปิดเผยรวมอยู่ในหมายเหตุข้อ 23 4

ผลกระทบจากการซื้อบริษัทย่อยที่อยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกัน การด�ำเนินงานที่ยกเลิก การน�ำการตีความมาตรฐาน รายงานทางการเงินฉบับที่ 4 มาใช้เป็นครั้งแรก การแก้ไขข้อผิดพลาด และการจัดประเภทรายการใหม่

4.1 การซื้อบริษัทย่อยภายใต้การควบคุมเดียวกัน งบการเงินรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 ได้รวมบริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด (บริษัทย่อย) ที่กลุ่มบริษัทซื้อมาในระหว่างปี พ.ศ. 2557 เสมือนว่ากลุ่มบริษัทได้ควบคุมบริษัทย่อยนี้ตั้งแต่ก่อนวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ทั้งนี้ บริษัทย่อยดังกล่าวเป็นบริษัทที่อยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับกลุ่มบริษัทก่อนวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 (หมายเหตุข้อ 15.2) ซึ่งเป็นวิธีการตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีส�ำหรับการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันที่ออก โดยสภาวิชาชีพบัญชี ดังนั้น งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และงบก�ำไรขาดทุนรวม งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม และงบกระแสเงินสดรวมส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกันทีน่ ำ� มาแสดงเปรียบเทียบได้มกี ารปรับปรุง ใหม่เพื่อสะท้อนการซื้อกิจการตามที่กล่าวไว้ข้างต้น ผลกระทบของการปรับปรุงใหม่แสดงไว้ในหมายเหตุข้อ 4.6

94

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


4.2 การด�ำเนินงานที่ยกเลิก ในระหว่างปี พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทได้จ�ำหน่ายธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ให้แก่บุคคลภายนอก (หมายเหตุข้อ 15.1) ตัวเลขเปรียบเทียบในงบก�ำไรขาดทุนรวมและงบก�ำไรขาดทุนเฉพาะบริษัทที่เกี่ยวข้องกับการ ด�ำเนินงานของธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่แสดงเป็นตัวเลขเปรียบเทียบได้มีการปรับปรุง ย้อนหลัง โดยผลกระทบที่มีต่องบก�ำไรขาดทุนรวมและงบก�ำไรขาดทุนเฉพาะบริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ได้แสดงไว้ในหมายเหตุข้อ 4.6 และข้อมูลทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของธุรกิจผลิตและจ�ำหน่าย ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 แสดงไว้ในหมายเหตุข้อ 14 ทัง้ นี้ ไม่มกี ารปรับปรุงย้อนหลังส�ำหรับงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะบริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน 4.3 การน�ำการตีความมาตรฐานรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 มาใช้เป็นครั้งแรก จากนโยบายการบัญชีเรื่องการประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ตามที่อธิบายไว้ในหมายเหตุข้อ 2.13 การปฏิบัติตามการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับดังกล่าวมีผลต่อการรับรู้รายการทางบัญชีที่เกี่ยวข้องกับ สัญญาจ้างอัดก๊าซธรรมชาติบางสัญญา ทั้งนี้ กลุ่มบริษัทได้ใช้วิธีปรับย้อนหลังส�ำหรับการปฏิบัติตามการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงินดังกล่าว โดยผลกระทบที่มีต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ได้แสดงไว้ในหมายเหตุข้อ 4.6 4.4 การแก้ไขข้อผิดพลาด จากนโยบายการบัญชีเรื่องการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ตามที่อธิบายไว้ในหมายเหตุข้อ 2.17 กลุ่มบริษัทได้มีการปรับปรุง งบการเงินย้อนหลัง เนื่องจากข้อผิดพลาดในการรับรู้รายการที่เป็นการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ในเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทและบริษัทได้ให้ผลตอบแทนพนักงานและจ่ายค่าบริการแก่บุคคลที่เกี่ยวข้องกันโดย การให้หุ้นสามัญที่ถือโดยผู้ถือหุ้นใหญ่ ซึ่งถือเป็นการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่ช�ำระด้วยตราสารทุน กลุ่มบริษัทได้ใช้วิธี ปรับย้อนหลังส�ำหรับข้อผิดพลาดดังกล่าว โดยผลกระทบที่มีต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ได้แสดงไว้ในหมายเหตุข้อ 4.6 กลุ่มบริษัทได้มีการปรับงบการเงินย้อนหลังเนื่องจากข้อผิดพลาดในการรับรู้สินค้าคงเหลือ (รถยนต์) และเจ้าหนี้เงินกู้ยืม ระยะสั้นจากสถาบันการเงินที่เกี่ยวข้องไว้ต�่ำไปจ�ำนวน 64.15 ล้านบาท กลุ่มบริษัทปรับปรุงงบการเงินย้อนหลังโดยการ รับรูร้ ายการสินค้าคงเหลือและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน รายการปรับปรุงดังกล่าวมีผลกระทบต่อการแสดงรายการ ในงบแสดงฐานะการเงินรวม และงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 เท่านั้น ตามที่แสดง ไว้ในหมายเหตุข้อ 4.6 นอกจากนัน้ กลุม่ บริษทั ได้มกี ารปรับงบการเงินย้อนหลังโดยกลับรายการสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทเี่ กิดจากการ รวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันจ�ำนวน 4.34 ล้านบาท เนื่องจากรายการดังกล่าวไม่ก่อให้เกิดภาษีเงินได้รอการ ตัดบัญชี รายการปรับปรุงดังกล่าวมีผลกระทบต่อการแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงินรวมเท่านั้น ตามที่แสดงไว้ใน หมายเหตุข้อ 4.6

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

95


4.5 การจัดประเภทรายการใหม่ บริษัทมีการจัดประเภทรายการใหม่ส�ำหรับหนี้สินที่เกิดจากการซื้อสินค้าส�ำเร็จรูปของส่วนงานจ�ำหน่ายรถยนต์ผ่านทาง บริษทั ที่ให้สนิ เชือ่ รถยนต์ทเี่ ดิมแสดงไว้ภายใต้เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ มาเป็นเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จาก สถาบันการเงินจ�ำนวน 67.81 ล้านบาท บริษัทได้มีการจัดประเภทรายการใหม่ส�ำหรับรายได้ส่วนเพิ่มราคาขาย (Adder) ที่เดิมแสดงไว้ภายใต้รายได้จากการขาย และบริการมาเป็นรายได้อื่นจ�ำนวน 39.39 ล้านบาท การจัดประเภทรายการใหม่ดังกล่าวเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 20 เรือ่ งการบัญชีสำ� หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการจัดประเภทรายการใหม่แสดงไว้ในหมายเหตุข้อ 4.6 4.6 ผลกระทบต่องบการเงิน ตามที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 4.1 ถึงข้อ 4.5 ผลกระทบต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และงบก�ำไรขาดทุนรวมและงบก�ำไรขาดทุนเฉพาะบริษัท และงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและ งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะบริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน มีดังต่อไปนี้

96

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

97

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ - สุทธิ ลูกหนีส้ ญั ญาเช่าการเงินทีถ่ งึ ก�ำหนดรับช�ำระในหนึง่ ปี - สุทธิ สินค้าคงเหลือ - สุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ ลูกหนีส้ ญั ญาเช่าการเงิน - สุทธิ ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ ส่วนของหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงินทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี - สุทธิ หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ ก�ำไรสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ส่วนได้เสียที่ไม่มอี ำ� นาจควบคุม ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ก�ำไรสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ส่วนได้เสียที่ไม่มอี ำ� นาจควบคุม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

งบการเงินรวม

ผลกระทบต่องบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

133,691 357,306 931,661 7,082 1,250,423 12,777 30,800 822,075 544,112 36,066 3,497 67,092 125,792 26,012 231,373 29,240 981

ตามทีร่ ายงาน ไว้เดิม พันบาท

7,192 - 64,150 183,566 (106,137) (20,894) (4,335) - 64,150 51,477 (10,746) 6,411 63,727 (15,414) - 11,079 -

67,810 (67,810) -

5,869 11,350 16 3,171 4,128 92 4,901 6,849 645 328 1,736 7,879 10,167

139,560 368,656 7,192 995,827 10,253 183,566 1,148,414 12,869 5,571 958,936 483,151 36,711 3,825 68,828 166,523 32,423 7,879 279,686 40,319 11,148

รายการปรับปรุงจากการ การซือ้ บริษทั น�ำมาตรฐานการรายงาน การแก้ไข การจัด ย่อยทีอ่ ยูภ่ ายใต้ ตามทีไ่ ด้ ทางการเงินฉบับที่ 4 ข้อผิด ประเภท การควบคุม รายงานในงบ มาใช้เป็นครัง้ แรก พลาด รายการใหม่ เดียวกัน การเงินนี้ พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท


98

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

รายได้จากการขายและบริการ 2,096,579 ต้นทุนขายและบริการ 1,762,393 รายได้อนื่ 23,148 ค่าใช้จา่ ยในการขาย 43,330 ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร 139,482 ต้นทุนทางการเงิน 85,835 ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ 16,371 ก�ำไรส�ำหรับงวดจากการด�ำเนินงานต่อเนือ่ ง 104,855 ก�ำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานจากการด�ำเนินงานต่อเนือ่ ง (บาท) 0.12 ผลกระทบต่องบก�ำไรขาดทุนส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 (ต่อ)

งบการเงินรวม

ตามที่ รายงาน ไว้เดิม พันบาท

926,445 1,248,776 24,266 822,075 543,098 127,609 224,613 -

ตามทีร่ ายงานไว้เดิม พันบาท

7,192 183,566 (106,137) (20,894) 51,477 63,727 -

64,150 64,150 (10,746) 10,746 (15,414) 15,414

67,810 (67,810) -

7,192 990,595 183,566 1,142,639 3,372 954,035 475,288 168,340 10,746 272,926 15,414

(6,740) (18,990) 2,471 - 2,197 12,250 (4,668) 0.01 (0.01)

(39,389) 39,389 -

(17,501) (15,263) (39,389) (798) (11,141) (29,688) (0.03)

119,854 109,703 250 2,324 4,900 160 (727) 2,290 -

2,152,803 1,840,314 23,398 45,654 145,781 74,854 15,644 85,039 0.09

รายการปรับปรุงจากการ ส่วนการ การซือ้ บริษทั น�ำมาตรฐานการรายงาน การแก้ไข การจัด ด�ำเนินงาน ย่อยทีอ่ ยูภ่ ายใต้ ทางการเงินฉบับที่ 4 ข้อผิด ประเภท ทีย่ กเลิก การควบคุม ตามทีไ่ ด้รายงาน มาใช้เป็นครัง้ แรก พลาด รายการใหม่ (หมายเหตุขอ้ 14) เดียวกัน ในงบการเงินนี้ พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท

ผลกระทบต่องบก�ำไรขาดทุนส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ลูกหนีส้ ญั ญาเช่าการเงินทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี - สุทธิ สินค้าคงเหลือ - สุทธิ ลูกหนีส้ ญั ญาเช่าการเงิน - สุทธิ ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ ก�ำไรสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ก�ำไรสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

งบการเงินเฉพาะบริษทั

รายการปรับปรุงจากการ น�ำมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับที่ 4 การแก้ไข การจัประเภท ตามทีไ่ ด้รายงาน มาใช้เป็นครัง้ แรก ข้อผิพลาด รายการใหม่ ในงบการเงินนี้ พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

99

2,041,367 1,721,790 22,518 128,693 85,789 97,503 0.11

ก�ำไรสุทธิสำ� หรับงวด ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับงวด ก�ำไรสุทธิตอ่ หุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน (บาทต่อหุน้ )

งบการเงินเฉพาะบริษทั

ก�ำไรสุทธิสำ� หรับงวด ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับงวด ก�ำไรสุทธิตอ่ หุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน (บาทต่อหุน้ )

งบการเงินรวม

97,503 97,004 0.12

12,250 12,250 0.01

12,250 12,250 0.01

104,855 108,908 0.12

(39,389) 39,389 -

(17,501) (15,263) (39,389) (798) (11,141) (29,688) (0.03)

(4,668) (4,668) (0.01)

(4,668) (4,668) (0.01)

-

2,290 2,290 -

การซือ้ บริษทั ย่อย การแก้ไข ทีอ่ ยูภ่ ายใต้ ข้อผิดพลาด การควบคุมเดียวกัน พันบาท พันบาท

2,471 2,197 (4,668) (0.01)

ตามทีร่ ายงานไว้เดิม พันบาท

(6,740) (18,990) 12,250 0.01 รายการปรับปรุงจากการ น�ำมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับที่ 4 มาใช้เป็นครัง้ แรก พันบาท

ผลกระทบต่องบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 (ต่อ)

รายได้จากการขายและบริการ ต้นทุนขายและบริการ รายได้อนื่ ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร ต้นทุนทางการเงิน ก�ำไรส�ำหรับงวดจากการด�ำเนินงานต่อเนือ่ ง ก�ำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานจากการด�ำเนินงานต่อเนือ่ ง (บาท)

งบการเงินเฉพาะบริษทั

105,085 104,586 0.12

114,727 118,780 0.12

ตามทีไ่ ด้รายงานใน งบการเงินนี้ พันบาท

1,977,738 1,690,008 22,518 130,092 74,648 75,397 0.08

รายการปรับปรุงจากการ ส่วนการ น�ำมาตรฐานการรายงาน ด�ำเนินงาน ตามทีร่ ายงาน ทางการเงินฉบับที่ 4 การแก้ไข การจัดประเภท ทีย่ กเลิก ตามทีไ่ ด้รายงานใน ไว้เดิม มาใช้เป็นครัง้ แรก ข้อผิดพลาด รายการใหม่ (หมายเหตุขอ้ 14) งบการเงินนี้ พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท


5

ประมาณการทางบัญชีที่ส�ำคัญ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจ

การประมาณการ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจ ได้มีการประเมินทบทวนอย่างต่อเนื่อง และอยู่บนพื้นฐานของ ประสบการณ์ ในอดีตและปัจจัยอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ ในอนาคตที่เชื่อว่ามีเหตุผลในสถานการณ์ ขณะนั้น 5.1 ประมาณการทางบัญชีที่ส�ำคัญ และข้อสมมติฐาน กลุ่มบริษัทมีการประมาณการทางบัญชี และใช้ข้อสมมติฐานที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ในอนาคต ผลของประมาณการทาง บัญชีอาจไม่ตรงกับผลที่เกิดขึ้นจริง ประมาณทางการบัญชีที่ส�ำคัญและข้อสมมติฐานที่มีความเสี่ยงอย่างเป็นสาระส�ำคัญ ที่อาจเป็นเหตุให้เกิดการปรับปรุงยอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี้สินในรอบระยะเวลาบัญชีหน้า มีดังนี้ (ก) อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ฝ่ายบริหารเป็นผู้ก�ำหนดประมาณการอายุการใช้งานและมูลค่าซากส�ำหรับอาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ ไม่มี ตัวตนของกลุ่มบริษัท โดยฝ่ายบริหารจะมีการทบทวนการค�ำนวณค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่ายเมื่ออายุการ ใช้งานและมูลค่าซากมีความแตกต่างไปจากประมาณการในงวดก่อน หรือมีการตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ที่เสื่อมสภาพ หรือไม่ได้ใช้งานโดยการขายหรือเลิกใช้ (ข) ประมาณการภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานจ่ายเมือ่ เกษียณอายุขนึ้ อยูก่ บั หลายปัจจัยที่ใช้ในการค�ำนวณตาม หลักคณิตศาสตร์ประกันภัยโดยมีหลายข้อสมมติฐาน รวมถึงข้อสมมติฐานเกี่ยวกับอัตราคิดลด การเปลี่ยนแปลง ของข้อสมมติฐานเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อมูลค่าของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน กลุ่มบริษัทได้พิจารณาอัตราคิดลดที่เหมาะสมในแต่ละปี ซึ่งได้แก่ อัตราดอกเบี้ยที่ควรจะใช้ในการก�ำหนดมูลค่า ปัจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่ายภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ในการพิจารณาอัตรา คิดลงที่เหมาะสม กลุ่มบริษัทพิจารณาใช้อัตราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเป็นสกุลเงินเดียว กับสกุลเงินที่ต้องจ่ายช�ำระผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ และมีอายุครบก�ำหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาที่ต้องจ่าย ช�ำระภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานที่เกี่ยวข้อง ข้อสมมติฐานหลักอื่น ๆ ส�ำหรับภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานอ้างอิงกับสถานการณ์ปัจจุบันในตลาด ข้อมูล เพิ่มเติมเปิดเผยในหมายเหตุข้อ 25 (ค) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กลุ่มบริษัทก�ำหนดค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยใช้สมมติฐานและดุลยพินิจหลายประการในการประมาณการ โดยผู้บริหาร ประมาณจ�ำนวนหนี้ที่คาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้จากประสบการณ์ของกลุ่มบริษัทในการเก็บเงินจาก ลูกหนี้ประกอบกับการพิจารณาฐานะการเงินของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารมีการทบทวนประมาณการและข้อสมมติฐาน ต่างๆ อย่างสม�่ำเสมอ

