S : Annual Report 2012

Page 1

ANNUALREPORT 2012

1


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

สารบัญ

สารจากประธานกรรมการ

3

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

4

รายงานคณะกรรมการบริหาร

5

ข้อมูลทั่วไป

6

ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป

7-8

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

9 - 10

ปัจจัยความเสี่ยงของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

11 - 12

โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ

13 - 25

ประวัติโดยย่อของคณะกรรมการและผู้บริหารของบริษัท

26 - 33

รายการระหว่างกัน

34 - 37

คำอธิบายและวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน

38 - 39

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

40

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

41

งบแสดงฐานะการเงิน

2

42 - 67


ANNUALREPORT 2012

สารจากประธานกรรมการ เรียน

ท่านผู้ถือหุ้น

การปรับเปลีย่ นโครงสร้างทางเศรษฐกิจของโลกได้เป็นไปอย่างรวดเร็วและมีความซับซ้อนมากขึน้ การเติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศทางตะวันออกสูงขึน้ อย่างรวดเร็ว ในขณะทีป่ ระเทศทางตะวันตกซึง่ เคยเป็นตัวขับเคลือ่ นของเศรษฐกิจโลกเริม่ ชะลอตัวลง ซึ่งเมื่อเป็นไปแบบนี้เรื่อยๆขนาดของเศรษฐกิจของทางตะวันออกก็จะเข้าไปใกล้เคียงกับทางตะวันตกมากขึ้นจนเข้าสู่ความสมดุล ในที่สุด ในปี 2558 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC : ASEAN Economic Community) จะชัดเจนขึน้ กลุม่ 10 ประเทศใน เอเซียตะวันออกเฉียงใต้จะเป็นเขตการผลิต และตลาดหนึง่ เดียว (Single market and production base) ประเทศไทยตัง้ อยูบ่ นทำเล ที่เป็นศูนย์กลางของการคมนาคมและขนส่ง ซึ่งจะนำพาทั้งการเดินทางของประชากร และการขนส่งสินค้าผ่านเข้าออกในประเทศ เป็นจำนวนมาก ประกอบกับราคาของอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทยยังต่ำกว่า สิงคโปร์ และ มาเลเซียมาก จะเป็นตัวผลักดันให้ ตลาดอสังหาริมทรัพย์ในประเทศเติบโตขึ้น ด้วยเหตุผลดังกล่าวทำให้อตุ สาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ ยิง่ มีการแข่งขันกันสูงขึน้ ทัง้ แนวราบและแนวสูง เป็นเหตุผลสำคัญ ที่ราคาที่ดินในปี 2555 ซึ่งเป็นต้นทุนที่สำคัญของอุตสาหกรรมมีการปรับตัวสูงขึ้นมาก ทำให้ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชน เริม่ ตระหนักถึงภาวะฟองสบูจ่ ะกลับมา ดังนัน้ การดำเนินการของบริษทั ฯ จึงต้องเป็นไปด้วยความระมัดระวังและคอยติดตามสภาวะ ของอุตสาหกรรมฯ ตลอดเวลา ในขณะเดียวกันยังคงเน้นการบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ เพิม่ การตลาดเชิงรุก และ ความแข็งแกร่ง ของเงินทุนหมุนเวียน (Working Capital Strength) ณ โอกาสนี ้ ในนามคณะกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั รสา พร็อพเพอร์ต ้ี ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด(มหาชน) ขอขอบคุณผู้ถือหุ้น พนักงาน สถาบันการเงิน ผู้รับเหมา นักออกแบบ และ คู่ค้าทุกท่านที่ให้การสนับสนุนบริษัทฯด้วยดีเสมอมา และที่สำคัญที่สุด คือ ลูกค้าของบริษทั ฯ ทุกท่านทีใ่ ห้ความเชือ่ ถือและไว้วางใจร่วมสร้างครอบครัวอันอบอุน่ ภายในสังคมและสิง่ แวดล้อมภายในโครงการ ที่พัฒนาภายใต้ชื่อ “RASA” ทุกโครงการ

รองศาสตราจารย์มานพ พงศทัต ประธานกรรมการ 22 มีนาคม 2556

3


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน

ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษทั ฯแต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบจากกรรมการอิสระ โดยกรรมการตรวจสอบไม่ได้เป็นเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน คือ นายเลิศชัย ลีลายนกุล เป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายปัญจะ เสนาดิสัย และนางสุดจิต ทิวารี เป็นกรรมการตรวจสอบ

ในปี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบจัดให้มีการประชุม 6 ครั้ง มีการพิจารณาเรื่องสำคัญ สรุปได้ดังนี้

1. 2. 3. 4. 5. 6.

สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและประจำปี 2555 กับผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตและผูต้ รวจสอบภายใน ก่อนเสนอให้คณะกรรมการ บริษทั พิจารณาว่า ได้มกี ารปฏิบตั ถิ กู ต้องตามมาตรฐานการบัญชี และการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วข้องกับรายการระหว่างกัน รายการที่ เกี่ยวโยงกัน รวมทั้งรายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ สอบทานระบบควบคุมภายในและการติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องของระบบงาน โดยผูต้ รวจสอบภายใน และพบว่าฝ่ายบริหาร ได้ทำการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว จึงยืนยันได้ว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ สอบทานให้บริษัทฯ ถือปฏิบัติตามข้อพึงปฏิบัติที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียน ตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งปฏิบัติตามระเบียบและข้อกำหนดของทางการ สอบทานและให้ความเห็นต่อการเข้าทำรายการทีเ่ กีย่ งโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทัง้ พิจารณาการ เปิดเผยข้อมูลในเรื่องดังกล่าวให้มีความถูกต้องครบถ้วน อนุมตั แิ ผนการตรวจสอบภายในประจำปี โดยคำนึงถึงสาระสำคัญของปัจจัยความเสีย่ งของระบบงานต่างๆ ให้แนวทางการปฏิบตั งิ าน ตรวจสอบ ติดตามผลการตรวจสอบและความเป็นอิสระของผูต้ รวจสอบภายใน พร้อมทัง้ ติดตามความคืบหน้าของการปฏิบตั ิ ตามความเห็นของที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ประเมินความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี พิจารณาให้ความเห็นชอบเสนอแต่งตั้งและค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัท

สำหรับปี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบสามารถขอข้อมูลได้โดยไม่จำกัด และสามารถปรึกษาหารือเป็นการเฉพาะกับ ผูต้ รวจสอบภายใน ผูส้ อบบัญชี และทีป่ รึกษาภายนอกได้อย่างเต็มที ่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษทั ฯ มีระบบการบริหาร จัดการภายใต้การกำกับดูแลกิจการทีด่ ี มีระบบควบคุมภายในทีเ่ พียงพอเหมาะสม นอกจากนี ้ ยังมีการพัฒนาด้านการกำกับดูแล กิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง

4

นายเลิศชัย ลีลายนกุล ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 22 มีนาคม 2556


ANNUALREPORT 2012

รายงานคณะกรรมการบริหาร เรียน

ท่านผู้ถือหุ้น

บริษทั รสา พร็อพเพอร์ต้ี ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) “RASA” ในรอบปี 2555 บริษทั ฯ ได้ดำเนินกิจการด้วยความ รอบคอบและระมัดระวังภายใต้หลักธรรมาภิบาล ปรับการบริหารงานให้สอดคล้องกับสถานการทางเศรษฐกิจและตลาดอสังหาริมทรัพย์ ทีเ่ ปลีย่ นแปลง ทำให้ผลการดำเนินงานอยูใ่ นระดับทีน่ า่ พอใจ และโครงการ Rasa Parklane ได้ขายหมดและปิดโครงการไปตัง้ แต่ ครึ่งปีแรกของปี 2555 ในปี 2555 บริษัทฯ ได้เปิดโครงการใหม่ชื่อ Rasa Maxx Ville เป็นทาวน์เฮาส์มูลค่าโครงการประมาณ 500 ล้านบาท บนถนนพหลโยธิน และได้รับการตอบรับจากลูกค้าเป็นอย่างดีจากการออกแบบที่เป็นเอกลักษณ์ และตั้งอยู่ในทำเลที่ดี สำหรับปี 2556 บริษัทฯ จะเปิดโครงการใหม่เพิ่มอีกสองโครงการบนถนนรามอินทราเป็น Home Office หนึ่งโครงการ และ Condominium หนึง่ โครงการ มูลค่าโครงการรวมประมาณ 1,000 ล้านบาท ซึง่ จะทำให้การรับรูร้ ายได้ในอนาคตมีความมัน่ คง ขณะเดียวกันบริษัทยังคงศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการใหม่ตลอดเวลาและจะตัดสินใจลงทุนด้วยความระมัดระวังรอบคอบ สำหรับเงินปันผลของการดำเนินงานปี 2555 คณะกรรมการบริหารได้เสนอให้กรรมการบริษทั อนุมตั กิ ารจ่ายเงินปันผลในรูปของ หุ้นปันผลและเงินสดในอัตราหุ้นละ 0.1111111111 บาท คิดเป็นจำนวนเงินทั้งสิ้นไม่เกิน 55,555,556 บาท คิดเป็นร้อยละ 121 ของกำไรสุทธิต่อหุ้น โดยจ่ายเป็นหุ้นปันผลในอัตรา 10 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นปันผล และเงินสดสำหรับภาษีหัก ณ ที่จ่าย 0.0111111111 บาทต่อหุ้น ซึ่งจะนำเสนอให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอนุมัติในวันที่ 26 เมษายน 2556 คณะกรรมการบริหารจึงมั่นใจว่าในปี 2556 บริษัทจะสามารถดำเนินธุรกิจให้เติบโตได้อย่างมั่นคง มีคุณภาพ ด้วยความ ร่วมมือร่วมใจของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างเต็มที่

คณะกรรมการบริหาร 22 มีนาคม 2556

5


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

ข้อมูลทั่วไป

ชื่อบริษัท

บริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน)

ประเภทธุรกิจ

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทบ้านเดี่ยวและคอนโดมิเนียม

ที่ตั้งสำนักงาน

555 รสาทาวเวอร์ ชั้น 28 ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

เลขทะเบียนบริษัท

0107547000443

โทรศัพท์/โทรสาร

0-2937-1200/0-2937-0102

Homepage

www.rasa.co.th

ทุนจดทะเบียน

500,000,000.- บาท

เรียกชำระแล้ว

499,999,986.- บาท

จำนวนหุ้นที่จำหน่ายแล้วทั้งหมด 499,999,986.- หุ้น

หุ้นสามัญ

499,999,986.- หุ้น

มูลค่าหุ้น

1.00 บาท

นายทะเบียนหุ้นสามัญ

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด

ที่ตั้งสำนักงาน

62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

โทรศัพท์/โทรสาร

0-2229-2800, 0-2654-5599/0-2359 -1259

ผู้สอบบัญชี

นางสุมาลี โชคดีอนันต์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3322

ที่ตั้งสำนักงาน

บริษัท แกรนท์ ธอนตัน จำกัด 87/1 อาคารแคปปิตอล ออลซีซั่นเพลส ชั้น 18 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

โทรศัพท์/โทรสาร

0-2205-8222/0-2654-3339

ที่ปรึกษากฎหมาย

บริษัท จันทร์โฮลดิ้ง จำกัด

ที่ตั้งสำนักงาน

32/43 ถนนลาดปลาเค้า แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220

โทรศัพท์/โทรสาร

0-2971-5700 -4/0-2971-5705

6


ANNUALREPORT 2012

ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป ข้อมูลสำคัญทางการเงิน 2555 2554 ผลการดำเนินงาน รายได้รวม ล้านบาท 626.60 1,233.29 กำไรสุทธิ ล้านบาท 45.87 174.92 กำไรต่อหุ้น * บาท/หุ้น 0.092 0.350 เงินปันผลต่อหุ้น* บาท/หุ้น 0.1111 0.2777

411.14 1.12 0.01 0.30

ฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม ล้านบาท 1,217.74 1,530.69 หนี้สินรวม ล้านบาท 510.22 858.91 รวมส่วนของผู้ถือหุ้น ล้านบาท 707.51 671.78 จำนวนหุ้น ล้านหุ้น 500 400

1,674.26 1,152.11 522.15 80

อัตราส่วนทางการเงิน อัตรากำไรขั้นต้น ร้อยละ 30.94 30.50 อัตรากำไรก่อนภาษีและต้นทุนทางการเงิน ร้อยละ 13.31 18.77 มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น* บาท/หุ้น 1.42 1.68 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่า 0.72 1.28

32.10 11.08 6.53 2.21

2553

*กำไรต่อหุน้ , เงินปันผลต่อหุน้ และมูลค่าตามบัญชีตอ่ หุน้ คำนวณโดยใช้จำนวนหุน้ สามัญจำนวน 499,999,986 หุน้ ในปี 2555 และ 2554 ส่วนในปี 2553 ใช้ 80,000,000 หุ้น ผลการดำเนินงาน

ด้านสินทรัพย์และส่วนทุน

• ด้านสินทรัพย์ สินทรัพย์รวมของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เท่ากับ 1,218 ล้านบาท ลดลงจากปีกอ่ นหน้า 312 ล้านบาทจากการทีบ่ ริษทั ฯได้ขายหมดและปิดโครงการ Rasa Parklane และการทยอยโอนห้องชุดของโครงการ 7


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

The Lighthouse และ Intro Condominium สำหรับการลงทุนโครงการใหม่ในปี 2555 เป็นโครงการแนวราบซึ่ง ใช้เงินลงทุนไม่มากนัก และผลต่อเนือ่ งจากมหาอุทกภัยปลายปี 2554 ทำให้บริษทั ฯ พิจารณาการลงทุนใหม่ดว้ ยความ ระมัดระวังรอบคอบยิง่ ขึน้ อย่างไรก็ตามทรัพย์สนิ ส่วนหนึง่ เป็นทีด่ นิ รอการพัฒนา ซึง่ บริษทั จะนำมาพัฒนาโครงการ ได้ในปี 2556 ซึ่งสามารถที่จะสร้างความมั่นคงของรายได้ให้กับบริษัทใน 2 - 3 ปีข้างหน้า

ด้านส่วนของผูถ้ อื หุน้ ปี 2555 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ เพิม่ ขึน้ เป็น 708 ล้านบาท คิดเป็น 1.42 บาทต่อหุน้ จากกำไรสุทธิ ของปีลดด้วยเงินปัน ผลสำหรับผลการดำเนินงานปี 2554 ส่วนเงินปัน ผลสำหรับปี 2555 คณะกรรมการได้มี มติอนุมตั ใิ นอัตราหุน้ ละ 0.1111111111 บาทต่อหุน้ คิดเป็นเงินรวมทัง้ สิน้ ไม่เกิน 55.56 ล้านบาทโดยจ่ายเป็นหุน้ ปันผล ในอัตรา 10:1 (หุน้ เดิม:หุน้ ใหม่) โดยออกหุน้ ใหม่ 50 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท เป็นเงิน 50 ล้านบาท และจ่ายเป็น เงินสด 0.0111111111 บาทต่อหุ้นสำหรับเป็นภาษีหัก ณ ที่จ่าย คิดเป็นเงินรวมทั้งสินไม่เกิน 5.56 ล้านบาท เพื่อนำเสนอให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอนุมัติ

ด้านรายได้และกำไร

• กำไรปี 2555 มีกำไรสุทธิ 46 ล้านบาทลดลงจากปีกอ่ นหน้า 129 ล้านบาท อันเป็นผลจากการรับรูร้ ายได้ทล่ี ดลง อย่างไรก็ตามอัตราการทำกำไรขั้นต้นของบริษัทฯปี 2555 อยู่ที่ 30.94% ซึ่งสูงกว่าปีก่อนเล็กน้อย สะท้อนถึง ผลการบริหารจัดการต้นทุนได้สม่ำเสมอ

8

รายได้ ปี 2555 บริษทั มีรายได้จากการขาย 627 ล้านบาท ซึง่ ลดลงจากปีกอ่ นหน้า 606 ล้านบาทเนือ่ งจากปี 2554 เป็นปีทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลงการบันทึกบัญชีเกีย่ วกับการรับรูร้ ายได้ใหม่และมีการโอนห้องชุดโครงการ The LightHouse และ Intro Condominium ให้ลกู ค้าเป็นจำนวนมาก เนือ่ งจากเป็นโครงการสร้างเสร็จใหม่ๆ จึงมีการโอนให้กบั ลูกค้า ที่ซื้อตั้งแต่เริ่มโครงการซึ่งมีจำนวนมาก ในขณะที่ปี 2555 เป็นการทยอยโอนไปตามยอดขาย


ANNUALREPORT 2012

ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษทั รสา พร็อพเพอร์ต้ี ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ”) มีชอ่ื ภาษาอังกฤษว่า “Rasa Property Development Public Company Limited” ก่อตัง้ เมือ่ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2538 ในชือ่ เดิมว่า “บริษทั พาณิชย์ภมู พิ ฒ ั นา จำกัด” ด้วยทุนจดทะเบียน 10 ล้านบาท โดยมีวตั ถุประสงค์หลักเพือ่ ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทบ้านจัดสรรและอาคารชุดพักอาศัย ปัจจุบนั บริษัท มีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 500 ล้านบาท และเรียกชำระแล้ว 499,999,986 บาท มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ 555 อาคารรสาทาวเวอร์ ชั้น 28 ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 บริษัทเป็นผู้พัฒนาโครงการและเจ้าของโครงการ โดยเน้นการสร้างบ้านจัดสรร และอาคารชุดพักอาศัยที่มีคุณภาพ เน้น ประโยชน์ใช้สอย ภายใต้แนวคิดการสร้างเอกลักษณ์เฉพาะตัวในแต่ละโครงการ ทุกโครงการของบริษทั ถือว่าเป็นสินค้าจำนวนจำกัด โดยนำเสนอรูปแบบและแนวคิดใหม่อยู่เสมอ ซึ่งถือว่าเป็นจุดขายที่สำคัญของแต่ละโครงการ

โครงการปัจจุบัน โครงการ The LightHouse (สาทร – เจริญนคร 14) คอนโดมิเนียมหรู ริมแม่น้ำเจ้าพระยา โดดเด่นด้วยรูปแบบ สถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ พร้อมร้านค้าและพื้นที่เช่าภายใน โครงการ สะดวกสบายด้วยการเดินทางหลายรูปแบบ ทั้งทางเรือ รถยนต์ รถไฟฟ้า BTS (สถานีกรุงธนบุรี) บนเนื้อที่ 2 ไร่ 3 งาน 62 ตารางวา สูง 32 ชั้น จำนวน 297 ยูนิต ราคาขายตั้งแต่ 2.2 – 12 ล้านบาท มูลค่าโครงการ 1,500 ล้านบาท

9


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

โครงการ Intro Condominium (ประดิพัทธ์) โครงการคอนโดมิเนียมสูง 37 ชัน้ ประมาณ 450 ยูนติ บนถนนประดิพทั ธ์ เนือ้ ที่ 3 ไร่ 1 งาน 33 ตารางวา ออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ เพียบพร้อมด้วยสิง่ อำนวยความสะดวกสำหรับชีวติ คนเมือง ทุกยูนติ ออกแบบ อย่างลงตัวเพื่อประโยชน์ใช้สอยสูงสุด ผ่อนคลาย และเติมความสดชื่นด้วย พืน้ ทีส่ เี ขียวขนาดใหญ่ดา้ นหน้าโครงการ ตัง้ อยูบ่ นทำเลทีม่ ศี กั ยภาพใจกลางเมือง ใกล้แหล่งช็อปปิง้ โรงเรียน โรงพยาบาล และอาคารสำนักงาน พร้อมด้วยทางด่วน และรถไฟฟ้า BTS รถไฟใต้ดนิ และจุดเชือ่ มต่อรถไฟฟ้าหลากสี ราคาขายตั้งแต่ 2.5-13.3 ล้านบาท มูลค่าโครงการ 1,450 ล้านบาท

โครงการ RASA MAXX VILLE (พหลโยธิน 73) ทาวน์โฮม 2 ชัน้ สไตล์ Modern Tropical สะท้อนรูปแบบของไลฟ์สไตล์คนรุน่ ใหม่ ทันสมัย และสมบูรณ์แบบ เน้นการจัดสรร ประโยชน์ใช้สอยสูงสุด ผสานทุกองค์ประกอบของรายละเอียด เน้นความประณีตด้วยวัสดุคุณภาพ สะดวกสบายในการใช้ประโยชน์ เพิ่มความรื่นรมย์ด้วยต้นไม้นานาพันธุ์ และลานอเนกประสงค์ บนเนื้อที่ทั้งหมด 20-2-75.1 ไร่ ประกอบด้วยทาวน์โฮมขนาด 18.8-39.8 ตารางวา จำนวน 217 ยูนติ ราคาขายตัง้ แต่ 2.0-3.9 ล้านบาท (โดยประมาณ) มูลค่าโครงการ ประมาณ 520 ล้านบาท ปัจจุบันอยู่ระหว่างการก่อสร้าง เริ่มเปิดการขายในไตรมาสที่ 4 ปี 2555

10


ANNUALREPORT 2012

ปัจจัยความเสี่ยงของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 1.

ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน • ความเสี่ยงในเรื่องความไม่ต่อเนื่องของรายได้ ณ สิน้ ปี 2555 บริษทั มีโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการขาย 3 โครงการ ประกอบด้วย โครงการแนวสูง 2 โครงการซึง่ พัฒนา เสร็จแล้วได้แก่ โครงการ The LightHouse และโครงการ Intro Condominium ราคาขายตัง้ แต่ 3 – 12 ล้านบาทต่อยูนติ มูลค่าขายรวมประมาณ 2,950 ล้านบาท เป็นโครงการคอนโดมิเนียมทีอ่ ยูใ่ นทำเลกลางเมือง (Central Business District) ซึง่ ยังเป็นตลาดทีม่ กี ารเจริญเติบโต ปัจจุบนั ขายและโอนให้กบั ลูกค้าจำนวนหนึง่ แล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ยังคงเหลือ ห้องชุดรอการขายประมาณ 400-500 ล้านบาท และโครงการแนวราบหนึง่ โครงการคือโครงการ Rasa Maxx Ville เป็นทาว์นเฮ้าส์ราคา 2 - 3 ล้านบาท ซึ่งเปิดขายโครงการในไตรมาส 4 ของปี 2555 มูลค่าโครงการ 500 ล้านบาท บริษทั ฯ บริหารความเสีย่ งโดยการศึกษาความเป็นไปได้ของทีด่ นิ ทีไ่ ด้รบั การเสนอขายเพือ่ พัฒนาโครงการอืน่ ๆเพิม่ เติม เพือ่ ให้เกิดความต่อเนื่องของรายได้ โดยจะพิจารณาทำเลที่ตั้งของระบบเครือข่ายคมนาคมเป็นองค์ประกอบสำคัญ

ความเสี่ยงจากต้นทุนการก่อสร้างที่ปรับเพิ่มขึ้น วัสดุกอ่ สร้างถือเป็นต้นทุนการก่อสร้างทีส่ ำคัญ การเติบโตของภาคอสังหาริมทรัพย์ และความผันผวนของราคาน้ำมัน ส่งผลให้ราคาวัสดุก่อสร้างปรับตัวเพิ่มขึ้น ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อต้นทุนของการพัฒนาโครงการและความสามารถ ในการทำกำไรของบริษัท และในบางช่วงเวลาอาจเกิดปัญหาขาดแคลนวัสดุก่อสร้างได้ บริษทั ฯ มีนโยบายในการบริหารความเสีย่ งดังกล่าวโดย สำหรับโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยในแนวสูงจะทำสัญญาจ้างแบบ Turn key โดยการประมูลเลือกผู้รับเหมาที่ให้ราคาและเงื่อนไขที่ดีที่สุด ภายใต้เงื่อนไขว่าผู้รับเหมาเป็นผู้รับผิดชอบใน การจัดหาวัสดุก่อสร้างเอง สำหรับโครงการที่อยู่อาศัยแนวราบ ก่อนเริ่มทำการก่อสร้าง บริษัทฯมีนโยบายที่จะจัดทำ สัญญาซื้อขายวัสดุก่อสร้างสำหรับทั้งโครงการไว้ล่วงหน้าทำให้ได้ราคาต้นทุนที่แน่นอนสำหรับโครงการ

ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ในการประกอบธุรกิจของบริษทั จะต้องใช้เงินทุนหมุนเวียนเป็นจำนวนมากในด้านต่างๆ เช่น ทีด่ นิ หรือค่าใช้จา่ ยผูร้ บั เหมา เนือ่ งมาจากลักษณะการดำเนินธุรกิจตามปกติของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ต้องอาศัยเงินทุนหมุนเวียนของโครงการจากเงินกู้ จากสถาบันการเงินเพือ่ นำมาใช้ในการพัฒนาโครงการ สถาบันการเงินจะมีการกำหนดเงือ่ นไขในการเบิกเงินกูใ้ นแต่ละงวดโดยขึน้ กับ ความก้าวหน้าในการขาย หากยอดขายของโครงการต่างๆดังกล่าวไม่เป็นไปตามเป้าหมาย หรือการโอนกรรมสิทธิล์ า่ ช้า กว่าทีก่ ำหนด ก็อาจส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องของบริษทั นอกจากนี้ ด้วยนโยบายของบริษทั ฯ ในการสร้างบ้านแบบกึง่ สัง่ สร้าง ซึ่งจะมีการก่อสร้างประมาณร้อยละ 60 – 70 จึงเริ่มเปิดการขายโครงการ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีนโยบายในการบริหารสภาพคล่องโดยการดำเนินการก่อสร้างให้มคี วามสอดคล้องกับการขาย สำหรับ โครงการขนาดใหญ่ จะแบ่งการก่อสร้างเป็นลักษณะเฟส แทนที่จะก่อสร้างทั้งโครงการในคราวเดียวกัน ซึ่งหากมีความ คืบหน้าในการขายถึงระดับหนึ่ง บริษัทฯ จะเริ่มการก่อสร้างในเฟสต่อไป บริษัทฯ จึงมีเงินทุนหมุนเวียนในการพัฒนา โครงการมาจากการขายส่วนหนึ่งและจากเงินกู้ยืมอีกส่วนหนึ่ง

