S : Annual Report 2010

Page 1

ANNUALREPORT2010

1


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

สารบัญ สารจากประธานกรรมการ

2

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

3

รายงานคณะกรรมการบริหาร

4

ขอมูลทั่วไป

5

ขอมูลทางการเงินโดยสรุป

6-8

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

9 -10

ปจจัยความเสี่ยงของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย

11 - 12

โครงสรางการถือหุนและการจัดการ

13 - 26

ประวัติกรรมการและผูบริหาร

27 - 33

รายการระหวางกัน

34 - 37

คําอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ

38

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตอรายงานทางการเงิน

39

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต

40

งบการเงิน

2

41 - 64


ANNUALREPORT2010

สารจากประธานกรรมการ เรียน

ทานผูถือหุน

ในป 2553 ที่ผานมา บริษัทฯ มีผลการดําเนินงาน เติบโตมากอยางมีนัยสําคัญทั้งในดานรายไดและกําไรสุทธิ แมจะเปนปที่อยู ทามกลางกระแสฟองสบูด า นอุปทานของอาคารชุดทีพ่ กั อาศัย อันเปนผลจากการบริหารจัดการอยางระมัดระวัง และมีประสิทธิภาพของบริษทั ฯ ในรอบปทผ่ี า นมา บริษทั ฯ ไดลงทุนในทีด่ นิ เพือ่ ทยอยพัฒนาโครงการใหมในป 2554 และ 2555 จํานวน 3โครงการ มีมลู คาโครงการ รวมทั้งสิ้นประมาณ 3,300 ลานบาท ซึ่งจะสามารถสรางรายไดใหบริษัทฯ ไดอยางตอเนื่องในอีก 2 - 3 ปขางหนาไดอยางมั่นคง ณ โอกาสนี้ ในนามคณะกรรมการและผูบริหารของบริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด(มหาชน) ขอขอบคุณผูถือหุน พนักงาน สถาบันการเงิน ผูรับเหมา นักออกแบบ และ คูคาทุกทานที่ใหการสนับสนุนบริษัทฯดวยดีเสมอมา และที่สําคัญที่สุด คือ ลูกคา ของบริษทั ฯ ทุกทานทีใ่ หความเชือ่ ถือและไววางใจรวมสรางครอบครัวอันอบอุน ภายในสังคมและสิง่ แวดลอมภายในโครงการทีพ่ ฒ ั นาภายใต ชื่อ “RASA” ทุกโครงการ

รองศาสตราจารยมานพ พงศทัต ประธานกรรมการ 19 มีนาคม 2554

3


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน

ทานผูถือหุน บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษัทฯแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบจากกรรมการอิสระ โดยกรรมการตรวจสอบไมไดเปนเจาหนาที่บริหารและ พนักงานของบริษทั ฯ ประกอบดวยกรรมการอิสระ 3 ทาน คือ นายเลิศชัย ลีลายนกุล เปนประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายปญจะ เสนาดิสยั และนางสุดจิต ทิวารี เปนกรรมการตรวจสอบ ในป 2553 คณะกรรมการตรวจสอบจัดใหมีการประชุม 7 ครั้ง มีการพิจารณาเรื่องสําคัญ สรุปไดดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและประจําป 2553 กับผูส อบบัญชีรบั อนุญาตและผูต รวจสอบภายใน กอนเสนอใหคณะกรรมการ บริษัทพิจารณาวา ไดมีการปฏิบัติถูกตองตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป และมีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ 2. สอบทานระบบควบคุมภายในและการติดตามการแกไขขอบกพรองของระบบงาน โดยผูตรวจสอบภายใน และพบวา บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ 3. สอบทานใหบริษัทฯถือปฏิบัติตามขอพึงปฏิบัติที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียน ตามประกาศตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมทั้งปฏิบัติตามระเบียบและขอกําหนดของทางการ 4. สอบทานและใหความเห็นตอการเขาทํารายการทีเ่ กีย่ งโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน รวมทัง้ พิจารณาการ เปดเผยขอมูลในเรื่องดังกลาวใหมีความถูกตองครบถวน 5. อนุมตั แิ ผนการตรวจสอบภายในประจําป โดยคํานึงถึงสาระสําคัญของปจจัยความเสีย่ งของระบบงานตางๆ ใหแนวทางการปฏิบตั งิ าน ตรวจสอบ ติดตามผลการตรวจสอบและความเปนอิสระของผูต รวจสอบภายใน พรอมทัง้ ติดตามความคืบหนาของการปฏิบตั ติ าม ความเห็นของที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 6. ประเมินความเปนอิสระ พิจารณาใหความเห็นชอบเสนอแตงตั้งและคาตอบแทนของผูสอบบัญชี โดยเสนอแนะใหแตงตั้ง 1) นายสมคิด เตียตระกูล ผูส อบบัญชีรบั อนุญาต เลขที่ 2785 หรือ 2) นางสุมาลี โชคดีอนันต ผูส อบบัญชีรบั อนุญาต เลขที่ 3322 ของสํานักงานผูสอบบัญชีบริษัท แกรนท ธอนตัน จํากัด เปนผูตรวจสอบบัญชีของบริษัท ประจําป 2554 สําหรับป 2553 คณะกรรมการตรวจสอบสามารถขอขอมูลไดโดยไมจาํ กัด และสามารถปรึกษาหารือเปนการเฉพาะกับผูต รวจสอบ ภายใน ผูสอบบัญชี และที่ปรึกษาภายนอกไดอยางเต็มที่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา บริษัทฯ มีระบบการบริหารจัดการภายใต การกํากับดูแลกิจการที่ดี มีระบบควบคุมภายในที่เพียงพอเหมาะสม นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาดานการกํากับดูแลกิจการที่ดีอยางตอเนื่อง

นายเลิ​ิศชัย ลี​ีลายนกุล ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 17 มีนาคม 2554

4


ANNUALREPORT2010

รายงานคณะกรรมการบริหาร เรียน

ทานผูถือหุน

บริษทั ฯ เริม่ ตนป 2553 ไดอยางดีดว ยการจําหนายบานในโครงการ รสา สแปนิช คอรทยารด ไดหมดภายในไตรมาสแรก และใน ไตรมาสทีส่ ่ี โครงการ The Lighthouse Condominium ทีถ่ นนเจริญนครไดสรางเสร็จและโอนหนวยแรกไดในกลางเดือนพฤศจิกายน 2553 ทําใหผลการดําเนินงานของบริษทั มีกาํ ไรสุทธิ 114 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากป 2552 จํานวน 40 ลานบาท หรือ 54.89% เปนผลมาจากการทํารายได เพิม่ ขึน้ 194 ลานบาทหรือ 24.74% จากป 2552 ซึง่ การเพิม่ ขึน้ นีเ้ ปนผลจากการบริหารจัดการทีเ่ หมาะสมทําใหยอดขายเพิม่ ขึน้ พรอมกับการ บริหารตนทุนที่ดีขึ้นทําใหอัตราการทํากําไรขั้นตนของบริษัทอยูที่ 32.81% สูงกวาป 2552 ซึ่งอยูที่ 29.31% เมื่อพิจารณาจาก ผลการดําเนินงาน ฐานะการเงินและสภาพคลอง โครงการลงทุนซื้อที่ดินเพื่อนํามาพัฒนาในอนาคต และภาวะ ความเสีย่ งทางเศรษฐกิจทัง้ ในประเทศและของโลกโดยรวม คณะกรรมการบริหารจึงเสนอใหกรรมการบริษทั อนุมตั กิ ารจายเงินปนผลในอัตราหุน ละ 0.30 บาท (คิดเปนรอยละ 21 ของกําไรสุทธิตอหุน) ซึ่งจะเสนอใหที่ประชุมสามัญผูถือหุนอนุมัติในวันที่ 28 เมษายน 2554 ในป 2554 นัน้ แมวา เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศและของโลกไดมกี ารฟน ตัวจากการชะลอตัวอยางรุนแรงทีเ่ กิดในป 2551 แลว แตกย็ งั มีความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ จากสถานการณทางการเมืองของประเทศในแถบตะวันออกกลางอาจจะเปนผลใหราคาน้าํ มันในตลาดโลกปรับตัว สูงขึน้ เปนผลใหตน ทุนของวัสดุกอ สรางปรับตัวสูงตามไปดวย ประกอบกับแนวโนมอัตราดอกเบีย้ เริม่ สูง ซึง่ เปนปจจัยทีอ่ าจจะทําใหการขยายตัว ของอุตสาหกรรมพัฒนาอสังหาริมทรัพยมอี ปุ สรรคบาง แตดว ยนโยบายการดําเนินกิจการแบบระมัดระวัง บริษทั ฯคาดวาจะไดรบั ผลกระทบจากปจจัย ดังกลาวนอยมาก ดังนัน้ นโยบายและแผนงานหลักของบริษทั ในป 2554 จึงมุง เนนดานการบริหารงานกอสราง เพือ่ สงมอบบานและอาคารชุดที่ขาย แลวใหแกลูกคาไดตรงตามสัญญาและแผนงานที่วางไว และใหมีความพรอมที่จะซื้อที่ดินเพื่อลงทุนในโครงการใหมทันทีเมื่อเห็นวาสามารถ สรางรายไดและกําไรใหเติบโตได ุ ภาพ ดวยความรวมมือรวมใจ คณะกรรมการบริหารจึงมัน่ ใจวาในป 2554 บริษทั จะสามารถดําเนินธุรกิจใหเติบโตไดอยางมัน่ คง มีคณ ของทุกฝายที่เกี่ยวของอยางเต็มที่

คณะกรรมการบริหาร 21 มีนาคม 2554

5


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

ขอมูลทั่วไป

6

ชื่อบริษัท

บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน)

ประเภทธุรกิจ

พัฒนาอสังหาริมทรัพยประเภทบานเดี่ยวและคอนโดมิเนียม

ที่ตั้งสํานักงาน

555 อาคารรสาทาวเวอร ชั้น 28 ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

เลขทะเบียนบริษัท

0107547000443

โทรศัพท

0-2937-1200

โทรสาร

0-2937-0102

Homepage

www.rasa.co.th

ทุนจดทะเบียน

400,000,000.- บาท

เรียกชําระแลว

400,000,000.- บาท

จํานวนหุนที่จําหนายแลวทั้งหมด

80,000,000.- หุน

หุนสามัญ

80,000,000.- หุน

มูลคาหุน

5.00 บาท

นายทะเบียนหุนสามัญ

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด

ที่ตั้งสํานักงาน

62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

โทรศัพท

0-2229-2800 , 0-2654-5599

โทรสาร

0-2359-1259

ผูสอบบัญชี

นายสมคิด เตียตระกูล ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 2785 หรือ นางสุมาลี โชคดีอนันต ผูส อบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3322

ที่ตั้งสํานักงาน

บริษัท แกรนท ธอนตัน จํากัด 87/1 อาคารแคปปตอล ออลซีซั่นเพลส ชั้น 18 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

โทรศัพท

0-2205-8222

โทรสาร

0-2654-3339

ที่ปรึกษากฎหมาย

บริษัท จันทรโฮลดิ้ง จํากัด

ที่ต้งั สํานักงาน

32/43 ถนนลาดปลาเคา แขวงอนุสาวรีย เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220

โทรศัพท

0-2971-5700 -4

โทรสาร

0-2971-5705


ANNUALREPORT2010

ขอมูลทางการเงินโดยสรุป ขอมูลสําคัญทางการเงิน 2553

2552

2551

ผลการดําเนินงาน รายไดรวม กําไรสุทธิ กําไรตอหุน เงินปนผลตอหุน

ลานบาท ลานบาท บาท/หุน บาท/หุน

788.67 114.21 1.43 0.25*

593.73 73.74 0.92 -*

274.51 5.52 0.07 0.25

ฐานะการเงิน สินทรัพยรวม หนี้สินรวม รวมสวนของผูถือหุน

ลานบาท ลานบาท ลานบาท

1,659.84 981.15 678.68

1200.18 615.72 584.46

902.89 392.16 510.72

อัตราสวนทางการเงิน อัตรากําไรขั้นตน อัตรากําไรกอนภาษีและดอกเบี้ยจาย มูลคาตามบัญชีตอหุน อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน

รอยละ รอยละ บาท/หุน เทา

32.81 19.85 8.48 1.44

29.32 17.55 7.31 1.05

29.62 3.73 6.38 0.76

* ทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน ประจําป 2552 อนุมตั ใิ หจา ยปนผลในอัตรา 0.25 บาท/หุน ไดจา ยและบันทึกในป 2553 และ คณะกรรมการบริษทั มีมติอนุมัติเงินปนผลสําหรับผลการดําเนินงานป 2553 ในอัตรา 0.30 บาท/หุน โดยจะนําเสนอตอที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2554 เพื่ออนุมัติตอไป

7


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

ผลการดําเนินงาน ดานสินทรัพยและสวนทุน สินทรัพยรวม

สวนของผูถือหุน

ลานบาท

ลานบาท

700

1800 1600 1400 1200 1000 800 600 400 200 0

1,660

600 500

1,200

674 584 510

400

902

300 200 100 0 2551

2552

2553

2551

2552

2553

• ดานสินทรัพย เมือ่ บริษทั ไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในป 2550 ขณะนัน้ ทรัพยสนิ รวมของบริษทั อยูท ่ี 768 ลานบาท มาในป 2553 บริษทั ฯมีสนิ ทรัพยรวมเพิม่ ขึน้ เปน 1,660 ลานบาทซึง่ มากเปนสองเทาของป 2550 อันเปนผล จากการทีบ่ ริษทั ไดใชเงินจากการระดมทุนดังกลาวมาขยายการลงทุน โดยไดซอ้ื ทีด่ นิ มาพัฒนา และกอสรางอยางตอเนือ่ ง ซึง่ การลงทุน ดังกลาวทําใหสนิ ทรัพยเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งและสรางรายไดใหกบั บริษทั เพิม่ ขึน้ อยางมาก และในป 2553 บริษทั ไดลงทุนซือ้ ทีด่ นิ ใน 3 ทําเล เพือ่ จะพัฒนาเปน 3 โครงการมูลคาโครงการรวม 3,300 ลานบาท ซึง่ สามารถทีจ่ ะสรางความมัน่ คงของรายไดให กับบริษทั ใน 2 - 3 ปขา งหนา • ดานสวนของผูถ อื หุน ป 2553 สวนของผูถ อื หุน เพิม่ ขึน้ เปน 679 ลานบาท คิดเปน 8.48 บาทตอหุน จากกําไรสุทธิของปลบดวย เงินปนผลสําหรับผลการดําเนินงานป 2552 สวนเงินปนผลสําหรับป 2553 คณะกรรมการไดมมี ติอนุมตั ใิ นอัตราหุน ละ 0.30 บาท ตอหุน คิดเปนเงินรวมทัง้ สิน้ 24 ลานบาท เพือ่ นําเสนอใหทป่ี ระชุมสามัญผูถ อื หุน อนุมตั แิ ละจะมีการบันทึกในป 2554 ซึง่ จะ ทําใหสวนของผูถือหุนลดลง

8


ANNUALREPORT2010

ดานรายไดและกําไร รายได

กําไรสุทธิ

ลานบาท

784

800 700

120

114

100 594

600 500

80

74

60

400 300 200 100

ลานบาท

275

40 20 6

0

0 2551

2552

2553

2551

2552

2553

• รายได ป 2553 และ 2552 บริษทั มีรายไดเพิม่ ขึน้ เปนปทส่ี องติดตอกัน โดยเพิม่ ขึน้ เปน 784 และ 594 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 190 และ 319 ลานบาท หรือ 32% และ 116% ตามลําดับ อันเนือ่ งมาจากการเพิม่ ขึน้ ของการขายบานพรอมทีด่ นิ และการรับรูร ายไดจากอาคารชุด สําหรับอาคารชุดโครงการ LightHouse ไดเริ่มโอนกรรมสิทธิ์ใหกับลูกคาแลวในเดือน พฤศจิกายน 2553 • กําไร ป 2553 มีกาํ ไรสุทธิ 114 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 40 ลานบาท หรือ 54.89% จากป 2552 ซึง่ เปนผลจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได อยางมีนยั สําคัญ และการบริหารจัดการตนทุนไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหอตั ราการทํากําไรขัน้ ตนอยูท ร่ี อ ยละ 32 ซึง่ ดีขน้ึ กวาป 2552 ซึ่งอยูที่รอยละ 29

9


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) มีชื่อภาษาอังกฤษวา “Rasa Property Development Public Company Limited” กอตั้งเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2538 ในชื่อเดิมวา “บริษัท พาณิชยภูมิพัฒนา จํากัด” ดวย ทุนจดทะเบียน 10 ลานบาท โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยประเภทบานจัดสรรและอาคารชุด พักอาศัย ปจจุบันบริษทั มีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 400 ลานบาท และเรียกชําระแลว 400 ลานบาท มีสํานักงานใหญตั้งอยูที่ 555 อาคารรสาทาวเวอร 1 ชั้น 28 ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 บริษัทเปนผูพัฒนาโครงการและเจาของโครงการ โดยเนนการสรางบานจัดสรร และอาคารชุดพักอาศัยที่มีคุณภาพ เนน ประโยชนใชสอย ภายใตแนวคิดการสรางเอกลักษณเฉพาะตัวในแตละโครงการ ทุกโครงการของบริษทั ถือวาเปนสินคาจํานวนจํากัด โดยนําเสนอรูปแบบและแนวคิดใหมอยูเ สมอ ซึง่ ถือวาเปนจุดขายทีส่ าํ คัญของแตละโครงการ โดยมีกลุม ลูกคาเปาหมายระดับปานกลาง ถึงระดับสูง

โครงการปจจุบัน โครงการ รสา พารคเลน (วัชรพล) บานเดี่ยวสไตล Modern Tropical เนนการจัดสรรประโยชนใชสอยสูงสุด ผสานทุกองคประกอบรายละเอียด เนนความ ปราณีตดวยวัสดุคณ ุ ภาพ สะดวกสบายในการใชประโยชน เพิม่ ความรืน่ รมยดว ยตนไมนานาพันธุ บนเนือ้ ทีท่ ง้ั หมด 29-1-75.1 ไร ประกอบดวยบานเดีย่ วขนาด 50 ตารางวาขึน้ ไป จํานวน 95 ยูนติ ราคาขายตัง้ แต 4–10 ลานบาท มูลคาโครงการ 650 ลานบาท

10


ANNUALREPORT2010 โครงการ The LightHouse (สาทร – เจริญนคร 14) คอนโดมิเนียมหรู ริมแมนาํ้ เจาพระยา โดดเดนดวยรูปแบบสถาปตยกรรม ที่เปนเอกลักษณ ออกแบบใหผสมผสานกับรูปแบบ สไตลิช มอลล (Stylish Mall) ที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว สะทอนไลฟสไตลการใชชีวิตอิสระทันสมัย มีรสนิยม สะดวกสบายดวยการเดินทางหลายรูปแบบ ทั้งทางเรือ รถยนต รถไฟฟา BTS บนเนือ้ ที่ 2 ไร 3 งาน 62 ตารางวา สูง 32 ชัน้ จํานวน 297 ยูนติ ราคาขายตั้งแต 2.5 – 14 ลานบาท มูลคาโครงการ 1,500 ลานบาท

โครงการ Intro Condominium (ประดิพัทธ) โครงการคอนโดมิเนียมสูง 37 ชั้น ประมาณ 450 ยูนิต บนถนน ประดิพัทธ เนื้อที่ 3 ไร 1 งาน 33 ตารางวา ออกแบบดวยสถาปตยกรรม ทีเ่ ปนเอกลักษณ เพียบพรอมดวยสิง่ อํานวยความสะดวกสําหรับชีวติ คนเมือง ทุกยูนิตออกแบบอยางลงตัวเพื่อประโยชนใชสอยสูงสุด ผอนคลายและ เติมความสดชื่นดวย พื้นที่สีเขียวถึง 1 ไร ตั้งอยูบนทําเลที่มีศักยภาพ ใจกลางเมือง ใกลแหลงช็อปปง โรงเรียน โรงพยาบาล และอาคารสํานักงาน พรอมดวยทางดวน และสถานีรถไฟฟา BTS ราคาขายตัง้ แต 2.5-13 ลานบาท มูลคาโครงการ 1,450 ลานบาท

11


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

ปจจัยความเสี่ยงของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย 1. ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงาน • ความเสี่ยงในเรื่องความไมตอเนื่องของรายได ณ สิน้ ป 2553 บริษทั มีโครงการทีอ่ ยูร ะหวา งการขาย 3 โครงการ ประกอบดวย บานเดีย่ ว 1 โครงการ ไดแก โครงการ รสา พารคเลน ซึ่งเปนบานเดี่ยวระดับราคาปานกลาง และคอนโดมิเนียม จํานวน 2 โครงการ ไดแก โครงการ The LightHouse โครงการ Intro Condominium ราคาขายตั้งแต 2–12 ลานบาทตอยูนิต มูลคาขายรวมประมาณ 2,950 ลานบาท เปน โครงการคอนโดมิเนียมที่อยูในทําเลกลางเมือง (Central Business District) ซึ่งยังเปนตลาดที่มีการเจริญเติบโต และใน ปจจุบนั บริษทั อยูร ะหวางการศึกษาเพือ่ พัฒนา โครงการอืน่ ๆเพิม่ เติม โดยจะพิจารณาทําเลทีต่ ง้ั ของระบบเครือขายคมนาคม เปนองคประกอบสําคัญ • ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัสดุกอสราง วัสดุกอสรางถือเปนตนทุนการกอสรางที่สําคัญ การเติบโตของภาคอสังหาริมทรัพย และความผันผวนของราคาน้ํามัน สงผลใหราคาวัสดุกอ สรางปรับตัวเพิม่ ขึน้ ซึง่ มีผลกระทบโดยตรงตอตนทุนของการพัฒนาโครงการและความสามารถในการ ทํากําไรของบริษทั และในบางชวงเวลาอาจเกิดปญหาขาดแคลนวัสดุกอ สรางได บริษทั ฯ มีนโยบายในการบริหารความเสีย่ งดังกลาวโดย สําหรับโครงการทีอ่ ยูอ าศัยในแนวสูงจะทําสัญญาจางแบบ Turn key โดยการประมูลเลือกผูร บั เหมาทีใ่ หราคาและเงือ่ นไขทีด่ ที ส่ี ดุ ภายใตเงือ่ นไขวา ผูร บั เหมาเปนผูร บั ผิดชอบในการจัดหาวัสดุกอ สรางเอง สําหรับโครงการทีอ่ ยูอ าศัยแนวราบ กอนเริม่ ทําการกอสรางบริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะจัดทําสัญญาซือ้ ขายวัสดุกอ สรางสําหรับ ทั้งโครงการไวลวงหนาทําใหไดราคาตนทุนที่แนนอนสําหรับโครงการ • ความเสี่ยงทางดานการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีภาระหนี้เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเปนจํานวน 731 ลานบาท โดย เปนการกูย มื เพือ่ ใชในการพัฒนาโครงการ และเพือ่ ซือ้ ทีด่ นิ สําหรับโครงการในปจจุบนั ซึง่ หนีเ้ งินกูเ ปนลักษณะรายโครงการ (Project Finance) ที่มีกําหนด ระยะเวลาชําระคืนเมื่อมีการโอนโดยการปลอดจํานอง กลาวคือ บริษัทจะนําเงินประมาณ รอ ยละ 60 – 75 ของราคาขาย ซึง่ ลูกคามาชําระในวันโอนกรรมสิทธิ์ (ขึน้ กับเงือ่ นไขการชําระคืนของแตล ะสถาบันการเงิน) ไปชําระคืนใหแกสถาบันการเงินผูใหกู นอกจากนี้ หากพิจารณาอัตราสวนทางการเงินที่เกี่ยวของ ไดแก อัตราสวนหนี้สินตอสวนของทุน ในป 2551 – 2553 บริษัทฯ มีอัตราสวนหนี้สินตอสวนของทุนอยูที่ระดับ 0.76 เทา 1.05 เทา และ 1.44 เทา ตามลําดับ การเพิ่มขึ้นของ อัตราสวนดังกลาว ในป 2553 เนื่องจากบริษัทฯ มีการเบิกเงินกูเพื่อพัฒนาโครงการ เดอะ ไลทเฮาส และโครงการ อินโทร คอนโดมิเนียม ทั้งนี้ ในอดีตที่ผานมานั้น บริษัทฯ ไมเคยมีปญหาในการชําระหนี้แตอยางใด • ความเสี่ยงดานสภาพคลอง ในการประกอบธุรกิจของบริษทั จะตองใชเงินทุนหมุนเวียนเปนจํานวนมากในดานตางๆ เชน ทีด่ นิ หรือคาใชจา ยผูร บั เหมา เนื่องมาจากลักษณะการดําเนินธุรกิจตามปกติของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย ซึ่งแบงสวนในการชําระเงินของลูกคาเปน 2 สวนหลัก คือ เงินจองและเงินดาวน (ประมาณรอยละ 10–30 ของมูลคาขาย) และเงินโอนกรรมสิทธิ์ (ประมาณรอยละ 70–90 ของมูลคาขาย) บริษัทฯ จึงมีเงินทุนหมุนเวียนจากการขายภายในโครงการกอนการรับโอนกรรมสิทธิ์จากเงินจอง/ เงินดาวนเทานั้น และตองอาศัยเงินทุนหมุนเวียนของโครงการจากเงินกู ทั้งนี้ เงินกูจากสถาบันการเงินเพื่อนํามาใชในการ พัฒนาโครงการ สถาบันการเงินจะมีการกําหนดเงือ่ นไขในการเบิกเงินกูใ นแตละงวดโดยขึน้ กับความกาวหนาในการขาย หาก ยอดขายของโครงการตางๆ ดังกลาวไมเปนไปตามเปาหมาย หรือการโอนกรรมสิทธิล์ า ชากวาทีก่ าํ หนด ก็อาจสงผลกระทบ ตอสภาพคลองของบริษทั นอกจากนี้ ดวยนโยบายของบริษทั ฯ ในการสรางบานแบบกึง่ สัง่ สราง ซึง่ จะมีการกอสรางประมาณ รอยละ 60–70 จึงเริ่มเปดการขายโครงการ