100

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


(ง) ค่าเผื่อสินค้าเคลื่อนไหวช้า กลุ่มบริษัทก�ำหนดค่าเผื่อสินค้าเคลื่อนไหวช้าโดยใช้ดุลยพินิจหลายประการในการประมาณการ ได้แก่ ลักษณะของ สินค้าคงเหลือ การด�ำเนินงานโดยปกติของธุรกิจ และการคาดการณ์มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับของสินค้าคงเหลือที่ เคลือ่ นไหวช้า ซึง่ การประมาณการดังกล่าวอาศัยประสบการณ์ของกลุม่ บริษทั ในการน�ำมาใช้ผลิตและจ�ำหน่ายสินค้า คงเหลือ ฝ่ายบริหารมีการทบทวนประมาณการและข้อสมมติฐานต่างๆ อย่างสม�่ำเสมอ 6

การจัดการความเสี่ยงในส่วนของทุน

วัตถุประสงค์ ในการบริหารทุนของกลุ่มบริษัทเป็นไปเพื่อการด�ำรงไว้ซึ่งความสามารถของกิจการในการด�ำเนินงานอย่าง ต่อเนือ่ งของกลุม่ บริษทั เพือ่ สร้างผลตอบแทนต่อผูถ้ อื หุน้ และเป็นประโยชน์ตอ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ กลุม่ บริษทั ได้ใช้อตั ราส่วน ทางการเงินตามที่ได้ก�ำหนดไว้ในสัญญาเงินกู้เพื่อดูแลรักษาระดับทุน (หมายเหตุข้อ 23) 7

ข้อมูลตามส่วนงาน

กลุ่มบริษัทน�ำเสนอข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงานโดยแสดงส่วนงานธุรกิจเป็นรูปแบบหลักในการรายงานโดย พิจารณาจากการจัดกลุ่มโดยทั่วไปของผลิตภัณฑ์และการบริการเป็นเกณฑ์ในการก�ำหนดส่วนงาน ส่วนงานธุรกิจที่ส�ำคัญของกลุ่มบริษัทมีดังนี้ ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ ได้แก่ ธุรกิจรับจ้างจัดหาและติดตั้งและซ่อมบ�ำรุงระบบอุปกรณ์การเติมก๊าซ ธรรมชาติ และขนส่งก๊าซธรรมชาติ และธุรกิจการค้าชิ้นส่วนอะไหล่ที่เกี่ยวข้องกับการติดตั้งระบบก๊าซในรถยนต์ การจ�ำหน่ายรถยนต์ ได้แก่ ธุรกิจการค้ารถยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ที่เกี่ยวข้อง ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ได้แก่ ธุรกิจการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากระบบพลังงานแสงอาทิตย์ ธุรกิจส่งออก ได้แก่ ธุรกิจส่งออกผลิตภัณฑ์แบตเตอรี่และกระจก ธุรกิจอื่นๆ ได้แก่ ธุรกิจการค้าคาร์บอนไดออกไซด์เหลว น�้ำมันเครื่องและน�้ำมันหล่อลื่น และธุรกิจร้านสะดวกซื้อ เมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557 บริษัทได้จ�ำหน่ายเงินลงทุนในบริษัท สแกน อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่ด�ำเนินธุรกิจผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ให้แก่บุคคลภายนอก (หมายเหตุข้อ 15.1) เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทได้ซื้อเงินลงทุนในบริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทที่ด�ำเนินธุรกิจหลัก เกีย่ วกับการส่งออกผลิตภัณฑ์แบตเตอรีแ่ ละกระจก และเป็นกิจการทีอ่ ยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับกลุม่ บริษทั (หมายเหตุ ข้อ 15.2)

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

101


102

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

(1)

1,188,636 (962,546) 226,090

1,534,964 (1,157,490) 377,474

693,036 (643,162) 49,874

487,012 (420,647) 66,365

56,890 (15,263) 41,627

34,890 (8,497) 26,393

119,854 151,277 2,209,693 (109,703) (124,903) (1,855,577) 10,151 26,374 354,116 23,398 377,514 (262,787) 114,727

36,661 53,368 2,146,895 (32,729) (38,804) (1,658,167) 3,932 14,564 488,728 235,205 723,933 (322,623) 401,310

อื่นๆ พันบาท

(56,890) 15,263 (41,627) (41,627) 11,939 (29,688)

(34,890) 8,497 (26,393) (199,896) (226,289) 53,044 (173,245)

2,152,803 (1,840,314) 312,489 23,398 335,887 (250,848) 85,039

2,112,005 (1,649,670) 462,335 35,309 497,644 (269,579) 228,065

การด�ำเนินงานที่ ยกเลิก รวม (หมายเหตุข้อ 14) งบการเงินรวม พันบาท พันบาท พันบาท

รายการกระทบยอด

รายได้จากการขายและบริการที่แสดงในข้อมูลตามส่วนงานรวมถึงรายได้ส่วนเพิ่มราคาขาย (Adder) ส�ำหรับส่วนงานไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จ�ำนวน 23.95 ล้านบาท (พ.ศ. 2556: จ�ำนวน 39.39 ล้านบาท)

รายได้จากการขายและบริการ (1) ต้นทุนขายและบริการ ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน รายได้อื่น ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายสุทธิที่ยังไม่ได้ปันส่วน ก�ำไรส�ำหรับงวดจากการด�ำเนินงานต่อเนื่อง

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

รายได้จากการขายและบริการ (1) ต้นทุนขายและบริการ ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน รายได้อื่น ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายสุทธิที่ยังไม่ได้ปันส่วน ก�ำไรส�ำหรับงวดจากการด�ำเนินงานต่อเนื่อง

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง กับผลิตภัณฑ์ ก๊าซธรรมชาติ พันบาท

ข้อมูลตามส่วนงาน ธุรกิจส่งออก ไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ การจ�ำหน่าย พลังงานแสง แบตเตอรี่และ รถยนต์ อาทิตย์ กระจก พันบาท พันบาท พันบาท


กลุ่มบริษัทด�ำเนินงานในประเทศไทย รายได้และสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนของบริษัทอยู่ในประเทศไทย ดังนั้นกลุ่มบริษัท จึงไม่ได้น�ำเสนอข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงานภูมิศาสตร์ ลูกค้ารายใหญ่ ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บริษัทมีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่ในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ ซึ่งมีรายการกับบริษัทมีจ�ำนวน 812.10 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 38.45 ของรายได้ทั้งหมดของกลุ่มบริษัท (พ.ศ. 2556: จ�ำนวน 640.55 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 29.75 ของรายได้ทั้งหมดของกลุ่มบริษัท) 8

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร - ออมทรัพย์ เงินฝากธนาคาร - กระแสรายวัน รวมเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

1,761 78,112 8,379 88,252

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

2,300 122,892 14,368 139,560

1,748 68,938 412 71,098

2,280 87,002 4,505 93,787

เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์มีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยร้อยละ 0.13 ถึง 2.00 ต่อปี (พ.ศ. 2556: ร้อยละ 0.13 ถึง 1.75 ต่อปี) ส�ำหรับข้อมูลในงบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วยรายการดังนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

เงินสดและเงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชี (หมายเหตุข้อ 21) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 9

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

88,252 88,252

139,560 (1,120) 138,440

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

71,098 71,098

93,787 (1,120) 92,667

เงินลงทุนระยะสั้น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เงินลงทุนระยะสั้นประกอบด้วยเงินลงทุนในกองทุนเปิดของธนาคารพาณิชย์ภายใน ประเทศแห่งหนึ่ง มีอัตราผลตอบแทนโดยเฉลี่ยร้อยละ 2.14 (พ.ศ. 2556: ร้อยละ 2.29 ต่อปี)

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

103


10

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ลูกหนี้การค้า หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนีก้ ารค้ากิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน (หมายเหตุขอ้ 38) รายได้ค้างรับ เงินมัดจ�ำค่าสินค้า ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า เงินทดรองจ่าย ดอกเบี้ยค้างรับ ลูกหนี้อื่น รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

51,182 (311) 50,871 347,299 8,286 8,559 101 494 3,510 419,120

107,667 (4,815) 102,852 241,874 8,310 7,355 1,445 639 810 363,285

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

35,817 (311) 35,506 649 347,299 7,976 8,466 97 494 2,946 403,433

84,325 (635) 83,690 513 241,874 8,310 7,278 1,445 639 126 343,875

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกันสามารถวิเคราะห์ตามอายุหนี้ที่ค้างช�ำระได้ดังนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 ถึง 6 เดือน 6 ถึง 12 เดือน เกินกว่า 12 เดือน รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ

104

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

30,427 19,471 904 69 311 51,182 (311) 50,871

17,971 75,298 1,426 1 12,971 107,667 (4,815) 102,852

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

21,828 12,710 904 64 311 35,817 (311) 35,506

7,039 75,298 1,426 1 561 84,325 (635) 83,690


11

ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ครบก�ำหนดภายในไม่เกิน 1 ปี ครบก�ำหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ครบก�ำหนดหลังจาก 5 ปี หัก รายได้ทางการเงินในอนาคตของ สัญญาเช่าการเงิน มูลค่าปัจจุบันของลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน - ส่วนที่หมุนเวียน - ส่วนที่ไม่หมุนเวียน ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

27,331 88,542 200,763 316,636

27,331 95,281 211,858 334,470

27,331 88,542 200,763 316,636

27,331 95,281 211,858 334,470

(120,194) 196,442

(126,549) 207,921

(120,194) 196,442

(126,549) 207,921

13,393 183,049 196,442

12,563 195,358 207,921

13,393 183,049 196,442

12,563 195,358 207,921

มูลค่าปัจจุบันของลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินมีรายละเอียด ดังนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ครบก�ำหนดภายในไม่เกิน 1 ปี ครบก�ำหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ครบก�ำหนดหลังจาก 5 ปี มูลค่าปัจจุบันของลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน 12

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

13,393 41,613 141,436 196,442

12,563 45,718 149,640 207,921

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

13,393 41,613 141,436 196,442

12,563 45,718 149,640 207,921

สินค้าคงเหลือ - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลือง (สุทธิจากค่าเผื่อ) งานระหว่างท�ำ สินค้าส�ำเร็จรูป (สุทธิจากค่าเผื่อ) รวมสินค้าคงเหลือ - สุทธิ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

397,555 155,556 119,054 672,165

463,894 396,625 135,308 995,827

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

397,555 155,556 115,670 668,781

463,894 396,625 130,077 990,596

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

105


กลุ่มบริษัทและบริษัทตั้งรายการค่าเผื่อสินค้าเคลื่อนไหวช้าและค่าเผื่อมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับในงบการเงินรวมและงบ การเงินเฉพาะบริษัทจ�ำนวน 25.85 ล้านบาท และ 21.43 ล้านบาท ตามล�ำดับ (พ.ศ. 2556: 63.39 ล้านบาท และ 58.08 ล้านบาท ตามล�ำดับ) 13

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ภาษีซื้อที่ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภาษีซื้อรอขอคืน อื่นๆ รวมสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 14

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

2,408 144 1,740 4,292

7,085 3,148 21 10,254

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

2,390 7 2,397

7,068 7,068

การด�ำเนินงานที่ยกเลิก

ในวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทและบริษัทได้จ�ำหน่ายธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ให้แก่บุคคลภายนอก (หมายเหตุข้อ 15.1) โดยผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสดส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 ส�ำหรับธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ สามารถแสดงได้ดังนี้ ข้อมูลก�ำไรขาดทุนส�ำหรับการด�ำเนินงานที่ยกเลิก

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

รายได้ (1) ต้นทุนขาย ก�ำไรจากการด�ำเนินงานที่ยกเลิก ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ก�ำไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ จากการด�ำเนินงานที่ยกเลิก ต้นทุนทางการเงิน ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้จากการด�ำเนินงานทีย่ กเลิก ภาษีเงินได้ ก�ำไรหลังภาษีจากการด�ำเนินงานที่ยกเลิก ก�ำไรทีร่ บั รูจ้ ากการจ�ำหน่ายการด�ำเนินงานทีย่ กเลิก ภาษีเงินได้จากการจ�ำหน่าย ก�ำไรส�ำหรับงวดจากการด�ำเนินงานที่ยกเลิก (1)

106

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

34,890 (8,497) 26,393 (4,480)

56,890 (15,263) 41,627 (798)

34,890 (8,497) 26,393 (4,480)

56,890 (15,263) 41,627 (798)

21,913 (8,585) 13,328 13,328 199,896 (39,979) 173,245

40,829 (11,141) 29,688 29,688 29,688

21,913 (8,585) 13,328 13,328 199,896 (39,979) 173,245

40,829 (11,141) 29,688 29,688 29,688

รายได้รวมถึงรายได้ส่วนเพิ่มราคาขาย (Adder) จ�ำนวน 23.95 ล้านบาท (พ.ศ. 2556: จ�ำนวน 39.39 ล้านบาท)

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


ข้อมูลกระแสเงินสดส�ำหรับการด�ำเนินงานที่ยกเลิก งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน กระแสเงินสดสุทธิ

18,879 201,798 (187,001) 33,676

19,059 (37) 187,001 206,023

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

18,879 201,798 (187,001) 33,676

19,059 (37) 187,001 206,023

ก�ำไรที่เกิดจากธุรกิจข้างต้นได้รับยกเว้นภาษีตามสิทธิประโยชน์ที่ได้รับเนื่องจากการส่งเสริมการลงทุน (หมายเหตุข้อ 40) ดังนั้น จึงไม่มีค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่ต้องรับรู้ 15

เงินลงทุนในบริษัทย่อยและส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า

15.1 เงินลงทุนในบริษัทย่อย งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

เงินลงทุนในบริษัทย่อย ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ การซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย การเพิ่มทุนในบริษัทย่อย การจ�ำหน่ายเงินลงทุนในบริษัทย่อย รับช�ำระเงินคืนทุนจากบริษัทย่อย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

48,469 1,000 60,000 (60,000) (28,469) 21,000

20,000 28,469 48,469

รายละเอียดเกี่ยวกับบริษัทย่อยมีดังต่อไปนี้ สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ ประเทศที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม จดทะเบียน พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556

บริษัทย่อยทางตรง บริษัท สยามวาสโก จ�ำกัด

ไทย

บริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด ไทย PT. Scan-Inter Indonesia อินโดนีเซีย

99.99

99.99

99.98 97.00

97.00

ประเภทธุรกิจ

ธุรกิจค้าปลีกคาร์บอนไดออกไซด์เหลว, น�้ำมันเครื่อง, น�้ำมันหล่อลื่น ธุรกิจส่งออกแบตเตอรี่และกระจก ปิดกิจการ