ความเสี่ยงเรื่องการจัดหาที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในทางที่ดีขึ้นในปี 2555 กระแสของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC : ASEAN Economic Community) การแข่งขันกันเองของผูป้ ระกอบการในการเพิม่ ยอดขายโดยเฉพาะผูป้ ระกอบการทีจ่ ดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ และการเข้ามาของผูป้ ระกอบการรายใหม่ เป็นเหตุให้ราคาทีด่ นิ ปรับตัวสูงขึน้ มากส่งผลให้ตน้ ทุนขาย สูงขึ้น ผู้ประกอบการจำเป็นต้องปรับราคาขายให้สูงขึ้นตาม ทั้งนี้ บริษัทฯ บริหารความเสี่ยงโดยการจัดซื้อที่ดินในราคาที่สามารถตั้งราคาขายได้เหมาะสมเก็บไว้ควบคู่กับการ บริหารกระแสเงินสด ให้มีที่ดินเพียงพอต่อการที่จะทำให้บริษัทมีรายได้ต่อเนื่องและมั่นคง

11


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

2 ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากปัจจัยอื่นๆ

ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของความต้องการด้านผลิตภัณฑ์ การเปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขทางเศรษฐกิจต่างๆ เช่น อัตราดอกเบีย้ การเติบโตหรือชะลอตัวทางด้านเศรษฐกิจ รวมถึง มาตรการของภาครัฐ ในการลดภาษีและค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม เพื่อสนับสนุนการซื้อขาย อสังหาริมทรัพย์ มีผลกระทบต่อความต้องการที่อยู่อาศัย โดยอัตราดอกเบี้ย และมาตรการลดภาษีและค่าธรรมเนียม ส่งผลกระทบต่อต้นทุนของบริษทั ผูป้ ระกอบการ ดังนัน้ หากอัตราดอกเบีย้ เพิม่ สูงขึน้ หรือมาตราการลดภาษีและค่าธรรมเนียม ดังกล่าวสิน้ สุดลง จะทำให้ผบู้ ริโภคมีตน้ ทุนซือ้ บ้านทีแ่ พงขึน้ โดยผูบ้ ริโภคก็มกี ารปรับพฤติกรรมรับปัจจัยเสีย่ งดังกล่าว เช่น การเลือกที่อยู่อาศัยในขนาดที่เล็กลง อย่างไรก็ตาม บริษทั มีการทำวิจยั และพัฒนาเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลง ในวงการอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ การวิเคราะห์ ตลาดและผู้บริโภค ให้สามารถปรับตัวต่อรูปแบบการบริโภคที่เปลี่ยนไปของกลุ่มลูกค้าได้ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของการ พัฒนาโครงการในอนาคตทีจ่ ะเป็นอาคารชุดหรือบ้านเดีย่ ว หรือฐานราคาของสินค้าทีเ่ ป็นทีต่ อ้ งการของตลาดในแต่ละช่วงเวลา ตลอดจนการจัดเตรียมแผนส่งเสริมการขายต่างๆในสินค้าทีม่ อี ยูเ่ ดิม เพือ่ ให้สอดคล้องกับความต้องการทีป่ รับเปลีย่ นไป

ความเสี่ยงทางด้านเสถียรภาพทางการเมือง สถานการณ์การเมืองภายในประเทศ ถือว่าเป็นตัวแปรสำคัญตัวหนึง่ ทีม่ ผี ลต่อการตัดสินใจซือ้ อสังหาริมทรัพย์ของผูบ้ ริโภค อย่างไรก็ตาม บริษัทยังคงนโยบายการบริหารงานด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ โดยจะให้ความสำคัญกับการพัฒนา โครงการซึ่งได้เปิดขายในช่วงปีที่ผ่านมาให้มีประสิทธิภาพสูงสุด และจะเตรียมความพร้อมในทุกๆด้านเพื่อรองรับกับ สถานการณ์ที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและรุนแรงในอนาคต

ความเสี่ยงของกฎหมายผังเมือง กฎหมายผังเมืองของกรุงเทพมหานครฉบับล่าสุดได้หมดอายุลงในปี 2554 และได้ตอ่ อายุมาสองครัง้ แล้ว จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 กฎหมายผังเมืองฉบับใหม่ยงั ไม่ประกาศใช้ ซึง่ จะมีการเปลีย่ นแปลงแก้ไขการใช้ประโยชน์จากทีด่ นิ ในบางทำเล ซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่อที่ดินรอการพัฒนาของบริษัทฯ ทั้งด้านที่ดีและแย่ลงได้ บริษัทฯ บริหารความเสี่ยงโดยการจัดซื้อที่ดินเท่าที่จำเป็นต่อการนำมาพัฒนาให้เกิดความมั่นคงของรายได้เท่านั้น ขณะเดียวกันก็พยายามติดตามข่าวสารและกระแสของการปรับปรุงกฎหมาย และหลีกเลี่ยงการซื้อที่ดินที่มีความเสี่ยง ต่อการเปลี่ยนแปลง

12


ANNUALREPORT 2012

โครงสร้างการถือหุ้น 1. ผู้ถือหุ้น

ณ วันที ่ 12 มีนาคม 2556 บริษทั มีทนุ จดทะเบียนจำนวน 500,000,000 บาท เป็นทุนทีอ่ อกและเรียกชำระแล้วจำนวน 499,999,986 บาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญ 499,999,986 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท หุน้ สามัญทัง้ หมดของบริษทั ฯ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

รายชื่อผู้ถือหุ้น และสัดส่วนการถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก

รายชื่อผู้ถือหุ้น

1. กลุ่มพินิจชอบ1 2. นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน 3. นายเขมไชย รสานนท์ 4. นายธีระ ธีรพันธุวัฒน์ 5. นายวิเชียร จิระกรานนท์ 6. นายทวี บุพการะกุล 7. นายปัญจะ เสนาดิสัย 8. นายวัชรพงศ์ ราชพงศ์ 9. นายอภินันทน์ ฮ้อแสงชัย 10. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด

จำนวนหุ้น

สัดส่วน (ร้อยละ)

178,506,250 110,000,000 48,118,125 6,920,000 6,614,900 6,600,000 5,000,000 2,900,700 2,500,000 2,195,875

35.70 22.00 9.62 1.38 1.32 1.32 1.00 0.58 0.50 0.44

หมายเหตุ : 1 กลุม่ พินจิ ชอบ ประกอบด้วย นายรพิ พินจิ ชอบ ถือหุน้ จำนวน 92,131,250 หุน้ บริษทั รสาทาวเวอร์ จำกัด (ซึง่ นายรพิ ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 46.63 จึงถือเป็นบุคคลตามมาตรา 258(3) แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ของนายรพิ) ถือหุ้น จำนวน 86,375,000 หุ้น

2. ข้อจำกัดการถือหุ้นของบุคคลต่างด้าว

บริษทั มีขอ้ จำกัดการถือหุน้ ของบุคคลต่างด้าว (Foreign Limit) ไว้รอ้ ยละ 39 ของทุนชำระแล้ว โดย ณ วันที่ 12 มีนาคม 2556 ไม่มีบุคคลต่างด้าวถือหุ้นของบริษัท

13


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

การจัดการ 1. โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการของบริษัทประกอบด้วยคณะกรรมการทั้งหมด 4 ชุด คือ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร โดยมีรายชื่อและขอบเขตอำนาจหน้าที่ดังนี้

(1) คณะกรรมการบริษัท

ในปัจจุบัน คณะกรรมการของบริษัทมีจำนวน 9 ท่าน ประกอบด้วย

ลำดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

รายชื่อ รองศาตราจารย์ มานพ พงศทัต นายเลิศชัย ลีลายนกุล นายปัญจะ เสนาดิสัย นางสุดจิต ทิวารี นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นายรพิ พินิจชอบ นางสาวสุมิดา พันธุ์กระวี นายโกวิท ไววัฒนา นายพิสิฏฐ์ ภัสฐาพงษ์

ตำแหน่ง ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ/กรรมการสรรหาฯ ประธานกรรมการสรรหาฯ/กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ/กรรมการผู้จัดการ กรรมการอิสระ/กรรมการสรรหาฯ กรรมการ/กรรมการบริหาร กรรมการอิสระ

หมายเหตุ : เลขานุการบริษัท คือ นางศิริลักษณ์ จรูญรัตนสกุล

กรรมการผู้มีอำนาจลงนามแทนบริษัท กรรมการผูม้ อี ำนาจลงนามแทนบริษทั คือ นางสาวอัจฉราพร ศิรไิ พรวัน ลงลายมือชือ่ ร่วมกับนายรพิ พินจิ ชอบ และประทับ ตราสำคัญของบริษัท หรือ นายโกวิท ไววัฒนา ลงลายมือชื่อร่วมกับนางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน หรือ นายรพิ พินิจชอบ รวมเป็นสองคนและประทับตราสำคัญของบริษัท ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบที่สำคัญของคณะกรรมการบริษัท 1. ต้องปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เป็นตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษทั ตลอดจนมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการและ/หรือมติทป่ี ระชุม ผูถ้ อื หุน้ เว้นแต่ในเรือ่ งทีต่ อ้ งรับอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการและ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ก่อนการดำเนินการ เช่น เรือ่ งที่ กฎหมายกำหนดให้ตอ้ งได้รบั มติจากทีป่ ระชุมคณะกรรมการและ/หรือมติจากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ การทำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และการซื้อขายหรือการได้มาหรือการจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่สำคัญตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือตามที่หน่วยงานราชการอื่นๆกำหนด เป็นต้น 2. กำหนดหรือเปลีย่ นแปลงชือ่ กรรมการผูม้ อี ำนาจลงลายมือชือ่ ผูกพันบริษทั ภายใต้บงั คับของกฎหมาย และข้อบังคับของบริษทั 3. กำหนดนโยบาย กลยุทธ์ และทิศทางการดำเนินงานของบริษทั และการกำกับดูแลให้ฝา่ ยบริหารดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย กลยุทธ์ และทิศทางทีก่ ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพือ่ เพิม่ มูลค่าสูงสุดแก่ผถู้ อื หุน้ และการเติบโตอย่างยัง่ ยืน 4. พิจารณาตัดสินใจในเรือ่ งทีม่ สี าระสำคัญ เช่น แผนธุรกิจ งบประมาณ โครงการลงทุนขนาดใหญ่ อำนาจการบริหาร และรายการ อื่นใดตามที่กฎหมายกำหนด 5. ประเมินผลการปฏิบัติงานและกำหนดค่าตอบแทนผู้บริหาร 6. รับผิดชอบต่อผลประกอบการและการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร โดยมีความตั้งใจและความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน 7. จัดให้มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได้ รวมทั้งมีการดูแลให้มีกระบวนการในการประเมิน ความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล การบริหารและการจัดการ ความเสี่ยงการรายงานทางการเงินและการติดตามผล 8. ดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับบริษัท 9. กำกับการดูแลกิจการให้มีการปฏิบัติงานอย่างมีจริยธรรม 10. กำหนดข้อบังคับทั่วไปหรือระเบียบภายในของบริษัทในเรื่องต่างๆ 11. รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ในการจัดทำรายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูก่ บั รายงานของผูส้ อบบัญชี 14


ANNUALREPORT 2012 12.

ไว้ในรายงานประจำปี และครอบคลุมเรือ่ งสำคัญๆตามนโยบายข้อพึงปฏิบตั ทิ ด่ี ขี องกรรมการบริษทั จดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย คณะกรรมการอาจแต่งตัง้ บุคคลอืน่ ใดให้ดำเนินกิจการของบริษทั ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการ หรืออาจมอบอำนาจ เพื่อให้บุคคลดังกล่าวมีอำนาจ และ/หรือภายในเวลาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอน เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขอำนาจนั้นๆได้ ภายใต้บังคับของกฎหมายและข้อบังคับของบริษัท

ทัง้ นี้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษทั เกิดขึน้ กับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้สว่ นเสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ในอนาคต บริษทั จะต้องปฏิบตั ติ ามประกาศ ข้อบังคับ กฎ หรือระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องกับคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ รวมถึงบุคคลทีม่ สี ว่ นได้เสียหรืออาจขัดแย้งจะต้องไม่มสี ว่ นในการ พิจารณาอนุมัติรายการดังกล่าว เพื่อให้สอดคล้องกับประกาศของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

(2) คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท มีจำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย

ลำดับที่ รายชื่อ 1. นายเลิศชัย ลีลายนกุล 2. นายปัญจะ เสนาดิสัย 3. นางสุดจิต ทิวารี

ตำแหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ

หมายเหตุ 1. กรรมการตรวจสอบลำดับที่ 3 มีความรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะสามารถทำหน้าทีส่ อบทานความ น่าเชื่อถือของงบการเงิน 2. เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ : นางสาวดุลวรรณ์ สกุลดี จากบริษัท บาลานซ์ ฟิกเกอร์ จำกัด (เป็นบริษัทที่ปรึกษา ในการจัดทำระบบควบคุมภายในของบริษัท และทำหน้าที่ตรวจสอบภายใน)

วาระการดำรงตำแหน่งของกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปี เมื่อครบกำหนดออกตามวาระก็อาจได้รับการพิจารณาแต่งตั้งให้ ดำรงตำแหน่งต่อไปอีกได้ ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบที่สำคัญของคณะกรรมการตรวจสอบ มีดังนี้ 1. สอบทานให้บริษัทมีระบบรายงานทางการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดโดยกฎหมายอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทมีระบบควบคุมภายใน (INTERNAL CONTROL) และการตรวจสอบภายใน (INTERNAL CONTROL) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล รวมทัง้ พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็น ชอบในการพิจารณา แต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอืน่ ใดทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับการตรวจสอบภายใน และหรือเห็นชอบการพิจารณาว่าจ้างผู้ตรวจสอบภายในจากหน่วยงานภายนอกบริษัทฯ 3. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของหลักทรัพย์ และกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็นอิสระเพือ่ ทำหน้าทีเ่ ป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั และเสนอค่าตอบแทนของ ผู้สอบบัญชี รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการเกี่ยวโยงหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 6. จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษทั ซึง่ รายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 6.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท 6.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท 6.3 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดตลาดหลักทรัพย์ หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 6.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 6.5 ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 15


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

7.

6.6 จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน 6.7 ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบ ได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) 6.8 รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

(3) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนของบริษัท มีจำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย

ลำดับที่ 1. 2. 3.

รายชื่อ นายปัญจะ เสนาดิสัย นายเลิศชัย ลีลายนกุล นางสาวสุมิดา พันธุ์กระวี

ตำแหน่ง ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน/กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน/กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

วาระการดำรงตำแหน่งของกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีวาระอยูใ่ นตำแหน่งคราวละ 3 ปี เมือ่ ครบกำหนดออกตามวาระก็อาจได้รบั การพิจารณา แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งต่อไปอีกได้ ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบที่สำคัญของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีดังนี้ 1. กำหนดนโยบายและกรอบแนวทางในการสรรหากรรมการบริษทั กรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ (ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษัท) ที่ปรึกษาคณะกรรมการ กรรมการผู้จัดการ และผู้บริหารระดับสูง 2. พิจารณาสรรหา คัดเลือก เสนอและตรวจสอบบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม เพือ่ ดำรงตำแหน่งกรรมการ กรรมการในคณะกรรมการ ชุดย่อยต่างๆ (ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั ) ทีป่ รึกษาคณะกรรมการ เพือ่ ทดแทนในกรณีทค่ี รบวาระ ลาออก หรือกรณีอน่ื ๆ และนำเสนอให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ หรือคณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั แิ ต่งตัง้ แล้วแต่กรณี ตามข้อบังคับของบริษทั ฯ 3. กำหนดขั้นตอน และหลักเกณฑ์ในการประเมินผลกรรมการผู้จัดการ ผู้บริหารระดับสูง และนำเสนอให้คณะกรรมการบริษัท พิจารณาให้ความเห็นชอบ (กระบวนการประเมินผล คณะกรรมการบริษัทอาจประเมินผลกรรมการผู้จัดการหรือผู้บริหาร ระดับสูงเอง หรือมอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนประเมินก็ได้) 4. กำหนดขัน้ ตอน และหลักเกณฑ์ในการกำหนดค่าตอบแทนของกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ กรรมการผูจ้ ดั การและ ผู้บริหารระดับสูง ให้มีความยุติธรรมและสมเหตุสมผล 5. เสนอแนวทางและวิธกี ารในการกำหนดค่าเบีย้ ประชุม เงินเดือน โบนัส ค่ารับรอง เงินรางวัล และบำเหน็จ รวมทัง้ ผลประโยชน์ อืน่ ใดทีม่ ลี กั ษณะเป็นเงินค่าตอบแทนให้แก่ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ (ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการ บริษทั ) ทีป่ รึกษาคณะกรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การ และผูบ้ ริหารระดับสูง ให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ หรือคณะกรรมการบริษทั พิจารณา อนุมัติแล้วแต่กรณี ตามข้อบังคับของบริษัทฯ 6. ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ น่ื ใดทีเ่ กีย่ วข้องกับคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั

(4) คณะกรรมการบริหาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการบริหาร มีจำนวน 7 ท่าน ประกอบด้วย

ลำดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

16

รายชื่อ นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นายรพิ พินิจชอบ นายโกวิท ไววัฒนา นางณัฐยา นวราช นางศิริลักษณ์ จรูญรัตนสกุล นายบูรณินท์ ทองสุวรรณ นางสาวนันทรัตน์ โกวิทคณิต

ตำแหน่ง กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ/กรรมการบริหาร/กรรมการผู้จัดการ กรรมการ/กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร


ANNUALREPORT 2012 ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบที่สำคัญของคณะกรรมการบริหาร มีดังนี้ 1. กำหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ และหลักในการดำเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับเป้าหมายทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั และให้มอี ำนาจดำเนินการตามนโยบายของคณะกรรมการบริษทั ซึง่ อยูภ่ ายใต้บงั คับของกฎหมาย เงือ่ นไข กฎระเบียบ และข้อบังคับของบริษทั 2. จัดทำโครงสร้างองค์กร อำนาจบริหารองค์กร โดยให้ครอบคลุมทุกรายละเอียดการคัดเลือก การว่าจ้าง การโยกย้าย การฝึกอบรม และการเลิกจ้างพนักงานบริษัท ยกเว้นประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ 3. กำหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอำนาจบริหารต่างๆของบริษัท เพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัทเห็นชอบ 4. ตรวจสอบ ติดตามการดำเนินนโยบาย และแนวทางการบริหารงานต่างๆของบริษัทที่กำหนดให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อสภาพการดำเนินการทางธุรกิจ 5. มีอำนาจดำเนินการจัดทำธุรกรรมทางการเงินกับสถาบันการเงินในการเปิดบัญชี กูย้ มื จำนำ จำนอง ค้ำประกัน และการอืน่ รวมทัง้ การซือ้ ขายและจดทะเบียนกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ใดๆตามวัตถุประสงค์เพือ่ ประโยชน์ในการดำเนินกิจการของบริษทั ไม่เกิน 200 ล้านบาทต่อครั้ง และรายงานให้คณะกรรมการบริษัททราบ 6. มีอำนาจในการพิจารณาจัดสรร เงินรางวัล หรือผลตอบแทนต่างๆที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทัง้ นีอ้ ำนาจของกรรมการบริหารดังกล่าวจะต้องเป็นไปตามกฏเกณฑ์ของกฏหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับของบริษทั ซึง่ รวมถึงกรรมการบริหาร ไม่สามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีสว่ นได้สว่ นเสีย ในลักษณะอืน่ ใดกับบริษทั และบริษทั ย่อย (ถ้ามี) เพื่อให้สอดคล้องกับประกาศของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เว้นแต่เป็นการอนุมัติรายการธุรกิจ ปกติของบริษัทที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไปตามที่มีการกำหนดขอบเขตโดยคณะกรรมการบริษัทไว้ชัดเจนแล้ว

(5) ผู้บริหาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีผู้บริหารทั้งสิ้น 10 ท่าน ประกอบด้วย

ลำดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

รายชื่อ นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน นายรพิ พินิจชอบ นางณัฐยา นวราช นางศิริลักษณ์ จรูญรัตนสกุล นางสาวนันทรัตน์ โกวิทคณิต นายบูรณินท์ ทองสุวรรณ นางสาวจันทนี ถนอมพงษ์ชาติ นางสาวพีรยากร ไวว่อง นายอภิชาติ อ่องวิบูล นายจารึก เอกอินทุมาศ

ตำแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน ผู้จัดการฝ่ายบริหารทั่วไป ผู้จัดการฝ่ายการตลาดและการขาย ผู้จัดการฝ่ายการจัดการงานก่อสร้าง ผู้จัดการฝ่ายเทคโนโลยีและสารสนเทศ ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ ผู้จัดการฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์และจัดสรรเงินทุน

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบที่สำคัญของกรรมการผู้จัดการ 1. จัดทำนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ และหลักในการดำเนินธุรกิจของบริษทั เพือ่ เสนอให้คณะกรรมการอนุมตั ิ และให้มอี ำนาจดำเนินการ ตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัท ซึ่งอยู่ภายใต้กฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบ และข้อบังคับของบริษัท 2. ดำเนินการให้เป็นไปตามแผนธุรกิจ งบประมาณ และเป้าหมายของบริษัทตามที่คณะกรมการบริษัทอนุมัติ 3. ดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย และแนวทางการบริหารงานต่างๆของบริษทั ทีก่ ำหนดให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเอือ้ ต่อ สภาพการดำเนินการทางธุรกิจ 4. อนุมตั คิ า่ ใช้จา่ ยและเงินลงทุนทีไ่ ม่ได้อยูใ่ นงบประมาณประจำปีได้ไม่เกิน 3 ล้านบาทต่อครัง้ โดยต้องรายงานให้คณะกรรมการทราบ 5. ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทัง้ นี้ อำนาจของกรรมการผูจ้ ดั การดังกล่าวจะต้องเป็นไปตามกฏเกณฑ์ของกฏหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับของบริษทั ซึง่ รวมถึง กรรมการผูจ้ ดั การไม่สามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีสว่ นได้สว่ นเสีย ในลักษณะอืน่ ใดกับบริษทั และบริษทั ย่อย (ถ้ามี) เพือ่ ให้สอดคล้องกับประกาศของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เว้นแต่เป็นการอนุมตั ิ รายการธุรกิจปกติของบริษัทที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไปตามที่มีการกำหนดขอบเขตโดยคณะกรรมการบริษัทไว้ชัดเจนแล้ว

17


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

แผนผังโครงสร้างการจัดการ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) คณะกรรมการบริษัท เลขานุการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการบริหาร

เลขานุการ/จัดซื้อ

กรรมการผู้จัดการ

ฝ่ายบัญชี/ การเงิน

ฝ่ายเทคโนโลยี สารสนเทศ

ตรวจสอบภายใน

ฝ่ายนักลงทุน สัมพันธ์

ฝ่ายการตลาด/ ขาย

ฝ่ายพัฒนา ผลิตภัณฑ์

ฝ่ายทรัพยากร บุคคล

ฝ่ายบริหาร งานทั่วไป

ฝ่ายการจัดการ งานก่อสร้าง

2. การสรรหากรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ทำหน้าทีค่ ดั เลือกบุคคลเป็นกรรมการและผูบ้ ริหารตามกระบวนการสรรหาทีไ่ ด้กำหนดไว้ ซึง่ เมือ่ ตำแหน่งกรรมการว่างลงหรือมีเหตุจำเป็นต้องแต่งตัง้ กรรมการอิสระเพิม่ เติม คณะกรรมการสรรหาและพิจารณากำหนดค่าตอบแทน จะคัดเลือกบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตามคุณสมบัตทิ บ่ ี ริษทั ฯกำหนด เพือ่ เข้ารับการคัดเลือก เป็นกรรมการบริษทั กรณีการคัดเลือกบุคคลทีเ่ หมาะสมเข้าดำรงตำแหน่งกรรมการบริษทั ฯ แทนกรรมการทีอ่ อกตามวาระ บริษทั ฯ เปิดโอกาส ให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยเสนอรายชือ่ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตามคุณสมบัตทิ บ่ี ริษทั ฯกำหนด เพื่อเข้ารับการคัดเลือกเป็นกรรมการบริษัทฯ โดยจะประกาศในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ให้ผู้ถือหุ้นเสนอรายชื่อและประวัติบุคคล เข้ามายังบริษัทฯ และคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จะทำการคัดเลือกและเสนอชื่อผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม โดยพิจารณาจากประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถที่จะเป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้พิจารณา เมือ่ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ มีมติเห็นชอบแล้ว บริษทั ฯ จะเสนอรายชือ่ บุคคลดังกล่าวเพือ่ ขออนุมตั เิ ลือกตัง้ เป็นกรรมการบริษทั ฯ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้น องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัท ปัจจุบัน คณะกรรมการบริษัทได้กําหนดหลักเกณฑ์ในการแต่งตั้งและถอดถอนกรรมการไว้ ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการอย่า งน้อ ย 5 คน และให้คณะกรรมการเลือกตัง้ กรรมการด้วยกันเป็นประธาน กรรมการ และอาจเลือกรองประธานกรรมการ และตำแหน่งอื่นตามที่เหมาะสม โดยกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จํานวนกรรมการทั้งหมดนั้นต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร 2. มีกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งหมด และไม่น้อยกว่า 3 คน 3. ผู้เป็นกรรมการของบริษัท ไม่จำเป็นจะต้องเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท 4. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการ โดยใช้เสียงข้างมากตามหลักเกณฑและวิธีการดังต่อไปนี้ (1) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจํานวนหุ้นที่ตนถือ (2) ผูถ้ อื หุน้ แต่ล ะคนจะต้องใช้ค ะแนนเสียงทีม่ อี ยูท่ ง้ั หมดเลือกตัง้ บุคคลคนเดียว หรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่ง คะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเป็นผู้ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจํานวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจํานวนที่ จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 18


ANNUALREPORT 2012

5. 6. 7. 8. 9.

ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจําปีท กุ ครัง้ ให้กรรมการลาออกจากตําแหน่งหนึง่ ในสาม ถ้าจํานวนกรรมการทีจ่ ะแบ่ง ออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจํานวนใกล้ที่สุดกับส่วนหนึ่งในสาม กรรมการที่จะต้องลาออกจากตำแหน่ง ในปีแรกและปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ใหจับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆต่อไป ให้กรรมการคนที่ อยูใ่ นตําแหน่ง นานทีส่ ดุ นัน้ เป็น ผูอ้ อกจากตําแหน่ง โดยกรรมการทีอ่ อกตามวาระนัน้ อาจถูกเลือกเขา มาดํารงตำแหน่งอีกได้ นอกจากการพ้นตำแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการอาจพ้นตำแหน่งเมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด (4) ที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้ออก (5) ศาลมีคำสั่งให้ออก ในกรณีทต่ี าํ แหน่งกรรมการว่า งลงเพราะเหตุอน่ื นอกจากถึงคราวออกตามวาระ คณะกรรมการบริษทั อาจเลือกบุคคลซึง่ มี คุณสมบัติ และไม่ม ลี กั ษณะต้อ งห้ามตามกฎหมายว่าด้ว ยบริษทั มหาชนจำกัด เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะ กรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าว จะอยู่ในตําแหนงกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน มติของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนกรรมการที่เหลืออยู่ ในกรณีทก่ี รรมการพ้นจากตำแหน่งทัง้ คณะ ให้คณะกรรมการทีพ่ น้ จากตำแหน่งยังคงอยูร่ กั ษาการในตำแหน่งเพือ่ ดำเนิน กิจการของบริษทั ต่อไปเพียงเท่าทีจ่ ำเป็น จนกว่ากรรมการชุดใหม่เข้ารับหน้าที่ เว้นแต่ศาลจะมีคำสัง่ เป็นอย่างอืน่ ในกรณีท่ี คณะกรรมการพ้นจากตำแหน่งตามคำสัง่ ศาล คณะกรรมการทีพ่ น้ จากตำแหน่งต้องจัดให้มกี ารประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ เลือกตัง้ คณะกรรมการชุดใหม่ภายในหนึ่งเดือน นับแต่วันพ้นจากตำแหน่ง โดยส่งหนังสือนัดประชุมไปยังผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า สิบสี่วันก่อนวันประชุม และโฆษณาคำบอกกล่าวนัดประชุมในหนังสือพิมพ์ไม่น้อยกว่าสามวันก่อนวันประชุมด้วย โดย จะต้องโฆษณาเป็นระยะเวลาสามวันติดต่อกัน ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อาจลงมติให้ก รรมการคนใดออกจากตําแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ ด้ว ยคะแนนเสียงไม่น อ้ ยกว่า สามในสี่ของจํานวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จํานวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน

ข้อกำหนดคุณสมบัติกรรมการอิสระ กรรมการอิสระของบริษทั ต้องเป็นกรรมการทีเ่ ป็นอิสระจากผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูบ้ ริหาร และผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง โดยต้องมีคณ ุ สมบัตดิ งั นี้ 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คล ที่อาจมีความขัดแย้ง โดยให้นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย 2. ไม่เป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้รบั เงินเดือนประจำ ผูม้ อี ำนาจควบคุมของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยลำดับเดียวกัน หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทัง้ ในปัจจุบนั และในช่วง ระยะเวลา 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง 3. ไม่มคี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้งในลักษณะ ทีเ่ ป็นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน ทัง้ ในปัจจุบนั และในช่วงระยะเวลา 2 ปีกอ่ นได้รบั การแต่งตัง้ ดังนี้ 3.1 ไม่เป็นผูส้ อบบัญชี ทัง้ นีใ้ ห้รวมถึงการไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผูบ้ ริหาร หรือหุน้ ส่วน ผู้จัดการของสำนักงานสอบบัญชี 3.2 ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ เช่น ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผู้ประเมินราคาทรัพย์สิน ซึ่งได้รับ ค่าบริการทางวิชาชีพจากบริษัทเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปี 3.3 ไม่ได้รบั ประโยชน์ทง้ั ทางตรงและทางอ้อม หรือมีสว่ นได้เสีย จากการทำธุรกิจ ได้แก่ รายการทีเ่ ป็นธุรกิจปกติ รายการเช่า หรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกีย่ วกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือรายการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน กับบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ทีม่ มี ลู ค่ารายการตัง้ แต่ 20 ล้านบาท หรือตัง้ แต่รอ้ ยละ 3 ของสินทรัพย์ ทีม่ ตี วั ตนสุทธิของบริษทั แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า โดยให้นบั รวมมูลค่ารายการในระหว่าง 1 ปี ก่อนวันทีม่ คี วาม สัมพันธ์ทางธุรกิจ ทัง้ นี้ ให้รวมถึงการไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผูบ้ ริหาร หรือหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การของผูท้ ม่ี คี วาม สัมพันธ์ทางธุรกิจดังกล่าว 4. ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็น บิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร กับผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำนาจควบคุมหรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอชื่อ เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทย่อย 19


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

5. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่ เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 6. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็น หุน้ ส่วนทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจำ หรือถือหุน้ เกินร้อยละหนึง่ ของจำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท 7. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัท หมายเหตุ ข้อกำหนดคุณสมบัตกิ รรมการอิสระของบริษทั ดังกล่าว เท่ากับข้อกำหนดขัน้ ต่ำของสำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)

องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั ฯ เป็น ผูแ้ ต่ง ตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยแต่ง ตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้ว นตามประกาศของตลาด หลักทรัพยแ ห่ง ประเทศไทย อย่า งน้อ ย 3 คน และมีวาระการดํารงตําแหน่ง 3 ปี โดยมีคณ ุ สมบัตแิ ละแนวทางการคัดเลือกกรรมการ ตรวจสอบ ดังนี้ 1. ได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการหรือผู้ถือหุ้น 2. กรรมการตรวจสอบทุกคนต้องเป็นกรรมการอิสระ 3. ไม่เป็นกรรมการทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ให้ตดั สินใจในการดำเนินกิจการของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัท 4. ไม่เป็นกรรมการของบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย และบริษัทย่อยลำดับเดียวกัน เฉพาะที่เป็นบริษัทจดทะเบียน 5. มีหน้าที่ตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด 6. มีกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน ทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะทำหน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือ ของงบการเงินได้ องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษทั ฯ เป็น ผูแ้ ต่ง ตัง้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 3 คน ซึง่ ต้องเป็นกรรมการบริษทั และไม่เป็นกรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร มีวาระการดํารงตําแหน่ง 3 ปี โดยกรรมการไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ต้อง เป็นกรรมการอิสระ 3. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

3.1 กรรมการ ค่าตอบแทนของกรรมการบริษัท ประจำปี 2555 มีดังต่อไปนี้ ประเภทค่าตอบแทน เบี้ยประชุม บำเหน็จ

20

ปี 2555 จำนวนกรรมการ 9 7

จำนวนเงิน (บาท) 589,000 900,000

นอกจากนี้ บริษทั ยังมีสวัสดิการให้กบั กรรมการในรูปส่วนลดการซือ้ ผลิตภัณฑ์ของบริษทั (ร้อยละ 5-15) เช่นเดียวกับพนักงานบริษทั


ANNUALREPORT 2012 ค่าตอบแทนกรรมการและจำนวนครั้งที่เข้าประชุม ในปี 2555 มีดังต่อไปนี้ ค่าเบี้ยประชุม/บำเหน็จ

จำนวนครั้งที่ เข้าประชุมของ คณะกรรมการ บริษัท1

ค่าเบี้ย ประชุม (บาท)

1) รองศาตราจารย์มานพ พงศทัต 2) นายเลิศชัย ลีลายนกุล 3) นายปัญจะ เสนาดิสยั 4) นางสุดจิต ทิวารี 5) นางสาวสุมดิ า พันธุก์ ระวี 6) นางสาวอัจฉราพร ศิรไิ พรวัน 7) นายรพิ พินจิ ชอบ 8) นายโกวิท ไววัฒนา 9) นายพิสฏิ ฐ์ ภัสฐาพงษ์

9/102

90,000

10/10 9/102 9/102 10/10

50,000 45,000 45,000 50,000

6/6 4/62 6/6

10/10

50,000

10/10 10/10 10/10

รวม

จำนวนครั้งที่ เข้าประชุมของ คณะกรรมการ ตรวจสอบ1

ค่าเบี้ย ประชุม (บาท)

จำนวนครั้งที ่ เข้าประชุมของ คณะกรรมการ สรรหาฯ1

ค่าเบี้ย ประชุม (บาท)

บำเหน็จ

200,000

42,000 20,000 30,000

1/1 1/1 1/1

5,000 7,000 5,000

50,000 50,000 50,000

-3 100,000 120,000

480,000

92,000

120,000 120,000 120,000 120,000 -3

17,000 900,000

หมายเหตุ : 1. บริษัทจัดประชุมคณะกรรมการบริษัทจำนวน 10 ครั้ง การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบจำนวน 6 ครั้ง การประชุม คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จำนวน 1 ครั้ง 2. กรรมการ (นายมานพ พงศทัต) ไม่ได้เข้าร่วมประชุมกรรมการบริษัทจำนวน 1 ครั้ง กรรมการ (นายปัญจะ เสนาดิสัย) ไม่ได้เข้าร่วมประชุมกรรมการบริษทั จำนวน 1 ครัง้ ไม่ได้เข้าร่วมประชุมกรรมการตรวจสอบจำนวน 2 ครัง้ และกรรมการ (นางสุดจิต ทิวารี) ไม่ได้เข้าร่วมประชุมกรรมการบริษทั จำนวน 1 ครัง้ เนือ่ งจากติดภารกิจสำคัญ อย่างไรก็ตามทางบริษทั มีการส่งรายงานการประชุมเพื่อรับทราบในทุกครั้งที่มีการประชุม 3. กรรมการที่เป็นผู้บริหาร ได้แก่ นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน และนายรพิ พินิจชอบ ไม่รับบำเหน็จ

3.2 ผู้บริหาร ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหารในรูปของเงินเดือนและโบนัส ในปี 2555 มีดังต่อไปนี้ ประเภทค่าตอบแทน จำนวน (ราย) จำนวนเงิน (บาท) เงินเดือน โบนัส เงินสมทบ 10 12,647,800 และเงินกองทุน หมายเหตุ : จำนวนผู้บริหาร 10 ท่าน เป็นจำนวนผู้บริหารตามที่ระบุในหัวข้อที่ 1(5) หน้า 17 นอกจากนี้ บริษัทยังมีสวัสดิการพนักงานในรูปอื่นๆโดยมีสวัสดิการหลัก เช่น ส่วนลดการซื้อผลิตภัณฑ์ของบริษัท (ร้อยละ 5 -15) เป็นต้น ซึ่งเป็นไปตามข้อกำหนดสวัสดิการของบริษัท

4. การกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจตามหลักบรรษัทภิบาล โดยเปิดเผย โปร่งใส ยุติธรรม และสามารถตรวจสอบได้ และตระหนักถึงความสำคัญของการกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) เพือ่ ทำให้เกิดความโปร่งใส เพิม่ ความสามารถในการแข่งขันของกิจการ รวมทัง้ เพิม่ ความเชือ่ มัน่ ของผูถ้ อื หุน้ โดยในปี 2555 ได้ปฏิบตั ติ ามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ สี ำหรับบริษทั จดทะเบียน ปี 2549 ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังนี้

สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษทั ได้ให้ความสำคัญ และเคารพสิทธิของผูถ้ อื หุน้ โดยผูถ้ อื หุน้ ทุกรายได้รบั สิทธิพน้ื ฐานต่างๆ เช่น สิทธิในการซือ้ ขาย โอนหลักทรัพย์ทต่ี นเองถืออยูอ่ ย่างเป็นอิสระ สิทธิในการการได้รบั ส่วนแบ่งกำไร สิทธิในการเข้าร่วมประชุมและออกเสียงลงคะแนน 21


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

บริษทั ส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ เข้าร่วมประชุม และมีสว่ นร่ว มในการพิจารณาตัดสินใจในเรือ่ งทีส่ าํ คัญผ่า นการประชุมผูถ้ อื หุน้ ซึง่ การประชุม ผูถ้ อื หุน้ นัน้ บริษทั จัดส่งเอกสารเชิญประชุมพร้อมทัง้ ข้อ มูล ประกอบการประชุมให้แ ก่ผถู้ อื หุน้ ล่ว งหน้า ตามทีก่ ฎหมายกําหนด อย่างน้อย 7 วัน มีการบันทึกการประชุมอย่า งถูกต้อ ง ครบถ้ว น นอกจากนี้ บริษทั ได้เปิด โอกาสให้ผ ถู้ อื หุน้ ตรวจสอบการดําเนินงาน สอบถาม ขอคำอธิบาย และแสดงความคิดเห็นในทีป่ ระชุมอย่างเป็นอิสระ ตลอดจนมีการบันทึกประเด็นข้อซักถาม และข้อคิดเห็น ทีส่ ำคัญไว้ในรายงานการประชุม และในกรณีทผ่ี ถู้ อื หุน้ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเองได้ ก็สามารถมอบฉันทะให้บคุ คลอืน่ เข้าร่วมประชุมและลงมติแทนได้

ความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น บริษทั มีนโยบายปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ แต่ละรายอย่างเท่าเทียมกัน ไม่วา่ จะเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่หรือรายย่อย เช่น ไม่เพิม่ วาระ การประชุมโดยที่ไม่ได้แจ้งล่วงหน้า ไม่เปลี่ยนแปลงข้อมูลสำคัญในที่ประชุมอย่างกะทันหัน เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ในการเสนอเพิม่ วาระการประชุมและเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เข้าดำรงตำแหน่งกรรมการก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ ผูถ้ อื หุน้ ทีไ่ ม่สามารถ เข้าร่วมประชุมได้ สามารถมอบฉันทะให้บคุ คลอืน่ เข้าร่วมประชุมและออกเสียงแทน โดยบริษทั ได้แนบหนังสือมอบฉันทะไปพร้อมกับ หนังสือเชิญประชุม รวมถึงมีการป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ หาประโยชน์สว่ นตน โดยการออกเป็นประกาศห้ามกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของบริษัท ในช่วง 1 เดือน ก่อนประกาศผลการดำเนินงานรายไตรมาส และ สิ้นรอบบัญชีหรือข้อมูลภายในนั้นจะเปิดเผยต่อสาธารณชน ซึ่งในระหว่างปีที่ผ่านมา กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ได้ ปฏิบัติตามนโยบายอย่างเคร่งครัด โดยไม่ปรากฏว่ามีการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ในช่วงที่ห้ามเลย บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทได้ให้ความสำคัญและเคารพต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องในการดําเนินกิจการ เช่น ลูกค้า พนักงาน คู่ค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ และชุมชน เป็นต้น ซึ่งแต่ละกลุ่มต่างก็มีวัตถุประสงค์และความคาดหวังที่แตกต่างกัน โดยในปีที่ผ่านมา บริษัทได้ปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียตามนโยบายบริษัท ดังนี้ ผูถ้ อื หุน้ : ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายได้รบั สิทธิพน้ื ฐาน สิทธิทก่ี ำหนดไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของบริษทั เช่น สิทธิในการซือ้ ขาย โอนหลักทรัพย์ทต่ี นเองถืออยู่ สิทธิในการตรวจสอบจำนวนหุน้ สิทธิในการได้รบั ใบหุน้ สิทธิทจ่ี ะได้รบั ผลตอบแทน อย่างเป็นธรรม สิทธิในการเข้าร่วมประชุมและใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนน เป็นต้น ลูกค้า : บริษัทมีนโยบายที่จะให้ลูกค้าได้รับบริการที่ดีและได้รับสินค้าที่มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยยึดถือและ ปฏิบัติตามเงื่อนไข ข้อเสนอ หรือคำมั่นที่ให้ไว้กับลูกค้า รักษาข้อมูลอันเป็นความลับหรือไม่พึงเปิดเผยข้อมูล ของลูกค้าอย่างเคร่งครัด รวมทัง้ การโฆษณาประชาสัมพันธ์โ ครงการของบริษทั ไม่ท าํ ให้ล กู ค้าหรือประชาชน ทั่วไปเกิดความเข้าใจผิดเกี่ยวกับคุณภาพ ราคา หรือเงื่อนไขในการขาย หรือการให้บริการ พนักงาน: บริษทั ได้ให้ความสำคัญกับทรัพยากรบุคคลมาโดยตลอด มุง่ มัน่ ทีจ่ ะให้พนักงานทุกคนมีทศั นคติทด่ี สี ำนึกในหน้าที่ และความรับผิดชอบ มีความภาคภูมิใจและเชื่อมั่นในองค์กร ตลอดจนมีการปรับปรุงระบบบริหารบุคคลเพื่อ สนับสนุนการปฏิบตั งิ านให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ส่งเสริมให้ศกึ ษาต่อในระดับปริญญาโท ส่งเสริมให้เข้ารับการอบรม ในหัวข้อที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ให้ความสำคัญกับการดูแลรักษาสุขภาพ ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน รวมถึงพิจารณาค่าตอบแทนของพนักงานให้มีความเหมาะสมโดยประเมิน จากผลการปฏิบัติงานของพนักงานแต่ละคน และเทียบเคียงกับอุตสาหกรรมเดียวกัน คูค่ า้ : บริษทั ให้ความสำคัญของการปฏิบตั ติ อ่ คูค่ า้ ตามเงือ่ นไขทางการค้าและปฏิบตั ติ ามสัญญา มีการประพฤติตามกรอบ กติกาที่ดี และไม่ใช้วิธีการที่ไม่สุจริต คู่แข่งทางการค้า บริษัทปฏิบัติงานภายใต้กรอบนโยบายของบริษัท โดย ยึดมั่นในการดำเนินธุรกิจภายใต้กฎหมายและกรอบกติกาด้วยความเป็นธรรม โปร่งใส ไม่แสวงหาความลับ ของคู่แข่งด้วยวิธีที่ไม่สุจริต ผิดกฎหมาย ไม่ทำลายชื่อเสียงของคู่แข่งด้วยการกล่าวร้าย หรือกระทำการใดๆที่ ปราศจากความจริงหรือไม่เป็นธรรม โดยในปีทผ่ี า่ นมา บริษทั ไม่มขี อ้ พิพาทใดๆในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับคูแ่ ข่งทางการค้า เจ้าหนี้ : บริษทั ได้ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขการกูย้ มื เงินตามสัญญา และข้อตกลงทีม่ ตี อ่ เจ้าหนี ้ เช่น ธนาคาร สถาบันการเงิน และเจ้าหนี้การค้า สังคมและ : บริษทั ได้ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนกิจกรรมทีจ่ ดั ขึน้ เพือ่ สังคมอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ โครงการระยะสัน้ สิง่ แวดล้อม และระยะยาวทีส่ นับสนุนทัง้ องค์การภาครัฐและภาคเอกชนในด้านการศึกษา ศาสนา สิง่ แวดล้อมและสังคม โดยปีที่ผ่านมา บริษัทได้ดำเนินการ ดังนี้ - ในปี 2555 จัดกิจกรรม “Rasa Green Hearts” เพือ่ รณรงค์การลดภาวะโลกร้อน โดยร่วมกับสำนักงานเขต และโรงเรียนชัน้ นำต่างๆทีอ่ ยูบ่ ริเวณใกล้เคียงกับโครงการของบริษทั เพือ่ ส่งเสริมการคัดแยกขยะก่อนทิง้ ด้วยการแจกถังหมักชีวภาพ การแจกถุงผ้าเพือ่ ทดแทนการใช้ถงุ พลาสติก รวมถึงการส่งเสริมให้ผบู้ ริโภค หันมาบริโภคข้าวทีป่ ลูกโดยวิถธี รรมชาติ สีโดยโรงสีชมุ ชน ไม่ใช้ปยุ๋ เคมีและยาฆ่าแมลงใดๆ เป็นต้น 22


ANNUALREPORT 2012

- ในปี 2556 นี้ บริษทั ได้จดั กิจกรรม “Peach” ส่งเสริมความสงบสุข ลดการใช้ความรุนแรงทัง้ ในส่วน ของครอบครัว ชุมชน และสังคม เพื่อเป็นการพัฒนาจิตให้เกิดความสันติสุข ทั้งนี้ จะร่วมกับศูนย์ ส่งเสริมพระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทยในพระสังฆราชูปถัมภ์ ร่วมจัดงานสัปดาห์สง่ เสริมพระพุทธศาสนา เนื่องในเทศกาลวิสาขบูชา

การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส คณะกรรมการบริษทั ให้ความสำคัญกับเรือ่ งการเปิดเผยข้อมูลทีโ่ ปร่งใส ถูกต้อง ครบถ้วน เนือ่ งจากเป็นเรือ่ งทีม่ ผี ลกระทบต่อ การตัดสินใจของผูล้ งทุนและผูม้ สี ว่ นได้เสีย บริษทั ยึดถือและปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆทีก่ ำหนดโดยสำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหน่วยงานอื่นของภาครัฐ ในปีที่ผ่านมา บริษัทเปิดเผยข้อมูลทางการเงินหรือข้อมูลทั่วไปที่สำคัญที่อาจมีผลกระทบต่อราคาหุ้น ผ่านระบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีสาระสำคัญครบถ้วน เพียงพอ เชื่อถือได้ และทันเวลา งบการเงินที่เปิดเผยนั้น ได้ ผ่านการตรวจสอบและแสดงความเห็นแบบไม่มีเงื่อนไขจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและผ่านคณะกรรมการตรวจสอบก่อนเปิดเผย ต่อผู้ถือหุ้น จัดให้มีรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน ข้อมูลเกี่ยวกับรายชื่อ อำนาจหน้าที่ และ การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และคณะ กรรมการบริหาร พร้อมค่าตอบแทน ประวัติการอบรมของกรรมการและผู้บริหารแต่ละท่านไว้ในรายงานประจำปี ทัง้ นี้ บริษทั ได้แต่งตัง้ นายจารึก เอกอินทุมาศ เป็นนักลงทุนสัมพันธ์ ทำหน้าทีต่ ดิ ต่อสือ่ สาร และให้ขอ้ มูลของบริษทั กับนักลงทุน สถาบัน ผูถ้ อื หุน้ นักวิเคราะห์ และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง โดยในปีทผ่ี า่ นมา ผูบ้ ริหารระดับสูง และนักลงทุนสัมพันธ์ได้ให้ขอ้ มูลข่าวสาร ของบริษทั แก่นกั ลงทุน นักวิเคราะห์และผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง เมือ่ มีผเู้ ข้าพบเพือ่ ขอสัมภาษณ์ มีการสอบถามข้อมูลทางโทรศัพท์ ซึง่ นักลงทุนสามารถ ติดต่อได้ที่ หมายเลขโทรศัพท์ 0-2937-1200 หรือ อีเมล์ : IR@rasa.co.th ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสร้างคณะกรรมการ บริษทั มีกรรมการทัง้ หมดจำนวน 9 ท่าน เป็นกรรมการอิสระ 5 ท่าน โครงสร้างการจัดการของบริษทั ประกอบด้วย คณะกรรมการ 4 ชุด คือ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร ซึ่งมีการกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน รายละเอียดเกี่ยวกับ รายชื่อ และขอบเขตอำนาจหน้าที่ อยู่ในหน้า 14 -17 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร บริษทั ได้จดั ตัง้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เพือ่ ทำหน้าทีพ่ จิ ารณาหลักเกณฑ์ในการจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการ และผู้บริหารระดับสูง โดยพิจารณาจากการเปรียบเทียบกับระดับที่ปฏิบัติอยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน ผลประกอบการของบริษัท และหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการ เพื่อเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการ และเสนอขออนุมัติค่าตอบแทนของกรรมการต่อ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น ส่วนค่าตอบแทนผู้บริหารเป็นไปตามหลักการและนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทกำหนด ซึ่งเชื่อมโยงกับผลการ ดำเนินงานของบริษัท และผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารแต่ละท่าน การแยกหรือรวมตำแหน่ง บริษทั มีการกําหนดและแยกอํานาจของคณะกรรมการบริษทั และกรรมการบริหารของบริษทั ออกจากกันอย่างชัดเจน เพือ่ ใหเ กิด การถ่ว งดุลและการสอบทานการบริหารงาน และโครงสร้า งคณะกรรมการของบริษทั ประกอบด้ว ย กรรมการทีไ่ ม่ไ ด้เ ป็น ผูบ้ ริหารจํานวน 6 ท่าน เพื่อให้การบริหารและจัดการบริษัทเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใส การประเมินผลคณะกรรมการ ในปี 2555 บริษทั จัดให้มกี ารประเมินผลงานคณะกรรมการตามแบบประเมินตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยกรรมการทุกท่าน เป็นผูป้ ระเมินผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการทัง้ คณะโดยอิสระ ผลการประเมินส่วนใหญ่เห็นด้วยกับโครงสร้าง และองค์ประกอบของคณะกรรมการว่ามีความเหมาะสม กรรมการอิสระมีจำนวนเหมาะสมช่วยให้การทำหน้าทีโ่ ดยรวมมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการเข้าใจบทบาทหน้าทีข่ องตนเอง มีความสัมพันธ์ทด่ี กี บั ฝ่ายจัดการและสามารถหารือกับกรรมการผูจ้ ดั การได้อย่างตรงไป ตรงมา ซึ่งผลการประเมินนั้นคณะกรรมการบริษัทได้ทำการวิเคราะห์ และหาข้อสรุปเพื่อกำหนดมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ การทำงานของคณะกรรมการต่อไป

