S : Annual Report 2008

Page 1


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

สารบัญ

1

สารจากประธานกรรมการ

2

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

3

รายงานคณะกรรมการบริหาร

4

ขอมูลทั่วไป

5

ขอมูลทางการเงินโดยสรุป

6-8

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

9 -12

ปจจัยความเสี่ยงของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย

13 - 16

โครงสรางการถือหุนและการจัดการ

17 - 28

ประวัติกรรมการและผูบริหาร

29 - 34

รายการระหวางกัน

35 - 38

คําอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ

39

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตอรายงานทางการเงิน

40

งบการเงิน

41 - 66


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

สารจากประธานกรรมการ เรียน

ทานผูถือหุน

ในป 2551 ที่ผานมา การดําเนินงานพัฒนาอสังหาริมทรัพยในสถานการณที่เศรษฐกิจโลก รวมถึงเศรษฐกิจและการเมืองภายใน ประเทศอยูภายใตความความเสี่ยงที่ไมสามารถคาดการณได เปนเรื่องที่ทาทายความสามารถของผูประกอบการทุกราย ทั้งในและนอก ตลาดหลักทรัพยฯ เปนอยางยิ่ง ดังนั้น ในป 2552 บริษัทจึงยังคงนโยบายการบริหารงานดวยความระมัดระวัง และรอบคอบ โดยจะให ความสําคัญกับการพัฒนาโครงการซึ่งไดเปดขายในชวงปที่ผานมาใหมีประสิทธิภาพสูงสุด และเตรียมความพรอมในทุกๆ ดาน เพื่อรองรับ สถานการณที่จะมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและรุนแรงในอนาคต คณะกรรมการมีความมุงมั่นที่จะทําใหบริษัทมีการเติบโตอยางมีเสถียรภาพในระยะยาว ดูแลกิจการที่ดี เพื่อประโยชนสูงสุดแกผูถือหุนและผูที่เกี่ยวของทั้งหมด

ภายใตการบริหารองคกรที่มีการกํากับ

ณ โอกาสนี้ ในนามคณะกรรมการและผูบริหารบริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) ขอขอบคุณผูถือหุน ลูกคา คูคา พนักงาน ตลอดจนผูมีอุปการคุณทุกทานที่ใหการสนับสนุนกิจการของบริษัทดวยดีมาโดยตลอด

รองศาสตราจารยมานพ พงศทัต ประธานกรรมการ 18 มีนาคม 2552

2


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

รรายงานจากประธานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน

ทานผูถือหุน คณะกรรมการบริษัท แตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบจากกรรมการอิสระ จํานวน 3 ทาน คือ 1. นายเลิศชัย ลีลายนกุล ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายปญจะ เสนาดิสัย กรรมการตรวจสอบ 3. นางสุดจิต ทิวารี กรรมการตรวจสอบ

ในป 2551 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ไดปฏิบัติภารกิจตามความรับผิดชอบในการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยมีการ ประชุมรวมกัน 7 ครั้ง สรุปสาระสําคัญ ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินระหวางกาล และงบการเงินประจําป 2551 ของบริษัทฯรวมกับผูสอบบัญชีของบริษัท และผูตรวจสอบภายใน เพื่อใหงบการเงินดังกลาวการเงินไดแสดงฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานถูกตองตามควรตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และมีการเปดเผยขอมูลที่มีสาระสําคัญตองบการเงิน 2. สอบทานระบบควบคุมภายใน และการติดตามแกไขขอบกพรองของระบบงาน รวมถึงการติดตามกํากับดูแลดานความเสี่ยงของ องคกรโดยผูตรวจสอบภายใน พบวาฝายบริหารไดดําเนินการแลว จึงเชื่อมั่นไดวาบริษัทมีระบบควบคุมภายในสวนที่มีสาระสําคัญ อยางเพียงพอ 3. พิจารณาการกํากับดูแลกิจการ เพื่อใหเกิดการกํากับดูแลที่ดี เปนไปตามหลักการของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือ กฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท ภายใตสิ่งแวดลอมและความเหมาะสมของกิจการ 4. พิจารณาใหความเห็นชอบการทํารายการระหวางกันกับบุคคลและนิติบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน เพื่อใหเปนไปตามระเบียบ กฎเกณฑ ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ อนุมัติแผนการตรวจสอบภายในประจําป โดยคํานึงถึงสาระสําคัญของปจจัยความเสี่ยงของระบบงานตางๆ พรอมทั้งใหแนวทางการ 5. ปฏิบัติงานตรวจสอบรวมถึงการติดตามผล และการติดตามความคืบหนาของการปฏิบัติตามความเห็นของที่ประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบ 6. พิจารณาใหความเห็นชอบผูสอบบัญชี และคาตอบแทนผูสอบบัญชี รวมทั้งผูตรวจสอบภายใน เพื่อนําเสนอขอแตงตั้งจากคณะ กรรมการและผูถือหุนของบริษัท คณะกรรมตรวจสอบมีความเห็นวา การดําเนินงานของบริษัทในป 2551 ที่ผานมา มีระบบการบริหารจัดการภายใตการกํากับ ดูแลกิจการที่ดี มีการควบคุมภายในที่เพียงพอ ทั้ง 5 ดาน ไดแก องคประกอบดานสภาพแวดลอมของการควบคุม (Control Environment) องคประกอบดานการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) องคประกอบดานกิจกรรมการควบคุม (Control Activities) องคประกอบ ดานขอมูลสารสนเทศและสื่อสาร (Information and Communication) และองคประกอบดานการติดตามและประเมินผล (Monitoring) นอกจากนี้ยังมีจริยธรรม และโปรงใส มีการปฎิบัติเปนไปตามระเบียบ ขอกําหนด และกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยฯ หรือกฎหมายที่ เกี่ยวของ ทั้งนี้ฝายจัดการไดปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต รักษาผลประโยชนของผูถือหุนและบริษัท นอกจากนี้ บริษัทยังคงมีนโยบาย ในการปรับปรุงการกํากับดูแลกิจการที่ดีเปนไปตามแนวทางการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยอยางตอเนื่อง

นายเลิศชัย ลีลายนกุล ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 18 มีนาคม 2552

3


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

รายงานคณะกรรมการบริหาร เรียน

ทานผูถือหุน

ในป 2551 ที่ผานมา บริษัทมีผลการดําเนินงานที่ลดลงเมื่อเทียบกับปกอน เนื่องจากบริษัทสามารถรับรูรายไดไดเฉพาะในสวน ของการขายบานจัดสรร สําหรับโครงการอาคารชุดที่บริษัทเปดขายจํานวน 2 โครงการ มูลคาขายประมาณ 3,000 ลานบาท ยังไมเขา เกณฑการรับรูรายได ซึ่งคาดวาจะสามารถรับรูรายไดไดในไตรมาส 1 ป 2552 เปนตนไป แตในสวนของคาใชจายทางการตลาดและ การขายจํานวนมากที่เกิดขึ้นจากการเปดตัว 2 อาคารชุดดังกลาว บริษัทตองบันทึกเปนคาใชจายทันที ทําใหกําไรสุทธิของบริษัทลดลง เหลือ 5.52 ลานบาท อยางไรก็ตาม บริษัทสามารถทําอัตรากําไรขั้นตนไดดีขึ้น จาก 21.23% ในป 2550 เปน 29.62% ในป 2551 เนื่องจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลก และสถานการณการเมืองภายในประเทศตลอดป 2551 ตอเนื่องจนถึงปจจุบัน บริษัทจึงตอง ระมัดระวังการดําเนินงานเกือบทุกดานในป 2552 ทั้งดานการตลาด การขาย การบริหารการเงิน และการควบคุมงานกอสราง ดังนั้น นโยบายและแผนงานหลักของบริษัทในป 2552 จึงมุงเนนดานการบริหารงานกอสราง เพื่อสงมอบบานและอาคารชุดที่ขายแลวใหแกลูกคา ไดตรงตามสัญญาและแผนงานที่วางไว พรอมทั้งเนนดานการพัฒนาบุคลากรภายในองคกร บริษัทไดดําเนินการตามแผนการพัฒนาบุคลากรใหมีความรูความสามารถ เพื่อรองรับการเติบโตในอนาคตของบริษัท โดยปจจุบัน บริษัทไดสงพนักงานเขาศึกษาตอระดับปริญญาโทในมหาวิทยาลัยของรัฐที่มีชื่อเสียงในหลายสาขาวิชา อาทิ บริหารธุรกิจ บัญชี และ อสังหาริมทรัพย แลวจํานวน 5 คน ทั้งนี้ เพื่อใหมีทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพเพื่อการเติบโตที่มีเสถียรภาพในระยะยาว ดังนั้น คณะกรรมการจึงมั่นใจวา บริษัทจะสามารถดําเนินธุรกิจใหเติบโตไดอยางมั่นคง มีคุณภาพ ดวยความรวมมือรวมใจของ ทุกฝายที่เกี่ยวของอยางเต็มที่

คณะกรรมการบริหาร 18 มีนาคม 2552

4


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

ขอมูลทั่วไป

5

ชื่อบริษัท

บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน)

ประเภทธุรกิจ

พัฒนาอสังหาริมทรัพยประเภทบานเดี่ยวและคอนโดมิเนียม

ที่ตั้งสํานักงาน

555 รสาทาวเวอร ชั้น 28 ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

เลขทะเบียนบริษัท

0107547000443

โทรศัพท

0-2937-1200

โทรสาร

0-2937-0102

Homepage

www.rasa.co.th

ทุนจดทะเบียน

400,000,000.- บาท

เรียกชําระแลว

400,000,000.- บาท

จํานวนหุนที่จําหนายแลวทั้งหมด

80,000,000.- หุน

หุนสามัญ

80,000,000.- หุน

มูลคาหุน

5.00 บาท

นายทะเบียนหุนสามัญ

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด

ที่ตั้งสํานักงาน

62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

โทรศัพท

0-2229-2800 , 0-2654-5599

โทรสาร

0-2359 -1259

ผูสอบบัญชี

นายสมคิด เตียตระกูล ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 2785 หรือ นางสุมาลี โชคดีอนันต ผูส อบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3322

ที่ตั้งสํานักงาน

บริษัท แกรนท ธอนตัน จํากัด 87/1 อาคารแคปปตอล ออลซีซั่นเพลส ชั้น 18 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

โทรศัพท

0-2205-8222

โทรสาร

0-2654-3339

ที่ปรึกษากฎหมาย

บริษัท จันทรโฮลดิ้ง จํากัด

ที่ตั้งสํานักงาน

32/43 ถนนลาดปลาเคา แขวงอนุสาวรีย เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220

โทรศัพท

0-2971-5700 -4

โทรสาร

0-2971-5705


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

ขอมูลทางการเงินโดยสรุป งวดบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หนวย : ลานบาท 2549

สินทรัพยรวม หนี้สินรวม รวมสวนของผูถือหุน รายไดรวม ตนทุนขาย คาใชจายขายและบริหาร กําไร (ขาดทุน) สุทธิ มูลคาที่ตราไวตอหุน (บาท) กําไร (ขาดทุน) ตอหุน (บาท/หุน) เงินปนผลตอหุน (บาท/หุน) อัตราสวนทางการเงิน อัตรากําไรขั้นตน (%) อัตรากําไรกอนภาษีและดอกเบี้ยจาย (%) อัตรากําไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (%) มูลคาตามบัญชีตอหุน (บาท/หุน)

2550

2551

782.40 411.20 371.20 671.27 481.62 86.66 40.64 5.00 0.68 -

768.10 242.89 525.20 478.81 367.44 67.94 30.53 5.00 0.41 0.80

902.89 392.16 510.72 274.51 191.86 72.46 5.52 5.00 0.07 0.25

27.92 15.34 6.05 10.95 4.84 6.19

21.23 9.31 6.54 6.81 5.60 6.56

29.62 3.73 2.03 1.08 1.22 6.38

6


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

ผลการดําเนินงาน ดานสินทรัพยและสวนทุน

1,000 900 800 700

902.89 782.40

768.10

600 500 400

525.20

510.72

371.20

300 200 100 0 2549 สินทรัพยรวม

2550

2551

สวนของผูถือหุน

• ดานสินทรัพย บริษัทมีสินทรัพยเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจาก 782.40 ลานบาท ในป 2549 เปน 768.10 ลานบาท ในป 2550 และลาสุดป 2551 สินทรัพยเพิ่มเปน 902.89 ลานบาท โดยภายหลังจากบริษัทไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยในป 2550 นั้น บริษัทไดใชเงินจากการระดมดังกลาวมาขยายการลงทุน โดยไดซื้อที่ดินมาพัฒนา และกอสราง อยางตอเนื่อง ซึ่งบริษัทคาดวาจะเริ่มไดผลตอบแทนในป 2552 นี้ เปนตนไป • ดานสวนของผูถือหุน บริษัทมีสวนผูถือหุนลดลงเล็กนอยจากปกอนจํานวน 14.48 ลานบาท คิดเปน -2.75% เนื่องจากใน ป 2551 ไดจายเงินปนผลเปนจํานวน 20.0 ลานบาท ประกอบกับในปที่ผานมาบริษัทมีกําไรสุทธิเพียง 5.52 ลานบาท จึงทําใหสวนผูถือหุนป 2551 มีจํานวน 510.72 ลานบาท ซึ่งโดยรวมถือใกลเคียงกับปกอ น โดยลาสุดบริษัทมี D/E Ratio เทากับ 0.76 เทา เพิ่มขึ้นจากระดับ 0.46 เทา ในป 2550 แตยังถือวาต่ํากวาคาเฉลี่ยของอุตสาหกรรมที่อยูระดับ ประมาณ 1.0-1.5 เทา

7


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

ดานรายไดและกําไร

700

671.27

600 500

478.81

400 300

274.51

200 100 40.64

0

2549 รายได

30.53

2550

5.52

2551

กําไร

• รายได โดยภาพรวมถือวาบริษัทมีรายไดรวมลดลงตอเนื่องกัน 3 ป จากรายไดรวม 671.27 ลานบาท ในป 2549 มาเปน 478.81 ลานบาท และลาสุดป 2551 มีรายไดรวม 274.51 ลานบาท อันเนื่องมาจากสภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว ประกอบกับ บริษัทยังไมสามารถรับรูรายไดจากการขายโครงการอาคารชุด 2 โครงการ ที่เปดตัวในชวงป 2550-2551 ได ซึ่งบริษัทคาดวา จะเริ่มรับรูรายไดไดในป 2552 นี้ เปนตนไป • กําไร บริษัทมีกําไรสุทธิลดลงจาก 40.64 ลานบาท ในป 2549 มาเปน 30.53 ลานบาท และลาสุดป 2551 มีกําไรสุทธิ 5.52 ลานบาท อันเนื่องมาจากบริษัทยังไมสามารถรับรูรายไดจากการขายโครงการอาคารชุด 2 โครงการ ดังกลาว แตหาก พิจารณาในสวนของกําไรขั้นตนจะเห็นวามีแนวโนมที่เพิ่มขึ้นมาอยูในระดับที่นาพอใจ คือ 29.62% จาก 21.23% ในป 2550 เนื่องจากสินคาที่อยูในระหวางการขายในป 2551 ที่ผานมา มีอัตรากําไรขั้นตนที่ดีกวาปกอน

8


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) มีชื่อภาษาอังกฤษวา “Rasa Property Development Public Company Limited” กอตั้งเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2538 ในชื่อเดิมวา “บริษัท พาณิชยภูมิพัฒนา จํากัด” ดวยทุนจดทะเบียน 10 ลานบาท โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยประเภทบานจัดสรร และอาคารชุดพักอาศัย ปจจุบันบริษัท มีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 400 ลานบาท และเรียกชําระแลว 400 ลานบาท มีสํานักงานใหญ ตั้งอยูที่ 555 รสาทาวเวอร ชั้น 28 ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 บริษัทเปนผูพัฒนาโครงการและเจาของโครงการ โดยเนนการสรางบานจัดสรร และอาคารชุดพักอาศัยที่มีคุณภาพ เนน ประโยชนใชสอย ภายใตแนวคิดการสรางเอกลักษณเฉพาะตัวในแตละโครงการ ทุกโครงการของบริษัทถือวาเปนสินคาจํานวน จํากัด โดยนําเสนอรูปแบบและแนวคิดใหมอยูเสมอ ซึ่งถือวาเปนจุดขายที่สําคัญของแตละโครงการ โดยมีกลุมลูกคาเปาหมาย ระดับปานกลางถึงระดับสูง

โครงการที่ผานมา โครงการปฐมพรการเดน (พุทธมณฑล สาย 4) โครงการปฐมพร การเดน (Pathomporn Garden) เปดตัวอยางเปนทางการ เมื่อกลางป 2540 ในรูปแบบ ของบานรวมสมัย บนเนื้อที่กวา 30 ไร บนถนนพุทธมณฑลสาย 4 ประกอบดวยบานเดี่ยวจํานวน 160 หลัง มูลคาโครงการ 380 ลานบาท

9


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

โครงการปฐมพรแกรนดโฮม (พุทธมณฑล สาย 3) โครงการปฐมพรแกรนดโฮม (Pathomporn Grandhome) โครงการบานหรูในสไตลอิตาเลียน บนเนื้อที่ 100 ตร.ว. ขึ้นไป มีพื้นที่ใชสอย 292-536 ตร.ม. มูลคาโครงการ 419 ลานบาท

โครงการรสาวิลเลจ (พุทธมณฑล สาย 3) โครงการ รสา วิลเลจ (Rasa Village) บานหรูสไตลอิตาเลียน พื้นที่ทั้งหมด 9-2-50.9 ไร ประกอบไปดวยบาน เดี่ยว ขนาด 100 ตารางวา ขึ้นไป จํานวน 22 แปลง ราคาขายตั้งแต 9 - 13 ลานบาท มูลคาโครงการ 231 ลานบาท

โครงการ Wilshire Condominium (สุขุมวิท 22) คอนโดมิเนียมหรู 22 ชั้น ดวยจํานวนหองชุดเพียง 78 ยูนิต สไตลโมเดิรนคลาสสิค ขนาดพื้นที่ใชสอยตั้งแต 100 ตารางเมตรขึ้นไป มูลคาโครงการ 895 ลานบาท

10


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

โครงการ Wilmore Condominium (พหลโยธิน 32) โค คอนโดมิเนียมหรู 8 ชั้น สไตลอังกฤษ ตั้งอยูบนถนนพหลโยธิน 32 ดวยจํานวนหองชุดเพียง 69 ยูนิต ขนาดพื้นที่ ใชสอยตั้งแต 27–70 ตารางเมตร มูลคาโครงการ 151 ลานบาท

โครงการปจจุบัน โครงการรสา สแปนิช คอรทยารด บนถนนเกษตร-นวมินทร (ซอยมัยลาภ) โดดเดนดวยสถาปตยกรรมสไตลสเปน ออกแบบเพื่อตอบสนองทุกรูปแบบของการใชงานไดอยางลงตัว บนเนื้อที่ ทั้งหมด 34-1-7.5 ไร ประกอบดวยบาน ขนาด 52-168 ตารางวา จํานวน 121 แปลง ราคาขายตั้งแต 6.5-14 ลานบาท มูลคา โครงการ 870 ลานบาท

โครงการรสา พารคเลน (วัชรพล) บานเดี่ยวสไตล Modern Tropical เนนการจัดสรรประโยชนใชสอยสูงสุด ผสานทุกองคประกอบรายละเอียด เนนความ ปราณีต ดวยวัสดุคุณภาพ สะดวกสบายในการใชประโยชน เพิ่มความรื่นรมยดวยตนไมนานาพันธุ บนเนื้อที่ทั้งหมด 29-1-75.1 ไร ประกอบดวยบานเดี่ยวขนาด 50 ตารางวาขึ้นไป จํานวน 95 ยูนิต ราคาขายตั้งแต 4–10 ลานบาท มูลคาโครงการ 650 ลานบาท

11


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

โครงการ The LightHouse (สาทร – เจริญนคร 14) คอนโดมิเนียมหรู ริมแมน้ําเจาพระยา โดดเดนดวยรูปแบบ สถาปตยกรรมที่เปนเอกลักษณ ออกแบบใหผสมผสานกับรูปแบบ บูติก โอเพน มอลล (Boutique Open Mall) ที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว สะทอน ไลฟสไตลการใชชีวิตอิสระทันสมัย มีรสนิยม สะดวกสบายดวยการเดิน ทางหลายรูปแบบ ทั้งทางเรือ รถยนต รถไฟฟา BTS บนเนื้อที่ 2 ไร 3 งาน 62 ตารางวา สูง 30 ชั้น ประมาณ 297 ยูนิต ราคาขายตั้งแต 2.2 – 12 ลานบาท มูลคาโครงการ 1,500 ลานบาท

โครงการ Intro Condominium (ประดิพัทธ) โครงการคอนโดมิเนียมสูง 37 ชั้น ประมาณ 408 ยูนิต บนถนนประดิพัทธ เนื้อที่ 3 ไร 1 งาน 33 ตารางวา ออกแบบดวย สถาปตยกรรมที่เปนเอกลักษณเพียบพรอมดวยสิ่งอํานวยความสะดวก สําหรับชีวิตคนเมือง ทุกยูนิตออกแบบอยางลงตัวเพื่อประโยชนใชสอย สูงสุด ผอนคลายและเติมความสดชื่นดวย พื้นที่สีเขียวถึง 1 ไร ตั้งอยูบน ทําเลที่มีศักยภาพใจกลางเมือง ใกลแหลงช็อปปง โรงเรียน โรงพยาบาล และอาคารสํานักงาน พรอมดวยทางดวน และสถานีรถไฟฟา BTS ราคา ขายตั้งแต 2.5-8.5 ลานบาท มูลคาโครงการ 1,450 ลานบาท

