สารบัญ สารจากประธานกรรมการ ข้อมูลส�าคัญทางการเงินโดยสรุป
1 2-3
การประกอบธุรกิจ · นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ · ลักษณะการประกอบธุรกิจ · ปัจจัยความเสี่ยง
4-10 11-17 18-21
การจัดการและการก�ากับดูแล · โครงสร้างการถือหุ้น · โครงสร้างการจัดการ · รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร และเลขานุการบริษัท · รายงานของคณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบเทน · รายงานคณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ · การก�ากับดูแลกิจการ · ความรับผิดชอบขององค์กรเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน · การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง · รายการระหว่างกัน
22-23 24-34 35-43 44 45 46-57 58-60 65-66 67-78
ฐานะการเงินและผลการด�าเนินงาน · รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน · รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ · การวิเคราะห์และค�าอธิบายของฝ่ายจัดการ · รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต และงบการเงิน ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�าคัญอื่นอ้างอิง
ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทเพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th
79 80-81 82-90 91-155 156-158
ไปที่สารบัญ
สารจากประธานกรรมการ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น "บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน) ยังคงมุ่งมั่นที่จะด�ำเนิน ธุรกิจให้มก ี ำรเติบโตอย่ำงต่อเนือ ่ งและมัน ่ คง เพือ ่ ให้บรรลุเป้ำหมำย ขององค์ ก ร ภำยใต้ ก ำรบริ ห ำรจั ด กำรตำมหลั ก ธรรมำภิ บ ำล ด้วยควำมรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ำย"
ในปี 2559 ภาพรวมเศรษฐกิจไทยมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น จากปีก่อนเล็กน้อย จากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ อาทิ การกระตุ้นการบริโภคภายในประเทศ การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ด้านคมนาคมของรัฐ และภาคการท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง แม้จะเผชิญกับปัจจัยเสีย่ งจากการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจโลกทีม่ กี ารชะลอตัว และผันผวน จากการเปลี่ยนแปลงนโยบายเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา การออกจากสมาชิกสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร และการชะลอ ตัวของเศรษฐกิจจีน อย่างไรก็ดี ภาวะอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและ ปิโตรเคมียงั ต้องเผชิญกับสถานการณ์ราคาน�า้ มันดิบ ทีม่ คี วามผันผวนสูง และราคาน�า้ มันดิบเฉลีย่ ในปี 2559 ยังอยูใ่ นระดับต�า่ จากสภาวะอุปทาน ล้นตลาด ทั้งจากผู้ผลิตกลุ่มโอเปคและกลุม่ อืน่ ส่งผลให้สภาพการแข่งขัน ทางธุรกิจในอุตสาหกรรมมีมากขึน้ จากสภาวการณ์ข้างต้น เป็นอีกปีแห่งความท้าทายในการ ด�าเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ทีต่ อ้ งเผชิญกับความเสีย่ งในการบริหารจัดการ กับปัจจัยภายนอกที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ อาทิ ผลกระทบจากราคาน�้ามัน ที่ผันผวน ผลกระทบจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อ การประกอบธุรกิจโดยรวมของบริษัท บริษัทฯ ได้มีการปรับเปลี่ยน กลยุทธ์ในการบริหารจัดการให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงและสภาวการณ์ ในปั จ จุ บั น นอกจากการรั ก ษาฐานการด� า เนิ น ธุ ร กิ จ เดิ ม ที่ มี อ ยู ่ โดยการขยายฐานลูกค้าด้านการจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิงทั้งในประเทศและต่างประเทศ บริษัทฯ ยังได้เข้าศึกษาโครงการลงทุนในกลุ่มธุรกิจ พลังงานอื่นๆ ที่สามารถสร้างเสถียรภาพ และมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กรเพื่อให้มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง และรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยใน อนาคต บริษทั ฯ เชือ่ มัน่ ว่าธุรกิจด้านพลังงาน ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี เป็นธุรกิจทีม่ คี วามส�าคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และยังมีโอกาส ในการเติบโตและสร้างรายได้ให้กับองค์กรต่อไปในอนาคต อย่างไรก็ดี บริษทั ฯ ยังคงตระหนักถึงความส�าคัญในการด�าเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวังและรอบคอบ มุง่ เน้นการสร้างระบบ การบริหารจัดการตามแนวทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม โดยการด�าเนินธุรกิจตามหลักธรรมาภิบาล ค�านึง ถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยในปี 2559 บริษัทฯ มุ่งเน้นการสร้างมาตรการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น เพื่อยืนยันเจตนารมณ์ในการเข้าเป็นส่วนหนึ่งของแนวร่วมปฏิบัติภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC) เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานในองค์กรมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนและสอดคล้อง กับนโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ รวมถึงการสือ่ สารนโยบายดังกล่าวไปยัง ลูกค้า คูค่ า้ และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนการเตรียมความ พร้อมในการพัฒนาศักยภาพองค์กร ทั้งด้านกลยุทธ์ในการด�าเนินธุรกิจ การก�ากับดูแล การพัฒนาบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และมาตรฐาน การให้บริการ การสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้ใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างคุม้ ค่าและเกิดประโยชน์สงู สุด เพือ่ ให้การด�าเนินงานของบริษทั ฯ ผ่านพ้นปัญหา และอุปสรรค และสามารถต่อยอดธุรกิจให้เติบโตต่อไปอย่างต่อเนื่อง ในนามของคณะกรรมการบริษัทฯ ผมขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้นและผู้มีอุปการคุณในทุกๆด้าน ตลอดจนผู้บริหารและพนักงานทุกท่านที่มี ส่วนร่วมในการสนับสนุนกิจการของบริษัทด้วยดีมาโดยตลอด และขอให้ทุกท่านเชื่อมั่นว่า คณะกรรมการบริษัททุกท่านจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ รับผิดชอบอย่างเต็มความสามารถ และค�านึงถึงประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่ายเป็นส�าคัญ เพือ่ ให้องค์กรมีการเติบโตอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนต่อไป
อภิสิทธิ์ รุจิเกียรติก�ำจร ประธานกรรมการ
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
1
ไปที่สารบัญ
ข้อมูลส�าคัญทางการเงินโดยสรุป งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
งบกำรเงินรวม ปี 2558 ปี 2559
รายได้จากการขายสินค้าและให้บริการ
3,071.59
2,617.94
1,444.43
2,769.29
3,787.45
ก�าไรขั้นต้น
218.94
241.03
178.53
254.09
278.98
EBITDA
114.16
177.30
137.84
79.00
49.03
ก�าไรสุทธิ
87.75
105.28
64.28
6.50
(23.21)
ก�าไรต่อหุ้น (บาท)
0.37
0.27
0.16
0.02
(0.06)
งบก�ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ (หน่วย : ล้ำนบำท)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
งบกำรเงินรวม ปี 2558 ปี 2559
1,227.78
2,236.72
2,364.04
2,167.44
2,342.17
148.3
1,056.96
1,030.45
1,088.75
1,188.34
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น
1,079.48
1,179.76
1,333.59
1,078.69
1,153.83
ทุนจดทะเบียน
315.00
379.12
417.04
379.12
417.04
ทุนที่ออกและช�าระแล้ว
210.00
359.99
415.12
359.99
415.12
งบแสดงฐำนะทำงกำรเงิน (หน่วย: ล้ำนบำท) รวมสินทรัพย์ รวมหนี้สิน
อัตรำส่วนทำงกำรเงิน
2
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
งบกำรเงินรวม ปี 2558 ปี 2559
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)
8.22
13.82
0.64
8.59
0.71
อัตราก�าไรขั้นต้น (ร้อยละ)
7.13
9.21
12.36
9.18
7.37
อัตราก�าไรสุทธิ (ร้อยละ)
2.85
3.89
4.45
0.23
(0.61)
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ร้อยละ)
10.04
6.08
2.79
0.38
(1.03)
อัตราผลตอบแทนจากผู้ถือหุ้น (ร้อยละ)
11.32
9.32
5.12
0.60
(2.08)
รำยได้จำกกำรขำยสินค้ำ และให้บริกำร (ล้านบาท)
รวมสินทรัพย์
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
(ล้านบาท)
อัตรำส่วนสภำพคล่อง (เท่า)
ไปที่สารบัญ
14 12 10 8 6 4 2 0
หน่วย : %
12.36 9.21 7.13 3.89
2.85 ปี 2557
4.45
ปี 2558 อัตรำก�ำไรสุทธิ
ปี 2559
12 10 8 6 4 2 0
หน่วย : %
11.32 10.04
9.32 6.08 5.12 2.79
ปี 2557
อัตรำก�ำไรขั้นต้น
ปี 2558
อัตรำผลตอบแทนสินทรัพย์
งบเฉพาะกิจการ
ปี 2559 อัตรำผลตอบแทนผู้ถือหุ้น
งบเฉพาะกิจการ
ผลการด�าเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย ส�าหรับปี 2559 จ�ำหน่ำยน�้ำมันทำงทะเล
3,438.65
สัดส่วน 90.68%
โครงสร้ำงรำยได้ ปี 2559 (หน่วย : ล้ำนบำท)
น�้ำมันหล่อลื่นและอื่นๆ
ปริมำณกำรขำยน�้ำมัน แต่ละประเภท ปี 2559 (หน่วย : ล้ำนลิตร)
0.42
สัดส่วน 0.16% น�้ำมันเบนซิน
18.03
สัดส่วน 6.66%
น�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว
171.38
จ�ำหน่ำยน�้ำมันทำงบก
สัดส่วน 63.32%
162.31
สัดส่วน 4.28%
น�้ำมันเตำ กำรให้บริกำร
186.49
สัดส่วน 4.92%
80.84
รำยได้อื่น
สัดส่วน 29.87%
4.67
สัดส่วน 0.12%
1. จ�ำหน่ำยน�้ำมันทำงทะเล
2. จ�ำหน่ำยน�้ำมันทำงบก
1. น�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว
2. น�้ำมันเตำ
3. กำรให้บริกำร
4. รำยได้อื่น
3. น�้ำมันเบนซิน
4. น�้ำมันหล่อลื่นและอื่นๆ
รายได้จากการขายแยกประเภทน้�ามัน ปี 2557 - 2559 (หน่วย: ล้านบาท)
4000.00 3500.00 3000.00 2500.00 2000.00 1500.00 1000.00 500.00 0.00
น�้ำมันเบนซิน 196.23
น�้ำมันเตำ
790.88
น�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว
523.71
น�้ำมันหล่อลื่นและอื่นๆ 284.12
1,042.40
560.81
2,591.65 1,623.83 1,220.94
24.70
2557
83.41
2558
22.05
2559
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
3
ไปที่สารบัญ
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการที่ส�าคัญ บริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) (“บริษัท”) เป็นบริษัทในกลุ่มนทลิน จดทะเบียนก่อตั้งบริษัทขึ้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2540 ด้วยทุนจดทะเบียนแรกเริม่ 1,000,000 บาท ปัจจุบนั บริษทั มีทนุ จดทะเบียน จ�านวน 417,036,710 บาท และมีทนุ ทีอ่ อกและช�าระแล้ว จ�านวน 415,120,281 บาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559) โดยมีวัตถุประสงค์ในการประกอบธุรกิจจัดจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้กับ เรือประเภทต่างๆ เช่น เรือเดินทะเล เรือขนส่งน�้ามัน เรือประมง และเรือประเภทอื่นๆ โดยบริษัทจะด�าเนินการจัดหาน�้ามันจากผู้ผลิตน�้ามัน/ ผู้ค้าน�้ามันรายใหญ่และจ�าหน่ายให้กับลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา พม่า เป็นต้น ทั้งนี้ บริษัทไม่มีการลงทุน ในสินทรัพย์ถาวรที่ใช้ในการด�าเนินธุรกิจด้านการจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง ทั้งคลังกักเก็บน�้ามัน และยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งน�้ามัน โดยบริษัทจะด�าเนินการจัดหาผู้ขนส่งอิสระเพื่อให้บริการขนส่งในกรณีที่ลูกค้าต้องการ ตุลำคม 2553
บริษัทได้ท�าการขยายธุรกิจออกไปสู่การจัดจ�าหน่ายน�้ามัน เชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นทางบกให้กับโรงงานอุตสาหกรรม และ ธุรกิจอื่นๆ เช่น ธุรกิจรถขนส่งทางบก ธุรกิจให้บริการรถโดยสาร เป็นต้น ซึ่งท�าให้บริษัทสามารถขยายช่องทางการให้บริการแก่ลูกค้า ได้หลากหลายขึ้น กรกฎำคม 2554
บริษัทได้เริ่มธุรกิจบริการด้านอาหาร ท�าความสะอาด และ ซักรีด (Catering and Housekeeping Service) ให้แก่เรือพักอาศัย (Accommodation Barge) ส�าหรับพนักงานประจ�าแท่นขุดเจาะ น�้ามันและก๊าซในอ่าวไทย 4
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
กันยำยน 2555
บริ ษั ท ได้ เ ริ่ ม ด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก ารจั ด หาวั ต ถุ ดิ บ เพื่อใช้ในการเตรียมอาหาร จัดหาเสบียง และบริการอื่นๆ (General Supply) ให้กับเรือเดินทะเล เรือล�าเลียงวัสดุอุปกรณ์/เครื่องอุปโภค บริโภค (Supply & Service Boat) และเรือโดยสารพนักงาน แท่นขุดเจาะ (Crew Boat) และแท่นขุดเจาะน�้ามันและก๊าซในทะเล เช่น อาหาร น�้า เครื่องมือต่างๆ เป็นต้น เพื่อเป็นการต่อยอดจากธุรกิจ Catering and Housekeeping Service และยังเป็นการใช้ประโยชน์ จากฐานลูกค้าปัจจุบนั ของบริษทั ทีม่ อี ยูใ่ นธุรกิจการจัดจ�าหน่ายน�า้ มัน เชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นทางทะเลได้ ซึ่งมีความต้องการใช้เสบียง อาหาร และวัสดุสิ้นเปลืองอื่นๆ เพื่อใช้ในการเดินเรืออยู่แล้วเพื่อเพิ่ม รายได้ให้กับบริษัท
ไปที่สารบัญ
กันยำยน 2556
การเปลี่ยนแปลงทุนจดทะเบียนที่ส�าคัญ
บ ริ ษั ท ไ ด ้ ก ้ า ว เ ข ้ า สู ่ ก า ร เ ป ็ น บ ริ ษั ท จ ด ท ะ เ บี ย น ในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ อย่างเป็นทางการ ซึ่งได้รับการอนุมัติ จากส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีการเสนอขายหุ้นใหม่ ให้แก่ประชาชนทั่วไปครั้งแรก (Initial Public Offering: IPO) ราคา หุ้นละ 3.45 บาท
บริษทั มีการลดทุนจดทะเบียน จากเดิม 160,000,000 บาท เป็น 110,000,000 บาท และเพิม่ ทุนจดทะเบียนจากเดิม 110,000,000 บาท เป็น 180,000,000 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพื่อเสนอขาย ให้แก่กรรมการและผู้บริหารของบริษัทและบริษัทในกลุ่มนทลิน และ ประชาชน จ�านวน 70,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท
ตุลำคม 2557
เมษำยน 2557
บริษทั ได้จดั ตัง้ บริษทั ย่อยทีป่ ระเทศเบอร์มวิ ด้า ชือ่ ว่า “Sea Oil Energy Limited” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการลงทุนและ ขยายธุรกิจของบริษัท ธันวำคม 2557
ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2557 มีมติอนุมตั ใิ ห้บริษทั เข้าท�ารายการได้มาซึง่ หุน้ ของบริษทั แพน โอเรียนท์ เอ็นเนอยี่ (สยาม) ลิมิเต็ด (“POES”) ในสัดส่วนประมาณร้อยละ 49.99 ของจ�านวนหุ้น ที่ออกและจ�าหน่ายได้แล้วทั้งหมด ซึ่งเป็นการลงทุนใน POES ที่ส่ง เสริมให้บริษัทก้าวเข้าสู่ธุรกิจการส�ารวจและผลิตปิโตรเลียมอันเป็น ธุรกิจที่ต่อเนื่อง และส่งเสริมกับธุรกิจการเป็นผู้จ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมของบริษทั ในปัจจุบนั โดยจะได้เรียนรูแ้ ละรับประสบการณ์ จากบริษัทส�ารวจ ผลิตและจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอันจะน�าไป สู่การเข้าเป็นผู้รับสัมปทานในอนาคต
มกรำคม 2558
บริษัทได้จัดตั้งบริษัทย่อยที่ดินแดนสหพันธ์แห่งลาบวน ประเทศมาเลเซีย ชื่อว่า “Sea Oil Offshore Limited” โดยมี วัตถุประสงค์จัดจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิงระหว่างประเทศและขยาย กิจการไปยังต่างประเทศ
เมษำยน 2558
บริษัทได้จัดตั้งบริษัทย่อยที่ประเทศสิงคโปร์ ชื่อว่า “Sea Oil Petroleum PTE. LTD.” โดยจัดจ�าหน่ายน�้ามันและผลิตภัณฑ์ เกี่ยวกับน�้ามันที่ประเทศสิงคโปร์ และขยายฐานลูกค้าในต่างประเทศ พฤษภำคม 2558
ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2558 มีมติอนุมตั ใิ ห้บริษทั เข้าท�ารายการได้มาซึง่ หุน้ ของบริษทั นครชัยปราการ เคมีภณ ั ฑ์ (“นคร ชัยปราการ”) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของจ�านวนหุ้นที่ออกและ จ�าหน่ายได้แล้วทัง้ หมด บริษทั ได้จดั สรรหุน้ และท�ารายการได้มาซึง่ หุน้ นครชัยปราการเสร็จสิน้ เมือ่ วันที่ 11 เมษายน 2559 ซึง่ นครชัยปราการ ประกอบธุรกิจโรงแยกคอนเดนเสท ซึง่ ผลิตและจ�าหน่ายโซลเว้นท์และ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเหลวทุกชนิด
กุมภำพันธ์ 2556
บริษัทมีมติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�าปี 2557 เพิ่มทุนจดทะเบียน จ�านวน 30,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่ อ รองรั บ การจ่ า ยหุ ้ น ปั น ผลให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น จากเดิ ม 180,000,000 บาท เป็นทุนจดทะเบียน 210,000,000 บาท และมีทนุ ช�าระแล้วเป็นเงิน 209,998,052 บาท ธันวำคม 2557
บริษัทมีมติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2557 ลดทุนจดทะเบียนจาก 210,000,000 บาทเป็น 209,998,052 บาท และมี ม ติ เ พิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นจาก 209,998,052 บาท เป็ น 314,997,078 บาท เพื่อใช้เป็นแหล่งเงินทุนในการเข้าท�ารายการได้ มาซึ่งหุ้นของบริษัท แพน โอเรียนท์ เอ็นเนอยี่ (สยาม) ลิมิเต็ด มกรำคม 2558
บริษัทจดเพิ่มทุนช�าระแล้ว จากเดิม 209,998,052 บาท เป็น 314,996,857 บาท หลังจากการเสนอขายหุ้นเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือ หุ้นเดิม เมษำยน 2558
บริษัทมีมติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�าปี 2558 เพิ่มทุนจดทะเบียน จ�านวน 44,999,551 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น จากเดิม จ�านวน 314,996,857 บาท เป็นทุนจดทะเบียน 359,996,408 บาท และ มีทุนช�าระแล้วเป็นเงิน 359,993,848 บาท พฤษภำคม 2558
บริษัทมีมติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2558 ลดทุนจดทะเบียนจาก 359,996,408 บาทเป็น 359,993,848 บาท และเพิม่ ทุนจดทะเบียนจาก 359,993,848 บาทเป็น 379,124,282 บาท เพื่ อ รองรั บ การท� า รายการได้ ม าซึ่ ง หุ ้ น บริ ษั ท นครชั ย ปราการ เคมีภัณฑ์ จ�ากัด เมษำยน 2559
บริษัทมีมติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�าปี 2559 เพิ่ม ทุนจดทะเบียน จ�านวน 37,912,428 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น จากเดิม จ�านวน 379,124,282 บาท เป็นทุนจดทะเบียน 417,036,710 บาท และ มีทุนช�าระแล้วเป็นเงิน 415,120,281 บาท “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
5
ไปที่สารบัญ
ภาพรวมของการประกอบธุรกิจ บริษัทเริ่มประกอบธุรกิจจากการเป็นผู้ให้บริการจัดหาน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้กับเรือเดินทะเล เช่น เรือขนส่งสินค้า เรือบรรทุกน�้ามัน เรือประมง และเรือห้องเย็น เป็นต้น ซึ่งลูกค้าของบริษัท ได้แก่ เรือเดินทะเลที่เดินทางภายในประเทศ ระหว่างประเทศ และ ยังรวมไปถึงเรือเดินทะเลที่เดินทางมาจากต่างประเทศอีกด้วย โดยผลิตภัณฑ์ที่บริษัทจัดหาให้ลูกค้าเหล่านี้ได้แก่ น�้ามันเชื้อเพลิงที่ใช้ใน การขับเคลือ่ นเรือ เช่น น�า้ มันดีเซลหมุนเร็ว น�า้ มันเตาชนิดต่างๆ และน�า้ มันหล่อลืน่ เครือ่ งยนต์ โดยเรือเดินทะเลแต่ละประเภทจะมีความต้องการ น�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นเครื่องยนต์ที่ต่างกันออกไป
น�้ามันเบนซิน
น�้ามันดีเซลหมุนเร็ว
น�้ามันเตา
น�้ามันหล่อลื่น
ในปัจจุบนั บริษทั มีการจัดหาน�า้ มันเชือ้ เพลิงและน�า้ มันหล่อ ลื่นให้กับลูกค้าทางทะเลเป็นหลัก และตั้งแต่ปี 2553 บริษัทได้ขยาย ธุรกิจไปยังธุรกิจการจัดหาน�้ามันให้กับลูกค้าทางบก โดยมีกลุ่มลูกค้า ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม และกลุ่มลูกค้าในธุรกิจต่างๆ เช่น ธุรกิจ ขนส่งทางบก ธุรกิจการให้บริการรถโดยสาร เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทยังท�าหน้าที่เป็นผู้จัดหาน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นตาม ความต้องการของลูกค้าในต่างประเทศ อาทิ สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา และ พม่า เป็นต้น โดยน�้ามันเชื้อเพลิงที่บริษัทจัดหา ได้แก่ น�้ามันเชื้อเพลิง ประเภทต่างๆ ที่ใช้ในการขับเคลื่อนเรือ น�้ามันหล่อลื่น และน�้ามัน เบนซิน เป็นต้น ซึ่งบริษัทไม่มีความจ�าเป็นในการลงทุนในสินทรัพย์ ถาวรใดๆ เพื่อใช้ในการด�าเนินธุรกิจ ทั้งนี้ เมื่อบริษัทได้รับค�าสั่งซื้อ จากลูกค้าแล้ว บริษัทจะจัดหาสินค้าจากผู้ผลิตน�้ามันรายใหญ่ใน ประเทศหรือผูค้ า้ ส่งน�า้ มันทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ (“Supplier”) โดยในกรณีลกู ค้ามีความต้องการให้บริษทั เป็นผูข้ นส่งน�า้ มันให้ บริษทั จะด�าเนินการจัดจ้างผูข้ นส่งอิสระเพือ่ ขนส่งน�า้ มันไปยังจุดหมายปลาย ทางที่ลูกค้าก�าหนด ส�าหรับลูกค้าที่ต้องการรับน�้ามันกลางทะเล บริษทั จะจัดจ้างเรือขนส่งน�า้ มันเพือ่ ขนส่งสินค้าไปยังลูกค้า หากลูกค้า เป็นเรือทีจ่ อดเทียบท่าอยูห่ รือลูกค้าทางบก บริษทั จะท�าการจัดจ้างรถ ขนส่ ง น�้ า มั น เพื่ อ ขนส่ ง ไปยั ง จุ ด หมายปลายทางที่ ลู ก ค้ า ก� า หนด โดยบริษัทมีนโยบายที่จะท�าการส่งผู้ควบคุมการจัดส่งของบริษัท 6
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
(Inspector) ขึ้นประจ�าการบนยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งตั้งแต่รับ น�้ า มั น ที่ ค ลั ง ต้ น ทางไปจนถึ ง จุ ด หมายปลายทางที่ ลู ก ค้ า ต้ อ งการ เพื่อให้แน่ใจว่าสินค้ามีคุณลักษณะตามที่ลูกค้าต้องการ มีปริมาณ ทีค่ รบถ้วน และน�าส่งถึงมือลูกค้าตรงตามเวลาทีก่ า� หนด เพือ่ ให้ลกู ค้า เกิดความมั่นใจและไว้วางใจในการสั่งซื้อสินค้ากับบริษัท ก�าไรจากการด�าเนินธุรกิจของบริษทั มาจากส่วนต่างระหว่าง ต้นทุนน�า้ มัน รวมถึงต้นทุนต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับราคาทีจ่ า� หน่ายน�า้ มัน ให้ กั บ ลู ก ค้ า โดยตั้ ง แต่ ก ่ อ ตั้ ง บริ ษั ท จนถึ ง ปั จ จุ บั น เมื่ อ บริ ษั ท มีผลก�าไรจากการด�าเนินงานต่อเนือ่ งจากการจ�าหน่ายน�า้ มันเชือ้ เพลิง ทางทะเลและทางบก บริษทั ขึน้ ทะเบียนเป็นผูค้ า้ น�า้ มันตามมาตรา 10 ซึง่ เป็นผูค้ า้ น�้ามันเชื้อเพลิงที่มีปริมาณการค้าน�้ามันเชื้อเพลิง แต่ละชนิดหรือรวม กันทุกชนิดปีละ 30,000 เมตริกตัน (ประมาณ 36 ล้านลิตร) ขึ้นไปแต่ ไม่เกิน 100,000 เมตริกตัน (ประมาณ 120 ล้านลิตร) หรือเป็นผู้ค้า ที่มีขนาดของถังที่สามารถเก็บน�้ามันเชื้อแพลิงแต่ละชนิดหรือรวมกัน ทุกชนิดได้เกิน 200,000 ลิตร โดยปริมาณการค้าน�้ามันเชื้อเพลิง ประจ� า ปี ดั ง กล่ า ว หมายถึ ง ปริ ม าณน�้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง แต่ ล ะชนิ ด ที่ น� า เข้ า มาในประเทศ ซื้ อ กลั่ น ผลิ ต หรื อ ได้ ม าในปี ห นึ่ ง ทั้ ง นี้ ไม่รวมถึงปริมาณที่จัดหามาเพื่อการส�ารองตามกฎหมาย ทั้งนี้ บริษัทยังด�าเนินธุรกิจให้บริการในการจัดหาอาหาร วัตถุดิบ และให้บริการอื่นๆ ส�าหรับพนักงานประจ�าแหล่งขุดเจาะ
ไปที่สารบัญ
น�้ามันและก๊าซทั้งในทะเลและบนบก (Supply Management) เนื่องจากบริษัทมีกลุ่มลูกค้าที่เป็นเรือล�าเลียงวัสดุอุปกรณ์/เครื่อง อุปโภคบริโภค (Supply & Service Boat) และเรือโดยสารพนักงาน แท่นขุดเจาะ (Crew Boat) บริษัทจึงเล็งเห็นโอกาสในการให้บริการ ด้านอาหาร ท�าความสะอาด และซักรีด (Catering and Housekeeping Service) ให้แก่พนักงานประจ�าแท่นขุดเจาะน�้ามันและก๊าซ เพื่อให้ บริการที่ครอบคลุมความต้องการของลูกค้ากลุ่มนี้มากยิ่งขึ้น บริษัทได้เข้าลงทุนในบริษัท แพน โอเรียนท์ เอ็นเนอยี่ (สยาม) ลิ มิ เ ต็ ด (“POES”) ในสั ด ส่ ว นประมาณร้ อ ยละ 49.99 ของจ�านวนหุ้นที่ออกและจ�าหน่ายได้แล้วทั้งหมดของ POES ซึ่งเป็น บริ ษั ท ผลิ ต และส� า รวจปิ โ ตรเลี ย มและก๊ า ซธรรมชาติ บ นบกใน ประเทศไทย และได้ครอบครองสัมปทานแปลงที่ L53/48 ตั้งอยู่ที่ อ�าเภอก�าแพงแสน จังหวัดนครปฐม ซึ่งมีระยะเวลาผลิตปิโตรเลียม นานถึง 20 ปี ส�าหรับการลงทุนในธุรกิจกับ POES นัน้ ต่อยอดกับธุรกิจ ของบริษัทในปัจจุบัน และท�าให้บริษัทได้ประสบการณ์และการเรียน รู้จากบริษัทส�ารวจ ผลิตและจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ซึ่งน�าไปสู่ สิทธิการเข้าเป็นผู้รับสัมปทานต่อไปในระยะยาว นอกจากนี้ บริษัทเข้าซื้อบริษัท นครชัยปราการ เคมีภัณฑ์ จ�ากัด (“NPC”) ซึง่ ประกอบธุรกิจด้านการผลิตและจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียม ปิโตรเคมี ได้แก่ ไวท์สปิริต (white spirit) รับเบอร์ โซลเวนท์ (rubber solvent) น�้ามันดีเซล และน�้ามันเตา โดยด�าเนิน กระบวนการผลิตในโรงแยกคอนเดนเสท (condensate splitter) ของ NPC ซึ่งตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี มีก�าลังการผลิตประมาณ 180,000 ลิตรต่อวัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ยังมิได้เริม่ ด�าเนินธุรกิจ ซึง่ อยูร่ ะหว่างด�าเนินการปรับปรุงโรงงาน
บริษัทมีผู้ถือหุ้นรายใหญ่คือ บริษัท นทลิน จ�ากัดซึ่งถือหุ้น ในบริ ษั ท ร้ อ ยละ 45.05 บริ ษั ท เป็ น หนึ่ ง ในบริ ษั ท ในเครื อ ของ บริษัท นทลิน จ�ากัด (“นทลิน”) ซึ่งกิจการของกลุ่มนทลินเกี่ยวข้อง กับธุรกิจการขนส่งน�้ามันทางเรือ โดยกลุ่มบริษัท นทลิน เป็นผู้ให้ บริการขนส่งน�้ามันทางทะเล มานานกว่า 30 ปี ซึ่งบริษัทฯ เป็นเพียง บริ ษั ท เดี ย วในกลุ ่ ม บริ ษั ท นทลิ น ที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ จั ด จ� า หน่ า ย น�้ามันเชื้อเพลิงโดยนทลินได้จัดท�าข้อตกลงในการไม่ประกอบธุรกิจ แข่งขันกับบริษัท ขึ้นเพื่อเป็นการยืนยันและรับรองว่า นทลิน ซึ่งมี การด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ต่ า งๆ รวมถึ ง บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง และ ผู้ที่เกี่ยวข้องของนทลินตามประกาศคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ว ่ า ด้ ว ยการก� า หนดบทนิ ย ามในประกาศ ทีเ่ กีย่ วกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ จะมีการก�าหนดขอบเขต การด�าเนินธุรกิจ โดยตกลงทีจ่ ะไม่ดา� เนินธุรกิจหรือเข้ามีอา� นาจควบคุม นิตบิ คุ คลใดๆ ทีด่ า� เนินธุรกิจทีม่ ลี กั ษณะคล้ายคลึง และ/หรือ ลักษณะ ที่ เ ป็ น การแข่ ง ขั น กั บ ธุ ร กิ จ ปั จ จุ บั น ของบริ ษั ท อั น ได้ แ ก่ ธุ ร กิ จ จัดจ�าหน่ายน�้ามัน และธุรกิจให้บริการในธุรกิจจัดหาอาหาร วัตถุดิบ และให้ บ ริ ก ารอื่ น ๆ แก่ ที่ พั ก อาศั ย ในทะเล เรื อ เดิ น ทะเล และ แท่ นขุด เจาะน�้ ามั น และก๊ า ซในทะเล (Supply Management) รวมถึงธุรกิจใหม่ทบี่ ริษทั จะด�าเนินการในอนาคต โดยนทลินจะด�าเนิน การแจ้งและดูแลให้บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งและผู้ที่เกี่ยวข้อง ของนทลิน ทราบและปฏิบัติตามข้อตกลงนี้ ทั้งนี้ ในข้อตกลงดังกล่าว ได้มกี ารระบุไว้ถงึ บทลงโทษต่อ นทลิน หากมีการฝ่าฝืนข้อตกลงดังกล่าว
โครงสร้างกลุ่มธุรกิจของ บริษัท นทลิน จ�ากัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
แสดงเป็นแผนภาพได้ดังนี้
บริษัท นทลิน จ�ากัด ทุนจดทะเบียน 397.2 ล้านบาท
กลุ่มธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามัน
กลุ่มธุรกิจเรือขนส่งน�้ามัน
เชื้อเพลิงและการให้บริการ ถือหุ้น
กลุ่มธุรกิจพลังงานทดแทน
กลุ่มธุรกิจอื่นๆ
45.05%
บริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน)
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
7
ไปที่สารบัญ
เงินลงทุนในกิจการที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัท คุณ นที จ�ากัด (ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มนทลิน ประกอบธุรกิจรับจ้างขนส่ง ทางเรือ) ร้อยละ 3.33 ของทุนที่ออกและเรียกช�าระแล้วทั้งหมดของ บริษัท คุณนที จ�ากัด
ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีเงินลงทุนในบริษัทย่อย Sea Oil Petroleum Pte. Ltd. เป็นจ�านวนเงิน 26,972,597 บาท ( 750,000 ดอลล่ า ร์ ส หรั ฐ อเมริ ก า มู ล ค่ า หุ ้ น ละ 1 ดอลล่ า ร์ สหรัฐอเมริกา ) เงินลงทุนในบริษท ั นครชัยปรำกำร เคมีภณ ั ฑ์ จ�ำกัด
เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2559 บริษัทได้เข้าซื้อหุ้นของ เงินลงทุนในบริษัทย่อย ั ฑ์ จ�ากัด ซึง่ ประกอบธุรกิจโรงแยกคอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท บริษทั นครชัยปราการ เคมีภณ มีเงินลงทุนในบริษัทย่อยตามวิธีราคาทุน จ�านวน 1,332,229 บาท เดนเสท ผลิตและจ�าหน่ายโซลเว้นท์และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเหลว ทุกชนิด จ�านวน 1,500,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท หรือ ประกอบด้วย คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100 ของจ�านวนหุ้นที่ออกและจ�าหน่ายแล้ว เงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท Sea Oil Energy Limited ทั้งหมดของ NPC โดยช�าระเป็นหุ้นสามัญออกใหม่ของบริษัทจ�านวน ณ ประเทศเบอร์มิวด้า เป็นเงินจ�านวน 32 บาท (1 ดอลลาร์ 19,130,434 หุ้น และจ่ายเป็นเงินสดเพิ่มเติมส�าหรับรายการเงินสด สหรัฐอเมริกา) หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียนทีอ่ อกและ และเงินทุนหมุนเวียนหักด้วยหนี้สินที่มีอยู่ในบัญชีของ NPC ณ วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2559 การซื้อหุ้นดังกล่าวบริษัทฯจะได้มาซึ่งกลุ่ม บริษัทได้ช�าระเงินลงทุนดังกล่าวเต็มจ�านวนแล้ว สิ น ทรั พ ย์ ข องธุ ร กิ จ โรงแยกคอนเดนเสท ประกอบไปด้ ว ย ที่ ดิ น เงินลงทุนในบริษัท Sea Oil Offshore Limited โรงแยกคอนเดนเสท เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ์ ตั้ ง อยู ่ ณ นิ ค ม ณ ดินแดนสหพันธ์แห่งลาบวน ประเทศมาเลเซีย เป็นเงิน อุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ ได้บันทึกเงินลงทุนในบริษัท จ�านวน 977,400 บาท (30,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา) หรือคิดเป็น ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียนที่ออกและบริษัทได้ช�าระเงินลงทุน นครชัยปราการ เคมีภัณฑ์ จ�ากัด เป็นจ�านวนเงิน 135,823,947 บาท ตามมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินที่ได้มา ณ วันซื้อ หักด้วย ดังกล่าวเต็มจ�านวนแล้ว ต้นทุนในการได้มาของเงินลงทุนดังกล่าว เงินลงทุนในบริษท ั Sea Oil Petroleum Pte. Ltd. ณ ประเทศสิงคโปร์
เงินลงทุนในการร่วมค้า ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีเงินลงทุน ณ วันที่ 11 มกราคม 2559 Sea Oil Petroleum Pte. Ltd. ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจ�านวน 990,000 หุ้น รวมเป็นทุนจดทะเบียน ในการร่วมค้า ตามบัญชีวิธีส่วนได้เสีย จ�านวน 1,302.34 ล้านบาท ทั้งสิ้น 1,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 ดอลล่าร์สหสหรัฐอเมริกา หรือวิธีคิดราคาทุน จ�านวน 1,387.88 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการที่ โดยบริษัทได้ช�าระค่าหุ้นเพิ่มทุน 740,0000 ดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา บริษัทย่อย Sea Oil Energy Limited ได้เข้าซื้อหุ้นของ Pan Orient หรือเทียบเท่า 26.62 ล้านบาท และได้มีการเสนอขายหุ้นให้แก่ Energy (Siam) Limited (“POES”) เมือ่ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ผู้ถือหุ้นชาวสิงคโปร์ร้อยละ 25 จ�านวน 250,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ ซึง่ ประกอบธุรกิจเกีย่ วกับการส�ารวจ พัฒนาและผลิตน�า้ มันปิโตรเลียม 1 ดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา ( 250,000 ดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา) ภายหลัง และก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย จ�านวน 9,863 หุ้น คิดเป็นสัดส่วน การเพิ่ ม ทุ น ดั ง กล่ า วสั ด ส่ ว นการถื อ หุ ้ น ในบริ ษั ท ย่ อ ย Sea Oil ร้ อ ยละ 49.99 ของจ� า นวนหุ ้ น ที่ อ อกและจ� า หน่ า ยแล้ ว ทั้ ง หมด ของ POES Petroleum Pte. Ltd. คงเหลือร้อยละ 75
8
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
โครงสร้างของบริษัทและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 แสดงเป็นแผนภาพได้ดังนี้
บริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) ทุนจดทะเบียน 417.04 ล้านบาท
บจ.นครชัยปราการ เคมีภัณฑ์ นิคมฯอมตะนคร จังหวัดชลบุรี ทุนจดทะเบียน 150 ล้านบาท
100% 100%
Sea Oil Energy Ltd. ประเทศเบอร์มิวด้า ทุนจดทะเบียน 1 ดอลลาร์สหรัฐ
Pan Orient Energy (Siam) Limited ประเทศเบอร์มิวด้า
75%
100%
Sea Oil Offshore Ltd. ลาบวน ประเทศมาเลเซีย ทุนจดทะเบียน 0.03 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
Sea Oil Petroleum Pte. Ltd. ประเทศสิงคโปร์ ทุนจดทะเบียน 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
49.99%
เป้าหมายและกลยุทธ์ในการด�าเนินธุรกิจ บริ ษั ท ยั ง คงมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ มี ก ารเติ บ โต อย่างยั่งยืน เพื่อเข้าสู่การเป็นองค์กรชั้นน�าด้านการผลิต จัดจ�าหน่าย น�า้ มันเชือ้ เพลิง ธุรกิจจัดหาวัตถุดบิ สินค้า และให้บริการ ทัง้ ในประเทศ และกลุ่มประเทศอาเซียน ตลอดจนจัดหาแหล่งพลังงานปิโตรเลียม โดยมุ่งเน้นการสร้างระบบการบริหารจัดการตามแนวทางการพัฒนา อย่ า งยั่ ง ยื น โดยการด� า เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี จ ริ ย ธรรมและโปร่ ง ใส ค�านึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายของกิจการ ไม่ว่าจะเป็น ผู้ถือหุ้น พนักงาน คู่ค้า ลูกค้า หรือบุคคลภายนอกที่มีส่วนได้เสีย ภายใต้ ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม มีการก�าหนดนโยบาย การก�ากับดูแลกิจการ จรรยาบรรณในการด�าเนินธุรกิจ นโยบาย ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม นโยบายการต่ อ ต้ า น การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น นโยบายคุ ณ ภาพ เพื่ อ เป็ น กรอบแนวทาง ให้ผู้บริหารและพนักงานได้ปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน บริษัทฯ ได้ มี ก ารก� า หนดและปรั บ เปลี่ ย นกลยุ ท ธ์ ใ นการด� า เนิ น ธุ ร กิ จ เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ทั้งด้านเศรษฐกิจ และสภาวะราคาน�า้ มันทีอ่ ยูใ่ นระดับต�า่ บริษทั ฯพยายามมองหาโอกาส ทางธุรกิจใหม่ๆที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กรและต่อยอดธุรกิจเดิม ที่ มี อ ยู ่ เพื่ อ สร้ า งเสถี ย รภาพและสามารถรั ก ษาความสามารถ ในการแข่ ง ขั น ทางธุ ร กิ จ ได้ บริ ษั ท จึ ง ได้ มี ก ารก� า หนดกลยุ ท ธ์ ในการด�าเนินธุรกิจเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนไว้ ดังนี้
1. กำรเสริมสร้ำงคุณภำพของสินค้ำและพัฒนำ มำตรฐำนกำรให้บริกำรกับลูกค้ำเป็นส�ำคัญ
บริษทั ด�าเนินธุรกิจการจัดหาน�า้ มันเชือ้ เพลิงและน�า้ มันหล่อ ลื่นให้กับเรือเดินทะเลมานานกว่า 20 ปี โดยบริษัทมีผู้บริหารและ พนักงานทีม่ ปี ระสบการณ์และความเชีย่ วชาญด้านธุรกิจการจ�าหน่าย น�า้ มันมายาวนาน บริษทั เชือ่ ว่าความส�าเร็จของธุรกิจค้าน�า้ มันเกิดจาก ความน่าเชื่อถือและความพึงพอใจที่ได้รับจากลูกค้า โดยบริษัทมีการ ควบคุมคุณภาพน�า้ มันอย่างเคร่งครัดเพื่อจัดหาและขนส่งสินค้าให้แก่ ลูกค้า เพือ่ ให้ลกู ค้าได้รบั สินค้าทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ รงตามความต้องการ ได้ รับสินค้าตรงเวลาและจ�านวนครบถ้วนตามค�าสั่งซื้อ มุ่งเน้นบริการ ลูกค้าให้เกิดความพึงพอใจอย่างสูงสุด โดยตระหนักถึงด้านการจัดการ ความปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อม และความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นส�าคัญ
2. กำรขยำยธุรกิจและกำรให้บริกำรไปยังธุรกิจที่ เกีย ่ วเนือ ่ ง ทัง ้ ด้ำนผลิต จัดจ�ำหน่ำยน�ำ้ มันเชือ ้ เพลิงและจัดหำ วัตถุดบ ิ และบริกำร ขยำยฐำนลูกค้ำทัง ้ ในและต่ำงประเทศเพือ ่ ให้มส ี ว ่ นแบ่งกำรตลำดทีเ่ พิม ่ ขึน ้
ในการประกอบธุรกิจผ่านช่องทางการให้บริการทางทะเล บริษทั ขยาย ธุ ร กิ จ จั ด จ� า หน่ า ยน�้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ให้ ค รอบคลุ ม เรื อ ทุ ก ประเภท โดยเฉพาะเรือขนส่งสินค้าที่มีขนาดใหญ่และมีจ�านวนเรือในกองเรือ จ�านวนมาก รวมไปถึงการให้บริการอื่นๆ ที่จ�าเป็นกับเรือเดินทะเล
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
9
ไปที่สารบัญ
รวมถึงแท่นขุดเจาะน�้ามันและก๊าซในทะเลและบนบก เพื่อเป็นผู้ให้ บริการในทะเลแก่เรือเดินทะเลประเภทต่างๆ และแท่นขุดเจาะน�า้ มัน และก๊าซธรรมชาติในทะเลทีค่ รบวงจร นอกจากการจัดจ�าหน่ายน�า้ มัน ภายในประเทศ (Domestic) แล้ว บริษัทยังเล็งเห็นถึงศักยภาพ ของการจัดจ�าหน่ายน�้ามันในต่างประเทศ (External) ซึ่งเป็นการ จ�าหน่ายน�้ามันให้กับเรือของลูกค้าที่มีความต้องการน�้ามันระหว่างที่ อยู ่ ต ่ างประเทศ รวมถึงการจัด จ�าหน่ายน�้ามัน ให้กับ ผู้ค ้ า น�้ า มั น ที่น�าน�้ามันไปจ�าหน่ายต่อในต่างประเทศ โดยบริษัทจะจัดหาน�้ามันใน ต่ า งประเทศเพื่ อ จั ด ส่ ง ให้ กั บ ลู ก ค้ า ที่ อ ยู ่ ใ นต่ า งประเทศเช่ น กั น บริษัทฯ ได้มีการขยายตลาดต่างประเทศ โดยการจัดตั้งบริษัทย่อย ในต่างประเทศ เพื่อขยายฐานลูกค้าและซัพพลายเออร์ บริษัทมีแผนงานเพิ่มการให้บริการเพื่อตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าอย่างต่อเนื่อง ในด้านธุรกิจจัดหาอาหาร วัตถุดิบ และให้บริการอื่นๆ แก่ที่พักอาศัยในทะเล เรือเดินทะเล และแหล่งขุด เจาะน�้ามันและก๊าซทั้งในทะเลและบนบก (Supply Management) ทั้งที่เป็นธุรกิจบริการด้านอาหาร ท�าความสะอาด และซักรีดให้แก่ พนั ก งานประจ� า แท่ น ขุ ด เจาะน�้ า มั น และก๊ า ซ (Catering and Hosekeeping Service) และธุรกิจจัดหาวัตถุดิบเพื่อใช้ในการเตรียม อาหาร จัดหาเสบียง และบริการอื่นๆ (General Supply) ซึ่งเป็นสิ่ง จ�าเป็นแก่เรือเดินทะเลและแท่นขุดเจาะน�้ามันและก๊าซธรรมชาติใน ทะเลให้มากขึ้น อีกทั้งยังมุ่งเน้นบริการลูกค้าให้มีความพึงพอใจ อย่างสูงสุด โดยตระหนักถึงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของ ลู ก ค้ า เป็ น ส� า คั ญ โดยยึ ด หลั ก การจั ด การด้ า นความปลอดภั ย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์และนโยบายคุณภาพ ของบริษัท บริษัทได้เข้าลงทุนธุรกิจส�ารวจและผลิตปิโตรเลียมอันเป็น ธุ ร กิ จ ที่ ต ่ อ เนื่ อ ง และส่ ง เสริ ม กั บ ธุ ร กิ จ การจ� า หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์
10
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน)
ปิโตรเลียมของบริษัท ซึ่งอาจเป็นธุรกิจหลักที่จะสร้างรายได้จ�านวน มากให้ แ ก่ บ ริ ษั ท ในอนาคต โดยด� า เนิ น การจั ด หาแหล่ ง พลั ง งาน ปิโตรเลียมด้วยทักษะและความรู้ของบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้านเป็นอย่างสูง หากบริษทั ได้เรียนรูแ้ ละรับประสบการณ์จาก บริษัทส�ารวจ ผลิตและจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม บริษัทก็อาจเข้า เป็นผู้รับสัมปทานระยะยาวในอนาคต บริษัทฯ ได้เข้าลงทุนในธุรกิจโรงแยกคอนเดนเสท ซึ่งเป็น ธุรกิจส�าหรับผลิตและจ�าหน่ายโซลเว้นท์และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม เหลวทุกชนิด เพื่อเพิ่มยอดขาย และต่อยอดธุรกิจที่เสริมกับธุรกิจการ เป็นผู้จ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของบริษัทในปัจจุบัน 3. กำรแสวงหำโอกำสเติบโตจำกกำรขยำยธุรกิจไป ยังกลุ่มธุรกิจพลังงำนอื่น (Business Diversification) เพือ ่ ลดควำมเสีย ่ งจำกกำรด�ำเนินธุรกิจและสร้ำงเสถียรภำพ ให้กบ ั องค์กร
บริษัทมีแผนที่จะขยายธุรกิจ เพื่อลดผลกระทบจากภาวะ ราคาน�า้ มันทีม่ คี วามผันผวนและอยูใ่ นระดับต�า่ โดยการขยายธุรกิจไป ยังแหล่งพลังงานด้านอื่นเพิ่มเติม เพื่อสร้างเสถียรภาพให้กับองค์กร อาทิ โครงการพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานชีวมวล และพลังงานทด แทนอื่นๆที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สังคมและชุมชนต่อไปในอนาคต
4. กำรพัฒนำองค์กร บุคลำกร และส่งเสริมคูค ่ ำ้ ให้ มุ่งสู่ควำมเป็นมำตรฐำนสำกล ภำยใต้กำรบริหำรงำนตำม หลั ก ธรรมำภิ บ ำลดั ว ยควำมรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและ สิง ่ แวดล้อม
บริษัทยังคงยึดมั่นการด�าเนินธุรกิจและการบริหารงานตาม หลักธรรมมาภิบาล ตลอดจนการดูแลผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย ไม่วา่ จะเป็น ผู้ถือหุ้น พนักงาน คู่ค้า ลูกค้า สังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้าง ความสมดุลและน�าไปสู่การเป็นองค์กรที่มีการเติบโตอย่างยั่งยืน
ไปที่สารบัญ
ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสร้างธุรกิจและการถือหุ้น บริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) (“บริษัท”) ประกอบธุรกิจหลักอยู่ 2 ประเภท ได้แก่ ธุรกิจจัดจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อ ลื่นให้แก่ลูกค้าทางทะเลและลูกค้าทางบก และธุรกิจให้บริการในการจัดหาอาหาร วัตถุดิบ และให้บริการอื่นๆ ส�าหรับพนักงานประจ�าแหล่ง ขุดเจาะน�้ามันและก๊าซทั้งในทะเลและบนบก (Supply Management) บริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน)
กลุ่มธุรกิจ ปิโตรเลียม - ปิโตรเคมี
- จ�าหน่ายน้�ามันเชื้อเพลิงและน้�ามันหล่อลื่น • ทางทะเล • ทางบก
กลุ่มธุรกิจบริการจัดหาอาหาร วัตถุดิบ และอื่นๆ
Offshore Customer
- ธุรกิจส�ารวจและผลิตปิโตรเลียม โดยร่วมลงทุนในบริษัท แพน โอเรียนท์ เอ็นเนอยี่ (สยาม) ลิมิเต็ด (“POES”) ร้อยละ 49.99
- ผลิตและจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี (ยังไม่ได้เริ่มด�าเนิน ธุรกิจในปี 2559)
Catering and Housekeeping Service
Jobber & Industrial
- บริการด้านอาหาร ท�าความสะอาด และซักรีด (Catering and Housekeeping Service) บนเรือพักอาศัยและ แท่นพักอาศัยในทะเล แท่นขุดเจาะน้�ามันและก๊าซในทะเลและบนบก
General Supply - การบริการจัดหาวัตถุดบ ิ เพือ ่ ใช้ในการเตรียมอาหาร จัดหาเสบียง และบริการอื่นๆ (General Supply) ให้กับเรือและแท่นขุดเจาะน�้ามัน และก๊าซธรรมชาติ
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
11
ไปที่สารบัญ
โครงสร้างรายได้ รายได้หลักของบริษัทและบริษัทย่อย มาจากรายได้จากการจ�าหน่ายสินค้า ได้แก่ น�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่น ทางทะเลและ ทางบก ให้แก่ลูกค้าภายในประเทศและต่างประเทศ ส�าหรับรายได้จากการให้บริการนั้นมาจากธุรกิจ Catering and Housekeeping Service ที่บริษัทด�าเนินการให้บริการด้านอาหาร ท�าความสะอาด และซักรีด ให้แก่พนักงานประจ�าแท่นขุดเจาะน�า้ มันและก๊าซที่อยู่ในทะเล และ แหล่งขุดเจาะน�้ามันบนบก โครงสร้างรายได้ของบริษัทและบริษัทย่อยในต่างประเทศแสดงได้ดังนี้ (หน่วย : ล้ำนบำท)
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
มูลค่ำ
ร้อยละ
มูลค่ำ
ร้อยละ
มูลค่ำ
ร้อยละ
2,811.75
91.17
2,552.17
90.94
3,600.96
94.96
- ทางทะเล
2,794.40
90.61
2,451.33
87.35
3,483.65
90.68
- ทางบก
17.35
0.56
100.84
3.59
162.31
4.28
259.83
8.42
217.11
7.74
186.49
4.92
7.58
0.41
37.03
1.32
4.67
0.12
3,079.17
100.00
2,806.31
100.0
3,792.12
100.0
รายได้จากการจ�าหน่ายสินค้า
รายได้จากการให้บริการ รายได้อื่น* รวม
* รายได้อื่น ได้แก่ ก�าไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ รายได้เงินปันผล รายได้จากค่าปรับจากการช�าระหนี้ล่าช้าของลูกหนี้ รายได้จากดอกเบี้ย และรายได้อื่นๆ
ลักษณะของผลิตภัณฑ์และการบริการ 1) ธุรกิจจัดจ�ำหน่ำยน�้ำมันเชื้อเพลิงและน�้ำมันหล่อลื่น
บริษัทเป็นผู้จัดจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นส�าหรับเครื่องยนต์ โดยลูกค้าจะเป็นผู้ก�าหนดคุณสมบัติ (Specification) ของน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่น โดยเมื่อบริษัทได้รับค�าสั่งซื้อจากลูกค้าแล้ว บริษัทจะจัดหาสินค้าจากผู้ผลิตน�้ามันรายใหญ่ในประเทศ หรือผู้ค้าส่งน�้ามันทั้งในประเทศเช่น บริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ากัด บริษัท บางจากปิโตรเลียม จ�ากัด (มหาชน) บริษัท เชฟรอน (ไทย) จ�ากัด บริษัท ไออาร์พีซี จ�ากัด (มหาชน) และบริษัท ไทยออยล์ จ�ากัด (มหาชน) เป็นต้น ที่มีคุณสมบัติ ตามความต้องการของลูกค้า ทัง้ นี้ ในกรณีลกู ค้ามีความต้องการให้บริษทั เป็นผูข้ นส่งน�า้ มันให้ บริษทั จะว่าจ้างผูข้ นส่งอิสระทีม่ คี ณ ุ ภาพและความ น่าเชื่อถือด�าเนินการจัดส่งให้แก่ลูกค้ายังจุดหมายปลายทางที่ลูกค้าก�าหนด โดยจัดส่งน�้ามันทางเรือขนส่งน�้ามัน (Barge) ให้แก่เรือของลูกค้า ที่จอดอยู่กลางทะเล และในกรณีที่เรือของลูกค้าจอดเทียบท่า บริษัทอาจจะจัดส่งน�้ามันทางรถบรรทุกน�้ามันหรือทางเรือขนส่งน�้ามัน ส�าหรับ ลูกค้าทางบกบริษัทจะจัดส่งน�้ามันทางรถบรรทุกน�้ามันทั้งนี้ ประเภทน�้ามันที่บริษัทจัดจ�าหน่ายมีดังต่อไปนี้ • น�้ามันเชื้อเพลิง: ได้แก่ - น�้ามันดีเซลหมุนเร็ว (High Speed Diesel) - น�้ามันเตา (Fuel Oil) - น�้ามันเบนซิน (Gasoline) • น�้ามันหล่อลื่น: ได้แก่ น�้ามันหล่อลื่นเครื่องยนต์ น�้ามันเกียร์ น�้ามันไฮโดรลิค น�้ามันหล่อลื่นส�าหรับเครื่องยนต์หลัก (Main Engine) น�้ามันหล่อลื่นเทอร์ไบน์และน�้ามันหล่อลื่นคอมเพรสเซอร์ (Turbine & Compressor) เป็นต้น
12
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
รายได้จากการจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ ของบริษัทและบริษัทย่อย ปี 2559 น�้ำมันหล่อลื่น และอื่นๆ
น�้ำมันเบนซิน
22.05
196.38
รายได้จากการขาย น�้ามันแต่ละประเภท ปี 2559 (หน่วย : ล้านบาท)
1. น�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว
2. น�้ำมันเตำ
3. น�้ำมันเบนซิน
4. น�้ำมันหล่อลื่น และอื่นๆ
น�้ำมันเตำ
790.88
น�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว
2,591.65
รายได้จากการขาย (หน่วย : ล้านบาท)
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
มูลค่า
ร้อยละ
มูลค่า
ร้อยละ
มูลค่า
ร้อยละ
น�้ำมันเชื้อเพลิง
2,787.05
99.28
2,468.76
96.73
3,578.91
99.39
- น�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว (HSD)
1,220.94
43.49
1,623.83
63.63
2,591.65
71.97
- น�้ำมันเตำ
1,042.40
37.13
560.81
21.97
790.88
21.96
- น�้ำมันเบนซิน
523.71
18.66
284.12
11.13
196.38
5.45
น�้ำมันหล่อลื่น และอื่นๆ
24.70
0.72
83.41
3.27
22.05
0.61
2,811.75
100.00
2,552.17
100.00
3,600.96
100.00
รวม
ปริมาณการจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ ของบริษัทและบริษัทย่อย ปี 2559 น�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว
171.38
1. น�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว
2. น�้ำมันเตำ
3. น�้ำมันเบนซิน
4. น�้ำมันหล่อลื่น และอื่นๆ
ปริมาณการขายน�้ามัน แต่ละประเภท ปี 2559 (หน่วย : ล้านลิตร) น�้ำมันเตำ
80.84
น�้ำมันเบนซิน
น�้ำมันหล่อลื่น และอื่นๆ
0.42
18.03
ปริมาณขาย (หน่วย : ล้านลิตร)
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
มูลค่า
ร้อยละ
มูลค่า
ร้อยละ
มูลค่า
ร้อยละ
น�้ำมันเชื้อเพลิง
110.43
99.64
133.00
96.99
270.25
99.84
- น�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว (HSD)
43.55
39.29
77.21
56.30
171.38
63.32
- น�้ำมันเตำ
47.99
43.30
41.17
30.02
80.84
29.87
- น�้ำมันเบนซิน
18.89
17.04
14.62
10.66
18.03
6.66
น�้ำมันหล่อลื่น และอื่นๆ
0.40
0.36
4.13
3.01
0.42
0.16
110.83
100.00
137.13
100.00
270.67
100.00
รวม
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
13
ไปที่สารบัญ
2). บริกำรในธุรกิจจัดหำอำหำร วัตถุดบ ิ และให้ บริกำรอื่นๆ
บริกำรจัดหำวัตถุดิบเพื่อใช้ในกำรเตรียมอำหำร จัดหำ เสบียง และบริกำรอื่นๆ (General Supply) ● บริ ก ำรด้ ำ นอำหำร ท� ำ ควำมสะอำด และซั ก รี ด เป็นธุรกิจที่ต่อยอดมาจากธุรกิจ Catering and Service (Catering and Housekeeping Service) ส�ำหรับพนักงำน โดยเป็นการให้บริการจัดหาวัตถุดิบเพื่อใช้ในการเตรียมอาหาร จัดหา ประจ�ำแหล่งขุดเจำะน�้ำมันและก๊ำซทั้งในทะเลและบนบก เป็นการ เสบียง และบริการอื่นๆ ให้กับเรือเดินทะเลและแท่นขุดเจาะน�้ามันใน ให้บริการด้านอาหารให้แก่ผพู้ กั อาศัยและผูม้ าเยือน ตลอดจนการเตรียม ทะเล เช่น อาหาร น�้า เครื่องมือต่างๆ เป็นต้นโดยบริษัทจะจัดหา อาหารกล่ อ งส� า หรั บ ผู ้ ที่ ต ้ อ งออกไปท� า งานนอกเรื อ พั ก อาศั ย วัตถุดิบเพื่อใช้ในการจัดเตรียมอาหาร เสบียงอาหาร และสินค้าหรือ ท�าความสะอาด ให้สถานที่ส่วนกลาง รวมถึงห้องพักอาศัยให้ถูก บริการอื่นๆ ที่ได้คุณภาพและถูกสุขอนามัยตามความต้องการของ สุขลักษณะรวมถึง ดูแลในด้านความสะอาดและความเป็นระเบียบ ลูกค้าให้แก่เรือเดินทะเลต่างๆ รวมไปถึงแท่นขุดเจาะน�้ามันในทะเล เรียบร้อยของผ้าปูทนี่ อน ปลอกหมอน ผ้าห่ม ผ้าเช็ดตัว เตียงนอน และ ซึง่ มีความต้องการอาหาร เสบียงและวัสดุสนิ้ เปลืองต่างๆ ตลอดระยะ ซักรีดเสือ้ ผ้าให้แก่ผพู้ กั อาศัยและผูม้ าเยือน ตลอดจนการดูแลเรือ่ งการ เวลาการด�าเนินงาน ก�าจัดแมลงและการจัดการขยะ โดยในการให้บริการบนเรือพักอาศัย ดังกล่าว บริษัทท�าสัญญารับจ้างให้บริการด้าน Catering and ช่องทางการจัดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์และบริการ Housekeeping Service จากบริษัท นทลิน ออฟชอร์ จ�ากัดซึ่งเป็น ธุรกิจจ�ำหน่ำยน�้ำมัน: ผู้รับสัมปทานในการจัดหาเรือพักอาศัย บริษัทประกอบธุรกิจจัดจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามัน ณ ปัจจุบนั บริษทั ได้รบั การอนุมตั จิ าก ปตท.สผ. ส�าหรับการ หล่อลื่น โดยมีช่องทางการจัดจ�าหน่ายหลัก 2 ช่องทาง ได้แก่ การจัด เป็นผูใ้ ห้บริการ (Vender List) ในธุรกิจ Catering and Housekeeping จ�าหน่ายน�้ามันทางทะเล และการจัดจ�าหน่ายน�้ามันทางบก Service ตามพื้นที่ที่ก�าหนด ท�าให้บริษัทสามารถเข้าไปร่วมประมูล • การจัดจ�าหน่ายน�า้ มันเชือ้ เพลิงและน�า้ มันหล่อลืน่ ทางทะเล เพือ่ ด�าเนินการให้บริการด้าน Catering and Housekeeping Service ซึ่งแบ่งออกเป็น: ให้แก่ ปตท.สผ. ได้เอง และได้รับสัญญาให้บริการด้าน Catering and •การจ� า หน่ า ยน�้ า มั น ภายในประเทศ (Domestic) Housekeeping กับ ปตท.สผ. ดังนี้ ซึ่งเป็นการจ�าหน่ายน�้ามันให้กับเรือที่มีเส้นทางการเดินเรือภายใน ประเทศ เดือนกรกฎาคม 2556 •การจ�าหน่ายน�้ามันระหว่างประเทศ (International) ได้รบั สัญญาให้บริการด้าน Catering and Housekeeping ซึ่งเป็นการจ�าหน่ายน�้ามันให้กับเรือขนส่งประเภทต่างๆ ที่มีเส้น ส�าหรับพนักงานประจ�าแหล่งขุดเจาะน�า้ มันและก๊าซสิรกิ ติ ิ์ อ�าเภอลาน ทางการเดินเรือระหว่างประเทศ กระบือ จังหวัดก�าแพงเพชร •การจ�าหน่ายน�้ามันในต่างประเทศ (External) ซึ่งเป็นการ จ�าหน่ายน�้ามันให้กับเรือของลูกค้าที่มีความต้องการน�้ามันระหว่าง เดือนกุมภาพันธ์ 2557 ที่อยู่ในต่างประเทศ ได้รบั สัญญาให้บริการด้าน Offshore Catering, Laundry, •การจัดจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นทางบก Cleaning and Housekeeping Services กับ ปตท.สผ. ส�าหรับ ให้แก่กลุ่มลูกค้าโรงงานอุตสาหกรรม (Jobber & Industrial) และ พนักงานประจ�าแท่นขุดเจาะน�้ามันและก๊าซในอ่าวไทย ธุรกิจอื่นๆ เช่น ธุรกิจขนส่งทางบก ผู้ให้บริการรถโดยสาร เป็นต้น ทัง้ นีก้ ารให้บริการในธุรกิจด้านอาหาร ท�าความสะอาด และ ซักรีด บริษัทได้ท�าสัญญาว่าจ้างบริษัท หัสดิน แคทเทอริ่ง จ�ากัด เป็ น ผู ้ จั ด เตรี ย ม/จั ด หาอาหารและซั ก รี ด เนื่ อ งจากเป็ น บริ ษั ท ที่มีประสบการณ์ในธุรกิจการให้บริการด้านอาหาร การท�าความ สะอาด และซักรีด และมีความพร้อมด้านบุคลากร ตลอดจนอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรต่างๆ เพื่อการให้บริการที่มีคุณภาพ
14
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
●
ไปที่สารบัญ
บริษัทมีรายได้จากการจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นผ่านช่องทางการจ�าหน่าย ปี 2559 ทางบก
162.31
รายได้จากการจ�าหน่าย น�้ามันตามช่องทางการ จ�าหน่าย ปี 2559 (หน่วย : ล้านบาท)
ทางทะเลต่างประเทศ
2. ทางทะเลระหว่างประเทศ
3. ทางทะเลต่างประเทศ
4. ทางบก
ทางทะเลในประเทศ
1,292.18
