S : Annual Report 2015 TH

Page 1



010

จุดเด่น ทางการเงิน

โครงสร้างธุรกิจ ของบริษัท

ค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหาร

124

ง บการเงินรวม และงบการเงิน เฉพาะบริษัท

012

สารจาก ประธานกรรมการ

042

094

การก�ำกับดูแลกิจการ

โ ครงสร้างรายได้ ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

135

ห มายเหตุประกอบ งบการเงินรวม และ งบการเงินเฉพาะบริษัท

016

ร ายงานของ คณะกรรมการ ตรวจสอบ

043

วิสัยทัศน์

105

ค่านิยมองค์กร

231

ค ่าตอบแทนผู้สอบบัญชี 2558

018

ร ายงานของ คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

044

โครงการในปัจจุบัน

106

การบริหาร ทรัพยากรมนุษย์

232

ข ้อมูลผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจ ควบคุมบริษัท

019

058

โครงการในอนาคต

109

ก ารพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์

242

ร ายงานของ คณะกรรมการสรรหา และพิจารณา ค่าตอบแทน

ส รุปข้อมูลทั่วไปของ นิติบุคคลที่บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 10 ขึ้นไป

020

คณะกรรมการบริษัทฯ และคณะผู้บริหาร

066

กลยุทธ์องค์กรและ นโยบายธุรกิจ

110

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

248

ร ายชื่อกรรมการ ในบริษัทย่อย และ บริษัทร่วม

022

เหตุการณ์ส�ำคัญ ในปี 2558

070

โครงสร้างเงินทุน

114

ปัจจัยเสี่ยง และการบริหาร ความเสี่ยง

249

บุคคลอ้างอิง

026

074

ผังองค์กร

116

รายการระหว่างกัน

250

ข้อมูลส�ำหรับนักลงทุน

ภ าพรวมเศรษฐกิจไทย ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และธุรกิจโรงแรม ปี 2558

030

ผลการด�ำเนินงาน ประจ�ำปี 2558

076

โครงสร้างการจัดการ

122

ร ายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัท ต่อรายงานทางการเงิน

038

ล ักษณะ การประกอบธุรกิจ

090

ก ารสรรหาและ แต่งตั้งกรรมการ และผู้บริหารระดับสูง

123

ร ายงานของผู้สอบบัญชี รับอนุญาต

040

092


The Future of

MODERN WORKSPACE สุ น ทรี ย ะในการใช ช ี ว ิ ต คื อ ‘การสร า งสมดุ ล ที่ ด ี ร ะหว า ง การทำงาน และชีวิตส วนตัว’ สิงห เอสเตท ได เล็งเห็นความ สำคัญกับไลฟ สไตล การใช ช ีวิ ตที่ มีความสุขอย างแท จริง เราออกแบบการดำเนินธุรกิจ ด วยความใส ใจในรายละเอียด เพื่อตอบโจทย การใช ชีวิตที่ดีที่สุด พร อมส งเสริมคุณภาพ ชีวิตให กับสังคม

GFA

NL A

112,000 ตร.ม. 56,600 ตร.ม. Investment

4,255

ล า นบาท

(ไม รวมมู ล ค า ที ่ดิ น)

Location มุ ม ถนนอโศกมนตรี แ ละถนนเพชรบุ รี ตั ดใหม กรุ งเทพฯ



The Future of

PREMIUM URBAN LIVING “Best in Class” คื อ คุ ณ ภาพ ที ่ เ รายื น หยั ด ในการ สร า งมาตรฐานการดำเนิ น งานของ สิ ง ห เอสเตท โดยคำนึงถึงการออกแบบและเลือกสรรสิ่งที่เหมาะสมและ ดี ที่ สุ ด ในการสร า งโครงการคุ ณ ภาพ เพื่ อ ยกระดั บ การ ใช ช ี ว ิ ต และเติ ม เต็ ม การอยู อ าศั ย ที ่ ค รบครั น และสมบู ร ณ

Pre-sale

58%

/1

Total units

419ยูนิต

Project Value

4,500

Location

ถนนอโศกมนตรี กรุงเทพฯ

Note: 1 ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2558

ล า นบาท



THE

DYNAMIC WORKPLACE ความสร างสรรในการทำงานที่สร างการเติบโตไม หยุดนิ่ง ซึ ่ ง พิ ส ู จ น ให เ ห็ น ผ า นการลงทุ น ในสิ น ทรั พ ย ท ี ่ ม ี ศ ั ก ยภาพ พร อมต อยอดแนวคิดให สมบรูณ แบบไปสู ความสำเร็จที่ แข็ ง แกร ง และยั ่ ง ยื น

GFA

NL A

123,000 ตร.ม. 58,000 ตร.ม. Investment

4,500

Location

ถนนวิภาวดี-รังสิต กรุงเทพฯ

ล า นบาท



THE

UNIQUE DESTINATION ในทุกย างก าวที่มีพันธมิตรที่แข็งแกร งผนึกกำลังส งเสริม ต อยอดธุรกิจให เติบโตอย างสมบรูณ พร อมด วยบุคลากร มืออาชีพเป นเครื่องพิสูจน ให เห็นว า สิงห เอสเตท ได ก าว ข ามไปสู ระดับสากลด วยความยิ่งใหญ และสง างาม

Total hotels

Total rooms

26 แห ง

2,883 ห อง

Investment

8,600

Location

สหราชอาณาจักร

Note: 1 มูลค าการลงทุนโดยบริษัทร วมทุน

ล า นบาท /1



010 - 011

จุ ด เด่ น ทางการเงิ น

จุดเด่นทางการเงิน สินทรัพย รวม

หนี้สินรวม

2556

2557

(ปรับปรุงใหม)

4,161 2555

2556

2,149 370

627

500

479

2,000

1,233

11,930 7,126

2,500

1,500

736

718

2558

(ลานบาท)

1,000

685

2557

(ปรับปรุงใหม)

รายได รวม

(ลานบาท)

0 2556

2557

(ปรับปรุงใหม)

2554

2558

กำไร(ขาดทุน)สุทธิ

2556

2557

(ปรับปรุงใหม)

2558

กำไรสุทธิต อหุ น

(ลานบาท)

2557

(ปรับปรุงใหม)

ขอมูลทางการเงินกอนการรวมธุรกิจ (ป 2554-2556)

2558

-0.05

0.07

23 2556

-261

43 2555

0.55 0.45 0.35 0.25 0.15 0.05 -0.05 -0.15

0.04

347

(บาท)

175 2554

2555

0.09

2555

0.44

2554

400 300 200 100 0 -100 -200 -300 -400

2554

2558

ส วนของผู ถือหุ นรวม 16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

491

2555

510

1,227

2554

16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

859

25,308 1,228

11,288 1,544

30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

13,377

(ลานบาท)

(ลานบาท)

2554

2555

2556

2557

(ปรับปรุงใหม)

2558

หมายเหตุ: ป 2554-2556 เปนขอมูลทางการเงินกอนการรวมธุรกิจ กลาวคือ เปนขอมูลทาง การเงินรวมของบริษัทฯ (เดิมคือ บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ) ซึ่งไมรวมขอมูลทางการเงินของบริษัท เอส ไบรทฟวเจอร จํากัด และบริษัท สันติบุรี จํากัด ซึ่งบริษัทฯ รับโอนกิจการทั้งหมดเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

28%

34%

ธุรกิจโรงแรม

55%

สัดส วนรายได เเยกตามประเภท ธุรกิจป 2558

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย เพื่อการพักอาศัย

2

11%

30%

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย เพื่อการค า

สัดส วนสินทรัพย เเยกตามประเภท ธุรกิจป 2558

32%

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย เพื่อการค า

10%

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย เพื่อการพักอาศัย

อื่นๆ

2557

2558

479 145 23

370 138 347

2,149 743 -261

1,228 510 418 718

1,227 491 394 736

11,288 4,161 3,710 7,126

25,308 13,377 10,917 11,930

261 400 400

194 500 500

162 550 550

1,883 4,712 4,712

1,625 5,715 5,715

เทา

0.90

0.58

0.54

0.39

0.84

% % % % บาท บาท

30.5 14.2 14.4 29.0 0.44 0.30

30.9 6.9 6.0 6.1 0.09 0.03

0.3 4.8 4.4 3.2 0.04 0.01

37.3 93.8 4.6 5.8 -0.05 -

34.6 -12.1 -0.3 -2.7 -0.05 -

ข อมูลผลประกอบการ (ลานบาท) รายไดรวม 1 กำไรขั้นตน กำไรสุทธิ 2 1

ธุรกิจโรงแรม

2554

2555

2556

1,233 376 175

627 194 43

1,544 859 615 685

(ปรับปรุงใหม)

ไมรวมรายไดอื่น กำไรสุทธิป 2557 รวมกำไรจากการปรับมูลคายุติธรรม อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนจำนวน 588 ลานบาท

ข อมูลแสดงฐานะทางการเงิน (ลานบาท) สินทรัพยรวม หนี้สินรวม หนี้สินสุทธิที่มีภาระดอกเบี้ย สวนของผูถือหุนและสวนของ ผูถือหุนนอย กำไรสะสม ทุนที่ออกและชำระแลว จำนวนหุน (ลานหุน) อัตราส วนทางการเงินที่สำคัญ อัตราสวนของหนี้สินสุทธิที่มีภาระ ดอกเบี้ยตอสวนของผูถือหุน อัตรากำไรขั้นตน อัตรากำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนของสินทรัพย อัตราผลตอบแทนของผูถือหุน กำไรตอหุน เงินปนผล


012 - 013

สารจากประธานกรรมการ

สารจากประธานกรรมการ

“แม้ว่าตัวเลขทางเศรษฐกิจต่างๆ ในปีที่ผ่านมา ส่งสัญญาณถึง ความไม่แน่นอนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ สิงห์ เอสเตท ยังคง เชื่อมั่นในศักยภาพการเติบโตของตลาดอสังหาริมทรัพย์ รวมถึง พื้นฐานและการเติบโตของประเทศไทย บริษัทฯ จึงยังคงเดินหน้า ขยายธุ ร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งตามแผนงาน บนพื้ น ฐานของความ ระมัดระวังรอบคอบ ส่งผลให้ ในปี 2558 บริษัทฯ มีสินทรัพย์ เพิ่มขึ้นกว่าเท่าตัว และมีรายได้เติบโตกว่า 482% จากปีก่อน”

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2558 ถือเป็นปีแรกของการประกอบธุรกิจเต็มปีภายใต้ชอื่ บริษทั สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) และภายใต้การก�ำกับดูแลของ คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหารชุดใหม่ ความท้าทายหลัก ในปีที่ผ่านมา จึงเป็นเรื่องของการขยายธุรกิจ การปรับโครงสร้าง องค์กรเพื่อรองรับการเติบโตของธุรกิจ และการวางรากฐานเพื่อ เสริมความแข็งแกร่งให้กับองค์กร เพื่อน�ำพา สิงห์ เอสเตท ไปสู่ วิสัยทัศน์ “เป็นผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ระดับแนวหน้า ที่มุ่งมั่น สร้างสรรค์โครงการเปี่ยมคุณภาพด้วยความประณีต เพื่อสร้าง ไลฟ์สไตล์ใหม่ที่ครบถ้วนทั้งการพักอาศัย พักผ่อน ท�ำงาน และ ช้อปปิ้ง” ภายใต้หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ในปี 2558 และต้นปี 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีโอกาส ต้อนรับ คุณธนา เธียรอัจฉริยะ ผศ.ดร.ธนวรรธน์ พลวิชัย และ คุ ณ นภาภรณ์ ลั ญ ฉน์ ดี ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ มี ค วามเป็ น อิ ส ระและ มีความรู้ประสบการณ์ที่พร้อมจะยังประโยชน์อย่างยิ่งต่อบริษัทฯ ซึ่งได้ให้เกียรติเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระ และกรรมการ ในคณะกรรมการชุดย่อย รวมถึงได้จัดตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เพิ่ ม เติ ม ประกอบด้ ว ย คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง และ คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน เพื่ อ ปฏิ บั ติ หน้าที่ในการกลั่นกรอง ติดตาม และก�ำกับดูแลงานเฉพาะด้าน และเพื่อสนับสนุนการท�ำงานของคณะกรรมการบริษัทฯ ให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด

การขยายธุ ร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ ก้ า วขึ้ น เป็ น ผู ้ น� ำ แม้วา่ ตัวเลขทางเศรษฐกิจต่างๆ ในปีทผี่ า่ นมา ส่งสัญญาณถึงความ ไม่แน่นอนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ คณะกรรมการบริษัทฯ และผู ้ บ ริ ห ารยั ง คงเชื่ อ มั่ น ในศั ก ยภาพการเติ บ โตของตลาด อสังหาริมทรัพย์ รวมถึงพื้นฐานและการเติบโตของประเทศไทย ในปีที่ผ่านมา สิงห์ เอสเตท จึงยังคงเดินหน้าขยายธุรกิจตาม แผนงานบนพื้นฐานของความระมัดระวังรอบคอบ ในปี 2558 บริษัทฯ มีสินทรัพย์เพิ่มขึ้นกว่าเท่าตัวจากการลงทุน ทีส่ ำ� คัญประกอบด้วย การเข้าถือหุน้ ร้อยละ 51 ในบริษทั เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (“เนอวานาฯ”) ซึ่งเป็นหนึ่งในบริษัทชั้นน�ำ ด้านการพัฒนาบ้านเดี่ยวและที่พักอาศัยแนวราบ ด้วยแบรนด์ “Nirvana” ซึ่ ง เป็ น ที่ รู ้ จั ก และมี ที ม ผู ้ บ ริ ห ารที่ มี ป ระสบการณ์ การลงทุนนีส้ ง่ ผลให้บริษทั ฯ ก้าวเข้าไปในธุรกิจทีพ่ กั อาศัยแนวราบ ได้อย่างรวดเร็ว ในเดือนสิงหาคม บริษัทฯ ได้เข้ารับโอนกิจการ ทั้งหมดของอาคารส� ำนักงานซันทาวเวอร์ส (“ซันทาวเวอร์ส”) ซึ่งเป็นอาคารส�ำนักงานขนาดใหญ่ที่มีผลการด�ำเนินงานดีต่อเนื่อง การลงทุนดังกล่าว นอกจากจะเป็นการกระจายความเสี่ยงไปยัง ธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้และกระแสเงินสดอย่างสม�่ ำเสมอ ในระยะยาวแล้ว บริษัทฯ ยังสามารถต่อยอดธุรกิจดังกล่าวได้ โดยอาศัยทีมงานที่มีประสบการณ์และระบบการบริหารจัดการ อาคารส�ำนักงานที่มีประสิทธิภาพของซันทาวเวอร์ส


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

อี ก หนึ่ ง การลงทุ น ที่ ส� ำ คั ญ ในปี ที่ ผ ่ า นมา คื อ การขยายธุ ร กิ จ โรงแรมของบริษัทฯ ไปยังสหราชอาณาจักร โดยการร่วมทุนและ เข้ า ซื้ อ หุ ้ น ทั้ ง หมดของ Jupiter Hotels Holdings Limited (“Jupiter”) ซึ่ ง เป็ น เจ้ า ของและผู ้ ป ระกอบการกิ จ การโรงแรม ภายใต้แบรนด์เมอร์เคียว 26 แห่งในสหราชอาณาจักร อันเป็น กลยุ ท ธ์ ใ นการขยายฐานธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ไปยั ง ประเทศที่ มี เสถียรภาพทางเศรษฐกิจสูงและความเสี่ยงต�่ำ ซึ่งบริษัทฯ เชื่อมั่น ว่า การลงทุนนี้นอกจากจะสร้างผลตอบแทนที่ดีให้แก่บริษัทฯ ในระยะยาว ยั ง เป็ น โอกาสให้ บ ริ ษั ท ฯ ต่ อ ยอดธุ ร กิ จ โรงแรม ในต่างประเทศได้โดยอาศัยทีมผูบ้ ริหารทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ ในการบริหารจัดการธุรกิจโรงแรมของ Jupiter ผลการด� ำ เนิ น งานในปี 2558 ปี 2558 ถื อ เป็ น ปี ที่ ท ้ า ทายส� ำ หรั บ ผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพย์โดยเฉพาะธุรกิจที่พักอาศัย ด้วยปัจจัยภายใน ประเทศหลายอย่ า งที่ ยั ง ไม่ แ น่ น อนประกอบกั บ สภาวการณ์ เศรษฐกิจที่ไม่เอื้ออ�ำนวยต่อการด�ำเนินธุรกิจ ถึงกระนั้น รายได้ ของบริษัทฯ ยังสามารถเติบโตกว่า 482% จากปีก่อน ซึ่งเป็นผล จากการขยายธุรกิจดังที่กล่าวในข้างต้น และแม้ว่าในปีที่ผ่านมา บริ ษั ท ฯ จะมี ค ่ า ใช้ จ ่ า ยในการขายและบริ ห ารที่ เ พิ่ ม ขึ้ น มาก จากการด�ำเนิน งานด้า นการตลาดและประชาสัมพันธ์แ บรนด์ “สิ ง ห์ เอสเตท” (Corporate Branding) และการเปิ ด ตั ว โครงการใหม่หลายโครงการ รวมถึงค่าที่ปรึกษาในการเข้าท�ำ รายการควบรวม/ซื้อกิจการ (M&A) ถึงกระนั้น บริษัทฯ ยังคงมี ผลประกอบการสุทธิ (ไม่นับรวมรายการพิเศษ ซึ่งไม่เกี่ยวข้อง กับการด�ำเนินงานปกติ) ใกล้เคียงกับปีก่อน และอยู่ในกรอบที่ บริษัทฯ คาดการณ์ไว้ ทั้งนี้ ต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่สูงในระยะแรกของการด�ำเนินงาน ถื อ เป็ น ปกติ ข องธุ ร กิ จ โดยเฉพาะธุ ร กิ จ ที่ พั ก อาศั ย เพื่ อ ขาย เนื่องจากยอดขายจะยังไม่ถูกรับรู้เป็นรายได้จนกว่าการก่อสร้าง จะแล้วเสร็จและส่งมอบ (โอนกรรมสิทธิ์) บ้านเดี่ยวหรือห้องชุดนั้น ให้แก่ผู้ซื้อเรียบร้อยแล้ว เช่นเดียวกับการขยายธุรกิจผ่านการ ควบรวม/ซื้อกิจการ (M&A) ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการศึกษาและเข้าท�ำ รายการค่อนข้างสูง ในขณะที่รายได้และผลตอบแทนจะทยอย

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

รับรู้ในภายหลัง การด�ำเนินการดังกล่าวนี้แม้จะส่งผลกระทบต่อ ผลประกอบการของบริษัทฯ ในระยะสั้น แต่บริษัทฯ มั่นใจว่า จะส่งผลดีต่อบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นในระยะยาว การวางรากฐานที่ มั่ น คงเพื่ อ การเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ด้ ว ยนโยบายที่ จ ะสร้ า งการเติ บ โตทางธุ ร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การสร้างความพร้อมให้กับองค์กร ทั้งในเรื่องของกระบวนการท� ำงานที่มีประสิทธิภาพ โครงสร้าง องค์กรทีเ่ หมาะสม ระบบควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง ที่เพียงพอเหมาะสม ตลอดจนการเพิ่มขีดความสามารถให้กับ บุคลากร รวมไปถึงการปลูกฝังค่านิยมของการท�ำงานภายใต้ หลักธรรมาภิบาล จึงเป็นภารกิจหลักซึ่งต้องด�ำเนินควบคู่ไปกับ การขยายธุ ร กิ จ การด� ำ เนิ น การที่ ส� ำ คั ญ ที่ ไ ด้ แ ล้ ว เสร็ จ ในปี ที่ ผ่านมา คือ การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการ หรือ Enterprise Resource Planning (“ERP”) รวมถึงระบบ สารสนเทศในการบริ ห ารงานขายคอนโดมิ เ นี ย ม การปรั บ โครงสร้างองค์กรเพื่อให้สอดคล้องกับธุรกิจในปัจจุบัน และการ ก�ำหนดค่านิยมองค์กร “PRIDE” ประกอบด้วย การรักษาความ สัมพันธ์ที่ดีกับพันธมิตรทางการค้า (Partnership) การท�ำธุรกิจ บนพื้ น ฐานของความประณี ต และงดงาม (Refined) ความ ซื่ อ ตรง ยึ ด มั่ น และรั บ ผิ ด ชอบในค� ำ สั ญ ญา (Integrity) การ มุ่งมั่นพัฒนาเพื่อพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลง (Dynamic) และการท�ำงานด้วยใจรักและทุ่มเทเพื่อให้เ ป้าหมายบรรลุผล (Entrepreneurship) ภารกิจซึ่งอยู่ระหว่างด�ำเนินการและยังคงต่อเนื่องมาในปี 2559 ประกอบด้วย การพัฒนาระบบ ERP และระบบการบริหารงาน ขายบ้านส�ำหรับเนอวานาฯ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการ บริหารทรัพยากรบุคคล หรือ Human Resources Information System (HRIS) การยกระดับระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ ที่ ข ยายตั ว และการจั ด ตั้ ง คณะท� ำ งาน ชุดย่อยเพื่อดูแลและขับเคลื่อนงานด้านการบริหารความเสี่ยง และการพัฒนาสู่ความยั่งยืน


014 - 015

สารจากประธานกรรมการ

การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ภายใต้ ก ารสนั บ สนุ น จากกลุ ่ ม บุ ญ รอด บริ ว เวอรี่ บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จ�ำกัด ได้รับการยอมรับทั่วไปว่าเป็น กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีธุรกิจหลากหลาย มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก มายาวนานกว่า 80 ปี และมีเครือข่ายธุรกิจตัวแทนจ�ำหน่าย ครอบคลุ ม ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ การที่ ก ลุ ่ ม บุ ญ รอด บริวเวอรี่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ย่อมส่งผลดีอย่างมากต่อบริษัทฯ ในหลายๆ ด้านทั้งในเรื่องของช่องทางการจัดหาที่ดิน การลงทุน และการร่ ว มทุ น รวมถึ ง การร่ ว มมื อ ในการท� ำ การตลาด (Co-Marketing) และการสร้างแบรนด์ จึงเป็นจุดแข็งในการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริษัทฯ ตระหนักถึงความโปร่งใสในการท�ำรายการระหว่างกันที่จะต้อง ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และต้องให้ผู้ถือหุ้น มัน่ ใจในกระบวนการด�ำเนินงานทีเ่ ป็นรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ดังนัน้ คณะกรรมการบริษัทฯ จึงได้ก�ำหนดหลักการในการท�ำรายการ กับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันเพื่อความชัดเจนและเป็นแนวทางในการ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ ใ ห้ ความส�ำคัญและมีการพิจารณาทบทวนความสมเหตุสมผลของ นโยบายการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ อย่างจริงจัง และก่อนการเข้าท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันที่มีนัยส�ำคัญทุกครั้ง ฝ่ายจัดการจะน�ำเสนอรายละเอียดของรายการต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบเพื่อพิจารณาและให้ความเห็นทุกครั้ง รวมทั้งมีการ เปิดเผยสารสนเทศตามเกณฑ์ที่ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยก�ำหนด ในระยะเวลากว่ า 1 ปี นั บ จากวั น ที่ บ ริ ษั ท ฯ จดทะเบี ย นใน ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ภายใต้ ชื่ อ สิ ง ห์ เอสเตท บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวมเพิ่มขึ้นกว่าเท่าตัวและมีมูลค่ามากกว่า 25,000 ล้ า นบาท โดยมี ท รั พ ย์ สิ น ภายใต้ ก ารด� ำ เนิ น งานของ บริษัทฯ และบริษัทร่วมทุน ประกอบด้วย โครงการที่พักอาศัย กว่า 15 โครงการ พื้นที่ค้าปลีกและอาคารส�ำนักงานขนาดใหญ่ กิจการโรงแรมทั้งในประเทศและต่างประเทศรวม 28 แห่ง ซึ่ง มีจ�ำนวนห้องพักรวมกว่า 3,100 ห้อง นอกจากนั้น หลักทรัพย์

ของบริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ รั บ คัดเลือกให้เข้าอยู่ในกลุ่ม SET 100 ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ความส�ำเร็จดังกล่าวจะเกิดขึ้น ไม่ได้หากปราศจากความทุ่มเทและความตั้ ง ใจในการปฏิ บั ติ หน้าที่อย่างเต็มความสามารถของผู้บริหารและพนักงานทุกท่าน และเพื่อให้สิงห์ เอสเตท บรรลุวิสัยทัศน์ที่วางไว้ บริษัทฯ ยังคง ต้องเผชิญกับความท้าทายจากภาวะเศรษฐกิจและการแข่งขัน ที่ มี แ นวโน้ ม สู ง ขึ้ น ในธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ อย่ า งไรก็ ต าม บริ ษั ท ฯ เชื่ อ มั่ น เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า ด้ ว ยการสนั บ สนุ น จากลู ก ค้ า คู่ค้า พันธมิตรทางธุรกิจ ประกอบกับทีมผู้บริหารที่มีประสบการณ์ และพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความทุ่มเท บริษัทฯ จะสามารถ เติ บ โต ประสบความส� ำ เร็ จ และบรรลุ เ ป้ า หมายที่ ไ ด้ ว างไว้ ไ ด้ อย่างรวดเร็ว ท้ า ยสุ ด นี้ ผมและคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ขอขอบคุ ณ ผู ้ มี ส ่ ว น เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ได้แก่ ผู้ถือหุ้น พันธมิตรทางการค้า สถาบัน การเงิน องค์การภาครัฐและเอกชน สื่อมวลชน และลูกค้าของ บริษัทฯ ทุกท่าน ที่ไว้วางใจและให้การสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ ด้วยดีเสมอมา และขอให้ทุกท่านเชื่อมั่นว่าบริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) จะมุ่งมั่นด�ำเนินธุรกิจด้วยหลัก ธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย และ จะมุ่งพัฒนาบริษัทฯ ให้ก้าวขึ้นเป็นผู้น�ำในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ของประเทศไทยได้ในที่สุด 26 กุมภาพันธ์ 2559

จุตินัน ท์ ภิรมย์ภักดี (ประธานกรรมการ)


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


016 - 017

รายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559 คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ ซึ่ง เป็นผู้ทรงคุณวุฒิและมีประสบการณ์ด้านกฎหมาย การบัญชี การเงิน การบริหารองค์กร จ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. นางนภาภรณ์  ลัญฉน์ดี ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ 2. คุณการุญ  นันทิลีพงศ์ กรรมการตรวจสอบ 3. คุณธนา  เธียรอัจฉริยะ กรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งนางนภาภรณ์ ลัญฉน์ดี เข้ า ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการและประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 แทน นายสาธิต รังคสิริ ซึ่งได้ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการและประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2559 คณะกรรมการตรวจสอบปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามที่ ค ณะกรรมการ บริษัทมอบหมาย และตามกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ข้ อ ก� ำ หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย โดยมี น โยบายที่ ส� ำ คั ญ คื อ ดู แ ลรายงาน ทางการเงิ น ของบริ ษั ท ให้ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานและหลั ก การ บั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ ว ไป สอบทานการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ให้ เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี มีระบบการควบคุม ภายในที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามข้ อ ก� ำ หนดและ กฎหมายที่เกี่ยวข้องตลอดจนดูแลกรณีที่อาจเกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ร ะหว่ า งบริ ษั ท กั บ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วโยงกั น ทั้ ง นี้ ในรอบปี บั ญ ชี 2558 ได้ จั ด ให้ มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการ ตรวจสอบจ�ำนวน 5 ครั้ง โดยได้มีการหารือร่วมกับฝ่ายบริหาร ผู ้ ต รวจสอบภายใน และผู ้ ส อบบั ญ ชี ใ นเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วข้ อ ง สรุ ป สาระส�ำคัญในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดังนี้

หมายเหตุ : ก ารเข้ า ประชุ ม ของกรรมการตรวจสอบแต่ ล ะท่ า น ตามที่ แ สดงใน “ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร”

01

การสอบทานรายงานทางการเงิ น

- คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณาสอบทานงบ การเงินและงบการเงินรวมของบริษัทประจ�ำรายไตรมาส และงบการเงินประจ�ำปีรว่ มกับฝ่ายบริหารและผูส้ อบบัญชี ก่อนน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท - ประชุมเป็นการเฉพาะกับผู้สอบบัญชี และ/หรือ ผู้ตรวจ สอบภายใน โดยไม่มีฝ่ายบริหารร่วมประชุมด้วย ส�ำหรับรายงานทางการเงินของบริษัทส�ำหรับรอบปีบัญชี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่ารายงานทางการเงิน ของบริ ษั ท ได้ จั ด ท� ำ ขึ้ น อย่ า งถู ก ต้ อ งเป็ น ไปตามหลั ก การบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป มีการเปิดเผยข้อมูลที่ส�ำคัญ อย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และมี ข้อมูลซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุน 02

รายการที่ เ กี่ ย วโยงหรื อ รายการที่ อ าจมี ค วาม ขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์

คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณาการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของ บริษัทในกรณีที่เกิดรายการเกี่ยวโยง หรือรายการที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ใ ห้มีความถูกต้องและครบถ้วน และ มี ค วามเห็ น ว่ า การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของบริ ษั ท มี ค วามเพี ย งพอ และเป็ น ไปตามเงื่ อ นไขหลั ก เกณฑ์ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และ ก.ล.ต. 03

การสอบทานการบริ ห ารความเสี่ ย ง

คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณานโยบายการบริ ห าร ความเสี่ยง แผนงาน และการบริหารจัดการความเสี่ยงทั้งภายใน และภายนอกองค์กร โดยคณะกรรมการได้มีการประชุมร่วมกับ ฝ่ายจัดการของบริษทั ฯ รวมทัง้ พิจารณา และสอบทานประสิทธิภาพ และความเหมาะสมของการบริหารความเสี่ยงอย่างสม�่ำเสมอ ทุกไตรมาส พร้อมทั้งให้มีข้อเสนอแนะเพื่อน�ำไปปรับปรุงให้ดี ยิ่งขึ้น


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

04

การสอบทานการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานการปฏิ บั ติ ง านตาม จรรยาบรรณและบรรษั ท ภิ บ าลของบริ ษั ท ฯ พบว่ า กรรมการ บริ ษั ท และพนั ก งานได้ ป ฏิ บั ติ ต ามหลั ก การที่ ก� ำ หนดไว้ อ ย่ า ง เคร่ ง ครั ด โดยคณะกรรมการได้ ส ่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานทุ ก ระดั บ มี จิ ต ส� ำ นึ ก ในจริ ย ธรรมและคุ ณ ธรรมอย่ า งสม�่ ำ เสมอและ ต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีตามหลักการของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อให้มีความโปร่งใสและ มีจริยธรรม ก่อให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ลูกค้า คู่ค้าและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 05

การสอบทานการก� ำ กั บ ดู แ ลงาน ตรวจสอบภายใน

เพื่อความเป็นอิสระของการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท พีแอนด์แอล อินเทอร์นอล ออดิท จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทที่ให้บริการด้านการตรวจสอบภายในจากภายนอก เป็นผู้ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการตรวจสอบ จะเป็นผู้พิจารณาแผนการตรวจสอบภายในประจ�ำปี รายงาน ผลการตรวจสอบภายใน และติดตามผลการตรวจสอบภายใน กับฝ่ายบริหารอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งให้ค�ำแนะน�ำกับผู้ตรวจสอบ ภายใน เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นว่าการปฏิบัติงานตามแผนงาน ตรวจสอบภายในประจ� ำ ปี เ ป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผล โดยผลการตรวจสอบภายในประจ�ำปี 2558 ไม่พบ ข้อบกพร่องด้านการควบคุมภายในที่มีนัยส�ำคัญ 06

การสอบทานประสิ ท ธิ ผ ลของ การควบคุ ม ภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานและทบทวนระบบ การควบคุ ม ภายในตามแนวทางที่ ก� ำ หนดโดยส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ซึ่ ง ครอบคลุมถึงการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน การเงิน การปฏิบัติ ตามกฎหมาย ตลอดจนสามารถบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละ

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

เป้ า หมายของบริ ษั ท ฯ โดยท� ำ การประเมิ น ตามแบบประเมิ น ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ซึ่งผลการประเมิน โดยฝ่ายบริหารและส�ำนักตรวจสอบภายในมีความเห็นว่าการ ควบคุมภายในของบริษัทฯ มีความเพียงพอ 07

การพิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง ผู ้ ส อบบั ญ ชี และการก� ำ หนดค่ า สอบบั ญ ชี

คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณาความรู ้ ความสามารถ คุณสมบัติและผลการปฏิบัติงานของ บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์ คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด ในรอบระยะเวลาบัญชีปีที่ผ่านมา แล้ว คณะกรรมการตรวจสอบจึงเสนอให้คณะกรรมการบริษัท พิ จ ารณาการแต่ ง ตั้ ง ผู ้ ส อบบั ญ ชี พร้ อ มทั้ ง ค่ า สอบบั ญ ชี เพื่ อ ขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยสรุ ป คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ แ ละความ รับผิดชอบตามที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ โดยใช้ ความรู้ความสามารถและความระมัดระวัง รอบคอบ มีความ เป็นอิสระอย่างเพียงพอ เพื่อประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อย่ า งเท่ า เที ย มกั น คณะกรรมการตรวจสอบมี ค วามเห็ น ว่ า รายงานข้อมูลทางการเงินของบริษัทฯ มีความถูกต้อง เชื่อถือ ได้ สอดคล้ อ งตามมาตรฐานการบั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ วไป บริ ษั ท ฯ มี ก ารบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งอย่ า งเพี ย งพอ มี ร ะบบการ ควบคุ ม ภายใน การตรวจสอบภายในที่ เ หมาะสมและมี ประสิทธิผล มีการปฏิบัติงานที่สอดคล้องตามระบบการก�ำกับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ข้ อ ก� ำ หนดและ ข้อผูกพันต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ 17 กุมภาพันธ์ 2559

นายการุ ญ นั น ทิ ลี พ งศ์ กรรมการตรวจสอบ

นายธนา เธี ย รอั จ ฉริ ย ะ กรรมการตรวจสอบ


018 - 019

รายงานของคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง รายงานของคณะกรรมการสรรหาและพิ จ าณาค่ า ตอบแทน

รายงานของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง เรียน ท่านผู้ถือหุ้น เพื่อให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และสนับสนุน การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ในการก�ำกับดูแลการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง โดย ณ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559 ประกอบด้วยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. นางนภาภรณ์  ลัญฉน์ดี ป ระธานกรรมการบริ ห าร ความเสี่ยง (กรรมการอิสระ) 2. นายนริศ  เชยกลิ่น กรรมการบริหารความเสี่ยง 3. นายณัฐวุฒิ  มัธยมจันทร์ กรรมการบริหารความเสี่ยง ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ แต่งตั้งนางนภาภรณ์ ลัญฉน์ดี เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงแทน นายสาธิต รังคสิริ ซึ่งได้ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการและประธานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2559 ในปี 2558 คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งได้ มี ก ารประชุ ม รวมทั้ ง สิ้ น 3 ครั้ ง สรุ ป ผลการด� ำ เนิ น งานของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงได้ดังนี้ 1. ก� ำ หนดกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง และ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งได้รับอนุมัติและ ประกาศใช้ ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 2. พิ จ ารณาและให้ ค วามเห็ น ชอบก่ อ นน� ำ เสนอคณะ กรรมการบริ ษั ท ฯ ในการก� ำ หนดกรอบการบริ ห าร ความเสี่ ย งองค์ ก ร (Enterprise Risk Management Framework) ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย นโยบายการบริ ห าร ความเสี่ยง โครงสร้างและ บทบาทหน้าที่ในการบริหาร ความเสี่ ย ง และเกณฑ์ ที่ ใ ช้ ใ นการประเมิ น ความเสี่ ย ง กรอบการบริหารความเสี่ยงนี้ได้ก�ำหนดขึ้นตามแนวทาง สากลของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO)

3. ก �ำกับดูแล ติดตาม และสอบทาน รายงานความเสี่ยง ระดั บ องค์ ก ร (Corporate Risk Profile Report) พร้ อ มทั้ ง ให้ ค� ำ แนะน� ำ และให้ ค วามเห็ น ในผลการ ประเมินความเสี่ยง 4. ส ่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นา ระบบการบริหารความเสี่ยงขององค์กรอย่างต่อเนื่อง โดยสรุ ป คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งมี ค วามเห็ น ว่ า ในปี 2558 บริ ษั ท ฯ ได้ พั ฒ นากรอบการบริ ห ารความเสี่ ย ง ที่สอดคล้องกับแนวทางสากล ส่งเสริมและสนับสนุนให้บริษัทฯ มีการบริหารความเสี่ยงที่ค�ำนึงถึงสภาพแวดล้อมในการด�ำเนิน ธุ ร กิ จ ซึ่ ง ช่ ว ยเพิ่ ม ความมั่ น ใจอย่ า งสมเหตุ ส มผลในการบรรลุ เป้าหมายทางกลยุทธ์ที่บริษัทฯ ได้ก�ำหนดไว้ ในนามคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 26 กุมภาพันธ์ 2559

นายนริ ศ เชยกลิ่ น ลงนามแทนประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

รายงานของคณะกรรมการสรรหา และพิจาณาค่าตอบแทน เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ในปี 2558 คณะกรรมการบริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน (“คณะกรรมการสรรหาฯ”) ขึ้น เพื่อดูแลรับผิดชอบการพิจารณา หลักเกณฑ์และกระบวนการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ในการด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการและประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร คัดเลือกบุคคลตามกระบวนการสรรหาที่ได้ก�ำหนดไว้ รวมทั้ง พิ จ ารณาหลั ก เกณฑ์ ก ารจ่ า ยค่ า ตอบแทนและรู ป แบบ ค่ า ตอบแทนกรรมการและประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร ตาม แนวทางการก� ำกับ ดูแ ลกิจ การที่ดีข องบริษัทจดทะเบี ย น และ ได้อนุมัติกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาฯ เพื่อเป็นกรอบในการ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ รวมทั้ ง ก� ำ หนดองค์ ป ระกอบและคุ ณ สมบั ติ ข อง กรรมการสรรหาฯ ไว้อย่างชัดเจน ซึ่งประกอบด้วย กรรมการ บริ ษั ท ฯ จ� ำ นวนไม่ น ้ อ ยกว่ า 3 คน และต้ อ งไม่ เ ป็ น ประธาน กรรมการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร อีกทั้งต้องเป็นบุคคลที่ มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นฐานะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณา ค่าตอบแทน และสามารถอุทิศเวลาอย่างเพียงพอในการปฏิบัติ หน้าที่เพื่อให้การด�ำเนินงานของคณะกรรมการสรรหาฯ ส�ำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ชุดปัจจุบัน ประกอบด้วย 1) ดร. ชญานิน เทพาค�ำ ประธานคณะกรรมการ สรรหาฯ 2) นายการุญ นันทิลีพงศ์ กรรมการสรรหาฯ (กรรมการอิสระ) 3) ผศ. ดร. ธนวรรธน์ พลวิชัย กรรมการสรรหาฯ (กรรมการอิสระ)

ผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนในปี 2558 ในรอบปี 2558 คณะกรรมการสรรหาฯ ได้มีการประชุมทั้งสิ้น 2 ครั้ง โดยมีกรรมการสรรหาฯ เข้าร่วมประชุมครบถ้วนทุกครั้ง และได้ปฏิบัติงานตามวาระที่ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรฯ ดังนี้ 1. พิ จ ารณายกร่ า งกฎบั ต รคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน 2. พิ จ ารณาแบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะ กรรมการบริษัทฯ เพื่อน�ำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติและด�ำเนินการประเมิน 3. พิ จ ารณาแบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านประจ� ำ ปี ข อง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 4. สนันสนุนให้บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอรายชื่อ บุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการ บริษัทฯ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2559 ในนามคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

(ดร.ชญานิ น เทพาค� ำ ) ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน)


020 - 021

คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และคณะผู ้ บ ริ ห าร

คณะกรรมการบริษัทฯ และคณะผู้บริหาร 01/ นายจุตินันท ภิรมยภักดี ประธานกรรมการ

01

02

06

07

11

12

02/ นางนภาภรณ ลัญฉนดี /1

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

03/ นายการุญ นันทิลีพงศ

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

04/ นายธนา เธียรอัจฉริยะ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

05/ ผศ. ดร. ธนวรรธน พลวิชัย

กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

06/ ดร.ชญานิน เทพาคำ

กรรมการ ประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน ประธานคณะกรรมการบริหาร

07/ นายนริศ เชยกลิ่น

กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานเจาหนาที่บริหาร

08/ นายลองลม บุนนาค

กรรมการ กรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่บริหารการลงทุน

09/ นายณัฐวุฒิ มัธยมจันทร

กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานเจาหนาที่บริหารการพัฒนาธุรกิจพักอาศัย หมายเหตุ /1 ไดรับการแตงตั้งเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2559


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

03

04

05

08

09

10

13

10/ นายธีระชาติ นุมานิต

12 / นายเดิรก เดอ ไคยเ ปอร

11/ นายเมธี วินิชบุตร

13/ นายสุพจน ชลาดล

กรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่บริหารการออกแบบ และกอสราง กรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่บริหารการเงิน

กรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ (สังกัดบริษัท เอส โฮเทล แมเนจเมนท จำกัด) กรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่บริหารโรงแรมสันติบุรี (สังกัดบริษัท เอส โฮเทล แมเนจเมนท จำกัด)


022 - 023

เหตุ ก ารณ์ ส� ำ คั ญ ในปี 2558

เหตุการณ์ส�ำคัญ ในปี 2558 04 เมษายน ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2558 วันที่ 22 เมษายน 2558 มีมติอนุมัติรายการส�ำคัญ ประกอบด้วย - ก ารเข้ า ลงทุ น ในบริ ษั ท เนอวานา ดี เ วลลอปเม้ น ท์ จ� ำ กั ด (“เนอวานาฯ”) ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้น�ำธุรกิจด้านการพัฒนาที่พัก อาศัยแนวราบ ภายใต้แบรนด์ “Nirvana” ในสัดส่วนการถือหุ้น ร้อยละ 51 - การเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั ฯ จ�ำนวน 2,635,940,054 บาท รวมเป็นทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 7,348,290,786 บาท เพื่อรองรับ การลงทุนในเนอวานาฯ และเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตาม สัดส่วนการถือหุ้น (Rights Offering) รวมถึงเพื่อรองรับการใช้ สิ ท ธิ ต ามใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ จ ะซื้ อ หุ ้ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น ของ บริษัทฯ รุ่นที่ 1 (“S-W1”) ข้อมูลสรุปการเพิ่มทุนจดทะเบียน รายการ ก ารเพิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นของบริ ษั ท ฯ จ� ำ นวน 2,635,940,054 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน 2,635,940,054 หุ้น (มู ล ค่ า ที่ ต ราไว้ หุ ้ น ละ 1 บาท) รวมเป็ น ทุ น จดทะเบี ย น 7,348,290,786 บาท วัตถุประสงค์ 1. เ พื่ อ รองรั บ การลงทุ น ในเนอวานาฯ โดยใช้ แ ทนเงิ น ในการ ช�ำระค่าซื้อหุ้นสามัญของเนอวานาฯ 2. เพื่อน�ำเงินที่ได้รับจากการเพิ่มทุนไปใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และแหล่งเงินทุนส�ำหรับการลงทุนในอนาคต การจัดสรรหุ้นเพิ่มทุน หุ้นสามัญเพิ่มทุนออกใหม่ จ�ำนวน 2,635,940,054 หุ้น 1. จ�ำนวน 186,509,792 หุ้น จัดสรรให้แก่กลุ่มผู้ถือหุ้นเดิมของ เนอวานาฯ เพื่อใช้แทนเงินในการช�ำระค่าซื้อหุ้นสามัญของ เนอวานาฯ 2. จ�ำนวน 816,476,754 หุ้น จัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตามสัดส่วน (Rights Offering)

3. จ� ำ นวน 1,632,953,508 หุ ้ น เพื่ อ รองรั บ การใช้ สิ ท ธิ ต าม ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน S-W1 ข้อมูลสรุปการออกและเสนอขายหุ้นเพิ่มทุน ให้ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วน จ�ำนวนหุ้นที่เสนอขาย อัตราส่วน

ราคาเสนอขาย

816,476,754 หุ้น 6 หุ้นสามัญเดิม ต่อ 1 หุ้น สามัญเพิ่มทุน ควบคู่กับ 2 หน่วยใบส�ำคัญแสดงสิทธิ S-W1 (อัตราส่วน 6:1:2) 3.00 บาท ต่อ หุ้นสามัญเพิ่มทุน

ข้อมูลสรุปใบส�ำคัญแสดงสิทธิ S-W1 จ�ำนวนหน่วยที่เสนอขาย 1,632,953,508 หน่วย ราคาเสนอขาย 0.00 บาท ต่อหน่วย อายุ ไม่เกิน 4 ปี 2 เดือน นับจากวันที่ออกและเสนอขาย ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย อัตราการใช้สิทธิ มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนได้ 1 หุ้น (อัตราส่วน 1:1) ราคาการใช้สิทธิ 15.00 บาท ต่อ 1 หุ้นสามัญ เพิ่มทุนใหม่


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ลงทุนในสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 51 ในเนอวานาฯ ผ่าน การซื้ อ หุ ้ น สามั ญ ของเนอวานาฯ จากกลุ ่ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น เดิ ม โดย บริษัทฯ จะช�ำระค่าหุ้นดังกล่าวด้วยหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ออกใหม่ ของบริษัทฯ (Share Swap) และการซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน โดย ช�ำระเป็นเงิน รวมมูลค่าการลงทุนทั้งสิ้น 2,091 ล้านบาท ข้อมูลสรุปการลงทุนในเนอวานาฯ รายการ การลงทุนในสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 51 ในเนอวานาฯ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. สร้างรายได้และก�ำไรอย่างทันทีให้แก่บริษัทฯ 2. เป็นการขยายฐานและกระจายความเสี่ยงทางธุรกิจ 3. ท�ำให้บริษัทฯ สามารถเข้าไปในธุรกิจที่พักอาศัยแนวราบได้ อย่างรวดเร็ว ลักษณะการท�ำรายการ 1. ซื้อ หุ ้ น สามัญ ร้อยละ 51 ของทุน จดทะเบีย นช� ำระแล้วของ เนอวานาฯ จากกลุ่มผู้ถือหุ้นเดิม โดยช�ำระราคาค่าหุ้นด้วย หุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ จ�ำนวน 186,509,792 หุ้น 2. ซื้ อ หุ ้ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น ตามสั ด ส่ ว นการถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ (ร้อยละ 51) โดยช�ำระราคาหุ้นด้วยเงินประมาณ 319 ล้านบาท มูลค่าการลงทุน

รวมประมาณ 2,091 ล้านบาท

วันที่ท�ำรายการ

วันที่ 27 เมษายน 2558

06 มิถุนายน ออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตาม สัดส่วนการถือหุ้น และจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนและ S-W1 ให้แก่ ผู้ถือหุ้นเดิม ตามมติท่ีประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2558

08 สิงหาคม ลงทุนในอาคารส�ำนักงานซันทาวเวอร์ส (“ซันทาวเวอร์ส”) ซึ่ ง เป็ น อาคารส� ำ นั ก งานแฝด เกรด A บนถนนวิ ภ าวดี - รั ง สิ ต มูลค่าการลงทุนทั้งสิ้น 4,500 ล้านบาท (ดูรายละเอียดโครงการ ได้ในหัวข้อ “โครงการในปัจจุบัน”) ข้อมูลสรุปการลงทุนในซันทาวเวอร์ส รายการ การลงทุนในอาคารส�ำนักงานซันทาวเวอร์ส (Suntowers Office Complex) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. สร้างรายได้และก�ำไรอย่างทันทีให้แก่บริษัทฯ 2. สร้างกระแสเงินสดสม�่ำเสมอในระยะยาว 3. เป็นการขยายฐานและกระจายความเสี่ยงทางธุรกิจ 4. ท�ำให้บริษัทฯ สามารถเข้าไปในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการค้าได้อย่างรวดเร็ว ลักษณะการท�ำรายการ เ ข้ า ลงทุ น โดยการรั บ โอนกิ จ การทั้ ง หมด (Entire Business Transfer) ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยทรั พ ย์ สิ น และหนี้ สิ น ทั้ ง หมดของ บริษัท ซันทาวเวอร์ส จ�ำกัด มูลค่าการลงทุน รวมประมาณ 4,500 ล้านบาท วันที่ท�ำรายการ

ว ันที่ 10 สิงหาคม 2558 (วันที่รับโอนกิจการ ทั้งหมด)


024 - 025

เหตุ ก ารณ์ ส� ำ คั ญ ในปี 2558

09 กันยายน ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2558 วันที่ 30 กันยายน 2558 มีมติอนุมัติรายการส�ำคัญ ประกอบด้วย การลงทุนในโครงการสิงห์ คอมเพล็กซ์ (Singha Complex) ซึ่ง เป็นโครงการอาคารส�ำนักงานและพื้นที่ค้าปลีกให้เช่า (Mixeduse Commercial Complex) บริเวณหัวมุมถนนอโศกมนตรี และเพชรบุรีตัดใหม่ โดยมีมูลค่าการลงทุนไม่เกิน 4,255 ล้าน บาท (ดูรายละเอียดโครงการได้ในหัวข้อ “โครงการในอนาคต”) การให้ เ ช่ า พื้ น ที่ อ าคารส� ำ นั ก งานบางส่ ว นในโครงการสิ ง ห์ คอมเพล็กซ์ แก่บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จ�ำกัด และบริษัทย่อย (“กลุ่มบุญรอดฯ”) โดยมีระยะเวลาการเช่า 50 ปี และก�ำหนด ค่าเช่ารวมประมาณ 1,900 ล้านบาท ข้อมูลสรุปการให้เช่าพื้นที่ในโครงการสิงห์ คอมเพล็กซ์ แก่กลุ่มบุญรอดฯ รายการ การให้เช่าพื้นที่บางส่วนในโครงการสิงห์ คอมเพล็กซ์ แก่กลุ่ม บุญรอดฯ ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทฯ

ข้อมูลเบื้องต้นของพื้นที่ให้เช่า - พื้นที่อาคารส�ำนักงานชั้น 32-37 - ขนาดพื้นที่อาคารรวม (Gross Floor Area) ประมาณ 14,555 ตารางเมตร - ขนาดพื้นที่ให้เช่าสุทธิ (Net Leasable Area) ประมาณ 10,595 ตารางเมตร (คิดเป็นร้อยละ 21 ของพื้นที่อาคารส�ำนักงานให้เช่าสุทธิทั้งหมด) - สิทธิในการใช้พื้นที่จอดรถ 1 คัน ต่อ 100 ตารางเมตร ระยะเวลาการให้เช่า รวม 50 ปี ราคาค่าเช่ารวม ประมาณ 1,900 ล้านบาท และเป็นการช�ำระล่วงหน้าทั้งจ�ำนวน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. สภาพคล่องที่เพิ่มขึ้นจากค่าเช่ารับล่าวงหน้า 2. ลดภาระในการจัดหาผู้เช่าพื้นที่อาคารส�ำนักงาน 3. ผลตอบแทนที่ดีและไม่ด้อยกว่าการให้บุคคลภายนอกเช่า 4. ภาพลักษณ์ที่ดีต่อโครงการจากการที่กลุ่มบุญรอดฯ เป็นผู้เช่าหลัก

10 ตุลาคม เปิดตัวโครงการดิ เอส อโศก ซึ่งเป็นคอนโดมิเนียมระดับลัก ซัวรี่ บนถนนอโศกมนตรี และเป็นโครงการที่พักอาศัยแห่งแรก ที่ บ ริ ษั ท ฯ พั ฒ นาขึ้ น ภายหลั ง การรวมธุ ร กิ จ มู ล ค่ า โครงการ ประมาณ 4,500 ล้านบาท (ดูรายละเอียดโครงการได้ในหัวข้อ “โครงการในอนาคต”) ลงทุนในกิจการโรงแรม 26 แห่ง ภายใต้แบรนด์ “Mercure” ในสหราชอาณาจั ก ร ผ่ า นบริ ษั ท ร่ ว มทุ น (บริ ษั ท ฯ ถื อ หุ ้ น ใน สัดส่วนร้อยละ 50) มูลค่าการลงทุนรวมประมาณ 155 ล้าน ปอนด์ หรือประมาณ 8,600 ล้านบาท (ดูรายละเอียดโรงแรม 26 แห่งได้ในหัวข้อ “โครงการในปัจจุบัน”)


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ลักษณะการท�ำรายการ การลงทุนดังกล่าวด�ำเนินการผ่านบริษัทย่อยของบริษัทร่วมทุน FS JV Co Limited (“FS JV”) ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นในสัดส่วนร้อย ละ 50 และเป็นผู้เข้าลงทุนโดยการซื้อหุ้นร้อยละ 100 ใน Jupiter Hotels Holdings Limited ซึ่งเป็นผู้ประกอบการและถือ ครองกรรมสิ ท ธิ์ / สิ ท ธิ ก ารเช่ า โรงแรม 26 แห่ ง ในสหราช อาณาจักร ภายใต้แบรนด์ “Mercure” มูลค่าการลงทุน/1 รวมประมาณ 155 ล้านปอนด์ หรือประมาณ 8,600 ล้านบาท วันที่ท�ำรายการ วันที่ 10 ตุลาคม 2558 หมายเหตุ: 1 มูลค่าการลงทุนรวมโดย FS JV อ้างอิงจากอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ย ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 ซึ่งเป็นวันที่คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติอนุมัติ ที่อัตราแลก เปลี่ยนเท่ากับ 55.5579 บาทต่อปอนด์

ข้อมูลสรุปการท�ำรายการ รายการ การลงทุนในกิจการโรงแรม 26 แห่ง ในสหราชอาณาจักร ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เป็นการขยายฐานและกระจายความเสี่ยงของธุรกิจโรงแรม ไปยังประเทศที่มีเสถียรภาพสูงทางการท่องเที่ยว เศรษฐกิจ และการเงิน 2. ผลตอบแทนที่ดี ในขณะที่ความเสี่ยงของธุรกิจต�่ำ 3. สร้างกระแสเงินสดสม�่ำเสมอในระยะยาว 4. โอกาสในการต่อยอดธุรกิจโรงแรมในต่างประเทศ โดยอาศัย ความรู้และประสบการณ์ของทีมบริหารกลุ่ม Accor

11 พฤศจิกายน โรงแรมพีพี ไอแลนด์ วิลเลจ บีช รีสอร์ท (บนเกาะพีพีดอน จังหวัดสุราษฎ์ธานี) เปิดให้บริการวิลล่าโซนใหม่จ�ำนวน 45 หลัง พร้อมสระว่ายน�้ำ (สระว่ายน�้ำแห่งที่ 2 ของโรงแรม) เพื่อเพิ่ม ศั ก ยภาพในการแข่ ง ขั น และรองรั บ การขยายตั ว ของจ� ำ นวน นักท่องเที่ยวที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง


026 - 027

ภาพรวมเศรษฐกิ จ ไทย ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ และธุ ร กิ จ โรงแรม ปี 2558

ภาพรวมเศรษฐกิจไทย ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และธุรกิจโรงแรม ปี 2558

ภาพรวมเศรษฐกิ จ ไทย ปี 2558 ภาวะเศรษฐกิ จ โดยรวมในปี 2558 มี อั ต ราการเติ บ โตของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมประชาชาติ (Gross Domestic Product หรื อ “GDP”) ประมาณ 2.8% จากปี ก ่ อ น ซึ่ ง ต�่ ำ กว่ า อั ต รา การเติ บ โตที่ ไ ด้ ค าดการณ์ ไ ว้ เ มื่ อ ปลายปี 2557 ที่ 4.0% อันเนื่องจากปัจจัยหลักที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจฟื้นตัวได้ช้ากว่า ที่คาด อาทิ การส่งออกที่ปรับลดลงจากปีก่อนตามการชะลอตัว ของเศรษฐกิ จ ประเทศคู ่ ค ้ า หลั ก ได้ แ ก่ จี น ญี่ ปุ ่ น และกลุ ่ ม ประเทศในยุโรป การใช้จ่ายภาคครัวเรือนที่มีอัตราการเติบโต ในระดับต�่ำ โดยผู้บริโภคยังระมัดระวังการใช้จ่ายซึ่งสะท้อนจาก ดั ช นี ค วามเชื่ อ มั่ น ผู ้ บ ริ โ ภคเกี่ ย วกั บ ภาวะเศรษฐกิ จ ที่ ล ดลง ต่ อ เนื่ อ งตั้ ง แต่ ต ้ น ปี รวมถึ ง ราคาสิ น ค้ า และผลผลิ ต ทางการ เกษตรอยู่ในระดับต�่ำเนื่องจากผลกระทบของภัยแล้ง เป็นต้น

ขณะที่มีเพียงการขยายตัวของภาคการท่องเที่ยวตามการเพิ่มขึ้น ของนักท่องเที่ยวชาวจีน และการใช้จ่ายของภาครัฐ ได้ช่วยพยุง อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจโดยรวมไว้ อย่างไรก็ดี จากการที่ รั ฐ บาลได้ อ อกมาตรการกระตุ ้ น เศรษฐกิ จ ในหลายภาคส่ ว น ในช่วงปลายไตรมาสที่ 3 รวมถึงสถานการณ์ราคาน�้ำมันที่อยู่ใน ระดั บ ต�่ ำ ได้ เ ป็ น แรงสนั บ สนุ น ให้ ภ าวะเศรษฐกิ จ ช่ ว งปลายปี มีแนวโน้มการปรับตัวที่ดีขึ้น ภาพรวมธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ปี 2558 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในปี 2558 เริ่มมีอัตราการขยายตัวที่ดีขึ้น ภายหลั ง จากที่ ส ถานการณ์ ค วามตึ ง เครี ย ดทางการเมื อ งเริ่ ม ลดลงตั้ ง แต่ ป ลายปี 2557 โดยมี อั ต ราการขยายตั ว ของ ภาคอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ใ นปี 2558 ประมาณ 4% จากปี ก ่ อ น (ปี 2557 ขยายตัวประมาณ 0.4%) ขณะที่ยอดการโอนกรรมสิทธิ์


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ที่อยู่อาศัยในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล เติบโตขึ้นประมาณ 6% รวมถึงราคาที่ดินที่ปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 12% จากปีก่อน อย่ า งไรก็ ดี ภาวะเศรษฐกิ จ ที่ ช ะลอตั ว ยั ง คงเป็ น แรงกดดั น ต่ อ ตลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ใ นปี 2558 ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ผู ้ บ ริ โ ภค ระมัดระวังการใช้จ่าย อีกทั้งอัตราส่วนหนี้ภาคครัวเรือนต่อ GDP ที่อยู่ในระดับสูง ส่งผลกระทบต่อการปล่อยสินเชื่อที่อยู่อาศัย ของธนาคารพาณิชย์ และท�ำให้ผู้บริโภคที่มีรายได้น้อยเข้าถึง สิ น เชื่ อ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ได้ ย ากขึ้ น ทั้ ง นี้ ในเดื อ นตุ ล าคมที่ ผ ่ า นมา ภาครั ฐ ได้ ป ระกาศมาตรการการเงิ น การคลั ง เพื่ อ กระตุ ้ น เศรษฐกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ อันประกอบด้วย การผ่อนปรน การปล่ อ ยสิ น เชื่ อ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ให้ ผู ้ มี ร ายได้ น ้ อ ยและปานกลาง การลดค่ า ธรรมเนี ย มการโอนและค่ า จดทะเบี ย นการจ� ำ นอง อสังหาริมทรัพย์ และการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ซื้อ ที่ อ ยู ่ อ าศั ยไม่ เ กิ น 3 ล้ า นบาท ซึ่ ง มาตรการเหล่ า นี้ ไ ด้ ช ่ วยเร่ ง การตั ด สิ น ใจของผู ้ บ ริ โ ภค และกระตุ ้ น ตลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ในช่วงปลายปีให้มีการปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้น

ขณะที่ ดั ช นี ค วามเชื่ อ มั่ น ผู ้ บ ริ โ ภคเกี่ ย วกั บ ภาวะเศรษฐกิ จ ปรั บ ลดลงตั้ ง แต่ ต ้ น ปี และแตะระดั บ ต�่ ำ สุ ด ในเดื อ นกั น ยายน อย่างไรก็ดี ผลจากการออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในช่วง ปลายปี ข องภาครั ฐ ได้ ส ่ ง ผลดี ต ่ อ ตลาดค้ า ปลี ก จากการเร่ ง การใช้ จ ่ า ยของภาคครั ว เรื อ น และช่ ว ยผลั ก ดั น ให้ ก ารใช้ จ ่ า ย ภาคครั ว เรื อ นในปี 2558 สามารถเติ บ โตได้ ป ระมาณ 2.1% จากปีก่อน ด้านพื้นที่ค้าปลีกในกรุงเทพมีข นาดรวมประมาณ 7.1 ล้ า นตารางเมตร เพิ่ ม ขึ้ น ประมาณ 5.9% จากปี ก ่ อ น จากการเปิดศูนย์การค้าขนาดใหญ่หลายแห่ง อาทิ ศูนย์การค้า เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล อีสวิลล์ และศู น ย์ ก ารค้ า ดิ เอ็ ม ควอเที ย ร์ เป็ น ต้ น ขณะเดี ย วกั น ผู้ประกอบการบางรายยังคงมีการขยายพื้นที่ใหม่ในต่างจังหวัด อย่างไรก็ดี ผลจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวท�ำให้ผู้ประกอบการ เริ่มชะลอแผนการลงทุนโครงการใหม่ และปรับแผนการลงทุน โดยปรั บ ปรุ ง ศู น ย์ ก ารค้ า หรื อ สาขาเดิ ม ที่ มี อ ยู ่ แ ทน เพื่ อ ให้ สามารถแข่งขันกับศูนย์การค้าที่เปิดใหม่ได้

ภาพรวมธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก และอาคารส� ำ นั ก งานให้ เ ช่ า ปี 2558

ส�ำหรับธุรกิจปล่อยเช่าพื้นที่อาคารส�ำนักงานในกรุงเทพมีแนวโน้ม ที่ดี โดยในปี 2558 พื้นที่ปล่อยเช่ามีขนาดรวมประมาณ 8.5 ล้านตารางเมตร เพิ่มขึ้นเล็กน้อยประมาณ 1.8% จากปีก่อน ขณะที่ ต ลาดในกรุ ง เทพยั ง คงมี ค วามต้ อ งการเช่ า พื้ น ที่ อ ยู ่ ใ น ระดับสูง ซึ่งสะท้อนได้จากอัตราการเช่าพื้นที่ (Occupancy Rate) ที่ระดับ 91% สูงขึ้น 1% จากปีก่อน ส่งผลให้ผู้ประกอบการ ที่ให้เช่าพื้นที่ยังสามารถปรับอัตราค่าเช่าเพิ่มขึ้นจากปีก่อนได้

ธุรกิจค้าปลีกในปี 2558 มีอัตราการขยายตัวเล็กน้อยจากปีก่อน โดยการใช้จ่ายภาคครัวเรือนมีอัตราการเติบโตในระดับต�่ำตลอด ทั้งปี ซึ่งมีสาเหตุหลักจากการที่ผู้บริโภคระมัดระวังการใช้จ่าย และกั ง วลต่ อ ภาวะเศรษฐกิ จ โดยรวมที่ ฟ ื ้ น ตั ว ช้ า กว่ า ที่ ค าด

ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ (Gross Domestic Product หรือ GDP)

การใชจายภาคครัวเรือน

(พันลานบาท)

(พันลานบาท)

*ตัวเลขคาดการณ

2,000

20,000 15,000

7.3% 2.8%

0.9%

2.8%

3.5%

1,500

10,000

1,000

5,000

500

0

0

2555

2556

2557

ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ (GDP) %อัตราการเติบโต (GDP)

2558

2559*

2.4%

1.6%

1.8%

2.5%

ไตรมาส 1/58

ไตรมาส 2/58

ไตรมาส 2/58

ไตรมาส 4/58

การใชจายภาคครัวเรือน %อัตราการเติบโต


028 - 029

ภาพรวมเศรษฐกิ จ ไทย ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ และธุ ร กิ จ โรงแรม ปี 2558

ภาพรวมธุ ร กิ จ โรงแรม ปี 2558 ธุรกิจโรงแรมในไทย ในปี 2558 ธุรกิจโรงแรมได้รับการสนับสนุนจากภาคท่องเที่ยว ที่ขยายตัวต่อเนื่องตั้งแต่ปลายปี 2557 อันเป็นผลจากจ�ำนวน นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เ ดิ น ทางเข้ า ประเทศมี อั ต ราการเติ บ โตที่ สู ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง ในปี 2558 มี จ� ำ นวนนั ก ท่ อ งเที่ ย วถึ ง 29.9 ล้ า นคน เพิ่ ม ขึ้ น 20.4% จากปี ก ่ อ น โดยเฉพาะนั ก ท่ อ งเที่ ย ว ชาวจีนที่เติบโตต่อเนื่องตลอดทั้งปี ในปี 2558 มีนักท่องเที่ยว ชาวจีนที่เดินทางมายังประเทศไทยสูงถึง 7.9 ล้านคน เติบโต 71.1% จากปี ก ่ อ น และคิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นที่ สู ง ถึ ง 26.6% ของ จ�ำนวนนักท่องเที่ยวทั้งหมด ขณะที่กลุ่มนักท่องเที่ยวจากยุโรป ยั ง คงได้ รั บ ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิ จ ของกลุ ่ ม ประเทศ สหภาพยุโรป (EU) ที่ชะลอตัว และส่งผลกระทบต่อธุรกิจโรงแรม ที่พึ่งพิงกลุ่มนักท่องเที่ยวจากยุโรปเป็นหลัก ขณะที่เหตุระเบิด ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในกรุ ง เทพเมื่ อ เดื อ นสิ ง หาคมนั้ น ท� ำ ให้ จ� ำ นวน นั ก ท่ อ งเที่ ย วในเดื อ นกัน ยายนมีอัต ราการเติบโตที่ชะลอตัวลง อย่างไรก็ดี เหตุการณ์ดังกล่าวส่งผลกระทบต่อภาคการท่องเที่ยว ในระยะสั้น และกระทบต่อธุรกิจโรงแรมในบางพื้นที่ในกรุงเทพ เท่านั้น ดังจะเห็นได้จากจ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่เริ่มกลับมาเติบโต ดีขึ้นได้อีกครั้งตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน อีกทั้งในปี 2558 มีอัตรา การเข้าพัก (Occupancy Rate) สูงกว่า 60% ซึ่งสูงกว่าปีก่อน ที่ มี อั ต ราการเข้ า พั ก ประมาณ 56% ได้ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ว่ า ประเทศไทยยังคงเป็นจุดหมายส�ำหรับนักท่องเที่ยว

ธุรกิจโรงแรมในสหราชอาณาจักร (United Kingdom หรือ “UK”) ปี 2558 ธุรกิจโรงแรมใน UK สามารถขยายตัวได้ต่อเนื่องจาก ปี 2557 อันเป็นผลจากการฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจของ UK ซึ่งฟื้นตัวได้เร็วกว่ากลุ่มประเทศใน EU โดยมีอัตราการขยายตัว ทางเศรษฐกิจของปี 2558 ประมาณ 2.4% (เทียบกับกลุ่ม EU ที่ 1.5%) และภาคการท่องเที่ยวของ UK ที่ขยายตัวได้ต่อเนื่อง ซึ่งในปีนี้มีจ�ำนวนนักท่องเที่ยวทั้งหมดประมาณ 35.1 ล้านคน เพิ่มขึ้น 2.5% จากปีก่อน โดยเป็นนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาที่ ลอนดอนอันเป็นเมืองธุรกิจและแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญใน UK ประมาณ 18.8 ล้านคน เพิ่มขึ้น 5.6% จากปีก่อน ขณะเดียวกัน การฟื ้ น ตั ว ทางเศรษฐกิ จ ยั ง ช่ ว ยสนั บ สนุ น ด้ า นการติ ด ต่ อ ทาง ธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจด้านการจัดประชุม งานสัมมนา และการ จัดเลี้ยงในท้องถิ่น (ธุรกิจ MICE) และส่งผลดีต่อธุรกิจโรงแรม เช่นกัน ซึ่งส่งผลให้ในปี 2558 ธุรกิจโรงแรมใน UK มีอัตราการ เข้าพักประมาณ 78% สูงขึ้นประมาณ 1.4% จากปีก่อน

จํานวนนักทองเที่ยวที่เดินทางเขาประเทศไทย *ตัวเลขคาดการณ

(ลานคน) 45.0 30.0

16.2%

20.4%

18.8% -6.5% 26.5

22.4

24.8

8.8%

29.9

32.5

2558

2559*

15.0 0.0

2555

2556

2557

จํานวนนักทองเที่ยวทั้งหมด

%อัตราการเติบโต


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

แนวโน้ ม ภาวะเศรษฐกิ จ ปี 2559 ส�ำหรับแนวโน้มภาวะเศรษฐกิจในปี 2559 คาดว่าจะเติบโตได้ ประมาณ 3.0-4.0% จากปี 2558 โดยมี ป ั จ จั ย หลั ก ที่ ช ่ ว ย ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ อั น ได้ แ ก่ การใช้ จ ่ า ยและการลงทุ น จาก ภาครัฐ ผลของมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ การฟื้นตัว ของภาคการส่ ง ออกตามการฟื ้ น ตั ว ของเศรษฐกิ จ โลก รวมถึ ง การขยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ งของภาคการท่ อ งเที่ ย ว ด้ า นธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะขยายตั ว ได้ ต ่ อ เนื่ อ ง โดยดั ช นี ความเชื่อมั่นผู้บริโภคเริ่มมีทิศทางที่ปรับตัวดีขึ้นตั้งแต่ปลายปี 2558 แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ผู ้ บ ริ โ ภคเริ่ ม มี ค วามมั่ น ใจที่ จ ะใช้ จ ่ า ย มากขึ้ น อี ก ทั้ ง ด้ า นผู ้ ป ระกอบการยั ง คงมี ก ารลงทุ น ซื้ อ ที่ ดิ น เพื่อรอการพัฒนาโครงการในอนาคต ซึ่งสะท้อนจากราคาที่ดิน ที่ ยั ง ปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งในปี 2558 ด้ า นธุ ร กิ จ โรงแรม จะขยายตั ว ต่ อ เนื่ อ งจากจ� ำ นวนนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เป็ น 32.5 ล้านคน โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการทรงตัวของต้นทุน ในการท่องเที่ยวที่ปรับตามราคาพลังงานในตลาดโลก การอ่อนค่า

ของเงินบาท ส�ำหรับธุรกิจค้าปลีกมีแนวโน้มการแข่งขันที่สูงขึ้น จากการแย่ งชิ งส่ วนแบ่ งตลาดจากผู ้ ป ระกอบการเดิ ม ในพื้นที่ ใกล้เคียงกัน ขณะที่ธุรกิจปล่อยเช่าพื้นที่อาคารส�ำนักงานยังคงมี แนวโน้มที่ดี เนื่องจากความต้องการเช่าพื้นที่ยังอยู่ในระดับสูง เมื่อเทียบกับอุปทานของพื้นที่ส�ำนักงานปล่อยเช่าที่มีอยู่ในตลาด ท�ำให้ผู้ประกอบการที่ให้เช่าพื้นที่ยังมีโอกาสในการปรับค่าเช่า เพิ่มขึ้นได้ ที่มา: - ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย - กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา - The World Bank - ธนาคารแห่งประเทศไทย - CB Richard Ellis (Thailand) Co., Ltd. (CBRE) - ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ (REIC) - PricewaterhouseCoopers LLP

ดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจ

75.0 70.0 65.0 60.0

ธ.ค.58

พ.ย.58

ต.ค.58

ก.ย.58

ส.ค.58

ก.ค.58

มิ . ย.58

พ.ค.58

เม.ย.58

มี . ค.58

ก.พ.58

ม.ค.58

55.0


030 - 031

ผลการด� ำ เนิ น งาน ประจ� ำ ปี 2558

ผลการด�ำเนินงาน ประจ�ำปี 2558 ภาพรวมธุ ร กิ จ

ภาพรวมผลการด� ำ เนิ น งาน

ปี 2558 เป็นปีแรกของการด�ำเนินธุรกิจเต็มปีภายใต้ชื่อ บมจ. สิงห์ เอสเตท (“บริษัทฯ” หรือ “สิงห์ เอสเตท”) ซึ่งตั้งแต่ปี 2557 ที่มีการรวมธุรกิจและได้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของบจ.บุญรอดบริวเวอรี่ (“บุญรอดฯ”) นับเป็นก้าวส�ำคัญเพื่อปูทางสู่แผนธุรกิจใหม่ของ บริ ษั ท ฯ ที่ มี ก ารเข้ า ซื้ อ กิ จ การ (M&A) รวมถึ ง การลงทุ น หรื อ ร่ ว มลงทุ น ซึ่ ง จะเป็ น กลยุ ท ธ์ ห ลั ก ในการสร้ า งรายได้ กระแส เงินสด ผลก�ำไร และการเติบโตในระยะเริ่มต้นของบริษัทฯ

ผลการด�ำเนินงานทางการเงินรวม ตามงบการเงินรวมในปี 2558 สิงห์ เอสเตท มีรายได้รวม 2,149 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 482% จากปีก่อน และมีก�ำไรขั้นต้นเพิ่มขึ้น 439% จากปีก่อน อันเป็นผลจากการบันทึกผลการด�ำเนินงาน เต็มปีของโรงแรมสันติบุรี บีช รีสอร์ท แอนด์ สปา และโรงแรม พี พี ไอส์ แ ลนด์ วิ ล เลจ บี ช รี ส อร์ ท ผลการด� ำ เนิ น งานของ เนอวานาฯ (8 เดื อ น) และซั น ทาวเวอร์ ส ฯ (4 เดื อ น) ขณะที่ บริ ษั ท ฯ มี ข าดทุ น สุ ท ธิ 261 ล้ า นบาทในปี 2558 เที ย บกั บ ปี 2557 ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ มี ก� ำ ไรสุ ท ธิ 347 ล้ า นบาท ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจาก บริษัทฯ ได้มีการบันทึกผลจากการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมของ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ซึ่งเป็นผลก�ำไร 588 ล้านบาท ในปี 2557 ในขณะที่มีผลขาดทุนจากรายการประเภทเดียวกัน 29 ล้านบาทในปี 2558

สินทรัพย์ของบริษัทฯ ในปี 2558 ได้ขยายเพิ่มขึ้นเท่าตัวจากการ ลงทุนที่ส�ำคัญ อาทิ การเข้าถือหุ้น 51% ในบริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (“เนอวานาฯ”) ซึ่งเป็นหนึ่งในบริษัทชั้นน�ำ ด้านการพัฒนาบ้านเดี่ยวและที่พักอาศัยแนวราบ การเข้าเป็น เจ้าของ 100% ในอาคารส�ำนักงานซันทาวเวอร์ส ซึ่งเป็นอาคาร ส�ำนักงานขนาดใหญ่ที่มีผลการด�ำเนินงานดีต่อเนื่อง และการ ร่วมทุน 50% เพื่อเป็นเจ้าของและผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม จ�ำนวน 26 แห่ง ภายใต้แบรนด์เมอร์เคียวในสหราชอาณาจักร แม้ว่าปี 2558 จะเป็นปีที่ท้าทายส�ำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยเฉพาะธุรกิจที่พักอาศัย ถึงกระนั้น บริษัทฯ ยังสามารถเติบโต รายได้กว่า 482% จากปีก่อน ประกอบกับในปี 2558 ที่ผ่านมา บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจากการท�ำตลาดและประชาสัมพันธ์ การเปิดตัวแบรนด์องค์กร (Corporate Brand) และโครงการ ใหม่หลายแห่งในกลุ่มบริษัท รวมถึงค่าที่ปรึกษาในการเข้าท�ำ รายการควบรวม/ซื้อกิจการ (M&A) ถึงกระนั้น บริษัทฯ ยังคงมี ผลประกอบการสุ ท ธิ ใ กล้ เ คี ย งกั บ ปี ก ่ อ น (ไม่ นั บ รวมรายการ พิเศษ ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงาน) อนึ่ ง ความต้ อ งการซื้ อ บ้ า นที่ ช ะลอตั ว ลงถื อ เป็ น ความท้ า ทาย ที่ ส� ำ คั ญ ในปี ที่ ผ ่ า นมา ซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบโดยตรงต่ อ เนอวานาฯ ดังนั้น ตั้งแต่ไตรมาสที่ 4 ปี 2558 แผนกลยุทธ์และการตลาด รูปแบบใหม่จึงได้ถูกน�ำมาปรับใช้เพื่อตอบสนองต่อภาวะตลาด ที่ ช ะลอตั ว และกระตุ ้ น ผลการด� ำ เนิ น งานของเนอวานาฯ ในปี 2559

การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ ตามมาตรฐานการบั ญ ชี ฉบั บ ที่ 40 (ปรั บ ปรุ ง 2558) เรื่ อ ง อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การลงทุ น ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ ได้ เ ริ่ ม ปฏิ บั ติ เ มื่ อ ไตรมาสที่ 3 ปี 2558 นั้น นโยบายการบัญชีส�ำหรับสินทรัพย์ที่ จัดอยู่ในประเภทอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนได้เปลี่ยนแปลง จากเดิมที่แสดงโดย “วิธีราคาทุน” เป็น “วิธีมูลค่ายุติธรรม” ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวมีรายละเอียดตาม หมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 3


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ปี 2557 (ปรับปรุงใหม่)

ปี 2558

เทียบกับ ปีก่อน

% เทียบกับ ปีก่อน

รายได้รวม - อสังหาริมทรัพย์เพื่อการพักอาศัย - โรงแรม - อสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้า

370 143 220 7

2,149 1,175 734 240

1,780 1,033 515 233

482% 723% 234% 3237%

ก�ำไรขั้นต้น

138

743

605

439%

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

386

923

537

139%

ก�ำไร (ขาดทุน) จากการด�ำเนินงาน

(248)

(181)

68

(27%)

รายได้อื่น ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า

621 0

167 (41)

(454) (41)

(73%) n/a

ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนต้นทุนทางการเงิน และภาษีเงินได้

372

(55)

(428)

n/a

28 (3)

203 (10)

175 (7)

623% 194%

348

(248)

(596)

n/a

(1)

(13)

(12)

995%

347

(261)

(607)

n/a

(หน่วย : ล้านบาท)

ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับงวด ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ พั ฒ นาการที่ ส� ำ คั ญ ในปี 2558

ภายใต้แผนธุรกิจระยะ 5 ปี (ปี 2558 – 2562) การเข้าซื้อที่ดิน และพัฒนาโครงการที่มีคุณภาพภายใต้แนวคิด “Best in Class” เป็นกลยุทธ์ส�ำคัญในการสร้างการเติบโต ควบคู่ไปกับการลงทุน หรือร่วมลงทุน หรือการเข้าซื้อกิจการ (M&A) หรือสินทรัพย์ที่มี ศักยภาพในการเติบโตสูง บริษัทฯ ได้ลงทุนและขยายธุรกิจอย่าง ต่ อ เนื่ อ งด้ ว ยความระมั ด ระวั ง ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ ได้ เ ข้ า ท� ำ รายการที่ ส�ำคัญตามแผนธุรกิจภายใต้นโยบายการลงทุนที่ก�ำหนดไว้ ดังนี้

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อการพักอาศัย - การเข้าซื้อหุ้น 51% ในบริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด ซึง่ เป็นหนึง่ ในบริษทั ชัน้ น�ำด้านการพัฒนาบ้านเดีย่ ว และที่ พั ก อาศั ย แนวราบ ด้ ว ยการแลกหุ ้ น และเพิ่ ม ทุ น กับเนอวานาฯ ซึ่งผลการด�ำเนินงานของเนอวานาฯ นับ ตั้งแต่วันที่ 27 เมษายน 2558 เป็นต้นไป จะถูกน�ำมารวม และปรากฏเป็นส่วนหนึ่งในงบการเงินรวมของบริษัทฯ


032 - 033

ผลการด� ำ เนิ น งาน ประจ� ำ ปี 2558

- ในเดือนตุลาคม บริษัทฯ ได้เปิดตัวโครงการ ดิ เอส อโศก คอนโดมิเนียม ซึ่งเป็นโครงการที่พัฒนาโดยสิงห์ เอสเตท โดย ณ สิ้ น ปี 2558 โครงการดั ง กล่ า วมี ย อดขาย Pre-sales ที่ 58% ทั้ ง นี้ โครงการนี้ มี มู ล ค่ า โครงการ ประมาณ 4,500 ล้านบาท และคาดว่าจะก่อสร้างแล้ว เสร็จในปี 2561 ธุรกิจโรงแรม - ภายหลั ง จากการปรั บ ปรุ ง โรงแรมสั น ติ บุ รี บี ช รี ส อร์ ท แอนด์ สปา (“โรงแรมสั น ติ บุ รี ฯ ”) ที่ได้ปิดบริการไป ตั้งแต่เดือนกันยายน 2557 และกลับมาเปิดให้บริการ อีกครั้งด้วยรูปโฉมใหม่ในเดือนธันวาคม 2557 เป็นต้น มา ในเดือนเมษายน โรงแรมสันติบุรีฯ ได้เปิดให้บริการ ห้องพักวิลล่ารูปแบบใหม่ภายใต้ชื่อ “Spa Villa” จ�ำนวน 6 วิลล่า ซึ่งเป็นงานส่วนสุดท้ายของการปรับปรุงโรงแรม ใหม่ทั้งหมด - เดื อ นตุ ล าคม ได้ เ ข้ า ซื้ อ กิ จ การ 100% ของ Jupiter Hotels Holding Ltd. ที่ อั ง กฤษ ซึ่ ง บริ ษั ท ดั ง กล่ า ว เป็นเจ้าของและผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมจ�ำนวน 26 แห่ง ภายใต้แบรนด์เมอร์เคียวในสหราชอาณาจักร โดยการ เข้าซื้อกิจการครั้งนี้ได้ท�ำโดยผ่านการร่วมทุน 50% กับ กลุ่มบริษัทในประเทศแห่งหนึ่ง - ช่ ว งสิ้ น ปี 2558 ได้ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก ารห้ อ งพั ก แบบวิ ล ล่ า อีก 45 วิลล่า ที่โรงแรมพีพี ไอส์แลนด์ วิลเลจ บีช รีสอร์ท (“โรงแรมพีพี วิลเลจฯ”) โดยใช้งบลงทุนประมาณ 200 ล้ า นบาทส� ำ หรั บ การเพิ่ ม จ� ำ นวนห้ อ งพั ก และปรั บ ปรุ ง ส่วนอื่นๆ ของโรงแรม ซึ่งคาดว่าไม่เพียงแต่จะช่วยให้ อั ต ราผลตอบแทนจากการลงทุ น ดี ขึ้ น แต่ ยั ง ท� ำ ให้

โรงแรมนี้กลายเป็นผู้น�ำธุรกิจโรงแรมบนเกาะพีพีอย่าง เต็มตัวอีกด้วย ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้า - เดื อ นสิ ง หาคม ได้ เ ข้ า ลงทุ น ในอาคารส� ำ นั ก งาน ซันทาวเวอร์ส (“ซันทาวเวอร์สฯ”) ด้วยมูลค่าการลงทุน 4,500 ล้านบาท ซันทาวเวอร์สฯ เป็นอาคารส�ำนักงาน เกรด A ตั้งอยู่บนถนนวิภาวดี-รังสิต ห่างจากใจกลาง กรุงเทพฯ เพียง 10 กิโลเมตร โครงการนี้ประกอบด้วย 2 อาคาร ซึ่งมีพื้นที่ส�ำนักงานให้เช่าประมาณ 55,820 ตารางเมตร และพื้นที่ค้าปลีกในพลาซ่าประมาณ 2,200 ตารางเมตร - เดือนสิงหาคม ได้เริ่มก่อสร้างงานฐานรากของโครงการ สิงห์ คอมเพล็กซ์ (“สิ ง ห์ คอมเพล็ ก ซ์ ฯ ”) ซึ่งจะเป็น อาคารส�ำนักงานและพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าที่ตั้งอยู่บริเวณ มุมถนนอโศกมนตรีและถนนเพชรบุรีตัดใหม่ โดยมีมูลค่า งานก่อสร้างประมาณ 4,200 ล้านบาท และคาดว่าจะ เริ่ ม ด� ำ เนิ น การในเชิ ง พาณิ ช ย์ ป ระมาณไตรมาสที่ 1 ปี 2561 สรุ ป ผลการด� ำ เนิ น งาน สิงห์ เอสเตท รายงานผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี 2558 โดยมี รายได้รวม 2,149 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 482% จากปีก่อน อันเป็น ผลจากรายได้จากธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อการพักอาศัย ซึ่งคิด เป็นสัดส่วน 55% ของรายได้รวม ขณะที่ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เพื่ อ การค้ า มี อั ต ราการเติ บ โตของรายได้ สู ง ที่ สุ ด และคิ ด เป็ น สัดส่วน 11% ของรายได้รวม