23


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการ บริษทั มีนโยบายสนับสนุนให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และผูป้ ฏิบตั ดิ า้ นการกำกับ ดูแลกิจการของบริษทั เข้าร่วมอบรมและสัมมนาในหลักสูตรทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การปฏิบตั งิ านหน้าที่ กับหน่วยงานหรือสถาบันต่างๆ เช่น สถาบันส่งเสริมกรรมการบริษัทไทย (IOD) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อ ให้มีการปรับปรุงการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง และนำความรู้มาพัฒนาให้เป็นประโยชน์กับบริษัทต่อไป การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั มีกำหนดวันประชุมเป็นการล่วงหน้าในแต่ละปี โดยจะจัดเวลาประชุมให้สอดคล้องกับกรรมการทุกท่านให้มากทีส่ ดุ และแจ้งให้คณะกรรมการทราบตั้งแต่ต้นปี เพื่อให้กรรมการจัดเวลาเข้าร่วมประชุม ซึ่งอาจมีการประชุมคณะกรรมการเพิ่มเติม ตามความเหมาะสม ในการประชุมแต่ละครัง้ มีการกำหนดวาระการประชุมทีช่ ดั เจน มีเอกสารประกอบการประชุมทีค่ รบถ้วน เพียงพอ และจัดส่งให้กบั คณะกรรมการล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน เพือ่ ให้คณะกรรมการได้มเี วลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม และในระหว่างการประชุม ประธานกรรมการจะจัดสรรเวลาในการประชุมอย่างเพียงพอ และส่งเสริมให้แสดงความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระ นอกจากนี้ ได้จัดให้มีการจดบันทึกรายงานการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร มีเนื้อหาสาระครบถ้วน แล้วเสร็จในเวลาที่เหมาะสม พร้อมทัง้ จัดเก็บรายงานและเอกสารประกอบอย่างเป็นระบบ พร้อมให้คณะกรรมการและผูท้ เ่ี กีย่ วข้องตรวจสอบ ในปี 2555 บริษทั ได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัท รวม 10 ครั้ง ดังรายละเอียดในหน้า 21 5. การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ ได้กำหนดระเบียบบริษัทเกี่ยวกับการควบคุมมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานที่รับทราบข้อมูลภายในนำ ข้อมูลภายในไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน โดยบริษัทมีนโยบายให้บุคคลที่เกี่ยวข้องดังกล่าวปฏิบัติดังนี้ 1) บริษทั จะให้ความรูแ้ ก่กรรมการและผูบ้ ริหาร เพือ่ ให้รบั ทราบถึงหน้าทีใ่ นการรายงานการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของตน คูส่ มรส และบุตร ทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ รวมถึงบทกำหนดโทษตามพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม และตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2) กรรมการ และผู้บริหารมีหน้าที่จัดทำและส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยต้องรายงานดังนี้ - รายงานการถือหลักทรัพย์ครัง้ แรก (แบบ 59-1) ภายใน 30 วันนับแต่วนั ปิดการเสนอขายหลักทรัพย์ตอ่ ประชาชน หรือวันที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งกรรมการหรือผู้บริหาร - รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ (แบบ 59-2) อันเนื่องมาจากการซื้อ ขาย โอนหรือรับโอนหลักทรัพย์ ทั้งนี้ ภายใน 3 วันทำการนับตั้งแต่มีการซื้อ ขาย โอนหรือรับโอนหลักทรัพย์นั้น และให้ส่งสำเนารายงานการถือ หลักทรัพย์ดังกล่าวให้แก่บริษัทภายในวันที่ส่งรายงานดังกล่าวให้แก่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ 3) ประกาศให้ทราบทั่วกันว่า กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานที่รับทราบข้อมูลภายในที่มีนัยสำคัญที่อาจส่งผลต่อการ เปลีย่ นแปลงของราคาซือ้ ขายหลักทรัพย์ จะต้องระงับการซือ้ หรือขายหลักทรัพย์ของบริษทั ในช่วง 1 เดือนก่อนทีบ่ ริษทั จะมีการประกาศผลการดำเนินงาน (กำหนดเวลาในการประกาศผลการดำเนินงาน คือ 45 วันนับจากวันสิ้นไตรมาส และ 60 วันนับจากวันสิ้นงวดบัญชี) หรือข้อมูลภายในนั้นจะเปิดเผยต่อสาธารณชน บริษทั มีมาตรการลงโทษหากพบว่ากรรมการหรือผูบ้ ริหารฝ่าฝืนนโยบายบริษทั และทำให้บริษทั ได้รบั ความเสือ่ มเสียหรือ เสียหาย และบริษัทจะประสานงานกับหน่วยงานกำกับดูแลที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการตามกฎหมายต่อไป ทั้งนี้ มาตรการลงโทษจะขึ้นกับลักษณะแห่งความผิด หรือความหนักเบาของการกระทำผิด หรือความร้ายแรงที่เกิดขึ้น เช่น การตักเตือนด้วยวาจา การตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร การพักงาน เป็นต้น 6. การควบคุมภายใน บริษัทจัดให้มีการควบคุมภายในโดยการว่าจ้างบริษัท บาลานซ์ ฟิกเกอร์ ออดิท จำกัด ทำหน้าที่ในการสอบทานและ ให้คำแนะนำแก่ฝา่ ยต่างๆเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ และรายงานตรงกับคณะกรรมการตรวจสอบ จากการสรุปผลรายงานการประเมินความเพียงพอระบบการควบคุมภายในประจำปี 2555 พบว่าบริษทั มีขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ านของ แต่ละระบบอย่างชัดเจนโดยมีคมู่ อื ปฏิบตั งิ าน มีการกำหนดจุดควบคุมภายในทีม่ สี าระสำคัญอย่างเพียงพอ ในการประชุมคณะกรรมการ บริษทั ครัง้ ที่ 1/2556 เมือ่ วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2556 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมครบทัง้ 3 ท่านคณะกรรมการบริษทั ได้รว่ มกันประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษทั โดยการพิจารณาจากรายงานของผูต้ รวจสอบภายในอิสระและการสอบถาม 24


ANNUALREPORT 2012 ประเด็นต่างๆ จากฝ่ายบริหาร เพื่อประเมินการควบคุมภายในของบริษัท 5 ด้านคือ 1. ด้านองค์กรและสภาพแวดล้อม 2. ด้านการบริหารความเสี่ยง 3. ด้านการควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร 4. ด้านระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล 5. ด้านระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษทั ประเมินว่า บริษทั มีการควบคุมภายในในเรือ่ งการทำธุรกรรมกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือ ผูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับบุคคลดังกล่าวข้างต้นอย่างเพียงพอและเหมาะสม ทัง้ นี้ กรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบไม่มคี วามเห็น ที่แตกต่างไปจากความเห็นของคณะกรรมการบริษัท 7. นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษทั มีนโยบายจ่า ยเงินปัน ผลให้แ ก่ผ ถู้ อื หุน้ ในอัตราไม่น อ้ ยกว่า ร้อ ยละ 40 ของกำไรสุทธิภายหลังหักภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล เงินสํารองตามกฎหมาย และเงินสํารองอืน่ ๆ ทัง้ นี้ การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวอาจเปลีย่ นแปลงได้ขน้ ึ อยูก่ บั ผลประกอบการ แผนการขยายธุรกิจ สภาพคล่อง ความจําเป็น และความเหมาะสมอื่นๆในอนาคต โดยบริษัทจะให้อำนาจคณะกรรมการของบริษัทในการพิจารณา ซึ่งการดําเนินการดังกล่าวจะต้องก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น

25


26

71

1. รองศาตราจารย์ มานพ พงศทัต - ประธานกรรมการ

อายุ (ปี)

ชื่อ-สกุล / ตำแหน่ง

2547–ปัจจุบนั 2547–2553 ปัจจุบัน 2548–ปัจจุบนั ปัจจุบัน ปัจจุบัน

ช่วงเวลา

-

ผู้บริหาร1

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้น ทางครอบครัว (%) ระหว่างกรรมการ/

Master of Regional Planning, Institute of 1.25 Social Studies, The Netherlands. Certificate In Developing Planning, University College London, England. Master of Architecture, Kansas State University, USA. สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หลักสูตรจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - DAP รุ่นที่ 8/2547 - DCP รุ่นที่ 10/2547 - The Role of The Chairman Program รุ่นที่ 17/2007 - หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 8 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ

คุณวุฒิการศึกษา

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผู้บริหารของบริษัท

ณ วันที่ 1 มีนาคม 2556

ประวัติโดยย่อของคณะกรรมการและผู้บริหารของบริษัท

บริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บริษัท/หน่วยงาน

สถาบันการศึกษา

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

ประเภทธุรกิจ

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ สรรหา

กรรมการ

ให้บริการที่ปรึกษาด้าน วิศวกรรมและสิ่งแวดล้อม ให้บริการดำเนินการเก็บขน และกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ด้านอสังหาริมทรัพย์ บริษัท ธนาคารเกียรตินาคิน สถาบันการเงิน จำกัด (มหาชน)

บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด

กรรมการอิสระ และ บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด โรงแรมและบริการอื่นๆ กรรมการตรวจสอบ (มหาชน)

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ บริหาร ศาสตราภิชาน

ตำแหน่ง

ประสบการณ์การทำงานในระยะ 5 ปี (2551 ถึง ปัจจุบัน)

RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.


ชื่อ-สกุล / ตำแหน่ง

อายุ (ปี)

คุณวุฒิการศึกษา

หลักสูตรจากสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - DCP รุ่นที่ 53/2548 - ACP ปี 2007

0.125

-

ผู้บริหาร1

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้น ทางครอบครัว (%) ระหว่างกรรมการ/

หลักสูตรจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - DAP รุ่นที่ 56/2006

O’Level & A’ Level , Notre Dame Convent, England ประกาศนียบัตร, Frank Field Secretarial College, England ปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยราชภัฎ สุราษฎร์ธานี

3. นางสาวสุมิดา พันธุ์กระวี 61 - กรรมการอิสระ - กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน

-

0.05

2. นายเลิศชัย ลีลายนกุล 74 เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต, - กรรมการอิสระ North Dakota State University, USA - ประธานกรรมการตรวจสอบ - กรรมการสรรหาและพิจารณา เศรษฐศาสตร์บัณฑิต, ค่าตอบแทน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ตำแหน่ง

บริษัท/หน่วยงาน

2548–2555 ผู้จัดการกอง กิจสัมพันธ์ ธุรกิจการบิน

บมจ. การบินไทย

2547–ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ 2552–ปัจจุบัน กรรมการสรรหาและ ดีเวลลอปเม้นท์ พิจารณาค่าตอบแทน

2530–ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท หงษ์แสงไทย จำกัด

บริษัท เทพประสิทธิ์ การโยธา จำกัด

2531–ปัจจุบัน กรรมการ

คมนาคมขนส่ง

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (ถือครองที่ดิน)

บริษทั แอล เอ โฮลดิง้ ส์ จำกัด ให้เช่าห้องชุด

บริษัท พาโตเคมีอุตสาหกรรม เคมีเกษตร จำกัด (มหาชน)

2540–ปัจจุบัน กรรมการ

2541–ปัจจุบัน กรรมการอิสระ/ ประธาน คณะกรรมการ ตรวจสอบ

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

ประเภทธุรกิจ

ประสบการณ์การทำงานในระยะ 5 ปี (2551 ถึง ปัจจุบัน)

2547–ปัจจุบัน กรรมการอิสระ/ บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ ประธานกรรมการ ดีเวลลอปเม้นท์ ตรวจสอบ 2552-ปัจจุบัน กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน

ช่วงเวลา

ANNUALREPORT 2012

27


28

ชื่อ-สกุล / ตำแหน่ง

อายุ (ปี)

- DCP รุ่นที่ 20/2545 - ACP ปี 2004

Master of Business Administration (MBA), Suffolk University, USA หลักสูตรจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

คุณวุฒิการศึกษา

1.00

-

ผู้บริหาร1

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้น ทางครอบครัว (%) ระหว่างกรรมการ/ ตำแหน่ง

บริษัท/หน่วยงาน

ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย ถือหุ้นลงทุนในบริษัทต่างๆ ดำเนินธุรกิจหลักทรัพย์ และด้านที่ปรึกษา ทางการเงิน ผลิตชิ้นส่วนอิเลคโทรนิคส์ ให้บริการทางการเงิน

บมจ. เดวา พร็อพเพอร์ตี้ บมจ. ทรีนีตี้ วัฒนา บมจ. เคซีอี อิเลคโทรนิคส์ ธนาคารออมสิน

รับเหมาก่อสร้าง งานฐานราก

บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี

2548-ปัจจุบัน กรรมการ/ บมจ. ไพลอน ประธานกรรมการ ตรวจสอบ

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

ประเภทธุรกิจ

ประสบการณ์การทำงานในระยะ 5 ปี (2551 ถึง ปัจจุบัน)

2547–ปัจจุบัน กรรมการอิสระ/ บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ กรรมการตรวจสอบ ดีเวลลอปเม้นท์ 2552-ปัจจุบัน ประธานกรรมการ สรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน

ช่วงเวลา

- RCC รุ่น 2/2550 2543–ปัจจุบัน กรรมการ 2549–ปัจจุบัน ประธานกรรมการ ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ตรวจสอบ/ สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 8 กรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน ประกาศนียบัตรหลักสูตรการกำกับดูแล กิจการสำหรับกรรมการและผู้บริหาร 2547–2554 ประธานกรรมการ ระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การ มหาชนรุ่นที่ 2 สถาบันพัฒนากรรมการ และผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ 2545–ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ประกาศนียบัตร หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง และประธานกรรมการ ด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT) พิจารณาผลตอบแทนฯ รุ่นที่ 4 2526-ปัจจุบัน กรรมการ 2549-2552 กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการ พิจารณาผลตอบแทนฯ

4. นายปัญจะ เสนาดิสัย 64 - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ - ประธานกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน

RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.


อายุ (ปี)

52

ชื่อ-สกุล / ตำแหน่ง

5. นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน - กรรมการ - ประธานกรรมการบริหาร

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ - หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 19 - หลักสูตรการบริหารจัดการด้าน ความมั่นคงขั้นสูง รุ่นที่ 3

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตรกลยุทธ์การบริหารธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ รุ่น 22 - หลักสูตรภูมิพลังแผ่นดิน รุ่น 1

หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านการค้า การพาณิชย์ รุน่ 4 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ หลักสูตรจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - DAP รุ่นที่ 56/2006 - RCC รุ่นที่ 6/2008

คุณวุฒิการศึกษา -

ผู้บริหาร1

22.00

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้น ทางครอบครัว (%) ระหว่างกรรมการ/ ตำแหน่ง

บริษัท/หน่วยงาน

2539–ปัจจุบัน เจ้าของกิจการ บริษัท การ์ด แอนด์ ทิงส์ จำกัด (Distributor Carte Blanche Owner)

ขายสินค้าทั่วไป

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

ประเภทธุรกิจ

ประสบการณ์การทำงานในระยะ 5 ปี (2551 ถึง ปัจจุบัน)

2553-ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ 2547–ปัจจุบัน กรรมการบริหาร ดีเวลลอปเม้นท์ 2547–2552 กรรมการผู้จัดการ

ช่วงเวลา

ANNUALREPORT 2012

29


30

65

6. นางสุดจิต ทิวารี - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ

ตำแหน่ง

บริษัท/หน่วยงาน

2541–ปัจจุบัน กรรมการ

2549–ปัจจุบัน กรรมการ 2544–ปัจจุบัน กรรมการ

2551–ปัจจุบัน กรรมการ

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

บริษัท เดย์ สตาร์ จำกัด

โรงแรม รีสอร์ท

บริษัท เดย์สตาร์ เอเชียฟันด์ ลงทุนในกิจการ คอร์ปอเรชั่น จำกัด

บริษทั รสา ฮอสพิทลั ลิต้ี จำกัด ให้คำปรึกษาด้านโรงแรม รีสอร์ท

บริษทั เดย์สตาร์ กระบี่ จำกัด โรงแรม รีสอร์ท

บริษทั พีเอ ลินน์ฟลิ ลิป จำกัด นายหน้า ตัวแทน บริหารโครงการ/อาคารชุด

2551–ปัจจุบัน กรรมการ

ปิโตรเคมีคัลส์ ประกอบกิจการซื้อ ขาย แก๊สปิโตรเลียมเหลว ทุกชนิด

ประกอบกิจการซื้อ ขาย แก๊สปิโตรเลียมเหลว ทุกชนิด

บมจ. เวฟ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ บันเทิงและสันทนาการ

บมจ. สยามแก๊ส แอนด์

2553-ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ 2550–ปัจจุบัน กรรมการ/ ดีเวลลอปเม้นท์ กรรมการบริหาร 2550–2552 รองกรรมการผู้จัดการ

2542–2554 กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ

2549–ปัจจุบัน กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

2551–ปัจจุบัน กรรมการอิสระ/ บมจ. ยูนิคแก๊ส แอนด์ กรรมการตรวจสอบ ปิโตรเคมีคัลส์

2551–ปัจจุบัน กรรมการอิสระ/ บริษัท เครดิตฟองซิเอร์ ลินน์ เครดิตฟองซิเอร์ กรรมการตรวจสอบ ฟิลลิปส์ มอทเก็จ จำกัด

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

ประเภทธุรกิจ

ประสบการณ์การทำงานในระยะ 5 ปี (2551 ถึง ปัจจุบัน)

2547–ปัจจุบัน กรรมการอิสระ/ บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ กรรมการตรวจสอบ ดีเวลลอปเม้นท์

ช่วงเวลา

-

- DAP รุ่นที่ 56/2006 - DCP รุ่นที่ 85/2007 หลักสูตร The Boss รุ่นที่ 58 Management and Psychology Institute

-

ผู้บริหาร1

-

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้น ทางครอบครัว (%) ระหว่างกรรมการ/

MSc. Administration (Financial Econom- 18.43 ics), Boston University Metropolitian College, USA Bachelor Degree, Boston University School of Management, USA หลักสูตรจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

- ACP รุ่นที่ 5/2548

บัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Master of Business Administration (MBA), Fresno State University หลักสูตรจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - DCP รุ่นที่ 31/2546 - DAP รุ่นที่ 34/2548

คุณวุฒิการศึกษา

7. นายรพิ พินิจชอบ 37 - กรรมการ - กรรมการผู้จัดการ - กรรมการบริหาร

อายุ (ปี)

ชื่อ-สกุล / ตำแหน่ง

RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.


ประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหาร งานภาครัฐและกฎหมายมหาชน สถาบันพระปกเกล้า ปี 2546

ปริญญาบัตร หลักสูตร การป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ปี 2549

หลักสูตรจากสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - DCP ปี 2553

2547-2550 ผู้ช่วยผู้ว่าการ

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

2550–ปัจจุบัน รองผู้ว่าการ

บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์

สามัญวิศวกรโยธา 2431 หลักสูตร DAP รุ่นที่ 56/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 2553-ปัจจุบัน กรรมการอิสระ

บริษัท/หน่วยงาน

9. นายพิสิฏฐ์ ภัสฐาพงษ์ 58 รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต - - - กรรมการอิสระ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศิลปศาสตร์บัณฑิต (รัฐศาสตร์), นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ตำแหน่ง

2550–ปัจจุบัน กรรมการ/ บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ กรรมการบริหาร/ ดีเวลลอปเม้นท์ ที่ปรึกษา

ช่วงเวลา

รัฐวิสาหกิจ/พลังงาน

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

ประเภทธุรกิจ

ประสบการณ์การทำงานในระยะ 5 ปี (2551 ถึง ปัจจุบัน)

2547-2553 ผู้ช่วยกรรมการ ผู้จดั การ

ผู้บริหาร1

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้น ทางครอบครัว (%) ระหว่างกรรมการ/

คุณวุฒิการศึกษา -

อายุ (ปี)

67 Bachelor of Science in Civil Engineer, 0.012 Mapu’a Institute of technology, Philippines

ชื่อ-สกุล / ตำแหน่ง

8. นายโกวิท ไววัฒนา - กรรมการ - กรรมการบริหาร - ที่ปรึกษาด้านวิศวกรรม และการก่อสร้าง

ANNUALREPORT 2012

31


32

ชื่อ-สกุล / ตำแหน่ง

อายุ (ปี)

คุณวุฒิการศึกษา

หลักสูตรจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - CSP รุ่นที่ 19/2006 - EMT รุ่นที่ 5/2006

13. นางสาวนันทรัตน์ โกวิทคณิต 37 ปริญญามหาบัญฑิต - กรรมการบริหาร คณะพาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี - ผู้จัดการฝ่ายการตลาด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการขาย ปริญญาบัญฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

12. นางณัฐยา นวราช 49 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต - กรรมการบริหาร มหาวิทยาลัยรามคำแหง - ผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชีและการเงิน บัญชีบญ ั ฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม

11. นางศิริลักษณ์ จรูญรัตนสกุล 48 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต - กรรมการบริหาร - ผู้จัดการฝ่ายบริหารทั่วไป - เลขานุการบริษัท บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการเงินการธนาคาร มหาวิทยาลัยรามคำแหง

10. นายบูรณินท์ ทองสุวรรณ 45 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต - กรรมการบริหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ผู้จัดการฝ่ายการจัดการงาน ก่อสร้าง วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาโยธา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการงานก่อสร้าง) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

-

0.025

0.005

-

-

-

-

-

ผู้บริหาร1

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้น ทางครอบครัว (%) ระหว่างกรรมการ/ ตำแหน่ง

บริษัท/หน่วยงาน

2553-ปัจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ 2546–ปัจจุบัน ผูจ้ ดั การฝ่ายการตลาด ดีเวลลอปเม้นท์ และการขาย

2553-ปัจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ 2539–ปัจจุบัน ผู้จัดการฝ่ายบัญชี ดีเวลลอปเม้นท์ และการเงิน

2553-ปัจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ 2551-ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท ดีเวลลอปเม้นท์ 2547–ปัจจุบัน ผูจ้ ดั การฝ่ายบริหารทัว่ ไป

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

ประเภทธุรกิจ

ประสบการณ์การทำงานในระยะ 5 ปี (2551 ถึง ปัจจุบัน)

2553-ปัจจุบัน กรรมการบริหาร/ บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ ผู้จัดการฝ่าย ดีเวลลอปเม้นท์ การจัดการงานก่อสร้าง 2546–ปัจจุบัน วิศวกรโครงการ

ช่วงเวลา

RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.