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

107


รายละเอียดเงินลงทุนในบริษัทย่อยมีดังต่อไปนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

บริษัท สยามวาสโก จ�ำกัด บริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด PT. Scan-Inter Indonesia

งบการเงินเฉพาะบริษัท ทุนช�ำระแล้ว วิธีราคาทุน พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท

20,000 1,000 21,000

20,000 28,469 48,469

20,000 1,000 21,000

20,000 28,469 48,469

ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2557 ที่ประชุมมีมติอนุมัติการปรับโครงสร้าง บริษัทโดยการโอนหน่วยธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ โดยให้จัดตั้งบริษัท สแกน อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด เพื่อรองรับการโอนธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โดยเฉพาะ ด้วยทุนจดทะเบียน เบื้องต้น 10,000 บาท โดยบริษัทเข้าถือหุ้นร้อยละ 99.70 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทย่อย บริษัทช�ำระค่าหุ้น ดังกล่าวในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2557 การโอนธุรกิจดังกล่าวรวมถึงการโอนภาระหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจผลิต และจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ไปยังบริษัท สแกน อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด ซึ่งบริษัท ได้โอนธุรกิจให้แก่บริษัทย่อยเสร็จสิ้นในระหว่างงวด ตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการและทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั สแกน อินเตอร์ ฟาร์อสี ท์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด (“บริษัทย่อย”) เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ตามล�ำดับ ที่ประชุมมี มติอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทย่อยจากทุนจดทะเบียนเดิมจ�ำนวน 10,000 บาท เป็นทุนจดทะเบียน จ�ำนวน 60,000,000 บาท เพื่อวัตถุประสงค์ ในการขยายกิจการและเป็นเงินทุนหมุนเวียนภายในบริษัทย่อย โดยบริษัทย่อยได้ด�ำเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนเสร็จสิ้นแล้วเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 โดยทุนที่ออกและ เรียกช�ำระแล้วจ�ำนวน 6,000,000 หุ้น มูลค่า 60,000,000 บาท บริษัทช�ำระค่าหุ้นเพิ่มเติมในบริษัทย่อยดังกล่าว เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เป็นจ�ำนวน 59,990,000 บาท เมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557 บริษัทได้จ�ำหน่ายหุ้นสามัญร้อยละ 99.99 ของบริษัท สแกน อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด ให้กับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแห่งหนึ่ง ซึ่งบริษัท ดังกล่าวไม่เป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท บริษัทมีก�ำไรจากการขายบริษัทย่อยดังกล่าวจ�ำนวน 198.08 ล้านบาท ผลกระทบจากการจ�ำหน่ายธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แสดงไว้ในหมายเหตุข้อ 4.6 และ ข้อ 14 ตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นบริษัท PT. Scan-Inter Indonesia เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ที่ประชุมมีมติอนุมัติ การปิดบริษัทย่อย PT Scan-Inter Indonesia โดยบริษัทได้รับคืนเงินลงทุนจากบริษัทย่อยจ�ำนวน 30.79 ล้านบาท เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยเป็นการจ่ายให้แก่ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมจ�ำนวน 0.88 ล้านบาท ในขณะนี้บริษัทอยู่ในระหว่างการด�ำเนินการปิดกิจการ

108

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


15.2 การซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อยที่อยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกัน เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทได้ซื้อเงินลงทุนใน บริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทที่ด�ำเนิน ธุรกิจหลักเกี่ยวกับการส่งออกผลิตภัณฑ์แบตเตอรี่และกระจก และเป็นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับ กลุม่ บริษทั ในสัดส่วนร้อยละ 99.98 จากบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกันทีร่ าคาประมาณ 1 ล้านบาท รายละเอียดของสิง่ ตอบแทน ที่จ่ายในการซื้อธุรกิจและราคาตามบัญชีสุทธิของสินทรัพย์สุทธิที่ได้รับมา ณ วันที่ซื้อ มีรายละเอียดดังนี้ พันบาท

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ สินทรัพย์อื่นหักด้วยหนี้สินอื่น สินทรัพย์สุทธิที่ได้รับมา - มูลค่าคงเหลือตามบัญชีสุทธิ หัก สิ่งตอบแทนที่ใช้ในการซื้อ สินทรัพย์สุทธิที่ได้รับมาสูงกว่าสิ่งตอบแทนที่ใช้ในการซื้อ (หมายเหตุข้อ 28)

12,090 4,149 3,115 (10,890) (5,714) (2,075) 361 1,036 (1,000) 36

กลุ่มบริษัทได้แสดงสินทรัพย์สุทธิที่ได้รับที่สูงกว่าสิ่งตอบแทนที่ใช้ในการซื้อธุรกิจข้างต้นเป็นส่วนต่างจากการซื้อ ธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันภายใต้สว่ นของผูถ้ อื หุน้ ในข้อมูลทางการเงินรวมระหว่างกาล เนือ่ งจากการซือ้ ธุรกิจ ดังกล่าวเป็นการซือ้ ธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน นอกจากนี้ กลุม่ บริษทั ได้รวมผลประกอบการส�ำหรับรอบระยะ เวลาบัญชีตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2557 ในงบก�ำไรขาดทุนรวมและงบก�ำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม กลุ่มบริษัทแสดงผลประกอบการของบริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด ในช่วงเวลาที่กลุ่มบริษัทมิได้ ถือหุ้นในบริษัทย่อยเป็นส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมตามประกาศของสภาวิชาชีพบัญชี 15.3 เงินลงทุนในกิจการร่วมค้า

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

เงินลงทุนในกิจการร่วมค้า ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ การลงทุนเพิ่มขึ้น ส่วนแบ่งขาดทุนจากกิจการร่วมค้า ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

2,297 (26) 2,271

2,500 (203) 2,297

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

2,500 2,500

2,500 2,500

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

109


รายละเอียดเกี่ยวกับกิจการร่วมค้ามีดังต่อไปนี้ สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ ประเทศที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม จดทะเบียน พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556

กิจการร่วมค้าทางตรง บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด

ไทย

50.00

50.00

ประเภทธุรกิจ

ธุรกิจจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม (ยังไม่ด�ำเนินกิจการ)

รายละเอียดเงินลงทุนในกิจการร่วมค้ามีดังต่อไปนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท ทุนช�ำระแล้ว (ตามสัดส่วน) วิธีส่วนได้เสีย วิธีราคาทุน พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท

บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด

2,500

2,500

2,271

2,297

2,500

2,500

ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2556 บริษัทได้ท�ำสัญญาร่วมทุนกับ บริษัท ซัสโก้ จ�ำกัด (มหาชน) โดยมีจุดประสงค์เพื่อ ร่วมกันจัดตัง้ บริษทั ร่วมทุนเพือ่ ประกอบกิจการสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ NGV ในประเทศไทยหรือกิจการในลักษณะ อื่นที่เกี่ยวข้องภายใต้สัญญาการจัดตั้งบริษัทร่วมทุน บริษัทร่วมทุนดังกล่าวมีทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 20 ล้านบาท โดยทัง้ สองฝ่ายถือหุน้ ในสัดส่วนเท่ากันทีร่ อ้ ยละ 50 เมือ่ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2556 บริษทั ได้ชำ� ระเงินค่าหุน้ จ�ำนวน ร้อยละ 25 ให้แก่บริษัทร่วมทุนดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเงิน 2.50 ล้านบาท ข้อมูลทางการเงินที่ส�ำคัญของบริษัท เอส เอ็นจีวี ตามสัดส่วนการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม และ ผลประกอบการส�ำหรับงวดสิ้นสุดวันเดียวกัน มีดังต่อไปนี้ พ.ศ. 2557 พันบาท

สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม รายได้รวม ขาดทุนสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด ยังไม่ได้เริ่มด�ำเนินธุรกิจ

110

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

4,559 (35) 18 (53)


16

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุทธิ

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาตามบัญชีต้นงวด - สุทธิ หัก ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นงวด - สุทธิ โอนสินทรัพย์เข้า หัก ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

ที่ดิน พันบาท

งบการเงินรวม อาคาร พันบาท

รวม พันบาท

11,797 11,797

29,147 (1,709) 27,438

40,944 (1,709) 39,235

11,797 11,797

27,438 (1,457) 25,981

39,235 (1,457) 37,778

11,797 11,797

29,147 (3,166) 25,981

40,944 (3,166) 37,778

11,797 4,001 15,798

25,981 (1,458) 24,523

37,778 4,001 (1,458) 40,321

15,798 15,798

29,147 (4,624) 24,523

44,945 (4,624) 40,321

งบการเงินเฉพาะบริษัท ที่ดิน อาคาร พันบาท พันบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาตามบัญชีต้นงวด - สุทธิ หัก ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

รวม พันบาท

1,500 1,500

29,147 (1,709) 27,438

30,647 (1,709) 28,938

1,500 1,500

27,438 (1,457) 25,981

28,938 (1,457) 27,481

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

111


งบการเงินเฉพาะบริษัท ที่ดิน อาคาร พันบาท พันบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นงวด - สุทธิ โอนสินทรัพย์เข้า หัก ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

รวม พันบาท

1,500 1,500

29,147 (3,166) 25,981

30,647 (3,166) 27,481

1,500 4,001 5,501

25,981 (1,458) 24,523

27,481 4,001 (1,458) 30,024

5,501 5,501

29,147 (4,624) 24,523

34,648 (4,624) 30,024

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บริษัทได้ท�ำการประเมินมูลค่ายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนของกลุ่มบริษัท และบริษัททั้งจ�ำนวน โดยสินทรัพย์เหล่านี้มีมูลค่ายุติธรรมรวมจ�ำนวน 60.93 ล้านบาท และจ�ำนวน 32.50 ล้านบาท ตาม ล�ำดับ (พ.ศ. 2556: จ�ำนวน 58.13 ล้านบาท และจ�ำนวน 29.70 ล้านบาท ตามล�ำดับ) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนของกลุ่มบริษัทได้มีการประเมินมูลค่ายุติธรรมโดยผู้ประเมินอิสระโดยใช้วิธีต้นทุนทดแทน และวิธีเปรียบเทียบราคาตลาดจากราคาล่าสุดของอสังหาริมทรัพย์ที่คล้ายคลึงกันในตลาดที่มีการซื้อขายคล่องรองลงมา โดยการปรับปรุงให้สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงในสภาพเศรษฐกิจ ในท�ำเลที่ตั้งและประเภทของอสังหาริมทรัพย์เพื่อ การลงทุนที่มีการประเมินนั้น อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนจ�ำนวนเงิน 27.48 ล้านบาท (พ.ศ. 2556: จ�ำนวน 27.48 ล้านบาท) ได้น�ำไปวางเป็นหลัก ประกันเงินกู้ยืมจากธนาคาร (หมายเหตุข้อ 23) จ�ำนวนเงินที่เกี่ยวข้องกับอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนที่รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ได้แก่

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

รายได้ค่าเช่า ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานโดยตรงที่ เกิดจากอสังหาริมทรัพย์เพื่อการ ลงทุนซึ่งก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่า สำ�หรับปี

112

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

5,940

6,075

5,940

6,075

(1,458)

(1,457)

(1,458)

(1,457)


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

113

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ โอนสินทรัพย์เข้า (ออก) จ�ำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ (ปรับใหม่) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ (ปรับใหม่)

17

392,410 (80,426) 311,984

318,571 329 13,114 (20,030) 311,984

152,126 465 152,591 152,591 152,591

378,967 (60,396) 318,571

152,126 152,126

ที่ดิน พันบาท

อาคารและ ส่วนปรับปรุง อาคาร พันบาท

271,648 (42,968) 228,680

239,926 6,797 (18,043) 228,680

264,851 (24,925) 239,926

เครื่องจักร พันบาท

108,328 (76,184) 32,144

31,830 13,307 (6) (12,987) 32,144

97,891 (66,061) 31,830

45,026 (26,148) 18,878

(37) (5,784) 18,878

14,916 9,783

35,735 (20,819) 14,916

งบการเงินรวม เครื่องตกแต่ง ติดตั้ง และ เครื่องมือและ อุปกรณ์ อุปกรณ์โรงงาน ส�ำนักงาน พันบาท พันบาท

624,663 (346,535) 278,128

259,268 166,743 (48,646) (99,237) 278,128

528,196 (268,928) 259,268

ยานพาหนะ พันบาท

126,009 126,009

20,223 118,900 (13,114) 126,009

20,223 20,223

สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้าง พันบาท

1,720,675 (572,261) 1,148,414

1,036,860 316,324 (48,689) (156,081) 1,148,414

1,477,989 (441,129) 1,036,860

รวม พันบาท


114

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

222,556 (40,948) 181,608

230,688 230,688

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ 494,497 (96,535) 397,962

(15,205) (187,082) (20,365) (19,616) 397,962 181,608

(4,001) (3,765) 230,688

228,680 16,453 6,472 136,701

311,984 121,548

152,591 85,863 -

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ โอนสินค้าคงเหลือเป็นสินทรัพย์ถาวร โอนสินทรัพย์เข้า (ออก) โอนสินทรัพย์ถาวรเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน และสินค้าคงเหลือ จ�ำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

อาคารและ ส่วนปรับปรุง ที่ดิน อาคาร พันบาท พันบาท

114,011 (82,307) 31,704

(535) (10,604) 31,704

32,144 10,699 -

43,370 (24,511) 18,859

(243) (6,418) 18,859

18,878 6,642 -

งบการเงินรวม เครื่องตกแต่ง ติดตั้ง และ เครื่องมือและ อุปกรณ์ เครื่องจักร อุปกรณ์โรงงาน ส�ำนักงาน พันบาท พันบาท พันบาท

833,358 (434,128) 399,230

(2,597) (111,409) 399,230

174,360 174,360

(16,935) (233) 174,360

278,128 126,009 92,035 466,841 143,073 (401,322)

ยานพาหนะ พันบาท

สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้าง พันบาท

2,112,840 (678,429) 1,434,411

(20,936) (209,660) (168,412) 1,434,411

1,148,414 678,533 6,472 -

รวม พันบาท


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

115

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ โอนสินทรัพย์เข้า (ออก) จ�ำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ (ปรับใหม่) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ (ปรับใหม่) 375,367 (57,516) 317,851 317,851 330 13,113 (19,850) 311,444 388,810 (77,366) 311,444

152,126 152,126 152,126 464 152,590 152,590 152,590

อาคารและ ส่วนปรับปรุง ที่ดิน อาคาร พันบาท พันบาท

271,648 (42,968) 228,680

239,926 6,797 (18,043) 228,680

264,851 (24,925) 239,926

105,573 (74,453) 31,120

30,256 13,307 (6) (12,437) 31,120

95,137 (64,881) 30,256

41,387 (22,701) 18,686

14,485 9,608 (29) (5,378) 18,686

32,253 (17,768) 14,485

งบการเงินเฉพาะบริษัท เครื่องตกแต่ง เครื่องมือและ ติดตั้ง และ เครื่องจักร อุปกรณ์โรงงาน อุปกรณ์ส�ำนักงาน พันบาท พันบาท พันบาท

617,329 (343,219) 274,110

259,854 162,162 (48,614) (99,292) 274,110

525,401 (265,547) 259,854

ยานพาหนะ พันบาท

126,009 126,009

20,223 118,899 (13,113) 126,009

20,223 20,223

สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้าง พันบาท

1,703,346 (560,707) 1,142,639

1,034,721 311,567 (48,649) (155,000) 1,142,639

1,465,358 (430,637) 1,034,721

รวม พันบาท


116

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

494,497 (96,535) 397,962

231,582 231,582

222,556 (40,948) 181,608

(14,784) (187,082) (20,246) (19,616) 397,962 181,608

(4,001) (3,765) 231,582

228,680 16,453 6,472 136,701

311,444 121,548

152,590 86,758 -

111,256 (80,025) 31,231

(535) (10,053) 31,231

31,120 10,699 -

41,159 (22,538) 18,621

(215) (6,266) 18,621

18,686 6,416 -

827,704 (431,178) 396,526

(2,597) (110,214) 396,526

174,360 174,360

(16,935) (233) 174,360

274,110 126,009 92,154 466,841 143,073 (401,322)