ผลการด�ำเนินงานทางการเงินแบ่งตามธุรกิจ รายได้แบ่งตามธุรกิจ รายได้รวม อสังหาริมทรัพย์เพื่อการพักอาศัย โรงแรม อสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้า

2557

2558

370 143 220 7

2,149 1,175 734 240

เปลี่ยนแปลง 1,780 1,033 515 233

เปลี่ยนแปลง (%) 482% 723% 234% 3,237%


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อการพักอาศัย รายได้หลักมาจากผลการด�ำเนินงานของเนอวานาฯ และมีเพียง ส่วนน้อยที่มาจากรายได้จากการขายและรอโอนกรรมสิทธิ์ของ บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ (“RASA”) ซึ่งได้โอน และปิดการขายโครงการทั้งหมดแล้วตั้งแต่ช่วงครึ่งปีแรกของ ปี 2558 ทั้งนี้ ในปี 2558 รายได้ของธุรกิจที่พักอาศัยเพื่อการ ขายเพิ่มขึ้น 723% จากปีก่อน อันเป็นผลจากรายได้จากการขาย ของเนอวานาฯ ซึ่งได้ถูกน�ำมารวมและปรากฏเป็นส่วนหนึ่งใน งบการเงินรวมของบริษัทฯ นับตั้งแต่วันที่ 27 เมษายน 2558 เป็ น ต้ น ไป อย่ า งไรก็ ดี ผลการด� ำ เนิ น งานในปี นี้ ข องบริ ษั ท ฯ ต�่ ำ กว่ า ที่ ค าดไว้ เ ช่ น เดี ย วกั บ ผู ้ ป ระกอบการส่ ว นใหญ่ โดยมี สาเหตุจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลง ท�ำให้ความต้องการซื้อ บ้านของลูกค้าลดลงไปด้วย ธุรกิจโรงแรม: ผลการด�ำเนินงาน ผลการด�ำเนินงาน

ปี 2557 ปี 2558

โรงแรมสันติบุรีฯ จ�ำนวนห้องพัก อัตราการเข้าพัก

78 62%

78 58%

โรงแรมพีพี วิลเลจฯ /1 จ�ำนวนห้องพัก อัตราการเข้าพัก

117 84%

162 82%

กลุ่มโรงแรมในสหราชอาณาจักร /2 จ�ำนวนห้องพัก อัตราการเข้าพัก

2,883 66%

2,883 69%

หมายเหตุ: 1 บริษัทฯ เข้าซื้อกิจการเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2557 2 บริษัทฯ ร่วมทุน 50% เข้าซื้อกิจการเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2558

ธุรกิจโรงแรม ผลประกอบการของธุรกิจโรงแรมมาจากโรงแรมสันติบุรีฯ และ โรงแรมพีพี วิลเลจฯ ขณะที่ผลการด�ำเนินงานของธุรกิจโรงแรม จ� ำ นวน 26 แห่ ง ในสหราชอาณาจั ก ร จะรายงานแยกไว้ ใ น รายการ ส่วนแบ่งผลการด�ำเนินงานจากเงินลงทุนในการร่วมค้า ปี 2558 ธุรกิจโรงแรมมีอัตราการเติบโตของรายได้ 234% จาก ปีก่อน โดยมีรายได้หลักมาจากโรงแรมพีพี วิลเลจฯ ซึ่งแม้ว่า ได้มีการเพิ่มจ�ำนวนห้องพัก แต่โรงแรมดังกล่าวยังมีอัตราการ เข้ า พั ก ที่ แ ข็ ง แกร่ ง และมี ร าคาห้ อ งพั ก เฉลี่ ย ต่ อ คื น (ADR) เพิ่มขึ้นเล็กน้อย ซึ่งเป็นผลส�ำเร็จจากการกระจายกลุ่มลูกค้าที่ เข้ า พั ก จากหลายประเทศ รวมถึ ง การกระจายช่ อ งทางการ จ�ำหน่ายห้องพัก ท�ำให้โรงแรมสามารถเพิ่มจ�ำนวนลูกค้าจาก นักท่องเที่ยวจากจีนเพื่อทดแทนจ�ำนวนนักท่องเที่ยวจากยุโรป ที่ลดลงได้ ด้านโรงแรมสันติบุรีฯ ภายหลังจากที่ได้ด�ำเนินการ ปรับปรุงโรงแรมแล้วเสร็จ ท�ำให้โรงแรมสามารถปรับเพิ่ม ADR ได้ อย่างไรก็ดี อัตราการเข้าพักยังต�่ำกว่าที่คาดไว้อันเป็นผลจาก ภาวะเศรษฐกิจซบเซาที่ยาวนานของประเทศส่วนใหญ่ในกลุ่ม สหภาพยุโรป (EU) ซี่งเป็นฐานลูกค้าส�ำคัญของโรงแรมสันติบุรีฯ ส� ำ หรั บ ธุ ร กิ จ โรงแรมในสหราชอาณาจั ก ร แม้ ว ่ า จะมี ผ ลการ ด�ำเนินงานที่แข็งแกร่ง และเป็นไปตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ แต่เนื่อง ด้วยมีค่าใช้จ่ายซึ่งเป็นรายการที่ไม่ได้เกิดขึ้นประจ�ำ (one-time expenses) ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าท�ำรายการซื้อกิจการ จึงส่งผล ให้มีผลขาดทุนในปี 2558 จ�ำนวน 41 ล้านบาท ทั้งนี้ ยังไม่รวม ดอกเบี้ยรับจากเงินให้กู้แก่กิจการร่วมค้าจ�ำนวน 33 ล้านบาท ซึ่งเมื่อรวมรายการดอกเบี้ยรับดังกล่าวแล้ว ผลประกอบการรวม ของการเงินทุนในกลุ่มโรงแรมในสหราชอาณาจักรมีผลขาดทุน 8 ล้านบาท


034 - 035

ผลการด� ำ เนิ น งาน ประจ� ำ ปี 2558

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้า: ผลการด�ำเนินงาน ผลการด�ำเนินงาน

ปี 2557 ปี 2558

เดอะไลท์เฮ้าส์ พื้นที่ให้เช่า (ตร.ม.) อัตราการปล่อยเช่า

3,038 73%

3,196 78%

ซันทาวเวอร์สฯ /1 พื้นที่ให้เช่า (ตร.ม.) อัตราการปล่อยเช่า

-

58,044 94%

หมายเหตุ: 1 บริษัทฯ รับโอนกิจการทั้งหมดเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2558

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้า อสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้า (Commercial Property) จัดอยู่ ในประเภทอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การลงทุ น ได้ ถู ก วั ด และแสดง มู ล ค่ า ตามราคายุ ติ ธ รรม (ดู ห มายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ข้อ 2.11) อย่างไรก็ดี เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบได้ จึงได้แสดง การวิ เ คราะห์ เ พิ่ ม เติ ม ส� ำ หรั บ ผลการด� ำ เนิ น งานที่ ไ ม่ ร วม ผลกระทบจากการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมดังกล่าว ในปี 2558 รายได้จากธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้ามีจ�ำนวน 240 ล้ า นบาท ลดลง 60% จากปี ก ่ อ น เนื่ อ งจากในปี 2557 ได้ มี ก ารบั น ทึ ก ก� ำ ไรจากการปรั บ ปรุ ง มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของสิ ง ห์ คอมเพล็กซ์ฯ จ�ำนวน 588 ล้านบาท หากไม่รวมก�ำไรดังกล่าว ธุรกิจนี้มีรายได้เติบโตเพิ่มขึ้นถึง 3,237% จากปีก่อน อันเป็น ผลจากการรับรู้ผลการด�ำเนินงานของซันทาวเวอร์ส ซึ่งถูกรวม เข้ า มาหลั ง จากที่ บ ริ ษั ท ฯ ได้ รั บ โอนกิ จ การทั้ ง หมดเมื่ อ เดื อ น สิงหาคม ปี 2558

ก�ำไรขั้นต้น ในปี 2558 ก�ำไรขั้นต้นมีจ�ำนวน 743 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 439% จากปี ก ่ อ น อั น เป็ น ผลจากการเข้ า ซื้ อ กิ จ การและการลงทุ น ข้างต้น รายได้อื่น รายได้อื่นประกอบด้วย ดอกเบี้ยรับ และรายการที่ไม่เกี่ยวกับ การด�ำเนินงาน ได้แก่ ก�ำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ผลจากการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการ ลงทุน และการซื้อ/จ�ำหน่ายสินทรัพย์ ในปี 2558 รายได้อื่นมีจ�ำนวน 167 ล้านบาท เทียบกับ 621 ล้ า นบาทในปี ก ่ อ น โดยส่ ว นต่ า งที่ ส� ำ คั ญ มาจากก� ำ ไรจาก การปรั บ ปรุ ง มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของสิ ง ห์ คอมเพล็ ก ซ์ ฯ จ� ำ นวน 588 ล้านบาท ตามที่ได้เรียนไว้ข้างต้น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ในปี 2558 บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารจ� ำนวน 923 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 139% จากปีก่อน โดยเพิ่มขึ้นจาก 1) ค ่ าใช้ จ ่ ายที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จากสิ น ทรั พ ย์ ใ หม่ คื อ โรงแรมพีพี วิลเลจฯ เนอวานาฯ และซันทาวเวอร์สฯ 2) ค่าใช้จ่ายการตลาดและรายการส่งเสริมการขายในการ เปิดตัวแบรนด์องค์กร (Corporate Brand) และดิ เอส อโศก จ�ำนวน 54 ล้านบาท 3) ก ารเพิ่ ม ขึ้ น ของจ� ำ นวนพนั ก งานของส� ำ นั ก ใหญ่ เ พื่ อ รองรับการเติบโตภายหลังจากการรวมธุรกิจ 4) ค่าที่ปรึกษาที่เกี่ยวกับการเข้าซื้อกิจการ (M&A) จ�ำนวน 48 ล้านบาท ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ บริ ษั ท ฯ มี ผ ลขาดทุ น สุ ท ธิ ใ นปี 2558 จ� ำ นวน 261 ล้ า นบาท เทียบกับก�ำไรสุทธิในปีก่อน จ�ำนวน 347 ล้านบาท ทั้งนี้ ที่ส�ำคัญ เกิดจากการบันทึกก�ำไรจากการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมจ�ำนวน 588 ล้านบาทในปี 2557


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

งบแสดงฐานะการเงินรวม (หน่วย : ล้านบาท / % ของสินทรัพย์รวม)

สิ้นปี 2557 (ปรับปรุงใหม่)

สิ้นปี 2558

สินทรัพย์ เงินสดและเงินลงทุนระยะสั้น ต้นทุนการพัฒนาโครงการ สินค้าคงเหลือ อื่นๆ

898 795 33 93

8% 7% 0.3% 1%

899 7,660 675 560

4% 30% 3% 2%

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

1,819

16%

9,794

39%

ที่ดินรอการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ อื่นๆ

1,500 4,386 3,102 482

13% 39% 27% 4%

45 8,375 3,507 3,586

0.2% 33% 14% 14%

11,288

100%

25,308

100%

3,167 38 429

28% 0.3% 4%

6,241 579 1,232

25% 2% 5%

3,634

32%

8,053

32%

505 22

4% 0.2%

4,097 1,228

16% 5%

4,161

37%

13,377

53%

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว ก�ำไรสะสม อื่นๆ

4,712 1,883 531

42% 17% 5%

5,715 1,625 4,589

23% 6% 18%

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

7,126

63%

11,930

47%

รวมสินทรัพย์ หนี้สิน เงินกู้ยืมระยะสั้น เงินกู้ยืมระยะยาวที่ครบก�ำหนดภายใน 1 ปี อื่นๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว อื่นๆ รวมหนี้สิน


036 - 037

ผลการด� ำ เนิ น งาน ประจ� ำ ปี 2558

สรุ ป ฐานะทางการเงิ น รวม สินทรัพย์เติบโตขึ้นเป็นเท่าตัวใน 1 ปี จากการเข้าซื้อกิจการ (M&A)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวม 25,308 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 124% จาก ณ สิ้นปี 2557 โดยมีสาเหตุหลัก ดังนี้ 1) สินทรัพย์ของเนอวานาฯ และซันทาวเวอร์สฯ 2) เ งิ น ให้ กู ้ กั บ กิ จ การร่ ว มค้ า เพื่ อ เข้ า ซื้ อ กลุ ่ ม โรงแรมในสหราชอาณาจั ก ร ตามที่เรียนข้างต้น 3) สินค้าคงเหลือที่เพิ่มขึ้นของโรงแรมพีพี วิลเลจฯ เพื่อรองรับห้องพักใหม่จ�ำนวน 45 วิลล่า หนี้สินรวมเพิ่มขึ้น 9,216 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจากการรวมหนี้สินของเนอวานาฯ ในงบการเงินรวม รายได้ค่าเช่ารับล่วงหน้าจากบุญรอดฯ ส�ำหรับการเช่าพื้นที่อาคาร ส�ำนักงานระยะยาวที่สิงห์ คอมเพล็กซ์ฯ และเงินกู้ใหม่เพื่อรองรับการขยายธุรกิจ ส่วนของผู้ถือหุ้นมีจ� ำนวน 11,930 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 67% จากสิ้นปี 2557 โดยมี สาเหตุหลักจากการเพิ่มทุนในเดือนมิถุนายน 2558

โครงสร้ า งเงิ น ลงทุ น อัตราหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อ ส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 0.84 เท่า

ภายใต้ แ ผนธุ ร กิ จ ซึ่ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การขยายธุ ร กิ จ ผ่ า นการเข้ า ซื้ อ กิ จ การ แหล่งเงินทุนหลักในระยะแรกของบริษัทฯ ภายหลังการรวมธุรกิจจึงประกอบด้วยเงิน กู ้ ยื ม ระยะสั้ น จากสถาบั น การเงิ น ซึ่ ง เป็ น วงเงิ น สิ น เชื่ อ ประเภทหมุ น เวี ย นไม่ มี หลักประกัน (Bridging Loans) เพื่อการเบิกใช้ในการซื้อที่ดินและ/หรือการซื้อกิจการ ซึ่งภาระหนี้ในวงเงินดังกล่าวจะถูกแปลงสภาพ (Refinance) หรือช�ำระคืนด้วยเงิน กู้ยืมระยะยาวภายหลังการซื้อกิจการแล้วเสร็จ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 บริ ษั ท ฯ มี ห นี้ สิ น ที่ มี ภ าระดอกเบี้ ย จ่ า ยเท่ า กั บ 10,917 ล้านบาท โดย 62% ของหนี้สินดังกล่าวเป็นเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบัน การเงิ น โดยมี อั ต ราหนี้ สิ น ที่ มี ภ าระดอกเบี้ ย จ่ า ยสุ ท ธิ ต ่ อ ส่ ว นของผู ้ ถื อ หุ ้ น เท่ า กั บ 0.84 เท่า เพิ่มขึ้นจาก 0.39 เท่า ณ สิ้นปี 2557 (งบปรับปรุงใหม่) ซึ่งมีสาเหตุหลัก จากการกู้ยืมเงินเพื่อขยายธุรกิจ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


038 - 039

ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ

ลักษณะการประกอบธุรกิจ ความเป็ น มาของบริ ษั ท ฯ สิงห์ เอสเตท ก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2538 ในชื่อเดิมว่า “บริษัท พาณิชย์ภูมิพัฒนา จ�ำกัด” ด้วยทุนจดทะเบียน 10 ล้าน บาท โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก เพื่ อ ประกอบธุ ร กิ จ พั ฒ นา อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ป ระเภทบ้ า นจั ด สรรและอาคารชุ ด พั ก อาศั ย ต่ อ มาบริ ษั ท ฯ ได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น บริ ษั ท รสา พร็ อ พเพอร์ ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) (“รสาฯ”) และเข้าเป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2550 โดยใช้ชื่อย่อหลักทรัพย์ “RASA” เมื่ อ วั น ที่ 12 กั น ยายน 2557 บริ ษั ท ฯ ได้ เ พิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย น โดยออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน 4,162,352,331 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 1 บาท และได้รวมธุรกิจโดยการรับโอนกิจการทั้งหมด จากบริษัทในกลุ่มบริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ต้ี แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด และกลุ่มนายสันติ ภิรมย์ภักดี รวมถึงได้เปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ผู้ถือหุ้นโดยบริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ตี้ แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด (บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จ�ำกัด ถือหุ้นร้อยละ 99.99) และนายสันติ ภิ ร มย์ ภั ก ดี เข้ า เป็ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ และในวั น เดี ย วกั น นี้ บริษัทฯ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) และเปลี่ยนชื่อย่อหลักทรัพย์ที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยจาก “RASA” เป็น “S” การประกอบธุ ร กิ จ แบ่ ง ตามกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ การรวมธุ ร กิ จ ดั ง กล่ า วและการเข้ า เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของบริ ษั ท บุญรอดบริวเวอรี่ จ�ำกัด น�ำมาสู่แผนธุรกิจฉบับใหม่ โดยบริษัทฯ ได้ ป รั บ โครงสร้ า งการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ซึ่ ง แบ่ ง ออกเป็ น 3 กลุ ่ ม ธุรกิจหลัก ดังนี้

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อการพักอาศัย บริ ษั ท ฯ มี น โยบายในการพั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ที่ พั ก อาศั ย ทั้ ง แนวสู ง และแนวราบหลากหลายรู ป แบบ ประกอบด้ ว ย บ้ า นเดี่ ย ว ทาวน์ โ ฮม โฮมออฟฟิ ศ และคอนโดมิ เ นี ย ม เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า ระดั บ กลางถึ ง ระดั บ บน ภายใต้ แ บรนด์ ที่ ต ่ า งกั น ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ ด� ำ เนิ น งานทั้ ง ด้ า นการ พัฒนาและการบริหารงานขายผ่านบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้น ร้ อ ยละ 99.99 และบริ ษั ท เนอวานา ดี เ วลลอปเม้ น ท์ จ� ำ กั ด บริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 51 การพั ฒ นาโครงการที่ พั ก อาศั ย ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ จะเริ่ ม ตั้ ง แต่ การจัดหาที่ดินที่มีศักยภาพและเหมาะสมในการพัฒนาโครงการ การวิ เ คราะห์ ค วามเป็ น ไปได้ ข องโครงการ การควบคุ ม การ ออกแบบและบริหารงานก่อสร้าง การบริหารงานขาย และการ ให้บริการหลังการขาย โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีโครงการที่พักอาศัยซึ่งอยู่ระหว่างการขายและโอนกรรมสิทธิ์ ทั้ ง หมด 14 โครงการ เป็ น โครงการซึ่ ง ด� ำ เนิ น การผ่ า นบริ ษั ท เนอวานา ดี เ วลลอปเม้ น ท์ จ� ำ กั ด (ดู ร ายละเอี ย ดได้ ใ นหั ว ข้ อ “โครงการในปัจจุบัน”) และมีโครงการที่อยู่ระหว่างการศึกษา และพั ฒ นาจ� ำ นวน 4 โครงการ (ดู ร ายละเอี ย ดได้ ใ นหั ว ข้ อ “โครงการในอนาคต”) ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การค้ า ซึ่ ง หมายรวมถึ ง อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ประเภทศูนย์การค้าและอาคารส�ำนักงานให้เ ช่าเป็นธุรกิจที่มี ศักยภาพในการเติบโตสูงและให้ผลตอบแทนต่อการลงทุนอยู่ใน เกณฑ์ดี จึงเป็นอีกหนึ่งธุรกิจหลักของบริษัทฯ และถูกบรรจุอยู่ใน แผนธุ ร กิ จ ระยะ 5 ปี บริ ษั ท ฯ มี น โยบายในการขยายธุ ร กิ จ ประเภทนี้ผ่านการพัฒนาและการลงทุน โดยรายได้หลักจากธุรกิจ ดั ง กล่ า วนี้ ประกอบด้ ว ย รายได้ ค ่ า เช่ า พื้ น ที่ รายได้ จ ากการ ให้บริการระบบสาธารณูปโภคและระบบรักษาความปลอดภัย และรายได้จากการให้บริการอื่น


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

การพัฒนาและการลงทุนจะพิจารณาจากความเหมาะสมของ ท� ำ เลที่ ตั้ ง ข้ อ จ� ำ กั ด ในการพั ฒ นาหรื อ ขยายโครงการ อุ ป สงค์ และอุปทานของในบริเวณนั้นๆ ผลตอบแทนจากการลงทุน และ ศั ก ยภาพในการเติ บ โต เป็ น ส� ำ คั ญ ณ ปั จ จุ บั น บริ ษั ท ฯ มี อสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้าภายใต้การบริหาร 2 โครงการ ได้แก่ เดอะ ไลท์เฮ้าส์ ซึ่งเป็นอาคารพื้นที่ค้าปลีกขนาดเล็กซึ่งได้ถูก พัฒนาตั้งแต่บริษัทฯ ยังด�ำเนินธุรกิจภายใต้ชื่อรสาฯ และอาคาร ส�ำนักงานซันทาวเวอร์ส ซึ่งบริษัทฯ เข้าลงทุนผ่านการรับโอน กิ จ การทั้ ง หมดเมื่ อ เดื อ นสิ ง หาคม 2558 (ดู ร ายละเอี ย ดได้ ในหั ว ข้ อ “โครงการในปั จ จุ บั น ”) และมี โ ครงการระหว่ า งการ พัฒนา 1 โครงการ คือ โครงการสิงห์ คอมเพล็กซ์ (ดูรายละเอียด ได้ในหัวข้อ “โครงการในอนาคต”) ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจโรงแรมและให้บริการบริหารโรงแรมเป็นอีกหนึ่งธุรกิจหลัก และมีการเติบโตอย่างก้าวกระโดดภายหลังการปรับโครงสร้าง การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ โดยบริ ษั ท ฯ มี น โยบายในการขยายธุ ร กิ จ ประเภทนี้ผ่านช่องทางการร่วมทุน (Joint Investment) และ การเข้าซื้อกิจการ (Acquisition) โดยการเข้าลงทุนจะพิจารณา จากองค์ประกอบที่ส�ำคัญ ประกอบด้วย ท�ำเลที่ตั้ง อุปสงค์และ อุปทาน คุณภาพของสินทรัพย์ ทีมผู้บริหาร ผลตอบแทนจาก การลงทุน รวมถึงศักยภาพในการเติบโต ทั้งในแง่ของการเพิ่ม จ�ำนวนห้องพัก อัตราการเข้าพัก และอัตราค่าห้องพัก บริ ษั ท ฯ มี ก ารประกอบธุรกิจโรงแรมผ่า นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ซึ่ง ณ ปัจจุบัน มีโรงแรมภายใต้การด�ำเนิน งาน 2 แห่ง ได้แก่ โรงแรมสันติบุรี บีช รีสอร์ท แอนด์ สปา และ โรงแรมพี พี ไอแลนด์ วิ ล เลจ บี ช รี ส อร์ ท และมี โ รงแรมใน สหราชอาณาจั ก รจ� ำ นวน 26 แห่ ง อยู ่ ภ ายใต้ ก ารด� ำ เนิ น งาน และบริหารงานของบริษัทร่วมทุน Jupiter Hotels Holdings Limited ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อมร้อยละ 50 (ดูรายละเอียด ได้ในหัวข้อ “โครงการในปัจจุบัน”)

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


040 - 041

โครงสร้ า งธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท

โครงสร้างธุรกิจ ของบริษัท ธุรกิจโรงแรม

99.99%

บริษัท เอส โฮเทล แมเนจเม นท จำกัด

99.99%

บริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอส แลนด จำกัด

99.99%

บริษัท เอส โฮเทล แอนด รีสอร ท อิน เตอร จำกัด

99.99%

บริษัท เอส โฮเทล แอนด รีสอร ท จำกัด

100%

S HOTELS AND RESORTS (SG) PTE. LTD.

100%

S HOTELS AND RESORTS (HK) LIMITED

100% 50%

S HOTELS AND RESORTS (UK) LTD. FS JV CO LIMITED


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

ธุรกิจที่พักอาศัย

51% บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม นท จำกัด

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ธุรกิจอาคารสำนักงานและศูนย การค า

99.99%

บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร เชียล อิน เตอร จำกัด

99.99%

บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร เชียล จำกัด

51.33%

บริษัท แม็กซ ฟ วเจอร จำกัด

51.13%

บริษัท สิงห พร็อพเพอร ตี้ ดีเวลลอปเม นท จำกัด

100%

S COMMERCIALS (SINGAPORE) PTE. LTD.

48.66%

บริษัท แม็กซ ฟ วเจอร จำกัด

48.86%

บริษัท สิงห พร็อพเพอร ตี้ ดีเวลลอปเม นท จำกัด


042 - 043

โครงสร้ า งรายได้ ข องบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย วิ สั ย ทั ศ น์

โครงสร้างรายได้ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย กลุ่มธุรกิจ/ด�ำเนินการโดย

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการพักอาศัย บ้านเดี่ยวและทาวน์โฮม - บมจ.สิงห์ เอสเตท - บจ.เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ คอนโดมิเนียม - บมจ.สิงห์ เอสเตท อสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้า อาคารส�ำนักงานและพื้นที่ค้าปลีก - บมจ.สิงห์ เอสเตท - บจ.แม็กซ์ ฟิวเจอร์ โรงแรม - บมจ.สิงห์ เอสเตท - บจ.เอส โฮเทล แมเนจเม้นท์ - บจ.เอส โฮเทล พีพี ไอส์แลนด์ รายได้อื่น/2 ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่นๆ ส่วนแบ่งก�ำไร(ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วมทุน รายได้รวม/2

ร้อยละ ปี 2556/1 การถือหุ้น ของบริษัทฯ ล้านบาท ร้อยละ

51.00

ปี 2557/1

ปี 2558

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

-

-

97.37

24.20

1,126.41

51.88

-

-

45.39

11.28

49.03

2.26

0.84

0.31

7.18

1.79

239.76

11.04

260.76

94.92

219.63

54.58

734.19

33.81

10.74 2.36 -

3.91 0.86 -

11.13 21.72 -

2.77 5.40 -

34.85 28.36 (41.32)

1.60 1.31 (1.90)

274.70

100.00

402.42

100.00

2,171.28

100.00

99.99

99.99 99.99

หมายเหตุ : 1 ปรับปรุงใหม่ 2 ไม่รวมรายการที่ไม่ได้เกิดขึ้นประจ�ำในปี 2557 และ 2558 คิดเป็นจ�ำนวน 588 ล้านบาท และ 104 ล้านบาท ตามล�ำดับ (ดูรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 26)


รายงานประจําป

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน)

2558

The Future is Now

วิสัยทัศน


044 - 045

โครงการในปั จ จุ บั น

โครงการในปัจจุบัน การรวมธุรกิจและการปรับโครงสร้างผู้ถือหุ้นในเดือนกันยายน 2557 น�ำมาสู่นโยบายในการขยายธุรกิจและแผนธุรกิจฉบับใหม่ ซึ่งมุ่งเน้นการเติบโตผ่านการซื้อที่ดินในท�ำเลที่มีศักยภาพและพัฒนาโครงการที่มีคุณภาพภายใต้แนวคิด “Best in Class” ควบคู่ ไปกับการลงทุน การร่วมลงทุน และการเข้าซื้อกิจการหรือสินทรัพย์ที่มีศักยภาพในการเติบโตสูง เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ ที่ จ ะเป็ น ผู ้ พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ร ะดั บ แนวหน้ า ที่ มุ ่ ง มั่ น สร้ า งสรรค์ โ ครงการเปี ่ ย มคุ ณ ภาพด้ ว ยความประณี ต เพื่ อ สร้ า ง ไลฟ์สไตล์ ใหม่ที่ครบถ้วนทั้งการพักอาศัย พักผ่อน ท�ำงาน และช้อปปิ้ง การลงทุนและขยายธุรกิจอย่างต่อเนื่องของบริษัทฯ ส่งผลให้ ณ ปัจจุบัน บริษัทฯ มีสินทรัพย์ภายใต้การด�ำเนินงานของบริษัทฯ บริ ษั ท ย่ อ ย และบริ ษัท ร่วมทุน ทั้งในและต่างประเทศใน 3 ธุร กิจ หลัก คือ ธุร กิจ อสัง หาริมทรัพย์เพื่อการพักอาศัย ธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้า อาทิ อาคารส�ำนักงาน และพื้นที่ค้าปลีก และ ธุรกิจโรงแรม รายละเอียด ดังนี้

อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การพั ก อาศั ย ในปี 2558 บริษัทฯ มีโครงการที่พักอาศัยภายใต้การด�ำเนินงานของ บริ ษั ท ฯ จ� ำ นวน 2 โครงการ ได้ แ ก่ โครงการอิ น โทร คอนโดมิ เ นี ย ม (Intro Condominium) และโครงการ รสา แม็กซ์วิลล์ (RASA Maxx Ville) ซึ่งเป็นโครงการที่ได้พัฒนาและเปิดขายก่อนการรวมธุรกิจ โดย การขายและการโอนกรรมสิทธิ์ของทั้งสองโครงการแล้วเสร็จในเดือน มิถุนายนที่ผ่านมา นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีโครงการที่พักอาศัยซึ่งอยู่ ภายใต้การพัฒนาและการบริหารงานบริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (“เนอวานาฯ”) ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างและเปิดการขายในปี 2558 รวมทั้งสิ้น 14 โครงการ มูลค่าโครงการคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 รวมประมาณ 5,500 ล้านบาท

โครงการที่ พั ก อาศั ย ภายใต้ เ นอวานาฯ โครงการที่พักอาศัยภายใต้การด�ำเนินงานของ เนอวานาฯ ประกอบด้วย บ้านเดี่ยว 2 ชั้น และ 3 ชั้ น ในลั ก ษณะของบ้ า นสร้ า งเสร็ จ ก่ อ นขาย และบ้านสั่งสร้าง ทาวน์โฮม และโฮมออฟฟิศ ซึ่ ง โดดเด่ น ด้ ว ยการออกแบบที่ ทั น สมั ย มี เอกลักษณ์ที่แตกต่างจากคู่แข่ง และสอดรับกับ ความต้องการและไลฟ์สไตล์ของลูกค้ารุ่นใหม่ ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ประเภทสินค้า

ระดับราคา ต่อยูนิต

จ�ำนวนโครงการ ในปี 2558

3 ชั้น

20-35 ล้านบาท

7

2 ชั้น

4-22 ล้านบาท

4

ทาวน์โฮม

2-5 ล้านบาท

2

โฮมออฟฟิศ

12-19 ล้านบาท

บ้านเดี่ยว

1


046 - 047

โครงการในปั จ จุ บั น

โครงการในปี 2558 ภายใต้ เ นอวานาฯ โครงการ

เนอวานา บียอนด์ ไลท์ พระราม 9

เนอวานา บียอนด์ เกษตร-นวมินทร์ (เฟส 1)

เนอวานา บียอนด์ เกษตร-นวมินทร์ (เฟส 2)

พระราม 9

เกษตร-นวมินทร์

เกษตร-นวมินทร์

บ้านเดี่ยว 3 ชั้น

บ้านเดี่ยว 3 ชั้น

บ้านเดี่ยว 3 ชั้น

จ�ำนวนหน่วยคงเหลือ /1

17

4

20

มูลค่าโครงการคงเหลือ /1 (ล้านบาท)

185

72

512

ที่ตั้งโครงการ ประเภทโครงการ

หมายเหตุ: /1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

เนอวานา บียอนด์ แอท บีช พัทยา

เนอวานา บียอนด์ ศรีนครินทร์

เนอวานา บียอนด์ พระราม 2

เนอวานา ไอคอน พระราม 9

พัทยา ชลบุรี

ศรีนครินทร์

พระราม 2

พระราม 9

บ้านเดี่ยว 3 ชั้น

บ้านเดี่ยว 3 ชั้น

บ้านเดี่ยว 3 ชั้น

บ้านเดี่ยว 2 ชั้น

20

39

136

2

306

693

3,197

16


048 - 049

โครงการในปั จ จุ บั น

โครงการ

เนอวานา ไอคอน วงแหวน-พระราม 9

เดอะ ธารา

เนอวานา อินโทร วงแหวน-เกษตรนวมินทร์

ที่ตั้งโครงการ

วงแหวน-พระราม 9

รามอินทรา (ซ.พระยาสุเรนทร์ 35)

วงแหวน-เกษตรนวมินทร์

บ้านเดี่ยว 2 ชั้น

บ้านเดี่ยว 2 ชั้น

บ้านเดี่ยว 2 ชั้น

จ�ำนวนหน่วยคงเหลือ /1

16

17

3

มูลค่าโครงการคงเหลือ /1 (ล้านบาท)

142

124

17

ประเภทโครงการ

หมายเหตุ: /1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

เนอวานา คัฟเวอร์ อ่อนนุช

เนอวานา คลัสเตอร์ รามค�ำแหง

เนอวานา บียอนด์ พระราม 9 (เฟส 2)

แอท เวิร์ค เกษตรนวมินทร์ (เฟส 2)

อ่อนนุช

รามค�ำแหง

พระราม 9

เกษตร นวมินทร์

ทาวน์โฮม

ทาวน์โฮม 2 ชั้น และ 3 ชั้น

บ้านเดี่ยว 3 ชั้น

โฮมออฟฟิศ

66

16

-0-

-0-

191

84

-0(ขายหมด ในปี 2558)

-0(ขายหมด ในปี 2558)


050 - 051

โครงการในปั จ จุ บั น

อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การค้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มี อ สั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การค้ า ภายใต้ การด� ำ เนิ น งาน 2 โครงการ ได้ แ ก่ เดอะ ไลท์เฮ้าส์ และ อาคารส�ำนักงาน ซันทาวเวอร์ส

เดอะ ไลท์ เ ฮ้ า ส์ (The Lighthouse) เดอะ ไลท์เฮ้าส์ เป็นพื้นที่ค้าปลีกขนาดเล็กที่ได้ถูกพัฒนาและ เปิดให้บริการก่อนการรวมธุรกิจ และเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ เดอะ ไลท์เฮ้าส์ คอนโดมิเนียม โครงการที่พักอาศัยที่บริษัทฯ พัฒนาและได้โอนกรรมสิทธิ์ทั้งหมดแล้วเสร็จตั้งแต่บริษัทฯ ยัง ประกอบธุรกิจภายใต้ชื่อบริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เดอะ ไลท์เฮ้าส์ อยู่ระหว่างการปรับปรุงและปรับโฉม รวมถึงปรับผังร้านค้าเพื่อ เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ซึ่งมีก�ำหนดแล้วเสร็จกลางปี 2559 ที่ตั้ง ถนนเจริญนคร แขวงคลองต้นไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ พื้นที่โครงการ ตั้งอยู่บนที่ดินเนื้อที่ 2-3-62 ไร่

รายละเอียดโครงการ เป็นพื้นที่ค้าปลีกให้เช่า โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่ออ�ำนวยความ สะดวกแก่ชุมชนบริเวณรอบข้างโครงการ พร้อมที่จอดรถส�ำหรับ ผู้มาใช้บริการกว่า 100 คัน จุดเด่นของโครงการ ตั้งอยู่ในท�ำเลใจกลางเมือง สะดวกกับการเดินทางทุกรูปแบบ อยู่ติดถนนเจริญนคร ใกล้ทางด่วน ท่าเรือ และสถานีรถไฟฟ้า กรุงธนบุรี พื้นที่อาคารทั้งหมด ประมาณ 5,800 ตารางเมตร พื้นที่ให้เช่า ประมาณ 3,200 ตารางเมตร อัตราการเช่าพื้นที่ /1 ร้อยละ 78 ร้านค้า (ผู้เช่าพื้นที่) ซุปเปอร์มาร์เก็ต ร้านอาหารและเครื่องดื่ม โรงเรียนกวดวิชา คลีนิค ธนาคาร กิจการ SME ลักษณะการถือครอง บริษัทฯ เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ หมายเหตุ : /1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

อาคารส� ำ นั ก งานซั น ทาวเวอร์ ส (Suntowers Office Complex) อาคารส�ำนักงานซันทาวเวอร์ส เป็นสินทรัพย์คุณภาพซึ่งบริษัทฯ เข้าลงทุนผ่านการรับโอนกิจการทั้งหมดเมื่อเดือนสิงหาคม 2558 ตั้งอยู่ในย่านธุรกิจฝั่งเหนือของกรุงเทพฯ แวดล้อมด้วยอาคาร ส�ำนักงานชั้นน�ำ ศูนย์การค้า และสถานศึกษา ที่ตั้ง ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ พื้นที่โครงการ ตั้ ง อยู ่ บ นที่ ดิ น ขนาด 14-1-49.8 ไร่ ประกอบด้ ว ยที่ ดิ น ขนาด 5-3-19.8 ไร่ ซึ่งบริษัทฯ ถือครองกรรมสิทธิ์ผ่านบริษัทย่อย และ ที่ดินบนสิทธิการเช่าขนาด 8-2-30 ไร่ รายละเอียดโครงการ เป็นอาคารส�ำนักงานเกรด A ขนาดใหญ่ (ตั้งอยู่บนที่ดินซึ่งเป็น กรรมสิทธิ์ของบริษัทย่อย) ประกอบด้วย อาคารซันทาวเวอร์ส เอ สูง 33 ชั้น และอาคารซันทาวเวอร์ส บี สูง 41 ชั้น และพื้นที่ ค้าปลีกในรูปแบบของตลาดนัด ตั้งอยู่บนที่ดินสิทธิการเช่า

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

จุดเด่นของโครงการ ตั้งอยู่ในท�ำเลที่เป็นศูนย์การคมนาคม ใกล้จุดขึ้น-ลงทางด่วน และไม่ไกลจากสถานีรถไฟฟ้าและรถไฟใต้ดิน อาคารส�ำนักงาน ประกอบด้ ว ยสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก ได้ แ ก่ ห้ อ งประชุ ม ที่ สามารถรองรับได้ประมาณ 150 คน ห้องออกก�ำลังกาย ที่จอดรถ พร้อมระบบรักษาความปลอดภัย และพื้นที่ค้าปลีก พื้นที่อาคารทั้งหมด ประมาณ 122,900 ตารางเมตร พื้นที่ให้เช่า ประมาณ 58,000 ตารางเมตร อัตราการเช่าพื้นที่ /1 ร้อยละ 94 ผู้เช่าพื้นที่ บริษัทขนาดใหญ่และขนาดกลางทั้งในและต่างประเทศ ลักษณะการถือครอง บริษัทฯ เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินบางส่วนและอาคารส�ำนักงาน ทั้งหมดผ่านบริษัทย่อยซึ่งบริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.99 หมายเหตุ: /1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558


052 - 053

โครงการในปั จ จุ บั น

ธุ ร กิ จ โรงแรม ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 บริ ษั ท ฯ มี โรงแรมภายใต้ ก ารด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ บริษัทย่อย และบริษัทร่วม ทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ รวมทั้งสิ้น 28 แห่ง ได้แก่ โรงแรมสั น ติ บุ รี บี ช รี ส อร์ ท แอนด์ สปา (เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี) โรงแรมพีพี ไอแลนด์ วิลเลจ บีช รีสอร์ท (เกาะพีพีดอน จั ง หวั ด กระบี่ ) และโรงแรมภายใต้ แ บรนด์ “Mercure” รวม 26 แห่ง (ประเทศอังกฤษ และสก็อตแลนด์)

โรงแรมสั น ติ บุ รี บี ช รี ส อร์ ท แอนด์ สปา โรงแรมระดั บ 5 ดาว ที่ อ อกแบบอย่ า งเป็ น เอกลั ก ษณ์ และ เป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวมานานกว่า 20 ปี เนื่องจากมีการ ให้บริการที่มีมาตรฐานและอยู่ในระดับต้นๆ ของเกาะสมุย ที่ตั้ง เกาะสมุย ต�ำบลแม่น้�ำ อ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี พื้นที่โครงการ ตั้งอยู่บนที่ดินเนื้อที่ 56-3-93 ไร่

รายละเอียด โรงแรมระดับ 5 ดาว บนหาดส่วนตัว พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ครบครั น ทั้ ง สระว่ า ยน�้ ำ ขนาดใหญ่ ร้ า นอาหารริ ม หาด สปา (Spa Center) ศูนย์ออกก�ำลังกาย (Fitness Center) ศูนย์บริการ กีฬาและเครื่องเล่นทางน�้ำ (Water Sport Center) จ�ำนวนห้องพัก 78 ห้อง ในรูปแบบของ Duplex และวิลล่าส่วนตัว อัตราการเข้าพัก /1 ร้อยละ 58 กลุ่มลูกค้าหลัก กลุ่มลูกค้าแบบครอบครัว โดยเฉพาะชาวยุโรป ลักษณะการถือครอง บริษัทฯ เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ หมายเหตุ: /1 อัตราการเข้าพักเฉลี่ยในปี 2558


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

โรงแรมพี พี ไอแลนด์ วิ ล เลจ บี ช รี ส อร์ ท โรงแรมระดับ 4 ดาว บนชายหาดส่วนตัว ซึง่ บริษทั ฯ ได้เข้าซือ้ กิจการ เมื่ อ เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2557 ประกอบด้ ว ยห้ อ งพั ก ในรู ป แบบ บังกะโล ใกล้ชิดธรรมชาติ รวม 112 หลัง กลุ่มวิลล่า รวม 5 กลุ่ม โรงแรมเป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวและนักด�ำน�้ำมานานกว่า 20 ปี ในปี 2558 บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการสร้างวิลล่าเพิ่มจ�ำนวน 45 หลัง สร้างสระว่ายน�้ำแห่งที่ 2 และปรับปรุงระบบอ�ำนวยความสะดวก เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าให้แก่สินทรัพย์ การด�ำเนินการดังกล่าวแล้วเสร็จในเดือนพฤศจิกายน 2558 ที่ตั้ง เกาะพีพีดอน ต�ำบลอ่าวนาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ พื้นที่โครงการ ตั้งอยู่บนที่ดินเนื้อที่ 167-1-42 ไร่

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

รายละเอียดโรงแรม โรงแรมระดับ 4 ดาว บนหาดส่วนตัวที่ยาวเกือบ 800 เมตร จ�ำนวนห้องพัก วิลล่าส่วนตัวในรูปแบบบังกะโล 157 หลัง และกลุ่มวิลล่า (Villa Cluster) 5 กลุ่ม อัตราการเข้าพัก /1 ร้อยละ 82 กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย กลุ่มลูกค้าแบบครอบครัว โดยเฉพาะชาวเอเชีย (เกาหลี จีน ญี่ปุ่น) และรัสเซีย ลักษณะการถือครอง บริษัทฯ เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ผ่านบริษัทย่อย ซึ่งบริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.99 หมายเหตุ: /1 อัตราการเข้าพักเฉลี่ยในปี 2558


054 - 055

โครงการในปั จ จุ บั น

กลุ ่ ม โรงแรมในสหราชอาณาจั ก ร เมื่อเดือนตุลาคม 2558 บริษัทฯ ได้เข้าลงทุนในบริษัทร่วมทุน (บริษัทฯ ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 50) ซึ่งต่อมาได้เข้าซื้อกิจการ โรงแรมระดับ 3 และ 4 ดาว ภายใต้แบรนด์ Mercure รวม 26 แห่งในสหราชอาณาจักร (20 แห่งในประเทศอังกฤษ และ 6 แห่งในประเทศสก็อตแลนด์) จ�ำนวนห้องพักรวมทั้งสิ้น 2,883 ห้อง อัตราการเข้าพักเฉลี่ยในปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 69 โรงแรมแต่ละแห่งตั้งอยู่ ในท� ำเลที่มีศักยภาพ อาทิ ศูนย์กลางธุรกิจ แหล่งท่องเที่ยวภายในประเทศ และศูนย์การจัดประชุม MICE (งานประชุม สัมมนา และจัดเลี้ยงในท้องถิ่น)

โรงแรมภายใต้ แ บรนด์ เ มอร์ เ คี ย ว 26 แห่ ง ในสหราชอาณาจั ก ร

01

02

โรงแรม

Mercure Ayr

ระดับ (ดาว) /1

04

05

Mercure Bolton Mercure Georgian Bradford House Bankfield

Mercure Brighton Seafront

Mercure Mercure Bristol North, Burton-on-Trent, The Grange Newton Park

3

3

3

4

4

4

ที่ตั้ง (เมือง และประเทศ)

Ayr ประเทศ สก๊อตแลนด์

Bolton ประเทศ อังกฤษ

Bingley ประเทศ อังกฤษ

Brighton ประเทศ อังกฤษ

Bristol ประเทศ อังกฤษ

Staffordshire ประเทศ อังกฤษ

ลักษณะการถือครอง

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

จ�ำนวนห้องพัก /1

118

91

103

116

68

50

หมายเหตุ: /1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

03

06


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

07

08

Mercure Chester East

09

10

11

12

13

Mercure Mercure Edinburgh City Glasgow City - Princess Street

Mercure Gloucester, Bowden Hall

Mercure Hull Grange Park

Mercure Inverness

Mercure Kidderminster

4

3

3

4

4

3

4

Chester ประเทศ อังกฤษ

Edinburgh ประเทศ สก๊อตแลนด์

Glasgow ประเทศ สก๊อตแลนด์

Gloucester ประเทศ อังกฤษ

Hull ประเทศ อังกฤษ

Inverness ประเทศ สก๊อตแลนด์

Kidderminster ประเทศ อังกฤษ

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

สิทธิการเช่า ระยะยาว (สัญญาสิ้นสุด ปี 2581)

สิทธิการเช่า ระยะยาว (สัญญาสิ้นสุด ปี 2579)

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

126

169

91

72

100

118

44


056 - 057

โครงการในปั จ จุ บั น

14

15

16

17

18

19

โรงแรม

Mercure Leeds Mercure Mercure Parkway Leicester The Livingston Grand

Mercure London Watford

Mercure Maidstone Great Danes

Mercure Manchester Piccadilly

ระดับ (ดาว) /1

3

4

3

4

4

4

ที่ตั้ง (เมือง และประเทศ)

Leeds ประเทศ อังกฤษ

Leicester ประเทศ อังกฤษ

Livingston ประเทศ สก๊อตแลนด์

Watford ประเทศ อังกฤษ

Maidstone ประเทศ อังกฤษ

Manchester ประเทศ อังกฤษ

ลักษณะการถือครอง

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

สิทธิการเช่า เป็นเจ้าของ ระยะยาว กรรมสิทธิ์ (สัญญาสิ้นสุด ปี 2576)

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

สิทธิการเช่า ระยะยาว (สัญญาสิ้นสุด ปี 2603)

จ�ำนวนห้องพัก /1

118

104

120

126

280

หมายเหตุ: /1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

218


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

20

21

22

23

24

25

26

Mercure Newbury Elcot Park

Mercure Norwich

Mercure Perth

Mercure Swansea

Mercure Tunbridge Wells

Mercure Wetherby

Mercure York, Fairfield Manor

4

4

3

3

4

3

4

Newbury ประเทศ อังกฤษ

Norwich ประเทศอังกฤษ

Perth ประเทศ สก๊อตแลนด์

Swansea ประเทศ อังกฤษ

Tunbridge Wells ประเทศอังกฤษ

Wetherby ประเทศ อังกฤษ

Skelton ประเทศ อังกฤษ

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

สิทธิการเช่า ระยะยาว (สัญญาสิ้นสุด ปี 2576)

สิทธิการเช่า ระยะยาว (สัญญาสิ้นสุด ปี 2652)

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์

73

107

76

119

84

103

89


058 - 059

โครงการในอนาคต

โครงการในอนาคต เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท ฯ สามารถเติ บ โตและขยายธุ ร กิ จ ได้ ต ามเป้ า หมายและบรรลุ วิ สั ย ทั ศ น์ “เป็ น ผู ้ พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ร ะดั บ แนวหน้าที่มุ่งมั่นสร้างสรรค์โครงการเปี่ยมคุณภาพด้วยความประณีต เพื่อสร้างไลฟ์สไตล์ ใหม่ที่ครบถ้วนทั้งการพักอาศัย พักผ่อน ท�ำงาน และช้อปปิ้ง” นอกเหนือจากการลงทุน/การร่วมทุน (Investment/Joint Investment) และเข้าซื้อกิจการ หรื อ สิ น ทรั พ ย์ ที่ มี ศั ก ยภาพในการเติ บ โตสู ง (Merger and Acquisition) การซื้ อ ที่ ดิ น และพั ฒ นาโครงการคุ ณ ภาพ แบบ “Best in Class” อย่างต่อเนื่องจึงเป็นอีกหนึ่งกลยุทธ์หลักในการเติบโตธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีโครงการระหว่างการพัฒนาและที่ดินเปล่าที่อยู่ระหว่างการศึกษา ดังนี้

ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การพั ก อาศั ย บริษัทฯ มีโครงการระหว่างการพัฒนา รวมถึงที่ดิน ที่รอการพัฒนาเป็นโครงการที่พักอาศัย ดังนี้

1 โครงการดิ เอส อโศก คอนโดมิ เ นี ย ม (The Esse Asoke Condominium) ที่ตั้ง 333 ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตย เขตวัฒนา กรุงเทพฯ โครงการตั้งอยู่บนที่ดินขนาด 2-2-74 ไร่ (บริษัทฯ เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์) รายละเอียดโครงการ คอนโดมิเนียมระดับลักชัวรี่ 1 อาคาร สูง 55 ชั้น ประกอบด้วย ห้องชุด 419 ยูนิต ดังนี้ • 1 ห้องนอน (พื้นที่ใช้สอย 37.00 – 53.00 ตารางเมตร) • 2 ห้องนอน (พื้นที่ใช้สอย 75.50 – 84.00 ตารางเมตร) • เพนท์เฮาส์ (พื้นที่ใช้สอย 104.50 – 195.50 ตารางเมตร) พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก อาทิ สระว่ายน�้ำ (Sky Panoramic Pool) ฟิ ต เนส กอล์ ฟ ซิ มู เ ลเตอร์ ห้ อ งสมุ ด ห้ อ งประชุ ม และ ที่จอดรถ พร้อมที่จอดรถซูเปอร์คาร์ และซูเปอร์ไบค์

ศักยภาพของโครงการ: โครงการตั้งอยู่บนถนนอโศกมนตรีซึ่งเป็นท�ำเลที่มีศักยภาพสูง เชิ ง ธุ ร กิ จ และแวดล้ อ มไปด้ ว ยสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก ศูนย์การค้า สถานศึกษาและมหาวิทยาลัย โรงพยาบาล และ โรงแรม และที่ ส� ำ คั ญ คื อ เป็ น ท� ำ เลที่ แ วดล้ อ มไปด้ ว ยอาคาร ส�ำนักงานชั้นน�ำ การเดินทางสะดวกสบายใกล้จุดขึ้นลงทางด่วน พิ เ ศษศรี รั ช สถานี ร ถไฟใต้ ดิ น (MRT) เพชรบุ รี แ ละสุ ขุ ม วิ ท สถานีรถไฟฟ้า (BTS) อโศก และแอร์พอร์ตลิงค์ (AirportLink) สถานีมักกะสัน มูลค่าโครงการ: ประมาณ 4,500 ล้านบาท ความคืบหน้าโครงการ: การก่อสร้าง: คืบหน้าตามแผนงานและงบประมาณที่ก�ำหนด การขาย: 58% (ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2558) ก�ำหนดแล้วเสร็จ: คาดว่าการก่อสร้างจะแล้วเสร็จและเริ่มโอนกรรมสิทธิ์ห้องชุด ได้ในเดือนธันวาคม 2561 เงินลงทุน: ประมาณ 2,300 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดิน)


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


060 - 061

โครงการในอนาคต

2 โครงการที่ พั ก อาศั ย แนวราบ บนถนนประดิ ษ ฐ์ ม นู ธรรม ที่ตั้ง: ถนนประดิษฐ์มนูธรรม แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ ที่ดินขนาดประมาณ 45 ไร่ (บริษัทฯ เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์)

ศักยภาพของโครงการ: ที่ดินอยู่ในย่านที่พักอาศัยระดับกลางถึงระดับบน แวดล้อมด้วย ศู น ย์ ก ารค้ า ขนาดใหญ่ แ ละสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกครบครั น การเดิ น ทางสะดวกสบายใกล้ จุ ด ขึ้ น ลงทางด่ ว นรามอิ น ทราอาจณรงค์ โดยบริ ษั ท ฯ มี แ ผนที่ จ ะพั ฒ นาเป็ น โครงการที่ พั ก อาศัยระดับซูเปอร์ลักชัวรี่ ในรูปแบบของบ้านสั่งสร้าง โดดเด่น ด้ ว ยการออกแบบ คุ ณ ภาพของวั ส ดุ และการให้ บ ริ ก ารแก่ ผู้อยู่อาศัยในระดับ World Class ความคืบหน้าโครงการ: อยู่ระหว่างการศึกษาและพัฒนารูปแบบโครงการในรายละเอียด คาดว่าจะเปิดตัวโครงการในปี 2559

3 โครงการคอนโดมิ เ นี ย ม บนถนนรั ต นาธิ เ บศร์ ที่ตั้ง: ถนนรัตนาธิเบศร์ ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ที่ดินขนาด 7-3-50 ไร่ (บริษัทฯ เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์)

4 โครงการคอนโดมิ เ นี ย ม ย่ า นบางรั ก ใหญ่ ที่ตั้ง: ถนนรัตนาธิเบศร์ ต�ำบลบางรักใหญ่ อ�ำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ที่ดินขนาด 4-1-94 ไร่ (บริษัทฯ เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์)

ศักยภาพของโครงการ: ที่ดินตั้งอยู่บนถนนรัตนาธิเบศร์ซึ่งเป็นท�ำเลที่มีศักยภาพในการ เติบโตสูง ใกล้รถไฟฟ้า(MRT) สายสีม่วง สถานีแยกนนทบุรี 1 และศูนย์การค้าขนาดใหญ่ ความคืบหน้าโครงการ: อยู่ระหว่างการศึกษาและการพัฒนารูปแบบโครงการ คาดว่า จะเปิดตัวโครงการในปี 2560

ศักยภาพของโครงการ: ที่ดินตั้งอยู่บนถนนรัตนาธิเบศร์ขนาด 10 เลน (ทางหลวง 302) ซึ่งเป็นท�ำเลที่มีศักยภาพในการเติบโตสูง ใกล้รถไฟฟ้า (MRT) สายสีม่วง สถานีบางรักใหญ่ ความคืบหน้าโครงการ: อยู่ระหว่างการศึกษาและการพัฒนารูปแบบโครงการ คาดว่า จะเปิดตัวโครงการในปี 2561


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การค้ า โครงการสิ ง ห์ คอมเพล็ ก ซ์ (Singha Complex) ที่ตั้ง: มุมถนนอโศกมนตรีและถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ โครงการตั้งอยู่บนที่ดินขนาด 9-0-23 ไร่ (บริษัทฯ เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์) รายละเอียดโครงการ: อาคารส�ำนักงานเกรดเอและพื้นที่ค้าปลีกให้เช่า (Mixed-use Commercial Complex) ตัวอาคาร สูง 38 ชั้น ขนาดพื้นที่อาคาร รวมประมาณ 111,900 ตารางเมตร ประกอบด้วย • พื้ น ที่ ส� ำ นั ก งาน 28 ชั้ น (พื้ น ที่ ใ ห้ เ ช่ า สุ ท ธิ ป ระมาณ 50,600 ตารางเมตร) • พื้นที่ค้าปลีก 5 ชั้น (พื้นที่ให้เช่าสุทธิประมาณ 6,000 ตารางเมตร) • พื้นที่จอดรถ 11 ชั้น (รองรับรถได้ประมาณ 1,000 คัน) ศักยภาพของโครงการ: โครงการตั้งอยู่บนแยกถนนอโศก-เพชรบุรีตัดใหม่ (เดิมเป็นที่ตั้ง ของสถานทู ต ญี่ ปุ ่ น ) ซึ่ ง เป็ น ท� ำ เลที่ มี ศั ก ยภาพสู ง เชิ ง พาณิ ช ย์ ใกล้ ย ่ า นธุ ร กิ จ ส� ำ คั ญ แหล่ ง ที่ พั ก อาศั ย ระดั บ บน ศู น ย์ ก ารค้ า สถานศึ ก ษาและมหาวิ ท ยาลั ย โรงพยาบาล และโรงแรม

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

สามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก ใกล้จุดขึ้นลงทางด่วนพิเศษศรีรัช สถานีรถไฟใต้ดิน (MRT) เพชรบุรีและสุขุมวิท สถานีรถไฟฟ้า (BTS) อโศก และแอร์พอร์ตลิงค์ (AirportLink) สถานีมักกะสัน ผู้เช่าหลัก: บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จ�ำกัด และบริษัทย่อย กลุ่มลูกค้า (ผู้เช่าพื้นที่) เป้าหมาย: พื้นที่ส�ำนักงาน: บ ริ ษั ท ในและต่ า งประเทศชั้ น น� ำ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ หรือส�ำนักงานสาขาในกรุงเทพฯ พื้นที่ค้าปลีก:

ร ้านอาหารและเครื่องดื่ม ธนาคาร ร้านค้าและ จุดให้บริการโทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์สื่อสาร พกพา อินเตอร์เน็ต

ความคืบหน้าโครงการ: การก่อสร้างคืบหน้าตามแผนงานและงบประมาณที่ก�ำหนด ก�ำหนดแล้วเสร็จ: คาดว่าการก่อสร้างจะแล้วเสร็จและเปิดให้บริการเชิงพาณิชย์ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2561 เงินลงทุน: ประมาณ 4,255 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดิน)


062 - 063

โครงการในอนาคต


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


064 - 065

โครงการในอนาคต


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


066 - 067

กลยุ ท ธ์ อ งค์ ก รและ นโยบายธุ ร กิ จ

กลยุทธ์องค์กรและ นโยบายธุรกิจ กลยุทธ การเติบโต โดยการเข าซื้อและควบรวม กิจการในอสังหาริมทรัพย หลากหลายประเภท กลยุทธ การสร างแบรนด และความรับผิดชอบต อสังคม กลยุทธ การพัฒนา ความสามารถในการพัฒนา โครงการ และนวัตกรรม กลยุทธ การบริหารทุนมนุษย และพัฒนาองค กร กลยุทธ การพัฒนาโครงสร าง พื้นฐานองค กร

สิงห์ เอสเตท มีวิสัยทัศน์ที่จะเป็นผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ระดับแนวหน้า ที่มุ่งมั่นสร้างสรรค์โครงการเปี่ยมคุณภาพ ด้ ว ยความประณี ต เพื่ อ สร้ า งไลฟ์ ส ไตล์ ใ หม่ ที่ ค รบถ้ ว น ทั้งการพักอาศัย พักผ่อน ท�ำงาน และช้อปปิ้ง เพื่อให้องค์กร บรรลุ ต ามวิ สั ย ทั ศ น์ บริ ษั ท ฯ ได้ ก� ำ หนดกลยุ ท ธ์ อ งค์ ก รและ นโยบายธุรกิจ ดังนี้ 1. กลยุทธ์การเติบโต โดยการเข้าซื้อและควบรวมกิจการ (Merger and Acquisition หรื อ M&A) การลงทุ น และการร่วมทุน (Investment and Joint Investment) การพั ฒ นาโครงการ (Greenfield Development) และการบริ ห ารทรั พ ย์ สิ น (Property Management) ในอสังหาริมทรัพย์หลากหลายประเภท 2. กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ และ ความรับผิดชอบต่อสังคม 3. กลยุทธ์การพัฒนาความสามารถในการพัฒนาโครงการ และนวัตกรรม 4. กลยุทธ์การบริหารทุนมนุษย์และพัฒนาองค์กร 5. กลยุทธ์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานองค์กร

กลยุ ท ธ์ ก ารเติ บ โต โดยการเข้ า ซื้ อ และควบ รวมกิ จ การ (Merger and Acquisition หรื อ M&A) การลงทุ น และการร่ ว มทุ น (Investment and Joint Investment) การพั ฒ นาโครงการ (Greenfield Development) และการบริ ห ารทรั พ ย์ สิ น (Property Management) ในอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ห ลากหลายประเภท บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะเป็นผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ระดับแนวหน้า เพื่อการเติบโตอย่างรวดเร็ว จึงก�ำหนดกลยุทธ์การเติบโต ผ่าน การเข้าซื้อและควบรวมกิจการ และการลงทุน โดยเป็นลักษณะ พิเศษ ที่เรียกว่า “Smart M&A” ซึ่งมีการก�ำหนดกรอบนโยบาย ในการลงทุนที่ชัดเจน โดยมุ่งเน้นในอสังหาริมทรัพย์ที่มีศักยภาพ ก่อให้เกิดรายได้ต่อเนื่อง (Recurring Income) และมีการเติบโต อย่ า งมี เ สถี ย รภาพ รวมถึ ง การลงทุ น ร่ ว มกั บ พั น ธมิ ต รที่ มี ศั ก ยภาพ ตลอดจนพิ จ ารณาถึ ง การได้ ม าซึ่ ง ที ม บริ ห ารที่ มี ประสบการณ์ ซึ่ ง เมื่ อ สิ น ทรั พ ย์ ดั ง กล่ า วมี ก ารเติ บ โตอย่ า งมี


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

เสถียรภาพแล้ว บริษทั ฯ จะน�ำสินทรัพย์บางส่วน ขายเข้ากองทรัสต์ เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (Real Estate Investment Trust หรือ REIT) โดยบริษัทฯ จะยังร่วมเป็นเจ้าของในกองทรัสต์ นั้ น เพื่ อ สร้ า งความมั่ น ใจ โดยเงิ น ที่ ไ ด้ จ ากการขายสิ น ทรั พ ย์ เข้ากองทรัสต์จะถูกน�ำมาลงทุนในโครงการอื่นๆ ที่มีศักยภาพ เพื่อให้บริษัทฯ มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง

ความสวยงาม เป็ น เอกลั ก ษณ์ และตอบสนองความต้อ งการ ของลู ก ค้ า โดยอาศั ย ข้ อ มู ล จากการศึ ก ษาความต้ อ งการของ กลุ ่ ม ลู ก ค้ า ที่ ซื้ อ บ้ า นเพื่ อ อยู ่ อ าศั ย จริ ง เพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ในการ พั ฒ นาแบบบ้ า นอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ตลอดจนการน� ำ นวั ต กรรม เพื่อการอยู่อาศัยมาใช้ เพื่อให้ที่พักอาศัยของบริษัทฯ สามารถ ตอบสนองไลฟ์สไตล์และสร้างความสุขให้กับทุกคนอย่างแท้จริง

ในส่วนของการพัฒนาโครงการที่พักอาศัย บริษัทฯ มุ่งเน้นการ พัฒนาโครงการทั้งแนวดิ่งและแนวราบ โดยโครงการในแนวดิ่ง บริ ษั ท ฯ จะมุ ่ ง เน้ น การพั ฒ นาโครงการเพื่ อ ลู ก ค้ า ในระดั บ กลางถึ ง บน โดยการซื้ อ ที่ ดิ น ในท� ำ เลที่ มี ศั ก ยภาพ เช่ น พื้ น ที่ ใจกลางเมืองและมีระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่เข้าถึง การ พัฒนาจะมุ่งเน้นด้านการออกแบบที่มีความสวยงาม ประณีต ทั น สมั ย ตอบโจทย์ ค วามต้ อ งการของลู ก ค้ า โดยอาศั ย ข้ อ มู ล จากการศึ ก ษาวิ จั ย ความต้ อ งการของลู ก ค้ า และตลาด เพื่ อ พั ฒ นาโครงการที่ มี ศั ก ยภาพ ตอบโจทย์ ลู ก ค้ า และมี ค วาม สามารถในการแข่ ง ขั น อย่ า งแท้ จ ริ ง บริ ษั ท ฯ ยั ง มุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะ ยกระดับโครงการให้สูงกว่าโครงการในระดับเดียวกัน ผ่านการ คั ด เลื อ กบริ ษั ท ผู ้ อ อกแบบระดั บ แนวหน้ า เพื่ อ สร้ า งความ แตกต่ า งโดดเด่ น ให้ กั บ โครงการ ผู ้ รั บ เหมาก่ อ สร้ า งที่ มี ประสบการณ์และมาตรฐานสูงตามที่บริษัทฯ ก�ำหนด ตลอดจน การเลือกใช้วัสดุที่ทันสมัยได้รับการคัดสรรมาเป็นอย่างดี และ การเพิ่มส่วนกลางต่างๆ ในโครงการที่เหนือกว่าคู่แข่ง

ในส่วนของการบริหารทรัพย์สิน บริษัทฯ มีการลงทุนและบริหาร อาคารส�ำนักงาน พื้นที่ค้าปลีก และโรงแรม ซึ่งเป็นทรัพย์สิน ที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด รายได้ ป ระจ� ำ (Recurring-income Based Asset) และสร้างการเติบโตให้กับบริษัทฯ อย่างมั่นคง มุ่งเน้น การยกระดั บ คุ ณ ภาพสิ น ทรั พ ย์ ผ่ า นการปรั บ ปรุ ง สิ น ทรั พ ย์ (Renovation and Refurbishment) การเพิ่ ม มู ล ค่ า ให้ กั บ สินทรัพย์ (Value Enhancement) การคัดสรรลูกค้า/ผู้เช่าที่มี ศักยภาพ การให้บริการที่เป็นเลิศ (Service Excellence) และ การบริ ห ารที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพด้ ว ยที ม งานที่ มี ป ระสบการณ์ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมุ่งเน้นการปรับปรุงพื้นที่ส่วนกลางเพื่อ อ�ำนวยความสะดวกกับผู้เช่า สรรหาผู้เช่าใหม่ๆ ที่มีศักยภาพ ในระยะยาว ดูแลคุณภาพการให้บริการในทุกส่วนให้เป็นไปตาม มาตรฐาน ตลอดจนการตกแต่ ง ความสวยงามและการจั ด กิจกรรมการตลาดอย่างสม�่ำเสมอ

ส� ำ หรั บ โครงการแนวราบ บริ ษั ท ฯ มี ก ารด� ำ เนิ น การทั้ ง ผ่ า น บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด และการพัฒนาโดย ที ม งานคุ ณ ภาพของบริ ษั ท ฯ เอง โดยโครงการในแนวราบนั้ น จะมุ ่ ง เน้ น ลู ก ค้ า ในตลาดกลางถึ ง บน มุ ่ ง เน้ น การสร้ า งความ แตกต่ า งและสร้ า งมาตรฐานที่ เ หนื อ กว่ า โครงการในระดั บ เดี ย วกั น มุ ่ ง เน้ น การพั ฒ นาโครงการในท� ำ เลที่ มี ศั ก ยภาพ สอดคล้ อ งกั บ การพั ฒ นาของผั ง เมื อ งและการเกิ ด ขึ้ น ของ ย่ า นธุ ร กิ จ ใหม่ ใ นอนาคต ในส่ ว นของการออกแบบ บริ ษั ท ฯ มุ ่ ง พั ฒ นาการวางแบบแปลนหลั ก ของโครงการ (Master Plan) และภู มิ ส ถาปั ต ย์ (Landscape) ที่ มี ค วามสวยงาม สาธารณู ป โภคส่ ว นกลางที่ สู ง กว่ า มาตรฐาน และอาคารที่ มี

ส�ำหรับธุรกิจโรงแรม บริษัทฯ มุ่งเน้นการปรับปรุงโรงแรมให้มี ความทันสมัย สวยงาม การเพิ่มจ�ำนวนห้องพัก การขยายกลุ่ม แขกผู้เข้าพักไปยังกลุ่มที่มีศักยภาพสูง เช่น กลุ่มลูกค้าเอเซีย ตลอดจนมุ่งเน้นการตลาดผ่านช่องทางออนไลน์ซึ่งเป็นช่องทาง ที่ มี อั ต ราค่ า ห้ อ งพั ก โดยเฉลี่ ย ที่ สู ง ซึ่ ง กลยุ ท ธ์ ดั ง กล่ า วทั้ ง หมด จะสร้างการเติบโตของรายได้ธุรกิจโรงแรม ทั้งในแง่ของจ�ำนวน ห้องพัก อัตราการเข้าพัก และอัตราค่าห้องพักที่จะเพิ่มสูงขึ้น ในส่ ว นของการบริ ก าร บริ ษั ท ฯ มุ ่ ง เน้ น การสร้ า งมาตรฐาน ให้ทัดเทียมกับเครือโรงแรมชั้นน�ำของโลก ตลอดจนการพัฒนา บุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ เพื่อรองรับการเติบโต ในอนาคต


068 - 069

กลยุ ท ธ์ อ งค์ ก รและ นโยบายธุ ร กิ จ

กลยุ ท ธ์ ก ารสร้ า งแบรนด์ และความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม บริ ษัท ฯ มุ ่ งสร้ างแบรนด์ จ ากภายในองค์ ก รสู ่ ภายนอกองค์กร ผ่านการพัฒนาและปลูกฝังบุคลากรตามค่านิยมองค์กร ซึ่งจะ สะท้อนไปยังการปฏิบัติงานของพนักงานในทุกระดับ ไม่ว่าจะ เป็ น คุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก าร ความเอาใจใส่ ใ นคุ ณ ภาพและ รายละเอี ย ดต่ า งๆ ซึ่ ง ท้ า ยที่ สุ ด จะสะท้ อ นไปถึ ง การพั ฒ นา โครงการที่มีความประณีต สวยงาม ตอบสนองไลฟ์สไตล์ลูกค้า ในทุกมิติ ซึ่งรายละเอียดในข้างต้นจะถูกสื่อสารไปยังลูกค้า คู่ค้า และผู้ที่เกี่ยวข้อง ควบคู่ไปกับการสร้างและส่งมอบประสบการณ์ ที่ดี โดยมุ่งสร้างความสัมพันธ์และการเป็นพันธมิตรที่ยั่งยืนกับ ลูกค้าและคู่ค้า ในส่ ว นของความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบสั ง คมตลอดจนชุ ม ชน รอบข้างที่จะต้องเกื้อหนุนอยู่ร่วมกันในระยะยาว ดังนั้น ความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมจึ ง เป็ น หนึ่ ง ในปั จ จั ย ที่ ถู ก น� ำ มาพิ จ ารณา ในการตัดสินใจและด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ไม่ว่าจะเป็นการ ก่อสร้าง การจราจร ภูมิทัศน์ ความปลอดภัย ที่จะต้องค�ำนึงถึง ผลกระทบต่ อ พื้ น ที่ แ ละชุ ม ชนรอบข้ า ง การให้ ค วามส� ำ คั ญ ในเรื่ อ งดั ง กล่ า ว ยั ง ถู ก ถ่ า ยทอดไปยั ง ผู ้ รั บ เหมาและคู ่ ค ้ า ที่ เกี่ยวข้องให้ปฏิบัติตามมาตรฐานที่บริษัทฯ ก�ำหนด ส�ำหรับธุรกิจ โรงแรม บริษัทฯ มีนโยบายที่จะดูแลชุมชนรอบข้าง ทั้งในเรื่อง ของการดูแลความสะอาด ภูมิทัศน์พื้นที่โดยรอบ การจัดการขยะ และน�้ำเสีย นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังริเริ่มโครงการอนุรักษ์และ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของชายหาดและ แนวประการั ง เพื่ อ ให้ ส ถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วมี ค วามสวยงามและ มีความยั่งยืน กลยุ ท ธ์ ก ารพั ฒ นาความสามารถในการพั ฒ นา โครงการ และนวั ต กรรม บริ ษั ท ฯ พั ฒ นาโครงการโดยที ม บริ ห ารที่ มี ป ระสบการณ์ ทั้ ง ในเชิงของการบริหารโครงการและทางเทคนิคการก่อสร้างเพื่อ รองรั บ ความท้ า ทายของการพั ฒ นาโครงการที่ พั ก อาศั ย ทั้ ง


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

แนวสูงและแนวราบ อาคารส�ำนักงานและพื้นที่ค้าปลีก โรงแรม และรี ส อร์ ท บนพื้ น ที่ ใ จกลางเมื อ งหรื อ ตามสถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว ที่ ส� ำ คั ญ บริ ษั ท ฯ จึ ง มุ ่ ง เน้ น พั ฒ นาบุ ค ลากรอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง ในด้ า นเทคนิ ค กระบวนการท� ำ งาน การบริ ห ารจั ด การ ตลอดจนการถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ ใ ห้ แ ก่ ผู ้ รั บ เหมาและคู ่ ค ้ า ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ ให้ มั่ น ใจได้ ว ่ า ผู ้ รั บ เหมาและคู ่ ค ้ า นั้ น ๆ จะ สามารถส่งมอบงานคุณภาพตามมาตรฐานที่บริษัทฯ ก�ำหนด และตามที่บริษัทฯ ได้สัญญาไว้กับลูกค้า ตลอดจนมีการบริหาร ความปลอดภัยในการท�ำงาน การดูแลเอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อชุมชนรอบข้างพื้นที่ก่อสร้างตามนโยบายของบริษัทฯ และ ไม่ ส ร้ า งผลกระทบด้ า นลบต่ อ ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งและพื้ น ที่ โ ดยรอบ นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมุ่งเน้นการน�ำนวัตกรรมใหม่ๆ เข้ามา ปรั บ ใช้ ใ นการพั ฒ นาโครงการ เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารจั ด การงาน ก่ อ สร้ า งเป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตลอดจนนวั ต กรรมที่ จ ะ สร้างความแตกต่างให้กับโครงการที่ตอบสนองไลฟ์สไตล์ของ ลู กค้าในทุกมิติ เช่น Home Automation, New Material & Function เพื่อให้ทุกโครงการของ สิงห์ เอสเตท เป็นโครงการที่ เปี่ยมคุณภาพ ตอบสนองลูกค้าทั้งการพักอาศัย พักผ่อน ท�ำงาน และช้อปปิ้ง อย่างแท้จริง กลยุ ท ธ์ ก ารบริ ห ารทุ น มนุ ษ ย์ แ ละ พั ฒ นาองค์ ก ร (Human Capital & Organization Development) บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับบุคลากร ตั้งแต่การสรรหา การพัฒนา การสร้างแรงจูงใจในการท�ำงาน ตลอดจนการปลูกฝังค่านิยม องค์กรและแบรนด์ขององค์กรให้กับบุคลากรทุกระดับชั้น เพื่อ ให้ แ น่ ใ จว่ า บริ ษั ท ฯ จะมี บุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ้ ความสามารถ สอดคล้ อ งกั บ กลยุ ท ธ์ ข ององค์ ก ร และมี ค วามพร้ อ มที่ จ ะ สนับสนุนการเติบโตขององค์กรในอนาคต การสรรหาบุ ค ลากร จะมุ ่ ง เน้ น การสรรหา Top Talent ที่ มี ประสบการณ์ ความรู้ความสามารถ และมีทัศนคติและ ค่านิยม ที่สอดคล้องกับค่านิยมของบริษัทฯ การพัฒนาบุคลากร จะเน้น การพั ฒ นาในทุ ก ระดั บ ทั้ ง ระดั บ จั ด การและระดั บ ปฏิ บั ติ ก าร ส�ำหรับบุคลากรในระดับจัดการนั้น บริษัทฯ จะมุ่งเน้นการสร้าง

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ทั ก ษะเพื่ อ ความเตรี ย มพร้ อ มและการรองรั บ การเติ บ โตของ บริษัทฯ ในอนาคต ในขณะที่บุคลากรระดับปฏิบัติการ จะถูก เน้นด้านการพัฒนาทักษะที่ส�ำคัญเพื่อยกระดับมาตรฐานการ ปฏิ บั ติ ง าน นอกจากนั้ น บุ ค ลากรในทุ ก ระดั บ จะได้ รั บ การ ปลูกฝังค่านิยมองค์กรและแบรนด์ข ององค์กร โดยมีผู้บริหาร ระดั บ สู ง เป็ น ผู ้ น� ำ และเป็ น แบบอย่ า ง ในส่ ว นของการสร้ า ง แรงจู ง ใจตลอดจนความผู ก พั น กั บ องค์ ก รนั้ น บริ ษั ท ฯ มุ ่ ง เน้ น การยกระดับสวัสดิการพนักงานให้อยู่ในมาตรฐานที่เทียบเคียง กับบริษัทชั้นน�ำ รวมถึงการสร้างกิจกรรม ตลอดจนการสื่อสาร ภายในองค์ ก รผ่ า นช่ อ งทางต่ า งๆ เพื่ อ ให้ สิ ง ห์ เอสเตท เป็ น Happy Workplace และเป็ น Employer of Choice ในอี ก 2 ปีข้างหน้า กลยุ ท ธ์ ก ารพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานองค์ ก ร (Organization Infrastructure) บริ ษั ท ฯ มุ ่ ง สร้ า งความพร้ อ มขององค์ ก รในระยะยาว ผ่ า น การสร้ า งระบบงาน กระบวนการท� ำ งาน ตลอดจนน� ำ ระบบ เทคโนโลยี ส ารสนเทศมาใช้ ใ นการสนั บ สนุ น การท� ำ งานให้ เป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยระบบงานที่ บ ริ ษั ท ให้ ค วาม ส�ำคัญและมุ่งพัฒนาให้เป็นไปตามมาตรฐาน ได้แก่ ระบบบัญชี ระบบการรายงานผลการด�ำเนินงาน ระบบปฏิบัติการการเงิน ระบบการก� ำ กั บ ดู แ ล และการควบคุ ม ภายใน ในส่ ว นของ กระบวนการท� ำ งาน บริ ษั ท ฯ มุ ่ ง สร้ า งกระบวนการท� ำ งาน ร่วมกันระหว่างสายงานธุรกิจและสายงานสนับสนุน เพื่อให้มี กระบวนการท� ำ งานที่ ส อดรั บ กั น ไม่ ว ่ า จะเป็ น กระบวนการ ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน การซื้อและควบรวมกิจการ การพัฒนา และการปรั บ ปรุ ง อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ และการบริ ห ารสิ น ทรั พ ย์ ในรอบปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้น�ำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ ส� ำ คั ญ เช่ น ระบบ ERP, ระบบงานเพื่ อ ธุ ร กิ จ ที่ พั ก อาศั ย มาใช้ ใ นองค์ ก ร และมี แ ผนที่ จ ะพั ฒ นาระบบสารสนเทศเพื่ อ การบริหารบุคลากรที่ทันสมัยในอนาคตอันใกล้


070 - 071

โครงสร้ า งเงิ น ทุ น

โครงสร้างเงินทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) มีรายละเอียดของโครงสร้างเงินทุนที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้ 1. โครงสร้ า งเงิ น ทุ น หุ้นสามัญ ทุนจดทะเบียน ทุนเรียกช�ำระแล้ว จ�ำนวนหุ้นสามัญ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ ราคาหุ้น

7,348,290,786 5,715,337,268 5,715,337,268 1.00 6.00

บาท บาท หุ้น บาท บาท

นโยบายการด�ำรงสถานะทางการเงิน

การด�ำรงอัตราส่วน

ข้อมูล ณ 31 ธ.ค. 2558

1. จ�ำนวนรวมของเงินกู้ยืมต่อจ�ำนวนรวมของส่วนของผู้ถือหุ้น

ไม่เกิน 1.2 เท่า

0.92 เท่า

2. ผู ้ ถื อ หุ ้ น บริษัทฯ มีการกระจายการถือหุ้น ณ วันที่ 13 มกราคม 2559 ซึ่งเป็นวันปิดสมุดทะเบียน (XO) ดังนี้ ผู้ถือหุ้น

จ�ำนวนหุ้น

สัดส่วนการถือหุ้น (%)

ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว

5,715,337,268

100.00

ผู้ถือหุ้นสัญชาติไทย • นิติบุคคล • บุคคลธรรมดา รวม

2,074,716,162 2,278,683,402 4,353,399,564

36.30 39.87 76.17

ผู้ถือหุ้นสัญชาติต่างด้าว • นิติบุคคล • บุคคลธรรมดา รวม

1,361,884,668 53,036 1,361,937,704

23.83 0.00 23.83


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 ล�ำดับแรก ณ วันปิดสมุดทะเบียน (XO) วันที่ 13 มกราคม 2559 มีดังนี้ จ�ำนวนหุ้น

ร้อยละ ของทุนช�ำระแล้ว

กลุ่มบริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ตี้ แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด

2,662,224,966

46.58

บริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ตี้ แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด

1,990,848,570

34.833

Singha Property Management (Singapore) Pte. Ltd.

546,570,734

9.563

Singha Property Management (Singapore) Pte. Ltd.

124,805,662

2.184

กลุ่มนายสันติ ภิรมย์ภักดี

1,879,710,799

32.892

นายสันติ ภิรมย์ภักดี

1,590,104,278

27.822

Morgan Stanley & Co. International Plc /1

289,606,521

5.07

3.

UOB Kay Hian (Hong Kong) Limited - Client Account

195,002,800

3.412

4.

UOB Kay Hian Private Limited

97,092,658

1.699

5.

น.ส. วันเพ็ญ จามรวงศ์

50,135,114

0.877

6.

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด

44,349,095

0.776

7.

นายเขมไชย รสานนท์

42,070,859

0.736

8.

น.ส. อัจฉราพร ศิริไพรวัน

37,275,000

0.652

9.

นายพิชัย วิจักขณ์พันธ์

23,550,000

0.412

บริษัท รสา ทาวเวอร์ จ�ำกัด

22,728,366

0.398

5,054,139,657

88.434

ล�ำดับ 1.

2.

10.