12


ANNUALREPORT2010 ทั้งนี้ บริษัทฯ มีนโยบายในการบริหารสภาพคลองโดยการดําเนินการกอสรางใหมีความสอดคลองกับการขาย สําหรับ โครงการขนาดใหญ (โครงการ รสา สแปนิช คอรทยารด และโครงการรสา พารคเลน) จะแบงการกอสรางเปนลักษณะเฟส แทนที่จะกอสรางทั้งโครงการในคราวเดียวกัน ซึ่งหากมีความคืบหนาในการขายถึงระดับหนึ่ง บริษัทฯ จะเริ่มการกอสราง ในเฟสตอไป บริษัทฯ จึงมีเงินทุนหมุนเวียนในการพัฒนาโครงการมาจากการขายสวนหนึ่งและจากเงินกูยืมอีกสวนหนึ่ง 2. ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากปจจัยอื่นๆ • ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของความตองการดานผลิตภัณฑ การเปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขทางเศรษฐกิจตางๆ เชน อัตราดอกเบีย้ การเติบโตหรือชะลอตัวทางดานเศรษฐกิจ รวมถึงมาตรการของ ภาครัฐ ในการลดภาษีและคาธรรมเนียมในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม เพื่อสนับสนุนการซื้อขายอสังหาริมทรัพย มีผลกระทบตอความตองการทีอ่ ยูอ าศัย โดยอัตราดอกเบีย้ และมาตรการลดภาษีและคาธรรมเนียม สงผลกระทบตอตนทุนของ บริษทั ผูป ระกอบการ ดังนัน้ หากอัตราดอกเบีย้ เพิม่ สูงขึน้ หรือมาตราการลดภาษีและคาธรรมเนียมดังกลาวสิน้ สุดลง จะทําให ผูบ ริโภคมีตน ทุนซือ้ บานทีแ่ พงขึน้ โดยผูบ ริโภคก็มกี ารปรับพฤติกรรมรับปจจัยเสีย่ งดังกลาว เชน การเลือกทีอ่ ยูอ าศัยในขนาดที่ เล็กลง อยางไรก็ตาม บริษทั มีการทําวิจยั และพัฒนาเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลง ในวงการอสังหาริมทรัพย เพือ่ การวิเคราะหตลาด และผูบริโภค ใหสามารถปรับตัวตอรูปแบบการบริโภคที่เปลี่ยนไปของกลุมลูกคาได ไมวาจะเปนรูปแบบของการพัฒนา โครงการในอนาคตทีจ่ ะเปนอาคารชุดหรือบานเดีย่ ว หรือฐานราคาของสินคาทีเ่ ปนทีต่ อ งการของตลาดในแตละชวงเวลา ตลอดจน การจัดเตรียมแผนสงเสริมการขายตางๆในสินคาที่มีอยูเดิม เพื่อใหสอดคลองกับความตองการที่ปรับเปลี่ยนไป • ความเสี่ยงทางดานเสถียรภาพทางการเมือง สถานการณการเมืองภายในประเทศ ถือวาเปนตัวแปรสําคัญตัวหนึง่ ทีม่ ผี ลตอการตัดสินใจซือ้ อสังหาริมทรัพยของผูบ ริโภค อยางไรก็ตามบริษทั ยังคงนโยบายการบริหารงานดวยความระมัดระวัง รอบคอบ โดยจะใหความสําคัญกับการพัฒนาโครงการ ซึ่งไดเปดขายในชวงปที่ผานมาใหมีประสิทธิภาพสูงสุด และจะเตรียมความพรอมในทุกๆดานเพื่อรองรับกับสถานการณที่ มีความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและรุนแรงในอนาคต

13


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

โครงสรางการถือหุน 1.

ผูถือหุน รายชื่อและสัดสวนการถือหุนสูงสุด 10 รายแรก ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 รายชื่อผูถือหุน

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

กลุมพินิจชอบ1 นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นายเขมไชย รสานนท นางสาวอุราพร สุนทรพจน นายเปรมชัย ศรีภัทร รองศาสตราจารยมานพ พงศทัต นายพิเศษ เลิศวิไล นายสุพจน เลิศลัทธภรณ นางสาวนภัสวรรณ ไตรโสภณศิริกุล นายอภิชัย ลีลายนกุล

จํานวนหุน

สัดสวน (รอยละ)

29,741,000 17,600,000 3,997,200 3,912,200 2,004,100 2,000,000 1,302,900 1,220,000 1,209,000 1,069,700

37.17 22.00 4.99 4.89 2.51 2.50 1.63 1.53 1.51 1.34

หมายเหตุ : 1

กลุมพินิจชอบ ประกอบดวย นายรพิ พินิจชอบถือหุนจํานวน 14,741,000 หุน บริษัท รสาทาวเวอร จํากัด (ซึ่งนายรพิ ถือหุนอยูรอยละ

46.63 จึงถือเปนบุคคลตามมาตรา 258(3) แหงพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยของนายรพิ) ถือหุน จํานวน 15,000,000 หุน

2.

ขอจํากัดการถือหุนของบุคคลตางดาว บริษทั มีขอ จํากัดการถือหุน ของบุคคลตางดาว (Foreign Limit) ไวรอ ยละ 39 ของทุนชําระแลว โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 ไมมีบุคคลตางดาวถือหุนของบริษัท

14


ANNUALREPORT2010

การจัดการ 1.

โครงสรางการจัดการ โครงสรางการจัดการของบริษทั ประกอบดวยคณะกรรมการทัง้ หมด 4 ชุด คือ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร โดยมีรายชือ่ และขอบเขตอํานาจหนาทีด่ งั นี้ (1) คณะกรรมการบริษทั ในปจจุบนั คณะกรรมการของบริษทั มีจาํ นวน 9 ทาน ประกอบดวย ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

รายชื่อ รองศาตราจารย มานพ พงศทัต นายเลิศชัย ลีลายนกุล นายปญจะ เสนาดิสัย นางสุดจิต ทิวารี นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นายรพิ พินิจชอบ นางสาวสุมิดา พันธุกระวี นายโกวิท ไววัฒนา นายพิสิฏฐ ภัสฐาพงษ

ตําแหนง ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ/กรรมการสรรหาฯ ประธานกรรมการสรรหาฯ/กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ/กรรมการผูจัดการ กรรมการอิสระ/กรรมการสรรหาฯ กรรมการ/กรรมการบริหาร กรรมการอิสระ

หมายเหตุ : เลขานุการบริษัท คือ นางศิริลักษณ จรูญรัตนสกุล

กรรมการผูมีอํานาจลงนามแทนบริษัท กรรมการผูมีอํานาจลงนามแทนบริษัทคือ นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน ลงลายมือชื่อรวมกับนายรพิ พินิจชอบ และประทับตราสําคัญของบริษัท หรือ นายโกวิท ไววัฒนา ลงลายมือชื่อรวมกับนางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน หรือ นายรพิ พินิจชอบ รวมเปนสองคนและประทับตราสําคัญของบริษัท ขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบที่สําคัญของคณะกรรมการบริษัท 1. ตองปฏิบตั หิ นาทีใ่ หเปนตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับของบริษทั ตลอดจนมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการและ/หรือมติ ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เวนแตในเรือ่ งทีต่ อ งรับอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการและ/หรือทีป่ ระชุมผูถ อื หุน กอนการดําเนินการ เชน เรือ่ งทีก่ ฎหมายกําหนดใหตอ งไดรบั มติจากทีป่ ระชุมคณะกรรมการและ/หรือมติจากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน การทํารายการ ทีเ่ กีย่ วโยงกัน และการซือ้ ขายหรือการไดมาหรือการจําหนายไปซึง่ สินทรัพยทส่ี าํ คัญตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย หรือตามที่หนวยงานราชการอื่นๆกําหนด เปนตน 2. กําหนดหรือเปลีย่ นแปลงชือ่ กรรมการผูม อี าํ นาจลงลายมือชือ่ ผูกพันบริษทั ภายใตบงั คับของกฎหมาย และขอบังคับของบริษทั 3. กําหนดนโยบาย กลยุทธ และทิศทางการดําเนินงานของบริษัทและการกํากับดูแลใหฝายบริหารดําเนินการใหเปน ไปตามนโยบาย กลยุทธ และทิศทางทีก่ าํ หนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพือ่ เพิม่ มูลคาสูงสุดแกผถู อื หุน และการเติบโตอยางยั่งยืน 4. พิจารณาตัดสินใจในเรื่องที่มีสาระสําคัญ เชน แผนธุรกิจ งบประมาณ โครงการลงทุนขนาดใหญ อํานาจการบริหาร และรายการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนด 5. ประเมินผลการปฏิบัติงานและกําหนดคาตอบแทนผูบริหาร

15


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC. 6. รับผิดชอบตอผลประกอบการและการปฏิบตั งิ านของฝายบริหาร โดยมีความตัง้ ใจและความระมัดระวังในการปฏิบตั งิ าน 7. จัดใหมีระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได รวมทั้งมีการดูแลใหมีกระบวนการในการ ประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในใหมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล การบริหาร และการจัดการความเสี่ยง การรายงานทางการเงินและการติดตามผล 8. ดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผูมีสว นไดสวนเสียกับบริษัท 9. กํากับการดูแลกิจการใหมีการปฏิบัติงานอยางมีจริยธรรม 10. กําหนดขอบังคับทั่วไปหรือระเบียบภายในของบริษัทในเรื่องตางๆ 11. รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ในการจัดทํารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูก บั รายงานของ ผูส อบบัญชีไวในรายงานประจําป และครอบคลุมเรือ่ งสําคัญๆ ตามนโยบายขอพึงปฏิบตั ทิ ด่ี ขี องกรรมการบริษทั จดทะเบียน ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 12. คณะกรรมการอาจแตงตัง้ บุคคลอืน่ ใดใหดาํ เนินกิจการของบริษทั ภายใตการควบคุมของคณะกรรมการ หรืออาจมอบอํานาจ เพือ่ ใหบคุ คลดังกลาวมีอาํ นาจ และ/หรือภายในเวลาทีค่ ณะกรรมการเห็นสมควร ซึง่ คณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอน เปลี่ยนแปลงหรือแกไขอํานาจนั้นๆได ภายใตบังคับของกฎหมายและขอบังคับของบริษัท ทัง้ นี้ หากมีรายการระหวางกันของบริษทั เกิดขึน้ กับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยง มีสว นไดสว นเสีย หรืออาจมีความขัดแยง ทางผลประโยชนในอนาคต บริษทั จะตองปฏิบตั ติ ามประกาศ ขอบังคับ กฎ หรือระเบียบทีเ่ กีย่ วของกับคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และ/หรือตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึง่ รวมถึงบุคคลทีม่ สี ว นไดเสียหรือ อาจขัดแยงจะตองไมมสี ว นในการพิจารณาอนุมตั ริ ายการดังกลาว เพือ่ ใหสอดคลองกับประกาศของคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (2) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท มีจํานวน 3 ทาน ประกอบดวย ลําดับ

รายชื่อ

ตําแหนง

1.

นายเลิศชัย ลีลายนกุล

ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ

2.

นายปญจะ เสนาดิสัย

กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ

3.

นางสุดจิต ทิวารี

กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ

หมายเหตุ 1. กรรมการตรวจสอบลําดับที่ 3 มีความรูแ ละประสบการณเพียงพอทีจ่ ะสามารถทําหนาทีส่ อบทานความนาเชือ่ ถือของงบการเงิน 2. เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ : นางสาวดุลวรรณ สกุลดี จากบริษทั บาลานซ ฟกเกอร จํากัด (เปนบริษทั ทีป่ รึกษา ในการจัดทําระบบควบคุมภายในของบริษัท และทําหนาที่ตรวจสอบภายใน)

วาระการดํารงตําแหนงของกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบมีวาระอยูใ นตําแหนงคราวละ 3 ป เมือ่ ครบกําหนดออกตามวาระก็อาจไดรบั การพิจารณาแตงตัง้ ให ดํารงตําแหนงตอไปอีกได ขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบที่สําคัญของคณะกรรมการตรวจสอบ มีดังนี้ 1. สอบทานใหบริษัทมีระบบรายงานทางการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่กําหนดโดยกฎหมายอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษทั มีระบบควบคุมภายใน (INTERNAL CONTROL) และการตรวจสอบภายใน (INTERNAL CONTROL) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล รวมทัง้ พิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจน ใหความเห็นชอบ ในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การตรวจสอบภายใน และหรือเห็นชอบการพิจารณาวาจางผูตรวจสอบภายในจากหนวยงานภายนอกบริษัทฯ 16


ANNUALREPORT2010 3. สอบทานใหบริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของหลักทรัพย และกฎหมายที่ เกี่ยวของกับธุรกิจบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตัง้ บุคคลซึง่ มีความเปนอิสระเพือ่ ทําหนาทีเ่ ปนผูส อบบัญชีของบริษทั และเสนอคาตอบแทน ของผูสอบบัญชี รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการเกีย่ วโยงหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมายและขอกําหนดของตลาด หลักทรัพย ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัท 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษทั ซึง่ รายงานดังกลาวตองลงนามโดย ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและตองประกอบดวยขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้ 6.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัท 6.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท 6.3 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 6.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี 6.5 ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน 6.6 จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละทาน 6.7 ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบ ไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร (Charter) 6.8 รายการอืน่ ทีเ่ ห็นวาผูถ อื หุน และผูล งทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ดรบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ (3) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนของบริษัท มีจํานวน 3 ทาน ประกอบดวย ลําดับ

1. 2. 3.

รายชื่อ

นายปญจะ เสนาดิสัย นายเลิศชัย ลีลายนกุล นางสาวสุมิดา พันธุกระวี

ตําแหนง

ประธานกรรมการสรรหาฯ/กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาฯ/ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาฯ/กรรมการอิสระ

วาระการดํารงตําแหนงของกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนมีวาระอยูใ นตําแหนงคราวละ 3 ป เมือ่ ครบกําหนดออกตามวาระก็อาจไดรบั การ พิจารณาแตงตั้งใหดํารงตําแหนงตอไปอีกได ขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบที่สําคัญของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน มีดังนี้ 1. กําหนดนโยบายและกรอบแนวทางในการสรรหากรรมการบริษทั กรรมการในคณะกรรมการชุดยอยตางๆ (ทีไ่ ดรบั การแตงตัง้ จากคณะกรรมการบริษัท) ที่ปรึกษาคณะกรรมการ กรรมการผูจัดการ และผูบริหารระดับสูง 2. พิจารณาสรรหา คัดเลือก เสนอและตรวจสอบบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เพื่อดํารงตําแหนงกรรมการ กรรมการ ในคณะกรรมการชุดยอยตางๆ (ทีไ่ ดรบั การแตงตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั ) ทีป่ รึกษาคณะกรรมการ เพือ่ ทดแทนในกรณี ทีค่ รบวาระ ลาออก หรือกรณีอน่ื ๆ และนําเสนอใหทป่ี ระชุมผูถ อื หุน หรือคณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั แิ ตงตัง้ แลวแตกรณี ตามขอบังคับของบริษัทฯ

17


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC. 3. กําหนดขั้นตอน และหลักเกณฑในการประเมินผลกรรมการผูจัดการ ผูบริหารระดับสูง และนําเสนอใหคณะกรรมการ บริษทั พิจารณาใหความเห็นชอบ (กระบวนการประเมินผล คณะกรรมการบริษทั อาจประเมินผลกรรมการผูจ ดั การหรือผูบ ริหาร ระดับสูงเอง หรือมอบหมายใหคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนประเมินก็ได) 4. กําหนดขั้นตอน และหลักเกณฑในการกําหนดคาตอบแทนของกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดยอยตางๆ กรรมการ ผูจัดการ และผูบริหารระดับสูง ใหมีความยุติธรรมและสมเหตุสมผล 5. เสนอแนวทางและวิธกี ารในการกําหนดคาเบีย้ ประชุม เงินเดือน โบนัส คารับรอง เงินรางวัล และบําเหน็จ รวมทัง้ ผลประโยชน อื่นใดที่มีลักษณะเปนเงินคาตอบแทนใหแก คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดยอยตางๆ (ที่ไดรับการแตงตั้ง จากคณะกรรมการบริษัท) ที่ปรึกษาคณะกรรมการ กรรมการผูจัดการ และผูบริหารระดับสูง ใหที่ประชุมผูถือหุน หรือ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติแลวแตกรณี ตามขอบังคับของบริษัทฯ 6. ปฏิบตั หิ นาทีอ่ น่ื ใดทีเ่ กีย่ วของกับคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ตามทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั (4) คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการบริหาร มีจํานวน 7 ทาน ประกอบดวย ลําดับ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

รายชื่อ

นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นายรพิ พินิจชอบ นายโกวิท ไววัฒนา นางณัฐยา นวราช นางศิริลักษณ จรูญรัตนสกุล นายบูรณินท ทองสุวรรณ นางสาวนันทรัตน โกวิทคณิต

ตําแหนง

กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ/กรรมการบริหาร/กรรมการผูจัดการ กรรมการ/กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

ขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบที่สําคัญของคณะกรรมการบริหาร มีดังนี้ 1. กําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และหลักในการดําเนินธุรกิจใหสอดคลองกับเปาหมายทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการ บริษทั และใหมอี าํ นาจดําเนินการตามนโยบายของคณะกรรมการบริษทั ซึง่ อยูภ ายใตบงั คับของกฎหมาย เงือ่ นไข กฎระเบียบ และขอบังคับของบริษทั 2. จัดทําโครงสรางองคกร อํานาจบริหารองคกร โดยใหครอบคลุมทุกรายละเอียดการคัดเลือก การวาจาง การโยกยาย การฝกอบรม และการเลิกจางพนักงานบริษทั ยกเวนประธานกรรมการและกรรมการผูจ ดั การ 3. กําหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจบริหารตาง ๆ ของบริษัท เพื่อเสนอใหคณะกรรมการบริษัทเห็นชอบ 4. ตรวจสอบ ติดตามการดําเนินนโยบาย และแนวทางการบริหารงานตางๆ ของบริษทั ทีก่ าํ หนดใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เอื้อตอสภาพการดําเนินการทางธุรกิจ 5. มีอํานาจดําเนินการจัดทําธุรกรรมทางการเงินกับสถาบันการเงินในการเปดบัญชี กูยืม จํานํา จํานอง ค้ําประกัน และ การอืน่ รวมทัง้ การซือ้ ขายและจดทะเบียนกรรมสิทธิท์ ด่ี นิ ใดๆ ตามวัตถุประสงคเพือ่ ประโยชนในการดําเนินกิจการของบริษทั ไมเกิน 200 ลานบาทตอครั้ง และรายงานใหคณะกรรมการบริษัททราบ 6. มีอํานาจในการพิจารณาจัดสรร เงินรางวัล หรือผลตอบแทนตางๆ ที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทัง้ นีอ้ าํ นาจของกรรมการบริหารดังกลาวจะตองเปนไปตามกฏเกณฑของกฏหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับของบริษทั ซึง่ รวมถึง กรรมการบริหารไมสามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน มีสว นไดสว นเสีย ในลักษณะอืน่ ใด กับบริษทั และบริษทั ยอย (ถามี) เพือ่ ใหสอดคลองกับประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย เวนแต เปนการอนุมตั ริ ายการธุรกิจปกติของบริษทั ทีม่ เี งือ่ นไขการคาทัว่ ไปตามทีม่ กี ารกําหนดขอบเขตโดยคณะกรรมการบริษทั ไวชดั เจนแลว

18


ANNUALREPORT2010 (5) ผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีผูบริหารทั้งสิ้น 10 ทาน ประกอบดวย ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

รายชื่อ นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นายรพิ พินิจชอบ นางณัฐยา นวราช นางศิริลักษณ จรูญรัตนสกุล นางสาวนันทรัตน โกวิทคณิต นายบูรณินท ทองสุวรรณ นางสาวจันทนี ถนอมพงษชาติ นางสาวพีรยากร ไววอง นายอภิชาติ อองวิบูล นายจารึก เอกอินทุมาศ

ตําแหนง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูจัดการ ผูจัดการฝายบัญชีและการเงิน ผูจัดการฝายบริหารทั่วไป ผูจัดการฝายการตลาดและการขาย ผูจัดการฝายการจัดการงานกอสราง ผูจัดการฝายเทคโนโลยีและสารสนเทศ ผูจัดการฝายทรัพยากรบุคคล ผูจัดการฝายพัฒนาผลิตภัณฑ ผูจัดการฝายนักลงทุนสัมพันธและจัดสรรเงินทุน

ขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบที่สําคัญของกรรมการผูจัดการ 1. จัดทํานโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และหลักในการดําเนินธุรกิจของบริษทั เพือ่ เสนอใหคณะกรรมการอนุมตั ิ และใหมอี าํ นาจ ดําเนินการตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัท ซึ่งอยูภายใตกฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบ และขอบังคับของบริษัท 2. ดําเนินการใหเปนไปตามแผนธุรกิจ งบประมาณ และเปาหมายของบริษัทตามที่คณะกรมการบริษัทอนุมัติ 3. ดําเนินการใหเปนไปตามนโยบาย และแนวทางการบริหารงานตางๆ ของบริษทั ทีก่ าํ หนดใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เอื้อตอสภาพการดําเนินการทางธุรกิจ 4. อนุมตั คิ า ใชจา ยและเงินลงทุนทีไ่ มไดอยูใ นงบประมาณประจําปไดไมเกิน 3 ลานบาทตอครัง้ โดยตองรายงานใหคณะกรรมการทราบ 5. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ อํานาจของกรรมการผูจัดการดังกลาวจะตองเปนไปตามกฏเกณฑของกฏหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับของบริษัท ซึง่ รวมถึงกรรมการผูจ ดั การไมสามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน มีสว นไดสว นเสีย ในลักษณะอื่นใดกับบริษัท และบริษัทยอย (ถามี) เพื่อใหสอดคลองกับประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย เวนแตเปนการอนุมตั ริ ายการธุรกิจปกติของบริษทั ทีม่ เี งือ่ นไขการคาทัว่ ไปตามทีม่ กี ารกําหนดขอบเขตโดยคณะกรรมการ บริษัทไวชัดเจนแลว

19


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC. แผนผังโครงสรางการจัดการ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553) คณะกรรมการบริษัท เลขานุการบริษัท คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน

คณะกรรมการบริหาร

เลขานุการ/จัดซื้อ

กรรมการผูจัดการ

ฝายบัญชี/ การเงิน

2.