ยานพาหนะ พันบาท

สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้าง พันบาท

2,103,114 (671,224) 1,431,890

(20,936) (209,211) (166,395) 1,431,890

1,142,639 679,321 6,472 -

รวม พันบาท

การซื้อสินทรัพย์รวมถึงการได้มาซึ่งสินทรัพย์จากสัญญาเช่าการเงิน (โดยที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่า) จ�ำนวน 234.31 ล้านบาท (พ.ศ. 2556: 80.74 ล้านบาท)

1ค่าเสื่อมราคาจ�ำนวน 168.41 ล้านบาท (พ.ศ. 2556: จ�ำนวน 173.99 ล้านบาท) ถูกบันทึกอยู่ในต้นทุนขายเป็นจ�ำนวน 148.74 ล้านบาท (พ.ศ. 2556: 156.68 ล้านบาท) ค่าใช้ จ่ายในการบริหารเป็นจ�ำนวน 18.62 ล้านบาท (พ.ศ. 2556: 17.31 ล้านบาท) และบันทึกเป็นสินทรัพย์ไม่มีตัวตนระหว่างการพัฒนาจ�ำนวน 1.05 ล้านบาท (พ.ศ. 2556: ไม่มี)

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ โอนสินค้าคงเหลือเป็นสินทรัพย์ถาวร โอนสินทรัพย์เข้า (ออก) โอนสินทรัพย์ถาวรเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการ ลงทุนและสินค้าคงเหลือ จ�ำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

ที่ดิน พันบาท

อาคารและ ส่วนปรับปรุง อาคาร พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท เครื่องตกแต่ง เครื่องมือและ ติดตั้ง และ เครื่องจักร อุปกรณ์โรงงาน อุปกรณ์ส�ำนักงาน พันบาท พันบาท พันบาท


สินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงินที่กลุ่มบริษัทและบริษัทเป็นผู้เช่าซึ่งรวมแสดงในรายการข้างต้นประกอบด้วยเครื่องจักร อุปกรณ์ และยานพาหนะ มีรายละเอียดดังนี้

เครื่องจักร พันบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุนของสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุนของสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

รวม พันบาท

20,368 (4,327) 16,041

10,665 (4,160) 6,505

142,293 (43,678) 98,615

173,326 (52,165) 121,161

17,210 (3,355) 13,855

3,855 (1,694) 2,161

346,769 (39,856) 306,913

367,834 (44,905) 322,929

งบการเงินเฉพาะบริษัท เครื่องมือและ อุปกรณ์โรงงาน ยานพาหนะ พันบาท พันบาท

รวม พันบาท

เครื่องจักร พันบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุนของสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุนของสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

งบการเงินรวม เครื่องมือและ อุปกรณ์โรงงาน ยานพาหนะ พันบาท พันบาท

20,368 (4,327) 16,041

10,665 (4,160) 6,505

138,638 (43,263) 95,375

169,671 (51,750) 117,921

17,210 (3,355) 13,855

3,855 (1,694) 2,161

343,114 (38,710) 304,404

364,179 (43,759) 320,420

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทได้น�ำที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง และเครื่องจักร ซึ่งมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิจ�ำนวน 364.94 ล้านบาท (พ.ศ. 2556: 412.18 ล้านบาท) ไปวางเป็นหลักประกันวงเงินสินเชื่อ วงเงินเบิกเกินบัญชี และวงเงินกู้ ยืมของกลุ่มบริษัทกับธนาคารพาณิชย์ภายในประเทศ (หมายเหตุข้อ 21 และข้อ 23) ต้นทุนการกู้ยืมจ�ำนวน 9.42 ล้านบาท (พ.ศ. 2556: 5.48 ล้านบาท) เกิดจากเงินกู้ยืมที่ยืมมาเพื่อสร้างอาคารและโรงงาน และได้บันทึกเป็นต้นทุนของสินทรัพย์โดยรวมอยู่ในรายการซื้อสินทรัพย์ของรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทใช้อัตราการตั้งขึ้นเป็นทุนร้อยละ 4.86 (พ.ศ. 2556: ร้อยละ 5.15) ในการค�ำนวณต้นทุนที่รวมเป็น ราคาทุนของสินทรัพย์ อัตราการตั้งขึ้นเป็นทุนดังกล่าวเป็นอัตราต้นทุนการกู้ยืมที่เกิดขึ้นจริงจากเงินกู้ยืมที่น�ำมาใช้เป็น เงินลงทุนในการก่อสร้าง

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

117


18

สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน - สุทธิ

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาตามบัญชีต้นปีสุทธิ ซื้อเพิ่มระหว่างปี โอนทรัพย์สิน จ�ำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าตัดจ�ำหน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปีสุทธิ ซื้อเพิ่มระหว่างปี ค่าตัดจ�ำหน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

118

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ พันบาท

งบการเงินรวม สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ระหว่างการพัฒนา พันบาท

รวม พันบาท

4,043 (1,025) 3,018

2,448 2,448

6,491 (1,025) 5,466

3,018 3,885 2,448 (9) (987) 8,355

2,448 4,515 (2,448) 4,515

5,466 8,400 (9) (987) 12,870

10,366 (2,011) 8,355

4,515 4,515

14,881 (2,011) 12,870

8,355 1,249 (1,154) 8,450

4,515 1,993 6,508

12,870 3,242 (1,154) 14,958

11,610 (3,160) 8,450

6,508 6,508

18,118 (3,160) 14,958


งบการเงินเฉพาะบริษัท สินทรัพย์ไม่มีตัวตน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระหว่างการพัฒนา พันบาท พันบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาตามบัญชีต้นปีสุทธิ ซื้อเพิ่มระหว่างปี โอนทรัพย์สิน ค่าตัดจ�ำหน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปีสุทธิ ซื้อเพิ่มระหว่างปี ค่าตัดจ�ำหน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

รวม พันบาท

3,653 (892) 2,761

2,448 2,448

6,101 (892) 5,209

2,761 3,846 2,448 (946) 8,109

2,448 4,515 (2,448) 4,515

5,209 8,361 (946) 12,624

9,947 (1,838) 8,109

4,515 4,515

14,462 (1,838) 12,624

8,109 1,249 (1,113) 8,245

4,515 1,993 6,508

12,624 3,242 (1,113) 14,753

11,197 (2,952) 8,245

6,508 6,508

17,705 (2,952) 14,753

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

119


19

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะ ใช้ประโยชน์ภายใน 12 เดือน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะ ใช้ประโยชน์เกินกว่า 12 เดือน

13,054

24,870

12,079

22,971

6,228 19,282

3,055 27,925

5,766 17,845

2,450 25,421

หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะใช้ ประโยชน์ภายใน 12 เดือน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะใช้ ประโยชน์เกินกว่า 12 เดือน

724

404

724

404

25,317 26,041 (6,759) 1,131 (7,890) (6,759)

21,951 22,355 5,570 5,570 5,570

25,011 25,735 (7,890) (7,890) (7,890)

21,645 22,049 3,372 3,372 3,372

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุทธิ รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดังนี้

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิม่ (ลด)ในก�ำไรหรือขาดทุน (หมายเหตุขอ้ 36) เพิ่ม(ลด)บันทึกโดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้น (หมายเหตุข้อ 36) ณ วันที่ 31 ธันวาคม

120

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

5,570 (12,389)

(11,335) 17,087

3,372 (11,322)

(9,800) 13,048

60 (6,759)

(182) 5,570

60 (7,890)

124 3,372


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

121

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อจากการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ ประมาณการหนี้สินส�ำหรับการรับประกัน หนี้สินสัญญาเช่าทางการเงิน - สุทธิ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ก�ำไร(ขาดทุน)ตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยของผลประโยชน์พนักงาน ผลต่างจากการรับรู้รายได้ทางบัญชีและภาษี จากการขายและซื้อกลับคืน ผลต่างจากการรับรู้รายได้ทางบัญชีและภาษี ขาดทุนสะสมทางภาษี สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (1,373) 4,684 426 (527) 834 4,534 4,448 13,026

2,336 7,995 1,820 527 2,097 14,775

ณ วันที่ 1 มกราคม พ. ศ. 2556 พันบาท

124

124

-

4,534 4,448 27,925

124

963 12,679 2,246 2,931

งบการเงินรวม บันทึกเป็นรายจ่าย/รายได้ใน ณ วันที่ ก�ำไรขาดทุน 31 ธันวาคม ก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พ. ศ. 2556 พันบาท พันบาท พันบาท

รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดังนี้

3,115 1,095 (4,448) (8,703)

-

(901) (7,508) (144) 91 (3)

60

60

-

บันทึกเป็นรายจ่าย/รายได้ใน ก�ำไรขาดทุน ก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พันบาท พันบาท

3,115 5,629 19,282

184

62 5,171 2,102 91 2,928

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ. ศ. 2557 พันบาท


122

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินสัญญาเช่าทางการเงิน - สุทธิ ผลต่างจากการรับรู้รายได้ทางบัญชีและภาษี ผลต่างจากการรับรู้รายได้ทางบัญชีและภาษี ส�ำหรับรายได้ตามสัญญาเช่าการเงิน ก�ำไร(ขาดทุน)ตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยของผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สุทธิ - สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (1,155) 5,216 4,061 17,087 -

(5,216) (20,894) (26,110) (11,335)

ณ วันที่ 1 มกราคม พ. ศ. 2556 พันบาท

(182)

(306) (306)

-

-

5,570 -

(306) (22,355)

(20,894)

(1,155) -

งบการเงินรวม บันทึกเป็นรายจ่าย/รายได้ใน ณ วันที่ ก�ำไรขาดทุน 31 ธันวาคม ก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พ. ศ. 2556 พันบาท พันบาท พันบาท

(12,389)

(3,686)

(333)

(3,353) -

60 -

60

-

-

บันทึกเป็นรายจ่าย/รายได้ใน ก�ำไรขาดทุน ก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พันบาท พันบาท

(6,759)

(306) (26,041)

(21,227)

(4,508) -

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ. ศ. 2557 พันบาท


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

123

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อจากการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ ประมาณการหนี้สินส�ำหรับการรับประกัน หนี้สินสัญญาเช่าทางการเงิน - สุทธิ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ก�ำไร(ขาดทุน)ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยของ ผลประโยชน์พนักงาน ผลต่างจากการรับรู้รายได้ทางบัญชีและภาษี จากการขายและซื้อกลับคืน ผลต่างจากการรับรู้รายได้ทางบัญชีและภาษี ขาดทุนสะสมทางภาษี สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 25 4,892 426 (527) 767 4,172 4,448 14,203

102 6,725 1,820 527 1,558 362 11,094

ณ วันที่ 1 มกราคม พ. ศ. 2556 พันบาท

124

-

124

-

4,534 4,448 25,421

124

127 11,617 2,246 2,325

3,115 1,095 (4,448) (7,636)

-

(65) (7,331) (144) 142

60

60

-

งบการเงินเฉพาะบริษัท บันทึกเป็นรายจ่าย/รายได้ใน ณ วันที่ บันทึกเป็นรายจ่าย/รายได้ใน ก�ำไรขาดทุน 31 ธันวาคม ก�ำไรขาดทุน ก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พ. ศ. 2556 ก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท

3,115 5,629 17,845

184

62 4,286 2,102 2,467

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ. ศ. 2557 พันบาท


124

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

20

เงินมัดจ�ำอื่นๆ เงินค�้ำประกันอื่นๆ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินสัญญาเช่าทางการเงิน - สุทธิ ผลต่างจากการรับรู้รายได้ทางบัญชีและภาษี ส�ำหรับรายได้ตามสัญญาเช่าการเงิน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สุทธิ - สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (1,155) 13,048 -

(20,894) (20,894) 9,800

11,595 4,884 16,479

12,518 5,171 17,689

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

(1,155)

-

ณ วันที่ 1 มกราคม พ. ศ. 2556 พันบาท

3,372 -

(20,894) (22,049)

(1,155)

(11,322)

(333) (3,686)

(3,353)

11,595 4,882 16,477

12,518 5,169 17,687

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

124 -

-

-

60 -

-

-

งบการเงินเฉพาะบริษัท บันทึกเป็นรายจ่าย/รายได้ใน ณ วันที่ บันทึกเป็นรายจ่าย/รายได้ใน ก�ำไรขาดทุน 31 ธันวาคม ก�ำไรขาดทุน ก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พ. ศ. 2556 ก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท

(7,890)

(21,227) (25,735)

(4,508)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ. ศ. 2557 พันบาท


21

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร ตั๋วสัญญาใช้เงิน เลตเตอร์ออฟเครดิต สินเชื่อเพื่อผู้แทนจ�ำหน่ายรถยนต์ รวมเงินเบิกเกินบัญชี และเงินกู้ยืมระยะ สั้นจากสถาบันการเงิน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

308,890 131,028 98,304

1,120 592,580 233,276 131,960

303,000 131,028 98,304

1,120 587,679 233,276 131,960

538,222

958,936

532,332

954,035

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินมีอัตราดอกเบี้ยอยู่ระหว่าง ร้อยละอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำบวก 2% ต่อปี ถึง MOR - 1.75% เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้นค�้ำ ประกันโดยกรรมการของกลุ่มบริษัท เงินฝากสถาบันการเงิน และที่ดินของบริษัท โดยบริษัทจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไข ที่ระบุไว้ในสัญญาวงเงินสินเชื่อ รวมทั้งรักษาระดับอัตราส่วนทางการเงินบางประการ มูลค่ายุติธรรมของเงินกู้ยืมระยะสั้นที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่มีมูลค่าใกล้เคียงกับราคาตามบัญชี เนื่องจากมีระยะเวลาที่ ครบก�ำหนดภายในหนึ่งปี 22

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนีก้ ารค้ากิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน (หมายเหตุขอ้ 38) รายได้รับล่วงหน้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ประมาณการค่าเสียหายจากการฟ้องร้อง เงินมัดจ�ำค่าสินค้า เจ้าหนี้อื่น รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

82,823 192,222 37,810 4,300 3,170 6,174 326,499

125,644 30 322,054 27,771 4,565 3,087 483,151

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

70,529 7,573 192,222 36,745 4,300 3,170 5,992 320,531

106,648 12,529 322,048 26,164 4,565 3,334 475,288

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

125


23

เงินกู้ยืม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ส่วนของเงินกู้ยืมที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภายในหนึ่งปี - สุทธิ เงินกู้ยืมระยะยาว หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิ เงินกู้ยืมระยะยาว หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวมเงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

182,133 62,369 244,502

155,313 36,711 192,024

182,133 61,863 243,996

155,313 36,066 191,379

340,269 229,990 570,259 814,761

472,564 68,828 541,392 733,416

340,269 228,581 568,850 812,846

472,564 67,092 539,656 731,035

เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารมีการเคลื่อนไหวในระหว่างปี ดังต่อไปนี้