ชื่อ

รวม

หมายเหตุ: /1 การถือหุ้นของกลุ่มนายสันติ ภิรมย์ภักดี ผ่านบัญชีภายใต้ Morgan Stanley & Co. International PLC


072 - 073

โครงสร้ า งเงิ น ทุ น

กลุ ่ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ ที่ โ ดยพฤติ ก ารณ์ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การ ก� ำ หนดนโยบายหรื อ การด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ อย่ า งมี นัยส�ำคัญ กลุ่มบริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ตี้ แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด (ถือหุ้นโดย บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จ�ำกัด ร้อยละ 100) และ กลุ่มนายสันติ ภิ ร มย์ ภั ก ดี รวมถื อ หุ ้ น ประมาณร้ อ ยละ 79.472 เป็ น กลุ ่ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ ที่ โ ดยพฤติ ก ารณ์ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การก� ำ หนด นโยบายหรื อ การด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ อย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ

เนื่ อ งจากมี ผู ้ แ ทนเข้ า ร่ ว มเป็ น คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จ� ำ นวน 2 ท่าน จากจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด 9 ท่าน ข้อจ�ำกัดการถือครองหลักทรัพย์ของบุคคลต่างด้าว บริษัทฯ มีข้อจ�ำกัดการถือครองหลักทรัพย์ของบุคคลต่างด้าว (Foreign Limit) ไว้ที่ร้อยละ 39 ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว โดย ณ วั น ที่ 13 มกราคม 2559 บริ ษั ท ฯ มี บุ ค คลต่ า งด้ า ว ถือครองหลักทรัพย์ร้อยละ 23.83 ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว

รายละเอียดการถือหลักทรัพย์ของบริษัทฯ โดยกรรมการและผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (รวมคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) ชื่อ-นามสกุล

ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหาร

จ�ำนวนหุ้นที่ถือ (หุ้น) 31 ธ.ค. 57

31 ธ.ค. 58

400,000

552,533

จ�ำนวนหุ้น เพิ่ม (ลด) ระหว่างปี /1

1. นายจุตินันท์ ภิรมย์ภักดี

ประธานกรรมการ

152,533

2. นายการุญ นันทิลีพงศ์

กรรมการอิสระ

-

-

-

3. นายธนา เธียรอัจฉริยะ

กรรมการอิสระ

-

-

-

4. ผศ.ดร. ธนวรรธน์ พลวิชัย

กรรมการอิสระ

-

-

-

5. ดร.ชญานิน เทพาค�ำ

กรรมการ

-

-

-

6. นายนริศ เชยกลิ่น

กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

-

1,000,000

7. นายล่องลม บุนนาค

กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารการลงทุน

-

-

-

8. นายณัฐวุฒิ มัธยมจันทร์

กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร การพัฒนาธุรกิจพักอาศัย

-

-

-

1,000,000


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

ชื่อ-นามสกุล

9. ดร.สาธิต รังคสิริ /2

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหาร กรรมการอิสระ

10. นายธีระชาติ นุมานิต

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้านออกแบบและก่อสร้าง

11. นายเมธี วินิชบุตร

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร การเงิน

จ�ำนวนหุ้นที่ถือ (หุ้น) 31 ธ.ค. 57

31 ธ.ค. 58

จ�ำนวนหุ้น เพิ่ม (ลด) ระหว่างปี /1

-

-

-

2,293,600

2,681,010

387,410

50,000

163,635

113,635

หมายเหตุ 1 จ�ำนวนหุ้นที่ถือเพิ่มขึ้นบางส่วนได้มาจากการเพิ่มทุนตามสัดส่วนการถือหุ้น (Rights Offering) 2 ดร.สาธิต รังคสิริ ได้ลาออกจากการเป็นกรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีผลตั้งแต่วันที่ 21 มกราคม 2559 เป็นต้นไป

3. นโยบายการจ่ า ยเงิ น ปั น ผล บริษัทฯ มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่น้อย กว่าร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิภายหลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคล เงินสํารองตามกฎหมาย และเงินสํารองอื่นๆ ทั้งนี้ การจ่ายเงิน ปันผลดังกล่าวอาจเปลี่ยนแปลงได้ ขึ้นอยู่กับผลประกอบการ

แผนการขยายธุรกิจ สภาพคล่อง ความจําเป็น และความเหมาะสม อื่นๆ ในอนาคต โดยบริษัทฯ จะให้อ�ำนาจคณะกรรมการของ บริ ษั ท ฯ ในการพิ จ ารณา ซึ่ ง การดํ า เนิ น การดั ง กล่ า วจะต้ อ ง ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น


074 - 075

ผั ง องค์ ก ร

ผังองค์กร คณะกรรมการบริ ห าร ความเสี ่ ย ง

คณะกรรมการตรวจสอบ หน ว ยงานตรวจสอบภายใน

บริษัท เอส โฮเทล แมเนจเม น ท จำกัด (ธุรกิจโรงแรม) บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม น ท จำกัด (ธุรกิจพัฒนาที่พักอาศัยแนวราบ)

สายพั ฒ นาธุ ร กิ จ และบริ ห ารการลงทุ น

สายออกแบบ และก อ สร า ง

สายพั ฒ นาธุ ร กิ จ ที ่ พ ั ก อาศั ย

สายการเงิ น และบั ญ ชี

ฝ ายพัฒนาธุรกิจ และบริหารการลงทุน

ฝ ายพัฒนาธุรกิจค าปลีก และการพาณิชย

ฝ ายพัฒนาธุรกิจ

ฝ ายบริหารการเงิน

ฝ ายพัฒนาผลิตภัณฑ

ฝ ายโครงการแนวสูง

ฝ ายการเงินโครงการ

ฝ ายออกแบบ

ฝ ายโครงการแนวราบ

ฝ ายปฏิบัติการการเงิน

ฝ ายบริหาร งานก อสร าง

ฝ ายออกแบบ

ฝ ายบัญชี

ฝ ายต นทุน และงบประมาณ

ฝ ายการตลาด

ฝ ายนักลงทุนสัมพันธ และเลขานุการบริษัท

ฝ ายสนับสนุน

ฝ ายรัฐกิจสัมพันธ

ฝ ายเทคโนโลยี สารสนเทศ

ฝ ายบริการหลังการขาย และนิติบุคคล

ฝ ายกฎหมาย ฝ ายบริหาร ความเสี่ยง


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

คณะกรรมการบริ คณะกรรมการบริ หษารั ท คณะกรรมการสรรหาและ พิ จารณาค า ตอบแทน

คณะกรรมการบริ ห าร

ประธานเจ า หน า ที ่ บ ริ ห าร สำนั ก ประธาน เจ า หน า ที ่ บ ริ ห าร

สายทุ น มนุ ษ ย

ฝ ายบริหารทุนมนุษย ฝ ายพัฒนาทุนมนุษย และองค กร ฝ ายจัดซื้อและธุรการ

ฝ ายการตลาดและ ภาพลักษณ องค กร

ฝ ายกลยุทธ องค กร

ฝ ายจัดหาที่ดิน


076 - 077

โครงสร้ า งการจั ด การ

โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการของบริษัทฯ ประกอบด้วย 1. คณะกรรมการบริษัทฯ 2. คณะกรรมการตรวจสอบ 3. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 4. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 5. คณะกรรมการบริหาร 6. ฝ่ายจัดการ 01

คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ

คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบไปด้วยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ มี ป ระสบการณ์ ห ลากหลายในแต่ ล ะสาขาวิ ช าชี พ และ

มีคุณสมบัติเป็นไปตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติมหาชน และตามประกาศของคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ที่ ทจ. 28/2551 เรื่ อ ง การขออนุ ญ าตและ การอนุ ญ าตให้ เ สนอขายหุ ้ น สามั ญ ที่ อ อกใหม่ ฉบั บ ลงวั น ที่ 15 ธันวาคม 2551 ทุกประการ ปั จ จุ บั น คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี ก รรมการจ� ำ นวน 9 ท่ า น ประกอบด้วย - กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร จ�ำนวน 6 ท่าน โดยในจ�ำนวนนี้เป็นกรรมการอิสระจ�ำนวน 4 ท่าน ซึ่ง คิดเป็นสัดส่วนเกินกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ - กรรมการที่เป็นผู้บริหาร จ�ำนวน 3 ท่าน

รายชื่อคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 ประกอบด้วย ชื่อ

ต�ำแหน่ง

วันที่ได้รับแต่งตั้ง

1. นายจุตินันท์ ภิรมย์ภักดี /1

ประธานกรรมการ

12 กันยายน 2557

2. นางนภาภรณ์ ลัญฉน์ดี /2

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

11 กุมภาพันธ์ 2559 ” ”

3. นายการุญ นันทิลีพงศ์

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

12 พฤศจิกายน 2557 ” 15 พฤษภาคม 2558

4. นายธนา เธียรอัจฉริยะ

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

27 กุมภาพันธ์ 2558 ”

5. ผศ.ดร. ธนวรรธน์ พลวิชัย

กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

22 เมษายน 2558 15 พฤษภาคม 2558


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ชื่อ

ต�ำแหน่ง

วันที่ได้รับแต่งตั้ง

6. ดร. ชญานิน เทพาค�ำ/1

กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหาร ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

12 กันยายน 2557 ” 15 พฤษภาคม 2558

7. นายนริศ เชยกลิ่น

กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง

12 กันยายน 2557 ” 11 มีนาคม 2558

8. นายล่องลม บุนนาค

กรรมการ กรรมการบริหาร

12 กันยายน 2557 ”

9. นายณัฐวุฒิ มัธยมจันทร์

กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง

12 กันยายน 2557 ” 11 มีนาคม 2558

หมายเหตุ /1 กรรมการที่เป็นตัวแทนผู้ถือหุ้นรายใหญ่ /2 ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 แทน ดร. สาธิต รังคสิริ ซึ่งลาออกเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2559

องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ข้อบังคับบริษัทฯ ก�ำหนดให้คณะกรรมการของบริษัทฯ จะต้อง ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 5 คน และให้คณะกรรมการ เลือกตั้งกรรมการด้วยกันเป็นประธานกรรมการ และอาจเลือก รองประธานกรรมการ และต�ำแหน่งอื่นตามที่เห็นเหมาะสมด้วย ก็ ไ ด้ และกรรมการไม่ น ้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง (1/2) ของจ� ำ นวน กรรมการทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร และกรรมการ ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท

คุณสมบัติของกรรมการและกรรมการอิสระ คุณสมบัติกรรมการ 1) มี คุ ณ สมบั ติ และไม่ มี ลั ก ษณะต้ อ งห้ า มตามพระราช บัญญัติบริษัทมหาชน จ�ำกัด พ.ศ. 2535 2) มีอายุไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์ 3) มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ ความหลาก หลายของทักษะ และประสบการณ์ในการท�ำงานที่เป็น ประโยชน์ต่อธุรกิจของบริษัทฯ และสามารถอุทิศเวลา ได้อย่างเต็มที่ ซึ่งจะพิจารณาโดยไม่จ�ำกัดเพศ เชื้อชาติ ศาสนา อายุ และความสามารถเฉพาะด้านอื่นๆ


078 - 079

โครงสร้ า งการจั ด การ

4) มี ภ าวะผู ้ น� ำ และสามารถควบคุ ม การด� ำ เนิ น การของ ผู้บริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 5) ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยไม่เกิน 5 แห่ง (นับรวมกรณี ที่ได้รับอนุมัติแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ ด้วย) คุณสมบัติกรรมการอิสระ นอกเหนือจากคุณสมบัติกรรมการข้างต้น กรรมการอิสระต้องมี คุณสมบัติครบถ้วนตามที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนก�ำหนด ดังนี้ 1) ถื อ หุ ้ น ไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 0.5 ของจ� ำ นวนหุ ้ น ที่ มี สิ ท ธิ ออกเสี ย งทั้ ง หมดของบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม ของบริษัทฯ ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้อง ของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหาร งาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้น จากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 3) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดย การจดทะเบี ย นตามกฎหมายในลั ก ษณะที่ เ ป็ น บิ ด า มารดา คู ่ ส มรส พี่ น ้ อ ง และบุ ต ร รวมทั้ ง คู ่ ส มรสของ บุตร ของกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็น กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 4) ไ ม่ มี ห รื อ เคยมี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ ในลั ก ษณะที่ อ าจ เป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอ�ำนาจ ควบคุ ม ของผู ้ ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่

หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจาก การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ความสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ ตามวรรคหนึ่ ง รวมถึ ง การท� ำ รายการทางการค้ า ที่ ก ระท� ำ เป็ น ปกติ เ พื่ อ ประกอบ กิ จ การ การเช่ า หรื อ ให้ เ ช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ รายการ เกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความ ช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กู้ยืม ค�้ำประกัน การให้ สิ น ทรั พ ย์ เ ป็ น หลั ก ประกั น หนี้ สิ น รวมถึ ง พฤติการณ์อื่นท�ำนองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้บริษัทฯ หรือ คู ่ สั ญ ญามี ภ าระหนี้ ที่ ต ้ อ งช� ำ ระต่ อ อี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง ตั้ ง แต่ ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทฯ หรือ ตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า ทั้งนี้การค�ำนวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการ ค� ำ นวณมู ล ค่ า ของรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ตามประกาศ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการ ท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันโดยอนุโลม แต่ในการพิจารณา ภาระหนี้ดังกล่าว ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่าง 1 ปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 5) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจ ควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ และไม่ เ ป็ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ มี นั ย ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม หรื อ หุ ้ น ส่ ว นของส� ำ นั ก งานสอบบั ญ ชี ซึ่ ง มี ผู ้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม ของบริษัทฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 6) ไ ม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารทางวิ ช าชี พ ใดๆ ซึ่ ง รวมถึ ง การให้ บ ริ ก ารเป็ น ที่ ป รึ ก ษากฎหมาย หรื อ ที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่า 2 ล้าน บาทต่อปีจากบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้น ส่ ว นของผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารทางวิ ช าชี พ นั้ น ด้ ว ย เว้ น แต่ จ ะได้ พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

7) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทน ของกรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็นผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการ แข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือ ไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการ ที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับ เงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวน หุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบ กิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันที่มี นัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 9) ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่าง เป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ กรณีทั่วไป กรรมการสองคนจากกรรมการสามคน ซึ่งได้แก่ นายจุตินันท์ ภิ ร มย์ ภั ก ดี นายชญานิ น เทพาค� ำ และนายนริ ศ เชยกลิ่ น ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราส�ำคัญของบริษัทฯ กรณีเฉพาะ ซึ่งประกอบด้วย 1. ก ารขออนุ ญ าตปลู ก สร้ า งอาคาร และสิ่ ง ปลู ก สร้ า ง ทุกประเภท 2. การขออนุญาตจัดสรร 3. การขออนุญาตค้าที่ดิน 4. การขออนุญาตรวมและแบ่งโฉนดที่ดิน 5. การขออนุญาตแบ่งกรรมสิทธิ์รวม 6. การขออนุญาตให้มีหมายเลขประจ�ำบ้าน 7. การขออนุญาตใช้และโอนไฟฟ้าและน�้ำประปา 8. การเช่าสิทธิการใช้หมายเลขโทรศัพท์ 9. การยื่นค�ำร้องทั่วไปเกี่ยวกับโทรศัพท์ 10. การขออนุญาตเชื่อมทางและท่อระบายน�้ำ 11. การขออนุญาตตัดคันหิน 12. การชี้ระวังและรับรองแนวเขตที่ดิน

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

13. 14. 15. 16. 17.

การขอจดทะเบียนอาคารชุด การขอจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด การขออนุญาตเปิดใช้อาคาร การยินยอมให้ใช้สถานที่ประกอบการค้า การให้ถ้อยค�ำ ตลอดจนยื่นและรับเอกสารที่เกี่ยวข้อง กับกรมสรรพากร 18. ก ารแจ้ ง ความร้ อ งทุ ก ข์ ต ่ อ เจ้ า พนั ก งานต� ำ รวจหรื อ พนั ก งานสอบสวน ถอนค� ำ ร้ อ งทุ ก ข์ ประนี ป ระนอม ยอมความให้ถ้อยค�ำ ตลอดจนส่งและรับคืนเอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับคดี 19. การขออนุญาตขาย ท�ำ ประกอบ ปรุง สะสมอาหาร หรือน�้ำแข็งในสถานที่เอกชน 20. การขออนุญาตใช้สถานที่เพื่อประกอบการค้าซึ่งเป็น ที่รังเกียจ หรืออาจเป็นอันตรายแก่สุขภาพ 21. การขออนุญาตขายสุรา ยาสูบ และไพ่ 22. ก ารขออนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ เป็ น บุ ค คลรั บ อนุ ญ าต ตาม พรบ. ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน พ.ศ. 2485

ให้นายจุตินันท์ ภิรมย์ภักดี นายชญานิน เทพาค�ำ หรือ นายนริศ เชยกลิ่ น คนใดคนหนึ่ ง ลงลายมื อ ชื่ อ และประทั บ ตราส� ำ คั ญ ของบริษัทฯ ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัทฯ ตามกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารก� ำ หนดขอบเขต หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ไว้ดังนี้ 1. ป ฏิ บั ติ ห น ้ า ที่ ภ า ย ใ น ข อ บ เ ข ต ข อ ง ก ฎ ห ม า ย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติ คณะกรรมการ และมติ ท่ี ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ด้ ว ยความ ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต (Duty of Loyalty) ความระมั ด ระวั ง (Duty of Care) มีความรับผิดชอบ (Accountability) และมี จ ริ ย ธรรม (Ethic) โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ประโยชน์ ข อง ผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน


080 - 081

โครงสร้ า งการจั ด การ

2. ก�ำหนดวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ แผนงานและงบประมาณ ประจ� ำ ปี ข องบริ ษั ท ฯ โดยมี ก ารติ ด ตามผลการ ด�ำเนินงานด้านต่างๆ ของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง เพื่อ ให้ มั่ น ใจว่ า การด� ำ เนิ น งานเป็ น ไปตามเป้ า หมาย ที่ ก� ำ หนด และสามารถจั ด การอุ ป สรรคปั ญ หาที่ อ าจ เกิดขึ้นได้อย่างทันเวลา 3. ก� ำ หนดหรื อ เปลี่ ย นแปลงชื่ อ กรรมการผู ้ มี อ� ำ นาจ ลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทฯ ภายใต้บังคับของกฎหมาย และข้อบังคับของบริษัทฯ 4. พิจารณาอนุมัติรายการที่ส�ำคัญตามขอบเขตอ�ำนาจ หน้าที่ของคณะกรรมการ ตามที่กฎหมายและข้อบังคับ ของบริษัทฯ ก�ำหนดรวมถึงพิจารณาอนุมัติงบประมาณ ลงทุนที่มีวงเงินสูงกว่า 1,000 ล้านบาท 5. พิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ รวมทั้ง มีอ�ำนาจในการแต่งตั้งประธานคณะกรรมการชุดย่อย และประธานคณะกรรมการบริหาร เพื่อสนับสนุนการ ปฏิ บั ติ ง านตามความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการ ตามความเหมาะสมและความจ� ำ เป็ น โดยมี ก าร ติดตามผลการด�ำเนินงานของคณะกรรมการชุดย่อย และคณะกรรมการบริหารอย่างสม�่ำเสมอ 6. พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสม เข้ า ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร กรณี ที่ ต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารว่างลง 7. กรรมการที่เป็นอิสระควรใช้ดุลยพินิจอย่างเป็นอิสระ ในการพิจารณาก�ำหนดกลยุทธ์ การบริหารงาน การ ใช้ ท รั พ ยากร การแต่ ง ตั้ ง กรรมการและการก� ำ หนด มาตรฐานในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ รวมทั้ ง พร้ อ มที่ จ ะ คั ด ค้ า นการกระท� ำ ของฝ่ า ยจั ด การหรื อ กรรมการอื่ น ในกรณีที่มีความเห็นขัดแย้งในเรื่องที่มีผลกระทบต่อ ความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นทุกราย 8. จั ด ให้ มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล ต่ อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น และผู ้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ ่ ม อย่ า งถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น โปร่ ง ใส เชื่อถือได้ ทันเวลา และเท่าเทียมกัน

9. จั ด ให้ มี ร ะบบบั ญ ชี การรายงานทางการเงิ น และ การสอบบั ญ ชี ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ รวมทั้ ง มี ก ารดู แ ลให้ มี กระบวนการในการประเมิ น ความเหมาะสมของ การควบคุ ม ภายในและการตรวจสอบภายในให้ มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล การรายงานทางการเงิน และการติดตามผล 10. จั ด ให้ มี ก ระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ เ หมาะสม และมีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถประเมิน ติดตาม และ บริหารความเสี่ยงที่ส�ำคัญได้ 11. จัดให้มีเลขานุการบริษัทฯ เพื่อช่วยดูแลกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการและช่ ว ยให้ ค ณะกรรมการและ บริษัทฯ ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนด ที่เกี่ยวข้อง 12. จั ด ให้ มี จ รรยาบรรณธุ ร กิ จ ของกรรมการ ผู ้ บ ริ ห าร และพนักงาน เพื่อเป็นมาตรฐานแนวทางในการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ 13. จัดให้มีการด�ำเนินงานตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดี และสนับสนุนให้มีการสื่อสารไปสู่ทุกคนในบริษัทฯ ให้ได้รับทราบยึดถือปฏิบัติอย่างจริงจัง 14. จั ด ให้ มี ก ระบวนการที่ ชั ด เจนและโปร่ ง ใสเกี่ ย วกั บ การท�ำรายการระหว่างกัน 15. จั ด ให้ มี ก ระบวนการที่ ชั ด เจนในการรายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบต่ อ คณะกรรมการ เมื่ อ พบ หรือมีข้อสงสัยเกี่ยวกับรายการหรือการกระท�ำ ซึ่งอาจ มี ผ ลกระทบอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ต่ อ ฐานะการเงิ น และ ผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ คณะกรรมการต้ อ ง ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นสมควร 16. จัดให้มีการก�ำหนดแผนการสืบทอดต�ำแหน่งผู้บริหาร ระดับสูงของบริษัทฯ 17. จัดให้มีการทบทวนและปรับปรุงนโยบายและแผนงาน ที่ ส� ำ คั ญ ต่ า งๆ ให้ เ ป็ น ปั จ จุ บั น และเหมาะสมกั บ สภาพธุรกิจอย่างสม�่ำเสมอ 18. จั ด ให้ มี ก ารทบทวนและแก้ ไ ขกฎบั ต รคณะกรรมการ บริษัทฯ ให้สอดคล้องกับภาวการณ์


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

19. ส ามารถแสวงหาความเห็ น ทางวิ ช าชี พ เกี่ ย วกั บ การ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยการว่ า จ้ า งที่ ป รึ ก ษาภายนอกด้ ว ย ค่าใช้จ่ายบริษัทฯ 20. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดเกี่ยวกับกิจการของบริษัทฯ ตามที่ ผู้ถือหุ้นมอบหมาย 21. กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม บริ ษั ท ย่ อ ยล� ำ ดั บ เดี ย วกั น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (Collective decision) ได้ ทั้งนี้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษัทฯ เกิดขึ้นกับบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้ส่วนเสีย หรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ในอนาคต บริษัทฯ จะต้องปฏิบัติตามประกาศ ข้อบังคับ กฎ หรือระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และ บุคคลที่มีส่วนได้เสียหรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ จะต้องไม่มีส่วนในการพิจารณาอนุมัติรายการ ดังกล่าว เพื่อให้สอดคล้องกับประกาศของคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ การสงวนสิทธิเรื่องที่เป็นอ�ำนาจอนุมัติ ของคณะกรรมการบริษัท แม้ ว ่ า คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะมี ก ารกระจายอ� ำ นาจให้ คณะกรรมการชุดย่อย ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และผู้บริหาร ระดั บ สู ง ได้ มี ส ่ ว นร่ ว มในการบริ ห ารงาน แต่ ค ณะกรรมการ บริษัทฯ ยังคงสงวนสิทธิเรื่องที่ส�ำคัญไว้เป็นอ�ำนาจอนุมัติของ คณะกรรมการบริษัทฯ ดังนี้ - แผนกลยุทธ์ แผนธุรกิจ และงบประมาณ - ค่าใช้จ่ายฝ่ายทุน และค่าใช้จ่ายที่เกินกว่าอ�ำนาจอนุมัติ ของคณะกรรมการบริหาร - การลงทุนในธุรกิจใหม่ และการขายเงินลงทุน - นโยบายที่ส�ำคัญ - การตกลงเข้าท�ำสัญญาที่ส�ำคัญ

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

- การฟ้องร้อง และด�ำเนินคดีที่ส�ำคัญ - นโยบายการจ่ายเงินปันผล การแบ่งแยกหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายจัดการ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เป็ น ตั ว แทนผู ้ ถื อ หุ ้ น โดยรวม มิ ใ ช่ เป็ น ตั ว แทนผู ้ ถื อ หุ ้ น กลุ ่ ม ใดกลุ ่ ม หนึ่ ง จึ ง มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการ ก� ำ หนดทิ ศ ทาง นโยบาย และกลยุ ท ธ์ ใ นการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ เพื่ อ สร้ า งผลตอบแทนการลงทุ น และประโยชน์ สู ง สุ ด ให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น รวมทั้ ง มี ห น้ า ที่ ส� ำ คั ญ ในการก� ำ กั บ ดู แ ลและติ ด ตาม การด�ำเนินงานของฝ่ายจัดการเพื่อให้มั่นใจว่ามีการปฏิบัติตาม นโยบายและกลยุ ท ธ์ ที่ ก� ำ หนดไว้ และเป็ น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัทฯ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ฝ่ า ยจั ด การมี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบในการบริ ห ารกิ จ การให้ บ รรลุ ผลส�ำเร็จและสอดคล้องกับทิศทาง นโยบาย และกลยุทธ์ในการ ด�ำเนินธุรกิจตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนดไว้ ตลอดจน ท� ำ หน้ า ที่ บ ริ ห ารจั ด การงานประจ� ำ วั น และธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย การแบ่งแยกต�ำแหน่งประธานกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ตามกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดไว้ ว ่ า ประธาน กรรมการ ต้ อ งไม่ เ ป็ น บุ ค คลเดี ย วกั น กั บ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริ ห าร เพื่ อ ให้ มี ก ารแบ่ ง แยกบทบาทอย่ า งชั ด เจนและมี ก าร ถ่วงดุลอ�ำนาจในการด�ำเนินงาน และก�ำหนดบทบาทหน้าที่ของ ประธานกรรมการไว้ดังนี้ 1. ป ระธานกรรมการ หรื อ ผู ้ ท่ี ป ระธานกรรมการ มอบหมาย มีหน้าที่เรียกประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ โดยส่ ง หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ไม่ น ้ อ ยกว่ า 7 วั น ก่ อ นวั น ประชุม เพื่อให้กรรมการบริษัทฯ มีเวลาเพียงพอที่จะ ศึ ก ษา พิ จ ารณา และตั ด สิ น ใจอย่ า งถู ก ต้ อ งในเรื่ อ ง ต่างๆ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ 2. มี บ ทบาทในการก� ำ หนดระเบี ย บวาระการประชุ ม ร่วมกับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร


082 - 083

โครงสร้ า งการจั ด การ

3. ค วบคุ ม การประชุ ม ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จั ด สรรเวลา ให้เพียงพอที่ฝ่ายจัดการจะน�ำเสนอข้อมูล สนับสนุน และเปิ ด โอกาสให้ ก รรมการซั ก ถามและแสดงความ คิ ด เห็ น อย่ า งอิ ส ระ ควบคุ ม ประเด็ น ในการอภิ ป ราย และสรุปมติที่ประชุม 4. มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการส่ ง เสริ ม ให้ ก รรมการบริ ษั ท ฯ ปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ เช่น การแสดง ตนงดออกเสี ย งลงมติ และการออกจากห้ อ งประชุ ม เมื่ อ มี ก ารพิ จ ารณาระเบี ย บวาระที่ ก รรมการมี ค วาม ขัดแย้งทางผลประโยชน์ เป็นต้น 5. สื่ อ สารข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ ต่ า งๆ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้รับทราบ 6. สนับสนุนให้กรรมการบริษัทฯ เข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น และท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ประธานในที่ ป ระชุ ม เพื่ อ ควบคุ ม การประชุมให้มีประสิทธิภาพ และตอบข้อซักถามของ ผู้ถือหุ้น 7. ส นั บ สนุ น ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ตามขอบเขตอ� ำ นาจหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการบริษัทฯ ตามกฎหมาย และตามหลั ก การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี กฎบัตรคณะกรรมการบริหาร ได้ก�ำหนดให้ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารท�ำหน้าที่เกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจตามปกติของบริษัทฯ โดยบริ ห ารงานตามแผนและงบประมาณที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ จ าก คณะกรรมการบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด ซื่อสัตย์ สุจริต และรักษา ผลประโยชน์ สู ง สุ ด แก่ บ ริ ษั ท ฯ และผู ้ ถื อ หุ ้ น ไม่ ท� ำ การใดที่ มี ส่ ว นได้ เสี ย หรื อ มี ผ ลประโยชน์ ใ นลั ก ษณะที่ ขั ด แย้ ง กั บ บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของประธาน เจ้าหน้าที่บริหารมีดังนี้ 1. จัดท�ำและเสนอแผนธุรกิจ และกลยุทธ์ในการด�ำเนิน ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ พิจารณาอนุมัติ 2. จัดหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของบริษัทฯ ให้แก่ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ ร ว ม ถึ ง ข ้ อ มู ล อื่ น ที่ คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องการ

3. บ ริ ห ารงานของบริ ษั ท ฯ ตามแผนธุ ร กิ จ และกลยุ ท ธ์ ในการด�ำเนินธุรกิจตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ 4. จัดโครงสร้างและบริหารจัดการองค์กรตามแนวทางที่ คณะกรรมการบริษัทฯ ให้ค�ำแนะน�ำ 5. บ ริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล การเงิ น และการบริ ห ารเงิ น การท�ำธุรกรรมทางการเงินกับสถาบันการเงินในการ เปิดบัญชี กู้ยืม จ�ำน�ำ จ�ำนอง ค�้ำประกัน และการอื่น การบริ ห ารงานทั่ ว ไป การซื้ อ ขายและจดทะเบี ย น กรรมสิทธิ์ที่ดิน การด�ำเนินการโครงการที่ได้รับอนุมัติ จากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และ รายการอื่ น ใดตาม วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ประโยชน์ ใ นการด� ำ เนิ น กิ จ การของ บริษัทฯ และเป็นไปตามขอบเขตอ�ำนาจที่ได้รับอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัทฯ 6. สรรหาผู้บริหารระดับสูงโดยพิจารณาคัดเลือกบุคคล ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมกั บ ต� ำ แหน่ ง และหน้ า ที่ ความรับผิดชอบ รวมถึงมีความรู้ความสามารถ และ ประสบการณ์ที่เ ป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินงานของ บริ ษั ท ฯ เพื่ อ น� ำ เสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ห ารเพื่ อ พิจารณาแต่งตั้ง 7. ป รั บ วั ฒ นธรรมองค์ ก รของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ สนั บ สนุ น วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ของบริษัทฯ 8. ป ฏิ บั ติ ห น ้ า ที่ อื่ น ต า ม ที่ ไ ด ้ รั บ ม อ บ ห ม า ย จ า ก คณะกรรมการบริษัทฯ 9. ม อบอ� ำ นาจช่ ว ง และ/หรื อ มอบหมายให้ บุ ค คลอื่ น ปฏิ บั ติ ง านเฉพาะอย่ า งแทนได้ โดยอยู ่ ใ นขอบเขต ที่ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บข้ อ ก� ำ หนด หรื อ ค� ำ สั่ ง ที่ คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดไว้ 10. จั ด ท� ำ และเสนอรายงานการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ในเรื่ อ งที่ ส� ำ คั ญ อย่ า ง สม�่ำเสมอ รวมถึงการจัดท�ำรายงานเรื่องอื่นใดตามที่ คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องการ 11. เ ป็ น ตั ว แทนของบริ ษั ท ฯ ในการติ ด ต่ อ กั บ บุ ค คล ภายนอก


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

12. ป ระธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารอาจไปด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการในบริ ษัท อื่น ได้ แต่ ต ้อ งไม่ เป็ น อุ ป สรรคต่ อ การปฏิบัติหน้าที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัทฯ และกิจการนั้นต้องไม่เป็นธุรกิจประเภทเดียวกัน หรือ เป็นการแข่งขันกับธุรกิจของบริษัทฯ และจะต้องได้รับ ความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ก่ อ นไป ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น 02

คณะกรรมการตรวจสอบ

ณ วั น ที่ 11 กุ ม ภาพั น ธ์ 2559 คณะกรรมการตรวจสอบของ บริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. นางนภาภรณ์ ลัญฉน์ดี/1 ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ 2. นายการุญ นันทิลีพงศ์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายธนา เธียรอัจฉริยะ กรรมการตรวจสอบ โดยมี น างนภาภรณ์ ลั ญ ฉน์ ดี เป็ น กรรมการตรวจสอบผู ้ มี ความรู้และประสบการณ์ด้านบัญชีและการเงินเพียงพอในการ สอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน และมีผู้ตรวจสอบภายในจากบริษัท พีแอนด์แอล อินเทอร์นอล ออดิท จ�ำกัด ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ประจ�ำปี 2558 หมายเหตุ /1 ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการอิ ส ระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2559 วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 แทน ดร.สาธิต รังคสิริ ซึ่งลาออกเมื่อ วันที่ 21 มกราคม 2559

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตรวจสอบ 1. ส อบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ร ะบบรายงานทางการเงิ น ตามมาตรฐานการบัญชีที่ก�ำหนดโดยกฎหมายอย่าง ถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล รวมทั้งพิจารณาความ เป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจน ให้ ค วามเห็ น ชอบในการพิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง โยกย้ า ย เลิ ก จ้ า ง หั ว หน้ า หน่ ว ยงานตรวจสอบภายในหรื อ หน่ ว ยงานอื่ น ใดที่ รั บ ผิ ด ชอบเกี่ ย วกั บ การตรวจสอบ ภายใน และหรื อ เห็ น ชอบการพิ จ ารณาว่ า จ้ า ง ผู้ตรวจสอบภายในจากหน่วยงานภายนอกบริษัทฯ 3. ส อบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ย หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ ก� ำ หนดของ หลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง หรือเลิกจ้าง บุคคล ซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของ บริษัท และเสนอค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี รวมทั้ง เข้ า ร่ ว มประชุ ม กั บ ผู ้ ส อบบั ญ ชี โ ดยไม่ มี ฝ ่ า ยจั ด การ เข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิ จ ารณารายการเกี่ ย วโยงหรื อ รายการที่ อ าจมี ค วาม ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจ ว่ า รายการดั ง กล่ า วสมเหตุ ส มผลและเป็ น ประโยชน์ สูงสุดต่อบริษัทฯ 6. จั ด ท� ำ รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดย เปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงาน ดั ง กล่ า วต้ อ งลงนามโดยประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบและต้ อ งประกอบด้ ว ยข้ อ มู ล อย่ า งน้ อ ย ดังต่อไปนี้ 6.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่ เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ


084 - 085

โครงสร้ า งการจั ด การ

6.2 ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ ความพอเพี ย งของระบบ ควบคุมภายในของบริษัทฯ 6.3 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ ก� ำ หนด ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ หรื อ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ธุรกิจของบริษัทฯ 6.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 6.5 ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ 6.6 จ� ำ นวนการประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบ แต่ละท่าน 6.7 ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการ ตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) 6.8 รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควร ทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ 7. ป ฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการของบริ ษั ท ฯ มอบหมายด้ ว ยความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ 03

คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง

ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. นางนภาภรณ์ ลัญฉน์ดี/1 ประธานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง 2. นายนริศ เชยกลิ่น กรรมการบริหารความเสีย่ ง 3. นายณัฐวุฒิ มัธยมจันทร์ กรรมการบริหารความเสีย่ ง โดยมีนายเมธี วินิชบุตร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน ปฏิบัติ หน้าที่เลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

หมายเหตุ /1 ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการอิ ส ระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2559 วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 แทน ดร.สาธิต รังคสิริ ซึ่งลาออกเมื่อ วันที่ 21 มกราคม 2559

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง 1. ก�ำหนดกรอบการบริหารความเสี่ยง (ซึ่งประกอบด้วย นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย ง โครงสร้ า งและ กระบวนการบริหารความเสี่ยง) รวมถึงการสอบทาน และทบทวนเป็นประจ�ำอย่างน้อยทุกปี เพื่อให้แน่ใจ ว่ า กรอบการบริ ห ารความเสี่ ย งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เป็ น ไปตามมาตรฐานสากล และสอดคล้ อ งกั บ ทิ ศ ทาง กลยุ ท ธ์ แ ละแผนธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ก่ อ นน� ำ เสนอต่ อ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบ 2. พิ จ ารณาและอนุ มั ติ ก ารก� ำ หนดระดั บ ความเสี่ ย งที่ ยอมรับได้ (Risk Appetite) ของบริษัทฯ ก่อนน�ำเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบ 3. ก� ำ กั บ ดู แ ล ติ ด ตาม และสอบทานการรายงานการ บริหารความเสี่ยงที่ส�ำคัญ พร้อมทั้งให้ค�ำแนะน�ำ และ ให้ความเห็นในผลการประเมินความเสี่ยง มาตรการ จั ด การความเสี่ ย ง และแผนจั ด การความเสี่ ย งที่ เหลื อ อยู ่ ข องบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า มี ก ารบริ ห าร จัดการความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพ และเหมาะสม กับการด�ำเนินธุรกิจบริษัทฯ และสามารถบริหารจัดการ ความเสี่ยงต่างๆ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ สอดคล้อง กับนโยบายการบริหารความเสี่ยง 4. ก� ำ หนดและทบทวนกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ ย งให้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายการบริ ห าร ความเสี่ยง เพื่อให้มีประสิทธิผลและมีความเพียงพอ สอดคล้องตามสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

5. ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น เพื่ อ พั ฒ นาการบริ ห ารความเสี่ ย ง และเครื่ อ งมื อ สนั บ สนุ น การบริ ห ารความเสี่ ย งต่ า งๆ ในทุ ก ระดั บ ทั่ ว ทั้ ง องค์ ก รอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และมี ประสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ มี การปรับปรุง และพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยง ภายในองค์กรอย่างต่อเนื่องและสม�่ำเสมอ 6. ร า ย ง า น ผลก า รบ ริ ห า รค ว า ม เสี่ ยง ที่ ส� ำ คั ญ ใ ห ้ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ รั บ ทราบ ในกรณี ที่ มี ป ั จ จั ย หรือเหตุการณ์ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อบริษัทฯ อย่างมี นัยส�ำคัญ 7. รั บ ผิ ด ชอบต่ อ การอื่ น ใดที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มอบหมายเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง 8. ในการปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง อาจขอความเห็ น จากที่ ป รึ ก ษาอิ ส ระเมื่ อ พิ จ ารณา เห็นว่ามีความจ�ำเป็นและเหมาะสม โดยบริษัทฯ เป็น ผู้รับภาระค่าใช้จ่าย 9. สื่ อ สารแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล และประสานงานเกี่ ย วกั บ ความเสี่ยงและการควบคุมภายในกับคณะกรรมการ ตรวจสอบ อย่างสม�่ำเสมอ 04

คณะกรรมการสรรหา และพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน

คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนของบริ ษั ท ฯ ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. ดร. ชญานิน เทพาค�ำ ประธานคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน 2. นายการุญ นันทิลีพงศ์ กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน 3. ผศ.ดร. ธนวรรธน์ พลวิชัย กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน โดยมีนางสาวเชิญพร สุภธีระ เลขานุการบริษัทฯ ปฏิบัติหน้าที่ เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน การปฏิบัติงานด้านการสรรหา 1. พิจารณาก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการสรรหา กรรมการ 2. พิ จ ารณาโครงสร้ า ง ขนาด และองค์ ป ระกอบของ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และ คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย ให้ มี ค วามเหมาะสมกั บ กลยุ ท ธ์ ข องบริ ษั ท ฯ และ สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 3. พิ จ ารณาก� ำ หนดคุ ณ สมบั ติ ข องผู ้ ที่ จ ะด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการ โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ความหลากหลายทางด้ า น ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ทักษะ และประสบการณ์ที่ เป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และ การอุทิศเวลา 4. กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการว่างลง เนื่องจาก 4.1) ออกตามวาระ - พิจารณาสรรหาและคัดเลือก ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมเป็ น กรรมการ เพื่อเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ และขออนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 4.2) อ อกเพราะเหตุ อ่ื น นอกจากถึ ง คราวออกตาม ว า ร ะ - พิ จ า ร ณ า ส ร ร ห า แ ล ะ คั ด เ ลื อ ก ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมเป็ น กรรมการ เพื่ อ เสนอคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ พิจารณาแต่งตั้งทดแทนต�ำแหน่งที่ว่างลง 5. ส นั น สนุ น ให้ บ ริ ษั ท ฯ เปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายย่ อ ย เสนอรายชื่ อ บุ ค คลเข้ า รั บ การสรรหาเป็ น กรรมการบริษัทฯ 6. พิ จ ารณาคั ด เลื อ กกรรมการบริ ษั ท ฯ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เหมาะสมเป็นกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อ เสนอคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง ตาม ความเหมาะสม หรือ เมื่อมีต�ำแหน่งว่างลง


086 - 087

โครงสร้ า งการจั ด การ

7. พิ จ ารณาทบทวนแผนการสื บ ทอดต� ำ แหน่ ง ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร พร้ อ มทั้ ง รายชื่ อ ผู ้ ที่ เ หมาะสมที่ จ ะ ได้ รั บ การพิ จ ารณาสื บ ทอดต� ำ แหน่ ง อย่ า งสม�่ ำ เสมอ และเสนอคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง เมื่อมีต�ำแหน่งว่างลง การปฏิบัติงานด้านการพิจารณาค่าตอบแทน การพิจารณาค่าตอบแทนกรรมการ 1. เ สนอความเห็ น ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เกี่ ย วกั บ โครงสร้ า งและองค์ ป ระกอบค่ า ตอบแทนส� ำ หรั บ กรรมการเป็นประจ�ำทุกปี 2. พิจารณาให้ความเห็นชอบและทบทวนแบบประเมิน ผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อน�ำ เสนอให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ละ ด�ำเนินการประเมิน โดยคณะกรรมการสรรหาฯ จะน�ำ ผลการประเมิ น ดั ง กล่ า วมาใช้ ป ระกอบการพิ จ ารณา ก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ 3. เ สนอหลั ก เกณฑ์ ก ารพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนอย่ า ง เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการ โดย เชื่ อ มโยงค่ า ตอบแทนกั บ ผลการประเมิ น แผนธุ ร กิ จ และผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ โดยรวม เพื่ อ ให้ สามารถจูงใจ และรักษากรรมการที่มีความสามารถ มีคุณภาพ และศักยภาพ ทั้งนี้ให้คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้พิจารณาเพื่อให้ความเห็นชอบก่อนน�ำเสนอต่อ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจ�ำปีเพื่อพิจารณาอนุมัติ การพิจารณาค่าตอบแทนประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 1. พิ จ ารณา อนุ มั ติ และทบทวนแบบประเมิ น ผล การปฏิบัติงานประจ�ำปีของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2. พิ จ ารณา อนุ มั ติ และทบทวนโครงสร้ า งและ องค์ ป ระกอบค่ า ตอบแทนส� ำ หรั บ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหารเป็นประจ�ำทุกปี

3. ด� ำ เนิ น การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านประจ� ำ ปี ข อง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และน� ำ ผลการประเมิ น ดั ง ก ล ่ า ว ม า ใ ช ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร พิ จ า ร ณ า ก� ำ ห น ด ค่าตอบแทนที่เหมาะสมให้แก่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 05

คณะกรรมการบริ ห าร

ปั จ จุ บั น คณะกรรมการบริ ห ารของบริ ษั ท ฯ ประกอบด้ ว ย กรรมการจ�ำนวน 8 ท่าน ดังนี้ 1. ดร. ชญานิน เทพาค�ำ ประธานคณะกรรมการ บริหาร 2. นายนริศ เชยกลิ่น กรรมการบริหาร 3. นายล่องลม บุนนาค กรรมการบริหาร 4. นายธีระชาติ นุมานิต กรรมการบริหาร 5. นายณัฐวุฒิ มัธยมจันทร์ กรรมการบริหาร 6. นายเมธี วินิชบุตร กรรมการบริหาร 7. นายเดิร์ก เดอ ไคย์เปอร์ กรรมการบริหาร 8. นายสุพจน์ ชลาดล กรรมการบริหาร ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริหาร 1. ป ฏิ บั ติ ห น ้ า ที่ ภ า ย ใ น ข อ บ เ ข ต ข อ ง ก ฎ ห ม า ย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติ คณะกรรมการ และมติ ท่ี ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ด้ ว ยความ ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต (Duty of Loyalty) ความระมั ด ระวั ง (Duty of Care) มีความรับผิดชอบ (Accountability) และมี จ ริ ย ธรรม (Ethic) โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ประโยชน์ ข อง ผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน 2. ให้ข้อเสนอแนะแก่ฝ่ายจัดการเกี่ยวกับทิศทางกลยุทธ์ โครงสร้างการบริหารงาน แผนธุรกิจ และงบประมาณ ประจ� ำ ปี ข องบริ ษั ท ฯ ก่ อ นที่ จ ะเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 3. บ ริ ห ารธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ให้ บ รรลุ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ กลยุ ท ธ์ และนโยบายของ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และเป็ น ไปตามกฎหมาย


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

เงื่ อ นไข กฎระเบี ย บและข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ และ หน่วยงานก�ำกับดูแลที่เกี่ยวข้อง 4. ก�ำกับและติดตามผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงิน ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ในกลุ ่ ม และรายงานผลการ ด�ำเนินงานและฐานะการเงินให้คณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบเป็นประจ�ำ 5. พิ จ ารณาและให้ค วามเห็น แก่ค ณะกรรมการบริษัทฯ เกี่ยวกับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ 6. พิ จ ารณาสอบทานและอนุ มั ติ ร ายการเกี่ ย วกั บ การ ลงทุ น และการได้ ม าและจ� ำ หน่ า ยไปซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น ในวงเงินไม่เกิน 1,000 ล้านบาท 7. ก� ำ กั บ ดู แ ลและบริ ห ารเงิ น ลงทุ น ของบริ ษั ท ฯ อย่ า ง มีประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น 8. พิจารณาและให้ความเห็นชอบต่อเรื่องที่ต้องผ่านการ อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ ยกเว้นในกิจกรรม ใดๆ ที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ ม อบหมายให้ คณะกรรมการชุดย่อยอื่นเป็นผู้ด�ำเนินการไว้แล้ว 9. คณะกรรมการบริหารอาจว่าจ้างที่ปรึกษาหรือบุคคล ที่มีความเป็นอิสระเพื่อให้ความเห็นหรือค�ำแนะน�ำได้ ตามความจ�ำเป็น 10. รายงานผลการปฏิบัติงานที่ส�ำคัญให้คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ รั บ ทราบเป็ น ประจ� ำ รวมทั้ ง ประเด็ น ส� ำ คั ญ ต่างๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ ควรได้รับทราบ 11. ประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองเป็นประจ�ำทุกปี 12. เมื่อต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารว่างลง ในกรณี ที่บริษัทฯ ยังไม่มีคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน ให้คณะกรรมการบริหารเป็นผู้พิจารณา สรรหาบุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมในการด� ำ รง ต� ำ แหน่ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร เพื่ อ เสนอแก่ คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาแต่งตั้ง รวมถึงทบทวน แผนการสื บ ทอดต� ำ แหน่ ง พร้ อ มทั้ ง รายชื่ อ ผู ้ ที่ อ ยู ่ ใ น เกณฑ์ เ หมาะสมที่ จ ะได้ รั บ การพิ จ ารณาสื บ ทอด ต�ำแหน่ง 13. ด� ำ เนิ น การอื่ น ใดตามอ� ำ นาจและความรั บ ผิ ด ชอบ หรือตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ทั้ ง นี้ อ� ำ นาจของกรรมการบริ ห ารดั ง กล่ า วจะต้ อ งเป็ น ไปตาม กฎเกณฑ์ของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับของบริษัทฯ และ กรรมการบริหารไม่สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีส่วนได้ส่วนเสียในลักษณะ อื่ น ใดกั บ บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย (ถ้ า มี ) เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ ง กั บ ป ร ะ ก า ศ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก� ำ กั บ ห ลั ก ท รั พ ย ์ แ ล ะ ตลาดหลักทรัพย์ เว้นแต่เป็นการอนุมัติรายการธุรกิจปกติของ บริ ษั ท ฯ ที่ มี เ งื่ อ นไขการค้ า ทั่ ว ไปตามที่ มี ก ารก� ำ หนดขอบเขต โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ไว้ชัดเจนแล้ว 06

ฝ่ า ยจั ด การ

ปัจจุบัน ฝ่ายจัดการของบริษัทฯ ประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูง จ�ำนวน 7 ท่าน ดังนี้ 1. นายนริศ เชยกลิ่น ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2. นายล่องลม บุนนาค ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร การลงทุน 3. นายธีระชาติ นุมานิต ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร การออกแบบและก่อสร้าง 4. นายณัฐวุฒิ มัธยมจันทร์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร การพัฒนาธุรกิจพักอาศัย 5. นายเมธี วินิชบุตร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร การเงิน 6. นายเดิร์ก เดอ ไคย์เปอร์ ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ (สังกัดบริษัท เอส โฮเทล แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด) 7. นายสุพจน์ ชลาดล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โรงแรมสันติบุรี (สังกัด บริษัท เอส โฮเทล แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด)


088 - 089

07

โครงสร้ า งการจั ด การ

เลขานุ ก ารบริ ษั ท ฯ

คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้พิจารณาแต่งตั้งผู้มีความรู้ ความ สามารถ และมีความเหมาะสมในการท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการ บริ ษั ท ฯ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น มี น างสาวเชิ ญ พร สุ ภ ธี ร ะ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น เลขานุการบริษทั ฯ โดยได้รบั การแต่งตัง้ เมือ่ วันที่ 12 กันยายน 2557 หน้าที่ความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัทฯ เลขานุ ก ารของบริ ษั ท ฯ จะต้ อ งปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามที่ ก� ำ หนด ในมาตรา 89/15 และมาตรา 89/16 ของพระราชบั ญ ญั ติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึ่งมี ผลใช้บังคับในวันที่ 31 สิงหาคม 2551 ด้วยความรับผิดชอบ ความระมั ด ระวั ง และความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต รวมทั้ ง ต้ อ งปฏิ บั ติ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย วั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท ฯ มติ คณะกรรมการบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ หน้าที่ ตามกฎหมายของเลขานุการบริษัทฯ มีดังนี้ 1. จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้ - ทะเบียนกรรมการ - ห นั ง สื อ นั ด ประชุ ม คณะกรรมการ รายงานการ ประชุ ม คณะกรรมการ และรายงานประจ� ำ ปี ข อง บริษัทฯ - หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุม ผู้ถือหุ้น 2. เ ก็ บ รั ก ษารายงานการมี ส ่ ว นได้ เ สี ย ที่ ร ายงานโดย กรรมการและผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง และจัดส่งส�ำเนารายงานการมีส่วนได้เสียตามมาตรา 89/14 ให้ ป ระธานคณะกรรมการ และประธาน กรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันท�ำการนับแต่ วันที่บริษัทฯ ได้รับรายงานนั้น 3. จัดการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และการประชุม ผู้ถือหุ้นให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง

4. ใ ห้ ค� ำ แนะน� ำ ในการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และ คณะกรรมการบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามหนังสือบริคณห์สนธิ ข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท ฯ พระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 5. เป็นศูนย์กลางการติดต่อสื่อสารข้อมูลข่าวสารระหว่าง กรรมการ ผู้บริหาร และผู้ถือหุ้น 6. ประสานงานและติดตามการด� ำเนินงานตามมติของ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และที่ประชุมประชุม ผู้ถือหุ้น 7. ดู แ ลให้ มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล และรายงานสารสนเทศ ในส่ ว นที่ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ หน่ ว ยงานที่ ก� ำ กั บ ดู แ ลตาม ระเบียบและข้อก�ำหนดของหน่วยงานทางการ 8. ด�ำเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ประกาศหรือก�ำหนด และ ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ประวัติโดยย่อ ชื่อ-นามสกุล นางสาวเชิญพร สุภธีระ วุฒิการศึกษา สถิติศาสตรบัณฑิต (สต.บ.) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท บริหารธุรกิจ California State University, Fullerton ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัติการท�ำงาน ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ และเลขานุการบริษัท บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) 2556 ผู้จัดการ ฝ่ายสื่อสารตลาดทุน บริษัท พีวายไอ คอนซัลติ้ง จ�ำกัด 2549 - 2555 ผู้จัดการ ส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด (มหาชน)



090 - 091

การสรรหาและแต่ ง ตั้ ง กรรมการ และผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง

การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ และผู้บริหารระดับสูง การสรรหาและแต่ ง ตั้ ง กรรมการ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผู้สรรหาและพิจารณาคัดเลือก บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และสอดคล้ อ งกั บ คุ ณ สมบั ติ ที่ บ ริ ษั ท ฯ ก�ำหนด และเสนอให้คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาแต่งตั้ง หรื อ เสนอขออนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ตามข้ อ บั ง คั บ ของ บริ ษั ท ฯ ในการสรรหาบุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมนั้ น จะ พิจารณาจากช่องทางดังต่อไปนี้ - การเปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น เสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ เข้ า รั บ การพิ จ ารณาเลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการบริ ษั ท ฯ ล่ ว งหน้ า ก่ อ นการประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 พฤศจิ ก ายน 2558 ถึ ง 31 มกราคม 2559 ตาม หลั ก เกณฑ์ แ ละเงื่ อ นไขซึ่ ง ได้ ป ระกาศไว้ บ นเว็ บ ไซต์ ของบริษัทฯ - บุ ค คลที่ ไ ด้ รั บ ค� ำ แนะน� ำ จากกรรมการบริ ษั ท ฯ และ ที่ปรึกษาอิสระภายนอก คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน จะพิ จ ารณา ทบทวนคุณสมบัติและความหลากหลายทางด้านทักษะ ความรู้ ความช�ำนาญ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญของกรรมการ (Board Skill Matrix) รวมทั้ ง องค์ ป ระกอบโดยรวมของ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เปรี ย บเที ย บกั บ ทิ ศ ทางในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จในปั จ จุ บั น และอนาคต เพื่อก� ำหนดเกณฑ์ในการสรรหา กรรมการที่ต้องการเป็นประจ�ำทุกปี ซึ่งจะพิจารณาโดยไม่จ�ำกัด เพศ เชื้อชาติ ศาสนา อายุ และความสามารถเฉพาะด้านอื่นๆ กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการว่างลงเนื่องจากถึงคราวออก ตามวาระ ในกรณี ที่ ต� ำ แหน่ ง กรรมการว่ า งลงเนื่ อ งจากถึ ง คราวออก ตามวาระ คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน จะพิ จ ารณาสรรหาและคั ด เลื อ กผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เหมาะสมเป็นกรรมการ เพื่อเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ และขออนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี ส�ำหรับการเสนอให้กรรมการท่านเดิมกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งต่อ อีกวาระหนึ่ง คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

จะพิ จ ารณาปั จ จั ย ต่ า งๆ ซึ่ ง รวมถึ ง ผลการปฏิ บั ติ ง าน ประวั ติ การเข้าร่วมและการมีส่วนร่วมในการประชุม และการสนับสนุน กิจกรรมของคณะกรรมการบริษัทฯ โดยหากเป็นกรรมการอิสระ จะพิจารณาถึงความเป็นอิสระของกรรมการท่านดังกล่าวด้วย การเลื อ กตั้ ง กรรมการให้ เ ป็ น ไปตามข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท ฯ และ ข้อก�ำหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะต้องมีความโปร่งใส และชั ด เจน โดยมี ห ลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารเลื อ กตั้ ง กรรมการ ในการประชุมผู้ถือหุ้น ดังต่อไปนี้ 1) ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการให้ถือว่าผู้ถือหุ้น แต่ ล ะคนมี ค ะแนนเสี ย งเท่ า กั บ จ� ำ นวนหุ ้ น ที่ ต นถื อ หนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง 2) ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการ ให้ลงคะแนน เสี ย งเลื อ กตั้ ง กรรมการเป็ น รายบุ ค คล โดยให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ลงคะแนนเสี ย งทั้ ง หมดที่ ต นมี อ ยู ่ เ ลื อ กบุ ค คลที่ ไ ด้ รั บ การเสนอชื่อเป็นกรรมการทีละคน 3) บุ ค คลซึ่ ง จะได้ รั บ คะแนนเสี ย งสู ง สุ ด ตามล� ำ ดั บ ลงมา เป็ น ผู ้ ไ ด้ รั บ การเลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการเท่ า จ� ำ นวน กรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณี ที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในล�ำดับถัดลงมามีคะแนน เสี ย งเท่ า กั น เกิ น จ� ำ นวนกรรมการที่ จ ะพึ ง มี ห รื อ จะพึ ง เลื อ กตั้ ง ในครั้ ง นั้ น ให้ ผู ้ เ ป็ น ประธานที่ ป ระชุ ม เป็ น ผู้ออกเสียงชี้ขาด กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการว่างลงเนื่องจากเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จะเป็นผู้สรรหา บุคคลซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม กฎหมายว่ า ด้ ว ยบริ ษั ท มหาชนจ� ำ กั ด เพื่ อ เสนอให้ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการเพื่ อ ทดแทนต�ำแหน่งที่ว่างลงในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ คราวถั ด ไป เว้ น แต่ ว าระของกรรมการที่ พ ้ น จากต� ำ แหน่ ง นั้ น เหลือน้อยกว่า 2 เดือนซึ่งจะต้องเสนอขออนุมัติจากที่ประชุม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี บุ ค คลซึ่ ง เข้ า เป็ น กรรมการแทนจะ อยู ่ ใ นต� ำ แหน่ ง กรรมการได้ เ พี ย งเท่ า วาระที่ ยั ง เหลื อ อยู ่ ข อง กรรมการซึ่งตนแทน ทั้งนี้ มติการแต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการ แทนดังกล่าวต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของ จ�ำนวนกรรมการที่เหลืออยู่


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

การถอดถอน และการพ้นจากต�ำแหน่งของ กรรมการบริษัทฯ 1) นอกจากการพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการอาจ พ้นต�ำแหน่งเมื่อ 1.1) ตาย 1.2) ลาออก 1.3) ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ว่าด้วยบริษัทมหาชนจ�ำกัด 1.4) ที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้ออก 1.5) ศาลมีค�ำสั่งให้ออก 2) ก รรมการคนใดจะลาออกจากต� ำ แหน่ ง ให้ ยื่ น ใบลาออก ต่ อ บริ ษั ท ฯ การลาออกมี ผ ลนั บ แต่ วั น ที่ ใ บลาออกไปถึ ง บริ ษั ท ฯ กรรมการซึ่ ง ลาออกจะแจ้ ง การลาออกของตนให้ นายทะเบียนบริษัทมหาชนจ�ำกัดทราบด้วยก็ได้ 3) ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น อาจลงมติ ใ ห้ ก รรมการคนใดออกจาก ต� ำ แหน่ ง ก่ อ นถึ ง คราวออกตามวาระได้ ด ้ ว ยคะแนนเสี ย ง ไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจ�ำนวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม และมี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งลงคะแนนและมี หุ ้ น นั บ รวมกั น ได้ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง (1/2) ของจ�ำนวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้น ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ในกรณีที่กรรมการพ้นจากต�ำแหน่งทั้งคณะ ให้คณะกรรมการ ที่พ้นจากต�ำแหน่งยังคงรักษาการในต�ำแหน่งเพื่อด�ำเนินกิจการ ของบริษัทฯ ต่อไปเพียงเท่าที่จ�ำเป็น จนกว่ากรรมการชุดใหม่ เข้ า รั บ หน้ า ที่ เว้ น แต่ ศ าลจะมี ค� ำ สั่ ง เป็ น อย่ า งอื่ น ในกรณี ที่ คณะกรรมการพ้นจากต�ำแหน่งตามค�ำสั่งศาล คณะกรรมการที่พ้นจากต�ำแหน่ง ต้องจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้น เพื่ อ เลื อ กตั้ ง คณะกรรมการชุ ด ใหม่ ภ ายในหนึ่ ง (1) เดื อ น นั บ แต่ วั น พ้ น จากต� ำ แหน่ ง โดยส่ ง หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ไปยั ง ผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่าสิบสี่ (14) วันก่อนวันประชุม และโฆษณา ค�ำบอกกล่าวนัดประชุมในหนังสือพิมพ์ไม่น้อยกว่าสาม (3) วัน ก่อนวันประชุมด้วย โดยจะต้องโฆษณาเป็นระยะเวลาสาม (3) วันติดต่อกัน การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ บริษัทฯ ได้จัดให้มีการปฐมนิเทศกรรมการใหม่ ซึ่งจะเป็นการ บรรยายโดยประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และ/หรื อ ผู ้ บ ริ ห าร ระดั บ สู ง เพื่ อ ให้ ก รรมการใหม่ ไ ด้ รั บ ทราบข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การ

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ประกอบธุ ร กิ จ แนวทางในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ และข้ อ มู ล อื่ น ๆ ที่ จ� ำ เป็ น และมี ป ระโยชน์ ต ่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ รวมทั้ ง จั ด ท� ำ ชุ ด เอกสารส� ำ หรั บ กรรมการใหม่ ประกอบด้ ว ยข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ ของบริษัทฯ เช่น ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสร้างธุรกิจ โครงสร้ า งการจั ด การ ทิ ศ ทางและกลยุ ท ธ์ ใ นการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ เป็ น ต้ น รวมถึ ง กฎบั ต รคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และ/หรื อ คณะกรรมการชุดย่อย คู่มือกรรมการบริษัทจดทะเบียน และ คู ่ มื อ อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นคณะกรรมการ ชุดย่อย (ถ้ามี) การสรรหาและแต่ ง ตั้ ง ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง การสรรหาและแต่งตั้งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนเป็นผู้จัดท�ำแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง ของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (Succession Plan) เพื่อความ มั่ น ใจว่ า ธุ ร กิ จ จะด� ำ เนิ น ต่ อ ไปได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งหากต� ำ แหน่ ง ดั ง กล่ า วว่ า งลง โดยคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนจะเป็นผู้พิจารณาสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม มาด�ำรงต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร โดยจะพิจารณาสรรหา บุ ค คลที่ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสม และ มีประสบการณ์ที่เ ป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ จากภายในและภายนอกองค์กร ก่อนที่จะเสนอคณะกรรมการ บริษัทฯ เป็นผู้พิจารณาแต่งตั้งต่อไป นอกจากนี้ คณะกรรมการ สรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนยั ง มี ห น้ า ที่ ใ นการทบทวน แผนการสืบทอดต�ำแหน่ง พร้อมทั้งรายชื่อผู้ที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะ ได้รับการพิจารณาสืบทอดต�ำแหน่งอย่างสม�่ำเสมอด้วย การสรรหาและแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารเป็ น ผู ้ พิ จ ารณาสรรหาและแต่ ง ตั้ ง บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมกั บ ต� ำ แหน่ ง และหน้ า ที่ ค วาม รับผิดชอบ รวมถึงมีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ที่ เป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ โดยการคัดเลือก เป็นไปตามระเบียบในการสรรหาบุคลากรของฝ่ายทุนมนุษย์ ฝ่ า ยทุ น มนุ ษ ย์ เ ป็ น ผู ้ จั ด ท� ำ แผนการสื บ ทอดต� ำ แหน่ ง ผู ้ บ ริ ห าร ระดั บ สู ง และได้ จั ด ระบบให้ มี ก ารพั ฒ นาบุ ค ลากรในล� ำ ดั บ รองลงมา เพื่อเตรียมความพร้อมส�ำหรับการขึ้นไปด�ำรงต�ำแหน่ง ดังกล่าวด้วย


092 - 093

ค่ า ตอบแทนกรรมการ และผู ้ บ ริ ห าร

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่ า ตอบแทนกรรมการ ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี 2558 ได้ มี ม ติ อ นุ มั ติ ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ และกรรมการชุดย่อยในรูปของ คณะกรรมการ

เบี้ยประชุม และ สิทธิพิเศษในการเข้าพักและใช้บริการโรงแรม ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ดังนี้

ต�ำแหน่ง

เบี้ยประชุม (บาท/คน/ครั้ง)

สิทธิพิเศษในการเข้าพักและใช้บริการโรงแรม ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย (บาท/คน/ปี)

คณะกรรมการบริษัทฯ

ประธาน กรรมการ

50,000 30,000

100,000 100,000

คณะกรรมการชุดย่อย/1

ประธาน กรรมการ

30,000 20,000

-

หมายเหตุ: /1 คณะกรรมการชุดย่อยประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการชุดย่อยอื่นๆ ที่จะพึงมีในอนาคต เช่น คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ เป็นต้น โดยไม่รวมคณะกรรมการบริหาร

สรุ ป ค่ า ตอบแทนกรรมการบริ ษั ท ฯ ปี 2558 จ� ำ นวน 9 ราย เท่ า กั บ 2,121,064 บาท ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยเบี้ ย ประชุ ม ส� ำ หรั บ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จ� ำ นวน 1,425,000 บาท เบี้ ย ประชุ ม ส� ำ หรั บ คณะกรรมการตรวจสอบจ� ำ นวน 300,000 บาท เบี้ ย ประชุ ม ส� ำ หรั บ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งจ� ำ นวน 190,000 บาท เบี้ ย ประชุ ม ส� ำ หรั บ คณะกรรมการสรรหาและ พิ จ ารณาค่ า ตอบแทนจ� ำ นวน 140,000 บาท และสิ ท ธิ พิ เ ศษ ในการเข้าพักและใช้บริการโรงแรมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ใช้ไปจ�ำนวน 66,064 บาท ค่ า ตอบแทนผู ้ บ ริ ห าร รอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ค่าตอบแทนรวม ของผู้บริหารบริษัทฯ 4 รายแรกนับจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และทุ ก ต� ำ แหน่ ง เที ย บเท่ า รายที่ 4 รวมทั้ ง สิ้ น 5 ราย เท่ า กั บ 58,963,762.40 บาท โดยแบ่ ง ออกเป็ น ค่ า ตอบแทนในรู ป เงินเดือนและเบี้ยเลี้ยงจ�ำนวน 45,883,464.00 บาท เงินรางวัล พิ เ ศษจ� ำ นวน 3,823,622.00 บาท เงิ น สมทบกองทุ น ส� ำ รอง เลี้ยงชีพ 4,336,676.40 บาท และอื่นๆ 4,920,000.00 บาท

ผู้บริหารบริษัทฯ ที่เป็นสมาชิกกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพจะได้รับ อัตราสมทบร้อยละ 5 และ 10 ของอัตราเงินเดือน ตามระเบียบ ข้อบังคับกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพซึ่งถือปฏิบัติโดยทั่วไปของบริษัทฯ หมายเหตุ: ผู ้ บ ริ ห ารบริ ษั ท ฯ 4 รายแรกนั บ จากประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และทุ ก ต� ำ แหน่ ง เที ย บเท่ า รายที่ 4 (ตามรายชื่ อ ในระบบข้ อ มู ล รายชื่ อ ผู ้ บ ริ ห ารของ ก.ล.ต.) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ได้แก่ 1. นายนริศ เชยกลิ่น ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2. นายล่องลม บุนนาค ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการลงทุน 3. นายณัฐวุฒิ มัธยมจันทร์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการพัฒนาธุรกิจ พักอาศัย 4. นายธีระชาติ นุมานิต ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการออกแบบและ ก่อสร้าง 5. นายเมธี วินิชบุตร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน ค่าตอบแทนผู้บริหาร ไม่รวมนายเดิร์ก เดอ ไคย์เปอร์ ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ นายสุพจน์ ชลาดล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารโรงแรมสันติบุรี ซึ่งสังกัดบริษัท เอส โฮเทล แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด


กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

นายธนา เธียรอัจฉริยะ/1

ผศ.ดร. ธนวรรธน์ พลวิชัย/2

ดร. ชญานิน เทพาค�ำ

นายนริศ เชยกลิ่น

นายล่องลม บุนนาค

นายณัฐวุฒิ มัธยมจันทร์

ดร. สาธิต รังคสิริ

3

4

5

6

7

8

9

7/7

7/7

7/7

7/7

7/7

5/5

4/6

7/7

6/6

-

-

-

-

-

4/4

6/6

-

(ประชุม 6 ครั้ง)

(ประชุม 7 ครั้ง)

6/7

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ บริษัทฯ

3/3

3/3

-

2/3

-

-

-

-

-

(ประชุม 3 ครั้ง)

คณะกรรมการ บริหาร ความเสี่ยง

การเข้าร่วมประชุม (ครั้ง)

-

-

-

-

2/2

2/2

-

2/2

-

(ประชุม 2 ครั้ง)

คณะกรรมการ สรรหาและ พิจารณา ค่าตอบแทน

1,425,000

160,000

160,000

160,000

160,000

160,000

150,000

95,000

160,000

220,000

คณะกรรมการ บริษัทฯ

300,000

130,000

-

-

-

-

-

80,000

90,000

-

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

190,000

90,000

60,000

-

40,000

-

-

-

-

-

คณะกรรมการ บริหาร ความเสี่ยง

เบี้ยประชุม

140,000

-

-

-

-

60,000

40,000

-

40,000

-

คณะกรรมการ สรรหาและ พิจารณา ค่าตอบแทน

ค่าตอบแทนกรรมการ (บาท)

66,064

-

-

-

-

-

-

-

66,064

-

ค่าตอบแทน อื่น/3

หมายเหตุ: /1 นายธนา เธียรอัจฉริยะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 ซึ่งขณะนั้นได้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการตรวจสอบผ่านไปแล้ว 1 ครั้ง และ 2 ครั้ง ตามล�ำดับ /2 ผศ.ดร. ธนวรรธน์ พลวิชัย ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2558 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2558 ซึ่งขณะนั้นได้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ผ่านไปแล้ว 2 ครั้ง /3 สิทธิพิเศษในการเข้าพักและใช้บริการโรงแรมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ซึ่งที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2558 ได้อนุมัติวงเงินไม่เกิน 100,000 บาท/คน/ปี

รวม

กรรมการอิสระ/ ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ/ ประธานคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง (ลาออกวันที่ 21 มกราคม 2558)

กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการ

กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการ/ ประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

นายการุญ นันทิลีพงศ์

2

ประธานกรรมการ

ต�ำแหน่ง

นายจุตินันท์ ภิรมย์ภักดี

รายชื่อกรรมการ

1

ล�ำดับ

การเข้าร่วมประชุม และค่าตอบแทนกรรมการ ประจ�ำปี 2558

2,121,064

380,000

220,000

160,000

200,000

220,000

190,000

175,000

356,064

220,000

ค่าตอบแทน รวม


094 - 095

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

การก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเชื่อมั่นในการด�ำเนินธุรกิจตาม หลั ก บรรษั ท ภิ บ าล ด้ ว ยความโปร่ ง ใส ยุ ติ ธ รรม สามารถ ตรวจสอบได้ และตระหนักถึงความส�ำคัญของการปฏิบัติตาม หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) เพื่อให้เกิดความโปร่งใส เพิ่มความสามารถในการแข่งขันของ กิ จ การ รวมทั้ ง เพิ่ ม ความเชื่ อ มั่ น ให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น และนั ก ลงทุ น โดยทั่วไป และได้ก�ำหนดเป็นแผนงานในปี 2559 ในการจัดท�ำ คู ่ มื อ หลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การและจรรยาบรรณธุ ร กิ จ ของ บริ ษั ท ฯ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก คนมี ค วามรู ้ และเข้ า ใจการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ มากยิ่งขึ้น และในรอบปี 2558 ที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษัทฯ ผลั ก ดั น และสนั บ สนุ น ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ส� ำ หรั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย นตามแนวทางของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งแบ่งเป็น 5 หมวด ดังนี้ 01

สิ ท ธิ ข องผู ้ ถื อ หุ ้ น

คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ให้ ค วามส� ำ คั ญ และเคารพสิ ท ธิ ข อง ผู้ถือหุ้นทุกราย จึงมีนโยบายในการดูแลรักษาสิทธิพื้นฐานและ ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน อาทิ - สิ ท ธิ ใ นการซื้ อ ขาย โอนหลั ก ทรั พ ย์ ที่ ต นเองถื อ อยู ่ อย่างเป็นอิสระ - สิทธิในการรับทราบข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ ผลการ ด�ำเนินงาน และนโยบายการบริหารงาน - สิทธิในการได้รับส่วนแบ่งก�ำไรในรูปของเงินปันผล - สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น และสอบถาม แสดง ความเห็น ให้ข้อเสนอแนะ และร่วมพิจารณาออกเสียง ลงคะแนนในเรื่องต่างๆ - สิ ท ธิ ใ นการเสนอวาระการประชุ ม และเสนอชื่ อ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ พื่ อ เข้ า รั บ การพิ จ ารณาเลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการบริ ษั ท ฯ ล่ ว งหน้ า ก่ อ นการประชุ ม สามั ญ ผู้ถือหุ้นประจ�ำปี - สิทธิในการแต่งตั้งและถอดถอนกรรมการบริษัทฯ - สิทธิในการพิจารณาค่าตอบแทนกรรมการทุกรูปแบบ

- สิทธิในการให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี และก�ำหนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี - สิ ท ธิ ใ นการมอบฉั น ทะให้ บุ ค คลอื่ น เข้ า ประชุ ม และ ออกเสียงลงคะแนนแทนตน - สิ ท ธิ อื่ น ๆ ตามที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นกฎหมาย และข้ อ บั ง คั บ ของบริษัทฯ - ฯลฯ บริษัทฯ มีนโยบายส่งเสริมและอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้น และนั ก ลงทุ น สถาบั น เพื่ อ ให้ ส ามารถใช้ สิ ท ธิ ใ นการเข้ า ร่ ว ม ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ โดยหลี ก เลี่ ย งการจั ด ประชุ ม ในช่ ว งใกล้ วั น หยุ ด นั ก ขั ต ฤกษ์ และคั ด เลื อ กสถานที่ จั ด การ ประชุ ม ซึ่ ง มี ร ะบบขนส่ ง มวลชนเข้ า ถึ ง และเพี ย งพอ เพื่ อ ให้ ผู้ถือหุ้นสามารถเดินทางเข้าร่วมประชุมได้อย่างสะดวก อีกทั้ง ได้แนบแผนที่ของสถานที่จัดประชุมไปพร้อมหนังสือเชิญประชุม ด้ ว ย ส� ำ หรั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ ไ ม่ ส ามารถเข้ า ร่ ว มประชุ ม ด้ ว ยตนเอง บริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมอบฉันทะให้กรรมการอิสระ ของบริ ษั ท ฯ โดยจั ด ส่ ง เอกสารลงทะเบี ย นเข้ า ร่ ว มประชุ ม เป็นการล่วงหน้า หรือ มอบฉันทะให้บุคคลอื่นเข้าร่วมประชุม แทนตนในวันประชุมก็ได้ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังเปิดโอกาสให้ นั ก ลงทุ น สถาบั น จั ด ส่ ง เอกสารลงทะเบี ย นเข้ า ร่ ว มประชุ ม ล่วงหน้าเพื่อลดระยะเวลาในการตรวจสอบเอกสารในวันประชุม และบริษัทฯ ยังได้จัดเตรียมอากรแสตมป์ไว้ส�ำหรับผู้ถือหุ้นและ นั ก ลงทุ น สถาบั น ที่ ม อบฉั น ทะให้ บุ ค คลอื่ น เข้ า ร่ ว มการประชุ ม อีกด้วย นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้น�ำระบบบาร์โค้ด (Barcode) มาใช้ ใ นการลงทะเบี ย นและการนั บ คะแนนเสี ย งเพื่ อ ความ สะดวกและรวดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น และเปิ ด รั บ ลงทะเบี ย นล่ ว งหน้ า 2 ชั่วโมงก่อนการประชุม และแม้จะพ้นระยะเวลาดังกล่าวแล้ว บริ ษั ท ฯ ก็ ยั ง เปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ ป ระสงค์ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้โดยไม่เสียสิทธิ ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ไม่ มี ข ้ อ ตกลงระหว่ า งผู ้ ถื อ หุ ้ น (Shareholders Agreements) ที่มีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อบริษัทฯ หรือ ผู้ถือหุ้นรายอื่น และไม่มีนโยบายเกี่ยวกับการซื้อหุ้นคืน


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

02

การปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น อย่ า งเท่ า เที ย มกั น

บริษัทฯ ยึดหลักการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ค�ำนึงถึงเพศ อายุ สีผิว เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา และ ไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ เ ฉพาะผู ้ ถื อ หุ ้ น กลุ ่ ม ใดกลุ ่ ม หนึ่ ง หรื อ รายใด รายหนึ่ง โดยมีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ การประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้ยึดถือแนวทางปฏิบัติส�ำหรับการประชุมผู้ถือหุ้น ดังนี้ ก่ อ นการประชุ ม - เปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก ราย เสนอวาระการประชุ ม เสนอรายชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ และส่งค�ำถามล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 3 เดือนก่อนการประชุม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี โดยก� ำ หนดระยะเวลาตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 พฤศจิ ก ายน 2558 ถึ ง 31 มกราคม 2559 โดยได้ ป ระกาศ หลั ก เกณฑ์ แ ละเงื่ อ นไขไว้ ใ นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ ทั้ ง นี้ เมื่ อ ถึ ง ก� ำ หนดปิ ด รั บ ไม่ ป รากฏว่ า มี ผู ้ ถื อ หุ ้ น เสนอเรื่ อ งดั ง กล่ า ว แต่อย่างใด - ให้ สิ ท ธิ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ออกเสี ย งลงมติ แ ต่ ง ตั้ ง กรรมการและ ก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ แต่งตั้งผู้สอบบัญชีและก�ำหนด ค่าตอบแทนการสอบบัญชี พิจารณาอนุมัติการจ่ายเงินปันผล และพิจารณาเรื่องอื่นๆ ตามที่กฎหมายก�ำหนด - จัดท�ำหนังสือเชิญประชุมทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย จดหมายเชิ ญ ประชุ ม รายงานการประชุ ม ครั้งที่ผ่านมา รายงานประจ�ำปีในรูปแบบซีดีรอม ระเบียบวาระ การประชุมพร้อมค�ำชี้แจงวัตถุประสงค์ รายละเอียด ความเห็น ของคณะกรรมการ และ ข้อมูลประกอบการพิจารณาระเบียบวาระ ค� ำ อธิ บ ายหลั ก ฐานการแสดงสิ ท ธิ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม รายชื่ อ กรรมการอิสระของบริษัทฯ ซึ่งเป็นตัวแทนในการรับมอบฉันทะ ข้อบังคับบริษัทฯ ที่เกี่ยวข้องกับการประชุมผู้ถือหุ้น แผนที่ของ สถานที่จัดประชุม แบบฟอร์มลงทะเบียนซึ่งแสดงแถบบาร์โค้ด และ หนังสือมอบฉันทะ โดยบริษัทฯ ได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุม ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ล่ ว งหน้ า ไม่ น ้ อ ยกว่ า 14 วั น ก่ อ นวั น ประชุ ม ตามที่ กฎหมายก�ำหนด และเผยแพร่หนังสือเชิญประชุมบนเว็บไซต์

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

บริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนวันประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับเอกสาร ล่วงหน้าและมีเวลาศึกษาข้อมูลก่อนวันประชุมอย่างเพียงพอ ครบถ้วน พร้อมทั้งได้ประกาศลงหนังสือพิมพ์ทั้งฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษก่อนวันประชุมอย่างน้อย 3 วัน เป็นระยะเวลา 3 วันติดต่อกัน เพื่อเป็นการบอกกล่าวการเรียกประชุมล่วงหน้า - บริษทั ฯ ได้อำ� นวยความสะดวกให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทีไ่ ม่สามารถ เข้าร่วมประชุมได้ด้วยตนเอง โดยการจัดส่งหนังสือมอบฉันทะ แบบ ข. ตามที่กระทรวงพาณิชย์ก�ำหนด ไปพร้อมกับหนังสือ เชิญประชุม รวมทั้งได้แ นบรายชื่อกรรมการอิสระของบริษัทฯ ซึ่ ง เป็ น ตั ว แทนในการรั บ มอบฉั น ทะ และค� ำ อธิ บ ายเกี่ ย วกั บ หลั ก ฐานการแสดงสิ ท ธิ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม โดยละเอี ย ด เพื่ อ ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น สามารถจั ด เตรี ย มเอกสารที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง และครบถ้วน นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นยังสามารถดาวน์โหลดหนังสือ มอบฉันทะ ทั้งแบบ ก. แบบ ข. และ แบบ ค. (ส�ำหรับผู้ถือหุ้น ชาวต่างชาติที่แต่งตั้งคัสโตเดียนในประเทศไทย) ได้จากเว็บไซต์ ของบริษัทฯ โดยสามารถมอบฉันทะให้บุคคลอื่น หรือกรรมการ อิ ส ระที่ บ ริ ษั ท ฯ แจ้ ง รายชื่ อ ไว้ ใ นหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม เข้ า ร่ ว ม ประชุมแทนได้ - บริษัทฯ ได้อ�ำนวยความสะดวกให้แก่นักลงทุนสถาบัน ในการตรวจสอบรายละเอี ย ดการถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ และ ขอความร่วมมือในการส่งตัวแทนเข้าร่วมประชุม หรือมอบฉันทะ ให้กรรมการอิสระ วั น ประชุ ม - บริ ษั ท ฯ ส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก ราย รวมถึ ง นั ก ลงทุ น สถาบั น เข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น โดยเลื อ กสถานที่ จั ด ประชุ ม ที่ ส ะดวกต่ อ การเดิ น ทาง ส� ำ หรั บ การประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ�ำปี 2558 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2558 บริษัทฯ จัดประชุม ที่ โ รงแรมอิ น เตอร์ ค อนติ เ นนตั ล ถนนเพลิ น จิ ต แขวงลุ ม พิ นี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ และการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2558 บริษัทฯ จัดประชุมที่อาคาร ซันทาวเวอร์ส บี ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ บริษัทฯ ได้จัดเตรียมเจ้าหน้าที่ต้อนรับอย่างเพียงพอ เพื่ อ คอยให้ ค� ำ แนะน� ำ และตอบข้ อ ซั ก ถามแก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น รวมถึ ง จัดเตรียมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ อาทิ รถรับ-ส่งระหว่าง


096 - 097

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

สถานี ร ถไฟฟ้ า และสถานที่ จั ด ประชุ ม ป้ า ยบอกขั้ น ตอน การลงทะเบียน และ ระบบการลงทะเบียนและลงคะแนนด้วย บาร์โค้ด เป็นต้น - ก� ำ หนดให้ มี ก ารลงทะเบี ย นเข้ า ร่ ว มประชุ ม ล่ ว งหน้ า ก่อนการประชุม 2 ชั่วโมง - จั ด ให้ มี ที่ ป รึ ก ษากฎหมายอิ ส ระ และตั ว แทนผู ้ ถื อ หุ ้ น เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ ต รวจสอบความถู ก ต้ อ ง และโปร่ ง ใสของการ นับคะแนน ในแต่ละวาระการประชุม - ประธานได้ ด� ำ เนิ น การประชุ ม ตามล� ำ ดั บ วาระ และ เรื่ อ งที่ ไ ด้ ร ะบุ ไ ว้ ใ นหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม โดยไม่ มี ก ารเพิ่ ม เติ ม ระเบียบวาระแต่อย่างใด - ก่อนเริ่มการประชุม บริษัทฯ ได้แจ้งขั้นตอนและวิธีการ ออกเสี ย งลงคะแนนให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น รั บ ทราบ โดยผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก คน มีคะแนนเสียง 1 เสียงต่อ 1 หุ้น - จั ด ให้ มี บั ต รลงคะแนนส� ำ หรั บ การออกเสี ย งในแต่ ล ะ วาระ ส� ำ หรั บ วาระเลื อ กตั้ ง กรรมการจั ด ให้ มี ก ารลงคะแนน เป็ น รายบุ ค คล โดยน� ำ ระบบบาร์ โ ค้ ด มาใช้ เพื่ อ ให้ ก ารนั บ คะแนนแต่ละวาระเป็นไปอย่างรวดเร็ว - ในการสรุปผลการนับคะแนนเสียงแต่ละวาระ จะมีการ แจ้ ง ผลคะแนนและมติ ข องที่ ป ระชุ ม ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทราบทุ ก วาระ ตามล�ำดับ - ประธานได้จัดสรรเวลาและเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดง ความคิดเห็น และซักถามอย่างเต็มที่ โดยมีประธานกรรมการ ประธานกรรมการชุดย่อย และกรรมการบริษัทฯ ทุกท่าน รวมถึง ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง และผู ้ ส อบบั ญ ชี เข้ า ร่ ว มประชุ ม เพื่ อ ตอบ ข้อซักถามของผู้ถือหุ้น - จั ด ให้ มี แ บบประเมิ น คุ ณ ภาพการจั ด ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น เพื่ อ น�ำ ข้ อ มู ล มาใช้ ใ นการพัฒนาการจัด ประชุม ครั้ง ถัด ไปให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น ภายหลั ง การประชุ ม - เปิ ด เผยมติ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น พร้ อ มผลการลงคะแนน เสียงของทุกวาระต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายหลังการประชุมทันที รวมทั้ ง ได้ มี ก ารเผยแพร่ม ติดัง กล่า วไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ด้วย