ทางทะเลระหว่างประเทศ
1,482.71
รายได้จากการขาย (หน่วย : ล้านบาท)
1. ทางทะเลในประเทศ
663.76
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
มูลค่า
ร้อยละ
มูลค่า
ร้อยละ
มูลค่า
ร้อยละ
การจ�าหน่ายทางทะเล
2,794.40
99.38
2,451.33
96.05
3,438.65
95.49
- ในประเทศ
1,512.50
53.79
1,474.87
57.79
1,292.18
35.88
- ระหว่างประเทศ
440.87
15.68
215.15
8.43
663.76
18.43
- ต่างประเทศ
841.03
29.91
761.31
29.83
1,482.71
41.18
น�้ามันหล่อลื่น และอื่นๆ
17.35
0.62
100.84
3.95
162.31
4.51
2,811.75
100.00
2,552.17
100.00
3,600.96
100.00
รวม ธุรกิจบริการ:
• การบริการด้านอาหาร ท�าความสะอาด และซักรีด (Catering and Housekeeping Service) บนเรือพักอาศัยและแท่นพักอาศัย ในทะเล ส�าหรับพนักงานประจ�าแท่นขุดเจาะน�้ามันและก๊าซในอ่าวไทย รวมถึงแหล่งขุดเจาะน�้ามันและก๊าซบนบก • การบริการจัดหาวัตถุดิบเพื่อใช้ในการเตรียมอาหาร จัดหาเสบียง และบริการอื่นๆ (General Supply) ให้กับเรือที่มีเส้นทาง การเดินเรือทั้งภายในประเทศ (Domestic) และระหว่างประเทศ (International) ตลอดจนเรือที่มีเส้นทางการเดินเรืออยู่นอกประเทศ (External) รวมไปถึงแท่นขุดเจาะน�้ามันและก๊าซธรรมชาติ (Rig) ในอ่าวไทย กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย การจัดจำาหน่ายน้าำ มันเชือ ้ เพลิงและน้าำ มันหล่อลืน ่ ทางทะเล
ในกลุม่ ของผลิตภัณฑ์นา�้ มันเชือ้ เพลิงและน�า้ มันหล่อลืน่ ทีจ่ ดั จ�าหน่ายทางทะเล กลุม่ ลูกค้าหลักของบริษทั ได้แก่ เรือเดินทะเลประเภท ต่างๆ เช่น เรือขนส่งน�้ามัน เรือบรรทุกสินค้า เรือประมง และเรือบริวารของแท่นขุดเจาะน�้ามันและก๊าซ เช่น เรือล�าเลียงวัสดุอุปกรณ์/เครื่อง อุปโภคบริโภค (Supply & Service Boat) และเรือโดยสารพนักงานแท่นขุดเจาะ (Crew Boat) เป็นต้น และพ่อค้าคนกลาง (Wholesaler) ซึง่ เป็นผูจ้ า� หน่ายสินค้าให้แก่เรือประเภทต่างๆ โดยบริษทั จะให้บริการแก่เรือทีเ่ ป็นผูใ้ ช้นา�้ มันเชือ้ เพลิงโดยตรง (End User) และเรือทีเ่ ป็นลูกค้า ของพ่อค้าคนกลาง เหล่านี้ซึ่งทอดสมออยู่กลางทะเลหรือจอดอยู่ที่ท่าเทียบเรือ การจัดจำาหน่ายนำา้ มันเชือ ้ เพลิงและนำา้ มันหล่อลืน ่ ทางบก
กลุ่มลูกค้าของการจัดจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นทางบก ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม กลุ่มลูกค้าในธุรกิจอื่นๆ เช่น ผู้ประกอบธุรกิจรถโดยสาร และผู้ประกอบการรถขนส่งขนาดต่างๆ เป็นต้นรวมถึง การจ�าหน่ายสินค้าให้แก่พ่อค้าคนกลาง (Wholesaler) ด้วย
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
15
ไปที่สารบัญ
ปริมำณกำรจัดจ�ำหน่ำยน�้ำมันเชื้อเพลิงและน�้ำมันหล่อลื่นให้กับกลุ่มลูกค้ำต่ำงๆ ของบริษัทและบริษัทย่อย
(หน่วย : ล้ำนลิตร)
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
มูลค่ำ
ร้อยละ
มูลค่ำ
ร้อยละ
มูลค่ำ
ร้อยละ
110.16
99.40
132.31
96.48
262.47
96.97
- ในประเทศ
56.26
50.76
71.57
52.19
71.12
26.27
- ระหว่างประเทศ
21.94
19.80
15.54
11.33
55.18
20.39
- ต่างประเทศ
31.96
28.84
45.20
32.96
136.17
50.31
0.67
0.60
4.82
3.52
8.20
3.03
110.83
100.00
137.13
100.00
270.67
100.00
กลุ่มลูกค้ำที่จ�ำหน่ำยทำงทะเล
กลุ่มลูกค้ำจ�ำหน่ำยทำงบก รวม
บริ ษั ท ได้ ด� า เนิ น การว่ า จ้ า งผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารในส่ ว นงานนี้ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของบริษัทในธุรกิจนี้ คือ เรือพักอาศัย ซึ่งมีความพร้อมในด้านสถานที่และอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ (Accommodation Barge) และแท่นพักอาศัย (Accommodation เช่น ห้องเย็น สถานที่เก็บสินค้า ตู้ขนส่งชนิดห้องเย็น ตู้ขนส่งทั่วไป Rig) ทั้งที่ตั้งอยู่ในอ่าวไทยและในทะเลอันดามัน รวมถึงบนบก ซึ่งโดย รถขนส่ง รวมถึงต้องมีบุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรมตามความต้องการ ส่วนใหญ่ทพี่ กั อาศัยในทะเลมีทงั้ ในรูปแบบของเรือพักอาศัยและแท่น และมาตรฐานของผูใ้ ช้บริการและมีความช�านาญเฉพาะทางในการให้ บริการตลอด 24 ชั่วโมง พักอาศัย จะเป็นของผู้รับสัมปทานขุดเจาะน�้ามันเชื้อเพลิงและก๊าซ • ธุรกิจกำรบริกำรจัดหำวัตถุดิบเพื่อใช้ในกำรเตรียม กำรให้บริกำรในธุรกิจ General Supply อำหำร จัดหำเสบียง และบริกำรอื่นๆ (General Supply) ธุรกิจ General Supply มีกลุ่มลูกค้าเป้าหมายเดียวกันกับ บริษทั จะท�าการให้บริการจัดหาวัตถุดบิ เพือ่ ใช้ในการเตรียม ธุรกิจจัดจ�าหน่ายน�า้ มันเชือ้ เพลิงและน�า้ มันหล่อลืน่ ทางทะเล คือ กลุม่ อาหาร จัดหาเสบียง และบริการอื่นๆ ที่ได้คุณภาพตามความต้องการ เรือเดินทะเลประเภทต่างๆ ทัง้ ทีม่ เี ส้นทางการเดินเรือในประเทศและ ของลู ก ค้ า โดยจั ด หาจากผู ้ จั ด จ� า หน่ า ยสิ น ค้ า ประเภทต่ า งๆ ระหว่างประเทศ รวมถึงเรือที่เป็นเรือบริวารของแท่นขุดเจาะน�้ามัน (“ผู้จัดจ�าหน่าย”) ตามที่ลูกค้ามีความต้องการ โดยบริษัทจะรับค�าสั่ง และก๊าซ และแท่นขุดเจาะน�้ามันและก๊าซและแท่นพักอาศัยในทะเล ซื้อจากลูกค้าก่อนที่จะส่งค�าสั่งซื้อต่อไปยังผู้จัดจ�าหน่าย เพื่อด�าเนิน ที่ยังไม่มีบริการ Catering and Housekeeping Service ซึ่ง การจัดเตรียม จัดหาสินค้าและจัดส่งให้กบั ลูกค้ายังจุดหมายปลายทาง กลุ่มลูกค้าเหล่านี้มีความต้องการอาหาร เสบียงและวัสดุสิ้นเปลือง ที่ลูกค้าต้องการต่อไป ต่างๆ ส�าหรับพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่บนเรือ แท่นพักอาศัยและ แท่นขุดเจาะ การแข่งขันภายในอุตสาหกรรม
กำรให้บริกำร Catering and Housekeeping Service
การจัดหาผลิตภัณฑ์และบริการ
ธุรกิจจ�ำหน่ำยน�้ำมัน
ผูจ้ ดั จ�าหน่ายน�า้ มันเชือ้ เพลิงและน�า้ มันหล่อลืน่ ให้กบั เรือเดิน บริษทั จะด�าเนินการติดต่อผูผ้ ลิตหรือผูค้ า้ น�า้ มันเชือ้ เพลิงราย ทะเลมีผู้ประกอบการอยู่หลายรายด้วยกัน โดยสามารถแบ่งออกเป็น ใหญ่ (“Supplier”) เพื่อจัดหาสินค้าให้แก่ลูกค้า โดยน�้ามันเชื้อเพลิง สองกลุ่มหลัก ได้แก่ 1. กลุ่มผู้ประกอบการที่เป็นผู้ผลิตน�้ามัน เช่น บริษัท ปตท. ที่บริษัทจัดหาต้องเป็นน�้ามันเชื้อเพลิงที่ได้คุณลักษณะและมาตรฐาน ตรงตามที่ได้ตกลงไว้กับลูกค้า ซึ่งบริษัทจะท�าการสั่งซื้อน�้ามันจาก จ�ากัด (มหาชน) บริษัท เชฟรอน (ไทย) จ�ากัด บริษัท เชลล์แห่ง ผูผ้ ลิตหรือผูค้ า้ น�า้ มันเชือ้ เพลิงรายใหญ่ในประเทศ ได้แก่ บริษทั ปตท. ประเทศไทย จ�ากัด บริษัท บางจากปิโตรเลียม จ�ากัด (มหาชน) บริษัท จ�ากัด (มหาชน) บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ากัด บริษัท เชฟรอน ไออาร์พีซี จ�ากัด (มหาชน) เป็นต้น 2. กลุ่มผู้ประกอบการที่เป็นผู้ค้าน�้ามัน โดยบริษัทเป็นคู่ค้า (ไทย) จ�ากัด บริษัท บางจากปิโตรเลียม จ�ากัด (มหาชน) และบริษัท ไออาร์พีซี จ�ากัด (มหาชน) เป็นต้น ทั้งการจัดจ�าหน่ายทางบกและ ของผู้ประกอบการที่เป็นผู้ผลิตน�้ามันข้างต้น ซึ่งบริษัทจะรับค�าสั่งซื้อ จากลูกค้ารายย่อยหลายๆ ราย ท�าให้ปริมาณการสั่งซื้อของบริษัทกับ ทางทะเล • ธุรกิจกำรบริกำรด้ำนอำหำร ท�ำควำมสะอำด และซักรีด ผู้ผลิตน�้ามันมีปริมาณสูงเพียงพอที่จะสั่งซื้อน�้ามันจากผู้ผลิตน�้ามันได้ (Catering and Housekeeping Service) ธุรกิจจ�ำหน่ำยน�้ำมัน
16
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
ซึ่งจะช่วยให้บริษัทสามารถจัดหาน�้ามันเชื้อเพลิงได้ในราคาที่ต�่า และ สามารถท�าก�าไรจากการจ�าหน่ายน�้ามันได้ • ธุรกิจการบริการด้านอาหาร ท�าความสะอาด และซักรีด (Catering and Housekeeping Service) ในส่วนของธุรกิจให้บริการ Catering and Housekeeping Service แก่ เ รื อ พั ก อาศั ย แท่ น ขุ ด เจาะน�้ า มั น และก๊ า ซ รวมถึ ง แท่นพักอาศัยนัน้ มีผปู้ ระกอบการอยูจ่ า� นวน 4 ราย โดยผูป้ ระกอบการ ทั้ง 4 ราย มีการให้บริการบนแท่นขุดเจาะ แท่นพักอาศัย และเรือพัก อาศั ย ในกรณี ที่ จ ะมี ก ารจั ด จ้ า งผู ้ ป ระกอบการ Catering and Housekeeping Service นั้ น ผู ้ รั บ สั ม ปทานแท่ น ขุ ด เจาะ แท่นพักอาศัย หรือเรือพักอาศัย จะด�าเนินการเปิดให้มกี ารเสนอราคา จากผูป้ ระกอบการรายต่างๆ ทีม่ ปี ระวัตกิ ารท�างานทีด่ ี โดยจะพิจารณา จัดจ้างผูป้ ระกอบการทีเ่ สนอราคาและเงือ่ นไขในการให้บริการทีด่ ที สี่ ดุ ดังนั้น ราคาในการให้บริการ ประวัติการท�างานที่ดี และฐานะการเงิน ที่มั่นคง จึงเป็นปัจจัยส�าคัญที่ใช้ในการพิจารณาคัดเลือกผู้ให้บริการ ในธุรกิจนี้ • ธุรกิจการบริการจัดหาวัตถุดิบเพื่อใช้ในการเตรียม อาหาร จัดหาเสบียง และบริการอื่นๆ (General Supply) ในส่วนของธุรกิจ General Supply นั้น ลูกค้าจะว่าจ้าง ผู้ประกอบการ โดยพิจารณาจากความสัมพันธ์ที่ดี มีประวัติในการให้ บริการที่ดี และน�าเสนอสินค้าที่มีคุณภาพในราคาที่สมเหตุสมผล ดังนั้น ผู้ประกอบการที่มีความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า และมีความ ได้เปรียบในเรื่องของต้นทุนในการจัดเตรียม จัดหา สินค้า มีความ ได้เปรียบกว่าผู้ประกอบการรายอื่นๆ
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทให้ความส�าคัญต่อการดูแลสิ่งแวดล้อม โดยการจัดส่ง น�้ามันเชื้อเพลิงไปยังจุดหมายปลายทางที่ลูกค้าก�าหนดนั้น บริษัท จะจัดจ้างผู้ขนส่งที่มียานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งและเครื่องมือและ อุปกรณ์ตา่ งๆ บนยานพาหนะทีไ่ ด้มาตรฐาน ซึง่ ไม่กอ่ ให้เกิดการรัว่ ไหล ของน�้ามันเชื้อเพลิงระหว่างการรับน�้ามัน ณ จุดรับน�้ามันเชื้อเพลิง ต้นทาง ระหว่างเส้นทางขนส่ง และระหว่างการส่งน�้ามันเชื้อเพลิงให้ กับลูกค้า อีกทั้งบริษัทได้มีการก�าหนดให้ผู้ขนส่งมีมาตรการป้องกัน สภาวะแวดล้อม และจัดเตรียมอุปกรณ์และเคมีภัณฑ์ส�าหรับท�าลาย คราบน�า้ มันเชือ้ เพลิงให้พร้อมบนยานพาหนะทีใ่ ช้ขนส่ง โดยในกรณีที่ เกิ ด เหตุ สุ ด วิ สั ย ที่ เ กิ ด การรั่ ว ไหลของน�้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ออกสู ่ ส ภาพ แวดล้อม ผู้ขนส่งจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อมลภาวะและค่าใช้จ่ายในการ แก้ไขหรือชดเชยมลภาวะนั้นๆ ทั้งนี้ บริษัทมีความพยายามเป็นอย่าง ยิ่งในการควบคุมยานพาหนะ รวมถึงเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ บนยานพาหนะของผูข้ นส่งให้ได้มาตรฐานเพือ่ ไม่ให้เกิดการรัว่ ไหลของ น�้ามันเชื้อเพลิงออกสู่สภาวะแวดล้อมได้ นอกจากนี้ บริษัทได้จัดท�ากิจกรรมปรับปรุงคุณภาพอย่าง ต่อเนื่อง (CQI) เรื่อง การท�าลายน�้ามันตัวอย่างและขวดบรรจุภัณฑ์ ซึง่ บริษทั ได้จดั ท�าขัน้ ตอนการก�าจัดน�า้ มันอย่างเป็นระบบและคัดเลือก ผู้ก�าจัดน�้ามันที่มีมาตรฐานระดับสูง เพื่อป้องกันน�้ามันกลับมาสร้าง มลภาวะสู ่ สิ่ ง แวดล้ อ มได้ อี ก ทั้ ง ขวดบรรจุ ภั ณ ฑ์ ไ ด้ น� า ไปรี ไ ซเคิ ล ด้วยกรรมวิธีที่ถูกต้องตามหลักมาตรฐานอุตสาหกรรม จึงไม่เพิ่ม ปริมาณมูลขยะให้แก่สังคมและชุมชน ซึ่งทุกขั้นตอนของการปฏิบัติ งานของบริษัทจะตระหนักถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย และสิ่งแวดล้อม เป็นส�าคัญเสมอ
การรีไซเคิล ขวดบรรจุภัณฑ์
การก�าจัดน�้ามัน อย่างเป็นระบบ
มาตรฐาน ยานพาหนะ
กิจกรรมปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
17
ไปที่สารบัญ
ปัจจัยความเสี่ยง ความเสี่ยงจากปัจจัยภายนอก
ซึ่งประกอบธุรกิจส�ารวจและผลิตปิโตรเลียมโดยตรง บริษัทได้ด�าเนิน การบริหารความเสี่ยงด้านราคาร่วมกับผู้ร่วมทุน POES โดยการ ควำมเสี่ยงจำกควำมผันผวนของรำคำน�้ำมัน ราคาน�้ามันมีความผันผวนไปตามปัจจัยต่างๆ อาทิ อุปสงค์ วิเคราะห์ผลกระทบของราคาน�า้ มันทีร่ ะดับราคาต่าง ๆ ต่อรายได้และ และอุปทานของตลาด ปริมาณน�า้ มันส�ารองแต่ละประเทศ สภาพภูมิ ก�าไรของบริษทั และหาแนวทางในการบริหารต้นทุนการผลิต และค่า อากาศแต่ละฤดูกาล หรือนโยบายการผลิตน�้ามันของประเทศกลุ่ม ใช้จ่ายด�าเนินงานต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดและผลิตน�้ามันได้ โอเปค เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงของราคาน�้ามันในตลาดโลกในปี อย่ า งปลอดภั ย ตลอดจนการปรั บ แผนการผลิ ต ให้ เ หมาะสมกั บ 2559 มีความผันผวนอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ส่งผลกระทบต่อรายได้จากการ สถานการณ์ราคาน�้ามัน จ�าหน่ายน�า้ มันโดยรวมของบริษทั ทีล่ ดลงตามสถานการณ์ราคาน�า้ มัน ในตลาด แต่ไม่สง่ กระทบต่อก�าไรอย่างมีสาระส�าคัญ เนือ่ งจากนโยบาย ควำมเสี่ยงจำกควำมผันผวนของอัตรำดอกเบี้ย บริษัทอาจมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่ปรับตัวสูงขึ้น ด้านการก�าหนดราคาขาย ได้บวกก�าไรส่วนเพิม่ จากราคาต้นทุน (Cost Plus Pricing Method) อีกทั้งบริษัทไม่มีการเก็บส�ารองน�้ามัน จึงไม่ ซึ่งมีผลกระทบต่อต้นทุนทางการเงิน ฐานะทางการเงินและผลการ ได้รับผลกระทบจากความผันผวนของราคาน�้ามัน นอกจากนี้ ลูกค้า ด�าเนินงานของบริษทั ในปัจจุบนั บริษทั มีแหล่งเงินทุนหมุนเวียนทัง้ หนี้ ของบริษัทส่วนใหญ่เป็นเรือเดินทะเลทั้งในประเทศและต่างประเทศ สินระยะสัน้ และหนีส้ นิ ระยะยาว และบริษทั มีนโยบายการบริหารความ โรงงานอุตสาหกรรมและผูป้ ระกอบการในธุรกิจต่างๆ ซึง่ มีความจ�าเป็น เสี่ยงโดยการเพิ่มเครื่องมือทางการเงิน อาทิ การออกหุ้นกู้ เพื่อการ ต้องใช้น�้ามันเชื้อเพลิงในการด�าเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง บริษัทจึงเชื่อ บริหารต้นทุนอัตราดอกเบีย้ ให้มคี วามเหมาะสมกับลักษณะการด�าเนิน มั่นว่าความผันผวนของราคาน�้ามันจึงไม่ได้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อ ธุรกิจ ก�าหนดอัตราก�าไรขั้นต้นในการจ�าหน่ายสินค้า ซึ่งอ้างอิงจาก ปริมาณการใช้น�้ามันเชื้อเพลิงของกลุ่มลูกค้าของบริษัท อย่างไรก็ดี ต้นทุนทางการเงินของบริษัท ดังนั้น ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยจึงถูกชดเชย ความผันผวนของราคาน�้ามันอาจส่งผลกระทบต่อโครงการลงทุนใน ด้วยก�าไรขั้นต้นจากการขายสินค้า ท�าให้บริษัทไม่ได้รับผลกระทบ กิจการร่วมค้า บริษัท แพน โอเรียน เอนเนอยี่ (สยาม) ลิมิเต็ด (POES) โดยตรงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย 18
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
ควำมเสี่ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยน
บริษัทมีต้นทุนการสั่งซื้อน�้ามันจากผู้ผลิตหรือผู้ค้าน�้ามันใน ต่างประเทศ และการรับรู้รายได้จากการขายน�้ามันเป็นสกุลเงินต่าง ประเทศ ซึง่ บริษทั มีการบริหารความเสีย่ งโดยท�าสัญญาซือ้ ขายเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) กับธนาคารพาณิชย์ ในประเทศแล้ ว ทั้ ง จ� า นวน เพื่ อ ลดผลกระทบจากความผั น ผวน ของอัตราแลกเปลีย่ นทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อผลประกอบการของบริษทั ความเสี่ยงจากปัจจัยภายใน
ควำมเสี่ยงจำกกำรเรียกเก็บเงินจำกลูกค้ำหรือได้รับ ช�ำระหนี้ล่ำช้ำ
บริษทั มีนโยบายการจ�าหน่ายน�า้ มันเชือ้ เพลิงและน�า้ มันหล่อ ลืน่ โดยการให้เครดิตแก่ลกู ค้า ซึง่ บริษทั อาจมีความเสีย่ งจากการผิดนัด ช� า ระค่ า สิ น ค้ า และบริ ก ารจากลู ก ค้ า หรื อ ได้ รั บ ช� า ระหนี้ ล ่ า ช้ า กว่าก�าหนดระยะเวลา ทั้งนี้ บริษัทมีการจัดตั้งคณะท�างานพิจารณา สินเชื่อ (Credit Committee) ซึ่งประกอบด้วย กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการฝ่ายการเงินและบัญชี ผู้จัดการฝ่ายขาย และผู้จัดการฝ่าย บริการลูกค้า เพือ่ พิจารณาการอนุมตั วิ งเงินสินเชือ่ และระยะเวลาการ ให้สนิ เชือ่ ของลูกค้าทีเ่ ปิดบัญชีใหม่ การทบทวนวงเงินสินเชือ่ และระยะ เวลาการให้สนิ เชือ่ นอกจากนี้ คณะท�างานพิจารณาสินเชือ่ ยังดูแลด้าน การเร่งรัดติดตามลูกหนี้ที่ค้างช�าระ ตลอดจนการตัดสินใจด�าเนิน กระบวนการตามกฎหมายฟ้องร้องเมือ่ ลูกค้าผิดนัดช�าระหนีต้ ามเกณฑ์ ที่ก�าหนดอีกทั้งคณะท�างานพิจารณาสินเชื่อก�าหนดให้มีการพิจารณา รายงานลูกหนี้คงค้าง (Aging Report) ในทุกเดือน เพื่อติดตาม การช�าระหนี้ของลูกหนี้แต่ละรายอย่างใกล้ชิด
หาโอกาสที่จะเพิ่มจ�านวนลูกค้ารายใหม่ เพื่อเพิ่มรายได้และก�าไร ให้แก่บริษัทอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ควำมเสีย ่ งในเรือ ่ งกำรแข่งขันและกำรเข้ำมำท�ำธุรกิจได้ ง่ำยของผู้ประกอบกำรรำยใหม่
ธุ ร กิ จ การจ� า หน่ า ยน�้ ามั น เชื้ อ เพลิ ง ส� าหรั บเรื อเดินทะเล มีผู้ประกอบการหลายราย จึงท�าให้เกิดการแข่งขันสูงโดยเฉพาะ การแข่งขันด้านราคา นอกจากนี้ การท�าธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันส�าหรับ เรือเดินทะเลไม่จา� เป็นต้องใช้เงินลงทุนในสินทรัพย์ถาวรสูง ท�าให้การ เข้ามาด�าเนินธุรกิจสามารถท�าได้ง่าย ซึ่งปัจจัยส�าคัญในการด�าเนิน ธุรกิจการจัดหาน�า้ มันเชือ้ เพลิงเรือ ได้แก่ พนักงานขายทีม่ คี วามรูค้ วาม เชี่ยวชาญในผลิตภัณฑ์, มาตรฐานการจัดส่งน�้ามันให้ตรงเวลาใน ปริมาณที่ครบถ้วนตรงตามความต้องการของลูกค้า และการพัฒนา มาตรฐานการให้บริการในระดับสากล บริษัทจึงให้ความส�าคัญกับ บุคลากรของบริษัท ซึ่งถือเป็นทรัพยากรที่ส�าคัญในการด�าเนินธุรกิจ โดยจ่ายค่าตอบแทนทีเ่ หมาะสมและมีการฝึกอบรมอย่างสม�า่ เสมอ ทัง้ ยังพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้ตระหนักถึงความส�าคัญในการ พัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง ควำมเสีย ่ งจำกกำรพึง ่ พำผูจ ้ ำ� หน่ำยน�ำ้ มัน (Supplier) รำยใหญ่
บริษัทจะสั่งซื้อน�้ามันจากผู้ผลิตน�้ามันและผู้ค้าน�้ามันที่มีอยู่ หลายรายในตลาดโดยราคาสินค้าของผู้ผลิตแต่ละรายจะมีราคาใกล้ เคี ย งกั น โดยอ้ า งอิ ง กั บ ราคาตลาด ทั้ ง นี้ บริ ษั ท สั่ ง ซื้ อ น�้ า มั น จาก ผู้จ�าหน่ายน�้ามันรายใหญ่รายหนึ่ง ในปี 2557 – 2559 คิดเป็น ร้อยละ 45.50 ร้อยละ 36.02 และร้อยละ 27.94 ของมูลค่าการสั่งซื้อ น�้ามันทั้งหมดตามล�าดับ ซึ่งการสั่งซื้อจากผู้จ�าหน่ายน�้ามันรายใหญ่ ควำมเสี่ ย งจำกกำรพึ่ ง พิ ง บริ ษั ท แม่ ใ นกำรจ� ำ หน่ ำ ย ในปริมาณทีม่ ากจะช่วยให้บริษท ั ซือ้ น�า้ มันได้ในราคาทีแ่ ข่งขันได้ และ สินค้ำและบริกำร ช่วยให้บริษัทมีความมั่นใจในคุณภาพของน�้ามันที่จัดส่งให้แก่ลูกค้า บริษัทมีผู้ถือหุ้นรายใหญ่คือ บริษัท นทลิน จ�ากัด ซึ่งถือหุ้น รวมถึงความสามารถในการจัดสรรน�้ามันในสถานการณ์ที่มีปริมาณ ในบริษัทร้อยละ 45.05 (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559) โดยในปี 2557 น�้ามันไม่เพียงพอ - ปี 2559 บริษทั และบริษทั ย่อยมีรายได้จากการขายสินค้าและบริการ อย่างไรก็ตาม บริษัทมีการกระจายการสั่งซื้อน�้ามันจาก ให้กับกลุ่มนทลินจ�านวน 592.68 ล้านบาท 326.46 ล้านบาท และ ผู้ผลิตน�้ามันและผู้ค้าน�้ามันรายอื่นๆ โดยก่อนการสั่งซื้อน�้ามันแต่ละ 255.14 ล้านบาทตามล�าดับ หรือคิดเป็นร้อยละ 19.30 ร้อยละ 11.79 ครั้ง พนักงานขายจะเปรียบเทียบราคาขายน�้ามันรายวันจากผู้ผลิต และร้อยละ 6.73 ของรายได้จากการขายสินค้าและบริการทั้งหมด น�า้ มันและผูค้ า้ น�า้ มันอย่างน้อย 2 ราย บริษทั จะสัง่ ซือ้ น�า้ มันโดยค�านึง ตามล�าดับ ทั้งนี้ บริษัทมีนโยบายในการก�าหนดราคาขายสินค้าให้แก่ ถึงปัจจัยต่างๆ อาทิ ลักษณะของสินค้า ราคา และระยะทางการขนส่ง บริษัทในกลุ่มนทลินเช่นเดียวกับการขายสินค้าให้แก่ลูกค้าทั่วไป สินค้าไปยังจุดหมายปลายทางทีไ่ ด้ตกลงไว้กบั ลูกค้าของบริษทั เป็นต้น อย่างไรก็ดี บริษทั มีการขยายฐานลูกค้าไปยังกลุม่ อืน่ ๆเพิม่ มากขึน้ อาทิ เรือเดินทะเลทั้งในประเทศและต่างประเทศ เรือเดินทะเลที่ไม่ใช่ สัญชาติไทยหรือเรือล�าเลียงวัสดุอุปกรณ์/เครื่องอุปโภคบริโภคของ แท่นขุดเจาะน�า้ มันและก๊าซต่างๆ แต่ยงั คงให้ความส�าคัญในการรักษา ความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้าเดิมอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ บริษัทยังได้ “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
19
ไปที่สารบัญ
ควำมเสี่ยงจำกกำรท�ำสัญญำว่ำจ้ำงผู้ประกอบกำร ขนส่งน้อยรำยในกำรขนส่งน�้ำมันทำงทะเล
ควำมเสี่ ย งจำกผู ้ ถื อ หุ ้ น หลั ก ที่ มี อิ ท ธิ พ ลอย่ ำ งมี นัยส�ำคัญต่อบริษัทและผู้ถือหุ้นรำยย่อย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัท นทลิน จ�ากัด และบุคคล ตามมาตรา 258 ถือหุ้นในบริษัทรวมทั้งสิ้นร้อยละ 56.58 ของทุน ที่ออกและเรียกช�าระแล้วทั้งหมดของบริษัท โดยบริษัท นทลิน จ�ากัด และบุคคลตามมาตรา 258 ยังคงเป็นผู้ถือหุ้นเกินกึ่งหนึ่งในบริษัท ซึ่งจะท�าให้บริษัท นทลิน จ�ากัด มีอ�านาจควบคุมในการตัดสินใจของ บริษัทส�าหรับกรณีที่ต้องใช้เกณฑ์เสียงข้างมากในการลงคะแนน เว้นแต่เรือ่ งทีก่ ฎหมายหรือข้อบังคับของบริษทั ก�าหนดให้ตอ้ งได้รบั มติ ไม่ต�่ากว่า 3 ใน 4 ของที่ประชุมผู้ถือหุ้น เช่น การเพิ่มทุน การลดทุน การขายหรือโอนกิจการบางส่วนหรือทั้งหมด ดังนั้น ผู้ถือหุ้นรายอื่น ควำมเสี่ ย งจำกผลกระทบจำกกำรถู ก จั ด อยู ่ ใ นกลุ ่ ม ของบริษัทจึงมีความเสี่ยงจากการที่ไม่สามารถรวบรวมคะแนนเสียง เพื่ อ ตรวจสอบและถ่ ว งดุ ล เรื่ อ งที่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ใหญ่ เ สนอให้ ที่ ป ระชุ ม บริษัทผู้ค้ำน�้ำมันตำมมำตรำ 7 ปัจจุบันบริษัทจดทะเบียนอยู่ในกลุ่มบริษัทผู้ค้าน�้ามันตาม พิจารณา รวมถึ ง บริ ษั ท ได้ มี ก ารก� า หนดขอบเขตอ� า นาจหน้ า ที่ มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติการค้าน�้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ.2543 ซึ่ง เป็นผู้ค้าน�้ามันที่มีปริมาณการค้าแต่ละชนิดหรือรวมกันทุกชนิดปีละ ของกรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบริหารอย่าง ไม่ถึง 100,000 เมตริกตัน (ประมาณ 120 ล้านลิตร) แต่เป็นผู้ค้าที่มี ชัดเจน และการก�าหนดมาตรการการเข้าท�ารายการระหว่างกัน ปริ ม าณการค้ า แต่ ล ะชนิ ด หรื อ รวมกั น ทุ ก ชนิ ด เกิ น ปี ล ะ 30,000 หากบริษัทมีความจ�าเป็นในการท�ารายการกับบุคคลที่อาจมีความขัด เมตริกตัน (ประมาณ 36 ล้านลิตร) โดยปริมาณการค้าดังกล่าวจะไม่ แย้ง บริษทั จะปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนการอนุมตั กิ ารท�ารายการระหว่างกัน นับรวมปริมาณการจ�าหน่ายน�า้ มันทีจ่ ดั หาจากต่างประเทศให้กบั ลูกค้า และข้อก�าหนดของส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการก�ากับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์ เพื่อใช้ในต่างประเทศ (External) ในปี 2557 - 2559 บริษัทมียอดจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง แห่งประเทศไทยอย่างเคร่งครัด โดยบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งจะไม่มี และน�า้ มันหล่อลืน่ ในประเทศรวมกันทุกชนิดจ�านวน 78.30 ล้านลิตร สิทธิออกเสียงในการพิจารณารายการดังกล่าว และ นโยบายการ 91.95 ล้านลิตร และ 62.26 ล้านลิตร (ไม่รวมปริมาณการจ�าหน่าย ก�ากับดูแล เพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้ถือหุ้นรายย่อย เช่น การเปิดเผย น�้ า มั น ที่ จั ด หาจากภายนอกประเทศให้ กั บ ลู ก ค้ า เพื่ อ ใช้ ภ ายนอก ข้อมูลที่ส�าคัญให้ผู้ถือหุ้นทราบผ่านช่องทางต่างๆ การเปิดโอกาสให้ ประเทศ (External)) หากในอนาคตบริษัทมีการขยายปริมาณการค้า ผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอระเบียบวาระในการประชุมผู้ถือหุ้น รวมถึง น�้ามันเกินกว่า 120 ล้านลิตร (ซึ่งจากยอดจ�าหน่ายน�้ามันในปัจจุบัน การเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เข้ารับการพิจารณาแต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั บริษัทยังสามารถขยายการจ�าหน่ายน�้ามันได้อีกประมาณร้อยละ 30) การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถามในที่ประชุมได้อย่างอิสระ บริษทั จะต้องจดทะเบียนเป็นผูค้ า้ น�า้ มันตามมาตรา 7 ซึง่ จะต้องส�ารอง น�า้ มันเชือ้ เพลิงไว้ ในอัตราร้อยละ 1 ของปริมาณการค้าน�า้ มันเชือ้ เพลิง ประจ�าปีซึ่งจะไม่รวมจ�านวนที่จ�าหน่ายนอกประเทศซึ่งจัดซื้อในต่าง ประเทศโดยในการส�ารองน�้ามันเชื้อเพลิงนี้บริษัทจะต้องมีการลงทุน ในการจัดหาสถานที่เพื่อจัดเก็บส�ารองน�้ามันเชื้อเพลิงหรือว่าจ้างให้ บุคคลอืน่ เก็บส�ารองน�า้ มันเชือ้ เพลิงแทนซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อกระแส เงินสดและผลประกอบการของบริษัท อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีนโยบายในการขยายการจ�าหน่าย น�้ามันให้แก่กลุ่มลูกค้าที่รับน�้ามันจากผู้ผลิตในต่างประเทศ เพื่อใช้ใน ต่างประเทศ (External) ซึ่งปริมาณการขายน�้ามันในลูกค้ากลุ่มนี้จะ ไม่ถกู นับรวมเป็นปริมาณการค้าน�า้ มันตามมาตรา 10 จากนโยบายดัง กล่าว บริษัทได้ท�าการขยายตลาดในกลุ่มลูกค้าที่มีการซื้อขายน�้ามัน ในต่างประเทศ ให้ด�าเนินการซื้อขายกับบริษัทย่อยในต่างประเทศ จึงท�าให้สัดส่วนของปริมาณการขายภายในประเทศยังคงอยู่ในเกณฑ์ ที่กฎหมายก�าหนด
เนื่องจากมีกฎหมายก�าหนดให้เรือขนส่งน�้ามันเตาที่ขนาด ใหญ่กว่า 500 ตันต้องเป็นเรือถัง 2 ชั้น (Double Hall) ซึ่งผู้ประกอบ การขนส่งยังมีเรือประเภทที่ก�าหนดจ�านวนน้อยราย ไม่เพียงพอกับ ความต้องการของตลาด อย่างไรก็ดี บริษทั ฯได้พยายามจัดหาเรือขนส่ง จากผู้ประกอบการขนส่งรายอื่นเพิ่มจากที่มีอยู่เดิม เพื่อป้องกันความ เสี่ยงดังกล่าว รวมถึง เพิ่มมาตรฐานในการคัดเลือกผู้ประกอบการ ขนส่งที่มีเรือที่ได้คุณภาพ และมีการตรวจสอบคุณภาพเรือขนส่งที่ให้ บริการ โดยการประเมินคุณภาพการจัดส่งเป็นรายเที่ยว
20
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
ควำมเสี่ยงจำกกำรลงทุนในโครงกำรใหม่
การน� า ระบบงาน/ระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศ (IT) เข้ า มาช่ ว ย ปั จ จุ บั น บริ ษั ท มี ก ารลงทุ น ในโครงการใหม่ ทั้ ง ในและ สนับสนุนธุรกิจหรือโครงการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และมีประสิทธิผล ต่างประเทศ เพื่อต่อยอดธุรกิจที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งในแต่ละโครงการ ในการปฏิ บั ติ ง าน การติ ด ตามและรายงานผลการด� า เนิ น งาน ที่บริษัทเข้าไปลงทุนนั้น ได้ผ่านการพิจารณาแล้วว่าเป็นโครงการที่มี ของโครงการลงทุนอย่างใกล้ชิด ศักยภาพ สอดคล้องกับเป้าหมายและแผนกลยุทธ์ทางธุรกิจขององค์กร ในปี 2559 บริ ษั ท ได้ มี ก ารปรั บ โครงสร้ า งขององค์ ก ร สามารถสร้างผลตอบแทนที่เหมาะสมในความเสี่ยงที่ยอมรับได้ และ เพื่อรองรับการขยายการลงทุน โดยมีการเพิ่มฝ่ายบริหารโครงการ ผ่านการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ และการประเมินความเสี่ยงต่างๆ ลงทุน และได้มีการก�าหนดให้ผู้บริหารของบริษัทเข้าด�ารงต�าแหน่ง ก่อนการเข้าลงทุน ส�าหรับการลงทุนในโครงการใหม่ อาจมีความ กรรมการในบริษัทย่อย รวมถึงมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงร่วมกับ ไม่ แ น่ น อนเกิ ด ขึ้ น ทั้ ง ที่ เ ป็ น ความเสี่ ย งและโอกาส ทั้ ง นี้ บ ริ ษั ท ที่ปรึกษาผู้มีความเชี่ยวชาญในด้านการบริหารจัดการโครงการและ จึงมีมาตรการป้องกันและบริหารจัดการความเสีย่ งในการลงทุนต่างๆ บริหารความเสี่ยง เพื่อควบคุมการลงทุนให้เป็นไปตามเป้าหมาย ตั้งแต่ การก�าหนด อย่างไรก็ดี หากพบว่าโครงการลงทุนใดจะมีความเสีย่ งทีผ่ ล นโยบายการลงทุ น กระบวนการพิ จ ารณาการลงทุ น ของบริ ษั ท ตอบแทนจากการลงทุนอาจไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ไม่ว่าเกิดจาก ตามขั้ น ตอนการจั ด จ้ า งที่ ป รึ ก ษาหรื อ สรรหาบุ ค ลากรที่ มี ปัจจัยภายในหรือภายนอก บริษัทจะด�าเนินการหามาตรการเพื่อลด ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเข้ามาดูแลหรือบริหารจัดการโครงการ ผลกระทบจากความเสี่ยงที่เกิดขึ้นดังกล่าว
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
21
ไปที่สารบัญ
โครงสร้างผู้ถือหุ้น หลักทรัพย์ของบริษัท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทมีทุนจดทะเบียน 417,036,710 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจ�านวน 417,036,710 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท และมีทุนที่ออกและช�าระแล้ว 415,120,281 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจ�านวน 415,120,281 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ผู้ถือหุ้นของบริษัท
รายชื่อของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ณ วันที่ 30 มกราคม 2560 (ปิดสมุดทะเบียน) นับรวมการถือหุ้นโดยผู้ที่เกี่ยวข้องกันตาม มาตรา 258 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (“มาตรา 258”) ดังนี้ รำยชื่อผู้ถือหุ้น 1. กลุ่มปานบุญห้อม
โครงสร้ำงกำรถือหุ้น จ�ำนวนหุ้น ร้อยละ 234,891,076
56.58
1.1 นายเชิดชู ปานบุญห้อม และคู่สมรส
44,000,365
10.60
1.2 นางสาวนีรชา ปานบุญห้อม
3,300,000
0.79
1.3 นางสาวปาลีรัฐ ปานบุญห้อม
591,154
0.14
186,999,557
45.05
2. นางสาวชาลินี เกตุแก้ว
15,304,360
3.69
3. นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติก�าจร
11,223,300
2.70
4. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ากัด
9,652,362
2.33
1.4 บริษัท นทลิน จ�ากัด
22
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
โครงสร้ำงกำรถือหุ้น จ�ำนวนหุ้น ร้อยละ
รำยชื่อผู้ถือหุ้น 5. นางสาวก่องกาญจน์ เด่นไพศาล
9,117,900
2.20
6. นางสาววิอร ทองแตง
4,647,071
1.12
7. นายโชคชัย ว่องภัทรวาณิชย์
3,826,074
0.92
8. นางดาราราย รัตนชัยวรรณ
3,459,000
0.83
9. นางชื่นทิพย์ จีระพรประภา
2,251,905
0.54
10. นางสาวเกศริน อุ่นพงศ์เจริญสุข
2,208,409
0.53
11. นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข
2,199,997
0.53
12. นายสุรพล มีเสถียร
2,199,997
0.53
ผู้ถือหุ้นรายอื่นๆ
114,138,830
27.50
415,120,281
100.00
รวม
ผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ที่มีอิทธิพลต่อกำรก�ำหนดนโยบำยกำรจัดกำรหรือกำรด�ำเนินงำนของบริษัทอย่ำงมีนัยส�ำคัญ บริษัท นทลิน จ�ากัด ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ได้ส่งตัวแทนเข้ามาเป็นกรรมการจ�านวน 3 ท่าน คือ นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข , นายสุรพล มีเสถียร และนางสาวนีรชา ปานบุญห้อม กำรออกหลักทรัพย์อื่น
บริษัทได้ออกหุ้นกู้บริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2558 ครบก�าหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2560 เพื่อเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ ในนามของบริษัท โดยมีรายละเอียดของหุ้นกู้ ดังนี้
หุ้นกู้ครั้งที่
มูลค่ำที่ออก (ล้ำนบำท)
มูลค่ำที่ยังไม่ไถ่ถอน (ล้ำนบำท)
วันที่ออกหุ้นกู้
วันที่ครบก�ำหนด ไถ่ถอน
อัตรำดอกเบี้ยต่อ ปี (%)
1/2558
1,000
1,000
17 กันยายน 2558
15 กันยายน 2560
5.35
นโยบำยกำรจ่ำยเงินปันผล
บริษัทมีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ต�่ากว่าร้อยละ 30 ของก�าไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคลและหลังหักส�ารองต่างๆ ทุก ประเภทตามที่กฎหมายก�าหนดและตามที่ก�าหนดไว้ในข้อบังคับของบริษัท ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้มีอ�านาจอนุมัติในการพิจารณาการ จ่ายเงินปันผล โดยค�านึงถึงปัจจัยต่างๆ เพือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผถู้ อื หุน้ เช่น เงินส�ารองเพือ่ จ่ายช�าระหนีเ้ งินกูย้ มื แผนการลงทุนในการขยาย กิจการ หรือเพื่อสนับสนุนกระแสเงินสดของบริษัท ในกรณีที่มีผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะตลาด เป็นต้น โดยมติคณะกรรมการ บริษัทที่พิจารณาเรื่องดังกล่าวนั้น จะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ซึ่งคณะกรรมการบริษัท มีอ�านาจอนุมัติให้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลได้ แล้วให้รายงานที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวถัดไป
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
23
ไปที่สารบัญ
โครงสร้างการจัดการ โครงสร้ำงกำรจัดกำรของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 สำมำรถแสดงได้ดังนี้
คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการก�ากับ ดูแลกิจการ
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการสรรหา และก�าหนดค่าตอบแทน
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
กรรมการผู้จัดการ ส�านักเลขานุการบริษัท /นักลงทุนสัมพันธ์
ฝ่ายตรวจสอบ ภายใน *
คณะท�างาน บริหารความเสี่ยง
รองกรรมการผู้จัดการ
ฝ่ายขาย
ฝ่ายบริการลูกค้า
ฝ่ายประกันคุณภาพ และลูกค้าสัมพันธ์
ฝ่ายการเงิน และบัญชี
ฝ่ายบริหาร โครงการลงทุน
ฝ่ายประชาสัมพันธ์ *
ฝ่ายทรัพยากร มนุษย์ *
แผนกบัญชี แผนกการเงินและธุรการ
หมายเหตุ
* บริษัทว่าจ้างบุคคลภายนอก (outsource) ในการบริการด้านตรวจสอบภายใน บริหารทรัพยากรมนุษย์ จัดการเทคโนโลยีและสารสนเทศ และประชาสัมพันธ์
24
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ฝ่ายเทคโนโลยี สารสนเทศ *
ไปที่สารบัญ
โครงสร้างการจัดการของบริษัท ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย คือ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ และคณะกรรมการบริหาร โดยโครงสร้างของคณะกรรมการ บริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) มีจ�านวน 8 ท่าน ซึ่งเป็นจ�านวนที่เหมาะสมกับขนาดของกิจการ แบ่งเป็น กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 3 ท่าน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารจ�านวน 2 ท่าน และกรรมการอิสระ 3 ท่าน โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ คณะกรรมกำร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย กรรมการจ�านวน 8 ท่าน ดังนี้ ชื่อ
ต�ำแหน่ง
1. นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติก�าจร
ประธานกรรมการ
2. นายทวีป สุนทรสิงห์
รองประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน / ประธานกรรมการก�ากับดูแลกิจการ
3. รศ.ดร. รุธิร์ พนมยงค์
กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ
4. ดร. เฉลิมวิทย์ ฉิมตระกูล
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน / กรรมการก�ากับดูแลกิจการ
5. นายสุรพล มีเสถียร
กรรมการ / กรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน / กรรมการก�ากับดูแลกิจการ
6. นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข
กรรมการ / กรรมการบริหาร
7. นางสาวนีรชา ปานบุญห้อม
กรรมการ / ประธานกรรมการบริหาร
8. นางสุธิดา คฤเดชโกศล*/**
กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการผู้จัดการ
*นางสุธิดา คฤเดชโกศล เข้าด�ารงต�าแหน่ง กรรมการบริษัท แทน ว่าที่เรือตรีชาญวิทย์ อนัคกุล ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2559 **นางสุธิดา คฤเดชโกศล เข้าด�ารงต�าแหน่ง กรรมการผู้จัดการ แทน นางสาวนีรชา ปานบุญห้อม ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2559
กรรมการผู้มีอ�านาจลงนามแทนบริษัท คือ นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติก�าจร นายสุรพล มีเสถียร นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข นางสาวนีรชา ปานบุญห้อม และนางสุธิดา คฤเดชโกศล กรรมการสองในห้าคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราส�าคัญของบริษัท โดยมีนางเสาวณีย์ สุทธิธรรม เป็นเลขานุการบริษัท ขอบเขตอ�ำนำจหน้ำที่ของประธำนกรรมกำร
บริษทั แบ่งแยกอ�านาจหน้าทีใ่ นเรือ่ งการก�าหนดนโยบายของบริษทั และการบริหารงาน แยกออกจากกันอย่างชัดเจน บริษทั จึงก�าหนดให้ ประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นคนละบุคคลกัน ประธานกรรมการมีบทบาท ดังนี้ 1. เป็นผู้เรียกประชุมคณะกรรมการบริษัท ก�าหนดระเบียบวาระการประชุม และส่งหนังสือนัดประชุมให้แก่กรรมการ 2. เป็นประธานการประชุมของคณะกรรมการบริษทั การประชุมผูถ้ อื หุน้ และควบคุมให้การประชุมมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับบริษัท 3. เปิดโอกาสและสนับสนุนให้กรรมการแสดงความเห็นอย่างเป็นอิสระ 4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการบริษัท ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ตามขอบเขตอ�านาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ และตามนโยบายการก�ากับดูแลกิจการที่ดี 5. ดูแล ติดตาม การบริหารงานของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อยอื่นๆ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ก�าหนดไว้ 6. เป็นผู้ลงคะแนนชี้ขาดในกรณีที่ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทมีการลงคะแนนเสียง และคะแนนเสียงทั้งสองฝ่ายเท่ากัน
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
25
ไปที่สารบัญ
ขอบเขตอ�ำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำรบริษัท
1. ดูแลและก�าหนดนโยบายที่ส�าคัญของบริษัท ได้แก่ นโยบายหลักในการด�าเนินธุรกิจ นโยบายทางด้านการเงิน การระดมทุน การบริหารเงินทุน และนโยบายในการป้องกันความเสี่ยง เป็นต้น 2. ดูแลและจัดการบริษัทให้ปฏิบัติตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นและมติ ของที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยในการด�าเนินกิจการของบริษัท คณะกรรมการบริษัทต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต 3. พิจารณาและอนุมัติในเรื่องที่ส�าคัญเกี่ยวกับการด�าเนินงานของบริษัท เช่น วิสัยทัศน์ ภารกิจ นโยบาย กลยุทธ์ทางธุรกิจ แผนการด�าเนินงาน เป้าหมายทางการเงิน โครงการลงทุนและงบประมาณของบริษัท 4. ก�ากับดูแลการด�าเนินธุรกิจตามปกติของบริษัท และก�ากับดูแลให้ฝ่ายบริหารด�าเนินการให้เป็นไปตามวิสัยทัศน์ ภารกิจ นโยบาย กลยุทธ์ทางธุรกิจ แผนการด�าเนินงาน เป้าหมายทางการเงินและงบประมาณของบริษัท ที่ก�าหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และ เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้น 5. จัดให้มีระบบบัญชี ระบบการรายงานทางการเงิน รวมทั้งดูแลให้มีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 6. รับทราบรายงานการตรวจสอบที่ส�าคัญของคณะกรรมการตรวจสอบ หรือฝ่ายตรวจสอบภายใน รวมทั้งผู้ตรวจสอบบัญชี และที่ปรึกษาฝ่ายต่างๆของบริษัท และมีหน้าที่ก�าหนดแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข กรณีที่พบข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�าคัญรวมถึงติดตาม ผลการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง 7. จัดท�ารายงานประจ�าปี และรับผิดชอบต่อการจัดท�าและเปิดเผยงบการเงินเพื่อแสดงถึงฐานะการเงินและผลการด�าเนินงาน ในรอบปีที่ผ่านมาเพื่อเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น 8. ก�ากับดูแลและจัดให้มีกลไกก�ากับดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับบริษัท 9. พิจารณาและอนุมัติ รวมถึงให้ความเห็นเพื่อเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติในการเข้าท�าธุรกรรมที่มีนัยส�าคัญ ต่อบริษัท และการเข้าท�ารายการที่เกี่ยวโยงกัน ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไข และวิธีการที่กฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง และ/หรือข้อบังคับ ก�าหนด 10. สรรหาบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการของบริษัท 11. พิจารณาและก�าหนดหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารระดับสูง โดยพิจารณาจากผลงานในอดีต คุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ เป็นต้น 12. พิจารณาจ�านวนค่าตอบแทนของกรรมการที่เหมาะสมตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนที่คณะกรรมการบริษัทก�าหนด เพื่อเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาและอนุมัติ 13. แต่งตัง้ กรรมการบริหาร และแต่งตัง้ กรรมการคนใดคนหนึง่ ทีด่ า� รงต�าแหน่งกรรมการบริหารเป็นกรรมการผูจ้ ดั การ รวมทัง้ ก�าหนด ขอบเขตอ�านาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการ 14. สรรหาและแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย หรือบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ตามที่คณะกรรมการบริษัท เห็ น สมควรเข้ า ด� า รงต� า แหน่ ง กรรมการในคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยรวมทั้ ง ก� า หนดขอบเขตอ� า นาจ หน้ า ที่ และความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการชุดย่อย 15. แต่งตัง้ และ/หรือมอบอ�านาจให้กรรมการ หรือบุคคลใดบุคคลหนึง่ หรือหลายคนมีอา� นาจด�าเนินการใดทีอ่ ยูภ่ ายในขอบเขตอ�านาจ ของกรรมการ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั เห็นสมควร โดยทีค่ ณะกรรมการบริษทั อาจยกเลิก เพิกถอน หรือแก้ไขเปลีย่ นแปลงอ�านาจดังกล่าวได้ 16. ในกรณีทมี่ กี ารมอบหมายให้กรรมการคนหนึง่ คนใด หรือหลายคน หรือบุคคลอืน่ กระท�าการอย่างใดอย่างหนึง่ แทนคณะกรรมการ บริษัทผู้ได้รับมอบอ�านาจนั้นต้องไม่มีอ�านาจอนุมัติรายการที่บุคคลดังกล่าวหรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (“บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง” ให้มีความหมายตามที่ก�าหนดไว้ในประกาศของคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.”) หรือ คณะกรรมการก�ากับตลาดทุน) อาจมีส่วนได้เสียหรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใดกับบริษัท ยกเว้นเป็นการอนุมัติ รายการที่เป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว้ 17. แต่งตัง้ กรรมการ หรือบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั เห็นสมควรเป็น เลขานุการบริษทั 18. ก�ากับดูแลให้มกี ารเปิดเผยข้อมูลส�าคัญทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่งใสผ่านช่องทางทีเ่ ข้าถึงข้อมูลได้ 19. มีอ�านาจพิจารณาและอนุมัติเรื่องใดๆที่จ�าเป็นและเกี่ยวเนื่องกับบริษัท หรือที่เห็นว่าเหมาะสมเพื่อประโยชน์ของบริษัท 26
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการท่านใด มีส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการท่านนั้นไม่มีอ�านาจอนุมัติด�าเนินการดัง กล่าวกับบริษัทหรือบริษัทย่อย ตามที่ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือคณะกรรมการก�ากับตลาดทุน และ/ หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก�าหนด ดูแลให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศของคณะกรรมการก�ากับตลาดทุน หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท คณะกรรมกำรตรวจสอบ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย กรรมการจ�านวน 3 ท่าน ดังนี้ ชื่อ
ต�ำแหน่ง
1.
รศ.ดร. รุธิร์ พนมยงค์
ประธานกรรมการตรวจสอบ
2.
นายทวีป สุนทรสิงห์*
กรรมการตรวจสอบ
3.
ดร. เฉลิมวิทย์ ฉิมตระกูล
กรรมการตรวจสอบ
* นายทวีป สุนทรสิงห์ เป็นกรรมการตรวจสอบผู้มีความรู้และประสบการณ์ในด้านบัญชีการเงิน
โดยมีนางเสาวณีย์ สุทธิธรรม เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ คือ กรรมการอิสระ ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ช่วยสนับสนุนด้านการก�ากับดูแลกิจการ โดยเฉพาะในด้านกระบวนการรายงานทางการเงิน ระบบการควบคุมภายใน กระบวนการตรวจสอบและปฏิบัติตามกฎหมายของบริษัท เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการด�าเนินงาน โดยมีขอบเขตอ�านาจหน้าที่ที่ก�าหนดไว้ในกฎบัตรดังนี้ ขอบเขตอ�ำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำรตรวจสอบ
1. สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่ เหมาะสมและมีประสิทธิผลและพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายในตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้ายเลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในหรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯและกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณาคัดเลือกเสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อท�าหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของ บริษัทและเสนอค่าตอบแทน ของบุคคลดังกล่าวรวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�าหนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 6. จัดท�ารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�าปีของบริษทั ซึง่ รายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้องครบถ้วนเป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท (2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท (3) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท (4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (6) จ�านวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (7) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (charter) (8) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
27
ไปที่สารบัญ
7. ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบหากพบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระท�าดังต่อไปนี้ ซึ่งอาจมี ผลกระทบอย่างมีนัยส�าคัญต่อฐานะการเงินและผลการด�าเนินงานของบริษัทให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อ ด�าเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร (1) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (2) การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่องที่ส�าคัญในระบบควบคุมภายใน (3) การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของบริษทั หากคณะกรรมการบริษทั หรือผูบ้ ริหารไม่ดา� เนินการให้มกี ารปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาตามวรรคข้างต้น กรรมการ ตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระท�าตามวรรคข้างต้นต่อส�านักงาน ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์ฯ 8. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการตรวจสอบขึ้นตรงต่อคณะกรรมการบริษัท และให้กรรมการตรวจสอบมีวาระการด�ารงต�าแหน่งคราวละ 2 ปี นับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง ทั้งนี้ จะเลือกกรรมการตรวจสอบผู้พ้นจากต�าแหน่งเข้ารับต�าแหน่งอีกก็ได้ คณะกรรมกำรสรรหำและก�ำหนดค่ำตอบแทน
ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 2/2558 เมือ่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2558 ได้มมี ติแต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน เพื่อช่วยในการก�ากับดูแลกิจการ ในเรื่องการก�าหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทนของกรรมการบริษัท และ กรรมการชุดย่อยให้มีความเหมาะสมและโปร่งใส รวมทั้งสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลที่เหมาะสมให้ด�ารงต�าแหน่งกรรมการบริษัท และกรรมการบริหาร ตลอดจนปฏิบัติงานด้านอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายและน�าเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น แล้วแต่กรณี ประกอบด้วย 3 ท่าน ดังนี้ ชื่อ
ต�ำแหน่ง
1.
นายทวีป สุนทรสิงห์
ประธานกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน
2.
นายสุรพล มีเสถียร
กรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน
3.
ดร. เฉลิมวิทย์ ฉิมตระกูล
กรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน
โดยมีนางเสาวณีย์ สุทธิธรรม เป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน ขอบเขตอ�ำนำจหน้ำที่และควำมรับผิดชอบ
คณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท โดยมีขอบเขตอ�านาจ หน้าที่และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ 1. กำรสรรหำ (1) พิจารณาโครงสร้าง ขนาด และองค์ประกอบคณะกรรมการบริษัทให้มีความเหมาะสมกับองค์กร ธุรกิจ และสภาพแวดล้อม (2) ก�าหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหา กรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อย และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โดยพิจารณา ความเหมาะสมของจ�านวน โครงสร้าง และองค์ประกอบของคณะกรรมการ ก�าหนดคุณสมบัติของกรรมการ เพื่อเสนอต่อคณะ กรรมการบริษัท และ/หรือเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี (3) พิจารณาสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลที่เหมาะสมให้ด�ารงต�าแหน่ง กรรมการบริษัทที่ครบวาระ และ/หรือ มีต�าแหน่งว่างลง และ/หรือ แต่งตั้งเพิ่ม (4) พิจารณาสรรหาและคัดเลือกผู้บริหารของบริษัท เฉพาะต�าแหน่งกรรมการผู้จัดการ และ กรรมการบริหาร (5) ปฏิบัติการอื่นใดเกี่ยวกับการสรรหาตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย (6) ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารสูงสุดของบริษัทฯ เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัททราบเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2. กำรก�ำหนดค่ำตอบแทน (1) จัดท�าหลักเกณฑ์และนโยบายในการก�าหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและกรรมการชุดย่อย เพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการบริษัท และ/หรือเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี 28
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
(2) ก�าหนดค่าตอบแทนทีจ่ า� เป็นและเหมาะสมทัง้ ทีเ่ ป็นตัวเงินและมิใช่ตวั เงินของคณะกรรมการบริษทั เป็นรายบุคคล โดยการก�าหนด ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทให้พิจารณาความเหมาะสมกับภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ ผลงาน และเปรียบเทียบกับ บริษัทในธุรกิจที่คล้ายคลึงกัน และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากกรรมการ เพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาและ น�าเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมัติ (3) รับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัท และมีหน้าที่ให้ค�าชี้แจง ตอบค�าถามกับค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทในที่ประชุมผู้ถือหุ้น (4) รายงานนโยบาย หลักการ/เหตุผลของการก�าหนดค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ตามข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยเปิดเผยไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�าปี (56-1) และรายงานประจ�าปี ของบริษัทฯ (5) ปฏิบัติการอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการก�าหนดค่าตอบแทนตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย คณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน รายงานตรงต่อคณะกรรมการบริษัท และมีวาระการด�ารงต�าแหน่งคราวละ 3 ปี โดย กรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทนทีพ่ น้ ต�าแหน่งตามวาระ อาจได้รบั การแต่งตัง้ กลับเข้ามาด�ารงต�าแหน่งต่อไปได้อกี ตามทีค่ ณะกรรมการ บริษัทเห็นว่าเหมาะสม คณะกรรมกำรก�ำกับดูแลกิจกำร
ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2559 เมือ่ วันที่ 18 มีนาคม 2559 ได้มมี ติแต่งตัง้ คณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ (Corporate Governance Committee : CGC) เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ในการก�าหนดหลักเกณฑ์ และแนวทางในการปฏิบัติที่ดี ในกิจการด้านต่างๆ ของกลุ่มบริษัท ให้เป็นไปตามนโยบายการก�ากับดูแลกิจการ และสอดคล้องกับหลักการก�ากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรทุกระดับของบริษัทฯ ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลัก การก�ากับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจ เพือ่ ให้องค์กรมีการเติบโตอย่างยัง่ ยืน จากการบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และสามารถสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ประกอบด้วย 3 ท่าน ดังนี้ ชื่อ
ต�ำแหน่ง
1.
นายทวีป สุนทรสิงห์
ประธานกรรมการก�ากับดูแลกิจการ
2.
นายสุรพล มีเสถียร
กรรมการก�ากับดูแลกิจการ
3.