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

ยอดคงเหลือตามบัญชีต้นปี กู้ยืมเพิ่ม จ่ายคืนเงินกู้ยืม ยอดคงเหลือตามบัญชีปลายปี

627,877 209,360 (314,835) 522,402

627,877 209,360 (314,835) 522,402

479,674 278,453 (130,250) 627,877

479,674 278,453 (130,250) 627,877

เงินกูย้ มื ทีม่ หี ลักประกัน (หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าระยะยาวและเงินกูย้ มื จากธนาคาร) มีจำ� นวนทัง้ สิน้ 522.40 บาท (พ.ศ. 2556: จ�ำนวน 627.88 บาท) การกู้ยืมจากธนาคารใช้หลักประกันเป็นที่ดิน อาคาร และเครื่องจักรของกลุ่มบริษัท (หมายเหตุข้อ 16 และ หมายเหตุข้อ 17) หลักประกันของหนี้สินตามสัญญาเช่าระยะยาวคือการที่บริษัทจะต้องมอบสิทธิในทรัพย์สิน ที่เช่าแก่ผู้ให้เช่าในกรณีที่กลุ่มบริษัทผิดสัญญา สัญญาเงินกู้บางสัญญาดังกล่าวข้างต้นก�ำหนดว่ากลุ่มบริษัทและบริษัทต้องไม่น�ำทรัพย์สินที่ติดภาระค�้ำประกันไปก่อ ภาระผูกพัน หรือยินยอมให้มีการก่อภาระผูกพันอื่นอีก เว้นแต่จะได้รับค�ำยินยอมจากผู้ให้กู้อย่างเป็นทางการ อีกทั้งกลุ่ม บริษัทและบริษัทจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญาเงินกู้ และต้องรักษาระดับอัตราส่วนทางการเงินตามที่ระบุ ไว้ในสัญญา

126

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารของกลุ่มบริษัทและบริษัทมีดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคาร อัตราดอกเบี้ยลอยตัว รวมเงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคาร

522,402 522,402

627,877 627,877

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

522,402 522,402

627,877 627,877

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 อัตราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริงถัวเฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนักของเงินกูย้ มื ระยะยาวของกลุม่ บริษทั และบริษทั คือ ร้อยละ 5.38 ถึง ร้อยละ 8.48 ต่อปี (พ.ศ. 2556: ร้อยละ 5.50 ถึง ร้อยละ 7.00 ต่อปี) มูลค่ายุติธรรมของเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินมีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ดังนั้น มูลค่ายุติธรรมจึงใกล้เคียงกับราคา ตามบัญชี ระยะเวลาครบก�ำหนดของเงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคาร มีดังต่อไปนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ครบก�ำหนดภายในไม่เกิน 1 ปี ครบก�ำหนดเกิน 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี ครบก�ำหนดหลังจาก 5 ปี

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

182,133 340,269 522,402

155,313 420,932 51,632 627,877

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

182,133 340,269 522,402

155,313 420,932 51,632 627,877

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน บริษัทมีหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินเป็นสัญญาเช่าเครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์โรงงาน และยานพาหนะจากสถาบัน การเงิน โดยมีรายละเอียดดังนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ครบก�ำหนดภายใน 1 ปี ครบก�ำหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี หัก ดอกเบี้ยจ่ายรอตัดบัญชี มูลค่าปัจจุบันของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

76,141 256,104 332,245 (39,886) 292,359

41,358 73,932 115,290 (9,751) 105,539

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

75,496 254,545 330,041 (39,597) 290,444

40,713 71,727 112,440 (9,282) 103,158

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

127


ระยะเวลาการครบก�ำหนดช�ำระของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินมีดังนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ครบก�ำหนดภายในไม่เกิน 1 ปี ครบก�ำหนดเกิน 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

62,369 229,990 292,359

36,711 68,828 105,539

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

61,863 228,581 290,444

36,066 67,092 103,158

มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินมีมูลค่าใกล้เคียงกับราคาตามบัญชี วงเงินกู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทมีวงเงินสินเชื่อประเภทวงเงินเลตเตอร์ออฟเครดิต ทรัสต์รีซีท วงเงินหนังสือ ค�้ำประกัน และวงเงินกู้ยืม กับธนาคารพาณิชย์หลายแห่งที่ยังไม่ได้ใช้เป็นจ�ำนวนรวม 2,493.83 ล้านบาท (พ.ศ. 2556: 1,484 ล้านบาท) 24

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

เจ้าหนี้กรมสรรพากร ภาษีหัก ณ ที่จ่ายค้างจ่าย รวมหนี้สินหมุนเวียนอื่น 25

82 961 1,043

3,050 776 3,826

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

62 922 984

2,648 738 3,386

ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

หนี้สินที่รับรู้ในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงานเมื่อเกษียณอายุ รายการที่รับรู้ในงบก�ำไรขาดทุน ผลประโยชน์บ�ำเหน็จบ�ำนาญ ก�ำไร(ขาดทุน)จากการประมาณการตาม หลักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู้ใน ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก�ำไร(ขาดทุน)สะสมจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู้ใน ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

128

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

15,252

13,996

12,946

12,497

2,714

4,275

1,907

3,937

302

(907)

302

623

(605)

(907)

925

623


การเคลื่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานมีดังต่อไปนี้

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

ยอดยกมาต้นปี ต้นทุนบริการปัจจุบัน ต้นทุนบริการในอดีต ต้นทุนดอกเบี้ย ก�ำไร/(ขาดทุน)จากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย จ่ายผลประโยชน์ระหว่างปี ยอดคงเหลือสิ้นปี

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

13,996 2,239 475

10,628 1,898 2,005 372

12,497 1,481 426

7,937 1,666 1,993 278

302 (1,760) 15,252

(907) 13,996

302 (1,760) 12,946

623 12,497

ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่รับรู้ในงบก�ำไรขาดทุนมีดังต่อไปนี้

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

ต้นทุนบริการปัจจุบัน ต้นทุนบริการในอดีต ต้นทุนดอกเบี้ย ยอดคงเหลือสิ้นปี

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

2,239 475 2,714

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

1,898 2,005 372 4,275

1,481 426 1,907

1,666 1,993 278 3,937

ค่าใช้จ่ายจ�ำนวน 1.10 ล้านบาท และ 1.61 ล้านบาท (พ.ศ. 2556: 3.41 ล้านบาท และ 0.87 ล้านบาท) และจ�ำนวน 1.10 ล้านบาท และ 0.81 ล้านบาท (พ.ศ. 2556: 3.41 ล้านบาท และ 0.53 ล้านบาท) ได้รวมอยู่ใน ‘ต้นทุนขาย’ และ ‘ค่าใช้จ่าย ในการขาย และบริหาร’ ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทตามล�ำดับ ต้นทุนบริการในอดีตเกิดจากการเปลี่ยนแปลงโครงการผลประโยชน์ ซึ่งพนักงานยังไม่ได้รับสิทธิขาดในผลประโยชน์นั้น ตามนโยบายบัญชีของบริษัท ต้นทุนบริการในอดีตดังกล่าวจะต้องรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุงานคงเหลือ เฉลี่ยจนถึงวันเกษียณอายุ อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริษัทและบริษัทรับรู้ต้นทุนบริการในอดีตเป็นค่าใช้จ่ายทั้งจ�ำนวนทันทีใน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท เนื่องจากต้นทุนบริการในอดีตทั้งจ�ำนวนไม่มีสาระส�ำคัญต่องบการเงิน ข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ส�ำคัญมีดังต่อไปนี้

อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือนที่คาดไว้ อัตราการตาย

พ.ศ. 2557 ร้อยละ

พ.ศ. 2556 ร้อยละ

3.00 3.00 ตารางมรณะไทย พ.ศ. 2551

3.43 3.00 ตารางมรณะไทย พ.ศ. 2551

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

129


26

ทุนเรือนหุ้นและส่วนเกินมูลค่าหุ้น

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 การออกหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 การลดมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ การออกหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

จ�ำนวนหุ้นที่ และช�ำระแล้ว พันหุ้น

4,500 4,500 895,500 900,000

หุ้นสามัญ พันบาท

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น พันบาท

รวม พันบาท

450,000 450,000 450,000

36,000 36,000 36,000

486,000 486,000 486,000

ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2557 ที่ประชุมมีมติอนุมัติการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ ของบริษัท โดยลดมูลค่าหุ้นที่ตราไว้จากเดิมหุ้นละ 100 บาท เป็นมูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ซึ่งจะท�ำให้จ�ำนวน หุ้นสามัญของบริษัทเพิ่มจากเดิม 4,500,000 หุ้น เป็น 900,000,000 หุ้น พร้อมกันนี้ ที่ประชุมได้มีมติอนุมัติการเพิ่มทุน จดทะเบียนของบริษัทจ�ำนวน 150,000,000 บาท จากทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 450,000,000 บาท เป็น 600,000,000 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน 300,000,000 หุ้น จากจ�ำนวนหุ้นเดิม 900,000,000 หุ้น เป็น 1,200,000,000 หุ้น โดยมีมูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยบริษัทได้จดทะเบียนลดมูลค่าหุ้นและการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทกับ กระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 หุ้นสามัญจดทะเบียนทั้งหมดซึ่งมีราคามูลค่าหุ้นละ 0.50 บาท (พ.ศ. 2556: 100 บาท) มีจ�ำนวน 1,200,000,000 หุ้น (พ.ศ. 2556: 4,500,000 หุ้น) จ�ำนวนหุ้นที่ออกและเรียกช�ำระเต็มมูลค่าแล้วมีจ�ำนวน 900,000,000 หุ้น 27

เงินปันผลจ่าย

ส่วนของบริษัท บริษัทไม่มีการจ่ายปันผลในระหว่างปี พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 ส่วนของบริษัทย่อย เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2557 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด ได้อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลจาก ก�ำไรสะสมในอัตราหุ้นละ 949.82 บาท ส�ำหรับหุ้นจ�ำนวน 10,000 หุ้น เป็นจ�ำนวนเงินรวม 9.50 ล้านบาท โดยบริษัทย่อย ดังกล่าวได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวก่อนการซื้อกิจการโดยกลุ่มบริษัทในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2557 ดังนั้นกลุ่มบริษัท จึงแสดงเงินปันผลส่วนนี้ในส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม

130

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


28

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น งบการเงินรวม ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส�ำรองส�ำหรับ ผลต่างจาก การจ่ายโดยใช้หุ้น รวมก�ำไร การแปลงค่า เป็นเกณฑ์ ขาดทุน งบการเงิน (หมายเหตุข้อ 29) เบ็ดเสร็จอื่น พันบาท พันบาท พันบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ตามที่รายงานไว้เดิม ผลกระทบจากการปรับปรุงย้อนหลัง (หมายเหตุข้อ 4.6) ตามที่ปรับปรุงใหม่ ค่าใช้จ่ายพนักงานโดยการให้ หุ้นสามัญแก่พนักงาน ก�ำไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ตามที่รายงานไว้เดิม ผลกระทบจากการปรับปรุงย้อนหลัง (หมายเหตุข้อ 4.6) ตามที่ปรับปรุงใหม่ ค่าใช้จ่ายพนักงานโดยการให้ หุ้นสามัญแก่พนักงาน (หมายเหตุข้อ 30) การซื้อบริษัทย่อยที่อยู่ภายใต้ การควบคุมเดียวกัน (หมายเหตุข้อ 15.2) ก�ำไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 29

ส่วนได้เสีย ภายใต้การ ควบคุม เดียวกัน พันบาท

รวมองค์ ประกอบอื่น ของส่วนของ ผู้ถือหุ้น พันบาท

-

-

-

26,012

26,012

-

10,746 10,746

10,746 10,746

(4,335) 21,677

6,411 32,423

3,228 3,228

4,668 15,414

4,668 3,228 18,642

21,677

4,668 3,228 40,319

3,228

-

3,228

26,012

29,240

3,228

15,414 15,414

15,414 18,642

(4,335) 21,677

11,079 40,319

-

4,668

4,668

-

4,668

(3,228) -

20,082

(3,228) 20,082

36 21,713

36 (3,228) 41,795

ส�ำรองตามกฎหมาย งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

ณ วันที่ 1 มกราคม จัดสรรระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2557 พันบาท

พ.ศ. 2556 พันบาท

45,000 15,000 60,000

45,000 45,000

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

131


ตามพระราชบัญญัตบิ ริษัทมหาชนจ�ำกัด บริษทั ต้องจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนส�ำรองไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหักด้วยยอดเงินขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าส�ำรองนี้จะมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุน จดทะเบียน ทุนส�ำรองตามกฎหมายนี้ห้ามมิให้น�ำไปจ่ายเป็นเงินปันผล 30

การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์

ผู้ถือหุ้นของบริษัทมีการให้หุ้นของบริษัทที่ตนเองถืออยู่แก่กรรมการ พนักงาน และเจ้าหนี้ของบริษัทจ�ำนวน 13.32 ล้านหุ้นในวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 โดยมีเงื่อนไขว่ากรรมการและพนักงานต้องท�ำงานกับบริษัทต่อไปอีกอย่างน้อย 2 ปีนับจากวันที่คาดว่าหุ้นของบริษัทจะเริ่มซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“ระยะเวลาการห้ามขาย”) และ กรรมการและพนักงานจะไม่สามารถขาย จ่าย โอน แลกเปลี่ยน หรือก่อให้เกิดภาระผูกพันใด ๆ ในหุ้นที่ให้ตลอดระยะเวลา การห้ามขาย บริษัทวัดมูลค่าภาระผูกพันที่เกิดจากการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ณ วันที่ให้สิทธิ โดยใช้วิธีคิดลดกระแส เงินสด โดยพิจารณาแผนธุรกิจของบริษัท สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจ และโอกาสที่กรรมการและพนักงาน จะได้สิทธิประโยชน์ การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ดังกล่าวท�ำให้บริษัทรับรู้ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องในต้นทุนขายและค่าใช้จ่าย ในการบริหารจ�ำนวน 2.47 ล้านบาท และจ�ำนวน 2.20 ล้านบาท ตามล�ำดับ รวมเป็น 4.67 ล้านบาท และบริษัทมีภาระ ผูกพันที่ต้องรับรู้ในอนาคตอีกจ�ำนวน 13.24 ล้านบาท ภายในระยะเวลา 2 ปี 31

32

รายได้

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

รายได้จากการขายและบริการ รายได้ตามสัญญาเช่าการเงิน รายได้ค่าบริการที่เกี่ยวเนื่องกับสัญญาเช่าการเงิน รายได้ตามสัญญาเช่าด�ำเนินงาน รายได้ค่าบริการที่เกี่ยวเนื่องกับสัญญาเช่าด�ำเนินงาน รายได้ค่าเช่าผันแปรตามผลผลิต รวมรายได้

1,649,827 13,586 188,750 50,254 171,144 38,444 2,112,005

1,482,410 13,586 188,750 50,254 171,144 38,444 1,944,588

1,563,757 13,248 158,939 50,856 161,564 29,374 1,977,738

ต้นทุนขาย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

ต้นทุนขายและให้บริการ ต้นทุนจากการให้บริการตามสัญญาเช่าการเงิน และบริการที่เกี่ยวข้อง ต้นทุนจากการให้บริการตามสัญญาเช่าด�ำเนินงาน และบริการที่เกี่ยวข้อง รวมต้นทุนขาย

132

1,738,822 13,248 158,939 50,856 161,564 29,374 2,152,803

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

1,385,578

1,628,672

1,243,802

1,478,366

88,203

81,945

88,203

81,945

175,889 1,649,670

129,697 1,840,314

175,889 1,507,894

129,697 1,690,008


33

รายได้อื่น

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

รายได้ดอกเบี้ย รายได้ค่านายหน้า รายได้ค่าเช่า ก�ำไรจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ อื่นๆ รวมรายได้อื่น 34

3,077 731 803 13,208 16,493 34,312

3,595 4,453 7,697 4,254 1,062 21,060

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

2,476 43 1,500 13,208 16,669 33,896

3,226 4,453 8,183 3,623 785 20,270

ต้นทุนทางการเงิน

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

เงินกู้ยืมจากธนาคาร สัญญาเช่าการเงิน รวมต้นทุนทางการเงิน 35

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

38,487 6,931 45,418

69,418 5,436 74,854

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

38,239 6,752 44,991

69,315 5,333 74,648

ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

การเปลีย่ นแปลงในสินค้าส�ำเร็จรูปและงานระหว่างท�ำ วัตถุดิบใช้ไป ต้นทุนสินค้าที่ซื้อมาขายไป ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าเช่า ค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนา (กลับรายการ) ค่าเผื่อสินค้าเคลื่อนไหวช้า (กลับรายการ) ค่าเผื่อมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ (กลับรายการ) ประมาณการหนี้สินส�ำหรับ การรับประกันสินค้าและบริการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