- จัดท�ำรายงานการประชุมทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ น� ำ ส่ ง ต่ อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ และส� ำ นั ก งาน ก.ล.ต. ภายใน 14 วั น หลั ง จากวั น ประชุ ม โดยรายงานดั ง กล่ า วมี ก ารบั น ทึ ก รายละเอี ย ดและสาระส� ำ คั ญ ไว้ อ ย่ า งครบถ้ ว นตามแนวทาง ของหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และได้ เ ผยแพร่ ร ายงาน การประชุมดังกล่าวไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ รวมทั้งแจ้งเรื่อง การเผยแพร่ดังกล่าวผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ ด้วย 03

บทบาทของผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย

คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ และเคารพต่ อ สิ ท ธิ ของผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องในการดําเนินกิจการทุกกลุ่ม เช่น กลุ่มผู้ถือหุ้น นักลงทุน และนักวิเคราะห์ ลูกค้า พนักงาน คู่ค้า คู่แข่งทางการค้า เจ้าหนี้ และ ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น และปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มด้วยความเป็นธรรม ตามนโยบายบริษัทฯ ดังนี้ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และนักวิเคราะห์ บริษัทฯ ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทุกรายอย่างเสมอภาค เท่าเทียมกัน และบริษัทฯ มุ่งมั่นในการด�ำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส เพื่อสร้างผลตอบแทนที่มั่นคงและยั่งยืน และสร้างความเชื่อมั่น ให้แ ก่ผู้ถือหุ้นทุกราย คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ทุกคนมีความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และ ด� ำ เนิ น การใดๆ ด้ ว ยความโปร่ ง ใสและเป็ น ธรรม โดยยึ ด ถื อ ผลประโยชน์ สู ง สุ ด ของผู ้ ถื อ หุ ้ น เป็ น ส� ำ คั ญ ไม่ ด� ำ เนิ น การใดๆ ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ไม่ใช้ ข้อมูลภายในเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ให้ตนเองและพวกพ้อง รวมทั้งไม่เปิดเผยข้อมูลลับต่อบุคคลภายนอก บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก และเคารพสิ ท ธิ ข องผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก ราย รวมถึ ง นั ก ลงทุ น และนั ก วิ เ คราะห์ ในการรั บ ทราบข้ อ มู ล ที่ จ� ำ เป็ น เกี่ ย วกั บ ผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ อย่ า งครบถ้ ว นและ สม�่ำเสมอ ในปี 2558 บริษัทฯ ได้สื่อสารผลการด�ำเนินงานและ ข้ อ มู ล ที่ จ� ำ เป็ น ผ่ า นกิ จ กรรมต่ า งๆ เช่ น การพบปะนั ก ลงทุ น ในกิจกรรม Opportunity Day ของตลาดหลักทรัพย์ฯ เป็นประจ�ำ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

ทุ ก ไตรมาส การเผยแพร่ วิ ดี โ อการประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น บนเว็ บ ไซต์ ของบริษัทฯ การจัดท�ำ Investor Relations Webpage และ การพบปะนักลงทุนในต่างประเทศ เป็นต้น ลูกค้า นอกเหนือจากการยึดมั่นในเงื่อนไข ข้อเสนอ หรือค�ำมั่นที่ให้ไว้ กับลูกค้าแล้ว บริษัทฯ ยังมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจสูงสุด ต่ อ ลู ก ค้ า โดยยึ ด มั่ น แนวคิ ด ในการพั ฒ นาผลงานคุ ณ ภาพเพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต เน้ น ความพิ ถี พิ ถั น และสร้ า งมาตรฐาน ‘Best in Class’ และสร้างความแตกต่างด้วยดีไซน์การออกแบบ ที่โดดเด่น และการให้บริการเหนือระดับจากการผนึกก�ำลังกับ พันธมิตร บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะสร้างและรักษาความสัมพันธ์ที่ดี และยั่งยืนกับลูกค้า อีกทั้งยังให้ความส�ำคัญในการรักษาข้อมูล อั น เป็ น ความลั บ หรื อ ไม่ พึ ง เปิ ด เผยของลู ก ค้ า อย่ า งเคร่ ง ครั ด รวมทั้งการโฆษณาประชาสัมพันธ์โครงการของบริษัทฯ ไม่ทําให้ ลูกค้าหรือประชาชนทั่วไปเกิดความเข้าใจผิดเกี่ยวกับคุณภาพ ราคา หรือเงื่อนไขในการขาย หรือการให้บริการ พนักงาน พนักงานเป็นทรัพยากรอันมีค่าสูงสุดของบริษัทฯ บริษัทฯ ได้ให้ ความส�ำคัญกับทรัพยากรบุคคลมาโดยตลอด และมุ่งมั่นที่จะ ส่ ง เสริ ม ให้ พ นัก งานทุก คนมีทัศ นคติที่ดี มีส�ำนึกในหน้าที่แ ละ ความรับผิดชอบ มีความภาคภูมิใจและเชื่อมั่นในองค์กร และ มุ่งเน้นการท�ำงานเป็นทีม โดยบริษัทฯ ได้ก�ำหนดค่านิยมหลัก ในการท�ำงาน “PRIDE” และปลูกฝังให้มีการปฏิบัติตามค่านิยม ดังกล่าวเพื่อให้เกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กร นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีการปรับปรุงระบบบริหารบุคคลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้เข้ารับการอบรมในหัวข้อที่ เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อการท� ำงาน ให้ความส�ำคัญกับ การดูแลรักษาสุขภาพโดยจัดให้มีการตรวจสุขภาพประจ�ำปีแก่ พนักงานทุกคน ส่งเสริมเรื่องความปลอดภัย และสภาพแวดล้อม ที่ดีในการท�ำงาน รวมถึงจัดให้มีสวัสดิการที่เพียงพอ เหมาะสม และพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนของพนั ก งานให้ มี ค วามเหมาะสม โดยประเมินจากผลการปฏิบัติงานของพนักงานแต่ละคนและ เที ย บเคี ย งกั บ อุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น และบริ ษั ท ฯ ยั ง ให้ ค วาม

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ส�ำคัญกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานและสวัสดิการ สังคมอย่างเคร่งครัด คู่ค้า บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามส� ำ คั ญ ในการปฏิ บั ติ ต ่ อ คู ่ ค ้ า ด้ ว ยความ เสมอภาค มีกระบวนการคัดเลือกคู่ค้าและกระบวนการจัดซื้อ จั ด จ้ า งที่ โ ปร่ ง ใสและเป็ น ธรรม ไม่ เ รี ย กร้ อ ง ไม่ รั บ ไม่ จ ่ า ย ผลประโยชน์ใดๆ กับคู่ค้า มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประกวด ราคาเพื่อให้การด�ำเนินการด้านการจัดซื้อจัดจ้างเป็นไปอย่าง มีระบบ มีประสิทธิภาพ และโปร่งใส ยึดถือปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง และเงื่อนไขทางการค้าต่างๆ อย่างเคร่งครัด มีการ ประพฤติตามกรอบกติกาที่ดี และไม่ใช้วิธีการที่ไม่สุจริต มุ่งเน้น การสร้ า งและรั ก ษาความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี แ ละยั่ ง ยื น กั บ คู ่ ค ้ า โดย ค�ำนึงถึงการสร้างประโยชน์ร่วมกันและสร้างความเชื่อถือซึ่งกัน และกั น เก็ บ รั ก ษาข้ อ มู ล ความลั บ ของคู ่ ค ้ า และไม่ น� ำ ข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วไปใช้ แ สวงหาผลประโยชน์ ข องตนเองและพวกพ้ อ ง เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากคู่ค้า คู่แข่งทางการค้า บริ ษั ท ฯ ปฏิ บั ติ ง านภายใต้ ก รอบนโยบายของบริ ษั ท ฯ และ ยึ ด มั่ น ในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ภายใต้ ก ฎหมายและกรอบกติ ก า ด้ ว ยความเป็ น ธรรม โปร่ ง ใส ไม่ แ สวงหาความลั บ ของคู ่ แ ข่ ง ด้ ว ยวิ ธี ที่ ไ ม่ สุ จ ริ ต ผิ ด กฎหมาย ไม่ ท� ำ ลายชื่ อ เสี ย งของคู ่ แ ข่ ง ด้วยการกล่าวร้าย หรือกระท�ำการใดๆ ที่ปราศจากความจริง หรื อ ไม่ เ ป็ น ธรรม และไม่ ก ระท� ำ การใดๆ ที่ เ ป็ น การละเมิ ด ทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น เจ้าหนี้ บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง และเงื่อนไขการกู้ยืม เงิ น ที่ มี กั บ เจ้ า หนี้ เช่ น ธนาคาร สถาบั น การเงิ น และเจ้ า หนี้ การค้ า อย่ า งเคร่ ง ครั ด ช� ำ ระคื น เงิ น ต้ น และดอกเบี้ ย ตรงตาม เวลาที่ ก� ำ หนดไว้ บริ ห ารจั ด การเงิ น กู ้ ยื ม ให้ เ ป็ น ไปตาม วั ต ถุ ป ระสงค์ ไม่ น� ำ เงิ น ไปใช้ ใ นทางที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความ เสี ย หายแก่ บ ริ ษั ท ฯ และมุ ่ ง มั่ น บริ ห ารงานให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สูงสุดเพื่อให้เจ้าหนี้มีความมั่นใจในฐานะทางการเงินและความ สามารถในการช�ำระหนี้ที่ดีของบริษัทฯ


098 - 099

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ตระหนักและมีจิตส�ำนึกในการเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ที่ต้องรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ จึงด�ำเนิน ธุรกิจภายใต้แนวคิดในการสร้างคุณค่าร่วมกันระหว่างภาคธุรกิจ และสังคม และให้ความส�ำคัญกับการรักษาสิ่งแวดล้อม โดย ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ สู ง สุ ด เช่ น คิ ด ค้ น และน� ำ นวั ต กรรมอาคารอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน มาปรั บ ใช้ กั บ การออกแบบภายใต้ แ นวคิ ด Leadership in Energy and Environmental Design (LEED) ซึ่งเน้นเรื่องการ ออกแบบตัวอาคารให้สามารถน�ำแสงธรรมชาติมาใช้ให้มากเพื่อ ช่วยลดการใช้พลังงาน การเพิ่มสัดส่วนพื้นที่สีเขียวในโครงการ การน� ำเทคโนโลยีที่ทันสมัยและวัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มาปรับใช้ ตลอดจนดูแลป้องกันมิให้การด�ำเนินงานของบริษัทฯ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อคุณภาพชีวิตของสังคม ชุมชน และ สิ่งแวดล้อม นโยบายการแจ้งเบาะแสการกระท�ำผิด (Whistle Blowing) บริ ษั ท ฯ มี น โยบายสนั บ สนุ น ให้ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย สามารถติ ด ต่ อ สื่อสารเพื่อแจ้งเบาะแสหรือร้องเรียนเกี่ยวกับการกระท�ำผิดของ กรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงาน พร้อมส่งรายละเอียดหลักฐาน ต่างๆ ในกรณีมีข้อสงสัย หรือพบเห็นการกระท�ำที่ไม่ชอบด้วย กฎหมาย ระเบี ย บ หรือข้อบัง คับบริษัท หรือ การละเมิดสิทธิ ของผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย รวมทั้ ง สามารถสอบถามข้ อ มู ล หรื อ แสดง ความคิดเห็นได้ โดยผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้ 1. คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) 968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้น 20 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 2. ฝ่ายเลขานุการบริษัท บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) 968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้น 20 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 หรือ Email: Company.secretary@singhaestate.co.th

ทั้ ง นี้ ข้ อ เสนอแนะและข้ อ ร้ อ งเรี ย นจะถู ก ส่ ง ต่ อ ให้ ห น่ ว ยงาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ด� ำ เนิ น การตรวจสอบข้ อ เท็ จ จริ ง ชี้ แ จง แก้ ไ ข ปรั บ ปรุ ง และสรุ ป ผล เพื่ อ รายงานต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ต่อไป ส�ำหรับผู้ที่แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนที่เป็นพนักงาน ลู ก ค้ า หรื อ บุ ค คลที่ รั บ จ้ า งท� ำ งานให้ บ ริ ษั ท ฯ จะได้ รั บ การ คุ้มครองสิทธิตามกฎหมาย 04

การเปิ ด เผยข้ อ มู ล และความโปร่ ง ใส

คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ข่าวสาร และสารสนเทศต่างๆ ของบริษัทฯ แก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์ และผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งข้อมูลทางการเงินและที่มิใช่ ทางการเงิน อย่างถูกต้อง เพียงพอ และครบถ้วนตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ และข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และค�ำนึงถึงความ เท่ า เที ย มกั น ในการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ของทุ ก กลุ ่ ม จึ ง จั ด ท� ำ ข้ อ มู ล ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยบริษัทฯ ได้ด�ำเนินการดังนี้ บริษัทฯ ได้เปิดเผยข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการเป็นรายบุคคล และค่ า ตอบแทนผู ้ บ ริ ห ารเป็ น จ� ำ นวนรวม ไว้ ใ นแบบแสดง รายการข้ อ มู ล ประจ� ำ ปี (แบบ 56-1) และรายงานประจ� ำ ปี (แบบ 56-2) ซึ่งได้เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์บริษัทฯ ส� ำ หรั บ รายงานการถื อ หลั ก ทรั พ ย์ บ ริ ษั ท ฯ นั้ น กรรมการและ ผู ้ บ ริ ห ารมี ห น้ า ที่ ต ้ อ งจั ด ท� ำ รายงานการถื อ หลั ก ทรั พ ย์ ( แบบ 59-1) ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เมื่อเข้า ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นครั้งแรก และจัดท�ำรายงานการเปลี่ยนแปลง การถือหลักทรัพย์ (แบบ 59-2) ทุกครั้ง ภายใน 3 วันท�ำการ นับแต่วันที่มีการซื้อ ขาย หรือโอนหลักทรัพย์ เพื่อรายงานต่อ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ. หลักทรัพย์และ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และฝ่ า ยเลขานุ ก ารบริ ษั ท จะจั ด ท� ำ รายงาน การถื อ หลั ก ทรั พ ย์ ข องกรรมการและผู ้ บ ริ ห ารเพื่ อ ให้ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบเป็นประจ�ำทุกไตรมาส นอกจาก นี้ บริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารแจ้ ง ขอความร่ ว มมื อ จากกรรมการและ ผู้บริหาร รวมถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ในการ งดซื้ อ ขาย หรื อ โอนหลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ฯ ทุ ก ประเภท เป็ น


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

ระยะเวลาอย่างน้อย 1 เดือนก่อนการรายงานงบการเงินและ ผลการด�ำเนินงานต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ในแต่ละไตรมาส และ ก่อนการเข้าท�ำรายการหรือลงทุนในโครงการที่มีนัยส�ำคัญ เพื่อ เป็นการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในในการแสวงหาผลประโยชน์ แก่ตนเองและผู้อื่นในทางมิชอบ เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามประกาศคณะกรรมการก� ำ กั บ ตลาดทุ น ที่ ทจ. 2/2552 เรื่อง การรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง คณะกรรมการบริษัทฯ ได้อนุมัติหลักเกณฑ์ในการจัดท�ำรายงานการมีส่วนได้เสียของ กรรมการและผู้บริหาร โดยก�ำหนดให้มีการรายงานเป็นประจ�ำ ทุกปี และรายงานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเป็นรายไตรมาส ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวจะถูกเก็บรักษาไว้เป็นข้อมูลภายในเท่านั้น นอกจากนี้ เพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น นั ก ลงทุ น และ ผู ้ มี ส ่ ว น ได้ เ สี ย ทุ ก กลุ ่ ม ได้ รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และสารสนเทศที่ ส� ำ คั ญ อย่ า งเท่ า เที ย มกั น บริ ษั ท ฯ ได้ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วผ่ า น ช่องทางต่างๆ ดังนี้ - เว็บไซต์ของบริษัทฯ : www.singhaestate.co.th - ระบบอิเล็กทรอนิกส์ส�ำหรับการแจ้งข่าวสารและข้อมูล ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และ ก.ล.ต. - แบบแสดงรายการข้ อ มู ล ประจ� ำ ปี (แบบ 56-1) และ รายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) - สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ และ นิตยสาร เป็นต้น - การให้ข้อมูลแก่นักวิเคราะห์และนักลงทุนที่มาเยี่ยมชม กิจการและพบปะผู้บริหาร - การเดินทางไปให้ข้อมูลแก่นักลงทุนทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ - การจัดส่งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น และสารสนเทศ ที่ส�ำคัญ ผ่านทางไปรษณีย์ - การพบปะนักลงทุนในกิจกรรม Opportunity Day ซึ่ง จัดโดยตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อสื่อสารผลการด�ำเนินงาน และข้อมูลที่จ�ำเป็นของบริษัทฯ เป็นประจ�ำทุกไตรมาส

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

- การจั ด งานแถลงข่ า วต่ อ สื่ อ มวลชนเพื่ อ เปิ ด เผยข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การลงทุ น ในโครงการที่ ส� ำ คั ญ ของบริ ษั ท ฯ ภายหลังจากการแจ้งข่าวผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ให้ มี ห น่ ว ยงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ (Investor Relations) เพื่อเป็นตัวแทนในการติดต่อสื่อสาร และให้ข้อมูล ข่ า วสารที่ ถู ก ต้ อ งแก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น นั ก ลงทุ น สถาบั น นั ก วิ เ คราะห์ หลั ก ทรั พ ย์ และผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย กลุ ่ ม ต่ า งๆ โดยเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ส�ำคัญของบริษัทฯ ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์ของบริษัทฯ ระบบการแจ้ ง ข่ า วของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ และ การพบปะ นั ก ลงทุ น และนั ก วิ เ คราะห์ ใ นโอกาสต่ า งๆ เป็ น ต้ น โดยการ สื่ อ สารข้ อ มู ล และการเปิ ด เผยข้ อ มู ล จะยึ ด หลั ก ตามนโยบาย การเปิ ด เผยสารสนเทศและหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ช่องทางในการติดต่อหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ มีดังนี้ ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) 968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้น 20 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 หรือ โทรศัพท์ : (66) 632 4533 ต่อ 101 โทรสาร : (66) 632 4534 Email : choenporn.s@singhaestate.co.th ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ได้ ก� ำ หนดช่ ว งเวลาในการงดติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ นักวิเคราะห์ และนักลงทุน เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลประกอบ การของบริ ษั ท ฯ ในแต่ ล ะไตรมาส (Silent Period) โดย ครอบคลุ ม ถึ ง การให้ ข ่ า วและการเปิ ด เผยข้ อ มู ล เชิ ง การเงิ น ต่อสาธารณชนของทั้งผู้บริหารและเจ้าหน้าที่นักลงทุนสัมพันธ์ ล่ ว งหน้ า เป็ น เวลา 1 เดื อ น ก่ อ นวั น ประกาศผลประกอบการ รายไตรมาส และรายปี เพื่ อ ป้ อ งกั น การเปิ ด เผยสารสนเทศ ที่ ไ ม่ เ หมาะสม และหลี ก เลี่ ย งการให้ ข ้ อ มู ล อย่ า งไม่ เ ป็ น ธรรม ที่อาจส่งผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัทฯ


100 - 101

05

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทฯ ถือเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นซึ่งมีบทบาท ส� ำ คั ญ ในการก� ำ หนดนโยบาย วิ สั ย ทั ศ น์ แผนกลยุ ท ธ์ และ งบประมาณ เพื่อเป็นกรอบและแนวทางให้ฝ่ายจัดการด�ำเนิน ธุรกิจได้ส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ของกิจการ และคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ ยั ง มี ห น้ า ที่ ส� ำ คั ญ ในการควบคุ ม และติ ด ตามผลการ ด� ำ เนิ น งานของฝ่ า ยจัด การให้สอดคล้องกับแผนกลยุท ธ์ และ เป็นไปตามนโยบายที่ก�ำหนดไว้ รวมถึงข้อบังคับ กฎหมายและ กฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ปัจจุบัน คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 9 ท่ า น เป็ น กรรมการอิสระ 4 ท่า น ซึ่ง ล้ว นเป็น ผู้ท รงคุณวุฒิ ที่ มี ค วามรู ้ ความสามารถที่ ห ลากหลาย มี ป ระสบการณ์ แ ละ ความเชี่ ย วชาญในสาขาต่ า งๆ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การด� ำ เนิ น ธุรกิจของบริษัทฯ โดยไม่มีการจ�ำกัดเพศ เชื้อชาติ ศาสนา อายุ ทักษะทางวิชาชีพ หรือคุณสมบัติเฉพาะด้านอื่นๆ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารมอบหมายหน้ า ที่ แ ละความ รับผิดชอบให้คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ได้แก่ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง คณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และ คณะกรรมการบริหาร เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระ หน้าที่ความรับผิดชอบในด้านต่างๆ โดย ก� ำ หนดขอบเขตอ� ำ นาจหน้ า ที่ ไ ว้ อ ย่ า งชั ด เจนในกฎบั ต รของ คณะกรรมการแต่ ล ะคณะ รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ โครงสร้ า ง คณะกรรมการ รายชื่ อ และขอบเขตอ� ำ นาจหน้ า ที่ ข องคณะ กรรมการแต่ละคณะ ปรากฏตามที่เปิดเผยไว้ในหัวข้อโครงสร้าง การจัดการ การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ - ก�ำหนดการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ตามกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ ก� ำ หนดให้ มี ก าร ประชุ ม อย่ า งน้ อย 3 เดือนต่อครั้ง และอาจมีก ารประชุม วาระพิ เ ศษเพิ่ ม ตามความจ� ำ เป็ น ทั้ ง นี้ คณะกรรมการ บริษัทฯ จะก�ำหนดวันประชุมไว้ล่วงหน้าตลอดทั้งปี เพื่อให้

มั่ น ใจว่ า กรรมการทุ ก ท่ า นจะสามารถจั ด สรรเวลาเพื่ อ เข้าร่วมประชุมได้อย่างพร้อมเพรียงกัน ในปี 2558 มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ทั้ ง หมด 7 ครั้ ง รายละเอี ย ดการเข้ า ร่ ว มประชุ ม ของกรรมการ แต่ ล ะท่ า นตามที่ แ สดงในตารางการเข้ า ร่ ว มประชุ ม และ ค่าตอบแทนกรรมการ ประจ�ำปี 2558 - องค์ประชุม การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ต้องมีกรรมการเข้าร่วม ประชุ ม ไม่ น ้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของจ� ำ นวนกรรมการทั้ ง หมด จึงจะเป็นองค์ประชุม - วาระการประชุม ประธานกรรมการเป็ น ผู ้ ใ ห้ ค วามเห็ น ชอบการบรรจุ ว าระ การประชุม โดยจะหารือร่วมกับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และเลขานุการบริษัท ประกอบกับการพิจารณาเรื่องอื่นใด ที่มีกรรมการร้องขอ เพื่อบรรจุเป็นระเบียบวาระการประชุม ล่วงหน้าก่อนการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ในแต่ละครั้ง - ก ารจัดส่งหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบ การประชุม เลขานุ ก ารบริ ษั ท จะจั ด ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม พร้ อ ม ระเบี ย บ วาระและเอกสารประกอบการประชุ ม ให้ คณะกรรมการล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน เพื่อให้กรรมการ ได้ มี เ วลาศึ ก ษาข้ อ มู ล อย่ า งเพี ย งพอก่ อ นเข้ า ร่ ว มประชุ ม ยกเว้นเรื่องที่ต้องพิจารณาเร่งด่วน - การด�ำเนินการประชุม ประธานกรรมการท� ำ หน้ า ที่ ป ระธานที่ ป ระชุ ม และหาก ประธานกรรมการไม่สามารถฏิบัติหน้าที่ได้ อาจมอบหมาย ให้กรรมการท่านอื่นท�ำหน้าที่ประธานที่ประชุมแทน ในการ ประชุมทุกครั้งประธานที่ประชุมจะเปิดโอกาสให้กรรมการ แต่ ล ะท่ า นแสดงความคิ ด เห็ น และซั ก ถามได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ สนั บ สนุ น ให้ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง หรื อ ฝ่ า ยจั ด การที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เข้ า ร่ ว มประชุ ม เพื่ อ ให้ ข ้ อ มู ล และชี้ แ จงรายละเอี ย ดใน


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ประเด็ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และควบคุ ม การประชุ ม ให้ ด� ำ เนิ น ไป ด้ ว ยความเรี ย บร้ อ ยและกระชั บ ภายในเวลาที่ ก� ำ หนดไว้ นอกจากนี้ ในการพิจารณาระเบียบวาระที่กรรมการมีส่วน ได้เสีย ประธานที่ประชุมจะขอให้กรรมการที่มีส่วนได้เสีย นั้นแสดงตนและงดออกเสียง หรือ ออกจากที่ประชุมจนกว่า การพิจารณาเรื่องดังกล่าวจะแล้วเสร็จ

อ�ำนาจอนุมัติของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี อ� ำ นาจอนุ มั ติ ก ารด� ำ เนิ น การต่ า งๆ ของบริษัทฯ ภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย ข้อบังคับบริษัทฯ มติ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น และ กฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีการ ก�ำหนดขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริษัทฯ ไว้อย่างชัดเจนในกฎบัตรคณะกรรมการบริษัทฯ

- รายงานการประชุม เลขานุการบริษัทมีหน้าที่จัดท�ำรายงานการประชุมให้แล้ว เสร็ จ ภายใน 14 วั น นั บ จากที่ วั น ประชุ ม และเสนอให้ กรรมการทุกท่านพิจารณา โดยจะมีการบันทึกรายละเอียด ที่น�ำเสนอ รวมทั้งความเห็นที่ประชุม และมติที่ประชุมไว้ อย่ า ง ครบถ้ ว น และชั ด เจน และมี ก ารจั ด เก็ บ รายงาน การประชุมและเอกสารประกอบอย่างเป็นระบบ

การก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนเป็นผู้พิจารณาหลักเกณฑ์ในการจ่าย ค่ า ตอบแทนและก� ำ หนดอั ต ราค่ า ตอบแทนส� ำ หรั บ กรรมการ และกรรมการชุดย่อย ให้สอดคล้องกับหน้าที่ความรับผิดชอบ ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และ อยู ่ ใ นระดั บ ที่ ส ามารถจู ง ใจและเที ย บเคี ย งได้ กั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย นอื่ น ๆ ในกลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น และน� ำ เสนอ ความเห็ น ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ก่ อ นที่ จ ะเสนอขออนุ มั ติ ค่าตอบแทนกรรมการจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี

การแยกหรือรวมต�ำแหน่ง บริษัทฯ มีการกําหนดขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบของ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริ ห าร และ ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร ไว้ อ ย่ า งชั ด เจนในกฎบั ต รคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ และกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ห าร เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความ ชัดเจนในการปฏิบัติหน้าที่ของแต่ละต�ำแหน่ง เพื่อการถ่วงดุล และการสอบทานการบริหารงาน และ เพื่อให้การบริหารจัดการ บริษัทฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใส การอบรมและพัฒนาความรู้กรรมการและผู้บริหาร เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ บริษัทฯ มีนโยบายสนับสนุนให้กรรมการ ผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติ งานด้ า นการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท ฯ เข้ า ร่ ว มอบรม สัมมนา และพัฒนาความรู้ในหลักสูตรที่เป็นประโยชน์ต่อการ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ กั บ หน่ ว ยงานหรื อ สถาบั น ต่ า งๆ เช่ น สมาคม ส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย (IOD) ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย ฯลฯ โดยบริษัทฯ ได้มีการจัดส่งตารางการอบรมหลักสูตรต่างๆ เป็นการล่วงหน้า ให้แก่กรรมการทุกท่าน และบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง การปฏิ บั ติ ง านอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และ น�ำความรู้มาพัฒนาให้เป็นประโยชน์กับบริษัทฯ ต่อไป

ส� ำ หรั บ ค่ า ตอบแทนของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร (CEO) คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาฯ เป็ น ผู ้ ป ระเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ CEO รวมทั้ ง พิ จ ารณา ก�ำหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสมให้แ ก่ CEO เป็นประจ� ำทุกปี โดยเชื่ อ มโยงกั บ ผลการประเมิ น และผลการด� ำ เนิ น งานของ บริษัทฯ ในแต่ละปี รายละเอียดการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ตามที่ ปรากฏในหมวดค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร การประเมินผลการปฎิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดให้ มี ก ารประเมิ น ผลการ ปฏิบัติงานตนเอง (Board Self-Assessment) เป็นประจ�ำทุกปี เพื่ อ ใช้ เ ป็ น กรอบในการตรวจสอบการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะ กรรมการบริษัทฯ ว่าได้ด�ำเนินการตามแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) หรื อ ไม่ เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง การปฏิ บั ติ ง านของคณะ กรรมการบริษัทฯ และเพื่อทบทวนปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น ในรอบปีที่ผ่านมา


102 - 103

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บริษัทฯ ได้จัดท�ำแบบประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัทฯ ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยปรับปรุง ให้เหมาะสมกับลักษณะธุรกิจและโครงสร้างของคณะกรรมการ บริษัทฯ ประกอบด้วยแบบประเมิน 2 ชุดดังนี้ 1) แ บบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการ บริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย (รายคณะ) 2) แ บบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการ บริษัทฯ รายบุคคล (ประเมินตนเอง) หลักเกณฑ์ในการประเมิน ครอบคลุมประเด็นส�ำคัญดังนี้ - โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการบริษัทฯ - การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ - บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริษัทฯ - เรื่องอื่นๆ เช่น ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ, การพัฒนา ตนเองของกรรมการบริษัทฯ และการพัฒนาผู้บริหาร วิธีการให้คะแนน ในแต่ละหัวข้อประเมิน แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้ 0 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง หรือ ไม่มีการด�ำเนินการในเรื่องนั้น 1 = ไม่เห็นด้วย หรือ มีการด�ำเนินการในเรื่องนั้นเล็กน้อย 2 = เห็นด้วย หรือ มีการด�ำเนินการในเรื่องนั้นพอสมควร 3 = เห็นด้วยค่อนข้างมาก หรือ มีการด�ำเนินการในเรื่องนั้นดี 4 = เ ห็ น ด้ ว ยอย่ า งมาก หรื อ มี ก ารด� ำ เนิ น การในเรื่ อ งนั้ น อย่างดีเยี่ยม ขั้นตอนการประเมิน คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนมี ห น้ า ที่ พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบและทบทวนแบบประเมิ น ผล การปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ น� ำ เสนอให้ คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ และเลขานุการบริษัท จะจั ด ส่ ง แบบประเมิ น ดั ง กล่ า วให้ ก รรมการทุ ก ท่ า นประเมิ น ทุกสิ้นปี จากนั้นจะน�ำมาประมวลผลและจัดท�ำรายงานสรุปผล การประเมินเสนอต่อคณะกรรมการสรรหาฯ เพื่อใช้ประกอบการ พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการในแต่ละปี และรายงาน ผลการประเมินให้คณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบ รวมทั้งหารือ ถึงแนวทางในการพัฒนาต่อไป

การประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน มี ห น้ า ที่ ในการพิจารณา อนุมัติ และทบทวนแบบประเมินผลการปฏิบัติ งานประจ�ำปีของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) โดยจะมีการ ก� ำ หนดเป้ า หมายในการปฏิ บั ติ ง านในแต่ ล ะปี ร ่ ว มกั บ CEO ล่วงหน้า และด�ำเนินการประเมินผลการปฏิบัติงานของ CEO โดยเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้เป็นประจ�ำทุกปี และ คณะกรรมการสรรหาฯ จะน� ำ ผลการประเมิ น ดั ง กล่ า วมาใช้ ประกอบการพิ จ ารณาก� ำ หนดค่ า ตอบแทนที่ เ หมาะสมให้ แ ก่ CEO โดยจะพิ จ ารณาให้ อ ยู ่ ใ นระดั บ ที่ ส ามารถจู ง ใจและ เทียบเคียงได้กับบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกัน หลักเกณฑ์ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของ CEO แบ่งออก เป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ดัชนีชี้วัดผลการด�ำเนินงาน (Corporate KPI) ของ บริ ษั ท ฯ และนโยบายที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ให้ความส�ำคัญเป็นพิเศษ ส่วนที่ 2 การวัดผลการบริหารงาน ส่วนที่ 3 การพัฒนาประธานเจ้าหน้าที่บริหารและข้อเสนอ แนะเพิ่มเติม การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ บริษัทฯ ได้จัดท�ำชุดเอกสารส�ำหรับกรรมการใหม่ ประกอบด้วย ข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ ของบริ ษั ท ฯ เช่ น ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ โครงสร้ า งธุ ร กิ จ โครงสร้ า งการจั ด การ ทิ ศ ทางและกลยุ ท ธ์ ในการด�ำเนินธุรกิจ เป็นต้น รวมถึงกฎบัตรคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรื อ คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย คู ่ มื อ กรรมการบริ ษั ท จดทะเบี ย น และคู ่ มื อ อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ในคณะกรรมการชุดย่อย (ถ้ามี) นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดให้มี การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ ซึ่งจะเป็นการบรรยายโดยประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และ/หรื อ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง เกี่ ย วกั บ การ ประกอบธุ ร กิ จ แนวทางในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ และข้ อ มู ล อื่ น ๆ ที่จ�ำเป็นและมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

นโยบายการจ�ำกัดจ�ำนวนบริษัทจดทะเบียนและจ�ำนวน วาระในการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ตามกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ ก� ำ หนดให้ ก รรมการ บริ ษั ท ฯ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการของบริ ษั ท จดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ไม่เกิน 5 แห่ง และกรรมการ อิสระของบริษัทฯ มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระ ติดต่อกัน และกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ห าร ได้ ก� ำ หนดไว้ ว ่ า ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารสามารถด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่นได้ แต่ต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่ประธานเจ้าหน้าที่ บริ ห ารของบริ ษั ท ฯ และกิ จ การนั้ น ต้ อ งไม่ เ ป็ น ธุ ร กิ จ ประเภท เดี ย วกั น หรื อ เป็ น การแข่ ง ขั น กั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทฯ ก่อนไป ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ระเบี ย บ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง และ ค�ำนึงถึงความน่าเชื่อถือและความ ถู ก ต้ อ งของรายงานทางการเงิ น จึ ง จั ด ให้ มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในและการตรวจสอบภายในเป็ น กลไกที่ ส� ำ คั ญ อี ก ทั้ ง ได้ จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ความเพี ย งพอระบบการควบคุ ม ภายใน เป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี โ ดยผู ้ ต รวจสอบภายในอิ ส ระ ประกอบด้ ว ย การประเมิน 5 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านการควบคุมภายในองค์กร 2. ด้านการประเมินความเสี่ยง 3. ด้านการควบคุมการปฏิบัติงาน 4. ด้านระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล 5. ด้านระบบการติดตาม โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบท�ำหน้าที่สอบทานผลการประเมิน ความเพี ย งพอของระบบการควบคุ ม ภายในและรายงานให้ คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาให้ความเห็น

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

การก�ำกับดูแลการใช้ข้อมูลภายใน คณะกรรมการก� ำ หนดให้ มี น โยบายการควบคุ ม การใช้ ข ้ อ มู ล ภายใน และการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ เพื่อให้เกิดความ เสมอภาคและยุ ติ ธ รรมต่ อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก ราย และป้ อ งกั น มิ ใ ห้ กรรมการและผู ้ บ ริ ห ารใช้ ข ้ อ มู ล ภายในเพื่ อ การแสวงหา ผลประโยชน์ แ ก่ ต นเองหรื อ ผู ้ อื่ น ในทางมิ ช อบ และเผยแพร่ นโยบายดั ง กล่ า วแก่ พ นั ก งาน ผู ้ บ ริ ห าร และกรรมการ ผ่ า น ช่องทางต่างๆ ได้แก่ แบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) รายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) และ เว็บไซต์ของบริษัทฯ เป็นต้น -- การควบคุมการใช้ข้อมูลภายใน : กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ต้องไม่ใช้ข้อมูลภายในของบริษัทฯ ที่ มี ส าระส� ำ คั ญ และยั ง ไม่ ไ ด้ เ ปิ ด เผยสารสนเทศต่ อ สาธารณชนเพื่ อ ประโยชน์ ข องตนเองและผู ้ อื่ น โดย ยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด -- การถื อ หลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ฯ และการรายงาน: กรรมการและผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ มี สิ ท ธิ ใ นการ ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ อย่างไรก็ตาม เพื่อป้องกัน มิให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือการแสวงหา ประโยชน์ จ ากการใช้ ข ้ อ มู ล ภายใน บริ ษั ท ฯ ได้ ข อ ความร่ ว มมื อ กรรมการ และผู ้ บ ริ ห ารทุ ก คน รวมถึ ง คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะในการงดซื้อ ขาย โอน หรื อ รั บ โอนหลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ฯ ในช่ ว งเวลา 1 เดื อ นก่ อ นการเปิ ด เผยงบการเงิ น ต่ อ สาธารณชน ในกรณี ที่ ก รรมการและผู ้ บ ริ ห าร รวมถึ ง คู ่ ส มรส และ บุ ต รที่ ยั ง ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภ าวะ มี ก าร ซื้ อ ขาย โอน หรื อ รั บ โอนหลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ฯ จะต้ อ งจั ด ท� ำ รายงาน การเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ (แบบ 59-2) และ น� ำ ส่ ง ส� ำ นั ก งาน ก.ล.ต. ภายใน 3 วั น ท� ำ การตาม หลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด นอกจากนี้ เลขานุการบริษัทฯ จะ เป็ น ผู ้ ร วบรวมข้ อ มู ล การถื อ หลั ก ทรั พ ย์ ข องกรรมการ และผู ้ บ ริ ห าร รวมถึ ง คู ่ ส มรสและบุ ต รที่ ยั ง ไม่ บ รรลุ นิติภาวะ และรายงานให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบเป็นประจ�ำทุกไตรมาส


104 - 105

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ ค่ า นิ ย มองค์ ก ร

การก�ำกับดูแลด้านความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี ห น้ า ที่ ก� ำ กั บ ดู แ ลให้ บ ริ ษั ท ฯ มี กระบวนการที่ ชั ด เจนและโปร่ ง ใสเกี่ ย วกั บ การท� ำ รายการ ระหว่างกัน และปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และการเปิดเผย ข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกัน ตามที่กฎหมายหรือหน่วยงานก�ำกับ ดูแลก�ำหนดไว้อย่างเคร่งครัด ดังนี้ - กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ มีหน้าที่ต้องจัดท� ำ รายงานการมีส่วนได้เสียของตนเองและบุคคลที่มีความ เกี่ยวข้อง ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการตามที่คณะ กรรมการบริษัทฯ ก�ำหนดเพื่อให้เป็นไปตามประกาศของ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน โดยเลขานุก ารบริษัทฯ มี ห น้ า ที่ ร วบรวมและจั ด ส่ ง ส� ำ เนารายงานการมี ส ่ ว น ได้ เ สี ย ให้ แ ก่ ป ระธานกรรมการและประธานกรรมการ ตรวจสอบทราบ ภายใน 7 วันท�ำการนับแต่วันที่ได้รับ รายงาน - ในการพิจารณาเข้าท�ำรายการระหว่างกัน กรรมการหรือ ผู ้ บ ริ ห ารที่ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ในเรื่ อ งนั้ น ๆ ห้ า มมี ส ่ ว นร่ ว ม ในการพิจารณาและอนุมัติในเรื่องดังกล่าว โดยประธาน ที่ ป ระชุ ม จะขอให้ แ สดงตนและงดออกเสี ย ง หรื อ ออกจากที่ ป ระชุ ม จนกว่ า การพิ จ ารณาเรื่ อ งดั ง กล่ า ว จะแล้วเสร็จ นโยบายและแนวปฏิบัติด้านการต่อต้านการทุจริต และคอร์รัปชั่น คณะกรรมการบริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการต่อต้าน ทุจริตและคอร์รัปชั่น ซึ่งเป็นภัยร้ายแรงที่ท�ำลายการแข่งขันที่ เสรีและเป็นธรรม และก่อให้เกิดความเสียหายให้กับเศรษฐกิจ และสั ง คมเป็ น อย่ า งมาก เนื่ อ งจากการทุ จ ริ ต ในองค์ ก รเป็ น ประเด็ น ความเสี่ ย งต่ อ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ เ ติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ดังนั้น คณะกรรมการบริษัทฯ จึงมุ่งเน้นให้ฝ่ายจัดการด�ำเนิน ธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส และต่อต้านการทุจริต ทุ ก รู ป แบบ และยึ ด ถื อ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ตามกฎหมายทั้ ง หมด ที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตในประเทศไทย

การปฏิบัติตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญในการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2555 ตามแนวทางของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย นั บ ตั้ ง แต่ ก ้ า วแรกของการ เปลี่ ย นแปลงโครงสร้ า งการถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ เมื่ อ วั น ที่ 12 กันยายน 2557 ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการด�ำเนินงานภายใต้ชื่อ “บริ ษั ท สิ ง ห์ เอสเตท จ� ำ กั ด (มหาชน)” ในปี 2558 บริ ษั ท ฯ ได้น�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีมาปรับใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ ตามความเหมาะสม และมี แ ผนงานที่ จ ะพั ฒ นาและยกระดั บ การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีในปี 2559 อาทิ การปรับโครงสร้างคณะกรรมการบริษัทฯ ให้มีจ�ำนวนกรรมการ อิสระมากกว่า 50% ของจ�ำนวนกรรมการทั้งคณะ การจัดประชุม กรรมการอิสระ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และ การประชุมกรรมการ ที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห ารโดยไม่ มี ฝ ่ า ยจั ด การ อย่ า งน้ อ ยปี ล ะ 1 ครั้ ง รวมถึงการส่งกรรมการและผู้บริหารระดับสูงเข้าอบรมในหลักสูตร ต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามหลักจริยธรรม และจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทฯ มี ค วามมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ให้ครบถ้วนยิ่งขึ้นเป็นล�ำดับในปีต่อๆ ไป อย่ า งไรก็ ต าม บริ ษั ท ฯ ไม่ ส ามารถปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การก� ำ กั บ ดูแลกิจการที่ดีในบางเรื่อง เช่น การลงคะแนนเสียงแบบสะสม (Cumulative Voting) เนื่ อ งจากข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท ฯ หมวด 3 ข้อ 17 ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการเลือกตั้งกรรมการ ไว้ ว ่ า ผู ้ ถื อ หุ ้ น คนหนึ่ ง มี ค ะแนนเสี ย งเท่ า จ� ำ นวนหุ ้ น ที่ ต นถื อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น แต่ ล ะคนจะใช้ ค ะแนนเสี ย งที่ มี อ ยู ่ เ ลื อ กตั้ ง บุ ค คล คนเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ ในกรณีท่ีเลือกตั้งบุคคล หลายคนเป็นกรรมการจะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อย เพียงใดไม่ได้ เป็นต้น


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ค่านิยมองค์กร

Refined

Partnership สิงห เอสเตท ให ความสำคัญกับสัมพันธภาพ ที่ดีต อพันธมิตรทางธุรกิจ ลูกค า ทีมงาน และสังคม เราร วมกันสร างสรรค ผลงาน โดยคำนึงถึงผลประโยชน ของส วนรวมเป นที่ตั้ง มุ งมั่นที่จะสร างความสัมพันธ ที่ดีกับคู ค า บนพื้นฐานของความยุติธรรม

สิงห เอสเตท สร างสรรค ผลงานด วยความประณีต และ พิถีพิถัน คัดสรรวัสดุอุปกรณ ที่เหนือกว าโครงการในระดับ เดี ย วกัน มุ ง มั่ น ที่ จะส ง มอบ งานคุณภาพให ลูกค าทั้งภายใน และภายนอก โดยใส ใจในทุกๆ รายละเอียด

Entrepreneurship

Integrity สิงห เอสเตท ยึดมั่น และ รับผิดชอบในคำสัญญาที่ ให ไว กับลูกค า คู ค า พนักงาน ผู ถือหุ น และสังคม เราปฏิบัติ ต อทุกคนอย างให เกียรติ เสมอภาค และยืนหยัดที่ จะทำในสิ่งที่ถูกต อง

Dynamic สิงห เอสเตท พร อมรับมือกับ ทุกสถานการณ มุ งมั่นพัฒนา ตนเองตลอดเวลาเพื่อให ก าวทัน การเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจ กล าคิดนอกกรอบ นำเสนอ มุมมองทีแ่ ตกต าง เพือ่ ตอบสนอง ลูกค า และเพิ่มประสิทธิภาพ ในองค กรอย างรวดเร็ว

สิงห เอสเตท ทำงานด วยใจรักและ ทุ มเท เพื่อให เป าหมายบรรลุผล รวมทั้งสร างความพึงพอใจให กับ ผู มี ส วนได ส วนเสียทุกกลุ ม ทั้งลูกค า คู ค า ผู ร วมงาน และสังคม คนสิงห เอสเตทมั่นใจในการทำงาน และมี PRIDE อยู ในทุกๆ การกระทำ


106 - 107

การบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์

การบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ บริษัทฯ เชื่อมั่นว่าบุคลากรคือหัวใจส�ำคัญในการน�ำธุรกิจไปสู่ ความส� ำ เร็ จ อย่ า งยั่ ง ยื น การวางระบบการบริ ห ารและพั ฒ นา ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ที่ มี คุ ณ ภาพจะขั บ เคลื่ อ นให้ สิ ง ห์ เอสเตท สามารถบรรลุ เ ป้ า หมายที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นอนาคตได้ อ ย่ า งดี แ ละ รวดเร็ ว บริ ษั ท ฯ จึ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การดู แ ลและพั ฒ นา บุ ค ลากรให้ มี ค วามสุ ข ในที่ ท� ำ งาน มี ค วามสามารถและความ มั่นใจในงานที่รับผิดชอบ และมีโอกาสในการเรียนรู้และเติบโต ไปกั บ องค์ ก ร ตลอดจนการปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย มร่ ว มโดยมุ ่ ง เน้ น คุณธรรมและจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจเป็นส�ำคัญ 1. ก�ำหนดค่านิยมหลัก 5 ประการ “PRIDE” ถูกก�ำหนดขึ้นเพื่อหล่อหลอมและก�ำหนดทิศทาง ในการท�ำงานร่วมกันของคนสิงห์ เอสเตท ไม่ว่าจะรับผิดชอบ งานในส่วนงานใด หรือธุรกิจใด PRIDE จะเป็นค่านิยมและ พฤติกรรมที่ทุกคนถือปฏิบัติต่อกัน และยึดเป็นบรรทัดฐาน ในทุกการกระท�ำและทุกการตัดสินใจ ที่ส่งผลถึงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียของบริษัทฯ P artnership: การให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ สั ม พั น ธภาพที่ ดี ต ่ อ พันธมิตรทางธุรกิจ ลูกค้า ทีมงาน และสังคม เราร่วมกัน สร้างสรรค์ผลงาน โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม เป็นที่ตั้ง มุ่งมั่นที่จะสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับคู่ค้าบนพื้นฐาน ของความยุติธรรม R efined: การสร้ า งสรรค์ ผ ลงานด้ ว ยความประณี ต และ พิถีพิถัน คัดสรรวัสดุอุปกรณ์ที่เหนือกว่าโครงการในระดับ เดียวกัน มุ่งมั่นที่จะส่งมอบงานคุณภาพให้ลูกค้าทั้งภายใน และภายนอก โดยใส่ใจในทุกๆ รายละเอียด Integrity: การยึดมั่นและรับผิดชอบในค�ำสัญญาที่ให้ไว้กับ ลูกค้า คู่ค้า พนักงาน ผู้ถือหุ้น และสังคม ปฏิบัติต่อทุกคน อย่างให้เกียรติ เสมอภาค และยืนหยัดที่จะท�ำในสิ่งที่ถูกต้อง

Dynamic: การพร้อมรับมือกับทุกสถานการณ์ มุ่งมั่นพัฒนา ตนเองตลอดเวลาเพื่อให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลก ธุรกิจ กล้าคิดนอกกรอบ น� ำเสนอมุมมองที่แ ตกต่าง เพื่อ ตอบสนองลูกค้าและเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กรอย่างรวดเร็ว Entrepreneurship: การท�ำงานด้วยใจรักและทุ่มเทเพื่อให้ บรรลุเป้าหมาย รวมทั้งสร้างความพึงพอใจให้กับผู้มีส่วน ได้เสียทุกกลุ่ม ทั้งลูกค้า คู่ค้า ผู้ร่วมงาน และสังคม 2. ส ร้างมาตรฐานการบริหารจัดการองค์กรให้มุ่งสู่ความเป็น เลิ ศ ทางธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น โดยใช้ ร ะบบการบริ ห ารผลงาน เชิ ง กลยุ ท ธ์ (Strategic Performance Management System) เชื่อมโยงเป้าหมาย ทั้งระดับบริษัทและหน่วยงาน เข้ า ไว้ ด ้ ว ยกั น อย่ า งชั ด เจน โดยสื่ อ สารให้ ผู ้ บ ริ ห ารและ พนักงานเข้าใจเป้าหมายที่ต้องปฏิบัติร่วมกัน รวมทั้งการ ปฏิ บั ติ ง านให้ ส อดคล้ อ งกั น ข้ า มสายธุ ร กิ จ และสายการ บั ง คั บ บั ญ ชาเพื่ อ ร่ ว มกั น ขั บ เคลื่ อ นองค์ ก รไปสู ่ เ ป้ า หมาย ธุรกิจที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด 3. ว างแนวทางการบริ ห ารค่ า จ้ า งเงิ น เดื อ นอย่ า งมี ร ะบบ มี หลักเกณฑ์ที่ชัดเจน เป็นธรรม และเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย เพื่อเป็นเครื่องมือส�ำคัญที่ช่วยให้บริษัทฯ บรรลุเป้าหมาย ในการดึงดูด รักษาบุคลากรที่ดีมีคุณภาพให้อยู่กับบริษัทฯ ซึ่งการจัดท�ำโครงสร้างเงินเดือนที่มีประสิทธิผล สอดคล้อง กับเป้าหมาย นโยบาย และวัฒนธรรมองค์กร รวมถึงความรู้ ความเข้าใจและความสามารถของผู้บริหารในการบริหาร ระบบได้ อ ย่ า งเหมาะสมจะช่ ว ยส่ ง ผลต่ อ ความส� ำ เร็ จ ของ บริษัทฯ ในระยะยาว 4. เ สริมสร้างขีดความสามารถขององค์กรผ่านการฝึกอบรมและ พัฒนาศักยภาพของบุคลากรซึ่งประกอบด้วยการวางระบบ การฝึกอบรมในห้องเรียน การส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างกันและต่อยอดเป็นนวัตกรรมและองค์ความรู้ ขององค์กร รวมทั้งการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

5. ก � ำ หนดแผนพั ฒ นาองค์ ก รสู ่ ค วามเป็ น เลิ ศ โดยเชื่ อ มโยง วิสัยทัศน์องค์กรเข้ากับความต้องการของคู่ค้า ลูกค้า และ บุ ค ลากรผ่ า นกระบวนการท� ำ งานภายใน โดยริ เ ริ่ ม จาก กระบวนการด้านการเรียนรู้ของบุคลากร มีการน�ำ PDCA (Plan/Do/Check/Act) เข้ามาปรับใช้กับกระบวนการพัฒนา บุคลากร การน�ำระบบสมรรถนะหลักมาประยุกต์ใช้กับงาน บริ ห ารบุค ลากร (Competency Based HCM) และการ จั ด ท� ำ ระบบพั ฒ นาความก้ า วหน้ า ในสายอาชี พ (Career Development) 6. จ ั ด สภาพแวดล้ อ มการท� ำ งานที่ ถู ก สุ ข ลั ก ษณะ ปลอดภั ย และมี บ รรยากาศที่ อ บอุ ่ น บริ ษั ท ฯ ส่ ง เสริ ม ความสามั ค คี กลมกลืนบนความหลากหลาย มุ่งเน้นให้บุคลากรเกิดความ ผู ก พั น กั บ องค์ ก รผ่ า นการสื่ อ สารที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความ จริงใจ ความเอื้ออาทร จากผู้บริหารไปสู่บุคลากรโดยอาศัย ช่องทางและกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ 7. ส ร้างองค์กรแห่งความสุข (Happy Workplace) จากความ เชื่อของบริษัทฯ ที่ว่าปัจจัยของความส�ำเร็จของการด�ำเนิน ธุรกิจอย่างยั่งยืนมาจากการมุ่งสร้าง “คนดีที่เก่ง” คือ “ คน S ที่มีความสุขในการท�ำงาน (S Family)” โดยการพัฒนา คนให้เป็นคนดีซึ่งต้องค�ำนึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องครบทุกด้าน ของชีวิตและหล่อหลอมให้เกิดเป็นวัฒนธรรมที่มีศรัทธาใน ความสามารถของคนดี ทั้งนี้บริษัทฯ ก�ำหนดกลยุทธ์หลัก 2 ประการเพื่อพัฒนาความสุขในที่ท�ำงานอันได้แก่ - ก�ำหนดแนวคิดการท�ำให้ที่ท�ำงานเป็น “บ้านหลังที่สอง” เนื่ อ งจากบุ ค ลากรใช้ เ วลาอยู ่ กั บ บริ ษั ท ฯ มากกว่ า อยู ่ ที่บ้าน ดังนั้น จึงต้องสร้างบรรยากาศในการท�ำงานให้มี ความสุข มีความรัก ความเข้าใจระหว่างผู้บริหารและ พนักงาน ระหว่างเพื่อนร่วมงานด้วยกัน รวมทั้งสนับสนุน ให้ บุ ค ลากรได้ มี โ อกาสท� ำ กิ จ กรรมร่ ว มกั น อย่ า ง สม�่ำเสมอ

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

- สร้างวัฒนธรรมองค์กรใหม่ “คนดีที่เก่ง” โดยด�ำเนินการ อย่างสอดคล้องกับค่านิยมหลัก คือ Integrity ในการ ยกย่องคนดีที่ตั้งมั่นอยู่บนความซื่อสัตย์ ความยุติธรรม และการมีคุณธรรมในใจ ส่งเสริมคนเก่งด้วยกิจกรรมที่ ครอบคลุมทุกมิติของชีวิตทั้งที่บ้าน สังคม การพัฒนา ความรู้ พัฒนาจิตใจ การสรรหาบุ ค ลากร บริษัทฯ มีนโยบายการสรรหาและว่าจ้างพนักงาน โดยมุ่งเน้น การรับบุคลากรที่มีคุณสมบัติและทัศนคติที่ตรงตามค่านิยมของ องค์ ก ร “PRIDE” เพื่ อ เป็ น ก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นและ ผลักดันบริษัทฯ ให้บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจที่ได้ก�ำหนดไว้อย่าง มีประสิทธิภาพ บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีพนักงานและผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ทั้งหมด 1,224 คน โดยในปี 2558 บริษัทฯ และ บริ ษั ท ย่ อ ยได้ จ ่ า ยผลตอบแทนได้ แ ก่ เงิ น เดื อ น ค่ า ล่ ว งเวลา เงิ น ช่ ว ยเหลื อ ค่ า ครองชี พ เงิ น โบนั ส เงิ น ช่ ว ยเหลื อ พิ เ ศษ เงินประกันสังคม และเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เป็นต้น รวมเป็นเงิน ทั้งสิ้น 477 ล้านบาท


108 - 109

การบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ การพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์

จำนวนผูบริหารและพนักงานแยกตามประเภทธุรกิจ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558)

สำนักงานใหญ

112

อสังหาริมทรัพย เพื่อการค า

127 โรงแรม

กองทุ น ส� ำ รองเลี้ ย งชี พ นอกเหนือจากการให้ค่าตอบแทนที่กล่าวมาแล้ว บริษัทฯ ได้จัดตั้ง กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพในปี 2557 ตามพระราชบัญญัติกองทุน ส�ำรองเลี้ยงชีพ 2530 โดยบริษัทฯ สมทบเงินจ�ำนวนร้อยละ 5, 8 หรือ 10 ของเงินเดือนของพนักงานเข้ากองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งพนักงานสามารถเลือกจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนได้ในอัตรา ร้อยละ 3, 5, 8 หรือ 10 ของเงินเดือนของพนักงานแต่ละราย การก� ำ หนดค่ า ตอบแทนผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน

642

อสังหาริมทรัพย เพื่อการพักอาศัย

343

จำนวนผูบริหารและพนักงานแยกตามระดับชั้น (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558)

ผู บริหาร

123

บริ ษั ท ฯ พิ จ ารณาจ่ า ยค่ า ตอบแทนผู ้ บ ริ ห ารโดยค� ำ นึ ง ถึ ง ความเป็นธรรมและเหมาะสมตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้รับ มอบหมาย สอดคล้องกับผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และอยู่ ในอัตราที่จะต้องสามารถแข่งขันได้ และเพื่อดึงดูด จูงใจ และ รักษาผู้บริหารและพนักงานซึ่งมีความส�ำคัญต่อความส�ำเร็จของ บริษัทในระยะยาว (รายละเอียดผลตอบแทนผู้บริหารในหัวข้อ ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร) ค่ า ตอบแทนของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร

พนักงาน

1101

คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนจะพิ จ ารณา ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารเป็ น ประจ�ำทุกปี เพื่อน�ำผลประเมินดังกล่าวมาประกอบการพิจารณา ก�ำหนดค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ในรูปแบบ ของเงินเดือน โบนัส และ/หรือ ผลตอบแทนอื่นๆ โดยพิจารณา ตามความเหมาะสมและเทียบเคียงกับบริษัทจดทะเบียนอื่นๆ ในอุตสาหกรรมเดียวกันและมีขนาดใกล้เคียงกัน ทั้งนี้ บริษัทฯ ไม่ ส ามารถเปิ ด เผยข้ อ มู ล ค่ า ตอบแทนของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหารได้เนื่องจากเป็นข้อมูลส่วนบุคคล


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สิงห์ เอสเตท เน้นการท�ำงานแบบมืออาชีพ ภายใต้บรรยากาศ การท�ำงานแบบครอบครัว รวมทั้งให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา องค์กรและบุคลากรเพื่อให้มีความรู้ความสามารถ ทั้งการปฏิบัติ หน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบในปั จ จุ บั น ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ขึ้ น และ สามารถเติบโตต่อไปในสายอาชีพที่ต้องการได้อย่างมีคุณภาพ

ในบริษัท รวมทั้งมีแนวทางป้องกันและบทลงโทษที่ก�ำหนดไว้ อย่างชัดเจน

ในแต่ ล ะปี บริ ษั ท ฯ จะท� ำ การส� ำ รวจความต้ อ งการด้ า นการ พัฒนาพนักงานจากทุกสายงาน เพื่อน�ำมาก�ำหนดแผนฝึกอบรม และพัฒนาพนักงานประจ�ำปี โดยในปีที่ผ่านมา สิงห์ เอสเตท มุ่งพัฒนาพนักงานด้านความรู้หลักของสายงาน การบริการ และ ภาษาต่างประเทศ เพื่อให้พนักงานมีความมั่นใจและสามารถ ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้น

สิ ง ห์ เอสเตท ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ โดยยึ ด มั่ น จรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ ดังนั้นเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในการด�ำเนินงาน โดยเฉพาะ เรื่องการร้องเรียนและแจ้งเบาะแสการทุจริต บริษัทฯ จึงมีแผน งานที่จะก�ำหนดแนวปฏิบัติเรื่องการแจ้งข้อมูลหรือให้เบาะแส เกี่ยวกับการกระท�ำผิด (Whistleblower) เป็นลายลักษณ์อักษร ในปี 2559 และแผนการสื่อสารกับพนักงานผ่านช่องทางการ สื่ อ สารภายในองค์ ก ร เช่ น Intranet จดหมายข่ า วในบริ ษั ท รวมถึงการอบรมพนักงานของบริษัท

นอกจากนั้น บริษัทฯ ก�ำหนดให้มีการท�ำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan – IDP) ซึ่งเริ่มจากระดับบริหาร แล้วจึงค่อยขยายผลถึงพนักงานทุกระดับ เพื่อให้บริษัทฯ มีข้อมูล ส�ำหรับการก�ำหนด “แผนการพัฒนาภาวะผู้น�ำ (Leadership Development Plan) ”และ “แผนสืบทอดต�ำแหน่ง (Succession Plan)” ของบริษัทที่เหมาะสม ซึ่งเป็นองค์ประกอบส�ำคัญต่อการ เป็นองค์กรที่ยั่งยืน การฝึ ก อบรมพนั ก งาน การฝึกอบรมพนักงานเป็นวิธีการหนึ่งในการพัฒนาพนักงานของ สิงห์ เอสเตท โดยบริษัทฯ ตั้งเป้าหมายจ�ำนวนชั่วโมงฝึกอบรม ต่อปี ส�ำหรับการด�ำเนินการปีแรกที่ 12 ชั่วโมงต่อคนต่อปี และ ด้วยอัตราการเติบโตของธุรกิจที่รวดเร็ว ท�ำให้ความต้องการด้าน การฝึกอบรมมีเพิ่มขึ้น ดังนั้นเพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และ ทักษะที่สามารถรองรับภาระงานได้อย่างมั่นใจ ส่งผลให้ในปี 2558 จ�ำนวนชั่วโมงฝึกอบรมเฉลี่ยอยู่ที่ 20 ชั่วโมงต่อคนต่อปี แนวทางการปฏิ บั ติ ต ามจรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ ด้วย PRIDE เป็นบรรทัดฐานในการด�ำเนินธุรกิจ และ “ความ ซื่ อ สั ต ย์ ตั้ ง มั่ น ” (Integrity) คื อ หนึ่ ง ในค่ า นิ ย มที่ สิ ง ห์ เอสเตท ให้ความส�ำคัญ บริษัทฯ จึงเน้นการท�ำงานที่โปร่งใสในทุกจุดของ การด�ำเนินธุรกิจ อบรมและเน้นย�้ำกับพนักงานตั้งแต่วันแรกของ การปฏิบัติงานในเรื่องจรรยาบรรณทางธุรกิจ ผู้บริหารเป็นต้นแบบ ของการท� ำ งานอย่ า งมี คุ ณ ธรรมให้ กั บ ที ม งานและทุ ก คน

แนวทางการแจ้ ง เบาะแสการกระท� ำ ผิ ด (Whistleblower)

การดู แ ลความปลอดภั ย สุ ข อนามั ย และสภาพแวดล้ อ ม ในการท� ำ งาน บริ ษั ท ฯ ดู แ ลพนั ก งานด้ ว ยความเอาใจใส่ เพื่ อ ให้ พ นั ก งานมี สุขภาพกายที่ดี มีความสุข และความปลอดภัยในการท�ำงาน จึ ง มี ก ารดู แ ลความปลอดภั ย สุ ข อนามั ย และสภาพแวดล้ อ ม ในการท� ำ งานของบริ ษั ท และส่ ง เสริ ม ผ่ า นโครงการ กิ จ กรรม และระเบียบต่างๆ ได้แก่ - การปรั บ ปรุ ง สภาพการทํ า งานให้ ถู ก สุ ข ลั ก ษณะ และ ปลอดภัย - การอบรมพนั ก งานใหม่ เ กี่ ย วกั บ แนวปฏิ บั ติ ด ้ า นความ ปลอดภัย สุขอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน - ส่งเสริมโครงการด้านสุขภาพและความปลอดภัยในการ ท�ำงาน เช่น เดิน-วิ่งหลังเลิกงาน ประชาสัมพันธ์การดูแล สุขภาพและความปลอดภัย เป็นต้น - การตรวจสุขภาพประจ�ำปี - การก� ำ หนดให้ พ นั ก งานทุ ก คนดู แ ลความสะอาดและ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในพื้นที่ปฏิบัติงาน และพื้นที่ ส่วนกลาง - การแสดงความคิดเห็นในการปรับปรุงสภาพการทํางาน และวิธีการทํางานให้ปลอดภัย - ระเบี ย บและสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ด ้ า นการรั ก ษาพนั ก งานที่ เจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต


110 - 111

ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม

ความรับผิดชอบต่อสังคม นโยบายด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม จากการรวมธุ ร กิ จ และเข้ า เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของบริ ษั ท บุ ญ รอด บริวเวอรี่ จ�ำกัด นโยบายหนึ่งที่ส�ำคัญและได้ถูกถ่ายทอดมายัง สิงห์ เอสเตท ควบคู่ไปกับการเติบโตธุรกิจที่รวดเร็วและยั่งยืน คือ การตอบแทนคืนสู่สังคม กรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และ พนักงานทุกคนตระหนักดีว่า บริษัทฯ จะเติบโตอย่างยั่งยืนได้ ด้ ว ยการสนั บ สนุ น จากพั น ธมิ ต ร ลู ก ค้ า และสั ง คม ดั ง นั้ น นอกเหนื อ จากด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ภายใต้ ห ลั ก บรรษั ท ภิ บ าลที่ ดี แ ล้ ว บริษัทฯ ได้พิจารณาและก�ำหนดนโยบายด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมไว้เป็นหนึ่งในกลยุทธ์หลักของบริษัทฯ (ดูรายละเอียด โครงการได้ในห้วข้อ “กลยุทธ์องค์กรและนโยบายธุรกิจ”) และ ถือเป็นส่วนหนึ่งของการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ (In-Process) ตลอดจนด�ำเนินโครงการต่างๆ อันเป็นประโยชน์ต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม (After Process) ด้ า นการประกอบกิ จ การด้ ว ยความเป็ น ธรรม บริษัทฯ ก�ำหนดให้มีการปฏิบัติต่อลูกค้า พนักงาน ผู้ถือหุ้น คู่ค้า คู ่ แ ข่ ง เจ้ า หนี้ และผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย อย่ า งเสมอภาคและ เป็นธรรม บนพื้นฐานของการได้รับผลตอบแทนที่เป็นธรรมต่อ ทุ ก ฝ่ า ย โดยกรรมการบริ ษั ท ฯ ผู ้ บ ริ ห าร และพนั ก งานทุ ก คน ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสุจริต ไม่กระท�ำการทุจริต ไม่อาศัย อ�ำนาจหน้าที่หรือโอกาสในการท�ำงานกับบริษัทฯ เพื่อแสวงหา ผลประโยชน์ใดๆ ละเว้นการรับทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใด ซึ่งมีมูลค่าเกินปกติวิสัยที่วิญญูชนจะให้กันโดยเสน่หาจากลูกค้า หรื อ ผู ้ ซึ่ ง อาจได้ รั บ ประโยชน์ จ ากการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ไม่ เ ห็ น แก่ ประโยชน์อื่นที่ได้มาจากการด�ำเนินงานที่ไม่ถูกต้องตามพื้นฐาน ของการด�ำเนินธุรกิจที่ดีและมีธรรมาภิบาล ด้ า นการเคารพสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน และการปฏิ บั ติ ด ้ า นแรงงาน บริ ษั ท ฯ มี น โยบายการบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ โดยถื อ ว่ า พนั ก งานทุ ก คนเป็ น ทรั พ ยากรอั น มี ค ่ า ยิ่ ง ปฏิ บั ติ ต ่ อ พนั ก งาน ทุกคนโดยเสมอภาคกัน ไม่แบ่งแยกพื้นฐานในเรื่องเชื้อชาติ เพศ

สี ผิ ว ศาสนา ชาติ ก� ำ เนิ ด อายุ ความพิ ก ารทางร่ า งกาย หรื อ ลักษณะส่วนบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ก�ำหนดวิธี การจ้ า งงานให้ เ ป็ น มาตรฐานเพื่ อ สร้ า งความเท่ า เที ย มกั น ในโอกาสของการจ้างงาน ดูแลไม่ให้เกิดการคุกคามหรือข่มขู่ ต่อบุคคลทุกระดับ ไม่ว่าจากบุคคลใดๆ หรือโดยวิธีใดๆ ด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ลู ก ค้ า บริษัทฯ มีนโยบายที่จะให้ลูกค้าได้รับบริการที่ดี ได้รับสินค้าที่ มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ ยึดถือกฎระเบียบของส�ำนักงาน คุ้มครองผู้บริโภค และปฏิบัติตามเงื่อนไข ข้อเสนอ หรือค�ำมั่น ที่ให้ไว้กับลูกค้าโดยเคร่งครัดด้วยความเสมอภาค การโฆษณา ประชาสัมพันธ์โครงการต่างๆ ของบริษัทฯ จะต้องไม่ท�ำให้ลูกค้า หรือประชาชนทั่วไปเกิดความเข้าใจผิดเกี่ยวกับคุณภาพ ราคา หรือเงื่อนไขในการขายหรือการให้บริการ รักษาข้อมูลอันเป็น ความลั บ หรื อ ไม่ พึ ง เปิ ด เผยของลู ก ค้ า อย่ า งเคร่ ง ครั ด การ ออกแบบโครงการต่างๆ ของบริษัทฯ จะค�ำนึงถึงความปลอดภัย ของผู ้ อ ยู ่ อ าศั ย ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม เน้ น การอนุ รั ก ษ์ พลังงาน เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ก่อสร้างและตกแต่งที่มีคุณภาพ และทนทาน รวมทั้ ง มี ก� ำ หนดการรั บ ประกั น การก่ อ สร้ า งและ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ต ามช่ ว งเวลาที่ เ ป็ น ไปตามกรอบของกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง มีการบริการหลังการขาย ให้ค�ำแนะน�ำ ให้ความ ช่วยเหลือในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการใช้งานของผลิตภัณฑ์ ด้ า นการดู แ ลรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม บริ ษั ท ฯ ได้ ก� ำ หนดนโยบายการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มตาม ข้อก�ำหนดทางกฎหมาย โดยเน้นปลูกฝังให้พนักงานในทุกระดับ มี ส ่ ว นร่ ว มในการดู แ ลสภาพแวดล้ อ มในที่ ท� ำ งาน ตลอดจน ชุมชนรอบข้าง ซึ่งนอกจากการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าที่สุดแล้ว ยั ง ส่ ง เสริ ม การสร้ า งความสมดุ ล ทางธรรมชาติ ตลอดจน มาตรการควบคุมผลกระทบที่จะเกิดกับสภาพแวดล้อมจากการ ด�ำเนินธุรกิจ บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามแนวทางข้างต้น โดยปลูกฝัง จิ ต ส� ำ นึ ก ในการรั ก ชุ ม ชน ธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม ให้ เ ป็ น วั ฒ นธรรมองค์ ก ร เพื่ อ น� ำ ไปสู ่ ก ารปฏิ บั ติ ที่ ยั่ ง ยื น และพร้ อ ม ถ่ า ยทอดสู ่ ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม การมี ส ่ ว นร่ ว มในการ แก้ ไ ขกั บ ชุ ม ชนและพั ฒ นาควบคู ่ กั น ไป บริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ ด� ำ เนิ น


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

ธุ ร กิ จ โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ผลกระทบต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของลู ก ค้ า และ สิ่งแวดล้อมเป็นส�ำคัญ ตั้งแต่การออกแบบก่อสร้างจนถึงการ ดูแลหลังการขาย โดยพิถีพิถันในทุกๆ รายละเอียดเพื่อส่งมอบ งานที่ มี คุ ณ ค่ า อย่ า งยั่ ง ยื น รวมไปถึ ง การให้ ก ารสนั บ สนุ น หน่ ว ยงาน และเจ้ า หน้ า ที่ ผู ้ อุ ทิ ศ ตนในการอนุ รั ก ษ์ และดู แ ล สิ่ ง แวดล้ อ ม พร้ อ มสนั บ สนุ น โครงการต่ า งๆ ของภาครั ฐ เพื่ อ สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก ที่ ดี แ ก่ ส าธารณชน ส� ำ หรั บ โครงการพั ฒ นา อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ทุ ก โครงการของบริ ษั ท ฯ มุ ่ ง เน้ น การเลื อ กใช้ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ก ่ อ สร้ า งและตกแต่ ง ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ ให้ ก ารใช้ ง านวั ส ดุ แ ละอุ ป กรณ์ ดั ง กล่ า วมี ค วามทนทาน ไม่ก่อปัญหากวนใจลูกค้าเมื่อเข้าอยู่อาศัย อีกทั้งยังมีนโยบาย การจั ด ซื้ อ ที่ เ น้ น การเลื อ กราคาและต้ น ทุ น ที่ เ หมาะสมกั บ การ ด�ำเนินธุรกิจ ทุกโครงการของบริษัทฯ ได้รับการรับรองและผ่าน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ด้ า นสั ง คมและชุ ม ชน เป้ า หมายหนึ่ ง ในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ คื อ การเป็ น ที่ยอมรับและได้รับความร่วมมือจากสังคมและชุมชน และสร้าง สภาพแวดล้อมที่ดีในการอยู่อาศัย ซึ่งบริษัทฯ มีนโยบายในการ ช่วยเหลือสังคมเพื่อให้อยู่ร่วมกับชุมชนอย่างช่วยเหลือเกื้อกูล กั น โดยมุ ่ ง เน้ น ปลู ก ฝั ง ให้ ค นในชุ ม ชนรั ก ถิ่ น ฐาน พร้ อ มทั้ ง ร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในพื้นที่อยู่ อาศั ย ให้ มี ค วามสวยงามอย่ า งยั่ ง ยื น บริ ษั ท ฯ จึ ง สร้ า งการมี ส่วนร่วมของชุมชนควบคู่ไปกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และ สร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่น พร้อมทั้งให้การสนับสนุนการ ยกระดั บ ความรู ้ แ ละความสามารถของคนในชุ ม ชน เพื่ อ ให้ ตระหนั ก ถึ ง การรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งยั่ ง ยื น รวมไปถึ ง การ สนั บ สนุ น แรงงาน และงบประมาณ ส� ำ หรั บ โครงการพั ฒ นา คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของชุมชน อีกทั้งยังด�ำเนินธุรกิจ ด้ ว ยความระมั ด ระวั ง เพื่ อ ลดผลกระทบที่ มี ต ่ อ ชุ ม ชนและ สิ่งแวดล้อม

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ด้ า นนวั ต กรรมที่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม สิ่ ง แวดล้ อ ม และผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย บริ ษั ท ฯ มี น โยบายส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การคิ ด ค้ น นวั ต กรรมเพื่ อ ให้ สามารถตอบสนองได้ตรงต่อความต้องการของลูกค้า รวมทั้ง ค� ำ นึ ง ถึ ง ผลกระทบต่ อ ชุ ม ชน และสิ่ ง แวดล้ อ มรอบข้ า งพื้ น ที่ โครงการของบริษัทฯ บริษัทฯ จึงได้ให้การสนับสนุนไม่เพียงแต่ การด�ำเนินงานของบริษัทฯ เอง ยังรวมไปถึงพันธมิตรธุรกิจและ ผู้รับเหมาของบริษัทฯ เพื่อให้สามารถส่งมอบงานที่มีคุณภาพ และมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้กับลูกค้า และไม่สร้างผลกระทบด้าน ลบต่ อ ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งและพื้ น ที่ โ ดยรอบ ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ ได้ ใ ห้ ค วาม ส�ำคัญต่อเรื่องดังกล่าวโดยก�ำหนดไว้เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ หลักของบริษัทฯ (ดูรายละเอียดโครงการได้ในห้วข้อ “กลยุทธ์ องค์กรและนโยบายธุรกิจ”) การด� ำ เนิ น งานและการจั ด ท� ำ รายงาน บริ ษั ท ฯ ได้ ด� ำ เนิ น งานด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมตาม นโยบายที่ได้ก�ำหนดไว้เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์หลักของบริษัทฯ และได้ ก� ำ หนดกลุ ่ ม ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย อั น ได้ แ ก่ กลุ ่ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น นักลงทุน และนักวิเคราะห์ กลุ่มลูกค้าหรือผู้บริโภคที่ต้องการ ซื้ อ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย เช่ า พื้ น ที่ และใช้ บ ริ ก ารของโรงแรม เป็ น ต้ น พันธมิตรทางการค้า พนักงาน คู่แข่งทางการค้า เจ้าหนี้ และ ผู ้ มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งอื่ น ได้ แ ก่ สั ง คม ชุ ม ชน สิ่ ง แวดล้ อ ม และ หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยในปี 2558 บริษัทฯ ได้มุ่งเน้น ด้านการพัฒนาชุมชนและสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม ส� ำ หรั บ การจั ด ท� ำ รายงานความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม (CSR Report) บริ ษั ท ฯ ได้ ก� ำ หนดหลั ก การตามแนวทางความ รับผิดชอบต่อสังคมที่จัดท�ำโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งบริษัทฯ ได้จัดท�ำไว้เป็นส่วนหนึ่งของรายงานประจ�ำปี และ แบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) เพื่อเผยแพร่ นโยบายและโครงการหรือกิจกรรมของบริษัทฯ อันเป็นประโยชน์ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้แก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน หรือผู้ที่สนใจ โดยทั่วไป


112 - 113

ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม

โครงการและกิ จ กรรมอั น เป็ น ประโยชน์ ต ่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม โครงการด้ า นการพั ฒ นาชุ ม ชนและสั ง คม โครงการจ้างงานชุมชน โรงแรมพี พี ไอแลนด์ วิ ล เลจ บี ช รี ส อร์ ท ได้ ร ่ ว มส่ ง เสริ ม การจ้างงานชุมชน ผ่านการให้บริการเรือหางยาวน�ำเที่ยว โดย สามารถเข้ า มาลงทะเบี ย นกั บ ทางโรงแรมเพื่ อ ให้ บ ริ ก าร นักท่องเที่ยวในการเดินทาง รวมทั้งการน�ำเที่ยวทางน�้ำ ตลอดจน ส่ ง เสริ ม งานหั ต ถกรรมท้ อ งถิ่ น เพื่ อ น� ำ มาใช้ ใ นการตกแต่ ง โรงแรม และจ�ำหน่ายเป็นของที่ระลึก โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ โรงแรมพีพี ไอแลนด์ วิลเลจ บีช รีสอร์ท ได้ให้ความรู้ไกด์ท้องถิ่น เพื่อประกอบอาชีพด้านการท่องเที่ยวโดยไม่ให้เกิดผลกระทบ กับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งให้ความรู้ในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์แก่ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว และสร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก ในการรั ก ษาสภาพแวดล้ อ ม เป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่ชุมชน โครงการน�้ำ EM โรงแรมสั น ติ บุ รี บี ช รี ส อร์ ท แอนด์ สปา ได้ มี โ ครงการน� ำ เศษอาหารที่ เ หลื อ ใช้ในแต่ละวัน น�ำมาผ่า นกรรมวิธีก ารหมัก เพื่ อ ให้ ก ลายเป็ น น�้ ำ EM สามารถน� ำ ไปใช้ ใ นการช่ ว ยบ� ำ บั ด น�้ำเสียของโรงแรม ก่อนน�ำไปใช้ในการรดน�้ำต้นไม้ พร้อมน�ำไป แจกจ่ายให้กับคนในชุมชน เพื่อช่วยลดมลพิษในแหล่งน�้ำก่อนที่ จะไหลออกสู ่ ท ะเล นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เพื่ อ รณรงค์ รั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม และร่ ว มกั น ศึ ก ษาถึ ง ผลดี แ ละ ผลกระทบที่มีต่อชุมชน เพื่อหาแนวทางป้องกันต่อไป โครงการด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม โครงการสนับสนุนผู้ปฏิบัติหน้าที่ในการอนุรักษ์ ธรรมชาติในท้องถิ่น โรงแรมพีพี ไอแลนด์ วิลเลจ บีช รีสอร์ท ได้ให้การสนับสนุน การปฏิ บั ติ ง านของเจ้ า หน้ า ที่ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ น พรั ต น์ ธ ารา หมู่เกาะพีพี ทั้งในส่วนก�ำลังคนและเครื่องมือในการปฏิบัติงาน รวมทั้งให้ความช่วยเหลือในการขนส่งสิ่งของและขยะระหว่าง อุ ท ยานกั บ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต นอกจากนั้ น ได้ ส นั บ สนุ น เรื อ ส� ำ หรั บ

ตรวจการจ�ำนวน 1 ล�ำเพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โครงการ ดิ เอส อโศก คอนโดมิเนียม โครงการดิ เอส อโศก ซึ่งเป็นโครงการคอนโดมิเนียมแห่งแรกที่ พัฒนาโดยบริษัทฯ ได้ออกแบบและพัฒนาโครงการโดยค�ำนึงถึง สภาพแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของชุมชนเป็นส�ำคัญ โดยได้ จัดให้มีพื้นที่สีเขียวกว่า 1 ไร่ บริเวณด้านหน้าโครงการเพื่อสร้าง ภูมิทัศน์ที่ร่มรื่นสวยงามแก่ถนนอโศก อีกทั้งยังรักษาตันไม้ใหญ่ ในที่ดินเดิมไว้ทั้งหมด รวมทั้งด�ำเนินการก่อสร้างด้วยมาตรฐาน สู ง สุ ด ทั้ ง ในด้ า นความปลอดภั ย แก่ ชุ ม ชน และมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะลด ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมอย่างเข้มงวด โครงการเพิ่มพื้นที่แปลงปลูกปะการัง โรงแรมพี พี ไอแลนด์ วิ ล เลจ บี ช รี ส อร์ ท ได้ ร ่ ว มกั บ อุ ท ยาน แห่งชาตินพรัตน์ธารา และหมู่เกาะพีพี ในโครงการฟื้นฟูและ เพิ่มจ�ำนวนปะการังในธรรมชาติ โดยเก็บปะการังที่เสียหายมา เพาะปลู ก ในแปลงปลู ก ปะการั ง ในเขตพื้ น ที่ ข ยายพั น ธุ ์ เ ฉพาะ อีกทั้งบริษัทฯ มุ่งหวังที่จะรักษาระบบนิเวศทางทะเลให้ยั่งยืน จึงวางแผนในการท�ำเป็นโครงการต่อเนื่องในระยะยาว โครงการสนับสนุนวาฬบรูด้าให้เป็นสัตว์สงวนของ กรุงเทพมหานคร บริ ษั ท ฯ ร่ ว มสนั บ สนุ น โครงการรณรงค์ ขึ้ น ทะเบี ย นสั ต ว์ ส งวน ทางทะเล ซึ่ ง จั ด โดยกรมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั ่ ง เพื่ อ สนับสนุนและส่งเสริมให้วาฬบรูด้าและสัตว์ทะเลหายากอื่นๆ เป็นสัตว์สงวนของกรุงเทพมหานครและประเทศไทย ปัจจุบัน วาฬบรูดา้ ได้ขนึ้ ทะเบียนเป็นสัตว์สงวนของประเทศไทยล�ำดับที่ 16 และเป็นสัตว์สงวนชนิดแรกของกรุงเทพมหานคร นอกจากนั้น ยังได้สนับสนุนการท�ำคู่มือท่องเที่ยวดูวาฬเชิงอนุรักษ์แจกให้กับ ผู ้ ส นใจทั่ ว ไป และจั ด งานนิ ท รรศการ “วาฬแห่ ง สยาม” เมื่ อ วันที่ 13 กรกฎาคม 2558 เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการอนุรักษ์ วาฬบรู ด ้ า แก่ ส าธารณชน ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ มุ ่ ง หวั ง ที่ จ ะสนั บ สนุ น โครงการนี้ใ นระยะยาว โดยมีวัตถุประสงค์เ พื่อสร้างจิตส� ำนึก ในการลดมลพิษในแม่น�้ำเจ้าพระยา ซึ่งไหลลงสู่ทะเลอันเป็น บริเวณที่วาฬบรูด้าอาศัยอยู่


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

การป้ อ งกั น การมี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการ ต่อต้านทุจริต และคอร์รัปชั่น ซึ่งเป็นภัยร้ายแรงที่ท�ำลายการ แข่งขันที่เสรีและเป็นธรรม และก่อให้เกิดความเสียหายให้กับ เศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างมาก และเป็นประเด็นความเสี่ยง ต่อการด�ำเนินธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน ผู้บริหารระดับสูงของ บริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ ร ่ ว มกั น ก� ำ หนดแนวปฏิ บั ติ เ รื่ อ งดั ง กล่ า วไว้ เ ป็ น ส่วนหนึ่งของค่านิยมองค์กร เพื่อให้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ ที่ดีส�ำหรับพนักงานทุกระดับของบริษัทฯ ดังนั้น บริษัทฯ จึงมุ่งมั่น ในการด�ำเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส และต่อต้าน การทุจริตทุกรูปแบบ และยึดถือการด�ำเนินธุรกิจตามกฎหมาย ทั้ ง หมดที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต ในประเทศไทย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ส่งเสริมในระดับพนักงาน โดยจัดอบรม และเน้นย�้ำกับพนักงานตั้งแต่วันแรกของการปฏิบัติงาน และ ให้มีผู้บริหารเป็นต้นแบบของการท�ำงานอย่างมีคุณธรรมให้กับ ที ม งานและทุ ก คนในบริ ษั ท รวมทั้ ง มี แ นวทางป้ อ งกั น และ บทลงโทษที่ก�ำหนดไว้ในระเบียบพนักงานอย่างชัดเจน