12


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

ปจจัยความเสี่ยงของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย 1. ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงาน • ความเสี่ยงในเรื่องความไมตอเนื่องของรายได ในปจจุบัน บริษัทมีโครงการที่อยูระหวางการพัฒนา 4 โครงการ โครงการบานเดี่ยว 2 โครงการ ไดแก โครงการรสา พารคเลน และโครงการรสา สแปนิช คอรทยารด ซึ่งเปนบานเดี่ยวระดับราคาปานกลาง โครงการ คอนโดมิเนียม จํานวน 2 โครงการ ไดแก โครงการ The LightHouse โครงการ Intro Condominium ราคาขายตั้งแต 2 - 3 ลานบาทตอยูนิต มูลคาขายรวมประมาณ 2,950 ลานบาท เปนโครงการคอนโดมิเนียม ที่อยูในทําเลกลางเมือง (Central Business District) ซึ่งยังเปนตลาดที่มีความตองการสูง และในปจจุบันบริษัท อยูระหวางการศึกษาเพื่อพัฒนาโครงการอื่นๆ เพิ่มเติม โดยจะพิจารณาทําเลที่ตั้งของระบบเครือขายคมนาคม เปนองคประกอบสําคัญ • ความเสี่ยงจากการจัดหาที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการ บริษัทไมมีนโยบายในการถือครองที่ดินเปลา (Land Bank) ไวสําหรับการกอสรางโครงการตางๆ ในอนาคต เนื่องจากบริษัทเห็นวาการซื้อที่ดินเปลาโดยยังไมมีแผนการกอสรางโครงการที่ชัดเจน จะทําให บริษัทมีภาระตนทุนทางการเงินประกอบกับบริษัทอาจไดรับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงกฏระเบียบเกี่ยว กับผังเมืองรวมของกรุงเทพฯ อยางไรก็ตาม การเติบโตอยางรวดเร็วของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย รวมทั้ง การแขงขันกันซื้อที่ดินในทําเลที่ดีระหวางผูประกอบการ อาจทําใหบริษัทซื้อที่ดินในราคาสูงกวาที่บริษัทกําหนด ไมสามารถซื้อที่ดินในพื้นที่ และขนาดที่ตองการได หรือไมสามารถหาซื้อที่ดินไดเลย ซึ่งอาจสงผลกระทบตอ ตนทุนขาย หรือไมสามารถพัฒนาโครงการไดตามแผนที่วางไว ซึ่งจะมีผลกระทบตอฐานะการเงินและ ผลการดําเนินงานของบริษัทได โดยที่ผานมาในการจัดหาที่ดินของบริษัทนั้น บริษัทจะทําการจัดหาที่ดินจากแหลงหลักๆ ไดแก การจัดหา ที่ดินจากคนรูจัก การหาที่ดินจากนายหนาคาที่ดิน หรือที่ดินประเภทที่เปนหลักประกันหนี้คางชําระจากธนาคาร พาณิชย ทั้งนี้ บริษัทมีหนวยงานภายในและนายหนาคาที่ดินหลายรายที่จะคัดเลือกที่ดินในทําเลที่ดีเพื่อนํามา เสนอตอบริษัทเพื่อพิจารณา โดยบริษัทใหความสําคัญกับทําเลที่สามารถเดินทางไดสะดวกสบาย ซึ่งที่ผานมา บริษัทสามารถจัดหาที่ดินในทําเลที่ดีมีราคาเหมาะสมไดตลอดมา และในอนาคต บริษัทเชื่อวาจะสามารถจัดหา ที่ดินในทําเลและราคาที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาโครงการไดอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ บริษัทมีขั้นตอนเพื่อสอบทาน ในการซื้อที่ดิน โดยเมื่อบริษัทพิจารณาวาที่ดินที่นายหนานําเสนอมีศักยภาพเพียงพอ บริษัทจะสงพนักงาน ไปตรวจสอบที่ดินดังกลาวที่กรมที่ดิน เพื่อสอบทานความถูกตองและความเหมาะสมในการซื้อที่ดิน • ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัสดุกอสราง วัสดุกอสรางถือเปนตนทุนการกอสรางที่สําคัญ การเติบโตของภาคอสังหาริมทรัพย และความผันผวน ของราคาน้ํามัน สงผลใหราคาวัสดุกอสรางปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งเหล็กซึ่งเปนวัสดุหลักในการ กอสราง ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงตอตนทุนของการพัฒนาโครงการและความสามารถในการทํากําไรของบริษัท และในบางชวงเวลาอาจเกิดปญหาขาดแคลนวัสดุกอสรางได

13


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

ทั้งนี้การกอสรางโครงการอาคารชุดพักอาศัย ซึ่งมีการวาจางผูรับเหมาในสวนของงานโครงสรางเพียงรายย เดียวบริษัทใชนโยบายการวาจางที่รวมคาวัสดุและคาแรงของทั้งโครงการ โดยผูรับเหมาดังกลาวจะเปนผูรับภาระ ราคาวัสดุที่เปลี่ยนไป นอกจากนี้ผูรับเหมาที่รับโครงการขนาดใหญก็จะมีนโยบายจัดหาวัสุกอสรางใหเพียงพอ เพื่อใหการกอสรางดําเนินไปอยางตอเนื่องและสามารถสงมอบงานตรงเวลา มิฉะนั้นอาจถูกปรับในการสงมอบ งานลาชาได ในสวนของการกอสรางโครงการบานเดี่ยว ผูรับเหมากอสรางจะเปนผูรับผิดชอบในการจัดหาวัสดุ กอสรางหลัก เชน อิฐ เหล็ก ไม และกระเบื้อง เปนตน โดยคํานวณรวมเปนสวนหนึ่งในราคาคาจางกอสราง ซึ่งไดตกลงราคากันลวงหนาแลว คลายกับการกอสรางโครงการอาคารชุดพักอาศัย และเพื่อเปนการบรรเทา ปญหาการขึ้นราคาและการขาดแคลนวัสดุกอสราง บริษัทมีการติดตอกับผูจําหนายวัสดุอุปกรณหลักๆใหกับ ผูรับเหมาเพื่อขอเครดิตซื้อสินคาในราคาถูกกวาการซื้อปลีกทั่วไป อีกทั้งในการจัดทําประมาณการตนทุน คากอสรางในทุกโครงการ บริษัทมีนโยบายสํารองการเพิ่มขึ้นของคากอสราง (Contingency Costs) ประมาณ รอยละ 3 ของมูลคาโครงการไวลวงหนาแลว (รวมอยูในงบประมาณการคากอสรางตั้งแตเริ่มตน) โดยที่ผานมา บริษัทมีคาใชจายในการดําเนินการ กอสรางอยูในวงเงินประมาณการ นอกจากนี้ การขายของบริษัทจะเปน ระบบบานกึ่งสั่งสราง (Semi Pre-Built) โดยบริษัทจะกอสรางไปแลวจนเกือบเสร็จประมาณรอยละ 60 – 70 จึงจะเปดใหจองซื้อ เพื่อลดความเสี่ยงในการดําเนินการและใหบริษัทสามารถรับรูตนทุนที่เปลี่ยนแปลงไปมาก ที่สุด ทําใหบริษัทไดรับผลกระทบในเรื่องความผันผวนของราคาวัสดุกอสรางไมมากนัก • ความเสี่ยงจากการขาดแคลนผูรับเหมากอสราง บริษัทใชวิธีวาจางผูรับเหมากอสรางเปนผูดําเนินการกอสราง โดยบริษัทไมมีแรงงานในการกอสรางเปน ของตนเองโดยจากการดําเนินงานที่ผานมา บริษัทใชนโยบายจัดจางผูรับเหมารายยอยจากภายนอก ในการ กอสรางบานเดี่ยวทุกโครงการ โดยมีวิศวกรของบริษัททําหนาที่ควบคุมการตรวจรับงานจากผูรับเหมารายยอย และมีทีมวิศวกรดูแลคุณภาพงานกอสรางเปนผูทําการบริหารและควบคุมงานกอสราง ดังนั้น จากนโยบายจัดจาง ผูรับเหมารายยอยดังกลาวอาจทําใหเกิดภาวะการขาดแคลนผูรับเหมากอสราง และสงผลตอการดําเนินงาน ของบริษัทได อยางไรก็ตาม ในสวนของโครงการบานเดี่ยว บริษัทมีผูรับเหมากอสรางรายยอยหลัก ซึ่งรวมงานกันมาเปน เวลานานเนื่องมาจากความเชื่อถือในการชําระคากอสรางตามที่กําหนด ทําใหตลอดระยะเวลาที่ผานมาบริษัท ไมประสบปญหาการขาดแคลนผูรับเหมา นอกจากนี้ บริษัทยังไดมีการสรรหาผูรับเหมารายใหมเขามารับงาน ของบริษัทอยูตลอดเวลา โดยจะพิจารณาจากผลงานที่ผานมาและความนาเชื่อถือของผูแนะนํา โดยบริษัทจะให ผูรับเหมารายใหมทดลองงานในวงเงินจางขนาดเล็กกอน หากสามารถสงมอบงานไดอยางมีคุณภาพและ ทันตามกําหนดเวลา บริษัทก็จะพิจารณาเพิ่มวงเงินกอสรางใหตอไป ซึ่งสงผลใหบริษัทมีฐานผูรับเหมาที่มี คุณภาพเปนจํานวนมาก ดังนั้น บริษัทคาดวาจะไดรับผลกระทบคอนขางนอยจากภาวะการขาดแคลน ผูรับเหมากอสราง • ความเสี่ยงทางดานการเงิน ณ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีภาระหนี้เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเปนจํานวน 205.10 ลานบาท โดยเปนการกูยืมเพื่อใชในการพัฒนาโครงการ และเพื่อซื้อที่ดินสําหรับโครงการในปจจุบัน ซึ่งหนี้ เงินกูเปนลักษณะรายโครงการ (Project Finance) ที่มีกําหนดระยะเวลาชําระคืนเมื่อมีการโอนโดยการปลอด จํานอง กลาวคือ บริษัทจะนําเงินประมาณรอยละ 60 – 75 ของราคาขาย ซึ่งลูกคามาชําระในวันโอนกรรมสิทธิ์ (ขึ้นกับเงื่อนไขการชําระคืนของแตละสถาบันการเงิน) ไปชําระคืนใหแกสถาบันการเงินผูใหกู 14


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

นอกจากนี้ หากพิจารณาอัตราสวนทางการเงินที่เกี่ยวของ ไดแก อัตราสวนหนี้สินตอสวนของทุน ในป 2549– 2551 บริษัทมีอัตราสวนหนี้สินตอสวนของทุนอยูที่ระดับ 1.11 เทา 0.56 เทา และ 0.76 เทา ตามลําดับ การเพิ่มขึ้นของอัตราสวนดังกลาวในป 2551 เนื่องจากบริษัทมีการเบิกเงินกูเพื่อพัฒนาโครงการ เดอะ ไลทเฮาส โครงการรสา พารคเลน และโครงการ อินโทร คอนโดมิเนียม ซึ่งยังถือวาอยูต่ํากวาคาเฉลี่ยของ อุตสาหกรรมที่ประมาณ 1.5 เทา ทั้งนี้ ในอดีตที่ผานมานั้น บริษัทไมเคยมีปญหาในการชําระหนี้แตอยางใด • ความเสี่ยงดานสภาพคลอง ในการประกอบธุรกิจของบริษัท จะตองใชเงินทุนหมุนเวียนเปนจํานวนมากในดานตางๆ เชน ที่ดิน หรือ คาใชจายผูรับเหมา เนื่องมาจากลักษณะการดําเนินธุรกิจตามปกติของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย ซึ่งแบงสวน ในการชําระเงินของลูกคาเปน 2 สวนหลัก คือ เงินจองและเงินดาวน (ประมาณรอยละ 10 – 30 ของมูลคาขาย) และเงินโอนกรรมสิทธิ์ (ประมาณรอยละ 70 – 90 ของมูลคาขาย) บริษัทจึงมีเงินทุนหมุนเวียนจากการขาย ภายในโครงการกอนการรับโอนกรรมสิทธิ์จากเงินจอง/เงินดาวนเทานั้น และตองอาศัยเงินทุนหมุนเวียนของ โครงการจากเงินกู ทั้งนี้ เงินกูจากสถาบันการเงินเพื่อนํามาใชในการพัฒนาโครงการ สถาบันการเงินจะมีการ กําหนดเงื่อนไขในการเบิกเงินกูในแตละงวดโดยขึ้นกับความกาวหนาในการขาย หากยอดขายของโครงการตางๆ ดังกลาวไมเปนไปตามเปาหมาย หรือการโอนกรรมสิทธิ์ลาชากวาที่กําหนด ก็อาจสงผลกระทบตอสภาพคลอง ของบริษัท นอกจากนี้ ดวยนโยบายของบริษัทในการสรางบานแบบกึ่งสั่งสรางซึ่งจะมีการกอสรางประมาณ รอยละ 60 – 70 จึงเริ่มเปดการขายโครงการ ก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่สงผลตอสภาพคลองของบริษัทในชวงเริ่มตน โครงการบานเดี่ยว ทั้งนี้ ความเสี่ยงดานสภาพคลองดังกลาวสวนหนึ่งเปนผลมาจากการที่ปจจุบันบริษัทมี โครงการที่อยูระหวางการพัฒนาไมมากนัก ทั้งนี้บริษัทมีนโยบายในการบริหารสภาพคลองโดยการดําเนินการกอสรางใหมีความสอดคลองกับการขาย สําหรับโครงการขนาดใหญ (โครงการรสา สแปนิช คอรทยารด และโครงการรสา พารคเลน) จะแบงการกอสราง เปนลักษณะเฟส แทนที่จะกอสรางทั้งโครงการในคราวเดียวกัน ซึ่งหากมีความคืบหนาในการขายถึงระดับหนึ่ง บริษัทจะเริ่มการกอสรางในเฟสตอไป บริษัทจึงมีเงินทุนหมุนเวียนในการพัฒนาโครงการมาจากการขายสวนหนึ่ง และจากเงินกูยืมอีกสวนหนึ่ง 2 ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากปจจัยอื่นๆ • ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของความตองการดานผลิตภัณฑ การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขทางเศรษฐกิจตางๆ เชน อัตราดอกเบี้ย การเติบโตหรือชะลอตัวทางดานเศรษฐกิจ มีผลกระทบตอความตองการที่อยูอาศัย ทั้งนี้ตั้งแตตนป 2551 อัตราดอกเบี้ยมีแนวโนมทรงตัว โดยพิจารณาจาก อัตราดอกเบี้ยลูกคารายใหญชั้นดี ประเภทเงินกูแบบมีระยะเวลา (Minimum Loan Rate – MLR) อยูที่รอยละ 6.75 - 7.50 สงผลกระทบตอตนทุนทางการเงินของทั้งบริษัทผูประกอบการและผูบริโภค ดังนั้น หากอัตรา ดอกเบี้ยมีแนวโนมเพิ่มขึ้น จะทําใหผูบริโภคมีตนทุนซื้อบานที่แพงขึ้น โดยผูบริโภคก็มีการปรับพฤติกรรมรับปจจัย เสี่ยงดังกลาว เชน การเลือกที่อยูอาศัยในขนาดที่เล็กลง อยางไรก็ตาม บริษัทมีการทําวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง ในวงการอสังหาริมทรัพย เพื่อ การวิเคราะหตลาดและผูบริโภค ใหสามารถปรับตัวตอรูปแบบการบริโภคที่เปลี่ยนไปของกลุมลูกคาได ไมวาจะ เปนรูปแบบของการพัฒนาโครงการในอนาคตที่จะเปนอาคารชุดหรือบานเดี่ยว หรือฐานราคาของสินคาที่เปนที่ ตองการของตลาดในแตละชวงเวลา ตลอดจนการจัดเตรียมแผนสงเสริมการขายตางๆในสินคาที่มีอยูเดิม เพื่อให สอดคลองกับความตองการที่ปรับเปลี่ยนไป 15


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

• ความเสี่ยงจากนโยบายภาครัฐ นโยบายภาครัฐในเรื่องการปรับปรุงผังเมืองรวมกรุงเทพฯ ซึ่งมีผลบังคับใช 5 ป โดยเริ่มบังคับใชใน ป 2549 สงผลกระทบตอการกําหนดปริมาณพื้นที่ใชสอยของโครงการจัดสรร โดยเฉพาะอยางยิ่งผูประกอบการ เกี่ยวกับอาคารสูงจะไดรับผลกระทบมากกวาผูประกอบการโครงการที่เปนบานแนวราบ เนื่องจากกฎหมายใหม จะมีความเขมงวดในการกอสรางอาคารในแตละโซนมากขึ้น ดวยสาเหตุที่จะมีการกําหนดอัตราสวนพื้นที่อาคาร รวมตอพื้นที่ดิน (Floor Area Ratio – FAR) ลดลง (กลาวคือพื้นที่ดินที่เทากันจะสามารถนํามาพัฒนาเปนเนื้อที่ เพื่อขายหรือจํานวนหนวยเพื่อขายไดนอยลง) ซึ่งอาจสงผลทําใหผูประกอบการมีอัตราการทํากําไรลดลง เชน บริษัทอาจมีภาระตนทุนที่สูงขึ้นในการซื้อที่ดินเพื่อพัฒนาหรือจากพื้นที่เพื่อขายลดลงในขณะที่ตนทุนโครงการ เทาเดิม บริษทั ไมสามารถปรับราคาขายใหชดเชยกับเนือ้ ทีข่ ายทีล่ ดลงได จากโครงการทีด่ าํ เนินการอยูในปจจุบนั บริษัทไมไดรับผลกระทบจากนโยบายดังกลาว เนื่องจากกฎหมายเหลานี้ไมมีผลบังคับใชยอนหลัง แตอาจสงผล กระทบตอผูประกอบการในอุตสาหกรรมทุกรายรวมถึงบริษัทไดในอนาคต ทั้งนี้ อัตราสวนดังกลาวจะมีความ แตกตางกันไปในแตละพื้นที่ ซึ่งบริษัทมีนโยบายพัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัยในยานธุรกิจ (Central Business District – CBD) หรือยานที่อยูอาศัยหนาแนน ซึ่งมีการกําหนดอัตราสวนพื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน สูงกวาบริเวณอื่นๆ ในสวนของบานแนวราบ ผลกระทบที่สําคัญคือ ในพื้นที่หลายๆโซนตามผังเมืองใหม จะตองพัฒนาเปน บานขนาดใหญ ซึ่งจะทําใหเกิดขอจํากัดในการพัฒนาโครงการในพื้นที่ดังกลาว ดังนั้น การจัดทําโครงการบาน ขนาดใหญที่มีราคาสูงในอนาคต บริษัทจําเปนที่จะตองศึกษาความตองการของตลาดใหชัดเจนกอนดําเนินการ เนื่องจากการปรับเปลี่ยนรูปแบบโครงการอาจไมสามารถทําไดจากขอจํากัดดังกลาว • ความเสี่ยงจากสภาวะเศรษฐกิจโลก จากสภาวะความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ซึ่งตอเนื่องมาจากวิกฤติการณสินเชื่อที่อยูอาศัยในสหรัฐอเมริกา (Sub-Prime) ตั้งแตชวงกลางป 2551 ตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน ทําใหเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจของประเทศไทย

ไดรับผลกระทบอยางรุนแรง ประกอบกับสถานการณการเมืองภายในประเทศที่ไมมีเสถียรภาพ ทําใหภาคธุรกิจ จํานวนมากไดรับผลกระทบจากวิกฤติดังกลาวเชนเดียวกัน รวมทั้งภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพยซึ่งไดรับผลโดยตรง จากกําลังซื้อภายในประเทศที่ลดลงอยางมาก อยางไรก็ตาม บริษัทจึงยังคงนโยบายการบริหารงานดวยความ ระมัดระวัง รอบคอบ โดยจะใหความสําคัญกับการพัฒนาโครงการซึ่งไดเปดขายในชวงปที่ผานมาใหมีประสิทธิภาพ สูงสุด และจะเตรียมความพรอมในทุกๆดาน เพื่อรองรับกับสถานการณที่มีความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและ รุนแรงในอนาคต

16


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

โครงสรางการถือหุนและการจัดการ โค ผูถือหุน รายชื่อ และสัดสวนการถือหุนสูงสุด 10 รายแรก ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 รายชื่อผูถือหุน

จํานวนหุน

1. กลุมพินิจชอบ1 2. นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน 3. นางสาวอุราพร สุนทรพจน 4. นายเปรมชัย ศรีภัทร 5. รองศาสตราจารยมานพ พงศทัต 6. นายพงศศักดิ์ อริยจิตไพศาล 7. นางสาวนภัสวรรณ ไตรโสภณศิริกุล 8. นายปญจะ เสนาดิสัย 9. นายอดิศร พิพัฒนวาณิชย 10. นางสาวจิราภรณ ศรีฟา

33,643,200 17,600,000 3,914,700 2,065,300 2,000,000 1,690,000 1,209,000 1,200,000 800,000 800,000

หมายเหตุ :

รอยละของจํานวนหุนทั้งหมด 42.05 22.00 4.89 2.58 2.50 2.11 1.51 1.50 1.00 1.00

1. กลุม พินจิ ชอบ ประกอบดวย นายรพิ พินจิ ชอบ ถือหุน จํานวน 15,041,000 หุน นายเขมไชย รสานนท (บิดานายรพิ) ถือหุน จํานวน 3,902,200 หุน และบริษัท พาณิชยภูมิ จํากัด ถือหุนจํานวน 14,700,000 หุน (บริษัท พาณิชยภูมิ จํากัด ถือหุนโดย นายรพิ พินิจชอบ รอยละ 98.50 นาวาอากาศเอกสกล รสานนท รอยละ 0.25 นายธวัชชัย รสานนท รอยละ 0.25 นายสายณรงค รสานนท รอยละ 0.25 นางสําราญ จิตตสิงห รอยละ 0.25 นางรัศมี ตั้งพิทยาเวทย รอยละ 0.25 นางฉลวย หิรัญบูรณะ รอยละ 0.25)

17


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

การจัดการ 1. โครงสรางคณะกรรมการ โครงสรางกรรมการบริษัทประกอบดวยคณะกรรมการทั้งหมด 3 ชุด คือ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการบริหาร โดยมีรายชื่อและขอบเขตอํานาจหนาที่ดังนี้ (1) คณะกรรมการบริษัท ในปจจุบันกรรมการของบริษัทมีจํานวน 9 ทาน ประกอบดวย ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

รายชื่อ รองศาตราจารย มานพ พงศทัต นายเลิศชัย ลีลายนกุล นายปญจะ เสนาดิสัย นางสุดจิต ทิวารี นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นายรพิ พินิจชอบ นางสาวสุมิดา พันธุกระวี นายโกวิท ไววัฒนา นายเลิศมงคล วราเวณุชย

ตําแหนง ประธานกรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ กรรมการ/กรรมการบริหาร/กรรมการผูจัดการ กรรมการ/กรรมการบริหาร/รองกรรมการผูจัดการ กรรมการอิสระ กรรมการ/กรรมการบริหาร กรรมการ/กรรมการบริหาร/ผูชวยกรรมการผูจัดการ

เลขานุการบริษัท : นางศิริลักษณ จรูญรัตนสกุล ไดรับการแตงตั้งใหปฏิบัติหนาที่ในวันที่ 16 มิถุนายน 2552 กรรมการผูมีอํานาจลงนามแทนบริษัท กรรมการผูมีอํานาจลงนามแทนบริษัทคือ นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน ลงลายมือชื่อรวมกับนายรพิ พินิจชอบ และประทับ ตราสําคัญของบริษัท หรือกรรมการหนึ่งในสองคนนี้ลงลายมือชื่อรวมกับ นายเลิศมงคล วราเวณุชย หรือนายโกวิท ไววัฒนา รวม เปนสองคนและประทับตราสําคัญของบริษัท ขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบที่สําคัญของคณะกรรมการบริษัท 1. ตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับของบริษัท ตลอดจนมติท่ปี ระชุมคณะกรรมการและ/หรือมติ ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เวนแตในเรือ่ งทีต่ อ งรับอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการและ/หรือทีป่ ระชุมผูถ อื หุน กอนการดําเนินการ เชน เรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติจากที่ประชุมคณะกรรมการและ/หรือมติจากที่ประชุมผูถือหุน การทํารายการที่ เกี่ยวโยงกัน และการซื้อขายหรือการไดมาหรือการจําหนายไปซึ่งสินทรัพยที่สําคัญตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย หรือตามที่หนวยงานราชการอื่นๆ กําหนด เปนตน 2. กําหนดหรือเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการผูมีอํานาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทภายใตบังคับของกฎหมาย และขอบังคับของบริษัท 3. กําหนดนโยบาย กลยุทธ และทิศทางการดําเนินงานของบริษัทและการกํากับดูแลใหฝายบริหารดําเนินการใหเปนไปตาม นโยบาย กลยุทธ และทิศทางที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลคาสูงสุดแกผูถือหุนและการเติบโต อยางยั่งยืน 4. พิจารณาตัดสินใจในเรื่องที่มีสาระสําคัญ เชน แผนธุรกิจ งบประมาณ โครงการลงทุนขนาดใหญ อํานาจการบริหาร และ รายการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนด 5. ประเมินผลการปฏิบัติงานและกําหนดคาตอบแทนผูบริหาร 6. รับผิดชอบตอผลประกอบการและการปฏิบัติงานของฝายบริหาร โดยมีความตั้งใจและความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน 7. จัดใหมีระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได รวมทั้งมีการดูแลใหมีกระบวนการในการประเมิน ความเหมาะสมของการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล การบริหารและการจัดการ ความเสี่ยง การรายงานทางการเงินและการติดตามผล 8. ดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผูมีสวนไดสวนเสียกับบริษัท 9. กํากับการดูแลกิจการใหมีการปฏิบัติงานอยางมีจริยธรรม

18


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

10. กําหนดขอบังคับทั่วไปหรือระเบียบภายในของบริษัทในเรื่องตางๆ 11. รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ในการจัดทํารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูกับรายงานของผูสอบบัญชี ไวในรายงานประจําป และครอบคลุมเรื่องสําคัญๆ ตามนโยบายขอพึงปฏิบัติที่ดีของกรรมการบริษัทจดทะเบียนของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 12. คณะกรรมการอาจแตงตั้งบุคคลอื่นใดใหดําเนินกิจการของบริษัท ภายใตการควบคุมของคณะกรรมการ หรืออาจมอบอํานาจ เพื่อใหบุคคลดังกลาวมีอํานาจ และ/หรือภายในเวลาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอน เปลี่ยนแปลงหรือแกไขอํานาจนั้นๆได ภายใตบังคับของกฎหมายและขอบังคับของบริษัท ทั้งนี้ หากมีรายการระหวางกันของบริษัทเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัด แยงทางผลประโยชนในอนาคต บริษัทจะตองปฏิบัติตามประกาศ ขอบังคับ กฎ หรือระเบียบที่เกี่ยวของกับคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยและ/หรือตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งรวมถึงบุคคลที่มีสวนไดเสียหรืออาจ ขัดแยงจะตองไมมีสวนในการพิจารณาอนุมัติรายการดังกลาว เพื่อใหสอดคลองกับประกาศของคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย นิยามกรรมการอิสระ กรรมการอิสระของบริษัท ตองเปนกรรมการที่เปนอิสระจากผูถือหุนรายใหญ ผูบริหาร และผูที่เกี่ยวของ โดยตองมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวมหรือนิติบุคคลที่ อาจมีความขัดแยง โดยใหนับรวมหุนที่ถือโดยผูที่เกี่ยวของดวย 2. ไมเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจํา ผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ทั้งในปจจุบันและในชวง ระยะเวลา 2 ปกอนไดรับการแตงตั้ง 3. ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยงในลักษณะที่ เปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน ทั้งในปจจุบันและในชวงระยะเวลา 2 ปกอนไดรับการแตงตั้ง ดังนี้ 3.1 3.2 3.3

ไมเปนผูสอบบัญชี ทั้งนี้ใหรวมถึงการไมเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวน ผูจัดการของสํานักงานสอบบัญชี ไมเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ เชน ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผูประเมินราคาทรัพยสิน ซึ่งไดรับ คาบริการทางวิชาชีพจากบริษัทเกินกวา 2 ลานบาทตอป ไมไดรับประโยชนทั้งทางตรงและทางออม หรือมีสวนไดเสีย จากการทําธุรกิจ ไดแก รายการที่เปนธุรกิจปกติ รายการ เชาหรือใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับสินทรัพยหรือบริการ หรือรายการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงิน กับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ที่มีมูลคารายการตั้งแต 20 ลานบาท หรือตั้งแตรอยละ 3 ของสินทรัพย ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัท แลวแตจํานวนใดจะต่ํากวา โดยใหนับรวมมูลคารายการในระหวาง 1 ป กอนวันที่มี ความสัมพันธทางธุรกิจ

ทั้งนี้ ใหรวมถึงการไมเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวนผูจัดการของผูที่มี ความสัมพันธทางธุรกิจดังกลาว 4. ไมมีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เปน บิดามารดา คูสมรส พี่นอง และ บุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร กับผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุมหรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอชื่อเปนผูบริหาร หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทยอย 5. ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูที่ เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญของบริษัท 6. ไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกัน และเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทยอย หรือไมเปนหุนสวน ที่มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจํา หรือถือหุน เกินรอยละหนึ่งของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปน การแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท 7. ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท

19


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

(2) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท มีจํานวน 3 ทาน ประกอบดวย ลําดับ

รายชื่อ

ตําแหนง

1.