258,212 603,445 645,338 232,140 169,975 17,608 497 (36,658) (886)

161,785 642,933 835,569 172,205 158,611 14,651 1,888 22,533 886

255,476 603,445 422,842 221,599 167,917 17,462 497 (36,656) -

160,113 642,933 678,806 165,457 157,403 14,645 1,888 24,460 -

(716)

2,128

(716)

2,128

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

133


36

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

ภาษีเงินได้งวดปัจจุบัน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (หมายเหตุข้อ 19) ภาษีเงินได้

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

9,066 12,389 21,455

1,443 (17,087) (15,644)

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

8,073 11,322 19,395

(13,048) (13,048)

ภาษีเงินได้ส�ำหรับก�ำไรก่อนหักภาษีของกลุ่มบริษัทมียอดจ�ำนวนเงินที่แตกต่างจากการค�ำนวณก�ำไรทางบัญชีคูณกับอัตรา ภาษีของประเทศที่บริษัทและกลุ่มบริษัทจดทะเบียนจัดตั้งกิจการ โดยมีรายละเอียดดังนี้

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

ก�ำไรก่อนภาษีจากการด�ำเนินงานต่อเนื่อง ก�ำไรก่อนภาษีจากการด�ำเนินงานที่ยกเลิก ก�ำไรก่อนภาษี ภาษีค�ำนวณจากอัตราภาษี ร้อยละ 20 (พ.ศ. 2556: ร้อยละ 20) ผลกระทบ: รายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษี ค่าใช้จ่ายต้องห้ามซึ่งไม่สามารถน�ำมาหักเป็น ค่าใช้จ่ายทางภาษีได้ ค่าใช้จ่ายที่สามารถน�ำมาหักเป็นค่าใช้จ่าย ทางภาษีได้เพิ่มเติม การปรับปรุงจากงวดก่อน ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้จากการด�ำเนินงานต่อเนื่อง ภาษีเงินได้จากการด�ำเนินงานทีย่ กเลิก (หมายเหตุขอ้ 14) ภาษีเงินได้

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

249,520 213,224 462,744

69,395 29,688 99,083

244,005 213,224 457,229

62,350 29,688 92,038

92,549

19,817

91,446

18,408

(36,561)

(35,311)

(36,561)

(32,886)

4,190

1,606

3,732

1,434

(14) 1,270 61,434

(1,756) (15,644)

(12) 769 59,374

(4) (13,048)

21,455 39,979 61,434

(15,644) (15,644)

19,395 39,979 59,374

(13,048) (13,048)

กลุ่มบริษัทใช้อัตราภาษีร้อยละ 20 ในการค�ำนวณภาษีเงินได้ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 และในการวัดมูลค่าของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556

134

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


ภาษีเงินได้ที่(ลด)/เพิ่มที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นมีดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 ก่อนภาษี ภาษี(ลด)/เพิ่ม บาท บาท

ก�ำไร/(ขาดทุน)จากการ ประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย (302) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (302) ภาษีเงินได้งวดปัจจุบัน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (หมายเหตุขอ้ 19)

60 60 60 60

หลังภาษี บาท

ก่อนภาษี บาท

(242) (242)

907 907

พ.ศ. 2556 ภาษี(ลด)/เพิ่ม บาท

(182) (182) (182) (182)

หลังภาษี บาท

725 725

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 ก่อนภาษี ภาษี(ลด)/เพิ่ม บาท บาท

ก�ำไร/(ขาดทุน)จากการ ประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย (302) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (302) ภาษีเงินได้งวดปัจจุบัน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (หมายเหตุขอ้ 19) 37

60 60 60 60

หลังภาษี บาท

ก่อนภาษี บาท

(242) (242)

(623) (623)

พ.ศ. 2556 ภาษี(ลด)/เพิ่ม บาท

124 124 124 124

หลังภาษี บาท

(499) (499)

ก�ำไรต่อหุ้น

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ค�ำนวณโดยการหารก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของ บริษัทใหญ่ด้วยจ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักที่ถือโดยผู้ถือหุ้น

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

ก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ (พันบาท) จ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักที่ ออกจ�ำหน่ายในระหว่างปี (จ�ำนวนพันหุ้น) (หมายเหตุข้อ 26) ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาทต่อหุ้น)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

400,944

112,437

397,854

105,085

900,000 0.44

900,000 0.12

900,000 0.44

900,000 0.12

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

135


ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 26 บริษัทได้ปรับลดมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของบริษัทจากจ�ำนวน 100 บาทต่อหุ้น เป็น 0.50 บาท ต่อหุ้น และเพิ่มจ�ำนวนหุ้นสามัญของบริษัทจากจ�ำนวน 4,500,000 หุ้น เป็น 900,000,000 หุ้น ดังนั้น บริษัทจึงใช้จ�ำนวน หุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนักตามจ�ำนวนหุน้ ทีป่ รับมูลค่าทีต่ ราไว้ตอ่ หุน้ ใหม่ในการค�ำนวณก�ำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 บริษัทไม่มีการออกหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดในระหว่างปี พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 38

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของกลุ่มบริษัท คือ ครอบครัวกิจพิพิธ ซึ่งถือหุ้นในอัตราร้อยละ 98.52 ของหุ้นสามัญทั้งหมดของบริษัท รายการต่อไปนี้เป็นรายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 38.1 รายได้จากการขายสินค้าและบริการและรายได้อื่น ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

รายได้จากการขายสินค้า บริษัทย่อย บริษัทที่มีผู้ถือหุ้นและกรรมการร่วมกัน

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

รายได้จากการขายสินค้า บริษัทย่อย รายได้ค่าเช่า บริษัทย่อย

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

-

5,760 5,760

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

88 88

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

1,785 5,760 7,545

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

-

-

3,606 3,606

3,374 3,374

-

-

1,829 1,829

1,905 1,905

38.2 การซื้อสินค้าและบริการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

การซื้อสินค้าจากบริษัทย่อย การรับบริการจากบริษัทย่อย

136

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

-

-

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

80,100 80,100 2,873 2,873

62,244 62,244 1,753 1,753


38.3 ยอดค้างช�ำระที่เกิดจากการซื้อและขายสินค้าและบริการ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ลูกหนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย เจ้าหนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัทที่มีผู้ถือหุ้นและกรรมการร่วมกัน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

-

-

649 649

513 513

-

30 30

7,573 7,573

12,499 30 12,529

38.4 เงินให้กู้ยืมแก่กรรมการ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม เงินกู้จ่ายคืนระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

409 (409) -

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

-

409 (409) -

38.5 เงินกู้ยืมจากกรรมการ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม เงินกู้เพิ่มระหว่างปี เงินกู้จ่ายคืนระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

25,000 (25,000) -

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

-

25,000 (25,000) -

เงินกูย้ มื จากกรรมการบริษทั เป็นเงินกูย้ มื ที่ไม่มดี อกเบีย้ และหลักทรัพย์คำ�้ ประกัน บริษทั ได้จา่ ยช�ำระเงินกูย้ มื ดังกล่าว โดยการหักกลบลบหนี้เต็มจ�ำนวนแล้วในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

137


38.6 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารส�ำคัญ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

เงินเดือนและผลประโยชน์ระยะสั้นอื่น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ 39

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

24,354 1,254 1,433 27,041

16,675 4,696 1,433 22,804

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

22,119 1,200 1,433 24,752

16,335 4,696 1,433 22,464

ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นภายหน้า

39.1 หนังสือค�้ำประกันธนาคาร กลุ่มบริษัทและบริษัทให้ธนาคารออกหนังสือค�้ำประกัน ดังต่อไปนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

หนังสือค�้ำประกัน เลตเตอร์ออฟเครดิต

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

479,221 1,924

319,363 -

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

473,221 1,924

313,278 -

กลุ่มบริษัทและบริษัทมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการค�้ำประกันกับธนาคาร ซึ่งเป็นเหตุการณ์ตามปกติที่คาดว่าจะไม่ ท�ำให้มีหนี้สินส�ำคัญเกิดขึ้น 39.2 ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าด�ำเนินงาน กลุ่มบริษัทและบริษัทมีภาระผูกพันตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานส�ำหรับเครื่องจักร อุปกรณ์ และยานพาหนะ ที่ไม่สามารถยกเลิกได้ ดังนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ครบก�ำหนดภายในไม่เกิน 1 ปี ครบก�ำหนดเกิน 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี ครบก�ำหนดหลังจาก 5 ปี

138

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

6,710 5,580 3,396 15,686

4,451 7,303 2,772 14,526

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

6,710 5,580 3,396 15,686

4,451 7,303 2,772 14,526


39.3 ภาระผูกพันที่เป็นรายจ่ายฝ่ายทุน กลุ่มบริษัทและบริษัทมีภาระผูกพันที่เป็นรายจ่ายฝ่ายทุนเกี่ยวกับภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัด ณ วันที่ในงบแสดง ฐานะการเงินแต่ไม่ได้รับรู้ในงบการเงิน มีดังนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน 40

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

51,813 8,085

58,588 8,385

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

51,813 8,085

58,588 8,385

สิทธิประโยชน์ที่ได้รับเนื่องจากการส่งเสริมการลงทุน

กลุ่มบริษัทและบริษัทได้รับสิทธิพิเศษจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ดังต่อไปนี้ ก)

บัตรส่งเสริมเลขที่ 1892(2)/2551 ลงวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2551 ส�ำหรับการผลิตเครื่องจักรและอุปกรณ์ NGV ส�ำหรับสถานีบริการ

ข)

บัตรส่งเสริมเลขที่ 1394(1)/2552 ลงวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ส�ำหรับกิจการสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ ส�ำหรับยานพาหนะ

ค)

บัตรส่งเสริมเลขที่ 1146(1)/2553 ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ส�ำหรับการผลิตรถโดยสารขนาดตั้งแต่ 30 ที่นั่งและรถบรรทุกขนาด 12 ตันขึ้นไปที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง

ง)

บัตรส่งเสริมเลขที่ 1172(1)/2553 ลงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ส�ำหรับการผลิตถังบรรจุก๊าซธรรมชาติเหลว

จ)

บัตรส่งเสริมเลขที่ 1198(1)/2554 ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554 ส�ำหรับการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ (หมายเหตุข้อ 15.1)

ฉ) บัตรส่งเสริมเลขที่ 2238(1)/2554 ลงวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ส�ำหรับการผลิตถังบรรจุก๊าซธรรมชาติอัด ภายใต้สิทธิประโยชน์นี้กลุ่มบริษัทและบริษัทได้รับการยกเว้นภาษีและอากรตามรายละเอียดที่ระบุในบัตรส่งเสริมรวมถึง การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นเวลา 8 ปี นับจากวันแรกที่มีรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์หรือรายได้จากการบริการที่ ได้รับการส่งเสริม และได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 50 ต่ออีก 5 ปี หลังจากช่วงเวลาที่ได้รับการ ยกเว้นทั้งจ�ำนวนโดยกลุ่มบริษัทและบริษัทต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนดและเงื่อนไขที่ระบุในบัตรส่งเสริม รายได้แยกตามกิจการที่ได้รบั และไม่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน ซึง่ รายได้จากกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนรวมราย ได้ทั้งที่ได้สิทธิการยกเว้นและไม่ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลแสดงได้ดังนี้

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

139


ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

ส�ำหรับการด�ำเนินงานต่อเนือ่ ง กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน กิจการที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ส�ำหรับการด�ำเนินงานที่ยกเลิก กิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมการลงทุน (หมายเหตุขอ้ 14) (1) รวมรายได้

(1)

41

เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พันบาท พันบาท

434,229 1,677,776 2,112,005

440,372 1,712,431 2,152,803

434,229 1,510,359 1,944,588

440,372 1,537,366 1,977,738

34,890 34,890 2,146,895

17,501 17,501 2,170,304

34,890 34,890 1,979,478

17,501 17,501 1,995,239

รายได้รวมถึงรายได้ส่วนเพิ่มราคาขาย (Adder) จ�ำนวน 23.95 ล้านบาท (พ.ศ. 2556: จ�ำนวน 39.39 ล้านบาท)

เมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ในอัตราหุ้นละ 0.70 บาท รวมเป็นเงินปันผลที่จ่ายทั้งสิ้นจ�ำนวน 630 ล้านบาท บริษัทจ่ายเงินปันผลเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 บริษัทได้รับการตอบรับแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน จากส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2558 และเริ่มท�ำการซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตั้งแต่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

140

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

141

ดร.ทนง พิทยะ ประธานกรรมการ (14 สิงหาคม 2557) กรรมการอิสระ (14 สิงหาคม 2557)

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง (วันที่ได้รับแต่งตั้ง)

คุณวุฒิทางการศึกษา / ประวัติอบรม

67 - ปริญญาเอก สาขา บริหารธุรกิจ Northwestern University ประเทศ สหรัฐอเมริกา - ปริญญาโท สาขา เศรษฐศาสตร์ Northwestern University ประเทศสหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี สาขา เศรษฐศาสตร์ Yokohama National University ประเทศญี่ปุ่น - Director Accreditation Program (DAP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 25/2547

อายุ (ปี)

0.04

-ไม่มี-

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ทาง ถือหุ้นใน ครอบครัวระหว่าง บริษัทฯ กรรมการและ (ร้อยละ) ผู้บริหาร

2557 - ปัจจุบัน กรรมการ

2555 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ

2555 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการ

ธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์

บริษัท เอ็มไพร์ เอเซีย เอนเนอร์ยี่ กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด ถือกรรมสิทธิ์ ครอบครอง และ (มหาชน) จัดการทรัพย์สินและดอกผลจาก ธุรกิจที่ไปลงทุน บริษัท ศรีสวัสดิ์ พาวเวอร์ ให้บริการสินเชือ่ รายย่อย ภายใต้ 1979 จ�ำกัด (มหาชน) เครือ่ งหมายบริการ “มีบา้ น มีรถ เงินสดทันใจ” บริษทั ไทยศรีประกันภัย ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน)

2554 - ปัจจุบัน กรรมการ

บริษทั เทรเชอรี่ คอนโด จ�ำกัด

บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จ�ำกัด

2553 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ

2555 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระและ ประธานกรรมการ

บริษัท ทีทีดับบลิว จ�ำกัด (มหาชน)

2552 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระและ ประธานกรรมการ

ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซ ธรรมชาติ และพลังงาน ทาง เลือก ผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาให้ กับการประปาส่วนภูมิภาค ด�ำเนินการออกแบบพัฒนา ก่อสร้างและด�ำเนินการโครงการ ไฟฟ้าพลังน�ำ้ ไซยะบุรี กับรัฐบาล แห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ประกอบกิจการด้านพลังงาน

ประเภทธุรกิจ

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่ง

ประสบการณ์ท�ำงาน บริษัท

2555 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระและ ประธานกรรมการ

ระยะเวลา

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอ�ำนาจควบคุม และเลขานุการบริษัทฯ เอกสารแนบ 1.1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอ�ำนาจควบคุม และเลขานุการบริษัทฯ


142

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

-ไม่มี-

พลต�ำรวจเอกสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ กรรมการอิสระ (14 สิงหาคม 2557) กรรมการตรวจสอบ (14 สิงหาคม 2557)

79 - ปริญญาโท สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ (M.P.A.) Indiana University ประเทศ สหรัฐอเมริกา - ปริญญาโท สาขาพัฒนา สังคม มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ - ปริญญาตรี สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ สามพราน

คุณวุฒิทางการศึกษา / ประวัติอบรม

-ไม่มี-

อายุ (ปี)