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


114 - 115

ปั จ จั ย เสี่ ย ง และการบริ ห ารความเสี่ ย ง

ปัจจัยเสี่ยง และการบริหารความเสี่ยง 01

ความเสี่ ย งด้ า นกลยุ ท ธ์ (Strategic Risk)

1.1 ความเสี่ยงด้านการแข่งขัน (Competition Risk) 1.2 ความเสี่ยงด้านความไม่แน่นอนของสภาพเศรษฐกิจ (Economic Risk) 1.3 ความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนทางการเมือง (Political and Policy Risk) ความเสี่ ย งจากการแข่ ง ขั น ที่ สู ง ขึ้ น ในตลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ความไม่แน่นอนของสภาพเศรษฐกิจในปี 2559 รวมถึงความ ไม่ แ น่ น อนทางการเมื อ ง อาจมี ผ ลกระทบต่ อ ผลประกอบการ ของบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ จั ด ให้ มี ก ารก� ำ หนดแผนธุ ร กิ จ ทั้ ง ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว ประกอบด้วยการวิเคราะห์ ภาพรวมและแนวโน้มทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม การศึกษา ความเป็นไปได้และความคุ้มค่าในการลงทุนโครงการ ตลอดจน การวางแผนโครงสร้ า งองค์ ก ร อั ต ราก� ำ ลั ง คนและการพั ฒ นา บุ ค ลากร และโครงสร้างทางการเงิน ทั้ง นี้ เพื่อให้มั่น ใจได้ว่า เป้ า หมายทางธุ ร กิ จ และกลยุ ท ธ์ ข องบริ ษั ท ฯ สามารถปฏิ บั ติ ได้ จ ริ ง และสอดคล้ อ งกั บ ความเสี่ ย งที่ บ ริ ษั ท ฯ ยอมรั บ ได้ นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง ก� ำ หนดให้ ส ายงานต่ า งๆ ติ ด ตามการ เปลี่ยนแปลงของตัวแปรและปัจจัยภายนอกที่ส�ำคัญต่างๆ ซึ่ง อาจส่งผลกระทบต่อแผนงานที่ได้ก� ำหนดไว้ อีกทั้งยังจัดให้มี ทีมงานในการติดตามและรายงานความคืบหน้าของแผนธุรกิจ ต่อคณะกรรมการบริหารเป็นระยะๆ 02

ความเสี่ ย งด้ า นการด� ำ เนิ น งาน (Operational Risk)

2.1 ความเสี่ยงด้านบุคลากรเพื่อรองรับการขยายธุรกิจ (Human Capital Risk) ความรวดเร็วของการเติบโตของบริษัทฯ อาจท�ำให้การสรรหา บุคลากรไม่สามารถด�ำเนินการได้ทันต่อความต้องการ ดังนั้น เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ฯ มี อั ต ราก� ำ ลั ง ที่ เ พี ย งพอและสามารถ สรรหาบุคลากรที่มีคุณสมบัติเหมาะสมได้ตามแผนงาน บริษัทฯ จึงได้ก�ำหนดให้งานด้านบุคลากรเป็นส่วนหนึ่งในแผนธุรกิจและ แผนกลยุทธ์องค์กร ฝ่ายจัดการได้ปรับปรุงกระบวนการสรรหา ให้มีประสิทธิภาพ ตลอดจนวิเคราะห์แผนความต้องการอัตรา ก� ำ ลั ง คนและแผนพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ ส อดคล้ อ งกั บ การเติ บ โต ของธุ ร กิ จ ตามแผนกลยุ ท ธ์ ใ นระยะยาว รวมถึ ง จั ด ให้ มี ก าร วางแผนสืบทอดต�ำแหน่ง (Succession Planning)

2.2 ความเสี่ยงด้านการบริหารโครงการ (Project Management Risk) บริษัทฯ มีความเสี่ยงด้านการบริหารโครงการ ได้แก่ การควบคุม ต้ น ทุ น ค่ า ก่ อ สร้ า งและระยะเวลาการก่ อ สร้ า ง ซึ่ ง มี ค วาม เป็ น ไปได้ ที่ อัต ราก� ำ ไรขั้ น ต้ น ของโครงการจะลดลงหากต้ นทุน การก่ อ สร้ า งเพิ่ ม สู ง ขึ้ น และอาจส่ ง ผลกระทบต่ อ ชื่ อ เสี ย งของ บริษัทฯ หากบริษัทฯ ไม่สามารถส่งมอบโครงการให้แก่ลูกค้า ได้ตามก�ำหนดเวลา ดังนั้น เพื่อลดความเสี่ยงดังกล่าว บริษัทฯ จะท�ำสัญญาก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey Construction Contract) โดยการประมู ล และพิ จ ารณาเลื อ กผู ้ รั บ เหมาจาก ประสบการณ์ คุ ณ ภาพและผลงานในอดี ต และราคาภายใต้ เงื่อนไขที่ว่าผู้รับเหมาเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดหาวัสดุก่อสร้าง ตามที่ ก� ำ หนด อย่ า งไรก็ ดี การออกแบบและก่ อ สร้ า งทั้ ง หมด ยังอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดของสายงานออกแบบ และก่อสร้างของบริษัทฯ ซึ่งมีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ในการควบคุมงานก่อสร้างอย่างยาวนาน ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจได้ ว่ า บริ ษั ท ฯ สามารถบริ ห ารงานก่ อ สร้ า งโครงการที่ พั ก อาศั ย ประเภทเสนอขายก่อนก่อสร้างให้แล้วเสร็จได้ตามก�ำหนดเวลา และอยู่ภายใต้งบประมาณที่วางไว้ 2.3 ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Regulatory and Compliance Risk) ในการพัฒนาโครงการใหม่ๆ บริษัทฯ ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น การวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม หรื อ Environmental Impact Assessment (EIA) และกฎหมายอื่นๆ ซึ่งบริษัทฯ ต้องได้รับอนุมัติจากทางราชการก่อนที่จะด�ำเนินการ ก่ อ สร้ า งได้ อย่ า งไรก็ ต าม กฎเกณฑ์ ต ่ า งๆ เป็ น ที่ รั บ ทราบ ภายในบริษัทฯ และหากมีการเปลี่ยนแปลง จะมีการประกาศ ให้ทราบก่อนน�ำมาปฏิบัติอย่างเคร่งครัด 03

ความเสี่ ย งด้ า นการเงิ น (Financial Risk)

3.1 ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ (Foreign Exchange Risk) บริษัทฯ มีการลงทุนในต่างประเทศ ได้แก่ ธุรกิจโรงแรมซึ่งลงทุน ในสหราชอาณาจักร จึงอาจท�ำให้บริษัทฯ ได้รับผลกระทบจาก อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่ผันผวน ดังนั้น บริษัทฯ จึ ง ได้ ก� ำ หนดนโยบายและแนวทางปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การบริ ห าร ความเสี่ ย งจากอั ต ราแลกเปลี่ ย น ตลอดจนท� ำ รายการซื้ อ ขาย


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

เงินตราต่างประเทศล่วงหน้า และใช้เครื่องมือทางการเงินอื่นๆ ตามความเหมาะสม ท�ำให้บริษัทฯ สามารถบริหารจัดการความ เสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ 3.2 ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องและความผันผวนของ อัตราดอกเบี้ย (Liquidity Risk and Interest Rate Risk) เพื่อให้สามารถพัฒนาโครงการได้อย่างต่อเนื่องและขยายธุรกิจ ได้ ต ามแผนงานที่ ก� ำ หนด บริ ษั ท ฯ จ� ำ เป็ น ต้ อ งพึ่ ง พิ ง เงิ น ทุ น จากแหล่งเงินทุนต่างๆ รวมถึงสถาบันการเงิน ธนาคารพาณิชย์ และการระดมทุนผ่านช่องทางตลาดทุน ซึ่งความส�ำเร็จในการ เข้ า ถึ ง แหล่ ง เงิ น ทุ น ดั ง กล่ า วตลอดจนความสามารถในการ จัดหาเงินทุนได้เพียงพอกับความจ�ำเป็นโดยอยู่ในต้นทุนการเงิน ที่เหมาะสมนั้น ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย อาทิ สภาพตลาดในขณะนั้น ความเชื่อมั่นที่สถาบันการเงินและนักลงทุนมีให้กับบริษัทฯ และ ทีมบริหาร ตลอดหลายปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้รับการสนับสนุน เงินทุนจากธนาคารพาณิชย์หลายแห่งเป็นอย่างดี และด้วยชือ่ เสียง และความมั่นคงทางการเงินของกลุ่มผู้ถือหุ้นใหญ่ ประกอบกับ ชื่ อ เสี ย งและประสบการณ์ ต รงในธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ข อง ที ม ผู ้ บ ริ ห าร บริ ษั ท ฯ จึ ง ยั ง คงได้ รั บ การสนั บ สนุ น ทางเงิ น จาก ธนาคารพาณิชย์อย่างต่อเนื่องในต้นทุนทางการเงินที่แข่งขันได้ ด้วยเหตุนี้ บริษัทฯ จึงเชื่อมั่นว่าจะสามารถจัดหาเงินทุนได้ตาม แผนงานด้วยต้นทุนทางการเงินที่เหมาะสมและสอดคล้องกับ ความเสี่ยงที่บริษัทฯ ยอมรับได้ 04

ความเสี่ ย งอื่ น ที่ ส� ำ คั ญ

4.1 ความเสี่ยงจากการซื้อหรือควบรวมกิจการ (Merger and Acquisition Risk) บริษัทฯ มุ่งเน้นการเติบโตของธุรกิจผ่านช่องทางการซื้อกิจการ การลงทุนและการร่วมทุน ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ที่จะเกิด ความเสี่ยงจากการค�ำนวณราคาที่ไม่เหมาะสม เกิดปัญหาหรือ ข้อพิพาทในกระบวนการซื้อหรือควบรวมกิจการ เป็นต้น บริษัทฯ จึ ง ได้ ก� ำ หนดแนวปฏิ บั ติ ใ นการพิ จ ารณากลั่ น กรองบริ ษั ท เป้าหมาย (Target) ที่ชัดเจน นอกจากนี้ ยังมีการว่าจ้างบริษัท ที่ปรึกษาในการควบรวมกิจการและการท�ำ Due Diligence ของ บริ ษั ท เป้ า หมายเพื่ อ วิ เ คราะห์ ถึ ง ความเสี่ ย งด้ า นต่ า งๆ เช่ น กฎหมาย การปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆ การเงิน บัญชี และ

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ภาษี รวมไปถึ ง การวิ เ คราะห์ ผ ลประกอบการ และศั ก ยภาพ ในการเติบโตและพัฒนาต่อไปในอนาคตเพื่อให้มั่นใจว่าการซื้อ หรือควบรวมกิจการจะส�ำเร็จลุล่วงตามแผนงานที่วางไว้ และ การเข้าซื้อหรือควบรวมกิจการดังกล่าวจะเป็นส่วนหนึ่งในการ สร้ า งความเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ให้ กั บ กลุ ่ ม บริ ษั ท ตามแผนงาน ธุรกิจ 4.2 ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย (Environmental, Health and Safety Risk) ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย มีโอกาสเกิดสูงในงานก่อสร้าง เช่น อุบัติเ หตุ และยังมีความ เป็ น ไปได้ ที่ ชุ ม ชนในพื้ น ที่ ที่ ใ กล้ เ คี ย งกั บ การก่ อ สร้ า งโครงการ อาจเกิดความไม่พอใจเนื่องจากได้รับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งอาจมีผลเสียหายต่อชื่อเสียงของบริษัทฯ ดังนั้น เพื่อลดความ เสี่ ย งดั ง กล่ า ว บริ ษั ท ฯ จึ ง ท� ำ สั ญ ญาก่ อ สร้ า งแบบเบ็ ด เสร็ จ (Turnkey Construction Contract) โดยการประมู ล และ พิจารณาเลือกผู้รับเหมาจากประสบการณ์ คุณภาพและผลงาน ในอดีต ซึ่งรวมถึงความสามารถในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัยในงานก่อสร้างด้วย นอกจากนี้ การก่อสร้างทั้งหมดยังอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด ของสายงานออกแบบและก่ อ สร้ า งของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง มี ค วาม เชี่ยวชาญและประสบการณ์ใ นการควบคุมงานก่อสร้างอย่าง ยาวนาน ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าบริษัทฯ สามารถบริหารงาน ก่ อ สร้ า งโครงการให้ เ ป็ น ไปตามเป้ า หมาย ภายใต้ ก รอบของ นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย 4.3 ความเสี่ยงจากการก่อการร้าย โรคระบาด และภัยธรรมชาติ (Terrorism, Pandemic and Natural Disasters) บริ ษั ท ฯ มั่ น ใจว่ า จากลั ก ษณะธุ ร กิ จ มี ค วามเป็ น ไปได้ ต�่ ำ ที่ บริษัทฯ จะตกเป็นเป้าหมายของการก่อการร้าย ทั้งนี้ เหตุการณ์ ความไม่สงบต่างๆ ในปีที่ผ่านมา ส่งผลกระทบต่อธุรกิจโรงแรม น้ อ ยมาก อย่ า งไรก็ ต าม บริ ษั ท ฯ ได้ ก� ำ หนดให้ มี แ ผนฉุ ก เฉิ น เพื่อรองรับสถานการณ์รุนแรงที่อาจมีผลท�ำให้ธุรกิจหยุดชะงัก และได้ จั ด ให้ มี ก ารสื่ อ สารและฝึ ก ซ้ อ มแผนฉุ ก เฉิ น ดั ง กล่ า ว อย่ า งสม�่ ำ เสมอ นอกจากนี้ ยั ง ได้ พิ จ ารณาการท� ำ ประกั น ภั ย ตามความเหมาะสม เพื่อให้มั่นใจว่าธุรกิจของบริษัทฯ สามารถ ด�ำเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง


116 - 117

รายการระหว่ า งกั น

รายการระหว่างกัน รายการระหว่างบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อย กับบุคคล/นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และวันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีดังต่อไปนี้ บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง

ลักษณะของรายการ ระหว่างกัน

มูลค่ารายการ (บาท) ปี 2557

ปี 2558

รายละเอียดและ ความสมเหตุสมผลของรายการ

นายสันติ ภิรมย์ภักดี

เงินให้กู้ยืมระยะยาว

555,088

-

เป็นรายการเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่ นายสั น ติ ภิ ร มย์ ภั ก ดี ซึ่ ง มี ก� ำ หนด ช�ำระคืนเมื่อทวงถาม และไม่คิดอัตรา ดอกเบี้ย

บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จ�ำกัด

รายได้ จากการให้บริการ

341,837

-

ลูกหนี้การค้า-สุทธิ

237,488

-

รายการดั ง กล่ า วเกิ ด จาก บริ ษั ท บุญรอดบริวเวอรี่ จ�ำกัด ส่งลูกค้ามา พั ก ที่ โ รงแรมสั น ติ บุ รี บี ช รี ส อร์ ท แอนด์ สปา โดยได้ ส ่ ว นลดในอั ต รา ร้ อ ยละ 25 และเทอมการช� ำ ระเงิ น 30 วัน ซึ่งเป็นส่วนลดและเทอมการ ช�ำระเงินเดียวกับที่ให้แก่เอเย่นต์และ ลูกค้ารายใหญ่ทั่วไป โดยไม่มีการคิด ค่านายหน้า

เงินกู้ยืมจากบริษัท ที่เกี่ยวข้องกัน

90,000,000

-

เป็ น การกู ้ ยื ม เงิ น เพื่ อ น� ำ มาใช้ เ ป็ น เงินทุนหมุนเวียน และพัฒนาโครงการ ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3 ต่อปี และ มีก�ำหนดช�ำระคืนเมื่อทวงถาม ค่าเช่ารับล่วงหน้าตามสัญญาให้เช่า ระยะยาว พื้ น ที่ อ าคารส� ำ นั ก งานใน โครงการสิงห์ คอมเพล็กซ์

บริษัท บุญรอด เทรดดิ้ง จ�ำกัด

รายได้รับล่วงหน้า

-

835,000,000

รายได้ จากการขายสินค้า

-

9,090,000

ค่าขายห้องชุด


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง บริษัท บุญรอด เทรดดิ้ง อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด

บริษัท บุญรอดเอเชีย จ�ำกัด

บริษัท เอส คอมพานี (1993) จ�ำกัด

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ลักษณะของรายการ ระหว่างกัน

มูลค่ารายการ (บาท) ปี 2557

ปี 2558

รายได้ จากการให้บริการ

47,872

-

ลูกหนี้การค้า-สุทธิ

47,872

-

เจ้าหนี้ค่าสินค้า และบริการ

-

141,878

ค่าซื้อสินค้า

-

611,346

รายละเอียดและ ความสมเหตุสมผลของรายการ รายการดังกล่าวเกิดจากบริษทั บุญรอด เทรดดิ้ ง อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล จ� ำ กั ด ส่งลูกค้ามาพักที่โรงแรมสันติบุรี บีช รี ส อร์ ท แอนด์ สปา โดยได้ ส ่ ว นลด ในอั ต ราร้ อ ยละ 25 และเทอมการ ช�ำระเงิน 30 วัน ซึ่งเป็นส่วนลดและ เทอมการช� ำ ระเงิ น เดี ย วกั บ ที่ ใ ห้ แ ก่ เอเย่นต์และลูกค้ารายใหญ่ทั่วไป โดย ไม่มีการคิดค่านายหน้า รายการดังกล่าวเกิดจากการซื้อน�้ำดื่ม ส�ำหรับจ�ำหน่ายและให้บริการแก่ลกู ค้า ที่โรงแรมสันติบุรี บีช รีสอร์ท แอนด์ สปา

รายได้จากการให้ บริการ

360,000

-

ค่ า เช่ า พื้ น ที่ ต ามสั ญ ญาให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ระยะเวลา 3 ปี กั บ บริ ษั ท เอส คอมพานี (1993) จ� ำ กั ด ซึ่ ง มี เ ทอม การช�ำระเงิน 30 วัน เริ่มต้นสัญญา เมื่ อ วั น ที่ 1 กั น ยายน 2556 ทั้ ง นี้ สัญญาเช่าดังกล่าวได้ถูกยกเลิกแล้ว เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2557

รายได้อื่น

710,810

-

ค่าบริการสาธารณูปโภค


118 - 119

รายการระหว่ า งกั น

บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง บริษัท สันติบุรีสมุย คันทรี่คลับ จ�ำกัด

ลักษณะของรายการ ระหว่างกัน

ปี 2557

เจ้าหนี้การค้า

ดอกเบี้ยรับ

บริษัท บ่อผุด พร็อพเพอร์ตี้ แอนด์ รีสอร์ท จ�ำกัด

มูลค่ารายการ (บาท) ปี 2558

รายละเอียดและ ความสมเหตุสมผลของรายการ

3,513

-

ค่าใช้บริการสนามกอล์ฟสันติบุรี สมุย ที่ ลู ก ค้ า ของโรงแรมสั น ติ บุ รี บี ช รีสอร์ท แอนด์ สปา ช�ำระผ่านทาง โรงแรมล่วงหน้าก่อนใช้บริการ

11,935,754

-

ดอกเบี้ยรับจากเงินให้กู้ยืมระยะยาว แก่ บริ ษั ท สั น ติ บุ รี ส มุ ย คั น ทรี่ ค ลั บ จ�ำกัด ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.75 ต่ อ ปี ก� ำ หนดช� ำ ระคื น เมื่ อ ทวงถาม ทั้ ง นี้ บริ ษั ท สั น ติ บุ รี ส มุ ย คั น ทรี่ ค ลั บ จ� ำ กั ด ได้ ช� ำ ระคื น เงิ น กู ้ ทั้ ง หมดแล้ ว เมื่อเดือนธันวาคม 2557 รายการดังกล่าวเกิดจากการที่ลูกค้า ของโรงแรมสันติบุรี บีช รีสอร์ท แอนด์ สปา ไปใช้บริการที่สันติบุรี สมุย คันทรี คลับ ซึ่งค่าบริการดังกล่าวจะถูกเรียก เก็ บ มายั ง โรงแรมหลั ง ลู ก ค้ า เข้ า ใช้ บริการ

เจ้าหนี้การค้า

-

320,607

ค่าซื้อสินค้าและ บริการ

-

4,325,428

ค่าซื้อสินค้าและ บริการ

-

503,171

ลูกหนี้การค้า-สุทธิ

44,940

-

เจ้าหนี้อื่น

42,947

-

รายการดั ง กล่ า วเกิ ด จากข้ อ ตกลง ทางการค้ า เป็ น ครั้ ง ๆ ส� ำหรั บ การส่ ง ลู ก ค้ า ระหว่ า งกั น ในกรณี ที่ ห ้ อ งพั ก โรงแรมบ่ อ ผุ ด รี ส อร์ ท แอนด์ สปา หรือโรงแรมสันติบุรี บีช รีสอร์ท แอนด์ สปา เต็ม จะส่งลูกค้าไปยังอีกโรงแรม หนึ่ง ในอัตราค่าเข้าพักที่ตกลงกันไว้ ล่ ว งหน้ า โดยมี เ ทอมการช� ำ ระเงิ น 30 วัน ซึ่งเป็นเทอมการช�ำระเงินเดียว กับที่ให้กับเอเย่นต์และลูกค้ารายใหญ่ ทั่วไป ค่ า โฆษณาในหนั ง สื อ พิ ม พ์ แ ละ นิ ต ยสารที่ โ รงแรมบ่ อ ผุ ด รี ส อร์ ท แอนด์ สปา ส�ำรองจ่ายให้กับโรงแรม สันติบุรี บีช รีสอร์ท แอนด์ สปา


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ลักษณะของรายการ ระหว่างกัน

บริษัท แม็กซ์ฟิวเจอร์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด

เจ้าหนี้การค้า

บริษัท คอนแทงโก จ�ำกัด

ลูกหนี้การค้า

บริษัท แบรนด์ แฟมิรี่ จ�ำกัด

FS JV CO Limited

มูลค่ารายการ (บาท) ปี 2557 284,593

ปี 2558

รายละเอียดและ ความสมเหตุสมผลของรายการ

-

ค่ า ก่ อ สร้ า งอาคารส� ำ นั ก งานและ สโตร์เก็บสินค้าแห่งใหม่และค่างาน ตกแต่ ง ภายในห้ อ งพั ก บางส่ ว นของ โรงแรมสั น ติ บุ รี บี ช รี ส อร์ ท แอนด์ สปา และค่างานปรับปรุงและตกแต่ง ภายในอาคารสิ ง ห์ พาร์ ค อโศก (ปัจจุบันรื้อถอนไปแล้วและเป็นที่ตั้ง โครงการ ดิ เอส อโศก คอนโดมิเนียม) ทั้งนี้ ข้อตกลงทางการค้า ค่าก่อสร้าง และตกแต่ง และอัตราก�ำไรขั้นต้นที่ บริ ษั ท แม็ ก ซ์ ฟ ิ ว เจอร์ เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง จ� ำ กั ด ได้ รั บ จากการท� ำ รายการ ดังกล่าว ใกล้เคียงกับรายการที่ท�ำกับ บุ ค คลภายนอก และเป็ น ข้ อ ตกลง ทางการค้าทั่วไป

-

77,522

ค่าโฆษณา ค่าที่ปรึกษา

ค่าซื้อสินค้า

-

391,433

ค่าโฆษณา ค่าที่ปรึกษา

ลูกหนี้การค้า

-

2,990,864

ค่าโฆษณา ค่าที่ปรึกษา

ค่าซื้อสินค้า

-

128,400

ค่าโฆษณา ค่าที่ปรึกษา

เงินให้กู้ยืมแก่บริษัท ร่วมทุน

-

2,149,138,000

เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทร่วมทุนเพื่อน�ำไป ลงทุนในการซื้อกิจการโรงแรม 26 แห่ง ในสหราชอาณาจั ก ร โดยมี อั ต รา ดอกเบี้ย LIBOR+ร้อยละ 6.50 ต่อปี และมีก�ำหนดช�ำระคืนเมื่อทวงถาม




122 - 123

รายงานความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการบริ ษั ท ต่ อ รายงานทางการเงิ น รายงานของผู ้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุ ญ าต

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริ ษั ท สิ ง ห์ เอสเตท จ� ำ กั ด (มหาชน) เป็ น ผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของ บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฎ ในรายงานประจ�ำปี ซึ่งงบการเงินดังกล่าวจัดท�ำขึ้นตามมาตรฐาน การบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสม และถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง และประมาณการที่ ดี ที่ สุ ด ในการจั ด ท� ำ รวมทั้ ง มี ก ารเปิ ด เผย ข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ให้ มี แ ละด� ำ รงรั ก ษาไว้ ซึ่ ง ระบบ ควบคุ ม ภายในที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล เพื่ อ ให้ มั่ น ใจได้ อ ย่ า งมี เ หตุ ผ ล ว่ า การบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ทางบั ญ ชี มี ค วามถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น และ เพียงพอที่จะด�ำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน และเพื่อให้ทราบจุดอ่อน เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ด การทุ จ ริ ต หรื อ การด� ำ เนิ น การที่ ผิ ด ปกติ อย่างมีสาระส�ำคัญ

( นายจุตินันท์ ภิรมย์ภักดี ) ประธานกรรมการ

ในการนี้ คณะกรรมการบริษัท สิงห์ เอสเตท จ� ำกัด (มหาชน) ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการ ที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห ารเป็ น ผู ้ ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบเกี่ ย วกั บ คุ ณ ภาพของ รายงานทางการเงิ น และระบบควบคุ ม ภายใน และความเห็ น ของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฎในรายงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบแล้ว คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของ บริ ษั ท สิ ง ห์ เอสเตท จ� ำ กั ด (มหาชน) โดยรวมอยู ่ ใ นระดั บ ที่ น่าพอใจ และสามารถสร้างความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลต่อความ เชื่ อ ถื อ ได้ ข องงบการเงิ น รวมของบริ ษั ท สิ ง ห์ เอสเตท จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

( นายนริศ เชยกลิ่น ) กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

รายงานของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอผู ้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท สิ ง ห์ เอสเตท จ� ำ กั ด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท ของบริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และ ของเฉพาะบริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงิ น รวมและงบแสดงฐานะการเงิ น เฉพาะ บริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และงบก�ำไรขาดทุน เบ็ ด เสร็ จ รวมและงบก� ำ ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ เฉพาะบริ ษั ท งบ แสดงการเปลี่ย นแปลงส่ว นของผู้ถือหุ้น รวมและงบแสดงการ เปลี่ ย นแปลงส่ ว นของผู ้ ถื อ หุ ้ น เฉพาะบริ ษั ท และงบกระแส เงิ น สดรวมและงบกระแสเงิ น สดเฉพาะบริ ษั ท ส� ำ หรั บ ปี สิ้ น สุ ด วันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญและ หมายเหตุเรื่องอื่นๆ ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงิน เหล่ า นี้ โ ดยถู ก ต้ อ งตามที่ ค วรตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหาร พิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�ำงบการเงินที่ปราศจาก การแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส� ำคัญไม่ว่าจะ เกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้ า พเจ้ า เป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบในการแสดงความเห็ น ต่ อ งบการเงิ น ดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติ งานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งก�ำหนดให้ข้าพเจ้า ปฏิ บั ติ ต ามข้ อ ก� ำ หนดด้ า นจรรยาบรรณ รวมถึ ง วางแผนและ ปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผล ว่ า งบการเงิ น ปราศจากการแสดงข้ อ มู ล ที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึ ง การใช้ วิ ธี ก ารตรวจสอบเพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง หลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูล ในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของ ผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูล ที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น สาระส� ำ คั ญ ของงบการเงิ น ไม่ ว ่ า จะ

เกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยง ดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับ การจั ด ท� ำ และการน� ำ เสนองบการเงิ น โดยถู ก ต้ อ งตามที่ ค วร ของกิ จ การ เพื่ อ ออกแบบวิ ธี ก ารตรวจสอบที่ เ หมาะสมกั บ สถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อ ประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบ รวมถึ ง การประเมิ น ความเหมาะสมของนโยบายการบั ญ ชี ที่ ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชี ที่ จั ด ท� ำ ขึ้ น โดยผู ้ บ ริ ห าร รวมทั้ ง การประเมิ น การน� ำ เสนองบ การเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอ และเหมาะสมเพื่ อ ใช้ เ ป็ น เกณฑ์ ใ นการแสดงความเห็ น ของ ข้าพเจ้า ความเห็น ข้ า พเจ้ า เห็ น ว่ า งบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท ข้างต้นนี้แ สดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะของ บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของ เฉพาะบริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และผลการด�ำเนินงานรวมและผลการด�ำเนินงาน เฉพาะบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะ บริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระ ส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

วิเชียร กิ่งมนตรี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3977 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด กรุงเทพมหานคร วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559


124 - 125

งบการเงิ น รวม และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท

บริษัท สิงห เอสเตท จำกัด (มหาชน) งบการเงิ น รวม เเละงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท

วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บาท

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท

1 มกราคม พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท

509,388,490 389,728,340 337,669,788 32,924,626 7,660,351,440 675,185,095 189,107,154

766,384,921 131,849,174 52,771,844 72,497 794,828,739 33,022,098 40,047,851

429,198,465 12,664,888 91,267,993 219,500,000 17,294,620 4,356,915

199,581,480 366,224,659 7,043,872 101,010,767 1,898,509,600 1,695,833,141 18,848,703 55,352,396

330,802,052 130,556,937 15,678,614 257,585,959 2,626,500,000 523,679,855 20,137,753 32,203,580

13,969,605 3,542,073 913,425,973 5,680,164

9,794,354,933

1,818,977,124

774,282,881

4,342,404,618

3,937,144,750

936,617,815

14,419,720 2,140,138,000 45,150,987 8,374,952,359 3,507,143,153 941,939,668 438,594,355 36,959,951 13,977,026

51,054,294 1,499,620,380 4,385,598,217 3,101,571,227 398,995,748 22,978,766 7,114,142 1,775,810

1,351,112 1,097,581,054 3,605,239,199 446,499,014 85,239 3,983,377 704,165

2,651,494 108,792,000 8,137,426,702 185,700,000 917,175,612 16,456,410 859,587 1,601,848

1,368,732 11,931,840,319 394,856,000 182,600,000 760,813,274 4,885,311 3,083,891 809,140

173,850,000 126,700,000 7,785,993 498,713 9,850,701 112,600

รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน

15,513,275,219

9,468,708,584

5,155,443,160

9,370,663,653

13,280,256,667

318,798,007

รวมสินทรัพย

25,307,630,152

11,287,685,708

5,929,726,041

13,713,068,271

17,217,401,417

1,255,415,822

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะบริษัท 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท บาท

1 มกราคม พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น สุทธิ ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น

9 10 11 31 31 12 13

รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพัน ลูกหนี้ระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินลงทุนในการรวมคา สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทยอย ที่ดินรอการพัฒนา อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สุทธิ คาความนิยม สินทรัพยไมมีตัวตน สุทธิ สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

31 31 14 14 15 16 17 18 19

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหนา 13 ถึง 107 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


126 - 127

งบการเงิ น รวม และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม

1 มกราคม พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม

1 มกราคม พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม

บาท

บาท

บาท

บาท

บาท

บาท

21

6,241,343,947

3,166,856,000

-

2,284,649,200

3,166,856,000

-

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น

20

525,528,384

234,728,491

36,416,982

115,871,833

164,923,283

42,933,648

เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน

31

824,576

33,496

366,210

20,437,880

30,743,880

300,000

หมายเหตุ หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและ เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

เงินกูยืมระยะยาวที่ครบกําหนดชําระ 21

579,144,916

38,277,447

11,000,000

420,630,987

38,277,447

61,227,348

เงินกูยืมระยะสั้นจากบุคคลอื่น

ภายในหนึ่งป

32

530,000,000

-

-

-

-

-

เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน

31

ภาษีเงินไดคางจาย เจาหนี้เงินประกันผลงาน

-

90,555,088

16,000,000

576,205,515

7,783,598,859

-

636,021

5,569,472

5,183,617

-

591,331

5,921,563

71,990,373

25,060,388

952,894

14,607,023

23,994,761

27,180,467

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

103,449,095

73,336,312

23,076,163

27,105,810

29,505,886

14,012,533

รวมหนี้สินหมุนเวียน

8,052,917,312

3,634,416,694

92,995,866

3,459,508,248

11,238,491,447

151,575,559

หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน

31

-

-

46,659,230

-

-

333,113,605

เงินกูยืมระยะยาว สุทธิ

21

4,096,618,171

504,788,625

555,088

1,024,418,339

504,788,625

-

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน

22

39,270,528

21,404,633

18,408,554

8,979,764

3,363,754

6,687,512

หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

19

227,859,161

176,011

-

-

-

-

รายไดรับลวงหนาจากกิจการที่เกี่ยวของกัน

31

835,000,000

-

-

-

-

-

หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น

125,824,240

463,452

-

18,294,313

-

-

รวมหนี้สินไมหมุนเวียน

5,324,572,100

526,832,721

65,622,872

1,051,692,416

508,152,379

339,801,117

13,377,489,412

4,161,249,415

158,618,738

4,511,200,664

11,746,643,826

491,376,676

รวมหนี้สิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหนา 13 ถึง 107 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บาท

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท

7,348,290,786

4,712,350,732

4,235,000,000

7,348,290,786

4,712,350,732

549,999,986

5,715,337,268

-

-

5,715,337,268

-

-

-

4,712,350,732

-

-

4,712,350,732

-

-

-

4,235,000,000

-

-

-

2,938,522,032 551,146,278

551,146,278

-

6,583,246,412 -

3,644,724,380 -

549,998,401 23,477,851 -

(21,429,042)

(21,499,842)

-

-

-

-

-

-

-

(2,931,610,254)

(2,931,610,254)

-

10,000,000 1,615,328,275 (44,715,294)

10,000,000 1,872,743,297 769,714

10,000,000 1,526,107,303 -

31,180,388 (198,870,209) 2,584,002

31,180,388 13,667,595 444,750

31,180,388 159,382,506 -

สวนของบริษัทใหญ สวนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม

10,764,189,517 1,165,951,223

7,125,510,179 926,114

5,771,107,303 -

9,201,867,607 -

5,470,757,591 -

764,039,146 -

รวมสวนของผูถือหุน

11,930,140,740

7,126,436,293

5,771,107,303

9,201,867,607

5,470,757,591

764,039,146

รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

25,307,630,152

11,287,685,708

5,929,726,041

13,713,068,271

17,217,401,417

1,255,415,822

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

หนี้สินและสวนของผูถือหุน (ตอ)

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะบริษัท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท บาท

1 มกราคม พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท

สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 7,348,290,786 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท (31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 หุน สามัญ 4,712,350,732 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท และ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 หุนสามัญ 42,350,000 หุน มูลคาที่ตรา ไวหุนละ 100 บาท) ทุนที่ออกและชําระแลว หุนสามัญ 5,715,337,268 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท หุนสามัญ 4,712,350,732 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท หุนสามัญ 42,350,000 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 100 บาท หุนสามัญ 549,998,401 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท สวนเกินมูลคาหุน สวนเกินมูลคาจากการซื้อธุรกิจ สวนลดมูลคาจากการซื้อสวนไดเสีย ที่ไมมีอํานาจควบคุม สวนลดมูลคาจากการรวมกิจการภายใต การควบคุมเดียวกัน กําไรสะสม จัดสรรแลว - สํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน

23

24 25

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหนา 13 ถึง 107 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


128 - 129

งบการเงิ น รวม และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท

บริษทั สิงห์ เอสเตท จำกัด (มหำชน) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2558 บำท 1,015,046,049 1,134,347,575 (758,744,191) (647,661,317)

142,767,875 226,813,182 (113,034,795) (118,589,001)

110,414,490 273,024,509 (83,287,087) (244,825,336)

367,384,654 12,780,393 (267,182,833) (37,017,383)

14

742,988,116 166,788,456 (260,201,705) (663,297,081) (202,885,772) (41,318,814)

137,957,261 620,847,261 (37,228,198) (349,098,889) (28,053,841) -

55,326,576 257,071,784 (61,423,559) (371,916,409) (88,232,114) -

75,964,831 26,467,946 (42,336,394) (159,198,995) (39,956,508) -

28

(257,926,800) 9,953,039

344,423,594 3,386,525

(209,173,722) (1,936,137)

(139,059,120) (6,655,791)

(247,973,761)

347,810,119

(211,109,859)

(145,714,911)

5,138,587

-

(1,784,931)

-

(1,027,717)

-

356,986

-

4,110,870

-

(1,427,945)

-

หมำยเหตุ รายได้จากการขายบ้านและอาคารชุด รายได้จากการให้เช่าและการให้บริ การ ต้นทุนขายบ้านและอาคารชุด ต้นทุนการให้เช่าและการให้บริ การ กำไรขั้นต้ น รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ต้นทุนทางการเงิน (ดอกเบี้ยจ่าย) ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่ วมค้า กำไร(ขำดทุน)ก่ อนภำษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำไร(ขำดทุน)สำหรับปี กำไรเบ็ดเสร็จอื่นสุ ทธิจำกภำษี รายการที่จะไม่ จัดประเภทรายการใหม่ ไป ยังกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง - กาไรจากการประมาณการตามหลัก คณิ ตศาสตร์ประกันภัย - ภาษีเงินได้ของรายการที่จะไม่จดั ประเภท รายการใหม่ไปยังกาไรหรื อขาดทุนใน ภายหลัง รวมรายการที่จะไม่จดั ประเภทรายการใหม่ ไปยังกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง สุทธิ จากภาษี

งบกำรเงินเฉพำะบริษทั พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม่ บำท บำท

พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม่ บำท

26

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

บริษทั สิงห์ เอสเตท จำกัด (มหำชน) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2558

งบกำรเงินเฉพำะบริษทั พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม่ บำท บำท

บำท

พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม่ บำท

(47,342,052) 2,321,305

880,902

2,674,065

555,937

(464,261)

(111,188)

(534,813)

(111,187)

(45,485,008)

769,714

2,139,252

444,750

(41,374,138)

769,714

711,307

444,750

กำไร(ขำดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี

(289,347,899)

348,579,833

(210,398,552)

(145,270,161)

กำรแบ่ งปันกำไร(ขำดทุน) ส่วนของบริ ษทั ใหญ่ ส่วนของส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม

(260,835,791) 12,862,030

346,635,994 1,174,125

(211,109,859) -

(145,714,911) -

(247,973,761)

347,810,119

(211,109,859)

(145,714,911)

(302,900,030) 13,552,131

347,405,708 1,174,125

(210,398,552) -

(145,270,161) -

(289,347,899)

348,579,833

(210,398,552)

(145,270,161)

(0.05)

0.07

(0.04)

(0.08)

หมำยเหตุ รายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่ ไป ยังกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง - ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลง ค่างบการเงิน - ผลกาไรจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย - ภาษีเงินได้ของรายการที่จะจัดประเภท รายการใหม่ไปยังกาไรหรื อขาดทุนใน ภายหลัง รวมรายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่ ไป ยังกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง สุทธิ จากภาษี กำไร(ขำดทุน)เบ็ดเสร็จอื่นสุ ทธิจำกภำษี

กำรแบ่ งปันกำไร(ขำดทุน)เบ็ดเสร็จรวม ส่วนของบริ ษทั ใหญ่ ส่วนของส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม กำไร(ขำดทุน)ต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐำน กาไร(ขาดทุน)ต่อหุ ้น

29

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


23

4,712,350,732

4,235,000,000 477,350,732 -

-

-

551,146,278

551,146,278 -

-

551,146,278

-

551,146,278 -

551,146,278 -

(21,499,842)

(21,499,842) -

-

(21,429,042)

-

(21,499,842) 70,800 -

(21,499,842) -

สวนลดมูลคา สวนเกินมูลคา จากการซื้อสวนไดเสีย จากการซื้อธุรกิจ ที่ไมมีอํานาจควบคุม บาท บาท

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหนา 13 ถึง 107 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง เพิ่มขึ้นจากการซื้อธุรกิจ เพิ่มขึ้นจากการซื้อสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

4,235,000,000 -

ยอดคงเหลือตนป ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ตามที่รายงานไวเดิม รายการปรับปรุง

3

5,715,337,268

ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2,938,522,032

-

-

2,938,522,032 -

4,712,350,732 -

4,712,350,732 1,002,986,536 -

23

3

หมายเหตุ

ทุนที่ออก และชําระแลว สวนเกินมูลคาหุน บาท บาท

ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง เพิ่มขึ้นจากการซื้อธุรกิจ ผลกระทบจากการซื้อธุรกิจ การเพิ่มสัดสวนการถือหุนในบริษัทยอย กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป การจายเงินปนผลของบริษัทยอย การเพิ่มของสวนไดเสียที่มีอํานาจควบคุม ในบริษัทยอยจากการเพิ่มทุน การเปลี่ยนแปลงในสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม

ยอดคงเหลือตนป ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ตามที่รายงานไวเดิม รายการปรับปรุง

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน)

10,000,000

10,000,000 -

10,000,000 -

10,000,000

-

10,000,000 -

10,000,000 -

1,872,743,297

1,526,107,303 346,635,994

548,333,649 977,773,654

1,615,328,275

-

1,872,743,297 (257,415,022) -

297,556,317 1,575,186,980

-

-

-

(47,342,052)

-

(47,342,052) -

-

769,714

769,714

-

2,626,758

-

769,714 1,857,044 -

769,714 -

องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน ผลตาง กําไรสะสม ของอัตราแลกเปลี่ยน การเปลี่ยนแปลง จัดสรรแลว จากการแปลงคา มูลคายุติธรรมของ สํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร งบการเงิน เงินลงทุนเผื่อขาย บาท บาท บาท บาท

งบการเงินรวม

769,714

769,714

-

(44,715,294)

-

769,714 (45,485,008) -

769,714 -

926,114

(10,200,189) 9,952,178 1,174,125

-

1,165,951,223

306,250,150 776

926,114 897,478,635 (2,570,800) 13,552,131 (49,685,783)

926,114 -

รวมองคประกอบอื่น สวนไดเสียที่ ของสวนของผูถือหุน ไมมีอํานาจควบคุม บาท บาท

8

7,126,436,293

5,771,107,303 1,018,296,821 (11,547,664) 348,579,833

4,793,333,649 977,773,654

11,930,140,740

306,250,150 776

7,126,436,293 3,941,508,568 897,478,635 (2,500,000) (289,347,899) (49,685,783)

5,551,249,313 1,575,186,980

รวมสวนของ ผูถือหุน บาท

130 - 131 งบการเงิ น รวม และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท


3,644,724,380

-

-

3,621,246,529

23,477,851

-

23,477,851

6,583,246,412

-

2,938,522,032

3,644,724,380

-

3,644,724,380

บาท

สวนเกินมูลคาหุน

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหนา 13 ถึง 107 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

4,712,350,732

-

กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

-

สวนลดจากการรวมกิจการภายใตการควบคุมเดียวกัน

4,162,352,331

23

เพิ่มทุนระหวางป

-

549,998,401 549,998,401

3

5,715,337,268

-

ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง

รายการปรับปรุง

ตามที่รายงานไวเดิม

ยอดคงเหลือตนป ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557

ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

1,002,986,536

23

เพิ่มทุนระหวางป

-

4,712,350,732

บาท

4,712,350,732

3

หมายเหตุ

ทุนที่ออกและชําระแลว

ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง

รายการปรับปรุง

ตามที่รายงานไวเดิม

ยอดคงเหลือตนป ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน)

(2,931,610,254)

-

(2,931,610,254)

-

-

-

-

(2,931,610,254)

-

-

(2,931,610,254)

-

(2,931,610,254)

บาท

การควบคุมเดียวกัน

การรวมกิจการภายใต

สวนลดมูลคาจาก

31,180,388

-

-

-

31,180,388

-

31,180,388

31,180,388

-

-

31,180,388

-

31,180,388

บาท

สํารองตามกฎหมาย

จัดสรรแลว

กําไรสะสม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

13,667,595

(145,714,911)

-

-

159,382,506

32,364,003

127,018,503

(198,870,209)

(212,537,804)

-

13,667,595

47,647,486

(33,979,891)

บาท

ยังไมไดจัดสรร

444,750

444,750

-

-

-

-

-

2,584,002

2,139,252

-

444,750

-

444,750

บาท

เงินลงทุนเผื่อขาย

มูลคายุติธรรมของ

การเปลี่ยนแปลง

ของสวนของผูถือหุน

องคประกอบอื่น

9

5,470,757,591

(145,270,161)

(2,931,610,254)

7,783,598,860

764,039,146

32,364,003

731,675,143

9,201,867,607

(210,398,552)

3,941,508,568

5,470,757,591

47,647,486

5,423,110,105

บาท

ผูถือหุน

รวมสวนของ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558 บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


132 - 133

งบการเงิ น รวม และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงิ นสดจํากัด (มหาชน) บริษัท สิงห เอสเตท งบกระแสเงิ นสด สํงบกระแสเงิ าหรับปสนิ้นสดสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 หรับบปสปิ้นสสุิ้นดสุวันดทีวั่ 31 นทีธั่ น31วาคม ธันพ.ศ. วาคม2558พ.ศ. 2558 สํสําาหรั

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ.งบการเงิ 2558 นรวม พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2558

ปรับปรุงใหม หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร(ขาดทุน)สําหรับปกอนภาษีเงินได กระแสเงิ นสดจากกิ าเนินเงิงาน กํรายการปรั าไร(ขาดทุ )สําหรัจบากรรมดํ ปกอนภาษี นไดเงินไดเปน บปรุนงกระทบกํ ไร(ขาดทุ น)กอนภาษี กําเงิไร(ขาดทุ น )สํ า หรั บ ป ก อ  นภาษี เ งิ รายการปรั บ ปรุ ง กระทบกํ า ไร(ขาดทุ นภาษีเงินไดเปน นสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน) กิจกรรมดํนน าได เนิ)กนองาน รายการปรั บ ปรุ ง กระทบกํ า ไร(ขาดทุ น )ก อ นภาษี นไดเปน คเงิาเสื อ ่ มราคาและค า ตั ด จํ า หน า ย 16, 18 นสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน) กิจกรรมดํ าเนินเงิงาน คเงิาเผืน่อสดสุ หนี้สท งสัธิยไจะสู ญ 11 ดมาจาก(ใช ปใน)ายกิจกรรมดําเนินงาน คาเสื่อมราคาและค าตัดจําไหน กําไรจากการขายเงินลงทุนระยะสั้น เสื่อ่อหนี มราคาและค คคาาเผื ้สงสัยจะสูาญตัดจําหนาย ขาดทุนจากการปดบริษัทยอย คาไรจากการขายเงิ เผื่อหนี้ส้องสัธุรยกิจะสู ญ กํกําาไรจากการซื จ นลงทุนระยะสั้น กํ า ไรจากการขายเงิ น ้น (กํขาดทุ าไร)ขาดทุ นจากการปรั ปรุ คยายุติธรรม นจากการป ดบริบลงทุ ษัทงมูยนลอระยะสั ของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย เ พื อ ่ การลงทุ น นจากการป กํขาดทุ าไรจากการซื ้อธุดรบริ กิจษัทยอย (กลั รายการ)ภาระผู้อกธุพัรนกิผลประโยชน กํ(กําาบไรจากการซื จ บปรุงพมูนัลกคงาน ไร)ขาดทุนจากการปรั ายุติธรรม (กําไร)ขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพย (กํ า ไร)ขาดทุ น จากการปรั บ ปรุ ง มู ล ค ายุติธรรม ของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย เ พื อ ่ การลงทุ น (กําไร)ขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากอัตราแลกเปลี่ยนจากเงินกูยืมระยะยาว ของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย เ พื อ ่ การลงทุ น ส(กลั วนแบ งขาดทุนจากเงินลงทุ วมคา พนักงาน บรายการ)ภาระผู กพันนในการร ผลประโยชน เงิ(กํ นาปไร)ขาดทุ นบผลรั บ นจากการจํ (กลั รายการ)ภาระผู กพัานหน ผลประโยชน ายสินทรัพยพนักงาน ดอกเบี ้ยรับ นจากการจําหนายสินทรัพย (กําาไร)ขาดทุ ไร)ขาดทุ (กํ นที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากอัตราแลกเปลี่ยนจากเงินกูยืมระยะยาว ตนทุนทางการเงิน

ไร)ขาดทุ นทีน่ยจากเงิ ังไมเกินดลงทุ ขึ้นนจริในการร งจากอัตวราแลกเปลี ่ยนจากเงินกูยืมระยะยาว ส(กํวานแบ งขาดทุ มคา

กระแสเงิ นสดกงขาดทุ อนการเปลี ่ยนแปลงเงินทุนหมุนเวียน เงิสนวนแบ ปนผลรั บ นจากเงินลงทุนในการรวมคา การเปลี่ยนแปลงเงินทุนหมุนเวียน เงินปน้ยผลรั บ ตดอกเบี นทุนการพัรับ ฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย ดอกเบี ย ้ รั บ ทางการเงิ น ้อื่น ลูตกนหนีทุ้กนารค าและลูกหนี ลูตกน หนีทุ้กนิจทางการเงิ การที่เกี่ยวขน องกัน กระแสเงิ นสดก สินคาคงเหลื อ อนการเปลี่ยนแปลงเงินทุนหมุนเวียน กระแสเงิ นการเปลี นแปลงเงิ สิการเปลี นทรัพยนห่ยสดก มุนแปลงเงิ นเวีอยนอื ่น นทุน่ยหมุ นเวียน นทุนหมุนเวียน สิตการเปลี นนทรัทุพนยการพั ไ่ยมนแปลงเงิ หมุนฒเวีนาโครงการอสั ยนอืน่นทุนหมุนเวีงหาริ ยน มทรัพย เจตานหนีทุ้กนารค า และเจ า หนี อ ้ น ่ ื นาโครงการอสั ลูกหนี้กการพั ารคาฒและลู กหนี้อื่น งหาริมทรัพย เจาหนี้การคาจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ลูลูกกหนี หนี้ก้กิจารค า และลู กหนี การที ่เกี่ยวข องกั้อนื่น เจาหนี้เงินประกั นผลงาน ้กนิจเวีการที สิลูนก้สหนี คินาหมุคงเหลื อ ่น่เกี่ยวของกัน หนี ยนอื สิสินน้สทรั คินไม าคงเหลื หนี ห มุ น เวี พยหมุอนยนเวียนอื่น

สินนทรั ทรัมาจาก(ใช ่นาเนิ่นนงาน เงินสิ สดได พพยยไหมมุหไนปใน)การดํ มุเวีนยเวีนอืยนอื จเจ สิายภาระผู นาหนี ทรั้กพการค ยพัไนมาผลประโยชน หและเจ มุนเวีายหนี นอืพ้อนั่นื่นกงาน จเจ ายดอกเบี ้ยารคาและเจาหนี้อื่น หนี้ก้การค เจาาหนี าจากกิจการที่เกี่ยวของกัน จายภาษีเงินได

บาท หมายเหตุ หมายเหตุ

(257,926,800)

บาท บาท 344,423,594

บาท

(257,926,800) (257,926,800)

148,222,437 1,213,329 16, 18 (4,402,264) 16,1118 11 (71,000,000)

31,754,654 (1,492,590) 148,222,437 148,222,437 1,213,329 1,213,329 (4,402,264) -

28,900,000 19,026,157 (9,968,939) (20,133,900) 41,318,814 (34,847,194) 202,885,772

(575,707,674) (71,000,000)(5,939,330) (71,000,000) 18,244,398 28,900,000 28,900,000 19,026,157 19,026,157 (9,968,939) (11,129,129) (9,968,939) (20,133,900) 28,053,841

43,287,412 (439,572,655) (21,126,884) (464,746) (639,261,714) (16,663,855) (22,421,025) (78,288,980) 791,080 5,166,985 765,563 808,469,917 (359,318,902) (2,412,892) (207,594,477) (66,963,668)

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2557

(209,173,722)

(139,059,120)

งบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงิ ัท 2557 พ.ศ. 2558นเฉพาะบริษพ.ศ.

พ.ศ. 2558 ปรับพ.ศ. ปรุง2557 ใหม ปรับปรุงใหม ปรั ใหม บาท บาทบปรุงบาท บาท บาท บาท

ปรับพ.ศ. ปรุง2557 ใหม ปรับปรุงบาท ใหม

344,423,594 344,423,594

(139,059,120) (139,059,120)

(209,173,722) (209,173,722)

82,284,479 9,810,990 31,754,654 (2,627,064) 31,754,654 (1,492,590) 27,912,037 (1,492,590) -

บาท

82,284,479 82,284,479(2,627,064)-(2,627,064) 27,912,037 (4,900,000) 27,912,037-(3,323,758) -

9,810,990 9,810,990----

(20,133,900) (20,133,900)41,318,814 -(104,615,268) (93,712,087)(93,712,087) (34,847,194)- (746,436,743) (11,129,129)389,746,118 (56,469,426) 14,577,145 (34,847,194) (11,129,129) 202,885,772 8,634,742 28,053,84195,281,798 (56,469,426) 88,232,114 (63,395,153) 202,885,772 207,651,813 28,053,841 91,195,496 (257,585,959) 88,232,114 43,287,412 1,289,050 (171,792,236)(1,395,495)(208,692,366) (1,853,624) 43,287,412 (17,025,745) (171,792,236)(26,523,413)(208,692,366) (35,690,936)

(4,900,000) (4,900,000) (3,323,758) (3,323,758) 3,303,309 3,303,309--(10,403,197)(10,403,197) 39,956,508 39,956,508 (104,615,268) (104,615,268)

(4,402,264)-

28,900,000 4,655,927 (58,560,724) 3,303,309 (575,707,674) (20,133,900) - 28,900,000 (575,707,674) - 28,900,000 (5,939,330) 4,655,927 (93,712,087) -(58,560,724) (5,939,330) 4,655,927 18,244,398 (56,469,426) 18,244,398(10,403,197) (58,560,724) (20,133,900) 88,232,114 39,956,508

(171,792,236) 41,318,814 (208,692,366)

(409,585) (729,708) (439,572,655) 14,577,145 (700,372)(746,436,743) 198,311,509 (50,465,535) (439,572,655) 14,577,145113,419,674(746,436,743) (21,126,884) (63,395,153) 8,634,742 332,714 (14,415,693) 30,443,880 (21,126,884) (63,395,153) 8,634,742 (464,746) (9,387,738) 91,195,496(3,185,706) 207,651,813 24,107,494 (464,746) (2,400,077) 91,195,496(5,816,664) 207,651,813 (639,261,714) (1,853,624) 1,289,050 29,239,943 (639,261,714) (1,853,624) 1,289,050 15,228,686 (16,663,855) (35,690,936) (17,025,745)

(16,663,855) (816,749,314) (35,690,936) 84,622,767 (22,421,025) (409,585)229,068,593(17,025,745) (729,708) (824,848) (22,421,025) (409,585) (729,708) (78,288,980) 198,311,509 (50,465,535) (28,053,841) (83,361,023) (39,956,508) (78,288,980) 198,311,509 (50,465,535) 791,080 (6,464,081) 332,714(5,330,232)(14,415,693) (6,412,580)

หนี้เ้กงิารค าจากกิ จการที่เกี่ยวของกัน 791,080 332,714 (14,415,693) เจเจาาหนี นประกั นผลงาน 5,166,985 24,107,494 (9,387,738) (636,289,939) 50,156,346 (907,399,266) 183,781,853 เจาหนี งินนประกั นผลงาน 5,166,985 24,107,494 (9,387,738) หนี ้สิน้เหมุ เวียนอื ่น 765,563 29,239,943 (2,400,077) หนี ส ้ น ิ หมุ น เวี ย นอื น ่ 765,563 29,239,943 (2,400,077) หนี้สินไมหมุนเวียน 808,469,917 15,228,686 หนี้สินไมหมุนเวียน 808,469,917 15,228,686 (359,318,902) 84,622,767 (816,749,314) เงินสดไดมาจาก(ใชไปใน)การดําเนินงาน 84,622,767(816,749,314) เงินจสดได าจาก(ใช ไปใน)การดํ าพเนินันกงาน หมายเหตุ ปมระกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นี(2,412,892) ้ ายภาระผู กพันผลประโยชน งาน นเฉพาะบริษัทในหนา 13 ถึง 107 เปนสวนหนึ่งของงบการเงิน(359,318,902) (824,848) ยภาระผู้ยกพันผลประโยชนพนักงาน (2,412,892) (824,848) 10(83,361,023) จจาายดอกเบี (207,594,477) (28,053,841)จจาายภาษี ยดอกเบี ย ้ (207,594,477) (28,053,841) (83,361,023) เงินได (66,963,668) (6,412,580) (6,464,081) จายภาษีเงินได (66,963,668) (6,412,580) (6,464,081) (636,289,939) 50,156,346 (907,399,266) เงินสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมดําเนินงาน (636,289,939) 50,156,346 (907,399,266) เงินสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมดําเนินงาน เงินสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมดําเนินงาน

389,746,118 389,746,118 95,281,798 95,281,798 (257,585,959) (257,585,959) (1,395,495) (1,395,495) (26,523,413) (26,523,413) (700,372) (700,372) 113,419,674 113,419,674 30,443,880 30,443,880 (3,185,706) (3,185,706) (5,816,664) (5,816,664)229,068,593 229,068,593(39,956,508)(39,956,508) (5,330,232) (5,330,232) 183,781,853 183,781,853

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหนา 13 ถึง 107 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหนา 13 ถึง 107 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

10


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รงบกระแสเงิ า ย ง า น ป รนะ จํสดา ปี 2สํา5หรั 5 8บปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w งบการเงินรวม พ.ศ. 2558

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558

บาท

พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท

บาท

พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท

(2,166,060,000) 44,592,274 55,462,842 21,300,000 (60,606,904) (154,949,708) (614,441,453) (421,070,864) (2,500,000) (3,589,241,735) 3,338,085,290 (4,414,070,404) (41,318,814) 2,459,811

286,156,248 (66,656,248) 361,125,300 (4,843,728) (140,767,046) (434,039,326) (2,632,594,287) (273,249,560) (130,001,000) 11,129,129

3,113,500,000 (2,420,509,600) (1,282,762) 1,034,037 (12,924,281) (32,000,000) (240,686,112) (2,570,099,906) (3,291,241,735) 3,060,874,294 93,712,087 5,392,805

(2,626,500,000) (4,843,728) (51,004,253) (221,006,000) (269,300,337) (13,249,560) (130,001,000) 10,403,197

(8,002,359,665)

(3,023,740,518)

(2,294,231,173)

(3,305,501,681)

2,666,686,338 (108,938,088) 153,597,000 13,659,899,487 (10,760,837,311) 306,250,027 2,449,430,232 (49,685,783)

3,166,856,000 74,000,000 65,856,032 (61,227,348) -

(882,206,800) 743,205,515 (167,000,000) 1,465,183,226 (543,066,072) 2,449,430,232 -

3,144,796,803 285,548,748 65,856,032 (61,227,348) -

เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมจัดหาเงิน

8,316,401,902

3,245,484,684

3,065,546,101

3,434,974,235

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดเพิ่มขึ้นจากการรวมธุรกิจ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป

(322,247,702) (21,420,052) 68,587,605 766,384,921

271,900,512 65,285,944 429,198,465

(136,084,338) 4,863,766 330,802,052

313,254,407 3,578,040 13,969,605

491,304,772

766,384,921

199,581,480

330,802,052

สําหรับขอมูลในงบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดและเงินเบิกเกินบัญชีประกอบดวย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 9 509,388,490 เงินเบิกเกินบัญชี 21 (18,083,718)

766,384,921 -

199,581,480 -

330,802,052 -

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป

766,384,921

199,581,480

330,802,052

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดจายสําหรับเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดจายสําหรับเงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินฝากที่ติดภาระค้ําประกันลดลง(เพิ่มขึ้น) เงินสดรับจากการจําหนายอาคารและอุปกรณ เงินสดรับจากการจําหนายที่ดินรอการพัฒนา เงินสดจายเพื่อซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดจายเพื่อซื้ออสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน เงินสดจายเพื่อซื้อที่ดินรอการพัฒนา เงินสดจายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดจายสําหรับซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย เงินสดจายสําหรับซื้อเงินลงทุนเผื่อขาย เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนเผื่อขาย เงินสดจายเพื่อซื้อธุรกิจ เงินสดจายเพื่อซื้อเงินลงทุนในการรวมคา เงินปนผลรับ เงินสดรับจากรายไดดอกเบี้ย

หมายเหตุ 31 31 31

30.2

เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสด(จาย)รับจากเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดจายชําระเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้นจากบุคคลอื่น เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจายคืนเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทยอย เงินสดรับจากการเพิ่มทุนจดทะเบียน จายเงินปนผลโดยบริษัทยอย

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป

491,304,772

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหนา 13 ถึง 107 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

11


134 - 135

งบการเงิ น รวม และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) บริ ษัท สิงห เอสเตท งบกระแสเงิ นสดจํากัด (มหาชน) งบกระแสเงิ นสด งบกระแสเงิ น สด สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 หรับบปสปิ้นสสุิ้นดสุวันดทีวั่ 31 นทีธั่ น31วาคม ธันพ.ศ. วาคม2558พ.ศ. 2558 สํสําาหรั

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินรวม พ.ศ. พ.ศ. 25572558 พ.ศ. 2558พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 ปรับปรุงใหม ปรับปรุงใหม ปรับพ.ศ. ปรุง2557 ใหม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน รายการที่มิใชเงินสด กําไร(ขาดทุน)สําหรับปกอนภาษีเงินได กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน รายการทีบ่มปรุิใชงกระทบกํ เงินสดทีาไร(ขาดทุ ่มีสาระสํน)กาคัอญ ณ เวังินนไดที่เป31น ธันวาคม ประกอบดวย รายการปรั นภาษี กําเงิไร(ขาดทุ าหรับไปปใน) กอนภาษี เงินได นสดสุ ไนด)สํ มาจาก(ใช กิจกรรมดํ การเพิ ่มเงิทนธิลงทุ นโดยการออกหุ นเพิา่มเนินงาน รายการปรั บปรุงกระทบกํ คาเสื่อมราคาและค าตัดจําหนาายไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินไดเปน 16, 18 การเพิ ่มหนี เงิน้สลงทุ นโดยการออกตั ๋วสัญญาใชเงิน คเงิาเผืน่อสดสุ งสั ย จะสู ญ 11 ทธิไดมาจาก(ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน ลูกกํหนี ก ้ จ ิ การที เ ่ กี ย ่ น จากการขายที ด ่ น ิ ในต น ทุ น โครงการ าไรจากการขายเงิ นวข ลงทุอนงกัระยะสั ้น คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย นจากการปดมบริทรั ษัทยอย พัขาดทุ คฒานาอสั เผื่อหนีง้สหาริ งสัยจะสูพญย กําไรจากการซื้อธุรกิจ สิน(กํกํทรั พยสุทนธิจากการปรั เพิ่มขึ้นจากการรั บโอนกิ้นจการ ไรจากการขายเงิ นบลงทุ าาไร)ขาดทุ ปรุงมูนลระยะสั คายุติธรรม เงินขาดทุ ใหของอสั กูยนืมจากการป การที งระยะสั หาริมทรั้นพแก ยดเบริ พืก่อิจการลงทุ ษัทยอย่เนกี่ยวของกันลดลง (กลั บ รายการ)ภาระผู ก พั น ผลประโยชน ้อธุรกิจจการที่เกี่ยวขพนัอกงกังานนลดลงจากการชําระกิจการ เงินกํกูายไรจากการซื ืมระยะสั้นจากกิ (กําไร)ขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพย (กํารไร)ขาดทุ จากการปรับกรณ ปรุตงราแลกเปลี มูเพิล่มคายุติธ่ยนจากเงิ รรม นกูยืมระยะยาว การตี าคาที่ดนินที่ยนอาคารและอุ (กําไร)ขาดทุ ังไมเกิดขึ้นจริงปจากอั ของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย เ พื อ ่ การลงทุ น สวนแบงขาดทุนจากเงิ้อนสลงทุ นในการร การลดลงจากการซื วนได เสียทีว่ไมค มมาีอํานาจควบคุมเพิ่มขึ้น เงิ(กลั นปนบผลรั บ รายการ)ภาระผู ก พั น ผลประโยชน พนักงาน้อธุรกิจ สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมที่เพิ่มขึ้นจากการซื ดอกเบี ้ยรับ นจากการจําหนายสินทรัพย (กําไร)ขาดทุ คาตความนิ ยมเพิ่มนขึ้นจากการซื้อธุรกิจ นทุนทางการเงิ

(กําไร)ขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากอัตราแลกเปลี่ยนจากเงินกูยืมระยะยาว

บาท

หมายเหตุ

(257,926,800)

148,222,437 1,213,329 (4,402,264) 16, 18 11 (71,000,000) 28,900,000 19,026,157 (9,968,939) (20,133,900) 41,318,814 (34,847,194) 202,885,772

กระแสเงิ นสดกงขาดทุ อนการเปลี ่ยนแปลงเงิ หมุนเวียนวมคา สวนแบ นจากเงิ นลงทุนทุนนในการร การเปลี่ยนแปลงเงินทุนหมุนเวียน เงินปนผลรับ ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย ้ยรัาบและลูกหนี้อื่น ลูดอกเบี กหนี้การค ลูตกน หนีทุ้กนิจทางการเงิ การที่เกี่ยวขน องกัน สินคาคงเหลือ กระแสเงิ นการเปลี ่ยนแปลงเงินทุนหมุนเวียน สินทรัพยนหสดก มุนเวีอยนอื ่น สิการเปลี นทรัพยไ่ยมนแปลงเงิ หมุนเวียนอืน่นทุนหมุนเวียน เจตานหนีทุ้กนารค าและเจ าหนี้อื่น การพั ฒนาโครงการอสั งหาริมทรัพย เจาหนี้การคาจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เจาหนี้เงินประกันผลงาน ลูก้สหนี หนี ินหมุ้กนิจเวีการที ยนอื่น่เกี่ยวของกัน สิน้สคินไม าคงเหลื หนี หมุนเวีอยน

(439,572,655) (21,126,884) (464,746) (639,261,714) (16,663,855) (22,421,025) (78,288,980) 791,080 5,166,985 765,563 808,469,917

สินทรัมาจาก(ใช พยหมุไนปใน)การดํ เวียนอื่นาเนินงาน เงินสดได จสิายภาระผู นทรัพกยพัไนมผลประโยชน หมุนเวียนอืพนั่นกงาน จเจ ายดอกเบี าหนี้ก้ยารคาและเจาหนี้อื่น จายภาษีเงินได

(359,318,902) (2,412,892) (207,594,477) (66,963,668)

เงินสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมดําเนินงาน

(636,289,939)

เจาหนี้การคาจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้เงินประกันผลงาน หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไมหมุนเวียน

43,287,412

บาท บาท

344,423,594

บาท

(257,926,800) 1,492,078,336

บาท

บาท บาท

ปรับปรุงบาท ใหม

344,423,594 -

(209,173,722) 1,492,078,336

(139,059,120) 7,783,598,859

(209,173,722)

บาท

(139,059,120)

31,754,654 (1,492,590) 148,222,437 - 1,213,329 -

82,284,479 9,810,990 (2,627,064) 31,754,654 82,284,479 27,912,037 - 108,792,000 (1,492,590) -

(575,707,674) (5,939,330) (71,000,000)18,244,398 18,780,000 28,900,000 2,500,000 19,026,157 897,479,000 (11,129,129) (9,968,939) 557,967,920 28,053,841

-(4,900,000) 35,000,000 28,900,000 27,912,037 4,655,927 -(3,323,758) (7,783,598,859)(58,560,724) 3,303,309 (20,133,900) (575,707,674) 28,900,000 (93,712,087) - 4,655,927 (5,939,330)(56,469,426) 18,244,398(10,403,197) (58,560,724) 88,232,114 39,956,508

(4,402,264)-

(20,133,900)

--

45,080,963 (2,627,064)

(20,133,900) (93,712,087) 14,577,145 (746,436,743) 389,746,118 (34,847,194) (11,129,129) (63,395,153) 8,634,742 95,281,798 (56,469,426) 202,885,772 207,651,813 28,053,841 91,195,496 (257,585,959) 88,232,114

(171,792,236) 41,318,814 (208,692,366)

-

(104,615,268) -

(1,853,624) 1,289,050 (1,395,495) 43,287,412 (17,025,745) (171,792,236)(26,523,413)(208,692,366) (35,690,936) (409,585) (729,708) (700,372) 198,311,509 (50,465,535) 113,419,674 (439,572,655) 14,577,145 (746,436,743) 332,714 (14,415,693) 30,443,880 (21,126,884) (63,395,153) 8,634,742 24,107,494 (9,387,738) (3,185,706) (464,746) (2,400,077) 91,195,496(5,816,664) 207,651,813 29,239,943 (639,261,714) (1,853,624) 15,228,686 - 1,289,050

(16,663,855) (816,749,314) (35,690,936)229,068,593(17,025,745) 84,622,767 (824,848)(409,585) - (729,708) (22,421,025) (28,053,841) (83,361,023) (39,956,508) (78,288,980) 198,311,509 (50,465,535) (6,412,580) (6,464,081) (5,330,232) 791,080 332,714 (14,415,693) (907,399,266) 183,781,853 5,166,985 24,107,494 (9,387,738) 765,563 29,239,943 (2,400,077) 808,469,917 15,228,686

50,156,346

เงินสดไดปมระกอบงบการเงิ าจาก(ใชไปใน)การดํ าเนินงาน นเฉพาะบริษัทในหนา 13 ถึง 107 เปนสวนหนึ่งของงบการเงิน(359,318,902) หมายเหตุ นรวมและงบการเงิ นี้ จายภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน (2,412,892) จายดอกเบี้ย (207,594,477) จายภาษีเงินได (66,963,668) เงินสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมดําเนินงาน

ปรั ใหม บาทบปรุงบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 ปรับพ.ศ. ปรุง2557 ใหม

(636,289,939)

บาท

4,134,991,900 9,810,990 --(4,900,000)(3,323,758)3,303,309 (10,403,197) 39,956,508 (104,615,268) 389,746,118 95,281,798 (257,585,959) (1,395,495) (26,523,413) (700,372) 113,419,674 30,443,880 (3,185,706) (5,816,664) -

84,622,767 (28,053,841) (6,412,580)

(816,749,314) 10 (824,848) (83,361,023) (6,464,081)

229,068,593 (39,956,508) (5,330,232)

50,156,346

(907,399,266)

183,781,853

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุ หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนรวมและงบการเงิ รวมและงบการเงินนเฉพาะบริ เฉพาะบริษษัทัทในหน ในหนาา 13 13 ถึถึงง 107 107 เป เปนนสสววนหนึ นหนึ่ง่งของงบการเงิ ของงบการเงินนนีนี้ ้

12


รายงานประจําป

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน)

2558

The Future is Now


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 136 - 137 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 1

ขอมูลทั่วไป บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) เปนบริษัทมหาชนจํากัด ซึ่งจัดตั้งขึ้นในประเทศไทยและมีที่อยูตามที่ไดจดทะเบียน ดังนี้ สํานักงานแหงใหญ เลขที่ 968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้น 20 ถนนพระรามที่สี่ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร สํานักงานสาขา (1) เลขที่ 12/12 หมูที่ 1 ตําบลแมน้ํา อําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี (2) เลขที่ 8/299, 8/300 ถนนเจริญนคร แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร บริษัทเปนบริษั ทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพ ยแหงประเทศไทย เพื่อวัต ถุประสงคในการรายงานขอมูลจึงรวมเรียกบริษัทและ บริษัทยอยวา “กลุมบริษัท” กลุมบริษัทดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการลงทุนและพัฒนาอสังหาริมทรัพยเพื่อใหเชาและขาย ธุรกิจโรงแรมและธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งในและตางประเทศ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559

2

นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่สําคัญซึ่งใชในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทมีดังตอไปนี้

2.1

เกณฑการจัดทํางบการเงิน งบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท ได จั ด ทํ าขึ้ น ตามหลั ก การบั ญ ชี ที่ รับ รองทั่ ว ไปภายใต พ ระราชบั ญ ญั ติ ก ารบั ญ ชี พ.ศ. 2543 ซึ่งหมายถึงมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกภายใตพระราชบัญ ญัติวิชาชีพบัญ ชี พ.ศ. 2547 และขอกําหนดของ คณะกรรมการกํ ากับ หลั กทรัพ ย และตลาดหลั กทรั พ ยว าด วยการจั ด ทํ าและนํ าเสนอรายงานทางการเงิน ภายใต พ ระราชบั ญ ญั ติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิม ในการวัดมูลคาขององคประกอบของงบการเงิน ยกเวนการวัดมูลคาของเงินลงทุนเผื่อขายและอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนที่รับรูดวยมูลคายุติธรรมซึ่งไดอธิบายไวในนโยบายการ บัญชีที่เกี่ยวของ การจัดทํางบการเงินใหสอดคลองกับหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย กําหนดใหใชประมาณการทางบัญชีที่สําคัญและ การใชดุลยพินิจของผูบริหารซึ่งจัดทําขึ้นตามกระบวนการในการนํานโยบายการบัญชีของกลุมกิจการไปถือปฏิบัติ และตองเปดเผย เรื่องการใชดุลยพินิจของผูบริหาร หรือ ความซับซอน หรือ เกี่ยวกับขอสมมติฐานและประมาณการที่มีนัยสําคัญตองบการเงินรวม ในหมายเหตุขอ 6 งบการเงิ นรวมและงบการเงิน เฉพาะบริษั ทฉบับ ภาษาอัง กฤษจัด ทําขึ้ นจากงบการเงิน ตามกฎหมายที่ เป น ภาษาไทย ในกรณี ที่ มี เนื้ อ ความขั ด แย ง กั น หรื อ มี การตี ความในสองภาษาแตกต างกั น ให ใ ช ง บการเงิ น ตามกฎหมายฉบั บ ภาษาไทยเป น หลั ก

13


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง ก) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ที่ มี การปรั บ ปรุ ง ซึ่ ง มี ผ ลบั งคั บ ใช ตั้ ง แต วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 มีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2557)

เรื่อง การนําเสนองบการเงิน เรื่อง สินคาคงเหลือ เรื่อง งบกระแสเงินสด เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและขอผิดพลาด เรื่อง เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เรื่อง สัญญากอสราง เรื่อง ภาษีเงินได เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ เรื่อง สัญญาเชา เรือ่ ง รายได เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปดเผยขอมูล เกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ เรื่อง ตนทุนการกูยืม เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เรื่อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชนเมื่อออกจากงาน เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทรวม และการรวมคา เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟอรุนแรง เรื่อง กําไรตอหุน เรื่อง งบการเงินระหวางกาล เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน

14


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท 138 - 139 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง (ตอ) ก) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ที่ มี การปรั บ ปรุ ง ซึ่ ง มี ผ ลบั งคั บ ใช ตั้ ง แต วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 มีดังนี้ (ตอ) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557)

เรื่อง การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ เรื่อง การรวมธุรกิจ เรื่อง สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการดําเนินงาน ที่ยกเลิก เรื่อง การสํารวจและประเมินคาแหลงทรัพยากรแร เรื่อง สวนงานดําเนินงาน เรื่อง งบการเงินรวม เรื่อง การรวมการงาน เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสวนไดเสียในกิจการอื่น เรื่อง การวัดมูลคายุติธรรม เรื่อง ความชวยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไมมีความเกี่ยวของ อยางเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน เรื่อง สัญญาเชาดําเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา เรื่อง ภาษีเงินได-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการ หรือผูถือหุน เรื่อง การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรูปแบบกฎหมาย เรื่อง การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง รายได-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน-ตนทุนเว็บไซต เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะและหนีส้ ินที่มีลักษณะคลายคลึงกัน เรื่อง การประเมินวา ขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม เรื่อง สิทธิในสวนไดเสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะและ การปรับปรุงสภาพแวดลอม เรื่อง การปรับปรุงยอนหลังภายใตมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) เรื่องการรายงานทางการเงิน ในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟอรุนแรง เรื่อง งบการเงินระหวางกาลและการดอยคา

15


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง (ตอ) ก) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ที่ มี การปรั บ ปรุ ง ซึ่ ง มี ผ ลบั งคั บ ใช ตั้ ง แต วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 มีดังนี้ (ตอ) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 20

เรื่อง ขอตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา เรื่อง ขอจํากัดสินทรัพยตามโครงการผลประโยชน ขอกําหนดเงินทุนขั้นต่ําและปฏิสัมพันธ ของรายการเหลานี้ สําหรับมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน ของพนักงาน เรื่อง สัญญาสําหรับการกอสรางอสังหาริมทรัพย เรื่อง การจายสินทรัพยที่ไมใชเงินสดใหเจาของ เรื่อง การโอนสินทรัพยจากลูกคา เรื่อง ตนทุนการเปดหนาดินในชวงการผลิต สําหรับเหมืองผิวดิน

กลุมบริษัทไดปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลาวขางตน ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 โดยผูบริหารของ กลุมบริษัทไดประเมินและเห็นวามาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลาวไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินที่ นําเสนอ ยกเวนมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญไดแกการเพิ่มเติมขอกําหนดใหกิจการจัดกลุมรายการที่ แสดงอยูใน “กํ าไรขาดทุน เบ็ด เสร็จอื่น” โดยใชเกณฑวารายการนั้ นสามารถจัดประเภทรายการใหมเขาไปไว ในกําไรหรื อ ขาดทุนในภายหลังไดหรือไม มาตรฐานที่ปรับปรุงนี้ไมไดระบุวารายการใดจะแสดงอยูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) กําหนดใหรายการชิ้นสวนอะไหล อุปกรณสํารองไวใชงาน และอุปกรณที่ใช ในการซอมบํารุง รับรูเปนรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณหากรายการนั้นเขาคํานิยามของที่ดิน อาคารและอุปกรณ หากไมเขา เงื่อนไขดังกลาวใหจัดประเภทเปนสินคาคงเหลือ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญไดแก (ก) ผลกําไรและขาดทุนจากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย เปลี่ยนชื่อเปน “การวัดมูลคาใหม” และตองรับรูใน “กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ” ทันที ผลกําไร และขาดทุน จากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร ประกั นภัย จะไมส ามารถรั บรูตามวิธีขอบเขตหรือรับ รูในกํ าไรหรื อ ขาดทุนได และ (ข) ตนทุนบริการในอดีตจะรับรูในงวดที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงการ ผลประโยชนที่ยังไมเปนสิทธิขาดจะไม สามารถทยอยรับรูตลอดระยะเวลาการใหบริการในอนาคตได มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) ใหขอกําหนดสําหรับงบการเงินเฉพาะกิจการ 16


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 140 - 141 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง (ตอ) ก) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ที่ มี การปรั บ ปรุ ง ซึ่ ง มี ผ ลบั งคั บ ใช ตั้ ง แต วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 มีดังนี้ (ตอ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) ใหขอกําหนดสําหรับเงินลงทุนในบริษัทรวม และการรวมคาซึ่งตองใชวิธีสวน ไดเสีย มาตรฐานการบั ญ ชี ฉบั บ ที่ 34 (ปรับ ปรุง 2557) การเปลี่ย นแปลงที่ สํ าคั ญ คือ กํ าหนดการเป ด เผยข อมู ลเกี่ย วกับ ส ว นงาน ดําเนินงาน โดยใหเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับตัววัดมูลคาสินทรัพยและหนี้สินรวมสําหรับเฉพาะสวนงานที่รายงาน หากโดยปกติมี การนําเสนอขอมูลจํานวนเงินดังกลาวตอผูมีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดานการปฏิบัติการ และถามีการเปลี่ยนแปลงที่มีสาระสําคัญ จากจํานวนเงินที่ไดเปดเผยไวในงบการเงินประจําปลาสุดสําหรับสวนงานที่รายงานนั้น มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 ไดมีการกําหนดคํานิยามของคําวา “ควบคุม” ซึ่งถูกนํามาใชแทนหลักการของการ ควบคุมและการจัดทํางบการเงินรวมภายใตมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐาน นี้ไดกําหนดวาเมื่อใดกิจการควรจัดทํางบการเงินรวม ใหนิยามหลักการของการควบคุม อธิบายหลักการของการนําหลักการ ของการควบคุม ไปใช รวมถึ งอธิ บ ายถึง ขอ กําหนดในการจัด ทํ างบการเงิน รวม หลักการสํ าคั ญ ของมาตรฐานรายงานทาง การเงินฉบับใหมนี้ คือหากมีอํานาจควบคุม จะตองมีการจัดทํางบการเงินรวมเฉพาะในกรณีที่ผูลงทุนไดแสดงใหเห็นถึงอํานาจ การควบคุ ม ที่ เหนื อ กว าผู ถู กลงทุ น ผู ลงทุ น ได รับ ผลตอบแทนที่ ผั น แปรจากการที่ มี ส ว นเกี่ ย วข อ งในผู ถู กลงทุ น และมี ความสามารถในการใชอํานาจในผูถูกลงทุน ซึ่งสงผลกระทบตอผลตอบแทนที่กิจการจะไดรับ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 ไดกําหนดคํานิยามของสัญญารวมการงานวาเปนสัญญาที่ผูรวมทุนตั้งแตสองราย ขึ้นไปตกลงจะควบคุมรวมในกิจกรรมที่จัดตั้งขึ้น การตัดสินใจในกิจกรรมที่เกี่ยวของตองไดรับความเห็นชอบโดยผูควบคุม รวมอยางเปนเอกฉันทจึงจะถือวาเปนไปตามขอกําหนดของคํานิยามวาการควบคุมรวม การรวมการงานสามารถอยูในรูปแบบ ของการดําเนินงานรวมกันหรือการรวมคา การจัดประเภทขึ้นอยูกับสิ่งที่แสดงออกมาซึ่งสัมพันธกับขอตกลงที่จัดทําขึ้น หาก ในขอกําหนดผูรวมทุนไดรับเพียงสินทรัพยสุทธิ การรวมงานดังกลาวถือเปนการรวมคา สวนการดําเนินงานรวมกันจะมีสิทธิ ในสินทรัพยและมีภาระในหนี้สิน การดําเนินงานรวมกันจะบันทึกบัญชีสิทธิในสินทรัพยและภาระในหนี้สิน การรวมคาจะ บันทึกสวนไดเสียโดยใชวิธีสวนไดเสีย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 กําหนดการเปดเผยขอมูลเพื่อชวยใหผูใชงบการเงินสามารถประเมินความเสี่ยง และผลกระทบทางดานการเงินที่เกี่ยวของกับสวนไดเสียที่กิจการมีกับบริษัทยอย บริษัทรวม การรวมการงาน และกิจการซึ่งมี โครงสรางเฉพาะตัวซึ่งไมไดรวมอยูในงบการเงินรวม