นายเลิศชัย ลีลายนกุล

ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ

2.

นายปญจะ เสนาดิสัย

กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ

3.

นางสุดจิต ทิวารี

กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ

หมายเหตุ 1. กรรมการตรวจสอบลําดับที่ 3 มีความรูและประสบการณเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่สอบทาน ความนาเชื่อถือของงบการเงิน 2. เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ : นางสาวดุลวรรณ สกุลดี จากบริษัท บาลานซ ฟกเกอร จํากัด (เปนบริษัทที่ปรึกษาในการจัดทําระบบควบคุมภายในของบริษัท และทําหนาที่ตรวจสอบภายใน) เริ่มปฏิบัติ หนาที่ในเดือนกุมภาพันธ 2552 ขอบเขตหนาที่ และความรับผิดชอบที่สําคัญของคณะกรรมการตรวจสอบ มีดังนี้ 1. สอบทานใหบริษัทมีระบบรายงานทางการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่กําหนดโดยกฎหมายอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทมีระบบควบคุมภายใน (INTERNAL CONTROL) และการตรวจสอบภายใน (INTERNAL CONTROL) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล รวมทั้งพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจน ใหความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใด ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน และหรือเห็นชอบการพิจารณาวาจางผูตรวจสอบภายในจากหนวยงาน ภายนอกบริษัทฯ 3. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจบริษัท 4. พิจารณาคัดเลือกเสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษัทและเสนอคาตอบแทน ของผูสอบบัญชี รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการเกี่ยวโยงหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมายและขอกําหนด ของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัท 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาวตองลงนาม โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและตองประกอบดวยขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้ 6.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัท 6.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท 6.3 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 6.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี 6.5 ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน 6.6 จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละทาน 6.7 ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบ ไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร (Charter) 6.8 รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบดังกลาว ไดมีการเปลี่ยนแปลงตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2552

20


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

(3) คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร มีจํานวน 5 ทาน ประกอบดวย ลําดับ

รายชื่อ

ตําแหนง

1.

รองศาตราจารย มานพ พงศทัต

ประธานกรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร

2.

นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน

กรรมการ/กรรมการบริหาร/กรรมการผูจัดการ

3.

นายรพิ พินิจชอบ

กรรมการ/กรรมการบริหาร/รองกรรมการผูจัดการ

4.

นายโกวิท ไววัฒนา

กรรมการ/กรรมการบริหาร

5.

นายเลิศมงคล วราเวณุชย

กรรมการ/กรรมการบริหาร/ผูชวยกรรมการผูจัดการ

ขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบที่สําคัญของคณะกรรมการบริหาร มีดังนี้ 1. กําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และหลักในการดําเนินธุรกิจใหสอดคลองกับเปาหมายที่ไดรับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท และใหมีอํานาจดําเนินการตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัท ซึ่งอยูภายใตบังคับของกฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบ และขอบังคับของบริษัท 2. จัดทําโครงสรางองคกร อํานาจบริหารองคกร โดยใหครอบคลุมทุกรายละเอียด การคัดเลือก การวาจาง การโยกยาย การฝกอบรม และการเลิกจางพนักงานบริษัท ยกเวนประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการ 3. กําหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจบริหารตาง ๆ ของบริษัท เพื่อเสนอใหคณะกรรมการบริษัทเห็นชอบ 4. ตรวจสอบ ติดตามการดําเนินนโยบาย และแนวทางการบริหารงานตางๆของบริษัทที่กําหนดใหเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ เอื้อตอสภาพการดําเนินการทางธุรกิจ 5. มีอํานาจดําเนินการจัดทําธุรกรรมทางการเงินกับสถาบันการเงินในการเปดบัญชี กูยืม จํานํา จํานอง ค้ําประกัน และ การอื่น รวมทั้งการซื้อขายและจดทะเบียนกรรมสิทธิ์ที่ดินใดๆตามวัตถุประสงคเพื่อประโยชนในการดําเนินกิจการของ บริษัท ไมเกิน 200 ลานบาทตอครั้ง และรายงานใหคณะกรรมการบริษัททราบ 6. มีอํานาจในการพิจารณาจัดสรร เงินรางวัล หรือผลตอบแทนตาง ๆ ที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ทั้งนี้อํานาจของกรรมการบริหารดังกลาวจะตองเปนไปตามกฏเกณฑของกฏหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับของบริษัท ซึ่งรวมถึงกรรมการบริหารไมสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน มีสวนไดสวนเสีย ในลักษณะอื่นใดกับบริษัท และบริษัทยอย (ถามี) เพื่อใหสอดคลองกับประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย เวนแตเปนการอนุมัติรายการธุรกิจปกติของบริษัทที่มีเงื่อนไขการคาทั่วไปตามที่มีการกําหนดขอบเขต โดยคณะกรรมการบริษทั ไวชัดเจนแลว (4) ผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีผูบริหารทั้งสิ้น 8 ทาน ประกอบดวย ลําดับ 1.

21

รายชื่อ นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน

2.

นายรพิ พินิจชอบ

3. 4. 5. 6. 7. 8.

นายเลิศมงคล วราเวณุชย นางศิริลักษณ จรูญรัตนสกุล นางณัฐยา นวราช นางสาวนันทรัตน โกวิทคณิต นายสยาม อเดโช นายบูรณินท ทองสุวรรณ

ตําแหนง กรรมการผูจัดการ (รักษาการ) ผูจัดการฝายจัดซื้อ (รักษาการ) ผูชวยกรรมการผูจัดการสายงานบริหารโครงการ รองกรรมการผูจัดการ สายการตลาดและพัฒนาผลิตภัณฑ (รักษาการ) ผูจัดการฝายพัฒนาควบคุมและตรวจสอบผลิตภัณฑ ผูชวยกรรมการผูจัดการ สายการเงินและพัฒนาธุรกิจ ผูจัดการฝายบริหารทั่วไป ผูจัดการฝายบัญชีและการเงิน ผูจัดการฝายการตลาด วิศวกรโครงการ วิศวกรโครงการ


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

ขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบที่สําคัญของกรรมการผูจัดการ 1. จัดทํานโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และหลักในการดําเนินธุรกิจของบริษัทเพื่อเสนอใหคณะกรรมการอนุมัติ และใหมีอํานาจ ดําเนินการตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัท ซึ่งอยูภายใตกฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบ และขอบังคับของบริษัท 2. ดําเนินการใหเปนไปตามแผนธุรกิจ งบประมาณ และเปาหมายของบริษัทตามที่คณะกรมการบริษัทอนุมัติ 3. ดําเนินการใหเปนไปตามนโยบาย และแนวทางการบริหารงานตางๆของบริษัทที่กาํ หนดใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เอื้อตอสภาพการดําเนินการทางธุรกิจ 4. อนุมัติคาใชจายและเงินลงทุนที่ไมไดอยูในงบประมาณประจําปไดไมเกิน 3 ลานบาทตอครั้ง โดยตองรายงานให คณะกรรมการทราบ 5. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ อํานาจของกรรมการผูจัดการดังกลาวจะตองเปนไปตามกฏเกณฑของกฏหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับของบริษัท ซึ่งรวมถึงกรรมการผูจัดการไมสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนมสี วนไดสวนเสีย ในลักษณะอื่นใดกับบริษัทและบริษัทยอย (ถามี) เพื่อใหสอดคลองกับประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย เวนแตเปนการอนุมัติรายการธุรกิจปกติของบริษัทที่มีเงื่อนไขการคาทั่วไปตามที่มีการกําหนดขอบเขต โดยคณะกรรมการบริษัทไวชัดเจนแลว

แผนผังโครงสรางการจัดการ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551) คณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร

กรรมการผูจัดการ

ผูชวยกรรมการผูจัดการ

ผูชวยกรรมการผูจัดการ สายบริหารโครงการ

รองกรรมการผูจัดการ

สายการเงินและพัฒนาธุรกิจ สายการตลาดและพัฒนาผลิตภัณฑ ฝายพัฒนาควบคุมและ

ฝายบัญชีและการเงิน

ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ

ฝายบริหารทั่วไป

ฝายการตลาด

สํานักตรวจสอบ และควบคุมภายใน

ฝายทรัพยากรบุคคล

ฝายจัดซื้อ

ฝายบริหารโครงการ แตละโครงการ

22


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

2. การสรรหากรรมการและผูบริหาร ในป 2551 บริษัทยังไมไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการสรรหา เพื่อคัดเลือกบุคคลที่จะแตงตั้งเขามาดํารงตําแหนงเปน กรรมการและผูบริหาร เนื่องจากเปนองคกรที่มีขนาดเล็ก มีกรรมการและผูบริหาร รวมกันทั้งหมดประมาณ 15 คน ซึ่งเมื่อ ตําแหนงกรรมการวางลง หรือมีเหตุจําเปนที่จะตองแตงตั้งกรรมการอิสระเพิ่ม คณะกรรมการบริษัทจะเปนผูทําหนาที่สรรหา และคัดเลือกบุคคลที่จะมาดํารงตําแหนงดังกลาว โดยพิจารณาจากปจจัยหลักตางๆ อันไดแก ความรู ความสามารถ ประสบการณ ที่เกี่ยวของ ลักษณะตองหามตามที่กําหนดโดยกฎหมายวาดวยบริษัทมหาชนจํากัด ป 2552 บริษัทจะจัดตั้งคณะกรรมการสรรหา เพื่อทําหนาที่พิจารณาหลักเกณฑและกระบวนการในการสรรหาบุคคล เพื่อดํารงตําแหนงกรรมการ รวมทั้งคัดเลือกบุคคลตามกระบวนการสรรหาที่ไดกําหนดไว และเสนอความเห็นตอคณะกรรมการ ซึ่งจะนําเสนอที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการ ปจจุบันอยูระหวางการดําเนินการและพิจารณารายละเอียดตางๆที่เกี่ยวของ กับการจัดตั้ง เชน กฎบัตร จํานวนและคุณสมบัติของกรรมการ เปนตน องคประกอบและการแตงตั้งคณะกรรมการบริษัท ปจจุบัน คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดหลักเกณฑในการแตงตั้งและถอดถอนกรรมการไว ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการอยางนอย 5 คน และใหคณะกรรมการเลือกตั้งกรรมการดวยกันเปนประธาน กรรมการ และอาจเลือกรองประธานกรรมการ และตําแหนงอื่นตามที่เหมาะสม โดยกรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของ จํานวนกรรมการทั้งหมดนั้นตองมีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักร 2. มีกรรมการอิสระอยางนอย 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด และไมนอยกวา 3 คน 3. ผูเปนกรรมการของบริษัท ไมจําเปนจะตองเปนผูถือหุนของบริษัท 4. ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการ โดยใชเสียงขางมากตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ (1) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับจํานวนหุนที่ตนถือ (2) ผูถือหุนแตละคนจะตองใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดเลือกตั้งบุคคลคนเดียว หรือหลายคนเปนกรรมการก็ได แตจะแบง คะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได (3) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือ จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวนที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นใหผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด 5. ในการประชุมผูถือหุนสามัญประจําปทุกครั้ง ใหกรรมการลาออกจากตําแหนงหนึ่งในสาม ถาจํานวนกรรมการที่จะแบงออก ใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนใกลที่สุดกับสวนหนึ่งในสาม กรรมการที่จะตองลาออกจากตําแหนงในปแรก และปที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ใหจับสลากกันวาผูใดจะออก สวนปหลังๆตอไป ใหกรรมการคนที่อยูในตําแหนง นานที่สุดนั้นเปนผูออกจากตําแหนง โดยกรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจถูกเลือกเขามาดํารงตําแหนงอีกได 6. นอกจากการพนตําแหนงตามวาระแลว กรรมการอาจพนตําแหนงเมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดวยบริษัทมหาชนจํากัด (4) ที่ประชุมผูถือหุนลงมติใหออก (5) ศาลมีคําสั่งใหออก 7. ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ คณะกรรมการบริษัทอาจเลือกบุคคลซึ่งมี คุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดวยบริษัทมหาชนจํากัดเขาเปนกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการ คราวถัดไป เวนแตวาระของกรรมการจะเหลือนอยกวาสองเดือน บุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการแทนดังกลาวจะอยูในตําแหนง กรรมการไดเพียงเทาวาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการซึ่งตนแทน มติของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งตองประกอบดวย คะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนกรรมการที่เหลืออยู 8. ในกรณีที่กรรมการพนจากตําแหนงทั้งคณะ ใหคณะกรรมการที่พนจากตําแหนงยังคงอยูรักษาการ ในตําแหนงเพื่อดําเนิน กิจการของบริษัทตอไปเพียงเทาที่จําเปน จนกวากรรมการชุดใหมเขารับหนาที่ เวนแตศาลจะมีคําสั่งเปนอยางอื่น ในกรณี ที่คณะกรรมการพนจากตําแหนงตามคําสั่งศาล คณะกรรมการที่พนจากตําแหนงตองจัดใหมีการประชุมผูถือหุนเพื่อเลือกตั้ง คณะกรรมการชุดใหมภายในหนึ่งเดือน นับแตวันพนจากตําแหนง โดยสงหนังสือนัดประชุมไปยังผูถือหุนไมนอยกวาสิบสี่วัน กอนวันประชุม และโฆษณาคําบอกกลาวนัดประชุมในหนังสือพิมพไมนอยกวาสามวันกอนวันประชุมดวย โดยจะตองโฆษณา เปนระยะเวลาสามวันติดตอกัน 9. ที่ประชุมผูถือหุนอาจลงมติใหกรรมการคนใดออกจากตําแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระได ดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา สามในสี่ของจํานวนผูถือหุนซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน และมีหุนนับรวมกันไดไมนอยกวากึ่งหนึ่งของ จํานวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน

23


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

องคประกอบและการแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทฯ เปนผูแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ โดยแตงตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถวนตามประกาศของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย อยางนอย 3 คน และมีวาระการดํารงตําแหนง 3 ป โดยมีคุณสมบัติและแนวทางการคัดเลือก กรรมการตรวจสอบ ดังนี้ 1. เปนกรรมการอิสระ โดยมีคุณสมบัติตามนิยามกรรมการอิสระ 2. ไมเปนกรรมการทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการ ใหตดั สินใจในการดําเนินกิจการของบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกันเฉพาะที่เปนบริษัทจดทะเบียน 3. ไมเปนกรรมการของบริษัทใหญ บริษัทยอย หรือ บริษัทยอยลําดับเดียวกันเฉพาะที่เปนบริษัทจดทะเบียน 4. เปนกรรมการที่มีความรูความสามารถและมีความชํานาญที่เหมาะสมที่จะทําหนาที่ในฐานะกรรมการตรวจสอบ 5. กรรมการตรวจสอบอยางนอย 1 คน ตองมีความรูความเขาใจหรือมีประสบการณดานบัญชีและการเงินเพียงพอที่ จะสามารถสอบทานความนาเชื่อถือของงบการเงินได

3. คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร กรรมการ คาตอบแทนของกรรมการบริษัท ประจําป 2551 มีดังตอไปนี้ ประเภทคาตอบแทน ป 2551 จํานวนกรรมการ จํานวนเงิน (บาท) เบี้ยประชุม 9 465,000 บําเหน็จ 9 -* *ป 2551 บริษัทไมไดจายบําเหน็จแกกรรมการ นอกจากนี้ บริษัทยังมีสวัสดิการใหกับกรรมการในรูปสวนลดการซื้อผลิตภัณฑของบริษัท (รอยละ 5-15) เชนเดียวกับ พนักงานบริษัท

คาตอบแทนกรรมการและจํานวนครั้งที่เขาประชุม ในป 2551 มีดังตอไปนี้ คาเบี้ยประชุม

1) รองศาตราจารยมานพ พงศทัต 2) นายเลิศชัย ลีลายนกุล 3) นายปญจะ เสนาดิสัย 4) นางสุดจิต ทิวารี 5) นางสาวสุมิดา พันธุกระวี 6) นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน 7) นายรพิ พินิจชอบ 8) นายโกวิท ไววัฒนา 9) นายเลิศมงคล วราเวณุชย

จํานวนครั้ง ที่เขาประชุม คณะกรรมการ บริษัท 10/112 11/11 9/112 11/11 10/112 11/11 11/11 11/11 11/11

คาเบี้ย ประชุม (บาท) 100,000 55,000 45,000 55,000 50,000 40,0003 40,0003 40,0003 40,0003

จํานวนครั้ง ที่เขาประชุม คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คาเบี้ย ประชุม (บาท)

7/7 6/7 7/7

47,000 26,000 31,000

หมายเหตุ : 1. บริษัทจัดประชุมคณะกรรมการบริษัทจํานวน 11 ครั้ง และการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบจํานวน 7 ครั้ง 2. ประธานกรรมการบริษัท (รองศาตราจารยมานพ พงศทัต) กรรมการ (นางสาวสุมิดา พันธุกระวี) ไมไดเขารวมประชุม กรรมการบริษัทจํานวน 1 ครั้ง และกรรมการ (นายปญจะ เสนาดิสัย) ไมไดเขารวมประชุมกรรมการบริษัทจํานวน 2 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมดจํานวน 11 ครั้ง เนื่องจากติดภารกิจสวนบุคคล อยางไรก็ตาม ทางบริษัทมีการสงรายงาน การประชุมเพื่อรับทราบในทุกครั้งที่มีการประชุม 3. กรรมการ 4 ทาน คือ นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นายรพิ พินิจชอบ นายโกวิท ไววัฒนา และนายเลิศมงคล วราเวณุชย ไมรับเบี้ยประชุมในการประชุม 3 ครั้ง

24


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

ผูบริหาร คาตอบแทนรวมของผูบริหารในรูปของเงินเดือนและโบนัส ในป 2551 มีดังตอไปนี้ ประเภทคาตอบแทน

จํานวน (ราย)

จํานวนเงิน (บาท)

เงินเดือน โบนัส เงินสมทบ และเงินกองทุน

8

11,011,608

หมายเหตุ : จํานวนผูบริหาร 8 ราย เปนจํานวนผูบริหารตามที่ระบุในหนา 21 นอกจากนี้ บริษัทยังมีสวัสดิการพนักงานในรูปอื่นๆ โดยมีสวัสดิการหลัก เชน สวนลดการซื้อผลิตภัณฑของบริษัท (รอยละ 5 -15) เปนตน ซึ่งเปนไปตามขอกําหนดสวัสดิการของบริษัท

4. การกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทรสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) ดําเนินธุรกิจตามหลักบรรษัทภิบาล โดยเปดเผย โปรงใส ยุติธรรม และสามารถตรวจสอบได และตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) เพื่อทําใหเกิดความโปรงใส เพิ่มความสามารถในการแขงขันของกิจการ รวมทั้งเพิ่มความเชื่อมั่นของผูถือหุน โดยในป 2551 ไดปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนป 2549 ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ดังนี้ สิทธิของผูถือหุน บริษัทไดใหความสําคัญและเคารพสิทธิของผูถือหุน โดยผูถือหุนทุกรายไดรับสิทธิพื้นฐานตางๆ เชน สิทธิในการซื้อ ขาย โอน หลักทรัพยที่ตนเองถืออยูอยางเปนอิสระ สิทธิในการการไดรับสวนแบงกําไร สิทธิในการเขารวมประชุมและออกเสียงลงคะแนน บริษัทสงเสริมใหผูถือหุนเขารวมประชุม และมีสวนรวมในการพิจารณาตัดสินใจในเรื่องที่สําคัญผานการประชุมผูถือหุน ซึ่งการ ประชุมผูถือหุนนั้น บริษัทจัดสงเอกสารเชิญประชุม พรอมทั้งขอมูลประกอบการประชุมใหแกผูถือหุนลวงหนาตามที่กฎหมาย กําหนดอยางนอย 7 วัน มีการบันทึกการประชุมอยางถูกตอง ครบถวน นอกจากนี้ บริษัทไดเปดโอกาสใหผูถือหุนตรวจสอบ การดําเนินงาน สอบถาม ขอคําอธิบาย และแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมอยางเปนอิสระ ตลอดจนมีการบันทึกประเด็นขอซักถาม และขอคิดเห็นที่สําคัญไวในรายงานการประชุม และในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมดวยตนเองได ก็สามารถมอบฉันทะ ใหบุคคลอื่นเขารวมประชุมและลงมติแทนได ความเทาเทียมกันของผูถือหุน บริษัทมีนโยบายปฏิบัติตอผูถือหุนแตละรายอยางเทาเทียมกัน ไมวาจะเปนผูถือหุนรายใหญหรือรายยอย เชน ไมเพิ่มวาระ การประชุมโดยที่ไมไดแจงลวงหนา ไมเปลี่ยนแปลงขอมูลสําคัญในที่ประชุมอยางกะทันหัน เปดโอกาสใหผูถือหุนสวนนอยในการ เสนอเพิ่มวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขาดํารงตําแหนงกรรมการกอนวันประชุมผูถือหุนผูถือหุนที่ไมสามารถเขารวม ประชุมได สามารถมอบฉันทะใหบุคคลอื่นเขารวมประชุมและออกเสียงแทน โดยบริษัทไดแนบหนังสือมอบฉันทะไปพรอมกับ หนังสือเชิญประชุม รวมถึงมีการปองกันการใชขอมูลภายในเพื่อหาประโยชนสวนตน โดยการออกเปนประกาศหามกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ซื้อหรือขายหลักทรัพยของบริษัทในชวง 1 เดือน กอนประกาศผลการดําเนินงานรายไตรมาสและสิ้นรอบ บัญชีหรือขอมูลภายในนั้นจะเปดเผยตอสาธารณชน ซึ่งในระหวางปที่ผานมา กรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ไดปฏิบัติตาม นโยบายอยางเครงครัด โดยไมปรากฏวามีการซื้อหรือขายหลักทรัพยในชวงที่หามเลย บทบาทของผูมีสวนไดเสีย บริษัทไดใหความสําคัญและเคารพตอสิทธิของผูมีสวนไดสวนเสียที่เกี่ยวของในการดําเนินกิจการ เชน ลูกคา พนักงาน คูคา คูแขง เจาหนี้ และชุมชน เปนตน ซึ่งแตละกลุมตางก็มีวัตถุประสงคและความคาดหวังที่แตกตางกัน โดยในปที่ผานมา บริษัท ไดปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียตามนโยบายบริษัท ดังนี้ ผูถือหุน ผูถือหุนทุกรายไดรับสิทธิพื้นฐาน สิทธิที่กําหนดไวในกฎหมายและขอบังคับของบริษัท เชน สิทธิในการซื้อ ขาย โอนหลักทรัพยทตี่ นเองถืออยู สิทธิในการตรวจสอบจํานวนหุน สิทธิในการไดรบั ใบหุน สิทธิทจี่ ะไดรบั ผลตอบแทนอยางเปนธรรม สิทธิในการเขารวมประชุมและใชสิทธิออกเสียงลงคะแนน เปนตน

25


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

ลูกคา บริษัทมีนโยบายที่จะใหลูกคาไดรับบริการที่ดีและไดรับสินคาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยยึดถือและปฏิบัติ ตามเงื่อนไข ขอเสนอ หรือคํามั่นที่ใหไวกับลูกคา รักษาขอมูลอันเปนความลับหรือไมพึงเปดเผยขอมูลของลูกคาอยางเครงครัด รวมทั้งการโฆษณาประชาสัมพันธโครงการของบริษัท ไมทําใหลูกคาหรือประชาชนทั่วไปเกิดความเขาใจผิดเกี่ยวกับคุณภาพ ราคา หรือเงื่อนไขในการขาย หรือการใหบริการ พนักงาน บริษัทไดใหความสําคัญกับทรัพยากรบุคคลมาโดยตลอด มุงมั่นที่จะใหพนักงานทุกคนมีทัศนคติที่ดี สํานึกในหนาที่ และความรับผิดชอบ มีความภาคภูมิใจและเชื่อมั่นในองคกร ตลอดจนมีการปรับปรุงระบบบริหารบุคคลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติ งานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สงเสริมใหศึกษาตอในระดับปริญญาโท สงเสริมใหเขารับการอบรมในหัวขอที่เกี่ยวของและเปนประโยชน ตอการทํางาน ใหความสําคัญกับการดูแลรักษาสุขภาพ ความปลอดภัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน รวมถึงพิจารณาคาตอบแทน ของพนักงานใหมีความเหมาะสมโดยประเมินจากผลการปฏิบัติงานของพนักงานแตละคน และเทียบเคียงกับอุตสาหกรรมเดียวกัน คูคา บริษัทใหความสําคัญของการปฏิบัติตอคูคาตามเงื่อนไขทางการคาและปฏิบัติตามสัญญา มีการประพฤติตามกรอบกติกา ที่ดี และไมใชวิธีการที่ไมสุจริต คูแขงทางการคา บริษัทปฏิบัติงานภายใตกรอบนโยบายของบริษัท โดยยึดมั่นในการดําเนินธุรกิจภายใตกฎหมายและกรอบ กติกาดวยความเปนธรรม โปรงใส ไมแสวงหาความลับของคูแขงดวยวิธีที่ไมสุจริต ผิดกฎหมาย ไมทําลายชื่อเสียงของคูแขง ดวยการกลาวราย หรือกระทําการใดๆที่ปราศจากความจริงหรือไมเปนธรรม โดยในปที่ผานมา บริษัทไมมีขอพิพาทใดๆในเรื่อง ที่เกี่ยวกับคูแขงทางการคา เจาหนี้ บริษัทไดปฏิบัติตามเงื่อนไขการกูยืมเงินตามสัญญา และขอตกลงที่มีตอเจาหนี้ เชน ธนาคาร สถาบันการเงิน และ เจาหนี้การคา สังคมและสิ่งแวดลอม บริษัทไดใหความชวยเหลือและสนับสนุนกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อสังคมอยางตอเนื่อง ทั้งโครงการระยะสั้น และระยะยาวที่สนับสนุนทั้งองคกรภาครัฐและภาคเอกชนในดานการศึกษา ศาสนา สิ่งแวดลอมและสังคม โดยปที่ผานมาบริษัท ไดดําเนินการ ดังนี้ - ดูแลชุมชนใกลเคียงที่โครงการของบริษัทตั้งอยู จัดสภาพแวดลอมใหสวยงาม นาอยู สรางความสัมพันธที่ดีและไมกอ ใหเกิดความเดือดรอนกับผูอยูอาศัยรอบๆโครงการ จัดทํากันสาด เต็นท และรมขนาดใหญสําหรับผูที่ขายของอยูในบริเวณใกลเคียง กับที่ตั้งโครงการ เพื่อเปนการจัดระเบียบการขายใหดูสะอาดเรียบรอย ตลอดจนดําเนินการกอสรางโครงการดวยความระมัดระวัง และถูกตองตามขอกําหนดของหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ - สนับสนุนกิจกรรมทีจ่ ดั โดยหนวยงานราชการและเอกชน เชน วัด มหาวิทยาลัย มูลนิธิ สถาบันสงเสริมการศึกษาชนบท กรมประชาสงเคราะห เปนตน - รณรงคเรื่องการลดภาวะโลกรอน โดยยังคงสนับสนุนใหใชถุงผาแทนถุงพลาสติกอยางตอเนื่อง ซึ่งบริษัทไดผลิตถุงผาเพิ่ม เพื่อแจกใหลูกคา พนักงาน บุคคลทั่วไป และหนวยงานตางๆที่บริษัทติดตอประสานงาน เปนตน - จัดกิจกรรมแบงปนน้ําใจใหกับผูดอยโอกาสทางสังคม กับโครงการ “12 เดือน 12 กิจกรรม เพื่อสังคม” โดยการมอบเงิน ชวยเหลือ รวมทั้งสิ่งของเครื่องใชตางๆที่จาํ เปนตอการดํารงชีพใหกับมูลนิธิ และสถานสงเคราะหตางๆ ซึ่งบริษัทไดเชิญ ลูกคา และบุคคลทั่วไปเขารวมกิจกรรมดังกลาวดวย การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส คณะกรรมการบริษัทใหความสําคัญกับเรื่องการเปดเผยขอมูลที่โปรงใส ถูกตอง ครบถวน เนื่องจากเปนเรื่องที่มีผลกระทบ ตอการตัดสินใจของผูลงทุนและผูมีสวนไดเสีย บริษัทยึดถือและปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ ขอบังคับตางๆที่กาํ หนดโดย สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (กลต.) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และหนวยงานอื่นของ ภาครัฐ ในปที่ผานมา บริษัทเปดเผยขอมูลทางการเงินหรือขอมูลทั่วไปที่สําคัญที่อาจมีผลกระทบตอราคาหุน ผานระบบสื่ออิเล็กทรอนิกสของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยมีสาระสําคัญครบถวน เพียงพอ เชื่อถือได และทันเวลา งบการเงินที่ เปดเผยนั้น ไดผานการตรวจสอบและแสดงความเห็นแบบไมมีเงื่อนไขจากผูสอบบัญชีรับอนุญาตและผานคณะกรรมการตรวจสอบ กอนเปดเผยตอผูถือหุน จัดใหมีรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน ขอมูลเกี่ยวกับรายชื่อ อํานาจหนาที่ และการปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริหาร พรอมคาตอบแทน ประวัติการอบรมของกรรมการและผูบริหารแตละทานไวในรายงานประจําป ทั้งนี้ บริษัทไดแตงตั้ง นายเลิศมงคล วราเวณุชย เปนนักลงทุนสัมพันธ ทําหนาที่ติดตอสื่อสาร และใหขอมูลของบริษัทกับ นักลงทุน สถาบัน ผูถือหุน นักวิเคราะห และหนวยงานที่เกี่ยวของ โดยในปที่ผานมา ผูบริหารระดับสูง และนักลงทุนสัมพันธ ไดใหขอมูลขาวสารของบริษัทแกนักลงทุน นักวิเคราะหและผูที่เกี่ยวของ เมื่อมีผูเขาพบเพื่อขอสัมภาษณ มีการเสนอขาวใหผูถือหุน ทราบทางหนังสือพิมพ มีการสอบถามขอมูลทางโทรศัพท ซึ่งนักลงทุนสามารถติดตอไดที่ หมายเลขโทรศัพท 0-2937-1200 หรือ อีเมล : lertmongkol@rasa.co.th

26


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสรางคณะกรรมการ บริษัทมีกรรมการทั้งหมดจํานวน 9 ทาน เปนกรรมการอิสระ 4 ทาน โครงสรางกรรมการบริษัท ประกอบดวย คณะกรรมการ 3 ชุด คือ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมบริหาร ซึ่งมีการกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่ไวอยาง ชัดเจน รายละเอียดเกี่ยวกับ รายชื่อ และขอบเขตอํานาจหนาที่ อยูในหนา 18-21 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร บริษัทยังไมไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน เนื่องจากเปนองคกรที่มีขนาดเล็ก มีกรรมการ ผูบริหารและ พนักงาน รวมกันทั้งหมดประมาณ 45 คน คณะกรรมการบริษัทจึงทําหนาที่ในการพิจารณาคาตอบแทนของกรรมการ โดยพิจารณา จากการเปรียบเทียบกับระดับที่ปฏิบัติอยูในอุตสาหกรรมเดียวกัน ผลประกอบการของบริษัท และหนาที่ความรับผิดชอบของ กรรมการ ซึ่งการพิจารณากําหนดคาตอบแทนของกรรมการอยูในอํานาจอนุมัติของที่ประชุมผูถือหุน สวนคาตอบแทนผูบริหาร เปนไปตามหลักการและนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทกําหนด ซึ่งเชื่อมโยงกับผลการดําเนินงานของบริษัท และผลการปฏิบัติงาน ของผูบริหารแตละทาน ในป 2552 บริษัทจะจัดตั้งคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน เพื่อทําหนาที่พิจารณาหลักเกณฑในการจายคาตอบแทนของ กรรมการและผูบริหารระดับสูงเพื่อเสนอความเห็นตอคณะกรรมการ และเสนอขออนุมัติคาตอบแทนของกรรมการตอที่ประชุม ผูถือหุน ปจจุบันอยูระหวางการดําเนินการและพิจารณารายละเอียดตางๆที่เกี่ยวของกับการจัดตั้ง เชน กฎบัตร จํานวนและ คุณสมบัติกรรมการ เปนตน การแยกหรือรวมตําแหนง บริษัทมีการกําหนดและแยกอํานาจของคณะกรรมการบริษัท และกรรมการบริหารของบริษัทออกจากกันอยางชัดเจน เพื่อ ใหเกิดการถวงดุลและการสอบทานการบริหารงาน และโครงสรางคณะกรรมการของบริษัทประกอบดวย กรรมการที่ไมไดเปน ผูบริหารจํานวน 4 ทาน เพื่อใหการบริหารและจัดการบริษัทเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและโปรงใส อยางไรก็ดี การที่บริษัทกําหนดโครงสรางองคกรโดยมีรองศาตราจารยมานพ พงศทัต กรรมการบริษัท ดํารงตําแหนงเปนทั้ง ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหารนั้น บริษัทมีวัตถุประสงคเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการดําเนินการตามนโยบาย บริษัท และไมขัดแยงกับการกํากับดูแลกิจการในเรื่องการถวงดุลของคณะกรรมการ เนื่องจาก บริษัทไดกําหนดใหมีกรรมการ ตรวจสอบซึ่งดํารงตําแหนงโดยกรรมการทานอื่น เพื่อทําใหเกิดการถวงดุล ความโปรงใส และสอบทานการบริหารงาน การประเมินผลคณะกรรมการ ในป 2551 บริษัทจัดใหมีการประเมินผลงานคณะกรรมการตามแบบประเมินตามแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย โดยกรรมการทุกทานรวม 9 ทาน เปนผูประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการทั้งคณะโดยอิสระ ผลการประเมิน สวนใหญเห็นดวยกับโครงสรางและองคประกอบของคณะกรรมการวามีความเหมาะสม กรรมการอิสระมีจํานวนเหมาะสมชวย ใหการทําหนาที่โดยรวมมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการเขาใจบทบาทหนาที่ของตนเอง มีความสัมพันธที่ดีกับฝายจัดการและ สามารถหารือกับกรรมการผูจัดการไดอยางตรงไปตรงมา ซึ่งผลการประเมินนั้นคณะกรรมการบริษัทไดทําการวิเคราะห และหา ขอสรุปเพื่อกําหนดมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางานของคณะกรรมการตอไป การพัฒนากรรมการและผูบริหาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ บริษัทมีนโยบายสนับสนุนใหกรรมการ ผูบริหาร และผูปฏิบัติ ดานการกํากับดูแลกิจการของบริษัท เขารวมอบรมและสัมมนาในหลักสูตรที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติงานหนาที่ กับหนวยงาน หรือสถาบันตางๆ เชน สถาบันสงเสริมกรรมการบริษัทไทย (IOD) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียน ไทย ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อใหมีการปรับปรุงการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง และนําความรูมาพัฒนาใหเปนประโยชนกับบริษัทตอไป การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทมีกําหนดวันประชุมเปนการลวงหนาในแตละป โดยจะจัดเวลาประชุมใหสอดคลองกับกรรมการทุกทาน ใหมากที่สุด และแจงใหคณะกรรมการทราบตั้งแตตนป เพื่อใหกรรมการจัดเวลาเขารวมประชุม ซึ่งอาจมีการประชุมคณะกรรมการ เพิม่ เติมตามความเหมาะสม ในการประชุมแตละครัง้ มีการกําหนดวาระการประชุมทีช่ ดั เจน มีเอกสารประกอบการประชุมทีค่ รบถวน เพียงพอ และจัดสงใหกับคณะกรรมการลวงหนาอยางนอย 7 วัน เพื่อใหคณะกรรมการไดมีเวลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนเขา รวมประชุม และในระหวางการประชุม ประธานกรรมการจะจัดสรรเวลาในการประชุมอยางเพียงพอ และสงเสริมใหแสดงความ คิดเห็นอยางเปนอิสระ นอกจากนี้ ไดจัดใหมีการจดบันทึกรายงานการประชุมเปนลายลักษณอักษร มีเนื้อหาสาระครบถวน แลวเสร็จในเวลาที่เหมาะสม พรอมทั้งจัดเก็บรายงานและเอกสารประกอบอยางเปนระบบ พรอมใหคณะกรรมการและผูที่เกี่ยวของ ตรวจสอบ ในป 2551 บริษัทไดจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการบริษัท รวม 11 ครั้ง ดังรายละเอียดในหนา 24

27


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษัทฯ ไดกําหนดระเบียบบริษัทเกี่ยวกับการควบคุมมิใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานที่รับทราบขอมูลภายในนําขอมูล ภายในไปใชเพื่อประโยชนสวนตน โดยบริษัทมีนโยบายใหบุคคลที่เกี่ยวของดังกลาวปฏิบัติดังนี้ 1) บริษัทจะใหความรูแกกรรมการและผูบริหาร เพื่อใหรับทราบถึงหนาที่ในการรายงานการซื้อขายหลักทรัพยของตน คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ รวมถึงบทกําหนดโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และ ที่แกไขเพิ่มเติม และตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2) กรรมการ และผูบริหารมีหนาที่จัดทําและสงรายงานการถือหลักทรัพยของตน คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะตอ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย โดยตองรายงานดังนี้ - รายงานการถือหลักทรัพยครั้งแรก (แบบ 59-1) ภายใน 30 วันนับแตวันปดการเสนอขายหลักทรัพยตอประชาชน หรือ วันที่ไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงกรรมการหรือผูบริหาร - รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย (แบบ 59-2) อันเนื่องมาจากการซื้อ ขาย โอนหรือรับโอนหลักทรัพย ทั้งนี้ ภายใน 3 วันทําการนับตั้งแตมีการซื้อ ขาย โอนหรือรับโอนหลักทรัพยนั้น และใหสงสําเนารายงานการถือหลักทรัพย ดังกลาวใหแกบริษัทภายในวันที่สงรายงานดังกลาวใหแกสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 3) ประกาศใหทราบทั่วกันวา กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานที่รับทราบขอมูลภายในที่มีนัยสําคัญที่อาจสงผลตอการเปลี่ยนแปลง ของราคาซื้อขายหลักทรัพย จะตองระงับการซื้อหรือขายหลักทรัพยของบริษัท ในชวง 1 เดือนกอนที่บริษัทจะมี การประกาศ ผลการดําเนินงาน (กําหนดเวลาในการประกาศผลการดําเนินงาน คือ 45 วันนับจากวันสิ้นไตรมาส และ 60 วัน นับจากวัน สิ้นงวดบัญชี) หรือขอมูลภายในนั้นจะเปดเผยตอสาธารณชน บริษัทมีมาตรการลงโทษหากพบวากรรมการหรือผูบริหารฝาฝนนโยบายบริษัท และทําใหบริษัทไดรับความเสื่อมเสียหรือ เสียหาย และบริษัทจะประสานงานกับหนวยงานกํากับดูแลที่เกี่ยวของเพื่อดําเนินการตามกฎหมายตอไป ทั้งนี้ มาตรการลงโทษจะขึ้นกับลักษณะแหงความผิด หรือความหนักเบาของการกระทําผิด หรือความรายแรงที่เกิดขึ้น เชน การตักเตือนดวยวาจา การตักเตือนเปนลายลักษณอักษร การพักงาน เปนตน การควบคุมภายใน การควบคุมภายในของบริษัท บริษัททําการวาจางบริษัท สํานักงานบัญชีและที่ปรึกษาสมารท แอสเซท จํากัด เพื่อทําหนาที่ สอบทานและใหคําแนะนําแกฝายตางๆเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่เหมาะสม ซึ่งสรุปผลรายงานการประเมินความเพียงพอระบบ ควบคุมภายใน ประจําป 2551 พบวาบริษัทมี คูมือระบบงานตาง ๆ และคูมือมีการกําหนดขั้นตอนการทํางานในรูปแบบคําอธิบาย และกําหนดจุดควบคุมภายในอยางเพียงพอ โดยสวนใหญมีระบบการควบคุมภายในที่มีสาระสําคัญอยางเพียงพอ เนื่องจากองคกร ยังมีปริมาณธุรกิจโครงการที่พัฒนาจํานวนไมมากนัก ทําใหการจัดโครงสรางองคกรมีสายการบังคับบัญชายังไมซับซอน และระบบ การทํางานใชโปรแกรมสําเร็จรูป ทั้งนี้ บริษัทไดวาจางผูใหบริการโปรแกรมสําเร็จรูปทําการพัฒนาโปรแกรมเพิ่มเติม สําหรับการ สนับสนุนดานการจัดทํารายงาน และทะเบียนคุม เพื่อลดการทํางานโดยใชระบบ Manual ปจจุบันอยูระหวางดําเนินการ ในการประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 7/2551 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2551 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบ 3 ทานเขารวม ประชุมดวย คณะกรรมการบริษัทไดรวมกันประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัท โดยพิจารณาจากรายงานของผูตรวจสอบ ภายในอิสระ คือ บริษัทสํานักงานบัญชีและที่ปรึกษาสมารท แอสเซท จํากัด แลวสรุปไดวาจากการประเมินระบบการควบคุมภายใน ของบริษัทในดานตางๆ 5 ดาน คือ 1. องคกรและสภาพแวดลอม 2. การบริหารความเสี่ยง 3. การควบคุมการปฏิบัติของฝายบริหาร 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล 5. ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นวาบริษัทมีระบบการควบคุมภายในในเรื่องการทําธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหาร หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาวอยางเหมาะสมเพียงพอแลว

นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทฯมีนโยบายจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนในอัตราไมนอยกวารอยละ 40 ของกําไรสุทธิภายหลังหักภาษีเงินไดนิติบุคคล เงินสํารองตามกฎหมาย และเงินสํารองอื่นๆ ทั้งนี้ การจายเงินปนผลดังกลาวอาจเปลี่ยนแปลงได ขึ้นอยูกับผลประกอบการ แผนการขยายธุรกิจ สภาพคลอง ความจําเปน และความเหมาะสมอื่นๆในอนาคต โดยบริษัทจะใหอํานาจคณะกรรมการของบริษัท ในการพิจารณา ซึ่งการดําเนินการดังกลาวจะตองกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูถือหุน

28


29

อายุ (ป)

67

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

1. รองศาตราจารย มานพ พงศทัต - ประธานกรรมการ - ประธานกรรมการบริหาร

หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวมเอกชน (ปรอ.) รุนที่ 8 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ

- DCP รุนที่ 10/2547

- The Role of The Chairman Program รุนที่ 17/2007

- DAP รุนที่ 8/2547

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

สถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Master of Architecture, Kansas State University, USA.

Certificate In Developing Planning, University College London, England.

Master of Regional Planning, Institute of Social Studies, The Netherlands.