ชื่อ-สกุล / ตำแหน่ง

อายุ (ปี)

คุณวุฒิการศึกษา

ผู้บริหาร1

สัดส่วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้น ทางครอบครัว (%) ระหว่างกรรมการ/ ช่วงเวลา

ตำแหน่ง

บริษัท/หน่วยงาน

ประเภทธุรกิจ

ประสบการณ์การทำงานในระยะ 5 ปี (2551 ถึง ปัจจุบัน)

-

-

-

2553-ปัจจุบัน ผู้จัดการฝ่าย พัฒนาผลิตภัณฑ์

2553-ปัจจุบัน ผู้จัดการฝ่าย ทรัพยากรบุคคล

2553-ปัจจุบัน ผู้จัดการฝ่าย เทคโนโลยีและ สารสนเทศ

บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์

บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์

บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์

1

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร หมายถึง ความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือ ความสัมพันธ์โดยการสมรส หรือ ความสัมพันธ์โดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี โครงการบริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (MRE) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

-

17. นายอภิชาติ อ่องวิบูล 35 สถาปัตยกรรมศาสตร์ - ผูจ้ ดั การฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร ี

-

16. นางสาวพีรยากร ไวว่อง 38 ครุศาสตร์บัณฑิต สถาบันราชภัฏพระนคร - ผูจ้ ดั การฝ่ายทรัพยากรบุคคล

-

15. นางสาวจันทนี ถนอมพงษ์ชาติ 31 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต - ผู้จัดการฝ่ายเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสารสนเทศ บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยโยนก

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ด้านที่อยู่อาศัย

14. นายจารึก เอกอินทุมาศ 51 ประกาศนียบัตรชั้นสูงทางการสอบบัญชี - - 2553-ปัจจุบัน ผู้จัดการฝ่าย บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ - ผู้จัดการฝ่าย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักลงทุนสัมพันธ์ ดีเวลลอปเม้นท์ ด้านที่อยู่อาศัย นักลงทุนสัมพันธ์ และจัดสรรเงินทุน และจัดสรรเงินทุน ปริญญาตรีบัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2547-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. เจ เอส แอคเคาน์ติ้งพลัส บริการด้านงานสอบบัญชี หลักสูตรจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - DCP รุ่นที่ 55/2548

ANNUALREPORT 2012

33


34

1. รายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

บริษทั ขายห้องชุดโครงการ อินโทร ให้กบั บริษทั รสาทาวเวอร์ จำกัด ขนาด 38.3 ตารางเมตร ราคา 3,046,305 บาท ได้ชำระเงินจอง และทำสัญญา 550,000 บาท และวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555 ได้ชำระเงินส่วนทีเ่ หลือเพื่อโอนกรรมสิทธิ์

บริษทั ฯ ได้ทำสัญญาเช่าพืน้ ทีอ่ าคารสำนักงานกับบริษทั รสา ทาวเวอร์ จำกัด ระยะเวลา 3 ปี (2553 - 2555) คิดอัตรา ค่าเช่าพืน้ ที ่ 430 ตารางเมตร ราคา 69,300 บาท และค่าบริการ 25,300 บาท ต่อเดือน รวมเป็นอัตรา 94,600 บาทต่อเดือน (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)

ความจำเป็น/รายละเอียด และความสมเหตุสมผลของรายการ

รายการดังกล่าวเป็นการทำธุรกรรมปกติ กับ กรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง ทีม่ ขี อ้ ตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับ ที่วิญญูชนจะพึงกระทำกับคู่สัญญาในสถานการณ์เดียวกัน ซึ่ง คณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้ฝา่ ยจัดการสามารถดำเนินการได้

มูลค่ารายการ (บาท)

ลักษณะของ รายการระหว่างกัน

ความสมเหตุสมผลของรายการ : คณะกรรมการบริษทั ได้อนุมตั ริ ายการดังกล่าว โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้วว่ารายการเช่าพืน้ ทีอ่ าคารสำนักงาน เป็นรายการทีม่ คี วามเหมาะสม และได้เปิดเผยรายการนีไ้ ว้แบบ 56-1 และรายงานประจำปี 2553 แล้ว

บุคคล/นิติบุคคล ลักษณะความสัมพันธ์ ที่อาจมีความขัดแย้ง

1.บริษัท รสา ทาวเวอร์ จำกัด ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการผู้มีอำนาจ ค่าใช้จ่ายเช่าพื้นที่ 1,156,452 (ผู้ประกอบการธุรกิจ ลงนาม และผู้บริหารของบริษัท คือ อาคารสำนักงาน ให้เช่าอาคารสำนักงาน) นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน และนายรพิ พินจิ ชอบ เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ของบริษัท รสา ทาวเวอร์ จำกัด (สัดส่วนการถือหุ้นรวมบุคคลตาม มาตรา 258 คิดเป็นร้อยละ 20 สัญญาจะซื้อจะขาย 3,046,305 และ79.96 ตามลำดับ) ห้องชุดโครงการอินโทร

ในปี 2555 บริษัทฯ มีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน กรรมการและบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงร่วมกัน ระหว่างบริษัทฯ กับบุคคลหรือนิติบุคคลเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ ดังนี้

รายการระหว่างกัน

RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.


ลักษณะของ รายการระหว่างกัน

มูลค่ารายการ (บาท)

3. บริษทั สยามไพรม์ เอสเตท จำกัด นายธนพัฒน์ สุวรรณสรางค์ กรรมการ ค่าบริหารโครงการ 1,046,400 ของบริษัท สยามไพรม์ เอสเตท จำกัด เป็นคู่สมรสของบุตรีประธานกรรมการ บริษัท

2. นายโกวิท ไววัฒนา กรรมการและผู้ถือหุ้นของบริษัท - ค่าทีป่ รึกษาด้านวิศวกรรม 600,000 และงานก่อสร้าง - ค่าออกแบบงานโครงสร้าง 150,000 วิศวกรรม โครงการ รสา แม็กวิลล์

ลักษณะความสัมพันธ์ ที่อาจมีความขัดแย้ง

บุคคล/นิติบุคคล

ความสมเหตุสมผลของรายการ : คณะกรรมการบริษัท ได้มีมติอนุมัติ และคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้ว เห็นว่าเป็นรายการทีม่ คี วามเหมาะสม และได้เปิดเผยรายการนี้ ไว้ใน แบบ 56-1 และรายงานประจำปี 2550 แล้ว

ตามสัญญาร่วมลงทุน เมือ่ ปี 2550 ระหว่างบริษทั ฯ กับบริษทั สยามไพรม์ เอสเตท เพื่อพัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัย เดอะ ไลท์เฮ้าส์ ระบุวา่ ให้ทง้ั สองฝ่ายได้รบั เงินค่าใช้จา่ ยในการ บริหารงานเป็นรายเดือนจนกว่าสัญญาจะสิน้ สุดลง โดยบริษทั ฯ ได้รับ 381,500 บาท/เดือน และ บริษัท สยามไพรม์ฯ ได้รับ 87,200 บาท/เดือน

ความสมเหตุสมผลของรายการ : รายการดังกล่าวเป็นรายการประเภทสนับสนุนธุรกิจปกติที่มี ขนาดเล็ก คือ รายการทีม่ มี ลู ค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 0.03 ของมูลค่าสินทรัพย์สทุ ธิ แล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า ซึง่ คณะกรรมการมีมติอนุมตั ใิ ห้ฝา่ ยจัดการสามารถดำเนินการได้

บริษัทได้ว่าจ้าง นายโกวิท ไววัฒนา ออกแบบโครงสร้างด้าน วิศวกรรมโครงการทาวน์โฮม รสา แม็กวิลล์ จำนวน 4 แบบ แบบละ 37,500 บาท ซึง่ สามารถลดต้นทุนในการดำเนินงานได้

ณ วันที ่ 26 ธันวาคม 2554 บริษทั ได้ทำสัญญาว่าจ้าง นายโกวิท ไววัฒนา เป็นทีป่ รึกษาด้านวิศวกรรมและงานก่อสร้าง ระยะเวลา 1 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 ถึง 31 ธันวาคม 2555 เนือ่ งจากบริษทั เห็นว่านายโกวิท ไววัฒนา เป็นบุคคลทีม่ คี วามรู้ ความสามารถและประสบการณ์ที่ยาวนาน และเป็นประโยชน์ ต่อธุรกิจของบริษัท

ความจำเป็น/รายละเอียด และความสมเหตุสมผลของรายการ

ANNUALREPORT 2012

35


36

ลักษณะของ รายการระหว่างกัน

มูลค่ารายการ (บาท)

4. บริษัท รายาวดี(44) จำกัด กรรมการบริษัท รายาวดี (44) จำกัด ค่าจัดซือ้ และติดตัง้ ชุดครัว 1,431,210.60 เป็นญาติสนิท (ภรรยา) ของคุณปัญจะ โครงการ อินโทร เสนาดิสัย โครงการ รสา แม็กวิลล์

บุคคล/นิติบุคคล ลักษณะความสัมพันธ์ ที่อาจมีความขัดแย้ง

ความสมเหตุสมผลของรายการ : รายการดังกล่าวเป็นการทำธุรกรรมปกติ กับ กรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง ทีม่ ขี อ้ ตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับ ที่วิญญูชนจะพึงกระทำกับคู่สัญญาในสถานการณ์เดียวกัน ซึ่ง คณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้ฝา่ ยจัดการสามารถดำเนินการได้

ในปี 2555 บริษทั รายาวดี (44) จำกัด โดยนางรัตนาวดี เสนาดิสยั เป็นกรรมการผูม้ อี ำนาจลงนามของบริษทั และมีความสัมพันธ์ เป็นบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องในฐานะญาติสนิท (ภรรยา) ของนายปัญจะ เสนาดิสยั กรรมการบริษทั กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ซึง่ บริษทั ดังกล่าวเป็นผูผ้ ลิตและติดตัง้ เฟอร์นเิ จอร์ ทีโ่ ครงการอินโทร มูลค่า 0.84 ล้านบาท โครงการ รสา แม็กวิลล์ มีมูลค่า 0.59 ล้านบาท

ความจำเป็น/รายละเอียด และความสมเหตุสมผลของรายการ

RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.


ANNUALREPORT 2012

2. ความจำเป็น และความสมเหตุสมผลของการทำรายการระหว่างกัน การทำรายการระหว่างกันตามตาราง 1 มีความสมเหตุสมผลและความจำเป็น เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณารายการระหว่างกันในปี 2555 และให้ความเห็นว่า รายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ ดังกล่าว มีความสมเหตุสมผล ซึ่งมีราคาและเงื่อนไขที่เป็นธรรม และไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์

3. นโยบายหรือแนวโน้มการทำรายการระหว่างกันในอนาคต ในอนาคต หากมีรายการระหว่างกันของบริษัทเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้ส่วนเสีย หรืออาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคต บริษทั จะดำเนินการตามขัน้ ตอนทีก่ ำหนดไว้ขา้ งต้น โดยบริษทั ได้กำหนดแนวทางการ ปฏิบัติของการทำรายการในอนาคตไว้ดังนี้

กรณีเป็นรายการค้าปกติและมีเงือ่ นไขการค้าทัว่ ไป หากบริษทั มีการทำรายการในลักษณะนีก้ บั บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ฝ่ายจัดการสามารถดำเนินการได้ ภายใต้ขอบเขตทีค่ ณะกรรมการอนุมตั ไิ ว้ โดยผูอ้ นุมตั หิ รือผูร้ บั ช่วงในการอนุมตั จิ ะต้องเป็นบุคคลที่ ไม่มีส่วนได้เสียกับรายการดังกล่าว นอกจากนี้บริษัทจะต้องดำเนินการให้มีการเสนอรายละเอียดของการทำรายการดังกล่าวต่อ คณะกรรมการตรวจสอบเพือ่ การสอบทานหรือตรวจสอบได้อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง้ ทัง้ นีห้ ลักเกณฑ์การพิจารณาเงือ่ นไขการค้าทัว่ ไป เป็นไปตามเกณฑ์รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คือ รายการทีม่ รี าคาเป็นธรรมและไม่กอ่ ให้เกิดความขัดแย้ง ซึ่งมีลักษณะดังนี้

1) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัทได้รับ/ให้กับบุคคลทั่วไป 2) ราคาและเงื่อนไขที่บุคคลที่เกี่ยวโยงกันให้กับบุคคลทั่วไป 3) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัทสามารถแสดงได้ว่าผู้ประกอบธุรกิจรายอื่นๆได้ปฏิบัติในลักษณะเดียวกันกับบุคคลทั่วไป

ทัง้ นีก้ ารซือ้ ทีด่ นิ เพือ่ มาพัฒนาโครงการของบริษทั ซึง่ เป็นรายการปกติแม้วา่ จะมีเงือ่ นไขการค้าทัว่ ไปทัง้ ในกรณีทท่ี ำรายการ กับบุคคลทัว่ ไปและทำรายการกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง บริษทั กำหนดให้ฝา่ ยจัดการไม่สามารถดำเนินการอนุมตั ไิ ด้ แต่กำหนด ให้คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้อนุมัติการทำรายการโดยผู้มีส่วนได้เสียต้องงดออกเสียง กรณีรายการระหว่า งกันในกรณีอน่ื บริษทั จะต้อ งดำเนินการให้ค ณะกรรมการตรวจสอบให้ความเห็นชอบเกีย่ วกับความเหมาะสม ของรายการดังกลาวก่อนการอนุมัติการทำรายการ ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความชํานาญในการพิจารณารายการ ระหว่างกันที่เกิดขึ้น บริษัทจะจัดให้มีบุคคลที่มีความรู้ ความชํานาญพิเศษ เช่น ผู้สอบบัญชีหรือผู้ประเมินราคาทรัพยสินที่มีความ เป็นอิสระเป็น ผูใ้ ห้ค วามเห็นเกีย่ วกับรายการระหว่า งกัน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบหรือบุคคลทีม่ คี วามรูค้ วามชํานาญพิเศษ จะถูกนําไปใช้ประกอบการอนุมัติของคณะกรรมการบริษัทหรือผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี

37


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

คำอธิบายและวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน ภาพรวมของอุตสาหกรรมในปี 2555 ได้รบั ผลกระทบต่อเนือ่ งมาจากการเกิดมหาอุทกภัยในไตรมาสสีป่ ี 2554 ทำให้ตน้ ปี 2555 บริษัทฯได้ชะลอการลงทุนใหม่เพื่อรอดูสถานการณ์ จนกระทั่งมั่นใจว่าอุปสงค์ของตลาดอสังหาริมทรัพย์เริ่มกลับมาบริษัท จึงได้พฒ ั นาโครงการ Rasa Maxx Ville เป็นทาวน์เฮาส์ระดับราคา 2 - 3 ล้านบาทมีมลู ค่าโครงการรวม 500 ล้านบาท ขณะเดียวกัน ยอดขายของโครงการอาคารชุดที่พัฒนาแล้วเสร็จทั้งสองโครงการสามารถทำยอดขายได้ต่อเนื่องเป็นที่น่าพอใจ ในปี 2556 บริษทั ฯจะได้เปิด 2 โครงการใหม่ซง่ ึ ได้เริม่ พัฒนาตัง้ แต่ไตรมาสสีข่ องปี 2555 ประกอบด้วยโครงการ Home Office และ Condominium มูลค่าโครงการรวมกัน ประมาณ 1,000 ล้านบาท ผลการดำเนินงาน • รายได้ ปี 2555 บริษทั มีรายได้จากการขาย 627 ล้านบาท ซึง่ ลดลงจากปีกอ่ นหน้า 606 ล้านบาทเนือ่ งจากปี 2554 เป็นปีที่มี การเปลี่ยนแปลงการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการรับรู้รายได้ใหม่และมีการโอนห้องชุดโครงการ The Lighthouse และ INTRO Condominium ให้ลูกค้าเป็นจำนวนมาก เนื่องจากเป็นโครงการสร้างเสร็จใหม่ๆ จึงมีการโอนให้กับลูกค้าที่ซื้อตั้งแต่เริ่มโครงการซึ่งมี จำนวนมาก ในขณะที่ปี 2555 เป็นการทยอยโอนไปตามยอดขาย • ต้นทุนขาย ในปี 2555 อัตราการทำกำไรขัน้ ต้นของบริษทั อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 30.94 ซึง่ สูงกว่า 2554 อยูเ่ ล็กน้อยและยังสูงกว่าค่าเฉลีย่ ของอุตสาหกรรม อันเป็นผลจากการบริหารต้นทุนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด • ค่าใช้จ่าย ในปี 2555 บริษัทมีค่าใช้จ่ายที่ไม่รวมดอกเบี้ยและภาษี รวมจำนวน 114.45 ล้านบาท ซึ่งลดลงจากปี 2554 จำนวน 33 ล้านบาท ซึง่ เป็นการลดลงจากจากค่าภาษีธรุ กิจเฉพาะ 20.17 ล้านบาท ค่าใช้จา่ ยด้านการตลาดลดลง 6.09 ล้านบาท ลดลงในส่วนของค่าใช้จ่ายในการบริหาร 6.74 ซึ่งสัมพันธ์กับการลดลงของยอดขาย • กำไรสุทธิ ปี 2555 มีกำไรสุทธิ 46 ล้านบาทลดลงจากปีกอ่ นหน้า 129 ล้านบาท อันเป็นผลจากการรับรูร้ ายได้ทล่ี ดลง อย่างไรก็ตาม อัตราการทำกำไรขั้นต้นของบริษัทฯปี 2555 อยู่ที่ 30.94% ซึ่งสูงกว่าปีก่อนเล็กน้อย ซึ่งสะท้อนถึงผลการบริหารจัดการต้นทุน ได้สม่ำเสมอ

ฐานะทางการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีฐานะทางการเงิน ดังนี้

• สินทรัพย์ สินทรัพย์รวมของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เท่ากับ 1,218 ล้านบาท ลดลงจากปีกอ่ นหน้า 312 ล้านบาท จากการที่บริษัทฯได้ขายหมดและปิดโครงการ Rasa Parklane และการทยอยโอนห้องชุดของโครงการ The LightHouse Condominium และ Intro Condominium สำหรับการลงทุนโครงการใหม่ในปี 2555 เป็นโครงการแนวราบซึ่งใช้เงินลงทุนไม่มากนัก และผลต่อเนือ่ งจากมหาอุทกภัยปลายปี 2554 ทำให้บริษทั ฯ พิจารณาการลงทุนใหม่ดว้ ยความระมัดระวังรอบคอบยิง่ ขึน้ อย่างไรก็ตาม ทรัพย์สินส่วนหนึ่งเป็นที่ดินรอการพัฒนา ซึ่งบริษัทจะนำมาพัฒนาโครงการได้ในปี 2556 ซึ่งสามารถที่จะสร้างความมั่นคงของ รายได้ให้กับบริษัทใน 2 - 3 ปีข้างหน้า

38


ANNUALREPORT 2012 • หนี้สิน บริษทั ฯ มีหนีส้ นิ รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เท่ากับ 510.23 ล้านบาท ซึง่ ลดลงจากปีกอ่ นจำนวน 348.68 ล้านบาท คิดเป็นการลดลงร้อยละ 40.60 ซึง่ การลดลงของหนีส้ นิ รวมส่วนใหญ่เกิดจากการนำเงินทีไ่ ด้รบั จากการโอนกรรมสิทธิใ์ ห้กบั ลูกค้า ชำระคืนเงินกูย้ มื เงินจากสถาบันการเงินมาใช้ในการพัฒนาโครงการทัง้ 2 โครงการและจำนวนการชำระคืนเงินกูม้ มี ากกว่าการเบิก เงินกูเ้ พือ่ พัฒนาโครงการใหม่ หนีส้ นิ หมุนเวียนลดลงจำนวน 216.70 ล้านบาท เป็นการลดลงของเงินกูย้ มื ระยะสัน้ หนีส้ นิ ระยะยาวทีถ่ งึ กำหนดชำระ ในหนึง่ ปี และค่างวดทีย่ งั ไม่รบั รูเ้ ป็นรายได้เนือ่ งจากระหว่างปีได้โอนกรรมสิทธิให้กบั ลูกค้าสำหรับโครงการอาคารชุดและรับรูเ้ ป็นรายได้แล้ว • ส่วนของผู้ถือหุ้น ในปี 2555 บริษทั ฯ มีสว่ นของผูถ้ อื หุน้ เท่ากับ 707.51 ล้านบาท เพิม่ จากปีกอ่ น จำนวน 35.73 ล้านบาท ซง่ึ เท่ากับกำไร สุทธิประจำปีหักด้วยเงินปันผลส่วนที่เป็นเงินสดของปี 2554 ที่ผู้ถือหุ้นอนุมัติและจ่ายในปี 2555 และในการจ่ายเงินปันผลของปี 2554 นั้นจ่ายเป็นหุ้นปันผลด้วยซึ่งส่วนนี้ไม่ทำให้ส่วนของผู้ถือหุ้นลดลง คณะกรรมการบริษทั ฯได้มกี ารอนุมตั เิ มือ่ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 ให้มกี ารจ่ายเงินปันผลจำนวนทัง้ สิน้ ไม่เกิน 55,555,556 บาท โดยแบ่งเป็นสองส่วนคือ จ่ายเป็นหุ้นปันผลจำนวนไม่เกิน 50,000,000 บาทโดยออกหุ้นสามัญจำนวน 50,000,000 หุ้นในราคาหุ้นละ 1 บาท และ จ่ายเป็นเงินสดจำนวนไม่เกิน 5,555,556 บาทเพื่อเป็นภาษีหัก ณ ที่จ่าย • อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ในปี 2555 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 0.72 เท่า ซึ่งลดลงจากปี 2554 ซึ่งเท่ากับ 1.28 เท่า เนื่องจากในปี 2555 บริษัทฯได้ชำระคืนเงินกู้โครงการ (Project Finance) ของโครงการ The Lighthouse และ INTRO Condominium ซึ่งมากกว่าเงินกู้ใหม่จากการพัฒนาโครงการใหม่

39


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษทั เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินของบริษทั รสา พร็อพเพอร์ต ้ี ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) ซึง่ จัดทำขึน้ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 และตามข้อกำหนดของคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์วา่ ด้วยการจัดทำและเสนอรายงานทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยได้มีการพิจารณาเลือกใช้นโยบายการบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งได้ใช้ดุลยพินิจอย่าง รอบคอบ ระมัดระวัง สมเหตุสมผล ตลอดจนมีการเปิดเผยข้อมูลสำคัญอย่างเพียงพอและโปร่งใสในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพือ่ ให้เป็นประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ และสาธารณชนทีเ่ กีย่ วข้อง โดยผูส้ อบบัญชีได้สอบทานและตรวจสอบงบการเงิน และแสดงความเห็น ในรายงานของผู้สอบบัญชีอย่างไม่มีเงื่อนไข คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการทีเ่ ป็นอิสระเป็นผูก้ ำกับดูแลงบการเงิน และประเมินระบบการควบคุมภายในให้มปี ระสิทธิผล เพือ่ ให้มคี วามมัน่ ใจได้วา่ มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีถกู ต้อง ครบถ้วนอย่างเพียงพอ ทันเวลา และป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริต หรือการดำเนินการทีผ่ ดิ ปกติ โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏในรายงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งได้แสดงไว้ในรายงานประจำปีนี้แล้ว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจ และสามารถ สร้างความเชื่อมั่นได้ว่า งบการเงินของบริษัทสำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 แสดงฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสด ได้ถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปแล้ว

40

รศ.มานพ พงศทัต ประธานกรรมการ

นายรพิ พินิจชอบ กรรมการผู้จัดการ


ANNUALREPORT 2012 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นของบริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) และโครงการร่วมทุน ซึ่งประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม และงบกระแสเงินสดรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมทั้งหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญและหมายเหตุ เรื่องอื่นๆ และข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะของบริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ และงบกระแสเงินสด สำหรับปีสน้ิ สุดวันเดียวกัน รวมทัง้ หมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีทส่ี ำคัญและหมายเหตุเรือ่ งอืน่ ๆ ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน ผู้บริหารของบริษัทเป็น ผู้รับผิดชอบในการจัดทำและนำเสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินของไทย และรับผิดชอบเกีย่ วกับการควบคุมภายในทีผ่ บู้ ริหารพิจารณาว่าจำเป็นเพือ่ ให้สามารถจัดทำงบการเงินทีป่ ราศจากการแสดง ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชีของไทย ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบ เพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลใน งบการเงิน วิธกี ารตรวจสอบทีเ่ ลือกใช้ขน้ึ อยูก่ บั ดุลยพินจิ ของผูส้ อบบัญชี ซึง่ รวมถึงการประเมินความเสีย่ งจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสำคัญของงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการ ควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดทำและการนำเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามทีค่ วรของกิจการ เพือ่ ออกแบบวิธกี ารตรวจสอบทีเ่ หมาะสม กับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการ ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีทผ่ี บู้ ริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีทจ่ี ดั ทำขึน้ โดยผูบ้ ริหาร รวมทัง้ การ ประเมินการนำเสนองบการเงินโดยรวม

ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับ เพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นแสดงฐานะการเงินรวมของบริษทั รสา พร็อพเพอร์ต้ี ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) และโครงการร่วมทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และผลการดำเนินงานรวมและกระแสเงินสดรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน และแสดงฐานะการเงินเฉพาะ ของบริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และผลการดำเนินงานและกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น โดยไม่ได้เปลีย่ นแปลงรายงานการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามทีก่ ล่าวข้างต้น ข้าพเจ้าขอให้สงั เกตข้อมูลตามทีอ่ ธิบายไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 27 ว่าในระหว่างเดือนกรกฎาคม 2554 บริษทั ได้ยกเลิกสัญญาว่าจ้างการก่อสร้างกับผูร้ บั จ้างรายหนึง่ เนือ่ งจากผูร้ บั จ้าง รายดังกล่าวกระทำการผิดสัญญาจ้าง ทำให้ผรู้ บั จ้างฟ้องร้องและเรียกร้องค่าเสียหายเป็นจำนวนเงินประมาณ 80.93 ล้านบาท โดยศาลชัน้ ต้น ได้มีคำสั่งให้จำหน่ายคดีแล้วตามพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 มาตรา 14 ซึ่งขณะนี้คดีดังกล่าวอยู่ในระหว่างการพิจารณา ของศาลอุทธรณ์ตามคำร้องของผู้รับจ้าง อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารของบริษัทเชื่อว่าหนี้สินที่บริษัทบันทึกไว้ตามเนื้องานที่เกิดจากการก่อสร้าง ตามสัญญาที่บริษัทบันทึกไว้ในบัญชี เพียงพอแล้วสำหรับงานที่ผู้รับจ้างดังกล่าวได้ดำเนินการจนถึงวันเลิกจ้าง

นางสุมาลี โชคดีอนันต์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3322

กรุงเทพมหานคร 20 กุมภาพันธ์ 2556

41


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

งบแสดงฐานะการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษทั 2555 2554 2555 2554

หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 5 35,504,113 8,503,105 21,288,251 1,051,416 เงินให้กู้ยืมระยะสั้น - 1,400,000 - - ต้นทุนการพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์ - สุทธิ 6 832,501,995 693,401,089 832,501,995 693,401,089 ต้นทุนการพัฒนาโครงการร่วมทุน เพื่อพัฒนาอาคารชุด - สุทธิ 7 53,926,833 131,242,822 - - ที่ดินรอการพัฒนา 8 173,850,000 561,430,810 173,850,000 561,430,810 เงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง 1,183,242 3,757,167 1,183,242 2,820,013 เงินมัดจำค่าที่ดิน 9 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 10 8,572,014 14,264,486 7,526,261 8,012,082 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 1,110,538,197 1,418,999,479 1,041,349,749 1,271,715,410 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีข้อจำกัดในการใช้ 2,928,125 1,039,813 2,928,125 1,039,813 เงินลงทุนในโครงการร่วมทุนเพื่อ พัฒนาอาคารชุด 11 - - 52,524,500 86,824,500 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุทธิ 12 102,242,105 107,897,056 - - อุปกรณ์ และยานพาหนะ - สุทธิ 13 1,370,884 2,268,384 1,334,350 2,156,640 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 471,293 471,293 471,293 471,293 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 186,018 17,400 30,000 17,400 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 107,198,425 111,693,946 57,288,268 90,509,646 รวมสินทรัพย์ 1,217,736,622 1,530,693,425 1,098,638,017 1,362,225,056