17


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะ จํระกอบงบการเงิ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง (ตอ) ก) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ที่ มี การปรั บ ปรุง ซึ่ งมี ผ ลบั ง คั บ ใช ณ วัน ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 มีดังนี้ (ตอ) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 มีวัตถุประสงคเพื่อปรับปรุง และลดความซ้ําซอนของคํานิยามของมูลคายุติธรรม โดยการกําหนดคํานิยาม และแหลงขอมูลในการวัดมูลคายุติธรรม และการเปดเผยขอมูลสําหรั บใชในมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14 (ปรับปรุง 2557) การตีความนี้ใหใชกับผลประโยชนหลังออกจากงาน ประเภทโครงการผลประโยชนที่กําหนดไว และผลประโยชนระยะยาวอื่นของพนักงาน ขอกําหนดเงินทุนขั้นต่ําภายใตการ ตีความนี้หมายถึงขอกําหนดใดๆที่กําหนดใหกิจการตองสมทบเงินทุนสําหรับผลประโยชนหลังออกจากงานประเภทโครงการ ผลประโยชนที่กําหนดไว และผลประโยชนระยะยาวอื่น ของพนักงาน การตีความนี้อธิบายถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ ้น กับ สินทรัพยหรือหนี้สินโครงการจากขอกําหนดหรือขอตกลงที่เกี่ยวกับเงินทุนขั้นต่ํา ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหมและที่มีการปรับปรุง ซึ่งมีผลบังคับใช ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ซึ่งกลุมบริษัทยัง ไมไดนํามาใชกอนวันถือปฏิบัติ มีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2558)

เรื่อง การนําเสนองบการเงิน เรื่อง สินคาคงเหลือ เรื่อง งบกระแสเงินสด เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและ ขอผิดพลาด เรื่อง เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เรื่อง สัญญากอสราง เรื่อง ภาษีเงินได เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ เรื่อง สัญญาเชา เรื่อง รายได เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปดเผยขอมูล เกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ เรือ่ ง ตนทุนการกูยืม เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เรื่อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชนเมื่อออกจากงาน เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ

18


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 142 - 143 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง (ตอ) ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหมและที่มีการปรับปรุง ซึ่งมีผลบังคับใช ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ซึ่งกลุมบริษัทยัง ไมไดนํามาใชกอนวันถือปฏิบัติ มีดังนี้ (ตอ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2558)

เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทรวม และการรวมคา เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟอ รุนแรง เรื่อง กําไรตอหุน เรื่อง งบการเงินระหวางกาล เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย ที่อาจเกิดขึ้น เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน เรื่อง เกษตรกรรม เรื่อง การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ เรื่อง การรวมธุรกิจ เรื่อง สัญญาประกัน เรื่อง สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและ การดําเนินงานที่ยกเลิก เรื่อง การสํารวจและประเมินคาแหลงทรัพยากรแร เรื่อง สวนงานดําเนินงาน เรื่อง งบการเงินรวม เรื่อง การรวมการงาน เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสวนไดเสียในกิจการอื่น เรื่อง การวัดมูลคายุติธรรม เรื่อง ความชวยเหลือจากรัฐบาล - กรณีทไี่ มมีความเกี่ยวของ อยางเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน เรื่อง สัญญาเชาดําเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา เรื่อง ภาษีเงินได-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของ กิจการหรือผูถือหุน เรื่อง การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรูปแบบกฎหมาย เรื่อง การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง รายได-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน-ตนทุนเว็บไซต เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะและหนี้สินที่มีลักษณะคลายคลึงกัน 19


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง (ตอ) ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหมและที่มีการปรับปรุง ซึ่งมีผลบังคับใช ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ซึ่งกลุมบริษัทยัง ไมไดนํามาใชกอนวันถือปฏิบัติ มีดังนี้ (ตอ) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14 (ปรับปรุง 2558)

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 21

เรื่อง การประเมินวา ขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม เรื่อง สิทธิในสวนไดเสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะ และการปรับปรุงสภาพแวดลอม เรื่อง การปรับปรุงยอนหลังภายใตมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2558) เรื่องการรายงานทาง การเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟอรุนแรง เรื่อง งบการเงินระหวางกาลและการดอยคา เรื่อง ขอตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา เรื่อง ขอจํากัดสินทรัพยตามโครงการผลประโยชน ขอกําหนด เงินทุนขั้นต่ําและปฏิสัมพันธของรายการเหลานี้ สําหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน เรื่อง สัญญาสําหรับการกอสรางอสังหาริมทรัพย เรื่อง การจายสินทรัพยที่ไมใชเงินสดใหเจาของ เรื่อง การโอนสินทรัพยจากลูกคา เรื่อง ตนทุนการเปดหนาดินในชวงการผลิตสําหรับเหมืองผิวดิน เรื่อง เงินที่นําสงรัฐ

กลุมบริษัทจะปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลาวขางตน ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 โดยผูบริหารของ กลุมบริษัทไดประเมินแลววามาตรฐานการายงานทางการเงินเหลานี้จะไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินที่นําเสนอ

20


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 144 - 145 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.3

บัญชีกลุมบริษัท - เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม และเงินลงทุนในการรวมการงาน (1)

บริษัทยอย บริษั ทยอ ยหมายถึงกิ จการ(ซึ่ งรวมถึ งกิจการเฉพาะกิ จ) ที่ กลุม บริ ษัท ควบคุม กลุ มบริษัท ควบคุมกิ จการเมื่อ กลุม บริษั ท มี การเปดรับหรือมีสิทธิในผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ยวของกับผูไดรับการลงทุนและมีความสามารถทําใหเกิดผลกระทบ ตอผลตอบแทนจากการใชอํานาจเหนือผูไดรับการควบคุม กลุมบริษัทรวมงบการเงินของบริษัทยอยไวในงบการเงิน รวม ตั้ งแต วัน ที่ กลุ ม บริ ษั ท มี อํ านาจในการควบคุ ม บริ ษั ท ย อ ย กลุ ม บริ ษั ท จะไม นํ างบการเงิน ของบริ ษั ท ยอ ยมารวมไว ใ น งบการเงินรวมนับจากวันทีก่ ลุมบริษัทสูญเสียอํานาจควบคุม กลุมบริษัทบันทึกบัญชีการรวมธุรกิจโดยถือปฏิบัติตามวิธีซื้อ สิ่งตอบแทนที่โอนใหสําหรับการซื้อบริษัทย อย ตองวัดดวย มูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่ผูซื้อโอนใหและหนี้สินที่กอขึ้นเพื่อจายชําระใหแกเจาของเดิมของผูถูกซื้อและสวนไดเสียใน สวนของผูถือหุนที่ออกโดยกลุมบริษัท รวมถึงมูลคายุติธรรมของสินทรัพย หรือหนี้สินที่คาดวาจะตองจายชําระ ตนทุนที่ เกี่ยวของกั บการซื้ อจะรับ รูเป นค าใชจายเมื่อเกิด ขึ้น และวัดมู ลคาเริ่มแรกของสิ นทรัพยที่ ไดม าที่ร ะบุ ไดและหนี้สิน และ หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นในการรวมธุรกิจดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ ในการรวมธุรกิจแตละครั้ง กลุมบริษัทวัดมูลคาของ สวนได เสี ยที่ไ มมี อํานาจควบคุม ในผู ถูกซื้ อด วยมู ลคายุติ ธรรม หรือ มู ลคาของสิ นทรัพ ยสุท ธิที่ ระบุ ได ของผู ถูกซื้ อตาม สัดสวนของหุนที่ถือ ในการรวมธุรกิจที่ดําเนินการสําเร็จจากการทยอยซื้อ ผูซื้อตองวัดมูลคาสวนไดเสียที่ผูซื้อถืออยูในผูถูกซื้อกอนหนาการรวมธุรกิจใหม โดยใชมูลคายุติธรรม ณ วันที่ซื้อและรับรูผลกําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการวัดมูลคาใหมนั้นในกําไรหรือขาดทุน สิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจายโดยกลุมบริษัท รับรูดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของ สิ่งตอบแทนที่ คาดวาจะตอ งจายที่ รับ รูภายหลั งวัน ที่ซื้ อซึ่ งจัด ประเภทเป น สิน ทรั พย หรือ หนี้สิ นใหรับ รูผ ลกํ าไรขาดทุ น ที่เกิดขึ้นในกําไรหรือขาดทุน หรือในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น สิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจายซึ่งจัดประเภทเปนสวนของ ผูถือหุนตองไมมีการวัดมูลคาใหม และใหบันทึกการจายชําระในภายหลังไวในสวนของผูถือหุน กรณีที่มูลคาสิ่งตอบแทนที่โอนให มูลคาสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในผูถูกซื้อ และมูลคายุติธรรม ณ วันซื้อธุรกิจของ สวนได เสีย ในสวนของผูถือ หุนของผูถูกซื้ อที่ผูซื้ อถืออยูกอนการรวมธุรกิจ มากกวามูลค ายุ ติธรรมสุ ทธิ ณ วันที่ ซื้อของ สินทรัพยที่ไดมาที่ระบุไดและหนี้สินที่รับมา ผูซื้อตองรับรูคาความนิยม หากมูลคาของมูลคาสิ่งตอบแทนที่โอนให มูลคา สวนไดเสียที่ไ มมีอํ านาจควบคุมในผูถูกซื้อ และมู ลคายุติ ธรรม ณ วัน ซื้อธุ รกิจของสวนไดเสียในสวนของผู ถือหุ นของ ผูถูกซื้อที่ผูซื้อถืออยูกอนการรวมธุรกิจ นอยกวามูลคาราคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิของบริษัทยอยเนื่องจากมีการตอรอง ราคาซื้อ จะรับรูสวนตางโดยตรงไปยังกําไรขาดทุน กิจการจะตัดรายการบั ญชีระหวางกิจการ ยอดคงเหลือ และรายการกําไรหรือขาดทุนที่ยังไมไดเกิดขึ้ นจริงระหวางกลุมบริษั ท นโยบายการบัญชีของบริษัทยอยไดถูกเปลี่ยนเพื่อใหสอดคลองกับนโยบายการบัญชีของกลุมบริษัท ในงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษั ทยอยจะบันทึกบัญชีดวยราคาทุ นหักคาเผื่อการดอยคา ตนทุนจะมีการปรับ เพื่อสะทอนการเปลี่ ยนแปลงสิ่ งตอบแทนที่เกิดขึ้น จากสิ่งตอบแทนที่ คาดวาจะไดรับ ตน ทุน นั้นจะรวมสวนแบ งตนทุ น ทางตรง 21


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.3

บัญชีกลุมบริษัท - เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม และเงินลงทุนในการรวมการงาน (ตอ) (2)

รายการและสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม กลุมบริษัทปฏิบัติตอรายการกับสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมเชนเดียวกันกับสวนที่เปนของผูถือหุนกลุมบริษัท สําหรับ การซื้อสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ผลตางระหวางสิ่งตอบแทนที่จายใหและมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยสุทธิของหุน ที่ซื้ อ มาในบริ ษัท ย อยจะถู กบั น ทึ กในสว นของผูถื อ หุน และกํ าไรหรื อขาดทุน จากการขายในส ว นไดเสี ยที่ ไม ม ี อํานาจ ควบคุมจะถูกบันทึกในสวนของผูถือหุน

(3)

การจําหนายบริษัทยอย เมื่อกลุมบริษัทสูญเสียการควบคุม สวนไดเสียในหุนที่เหลืออยูจะวัดมูลคาใหมโดยใชมูลคายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงใน มูลคาจะรับรูในกําไรหรือขาดทุน มูลคายุติธรรมนั้นจะถือเปนมูลคาตามบัญชีเริ่มแรกของมูลคาของเงินลงทุนที่เหลือของ บริษั ทร วม กิจการรวมคา หรื อสิน ทรัพย ทางการเงิ น สําหรับ ทุกจํานวนที่ เคยรับ รูในกําไรขาดทุ นเบ็ด เสร็จอื่ นในส วนที่ เกี่ยวของกับกิจการนั้นจะถูกจัดประเภทใหมเสมือนวากลุมกิจการมีการจําหนายสินทรัพยหรือหนี้สินที่เกี่ยวของนั้นโดยตรง

(4)

บริษัทรวม บริษัทรวมเปน กิจการที่กลุมบริษัท มีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญแตไมถึงกับควบคุมซึ่ งโดยทั่วไปก็คือการที่กลุมบริษั ท ถือหุน ที่มีสิทธิออกเสียงอยูระหวางรอยละ 20 ถึงรอยละ 50 ของสิทธิออกเสียงทั้งหมด เงินลงทุนในบริษัทรวมรับรูโดยใช วิธีสวนไดเสียในการแสดงในงบการเงินรวม ภายใตวิธีสวนไดเสีย กลุมบริษัทรับรูเงินลงทุนเมื่อเริ่มแรกดวยราคาทุน มูลคา ตามบัญชีของเงินลงทุนนี้จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงในภายหลังวันที่ไดมาดวยสวนแบงกําไรหรือขาดทุนของผูไดรั บการลงทุน ตามสั ดสวนที่ผู ลงทุน มีส วนไดเสี ยอยู เงินลงทุ นในบริษั ทรวมของกลุมบริษัท รวมถึ งคาความนิยมที่ระบุ ได ณ วัน ที่ซื้ อ เงินลงทุน ถาสวนไดเสียของเจาของในบริษัทรวมนั้นลดลงแตยังคงมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญ กิจการตองจัดประเภทรายการที่เคยรับรู ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเขากําไรหรือขาดทุนเฉพาะสัดสวนในสวนไดเสียของเจาของที่ลดลง สวนแบ งกําไรหรือขาดทุน ของกลุม บริษั ทในบริ ษัท รวมที่ เกิ ดขึ้น ภายหลัง การไดม าจะรวมไวในกําไรหรือ ขาดทุ น และ สวนแบงในกํ าไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็จอื่ น ที่ เกิด ขึ้น ภายหลั งการได มาจะรวมไว ในกําไรขาดทุน เบ็ด เสร็จ อื่น ผลสะสมของ การเปลี่ยนแปลงภายหลังการไดมาดังกลาวขางตน จะปรับปรุงกับราคาตามบัญ ชีของเงินลงทุน เมื่อสวนแบงขาดทุนของ กลุมบริษัทในบริษัทรวมมีมูลคาเทากับหรือเกินกวามูลคาสวนไดเสียของกลุมบริษัทในบริษัทรวมนั้น กลุมบริษัทจะไมรับรู สวนแบงขาดทุนอีกตอไป เวนแตกลุมบริษัทมีภาระผูกพันในหนี้ของบริษัทรวมหรือรับวาจะจายหนี้แทนบริษัทรวม

22


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 146 - 147 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.3

บัญชีกลุมบริษัท - เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม และเงินลงทุนในการรวมการงาน (ตอ) (4)

บริษัทรวม (ตอ) กลุมบริษัทมีการพิจารณาทุกสิ้นรอบระยะเวลาบัญ ชีวามีขอบงชี้ที่แสดงวาเงินลงทุนในบริษัท รวมเกิดการด อยคาหรือไม หากมีขอบงชี้เกิดขึ้นกลุมบริษัท จะคํานวณผลขาดทุนจากการดอยคา โดยเปรียบเทียบมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน กับ มูลคา ตามบัญชีของเงินลงทุน และรับรูผลตางไปที่สวนแบงกําไร(ขาดทุน)ของเงินลงทุนในบริษัทรวมในงบกําไรขาดทุน รายการกําไรที่ยังไมไดเกิดขึ้นจริงระหวางกลุมบริษัทกับบริษัทรวมจะตัดบัญชีเทาที่กลุมบริษัทมีสวนไดเสียในบริษัทรวมนั้น รายการขาดทุนที่ยังไมไดเกิดขึ้นจริงก็จะตัดบัญชีในทํานองเดียวกัน เวนแตรายการนั้นมีหลักฐานวาสินทรัพยที่โอนระหวาง กันเกิดการดอยคา บริษัทรวมจะเปลี่ยนนโยบายการบัญชีเทาที่จําเปนเพื่อใหสอดคลองกับนโยบายการบัญชีของกลุมบริษัท กําไรและขาดทุน จากการลดสัดสวนในบริษัทรวมจะรับรูในกําไรหรือขาดทุน ในงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุน ในบริษัทรวม จะบันทึกบัญชีด วยราคาทุนหักคาเผื่อการดอยคา ตนทุนจะมีการปรับ เพื่อสะทอนการเปลี่ยนแปลงสิ่งตอบแทนที่เกิดขึ้นจากสิ่งตอบแทนที่คาดวาตองจาย ตนทุนจะรวมตนทุนทางตรงที่เกี่ยวของ จากการไดมาของเงินลงทุนนี้

(5)

การรวมการงาน กลุมบริษัทนํ ามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 เรื่อง การรวมการงานมาปฏิบัติเมื่อวัน ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 เรื่อง การรวมการงานเงินลงทุนในการรวมการงานจะถูกจัดประเภทเปน การดําเนิ นงานรวมกั น หรือการร วมคา โดยขึ้น อยูกับ สิท ธิและภาระผูกพั นตามสัญ ญาของผูลงทุ นแตละราย กลุ ม บริษั ท ไดประเมินลักษณะของการรวมการงานที่มีและพิจารณาวาเปน การรวมคา ซึ่งการรวมคารับรูเงินลงทุนโดยใชวิธีสวนไดเสีย ตามวิธีสวนไดเสียเงินลงทุนในการรวมคารับรูเมื่อเริ่มแรกดวยราคาทุนและปรับปรุงมูลคาตามบัญชีของเงินลงทุนเพื่อรับรู สวนแบงกําไรหรือขาดทุนและการเปลี่ยนแปลงในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของผูไดรับการลงทุนตามสัดสวนที่กลุมบริษัท มีสวนไดเสีย หากส วนแบงขาดทุนของกลุม บริษั ทในการรวมค ามี จํานวนเท ากับหรือสู งกวาสวนไดเสียของกลุ ม บริษั ท ในการรวมคานั้น(ซึ่งรวมถึงสวนไดเสียระยะยาวใดๆซึ่งโดยเนื้อหาแลวถือเปนสวนหนึ่งของเงินลงทุนสุทธิของกลุมบริษัท ในการรวมค านั้น ) กลุ มบริษัท จะไม รับรูส วนแบง ในขาดทุน ที่เกิน กวาส วนไดเสียของตนในการรวมคานั้ น นอกจากว า กลุมบริษัทมีภาระผูกพัน หรือไดจายเงินเพื่อชําระภาระผูกพันแทนการรวมคาไปแลว รายการกําไรที่ยังไมไดเกิดขึ้นจริงระหวางกลุมบริษัทกับการรวมคาจะตัดบัญชีเทาที่กลุมบริษัทมีสวนไดเสียในการรวมคานั้น รายการขาดทุนที่ยังไมไดเกิดขึ้นจริงก็จะตัดบัญชีในทํานองเดียวกัน เวนแตรายการนั้นมีหลักฐานวาสินทรัพยที่โอนระหวาง กันเกิดการดอยคา การรวมคาจะเปลี่ยนนโยบายการบัญชีเทาที่จําเปน เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายการบัญชีของกลุมบริษัท การเปลี่ยนนโยบายการบัญชี ถือปฏิบัติตั้งแต 1 มกราคม พ.ศ. 2558

23


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.4

การแปลงคาเงินตราตางประเทศ (ก)

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

สกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานและสกุลเงินที่ใชนําเสนองบการเงิน รายการที่รวมในงบการเงินของแตละบริษัทในกลุมบริษั ทถูกวัดมูลคาโดยใชสกุลเงินของสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิ จหลักที่ บริษัทดําเนินงานอยู (สกุลเงินที่ใชในการดําเนินงาน) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทแสดงในสกุลเงินบาทซึ่งเปน สกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานและสกุลเงินที่ใชนําเสนองบการเงินของบริษัท

(ข)

รายการและยอดคงเหลือ รายการที่เป นสกุ ลเงินตราต างประเทศแปลงคาเปน สกุลเงิน ที่ ใชใ นการดํ าเนิ น งานโดยใชอั ตราแลกเปลี่ย น ณ วัน ที่เกิ ด รายการหรือวันที่ตีราคาหากรายการนั้นถูกวัดมูลคาใหม รายการกําไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับหรือจ ายชําระที่ เปนเงินตราตางประเทศ และที่เกิดจากการแปลงคาสินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินซึ่งเปนเงินตราตางประเทศ ไดบันทึกไว ในงบกําไรขาดทุน เมื่อมีการรับรูรายการกําไรหรือขาดทุนของรายการที่ไมเปนตัวเงินไวในรายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น องคประกอบของ อัต ราแลกเปลี่ ยนทั้ ง หมดของกํ าไรหรือ ขาดทุ น นั้ น จะรับ รู ไว ในรายการกํ าไรขาดทุ น เบ็ ดเสร็จ อื่ น ดว ย ในทางตรงขาม หากมีการรับรูกําไรหรือขาดทุนของรายการที่ไมเปนตัวเงินไวในรายการกําไรขาดทุน องคประกอบของอัตราแลกเปลี่ยน ทั้งหมดของกําไรหรือขาดทุนนั้นจะรับรูไวในรายการกําไรขาดทุนดวย

(ค)

กลุมบริษัท การแปลงคาผลการดําเนิ นงานและฐานะการเงินของบริษัทในกลุมบริษัท (ที่มิใชส กุลเงินของเศรษฐกิจที่มีภาวะเงิน เฟ อ รุน แรง) ซึ่งมีสกุลเงินที่ใชในการดําเนิ นงานแตกต างจากสกุลเงินที่ใชนําเสนองบการเงินไดถูกแปลงคาเปน สกุลเงิน ที่ใช นําเสนองบการเงินดังนี้ สินทรัพยและหนี้สินที่แสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงินแตละงวดแปลงคาดวยอัตราปด ณ วันที่ของแตละงบแสดงฐานะ การเงินนั้น รายไดและคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ แปลงคาดวยอัตราถัวเฉลี่ย และผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดรับรูใน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น คาความนิ ย มและการปรับ มู ล คายุ ติ ธ รรมที่ เกิ ด จากการซื้ อ หน วยงานในต างประเทศถื อเป น สิ น ทรั พ ย และหนี้ สิ น ของ หนวยงานในตางประเทศนั้นและแปลงคาดวยอัตราปด

24


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 148 - 149 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.5

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ในงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภท จายคื นเมื่ อทวงถาม เงิ นลงทุ น ระยะสั้ น อื่ นที่ มี สภาพคล องสู งซึ่ งมี อายุ ไม เกิ นสามเดื อนนั บจากวั นที่ ได มา และเงิ นเบิ กเกิ นบั ญ ชี เงินเบิกเกินบัญชีจะแสดงไวในสวนของของหนี้สินหมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท

2.6

ลูกหนี้การคา ลูกหนี้ การค ารับรูเริ่ มแรกด วยมู ลค าตามใบแจ งหนี้ และจะวัดมู ลคาต อมาดวยจํ านวนเงินที่ เหลืออยูหั กด วยค าเผื่ อหนี้ สงสั ยจะสู ญ ซึ่งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญหมายถึงผลตางระหวางราคาตามบัญชีของลูกหนี้การคา เปรียบเทียบกับมูลคาที่คาดวาจะไดรับจากลูกหนี้การคา หนี้สูญที่เกิดขึ้นจะรับรูไวในกําไรหรือขาดทุนโดยถือเปนสวนหนึ่งของคาใชจาย ในการขายและบริการ

2.7

สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือของกลุมบริษัทประกอบดวยหองชุดเพื่อขาย ที่ดินและบานอยูอาศัยที่การกอสรางเสร็จสมบูรณแลว สินคาประเภทอาหาร และเครื่องดื่ม วัสดุ สิ้นเปลือง และอุป กรณ ที่ใชในการดําเนินงานโรงแรม สิน คาคงเหลือแสดงดวยราคาทุ นหรือมูลคาสุทธิที่ จะ ไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ราคาทุนของสินคาคงเหลือคํานวณโดยวิธีดังตอไปนี้ - ราคาทุนของหองชุดเพื่อขาย ที่ดิน บานอยูอาศัยที่การกอสรางเสร็จสมบูรณแลวคํานวณโดยวิธีเฉพาะเจาะจงในแตละโครงการ - ราคาทุนของอาหารและเครื่องดื่ม และวัสดุสิ้นเปลืองคํานวณโดยวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก - อุปกรณท่ใี ชในการดําเนินงานโรงแรมคํานวณโดยวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ตนทุนในการซื้อประกอบดวยราคาซื้อ ตนทุนซื้อและกอสราง และคาใชจายทางตรงที่เกี่ยวของกับการซื้อสินคาและการกอสรางนั้น มูลคาสุทธิที่จะไดรับประมาณจากราคาปกติที่คาดวาจะขายไดของธุรกิจหักดวยคาใชจายที่จําเปนเพื่อให สินคานั้นสําเร็จรูปรวมถึง คาใชจายในการขาย กลุมบริษัทบันทึกคาเผื่อการลดมูลคา สําหรับสินคาคงเหลือที่มีการดอยคาและลาสมัยเทาที่จําเปน

2.8

ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพ ยแสดงตามราคาทุนหักดวยคาเผื่อผลขาดทุ นของโครงการ ราคาทุนประกอบดวยตนทุน ในการ ไดมาซึ่งที่ดิน การพัฒนาที่ดิน ตนทุนการกอสรางโครงการและระบบสาธารณูปโภค และตนทุนการกูยืมที่เกี่ยวของ กลุมบริษัทบันทึกตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพยเปนตนทุนขายเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ใหกับผูซื้อแลว

25


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะ จํระกอบงบการเงิ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.9

สัญญากอสราง

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

สัญญากอสรางคือสัญญาที่เจรจาเฉพาะเจาะจงเพื่อกอสรางสินทรัพยรายการเดียวหรือหลายรายการซึ่งสัมพันธกันอยางใกลชิดหรือ ตองพึ่งพากันในดานการออกแบบ เทคโนโลยีและหนาที่หรือเชื่อมโยงกันดวยวัตถุประสงคในการใชประโยชนขั้นสุดทาย เมื่อผลการดําเนินงานตามสัญญากอสรางไมสามารถประมาณการไดอยางนาเชื่อถือ รายไดตามสัญญากอสรางจะรับรูไดไมเกินกวา ตนทุนตามสัญญาซึ่งคอนขางแนวาจะไดรับคืน ตนทุนตามสัญญาจะรับรูเปนคาใชจายในงวดเมื่อเกิดขึ้น เมื่อผลการดําเนินงานตามสัญญากอสรางสามารถประมาณการไดอยางนาเชื่อถือ และมีความเปนไปไดที่สัญญากอสรางจะมีกําไร ใหรับรูรายไดตลอดระยะเวลาของสัญญากอสราง เมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนที่ตนทุนการกอสรางทั้ งหมดเกินกวารายได คากอสรางทั้งหมด กลุมบริษัทจะรับรูขาดทุนที่คาดวาจะเกิดขึ้นเปนคาใชจายทันที ในการกําหนดขั้ นความสํ าเร็จของงานกอ สร าง จะไม พิ จ ารณาตน ทุ นการกอ สร างที่เกิด ขึ้น ในระหวางป ที่เกี่ย วขอ งกับ กิจ กรรม ในอนาคตซึ่งแสดงอยูในรูปของสินคาคงเหลือ จํานวนเงินที่จายเปนเงินลวงหนาหรือสินทรัพยอื่นขึ้นอยูกับลักษณะของตนทุน กลุม บริษั ท แสดงจํานวนเงิน ทั้ งสิ้น ที่กิจการมีสิ ทธิเรียกรองจากผูว าจ างสํ าหรับ งานกอสรางทุ กสั ญญาเปน สิ นทรัพย ของกิจการ สําหรับตนทุนที่เกิดขึ้นและกําไรที่รับรู (หักดวยรายการขาดทุนที่รับรูแลว) สูงกวาจํานวนเงินงวดที่เรียกเก็บ ซึ่งจํานวนเงินที่เรียก เก็บ ที่ลูกค ายั งไมไดชํ าระและจํานวนเงิน ประกั นผลงานจะรวมอยูภายใตหั วขอลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่ น กลุมบริษัท จะแสดง จํานวนเงินทั้งสิ้นที่ผูวาจางมีสิทธิเรียกรองจากกิจการสําหรับงานกอสรางทุกสัญญาเปนหนี้สินของกิจการสําหรับจํานวนเงินที่เรียก เก็บมากกวาตนทุนที่เกิดขึ้นและกําไรที่รับรู(หักดวยรายการขาดทุนที่รับรูแลว) 2.10 เงินลงทุน กลุ ม บริษั ท จั ด ประเภทเงิ น ลงทุ น ที่ น อกเหนื อจากเงิน ลงทุ น ในบริ ษั ท ยอ ยและบริษั ท ร วม และการร วมค า เป น 2 ประเภท คื อ (1) เงินลงทุนเผื่อขาย และ (2) เงินลงทุนทั่วไป การจัดประเภทขึ้นอยูกับจุดมุงหมายขณะลงทุน ฝายบริหารจะเปนผูกําหนดการจัด ประเภทที่เหมาะสมสําหรับเงินลงทุน ณ เวลาลงทุนและทบทวนการจัดประเภทเปนระยะ (1)

เงิน ลงทุ นเผื่อ ขาย คือ เงินลงทุน ที่จ ะถือไวโดยไมระบุช วงเวลาและอาจขายเพื่อ เสริมสภาพคลอ งหรือเมื่ออั ต ราดอกเบี้ ย เปลี่ย นแปลง ไดแสดงรวมไวในสิน ทรัพ ยไม ห มุน เวียน เว นแตกรณี ที่ ฝายบริห ารแสดงเจตจํา นงที่จ ะถื อไว ในช วงเวลา นอยกวา 12 เดือนนั บแตวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานจะแสดงรวมไวในสินทรัพยหมุนเวียน หรือเวนแตกรณี ที่ฝ ายบริหาร มีความจําเปนที่ตองขายเพื่อเพิ่มเงินทุนดําเนินงานจึงจะแสดงรวมไวในสินทรัพยหมุนเวียน

(2)

เงินลงทุนทั่วไป คือ เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไมมีตลาดซื้อขายคลองรองรับ

เงินลงทุนทั้ง 2 ประเภทรับรูมูลคาเริ่มแรกดวยราคาทุน ซึ่งหมายถึงมูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ใหไปเพื่อใหไดมาซึ่งเงินลงทุนนั้น รวมทั้งคาใชจายในการทํารายการ 26


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 150 - 151 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.10 เงินลงทุน (ตอ) เงินลงทุนเผื่อขายวัดมูลคาในเวลาตอมาดวยมูลคายุติธรรม มูลคายุติธรรมของเงินลงทุนวัดตามราคาเสนอซื้อที่อางอิงจากตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ณ วันทําการสุดทายของวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน โดยอางอิงราคาเสนอซื้อลาสุดจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศ ไทย รายการกําไรและขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงของเงินลงทุนเผื่อขายรับรูในสวนของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เงินลงทุนทั่วไปแสดงดวยราคาทุนหักคาเผื่อการดอยคา กลุมบริษัทจะทดสอบคาเผื่อการลดลงของมูลคาของเงินลงทุนเมื่อมีขอบงชี้วาเงินลงทุนนั้นอาจมีการดอยคาเกิดขึ้น หากราคาตามบัญชี ของเงินลงทุนสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน กลุมบริษัทจะบันทึกรายการขาดทุนจากการดอยคารวมไวในกําไรหรือขาดทุน ในการจําหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางมูลคายุติธรรมของผลตอบแทนสุทธิที่ไดรับจากการจําหนายเมื่อเปรียบเทียบกับราคาตามบัญชี ของเงินลงทุนนั้น (ซึ่งรวมถึงกําไรหรือขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลคายุติธรรมของที่เคยบันทึกไวในสวนของผูถือหุน) จะบันทึ ก รวมอยูในกําไรหรือขาดทุน กรณีที่จําหนายเงินลงทุนที่ถือไวในตราสารหนี้หรือตราสารทุนชนิดเดียวกันออกไปบางสวนราคาตามบัญชี ของเงินลงทุนที่จําหนายจะกําหนดโดยใชวิธถี ัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของราคาตามบัญชีจากจํานวนทั้งหมดที่ถือไว 2.11 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพยที่ถือครองโดยกลุมบริษัทเพื่อหาประโยชนจากรายไดคาเชา หรือจากการเพิ่มขึ้นของมูลคาของสินทรัพยหรือทั้งสองอยาง และไมไดมีไวใชงานโดยกิจการในกลุมบริษัท จะถูกจัดประเภทเปนอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน รวมถึงอสังหาริมทรัพยที่อยูระหวาง กอสรางหรือพัฒนาเพื่อเปนอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนในอนาคต อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนของกลุมบริษัท ไดแก ที่ดินและอาคารที่ถือครองไวเพื่อหาประโยชนจากรายไดคาเชาระยะยาว และรวมถึง อาคารระหวางกอสราง การรับรูรายการเมื่อเริ่มแรกของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนดวยวิธีราคาทุน รวมถึงตนทุนในการทํารายการและตนทุนการกูยืม ตนทุน การกูยืมที่เกิดขึ้นเพื่อวัตถุประสงคของการไดมา การกอสรางหรือผลิตอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนนั้นจะรวมเปนสวนหนึ่งของตนทุน ของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุ น ตนทุ นการกูยืมจะถูกรวมในขณะที่ การซื้อหรือการกอสรางและจะหยุดพั กทันทีเมื่อสินทรัพยนั้ น กอสรางเสร็จอยางมีนัยสําคัญ หรือระหวางที่การดําเนินการพัฒนาสินทรัพยที่เขาเงื่อนไขหยุดชะงักลง

27


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.11 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน (ตอ) หลังจากรับรูรายการเมื่อเริ่มแรกแลว อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนบันทึกดวยมูลคายุติธรรม มูลคายุติธรรมอางอิงราคาในตลาดที่มี การซื้องายขายคลอง ปรับปรุงตามความแตกตางของลักษณะทําเลที่ตั้ง หรือสภาพของสินทรัพยที่มีลักษณะเฉพาะกรณีที่ไมสามารถ หาข อมู ลเหลานี้ ได กลุม บริ ษัท จะใชวิ ธีอื่ นในการวัด มูลคา เชน ราคาล าสุด ของตลาดที่มี ระดั บ การซื้ อขายคลอ งรองลงมา หรื อ ประมาณการกระแสเงินสดคิดลด การวัดมูลคาจะกระทํา ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานโดยใชก ารประเมิน มูลคาจากผูประเมิ น ราคาอิสระซึ่งมีคุณสมบัติทางวิชาชีพที่เกี่ยวของและประสบการณในการตีราคา ในทําเลพื้นที่และในประเภทของอสังหาริมทรัพยเพื่อการ ลงทุนที่เกี่ยวของ การประเมินนี้ใชเปนหลักเกณฑสําหรับมูลคาตามบัญชีในงบการเงิน อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนที่มีการถูกพัฒนาอีก ครั้งสําหรับการใชงานอยางตอเนื่อง หรือกรณีที่ตลาดที่มีระดับการซื้อขายคลองลดลงจะยังคงวัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม อสังหาริมทรัพยระหวางกอสรางจะวัดมูลคาดวยวิธีมูลคายุติธรรมก็ตอเมื่อสามารถวัดมูลคายุติธรรมไดอยางนาเชื่อถือ บางครั้งเปนการยากที่จะหามูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนที่อยูระหวางการกอสรางไดอยางนาเชื่อถือ เพื่อที่จะประมาณ มูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยระหวางกอสรางอยางนาเชื่อถือ ผูบริหารพิจารณาปจจัยตาง ๆ ดังนี้ -

การตั้งประมาณการของสัญญากอสราง ขั้นตอนความสําเร็จของงานกอสราง โครงการหรืออสังหาริมทรัพยนั้นเปน มาตรฐาน (เปนไปตามตลาดทั่วๆไป) หรือ เปนอสังหาริมทรัพยแบบเฉพาะเจาะจง ระดับความเชื่อถือไดของกระแสเงินสดรับหลังโครงการเสร็จ ความเสี่ยงในการพัฒนาของอสังหาริมทรัพย ประสบการณในอดีตในการกอสรางที่มีลักษณะคลายกัน สถานะของใบอนุญาตการกอสราง

28


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 152 - 153 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.11 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน (ตอ) มูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนสะทอนถึงรายไดคาเชาจากสัญญาเชาในปจจุบันและขอสมมติเกี่ยวกับรายไดคาเชาจาก สัญญาเชาในอนาคตภายใตสถานการณที่เปนอยูในปจจุบัน ในขณะเดียวกันจะตองสะทอนถึงกระแสเงินสดจายตางๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้น เนื่องจากอสังหาริมทรัพย กระแสเงินสดจายบางรายการไดสะทอนอยูในรูปหนี้สนิ แลว รวมทั้งหนี้สินสัญญาเชาการเงิน ในขณะที่รายการ อื่นที่เกี่ยวของกับกระแสเงินสดจายรวมทั้งคาเชาที่อาจเกิดขึ้นยังไมมีการรับรูในงบการเงิน มู ลค ายุ ติ ธ รรมของอสั งหาริ ม ทรั พ ย เพื่ อการลงทุ น ไม ไ ด ส ะท อนถึ งรายจ ายฝ ายทุ น ในอนาคตที่ จ ะจ ายเพื่ อ ปรั บ ปรุ งหรื อ ทํ าให อสั งหาริมทรัพยนั้นดีขึ้น และไมไดสะทอนถึงผลประโยชนในอนาคตที่เกี่ยวของที่จะไดรับจากรายจายฝายทุนในอนาคตนั้น เวนแต ผูมีสวนรวมทางการตลาดจะนํามาพิจารณาในการหามูลคาของอสังหาริมทรัพย การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมจะรับรูในกําไรหรือขาดทุน กลุมบริษัทจะตองตัดรายการอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน เมื่อกิจการ จําหนายหรือเลิกใชอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนนั้นอยางถาวร และคาดวาจะไมไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการจําหนาย กรณีที่กลุมบริษัทจําหนายอสังหาริมทรัพยที่มูลคายุติธรรมโดยผูซื้อและผูขายไมมีความเกี่ยวของกันและเจรจาตอรองในลักษณะที่เปน อิ สระจากกั น มู ลค าตามบั ญ ชี กอนขายจะมี การปรั บไปใช ราคาในการทํ ารายการ และบั นทึ กผลกํ าไรสุ ทธิ จากการปรั บมู ลค าของ อสังหาริมทรัพยใหเปนมูลคายุติธรรมในกําไรหรือขาดทุน 2.12 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ที่ดิ น อาคารและอุป กรณ รับรูรายการเมื่ อเริ่มแรกด วยราคาทุ น ตน ทุ นเริ่ม แรกจะรวมต นทุ น ทางตรงอื่น ๆ ที่ เกี่ ยวข องกั บการซื้ อ สินทรัพยนั้น ที่ดินแสดงดวยราคาทุน สวนอาคารและอุปกรณแสดงดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและหักคาเผื่อการดอยคา (ถามี) ต น ทุ น ที่ เกิ ด ขึ้ น ภายหลั ง จะรวมอยู ใ นมู ลค าตามบั ญ ชี ของสิ น ทรั พ ย ห รื อ รั บ รู แยกเป น อี กสิ น ทรั พ ย ห นึ่ ง ตามความเหมาะสม เมื่อ ตน ทุน นั้น เกิด ขึ้น และคาดวาจะให ประโยชน เชิ งเศรษฐกิ จในอนาคตแกบ ริษัท และต นทุ นดัง กลาวสามารถวัด มูลค าไดอย าง นาเชื่อถือ มูลคาตามบัญชีของชิ้นสวนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดรายการออก สําหรับคาซอมแซมและบํารุงรักษาอื่นๆ กลุมบริษัทจะ รับรูตนทุนดังกลาวเปนคาใชจายในกําไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ที่ดินไมมี การคิดค าเสื่อมราคา คาเสื่ อมราคาของสินทรัพยอื่นคํานวณโดยใช วิธีเสนตรงเพื่ อลดราคาทุ นแตละชนิ ดตลอดอายุการให ประโยชนที่ประมาณการไวของสินทรัพยดังตอไปนี้ สวนปรับปรุงที่ดินและทรัพยสินสวนควบ อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร เครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องใชสํานักงาน ยานพาหนะ

5 ป ถึง 15 ป ตามอายุสัญญาเชา หรือ 10 ถึง 20 ปแลวแตอยางใดจะต่ํากวา 3 ป ถึง 10 ป 5 ป ถึง 8 ป

29


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.12 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ (ตอ) ทุกสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กลุมบริษัทไดมีการทบทวนและปรับปรุงมูลคาคงเหลือและอายุการใหประโยชนของสินทรัพยใหเหมาะสม ในกรณีที่มูลคาตามบัญชีสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาตามบัญชีจะถูกปรับลดใหเทากับมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนทันที ผลกําไรหรือขาดทุนจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณคํานวณโดยเปรียบเทียบจากสิ่งตอบแทนสุทธิที่ไดรับจากการจําหนาย สินทรัพยกับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย และจะรับรูกําไรหรือขาดทุน ตนทุนการกูยืมที่เกี่ยวของโดยตรงกับการไดมาหรือการกอสรางสินทรัพยจะบันทึ กเปนสวนหนึ่ งของตนทุนของสินทรัพยนั้นตลอด ชวงเวลาการกอสรางและเตรียมสินทรัพยนั้นใหอยูในสภาพพรอมที่จะใชไดตามประสงค สวนตนทุนการกูยืมอื่นนอกเหนือจากที่กลาว ขางตนจะบันทึกเปนคาใชจายในกําไรหรือขาดทุน 2.13 คาความนิยม คาความนิยมคือสิ่งตอบแทนที่โอนใหที่สูงกวามูลคายุติธรรมของสวนแบงของกลุมบริษัทในสินทรัพยและหนี้สินที่ระบุได และหนี้สินที่ อาจเกิดขึ้นของบริษัทยอย ณ วันที่ไดมาซึ่งบริษัทยอยนั้น คาความนิยมที่เกิดจากการไดมาซึ่งบริษัทยอยจะแสดงเปนรายการแยกตางหาก ในงบแสดงฐานะการเงินรวม คาความนิ ยมที่ รับรู จะตองถู กทดสอบการด อยคาทุ กป และแสดงดวยราคาทุ นหั กคาเผื่อการดอยค าสะสม คาเผื่อ การดอ ยคาของ คาความนิยมที่รับรูแลวจะไมมีการกลับรายการ ทั้งนี้มูลคาคงเหลือตามบัญชีของคาความนิยมจะถูกรวมคํานวณในกําไรหรือขาดทุน เมื่อมีการขายกิจการ ในการทดสอบการดอยคาของคาความนิยม คาความนิยมจะถูกปนสวนไปยังหนวยที่กอใหเกิดกระแสเงินสด โดยที่หนวยนั้นอาจจะเปน หนวยเดียวหรือหลายหนวยรวมกันซึ่งคาดวาจะไดรับประโยชนจากการรวมธุรกิจ ซึ่งคาความนิยมเกิดขึ้นจากสวนงานปฏิบัติการที่ระบุได 2.14 สินทรัพยไมมีตัวตน 2.14.1 เครื่องหมายการคา เครื่องหมายการคาที่ไดมาจากการซื้อจะแสดงดวยราคาทุน เครื่องหมายการคาที่ไดมาจากการรวมกิจการจะรับรูดวยมูลคา ยุติธรรม ณ วันรวมธุรกิจ เครื่องหมายการคาที่มีอายุการใหประโยชนที่ทราบไดแนนอนและแสดงราคาดวยราคาทุนหักคาตัด จําหนายสะสม วิธีตัดจําหนายจะใชวิธีเสนตรง เพื่อปนสวนตนทุนของเครื่องหมายการคาตามอายุประมาณการใหประโยชน เครื่องหมายการคามีอายุการใหประโยชนไมจํากัดจะถูกพิจารณาดอยคาทุกป

30


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 154 - 155 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.14 สินทรัพยไมมีตัวตน (ตอ) 2.14.2 สิทธิการเชา สิทธิการเชาจะถูกบั นทึกเปนสินทรัพยโดยคํานวณจากต นทุนในการไดมาและการดําเนิ นการให สามารถนํามาใช งานได ตาม ประสงค และจะถูกตัดจําหนายตลอดอายุประมาณการใหประโยชน 2.14.3 โปรแกรมคอมพิวเตอร โปรแกรมคอมพิวเตอรแสดงในราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสม การตัดจําหนายคํานวณโดยวิธีเสนตรงตามเกณฑระยะเวลาที่คาด วาจะไดรบั ประโยชน คือ 10 ป 2.15 การดอยคาของสินทรัพย สินทรัพยที่มีอายุการใหประโยชนไมทราบแนชัด (เชน คาความนิยม) ซึ่งไมมีการตัดจําหนายจะถูกทดสอบการดอยคาเปนประจําทุกป สินทรัพยอื่นที่มีการตัดจําหนายจะมีการทบทวนการดอยคา เมื่อมีเหตุการณ หรือสถานการณ บงชี้วาราคาตามบัญชีอาจสูงกวามูลคาที่ คาดวาจะไดรับคืน รายการขาดทุ นจากการดอยค าจะรับรูเมื่ อราคาตามบัญ ชีของสิ นทรัพ ยสูงกวามูลค าสุ ทธิที่ คาดวาจะไดรับคื น ซึ่งหมายถึงจํานวนที่สูงกวาระหวางมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขายเทียบกับมูลคาจากการใช สินทรัพยจะถูกจัดเปนหนวยที่เล็กที่สุดที่ สามารถแยกออกมาไดเพื่อวัตถุประสงคของการประเมินการดอยคา สินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงินนอกเหนือจากคาความนิยม ซึ่งรับรูรายการขาดทุนจากการดอยคาไปแลวจะถูกประเมินความเปนไปไดที่จะกลับ รายการขาดทุนจากการดอยคา ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงาน

31


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.16 สัญญาเชาระยะยาว กรณีที่กลุมบริษัทเปนผูเชา สัญญาระยะยาวเพื่อเชาสินทรัพยซึ่งผูใหเชาเปนผูรับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของเปนสวนใหญ สัญญาเชานั้นถือ เป น สั ญ ญาเช าดํ าเนิ น งาน เงิ น ที่ ต องจ ายภายใต สั ญ ญาเช าดั งกล าว (สุ ทธิ จากสิ่ งตอบแทนจู งใจที่ ได รับ จากผู  ให เช า) จะบั น ทึ ก ในกําไรหรือขาดทุนโดยใชวิธีเสนตรงตลอดอายุของสัญญาเชานั้น สัญญาเชาที่ดิน อาคารและอุปกรณซึ่งผูเชาเปนผูรับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของเกือบทั้งหมดถือเปนสัญญาเชา การเงิน ซึ่งจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชา หรือมูลคาปจจุบันสุทธิของจํานวนเงินที่ตองจายตาม สัญญาเชาแลวแตมูลคาใดจะต่ํากวา จํานวนเงินที่ตองจายดังกลาวจะปนสวนระหวางหนี้สินและคาใชจายทางการเงินเพื่อใหไดอัตราดอกเบี้ยคงที่ตอหนี้สินคงคางอยู โดย พิ จ ารณาแยกแต ละสั ญ ญา ภาระผู กพั น ตามสั ญ ญาเช าหั กค าใช จ ายทางการเงิ น จะบั น ทึ กเป น หนี้ สิ นระยะยาว ส ว นดอกเบี้ ย จ าย จะบันทึกในกําไรหรือขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเชาเพื่อทําใหอัตราดอกเบี้ยแตละงวดเปนอัตราคงที่สําหรับยอดคงเหลือของหนี้สิน ทรัพยที่เหลืออยู สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชาการเงินจะคิดคาเสื่อมราคาตลอดอายุการใชงานของสินทรัพยที่เชาหรืออายุของสัญญา เชาแลวแตระยะเวลาใดจะนอยกวา กรณีที่กลุมบริษัทเปนผูใหเชา สินทรัพย ที่ให เช าตามสั ญ ญาเชาทางการเงิน บัน ทึกเป นลู กหนี้สั ญญาเชาทางการเงิน ดวยมู ลคาป จจุบั นของจํานวนเงินที่ จายตาม สัญญาเชา ผลตางระหวางยอดรวมของลูกหนี้เบื้องตนกับมูลคาปจจุบันของลูกหนี้บันทึกเปนรายไดทางการเงิ นคางรับ รายไดจาก สัญญาเชาระยะยาวรับรูตลอดอายุของสัญญาเชาโดยใชวิธีเงินลงทุนสุทธิซึ่งสะทอนอัตราผลตอบแทนคงที่ทุกงวด ตนทุนทางตรง เริ่มแรกที่รวมอยูในการวัดมูลคาลูกหนี้สัญญาเชาทางการเงินเริ่มแรกและจะทยอยรับรูโดยลดจากรายไดตลอดอายุของสัญญาเชา สินทรัพยที่ใหเชาตามสัญญาเชาดําเนินงานรวมแสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงินในสวนอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน และบันทึกดวย มูลคายุติธรรม รายไ ดคาเชา (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ไดจายใหแกผูใหเชา) รับรูดวยวิธีเสนตรงตลอดชวงเวลาการใหเชา

32


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 156 - 157 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.17 เงินกูยืม เงิ น กู ยื ม รั บ รู เริ่ม แรกด ว ยมู ลค ายุ ติ ธ รรมของสิ่ ง ตอบแทนที่ ไ ด รับ หั กด ว ยต น ทุ น การจั ด ทํ ารายการที่ เกิ ด ขึ้ น เงิน กู ยืม วัด มู ลค า ในเวลาตอมาดวยวิธีราคาทุนตัดจําหนายตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ผลตางระหวางเงินที่ไดรับ (หักดวยตนทุนการจัดทํารายการ ที่เกิดขึ้น) เมื่อเทียบกับมูลคาที่จายคืนเพื่อชําระหนี้นั้นจะรับรูในกําไรหรือขาดทุนตลอดชวงเวลาการกูยืม คาธรรมเนียมและคาใชจายอื่นๆที่จายไปเกี่ยวขอเพื่อใหไดเงินกูยืมมาจะรับรูเปนตนทุนการจัดทํารายการเงินกูยืม ในกรณีที่มีความ เปนไปไดที่จะใชวงเงินกูบางสวนหรือทั้งหมด โดยจะตัดจําหนายตนทุนดังกลาวตามระยะเวลาของวงเงินกูที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ หากมี การยกเลิกวงเงิน หรือชําระคืนเงินกูทั้งหมดกอนกําหนดระยะเวลาเงินกู จะรับรูตนทุนคาธรรมเนียมและคาใชจายดังกลาว สุทธิหลัง คาตัดจําหนาย เปนคาใชจายในงวดที่มีการยกเลิกวงเงิน หรือชําระคืนเงินกูทั้งหมด ดังกลาว เงิ น กูยื ม จัด ประเภทเป น หนี้ สิน หมุ น เวีย นเมื่อ กลุม บริ ษั ทไม มี สิท ธิ อั น ปราศจากเงื่อ นไขให เลื่ อนชํ าระหนี ้ อ อกไปอีกเป น เวลา ไมนอยกวา 12 เดือน นับจากวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ต น ทุ น การกู ยื ม ที่ เกี่ ย วข อ งโดยตรงกั บ การได ม า การก อ สร าง หรื อ การผลิ ต สิ น ทรั พ ย ที่ เ ข าเงื่ อ นไขต อ งนํ ามารวมเป น สว นหนึ่ งของราคาทุน ของสิ น ทรั พ ยนั้ น โดยสิ น ทรัพ ย ที่เข าเงื่อนไขคื อ สิน ทรั พย ที่ จําเป น ตอ งใชระยะเวลานานในการเตรีย ม สิน ทรัพยนั้นใหอยูในสภาพพรอมที่จะใชไดตามประสงคหรือพรอมที่จะขาย การรวมตนทุนการกูยืมเปนราคาทุนของสินทรัพ ย ตองสิ้นสุดลงเมื่อการดําเนินการสวนใหญที่จําเปนในการเตรียมสินทรัพยที่เขาเงื่อนไขใหอยูในสภาพพรอมที่จะใชไดตามประสงค หรือพรอมที่จะขายไดเสร็จสิ้นลง รายไดจากการลงทุนที่เกิดจากการนําเงินกูยืมที่กูมาโดยเฉพาะที่ยังไมไดนําไปเปนรายจายของสินทรัพยที่เขาเงื่อนไขไปลงทุนเปน การชั่วคราวกอน ตองนํามาหักจากตนทุนการกูยืมที่สามารถตั้งขึ้นเปนตนทุนของสินทรัพย ตนทุนการกูยืมอื่นๆ ตองถือเปนคาใชจายในงวดที่เกิดขึ้น 2.18 ภาษีเงินไดงวดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี คาใชจายภาษีเงินไดสําหรับของงวดประกอบดวย ภาษีเงินไดของงวดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดจะรับรูใน กําไรหรือขาดทุน ยกเวนสวนของภาษีเงินไดที่เกี่ยวของกับรายการที่รับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือรายการที่รับรูโดยตรงไป ยังสวนของผูถือหุน ในกรณีนี้ภาษีเงินไดตองรับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือโดยตรงไปยังสวนของผูถือหุนตามลําดับ ภาษีเงินไดของงวดปจจุบันคํานวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีที่มีผลบังคับใชอยู หรือที่คาดไดคอนขางแนวาจะมีผลบังคับใช ภายในสิ้น รอบระยะเวลาที่รายงานในประเทศที่ บริษัท และบริษั ทยอยตอ งดําเนิ นงานอยูและเกิด รายไดเพื่ อเสี ยภาษี ผูบริห ารจะ ประเมินสถานะของการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเปนงวดๆ โดยคํานึงถึงสถานการณที่สามารถนํากฎหมายภาษีไปปฏิบัติซึ่งขึ้นอยู กับการตีความ และจะตั้งประมาณการคาใชจายภาษี หากคาดวาจะตองจายชําระภาษีแกหนวยงานจัดเก็บ

33


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.18 ภาษีเงินไดงวดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (ตอ) ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีรับรูตามวิธีหนี้สิน เมื่อเกิดผลตางชั่วคราวระหวางฐานภาษีของสินทรัพยและหนี้สิน และราคาตามบัญชี ที่แสดงอยู ในงบการเงิ น อยางไรก็ต าม กลุ ม บริ ษั ท จะไม รับ รูภาษี เงิน ไดรอการตัด บั ญ ชี ที่ เกิ ด จากการรับ รู เริ่ ม แรกของรายการ สินทรัพยห รือรายการหนี้สินที่ เกิดจากรายการที่ไมใชการรวมธุรกิจ และ ณ วันที่เกิดรายการ รายการนั้ นไม มีผลกระทบตอกําไร หรือขาดทุนทั้งทางบัญชีหรือทางภาษี ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีคํานวณจากอัตราภาษี (และกฎหมายภาษีอากร) ที่มีผลบังคับใชอยู หรื อ ที่ ค าดได ค อ นข างแน ว าจะมี ผ ลบั ง คั บ ใช ภ ายในสิ้ น รอบระยะเวลาที่ รายงาน และคาดว าอั ต ราภาษี ดั ง กล าวจะนํ าไปใช เมื่อสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีที่เกี่ยวของไดรับประโยชน หรือหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชีไดมีการจายชําระ สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบั ญชีจะรับ รูหากมีความเปนไปไดคอนขางแนวากลุมบริษัทจะมีกําไรทางภาษีเพี ยงพอที่จะนําจํานวน ผลตางชั่วคราวนั้นมาใชประโยชน กลุมบริษัทไดตั้งภาษีเงินไดรอตัดบัญชีโดยพิจารณาจากผลตางชั่วคราวของเงินลงทุนในบริษัทรวม และเงินลงทุนในการรวมคาที่ตองเสียภาษี เวนแตกลุมบริษัทสามารถควบคุมจังหวะเวลาของการกลับรายการผลตางชั่วคราวและ การกลับรายการผลตางชั่วคราวมีความเปนไปไดคอนขางแนวาจะไมเกิดขึ้นไดภายในระยะเวลาที่คาดการณไดในอนาคต สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะแสดงหักกลบกันก็ตอเมื่อกิจการมีสิทธิตามกฎหมายที่ จะนําสินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินไดของงวดปจจุบัน และทั้งสินทรัพยภ าษีเงินไดรอการตัด บัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีเกี่ยวของกับภาษีเงินได ที่ประเมินโดยหนวยงานจัดเก็บภาษีหนวยงานเดียวกันโดยการ เรียกเก็บเปนหนวยภาษีเดียวกันหรือหนวยภาษีตางกันซึ่งตั้งใจจะจายหนี้สินและสินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันดวยยอดสุทธิ 2.19 ผลประโยชนพนักงาน กลุมบริษัทกําหนดโครงการผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุทั้งโครงการสมทบเงินและโครงการผลประโยชน สําหรับโครงการสมทบเงิน กลุมบริษัทจะจายเงินสมทบใหกองทุนในจํานวนเงินที่คงที่ กลุมบริษัทไมมีภาระผูกพันทางกฎหมาย หรือภาระผูกพันจากการอนุมานที่จะตองจายเงินเพิ่ม ถึงแมกองทุนไมมีสินทรัพยเพียงพอที่จะจายใหพนักงานทั้งหมดสําหรับการ ใหบริการจากพนักงานทั้งในอดีตและปจจุบัน กลุมบริษัทจะจายสมทบใหกับกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่งบริหารโดยผูจัดการกองทุน ภายนอกตามเกณฑและขอกําหนดของพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 กลุมบริษัทไมมีภาระผูกพันที่จะจายเงิน เพิ่มอีกเมื่อไดจายเงินสมทบไปแลว เงินสมทบจะถูกรับรูเปนคาใชจายผลประโยชนพนักงานในกําไรหรือขาดทุน สําหรับ โครงการผลประโยชนคือโครงการบําเหน็ จบํานาญที่ไมใช โครงการสมทบเงิน ซึ่งจะกําหนดจํานวนเงิน ผลประโยชน ที่ พนักงานจะไดรับเมื่อเกษียณอายุ โดยสวนใหญจะขึ้นอยูกับหลายปจจัย เชน อายุ จํานวนปที่ใหบริการ และคาตอบแทน

34


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 158 - 159 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.19 ผลประโยชนพนักงาน (ตอ) หนี้สินสําหรับโครงการผลประโยชนจะรับรูในงบแสดงฐานะการเงินดวยมูลคาปจจุบันของภาระผูกพัน ณ วันที่สิ้นรอบระยะเวลา รายงานหักดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยโครงการ ภาระผูกพันนี้คํานวณโดยนักคณิตศาสตรประกันภัยอิสระ ดวยวิธีคิดลดแตละ หนวยที่ประมาณการไว ซึ่งมูลคาปจจุบันของโครงการผลประโยชนจะประมาณโดยการคิดลดกระแสเงินสดออกในอนาคต โดยใช อัตราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเปนสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินที่จะจายภาระผูกพัน และมีวันครบกําหนดของหุนกู ใกลเคียงกับระยะเวลาที่ตองชําระภาระผูกพันดังกลาว กํ าไรและขาดทุ น จากการประมาณการตามหลั กคณิ ต ศาสตร ป ระกั น ภั ย ที่ เกิ ด ขึ้ น จากการปรับ ปรุ งจากประสบการณ ห รื อ การ เปลี่ยนแปลงในขอสมมติฐานจะตองรับรูในสวนของผูถือหุนผานกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในงวดที่เกิดขึ้น ตนทุนบริการในอดีตจะถูกรับรูทันทีในกําไรหรือขาดทุน 2.20 ประมาณการหนี้สิน กลุ ม บริษั ท จะบั น ทึ กประมาณการหนี้ สิ น อั น เป น ภาระผู กพั น ในป จ จุ บัน ตามกฎหมายหรือ ตามข อตกลงที่ จัด ทํ าไว อั น เป น ผล สืบเนื่ องมาจากเหตุ การณ ในอดีต ซึ่งการชําระภาระผู กพัน นั้ นมีความเปนไปไดคอนขางแนวาจะสงผลให กลุมบริษั ทตองสูญ เสี ย ทรัพยากรออกไป และตามประมาณการจํานวนที่ ตองจายไดอยางนาเชื่อถือ ในกรณีที่ กลุมบริษัทคาดวาประมาณการหนี้สิ นเป น รายจายที่จะไดรับคืน กลุมบริษัทจะบันทึกเปนสินทรัพยแยกตางหากเมื่อคาดวานาจะไดรับรายจายนั้นคืนอยางแนนอน 2.21 ทุนเรือนหุน หุนสามัญที่กิจการสามารถกําหนดการจายเงินปนผลไดอยางอิสระจะจัดประเภทไวเปนสวนของผูถือหุน ตนทุน สวนเพิ่มที่เกี่ยวของกับ การออกหุนใหมหรือการออกสิ ทธิในการซื้ อหุนซึ่ งสุ ทธิจากภาษีจะถูกแสดงในสวนของผูถือหุ น โดยนําไปหักจากสิ่งตอบแทนที่ไดรับจากการออกตราสารทุนดังกลาว กรณีที่บริษัทใดก็ตามในกลุมบริษัทซื้อคืนหุนสามัญของบริษัทกลับคืน (หุนทุนซื้อคืน) สิ่งตอบแทนที่จายไปรวมถึงตนทุนเพิ่มเติม ที่เกี่ยวของโดยตรงสุทธิจากภาษีเงิน จะรับรูเปนหุนทุนซื้อคืนและแสดงเปนรายการหักจากยอดรวมของสวนของผูถือหุนของบริษัท จนกวาหุนทุนซื้อคืนดังกลาวจะถูกยกเลิกไปหรือจําหนายออกไปใหม เมื่อมีการจําหนายหุนทุนซื้อคืนออกไปใหม สิ่งตอบแทนใด ๆ ที่ไดรับจากการขายหรือนําหุนทุนซื้อคืนออกจําหนายใหมสุทธิจากตนทุนเพิ่มเติมที่เกี่ยวของโดยตรงสุทธิจากภาษีเงินไดที่เกี่ยวของ จะแสดงรวมไวในสวนของผูถือหุน

35


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะ จํระกอบงบการเงิ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

นโยบายการบัญชี (ตอ)

2.22 การรับรูรายได รายได ป ระกอบด ว ยมู ลค ายุ ติ ธ รรมที่ จ ะได รับ จากการขายสิ น ค าและบริ การซึ่ งเกิ ด ขึ้ น จากกิ จ กรรมตามปกติ ของกลุ ม บริ ษั ท โดยรายไดจากการขายบานพรอมที่ดินและหองชุดในอาคารชุดรับรูเปนรายไดเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ใหกับผูซื้อแลว โดยเปนจํานวน เงินที่สุทธิจากเงินคืนและสวนลด รายไดจากการขายสินคารับรูเมื่อผูซื้อรับโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เปนสาระสําคัญของ ความเปนเจาของสินคา สวนรายไดจากการใหบริการรับรูเมื่อมีการใหบริการ รายไดคาเชา (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ไดจายใหกับผูเชา) รับรูดวยวิธีเสนตรงตลอดชวงเวลาการใหเชา รายไดดอกเบี้ยรับรูตามเกณฑสัดสวนของเวลาโดยพิจารณาจากอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของชวงเวลาจนถึงวันครบอายุและพิจารณา จากจํานวนเงินตนที่เปนยอดคงเหลือในบัญชีสําหรับการบันทึกคางรับของกลุมบริษัท สวนรายไดเงินปนผลรับรูเมื่อสิทธิที่จะไดรับ เงินปนผลนั้นเกิดขึ้น รายไดอื่นบันทึกในตามเกณฑคงคาง 2.23 การจายเงินปนผล เงิ นป นผลจ ายบั นทึ กในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษั ท เมื่ อได รับ อนุ มั ติ จากที่ ประชุ มผู ถื อหุ นของบริ ษั ท เงิ น ป น ผล ระหวางกาลบันทึกในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเมื่อไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 2.24 ขอมูลจําแนกตามสวนงาน สวนงานดําเนิน งานไดถู กรายงานในลักษณะเดียวกั บรายงานภายในที่นําเสนอใหผู มีอํ านาจตัดสิ นใจสูงสุ ดดานการดํ าเนิน งาน ผูมีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดานการดําเนินงานหมายถึงบุคคลที่มีหนาที่ในการจัดสรรทรัพยากรและประเมินผลการปฏิบัติงานของ สวนงานดําเนินงาน ซึ่งพิจารณาวาคือประธานเจาหนาที่บริหารที่ทําการตัดสินใจเชิงกลยุทธ กลุมบริษัทนําเสนอขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงานโดยแสดงสวนงานธุรกิจเปนรูปแบบหลักในการรายงาน โดยพิจารณาจาก โครงสร างการบริ ห ารและการรายงานทางการเงิน ภายในของกลุ ม บริษั ท เปน เกณฑ ใ นการกําหนดส ว นงาน (ดูรายละเอี ยดใน หมายเหตุขอ 8)

36


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 160 - 161 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 3

การนําเสนองบการเงินและรายการปรับปรุง กลุมบริษัทถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน โดยในปกอนหนานี้ กลุมบริษัทไดวัดมูลคาโดยวิธีราคาทุน แตในป พ.ศ. 2558 คณะกรรมการบริษัทเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีการวัดมูลคาโดยแสดง ตามมู ลค ายุติ ธรรมซึ่ งประเมิ นโดยผูประเมิ นอิสระ นอกจากนี้ ฝ ายบริหารของบริ ษัทยั งได พิ จารณาการจัดประเภทอุ ปกรณ ที่ใชใน การดําเนินงานโรงแรม โดยเปลี่ยนการจัดประเภทจากที่แสดงไวภายใตที่ดิน อาคารและอุปกรณ เปนสินคาคงเหลือ โดยกลุมบริษัทใชวิธี ปรับยอนหลังสําหรับการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีนี้ ดังนั้น เพื่อประโยชนในการแสดงงบการเงินเปรียบเทียบ กลุมบริษัทจึงจัดทํา งบแสดงฐานะการเงินสําหรับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 และ งบกํ าไรขาดทุน เบ็ ดเสร็จของงบการเงิน รวมและงบการเงิน เฉพาะบริษั ท สําหรั บป สิ้ นสุ ด วัน ที่ 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2557 ขึ้ น ใหม ดังตอไปนี้ งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บาท

สินคาคงเหลือ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สุทธิ สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี กําไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรร

กอนปรับปรุง

รายการ ปรับปรุง

การจัดประเภท รายการใหม

หลังปรับปรุง

11,717,402 2,819,969,777 3,122,875,923 6,803,085 9,423,494 297,556,317

1,565,628,440 311,057 (9,247,483) 1,575,186,980

21,304,696 (21,304,696) -

33,022,098 4,385,598,217 3,101,571,227 7,114,142 176,011 1,872,743,297

งบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บาท

สินคาคงเหลือ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สุทธิ กําไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรร

กอนปรับปรุง

รายการ ปรับปรุง

การจัดประเภท รายการใหม

หลังปรับปรุง

6,405,081 134,952,514 774,545,946 (33,979,891)

47,647,486 47,647,486

13,732,672 (13,732,672) -

20,137,753 182,600,000 760,813,274 13,667,595

37


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 3

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

การนําเสนองบการเงินและรายการปรับปรุง (ตอ) งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 บาท

สินคาคงเหลือ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สุทธิ กําไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรร

กอนปรับปรุง

รายการ ปรับปรุง

การจัดประเภท รายการใหม

หลังปรับปรุง

5,487,310 2,627,465,545 458,306,324 548,333,649

977,773,654 977,773,654

11,807,310 (11,807,310) -

17,294,620 3,605,239,199 446,499,014 1,526,107,303

งบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 บาท

อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน สุทธิ กําไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรร

กอนปรับปรุง

รายการ ปรับปรุง

การจัดประเภท รายการใหม

หลังปรับปรุง

94,335,997 127,018,503

32,364,003 32,364,003

-

126,700,000 159,382,506

38


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท 162 - 163 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 3

การนําเสนองบทางการเงินและรายการปรับปรุง (ตอ) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บาท

รายไดจากการใหเชาและการใหบริการ รายไดอื่น คาใชจายในการบริหาร ภาษีเงินได กําไร(ขาดทุน)ตอหุน

กอนปรับปรุง

รายการ ปรับปรุง

การจัดประเภท รายการใหม

หลังปรับปรุง

219,628,499 40,031,944 (348,953,675) (6,172,015) (0.0532)

588,000,000 (145,214) 9,558,540 0.1268

7,184,683 (7,184,683) -

226,813,182 620,847,261 (349,098,889) 3,386,525 0.0736

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะบริษัทสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บาท

รายไดจากการใหเชาและการใหบริการ รายไดอื่น คาใชจายในการบริหาร กําไร(ขาดทุน)ตอหุน

กอนปรับปรุง

รายการ ปรับปรุง

การจัดประเภท รายการใหม

หลังปรับปรุง

10,613,810 23,734,529 (169,582,478) (0.0884)

4,900,000 10,383,483 0.0084

2,166,583 (2,166,583) -

12,780,393 26,467,946 (159,198,995) (0.0800)

39


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 4

การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน

4.1

ปจจัยความเสี่ยงทางการเงิน

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

กิจกรรมของกลุ มบริ ษัท ย อมมีความเสี่ ยงทางการเงิน ที่ ห ลากหลายซึ่ งได แก ความเสี่ ยงจากตลาด (รวมถึ งความเสี่ ย งจากอั ตรา แลกเปลี่ยน ความเสี่ยงดานมูลคายุติธรรมอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงดานกระแสเงินสดอันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยงดานราคา) ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ และความเสี่ยงดานสภาพคลอง แผนการจัดการ ความเสี่ ยงโดยรวมของกลุมบริษัทจึงมุงเนนความผันผวนของตลาดการเงินและแสวงหาวิธีการลดผลกระทบที่ทําใหเ สียหายตอ ผลการดําเนินงานทางการเงินของกลุมบริษัทใหเหลือนอยที่สุดเทาที่เปนไปได การจัดการความเสี่ยงดําเนินงานโดยฝายบริหารเงินสวนกลาง (สวนงานบริหารเงินของกลุมบริษัท) เปนไปตามนโยบายที่อนุมัติ โดยคณะกรรมการบริ ษั ท ส ว นงานบริ ห ารเงิน ของกลุ ม บริ ษั ท จะชี้ ป ระเด็ น ประเมิ น และป องกั น ความเสี่ ย งทางการเงิ น ด ว ย การรวมมือกันทํางานอยางใกลชิดกับหนวยปฏิบัติงานตางๆ ภายในกลุมบริษัท 4.1.1 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากกลุมบริษัทดําเนินงานระหวางประเทศจึงยอมมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศซึ่ งเกิดจากสกุล เงินที่หลากหลาย ซึ่งสวนใหญเปนสกุลเงินยูโร สกุลเงินปอนด และสกุลเงินเหรียญสหรัฐ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เกิดขึ้นจากรายการธุรกรรมในอนาคต การรับรูรายการของสินทรัพยและหนี้สิน และเงินลงทุนสุทธิในหนวยงานตางประเทศ 4.1.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย กลุม บริษั ทบริห ารความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ ย โดยติ ดตามแนวโน ม ของอัต ราดอกเบี้ยในประเทศไทย จัด สรรเงิน กูทั้ ง ระยะสั้น และระยะยาว ทั้งในสวนที่เปน อัตราดอกเบี้ยคงที่และอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ในสั ดสวนที่ส อดคลองกั บประเภท การลงทุนของกิจการ 4.1.3 ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ กลุมบริษัทไมมีการกระจุกตัวอยางมีนัยสําคัญของความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ กลุมบริษัทมีนโยบายที่ทําใหมั่นใจไดวาการ ขายสิ น ค าและการให บ ริ การนั้ น เป น การขายสิ น ค าและการให บ ริการแก ลู กคาที่ มี ป ระวัติ สิ น เชื่ อ อยู ใ นระดั บ ที่ มี ความ เหมาะสม กลุมบริษัทฝากเงินสดกับสถาบันการเงินที่มีคุณภาพและความนาเชื่อถือที่อยูในระดับสูง 4.1.4 ความเสี่ยงดานสภาพคลอง การจั ดการความเสี่ยงดานสภาพคลอ งอยางรอบคอบหมายถึงการดํ ารงไวซึ่ งเงิน สดและหลักทรัพยที่มี ตลาดรองรับอยาง เพี ยงพอ ความสามารถในการหาแหลงเงิน ทุ น ที่เพี ยงพอและความสามารถในการป ดฐานะความเสี่ ยง ส วนงานบริ หาร การเงินของกลุมบริษัทตั้งเปาหมายจะดํารงความยืดหยุนในการระดมเงินทุนโดยการรักษาวงเงินสินเชื่อใหมีความเพียงพอ เนื่องจากลักษณะทางธุรกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงไดอยูตลอดเวลา

40


บริษัท สิ งห์ เอสเตท จำกัด (มหำชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ นรวมและงบกำรเงิ นเฉพำะบริ 164 - 165 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 5

กำรประมำณมูลค่ ำยุติธรรม ตารางต่อไปนี้ แสดงการวิเคราะห์เครื่ องมือทางการเงินที่วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมจาแนกตามวิธีการประมาณมูลค่า ความแตกต่าง ของระดับข้อมูลสามารถแสดงได้ดงั นี้   

ราคาเสนอซื้อขาย (ไม่ตอ้ งปรับปรุ ง) ในตลาดที่มีสภาพคล่องสาหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินอย่างเดียวกัน (ข้อมูลระดับ 1) ข้อมูลอื่นนอกเหนื อจากราคาเสนอซื้ อขายซึ่ งรวมอยู่ในข้อมูลระดับ 1 ทั้งที่สามารถสังเกตได้โดยตรง (ได้แก่ ข้อมูลราคา) หรื อ โดยอ้อม (ได้แก่ ข้อมูลที่คานวณมาจากราคา) สาหรับสิ นทรัพย์น้ นั หรื อหนี้สินนั้น (ข้อมูลระดับที่ 2) ข้อมูลสาหรั บสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สินซึ่ งไม่ได้มาจากข้อมูลที่สามารถสังเกตได้จากตลาด (ข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้) (ข้อมูล ระดับที่ 3)

ตารางต่อไปนี้แสดงสิ นทรัพย์ของกลุ่มบริ ษทั ที่วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 งบกำรเงินรวม

สิ นทรัพย์ เงินลงทุนในตราสารทุน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน

งบกำรเงินเฉพำะบริษัท

สิ นทรัพย์ เงินลงทุนในตราสารทุน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน

ข้ อมูลระดับที่ 1 ข้ อมูลระดับที่ 2 ข้ อมูลระดับที่ 3 บำท บำท บำท 389,728,340 389,728,340

-

389,728,340 8,374,952,359 8,764,680,699

ข้ อมูลระดับที่ 1 ข้ อมูลระดับที่ 2 ข้ อมูลระดับที่ 3 บำท บำท บำท

รวม บำท

366,224,659 366,224,659

8,374,952,359 8,374,952,359

รวม บำท

185,700,000 185,700,000

-

366,224,659 185,700,000 551,924,659

41


บริษัท สิ งห์ เอสเตท จำกัด (มหำชน) รหมำยเหตุ า ย ง า น ป รปะ จํระกอบงบกำรเงิ า ปี นรวมและงบกำรเงินเฉพำะบริษัท 2558 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 5

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

กำรประมำณมูลค่ ำยุติธรรม (ต่อ) ตารางข้างล่างนี้แสดงสิ นทรัพย์ของกลุ่มบริ ษทั ที่วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบกำรเงินรวม ข้ อมูลระดับที่ 1 ข้ อมูลระดับที่ 2 ข้ อมูลระดับที่ 3 บำท บำท บำท สิ นทรัพย์ เงินลงทุนในตราสารทุน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน

งบกำรเงินเฉพำะบริษัท

สิ นทรัพย์ เงินลงทุนในตราสารทุน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน

131,849,174 131,849,174

-

131,849,174 4,385,598,217 4,517,447,391

ข้ อมูลระดับที่ 1 ข้ อมูลระดับที่ 2 ข้ อมูลระดับที่ 3 บำท บำท บำท

รวม บำท

130,556,937 130,556,937

4,385,598,217 4,385,598,217

รวม บำท

182,600,000 182,600,000

-

130,556,937 182,600,000 313,156,937

ในระหว่างปี ไม่มีรายการโอนระหว่างระดับ 1 ระดับ 2 และระดับ 3 ของลาดับชั้นมูลค่ายุติธรรม (ก)

เครื่ องมือทางการเงินในระดับ 1 มูลค่ายุติธรรมของเครื่ องมือทางการเงินที่ซ้ือขายในตลาดที่มีสภาพคล่องอ้างอิงจากราคาเสนอซื้อขาย ณ วันที่ในงบการเงิน ตลาดจะถือเป็ นตลาดที่มีสภาพคล่องเมื่อราคาเสนอซื้ อขายมีพร้อมและสม่าเสมอ จากการแลกเปลี่ยน จากตัวแทนนายหน้า กลุ่มอุตสาหกรรม ผูใ้ ห้บริ การด้านราคา หรื อหน่ วยงานกากับดูแล และราคานั้นแสดงถึงรายการในตลาดที่เกิดขึ้นจริ งอย่าง สม่าเสมอ ในราคาซึ่ งคู่สัญญาซึ่ งเป็ นอิสระจากกัน พึงกาหนดในการซื้ อขาย (Arm’s length basis) ราคาเสนอซื้ อขายที่ใช้ สาหรับสาหรับสิ นทรัพย์ทางการเงินที่ถือโดยกลุ่มบริ ษทั ได้แก่ราคาเสนอซื้อปัจจุบนั เครื่ องมือทางการเงินนี้รวมอยูใ่ นระดับ 1

(ข)

เครื่ องมือทางการเงินในระดับ 2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่ องมือทางการเงินที่ไม่ได้มีการซื้ อขายในตลาดที่มีสภาพคล่อง (ตัวอย่างเช่น ตราสารอนุ พนั ธ์ที่มีการ ซื้ อ ขายในตลาดรองที่ ไม่ได้มีก ารจัด ตั้งอย่างเป็ นทางการ (over-the-counter) วัดมูล ค่ าโดยใช้เทคนิ คการประเมิน มูล ค่ า โดยเทคนิ คการประเมิน มูลค่านี้ ใช้ประโยชน์สูงสุ ดจากข้อมูลในตลาดที่ สังเกตได้ที่มีอยู่และอ้างอิงจากประมาณการของ กิจการเองมาใช้น้อยที่สุดเท่าที่เป็ นไปได้ ถ้าข้อมูลที่เป็ นสาระสาคัญทั้งหมดในการวัดมูลค่ายุติธรรมได้มาจากข้อมูลที่สังเกตได้ เครื่ องมือนั้นจะรวมอยูใ่ นระดับ 2

(ค)

ถ้าข้อมูลที่ เป็ นสาระสาคัญข้อใดข้อ หนึ่ งหรื อมากกว่าไม่ได้มาจากข้อ มูลที่ สั งเกตได้ในตลาด เครื่ องมือนั้น จะรวมอยู่ใน ระดับ 3 42


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 166 - 167 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 6

ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ขอสมมติฐานและการใชดุลยพินิจ การประมาณการ ขอสมมติฐานและการใชดุลยพินิจ ไดมีการประเมินทบทวนอยางตอเนื่อง และอยูบนพื้นฐานของประสบการณ ในอดีตและปจจัยอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการคาดการณถึงเหตุการณในอนาคตที่เชื่อวามีเหตุผลในสถานการณขณะนั้น

6.1 ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ และขอสมมติฐาน กลุมบริษัทมีการประมาณการทางบัญชี และใชขอสมมติฐานที่เกี่ยวของกับเหตุการณในอนาคต ผลของประมาณการทางบัญชีอาจ ไมตรงกับผลที่เกิดขึ้นจริง ประมาณทางการบัญชีที่สําคัญและขอสมมติฐานที่มีความเสี่ยงอยางเปนสาระสําคัญที่อาจเปนเหตุใหเกิด การปรับปรุงยอดคงเหลือของสินทรัพยและหนี้สินในรอบระยะเวลาบัญชีหนา มีดังนี้ ประมาณการการดอยคาของคาความนิยม กลุม บริษั ททดสอบการดอยค าของค าความนิ ยมทุ กป ตามที่ไ ดกล าวในหมายเหตุ ขอ 2.13 มู ลคาที่ คาดวาจะไดรับ คืน ของหนว ย สินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสด พิจารณาจากการคํานวณมูลคาจากการใช การคํานวณดังกลาวอาศัยการประมาณการ (หมายเหตุขอ 17) สวนงานขายบานและหองชุด หากประมาณการตนทุนของเงินทุนกอนภาษีที่ใชในการคํานวณกระแสเงินสดคิดลดสูงกวารอยละ 27 กลุมบริษัทจะตองรับรูคาเผื่อ การดอยคาของคาความนิยมเพิ่มขึ้น 48 ลานบาท สวนงานธุรกิจโรงแรม หากประมาณการอัตราการเติบโต ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ต่ํากวารอยละ 3 กลุมบริษัทจะตองรับรูคาเผื่อการดอยคาของคา ความนิยมเพิ่มขึ้นเปนจํานวน 71 ลานบาท หากประมาณการตนทุนของเงินทุนกอนภาษีที่ใชในการคํานวณกระแสเงินสดคิดลดสูงกวารอยละ 12 กลุมบริษัทจะตองรับรูคาเผื่อ การดอยคาของคาความนิยมเพิ่มขึ้น 111 ลานบาท 7

การจัดการความเสี่ยงในสวนของทุน วัตถุประสงคของกลุมบริษัทในการบริหารทุนของกลุมบริษัทนั้นเพื่อดํารงไวซึ่งความสามารถในการดําเนินงานอยางตอเนื่องของ กลุมบริษั ท เพื่อสรางผลตอบแทนตอ ผูถือหุน และเปนประโยชนตอผู ที่มีสว นไดเสียอื่น และเพื่อดํารงไวซึ่ งโครงสรางของทุน ที่ เหมาะสมเพื่อลดตนทุนทางการเงินของทุน ในการดํารงไวหรือปรับโครงสรางของทุน กลุมบริษัทอาจปรับนโยบายการจายเงินปนผลใหกับผูถือหุน การคืน ทุนใหแกผูถือหุน การออกหุนใหมหรือการขายทรัพยสินเพื่อลดภาระหนี้สิน

43


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 8

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ขอมูลจําแนกตามสวนงาน กลุมบริษัทมีสวนงานธุรกิจเกี่ยวกับพั ฒนาและบริหารอสังหาริมทรัพย ธุรกิจโรงแรมและธุรกิจใหเชาอาคาร ยอดรายไดไดตัดรายการ ระหวางกั นออกแลว กําไร(ขาดทุน)จากการขายและใหบ ริการ คํ านวณจากยอดรายได หักด วยตน ทุน ขายและตนทุ นบริการและ คาใชจายในการขายและบริหาร ขอมูลเกี่ยวกับรายไดและกําไรของขอมูลตามสวนงานของกลุมบริ ษัทสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีดังนี้ งบการเงินรวม ตามขอมูลสวนงาน ระหวางสวนงาน สุทธิ บาท

บาท

บาท

รวม

1,175,439,538 736,491,474 241,075,712 332,719,566 2,485,726,290

(1,313,100) (165,931,110) (167,244,210)

1,175,439,538 734,191,474 239,762,612 166,788,456 2,316,182,080

กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได สวนงานขายบานและหองชุดพักอาศัย สวนงานธุรกิจโรงแรม สวนงานอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน สวนงานอื่น (2) รวม

5,553,846 (140,704,925) 89,537,756 (212,313,477) (257,926,800)

-

5,553,846 (140,704,925) 89,537,756 (212,313,477)

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 รายได สวนงานขายบานและหองชุดพักอาศัย (1) สวนงานธุรกิจโรงแรม สวนงานอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน สวนงานอื่น (2)

9,609,557 (248,317,243)

ภาษีเงินได ขาดทุนสุทธิสําหรับป สินทรัพย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 สวนงานขายบานและหองชุดพักอาศัย สวนงานธุรกิจโรงแรม สวนงานอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน สวนงานอื่น รวม (1)

(2)

(257,926,800)

7,562,902,399 6,979,412,938 8,169,942,187 2,595,372,628 25,307,630,152

-

7,562,902,399 6,979,412,938 8,169,942,187 2,595,372,628 25,307,630,152

รายไดจากการใหบริก ารกอ สรางจํานวน 160.39 ลานบาทแสดงไวเปน สวนหนึ่ งของรายได จากการใหเชาและใหบริก ารในงบกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายไดสวนงานอื่นแสดงไวเปนสวนหนึ่งของรายไดอื่นในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

44


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 168 - 169 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 8