คณะกรรมการตรวจสอบ ตรวจสอบภายใน

ฝายเทคโนโลยี ฝายนักลงทุน ฝายการตลาด/ สารสนเทศ สัมพันธ ขาย

ฝายพัฒนา ผลิตภัณฑ

ฝายทรัพยากร บุคคล

ฝายบริหาร งานทั่วไป

ฝายการจัดการ งานกอสราง

การสรรหากรรมการและผูบริหาร คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ทําหนาทีค่ ดั เลือกบุคคลเปนกรรมการและผูบ ริหารตามกระบวนการสรรหาทีไ่ ด กําหนดไว ซึง่ เมือ่ ตําแหนงกรรมการวางลงหรือมีเหตุจาํ เปนตองแตงตัง้ กรรมการอิสระเพิม่ เติม คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ุ สมบัตติ ามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตามคุณสมบัติ กําหนดคาตอบแทนจะคัดเลือกบุคคลทีม่ คี ณ ทีบ่ ริษทั ฯกําหนด เพือ่ เขารับการคัดเลือกเปนกรรมการบริษทั กรณีการคัดเลือกบุคคลทีเ่ หมาะสมเขาดํารงตําแหนงกรรมการบริษทั ฯแทน ุ สมบัตติ ามกฎหมายวาดวยหลักทรัพย กรรมการทีอ่ อกตามวาระ บริษทั ฯ เปดโอกาสใหผถู อื หุน รายยอยเสนอรายชือ่ บุคคลทีม่ คี ณ และตลาดหลักทรัพย และตามคุณสมบัติที่บริษัทฯกําหนด เพื่อเขารับการคัดเลือกเปนกรรมการบริษัทฯ โดยจะประกาศ ในเว็บไซตของบริษัทฯ ใหผูถือหุนเสนอรายชื่อและประวัติบุคคลเขามายังบริษัทฯ และคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทน จะทําการคัดเลือกและเสนอชือ่ ผูท ม่ี คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม โดยพิจารณาจากประสบการณ ความรู ความสามารถ ทีจ่ ะเปนประโยชนตอ บริษทั ฯ เพือ่ ใหคณะกรรมการบริษทั ฯ ไดพจิ ารณา เมือ่ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ มีมติเห็นชอบแลว บริษัทฯ จะเสนอรายชื่อบุคคลดังกลาวเพื่อขออนุมัติเลือกตั้งเปนกรรมการบริษัทฯ จากที่ประชุมผูถือหุน องคประกอบและการแตงตั้งคณะกรรมการบริษัท ปจจุบัน คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดหลักเกณฑในการแตงตั้งและถอดถอนกรรมการไว ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการอยางนอย 5 คน และใหคณะกรรมการเลือกตั้งกรรมการดวยกันเปน ประธานกรรมการ และอาจเลือกรองประธานกรรมการ และตําแหนงอืน่ ตามทีเ่ หมาะสม โดยกรรมการไมนอ ยกวากึง่ หนึง่ ของจํานวนกรรมการทั้งหมดนั้นตองมีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักร 2. มีกรรมการอิสระอยางนอย 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด และไมนอยกวา 3 คน 3. ผูเปนกรรมการของบริษัท ไมจําเปนจะตองเปนผูถือหุนของบริษัท 4. ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการ โดยใชเสียงขางมากตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ (1) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับจํานวนหุนที่ตนถือ (2) ผูถือหุนแตละคนจะตองใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดเลือกตั้งบุคคลคนเดียว หรือหลายคนเปนกรรมการก็ได แต จะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได (3) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบ่ี คุ คลซึง่ ไดร บั เลือกตัง้ ในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวนทีจ่ ะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นใหผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด

20


ANNUALREPORT2010 5. ในการประชุมผูถือหุนสามัญประจําปทุกครั้ง ใหกรรมการลาออกจากตําแหนงหนึ่งในสาม ถาจํานวนกรรมการที่จะ แบง ออกใหตรงเปน สามสว นไมไ ด ก็ใหอ อกโดยจํานวนใกลท ส่ี ดุ กับสว นหนึง่ ในสาม กรรมการทีจ่ ะตอ งลาออกจากตําแหนง ในปแรกและปที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ใหจับสลากกันวาผูใดจะออก สวนปหลังๆตอไป ใหกรรมการคนที่ อยูในตําแหนงนานที่สุดนั้นเปนผูออกจากตําแหนง โดยกรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจถูกเลือกเขามาดํารงตําแหนง อีกได 6. นอกจากการพนตําแหนงตามวาระแลว กรรมการอาจพนตําแหนงเมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดวยบริษัทมหาชนจํากัด (4) ที่ประชุมผูถือหุนลงมติใหออก (5) ศาลมีคําสั่งใหออก 7. ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ คณะกรรมการบริษัทอาจเลือกบุคคล ซึ่งมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดวยบริษัทมหาชนจํากัด เขาเปนกรรมการแทนในการประชุม คณะกรรมการคราวถัดไป เวนแตว าระของกรรมการจะเหลือนอ ยกวา สองเดือน บุคคลซึง่ เขา เปน กรรมการแทนดังกลาว จะอยูในตําแหนงกรรมการไดเพียงเทาวาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการซึ่งตนแทน มติของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ตองประกอบดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนกรรมการที่เหลืออยู 8. ในกรณีทก่ี รรมการพนจากตําแหนงทัง้ คณะ ใหคณะกรรมการทีพ่ น จากตําแหนงยังคงอยูร กั ษาการ ในตําแหนงเพือ่ ดําเนิน กิจการของบริษทั ตอไปเพียงเทาทีจ่ าํ เปน จนกวากรรมการชุดใหมเขารับหนาที่ เวนแตศาลจะมีคาํ สัง่ เปนอยางอืน่ ในกรณีท่ี คณะกรรมการพนจากตําแหนงตามคําสัง่ ศาล คณะกรรมการทีพ่ น จากตําแหนงตองจัดใหมกี ารประชุมผูถ อื หุน เพือ่ เลือกตัง้ คณะกรรมการชุดใหมภายในหนึ่งเดือน นับแตวันพนจากตําแหนง โดยสงหนังสือนัดประชุมไปยังผูถือหุนไมนอยกวา สิบสีว่ นั กอนวันประชุม และโฆษณาคําบอกกลาวนัดประชุมในหนังสือพิมพไมนอ ยกวาสามวันกอนวันประชุมดวย โดยจะตอง โฆษณาเปนระยะเวลาสามวันติดตอกัน 9. ที่ประชุมผูถือหุนอาจลงมติใหกรรมการคนใดออกจากตําแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระได ดวยคะแนนเสียงไมนอย กวาสามในสีข่ องจํานวนผูถ อื หุน ซึง่ มาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนน และมีหนุ นับรวมกันไดไ มน อ ยกวา กึง่ หนึง่ ของ จํานวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ขอกําหนดคุณสมบัติกรรมการอิสระ ุ สมบัติ ดังนี้ กรรมการอิสระของบริษทั ตองเปนกรรมการทีเ่ ปนอิสระจากผูถ อื หุน รายใหญ ผูบ ริหาร และผูท เ่ี กีย่ วของ โดยตองมีคณ 1. ถือหุน ไมเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุน ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม หรือนิตบิ คุ คล ที่อาจมีความขัดแยง โดยใหนับรวมหุนที่ถือโดยผูที่เกี่ยวของดวย 2. ไมเปนกรรมการทีม่ สี ว นรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ดรบั เงินเดือนประจํา ผูม อี าํ นาจควบคุมของบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม บริษทั ยอยลําดับเดียวกัน หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแยง ทัง้ ในปจจุบนั และในชวง ระยะเวลา 2 ปกอนไดรับการแตงตั้ง 3. ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยงในลักษณะ ทีเ่ ปนการขัดขวางการใชวจิ ารณญาณอยางอิสระของตน ทัง้ ในปจจุบนั และในชวงระยะเวลา 2 ปกอ นไดรบั การแตงตัง้ ดังนี้ 3.1 ไมเปนผูส อบบัญชี ทัง้ นีใ้ หรวมถึงการไมเปนผูถ อื หุน รายใหญ กรรมการซึง่ ไมใชกรรมการอิสระ ผูบ ริหาร หรือหุน สวน ผูจัดการของสํานักงานสอบบัญชี 3.2 ไมเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ เชน ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผูประเมินราคาทรัพยสิน ซึ่งไดรับ คาบริการทางวิชาชีพจากบริษัทเกินกวา 2 ลานบาทตอป 3.3 ไมไดรบั ประโยชนทง้ั ทางตรงและทางออม หรือมีสว นไดเสีย จากการทําธุรกิจ ไดแก รายการทีเ่ ปนธุรกิจปกติ รายการเชา หรือใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกีย่ วกับสินทรัพยหรือบริการ หรือรายการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงิน กับบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ทีม่ มี ลู คารายการตัง้ แต 20 ลานบาท หรือตัง้ แตรอ ยละ 3 ของสินทรัพย ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัท แลวแตจํานวนใดจะต่ํากวา โดยใหนับรวมมูลคารายการในระหวาง 1 ป กอนวันที่มี ความสัมพันธทางธุรกิจ

21


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC. ทั้งนี้ ใหรวมถึงการไมเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวนผูจัดการของผูที่มี ความสัมพันธทางธุรกิจดังกลาว 4. ไมมีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เปน บิดามารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร กับผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุมหรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอชื่อ เปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทยอย 5. ไมเปนกรรมการทีไ่ ดรบั การแตงตัง้ ขึน้ เพือ่ เปนตัวแทนของกรรมการของบริษทั ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูถ อื หุน ซึง่ เปนผูท ่ี เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญของบริษัท 6. ไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกัน และเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทยอย หรือไมเปน หุน สวนทีม่ นี ยั ในหางหุน สวน หรือเปนกรรมการทีม่ สี ว นรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจํา หรือถือหุน เกินรอยละหนึง่ ของจํานวนหุน ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอยางเดียวกัน และเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท 7. ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท หมายเหตุ : ขอกําหนดคุณสมบัตกิ รรมการอิสระของบริษทั ดังกลาว เทากับขอกําหนดขัน้ ต่าํ ของสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) องคประกอบและการแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั ฯ เปน ผูแ ตง ตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยแตง ตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถว นตามประกาศของตลาดหลักทรัพย ุ สมบัตแิ ละแนวทางการคัดเลือกกรรมการตรวจสอบ แหง ประเทศไทย อยา งนอ ย 3 คน และมีวาระการดํารงตําแหนง 3 ป โดยมีคณ ดังนี้ 1. เปนกรรมการอิสระ โดยมีคุณสมบัติตามนิยามกรรมการอิสระ 2. ไมเปน กรรมการทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการ ใหตดั สินใจในการดําเนินกิจการของบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกันเฉพาะที่เปนบริษัทจดทะเบียน 3. ไมเปนกรรมการของบริษัทใหญ บริษัทยอย หรือ บริษัทยอยลําดับเดียวกันเฉพาะที่เปนบริษัทจดทะเบียน 4. เปนกรรมการที่มีความรูความสามารถและมีความชํานาญที่เหมาะสมที่จะทําหนาที่ในฐานะกรรมการตรวจสอบ 5. กรรมการตรวจสอบอยางนอย 1 คน ตองมีความรูความเขาใจหรือมีประสบการณดานบัญชีและการเงินเพียงพอที่จะ สามารถสอบทานความนาเชื่อถือของงบการเงินได องคประกอบและการแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการบริษทั ฯ เปน ผูแ ตง ตัง้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ประกอบดวยกรรมการอยางนอย 3 คน ซึง่ ตองเปนกรรมการบริษทั และไมเปนกรรมการทีเ่ ปนผูบ ริหาร มีวาระการดํารงตําแหนง 3 ป โดยกรรมการไมนอ ยกวากึง่ หนึง่ ตองเปนกรรมการอิสระ 3.

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร 3.1 กรรมการ คาตอบแทนของกรรมการบริษัท ประจําป 2553 มีดังตอไปนี้ ประเภทคาตอบแทน เบี้ยประชุม บําเหน็จ

ป 2553 จํานวนกรรมการ จํานวนเงิน (บาท) 9 589,000.00 7 1,150,000.00

นอกจากนี้ บริษทั ยังมีสวัสดิการใหกบั กรรมการในรูปสวนลดการซือ้ ผลิตภัณฑของบริษทั (รอยละ 5-15) เชนเดียวกับพนักงานบริษทั

22


ANNUALREPORT2010 คาตอบแทนกรรมการและจํานวนครั้งที่เขาประชุม ในป 2553 มีดังตอไปนี้

คาเบี้ยประชุม/ บําเหน็จ

1) ร.ศ.มานพ พงศทัต 2) นายเลิศชัย ลีลายนกุล 3) นายปญจะ เสนาดิสยั 4) นางสุดจิต ทิวารี 5) นางสาวสุมดิ า พันธุก ระวี 6) นางสาวอัจฉราพร ศิรไิ พรวัน 7) นายรพิ พินจิ ชอบ 8) นายโกวิท ไววัฒนา 9) นายพิสฏิ ฐ ภัสฐาพงษ รวม

จํานวนครั้ง ที่เขาประชุม คณะกรรมการ บริษัท1

คาเบี้ย ประชุม (บาท)

10/10 10/10 8/102 10/10 9/102 10/10 10/10 10/10 6/72

100,000 50,000 40,000 50,000 45,000 50,000 50,000 50,000 30,000 465,000

จํานวนครั้ง ที่เขาประชุม คณะกรรมการ ตรวจสอบ1

คาเบี้ย ประชุม (บาท)

6/7 6/7 7/7

จํานวนครั้ง ที่เขาประชุม คณะกรรมการ สรรหาและพิจารณา คาตอบแทน1

42,000 30,000 35,000

คาเบี้ย ประชุม (บาท)

1/1 1/1

5,000 7,000

1/1

5,000

107,000

17,000

บําเหน็จ

250,000 200,000 200,000 200,000 100,000 -3 -3 100,000 100,000 1,150,000

หมายเหตุ : 1. บริษัทจัดประชุมคณะกรรมการบริษัทจํานวน 10 ครั้ง การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบจํานวน 7 ครั้ง การประชุมคณะ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน จํานวน 1 ครั้ง 2. กรรมการ (นายปญจะ เสนาดิสัย) ไมไดเขารวมประชุมกรรมการบริษัทจํานวน 2 ครั้ง กรรมการ (นางสาวสุมิดา พันธุกระวี) ไมไดเขารวมประชุมกรรมการบริษทั จํานวน 1 ครัง้ จากการประชุมทัง้ หมดจํานวน 10 ครัง้ และกรรมการ(นายพิสฏิ ฐ ภัสฐาพงษ) ไมไดเขารวมประชุมกรรมการบริษัทจํานวน 1 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมดจํานวน 7 ครั้ง (เขาดํารงตําแหนงกรรมการบริษัท เมือ่ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2553) เนือ่ งจากติดภารกิจสวนบุคคล อยางไรก็ตาม ทางบริษทั มีการสงรายงานการประชุมเพือ่ รับทราบ ในทุกครั้งที่มีการประชุม 3. กรรมการที่เปนผูบริหาร ไดแก นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน และนายรพิ พินิจชอบ ไมรับบําเหน็จ

3.2 ผูบริหาร คาตอบแทนรวมของผูบริหารในรูปของเงินเดือนและโบนัส ในป 2553 มีดังตอไปนี้ ประเภทคาตอบแทน

เงินเดือน โบนัส เงินสมทบ และเงินกองทุน

จํานวน (ราย) จํานวนเงิน (บาท)

10

11,099,306.67

หมายเหตุ : จํานวนผูบ ริหาร 10 ทาน เปนจํานวนผูบ ริหารตามทีร่ ะบุในหัวขอ 1(5) หนา 18

นอกจากนี้ บริษัทยังมีสวัสดิการพนักงานในรูปอื่นๆ โดยมีสวัสดิการหลัก เชน สวนลดการซื้อผลิตภัณฑของบริษัท (รอยละ 5 -15) เปนตน ซึ่งเปนไปตามขอกําหนดสวัสดิการของบริษัท 4.

การกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษทั รสา พร็อพเพอรต้ี ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) ดําเนินธุรกิจตามหลักบรรษัทภิบาล โดยเปดเผย โปรงใส ยุติธรรม และสามารถตรวจสอบได และตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) เพือ่ ทําใหเกิดความโปรงใส เพิม่ ความสามารถในการแขงขันของกิจการ รวมทัง้ เพิม่ ความเชือ่ มัน่ ของผูถ อื หุน โดยในป 2553 ไดปฏิบตั ติ ามหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ สี าํ หรับบริษทั จดทะเบียน ป 2549 ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ดังนี้

23


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

สิทธิของผูถือหุน บริษัทไดใหความสําคัญ และเคารพสิทธิของผูถือหุน โดยผูถือหุนทุกรายไดรับสิทธิพื้นฐานตางๆ เชน สิทธิในการ ซื้อ ขาย โอนหลักทรัพยที่ตนเองถืออยูอยางเปนอิสระ สิทธิในการการไดรับสวนแบงกําไร สิทธิในการเขารวมประชุม และออกเสียงลงคะแนน บริษทั สงเสริมใหผถู อื หุน เขารวมประชุม และมีสว นรว มในการพิจารณาตัดสินใจในเรือ่ งทีส่ าํ คัญ ผา นการประชุมผูถ อื หุน ซึง่ การประชุมผูถ อื หุน นัน้ บริษทั จัดสงเอกสารเชิญประชุมพรอมทัง้ ขอ มูล ประกอบการประชุม ใหแ กผถู อื หุน ลวงหนาตามทีก่ ฎหมายกําหนดอยางนอย 7 วัน มีการบันทึกการประชุมอยางถูกตอง ครบถว น นอกจากนี้ บริษัทไดเปดโอกาสใหผูถือหุนตรวจสอบการดําเนินงาน สอบถาม ขอคําอธิบาย และแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม อยางเปนอิสระ ตลอดจนมีการบันทึกประเด็นขอซักถาม และขอคิดเห็นทีส่ าํ คัญไวในรายงานการประชุม และในกรณีท่ี ผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมดวยตนเองได ก็สามารถมอบฉันทะใหบุคคลอื่นเขารวมประชุมและลงมติแทนได ความเทาเทียมกันของผูถือหุน บริษทั มีนโยบายปฏิบตั ติ อ ผูถ อื หุน แตละรายอยางเทาเทียมกัน ไมวา จะเปนผูถ อื หุน รายใหญหรือรายยอย เชน ไมเพิม่ วาระ การประชุมโดยทีไ่ มไดแจงลวงหนา ไมเปลีย่ นแปลงขอมูลสําคัญในทีป่ ระชุมอยางกะทันหัน เปดโอกาสใหผถู อื หุน สวนนอย ในการเสนอเพิม่ วาระการประชุมและเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เขาดํารงตําแหนงกรรมการกอนวันประชุมผูถ อื หุน ผูถ อื หุน ทีไ่ ม สามารถเขารวมประชุมได สามารถมอบฉันทะใหบุคคลอื่นเขารวมประชุมและออกเสียงแทน โดยบริษัทไดแนบหนังสือ มอบฉันทะไปพรอมกับหนังสือเชิญประชุม รวมถึงมีการปองกันการใชขอ มูลภายในเพือ่ หาประโยชนสว นตน โดยการออก เปนประกาศหามกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ซื้อหรือขายหลักทรัพยของบริษัท ในชวง 1 เดือน กอนประกาศผล การดําเนินงานรายไตรมาส และสิ้นรอบบัญชีหรือขอมูลภายในนั้นจะเปดเผยตอสาธารณชน ซึ่งในระหวางปที่ผานมา กรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ไดปฏิบัติตามนโยบายอยางเครงครัด โดยไมปรากฏวามีการซื้อหรือขายหลักทรัพย ในชวงที่หามเลย บทบาทของผูมีสวนไดเสีย บริษทั ไดใหความสําคัญและเคารพตอสิทธิของผูม สี ว นไดสว นเสียทีเ่ กีย่ วของในการดําเนินกิจการ เชน ลูกคา พนักงาน คูค า คูแ ขง เจาหนี้ และชุมชน เปนตน ซึง่ แตละกลุม ตางก็มวี ตั ถุประสงคและความคาดหวังทีแ่ ตกตางกัน โดยในปทผ่ี า นมา บริษัทไดปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียตามนโยบายบริษัท ดังนี้

24

ผูถ อื หุน

ผูถ อื หุน ทุกรายไดรบั สิทธิพน้ื ฐาน สิทธิทก่ี าํ หนดไวในกฎหมายและขอบังคับของบริษทั เชน สิทธ์ใิ นการ ซือ้ ขาย โอนหลักทรัพยทต่ี นเองถืออยู สิทธิในการตรวจสอบจํานวนหุน สิทธิในการไดรบั ใบหุน สิทธิท์ จ่ี ะไดรบั ผลตอบแทน อยางเปนธรรม สิทธิในการเขารวมประชุมและใชสทิ ธิออกเสียงลงคะแนน เปนตน

ลูกคา

บริษทั มีนโยบายทีจ่ ะใหลกู คาไดรบั บริการทีด่ แี ละไดรบั สินคาทีม่ คี ณ ุ ภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยยึดถือและปฏิบตั ิ ตามเงือ่ นไข ขอเสนอ หรือคํามัน่ ทีใ่ หไวกบั ลูกคา รักษาขอมูลอันเปนความลับหรือไมพงึ เปดเผยขอมูลของ ลูกคาอยางเครงครัด รวมทั้งการโฆษณาประชาสัมพันธโครงการของบริษัท ไมทําใหลูกคาหรือประชาชน ทั่วไปเกิดความเขาใจผิดเกี่ยวกับคุณภาพ ราคา หรือเงื่อนไขในการขาย หรือการใหบริการ

พนักงาน

บริษทั ไดใหความสําคัญกับทรัพยากรบุคคลมาโดยตลอด มุง มัน่ ทีจ่ ะใหพนักงานทุกคนมีทศั นคติทด่ี สี าํ นึก ในหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบ มีความภาคภูมใิ จและเชือ่ มัน่ ในองคกร ตลอดจนมีการปรับปรุงระบบบริหารบุคคล เพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั งิ านใหมปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ สงเสริมใหศกึ ษาตอในระดับปริญญาโท สงเสริมใหเขารับ การอบรมในหัวขอที่เกี่ยวของและเปนประโยชนตอการทํางาน ใหความสําคัญกับการดูแลรักษาสุขภาพ ความปลอดภัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน รวมถึงพิจารณาคาตอบแทนของพนักงานใหมคี วามเหมาะสม โดยประเมินจากผลการปฏิบัติงานของพนักงานแตละคน และเทียบเคียงกับอุตสาหกรรมเดียวกัน

คูค า

บริษทั ใหความสําคัญของการปฏิบตั ติ อ คูค า ตามเงือ่ นไขทางการคาและปฏิบตั ติ ามสัญญา มีการประพฤติ ตามกรอบกติกาที่ดี และไมใชวิธีการที่ไมสุจริต

คูแ ขงทาง การคา

บริษทั ปฏิบตั งิ านภายใตกรอบนโยบายของบริษทั โดยยึดมัน่ ในการดําเนินธุรกิจภายใตกฎหมายและกรอบกติกา ดวยความเปนธรรม โปรงใส ไมแสวงหาความลับของคูแ ขงดวยวิธที ไ่ี มสจุ ริต ผิดกฎหมาย ไมทาํ ลาย ชื่อเสียงของคูแ ขงดวยการกลาวราย หรือกระทําการใดๆ ทีป่ ราศจากความจริงหรือไมเปนธรรม โดยในปที ผานมา บริษทั ไมมีขอพิพาทใดๆ ในเรื่องที่เกี่ยวกับคูแขงทางการคา