ดร. เฉลิมวิทย์ ฉิมตระกูล
กรรมการก�ากับดูแลกิจการ
โดยมีนางเสาวณีย์ สุทธิธรรม เป็นเลขานุการคณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ ขอบเขตอ�ำนำจหน้ำที่และควำมรับผิดชอบ
คณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท โดยมีขอบเขตอ�านาจหน้าที่และ ความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ 1. ก�าหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติด้านการก�ากับดูแลกิจการ รวมถึงทบทวนและปรับปรุงนโยบายการก�ากับดูแลกิจการ ให้มีความเหมาะสมอย่างสม�่าเสมอ 2. ก�ากับดูแล ให้ค�าปรึกษา และติดตามให้มีการปฏิบัติตามนโยบายก�ากับดูแลกิจการของบริษัทฯ จริยธรรมและจรรยาบรรณ ในการด�าเนินธุรกิจ รวมถึง การด�าเนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และการด�าเนินงานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน ขององค์กร 3. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดที่เกี่ยวข้องตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย กำรประชุม (1) คณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ จ้ดให้มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และมีอ�านาจเรียกประชุมเพิ่มได้ตามความจ�าเป็น โดยองค์ประชุมไม่น้อยกว่ากี่งหนึ่งของจ�านวนกรรมการทั้งหมด (2) ประธานกรรมการก�ากับดูแลกิจการ เป็นประธานที่ประชุม ในกรณีที่ประธานกรรมการก�ากับดูแลกิจการไม่อยู่ในที่ประชุมหรือ ติดภารกิจที่จ�าเป็น ให้กรรมการก�ากับดูแลกิจการที่มาประชุม เลือก กรรมการก�ากับดูแลกิจการคนหนึ่งเป็นประธานที่ประชุม (3) การลงมติของ ของคณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ จะถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ และ กรรมการก�ากับดูแลกิจการที่มีส่วนได้ เสียใดๆ ในเรื่องที่พิจารณา มิให้ออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้นๆ ในกรณีที่การลงมติมีเสียงเท่ากัน ประธานกรรมการ ก�ากับดูแลกิจการมีสิทธิออกเสียงอีก 1 เสียงเพื่อเป็นการชี้ขาด “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
29
ไปที่สารบัญ
กำรรำยงำน คณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการรายงานผลการปฏิบัติงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และจัดท�ารายงานของคณะกรรมการก�ากับ ดูแลกิจการ เปิดเผยไว้ในรายงานประจ�าปีของบริษัท คณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการมีวาระการด�ารงต�าแหน่งคราวละ 3 ปี โดยกรรมการก�ากับดูแลกิจการ ที่พ้นต�าแหน่งตามวาระ อาจได้รับการแต่งตั้งกลับเข้ามาด�ารงต�าแหน่งต่อไปได้อีกตามที่คณะกรรมการบริษัทเห็นว่าเหมาะสม นอกเหนือจากการพ้นจากต�าแหน่ง ตามวาระแล้ว กรณีที่ต�าแหน่งกรรมการก�ากับดูแลกิจการว่างลงเพราะเหตุอื่น ได้แก่ ลาออก หรือ พ้นสภาพการเป็นกรรมการบริษัท ให้คณะกรรมการบริษัทฯ มีอ�านาจในการแต่งตั้ง กรรมการที่มีคุณสมบัติครบถ้วนเข้าเป็นกรรมการก�ากับดูแลกิจการเพิ่มเติม โดยกรรมการ ที่ได้รับการแต่งตั้งเข้าด�ารงต�าแหน่งแทนนั้น จะอยู่ในต�าแหน่งได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทนเท่านั้น คณะกรรมกำรบริหำร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทมีกรรมการบริหาร จ�านวน 5 ท่าน* ดังนี้ ชื่อ
1. นางสาวนีรชา ปานบุญห้อม
ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร
2. นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข
กรรมการบริหาร
3. นางสุธิดา คฤเดชโกศล
กรรมการบริหาร
4. นายชญาน์วัต ทีฆไมตรี
กรรมการบริหาร
5. นางกุสุมา วรรณพฤกษ์
กรรมการบริหาร
*นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข และนางสุธิดา คฤเดชโกศล ด�ารงต�าแหน่งกรรมการบริหาร ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2559 โดยเริ่มเข้าประชุมตั้งแต่คณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 6/2559 เป็นต้นไป
โดยมีนายชโนดม อารีรอบ เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั โดยคัดเลือกจากกรรมการหรือผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั ทีส่ ามารถ บริหารงานในเรื่องที่เกี่ยวกับการด�าเนินงานตามธุรกิจปกติ เพื่อท�าหน้าที่บริหารจัดการงานประจ�าที่เกินอ�านาจหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการ เพื่อพิจารณาและน�าเรื่องที่มีสาระส�าคัญเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท โดยมีอ�านาจหน้าที่ที่ก�าหนดไว้ในกฎบัตรดังนี้ ขอบเขตอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. พิจารณาและจัดท�านโยบายกลยุทธ์ทางธุรกิจเป้าหมายและแผนการด�าเนินงานเป้าหมายทางการเงินและงบประมาณของบริษทั โดยพิจารณาถึงปัจจัยทางธุรกิจต่างๆ อย่างเหมาะสมเพื่อน�าเสนอและขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริษัท 2. ก�ากับดูแลตรวจสอบและติดตามการด�าเนินธุรกิจของบริษทั ให้เป็นไปตามนโยบายกลยุทธ์ทางธุรกิจ เป้าหมายและแผนการด�าเนิน งานเป้าหมายทางการเงินและงบประมาณของบริษัทที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 3. ก�าหนดโครงสร้างองค์กรและการบริหาร โดยให้ครอบคลุมถึงนโยบายอัตราค่าตอบแทนและสวัสดิการโครงสร้างเงินเดือนของ บริษัท และภาพรวมในการคัดเลือก การฝึกอบรม การว่าจ้าง การแต่งตั้ง การโยกย้าย การเลิกจ้างพนักงานของบริษัท 4. พิจารณาอนุมัติและการด�าเนินการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมทางการเงินปกติของบริษัท โดยให้วงเงินเป็นไปตามระเบียบ อ�านาจอนุมัติ ซึ่งผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการบริษัทแล้ว หากเกินกว่าจ�านวนดังกล่าวให้น�าเสนอเพื่อขออนุมัติที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัท 5. พิจารณาและอนุมัติการจัดซื้อจัดจ้าง การลงทุนขยายงาน รวมถึงการซื้อขายสินทรัพย์ถาวรของบริษัท โดยจะพิจารณาเสนอต่อ คณะกรรมการบริษทั หากการจัดซือ้ จัดจ้าง ตลอดจนเรือ่ งลงทุน ขยายงานรวมถึงการซือ้ ขายสินทรัพย์ถาวรของบริษทั นัน้ อยูน่ อกเหนือขอบเขต และงบประมาณที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 6. พิจารณาและอนุมัติการเข้าท�าธุรกรรมทางการเงินกับสถาบันการเงินในการเปิดบัญชีกู้ยืมขอสินเชื่อจ�าน�าจ�านองค�้าประกันและ การอืน่ รวมถึงการซือ้ ขายและจดทะเบียนกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ใดๆตามวัตถุประสงค์เพือ่ ประโยชน์ในการด�าเนินกิจการของบริษทั ตลอดจนถึงการเข้า ท�านิติกรรมสัญญาและ/หรือการด�าเนินการใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าวภายใต้อ�านาจวงเงินที่ได้ก�าหนดไว้หากเกินกว่าจ�านวนดังกล่าว ให้น�าเสนอเพื่อขออนุมัติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท 7. พิจารณาและอนุมตั กิ ารเข้าท�าธุรกรรมกูย้ มื เงิน และก�าหนดเงือ่ นไขของสัญญากูย้ มื เงิน จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน เช่น ระยะเวลา กู้ยืม และอัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ยืม ภายใต้อ�านาจวงเงินที่ได้ก�าหนดไว้ ในจ�านวนเงินไม่เกิน 20 ล้านบาท 30
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
8. พิจารณาและให้ข้อเสนอแนะหรือความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับโครงการข้อเสนอหรือการเข้าท�าธุรกรรมใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�าเนินธุรกิจของบริษทั ทีเ่ กินกว่าวงเงินทีไ่ ด้กา� หนดไว้และ/หรือทีก่ ฎหมายและกฎเกณฑ์ทเี่ กีย่ วข้องหรือข้อบังคับบริษทั ก�าหนด ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการบริษัทเป็นผู้พิจารณาอนุมัติ 9. พิจารณาและอนุมัติระเบียบข้อบังคับแนวนโยบายการบริหารงานและการด�าเนินธุรกิจของบริษัท หรือการด�าเนินการใดๆ อันมี ผลผูกพันบริษัท 10. มอบอ�านาจให้กรรมการผู้จัดการด�าเนินกิจการของบริษัทตามขอบเขตอ�านาจหน้าที่และความรับผิดชอบตามที่คณะกรรมการ บริหารก�าหนดภายใต้การก�ากับดูแลของคณะกรรมการบริหาร 11. แต่งตัง้ และ/หรือมอบหมายให้กรรมการบริหารหรือบุคคลใดบุคคลหนึง่ หรือหลายคนกระท�าการใดๆ ทีอ่ ยูภ่ ายในขอบเขตอ�านาจ ของคณะกรรมการบริหารตามทีค่ ณะกรรมการบริหารเห็นสมควรโดยทีค่ ณะกรรมการบริหารอาจยกเลิกเพิกถอนหรือแก้ไขเปลีย่ นแปลงอ�านาจ ดังกล่าวได้ 12. มีอ�านาจหน้าที่และความรับผิดชอบใดๆตามที่ได้รับมอบหมายหรือตามนโยบายที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ขอบเขตอ�านาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารข้างต้นอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมายและกฎเกณฑ์ทเี่ กีย่ วข้อง อาทิ กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศของ คณะกรรมการก�ากับตลาดทุน หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทตลอดจนข้อบังคับของบริษัท และในกรณีที่การเข้าด�าเนินการหรือ ท�าธุรกรรมใดๆทีม่ หี รืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์และ/หรือเป็นการเข้าท�ารายการกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันตามทีก่ ฎหมายและกฎเกณฑ์ ทีเ่ กีย่ วข้องหรือข้อบังคับของบริษทั ก�าหนดให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ หรือคณะกรรมการบริษทั เป็นผูพ้ จิ ารณาอนุมตั ใิ ห้คณะกรรมการบริหารน�าเสนอ เรือ่ งดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาและด�าเนินการตามทีก่ ฎหมายและกฎเกณฑ์ทเี่ กีย่ วข้องหรือข้อบังคับของบริษทั ก�าหนดต่อไป ผู้บริหำร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะผู้บริหารของบริษัท มีจ�านวน 6 ท่าน ดังนี้ ชื่อ
ต�ำแหน่ง
1. นางสาวนีรชา ปานบุญห้อม
ประธานกรรมการบริหาร
2. นางสุธิดา คฤเดชโกศล
กรรมการผู้จัดการ
3. นางกุสุมา วรรณพฤกษ์
ผู้อ�านวยการสายงานการเงิน
4. นายชญาน์วัต ทีฆไมตรี
ผู้จัดการฝ่ายขาย
5. นางสิราณี โกมินทรชาติ
ผู้จัดการฝ่ายบริการลูกค้า
6. นายวัชระ วุฒิพุธนันท์
ผู้จัดการฝ่ายประกันคุณภาพและลูกค้าสัมพันธ์
*นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข และนางสุธิดา คฤเดชโกศล ด�ารงต�าแหน่งกรรมการบริหาร ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2559 โดยเริ่มเข้าประชุมตั้งแต่คณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 6/2559 เป็นต้นไป
ขอบเขตอ�ำนำจหน้ำที่ของกรรมกำรผู้จัดกำร
ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2554 มีมติก�าหนดขอบเขตและอ�านาจหน้าที่ ของกรรมการผู้จัดการ ดังนี้ 1. รับผิดชอบ ดูแล บริหาร การด�าเนินงานและ/หรือการบริหารงานประจ�าวันของบริษัท รวมถึงการก�ากับดูแลการด�าเนินงาน โดยรวม เพื่อให้เป็นไปตามนโยบาย กลยุทธ์ทางธุรกิจ เป้าหมายและแผนการด�าเนินงาน เป้าหมายทางการเงิน และงบประมาณของบริษัท ที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 2. จัดท�าแผนธุรกิจ และก�าหนดอ�านาจการบริหารงาน ตลอดจนจัดท�างบประมาณที่ใช้ในการประกอบธุรกิจและงบประมาณ รายจ่ายประจ�าปี 3. ก�าหนดโครงสร้างองค์กร วิธีการบริหาร รวมถึงการคัดเลือก การฝึกอบรม การว่าจ้าง และการเลิกจ้างพนักงานของบริษัท และ ก�าหนดอัตราค่าจ้าง เงินเดือน ค่าตอบแทน โบนัส และสวัสดิการต่างๆ ส�าหรับพนักงาน 4. มีอ�านาจออกค�าสั่ง ระเบียบ ประกาศ บันทึก เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามนโยบาย และผลประโยชน์ของบริษัท และ เพื่อรักษาระเบียบวินัยการท�างานภายในองค์กร “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
31
ไปที่สารบัญ
5. พิจารณา เจรจาต่อรอง และอนุมัติการเข้าท�านิติกรรมสัญญา และ/หรือการด�าเนินการใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนินงาน และ/ หรือการบริหารงานประจ�าวันของบริษัท ทั้งนี้ ภายใต้อ�านาจวงเงินที่ได้ก�าหนดไว้ ตามตารางมอบอ�านาจอนุมัติ (Limit of Authority) ที่ได้รับ อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 6. พิจารณาการเข้าท�านิติกรรมสัญญา และ/หรือเจรจาต่อรองสัญญาใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนินงาน และ/หรือการด�าเนินการ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนินงาน และ/หรือการบริหารงานประจ�าวันของบริษัท ที่มีมูลค่าเกินกว่าวงเงินที่ได้ก�าหนดไว้ เพื่อให้ความเห็นและ เสนอเรื่องดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษัท และ/หรือคณะกรรมการบริหาร และ/หรือผู้มีส่วนรับผิดชอบในเรื่องนั้นๆ เพื่อพิจารณากลั่นกรอง และหาข้อสรุปต่อไป 7. พิจารณาแต่งตั้งที่ปรึกษาภายนอกส�าหรับการด�าเนินงานของบริษัทตามที่เห็นสมควร 8. แต่งตัง้ และ/หรือมอบหมายให้บคุ คลใดบุคคลหนึง่ หรือหลายคน กระท�าการใดๆ ทีอ่ ยูภ่ ายในขอบเขตอ�านาจของกรรมการผูจ้ ดั การ ตามที่กรรมการผู้จัดการเห็นสมควร โดยที่กรรมการผู้จัดการอาจยกเลิก เพิกถอน หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงอ�านาจดังกล่าวได้ 9. มีอ�านาจ หน้าที่และความรับผิดชอบใดๆ ตามที่ได้รับมอบหมายหรือตามนโยบายที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และ/หรือคณะกรรมการบริหาร ทั้งนี้ ในการด�าเนินการเรื่องใดที่กรรมการผู้จัดการ หรือผู้รับมอบอ�านาจจากกรรมการผู้จัดการหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามประกาศคณะกรรมการก�ากับตลาดทุน หรือประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต) มีส่วนได้ส่วนเสียหรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับ บริษัทและ/หรือบริษัทย่อย และ/หรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง กรรมการผู้จัดการไม่มีอ�านาจอนุมัติการด�าเนินการในเรื่องดังกล่าว โดยเรื่องดังกล่าว จะต้องน�าเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการและ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป (ตามแต่กรณี) ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการ ที่เป็นไปตามธุรกิจปกติ และมีเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป ซึ่งเป็นไปตามประกาศของคณะกรรมการก�ากับตลาดทุนและ/หรือตลาดหลักทรัพย์ฯ เลขำนุกำรบริษัท
ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2555 ได้มีมติแต่งตั้งนางเสาวณีย์ สุทธิธรรม ด�ารงต�าแหน่งเป็นเลขานุการบริษัท ตั้งแต่ วันที่ 14 พฤษภาคม 2555 โดยมีคุณสมบัติของผู้ด�ารงต�าแหน่งเป็นเลขานุการบริษัท ซึ่งเลขานุการบริษัทต้องปฏิบัติหน้าที่ตามที่ก�าหนดใน มาตรา 89/15 และ 89/16 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551 ซึ่งมีผลบังคับใช้ในวันที่ 31 สิงหาคม 2551 ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ บริษัท มติคณะกรรมการ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยมีหน้าที่ความรับผิดชอบตามกฎหมายและหน้าที่ตามที่บริษัทหรือคณะกรรมการ บริษัทมอบหมาย ดังนี้ 1) จัดท�าและเก็บรักษาเอกสาร ดังต่อไปนี้ ก.ทะเบียนกรรมการ ข.หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการและรายงานประจ�าปีของบริษัท ค.หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น 2) เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร และจัดส่งส�าเนารายงานการมีส่วนได้เสียตามมาตรา 89/14 ให้ประธานคณะกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันท�าการนับแต่วันที่บริษัทได้รับรายงานนั้น 3) ให้คา� แนะน�าด้านกฎหมาย กฎเกณฑ์ตา่ งๆทีเ่ กีย่ วข้อง และข้อพึงปฏิบตั ดิ า้ นการก�ากับดูแลในการด�าเนินกิจกรรมของคณะกรรมการ ให้เป็นไปตามกฎหมาย 4) ด�าเนินการจัดประชุมคณะกรรมการบริษัท การประชุมผู้ถือหุ้น ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับของบริษัท 5) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานก�ากับดูแล ได้แก่ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ส�านักงานกลต.และดูแลการเปิดเผยข้อมูลและรายงาน สารสนเทศต่อหน่วยงานก�ากับดูแลและสาธารณชนให้ถูกต้องครบถ้วนตามกฎหมาย 6) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายในบริษัทให้ปฏิบัติตามมติคณะกรรมการบริษัทและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น 7) ติดต่อประสานงานกับ ผู้ถือหุ้น นักลงทุนและสื่อมวลชนในการให้ข้อมูลและข่าวสารของบริษัท 8) ด�าเนินการอื่นๆตามที่คณะกรรมการก�ากับตลาดทุนประกาศก�าหนด
32
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
จ�ำนวนกำรเข้ำประชุมคณะกรรมกำรบริษัทและคณะกรรมกำรชุดย่อย
รำยชื่อกรรมกำร
ปี 2559 (จ�ำนวนครั้งที่เข้ำร่วมประชุม / จ�ำนวนครั้งที่ประชุมทั้งหมด) กรรมกำรสรรหำ กรรมกำรก�ำกับ กรรมกำร กรรมกำรบริษัท และก�ำหนดค่ำ ตรวจสอบ ดูแลกิจกำร ตอบแทน
1. นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติก�าจร
8/8
-
-
-
2. นายทวีป สุนทรสิงห์
8/8
6/6
1/1
1/1
3. รศ.ดร. รุธิร์ พนมยงค์
8/8
6/6
-
-
4. ดร. เฉลิมวิทย์ ฉิมตระกูล
8/8
6/6
1/1
1/1
5. นายสุรพล มีเสถียร
8/8
-
1/1
1/1
6. นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข
8/8
-
-
-
7. นางสาวนีรชา ปานบุญห้อม
8/8
-
-
-
8. ว่าที่เรือตรี ชาญวิทย์ อนัคกุล
4/4*
-
-
-
9. นางสุธิดา คฤเดชโกศล
4/4*
-
-
-
*หมายเหตุ นางสุธิดา คฤเดชโกศล เข้าด�ารงต�าแหน่ง กรรมการบริษัท แทน ว่าที่เรือตรีชาญวิทย์ อนัคกุล ลาออกจากต�าแหน่งกรรมการบริษัท ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2559
กำรเข้ำประชุมของคณะกรรมกำรบริหำรของบริษัท สำมำรถสรุปได้ดังนี้
รำยชื่อกรรมกำรบริหำร
ปี 2559 (จ�ำนวนครั้งที่เข้ำร่วมประชุม / จ�ำนวนครั้งที่ประชุมทั้งหมด)
1. นางสาวนีรชา ปานบุญห้อม
12 / 12
2. นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข
7/7*
3. นางสุธิดา คฤเดชโกศล
7/7*
4. นายชญาน์วัต ทีฆไมตรี
12 / 12
5. นางกุสุมา วรรณพฤกษ์
12 / 12
*หมายเหตุ
นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข และนางสุธิดา คฤเดชโกศล ด�ารงต�าแหน่ง กรรมการบริหาร เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2559
ค่ำตอบแทนกรรมกำรและผู้บริหำร ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�าปี 2559 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2559 ได้มีมติอนุมัติการก�าหนดค่าตอบแทนกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย ส�าหรับปี 2559 ประกอบด้วย 1. ค่าตอบแทนรายเดือน - ประธานกรรมการ เป็นจ�านวน 33,000 บาท ต่อเดือน - กรรมการ เป็นจ�านวน 27,500 บาท ต่อเดือน 2. ค่าเบี้ยประชุม - ประธานกรรมการตรวจสอบ จ�านวน 20,000 บาทต่อครั้งที่เข้าร่วมประชุม - กรรมการตรวจสอบ จ�านวน 15,000 บาทต่อครั้งที่เข้าร่วมประชุม - ประธานกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน จ�านวน 20,000 บาทต่อครั้งที่เข้าร่วมประชุม - กรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน จ�านวน 15,000 บาทต่อครั้งที่เข้าร่วมประชุม - ประธานกรรมการบริหาร จ�านวน 16,500 บาทต่อครั้งที่เข้าร่วมประชุม - กรรมการบริหาร จ�านวน 11,000 บาทต่อครั้งที่เข้าร่วมประชุม 3. ค่าตอบแทนผู้มีอ�านาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัท (นอกเหนือจากค่าตอบแทนรายเดือน) ส�าหรับกรรมการที่เป็นผู้มีอ�านาจลงนาม เป็นจ�านวนไม่เกิน 11,000 บาทต่อคนต่อเดือน
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
33
ไปที่สารบัญ
ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน สามารถสรุปได้ดังนี้ ค่ำตอบแทน ปี 2559* (บำท) รำยชื่อกรรมกำร
ค่ำตอบแทนกรรมกำร
ค่ำเบี้ยประชุมกรรมกำร ค่ำเบี้ยประชุมกรรมกำร ตรวจสอบ สรรหำฯ
รวม
1. นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติก�าจร
528,000
-
-
528,000
2. นายทวีป สุนทรสิงห์
330,000
90,000
20,000
440,000
3. รศ.ดร. รุธิร์ พนมยงค์
330,000
120,000
-
450,000
4. ดร. เฉลิมวิทย์ ฉิมตระกูล
330,000
90,000
15,000
435,000
5. นายสุรพล มีเสถียร
462,000
-
15,000
477,000
6. นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข
462,000
-
-
462,000
7. นางสาวนีรชา ปานบุญห้อม
462,000
-
-
462,000
8. นางสุธิดา คฤเดชโกศล
287,241.80
-
-
287,241.80
ว่าที่เรือตรี ชาญวิทย์ อนัคกุล
120,645.08
-
-
120,645.08
3,311,886.88
300,000
50,000
3,661,886.88
รวม *หมายเหตุ
ในปี 2559 ยังไม่มีการจ่ายค่าเบี้ยประชุมให้แก่กรรมการก�ากับดูแลกิจการ
ค่ำตอบแทนผู้บริหำร
บริษัทมีการจ่ายค่าตอบแทนให้ผู้บริหารของบริษัท โดยสามารถสรุปได้ดังนี้ ค่ำตอบแทนผู้บริหำร
ปี 2559 จ�ำนวนรำย (คน)
จ�ำนวนเงิน (ล้ำนบำท)
เงินเดือน โบนัส ค่าประจ�าต�าแหน่ง ค่าล่วงเวลา และค่าเบี้ยเลี้ยง
6
14.62
ค่าตอบแทนอื่น ๆ ได้แก่ กองทุนประกันสังคม และสวัสดิการอื่นๆ
6
0.63
รวม
6
15.25
บุคลำกร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทมีจ�านวนพนักงานทั้งหมด (ไม่รวม กรรมการและผู้บริหาร) ดังต่อไปนี้ พนักงำนแยกตำมฝ่ำย
จ�ำนวนพนักงำน (คน)
ฝ่ายขาย
5
ฝ่ายบริการลูกค้า
6
ฝ่ายประกันคุณภาพและลูกค้าสัมพันธ์
3
ฝ่ายการเงินและบัญชี
9
ส�านักเลขานุการบริษัท / เลขานุการผู้บริหาร
3
รวม
26
ค่ำตอบแทนพนักงำน
ค่ำตอบแทนพนักงำน
ปี 2559 (ล้ำนบำท)
เงินเดือน โบนัส ค่าประจ�าต�าแหน่ง ค่าล่วงเวลา และค่าเบี้ยเลี้ยง
16.53
ค่าตอบแทนอื่น ๆ ได้แก่ กองทุนประกันสังคม และสวัสดิการอื่นๆ
1.59
รวม
18.12
34
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
รายละเอียดเกีย ่ วกับกรรมการ ผูบ ้ ริหาร ผูม ้ อ ี า� นาจควบคุม และเลขานุการบริษท ั
นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติก�าจร 2551 - ปัจจุบัน
ประธานกรรมการ อายุ 71 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา
-
ปริญญาโท Civil EngineeringLamar University, Texas, USA ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 166/2012 หลักสูตร The Role of Chairman Program (RCP) รุ่นที่ 26/2011 หลักสูตร Audit CommitteeProgram (ACP) รุ่นที่ 22/2008 หลักสูตร Understanding the Fundamental of Financial Statements Program (UFS)
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท
ร้อยละ 2.70 (11,223,300 หุ้น)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
- ไม่มี -
ประสบการณ์ท�างาน
2554 - ปัจจุบัน 2558 - ปัจจุบัน 2558 - ปัจจุบัน 2557 - ปัจจุบัน
ประธานกรรมการ บมจ.ซีออยล์ ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง ประธานกรรมการ บจก.ดี ที ซี เอ็นเตอร์ไพรส์ ธุรกิจบริการระบบ GPS ประธานกรรมการ บจก.โอ พี จี เทค ผลิตและจ�าหน่ายน�้ามันปาล์ม ประธานกรรมการ บจก.สยามโกลบอลเฮ้าส์ อินเตอร์เนชั่นแนล ธุรกิจลงทุน
2557 - ปัจจุบัน 2557 - ปัจจุบัน
2554 - ปัจจุบัน 2554 - 2557 2552 - 2557 2552 - 2556 2551 - 2556 2549 - 2556 2549 - 2555
ประธานกรรมการ บมจ.สยามโกลบอลเฮ้าส์ จ�าหน่ายวัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ตกแต่งบ้าน ประธานกรรมการ บจก.เอเชีย ไบโอแมส จ�าหน่ายเชื้อเพลิงชีวมวล รองประธานกรรมการ บมจ. เอเชีย กรีน เอนเนอจี น�าเข้าและจ�าหน่ายถ่านหินคุณภาพ จากต่างประเทศ ประธานกรรมการ บจก.อีโค่ไลท์ติ้ง จ�าหน่ายหลอดไฟฟ้าและไฟส่องสว่าง กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ.ไทยออยล์ ธุรกิจกลั่นน�้ามัน กรรมการ บจก.ซาการี รีซอร์เซส ธุรกิจถ่านหิน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ.ไทยโรตารี่ เอ็นจิเนียริ่ง ผลิตผลิตภัณฑ์โลหะใช้ในงานก่อสร้าง ประธานกรรมการ บมจ.พีเออี (ประเทศไทย) งานรับเหมาก่อสร้าง กรรมการ บมจ. ไทยลู้บเบส ผลิตภัณฑ์หล่อลื่นและยางมะตอย กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ.ฟอร์จูน พาร์ท อินดัสตรี้ ผลิตและจ�าหน่ายชิ้นส่วนอะไหล่รถยนต์
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
35
ไปที่สารบัญ
นายทวีป สุนทรสิงห์ รองประธานกรรมการ/กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/ ประธานกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน / ประธานกรรมการก�ากับดูแลกิจการ
กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ อายุ 49 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา
อายุ 66 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา
- ปริญญาตรี นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 97/2012 - หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 42/2013 - หลักสูตร Financial Statements of Director (FSD) รุ่น 20/2013 - หลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP) รุ่น 17/2015 - หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุ่น 20/2015 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท
- ไม่มี -
- - - - - - - - -
ปริญญาเอก โลจิสติกส์ระหว่างประเทศ,Cardiff University, Wales, United Kingdom ประกาศนียบัตรระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์, Cardiff University, Wales, United Kingdom ปริญญาโท กฏหมายธุรกิจระหว่างประเทศ Universite de Paris I, Pantheon-Sorbonne, France ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ในการแปลค�าศัพท์ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรัง่ เศษทางกฎหมาย Paris Institute of Comparative Law, France ปริญญาตรี กฎหมายระหว่างประเทศ,Universite de Paris I, PantheonSorbonne, France ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์Lycee Michelet, France หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 103/2008 หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 13/2006 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 44/2005
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
- ไม่มี -
- ไม่มี -
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
- ไม่มี -
ประสบการณ์ท�างาน
2554 - ปัจจุบัน
รองประธานกรรมการ/ กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ ประธานกรรมการ สรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน/ ประธานกรรมการก�ากับดูแลกิจการ บมจ.ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง)
2535 - 2553
ผู้จัดการ บมจ.ธนาคารกสิกรไทย (ธนาคารพาณิชย์)
36
รศ.ดร. รุธิร์ พนมยงค์
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ประสบการณ์ท�างาน
2554 - ปัจจุบัน 2558 - ปัจจุบัน 2539 - ปัจจุบัน 2536 - ปัจจุบัน 2559 - ปัจจุบัน 2559 - ปัจจุบัน 2556 - 2558 2554 - 2556
กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ.ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ.ไวส์ โลจิสติกส์ (ธุรกิจรับจัดการขนส่งสินค้า) กรรมการ บจก.ลีฟวิง่ เฮดควอเตอร์ (ธุรกิจรับออกแบบภายใน) อาจารย์ประจ�าคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สถาบันการศึกษา) กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ซี.พี.แอล.กรุ๊พ จ�ากัด (มหาชน) (ผลิตและจัดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์หนังส�าเร็จรูป) กรรมการ บจก.โกลบอล ออลไซท์ กรรมการ บจก.ไวส์เฟรทเซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) (ธุรกิจรับจัดการขนส่งสินค้า) กรรมการ บจก.เจริญสินพร็อพเพอร์ต ี้ (ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์)
ไปที่สารบัญ
ดร. เฉลิมวิทย์ ฉิมตระกูล
นายสุรพล มีเสถียร
กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการสรรหาและ ก�าหนดค่าตอบแทน/ กรรมการก�ากับดูแลกิจการ
กรรมการ/ กรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน/ กรรมการ ก�ากับดูแลกิจการ
อายุ 67 ปี
อายุ 63 ปี
คุณวุฒิทางการศึกษา
คุณวุฒิทางการศึกษา
- ปริญญาเอก การบริหารการศึกษาและภาวะผูน้ า� มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น - ปริญญาโท ครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ - ปริญญาตรี การศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 158/2012 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 92/2011 - หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุน่ 42/2013 - หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) รุ่น 23/2014 - หลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP) รุ่น 17/2015 - หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุ่น 20/2015
- ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บัณฑิต โรงเรียนนายเรือ ประกาศนียบัตร วิทยาลัยการทัพเรือ - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 155/2012 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 92/2011 - หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุน่ 20/2015
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท
2554 - ปัจจุบัน กรรมการ/ กรรมการสรรหาฯ/ กรรมการก�ากับดูแลกิจการ บมจ.ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) 2557 - 2559 กรรมการ บจก.เอ็น.ที.แอล. มารีน (ขนส่งทางน�้า) 2552 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ สมาคมเจ้าของเรือไทย (ขนส่งทางน�้า) 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก.นทลิน ออฟชอร์ (บจก.พริมา มารีน) (ขนส่งทางน�้า) 2550 - 2559 กรรมการ บจก.บทด (ขนส่งทางน�้า) 2550 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บจก. นทลิน (ขนส่งทางน�้า) 2549 - 2559 กรรมการ บจก.โกลเด้นชิพ ซัพพลาย (ธุรกิจจัดซือ้ และจัดจ�าหน่ายอะไหล่เรือ) 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. คุณนที (ขนส่งทางน�้า)
- ไม่มี -
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
- ไม่มี -
ประสบการณ์ท�างาน
2554 - ปัจจุบัน 2552 - ปัจจุบัน
กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหาและ ก�าหนดค่าตอบแทน/ กรรมการก�ากับดูแลกิจการ บมจ.ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) ประธานโครงการพัฒนาผู้บริหารครูและ บุคลากรทางการศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต สถาบันรัชต์ภาคย์ (สถาบันการศึกษา)
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท
ร้อยละ 0.53 (2,199,997 หุ้น)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
- ไม่มี -
ประสบการณ์ท�างาน
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
37
ไปที่สารบัญ
นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข
ว่าที่เรือตรี ชาญวิทย์ อนัคกุล
กรรมการ / กรรมการบริหาร
กรรมการ (ม.ค. 2559 - พ.ค. 2559)
อายุ 50 ปี
อายุ 58 ปี
คุณวุฒิทางการศึกษา
คุณวุฒิทางการศึกษา
- ปริญญาโท การเงิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริญญาตรี วิศวกรรม ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 97/2012
- วิทยาศาสตร์บัณฑิต - วิศวกรรมไฟฟ้า - โรงเรียนนายเรือ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 120/2015
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท
ร้อยละ 0.53 (2,199,997 หุ้น)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
- ไม่มี -
- ไม่มี -
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
- ไม่มี -
ประสบการณ์ท�างาน
ประสบการณ์ท�างาน
2548 - ปัจจุบัน 2555 - 2559
2555 - ปัจจุบัน 2554 - ปัจจุบัน
2548 - 2557 2558 - ปัจจุบัน
กรรมการ/ กรรมการบริหาร บมจ.ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) กรรมการ Top-NTL PTE Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร์) (บริหารจัดการกองทุน (Trustee Manager) กรรมการ บจก.นทลิน (ขนส่งทางน�้า) กรรมการ Nathalin Offshore PTE Ltd. (จดทะเบียนในประเทศ สิงคโปร์) (บริหารจัดการเรือ) กรรมการ บจก. คุณนที (ขนส่งทางน�้า) กรรมการ บจก. นทลิน ออฟชอร์ (บจก.พริมา มารีน) (ขนส่งทางน�้า)
2558 - 2559
2557 - ปัจจุบัน 2557 - 2559 2557 - 2559 2557 - 2559 2557 - 2559 2556 - 2559 2556 - ปัจจุบัน 2556 - 2559 2555 - 2559 2555 - 2559 2555 - 2559 2553 - 2559
38
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
กรรมการ บมจ.ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) กรรมการ บจก.นทลิน (ขนส่งทางน�้า) กรรมการ บจก.เอ็น.ที.แอล.มารีน (เจ้าของเรือ) กรรมการ บจก.คุณนที (ขนส่งทางน�้า) กรรมการ บจก.สิงหา แท็งเกอร์ (ขนส่งทางน�้า) กรรมการ บจก.ไทยมารีน แทงเกอร์ (เจ้าของเรือ) กรรมการ บจก.กาญจนามารีน (โบรกเกอร์) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บจก.พริมา มารีน (เดิมชื่อ “บจก.นทลิน ออฟชอร์”) (ขนส่งทางน�้า) กรรมการ บจก.เอ็น ดับเบิ้ลยู รีซอร์ส เซส โฮลดิ้ง (พลังงานทางเลือก) กรรมการ บจก.ซับพุด เอ็นเนอร์ยี่ วัน (พลังงานทางเลือก) กรรมการ บจก.วินชัย (พลังงานทางเลือก) กรรมการ บจก.ซับพุด เอ็นเนอร์ยี่ ทู กรรมการ บจก.นทลิน เวลสตาร์ เอ็นเนอร์จิ (พลังงานทางเลือก)
ไปที่สารบัญ
น.ส. นีรชา ปานบุญห้อม กรรมการ/ ประธานกรรมการบริหาร อายุ 35 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา
-
ปริญญาโท บริหารธุรกิจ RMIT University, Melbourne, Australia ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 92/2011 หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 170/2013 หลักสูตรนักบริหารระดับสูง ด้านการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม และการลงทุน (วธอ.รุ่นที่ 2/2558) - หลักสูตร Corporate Governance for Executives (CGE) รุ่นที่ 6/2016 - หลักสูตร Risk Management program for Corporate Leader รุ่นที่ 4/2016
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
- ไม่มี -
ประสบการณ์ท�างาน
2554 - ปัจจุบัน 2558 - ปัจจุบัน
2558 - ปัจจุบัน
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท
ร้อยละ 0.79 (3,300,000 หุ้น)
2557 - ปัจจุบัน
2559 - ปัจจุบัน 2555 - ปัจจุบัน 2555 - 2558 2555 - 2556 2552 - 2556 2555 - 2556
ประธานกรรมการบริหาร บมจ.ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) กรรมการ บริษัท Sea Oil Petroleum PTE. LTD. (บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศสิงคโปร์) (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) กรรมการ บริษัท Sea Oil OffshoreLimited (บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศมาเลเซีย) (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) กรรมการ บริษัท Sea Oil EnergyLimited (บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศเบอร์มิวด้า) (ลงทุนในบริษัทอื่น) กรรมการ บริษัท นครชัยปราการ เคมีภัณฑ์ จ�ากัด (ธุรกิจโรงแยกคอนเดนเสท) กรรมการ บจก.นทลิน (ขนส่งทางน�้า) กรรมการ บจก.ยูไนเต็ด ออฟชอร์ เอวิเอชั่น (บริการขนส่งบุคคลทางอากาศ) กรรมการ บจก.นทลินออฟชอร์ (ขนส่งทางน�้า) กรรมการ บจก.เนลล์อะโฮลิค (สปามือและสปาเท้า) กรรมการ บจก.นทลิน แมนเนจเมนท์ (บริหารจัดการเรือ) “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
39
ไปที่สารบัญ
นางสุธิดา คฤเดชโกศล กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการผู้จัดการ (พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน) อายุ 35 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา
- ปริญญาโท บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ London South Bank University, London, UK - ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - หลักสูตร Corporate Governance for Executives (CGE) รุ่นที่ 6/2016 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที ่ 132 / 2016 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท
ร้อยละ 0.02 (75,428 หุ้น)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
- ไม่มี -
กรรมการบริหาร/ ผู้อ�านวยการสายงานการเงิน อายุ 49 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา
- ปริญญาโท คณะบริหารธุรกิจ (MBA Executive) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์/ บริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - หลักสูตร CFO Certification Program รุ่นที่ 17/2013 - หลักสูตร Investment Consultant Refresher - หลักสูตร Basic Merger & Acquisition and Joint Venture - หลักสูตร CFO Current Issue: Forward looking สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท
ร้อยละ 0.05 (219,997 หุ้น)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
ประสบการณ์ท�างาน
2559 - ปัจจุบัน 2559 - ปัจจุบัน 2559 - ปัจจุบัน 2559 - ปัจจุบัน 2559 - ปัจจุบัน 2557 - 2559 2557 - 2559 40
นางกุสุมา วรรณพฤกษ์
กรรมการบริหาร/ กรรมการผู้จัดการ บมจ.ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) กรรมการ Sea Oil Petroleum PTE. LTD. (บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศสิงคโปร์) (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) กรรมการ Sea Oil Offshore Ltd. (บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศมาเลเซีย) (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) กรรมการ Sea Oil Energy Ltd. (บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศเบอร์มิวด้า) (ลงทุนในบริษัทอื่น) กรรมการ บริษัท นครชัยปราการ เคมีภัณฑ์ จ�ากัด (ธุรกิจโรงแยกคอนเดนเสท) กรรมการผู้จัดการ บริษัท ศรีไทย แคปปิตอล จ�ากัด (ธุรกิจขนส่งน�้ามันทางเรือ) ผู้อ�านวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท นทลิน จ�ากัด (ธุรกิจขนส่งน�้ามันทางเรือ)
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
- ไม่มี -
ประสบการณ์ท�างาน
2556 - ปัจจุบัน 2558 - ปัจจุบัน 2559 - ปัจจุบัน 2559 - ปัจจุบัน 2550 - 2555
กรรมการบริหาร/ ผู้อ�านวยการสายงานการเงิน บมจ.ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) กรรมการ บริษัท Sea Oil Offshore Limited (บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศมาเลเซีย) (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) กรรมการ Sea Oil Energy Ltd. (บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศเบอร์มิวด้า) (ลงทุนในบริษัทอื่น) กรรมการ บริษัท นครชัยปราการ เคมีภัณฑ์ จ�ากัด (ธุรกิจโรงแยกคอนเดนเสท) ผู้จัดการธนาคาร ธนาคารกรุงเทพ จ�ากัด (มหาชน) (สถาบันการเงิน)
ไปที่สารบัญ
นายชญาน์วัต ทีฆไมตรี
นายวัชระ วุฒิพุธนันท์
กรรมการบริหาร/ ผู้จัดการฝ่ายขาย
ผู้จัดการฝ่ายประกันคุณภาพและลูกค้าสัมพันธ์
อายุ 46 ปี
อายุ 51 ปี
คุณวุฒิทางการศึกษา
คุณวุฒิทางการศึกษา
- ปริญญาโท บริหารธุรกิจ/ การตลาด มหาวิทยาลัยศรีปทุม - ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ - หลักสูตร Project Management Professional Training
- ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ สาขาการตลาด, Assumption Business Administration College (ABAC) - หลักสูตร Interpretation of Haccp / GMP Requirements
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท
ร้อยละ 0.03 (109,250 หุ้น)
- ไม่มี -
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
- ไม่มี -
- ไม่มี -
ประสบการณ์ท�างาน
ประสบการณ์ท�างาน
2558 - ปัจจุบัน
2540 - 2557
2555 - ปัจจุบัน
2553 - 2555 2546 - 2553
กรรมการบริหาร/ ผู้จัดการฝ่ายขาย บมจ.ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) กรรมการผู้จัดการ บริษัท Sea Oil OffshoreLimited (บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศมาเลเซีย) (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) หัวหน้าฝ่ายขาย บมจ.ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) Key Account Manager บจก. เชฟรอน (ไทย) (ธุรกิจจ�าหน่ายน�า้ มันเชือ้ เพลิง)
ก.ย.2558 - ปัจจุบัน
ผู้จัดการฝ่ายประกันคุณภาพและลูกค้าสัมพันธ์ บมจ.ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน�า้ มันเชือ้ เพลิง) Area Manager, Business Consultant, OE/HES Specialist, Asset Transaction Specialist, Maintenance & Construction Specialist บจก. เชฟรอน (ไทย) (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง)
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
41
ไปที่สารบัญ
นางสิราณี โกมินทรชาติ
นางเสาวณีย์ สุทธิธรรม
ผู้จัดการฝ่ายบริการลูกค้า
เลขานุการบริษัท
อายุ 43 ปี
อายุ 42 ปี
คุณวุฒิทางการศึกษา
คุณวุฒิทางการศึกษา
ร้อยละ 0.08 (334,000 หุ้น)
ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ/ การบัญชี มหาวิทยาลัยรามค�าแหง หลักสูตร Company Secretary Program (CSP) รุ่นที่ 46/2012 หลักสูตร Advance corporate secretary รุ่นที่ 1/2015 หลักสูตร Anti corruption ; the practical guide (ACPG) รุ่นที่ 31/2016 - หลักสูตร Basic Merger & Acquisition and Joint Venture
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท
- ปริญญาโท สังคมสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ/การจัดการมหาวิทยาลัยกรุงเทพ - หลักสูตร HR for non HR for Manager สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท
- ไม่มี -
- ไม่มี -
ประสบการณ์ท�างาน
2553 - ปัจจุบนั 2558 - 2559
2549 - 2553
42
-
ผูจ้ ดั การฝ่ายบริการลูกค้า บมจ.ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน้า� มันเชือ้ เพลิง) กรรมการ บริษัท Sea Oil Offshore (จดทะเบียนที่ประเทศมาเลเซีย) (ธุรกิจจ�าหน่ายน้า� มันเชือ้ เพลิง) ผูแ้ ทนขาย บมจ.ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน้า� มันเชือ้ เพลิง)
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
- ไม่มี -
ประสบการณ์ท�างาน
2555 - ปัจจุบัน 2552 - 2555 2547 - 2549
เลขานุการบริษัท บมจ. ซีออยล์ (ธุรกิจจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง) ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน บจก. เอ็ดดูเคชั่นแนล ทราเวล เซนเตอร์ (ธุรกิจน�าเที่ยว) หัวหน้าส�านักก�ากับดูแลและตรวจสอบภายใน บมจ.ธนมิตร แฟคตอริ่ง (ธุรกิจแฟคตอริ่ง)
ไปที่สารบัญ
รำยงำนกำรถือครองหลักทรัพย์ของกรรมกำร ผู้บริหำร และเลขำนุกำรบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559) จ�ำนวนหุ้น
จ�ำนวนหุ้นและ สัดส่วนกำรถือ หุ้นของคู่สมรส และบุตร ที่ยังไม่บรรลุ นิติภำวะ
ณ 31 ธันวำคม 2558
กำรเปลี่ยนแปลงระหว่ำงปี 2559 (ได้มำ / จ�ำหน่ำย)
ณ 31 ธันวำคม 2559
สัดส่วนหุ้น (%) ณ 31 ธันวำคม 2559
10,020,000
1,203,300
11,223,300
2.70
ไม่มี
2. นายทวีป สุนทรสิงห์
-
-
-
-
ไม่มี
3. รศ.ดร.รุธิร์ พนมยงค์
-
-
-
-
ไม่มี
4. ดร.เฉลิมวิทย์ ฉิมตระกูล
-
-
-
-
ไม่มี
5. นายสุรพล มีเสถียร
1,999,998
199,999
2,199,997
0.53
ไม่มี
6. นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข
1,999,998
199,999
2,199,997
0.53
ไม่มี
7. นางสาวนีรชา ปานบุญห้อม
3,000,000
300,000
3,300,000
0.79
ไม่มี
8. นางสุธิดา คฤเดชโกศล
68,571
6,857
75,428
0.02
ไม่มี
9. นางกุสุมา วรรณพฤกษ์
199,998
19,999
219,997
0.05
ไม่มี
10. นายชญาน์วัต ทีฆไมตรี
140,228
(30,978)
109,250
0.03
ไม่มี
11. นายวัชระ วุฒิพุธนันท์
-
-
-
-
ไม่มี
12. นางสิราณี โกมินทรชาติ
302,000
32,000
334,000
0.08
ไม่มี
13. นางเสาวณีย์ สุทธิธรรม
-
-
-
-
ไม่มี
รำยชื่อกรรมกำร/ผู้บริหำร
1. นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติก�าจร
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
43
ไปที่สารบัญ
รายงานของคณะกรรมการสรรหา และก�าหนดค่าตอบเทน คณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทนของบริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย กรรมการอิสระ 2 ท่านและกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 1 ท่าน ดังนี้ (1) นายทวีป สุนทรสิงห์ (2) ดร.เฉลิมวิทย์ ฉิมตระกูล (3) นายสุรพล มีเสถียร
ประธานคณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ) กรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ) กรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน (กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร)
โดยคณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน มีหน้าที่สนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท ในการส่งเสริมหลัก การก�ากับดูแลกิจการที่ดี พิจารณาการก�าหนดหลักเกณฑ์และนโยบายเกี่ยวกับการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทนของกรรมการบริษัท และ กรรมการชุดย่อย รวมทั้งสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมตามหลักเกณฑ์และกระบวนการที่ก�าหนดไว้ เพื่อเสนอเข้า รับการแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งกรรมการและผู้บริหารสูงสุดของบริษัท โดยในปี 2559 ได้มีการประชุมคณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน ซึ่งมีรายละเอียดส�าคัญสรุปได้ ดังนี้ ● พิจารณาการเลือกตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีค่ รบก�าหนดออกตามวาระ เพือ่ น�าเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท และที่ประชุม สามัญผูถ้ อื หุน้ โดยพิจารณาตามหลักเกณฑ์การสรรหาแล้วว่ากรรมการทีน่ า� เสนอนัน้ คุณสมบัตคิ รบถ้วนตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ากัด พ.ศ. 2535 และมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในธุรกิจที่เกี่ยวข้องที่จะเป็นประโยชน์ต่อการด�าเนินงานของบริษัท และส�าหรับ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบนั้น มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อก�าหนดของประกาศคณะกรรมการก�ากับตลาดทุน ● พิจารณาการก�าหนดค่าตอบแทนคณะกรรมการและกรรมการชุดย่อย ประจ�าปี 2559 ตามนโยบายการก�าหนดค่าตอบแทน เพื่อน�าเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่งในการพิจารณาค่าตอบแทนได้ค�านึงถึงหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการ ขนาดของธุรกิจ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ผลการด�าเนินงาน รวมทัง้ พิจารณาเปรียบเทียบกับอัตราค่าตอบแทนของบริษทั ในกลุม่ อุตสาหกรรม เดียวกัน ที่มีขนาดธุรกิจใกล้เคียงกัน ● พิจารณาการประเมินผลการปฏิบัติงานของ CEO และการพิจารณาค่าตอบแทนของ CEO ● พิจารณาปรับปรุงโครงสร้างการจัดการของบริษัทและบริษัทย่อย ส�าหรับปี 2559 เพื่อรองรับการขยายธุรกิจ ● พิจารณาปรับปรุงแผนการสืบทอดต�าแหน่ง (Succession Plan) และแผนการพัฒนาผู้บริหารเพื่อก้าวสู่การเป็นผู้บริหาร ระดับสูงขององค์กร
ในนามคณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน
( นำยทวีป สุนทรสิงห์ ) ประธานกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน
44
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
รายงานคณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ คณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการของบริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย กรรมการอิสระ 2 ท่านและกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 1 ท่าน ดังนี้ 1) นายทวีป สุนทรสิงห์ 2) ดร.เฉลิมวิทย์ ฉิมตระกูล 3) นายสุรพล มีเสถียร
ประธานคณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ (กรรมการอิสระ) กรรมการก�ากับดูแลกิจการ (กรรมการอิสระ) กรรมการก�ากับดูแลกิจการ (กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร)
โดยคณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ มีหน้าที่ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ในการก�าหนดหลักเกณฑ์ และ แนวทางในการปฏิบัติที่ดีในกิจการด้านต่าง ๆ ของกลุ่มบริษัท ให้เป็นไปตามนโยบายการก�ากับดูแลกิจการ และสอดคล้องกับหลักการก�ากับ ดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุนให้บคุ ลากรทุกระดับของบริษทั ยึดมัน่ และปฏิบัติตามหลักการก�ากับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจ เพื่อให้องค์กรมีการเติบโตอย่างยั่งยืน ในปี 2559 คณะกรรมการก�ากับดูแล กิจการจัดให้มีการประชุม 1 ครั้ง โดยสรุปสาระส�าคัญ ได้ดังนี้ พิจารณาการจัดท�าแผนงานการก�ากับดูแลกิจการ ส�าหรับปี 2560 เพื่อน�ามาก�าหนดแนวทางพัฒนาการก�ากับดูแลกิจการใน ด้านต่างๆ ให้ครอบคลุมการดูแลผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ตามหลักการก�ากับดูแลกิจการที่ดี ● พิจารณาแผนงานการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�าปี 2560 เพื่อให้การจัดประชุมมีความโปร่งใส และ มี ประสิทธิภาพ ตลอดจนการดูแลสิทธิของผู้ถือหุ้นให้มีความเท่าเทียมกัน เช่น การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยได้เสนอวาระการประชุมหรือเสนอชื่อบุคคล เพื่อเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท การเปิดเผยหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการพิจารณาในวาระต่างๆ ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษไว้ในเว็บไซต์ของบริษัท เป็นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมอย่างเพียงพอและทันเวลา เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น และผู้ลงทุน มีเวลาในการเตรียมตัวศึกษารายละเอียดของแต่ละวาระ เป็นต้น ● พิจารณาประเด็นในการพัฒนาการบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืนขององค์กร ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ● พิจารณาและให้ขอ้ เสนอแนะเกีย่ วกับ การก�าหนดมาตรการและแนวทางปฏิบตั ดิ า้ นการต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน่ เพือ่ ยืนยันใน เจตนารมย์การเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต ● จัดให้มชี อ่ งทางการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนจากการกระท�าผิดกฎหมาย หรือการทุจริต หรือกระท�าผิดจรรยาบรรณธุรกิจ ให้หลากหลายช่องทาง และก�าหนดมาตรการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสที่ชัดเจน ส่งเสริมการให้ความรู้ การจัดอบรมแก่พนักงาน เพื่อให้ตระหนัก ถึงการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ●
คณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ จะยังคงมุ่งมั่นพัฒนาการด�าเนินงานด้านการก�ากับดูแลกิจการ เพื่อให้บริษัทได้ปฏิบัติตามจรรยา บรรณในการด�าเนินธุรกิจ และนโยบายการก�ากับดูแลกิจการที่ดี และเชื่อมั่นว่า การบริหารจัดการที่ยึดหลักธรรมมาภิบาล รวมถึงให้ความ ส�าคัญต่อการรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย จะท�าให้องค์กรเติบโตอย่างยัง่ ยืน และสร้างความเชือ่ มัน่ แก่ผถู้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย ในนามคณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ
( นายทวีป สุนทรสิงห์ )
ประธานกรรมการก�ากับดูแลกิจการ
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
45
ไปที่สารบัญ
การก�ากับดูแลกิจการ คณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ (Corporate Governance Committee : CGC) ได้รับแต่งตั้งตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ บริษทั ครัง้ ที่ 3/2559 เมือ่ วันที่ 18 มีนาคม 2559 เพือ่ เข้ามาสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ ในการก�าหนดหลักเกณฑ์ และแนวทาง ในการปฏิบัติที่ดีในกิจการด้านต่างๆของกลุ่มบริษัท ให้สอดคล้องนโยบายการก�ากับดูแลกิจการ และสนับสนุนให้บุคลากรทุกระดับของบริษัท ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักการก�ากับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจ เพื่อให้องค์กรมีการเติบโตอย่างยั่งยืน ด้วยการบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และสามารถสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย โดยยึดแนวทางปฏิบัติการ ต่อต้านคอร์รัปชั่นเป็นส�าคัญ นโยบำยกำรก�ำกับดูแลกิจกำร
คณะกรรมการบริษัทและฝ่ายบริหารให้ความส�าคัญกับ การก�ากับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งจะท�าให้บริษัทมีระบบการบริหารจัดการ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพโปร่งใสตรวจสอบได้และเป็นธรรมกับทุกฝ่าย อาทิ ผู้ ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย อีกทั้งยังสร้าง ความน่าเชือ่ ถือ เพิม่ ศักยภาพในการแข่งขันให้แก่บริษทั และเพิม่ มูลค่า ให้แก่ผู้ถือหุ้นในระยะยาว ภายใต้กรอบของการมีจริยธรรมและความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมซึ่ ง เป็ น การสร้ า งความมั่ น คงและรากฐานที่ แข็งแกร่งให้กับบริษัท ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้มีมติอนุมัติหลักการ การก�ากับดูแลกิจการเพือ่ เป็นแนวทางในการปฏิบตั แิ ละการก�ากับดูแล กิจการของบริษัท โดยหลักการการก�ากับดูแลกิจการฉบับดังกล่าว แบ่งออกเป็น 5 หมวด โดยสามารถสรุปได้ดังนี้ หมวดที่ 1 : สิทธิของผู้ถือหุ้น
คณะกรรมการบริษทั ตระหนักและให้ความส�าคัญกับสิทธิ ของผู้ถือหุ้นของบริษัท โดยสิทธิของผู้ถือหุ้นพื้นฐานมีดังต่อไปนี้ • สิทธิในการซื้อขายหรือการโอนหุ้น • สิ ท ธิ ใ นการเข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น และออกเสี ย ง ลงคะแนนในที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อตัดสินใจในเรื่องที่ มีผลกระทบต่อบริษทั เช่น การจัดสรรเงินปันผล การ ก� า หนดหรื อ การแก้ ไ ขข้ อ บั ง คั บ และหนั ง สื อ บริคณห์สนธิ การลดทุนหรือเพิ่มทุน และการอนุมัติ รายการพิเศษ เป็นต้น • สิทธิในการมอบฉันทะให้บุคคลอื่นเข้าประชุมและ ออกเสียงลงคะแนนแทน • สิทธิในการออกเสียงลงคะแนนเลือกตัง้ หรือถอดถอน กรรมการเป็นรายบุคคล • สิทธิในการออกเสียงลงคะแนนก�าหนดค่าตอบแทน กรรมการเป็นประจ�าทุกปี • สิทธิในการออกเสียงลงคะแนนแต่งตัง้ และก�าหนดค่า ตอบแทนผู้สอบบัญชี
46
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
•
สิ ท ธิ ใ นการมี ส ่ ว นร่ ว มและรั บ ทราบเมื่ อ มี ก าร เปลี่ยนแปลงที่ส�าคัญภายในบริษัท • สิ ท ธิ ใ นการได้ รั บ ข้ อ มู ล เมื่ อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง โครงสร้างของเงินทุนเปลีย่ นแปลงอ�านาจควบคุมหรือ เมื่อมีการซื้อขายสินทรัพย์ที่ส�าคัญของบริษัท • สิ ท ธิ ใ นการแสดงความคิ ด เห็ น และซั ก ถามในการ ประชุมผู้ถือหุ้น • สิทธิในการรับทราบกฎเกณฑ์และวิธีการในการเข้า ร่วมประชุมผู้ถือหุ้น • สิทธิในการเสนอวาระการประชุมผู้ถือหุ้น • สิทธิในการเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการพิจารณา แต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งเป็นกรรมการของบริษัท • สิทธิในการมีสว่ นร่วมในการเสริมสร้างผลการด�าเนิน งานของบริษัท • สิทธิในการมีส่วนแบ่งในก�าไรของบริษัท • สิทธิทจี่ ะได้รบั สารสนเทศอย่างเพียงพอและทันเวลา เพื่อเป็นการปกป้องสิทธิของผู้ถือหุ้นและส่งเสริมให้ ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิของตนคณะกรรมการบริษัท จึงได้ ก�าหนดแนวทางปฏิบัติไว้ดังนี้ 1) การประชุมผู้ถือหุ้น
•
การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�าปีจะจัดขึ้นภายใน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีของบริษัทหรือ ตามแต่ทกี่ ฎหมายจะก�าหนด บริษทั อาจเรียกประชุม วิ ส ามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ได้ ห ากคณะกรรมการบริ ษั ท เห็ น ความจ�าเป็นหรือสมควร • หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นจะระบุข้อมูลเกี่ยวกับวัน เวลาสถานที่และวาระการประชุมซึ่งจะมีการระบุ อย่างชัดเจนว่าเป็นเรื่องที่เสนอเพื่อทราบเพื่ออนุมัติ หรือเพื่อพิจารณาแล้วแต่กรณี • ระบุ ค วามเห็ น ของคณะกรรมการบริ ษั ท ในเรื่ อ งที่ เสนออย่างครบถ้วนเพียงพอรวมทั้งระบุหลักเกณฑ์ และวิธีการในการเข้าร่วมประชุมและการออกเสียง ลงคะแนนในแต่ละวาระ
ไปที่สารบัญ
•
• • • •
•
• •
•
•
เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�าปีบนเว็บไซต์ของบริษัทล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วันก่อนวันประชุมเพือ่ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีเวลา ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการประชุมล่วงหน้าก่อนได้รับ หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ในรู ป แบบเอกสารซึ่ ง บริ ษั ท จะจัดส่งให้แก่ผถู้ อื หุน้ ล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 7 วันก่อน วันประชุม โฆษณาค� า บอกกล่ า วนั ด ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ผ่ า น หนังสือพิมพ์รายวันฉบับใดฉบับหนึ่งก่อนวันประชุม ไม่น้อยกว่า 3 วันเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน ผูถ้ อื หุน้ ทีไ่ ม่สามารถเข้าประชุมด้วยตนเองสามารถใช้ สิทธิออกเสียงลงคะแนนโดยมอบฉันทะให้ผู้อื่นมา ประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทนได้ เสนอชื่อกรรมการอิสระของบริษัทอย่างน้อย 1 ท่าน เป็นทางเลือกให้ผถู้ อื หุน้ มอบฉันทะในกรณีทผี่ ถู้ อื หุน้ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง ผู้ถือหุ้นจะได้รับทราบกฎเกณฑ์และวิธีการในการ เข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นโดยบริษัทจะชี้แจงวิธีการลง คะแนนและวิธีการนับคะแนนอย่างชัดเจนก่อนเริ่ม การประชุม ใช้บตั รลงคะแนนในทุกวาระทีต่ อ้ งมีการลงมติการนับ คะแนนเสียง ในแต่ละวาระเป็นไปอย่างเปิดเผยและ ภายในเวลาอันเหมาะสม โดยนับ 1 หุ้นเป็น 1 เสียง นั บ คะแนนเสี ย งข้ า งมากหรื อ คะแนนเสี ย งตามที่ กฎหมายก�าหนดส�าหรับวาระนั้นๆ และเก็บบัตรลง คะแนนไว้สา� หรับการตรวจสอบในภายหลังเป็นระยะ เวลาตามที่เห็นสมควร เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ สามารถลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ กรรมการเป็นรายบุคคล ในระหว่างการประชุมประธานในที่ประชุมจะเปิด โอกาสให้ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิอย่างเท่าเทียมกันใน การแสดงความคิดเห็นและซักถามโดยให้เวลาอย่าง เหมาะสม และให้กรรมการหรือผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง ชี้แจงและให้ข้อมูลต่างๆ แก่ผู้ถือหุ้นอย่างครบถ้วน เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ทุกคนมีสทิ ธิในการเสนอเรือ่ งที่ พิจารณาแล้วเห็นว่าส�าคัญและสมควรจะรวมบรรจุ เป็นวาระเพื่อให้ท่ีประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาในการ ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจ�าปีรวมถึงการเสนอชื่อผู้ ที่ผู้ถือหุ้นพิจารณาแล้วเห็นว่ามีคุณสมบัติเหมาะสม เพือ่ รับเลือกเป็นกรรมการของบริษทั เพือ่ น�าเสนอต่อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ พิ จ ารณาและ ด�าเนินการตามขั้นตอนต่อไป คณะกรรมการบริษัทให้ความส�าคัญต่อการประชุมผู้ ถื อ หุ ้ น จึ ง ได้ ส นั บ สนุ น ให้ ก รรมการของบริ ษั ท
กรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ตลอดจน ผู้บริหารและฝ่ายงานที่เกี่ยวข้องรวมทั้งผู้สอบบัญชี เข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ อย่างพร้อมเพรียงกันโดยผูถ้ อื หุ ้ น สามารถซั ก ถามประธานคณะกรรมการชุ ด ย่อยต่างๆ ในเรื่องที่เกี่ยวข้องได้ • จัดให้มีการบันทึกรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นอย่าง ครบถ้วนโดยบันทึกรายชื่อกรรมการที่เข้าและไม่เข้า ร่วมประชุม วิธีการออกเสียงลงคะแนนวิธีการนับ คะแนน ค�าชี้แจงที่เป็นสาระส�าคัญ ค�าถามค�าตอบ ความคิดเห็นของที่ประชุมและมติของที่ประชุมโดย แยกเป็นจ�านวนเสียงที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยและงด ออกเสียงในแต่ละวาระ 2) การจ่ายเงินปันผล
•
บริษัทมีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ต�่ากว่า ร้อยละ 30 ของก�าไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล และหลังหักส�ารองต่างๆ ทุกประเภทตามที่กฎหมาย ก�าหนดและตามที่ก�าหนดไว้ในข้อบังคับของบริษัท ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั เป็นผูม้ อี า� นาจอนุมตั ใิ นการ พิจารณาการจ่ายเงินปันผล โดยค�านึงถึงปัจจัยต่างๆ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ถือหุ้น เช่น เงินส�ารอง เพือ่ จ่ายช�าระหนีเ้ งินกูย้ มื แผนการลงทุนในการขยาย กิจการ หรือเพื่อสนับสนุนกระแสเงินสดของบริษัท ในกรณี ที่ มี ผ ลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลงของ สภาวะตลาด เป็นต้น โดยมติคณะกรรมการบริษัท ที่ พิจารณาเรื่องดังกล่าวนั้น จะต้องได้รับอนุมัติจากที่ ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น เว้ น แต่ เ ป็ น การจ่ า ยเงิ น ปั น ผล ระหว่างกาล ซึ่งคณะกรรมการบริษัทมีอ�านาจอนุมัติ ให้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลได้ แล้วให้รายงานที่ ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวถัดไป • บริษัทจะก�าหนดนโยบายการจ่ายเงินปันผล โดยจะ พิจารณาฐานะการด�าเนินงานและความต้องการใช้ เงินทุน โดยการจ่ายเงินปันผลจะก�าหนดจ่ายจากก�าไร สุทธิภายหลังจากการหักทุนส�ารองต่างๆ ทุกประเภท ตามกฎหมาย โดยนโยบายการจ่ายเงินปันผลจะ รวมถึงการจ่ายเงินปันผลประจ�าปีและเงินปันผล ระหว่างกาลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ด้วย การจ่ายเงินปันผลนีม้ ี การเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับแผนการลงทุนความ จ�าเป็นและความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคต • แจ้ ง ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทราบโดยเร็ ว ถึ ง มติ ข องที่ ป ระชุ ม ผู้ถือหุ้นหรือที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับ การจ่ายเงินปันผลผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ และเว็บไซต์ของบริษัท และจ่ายเงินปันผลภายใน 1 เดือนนับแต่วันที่ท่ีประชุมผู้ถือหุ้นหรือที่ประชุม “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
47
ไปที่สารบัญ
คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติแล้วแต่กรณี 3. การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี
•
ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�าปีเป็นผู้แต่งตั้งและ ก� า หนดค่ า ตอบแทนผู ้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ทุ ก ปี โดยผู้สอบบัญชีที่ได้รับการเสนอชื่อและค่าตอบแทน ผูส้ อบบัญชีทบี่ ริษทั เสนอให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณา อนุมัติต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท
4. การติดต่อขอข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท
•
จัดให้มีช่องทางที่ผู้ถือหุ้นสามารถติดต่อขอข้อมูล เกี่ยวกับบริษัทได้โดยตรงจากเลขานุการบริษัทหรือ ส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัท
หมวดที่ 2 : กำรปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่ำงเท่ำเทียมกัน
บริษัทมีนโยบายที่จะสร้างความเท่าเทียมกันและปฏิบัติ ต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกรายเช่นเดียวกัน ทัง้ ผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ ทีไ่ ม่ เป็นผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นต่างชาติ และผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ดังนี้ • การปฏิบัติและอ�านวยความสะดวกต่อผู้ถือหุ้นอย่าง เท่าเทียมกัน และไม่กระท�าการใดๆ ที่เป็นการจ�ากัด หรือละเมิดหรือริดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น • การก�าหนดให้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมเป็นไปตาม จ�านวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นถืออยู่ โดยหนึ่งหุ้นมีสิทธิเท่ากับ หนึ่งเสียง ผู้ถือหุ้นรายใดมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษใน เรื่องใด ผู้ถือหุ้นรายนั้นไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ในเรื่องนั้น • การก�าหนดให้กรรมการอิสระเป็นผูม้ หี น้าทีด่ แู ลผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย โดยผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยสามารถแสดงความ คิดเห็นหรือส่งข้อร้องเรียนไปยังกรรมการอิสระ ให้ ตรวจสอบข้อเท็จจริงและหาวิธีการแก้ไข กรรมการ อิสระจะเสนอเรือ่ งดังกล่าวถ้าเห็นว่ามีสาระส�าคัญต่อ บริษัทต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาก�าหนดเป็น วาระการประชุมในการประชุมผู้ถือหุ้น • การด�าเนินการประชุมจะเป็นไปตามข้อบังคับของ บริษัทตามล�าดับวาระการประชุม ซึ่งมีการเสนอราย ละเอียดในแต่ละวาระครบถ้วน มีการแสดงข้อมูล ประกอบการพิจารณาอย่างชัดเจน รวมทั้งจะไม่เพิ่ม วาระการประชุมที่ไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า โดยไม่จ�าเป็น โดยเฉพาะวาระที่มีความส�าคัญที่ผู้ถือ หุ้นต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจ • ในกรณี ท่ี ผู ้ ถื อ หุ ้ น ไม่ ส ามารถเข้ า ร่ ว มประชุ ม ด้ ว ย ตนเอง ผูถ้ อื หุน้ สามารถมอบฉันทะให้กรรมการอิสระ หรือบุคคลใดๆ ที่เข้าร่วมประชุมแทนตนได้ โดยใช้ หนั ง สื อ มอบฉั น ทะที่ บ ริ ษั ท ได้ จั ด ส่ ง ไปพร้ อ มกั บ 48
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น การลงคะแนนเป็นไป อย่างโปร่งใสตามล�าดับวาระที่ก�าหนด โดยวาระการ เลือกตั้งกรรมการจะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิ ในการแต่งตั้งกรรมการด้วยการลงมติรายคน • คณะกรรมการบริษทั ได้กา� หนดมาตรการป้องกันการ ใช้ข้อมูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) ของ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งซึ่ ง รวมถึ ง กรรมการ ผู ้ บ ริ ห าร พนักงาน และลูกจ้างของกลุ่มบริษัทที่เกี่ยวข้องกับ ข้อมูล(รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ของบุคคลดังกล่าว) รวมถึงได้ก�าหนดโทษเกี่ยวกับ การเปิดเผยข้อมูลของบริษัท หรือการน�าข้อมูลของ บริษทั ไปใช้เพือ่ ประโยชน์สว่ นตนไว้แล้วตามนโยบาย การป้องกันการน�าข้อมูลภายในไปใช้ประโยชน์ • ให้ความรู้ความเข้าใจแก่คณะกรรมการบริษัทและผู้ บริหาร ในหน้าที่การรายงานการถือหลักทรัพย์ต่อ ส�านักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 รวมทั้ง จะแจ้งข่าวสารและข้อก�าหนดต่างๆ ของส�านักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ ให้แก่คณะกรรมการ บริษทั และผูบ้ ริหารตามทีไ่ ด้รบั แจ้งจากทางหน่วยงาน ดังกล่าวอย่างสม�่าเสมอ หมวดที่ 3 : บทบำทของผู้มีส่วนได้เสีย