คุณวุฒิการศึกษา 2.50

-

ปจจุบัน

กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ

กรรมการ

ใหเชาอสังหาริมทรัพย บริการอื่น

สถาบันศึกษา

พัฒนาอสังหาริมทรัพยดาน ที่อยูอาศัย

บริษัท ธนาคารเกียรตินาคิน จํากัด (มหาชน)

ใหกูยมื เงิน (เงินทุน)

บริษัท กรุงเทพธนาคม จํากัด ใหบริการที่ปรึกษาดาน วิศวกรรมและสิ่งแวดลอม ใหบริการดําเนินการเก็บขน และกําจัดมูลฝอยติดเชื้อ ดานอสังหาริมทรัพย

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จํากัด (มหาชน)

2548 – ปจจุบัน กรรมการ/ กรรมการตรวจสอบ ปจจุบัน

คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

อาจารยผูทรงคุณวุฒิ

ปจจุบัน

2547 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ / บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ประธานกรรมการบริหาร ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน)

สัดสวนการ ความสัมพันธทาง ประสบการณการทํางานในระยะ 5 ป (2547 ถึง ปจจุบัน) ถือหุน ครอบครัวระหวาง (%) กรรมการ/ผูบ ริหาร1 ชวงเวลา ตําแหนง บริษัท/หนวยงาน ประเภทธุรกิจ

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารของบริษัท

ประวัติโดยยอของคณะกรรมการและผูบริหารของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551


3. นายปญจะ เสนาดิสัย - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ

60

-

ประธานกรรมการ

กรรมการ / บมจ. ทรีนีตี้ วัฒนา กรรมการตรวจสอบและ ประธานกรรมการ พิจารณาผลตอบแทนฯ

2547 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน

- ACP ป 2004

บมจ. เดวา พร็อพเพอรตี้

ธนาคารออมสิน

กรรมการ / กรรมการบริหารและ กรรมการพิจารณา ผลตอบแทนฯ

บมจ. ไพลอน

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

2549 - ปจจุบัน

กรรมการ / ประธาน กรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

- DCP รุนที่ 20/2545

2547 – ปจจุบัน

บริษัท ไขทัศน ดีเวลลอปเมนท จํากัด

2522 – ปจจุบนั กรรมการ

2548 - ปจจุบัน

1.50

บริษัท หงษแสงไทย จํากัด

2530 – ปจจุบัน กรรมการผูจัดการ

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

Master of Business Administration (MBA), Suffolk University, USA

- ACP ป 2007

ถือหุนลงทุนในบริษัทตางๆ ดําเนินธุรกิจหลักทรัพย และดานที่ปรึกษา ทางการเงิน

พัฒนาอสังหาริมทรัพยดาน ที่อยูอาศัย

ใหบริการทางการเงิน

รับเหมากอสรางงาน ฐานราก

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย

โรงสีขาว ใหเชา อสังหาริมทรัพย

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย

บริษัท เทพประสิทธิ์การโยธา จํากัด

2531 – ปจจุบัน กรรมการ

- DCP รุนที่ 53/2548

เคมีเกษตร

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

บริษัท แอล เอ โฮลดิ้งส จํากัด ใหเชาหองชุด

2547 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ/ประธาน บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ กรรมการตรวจสอบ ดีเวลลอปเมนท

2540 – ปจจุบนั กรรมการ

-

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

0.12 2541 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ/ประธาน บมจ. พาโกเคมีอุตสาหกรรม คณะกรรมการตรวจสอบ จํากัด

เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, North Dakota State University, USA

2. นายเลิศชัย ลีลายนกุล 70 - กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการตรวจสอบ

สัดสวนการ ความสัมพันธทาง ประสบการณการทํางานในระยะ 5 ป (2547 ถึง ปจจุบัน) ถือหุน ครอบครัวระหวาง (%) กรรมการ/ผูบ ริหาร1 ชวงเวลา ตําแหนง บริษัท/หนวยงาน ประเภทธุรกิจ

เศรษฐศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

คุณวุฒิการศึกษา

อายุ (ป)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

30


31

61

อายุ (ป)

5. นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน 47 - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการผูจัดการ

4. นางสุดจิต ทิวารี - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวมเอกชน (ปรอ.) รุนที่ 19 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ

- DAP รุนที่ 56/2006 - RCC รุนที่ 5/2008

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

- ACP รุนที่ 5/2548

- DAP รุนที่ 34/2548

- DCP รุนที่ 31/2546

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร Master of Business Administration (MBA), Fresno State University

บัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คุณวุฒิการศึกษา

22.00

-

-

-

บมจ. สยามแกส แอนด ปโตรเคมีคัลส บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

2549 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ 2547 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

2539 – ปจจุบัน เจาของกิจการ (Distributor Carte Blanche Owner)

2547 – ปจจุบัน กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการผูจัดการ

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย บริษัท การด แอนด ทิงส จํากัด ขายสินคาทั่วไป

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

บริษัท ยูไนเต็ด แฟคตอริ่ง (1993) จํากัด

2539 – ปจจุบัน กรรมการบริหาร

ธุรกิจแฟคตอริ่ง

บมจ. ซี.วี.ดี.เอนเทอรเทนเมนท บันเทิงและ สันทนาการ

2542 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการ ตรวจสอบ

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

ประกอบกิจการซื้อ ขาย แกสปโตรเลียมเหลวทุกชนิด

บริษัท เครดิตฟองซิเอร ลินน เครดิตฟองซิเอร ฟลลิปส มอทเก็จ จํากัด

2551 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

ประกอบกิจการซื้อ ขาย แกสปโตรเลียมเหลวทุกชนิด

บมจ. ยูนิคแกส แอนด ปโตรเคมีคัลส

2551 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

สัดสวนการ ความสัมพันธทาง ประสบการณการทํางานในระยะ 5 ป (2547 ถึง ปจจุบัน) ถือหุน ครอบครัวระหวาง (%) กรรมการ/ผูบ ริหาร1 ชวงเวลา ตําแหนง บริษัท/หนวยงาน ประเภทธุรกิจ

Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551


อายุ (ป)

32

57

63

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

6. นายรพิ พินิจชอบ - กรรมการ - กรรมการบริหาร - รองกรรมการผูจัดการ

7. นางสาวสุมิดา พันธุกระวี - กรรมการอิสระ

8. นายโกวิท ไววัฒนา - กรรมการ - กรรมการบริหาร - ที่ปรึกษาดานวิศวกรรม และการกอสราง

หลักสูตร DAP รุนที่ 56/2006 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย

สามัญวิศวกรโยธา 2431

Bachelor of Science in Civil Engineer, Mapu’a Institute of technology, Philippines

หลักสูตร DAP รุนที่ 56/2006 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทย

ปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยราชภัฎ สุราษฎรธานี

Secretarial College, England

ประกาศนียบัตร, Frank Field

O’Level & A’ Level , Notre Dame Convent, England

- DCP รุนที่ 85/2007

- DAP รุนที่ 56/2006

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

Bachelor Degree, Boston University School of Management, USA

MSc. Administration (Financial Economics), Boston University Metropolitan College, USA

คุณวุฒิการศึกษา

0.01

0.05

37.18

-

-

-

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

บริษัท เดย สตาร จํากัด

ผูจัดการกองขาย ภาครัฐบาล

2547 - 2549

กรรมการ / กรรมการบริหาร/ ผูชวยกรรมการผูจัดการ

2550 - ปจจุบัน กรรมการ / กรรมการบริหาร / ที่ปรึกษา

2520 – 2548

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

บมจ. การบินไทย

2548 – ปจจุบัน ผูจัดการกองกิจสัมพันธ บมจ. การบินไทย ธุรกิจการบิน

2547 – ปจจุบัน กรรมการ

2541 – ปจจุบัน กรรมการ

บริษัท เดยสตาร เอเชียฟนด คอรปอเรชั่น จํากัด

2544 – ปจจุบัน กรรมการ

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

คมนาคมขนสง

คมนาคมขนสง

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

โรงแรม รีสอรท

ลงทุนในกิจการ

บริษัท รสา ฮอสพิทัลลิตี้ จํากัด ใหคําปรึกษาดานโรงแรม รีสอรท

2549 – ปจจุบัน กรรมการ

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

บริษัท เดยสตาร กระบี่ จํากัด โรงแรม รีสอรท

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

2551 – ปจจุบัน กรรมการ

2550 – ปจจุบัน กรรมการ / กรรมการบริหาร / รองกรรมการผูจัดการ

สัดสวนการ ความสัมพันธทาง ประสบการณการทํางานในระยะ 5 ป (2547 ถึง ปจจุบัน) ถือหุน ครอบครัวระหวาง (%) กรรมการ/ผูบ ริหาร1 ชวงเวลา ตําแหนง บริษัท/หนวยงาน ประเภทธุรกิจ

RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

32


อายุ (ป)

38

43

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

9. นายเลิศมงคล วราเวณุชย - กรรมการ - กรรมการบริหาร - ผูชวยกรรมการผูจัดการ

33

10. นางศิริลักษณ จรูญรัตนสกุล - ผูจัดการฝายบริหารทั่วไป

- EMT รุนที่ 5/2006

- CSP รุนที่ 19/2006

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการเงินการธนาคาร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

- EMT รุนที่ 5/2006

- CSP รุนที่ 19/2006

- Finance for Non Finance Director รุนที่ 32/2006

- Understanding the Fundamental of Financial Statement รุนที่ 3/2006

- CSR รุนที่ 25 Oct 2007

- DCP รุนที่ 86/2007

- DAP รุนที่ 56/2006

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

เคหะพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เศรษฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คุณวุฒิการศึกษา

0.03

0.95

-

-

ผูจัดการสวนอาวุโส ฝายบริหารสินทรัพย สมาคมอสังหาริมทรัพยไทย

บมจ. ธนาคารไทยธนาคาร

2547 – ปจจุบัน ผูจัดการฝายบริหารทั่วไป บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

2550 - ปจจุบัน กรรมการบริหาร

2546

2546 – ปจจุบัน กรรมการ / บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ กรรมการบริหาร / ดีเวลลอปเมนท ผูชวยกรรมการผูจัดการ

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

สมาคม

ใหบริการทางการเงิน

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

สัดสวนการ ความสัมพันธทาง ประสบการณการทํางานในระยะ 5 ป (2547 ถึง ปจจุบัน) ถือหุน ครอบครัวระหวาง (%) กรรมการ/ผูบ ริหาร1 ชวงเวลา ตําแหนง บริษัท/หนวยงาน ประเภทธุรกิจ

Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551


44

11. นางณัฐยา นวราช - ผูจัดการฝายบัญชีและ การเงิน

36

40

13. นายสยาม อเดโช - วิศวกรโครงการ

14. นายบูรณินท ทองสุวรรณ - วิศวกรโครงการ

12. นางสาวนันทรัตน โกวิทคณิต 32 - ผูจัดการฝายการตลาดและ การขาย

อายุ (ป)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาโยธา มหาวิทยาลัยเชียงใหม

บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการงาน กอสราง) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ปวส. กอสราง วิทยาลัยเทคนิค ราชสิทธาราม

Civil Engineering (BSCE) University of Northern Phillipines, Phillipines

ปริญญาบัญฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ปริญญามหาบัญฑิต คณะพาณิชยศาสตร และการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บัญชีบัญฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง

คุณวุฒิการศึกษา

-

0.02

-

0.03

-

-

-

-

วิศวกรสนาม

2546 – ปจจุบัน วิศวกรโครงการ

2539 – 2547

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

บริษัท โปรเกรสซิพ ดีเวลลอปเมนท แอนด คอลซัลแทนท จํากัด

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

เจาหนาที่บริหารโครงการ บริษัท ที เอ็น อินฟอรเมชั่น ฝายบริหารโครงการ ซิสเท็ม จํากัด (มหาชน)

2547 – ปจจุบัน วิศวกรโครงการ

2546

2546 – ปจจุบัน ผูจัดการฝายการตลาด และการขาย

2539 – ปจจุบัน ผูจัดการฝายบัญชี และการเงิน

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

ที่ปรึกษาวิศวกรรม

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

จําหนาย และใหบริการ ดานคอมพิวเตอร และโปรแกรมคอมพิวเตอร

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

สัดสวนการ ความสัมพันธทาง ประสบการณการทํางานในระยะ 5 ป (2547 ถึง ปจจุบัน) ถือหุน ครอบครัวระหวาง (%) กรรมการ/ผูบ ริหาร1 ชวงเวลา ตําแหนง บริษัท/หนวยงาน ประเภทธุรกิจ

RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

34


35

ลักษณะความสัมพันธ

2. นายโกวิท ไววัฒนา

25,000,000.00

- เงินกูยืมของบริษัท ที่เกี่ยวของ

1,400,000.00

1,051,320.00

มูลคารายการ (บาท)

- คาใชจายเชาพื้นที่ อาคารสํานักงาน

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

กรรมการและผูถือหุนของบริษัท คาที่ปรึกษาดานวิศวกรรม

1. บริษัท รสา ทาวเวอร จํากัด ผูถือหุนรายใหญ กรรมการผูมี (ผูประกอบการธุรกิจใหเชา อํานาจลงนามและผูบริหาร อาคารสํานักงาน) ของบริษัทคือ นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน และนายรพิ พินิจชอบ เปนผูถือหุนของ บริษัท รสา ทาวเวอร จํากัด (สัดสวนการถือหุนรวมบุคคล ตามมาตรา 258 คิดเปน รอยละ 20 และ79.96 ตามลําดับ)

บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง

1. รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง

ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2550 บริษัทไดวาจางนายโกวิท ไววัฒนา เปนที่ปรึกษาดาน วิศวกรรมและการกอสราง สําหรับป 2551 ตั้งแต วันที่ 1 มกราคม 2551 ถึง 31 ธันวาคม 2551 เนื่องจากปจจุบันนายโกวิท ไววัฒนา ครบกําหนดเกษียณอายุการ ทํางานตามระเบียบของบริษัทแลว แตบริษัทเห็นวา นายโกวิท ไววัฒนา เปนบุคคลที่ มีความรูความสามารถและประสบการณที่ยาวนาน ความสมเหตุสมผลของรายการ : คณะกรรมการบริษัทไดมีมติใหความเห็นชอบ

- บริษัทไดทําสัญญาเชาพื้นที่อาคารสํานักงานกับบริษัท รสา ทาวเวอร จํากัด โดยป 2551 คิดอัตราคาเชาพื้นที่ 430 ตารางเมตร ราคา 63,000.- บาทและคาใหบริการ 23,000.- บาทตอเดือน รวมเปนอัตรา 86,000.- บาทตอเดือน (ยังไมรวมภาษี มูลคาเพิ่ม) - บริษัทตองการสํารองเงินทุนเพื่อใชเปนเงินทุนในการกอสรางและการดําเนินงานของ โครงการตางๆเพิ่มเติมจากวงเงินกูที่ไดรับจากธนาคาร จํานวน 30 ลานบาท อัตรา ดอกเบี้ยใชเงินฝากประจํา (บุคคล) SCIB 1ป + 3.75% ความสมเหตุสมผลของรายการ : คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติรายการดังกลาว โดยคณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาแลววารายการนี้เปนรายการที่เหมาะสม เนื่องจาก ทําเลที่ตั้งของอาคารสํานักงานอยูในทําเลที่สะดวกตอการติดตอธุรกิจ โดย คิดราคาคาเชาสํานักงานในอัตราเดียวกับลูกคาโดยทั่วไปในอัตรา เดือนละ 146.50 บาทตอตารางเมตร แตคิดอัตราคาใหบริการในอัตราต่ํากวาลูกคาโดยทั่วไป ซึ่งบริษัท ไดประโยชนจากคาใชจายดังกลาว และการกูยืมเงินจากบริษัท รสา ทาวเวอร จํากัด นั้นมีมติเปนเอกฉันทใหบริษัทไดรับความชวยเหลือทางการเงินดังกลาวเพื่อใชในการ บริหารสภาพคลอง อัตราดอกเบี้ยไมสูงกวาอัตราที่บริษัทกูยืมจากสถาบันการเงิน และไมตองใชหลักทรัพยค้ําประกัน ดังนั้นบริษัทจึงไมเสียประโยชน

ความจําเปน/รายละเอียด และความสมเหตุสมผลของรายการ

ในป 2551 บริษัทฯ มีรายการธุรกิจที่สําคัญกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน กรรมการและบุคคลที่เกี่ยวของกัน รายการธุรกิจดังกลาวเปนไปตามเงื่อนไขทางการคาและเกณฑตามที่ตกลงรวมกันระหวางบริษัทฯ และบริษัทเหลานั้นซึ่งเปนไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได ดังนี้

รายการระหวางกัน

Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551


4. นายปราการ โกวิทคณิต

นายธนพัฒน สุวรรณสรางค กรรมการของบริษัท สยามไพรม เอสเตท จํากัด

3. บริษัท สยามไพรม เอสเตท จํากัด 1,046,400.00

- คาบริหารโครงการ

2,517,900.00

46,210,500.00

มูลคารายการ (บาท)

- เงินลงทุนเริ่มแรก

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

บิดาของผูจัดการฝายการตลาด สัญญาจะซื้อจะขาย (คุณนันทรัตน โกวิทคณิต) หองชุด ของบริษัท

เปนคูสมรสของบุตรี ประธานกรรมการ และ

ลักษณะความสัมพันธ

บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง

จํานวนเงิน 381,500.- บาท และ บริษัท สยามไพรม เอสเตท จํานวนเงิน 87,200.- บาท

เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2550 บริษัทขายหองชุดโครงการ อินโทร คอนโดมิเนียม ใหกับนายปราการ โกวิทคณิต ขนาด 38.50 ตารางเมตร มูลคา 2,517,900.- บาท หรือคิดเปนราคา 65,400.- บาทตอตารางเมตร เมื่อเปรียบเทียบกับราคาซื้อขายกับ ลูกคาภายนอกทั่วไปที่ซื้อหองชุดในชั้นและชวงเวลาเดียวกัน พบวารายการขายให กับนายปราการ โกวิทคณิตไมแตกตางกัน ความสมเหตุสมผลของรายการ : คณะกรรมการบริษัทไดมีมติใหความเห็นชอบ รายการดังกลาว โดยคณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาแลววารายการนี้เปน รายการที่มีความเหมาะสม เนื่องจากเห็นวากรณีดังกลาวเปนรายการซื้อขาย ที่ถือปฎิบัติเชนเดียวกับลูกคาภายนอกทั่วไป

ความสมเหตุสมผลของรายการ : คณะกรรมการบริษัทไดรวมพิจารณาใหความเห็น ตอสัญญารวมทุน โครงการซื้อที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการกับบุคคลที่เกี่ยงโยงกัน (นาย ธนพัฒน สุวรณสรางค เปนคูสมรสของบุตรีของประธานกรรมการบริษัท) ซึ่งมีมติ เปนเอกฉันทใหความเห็นชอบในการทําสัญญารวมทุน โดยคณะกรรมการตรวจสอบ ไดพิจารณาแลวเห็นวารายการนี้เปนรายการที่มีความเหมาะสม

เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2550 บริษัทเขาทําสัญญารวมลงทุนกับบริษัท สยามไพรม เอสเตท โดยนายนรินทร สุวรรณสรางค และนายธนพัฒน สุวรรณสรางค (ซึ่งเปนบุคคลที่เกี่ยวโยง คือ นายธนพัฒน เปนคูสมรสของบุตรีของ รศ.มานพ พงศทัต ประธานกรรมการบริษัท) เปนกรรมการ ทั้งสองฝายประสงค ที่จะรวมลงทุนเพื่อพัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัย และพื้นที่พาณิชยกรรม โดยสัดสวนการลงทุน บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท และบริษัท สยามไพรม เอสเตท ผูบริหารของบริษัท ลงทุน 70:30 ตามลําดับ และแบงผลประโยชนตาม สัดสวนการลงทุนในการดําเนินโครงการใหทั้งสองฝายไดรับเงินคาใชจายในการ บริหารงานภายในองคกรอันเกี่ยวเนื่องกับการดําเนินโครงการเปนรายเดือนจนกวา สัญญาจะสิ้นสุดลง โดยคาใชจายในอัตรา ดังนี้ บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

รายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยคณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาแลววารายการนี้เปน รายการที่มีความเหมาะสมสําหรับการวาจางนายโกวิท ไววัฒนา เปนที่ปรึกษาดาน วิศวกรรมและการกอสราง สําหรับป 2551 เนื่องจากเห็นวานายโกวิท มีความพรอม และเปนบุคคลที่มีความรูความสามารถและมีประสบการณที่ยาวนาน ประกอบกับ อัตราคาจางเปนอัตราที่เหมาะสม

ความจําเปน/รายละเอียด และความสมเหตุสมผลของรายการ

RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

36


37 ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

สัญญาจะซื้อจะขายหองชุด 2,565,640.00

วิศวกรโครงการ

7. นายสยาม อเดโช

3,377,180.00

1,332,503.10

มูลคารายการ (บาท)

สัญญาจะซื้อจะขาย หองชุด

กรรมการบริษัท รายาวดี (44) รายการจัดซื้อและ จํากัด เปนญาติสนิท (ภรรยา) ติดตั้งชุดครัว ของนายปญจะ เสนาดิสัย

ลักษณะความสัมพันธ

6. นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน กรรมการผูจัดการบริษัท

5. บริษัท รายาวดี(44) จํากัด

บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง

เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2551 บริษัทไดขายหองชุดโครงการ เดอะ ไลทเฮาสใหกับ นายสยาม อเดโช ขนาดพื้นที่ 34 ตารางเมตร มูลคา 2,565,640.- บาท หรือ คิดเปน 75,460 บาทตอตารางเมตร ซึ่งเปนราคาขายสุทธิโดยไมใชสวัสดิการ พนักงาน ซึ่งเปนราคาที่ซื้อขายเชนเดียวกับลูกคาโดยทั่วไป ความสมเหตุสมผลของรายการ : คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติรายการดังกลาว โดยคณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาแลววาเปนรายการที่เหมาะสม เนื่องจากเห็นวาเปนการขายหองชุดของโครงการปกติโดยไมไดรับสวนลดอื่นๆ

เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2551 บริษัทขายหองชุดโครงการ อินโทร คอนโดมิเนียม ใหกับนางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน ขนาด 46.32 ตารางเมตร มูลคา 3,377,180.- บาท หรือคิดเปนราคา 72,910.- บาทตอตารางเมตร เมื่อเปรียบเทียบ กับราคาซื้อขายกับลูกคาภายนอกทั่วไปที่ซื้อหองชุดในชั้นและชวงเวลาเดียวกัน พบวารายการขายใหกับนางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวันไมแตกตางกัน ความสมเหตุสมผลของรายการ : คณะกรรมการบริษัทไดมีมติใหความเห็นชอบ รายการดังกลาว โดยคณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาแลววารายการนี้เปน รายการที่มีความเหมาะสม เนื่องจากเห็นวากรณีดังกลาวเปนรายการซื้อขายที่ถือ ปฎิบัติเชนเดียวกับลูกคาภายนอกทั่วไป (นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน ไดใช สวัสดิการในการซื้ออาคารชุดไปแลว 1 หอง ตอมาจึงไมสามารถใชสิทธิไดอีก)

บริษัท รายาวดี(44) จํากัด โดยนางรัตนาวดี เสนาดิสัย เปนกรรมการผูมีอํานาจ ของบริษัท และมีความสัมพันธเปนบุคคลที่เกี่ยวของ ในฐานะญาติสนิท (ภรรยา) ของนายปญจะ เสนาดิสัย กรรมการตรวจสอบ ซึ่งบริษัทดังกลาวเปนผูผลิตและ ติดตั้งชุดครัว โครงการ รสา สแปนิช คอรทยารด มูลคา 0.77 ลานบาท โครงการรสา พารคเลน มูลคา 0.13 ลานบาท โครงการ อินโทร คอนโดมิเนียม มูลคา 0.28 ลานบาทและโครงการ เดอะ ไลทเฮาส มูลคา 0.15 ลานบาท ความสมเหตุสมผลของรายการ : คณะกรรมการบริษัทไดมีมติใหความเห็นชอบ รายการดังกลาว โดยคณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาแลววารายการนี้เปน รายการที่มีความเหมาะสม เนื่องจากเห็นวากรณีดังกลาวเปนรายการซื้อขายสินคา ปกติที่ถือปฎิบัติเชนเดียวกับผูขายรายอื่นทั่วไป