61 - ปริญญาโท สาขาการเงิน นายช�ำนาญ วังตาล กรรมการอิสระ การธนาคาร Marshall (14 สิงหาคม 2557) University ประเทศ ประธานกรรมการตรวจสอบ สหรัฐอเมริกา (14 สิงหาคม 2557) - ปริญญาตรี สาขาชีววิทยา ประธานกรรมการบริหาร Saint Vincent College ความเสี่ยง ประเทศสหรัฐอเมริกา (18 กันยายน 2557) - Director Accreditation ประธานกรรมการสรรหา Program (DAP) สมาคม และพิจารณาค่าตอบแทน ส่งเสริมสถาบันกรรมการ (4 ธันวาคม 2557) บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 114/2558

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง (วันที่ได้รับแต่งตั้ง)

-ไม่มี-

-ไม่มี-

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ทาง ถือหุ้นใน ครอบครัวระหว่าง บริษัทฯ กรรมการและ (ร้อยละ) ผู้บริหาร ต�ำแหน่ง

2550 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

บริษัท โรงพยาบาล ไทย นครินทร์ จ�ำกัด (มหาชน)

2557 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บริษัท สแกน อินเตอร์ ประธานกรรมการ จ�ำกัด (มหาชน) ตรวจสอบ ประธาน กรรมการบริหารความ เสี่ยง และประธาน กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน 2552 - 2553 กรรมการ บริษทั มิลเลียไลฟ์ อินชัวรันส์ ประเทศไทย จ�ำกั (มหาชน) 2543 - 2553 รองกรรมการผู้จัดการ ธนาคารไทยธนาคาร จ�ำกัด (มหาชน) 2551 - 2552 กรรมการ Bank Thai Assets Management 2555 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และ บริษัท สแกน อินเตอร์ กรรมการตรวจสอบ จ�ำกัด (มหาชน)

ระยะเวลา

ประสบการณ์ท�ำงาน บริษัท

ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซ ธรรมชาติ และพลั ง งานทาง เลือก โรงพยาบาล

บริหารจัดการกองทุน

ธนาคารพาณิชย์

ประกันชีวิต

ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซ ธรรมชาติ และพลั ง งานทาง เลือก

ประเภทธุรกิจ


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

143

อายุ (ปี)

หลักสูตร FBI ประเทศ สหรัฐอเมริกา - หลักสูตรวิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร รุ่นที่ 26 - Director Accreditation Program (DAP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 81/2552

-

คุณวุฒิทางการศึกษา / ประวัติอบรม

นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวนิ 62 - ปริญญาโท สาขาบริหาร กรรมการอิสระ ธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา (14 สิงหาคม 2557) - ปริญญาตรี กรรมการตรวจสอบ วิศวกรรมศาสตร์ สาขา (14 สิงหาคม 2557) วิศวกรรมอุตสาหการ กรรมการสรรหาและ สถาบันเทคโนโลยี พิจารณาค่าตอบแทน พระจอมเกล้าธนบุรี (4 ธันวาคม 2557) - Director Certification Program (DCP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 80/2549 - Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 2/2549

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง (วันที่ได้รับแต่งตั้ง)

-ไม่มี-

-ไม่มี-

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ทาง ถือหุ้นใน ครอบครัวระหว่าง บริษัทฯ กรรมการและ (ร้อยละ) ผู้บริหาร ต�ำแหน่ง

2557 - ปัจจุบัน

2556 - ปัจจุบัน

2556 - ปัจจุบัน

2556 - ปัจจุบัน

2555 - ปัจจุบัน

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท ปตท. จ�ำหน่ายก๊าซ ธรรมชาติ จ�ำกัด กรรมการ บริษัท พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส จ�ำกัด รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด ใหญ่ กลุ่มธุรกิจ (มหาชน) ปิโตรเคมีและการกลั่น กรรมการ บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาว เวอร์ จ�ำกัด กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี เอแอนด์แอล จ�ำกัด

2555 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่า ตอบแทนประธาน 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ

ระยะเวลา

ประสบการณ์ท�ำงาน บริษัท

ธุรกิจปิโตรเคมี (ขายเม็ดพลาสติก)

ผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า

บริษัทที่ปรึกษาด้านวิศวกรรม

กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี

ซื้อขายก๊าซธรรมชาติทางระบบ ท่อส่งก๊าซ ลงทุนในต่างประเทศ

ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซ ธรรมชาติ และพลั ง งานทาง เลือก

ประเภทธุรกิจ


144

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

นายธัญชาติ กิจพิพิธ กรรมการ (14 สิงหาคม 2557) ประธานกรรมการบริหาร (18 กันยายน 2557) กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน (4 ธันวาคม 2557) กรรมการผู้จัดการใหญ่ (18 กันยายน 2557)

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง (วันที่ได้รับแต่งตั้ง)

คุณวุฒิทางการศึกษา / ประวัติอบรม

58 - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ - Director Accreditation Program (DAP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ SET/2555 - Director Certification Program (DCP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 171/2556

อายุ (ปี)

94.08

บิดาของดร.ฤทธี กิจพิพิธ และ นางสาว นริศรา กิจพิพิธ

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ทาง ถือหุ้นใน ครอบครัวระหว่าง บริษัทฯ กรรมการและ (ร้อยละ) ผู้บริหาร ต�ำแหน่ง

2557

ด�ำเนินธุรกิจค้าปลีก ด�ำเนินธุรกิจค้าปลีก ประกอบกิจการสถานีบริการก๊าซ ธรรมชาติ NGV ในประเทศไทย

บริษัท สยามวาสโก จ�ำกัด บริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด

ธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ครบวงจร

บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซ ธรรมชาติ และพลั ง งานทาง เลือก

ธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ครบวงจร

บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน)

ธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ครบวงจร

กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี

บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

ประเภทธุรกิจ

กรรมการ และ บริษัท สแกน อินเตอร์ ฟาร์ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ อีสท์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด

2531 - ปัจจุบัน กรรมการ ประธาน กรรมการบริหาร กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน และกรรมการผู้จัดการ ใหญ่ 2534 - ปัจจุบัน กรรมการ และ กรรมการผู้จัดการใหญ่ 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ และ กรรมการผู้จัดการใหญ่ 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ

2555 - 2556 ที่ปรึกษากรรมการ ผู้จัดการใหญ่ 2554 - 2555 รองกรรมการผู้จัดการ ใหญ่ หน่วยธุรกิจก๊าซ ธรรมชาติ 2552 - 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้ จัดการใหญ่ หน่วยแยก ก๊าซธรรมชาติ 2546 - 2552 ผู้ช่วยกรรมการผู้ จัดการใหญ่ หน่วย ระบบท่อส่งก๊าซ ธรรมชาติ

ระยะเวลา

ประสบการณ์ท�ำงาน บริษัท


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

145

ดร.ฤทธี กิจพิพิธ กรรมการ (14 สิงหาคม 2557) กรรมการบริหาร (18 กันยายน 2557) กรรมการบริหารความ เสี่ยง (18 กันยายน 2557) ผู้อ�ำนวยการสายงาน บริหารและการตลาด (18 กันยายน 2557)

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง (วันที่ได้รับแต่งตั้ง)

คุณวุฒิทางการศึกษา / ประวัติอบรม

31 - ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมพลังงาน University of Massachusetts Lowell ประเทศสหรัฐอเมริกา - ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมพลังงาน สถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมเครื่องกล สถาบัน เทคโนโลยีนานาชาติ สิริน ธร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ - Director Accreditation Program (DAP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ SET/2555 - Director Certification Program (DCP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 171/2556

อายุ (ปี)

1.11

บุตรของนาย ธัญชาติ กิจพิพิธ

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ทาง ถือหุ้นใน ครอบครัวระหว่าง บริษัทฯ กรรมการและ (ร้อยละ) ผู้บริหาร ต�ำแหน่ง

2557

กรรมการ

2548 - ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการ บริหาร กรรมการ บริหารความเสี่ยง และ ผู้อ�ำนวยการสายงาน บริหารและการตลาด 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ

ระยะเวลา

ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซ ธรรมชาติ และพลั ง งานทาง เลือก

ประเภทธุรกิจ

ด�ำเนินธุรกิจค้าปลีก ด�ำเนินธุรกิจค้าปลีก ประกอบกิจการสถานีบริการก๊าซ ธรรมชาติ NGV ในประเทศไทย บริษัท สแกน อินเตอร์ ฟาร์ ผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งานแสง อีสท์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด อาทิตย์

บริษัท สยามวาสโก จ�ำกัด บริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน)

ประสบการณ์ท�ำงาน บริษัท


146

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

0.11

นายสมเกียรติ วีตระกูล กรรมการ (14 สิงหาคม 2557) กรรมการบริหาร (18 กันยายน 2557) กรรมการบริหารความ เสี่ยง (18 กันยายน 2557) ผู้อ�ำนวยการสายงาน วิศวกรรมและก่อสร้าง (18 กันยายน 2557)

51 - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมยานยนต์ มหาวิทยาลัยสยาม - Technic Siam College - Panjavidhaya Technicial Trainning School - Director Accreditation Program (DAP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ SET/2555

คุณวุฒิทางการศึกษา / ประวัติอบรม

0.11

อายุ (ปี)

นายโชคดี วงษ์แก้ว 57 - ปริญญาโท กรรมการ วิศวกรรมศาสตร์ สาขา (14 สิงหาคม 2557) วิศวกรรมอุตสาหการ กรรมการบริหาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (18 กันยายน 2557) - ปริญญาตรี ผู้อ�ำนวยการสายงานผลิต วิศวกรรมศาสตร์ สาขา และปฏิบัติการ วิศวกรรมเครื่องกล (18 กันยายน 2557) สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ - Mini MBA จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย - Director Accreditation Program (DAP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ SET/2555

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง (วันที่ได้รับแต่งตั้ง)

-ไม่ม-ี

-ไม่ม-ี

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ทาง ถือหุ้นใน ครอบครัวระหว่าง บริษัทฯ กรรมการและ (ร้อยละ) ผู้บริหาร ต�ำแหน่ง

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน)

2557

กรรมการ

ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซ ธรรมชาติ และพลังงานทางเลือก

ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซ ธรรมชาติ และพลั ง งานทาง เลือก

ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซ ธรรมชาติ และพลั ง งานทาง เลือก

ประเภทธุรกิจ

บริษัท สแกน อินเตอร์ ฟาร์ ผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งานแสง อีสท์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด อาทิตย์

2552 - ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการ บริษัท สแกน อินเตอร์ บริหาร กรรมการ จ�ำกัด (มหาชน) บริหารความเสี่ยง และ ผู้อ�ำนวยการสายงาน วิศวกรรมและก่อสร้าง 2538 - 2552 ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน)

2548 - ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการ บริหาร และผู้อ�ำนวย การสายงานผลิตและ ปฏิบัติการ

ระยะเวลา

ประสบการณ์ท�ำงาน บริษัท


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

147

อายุ (ปี)

คุณวุฒิทางการศึกษา / ประวัติอบรม

นายประทีป แสงหิรญั วัฒนา 60 - ปริญญาโท การจัดการภาค กรรมการ รัฐ และภาคเอกชน สถาบัน (14 สิงหาคม 2557) บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ กรรมการบริหาร - ปริญญาตรี การบัญชี (18 กันยายน 2557) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการบริหารความเสีย่ ง - Director Accreditation (18 กันยายน 2557) Program (DAP) สมาคม ผู้อ�ำนวยการสายงานการ ส่งเสริมสถาบันกรรมการ เงินและบัญชี บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ (18 กันยายน 2557) 1/2546 - Director Certification Program (DCP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 38/2546

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง (วันที่ได้รับแต่งตั้ง)

0.02

-ไม่ม-ี

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ทาง ถือหุ้นใน ครอบครัวระหว่าง บริษัทฯ กรรมการและ (ร้อยละ) ผู้บริหาร ต�ำแหน่ง

2555 - ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการ บริหาร กรรมการ บริหารความเสี่ยง และ 2553 - 2554 ผู้อ�ำนวยการสาย งานการเงินและบัญชี ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชี และการเงิน 2552 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชี และการเงิน

ระยะเวลา

ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซ ธรรมชาติ และพลังงานทางเลือก ผลิตและประกอบโครงสร้างเหล็ก

ผลิตและจ�ำหน่ายอาหารทะเล แช่แข็ง

บริษัท ยูโรเทค เอ็นจิเนียริ่ง อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด บริษัท ห้องเย็นเอเชี่ยน ซีฟู๊ดส์ จ�ำกัด (มหาชน)

ประเภทธุรกิจ

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน)

ประสบการณ์ท�ำงาน บริษัท


148

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

นายสมชัย ลีเชวงวงศ์ กรรมการ (14 สิงหาคม 2557) กรรมการบริหาร (18 กันยายน 2557) ผู้อ�ำนวยการสายงาน กลยุทธ์ (18 กันยายน 2557)

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง (วันที่ได้รับแต่งตั้ง)

คุณวุฒิทางการศึกษา / ประวัติอบรม

57 - Major in Production Operation Management (MBA) North Texas State University ประเทศ สหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรีวิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - Director Accreditation Program (DAP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 104/2556 - Financial Statements for Directors (FSD) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 21/2556

อายุ (ปี)

0.09

ระยะเวลา

ต�ำแหน่ง

ประสบการณ์ท�ำงาน บริษัท

น้องเขยของนาย 2544 - ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการ บริษัท สแกน อินเตอร์ ธัญชาติ กิจพิพิธ บริหาร และผู้อ�ำนวย จ�ำกัด (มหาชน) การสายงาน กลยุทธ์

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ทาง ถือหุ้นใน ครอบครัวระหว่าง บริษัทฯ กรรมการและ (ร้อยละ) ผู้บริหาร

ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซ ธรรมชาติ และพลั ง งานทาง เลือก

ประเภทธุรกิจ


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

149

นางสาวนริศรา กิจพิพิธ กรรมการ (14 สิงหาคม 2557) กรรมการบริหาร (18 กันยายน 2557) กรรมการบริหารความ เสี่ยง (18 กันยายน 2557) ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก เลขานุการบริษัท (18 กันยายน 2557)

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง (วันที่ได้รับแต่งตั้ง)

คุณวุฒิทางการศึกษา / ประวัติอบรม

27 - ปริญญาโท สาขาวิศวกรรม การเงินและการบริหาร ความเสี่ยง Imperial College Business School ประเทศ สหราชอาณาจักร - ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรม อุตสาหกรรมUniversity of Southern California ประเทศสหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยี นานาชาติ สิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - Director Accreditation Program (DAP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ SET/2555 - Director Certification Program (DCP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 171/2556 - Company Secretary Program (CSP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 49/2556

อายุ (ปี)

1.11

ระยะเวลา

ต�ำแหน่ง

2557

กรรมการ

บุตรของนาย 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการ ธัญชาติ กิจพิพิธ บริหาร กรรมการ บริหารความเสี่ยง และ ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก เลขานุการบริษัท 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ทาง ถือหุ้นใน ครอบครัวระหว่าง บริษัทฯ กรรมการและ (ร้อยละ) ผู้บริหาร

ด�ำเนินธุรกิจค้าปลีก ด�ำเนินธุรกิจค้าปลีก ประกอบกิจการสถานีบริการก๊าซ ธรรมชาติ NGV ในประเทศไทย

บริษัท สยามวาสโก จ�ำกัด บริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด

บริษัท สแกน อินเตอร์ ฟาร์ ผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งานแสง อีสท์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด อาทิตย์

ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซ ธรรมชาติ และพลั ง งานทาง เลือก

ประเภทธุรกิจ

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน)

ประสบการณ์ท�ำงาน บริษัท


150

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

0.01

-ไม่มี-

50 - ปริญญาโทบริหารจัดการ สารสนเทศ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า คุณทหารลาดกระบัง - ประกาศนียบัตรภาษีอากร มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย - ปริญญาตรีการบัญชี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