ANNUALREPORT2010 เจาหนี้

บริษทั ไดปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขการกูย มื เงินตามสัญญา และขอตกลงทีม่ ตี อ เจาหนี้ เชน ธนาคาร สถาบันการเงิน และเจาหนี้การคา

สังคมและ บริษทั ไดใหความชวยเหลือและสนับสนุนกิจกรรมทีจ่ ดั ขึน้ เพือ่ สังคมอยางตอเนือ่ ง ทัง้ โครงการระยะสัน้ และ สิง่ แวดลอม ระยะยาวที่สนับสนุนทั้งองคการภาครัฐและภาคเอกชนในดานการศึกษา ศาสนา สิ่งแวดลอมและสังคม โดยปที่ผานมา บริษัทไดดําเนินการ ดังนี้ - รวมกับโรงเรียนชัน้ นําตางๆ ทีอ่ ยูบ ริเวณใกลเคียงกับโครงการของบริษทั เพือ่ สงเสริมความสัมพันธอนั ดี ในสถาบันครอบครัว ดวยการแจกสมุดโนตรักแม และสมุดโนตรักพอ เปนตน - ในป 2553 บริษทั ไดรว มกับมูลนิธเิ พือ่ สนับสนุนการผาตัดหัวใจเด็ก โดยมอบเงินบริจาคเพือ่ การผาตัด ชวยเหลือเด็กที่เปนโรคหัวใจพิการแตกําเนิด จํานวน 100 ดวง ใหแกมูลนิธิฯ - ในป 2554 บริษัทจัดกิจกรรม “Sight For Life” โดยรวมกับมูลนิธิชวยคนตาบอดแหงประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ โดยจะมอบเงินบริจาคเพื่อชวยเหลือผูพิการทางสายตาใหแกมูลนิธิ ทั้งนี้ ไดมีการจัดทําเสื้อยืด “Sight For Life” เพื่อเปนการประชาสัมพันธมูลนิธิอีกทางหนึ่ง การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส คณะกรรมการบริษทั ใหความสําคัญกับเรือ่ งการเปดเผยขอมูลทีโ่ ปรงใส ถูกตอง ครบถวน เนือ่ งจากเปนเรือ่ งทีม่ ผี ลกระทบ ตอการตัดสินใจของผูล งทุนและผูม สี ว นไดเสีย บริษทั ยึดถือและปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎเกณฑ ขอบังคับตางๆ ทีก่ าํ หนด โดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (กลต.) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และหนวยงานอืน่ ของภาครัฐ ในปทผ่ี า นมา บริษทั เปดเผยขอมูลทางการเงินหรือขอมูลทัว่ ไปทีส่ าํ คัญทีอ่ าจมีผลกระทบตอราคาหุน ผานระบบ สือ่ อิเล็กทรอนิกสของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยมีสาระสําคัญครบถวน เพียงพอ เชือ่ ถือได และทันเวลา งบการเงิน ทีเ่ ปดเผยนัน้ ไดผา นการตรวจสอบและแสดงความเห็นแบบไมมเี งือ่ นไขจากผูส อบบัญชีรบั อนุญาตและผานคณะกรรมการ ตรวจสอบกอนเปดเผยตอผูถือหุน จัดใหมีรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน ขอมูล เกี่ยวกับรายชื่อ อํานาจหนาที่ และการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร พรอมคาตอบแทน ประวัตกิ ารอบรมของกรรมการและผูบ ริหาร แตละทานไวในรายงานประจําป ทัง้ นี้ บริษทั ไดแตงตัง้ นายจารึก เอกอินทุมาศ เปนนักลงทุนสัมพันธ ทําหนาทีต่ ดิ ตอสือ่ สาร และใหขอ มูลของบริษทั กับนักลงทุน สถาบัน ผูถ อื หุน นักวิเคราะห และหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ โดยในปทผ่ี า นมา ผูบ ริหารระดับสูง และนักลงทุน สัมพันธไดใหขอ มูลขาวสารของบริษทั แกนกั ลงทุน นักวิเคราะหและผูท เ่ี กีย่ วของ เมือ่ มีผเู ขาพบเพือ่ ขอสัมภาษณ มีการสอบถาม ขอมูลทางโทรศัพท ซึ่งนักลงทุนสามารถติดตอไดที่ หมายเลขโทรศัพท 0-2937-1200 หรือ อีเมล : IR@rasa.co.th ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสรางคณะกรรมการ บริษทั มีกรรมการทัง้ หมดจํานวน 9 ทาน เปนกรรมการอิสระ 5 ทาน โครงสรางการจัดการของบริษทั ประกอบดวย คณะกรรมการ 4 ชุด คือ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร ซึง่ มีการกําหนดขอบเขตอํานาจหนาทีไ่ วอยางชัดเจน รายละเอียดเกีย่ วกับรายชือ่ และขอบเขต อํานาจหนาที่ อยูในหนา 14 – 17 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร บริษทั ไดจดั ตัง้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน เพือ่ ทําหนาทีพ่ จิ ารณาหลักเกณฑในการจายคาตอบแทน ของกรรมการและผูบ ริหารระดับสูง โดยพิจารณาจากการเปรียบเทียบกับระดับทีป่ ฏิบตั อิ ยูใ นอุตสาหกรรมเดียวกัน ผลประกอบการ ของบริษทั และหนาทีค่ วามรับผิดชอบของกรรมการ เพือ่ เสนอความเห็นตอคณะกรรมการ และเสนอขออนุมตั คิ า ตอบแทน ของกรรมการตอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน สวนคาตอบแทนผูบ ริหารเปนไปตามหลักการและนโยบายทีค่ ณะกรรมการบริษทั กําหนด ซึ่งเชื่อมโยงกับผลการดําเนินงานของบริษัท และผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละทาน การแยกหรือรวมตําแหนง บริษทั มีการกําหนดและแยกอํานาจของคณะกรรมการบริษทั และกรรมการบริหารของบริษทั ออกจากกันอยางชัดเจน เพือ่ ใหเกิดการถว งดุลและการสอบทานการบริหารงาน และโครงสรา งคณะกรรมการของบริษทั ประกอบดว ย กรรมการที่ ไมไดเปนผูบริหารจํานวน 6 ทาน เพื่อใหการบริหารและจัดการบริษัทเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและโปรงใส

25


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

การประเมินผลคณะกรรมการ ในป 2553 บริษัทจัดใหมีการประเมิน ผลงานคณะกรรมการตามแบบประเมินตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย โดยกรรมการทุกทาน เปนผูป ระเมินผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการทัง้ คณะโดยอิสระ ผลการประเมิน สวนใหญเห็นดวยกับโครงสรางและองคประกอบของคณะกรรมการวามีความเหมาะสม กรรมการอิสระมีจาํ นวนเหมาะสม ชวยใหการทําหนาทีโ่ ดยรวมมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการเขาใจบทบาทหนาทีข่ องตนเอง มีความสัมพันธทด่ี กี บั ฝายจัดการ และสามารถหารือกับกรรมการผูจ ดั การไดอยางตรงไปตรงมา ซึง่ ผลการประเมินนัน้ คณะกรรมการบริษทั ไดทาํ การวิเคราะห และหาขอสรุปเพื่อกําหนดมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางานของคณะกรรมการตอไป การพัฒนากรรมการและผูบริหาร เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะกรรมการ บริษทั มีนโยบายสนับสนุนใหกรรมการ ผูบ ริหาร และผูป ฏิบตั ิ ดานการกํากับดูแลกิจการของบริษทั เขารวมอบรมและสัมมนาในหลักสูตรทีเ่ ปนประโยชนตอ การปฏิบตั งิ านหนาที่ กับหนวยงาน หรือสถาบันตางๆ เชน สถาบันสงเสริมกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย สมาคมบริษทั จดทะเบียน ไทย ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อใหมีการปรับปรุงการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง และนําความรูมาพัฒนาใหเปนประโยชนกับบริษัท ตอไป การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั มีกาํ หนดวันประชุมเปนการลวงหนาในแตละป โดยจะจัดเวลาประชุมใหสอดคลองกับกรรมการทุกทาน ใหมากที่สุด และแจงใหคณะกรรมการทราบตั้งแตตนป เพื่อใหกรรมการจัดเวลาเขารวมประชุม ซึ่งอาจมีการประชุม คณะกรรมการเพิ่มเติมตามความเหมาะสม ในการประชุมแตละครั้งมีการกําหนดวาระการประชุมที่ชัดเจน มีเอกสาร ประกอบการประชุมทีค่ รบถวน เพียงพอ และจัดสงใหกบั คณะกรรมการลวงหนาอยางนอย 7 วัน เพือ่ ใหคณะกรรมการ ไดมีเวลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนเขารวมประชุม และในระหวางการประชุม ประธานกรรมการจะจัดสรรเวลา ในการประชุมอยางเพียงพอ และสงเสริมใหแสดงความคิดเห็นอยางเปนอิสระ นอกจากนี้ ไดจดั ใหมกี ารจดบันทึกรายงาน การประชุมเปนลายลักษณอักษร มีเนื้อหาสาระครบถวน แลวเสร็จในเวลาที่เหมาะสม พรอมทั้งจัดเก็บรายงานและ เอกสารประกอบอยางเปนระบบ พรอมใหคณะกรรมการและผูที่เกี่ยวของตรวจสอบ ในป 2553 บริษัทไดจัดใหมีการ ประชุมคณะกรรมการบริษัท รวม 10 ครั้ง ดังรายละเอียดในหนา 22 5.

26

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษทั ฯ ไดกาํ หนดระเบียบบริษทั เกีย่ วกับการควบคุมมิใหกรรมการ ผูบ ริหาร และพนักงานทีร่ บั ทราบขอมูลภายใน นําขอมูลภายในไปใชเพื่อประโยชนสวนตน โดยบริษัทมีนโยบายใหบุคคลที่เกี่ยวของดังกลาวปฏิบัติดังนี้ 1) บริษัทจะใหความรูแกกรรมการและผูบริหาร เพื่อใหรับทราบถึงหนาที่ในการรายงานการซื้อขายหลักทรัพยของตน คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ รวมถึงบทกําหนดโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม และตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2) กรรมการ และผูบ ริหารมีหนาทีจ่ ดั ทําและสงรายงานการถือหลักทรัพยของตน คูส มรส และบุตรทีย่ งั ไมบรรลุนติ ภิ าวะ ตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย โดยตองรายงานดังนี้ - รายงานการถือหลักทรัพยครัง้ แรก (แบบ 59-1) ภายใน 30 วันนับแตวนั ปดการเสนอขายหลักทรัพยตอ ประชาชน หรือวันที่ไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงกรรมการหรือผูบริหาร - รายงานการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย (แบบ 59-2) อันเนือ่ งมาจากการซือ้ ขาย โอนหรือรับโอนหลักทรัพย ทัง้ นี้ ภายใน 3 วันทําการนับตัง้ แตมกี ารซือ้ ขาย โอนหรือรับโอนหลักทรัพยนน้ั และใหสง สําเนารายงานการถือ หลักทรัพยดังกลาวใหแกบริษัทภายในวันที่สงรายงานดังกลาวใหแกสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย 3) ประกาศใหทราบทั่วกันวา กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานที่รับทราบขอมูลภายในที่มีนัยสําคัญที่อาจสงผลตอ การเปลี่ยนแปลงของราคาซื้อขายหลักทรัพย จะตองระงับการซื้อหรือขายหลักทรัพยของบริษัท ในชวง 1 เดือน กอนทีบ่ ริษทั จะมีการประกาศผลการดําเนินงาน (กําหนดเวลาในการประกาศผลการดําเนินงาน คือ 45 วันนับจาก วันสิ้นไตรมาส และ 60 วันนับจากวันสิ้นงวดบัญชี) หรือขอมูลภายในนั้นจะเปดเผยตอสาธารณชน บริษทั มีมาตรการลงโทษหากพบวากรรมการหรือผูบ ริหารฝาฝนนโยบายบริษทั และทําใหบริษทั ไดรบั ความเสือ่ มเสีย หรือเสียหาย และบริษัทจะประสานงานกับหนวยงานกํากับดูแลที่เกี่ยวของเพื่อดําเนินการตามกฎหมายตอไป ทั้งนี้ มาตรการลงโทษจะขึ้นกับลักษณะแหงความผิด หรือความหนักเบาของการกระทําผิด หรือความรายแรง ที่เกิดขึ้น เชน การตักเตือนดวยวาจา การตักเตือนเปนลายลักษณอักษร การพักงาน เปนตน


ANNUALREPORT2010

6.

การควบคุมภายใน บริษัทจัดใหมีการควบคุมภายในโดยการวาจางบริษัท บาลานซ ฟกเกอร ออดิท จํากัด ทําหนาที่ในการสอบทานและ ใหคาํ แนะนําแกฝา ยตางๆเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ และรายงานตรงกับคณะกรรมการ ตรวจสอบ จากการสรุปผลรายงานการประเมินความเพียงพอระบบการควบคุมภายในประจําป 2553 พบวาบริษทั มีขน้ั ตอน การปฏิบตั งิ านของแตละระบบอยางชัดเจนโดยมีคมู อื ปฏิบตั งิ าน มีการกําหนดจุดควบคุมภายในทีม่ สี าระสําคัญอยางเพียงพอ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 1/2554 เมือ่ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2554 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบเขารวม ประชุมครบทั้ง 3 ทาน คณะกรรมการบริษัทไดรวมกันประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัท โดยการพิจารณาจาก รายงานของผูตรวจสอบภายในอิสระและการสอบถามประเด็นตางๆจากฝายบริหาร เพื่อประเมินการควบคุมภายในของ บริษัท 5 ดานคือ 1. 2. 3. 4. 5.

ดานองคกรและสภาพแวดลอม ดานการบริหารความเสี่ยง ดานการควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร ดานระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล ดานระบบการติดตาม

คณะกรรมการบริษทั ประเมินวา บริษทั มีการควบคุมภายในในเรือ่ งการทําธุรกรรมกับผูถ อื หุน รายใหญ กรรมการ ผูบ ริหาร หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาวขางตนอยางเพียงพอและเหมาะสม ทั้งนี้ กรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบ ไมมีความเห็นที่แตกตางไปจากความเห็นของคณะกรรมการบริษัท 7.

นโยบายการจายเงินปนผล บริษทั มีนโยบายจา ยเงินปน ผลใหแ กผ ถู อื หุน ในอัตราไมน อ ยกวา รอ ยละ 40 ของกําไรสุทธิภายหลังหักภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล เงินสํารองตามกฎหมาย และเงินสํารองอืน่ ๆ ทัง้ นี้ การจายเงินปนผลดังกลาวอาจเปลีย่ นแปลงได ขึน้ อยูก บั ผลประกอบการ แผนการขยายธุรกิจ สภาพคลอง ความจําเปน และความเหมาะสมอื่นๆในอนาคต โดยบริษัทจะใหอํานาจคณะกรรมการ ของบริษัทในการพิจารณา ซึ่งการดําเนินการดังกลาวจะตองกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูถือหุน

27


28

1. รองศาตราจารย มานพ พงศทัต - ประธานกรรมการ

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

69

อายุ (ป)

หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวมเอกชน (ปรอ.) รุนที่ 8 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - DAP รุนที่ 8/2547 - DCP รุนที่ 10/2547 - The Role of The Chairman Program รุนที่ 17/2007

สถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Master of Architecture, Kansas State University, USA.

Certificate In Developing Planning, University College London, England.

Master of Regional Planning, Institute of Social Studies, The Netherlands.

คุณวุฒิการศึกษา 1.25

-

ศาสตราภิชาน

ปจจุบัน

ปจจุบัน

กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหา

กรรมการ

2548 – ปจจุบัน กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ

ปจจุบัน

2547 – 2553 ประธานกรรมการบริหาร

2547 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ

ใหเชาอสังหาริมทรัพย บริการอื่น

สถาบันศึกษา

พัฒนาอสังหาริมทรัพยดาน ที่อยูอาศัย

บริษัท ธนาคารเกียรตินาคิน จํากัด (มหาชน)

สถาบันการเงิน

บริษัท กรุงเทพธนาคม จํากัด ใหบริการที่ปรึกษาดาน วิศวกรรมและสิ่งแวดลอม ใหบริการดําเนินการเก็บขน และกําจัดมูลฝอยติดเชื้อ ดานอสังหาริมทรัพย

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จํากัด (มหาชน)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

สัดสวนการ ความสัมพันธทาง ประสบการณการทํางานในระยะ 5 ป (2549 ถึง ปจจุบัน) ถือหุน ครอบครัวระหวาง (%) กรรมการ/ผูบ ริหาร1 ชวงเวลา ตําแหนง บริษัท/หนวยงาน ประเภทธุรกิจ

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารของบริษัท

ประวัติโดยยอของคณะกรรมการและผูบริหารของบริษัท ณ วันที่ 1 มีนาคม 2554 RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.


อายุ (ป)

72

59

62

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

2. นายเลิศชัย ลีลายนกุล - กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการตรวจสอบ - กรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทน

3. นางสาวสุมิดา พันธุกระวี - กรรมการอิสระ - กรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน

4. นายปญจะ เสนาดิสัย - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ - ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - DCP รุนที่ 20/2545 - ACP ป 2004

Master of Business Administration (MBA), Suffolk University, USA

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - DAP รุนที่ 56/2006

ปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยราชภัฎ สุราษฎรธานี

ประกาศนียบัตร, Frank Field Secretarial College, England

O’Level & A’ Level , Notre Dame Convent, England

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - DCP รุนที่ 53/2548 - ACP ป 2007

เศรษฐศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, North Dakota State University, USA

คุณวุฒิการศึกษา

1.00

0.05

0.125

-

-

-

2548 - ปจจุบัน กรรมการ / ประธาน กรรมการตรวจสอบ

บมจ. ไพลอน

2547 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ / บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ กรรมการตรวจสอบ ดีเวลลอปเมนท 2552 – ปจจุบัน ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน

2548 – ปจจุบัน ผูจัดการกองกิจสัมพันธ บมจ. การบินไทย ธุรกิจการบิน

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

บริษัท หงษแสงไทย จํากัด

2530 – ปจจุบัน กรรมการผูจัดการ 2547 – ปจจุบัน กรรมการ 2552 – ปจจุบัน กรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน

บริษัท เทพประสิทธิ์การโยธา จํากัด

2531 – ปจจุบัน กรรมการ

รับเหมากอสรางงาน ฐานราก

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

คมนาคมขนสง

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

โรงสีขาว ใหเชาอสังหาริมทรัพย

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย (ถือครองที่ดิน)

บริษัท แอล เอ โฮลดิ้งส จํากัด ใหเชาหองชุด

เคมีเกษตร

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

2540 – ปจจุบัน กรรมการ

2541 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ/ประธาน บมจ. พาโตเคมีอุตสาหกรรม คณะกรรมการตรวจสอบ

2547 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ/ประธาน บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ กรรมการตรวจสอบ ดีเวลลอปเมนท 2552 – ปจจุบัน กรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน

สัดสวนการ ความสัมพันธทาง ประสบการณการทํางานในระยะ 5 ป (2549 ถึง ปจจุบัน) ถือหุน ครอบครัวระหวาง (%) กรรมการ/ผูบ ริหาร1 ชวงเวลา ตําแหนง บริษัท/หนวยงาน ประเภทธุรกิจ

ANNUALREPORT2010

29


30

5 นางสุดจิต ทิวารี - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

63

อายุ (ป)

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - DCP รุนที่ 31/2546 - DAP รุนที่ 34/2548 - ACP รุนที่ 5/2548

Master of Business Administration (MBA), Fresno State University

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประกาศนียบัตรหลักสูตรการกํากับ ดูแลกิจการสําหรับกรรมการและ ผูบริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและ องคการมหาชนรุนที่ 2 สถาบันพัฒนา กรรมการและผูบริหารระดับสูงภาครัฐ

ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบริหาร ระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุนที่ 8

- RCC รุน 2/2550

คุณวุฒิการศึกษา

-

-

บมจ. ยูนิคแกส แอนด ปโตรเคมีคัลส บมจ. สยามแกส แอนด ปโตรเคมีคัลส

บมจ. เวฟ เอนเตอรเทนเมนท บันเทิงและสันทนาการ

2551 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ 2549 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ 2542 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการ ตรวจสอบ

ประกอบกิจการซื้อ ขาย แกสปโตรเลียมเหลวทุกชนิด

ประกอบกิจการซื้อ ขาย แกสปโตรเลียมเหลวทุกชนิด

บริษัท เครดิตฟองซิเอร ลินน เครดิตฟองซิเอร ฟลลิปส มอทเก็จ จํากัด

2551 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

2547 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

ใหบริการทางการเงิน

ธนาคารออมสิน

2549 - 2552

กรรมการ กรรมการบริหาร และ กรรมการพิจารณา ผลตอบแทนฯ

ผลิตชิ้นสวนอิเลคโทรนิคส บมจ. เคซีอี อิเลคโทรนิคส

2526 - ปจจุบัน กรรมการ

พัฒนาอสังหาริมทรัพยดาน ที่อยูอาศัย ถือหุนลงทุนในบริษัทตางๆ ดําเนินธุรกิจหลักทรัพย และดานที่ปรึกษา ทางการเงิน

บมจ. เดวา พร็อพเพอรตี้

2547 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ

ผลิตชิ้นสวนยานยนต

2545 – ปจจุบัน กรรมการ / บมจ. ทรีนีตี้ วัฒนา กรรมการตรวจสอบและ ประธานกรรมการ พิจารณาผลตอบแทนฯ

บมจ. สมบูรณ แอดวานซเทคโนโลยี

2543 - ปจจุบัน กรรมการ 2549 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ ตรวจสอบ/กรรมการ พิจารณาคาตอบแทน

สัดสวนการ ความสัมพันธทาง ประสบการณการทํางานในระยะ 5 ป (2549 ถึง ปจจุบัน) ถือหุน ครอบครัวระหวาง (%) กรรมการ/ผูบ ริหาร1 ชวงเวลา ตําแหนง บริษัท/หนวยงาน ประเภทธุรกิจ

RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.