บริษทั ตระหนักถึงความส�าคัญในการดูแลและค�านึงถึงผูม้ ี ส่วนได้เสียทุกกลุ่มทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน ได้แก่ ผู้ถือหุ้น พนักงาน และผู้บริหารของบริษัท หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก ได้แก่ คู่แข่ง คู่ค้า ลูกค้า เป็นต้น และจะไม่กระท�าการใดๆ ที่เป็นการ ละเมิดสิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย นอกจากนี้ บริษัทยังได้สนับสนุนให้มี การคุม้ ครองและรักษาสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียกลุม่ ต่างๆ อย่างยุตธิ รรม ตามสิทธิที่มีตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องหรือตามข้อตกลงที่มีกับบริษัท โดยได้กา� หนดบทบาทของบริษทั ทีพ่ งึ กระท�าต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียดังต่อไปนี้ 1) บทบาทต่อผู้ถือหุ้น
บริษัทด�าเนินธุรกิจโดยมุ่งเน้นการเจริญเติบโตของบริษัท อย่างต่อเนือ่ งในระยะยาวเพือ่ สร้างผลตอบแทนทีด่ ใี ห้แก่ผถู้ อื หุน้ และ ด�าเนินธุรกิจอย่างโปร่งใสโดยจัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่มี ประสิทธิภาพและไม่ด�าเนินการใดๆ ที่จะก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ 2) บทบาทต่อพนักงาน
บริษทั ปฏิบตั ติ อ่ พนักงานอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม ให้ ผลตอบแทนที่เหมาะสมพร้อมทั้งให้โอกาสพนักงานในเรื่องต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้พนักงานมีความก้าวหน้าในอาชีพ อีกทั้งจัดให้มีสภาพ แวดล้อมและความปลอดภัยที่ดีในการท�างาน
ไปที่สารบัญ
3) บทบาทต่อลูกค้า
1. โทรศัพท์ 02-398-9850-1 และ โทรสาร 02-398-9852
บริษัทมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้าเป็นส�าคัญ 2. อีเมล์: ir@seaoilthailand.com โดยการจัดส่งสินค้าอย่างรวดเร็ว ทันเวลา ตรงตามคุณลักษณะทีล่ กู ค้า 3. เว็บไซต์: www.seaoilthailand.com ก�าหนด เพื่อให้ลูกค้าได้รับประโยชน์และความพึงพอใจสูงสุด ทั้งนี้ บริษทั ให้ความส�าคัญกับการรักษาข้อมูลความลับของลูกค้า ไม่เผยแพร่ หมวดที่ 5 : ควำมรับผิดชอบของคณะกรรมกำร คณะกรรมการบริษัทมีบทบาทส�าคัญในการก�ากับดูแล ข้อมูลของลูกค้า ยกเว้นได้รับอนุญาตหรือมีหน้าที่ต้องเปิดเผยตามที่ กิจการ ซึง่ บุคคลทีจ่ ะได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการของบริษทั จะต้อง กฎหมายก�าหนด เป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ มีวิสัยทัศน์มี ความทุ่มเทในงานที่รับผิดชอบและมีอิสระในการตัดสินใจ เพื่อให้น�า 4) บทบาทต่อเจ้าหนี้และคู่ค้า บริษัทปฏิบัติต่อเจ้าหนี้และคู่ค้าด้วยความซื่อสัตย์ โดย มาซึง่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั และผูถ้ อื หุน้ โดยรวม เพือ่ ให้โครงสร้าง ค�านึงถึงผลประโยชน์รว่ มกันกับเจ้าหนีแ้ ละคูค่ า้ เป็นส�าคัญ และปฏิบตั ิ คณะกรรมการบริษทั เหมาะสมกับการด�าเนินธุรกิจ อีกทัง้ เพือ่ ให้กรอบ ตามเงือ่ นไขและข้อตกลงทีก่ า� หนดไว้ตอ่ เจ้าหนีแ้ ละคูค่ า้ ทุกรายภายใต้ การท�างานและอ�านาจหน้าที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริษทั มีความชัดเจน ดังนัน้ คณะกรรมการจึงได้กา� หนดแนวทางปฏิบตั ิ หลักเกณฑ์และที่กฎหมายก�าหนด ไว้ดังนี้ 5) บทบาทต่อคู่แข่ง
บริษัทด�าเนินธุรกิจภายใต้กฎหมายและกติกาต่างๆ และ ไม่ด�าเนินการใดๆที่ไม่สุจริตเพื่อสร้างความเสียหายให้กับคู่แข่ง 6) บทบาทต่อสังคม
บริษัทรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยยึดถือ ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด หมวดที่ 4 : กำรเปิดเผยข้อมูลและควำมโปร่งใส
บริษัทจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลส�าคัญทั้งข้อมูลทางการ เงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และโปร่งใส ตามหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลของส�านักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนข้อมูลอืน่ ทีส่ า� คัญทีม่ ผี ลกระทบต่อราคา หลักทรัพย์ของบริษทั ซึง่ มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจของผูล้ งทุนและ ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท โดยบริษัทจะเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศของ บริษัทต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน และสาธารณชน ผ่านช่องทางและสื่อการ เผยแพร่ข้อมูลต่างๆ ของส�านักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ รวม ถึงเว็บไซต์ของบริษัท คือ www.seaoilthailand.com ในส่วนของงานด้านผู้ลงทุนสัมพันธ์นั้น บริษัทก�าหนดให้ เลขานุการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบในส่วนของนักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อ สือ่ สารข้อมูลของบริษทั ให้แก่ผถู้ อื หุน้ นักลงทุน นักวิเคราะห์ หรือภาค รัฐทีเ่ กีย่ วข้อง ได้รบั ทราบ ตามระเบียบข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ บริษัทจึงมอบหมายให้นางเสาวณีย์ สุทธิธรรม เลขานุการบริษทั /นักลงทุนสัมพันธ์ ท�าหน้าทีต่ ดิ ต่อสือ่ สารกับผูล้ งทุน ผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์ และภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ซึ่งบริษัทเล็งเห็นว่าหาก เลขานุการบริษทั เป็นผูส้ อื่ สารข้อมูลข่าวสารโดยตรงจะส่งผลให้ขอ้ มูล ข่าวสารมีความน่าเชื่อถือสูง และเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อนัก ลงทุนด้วย นักทุนสัมพันธ์สามารถติดต่อเข้าได้ 3 ช่องทาง ดังนี้
1) โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท
1.1 คณะกรรมการบริษัท จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์จากหลากหลายอุตสาหกรรม ซึ่งจะ ช่วยสนับสนุนธุรกิจ ณ ปัจจุบัน บริษัทมีกรรมการจ�านวน 8 คน แบ่ง เป็นกรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารจ�านวน 3 คน กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร จ�านวน 2 คน และกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระจ�านวน 3 คน ซึ่งเป็นไปตามข้อก�าหนดที่ว่า บริษัทมีกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจ�านวนกรรมการทัง้ หมด แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 3 คน และกรรมการ อิสระทีท่ า� หน้าทีก่ รรมการตรวจสอบจะต้องมีจา� นวนไม่นอ้ ยกว่า 3 คน ทั้งนี้ กรรมการจะต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติตามที่กล่าวไว้แล้วใน เรื่อง การสรรหาคณะกรรมการบริษัท 1.2 คณะกรรมการได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย 4 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่า ตอบแทน คณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ และคณะกรรมการบริหาร เพื่อแบ่งเบาภาระหน้าที่ของคณะกรรมการ และช่วยคณะกรรมการ ในการก� า กั บ ดู แ ลกิ จ การให้ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ท่ี ก� า หนดไว้ โดยคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละชุดจะปฏิบัติหน้าที่ภายใต้ขอบเขต อ�านาจหน้าทีท่ กี่ า� หนด และเสนอเรือ่ งให้คณะกรรมการพิจารณาหรือ รับทราบ (รายละเอียดเรื่องขอบเขตอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ชุ ด ย่ อ ยได้ ก ล่ า วไว้ แ ล้ ว ในหั ว ข้ อ “คณะกรรมการตรวจสอบ” “คณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน” “คณะกรรมการ ก�ากับดูแลกิจการ” และหัวข้อ “คณะกรรมการบริหาร”) 1.3 บริษทั มีการแบ่งแยกหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั และฝ่ายบริหารอย่างชัดเจน กล่าวคือ ประธานกรรมการและกรรมการ ผู้จัดการไม่เป็นบุคคลเดียวกัน โดยคณะกรรมการบริษัทเป็นผู้วาง นโยบาย ก�าหนดกรอบกลยุทธ์ติดตามและประเมินผลงานของฝ่าย บริหาร เพื่อให้มั่นใจว่านโยบายและกระบวนการที่เหมาะสมได้ถูกน�า มาใช้ในทางปฏิบัติอย่างมีประสิทธิผลและเป็นประโยชน์สูงสุดของ บริษัทและของผู้มีส่วนได้เสีย “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
49
ไปที่สารบัญ
1.4 คณะกรรมการจัดให้มเี ลขานุการบริษทั เพือ่ ท�าหน้าที่ งานและปั ญ หาเพื่ อ การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขต่ อ ไปโดยมี ก ารก� า หนด ประสานงานและดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ ามมติของคณะกรรมการบริษทั บรรทัดฐานอย่างมีหลักเกณฑ์ รักษาเอกสารข้อมูล รวมทั้งติดต่อสื่อสารกับผู้ถือหุ้นและหน่วยงาน 4.2 คณะกรรมการบริษทั มีการประเมินผลการปฏิบตั ิ ก�ากับดูแลที่เกี่ยวข้อง งานของคณะกรรมการบริษทั โดยรวม และ/หรือเฉพาะในบางเรือ่ งซึง่ ไม่ได้มุ่งที่กรรมการผู้ใดผู้หนึ่งเป็นรายบุคคล 2) บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษท ั
5) ค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษัท มีบทบาทหน้าที่ปรากฏในหมวด 5.1 บริษัทมีนโยบายก�าหนดค่าตอบแทนกรรมการ “โครงสร้างการจัดการ” หัวข้อ “ขอบเขตอ�านาจหน้าที่ของคณะ และกรรมการชุดย่อยที่เป็นตัวเงินอย่างชัดเจน และน�าเสนอต่อคณะ กรรมการบริษัท” กรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทนพิจารณาก่อนขออนุมัติจาก ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นประจ�าทุกปี โดยพิจารณาบนพื้นฐานความเป็น 3) การประชุมคณะกรรมการบริษัท 3.1 คณะกรรมการบริษทั จะต้องประชุมร่วมกันอย่าง ธรรมถึงความเหมาะสม โดยค�านึงถึงประสบการณ์ ภาระหน้าที่ น้อยทุกไตรมาส ในกรณีที่คณะกรรมการบริษัทมิได้มีการประชุมกัน ขอบเขต และความรับผิดชอบของกรรมการแต่ละคน ค่าตอบแทนอยู่ ทุกเดือน กรรมการที่มิใช่ผู้บริหารสามารถขอรายงานผลการด�าเนิน ในระดับทีส่ ามารถจูงใจให้รกั ษากรรมการทีม่ คี วามรู้ ความสามารถให้ งานประจ�าเดือนได้จากฝ่ายบริหารหรือเลขานุการบริษทั ทัง้ นี้ เพือ่ ให้ ปฏิบัติหน้าที่กับบริษัทต่อไปได้ 5.2 ค่าตอบแทนของกรรมการผูจ้ ดั การและผูบ้ ริหาร คณะกรรมการบริษัทสามารถก�ากับควบคุมและดูแลการปฏิบัติงาน ระดับสูงเป็นไปตามหลักการและนโยบายก�าหนดค่าตอบแทนทีบ่ ริษทั ของฝ่ายจัดการได้อย่างต่อเนื่องและทันเวลา 3.2 กรรมการบริษทั จะได้รบั หนังสือนัดประชุมพร้อม ก�าหนดและผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการสรรหาและก�าหนด เอกสารประกอบการประชุมล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 7 วันก่อนวันประชุม ค่าตอบแทน ทั้งนี้ การก�าหนดค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนโบนัสและผล เพือ่ ให้กรรมการสามารถพิจารณาวาระการประชุมได้อย่างเต็มที่ กรณี ตอบแทนจูงใจในระยะยาวควรสอดคล้องกับผลงานของบริษทั และผล ที่ กรรมการไม่ ส ามารถเข้าร่ว มประชุม ในครั้งใดให้แ จ้งสาเหตุ ใ ห้ การปฏิบัติงานของผู้บริหารแต่ละคน 5.3 กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหารทัง้ หมดเป็นผูป้ ระเมิน เลขานุการบริษัททราบก่อน ผลกรรมการผู ้ จ ั ด การเป็นประจ�าทุกปี เพื่อน�าไปใช้ในการพิจารณา 3.3 ในการเลือกเรือ่ งเพือ่ บรรจุเป็นวาระการประชุม คณะกรรมการบริษัท ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการจะ ก�าหนดค่าตอบแทนของกรรมการผูจ้ ดั การโดยใช้บรรทัดฐานทีไ่ ด้ตกลง พิจารณาร่วมกันตามความส�าคัญและความจ�าเป็น ซึ่งกรรมการแต่ละ ร่วมกัน 6) การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร ท่านสามารถเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเป็นวาระการประชุมคณะกรรมการ 6.1 บริษัทมีนโยบายส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมและ บริษัทได้อย่างเป็นอิสระ 3.4 ในกรณีที่กรรมการไม่เห็นด้วยกับมติที่ประชุม ให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้องในระบบการก�ากับดูแลกิจการของบริษัท เช่น กรรมการสามารถขอให้ เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท บั น ทึ ก ข้ อ คั ด ค้ า นไว้ ใ น กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบ้ ริหาร เลขานุการบริษทั เป็นต้น เพือ่ ให้มีการปรับปรุงการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง รายงานการประชุมได้
3.5 เลขานุการบริษทั เป็นผูบ้ นั ทึกรายงานการประชุม โดยจะบันทึกการตอบข้อซักถามและค�าชี้แจงของฝ่ายบริหารต่อที่ ประชุมรวมทั้งความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของกรรมการอย่าง ชัดเจน 3.6 ในการพิจารณาเรื่องต่างๆ ประธานกรรมการ บริษัทซึ่งท�าหน้าที่เป็นประธานในที่ประชุมจะเปิดโอกาสให้กรรมการ แสดงความเห็ น อย่ า งอิ ส ระ ทั้ ง นี้ ในการลงมติ ใ นที่ ป ระชุ ม คณะ กรรมการบริษทั ให้ถอื มติของเสียงข้างมาก โดยกรรมการคนหนึง่ มีเสียง หนึ่งเสียง กรรมการที่มีส่วนได้เสียจะไม่เข้าร่วมประชุม หรืองดออก เสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น ทั้งนี้ ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ประธานในที่ ประชุมจะออกเสียงเพิ่มอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด 4) การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท
4.1 กรรมการบริษทั มีการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ด้วยตนเองเป็นประจ�าเพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ร่วมกันพิจารณาผล 50
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
กำรสรรหำและแต่ ง ตั้ ง กรรมกำรและผู ้ บ ริ ห ำรระดั บ สูงสุด
คณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติแต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหา และก�าหนดค่าตอบแทน (Nominating and Remuneration Committee) เพือ่ พิจารณาสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลทีเ่ หมาะ สม ในการด�ารงต�าแหน่งกรรมการบริษทั เมือ่ กรรมการทีด่ า� รงต�าแหน่ง ครบวาระ หรือมีเหตุจา� เป็นทีจ่ ะต้องแต่งตัง้ กรรมการหรือผูบ้ ริหารเพิม่ โดยใช้หลักเกณฑ์การสรรหากรรมการและผูบ้ ริหารทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ าก คณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่ง กรรมการหรือผู้บริหารของบริษัท จะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตาม มาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ากัด พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) และประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. และ ต้องไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามพ.ร.บ. หลักทรัพย์ (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไข เพิ่มเติม) กฎหมายอื่น และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยมีหลักเกณฑ์ การสรรหาดังต่อไปนี้
ไปที่สารบัญ
กำรสรรหำคณะกรรมกำรบริษัท
3. นอกจากพ้นต�าแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการจะพ้น คุณสมบัติของกรรมการบริษัท จากต�าแหน่งเมื่อตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้าม • มี ค วามรู ้ ค วามสามารถและประสบการณ์ ใ นการ ตามกฎหมาย ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้ออก หรือศาลมีค�าสั่งให้ออก ด�าเนินธุรกิจ 4. ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อาจลงมติให้กรรมการคนใดออกจาก • มีความซื่อสัตย์สุจริตและจริยธรรม ต�าแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า • สามารถระบุ แ ละจั ด การกั บ ความเสี่ ย งที่ ส� า คั ญ สามในสี่ (3/4) ของจ�านวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ของบริษัท และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง (1/2) ของจ�านวนหุ้นที่ถือ • มีความทุ่มเทและอุทิศเวลาให้กับงานที่รับผิดชอบ โดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง อย่างเต็มที่ 5. ในกรณี ที่ ต� า แหน่ ง กรรมการว่ า งลงเพราะเหตุ อื่ น กรรมการบริษัททุกคนต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติและไม่มี นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการสรรหาและก�าหนด ลักษณะต้องห้ามตามทีก่ า� หนดโดยกฎหมายว่าด้วยบริษทั มหาชนจ�ากัด ค่าตอบแทน คัดเลือกบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศของหน่วย ตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจ�ากัดและกฎหมายว่าด้วยหลัก งานราชการที่ก�ากับดูแลบริษัท และกรณีกรรมการที่เป็นกรรมการ ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะ อิสระจะต้องมีคุณสมบัติตามที่บริษัทและคณะกรรมการก�ากับตลาด กรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการผูน้ นั้ จะเหลือน้อยกว่า ทุนประกาศก�าหนดด้วย สองเดือน โดยบุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนจะอยู่ในต�าแหน่ง หลักเกณฑ์ในการสรรหากรรมการบริษัท มีดังต่อไปนี้ กรรมการได้เพียงเท่าวาระทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการทีต่ นเข้ามาแทน 1. คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย กรรมการอย่าง ทั้งนี้ มติของคณะกรรมการจะต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อย น้อย 5 คน โดยกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง (1/2) ของจ�านวน กว่าสามในสี่ (3/4) ของจ�านวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ กรรมการทัง้ หมดนัน้ ต้องมีถนิ่ ทีอ่ ยูใ่ นประเทศไทยและมีคณ ุ สมบัตติ าม ที่กฎหมายก�าหนด ข้อบังคับของบริษัทก�าหนดให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้น กำรสรรหำคณะกรรมกำรตรวจสอบและกรรมกำรอิสระ คุณสมบัติของกรรมการอิสระมีดังนี้ เลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�านวนหุ้นที่มีสิทธิออก 1) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้น เสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้น ต่อหนึ่งเสียง 2) ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงทีม่ อี ยูท่ งั้ หมด รายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจควบคุมบริษัท ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของ ตาม (1) เลื อ กตั้ ง บุ ค คลเดี ย วหรื อ หลายคนเป็ น ผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน กรรมการก็ได้ ในกรณีที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเป็น กรรมการ จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผใู้ ดมากน้อยเพียง ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจ�า หรือผูม้ อี า� นาจควบคุม ของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยล�าดับเดียวกัน ใดไม่ได้ 3.) บุคคลที่ได้รับคะแนนสูงสุดตามล�าดับลงมาเป็น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัท เว้นแต่จะได้ ผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการเท่าจ�านวนกรรมการที่จะ พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่ยื่น พึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่ง ค�าขออนุญาตต่อส�านักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามไม่รวมถึง ได้รบั การเลือกตัง้ ในล�าดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่า กรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษา ของส่วน กันเกินจ�านวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้ง ราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัท 3. ไม่เป็นบุคคลทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดย ในครั้งนั้น ให้ประธานที่ประชุมเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 2. วาระในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจ�าปีทุกครั้ง การจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็น บิดามารดา คู่สมรส กรรมการต้องออกจากต�าแหน่งจ�านวน 1 ใน 3 ของจ�านวนกรรมการ พีน่ อ้ ง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตร ของผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ทั้งหมด ถ้าจ�านวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ ผู้มีอ�านาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหารหรือ ให้ออกโดยจ�านวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะต้องออก ผู้มีอ�านาจควบคุมบริษัทหรือบริษัทย่อย 4. ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั จากต�าแหน่ง และกรรมการที่จะต้องออกในวาระนี้อาจเลือกเข้ามา ด�ารงต�าแหน่งใหม่ได้อีก ทั้งนี้ กรรมการที่จะต้องออกจากต�าแหน่งใน ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจควบคุม ปีแรกและปีทสี่ องภายหลังจดทะเบียนนัน้ ให้จบั สลากกัน ส่วนปีหลังๆ ของบริษทั ในลักษณะทีอ่ าจเป็นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่าง ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในต�าแหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจาก อิสระของตน รวมทัง้ ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั หรือผูม้ อี า� นาจ ควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัท ต�าแหน่ง “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
51
ไปที่สารบัญ
ย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัท เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ น วันที่ยื่นค�าขออนุญาตต่อส�านักงาน ก.ล.ต. 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจควบคุมของ บริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�านาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของ ส�านักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัทสังกัด อยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที่ยื่นค�าขออนุญาตต่อส�านักงาน ก.ล.ต. 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวม ถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่ง ได้รบั ค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�านาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้ บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าว มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ นวันทีย่ นื่ ค�าขออนุญาตต่อส�านักงาน ก.ล.ต. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการ ของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือ หุ้นรายใหญ่ 7. ไม่ ป ระกอบกิ จ การที่ มี ส ภาพอย่ า งเดี ย วกั น และ เป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั หรือบริษทั ย่อย หรือไม่เป็น หุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหาร งาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจ�า หรือถือหุ้นเกิน ร้อยละ 1 ของจ�านวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่ง ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับ กิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย 8. ไม่มลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ า� ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่าง เป็นอิสระเกีย่ วกับการด�าเนินงานของบริษทั ซึง่ คุณสมบัตขิ องกรรมการ อิสระข้างต้นเป็นไปตามนิยามที่ก�าหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการ ก�ากับตลาดทุน
3. มีหน้าที่ในลักษณะเดียวกับที่ก�าหนดไว้ในประกาศ ตลาดหลักทรัพย์ ว่าด้วยคุณสมบัติและขอบเขตการด�าเนินงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ 4. มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถท�า หน้าที่ในฐานะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ ต้องมีกรรมการตรวจสอบ อย่างน้อย 1 คน ที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการบัญชีหรือการ เงินเพียงพอทีจ่ ะสามารถท�าหน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของ งบการเงินได้ นอกจากนี้ บริษัทจะพิจารณาคุณสมบัติในด้านอื่นๆ ประกอบด้วย เช่น ประสบการณ์ในธุรกิจ ความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ และความมีจริยธรรม เป็นต้น คณะกรรมการตรวจสอบแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท โดยการพิจารณาคัดเลือกจากคณะ กรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน ซึ่งมีคุณสมบัติความเป็น อิสระตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.และตามหลักการก�ากับดูแล กิจการของบริษัท กรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คนต้องมีความรู้ ด้านบัญชีและ/หรือการเงิน เพือ่ ท�าหน้าทีต่ รวจสอบและก�ากับดูแลการ ด�าเนินงานของบริษัท รวมถึงก�ากับดูแลรายงานทางการเงินระบบ ควบคุมภายในการคัดเลือกผู้ตรวจสอบบัญชีและการพิจารณาข้อขัด แย้งทางผลประโยชน์ กรรมการตรวจสอบซึ่งพ้นจากต�าแหน่งตามวาระอาจได้ รับการแต่งตัง้ ให้กลับมาด�ารงต�าแหน่งใหม่ได้ กรณีทตี่ า� แหน่งกรรมการ ตรวจสอบว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้ คณะกรรมการบริษทั แต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนเป็นกรรมการ ตรวจสอบเพื่ อ ให้ ก รรมการตรวจสอบมี จ� า นวนครบตามที่ ค ณะ กรรมการบริษัทก�าหนด โดยบุคคลที่เป็นกรรมการตรวจสอบแทนจะ อยู่ในต�าแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการตรวจสอบซึ่งตน ทดแทน กล่าวคือเมื่อกรรมการตรวจสอบว่างลงจนมีจ�านวนต�่ากว่า 3 คน ให้คณะกรรมการบริษทั หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ แต่งตัง้ ให้ครบจ�านวน ภายในระยะเวลาไม่เกินกว่า 3 เดือนนับจากวันทีค่ ณะกรรมการตรวจ สอบมีจ�านวนน้อยกว่า 3 คน
คุณสมบัติของกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการบริษทั จะเป็นผูแ้ ต่งตัง้ คณะกรรมการบริหาร ทีผ่ า่ นการพิจารณาคัดเลือกจากคณะกรรมการสรรหา และก�าหนดค่า ตอบแทน โดยคัดเลือกจากกรรมการหรือผู้บริหารระดับสูงของบริษทั หรือบุคคลภายนอกที่มีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ที่ เกีย่ วข้องกับธุรกิจโดยตรง ทีส่ ามารถบริหารงานในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการ ด�าเนินงานตามธุรกิจปกติ เพื่อท�าหน้าที่บริหารจัดการงานประจ�าที่ เกินอ�านาจหน้าทีข่ องกรรมการผูจ้ ดั การและกลัน่ กรองดูแลงานบริหาร เพื่อน�าเสนอเรื่องที่มีสาระส�าคัญต่อคณะกรรมการบริษัท
1. ได้รบั แต่งตัง้ จากคณะกรรมการหรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษัทให้เป็นกรรมการตรวจสอบ 2. เป็นกรรมการอิสระ และต้อง 1) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการ ให้ตัดสินใจในการด�าเนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยล�าดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง และ 2) ไม่เป็นกรรมการของบริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย หรือ บริษัทย่อยล�าดับเดียวกันเฉพาะที่เป็นบริษัทจดทะเบียน
52
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
กำรสรรหำคณะกรรมกำรบริหำร
ไปที่สารบัญ
กำรสรรหำและแต่งตั้งประธำนกรรมกำรบริหำร และ กรรมกำรผู้จัดกำร
หากคณะท�างานกิจกรรมเพื่อสังคมพบสิ่งที่ต้องปรับปรุงจากการจัด กิจกรรม จะมีกระบวนการแก้ไขโดยทันที คณะกรรมการของบริษทั จะเป็นผูพ้ จิ ารณาแต่งตัง้ ประธาน ทั้งนี้ คณะท�างานบริหารความเสี่ยงองค์กร และคณะ กรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ โดยผ่านการพิจารณา คัด ท�างานกิจกรรมเพื่อสังคม ไม่มีการรับค่าตอบแทนหรือผลประโยชน์ เลือกจากคณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน โดยพิจารณา อื่นใดจากบริษัท และยึดถือปฏิบัติหน้าที่ตามนโยบายของบริษัทเป็น จากหลักเกณฑ์ ดังนี้ ประการส�าคัญ • การเป็นกรรมการของบริษทั ตามข้อบังคับของบริษทั • ความรูค้ วามสามารถ และมีประสบการณ์ทเี่ กีย่ วข้อง กำรพัฒนำกรรมกำรและผู้บริหำร กับการด�าเนินธุรกิจของบริษัท คณะกรรมการบริษทั ได้สนับสนุนและส่งเสริมให้มกี ารฝึก • ประสบการณ์ในการเป็นผู้น�าขององค์กร มีภาวะ อบรม และให้ความรูแ้ ก่ผมู้ สี ว่ นเกีย่ วข้องกับการก�ากับดูแลกิจการ เช่น ความเป็นผู้น�าสูง กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผู้บริหาร เลขานุการบริษัท เพื่อให้ยก • ได้รับการยอมรับจากองค์กรธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ระดั บ ความรู ้ ค วามสามารถน� า มาซึ่ ง การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ไ ด้ อ ย่ า งมี • พิจารณาเรื่องความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทได้มีการแต่งตั้งคณะ ในปี 2559 กรรมการได้ให้ความส�าคัญในการเข้าอบรม ท�างานชุดย่อย เพื่อช่วยก�ากับดูแลกิจการในด้านต่างๆ ประกอบด้วย หลักสูตรพัฒนาความรูแ้ ละยกระดับบทบาทหน้าทีข่ องกรรมการ โดย เฉพาะเรือ่ งการบริหารความเสีย่ งขององค์กร และเรือ่ งการก�ากับดูแล คณะท�างานบริหารความเสี่ยงองค์กร ประกอบด้วย กิจการ ทั้งนี้ เพื่อน�าความรู้จากการอบรมมาบริหารจัดการองค์กร 1. ประธานกรรมการบริหาร ท�าหน้าที่หัวหน้าคณะ ปรับปรุงปฏิบัติงานและพัฒนาองค์กรให้มีการพัฒนาก้าวไกลอย่าง ท�างานบริหารความเสี่ยง ยัง่ ยืน (ข้อมูลการอบรมของกรรมการ ปรากฏตามเอกสารรายละเอียด 2. กรรมการผู้จัดการ เกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร และเลขานุการบริษัท) 3. ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน 4. ผู้จัดการฝ่ายขาย กำรปฐมนิเทศกรรมกำรใหม่ 5. ผู้จัดการฝ่ายประกันคุณภาพและลูกค้าสัมพันธ์ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ก� า หนดให้ มี ก ารปฐมนิ เ ทศ 6. ผู้จัดการฝ่ายบริการลูกค้า กรรมการใหม่ เพือ่ เตรียมความพร้อมในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการ 7. เลขานุการบริษัท โดยคณะกรรมการจะมุ่งเน้นสร้างความรู้ความเข้าในบทบาทหน้าที่ โดยมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการพิจารณาระบุ ของกรรมการ ลักษณะของธุรกิจ และภาพรวมขององค์กร นโยบาย ปัจจัยเสี่ยงที่อาจมีผลกระทบต่อการด�าเนินงานของบริษัท ประเมิน และหลักเกณฑ์ส�าคัญต่างๆของบริษัท รวมถึงการก�ากับดูแลกิจการที่ ผลกระทบ และก�าหนดแนวทางป้องกันความเสี่ยง ตลอดจนการ ดี ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทยังก�าหนดให้เลขานุการบริษัทช่วย พิจารณาทบทวนปัจจัยเสี่ยงขององค์กรเป็นประจ�าทุกปี หรือกรณีที่ สนับสนุนการปฐมนิเทศกรรมการใหม่ เพื่อให้กรรมการใหม่สามารถ พบปัจจัยทีจ่ ะก่อให้เกิดความเสีย่ งสูงก็สามารถน�าเข้าสูก่ ระบวนบริหาร เข้าปฏิบัติหน้าที่ได้ และมีประสิทธิผลมากที่สุด ในการประชุมคณะ ความเสี่ยงได้ทันที ทั้งนี้ คณะท�างานบริหารความเสี่ยงองค์กรจะ กรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2559 รายงานผลการปฏิบัติงานให้แก่คณะกรรมการตรวจสอบรับทราบใน ทีป่ ระชุมมีมติแต่งตัง้ นางสุธดิ า คฤเดชโกศล เข้าด�ารงต�าแหน่งกรรมการ ทุกไตรมาส บริษทั แทน ว่าทีเ่ รือตรี ชาญวิทย์ อนัคกุล ซึง่ คณะกรรมการบริษทั และ เลขานุการบริษัทได้จัดการอบรมและปฐมนิเทศให้แก่กรรมการท่าน คณะท�างานกิจกรรมเพื่อสังคม (CSR) ประกอบด้วย 1. เลขานุ ก ารบริ ษั ท ท� า หน้ า ที่ หั ว หน้ า คณะท� า งาน ใหม่ ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการบริษัทได้ถูกต้องและครบ ถ้วนตามกฎบัตร หลักเกณฑ์และนโยบายของบริษัทโดยสมบูรณ์ กิจกรรมเพื่อสังคม 2. ตัวแทนจากฝ่ายงานต่างๆ (อย่างน้อยฝ่ายงานละ 1 คน) โดยมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการก�าหนดแนวทาง กำรประเมิ น ผลตนเองของคณะกรรมกำรบริ ษั ท การด�าเนินงานของคณะท�างานกิจกรรมเพื่อสังคมภายใต้นโยบาย คณะกรรมกำรชุดย่อย ประธำนกรรมกำรบริหำร และ ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และยึดถือปฏิบัติตาม กรรมกำรผู้จัดกำร คณะกรรมการบริษทั ได้กา� หนดให้มกี ารประเมินผลตนเอง นโยบายอย่างเคร่งครัด อีกทัง้ คณะท�างานกิจกรรมเพือ่ สังคมจะก�าหนด แผนงานจัดกิจกรรมประจ�าปี และเข้าสนับสนุนกิจกรรมตามแผนงาน เป็นประจ�าทุกปี ทั้งคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหาและ เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย รวมถึงการติดตามและประเมินผลจากกิจกรรมนัน้ “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
53
ไปที่สารบัญ
ก�าหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ คณะกรรมการ และระเบียบตามที่กา� หนดไว้ในข้อบังคับของบริษัทและกฎหมายของ บริหาร ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การ โดยผ่านการ บริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่เกี่ยวข้อง พิจารณาจากคณะกรรมการสรรหาและก�าหนดค่าตอบแทน เพื่อน�า ่ งกำรใช้ข้อมูลภำยใน ผลการประเมินตนเองไปปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพ กำรดูแลเรือ คณะกรรมการบริษัทได้ก�าหนดมาตรการป้องกันการใช้ และประสิทธิผลมากขึ้น ข้อมูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) ของบุคคลที่เกี่ยวข้องซึ่ง กำรก� ำ กั บ ดู แ ลกำรด� ำ เนิ น งำนของบริ ษั ท ย่ อ ยและ รวมถึง กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของกลุ่มบริษัทที่ บริษัทร่วม เกีย่ วข้องกับข้อมูล (รวมทัง้ คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะของ บริษัทได้ก�าหนดนโยบายการลงทุนในบริษัทย่อยและ บุคคลดังกล่าว) รวมถึงได้ก�าหนดโทษเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลของ บริษัทร่วม และนโยบายการบริหารงานในบริษัทดังกล่าว เพื่อให้ บริษัท หรือการน�าข้อมูลของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนไว้แล้ว การลงทุนของบริษัทเป็นไปอย่างมีหลักการที่เหมาะสม บริษัทจึงเห็น ตามนโยบายการป้องกันการน�าข้อมูลภายในไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ ควรก�าหนดนโยบายการลงทุนเพื่อใช้เป็นแนวทางในการด�าเนินงาน 1. บริษทั ก�าหนดให้มกี ารป้องกันการน�าข้อมูลของบริษทั ดังต่อไปนี้ ไปใช้ โดยก�าหนดข้อห้ามไว้ในระเบียบข้อบังคับเกีย่ วกับการท�างานไม่ 1. ธุรกิจที่จะลงทุนนั้นเป็นธุรกิจที่มีศักยภาพท�ารายได้ ให้กรรมการผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั น�าข้อมูลภายในทีม่ สี าระ และก�าไรที่สม�่าเสมอ และผ่านการวิเคราะห์ความเป็นไปได้แล้ว ส�าคัญของบริษัทไปเปิดเผย หรือน�าไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน 2. ธุรกิจที่จะลงทุนมีกระแสเงินสดเพียงพอที่จะจ่าย 2. กรรมการผู้บริหารและพนักงานของบริษัทควรหลีก ช�าระภาระหนี้และดอกเบี้ยจ่าย เลี่ยงการใช้ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ของตนในการซื้อหรือขายหุ้น 3. ธุรกิจที่จะลงทุนให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมในความ ของบริษัท หรือให้ข้อมูลภายในแก่บุคคลอื่นเพื่อประโยชน์ในการซื้อ เสี่ยงที่ยอมรับได้ หรือขายหุน้ ของบริษทั ดังนัน้ จึงควรหลีกเลีย่ งและงดการซือ้ ขายหลัก 4. จัดให้มผี บู้ ริหารและบุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญและ ทรัพย์ของบริษทั ในช่วงระยะเวลา 1 เดือนก่อนการเปิดเผยงบการเงิน ประสบการณ์ในการท�าธุรกิจนั้นๆ รวมถึงควรรออย่างน้อย 24 - 48 ชั่วโมง ภายหลังการเปิดเผยข้อมูล 5. ไม่ลงทุนในธุรกิจที่ผิดกฎหมายหรือผิดหลักศีลธรรม ส�าคัญทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อราคาหุน้ ของบริษทั ให้แก่สาธารณชนแล้ว 6. ผ่านการพิจารณาอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั หรือ ก่อนที่จะซื้อหรือขายหุ้นของบริษัท ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทตามที่กฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง 3. บริษัทได้ให้ความรู้ความเข้าใจแก่กรรมการและผู้ หรือข้อบังคับของบริษัทก�าหนดไว้ บริหารของบริษทั เกีย่ วกับหน้าทีใ่ นการรายงานการถือหลักทรัพย์ของ 7. รายงานผลการด�าเนินงานของบริษัทย่อยหรือบริษัท ตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อส�านักงาน ก.ล.ต. ตาม ร่วมที่เข้าไปลงทุนให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบทุกไตรมาส มาตรา 59 และบทก�าหนดโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ในการพิจารณาจ�านวนเงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (“พรบ.หลักทรัพย์”) และกฎเกณฑ์ข้อ ร่วม จะขึน้ อยูก่ บั ความสัมพันธ์ทางธุรกิจ โดยหากเป็นกิจการทีม่ คี วาม ก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งหน้าที่รายงานการมีส่วนได้เสีย สัมพันธ์กับธุรกิจมาก บริษัทอาจมีการลงทุนเกินกว่าร้อยละ 50 และ ของกรรมการและผูบ้ ริหาร และข้อห้ามในการใช้ขอ้ มูลภายในทีม่ สี าระ ถือเป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ส่วนการลงทุนในกิจการอืน่ ๆ บริษทั อาจ ส�าคัญของบริษัทในการซื้อขายหุ้นรวมทั้งบทก�าหนดโทษที่เกี่ยวข้อง มีการลงทุนตัง้ แต่รอ้ ยละ 20 จนถึงร้อยละ 49.99 ซึง่ ถือเป็นบริษทั ร่วม ตามพรบ. หลักทรัพย์ ของบริษัท อย่างไรก็ตาม บริษัทอาจพิจารณาทบทวนการลงทุนใน 4. ก�าหนดให้มีการจ�ากัดการเข้าถึงข้อมูล (Need-toบริษัทย่อย และบริษัทร่วมให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพธุรกิจ Know Basis) เช่น การติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานการเข้าพื้นที่ ของบริษัท การให้หรือขอข้อมูลระหว่างหน่วยงานจะต้องได้รบั อนุมตั จิ ากผูบ้ งั คับ ในการก�ากับดูแลการด�าเนินงานของบริษทั ย่อยและบริษทั บัญชาสูงสุดของหน่วยงานนั้นๆ ร่วมนัน้ บริษทั จะส่งตัวแทนของบริษทั เป็นกรรมการในบริษทั ย่อยและ บริษัทร่วมของบริษัทดังกล่าว โดยตัวแทนอาจเป็นประธานกรรมการ มำตรกำรลงโทษ บริษัทมีบทก�าหนดโทษทางวินัย กรณีที่ผู้บริหาร และ กรรมการ ผู้บริหารระดับสูง หรือบุคคลใดๆ ซึ่งมีคุณสมบัติและ ประสบการณ์เหมาะสมในธุรกิจดังกล่าว โดยปราศจากผลประโยชน์ พนักงานได้ฝ่าฝืนกฎระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือค�าสั่งโดยชอบ ขัดแย้งกับธุรกิจของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมเหล่านัน้ ตัวแทนจะต้อง ด้วยกฎหมายของบริษทั ไว้อย่างชัดเจนในข้อบังคับเกีย่ วกับการท�างาน บริหารและจัดการธุรกิจของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมตามกฎเกณฑ์ ตามหลักเกณฑ์ที่ฝ่ายบริหารงานบุคคลก�าหนดไว้และได้ประกาศให้ผู้ บริหารและพนักงานทุกระดับรับทราบ 54
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
ค่ำตอบแทนของผู้สอบบัญชี
(1) ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) บริษัท และบริษัทย่อยได้จ่ายค่าสอบบัญชี ประจ�าปี 2559 ให้แก่บริษัท ไพร้ ซวอเตอร์เฮาส์คูปเปอร์ เอบีเอเอส จ�ากัด และไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูป เปอร์ในต่างประเทศ รวมเป็นจ�านวนเงิน 5.74 ล้านบาท (2) ค่าบริการอื่น (Non-audit Fee) บริษัทได้จ่ายค่า ตอบแทนของงานบริการอื่น ซึ่งได้แก่การศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ (Feasibility Study) และค่าใช้จา่ ยเบ็ดเตล็ดทีเ่ กิดขึน้ ระหว่าง การปฏิบัติงาน เช่น ค่าเดินทาง ค่าไปรษณีย์ ค่าอากรแสตมป์ ค่าถ่าย เอกสาร เป็นต้น ให้แก่บริษัทในกลุ่มไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูปเปอร์ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ รวมเป็นจ�านวนเงิน 4.60 ล้านบาท กำรก�ำกับดูแลกิจกำรในปี 2559
นโยบำยกำรต่อต้ำนทุจริตคอร์รัปชั่น
บริษัทมุ่งมั่นในการ ด�าเนินธุรกิจ อย่างมีคุณธรรม ภายใต้ กรอบการก�ากับดูแลกิจการทีด่ ี โดยยึดหลักธรรมาภิบาล จรรยาบรรณ และจริยธรรมในการด�าเนินธุรกิจ มีความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่ง แวดล้อมและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ด�าเนินธุรกิจด้วย ความโปร่งใส เป็นธรรม และสามารถตรวจสอบได้ บริษัทได้เข้าร่วมเป็น “แนวร่วม ปฏิบตั ภิ าคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต” เพือ่ แสดงเจตนารมย์ และความมุ่งมั่นในการต่อต้านคอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ บริษัทจึงได้ก�า หนดค�านิยาม นโยบาย และแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจนเกี่ยวกับการ ต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่นการด�าเนินธุรกิจ ดังนี้ ค�ำนิยำม
การทุจริตคอร์รัปชั่น หรือ คอร์รัปชั่น (Corruption) บริษัทได้บริหารจัดการและปฏิบัติหน้าที่ให้สอดคล้องกับ หมายถึง การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติในต�าแหน่งหน้าที่ หรือใช้ นโยบายการก�ากับดูแลกิจการและหลักเกณฑ์นโยบายอื่นๆ เพื่อให้ อ�านาจหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อแสวงหาประโยชน์อันมิควรในรูปแบบ บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์และพันธกิจที่มุ่งพัฒนาองค์กร บุคลากร ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการให้หรือรับ สินบน การน�าเสนอ การให้ค�ามั่นว่า และส่งเสริมคู่ค้าให้ไปสู่มาตรฐานสากล ด้วยการบริหารงานตามหลัก จะให้ การขอ หรือ เรียกร้อง ซึ่งเงิน ทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์อื่น ธรรมาภิบาล รวมถึงการส่งเสริมสนับสนุนนโยบายต่อต้านทุจริต ใด ซึ่งไม่เหมาะสม กับเจ้าหน้าที่ของรัฐ หน่วยงานของรัฐ หน่วยงาน คอร์รัปชั่น และนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เอกชน หรือบุคคลอืน่ ใดทีด่ า� เนินธุรกิจกับบริษทั เพือ่ ให้บคุ คลดังกล่าว บริษัทได้ปฏิบัติตามสิทธิของผู้ถือหุ้นตามนโยบายการ กระท�าหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ อันเป็นการให้ได้มาซึ่งธุรกิจ หรือ ก�ากับดูแลกิจการ เช่น การเปิดโอกาสให้แก่ผู้ถือหุ้นเสนอวาระการ เพือ่ เอือ้ ประโยชน์อนื่ ใดทีไ่ ม่เหมาะสมทางธุรกิจ เว้นแต่กรณีทกี่ ฎหมาย ประชุม หรือเสนอบุคคลเข้ารับการเลือกตั้งกรรมการส�าหรับการ ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับ ขนบธรรมเนียมประเพณีทอ้ งถิน่ หรือจารีต ประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทได้เน้นเรื่องการเปิดเผยข้อมูลและแจ้งข่าวสาร ทางการค้าให้กระท�าได้ ผ่านบนเว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของ นโยบายและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการต่อต้านการคอร์รัปชั่น บริษัท เพื่อให้ผู้ถือหุ้นเข้าถึงข้อมูลและข่าวสารได้สะดวกมากขึ้น ซึ่ง บริษทั ไม่ยอมรับการคอร์รปั ชัน่ ใดๆ ทัง้ สิน้ โดยครอบคลุม สอดคล้องกับหมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น และหมวดที่ 4 การเปิดเผย ถึ ง ธุ ร กิ จ และรายการทั้ ง หมดในทุ ก ประเทศและทุ ก หน่ ว ยงาน ข้อมูลและความโปร่งใส ตามนโยบายการก�ากับดูแลกิจการ ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท ซีออยล์ ในปี 2559 บริ ษั ท ได้ ส ่ ง เสริ ม เรื่ อ งการต่ อ ต้ า นทุ จ ริ ต จ�ากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ต้องปฏิบัติตามนโยบายการต่อต้าน คอร์รัปชั่นอย่างเป็นรูปธรรม และยกระดับนโยบายการต่อต้านทุจริต ทุจริตคอร์รปั ชัน่ อย่างเคร่งครัด ห้ามเข้าไปเกีย่ วข้องกับเรือ่ งคอร์รปั ชัน่ ให้มคี วามชัดเจน สร้างมาตรการและแนวทางปฏิบตั ใิ นการด�าเนินการ ทุกรูปแบบทัง้ ทางตรง และทางอ้อมในการด�าเนินการในเรือ่ งทีม่ คี วาม ทีเ่ กีย่ วกับการต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน่ อาทิ การก�าหนดหลักเกณฑ์ใน เสี่ยงสูงกับการเกิดคอร์รัปชั่น กรรมการบริษัท ผู้บริหารและพนักงาน การให้หรือรับของขวัญ ค่าเลีย้ งรับรองหรือเงินสนับสนุนอืน่ ๆ การเพิม่ ทุกระดับของบริษทั ต้องปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความระมัดระวังในเรือ่ งการ ช่องทางรับข้อเสนอแนะ ข้อร้องเรียน ตลอดจนการแจ้งเบาะแสการทุจริต ให้ความช่วยเหลือทางการเมือง (Political Contributions) การบริจาค คอร์รปั ชัน่ ขององค์กรให้หลากหลายช่องทาง เช่น ทางไปรษณีย์ อีเมล์ เพือ่ การกุศล (Donation) และเงินสนับสนุน (Sponsorships) ของขวัญ เว็บไซต์ และกล่องรับข้อเสนอแนะและข้อร้องเรียนภายในบริษัท และค่าใช้จ่ายเลี้ยงรับรอง (Gift, Entertainment) ซึ่งบริษัทมีมาตรการคุ้มครองและรักษาความลับของผู้ร้องเรียนหรือ ผู้แจ้งเบาะแสมายังบริษัท ไม่ว่าช่องทางใดก็ตาม อีกทั้งบริษัทได้เปิด มาตรการและช่องทางการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน โอกาสให้คู่ค้ามีส่วนร่วมในการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่นมากขึ้น และ บริษัทจัดให้มีมาตรการในการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้อง การสื่อสารไปยังลูกค้า คู่ค้าและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้รับทราบถึง เรียน เกี่ยวกับ การกระท�าผิดกฎหมาย จรรยาบรรณทางธุรกิจหรือ นโยบายการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่นขององค์กร และส่งเสริมให้คู่ค้า พฤติกรรมทีอ่ าจส่อถึงการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ของกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือ ร่วมต่อต้านการทุจริตร่วมด้วยกับองค์กร เพือ่ พัฒนาทัง้ องค์กรและส่ง พนักงานในองค์กร โดยจัดช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายช่องทาง เสริมคู่ค้าให้ก้าวไปสู่มาตรฐานสากลร่วมกัน ซึ่งสอดคล้องกับหมวดที่ เพื่อเปิดโอกาสให้พนักงานและผู้มีส่วนได้เสีย สามารถแจ้งเบาะแส 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย หรือข้อร้องเรียนมายังบริษัท ได้สะดวกและเหมาะสม โดยผู้แจ้ง “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
55
ไปที่สารบัญ
เบาะแสหรือผูร้ อ้ งเรียนจะต้องระบุรายละเอียดของเรือ่ งทีแ่ จ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียน พร้อมชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ที่สามารถติดต่อ ได้ ส่งมายังช่องทางการรับเรื่อง ตามที่บริษัทก�าหนด โดยบริษัทได้ก�า หนดช่องทางการแจ้งเบาะแสหรือรับข้อร้องเรียนไว้ดังนี้ • ทางไปรษณีย์น�าส่งที่
ประธานกรรมการบริษัท หรือ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) 88 ซอยบางนาตราด 30 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพ 10260 • ทางอีเมล์
นัน้ อาจจะต้องได้รบั โทษทางกฎหมาย ทัง้ นี้ โทษทางวินยั ตามระเบียบ ของบริษัท ค�าตัดสินของคณะกรรมการตรวจสอบ ถือเป็นอันสิ้นสุด บริษัท ไม่มีนโยบายลดต�าแหน่ง ลงโทษ หรือผลทางลบต่อพนักงานที่ ปฏิเสธการคอร์รัปชั่น แม้ว่าการกระท�านั้นจะท�าให้บริษัทสูญเสีย โอกาสทางธุรกิจก็ตาม ตลอดจนการอบรมสื่อสารนโยบาย และช่อง ทางการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนไปยังบุคคลภายในและบุคคล ภายนอก เพื่อสร้างความเข้าใจและสนับสนุนให้ ยึดมั่นในมาตรฐาน การรับผิดชอบต่อสังคมในเรื่องการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น เช่น เดียวกับบริษัท นโยบายการพัฒนาบุคลากร
บริษัทให้ความส�าคัญกับบุคลากร ซึ่งเป็นทรัพยากรที่ ส�าคัญของบริษทั บริษทั จึงตระหนักถึงและมุง่ มัน่ ทีจ่ ะสร้างและพัฒนา บุคลากรให้มีความรู้ มีทักษะงาน ความสามารถและทัศนคติที่ดีต่อ องค์กร รวมทัง้ มีการส่งเสริมให้มคี วามก้าวหน้าในหน้าทีก่ ารงานอย่าง มีคุณภาพ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการท�างานทุกด้านของบุคลากร และส่งผลให้พนักงานสามารถปฏิบัติงานได้เทียบเท่าหรือสูงกว่า มาตรฐาน บริษทั จึงมีแนวปฏิบตั แิ ละนโยบายทรัพยากรบุคคลและการ พัฒนาบุคลากรเกีย่ วกับการว่าจ้างและการสรรหาบุคลากร โครงสร้าง • ทางเว็บไซต์ของบริษัท www.seaoilthailand.com สายการบังคับบัญชา การบริหารค่าจ้างและผลตอบแทน สวัสดิการ • กล่องรับข้อเสนอแนะ / ความคิดเห็น / ข้อร้องเรียนภายในบริษัท สภาพแวดล้อมในการท�างาน การเลื่อนต�าแหน่งบุคลากรในองค์กร และการพัฒนาบุคลากร มาตรการคุ ้ ม ครองและรั ก ษาความลั บ เพื่ อ เป็ น การ การพัฒนาบุคลากรในปี 2559 บริษัทได้ส่งเสริมการฝึก คุ้มครองสิทธิของผู้ร้องเรียนและผู้ให้ข้อมูลที่กระท�าโดยเจตนาสุจริต อบรมให้แก่พนักงานทั้งภายในและภายนอกองค์กร โดยบริษัทได้ บริษัท จะปกปิดชื่อ ที่อยู่หรือข้อมูลใดๆ ที่สามารถระบุตัวผู้ร้องเรียน เลือกสรรวิทยากรทีม่ ปี ระสบการณ์ความรูค้ วามสามารถเข้ามาให้ความ หรือผู้ให้ข้อมูล และเก็บรักษาข้อมูลของผู้ร้องเรียนและผู้ให้ข้อมูลไว้ รูแ้ ก่พนักงานภายในองค์กร และให้โอกาสพนักงานเลือกหลักสูตรการ เป็นความลับ โดยจะจ�ากัดเฉพาะผูท้ มี่ หี น้าทีค่ วามรับผิดชอบในการด�า อบรมที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่การงานของตนเองเพิ่มเติมได้ ซึ่งอาจคิด เนินการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนเท่านั้น ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ใน เป็นชัว่ โมงการฝึกอบรมรวมทัง้ หมด 1,526.5 ชัว่ โมง หรือคิดเฉลีย่ เป็น กรณี ที่ มี ก ารร้ อ งเรี ย นเกี่ ย วกั บ การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น ของผู ้ บ ริ ห าร ชั่วโมงการอบรม จ�านวน 49 ชั่วโมงต่อคนต่อปี และมีการติดตาม ผูบ้ ริหารระดับสูง คณะกรรมการตรวจสอบจะท�าหน้าทีใ่ นการคุม้ ครอง ประเมินผลของหลักสูตรการอบรม และให้พนักงานทุกคนประมวล ผู้แจ้งเบาะแสหรือผู้ร้องเรียน พยาน และบุคคลที่ให้ข้อมูลในการ ความรูแ้ ละทักษะทีไ่ ด้รบั จากการฝึกอบรมทีผ่ า่ นมา เพือ่ ทบทวนความ สืบสวนข้อเท็จจริง ไม่ให้ได้รับความเดือดร้อน อันตรายใด หรือ ความ รู้ความเข้าใจและน�าไปปรับใช้ในการงานที่ปฏิบัติได้ ไม่ชอบธรรม อันเกิดมาจากการแจ้งเบาะแส ร้องเรียน การเป็นพยาน ในปัจจุบัน บริษัทส่งเสริมโครงการ/กิจกรรมปรับปรุง หรือการให้ขอ้ มูลผูท้ มี่ หี น้า ทีร่ บั ผิดชอบในการปฏิบตั หิ น้าทีท่ เี่ กีย่ วข้อง พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องตามข้อก�าหนดของมาตรฐาน ISO 9001 กับเรื่องร้องเรียน มีหน้าที่เก็บรักษาข้อมูล ข้อร้องเรียนและเอกสาร เพื่อพัฒนาบุคลากรด้านความรู้ความสามารถ และบริษัทได้ว่าจ้าง หลักฐานของผู้ร้องเรียนและผู้ให้ข้อมูลไว้เป็นความลับ ห้ามเปิดเผย บริษัท นทลิน จ�ากัด ดูแลจัดการเรื่องการบริหารทรัพยากรบุคคลให้ ข้อมูลแก่บคุ คลอืน่ ทีไ่ ม่มหี น้าทีเ่ กีย่ วข้อง เว้นแต่เป็นการเปิดเผยหน้าที่ สอดคล้องตามนโยบายทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาบุคลากร ตลอด ที่กฎหมายก�าหนด จนการวางแผนการฝึกอบรมประจ�าปีให้กับพนักงานของกลุ่มบริษัท นอกจากนีบ้ ริษทั ได้กา� หนดขัน้ ตอนการด�าเนินการสืบสวน และบริษทั ได้กา� หนดนโยบายทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาบุคลากร และบทลงโทษส�าหรับผู้กระท�าการทุจริตนั้นไม่ว่าจะเป็น กรรมการ เพื่อให้พนักงานมีความพร้อมในการท�างานและมีพัฒนาการทักษะ ผู้บริหาร หรือพนักงานถือว่าเป็นการกระท�าผิดนโยบายต่อต้านทุจริต ความรู ้ ที่ ย กระดั บ ไปสู ่ ม าตรฐานสากลตามพั น ธกิ จ ขององค์ ก ร คอร์รปั ชัน่ จะต้องได้รบั การพิจารณาโทษทางวินยั ตามระเบียบทีบ่ ริษทั ซึ่งสอดคล้องกับหมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย (พนักงาน) ก�าหนดไว้ และหากการกระท�าทุจริตอันขัดต่อกฎหมาย ผู้กระท�าผิด ตามนโยบายการก�ากับดูแลกิจการ
ประธานกรรมการตรวจสอบ : ruth@banomyong.com ประธานกรรมการก�ากับดูแลกิจการ / กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ : pongandeat@hotmail.com กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ : drwit777@gmail.com ส�านักก�ากับดูแลและเลขานุการบริษัท : compliance@seaoilthailand.com
หลักเกณฑ์การคัดเลือกและประเมินคู่ค้า
56
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
ในการด�าเนินการคัดเลือกและประเมินคู่ค้า บริษัท ได้มี การก� า หนดหลั ก เกณฑ์ ใ นการคั ด เลื อ กคู ่ ค ้ า ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพใน กระบวนการจัดซือ้ จัดจ้างอย่างชัดเจน ประกอบด้วยคูค่ า้ ในด้านธุรกิจ จั ด ซื้ อ น�้ า มั น เพื่ อ จ� า หน่ า ย ด้ ว ยพื้ น ฐานของคุ ณ ภาพของสิ น ค้ า ความครบถ้วนถูกต้องของการส่งมอบสินค้า รวมถึงการเปรียบเทียบ ราคา เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท ในส่วนของธุรกิจด้านการจัดหา วัสดุสนิ้ เปลือง และการให้บริการด้านจัดเตรียมอาหาร ท�าความสะอาด และซักรีด ได้มีการก�าหนดหลักเกณฑ์ตามมาตรฐาน GMP, HACCP, สุขลักษณะของการบริการ และกระบวนการให้บริการที่ตระหนักถึง ความปลอดภัยด้านอาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ส่วนหลักการพิจารณาในการจัดซือ้ จัดจ้าง บริษทั จะพิจารณา ด้านคุณภาพ ด้านปริมาณและจ�านวน ด้านเวลา ด้านราคาที่ยุติธรรม เหมาะสม ด้านสถานที่การจัดส่ง ด้านความน่าเชื่อถือของแหล่งขาย และด้านบริการที่น่าเชื่อถือ เป็นหลักการพิจารณาคัดเลือกผู้ขายหรือ ผู้รับจ้าง ก่อนที่จะน�ามาจัดท�าเป็นรายชื่อผู้ขายและผู้ให้บริการ (Vendor List) เพือ่ ให้ได้คคู่ า้ ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญและเหมาะสมกับการ ด�าเนินธุรกิจของบริษัทมากที่สุด หลังจากการได้รับสินค้าและบริการจากคู่ค้า บริษัท จะ ท�าการประเมินคู่ค้าในด้านคุณภาพของสินค้าและการบริการ รวมถึง มีการรายงานผลต่อผู้บริหารเพื่อรับทราบผลของการปฎิบัติงานดัง กล่าวอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความพึงพอใจต่อลูกค้า รวมถึงพัฒนา ความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ คูค่ า้ ในการยกระดับประสิทธิผลในการด�าเนินการ ร่วมกันบนหลักธรรมาภิบาล ทีบ่ ริษทั จะพึงปฎิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ซึง่ ด�าเนินการเป็นไปตามข้อก�าหนดของระบบการจัดการคุณภาพ ISO และนโยบายของบริษัท เป็นสาระส�าคัญ และสอดคล้องกับหมวดที่ 3 บทบาทผู้มีส่วนได้เสีย (คู่ค้า) ตามนโยบายการก�ากับดูแลกิจการ มาตรฐานการจัดส่งสินค้าและการให้บริการ
บริษัท มุ่งเน้นการจัดส่งน�้ามันให้เป็นไปตามนโยบาย ควบคุมการจัดส่งสินค้าทีก่ า� หนดไว้ ตัง้ แต่มกี ารคัดเลือกในการจัดจ้าง ผู้ขนส่งที่ได้รับมาตรฐานด้านตัวเรือและบุคลากรที่เป็นไปตามข้อ ก�าหนดทางกฎหมาย โดยยึดถือข้อบังคับตามกฎหมาย เช่น พระราช บัญญัตกิ ารเดินเรือในน่านน�า้ ไทยว่าด้วยเรือ่ งการควบคุมมลพิษทางทะเล มีแผนปฎิบตั กิ ารรับ - ส่ง สินค้า (Loading - Discharge Cargo Plan) เพื่อเตรียมความพร้อมทุกครั้งที่ด�าเนินการขนส่งน�้ามัน รวมถึงใน กระบวนการการจัดส่งน�้ามัน มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ควบคุมการจัด ส่งน�้ามัน (Inspector) ก�ากับดูแลการจัดส่งตั้งแต่ต้นทางจนถึงสถาน ที่จัดส่งน�้ามันปลายทางและควบคุมการปฎิบัติงานของผู้ขนส่งให้เป็น ไปตามมาตรฐานที่ ถู ก ต้ อ งในด้ า นความปลอดภั ย ต่ อ ชี วิ ต และสิ่ ง แวดล้อม หากเกิดเหตุฉุกเฉินก็มีวิธีปฎิบัติตามมาตรฐานสากล เช่น แผนฉุกเฉินส�าหรับการขจัดมลภาวะจากน�้ามันบนเรือ (Shipboard Oil Pollution Emergency Plan : SOPEP) ที่เป็นส่วนหนึ่งของ อนุ สั ญ ญาว่ า ด้ ว ยการป้ อ งกั น มลภาวะจากเรื อ (International Convention for the Prevention of Pollution from Ships :
MARPOL) และได้ก�าหนดเป็นคู่มือในการปฎิบัติไว้อย่างชัดเจน เพื่อ ให้ ลู ก ค้ า ได้ มั่ น ใจว่ า การจั ด ส่ ง เป็ น ไปอย่ า งถู ก ต้ อ งปลอดภั ย และ มีคณ ุ ภาพตรงตามทีล่ กู ค้าต้องการ ซึง่ สอดคล้องกับหมวดที่ 3 บทบาท ผู้มีส่วนได้เสีย (ลูกค้า) ตามนโยบายการก�ากับดูแลกิจการ ทั้งนี้ บริษัทยังได้รับรางวัลในการบริหารจัดการธุรกิจให้ บริการโลจิสติกส์ จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ซึ่งเกี่ยวกับระบบเอกสารและขั้นตอนในการบริหารงานรับสินค้า ต้นทางจากคู่ค้า ตลอดจนการขนส่งสินค้าไปส่งให้แก่ลูกค้าปลายทาง ส่วนด้านความปลอดภัยในการให้บริการด้านการจัดหา อาหาร วัตถุดิบ และให้บริการอื่นๆ บริษัทได้เลือกผู้ให้บริการที่ มาตรฐานสากลในการให้บริการด้านอาหาร โดยค�านึงถึงด้านความ ปลอดภัยและสุขลักษณะอนามัยเป็นส�าคัญ ซึ่งในการเตรียมอาหาร จะใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพสูงและถูกต้องตามหลักอนามัยที่ผ่านการ รับรองจากส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา และมีการควบคุม ตั้งแต่การจัดซื้อวัตถุดิบจนถึงขั้นตอนของการปรุงอาหาร เพื่อบริการ ลูกค้าให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด บริษัทได้รับรางวัล SSHE Performance Excellence ปี 2556 และปี 2559 จากบริษทั ปตท. ส�ารวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ากัด (มหาชน) ในการปฏิบตั งิ านด้านการให้บริการด้านการจัดเตรียมอาหาร วัตถุดิบ และให้บริการอื่นๆ ซึ่งไม่ปรากฏพบอุบัติเหตุจากการท�างาน และสามารถปฏิบัติงานได้ตอบสนองต่อด้านความปลอดภัย มั่นคง อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมที่ลูกค้า (ปตท.สผ.) ได้ก�าหนดไว้ ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
บริษทั ได้ยดึ มัน่ กรอบแนวทางการด�าเนินธุรกิจภายใต้หลัก การก�ากับดูแลกิจการที่ดี และบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล โดย ตระหนักถึงการด�าเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ง แวดล้อมเป็นส�าคัญ จึงได้ก�าหนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน บริษัทได้รับทราบเกี่ยวกับ นโยบายในการก�ากับดูแลกิจการที่ดี การ ด�าเนินธุรกิจอย่างเป็นธรรม ตลอดจนการมีสว่ นรวมพัฒนาชุมชน และ ส่งเสริมการศึกษา และค�าถึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในกิจกรรม ต่างๆขององค์กร สร้างวัฒนธรรมองค์กรให้มีจิตส�านึกในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและรักษาสิง่ แวดล้อม ให้คงอยูต่ อ่ ไป เพือ่ ให้บรรลุ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ทกี่ า� หนดไว้ และสอดคล้องกับนโยบายการ ก�ากับดูแลกิจการ หมวดที่ 3 บทบาทผู้มีส่วนได้เสีย (สังคม)
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
57
ไปที่สารบัญ
ความรับผิดชอบขององค์กรเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน บริษทั มุง่ มัน่ ในการพัฒนาตามแนวทางการบริหารจัดการ เพื่ อ การการด� า เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น โดยยึ ด หลั ก ธรรมาภิ บ าล ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม และค�านึงถึงผูม้ สี ว่ นได้ เสียทุกกลุ่ม โดยการด�าเนินธุรกิจด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ ยึดมั่นในหลักจริยธรรมในการด�าเนินธุกิจ ด�าเนินธุรกิจด้วยความ โปร่ ง ใส ตรวจสอบได้ ภายใต้น โยบายการก�า กับ ดูแ ลกิจ การที่ ดี มี การบริ ห ารความเสี่ ย งภายในองค์ก ร การตรวจสอบภายในทุ ก กระบวนการ เพือ่ ให้องค์กรมีการปฏิบตั งิ านทีป่ ระสิทธิภาพ สร้างความ เชื่อมั่นในการด�าเนินธุรกิจให้แก่คู่ค้า ลูกค้า ผู้ถือหุ้น นักลงทุนหรือ ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย รวมถึงการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม และ การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ตามนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม
และสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างความสมดุลต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ที่จะช่วยพัฒนาและน�าองค์กรไปสู่ความยั่งยืนต่อไปในอนาคต กรอบการบริหารจัดการความยั่งยืนของบริษัท มุ่งเน้น ความรับผิดชอบทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ค�านึงถึง ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ทั้ ง ภายในและภายนอก ทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ ม ไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้น นักลงทุน พนักงาน เจ้าหนี้ คู่ค้า ลูกค้า ชุมชน สังคม หรือบุคคลภายนอกที่มีส่วนได้เสีย โดยผ่านการวิเคราะห์ ประเด็นความเสี่ยงที่ส�าคัญ ที่จะส่งผลกระทบต่อการด�าเนินธุรกิจให้ ยั่งยืน และน�ามาเป็นกลยุทธ์ในการบริหารจัดการ เพื่อให้บริษัท ได้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
สรุปประเด็นส�าคัญต่อการด�าเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนของบริษัท ประกอบด้วย
หัวข้อกำรรำยงำน การพัฒนาความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ
ประเด็นส�ำคัญ ต่อกำรพัฒนำควำมยั่งยืน • รักษาความเป็นเลิศในการด�าเนินงาน • การปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ • สนับสนุนเศรษฐกิจชุมชน
กลยุทธ์กำรบริหำรจัดกำร • การรักษามาตรฐานคุณภาพ สินค้าและผลิตภัณฑ์ และการ ให้บริการ • นโยบายคุณภาพ • นโยบายการพัฒนาบุคลากร • นโยบายการต่อต้านทุจริต คอร์รัปชั่น
ผลกระทบต่อ ผู้มีส่วนได้เสีย ผู้ถือหุ้น นักลงทุน ลูกค้า คู่ค้า เจ้าหนี้ / สถาบันการเงิน สังคมและชุมชน
การพัฒนาความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม • กระบวนการขนส่งที่เป็นมิตรต่อส่ง แวดล้อม
• นโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
สังคมและชุมชน
• สร้างจิตส�านึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม • นโยบายความรับผิดชอบต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาความยั่งยืนด้านสังคม
• การประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรม
• นโยบายก�ากับดูแลกิจการที่ดี
• การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น
• จรรยาบรรณในการด�าเนินธุรกิจ
• การเคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติต่อ แรงงานอย่างเป็นธรรม
• นโยบายการต่อต้านทุจริต คอร์รัปชั่น
• ความรับผิดชอบต่อลูกค้าและผู้บริโภค
• นโยบายความขัดแย้งทางผล ประโยชน์
• การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม และดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม
• นโยบายการท�ารายการระหว่างกัน • นโยบายทรัพยากรบุคคลและ การพัฒนาบุคลากร
58
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ลูกค้า คู่ค้า เจ้าหนี้ / สถาบันการเงิน สังคมและชุมชน พนักงาน
ไปที่สารบัญ
1. การพัฒนาอย่างยั่งยืนด้านเศรษฐกิจ 1.1 รักษาความเป็นเลิศในการด�าเนินงาน
บริษัทได้ประกอบธุรกิจด้านการจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง มากว่า 20 ปี มีประสบการณ์ ชื่อเสียง และมีบุคลากรที่มีความ เชี่ยวชาญและรู้จักตลาดการซื้อขายน�้ามันเชื้อเพลิงเป็นอย่างดี ท�าให้ บริษทั มีรายได้เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง จนท�าให้บริษทั เป็นทีร่ จู้ กั ในตลาด การค้าน�า้ มันเชือ้ เพลิงแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึง่ บริษทั มีคคู่ า้ เป็น ผู้ผลิตและจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิงชั้นน�าของประเทศไทย จึงสามารถ สนับสนุนการจ�าหน่ายน�า้ มันเชือ้ เพลิงให้แก่ลกู ค้าได้ครบถ้วน และตรง ตามความต้องการของลูกค้า บริษัท มีคู่ค้าที่เป็นกลุ่มเรือขนส่งน�้ามันทางทะเล และกลุ่ม เรือหรือรถขนส่งน�้ามันอีกหลายรายที่มีมาตรฐานการให้บริการระดับ สูง ท�าให้เป็นที่เชื่อถือได้ว่าบริษัทมีศักยภาพในการขนส่งให้แก่ลูกค้า ได้ตรงตามก�าหนดเวลาและตรงตามความประสงค์ลกู ค้า อีกทัง้ ผูข้ นส่ง ทุกรายมีการท�าประกันภัยสินค้าและบุคคลที่สามไว้ครบถ้วน และ กระบวนการขนส่งสินค้าที่มีมาตรฐาน ปลอดภัยไม่กระทบต่อสิ่ง แวดล้อมและชุมชนรอบข้าง บริษัทได้รับมาตรฐานระบบการจัดการคุณภาพ ISO 9001 ทีแ่ สดงถึงความน่าเชือ่ ถือในการปฏิบตั งิ านตัง้ แต่การสัง่ ซือ้ สินค้า การ รับสินค้า จนถึงขัน้ การจัดส่งสินค้าไปให้แก่ลกู ค้า อีกทัง้ ยังมีระบบรักษา ความปลอดภัยในการส่งสินค้าประเภทน�้ามันเชื้อเพลิงตั้งแต่ต้นทาง จนถึงปลายทาง เพื่อให้ลูกค้าได้รับสินค้าที่มีคุณภาพ และมีความถูก ต้องครบถ้วน ตรงตามความต้องการของลูกค้า
ส่วนด้านการให้บริการจัดหาอาหาร วัตถุดิบและการให้ บริการอืน่ ๆ (Supply Management) บริษทั เป็นผูใ้ ห้บริการทีม่ รี ะบบ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมที่มีมาตรฐานสากล มีคู่ ค้าที่มีศักยภาพ และมีทรัพยากรบุคคลที่เพียงพอต่อการให้บริการ ลูกค้า จนท�าให้บริษัทได้รับรางวัลด้านความปลอดภัย มั่นคง อาชีว อนามัย และสิ่งแวดล้อมของบริษัท ปตท.ส�ารวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ากัด (มหาชน) ทัง้ ในปี 2556 และปี 2559 ซึง่ เป็นสิง่ ทีย่ นื ยันในความ ส�าเร็จของบริษัท จากการด�าเนินธุรกิจหลักทั้งหมด ท�าให้บริษัทเป็นองค์กรที่ มีความน่าเชือ่ ถือ มีความพร้อมด้านบุคลากรทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ มีระบบเอกสารและระบบปฏิบัติการที่ดีในระดับสากล และมีคู่ค้าที่มี มาตรฐาน ส่งมอบสินค้าที่มีคุณภาพ ตรงตามความต้องการของลูกค้า จากสิ่งที่กล่าวมาข้างต้น ส่งผลให้องค์กรมีการเติบโตด้านเศรษฐกิจ อย่างต่อเนื่อง และท�าให้มีจ�านวนลูกค้าเพิ่มขึ้นทุกปี ทั้งนี้ บริษัทมีนโยบายการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น โดยเน้น การปฏิบตั งิ านทีป่ ราศจากการทุจริตในทุกขัน้ ตอน ตัง้ แต่ระดับผูบ้ ริหาร จนถึงระดับพนักงาน ส่งผลให้บริษทั สามารถจัดเก็บรายได้ครบถ้วน บริษัท ยังมีพันธกิจที่ขยายการลงทุนในธุรกิจต่างๆ ซึ่งจะ สร้างผลก�าไรให้บริษัทเพิ่มขึ้นในอนาคตและลดความเสี่ยงจากการ ประกอบธุรกิจหลัก เพื่อเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กร และ ส่งคืนผลตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย
ศึกษาการลงทุน
ในกลุ่มธุรกิจพลังงานอื่นๆ
ปิโตรเลียม
ปิโตรเคมี
ปิโตรเลียมและปิ1.2 โตรเคมีปรั เป็นบ ธุรเปลี กิจที่มีค่ยวามส� าคัญต่อท การพั คู่ค้า และหน่ วยงานที ่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการเตรียมความพร้อมใน นกลยุ ธ์ไฒด้นาสอดคล้ องกั บสถานการณ์ เศรษฐกิจของประเทศ และยังมีโอกาสในการเติบโตและสร้างรายได้ การพั ฒ นาศั ก ยภาพองค์ ก ร ทั้ ง ด้ า นกลยุ ท ธ์ ใ นการด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ให้กับองค์กรต่อไปในอนาคต การก�ากับดูแล การพัฒนาบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และ อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ยังคงตระหนักถึงความส�าคัญในการ มาตรฐานการให้บริการ การสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้ใช้ทรัพยากรที่ ด�าเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวังและรอบคอบ มุง่ เน้นการ มีอยู่อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อให้การด�าเนินงานของบ สร้างระบบการบริหารจัดการตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน ริษทั ฯ ผ่านพ้นปัญหาและอุปสรรค และสามารถต่อยอดธุรกิจให้เติบโต ทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม โดยการด�าเนินธุรกิจตาม ต่อไปอย่างต่อเนื่อง หลักธรรมาภิบาล ค�านึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ภายใต้ความรับผิด ในนามของคณะกรรมการบริษัทฯ ผมขอขอบคุณท่านผู้ถือ ชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม โดยในปี 2559 บริษทั ฯ มุง่ เน้นการสร้าง หุน้ และผูม้ อี ปุ การคุณในทุกๆด้าน ตลอดจนผูบ้ ริหารและพนักงานทุก มาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น เพื่อยืนยันเจตนารมณ์ในการ ท่านทีม่ สี ว่ นร่วมในการสนับสนุนกิจการของบริษทั ด้วยดีมาโดยตลอด เข้าเป็นส่วนหนึ่งของแนวร่วมปฏิบัติภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน และขอให้ทุกท่านเชื่อมั่นว่า คณะกรรมการบริษัททุกท่านจะปฏิบัติ การทุจริตคอร์รปั ชัน่ (Private Sector Collective Action Coalition หน้าที่ด้วยความรับผิดชอบอย่างเต็มความสามารถ และค�านึงถึง Against Corruption หรือ CAC) เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานใน ประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายเป็นส�าคัญ เพื่อให้องค์กรมีการ องค์กรมีแนวทางปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนและสอดคล้องกับนโยบายการต่อต้าน เติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืนต่อไป การทุจริตคอร์รัปชั่น รวมถึงการสื่อสารนโยบายดังกล่าวไปยัง ลูกค้า