ขอมูลตามสวนงาน (ตอ) ขอมูลเกี่ยวกับรายไดและกําไรของขอมูลตามสวนงานของกลุมบริษัทสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีดังนี้ (ตอ) งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม) ตามขอมูลสวนงาน ระหวางสวนงาน สุทธิ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 รายได สวนงานขายบานและหองชุดพักอาศัย สวนงานธุรกิจโรงแรม สวนงานอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน (1) สวนงานอื่น (2) รวม กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได สวนงานขายบานและหองชุดพักอาศัย สวนงานธุรกิจโรงแรม สวนงานอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน สวนงานอื่น (2) รวม

บาท

บาท

บาท

142,767,875 219,628,499 595,184,683 2,973,587,035 3,931,168,092

(2,940,739,774) (2,940,739,774)

142,767,875 219,628,499 595,184,683 32,847,261 990,428,318

(100,201,821) (4,665,914) 588,000,000 (138,708,671) 344,423,594

-

(100,201,821) (4,665,914) 588,000,000 (138,708,671)

3,386,525 347,810,119

ภาษีเงินได กําไรสุทธิสําหรับป สินทรัพย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 สวนงานขายบานและหองชุดพักอาศัย สวนงานธุรกิจโรงแรม สวนงานอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน สวนงานอื่น รวม (1)

(2)

344,423,594

1,740,592,076 290,149,591 4,385,598,217 4,871,345,824 11,287,685,708

-

1,740,592,076 290,149,591 4,385,598,217 4,871,345,824 11,287,685,708

ผลกําไรจากการปรับมูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน จํานวน 588 ลานบาทแสดงไวเปนสวนหนึ่งของรายไดอื่นใน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายไดสวนงานอื่นแสดงไวเปนสวนหนึ่งของรายไดอื่นในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

45


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 9

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท เงินสด เงินฝากธนาคาร

1,467,105 507,921,385 509,388,490

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท

1,555,307 764,829,614 766,384,921

693,500 198,887,980 199,581,480

950,131 329,851,921 330,802,052

เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพยมีอัตราดอกเบี้ยที่อยูที่รอยละ 0.100 ถึง 0.625 ตอป (พ.ศ. 2557 รอยละ 0.750 ตอป) 10

เงินลงทุนระยะสั้น เงินลงทุนระยะสั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายการดังตอไปนี้ เงินลงทุนเผื่อขาย

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทยอย การซื้อเพิ่มขึ้น การจําหนายออกไป การตีราคาใหมของเงินลงทุนเผื่อขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 การซื้อเพิ่มขึ้น การจําหนายออกไป ผลกําไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุนเผื่อขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

งบการเงินรวม บาท

งบการเงินเฉพาะ บริษัท บาท

20,967,272 200,001,000 (90,000,000) 880,902 131,849,174 3,589,241,735 (3,333,683,026) 2,320,457 389,728,340

200,001,000 (70,000,000) 555,937 130,556,937 3,291,241,735 (3,058,247,230) 2,673,217 366,224,659

46


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 170 - 171 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 10

เงินลงทุนระยะสั้น (ตอ) มูลคายุติธรรมของเงินลงทุนระยะสั้น มีดังนี้

ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม กําไรที่ยังไมเกิดขึ้น มูลคายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม บาท

งบการเงิน เฉพาะบริษัท บาท

386,445,740 3,282,600 389,728,340

362,995,504 3,229,155 366,224,659

งบการเงินรวม บาท

งบการเงิน เฉพาะบริษัท บาท

386,445,740 3,282,600 389,728,340

362,995,504 3,229,155 366,224,659

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ยอดรวมของเงินลงทุนระยะสั้น มีรายละเอียดดังนี้

เงินลงทุนในตราสารทุน - หลักทรัพยเผื่อขาย บวก การเปลี่ยนแปลงมูลคาในเงินลงทุน

11

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น สุทธิ

ลูกหนี้การคา หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา สุทธิ ลูกหนี้อื่น รายไดคางรับ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

304,355,965 (731,679) 303,624,286 22,914,085 13,199,745 (2,068,328) 337,669,788

43,850,157 43,850,157 8,921,687 52,771,844

6,762,587 6,762,587 176,472 104,813 7,043,872

8,107,052 8,107,052 7,571,562 15,678,614

47


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 11

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น สุทธิ (ตอ) ลูกหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม สามารถวิเคราะหตามอายุหนี้ที่คางชําระไดดังนี้ งบการเงินรวม

ลูกหนี้การคาที่ยังไมถึงกําหนดชําระ ลูกหนี้การคาที่คางชําระมีดังนี้ - ไมเกิน 3 เดือน - มากกวา 3 เดือน แตไมเกิน 6 เดือน - มากกวา 6 เดือน แตไมเกิน 12 เดือน - มากกวา 12 เดือนขึ้นไป รวมลูกหนี้การคา หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

12

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท

69,144,899

34,882,775

5,806,587

2,722,109

204,305,415 22,320,458 4,882,545 3,702,648 304,355,965 (731,679) 303,624,286

7,664,029 641,330 662,023 43,850,157 43,850,157

919,456 36,544 6,762,587 6,762,587

4,123,662 599,258 662,023 8,107,052 8,107,052

ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท ที่ดิน คาพัฒนาที่ดิน งานระหวางกอสราง งานสาธารณูปโภค คาใชจายอื่นในการพัฒนาโครงการ

5,728,657,945 72,325,696 577,359,029 187,380,464 1,094,628,306 7,660,351,440

686,813,400 879,261 69,910,129 3,615,436 33,610,513 794,828,739

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท 1,552,630,598 45,752,048 565,624 96,884,871 1,695,833,141

445,131,337 879,261 57,724,708 3,615,436 16,329,113 523,679,855

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุมบริษัทใชที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางขางตนจํานวน 3,450.00 ลานบาท (พ.ศ. 2557 จํานวน 3.12 ลานบาท) วางเปนหลักทรัพยค้ําประกันเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (หมายเหตุขอ 21)

48


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 172 - 173 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 13

สินคาคงเหลือ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท บาท อาหารและเครื่องดื่ม วัสดุที่ใชในการดําเนินงาน สินคาเพื่อขาย ที่ดินโครงการ บานพรอมที่ดิน

6,592,176 29,949,964 3,671,110 512,564,392 122,407,453 675,185,095

6,905,705 24,993,305 1,123,088 33,022,098

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท บาท 3,288,639 14,924,303 635,761 18,848,703

3,848,417 15,861,361 427,975 20,137,753

ตนทุนของสินคาคงเหลือที่รับรูเปน คาใชจายและรวมอยูในตนทุนขายในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเปน จํานวน 812,312,361 บาท และจํานวน 98,612,661 บาท ตามลําดับ (พ.ศ. 2557 จํานวน 267,885,420 บาท และจํานวน 127,532,535 บาท ตามลําดับ) 14

เงินลงทุนในบริษัทยอยและการรวมคา เงินลงทุนในการรวมคาตามวิธีสวนไดเสีย จํานวนที่รับรูในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท การรวมคา สุทธิ

-

-

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท -

-

จํานวนที่รับรูในกําไรหรือขาดทุนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในการรวมคา

(41,318,814)

-

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท -

-

49


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

เงินลงทุนในบริษัทยอยและการรวมคา (ตอ) เงินลงทุนในการรวมคา ตามมติที่ประชุมกรรมการของบริษัท เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558 ที่ประชุมมีมติดังตอไปนี้ ที่ ป ระชุ ม อนุ มั ติ ให S Hotels and Resorts (UK) Limited (“S UK”) ซึ่ งเป น บริษั ท ย อ ยที่ กลุม บริษั ท ถื อ หุ น ทางอ อ มร อ ยละ 99.99 เขารวมลงทุนใน Jupiter Hotels Holdings Limited (“JHH”) ผานการรวมคา คือ FS JV CO Limited (“FS JV”) ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนที่ จัดตั้งใหมระหวาง S UK และ FICO Holding (UK) Limited (“FICO UK”) ซึ่งเปนบริษัทในกลุมฟโก (“FICO”) โดยมีรายละเอียด การลงทุนดังนี้ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 S UK ไดรวมลงทุนใน FS JV ซึ่งจดทะเบียนจัดตั้งในสหราชอาณาจักร โดยมีทุนจดทะเบียน 1 ลานปอนด และถือหุนโดย S UK และ FICO UK ในสัดสวนรอยละ 50 เทากัน โดยมีอํานาจในการควบคุมบริษัทและมีสิทธิในการออกเสียง ในที่ประชุมผูถือหุนเทากัน และในวันเดียวกัน S UK ไดทําสัญญาใหกูยืมเงินแก FS JV จํานวน 40 ลานปอนด กําหนดชําระคืน 5 ป อัตราดอกเบี้ย LIBOR บวกรอยละ6.50 ตอป อยางไรก็ตาม จากเนื้อหาในสัญญารวมทุนและสัญญาใหกูยืมเงิน บริษัทมิไดมีอํานาจ ควบคุมใน FS JV และบริษัทยอยมากกวาผูถือหุนอีกฝายหนึ่ง ดังนั้นการรวมลงทุนดังกลาวจึงถือเปนการลงทุนในการรวมคา เมื่อวั นที่ 10 ตุ ลาคม พ.ศ. 2558 FS JV ไดลงทุ นผ านทางบริษั ทยอยทางอ อมแห งหนึ่ งซึ่งถือหุ นในอัตรารอยละ 100 โดยไดลงนามใน สั ญ ญาซื้ อ ขายหุ น (Sales and Purchase Agreement) กั บ Patron Jupiter Holdings S.A.R.L และ West Register Hotels (Holdings) Limited เพื่อเขาลงทุนใน JHH และบริษัทยอยซึ่งเปนบริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้งในสหราชอาณาจักรเพื่อประกอบธุรกิจใหบริการดานโรงแรม และถือครองกรรมสิทธิ์และสิทธิการเชาโรงแรมในสหราชอาณาจักรจํานวน 26 แหง ภายใตแบรนด เมอรเคียว (Mercure) รวมเปน มูลคาการลงทุนประมาณ 155 ลานปอนด หรือประมาณ 8,599 ลานบาท การรวมคาดังรายชื่อตอไปนี้มีทุนเรือนหุนทั้งหมดเปนหุนสามัญ ซึ่งกลุมบริษัทไดถือหุนทางออม ลักษณะของเงินลงทุนในการรวมคา

ชื่อ FS JV CO LIMITED

สถานที่ประกอบธุรกิจ/ สัดสวนของสวนไดเสีย ประเทศที่จดทะเบียนจัดตั้ง (รอยละ) สหราชอาณาจักร

50

ลักษณะ ความสัมพันธ

วิธีการวัดมูลคา

การรวมคา

วิธีสวนไดเสีย

FS JV CO LIMITED เป นบริษั ทที่ ลงทุ นใน JHH และบริ ษัทยอย ซึ่ งเป นบริษั ทที่ จดทะเบียนจัดตั้งในสหราชอาณาจักรเพื่ อประกอบ ธุรกิจใหบริการดานโรงแรม FS JV CO LIMITED เปนบริษัทจํากัด และหุนของบริษัทนี้ไมมีราคาเสนอซื้อขายในตลาด

50


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 174 - 175 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14

เงินลงทุนในบริษัทยอยและการรวมคา (ตอ) เงินลงทุนในการรวมคา (ตอ) ขอมูลทางการเงินโดยสรุปสําหรับการรวมคา ขอมูลทางการเงินสําหรับบริษัท FS JV CO LIMITED ซึ่งปฏิบัติตามวิธีสวนไดเสีย แสดงดังตอไปนี้ งบแสดงฐานะการเงินโดยสรุป FS JV CO LIMITED 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท สวนที่หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด สินทรัพยหมุนเวียนอื่น(ไมรวมเงินสด) สินทรัพยหมุนเวียนรวม

375,390,584 411,946,015 787,336,599

หนี้สินหมุนเวียนอื่น(รวมเจาหนี้การคา) หนี้สินหมุนเวียนรวม

(936,274,688) (936,274,688)

สวนที่ไมหมุนเวียน สินทรัพย

9,202,074,363

หนี้สินทางการเงิน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินไมหมุนเวียนรวม สินทรัพยสุทธิ

(8,720,259,798) (383,245,212) (9,103,505,010) (50,368,736)

51


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

เงินลงทุนในบริษัทยอยและการรวมคา (ตอ) เงินลงทุนในการรวมคา (ตอ) ขอมูลทางการเงินโดยสรุปสําหรับการรวมคา (ตอ) ขอมูลทางการเงินสําหรับบริษัท FS JV CO LIMITED ซึ่งปฏิบัติตามวิธีสวนไดเสีย แสดงดังตอไปนี้ (ตอ) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสรุป

FS JV CO LIMITED สําหรับงวดตั้งแตวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท

รายได ตนทุนขาย คาใชจายดําเนินงาน คาใชจายดอกเบี้ย ขาดทุนจากการดําเนินงานตอเนื่อง คาใชจายภาษีเงินได ขาดทุนหลังภาษีจากการดําเนินงานตอเนื่อง กําไรหลังภาษีจากการดําเนินงานที่ยกเลิก กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม เงินปนผลรับจากการรวมคา

964,056,528 (444,918,125) (472,001,675) (148,596,169) (101,459,441) (3,912,221) (105,371,662) (105,371,662) -

ขอมูลขางตนเปนจํานวนที่รวมอยูในงบการเงินของการรวมคา (ซึ่งไมใชเพียงแคสวนแบงของกลุมบริษัทในการรวมคาดังกลาว) และปรับปรุงเกี่ยวกับความแตกตางของนโยบายการบัญชีของกลุมบริษัทและการรวมคา

52


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 176 - 177 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14

เงินลงทุนในบริษัทยอย การรวมคา (ตอ) เงินลงทุนในการรวมคา (ตอ) ขอมูลทางการเงินโดยสรุปสําหรับการรวมคา (ตอ) ขอมูลทางการเงินสําหรับบริษัท FS JV CO LIMITED ซึ่งปฏิบัติตามวิธีสวนไดเสีย แสดงดังตอไปนี้ (ตอ) การกระทบยอดรายการขอมูลทางการเงินโดยสรุป การกระทบยอดรายการระหวางขอมูลทางการเงินโดยสรุปกับมูลคาตามบัญชีของเงินลงทุนในการรวมคา FS JV CO LIMITED สําหรับงวดตั้งแตวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท สินทรัพยสุทธิ ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ขาดทุนสําหรับงวด กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น สินทรัพยสุทธิ ณ วันสิ้นงวด สวนไดเสียในการรวมคา (รอยละ 50) สวนแบงที่เกินกวาสวนไดเสียจากการรวมคาที่กลุมบริษัทไมรับรูและไมมีภาระผูกพัน มูลคาตามบัญชี

54,884,000 (105,371,662) (50,368,736) (25,184,368) 25,184,368 -

ภาระผูกพันที่เปนขอผูกมัดตามสัญญาเชาดําเนินงานของการรวมคาตามสวนไดเสียในการรวมคาที่ไมสามารถยกเลิกได มีดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 พันปอนด พันปอนด ภายใน 1 ป เกินกวา 1 ปแตไมเกิน 5 ป เกินกวา 5 ป รวม

130 374 4,237 4,741

-

53


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

เงินลงทุนในบริษัทยอยและการรวมคา (ตอ) บริษัทยอย รายการเคลื่อนไหวของเงินลงทุนในบริษัทยอยสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังตอไปนี้ งบการเงินเฉพาะบริษัท

เงินลงทุนในบริษัทยอย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้นระหวางป เพิ่มเงินลงทุนในบริษัทยอย ลดลงจากการปดบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

11,931,840,319 1,492,078,336 2,570,099,906 (7,856,591,859) 8,137,426,702

11,931,840,319 11,931,840,319

เงินลงทุนในบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มีดังตอไปนี้ งบการเงินเฉพาะบริษัท ทุนจดทะเบียน สัดสวนเงินลงทุน มูลคาตามบัญชี บาท รอยละ บาท บริษัทยอย บริษัท เอส โฮเทล แมเนจเมนท จํากัด บริษัท เอสโฮเทล พีพี ไอสแลนด จํากัด บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอรเชียล อินเตอร จํากัด บริษัท เอส โฮเทล แอนด รีสอรท อินเตอร จํากัด รวม

20,000,000 30,000,000 878,768,100 4,062,000,000 1,913,800,000

99.99 99.99 51.00 99.99 99.99

19,999,960 29,999,600 1,810,828,242 4,061,998,900 2,214,600,000 8,137,426,702

54


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 178 - 179 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14

เงินลงทุนในบริษัทยอยและการรวมคา (ตอ) บริษัทยอย (ตอ) กลุมบริษัทมีบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ดังตอไปนี้

ประเทศที่ จดทะเบียนจัดตัง้ บริษัท แม็กซ ฟวเจอร จํากัด

ไทย

บริษัท สิงห พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด

ไทย

บริษัท เอส โฮเทล แมเนจเมนท จํากัด บริษัท เอสโฮเทล พีพี ไอสแลนด จํากัด บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด

ไทย ไทย ไทย

บริษัท เนอวานา พระราม 9 จํากัด

ไทย

บริษทั เนอวานา คอนสตรัคชั่น จํากัด บริษัท เนอวานา ยู จํากัด

ไทย ไทย

บริษัท ทรัพยธนารินทร จํากัด

ไทย

บริษัท เนอวานา ริเวอร จํากัด

ไทย

บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอรเชียล อินเตอร จํากัด บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอรเชียล จํากัด S Commercials (Singapore) Pte. Ltd. บริษัท เอส โฮเทล แอนด รีสอรท อินเตอร จํากัด

ไทย ไทย สิงคโปร ไทย

ลักษณะของธุรกิจ ธุรกิจอสังหาริมทรัพยและ พัฒนาอสังหาริมทรัพย ธุรกิจอสังหาริมทรัพยและ พัฒนาอสังหาริมทรัพย ธุรกิจรับบริหารโรงแรม ธุรกิจใหเชาอสังหาริมทรัพย ธุรกิจอสังหาริมทรัพยและ พัฒนาอสังหาริมทรัพย ธุรกิจอสังหาริมทรัพยและ พัฒนาอสังหาริมทรัพย ธุรกิจรับจางกอสราง ธุรกิจอสังหาริมทรัพยและ พัฒนาอสังหาริมทรัพย ธุรกิจอสังหาริมทรัพยและ พัฒนาอสังหาริมทรัพย ธุรกิจอสังหาริมทรัพยและ พัฒนาอสังหาริมทรัพย ธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น ธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น ธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น ธุรกิจการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย และ ใหบริการดานการ บริหารหรือดานเทคนิค และการใหบริการ สนับสนุนใหแกบริษัท ในเครือหรือสาขาของ บริษัท

สัดสวนของ สัดสวนของ หุนสามัญที่ถือ หุนสามัญที่ถือ โดยบริษัทใหญ โดยกลุมบริษัท (รอยละ) (รอยละ)

สัดสวนของ หุนสามัญที่ถือ โดยสวนไดเสีย ที่ไมมีอํานาจ ควบคุม (รอยละ)

-

99.99

0.01

-

99.99

0.01

99.99 99.99 51.00*

99.99 99.99 -

0.01 0.01 49.00

-

51.00*

49.00

-

51.00* 51.00*

49.00 49.00

-

51.00*

49.00

-

51.00*

49.00

99.99 99.99

99.99 99.99 -

0.01 0.01 0.01 0.01

* บริษัทมีการเป ดรับหรือมีสิทธิในผลตอบแทนผันแปรและมีความสามารถทํ าใหเกิดผลกระทบตอผลตอบแทนจากการใชอํานาจ เหนือบริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด และบริษัทยอย

55


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะ จํระกอบงบการเงิ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

เงินลงทุนในบริษัทยอยและการรวมคา (ตอ) บริษัทยอย (ตอ) กลุมบริษัทมีบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ดังตอไปนี้ (ตอ)

บริษัท เอส โฮเทล แอนด รีสอรท จํากัด S Hotels and Resorts (UK) Ltd. S Hotels and Resorts (HK) Ltd. S Hotels and Resorts (SG) Pte. Ltd.

ประเทศที่ จดทะเบียนจัดตัง้

ลักษณะของธุรกิจ

ไทย สหราชอาณาจักร ฮองกง สิงคโปร

ธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น ธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น ธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น ธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น

สัดสวนของ สัดสวนของ หุนสามัญที่ถือ หุนสามัญที่ถือ โดยบริษัทใหญ โดยกลุมบริษัท (รอยละ) (รอยละ) -

99.99 100 100 100

สัดสวนของ หุนสามัญที่ถือ โดยสวนไดเสีย ที่ไมมีอํานาจ ควบคุม (รอยละ) 0.01 -

บริษัทยอยดังกลาวขางตนไดรวมอยูในการจัดทํางบการเงินรวมของกลุมบริษัท สัดสวนของสิทธิในการออกเสียงในบริษัทยอยที่ถือ โดยบริษัทใหญไมแตกตางจากสัดสวนที่ถือหุนสามัญ โครงสรางกิจการในสวนงานอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ตามมติที่ประชุมกรรมการ เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ที่ประชุมมีมติอนุ มัติการจัดโครงสรางกิจการในกลุมบริษัทสําหรับ ธุรกิจอาคารสํานักงานโดยการจัดตั้งบริษัทยอยในประเทศและตางประเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการและการลงทุนของ กลุมบริษัท โดยมีรายละเอียดดังนี้ ก)

บริษั ท เอส เอสเตท คอมเมอรเชียล อิ นเตอร จํากัด ไดจดทะเบียนจัดตั้ งเป นบริษั ทจํากัด กับ กระทรวงพาณิช ย เมื่อ วัน ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 โดยมี ทุ น จดทะเบี ย นจํ านวน 4,062,000,000 บาท แบ ง เป น หุ น สามั ญ จํ านวน 40,620,000 หุ น มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เปนหุนที่ชําระดวยทรัพยสินโดยการที่ออกหุนใหแกบริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) จํานวน 40,619,989 หุน เพื่อแลกเปลี่ยนกับหุนในบริษัท สิงห พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด จํานวน 25,619,992 หุน ซึ่งมีมู ลคาที่ต ราไวหุน ละ 100 บาท และหุน ในบริษัท แม็ กซ ฟวเจอร จํากัด จํานวน 14,999,997 หุน ซึ่ งมีมูลคาที่ตราไว หุนละ 100 บาท สําหรับหุนที่เหลือจํานวน 11 หุนนั้นชําระดวยเงินหุนละ 100 บาท

ข)

บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอรเชียล จํากัด ไดจดทะเบียนจัดตั้งเปนบริษัทจํากัดกับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 โดยมี ทุ นจดทะเบี ยนจํานวน 2,080,000,000 บาท แบ งเป นหุ นสามั ญจํ านวน 20,800,000 หุ น มู ลคาที่ ตราไวหุ นละ 100 บาท เปนหุนที่ชําระดวยทรัพยสินโดยการที่ออกหุนใหแกบริษัท เอส เอสเตท คอมเมอรเชียล อินเตอร จํากัด จํานวน 20,799,997 หุน เพื่ อแลกเปลี่ย นกั บหุ น ในบริ ษัท สิงห พร็ อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเม นท จํากัด จํ านวน 13,099,998 หุ น ซึ่ งมีมู ลค าที่ต ราไว หุนละ 100 บาท และหุนในบริษัท แม็กซ ฟวเจอร จํากัด จํานวน 7,699,999 หุน ซึ่งมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท สําหรับ หุนที่เหลือจํานวน 3 หุนนั้นชําระดวยเงินหุนละ 100 บาท

ค)

S Commercials (Singapore) Pte. Ltd. ไดจดทะเบียนจัดตั้งเปนบริษัทจํากัดในประเทศสิงคโปร เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2558 โดยมีทุ นจดทะเบียนจํานวน 56,796,178 ดอลลารสหรัฐฯ แบ งเป นหุ นสามัญจํานวน 56,796,178 หุ น มูลค าที่ตราไว หุนละ 1 ดอลลาร สหรัฐฯ เป นหุ นที่ ชํ าระด วยทรั พย สินโดยการที่ ออกหุ นให แก บริษั ท เอส เอสเตท คอมเมอร เชี ยล อิ น เตอร จํ ากั ด จํานวน 56,796,178 หุน เพื่อแลกเปลี่ยนกับหุนในบริษัท สิงห พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด จํานวน 12,519,994 หุน ซึ่งมี มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท และหุนในบริษัท แม็กซ ฟวเจอร จํากัด จํานวน 7,299,998 หุน ซึ่งมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท 56


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 180 - 181 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14

เงินลงทุนในบริษัทยอยและการรวมคา (ตอ) บริษัทยอย (ตอ) กลุมบริษัทมีบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ดังตอไปนี้ (ตอ) โครงสรางกิจการในสวนงานธุรกิจโรงแรม ตามมติที่ประชุมกรรมการ เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ที่ประชุมมีมติอนุมัติการจัดโครงสรางกิจการในกลุมบริษัทสําหรับ ธุรกิจโรงแรมโดยการจัดตั้งบริษัทยอยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการและการลงทุนของกลุมบริษัท โดยมีรายละเอียดดังนี้ ก)

บริ ษั ท เอส โฮเทล แอนด รี ส อร ท อิ น เตอร จํ ากั ด ได จดทะเบี ยนจั ด ตั้ งเป น บริ ษั ท จํากั ด กั บ กระทรวงพาณิ ช ย เมื่อวั นที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2558 โดยมีทุนจดทะเบียนจํานวน 10,000,000 บาท แบงเปนหุนสามัญจํานวน 100,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท บริษัทยอยดังกลาวไดมีการเรียกชําระคาหุนรอยละ 25 ตามสัดสวนการถือครองหุนของบริษัท ซึ่งบริษัทไดจายชําระ คาหุนในราคาหุนละ 25 บาท คิดเปนจํานวนเงินรวม 2.5 ลานบาท เรียบรอยแลว เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2558 บริษัทยอยดังกลาวไดเรียกชําระเต็มคาหุนเพิ่มเติมอีกหุนละ 75 บาท รวมเปนจํานวนเงินรวม 7.5 ลานบาท ซึ่งบริษัทไดจายชําระคาหุนเพิ่มเติมเต็มจํานวนแลว ตอมาเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทดังกลาวมีมติพิเศษอนุมัติใหเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก เดิ ม 10,000,000 บาท เป น ทุ น จดทะเบี ยนใหม 1,913,800,000 บาท (หุ น สามั ญ 19,038,000 หุ น มู ลค าหุ น ละ 100 บาท) ได จดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชยแลวเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ซึ่งบริษัทไดจายชําระคาหุนดังกลาวเต็มจํานวนแลว

ข)

เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัท เอส โฮเทล แมนเนจเมนท จํากัด ไดมีมติพิเศษอนุมัติ ใหเพิ่มทุนจดทะเบียนอีก 10,000,000 บาท เปนทุนจดทะเบียน 20,000,000 บาท (หุนสามัญ 2,000,000 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท) ได จดทะเบียนเพิ่มทุ นกับกระทรวงพาณิ ชยแลวเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ซึ่งบริษัทไดจายชําระคาหุนดังกลาวเต็ ม จํานวนแลว

ค)

เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอสแลนด จํากัด ไดมีมติพิเศษอนุมัติ ใหเพิ่มทุนจดทะเบียนอีก 20,000,000 บาท เปนทุนจดทะเบียน 30,000,000 บาท (หุนสามัญ 300,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท) ได จดทะเบียนเพิ่มทุ นกับกระทรวงพาณิ ชยแลวเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ซึ่งบริษัทไดจายชําระคาหุนดังกลาวเต็ ม จํานวนแลว

ง)

S Hotels and Resorts (UK) Ltd. ไดจดทะเบียนจัดตั้งเปนบริษัทจํากัดในสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558 โดยมีทุนจดทะเบียนจํานวน 500,000 ปอนด

จ)

S Hotels and Resorts (HK) Ltd. ไดจดทะเบียนจัดตั้งเปนบริษั ทจํากัดในฮองกง เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2558 โดยมีทุ น จดทะเบียนจํานวน 40,500,000 ปอนด

ฉ)

S Hotels and Resorts (SG) Pte. Ltd. ไดจดทะเบียนจัดตั้งเปนบริษัทจํากัดในประเทศสิงคโปร เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 โดยมีทุนจดทะเบียนจํานวน 1 ดอลลารสหรัฐฯ 57


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

เงินลงทุนในบริษัทยอยและการรวมคา (ตอ) บริษัทยอย (ตอ) ขอมูลทางการเงินของบริษัทยอยที่มีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม รายละเอียดแสดงขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทยอยที่มีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมที่มีสาระสําคัญตอกลุมบริษัท งบแสดงฐานะการเงินโดยสรุป บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด และบริษัทยอย(*) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท สวนที่หมุนเวียน สินทรัพย หนี้สิน รวมสินทรัพยหมุนเวียนสุทธิ สวนที่ไมหมุนเวียน สินทรัพย หนี้สิน รวมหนี้สินไมหมุนเวียนสุทธิ สินทรัพยสุทธิ ผลตางระหวางมูลคายุติธรรมและมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยสุทธิที่ไดรับ ผลตางระหวางมูลคายุติธรรมและมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยสุทธิที่ไดรับที่รับรูในงบกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ สวนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม

3,837,011,618 (1,291,175,062) 2,545,836,556 90,110,343 (1,163,049,197) (1,072,938,854) 1,472,897,702 949,136,000 (43,691,840) 2,378,341,862 1,165,387,512

(*) บริษั ทยอยของบริษัทเนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด ประกอบดวย บริษัท เนอวานา พระราม 9 จํากัด และบริษัท เนอวานา คอนสตรัคชั่น จํากัด และบริษัท เนอวานา ยู จํากัด และบริษัท ทรัพยธนารินทร จํากัด และบริษัท เนอวานา ริเวอร จํากัด

58


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท 182 - 183 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14

เงินลงทุนในบริษัทยอยและการรวมคา (ตอ) บริษัทยอย (ตอ) ขอมูลทางการเงินของบริษัทยอยที่มีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม (ตอ) รายละเอียดแสดงขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทยอยที่มีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมที่มีสาระสําคัญตอกลุมบริษัท (ตอ) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสรุป บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด และบริษัทยอย(*) สําหรับงวดตั้งแตวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2558 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท รายได กําไรกอนภาษี คาใชจายภาษีเงินได กําไรหลังภาษีจากการดําเนินงานตอเนื่อง กําไรหลังภาษีจากการดําเนินงานที่ยกเลิก กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ผลตางระหวางมูลคายุติธรรมและมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยสุทธิที่ไดรับที่รับรูในงบกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสวนที่เปนของ สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม (รอยละ 49)

1,065,025,050 76,761,239 (11,585,206) 65,176,033 1,408,370 66,584,403 (43,691,840) 22,892,563 11,217,356

59


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

เงินลงทุนในบริษัทยอยและการรวมคา (ตอ) บริษัทยอย (ตอ) กลุมบริษัทมีบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ดังตอไปนี้ (ตอ) ขอมูลทางการเงินของบริษัทยอยที่มีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม (ตอ) รายละเอียดแสดงขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทยอยที่มีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมที่มีสาระสําคัญตอกลุมบริษัท (ตอ) งบกระแสเงินสดโดยสรุป

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน เงินสดไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน จายดอกเบี้ย จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมดําเนินงาน เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนงวด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายงวด

บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด และบริษัทยอย(*) สําหรับงวดตั้งแตวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2558 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท (534,652,741) (25,936,999) (41,649,655) (602,239,395) 83,044,887 642,991,527 123,797,019 30,124,947 153,921,966

ขอมูลขางตนแสดงดวยจํานวนกอนการตัดรายการระหวางกัน

60


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 184 - 185 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 15

อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนของกลุมบริษัทวัดคาดวยวิธีมูลคายุติธรรม งบการเงินรวม

ที่ดิน บาท

หมายเหตุ มูลคายุติธรรม ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิ่มขึ้นจาก: - การซื้อ - การไดมาจากการซื้อธุรกิจ การโอนไปยังที่ดิน อาคารและอุปกรณ การโอนไปยังตนทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย ณ มูลคายุติธรรม ผลขาดทุนจากการปรับมูลคายุติธรรม ของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน มูลคายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชี

อาคารและ สวนปรับปรุง อาคารระหวาง อาคาร กอสราง บาท บาท

รวม บาท

3,845,000,000

184,048,281

356,549,936 4,385,598,217

858,300,000 -

32,000,000 3,620,088,877 (1,448,281)

122,949,709 154,949,709 - 4,478,388,877 (1,448,281)

(613,636,163)

-

4,089,663,837

(28,900,000) 3,805,788,877

- (28,900,000) 479,499,645 8,374,952,359

2,773,777,137

3,669,517,549

479,499,645 6,922,794,331

30.2

-

(613,636,163)

งบการเงินเฉพาะบริษัท

มูลคายุติธรรม ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิ่มขึ้นจาก: - การซื้อ ผลขาดทุนจากการปรับมูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน มูลคายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชี

อาคารและ สวนปรับปรุง อาคาร บาท

รวม บาท

182,600,000

182,600,000

32,000,000 (28,900,000) 185,700,000

32,000,000 (28,900,000) 185,700,000

154,884,391

154,884,391

61


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 15

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน (ตอ) ขั้นตอนการประเมินมูลคายุติธรรม กลุมบริษัทไดจัดใหมีการประเมินมูลคาอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนโดยผูเชี่ยวชาญการประเมินมูลคาอิสระ (“ผูประเมินอิสระ”) โดยผูประเมินอิสระเปนผูที่ไดรับการรับรองตามมาตรฐานวิชาชีพและเปนผูมีประสบการณในการประเมินมูลคาในอสังหาริมทรัพย ประเภทเดีย วกัน และอยูในทํ าเลที่ตั้งเดียวกับหรือใกลเคี ยงกับ อสังหาริมทรัพ ยเพื่ อการลงทุน ที่ได รับการประเมิน มูลค าดังกล าว การใชงานอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนของกลุมบริษัททุกสินทรัพยเปนการใชประโยชนในลักษณะที่เปนการใชประโยชนที่ดี ที่สุ ดและกอ ให เกิ ดประโยชน สูงสุ ดแกกลุ มบริษั ท เพื่ อ วัตถุ ประสงค ในการรายงานทางการเงิน คณะทํ างานในฝ ายการเงิน ของ กลุม บริษั ทจะทําการสอบทานมูลคาที่ ประเมิน โดยผูป ระเมิ น อิสระ โดยคณะทํ างานดั งกล าวจะรายงานไปยัง ประธานเจาหน าที่ บริหารการเงิน (CFO) และประธานเจาหนาที่บริหารการเงิน คณะทํางานดานการประเมินมูลคา และผูประเมินอิสระจะมีการประชุม หารือเกี่ยวกับขั้นตอนการประเมินมูลคาและผลการประเมินมูลคาอยางสม่ําเสมอ โดยทุกสิ้นป ฝายการเงินจะปฏิบัตดังนี้   

ตรวจสอบขอมูลดิบที่สําคัญที่จะนําไปใชในรายงานการประเมินมูลคาของผูประเมินอิสระ ประเมินการเปลี่ยนแปลงในมูลคาอสังหาริมทรัพยโดยเปรียบเทียบกับรายการการประเมินมูลคาในปกอน จัดประชุมเพื่ออภิปรายกับผูป ระเมินอิสระ

กลุมบริษัทไมมีการเปลี่ยนวิธีการประเมินมูลคาในระหวางป จํานวนเงินที่เกี่ยวของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ที่ไดรับรูในกําไรหรือขาดทุน ไดแก งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท รายไดคาเชา คาใชจายในการดําเนินงานโดยตรงที่เกิดจาก อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนซึ่งกอใหเกิด รายไดคาเชาสําหรับป คาใชจายในการดําเนินงานโดยตรงที่เกิดจาก อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนซึ่งไมไดกอใหเกิด รายไดคาเชาสําหรับป

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท

241,075,712

5,645,922

13,443,747

10,507,135

63,383,181

3,355,777

11,309,227

11,496,554

96,431,442

39,748,157

269,996

8,226,321

62


16 งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม)

207,817,082 1,837,000,000 2,044,817,082 2,044,817,082 2,044,817,082

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี สุทธิ

207,817,082 207,817,082

90,282,542 (70,513,171) 19,769,371

17,718,239 1,805,883 2,735,530 (2,490,281) 19,769,371

85,454,934 (67,736,695) 17,718,239

980,222,404 (409,197,314) 571,025,090

60,633,540 424,959,384 48,597,781 60,204,821 (8,262,276) (15,108,160) 571,025,090

450,095,723 (389,462,183) 60,633,540

366,370,071 (269,435,538) 96,934,533

37,888,477 35,221,542 18,580,572 24,411,118 (7,058,141) (12,109,035) 96,934,533

297,826,031 (259,937,554) 37,888,477

สวนปรับปรุงที่ดิน เครื่องตกแตง ติดตั้ง และทรัพยสิน อาคารและ และเครื่องใช ที่ดิน สวนควบ สวนปรับปรุงอาคาร สํานักงาน บาท บาท บาท บาท

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีตนป สุทธิ การซื้อ เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทยอย สุทธิ โอนยายประเภท การจําหนาย สุทธิ คาเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายป สุทธิ

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี สุทธิ

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สุทธิ

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

23,868,075 (16,872,335) 6,995,740

9,006,075 521,200 2,770,168 (3,519,575) (1,782,128) 6,995,740

51,579,514 (42,573,439) 9,006,075

ยานพาหนะ บาท

362,029,411 362,029,411

113,435,601 334,892,161 1,515,618 (87,351,469) (462,500) 362,029,411

113,435,601 113,435,601

บาท

งานระหวางกอสราง

63

3,867,589,585 (766,018,358) 3,101,571,227

446,499,014 2,632,594,287 73,270,022 (19,302,492) (31,489,604) 3,101,571,227

1,206,208,885 (759,709,871) 446,499,014

รวม บาท

186 - 187 หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท


16

2,044,817,082 27,053,160 (20,239,767) 2,051,630,475

2,051,630,475 2,051,630,475

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี สุทธิ

78,672,358 (19,442,390) 59,229,968

19,769,371 48,380,248 (165,878) (8,753,773) 59,229,968

สวนปรับปรุงที่ดิน และทรัพยสิน สวนควบ ที่ดิน บาท บาท

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตนป สุทธิ หลังปรับปรุง การซื้อ การไดมาจากการรับโอนกิจการจากบริษัทยอย สุทธิ เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทยอย สุทธิ โอนยายประเภท การจําหนาย สุทธิ คาเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายป สุทธิ

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สุทธิ (ตอ)

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

1,034,880,469 (204,334,802) 830,545,667

571,025,090 19,158,056 110,211,719 212,604,787 (21,842,273) (60,611,712) 830,545,667

อาคารและ สวนปรับปรุง อาคาร บาท

532,560,005 (186,675,641) 345,884,364

96,934,533 27,487,502 1,424,559 14,812,083 274,811,751 (3,846,267) (65,739,797) 345,884,364

งบการเงินรวม เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใช สํานักงาน บาท

48,547,910 (22,306,080) 26,241,830

6,995,740 6,106,058 5,950,769 18,303,321 (2,805,737) (8,308,321) 26,241,830

ยานพาหนะ บาท

193,610,849 193,610,849

362,029,411 386,497,939 6,986 (554,923,487) 193,610,849

งานระหวาง กอสราง บาท

64

3,939,902,066 (432,758,913) 3,507,143,153

3,101,571,227 439,249,555 1,424,559 158,034,717 (823,380) (48,899,922) (143,413,603) 3,507,143,153

รวม บาท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558 บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


16

207,817,082 207,817,082 207,817,082 207,817,082

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี สุทธิ

-

88,190,464 (70,213,398) 17,977,066

18,652,671 (675,605) 17,977,066

-

ที่ดิน สวนปรับปรุงที่ดิน บาท บาท

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีตนป สุทธิ การซื้อ การไดมาจากการรับโอนกิจการจากบริษัทยอย สุทธิ การจําหนาย สุทธิ คาเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายป สุทธิ

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี สุทธิ

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สุทธิ (ตอ)

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

500,293,899 (395,676,919) 104,616,980

107,135,933 (2) (2,518,951) 104,616,980

-

321,420,630 (255,715,413) 65,705,217

7,558,993 12,950,529 54,072,646 (3,239,618) (5,637,333) 65,705,217

10,670,709 (3,111,716) 7,558,993

18,974,169 (14,665,524) 4,308,645

227,000 140,799 4,522,253 (63,689) (517,718) 4,308,645

8,824,044 (8,597,044) 227,000

งบการเงินเฉพาะบริษัท (ปรับปรุงใหม) อาคารและ เครื่องตกแตง สวนปรับปรุง ติดตั้งและเครื่องใช ยานพาหนะ อาคาร สํานักงาน บาท บาท บาท

360,388,284 360,388,284

256,209,009 104,179,275 360,388,284

-

งานระหวาง กอสราง บาท

65

1,497,084,528 (736,271,254) 760,813,274

7,785,993 269,300,337 496,379,860 (3,303,309) (9,349,607) 760,813,274

19,494,753 (11,708,760) 7,785,993

รวม บาท

188 - 189 หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท


16

207,817,082 207,817,082

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี สุทธิ 27,693,757 (12,506,174) 15,187,583

17,977,066 (165,876) (2,623,607) 15,187,583 596,239,779 (169,846,951) 426,392,828

104,616,980 198,964 358,088,469 (1,011,740) (35,499,845) 426,392,828 368,287,787 (134,882,117) 233,405,670

65,705,217 16,393,776 1,424,558 194,659,060 (3,573,624) (41,203,317) 233,405,670

เครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องใช อาคารและ สวนปรับปรุงที่ดิน สวนปรับปรุงอาคาร สํานักงาน บาท บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท

15,004,876 (9,332,462) 5,672,414

4,308,645 2,926,887 (32,977) (1,530,141) 5,672,414

28,700,035 28,700,035

360,388,284 221,166,484 (552,854,733) 28,700,035

ยานพาหนะ งานระหวางกอสราง บาท บาท

66

กลุมบริษัทบัน ทึกคาเสื่อมราคาในตนทุน การใหบริการและคาใช จายในการบริหารในงบการเงินรวมเป นจํานวนเงิน 100,626,204 บาท และจํานวน 42,787,399 บาท ตามลําดับ (พ.ศ. 2557 จํานวน 22,075,880 บาท และ จํานวน 9,413,724 บาท ตามลําดับ) และบริษัทบันทึกคาเสื่อมราคาในตนทุนการใหบริการและคาใชจายในการบริหารในงบการเงินเฉพาะบริษัทจํานวนเงิน 50,472,641 บาท และจํานวน 30,384,269 บาท ตามลําดับ (พ.ศ. 2557 จํานวน 6,277,946 บาท และจํานวน 3,071,661 บาท ตามลําดับ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีสุทธิของสินทรัพยซึ่งไดมาจากสัญญาเชาการเงินของกลุมบริษัทมีมูลคา 2,040,678 บาท (พ.ศ. 2557 ไมมี)

760,813,274 240,686,111 1,424,558 (107,204) (4,784,217) (80,856,910) 917,175,612

รวม บาท

1,243,743,316 (326,567,704) 917,175,612

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ที่ดินและสิ่งปลูกสรางของกลุมบริษัทจํานวนเงิน 2,389.15 ลานบาท (พ.ศ. 2557 จํานวน 327.32 ลานบาท) ไดนําไปวางเปนหลักประกันเงินกูยืมจากธนาคาร (หมายเหตุขอ 21)

207,817,082 207,817,082

ที่ดิน บาท

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตนป สุทธิ หลังปรับปรุง การซื้อ การไดมาจากการรับโอนกิจการจากบริษทั ยอย สุทธิ โอนยายประเภท ตัดจําหนายและจําหนาย สุทธิ คาเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายป สุทธิ

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สุทธิ (ตอ)

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558 บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 190 - 191 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 17

คาความนิยม งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท ณ วันที่ 1 มกราคม ราคาทุน หัก คาเผื่อการดอยคา ราคาตามบัญชี สุทธิ

398,995,748 398,995,748

-

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ราคาตามบัญชีตนป สุทธิ การไดมาซึ่งบริษัทยอย (หมายเหตุ 30.1) การปรับปรุงซึ่งเปนผลมาจากการวัดมูลคายุติธรรม ของสินทรัพยสุทธิที่ไดมาจากการซื้อธุรกิจ ราคาตามบัญชีปลายป สุทธิ

398,995,748 557,967,920

398,995,748

(15,024,000) 941,939,668

398,995,748

ณ วันที่ 31 ธันวาคม ราคาทุน หัก คาเผื่อการดอยคา ราคาตามบัญชี สุทธิ

941,939,668 941,939,668

398,995,748 398,995,748

เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 บริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอสแลนด จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท ไดทํารายการซื้อที่ดินและ สิ่งปลูกสราง พรอมสินทรัพยอื่นที่ใชประกอบกิจการโรงแรมพีพี ไอสแลนด วิลเลจ บีช รีสอรท (เดิมชื่อ “โรงแรมเอาทริกเกอร พีพี ไอสแลนด วิลเลจ บีช รีสอรท แอนด สปา”) จากกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย เอ็มเอฟซี-อะเมซิ่ง อะลา อันดามัน และซื้อสวนไดเสีย ในบริษัท พีพี วิลเลจ แอสเซ็ท แมเนจเมนท จํากัด จากผูถือหุนเดิม ทําใหกลุมบริษัทมีอํานาจควบคุมในบริษัทดังกลาว ในระหวางป พ.ศ. 2558 บริษั ท ทําการวั ดมู ลคายุติ ธรรมของสิน ทรั พยและหนี้สิ น ที่ระบุ ได สุท ธิของบริ ษัท พี พี วิลเลจ แอสเซ็ ท แมเนจเมนท จํากัด เสร็จสมบูรณ จากผลการวัดมูลคาของสินทรัพยสุทธิที่ไดมาดังกลาว บริษัทจึงไดโอนคาความนิยมจํานวน 18.78 ลานบาท ไปยังอาคารและอุปกรณ และจํานวน 3.76 ลานบาท ไปยังหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี อยางไรก็ตาม ผูบริหารเห็นวา ผลกระทบไมมีสาระสําคัญที่จะตองทํารายการปรับปรุงยอนหลังสําหรับงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 สวนตางระหวางมูลคาทางบัญชีและมูลคายุติธรรมของสินทรัพ ยที่ไดมาจากการลงทุนในบริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด (หมายเหตุขอ 30.1) แสดงไวภายใตคาความนิยม บริษัทดังกลาวอยูระหวางการประเมินมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่ไดมาจากการ ซื้อธุรกิจครั้งนี้

67


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 17

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

คาความนิยม (ตอ) คาความนิยมไดถูกปนสวนใหแกหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสด (CGU) ที่ถูกกําหนดตามสวนงานธุรกิจ การปนสวนของคาความนิยมใหแกหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดสามารถแสดงไดดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2558

การปนสวนคาความนิยม

สวนงาน ขายบาน และหองชุด บาท

สวนงาน ธุรกิจโรงแรม บาท

692,736,991

249,202,677 941,939,668

รวม บาท

สวนงาน ขายบาน สวนงานธุรกิจ และหองชุด โรงแรม บาท บาท 134,769,071

264,226,677

รวม บาท 398,995,748

มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดพิจารณาจากการคํานวณมูลคาจากการใช การคํานวณดังกลาวใช ประมาณการกระแสเงินสดกอนภาษีซึ่งอางอิ งจากงบประมาณทางการเงินครอบคลุมระยะเวลา 5 ป ซึ่งไดรับ อนุมัติจากผูบริหาร กระแสเงินสดหลังจากปที่ 5 ใชประมาณการของอัตราการเติบโตดังกลาวในตารางขางลาง อัตราการเติบโตดังกลาวไมสูงกวาอัตรา การเติบโตเฉลี่ยของธุรกิจที่หนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดนั้นดําเนินงานอยู ขอสมมติฐานที่ใชในการคํานวณมูลคาจากการใชแสดงไดดังตอไปนี้ สวนงานขายบาน และหองชุด

สวนงาน ธุรกิจโรงแรม

3% 15%

3% 12%

อัตราการเติบโต อัตราคิดลด ขอสมมติฐานเหลานี้ไดถูกใชเพื่อการวิเคราะหหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดภายในสวนงานธุรกิจ

ฝายบริหารพิจ ารณากําไรขั้ นต นจากงบประมาณโดยอางอิ งจากผลประกอบการในอดี ตที่ ผานมาประกอบกั บการคาดการณ ก าร เติบโตของตลาด อัตราการเติบโตถัวเฉลี่ยถ วงน้ํ าหนักที่ใช สอดคลองกับการคาดการณ อัตราการเติบโตของอุตสาหกรรม อัตราคิดลด ที่ใชเปนอัตรากอนหักภาษีที่สะทอนถึงความเสี่ยงซึ่งเปนลักษณะเฉพาะที่เกี่ยวของกับสวนงานนั้นๆ

68


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 192 - 193 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 18

สินทรัพยไมมีตัวตน สุทธิ

โปรแกรม คอมพิวเตอร บาท ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม ราคาตามบัญชี สุทธิ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีตนป สุทธิ การซื้อ เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทยอย สุทธิ คาตัดจําหนาย ราคาตามบัญชีปลายป สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม ราคาตามบัญชี สุทธิ

งบการเงินรวม โปรแกรม คอมพิวเตอร ระหวางติดตั้ง สิทธิการเชาที่ดิน บาท บาท

รวม บาท

2,853,474 (2,768,235) 85,239

-

-

2,853,474 (2,768,235) 85,239

85,239 644,234 5,781,498 (175,816) 6,335,155

4,194,000 4,194,000

12,538,845 (89,234) 12,449,611

85,239 4,838,234 18,320,343 (265,050) 22,978,766

11,641,576 (5,306,421) 6,335,155

4,194,000 4,194,000

15,771,427 (3,321,816) 12,449,611

31,607,003 (8,628,237) 22,978,766

69


18

6,335,155 4,845,153 6,497,885 9,768,968 (80,017) (3,436,978) 23,930,166

40,175,726 (16,245,560) 23,930,166

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม ราคาตามบัญชี สุทธิ

โปรแกรม คอมพิวเตอร บาท

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตนป สุทธิ การซื้อ เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทยอย สุทธิ โอนยายประเภท การตัดจําหนาย สุทธิ คาตัดจําหนาย ราคาตามบัญชีปลายป สุทธิ

สินทรัพยไมมีตัวตน สุทธิ (ตอ)

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

2,173,384 2,173,384

4,194,000 7,042,284 (9,062,900) 2,173,384

25,171,427 (4,513,578) 20,657,849

12,449,611 9,400,000 (1,191,762) 20,657,849

344,000,000 344,000,000

344,000,000 344,000,000

โปรแกรม คอมพิวเตอร ระหวางติดตั้ง สิทธิการเชาที่ดิน เครื่องหมายการคา บาท บาท บาท

งบการเงินรวม

48,013,050 (180,094) 47,832,956

2,263,050 45,750,000 (180,094) 47,832,956

ลิขสิทธิ์ และใบอนุญาต บาท

70

459,533,587 (20,939,232) 438,594,355

22,978,766 14,150,487 405,647,885 706,068 (80,017) (4,808,834) 438,594,355

รวม บาท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558 บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 194 - 195 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 18

สินทรัพยไมมีตัวตน สุทธิ (ตอ) งบการเงินเฉพาะบริษัท โปรแกรม คอมพิวเตอร บาท

โปรแกรม คอมพิวเตอร ระหวางติดตั้ง บาท

ลิขสิทธิ์และ ใบอนุญาต บาท

รวม บาท

-

498,713 498,713

-

498,713 498,713

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีตนป สุทธิ การซื้อ โอนยายประเภท คาตัดจําหนาย ราคาตามบัญชีปลายป สุทธิ

649,728 498,713 (457,130) 691,311

498,713 4,194,000 (498,713) 4,194,000

-

498,713 4,843,728 (457,130) 4,885,311

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม ราคาตามบัญชี สุทธิ

1,148,441 (457,130) 691,311

4,194,000 4,194,000

-

5,342,441 (457,130) 4,885,311

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตนป สุทธิ โอนยายประเภท การซื้อ เพิ่มขึ้นจากการรับโอนกิจการจากบริษัทยอย สุทธิ การตัดจําหนาย สุทธิ คาตัดจําหนาย ราคาตามบัญชีปลายป สุทธิ

691,311 9,170,104 3,638,727 27,420 (80,017) (1,247,475) 12,200,070

4,194,000 (9,062,900) 7,042,284 2,173,384

2,263,050 (180,094) 2,082,956

4,885,311 107,204 12,944,061 27,420 (80,017) (1,427,569) 16,456,410

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม ราคาตามบัญชี สุทธิ

16,337,110 (4,137,040) 12,200,070

2,173,384 2,173,384

2,263,050 (180,094) 2,082,956

20,773,544 (4,317,134) 16,456,410

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม ราคาตามบัญชี สุทธิ

71


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 19

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินประกอบดวย งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท บาท สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สุทธิ

36,959,951 (227,859,161) (190,899,210)

7,114,142 (176,011) 6,938,131

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท

บาท

859,587 859,587

3,083,891 3,083,891

สินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสามารถวิเคราะหไดดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท บาท สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่จะใช ประโยชนภายใน 12 เดือน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่จะใช ประโยชนเกินกวา 12 เดือน หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่จะจายชําระ ภายใน 12 เดือน หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่จะจายชําระเกิน กวา 12 เดือน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สุทธิ

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท

บาท

-

2,522,158

-

2,522,158

37,907,006 37,907,006

4,591,984 7,114,142

1,795,953 1,795,953

672,751 3,194,909

(656,520)

(176,011)

(645,831)

(111,018)

(228,149,696) (228,806,216) (190,899,210)

(176,011) 6,938,131

(290,535) (936,366) 859,587

(111,018) 3,083,891

72


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 196 - 197 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 19

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (ตอ) รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินไดรอตัดบัญชี มีดังนี้

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มจากการซื้อบริษัทยอย เพิ่ม(ลด)ในกําไรหรือขาดทุน เพิ่ม(ลด)จากการปรับปรุงซึ่งเปนผลมาจาก การวัดมูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิ ที่ไดมาจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุขอ 17) เพิ่ม(ลด)ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท

บาท

6,938,131 (228,692,698) 36,103,335

3,983,377 (7,054,195) 10,184,960

3,083,891 (1,936,137)

9,850,701 (6,655,792)

(3,756,000) (1,491,978) (190,899,210)

(176,011) 6,938,131

(288,167) 859,587

(111,018) 3,083,891

73


19

4,280,927 1,278,179 2,461,846 (1,027,717) 6,993,235 3,681,711 (1,594,072) 2,193,288 4,280,927

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิ่มจากการซื้อบริษัทยอย เพิ่ม(ลด)ในกําไรหรือขาดทุน เพิ่ม(ลด)ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 เพิ่ม(ลด)ในกําไรหรือขาดทุน เพิ่มจากการซื้อบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

สํารองผล ประโยชนพนักงาน บาท

2,069,272 2,069,272

2,069,272 (2,069,272) -

ตนทุน การกูยืมเงิน บาท

รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี มีดังนี้

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (ตอ)

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

452,886 452,886

452,886 (452,886) -

คาเสื่อมราคา บาท

301,666 (301,666) -

315,330 315,330

คาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ บาท

-

14,514,171 14,514,171

เงินประกันรับ บาท

งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม)

311,057 311,057

311,057 7,313,123 132,072 7,756,252

การตี มูลคายุติธรรม บาท

-

8,328,018 8,328,018

สวนแบงผล ขาดทุนจาก การรวมคา บาท

74

3,983,377 626,420 2,504,345 7,114,142

7,114,142 8,591,302 23,229,279 (1,027,717) 37,907,006

รวม บาท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558 บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 198 - 199 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 19

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (ตอ) รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี มีดังนี้ (ตอ) งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม)

หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 (เพิม่ )ลดจากการซื้อบริษัทยอย (เพิ่ม)ลดจากการปรับปรุงซึ่งเปนผลมาจาก การวัดมูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิ ที่ไดมาจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุขอ 17) (เพิ่ม)ลดในกําไรหรือขาดทุน (เพิ่ม)ลดในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 (เพิ่ม)ลดจากการซื้อบริษัทยอย (เพิ่ม)ลดในกําไรหรือขาดทุน (เพิ่ม)ลดในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

การตี มูลคายุติธรรม บาท

คาเสื่อมราคา บาท

รวม บาท

(176,011) (237,284,000)

-

(176,011) (237,284,000)

(3,756,000) 13,164,591 (464,261) (228,515,681)

(290,535) (290,535)

(3,756,000) 12,874,056 (464,261) (228,806,216)

(9,558,540) 9,558,540 (176,011) (176,011)

-

(9,558,540) 9,558,540 (176,011) (176,011)

75


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 19

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (ตอ) รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี มีดังนี้ (ตอ)

งบการเงินเฉพาะบริษัท

สํารอง ผลประโยชน พนักงาน บาท

ตนทุน การกูยืมเงิน บาท

คาเสื่อมราคา บาท

รวม บาท

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิ่ม(ลด)ในกําไรหรือขาดทุน เพิ่ม(ลด)ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

672,751 766,216 356,986 1,795,953

2,069,272 (2,069,272) -

452,886 (452,886) -

3,194,909 (1,755,942) 356,986 1,795,953

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 เพิ่ม(ลด)ในกําไรหรือขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

1,337,503 (664,752) 672,751

5,791,397 (3,722,125) 2,069,272

2,721,801 (2,268,915) 452,886

9,850,701 (6,655,792) 3,194,909

งบการเงินเฉพาะบริษัท การตี มูลคายุติธรรม คาเสื่อมราคา บาท บาท

รวม บาท

หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิ่ม(ลด)ในกําไรหรือขาดทุน เพิ่ม(ลด)ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

(111,018) 111,018 (645,831) (645,831)

(290,535) (290,535)

(111,018) (179,517) (645,831) (936,366)

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 เพิ่ม(ลด)ในกําไรหรือขาดทุน เพิ่ม(ลด)ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

(111,018) (111,018)

-

(111,018) (111,018)

สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีสําหรับรายการขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใชยกไปจะรับรูไมเกินจํานวนที่เปนไปไดคอนขางแนวา จะมี กําไรทางภาษี ใ นอนาคตเพี ย งพอที่ จะให ป ระโยชน ท างภาษี นั้ น กลุม บริ ษั ท ไม ไ ด รับ รูสิ น ทรัพ ย ภาษี เงิ น ได จํ านวน 94.01 ลานบาท ที่เกิดจากรายการขาดทุนจํานวน 470.06 ลานบาท ที่สามารถยกไปเพื่อหักกลบกับกําไรทางภาษีไดในอนาคต 76


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท 200 - 201 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 20

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น งบการเงินรวม

เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น คาใชจายคางจาย รายไดรับลวงหนา เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น 21

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

76,833,151 141,532,340 191,404,184 115,758,709 525,528,384

144,504,941 90,223,550 234,728,491

8,478,910 29,557,814 26,094,516 51,740,593 115,871,833

109,719,795 55,203,488 164,923,283

เงินกูยืม งบการเงินรวม

สวนที่หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร หนี้สินภายใหสัญญาเชาการเงินที่ครบกําหนดชําระ ภายในหนึ่งป สวนของเงินกูยืมระยะยาว ทีถ่ ึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป รวมสวนที่หมุนเวียน สวนของไมหมุนเวียน หนี้สินภายใหสัญญาเชาการเงิน สุทธิ เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร สุทธิ รวมสวนที่ไมหมุนเวียน รวมเงินกูยืม

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

18,083,718 6,223,260,229 6,241,343,947

3,166,856,000 3,166,856,000

2,284,649,200 2,284,649,200

3,166,856,000 3,166,856,000

2,762,487

-

-

-

576,382,429 579,144,916 6,820,488,863

38,277,447 38,277,447 3,205,133,447

420,630,987 420,630,987 2,705,280,187

38,277,447 38,277,447 3,205,133,447

2,224,351 4,094,393,820 4,096,618,171 10,917,107,034

504,788,625 504,788,625 3,709,922,072

1,024,418,339 1,024,418,339 3,729,698,526

504,788,625 504,788,625 3,709,922,072

เงินกูยืมที่มีหลักประกันมีจํานวนทั้งสิ้น 5,839.15 ลานบาท (พ.ศ. 2557 จํานวน 352.80 ลานบาท) เปนเงินกูยืมที่ใชตนทุนพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย และที่ดินของกลุมบริษทั เปนหลักประกัน (หมายเหตุขอ 12 และขอ 16) 77


21

บริษัท 1.

ลําดับที่

การจายชําระคืนเงินกูยืม

5,000,000,000 กําหนดชําระพรอมดอกเบี้ยในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 กําหนดชําระพรอมดอกเบี้ยในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2559 กําหนดชําระพรอมดอกเบี้ยในวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2559 กําหนดชําระพรอมดอกเบี้ยในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2559 กําหนดชําระพรอมดอกเบี้ยในวันที่ 5 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 กําหนดชําระพรอมดอกเบี้ยในวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 กําหนดชําระพรอมดอกเบี้ยในวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2558

วงเงินกูยืม บาท

อัตราดอกเบี้ย MMR(F) อัตราดอกเบี้ย MMR(F) อัตราดอกเบี้ย MMR(F) อัตราดอกเบี้ย MMR(F) อัตราดอกเบี้ยฝากประกัน 6 เดือนบวกรอยละ 3.50 อัตราดอกเบี้ยฝากประกัน 6 เดือนบวกรอยละ 3.50

ไมมี ไมมี ไมมี ไมมี ไมมี ไมมี

อัตราดอกเบี้ย MMR(F)

อัตราดอกเบี้ย รอยละตอป

ไมมี

ค้ําประกันโดย

เงื่อนไขที่สําคัญของสัญญาเงินกูยืม

เงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีรายละเอียดดังนี้

เงินกูยืม (ตอ)

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

-

-

1,125,000,000

225,000,000

551,250,000

128,000,000

255,399,200

พ.ศ. 2558 บาท

88,456,800

276,399,200

-

-

-

-

-

พ.ศ. 2557 บาท

งบการเงินรวม

-

-

1,125,000,000

225,000,000

551,250,000

128,000,000

255,399,200

พ.ศ. 2558 บาท

78

88,456,800

276, 399,200

-

-

-

-

-

พ.ศ. 2557 บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558 บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


21

4.

3.

2.

ลําดับที่

การจายชําระคืนเงินกูยืม

60,000,000 กําหนดชําระพรอมดอกเบี้ยในวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2558 32,000,000 กําหนดชําระพรอมดอกเบี้ยในวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2558 4,000,000,000 กําหนดชําระดอกเบี้ยทุกสิ้นเดือน และ ชําระเงินตนใน วันที่ 27 กุมภาพันธ พ.ศ. 2558 กําหนดชําระดอกเบี้ยทุกสิ้นเดือน และ ชําระเงินตนในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2558 กําหนดชําระดอกเบี้ยทุกสิ้นเดือน และ ชําระเงินตนใน วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2558

วงเงินกูยืม บาท

อัตราดอกเบี้ย MLR ลบรอยละ 3.00 อัตราดอกเบีย้ MLR ลบรอยละ 3.00 อัตราดอกเบี้ย MLR ลบรอยละ 3.00

ไมมี

ไมมี

อัตราดอกเบี้ย MLR ลบรอยละ 1.00 อัตราดอกเบี้ย MMR(F)

อัตราดอกเบี้ย รอยละตอป

ไมมี

ไมมี

ไมมี

ค้ําประกันโดย

เงื่อนไขที่สําคัญของสัญญาเงินกูยืม

เงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีรายละเอียดดังนี้ (ตอ)

เงินกูยืม (ตอ)

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

-

-

-

-

-

พ.ศ. 2558 บาท

55,000,000

75,000,000

2,600,000,000

32,000,000

40,000,000

พ.ศ. 2557 บาท

งบการเงินรวม

55,000,000

-

79

75,000,000

2,600,000,000

-

-

32,000,000

40,000,000

พ.ศ. 2557 บาท

-

-

พ.ศ. 2558 บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท

202 - 203 หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท


การจายชําระคืนเงินกูยืม

บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด 7. 30,000,000 กําหนดชําระพรอมดอกเบี้ยในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2559 กําหนดชําระพรอมดอกเบี้ยในวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2559 8. 331,600,000 กําหนดชําระพรอมดอกเบี้ยในวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2559

บริษัท แม็กซ ฟวเจอร จํากัด 5. 5,000,000,000 กําหนดชําระพรอมดอกเบี้ยในวันที่ 10 (วงเงินเดียวกับบริษัท กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 ใหญ) 6. 3,150,000,000 กําหนดชําระพรอมดอกเบี้ยในวันที่ 5 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559

วงเงินกูยืม บาท

รอยละ 6.15 รอยละ 6.65 รอยละ 6.525

ที่ดิน ที่ดิน

อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 6 เดือนบวกรอยละ 2.10

ไมมี

ที่ดิน

อัตราดอกเบี้ย MMR(F)

อัตราดอกเบี้ย รอยละตอป

ไมมี

ค้ําประกันโดย

เงื่อนไขที่สําคัญของสัญญาเงินกูยืม

เงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีรายละเอียดดังนี้ (ตอ)

เงินกูยืม (ตอ)

ลําดับที่

21

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

3,166,856,000

6,223,260,229

-

-

-

-

พ.ศ. 2557 บาท

283,040,625

11,500,000

10,000,000

3,064,070,404

570,000,000

พ.ศ. 2558 บาท

งบการเงินรวม

2,284,649,200

-

-

-

-

-

พ.ศ. 2558 บาท

80

3,166,856,000

-

-

-

-

-

พ.ศ. 2557 บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558 บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


21

การจายชําระคืนเงินกูยืม

200,000,000 บาท กําหนดชําระในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565

400,000,000 บาท กําหนดชําระทั้งจํานวนภายในป พ.ศ. 2564

4.

27,000,000 ปอนด ชําระเปนงวดทุกๆ 3 เดือนภายในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2560 โดยชําระเงินตน งวดแรกในวันที่ 31 มีนาคม 2559 350,000,000 บาท กําหนดชําระในวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2567

วงเงินกูยืม

3.

2.

บริษัท 1.

ลําดับที่

จํานองที่ดินและสิ่งปลูกสรางของ โรงแรมสันติบุรี บีช รีสอรท แอนด สปา จํานองที่ดินและสิ่งปลูกสรางของ โรงแรมสันติบุรี บีช รีสอรท แอนด สปา จํานองที่ดินและสิ่งปลูกสราง (โครง การไลทเฮาส)

โอนสิทธิเรียกรองเงินฝาก

ค้ําประกันโดย

เงื่อนไขที่สําคัญของสัญญาเงินกูยืม

เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีรายละเอียดดังนี้

เงินกูยืม (ตอ)

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม

อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม

อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม

อัตราดอกเบี้ย LIBOR บวกอัตราสวนเพิ่ม

อัตราดอกเบี้ย รอยละตอป

-

-

-

1,445,049,326

พ.ศ. 2558 บาท

69,388,365

143,130,000

190,267,707

-

พ.ศ. 2557 บาท

งบการเงินรวม

-

-

-

1,445,049,326

พ.ศ. 2558 บาท

81

69,388,365

143,130,000

190,267,707

-

พ.ศ. 2557 บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท

204 - 205 หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท


กําหนดชําระทั้งจํานวนภายในวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2560

การจายชําระคืนเงินกูยืม

บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด 7. 60,000,000 กําหนดชําระเงินตนภายในเดือน มกราคม พ.ศ. 2559 8. 67,000,000 กําหนดชําระเงินตนภายในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2561 9. 151,000,000 กําหนดชําระเงินตนภายในเดือน มีนาคม พ.ศ. 2559

บริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอสแลนด จํากัด 6. 2,320,000,000 ชําระเปนงวดทุกๆ 3 เดือนภายในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2570 โดยชําระเงินตนงวด แรกในวันที่ 31 มีนาคม 2561

บริษัท (ตอ) 5. 625,310,000

วงเงินกูยืม บาท

จํานองที่ดิน

จํานองที่ดิน

จํานองที่ดิน

จํานองที่ดินและสิ่งปลูกสรางและทํา ประกันภัยสิ่งปลูกสรางที่จํานองโดยให ธนาคารเปนผูรับผลประโยชนตาม กรมธรรม

จํานองที่ดินและสิ่งปลูกสราง

ค้ําประกันโดย

เงื่อนไขที่สําคัญของสัญญาเงินกูยืม

เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีรายละเอียดดังนี้ (ตอ)

เงินกูยืม (ตอ)

ลําดับที่

21

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม

อัตราดอกเบี้ย MLR ลบรอยละ 2.40

อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม

อัตราดอกเบี้ย รอยละตอป

14,686,921

67,000,000

14,015,727

2,021,381,575

-

พ.ศ. 2558 บาท

-

140,280,000

พ.ศ. 2557 บาท

งบการเงินรวม

-

-

-

-

-

พ.ศ. 2558 บาท

-

-

-

-

140,280,000

พ.ศ. 2557 บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท

-

-

-

82

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558 บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


ลําดับที่

วงเงินกูยืม บาท

การจายชําระคืนเงินกูยืม

จํานองที่ดิน

จํานองที่ดิน

ไมมี

จํานองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางใน อนาคต จํานองที่ดิน

จํานองที่ดิน

จํานองที่ดิน

ค้ําประกันโดย

เงื่อนไขที่สําคัญของสัญญาเงินกูยืม

เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีรายละเอียดดังนี้ (ตอ)

เงินกูยืม (ตอ)

บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด (ตอ) 10. 25,500,000 กําหนดชําระเงินตนภายในเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 11. 151,350,000 กําหนดชําระเงินตนภายในเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 12. 164,000,000 กําหนดชําระเงินตนภายในเดือน กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 13. 36,000,000 กําหนดชําระเงินตนภายในเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2559 14. 180,000,000 กําหนดชําระเงินตนภายในเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2559 15. 500,000,000 กําหนดชําระเงินตนภายในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2560 16. 215,000,000 กําหนดชําระเงินตนภายในเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

21

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม

อัตราดอกเบี้ย รอยละตอป

1,821,000

500,000,000

-

-

-

-

32,356,266 9,018,038

-

-

-

พ.ศ. 2557 บาท

85,674,490

5,749,330

3,570,416

พ.ศ. 2558 บาท

งบการเงินรวม

-

-

-

-

-

-

-

พ.ศ. 2558 บาท

83

-

-

-

-

-

-

-

พ.ศ. 2557 บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท

206 - 207 หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท


ลําดับที่

วงเงินกูยืม บาท

การจายชําระคืนเงินกูยืม

จํานองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางใน อนาคต จํานองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางใน อนาคต

จํานองที่ดิน

ค้ําประกันโดย

เงื่อนไขที่สําคัญของสัญญาเงินกูยืม

เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีรายละเอียดดังนี้ (ตอ)

เงินกูยืม (ตอ)

บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด (ตอ) 17. 140,000,000 กําหนดชําระเงินตนภายในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2562 18. 240,000,000 กําหนดชําระเงินตนภายในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2561 19. 246,000,000 กําหนดชําระเงินตนภายในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2560 รวมเงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร หัก: สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาว สุทธิ

21

บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ อัตราสวนเพิ่ม

อัตราดอกเบี้ย รอยละตอป

543,066,072 (38,277,447) 504,788,625

231,000,000 4,670,776,249 (576,382,429) 4,094,393,820

-

พ.ศ. 2557 บาท

215,408,160

24,045,000

พ.ศ. 2558 บาท

งบการเงินรวม

1,445,049,326 (420,630,987) 1,024,418,339

-

-

-

พ.ศ. 2558 บาท

84

543,066,072 (38,277,447) 504,788,625

-

-

-

พ.ศ. 2557 บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558 บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 208 - 209 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 21

เงินกูยืม (ตอ) ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของเงินกูยืมของกลุมบริษัทและบริษัท มีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท เงินกูยืม ณ อัตราดอกเบี้ยคงที่ ณ อัตราดอกเบี้ยลอยตัว รวมเงินกูยืม

10,912,120,196 10,912,120,196

32,000,000 3,677,922,072 3,709,922,072

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

3,729,698,526 3,729,698,526

32,000,000 3,677,922,072 3,709,922,072

อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน มีดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 - เงินเบิกเกินบัญชี - เงินกูยืมจากธนาคาร

รอยละ 6.8 รอยละ 3.4 ถึงรอยละ 6.7

รอยละ 3.5 ถึงรอยละ 6.5

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 รอยละ 3.4 ถึงรอยละ 5.2

รอยละ 3.5 ถึงรอยละ 6.5

ราคาตามบัญชีและมูลคายุติธรรมของเงินกูยืมระยะยาว มีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม ราคาตามบัญชี พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร

4,670,776,249 4,670,776,249

543,066,072 543,066,072

มูลคายุติธรรม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท 4,670,776,249 4,670,776,249

543,066,072 543,066,072

งบการเงินเฉพาะบริษัท ราคาตามบัญชี พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร

1,445,049,326 1,445,049,326

543,066,072 543,066,072

มูลคายุติธรรม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท 1,445,049,326 1,445,049,326

543,066,072 543,066,072

85


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 21

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

เงินกูยืม (ตอ) มูลคายุติธรรมของเงินกูยืมมีมูลคาเทากับราคาตามบัญชี เนื่องจากผลกระทบของอัตราคิดลดไมมีสาระสําคัญ ระยะเวลาครบกําหนดของเงินกูยืม(ไมรวมหนี้สินตามสัญญาเชาระยะยาว)มีดังตอไปนี้ งบการเงินเฉพาะบริษัท

งบการเงินรวม

ครบกําหนดภายใน 1 ป ครบกําหนดเกินกวา 1 ปแตไมเกิน 5 ป ครบกําหนดเกินกวา 5 ป รวมเงินกูยืม

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

6,817,726,376 2,457,624,804 1,636,769,016 10,912,120,196

3,205,133,447 282,227,531 222,561,094 3,709,922,072

2,705,280,187 1,024,418,339 3,729,698,526

3,205,133,447 282,227,531 222,561,094 3,709,922,072

วงเงินกูยืม กลุมบริษัทและบริษัทมีวงเงินกูยืมที่ยังไมไดเบิกออกมาใชดังตอไปนี้ งบการเงินรวม

อัตราดอกเบี้ยลอยตัว - ครบกําหนดภายใน 1 ป - ครบกําหนดเกิน 1 ป

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2558 ลานบาท

พ.ศ. 2557 ลานบาท

พ.ศ. 2558 ลานบาท

พ.ศ. 2557 ลานบาท

2,288.34 1,413.97 3,702.31

5,949.54 1,032.24 6,981.78

2,145.35 2,145.35

5,949.54 1,032.24 6,981.78

วงเงินกูยืมที่จะครบกําหนดภายในหนึ่งปเปนวงเงินกูยืมของแตละปที่จะมีการทบทวนตามวาระ สวนวงเงินกู ยืมอื่นไดรับมาเพื่อใช ในการขยายการดําเนินงานของกลุมบริษัทและบริษัท

86


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 210 - 211 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 22

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน

งบแสดงฐานะการเงิน ผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุ หนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน กําไรหรือขาดทุนที่รวมอยูในกําไรจากการดําเนินงาน ผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุ การวัดมูลคาใหมสําหรับ: ผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

39,270,528 39,270,528

21,404,633 21,404,633

8,979,764 8,979,764

3,363,754 3,363,754

19,026,478 19,026,478

6,492,624 6,492,624

4,655,927 4,655,927

3,363,754 3,363,754

(5,138,587) (5,138,587)

-

1,784,931 1,784,931

-

รายการเคลื่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานมีดังนี้ งบเงินเฉพาะบริษัท

งบการเงินรวม

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทยอย ตนทุนบริการปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย ผลประโยชนที่จายในระหวางป การวัดมูลคาใหม - (กําไร)ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัย โอนกลับรายการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

21,404,633 6,390,896 18,117,486 908,992 (2,412,892)

18,408,554 8,935,409 5,912,766 579,858 -

3,363,754 4,544,922 111,005 (824,848)

6,687,512 3,344,793 18,961 -

(5,138,587) 39,270,528

(12,431,954) 21,404,633

1,784,931 8,979,764

(6,687,512) 3,363,754

87


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 22

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน (ตอ) ขอสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยที่ใชเปนดังนี้ งบการเงินรวม อัตราคิดลด (รอยละ) อัตราเงินเฟอ (รอยละ) อัตราการขึ้นเงินเดือน (รอยละ) เกษียณอายุ (ป)

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2557

2.9 และ 4.12 3.0 6.0 และ 10.52 60

3.3 ถึง 4.3 3.0 3.0 ถึง 12.0 60

2.9 3.0 6.0 60

3.3 3.0 3.0 ถึง 12.0 60

การวิเคราะหความออนไหวของขอสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย

การเปลี่ยนแปลงในขอสมมติ อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือน

รอยละ 1 รอยละ 1

งบการเงินรวม ผลกระทบตอภาระผูกพันโครงการผลประโยชนที่กําหนดไว การลดลงของขอสมมติ การเพิ่มขึ้นของขอสมมติ ลดลงรอยละ 8 เพิ่มขึ้นรอยละ 9

เพิ่มขึ้นรอยละ 9 ลดลงรอยละ 8

งบการเงินเฉพาะบริษัท ผลกระทบตอภาระผูกพันโครงการผลประโยชนที่กําหนดไว

อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือน

การเปลี่ยนแปลงในขอสมมติ

การเพิ่มขึ้นของขอสมมติ

การลดลงของขอสมมติ

รอยละ 1 รอยละ 1

ลดลงรอยละ 8 เพิ่มขึ้นรอยละ 9

เพิ่มขึ้นรอยละ 10 ลดลงรอยละ 8

การวิเคราะหความออนไหวขางตนนี้อางอิงจากการเปลี่ยนแปลงขอสมมติ ขณะที่ใหขอสมมติอื่นคงที่ ในทางปฏิบั ติส ถานการณ ดังกลาวยากที่จะเกิดขึ้น และการเปลี่ยนแปลงในขอสมมติอาจมีความสัมพันธกัน ในการคํานวณการวิเคราะหความออนไหวของ ภาระผู กพั น ผลประโยชน ที่กําหนดไวที่ มี ต อการเปลี่ ยนแปลงในข อ สมมติ ห ลั กไดใ ช วิธี เดี ย วกั บ มู ลค าป จ จุบั น ของภาะผู กพั น โครงการผลประโยชนที่กําหนดไวคํานวณดวยวิธีคิดลดแตละหน วยที่ป ระมาณการไว (Projected Unit Credit Method) ณ วันสิ้ น รอบระยะเวลารายงานในการคํานวณหนี้สินที่รับรูในงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท วิธีการและประเภทของขอสมมติที่ใชในการจัดทําการวิเคราะหความออนไหวไมไดเปลี่ยนแปลงจากปกอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนของกลุมบริษัทอยูระหวาง 11.7 ป ถึง 24.3 ป โดยสวนของบริษัท คือ 23.7 ป 88


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 212 - 213 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 23

ทุนเรือนหุนและสวนเกินมูลคาหุน

จํานวนหุน หุน ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 การเพิ่มทุนจากการซื้อธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 การออกหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

4,235,000,000 477,350,732 4,712,350,732 1,002,986,536 5,715,337,268

จํานวนหุน หุน ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 การเพิ่มทุนโดยการจายหุนปนผล ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 การออกหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

549,998,401 4,162,352,331 4,712,350,732 1,002,986,536 5,715,337,268

งบการเงินรวม หุนสามัญ สวนเกินมูลคาหุน บาท บาท 4,235,000,000 477,350,732 4,712,350,732 1,002,986,536 5,715,337,268

รวม บาท

2,938,522,032 2,938,522,032

4,235,000,000 477,350,732 4,712,350,732 3,941,508,568 8,653,859,300

งบการเงินเฉพาะบริษัท หุนสามัญ สวนเกินมูลคาหุน บาท บาท

รวม บาท

549,998,401 4,162,352,331 4,712,350,732 1,002,986,536 5,715,337,268

23,477,851 3,621,246,529 3,644,724,380 2,938,522,032 6,583,246,412

573,476,252 7,783,598,860 8,357,075,112 3,941,508,568 12,298,583,680

89


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 23

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ทุนเรือนหุนและสวนเกินมูลคาหุน (ตอ) ตามมติที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป พ.ศ. 2558 เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2558 ที่ประชุมมีมติดังตอไปนี้ -

อนุมัติการจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนใหแกบุคคลในวงจํากัดตามสัดสวนหุนในบริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัดที่จะขาย ให แกบริษั ท เพื่อชําระราคาคาหุน สามัญ ของบริษัท เนอวานา ดี เวลลอปเม นท จํากัด โดยจัดสรรหุน สามัญ เพิ ่ม ทุนจํานวน 186,509,792 หุนซึ่งมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท จัดสรรที่ราคาหุนละ 9.50 บาท รวมเปนมูลคาทั้งสิ้น 1,771,843,024 บาท

-

อนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทอีกจํานวน 2,635,940,054 บาท จากเดิมทุนจดทะเบียนจํานวน 4,712,350,732 บาท รวมเปนจํานวน 7,348,290,786 บาท โดยการออกหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 2,635,940,054 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท เพื่อรองรับการทํารายการการลงทุนในบริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด ดังกลาวขางตน และเพื่อเสนอขายใหแกผูถือ หุนเดิมตามสัดสวนการถือหุน รวมถึงรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท

-

อนุ มั ติ การจั ดสรรหุ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น เพื่ อ เสนอขายให แก ผู ถื อหุ น เดิ มตามสั ด ส วนการถือ หุ น เพื่ อ รองรั บ การใช สิ ท ธิ ตาม ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญเพิ่มทุน โดยการจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวนไมเกิน 816,476,754 หุนซึ่งมีมูลคาที่ ตราไวหุนละ 1 บาท เพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมของบริษัทตามสัดสวนการถือหุน ในอัตราสวน 6 หุนสามัญเดิมตอ 1 หุน สามัญเพิ่มทุน และเสนอขายในราคา 3 บาท

-

อนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท เพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมที่มีการ จองซื้ อและชําระราคาคาจองซื้อหุ น เพิ่ มทุ นที่ เสนอขายตามสัด สว นการถือหุ น ในอัตราส วน 1 หุน สามั ญ เพิ่ มทุ นที่ ไดรับ จัดสรรตอใบสํ าคั ญแสดงสิ ทธิจํานวน 2 หนวยซึ่ งเปน การเสนอขายโดยไมคิดมูลคา ทั้งนี้ใบสําคัญแสดงสิทธิที่ จะซื้อหุ น สามัญจํานวน 1 หน วยมี สิทธิ ซื้อหุ นสามัญเพิ่ มทุ นได 1 หุน และกําหนดราคาใชสิ ทธิ ตามใบสําคัญแสดงสิทธิหุนละ 15 บาท บริษัทไดกําหนดเงื่อนไขการใชสิทธิครั้งแรกในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2561 และครั้งสุดทายในวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2562

ณ วันที่ 31 ธั นวาคม พ.ศ. 2558 หุนสามัญ จดทะเบียนทั้งหมดซึ่งมีราคามู ลคาหุน ละ 1 บาท (พ.ศ. 2557 หุนละ 1 บาท) มีจํานวน 5,715,337,268 หุน (พ.ศ. 2557 จํานวน 4,712,350,732 หุน) ไดออกและชําระเต็มมูลคาแลว 24

สํารองตามกฎหมาย งบการเงินเฉพาะบริษัท

งบการเงินรวม

ณ วันที่ 1 มกราคม จัดสรรระหวางป ณ วันที่ 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

10,000,000 10,000,000

10,000,000 10,000,000

31,180,388 31,180,388

31,180,388 31,180,388

ตามพระราชบั ญ ญั ติบ ริษั ท มหาชนจํากั ด พ.ศ. 2535 บริ ษัท ต องสํ ารองตามกฎหมายอยางน อ ยรอ ยละ 5 ของกํ าไรสุท ธิ หลั งจาก หักสวนของขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสํ ารองนี้จะมีมูลคาไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองนี้ไมสามารถ นําไปจายเงินปนผลได 90