อายุ (ป)

50

35

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

6. นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน - กรรมการ - ประธานกรรมการบริหาร

7. นายรพิ พินิจชอบ - กรรมการ - กรรมการผูจัดการ - กรรมการบริหาร

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - DAP รุนที่ 56/2006 - DCP รุนที่ 85/2007

Bachelor Degree, Boston University School of Management, USA

MSc. Administration (Financial Economics), Boston University Metropolitan College, USA

หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวมเอกชน (ปรอ.) รุนที่ 19 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - DAP รุนที่ 56/2006 - RCC รุนที่ 5/2008

บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

คุณวุฒิการศึกษา

18.43

22.00

-

-

บริษัท รสา ฮอสพิทัลลิตี้ จํากัด ใหคําปรึกษาดานโรงแรม รีสอรท บริษัท เดยสตาร เอเชียฟนด คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท เดย สตาร จํากัด

2549 – ปจจุบัน กรรมการ 2544 – ปจจุบัน กรรมการ 2541 – ปจจุบัน กรรมการ

โรงแรม รีสอรท

ลงทุนในกิจการ

บริษัท เดยสตาร กระบี่ จํากัด โรงแรม รีสอรท

2551 – ปจจุบัน กรรมการ

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

บริษัท พีเอ ลินนฟลลิป จํากัด นายหนา ตัวแทน บริหารโครงการ/อาคารชุด

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

บริษัท การด แอนด ทิงส จํากัด ขายสินคาทั่วไป

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

2551 – ปจจุบัน กรรมการ

2553 – ปจจุบัน กรรมการผูจัดการ 2550 – ปจจุบัน กรรมการ / กรรมการบริหาร 2550 – 2552 รองกรรมการผูจัดการ

2539 – ปจจุบัน เจาของกิจการ (Distributor Carte Blanche Owner)

2553 – ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ 2547 – ปจจุบัน กรรมการบริหาร ดีเวลลอปเมนท 2547 – 2552 กรรมการผูจัดการ

สัดสวนการ ความสัมพันธทาง ประสบการณการทํางานในระยะ 5 ป (2549 ถึง ปจจุบัน) ถือหุน ครอบครัวระหวาง (%) กรรมการ/ผูบ ริหาร1 ชวงเวลา ตําแหนง บริษัท/หนวยงาน ประเภทธุรกิจ

ANNUALREPORT2010

31


อายุ (ป)

65

56

43

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

8. นายโกวิท ไววัฒนา - กรรมการ - กรรมการบริหาร - ที่ปรึกษาดานวิศวกรรม และการกอสราง

32

9. นายพิสิฏฐ ภัสฐาพงษ - กรรมการอิสระ

13. นายบูรณินท ทองสุวรรณ - กรรมการบริหาร - ผูจัดการฝายการจัดการ งานกอสราง

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาโยธา มหาวิทยาลัยเชียงใหม

บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการงานกอสราง) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหาร งานภาครัฐและกฎหมายมหาชน สถาบันพระปกเกลา ป 2546

ปริญญาบัตร หลักสูตรการปองกัน ราชอาณาจักร วิทยาลัยปองกัน ราชอาณาจักร ป 2549

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - DCP ป 2553

ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร) นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

หลักสูตร DAP รุนที่ 56/2006 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย

สามัญวิศวกรโยธา 2431

Bachelor of Science in Civil Engineer, Mapu’a Institute of technology, Philippines

คุณวุฒิการศึกษา

-

-

0.012

-

-

รองผูวาการ ผูชวยผูวาการ

การไฟฟาสวนภูมิภาค

2553 – ปจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ผูจัดการฝายการจัดการ ดีเวลลอปเมนท งานกอสราง 2546 – ปจจุบัน วิศวกรโครงการ

2550 – ปจจุบัน 2547 – 2550

2550 – ปจจุบัน กรรมการ / บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ กรรมการบริหาร / ดีเวลลอปเมนท ที่ปรึกษา 2547 – 2553 ผูชวยกรรมการผูจัดการ

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

รัฐวิสาหกิจ/พลังงาน

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

สัดสวนการ ความสัมพันธทาง ประสบการณการทํางานในระยะ 5 ป (2549 ถึง ปจจุบัน) ถือหุน ครอบครัวระหวาง (%) กรรมการ/ผูบ ริหาร1 ชวงเวลา ตําแหนง บริษัท/หนวยงาน ประเภทธุรกิจ

RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.


46

47

11. นางศิริลักษณ จรูญรัตนสกุล - กรรมการบริหาร - ผูจัดการฝายบริหารทั่วไป

12. นางณัฐยา นวราช - กรรมการบริหาร - ผูจัดการฝายบัญชีและ การเงิน

14. นายจารึก เอกอินทุมาศ - ผูจัดการฝายนักลงทุน สัมพันธและจัดสรรเงินทุน

49

13. นางสาวนันทรัตน โกวิทคณิต 35 - กรรมการบริหาร - ผูจัดการฝายการตลาด และการขาย

อายุ (ป)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - DCP รุนที่ 55/2548

ปริญญาตรีบัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ประกาศนียบัตรชั้นสูงทางการสอบบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ปริญญาบัญฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ปริญญามหาบัญฑิต คณะพาณิชยศาสตร และการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บัญชีบัญฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง

หลักสูตรจากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - CSP รุนที่ 19/2006 - EMT รุนที่ 5/2006

บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการเงินการธนาคาร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

คุณวุฒิการศึกษา

0.01

-

0.025

0.027

-

-

-

-

ประธานเจาหนาที่ บริหารฝายการเงิน 2547 – ปจจุบัน กรรมการ

2547 – 2548

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

บจ. เจ เอส แอคเคานติ้งพลัส

บมจ. ซันวูดอินดัสทรีส

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

เจาหนาทีบ่ ริหารโครงการ บริษัท ที เอ็น อินฟอรเมชั่น ฝายบริหารโครงการ ซิสเท็ม จํากัด (มหาชน)

2553 – ปจจุบัน ผูจัดการฝายนักลงทุน สัมพันธและ จัดสรรเงินทุน

2546

2553 – ปจจุบัน กรรมการบริหาร 2546 – ปจจุบัน ผูจัดการฝายการตลาด และการขาย

2553 – ปจจุบัน กรรมการบริหาร 2539 – ปจจุบัน ผูจัดการฝายบัญชี และการเงิน

2553 – ปจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ 2547 – ปจจุบัน ผูจัดการฝายบริหารทั่วไป ดีเวลลอปเมนท

บริการดานงานสอบบัญชี

อุตสาหกรรมผลิต เฟอรนิเจอร

พัฒนาอสังหาริมทรัพยดาน ที่อยูอาศัย

จําหนาย และใหบริการ ดานคอมพิวเตอร และโปรแกรมคอมพิวเตอร

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดานที่อยูอาศัย

สัดสวนการ ความสัมพันธทาง ประสบการณการทํางานในระยะ 5 ป (2549 ถึง ปจจุบัน) ถือหุน ครอบครัวระหวาง (%) กรรมการ/ผูบ ริหาร1 ชวงเวลา ตําแหนง บริษัท/หนวยงาน ประเภทธุรกิจ

ANNUALREPORT2010

33


34

1

อายุ (ป)

33

17. นายอภิชาติ อองวิบูล - ผูจัดการฝายพัฒนา ผลิตภัณฑ

สถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

ครุศาสตรบัณฑิต สถาบันราชภัฏพระนคร

บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยโยนก

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

คุณวุฒิการศึกษา

0.012

0.017

0.006

-

-

-

สัดสวนการ ความสัมพันธทาง ถือหุน ครอบครัวระหวาง (%) กรรมการ/ผูบ ริหาร1 ตําแหนง

บริษัท/หนวยงาน

2553 – ปจจุบัน ผูจัดการฝายพัฒนา ผลิตภัณฑ

2553 – ปจจุบัน ผูจดั การฝาย ทรัพยากรบุคคล บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท

2553 – ปจจุบัน ผูจัดการฝายเทคโนโลยี บมจ. รสา พร็อพเพอรตี้ และสารสนเทศ ดีเวลลอปเมนท

ชวงเวลา

พัฒนาอสังหาริมทรัพยดาน ที่อยูอาศัย

พัฒนาอสังหาริมทรัพยดาน ที่อยูอาศัย

พัฒนาอสังหาริมทรัพยดาน ที่อยูอาศัย

ประเภทธุรกิจ

ประสบการณการทํางานในระยะ 5 ป (2549 ถึง ปจจุบัน)

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร หมายถึง ความสัมพันธทางสายโลหิต หรือ ความสัมพันธโดยการสมรส หรือ ความสัมพันธโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย

35

16. นางสาวพีรยากร ไววอง - ผูจัดการฝาย ทรัพยากรบุคคล

15. นางสาวจันทนี ถนอมพงษชาติ 29 - ผูจัดการฝายเทคโนโลยี และสารสนเทศ

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.


1,200,000.00

กรรมการและผูถือหุนของ บริษทั

2. นายโกวิท ไววัฒนา คาทีป่ รึกษาดานวิศวกรรม และงานกอสราง

บริษัทฯ ไดทําสัญญาเชาพื้นที่อาคารสํานักงานกับบริษัท รสา ทาวเวอร จํากัด โดยป 2553 คิดอัตราคาเชาพื้นที่ 430 ตารางเมตร ราคา 69,300.- บาทและ คาบริการ 25,300.- บาทตอเดือน รวมเปนอัตรา 94,600.- บาทตอเดือน (ยังไม รวมภาษีมูลคาเพิ่ม)

1,156,452.00

เชาพืน้ ทีอ่ าคารสํานักงาน คาใชจาย

ผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูม อี าํ นาจลงนามและผูบ ริหาร ของบริษัท คือนางสาว อัจฉราพร ศิริไพรวัน และ นายรพิ พินิจชอบ เปนผูถือหุนใหญของ บริษทั รสา ทาวเวอร จํากัด (สัดสวนการถือหุน รวมบุคคล ตามมาตรา 258 คิดเปน รอยละ 20 และ 79.96 ตาม ลําดับ)

1. บริษทั รสา ทาวเวอร จํากัด (ผูประกอบการธุรกิจใหเชา อาคารสํานักงาน)

ความสมเหตุสมผลของรายการ : คณะกรรมการบริษัทไดมีมติอนุมัติรายการที่ เกีย่ วโยงกัน โดยคณะกรรมการตรวจสอบไดพจิ ารณาแลววารายการนีเ้ ปนรายการที่ มีความเหมาะสมสําหรับการวาจางนายโกวิท ไววัฒนา เปนทีป่ รึกษาดานวิศวกรรม และการกอสราง สําหรับป 2553 และป 2554 เนือ่ งจากเห็นวา นายโกวิท ไววัฒนา มีความพรอมและเปนบุคคลทีม่ คี วามรูค วามสามารถและมีประสบการณทย่ี าวนาน ประกอบกับอัตราคาจางเปนอัตราที่เหมาะสม

ณ วันที่ 24 ธันวาคม 2552 บริษัททําสัญญาวาจาง นายโกวิท ไววัฒนา เปนที่ ปรึกษาดานวิศวกรรมและงานกอสราง ระยะเวลา 2 ป ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2553 ถึง 31 ธันวาคม 2554 เนือ่ งจากบริษทั เห็นวานายโกวิท ไววัฒนา เปนบุคคล ที่มีความรูความสามารถและประสบการณที่ยาวนาน และเปนประโยชนตอธุรกิจ ของบริษัท

ความสมเหตุสมผลของรายการ : คณะกรรมการบริษทั ไดอนุมตั ริ ายการดังกลาว โดยคณะกรรมการตรวจสอบไดพจิ ารณาแลววารายการนีเ้ ปนรายการทีม่ คี วามเหมาะสม เนื่องจากทําเลที่ต้งั ของอาคารสํานักงานตั้งอยูในทําเลที่สะดวกตอการติดตอธุรกิจ โดยในปจจุบนั คิดราคาคาเชาสํานักงานในอัตราเดียวกับลูกคาโดยทัว่ ไป ในอัตราเดือนละ 161 บาทตอตารางเมตร แตคดิ อัตราคาใหบริการในอัตราต่ํากวาลูกคาโดยทั่วไป จึงทําใหบริษัทไดรับประโยชนจากคาใชจายดังกลาว

ความจําเปน/รายละเอียด และความสมเหตุสมผลของรายการ

มูลคารายการ (บาท)

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

ลักษณะความสัมพันธ

บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง

1. รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง

ในป 2553 บริษทั ฯ มีรายการธุรกิจทีส่ าํ คัญกับบริษทั ทีเ่ กีย่ วของกัน กรรมการและบุคคลทีเ่ กีย่ วของกัน รายการธุรกิจดังกลาวเปนไปตามเงือ่ นไขทางการคาและเกณฑตามทีต่ กลงรวมกันระหวางบริษทั ฯ กับบุคคลหรือนิติบุคคลเหลานั้น ซึ่งเปนไปตามปกติธุรกิจ โดยสามารถสรุปได ดังนี้

รายการระหวางกัน

ANNUALREPORT2010

35


ลักษณะความสัมพันธ

นายธนพัฒน สุวรรณสรางค กรรมการของบริษัท สยาม ไพรม เอสเตท จํากัด เปนคูส มรสของบุตรีประธาน กรรมการ ของบริษัท

กรรมการ บริษทั รายาวดี(44) จํากัด เปนญาติสนิท (ภรรยา) ของคุณปญจะ เสนาดิสัย

บิ ด าของผู จั ด การฝ า ยการ ตลาดฯ (นางสาวนันทรัตน โกวิทคณิต)

บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง

3 บริษทั สยามไพรม เอสเตท จํากัด

36

4. บริษัท รายาวดี(44) จํากัด

5. นายปราการ โกวิทคณิต

2,517,900.00

สั ญ ญาจะซื้ อ จะขาย หองชุด

905,300.00

10,195,644.52

ค า จั ด ซื้ อ และติ ด ตั้ ง ชุ ด ครัว

เงินรับลวงหนา

ตามสัญญารวมลงทุน เมือ่ ป 2550 ระหวางบริษทั ฯ กับบริษทั สยามไพรม เอสเตท เพือ่ พัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัย เดอะ ไลทเฮาส ระบุวา ใหทง้ั สองฝายไดรบั เงิน คาใชจา ยในการบริหารงานเปนรายเดือนจนกวาสัญญาจะสิน้ สุดลง โดยบริษทั ฯ ไดรับ 381,500 บาท/เดือน และ บริษัท สยามไพรมฯ ไดรับ 87,200 บาท/เดือน

1,046,400.00

คาบริหารโครงการ

ความสมเหตุสมผลของรายการ : คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการ ตรวจสอบไดพจิ ารณาแลววารายการนีเ้ ปนรายการทีม่ คี วามเหมาะสม และไดเปดเผย รายการนี้ไวแบบ 56-1 และรายงานประจําป 2551 แลว

เมือ่ วันที่ 27 ธันวาคม 2550 บริษทั ขายหองชุดโครงการ อินโทร ใหกบั คุณปราการ โกวิทคณิต มูลคา 2,517,900.- บาท และตองจายเงินดาวนตามสัญญา หลังจาก จายเงินดาวนตามสัญญาจนครบไดจา ยชําระเงินดาวนเพิม่ เติมอีก 0.15 ลาน ณ วันที่ 28 ธ.ค.2552 ไดมกี ารขอโอนสิทธิจากนายปราการ โกวิทคณิต เปนนางสาวนันทรัตน โกวิทคณิต

ความสมเหตุสมผลของรายการ : คณะกรรมการบริษัทไดมีมติอนุมัติรายการ ดังกลาวโดยคณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาแลววารายการนี้เปนรายการที่มี ความเหมาะสม เนือ่ งจากเห็นวาบริษทั สามารถจัดซือ้ จัดหาชุดครัวทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ าม เงือ่ นไข และมีราคาต่าํ สุด ทําใหบริษทั ไดรบั ประโยชนสงู สุด และรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ดังกลาวถือเปนธุรกรรมการคาปกติทว่ั ไป (โดยมติน้ี นายปญจะ เสนาดิสยั ไมไดอยู ในที่ประชุมเพื่ออนุมัติ)

บริษทั รายาวดี(44) จํากัด โดยนางรัตนาวดี เสนาดิสยั เปนกรรมการผูม อี าํ นาจ ของบริษทั และมีความสัมพันธเปนบุคคลทีเ่ กีย่ วของในฐานะญาติสนิท(ภรรยา) ของ นายปญจะ เสนาดิสัย กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน ซึ่งบริษัทดังกลาวเปนผูผลิตและติดตั้งเฟอรนิเจอร ที่ โครงการ รสา สแปนิช คอรดยารท มูลคา 0.02 ลาน โครงการ รสา พารคเลน มูลคา 1.77 ลาน โครงการเดอะไลทเฮาส มีมูลคาตามสัญญา 11.03 ลาน/ป 2553 จาย 4.0 ลาน และโครงการอินโทร มีมูลคาตามสัญญา 14.17 ลาน/ป 2553 จาย 4.4 ลาน

ความสมเหตุสมผลของรายการ : คณะกรรมการบริษทั ไดมมี ติอนุมตั ิ และคณะ กรรมการตรวจสอบไดพจิ ารณาแลวเห็นวาเปนรายการทีม่ คี วามเหมาะสม และได เปดเผยรายการนีไ้ วใน แบบ 56-1 และรายงานประจําป 2550 แลว

ความจําเปน/รายละเอียด และความสมเหตุสมผลของรายการ

มูลคารายการ (บาท)

ลักษณะของรายการ ระหวางกัน

RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.


ANNUALREPORT2010 2. ความจําเปน และความสมเหตุสมผลของการทํารายการระหวางกัน การทํารายการระหวางกันตามหัวขอที่ 1. มีความสมเหตุสมผลและความจําเปน เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอบริษัท โดยคณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณารายการระหวางกันในป 2553 และใหความเห็นวา รายการระหวางกันที่เกิดขึ้นดังกลาว มีความสมเหตุสมผล ซึ่งมีราคาและเงื่อนไขที่เปนธรรม และไมกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน 3. นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต ในอนาคต หากมีรายการระหวางกันของบริษัทเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสว นไดสวนเสีย หรืออาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชนในอนาคต บริษัทจะดําเนินการตามขั้นตอนที่กําหนดไวขางตน โดยบริษัทไดกําหนดแนวทางการปฏิบัติ ของการทํารายการในอนาคตไวดังนี้ กรณีเปนรายการคาปกติและมีเงือ่ นไขการคาทัว่ ไป หากบริษทั มีการทํารายการในลักษณะนีก้ บั บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยง ฝายจัดการสามารถดําเนินการได ภายใตขอบเขตที่คณะกรรมการอนุมัติไว โดยผูอนุมัติหรือผูรับชวงในการอนุมัติจะตองเปน บุคคลทีไ่ มมสี ว นไดเสียกับรายการดังกลาว นอกจากนีบ้ ริษทั จะตองดําเนินการใหมกี ารเสนอรายละเอียดของการทํารายการดังกลาว ตอคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อการสอบทานหรือตรวจสอบไดอยางนอยไตรมาสละ 1 ครั้ง ทัง้ นีห้ ลักเกณฑการพิจารณาเงือ่ นไขการคาทัว่ ไป เปนไปตามเกณฑรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คือรายการที่มีราคาเปนธรรมและไมกอใหเกิดความขัดแยง ซึ่งมีลักษณะดังนี้ 1) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัทไดรับ/ใหกับบุคคลทั่วไป 2) ราคาและเงื่อนไขที่บุคคลที่เกี่ยวโยงกันใหกับบุคคลทั่วไป 3) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัทสามารถแสดงไดวาผูประกอบธุรกิจรายอื่นๆ ไดปฏิบัติในลักษณะเดียวกันกับบุคคลทั่วไป ทั้งนี้การซื้อที่ดินเพื่อมาพัฒนาโครงการของบริษัทซึ่งเปนรายการปกติแมวาจะมีเงื่อนไขการคาทั่วไปทั้งในกรณีที่ทํา รายการกับบุคคลทั่วไปและทํารายการกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง บริษัทกําหนดใหฝายจัดการไมสามารถดําเนินการอนุมัติได แตกําหนดใหคณะกรรมการบริษัทเปนผูอนุมัติการทํารายการโดยผูมีสวนไดเสียตองงดออกเสียง กรณีรายการระหวา งกันในกรณีอน่ื บริษทั จะตอ งดําเนินการใหค ณะกรรมการตรวจสอบใหความเห็นชอบเกีย่ วกับความเหมาะสม ของรายการดังกลาวกอนการอนุมตั กิ ารทํารายการ ในกรณีทค่ี ณะกรรมการตรวจสอบไมม คี วามชํานาญในการพิจารณารายการระหวา งกัน ที่เกิดขึ้น บริษัทจะจัดใหมีบุคคลที่มีความรู ความชํานาญพิเศษ เชน ผูสอบบัญชีหรือผูประเมินราคาทรัพยสินที่มีความเปนอิสระ เปน ผูใ หค วามเห็นเกีย่ วกับรายการระหวา งกัน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบหรือบุคคลทีม่ คี วามรูค วามชํานาญพิเศษ จะถูกนําไปใชประกอบการอนุมัติของคณะกรรมการบริษัทหรือผูถือหุนแลวแตกรณี

37


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

¤íÒ͸ԺÒÂáÅÐÇÔà¤ÃÒÐË °Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹áÅмšÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹ ในป 2553 บริษทั ฯเริม่ ไตรมาสแรกดวยการจําหนายบานของโครงการ รสาสแปนิช คอรทยารด หมดและปดโครงการ ในไตรมาส ที่ 4 โครงการ The LightHouse ซึง่ มีมลู คาโครงการ 1,500 ลานบาท ไดสรางเสร็จ และโอนกรรมสิทธิใ์ หกบั ลูกคาไดในเดือน พฤศจิกายน 2553 ณ วันสิ้นป 2553 มีการทําสัญญาซื้อขายแลวจํานวน 71% ของจํานวนหนวยทั้งหมด และโอนใหลูกคาแลว จํานวน 38% ของจํานวนหนวยที่ทําสัญญาจะซื้อจะขายแลว ในป 2554 จึงมีโครงการที่อยูในระหวางการพัฒนาตอเนื่องจากป 2553 จํานวน 2 โครงการ เปนโครงการบานเดี่ยว จํานวน 1 โครงการ โครงการอาคารชุดพักอาศัยจํานวน 1 โครงการ ซึ่งโครงการบานเดี่ยวตั้งอยูที่ ถนนวัชรพล ชื่อโครงการ รสา พารคเลน มีมลู คาขายประมาณ 650 ลานบาท ณ สิ้นป 2553 โครงการบานเดี่ยวดังกลาวมีการทําสัญญาจะซื้อจะขายแลว จํานวน 70% ของจํานวนหนวยทัง้ หมด สวนโครงการอาคารชุดพักอาศัยตัง้ อยูท ถ่ี นนประดิพทั ธ ชือ่ โครงการ Intro Condominium มีมลู คาขายประมาณ 1,450 ลานบาท โดย ณ สิ้นป มีการทําสัญญาจะซื้อจะขายแลวจํานวน 53% ของจํานวนหนวยทั้งหมด ในระหวางป 2553 ไดลงทุนในทีด่ นิ ในสามทําเลเพือ่ ทีจ่ ะพัฒนาทัง้ แนวราบและแนวสูง ในป 2554-2555 จํานวน 3 โครงการ มีมูลคาโครงการรวมทั้งสิ้น 3,300 ลานบาท ผลการดําเนินงาน • รายได รายไดจากการขายของบริษทั ฯ และโครงการรวมทุน เริม่ มีการปรับตัวเพิม่ ขึน้ ตัง้ แตป 2552 ในป 2553 บริษทั ฯ มีรายไดจาก การขายรวมทัง้ สิน้ 784 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จํานวน 194 ลานบาท คิดเปนอัตราการเพิม่ ขึน้ 32.87% ของรายไดจากการขายในป 2552 การเพิม่ ขึน้ ของรายไดจากการขายรวมสงผลใหกาํ ไรสุทธิเพิม่ ขึน้ จาก 73.73 ลานบาท ในป 2552 เปน 114.22 ลานบาท ในป 2553 เปนผลมาจากการบริหารงานขาย และภาวะเศรษฐกิจทีก่ าํ ลังฟน ตัวทําใหประชาชนมีกาํ ลังซือ้ มากขึน้ ประกอบกับโครงการอาคารชุด The LightHouse ไดกอสรางเสร็จและเริ่มโอนกรรมสิทธิ์ใหกับลูกคา ทําใหการรับรูรายไดจากโครงการดังกลาวสูงขึ้น • ตนทุนขาย ในป 2553 อัตราการทํากําไรขั้นตนของบริษัทอยูที่รอยละ32.81 เพิ่มขึ้นจากป 2552 ซึ่งอยูที่ 29.32 อันเปนผลจาก การบริหารตนทุนใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด • คาใชจาย ในป 2553 บริษัทมีคาใชจายที่ไมรวมดอกเบี้ยและภาษี รวมจํานวน 102.98 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากป 2552 จํานวน 30.16 ลานบาท ซึง่ สวนใหญเพิม่ ขึน้ จากคาภาษีธรุ กิจเฉพาะ ซึง่ ในป 2552 ไดรบั สวนลดจากมาตรการดานอสังหาริมทรัพยของรัฐบาล และการเพิ่มขึ้นในสวนของคานายหนาในการขายอันเนื่องจากรายไดที่สูงขึ้น • กําไรสุทธิ ในป 2553 บริษทั มีกาํ ไรสุทธิจาํ นวน 114.22 ลานบาท ซึง่ เพิม่ ขึน้ จากปกอ นจํานวน 40.48 ลานบาท ตามสัดสวนรายไดที่ เพิ่มขึ้นและการเพิ่มขึ้นของอัตรากําไรขึ้นจาก 29.31% ในป 2552 เปน 32.81 ในป 2553 ฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 • สินทรัพย บริษัทฯ มีสินทรัพยรวมทั้งสิ้น 1,660 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปกอนจํานวน 460 ลานบาท หรือคิดเปน 38% แบงเปน สินทรัพยหมุนเวียนจํานวน 1,546 ลานบาท หรือคิดเปน 93% ของสินทรัพยรวม และสินทรัพยไมหมุนเวียนจํานวน 114 ลานบาท หรือ คิดเปน 7% ของสินทรัพยรวม สาเหตุของการเพิม่ ขึน้ ของสินทรัพยรวมสวนใหญเกิดจากการลงทุนในการพัฒนาโครงการทัง้ 3 โครงการ และที่ดินรอการพัฒนา 38