ในช่วงปลายปี 2557 จนถึงปี 2559 บริษัท ที่อยู่ใน อุตสาหกรรมด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี ประสบปัญหา สภาวะราคา น�้ามันดิบในตลาดปรับตัวลดลงอย่างมาก ส่งผลให้รายได้จากการ ประกอบธุ ร กิ จ ด้ า นการจ� า หน่ า ยน�้ ามั น เชื้ อ เพลิ ง ได้ รั บ ผลกระทบ โดยตรง จากราคาน�า้ มันทีผ่ นั ผวน ท�าให้ผบู้ ริหารต้องมีการปรับกลยุทธ์ ในการด�าเนินธุรกิจ เพือ่ ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลง และลดผลกระทบต่อการด�าเนินธุรกิจหลักขององค์กร โดยการขยาย การลงทุนไปยังธุรกิจอืน่ ทัง้ ทีเ่ ป็นธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจหลัก เช่น อภิสิทธิ์ รุจิเกียรติก�ำจร ธุรกิจโรงแยกคอนเดนเสท ทีผ่ ลิตและจ�าหน่ายเคมีภณ ั ฑ์ ตลอดจนมอง ประธานกรรมการ
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
59
3
ไปที่สารบัญ
หาโอกาสทางธุรกิจด้านพลังงานอืน่ เช่น โครงการธุรกิจพลังงานไฟฟ้า แสงอาทิตย์ หรือพลังงานทดแทนอืน่ ทีม่ ศี กั ยภาพด้านการเติบโตและ เพิ่มเสถียรภาพทางรายได้ให้กับองค์กรในระยะยาว 1.3 สนับสนุนเศรษฐกิจชุมชน
บริษทั ขยายการลงทุนในธุรกิจส�ารวจและผลิตปิโตรเลียมใน บริษัท แพน โอเรียนท์ เอ็นเนอร์ยี่ (สยาม) ลิมิเต็ด (“POES”) ซึ่งได้ รับสัมปทานการส�ารวจและผลิตปิโตรเลียมอยูพ่ นื้ ทีอ่ า� เภอก�าแพงแสน จังหวัดนครปฐม ซึง่ POES ได้เข้าไปท�ากิจกรรมเพือ่ สังคมให้แก่ชนุ ชน และสังคมในพื้นที่บริเวณที่ได้รับสัมปทาน เช่น บริจาคอุปกรณ์การ เรียน กีฬาในวันเด็ก ประจ�าปี 2559 ให้แก่โรงเรียนและหน่วยงานต่างๆ ทั้งในพื้นที่จังหวัดนครปฐมและจังหวัดสุพรรณบุรี บริจาคเสื้อพละให้ แก่เด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กบ้านห้วยด้วน เป็นต้น และบริษัท นครชัย ปราการ เคมีภัณฑ์ จ�ากัด (ปัจจุบันชื่อนิติบุคคล “บริษัท ซีออยล์ ปิโตรเคมีคอล จ�ากัด”) ประกอบธุรกิจโรงแยกคอนเดนเสท ซึ่งจัดตั้ง อยู่ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร อ�าเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี กลุ่มบริษัทมีแผนงานที่จะเข้าไปสนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาชุมชน และสังคมในพื้นที่จังหวัดชลบุรี เช่น การมอบทุนการศึกษาให้แก่เด็ก นักเรียนที่ขาดแคลนทุนในพื้นที่จังหวัดชลบุรี
ในปี 2559 บริษัทและกลุ่มบริษัทนทลินได้เข้าสนับสนุน สินค้าประเภทข้าวสารจากชาวนาบ้านกระเทียม จังหวัดสุรนิ ทร์ ซึง่ ได้ รับผลปัญหาข้าวสารราคาตกต�่า เพื่อให้ชาวนามีรายได้และน�าเงินไป เป็นทุนปลูกข้าวใหม่อีกครั้ง เป็นการส่งเสริมให้ชาวนามีก�าลังใจปลูก ข้าวต่อไปและพยุงเศรษฐกิจของชุมชนสังคม อีกทัง้ เป็นการท�าดีถวาย เป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช 1.4 พัฒนาบุคลากรเพื่อมุ่งสู่องค์กรชั้นน�า
บริษัทตระหนักถึงความส�าคัญในการพัฒนาความรู้ ความ สามารถ และศักยภาพของบุคคลากรในองค์กรทุกระดับ โดยได้กา� หนด นโยบายทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาบุคลากร ได้แก่ การพัฒนา ทักษะที่จ�าเป็นในการปฏิบัติงาน การพัฒนาภาวะผู้น�า การจัดท�า แผนการฝึกอบรม การสอนงาน การสนับสนุนด้านการศึกษา ส่งเสริมให้พนักงานแสดงความเห็น หรือเสนอแนวทางการ พัฒนาองค์กรร่วมกับบริษัทได้ ซึ่งเปิดกล่องรับความคิดเห็น ข้อเสนอ แนะ และข้อร้องเรียนไว้ภายในบริษัท และผลักดันให้พนักงานน�า ทักษะ ความรู้ ความสามารถมาปรับใช้ในการท�างานให้เกิประสิทธิภาพ สูงสุด
2. การพัฒนาอย่างยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม 2.1 กระบวนการขนส่งที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
บริษัทมีการคัดเลือกในการจัดจ้างผู้ขนส่งทางทะเลที่ได้รับ มาตรฐานด้ า นตั ว เรื อ และบุ ค ลากรที่ เ ป็ น ไปตามข้ อ ก� า หนดทาง กฎหมาย และยึดถือปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด และมีระบบ มาตรฐานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม ซึง่ ผูข้ นส่ง ของบริษทั จะมีแผนปฎิบตั กิ ารรับส่งสินค้าประเภทน�า้ มันเชือ้ เพลิงทาง ทะเล ส�าหรับเตรียมความพร้อมทุกครั้งที่ด�าเนินการขนส่งน�้ามัน โดย ยึดหลักกฎหมายแห่งพระราชบัญญัตกิ ารเดินเรือในน่านน�า้ ไทยว่าด้วย เรือ่ งการควบคุมมลพิษทางทะเล อีกทัง้ บริษทั มีเจ้าหน้าทีค่ วบคุมการ จัดส่งน�า้ มัน (Inspector) ก�ากับดูแลการจัดส่งตัง้ แต่ตน้ ทางจนถึงสถาน ที่จัดส่งน�้ามันปลายทางและควบคุมการปฎิบัติงานของผู้ขนส่งให้เป็น ไปตามมาตรฐานที่ ถู ก ต้ อ งในด้ า นความปลอดภั ย ต่ อ ชี วิ ต และสิ่ ง แวดล้อม หากเกิดเหตุฉุกเฉินก็มีวิธีปฎิบัติตามมาตรฐานสากล เช่น
60
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
กรณีมนี า�้ มันรัว่ ไหลระหว่างการรับส่งน�า้ มันทางทะเล ผูข้ นส่งจะมีการ ล้อมทุน่ ลอยน�า้ (Boom Oil) ป้องกันน�า้ มันทีร่ วั่ ไหลในระดับหนึง่ และ มีการขจัดคราบน�า้ มันบนท้องทะเลให้หมดสิน้ ได้ จนสามารถท�าให้เกิด ความมั่นใจได้ว่าจะไม่มีมลพิษออกไปสู่สิ่งแวดล้อมเป็นแน่แท้ 2.2 การสร้างจิตส�านึกด้านสิ่งแวดล้อม
บริ ษั ท ได้ ส ่ ง เสริ ม ให้ ภ ายในองค์ ก รมี ก ารอบรมเกี่ ย วกั บ นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม ตัง้ แต่การปฐมนิเทศ กรรมการและพนักงานใหม่ที่เข้ามาภายในองค์กร และมีการปลูกฝัง ให้ผู้บริหารและพนักงานมีจิตส�านึกที่ดีต่อการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติ แ ละรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มทุ ก ระบบนิ เ วศ ในผู ้ บ ริ ห ารและ พนักงานภายในองค์กรมีกิจกรรมปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง จ�านวนหลายกิจการที่ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม เช่น กิจกรรมการท�าลายน�้ามันตัวอย่างและขวดบรรจุภัณฑ์ กิจกรรมประหยัดพลังงาน กิจกรรมลดการใช้กระดาษ เป็นต้น ซึง่ จาก กิจกรรมการท�าลายน�้ามันตัวอย่างและขวดบรรจุภัณฑ์ บริษัทได้จัด ท�าขั้นตอนการก�าจัดน�้ามันอย่างเป็นระบบและคัดเลือกผู้ก�าจัดน�้ามัน ที่มีมาตรฐานระดับสูง เพื่อป้องกันน�้ามันกลับมาสร้างมลภาวะสู่สิ่ง แวดล้อม ส่วนขวดบรรจุภัณฑ์ที่เป็นพลาสติกจะน�าไปรีไซเคิลด้วย กรรมวิธที ถี่ กู ต้องตามหลักมาตรฐานอุตสาหกรรม และไม่เป็นการเพิม่ ปริมาณขยะกลับมาท�าลายสิ่งแวดล้อม ซึ่งทุกขั้นตอนของการปฏิบัติ งานหรือของบริษัทจะตระหนักถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย และสิ่ง แวดล้อมเป็นส�าคัญ เพื่อให้สิ่งแวดล้อมมีความยั่งยืนร่วมกับองค์กร
มีมาตรการรักษาความลับของผูร้ อ้ งเรียน และมีกระบวนการน�าข้อร้อง เรียนดังกล่าวเสนอต่อประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการ ตรวจสอบ หรือประธานกรรมการก�ากับดูแลกิจการ โดยจะพิจารณา ไต่สวน ออกมาตรการลงโทษทางวินัยหรือทางกฎหมายต่อบุคคลที่ ทุจริตหรือกระท�าความผิดต่อไป และจะแจ้งกลับผลการพิจารณาหรือ รายงานความคืบหน้าให้แก่ผู้ร้องเรียนได้รับทราบจนกระทั่งเสร็จสิ้น กระบวน ซึง่ มาตรการการต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน่ เป็นกลไกหนึง่ ทีจ่ ะ สร้างความเชื่อมั่นให้กับองค์กรในการด�าเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม และตรวจสอบได้ 3.2 การเคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบต ั ต ิ อ ่ แรงงานอย่างเป็นธรรม
บริษทั ให้ความส�าคัญเกีย่ วกับด้านแรงงาน และการส่งเสริม ให้มีการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างเป็นระบบทุกกระบวนการ เพื่อ น�าไปสู่การขับเคลื่อนองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ให้ความ ส�าคัญและส่งเสริมการพัฒนาความรู้ ความสามารถของพนักงาน การ จัดสวัสดิการและผลตอบแทนที่เหมาะสมและเป็นธรรมแก่พนักงาน และสร้างสภาพแวดล้อมการท�างานที่มีความปลอดภัยต่อชีวิตและ ทรัพย์สินของพนักงาน ทั้งนี้ บริษัทได้มีการก�าหนดนโยบายคุณภาพ ความปลอดภัย ชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีระบบการท�างาน ที่มุ่งเน้นความปลอดภัยและสุขอนามัยในสถานทีท่ า� งาน และระหว่าง การปฏิบตั งิ านอย่างเหมาะสม บริษัทได้ให้สวัสดิการแก่พนักงานและครอบครัว เช่น ทุน การศึกษาแก่บตุ รของพนักงานทีม่ ผี ลการเรียนดี ซึง่ เป็นการสนับสนุน ด้านการศึกษาให้แก่เยาวชน การให้สิทธิพนักงานท�าประกันสุขภาพ ให้แก่สามี/ภริยาและบุตรของพนักงานในอัตราเบี้ยประกันกลุ่ม ซึ่ง 3. การพัตนาอย่างยั่งยืนด้านสังคม เป็นการเพิ่มความคุ้มครองด้านสุขภาพให้กับครอบครัวพนักงานและ 3.1 การประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรม บริ ษั ท มุ ่ ง มั่ น ในการด� า เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งเป็ น ธรรมและมี ลดภาระค่าใช้จา่ ยให้กบั พนักงานบริษทั อีกทางหนึง่ และยังมีสวัสดิการ จริยธรรม ด�าเนินการให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบที่ ตรวจสุขภาพประจ�าปีให้แก่พนักงานทุกคน นโยบายควบคุมชัว่ โมงการ เกี่ยวข้องกับการด�าเนินธุรกิจของบริษัทโดยเคร่งครัด ไม่กระท�าการ ท�างานและการพักผ่อน เพือ่ ป้องกันความเหนือ่ ยล้าของพนักงานและ ใดๆอันเป็นการส่งเสริมหรือสนับสนุนให้มกี ารปฏิบตั ทิ ผี่ ดิ กฎหมายหรือ ป้องกันอุบัติเหตุจากการท�างาน อีกทั้งมีนโยบายว่าด้วยการข่มขู่ หลีกเลี่ยงกฎหมาย ไม่สนับสนุนการด�าเนินการที่มีลักษณะเป็นการ คุกคามในสถานที่ท�างาน เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในการท�างานและ ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ และต่อต้านการคอร์รัปชั่น พนักงานให้มีความเคารพซึ่งกันและกัน อันเป็นหลักการเคารพสิทธิ ทุกรูปแบบ จึงได้มีการก�าหนดนโยบายต่างๆ เพื่อเป็นกรอบแนวทาง มนุษยชนขั้นพื้นฐาน บริษัทให้ความส�าคัญกับสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน ส่งเสริม ในการด�าเนินธุรกิจอย่างเป็นธรรม เช่น นโยบายความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ นโยบายแนวปฏิบัติในการด�าเนินธุรกิจ นโยบายต่อต้าน การเคารพต่อสิทธิและเสรีภาพด้วยการไม่เลือกปฏิบัติ ส่งเสริมความ เสมอภาค ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น เคารพสิทธิในการแสดงความคิด การทุจริตคอร์รัปชั่น ในปี 2559 บริษัทได้เปิดช่องทางให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน คู่ค้า เห็นของพนักงาน ครอบคลุมถึงการมีอิสระในการให้ความเห็นโดย ลูกค้า ชุมชน พนักงาน หรือผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายสามารถแสดงความ ปราศจากการแทรกแซง จัดให้มชี อ่ งทางสือ่ สารเพือ่ รับฟังความคิดเห็น คิดเห็น เสนอแนะ ตลอดจนการร้องเรียน และการแจ้งเบาะแสการทุ ของผู้มีส่วนได้เสียอย่างเสรี จริตคอร์รัปชั่นของคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานบริษัท ไว้ หลากหลายช่องทาง เช่น ทางโทรศัพท์ ทางไปรษณีย์ ทางอีเมล์ หรือ ทางเว็บไซต์ เป็นต้น ตามนโยบายการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น บริษัท
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
61
ไปที่สารบัญ
การยอมรับและความเชื่อมั่นจากลูกค้า และได้รับรางวัลในด้านความ ปลอดภัย มั่นคง อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมจากลูกค้าด้วยเช่นกัน บริษัทตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อลูกค้าเป็นส�าคัญ จึง ได้ก�าหนดให้มีการประเมินความพึงพอใจของลูกค้าปีละ 2 ครั้ง โดยมี การประเมิน 3 ด้าน คือ ระบบการสั่งซื้อสินค้า มาตรฐานการจัดส่ง สินค้า และมาตรฐานระบบเอกสาร โดยผลทีไ่ ด้รบั จะน�ามาด�าเนินการ พัฒนาปรับปรุงระบบการท�างานให้ดียิ่งขึ้น ภายใต้ระบบการจัดการ คุณภาพ ISO 9001 บริษัทมีการด�าเนินการให้เป็นไปตามข้อก�าหนด ซึง่ ค�านึงถึงการพัฒนาการให้บริการเป็นส�าคัญ ทัง้ มีการบริหารจัดการ ข้อร้องเรียนและน�าไปปรับปรุงพัฒนาให้มีผลสอดคล้องกับนโยบาย ของบริษัทเช่นกัน
3.3 ความรับผิดชอบต่อลูกค้าหรือผู้บริโภค
บริษทั มุง่ เน้นการสร้างความพึงพอใจให้แก่ลกู ค้า ตลอดจน การสร้างความสัมพันธ์อนั ดีและการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ลูกค้า บริษทั ก�าหนดนโยบายควบคุมสินค้าสูญหาย และการขนส่ง เพื่อควบคุม คุณภาพ ปริมาณของผลิตภัณฑ์ทกุ ครัง้ ในระหว่างการขนส่ง และรักษา มาตรฐานการให้บริการเป็นส�าคัญ เพื่อให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ สูงสุด บริษัทได้เพิ่มมาตรฐานควบคุมการจัดส่งสินค้าทางเรือและ ทางรถเพิ่ ม เติ ม มอบหมายให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ค วบคุ ม การจั ด ส่ ง น�้ า มั น (Inspector) ควบคุมก�ากับดูแลการจัดส่งน�า้ มันตัง้ แต่คลังต้นทางจนถึง สถานที่จัดส่งน�้ามัน เพื่อให้ลูกค้ามั่นใจได้ว่าได้รับน�้ามันที่ถูกต้องครบ ถ้วน และมีคุณภาพตรงตามที่ต้องการ อันเป็นความรับผิดชอบต่อผู้ บริโภค ตามหลักการด�าเนินงานด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่ง บริษัทได้รับรางวัล Best Practice ผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการ บริหารจัดการธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิ ช ย์ โดยบริ ษั ท ด� า เนิ น การการจั ด ส่ ง ภายใต้ ค วาม ปลอดภัยและเป็นไปตามมาตรฐานการขนส่งน�้ามัน ส�าหรับการให้บริการด้าน Catering and Service บริษัทมี การบริการเป็นไปตามมาตรฐานสากล และความประสงค์ของลูกค้า ทั้งในด้านคุณภาพ ความสะอาด ชีวอนามัย ความปลอดภัย รวมไปถึง ความซือ่ สัตย์ในการให้บริการ ตามนโยบายคุณภาพ และนโยบายความ ปลอดภัย ชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมของบริษัท ส่งผลให้บริษัทได้รับ 62
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
3.4 การมีสว ่ นร่วมในการพัฒนาชุมชนและสังคม และดูแลรักษา สิ่งแวดล้อม
การด�าเนินธุรกิจของบริษทั จะยึดการปฎิบตั ติ ามพันธกิจเป็น ส�าคัญ ในด้านการส่งเสริมนโยบายรักษาสิง่ แวดล้อมและมีความรับผิด ชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ได้ก�าหนดเป็นวิสัยทัศน์และพันธกิจใน ปี 2559 บริษทั ตระหนักถึงการให้ความส�าคัญด้านความรับผิดชอบต่อ สังคม สิ่งแวดล้อม และชุมชน ตั้งแต่ระดับผู้บริหาร พนักงานหรือ บุคลากรทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร เพือ่ ด�าเนินกิจกรรมและสร้าง การมีส่วนร่วมในด้านดังกล่าว เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับนโยบาย คุณภาพและนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม รวม ถึงปลูกฝังการส่งเสริมให้มีความใส่ใจต่อสังคม สิ่งแวดล้อมและชุมชน อยู่เสมอ เนื่องด้วยบริษัทท�าธุรกิจจัดจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิง และ ธุรกิจให้บริการในการจัดหาอาหาร วัตถุดิบ และให้บริการอื่นๆ ให้แก่ ลู ก ค้ า ทางทะเลเป็ น ส่ ว นใหญ่ บริ ษั ท รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้อมตามนโยบายการก�ากับดูแลกิจการ เพือ่ ดูแลรักษาทรัพยากร ทางทะเล และสิง่ แวดล้อมให้คงอยูก่ บั สังคมต่อไป โดยด�าเนินการตาม นโยบายแนวปฏิบัติในการด�าเนินธุรกิจ ซึ่งผู้บริหารจะไม่กระท�าการ ใดๆ ทีก่ อ่ ให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม พร้อมสนับสนุนให้มกี ารจัดกิจกรรมเพือ่ สร้างสรรค์สงั คม และปลูกจิต ส�านึกให้พนักงานทุกระดับมีความรับผิดชอบต่อสังคม
ไปที่สารบัญ
บริษัทมีนโยบายแนวทางปฏิบัติของผู้บริหารต่อสังคมโดย ส่วนรวมที่ก�าหนดให้ผู้บริหารปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบที่ เกีย่ วข้องกับการด�าเนินธุรกิจจัดจ�าหน่ายน�า้ มันเชือ้ เพลิง และธุรกิจให้ บริการทางบกทางทะเล และไม่กระท�าการใดๆอันเป็นการส่งเสริมหรือ สนับสนุนให้มีการปฏิบัติผิดต่อกฎหมายหรือหลีกเลี่ยงกฎหมาย อัน เป็นความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม และถือว่าเป็นสิง่ ส�าคัญ ที่บริษัทต้องยึดถือปฏิบัติและด�าเนินการอย่างต่อเนื่อง ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มของบริ ษั ท แบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ ส่วนความรับผิดชอบในกระบวนการ (CSR-in-process) ซึ่งบริษัทได้มีระบบการจัดการคุณภาพก�าหนดไว้ ตามนโยบายคุณภาพ และกิจกรรมเพื่อสังคม (CSR-after-process) ซึ่งบริษัทมีการจัดตั้งคณะท�างานกิจกรรมเพื่อสังคม เพื่อด�าเนินงาน ด้านกิจกรรมที่คืนประโยชน์กลับสู่สังคม สิ่งแวดล้อม และชุมชน โดย คณะท�างานได้มีการประชุมและเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านการ ศึกษาให้แก่เยาวชน และด้านการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล เป็นหลัก เช่น การมอบทุนการศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชนทีข่ าดแคลน ทุนการศึกษา การสมทบทุนในการเข้าบูรณะโรงเรียนในถิน่ ทุรกันดาน การเก็บขยะริมชายหาดบริเวณชุมชนริมทะเล การปล่อยพันธ์สัตว์น�้า คืนสู่ทะเล เป็นต้น กิจกรรมทั้งหมดสอดคล้องกับนโยบายด้านการ สนับสนุนเรือ่ งการศึกษาและการรักษาธรรมชาติ อีกทัง้ บริษทั เล็งเห็น การปลูกจิตส�านึกเรือ่ งการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลทีต่ อ้ ง ท�าร่วมกับการพัฒนาชุมชนริมทะเล พร้อมทั้งส่งเสริมให้เด็กเยาวชน ในชุ ม ชนริ ม ทะเลหรื อ ส่ ง เสริ ม สถาบั น การศึ ก ษารู ้ จั ก ดู แ ลรั ก ษา ทรัพยากรทางทะเลและระบบนิเวศธรรมชาติให้อยู่คู่กับสังคมต่อไป นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อ ก� า หนดกรอบแนวทางการด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ให้ ชั ด เจนและ ก�าหนดให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานบริษทั ปฏิบตั ไิ ปในทิศทาง เดียวกัน แบ่งออกเป็น 6 แนวปฏิบัติ ได้แก่ 1) การก�ากับดูแลกิจการ ทีด่ ี 2) การประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรม 3) การเคารพสิทธิมนุษย ชน/การปฏิบัติด้านแรงงานอย่างเป็นธรรม 4) การมีส่วนร่วมพัฒนา ชุมชนและการส่งเสริมการศึกษา 5) การดูแลอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม และ 6) ความรับผิดชอบต่อลูกค้า คู่แข่ง คู่ค้า เจ้าหนี้ ซึ่งสอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ และพันธกิจประจ�าปี 2559
โดยมีคณะท�างานกิจกรรมเพือ่ สังคมเพือ่ เป็นหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ และก�ากับดูแลงานให้เป็นไปตามนโยบายความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัท ได้ท�าการวิเคราะห์และเชื่อมโยงผู้มี ส่วนได้เสียในกระบวนการธุรกิจของบริษัท อาทิ การจัดส่งสินค้า การ จัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบคุณภาพสินค้า และประเมินความเสี่ยงที่ อาจเกิดผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสียในแต่ละขั้นตอน พร้อมทั้งหา มาตการป้องกันและแก้ไขเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อทุกฝ่าย นโยบายแนวปฏิบตั ใิ นการด�าเนินธุรกิจ (Business Code of Conduct) เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติในด้านจริยธรรมและจรรยา บรรณของคณะกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และผู้ถือหุ้น โดยสรุป รายละเอียดที่ส�าคัญ ดังนี้ - มุ่งเน้นการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส เป็นธรรม และรักษาผลประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้น และ ไม่ ด� า เนิ น การใดๆที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ บริ ษั ท (สอดคล้องกับการประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม) - ด�าเนินการให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบที่ เกี่ยวข้องกับการด�าเนินธุรกิจโดยเคร่งครัด และไม่กระท�าการ ใดๆ อันเป็นการส่งเสริมหรือสนันสนุนให้มีการปฏิบัติที่ผิด กฎหมายหรือหลีกเลี่ยงต่อกฎหมาย (สอดคล้องกับการต่อต้าน การทุจริตคอร์รัปชั่น) - ผู้บริหารไม่เรียก รับ หรือยอมว่าจะรับ รวมทั้งไม่ให้ หรือว่า จะให้ผลประโยชน์ใดๆที่ไม่สุจริต หรือมิใช่ในทางธรรมเนียม การค้ากับคู่ค้า และ/หรือ เจ้าหนี้ และให้ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทที่ ถูกต้อง และตรงกับข้อเท็จจริงเสมอ (สอดคล้องกับการต่อต้าน การทุจริตคอร์รัปชั่น) - การให้ความเคารพต่อความเป็นปัจเจกชนและศักดิ์ศรีของ ความเป็ น มนุ ษ ย์ ข องพนั ก งาน และหลี ก เลี่ ย งกระท� า ใดๆ ที่ไม่เป็นธรรม และอาจคุกคามและสร้างความกดดันต่อสภาพ จิตใจของพนักงาน (สอดคล้องกับการเคารพสิทธิมนุษยชน) - การปฏิ บั ติ ต ่ อ พนั ก งานด้ ว ยการจั ด ให้ มี ส วั ส ดิ ก ารและ ผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมและเป็นธรรม รวมถึงการให้ความส�าคัญ และส่งเสริมการพัฒนาความรู้ ความสามารถของพนักงานอย่าง ทั่วถึงและเป็นธรรม (สอดคล้องกับการปฏิบัติต่อแรงงานอย่าง เป็นธรรม) - จัดให้มีบริการที่มีคุณภาพและรักษามาตรฐานคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ พร้อมทั้งปฏิบัติตาม เงื่อนไข ค�ามั่น หรือข้อเสนอที่ได้ให้ไว้แก่ลูกค้าหรือประชาชน โดยเคร่งครัด (สอดคล้องกับความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค) - ไม่ ก ระท� า การใดๆที่ อ าจก่ อ เกิ ด ความเสี ย หายต่ อ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และปลูกฝังจิตส�านึกให้ พนักงานทุกระดับมีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างจริงจัง และ สม�่าเสมอ พร้อมทั้งส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างสรรค์ สังคม รวมถึงการคืนก�าไรให้แก่สังคม (สอดคล้องกับการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม / การร่วมพัฒนาชุมชนหรือสังคม) “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
63
ไปที่สารบัญ
กระบวนการจัดท�ารายงาน บริษัทได้ให้ความส�าคัญกับแนวทางปฏิบัติการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยมีนโยบายในการ ก�าหนดการปฏิบัติเพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อม ซึง่ บริษทั ได้จดั ท�ารายงานความยัง่ ยืนให้เป็นรูป ธรรมแล้วในปี 2559 โดยจัดท�ารายงานความยั่งยืนของ องค์กรแห่ง ความริเริ่มว่าด้วยการรายงานสากล (Global Reporting Initiative: GRI) ซึ่งก�าหนดให้มีเนื้อหาและรายละเอียดสอดคล้องหลักเกณฑ์ ข้อก�าหนดตามแนวกรอบของ GRI กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ ป ร ะ โ ย ช น ์ ต ่ อ สั ง ค ม แ ล ะ สิ่งแวดล้อม (CSR-After-Process) บริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) เป็นบริษัทหนึ่งในเครือ กลุม่ นทลิน จึงได้ดา� เนินกิจกรรมร่วมกับบริษทั ในกลุม่ บริษทั นทลินเพือ่ จัดกิจกรรมทางสังคม โดยมุ่งเน้นประโยชน์คืนกลับสู่สังคม สร้างพื้น ฐานการศึกษาให้แก่บคุ ลากรของชาติในอนาคต และดูแลรักษาอนุรกั ษ์ ทรัพยากรทางทะเล รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆไว้ให้คงอยู่กับ สังคมต่อไป ซึง่ บริษทั มีบทบาทต่อสังคมทีช่ ดั เจน ในการช่วยเหลือด้าน ทุนการศึกษาให้แก่เด็กนักเรียนของโรงเรียนต่างๆ รวมถึงมอบทุนเรียน ดีให้แก่บตุ รของพนักงานบริษทั ซึง่ เป็นแนวทางปฏิบตั ขิ องผูบ้ ริหารต่อ สังคมโดยส่วนรวม อีกทัง้ เป็นการคืนก�าไรสูส่ งั คมและสร้างฐานอนาคต ของชาติต่อไป กิจกรรมและโครงการเพื่อสังคมของบริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) ในปี 2559 - กิ จ กรรม “บริ จ าคสนั บ สนุ น ของขวั ญ วั น เด็ ก ” โดย บริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) ร่วมกับกลุ่มบริษัทนทลิน บริจาคเงิน อาหาร เครือ่ งดืม่ และอุปกรณ์การกีฬาให้แก่โรงเรียน ผ่ อ งพลอยอนุ ส รณ์ เพื่ อ สนั บ สนุ น กิ จ กรรมวั น เด็ ก ในวั น ที่ 8 มกราคม 2559 - โครงการ “ร่วมบริจาคโลหิต ช่วยต่อชีวติ ด้วยโลหิต ผูใ้ จบุญ” ประจ�าปี 2559 โดยบริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) ร่วมกับกลุ่ม บริษัทนทลิน ซึ่งจัดขึ้นปีละ 4 ครั้ง ในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 19 พฤษภาคม 18 สิงหาคม และ 17 พฤศจิกายน 2559 ซึ่งกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานบริษัทได้ให้ความร่วมมือ เข้าร่วมโครงการเป็นอย่างดี - โครงการ “การแข่งขันกอล์ฟการกุศล” ร่วมกับชมรมกอล์ฟ ปลาสลิด (เค็ม) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหารายได้สนับสนุนเป็น ทุนการศึกษาและกิจกรรมสาธารณกุศล ในวันที่ 27 พฤษภาคม 2559 ซึ่งบริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) และชมรมกอล์ฟ ปลาสลิด (เค็ม) ร่วมกันมอบทรัพย์ที่บริจาคให้แก่นักเรียนหรือ โรงเรียนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ในการศึกษา
64
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
- โครงการ “เก็บขยะชายหาด และปลูกต้นไม้” ท�าความดี ถวายเป็นพระราชกุศลให้แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ร่ ว มกั บ กลุ ่ ม บริ ษั ท นทลิ น และ บริษัท ไออาร์พีซี จ�ากัด (มหาชน) ในวันที่ 16 ธันวาคม 2559 ซึ่งบริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) ได้เข้าร่วมท�ากิจกรรม เก็บขยะพืน้ ทีร่ มิ ชายหาดบริเวณท่าเรือไออาร์พซี ี จังหวัดระยอง เพื่ อ ลดขยะและสิ่ ง ปฏิ กู ล ในระบบนิ เ วศและร่ ว มกั น เสวนา การแก้ไขปัญหาขยะชายฝั่งและการอนุรักษ์ธรรมชาติแวดล้อม ทางทะเล
ไปที่สารบัญ
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง ในปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความระมัดระวัง รอบคอบ และมีความเป็นอิสระอย่างเพียงพอในการแสดง ความคิดเห็น เพือ่ ประโยชน์สงู สุดต่อองค์กร และได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบและบทบาทหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษทั อย่างครบถ้วน ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นโดยรวมว่า บริษทั ฯมีระบบการก�ากับดูแลกิจการและระบบควบคุม ภายในทีเ่ พียงพอและเหมาะสมกับการด�าเนินธุรกิจ ส่วนการจัดท�ารายงานข้อมูลทางการเงินของบริษทั และบริษทั ย่อย แสดงข้อเท็จจริงในส่วน ที่เป็นสาระส�าคัญอย่างครบถ้วน ถูกต้องตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย (Thai Financial Reporting Standard –TFRS ) และ มีการเปิดเผยข้อมูลเป็นไปตามกฎหมายและข้อก�าหนดที่เกี่ยวข้อง มีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเพียงพอ มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อก�าหนด และข้อผูกพันต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนินธุรกิจของบริษัท มีการเปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันอย่างถูกต้อง รวมทั้งบริษัทฯ มีการพัฒนาปรับปรุงระบบการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพที่ดีขึ้นและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในประจ�าปีของบริษัท และน�าเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้มั่นใจว่าการด�าเนินงาน ของบริษัทเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและบรรลุตามเป้าหมายทีก่ า� หนดไว้ โดยพิจารณาจากรายงานผลการตรวจสอบภายใน และ ความเห็นของผู้สอบบัญชี ในกระบวนการปฏิบัติงานและควบคุมระบบงานที่ส�าคัญของบริษัทฯ ซึ่งไม่พบจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องที่เป็นสาระ ส�าคัญ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 คณะกรรมการได้ประเมินระบบการควบคุม ภายในที่ผ่านการสอบทานจากคณะกรรมการตรวจสอบโดยสรุปได้ว่า จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทในด้านต่างๆ 5 องค์ ประกอบ คือ 1) การควบคุมภายในองค์กร 2) การประเมินความเสี่ยง 3) การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร 4) ระบบสารสนเทศและ สื่อสารข้อมูล และ 5) ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่า บริษัทมีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มี ประสิทธิผลเพียงพอและเหมาะสมกับการด�าเนินธุรกิจในปัจจุบนั และสามารถสร้างความเชือ่ มัน่ อย่างมีเหตุผลต่อความเชือ่ ถือได้ของงบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทของบริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�าหรับปี 2559 แสดงฐานะการเงิน ผลการด�าเนินงาน และกระแสเงินสด โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�าคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ระบบควบคุมภำยในและระบบกำรตรวจสอบภำยใน
คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและประเมินความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายในประจ�าปี 2559 น�าเสนอต่อคณะ กรรมการบริษัท เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯมีระบบการควบคุมภายในที่ เหมาะสมและเพียงพอในการด�าเนินธุรกิจของบริษัท โดยพิจารณา จากรายงานผลการตรวจสอบภายใน ในกระบวนการปฏิบัติงานหลัก ที่ส�าคัญของบริษัทฯ การสอบทานการบริหารความเสี่ยง ซึ่งไม่พบจุด อ่อนหรือข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�าคัญ 1. การควบคุมภายในองค์กร
คณะกรรมการและผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท มี ก ารก� า หนด แนวทาง และมี ก ารปฎิ บั ติ ที่ อ ยู ่ บ นหลั ก ความความซื่ อ ตรงและ จริยธรรมในการด�าเนินธุรกิจ (Code of conduct) รวมถึงสื่อสาร ให้ พ นั ก งานรั บ ทราบ ซึ่ ง มี ก ระบวนการติ ด ตามและประเมิ น ผล การปฎิบัติอยู่อย่างต่อเนื่อง โดยคณะกรรมการมีความเป็นอิสระ จากฝ่ายบริหาร โดยท�าหน้าที่ก�ากับดูแลและพัฒนาการด�าเนินการ ด้านการควบคุมภายในที่ชัดเจน
2. การประเมินความเสี่ยง
บริษทั ฯ ได้ทา� การวิเคราะห์ความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ทัง้ จาก ปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งส่งผลกระทบต่อการด�าเนินธุรกิจทั้ง ระดับองค์กร หน่วยธุรกิจ และฝ่ายงานต่าง ๆ โดยมีการพิจารณาใน ส่วนของโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ อาทิ ด้าน กลยุทธ์, การด�าเนินงาน, การปฎิบัติตามกฎเกณฑ์ รวมถึงด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งนี้ บริษัทได้มีการก�าหนดมาตรการและแผน การปฎิบัติงานเพื่อจัดการความเสี่ยงอย่างชัดเจน 3. การควบคุมการปฎิบัติงาน บริษทั ฯได้มกี ารก�าหนดกิจกรรมในการควบคุมการปฎิบตั ิ งานให้มีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน ให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ เช่น การก�าหนดนโยบายและระเบียบปฎิบตั ิ เกี่ยวกับธุรกรรมด้านการเงิน การจัดซื้อ และการบริหารงานโดยรวม ตลอดจนก�าหนดอ�านาจ หน้าทีแ่ ละล�าดับชัน้ ในการอนุมตั ขิ องผูบ้ ริหาร ไว้อย่างชัดเจน รวมถึงได้มีการปฎิบัติงานให้มีความสอดคล้องเป็นไป ตามระบบการจัดการคุณภาพ ISO 9001 ซึง่ ได้ระบุกรอบการปฎิบตั งิ าน “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
65
ไปที่สารบัญ
ทีแ่ สดงความมุง่ มัน่ และยึดถือปฎิบตั ขิ องพนักงานเพือ่ บรรลุเป้าหมาย คือ นโยบายคุณภาพของบริษัท
ข้อมูลหัวหน้ำงำนตรวจสอบภำยใน
ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559 ได้แต่งตั้งบริษัท เวล แพลนนิ่ง โซลูชั่น จ�ากัด เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบภายใน 4. ระบบสารสนเทศและสื่อสารข้อมูล บริษัทฯ เล็งเห็นถึงความส�าคัญของข้อมูลและระบบการ ประจ�าปี 2559 ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาจากความเป็น สื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เพื่อใช้สนับสนุนในการควบคุมภายในให้ อิสระในการปฏิบัติงาน คุณภาพของงานตรวจสอบ ความรู้ความ สามารถด�าเนินการไปได้ตามแนวทางที่ได้ก�าหนดไว้ ประกอบด้วย สามารถในวิ ช าชี พ รวมทั้ ง พิ จ ารณาแผนการตรวจสอบภายใน ข้อมูลภายในและภายนอกทีม่ คี ณ ุ ภาพและเกีย่ วข้องกับการปฎิบตั งิ าน ของบริษัท เวล แพลนนิ่ง โซลูชั่น จ�ากัดแล้วเห็นว่า มีความเหมาะสม รวมถึงด�าเนินการเพือ่ ให้คณะกรรมการมีขอ้ มูลอย่างเพียงพอประกอบ เพียงพอกับการปฏิบัติงานด้านตรวจสอบภายใน การตัดสินใจในเรื่องพิจารณาต่าง ๆ ทั้งนี้ บริษัทฯได้จัดช่องทางใน การสือ่ สารข้อมูลไปยังผูเ้ กีย่ วข้องและผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างเหมาะสม ใน กำรบริหำรควำมเสี่ยง บริษัทตระหนักว่าการบริหารความเสี่ยงเป็นกลไกหนึ่งที่ สาระส�าคัญทีเ่ กีย่ วกับผลการด�าเนินงานของบริษทั และการจัดช่องทาง อื่นๆ เพื่อรับทราบข้อมูลที่ส�าคัญ เช่น การประเมินผลความพึงพอใจ ส�าคัญและจ�าเป็น จึงได้ก�าหนดแนวทางการบริหารความเสี่ยงของ จากลูกค้า การเพิม่ ช่องทางรับข้อร้องเรียนเพือ่ ให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียภายใน องค์กรขึน้ มา โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้บริษทั ได้รบั รูถ้ งึ ความเสีย่ งและ และภายนอกสามารถแจ้งข้อมูลหรือเบาะแสเกี่ยวกับการฉ้อฉลหรือ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อผลการด�าเนินงานของ บริษัท โดยจัดระดับความเสี่ยงขององค์กรไว้อย่างชัดเจน พร้อมทั้ง ทุจริตแก่บริษัทได้อย่างปลอดภัย ก�าหนดแนวทางป้องกันความเสี่ยงและแก้ไขความเสี่ยงที่เกิดขึ้น บริษัทจะพิจารณาทบทวนความเสี่ยงที่ระบุไว้ในกรอบการบริหาร 5. ระบบการติดตาม บริษัทฯ มีการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน ความเสี่ยงขององค์กรเป็นประจ�าทุกปี พร้อมทั้งก�าหนดให้มีการจัด เพือ่ สร้างความมัน่ ใจว่าระบบการควบคุมภายในยังด�าเนินไปอย่างครบ ประชุ ม คณะท� า งานบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น ประจ� า ทุ ก ไตรมาส ถ้วนและเหมาะสม จากการปฎิบตั งิ านให้มคี วามสอดคล้องเป็นไปตาม เพื่อประเมินและติดตามความเสี่ยงอันเกิดจากการด�าเนินงานอย่าง ระบบการจัดการคุณภาพนั้น ได้มีการแต่งตั้งคณะท�างานในการตรวจ สม�า่ เสมอ โดยมีคณะท�างานบริหารความเสีย่ ง ประกอบด้วย ผูบ้ ริหาร ติดตามภายใน เพื่อทวนสอบความถูกต้องในกระบวนการปฎิบัติงาน ของทุกฝ่ายงาน โดยมีประธานกรรมการบริหารเป็นหัวหน้าคณะ และรายงานผลการทวนสอบไปยังผูบ้ ริหารรับทราบ รวมถึงมีการแก้ไข ท�างาน ซึ่งคณะท�างานได้ทบทวนปัจจัยความเสี่ยงต่างๆทุกไตรมาส และติดตามประเด็นต่าง ๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพและ เพื่อก�าหนดกรอบแนวทางและมาตรการบริหารความเสี่ยง พิจารณา ประสิทธิผลในการด�าเนินงานอย่างมีมาตรฐาน ความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคตและเตรียมพร้อมเข้าแก้ไขความเสีย่ ง ด้านก�ากับดูแลระบบการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการ นั้นได้ทันท่วงที ซึ่งจะส่งผลให้บริษัทมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตรวจสอบได้พิจารณา คัดเลือก แต่งตั้งผู้ตรวจสอบภายในของบริษัท ในการท�างาน ทั้งนี้ ในปี 2559 บริษัทให้ความส�าคัญในการบริหาร โดยพิจารณาจากความเป็นอิสระในการปฏิบัติงาน คุณภาพของงาน ความเสี่ยง โดยประเมินความเสี่ยงด้านต่างๆ พร้อมก�าหนดแนวทาง ตรวจสอบ ความรู้ความสามารถในวิชาชีพ รวมทั้งพิจารณาให้ความ ป้ อ งกั น และแก้ ไ ขความเสี่ ย งจากปั จ จั ย ภายในและภายนอก เห็นชอบในแผนการตรวจสอบภายใน โดยใช้วธิ กี ารประเมินความเสีย่ ง (รายละเอียดปรากฏตามหัวข้อ “ปัจจัยความเสี่ยง”) และระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานของ COSO คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาผลการตรวจสอบภายใน ในแต่ละ ไตรมาส ตลอดจนก�ากับดูแลและติดตามการปรับปรุงแก้ไขการปฏิบตั ิ งานตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจสอบภายในเป็นประจ�าทุกไตรมาส บริษัทฯได้มีการก�าหนดนโยบายการต่อต้านทุจริตและ คอร์รัปชั่นเพื่อเป็นกรอบแนวทางการปฏิบัติงานให้กับกรรมการ ผู้บริหารตลอดจนพนักงานของบริษัท เพื่อให้ด�าเนินธุรกิจด้วยความ โปร่งใส เป็นธรรม และสามารถตรวจสอบได้ และได้เปิดช่องทาง การสื่อสารเพื่อรับข้อร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะจากบุคคลภายนอก และพนักงาน ในปี 2559 บริษัทฯได้ส่งเสริมการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อยกระดับนโยบายและมาตรการ ต่อต้านทุจริตให้มคี วามชัดเจนโดยมีรายละเอียดตามทีป่ รากฎในหัวข้อ การก�ากับดูแลกิจการในปี 2559 66
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
รายการระหว่างกัน บริษัทมีรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในปี 2559 ซึ่งสรุปได้ดังต่อไปนี้ บุคคลที่อำจมีควำมขัดแย้ง 1. บริษัท นทลิน จ�ากัด (“นทลิน”) ประกอบธุรกิจขนส่ง น�้ามันทางเรือ ควำมสัมพันธ์ - เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ บริษัท โดยถือหุ้นร้อยละ 45.05 ของทุนที่ออกและ เรียกช�าระแล้ว - มีกรรมการร่วมกัน 3 ท่าน ได้แก่ 1. นายสุรพล มีเสถียร 2. นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข 3. นางสาวนีรชา ปานบุญห้อม
ลักษณะรำยกำร
มูลค่ำรำยกำรระหว่ำงกัน (ล้ำนบำท) สิ้นสุด 31 ธันวำคม 2559
ควำมจ�ำเป็นและควำมเหมำะสม ของรำยกำรระหว่ำงกัน
รายได้จากการขายสินค้า - บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่นทลิน โดย ก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุนบวกก�าไร (Cost Plus Pricing Method)
3.90
- การขายสินค้าดังกล่าวเป็นการ ด�าเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัท โดยมีราคาขายและเงื่อนไขการค้า เช่นเดียวกันกับการขายสินค้าให้กับ ลูกค้ารายอื่น - รายการดังกล่าวเป้นรายการที่ สมเหตุสมผล เนื่องจากเป็นรายการ ค้าปกติ และมีการก�าหนดราคาและ เงื่อนไขการค้าเป็นไปตามเงื่อนไข การค้าทั่วไป
ค่าเช่าและค่าบริการ - บริษัทเช่าพื้นที่ของอาคารนทลิน ชั้น 6 อาคารบี เนื้อที่รวม 406.83 ตร.ม. เพื่อใช้เป็นส�านักงานของบริษัท มีอายุสัญญา เช่า 3 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มิ.ย. 57 ถึง 31 พ.ค. 60 โดยจ่ายค่า เช่าและค่าบริการเดือนละ 142,390.50 บาท หากครบก�าหนด อายุสัญญาแล้ว บริษัทประสงค์จะเช่าต่อต้องต่ออายุสัญญาอีก 3 ปี ในปี 58 บริษัทเช่าพื้นที่เพิ่มอีก 72.22 ตร.ม ซึ่งสัญญาเริ่ม 1 ต.ค 58 ถึง 31 พ.ค. 60 โดยจ่ายค่าเช่าและค่าบริการเพิ่ม เดือนละ 25,277 บาท
2.21
บริษัทจ่ายค่าเช่าและค่าบริการให้กับ นทลิน ในอัตราเช่าที่ตกลงกันใน สัญญา ซึ่งอัตราดังกล่าวเป็นอัตรา เดียวกับที่นทลินคิดกับบริษัทในกลุ่ม นทลิน และบุคคลภายนอกที่เช่า พื้นที่ และสามารถเทียบเคียงได้กบั อัตราค่าเช่าพืน้ ทีบ่ ริเวณใกล้เคียงได้ รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล โดยมีอัตราค่าเช่าและเงื่อนไขตามที่ ตกลงกัน ในอัตราที่เหมาะสม
ค่าที่ปรึกษาทางกฏหมาย - บริษัทจ่ายค่าบริการที่ปรึกษาทางกฎหมาย ในการรับรอง เอกสารและสอบทานสัญญา ให้แก่นทลิน โดยมีอัตราค่า บริการชั่วโมงละ 3,500 บาท โดยมีการเปรียบเทียบอัตราค่า บริการกับบริษัทกฎหมายอื่น ซึ่งคิดค่าบริการต่อชั่วโมงใน อัตราที่สูงกว่าบริษัท นทลิน ดังนั้นจึงเลือกใช้บริการบริษัท นทลิน จ�ากัด
0.04
- รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล โดยมีอัตราค่าบริการและเงื่อนไขตาม ที่ตกลงกัน ในอัตราที่เหมาะสม
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
67
ไปที่สารบัญ
บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง
ลักษณะรายการ
มูลค่ารายการระหว่างกัน (ล้านบาท) สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2559
ความจ�าเป็นและความเหมาะสม ของรายการระหว่างกัน
บริษัท นทลิน จ�ำกัด (ต่อ) ค่ำบริหำรงำนสำรสนเทศ - บริษัทจ่ำยค่ำบริหำรงำนสำรสนเทศ ให้แก่นทลิน โดยมีอัตรำ ค่ำจ้ำงเดือนละ 21,421.35 บำท โดยมีอำยุสัญญำจ้ำง 1 ปี สัญญำเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พ.ย. 54 ถึงวันที่ 31 ต.ค. 55 เมื่อครบ ก�ำหนดอำยุสัญญำแล้ว ไม่มีกำรบอกเลิกสัญญำโดยคู่สัญญำทั้ง สองฝ่ำย ถือเป็นกำรต่ออำยุสัญญำจ้ำงเป็นระยะเวลำ 2 ปี ทันที ในปี 59 มีกำรต่ออำยุสัญญำตำมเงื่อนไขโดยมีอัตรำค่ำ จ้ำงในอัตรำเดิม มีปรับรำคำเพิ่มเดือนละ 27,300 และเรียก เก็บค่ำ License เดือนละ 11,550 บำท สัญญำเริ่ม 1 ก.ค.57 ถึง 31 ธ.ค.57 ซึ่งปัจจุบันมีกำรต่ออำยุสัญญำตำมเงื่อนไข สัญญำเริ่ม 1 เม.ย 59 ถึง 31 มี.ค.61 โดยจ่ำยค่ำบริกำรเดือน ละ 176,220 บำท
1.74
- บริษัทว่ำจ้ำงให้บริษัท นทลิน บริหำรงำนสำรสนเทศให้ เนื่องจำก บริษัทได้ใช้ระบบ Ship Manager เป็นระบบปฏิบัติงำนหลัก โดยระบบ ดังกล่ำวถูกพัฒนำขึ้นโดยกลุ่มนทลิน เพื่อใช้ส�ำหรับบริษัทที่ท�ำธุรกิจกี่ยว กับกำรขนส่งทำงเรือ - รำคำดังกล่ำวมีควำมจ�ำเป็นและ สมเหตุสมผล
ค่ำบริหำรงำนบุคคล - บริษัทจ่ำยค่ำบริหำรงำนบุคคล ให้แก่นทลิน โดยมีอัตรำค่ำ จ้ำงเดือนละ 22,699.47 บำท สัญญำเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 54 ถึงวันที่ 30 ก.ย. 55 เมื่อครบก�ำหนดอำยุสัญญำแล้ว ไม่มีกำร บอกเลิกสัญญำโดยคู่สัญญำทั้งสองฝ่ำย ถือเป็นกำรต่ออำยุ สัญญำจ้ำงเป็นระยะเวลำ 2 ปี ทันที ในปี 2558 มีกำรต่ออำยุ สัญญำตำมเงื่อนไข โดยมีกำรปรับรำคำเป็นเดือนละ 27,720 บำท สัญญำเริ่ม 1 ม.ค.58 ถึง 31 ธ.ค.58 และ ปัจจุบันมีกำร ต่ออำยุสัญญำตำมเงื่อนไข อัตรำค่ำบริกำรเดือนละ 3,000 บำทต่อคนต่อเดือน) สัญญำเริม่ 1 พ.ค 59 ถึง 30 เม.ย.60
1.00
- ก่อนหน้ำนี้ บริษัทท�ำสัญญำว่ำจ้ำง บริหำรงำนบุคคลกับบริษัท นทลิน แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด ต่อมำมีกำรปรับ โครงสร้ำงกำรบริหำรงำนภำยในกลุ่ม นทลิน บริษัทจึงท�ำสัญญำว่ำจ้ำง บริหำรงำนบุคคลกับนทลิน แทน ทั้งนี้ บริษัทว่ำจ้ำงบริหำรงำนบุคคล เนื่องจำกบริษัทพิจำรณำต้นทุนกำร ว่ำจ้ำงพนักงำนเพื่อดูแลงำนบุคคล แล้วเห็นว่ำ นทลินมีควำมเชี่ยวชำญ ในงำนบริหำรบุคคลมำกกว่ำและมี อัตรำค่ำจ้ำงที่ต�่ำกว่ำหำกบริษัทว่ำ จ้ำงบุคลำกรเพือ่ มำดูแลงำนด้ำนนีเ้ อง - รำยกำรดังกล่ำวมีควำมสมเหตุสมผล โดยมีอัตรำค่ำจ้ำงและเงื่อนไขกำรท�ำ รำยกำรที่เหมำะสม
ค่ำภำษีโรงเรือน - บริษัทเช่ำพื้นที่ของอำคำรนทลิน ชั้น 6 อำคำรบี เนื้อที่รวม 479.05 ตร.ม. เพื่อใช้เป็นส�ำนักงำนของบริษัท ตำมเงื่อนไข ของสัญญำ ผู้เช่ำมีหน้ำที่ช�ำระภำษีโรงเรือนจำกกำรประเมิน จำกส�ำนักงำนเขตในแต่ละปี 210 บำท/ตร.ม *12.50%
0.13
- บริษัทจ่ำยค่ำเช่ำและค่ำบริกำรให้ กับนทลิน ในอัตรำเช่ำที่ตกลงกันใน สัญญำ ซึ่งอัตรำดังกล่ำวเป็นอัตรำ เดียวกับที่นทลินคิดกับบริษัทในกลุ่ม นทลิน และบุคคลภำยนอกที่เช่ำ พื้นที่ และสำมำรถเทียบเคียงได้กับ อัตรำค่ำเช่ำพื้นที่บริเวณใกล้เคียงได้ - รำยกำรดังกล่ำวมีควำมสมเหตุสมผล โดยมีอัตรำค่ำเช่ำและเงื่อนไขตำมที่ ตกลงกัน ในอัตรำที่เหมำะสม
68
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
บุคคลที่อำจมีควำมขัดแย้ง
ลักษณะรำยกำร
มูลค่ำรำยกำรระหว่ำงกัน (ล้ำนบำท) สิ้นสุด 31 ธันวำคม 2559
ควำมจ�ำเป็นและควำมเหมำะสม ของรำยกำรระหว่ำงกัน
บริษัท นทลิน จ�ากัด (ต่อ) สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น - บริษัทจ่ายค่าเงินประกันการเช่าอาคาร ตามสัญญาเช่าพื้นที่ อาคาร โดยเงินประกันดังกล่าว บริษัทจะได้รับเงินคืนโดยไม่มี ดอกเบี้ยภายใน 60 วันนับจากวันที่ครบก�าหนดในสัญญาเช่า โดยผู้เช่าต้องไม่มีภาระ และ/หรือหนี้สินใดค้างช�าระ รวมถึงค่า เช่าจ่ายล่วงหน้า 1 เดือนและค่าบริการอื่นๆ
0.10
- รายการดังกล่าวเป็นเงินประกันการ เช่าอาคารที่เกิดขึ้นตามสัญญาเช่า ใน กรณีที่บริษัทไม่มีภาระ และ/หรือ หนี้สินใดค้างช�าระ บริษัทจะได้รับ เงินประกันการเช่าคืน เมื่อหมดอายุ สัญญาเช่าแล้ว - รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล
ค่าบริหารค้างจ่าย - ค่าบริหารค้างจ่าย ได้แก่ ค่าไฟฟ้า ค่าบริหารงานสารสนเทศ และค่าบริหารงานบุคคล ที่บริษัทต้องจ่ายให้กับนทลิน
0.34
- ค่าบริหารค้างจ่ายเกิดขึ้นเนื่องจาก ก�าหนดเวลาการช�าระเงินตามสัญญา ไม่ตรงกับวันสิ้นงวดบัญชี โดยบริษัท ต้องช�าระเงินภายในวันที่ 10 ของทุก เดือน ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขที่ระบุใน สัญญาที่ตกลงกัน - รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล และมีเงื่อนไขตามที่ตกลงกันตาม สัญญา
เงินลงทุนระยะยาว - บริษัทเข้าลงทุนในหุ้นของคุณนทีรวมทั้งสิ้น 133,335 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 3.33 ของทุนที่ออกและเรียกช�าระแล้ว ของคุณนที
17.53
- รายการดังกล่าวเกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2547 และ 2548 โดยบริษัทเข้า ลงทุนในหุ้นของบริษัท คุณนที จ�ากัด ทั้งสิ้น 133,335 หุ้น หรือคิดเป็น ร้อยละ 3.33 อย่างไรก็ตาม หากใน อนาคตบริษัทจะเข้าลงทุนในหลัก ทรัพย์ จะต้องได้รับอนุมัติจากคณะ กรรมการ ก่อนการเข้าท�ารายการ และจะต้องปฎิบัติตามข้อก�าหนด ของส�านักงาน กลต. และตลาด หลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ ทีเ่ กีย่ วข้องด้วย
2. บริษัท คุณนที จ�ากัด (“คุณนที”) ประกอบธุรกิจขนส่ง น�้ามันทางเรือ ควำมสัมพันธ์ - มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือ นทลิน ซึ่งถือหุ้นใน บริษัท ร้อยละ 45.05 ของทุนที่ออกและเรียก ช�าระแล้ว และถือหุ้นใน คุณนที ร้อยละ 43.78 ของทุนที่ออกและเรียก ช�าระแล้ว
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
69
ไปที่สารบัญ
บุคคลที่อำจมีควำมขัดแย้ง บริษัท คุณนที จ�ากัด (ต่อ) - บริษัทถือหุ้นในคุณนที ร้อยละ 3.33 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน ได้แก่ นายสุรพล มีเสถียร
ลักษณะรำยกำร รายได้จากการขายสินค้า - บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่บริษัท คุณนที จ�ากัด โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุนบวกก�าไร (Cost Plus Pricing Method)
5.99
- บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่บริษัท คุณนที จ�ากัด โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุนบวกก�าไร (Cost Plus Pricing Method) โดย บริษัท Sea Oil Offshore Ltd.
7.19
3. บริษัท เอ็น.ที.แอล.มา รายได้จากการขายสินค้า รีน จ�ากัด - บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่บริษัท เอ็น.ที.แอล. มารีน จ�ากัด โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุน ประกอบธุรกิจขนส่ง บวกก�าไร (Cost Plus Pricing Method) น�้ามันทางเรือ ควำมสัมพันธ์ - ถือหุ้นโดยบริษัท พริมา มารีน จ�ากัด (“พริมา”) ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ออกและเรียก ช�าระแล้ว ซึ่งพริมามี ผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือ นทลิน ถือหุ้นในพริมา ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว และถือหุ้นในบริษัท ร้อยละ 45.05 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว - มีกรรมการร่วมกัน ได้แก่ 1) นายสุรพล มีเสถียร
70
มูลค่ำรำยกำรระหว่ำงกัน (ล้ำนบำท) สิ้นสุด 31 ธันวำคม 2559
ควำมจ�ำเป็นและควำมเหมำะสม ของรำยกำรระหว่ำงกัน - การขายสินค้าดังกล่าวเป็นการ ด�าเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัท โดยมีราคาขายและเงื่อนไขการค้า เช่นเดียวกันกับการขายสินค้าให้กับ ลูกค้ารายอื่น
139.68
- การขายสินค้าดังกล่าวเป็นการ ด�าเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัท โดยมีราคาขายและเงื่อนไขการค้า เช่นเดียวกันกับการขายสินค้าให้กับ ลูกค้ารายอื่น
- บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่บริษัท เอ็น.ที.แอล. มารีน จ�ากัด โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุน บวกก�าไร (Cost Plus Pricing Method) โดยบริษัท Sea oil Offshore Ltd.
3.99
- การขายสินค้าดังกล่าวเป็นการ ด�าเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัท โดยมีราคาขายและเงื่อนไขการค้า เช่นเดียวกันกับการขายสินค้าให้กับ ลูกค้ารายอื่น
- บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่บริษัท เอ็น.ที.แอล. มารีน จ�ากัด โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุน บวกก�าไร (Cost Plus Pricing Method) โดยบริษัท Sea Oil Petroleum PTE Ltd.
0.92
- การขายสินค้าดังกล่าวเป็นการ ด�าเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัท โดยมีราคาขายและเงื่อนไขการค้า เช่นเดียวกันกับการขายสินค้าให้กับ ลูกค้ารายอื่น
ลูกหนี้การค้า - เกิดขึ้นจากการขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่น โดยมี เงื่อนไขการช�าระเงิน (Credit term) เท่ากับ 30 วัน
24.31
- รายการดังกล่าวเป็นรายการที่สม เหตุสมผล เนื่องจากเป็นรายการค้า ปกติ และมีการคิดราคาและเงื่อนไข การค้าเป็นไปตามเงื่อนไขการค้า ทั่วไป
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
บุคคลที่อำจมีควำมขัดแย้ง 4.บริษัท ถาวรมารีน จ�ากัด ประกอบธุรกิจขนส่ง น�้ามันทางเรือ
ลักษณะรำยกำร
มูลค่ำรำยกำรระหว่ำงกัน (ล้ำนบำท) สิ้นสุด 31 ธันวำคม 2559
ควำมจ�ำเป็นและควำมเหมำะสม ของรำยกำรระหว่ำงกัน
รายได้จากการขายสินค้า - บริษัทขายสินค้าน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่ บริษัท ถาวรมารีน จ�ากัด โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุน บวกก�าไร (Cost Plus Pricing Method)
3.45
- การขายสินค้าดังกล่าวเป็นการ ด�าเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัท โดยมีราคาขายและเงื่อนไขการค้า เช่นเดียวกันกับการขายสินค้าให้กับ ลูกค้ารายอื่น
รายได้จากการขายสินค้า - บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่ บริษัท พริมา จ�ากัด โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุนบวกก�าไร (Cost Plus Pricing Method)
8.14
- การขายสินค้าดังกล่าวเป็นการ ด�าเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัท โดยมีราคาขายและเงื่อนไขการค้า เช่นเดียวกันกับการขายสินค้าให้กับ ลูกค้ารายอื่น
- บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่ บริษัท พริมา มารีน จ�ากัด โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุนบวก ก�าไร (Cost Plus Pricing Method)
2.11
- รายการดังกล่าวเป็นรายการที่ สมเหตุสมผล เนื่องจากเป็นรายการ ค้าปกติ และมีการคิดราคาและ เงื่อนไขการค้าเป็นไปตามเงื่อนไข การค้าทั่วไป
- บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่บริษัท พริมา มารีน จ�ากัด โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุนบวก ก�าไร (Cost Plus Pricing Method) โดย Sea Oil Offshore Ltd.
2.13
- รายการดังกล่าวเป็นรายการที่ สมเหตุสมผล เนื่องจากเป็นรายการ ค้าปกติ และมีการคิดราคาและ เงื่อนไขการค้าเป็นไปตามเงื่อนไข การค้าทั่วไป
ควำมสัมพันธ์ - มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือ นทลิน ซึ่งถือหุ้นใน บริษัท ร้อยละ 45.05 ของทุนที่ออกและเรียก ช�าระแล้ว และถือหุ้นใน บริษัท ถาวรมารีน จ�ากัด ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว 5. บริษัท พริมา มารีน จ�ากัด (“พริมา”) (เดิมชื่อ บริษัท นทลินออฟชอร์ จ�ากัด) ประกอบธุรกิจบริหาร ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและ ผลิตภัณฑ์อื่นส�าหรับ กิจการขุดเจาะและ ส�ารวจผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมและกิจการอื่น
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
71
ไปที่สารบัญ
บุคคลที่อำจมีควำมขัดแย้ง บริษัท พริมา มารีน จ�ากัด (ต่อ) ควำมสัมพันธ์ - มีผู้ถือหุ้นร่วมกัน คือ นทลิน ซึ่งถือหุ้นในบริษัท ร้อยละ 45.05 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว และถือหุน้ ในบริษทั พริมา มารีน จ�ากัด (เดิมชื่อ นทลินออฟชอร์ จ�ากัด) ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว มีกรรมการร่วมกัน 2 ท่าน ได้แก่ 1. นายสุรพล มีเสถียร 2. นายพร้อมพงษ์ ชัยศรีสวัสดิ์สุข
72
ลักษณะรำยกำร
มูลค่ำรำยกำรระหว่ำงกัน (ล้ำนบำท) สิ้นสุด 31 ธันวำคม 2559
ควำมจ�ำเป็นและควำมเหมำะสม ของรำยกำรระหว่ำงกัน
รายได้จากการให้บริการ - บริษัทรับจ้างจัดหาอาหาร ท�าความสะอาด และซักรีด ให้แก่ พนักงานประจ�าแท่นขุดเจาะน�้ามัน บนเรือพักอาศัย (Catering and Housekeeping Service) โดยคิดอัตราค่าบริการต่อคน ต่อวัน ตามอัตราที่ตกลงกัน
30.87
- การให้บริการในธุรกิจ Catering and Housekeeping Service เป็นไปตามราคาและเงื่อนไขการค้า ที่ตกลงกัน - รายการดังกล่าวเป็นรายการที่ สมเหตุสมผล โดยคิดอัตราค่าบริการ ต่อคนต่อวัน ตามอัตราที่ตกลงกันใน สัญญา ซึ่งเมื่อหักต้นทุนจากการให้ บริการแล้ว บริษัทยังมีก�าไรจากการ ด�าเนินธุรกิจดังกล่าวในอัตราที่ สมเหตุสมผล
ลูกหนี้การค้า - ลูกหนี้การค้าจากการขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่น โดยมีเงื่อนไขการช�าระเงิน (Credit term) เท่ากับ 30 วัน
1.69
- รายการดังกล่าวเป็นรายการที่ สมเหตุสมผล โดยมีอัตราค่าบริการ และเงื่อนไขเป็นไปตามสัญญา ที่ตกลงกัน
- ลูกหนี้การค้าจากการขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่น โดยมีเงื่อนไขการช�าระเงิน (Credit term) เท่ากับ 30 วัน โดย Sea Oil Petroleum PTE Ltd.
0.71
ค่าขนส่ง - บริษัทว่าจ้างบริษัท บริษัท พริมา มารีน จ�ากัด (เดิมชื่อ นทลิ นออฟชอร์ จ�ากัด) ขนส่งน�้ามันเบนซินเพื่อจ�าหน่ายในต่าง ประเทศ โดยบริษัท Sea oil Offshore Ltd.
2.47
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
- บริษัทจ่ายค่าขนส่งน�้ามันในอัตราที่ ใกล้เคียงกับอัตราในตลาด - รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล มีอัตราค่าขนส่งในราคาตลาด และ มีเงื่อนไขการค้าทั่วไป
ไปที่สารบัญ
บุคคลที่อำจมีควำมขัดแย้ง 6. บริษัท นทลิน แมนเนจเมนท์ จ�ากัด ประกอบธุรกิจตัวแทน จัดการบริหารเรือ ควำมสัมพันธ์ - ถือหุ้นโดยบริษัท พริมา มารีน จ�ากัด (“พริมา”) ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว ซึ่งพริมามีผู้ถือหุ้นใหญ่ ร่วมกัน คือ นทลิน ถือหุ้น ในพริมา ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ออกและเรียก ช�าระแล้ว และถือหุ้นใน บริษัท ร้อยละ 45.05 ของทุนที่ออกและเรียก ช�าระแล้ว
7. บริษัท ซีเคม ทรานสปอร์ต จ�ากัด ควำมสัมพันธ์ - มีผู้ถือหุ้นร่วมกัน คือ นทลิน ซึ่งถือหุ้นในบริษัท ร้อยละ 45.05 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว และถือหุ้นในบริษัท ซีเคม ทรานสปอร์ต จ�ากัด ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ออกและเรียก ช�าระแล้ว
ลักษณะรำยกำร
มูลค่ำรำยกำรระหว่ำงกัน (ล้ำนบำท) สิ้นสุด 31 ธันวำคม 2559
ควำมจ�ำเป็นและควำมเหมำะสม ของรำยกำรระหว่ำงกัน
ค่าเช่า - บริษัทจ่ายค่าเช่าโกดังให้แก่บริษัท นทลิน แมนเนจเมนท์ จ�ากัด พื้นที่ 3.75 ตารางเมตร ในอัตราเดือนละ 750 บาท โดย สัญญาเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2555 - ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2556 บริษัทได้มีการเช่าพื้นที่โกดังเพิ่ม เติมจาก 3.75 ตารางเมตร เป็น 16.70 ตารางเมตร โดยมีค่า เช่าพื้นที่รวมในอัตราเดือน 3,340 บาท ต่อ ตารางเมตร
0.04
- บริษัทเช่าพื้นที่โกดัง โฉนดเลขที่ 22197 เลขที่ดิน 641 ต�าบลบางโฉ ลง อ�าเภอบางพลี จังหวัด สมุทรปราการ จากบริษัท นทลิน แมนเนจเมนท์ จ�ากัดเพื่อใช้เป็น สถานที่เก็บเอกสารและทรัพย์สิน ของบริษัท - รายการดังกล่าวเป็นรายการที่มี ความจ�าเป็นต้องท�า เนื่องจากบริษัท ต้องการพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสาร พื้นที่ไม่มาก โดยผู้ให้เช่าพื้นที่รายอื่น จะมีการก�าหนดพื้นที่เช่าขั้นต�่า ซึ่ง เกินกว่าความต้องการของบริษัท - อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการตรวจ สอบได้ให้ข้อสังเกตว่า พื้นที่เช่าควร จะเป็นพื้นที่ปิดมิดชิด เพื่อความ ปลอดภัยและการเก็บรักษาความลับ ของเอกสารของบริษัท จึงขอให้ บริษัทด�าเนินการตรวจสอบและ เจรจาขอให้ผู้ให้เช่าปรับพื้นที่ตามที่ คณะกรรมการตรวจสอบ เสนอ
รายได้จากการขายสินค้า - บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่ บริษัท ซี เคม ทรานสปอร์ต จ�ากัด โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุน บวกก�าไร (Cost Plus Pricing Method)
0.79
- การขายสินค้าดังกล่าวเป็นการ ด�าเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัท โดยมีราคาขายและเงื่อนไขการค้า เช่นเดียวกันกับการขายสินค้าให้กับ ลูกค้ารายอื่น
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
73
ไปที่สารบัญ
บุคคลที่อำจมีควำมขัดแย้ง 8. บริษัท บทด จ�ากัด
ลักษณะรำยกำร รายได้จากการขายสินค้า -บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่ บริษัท บทด จ�ากัด โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุนบวกก�าไร (Cost Plus Pricing Method
ควำมสัมพันธ์ มีผู้ถือหุ้นร่วมกัน คือ นทลิน ซึ่งถือหุ้นในบริษัท ร้อยละ 45.05 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว และถือหุ้นในบริษัท บทด จ�ากัด ทั้งทางตรงและ ทางอ้อมรวม ร้อยละ ลูกหนี้การค้า 18.24 ของทุนที่ออกและ - เกิดขึ้นจากการขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่น โดยมี เรียกช�าระแล้ว เงื่อนไขการช�าระเงิน (Credit term) เท่ากับ 30 วัน - มีนายสุรพล มีเสถียร เป็นกรรมการผู้มีอ�านาจ ลงนามของบริษัทเป็น กรรมการ 1 ใน 9 ท่าน ใน บริษัท บทด จ�ากัด (นายสุรพล มีเสถียร ได้ลาออกจากกรรมการ โดยมีผล วันที่ 31 ธันวาคม 2559)
9. บริษัท เอ็น.เอ.ที. มาร์ท จ�ากัด ควำมสัมพันธ์ มีผู้ถือหุ้นร่วมกัน คือ นทลิน ซึ่งถือหุ้นในบริษัท ร้อยละ 45.05 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว และถือหุ้นในบริษัท เอ็น.เอ.ที.มาร์ท ร้อยละ 99.98 ของทุนที่ออกและ เรียกช�าระแล้ว
74
ค่าสวัสดิการอาหารกลางวันพนักงาน - เกิดจากค่าสวัสดิการอาหารกลางวันส�าหรับพนักงานของ บริษัท โดยคิดจากจ�านวนพนักงานของบริษัท ในอัตราคนละ 35 บาทต่อวัน สัญญาเริ่ม 1 ม.ค. 59 ถึง 30 ก.ย. 59 และ 1 ต.ค. 59 ถึง 30 ก.ย. 60
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
มูลค่ำรำยกำรระหว่ำงกัน (ล้ำนบำท) สิ้นสุด 31 ธันวำคม 2559
ควำมจ�ำเป็นและควำมเหมำะสม ของรำยกำรระหว่ำงกัน
8.02
- การขายสินค้าดังกล่าวเป็นการ ด�าเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัท โดยมีราคาขายและเงื่อนไขการค้า เช่นเดียวกันกับการขายสินค้าให้กับ ลูกค้ารายอื่น
6.66
- รายการดังกล่าวเป็นรายการที่ สมเหตุสมผล เนื่องจากเป็น รายการค้าปกติ และมีการคิดราคา และเงื่อนไขการค้าเป็นไปตาม เงื่อนไขการค้าทั่วไป
0.27
- บริษัทจ่ายค่าอาหารกลางวัน ส�าหรับเป็นสวัสดิการพนักงานโดย จ่ายตามอัตราปกติตามราคาในตลาด - รายการดังกล่าวสมเหตุสมผล เนื่องจากไม่มีร้านอาหารตั้งอยู่ใน ละแวกเดียวกับส�านักงานของบริษัท ซึ่งจะท�าให้ท�าให้พนักงานไม่ต้องเดิน ทางไกลเพื่อรับประทานอาหารกลาง วัน โดยมีราคาที่สมเหตุสมผล
ไปที่สารบัญ
บุคคลที่อำจมีควำมขัดแย้ง
ลักษณะรำยกำร
มูลค่ำรำยกำรระหว่ำงกัน (ล้ำนบำท) สิ้นสุด 31 ธันวำคม 2559
ควำมจ�ำเป็นและควำมเหมำะสม ของรำยกำรระหว่ำงกัน
ค่าบริการสถานที่ออกก�าลังกาย -บริษัทจ่ายค่าใช้บริการสถานที่ออกก�าลังกายให้แก่บริษัท เอ็น. เอ.ที.มาร์ท จ�ากัด ในอัตราค่าบริการเดือนละ 1,085 บาทต่อ คนต่อเดือนเดือนละ 35,805 บาท โดยสัญญาการใช้บริการ เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 ถึง 31 ธันวาคม 2559
0.41
- รายการดังกล่าวก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อพนักงานของบริษัท โดยมีราคา ค่าบริการที่ใกล้เคียงกับ สถานออกก�าลังกายอื่นๆ ในบริเวณใกล้เคียง
รายได้จากการขายสินค้า - บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่ ท็อป นอติ คอล สตาร์ โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุนบวกก�าไร (Cost ประกอบธุรกิจรับบริการ Plus Pricing Method) การขนส่งน�้ามันทางทะเล
1.81
การขายสินค้าดังกล่าวเป็น การด�าเนินการตามธุรกิจปกติของ บริษัท โดยมีราคาขายและเงื่อนไข การค้าเช่นเดียวกันกับการขายสินค้า ให้กับลูกค้ารายอื่น
บริษัท เอ็น.เอ.ที. มาร์ท จ�ากัด (ต่อ)
10. บริษัท ท็อป นอติคอล สตาร์ จ�ากัด
ควำมสัมพันธ์ ถือหุ้นโดยบริษัท พริมา มารีน จ�ากัด (“พริมา”) ร้อยละ 34.99 ของทุนที่ออกและเรียก ช�าระแล้ว ซึ่งพริมามี ผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือ นทลิน ถือหุ้นในพริมา ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว และถือหุ้นในบริษัท ร้อยละ 45.05 ของทุน ที่ออกและเรียกช�าระแล้ว
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
75
ไปที่สารบัญ
บุคคลที่อำจมีควำมขัดแย้ง 11. บริษัท กาญจนา มารีน จ�ากัด ประกอบธุรกิจรับ ขนส่งน�้ามันทางเรือ ควำมสัมพันธ์ มีผู้ถือหุ้นร่วมกัน คือ นทลิน ซึ่งถือหุ้นในบริษัท ร้อยละ 45.05 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว และถือหุ้นในบริษัท กาญจนามารีน จ�ากัด ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว
12. บริษัท สปีด โปรดักชั่น จ�ากัด
ลักษณะรำยกำร
ควำมจ�ำเป็นและควำมเหมำะสม ของรำยกำรระหว่ำงกัน
รายได้จากการขายสินค้า - บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่ บริษัท กาญจนามารีน จ�ากัด โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุนบวก ก�าไร (Cost Plus Pricing Method)
1.60
- บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่ บริษัท กาญจนามารีน จ�ากัด โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุนบวก ก�าไร (Cost Plus Pricing Method) โดย บริษัท Sea oil Offshore Ltd.
0.66
ค่าขนส่ง - บริษัทว่าจ้างบริษัท กาญจนามารีน จ�ากัด ขนส่งน�้ามัน Mogas 95 เพื่อจ�าหน่ายในต่างประเทศ
2.60
- บริษัทจ่ายค่าขนส่งน�้ามันในอัตราที่ ใกล้เคียงกับอัตราในตลาด ซึ่ง รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล มีอัตราค่าขนส่งในราคาตลาดและมี เงื่อนไขการค้าทั่วไป
ต้นทุนงานบริการว่าจ้างออกแบบ,ผลิตสื่อโฆษณา ประชาสัมพันธ์
0.06
เป็นค่าบริการในการจัดท�าจ้าง ออกแบบและผลิตสื่อโฆษณา ประชาสัมพันธ์ มีการเปรียบเทียบ ราคากับรายอื่น ซึ่งมีต้นทุนค่าใช้จ่าย ที่ต�่ากว่า และมีส�านักงานอยู่พื้นที่ ใกล้เคียง และสะดวกในการติดต่อ
ประกอบธุรกิจให้บริการ ด้านงานบันเทิง ทุกประเภท ควำมสัมพันธ์ มีผู้ถือหุ้นร่วมกัน คือ นางวิไลศรี ปานบุญห้อม และนางสาวปาลีรัฐ ปานบุญห้อม ถือหุ้นใน บริษัท สปีด โปรดักชั่น จ�ากัด รวมร้อยละ 60 ของทุนที่ออกและเรียก ช�าระแล้ว
76
มูลค่ำรำยกำรระหว่ำงกัน (ล้ำนบำท) สิ้นสุด 31 ธันวำคม 2559
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
การขายสินค้าดังกล่าวเป็นการ ด�าเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัท โดยมีราคาขายและเงื่อนไขการค้า เช่นเดียวกันกับการขายสินค้าให้กับ ลูกค้ารายอื่น
ไปที่สารบัญ
บุคคลที่อำจมีควำมขัดแย้ง
ลักษณะรำยกำร
- ต้นทุนค่าตั๋วเครื่องบินเดินทางภายในประเทศ 13.บริษัท จัดหางานบี เอสซี แมเนจเม้นท์ จ�ากัด
มูลค่ำรำยกำรระหว่ำงกัน (ล้ำนบำท) สิ้นสุด 31 ธันวำคม 2559
ควำมจ�ำเป็นและควำมเหมำะสม ของรำยกำรระหว่ำงกัน
0.02
- เมื่อเปรียบเทียบราคากับตัวแทน จ�าหน่ายรายอื่นอยู่ในอัตราเดียวกัน แต่บริษัทจัดหางานบีเอสซี แมเนจเม้นท์ จ�ากัด มีการให้เครดิต กับบริษัท 7 วัน ซึ่งรายอื่น ต้องจ่ายเงินสด
4.19
- การขายสินค้าดังกล่าวเป็นการ ด�าเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัท โดยมีราคาขายและเงื่อนไขการค้า เช่นเดียวกันกับการขายสินค้าให้กับ ลูกค้ารายอื่น
0.35
- รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล มีอัตราค่าขนส่งในราคาตลาดและมี เงื่อนไขการค้าทั่วไป
0.05
- รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล มีราคาโฆษณาประชาสัมพันธ์มีความ ใกล้เคียงกับราคาโฆษณา ประชาสัมพันธ์กับรายอื่น
ประกอบธุรกิจ ตัวแทน จัดหาบุคลกรบนเรือ และ ขายตั๋วเครื่องบิน ควำมสัมพันธ์ - ถือหุ้นโดยบริษัท พริมา มารีน จ�ากัด (“พริมา”) ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว ซึ่งพริมามีผู้ถือหุ้นใหญ่ ร่วมกัน คือ นทลิน ถือหุ้น ในพริมา ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ออกและเรียก ช�าระแล้ว และถือหุ้นใน บริษัท ร้อยละ 45.05 ของทุนที่ออกและเรียก ช�าระแล้ว รายได้จากการขายสินค้า 14. บริษัท ยูไนเต็ด ออฟชอร์ เอวิเอชั่น จ�ากัด - บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่น ประเภท Jet A1 ให้แก่ บริษัท ยูไนเต็ด ออฟชอร์ เอวิเอชั่น จ�ากัด โดย ก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุนบวกก�าไร (Cost Plus Pricing ควำมสัมพันธ์ Method) มีผู้ถือหุ้นร่วมกัน คือ นทลิน ซึ่งถือหุ้นในบริษัท ร้อยละ 45.05 ของทุน ลูกหนี้การค้า ที่ออกและเรียกช�าระแล้ว - เกิดขึ้นจากการขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่น ประเภท Jat A1 โดยมีเงื่อนไขการช�ารเงิน และถือหุ้นในบริษัท (Credit term) เท่ากับ 30 วัน ยูไนเต็ด ออฟชอร์ เอวิเอชั่น จ�ากัด ร้อยละ ค่าโฆษณา 20 ของทุนที่ออกและ - เกิดขึ้นจากค่าใช้จ่ายในการว่าจ้างบริษัท ยูไนเต็ด ออฟชอร์ เรียกช�าระแล้ว เอวิเอชั่น จ�ากัด ออกบูธเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ ที่ประเทศ พม่า
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
77
ไปที่สารบัญ
บุคคลที่อำจมีควำมขัดแย้ง
ลักษณะรำยกำร
15. Nathalin Shipping Pte Ltd. (เดิมชื่อ Nathalin Offshore Pte. Ltd.)
รายได้จากการขายสินค้า - บริษัทขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นให้แก่ Nathalin Shipping Pte Ltd. โดยก�าหนดราคาขายตามวิธีต้นทุนบวก ก�าไร (Cost Plus Pricing Method) โดยบริษัท Sea Oil Petroleum Pte Ltd.