นางพิมพ์วนิฏา จรัส ปรีดา เลขานุการบริษัทฯ (18 กันยายน 2557)

คุณวุฒิทางการศึกษา / ประวัติอบรม

38 - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม - ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ สาขาธุรกิจศึกษาการบัญชี สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล - ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยเกริก

อายุ (ปี)

นางจุฑามาศ สิงห์เขียว ผู้จัดการฝ่ายบัญชี (18 กันยายน 2557)

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง (วันที่ได้รับแต่งตั้ง)

-ไม่มี-

-ไม่มี-

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ทาง ถือหุ้นใน ครอบครัวระหว่าง บริษัทฯ กรรมการและ (ร้อยละ) ผู้บริหาร ต�ำแหน่ง

ผู้อ�ำนวยการสาย งานการเงินและบัญชี

2554-2555 ผู้ช่วยผู้จัดการทั่วไป และผู้อ�ำนวยการสาย งานการเงินและบัญชี 2550-2553 ผู้อ�ำนวยการสาย งานการเงินและบัญชี

2556

ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซ ธรรมชาติ และพลั ง งานทาง เลือก

ประเภทธุรกิจ

บริษัท แซส ซอฟแวร์ (ประเทศไทย ) จ�ำกัด

ด� ำ เ นิ น ธุ ร กิ จ จั ด จ� ำ ห น ่ า ย ซอฟแวร์ การบริ ห ารจั ด การ ข้อมูล

ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับก๊าซ ธรรมชาติ และพลั ง งานทาง เลือก บริษัท เอ็มพิคเจอร์ เอ็นเต ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ จั ด หาลิ ข สิ ท ธิ์ อร์เทนเม้นท์ จ�ำกัด(มหาชน) ภาพยนตร์ ต ่ า งประเทศและ บริษัท ลีจรัส จ�ำกัด ธุรกิจโฮมเอ็นเตอร์เทนเม้นท์ โรงแรมช่อลดา ด�ำเนินธุรกิจโรงแรม

บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน)

2557 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการสาย บริษัท สแกน อินเตอร์ งานการเงินและบัญชี จ�ำกัด (มหาชน)

2549 - ปัจจุบัน ผู้จัดการฝ่ายบัญชี

ระยะเวลา

ประสบการณ์ท�ำงาน บริษัท


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

151

-

-

C C C C C I, VIII I VIII -

I -

-

-

I,III

พลต�ำรวจ เอก สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์

I X I I C I -

-

-

I,III

นายพีระ พงษ์ อัจฉริยชีวิน

I - กรรมการ III - กรรมการตรวจสอบ V - กรรมการบริหาร VII - กรรมการบริหารความเสี่ยง X - ผู้บริหาร

I,II,VI

นายช�ำนาญ วังตาล

C

หมายเหตุ : C - ประธานกรรมการ II - ประธานกรรมการตรวจสอบ IV - ประธานกรรมการบริหาร VI - ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง VIII - ผู้ถือหุ้นรายใหญ่

บริษัทฯ บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริษัท สยามวาสโก จ�ำกัด บริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด กิจการร่วมค้า บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด บริษัทที่เกี่ยวข้อง บริษัท ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ศรีสวัสดิ์ พาวเวอร์ 1979 จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยศรีประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จ�ำกัด บริษัท ทีทีดับบลิว จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เทรเชอรี่ คอนโด จ�ำกัด บริษัท เอ็มไพร์ เอเซีย เอนเนอร์ยี่ กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท แบล็ค แคนยอน (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท โรงพยาบาลไทยนครินทร์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไออาร์พีซี เอ แอนด์ แอล จ�ำกัด บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จ�ำกัด บริษัท ปตท. จ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด บริษัท พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส จ�ำกัด บริษัท ซีเคอร์อาร์ จ�ำกัด

ดร.ทนง พิทยะ

-

I

C,X C,X

I,IV, VIII, X

นายธัญชาติ กิจพิพิธ

-

I

I I

I,V,VII,X

ดร.ฤทธี กิจพิพิธ

เอกสารแนบ 1.2 การด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการ และผู้บริหารในบริษัทฯ บริษัทย่อย และบริษัทที่เกี่ยวข้อง

-

-

-

I,V,X

นายโชคดี วงษ์แก้ว

-

-

-

I,V,VII,X

นายสม เกียรติ วีตระกูล

VIII

-

-

I,V,VII,X

นายประทีป แสงหิรัญ วัฒนา

-

-

-

I,V,X

นายสมชัย ลีเชวงวงศ์

-

I

I I

I,V,VII,X

นางสาว นริศรา กิจพิพิธ

-

-

-

X

นางจุฑามาศ สิงห์เขียว


152

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

-

-

-

-

นาย ช�ำนาญ วังตาล

-

-

พลต�ำรวจ เอกสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์

-

I

C,X C,X

นายพีระพงษ์ นาย อัจฉริยชีวิน ธัญชาติ กิจพิพิธ

หมายเหตุ : C - ประธานคณะกรรมการ I - กรรมการ II - ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ III - กรรมการตรวจสอบ IV - ประธานคณะกรรมการบริหาร V - กรรมการบริหาร X - ผู้บริหาร

บริษัทย่อย บริษัท สยามวาสโก จ�ำกัด บริษัท คอนโทร์โน จ�ำกัด กิจการร่วมค้า บริษัท เอส เอ็นจีวี จ�ำกัด

ดร.ทนง พิทยะ

เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย

I

I I

ดร.ฤทธี กิจพิพิธ

-

-

นายโชคดี วงษ์แก้ว

-

-

-

-

นายสมเกียรติ นายประทีป นายสมชัย วีตระกูล แสงหิรัญวัฒนา ลีเชวงวงศ์

I

I I

นางสาว นริศรา กิจพิพิธ

-

-

นาง จุฑามาศ สิงห์เขียว


รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

153

อายุ (ปี)

46

หัวหน้างานตรวจสอบ ภายใน

นายศักดิ์ศรี อ�ำพวัน บริษัท สอบบัญชีธรรมนิติ จ�ำกัด

ช่วงเวลา

บริษัท

2535 - 2540

บริษัท สอบบัญชี ธรรมนิติ จ�ำกัด บริษัท สอบบัญชี ธรรมนิติ จ�ำกัด

บริษัท สอบบัญชี ธรรมนิติ จ�ำกัด

2545 - 2546

2540 - 2544

บริษัท สอบบัญชี ธรรมนิติ จ�ำกัด

2546 - 2550

§ ปริญญาตรีคณะ 2551 - ปัจจุบัน บริษัท สอบบัญชี บริหารธุรกิจ สาขาการ ธรรมนิติ จ�ำกัด บัญชี (มหาวิทยาลัย รามค�ำแหง)

คุณวุฒิทางการศึกษา หน้าที่ความรับผิดชอบ

§ ก�ำหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ วางแผนและติดตามการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายในของลูกค้าแต่ละรายให้เป็นไปตามแผนงาน ก�ำหนด § เสนอบริการต่างๆ เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงและตรวจ สอบภายใน § ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจสอบภายในแก่ทีมงาน และประสานการปฏิบัติงานกับลูกค้า § ผู้จัดการ - ส่วนตรวจสอบภายใน § วางแผนและควบคุมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของลูกค้า และการจัดการ แต่ละรายให้เป็นไปตามแผนงานก�ำหนด § เสนอบริการต่างๆ เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงและตรวจ สอบภายใน § ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจสอบภายในแก่ทีมงาน และประสานการปฏิบัติงานกับลูกค้า § ผูจ้ ดั การ - แผนกตรวจสอบบัญชี 4 § วางแผนและควบคุมการปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชีของลูกค้า แต่ละรายให้เป็นไปตามแผนงานก�ำหนด § ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจสอบบัญชีแก่ทีมงาน และประสานการปฏิบัติงานกับลูกค้า § ผู้ช่วยผู้จัดการ - แผนกตรวจ § ควบคุมผู้ช่วยผู้ตรวจสอบบัญชี และปฏิบัติงานตรวจสอบของ สอบบัญชี 4 ลูกค้าแต่ละรายให้เป็นไปตามแผนงานก�ำหนด § ผู้ช่วยผู้ตรวจสอบบัญชี - แผนก § ปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชีตามที่ได้รับมอบหมาย ตรวจสอบบัญชี 4 และ 5

§ ผู้จัดการอาวุโส - ส่วนบริหาร ความเสี่ยงและตรวจสอบภายใน § ผู้ตรวจสอบภายในของ ประเทศไทย (CPIAT) § หัวหน้าสายงานบริหารความ เสี่ยงและตรวจสอบภายใน

ประสบการณ์ท�ำงาน ต�ำแหน่ง

บริษัทฯ ว่าจ้างบริษัท สอบบัญชีธรรมนิติ จ�ำกัด (Outsource) เป็นผู้ให้บริการตรวจสอบภายใน โดยมีรายละเอียดของหัวหน้างานตรวจสอบภายใน ดังนี้

เอกสารแนบ 3 รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานตรวจสอบภายใน


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ซึ่งมีประสบการณ์ และคุณสมบัตคิ รบถ้วนตามหลักเกณฑ์ทคี่ ณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดกลักทรัพย์กำ� หนด รวมถึงประกาศตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย เรื่องคุณสมบัติและขอบเขตการด�ำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ พ.ศ. 2552 และไม่ได้เป็นผู้บริหาร หรือพนักงานของบริษัท ท�ำให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเป็นอิสระ โดยคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบด้วย กรรมการอิสระจ�ำนวน 3 ท่าน ได้แก่ นายช�ำนาญ วังตาล เป็นประธานกรรมการ (แทนนายสุคนธ์ กาญจนหัตถกิจ ซึ่งลาออกจาก ต�ำแหน่งเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2557) นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน และพลต�ำรวจเอกสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ เป็นกรรมการตรวจสอบ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 14 สิงหาคม 2557 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามที่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั อย่างเป็นอิสระ ปฏิบตั ติ ามขอบเขตอ�ำนาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งสอดคล้องกับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมี นโยบายเน้นการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และมีระบบการตรวจสอบภายในที่ดี โดยสรุปสาระส�ำคัญในการปฏิบัติ หน้าที่ดังนี้ - เน้นการตรวจสอบในเชิงป้องกันเพื่อให้มีการท�ำงานที่เป็นระบบ มีการสร้างองค์ความรู้เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานของบริษัทฯ และ บริษทั ย่อย เกิดความรูค้ วามเข้าใจอันจะท�ำให้ปฏิบตั ไิ ด้ถกู ต้องเป็นมาตรฐานเดียวกัน ครบถ้วนตามระเบียบกฎเกณฑ์ทเี่ กีย่ วข้อง และลดความผิดพลาดเสียหายได้ - การบริหารจัดการความเสีย่ งจากการด�ำเนินงาน เน้นให้มกี ารพิจารณาระบุปจั จัยเสีย่ งทีค่ รอบคลุมการปฏิบตั งิ านและมีมาตรการ บริหารจัดการความเสี่ยงดังกล่าว - การให้ความส�ำคัญของการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารและพนักงานให้เป็นไปตากฎหมาย กฎระเบียบ ข้อก�ำหนดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ในปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้มีการหารือร่วมกับฝ่ายบริหาร ผู้ตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีในเรื่องที่เกี่ยวข้อง สรุปสาระส�ำคัญในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดังนี้ 1. การสอบทานรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานข้อมูลทางการเงินระหว่างกาลและงบการเงินประจ�ำปี 2557 ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ร่วมกับฝ่ายบริหาร และผู้สอบบัญชีจากบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด โดยได้รับฟังและน�ำข้อสังเกตเพิ่มเติมต่างๆ ของผู้สอบบัญชีมาพิจารณาและปรึกษาร่วมกับฝ่ายบริหารเพื่อปรับปรุง ระบบการบัญชีและการด�ำเนินงานที่เกี่ยวข้องของบริษัทฯ ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ข้อคิด เห็นต่างๆ เพิ่มเติมเพื่อให้งบการเงินและรายงานทางการเงินของบริษัทฯ มีข้อมูลครบถ้วน ถูกต้อง เป็นไปตามมาตรฐาน การบัญชีและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยบริษัทฯ สามารถเปิดเผยงบการเงินและรายงานทางการเงินได้ตามระยะเวลา ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ก�ำหนด ส�ำหรับรอบปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นเช่นเดียวกับ ผูส้ อบบัญชีวา่ งบการเงินของบริษทั ฯ แสดงรายการโดยถูกต้องตามทีค่ วรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

154

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)


2. การสอบทานการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณานโยบายการบริหารความเสีย่ ง แผนงานและแนวทาง การบริหารจัดการความเสี่ยงตามรายการความเสี่ยงระดับองค์กร การบริหารจัดการความเสี่ยงอันเนื่องจากผลกระทบที่ เกิดขึ้นจากภาวะเศรษฐกิจ รวมถึงเหตุการณ์ความเสี่ยงอื่น มีการติดตามผลการด�ำเนินงานของฝ่ายบริหารความเสี่ยงเพื่อให้ มั่นใจว่าบริษัทฯ ได้มีการบริหารจัดการความเสี่ยงที่มีประสิทธิผลและเป็นการบริหารความเสี่ยงเชิงป้องกันจนความเสี่ยง ลดลงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ รวมถึงได้พิจารณาน�ำแผนงานบริหารความเสี่ยงไปเป็นแนวทางในการวางแผนการตรวจสอบ ของฝ่ายตรวจสอบภายในให้สอดคล้องกันอย่างเหมาะสม 3. การสอบทานระบบการควบคุมภายใน บริษัทฯ ได้แต่งตั้งบริษัท สอบบัญชีธรรมนิติ จ�ำกัด (“ผู้ตรวจสอบภายใน”) เพื่อท�ำการ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ซึ่งผู้ตรวจสอบภายในได้รายงานผลการประเมินความเพียง พอและประสิทธิผลของการควบคุมภายในของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2557 ตามรายงานของผู้ตรวจสอบภายใน โดย ภาพรวมแล้ว บริษทั ฯ มีกระบวนการปฏิบตั งิ านและกระบวนการบริหารจัดการ การด�ำเนินงานซึง่ มีระบบการควบคุมภายในที่ เพียงพอและมีประสิทธิผล โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีการสอบทานระบบการควบคุมภายในและประเมินความเพียงพอของ ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ตามเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และ ส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และมีความเห็นที่สอดคล้องกับผู้ตรวจสอบภายในและผู้สอบบัญชีว่าระบบ การควบคุมภายในของ บริษทั ฯ มีความเหมาะสมเพียงพอและไม่พบจุดอ่อนหรือปัญหาทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญซึง่ จะเป็นปัจจัยเสีย่ ง ท�ำให้เกิดผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจอย่างมีนัยส�ำคัญ รวมถึงได้ติดตามการด�ำเนินการแก้ไข ปรับปรุง ระบบงานของ หน่วยงานต่างๆ ตามรายงานผลการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบภายใน ในประเด็นต่างๆ เพื่อให้มั่นใจว่าปัญหาหรือข้อ บกพร่องในระบบงานได้รับการปรับปรุงหรือแก้ไขภายในระยะเวลาที่ก�ำหนดอย่างเหมาะสม การปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบในปีทผี่ า่ นมา ได้รบั ความร่วมมือด้วยดีจากทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า บริษทั มีการจัดท�ำรายงานทางการเงิน โดยมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ และเป็นไปตามหลักการบัญชีทยี่ อมรับ โดยทัว่ ไป และเป็นไปตามข้อก�ำหนดและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินธุรกิจ และไม่พบประเด็นทีม่ สี าระส�ำคัญอันอาจมีผลต่อ ประสิทธิภาพการควบคุมภายในและระบบการบริหารความเสี่ยงของกิจการ คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานความเห็นนี้ต่อ คณะกรรมการบริษัทแล้ว ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

(นายช�ำนาญ วังตาล) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 20 มีนาคม 2558

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

155




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.