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 214 - 215 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 25

องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 การตีราคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 การตีราคา ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

การเปลี่ยนแปลง มูลคายุติธรรม ของเงินลงทุน เผื่อขาย บาท

งบการเงินรวม ผลตางของอัตรา แลกเปลี่ยน จากการแปลงคา งบการเงิน บาท

รวม บาท

769,714 769,714

-

769,714 769,714

769,714 1,857,044 2,626,758

(47,342,052) (47,342,052)

769,714 1,857,044 (47,342,052) (44,715,294)

งบการเงินเฉพาะบริษัท การเปลี่ยนแปลง มูลคายุติธรรม ของเงินลงทุน เผื่อขาย บาท

รวม บาท

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 การตีราคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

444,750 444,750

444,750 444,750

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 การตีราคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

444,750 2,139,252 2,584,002

444,750 2,139,252 2,584,002

91


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 26

รายไดอื่น

เงินปนผลรับ รายไดดอกเบี้ย ผลกําไรจากการปรับมูลคายุติธรรม ของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน กําไรสุทธิจากการจําหนายสินทรัพย กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ กําไรจากการจําหนายเงินลงทุนเผื่อขาย กําไรจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุขอ 30.2) รายไดอื่นๆ รวม 27

คาใชจายตามลักษณะ

ตนทุนการกอสราง ตนทุนสินคาใหบริการ วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใชไป คาใชจายเกี่ยวกับพนักงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาใชจายทางการตลาด คาเชาตามสัญญาเชาดําเนินงาน คาซอมแซมและบํารุงรักษา คาที่ปรึกษา คาจางบริการ คาสาธารณูปโภค คาชดเชยความเสียหาย ขาดทุนจากการตัดจําหนายสินทรัพยถาวร คาภาษีธุรกิจเฉพาะ หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการปรับปรุงมูลคายุติธรรม ของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ขาดทุนจากการปดบริษัทยอย คาใชจายอื่น

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท บาท

34,847,194

11,129,129

93,712,087 56,469,426

10,403,197

9,968,939 18,209,098 4,402,264 71,000,000 28,360,961 166,788,456

588,000,000 21,718,132 620,847,261

58,560,724 18,997,827 2,627,064 26,704,656 257,071,784

4,900,000 11,164,749 26,467,946

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท บาท

918,883,887 103,754,372 41,452,337 476,879,063 148,222,437 174,460,151 22,067,268 53,144,956 50,062,943 48,616,890 73,531,002 52,326,678 1,213,329

103,457,563 23,618,259 9,645,662 178,478,169 31,754,654 35,606,681 11,878,475 8,543,779 79,301,321 16,351,624 18,706,768 20,285,836 19,432,131 13,263,448 -

83,287,087 154,109,334 20,611,813 167,349,043 82,284,479 35,361,080 7,714,191 14,482,958 37,092,182 12,892,607 20,167,186 14,592,159 -

267,182,833 5,656,527 1,026,282 51,081,211 9,810,990 19,368,081 2,661,131 6,945,542 28,660,521 36,831,032 6,292,041 618,293 20,480,658 -

28,900,000 136,388,981 2,329,904,294

47,626,513 617,950,883

28,900,000 27,912,037 54,696,235 761,452,391

49,120,463 505,735,605 92


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 216 - 217 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 28

ภาษีเงินได

งบการเงินเฉพาะบริษัท

งบการเงินรวม

พ.ศ. 2558

บาท

พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท

บาท

พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท

26,150,296 26,150,296

6,798,435 6,798,435

-

-

(36,103,335) (36,103,335)

(10,184,960) (10,184,960)

1,936,137 1,936,137

6,655,791 6,655,791

(9,953,039)

(3,386,525)

1,936,137

6,655,791

พ.ศ. 2558

ภาษีเงินไดงวดปจจุบัน: ภาษีเงินไดงวดปจจุบันสําหรับกําไรทางภาษี สําหรับป รวมภาษีเงินไดงวดปจจุบัน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี: รายการที่เกิดจากผลแตกตางชั่วคราว รวมภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี รวมภาษีเงินได

ภาษีเงินไดสําหรับกําไรกอนหั กภาษีของกลุมบริษัทมียอดจํานวนเงินที่แตกตางจากการคํานวณกําไรทางบัญชีคูณกับภาษีของประเทศ ที่บริษัทใหญตั้งอยู โดยมีรายละเอียดดังนี:้ งบการเงินเฉพาะบริษัท

งบการเงินรวม

พ.ศ. 2558

บาท

พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท

บาท

พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท

(257,926,800)

(344,423,594)

(209,173,722)

(139,059,120)

(51,585,360)

(68,884,719)

(41,834,744)

(27,811,824)

10,325,684

626,420

870,300

138,212

45,161,725

56,536,004

40,198,229

34,039,276

(6,000,356) (7,854,732) (9,953,039)

8,335,770 (3,386,525)

2,702,352 1,936,137

290,127 6,655,791

พ.ศ. 2558

กําไร(ขาดทุน)กอนภาษี ภาษีคํานวณจากอัตราภาษีรอยละ 20 (พ.ศ. 2557 รอยละ 20) ผลกระทบ: รายได/รายจายที่ตองปรับปรุงตาม ประมวลรัษฎากร ขาดทุนทางภาษีที่ไมไดบันทึกเปนสินทรัพย ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ผลตางของอัตราภาษีในประเทศที่กิจการที่ เกี่ยวของกันดําเนินกิจการอยู อื่นๆ ภาษีเงินได

93


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 28

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ภาษีเงินได (ตอ) ภาษีเงินไดที่(ลด)/เพิ่มที่เกี่ยวของกับองคประกอบในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นมีดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558

กําไรจากมูลคายุติธรรม: เงินลงทุนเผื่อขาย กําไรขาดทุนตามหลัก คณิตศาสตรประกันภัยของ ผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

พ.ศ. 2557

กอนภาษี บาท

ภาษี(ลด)/เพิ่ม บาท

หลังภาษี บาท

กอนภาษี บาท

ภาษี(ลด)/เพิ่ม บาท

หลังภาษี บาท

2,321,305

(464,261)

1,857,044

880,902

(111,188)

769,714

5,138,587 7,459,892

(1,027,717)

4,110,870

-

-

-

(1,491,978)

5,967,914

880,902

(111,188)

769,714

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558

กําไรจากมูลคายุติธรรม: เงินลงทุนเผื่อขาย กําไรขาดทุนตามหลัก คณิตศาสตรประกันภัยของ ผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

พ.ศ. 2557

กอนภาษี บาท

ภาษี(ลด)/เพิ่ม บาท

หลังภาษี บาท

กอนภาษี บาท

ภาษี(ลด)/เพิ่ม บาท

หลังภาษี บาท

2,674,065

(534,813)

2,139,252

555,937

(111,187)

444,750

(1,784,931) 889,134

356,986

(1,427,945)

-

-

-

(177,827)

711,307

555,937

(111,187)

444,750

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 ปรับปรุงใหม บาท บาท ภาษีเงินไดงวดปจจุบัน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (หมายเหตุขอ 19)

26,150,296 (36,103,335) (9,953,039)

6,798,435 (10,184,960) (3,386,525)

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม บาท บาท (1,936,137) (1,936,137)

(6,655,791) (6,655,791)

94


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 218 - 219 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 29

กําไร(ขาดทุน)ตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไรสุทธิที่เปนของผูถือหุนสามัญดวยจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ชําระและ ออกในระหวางป กําไร(ขาดทุน)ตอหุนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีดังนี้ งบการเงินเฉพาะบริษัท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม

จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (หุน)

5,351,841,451

4,712,350,732

5,351,841,451

1,815,809,658

กําไร(ขาดทุน)สําหรับป (บาท)

(260,835,791)

346,635,994

(211,109,859)

(145,714,911)

(0.05)

0.07

(0.04)

(0.08)

กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขึ้นพื้นฐาน (บาท)

95


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 30

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

การซื้อธุรกิจ

30.1 การลงทุนในบริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด และบริษัทยอย เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2558 บริษัท ไดทําการลงทุนในบริษั ท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด และบริษัทยอย โดยการเขาซื้ อ หุนสามัญจํานวน 3,649,993 หุน ซึ่งมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท หรือคิดเปนรอยละ 51 ของหุนสามัญทั้งหมดของบริษัทดังกลาว โดยบริษัทชําระราคาคาหุนดังกลาวดวยหุนสามัญเพิ่มทุนที่ออกใหมของบริษัทจํานวน 186,509,792 หุน ซึ่งมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท และมี ราคาตลาด ณ วัน ที่ เขาลงทุ น หุ น ละ 8 บาท รวมเป น มู ลค ายุติ ธรรมทั้ง สิ้น 1,492,078,336 บาท ส งผลให บ ริษั ท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด และบริษัทยอยกลายเปนบริษัทยอยของกลุมบริษัท สิ่งตอบแทนที่จายในการซื้อธุรกิจและมูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ไดรับมาตามสัดสวนการลงทุนมีดังตอไปนี้ บาท เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น สุทธิ ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สุทธิ ที่ดินรอการพัฒนา สินทรัพยไมมีตัวตน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการอื่น เงินกูยืมระยะยาว สุทธิ หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยอื่นหักดวยหนี้สินอื่น มูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ไดรับ - สวนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม - สวนของบริษัทใหญ สิ่งตอบแทนทั้งหมดที่ใชในการซื้อ - หุนสามัญตามมูลคายุติธรรม (186,509,792 หุน หุนละ 8 บาท) คาความนิยม

30,124,947 198,959,490 3,254,414,046 67,941,130 506,803,100 357,380,000 (389,718,891) (274,404,000) (376,403,000) (1,253,768,739) (237,284,000) (52,455,080) 1,831,589,003 (897,478,612) 934,110,391 1,492,078,336 557,967,945

ณ วันที่ 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2558 บริ ษัทกํ าลังอยูระหวางการประเมิน มูลค ายุ ติธรรมของสิ นทรัพย สุทธิ ที่ได มาและกําลังพิ จารณา การปนตนทุนของการซื้อบริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด และบริษัทยอย ดังนั้น คาความนิยมดังกลาวขางตนอาจจําเปนตอง ปรับ ปรุงให ถูกต องต อไปตามมู ลคายุติ ธรรมและผลของการป นส วนต นทุ นการซื้อธุ รกิจซึ่ งคาดวาจะแล วเสร็จภายใน 12 เดือ น นับจากวันที่มีอํานาจควบคุมในบริษัทยอยดังกลาว

96


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 220 - 221 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 30

การซื้อธุรกิจ (ตอ)

30.2 การลงทุนในอาคารซันทาวเวอรส เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ที่ประชุมกรรมการมีมติอนุมัติการลงทุนในอาคารซันทาวเวอรส โดยวิธีรับโอนกิจการทั้งหมด และมีมูลคาการลงทุน เปน มูลคา 4,500 ลานบาท ทั้งนี้บ ริษัท แม็กซ ฟวเจอร จํากัดซึ่งเปนบริษัทยอยไดเขาลงนามในสั ญญาโอน กิจการทั้งหมดกับบริษัท ซันทาวเวอรส จํากัด เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 และเขาทํารายการรับโอนกิจการทั้งหมด ในวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2558 รายละเอียดของการซื้อธุรกิจมีดังตอไปนี้ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สุทธิ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน สินทรัพยไมมีตัวตน สุทธิ เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น สินทรัพยอื่นหักดวยหนี้สินอื่น มูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ไดรับ สิ่งตอบแทนทั้งหมดที่ใชในการซื้อ - เงินสด กําไรจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุขอ 26) รายละเอียดมูลคาการลงทุนมีดังตอไปนี้

บาท 38,462,658 66,025,392 90,093,587 4,478,388,877 2,517,536 (70,431,581) (119,986,065) 4,485,070,404 (4,414,070,404) 71,000,000

บาท

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น สินทรัพยอื่นหักดวยหนี้สินอื่น สวนตางสินทรัพยสุทธิ สิ่งตอบแทนทั้งหมดที่ใชในการซื้อ - เงินสด

38,462,658 66,025,392 (70,431,581) (119,986,065) (85,929,596) (4,414,070,404)

รวมมูลคาการลงทุน

(4,500,000,000)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริษัท ซันทาวเวอรส จํากัด กําลังอยูระหวางการชําระบัญชีซึ่งอาจมีรายการปรับปรุงที่เกี่ยวของกับ สินทรัพยสุทธิที่ไดรับจากการโอนกิจการหลังการชําระบัญชีแลวเสร็จ

97


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 30

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

การซื้อธุรกิจ (ตอ)

30.3 การลงทุนในบริษัท ทะเลนอย พร็อพเพอรตี้ จํากัด เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 บริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอสแลนด จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท ไดลงทุนในบริษัท ทะเลนอย พร็อพเพอรตี้ จํากัด โดยการเขาซื้อหุนสามัญคิดเปนรอยละ 100.00 ของหุนสามัญทั้งหมดของบริษัทดังกลาว ดวยมูลคา 46,000,000 บาท โดยบริษัทยอยชําระราคาหุนดังกลาวเรียบรอยแลว สิ่งตอบแทนที่จายในการซื้อธุรกิจและมูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ไดรับมาตามสัดสวนการลงทุนมีดังตอไปนี้ บาท สินทรัพยไมมีตัวตน สุทธิ สินทรัพยอื่นหักดวยหนี้สินอื่น มูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ไดรับ สิ่งตอบแทนทั้งหมดที่ใชในการซื้อ - เงินสด คาความนิยม

45,750,000 250,000 46,000,000 (46,000,000) -

ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2558 บริษั ท ทะเลนอ ย พร็อ พเพอรตี้ จํากั ด กําลั งอยูระหว างการชํ าระบั ญชี ซึ่งอาจมี รายการปรับ ปรุ ง ที่เกี่ยวของกับสินทรัพยสุทธิที่ไดรับจากการโอนกิจการหลังการชําระบัญชีแลวเสร็จ 31

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน กิจ การและบุ คคลที่ มี ความสั ม พั น ธ กับ บริ ษั ท ไม วาทางตรงหรือ ทางอ อ ม โดยผ านกิ จ การอื่ น แห ง หนึ่ งหรือ มากกว าหนึ่ งแห ง โดยที่บุคคลหรือกิจการนั้นมีอํานาจควบคุมบริษัท หรือถูกควบคุมโดยบริษัท หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกัน กับบริษัท รวมถึง บริษัทที่ดําเนินธุรกิจการลงทุน บริษัทยอย และบริษัทยอยในเครือเดียวกัน ถือเปนกิจการที่เกี่ยวของกับบริษัท บริษัทรวมและบุคคล ที่เปนเจาของสวนไดเสียในสิทธิออกเสียงของบริษัทซึ่งมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญเหนือกิจการ ผูบริหารสําคัญรวมทั้งกรรมการ และพนักงานของบริษัท ตลอดจนสมาชิกในครอบครัวที่ ใกลชิ ดกั บบุ คคลเหลานั้ น กิจการและบุ คคลทั้ง หมดถือ เป นบุ คคลหรื อ กิจการที่เกี่ยวของกับบริษัท ในการพิ จารณาความสั มพันธระหวางบุคคลหรือกิจการที่ เกี่ยวของกันซึ่งอาจมีขึ้น ไดตองคํานึ งถึงรายละเอีย ดของความสัมพัน ธ มากกวารูปแบบความสัมพันธตามกฎหมาย กลุมบริษัทถูกควบคุมโดยบริษัท สิ งห พร็อพเพอรตี้ แมนเนจเมนท จํากัด ซึ่งตั้งอยู ในประเทศไทย และ Singha Property Management (Singapore) Pte. Ltd. ซึ่งถือหุนในบริษัทรวมเปนรอยละ 46.58 และนายสันติ ภิรมยภักดี และ Morgan Stanley & Co. International Plc. ซึ่งถือหุนในบริษัทรวมคิดเปนรอยละ 32.88 จํานวนหุนที่เหลือถือโดยบุคคลทั่วไป กิจการที่มีอํานาจควบคุมสูงสุดของกลุมบริษัท คือ บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จํากัด ซึ่งตั้งอยูในประเทศไทย 98


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 222 - 223 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 31

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ) ความสัมพันธที่บริษัทมีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันซึ่งมีการควบคุม หรือควบคุมรวมกันในบริษัท หรือเปนกิจการที่บริษัท ควบคุมหรือควบคุมรวมกันหรือเปนบุคคลหรือกิจการที่มีรายการกับบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มีดังนี้ ชื่อกิจการ/บุคคล นายสันติ ภิรมยภักดี

ประเทศที่จัดตั้ง/สัญชาติ ไทย

บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จํากัด บริษัท สิงห คอรเปอเรชั่น จํากัด บริษัท สิงห พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท จํากัด Singha Property Management (Singapore) Pte. Ltd. Damerius Pte. Ltd.

ไทย ไทย ไทย สิงคโปร สิงคโปร

บริษัท สิงห พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด บริษัท แม็กซ ฟวเจอร จํากัด บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเมนท จํากัด และบริษัทยอย บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอรเชียล อินเตอร จํากัด บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอรเชียล จํากัด S Commercials (Singapore) Pte. Ltd. บริษัท เอส โฮเทล แอนด รีสอรท อินเตอร จํากัด บริษัท เอส โฮเทล แอนด รีสอรท จํากัด S Hotels and Resorts (UK) Ltd. S Hotels and Resorts (HK) Ltd. S Hotels and Resorts (SG) Pte. Ltd. บริษัท ทะเลนอย พร็อพเพอรตี้ จํากัด บริษัท ภิรมยพัฒน จํากัด บริษัท เอส โฮเทล แมเนจเมนท จํากัด บริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอสแลนด จํากัด บริษัท พีพี วิลเลจ แอสเซ็ท แมเนจเมนท จํากัด FS JV CO LIMITED บริษัท สันติบุรี สมุยคันทรี่คลับ จํากัด บริษัท สันติบุรี ดีเวลลอปเมนท จํากัด บริษัท เชียงราย สันติบุรี กอลฟ คลับ จํากัด บริษัท สันติบุรี ไพรเวทคอมมิวนีตี้ จํากัด บริษัท บอผุด พร็อพเพอรตี้ แอนด รีสอรท จํากัด บริษัท คอนแทงโก จํากัด บริษัท เบียรสิงห จํากัด บริษัท แบรนด แฟมิรี่ จํากัด

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย สิงคโปร ไทย ไทย สหราชอาณาจักร ฮองกง สิงคโปร ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย สหราชอาณาจักร ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

ลักษณะความสัมพันธ ผูถือหุนและเปนกรรมการใน บริษัทผูถือหุน กรรมการเปนผูถือหุน กรรมการเปนผูถือหุน ผูถือหุน ผูถือหุน ผูถือหุนและกรรมการเปน ผูถือหุน บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย การรวมคา กรรมการเปนผูถือหุน กรรมการเปนผูถือหุน กรรมการเปนผูถือหุน กรรมการเปนผูถือหุน กรรมการเปนผูถือหุน กรรมการเปนผูถือหุน กรรมการเปนผูถือหุน กรรมการเปนผูถือหุน 99


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 31

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

31.1 นโยบายการกําหนดราคาระหวางบริษัทกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันสรุปได ดังนี้ - รายไดจ ากการขายหน วยในอาคารชุด เป น ไปตามราคาที่ต กลงร วมกัน ตามสั ญ ญาซื้ อ ขาย ซึ่ งเป น ราคาที่ ได รับ สว นลดตาม ขอกําหนดสวัสดิการพนักงานและผูบริหารในอัตรารอยละ 5 ถึงรอยละ 15 จากราคาขายปกติ - รายไดคาบริหารและบริการอื่นคิดจากตนทุนที่เกิดขึ้นจริงบวกกําไรสวนเพิ่มในอัตราไมเกินรอยละ 5 - คาซื้อสินคาคิดตามราคาที่ตกลงรวมกันตามสัญญา ซึ่งสามารถเทียบเคียงไดกับบุคคลภายนอก - คาเชาคิดตามอัตราที่ตกลงรวมกันตามสัญญา ซึ่งสามารถเทียบเคียงไดกับบุคคลภายนอก - คาบริหารโครงการคิดตามอัตราที่ตกลงรวมกันตามสัญญารวมทุน - คาที่ปรึกษาคิดตามอัตราที่ตกลงรวมกันตามสัญญาจางที่ปรึกษา 31.2 รายการตอไปนี้เปนรายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ก)

รายไดจากการขายสินคาและบริการ งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 บาท บาท รายการกับบริษัทยอย รายไดจากการขายที่ดิน คาเชา เงินปนผลรับ คาบริหารจัดการ รายไดคาบริการ ดอกเบี้ยรับ ตนทุนทางการเงิน รายการกับการรวมคา ดอกเบี้ยรับ รายการกับกิจการที่เกี่ยวของกันอื่น ขายสินคา ซื้อสินคา ดอกเบี้ยรับ

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท

-

-

326,376,000 957,017 93,712,087 129,000,000 17,857,538 55,628,908 5,616,597

26,700,000 180,000 7,122,375 139,726

32,862,650

-

-

-

14,390,024 4,888,102

339,502 11,952,211

14,390,024 4,793,126 -

172,466 -

100


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 224 - 225 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 31

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

31.2 รายการตอไปนี้เปนรายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ) ข)

ยอดคางชําระที่เกิดจากการซื้อและขายสินคาและบริการ งบการเงินเฉพาะบริษัท

งบการเงินรวม

ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้อื่น - บริษัทยอย - กิจการที่เกี่ยวของกันอื่น ดอกเบี้ยคางรับ - บริษัทยอย - การรวมคา - กิจการที่เกี่ยวของกันอื่น เงินทดรองรับ - บริษัทยอย - กิจการที่เกี่ยวของกันอื่น รวมลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้ระยะยาวแกกิจการ ที่เกี่ยวของกัน - บริษัทยอย รวมลูกหนี้ระยะยาวแกกิจการ ที่เกี่ยวของกัน

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

520,786 520,786

-

18,282,117 507,828 18,789,945

-

32,394,386 9,454 32,403,840

16,457 16,457

58,198,996 58,198,996

7,122,375 7,122,375

32,924,626

56,040 56,040 72,497

24,021,826 24,021,826 101,010,767

250,463,584 250,463,584 257,585,959

-

-

108,792,000

-

-

-

108,792,000

-

ลูกหนี้ ระยะยาวกิ จการที่เกี่ยวข องกัน เป นลูกหนี้ ที่เกิ ดจากการขายที่ดิน ใหกับบริ ษัทย อย โดยมีกําหนดชําระคืน ภายในป พ.ศ. 2560 โดยมีอั ตราดอกเบี้ ยรอ ยละ 5.20 ต อป มูลคายุ ติธ รรมของลู กหนี้ ระยะยาวมี มูลคาใกล เคี ยงกั บ ราคาตามบัญ ชี เนื่องจากผลกระทบของอัตราคิดลดไมมีสาระสําคัญ

101


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 31

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

31.2 รายการตอไปนี้เปนรายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ) ข)

ยอดคางชําระที่เกิดจากการซื้อและขายสินคาและบริการ (ตอ) งบการเงินเฉพาะบริษัท

งบการเงินรวม

เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้การคา - บริษัทยอย - กิจการที่เกี่ยวของกันอื่น เจาหนี้อื่น - บริษัทยอย - กิจการที่เกี่ยวของกันอื่น ดอกเบี้ยคางจาย - บริษัทยอย เงินทดรองจาย - บริษัทยอย - กิจการที่เกี่ยวของกันอื่น รวมเจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน รายไดรับลวงหนา - กิจการที่เกี่ยวของกันอื่น รวมรายไดรับลวงหนาจาก กิจการที่เกี่ยวของกัน

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

141,878 141,878

-

11,502,500 141,878 11,644,378

-

682,698 682,698

-

2,468,970 530,935 2,999,905

-

-

-

4,109,693 4,109,693

-

824,576

33,496 33,496 33,496

1,683,904 1,683,904 20,437,880

30,743,880 30,743,880 30,743,880

835,000,000

-

-

-

835,000,000

-

-

-

รายไดรับลวงหนาจากกิจการที่เกี่ยวของเกิดจากการรับคาเชาลวงหนาตามสัญญาเชาการเงินกับบริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จํากัด ซึ่งมีคาเชารวมทั้งสิ้น 1,900 ลานบาท และระยะเวลาเชารวม 50 ป

102


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 226 - 227 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 31

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

31.2 รายการตอไปนี้เปนรายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ) ค)

เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน รายการเคลื่อนไหวของเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้

ณ วันที่ 1 มกราคม เงินใหกูระหวางป ลดลงจากการรับโอนกิจการ จากบริษัทยอย รับชําระคืนเงินกูยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

-

219,500,000 66,656,248

2,626,500,000 2,420,509,600

2,626,500,000

-

(286,156,248) -

(35,000,000) (3,113,500,000) 1,898,509,600

2,626,500,000

อัตราดอกเบี้ย พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 รอยละตอป รอยละตอป เงินใหกูยืมระยะสั้น บริษัท แม็กซ ฟวเจอร จํากัด บริษัท เอส โฮเทล แอนด รีสอรท อินเตอร จํากัด บริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอสแลนด จํากัด บริษัท ภิรมยพัฒน จํากัด บริษัท สิงห พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด บริษัท เอส โฮเทล แมเนจเมนท จํากัด รวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท

3.45

-

1,125,000,000

-

3.00 3.00 และ 3.50 -

3.00 3.00

20,259,600 753,250,000 -

2,485,000,000 35,000,000

-

3.00 3.00

1,898,509,600

90,000,000 16,500,000 2,626,500,000

103


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 31

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

31.2 รายการตอไปนี้เปนรายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ) ค)

เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ) รายการเคลื่อนไหวของเงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินเฉพาะบริษัท

งบการเงินรวม

ณ วันที่ 1 มกราคม เงินใหกูระหวางป ขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น จากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

2,166,060,000

-

-

-

(25,922,000) 2,140,138,000

-

-

-

งบการเงินรวม

อัตราดอกเบี้ยรอยละตอป

เงินกูยืมระยะยาว FS JV CO LIMITED รวม

พ.ศ. 2558 รอยละตอป

พ.ศ. 2557 รอยละตอป

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

LIBOR บวก 6.50

-

2,140,138,000 2,140,138,000

-

มูลคายุติธรรมของเงินใหกูยืมระยะยาวมีมูลคาเทากับราคาตามบัญชี เนื่องจากผลกระทบของอัตราคิดลดไมมีสาระสําคัญ ง)

เงินกูยืมจากกิจการหรือบุคคลทีเ่ กี่ยวของกัน งบการเงินรวม

เงินกูยืมระยะสั้น - บริษัทยอย - กิจการที่เกี่ยวของกันอื่น - ผูถือหุน รวม

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

-

90,000,000 555,088 90,555,088

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท 576,205,515 576,205,515

7,783,598,859 7,783,598,859 104


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ 228 - 229 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 31

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

31.2 รายการตอไปนี้เปนรายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ) ง)

เงินกูยืมจากกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวของกัน (ตอ) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธั นวาคม พ.ศ. 2557 เงินกู ยื มระยะสั้ นจากกิ จการที่ เกี่ ยวของกันจํ านวน 90,000,000 บาท เป นเงินกู ยื มจากบริษั ท บุญรอดบริวเวอรี จํากัด คิดอัตราดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 3 ตอป มีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม สวนเงินกูยืมจากนายสันติ ภิรมย ภักดี (ผู ถือหุน) จํานวน 0.56 ลานบาท เปนเงินกูยืม ที่ไมมีด อกเบี้ ย อย างไรก็ต าม เงินกูยืม ดั งกลาวไดชําระคืนแลวภายในป พ.ศ. 2558 งบการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกันเปนเงินกูยืมจากบริษัท สิงห พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด จํานวนเงิน 576,205,515 บาท คิดอัตราดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 3.00 ตอป มีกําหนดชําระเมื่อทวงถาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกันเปนเงินกูยืมจากบริษัท เอส ไบรทฟวเจอร จํากัด และ บริ ษั ท สั นติ บุ รี จํากัด จํานวนเงิน 5,483,598,859 บาท และ 2,300,000,000 บาท ตามลํ าดั บ เงิ นกู ยืมดั งกล าวเกิ ดจากการโอน กิจการตามแนวทางที่กําหนดในประมวลรัษฎากร โดยเปนเงินกูยืมที่มีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม และไมมีดอกเบี้ย รายการเคลื่อนไหวของเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 บาท ณ วันที่ 1 มกราคม เงินกูเพิ่มระหวางป ลดลงจากการรับโอนกิจการ จากบริษัทยอย ชําระเงินกูระหวางป ณ วันที่ 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2557 บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท

90,555,088 -

16,000,000 74,555,088

7,783,598,859 743,205,515

7,783,598,859

(90,555,088) -

90,555,088

(7,783,598,859) (167,000,000) 576,205,515

7,783,598,859

105


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) รหมายเหตุ า ย ง า น ป รปะระกอบงบการเงิ จํ า ปี นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2558 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 31

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

31.2 รายการตอไปนี้เปนรายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ) จ)

คาตอบแทนผูบริหารสําคัญ งบการเงินเฉพาะบริษัท

งบการเงินรวม

เงินเดือนและผลประโยชนระยะสั้นอื่น ผลประโยชนระยะยาว รวม 32

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2557 บาท

69,499,674 3,082,057 72,581,731

62,545,426 8,830,879 71,376,305

69,499,674 3,082,057 72,581,731

28,515,276 5,980,895 34,496,171

เงินกูยืมระยะสั้นจากบุคคลอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุมบริษัทมีเงินกูยืมระยะสั้นจากบุคคลอื่นเปนเงินกูยืมในรูปตั๋วสัญญาใชเงินจํานวน 530 ลานบาท โดยมีอัตราดอกเบี้ยระหวางรอยละ 5.20 ถึง 5.80 ตอป

33

หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น และภาระผูกพัน ภาระผูกพันที่เปนขอผูกมัด ก)

ภาระผูกพันที่เปนขอผูกมัดเพื่อใชเปนรายจายฝายทุน รายจายฝายทุนเกี่ยวกับภาระผูกพันที่เปนขอผูกมัด ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงินแตไมไดรับรูในงบการเงิน มีดังนี้ งบการเงินรวม

คาออกแบบโครงการกอสราง คาที่ปรึกษาโครงการ คาปรับปรุงอาคาร รวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2558 ลานบาท

พ.ศ. 2557 ลานบาท

พ.ศ. 2558 ลานบาท

พ.ศ. 2557 ลานบาท

89.68 109.33 241.40 440.41

113.84 23.32 176.35 313.51

77.60 6.47 207.27 291.34

176.35 176.35

106


บริษัท สิงห เอสเตท จํากัด (มหาชน) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม ษัท 230 - 231 และงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 33

หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น และภาระผูกพัน (ตอ) ภาระผูกพันที่เปนขอผูกมัด (ตอ) ข)

ภาระผูกพันที่เปนขอผูกมัดตามสัญญาเชาดําเนินงาน ยอดรวมของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายในอนาคตตามสัญญาเชาดําเนินงานที่ไมสามารถยกเลิกได มีดังนี้ งบการเงินเฉพาะบริษัท

งบการเงินรวม

ภายใน 1 ป เกินกวา 1 ปแตไมเกิน 5 ป เกินกวา 5 ป รวม ค)

พ.ศ. 2558 ลานบาท

พ.ศ. 2557 ลานบาท

พ.ศ. 2558 ลานบาท

พ.ศ. 2557 ลานบาท

135.60 26.97 162.57

7.96 7.96 -

11.87 16.25 28.12

-

15.92

หนังสือค้ําประกันจากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุมบริษัทมีหนังสือค้ําประกันจากธนาคารเพื่อค้ําประกันการดําเนินงานตามปกติของธุรกิจ เป น จํ านวน 11.95 ล านบาท (พ.ศ. 2557 จํ านวน 47.74 ล านบาท) และของเฉพาะบริ ษั ท เป น จํ านวน 2.72 ล านบาท (พ.ศ. 2557 จํานวน 3.99 ลานบาท)

107


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ค่าตอบแทน ผู้สอบบัญชี 2558 ค่ า ตอบแทนจากการสอบบั ญ ชี (Audit Fee) ในปี 2558 บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท ย่อย จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่ส�ำนักงานสอบบัญชี ที่ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปีที่ผ่านมา จ�ำนวน 3,520,000 บาท (สามล้านห้าแสนสองหมื่นบาทถ้วน)

ค่ า บริ ก ารอื่ น (Non-Audit Fee) ในปี 2558 บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย จ่ายค่าตอบแทนค่าบริการอื่น ได้แก่ ค่าที่ปรึกษาทางบัญชี ให้แก่ ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด จ�ำนวน 222,890 บาท (สองแสนสองหมื่นสองพันแปดร้อยเก้าสิบบาทถ้วน)


232 - 233

ข้ อ มู ล ผู ้ บ ริ ห ารและ ผู ้ มี อ�ำนาจควบคุ ม บริ ษั ท

ข้อมูลผู้บริหารและ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมบริษัท นายจุตินันท์ ภิรมย์ภักดี

ประธานกรรมการ (ไม่เป็นผู้บริหาร) อายุ 58 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้งครั้งแรก

12 กันยายน 2557

ประวัติการศึกษา »» บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก »» บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (การเงิน) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร »» เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยบอสตัน มลรัฐแมสซาชูเสต สหรัฐอเมริกา

ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - กรรมการ บริษัท บางกอกกล๊าส จ�ำกัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จ�ำกัด - ไม่มี 3. บริษัทจ�ำกัด - กรรมการ บริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ตี้ แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จ�ำกัด - รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท บุญรอดเทรดดิ้ง จ�ำกัด - ประธานกรรมการ บริษัท ซี.บี. โฮลดิ้ง จ�ำกัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - นายกสมาคมคาราเต้แห่งประเทศไทย - ประธานคณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งประเทศไทย - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภาลูกเสือแห่งชาติ 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ - ร้อยละ 0.0097 การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน เป็นน้าของ ดร.ชญานิน เทพาค�ำ ประวัติการกระท�ำผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง - ไม่มี

ประวั ติ ก ารอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) »» ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of Chairman Program รุ่นที่ 11/2548 »» ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 49/2547 ประวัติการอบรมอื่นๆ 2552 หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 8 ปี 2552 2546 หลักสูตรการป้องกันประเทศภาครัฐ เอกชน และการเมือง (วปม. รุ่นที่ 1) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร 2544 การอบรมธุรกิจหลักสูตร Strategic Negotiations: Deal Making for the Long Term บัณฑิตวิทยาลัย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา 2541 การอบรมธุรกิจหลักสูตร Families in Business: From Generation to Generation บัณฑิตวิทยาลัย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา ประวัติการท�ำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2556-2557 กรรมการ บริษัท เอส ไบรท์ฟิวเจอร์ จ�ำกัด 2555-2557 กรรมการผู้จัดการ บริษัท บุญรอดเทรดดิ้ง อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด 2554-2557 กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการส่งเสริมกิจการ เพื่อสังคม บริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน)

นางนภาภรณ์ ลัญฉน์ดี

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (ไม่เป็นผู้บริหาร) อายุ 64 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้งครั้งแรก

11 กุมภาพันธ์ 2559

ประวัติการศึกษา »» Master of Business Administration-Finance, University of Pennsylvania สหรัฐอเมริกา »» ปริญญาตรี (เกียรตินิยม) สาขาวิชาบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ประวั ติ ก ารอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) »» ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 8/2544 »» ประกาศนียบัตรหลักสูตร Audit Committee Program รุ่นที่ 39/2555 »» ประกาศนียบัตรหลักสูตร Chartered Director Class รุ่นที่ 7/2556 ประวัติการอบรมอื่นๆ »» หลักสูตร ประกาศนียบัตรการบริหารเครดิตขั้นสูง ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด จ�ำกัด »» หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 9 »» หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (Top Executive Program in Commerce and Trade : TEPCoT) รุ่นที่ 5 สถาบันวิทยาการการค้า มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย »» หลักสูตร วิทยาการประกันภัยระดับสูง รุ่น 5 (หลักสูตร วปส.5) สถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง ประวัติการท�ำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2552-2555 กรรมการผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์เพื่อธุรกิจหลักทรัพย์ จ�ำกัด (มหาชน) 2551-2552 รองประธานกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม พรีมาเวสท์ จ�ำกัด ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - กรรมการบริหาร บริษัท ไอร่า แฟคตอริ่ง จ�ำกัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จ�ำกัด - กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท อลิอันซ์ อยุธยา ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการอิสระ บริษัท อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) 3. บริษัทจ�ำกัด - กรรมการ บริษัท พรีโม่ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท พรีโม่ แอสเซท แมนเนจเมนท์ จ�ำกัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - กรรมการ มูลนิธิไทย-เยอรมัน เพื่อการพัฒนา - กรรมการ มูลนิธินวธรรม 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระท�ำผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

นายการุญ นันทิลีพงศ์

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (ไม่เป็นผู้บริหาร) อายุ 56 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้งครั้งแรก

12 พฤศจิกายน 2557

ประวัติการศึกษา »» บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย »» นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวั ติ ก ารอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) »» ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 9/2544 ประวัติการอบรมอื่นๆ »» Enterprise Risk Management แนวปฏิบัติและการน�ำไปใช้ โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย »» Career Management และการจัดท�ำระบบการพัฒนาบุคลากรบนพื้นฐาน ของความสามารถ »» การก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารอย่างไรจึงจะโปร่งใส และเป็นธรรม โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย »» กฎหมายในศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ โดยศาลทรัพย์สินทางปัญญา »» เทคนิคการตรวจติดตามคุณภาพภายใน »» Key Performance Indicator (KPI) ประวัติการท�ำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2555 - 2557 กรรมการ บริษัท ซีพีพี จ�ำกัด 2554 - 2557 กรรมการ บริษัท ซีพีไอ อะโกรเทค จ�ำกัด 2550 - 2557 กรรมการผู้จัดการ บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน�้ำมันปาล์ม จ�ำกัด (มหาชน) ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - กรรมการ บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน�้ำมันปาล์ม จ�ำกัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จ�ำกัด - ไม่มี 3. บริษัทจ�ำกัด - กรรมการ บริษัท ชุมพรโฮลดิ้ง จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เนเจอร์ ทัช จ�ำกัด


234 - 235

ข้ อ มู ล ผู ้ บ ริ ห ารและ ผู ้ มี อ�ำนาจควบคุ ม บริ ษั ท

4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ 5. รัฐวิสาหกิจ

- ไม่มี - ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระท�ำผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

นายธนา เธียรอัจฉริยะ

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ (ไม่เป็นผู้บริหาร) อายุ 47 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้งครั้งแรก

27 กุมภาพันธ์ 2558

ประวัติการศึกษา »» Master of Business Administration, Washington State University สหรัฐอเมริกา »» เศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวั ติ ก ารอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) »» ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 181/2556

มิ.ย.2553-เม.ย.2554 รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มกลยุทธ์และกิจการ องค์กร บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท เซ็ปเป้ จ�ำกัด (มหาชน) - ที่ปรึกษาประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) - ที่ปรึกษาอาวุโส ด้านบริหาร บริษัท สามารถคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จ�ำกัด - กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท เอส เอฟ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 3. บริษัทจ�ำกัด - กรรมการ บริษัท พีเพิลมีเดีย กรุ๊ป จ�ำกัด - กรรมการ และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เซ้าท์พอว์ บิสซิเนส จ�ำกัด - กรรมการ และ ผู้บริหาร บริษัท ทีเอฟเอส (ไทยแลนด์) จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท อักษร เอ็ดดูเคชั่น จ�ำกัด - กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ทรัพย์อนันต์ เยนเนอรัล ฟู้ด จ�ำกัด - ที่ปรึกษาด้านการสื่อสารช่องทาง Digital บริษัท ทีคิวเอ็ม จ�ำกัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - ผู้อ�ำนวยการหลักสูตรสถาบันพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงธุรกิจ (Academy of Business Creativity หรือ (ABC)) มหาวิทยาลัยศรีปทุม - ที่ปรึกษา ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ - ที่ปรึกษา ด้านบริหาร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระท�ำผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

ผศ. ดร. ธนวรรธน์ พลวิชัย

ประวัติการอบรมอื่นๆ »» หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP) รุ่นที่ 8/2554 »» หลักสูตร ผู้น�ำยุคใหม่ในระบอบประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 1/2554 »» หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 8 ปี 2552 ประวัติการท�ำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี ก.พ.2556-มิ.ย.2556 ที่ปรึกษาอาวุโส ส�ำนักประธานกรรมการ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จ�ำกัด (มหาชน) ก.พ.2555-ม.ค.2556 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (สายธุรกิจบรอดแคสติง) บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จ�ำกัด (มหาชน) พ.ค.2554-ธ.ค.2554 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท พี.เค.การ์เมนท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) จ�ำกัด

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

กรรมการอิสระ และ กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน (ไม่เป็นผู้บริหาร) อายุ 51 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้งครั้งแรก

22 เมษายน 2558


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

ประวัติการศึกษา »» Doctor of Philosophy, Applied Statistics and Research Methods, University of Northern Colorado สหรัฐอเมริกา »» พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาการเศรษฐกิจ-วางแผนเศรษฐกิจ, เกียรตินิยมดี) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ »» เศรษฐศาสตรบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์การเงิน, เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ประวั ติ ก ารอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) »» ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program รุ่น 51/2549 ประวัติการอบรมอื่นๆ »» หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (Top Executive Program in Commerce and Trade : TEPCoT) รุ่นที่ 2 สถาบันวิทยาการการค้า มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย »» หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 16 สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) »» หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน วพน. รุ่นที่ 4 สถาบันวิชาการพลังงาน »» หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 57 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ประวัติการท�ำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2552- 2557 »» คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย »» กรรมการ ในคณะกรรมการท่องเที่ยวแห่งชาติ »» กรรมการ ในคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ »» กรรมการ สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน) »» กรรมการ ในคณะอนุกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติด้านการตลาด »» กรรมการ ในคณะอนุกรรมาธิการติดตามและประเมินผลภาวะเศรษฐกิจ มหภาค วุฒิสภา »» กรรมการ ในคณะกรรมการแข่งขันทางการค้า กระทรวงพาณิชย์ »» กรรมการ ในคณะกรรมการศึกษาและพัฒนาระบบธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง กระทรวงพาณิชย์ »» กรรมการ ในคณะกรรมการเศรษฐกิจและวิชาการ หอการค้าไทย »» ฯลฯ ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - ไม่มี 2. บริษัทมหาชน จ�ำกัด - ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท นครหลวงลีสซิ่ง-แฟ็กเตอริง จ�ำกัด (มหาชน) 3. บริษัทจ�ำกัด - ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย - ผู้อ�ำนวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

- ที่ปรึกษาคณะกรรมการหอการค้าไทย - กรรมการ ในคณะกรรมการพิจารณามาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและ การอุดหนุน กระทรวงพาณิชย์ - กรรมการ ในคณะกรรมการสิทธิบัตร กระทรวงพาณิชย์ - วิทยากรประจ�ำรายการ “ชั่วโมงท�ำกิน” วันจันทร์ถึงศุกร์ สถานีโทรทัศน์ TPBS - วิทยากรประจ�ำรายการ “สองมุมข่าว” วันจันทร์ถึงศุกร์ สถานีวิทยุ 100.5 FM 5. รัฐวิสาหกิจ - กรรมการ ส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล - กรรมการ การยางแห่งประเทศไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระท�ำผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

ดร.ชญานิน เทพาค�ำ

กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหาร และ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (ไม่เป็นผู้บริหาร) อายุ 46 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้งครั้งแรก

12 กันยายน 2557

ประวัติการศึกษา »» บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต »» บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์ ศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย »» ชีวะวิทยาการแพทย์ มหาวิทยาลัยคิงส์ตัน ประเทศอังกฤษ ประวั ติ ก ารอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) »» ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 191/2557


236 - 237

ข้ อ มู ล ผู ้ บ ริ ห ารและ ผู ้ มี อ�ำนาจควบคุ ม บริ ษั ท

ประวัติการอบรมอื่นๆ »» Securities & Exchange Commission Capital Market Leader Program: Building Competitiveness of Nation and Thai Capital Market »» หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ส�ำหรับนักบริหาร ระดับสูง รุ่นที่ 12 »» หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุ่นที่ 15

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ - ไม่มี การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน เป็นหลานของ นายจุตินันท์ ภิรมย์ภักดี ประวัติการกระท�ำผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง - ไม่มี

ประวัติการท�ำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี พ.ย.2558-ธ.ค.2558 กรรมการ บริษัท ทะเลน้อย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด ม.ค.2558-ธ.ค.2558 กรรมการ บริษัท พีพี วิลเลจ แอสเซ็ท แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด 2557-ม.ค.2558 กรรมการ บริษัท ภิรมย์พัฒน์ จ�ำกัด 2556-2557 กรรมการ บริษัท เอส ไบรท์ฟิวเจอร์ จ�ำกัด ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - ไม่มี 2. บริษัทมหาชน จ�ำกัด - ไม่มี 3. บริษัทจ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอส์แลนด์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ตี้ แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท แม็กซ์ ฟิวเจอร์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท ปาร์ค อินดัสตรี จ�ำกัด - กรรมการและผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท คอนแทงโก จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท ซี.วี.เอส ซินดิเคท จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท ลีโอ ลิ้งค์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท มหาสาน เอ็นเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท ไฟน์ ฟู้ด แคปปิตอล จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท สยามเพียวไรซ์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท สยาม พาร์บอยล์ ไรซ์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท ข้าวพันดี จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท แอ็บโซลูท พาวเวอร์ พี จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท โซล่า อินโนเวชั่น จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล อินเตอร์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล จ�ำกัด - กรรมการ S Commercials (Singapore) PTE.LTD. - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท อินเตอร์ จ�ำกัด - กรรมการ S Hotels and Resorts (UK) LTD. - กรรมการ S Hotels and Resorts (HK) Limited - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท จ�ำกัด - กรรมการ S Hotels and Resorts (SG) PTE. LTD. 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - ไม่มี 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี

นายนริศ เชยกลิ่น

กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร อายุ 53 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้งครั้งแรก

12 กันยายน 2557

ประวัติการศึกษา »» บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ »» บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวั ติ ก ารอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) »» ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 9/2545 ประวัติการอบรมอื่นๆ »» หลักสูตร Organizational Risk Management Program สถาบันศศินทร์ รุ่นที่ 2/2547 »» หลักสูตร การบริหารจัดการด้านความมั่นคงขั้นสูง รุ่นที่ 4/2556 »» หลักสูตร Corporate Financial Strategies, Kellogg School of Management เมืองชิคาโก้ สหรัฐอเมริกา »» โครงการพัฒนาผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2536 »» หลักสูตรการสอบบัญชีโดยคอมพิวเตอร์ อาร์เธอร์ แอนเดอร์สัน »» หลักสูตรการตรวจสอบบัญชีทั่วไป ส�ำนักงาน เอสจีวี ณ ถลาง กรุงเทพฯ และ ส�ำนักงานเอสจีวี กรุงมะนิลา ฟิลิปปินส์ »» หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 2 ปี 2549 ประวัติการท�ำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี พ.ย.2558-ธ.ค.2558 กรรมการ บริษัท ทะเลน้อย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด ม.ค.2558-ธ.ค.2558 กรรมการ บริษัท พีพี วิลเลจ แอสเซ็ท แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

2557-ม.ค.2558 กรรมการ บริษัท ภิรมย์พัฒน์ จ�ำกัด 2555-2556 นายกสมาคมศูนย์การค้าไทย 2541-2556 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด (มหาชน) ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - กรรมการ บริษัท ไทยเศรษฐกิจประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) 2. บริษัทมหาชน จ�ำกัด - ไม่มี 3. บริษัทจ�ำกัด - กรรมการ บริษัท แม็กซ์ ฟิวเจอร์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอส์แลนด์ จ�ำกัด - ประธานกรรมการ บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล อินเตอร์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล จ�ำกัด - กรรมการ S Commercials (Singapore) PTE.LTD. - กรรมการ FS JV CO LIMITED - กรรมการ FS MEZZ CO LIMITED - กรรมการ FS MID CO LIMITED - กรรมการ FS SENIOR CO LIMITED - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท อินเตอร์ จ�ำกัด - กรรมการ S Hotels and Resorts (UK) LTD. - กรรมการ S Hotels and Resorts (HK) Limited - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท จ�ำกัด - กรรมการ S Hotels and Resorts (SG) PTE.LTD. - กรรมการ JUPITER HOTELS HOLDINGS LIMITED - กรรมการ JUPITER HOTELS MIDCO LIMITED - กรรมการ JUPITER HOTELS LIMITED - กรรมการ JUPITER HOTELS WETHERBY LIMITED - กรรมการ JUPITER HOTELS MANAGEMENT LIMITED - กรรมการ บริษัท ศิรธาร จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท อินเตอร์แอ็คซี่ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท อินทนนท์คลับรีสอร์ท จ�ำกัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - กรรมการ สมาคมนักศึกษาเก่าพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - กรรมการ สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระท�ำผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

- ร้อยละ 0.0175 - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

นายล่องลม บุนนาค

กรรมการ กรรมการบริหาร และ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารการลงทุน อายุ 52 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้งครั้งแรก 12 กันยายน 2557 (ได้รับเลือกตั้งกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งต่ออีกวาระหนึ่งในวันที่ 22 เมษายน 2558) ประวัติการศึกษา »» Higher National Diploma in Marketing, Hammersmith and West London College ประเทศอังกฤษ ประวั ติ ก ารอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ - ไม่มี บริษัทไทย (IOD) ประวัติการอบรมอื่นๆ

- ไม่มี

ประวัติการท�ำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี พ.ย. 2558-ธ.ค. 2558 กรรมการ บริษัท ทะเลน้อย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด ม.ค. 2558-ธ.ค. 2558 กรรมการ บริษัท พีพี วิลเลจ แอสเซ็ท แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด 2557-ม.ค. 2558 กรรมการ บริษัท ภิรมย์พัฒน์ จ�ำกัด 2533-2556 ประธานกรรมการ บริษัท โจนส์ แลง ลาซาลล์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - ไม่มี 2. บริษัทมหาชน จ�ำกัด - ไม่มี 3. บริษัทจ�ำกัด - กรรมการ บริษัท แม็กซ์ ฟิวเจอร์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอส์แลนด์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล อินเตอร์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล จ�ำกัด - กรรมการ S Commercials (Singapore) PTE.LTD. - กรรมการ FS JV CO LIMITED - กรรมการ FS MEZZ CO LIMITED


238 - 239

ข้ อ มู ล ผู ้ บ ริ ห ารและ ผู ้ มี อ�ำนาจควบคุ ม บริ ษั ท

- กรรมการ FS MID CO LIMITED - กรรมการ FS SENIOR CO LIMITED - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท อินเตอร์ จ�ำกัด - กรรมการ S Hotels and Resorts (UK) LTD. - กรรมการ S Hotels and Resorts (HK) Limited - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท จ�ำกัด - กรรมการ S Hotels and Resorts (SG) PTE.LTD. - กรรมการ JUPITER HOTELS HOLDINGS LIMITED - กรรมการ JUPITER HOTELS MIDCO LIMITED - กรรมการ JUPITER HOTELS LIMITED - กรรมการ JUPITER HOTELS WETHERBY LIMITED - กรรมการ JUPITER HOTELS MANAGEMENT LIMITED 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - ไม่มี 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระท�ำผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

นายณัฐวุฒิ มัธยมจันทร์

ประวัติการท�ำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2557-ม.ค.2558 กรรมการ บริษัท ภิรมย์พัฒน์ จ�ำกัด 2553-2557 ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จ�ำกัด 2538-2553 ผู้จัดการโครงการ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮาส์ จ�ำกัด (มหาชน) ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - ไม่มี 2. บริษัทมหาชน จ�ำกัด - ไม่มี 3. บริษัทจ�ำกัด - กรรมการ บริษัท แม็กซ์ ฟิวเจอร์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท บุญรอดฟาร์ม จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล อินเตอร์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล จ�ำกัด - กรรมการ S Commercials (Singapore) PTE.LTD. 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - ไม่มี 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระท�ำผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

ดร.สาธิต รังคสิริ

กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหารการพัฒนาธุรกิจพักอาศัย อายุ 45 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้งครั้งแรก 12 กันยายน 2557 (ได้รับเลือกตั้งกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งต่ออีกวาระหนึ่งในวันที่ 22 เมษายน 2558) ประวัติการศึกษา »» บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ »» วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประวั ติ ก ารอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) - ไม่มี ประวัติการอบรมอื่นๆ

- ไม่มี

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

(ลาออกเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2559)

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (ไม่เป็นผู้บริหาร) อายุ 56 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้งครั้งแรก

: 12 พฤศจิกายน 2557


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ประวัติการศึกษา »» ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (การเงินการธนาคาร) มหาวิทยาลัยสยาม »» ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง »» เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่โจ้ »» Master of Arts (Economics), Atlanta University สหรัฐอเมริกา »» วิทยาศาสตรบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวั ติ ก ารอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) »» ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program รุ่น 74/2551 ประวัติการอบรมอื่นๆ »» หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 2 ปี 2549 ประวัติการท�ำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2557 - 2558 กรรมการ ธนาคารออมสิน 2556 - 2558 หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง 2553 - 2558 กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) 2553 - 2556 อธิบดีกรมสรรพากร 2553 - 2556 กรรมการ บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) 2553 รองปลัดกระทรวงการคลัง 2552 - 2553 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 2552 - 2553 กรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - ไม่มี 2. บริษัทมหาชน จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เนชั่นแนล เพาเวอร์ ซัพพลาย จ�ำกัด (มหาชน) 3. บริษัทจ�ำกัด - กรรมการอิสระ บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จ�ำกัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - ไม่มี 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระท�ำผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

นายธีระชาติ นุมานิต

กรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหารการ ออกแบบและก่อสร้าง อายุ 59 ปี ประวัติการศึกษา »» ปริญญาตรี Civil Engineering, Polytechnic University, New York, สหรัฐอเมริกา ประวั ติ ก ารอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) - ไม่มี ประวัติการอบรมอื่นๆ

- ไม่มี

ประวัติการท�ำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2557 - ม.ค. 58 กรรมการ บริษัท ภิรมย์พัฒน์ จ�ำกัด 2546 - 2557 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด (มหาชน) ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - ไม่มี 2. บริษัทมหาชน จ�ำกัด - ไม่มี 3. บริษัทจ�ำกัด - กรรมการ บริษัท แม็กซ์ ฟิวเจอร์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล อินเตอร์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล จ�ำกัด - กรรมการ S Commercials (Singapore) PTE.LTD. 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - ไม่มี 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระท�ำผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

- ร้อยละ 0.0469 - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี


240 - 241

ข้ อ มู ล ผู ้ บ ริ ห ารและ ผู ้ มี อ�ำนาจควบคุ ม บริ ษั ท

นายเมธี วินิชบุตร

กรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน อายุ 34 ปี ประวัติการศึกษา »» ปริญญาโทสาขาการจัดการ London School of Economics and Political Science ประเทศอังกฤษ »» ปริญญาตรีสาขาเศรษฐศาสตร์ London School of Economics and Political Science ประเทศอังกฤษ ประวั ติ ก ารอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) - ไม่มี ประวัติการอบรมอื่นๆ »» หลักสูตร Executive Development Program (EDP) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย ประวัติการท�ำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี พ.ย.2558-ธ.ค.2558 กรรมการ บริษัท ทะเลน้อย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด ม.ค.2558-ธ.ค.2558 กรรมการ บริษัท พีพี วิลเลจ แอสเซ็ท แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด 2557- ม.ค.2558 กรรมการ บริษัท ภิรมย์พัฒน์ จ�ำกัด 2554-2557 ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการ กลุ่มกองทุน อสังหาริมทรัพย์และโครงสร้างพื้นฐาน บลจ. ไทยพาณิชย์ 2551-2554 ผู้อ�ำนวยการ ด้านการลงทุนและพัฒนา บจก. แปซิฟิกสตาร์ อินเตอร์แนชั่นแนล (สิงคโปร์) ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ - ไม่มี 2. บริษัทมหาชน จ�ำกัด - ไม่มี 3. บริษัทจ�ำกัด - กรรมการ บริษัท แม็กซ์ ฟิวเจอร์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอส์แลนด์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล อินเตอร์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล จ�ำกัด

- กรรมการ S Commercials (Singapore) PTE.LTD. - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท อินเตอร์ จ�ำกัด - กรรมการ S Hotels and Resorts (UK) LTD. - กรรมการ S Hotels and Resorts (HK) Limited - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท จ�ำกัด - กรรมการ S Hotels and Resorts (SG) PTE.LTD. - ไม่มี 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระท�ำผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

- ร้อยละ 0.0029 - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

นายเดิร์ก เดอ ไคย์เปอร์

กรรมการบริหาร และ ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (สังกัดบริษัท เอส โฮเทล แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด) อายุ 51 ปี ประวัติการศึกษา »» Bachelor of Hotel Management, Brussels Erasmus University ประวั ติ ก ารอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) - ไม่มี ประวัติการอบรมอื่นๆ »» Executive Leadership - Cornell, IMD and LBS ประวัติการท�ำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี มิ.ย.2555-ก.ค.2558 Regional General Manager Thailand & General Manager Millennium Hilton Bangkok, Hilton Worldwide ก.พ.2555-พ.ค.2555 Senior Director - Openings, Hilton Worldwide, Regional Office Shanghai, PR China ก.ค.2552-ม.ค.2555 General Manager, Waldorf Astoria Shanghai on the Bund, PR China


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ม.ค.2552-ก.ค.2552 General Manager/Brand Performance Support, Hilton Tahiti, Hilton Moorea, Hilton Bora-Bora (French Polynesia), DoubleTree by Hilton Qingdao, PR China ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จ�ำกัด 3. บริษัทจ�ำกัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ 5. รัฐวิสาหกิจ

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประวัติการกระท�ำผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

นายสุพจน์ ชลาดล

กรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหารโรงแรม สันติบุรี (สังกัดบริษัท เอส โฮเทล แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด) อายุ 68 ปี ประวัติการศึกษา »» บัญชีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวั ติ ก ารอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) - ไม่มี ประวัติการอบรมอื่นๆ

- ไม่มี

ประวัติการท�ำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี 2535-2557 กรรมการผู้จัดการ บริษัท สันติบุรี จ�ำกัด ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญอื่นๆ ในปัจจุบัน 1. บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. บริษัทมหาชน จ�ำกัด

- ไม่มี - ไม่มี

3. บริษัทจ�ำกัด - กรรมการผู้จัดการ บริษัท สันติบุรี ดีเวลลอปเม้นท์ แอนด์ รีสอร์ท จ�ำกัด - กรรมการบริหาร บริษัท บ่อผุดพร็อพเพอร์ตี้ แอนด์ รีสอร์ท จ�ำกัด - กรรมการผู้จัดการ บริษัท วิคตอรี่แอ็ดเวอร์ไทซิ่ง จ�ำกัด - กรรมการผู้จัดการ บริษัท สันติบุรีสมุยคันทรี่ คลับ จ�ำกัด - กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ คลาส มีเดีย จ�ำกัด - กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไฟว์คอนเซพส์ แอนด์ มีเดีย จ�ำกัด - กรรมการผู้จัดการ บริษัท เฟิสท์เพอร์เฟคครีเอชั่น จ�ำกัด - กรรมการผู้จัดการ บริษัท สันติบุรีไพรเวทคอมมิวนิตี้ จ�ำกัด - กรรมการผู้จัดการ บริษัท เชียงรายสันติบุรี กอล์ฟ คลับ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอส โฮเทล แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด 4. องค์กรหรือหน่วยงานอื่นๆ - ไม่มี 5. รัฐวิสาหกิจ - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ การมีส่วนได้ส่วนเสียในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการด้วยกัน ประวัติการกระท�ำผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลัง

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี


242 - 243

สรุ ป ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของนิ ติ บุ ค คล ที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ ้ น ร้ อ ยละ 10 ขึ้ น ไป

สรุปข้อมูลทั่วไปของนิติบุคคล ที่บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 10 ขึ้นไป (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558) ชื่อบริษัทและที่อยู่

วันที่จดทะเบียน

เลขทะเบียน

บริษัท เอส โฮเทล แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด 968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้นที่ 20 ถนนพระรามที่ 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. โทร. +66 (0) 2-632-4533 โทรสาร +66 (0) 2-632-4534

15 กันยายน 2557

0105557135820

บริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอส์แลนด์ จ�ำกัด 968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้นที่ 20 ถนนพระรามที่ 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. โทร. +66 (0) 2-632-4533 โทรสาร +66 (0) 2-632-4534

24 พฤศจิกายน 2557

0105557173454

บริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท อินเตอร์ จ�ำกัด 968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้นที่ 20 ถนนพระรามที่ 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. โทร. +66 (0) 2-632-4533 โทรสาร +66 (0) 2-632-4534

25 กันยายน 2558

0105558156189

บริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท จ�ำกัด 968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้นที่ 20 ถนนพระรามที่ 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. โทร. +66 (0) 2-632-4533 โทรสาร +66 (0) 2-632-4534

10 พฤศจิกายน 2558

0105558179600

S HOTELS AND RESORTS (SG) PTE. LTD. 1 Raffles Place # 28-02 One Raffles Place, Singapore 048616

11 พฤศจิกายน 2558

201540210R

7 ตุลาคม 2558

2293599

S HOTELS AND RESORTS (UK) LTD. 100 New Bridge Street, London, England EC4V 6JA

30 กันยายน 2558

9802164

FS JV CO LIMITED 7 Welbeck Street, London, England W1G 9YE

24 กันยายน 2558

9793554

FS MEZZ CO LIMITED 7 Welbeck Street, London, England W1G 9YE

24 กันยายน 2558

9793967

S HOTELS AND RESORTS (HK) LIMITED Rm. 2101, Hong Kong Trade Center, 161-7 Des Voeux Road, Central, Hong Kong


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

ประเภทธุรกิจ

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ทุนจดทะเบียน ชนิดของ จ�ำนวนหุ้น มูลค่าหุ้น (บาท) หุ้น จ�ำหน่ายแล้ว (บาท) (หุ้น)

สัดส่วนการถือหุ้น (%)

ด�ำเนินธุรกิจบริหารลงทุน และพัฒนาโรงแรม

20,000,000

สามัญ

2,000,000

10

99.99%

ด�ำเนินธุรกิจบริหารลงทุน และพัฒนาโรงแรม

30,000,000

สามัญ

300,000

100

99.99%

ด�ำเนินธุรกิจลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ การให้บริการด้านการบริหารหรือ ด้านเทคนิค และ/หรือการให้บริการ สนับสนุน แก่บริษัทในเครือ หรือสาขาของบริษัท

1,913,800,000

สามัญ

19,138,000

100

99.99%

ด�ำเนินธุรกิจเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ การให้บริการด้านการบริหารหรือ ด้านเทคนิค และ/หรือการให้บริการ สนับสนุน แก่บริษัทในเครือ หรือสาขาของบริษัท

1,000,000

สามัญ

10,000

100

99.99% (ถือหุ้นผ่านบริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท อินเตอร์ จ�ำกัด)

ด�ำเนินธุรกิจเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น

1 ดอลลาร์สหรัฐฯ

สามัญ

1

ด�ำเนินธุรกิจเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น

40,500,000 ปอนด์

สามัญ

40,500,000

1 ปอนด์

100% (ถือหุ้นผ่านบริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท อินเตอร์ จ�ำกัด)

ด�ำเนินธุรกิจเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น

500,000 ปอนด์

สามัญ

500,000

1 ปอนด์

100% (ถือหุ้นผ่าน S HOTELS AND RESORTS (HK) LIMITED)

ด�ำเนินธุรกิจเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น

1,000,000 ปอนด์

สามัญ

1,000,000

1 ปอนด์

50% (ถือหุ้นผ่าน S HOTELS AND RESORTS (UK) LTD.)

ด�ำเนินธุรกิจเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น

1,000,000 ปอนด์

สามัญ

1,000,000

1 ปอนด์

50% (ถือหุ้นผ่าน FS JV CO LIMITED)

1 100% ดอลลาร์ (ถือหุ้นผ่านบริษัท เอส โฮเทล สหรัฐฯ แอนด์ รีสอร์ท อินเตอร์ จ�ำกัด)


244 - 245

สรุ ป ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของนิ ติ บุ ค คล ที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ ้ น ร้ อ ยละ 10 ขึ้ น ไป

ชื่อบริษัทและที่อยู่

วันที่จดทะเบียน

เลขทะเบียน

FS MID CO LIMITED 7 Welbeck Street, London, England W1G 9YE

24 กันยายน 2558

9794137

FS SENIOR CO LIMITED 7 Welbeck Street, London, England W1G 9YE

24 กันยายน 2558

9794219

JUPITER HOTELS HOLDINGS LIMITED 7 Welbeck Street, London, England W1G 9YE

3 มีนาคม 2554

07550744

JUPITER HOTELS MIDCO LIMITED 7 Welbeck Street, London, England W1G 9YE

3 มีนาคม 2554

07550973

JUPITER HOTELS LIMITED 7 Welbeck Street, London, England W1G 9YE

3 มีนาคม 2554

07550805

JUPITER HOTELS WETHERBY LIMITED 7 Welbeck Street, London, England W1G 9YE

3 มีนาคม 2554

07550824

JUPITER HOTELS MANAGEMENT LIMITED 7 Welbeck Street, London, England W1G 9YE

28 กุมภาพันธ์ 2557

08917598

บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล อินเตอร์ จ�ำกัด 968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้นที่ 20 ถนนพระรามที่ 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. โทร. +66 (0) 2-632-4533 โทรสาร +66 (0) 2-632-4534

24 กรกฎาคม 2558

0105558121547

บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล จ�ำกัด 968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้นที่ 20 ถนนพระรามที่ 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. โทร. +66 (0) 2-632-4533 โทรสาร +66 (0) 2-632-4534

29 กรกฎาคม 2558

0105558124031

S COMMERCIALS (SINGAPORE) PTE. LTD. 1 Raffles Place # 28-02 One Raffles Place, Singapore 048616

3 สิงหาคม 2558

201530744M

บริษัท แม็กซ์ ฟิวเจอร์ จ�ำกัด 968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้นที่ 20 ถนนพระรามที่ 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. โทร. +66 (0) 2-632-4533 โทรสาร +66 (0) 2-632-4534

6 สิงหาคม 2556

0105556124875


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

ประเภทธุรกิจ

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ทุนจดทะเบียน ชนิดของ จ�ำนวนหุ้น มูลค่าหุ้น (บาท) หุ้น จ�ำหน่ายแล้ว (บาท) (หุ้น)

สัดส่วนการถือหุ้น (%)

ด�ำเนินธุรกิจเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น

1,000,000 ปอนด์

สามัญ

1,000,000

1 ปอนด์

50% (ถือหุ้นผ่าน FS MEZZ CO LIMITED)

ด�ำเนินธุรกิจเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น

1,000,000 ปอนด์

สามัญ

1,000,000

1 ปอนด์

50% (ถือหุ้นผ่าน FS MID CO LIMITED)

ด�ำเนินธุรกิจเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น

27,100,000 ปอนด์

สามัญ

27,100,000

1 ปอนด์

50% (ถือหุ้นผ่าน FS SENIOR CO LIMITED)

ด�ำเนินธุรกิจเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น

27,100,000 ปอนด์

สามัญ

27,100,000

1 ปอนด์

50% (ถือหุ้นผ่าน JUPITER HOTELS HOLDINGS LIMITED)

ด�ำเนินธุรกิจเข้าถือหุ้น ในบริษัทอื่น และบริหารลงทุน และพัฒนาโรงแรม

35,776,000 ปอนด์

สามัญ

35,776,000

1 ปอนด์

50% (ถือหุ้นผ่าน JUPITER HOTELS MIDCO LIMITED)

ด�ำเนินธุรกิจบริหารลงทุน และพัฒนาโรงแรม

4,505,000 ปอนด์

สามัญ

4,505,000

1 ปอนด์

50% (ถือหุ้นผ่าน JUPITER HOTELS LIMITED)

ด�ำเนินธุรกิจบริหารลงทุน และพัฒนาโรงแรม

1 ปอนด์

สามัญ

1

1 ปอนด์

50% (ถือหุ้นผ่าน JUPITER HOTELS LIMITED)

ด�ำเนินธุรกิจซื้อ ขาย แลกเปลี่ยน เช่า ให้เช่าที่ดิน อาคาร โรงเรือน และสิ่งปลูกสร้างทุกชนิด รวมถึงเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น

4,062,000,000

สามัญ

40,620,000

100

99.99%

ด�ำเนินธุรกิจซื้อ ขาย แลกเปลี่ยน เช่า ให้เช่าที่ดิน อาคาร โรงเรือน และสิ่งปลูกสร้างทุกชนิด รวมถึงเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น

2,080,000,000

สามัญ

20,800,000

100

99.99% (ถือหุ้นผ่านบริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล อินเตอร์ จ�ำกัด)

ด�ำเนินธุรกิจเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น

56,796,178 ดอลลาร์สหรัฐฯ

สามัญ

56,796,178

1 ดอลลาร์ สหรัฐฯ

100% (ถือหุ้นผ่านบริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล อินเตอร์ จ�ำกัด)

ให้เช่าและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

1,500,000,000

สามัญ

15,000,000

100

99.99% (ถือหุ้นผ่านบริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล จ�ำกัด 51.33% และ S COMMERCIALS (SINGAPORE) PTE. LTD. 48.66%)


246 - 247

สรุ ป ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของนิ ติ บุ ค คล ที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ ้ น ร้ อ ยละ 10 ขึ้ น ไป

ชื่อบริษัทและที่อยู่

วันที่จดทะเบียน

เลขทะเบียน

บริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลอปเม้นท์ จ�ำกัด 968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้นที่ 20 ถนนพระรามที่ 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. โทร. +66 (0) 2-632-4533 โทรสาร +66 (0) 2-632-4534

12 มิถุนายน 2555

0105555084454

บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด 343/351 ถนนประเสริฐมนูกิจ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กทม. โทร. +66 (0) 2-105-6789

1 กุมภาพันธ์ 2548

0105548015663

บริษัท เนอวานา ยู จ�ำกัด 343/351 ถนนประเสริฐมนูกิจ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กทม. โทร. +66 (0) 2-105-6789

28 กันยายน 2552

0105552103733

บริษัท เนอวานา พระราม9 จ�ำกัด 343/351 ถนนประเสริฐมนูกิจ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กทม. โทร. +66 (0) 2-105-6789

22 กุมภาพันธ์ 2551

0105551021652

บริษัท เนอวานา ริเวอร์ จ�ำกัด 343/351 ถนนประเสริฐมนูกิจ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กทม. โทร. +66 (0) 2-105-6789

15 พฤศจิกายน 2556

0105556183821

บริษัท เนอวานา คอนสตรัคชั่น จ�ำกัด 555 ถนนอ่อนนุช แขวงประเวศ เขตประเวศ กทม. โทร. +66 (0) 2-105-6789

27 กุมภาพันธ์ 2549

0105549027304

บริษัท ทรัพย์ธนารินทร์ จ�ำกัด 343/351 ถนนประเสริฐมนูกิจ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กทม. โทร. +66 (0) 2-105-6789

12 มีนาคม 2544

0105544024684

บริษัท ภิรมย์พัฒน์ จ�ำกัด/1 968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้นที่ 20 ถนนพระรามที่ 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. โทร. +66 (0) 2-632-4533 โทรสาร +66 (0) 2-632-4534

13 ธันวาคม 2544

0105544118964

บริษัท พีพี วิลเลจ แอสเซ็ท แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด/2 49 หมู่ที่ 8 ต�ำบลอ่าวนาง อ�ำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ โทร. +66 (0) 75-620-928 โทรสาร +66 (0) 75-628-955

20 กรกฎาคม 2554

0105554094677

บริษัท ทะเลน้อย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด /3 1/2 ซอยพรมแดน 3 แขวงบางบอน เขตบางบอน กรุงเทพมหานคร โทร. +66 (0) 2-632-4533 โทรสาร +66 (0) 2-632-4534

14 กันยายน 2558

0105558149654

หมายเหตุ /1 จดทะเบียนเลิกกิจการเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2558 และจดทะเบียนช� ำระบัญชีเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2559 /2 จดทะเบียนเลิกกิจการเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2558 /3 จดทะเบียนเลิกกิจการเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2558


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

ประเภทธุรกิจ

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ทุนจดทะเบียน ชนิดของ จ�ำนวนหุ้น มูลค่าหุ้น (บาท) หุ้น จ�ำหน่ายแล้ว (บาท) (หุ้น)

สัดส่วนการถือหุ้น (%)

ให้เช่าและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

2,562,000,000

สามัญ

25,620,000

100

99.99% (ถือหุ้นผ่านบริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล จ�ำกัด 51.13% และ S COMMERCIALS (SINGAPORE) PTE. LTD. 48.86%)

ด�ำเนินธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ ประเภทบ้านเดี่ยว อาคารพาณิชย์ และบ้านทาวน์เฮ้าส์ เพื่อขายและให้เช่า

878,768,100

สามัญ

8,787,681

100

51.00%

ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

80,000,000

สามัญ

800,000

100

51.00% (ถือหุ้นผ่านบริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด)

ด�ำเนินธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ ประเภทบ้านเดี่ยว อาคารพาณิชย์ และบ้านทาวน์เฮ้าส์ เพื่อขายและให้เช่า

150,000,000

สามัญ

1,500,000

100

51.00% (ถือหุ้นผ่านบริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด)

ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

305,000,000

สามัญ

3,050,000

100

51.00% (ถือหุ้นผ่านบริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด)

ด�ำเนินธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง

140,000,000

สามัญ

1,400,000

100

51.00% (ถือหุ้นผ่านบริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด)

ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

65,000,000

สามัญ

650,000

100

51.00% (ถือหุ้นผ่านบริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด)

ให้เช่าและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

73,000,000

สามัญ

73,000

100

99.99% (ถือหุ้นผ่านบริษัท เอส ไบร์ทฟิวเจอร์ จ�ำกัด)

ด�ำเนินธุรกิจบริหารลงทุน และพัฒนาโรงแรม

50,000,000

สามัญ บุริมสิทธิ

250,000 250,000

100 100

99.99% (ถือหุ้นผ่านบริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอส์แลนด์ จ�ำกัด)

ด�ำเนินธุรกิจโรงแรม

1,000,000

สามัญ

100,000

10

99.99% (ถือหุ้นผ่านบริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอส์แลนด์ จ�ำกัด)


248 - 249

รายชื่ อ กรรมการในบริ ษั ท ย่ อ ย และบริ ษั ท ร่ ว ม บุ ค คลอ้ า งอิ ง

รายชื่อกรรมการในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม

กรรมการ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

นายจุตินันท์ ภิรมย์ภักดี นางนภาภรณ์ ลัญฉน์ดี นายการุญ นันทิลีพงศ์ นายธนา เธียรอัจฉริยะ ผศ.ดร. ธนวรรธน์ พลวิชัย ดร. ชญานิน เทพาค�ำ นายนริศ เชยกลิ่น นายล่องลม บุนนาค นายณัฐวุฒิ มัธยมจันทร์ นายสุพจน์ ชลาดล นายธีระชาติ นุมานิต นายเมธี วินิชบุตร นายบรรพต อุดมเกียรติไพศาล นายศรศักดิ์ สมวัฒนา นายอนุชาติ อังสุเมธางกูร นายวิเชียร เจียกเจิม นายปาริฉัตร แย้มพันธุ์ MR. TAN LIAN KIOW MR. SANJAY KUMAR SINGH MR. KRIT SRICHAWLA MR. SHANE HARRIS MR. ANDREW EDWARD PRING MR. GAVIN STEPHEN TAYLOR ดร. สาธิต รังคสิริ/4

บริษัทร่วม

บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท แม็กซ์ ฟิวเจอร์ จ�ำกัด บริษัท สิงห์ พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เอส โฮเทล แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เอส โฮเทล พีพี ไอส์แลนด์ จ�ำกัด บริษัท เนอวานา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล อินเตอร์ จ�ำกัด บริษัท เอส เอสเตท คอมเมอร์เชียล จ�ำกัด S COMMERCIALS (SINGAPORE) PTE. LTD. บริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท อินเตอร์ จ�ำกัด S HOTELS AND RESORTS (UK) LTD. S HOTELS AND RESORTS (HK) LIMITED บริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท จ�ำกัด S HOTELS AND RESORTS (SG) PTE. LTD. บริษัท เนอวานา ยู จ�ำกัด บริษัท เนอวานา พระราม 9 จ�ำกัด บริษัท เนอวานา ริเวอร์ จ�ำกัด บริษัท เนอวานา คอนสตรัคชั่น จ�ำกัด บริษัท ทรัพย์ธนารินทร์ จ�ำกัด บริษัท ภิรมย์พัฒน์ จ�ำกัด /1 บริษัท พีพี วิลเลจ แอสเซ็ท แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด/2 บริษัท ทะเลน้อย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด/3 FS JV CO LIMITED FS MEZZ CO LIMITED FS MID CO LIMITED FS SENIOR CO LIMITED JUPITER HOTELS HOLDINGS LIMITED JUPITER HOTELS MIDCO LIMITED JUPITER HOTELS LIMITED JUPITER HOTELS WETHERBY LIMITED JUPITER HOTELS MANAGEMENT LIMITED

บริษัทย่อย

หมายเหตุ: /1 จดทะเบียนเลิกกิจการเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2558 และจดทะเบียนช� ำระบัญชีเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2559 /2 จดทะเบียนเลิกกิจการเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2558 /3 จดทะเบียนเลิกกิจการเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2558 /4 ลาออกจากการเป็นกรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีผลตั้งแต่วันที่ 21 มกราคม 2559 เป็นต้นไป


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

บุคคลอ้างอิง

นายทะเบี ย นหลั ก ทรั พ ย์ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 ประเทศไทย โทรศัพท์ : +66 (0) 2009 9000 โทรสาร : +66 (0) 2009 9991

ผู ้ ส อบบั ญ ชี บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด โดย นายวิเชียร กิ่งมนตรี (ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3977) ชั้น 15 อาคารบางกอก ซิตี้ ทาวเวอร์ เลขที่ 179/74-80 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120 ประเทศไทย โทรศัพท์ : +66 (0) 2344 1000 โทรสาร : +66 (0) 2286 8200


250 - 251

ข้ อ มู ล ส�ำหรั บ นั ก ลงทุ น

ข้อมูลส�ำหรับนักลงทุน บริ ษั ท สิ ง ห์ เอสเตท จ� ำ กั ด (มหาชน) ทุนจดทะเบียน : 7,348,290,786 บาท ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว : 5,715,337,268 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ : 5,715,337,268 หุ้น มูลค่าหุ้นละ : 1 บาท ข้ อ มู ล หลั ก ทรั พ ย์ หลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ฯ เข้ า จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยเมื่ อ วั น ที่ 12 เมษายน 2550 ภายใต้ ชื่ อ บริ ษั ท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) โดยใช้ชื่อย่อหลักทรัพย์ “RASA” เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 บริษัทฯ ได้รวมธุรกิจและปรับโครงสร้างผู้ถือหุ้น และได้เปลี่ยนชื่อบริษัทฯ เป็น บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) โดยใช้ชื่อย่อหลักทรัพย์ “S” การประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี ม ติ ใ ห้ ก� ำ หนดวั น ประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี 2559 ในวั น ที่ 26 เมษายน 2559 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 39 อาคารซันทาวเวอร์ส บี เลขที่ 123 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ประเทศไทย ติ ด ต่ อ เลขานุ ก ารบริ ษั ท และนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ผู้ติดต่อ : นางสาวเชิญพร สุภธีระ ที่อยู่ : บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ชั้น 20 อาคารอื้อจือเหลียง เลขที่ 968 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 ประเทศไทย โทรศัพท์ : +66(0) 2632 4533 ต่อ 101 หรือ 102 โทรสาร : +66(0) 2632 4534 อีเมลล์ : choenporn.s@singhaestate.co.th และ company.secretary@singhaestate.co.th เว็บไชต์ : www.singhaestate.co.th นโยบายการจ่ า ยเงิ น ปั น ผล : S มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลในอัตราประมาณร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงานประจ�ำปี (กรณีไม่มีเหตุผลจ�ำเป็นอื่นใด)


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2558

บ ริ ษั ท สิ ง ห์ เ อ ส เ ต ท จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) T h e F u t u r e i s N o w

ปฏิ ทิ น ทางการเงิ น ที่ ส� ำ คั ญ ปี 2558 และ 2559 ปฏิทินทางการเงิน

2558

2559 (คาดการณ์)

แจ้งงบการเงินส�ำหรับผลการด�ำเนินงานประจ�ำปีก่อน

มีนาคม

กุมภาพันธ์

ปิดสมุดทะเบียนส�ำหรับสิทธิการเข้าประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี

มีนาคม

มีนาคม

จัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น

เมษายน

เมษายน

แจ้งงบการเงินส�ำหรับผลการด�ำเนินงานไตรมาสที่ 1

พฤษภาคม

พฤษภาคม

แจ้งงบการเงินส�ำหรับผลการด�ำเนินงานไตรมาสที่ 2

สิงหาคม

สิงหาคม

จัดประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น

กันยายน

แจ้งงบการเงินส�ำหรับผลการด�ำเนินงานไตรมาสที่ 3

พฤศจิกายน

พฤศจิกายน

กิ จ กรรมนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ในปี 2558 เดือน

กิจกรรม

มกราคม

พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ “6th Annual ASEAN Conference” ประเทศสิงคโปร์ จัดโดย บริษัทหลักทรัพย์เครดิต สวิส

มิถุนายน

พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ “SET Thai & ASEAN Conference” ประเทศอังกฤษ จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมกับบริษัทหลักทรัพย์เครดิต สวิส

กรกฎาคม

พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ “Thai Corporate Day” เขตบริหารพิเศษฮ่องกง จัดโดย บริษัทหลักทรัพย์ภัทรและแบงก์ ออฟ อเมริกา เมอร์ริลล์ ลินช์

ตุลาคม

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารพบปะนักลงทุนสถาบันภายในประเทศ (CEO Forum) กรุงเทพฯ จัดโดย บริษัทหลักทรัพย์เมย์แบงก์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย)

ธันวาคม

พบปะนักลงทุนสถาบันภายในประเทศและต่างประเทศ “2015 Thailand Focus” กรุงเทพฯ จั ด โดย ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ร่ ว มกั บ บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ ภั ท รและแบงก์ ออฟ อเมริ ก า เมอร์ริลล์ ลินช์


252

ข้ อ มู ล ส�ำหรั บ นั ก ลงทุ น

เปรียบเทียบการเคลื่อนไหวมูลคาหลักทรัพยตามราคาตลาดของ S กับมูลคาตามราคาตลาดของหมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย (PROP) และตลาดหลักทรัพย (SET) ยอนหลัง (ราคา ณ เดือนมกราคม 2558 เปนฐาน) ดัชนีเปรียบเทียบ (ม.ค. 2558 = 100) หลักทรัพย S

150.00

หมวดธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย (Property Sector)

120.00 90.00

ราคาตลาดหลักทรัพย (SET)

60.00 30.00 0.00

ม.ค. 58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 เม.ย. 58 พ.ค. 58 มิ.ย. 58 ก.ค. 58 ส.ค. 58 ก.ย. 58 ต.ค. 58 พ.ย. 58 ธ.ค. 58

ที่มา: ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.