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 42


ANNUALREPORT 2012

งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษทั หมายเหตุ 2555 2554 2555 2554 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร 14 1,795,325 1,890,822 - 8,456 เจ้าหนี้การค้า 10 31,950,089 67,880,668 31,950,089 42,405,590 เงินกู้ยืมระยะยาว ที่ครบกำหนดชำระภายใน 1 ปี 15 48,889,650 114,212,050 48,889,650 92,372,744 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี - 17,620 - 17,620 เงินกู้ยืมระยะสั้น 16 - 32,000,000 - 32,000,000 เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า - 244,000 - 195,000 ค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้ 5,860,134 42,085,877 1,261,000 32,381,225 ภาษีเงินได้ค้างจ่าย 5,569,142 9,012,990 4,364,175 9,012,990 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 10 12,125,418 16,609,323 10,781,674 14,726,526 เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน 28,371,253 47,962,792 26,227,297 29,446,369 ค่าสาธารณูปโภคส่วนกลาง ของโครงการรอนำส่ง 553,254 10,377,339 350,460 10,262,241 เจ้าหนี้ค่าที่ดิน - 9,917,585 - 9,917,585 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 1,811,383 1,420,927 1,122,986 787,823 รวมหนี้สินหมุนเวียน 136,925,648 353,631,993 124,947,331 273,534,169 หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิ 15 366,970,186 499,020,320 366,970,186 499,020,320 ภาระผูกพันของผลประโยชน์เงินชดเชย พนักงาน หลังออกจากงานที่จะต้อง จ่ายตามกฏหมาย 17 6,330,170 6,258,325 6,330,170 6,258,325 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 373,300,356 505,278,645 373,300,356 505,278,645 รวมหนี้สิน 510,226,004 858,910,638 498,247,687 778,812,814

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

43


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษทั หมายเหตุ 2555 2554 2555 2554 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น - หุ้นสามัญ มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนจดทะเบียน 500,000,000 หุ้น (ปี 2554 : 400,000,000 หุ้น) 18 500,000,000 400,000,000 500,000,000 400,000,000 หุ้นที่ออกและเรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว 499,999,986 หุ้น (ปี 2554 : 400,000,000 หุ้น) 499,999,986 400,000,000 499,999,986 400,000,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 23,477,851 23,477,851 23,477,851 23,477,851 กำไรสะสม - จัดสรรเพื่อสำรองตามกฎหมาย 27,155,810 18,409,995 27,155,810 8,409,995 - ยังไม่ได้จัดสรร 157,196,730 231,179,563 50,076,442 142,809,018 องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น (319,759) (1,284,622) (319,759) (1,284,622) รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 707,510,618 671,782,787 600,390,330 583,412,242 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 1,217,736,622 1,530,693,425 1,098,638,017 1,362,225,056

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 44


ANNUALREPORT 2012

งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

หมายเหตุ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษทั 2555 2554 2555 2554

รายได้จากการขาย รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน 56,185,000 146,335,887 56,185,000 146,335,887 รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุด 10 570,419,426 1,086,954,358 431,091,675 671,915,159 รวมรายได้จากการขาย 626,604,426 1,233,290,245 487,276,675 818,251,046 ต้นทุนขาย ต้นทุนขายบ้านพร้อมที่ดิน (46,799,179) (119,039,496) (46,799,179) (119,039,496) ต้นทุนขายหน่วยในอาคารชุด (385,934,185) (738,042,813) (298,420,749) (464,528,153) รวมต้นทุนขาย 21 (432,733,364) (857,082,309) (345,219,928) (583,567,649) กำไรขั้นต้น 193,871,062 376,207,936 142,056,747 234,683,397 รายได้อื่น 3,975,293 2,688,871 5,206,898 5,999,398 ค่าใช้จ่ายในการขาย 21 (31,297,624) (37,385,125) (22,313,151) (26,935,929) ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 10, 21 (62,348,180) (69,090,618) (48,136,043) (55,314,502) ภาษีธุรกิจเฉพาะ 21 (20,807,482) (40,976,941) (16,189,049) (27,262,457) ต้นทุนทางการเงิน (26,258,038) (34,829,999) (25,991,848) (30,141,700) กำไรก่อนภาษีเงินได้ 57,135,031 196,614,124 34,633,554 101,028,207 ภาษีเงินได้ 22 (11,260,936) (21,697,832) (7,509,202) (17,275,026) กำไรสุทธิสำหรับปี 45,874,095 174,916,292 27,124,352 83,753,181 กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น กำไร (ขาดทุน) จากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย 964,863 (1,284,622) 964,863 (1,284,622) รวมกำไรเบ็ดเสร็จสำหรับปี 46,838,958 173,631,670 28,089,215 82,468,559 กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรสุทธิ (บาทต่อหุ้น) 0.092 0.350 0.054 0.168 จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (หุ้น) 499,999,986 499,999,986 499,999,986 499,999,986

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

45


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 (หน่วย : บาท)

ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อกและ ส่วนเกิน หมายเหตุ ชำระแล้ว มูลค่าหุน้

กำไรสะสม จัดสรรเพือ่ สำรองตาม ยังไม่ได้ กฎหมาย จัดสรร

องค์ประกอบอื่น ของส่วนของผู้ถือหุ้น

ขาดทุนจากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย

รวม

งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 400,000,000 23,477,851 12,699,121 85,974,145 - 522,151,117 จัดสรรสำรองตามกฎหมาย 19 - - 5,710,874 (5,710,874) - - จ่ายเงินสดปันผล 18 - - - (24,000,000) - (24,000,000) กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสำหรับปี - - - 174,916,292 (1,284,622) 173,631,670 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

400,000,000 23,477,851 18,409,995 231,179,563

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 เพิ่มทุนโดยการจ่ายหุ้นปันผล จัดสรรสำรองตามกฎหมาย จ่ายเงินสดปันผล กำไรเบ็ดเสร็จสำหรับปี

400,000,000 23,477,851 18,409,995 231,179,563 18 99,999,986 - - (99,999,986) 19 - - 8,745,815 (8,745,815) 18 - - - (11,111,127) - - - 45,874,095

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

499,999,986 23,477,851 27,155,810 157,196,730

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 46

(1,284,622) 671,782,787

(1,284,622) 671,782,787 - - - - - (11,111,127) 964,863 46,838,958

(319,759) 707,510,618


ANNUALREPORT 2012

งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 (หน่วย : บาท)

ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อกและ ส่วนเกิน หมายเหตุ ชำระแล้ว มูลค่าหุน้

กำไรสะสม จัดสรรเพือ่ สำรองตาม ยังไม่ได้ กฎหมาย จัดสรร

องค์ประกอบอื่น ของส่วนของผู้ถือหุ้น

ขาดทุนจากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย

รวม

งบการเงินเฉพาะของบริษัท ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 400,000,000 23,477,851 12,699,121 88,766,711 - 524,943,684 จัดสรรสำรองตามกฎหมาย 19 - - 5,710,874 (5,710,874) - - จ่ายเงินสดปันผล 18 - - - (24,000,000) - (24,000,000) กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสำหรับปี - - - 83,753,181 (1,284,622) 82,468,559 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

400,000,000 23,477,851 18,409,995 142,809,018

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 เพิ่มทุนโดยการจ่ายหุ้นปันผล จัดสรรสำรองตามกฎหมาย จ่ายเงินสดปันผล กำไรเบ็ดเสร็จสำหรับปี

400,000,000 23,477,851 18,409,995 142,809,018 18 99,999,986 - - (99,999,986) 19 - - 8,745,815 (8,745,815) 18 - - - (11,111,127) - - - 27,124,352

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

499,999,986 23,477,851 27,155,810 50,076,442

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

(1,284,622) 583,412,243

(1,284,622) 583,412,242 - - - - - (11,111,127) 964,863 28,089,215

(319,759) 600,390,330

47


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

งบกระแสเงินสด

หมายเหตุ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษทั 2555 2554 2555 2554

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรก่อนภาษีเงินได้ 57,135,031 196,614,124 34,633,554 101,028,207 รายการปรับปรุงกระทบกำไรสุทธิเป็นเงินสดสุทธิ ได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงาน ค่าเสื่อมราคา 9,230,145 11,327,251 990,704 3,956,236 ค่าเผื่อภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน ที่ต้องจ่ายเมื่อออกจากงาน 755,083 4,796,679 755,083 4,796,679 ตัดจำหน่ายสินทรัพย์ 1 175,937 1 167,599 ต้นทุนทางการเงิน 26,258,038 34,829,999 25,991,848 30,141,700 กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงใน สินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน 93,378,298 247,743,990 62,371,190 140,090,421 สินทรัพย์ดำเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ 257,493,246 345,310,060 257,493,246 345,310,060 ต้นทุนการพัฒนาโครงการร่วมทุนเพือ่ พัฒนาอาคารชุด 77,315,989 232,274,414 - - ที่ดินรอการพัฒนา (190,000) (438,181,500) (190,000) (438,181,500) เงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง 2,573,925 6,161,451 1,636,771 5,043,031 เงินมัดจำค่าที่ดิน - 6,000,000 - 6,000,000 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 3,951,562 (1,858,486) 485,821 6,720,396 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น (168,618) (2,120) (12,600) (2,400) หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า (35,930,580) (6,953,306) (10,455,501) (5,596,548) เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า (244,000) (216,000) (195,000) (265,000) ค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้ (36,225,743) (209,000,403) (31,120,225) (121,359,987) ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (2,493,941) 1,340,049 (1,963,715) 2,148,549 เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน (19,591,539) 6,545,764 (3,219,072) 5,553,599 ค่าสาธารณูปโภคส่วนกลางของโครงการรอนำส่ง (9,824,086) 6,367,882 (9,911,781) 8,214,753 เจ้าหนี้ค่าที่ดิน (8,804,585) (6,034,000) (8,804,585) (6,034,000) หนี้สินหมุนเวียนอื่น 390,456 (566,437) 335,163 (645,600) เงินสดได้มาจาก (ใช้ไปใน) การดำเนินงาน 321,630,384 188,931,358 256,449,712 (53,004,226) จ่ายต้นทุนทางการเงินเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการ (10,781,510) (24,786,689) (10,781,510) (24,786,689) จ่ายต้นทุนทางการเงินเป็นค่าใช้จ่ายในระหว่างปี (27,121,207) (31,337,706) (26,846,191) (26,658,233) จ่ายภาษีเงินได้ (12,963,874) (34,253,938) (12,158,018) (12,099,058) เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงาน 270,763,793 98,553,025 206,663,993 (116,548,206)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 48


ANNUALREPORT 2012

งบกระแสเงินสด (ต่อ)

หมายเหตุ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษทั 2555 2554 2555 2554

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับจาก (จ่ายเพื่อ) การลงทุนในเงินให้กู้ยืมระยะสั้น 1,400,000 (1,400,000) - - เงินฝากธนาคารติดภาระค้ำประกันเพิ่มขึ้น (1,888,312) (1,039,813) (1,888,312) (1,039,813) รับจากการลงทุนในโครงการร่วมทุน - - 34,300,000 56,000,000 จ่ายเพือ่ ต้นทุนค่าก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน (2,496,023) (7,632,839) - - จ่ายซื้ออุปกรณ์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (181,673) (736,183) (168,415) (712,838) เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน (3,166,008) (10,808,835) 32,243,273 54,247,349 กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน รับจาก (จ่ายชำระ) เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร (95,496) 1,890,822 (8,456) 8,456 รับจาก (จ่ายชำระ) เงินกู้ยืมระยะสั้น (32,000,000) 32,000,000 (32,000,000) 32,000,000 รับจากเงินกู้ยืมระยะยาว 30,000,000 775,597,781 30,000,000 593,832,560 จ่ายชำระเงินกู้ยืมระยะยาว (227,372,534) (893,309,566) (205,533,228) (558,219,061) จ่ายชำระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน (17,620) (434,977) (17,620) (434,977) จ่ายเงินสดปันผล (11,111,127) (24,000,000) (11,111,127) (24,000,000) เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน (240,596,777) (108,255,940) (218,670,431) 43,186,978 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินเพิม่ ขึน้ (ลดลง) – สุทธิ 27,001,008 (20,511,750) 20,236,835 (19,113,879) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี 8,503,105 29,014,855 1,051,416 20,165,295 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี 35,504,113 8,503,105 21,288,251 1,051,416 รายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับเงินสด จ่ายหุ้นปันผล 99,999,986 - 99,999,986 - โอนที่ดินรอการพัฒนาเป็นต้นทุนการพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์ 386,811,810 124,392,556 386,811,810 124,392,556

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

49


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

หมายเหตุประกอบการเงิน

ณ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

1. ข้อมูลทั่วไป

บริษทั จดทะเบียนจัดตัง้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เป็นนิตบิ คุ คลประเภทบริษทั จำกัดเมือ่ วันที่ 14 สิงหาคม 2538 ในชือ่ บริษทั รสา พร็อพเพอร์ต้ี ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด และได้เปลีย่ นสถานะเป็นบริษทั มหาชน จำกัด โดยได้จดทะเบียนเปลีย่ นชือ่ เป็นบริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2547 และจดทะเบียนซื้อขายหุ้นใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยวันที่ 12 เมษายน 2550 บริษัทดำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ที่อยู่ของบริษัทตามที่ จดทะเบียนตั้งอยู่เลขที่ 555 อาคารรสา ทาวเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

2.

เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินและเกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม 2.1 เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงิน งบการเงินฉบับนีจ้ ดั ทำขึน้ เป็นทางการเป็นภาษาไทยตามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไปตามพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 และทีก่ ำหนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และตามข้อกำหนดของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ว่าด้วยการจัดทำและนำเสนอรายงานทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 การแปลงบการเงินฉบับนีเ้ ป็นภาษาอืน่ ให้ยดึ ถืองบการเงินทีจ่ ดั ทำขึน้ เป็นภาษาไทยเป็นเกณฑ์

งบการเงินนีไ้ ด้จดั ทำขึน้ โดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอืน่ โดยเฉพาะเจาะจง

ในระหว่างปี 2553 และ 2554 สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศเรือ่ งมาตรฐานรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี และ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ซึง่ ได้มกี ารออกใหม่และปรับปรุงใหม่บางฉบับ โดยมีผลบังคับใช้สำหรับ รอบระยะเวลาบัญชีทเ่ี ริม่ ต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 และ 1 มกราคม 2556 บริษทั ได้นำมาตรฐานดังกล่าว ทีเ่ ริม่ ต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 มาถือปฏิบตั ใิ นงบการเงินนีแ้ ล้ว

อย่างไรก็ตาม ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2556 เป็นต้นไป บริษทั ต้องเริม่ ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรือ่ ง ภาษีเงินได้ ซึง่ มาตรฐานการบัญชีฉบับนีก้ ำหนดให้กจิ การระบุผลแตกต่างชัว่ คราวทีเ่ กิดจากความแตกต่างของมูลค่าสินทรัพย์ และหนีส้ นิ ระหว่างเกณฑ์ทางบัญชีและภาษีอากร เพือ่ รับรูผ้ ลกระทบทางภาษีเป็นสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ตามหลักเกณฑ์ทก่ี ำหนด การนำนโยบายการบัญชีใหม่นม้ี าถือปฏิบตั ยิ อ้ นหลังจะมีผลทำให้งบการเงินสำหรับปี 2555 จะเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม ขณะนีผ้ บู้ ริหารกำลังพิจารณาผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการใช้มาตรฐานการบัญชีดงั กล่าว

2.2

เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม งบการเงินรวมนีไ้ ด้จดั ทำขึน้ โดยรวมงบการเงินของบริษทั รสา พร็อพเพอร์ต้ ี ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) และโครงการร่วมทุน เพือ่ พัฒนาอาคารชุดและพืน้ ทีพ่ าณิชยกรรม ตามสัดส่วนการลงทุนดังนี้

สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ) 2555 2554

รายชื่อผู้ร่วมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด

บริษทั รสา พร็อพเพอร์ต้ี ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) บริษัท สยามไพรม์เอสเตท จำกัด

70 30

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

ส่วนแบ่งของบริษทั ในสินทรัพย์ หนีส้ นิ รายได้ และค่าใช้จา่ ยในโครงการร่วมทุนทีเ่ ป็นสาระสำคัญซึง่ ได้รวบรวมและแสดง ตามวิธีรวมตามสัดส่วนตามเกณฑ์แต่ละบรรทัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 และสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดงั นี้

50

70 30

ลักษณะธุรกิจ

ต้นทุนการพัฒนาโครงการ สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนีส้ นิ หมุนเวียน ส่วนได้เสีย – ต้นงวด รายได้รวม ต้นทุนขายและค่าใช้จา่ ยรวม

2555 53,926,834 17,169,114 102,434,658 11,978,319 88,370,544 142,674,146 119,346,403

(หน่วย : บาท) 2554 131,242,822 16,804,246 108,008,800 80,097,825 (2,792,568) 416,306,672 320,565,561


ANNUALREPORT 2012

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ยอดสินทรัพย์ของโครงการร่วมทุนเพือ่ พัฒนาอาคารชุด ซึง่ รวมอยูใ่ นงบการเงิน รวมคิดเป็นร้อยละ 14.30 และร้อยละ 16.81 ของสินทรัพย์รวม ตามลำดับ และรายได้สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ของโครงการร่วมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด ซึ่งรวมอยู่ในงบการเงินรวมคิดเป็นร้อยละ 22.63 และ ร้อยละ 33.68 ของรายได้รวมตามลำดับ

ยอดคงค้างและรายการบัญชีกบั โครงการร่วมทุนเพือ่ พัฒนาอาคารชุดทีม่ สี าระสำคัญได้ถกู หักกลบกันงบการเงินรวมแล้ว

งบการเงินรวมนีไ้ ด้จดั ทำขึน้ โดยใช้นโยบายการบัญชีเดียวกันสำหรับรายการบัญชีทเ่ี หมือนกันสำหรับการจัดทำงบการเงิน เฉพาะบริษัทหรือเหตุการณ์ทางบัญชีที่คล้ายคลึงกัน

3. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ นโยบายการบัญชีทส่ี ำคัญทีใ่ ช้ในการจัดทำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะของบริษทั มีดงั ต่อไปนี้ 3.1

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคล่องสูง ซึง่ ถึงกำหนด จ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันทีไ่ ด้มาและไม่มขี อ้ จำกัดในการเบิกใช้

เงินฝากสถาบันการเงินที่มีข้อจำกัดในการใช้ แสดงไว้ภายใต้สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิน

3.2

ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ แสดงในราคาทุน หรือมูลค่าสุทธิทจ่ี ะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ต้นทุน การพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ประกอบด้วย ต้นทุนทีด่ นิ ค่าก่อสร้าง และค่าใช้จา่ ยโดยตรงกับการพัฒนาโครงการ ซึ่งรวมทั้งดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่เกี่ยวข้อง โดยจะตัดจ่ายเป็นต้นทุนขายตามอัตราส่วนพื้นที่ที่ขายของแต่ละโครงการ

3.3

ต้นทุนการกู้ยืม ดอกเบี้ยจ่ายที่เกิดจากเงินกู้ยืมเพื่อใช้ในการจัดหาและพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ถือเป็นส่วนหนึ่งของราคาทุน ของแต่ละโครงการ โดยจะหยุดบันทึกเมือ่ การพัฒนาโครงการแล้วเสร็จ หรือโครงการเกิดการหยุดชะงักลงจนกว่าจะมี การดำเนินการพัฒนาต่อไป

3.4

เงินลงทุนในโครงการร่วมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด เงินลงทุนในโครงการร่วมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุดในงบการเงินเฉพาะของบริษัท แสดงมูลค่าตามราคาทุน

ส่วนได้เสียในโครงการร่วมทุนเพือ่ พัฒนาอาคารชุดในงบการเงินรวมแสดงโดยวิธรี วมตามสัดส่วนตามเกณฑ์แต่ละบรรทัด เนือ่ งจากลักษณะของโครงการร่วมทุนดังกล่าวเป็นการประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจของบุคคลหรือกิจการตัง้ แตส องราย ขึน้ ไปโดยใหมกี ารควบคุมรวมกันตามทีต่ กลงไวใ นสัญญาซึง่ ถือเป็นกิจการร่วมค้าตามคำนิยามทีก่ ำหนดในมาตรฐานการบัญชี

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์ที่ถือครองเพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่าระยะยาว หรือจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าของสินทรัพย์ หรือทัง้ สองอย่าง และไม่ได้มไี ว้เพือ่ ใช้ในการดำเนินงานของบริษทั ถูกจัดประเภทเป็นอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน รวมถึงอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างเพื่อพัฒนาเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนในอนาคต

3.5

อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนวัดมูลค่าเริม่ แรกด้วยราคาทุนซึง่ รวมถึงต้นทุนในการทำรายการ และวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้ ด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม และค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี)

51


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

ค่าเสือ่ มราคาของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนคำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธเี ส้นตรงตามอายุการใช้งาน โดยประมาณดังนี้ อาคาร 20 ปี อุปกรณ์ 5 ปี

ต้นทุนที่เกิดขึ้นภายหลังจะบันทึกรวมในมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ก็ต่อเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษัท จะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากต้นทุนนั้น และสามารถวัดราคามูลค่าต้นทุนได้อย่างน่าเชื่อถือ ต้นทุน ในการซ่อมแซมและบำรุงรักษาจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ

3.6

อุปกรณ์ และยานพาหนะ อุปกรณ์ และยานพาหนะ แสดงมูลค่าตามราคาทุน หักค่าเสือ่ มราคาสะสม และค่าเผือ่ การด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี)

ค่าเสือ่ มราคาของอุปกรณ์ และยานพาหนะ คำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธเี ส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์ โดยประมาณดังนี้ เครื่องตกแต่งและอุปกรณ์สำนักงาน 5 ปี ห้องชุดตัวอย่าง 3-4 ปี ยานพาหนะ 5 ปี

กำไรหรือขาดทุนจากการจำหน่ายอุปกรณ์และยานพาหนะ คำนวณจากผลต่างระหว่างเงินสดรับสุทธิกบั ราคาตามบัญชี และรับรู้เป็นรายได้อื่น หรือค่าใช้จ่ายอื่นในงบกำไรขาดทุน

ต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ ภายหลังจะรวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์กต็ อ่ เมือ่ มีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่วา่ บริษทั จะได้รบั ประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากต้นทุนนัน้ และสามารถวัดราคามูลค่าต้นทุนได้อย่างน่าเชือ่ ถือ การปรับปรุงหลักจะถูกตัดค่า เสือ่ มราคาตลอดอายุการให้ประโยชน์ทเ่ี หลืออยูข่ องสินทรัพย์ทเ่ี กีย่ วข้อง ต้นทุนในการซ่อมแซมและบำรุงรักษาทีเ่ กิดขึน้ เป็นประจำจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้น

3.7

การด้อยค่าของสินทรัพย์ ยอดสินทรัพย์คงเหลือตามบัญชีนอกจากสินค้าคงเหลือได้รบั การทบทวน ณ ทุกวันทีส่ น้ิ รอบระยะเวลารายงานว่ามีขอ้ บงชี้ เรือ่ งการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีทม่ี ขี อ้ บ่งชี้ บริษทั จะทำการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ทค่ี าดว่าจะได้รบั คืน โดยจะรับรูก้ าร ด้อยค่าเมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์สูงกว่ามูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับคืน และบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าไว้ ในงบกำไรขาดทุน

การคำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน - มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน หมายถึงราคาขายของสินทรัพย์ หรือมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ แล้วแต่มลู ค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสด ทีจ่ ะได้รบั ในอนาคตจะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบนั โดยใช้อตั ราคิดลดก่อนคำนวณภาษีเงินได้ เพือ่ ให้สะท้อนมูลค่าทีอ่ าจประเมินได้ในตลาดปัจจุบนั ซึง่ แปรไปตามเวลา และความเสีย่ งทีม่ ตี อ่ สินทรัพย์ สำหรับสินทรัพย์ทไ่ี ม่กอ่ ให้เกิดเงินสดซึง่ ส่วนใหญ่เป็นหน่วยแยกอิสระจากสินทรัพย์อน่ื ๆ บริษัทจะพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนให้สอดคล้องกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์นั้นมี ความเกี่ยวข้องด้วย

การกลับรายการด้อยค่า - บริษทั จะกลับรายการบัญชีขาดทุนจากการด้อยค่า หากมีการเปลีย่ นแปลงประมาณการทีใ่ ช้ในการคำนวณมูลค่าที่ คาดว่าจะได้รับคืน - บริษทั จะกลับรายการบัญชีขาดทุนจากการด้อยค่าเพียงเพือ่ ให้มลู ค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ ไม่เกินกว่ามูลค่าตาม บัญชีภายหลังหักค่าเสือ่ มราคาหรือค่าตัดจำหน่าย เท่ากับจำนวนทีไ่ ม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน รายการกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะบันทึกเป็นรายได้ในงบกำไรขาดทุน