ความจําเปน/รายละเอียด และความสมเหตุสมผลของรายการ

Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

2. ความจําเปน และความสมเหตุสมผลของการทํารายการระหวางกัน การทํารายการระหวางกันตามตาราง 1. มีความสมเหตุสมผลและความจําเปน เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอบริษัท โดยคณะ กรรมการตรวจสอบไดพิจารณารายการระหวางกันในป 2551 และใหความเห็นวา รายการระหวางกันที่เกิดขึ้นดังกลาวมีความสมเหตุ สมผล ซึ่งมีราคาและเงื่อนไขที่เปนธรรม และไมกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน 3. นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต ในอนาคต หากมีรายการระหวางกันของบริษัทเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัดแยง ทางผลประโยชนในอนาคต บริษัทจะดําเนินการตามขั้นตอนที่กําหนดไวขางตน โดยบริษัทไดกําหนดแนวทางการปฏิบัติของการทํารายการ ในอนาคตไวดังนี้ กรณีเปนรายการคาปกติและมีเงื่อนไขการคาทั่วไป หากบริษัทมีการทํารายการในลักษณะนี้กับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงฝาย จัดการสามารถดําเนินการได ภายใตขอบเขตที่คณะกรรมการอนุมัติไว โดยผูอนุมัติหรือผูรับชวงในการอนุมัติจะตองเปนบุคคลที่ไมมีสวน ไดเสียกับรายการดังกลาว นอกจากนี้บริษัทจะตองดําเนินการใหมีการเสนอรายละเอียดของการทํารายการดังกลาวตอคณะกรรมการตรวจ สอบเพื่อการสอบทานหรือตรวจสอบไดอยางนอยไตรมาสละ 1 ครั้ง ทั้งนี้หลักเกณฑการพิจารณาเงื่อนไขการคาทั่วไป เปนไปตามเกณฑ รายการที่เกี่ยวโยงกันของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คือ รายการที่มีราคาเปนธรรมและไมกอใหเกิดความขัดแยง ซึ่งมีลักษณะดังนี้ 1) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัทไดรับ/ใหกับบุคคลทั่วไป 2) ราคาและเงื่อนไขที่บุคคลที่เกี่ยวโยงกันใหกับบุคคลทั่วไป 3) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัทสามารถแสดงไดวาผูประกอบธุรกิจรายอื่นๆไดปฏิบัติในลักษณะเดียวกันกับบุคคลทั่วไป ทั้งนี้การซื้อที่ดินเพื่อมาพัฒนาโครงการของบริษัทซึ่งเปนรายการปกติแมวาจะมีเงื่อนไขการคาทั่วไปทั้งในกรณีที่ทํารายการ กับบุคคลทั่วไปและทํารายการกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง บริษัทกําหนดใหฝายจัดการไมสามารถดําเนินการอนุมัติได แตกําหนดให คณะกรรมการบริษัทเปนผูอนุมัติการทํารายการโดยผูมีสว นไดเสียตองงดออกเสียง กรณี ร ายการระหว า งกั น ในกรณี อื่ น บริ ษั ทจะต อ งดํ า เนิ น การให ค ณะกรรมการตรวจสอบให ค วามเห็ น ชอบเกี่ ยวกั บ ความ เหมาะสมของรายการดังกลาวกอนการอนุมัติการทํารายการในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไมมีความชํานาญในการพิจารณารายการ ระหวางกันที่เกิดขึ้น บริษัทจะจัดใหมีบุคคลที่มีความรู ความชํานาญพิเศษ เชน ผูสอบบัญชีหรือผูประเมินราคาทรัพยสินที่มีความเปน อิสระ เปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับรายการระหวางกัน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบหรือบุคคลที่มีความรูความชํานาญพิเศษ จะถูกนําไปใชประกอบการอนุมัติของคณะกรรมการบริษัทหรือผูถือหุนแลวแตกรณี

38


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

คําอธิบายและวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ในป 2551 บริษัทมีโครงการที่อยูในระหวางการพัฒนาจํานวน 4 โครงการ แบงเปนโครงการบานเดี่ยวจํานวน 2 โครงการ โครงการอาคารชุดพักอาศัยจํานวน 2 โครงการ ซึ่งโครงการบานเดี่ยวของบริษัทตั้งอยูที่ ซอยมัยลาภ ชื่อโครงการ รสา สแปนิช คอรทยารด มีมูลคาขายประมาณ 870 ลานบาท และที่ถนนวัชรพล ชื่อโครงการ รสา พารคเลน มีมูลคาขายประมาณ 650 ลานบาท ณ สิ้นป 2551 โครงการบานเดี่ยวดังกลาวมีการทําสัญญาจะซื้อจะขายแลวจํานวน 66.12 % และ 9.38 % ของจํานวนหนวยทั้งหมด ตามลําดับ สวน โครงการอาคารชุดพักอาศัยจํานวน 2 โครงการ ตั้งอยูที่ถนนเจริญนคร ชื่อโครงการ The LightHouse มีมูลคาขายประมาณ 1,500 ลานบาท ณ สิ้นป 2551 มีการทําสัญญาจะซื้อจะขายแลวจํานวน 27.80 % ของจํานวนหนวยทั้งหมด และอีกหนึ่งโครงการตั้งอยูที่ถนน ประดิพัทธ ชื่อโครงการ Intro มีมูลคาขายประมาณ 1,450 ลานบาท โดย ณ สิ้นป มีการทําสัญญาจะซื้อจะขายแลวจํานวน 34.34 % ของ จํานวนหนวยทั้งหมด ผลการดําเนินงาน • รายได ในป 2551 บริษัทมีรายไดจากการขายรวมทั้งสิ้น 272.61 ลานบาท ซึ่งลดลงจากปกอนจํานวน 193.89 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 41.56 การลดลงของรายไดจากการขายรวมสงผลใหกําไรสุทธิลดลงจาก 30.53 ลานบาท เหลือ 5.52 ลานบาท ในป 2551 สาเหตุเนือ่ งมาจากรายไดจากการขายหนวยในอาคารชุดของบริษทั ลดลง จํานวน 204.16 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 97.19 เนือ่ งจากโครงการอาคารชุดทีบ่ ริษทั ไดเปดขายใหมจาํ นวน 2 โครงการยังไมสามารถรับรูร ายได ไดตามเกณฑการรับรู และถึงแมบริษัทจะมีรายไดจากการขายบานพรอมที่ดินเพิ่มขึ้นจากปกอนจํานวน 10.27 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 38.84 รายไดจากการขายรวมของบริษัทก็ยังคงลดลงตามจํานวนดังกลาวขางตน • คาใชจาย ในป 2551 บริษัทมีคาใชจายรวม จํานวน 268.99 ลานบาท ซึ่งลดลงจากป 2550 จํานวน 179.29 ลานบาท ประกอบดวยตนทุนขาย จํานวน 191.87 ลานบาท ซึ่งลดลงจากปกอนจํานวน 175.58 ลานบาท คาใชจายในการขาย และบริหาร จํานวน 72.46 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปกอนจํานวน 4.53 ลานบาท คาใชจายทางการเงิน จํานวน 3.92 ลานบาทซึ่งเพิ่มขึ้นจากปกอนจํานวน 2.32 ลานบาท และภาษีเงินไดนิติบุคคลจํานวน 0.74 ลานบาท ซึ่งลดลง จากปกอนจํานวน10.56 ลานบาท การลดลงของคาใชจายรวม สวนหนึ่งใหญเกิดจากการลดลงของรายไดรวม ทําใหตนทุนขายรวมลดลงตาม • กําไร (ขาดทุน) สุทธิ ในป 2551 บริษัทมีกําไรสุทธิจํานวน 5.52 ลานบาท ซึ่งลดลงจากปกอนจํานวน และ 25.01 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งลดลงดังกลาวเกิดจากรายไดที่ลดลงขางตน ฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีสินทรัยพรวมทั้งสิ้น 902.89 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปกอนจํานวน 134.80 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 17.55 แบงเปนสินทรัพยหมุนเวียนจํานวน 874.29 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 96.83 ของสินทรัพยรวม และ สินทรัพยไมหมุนเวียนจํานวน 28.61 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 3.17 ของสินทรัพยรวม สาเหตุของการเพิ่มขึ้นของสินทรัพยรวม สวนใหญเกิดจากการลงทุนในการพัฒนาโครงการทั้ง 4 โครงการของบริษัท ทางดานหนี้สิน บริษัทมีหนี้สินรวมเทากับ 392.17 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปกอนจํานวน 149.28 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 61.46 ซึ่งการเพิ่มขึ้นของหนี้สินรวมสวนใหญเกิดจากการกูยืมเงินจาก สถาบันการเงินและบริษัทที่เกี่ยวของมาใชในการพัฒนาโครงการของบริษัท และสวนหนึ่งเกิดจากการรับเงินดาวนจากลูกคาของโครงการที่ เปดขายอยูในปจจุบัน สําหรับสวนของผูถือหุน ในป 2551 บริษัทมีสวนของผูถือหุนเทากับ 510.73 ซึ่งลดลงจากปกอน จํานวน 14.48 ลานบาท โดยสาเหตุของการลดลงดังกลาว เกิดจากการจายเงินปนผลในระหวางป 2551 จํานวน 20.00 ลานบาท

39


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินของบริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) ซึ่งจัดทํา ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยไดมีการพิจารณาเลือกใชนโยบายการบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยาง สม่ําเสมอ รวมทั้งไดใชดุลยพินิจอยางรอบคอบ ระมัดระวัง สมเหตุสมผล ตลอดจนมีการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอและโปรงใส ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อใหเปนประโยชนตอผูถือหุนและสาธารณชนที่เกี่ยวของ คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวยกรรมการที่เปนอิสระเปนผูกํากับดูแลงบการเงิน และ ประเมินระบบการควบคุมภายในใหมีประสิทธิผล เพื่อใหมีความมั่นใจไดวามีการบันทึกขอมูลทางบัญชีถูกตอง ครบถวนอยางเพียงพอ ทันเวลา และปองกันไมใหเกิดการทุจริต หรือการดําเนินการที่ผิดปกติ โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏในรายงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งไดแสดงไวในรายงานประจําปนี้แลว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยูในระดับที่นาพอใจ และสามารถสราง ความเชื่อมั่นไดวา งบการเงินของบริษัทสําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2551 แสดงฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด ไดถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปแลว

รศ.มานพ พงศทัต ประธานกรรมการ

นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน กรรมการผูจัดการ

40


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

รรายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ

ผูถือหุนของ บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน)

ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 งบกําไรขาดทุนรวม และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของ ผูถือหุนรวม และงบกระแสเงินสดรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ของบริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) และกิจการรวมคา และไดตรวจสอบงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 งบกําไรขาดทุน และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของ ผูถือหุนและงบกระแสเงินสดสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เฉพาะของบริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการ แสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา งบการเงินเฉพาะของบริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 (กอนปรับปรุง) ตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีอื่น ซึ่งไดเสนอรายงานไวอยางไมมี เงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 20 กุมภาพันธ 2551 งบการเงินดังกลาวบางสวนไดมกี ารปรับปรุงใหม เพื่อแสดงเปรียบเทียบกับงบการเงิน ปปจจุบัน สวนงบการเงินรวมของบริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ไดถูกจัดทําขึ้นใหมโดยผูบริหารของกิจการ ซึ่งไมไดผานการตรวจสอบ หรือสอบทานจากผูสอบบัญชี ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกําหนดใหขาพเจาตองวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อ ใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวา งบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการ ทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เปนจํานวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชี ที่กิจการใช และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เปนสาระสําคัญซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทําขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความ เหมาะสมของการแสดงรายการที่นําเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวา การตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะ สมในการแสดงความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวางบการเงินดังกลาวขางตนแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ผลการดําเนินงานรวมและกระแส เงินสดรวม สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) และกิจการรวมคา และฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันเฉพาะของบริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยมิไดเปนการแสดงความเห็นอยางมีเงื่อนไข ขาพเจาขอใหสังเกตุหมายเหตุประกอบงบการเงินขอที่ 2 วาผูบริหารของบริษัท ไดเปลี่ยนแปลงวิธีการบัญชียอนหลังสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ในสวนของรายการที่เกี่ยวของกับผูรวมทุนในโครงการ รวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด และพื้นที่พาณิชยกรรม จากเดิมซึ่งเคยแสดงเปนสวนของหนี้สิน เปนงบการเงินรวมที่รวมรายการของโครงการ รวมคาโดยวิธีรวมตามสัดสวน ผลของการเปลี่ยนแปลงทําใหกําไรสุทธิในงบการเงินเฉพาะของบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิ่มขึ้นจํานวน 2.86 ลานบาท ขาพเจาไดตรวจสอบรายการปรับปรุงดังกลาวและพบวารายการปรับปรุงดังกลาวไดถูกบันทึกไว อยางเหมาะสมแลว

นางสุมาลี โชคดีอนันต ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3322 กรุงเทพมหานคร 11 กุมภาพันธ 2552

41


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (หนวย:บาท) งบการเงินรวม 2551 2550 (ยังไมไดตรวจสอบ และไมไดสอบทาน)

หมายเหตุ

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนในหลักทรัพยเพื่อคา ลูกหนี้การคาและมูลคางานที่เสร็จแตยังไมได เรียกเก็บ มูลคางานที่เสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บ บุคคลที่เกี่ยวของ ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย-สุทธิ ตนทุนการพัฒนาโครงการรวมทุนเพื่อ พัฒนาอาคารชุด เงินจายลวงหนาคากอสราง สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน

6 7

(ปรับปรุงใหม)

17,862,501 17,812,389 15,922,194 16,218,393 953,505 953,505 -

7,435,801

-

7,435,801

5 8

2,197,509 - 2,197,509 618,096,021 599,322,071 618,096,021 599,322,071

9

168,964,699 114,002,489 59,382,216 5,099,467 26,655,247 5,099,467 9,979,455 3,157,487 8,147,772 2,820,112 874,284,892 749,980,718 668,821,234 634,046,858

สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีขอจํากัดในการใช เงินลงทุนในโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด 10 อุปกรณและยานพาหนะ-สุทธิ 11 โปรแกรมคอมพิวเตอร สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2551 2550

5,900,536 6,705,136 5,900,536 6,705,136 - 107,824,500 107,824,500 22,354,861 11,149,693 16,612,435 5,496,026 286,867 286,867 66,280 260,400 45,000 119,000 28,608,544 18,115,229 130,669,338 120,144,662 902,893,436 768,095,947 799,490,572 754,191,520

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

42


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

งงบดุล (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (หนวย:บาท) งบการเงินรวม 2551 2550 (ยังไมไดตรวจสอบ และไมไดสอบทาน)

หมายเหตุ

หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระ ในหนึ่งป สวนของหนี้สินตามสัญญาเชาการเงินที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะสั้น-บริษัทที่เกี่ยวของ รายไดรับลวงหนา คางวดที่ยังไมรับรูเปนรายได คาใชจายคางจาย ภาษีเงินไดคางจาย เจาหนี้เงินประกันผลงาน คาสาธารณูปโภคสวนกลางรอชําระ หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว-สุทธิ หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน-สุทธิ รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

43

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม)

22,765,642

352,660 5,582,795

5,102,050

352,660 4,996,327

-

4,162,470

-

4,162,470

561,434 25,000,000 8,239,109 7 104,394,732 7,855,828 12,847,115 3,147,072 2,258,735 187,069,667

1,187,386 10,851,401 15,225,476 4,861,647 5,764,637 10,025,481 4,129,064 1,880,523 64,023,540

561,434 25,000,000 8,162,109 49,300,778 6,947,333 12,240,427 3,147,072 1,949,127 112,410,330

1,187,386 8,976,262 1,874,497 4,113,522 5,764,637 9,815,481 4,129,064 1,880,523 47,252,829

12 13 5

12 205,097,500 178,307,000 158,547,500 178,307,000 13 561,434 561,434 205,097,500 178,868,434 158,547,500 178,868,434 392,167,167 242,891,974 270,957,830 226,121,263


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

งบดุล (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (หนวย:บาท) งบการเงินรวม 2551 2550 (ยังไมไดตรวจสอบ และไมไดสอบทาน)

หนี้สินและสวนของผูถือหุน (ตอ) สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน-หุนสามัญมูลคาหุนละ 5 บาท ทุนจดทะเบียน 80,000,000 หุน หุนที่ออกและเรียกชําระเต็มมูลคาแลว 80,000,000 หุน สวนเกินมูลคาหุน กําไรสะสม - จัดสรรเพื่อสํารองตามกฎหมาย - ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม)

400,000,000 400,000,000 400,000,000 400,000,000 400,000,000 400,000,000 400,000,000 400,000,000 23,477,851 23,477,851 23,477,851 23,477,851 8,736,086 7,209,714 8,736,086 7,209,714 78,512,332 94,516,408 96,318,805 97,382,692 510,726,269 525,203,973 528,532,742 528,070,257 902,893,436 768,095,947 799,490,572 754,191,520

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

44


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

งงบกําไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบการเงินรวม 2551 2550 (ยังไมไดตรวจสอบ และไมไดสอบทาน)

หมายเหตุ

รายไดจากการขาย รายไดจากการขายบานพรอมที่ดิน รายไดจากการขายหนวยในอาคารชุด รวมรายไดจากการขาย

5

ตนทุนขาย ตนทุนขายบานพรอมที่ดิน ตนทุนขายหนวยในอาคารชุด รวมตนทุนขาย กําไรขั้นตน ภาษีธุรกิจเฉพาะ โอนกลับรายการขาดทุนจากการตีราคาสินคาลดลง คาใชจายในการขายและบริหาร คาตอบแทนกรรมการ กําไรจากการขาย รายไดอื่น กําไรจากการดําเนินงาน คาใชจายทางการเงิน ภาษีเงินได กําไรสุทธิ

5

กําไร (ขาดทุน) ตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไร (ขาดทุน) สุทธิ (บาทตอหุน) จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (พันหุน)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

45

(หนวย:บาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม)

266,712,912 256,442,923 266,712,912 256,442,923 5,893,102 210,056,514 5,893,102 210,056,514 272,606,014 466,499,437 272,606,014 466,499,437

187,617,498 220,753,970 187,617,498 220,753,970 4,248,746 146,690,919 4,248,746 146,690,919 191,866,244 367,444,889 191,866,244 367,444,889 80,739,770 99,054,548 80,739,770 99,054,548 1,238,664 15,504,326 1,238,664 15,504,326 - (4,111,726) - (4,111,726) 5 70,634,004 55,396,334 60,054,027 53,006,288 17 590,000 1,147,000 590,000 1,147,000 8,277,102 31,118,614 18,857,079 33,508,660 1,902,224 12,305,751 6,262,436 12,781,989 10,179,326 43,424,365 25,119,515 46,290,649 3,917,922 1,594,987 3,917,922 1,594,987 739,108 11,301,942 19 739,108 11,301,942 5,522,296 30,527,436 20,462,485 33,393,720

0.07 80,000,000

0.41 0.26 75,178,082 80,000,000

0.44 75,178,082


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (หนวย:บาท)

กําไรสะสม หมายเหตุ

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

สวนเกิน มูลคาหุน

จัดสรรเพื่อ สํารองตาม กฎหมาย

ยังไมได จัดสรร

รวม

66,021,089 (2,032,117) 30,527,436 94,516,408

371,198,686 123,477,851 30,527,436 525,203,973

งบการเงินรวม (จัดทําขึ้นใหมโดยผูบริหาร ยังไมไดตรวจสอบและไมไดสอบทาน) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 รับชําระคาหุน 14 จัดสรรสํารองตามกฎหมายระหวางป 16 กําไรสุทธิสําหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

300,000,000 100,000,000 23,477,851 400,000,000 23,477,851

5,177,597 2,032,117 7,209,714

400,000,000 23,477,851 400,000,000 23,477,851

7,209,714 94,516,408 525,203,973 - (20,000,000) (20,000,000) 1,526,372 (1,526,372) - 5,522,296 5,522,296 8,736,086 78,512,332 510,726,269

(ตรวจสอบแลว) ยอดคงเหลือณวันที่ 1 มกราคม 2551 เงินปนผลจาย 15 จัดสรรสํารองตามกฎหมายระหวางป 16 กําไรสุทธิสําหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

46


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

งงบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุน (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (หนวย:บาท)

กําไรสะสม หมายเหตุ

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

สวนเกิน มูลคาหุน

จัดสรรเพื่อ สํารองตาม กฎหมาย

ยังไมได จัดสรร

รวม

งบการเงินเฉพาะของบริษัท (ปรับปรุงใหม) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 300,000,000 รับชําระคาหุน 14 100,000,000 23,477,851 จัดสรรสํารองตามกฎหมายระหวางป 16 กําไรสุทธิสําหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 400,000,000 23,477,851

- 33,393,720 33,393,720 7,209,714 97,382,692 528,070,257

ยอดคงเหลือณวันที่ 1 มกราคม 2551 400,000,000 23,477,851 เงินปนผลจาย 15 จัดสรรสํารองตามกฎหมายระหวางป 16 กําไรสุทธิสําหรับป ยอดคงเหลือณวันที่ 31 ธันวาคม 2551 400,000,000 23,477,851

7,209,714 1,526,372 8,736,086

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

47

5,177,597 66,021,089 371,198,686 - 123,477,851 2,032,117

(2,032,117)

-

97,382,692 528,070,257 (20,000,000) (20,000,000) (1,526,372) 20,462,485 20,462,485 96,318,805 528,532,742


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

งบกระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (หนวย:บาท) งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2551 2550

กําไร(ขาดทุน)สุทธิกอนภาษีเงินได 6,261,404 41,829,378 21,201,593 44,695,662 รายการปรับปรุงกระทบกําไร (ขาดทุน) สุทธิเปนเงินสด สุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน กําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากการตีราคาหลักทรัพย (2,864) (2,864) โอนกลับรายการขาดทุนจากการตีราคาสินคาลดลง - (4,111,726) คาเสื่อมราคา 5,306,052 2,701,171 2,665,010 2,652,588 ขาดทุน(กําไร)จากการจําหนายสินทรัพย (548,997) 14,759 (437,426) 14,759 ตัดจําหนายสินทรัพย 110,537 35,942 35,942 คาใชจายทางการเงิน 3,917,922 1,594,987 3,917,922 1,594,987 กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงใน สินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน 15,046,918 42,061,647 27,347,099 44,879,348 สินทรัพยดําเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) : เงินลงทุนในหลักทรัพยเพื่อคา 953,505 (950,642) 953,505 (950,642) ลูกหนี้การคาและมูลคางานที่เสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บ 9,633,310 9,297,130 9,633,310 9,297,130 ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย (10,526,240) 74,419,305 (10,526,240) 74,419,305 ตนทุนการพัฒนาโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด (52,953,511) (114,002,489) ภาษีเงินไดนิติบุคคลจายลวงหนา 9,581,899 - 9,581,899 เงินจายลวงหนาคากอสราง (54,282,749) (3,004,721) (21,555,780) (3,004,721) สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (4,661,786) (138,401) (3,167,498) 198,974 194,120 (190,400) 74,000 (49,000) สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) : เจาหนี้การคา 17,182,847 (46,469,788) 105,723 (47,056,255) เจาหนี้คาที่ดิน-บุคคลที่เกี่ยวของกัน - (20,860,000) - (20,860,000) รายไดรับลวงหนา (2,612,292) (3,989,403) (814,153) (5,864,542) คางวดที่ยังไมรับรูเปนรายได 89,169,256 3,283,936 47,426,281 (10,067,044) คาใชจายคางจาย 3,043,989 887,024 2,899,561 138,898 เจาหนี้เงินประกันผลงาน 2,821,634 (7,328,787) 2,424,946 (7,538,787) คาสาธารณูปโภคสวนกลางรอชําระ (981,992) 2,985,368 (981,992) 2,985,368 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 378,212 390,585 68,604 390,585 เงินสดรับจาก (ใชไปใน) การดําเนินงาน 12,405,221 (54,027,737) 53,887,366 46,500,516

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

48


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

งงบกระแสเงินสด (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (หนวย:บาท) งบการเงินรวม 2551 2550 จายคาใชจายทางการเงิน จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2551 2550

(14,224,139) (13,703,874) (12,231,382) (13,703,874) (8,663,927) (23,366,947) (8,663,907) (23,366,947) (10,482,845) (91,098,558) 32,992,077 9,429,695

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากธนาคารที่มีขอจํากัดในการใชลดลง (เพิ่มขึ้น) 804,600 (5,527,433) 804,600 (5,527,433) เงินสดจายลงทุนในโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนา อาคารชุด - (107,824,500) เงินสดจายซื้ออุปกรณ (16,967,437) (6,162,086) (14,224,317) (459,835) เงินสดรับจากการขายอุปกรณและ โปรแกรมคอมพิวเตอร 607,810 1,869 593,457 1,869 เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน (15,555,027) (11,687,650) (12,826,260) (113,809,899) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีเพิ่มขึ้น(ลดลง) (352,660) 352,660 (352,660) 352,660 25,000,000 - 25,000,000 เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้น-บริษัทที่เกี่ยวของ เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาว 126,024,760 146,381,931 79,474,760 146,381,931 เงินสดจายชําระเงินกูยืมระยะยาว (103,396,730) (183,651,713) (103,396,730) (183,651,713) จายชําระหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน (1,187,386) (1,815,962) (1,187,386) (1,815,962) เงินสดรับจากการจําหนายหุนสามัญ - 125,058,022 - 125,058,022 จายเงินสดปนผล (20,000,000) (48,000,000) (20,000,000) (48,000,000) เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน 26,087,984 38,324,938 (20,462,016) 38,324,938 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)–สุทธิ 50,112 (64,461,270) (296,199) (66,055,266) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป 17,812,389 82,273,659 16,218,393 82,273,659 17,862,501 17,812,389 15,922,194 16,218,393 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

49


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

หมายเหตุประกอบงบการเงิน 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 1.