ANNUALREPORT2010 • หนี้สิน บริษทั ฯ มีหนีส้ นิ รวมเทากับ 981 ลานบาท ซึง่ เพิม่ ขึน้ จากปกอ นจํานวน 365 ลานบาท คิดเปนรอยละ 59 ซึง่ การเพิม่ ขึน้ ของหนี้สินรวมสวนใหญเกิดจากการกูยืมเงินจากสถาบันการเงินมาใชในการพัฒนาโครงการทั้ง 3 โครงการ, การซื้อที่ดินเพื่อรอ การพัฒนา และสวนหนึ่งเกิดจากการรับเงินดาวนจากลูกคาของโครงการที่เปดขายอยูในปจจุบัน หนี้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ้นจํานวน 170 ลานบาท เปนการเพิ่มของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระในหนึ่งป ซึ่งยายจาก บัญชีหนี้สินเงินกูระยะยาวที่ไดนํามาใชในโครงการ The LightHouse ที่สรางเสร็จแลว และพรอมที่จะโอนกรรมสิทธิ์ใหกับลูกคา หนี้สินสวนนีจ้ ะมีการชําระคืนเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ใหกับลูกคา • สวนของผูถือหุน ในป 2553 บริษัทฯ มีสวนของผูถอื หุนเทากับ 679 ลานบาท เพิ่มจากปกอน จํานวน 94 ลานบาท ซึ่งเทากับกําไรสุทธิ ประจําปหักดวยเงินปน ผลของป 2552 ที่ผูถือหุนอนุมัติและจายในป 2553 แตยังไมไดรวมเงินปน ผลที่คณะกรรมการบริษัท ไดอนุมัติใหจายในอัตราหุนละ 0.30 บาท เปนเงินรวม 24 ลานบาท ซึ่งจะเสนอใหที่ประชุมสามัญผูถือหุนอนุมัติและบันทึกใน ป 2554 • อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน ในป 2553 อัตราสวนหนีส้ นิ ตอสวนของผูถ อื หุน เทากับ 1.44 เทา ซึง่ เพิม่ ขึน้ จากป 2552 เนือ่ งจากในป 2553 บริษทั ฯ ไดเรงดําเนินการกอสรางโครงการอาคารชุดทั้งสองโครงการทําใหมีการเบิกเงินกูเพิ่มขึ้น ประกอบกับบริษัทฯไดลงทุนในที่ดินเพื่อ รอการพัฒนา ทําใหหนี้สินรวมเพิ่มขึ้น 366 ลานบาท

39


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษทั เปนผูร บั ผิดชอบตองบการเงินของบริษทั รสา พร็อพเพอรต้ี ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) ซึง่ จัดทําขึน้ ตาม มาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไปในประเทศไทย โดยไดมกี ารพิจารณาเลือกใชนโยบายการบัญชีทเ่ี หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ยางสม่าํ เสมอ รวมทัง้ ไดใชดุลยพินิจอยางรอบคอบ ระมัดระวัง สมเหตุสมผล ตลอดจนมีการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอและโปรงใสในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน เพื่อใหเปนประโยชนตอผูถือหุนและสาธารณชนที่เกี่ยวของ คณะกรรมการบริษทั ไดแตงตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบดวยกรรมการทีเ่ ปนอิสระเปนผูก าํ กับดูแลงบการเงิน และประเมิน ระบบการควบคุมภายในใหมปี ระสิทธิผล เพือ่ ใหมคี วามมัน่ ใจไดวา มีการบันทึกขอมูลทางบัญชีถกู ตอง ครบถวนอยางเพียงพอ ทันเวลาและปองกัน ไมใหเกิดการทุจริต หรือการดําเนินการทีผ่ ดิ ปกติ โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ไดแสดงไวในรายงานประจําปนแ้ี ลว นอกจากนี้ คณะกรรมการไดเตรียมความพรอมเพือ่ รองรับการทีส่ ภาวิชาชีพบัญชีไดประกาศใชมาตรฐาน บัญชีใหมเพื่อใหสอดคลองกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศ (IFRS) โดยเริ่มมีผลบังคับใชในป 2554 เปนตนไป คณะกรรมการบริษทั มีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในของบริษทั โดยรวมอยูใ นระดับทีน่ า พอใจ และสามารถสรางความเชือ่ มัน่ ไดวา งบการเงินของบริษัทสําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2553 แสดงฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด ไดถูกตอง ตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปแลว

รศ.มานพ พงศทัต ประธานกรรมการ

40

นายรพิ พินิจชอบ กรรมการผูจัดการ


ANNUALREPORT2010

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ

ผูถือหุน บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน)

ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และงบกําไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลีย่ นแปลง สวนของผูถ อื หุน รวมและงบกระแสเงินสดรวมสําหรับปสน้ิ สุดวันเดียวกันแตละปของบริษทั รสา พร็อพเพอรต้ี ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) และโครงการรวมทุน และไดตรวจสอบงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และงบกําไรขาดทุน งบแสดงการ เปลีย่ นแปลงสวนของผูถ อื หุน และงบกระแสเงินสดสําหรับปสน้ิ สุดวันเดียวกันแตละป เฉพาะของบริษทั รสา พร็อพเพอรต้ี ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจา เปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลของการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไป ซึง่ กําหนดใหขา พเจาตองวางแผนและปฏิบตั งิ าน เพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวา งบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึง การใชวธิ กี ารทดสอบหลักฐานประกอบรายการทัง้ ทีเ่ ปนจํานวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสม ของหลักการบัญชีที่กิจการใช และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เปนสาระสําคัญซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทําขึ้น ตลอดจน การประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการทีน่ าํ เสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชือ่ วา การตรวจสอบดังกลาวใหขอ สรุป ที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวา งบการเงินดังกลาวขางตนแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และผลการ ดําเนินงานรวมและกระแสเงินสดรวม สําหรับปสน้ิ สุดวันเดียวกันแตละปของบริษทั รสา พร็อพเพอรต้ี ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) และโครงการรวมทุน และแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และผลการดําเนินงานและกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันแตละป เฉพาะของบริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ควร ในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

นางสุมาลี โชคดีอนันต ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3322

กรุงเทพมหานคร 15 กุมภาพันธ 2554

41


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หนวย:บาท) หมายเหตุ

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและมูลคางานที่แลวเสร็จ แตยังไมไดเรียกเก็บ ตนทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย - สุทธิ ตนทุนการพัฒนาโครงการรวมทุน เพื่อพัฒนาอาคารชุด - สุทธิ ที่ดินรอการพัฒนา เงินจายลวงหนาคากอสราง เงินมัดจําคาที่ดิน สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน

6 7, 8

สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีขอจํากัดในการใช เงินลงทุนในโครงการรวมทุน เพื่อพัฒนาอาคารชุด อาคาร อุปกรณ และยานพาหนะ - สุทธิ โปรแกรมคอมพิวเตอร สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

42

9 10 12

งบการเงินรวม 2553 2552 29,014,855 106,648,945 329,649,819

706,827,269 661,464,589

20,165,295 101,733,114 169,601,629

1,207,857

-

706,827,269 661,464,589

203,921,703 234,156,473 245,052,556 - 245,052,556 9,918,619 35,595,968 7,863,045 11,000,000 11,000,000 10,665,089 10,377,416 14,732,478 1,546,049,910 1,115,043,679 1,175,242,272

11 13

66,800,288

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553 2552

-

23,065,540 10,466,594 796,729,837

1,207,857

- 142,824,500 107,824,500 113,422,121 83,551,396 5,690,152 11,787,951 348,778 325,667 348,778 325,667 15,280 52,280 15,000 45,000 113,786,179 85,137,200 148,878,430 121,190,975 1,659,836,089 1,200,180,879 1,324,120,702 917,920,812


ANNUALREPORT2010

งบดุล (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หนวย:บาท) หมายเหตุ

หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เจาหนี้การคา เงินกูยืมระยะยาวที่ครบกําหนดชําระภายใน 1 ป หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป รายไดรับลวงหนา คางวดที่ยังไมรับรูเปนรายได คาใชจายคางจาย ภาษีเงินไดคางจาย เจาหนี้เงินประกันผลงาน คาสาธารณูปโภคสวนกลาง ของโครงการรอนําสง เจาหนี้คาที่ดิน หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน - สุทธิ รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

14 15 7, 8 7

14 15

งบการเงินรวม 2553 2552

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553 2552

74,833,975 209,028,667

97,288,648 -

48,002,138 33,864,077

41,272,588 -

434,977 460,000 63,040,454 28,229,757 19,828,186 41,417,028

199,626 4,172,332 123,106,810 12,459,867 16,421,794 23,047,177

434,977 199,626 460,000 4,158,332 53,119,067 101,632,254 17,378,846 6,447,578 3,837,023 14,576,870 23,892,769 14,348,576

4,009,458 15,951,585 1,987,362 459,221,449

4,247,748 7,441,630 288,385,632

2,047,488 4,247,748 15,951,585 1,433,423 1,732,816 200,421,393 188,616,388

521,915,488 17,620 521,933,108 981,154,557

327,102,637 228,554 327,331,191 615,716,823

521,915,488 151,694,900 17,620 228,554 521,933,108 151,923,454 722,354,501 340,539,842

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

43


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

งบดุล (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หนวย:บาท) หมายเหตุ

หนี้สินและสวนของผูถือหุน (ตอ) ทุนเรือนหุน - หุนสามัญ มูลคาหุนละ 5 บาท ทุนจดทะเบียน 80,000,000 หุน หุนที่ออกและเรียกชําระเต็มมูลคาแลว 80,000,000 หุน สวนเกินมูลคาหุน กําไรสะสม - จัดสรรเพื่อสํารองตามกฎหมาย - ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

44

งบการเงินรวม 2553 2552

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553 2552

400,000,000 400,000,000 400,000,000 400,000,000

400,000,000 400,000,000 400,000,000 400,000,000 23,477,851 23,477,851 23,477,851 23,477,851

16

12,699,121 9,012,231 12,699,121 9,012,231 242,504,560 151,973,974 165,589,229 144,890,888 678,681,532 584,464,056 601,766,201 577,380,970 1,659,836,089 1,200,180,879 1,324,120,702

917,920,812


ANNUALREPORT2010

งบกําไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หนวย:บาท) งบการเงินรวม 2553 2552

หมายเหตุ

รายไดจากการขาย รายไดจากการขายบานพรอมที่ดิน รายไดจากการขายหนวยในอาคารชุด รวมรายไดจากการขาย ตนทุนขาย ตนทุนขายบานพรอมที่ดิน ตนทุนขายหนวยในอาคารชุด รวมตนทุนขาย กําไรขั้นตน รายไดอื่น กําไรกอนคาใชจาย คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนผูบริหาร ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีเงินไดจากผลตางระหวางคาใชจายทางบัญชีและภาษี รวมคาใชจาย กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไรสุทธิ กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรสุทธิ (บาทตอหุน) จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (หุน)

7

19

7

20 19 7 20

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553 2552

197,318,300 587,125,981 784,444,281

445,948,897 144,395,149 590,344,046

197,318,300 445,948,897 270,223,774 467,542,074 445,948,897

146,299,338 380,743,934 527,043,272 257,401,009 4,226,102 261,627,111 16,059,587 46,608,074 12,868,307 22,354,835 5,092,244 102,983,047 158,644,064 2,893,942 155,750,122 41,532,646 114,217,476

321,091,132 96,193,145 417,284,277 173,059,769 3,389,280 176,449,049 14,619,038 39,183,979 13,736,420 5,278,066 72,817,503 103,631,546 1,792,004 101,839,542 28,101,755 73,737,787

146,315,339 184,478,848 330,794,187 136,747,887 8,239,242 144,987,129 10,205,367 43,068,812 12,868,307 11,896,861 3,066,748 81,106,095 63,881,034 1,120,205 62,760,829 18,375,598 44,385,231

321,091,132 321,091,132 124,857,765 7,642,890 132,500,655 9,912,859 33,561,461 13,736,420 511,324 57,722,064 74,778,591 1,792,004 72,986,587 24,138,359 48,848,228

1.43 80,000,000

0.92 80,000,000

0.55 80,000,000

0.61 80,000,000

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

45


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หนวย:บาท)

กําไรสะสม ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

สวนเกิน มูลคาหุน

400,000,000 400,000,000

23,477,851 23,477,851

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 400,000,000 กําไรสุทธิสําหรับป 16 จัดสรรเปนสํารองตามกฏหมาย 17 เงินปนผลจาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 400,000,000

23,477,851 23,477,851

หมายเหตุ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 กําไรสุทธิสําหรับป จัดสรรเปนสํารองตามกฏหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

46

จัดสรรเพื่อ สํารองตาม กฎหมาย

ยังไมได จัดสรร

รวม

8,736,086 78,512,332 510,726,269 - 73,737,787 73,737,787 276,145 (276,145) 9,012,231 151,973,974 584,464,056 9,012,231 3,686,890 12,699,121

151,973,974 114,217,476 (3,686,890) (20,000,000) 242,504,560

584,464,056 114,217,476 (20,000,000) 678,681,532


ANNUALREPORT2010

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน งบการเงินเฉพาะของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หนวย:บาท)

กําไรสะสม ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

สวนเกิน มูลคาหุน

400,000,000 400,000,000

23,477,851 23,477,851

8,736,086 276,145 9,012,231

96,318,805 528,532,742 48,848,228 48,848,228 (276,145) 144,890,888 577,380,970

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 400,000,000 กําไรสุทธิสําหรับป จัดสรรเปนสํารองตามกฏหมาย 16 เงินปนผลจาย 17 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 400,000,000

23,477,851 23,477,851

9,012,231 3,686,890 12,699,121

144,890,888 577,380,970 44,385,231 44,385,231 (3,686,890) (20,000,000) (20,000,000) 165,589,229 601,766,201

หมายเหตุ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 กําไรสุทธิสําหรับป จัดสรรเปนสํารองตามกฏหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

จัดสรรเพื่อ สํารองตาม กฎหมาย

ยังไมได จัดสรร

รวม

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

47


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

งบกระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หนวย:บาท) หมายเหตุ

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรกอนภาษีเงินได รายการปรับปรุงกระทบกําไรสุทธิเปนเงินสดสุทธิ ไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน คาเสื่อมราคา กําไรจากการจําหนายสินทรัพย ตัดจําหนายสินทรัพย ภาษีเงินไดจากผลตางระหวางคาใชจายทางบัญชีและภาษี ตนทุนทางการเงิน กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงใน สินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน สินทรัพยดําเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น): ลูกหนี้การคาและมูลคางานที่แลวเสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บ ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย ตนทุนการพัฒนาโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด เงินจายลวงหนาคากอสราง เงินมัดจําคาที่ดิน สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง): เจาหนี้การคา รายไดรับลวงหนา คางวดที่ยังไมรับรูเปนรายได คาใชจายคางจาย เจาหนี้เงินประกันผลงาน คาสาธารณูปโภคสวนกลางในโครงการรอนําสง เจาหนี้คาที่ดิน หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดไดมาจาก (ใชไปใน)การดําเนินงาน จายตนทุนทางการเงินเปนตนทุนการพัฒนาโครงการ จายตนทุนทางการเงินเปนคาใชจายในระหวางป จายภาษีเงินไดจากผลตางระหวางคาใชจายทางบัญชีและภาษี จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

48

งบการเงินรวม 2553 2552

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553 2552

155,750,122

101,839,542

62,760,829

72,986,587

7,713,999 31,567 118,373 5,092,244 2,893,942

10,428,903 (308,409) 6 1,792,004

7,032,289 (2,800) 94,694 3,066,748 1,120,205

5,671,429 (308,409) 6 1,792,004

171,600,247

113,752,046

74,071,965

80,141,617

(262,849,531) (66,800,288) (169,601,629) (31,120,047) (35,656,670) (31,120,047) (35,656,670) 41,412,793 (130,050,521) 25,677,349 23,786,248 15,202,495 3,589,707 (11,000,000) - (11,000,000) (287,673) (397,961) (4,265,884) (2,318,822) 37,000 14,000 30,000 (22,454,673) 74,523,006 6,729,550 (3,712,332) (4,066,777) (3,698,332) (60,066,356) 18,712,078 (48,513,187) 15,654,159 4,580,672 10,762,675 18,369,851 10,200,062 9,544,193 (238,290) 1,100,676 (2,200,260) 15,951,585 - 15,951,585 (5,454,267) 5,182,895 (299,393) (108,480,185) 14,879,466 (138,406,269) (28,011,647) (13,574,559) (14,173,965) (2,794,016) (1,815,792) (1,020,278) (5,092,244) - (3,066,748) (38,126,255) (11,679,961) (29,115,446) (182,504,347) (12,190,846) (185,782,706)

36,170,538 (4,003,777) 52,331,476 (486,201) 2,108,149 1,100,676 (216,311) 132,760,382 (7,701,664) (1,815,792) (9,561,489) 113,681,437


ANNUALREPORT2010

งบกระแสเงินสด (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หนวย:บาท) หมายเหตุ

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากธนาคารทีม่ ขี อ จํากัดในการใชลดลง เงินสดจายซือ้ อุปกรณ และโปรแกรมคอมพิวเตอร เงินสดรับจากการขายอุปกรณ เงินสดจายเพือ่ ตนทุนคากอสรางอาคาร เงินสดจายเพิม่ ทุนในโครงการรวมทุน เงินสดจายซือ้ ทีด่ นิ รอการพัฒนา เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดจายชําระเงินกูย มื ระยะสัน้ - บริษทั ทีเ่ กีย่ วของ เงินสดรับจากเงินกูย มื ระยะยาว เงินสดจายชําระเงินกูย มื ระยะยาว จายชําระหนีส้ นิ ตามสัญญาเชาการเงิน จายเงินสดปนผล เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) – สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิน้ ป รายการทีไ่ มเกีย่ วของกับเงินสด 1. ซือ้ ยานพาหนะตามสัญญาเชาทางการเงิน 2. โอนตนทุนการพัฒนาโครงการรวมทุนเพือ่ พัฒนาอาคารชุด เปนอาคารระหวางกอสราง

งบการเงินรวม 2553 2552 1,207,857 (677,638) 14,907 (34,082,873) (245,052,556) (278,590,303)

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553 2552

4,692,679 1,207,857 (447,933) (646,924) 308,411 2,804 - (35,000,000) - (245,052,556) 4,553,157 (279,488,819)

4,692,679 (438,003) 308,411 4,563,087

588,537,367 (184,695,848) (380,959) (20,000,000) 383,460,560 (77,634,090) 106,648,945 29,014,855

(25,000,000) 202,052,637 (80,047,500) (581,004) 96,424,133 88,786,444 17,862,501 106,648,945

421,093,540 (17,008,875) (380,959) (20,000,000) 383,703,706 (81,567,819) 101,733,114 20,165,295

(25,000,000) 73,194,900 (80,047,500) (581,004) (32,433,604) 85,810,920 15,922,194 101,733,114

405,375

447,750

405,375

447,750

-

70,835,973

-

-

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

49


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

31 ธันวาคม 2553 และ 2552

1.

ขอมูลทั่วไป บริษทั ฯ จดทะเบียนจัดตัง้ กับกระทรวงพาณิชยเปนบริษทั จํากัดเมือ่ วันที่ 14 สิงหาคม 2538 และจดทะเบียนซือ้ ขาย หุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2550 บริษัทดําเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษทั ฯ มีที่อยูตามที่จดทะเบียนตั้งอยูเลขที่ 555 อาคารรสา ทาวเวอร ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

2.

เกณฑในการจัดทําและนําเสนองบการเงินรวม 2.1 งบการเงินรวมนี้ไดจัดทําขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) และ โครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุดและพื้นที่พาณิชยกรรม ตามสัดสวนการลงทุนดังนี้ รายชื่อผูรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) บริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด

สัดสวนเงินลงทุน (รอยละ) 2553 2552 70 30

70 30

ลักษณะธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย

สวนแบงของบริษทั ในสินทรัพย หนีส้ นิ รายได และคาใชจา ยในโครงการรวมทุนทีเ่ ปนสาระสําคัญซึง่ ไดรวบรวมและแสดง ตามวิธีรวมตามสัดสวนตามเกณฑแตละบรรทัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดงั นี้ บาท ตนทุนการพัฒนาโครงการ สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน สวนไดเสีย – ตนงวด รายไดรวม ตนทุนขายและคาใชจายรวม

2553

2552

203,921,703 174,515,935 107,732,249 258,800,056 (7,083,085) 317,483,066 243,072,822

234,156,473 87,209,369 71,770,725 99,769,244 175,407,737 (17,806,474) 144,719,539 115,251,979

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ยอดสินทรัพยของโครงการรวมทุนเพือ่ พัฒนาอาคารชุด ซึง่ รวมอยูใ นงบการเงิน รวมคิดเปนรอยละ 29.29 และรอยละ 32.76 ของสินทรัพยรวม ตามลําดับ และรายไดสาํ หรับปสน้ ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ของโครงการรวมทุนเพือ่ พัฒนาอาคารชุด ซึง่ รวมอยูใ นงบการเงินรวมคิดเปนรอยละ 40.26 และ รอยละ 24.37 ของรายไดรวม ตามลําดับ 2.2 ยอดคงคางและรายการบัญชีกบั โครงการรวมทุนเพือ่ พัฒนาอาคารชุด ทีม่ สี าระสําคัญไดถกู หักออกจากงบการเงินรวมแลว 2.3 งบการเงินรวมจัดทําขึ้นโดยใชนโยบายการบัญชีเดียวกันสําหรับรายการบัญชีที่เหมือนกันหรือเหตุการณทางบัญชีที่ คลายคลึงกันสําหรับการจัดทํางบการเงินเฉพาะของบริษทั

50


ANNUALREPORT2010 3.