52


ANNUALREPORT 2012

3.8

สัญญาเช่า – กรณีที่บริษัทเป็นผู้เช่า การเช่าอุปกรณ์ ซึง่ พิจารณาว่าความเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของทัง้ หมดได้โอนให้บริษทั แล้วเป็นสัญญา เช่าการเงิน บริษทั จะบันทึกมูลค่าของสินทรัพย์เป็นรายจ่ายฝ่ายทุนตามมูลค่ายุตธิ รรมสุทธิของสินทรัพย์ทเ่ี ช่าหรือมูลค่า ปัจจุบนั สุทธิของจำนวนเงินทีต่ อ้ งจ่ายตามสัญญาเช่า แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า โดยจำนวนเงินทีต่ อ้ งจ่ายจะแบ่งเป็น ส่วนของหนีส้ นิ และค่าใช้จา่ ยทางการเงิน เพือ่ ให้จำนวนเงินทีต่ อ้ งจ่ายในแต่ละงวดมีจำนวนคงที่ ค่าเช่าซึง่ ต้องจ่ายตาม ภาระผูกพันหักกับค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็นหนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกใน งบกำไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน จะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุของการ ใช้งานของสินทรัพย์นั้น

การเช่าสินทรัพย์โดยที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของตกอยู่กับผู้ให้เช่า จะถูกจัดเป็นสัญญาเช่า ดำเนินงาน การชำระเงินภายใต้สญ ั ญาเช่าดำเนินงาน จะถูกบันทึกเป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำไรขาดทุนโดยวิธเี ส้นตรงตลอด อายุสัญญาเช่า ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกสัญญาเช่าดำเนินงานก่อนหมดอายุการเช่า เช่น เบี้ยปรับที่ต้องจ่าย ให้ผู้ให้เช่า จะถูกบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการยกเลิกสัญญา

3.9

สัญญาเช่า – กรณีที่บริษัทเป็นผู้ให้เช่า สินทรัพย์ทใ่ี ห้เช่าภายใต้เงือ่ นไขสัญญาเช่าดำเนินงาน จะถูกบันทึกเป็นสินทรัพย์ภายใต้หวั ข้อ “อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน” ในงบแสดงฐานะการเงิน บริษัทคิดค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ดังกล่าวตามอายุการใช้งานโดยประมาณ ในหลักการเดียว กับสินทรัพย์ทม่ี ลี กั ษณะคล้ายคลึงกัน รายได้คา่ เช่า บันทึกในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยวิธเี ส้นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า

3.10 ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสั้น บริษทั รับรูเ้ งินเดือน ค่าจ้าง โบนัส เงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็นค่าใช้จา่ ยในระหว่างงวดทีพ่ นักงานได้ให้บริการแก่บริษทั

ผลประโยชน์หลังออกจากงาน (โครงการสมทบเงิน) โครงการสมทบเงินเป็นโครงการผลประโยชน์ประเภทหลังออกจากงาน ซึง่ กิจการจ่ายสมทบเป็นจำนวนเงินทีแ่ น่นอน ไปอีกกิจการหนึง่ แยกต่างหาก (กองทุนสำรองเลีย้ งชีพ) และจะไม่มภี าระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดย อนุมานทีจ่ ะต้องจ่ายสมทบเพิม่ เติม ภาระผูกพันในการสมทบเข้าโครงการสมทบเงินจะถูกรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยพนักงานใน กำไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานได้ให้บริการแก่บริษัท

ผลประโยชน์หลังออกจากงาน (โครงการผลประโยชน์) บริษทั มีภาระสำหรับเงินชดเชยทีต่ อ้ งจ่ายให้แก่พนักงานเมือ่ ออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึง่ บริษทั ถือว่าเงินชดเชย ดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานสำหรับพนักงาน

บริษทั คำนวณหนีส้ นิ ตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โดยใช้วธิ คี ดิ ลดแต่ละหน่วยทีป่ ระมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผูเ้ ชีย่ วชาญอิสระ ได้ทำการประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย

บริษทั รับรูห้ นีส้ นิ ดังกล่าวด้วยมูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพัน ณ วันทีใ่ นรายงาน ซึง่ ปรับปรุงด้วยกำไรขาดทุนจากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยและต้นทุนบริการในอดีต ผลกำไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย จะรับรูใ้ นกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ต้นทุนดอกเบีย้ ทีเ่ กีย่ วข้องรวมคำนวณเป็น “ต้นทุนทางการเงิน” ในกำไรหรือขาดทุน

ประมาณการหนี้สิน บริษทั จะบันทึกประมาณการหนีส้ นิ และค่าใช้จา่ ยไว้ในงบการเงินเมือ่ บริษทั มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือเป็นภาระผูกพัน ทีค่ อ่ นข้างแน่นอนทีม่ ผี ลสืบเนือ่ งจากเหตุการณ์ในอดีต ซึง่ อาจทำบริษทั ต้องชำระหรือชดใช้เงินตามภาระผูกพันนัน้ และจำนวนทีต่ อ้ งชดใช้ดงั กล่าวสามารถประมาณได้อย่างสมเหตุสมผล สินทรัพย์ทอ่ี าจเกิดขึน้ จะถูกรับรูเ้ ป็นสินทรัพย์ แยกต่างหาก เมื่อมีปัจจัยสนับสนุนว่าจะได้รับคืนแน่นอน

3.11

53


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

3.12

เครื่องมือทางการเงิน สินทรัพย์ทางการเงินทีแ่ สดงในงบแสดงฐานะการเงินประกอบด้วยเงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินลงทุน หนีส้ นิ ทางการเงิน ที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน ประกอบด้วยเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เจ้าหนี้การค้า และเงินกู้ยืม ซึ่งนโยบายการ บัญชีเฉพาะสำหรับรายการแต่ละรายการได้เปิดเผยแยกไว้ในแต่ละหัวข้อที่เกี่ยวข้อง

3.13 การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย รายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ และหน่วยในอาคารชุด รับรูเ้ ป็นรายได้ เมือ่ งานก่อสร้างเสร็จ และมีการโอนกรรมสิทธิแ์ ก่ผซู้ อ้ื

รายได้อื่นและค่าใช้จ่าย รับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง

3.14 ภาษีเงินได้ บริษัทคำนวณหนี้สินภาษีเงินได้ตามเงื่อนไขที่กำหนดในประมวลรัษฎากร

3.15

กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรต่อหุน้ คำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปีดว้ ยจำนวนหุน้ ถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักระหว่างปี ในกรณีทม่ี กี ารจ่ายหุน้ ปันผล บริษัทจะคำนวณจำนวนหุ้นสามัญที่ถือโดยผู้ถือหุ้นก่อนการจ่ายหุ้นปันผลตามสัดส่วนที่เปลี่ยนแปลงไปของจำนวน หุ้นสามัญที่ถือโดยผู้ถือหุ้นใหม่ เสมือนว่าการจ่ายหุ้นปันผลได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันเริ่มต้นของงวดแรกสุดที่นำเสนอ

ในปี 2555 บริษัทมีการจ่ายหุ้นปันผล จำนวน 100 ล้านหุ้น เป็นผลให้บริษัทคำนวณจำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วง น้ำหนักสำหรับปี 2554 ใหม่ จาก 400 ล้านหุน้ เป็น 500 ล้านหุน้ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้ขอ้ มูลกำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานทีน่ ำเสนอ สามารถเปรียบเทียบกันได้

3.16

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันกับบริษทั หมายถึง บุคคลหรือกิจการทีม่ อี ำนาจควบคุมบริษทั หรือถูกควบคุมโดยบริษทั ไม่วา่ จะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษทั นอกจากนีบ้ คุ คลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ยังหมายรวมถึงบริษทั ร่วมและบุคคลซึง่ มีอทิ ธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญทัง้ ทางตรงและทางอ้อมกับบริษทั ผูบ้ ริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัท ที่มีอำนาจในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของบริษัท

3.17

การใช้ประมาณการทางบัญชี ในการจัดทำงบการเงินเพือ่ ให้เป็นไปตามหลักการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไป ผูบ้ ริหารต้องใช้การประมาณการและข้อสมมติฐาน หลายประการ ซึง่ มีผลกระทบต่อจำนวนเงินทีเ่ กีย่ วกับรายได้ ค่าใช้จา่ ย สินทรัพย์ หนีส้ นิ และการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับ สินทรัพย์และหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างจากจำนวนที่ได้ประมาณการไว้

4. ประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ ข้อสมมติฐาน การใช้ดุลยพินิจ และการจัดการความเสี่ยงในส่วนของทุน 4.1

ประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ ข้อสมมติฐาน และการใช้ดุลยพินิจ

4.1.1

ค่าเผื่อลดมูลค่าสำหรับบ้านและอาคารชุดเคลื่อนไหวช้า และเสื่อมคุณภาพ บริษทั ได้ประมาณการค่าเผือ่ ลดมูลค่าสำหรับบ้านและอาคารชุดเคลือ่ นไหวช้า และเสือ่ มคุณภาพเพือ่ ให้สะท้อนถึงการด้อยค่าลง ของบ้านและอาคารชุด โดยการประมาณการนัน้ จะพิจารณาจากการหมุนเวียน และการเสื่อมสภาพของสินค้าคงเหลือประเภทต่างๆ

4.1.2

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อุปกรณ์ และยานพาหนะ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ฝ่ายบริหารเป็นผูป้ ระมาณการมูลค่าคงเหลือและอายุการให้ประโยชน์ของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน อุปกรณ์ และยานพาหนะ และสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนของบริษทั โดยจะมีการทบทวนทุกสิน้ รอบปีบญ ั ชี ซึง่ อาจมี ความแตกต่างไปจากการประมาณการ ในงวดก่อน หรือมีการตัดจำหน่ายสินทรัพย์ที่เสื่อมสภาพหรือไม่ได้ ใช้งานอีกต่อไป

54


ANNUALREPORT 2012

4.1.3

สัญญาเช่า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าดำเนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ายบริหาร ใช้ดลุ ยพินจิ ในการประเมินเงือ่ นไขและรายละเอียดของสัญญาเพือ่ พิจารณาว่า บริษทั ได้โอนหรือรับโอนความเสีย่ ง และผลประโยชน์ ในสินทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่

4.1.4

ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนีส้ นิ ตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึง่ ข้อสมมติฐานในการประมาณการดังกล่าวประกอบด้วย อัตราคิดลด จำนวนเงินเดือนทีค่ าดว่าจะเพิม่ ขึน้ ในอนาคต อัตรามรณะและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในเชิงประชากรศาสตร์ ในการกำหนดอัตราคิดลดฝ่ายบริหาร ได้พิจารณาถึงอัตราดอกเบี้ยที่สะท้อนถึง สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน ส่วนอัตรามรณะใช้ข้อมูล ตารางอัตรามรณะทีเ่ ปิดเผยทัว่ ไปในประเทศ อย่างไรก็ตามผลประโยชน์หลังการเลิกจ้างงานทีเ่ กิดขึน้ จริงนัน้ อาจแตกต่างไปจากที่ประมาณไว้

4.1.5

คดีฟ้องร้อง บริษทั อาจมีหนีส้ นิ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากข้อพิพาททางกฎหมายและการถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายตาม ปกติธรุ กิจ ซึง่ ฝ่ายบริหารต้องใช้ดลุ ยพินจิ ในการประเมินผลของข้อพิพาทและคดีทถ่ี กู ฟ้องร้องแล้วและตัง้ ค่า เผื่อความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ในบัญชีในจำนวนที่สมเหตุสมผล ณ วันที่ในงบการเงิน อย่างไรก็ตามผลที่ เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากที่ได้มีการ ประมาณการไว้

4.2

การจัดการความเสี่ยงในส่วนของทุน วัตถุประสงค์ของบริษทั ในการบริหารทุนของบริษทั นัน้ เพือ่ ดำรงไว้ซง่ึ ความสามารถในการดำเนินงานอย่างต่อเนือ่ งของบริษทั เพือ่ สร้างผลตอบแทนต่อผูถ้ อื หุน้ และเป็นประโยชน์ตอ่ ผูท้ ม่ี สี ว่ นได้เสียอืน่ และเพือ่ ดำรงไว้ซง่ึ โครงสร้างของทุนทีเ่ หมาะสม เพื่อลดต้นทุนทางการเงินของทุน

ในการดำรงไว้หรือปรับโครงสร้างของทุน บริษัทอาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปันผล ออกหุ้นใหม่หรือออกหุ้นกู้เพื่อ ปรับโครงสร้างหนี้ หรือการขายทรัพย์สินเพื่อลดภาระหนี้

5. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินสด เงินฝากธนาคาร รวม

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2555 2554 2555 2554 53,338 91,068 32,859 68,396 35,450,775 8,412,037 21,255,392 983,020 35,504,113 8,503,105 21,288,251 1,051,416

55


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

6. ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ – สุทธิ

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2555 2554 2555 2554 ที่ดิน 686,661,967 463,663,707 686,661,967 463,663,707 ค่าพัฒนาที่ดิน 4,622,162 3,546,000 4,622,162 3,546,000 งานระหว่างก่อสร้าง 801,641,235 964,884,763 801,641,235 964,884,763 งานสาธารณูปโภค 20,123,820 36,300,123 20,123,820 36,300,123 ค่าใช้จา่ ยทางการเงินทีบ่ นั ทึกเป็นต้นทุนโครงการ 65,416,563 62,810,526 65,416,563 62,810,526 ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโครงการ 16,985,150 18,972,108 16,985,150 18,972,108 รวม 1,595,450,897 1,550,177,227 1,595,450,897 1,550,177,227 หัก จำนวนสะสมที่โอนเป็นต้นทุนขาย (762,948,902) (856,776,138) (762,948,902) (856,776,138) สุทธิ 832,501,995 693,401,089 832,501,995 693,401,089

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวข้างต้นติดจำนองเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันสินเชื่อ ที่ได้รับจากธนาคารตามหมายเหตุ 14 และ 15 วงเงินจำนวน 869.92 ล้านบาท และ 647.20 ล้านบาท ตามลำดับ 7. ต้นทุนการพัฒนาโครงการร่วมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด – สุทธิ

งบการเงินรวม 2555 2554 ที่ดิน 90,262,274 90,262,274 งานระหว่างก่อสร้าง 430,047,382 419,849,935 ค่าใช้จา่ ยทางการเงินทีบ่ นั ทึกเป็นต้นทุนโครงการ 19,028,517 19,028,517 ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโครงการ 8,479,453 8,479,453 รวม 547,817,626 537,620,179 หัก จำนวนสะสมที่โอนเป็นต้นทุนขาย (493,890,793) (406,377,357) สุทธิ 53,926,833 131,242,822

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2555 2554 - - - - - - - -

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวข้างต้นติดจำนองเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันสินเชื่อ ที่ได้รับจากธนาคารตามหมายเหตุ 14 และ 15 วงเงินจำนวน 410 ล้านบาท 8. ที่ดินรอการพัฒนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ทีด่ นิ รอการพัฒนาจำนวนเงิน 173.85 ล้านบาท และ 561.43 ล้านบาท ตามลำดับ ติดจำนองเป็นหลักทรัพย์คำ้ ประกันสินเชือ่ ทีไ่ ด้รบั จากธนาคารตามหมายเหตุ 14 และ 15 9. เงินมัดจำค่าทีด่ นิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 เงินมัดจำค่าทีด่ นิ มูลค่า 5 ล้านบาท เป็นการจ่ายเงินเพือ่ จะซือ้ ทีด่ นิ แปลงหนึง่ ซึง่ ปัจจุบนั อยูใ่ นระหว่างการดำเนินการเพื่อทำสัญญาซื้อขายและโอนกรรมสิทธิ์กับผู้มีกรรมสิทธิ์ร่วม

56


ANNUALREPORT 2012 10. รายการบัญชีกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษทั มีรายการบัญชีทเ่ี กิดขึน้ กับบุคคลและบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน บุคคลและบริษทั เหล่านีเ้ กีย่ วข้องกันโดยมีการถือหุน้ และ/หรือ กรรมการร่วมกัน ดังนัน้ งบการเงินนีจ้ งึ รวมถึงผลของรายการเหล่านีต้ ามมูลฐานทีพ่ จิ ารณาร่วมกันระหว่างบริษทั กับบุคคลและ บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งเกณฑ์ที่ใช้บางกรณีอาจใช้เกณฑ์ที่แตกต่างจากรายการกับบุคคลภายนอก ลักษณะความสัมพันธ์

บุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ลักษณะความสัมพันธ์ นางสาวอัจฉราพร ศิริไพรวัน กรรมการและผู้ถือหุ้นของบริษัท นายโกวิท ไววัฒนา กรรมการและผู้ถือหุ้นของบริษัท นางสาวนันทรัตน์ โกวิทคณิต พนักงานระดับผู้จัดการของบริษัท นายสยาม อเดโช พนักงานและผู้ถือหุ้นของบริษัท บริษัท รสาทาวเวอร์ จำกัด บริษัทที่เกี่ยวข้องกันโดยมีกรรมการและผู้ถือหุ้นร่วมกัน บริษัท สยามไพรม์เอสเตท จำกัด บริษทั ผูร้ ว่ มทุน โดยมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติกบั กรรมการและผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั บริษัท รายาวดี (44) จำกัด บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติกบั กรรมการและผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั

รายการระหว่างบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกันที่มีสาระสำคัญ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2555 2554 2555 2554 รายได้จากการขายอาคารชุด 3,515,940 12,440,022 3,515,940 6,004,488 ซื้อสินค้า 1,431,211 13,591,682 1,431,211 9,935,419 ค่าเช่า 1,156,452 1,156,452 1,156,452 1,156,452 ค่าบริหารโครงการ 732,480 732,480 - ค่าที่ปรึกษา 750,000 1,200,000 750,000 1,200,000 ค่าตอบแทนผู้บริหาร ผลประโยชน์ระยะสั้น 14,166,800 14,254,300 14,166,800 14,254,300 ผลประโยชน์หลังออกจากงาน 442,122 3,998,634 442,122 3,998,634 รวม 14,608,922 18,252,934 14,608,922 18,252,934 ค่าตอบแทนผูบ้ ริหาร ประกอบด้วย ค่าตอบแทนทีจ่ า่ ยให้แก่คณะกรรมการบริษทั ตามข้อบังคับของบริษทั และค่าตอบแทนที่ จ่ายให้แก่ผบู้ ริหารของบริษทั ซึง่ ได้แก่ เงินเดือน โบนัส เงินตอบแทนพิเศษและอืน่ ๆ รวมทัง้ เงินสมทบกองทุนสำรองเลีย้ งชีพที่ บริษัทจ่ายสมทบให้ผู้บริหารในฐานะพนักงานของบริษัท นโยบายการกำหนดราคาระหว่างบริษัทกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกันสรุปได้ดังนี้

- - - - -

รายได้จากการขายห้องชุดในอาคารชุด เป็นไปตามราคาทีต่ กลงร่วมกันตามสัญญาซือ้ ขาย ซึง่ เป็นราคาทีไ่ ด้รบั ส่วนลด ตามข้อกำหนดสวัสดิการพนักงานและผูบ้ ริหารในอัตราร้อยละ 5 – 15 จากราคาขายปกติ แต่หากเป็นการทำสัญญา ซือ้ ขายครัง้ ต่อไป ซึง่ กระทำขึน้ ภายใน 10 ปี หลังจากทำสัญญาครัง้ แรก ราคาขายเป็นราคาปกติทว่ั ไปทีข่ ายให้กบั บุคคลภายนอก ค่าซื้อสินค้า คิดตามราคาที่ตกลงร่วมกันตามสัญญา ซึ่งสามารถเทียบเคียงได้กับบุคคลภายนอก ค่าเช่า คิดตามอัตรารายเดือนที่ตกลงร่วมกันตามสัญญา ซึ่งสามารถเทียบเคียงได้กับบุคคลภายนอก ค่าบริหารโครงการ คิดตามอัตรารายเดือนที่ตกลงร่วมกันตามสัญญาร่วมทุน ค่าที่ปรึกษา คิดตามอัตรารายเดือนที่ตกลงร่วมกันตามสัญญาจ้างที่ปรึกษาด้านการก่อสร้าง

57


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

ยอดคงเหลือระหว่างบริษัทกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องที่มีสาระสำคัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2555 2554 2555 2554 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น – เงินมัดจำ บริษัท รายาวดี (44) จำกัด 99,510 41,700 99,510 41,700 เจ้าหนี้การค้า บริษัท รายาวดี (44) จำกัด 687,368 3,993,957 687,368 3,921,534 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย บริษัท สยามไพรม์เอสเตท จำกัด 305,200 122,080 - 11. เงินลงทุนในโครงการร่วมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุด และพื้นที่พาณิชยกรรม เมือ่ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2550 บริษทั เข้าทำสัญญาร่วมลงทุนกับบริษทั สยามไพรม์เอสเตท จำกัด โดยนายนรินทร์ สุวรรณสรางค์ และนายธนพัฒน์ สุวรรณสรางค์ (ซึง่ เป็นบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกัน) กรรมการทัง้ สองฝ่ายมีความประสงค์ทจ่ี ะร่วมลงทุนเพือ่ พัฒนา โครงการอาคารชุดพักอาศัย และพืน้ ทีพ่ าณิชยกรรม โดยแบ่งแยกหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารได้ดงั นี้ 11.1 การลงทุน และการแบ่งกำไร และ/หรือขาดทุน

คู่สัญญา

บริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) (คู่สัญญาที่ 1) บริษัท สยามไพรม์เอสเตท จำกัด (คู่สัญญาที่ 2) โดยในระยะเริ่มต้นของการดำเนินโครงการ ให้คู่สัญญาแต่ละฝ่ายนำเงินลงทุน เป็นจำนวน ดังต่อไปนี้ บริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) (คู่สัญญาที่ 1) บริษัท สยามไพรม์เอสเตท จำกัด (คู่สัญญาที่ 2) จำนวนเงินลงทุนเริ่มต้นของโครงการรวมทั้งสิ้น

สัดส่วนการลงทุน (ร้อยละ) 70 ของเงินทุน 30 ของเงินทุน

107,824,500 บาท 46,210,500 บาท 154,035,000 บาท

การแบ่งกำไร และ/หรือขาดทุนกันภายหลังการนำรายจ่ายทัง้ หมด รวมทัง้ เงินทีค่ สู่ ญ ั ญานำมาร่วมลงทุนมาหักออกจากรายได้ทง้ั หมด โดยการแบ่งกำไรและ /หรือขาดทุนดังกล่าวให้เป็นไปตามสัดส่วนของการลงทุน โดยแบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 เมื่อโอนกรรมสิทธิ์และ/หรือให้เช่าอาคารชุดและ/หรือพื้นที่พาณิชยกรรมหรือพลาซ่ารวมกันได้ร้อยละ 80 ของพื้นที่ของโครงการทั้งหมด ระยะที่ 2 เ มื่อโอนกรรมสิทธิ์และ/หรือให้เช่าอาคารชุดและ/หรือพื้นที่พาณิชยกรรมหรือพลาซ่าได้แล้วทั้งหมด ในระหว่างปี 2555 และ 2554 คูส่ ญ ั ญาทัง้ สองฝ่ายตกลงจ่ายเพิม่ เงินลงทุนและรับคืนเงินลงทุนจากส่วนแบ่งกำไรในโครงการ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในโครงการร่วมทุนเพื่อพัฒนาอาคารชุดเฉพาะส่วนที่เป็นของบริษัทสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังนี้

58


ANNUALREPORT 2012 (หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2555 2554 86,824,500 142,824,500 - (34,300,000) (56,000,000) 52,524,500 86,824,500

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม บวก เงินลงทุนเพิ่ม หัก รับคืนเงินลงทุน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

11.2 การดำเนินโครงการ ในการดำเนินโครงการให้คสู่ ญ ั ญาแต่ละฝ่ายมีสทิ ธิได้รบั เงินค่าใช้จา่ ยในการบริหารงานภายในองค์กรอันเกีย่ วเนือ่ งกับการดำเนิน โครงการเป็นรายเดือนจนกว่าสัญญาจะสิ้นสุดลงในอัตราดังต่อไปนี้

คู่สัญญา

ค่าใช้จ่ายต่อเดือน (บาท)

บริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) (คู่สัญญาที่ 1) บริษัท สยามไพรม์เอสเตท จำกัด (คู่สัญญาที่ 2

11.3

381,500 87,200

กรรมสิทธิ์ คูส่ ญ ั ญาทัง้ สองฝ่ายตกลงให้คสู่ ญ ั ญาที่ 1 เป็นผูม้ กี รรมสิทธิใ์ นบรรดาพืน้ ทีข่ องโครงการอาคารชุดพักอาศัยพืน้ ทีพ่ าณิชยกรรม หรือพลาซ่าและ / หรือสิ่งก่อสร้างใดๆบนพื้นที่ของโครงการเพื่อประโยชน์ร่วมกันของคู่สัญญาทั้งสองฝ่าย เพื่อให้ ดำเนินการตามโครงการประสบความสำเร็จ ในการดำเนินโครงการนัน้ คูส่ ญ ั ญาตกลงกูย้ มื เงินธนาคารหรือสถาบันการเงิน โดยใช้พน้ื ทีข่ องโครงการ รวมถึงสิง่ ปลูกสร้าง บนพื้นที่ของโครงการเป็นหลักประกัน บริษัทได้รับอนุมัติสินเชื่อในรูปเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง วงเงินกู้ 410 ล้านบาท

12. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน – สุทธิ

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม

2554 เพิ่มขึ้น ลดลง 2555 ราคาทุน อาคารและพื้นที่ให้เช่า 115,158,480 2,496,022 - 117,654,502 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม (7,261,424) (8,150,973) - (15,412,397) สุทธิ 107,897,056 102,242,105 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี 7,261,424 8,150,973