ขอมูลทั่วไป บริษัทฯ จดทะเบียนจัดตั้งกับกระทรวงพาณิชยเปนบริษัทจํากัดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2538 และเขาเปนบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2547 บริษัทดําเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัทฯ มีที่อยู ตามที่จดทะเบียนตั้งอยูเลขที่ 555 อาคารรสา ทาวเวอร ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

2.

เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม 2.1 งบการเงินนี้จัดทําขึ้นเปนภาษาไทยตามมาตรฐานการบัญชีที่กําหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 ตามหลักการ บัญชีที่รับรองทั่วไปตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งถือเปนรายงานทางการเงินที่เปนทางการตามกฎหมาย การแปลงบการเงินฉบับนี้เปนภาษาอื่น ใหยึดถืองบการเงินที่จัดทําขึ้นตามกฎหมายนี้เปนทางการ 2.2 ในระหวางป 2551 สภาวิชาชีพบัญชีไดประกาศเรื่องมาตรฐานการบัญชีซึ่งไดมีการปรับปรุงบางฉบับ และจะมีผลบังคับใช สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มตนในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 ทั้งนี้ ผูบริหารของบริษัทประเมินแลวเห็นวา มาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงดังกลาวจะไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินของบริษัทสําหรับปที่เริ่มใช มาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาว

2.3 ในระหวางป 2551 ผูบริหารของบริษัทเปลี่ยนแปลงวิธีการบัญชียอนหลังสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ใน สวนของรายการที่เกี่ยวของกับผูรวมทุนในโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด และพื้นที่พาณิชยกรรม จากเดิมซึ่งเคย แสดงสวนผูรวมทุนในโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุดภายใตหนี้สินระยะยาว เปนการจัดทํางบการเงินรวมที่ รวมรายการของโครงการรวมทุนดังกลาวโดยวิธีรวมตามสัดสวน ทั้งนี้เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 46 สวนไดสวนเสียในการรวมคา (ปรับปรุง 2550) และสะทอนเนื้อหาเชิงเศรษฐกิจไดเหมาะสมกวา โดยปรับปรุงงบการเงิน เฉพาะของบริษัทในป 2550 ที่นํามาเปรียบเทียบ และจัดทํางบการเงินรวมสําหรับป 2550 ขึ้นใหม ทั้งนี้เกณฑใน การจัดทํางบการเงินใหมนี้มีผลทําใหงบการเงินเฉพาะของบริษัทในป 2550 ที่เคยนําเสนอเปลี่ยนแปลงไป ดังนี้ (หนวย : ลานบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 สินทรัพย

หลังปรับปรุงใหม

กอนปรับปรุง

เปลี่ยนแปลง

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ตนทุนการพัฒนาโครงการรวมทุน สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด อุปกรณและยานพาหนะ - สุทธิ

16.22 7.92 107.83 5.50

18.50 162.86 9.28 13.58

(2.28) (162.86) (1.36) 107.83 (8.08)

4.97 8.98 1.87 4.11 9.82

5.82 11.66 20.95 5.85 10.11

(0.85) (2.68 (19.08) (1.74) (0.29)

-

44.97

(44.97)

33.39

30.53

2.86

หนี้สิน เจาหนี้การคา รายไดรับลวงหนา คางวดที่ยังไมไดรับรูเปนรายได คาใชจายคางจาย เจาหนี้เงินประกันผลงาน สวนของผูรวมทุนโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนา อาคารชุด กําไรสุทธิประจําป

50


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

2.4 งบการเงินรวมนี้ไดจัดทําขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) และ โครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด และพื้นที่พาณิชยกรรม โดยมีสัดสวนการลงทุนดังนี้ สัดสวนเงินลงทุน (รอยละ)) รายชื่อผูรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด

2551

2550

ลักษณะธุรกิจ

บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) บริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด

70 30

70 30

พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ยอดสินทรัพยของโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด ซึ่งรวมอยูในงบการเงิน รวมคิดเปนรอยละ 23.44 และรอยละ 15.91 ของสินทรัพยรวม ตามลําดับ และรายไดสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ของโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด ซึ่งรวมอยูในงบการเงินรวมคิดเปนรอยละ 0.12 และ รอยละ 0.01 ของ รายไดรวม ตามลําดับ 2.5 ยอดคงคางและรายการบัญชีกับโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด ที่มีสาระสําคัญไดถูกหักออกจากงบการเงินรวมแลว 2.6 งบการเงินรวมจัดทําขึ้นโดยใชนโยบายการบัญชีเดียวกันสําหรับรายการบัญชีที่เหมือนกันสําหรับการจัดทํางบการเงิน เฉพาะของบริษัทหรือเหตุการณทางบัญชีที่คลายคลึงกัน 2.7 งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี 3.

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ นโยบายการบัญชีที่สําคัญที่ใชในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะของบริษัทมีดังตอไปนี้ 3.1 การรับรูรายได รายไดจากการขายบานพรอมที่ดิน รับรูเปนรายได เมื่องานกอสรางเสร็จ และมีการโอนกรรมสิทธิ์แกผูซื้อ รายไดจากการขายหนวยในอาคารชุด รับรูเปนรายไดตามวิธีอัตราสวนของงานที่ทําเสร็จ ซึ่งคํานวณตามอัตราสวน ตนทุนของงานที่เกิดขึ้นแลว กับตนทุนทั้งหมดของโครงการที่ประมาณวาจะใชในการกอสราง ทั้งนี้ไมรวมตนทุนที่ดิน โดย บริษัทฯ จะรับรูรายไดภายใตเงื่อนไขที่สําคัญ ดังนี้ - แตละสัญญาที่รับรูรายได จะตองไดรับชําระเงินอยางนอยรอยละ 20 ของสัญญาแตละสัญญา - โครงการที่พัฒนา ไดผานขั้นตอนเบื้องตนแลว ไมนอยกวารอยละ 10 ของงานกอสราง - ตองมีการทําสัญญาขายแลว ไมนอยกวารอยละ 40 ของพื้นที่ที่เปดขาย หรือที่เปดจอง รายไดอื่นและคาใชจาย รับรูตามเกณฑคงคาง 3.2 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง ซึ่ง ถึงกําหนดจายคืนภายในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือนนับจากวันที่ไดมาและไมมีขอจํากัดในการเบิกใช 3.3 เงินลงทุนในหลักทรัพยเพื่อคา เงินลงทุนในหลักทรัพยเพื่อคา แสดงดวยมูลคายุติธรรม บริษัทฯ รับรูการเปลี่ยนแปลงมูลคาเปนรายการในงบกําไร ขาดทุน โดยตนทุนของเงินลงทุนที่ตัดจําหนายในระหวางงวด คํานวณตามวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก

51


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

3.4 ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น และคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา แสดงตามมูลคาสุทธิที่จะไดรับ บริษัทบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจ เกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไมได ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณการเก็บเงิน และการวิเคราะหอายุลูกหนี้ คงคาง รวมถึงแนวโนมที่จะไดรับชําระเงินจากลูกหนี้โดยพิจารณาเปนรายๆ ไป 3.5 ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย แสดงในราคาทุน หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับ แลวแตราคาใดจะต่ํากวา ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย ประกอบดวย ตนทุนที่ดิน คากอสราง และคาใชจายโดยตรงกับการพัฒนา โครงการ ซึ่งรวมทั้งดอกเบี้ยเงินกูยืมที่เกี่ยวของ โดยจะตัดจายเปนตนทุนขายตามอัตราสวนพื้นที่ที่ขายของแตละโครงการ 3.6 ตนทุนการกูยืม ดอกเบี้ยจายที่เกิดจากเงินกูยืมเพื่อใชในการจัดหาและพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย ถือเปนสวนหนึ่งของราคาทุน ของแตละโครงการ โดยจะหยุดบันทึกเมื่อการพัฒนาโครงการแลวเสร็จ หรือโครงการเกิดการหยุดชะงักลงจนกวาจะมีการ ดําเนินการพัฒนาตอไป 3.7 อุปกรณ และยานพาหนะ อุปกรณ และยานพาหนะ แสดงมูลคาตามราคาทุน หักคาเสื่อมราคาสะสม และคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (ถามี) คาเสื่อมราคาของอุปกรณ และยานพาหนะ คํานวณจากราคาทุนของสินทรัพยโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชงาน โดยประมาณดังนี้ เครื่องตกแตงและอุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ หองชุดตัวอยาง

5 ป 5 ป 3 - 4 ป

กําไรหรือขาดทุนจากการจําหนายอุปกรณและยานพาหนะ คํานวณจากผลตางระหวางเงินสดรับสุทธิกับราคาตาม บัญชีและรับรูเปนรายไดอื่น หรือคาใชจายอื่นในงบกําไรขาดทุน รายจายเกี่ยวกับการตอเติม การทําขึ้นใหม หรือการปรับปรุงสินทรัพยใหดีขึ้น ซึ่งทําใหราคาเปลี่ยนแทนในปจจุบันของ สินทรัพยเพิ่มขึ้นอยางเปนสาระสําคัญ จะรวมเปนราคาทุนของสินทรัพย สวนคาซอมแซมและคาบํารุงรักษารับรูเปน คาใชจายในรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้น 3.8 การดอยคาของสินทรัพย ยอดสินทรัพยคงเหลือตามบัญชีไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่ในงบดุลวามีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ในกรณีที่ มีขอบงชี้ บริษัทจะทําการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน โดยจะรับรูผลขาดทุนจากการดอยคาเมื่อมูลคาตาม บัญชีของสินทรัพยหรือมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดสูงกวามูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุน จากการดอยคาบันทึกในงบกําไรขาดทุน การคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน - มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน หมายถึงราคาขายของสินทรัพย หรือมูลคาจากการใชของสินทรัพย แลวแตมูลคาใดจะ

52


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

สูงกวาในการประเมินมูลคาจากการใชของสินทรัพย ประมาณการกระแสเงินสด ที่จะไดรับในอนาคตจะคิดลดเปน มูลคาปจจุบัน โดยใชอัตราคิดลดกอนคํานวณภาษีเงินได เพื่อใหสะทอนมูลคาที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่ง แปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอสินทรัพย สําหรับสินทรัพยที่ไมกอใหเกิดเงินสดซึ่งสวนใหญเปนหนวยแยกอิสระ จากสินทรัพยอื่นๆ บริษัทจะพิจารณามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ใหสอดคลองกับหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดที่ สินทรัพยนั้นมีความเกี่ยวของดวย การกลับรายการดอยคา - บริษัทจะกลับรายการบัญชีขาดทุนจากการดอยคา หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใชในการคํานวณมูลคาที่ คาดวาจะไดรับคืน - บริษัทจะกลับรายการบัญชีขาดทุนจากการดอยคาเพียงเพื่อใหมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย ไมเกินกวามูลคาตามบัญชี ภายหลังหักคาเสื่อมราคาหรือคาตัดจําหนาย เทากับจํานวนที่ไมเคยมีการบันทึกขาดทุนจากการดอยคามากอน รายการกลับรายการขาดทุนจากการดอยคาจะบันทึกเปนรายไดในงบกําไรขาดทุน 3.9 สัญญาเชาระยะยาว – กรณีที่บริษัทเปนผูเชา การเชาอุปกรณ ซึ่งพิจารณาวาความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของทั้งหมดไดโอนใหบริษัทแลวเปน สัญญาเชาการเงินบริษัทจะบันทึกมูลคาของสินทรัพยเปนรายจายฝายทุนตามมูลคายุติธรรมสุทธิของสินทรัพยที่เชาหรือ มูลคาปจจุบันสุทธิของจํานวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชา แลวแตจํานวนใดจะต่ํากวา โดยจํานวนเงินที่ตองจายจะแบง เปนสวนของหนี้สินและคาใชจายทางการเงิน เพื่อใหจํานวนเงินที่ตองจายในแตละงวดมีจํานวนคงที่ คาเชาซึ่งตองจายตาม ภาระผูกพันหักกับคาใชจายทางการเงินจะบันทึกเปนหนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน สวนดอกเบี้ยจายจะบันทึกในงบกําไร ขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเชา สินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงิน จะคิดคาเสื่อมราคาตลอดอายุของการใชงานของ สินทรัพยนั้น การเชาสินทรัพยโดยที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของตกอยูกับผูใหเชา จะถูกจัดเปนสัญญาเชา ดําเนินงาน การชําระเงินภายใตสัญญาเชาดําเนินงาน จะถูกบันทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุ สัญญาเชา คาใชจายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกสัญญาเชาดําเนินงานกอนหมดอายุการเชา เชน เบี้ยปรับที่ตองจายใหผูใหเชา จะถูกบันทึกเปนคาใชจายในรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการยกเลิกสัญญา 3.10

ประมาณการหนี้สิน

บริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินและคาใชจายไวในงบการเงินเมื่อบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือ เปนภาระผูกพันที่คอนขางแนนอนที่มีผลสืบเนื่องจากเหตุการณในอดีต ซึ่งอาจทําใหบริษัท ตองชําระหรือชดใชเงินตาม ภาระผูกพันนั้น และจํานวนที่ตองชดใชดังกลาวสามารถประมาณไดอยางสมเหตุสมผล สินทรัพยที่อาจเกิดขึ้นจะถูกรับรู เปนสินทรัพยแยกตางหากเมื่อมีปจจัยสนับสนุนวาจะไดรับคืนแนนอน 3.11

เครื่องมือทางการเงิน

สินทรัพยทางการเงินที่แสดงในงบดุลประกอบดวยเงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินลงทุน หนี้สินทางการเงินที่แสดง ในงบดุล ประกอบดวยเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เจาหนี้การคา และเงินกูยืม ซึ่งนโยบายการบัญชีเฉพาะสําหรับรายการ แตละรายการไดเปดเผยแยกไวในแตละหัวขอที่เกี่ยวของ 3.12

กําไร (ขาดทุน) ตอหุนขั้นพื้นฐาน

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับปดวยจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนสามัญ ระหวางป

53


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

3.13

ผลประโยชนพนักงาน

บริษทั รับรูเ งินเดือน คาจาง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสํารองเลีย้ งชีพเปนคาใชจา ย ตามเกณฑคงคาง 4.

ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ขอสมมุติฐาน การใชดุลยพินิจ และการจัดการความเสี่ยงในสวนของทุน 4.1 ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ขอสมมุติฐาน และการใชดุลยพินจิ การประมาณการ ขอสมมุติฐาน และการใชดุลยพินิจไดมีการประเมินทบทวนอยางตอเนื่องและอยูบนพื้นฐานของ ประสบการณในอดีตและปจจัยอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการคาดการณถึงเหตุการณในอนาคตที่เชื่อวามีเหตุผลในสถานการณ ขณะนั้น ก. คาเผื่อลดมูลคาสําหรับสินคาเกา ลาสมัย และเสื่อมคุณภาพ บริษัทไดประมาณการคาเผื่อลดมูลคาสําหรับสินคาเกา ลาสมัย และเสื่อมคุณภาพเพื่อใหสะทอนถึงการ ดอยคาลงของสินคาคงเหลือ โดยการประมาณการนั้นจะพิจารณาจากการหมุนเวียนและการเสื่อมสภาพของสินคา คงเหลือประเภทตางๆ ข. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ และสินทรัพยไมมีตัวตน ฝายบริหารเปนผูประมาณการของอายุการใชงานและมูลคาซากของอาคารและอุปกรณ และสินทรัพยไมมี ตัวตนของบริษัท โดยจะทบทวนคาเสื่อมราคาเมื่ออายุการใชงานและมูลคาซากมีความแตกตางไปจากการ ประมาณการในงวดกอน หรือมีการตัดจําหนายสินทรัพยที่เสื่อมสภาพหรือไมไดใชงานอีกตอไป 4.2 การจัดการความเสี่ยงในสวนของทุน วัตถุประสงคของบริษัทในการบริหารทุนของบริษัทนั้นเพื่อดํารงไวซึ่งความสามารถในการดําเนินงานอยางตอเนื่องของ บริษัท เพื่อสรางผลตอบแทนตอผูถือหุนและเปนประโยชนตอผูที่มีสวนไดเสียอื่น และเพื่อดํารงไวซึ่งโครงสรางของทุนที่ เหมาะสม เพื่อลดตนทุนทางการเงินของทุน ในการดํารงไวหรือปรับโครงสรางของทุน บริษัทอาจออกหุนใหมหรือออกหุนกูเพื่อปรับ โครงสรางหนี้ หรือการ ขายทรัพยสินเพื่อลดภาระหนี้

5.

รายการบัญชีกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัทมีรายการบัญชีที่เกิดขึ้นกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกัน บุคคลและบริษัทเหลานี้เกี่ยวของกันโดยมีการถือหุนและ/ หรือกรรมการรวมกัน ดังนั้น งบการเงินนี้จึงรวมถึงผลของรายการเหลานี้ตามมูลฐานที่พิจารณารวมกันระหวางบริษัทกับบุคคล และบริษัทที่เกี่ยวของกัน ซึ่งบางกรณีอาจใชเกณฑที่แตกตางจากรายการกับบุคคลภายนอก รายการระหวางบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกันที่มีสาระสําคัญ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีดังนี้ (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม รายไดจากการขายหองชุดในอาคารชุด นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นางศิริลักษณ จรูญรัตนสกุล นางสาวสุมิดา พันธุกระวี นางสาวนันทรัตน โกวิทคณิต รวม

งบการเงินเฉพาะของบริษัท

2551

2550

2551

2550

2,455,429 2,250 2,457,679

1,497,811 1,284,397 1,746,240 4,528,448

2,455,429 2,250 2,457,679

1,497,811 1,284,397 1,746,240 4,528,448

54


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551 (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม คาเชา บริษัท รสา ทาวเวอร จํากัด คาบริหารโครงการ บริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด คาที่ปรึกษา นายโกวิท ไววัฒนา ดอกเบี้ยจาย บริษัท รสา ทาวเวอร จํากัด

งบการเงินเฉพาะของบริษัท

2551

2550

2551

2550

1,051,320

1,051,320

1,051,320

1,051,320

967,920

76,198

-

-

1,200,000

1,400,000

1,200,000

1,400,000

143,493

-

143,493

-

เกณฑการกําหนดราคาระหวางบริษัทกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกันสรุปไดดังนี้ -

-

รายไดจากการขายหองชุดในอาคารชุด เปนไปตามราคาที่ตกลงรวมกันตามสัญญาซื้อขาย ซึ่งเปนราคาที่ไดรับสวนลด ตามขอกําหนดสวัสดิการพนักงานและผูบริหารในอัตรารอยละ 5 – 15 จากราคาขายปกติ แตหากเปนการทําสัญญา ซื้อขายครั้งตอไป ซึ่งกระทําขึ้นภายใน 10 ป หลังจากทําสัญญาครั้งแรก ราคาขายเปนราคาปกติทั่วไปที่ขายใหกับ บุคคลภายนอก คาเชา คิดตามอัตรารายเดือนที่ตกลงรวมกันตามสัญญา ซึ่งสามารถเทียบเคียงไดกับบุคคลภายนอก คาบริหารโครงการ คิดตามอัตรารายเดือนที่ตกลงรวมกันตามสัญญารวมทุน คาที่ปรึกษา คิดตามอัตรารายเดือนที่ตกลงรวมกันตามสัญญาจางที่ปรึกษาดานการกอสราง ดอกเบี้ยจาย คิดตามอัตราเงินฝากประจําประเภท 12 เดือน + รอยละ 3.75 ตอป

ยอดคงเหลือระหวางบริษัทกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของที่มีสาระสําคัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 สรุปไดดังนี้ (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม มูลคางานที่เสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บ บุคคลที่เกี่ยวของ นางศิริลักษณ จรูญรัตนสกุล นางสาวสุมิดา พันธุกระวี รวม

2551

งบการเงินเฉพาะของบริษัท

2550 -

2551

1,184,312 1,013,197 2,197,509

2550 -

1,184,312 1,013,197 2,197,509

- 25,000,000

-

เงินกูยืมระยะสั้น - บริษัทที่เกี่ยวของ บริษัท รสา ทาวเวอร จํากัด

55

25,000,000


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC. (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะของบริษัท

คางวดที่ยังไมรับรูเปนรายได

2551

2550

2551

คางวดที่ยังไมรับรูเปนรายได นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นายปราการ โกวิทคณิต นายสยาม อเดโช รวม

2,451,820 417,700 154,000 3,023,520

251,800 251,800

1,688,680 417,700 2,106,380

251,800 251,800

7,877 61,040 68,917

76,198 76,198

7,877 7,877

-

2550

คาใชจายคางจาย บริษัท รสา ทาวเวอร จํากัด บริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด รวม ลักษณะความสัมพันธ บุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท รสา ทาวเวอร จํากัด บริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นางสาวสุมิดา พันธุกระวี นายโกวิท ไววัฒนา นางศิริลักษณ จรูญรัตนสกุล นายสยาม อเดโช นางสาวนันทรัตน โกวิทคณิต นายปราการ โกวิทคณิต

6.

ลักษณะความสัมพันธ บริษัทที่เกี่ยวของกันโดยมีกรรมการและผูถือหุนรวมกัน บริษัทผูรวมทุน โดยมีความสัมพันธทางเครือญาติ กับกรรมการและผูถือหุนของบริษัท กรรมการและผูถือหุนของบริษัท กรรมการและผูถือหุนของบริษัท กรรมการและผูถือหุนของบริษัท พนักงานและผูถือหุนของบริษัท พนักงานและผูถือหุนของบริษัท พนักงานของบริษัท บุคคลที่เกี่ยวของกันกับพนักงานของบริษัท

เงินลงทุนในหลักทรัพยเพื่อคา (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2551 กองทุนเปดไทยพาณิชยสะสมทรัพยตราสารหนี้ บวก กําไรที่ยังไมเกิดขึ้น รวม

2550 -

950,641 2,864 953,505

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2551

2550 -

950,641 2,864 953,505

56


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

7.