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ นโยบายการบัญชีที่สําคัญที่ใชในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะของบริษัทมีดังตอไปนี้ 3.1 เกณฑในการจัดทํางบการเงิน งบการเงินนีจ้ ดั ทําขึน้ ตามหลักการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไปตามพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 และพระราชบัญญัติ วิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย วาดวยการจัดทํา และนําเสนอรายงานทางการเงินภายใตพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 งบการเงินฉบับนีจ้ ดั ทําขึน้ เปนภาษาไทยตามมาตรฐานการบัญชีทก่ี าํ หนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 ซึง่ ถือเปนรายงานทางการเงินทีเ่ ปนทางการตามกฎหมาย การแปลงบการเงินฉบับนีเ้ ปนภาษาอืน่ ใหยดึ ถืองบการเงิน ฉบับภาษาไทย งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นโดยเฉพาะเจาะจง ในระหวางป 2553 สภาวิชาชีพบัญชีไดประกาศเรือ่ งมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานรายงานทางการเงินและแนวปฏิบตั ิ ทางการบัญชีซง่ึ ไดมกี ารออกใหมและปรับปรุงบางฉบับ และมีผลบังคับใชสาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีทเ่ี ริม่ ตนในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2554 และ 1 มกราคม 2556 ฝายบริหารของบริษทั ไดประเมินแลวเห็นวามาตรฐานการบัญชี มาตรฐาน รายงานทางการเงินและแนวปฏิบัติทางการบัญชีดังกลาวจะไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงิน สําหรับงวดที่เริ่มใชมาตรฐานการบัญชีดังกลาว ยกเวน ผลกระทบของการบังคับใชมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) เรื่องรายได ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 4 3.2 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคลองสูง ซึ่งถึงกําหนดจายคืนภายในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือนนับจากวันที่ไดมาและไมมีขอจํากัดในการเบิกใช 3.3 ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น และคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา แสดงตามมูลคาสุทธิที่จะไดรับ บริษัทบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับผลขาดทุนโดยประมาณ ทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการเก็บเงินจากลูกหนีไ้ มได ซึง่ โดยทัว่ ไปพิจารณาจากประสบการณการเก็บเงิน และการวิเคราะห อายุลูกหนี้คงคาง รวมถึงแนวโนมที่จะไดรับชําระเงินจากลูกหนี้โดยพิจารณาเปนรายๆไป 3.4 ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย แสดงในราคาทุน หรือมูลคาสุทธิทจ่ี ะไดรบั แลวแตราคาใดจะต่าํ กวาตนทุน การพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย ประกอบดวย ตนทุนทีด่ นิ คากอสราง และคาใชจา ยโดยตรงกับการพัฒนาโครงการ ซึ่งรวมทั้งดอกเบี้ยเงินกูยืมที่เกี่ยวของ โดยจะตัดจายเปนตนทุนขายตามอัตราสวนพื้นที่ที่ขายของแตละโครงการ 3.5 ตนทุนการกูยืม ดอกเบีย้ จายทีเ่ กิดจากเงินกูย มื เพือ่ ใชในการจัดหาและพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย ถือเปนสวนหนึง่ ของราคาทุน ของแตละโครงการ โดยจะหยุดบันทึกเมื่อการพัฒนาโครงการแลวเสร็จ หรือโครงการเกิดการหยุดชะงักลงจนกวา จะมีการดําเนินการพัฒนาตอไป

51


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC. 3.6 เงินลงทุนในโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด เงินลงทุนในโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุดในงบการเงินเฉพาะของบริษัท แสดงมูลคาตามราคาทุน สวนไดเสียในโครงการรวมทุนเพือ่ พัฒนาอาคารชุดในงบการเงินรวมแสดงโดยวิธรี วมตามสัดสวนตามเกณฑแตละบรรทัด เนือ่ งจากลักษณะของโครงการรวมทุนดังกลาวเปนการประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจของบุคคลหรือกิจการตัง้ แตสองราย ขึน้ ไปโดยใหมกี ารควบคุมรวมกันตามทีต่ กลงไวในสัญญาซึง่ ถือเปนกิจการรวมคาตามคํานิยามทีก่ าํ หนดในมาตรฐาน การบัญชี 3.7 อุปกรณ และยานพาหนะ อุปกรณ และยานพาหนะ แสดงมูลคาตามราคาทุน หักคาเสือ่ มราคาสะสม และคาเผือ่ การดอยคาของสินทรัพย (ถามี) คาเสื่อมราคาของอุปกรณ และยานพาหนะ คํานวณจากราคาทุนของสินทรัพยโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชงาน โดยประมาณดังนี้ เครื่องตกแตงและอุปกรณสํานักงาน 5 ป ยานพาหนะ 5 ป หองชุดตัวอยาง 3-4 ป กําไรหรือขาดทุนจากการจําหนายอุปกรณและยานพาหนะ คํานวณจากผลตางระหวางเงินสดรับสุทธิกับราคาตาม บัญชีและรับรูเปนรายไดอื่น หรือคาใชจายอื่นในงบกําไรขาดทุน รายจายเกี่ยวกับการตอเติม การทําขึ้นใหม หรือการปรับปรุงสินทรัพยใหดีขึ้น ซึ่งทําใหราคาเปลี่ยนแทนในปจจุบัน ของสินทรัพยเพิ่มขึ้นอยางเปนสาระสําคัญ จะรวมเปนราคาทุนของสินทรัพย สวนคาซอมแซมและคาบํารุงรักษา รับรูเปนคาใชจายในรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้น 3.8 การดอยคาของสินทรัพย ยอดสินทรัพยคงเหลือตามบัญชีนอกจากสินคาคงเหลือและลูกหนี้การคาไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่ในงบดุลวา มีขอ บงชีเ้ รือ่ งการดอยคาหรือไม ในกรณีทมี่ ขี อ บงชี้ บริษทั จะทําการประมาณมูลคาสินทรัพยทคี่ าดวาจะไดรบั คืน โดยจะรับรูการดอยคาเมื่อมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยสูงกวามูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับคืน และบันทึกขาดทุน จากการดอยคาไวในงบกําไรขาดทุน การคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน - มูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืน หมายถึงราคาขายของสินทรัพย หรือมูลคาจากการใชของสินทรัพย แลวแตมลู คาใดจะ สูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชของสินทรัพย ประมาณการกระแสเงินสด ทีจ่ ะไดรบั ในอนาคตจะคิดลด เปนมูลคาปจจุบนั โดยใชอตั ราคิดลดกอนคํานวณภาษีเงินได เพือ่ ใหสะทอนมูลคาทีอ่ าจประเมินไดในตลาดปจจุบนั ซึง่ แปรไปตามเวลาและความเสีย่ งทีม่ ตี อ สินทรัพย สําหรับสินทรัพยทไ่ี มกอ ใหเกิดเงินสดซึง่ สวนใหญเปนหนวยแยก อิสระจากสินทรัพยอน่ื ๆ บริษทั จะพิจารณามูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืนใหสอดคลองกับหนวยสินทรัพยทก่ี อ ใหเกิด เงินสดที่สินทรัพยนั้นมีความเกี่ยวของดวย การกลับรายการดอยคา - บริษทั จะกลับรายการบัญชีขาดทุนจากการดอยคา หากมีการเปลีย่ นแปลงประมาณการทีใ่ ชในการคํานวณมูลคา ที่คาดวาจะไดรับคืน - บริษทั จะกลับรายการบัญชีขาดทุนจากการดอยคาเพียงเพือ่ ใหมลู คาตามบัญชีของสินทรัพย ไมเกินกวามูลคาตาม บัญชีภายหลังหักคาเสื่อมราคาหรือคาตัดจําหนาย เทากับจํานวนที่ไมเคยมีการบันทึกขาดทุนจากการดอยคา มากอน รายการกลับรายการขาดทุนจากการดอยคาจะบันทึกเปนรายไดในงบกําไรขาดทุน 52


ANNUALREPORT2010 3.9

สัญญาเชาระยะยาว – กรณีที่บริษัทเปนผูเชา การเชาอุปกรณ ซึ่งพิจารณาวาความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของทั้งหมดไดโอนใหบริษัทแลว เปนสัญญาเชาการเงิน บริษัทจะบันทึกมูลคาของสินทรัพยเปนรายจายฝายทุนตามมูลคายุติธรรมสุทธิของ สินทรัพยทเ่ี ชาหรือมูลคาปจจุบนั สุทธิของจํานวนเงินทีต่ อ งจายตามสัญญาเชา แลวแตจาํ นวนใดจะต่าํ กวา โดยจํานวนเงิน ทีต่ อ งจายจะแบงเปนสวนของหนีส้ นิ และคาใชจา ยทางการเงิน เพือ่ ใหจาํ นวนเงินทีต่ อ งจายในแตละงวดมีจาํ นวนคงที่ คาเชาซึ่งตองจายตามภาระผูกพันหักกับคาใชจายทางการเงินจะบันทึกเปนหนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน สวนดอกเบีย้ จายจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเชา สินทรัพยภายใตสญ ั ญาเชาการเงิน จะคิดคา เสื่อมราคาตลอดอายุของการใชงานของสินทรัพยนั้น การเชาสินทรัพยโดยที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของตกอยูกับผูใหเชา จะถูกจัดเปนสัญญา เชาดําเนินงาน การชําระเงินภายใตสัญญาเชาดําเนินงาน จะถูกบันทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนโดยวิธี เสนตรงตลอดอายุสัญญาเชาคาใชจายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกสัญญาเชาดําเนินงานกอนหมดอายุการเชา เชน เบี้ยปรับที่ตองจายใหผูใหเชา จะถูกบันทึกเปนคาใชจายในรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการยกเลิกสัญญา

3.10 ประมาณการหนี้สิน บริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินและคาใชจายไวในงบการเงินเมื่อบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือ เปนภาระผูกพันทีค่ อ นขางแนนอนทีม่ ผี ลสืบเนือ่ งจากเหตุการณในอดีต ซึง่ อาจทําบริษทั ตองชําระหรือชดใชเงิน ตามภาระผูกพันนัน้ และจํานวนทีต่ อ งชดใชดงั กลาวสามารถประมาณไดอยางสมเหตุสมผล สินทรัพยทอ่ี าจเกิดขึน้ จะถูกรับรูเปนสินทรัพยแยกตางหาก เมื่อมีปจจัยสนับสนุนวาจะไดรับคืนแนนอน 3.11 เครื่องมือทางการเงิน สินทรัพยทางการเงินทีแ่ สดงในงบดุลประกอบดวยเงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินลงทุน หนีส้ นิ ทางการเงินทีแ่ สดง ในงบดุล ประกอบดวยเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เจาหนี้การคา และเงินกูยืม ซึ่งนโยบายการบัญชีเฉพาะสําหรับ รายการแตละรายการไดเปดเผยแยกไวในแตละหัวขอที่เกี่ยวของ 3.12 การรับรูรายไดและคาใชจาย รายไดจากการขายบานพรอมที่ดิน รับรูเปนรายได เมื่องานกอสรางเสร็จ และมีการโอนกรรมสิทธิ์แกผูซื้อ รายไดจากการขายหนวยในอาคารชุด รับรูเ ปนรายไดตามวิธอี ตั ราสวนของงานทีท่ าํ เสร็จ ซึง่ คํานวณตามอัตราสวน ตนทุนของงานทีเ่ กิดขึน้ แลว กับตนทุนทัง้ หมดของโครงการทีป่ ระมาณวาจะใชในการกอสราง ทัง้ นีไ้ มรวมตนทุนทีด่ นิ โดยบริษัทฯ จะรับรูรายไดภายใตเงื่อนไขที่สําคัญ ดังนี้ - แตละสัญญาที่รับรูรายได จะตองไดรับชําระเงินอยางนอยรอยละ 20 ของสัญญาแตละสัญญา - โครงการที่พัฒนา ไดผานขั้นตอนเบื้องตนแลว ไมนอ ยกวารอยละ 10 ของงานกอสราง - ตองมีการทําสัญญาขายแลว ไมนอยกวารอยละ 40 ของพื้นที่ที่เปดขาย หรือที่เปดจอง รายไดอื่นและคาใชจาย รับรูตามเกณฑคงคาง 3.13 ภาษีเงินได บริษัทบันทึกภาษีเงินไดโดยคํานวณจากกําไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร 3.14 กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรตอหุน ขัน้ พืน้ ฐานคํานวณโดยการหารกําไรสุทธิสาํ หรับปดว ยจํานวนถัวเฉลีย่ ถวงน้าํ หนักของหุน สามัญระหวางป 3.15 ผลประโยชนพนักงาน บริษัทรับรูเงินเดือน คาจาง โบนัส เงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเปนคาใชจาย ตามเกณฑ คงคาง 53


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC. 4.

ผลกระทบของการบังคับใชมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) เรื่องรายได ในระหวางป 2553 สภาวิชาชีพบัญชีไดประกาศใชมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) เรือ่ งรายได ซึง่ กําหนด ใหบริษัทรับรูรายไดจากการขายอสังหาริมทรัพยทั้งจํานวนเมื่อมีการโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่มีนัยสําคัญของ ความเปนเจาของใหกบั ผูซ อ้ื แลว โดยมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงดังกลาวมีผลบังคับใชกบั งบการเงินสําหรับรอบระยะเวลา บัญชีทเ่ี ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 ปจจุบนั รายไดจากการขายหนวยในอาคารชุดในงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะของบริษัทสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 รับรูรายไดตามวิธีอัตราสวนของงานที่ทําเสร็จ ซึง่ ผูบ ริหารจะเปลีย่ นนโยบายบัญชีการรับรูร ายไดจากการขายหนวยในอาคารชุดเมือ่ มาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงดังกลาว มีผลบังคับใช ผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ จากการเบลีย่ นนโยบายการบัญชีเมือ่ มาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงดังกลาวมีผลบังคับใชทม่ี ตี อ งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 งบกําไรขาดทุนสําหรับแตละปสิ้นสุดวันเดียวกันมีดังนี้ (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2553

2552

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553

2552

งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม ลูกหนี้การคาลดลงและมูลคางานที่เสร็จ แตยังไมไดเรียกเก็บลดลง ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย รายไดรับลวงหนาเพิ่มขึ้น คาใชจายคางจายลดลง กําไรสะสม - ยังไมไดจัดสรรลดลง

(262,849,531) (66,800,288) (169,601,629) 247,881,237 96,193,144 184,478,848 110,450,965 77,594,861 100,622,145 (12,324,106) (4,766,742) (8,922,408 (113,095,153) (43,435,262) (76,822,518)

-

(373,300,496) (144,395,148) (270,223,774) (247,881,237) (96,193,144) (184,478,848) (12,324,106) (4,766,742) (8,922,408) (113,095,153) (43,435,262) (76,822,518) (1.41) (0.54) (0.96)

-

งบกําไรขาดทุนสําหรับปสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม รายไดจากการขายลดลง ตนทุนขายลดลง ภาษีธุรกิจเฉพาะลดลง กําไรสุทธิลดลง กําไรตอหุน ขัน้ พืน้ ฐานลดลง (บาท)

5.

ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ขอสมมติฐาน การใชดุลยพินิจ และการจัดการความเสี่ยงในสวนของทุน 5.1 ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ขอสมมติฐาน และการใชดุลยพินิจ การประมาณการ ขอสมมติฐาน และการใชดุลยพินิจไดมีการประเมินทบทวนอยางตอเนื่องและอยูบนพื้นฐานของ ประสบการณในอดีตและปจจัยอืน่ ๆ ซึง่ รวมถึงการคาดการณถงึ เหตุการณในอนาคตทีเ่ ชือ่ วามีเหตุผลในสถานการณขณะนัน้ ก. คาเผื่อลดมูลคาสําหรับบานและอาคารชุดเคลื่อนไหวชา และเสื่อมคุณภาพ บริษทั ไดประมาณการคาเผือ่ ลดมูลคาสําหรับบานและอาคารชุดเคลือ่ นไหวชา และเสือ่ มคุณภาพเพือ่ ใหสะทอนถึง การดอยคาลงของบานและอาคารชุด โดยการประมาณการนัน้ จะพิจารณาจากการหมุนเวียนและการเสือ่ มสภาพ ของสินคาคงเหลือประเภทตางๆ ข. อาคาร อุปกรณ และยานพาหนะ และสินทรัพยไมมีตัวตน ฝายบริหารเปนผูป ระมาณการของอายุการใชงานและมูลคาซากของอาคารและอุปกรณ และสินทรัพยไมมตี วั ตน ของบริษทั โดยจะทบทวนคาเสือ่ มราคาเมือ่ อายุการใชงานและมูลคาซากมีความแตกตางไปจากการประมาณการ ในงวดกอน หรือมีการตัดจําหนายสินทรัพยที่เสื่อมสภาพหรือไมไดใชงานอีกตอไป

54


ANNUALREPORT2010 5.2 การจัดการความเสี่ยงในสวนของทุน วัตถุประสงคของบริษทั ในการบริหารทุนของบริษทั นัน้ เพือ่ ดํารงไวซง่ึ ความสามารถในการดําเนินงานอยางตอเนือ่ ง ของบริษทั เพือ่ สรางผลตอบแทนตอผูถ อื หุน และเปนประโยชนตอ ผูท ม่ี สี ว นไดเสียอืน่ และเพือ่ ดํารงไวซง่ึ โครงสรางของทุน ที่เหมาะสม เพื่อลดตนทุนทางการเงินของทุน ในการดํารงไวหรือปรับโครงสรางของทุน บริษทั อาจออกหุน ใหมหรือออกหุน กูเ พือ่ ปรับ โครงสรางหนี้ หรือการขายทรัพยสนิ เพื่อลดภาระหนี้ 6.

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

(หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2553

เงินสด เงินฝากธนาคาร รวม 7.

งบการเงินเฉพาะของบริษัท

2552

2553

89,021 20,164 28,925,834 106,628,781 29,014,855 106,648,945

2552

14,997 16,335 20,150,298 101,716,779 20,165,295 101,733,114

รายการบัญชีกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษทั มีรายการบัญชีทเ่ี กิดขึน้ กับบุคคลและบริษทั ทีเ่ กีย่ วของกัน บุคคลและบริษทั เหลานีเ้ กีย่ วของกันโดยมีการถือหุน และ/หรือ กรรมการรวมกัน ดังนัน้ งบการเงินนีจ้ งึ รวมถึงผลของรายการเหลานีต้ ามมูลฐานทีพ่ จิ ารณารวมกันระหวางบริษทั กับบุคคล และบริษัทที่เกี่ยวของกัน ซึ่งเกณฑที่ใชบางกรณีอาจใชเกณฑที่แตกตางจากรายการกับบุคคลภายนอก ลักษณะความสัมพันธ บุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกัน นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นายโกวิท ไววัฒนา นางสาวนันทรัตน โกวิทคณิต นายสยาม อเดโช บริษัท รสาทาวเวอร จํากัด บริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด

ลักษณะความสัมพันธ กรรมการและผูถือหุนของบริษัท กรรมการและผูถือหุนของบริษัท พนักงานระดับผูจัดการของบริษัท พนักงานและผูถือหุนของบริษัท บริษัทที่เกี่ยวของกันโดยมีกรรมการและผูถือหุนรวมกัน บริษัทผูรวมทุน โดยมีความสัมพันธทางเครือญาติกับ กรรมการและผูถือหุนของบริษัท

รายการระหวางบุคคลและบริษทั ทีเ่ กีย่ วของกันทีม่ สี าระสําคัญ สําหรับปสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดงั นี้ (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2553

รายไดจากการขายหองชุดในอาคารชุด คาเชา คาบริหารโครงการ คาที่ปรึกษา

ดอกเบี้ยจาย

งบการเงินเฉพาะของบริษัท

2552

2553

2552

6,076,765

-

4,319,930

-

1,156,452 732,480

1,051,320 732,480

1,156,452 -

1,051,320 -

1,200,000 1,200,000 1,200,000

1,200,000

-

844,007

-

844,007

55


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC. ยอดคงเหลือระหวางบริษัทกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของที่มีสาระสําคัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปไดดังนี้ (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2553

มูลคางานทีแ่ ลวเสร็จแตยงั ไมไดเรียกเก็บ นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นางสาวนันทรัตน โกวิทคณิต รวม

8.

2552

2553

2552

800,520 925,430 1,725,950

-

800,520 925,430 1,725,950

-

-

1,688,680 669,500 238,000 2,596,180

-

1,688,680 669,500 2,358,180

1,220,800

488,320

-

-

คางวดที่ยังไมรับรูเปนรายได นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นางสาวนันทรัตน โกวิทคณิต นายสยาม อเดโช รวม คาใชจายคางจาย บริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด

งบการเงินเฉพาะของบริษัท

ลูกหนี้การคาและมูลคางานที่แลวเสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บ (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2553 จํานวนโครงการอาคารชุด มูลคาการขายอาคารชุดที่ไดมีการ ทําสัญญาแลว มูลคาขายรวมในโครงการอาคารชุดทั้งหมด อัตราสวนของมูลคาซื้อขายอาคารชุด ที่ไดมีการขาย คางวดที่ถึงกําหนดชําระแลว หัก เงินรับชําระแลว ลูกหนี้คางวดคางชําระ

56

งบการเงินเฉพาะของบริษัท

2552 2

2553

2552

2

1

1

1,362,352,470 1,013,233,118

798,750,596

549,580,420

2,339,000,000 2,500,000,000 1,450,000,000 1,450,000,000

58.25%

40.53%

55.09%

37.90%

465,795,384 201,255,246 154,529,912 101,632,254 (464,911,764) (200,701,671) (153,741,212) (101,632,254) 883,620 553,575 788,700 -


ANNUALREPORT2010 มูลคางานที่แลวเสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บและคางวดที่ยังไมรับรูเปนรายได ประกอบดวย (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2553 คางวดที่ถึงกําหนดชําระ หัก รายไดที่รับรูแลว รายการดังกลาวประกอบดวย มูลคางานที่แลวเสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บ คางวดที่ยังไมรับรูเปนรายได สุทธิ

2552

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553

2552

465,795,384 201,255,246 154,529,912 101,632,254 (731,521,129) (144,395,149) (270,223,774) (265,725,745) 56,860,097 (115,693,862) 101,632,254

328,766,199

66,246,713 168,812,929

(63,040,454) (123,106,810) 265,725,745 (56,860,097)

-

(53,119,067) (101,632,254) 115,693,862 (101,632,254)

ลูกหนี้การคาและมูลคางานที่แลวเสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2553

มูลคางานที่เสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บ ลูกหนี้คางวดคางชําระ รวม

328,766,199 883,620 329,649,819

2552

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553

2552

66,246,713 168,812,929 553,575 788,700 66,800,288 169,601,629

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ลูกหนี้การคาและมูลคางานที่แลวเสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บแยกตามอายุหนี้ คางชําระได ดังนี้ (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2553

มูลคางานที่แลวเสร็จแตยังไมไดเรียกเก็บ ลูกหนี้คางวดคางชําระเกินกําหนดชําระ: นอยกวาหรือเทากับ 3 เดือน มากกวา 3 เดือนขึ้นไป รวม

2552

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553

328,766,199 66,246,713 168,812,929

355,400

540,415

2552 -

312,700

-

528,220 13,160 476,000 329,649,819 66,800,288 169,601,629

-

57


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC. 9.

ตนทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย - สุทธิ (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2553 ที่ดิน 339,271,150 คาพัฒนาที่ดิน 3,546,000 งานระหวางกอสราง 736,102,363 งานสาธารณูปโภค 29,473,048 คาใชจายทางการเงินที่บันทึกเปนตนทุนโครงการ 39,798,050 คาใชจายในการพัฒนาโครงการ 16,323,995 รวม 1,164,514,606 หัก จํานวนสะสมที่โอนเปนตนทุนขาย (457,687,337) สุทธิ 706,827,269

2552

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553

2552

508,260,282 339,271,150 508,260,282 22,790,000 3,546,000 22,790,000 720,199,697 736,102,363 720,199,697 68,326,233 29,473,048 68,326,233 41,694,801 39,798,050 41,694,801 19,702,000 16,323,995 19,702,000 1,380,973,013 1,164,514,606 1,380,973,013

(719,508,424) (457,687,337) (719,508,424) 661,464,589 706,827,269 661,464,589

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางดังกลาวขางตนติดจํานองเปนหลักทรัพยค้ําประกัน สินเชื่อที่ไดรับจากธนาคารตามหมายเหตุ 14 10.

ตนทุนการพัฒนาโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด – สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ตนทุน (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม 2553 ที่ดิน งานระหวางกอสราง คาใชจายทางการเงินที่บันทึกเปนตนทุนโครงการ คาใชจายในการพัฒนาโครงการ รวม หัก จํานวนสะสมที่โอนเปนตนทุนขาย สุทธิ

2552

87,979,378 88,789,018 381,668,998 226,768,481 18,547,252 7,369,227 8,184,304 7,422,891 496,379,932 330,349,617 (292,458,229) (96,193,144) 203,921,703 234,156,473

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553

2552 -

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ตนทุนการพัฒนาโครงการรวมทุนเพือ่ พัฒนาอาคารชุดพรอมสิง่ ปลูกสรางทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต ถูกนําไปเปนหลักทรัพยค้ําประกันเงินกูยืมจากธนาคารแหงหนึ่งจํานวน 500 ลานบาท บริษัทค้ําประกันเงินกู ดังกลาวทั้งจํานวนโดยผูรวมทุนอีกฝายไมไดรวมค้ําประกัน 11.