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนมีมลู ค่ายุตธิ รรมประมาณ 514.67 ล้านบาท ซึง่ ประเมิณโดยผูป้ ระเมิณ ราคาอิสระตามวิธีเปรียบเทียบราคาตลาด อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนดังกล่าวข้างต้นติดจำนองเป็นหลักทรัพย์คำ้ ประกันสินเชือ่ วงเงินจำนวน 410 ล้านบาท ทีไ่ ด้รบั จาก ธนาคารตามหมายเหตุ 14 และ 15

59


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

13. อุปกรณ์ และยานพาหนะ – สุทธิ

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม

2554 เพิ่มขึ้น ลดลง 2555 ราคาทุน เครื่องตกแต่ง 1,380,949 - - 1,380,949 อุปกรณ์สำนักงาน 2,731,436 181,673 (32,000) 2,881,109 ยานพาหนะ 10,104,044 - - 10,104,044 รวม 14,216,429 181,673 (32,000) 14,366,102 ค่าเสื่อมราคาสะสม เครื่องตกแต่ง 1,015,154 196,547 - 1,211,701 อุปกรณ์สำนักงาน 1,872,302 303,932 (31,999) 2,144,235 ยานพาหนะ 9,060,589 578,693 - 9,639,282 รวม 11,948,045 1,079,172 (31,999) 12,995,218 มูลค่าตามบัญชี 2,268,384 1,370,884 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี 4,065,827 1,079,172 (หน่วย : บาท)

งบการเงินเฉพาะของบริษัท

2554 เพิ่มขึ้น ลดลง 2555 ราคาทุน เครื่องตกแต่ง 966,598 - - 966,598 อุปกรณ์สำนักงาน 2,619,426 168,415 (32,000) 2,755,841 ยานพาหนะ 10,104,044 - - 10,104,044 รวม 13,690,068 168,415 (32,000) 13,826,483 ค่าเสื่อมราคาสะสม เครื่องตกแต่ง 665,569 131,786 - 797,355 อุปกรณ์สำนักงาน 1,807,270 280,225 (31,999) 2,055,496 ยานพาหนะ 9,060,589 578,693 - 9,639,282 รวม 11,533,428 990,704 (31,999) 12,492,133 มูลค่าตามบัญชี 2,156,640 1,334,350 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี 3,956,236 990,704

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษทั มีทรัพย์สนิ บางรายการทีค่ ำนวณค่าเสือ่ มราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้ดำเนินงานอยู่ ราคาทุนจำนวนเงิน 2.31 ล้านบาท และ 1.49 ล้านบาท ตามลำดับ 14. เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษทั มีสนิ เชือ่ วงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารจำนวน 2 แห่ง จำนวนเงินรวม 13 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MOR ต่อปี ค้ำประกันโดยที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตามหมายเหตุ 6 และ 7

60


ANNUALREPORT 2012 15. เงินกู้ยืมระยะยาว

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2555 2554 2555 2554 เงินกู้ยืมระยะยาว 415,859,836 613,232,370 415,859,836 591,393,064 หัก ส่วนที่ครบกำหนดชำระภายใน 1 ปี (48,889,650) (114,212,050) (48,889,650) (92,372,744) สุทธิ 366,970,186 499,020,320 366,970,186 499,020,320

การเปลี่ยนแปลงของเงินกู้ยืมระยะยาวสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม บวก กู้เพิ่มเติม หัก จ่ายคืนเงินกู้ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2555 2554 2555 2554 613,232,370 730,944,155 591,393,064 555,779,565 30,000,000 775,597,781 30,000,000 593,832,560 (227,372,534) (893,309,566) (205,533,228) (558,219,061) 415,859,836 613,232,370 415,859,836 591,393,064

รายละเอียดเงินกู้ยืมระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบด้วย วงเงินกู้

อัตราดอกเบี้ย

520.0 ล้านบาท อัตรา MLR-0.5% ต่อปี

การจ่ายชำระ

(หน่วย : ล้านบาท) งบการเงินรวม 2555 2554

จ่ายชำระคืนเงินต้น เมื่อมีการไถ่ถอนจำนองหลักประกัน ทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้าง ในอัตราร้อยละ 65 ของราคาขาย โดยมีกำหนดชำระให้เสร็จสิ้นภายในปี 2555

-

57.98

305.0 ล้านบาท ปีที่ 1 อัตรา MLR-0.75% ต่อปี ปีที่ 2 อัตรา MLR-0.5% ต่อปี ปีที่ 3 เป็นต้นไป อัตรา MLR ต่อปี

จ่ายชำระคืนเงินต้น เมื่อมีการไถ่ถอนจำนองหลักประกัน ทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้าง ในอัตราร้อยละ 70 ของราคาขาย โดยมีกำหนดชำระให้เสร็จสิ้นภายในปี 2558

-

14.54

127.2 ล้านบาท อัตรา MLR+1% ต่อปี

ชำระคืนเงินกู้เป็นรายเดือน รวม 66 งวด ทุกวันที่ 27 ของเดื อ น (งวดที ่ 1-65 จำนวน 2,800,000 บาท ส่วนงวดที่ 66 ส่วนที่เหลือทั้งหมด) เริ่มชำระงวดแรก วันที่ 27 มกราคม 2554

64.32

105.12

จ่ายชำระคืนเงินต้น เมื่อมีการไถ่ถอนจำนองหลักประกัน ทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้าง ในอัตราร้อยละ 75 ของราคาขาย โดยมีกำหนดชำระให้เสร็จสิ้นภายในปี 2555

-

23.84

ชำระคืนเงินกูเ้ ป็นรายเดือน ณ วันทำการสุดท้ายของเดือน จำนวน 2,600,000 บาท รวม 120 งวด โดยมีกำหนด ชำระให้เสร็จสิ้นภายในปี 2564

156.26

188.28

จ่ายชำระคืนเงินต้น เมื่อมีการไถ่ถอนจำนองหลักประกัน ทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้าง ในอัตราร้อยละ 70 ของราคาขาย โดยมีกำหนดชำระให้เสร็จสิ้นภายในปี 2557

97.51

97.51

200.0 ล้านบาท อัตรา MLR-0.25% ต่อปี

200.0 ล้านบาท อัตรา MLR-0.25% ต่อปี

350.8 ล้านบาท ปีที่ 1 อัตรา MLR-0.5% ต่อปี ปีที่ 2 เป็นต้นไป อัตรา MLR ต่อปี

61


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

วงเงินกู้

อัตราดอกเบี้ย

303.4 ล้านบาท ปีที่ 1 อัตรา MLR-0.5% ต่อปี ปีที่ 2 เป็นต้นไป อัตรา MLR ต่อปี

58.5 ล้านบาท

ปีที่ 1 อัตรา MLR-0.5% ต่อปี ปีที่ 2 เป็นต้นไป อัตรา MLR ต่อปี

การจ่ายชำระ

(หน่วย : ล้านบาท) งบการเงินรวม 2555 2554

จ่ายชำระคืนเงินต้น เมื่อมีการไถ่ถอนจำนองหลักประกัน ทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้าง ในอัตราร้อยละ 70 ของราคาขาย โดยมีกำหนดชำระให้เสร็จสิ้นภายในปี 2558

67.77

67.77

-

58.19

30.00 415.86

613.23

จ่ายชำระคืนเงินต้น เมื่อมีการไถ่ถอนจำนองหลักประกัน ทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้าง ในอัตราร้อยละ 40 ของราคาขาย โดยมีกำหนดชำระให้เสร็จสิ้นภายในปี 2558

30.0 ล้านบาท

อัตรา 3% ต่อปี

ชำระคืนเงินกู้ให้เสร็จสิ้นภายในปี 2558

16. เงินกู้ยืมระยะสั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินกู้ยืมระยะสั้นจำนวน 32 ล้านบาท เป็นตั๋วสัญญาใช้เงินที่ออกให้บุคคลธรรมดาท่านหนึ่ง เพือ่ ใช้ในการจ่ายซือ้ ทีด่ นิ และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน มีอตั ราดอกเบีย้ ร้อยละ 6.80 ต่อปี และ MLR – 0.25% ต่อปี กำหนดจ่ายคืน เมื่อทวงถาม ซึ่งบริษัทจ่ายชำระคืนเงินกู้ดังกล่าวแล้วในระหว่างปี 2555 17. ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน บริษัทจะจ่ายผลประโยชน์เงินชดเชยแก่พนักงานหลังออกจากงานตามสิทธิและอายุงาน ตามข้อกำหนดของพระราชบัญญัติ คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ทัง้ นีบ้ ริษทั เลือกทีจ่ ะรับรูภ้ าระหนีส้ นิ ในอดีตทีจ่ ะต้องจ่ายค่าชดเชยดังกล่าว และจำนวนทีต่ อ้ งบันทึก ค้างจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับปี 2554 ทั้งจำนวน โดยบันทึกแบ่งเป็น 4 งวดไตรมาสตลอดทั้งปี การเปลี่ยนแปลงของภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงานหลังออกจากงานที่จะต้องจ่ายตามกฎหมายสำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังนี้ (หน่วย : บาท) (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2555 2554 2555 2554 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานต้นปี 6,258,325 - 6,258,325 ต้นทุนบริการในอดีตถึงวันที่ 1 มกราคม 2554 จัดสรรสำหรับปี - 3,933,856 - 3,933,856 ต้นทุนบริการปัจจุบัน 755,083 862,823 755,083 862,823 ต้นทุนดอกเบี้ย 281,625 177,024 281,625 177,024 ขาดทุน (กำไร) จากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยทีร่ บั รูใ้ น กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (964,863) 1,284,622 (964,863) 1,284,622 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานสิ้นปี 6,330,170 6,258,325 6,330,170 6,258,325

62


ANNUALREPORT 2012 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์เงินชดเชยที่จะต้องจ่ายตามกฎหมายซึ่งรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2555 2554 2555 2554 ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน ต้นทุนบริการในอดีต - 3,933,856 - 3,933,856 ต้นทุนบริการปัจจุบัน 755,083 862,823 755,083 862,823 755,083 4,796,679 755,083 4,796,679 ต้นทุนดอกเบี้ย 281,625 177,024 281,625 177,024 รวม 1,036,708 4,973,703 1,036,708 4,973,703 ข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ประกอบด้วย

จำนวนพนักงาน อัตราการตาย อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือน อัตราการหมุนเวียนพนักงาน เกษียนอายุ

4 3 คน ตารางมรณะไทย ปี 2551 ร้อยละ 4.50 ร้อยละ 7.69 ร้อยละ 1.00 60 ปี

18. ทุนจดทะเบียนและเงินปันผล เมือ่ วันที่ 27 เมษายน 2555 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2555 ผูถ้ อื หุน้ ได้มมี ติเกีย่ วกับการเพิม่ ทุนและจ่ายเงินปันผล ดังนี้ 18.1 เพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั อีก 100,000,000 บาท จากเดิม 400,000,000 บาท (แบ่งเป็น 400,000,000 หุน้ มูลค่า หุน้ ละ 1 บาท) เป็น 500,000,000 บาท (แบ่งเป็น 500,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท) เพือ่ ใช้ในการรองรับ การจ่ายหุ้นปันผล

18.2

จ่ายเงินปันผลจากกำไรจากการดำเนินงานสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 สำหรับหุ้นสามัญจำนวน 400,000,000 หุ้นเป็นจำนวนเงิน 111.11 ล้านบาท โดยจ่ายเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1) จ่ายเป็นหุ้นปันผลในอัตรา 4 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นปันผล คิดเป็นจำนวนเงิน 100.00 ล้านบาท 2) จ่ายเป็นเงินสดปันผล จำนวนเงิน 11.11 ล้านบาท หรือในอัตราหุ้นละ 0.02777 บาท

บริษัทได้จดทะเบียนการเพิ่มทุน และจ่ายเงินปันผลแล้วในเดือนพฤษภาคม 2555 เมือ่ วันที่ 28 เมษายน 2554 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2554 ของบริษทั ได้มมี ติอนุมตั กิ ารจ่ายเงินปันผลจากกำไรสุทธิ หลังหักภาษี จากผลประกอบการของปี 2553 ในอัตราหุน้ ละ 0.30 บาทต่อหุน้ สำหรับหุน้ สามัญจำนวน 80,000,000 หุน้ รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 24 ล้านบาท ซึ่งบริษัทจ่ายเงินปันผลดังกล่าวแล้วในเดือนพฤษภาคม 2554 19. สำรองตามกฎหมาย เพือ่ ให้เป็นไปตามมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษทั ต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีสว่ นหนึง่ ไว้เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนี้จะมี จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำไปจ่ายเงินปันผลได้

63


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

20. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

บริษทั และพนักงานได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ ซึง่ จดทะเบียนแล้วตามพระราชบัญญัตกิ องทุนสำรองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 ซึง่ ประกอบด้วยเงินทีพ่ นักงานจ่ายสะสมและเงินทีบ่ ริษทั จ่ายสมทบ และจะจ่ายให้พนักงานในกรณีทอ่ี อกจากงาน ตามระเบียบว่าด้วยกองทุนดังกล่าว งบการเงินสำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษทั มีการจ่ายเงินกองทุน สำรองเลี้ยงชีพพนักงาน เป็นจำนวนเงิน 0.78 ล้านบาท และ 0.76 ล้านบาท ตามลำดับ

21. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายตามลักษณะสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังนี้

ต้นทุนการก่อสร้าง การเปลี่ยนแปลงในต้นทุนการพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2555 2554 2555 2554 494,518,281 426,902,867 484,320,834 385,662,620

(61,784,917) 430,179,442 (139,100,906) 197,905,029 เงินเดือน ค่าแรง และผลประโยชน์อน่ื ของพนักงาน 28,306,319 27,967,021 28,306,319 27,967,021 ค่าเสื่อมราคา 9,230,145 11,327,251 990,704 3,956,236 ค่าเช่าจ่าย 1,469,138 1,156,452 1,431,452 1,156,452 ค่าส่งเสริมการขาย 31,297,624 37,385,125 22,313,152 26,935,929 ค่าใช้จ่ายในสำนักงาน 4,618,710 7,849,455 4,293,485 5,907,244 ค่าบริหารโครงการ 6,757,840 5,355,828 4,163,218 4,452,028 ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ 1,437,667 1,597,174 1,431,675 1,465,350 ค่าภาษีและอากรอื่น 1,314,558 1,784,357 1,162,894 1,433,874 ค่าใช้จ่ายอื่น 9,213,803 12,053,080 6,356,295 8,976,297 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 20,807,482 40,976,941 16,189,049 27,262,457

22. ภาษีเงินได้ สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษทั ฯ คำนวณภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลในอัตราร้อยละ 23 และร้อยละ 30 ของกำไรสุทธิจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ซึง่ คำนวณขึน้ ตามข้อกำหนดในคำสัง่ กรมสรรพากรที่ ท.ป. 155/2549 และบวกกลับ ด้วยรายการปรับปรุงตามที่ประมวลรัษฎากรกำหนด (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม 2555 2554 กำไรสุทธิสำหรับปี 45,874,095 174,916,292 บวก ภาษีเงินได้ 11,260,936 21,697,832 กำไรก่อนภาษีเงินได้ 57,135,031 196,614,124 บวก ส่วนได้เสียของผู้ร่วมทุน 9,643,489 40,965,393 กำไรก่อนภาษีสำหรับคำนวณภาษีเงินได้ 66,778,520 237,579,517 บวก รายการที่ต้องบวกกลับ / หักออกตามประมวลรัษฎากร 22,300,515 6,046,947 ผลแตกต่างระหว่างรายได้และต้นทุนทางบัญชีและภาษี – สุทธิ (33,127,632) (164,982,062) กำไรสุทธิสำหรับคำนวณภาษีเงินได้ 55,951,403 78,644,402 ภาษีเงินได้รวม 12,868,822 23,593,320 หัก ภาษีเงินได้ส่วนที่เป็นของผู้ร่วมทุน (1,607,886) (1,895,488) ภาษีเงินได้ 11,260,936 21,697,832 64


ANNUALREPORT 2012 งบการเงินรวมของบริษทั ได้รวมสินทรัพย์ หนีส้ นิ รายได้ และค่าใช้จา่ ยของโครงการร่วมทุน โดยใช้วธิ รี วมตามสัดส่วน อย่างไรก็ตาม กำไรสุทธิทางภาษี (หลังภาษีเงินได้) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 แสดงได้ดังนี้ (หน่วย : บาท) 2555 2554 งบการเงิน ส่วนของ จำนวนเงินตามเกณฑ์ งบการเงิน ส่วนของ จำนวนเงินตามเกณฑ์ รวม ผู้ร่วมทุน ภาษีเงินได้ รวม ผู้ร่วมทุน ภาษีเงินได้

รายได้จากการขาย หัก ต้นทุนขาย กำไรขั้นต้น รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ภาษีธุรกิจเฉพาะ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กำไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำไรสุทธิทางภาษี

626,604,426 59,711,893 686,316,319 1,233,290,245 177,873,942 1,411,164,187 (432,733,364) (37,505,759) (470,239,123) (857,082,309) (117,220,569) (974,302,878) 193,871,062 22,206,134 216,077,196 376,207,936 60,653,373 436,861,309 3,975,293 1,434,169 5,409,462 2,688,871 543,203 3,232,074 (93,645,804) (11,903,404) (105,549,208) (106,475,743) (12,344,276) (118,820,019) (20,807,482) (1,979,329) (22,786,811) (40,976,941) (5,877,636) (46,854,577) (26,258,038) (114,081) (26,372,119) (34,829,999) (2,009,271) (36,839,270) 57,135,031 9,643,489 66,778,520 196,614,124 40,965,393 237,579,517 (11,260,936) (1,607,886) (12,868,822) (21,697,832) (1,895,488) (23,593,320) 45,874,095 8,035,603 53,909,698 174,916,292 39,069,905 213,986,197

23. การเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน บริษทั ดำเนินกิจการในส่วนงานธุรกิจเดียวคือธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และดำเนินธุรกิจในส่วนงานทางภูมศิ าสตร์เดียวคือ ในประเทศไทย ดังนั้นรายได้และสินทรัพย์ทั้งหมดที่แสดงในงบการเงินจึงเกี่ยวกับส่วนงานธุรกิจ และส่วนงานทางภูมิศาสตร์ ตามทีก่ ล่าวไว้ 24. เครื่องมือทางการเงิน

24.1 24.2

การบริหารความเสี่ยง บริษัทไม่มีนโยบายในการประกอบธุรกรรมเกี่ยวกับตราสารทางการเงินเพื่อเก็งกำไรหรือเพื่อการค้า ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ เกิดจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราดอกเบีย้ ในอนาคตซึง่ จะมีผลกระทบต่อผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัท โดยบริษัทมีสินทรัพย์และหนี้สินที่มีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยดังนี้ งบการเงินรวม จำนวนเงิน (บาท) อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละ) 2555 2554 2555 2554 เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ 15,799,224 9,248,806 0.50 – 0.75 0.125 – 0.75 เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค้ำประกัน 2,928,125 1,039,813 0.75 0.75 เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารพาณิชย์ 415,859,837 613,232,371 3.00 – 8.50 6.50 – 8.75

เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค้ำประกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารพาณิชย์

24.3

งบการเงินเฉพาะของบริษัท จำนวนเงิน (บาท) อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละ) 2555 2554 2555 2554 1,521,854 1,556,756 0.50 – 0.75 0.125 – 0.75 2,928,125 1,039,813 0.75 0.75 415,859,837 591,393,064 3.00 – 8.50 6.50 – 8.75

ความเสี่ยงจากการไม่ปฏิบัติตามสัญญา ความเสีย่ งจากการไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญา เกิดจากการทีล่ กู ค้าไม่ปฏิบตั ติ ามข้อกำหนดในสัญญาจะซือ้ จะขายซึง่ ก่อให้เกิด ความเสียหายแก่บริษัทฝ่ายบริหารเชื่อว่าบริษัทไม่มีความเสี่ยงที่เป็นสาระสำคัญเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามสัญญา เนือ่ งจากบริษทั ฯ มีนโยบายป้องกันความเสีย่ งโดยจัดให้มกี ารวางเงินดาวน์ อัตราร้อยละ 10 - 30 ของมูลค่าสัญญา จะซื้อจะขายและโอนกรรมสิทธิ์ให้กับลูกค้าเมื่อจ่ายเงินครบตามสัญญาดังกล่าว 65


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

24.4 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษทั ไม่มคี วามเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นในสกุลเงินตราต่างประเทศ เนือ่ งจากบริษทั ไม่มธี รุ กรรม ทางการค้าที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ

24.5

มูลค่ายุติธรรม สินทรัพย์ทางการเงินและหนีส้ นิ ทางการเงินส่วนใหญ่จดั อยูใ่ นประเภทระยะสัน้ เงินกูย้ มื ระยะยาวจากธนาคารพาณิชย์ มีอัตราดอกเบี้ยอยู่ในเกณฑ์เดียวกับตลาด ฝ่ายบริหารจึงเชื่อว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สิน ทางการเงินดังกล่าว แสดงมูลค่าไม่แตกต่างจากมูลค่ายุติธรรมอย่างเป็นสาระสำคัญ

25. ภาระผูกพันสำหรับการพัฒนาโครงการที่ยังไม่แล้วเสร็จ

มูลค่าขายที่ได้ทำสัญญาแล้วสะสมทั้งสิ้น อัตราร้อยละของยอดขายรวมของโครงการ ที่เปิดดำเนินการอยู่ มูลค่าขายที่ได้ทำสัญญาแล้วในระหว่างปี อัตราร้อยละของยอดขายรวมของโครงการ ที่เปิดดำเนินการอยู่

งบการเงินรวม 2555 2554 124.79 250.86

(หน่วย : ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2555 2554 104.24 207.76

3.64% 118.63

8.56% 90.36

4.11% 104.24

10.18% 68.83

3.46%

3.09%

4.11%

3.37%

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษทั มีภาระผูกพันทีจ่ ะต้องทำการพัฒนาโครงการในส่วนของสาธารณูปโภคส่วนกลาง และภาระผูกพันที่จะต้องก่อสร้างตามสัญญาก่อสร้างโครงการ ดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2555 2554 2555 2554 งานพัฒนาสาธารณูปโภคส่วนกลางโครงการต่างๆ 9.23 6.23 9.23 6.23 งานก่อสร้างตามสัญญาโครงการต่างๆ 44.31 63.91 44.31 50.42 26. หนังสือค้ำประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษทั มีภาระผูกพันทีธ่ นาคารออกหนังสือค้ำประกันให้ในนามของบริษทั คงเหลือจำนวน 22.93 ล้านบาท และ 1.04 ล้านบาท ตามลำดับ ซึง่ เกีย่ วเนือ่ งกับภาระผูกพันทางปฏิบตั บิ างประการตามปกติธรุ กิจของบริษทั โดยมีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตามหมายเหตุ 6 และเงินฝากประจำเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกัน 27. อื่นๆ

ในระหว่างเดือนกรกฎาคม 2554 บริษทั ได้ยกเลิกสัญญาว่าจ้างการก่อสร้างกับผูร้ บั จ้างรายหนึง่ เนือ่ งจากผูร้ บั จ้างรายดังกล่าว กระทำการผิดสัญญาจ้าง ทำให้ผรู้ บั จ้างฟ้องร้องและเรียกร้องค่าเสียหายเป็นจำนวนเงินประมาณ 80.93 ล้านบาท โดยศาลชัน้ ต้น ได้มคี ำสัง่ ให้จำหน่ายคดีแล้วตามพระราชบัญญัตอิ นุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 มาตรา 14 ซึง่ ขณะนีค้ ดีดงั กล่าวอยูใ่ นระหว่าง การพิจารณาของศาลอุทธรณ์ตามคำร้องของผูร้ บั จ้าง อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริหารของบริษทั เชือ่ ว่าหนีส้ นิ ทีบ่ ริษทั บันทึกไว้ตามเนือ้ งาน ที่เกิดจากการก่อสร้างตามสัญญาที่บริษัทบันทึกไว้ในบัญชี เพียงพอแล้วสำหรับงานที่ผู้รับจ้างดังกล่าวได้ดำเนินการจนถึงวัน เลิกจ้าง

66


ANNUALREPORT 2012 28. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เมือ่ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติเห็นชอบให้เสนอทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ เพือ่ อนุมตั กิ ารลดทุน เพิม่ ทุน และจ่ายเงินปันผล ดังนี้ 28.1 ลดทุนจดทะเบียนโดยการยกเลิกหุน้ ของบริษทั ทีย่ งั ไม่ได้ออกจำหน่ายจำนวน 14 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 1 บาท คิดเป็นจำนวนเงินรวม 14 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจำนวน 500,000,000 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจำนวน 499,999,986 บาท (แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 499,999,986 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) 28.2 เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทอีก 50,000,000 บาท จากเดิม 499,999,986 บาท (แบ่งเป็น 499,999,986 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) เป็น 549,999,986 บาท (แบ่งเป็น 549,999,986 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) เพื่อใช้ในการ รองรับการจ่ายหุ้นปันผล 28.3 จ่ายเงินปันผลจากกำไรจากการดำเนินงานสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 สำหรับหุ้นสามัญจำนวน 499,999,986 หุ้น เป็นจำนวนเงินไม่เกิน 55,555,556 บาท โดยจ่ายเป็น 2 ส่วนดังนี้

1) จ่ายเป็นหุ้นปันผลในอัตรา 10 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นปันผล คิดเป็นจำนวนเงินไม่เกิน 50,000,000 บาท 2) จ่ายเป็นเงินสดปันผล ในอัตราหุ้นละ 0.0111111111 บาท จำนวนเงินไม่เกิน 5,555,556 บาท

29. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการของบริษัทแล้ว เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556

67


RASA PROPERTY DEVELOPMENT PLC.

68


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.