ควำมสัมพันธ์ - ถือหุ้นโดยบริษัท พริมา มารีน จ�ากัด (“พริมา”) ร้อยละ 87.50 ของทุนที่ ออกและเรียกช�าระแล้ว ซึ่งพริมามีผู้ถือหุ้นใหญ่ ร่วมกัน คือ นทลิน ถือหุ้น ในพริมา ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ออกและเรียก ช�าระแล้วและถือหุ้นใน บริษัท ร้อยละ 45.05 ของทุนที่ออกและเรียก ช�าระแล้ว
78
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
มูลค่ำรำยกำรระหว่ำงกัน (ล้ำนบำท) สิ้นสุด 31 ธันวำคม 2559 29.71
ควำมจ�ำเป็นและควำมเหมำะสม ของรำยกำรระหว่ำงกัน - การขายสินค้าดังกล่าวเป็นการ ด�าเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัท โดยมีราคาขายและเงื่อนไขการค้า เช่นเดียวกันกับการขายสินค้าให้กับ ลูกค้ารายอื่น
ไปที่สารบัญ
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัท ซีออยล์ จ�ากัด(มหาชน)และบริษัทย่อย ตลอดจนรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้จัดท�าขึ้นและมีความถูกต้องตามที่ควรในสาระส�าคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย โดยได้มีการพิจารณา นโยบายทางบัญชีท่ีเหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม�่าเสมอ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลที่ส�าคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตจากบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ากัด และแสดงความเห็นไว้ในรายงาน ของผู้สอบบัญชีอย่างไม่มีเงื่อนไข ซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจ�าปีแล้ว ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัท ได้จัดให้มีและด�ารงรักษาไว้ซึ่งระบบการบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุมภายในและการก�ากับดูแลที่ เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อให้เชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ของงบการเงิน การดูแลรักษาทรัพย์สินมีระบบการป้องกันที่ดีไม่มี รายการทุจริตหรือมีการด�าเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระส�าคัญ รวมทั้งมีการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย กรรมการอิสระจ�านวน 3 ท่าน เพื่อท�าหน้าที่ก�ากับดูแลสอบ ทานความน่าเชือ่ ถือและความถูกต้องของรายงานทางการเงิน รวมทัง้ ประเมินระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในให้มปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผล โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบได้ปรากฎในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึง่ แสดงไว้ในรายงานประจ�าปีแล้ว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวม มีความเพียงพอและเหมาะสม สามารถสร้างความ เชือ่ มัน่ อย่างมีเหตุผลต่อความเชือ่ ถือได้ของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ของบริษทั ซีออยล์ จ�ากัด(มหาชน)และบริษทั ย่อย ส�าหรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 แสดงฐานะการเงิน ผลการด�าเนินงาน และกระแสเงินสด โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�าคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน
นายอภิสิทธิ์ รุจิเกียรติกำาจร ประธานกรรมการ
นางสาวนีรชา ปานบุญห้อม ประธานกรรมการบริหาร
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
79
ไปที่สารบัญ
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) ประกอบด้วย กรรมการอิสระจ�านวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิและ มีประสบการณ์ด้านบัญชีและการเงิน ด้านกฎหมาย และด้านการบริหารจัดการ และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามประกาศของส�านักงาน คณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ก�าหนด คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขต และความรับผิดชอบตาม ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และตามแนวทางปฏิบัติของคณะกรรมการ ตรวจสอบที่สอดคล้องกับข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประชุมทั้งสิ้นรวม 6 ครั้ง และได้รายงานผลการด�าเนินงานต่อคณะกรรมการบริษัท เป็นประจ�าทุกไตรมาส โดยมีรายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน ดังนี้
1. รศ.ดร.รุธิร์ พนมยงค์ ประธานกรรมการตรวจสอบ เข้าร่วมประชุม 6 / 6 ครั้ง 2. คุณทวีป สุนทรสิงห์ กรรมการตรวจสอบ เข้าร่วมประชุม 6 / 6 ครั้ง 3. ดร.เฉลิมวิทย์ ฉิมตระกูล กรรมการตรวจสอบ เข้าร่วมประชุม 6 / 6 ครั้ง
ซึ่งในการประชุมแต่ละครั้ง เป็นการประชุมร่วมกับ ผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจสอบภายใน กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหารฝ่ายบัญชีและการเงิน และผู้บริหารฝ่ายอื่นๆ ตามวาระที่เกี่ยวข้อง และได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีผู้บริหารเข้าร่วม 1 ครั้ง เพื่อปรึกษาหารืออย่างเป็นอิสระ ในประเด็นส�าคัญต่างๆ รวมถึง รับทราบผลการปฏิบัติงาน ข้อสังเกตที่ตรวจพบ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคระหว่างการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงาน แสดงความเห็น และให้ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัทอย่างเป็นอิสระ โดยสรุปสาระส�าคัญได้ดังนี้ การสอบทานรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาสอบทานข้อมูลทีส่ า� คัญของงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�าปี 2559 ตลอดจนรายงาน ทางการเงินที่เกี่ยวข้องของบริษัทและบริษัทย่อย โดยได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีเพื่อพิจารณางบการเงินของบริษัทฯ และได้สอบถามและ รับฟังค�าชี้แจงจากผู้บริหารและผู้สอบบัญชี จากการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้องกับผู้สอบบัญชีว่า งบการเงินของบริษัทฯ ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ได้จัดท�าขึ้นโดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�าคัญตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินของไทยและมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ การสอบทานระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในประจ�าปีของบริษัท น�าเสนอต่อคณะ กรรมการบริษัท เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและเพียงพอในการด�าเนินธุรกิจของบริษัท โดยพิจารณาจาก รายงานผลการตรวจสอบภายใน ในกระบวนการปฏิบัติงานหลักที่ส�าคัญของบริษัทฯ การสอบถามจากผู้สอบบัญชี รวมถึงคณะกรรมการตรวจ สอบได้พจิ ารณาสอบทานกรอบการบริหารความเสีย่ งองค์กรเป็นประจ�าทุกปี และรับทราบรายงานการบริหารความเสีย่ งของคณะท�างานบริหาร ความเสี่ยงในทุกไตรมาส เพื่อให้มั่นใจว่าการบริหารความเสี่ยงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมทุกปัจจัยเสี่ยงและอยู่ในระดับ ที่เหมาะสม ด้านก�ากับดูแลระบบการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณา คัดเลือก แต่งตั้งผู้ตรวจสอบภายในของบริษัท โดยพิจารณาจากความเป็นอิสระในการปฏิบัติงาน คุณภาพของงานตรวจสอบ ความรู้ความสามารถในวิชาชีพ รวมทั้งพิจารณาให้ความเห็น ชอบในแผนการตรวจสอบภายในประจ�าปี โดยใช้วธิ กี ารประเมินความเสีย่ งและระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานของ COSO คณะกรรมการ ตรวจสอบได้พิจารณาผลการตรวจสอบภายใน ตลอดจนก�ากับดูแลและติดตามการปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติงานตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจ สอบภายใน และรายงานผลการตรวจสอบภายในต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อรับทราบในทุกไตรมาส 80
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
ในปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานความเหมาะสมของการปฏิบัติตามแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับมาตรการต่อต้านการ คอร์รัปชั่นของโครงการแนวร่วมปฏิบัติภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต และรายงานความถูกต้องและเพียงพอต่อข้อมูลในแบบประเมินฯ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทมีมาตรการและระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอในการต่อต้านและตรวจพบการทุจริต คอร์รัปชั่นอย่างมีประสิทธิภาพ สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบัติงานของบริษัทฯผ่านหน่วยงานก�ากับดูแล เพื่อให้การปฏิบัติงานของบริษัทเป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท คณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นว่าบริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในด้านการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎเกณฑ์ทเี่ กีย่ วข้องอย่างเพียงพอและมีประสิทธิผล พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันและอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย และข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ คณะกรรมการมีความเห็นว่า ฝ่ายจัดการได้เข้าท�ารายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ตามธุรกิจปกติ ที่มีเงื่อนไขทางการค้า และราคาที่สมเหตุสมผลดังเช่นที่ท�ากับบุคคลภายนอกทั่วไป และเพื่อประโยชน์สูงสุดต่อการด�าเนินธุรกิจของบริษัท ทั้งนี้บริษัทฯได้ปฏิบัติตามนโยบายและเปิดเผยข้อมูลตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยไว้อย่างครบถ้วน พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และพิจารณาค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี โดยพิจารณาจากคุณสมบัติ คุณภาพของงานตรวจสอบ ความเป็นอิสระในการปฏิบตั งิ าน ความรูค้ วามสามารถในวิชาชีพ และประสบการณ์ในการตรวจสอบธุรกิจในลักษณะ เดียวกันหรือคล้ายคลึงกันกับธุรกิจของบริษัท ส�าหรับค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีนั้น ได้พิจารณาถึงขอบเขตความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี และ ความเหมาะสมโดยเทียบเคียงกับอัตราค่าตอบแทนจากผู้สอบบัญชีอื่นที่เทียบได้ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชีจากบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ากัด เป็นผู้สอบบัญชี ของบริษทั ในปี 2560 รวมทัง้ พิจารณาค่าตอบแทนทีเ่ หมาะสมเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ น�าเสนอทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาแต่งตัง้ ต่อไป • โดยสรุปคณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความระมัดระวัง รอบคอบ และมีความเป็นอิสระอย่างเพียงพอในการแสดงความ คิดเห็นและให้คา� แนะน�าเพือ่ ประโยชน์สงู สุดต่อองค์กร และได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบและบทบาทหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั มอบ หมายจากคณะกรรมการบริษทั อย่างครบถ้วน ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นโดยรวมว่า บริษทั ฯมีระบบการควบคุมภายใน การตรวจ สอบภายในที่เพียงพอและเหมาะสมกับการด�าเนินธุรกิจ มีการก�ากับดูแลกิจการที่ดีเพื่อให้ความเชื่อมั่นว่า การจัดท�ารายงานข้อมูลทางการเงิน ของบริษัทมีความครบถ้วน ถูกต้อง เชื่อถือได้ สอดคล้องตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป การเปิดเผยข้อมูลเป็นไปตามกฎหมายและ ข้อก�าหนดที่เกี่ยวข้อง มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อก�าหนด และข้อผูกพันต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนินธุรกิจของบริษัท รวมทั้งบริษัทฯ มีความมุง่ มัน่ ที่จะพัฒนาปรับปรุงระบบการปฏิบัตงิ าน และพัฒนาบุคลากรให้มคี ุณภาพที่ดอี ย่างต่อเนื่อง เพื่อให้องค์กรมีการเติบโตอย่างยั่งยืน ในนามของคณะกรรมการตรวจสอบ
( รศ.ดร.รุธิร์ พนมยงค์ ) ประธานกรรมการตรวจสอบ
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
81
ไปที่สารบัญ
คำาอธิบายและวิเคราะห์ผลการดำาเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายจัดการ : MD&A บทสรุปผู้บริหาร ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2559 มีการขยายตัวเพิม่ ขึน้ เล็กน้อยเมือ่ เทียบกับปี 2558 จากมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของภาครัฐ อาทิ การกระตุน้ การบริโภคภายในประเทศ โครงการลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานด้านคมนาคม ภาคการท่องเทีย่ วและการส่งออก ทีข่ ยายตัวอย่างต่อเนือ่ ง อย่างไรก็ดเี ศรษฐกิจไทยยังต้องเผชิญกับปัจจัยเสีย่ งจากการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจโลก อาทิ นโยบายเศรษฐกิจของสหรัฐฯภายหลังจากการเลือกตัง้ ประธานาธิบดี ผลกระทบจากการที่สหราชอาณาจักรออกจากการเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป (Brexit) เป็นต้น แต่ในส่วนของ สถานการณ์ราคา น�้ามันโลกในปี 2559 ยังคงมีความผันผวนอย่างต่อเนื่อง ราคาน�้ามันดิบโดยเฉลี่ยยังคงอยู่ในระดับต�่า อันเป็นผลมาจากกลุ่มประเทศโอเปค ตัดสินใจคงก�าลังการผลิต และยังมีผู้ผลิตน�้ามันดิบจากชั้นหินดินดาน (Shale oil) ในสหรัฐฯ และแคนาดา จึงส่งผลให้อุปทานน�้ามันโลกยังคง ล้นตลาด โดยราคาน�้ามันดิบ (Brent) เฉลี่ยปี 2559 อยู่ที่ 43.55 เหรียญสหรัฐต่อบาเรล จากสถานการณ์ราคาน�้ามันในปี 2559 ที่ลดลงและ มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ ด้านการท่องเที่ยว และการส่งออกสินค้า ส่งผลให้ความต้องการใช้พลังงานภายในประเทศยังคงสูงขึ้น อย่างต่อเนือ่ ง จากข้อมูลปริมาณการจ�าหน่ายน�า้ มันเชือ้ เพลิงโดยรวมของประเทศ ปี 2557-2559 ดังกราฟทีแ่ สดง (แหล่งข้อมูล : กรมธุรกิจพลังงาน) ปริมาณการผลิตน้ำามันเชื้อเพลิงในประเทศ หน่วย : ล้านลิตร
60000
50000
52,866
50000
ปริมาณการจำาหน่ายน้ำามันเชื้อเพลิงในประเทศ หน่วย : ล้านลิตร
52,695
47,654
40000
40000
37,235
42,071
39,730
30000
30000
20000
20000 10000
10000
0
0 2557
2558
2559
2557
2558
2559
ดีเซล
น�้ำมันเตำ
ดีเซล
น�้ำมันเตำ
เบนซิน
น�้ำมันก๊ำด
เบนซิน
น�้ำมันก๊ำด
อำกำศยำน
อำกำศยำน
ส�าหรับภาวะราคาน�้ามันที่ปรับตัวลดลงอย่างมาก อาจส่งผลกระทบต่อการลดลงของรายได้จากการจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิงของ บริษัทฯ ซึ่งเป็นรายได้หลักของกิจการ แต่ไม่กระทบต่อก�าไรจากการด�าเนินงาน เนื่องจากบริษัทฯได้มีการก�าหนดกลยุทธ์ในการบริหารจัดการ ความเสีย่ งจากการผันผวนของราคาน�า้ มัน ด้วยการก�าหนดราคาขายจากการบวกก�าไรส่วนเพิม่ จากราคาต้นทุน ( Cost Plus Pricing Method) รวมถึงบริษัทฯ เป็นผู้ค้าน�้ามันตามมาตรา 10 จึงไม่มีการเก็บส�ารองน�้ามัน ท�าให้ไม่ได้รับผลกระทบจากการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ และในปี 2559 บริษทั ฯ ได้มกี ารปรับกลยุทธ์การจ�าหน่ายน�า้ มันเชือ้ เพลิง โดยการขยายตลาดต่างประเทศและขยายกลุม่ ลูกค้าไปยังฝัง่ อันดามัน เพิ่มขึ้น ท�าให้รายได้จากการจ�าหน่ายน�้ามันโดยรวมของบริษัทและบริษัทย่อยในปี 2559 มีสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ถึงร้อยละ 41.09 อย่างไรก็ดี ภาวะของราคาน�้ามันที่อยู่ในระดับต�่า ยังคงส่งผลกระทบต่อโครงการลงทุนในธุรกิจส�ารวจและผลิตปิโตรเลียม ซึ่งในปี 2559
82
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
บริษัทฯ ยังรับรู้ส่วนแบ่งผลขาดทุนจากการร่วมค้าในบริษัท แพน โอเรียนท์ เอ็นเนอยี่(สยาม) ลิมิเต็ด (“POES ”) จ�านวน 39.59 ล้านบาท ขาดทุนลดลงคิดเป็นร้อยละ 13.84 เมื่อเทียบกับปี 2558 จากข้อมูลจากส�านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม คาดว่าราคาน�้ามันดิบในปี 2560 จะปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากกลุ่มโอเปคบรรลุข้อตกลงการลดก�าลังการผลิตของกลุ่มในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 ข้อตกลงดังกล่าวจะมีผล บังคับใช้ในเดือนมกราคม 2560 บริษัทฯ คาดการณ์ว่าเมื่อสถานการณ์ราคาน�้ามันเพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลให้ผลประกอบการของบริษัทฯ มีก�าไร เพิ่มขึ้นตามล�าดับ นอกจากสถานการณ์ราคาน�้ามันที่คาดว่าจะปรับตัวสูงขึ้นมาแล้วนั้น บริษัทฯ ยังมีมาตรการลดผลกระทบจากการผันผวน ของราคาน�า้ มัน ร่วมกับบริษทั POES โดยการปรับแผนการผลิต เพือ่ ลดต้นทุนการผลิตและค่าใช้จา่ ยด�าเนินงานโดยรวม ให้สอดคล้องกับราคา น�้ามันในปัจจุบัน ตลอดจนปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการด�าเนินธุรกิจ เพื่อหาโอกาสในการสร้างก�าไรที่เพิ่มขึ้น โดยบริษัทฯ ได้มีการขยายธุรกิจ ไปยังแหล่งพลังงานด้านอื่นเพิ่มเติม เพื่อให้บริษัทฯ มีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น สรุปผลการดำาเนินงาน งบกำ�ไรข�ดทุน (หน่วย : ล้�นบ�ท) รายได้จากการขายสินค้าและให้บริการ
งบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�ร ปี 2558 ปี 2559 2,617.94 1,444.43
ปี 2558 2,769.29
ปี 2559 3,787.45
ก�าไรขั้นต้น
241.03
178.53
254.09
278.98
EBITDA
177.30
137.84
79.00
49.03
ก�าไรก่อนส่วนแบ่งก�าไร (ขาดทุน) จากการร่วมค้าและภาษีเงินได้
123.78
80.15
71.11
29.89
ก�าไรสุทธิ
105.28
64.28
6.50
(23.21)
0.27
0.16
0.02
(0.06)
ก�าไรต่อหุ้น (บาท)
งบก�รเงินรวม
ภาพรวมผลการดำาเนินงานปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายได้รวม 3,792.12 ล้านบาท มีรายได้จากการขายและบริการ รวมเป็นจ�านวน 3,787.45 ล้านบาท มีก�าไรขั้นต้นรวม 278.98 ล้านบาท EBITDA จ�านวน 49.03 ล้านบาท มีก�าไรก่อนส่วนแบ่งก�าไร (ขาดทุน)จากการร่วมค้าและภาษีเงินได้ จ�านวน 29.89 ล้านบาท มีผลขาดทุนสุทธิส�าหรับปี 2559 รวมเป็นจ�านวน 23.21 ล้านบาท และเป็นผลขาดทุนส่วนทีเ่ ป็นของบริษทั ใหญ่ เท่ากับ 23.98 ล้านบาท
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
83
ไปที่สารบัญ
เปรียบเทียบผลการดำาเนินงานปี 2558 กับปี 2559 ในปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีผลขาดทุนสุทธิรวม 23.21 ล้านบาทลดลงจากปี 2558 ที่มีก�าไรสุทธิ 6.5 ล้านบาท โดยมี สาเหตุหลักมาจากการรับรู้ส่วนแบ่งผลขาดทุนจากการร่วมค้าในบริษัท แพน โอเรียนท์ เอ็นเนอยี่(สยาม) ลิมิเต็ด (“POES”) จ�านวน 39.59 ล้านบาท ซึ่งเป็นธุรกิจส�ารวจ พัฒนาและผลิตน�้ามันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย โดยบริษัทย่อย (Sea Oil Energy Ltd.) เข้าไปถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 49.99 ผลขาดทุนดังกล่าว เกิดจากรายได้ของPOES ที่ลดลงเนื่องจากภาวะราคาน�้ามันดิบในตลาดโลกปรับตัว ลดลงค่อนข้างมาก บริษัทฯ มีมาตรการลดผลกระทบจากการผันผวนของราคาน�้ามัน ร่วมกับบริษัท POES โดยการปรับแผนการผลิตในปี 2559 เพื่อลดต้นทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายด�าเนินงานโดยรวมให้สอดคล้องกับราคาน�้ามันในปัจจุบัน ส่งผลให้ในปี 2559 บริษัทฯ รับรู้ส่วน แบ่งผลขาดทุนจากการร่วมค้าลดลงร้อยละ 13.84 เมื่อเทียบกับปี 2558 บริษัทฯ และบริษัทย่อย
โครงสร้�งร�ยได้ (หน่วย:ล้�นบ�ท)
ปี 2558
ปี 2559
• ทางทะเล
มูลค่� 2,552.17 2,451.33
ร้อยละ 90.94 87.35
มูลค่� 3,600.96 3,438.65
ร้อยละ 94.96 90.68
• ทางบก รายได้จากการให้บริการ รายได้อื่น* รวม
100.84 217.11 37.03 2,806.31
3.59 7.74 1.32 100.0
162.31 186.49 4.67 3,792.12
4.28 4.92 0.12 100.0
รายได้จากการจ�าหน่ายสินค้า
* รายได้อื่น ได้แก่ กำาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ รายได้เงินปันผล รายได้จากค่าปรับจากการชำาระหนี้ล่าช้ารายได้จากดอกเบี้ย และรายได้อื่นๆ
โครงสร้างรายได้ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยในปี 2559 ในปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายได้รวมจ�านวน 3,792.12 ล้านบาท ประกอบด้วย รายได้จากการขาย เกิดจากการจ�าหน่าย น�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่น จ�านวน 3,600.96 ล้านบาท รายได้จากการให้บริการในธุรกิจ Supply Management จ�านวน 186.49 ล้านบาท และรายได้อื่นๆ ประกอบด้วย ก�าไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ดอกเบี้ยรับ จ�านวน 4.67 ล้านบาท บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายได้จากการจ�าหน่ายน�้ามันของบริษัทฯและบริษัทย่อยในปี 2559 จ�านวน 3,600.96 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากปี 2559 ร้อยละ 41.09 จากการเปิดด�าเนินงานในบริษัทย่อยประเทศสิงคโปร์ และการขยายฐานลูกค้าในประเทศไปยังกลุ่มลูกค้าธุรกิจ Oil& Gas ฝั่งอันดามันเพิ่มขึ้น ท�าให้ปริมาณการจ�าหน่ายน�้ามันโดยรวมของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นอย่างมาก จ�ำหน่ำยน�้ำมันทำงทะเล
3,438.65
สัดส่วน 90.68%
โครงสร้างรายได้ ปี 2559 (หน่วย : ล้านบาท)
จ�ำหน่ำยน�้ำมันทำงบก
162.31
สัดส่วน 4.28%
กำรให้บริกำร
186.49
สัดส่วน 4.92%
84
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
รำยได้อื่น
4.67
สัดส่วน 0.12%
1. จ�ำหน่ำยน�้ำมันทำงทะเล
2. จ�ำหน่ำยน�้ำมันทำงบก
3. กำรให้บริกำร
4. รำยได้อื่น
ไปที่สารบัญ
บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายได้จากการให้บริการในธุรกิจSupply Management ในปี 2559 รวม 186.49 ล้านบาท ลดลงจาก ปี 2558 ร้อยละ 14.10 สืบเนื่องจากภาวะราคาน�้ามันในตลาดลดลงอย่างมาก ส่งผลกระทบต่อลูกค้าในกลุ่มธุรกิจผลิตและส�ารวจปิโตรเลียม ในอ่าวไทย มีนโยบายการลดอัตราการผลิต เพื่อลดต้นทุนการผลิตโดยรวม ส่งผลให้ธุรกิจการให้บริการต่างๆ บนแท่นขุดเจาะมีปริมาณ ลดลงเช่นกัน บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายได้อื่นรวมเป็นจ�านวน 4.67 ล้านบาท ประกอบด้วย ก�าไรจากอัตราแลกเปลี่ยน และดอกเบี้ยรับ ปี 2558
ร�ยได้จ�กก�รจำ�หน่�ยน้ำ�มัน (หน่วย : ล้�นบ�ท)
มูลค่� 2,451.33 1,474.87 215.15 761.31 100.84 2,552.17
การจ�าหน่ายทางทะเล • ในประเทศ • ระหว่างประเทศ • ต่างประเทศ การจ�าหน่ายทางบก รวม
ปี 2559 ร้อยละ 96.05 57.79 8.43 29.83 3.95 100.00
มูลค่� 3,438.65 1,292.18 663.76 1,482.71 162.31 3,600.96
ร้อยละ 95.49 35.88 18.43 41.18 4.51 100.00
บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายได้จากการจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิงและหล่อลื่นในปี 2559 รวม 3,600.96 ล้านบาท ซึ่งแบ่งตามช่อง ทางการจัดจ�าหน่าย ดังนี้ • รายได้จากการจ�าหน่ายน�้ามันทางทะเล ในปี 2559 จ�านวน 3,438.65 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 95.49ของรายได้จากการจ�าหน่าย น�้ามันทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 40.27 ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการจ�าหน่ายน�้ามันทางทะเลในกลุ่มลูกค้าของบริษัทย่อย ในต่างประเทศและกลุ่มลูกค้าในธุรกิจ Oil& Gasที่เพิ่มขึ้นเป็นหลัก • รายได้จากการจ�าหน่ายน�้ามันทางบก ในปี 2559 จ�านวน 162.31 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.51 ของรายได้จากการจ�าหน่าย น�้ามันทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 60.95 ซึ่งเกิดจากลูกค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมขนส่งภายในประเทศที่เพิ่มขึ้นเป็นหลัก ปริมาณการขายน�้ามันแต่ละประเภท ปี 2559 (หน่วย : ล้านลิตร) น�้ำมันหล่อลื่นและอื่นๆ
0.42
สัดส่วน 0.16% น�้ำมันเบนซิน
18.03
สัดส่วน 6.66%
น�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว
171.38
สัดส่วน 63.32% น�้ำมันเตำ
80.84
สัดส่วน 29.87%
1. น�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว
2. น�้ำมันเตำ
3. น�้ำมันเบนซิน
4. น�้ำมันหล่อลื่นและอื่นๆ
รายได้จากการขายแยกประเภทน้ำามัน ปี 2557 - 2559 (หน่วย : ล้านบาท)
4000.00 3500.00 3000.00 2500.00 2000.00 1500.00 1000.00 500.00 0.00
196.23 790.88 523.71 284.12 1,042.40
560.81
2,591.65 1,623.83 1,220.94
24.70
2557
83.41
22.05
2558
2559
น�้ำมันเบนซิน
น�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว
น�้ำมันเตำ
น�้ำมันหล่อลื่นและอื่นๆ
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
85
ไปที่สารบัญ
รายได้จากการจำาหน่ายน้ำามันแยกตามประเภทของผลิตภัณฑ์ รายได้จากการจ�าหน่ายน�้ามันของบริษัทและบริษัทย่อยแยกตามประเภทผลิตภัณฑ์ที่จ�าหน่ายในปี 2559 บริษัทฯมีรายได้จากการ จ�าหน่ายน�า้ มันดีเซลหมุนเร็ว(High Speed Diesel) จ�านวน 2,591.65 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 71.97 ของรายได้จากการจ�าหน่ายน�า้ มันทัง้ หมด และมีปริมาณการจ�าหน่ายน�า้ มันดีเซลหมุนเร็วในปี 2559 จ�านวน 171.38 ล้านลิตร ซึง่ เกิดจากการจ�าหน่ายน�า้ มันทางทะเลให้ลกู ค้าต่างประเทศ รวมถึงการขยายตลาดไปยังลูกค้าในธุรกิจ Oil & Gas ฝั่งอันดามันเพิ่มขึ้น รายได้จากการจ�าหน่ายน�้ามันเตา(Fuel Oil)ในปี 2559 จ�านวน 790.88 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ 21.96 ของรายได้จากการจ�าหน่าย น�้ามันทั้งหมด และมีปริมาณการจ�าหน่ายน�้ามันเตาในปี 2559 จ�านวน 80.84 ล้านลิตร เกิดจาการจ�าหน่ายน�้ามันทางทะเลให้กับลูกค้ากลุ่ม เรือต่างประเทศ เรือเทกองและเรือขนส่งเป็นหลัก รายได้จากการจ�าหน่ายน�้ามันเบนซิน (Gasoline ) ในปี 2559 จ�านวน 196.23 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ 5.45 ของรายได้จาก การจ�าหน่ายน�้ามันทั้งหมด และมีปริมาณการจ�าหน่ายน�้ามันเบนซินในปี2559 จ�านวน 18.03 ล้านลิตร เกิดจากการจ�าหน่ายน�้ามันทางทะเลให้ กับลูกค้าต่างประเทศ รายได้จากธุรกิจบริการจัดหาอาหาร วัตถุดิบ และให้บริการอื่นๆ แก่ เรือเดินทะเล และพนักงาน ประจำาแหล่งขุดเจาะน้ำามันและก๊าซทั้งในทะเลและบนบก (Supply Management) บริษัทฯ มีรายได้จากการให้บริการในธุรกิจด้านการจัดหาอาหาร วัตถุดิบ และให้บริการอื่นๆ ส�าหรับพนักงานประจ�าแหล่งขุดเจาะ น�้ามันและก๊าซทั้งในทะเลและบนบก (Supply Management) ประกอบด้วย 1) รายได้จากการให้บริการจัดหาอาหาร ท�าความสะอาด และซักรีดให้แก่พนักงานประจ�าแท่นขุดเจาะน�้ามันและก๊าซในอ่าวไทย บนเรือพักอาศัย และแหล่งขุดเจาะน�้ามันและก๊าซบนบก (Catering and Housekeeping Service) และ 2) รายได้จากการให้บริการจัดหาวัตถุดิบ เพื่อใช้ในการเตรียมอาหาร จัดหาเสบียงและบริการอื่นๆ (General Supply) ในปี 2559 บริษัทมีรายได้จากการให้บริการในธุรกิจ Supply Management จ�านวน 186.49 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 4.92 ของรายได้รวมของบริษัท ซึ่งลดลงจากปี 2558 ร้อยละ 14.10 เนื่องจากสภาวะราคาน�้ามันในตลาดโลกปรับลดลงอย่างมาก ท�าให้ลูกค้าที่ บริษัทฯ ให้บริการด้าน Catering & Housekeeping กับพนักงานประจ�าแท่นขุดเจาะซึ่งอยู่ในธุรกิจผลิตและส�ารวจปิโตรเลียม ได้รับผลกระ ทบจากภาวะราคาน�้ามันโดยตรง ต้องปรับกลยุทธ์ในการลดต้นทุนการผลิตโดยรวมทุกส่วน ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืน ของลูกค้า บริษทั ฯ จึงได้เข้าร่วมโครงการปรับลดต้นทุนบริการให้กบั ลูกค้า รวมถึงอัตราการให้บริการทีล่ ดลงตามการลดก�าลังการผลิตของลูกค้า จึงส่งผลให้บริษัทฯมีรายได้จากการให้บริการในธุรกิจ Supply Management ลดลง ต้นทุนขายและบริการ และกำาไรขั้นต้น ต้นทุนขายและบริการของบริษัท ประกอบด้วย ต้นทุนขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่น และต้นทุนบริการของธุรกิจ Supply Management โดยในปี 2559 บริษัทฯและบริษัทย่อย มีต้นทุนการขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่น เท่ากับ 3,331.72 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 92.52 ของรายได้จากการขายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นทั้งหมด ส่งผลให้บริษัทฯและบริษัทย่อยมีก�าไรขั้นต้นจากการจ�าหน่าย น�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นในปี 2559 เท่ากับ 269.24 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปี 2558 จ�านวน 27.85 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.54 ก�าไรขั้นต้นที่เพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่เกิดจากการจ�าหน่ายน�้ามันทางทะเลให้กับกลุ่มลูกค้าต่างประเทศ และลูกค้าในกลุ่มธุรกิจ Oil& Gas โดยในปี 2559 บริษัทฯและบริษัทย่อย มีอัตราก�าไรขั้นต้นของการจ�าหน่ายน�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่นโดยรวมเท่ากับร้อยละ 7.48 ลดลงจากปี 2558 ที่มีอัตราก�าไรขั้นต้น เท่ากับร้อยละ 9.46 เนื่องจากการก�าหนดราคาขายน�้ามันเชื้อเพลิงของบริษัทย่อยในต่างประเทศ มีการแข่งขัน สูงท�าให้ไม่สามารถก�าหนดส่วนต่างของราคาได้เท่ากับการขายภายในประเทศจึงเป็นผลให้อัตราก�าไรขั้นต้นโดยรวมลดลง บริษัทฯ มีต้นทุนบริการของธุรกิจ Supply Management ในปี 2559 เท่ากับ 176.75 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 94.77 ของรายได้ จากการให้บริการรวม ส่งผลให้มีก�าไรขั้นต้นจากการให้บริการในปี 2559 เท่ากับ 9.75 ล้านบาท ลดลงจากปี 2558 ร้อยละ 23.28 เนื่องจาก การลดลงของอัตราการให้บริการในธุรกิจ Catering & Housekeeping Service บริษัทฯ มีอัตราก�าไรขั้นต้นจากการให้บริการในธุรกิจ Supply Management ในปี 2559 เท่ากับร้อยละ 5.22 ลดลงจากปี 2558 ที่มีอัตราก�าไรขั้นต้นเท่ากับร้อยละ 5.85 สืบเนื่องจากภาวะสถานการณ์ราคาน�้ามันที่ตกต�่า ส่งผลให้ลูกค้าในธุรกิจ Supply Management ซึ่งประกอบธุรกิจผลิตและส�ารวจปิโตรเลียมทั้งในทะเลและบนบก ตลอดจนธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับแท่นขุดเจาะ อาทิเช่น เรือบริวาร 86
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
แท่นขุดเจาะต่างๆ ต้องลดต้นทุนการผลิตโดยรวม ซึ่งบริษัทฯ ได้ให้ความร่วมมือและสนับสนุนโครงการในการลดต้นทุนให้กับลูกค้า โดยการยกระดับมาตรฐาน คุณภาพ และเพิ่มความปลอดภัยในการให้บริการ เพื่อลดความเสียหายและความสูญเสียต่างๆ ให้ได้มากที่สุด ส่งผลให้ลูกค้าสามารถลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการด�าเนินงานได้ เพื่อให้สามารถด�าเนินธุรกิจไปด้วยกันอย่างยั่งยืน อัตราก�าไรขั้นต้นของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ 31 ธันวาคม 2559 คิดเป็นร้อยละ 7.37 ลดลงจากปี 2558 ร้อยละ 19.72 เนื่องจาก การก�าหนดราคาขายน�้ามันเชื้อเพลิงของบริษัทย่อยในต่างประเทศนั้นมีการแข่งขันสูงท�าให้ไม่สามารถก�าหนดส่วนต่างของราคาได้เท่ากับ การขายภายในประเทศจึงเป็นผลให้อัตราก�าไรขั้นต้นโดยรวมลดลง ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายในการขาย ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายพนักงานฝ่ายขาย ค่าขนส่ง ค่าประกันภัยสินค้า รวมทั้งค่าการตลาด ในปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีค่าใช้จ่ายในการขาย เท่ากับ 88.32 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 5.63 สืบเนื่องจาก ค่าขนส่ง และค่าการตลาดทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการขยายตลาดต่างประเทศ รวมถึงค่าใช้จา่ ยพนักงานขายทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการเพิม่ จ�านวนบุคลากรในการ รองรับการขยายตัวของธุรกิจในต่างประเทศ ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ในปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการบริหารรวมเท่ากับ 109.50 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 28.93 โดย มีสาเหตุหลักมาจากค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการขยายธุรกิจทั้งในและต่างประเทศ อาทิ ค่าที่ปรึกษาในการวิเคราะห์และศึกษาโครงการลงทุนต่างๆ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการจัดตั้งบริษัทย่อยในต่างประเทศ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับพนักงานและผู้บริหาร เนื่องจากการเพิ่มจ�านวนบุคคลากรเพื่อ รองรับการขยายตัวของธุรกิจที่เข้าไปลงทุนทั้งในและต่างประเทศ และการปรับโครงสร้างค่าตอบแทนพนักงานให้เหมาะสมตามโครงสร้างงาน ในปัจจุบันให้อยู่ในระดับอุตสาหกรรมเดียวกัน ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน ในปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีต้นทุนทางการเงินจ�านวน 55.94 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนจ�านวน 4.46 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.67 เมื่อเทียบกับปีก่อน ต้นทุนทางการเงินที่เพิ่มขึ้นเกิดจากการกู้ยืมเงินจากการออกหุ้นกู้ เพื่อใช้ในการลงทุน ในธุรกิจส�ารวจและผลิตปิโตรเลียม รวมถึงเพื่อใช้ในการขยายธุรกิจทั้งในและต่างประเทศ ภาษีเงินได้นิติบุคคล ในปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีภาษีเงินได้ จ�านวน 13.51 ล้านบาท ลดลงจากปี 2558 ร้อยละ 27.60 ซึ่งสอดคล้องกับก�าไร สุทธิโดยรวมที่ลดลง งบแสดงฐ�นะท�งก�รเงิน หน่วย: ล้�นบ�ท) รวมสินทรัพย์ รวมหนี้สิน รวมส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�าระแล้ว
งบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�ร ปี 2558 ปี 2559 2,236.72 2,364.04 1,056.96 1,030.45 1,179.76 1,333.59 379.12 417.04 359.99 415.12
งบก�รเงินรวม ปี 2558 2,167.44 1,088.75 1,078.69 379.12 359.99
ปี 2559 2,342.17 1,188.34 1,153.83 417.04 415.12
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
87
ไปที่สารบัญ
สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวมจ�านวน 2,342.17 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ณ สิ้นปี 2558 174.73 ล้านบาท หรือเพิ่มร้อยละ 8.06 เกิดจากสินทรัพย์หมุนเวียนเพิ่มขึ้น 67.36 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ8.76 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้น 107.37 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.68 (1) สินทรัพย์หมุนเวียน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีสินทรัพย์หมุนเวียนรวม จ�านวน 836.25 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนจ�านวน ร้อยละ 8.76 ส่วนใหญ่เกิดจากการเพิ่มขึ้นของลูกหนี้การค้าและลูกค้าอื่นที่เพิ่มขึ้น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นสุทธิจ�านวน 563.64 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ณ สิ้นปี 2558 ร้อยละ 37.61 ส�าหรับลูกหนี้การค้าที่เพิ่มขึ้น เกิดจากยอดขายที่เพิ่มขึ้นจากกลุ่มลูกค้าต่างประเทศ และลูกหนี้อื่นเพิ่มขึ้น เนื่องจากเงินจ่ายล่วงหน้าค่าสินค้าและบริการ อย่างไรก็ดีลูกหนี้การค้า ณ 31 ธันวาคม 2559 ส่วนใหญ่เป็นหนี้ที่ยังไม่ครบก�าหนดช�าระและ ลูกหนี้ที่ค้างช�าระไม่เกินกว่า 3 เดือน (2) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
ณ วันที ่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีสนิ ทรัพย์ไม่หมุนเวียน จ�านวน 1,505.92 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นร้อยละ 7.68 ส่วนใหญ่เกิดจากการเพิ่มขึ้นของ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์-สุทธิ เนื่องจากบริษัทฯ ได้เข้าไปซื้อหุ้นของบริษัท นครชัยปราการเคมีภัณฑ์ จ�ากัด(“NPC”) เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2559 บริษัทฯ จะได้มาซึ่งกลุ่มสินทรัพย์ของธุรกิจโรงแยกคอนเดนเสทของ NPC ซึ่งประกอบด้วย ที่ดิน โรงแยกคอนเดนเสท เครื่องจักรและอุปกรณ์ ตลอดจนการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้างเนื่องจากมีการปรับปรุงโรงแยกคอนเดน เสทเพื่อให้ใช้งานได้ เงินลงทุนในการร่วมค้า ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีเงินลงทุนในการร่วมค้า จ�านวน 1,302.34 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการที่บริษัทย่อย Sea Oil Energy Limited ได้เข้าซื้อหุ้นของ Pan Orient Energy (Siam) Limited (“POES”) เมื่อเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ซึ่งประกอบ ธุรกิจเกี่ยวกับการส�ารวจ พัฒนาและผลิตน�้ามันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย จ�านวน 9,863 หุ้น คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 49.99 ของจ�านวนหุน้ ทีอ่ อกและจ�าหน่ายแล้วทัง้ หมดของ POES ซึง่ ได้รบั รูส้ ว่ นแบ่งผลขาดทุนในปี 2559 ไว้จา� นวน 39.59 ล้านบาท ซึง่ ณ สิน้ ปี 2558 บริษทั ฯ ได้ทา� การประเมินมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีไ่ ด้มาจากการลงทุนในบริษทั ร่วมค้า POES และได้ปรับปรุงผลกระทบทีเ่ กิด ขึ้น ณ วันที่มีส่วนได้เสียใน POES เรียบร้อยแล้ว ณ สิ้นปี 2559 บริษัทฯได้ทดสอบการด้อยค่าของเงินลงทุนในการร่วมค้า โดยใช้ประมาณ การกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับตลอดอายุสัมปทานปิโตรเลียม จาการทดสอบการด้อยค่าของเงินลงทุนในการร่วมค้า พบว่าผลรวมมูลค่า ปัจจุบนั กระแสเงินสดของโครงการมีคา่ สูงกว่ามูลค่าเงินลงทุนทีบ่ นั ทึกบัญชีไว้ ดังนัน้ ในปี 2559 บริษทั ฯ จึงไม่มกี ารบันทึกการด้อยค่าของเงินลงทุน ดังกล่าว หนี้สิน ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนี้สินรวม จ�านวน 1,188.34 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2558 จ�านวน99.59 ล้าน บาท โดยมีสาเหตุหลักจากการเพิ่มขึ้นของหนี้สินระยะยาว จากการออกหุ้นกู้ เมื่อเดือน กันยายน 2558 จ�านวน 1,000 ล้านบาท ให้แก่ผู้ลงทุน สถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ หุ้นกู้ดังกล่าวครบก�าหนดไถ่ถอนปี 2560 โดยมีอัตราดอกเบี้ยคงที่เท่ากับร้อยละ 5.35 ต่อปี ซึ่งบริษัทฯ ได้น�า เงินจากการออกหุน้ กู้ ไปช�าระหนีเ้ งินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงินเพือ่ ลดภาระต้นทุนทางการเงิน รวมถึงเพือ่ ใช้ในการขยายธุรกิจต่างๆ ทัง้ ในและต่างประเทศ ส่วนของผู้ถือหุ้น
ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯและบริษัทย่อย เท่ากับ 1,153.83 ล้านบาท เป็นส่วนของผู้เป็นเจ้าของ ของบริษัทใหญ่ เท่ากับ 1,146.34 เพิ่มขึ้นจากปี2558 จ�านวน 67.65 ล้านบาท โดยมีสาเหตุของการเพิ่มขึ้น ดังนี้ (1) บริษัทฯ มีการออกหุ้นสามัญจ�านวน 19.13 ล้านหุ้นมูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท รวมเป็นเงิน 19.13 ล้านบาท ส�าหรับช�าระค่า หุ้นของบริษัท นครชัยปราการเคมีภัณฑ์ จ�ากัด (“NPC”)จ�านวน 1.5 ล้านหุ้นมูลค่าหุ้นละ 100 บาท ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของจ�านวนหุ้นที่ ออกและจ�าหน่ายแล้วทั้งหมดของ NPC และได้บันทึกส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญจ�านวน 74.42 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลต่างของมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้น กับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ได้รับจากการซื้อหุ้นดังกล่าว 88
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
(2) จัดสรรก�าไรสะสมเพือ่ จ่ายปันผลรวมจ�านวน 40 ล้านบาทโดยการออกหุน้ สามัญเพือ่ จ่ายปันผลจ�านวน 36 ล้านหุน้ และจ่ายเงินสด ปันผลจ�านวน 4 ล้านบาท (3) บริษัทฯ มีการรับรู้ผลขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ส�าหรับปีเท่ากับ 24.16 ล้านบาท (4) ปรับปรุงส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�านาจควบคุม 2.26 ล้านบาท กระแสเงินสด งบกระแสเงินสด สำ�หรับปี สิ้นสุด 31 ธันว�คม 2559 (หน่วย : ล้�นบ�ท)
งบก�รเงินเฉพ�ะบริษัท
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด�าเนินงาน เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นงวด ก�าไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นงวด
งบก�รเงินรวม
2558
2559
2558
2559
169.26 (1,283.33) 861.74 (252.33) 548.92
238.91 (342.96) (58.08) (162.13) 297.89
184.32 (1,259.99) 870.73 (204.93) 548.92
(20.90) (7.67) (58.08) (86.65) 341.78
1.30
2.28
(2.21)
(0.59)
297.89
138.04
341.78
254.54
เงินสดสุทธิได้มำจำก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด�ำเนินงำน
ในปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมด�าเนินงานจ�านวน 20.90 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักมาจาก การเพิ่มขึ้นของลูกหนี้การค้า และเงินจ่ายล่วงหน้าค่าสินค้าและบริการของบริษัทย่อยในต่างประเทศ เงินสดสุทธิได้มำจำก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน
ในปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน จ�านวน 7.67 ล้านบาทโดยส่วนใหญ่เกิดจากการจ่ายเงินซื้อ อุปกรณ์และปรับปรุงโรงแยกคอนเดนเสทของบริษัทย่อย เงินสดสุทธิได้มำจำก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหำเงิน
ในปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินจ�านวน 58.08 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิดจากดอกเบี้ยหุ้นกู้ และการจ่ายปันผล จากรายการกระแสเงินสดใช้ไปจากกิจกรรมดังกล่าวข้างต้น ท�าให้บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลดลงสุทธิ รวมเป็นจ�านวน 87.24 ล้านบาท จาก ณ สิ้นปี 2558 ท�าให้ บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ สิ้นปี 2559 เท่ากับ 254.54 ล้านบาท เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด�าเนินงาน
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน
(ล้านบาท)
(ล้านบาท)
(ล้านบาท)
7.67
58.08 “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
89
ไปที่สารบัญ
ปัจจัยและอิทธิพลที่อาจมีผลต่อผลการดำาเนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต ควำมผันผวนของรำคำน�้ำมันและกำรชะลอตัวของเศรษฐกิจภูมิภำคเอเซีย
เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโลกและราคาน�้ามันยังมีความผันผวนตามปัจจัยต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปริมาณการผลิต ปริมาณความต้องการ ใช้น�้ามัน ซึ่งรายได้หลักของบริษัทมาจากการจัดจ�าหน่ายน�้ามันเป็นหลัก ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงของราคาน�้ามันอาจส่งผลต่อผลประกอบการ ของบริษัทโดยรวมได้ หากราคาน�้ามันปรับตัวลดลงอย่างมาก ส่งผลให้รายได้จากการจ�าหน่ายน�้ามันของกิจการลดลงด้วยเช่นกัน อย่างไร ก็ตาม บริษัทมีนโยบายในการก�าหนดราคาขายโดยใช้วิธีราคาต้นทุนบวกก�าไรขั้นต้น (Cost Plus Pricing Method) เพื่อรักษาระดับก�าไรไว้ รวมถึงนโยบายการกระจายความเสี่ยงไปยังธุรกิจอื่นๆ ที่ไม่ผันผวนตามราคาน�้ามัน เช่น ธุรกิจพลังงานทดแทนอื่นๆ เพื่อช่วยลดผลกระทบ จากความผันผวนของราคาน�้ามันได้ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้มีการติดตามสถานการณ์ และเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด เพื่อให้การด�าเนินธุรกิจ เป็นไปตามเป้าหมายที่ก�าหนดไว้ และสามารถปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ในปัจจุบัน ตารางแสดงอัตราส่วนทางการเงินที่สำาคัญ งบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�ร ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 8.22 13.82 0.64
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)
ปี 2557 8.21
งบก�รเงินรวม ปี 2558 8.59
ปี 2559 0.71
อัตราก�าไรขั้นต้น (ร้อยละ)
7.13
9.21
12.36
7.13
9.18
7.37
อัตราก�าไรจากการด�าเนินงาน (ร้อยละ)
3.72
6.77
9.54
3.64
2.85
1.29
อัตราก�าไรสุทธิ (ร้อยละ)
2.85
3.89
4.25
2.77
0.23
(0.61)
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ร้อยละ)
11.32
9.32
5.12
11.02
0.60
(2.09)
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ร้อยละ)
10.04
6.08
2.79
9.78
0.38
(1.03)
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)
0.14
0.9
0.77
0.14
1.01
1.04
กำรค�ำนวณอัตรำส่วนทำงกำรเงิน
อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราก�าไรขั้นต้น อัตราก�าไรจากการด�าเนินงาน อัตราก�าไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
90
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
= = = = = = =
สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน ก�าไรขั้นต้น / รายได้จากการขายและให้บริการสุทธิ ก�าไรจากการด�าเนินงาน / รายได้จากการขายและให้บริการสุทธิ ก�าไรสุทธิ / รายได้รวม ก�าไรสุทธิ / ส่วนของผู้ถือหุ้น (เฉลี่ย) ก�าไรสุทธิ / สินทรัพย์รวม (เฉลี่ย) หนี้สินรวม / ส่วนของผู้ถือหุ้น
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ไปที่สารบัญ
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอผู้ถือหุ้นของบริษัท ซีออยล์ จำากัด (มหาชน) ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมของบริษัท ซีออยล์ จ�ากัด (มหาชน) (บริษัท) และบริษัทย่อย (กลุ่มกิจการ) และงบการเงินเฉพาะกิจการของ บริษัทแสดงฐานะการเงินรวมของกลุ่มกิจการและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และผลการด�าเนิน งานรวมและผลการด�าเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการส�าหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตาม ที่ควรในสาระส�าคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน งบการเงินที่ตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของกลุม่ กิจการและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั ข้างต้นนี ้ ซึง่ ประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวม และงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที ่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และงบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะ กิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสด รวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการส�าหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ รวมถึง หมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่ส�าคัญ เกณฑ์ในการแสดงความเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในส่วนของความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชี ต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็นอิสระจากกลุ่มกิจการและบริษัท ตามข้อก�าหนดจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการทีก่ า� หนด โดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามความรับผิดชอบด้านจรรยาบรรณอื่น ๆ ซึ่งเป็นไปตามข้อก�าหนดเหล่านี้ ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า เรื่องสำาคัญในการตรวจสอบ เรื่องส�าคัญในการตรวจสอบคือเรื่องต่าง ๆ ที่มีนัยส�าคัญที่สุดตามดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพของข้าพเจ้าในการตรวจสอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการส�าหรับงวดปัจจุบัน ข้าพเจ้าได้ระบุเรื่อง การประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของเงินลงทุนในการร่วมค้า เป็นเรื่องส�าคัญในการตรวจสอบและได้น�าเรื่องนี้มาพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม และในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากส�าหรับเรื่องนี้
92
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
เรื่องสำาคัญในการตรวจสอบ
วิธีการตรวจสอบ
การประเมิ น มู ล ค่ า ที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ คื น ของ เงินลงทุนในการร่วมค้า ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม พ.ศ. 2559 กลุ ่ ม บริ ษั ท มี เ งิ น ลงทุ น ในการร่วมค้าในงบการเงินรวมจ�านวน 1,302.34 ล้านบาท คิดเป็นร้อย ละ 55.60 ของสินทรัพย์รวม ซึ่งเกิดจากการที่บริษัทย่อยเข้าซื้อหุ้นของ บริษัทแห่งหนึ่งในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งด�าเนินธุรกิจเกี่ยวกับการส�ารวจ พัฒนาและผลิตน�า้ มันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ บริษทั ดังกล่าวได้รบั ผลกระทบจากราคาน�้ามันดิบที่ลดลง และมีผลการด�าเนินงานขาดทุน สถานการณ์ ดั ง กล่ า วจึ ง เป็ น ข้ อ บ่ ง ชี้ ข องการด้ อ ยค่ า ของเงิ น ลงทุ น ในการร่วมค้า กลุ่มบริษัทจึงมีการทดสอบการด้อยค่าของเงินลงทุนดัง กล่าว โดยผลการทดสอบผู้บริหารเชื่อมั่นว่าเงินลงทุนในการร่วมค้า ไม่ด้อยค่า การประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของเงินลงทุนในการร่วมค้า ถูกก�าหนดให้เป็นเรื่องส�าคัญในการตรวจสอบ เนื่องจากเงินลงทุน ดังกล่าวมีสาระส�าคัญต่องบการเงิน และมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขึ้นอยู่กับข้อสมมติฐานเป็นจ�านวนมากที่เกี่ยวข้องกับการใช้ดุลยพินิจ ที่ส�าคัญของฝ่ายบริหารเกี่ยวกับข้อมูลในอนาคต เช่น การประมาณการ กระแสเงินสดในอนาคตที่คาดว่าจะได้จากเงินลงทุน การคาดการณ์ เกี่ยวกับความผันผวนที่อาจจะเกิดขึ้นกับจ�านวนเงินหรือจังหวะเวลา ของกระแสเงินสดในอนาคต มูลค่าของเงินตามเวลา และอัตราคิดลด ที่ เ หมาะสม ในการประมาณการกระแสเงิ น สดในอนาคตดั ง กล่ า ว มีสมมติฐานที่ส�าคัญในเรื่อง ปริมาณส�ารองและทรัพยากรปิโตรเลียม และราคาน�้ามันดิบ
ข้าพเจ้าได้ประเมินความเหมาะสมของข้อสมมติฐานที่ผู้บริหาร ของบริษัทใช้ในการประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนซึ่งก�าหนด จากการค� า นวณมู ล ค่ า จากการใช้ ตามที่ ไ ด้ มี ก ารเปิ ด เผย ข้อสมมติฐานดังกล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 9.2 เรื่องเงินลงทุนในการร่วมค้า ข้าพเจ้าสอบถามเชิงทดสอบเกี่ยวกับการประเมินการด้อยค่า ที่จัดท�าโดยผู้บริหารและแผนการผลิตในอนาคต ข้าพเจ้าได้ ทดสอบความเหมาะสมของกระแสเงิ น สดคิ ด ลดที่ เ กิ ด ขึ้ น ซึง่ ประกอบไปด้วยการเปรียบเทียบผลการด�าเนินงานทีเ่ กิดขึน้ จริง กับข้อมูลตัวเลขประมาณการ การเปรียบเทียบปริมาณส�ารอง และทรัพยากรปิโตรเลียมกับรายงานของผูเ้ ชีย่ วชาญของผูบ้ ริหาร การทดสอบความสมเหตุสมผลของการประมาณการราคาน�้ามัน ดิบในอนาคตโดยอ้างอิงจากข้อมูลตลาด รวมถึงการวิเคราะห์ ต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องต่างๆ ให้มีความสัมพันธ์กับยอด ขายและสอดคล้องกับตัวเลขทีเ่ กิดขึน้ จริงในอดีต การเปรียบเทียบ อัตราคิดลดทีผ่ บู้ ริหารใช้กบั ข้อมูลในตลาด รวมทัง้ การท�าวิเคราะห์ ความอ่ อ นไหว นอกจากนี้ ข ้ า พเจ้ า มี ก ารประเมิ น ความรู ้ ความสามารถของผูเ้ ชีย่ วชาญทีเ่ ป็นผูป้ ระมาณการปริมาณส�ารอง และทรัพยากรปิโตรเลียม และราคาน�้ามันดิบ จากวิธีการดังกล่าว ข้าพเจ้าพบว่าข้อสมมติฐานที่ผู้บริหารใช้ใน การประเมินมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของเงินลงทุนในการร่วมค้า มีความสมเหตุสมผล
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
93
ไปที่สารบัญ
ข้อมูลอื่น กรรมการเป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ข้ อ มู ล อื่ น ข้ อ มู ล อื่ น ประกอบด้ ว ย ข้ อ มู ล ซึ่ ง รวมอยู ่ ใ นรายงานประจ� า ปี แต่ ไ ม่ ร วมถึ ง งบการเงิ น รวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ และรายงานของผู้สอบบัญชีที่อยู่ในรายงานนั้น ข้าพเจ้าคาดว่าข้าพเจ้าจะได้รับรายงานประจ�าปีภายหลังวันที่ ในรายงานของผู้สอบบัญชีนี้ ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่น และข้าพเจ้าไม่ได้ให้ความเชื่อมั่นต่อข้อมูลอื่น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอื่น มีความขัดแย้งทีม่ สี าระส�าคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ หรือกับความรูท้ ไี่ ด้รบั จากการตรวจสอบของข้าพเจ้า หรือปรากฏว่า ข้อมูลอื่นมีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�าคัญหรือไม่ เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจ�าปี หากข้าพเจ้าสรุปได้ว่ามีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส� าคัญ ข้าพเจ้าต้องสื่อสาร เรื่องดังกล่าวกับคณะกรรมการตรวจสอบ ความรับผิดชอบของกรรมการต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดท�าและน�าเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้ โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิ น และรั บ ผิ ด ชอบเกี่ ย วกั บ การควบคุ ม ภายในที่ ก รรมการพิ จ ารณาว่ า จ� า เป็ น เพื่ อ ให้ ส ามารถจั ด ท� า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�าคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือ ข้อผิดพลาด ในการจัดท�างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุ่มกิจการและบริษัท ในการด�าเนินงานต่อเนื่อง เปิดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับการด�าเนินงานต่อเนื่อง (ตามความเหมาะสม) และการใช้เกณฑ์การบัญชีส�าหรับการด�าเนิน งานต่อเนื่อง เว้นแต่กรรมการมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มกิจการและบริษัท หรือหยุดด�าเนินงาน หรือไม่สามารถด�าเนินงานต่อเนื่องต่อไปได้ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่ช่วยกรรมการในการสอดส่องดูแลกระบวนการในการจัดท�ารายงานทางการเงินของกลุ่มกิจการและบริษัท ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมปราศจาก การแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�าคัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ด้วย ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อมั่นในระดับสูง แต่ไม่ได้เป็นการรับประกันว่าการปฏิบัติงาน ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�าคัญทีม่ อี ยูไ่ ด้เสมอไป ข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริง อาจเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และถือว่ามีสาระส�าคัญเมือ่ คาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลได้วา่ รายการทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการ หรือทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้ ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าได้ใช้ดลุ ยพินจิ เยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพและการสังเกต และสงสัยเยีย่ งผูป้ ระกอบ วิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบัติงานของข้าพเจ้ารวมถึง · ระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�าคัญในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิ จ การ ไม่ ว ่ า จะเกิ ด จากการทุ จ ริ ต หรื อ ข้ อ ผิ ด พลาด ออกแบบและปฏิ บั ติ ง านตามวิ ธี ก ารตรวจสอบเพื่ อ ตอบสนอง ต่อความเสี่ยงเหล่านั้น และได้หลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเสีย่ งทีไ่ ม่พบข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�าคัญซึง่ เป็นผลมาจากการทุจริตจะสูงกว่าความเสีย่ งทีเ่ กิดจากข้อผิดพลาด เนือ่ งจากการทุจริตอาจเกีย่ วกับการสมรูร้ ว่ มคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตัง้ ใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูล ที่ไม่ตรงตามข้อเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน 94
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
ท�าความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับการตรวจสอบ เพือ่ ออกแบบวิธกี ารตรวจสอบทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่มกิจการและบริษัท · ประเมิ น ความเหมาะสมของนโยบายการบั ญ ชี ที่ ก รรมการใช้ แ ละความสมเหตุ ส มผลของประมาณการทางบั ญ ชี และการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องซึ่งจัดท�าขึ้นโดยกรรมการ · สรุ ป เกี่ ย วกั บ ความเหมาะสมของการใช้ เ กณฑ์ ก ารบั ญ ชี ส� า หรั บ การด� า เนิ น งานต่ อ เนื่ อ งของกรรมการและจากหลั ก ฐาน การสอบบัญชีที่ได้รับ สรุปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระส�าคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่อาจเป็นเหตุให้เกิด ข้ อ สงสั ย อย่ า งมี นั ย ส� า คั ญ ต่ อ ความสามารถของกลุ ่ ม กิ จ การและบริ ษั ท ในการด� า เนิ น งานต่ อ เนื่ อ งหรื อ ไม่ ถ้ า ข้ า พเจ้ า ได้ ข้อสรุปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระส�าคัญ ข้าพเจ้าต้องกล่าวไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้าถึงการเปิดเผยที่เกี่ยวข้อง ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ หรือถ้าการเปิดเผยดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็นของข้าพเจ้าจะเปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุปของข้าพเจ้าขึน้ อยูก่ บั หลักฐานการสอบบัญชีทไี่ ด้รบั จนถึงวันทีใ่ นรายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์ หรือสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็นเหตุให้กลุ่มกิจการและบริษัทต้องหยุดการด�าเนินงานต่อเนื่อง · ประเมินการน�าเสนอ โครงสร้างและเนื้อหาของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม รวมถึงการเปิดเผยว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการ และเหตุการณ์ในรูปแบบที่ท�าให้มีการน�าเสนอข้อมูลโดยถูกต้อง ตามที่ควร · ได้รบ ั หลักฐานการสอบบัญชีทเี่ หมาะสมอย่างเพียงพอเกีย่ วกับข้อมูลทางการเงินของกิจการภายในกลุม่ หรือกิจกรรมทางธุรกิจ ภายในกลุ ่ ม กิ จ การเพื่ อ แสดงความเห็ น ต่ อ งบการเงิ น รวม ข้ า พเจ้ า รั บ ผิ ด ชอบต่ อ การก� า หนดแนวทางการควบคุ ม ดู แ ล และการปฏิบัติงานตรวจสอบกลุ่มกิจการ ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า ·
ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผนไว้ ซึ่งรวมถึงประเด็นที่มีนัย ส�าคัญที่พบจากการตรวจสอบและข้อบกพร่องที่มีนัยส�าคัญในระบบการควบคุมภายใน ซึ่งข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้คา� รับรองแก่คณะกรรมการตรวจสอบว่า ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ติ ามข้อก�าหนดจรรยาบรรณทีเ่ กีย่ วข้องกับความเป็นอิสระและได้สอื่ สาร กับคณะกรรมการตรวจสอบเกีย่ วกับความสัมพันธ์ทงั้ หมด ตลอดจนเรือ่ งอืน่ ซึง่ ข้าพเจ้าเชือ่ ว่ามีเหตุผลทีบ่ คุ คลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบ ต่อความเป็นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการที่ข้าพเจ้าใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ข้าพเจ้าขาดความเป็นอิสระ จากเรื่องที่สื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่มีนัยส�าคัญที่สุดในการตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปัจจุบันและก�าหนดเป็นเรื่องส�าคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่องเหล่านี้ในรายงานของผู้สอบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรือข้อบังคับไม่ให้เปิดเผยต่อสาธารณะเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว หรือในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควร สือ่ สารเรือ่ งดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระท�าดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่า ผลประโยชน์ต่อส่วนได้เสียสาธารณะจากการสื่อสารดังกล่าว บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ากัด
สุขุมำภรณ์ วงศ์อริยำพร
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4843 กรุงเทพมหานคร 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
95
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล์ จำากัด (มหาชน)
บริษัท ซีออยล์ จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐำนะกำรเงิ น น 2559 ณ วังบแสดงฐานะการเงิ นที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
หมายเหตุ
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าระหว่างทาง สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
7 8 26.4
254,535,995 563,644,946 205,500 17,859,418
341,781,287 409,594,553 2,910,737 14,604,843
138,038,928 179,989,911 329,642,440 205,500 14,292,290
297,892,000 483,913,060 574,000 14,604,843
836,245,859
768,891,420
662,169,069
796,983,903
680,620 1,302,340,597 17,533,500 150,692,021 3,091,870 4,919,840 26,666,616
1,341,929,834 17,533,500 5,786,826 3,111,277 2,419,326 27,766,057
163,773,976 17,533,500 1,387,880,000 99,139,637 1,226,102 1,663,684 2,331,963 28,322,560
1,332,229 17,533,500 1,387,880,000 2,353,733 2,032,714 2,419,326 26,183,220
รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
1,505,925,064
1,398,546,820
1,701,871,422
1,439,734,722
รวมสินทรัพย์
2,342,170,923
2,167,438,240
2,364,040,491
2,236,718,625
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากประจําที่ติดภาระค้ําประกัน เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในการร่วมค้า เงินลงทุนทั่วไป - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยค้างรับจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
9.1 9.2 10 26.4 26.3 11 12 13 14
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 14 ถึง 65 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 14 ถึง 65 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 6 96
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล์ จำากัด (มหาชน)
น บริงบแสดงฐำนะกำรเงิ ษัท ซีออยล์ จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม งบแสดงฐานะการเงิ น พ.ศ. 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หมายเหตุ
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย หุ้นกู้ส่วนที่ถึงกําหนดไถ่ถอนภายในหนึ่งปี
16
180,637,912 244,858 998,290,285
75,071,930 167,302 -
24,472,522 5,984 998,290,285
52,443,813 -
5,692,817
14,231,571
4,202,179
5,239,071
1,184,865,872
89,470,803
1,026,970,970
57,682,884
3,476,713
996,434,038 2,845,429
3,476,713
996,434,038 2,845,429
3,476,713
999,279,467
3,476,713
999,279,467
1,188,342,585
1,088,750,270
1,030,447,683
1,056,962,351
18
417,036,710
379,124,282
417,036,710
379,124,282
18 18
415,120,281 656,291,937
359,993,848 581,868,371
415,120,281 656,291,937
359,993,848 581,868,371
19
26,509,200 48,485,818 (66,842)
23,295,000 113,502,740 28,011
26,509,200 235,671,390 -
23,295,000 214,599,055 -
รวมส่วนของผู้เป็นเจ้าของของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม
1,146,340,394 7,487,944
1,078,687,970 -
1,333,592,808 -
1,179,756,274 -
รวมส่วนของเจ้าของ รวมหนี้สินและส่วนของเจ้าของ
1,153,828,338 2,342,170,923
1,078,687,970 2,167,438,240
1,333,592,808 2,364,040,491
1,179,756,274 2,236,718,625
15
หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน หุ้นกู้ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน
15 17
รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนของเจ้าของ ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ จํานวน 417,036,710 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท (พ.ศ. 2558: หุ้นสามัญ จํานวน 379,124,282 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ทุนที่ออกและชําระแล้ว หุ้นสามัญ จํานวน 415,120,281 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท (พ.ศ. 2558: หุ้นสามัญ จํานวน 359,993,848 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - ทุนสํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 14 ถึง 65 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 14 ถึง 65 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
7 97
ไปที่สารบัญ
บริษบริ ัท ซีษอัทอยล์ จำากัดจํ(มหาชน) ซีออยล์ ากัด (มหาชน)
งบกำรเงิ นขำดทุนเบ็นดเบ็เสร็ดเสร็ งบกําไรขาดทุ จ จ
สำาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
หมายเหตุ รายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริการ ต้นทุนขาย ต้นทุนบริการ
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
3,600,957,491 2,552,174,287 1,257,941,276 186,492,670 217,111,829 186,492,670 (3,331,722,138) (2,310,785,944) (1,089,154,392) (176,745,385) (204,407,179) (176,745,385)
กําไรขั้นต้น
2,400,833,265 217,111,829 (2,172,502,550) (204,407,179)
278,982,638
254,092,993
178,534,169
241,035,365
22
2,774,182 (88,322,331) (109,503,801) 1,899,713 (55,938,718)
32,895,527 (83,617,415) (84,929,222) 4,144,672 (51,475,056)
65,832,172 (39,365,264) (71,124,132) 2,208,855 (55,938,718)
82,591,126 (77,853,030) (73,281,718) 2,766,032 (51,475,056)
กําไรก่อนส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) จากการร่วมค้า และภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) จากการร่วมค้า 9.2
29,891,683 (39,589,238)
71,111,499 (45,950,166)
80,147,082 -
123,782,719 -
กําไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
(9,697,555) (13,509,627)
25,161,333 (18,660,623)
80,147,082 (15,863,421)
123,782,719 (18,501,855)
(23,207,182)
6,500,710
64,283,661
105,280,864
รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน - สุทธิ ต้นทุนทางการเงิน
กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี
21
24
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 14 ถึง 65 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 14 ถึง 65 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 98
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
8
ไปที่สารบัญ
ออยล์จําจำกัากัดด(มหาชน) (มหาชน) บริษบริัทษซีัทอซีอยล์ ขำดทุ งบกํงบกำรเงิ าไรขาดทุนนเบ็ ดเสร็นจ เบ็ดเสร็จ สำาบหรัปีบสปีิ้นสสุิ้นดสุวัดนวัทีน่ที31 ่ 31ธัธันนวาคม วาคม พ.ศ. พ.ศ. 2559 2559 สําหรั
หมายเหตุ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: รายการที่จะจัดประเภทใหม่ไปยัง กําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่า งบการเงิน รวมรายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่ไปยัง กําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับปี - สุทธิจากภาษี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี การแบ่งปันกําไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้เป็นเจ้าของของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม
การแบ่งปันกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของผู้เป็นเจ้าของของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม
กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน
25
ข้อมูลทางการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
(197,823)
(1,164,398)
-
-
(197,823)
(1,164,398)
-
-
(197,823)
(1,164,398)
-
-
(23,405,005)
5,336,312
64,283,661
105,280,864
(23,981,410) 774,228 (23,207,182)
6,500,710 6,500,710
64,283,661 64,283,661
105,280,864 105,280,864
(24,165,785) 760,780 (23,405,005)
5,336,312 5,336,312
64,283,661 64,283,661
105,280,864 105,280,864
(0.06)
0.02
0.16
0.27
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 14 ถึง 65 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 14 ถึง 65 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
99
9
100
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
415,120,281
-
9.1 656,291,937
-
74,423,566 -
581,868,371
581,868,371
419,995,220 -
161,873,151
ส่วนเกินมูลค่า หุ้นสามัญ บาท
-
-
-
-
-
(524,994,025) -
524,994,025
26,509,200
-
3,214,200 -
23,295,000
23,295,000
5,305,000 -
17,990,000
48,485,818
2,175,814
(3,214,200) (39,997,126) (23,981,410) -
113,502,740
113,502,740
(5,305,000) (49,998,864) 6,500,710
162,305,894
(66,842)
89,522
(184,375) -
28,011
(66,842)
89,522
(184,375) -
28,011
28,011
(1,164,398)
(1,164,398) 28,011
-
1,192,409
-
1,192,409
1,146,340,394
129,549,999 (39,997,126) (24,165,785) 2,265,336
1,078,687,970
1,078,687,970
44,996,991 (49,998,864) 5,336,312
1,078,353,531
องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ผลต่าง รวม อัตราแลกเปลี่ยน องค์ประกอบอื่น รวมส่วนของ จากการแปลงค่า ของส่วนของ ผู้เป็นเจ้าของของ งบการเงิน เจ้าของ บริษัทใหญ่ บาท บาท บาท
งบการเงินรวม
กําไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสํารอง ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร บาท บาท
ส่วนของผู้เป็นเจ้าของของบริษัทใหญ่
เงินรับ ล่วงหน้าค่าหุ้น บาท
หมายเหตุ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการในหน้ า 14 ถึง 65 เป็ นนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการในหน้ า 14 นถึส่งวนหนึ 65 เป็่งของงบการเงิ นส่วนหนึ่งของงบการเงิ นนี้
ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
55,126,433 -
18 19 20
359,993,848
ยอดยกมาต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559
การเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของสําหรับปี การเพิ่มทุนหุ้นสามัญ สํารองตามกฎหมาย เงินปันผลจ่าย กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี การเพิ่มทุนของบริษัทย่อย การลดสัดส่วนการถือหุ้นของผู้เป็นเจ้าของของบริษัทใหญ่ ให้แก่ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม
359,993,848
ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
149,995,796 -
การเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของสําหรับปี การเพิ่มทุนหุ้นสามัญ สํารองตามกฎหมาย เงินปันผลจ่าย กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี
18 19 20
209,998,052
หมายเหตุ
ทุนที่ออกและ ชําระแล้ว บาท
ยอดยกมาต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
สำาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
บริษัท ซีออยล์ จํากัด (มหาชน) งบแสดงกำรเปลี ่ยนแปลงส่วนของเจ้ำของ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ
บริษัท ซีออยล์ จำากัด (มหาชน)
7,487,944
(2,265,336)
760,780 8,992,500
-
-
-
-
ส่วนได้เสีย ทีไม่มีอํานาจ ควบคุม บาท
1,153,828,338
-
129,549,999 (39,997,126) (23,405,005) 8,992,500
1,078,687,970
1,078,687,970
44,996,991 (49,998,864) 5,336,312
1,078,353,531
รวมส่วนของ เจ้าของ บาท
10
ไปที่สารบัญ
-
-
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
415,120,281
656,291,937
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 14 ถึง 65 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 14 ถึง 65 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี
-
-
-
20
เงินปันผลจ่าย
-
-
19
74,423,566
55,126,433
การเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของสําหรับปี การเพิ่มทุนหุ้นสามัญ
สํารองตามกฎหมาย
581,868,371
359,993,848
ยอดยกมาต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 18
581,868,371
359,993,848
ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี
20
เงินปันผลจ่าย -
-
-
19
สํารองตามกฎหมาย -
419,995,220
149,995,796
การเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของสําหรับปี การเพิ่มทุนหุ้นสามัญ 18
161,873,151
209,998,052
ยอดยกมาต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุ
ส่วนเกินมูลค่า หุ้นสามัญ บาท
ทุนที่ออกและ ชําระแล้ว บาท
สำาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
บริษัท ซีออยล์ จํากัด (มหาชน) บริษงบแสดงการเปลี ัท ซีออยล์ จำากัด่ย(มหาชน) นแปลงส่วนของเจ้าของ งบแสดงกำรเปลี วนของเจ้ ำของ สําหรับปีสิ้นสุดวัน่ยทีนแปลงส่ ่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
(524,994,025)
524,994,025
เงินรับล่วงหน้า ค่าหุ้น บาท
26,509,200
-
-
3,214,200
-
23,295,000
23,295,000
-
-
5,305,000
-
17,990,000
235,671,390
64,283,661
(39,997,126)
(3,214,200)
-
214,599,055
214,599,055
105,280,864
(49,998,864)
(5,305,000)
-
164,622,055
กําไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสํารอง ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ
11
1,333,592,808
64,283,661
(39,997,126)
-
129,549,999
1,179,756,274
1,179,756,274
105,280,864
(49,998,864)
-
44,996,991
1,079,477,283
รวม ส่วนของเจ้าของ บาท
ไปที่สารบัญ
101
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล์ จำากัด (มหาชน)
บริษัท ซีออยล์ จํากัด่ย(มหาชน) งบแสดงกำรเปลี นแปลงส่วนของเจ้ำของ
สำงบกระแสเงิ าหรับปีสิ้นสุนดสดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย กลับรายการหนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นแล้ว ของเงินให้กู้ยืม ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลี่ยน ที่ยังไม่เกิดขึ้น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่าย รายได้เงินปันผล ส่วนแบ่งขาดทุนจากการร่วมค้า กําไรจากการดําเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์ และหนี้สินดําเนินงาน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สินค้าระหว่างทาง สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน
11,12
17
21 9.2
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
(9,697,555)
25,161,333
80,147,082
123,782,719
2,790,921 (2,924,350)
2,365,288 (5,824,164)
1,760,398 (2,924,350)
2,040,552 (5,824,164)
-
-
2,220,600
-
(3,310,422) 631,284 (1,076,470) 55,938,718 39,589,238
(2,249,063) 576,550 (1,416,442) 51,475,057 (30,855,052) 45,950,166
(3,655,815) 631,284 (62,603,982) 55,938,718 -
(870,423) 576,550 (50,427,014) 51,475,057 (30,855,052) -
81,941,364
85,183,673
71,513,935
89,898,225
(175,476,113) 2,653,942 (1,832,132) 3,173,031 86,158,442 (1,502,503)
122,968,970 (2,791,539) 21,449,487 (27,685,316) 18,929,577 2,179,123
209,949,993 368,500 312,553 1,519,602 (27,945,933) (1,036,891)
124,442,872 (574,000) 21,449,487 (26,183,220) (6,040,286) 2,179,123
(4,883,969)
220,233,975
254,681,759
205,172,201
(16,018,355)
(35,910,783)
(15,770,074)
(35,910,783)
(20,902,324)
184,323,192
238,911,685
169,261,418
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 14 ถึง 65 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 102
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
12
ไปที่สารบัญ
บริษษัทัท ซีซีอออยล์ อยล์ จำจําากักัดด (มหาชน)
งบแสดงกำรเปลี งบกระแสเงินสด ่ยนแปลงส่วนของเจ้ำของ สำสําาหรั หรับบปีปีสสิ้นิ้นสุสุดดวัวันนทีที่ ่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม พ.ศ. พ.ศ. 2559 2559
หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจ่ายเพื่อซื้ออุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื่อซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดจ่ายเพื่อลงทุนในบริษัทย่อยและการร่วมค้า ต้นทุนการทํารายการที่บันทึกเป็นสินทรัพย์ เงินสดจ่ายล่วงหน้าค่าหุ้น เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย เงินสดรับชําระคืนเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย เงินสดรับจากดอกเบี้ย เงินสดรับจากเงินปันผล
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
(38,231,878) (470,430) (43,588) 1,076,470 30,000,375
(4,593,146) (1,025,262) (1,256,640,000) 1,416,442 854,677
(263,737) (42,269,946) (3,658,944) (399,716,007) 69,119,400 3,828,265 30,000,375
(1,012,158) (1,332,197) (26,617,800) (1,256,640,000) 1,415,126 854,677
(7,669,051)
(1,259,987,289)
(342,960,594)
(1,283,332,352)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดจ่ายชําระเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ ต้นทุนในการออกหุ้นกู้ เงินสดรับชําระล่วงหน้าค่าหุ้น เงินสดจ่ายชําระเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายดอกเบี้ย เงินสดจ่ายเงินปันผล
(54,082,472) (4,001,127)
(80,331,827) 547,000,000 1,000,000,000 (4,170,000) 8,992,500 (547,000,000) (48,757,151) (5,001,873)
(54,082,472) (4,001,127)
(80,331,827) 547,000,000 1,000,000,000 (4,170,000) (547,000,000) (48,757,151) (5,001,873)
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน
(58,083,599)
870,731,649
(58,083,599)
861,739,149
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลง สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด
(86,654,974) 341,781,287
(204,932,448) 548,925,221
(162,132,508) 297,892,000
(252,331,785) 548,925,188
(590,318)
(2,211,486)
2,279,436
1,298,597
7
254,535,995
341,781,287
138,038,928
297,892,000
9.1 9.1 20
93,554,000 35,995,999 17,661,206
44,996,991 -
93,554,000 35,995,999 -
44,996,991 -
9 14 8 26.4 26.4
เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี ข้อมูลเพิ่มเติมประกอบงบกระแสเงินสด รายการที่ไม่ไช่เงินสด ซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อยโดยการออกหุ้นสามัญ การได้มาซึ่งสินทรัพย์ในบริษัทโดยการออกหุ้นสามัญ จ่ายหุ้นปันผล เจ้าหนี้ค่าซื้ออุปกรณ์
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 14 ถึง 65 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 14 ถึง 65 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
13 “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
103
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
1
ข้อมูลทั่วไป บริษัท ซีออยล์ จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) จดทะเบียนและจัดตั้งเป็นนิติบุคคลเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 บริษัท ได้จดทะเบียนเข้าเป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2556 โดยหุ้นสามัญของบริษัท ได้รับอนุมัติเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ใหม่ (MAI : Market for Alternative Investment) บริษัทมีที่อยู่ ตามที่ได้จดทะเบียนดังนี้ เลขที่ 88 ซอยบางนา - ตราด 30 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร บริษัทดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการจําหน่ายน้ํามันเชื้อเพลิงและน้ํามันหล่อลื่น และการให้บริการอาหารและทําความสะอาด สําหรับบุคลากรทั้งบนบกและในทะเล โดยธุรกรรมการจําหน่ายน้ํามันเชื้อเพลิงในต่างประเทศ ได้ดําเนินการโดยบริษัทย่อย คือ Sea Oil Offshore Limited ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2558 และ Sea Oil Petroleum Pte. Ltd. ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2559 เพื่อวัตถุประสงค์ในการรายงานข้อมูลจึงรวมเรียกบริษัทและบริษัทย่อยว่า “กลุ่มกิจการ” รายละเอียดของบริษัทย่อยและการร่วมค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มีดังนี้
ชื่อบริษัท บริษัทย่อย Sea Oil Energy Limited Sea Oil Offshore Limited Sea Oil Petroleum Pte. Ltd. บริษัท นครชัยปราการ เคมีภัณฑ์ จํากัด
การร่วมค้า Pan Orient Energy (Siam) Ltd. (ถือหุ้นโดย Sea Oil Energy Limited)
ประเทศที่ จดทะเบียน หมู่เกาะ เบอร์มิวด้า มาเลเซีย สิงคโปร์ ไทย
หมู่เกาะ เบอร์มิวด้า
ประเภทธุรกิจ
อัตราร้อยละของ การถือหุ้น
การลงทุนในบริษัทอื่น
100.00
ธุรกิจจําหน่ายน้ํามันและผลิตภัณฑ์ที่ เกี่ยวข้อง ธุรกิจจําหน่ายน้ํามันและผลิตภัณฑ์ที่ เกี่ยวข้อง ผลิตและจําหน่ายโซลเว้นท์และผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมเหลวทุกชนิด
100.00
ธุรกิจเกี่ยวกับการสํารวจ พัฒนาและ ผลิตน้ํามันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ
49.99
75.00 100.00
งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
104
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
14
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่สําคัญซึ่งใช้ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการมีดังต่อไปนี้ 2.1
เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการได้จัดทําขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งหมายถึงมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และ ข้อกําหนดของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการจัดทําและนําเสนอรายงานทางการเงิน ภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการได้จัดทําขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของ งบการเงิน การจัดทํางบการเงินให้สอดคล้องกับหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย กําหนดให้ใช้ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ และการใช้ ดุ ลยพิ นิ จของผู้ บริ หารซึ่ งจั ดทํ าขึ้ นตามกระบวนการในการนํ านโยบายการบั ญชี ของกลุ่ ม กิ จ การไปถื อปฏิ บัติ และต้ องเปิ ดเผยเรื่ องการใช้ ดุ ลยพิ นิ จของผู้ บริ หาร หรื อ ความซั บซ้ อน หรื อเกี่ ยวกั บข้ อสมมติ ฐานและประมาณการ ที่มีนัยสําคัญต่องบการเงินรวมในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 4 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการฉบับภาษาอังกฤษจัดทําขึ้นจากงบการเงินตามกฎหมายที่เป็นภาษาไทย ในกรณี ที่มีเนื้อความขัดแย้งกันหรือมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกัน ให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเป็นหลัก
2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีม่ ีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานที่เกีย่ วข้อง 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 และเกี่ยวข้องกับกลุ่มกิจการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2558)
เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง ส่วนงานดําเนินงาน
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
15 105
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีม่ ีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานที่เกีย่ วข้องปรับปรุง (ต่อ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 และเกี่ยวข้องกับกลุ่มกิจการ (ต่อ) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2558) เรื่องที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ได้กําหนดให้มีความชัดเจนขึ้น เกี่ยวกับการปรับราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม และค่าเสื่อมราคาสะสม ในกรณีที่กิจการใช้วิธีการ ตีราคาใหม่ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2558) เรื่องผลประโยชน์พนักงาน ได้มีการอธิบายเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติ ทางบัญ ชี สํา หรับ เงิน สมทบจากพนั ก งานหรื อ บุคคลที่ ส ามแก่โครงการผลประโยชน์ ที่ กํา หนดไว้ให้ ชัด เจนขึ้ น การปรับปรุงดังกล่าวให้ความแตกต่างระหว่าง เงินสมทบที่เกี่ยวข้องกับการบริการที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชี ที่เงินสมทบนั้นเกิดขึ้นเท่านั้น และเงินสมทบที่เกี่ยวข้องกับการบริการที่มากกว่าหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2558) เรื่องการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ได้ ร วมกิ จ การที่ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า นผู้ บ ริ ห ารสํ า คั ญ แก่ กิ จ การที่ ร ายงาน หรื อ แก่ บ ริ ษั ท ใหญ่ ข องกิ จ การที่ ร ายงาน ซึ่งกิจการต้องเปิดเผยจํานวนเงินที่กิจการได้จ่ายให้แก่กิจการที่ให้บริการด้านผู้บริหารสําคัญ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ ได้มีการกําหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การเปิดเผยข้อมูลในกรณีที่มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์วัดมูลค่าโดยใช้วิธีมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุน ในการจําหน่าย โดยการเปิดเผยดังกล่าวรวมถึง 1) ลําดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม 2) กรณีที่การวัดมูลค่ายุติธรรม อยู่ในลําดับชั้นที่ 2 และ 3 จะต้องมีการเปิดเผย เทคนิคที่ใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม และข้อสมมติฐานสําคัญที่ใช้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2558) เรื่องสินทรัพย์ไม่มีตัวตนได้กําหนดให้ชัดเจนขึ้น เกี่ยวกับ การปรับราคาตามบัญชีก่อนหักค่าตัดจําหน่ายสะสม และค่าตัดจําหน่ายสะสมในกรณีที่กิจการใช้วิธีการตีราคาใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ได้กําหนด คํานิยามให้ชัดเจนขึ้น สําหรับ “เงื่อนไขการได้รับสิทธิ” และ กําหนดคํานิยามแยกกันระหว่าง “เงื่อนไขผลงาน” และ “เงื่อนไขการบริการ”
106
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
16
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีม่ ีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานที่เกีย่ วข้องปรับปรุง (ต่อ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 และเกี่ยวข้องกับกลุ่มกิจการ (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) เรื่องส่วนงานดําเนินงาน ได้กําหนดให้มีการเปิดเผย ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ดุ ล ยพิ นิ จ ของผู้ บ ริ ห ารในการรวมส่ ว นงานเข้ า ด้ ว ยกั น และกํ า หนดให้ นํ า เสนอการกระทบ ยอดสินทรัพย์ของส่วนงานกับสินทรัพย์ของกิจการเมื่อกิจการรายงานข้อมูลสินทรัพย์ของส่วนงานให้กับผู้มีอํานาจ ตัดสินใจสูงสุดด้านการดําเนินงานของกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุงดังกล่าวข้างต้น ไม่มีผลกระทบที่มีนัยสําคัญต่อกลุ่มบริษัท 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่มีการปรับปรุงใหม่ซึ่งจะมีผลบังคับใช้สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้น ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจการไม่ได้นํามาตรฐานที่ปรับปรุงใหม่ดังกล่าวมาถือปฏิบัติก่อนวัน บังคับใช้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2559)
เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2559) ได้มีการแก้ไขโดยให้ทางเลือกเพิ่มในการบันทึกเงินลงทุนในบริษัท ย่อย การร่วมค้า หรือบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการโดยใช้วิธีส่วนได้เสียตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2559) เพิ่มเติมจากเดิมที่ให้ใช้วิธีราคาทุน หรือวิธีมูลค่ายุติธรรม (เมื่อมีการประกาศใช้) ทั้งนี้การเลือกใช้ นโยบายบัญชีสําหรับเงินลงทุนแต่ละประเภท (บริษัทย่อย การร่วมค้า หรือบริษัทร่วม) เป็นอิสระจากกัน โดยหาก กิจการเลือกที่จะเปลี่ยนมาใช้วิธีส่วนได้เสียจะต้องทําโดยปรับปรุงงบการเงินย้อนหลัง ปัจจุบัน ผู้บริหารของ กลุ่มบริษัทอยู่ระหว่างการพิจารณาทางเลือกในการใช้นโยบายบัญชี
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
17
107
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.3
เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและการร่วมค้า (ก) บริษัทย่อย บริษัทย่อยหมายถึงกิจการ (ซึ่งรวมถึงกิจการเฉพาะกิจ) ที่กลุ่มกิจการควบคุม กลุ่มกิจการควบคุมกิจการเมื่อกลุ่มกิจการ มีการเปิดรับหรือมีสิทธิในผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ยวข้องกับผู้ได้รับการลงทุนและมีความสามารถทําให้เกิดผล กระทบต่อผลตอบแทนจากการใช้อํานาจเหนือผู้ได้รับการควบคุม กลุ่มกิจการรวมงบการเงินของบริษัทย่อยไว้ใน งบการเงินรวมตั้งแต่วันที่กลุ่มกิจการมีอํานาจในการควบคุมบริษัทย่อย กลุ่มกิจการจะไม่นํางบการเงินของบริษัทย่อย มารวมไว้ในงบการเงินรวมนับจากวันที่กลุ่มกิจการสูญเสียอํานาจควบคุม กลุ่ มกิ จการบั นทึ กบั ญชี ก ารรวมธุ รกิ จ โดยถื อ ปฏิ บั ติ ตามวิ ธี ซื้ อ สิ่ ง ตอบแทนที่ โอนให้ สํ าหรั บการซื้ อบริ ษั ทย่ อ ย ประกอบด้ ว ยมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของสิ น ทรั พ ย์ ที่ ผู้ ซื้ อ โอนให้ แ ละหนี้ สิ น ที่ ก่ อ ขึ้ น เพื่ อ จ่ า ยชํ า ระให้ แ ก่ เ จ้ า ของเดิ ม ของผู้ ถู กซื้ อและส่ วนได้ เสี ยในส่ วนของเจ้ าของที่ ออกโดยกลุ่ มกิ จการ สิ่ งตอบแทนที่ โอนให้ รวมถึ งมู ลค่ ายุ ติ ธรรม ของสินทรัพย์ หรือหนี้สินที่ผู้ซื้อคาดว่าจะต้องจ่ายชําระตามข้อตกลง ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย เมื่อเกิดขึ้น มูลค่าเริ่มแรกของสินทรัพย์ที่ระบุได้ที่ได้มาและหนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่รับมาจากการรวมธุรกิจ จะถู กวั ดมู ลค่ าด้ วยมู ลค่ ายุ ติ ธรรม ณ วั นที่ ซื้ อ ในการรวมธุ รกิ จแต่ ละครั้ ง กลุ่ มกิ จการวั ดมู ลค่ าของส่ วนได้ เสี ย ที่ไม่มีอํานาจควบคุมในผู้ถูกซื้อด้วยมูลค่ายุติธรรม หรือ มูลค่าของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ของผู้ถูกซื้อตามสัดส่วน ของหุ้นที่ถือโดยส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม ในการรวมธุรกิจที่ดําเนินการสําเร็จจากการทยอยซื้อ ผู้ซื้อต้องวัดมูลค่าส่วนได้เสียที่ผู้ซื้อถืออยู่ในผู้ถูกซื้อก่อนหน้า การรวมธุรกิจใหม่โดยใช้มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อและรับรู้ผลกําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการวัดมูลค่าใหม่นั้น ในกําไรหรือขาดทุน สิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายออกไปโดยกลุ่มกิจการ รับรู้ด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายที่รับรู้ภายหลังวันที่ซื้อซึ่งจัดประเภทเป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินให้รับรู้ ในกําไรหรือขาดทุน สิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายซึ่งจัดประเภทเป็นส่วนของเจ้าของต้องไม่มีการวัดมูลค่าใหม่ และให้บันทึกการจ่ายชําระในภายหลังไว้ในส่วนของเจ้าของ ส่วนเกินของมูลค่าสิ่งตอบแทนที่โอนให้ มูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมในผู้ถูกซื้อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้อ ธุรกิจของส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของของผู้ถูกซื้อที่ผู้ซื้อถืออยู่ก่อนการรวมธุรกิจ ที่มากกว่ามูลค่ายุติธรรมสุทธิ ณ วันที่ซื้อของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ที่ได้มา ต้องรับรู้เป็นค่าความนิยม หากมูลค่าของมูลค่าสิ่งตอบแทนที่โอนให้ มูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมในผู้ถูกซื้อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้อธุรกิจของส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของ ของผู้ถูกซื้อที่ผู้ซื้อถืออยู่ก่อนการรวมธุรกิจ น้อยกว่ามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยที่ได้มาเนื่องจาก การซื้อในราคาต่ํากว่ามูลค่ายุติธรรม จะรับรู้ส่วนต่างโดยตรงไปยังกําไรขาดทุน
108
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
18
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.3
เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและการร่วมค้า (ต่อ) (ก) บริษัทย่อย (ต่อ) กิจการจะตัดรายการบัญชีระหว่างกัน ยอดคงเหลือ และกําไรที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงระหว่างกันในกลุ่มกิจการ ขาดทุน ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงก็จะตัดรายการในทํานองเดียวกัน เว้นแต่รายการนั้นมีหลักฐานว่าสินทรัพย์ที่โอนระหว่างกัน เกิดการด้อยค่า นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มกิจการ ในงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทย่อยจะบันทึกบัญชีด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า ต้นทุนจะมี การปรับเพื่อสะท้อนการเปลี่ยนแปลงสิ่งตอบแทนที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่าย ต้นทุนนั้นจะรวมต้นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการได้มาของเงินลงทุนนี้ (ข) รายการกับส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม กลุ่ ม กิ จ การปฏิ บั ติ ต่ อ รายการกั บ ส่ ว นได้ เ สี ย ที่ ไ ม่ มี อํ า นาจควบคุ ม เช่ น เดี ย วกั น กั บ ส่ ว นที่ เ ป็ น ของเจ้ า ของ ของกลุ่มกิจการ สําหรับการซื้อส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนที่จ่ายให้และมูลค่า ตามบัญชีของสินทรัพย์สุทธิของหุ้นที่ซื้อมาในบริษัทย่อยจะถูกบันทึกในส่วนของเจ้าของ และกําไรหรือขาดทุน จากการขายในส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมจะถูกบันทึกในส่วนของเจ้าของ (ค) การจําหน่ายบริษัทย่อย เมื่ อ กลุ่ ม กิ จ การสู ญ เสี ย การควบคุ ม ส่ ว นได้ เ สี ย ในกิ จ การที่ เ หลื อ อยู่ จ ะวั ด มู ล ค่ า ใหม่ โ ดยใช้ มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าจะรับรู้ในกําไรหรือขาดทุน มูลค่ายุติธรรมนั้นจะถือเป็นมูลค่าตามบัญชีเริ่มแรกของมูลค่า ของเงินลงทุนเพื่อวัตถุประสงค์ในการวัดมูลค่าในเวลาต่อมาของเงินลงทุนที่เหลืออยู่ในรูปของบริษัทร่วม กิจการ ร่ ว มค้ า หรื อ สิ น ทรั พ ย์ ท างการเงิ น สํ า หรั บทุ ก จํ า นวนที่ เ คยรั บรู้ ในกํ า ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ อื่ น ในส่ ว นที่ เ กี่ ยวข้ อ ง กับกิจการนั้นจะถูกปฏิบัติเสมือนว่ากลุ่มกิจการมีการจําหน่ายสินทรัพย์หรือหนี้สินที่เกี่ยวข้องนั้นออกไป
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
19
109
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.3
เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและการร่วมค้า (ต่อ) (ง) การร่วมการงาน เงินลงทุนในการร่วมการงานจะถูกจัดประเภทเป็นการดําเนินงานร่วมกัน หรือการร่วมค้า โดยขึ้นอยู่กับสิทธิและ ภาระผูกพันตามสัญญาของผู้ลงทุนแต่ละราย กลุ่มกิจการได้ประเมินลักษณะของการร่วมการงานที่มีและพิจารณาว่าเป็น การร่วมค้า ซึ่งการร่วมค้ารับรู้เงินลงทุนโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย ตามวิธีส่วนได้เสียเงินลงทุนในการร่วมค้ารับรู้เมื่อเริ่มแรกด้วยราคาทุนและปรับปรุงมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน เพื่อรับรู้ส่วนแบ่งกําไรหรือขาดทุนและการเปลี่ยนแปลงในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของผู้ได้รับการลงทุนตามสัดส่วน ที่กลุ่มกิจการมีส่วนได้เสีย หากส่วนแบ่งขาดทุนของกลุ่มกิจการในการร่วมค้ามีจํานวนเท่ากับหรือสูงกว่าส่วนได้เสีย ของกลุ่มกิจการในการร่วมค้านั้น(ซึ่งรวมถึงส่วนได้เสียระยะยาวใดๆซึ่งโดยเนื้อหาแล้วถือเป็นส่วนหนึ่งของเงินลงทุน สุ ท ธิ ข องกลุ่ ม กิ จ การในการร่ ว มค้ า นั้ น ) กลุ่ ม กิ จ การจะไม่ รั บ รู้ ส่ ว นแบ่ ง ในขาดทุ น ที่ เ กิ น กว่ า ส่ ว นได้ เ สี ย ของตน ในการร่วมค้านั้น นอกจากว่ากลุ่มกิจการมีภาระผูกพัน หรือได้จ่ายเงินเพื่อชําระภาระผูกพันแทนการร่วมค้าไปแล้ว รายการกํ า ไรที่ ยัง ไม่ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ระหว่ า งกลุ่ ม กิ จ การกั บการร่ ว มค้ า จะตั ด บั ญ ชี เ ท่ า ที่ ก ลุ่ ม กิ จ การมี ส่ ว นได้ เ สี ย ในการร่วมค้านั้น รายการขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงก็จะตัดบัญชีในทํานองเดียวกัน เว้นแต่รายการนั้นมีหลักฐานว่า สินทรัพย์ที่โอนระหว่างกันเกิดการด้อยค่า การร่วมค้าจะเปลี่ยนนโยบายการบัญชีเท่าที่จําเป็น เพื่อให้สอดคล้องกับ นโยบายการบัญชีของกลุ่มกิจการ
110
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
20
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.4
การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ (ก) สกุลเงินที่ใช้ในการดําเนินงานและสกุลเงินที่ใช้นําเสนองบการเงิน รายการที่รวมในงบการเงินของแต่ละบริษัทในกลุ่มกิจการถูกวัดมูลค่าโดยใช้สกุลเงินของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ หลักที่บริษัทดําเนินงานอยู่ (สกุลเงินที่ใช้ในการดําเนินงาน) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงใน สกุลเงินบาท ซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการดําเนินงานและสกุลเงินที่ใช้นําเสนองบการเงินของบริษัท (ข) รายการและยอดคงเหลือ รายการที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการดําเนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ เกิดรายการหรือวันที่ตีราคาหากรายการนั้นถูกวัดมูลค่าใหม่ รายการกําไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับ หรือจ่ายชําระที่เป็นเงินตราต่างประเทศ และที่เกิดจากการแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินซึ่งเป็นเงินตรา ต่างประเทศด้วยอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นปี ได้บันทึกไว้ในกําไรหรือขาดทุน เมื่อมีการรับรู้รายการกําไรหรือขาดทุนของรายการที่ไม่เป็นตัวเงินไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น องค์ประกอบ ของอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดของกําไรหรือขาดทุนนั้นจะรับรู้ไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นด้วย ในทางตรงข้าม การรับรู้กําไรหรือขาดทุนของรายการที่ไม่เป็นตัวเงินไว้ในกําไรหรือขาดทุน องค์ประกอบของอัตราแลกเปลี่ยน ทั้งหมดของกําไรหรือขาดทุนนั้นจะรับรู้ไว้ในกําไรขาดทุนด้วย (ค) กลุ่มกิจการ การแปลงค่าผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของบริษัทในกลุ่มกิจการ (ที่มิใช่สกุลเงินของเศรษฐกิจที่มีภาวะ เงิน เฟ้อรุน แรง) ซึ่งมี สกุล เงินที่ ใช้ในการดํ าเนิ นงานแตกต่ างจากสกุ ลเงิน ที่ใช้นํ าเสนองบการเงินได้ ถูกแปลงค่ า เป็นสกุลเงินที่ใช้นําเสนองบการเงินดังนี้ • สิน ทรัพ ย์และหนี้สิน ที่แ สดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน แต่ละงวดแปลงค่าด้ว ยอัตราปิด ณ วัน ที่ของแต่ล ะ งบแสดงฐานะการเงินนั้น • รายได้และค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จแปลงค่าด้วยอัตราถัวเฉลี่ย และ • ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดรับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ค่าความนิยมและการปรับมูลค่ายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อหน่วยงานในต่างประเทศถือเป็นสินทรัพย์และหนี้สิน ของหน่วยงานในต่างประเทศนัน้ และแปลงค่าด้วยอัตราปิด
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
21
111
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.5
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินลงทุนระยะสั้นอื่น ที่มีสภาพคล่องสูงซึ่งมีอายุไม่เกินสามเดือนนับจากวันที่ได้มา
2.6
ลูกหนี้การค้า ลู ก หนี้ ก ารค้ า รั บ รู้ เ ริ่ ม แรกด้ ว ยมู ล ค่ า ตามใบแจ้ ง หนี้ และจะวั ด มู ล ค่ า ต่ อ มาด้ ว ยจํ า นวนเงิ น ที่ เ หลื อ อยู่ หั ก ด้ ว ย ค่ า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ ซึ่ ง ประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลื อ ณ วั น สิ้ น งวด ค่ า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ หมายถึ ง ผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของลูกหนี้การค้าเปรียบเทียบกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้การค้า หนี้สูญที่เกิดขึ้น จะรับรู้ไว้ในกําไรหรือขาดทุนโดยถือเป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายในการบริหาร
2.7
สินค้าระหว่างทาง สินค้าระหว่างทาง ได้แก่ น้ํามันเชื้อเพลิงที่อยู่ระหว่างการขนส่งไปให้ลูกค้า ซึ่งแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ แล้วแต่ราคาใดจะต่ํากว่า ราคาทุนของสินค้าคํานวณโดยวิธีเฉพาะเจาะจง บัญชีค่าเผื่อการลดมูลค่าของสินค้าเก่า ล้าสมัย หรือเสื่อมคุณภาพมีการบันทึกเท่าที่จําเป็น
2.8
เงินลงทุนทั่วไป เงินลงทุนทั่วไป คือ เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่มีตลาดซื้อขายคล่องรองรับ เงิ น ลงทุ น ทั่ ว ไป รั บ รู้ มู ล ค่ า เริ่ ม แรกด้ ว ยราคาทุ น ซึ่ ง หมายถึ ง มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของสิ่ ง ตอบแทนที่ ใ ห้ ไ ปเพื่ อ ให้ ไ ด้ ม า ซึ่งเงินลงทุนนั้นรวมทั้งค่าใช้จ่ายในการทํารายการ เงินลงทุนทั่วไปแสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า บริษัทจะทดสอบค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าเงินลงทุนนั้นอาจมีค่าเผื่อการด้อยค่าเกิดขึ้น หากราคา ตามบัญชีของเงินลงทุนสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน บริษัทจะบันทึกรายการขาดทุนจากค่าเผื่อการด้อยค่ารวมไว้ ในกําไรขาดทุน ในการจําหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมของผลตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการจําหน่ายเมื่อเปรียบเทียบกับ ราคาตามบัญชีของเงินลงทุนนั้นจะบันทึกรวมอยู่ในกําไรหรือขาดทุน กรณีที่จําหน่ายเงินลงทุนที่ถือไว้ในตราสารหนี้หรือ ตราสารทุนชนิดเดียวกันออกไปบางส่วน ราคาตามบัญชีของเงินลงทุนที่จําหน่ายจะกําหนดโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนัก ด้วยราคาตามบัญชีจากจํานวนทั้งหมดที่ถือไว้
112
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
22
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.9
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์วัดมูลค่าด้วยราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ต้นทุนเริ่มแรกจะรวมต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินทรัพย์นั้น ต้นทุนที่เกิดขึ้นภายหลังจะรวมอยู่ในมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือรับรู้แยกเป็นอีกสินทรัพย์หนึ่งตามความเหมาะสม เมื่อต้นทุนนั้นเกิดขึ้นและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตแก่บริษัทและต้นทุนดังกล่าวสามารถวัดมูลค่าได้ อย่างน่าเชื่อถือ มูลค่าตามบัญชีของชิ้นส่วนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดรายการออก สําหรับค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษาอื่นๆ บริษัทจะรับรู้ต้นทุนดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายในกําไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ที่ดินไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์อื่นคํานวณโดยใช้วิธีเส้นตรงเพื่อลดราคาทุนแต่ละชนิดตลอดอายุ การให้ประโยชน์ที่ประมาณการไว้ของสินทรัพย์ดังต่อไปนี้
เครื่องตกแต่งและอุปกรณ์สํานักงาน ยานพาหนะ
3 - 5 ปี 5 ปี
ทุกสิ้นรอบรอบระยะเวลารายงาน ได้มีการทบทวนและปรับปรุงมูลค่าคงเหลือและอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ ให้เหมาะสม ในกรณี ที่ มู ล ค่ า ตามบั ญ ชี สู ง กว่ า มู ล ค่ า ที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ คื น มู ล ค่ า ตามบั ญ ชี จ ะถู ก ปรั บ ลดให้ เ ท่ า กั บ มู ล ค่ า ที่ ค าดว่ า จะได้รับคืนทันที (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2.11) ผลกําไรหรือขาดทุนที่เกิดจากการจําหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ คํานวณโดยเปรียบเทียบจากสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับ จากการจํ า หน่ า ยสิ น ทรั พ ย์ กั บ มู ล ค่ า ตามบั ญ ชี ข องสิ น ทรั พ ย์ และจะรั บ รู้ บั ญ ชี ผ ลกํ า ไรหรื อ ขาดทุ น อื่ น สุ ท ธิ ใ นกํ า ไร หรือขาดทุน
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
23
113
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.10 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สิทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ซื้อมาจะถูกบันทึกเป็นสินทรัพย์ไม่มีตัวตนโดยคํานวณจากต้นทุนในการได้มาและ การดําเนินการให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นสามารถนํามาใช้งานได้ตามประสงค์ และจะถูกตัดจําหน่ายตลอดอายุประมาณ การให้ประโยชน์ภายในระยะเวลาไม่เกิน 10 ปี 2.11 การด้อยค่าของสินทรัพย์ สิ น ทรั พ ย์ ที่ มี อ ายุ ก ารให้ ป ระโยชน์ ไ ม่ ท ราบแน่ ชั ด ซึ่ ง ไม่ มี การตั ด จํ า หน่ า ยจะถู ก ทดสอบการด้ อ ยค่ า เป็ น ประจํ า ทุ ก ปี สินทรัพย์อื่นที่มีการตัดจําหน่ายจะมีการทบทวนการด้อยค่า เมื่อมีเหตุการณ์หรือสถานการณ์บ่งชี้ว่าราคาตามบัญชี อาจสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน รายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู้เมื่อราคาตามบัญชีของสินทรัพย์สูงกว่ามูลค่า สุทธิที่คาดว่าจะได้รับคืน ซึ่งหมายถึงจํานวนที่สูงกว่าระหว่างมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายเทียบกับมูลค่าจากการใช้ สินทรัพย์จะถูกจัดเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดที่สามารถแยกออกมาได้ เพื่อวัตถุประสงค์ของการประเมินการด้อยค่า สินทรัพย์ ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินนอกเหนือจากค่าความนิยมซึ่งรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าไปแล้ว จะถูกประเมิน ความเป็นไปได้ที่จะกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน 2.12 สัญญาเช่าระยะยาว - กรณีที่กลุม่ กิจการเป็นผู้เช่า สัญญาระยะยาวเพื่อเช่าสินทรัพย์ซึ่งผู้ให้เช่าเป็นผู้รับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเป็นส่วนใหญ่ สัญญาเช่านั้นถือเป็นสัญญาเช่าดําเนินงาน เงินที่ต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดังกล่าว (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้รับ จากผู้ให้เช่า) จะบันทึกในกําไรหรือขาดทุนโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ซึ่งผู้เช่าเป็นผู้รับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเกือบทั้งหมด ถือเป็นสัญญาเช่าการเงิน ซึ่งจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่า หรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิ ของจํานวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่า แล้วแต่มูลค่าใดจะต่ํากว่า จํานวนเงินที่ต้องจ่ายดังกล่าวจะปันส่วนระหว่างหนี้สิน และค่ า ใช้ จ่ า ยทางการเงิ น เพื่ อ ให้ ไ ด้ อั ต ราดอกเบี้ ย คงที่ ต่ อ หนี้ สิ น คงค้ า งอยู่ โดยพิ จ ารณาแยกแต่ ล ะสั ญ ญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในกําไร ขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่าเพื่อทําให้อัตราดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็นอัตราคงที่สําหรับยอดคงเหลือของหนี้สินทรัพย์ ที่เหลืออยู่ สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่าหรืออายุ ของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า
114
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
24
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.13 เงินกู้ยืม เงินกู้ยืมรับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ได้รับหักด้วยต้นทุนการจัดทํารายการที่เกิดขึ้น เงินกู้ยืมวัดมูลค่า ในเวลาต่อมาด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ผลต่างระหว่างเงินที่ได้รับ (หักด้วยต้นทุนการจัดทํา รายการที่เกิดขึ้น) เมื่อเทียบกับมูลค่าที่จ่ายคืนเพื่อชําระหนี้นั้นจะรับรู้ในงบกําไรขาดทุนตลอดช่วงเวลาการกู้ยืม ค่าธรรมเนียมที่จ่ายไปเพื่อให้ได้เงินกู้มาหรือออกหุ้นกู้ จะรับรู้เป็นต้นทุนการจัดทํารายการเงินกู้ในกรณีที่มีความเป็นไปได้ที่จะ ใช้วงเงินกู้บางส่วนหรือทั้งหมด ในกรณีนี้ค่าธรรมเนียมจะรอการรับรู้จนกระทั่งมีการถอนเงิน หากไม่มีหลักฐานที่มี ความเป็นไปได้ที่จะใช้วงเงินบางส่วนหรือทั้งหมดค่าธรรมเนียมจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าสําหรับการให้บริการสภาพ คล่องและจะตัดจําหน่ายตามระยะเวลาของวงเงินกู้ที่เกี่ยวข้อง เงินกู้ยืมจัดประเภทเป็นหนี้สินหมุนเวียนเมื่อกลุ่มกิจการไม่มีสิทธิอันปราศจากเงื่อนไขให้เลื่อนชําระหนี้ออกไปอีกเป็นเวลา ไม่น้อยกว่า 12 เดือน นับจากวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ต้นทุนการกู้ยืมที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มา การก่อสร้าง หรือการผลิตสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไขต้องนํามารวมเป็นส่วน หนึ่งของราคาทุนของสินทรัพย์นั้น โดยสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไขคือสินทรัพย์ที่จําเป็นต้องใช้ระยะเวลานานในการเตรียม สินทรัพย์นั้นให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์หรือพร้อมที่จะขาย การรวมต้นทุนการกู้ยืมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ ต้องสิ้นสุดลงเมื่อการดําเนินการส่วนใหญ่ ที่จําเป็นในการเตรียมสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไขให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ ตามประสงค์หรือพร้อมที่จะขายได้เสร็จสิ้นลง รายได้จากการลงทุนที่เกิดจากการนําเงินกู้ยืมที่กู้มาโดยเฉพาะ ที่ยังไม่ได้นําไปเป็นรายจ่ายของสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข ไปลงทุนเป็นการชั่วคราวก่อน ต้องนํามาหักจากต้นทุนการกู้ยืมที่สามารถตั้งขึ้นเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ ต้นทุนการกู้ยืมอื่นๆ ต้องถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดขึ้น
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
25
115
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.14 ภาษีเงินได้งวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สําหรับงวดประกอบด้วย ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้จะรับรู้ ในกําไรหรือขาดทุน ยกเว้นส่วนภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องกับรายการที่รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือรายการที่รับรู้ โดยตรงไปยังส่วนของเจ้าของ ในกรณีนี้ ภาษีเงินได้ต้องรับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือโดยตรงไปยังส่วนของเจ้าของ ตามลําดับ ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันคํานวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรือ ที่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผล บังคับใช้ภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงานในประเทศที่บริษัทและบริษัทย่อยต้อง ดําเนินงานอยู่และเกิดรายได้เพื่อเสีย ภาษี ผู้ บ ริ ห ารจะประเมิ น สถานะของการยื่ น แบบแสดงรายการภาษี เ ป็ น งวดๆ โดยคํ า นึ ง ถึ ง สถานการณ์ ที่ ส ามารถ นํากฎหมายภาษี ไปปฏิบัติซึ่งขึ้นอยู่กับการตีความ และจะตั้งประมาณการค่าใช้จ่ายภาษี หากคาดว่าจะต้องจ่ายชําระภาษี แก่หน่วยงานจัดเก็บ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรับรู้ตามวิธีหนี้สิน เมื่อเกิดผลต่างชั่วคราวระหว่างฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สิน และราคา ตามบัญชีที่แสดงอยู่ในงบการเงิน อย่างไรก็ตามกลุ่มกิจการจะไม่รับรู้ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกิดจากการรับรู้เริ่มแรก ของรายการสินทรัพย์หรือรายการหนี้สินที่เกิดจากรายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจ และ ณ วันที่เกิดรายการ รายการนั้นไม่มี ผลกระทบต่อกําไรหรือขาดทุนทั้งทางบัญชีหรือทางภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีคํานวณจากอัตราภาษี (และกฎหมาย ภาษีอากร) ที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรือ ที่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน และคาดว่า อัตราภาษีดังกล่า วจะนําไปใช้ เมื่อ สิน ทรัพย์ ภาษี เงิน ได้รอตั ดบัญ ชีที่เ กี่ยวข้องได้รับประโยชน์ หรือหนี้สิ นภาษีเงิ น ได้ รอตัดบัญชีได้มีการจ่ายชําระ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจะรับรู้หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่ากลุ่มกิจการจะมีกําไรทางภาษีเพียงพอที่จะ นําจํานวนผลต่ างชั่วคราวนั้นมาใช้ประโยชน์ กลุ่มกิจการได้ตั้งภาษีเงินได้รอตัดบัญชีโดยพิจารณาจากผลต่างชั่วคราว ของเงินลงทุนในบริษัทร่วม และส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้าที่ต้องเสียภาษีเว้นแต่กลุ่มกิจการสามารถควบคุมจังหวะเวลา ของการกลับรายการผลต่างชั่วคราวและการกลับรายการผลต่างชั่วคราวมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะไม่เกิดขึ้นได้ ภายในระยะเวลาที่คาดการณ์ได้ในอนาคต สิน ทรัพ ย์ ภาษี เงิ น ได้รอการตัด บั ญ ชีแ ละหนี้ สิน ภาษีเ งิ นได้ รอการตั ด บัญ ชี จ ะแสดงหั กกลบกั น ก็ต่ อ เมื่อ กิ จการมี สิ ท ธิ ตามกฎหมายที่จะนําสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบัน และทั้งสินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเกี่ยวข้องกับภาษีเงินได้ที่ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษี หน่วยงานเดียวกันโดยการเรียกเก็บเป็นหน่วยภาษีเดียวกันหรือหน่วยภาษีต่างกันซึ่งตั้งใจจะจ่ายหนี้สินและสินทรัพย์ภาษี เงินได้ของงวดปัจจุบันด้วยยอดสุทธิ
116
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
26
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.15 ผลประโยชน์พนักงาน (ก) ผลประโยชน์ระยะสั้น กลุ่มกิจการรับรู้หนี้สินและค่าใช้จ่ายสําหรับโบนัส การแบ่งกําไร และหนี้สินผลประโยชน์ระยะสั้นอื่นของพนักงาน เมื่อมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือตามประเพณีปฏิบัติในอดีตซึ่งก่อให้เกิดภาระผูกพันจากการอนุมาน (ข) ผลประโยชน์หลังออกจากงาน กลุ่มกิจการได้กําหนดโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน โดยมีทั้งโครงการสมทบเงินและโครงการผลประโยชน์ สําหรับโครงการสมทบเงินกลุ่มกิจการจะจ่ายเงินสมทบให้กองทุนในจํานวนเงินที่คงที่ กลุ่มกิจการไม่มีภาระผูกพัน ทางกฎหมายหรือภาระผูกพันจากการอนุมานที่จะต้องจ่ายเงินเพิ่ม ถึงแม้กองทุนไม่มีสินทรัพย์เพียงพอที่จะจ่ายให้ พนั ก งานทั้ ง หมดสํ า หรั บ การให้ บ ริ ก ารจากพนั ก งานทั้ ง ในอดี ต และปั จ จุ บัน เงิ น สมทบจะถู ก รั บรู้ เ ป็ น ค่ าใช้ จ่ า ย ผลประโยชน์พนักงานเมื่อถึงกําหนดชําระ สําหรั บโครงการผลประโยชน์คือโครงการบําเหน็จ บํานาญที่ ไม่ ใช่ โครงการสมทบเงิน ซึ่ งจะกํ าหนดจํา นวนเงิ น ผลประโยชน์ที่พนักงานจะได้รับเมื่อเกษียณอายุ โดยส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น อายุ จํานวนปีทใี่ ห้บริการ และ ค่าตอบแทน หนี้สินสําหรับโครงการผลประโยชน์จะรับรู้ในงบแสดงฐานะการเงินด้วยมูลค่าปัจจุบันของภาระ ผูกพัน ณ วันที่สิ้นรอบระยะเวลารายงานหักด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ ภาระผูกพันนี้คํานวณโดย นั ก คณิ ต ศาสตร์ ป ระกั น ภั ย อิ ส ระ ด้ ว ยวิ ธี คิ ด ลดแต่ ล ะหน่ ว ยที่ ป ระมาณการไว้ ซึ่ ง มู ล ค่ า ปั จ จุ บั น ของโครงการ ผลประโยชน์จะประมาณโดยการคิดลดกระแสเงินสดออกในอนาคต โดยใช้อัตราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตร รัฐบาล ซึ่งเป็นสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินที่จะจ่ายภาระผูกพัน และวันครบกําหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาที่ต้องชําระ ภาระผูกพัน การวัดมูลค่าใหม่ที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุงจากประสบการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงในข้อสมมติฐานจะต้องรับรู้ ในส่ ว นของเจ้ า ของผ่ า นกํ า ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ อื่ น ในงวดที่ เ กิ ด ขึ้ น และได้ ร วมอยู่ ใ นกํ า ไรสะสมในงบแสดง การเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ ต้นทุนบริการในอดีตจะถูกรับรู้ทันทีในกําไรหรือขาดทุน
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
27
117
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.16 การจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ กลุ่มกิจการรับรู้สินค้าหรือบริการที่ได้รับหรือได้มาจากการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์เมื่อกิจการได้รับสินค้าหรือบริการ แล้ว กลุ่มกิจการจะรับรู้ส่วนของเจ้าของที่เกี่ยวข้องเพิ่มขึ้น หากเป็นการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่ชําระด้วยตราสารทุน หรือรับรู้หนี้สินเพิ่มขึ้น หากเป็นการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่ชําระเงินสด สําหรับรายจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่ชําระด้วยตราสารทุน กลุ่มกิจการวัดมูลค่าสินค้าหรือบริการที่ได้รับ และการเพิ่มขึ้น ของส่วนของเจ้าของที่เกี่ยวข้องโดยทางตรง ด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินค้าหรือบริการที่ได้รับ เว้นแต่มูลค่ายุติธรรมดังกล่าว ไม่สามารถประมาณได้อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่มกิจการจะวัดมูลค่าของสินค้าหรือบริการเหล่านั้นและการเพิ่มขึ้นของส่วนของ เจ้าของที่เกี่ยวข้องกับมูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนที่ออกให้ 2.17 ประมาณการหนีส้ ิน ประมาณการหนี้ สิ น จะรับ รู้ ก็ ต่ อ เมื่ อ กลุ่ ม กิ จ การมี ภ าระผู ก พั น ในปั จจุ บัน ตามกฎหมายหรื อ ตามข้ อ ตกลงที่ จั ด ทํ า ไว้ อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ในอดีตซึ่งการชําระภาระผูกพันนั้นมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะส่งผลให้บริษัท ต้องสูญเสียทรัพยากรออกไป และตามประมาณการจํานวนที่ต้องจ่ายได้อย่างน่าเชื่อถือ ในกรณีที่มีภาระผูกพันที่คล้ายคลึงกันหลายรายการ กลุ่มกิจการกําหนดความน่าจะเป็นที่กิจการจะสูญเสียทรัพยากร เพื่อจ่ายชําระภาระผูกพันเหล่านั้น โดยพิจารณาจากความน่าจะเป็นโดยรวมของภาระผูกพันทั้งประเภท แม้ว่าความ เป็ น ไปได้ ค่ อ นข้ า งแน่ ที่ กิ จ การจะสู ญ เสี ย ทรั พ ยากรเพื่ อ ชํ า ระภาระผู ก พั น บางรายการที่ จั ด อยู่ ใ นประเภทเดี ย วกั น จะมีระดับต่ํา กลุ่มกิจการจะวัดมูลค่าของจํานวนประมาณการหนี้สิน โดยใช้มูลค่าปัจจุบันของรายจ่ายที่คาดว่าจะต้องนํามาจ่ายชําระ ภาระผูกพัน โดยใช้อัตราก่อนภาษีซึ่งสะท้อนถึงการประเมินสถานการณ์ตลาดในปัจจุบันของมูลค่าของเงินตามเวลาและ ความเสี่ยงเฉพาะของหนี้สินที่กําลังพิจารณาอยู่ การเพิ่มขึ้นของประมาณการหนี้สินเนื่องจากมูลค่าของเงินตามเวลา จะรับรู้เป็นดอกเบี้ยจ่าย 2.18 ทุนเรือนหุ้น หุ้นสามัญและหุ้นบุริมสิทธิชนิดไถ่ถอนไม่ได้และกิจการสามารถกําหนดการจ่ายเงินปันผลได้อย่างอิสระจะจัดประเภทไว้ เป็นส่วนของเจ้าของ หุ้นประเภทอื่นซึ่งรวมถึงหุ้นบุริมสิทธิ์ชนิดบังคับไถ่ถอนจะจัดประเภทไว้เป็นหนี้สิน (ดูหมายเหตุข้อ 2.13 เรื่องเงินกู้ยืม) ต้นทุนส่วนเพิ่มที่เกี่ยวข้องกับการออกหุ้นใหม่หรือการออกสิทธิในการซื้อหุ้นซึ่งสุทธิจากภาษีจะถูกแสดงในส่วนของ เจ้าของโดยนําไปหักจากสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการออกตราสารทุนดังกล่าว
118
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
28
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.19 การบัญชีสําหรับอนุพันธ์ที่เป็นเครื่องมือทางการเงิน กลุ่มกิจการเป็นคู่สัญญาในอนุพันธ์ที่เป็นเครื่องมือทางการเงินซึ่งประกอบด้วยสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า เครื่องมือ ดังกล่าวไม่รับรู้ในงบการเงินในวันเริ่มแรก โดยจะรับรู้เป็นกําไรขาดทุนเมื่อมีการจ่ายชําระ 2.20 การรับรู้รายได้ (ก) รายได้จากการขายสินค้าและบริการ รายได้ ป ระกอบด้ ว ยมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมที่ จ ะได้ รั บ จากการขายสิ น ค้ า และบริ ก ารซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น จากกิ จ กรรมตามปกติ ของกลุ่ มกิ จ การ รายได้จ ะแสดงด้ วยจํ านวนเงิ นสุ ท ธิ จ ากภาษี ขาย เงิ นคื น และส่ว นลด โดยไม่ รวมรายการขาย ภายในกลุ่มกิจการสําหรับงบการเงินรวม รายได้จากการขายสินค้ารับรู้เมื่อผู้ซื้อรับโอนความเสี่ยงและผลตอบแทน ที่เป็นสาระสําคัญของความเป็นเจ้าของสินค้า รายได้จากการให้บริการรับรู้โดยอ้างอิงตามขั้นความสําเร็จของงาน (ข) รายได้อื่น • • •
รายได้เงินปันผลรับรู้เมื่อกลุ่มกิจการมีสิทธิได้รับเงินปันผล รายได้ดอกเบี้ยรับรู้ตามเกณฑ์อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง รายได้อนื่ ๆ รับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง
2.21 การจ่ายเงินปันผล เงินปันผลที่จ่ายไปยังผู้ถือหุ้นของบริษัทจะรับรู้ในด้านหนี้สินในงบการเงินในรอบระยะเวลาบัญชีซึ่งที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท ได้อนุมัติการจ่ายเงินปันผล
2.22 ข้อมูลจําแนกตามส่วนงาน ส่ว นงานดํ าเนิน งานได้ ถู กรายงานในลั กษณะเดียวกั บรายงานภายในที่ นําเสนอให้ผู้ มี อํา นาจตัด สินใจสู งสุ ด ด้า นการ ดําเนินงาน ผู้มีอํานาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดําเนินงานหมายถึงบุคคลที่มีหน้าที่ในการจัดสรรทรัพยากรและประเมินผล การปฏิบัติงานของส่วนงานดําเนินงาน ซึ่งพิจารณาว่าคือ คณะกรรมการบริหารของบริษัทที่ทําการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
29
119
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
3
การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน 3.1
ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน กิจกรรมของกลุ่มกิจการย่อมมีความเสี่ยงทางการเงินที่หลากหลายซึ่งได้แก่ ความเสี่ยงจากตลาด (รวมถึงความเสี่ยง จากอั ต ราแลกเปลี่ ย น ความเสี่ ย งด้ า นมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมอั น เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงในอั ต ราดอกเบี้ ย ความเสี่ ย ง ด้านกระแสเงินสดอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยงด้านราคา) ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ และความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ ง แผนการจั ด การความเสี่ ย งโดยรวมของกลุ่ ม กิ จ การจึ ง มุ่ ง เน้ น ความผั น ผวน ของตลาดการเงินและแสวงหาวิธีการลดผลกระทบที่ทําให้เสียหายต่อผลการดําเนินงานทางการเงินของกลุ่มกิจการ ให้เหลือน้อยที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ (ก) ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่ องจากกลุ่ ม กิ จ การดํ าเนิ นงานระหว่ างประเทศจึ งย่ อมมี ความเสี่ ยงจากอั ตราแลกเปลี่ ยนเงิ นตราต่ างประเทศ ซึ่งเกิดจากสกุลเงินที่หลากหลาย ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นจากรายการธุรกรรมในอนาคต การรับรู้ รายการของสินทรัพย์และหนี้สิน และเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ (ข) ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย รายได้และกระแสเงิน สดจากการดําเนินงานของกลุ่ม กิจการส่วนใหญ่ไม่ขึ้นกั บการเปลี่ ยนแปลงอัตราดอกเบี้ ย ในตลาด กลุ่มกิจการมีความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืมและหุ้นกู้ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ รายได้และ กระแสเงินสดจากการดําเนินงานของกลุ่มกิจการส่วนใหญ่ไม่ขึ้นกับการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยในตลาดธุรกรรม ทั้งหมดที่ใช้อนุพันธ์ด้านอัตราดอกเบี้ยต้องได้รับอนุมัติจากผู้อํานวยการฝ่ายการเงินก่อนเข้าทํารายการ กลุ่มกิจการ ไม่มีสินทรัพย์ที่ต้องอ้างอิงอัตราดอกเบี้ยอย่างมีนัยสําคัญ นโยบายของกลุ่มกิจการคือต้องการคงจํานวนเงินกู้ยืม โดยใช้เครื่องมือทางการเงินที่กําหนดอัตราดอกเบี้ยคงที่ให้อยู่ประมาณร้อยละ 90 ของเงินกู้ยืมและหุ้นกู้ทั้งหมด ทั้งนี้ ณ วันสิ้นปีบัญชี อัตราดอกเบี้ยคงที่อยู่ที่ร้อยละ 5.35 (ค) ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ กลุ่มกิจการไม่มีการกระจุกตัวอย่างมีนัยสําคัญของความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ กลุ่มกิจการมีนโยบายที่เหมาะสม เพื่อทําให้เชื่อมั่นได้ว่าได้ขายสินค้าและให้บริการแก่ลูกค้าที่มีประวัติสินเชื่ออยู่ในระดับที่เหมาะสมคู่สัญญาในอนุพันธ์ ทางการเงิ น และรายการเงิ น สดได้ เ ลื อ กที่ จ ะทํ า รายการกั บ สถาบั น การเงิ น ที่ มี ร ะดั บ ความน่ า เชื่ อ ถื อ สู ง กลุ่มกิจการมีนโยบายจํากัดวงเงินธุรกรรมการให้สินเชื่อกับสถาบันการเงินแต่ละแห่งอย่างเหมาะสม
120
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
30
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
3
การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) 3.1
ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) (ง) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง จํานวนเงินสดที่มีอย่างเพียงพอและเงินลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีตลาดรองรับย่อมแสดงถึงการจัดการความเสี่ยง ของสภาพคล่ อ งอย่ า งรอบคอบ ความสามารถในการหาแหล่ ง เงิ น ทุ น แสดงให้ เ ห็ น ได้ จ ากการที่ มี ว งเงิ น อํ า นวย ความสะดวกในการกู้ยืมที่ได้มีการตกลงไว้แล้วอย่างเพียงพอ ส่วนงานบริหารเงินของกลุ่มกิจการได้ตั้งเป้าหมายว่าจะ ใช้ความยืดหยุ่นในการระดมเงินทุนโดยการรักษาวงเงินสินเชื่อที่ตกลงไว้ให้เพียงพอที่จะหามาได้เนื่องจากลักษณะ ธรรมชาติของธุรกิจที่เป็นฐานของกลุ่มกิจการมีพลวัตเปลี่ยนแปลงได้
3.2
การประมาณมูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุตธิ รรมสามารถจําแนกตามวิธีประมาณมูลค่าความแตกต่างของระดับข้อมูลได้ดังนี้
• • •
ข้อมูลระดับที่ 1: ราคาเสนอซื้อขาย (ไม่ต้องปรับปรุง) ในตลาดที่มีสภาพคล่องสําหรับสินทรัพย์หรือหนี้สนิ อย่าง เดียวกัน ข้อมูลระดับที่ 2: ข้อมูลอื่นนอกเหนือจากราคาเสนอซื้อขายซึ่งรวมอยู่ในข้อมูลระดับ 1 ทั้งที่สามารถสังเกตได้โดยตรง ได้แก่ ข้อมูลราคา หรือโดยอ้อม ได้แก่ ข้อมูลที่คํานวณมาจากราคา สําหรับสินทรัพย์นั้นหรือหนี้สินนั้น ข้อมูลระดับที่ 3: ข้อมูลสําหรับสินทรัพย์หรือหนี้สินซึ่งไม่ได้มาจากข้อมูลที่สามารถสังเกตได้จากตลาด (ข้อมูล ที่ไม่สามารถสังเกตได้)
ตารางต่อไปนี้แสดงมูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุพันธ์ที่ไม่ได้รับรู้รายการในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
บาท สินทรัพย์ สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า หนี้สิน สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า
42,362 29,100
สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าช่วยป้องกันกลุ่มกิจการจากความเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนด้วยการกําหนดอัตรา ที่จะใช้รับรู้สินทรัพย์ที่เป็นสกุลเงินต่างประเทศซึ่งจะได้รับจริง หรือที่จะใช้รับรู้หนี้สินที่เป็นสกุลเงินต่างประเทศซึ่งจะต้อง จ่ายชําระ มูลค่ายุติธรรมกําหนดโดยข้อมูลระดับ 2 อ้างอิงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเทียบบาท ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน และคิดลดมูลค่าที่ได้กลับมาเป็นมูลค่าปัจจุบันด้วยเส้นอัตราผลตอบแทนสกุลเงินบาท ทั้งนี้ข้อมูลตลาดที่ใช้เป็นข้อมูลที่สามารถสังเกตได้จากตลาดที่มีสภาพคล่อง ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของหุ้ น กู้ และเงิ น ให้ กู้ ยื ม ระยะยาวแก่ บริ ษั ท ย่ อ ย ได้ เ ปิ ด เผยไว้ ใ นหมายเหตุ ประกอบ งบการเงินข้อที่ 15 และ 26.4 ตามลําดับ “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
31
121
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
4
ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจ การประมาณการ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจ ได้มีการประเมินทบทวนอย่างต่อเนื่อง และอยู่บนพื้นฐานของประสบการณ์ ในอดีตและปัจจัยอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ในอนาคตที่เชื่อว่ามีเหตุผลในสถานการณ์ขณะนั้น กลุ่มกิจการมีการประมาณการทางบัญชี และใช้ข้อสมมติฐานที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ในอนาคต ผลของประมาณการทางบัญชี อาจไม่ตรงกับผลที่เกิดขึ้นจริง ประมาณทางการบัญชีที่สําคัญและข้อสมมติฐานที่มีความเสี่ยงอย่างเป็นสาระสําคัญที่อาจเป็นเหตุ ให้เกิดการปรับปรุงยอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี้สินในรอบระยะเวลาบัญชีหน้า มีดังนี้ (ก)
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กลุ่มกิจการกําหนดค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยใช้สมมติฐานและดุลยพินิจหลายประการในการประมาณการโดยผู้บริหาร ซึ่งรวมถึงการใช้ดุลยพินิจในการประมาณจํานวนหนี้ที่คาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้ การประมาณดังกล่าวอาศัยประสบการณ์ ของกลุ่มกิจการในการเก็บเงินจากลูกหนี้ประกอบกับการพิจารณาฐานะการเงินของลูกหนี้ด้วย ฝ่ายบริหารมีการทบทวน ประมาณการและข้อสมมติฐานต่างๆ อย่างสม่ําเสมอ
(ข)
การด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษัทย่อยและการร่วมค้า กลุ่มกิจการทดสอบการด้อยค่าของเงินลงทุนเมื่อมีข้อบ่งชี้ของการด้อยค่า มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของหน่วยสินทรัพย์ ที่ก่อให้เกิดเงินสดพิจารณาจากมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายหรือการคํานวณมูลค่าจากการใช้ของหน่วยสินทรัพย์ ดังกล่าว การประมาณมูลค่ายุติธรรมดังกล่าวพิจารณาจากการประเมินโดยผู้บริหารของกลุ่มกิจการ ในการคํานวณมูลค่า จากการใช้ กลุ่มกิจการอาศัยการประมาณการมูลค่าปัจจุบันจากการคิดลดกระแสเงินสดในอนาคตที่คาดว่าจะได้รับ จากการใช้หน่วยสินทรัพย์ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่สําคัญที่ใช้ได้แก่ ราคาและปริมาณผลผลิตที่ใช้ในการคํานวณ กําไรของหน่วยสินทรัพย์ และอัตราคิดลดซึ่งสะท้อนถึงความเสี่ยงของหน่วยสินทรัพย์นั้น
(ค)
ผลประโยชน์พนักงาน มู ล ค่ า ปั จ จุ บั น ของโครงการผลประโยชน์ ขึ้ น อยู่ กั บ ปั จ จั ย ที่ ใ ช้ ใ นการคํ า นวณตามหลั ก คณิ ต ศาสตร์ ป ระกั น ภั ย โดยประกอบด้วยสมมติฐานหลายตัว รวมถึงสมมติฐานเกี่ยวกับอัตราคิดลด อัตราเงินเฟ้อ และอัตราการขึ้นเงินเดือน การเปลี่ยนแปลงของสมมติฐานเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รายละเอียดสมมติฐาน ที่สําคัญเปิดเผยอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อที่ 17
5
การจัดการความเสี่ยงในส่วนของทุน วัตถุประสงค์ของกลุ่มกิจการในการบริหารทุนของบริษัทนั้นเพื่อดํารงไว้ซึ่งความสามารถในการดําเนินงานอย่างต่อเนื่องของกลุ่ม กิจการเพื่อสร้างผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นและเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีส่วนได้เสียอื่น และเพื่อดํารงไว้ซึ่งโครงสร้างของทุนที่เหมาะสม เพื่อลดต้นทุนของเงินทุน ในการดํารงไว้หรือปรับโครงสร้างของทุน กลุ่มกิจการอาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้น การคืนทุนให้แก่ผู้ถือหุ้น การออกหุ้นใหม่ หรือการขายทรัพย์สินเพื่อลดภาระหนี้สิน
122
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
32
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
6
ข้อมูลจําแนกตามส่วนงาน ข้อมูลจําแนกตามส่วนงานจะแสดงข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการประเภทต่างๆ ของกลุ่มกิจการ ข้อมูลส่วนงานดําเนินงานที่นําเสนอนี้สอดคล้องกับรายงานภายในของบริษัทที่ผู้มีอํานาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดําเนินงานได้รับ และสอบทานอย่างสม่ําเสมอเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากรให้กับส่วนงานและประเมินผลการดําเนินงานของส่วน งาน โดยพิจารณาจากกําไรของส่วนงาน ผลการดํ า เนิ น งานและสิ น ทรั พ ย์ ต ามส่ ว นงานเป็ น รายการที่ เ กี่ ย วข้ อ งโดยตรงกั บ ส่ ว นงาน หรื อ ที่ ส ามารถปั น ส่ ว นให้ ส่วนงานได้อย่างสมเหตุสมผล รายการหลักที่ไม่ได้ปันส่วนประกอบด้วย ต้นทุนทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้รวมถึง สินทรัพย์ส่วนกลาง บริษัทดําเนินธุรกิจภายใต้ส่วนงานดําเนินงานจํานวน 4 ส่วนงาน ดังนี้ ก) การจําหน่ายน้ํามันเชื้อเพลิงเรือและน้ํามันหล่อลืน่ ทางทะเลให้กับกลุ่มลูกค้าประเภทเรือขนส่ง ข) การจําหน่ายน้ํามันเชื้อเพลิงเรือและน้ํามันหล่อลืน่ ทางทะเลให้กับกลุ่มลูกค้าที่เป็นตัวแทนจําหน่ายน้ํามัน ค) การจําหน่ายน้ํามันเชื้อเพลิงและน้าํ มันหล่อลื่นทางบกให้กับธุรกิจขนส่งและโรงงานอุตสาหกรรม ง) การให้บริการอาหารและทําความสะอาด (Catering service) สําหรับบุคลากรทั้งบนบกและในทะเล (บนเรือที่พกั ) รายละเอียดข้อมูลตามส่วนงานดําเนินงานมีดังนี้
ส่วนงาน ก บาท สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 รายได้จากลูกค้าภายนอก กําไร (ขาดทุน) ของส่วนงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ลูกหนี้การค้า - สุทธิ สินทรัพย์อื่น (สินทรัพย์ส่วนกลาง) สินทรัพย์รวม
งบการเงินรวม ส่วนงาน ข ส่วนงาน ค บาท บาท
ส่วนงาน ง บาท
รวม บาท
1,579,468,175 1,858,988,147 162,019,549 186,974,290 3,787,450,161 126,625,939 49,027,419 (2,789,215) 7,837,053 180,701,196
226,876,001
217,538,034
16,455,220
27,592,883
488,462,138 1,853,708,785 2,342,170,923
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
33
123
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
6
ข้อมูลจําแนกตามส่วนงาน (ต่อ) ส่วนงาน ก บาท สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 รายได้จากลูกค้าภายนอก กําไร (ขาดทุน) ของส่วนงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ลูกหนี้การค้า - สุทธิ สินทรัพย์อื่น (สินทรัพย์ส่วนกลาง)
งบการเงินรวม ส่วนงาน ข ส่วนงาน ค บาท บาท
ส่วนงาน ง บาท
รวม บาท
1,437,392,570 1,013,703,339 100,421,751 217,768,456 2,769,286,116 104,984,089 47,412,057 (513,427) 7,947,387 159,830,106
291,169,409
36,745,451 15,511,160
30,975,889
สินทรัพย์รวม
374,401,909 1,793,036,331 2,167,438,240
กําไรขาดทุนของส่วนงานสามารถกระทบยอดกับกําไรของกลุ่มกิจการสําหรับปีได้ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท กําไรของส่วนงาน รายการกระทบยอด รายได้อื่น - ส่วนกลาง ค่าใช้จ่ายบริหาร - ส่วนกลาง กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน- ส่วนกลาง ต้นทุนทางการเงิน - ส่วนกลาง ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในการร่วมค้า ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี
180,701,196
159,830,106
1,002,387 (98,184,434) 1,880,066 (55,507,532) (39,589,238) (13,509,627) (23,207,182)
32,267,027 (76,243,973) 1,257,318 (45,998,979) (45,950,166) (18,660,623) 6,500,710
รายได้ของกลุ่มกิจการจากลูกค้ารายใหญ่ 5 ราย สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มีจํานวน 695.98 ล้านบาท เป็นรายได้ จากส่วนงาน ก จํานวน 593.15 ล้านบาท และส่วนงาน ง จํานวน 102.83 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 18.38 ของรายได้ จากการขายและบริการรวม รายได้ของกลุ่มกิจการจากลูกค้ารายใหญ่ 5 ราย สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มีจํานวน 1,267.26 ล้านบาท เป็นรายได้ จากส่วนงาน ก จํานวน 723.77 ล้านบาท และส่วนงาน ข จํานวน 543.49 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 45.76 ของรายได้ จากการขายและบริการรวม
124
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
34
6 6
รายได้จากการขายและบริการ รายได้จากการขายและบริการ กําไร (ขาดทุน) ของส่วนงาน กําไร (ขาดทุน) ของส่วนงาน รายการกระทบยอด รายการกระทบยอด รายได้อื่น - ส่วนกลาง รายได้อื่น - ส่วนกลาง ค่าใช้จ่ายบริหาร - ส่วนกลาง ค่าใช้จ่ายบริหาร - ส่วนกลาง กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน- ส่วนกลาง กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน- ส่วนกลาง ต้นทุนทางการเงิน - ส่วนกลาง ต้นทุนทางการเงิน - ส่วนกลาง ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในการร่วมค้า ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในการร่วมค้า ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ขาดทุนสําหรับปี ขาดทุนสําหรับปี
898,759,767 898,759,767 91,297,379 91,297,379
680,708,408 680,708,408 35,328,560 35,328,560
ส่วนงาน ก ส่ ว ในประเทศ นงาน ก ต่างประเทศ ในประเทศ ต่างประเทศ 151,342,429 1,707,645,718 151,342,429 1,707,645,718 16,124,582 32,902,837 16,124,582 32,902,837
162,019,549 162,019,549 (2,789,215) (2,789,215)
-
-
-
ส่วนงาน ง ส่ ว นงาน ในประเทศ ง ต่างประเทศ ในประเทศ ต่างประเทศ 186,974,290 186,974,290 7,837,053 7,837,053 -
งบการเงินรวม (บาท) งบการเงิ สําหรับปีสิ้นสุดวันนทีรวม ่ 31 (บาท) ธันวาคม พ.ศ. 2559 สํ า หรั บ ปี ส น ้ ิ สุ ด วั น ที ่ 31 ธั น วาคม ส่วนงาน ข ส่วพ.ศ. นงาน2559 ค ส่ ว นงาน ข ส่ ว นงาน ค ในประเทศ ต่างประเทศ ในประเทศ ต่างประเทศ ในประเทศ ต่างประเทศ ในประเทศ ต่างประเทศ
ข้อมูลเกี่ยวกับเขตภูมิศาสตร์ ข้อมูลเกี่ยวกับเขตภูมิศาสตร์ กลุ่มกิจการดําเนินธุรกิจทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ ข้อมูลทางการเงินจําแนกตามส่วนงานทางภูมิศาสตร์ มีดังนี้ กลุ่มกิจการดําเนินธุรกิจทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ ข้อมูลทางการเงินจําแนกตามส่วนงานทางภูมิศาสตร์ มีดังนี้
ข้อมูลจําแนกตามส่วนงาน (ต่อ) ข้อมูลจําแนกตามส่วนงาน (ต่อ)
สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
หมายเหตุ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุปดระกอบงบการเงิ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน) บริ ษัท ซีออยลปจํระกอบงบการเงิ ากัด (มหาชน) หมายเหตุ นรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
รวม
1,002,387 1,002,387 (98,184,434) (98,184,434) 1,880,066 1,880,066 (55,507,532) (55,507,532) (39,589,238) (39,589,238) (13,509,627) (13,509,627) (23,207,182) (23,207,182)
3,787,450,161 3,787,450,161 180,701,196 - 180,701,196
-
รวม
ไปที่สารบัญ
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
125
126
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
66
ขาดทุนสําหรับปี
รายได้จากการขายและบริการ รายได้จากการขายและบริการ กําไร (ขาดทุน) ของส่วนงาน รายการกระทบยอด กําไร (ขาดทุน) ของส่วนงาน รายได้อื่น - ส่วนกลาง รายการกระทบยอด ค่าใช้จ่ายบริหาร - ส่วนกลาง รายได้ อื่น -ตราแลกเปลี ส่วนกลาง ่ยน- ส่วนกลาง กําไรจากอั ค่ต้านใช้ทุนจทางการเงิ ่ายบริหารน- -ส่ส่วนกลาง วนกลาง กํส่าวไรจากอั ต ราแลกเปลี น- ส่วนนกลาง นแบ่งกําไร (ขาดทุน)่ยจากเงิ ลงทุนในการร่วมค้า ต้ค่นาใช้ ทุนจทางการเงิ น ส่ ว นกลาง ่ายภาษีเงินได้ ส่กํวานแบ่ ไรสํางหรักําบไรปี (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในการร่วมค้า ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
334,432,005 680,708,408 12,133,095
35,328,560
1,102,960,565 898,759,767 92,850,994
91,297,379
ส่วนงาน ก ส่วนงาน ก ในประเทศ ต่างประเทศ ในประเทศ ต่างประเทศ
32,902,837
371,865,302 151,342,429 18,950,826
16,124,582
(2,789,215)
641,838,037 100,065,751 1,707,645,718 162,019,549 28,461,231 (505,724)
356,000 (7,703)
งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินรวม (บาท) สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ส่วนงาน ข ส่วนงาน ค ส่วนงาน ข ส่วนงาน ค ในประเทศ ต่างประเทศ ในประเทศ ต่างประเทศ ในประเทศ ต่างประเทศ ในประเทศ ต่างประเทศ
กลุ่ม่มกิกิจจการดํ การดําาเนิ นจํนาจํแนกตามส่ วนงานทางภู มิศมาสตร์ มีดังมีนีด้ ัง(ต่นีอ้ ) กลุ เนินนธุธุรรกิกิจจทัทั้ง้งในประเทศไทยและต่ ในประเทศไทยและต่างประเทศ างประเทศข้อข้มูอลมูทางการเงิ ลทางการเงิ าแนกตามส่ วนงานทางภู ิศาสตร์
เกี่ย่ยวกั ข้ข้ออมูมูลลเกี วกับบเขตภู เขตภูมมิศิศาสตร์ าสตร์ (ต่อ)
ข้ข้ออมูมูลลจํจําาแนกตามส่ แนกตามส่ววนงาน นงาน (ต่(ต่ออ))
หรับบปปสสนิ้ นิ้ สุสุดดวัวันนทีที่่ 31 สํสําาหรั 31 ธัธันนวาคม วาคม พ.ศ. พ.ศ.2559 2559
ระกอบงบการเงินนรวมและงบการเงิ หมายเหตุประกอบงบการเงิ รวมและงบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ การ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน) บริ (มหาชน)
-
-
7,837,053
217,575,047 186,974,290 8,057,134
193,409 (109,747)
ส่วนงาน ง ส่วนงาน ง ในประเทศ ต่างประเทศ ในประเทศ ต่างประเทศ
รวม
36
(23,207,182)
2,769,286,116 - 3,787,450,161 159,830,106 180,701,196 32,267,027 (76,243,973) 1,002,387 1,257,318 (98,184,434) (45,998,979) 1,880,066 (45,950,166) (55,507,532) (18,660,623) (39,589,238) 6,500,710 (13,509,627)
รวม
ไปที่สารบัญ
35
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
7
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด งบการเงินรวม
เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
บาท
บาท
บาท
บาท
36 159,872,330 94,663,629 254,535,995
36 339,380,297 2,400,954 341,781,287
45,783,194 92,255,734 138,038,928
295,491,046 2,400,954 297,892,000
เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์มีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.50 ต่อปี (พ.ศ. 2558 : ร้อยละ 0.50 ต่อปี) 8
ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ งบการเงินรวม
ลูกหนี้การค้า - กิจการอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 26.3) หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ รายได้ค้างรับ - กิจการอื่น
ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 26.3) ดอกเบี้ยค้างรับ - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 26.3) เงินปันผลค้างรับ - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 26.3) เงินจ่ายล่วงหน้าค่าสินค้าและบริการ เงินจ่ายล่วงหน้าการซื้อหุ้น อื่นๆ
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
บาท
บาท
บาท
บาท
450,721,618 33,720,598 (9,892,815) 474,549,401
313,450,607 57,953,956 (12,817,165) 358,587,398
110,323,745 40,455,981 (9,892,815) 140,886,911
294,270,239 57,326,014 (12,817,165) 338,779,088
13,912,737 488,462,138
15,814,511 374,401,909
13,912,737 154,799,648
15,814,511 354,593,599
95,810 72,373,253 2,713,745 563,644,946
95,810 30,000,375 4,422,859 673,600 409,594,553
2,817,217 9,750,565 11,392,924 1,229,557 179,989,911
17,663,752 49,941,075 30,000,375 4,422,859 26,617,800 673,600 483,913,060
บริษัทได้รับเงินปันผลจํานวน 30.00 ล้านบาทจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันแล้ว เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2559
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
37
127
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
8
ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ (ต่อ) ลูกหนี้การค้า สามารถวิเคราะห์ตามอายุหนี้ที่ค้างชําระได้ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ยังไม่ถึงกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ: ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน เกินกว่า 12 เดือน
หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
9
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
348,622,020
210,604,366
101,542,875
190,796,056
122,997,444 689,200 4,168,667 7,964,885
136,099,772 11,788,380 3,014,648 9,897,397
38,600,036 689,200 1,982,730 7,964,885
136,099,772 11,788,380 3,014,648 9,897,397
484,442,216 (9,892,815) 474,549,401
371,404,563 (12,817,165) 358,587,398
150,779,726 (9,892,815) 140,886,911
351,596,253 (12,817,165) 338,779,088
เงินลงทุนในบริษัทย่อยและส่วนได้เสียในการร่วมค้า 9.1
เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อย มีดังต่อไปนี้ สัดส่วนการถือหุน้ สามัญ ชื่อบริษัท Sea Oil Energy Limited Sea Oil Offshore Limited Sea Oil Petroleum Pte. Ltd. บริษัท นครชัยปราการ เคมีภัณฑ์ จํากัด
128
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ประเทศ ที่จดทะเบียน หมู่เกาะ เบอร์ มิวด้า มาเลเซีย สิงคโปร์ ไทย
พ.ศ. 2559 ร้อยละ
พ.ศ. 2558 ร้อยละ
การลงทุนในบริษัทอื่น
100
100
ธุรกิจจําหน่ายน้ํามันและ ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ธุรกิจจําหน่ายน้ํามันและ ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ธุรกิจผลิตและจําหน่ายโซลเว้นท์ และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเหลว ทุกชนิด
100
100
75
100
100
-
ประเภทธุรกิจ
38
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
9
เงินลงทุนในบริษัทย่อยและส่วนได้เสียในการร่วมค้า (ต่อ) 9.1
เงินลงทุนในบริษัทย่อย (ต่อ) รายละเอียดเงินลงทุนในบริษัทย่อยของกลุ่มกิจการตามวิธีราคาทุน แสดงได้ดังต่อไปนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ วิธีราคาทุน พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท Sea Oil Energy Limited Sea Oil Offshore Limited Sea Oil Petroleum Pte. Ltd. บริษัท นครชัยปราการ เคมีภัณฑ์ จํากัด
32 977,400 26,972,597 135,823,947 163,773,976
32 977,400 354,797 1,332,229
การเปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในบริษัทย่อยของกลุ่มกิจการ แสดงได้ดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ราคาตามบัญชีต้นปี การลงทุนเพิ่มขึ้น ราคาตามบัญชีปลายปี
1,332,229 162,441,747 163,773,976
32 1,332,197 1,332,229
เมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2559 Sea Oil Petroleum Pte. Ltd. ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจํานวน 990,000 หุ้น รวมเป็นทุน จดทะเบียนทั้งสิ้น 1,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 เหรียญสหรัฐ โดยบริษัทได้ชําระเงินค่าหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 740,000 เหรียญสหรัฐ หรือเทียบเท่า 26.62 ล้านบาท สําหรับหุ้น 740,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 เหรียญสหรัฐ ภายหลังการเพิ่มทุนสัดส่วนการถือหุ้น ในบริษัทดังกล่าวได้ลดลงจากร้อยละ 100 เป็นร้อยละ 75 Sea Oil Petroleum Pte. Ltd. ได้เริ่มดําเนินธุรกรรมทางการค้าในเดือนมกราคม พ.ศ. 2559 เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2559 บริษัทได้เข้าซื้อหุ้นของ บริษัท นครชัยปราการ เคมีภัณฑ์ จํากัด (“NPC”) ซึ่งประกอบธุรกิจ เกี่ยวกับการผลิตและจําหน่ายโซลเว้นท์และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเหลวทุกชนิด จํานวน 1,500,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100 ของจํานวนหุ้นที่ออกและจําหน่ายแล้วทั้งหมดของ NPC โดยชําระเป็นหุ้นสามัญ ออกใหม่ของบริษัทจํานวน 19,130,434 หุ้น และจ่ายเป็นเงินสดเพิ่มเติมสําหรับรายการเงินสด และเงินทุนหมุนเวียนหักด้วย หนี้สินที่มีอยู่ในบัญชีของ NPC ณ วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2559 “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
39
129
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
9
เงินลงทุนในบริษัทย่อยและส่วนได้เสียในการร่วมค้า (ต่อ) 9.1
เงินลงทุนในบริษัทย่อย (ต่อ) ในการซื้อหุ้นดังกล่าวบริษัทจะได้มาซึ่งกลุ่มสินทรัพย์ของธุรกิจโรงแยกคอนเดนเสทของ NPC ซึ่งประกอบไปด้วย ที่ดิน โรงแยกคอนเดนเสท เครื่องจักรและอุปกรณ์ ในการพิจารณาตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 เรื่องการรวม ธุรกิจ ในกรณีนี้ถือเป็นการซื้อกลุ่มของสินทรัพย์ เนื่องจากโรงแยกคอนเดนเสทไม่มีการดําเนินธุรกิจใด ๆ มาเป็นเวลานาน หลายปี และบริษัทจะต้องมีการลงทุนที่สําคัญในการปรับปรุงโรงแยกดังกล่าวเพื่อให้ใช้งานได้ ซึ่งคาดว่าจะใช้ระยะเวลาอย่าง น้อย 6 - 8 เดือน และจะเริ่มดําเนินธุรกิจในไตรมาส 1 ของปี พ.ศ. 2560 มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินที่ได้มา ณ วันซื้อ มีดังนี้ พันบาท ที่ดินและส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารสํานักงานและอาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์ เงินสด ลูกหนี้ สินทรัพย์อื่น เจ้าหนี้ รวม จ่ายเป็นหุ้นสามัญของบริษัทสําหรับสินทรัพย์ถาวร จ่ายเป็นเงินสดสําหรับเงินทุนหมุนเวียน รวม
61,514 5,324 26,716 36,320 150 675 (781) 129,918 93,554 36,364 129,918
รายการดังกล่าวมีการจ่ายชําระเป็นหุ้นสามัญของบริษัทจึงรับรู้ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 เรื่อง การจ่าย โดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ บริษัทได้บันทึกสินทรัพย์ถาวรที่ได้มาด้วยมูลค่ายุติธรรม และบันทึกการเพิ่มขึ้นของส่วนของเจ้าของ ที่เกี่ยวข้องด้วยจํานวนเดียวกัน (หมายเหตุ 18) บริ ษั ท มี ต้ น ทุ น ในการได้ ม าของเงิ น ลงทุ น นี้ จํ า นวน 5.91 ล้ า นบาท และแสดงเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของเงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท ย่ อ ย ในงบการเงินเฉพาะกิจการ และแสดงเป็นต้นทุนของการได้มาของสินทรัพย์ในงบการเงินรวม
130
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
40
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
9
เงินลงทุนในบริษัทย่อยและส่วนได้เสียในการร่วมค้า (ต่อ) 9.2
เงินลงทุนในการร่วมค้า เงินลงทุนในการร่วมค้า มีดังต่อไปนี้
ชื่อบริษัท Pan Orient Energy (Siam) Ltd.