58

เงินลงทุนในโครงการรวมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด และพื้นที่พาณิชยกรรม เมือ่ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2550 บริษทั เขาทําสัญญารวมลงทุนกับบริษทั สยามไพรมเอสเตท จํากัด โดยนายนรินทร สุวรรณสรางค และนายธนพัฒน สุวรรณสรางค (ซึ่งเปนบุคคลที่เกี่ยวของกัน) กรรมการทั้งสองฝายมีความประสงคที่จะรวมลงทุนเพื่อ พัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัย และพื้นที่พาณิชยกรรม โดยแบงแยกหนาที่และความรับผิดชอบในการดําเนินงานและ บริหารไดดังนี้


ANNUALREPORT2010 11.1

สัดสวนการลงทุน คูสัญญา

บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) (คูสัญญาที่ 1) บริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด (คูสัญญาที่ 2)

สัดสวนการลงทุน (รอยละ)

70 ของเงินทุน 30 ของเงินทุน

โดยในระยะเริ่มตนของการดําเนินโครงการ ใหคูสัญญาแตละฝายนําเงินลงทุน เปนจํานวน ดังตอไปนี้ บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) (คูสัญญาที่ 1) บริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด (คูสัญญาที่ 2) จํานวนเงินลงทุนเริ่มตนของโครงการรวมทั้งสิ้น

107,824,500 บาท 46,210,500 บาท 154,035,000 บาท

ในระหวางป 2553 คูสัญญาทั้งสองฝายตกลงจายเพิ่มเงินลงทุนในโครงการจํานวนเงิน 50 ลานบาทในสัดสวนเทาเดิม ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เงินลงทุนคงเหลือของแตละฝายเปนจํานวนดังตอไปนี้ บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) (คูสัญญาที่ 1) 142,824,500 บาท บริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด (คูสัญญาที่ 2) 61,210,500 บาท 204,035,000 บาท จํานวนเงินลงทุนของโครงการรวมทั้งสิ้น 11.2 การแบงกําไร และ/หรือขาดทุน การแบงกําไร และ/หรือขาดทุนกันภายหลังการนํารายจายทัง้ หมด รวมทัง้ เงินทีค่ สู ญ ั ญานํามารวมลงทุนมาหัก ออกจากรายไดทั้งหมด โดยการแบงกําไรและ /หรือขาดทุนดังกลาวใหเปนไปตามสัดสวนของการลงทุน โดย แบงเปน 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 11.3

11.4

เมื่อโอนกรรมสิทธิ์และ / หรือใหเชาอาคารชุดและ / หรือพื้นที่พาณิชยกรรมหรือพลาซา รวมกันไดรอยละ 80 ของพื้นที่ของโครงการทั้งหมด เมือ่ โอนกรรมสิทธิแ์ ละ / หรือใหเชาอาคารชุดและ / หรือพืน้ ทีพ่ าณิชยกรรมหรือพลาซาได แลวทัง้ หมด

การดําเนินโครงการ ั ญาแตละฝายมีสทิ ธิไดรบั เงินคาใชจา ยในการบริหารงานภายในองคกรอันเกีย่ วเนือ่ ง ในการดําเนินโครงการใหคสู ญ กับการดําเนินโครงการเปนรายเดือนจนกวาสัญญาจะสิ้นสุดลงในอัตราดังตอไปนี้ คูสัญญา

คาใชจายตอเดือน (บาท)

บริษัท รสา พร็อพเพอรตี้ ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) (คูสัญญาที่ 1) บริษัท สยามไพรมเอสเตท จํากัด (คูสัญญาที่ 2)

381,500 87,200

กรรมสิทธิ์ คูส ญ ั ญาทัง้ สองฝายตกลงใหคสู ญ ั ญาที่ 1 เปนผูม กี รรมสิทธิใ์ นบรรดาพืน้ ทีข่ องโครงการอาคารชุดพักอาศัยพืน้ ที่ พาณิชยกรรมหรือพลาซาและ / หรือสิง่ กอสรางใดๆ บนพืน้ ทีข่ องโครงการเพือ่ ประโยชนรว มกันของคูส ญ ั ญาทัง้ สองฝาย เพื่อใหดําเนินการตามโครงการประสบความสําเร็จ ในการดําเนินโครงการนัน้ คูส ญ ั ญาตกลงกูย มื เงินธนาคารหรือสถาบันการเงิน โดยใชพน้ื ทีข่ องโครงการ รวมถึง สิ่งปลูกสรางบนพื้นที่ของโครงการเปนหลักประกัน บริษัทไดรับอนุมัติสินเชื่อในรูปเงินกูยืมระยะยาวแลวจาก สถาบันการเงินแหงหนึ่งวงเงินกู 500 ลานบาท

59


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC. 12.

ทีด่ นิ รอการพัฒนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ทีด่ นิ รอการพัฒนาจํานวนเงิน 245.05 ลานบาท ติดจํานองเปนหลักทรัพยคาํ้ ประกันสินเชือ่ ทีไ่ ดรบั จากธนาคารตามหมายเหตุ 14

13.

อาคาร อุปกรณ และยานพาหนะ – สุทธิ

(หนวย : บาท) งบการเงินรวม

2552

ราคาทุน เครื่องตกแตง เครื่องใชสํานักงาน หองชุดตัวอยาง ยานพาหนะ อาคารระหวางกอสราง รวม

เพิ่มขึ้น

ลดลง

2,436,642 35,000 2,678,398 484,403 20,207,088 9,563,544 540,500 70,835,972 36,689,668 105,721,644 37,749,571

โอนเขา (ออก)

2553

830,707 453,771 11,963,420 13,247,898

-

1,640,935 2,709,030 8,243,668 10,104,044 107,525,640 130,223,317

700,084 419,547 11,963,420 13,083,051

-

1,084,652 1,896,929 5,586,948 8,232,667 16,801,196

คาเสื่อมราคาสะสม เครื่องตกแตง เครื่องใชสํานักงาน หองชุดตัวอยาง ยานพาหนะ รวม

1,495,673 2,001,971 11,576,564 7,096,040 22,170,248

มูลคาตามบัญชี

83,551,396

113,422,121

คาเสื่อมราคาสําหรับป

10,428,903

7,713,999

289,063 314,505 5,973,804 1,136,627 7,713,999

(หนวย : บาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2552

เพิ่มขึ้น

ลดลง

ราคาทุน เครื่องตกแตง เครื่องใชสํานักงาน หองชุดตัวอยาง ยานพาหนะ รวม

1,882,348 2,596,769 12,469,474 9,563,544 26,512,135

35,000 453,688 540,500 1,029,188

728,898 430,092 4,225,806 5,384,796

-

1,188,450 2,620,365 8,243,668 10,104,044 22,156,527

คาเสื่อมราคาสะสม เครื่องตกแตง เครื่องใชสํานักงาน หองชุดตัวอยาง ยานพาหนะ รวม

1,251,321 1,973,594 4,403,229 7,096,040 14,724,184

188,545 297,591 5,409,526 1,136,627 7,032,289

644,744 419,547 4,225,807 5,290,098

-

795,122 1,851,638 5,586,948 8,232,667 16,466,375

มูลคาตามบัญชี

11,787,951

5,690,152

5,671,429

7,032,289

คาเสื่อมราคาสําหรับป

โอนเขา (ออก)

2553

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯ มีทรัพยสินบางรายการที่คํานวณคาเสื่อมราคาหมดแลวแตยังใช ดําเนินงานอยู ราคาทุนจํานวนเงิน 5.39 ลานบาท และ 5.99 ลานบาท ตามลําดับ

60


ANNUALREPORT2010 14.

เงินกูยืมระยะยาว งบการเงินรวม 2553

เงินกูยืมระยะยาว หัก สวนที่ครบกําหนดชําระภายใน 1 ป สุทธิ

2552

(หนวย : บาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553

730,944,155 327,102,637 555,779,565 (209,028,667) - (33,864,077) 521,915,488 327,102,637 521,915,488

2552 151,694,900 151,694,900

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษทั มีเงินกูย มื ระยะยาวจากธนาคาร 3 แหง และ 2 แหง ดังนี้ (หนวย : ลานบาท) งบการเงินรวม วงเงินกู 227 ลานบาท

อัตราดอกเบี้ย อัตรา MLR-0.5% ตอป

การจายชําระ จายชําระคืนเงินตน เมือ่ มีการไถถอน จํานองหลักประกันที่ดินพรอมสิ่ง ปลูกสราง ในอัตรา รอยละ 65 ของราคาขายโดยมีกําหนดชําระ ใหเสร็จสิ้น ภายในป 2554

2553 8.96

2552

520 ลานบาท

อัตรา MLR-0.5% ตอป

จายชําระคืนเงินตน เมือ่ มีการไถถอน จํานองหลักประกันที่ดินพรอมสิ่ง ปลูกสราง ในอัตรารอยละ 65 ของ ราคาขาย โดยมีกําหนดชําระให เสร็จสิ้นภายในป 2555

384.17

151.69

538.5 ลานบาท

ปที่ 1-2 อัตรา MLR-0.75% ตอป ปที่ 3 เปนตนไป อัตรา MLR-0.25% ตอป

จายชําระคืนเงินตน เมือ่ มีการไถถอน จํานองหลักประกันที่ดินพรอมสิ่ง ปลูกสราง ในอัตรารอยละ 75 ของ ราคาขาย โดยมีกําหนดชําระให เสร็จสิ้นภายในป 2554

175.16

175.41

308 ลานบาท

ปท่ี 1 อัตรา MLR-0.75% ตอป ปที่ 2 อัตรา MLR-0.5% ตอป ปที่ 3 เปนตนไป อัตรา MLR ตอป

จายชําระคืนเงินตน เมือ่ มีการไถถอน จํานองหลักประกันที่ดินพรอมสิ่ง ปลูกสราง ในอัตรารอยละ 70 ของ ราคาขาย โดยมีกําหนดชําระให เสร็จสิ้นภายในป 2558

50.00

-

127.18 ลานบาท

อัตรา MLR+1% ตอป

ชําระคืนเงินกูเปนรายเดือน รวม 60 งวด ทุกวันที่ 27 ของเดือน (งวดที่ 1-59 จํานวน 2,800,000 บาท สวนงวดที่ 60 สวนทีเ่ หลือทัง้ หมด) เริม่ ชําระงวดแรกวันที่ 27 มกราคม 2554

112.65

-

730.94

327.10

-

61


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC. 15.

หนีส้ นิ ตามสัญญาเชาการเงิน สินทรัพยตามสัญญาเชาทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย (หนวย : บาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท

งบการเงินรวม

ยานพาหนะ หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ

2553

2552

2553

2552

1,137,500 (228,013) 909,487

597,000 (2,290) 594,710

1,137,500 (228,013) 909,487

597,000 (2,290) 594,710

จํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายตามสัญญาเชาทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย (หนวย : บาท) จํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายตามสัญญาเชา งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท ภายใน 1 ป

ระหวาง 1 ถึง 5 ป

รวม

ภายใน 1 ป

ระหวาง 1 ถึง 5 ป

รวม

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 หนี้สินภายใตสัญญาเชาทางการเงิน 447,072 หัก ดอกเบี้ยจายรอตัดบัญชี (12,095) หนีส้ นิ ภายใตสญ ั ญาเชาทางการเงิน – สุทธิ 434,977

17,685 (65) 17,620

464,757 (12,160) 452,597

447,072 (12,095) 434,977

17,685 (65) 17,620

464,757 (12,160) 452,597

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 หนี้สินภายใตสัญญาเชาทางการเงิน 215,281 หัก ดอกเบี้ยจายรอตัดบัญชี (15,655) หนีส้ นิ ภายใตสญ ั ญาเชาทางการเงิน – สุทธิ 199,626

234,852 (6,298) 228,554

450,133 (21,953) 428,180

215,281 (15,655) 199,626

234,852 (6,298) 228,554

450,133 (21,953) 428,180

16.

สํารองตามกฎหมาย เพือ่ ใหเปนไปตามมาตรา 116 แหงพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษทั ตองจัดสรรกําไรสุทธิประจําป สวนหนึ่งไวเปนทุนสํารองไมนอยกวารอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวา ทุนสํารองนี้จะมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนําไปจาย เงินปนผลได

17.

เงินปนผลจาย เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2553 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2553 ของบริษัทไดมีมติอนุมัติการจายเงินปนผลจาก กําไรสุทธิหลังหักภาษี จากผลประกอบการของป 2552 ในอัตราหุนละ 0.25 บาทตอหุน สําหรับหุนสามัญจํานวน 80,000,000 หุน รวมเปนเงินทั้งสิ้น 20 ลานบาท ซึ่งบริษัทจายเงินปนผลดังกลาวแลวในเดือนพฤษภาคม 2553

18.

กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทฯและพนักงานไดเขารวมเปนสมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแลวตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารอง เลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 ซึง่ ประกอบดวยเงินทีพ่ นักงานจายสะสมและเงินทีบ่ ริษทั ฯจายสมทบ และจะจายใหพนักงานในกรณี ที่ออกจากงานตามระเบียบวาดวยกองทุนดังกลาว งบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯ มีการจายเงินกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน เปนจํานวนเงิน 0.65 ลานบาท และ 0.72 ลานบาท ตามลําดับ

62


ANNUALREPORT2010 19.

คาใชจายตามลักษณะ รายการคาใชจายตามลักษณะสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ (หนวย : บาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท

งบการเงินรวม 2553

20.

2552

2553

2552

ตนทุนการกอสราง การเปลี่ยนแปลงในตนทุนการพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย เงินเดือน คาแรง และผลประโยชนอื่น ของพนักงาน คาเสื่อมราคา คาเชาจาย คาสงเสริมการขาย คาใชจายในสํานักงาน คาบริหารโครงการ คาธรรมเนียมวิชาชีพ คาภาษีและอากรอื่น คาใชจายอื่น ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีเงินไดจากผลตางระหวางคาใชจาย ทางบัญชีและภาษี รวม

542,187,182 525,844,619 376,156,867 364,459,700

รวมตนทุนขาย รวมคาใชจาย รวม

527,043,272 417,284,277 330,794,187 321,091,132 102,983,047 72,817,503 81,106,095 57,722,064 630,026,319 490,101,780 411,900,282 378,813,196

(15,143,910) (108,560,342)

(45,362,680)

(43,368,568)

28,462,045 24,445,489 7,713,999 10,428,904 1,156,452 1,051,320 16,059,587 14,619,038 4,541,129 4,701,953 2,154,605 2,696,091 1,518,910 1,352,955 3,582,048 1,543,042 10,347,193 6,700,645 22,354,835 5,278,066

28,462,045 7,032,289 1,156,452 10,205,367 4,139,470 2,432,942 1,444,010 1,448,404 9,821,507 11,896,861

24,445,489 5,671,429 1,051,320 9,912,859 4,407,396 2,996,145 1,278,055 1,303,914 6,144,133 511,324

5,092,244 3,066,748 630,026,319 490,101,780 411,900,282 378,813,196

ภาษีเงินได สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯ คํานวณภาษีเงินไดนิติบุคคลในอัตรารอยละ 25 ของ กําไรสุทธิจากการขายอสังหาริมทรัพย ซึง่ คํานวณขึน้ ตามขอกําหนดในคําสัง่ กรมสรรพากรที่ ท.ป. 155/2549 และบวกกลับ ดวยรายการปรับปรุงตามที่ประมวลรัษฎากรกําหนด ยกเวน โครงการที่เริ่มพัฒนากอนรอบระยะเวลาบัญชีป 2550 บริษัทฯ ไดใชวิธีการคํานวณตามขอกําหนดในคําสั่งกรมสรรพากรที่ ป.61/2539

(หนวย : บาท)

งบการเงินรวม กําไรสุทธิทางบัญชี บวก ภาษีเงินได กําไรกอนภาษีเงินได บวก สวนไดเสียของผูรวมทุน กําไรกอนภาษีสําหรับคํานวณภาษีเงินได บวก รายการที่ตองบวกกลับตามประมวลรัษฎากร ภาษีเงินไดจากผลตางระหวางคาใชจา ยทางบัญชีและภาษี หัก รายไดที่ไมตองนํามาคํานวณภาษีเงินได กําไรสุทธิสําหรับคํานวณภาษีเงินได ภาษีเงินไดรวม หัก ภาษีเงินไดสวนที่เปนของผูรวมทุน ภาษีเงินได

2553

2552

114,217,476 41,532,646 155,750,122 40,720,624 196,470,746 27,249,509 5,092,244 (22,984,115) 205,828,384

73,737,787 28,101,755 101,839,542 12,365,553 114,205,095 9,820,490 (4,824,172) 119,201,413

51,457,096 (9,924,450) 41,532,646

29,800,353 (1,698,598) 28,101,755 63


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC. งบการเงินรวมของบริษัทไดรวมสินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจายของโครงการรวมทุน โดยใชวิธีรวมตามสัดสวน อยางไรก็ตาม กําไรสุทธิทางภาษี (หลังภาษีเงินได) สําหรับปสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 แสดงไดดงั นี้ (หนวย : บาท) 2553 รายไดจากการขาย หัก ตนทุนขาย กําไรขั้นตน รายไดอื่น กําไรกอนคาใชจาย คาใชจายในการขายและบริหาร คาตอบแทนผูบริหาร ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีเงินไดจากผลตางระหวางคาใชจายทางบัญชี และภาษี กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได คาใชจายทางการเงิน ภาษีเงินได กําไรสุทธิทางภาษี

2552

งบการเงินรวม

สวนของผูรวมทุน

จํานวนเงิน ตามภาษีเงินได

งบการเงินรวม

784,444,281

135,815,231

920,259,512

590,344,046

(527,043,272) 257,401,009

(84,113,608) (611,156,880) (417,284,277) 51,701,623

309,102,632

173,059,769

สวนของผูรวมทุน

จํานวนเงิน ตามภาษีเงินได

61,883,635

652,227,681

(41,225,633) (458,509,910) 20,658,002

193,717,771

4,226,102

248,940

4,475,042

3,389,280

139,025

3,528,305

261,627,111

51,950,563

313,577,674

176,449,049

20,797,027

197,246,076

(62,667,661)

(5,987,778)

(68,655,439)

(53,803,017)

(6,388,584)

(60,191,601)

(12,868,307)

-

(12,868,307)

(13,736,420)

-

(13,736,420)

(22,354,835)

(4,481,988)

(26,836,823)

(5,278,066)

(2,042,890)

(7,320,956)

(5,092,244)

(868,069)

(5,960,313)

-

-

-

158,644,064

40,612,728

199,256,792

103,631,546

12,365,553

115,997,099

(2,893,942)

(760,173)

(3,654,115)

(1,792,004)

-

(1,792,004)

(41,532,646)

(9,924,450)

(51,457,096)

(28,101,755)

(1,698,598)

(29,800,353)

114,217,476

29,928,105

144,145,581

73,737,787

10,666,955

84,404,742

21.

การเสนอขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน บริษัทดําเนินกิจการในสวนงานธุรกิจเดียว คือธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย และดําเนินธุรกิจในสวนงานทางภูมิศาสตร เดียวคือในประเทศไทย ดังนั้นรายไดและสินทรัพยทั้งหมดที่แสดงในงบการเงินจึงเกี่ยวกับสวนงานธุรกิจ และสวนงาน ทางภูมิศาสตรตามที่กลาวไว

22.

เครื่องมือทางการเงิน 22.1

การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ไมมีนโยบายในการประกอบธุรกรรมเกี่ยวกับตราสารทางการเงินเพื่อเก็งกําไรหรือเพื่อการคา

22.2

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในอนาคตซึ่งจะมีผลกระทบตอผล การดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ มีสินทรัพย และหนี้สินที่มีความเสี่ยงจากอัตรา ดอกเบี้ยดังนี้ งบการเงินรวม จํานวนเงิน (บาท)

เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค้ําประกัน เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคารพาณิชย

อัตราดอกเบี้ย (รอยละ)

2553

2552

2553

2552

28,925,834 730,944,155

104,975,166 1,207,857 327,102,637

0.125 – 0.75 0.75 5.50 – 7.62

0.125 – 0.75 0.75 5.50 – 5.85

งบการเงินเฉพาะของบริษัท จํานวนเงิน (บาท) เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค้ําประกัน เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคารพาณิชย 64

อัตราดอกเบี้ย (รอยละ)

2553

2552

2553

2552

20,150,298 555,779,565

99,898,089 1,207,857 151,694,900

0.125 – 0.75 0.75 5.85 – 7.62

0.125 – 0.50 0.75 5.85


ANNUALREPORT2010

23.

22.3

ความเสี่ยงจากการไมปฏิบัติตามสัญญา ความเสี่ยงจากการไมปฏิบัติตามสัญญา เกิดจากการที่ลูกคาไมปฏิบัติตามขอกําหนดในสัญญาจะซื้อจะขายซึ่ง กอใหเกิดความเสียหายแกบริษัทฯ ฝายบริหารเชื่อวาบริษัทฯ ไมมีความเสี่ยงที่เปนสาระสําคัญเกี่ยวกับการไม ปฏิบัติตามสัญญา เนื่องจากบริษัทฯ มีนโยบายปองกันความเสี่ยงโดยจัดใหมีการวางเงินดาวน อัตรารอยละ 10 - 30 ของมูลคาสัญญาจะซื้อจะขายและโอนกรรมสิทธิ์ใหกับลูกคาเมื่อจายเงินครบตามสัญญาดังกลาว

22.4

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษทั ฯ ไมมคี วามเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นในสกุลเงินตราตางประเทศ เนือ่ งจากบริษทั ฯ ไมมี ธุรกรรมทางการคาที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ

22.5

มูลคายุติธรรม สินทรัพยทางการเงินและหนี้สินทางการเงินสวนใหญจัดอยูในประเภทระยะสั้น เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร พาณิชย มีอตั ราดอกเบีย้ อยูใ นเกณฑเดียวกับตลาด ฝายบริหารจึงเชือ่ วามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยทางการเงิน และหนี้สินทางการเงินดังกลาว แสดงมูลคาไมแตกตางจากมูลคายุติธรรมอยางเปนสาระสําคัญ

ภาระผูกพันสําหรับการพัฒนาโครงการที่ยังไมแลวเสร็จ งบการเงินรวม

มูลคาขายที่ไดทําสัญญาแลวสะสมทั้งสิ้น อัตรารอยละของยอดขายรวมของโครงการที่ เปดดําเนินการอยู มูลคาขายที่ไดทําสัญญาแลวในระหวางป อัตรารอยละของยอดขายรวมของโครงการที่ เปดดําเนินการอยู

(หนวย : ลานบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท

2553

2552

2553

2552

1,170.22

1,049.48

828.00

585.83

30.97% 339.84

26.64% 455.60

28.65% 291.46

20.27% 263.07

8.99%

11.56%

10.09%

9.10%

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทมีภาระผูกพันที่จะตองทําการพัฒนาโครงการในสวนของสาธารณูปโภค สวนกลาง และภาระผูกพันที่จะตองกอสรางตามสัญญากอสรางโครงการ ดังนี้ งบการเงินรวม 2553

งานพัฒนาสาธารณูปโภคสวนกลางโครงการตางๆ งานกอสรางตามสัญญาโครงการตางๆ

0.32 213.33

2552

(หนวย : ลานบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553

0.32 604.77

0.32 183.82

2552 0.32 448.06

24.

หนังสือค้ําประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษทั มีภาระผูกพันทีธ่ นาคารออกหนังสือค้าํ ประกันใหในนามของบริษทั คงเหลือ จํานวน 2.76 ลานบาท และ 6.52 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติ ธุรกิจของบริษัท โดยมีที่ดินและสิ่งปลูกสรางตามหมายเหตุ 9 และเงินฝากประจําเปนหลักทรัพยค้ําประกัน

25.

การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการของบริษัทแลว เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2554

65


RASA PROPERTYDEVELOPMENT PLC.

66


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.