ลูกหนี้การคา และมูลคางานที่เสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บ (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2551

2550

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2551

2550

จํานวนโครงการอาคารชุด 2 3 1 2 มูลคาการขายอาคารชุดที่ไดมีการทําสัญญาแลว 690,416,567 276,563,378 400,954,867 153,040,800 ยอดขายอาคารชุดรวมของโครงการ 2,510,000,000 2,429,376,576 1,600,000,000 1,652,962,073 อัตราสวนของมูลคาซื้อขายอาคารชุดที่ไดมีการขาย 27.51% 11.38% 25.06% 9.26% คางวดที่ถึงกําหนดชําระแลว 104,394,732 141,794,362 49,300,778 128,443,383 หัก เงินรับชําระแลว (104,394,732) (141,719,442) (49,300,778) (128,368,463) ลูกหนี้คางวดคางชําระ 74,920 74,920

มูลคางานที่เสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บและคางวดที่ยังไมรับรูเปนรายได ประกอบดวย (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2551 คางวดที่ถึงกําหนดชําระ หัก รายไดที่รับรูแลว รายการดังกลาวประกอบดวย มูลคางานที่เสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บ คางวดที่ยังไมรับรูเปนรายได สุทธิ

2550

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2551

2550

104,394,732 141,794,362 49,300,778 128,443,383 - (136,127,276) - (136,127,276) 104,394,732 5,667,086 49,300,778 (7,683,893)

- 9,558,390 (104,394,732) (15,225,476) (49,300,778) (104,394,732) (5,667,086) (49,300,778)

9,558,390 (1,874,497) 7,683,893

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ลูกหนี้การคาและมูลคางานที่เสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บแยกตามอายุหนี้คาง ชําระได ดังนี้

(หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2551 มูลคางานที่เสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บ (รวมบุคคลที่เกี่ยวของกัน) ลูกหนี้คางวดคางชําระเกินกําหนดชําระ 1 – 30 วัน รวม

57

2550

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2551

2550

-

9,558,390

-

9,558,390

-

74,920 9,633,310

-

74,920 9,633,310


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

8.

ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม ที่ดิน คาพัฒนาที่ดิน งานระหวางกอสราง งานสาธารณูปโภค คาใชจายทางการเงินที่บันทึก เปนตนทุนโครงการ คาใชจายในการพัฒนาโครงการ รวม หัก จํานวนสะสมที่โอนเปนตนทุนขาย สุทธิ

งบการเงินเฉพาะของบริษัท

2551

2550

2551

2550

508,260,282 22,790,000 372,424,950 60,363,043

531,263,752 22,790,000 260,919,966 52,499,736

508,260,282 22,790,000 372,424,950 60,363,043

531,263,752 22,790,000 260,919,966 52,499,736

33,982,903 29,836,894 33,982,903 29,836,894 18,692,134 13,335,919 18,692,134 13,335,919 1,016,513,312 910,646,267 1,016,513,312 910,646,267 (398,417,291) (311,324,197) (398,417,291) (311,324,197)

618,096,021 599,322,071 618,096,021 599,322,071

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางดังกลาวขางตนจํานวนเงิน 618.10 ลานบาท และ 595.40 ลานบาท ตามลําดับ ติดจํานองเปนหลักทรัพยค้ําประกันสินเชื่อที่ไดรับจากธนาคาร ตามหมายเหตุ 12

9.

ตนทุนการพัฒนาเพื่อพัฒนาอาคารชุดภายใตโครงการรวมทุน (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2551 ที่ดิน งานระหวางกอสราง คาใชจายทางการเงินที่บันทึก เปนตนทุนโครงการ คาใชจายในการพัฒนาโครงการ รวม

2550

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2551

2550

107,848,462 107,848,462 50,101,519 1,642,008

-

-

3,041,290 1,032,591 7,973,428 3,479,428 168,964,699 114,002,489

-

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ตนทุนการพัฒนาโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุดพรอมสิ่งปลูกสรางที่จะ เกิดขึ้นในอนาคต นําไปเปนหลักทรัพยค้ําประกันเงินกูยืมจากธนาคารแหงหนึ่งจํานวน 500 ลานบาท บริษัทค้ําประกัน เงินกูดังกลาวทั้งจํานวนโดยผูรวมทุนอีกฝายไมไดรวมค้ําประกัน

58


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

10. 10

เงินลงทุนในโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด และพื้นที่พาณิชยกรรม เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2550 บริษัทเขาทําสัญญารวมลงทุนกับบริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด โดยนายนรินทร สุวรรณสรางค และนายธนพัฒน สุวรรณสรางค (ซึ่งเปนบุคคลที่เกี่ยวของกัน) กรรมการทั้งสองฝายมีความประสงคที่จะรวม ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัย และพื้นที่พาณิชยกรรม โดยแบงแยกหนาที่และความรับผิดชอบในการดําเนินงาน และบริหารไดดังนี้ 10.1

สัดสวนการลงทุน คูสัญญา

บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) (คูสัญญาที่ 1) บริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด (คูสัญญาที่ 2)

สัดสวนการลงทุน (รอยละ) 70 ของเงินทุน 30 ของเงินทุน

โดยในระยะเริ่มตนของการดําเนินโครงการ ใหคูสัญญาแตละฝายนําเงินลงทุนเปนจํานวน ดังตอไปนี้ บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) (คูสัญญาที่ 1) บริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด (คูสัญญาที่ 2) จํานวนเงินลงทุนเริ่มตนของโครงการรวมทั้งสิ้น 10.2

107,824,500 46,210,500 154,035,000

บาท บาท บาท

การแบงกําไร และ/หรือขาดทุน

การแบงกําไร และ/หรือขาดทุนกันภายหลังการนํารายจายทั้งหมด รวมทั้งเงินที่คูสัญญานํามารวมลงทุนมาหักออกจาก รายไดทั้งหมด โดยการแบงกําไรและ /หรือขาดทุนดังกลาวใหเปนไปตามสัดสวนของการลงทุน โดยแบงเปน 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1

เมื่อโอนกรรมสิทธิ์และ/หรือใหเชาอาคารชุดและ/หรือพื้นที่พาณิชยกรรมหรือพลาซารวมกันไดรอยละ 80 ของพื้นที่ของโครงการทั้งหมด

ระยะที่ 2

เมื่อโอนกรรมสิทธิ์และ/หรือใหเชาอาคารชุดและ/หรือพื้นที่พาณิชยกรรมหรือพลาซาไดแลวทั้งหมด

10.3

การดําเนินโครงการ

ในการดําเนินโครงการใหคูสัญญาแตละฝายมีสิทธิไดรับเงินคาใชจายในการบริหารงานภายในองคกรอันเกี่ยวเนื่องกับ การดําเนินโครงการเปนรายเดือนจนกวาสัญญาจะสิ้นสุดลงในอัตราดังตอไปนี้ คูสัญญา บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) (คูสัญญาที่ 1) บริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด (คูสัญญาที่ 2)

59

คาใชจายรายเดือน (บาท) 381,500 87,200


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

10.4

กรรมสิทธิ์ คูสัญญาทั้งสองฝายตกลงใหคูสัญญาที่ 1 เปนผูมีกรรมสิทธิ์ในบรรดาพื้นที่ของโครงการอาคารชุดพักอาศัย พื้นที่ พาณิชยกรรมหรือพลาซาและ / หรือสิ่งกอสรางใดๆ บนพื้นที่ของโครงการเพื่อประโยชนรวมกันของคูสัญญาทั้งสองฝาย เพื่อให ดําเนินการตามโครงการประสบความสําเร็จ

ในการดําเนินโครงการนั้น คูสัญญาตกลงกูยืมเงินธนาคารหรือสถาบันการเงิน โดยใชพื้นที่ของโครงการ รวมถึงสิ่ง ปลูกสรางบนพื้นที่ของโครงการเปนหลักประกัน บริษัทไดรบั อนุมัติสินเชื่อในรูปเงินกูยืมระยะยาวแลวจากสถาบันการเงิน แหงหนึ่งวงเงินกู 500 ลานบาท สวนแบงของบริษัทในสินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจายในโครงการรวมทุนที่เปนสาระสําคัญซึ่งไดรวบรวมและ แสดงตามวิธีรวมตามสัดสวนตามเกณฑแตละบรรทัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีดังนี้ บาท 2551 168,964,699 34,938,006 7,706,159 75,040,838 46,550,000 2,866,284 328,201 15,268,391

ตนทุนการพัฒนาโครงการ สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน สวนไดเสีย (ตนงวด) รายไดอื่น คาใชจายในการขายและบริหาร 11.

2550 114,002,489 1,923,523 6,279,154 17,246,950 1 2,866,284

อุปกรณ และยานพาหนะ - สุทธิ (หนวย : บาท) งบการเงินรวม 2550 ราคาทุน เครื่องตกแตง เครื่องใชสํานักงาน หองชุดตัวอยาง ยานพาหนะ รวม หัก : คาเสื่อมราคาสะสม เครื่องตกแตง เครื่องใชสํานักงาน หองชุดตัวอยาง ยานพาหนะ รวม อุปกรณ และยานพาหนะ - สุทธิ

เพิ่มขึ้น

ลดลง

14,606,825 854,326 (13,024,509) 2,741,491 256,493 (533,760) 5,118,983 15,152,452 10,541,244 417,300 (925,000) 33,008,543 16,680,571 (14,483,269)

(13,651,153) (451,742) (1,712,946) (474,103) (23,663) (2,888,707) (6,471,088) (1,491,500) (21,858,850) (5,306,052) 11,149,693

2551 2,436,642 2,464,224 20,271,435 10,033,544 35,205,845

12,960,419 (1,142,476) 428,500 (1,758,549) - (2,912,370) 924,999 (7,037,589) 14,313,918 (12,850,984) 22,354,861

60


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

(หนวย : บาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2550 ราคาทุน เครื่องตกแตง เครื่องใชสํานักงาน หองชุดตัวอยาง ยานพาหนะ รวม หัก : คาเสื่อมราคาสะสม เครื่องตกแตง เครื่องใชสํานักงาน หองชุดตัวอยาง ยานพาหนะ รวม อุปกรณ และยานพาหนะ - สุทธิ

เพิ่มขึ้น

ลดลง

14,061,075 845,782 (13,024,509) 2,703,974 204,894 (519,405) - 12,469,474 10,541,244 417,300 (925,000) 27,306,293 13,937,450 (14,468,914)

(13,627,233) (342,168) (1,711,946) (461,235) (370,107) (6,471,088) (1,491,500) (21,810,267) (2,665,010) 5,496,026

2551 1,882,348 2,389,463 12,469,474 10,033,544 26,774,829

12,960,419 (1,008,982) 427,465 (1,745,716) (370,107) 924,999 (7,037,589) 14,312,883 (10,162,394) 16,612,435

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ยานพาหนะสวนหนึง่ ราคาทุนจํานวนเงิน 5.44 ลานบาท เกิดจากการเชาซือ้ ตามสัญญาเชาทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทฯ มีทรัพยสินที่คํานวณคาเสื่อมราคาหมดแลวแตยังใชดําเนินงานอยู ราคาทุน จํานวนเงิน 4.74 ลานบาท และ 2.85 ลานบาท ตามลําดับ 12.

เงินกูยืมระยะยาว งบการเงินรวม เงินกูยืมระยะยาว หัก สวนของเงินกูยืมระยะยาว ที่ถึงกําหนดชําระในหนึ่งป สุทธิ

(หนวย : บาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท

2551 2550 2551 2550 205,097,500 182,469,470 158,547,500 182,469,470 - (4,162,470) - (4,162,470) 205,097,500 178,307,000 158,547,500 178,307,000

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทมีเงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร 2 แหง จํานวน 205.10 ลานบาท และ 182.47 ลานบาท ตามลําดับเพื่อซื้อที่ดินและพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพยเพื่อขาย โดยมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ MLR–0.50 ตอป และรอยละ MLR - 0.75 ตอป และเงินฝากประจําประเภท 12 เดือน + รอยละ 4.50 ตอป โดยมีเงื่อนไขการจาย ชําระคืนเงินตนเมื่อมีการไถถอนจํานองหลักประกันที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง ในอัตรารอยละ 65 - 75 ของราคาขาย โดยมี กําหนดชําระใหเสร็จสิ้นภายในป 2554

61


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

13.

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน งบการเงินรวม 2551 หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หัก ดอกเบี้ยรอตัดบัญชี หัก สวนของหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระในหนึ่งป สุทธิ

14.

573,707 (12,273) 561,434

2550

(หนวย : บาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2551

2550

1,834,387 (85,567) 1,748,820

573,707 (12,273) 561,434

1,834,387 (85,567) 1,748,820

561,434 (1,187,386) 561,434

561,434 -

(1,187,386) 561,434

ทุนเรือนหุน เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2550 บริษัทฯ ไดขายหุนเพิ่มทุนจํานวน 20 ลานหุน ในราคาหุนละ 6.50 บาท แกประชาชนทั่วไป เปนครัง้ แรก การขายหุน ดังกลาวมีสว นเกินมูลคาหุน จํานวนเงิน 23.48 ลานบาท (สุทธิจากคาธรรมเนียมในการจัดจําหนายหุน จํานวนเงิน 6.52 ลานบาท) โดยบริษัทฯ ไดมีการจําหนายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2550

15.

เงินปนผลจาย ตามรายงานการประชุมสามัญผูถือหุนประจําป ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2551 ผูถือหุนมีมติอนุมัติใหจาย เงินปนผลจากกําไรจากผลการดําเนินงานสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ในอัตราหุนละ 0.25 บาท รวมเปนเงิน 20 ลานบาท บริษัทไดจายเงินปนผลดังกลาวใหแกผูถือหุนในวันที่ 23 พฤษภาคม 2551

16.

สํารองตามกฎหมาย เพื่อใหเปนไปตามมาตรา 116 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษัทตองจัดสรรกําไรสุทธิประจําปี สวนหนึ่งไวเปนทุนสํารองไมนอยกวารอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุน สํารองนี้จะมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนําไปจายเงินปนผลได

17.

คาตอบแทนกรรมการ คาตอบแทนกรรมการนี้เปนผลประโยชนที่จายใหแกกรรมการของบริษัทฯตามมาตรา 90 ของพระราชบัญญัติบริษัท มหาชนจํากัด โดยไมรวมเงินเดือนและผลประโยชนที่เกี่ยวของที่จายใหกับกรรมการบริหาร สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 เปนจํานวนเงิน 0.59 ลานบาท และ 1.15 ลานบาท ตามลําดับ

18.

กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทฯและพนักงานไดเขารวมเปนสมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแลวตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารอง เลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งประกอบดวยเงินที่พนักงานจายสะสมและเงินที่บริษัทฯจายสมทบ และจะจายใหพนักงานในกรณีที่ ออกจากงานตามระเบียบวาดวยกองทุนดังกลาว งบการเงินสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทฯ มีการจายเงินกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน เปนจํานวนเงิน 0.65 ลานบาท และ 0.41 ลานบาท ตามลําดับ

62


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

19. 19

ภาษีเงินไดนิติบุคคล สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทฯ คํานวณภาษีเงินไดนิติบุคคลในอัตรารอยละ 25 และ 30 ตามลําดับของกําไรสุทธิจากการขายอสังหาริมทรัพย ซึ่งคํานวณขึ้นตามขอกําหนดในคําสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป. 155/2549 และบวกกลับดวยรายการปรับปรุงตามที่ประมวลรัษฎากรกําหนด ยกเวน โครงการที่เริ่มพัฒนากอนรอบระยะเวลาบัญชีป 2550 บริษัทฯ ไดใชวิธีการคํานวณตามขอกําหนดในคําสั่งกรมสรรพากรที่ ป.61/2539 (หนวย : บาท) งบการเงินรวม 2551 กําไรสุทธิทางบัญชี บวก สวนไดเสียของผูรวมทุน กําไรสุทธิหลังภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไร (ขาดทุน) สุทธิกอนภาษีเงินได บวก รายการที่ตองบวกกลับตามประมวลรัษฎากร หัก รายไดที่ไมตองนํามาคํานวณภาษีเงินได กําไรสุทธิสําหรับคํานวณภาษีเงินได

2550

5,522,296 (6,402,939) (880,643) 739,108 (141,535) 476,610,153 (473,512,186) 2,956,432

30,527,436 (1,228,408) 29,299,028 11,301,942 40,600,970 843,153,461 (846,081,290) 37,673,141

739,108

11,301,942

ภาษีเงินได

งบการเงินรวมของบริษัทไดรวมสินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจายของโครงการรวมทุน โดยใชวิธีรวมตามสัดสวน อยางไร ก็ตามกําไรสุทธิทางภาษี (หลังภาษีเงินได) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 แสดงไดดังนี้ 2551 งบการเงินรวม รายไดจากการขาย หัก ตนทุนขาย

(191,866,244)

จํานวนเงิน ตามภาษีเงินได

งบการเงินรวม

-

272,606,014

466,499,437

สวนของผูรวมทุน

จํานวนเงิน ตามภาษีเงินได

-

466,499,437

- (367,444,889)

-

80,739,770

99,054,548

-

99,054,548

(1,238,664)

-

(1,238,664)

(15,504,326)

-

(15,504,326)

-

-

-

4,111,726

-

4,111,726

80,739,770

ภาษีธุรกิจเฉพาะ คาใชจายในการขายและบริหาร

สวนของผูรวมทุน

- (191,866,244) (367,444,889)

กําไรขั้นตน โอนกลับรายการขาดทุนจากการดอยคา

63

272,606,014

2550

(70,634,004)

(6,543,596)

(77,177,600)

(55,396,334)

(1,228,408)

(56,624,742)

คาตอบแทนกรรมการ

(590,000)

-

(590,000)

(1,147,000)

-

(1,147,000)

กําไร (ขาดทุน) จากการขาย

8,277,102

(6,543,596)

1,733,506

31,118,614

(1,228,408)

29,890,206

รายไดอื่น

1,902,224

140,657

2,042,881

12,305,751

-

12,305,751

กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงาน

10,179,326

(6,402,939)

3,776,387

43,424,365

(1,228,408)

42,195,957

คาใชจายทางการเงิน

(3,917,922)

-

(3,917,922)

(1,594,987)

-

(1,594,987)

ภาษีเงินได

(739,108)

-

(739,108)

(11,301,942)

-

(11,301,942)

กําไรสุทธิทางภาษี

5,522,296

(6,402,939)

(880,643)

30,527,436

(1,228,408)

29,299,028


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

20.

การเสนอขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน บริษัทดําเนินกิจการในสวนงานธุรกิจเดียว คือธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย และดําเนินธุรกิจในสวนงานทางภูมิศาสตร เดียวคือในประเทศไทย ดังนั้นรายไดและสินทรัพยทั้งหมดที่แสดงในงบการเงินจึงเกี่ยวกับสวนงานธุรกิจ และสวนงาน ทางภูมิศาสตรตามที่กลาวไว

21.

คาใชจายตามลักษณะ รายการคาใชจายตามลักษณะที่สําคัญ ไดแก (หนวย : บาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท

งบการเงินรวม 2551 เงินเดือนและคาแรงและผลประโยชนอื่น ของพนักงาน คาเสื่อมราคา คาเชาจาย คาสงเสริมการขาย

22.

2550

2551

2550

21,072,493 15,279,937

21,072,493

15,279,937

5,306,052 2,701,171 1,051,320 1,051,320 10,160,607 19,427,061

2,665,010 1,051,320 6,277,894

2,652,588 1,051,320 17,410,875

เครื่องมือทางการเงิน 22.1

การบริหารความเสี่ยง บริษทั ฯ ไมมีนโยบายในการประกอบธุรกรรมเกี่ยวกับตราสารทางการเงินเพื่อเก็งกําไรหรือเพื่อการคา

22.2

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในอนาคตซึ่งจะมีผลกระทบตอผล การดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ มีสินทรัพย และหนี้สินที่มีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ดังนี้ งบการเงิน

เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค้ําประกัน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคารพาณิชย

จํานวนเงิน (บาท) 2551 2550

อัตราดอกเบี้ย (รอยละ) 2551 2550

18,679,836 17,991,025 5,900,536 6,705,136 352,660 205,097,500 182,469,470

0.75 0.12 – 0.75 0.75 – 2.25 0.75 – 2.25 7.00 – 8.00 6.375 6.75 – 7.50 6.375 – 7.350

งบการเงินเฉพาะของบริษัท จํานวนเงิน (บาท) อัตราดอกเบี้ย (รอยละ) 2551 2550 2551 2550 เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค้ําประกัน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคารพาณิชย

16,650,447 16,181,697 5,900,536 6,705,136 352,660 158,547,500 182,469,470

0.75 0.12 – 0.75 0.75 – 2.25 0.75 – 2.25 7.00 – 8.00 6.375 6.75 – 7.50 6.375 – 7.350

64


Annual Report 2008 รายงานประจําป 2551

23.

22.3

ความเสี่ยงจากการไมปฏิบัติตามสัญญา ความเสี่ยงจากการไมปฏิบัติตามสัญญา เกิดจากการที่ลูกคาไมปฏิบัติตามขอกําหนดในสัญญาจะซื้อจะขาย ซึ่งกอใหเกิดความเสียหายแกบริษัทฯ ฝายบริหารเชื่อวาบริษัทฯ ไมมีความเสี่ยงที่เปนสาระสําคัญเกี่ยวกับการ ไมปฏิบตั ติ ามสัญญา เนือ่ งจากบริษทั ฯ มีนโยบายปองกันความเสีย่ งโดยจัดใหมกี ารวางเงินดาวน อัตรารอยละ 10 - 30 ของมูลคาสัญญาจะซื้อจะขายและโอนกรรมสิทธิ์ใหกับลูกคาเมื่อจายเงินครบตามสัญญาดังกลาว

22.4

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯ ไมมีความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนในสกุลเงินตราตางประเทศ เนื่องจากบริษัทฯ ไมมีธุรกรรมทางการคาที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ

22.5

มูลคายุติธรรม เนื่องจากสินทรัพยทางการเงินและหนี้สินทางการเงินสวนใหญจัดอยูในประเภทระยะสั้น เงินกูยืมระยะยาว จากธนาคารพาณิชย มีอัตราดอกเบี้ยอยูในเกณฑเดียวกับตลาด ฝายบริหารจึงเชื่อวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพย ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินดังกลาว แสดงมูลคาไมแตกตางจากมูลคายุติธรรมอยางเปนสาระสําคัญ

ภาระผูกพันสําหรับการพัฒนาโครงการที่ยังไมแลวเสร็จ (หนวย : ลานบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท

งบการเงินรวม 2551 มูลคาขายที่ไดทําสัญญาแลวสะสมทั้งสิ้น อัตรารอยละของยอดขายรวม ของโครงการที่เปดดําเนินการอยู มูลคาขายที่ไดทําสัญญาแลวในระหวางงวด อัตรารอยละของยอดขายรวม ของโครงการที่เปดดําเนินการอยู

2550

2551

2550

622.11

288.58

472.60

165.06

15.63% 577.82

7.67% 283.88

15.39% 435.33

5.52% 139.59

14.52%

7.54%

14.18%

4.67%

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีภาระผูกพันที่จะตองทําการพัฒนาโครงการในสวนของสาธารณูปโภคสวนกลาง และภาระ ผูกพันที่จะตองกอสรางตามสัญญากอสรางโครงการ ดังนี้ (หนวย : ลานบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท

งบการเงินรวม 2551 งานพัฒนาสาธารณูปโภคสวนกลาง โครงการตางๆ งานกอสรางตามสัญญาโครงการตางๆ

65

1.09 974.95

2550 2.73 107.36

2551 1.09 600.02

2550 2.73 69.01


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

24.

หนังสือค้ําประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทมีหนังสือค้ําประกันที่ออกโดยธนาคารในนามของบริษัท คงเหลือจํานวน 11.21 ลานบาท โดยมีที่ดินและสิ่งปลูกสรางตามหมายเหตุ 8 และเงินฝากประจําเปนหลักทรัพยค้ําประกัน

25.

การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการของบริษัทแลว เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2552

คาตอบแทนผูสอบบัญชี คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) ในรอบปบัญชี 2551 บริษัทไดจายคาตอบแทนจากการสอบบัญชี ใหแก บริษัท แกรนท ธอนตัน จํากัด เปนจํานวน 0.62 ลานบาท และคาใชจายอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการสอบบัญชี เปนจํานวน 0.01 ลานบาท คาบริการอื่น (non-audit fee) ในรอบปบัญชี 2551 บริษัทไมมีคาบริการอื่นที่จายใหกับบริษัท แกรนท ธอนตัน จํากัด

66



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.