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ร้อยละ ร้อยละ
ประเทศที่ จดทะเบียน
ประเภทธุรกิจ
หมู่เกาะ เบอร์มิวด้า
ธุรกิจเกี่ยวกับการสํารวจ พัฒนาและผลิตน้ํามัน ปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ
49.99
49.99
ปัจจุบัน POES ได้รับสัมปทานปิโตรเลียมหลุม L53/48 ณ อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม รายละเอียดเงินลงทุนในการร่วมค้าตามวิธีส่วนได้เสีย และวิธีราคาทุน แสดงได้ดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม วิธีส่วนได้เสีย พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท Pan Orient Energy (Siam) Ltd.
1,302,340,597 1,302,340,597
1,341,929,834 1,341,929,834
วิธีราคาทุน พ.ศ. 2559 บาท 1,387,880,000 1,387,880,000
พ.ศ. 2558 บาท 1,387,880,000 1,387,880,000
การเปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในการร่วมค้า แสดงได้ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ราคาตามบัญชีต้นปี การลงทุนเพิ่มขึ้น ส่วนแบ่งผลขาดทุน ราคาตามบัญชีปลายปี
1,341,929,834 (39,589,237) 1,302,340,597
1,387,880,000 (45,950,166) 1,341,929,834
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
41
131
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
9
เงินลงทุนในบริษัทย่อยและส่วนได้เสียในการร่วมค้า (ต่อ) 9.2
เงินลงทุนในการร่วมค้า (ต่อ) ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปสําหรับบริษัท Pan Orient Energy (Siam) Ltd. ซึ่งปฏิบัติตามวิธีส่วนได้เสีย แสดงดังต่อไปนี้ พ.ศ. 2559 พันบาท
พ.ศ. 2558 พันบาท
69,237 61,390 3,106,300 3,236,927
70,004 38,665 3,293,814 3,402,483
16,693 1,156,752 1,173,445 2,063,482
23,244 1,236,571 1,259,815 2,142,668
พ.ศ. 2559 พันบาท
พ.ศ. 2558 พันบาท
244,206 (116,505) (294,613) (166,912) 87,726 (79,186)
296,983 (106,660) (368,700) (178,377) 86,466 (91,911)
งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม สินทรัพย์ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์รวม หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินรวม สินทรัพย์สุทธิ
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม รายได้ ต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ขาดทุนจากการดําเนินงาน รายได้ภาษีเงินได้ ขาดทุนสุทธิ
ข้อมูลข้างต้นได้สะท้อนถึงการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ และการปรับปรุงเกี่ยวกับความแตกต่างของนโยบาย การบัญชีของกลุ่มกิจการและการร่วมค้า
132
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
42
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
9
เงินลงทุนในบริษัทย่อยและส่วนได้เสียในการร่วมค้า (ต่อ) 9.2
เงินลงทุนในการร่วมค้า (ต่อ) การกระทบยอดรายการระหว่างข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัท Pan Orient Energy (Siam) Ltd. กับมูลค่า ตามบัญชีของส่วนได้เสียในบริษัท
สินทรัพย์สุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม ขาดทุนในระหว่างงวด สินทรัพย์สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ส่วนได้เสียในการร่วมค้า (ร้อยละ 49.99) ค่าความนิยม ณ วันที่ได้เงินลงทุนมา มูลค่าตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2559 พันบาท
พ.ศ. 2558 พันบาท
2,142,668 (79,186) 2,063,482 1,031,637 270,704 1,302,341
2,234,579 (91,911) 2,142,668 1,071,226 270,704 1,341,930
บริษัทได้ทดสอบการด้อยค่าของเงินลงทุนในการร่วมค้า ณ วันสิ้นปี มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของเงินลงทุนในการร่วมค้า พิจารณาจากการคํานวณมูลค่าจากการใช้ การคํานวณดังกล่าวใช้ประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับตลอดอายุ สัมปทานปิโตรเลียมซึ่งอ้างอิงจากประมาณการปริมาณสํารองและทรัพยากรปิโตรเลียม สําหรับการคาดการณ์ราคาน้ํามัน ในอนาคตอ้างอิงจากการประมาณการของ Sproule International Limited ซึ่งเป็นบริษัทผู้เชี่ยวชาญอิสระ บริษัทใช้อัตรา ต้นทุนของเงินลงทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนักก่อนภาษีร้อยละ 12.3 ต่อปี ในการคิดลดกระแสเงินสดสุทธิที่ได้รับดังกล่าว มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของเงินลงทุนในการร่วมค้ามีจํานวนมากกว่ามูลค่าตามบัญชีอยู่ 747.07 ล้านบาท โดยหากมีการเพิ่ม อัตราคิดลดเป็นร้อยละ 30.58 ต่อปี หรือลดราคาน้ํามันในอนาคตแต่ละปีลงร้อยละ 16.04 จะทําให้มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน เท่ากับราคาตามบัญชี 10
เงินลงทุนทั่วไป - กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินลงทุนทั่วไปจํานวน 17.53 ล้านบาท เป็นเงินลงทุนในหุ้นสามัญร้อยละ 3.33 ของ บริษัท คุณนที จํากัด ซึ่งเป็นบริษัทภายใต้ การควบคุมเดียวกัน จดทะเบียนในประเทศไทย และประกอบธุรกิจรับจ้างขนส่งน้ํามันทางเรือ
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
43
133
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
11
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ งบการเงินรวม
134
ที่ดินและส่วน ปรับปรุงที่ดนิ บาท
เครื่องตกแต่ง และอุปกรณ์ สํานักงาน บาท
ยานพาหนะ บาท
สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้าง บาท
รวม บาท
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ
-
6,858,378 (4,088,757) 2,769,621
-
-
6,858,378 (4,088,757) 2,769,621
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีต้นงวด - สุทธิ การซื้อเพิ่มขึ้น ค่าเสื่อมราคา (หมายเหตุ 23) ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยน ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุทธิ
-
2,769,621 3,881,786 (1,751,065) 175,124 5,075,466
-
711,360 711,360
2,769,621 4,593,146 (1,751,065) 175,124 5,786,826
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ
-
10,932,651 (5,857,185) 5,075,466
-
711,360 711,360
11,644,011 (5,857,185) 5,786,826
สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีต้นงวด - สุทธิ การซื้อเพิ่มขึ้น ลงทุนในบริษัทย่อย - การได้มาซึ่งสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคา (หมายเหตุ 23) ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยน ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุทธิ
65,397,257 65,397,257
5,075,466 324,607 (2,294,129) (35,732) 3,070,212
111,405 (9,334) 102,071
711,360 47,348,500 34,062,621 82,122,481
5,786,826 47,784,512 99,459,878 (2,303,463) (35,732) 150,692,021
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ
65,397,257 65,397,257
11,235,357 (8,165,145) 3,070,212
111,405 (9,334) 102,071
82,122,481 82,122,481
158,866,500 (8,174,479) 150,692,021
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
44
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
11
11
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ)
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ) ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 สํราคาทุ าหรับนปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบั ชีต้นงวด - สุทธิ หัก ค่าเสื่อญมราคาสะสม การซื้อเพิ่มขึ้น ราคาตามบัญชี - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา (หมายเหตุ 23) ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุทธิ สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีต้นงวด - สุทธิ ณ วัน้อทีเพิ่ 31 การซื ่มขึ้นธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุ น (หมายเหตุ 23) ค่าเสื่อมราคา หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุทธิ ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 สํราคาทุ าหรับนปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบั ชีต้นงวด - สุทธิ หัก ค่าเสื่อญมราคาสะสม การซื้อเพิ่มขึ้น ราคาตามบัญชี - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา (หมายเหตุ 23) ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุทธิ สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีต้นงวด - สุทธิ ณ วัน้อทีเพิ่ 31 การซื ่มขึ้นธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุ น (หมายเหตุ 23) ค่าเสื่อมราคา หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุทธิ ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ
เครื่องตกแต่งและ อุปกรณ์สํานักงาน บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย์ ยานพาหนะ ระหว่างก่อสร้าง บาท บาท
รวม บาท
6,858,378 เครื่องตกแต่งและ (4,088,757) อุปกรณ์สํานักงาน 2,769,621 บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย์ ยานพาหนะ ระหว่างก่อสร้าง บาท บาท
6,858,378 (4,088,757) รวม 2,769,621 บาท
6,858,378 2,769,621 (4,088,757) 300,798 2,769,621 (1,428,046) 1,642,373
--
-711,360 711,360
6,858,378 2,769,621 (4,088,757) 1,012,158 2,769,621 (1,428,046) 2,353,733
2,769,621 300,798 7,159,176 (1,428,046) (5,516,803) 1,642,373 1,642,373
--
711,360 711,360711,360 711,360
2,769,621 1,012,158 7,870,536 (1,428,046) (5,516,803) 2,353,733 2,353,733
7,159,176 1,642,373 (5,516,803) 152,332 1,642,373 (1,382,034) 412,671
-111,405 (9,334) 102,071
711,360 711,360711,360 711,360
7,870,536 2,353,733 (5,516,803) 263,737 2,353,733 (1,391,368) 1,226,102
1,642,373 152,332 7,311,509 (1,382,034) (6,898,838) 412,671 412,671
111,405 111,405 (9,334) (9,334) 102,071 102,071
711,360 711,360711,360 711,360
2,353,733 263,737 8,134,274 (1,391,368) (6,908,172) 1,226,102 1,226,102
7,311,509 (6,898,838) 412,671
111,405 (9,334) 102,071
711,360 711,360
8,134,274 (6,908,172) 1,226,102
45
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
45
135
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
12
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีต้นงวด - สุทธิ การซื้อเพิ่มขึ้น ค่าตัดจําหน่าย (หมายเหตุ 23) ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยน ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีต้นงวด - สุทธิ การซื้อเพิ่มขึ้น ค่าตัดจําหน่าย (หมายเหตุ 23) ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยน ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ
136
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
งบการเงินรวม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ บาท
3,683,113 (1,037,894) 2,645,219
3,683,113 (1,037,894) 2,645,219
2,645,219 1,025,262 (614,223) 55,019 3,111,277
2,645,219 (612,505) 2,032,714
4,763,486 (1,652,209) 3,111,277
3,683,113 (1,650,399) 2,032,714
3,111,277 470,430 (487,458) (2,379) 3,091,870
2,032,714 (369,030) 1,663,684
5,233,356 (2,141,486) 3,091,870
3,683,113 (2,019,429) 1,663,684
46
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
13
ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์และหนีส้ ินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ จะใช้ประโยชน์ภายใน 12 เดือน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ จะใช้ประโยชน์เกินกว่า 12 เดือน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ จะจ่ายชําระภายใน 12 เดือน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ จะจ่ายชําระเกินกว่า 12 เดือน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุทธิ
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
-
-
-
-
5,261,783 5,261,783
3,132,518 3,132,518
2,673,906 2,673,906
3,132,518 3,132,518
(341,943)
(371,249)
(341,943)
(371,249)
(341,943) 4,919,840
(341,943) (713,192) 2,419,326
(341,943) 2,331,963
(341,943) (713,192) 2,419,326
รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดังนี้
ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่ม(ลด) ในกําไรหรือขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
2,419,326 2,500,514 4,919,840
2,419,326 (87,363) 2,331,963
4,182,042 (1,762,716) 2,419,326
4,182,042 (1,762,716) 2,419,326
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
47
137
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
13
ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (ต่อ) รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดังนี้
ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ บาท
งบการเงินรวม ภาระผูกพัน ผลประโยชน์ ขาดทุนสะสม พนักงาน ทางภาษี บาท บาท
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิ่ม(ลด) ในกําไรหรือขาดทุน
3,728,266 (1,164,833)
453,776 115,309
-
4,182,042 (1,049,524)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เพิ่ม(ลด) ในกําไรหรือขาดทุน
2,563,433 (584,870)
569,085 126,258
2,587,877
3,132,518 2,129,265
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
1,978,563
695,343
2,587,877
5,261,783
งบการเงินรวม ส่วนลดหุน้ กู้ บาท
138
รวม บาท
รวม บาท
หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิ่ม(ลด) ในกําไรหรือขาดทุน
713,192
713,192
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เพิ่ม(ลด) ในกําไรหรือขาดทุน
713,192 (371,249)
713,192 (371,249)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
341,943
341,943
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
48
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
13
ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (ต่อ) งบการเงินเฉพาะกิจการ ภาระผูกพัน ค่าเผื่อหนี้ ผลประโยชน์ สงสัยจะสูญ พนักงาน บาท บาท
รวม บาท
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิ่ม(ลด) ในกําไรหรือขาดทุน
3,728,266 (1,164,833)
453,776 115,309
4,182,042 (1,049,524)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เพิ่ม(ลด) ในกําไรหรือขาดทุน
2,563,433 (584,870)
569,085 126,258
3,132,518 (458,612)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
1,978,563
695,343
2,673,906
งบการเงินเฉพาะกิจการ ส่วนลดหุน้ กู้ บาท
รวม บาท
หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิ่ม(ลด) ในกําไรหรือขาดทุน
713,192
713,192
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เพิ่ม(ลด) ในกําไรหรือขาดทุน
713,192 (371,249)
713,192 (371,249)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
341,943
341,943
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
139
49
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
14
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
ภาษีมูลค่าเพิ่มรอขอคืน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าสินทรัพย์ เงินมัดจํา ต้นทุนการทํารายการที่บันทึกเป็นสินทรัพย์
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
24,663,616 2,000,000 3,000 26,666,616
24,663,616 3,658,944 28,322,560
26,183,220 1,585,837 27,766,057
26,183,220 26,183,220
ภาษีมูลค่าเพิ่มรอขอคืนจํานวน 24.66 ล้านบาท เป็นภาษีมูลค่าเพิ่มที่ขอคืนไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 ถึง พ.ศ. 2558 ซึ่งกรมสรรพากรแจ้งชะลอการคืน เงิน ปัจจุบันกรมสรรพากรอยู่ระหว่างการพิจารณาประเด็นดังกล่าวและยังไม่ได้ข้อยุติ 15
หุ้นกู้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 บาท บาท หุ้นกู้ครั้งที่ 1/2558 หัก ต้นทุนในการออกหุ้นกู้รอตัดบัญชี หุ้นกู้ - สุทธิ หัก ส่วนที่ครบกําหนดไถ่ถอนภายใน 1 ปี หุ้นกู้ - ส่วนที่ยังไม่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ปี
1,000,000,000 (1,709,715) 998,290,285 (998,290,285) -
1,000,000,000 (3,565,962) 996,434,038 996,434,038
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 1,000,000,000 (1,709,715) 998,290,285 (998,290,285) -
1,000,000,000 (3,565,962) 996,434,038 996,434,038
เมื 17 กั ยายน พ.ศ. 2558 บริ ได้เสนอขายหุ ซีออยล์ ากัด (มหาชน) ครั ้งที่ 1/2558 รวมมู ลค่าเสนอขาย 1,000 ล้ านบาท เมื่อ่อวัวันนทีที่ ่ 17 กันนยายน พ.ศ. 2558 บริษัทษได้ัทเสนอขายหุ ้นกู้บ้นริกูษ้บัทริซีษอัทอยล์ จํากัด จ�(มหาชน) ครั้งที่ 1/2558 รวมมูลค่าเสนอขาย 1,000 ล้านบาท เฉพาะแก่ ผู้ เฉพาะแก่ ผ ู ้ ล งทุ น สถาบั น หรื อ ผู ้ ล งทุ น รายใหญ่ โดยมี อ ั ต ราดอกเบี ้ ย คงที ่ เ ท่ า กั บ ร้ อ ยละ 5.35 ต่ อ ปี ก� า หนดจ่ า ยดอกเบี ้ ย ทุ ก ๆ 3 เดื อ น ลงทุ นสถาบั นหรื อผู้ ลงทุ นรายใหญ่ โดยมี อั ตราดอกเบี้ ยคงที่ เท่ ากั บร้ อยละ 5.35 ต่ อปี กํ าหนดจ่ ายดอกเบี้ ยทุ กๆ 3 เดื อน เริเริ่ม่มวัวันนทีที่ ่ 17 ธั ามเงื่อ่อนไขทางการเงิ นไขทางการเงินนต่ต่าางๆ งๆ รวมถึ การด�าารงอั รงอัตตราส่ ราส่ววนหนี นหนี้ส้สินินต่ต่ออส่ส่ววนของเจ้ นของเจ้าาของไม่ ของไม่เเกิกินน 17 ธันนวาคม พ.ศ. 2558 และบริ วาคม พ.ศ. 2558 และบริษษัทัทต้ต้อองปฏิ งปฏิบบัตัติติตามเงื รวมถึงงการดํ 3 เท่ 3 เท่าา หุ้นกู้ดังกล่าวจะครบก�าหนดไถ่ถอนวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2560 โดยบริษัทจะน�าเงินจากผลการด�าเนินงานของบริษัท และจากการออกหุ้นกู้ หุ้น กู้ ดัง กล่ าวจะครบกํ าหนดไถ่ ถ อนวั น ที่ 15 กั น ยายน พ.ศ. 2560 โดยบริ ษัท จะนํา เงิ น จากผลการดํ าเนิ น งานของบริ ษั ท ชุดใหม่มาช�าระ และจากการออกหุ้นกู้ชุดใหม่มาชําระ
50 140
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
15
หุ้นกู้ (ต่อ) การเคลื่อนไหวของหุ้นกู้สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ยอดคงเหลือต้นปี ตัดจําหน่ายต้นทุนในการออกหุ้นกู้ ยอดคงเหลือปลายปี
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พันบาท
996,434,038 1,856,247 998,290,285
996,434,038 1,856,247 998,290,285
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของหุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เท่ากับร้อยละ 5.57 มูลค่ายุติธรรมของหุ้นกู้มีมูลค่าใกล้เคียงกับราคาตามบัญชี เนื่องจากผลกระทบของอัตราคิดลดไม่มีสาระสําคัญ ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมของกลุ่มกิจการ มีดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ - หุ้นกู้ รวมเงินกู้ยืม
998,290,285 998,290,285
996,434,038 996,434,038
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
998,290,285 998,290,285
996,434,038 996,434,038
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
141
51
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
15
หุ้นกู้ (ต่อ) วงเงินกู้ยืม กลุ่มกิจการมีวงเงินกู้ยืมที่ยังไม่ได้เบิกออกมาใช้ดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท อัตราดอกเบี้ยลอยตัว ครบกําหนดภายใน 1 ปี - เงินเบิกเกินบัญชี - ตั๋วสัญญาใช้เงินจากสถาบันการเงิน - เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
16
100,000,000 220,000,000 270,000,000 590,000,000
100,000,000 220,000,000 270,000,000 590,000,000
100,000,000 220,000,000 270,000,000 590,000,000
100,000,000 220,000,000 270,000,000 590,000,000
เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท เจ้าหนี้การค้า - กิจการอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 26.3) ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย - กิจการอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 26.3)
142
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
165,777,992 -
63,144,065 1,082,056
16,966,271 -
44,069,273 1,082,056
14,522,990 336,930 180,637,912
10,700,266 145,543 75,071,930
7,108,592 397,659 24,472,522
7,146,941 145,543 52,443,813
52
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
17
ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบแสดงฐานะการเงิน หนี้สินโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน
3,476,713
2,845,429
3,476,713
2,845,429
กําไรหรือขาดทุน โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน
631,284
576,550
631,284
576,550
รายการเคลื่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจากงานระหว่างปีมีดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
ณ วันที่ 1 มกราคม ต้นทุนบริการปัจจุบัน ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย
2,845,429 526,001 105,283
2,268,879 492,602 83,948
2,845,429 526,001 105,283
2,268,879 492,602 83,948
ณ วันที่ 31 ธันวาคม
3,476,713
2,845,429
3,476,713
2,845,429
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
ข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ใช้เป็นดังนี้
อัตราคิดลด อัตราเงินเฟ้อ อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือน
ร้อยละ 3.7 ร้อยละ 3.7 ร้อยละ 3.0 ร้อยละ 3.0 ร้อยละ 3.0 - 15.0 ร้อยละ 3.0 - 15.0
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
143
53
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
17
ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน (ต่อ)
การเปลี่ยนแปลงในข้อสมมติ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558
อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือน
เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 ลดลงร้อยละ 1 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 ลดลงร้อยละ 1
เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 ลดลงร้อยละ 1 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 ลดลงร้อยละ 1
ผลกระทบต่อภาระผูกพันโครงการ ผลประโยชน์หลังออกจากงาน การเพิ่มขึ้น/(ลดลง)ของภาระผูกพัน พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท (565,943) 697,508 730,427 (599,983)
(480,830) 595,757 590,362 (486,372)
การวิเคราะห์ เคราะห์ความอ่ ความอ่ออนไหวข้ นไหวข้างต้ างต้นนนีนี้อ้อางอิ ้างอิงจากการเปลี งจากการเปลี่ย่ยนแปลงข้ นแปลงข้ออสมมติ สมมติ ขณะที ขณะที่ใ่ให้ห้ขข้อ้อสมมติ สมมติออื่นื่นคงที คงที่ ่ ในทางปฏิบัติสถานการณ์ดังกล่าวยากที่จะ การวิ เกิเดกิขึด้น และการเปลี ขึ้ น แ ล ะ ก ่ยานแปลงในข้ ร เ ป ลี่ ย นอแสมมติ ป ล งอใาจมี น ข้ คอวามสั ส ม มมติพัอนธ์ากจันมี ในการค� ค ว า ม าสันวณการวิ ม พั น ธ์ กัเคราะห์ น ใ น คกวามอ่ า ร คํ อานไหวของภาระผู น ว ณ ก า ร วิ เ คกรพัานะผลประโยชน์ ห์ ค ว า ม อ่ ทอี่กน�าไหนด หว ไว้ของภาระผู ที่มีต่อการเปลีก ่ยพันแปลงในข้ อสมมติทหี่ กลัํ ากหนดไว้ ได้ใช้วิธทีเดีี่ มยี ตวกั่ อบการเปลี การค�านวณมู ลค่าปัจจุบอันสมมติ ห ลั ก ได้ ใ ช้ วิ ธี เ ดี ย วกั บ การคํ า นวณมู ล ค่ า ปั จ จุ บั น น ผลประโยชน์ ่ ย นแปลงในข้ ของภาระผู ะหน่ววยที ยที่ป่ประมาณการไว้ ระมาณการไว้ (Projected (Projected Unit Unit Credit Credit Method) ของภาระผูกกพัพันนโครงการผลประโยชน์ โครงการผลประโยชน์ทที่กี่ก�าําหนดไว้ หนดไว้ ซึซึ่ง่งค�คําานวณด้ นวณด้ววยวิ ยวิธธีคีคิดิดลดแต่ ลดแต่ลละหน่ Method) ณ ณ วั น สิ น ้ รอบระยะเวลารายงานในงบแสดงฐานะการเงิ น วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานในงบแสดงฐานะการเงิน
วิธวิีกธารและประเภทของข้ นการจัดดทํท�าาการวิ การวิเคราะห์ เคราะห์คความอ่ วามอ่อนไหวไม่ อนไหวไม่ ่ยนแปลงจากปี ีการและประเภทของข้ออสมมติ สมมติที่ใช้ในการจั ได้ไเด้ปลีเปลี ่ยนแปลงจากปี ก่อนก่อน ระยะเวลาถัวเฉลี วเฉลี่ยถ่่ยถ่วงน� วงน้้าหนั ําหนักกของภาระผู ของภาระผูกกพัพันนตามโครงการผลประโยชน์ ตามโครงการผลประโยชน์คคือือ 24 ปี 24 ปี ระยะเวลาถั 18
ทุนเรือนหุ้นและส่วนเกินมูลค่าหุ้น
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 การออกหุ้น จ่ายหุ้นปันผล ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 การออกหุ้น จ่ายหุ้นปันผล ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
จํานวนหุน้ หุ้น
หุ้นสามัญ บาท
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น บาท
209,998,052 104,998,805 44,996,991 359,993,848 19,130,434 35,995,999 415,120,281
209,998,052 104,998,805 44,996,991 359,993,848 19,130,434 35,995,999 415,120,281
161,873,151 419,995,220 581,868,371 74,423,566 656,291,937
รวม บาท 371,871,203 524,994,025 44,996,991 941,862,219 93,554,000 35,995,999 1,071,412,218
ณ ณวันวันทีที่ 31 พ.ศ. พ.ศ. 2559 หุ้นสามัญหุ้นจดทะเบี ยนทั้งหมดมี นวน จ417,036,710 หุ้น มูลค่าทีหุ่ต้นราไว้ 1 บาท ่ 31 ธันวาคม ธันวาคม 2559 สามัญจดทะเบี ยนทัจ้ง�าหมดมี ํานวน 417,036,710 มูลค่หาุ้นทีละ ่ตราไว้ หุ้นละ(พ.ศ. 1 2558: บาท 379,124,282 หุ น ้ มู ล ค่ า ที ต ่ ราไว้ ห น ้ ุ ละ 1 บาท) หุ น ้ ดั ง กล่ า วได้ อ อกและช� า ระแล้ ว เป็ น จ� า นวน 415,120,281 บาท (พ.ศ. 2558: 359,993,848 บาท) (พ.ศ. 2558: 379,124,282 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) หุ้นดังกล่าวได้ออกและชําระแล้วเป็นจํานวน 415,120,281 บาท (พ.ศ. 2558: 359,993,848 บาท)
54 144
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
18
ทุนเรือนหุ้นและส่วนเกินมูลค่าหุ้น (ต่อ) เมื่ อ วั น ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2559 บริ ษั ท ได้ จ ดทะเบี ย นทุ น ชํ า ระแล้ ว กั บ กระทรวงพาณิ ช ย์ ซึ่ ง เป็ น หุ้ น สามั ญ 19,130,434 หุ้ น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท สําหรับการซื้อหุ้นในวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2559 ของ บริษัท นครชัยปราการ เคมีภัณฑ์ จํากัด จํานวน 1,500,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100 ของจํานวนหุ้นที่ออกและจําหน่ายแล้วทั้งหมดของ NPC โดย ชําระเป็นหุ้นสามัญของบริษัทจํานวน 19,130,434 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท รวมเป็น 19.13 ล้านบาท ทั้งนี้บริษัทได้บันทึกส่วนเกินมูลค่าหุ้น สามัญจํานวน 74.42 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลต่างระหว่างมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นกับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ได้รับจากการซื้อหุ้นดังกล่าว (หมาย เหตุ 9.1)
เมื เมษายน พ.ศ. พ.ศ. 2559 2559 ที่ ปทีระชุ ่ประชุ มสามั ้นประจ� พ.ศ. 2559 ทุนจดทะเบี ยนจาก 379,124,282 เมื่อ่ อวัวันนทีที่ ่ 27 27 เมษายน ม สามั ญญ ผู้ ถผูื อ้ถหุือ้ นหุประจํ า ปีาปีพ.ศ. 2559 มี ม ติมีใมห้ติเ พิให้่ มเทุพิน่มจดทะเบี ย นจาก 379,124,282 หุ้ น เป็หุน้น เป็น 417,036,710 หุ้น เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปันผลของบริษัทจ�านวน 37,912,428 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท บริษัทได้จดทะเบียนแก้ไข 417,036,710 หุ้ น เ พื่ อ ร อ ง รั บก า รจ่ า ยหุ้ น ปั น ผ ลข อ งบ ริ ษั ท จํ าน วน 37,912,428 หุ้ น มู ล ค่ า ที่ ตราไว้ หุ้ น ล ะ 1 บาท บริ ษั ท ทุนจดทะเบียนแล้วเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 โดยเป็นการเพิ่มทุนที่ช�าระแล้วจาก 379,124,282 หุ้น เป็น 415,120,281 หุ้น ได้จดทะเบียนแก้ไขทุนจดทะเบี ยนแล้วเมื่อวั นที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 โดยเป็นการเพิ่ มทุนที่ ชําระแล้วจาก 379,124,282 หุ้น เป็น 415,120,281 หุ้น 19
สํารองตามกฎหมาย งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
ณ วันที่ 1 มกราคม จัดสรรระหว่างปี
23,295,000
17,990,0000
23,295,000
17,990,000
3,214,200
5,305,000
3,214,200
5,305,000
ณ วันที่ 31 ธันวาคม
26,509,200
23,295,000
26,509,200
23,295,000
ตามพระราชบั ากัดา พ.ศ. 2535 บริ ารองตามกฎหมายอย่ างน้อยร้อยละ 5 ของก� ทธิห5ลังของกํ จากหัากไรสุ ส่วนของขาดทุ ตามพระราชบัญญญัญัติบตริิ บษริัทษมหาชนจ� ั ท มหาชนจํ กั ด พ.ศ. 2535ษัทต้องส�บริ ษั ท ต้ อ งสํ า รองตามกฎหมายอย่ า งน้ อ ยร้าไรสุ อ ยละ ท ธิ ห ลั ง จากน สะสมยกมา (ถ้ ามี) จนกว่ าส�ารองนี้จะมี น้อยกว่ อยละ 10 ของทุ ม่สามารถน�าไปจ่ ายเงินนจดทะเบี ปันผลได้ ย น สํ า รองนี้ หั ก ส่ ว นของขาดทุ น สะสมยกมา (ถ้มาูลมีค่)าไม่ จนกว่ า สํ าร้รองนี ้ จ ะมี มู ล ค่ านไม่จดทะเบี น้ อ ยกว่ยน ส� า ร้ อารองนี ยละ ้ไ10 ของทุ ไม่สามารถนําไปจ่ายเงินปันผลได้ 20
เงินปันผลจ่าย
วัวันนทีที่ ่ 27 เมษายน พ.ศ. พ.ศ. 2559 2559 ที่ ปที่ระชุ ป ระชุมมสามั สามัญญผูผู้ ถ้ ถื อื อหุหุ้ น้ นประจํ ประจ�าาปีปี 2559 2559 มี มมีติมอตินุอ นุมั มติั ตกิ การจ่ ารจ่า ยปั า ยปันนผลผล เป็เป็นนหุหุ้ น้ นสามั สามัญญของบริ ของบริษษั ทั ท จํจ�าานวน นวน 27 เมษายน 35,995,999 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ให้บาท แก่ผให้ ู้ถือแหุก่้นผของบริ ัทในอัตษรา 10 หุ ้นเดิ10 มต่อ 1 หุหุ้น้นปัเดินผล คิ ายปัคินดผลในอั รา 35,995,999 หุ้ น มู ลค่ า ที่ต ราไว้หุ้ น ละ 1 ู้ ถือ หุ้ นษของบริ ั ท ในอั ตรา ม ต่อ ด1เป็นอัตหุราการจ่ ้ นปั น ผล เป็ น อัตตรา หุ้นละ 0.1 บาท และอนุมัติจ่ายปันผลเป็นเงินสดในอัตราหุ้นละ 0.0111112 บาท เป็นเงิน 4,001,127 บาท รวมการจ่ายปันผลทั้งในรูปแบบ การจ่ายปันผลในอัตราหุ้นละ 0.1 บาท และอนุมัติจ่ายปันผลเป็นเงินสดในอัตราหุ้นละ 0.0111112 บาท เป็นเงิน 4,001,127 บาท รวมการจ่าย หุ้นปันผลและเงินสดปันผลเท่ากับอัตราหุ้นละ 0.1111112 บาท เป็นมูลค่ารวมทั้งสิ้น 39,997,126 บาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายแล้วใน ปันผลทั้งในรูปแบบหุ้นปันผลและเงินสดปันผลเท่ากับอัตราหุ้นละ 0.1111112 บาท เป็นมูลค่ารวมทั้งสิ้น 39,997,126 บาท เงินปันผลดังกล่าว วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ได้จ่ายแล้วในวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 วัวันนทีที่ ่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558 ที มสามั ญผูญ้ถผูือ้ถหุือ้นหุประจ� าปี า2558 มี ายปัานยปัผล เป็ ญของบริ ษัท จ� 8 เมษายน พ.ศ. 2558 ่ปทีระชุ ่ประชุ มสามั ้นประจํ ปี 2558มมีติมอนุติอมนุัติกมารจ่ ัติการจ่ นผลนเป็หุ้นนสามั หุ้นสามั ญของบริ ษัทานวน 44,996,991 หุ จํานวน 44,996,991้น มูหุล้ นค่ามูทีล่ตค่ราไว้ ุ้นละ 1 บาท ให้ ้นของบริ ้นเดิษมั ทต่ในอั อ 1 หุ ้นปัน7 ผล คิดเป็หุน้ นอัเดิ ตราการจ่ า ที่ ตหราไว้ หุ้ น ละ 1 แก่ผู้ถือหุบาท ให้ แษก่ัทผในอั ู้ ถื อ หุต้ นรา 7 หุ ของบริ ต รา ม ต่ อ 1ายปันผลในอั หุ้ น ปัตราหุ น ผล้นละ 0.142857 บาท คิ ด เป็ น อั ต ราการ และอนุมัติจ่ายปันผลเป็นเงินสดในอัตราหุ้นละ 0.015873 บาท เป็นเงิน 5,001,873 บาท รวมการจ่ายปันผลทั้งในรูปแบบหุ้นปันผลและเงินสด จ่ายปันผลในอัตราหุ้นละ 0.142857 บาท และอนุมัติจ่ายปันผลเป็นเงินสดในอัตราหุ้นละ 0.015873 บาท เป็นเงิน 5,001,873 บาท รวมการ ปันผลเท่ากับอัตราหุ้นละ 0.158730 บาท เป็นมูลค่ารวมทั้งสิ้น 49,998,864 บาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายแล้วในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 จ่ายปันผลทั้งในรูปแบบหุ้นปันผลและเงินสดปันผลเท่ากับอัตราหุ้นละ 0.158730 บาท เป็นมูลค่ารวมทั้งสิ้น 49,998,864 บาท เงินปันผล ดังกล่าวได้จ่ายแล้วในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 55 “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
145
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
21
รายได้อื่น
รายได้ดอกเบี้ย รายได้เงินปันผล รายได้ค่าบริหารจัดการจากบริษัทย่อย อื่นๆ รวม
22
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
1,076,470 1,697,712 2,774,182
62,603,982 2,343,872 884,318 65,832,172
1,416,442 30,855,052 624,033 32,895,527
50,427,014 30,855,052 685,027 624,033 82,591,126
ต้นทุนทางการเงิน
ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ดอกเบี้ยหุ้นกู้
23
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
435,896 55,502,822 55,938,718
435,896 55,502,822 55,938,718
35,334,031 16,141,025 51,475,056
35,334,031 16,141,025 51,475,056
ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ
หมายเหตุ ซื้อสินค้า การเปลี่ยนแปลงในสินค้าระหว่างทาง ต้นทุนทางตรงสําหรับการให้บริการ อาหารและทําความสะอาดสําหรับ บุคลากรบนเรือที่พัก ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าขนส่ง ค่านายหน้า
11,12
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
3,331,927,639 (205,500)
2,313,696,681 (2,910,737)
1,089,359,892 (205,500)
2,173,076,550 (574,000)
176,745,385 56,579,685 2,790,921 41,841,135 24,092,966
204,407,179 29,512,348 2,365,288 58,946,537 18,422,918
176,745,385 34,656,420 1,760,398 26,205,944 6,294,402
204,407,179 29,512,348 2,040,552 53,199,892 18,405,178
56 146
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
24
ภาษีเงินได้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
ภาษีเงินได้งวดปัจจุบัน: ภาษีเงินได้งวดปัจจุบันสําหรับกําไรทางภาษี สําหรับปี รวมภาษีเงินได้งวดปัจจุบัน
16,010,141 16,010,141
16,897,907 16,897,907
15,776,058 15,776,058
16,739,139 16,739,139
ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี: รายการที่เกิดจากผลแตกต่างชั่วคราว รวมภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี
(2,500,514) (2,500,514)
1,762,716 1,762,716
87,363 87,363
1,762,716 1,762,716
รวมค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
13,509,627
18,660,623
15,863,421
18,501,855
ภาษี เ งิ น ได้ สํ า หรั บ กํ า ไรก่ อ นหั ก ภาษี ข องกลุ่ ม กิ จ การมี ย อดจํ า นวนเงิ น ที่ แ ตกต่ า งจากการคํ า นวณกํ า ไรทางบั ญ ชี คู ณ กั บ ภาษี ของประเทศที่บริษัทใหญ่ตั้งอยู่ โดยมีรายละเอียดดังนี้
กําไร (ขาดทุน) ก่อนภาษี
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
(9,697,555)
25,161,333
80,147,082
123,782,719
ภาษีคํานวณจากอัตราภาษี ร้อยละ 20 (พ.ศ. 2559 : ร้อยละ 20) ผลกระทบ: ผลต่างจากอัตราภาษีในต่างประเทศ ส่วนแบ่งผลขาดทุนจากการร่วมค้าสุทธิจากภาษี รายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษี ค่าใช้จ่ายที่สามารถหักภาษีได้เพิ่ม ค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถหักภาษี
(1,939,511)
5,032,267
16,029,416
24,756,544
10,238,559 7,917,848 (3,583,138) (176,865) 1,052,734
10,693,012 9,190,033 (6,171,010) (91,459) 7,780
(176,865) 10,870
(6,171,010) (91,459) 7,780
ภาษีเงินได้
13,509,627
18,660,623
15,863,421
18,501,855
ราภาษีเงิเ นงิ นได้ได้ที่แทท้ี่ แจท้ริจงถัริวงเฉลี ถั ว เฉลี ส� าบหรั วาคม พ.ศ. น ร้ อ ยละ ยละ 14.95) อัอัตตราภาษี ่ยสํา่ ยหรั ปีสบิ้นปีสุดสวัิ้ นนสุทีด่ วั31น ทีธั่ น31 วาคมธั นพ.ศ. 2559 เป็น2559 ร้อยละเป็19.79 (พ.ศ.19.79 2558: ร้(พ.ศ. อยละ 2558: 14.95) อัร้ตอราภาษี เงินได้ ทีอั ่ตแราภาษี ท้ จ ริ ง เเ งิปนลีได้ ่ ย นที่ แแท้ปจลริงงจเปลี า ก่ ยปีนแปลงจากปี ก่ อ น เ นื่ อ ง จก ่ าอ กน รเนื า ย่ อไงจากรายได้ ด้ เ งิ น ปั น ผ เลงิทีน่ ปัไ ม่นต้ผลที อ ง ่ เไ ม่สี ตย ้ อภงเสี า ษียทีภาษี ่ เ กิ ดทขึี่ เ้ นกิ ดไ ม่ขึ้ นสไม่ ม่ํ าสเม�ส่ ามเสมอ อ แ ลและมี ะ มี จํ าจ� านนวน วน ทีที่เ่เป็ป็นนสาระสํ สาระส�าาคัคัญญ
57 “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
147
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
25
กําไรต่อหุ้น กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทใหญ่ด้วยจํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนักที่ถือโดยผู้ ถือหุ้น (หมายเหตุ 18) งบการเงินรวม
กําไร(ขาดทุน)สําหรับปีที่เป็นของผู้ถือหุ้นของ บริษัทใหญ่ (บาท) จํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนักที่ถือโดย ผู้ถือหุ้น (หุ้น) กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาทต่อหุ้น)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
(23,981,410)
6,500,710
64,283,661
105,280,864
409,370,697
394,181,677
409,370,697
394,181,677
(0.06)
0.02
0.16
0.27
บริ ษั ท มี ก ารจ่ า ยหุ้ น ปั น ผลในปี 2559 จึ ง ได้ ป รั บ ปรุ ง จํ า นวนหุ้ น สามั ญ ถั ว เฉลี่ ย ที่ ถื อ โดยผู้ ถื อ หุ้ น ของปี พ.ศ. 2558 เสมื อ นว่ า การเหตุการณ์ดังกล่าวได้เกิดขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 กลุ่มกิจการไม่มีการออกหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดในระหว่างปี พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 26
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
กิกิจจการและบุ ไม่วว่าา่ ทางตรงหรื ทางตรงหรืออทางอ้ ทางอ้ออมม โดยผ่ โดยผ่าานกิ นกิจจการอื การอื่นน่ แห่ แห่งงหนึ หนึ่งง่ หรื หรืออมากกว่ มากกว่าาหนึ หนึ่งง่ แห่ แห่งง โดยที โดยที่บบ่ ุคคุ คลหรื คลหรืออ การและบุคคคลที คลทีม่่มคี ีความสั วามสัมมพัพันนธ์ธ์กกบั ับบริ บริษษทั ัท ไม่ กิกิจจการนั ควบคุมมโดยบริ โดยบริษษัททั หรื อยู่ภภ่ ายใต้ ายใต้กการควบคุ ารควบคุมมเดีเดียยวกั วกันนกักับบบริ บริษษัททั รวมถึ บริษษัททั ทีที่ดด่ ําา� เนิเนินนธุธุรรกิกิจจการลงทุ การลงทุนน การนัน้ ้นมีมีออา� ํานาจควบคุ นาจควบคุมมบริ บริษษทัทั หรื หรืออถูถูกกควบคุ หรือออยู รวมถึงงบริ บริ บ ริษัทษัย่อทย และบริ ย่ อ ย ษแัทย่ลอะยในเครื บ ริ ษัอเดีท ยย่วกัอนย ถือใ เป็ น นเกิคจการที รื อ เ่เกีดี่ยวข้ ย อว งกักั บนบริษถืัทอ เ ป็ น กิ จ ก า ร ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ บ ริ ษั ท บริ มและบุคคคลที คลที่เป็่เป็นนเจ้เจ้าของส่ าของส่วนได้ วนได้ ยในสิ ออกเสี ยงของบริ ธิพาลอย่ นสาระส� าคัญอกิเหนื อกิจผูการ ผู าคัญ้ง บริษษัทัทร่ร่ววมและบุ เสีเยสีในสิ ทธิทอธิอกเสี ยงของบริ ษัทซึษ่งัทมีซึอ่งิทมีธิอพิทลอย่ งเป็านงเป็ สาระสํ าคัญเหนื จการ ้บริหารสํ้บาริคัหญารส� รวมทั รวมทัง้ กรรมการและพนักงานของบริษทั ตลอดจนสมาชิกในครอบครัวทีใ่ กล้ชดิ กับบุคคลเหล่านัน้ กจิ การและบุคคลทัง้ หมดถือเป็นบุคคล กรรมการและพนักงานของบริษัทตลอดจนสมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลเหล่านั้น กิจการและบุคคลทั้งหมดถือเป็นบุคคลหรือกิจการที่ หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท เกี่ยวข้องกับบริษัท
ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันซึ่งอาจมีขึ้นได้ต้องค�านึงถึงรายละเอียดของความสัมพันธ์ ในการพิารูจปารณาความสั ะหว่ า งบุ ค คลหรื อ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น ซึ่ ง อาจมี ขึ้ น ได้ ต้ อ งคํ า นึ ง ถึ ง รายละเอี ย ดของความสั ม พั น ธ์ มากกว่ แบบความสัมมพัพันนธ์ธ์ตรามกฎหมาย มากกว่ารูปแบบความสัมพันธ์ตามกฎหมาย
58 148
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
26
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ)
บริ ควบคุมมโดย โดย บริบริษษัทัทนทลิ นทลิ ้งอยู่ในประเทศไทย บริษดัทังกล่ ใหญ่ วถือษหุัท้นคิในบริ คิดเป็อนยละ จำ�นวนร้ 45.05 บริษัทถูกควบคุ น จํนากัจำ�กั ด ซึ่งดตั้งซึอยู่งตั่ในประเทศไทย บริษัทใหญ่ าวถืดังอกล่ หุ้น�ในบริ ดเป็นษจํัทานวนร้ 45.05อยละ จํานวนหุ ้นที่ จำ�นวนหุ ทีเ่ หลือ54.95 ร้อยละ 54.95 ถือถืโดยบุ คคลทั ว่ ไป ่ วบริไปษทั บริมีรษ�ยก�รค้ �ทีม่ สี �ระสำ�คั กับบริา ษคัทั ญ กันทลิ ด และกิ เ่ กีย่ วข้จอการ งกัน เหลื อ ร้ อน้ ยละ อ โดยบุ ค คลทั ั ท มี ร ายการค้ า ที่ มี สญาระสํ บ บรินษจำ�กั ั ท นทลิ น จํจาก�รที กั ด และกิ ดัทีง่เนีกี่ย้ วข้องกัน ดังนี้ 26.1 รายได้จากการขายสินค้าและบริการ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
รายได้จากการขายสินค้า บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น
224,272,235
274,451,622
200,541,210
272,581,697
รายได้จากการให้บริการ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น
30,872,957
52,007,058
30,872,957
52,007,058
ดอกเบี้ยรับ บริษัทย่อย
-
-
61,798,277
49,011,888
เงินปันผลรับ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น
-
30,855,052
-
30,855,052
รายได้ค่าบริหารจัดการ บริษัทย่อย
-
-
2,343,872
685,027
รายได้จากการขายน้ํามันใช้ราคาตลาด รายได้จากการให้บริการ ได้แก่ การให้บริการอาหารและทําความสะอาดสําหรับบุคลากรบนเรือในทะเล ใช้ราคาที่กําหนดไว้ในสัญญา ดอกเบี้ยรับ เป็นดอกเบี้ยจากการสัญญาเงินกู้ยืมระยะยาว ใช้อัตราดอกเบี้ยตามสัญญาได้กําหนดให้สอดคล้องตามอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม จากสถาบันการเงินและหุ้นกู้ของบริษัท
59 “พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
149
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
26
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกีย่ วข้องกัน (ต่อ) 26.2 การซื้อสินค้าและรับบริการ
150
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
ซื้อสินค้าและค่าขนส่งน้ํามัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น
5,064,378
18,320,905
2,597,746
14,108,436
ค่าเช่าและค่าบริการอาคารสํานักงาน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น
2,382,396
2,080,679
2,382,396
2,080,679
ค่าบริหารจัดการ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น
2,743,440
1,101,660
2,743,440
1,101,660
ค่าบริการอื่น บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น
846,819
1,248,192
846,819
1,248,192
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
60
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
26
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกีย่ วข้องกัน (ต่อ) 26.3 ยอดคงเหลือจากรายการซือ้ และขายสินค้าและบริการ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ลูกหนี้การค้า บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น ดอกเบี้ยค้างรับ บริษัทย่อย
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
33,720,598
57,953,956
40,455,981
57,326,014
-
-
108,890,202
49,941,075
-
30,000,375
-
30,000,375
95,810 95,810
95,810 95,810
2,721,407 95,810 2,817,217
17,567,942 95,810 17,663,752
-
1,082,056
-
1,082,056
336,930
145,543
397,659
145,543
เงินปันผลค้างรับ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น ลูกหนี้อื่น บริษัทย่อย บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น
เจ้าหนี้การค้า บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
151
61
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
26
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกีย่ วข้องกัน (ต่อ) 26.4 เงินให้กู้ยมื แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมเป็นเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย มีรายระเอียดดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท เงินให้กู้ยืมระยะสั้น เงินให้กู้ยืมระยะยาว
329,642,440 1,387,880,000 1,717,522,440
1,387,880,000 1,387,880,000
การเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อยแสดงได้ดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ยอดคงเหลือต้นปี ให้กู้ยืมเพิ่มระหว่างปี รับชําระคืนเงินระหว่างปี ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ยอดคงเหลือปลายปี
1,387,880,000 399,716,007 (69,119,400) (954,167) 1,717,522,440
131,251,200 1,256,640,000 (11,200) 1,387,880,000
เงินให้กู้ยืมระยะสั้น ในระหว่างปี พ.ศ. 2559 บริษัทได้ให้บริษัทย่อยกู้ยืมเงินดังนี้ • เงินกู้จํานวน 1.7 ล้านเหรียญสหรัฐ (เทียบเท่า 61.13 ล้านบาท) แก่ Sea Oil Offshore Ltd. โดยมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.40 กําหนดชําระคืน เมื่อทวงถาม • เงินกู้จํานวน 9.5 ล้านเหรียญสหรัฐ (เทียบเท่า 338.59 ล้านบาท) แก่ Sea Oil Petroleum Pte. Ltd. โดยมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.65 กําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม
เมืเมือ่ ่อวัวันนทีที่ 26 ษทั ษได้ัทรได้บั รชำับาระคื นเงินนเงิกูจ้ นาก Oil Petroleum Pte. Ltd านวนจํา2.0 นเหรีล้ยานเหรี ญสหรัยฐญสหรั (เทียบเท่ านบาท)ล้าน ่ 26สิงสิหาคม งหาคมพ.ศ. พ.ศ.2559 2559บริบริ ชําระคื กู้จSea าก Sea Oil Petroleum Pte.จำLtd นวนล้า2.0 ฐ (เทีา ย69.12 บเท่า ล้69.12 บาท)
62 152
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
26
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกีย่ วข้องกัน (ต่อ) 26.4 เงินให้กู้ยมื แก่บริษัทย่อย (ต่อ) เงินให้กู้ยืมระยะยาว เงินให้กู้ยืมระยะยาวเป็นเงินให้กู้ยืมแก่ Sea Oil Energy Limited ในสกุลเงินบาท จํานวน 1,387.88 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์สําหรับการ ลงทุนใน Pan Orient Energy (Siam) Ltd. โดยมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.55 และ 5.65 ต่อปี มีกําหนดชําระคืนภายใน 5 ปี
เงินให้กู้ยืมดังกล่าวมีกําหนดชําระคืนภายใน 5 ปี และมีมูลค่ายุติธรรมจํานวน 1,573.80 ล้านบาท ซึ่งคํานวณจากข้อมูลระดับ 3 ของลําดับชั้น มู ล ค่ า ยุ ติ ธ ร ร ม (ห ม า ย เ ห ตุ 3.2) โ ด ย ใ ช้ วิ ธี คิ ด ล ด ก ร ะ แ ส เ งิ น ส ด ต า ม สั ญ ญ า ด้ ว ย อั ต ร า ผ ล ต อ บ แ ท น ข อ ง ต ร า ส า ร ที่ใกล้เคียงกันที่เผยแพร่โดยสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย ตลอดอายุสัญญา 26.5 ค่าตอบแทนผู้บริหารสําคัญ งบการเงินรวม
ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
27,651,809 340,290 27,992,099
17,086,047
19,451,876 340,290 19,792,166
17,086,047 318,435 17,404,482
318,435 17,404,482
26.6 การค้ําประกัน เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2558 บริษัทได้ทําสัญญาค้ําประกันให้แก่ Sea Oil Offshore Limited ในการชําระค่าสินค้าตามข้อตกลง ซื้อขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม เป็นจํานวนเงินไม่เกิน 30 ล้านบาท โดยมีระยะเวลาค้ําประกัน 1 ปี สิ้นสุดวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2568
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
63
153
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 27
ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 27.1 ภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัดเพื่อใช้เป็นรายจ่ายฝ่ายทุน
ภาระผู ก พั น ที่ เ ป็ น ข้ อ ผู ก มั ด ณ วั น ที่ ใ นงบแสดงฐานะการเงิ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ รายจ่ า ยฝ่ า ยทุ น ซึ่ ง ยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ รู้ ใ นงบการเงิ น มีดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
70,210,257 70,210,257
-
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท -
-
27.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าดําเนินงาน
กลุ่มกิจการมียอดรวมของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ต้องจ่ายในอนาคตตามสัญญาเช่าดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการเช่าอาคาร และอุปกรณ์ สํานักงานที่ไม่สามารถยกเลิกได้ ดังนี้
ภายใน 1 ปี 1 ถึง 5 ปี
154
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
6,272,675 3,123,097 9,395,772
2,931,570 2,980,383 5,911,953
9,480,712 4,004,110 13,484,822
3,893,742 1,555,473 5,449,215
64
ไปที่สารบัญ
บริษัท ซีออยล จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
27
ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น (ต่อ) 27.3 หนังสือค้ําประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 กลุ่มกิจการและบริษัทให้ธนาคารออกหนังสือค้ําประกัน ดังต่อไปนี้
หนังสือค้ําประกันการสั่งซื้อน้ํามัน หนังสือค้ําประกันการปฏิบัติตามสัญญาให้บริการ จัดหาอาหารและบริการอื่นสําหรับบุคลากรทั้ง บนบกและในทะเล
28
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
71,603,375
56,377,660
71,603,375
56,377,660
63,659,125
57,299,100
63,659,125
57,299,100
135,262,500
113,676,760
135,262,500
113,676,760
เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในรายงาน เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2560 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2560 ได้มีมติอนุมัติรายการดังต่อไปนี้ • การลดทุ น จดทะเบี ย นของบริ ษั ท จํ า นวน 1,916,429 หุ้ น มู ล ค่ า ที่ ต ราไว้ หุ้ น ละ 1 บาท จากเดิ ม 417,036,710 หุ้ น เป็น 415,120,281 หุ้น • การเพิ่มทุน จดทะเบียนของบริษัทโดยออกหุ้น สามัญ จํานวน 276,746,854 หุ้น มูล ค่าที่ตราไว้หุ้น ละ 1 1 บาท จากเดิมจํานวน 415,120,281 หุ้น เป็นจํานวน 691,867,135 หุ้น และจัดสรรและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนจํานวนหุ้น ที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ (Right Offering) ในสัดส่วน 3 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นใหม่ในราคาหุ้นละ 3.00 บาท • การออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท (SEAOIL-W) ในอัตราส่วน 1 หุ้นใหม่ซึ่งจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมต่อ 1 ใบแสดง สิทธิ โดยใบแสดงสิทธิดังกล่าว มีอายุ 1 ปีและมีราคาใช้สิทธิเท่ากับ 3.00 บาท • การเข้าลงทุนในกิจการที่ประกอบธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ซึ่งเปิดดําเนินการแล้ว จํานวน 10 โครงการ และกิจการที่รับ บริหารจัดการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทั้ง 10 โครงการจํานวน 1 กิจการ ด้วยวิธีการรับโอนกิจการทั้งหมด (Entire Business Transfer) จากกิจการภายใต้การควบคุมเดียวกัน
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
65155
ไปที่สารบัญ
ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่นอ้ำงอิง ข้อมูลทั่วไป
ชื่อบริษัท
:
บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน) (“บริษัท” หรือ “SEAOIL”)
ที่ตั้งส�ำนักงำนใหญ่
:
เลขที่ 88 ซอยบำงนำ-ตรำด 30 ถนนบำงนำ-ตรำด แขวงบำงนำ เขตบำงนำ กรุงเทพมหำนคร 10260
ประเภทธุรกิจ
:
บริษัท ประกอบธุรกิจหลัก 2 ประเภท ได้แก่ 1. ธุรกิจจัดจ�ำหน่ำยน�้ำมันเชื้อเพลิงและน�้ำมันหล่อลื่น ให้กับลูกค้ำทำงทะเล ได้แก่ เรือเดินทะเลทั้งในประเทศ และต่ำงประเทศ และลูกค้ำทำงบก ได้แก่ โรงงำนอุตสำหกรรม และกลุ่มธุรกิจต่ำงๆ เช่น ธุรกิจรถขนส่งทำงบก ธุรกิจให้บริกำรรถโดยสำร เป็นต้น 2. ธุรกิจให้บริกำรในกำรจัดหำอำหำร วัตถุดิบ และให้บริกำรอื่นๆ ให้แก่เรือเดินทะเล และพนักงำนประจ�ำ แหล่งขุดเจำะน�้ำมันและก๊ำซทั้งในทะเลและบนบก (Supply Management)
เลขทะเบียนบริษัท
:
0107554000194
โทรศัพท์
:
(02) 398-9850, (02) 398-9851
โทรสำร
:
(02) 398-9852
เว็บไซต์
:
www.seaoilthailand.com
ทุนจดทะเบียน
:
417,036,710 บำท แบ่งออกเป็นหุ้นสำมัญ จ�ำนวน 417,036,710 หุ้น
มูลค่ำหุ้นละ 1 บำท
ทุนช�ำระแล้ว
:
415,120,281 บำท แบ่งออกเป็นหุ้นสำมัญ จ�ำนวน 415,120,281 หุ้น
มูลค่ำหุ้นละ 1 บำท
(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559)
บุคคลอ้างอิง
นำยทะเบียนหลักทรัพย์
:
บริษัท ศูนย์รับฝำกหลักทรัพย์(ประเทศไทย) จ�ำกัด
93 อำคำรตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ถนนรัชดำภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ (02) 009-9000 โทรสำร (02) 009-9991
ผู้สอบบัญชีรับอนุญำต
:
บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮำส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด
โดย นำงสำวสุขุมำภรณ์ วงศ์อริยำพร เลขทะเบียน 4843 หรือ นำงสำววรำภรณ์ วรธิติกุล เลขทะเบียน 4474 หรือ นำยวิเชียร กิ่งมนตรี เลขทะเบียน 3977 อำคำรบำงกอกซิตี้ทำวเวอร์ ชั้นที่ 15 เลขที่ 179/74-80 ถนนสำทรใต้ แขวงทุ่งมหำเมฆ เขตสำทร กรุงเทพมหำนคร 10120 โทรศัพท์ (02) 286-9999, (02) 344-1000 โทรสำร (02) 286-5050
156
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
นำยทะเบียนหุ้นกู้และตัวแทนช�ำระเงิน
:
ธนำคำรทหำรไทย จ�ำกัด (มหำชน) เลขที่ 3000 อำคำรเอ ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
โทรศัพท์ (02) 299-1217 โทรสำร (02) 299-1278
(หุ้นกู้บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน) ครั้งที่ 1/2558 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2560 จ�ำนวน 1,000 ล้ำนบำท เสนอขำยเดือนกันยำยน 2558)
ข้อมูลส�าคัญอื่น
บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน) มีบริษัทย่อย จ�ำนวน 4 บริษัท คือ ชื่อบริษัท
:
Sea Oil Energy Limited
วันจดทะเบียน
:
15 ตุลำคม 2557
ที่ตั้งบริษัท
:
ประเทศเบอร์มิวด้ำ
ประเภทธุรกิจ
:
ลงทุนในบริษัทอื่น
ทุนจดทะเบียน
:
1 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ แบ่งออกเป็นหุ้นสำมัญ จ�ำนวน 1 หุ้น
มูลค่ำหุ้นละ 1 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ
ทุนช�ำระแล้ว
:
1 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ แบ่งออกเป็นหุ้นสำมัญ จ�ำนวน 1 หุ้น
มูลค่ำหุ้นละ 1 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ
ชื่อบริษัท
:
Sea Oil Offshore Limited
วันจดทะเบียน
:
22 มกรำคม 2558
ที่ตั้งบริษัท
:
ดินแดนสหพันธ์แห่งลำบวน ประเทศมำเลเซีย
ประเภทธุรกิจ
:
จ�ำหน่ำยน�้ำมันเชื้อเพลิงระหว่ำงประเทศ
ทุนจดทะเบียน
:
30,000 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ แบ่งออกเป็นหุ้นสำมัญ จ�ำนวน 30,000 หุ้น
มูลค่ำหุ้นละ 1 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ
ทุนช�ำระแล้ว
:
30,000 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ แบ่งออกเป็นหุ้นสำมัญ จ�ำนวน 30,000 หุ้น
มูลค่ำหุ้นละ 1 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ
ชื่อบริษัท
:
Sea Oil Petroleum PTE. LTD.
วันจดทะเบียน
:
22 เมษำยน 2558
ที่ตั้งบริษัท
:
ประเทศสิงคโปร์
ประเภทธุรกิจ
:
จ�ำหน่ำยน�้ำมันเชื้อเพลิงและผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับน�้ำมันในประเทศสิงคโปร์
ทุนจดทะเบียน
:
1,000,000 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ แบ่งออกเป็นหุ้นสำมัญ จ�ำนวน 1,000,000 หุ้น
มูลค่ำหุ้นละ 1 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ
ทุนช�ำระแล้ว
:
1,000,000 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ แบ่งออกเป็นหุ้นสำมัญ จ�ำนวน 1,000,000 หุ้น
มูลค่ำหุ้นละ 1 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ
“พลังงานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
157
ไปที่สารบัญ
ชื่อบริษัท
:
บริษัท นครชัยปรำกำร เคมีภัณฑ์ จ�ำกัด (ได้เปลี่ยนชื่อนิติบุคคลเป็น “บริษัท ซีออยล์ ปิโตรเคมีคอล จ�ำกัด” เมื่อวันที่ 24 กุมภำพันธ์ 2560)
วันที่ได้มำซึ่งสินทรัพย์
:
11 เมษำยน 2559
ที่ตั้งบริษัท
:
700/340 หมู่ 6 ต�ำบลดอนหัวฬ่อ อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000
ประเภทธุรกิจ
:
โรงแยกคอนเดนเสท
ทุนจดทะเบียน
:
150,000,000 บำท แบ่งออกเป็นหุ้นสำมัญ จ�ำนวน 1,500,000 หุ้น
มูลค่ำหุ้นละ 100 บำท
ทุนช�ำระแล้ว
:
150,000,000 บำท แบ่งออกเป็นหุ้นสำมัญ จ�ำนวน 1,500,000 หุ้น
มูลค่ำหุ้นละ 100 บำท
ชื่อบริษัท
:
Pan Orient Energy (Siam) Limited หรือ (“POES”)
วันจดทะเบียน
:
30 มกรำคม 2550
ที่ตั้งบริษัท
:
ประเทศเบอร์มิวด้ำ
ประเภทธุรกิจ
:
ผลิตและส�ำรวจปิโตรเลียมและก๊ำซธรรมชำติบนบกในประเทศไทย
ครอบครองสัมปทำนสัดส่วน 100% ของสัมปทำนแปลงที่ L53/48
ทุนจดทะเบียน
:
19,728 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ แบ่งออกเป็นหุ้นสำมัญ จ�ำนวน 19,728 หุ้น
มูลค่ำหุ้นละ 1 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ
ทุนช�ำระแล้ว
:
19,728 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ แบ่งออกเป็นหุ้นสำมัญ จ�ำนวน 19,728 หุ้น
มูลค่ำหุ้นละ 1 ดอลลำร์สหรัฐอเมริกำ
สัดส่วนกำรถือหุ้น
:
บริษัท Sea Oil Energy Limited ถือหุ้นจ�ำนวน 9,863 หุ้น คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 49.99 ของจ�ำนวนหุ้นที่ ออกและจ�ำหน่ำยได้แล้วทั้งหมดของ POES
บริษัท Pan Orient Petroleum Company Pte. Limited (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร์) ถือหุ้นจ�ำนวน 9,865 หุ้น คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 50.01 ของจ�ำนวนหุ้นที่ออกและจ�ำหน่ำยได้แล้วทั้งหมดของ POES
กิจการร่วมค้า
158
รายงานประจ�าปี 2559 บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหำชน)
ไปที่สารบัญ
ค่านิยม
E
S
A
Service Mind Entrepreneurship
Active
O
I
L
Operational Excellence
Integrity
Learning
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรชัน ้ น�ำด้ำนกำรผลิต กำรจัดจ�ำหน่ำย น�้ำมันเชื้อเพลิง ธุรกิจจัดหำวัตถุดิบ สินค้ำ และ บริกำรทั้งในประเทศและกลุ่มประเทศอำเซียน ตลอดจนจั ด หำแหล่ ง พลั ง งำนปิ โ ตรเลี ย ม โดยบริหำรตำมหลักธรรมำภิบำลเพื่อให้บรรลุ เป้ ำ หมำยและนโยบำยคุ ณ ภำพของบริ ษั ท ด้วยควำมรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
พันธกิจ ●
ขยำยกำรลงทุนด้วยกำร “Joint Venture /
Profit Sharing” กับกลุ่ม Expertise และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ● ●
มีอัตรำกำรขยำยตัวด้ำนผลก�ำไรไม่น้อยกว่ำ 10% ในปี 2016
ขยำยกลุ่มลูกค้ำในธุรกิจกำรผลิต กำรจัดจ�ำหน่ำยน�้ำมันเชื้อเพลิง
ทำงทะเล ซื้อ-ขำยน�้ำมันระหว่ำงประเทศ กำรจัดหำวัตถุดิบและบริกำร อย่ำงต่อเนื่อง เพื่อให้มีส่วนแบ่งกำรตลำดเพิ่มขึ้น ● บริหำรงบประมำณทำงกำรเงินและบัญชีอย่ำงมีประสิทธิภำพ ●
พัฒนำองค์กร บุคลำกร และส่งเสริมคู่ค้ำให้มุ่งไปสู่ควำมเป็นมำตรฐำน สำกล ภำยใต้กำรบริหำรงำนตำมหลักธรรมำภิบำล ●
ส่งเสริมนโยบำยรักษำสิ่งแวดล้อมและ มีควำมรับผิดชอบต่อสังคม
●
สนับสนุนนโยบำยต่อต้ำนกำรทุจริตคอร์รัปชั่น
บริษัท ซีออยล จำกัด (มหาชน) 88 ซอยบางนา-ตราด 30 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กทม. 10260 Tel: (662) 398-9850-1 Fax: (662) 398-9852 www.seaoilthailand.com