ส ารบัญ
4
สารจากกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ แรงบันดาลใจ : แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนของไทยเบฟ
6 10 12 20
สารจากคณะกรรมการ เกี่ยวกับรายงานฉบับนี้ เกี่ยวกับไทยเบฟ แนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน พันธกิจ : การสร้างสรรค์และแบ่งปันคุณค่าของการเติบโตเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน
32 42 46 50 58 64 84
การกํากับดูแล การบริหารความเสี่ยง และการปฏิบัติตามกฎระเบียบ นวัตกรรม การส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค การบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า การจัดหาอย่างยั่งยืน โอกาสไร้ขีดจํากัด ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน เส้นทางของเรา : ดูแลใส่ใจสิ่งแวดล้อมและห่วงโซ่คุณค่า
88 90 96 102 108
ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การจัดการดูแลผลกระทบจากธุรกิจ การพิทักษ์และฟื้นฟูแหล่งนํ้า การจัดการของเสีย บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก พลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จุดมุ่งหมายของเรา : การแบ่งปันคุณค่าจากองค์กรสู่ระดับโลก
114 118 128 134 146 150 156
ความยั่งยืนด้านสังคม การพัฒนาชุมชนและสังคม โครงการประชารัฐรักสามัคคี การพัฒนาด้านการศึกษา การพัฒนาด้านสาธารณสุข การพัฒนาด้านกีฬา การส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ภาคผนวก
168 176 178 180
สรุปประสิทธิภาพการดําเนินงาน การรับรองจากหน่วยงานภายนอก คําอธิบายศัพท์ ข้อมูลตามตัวชี้วัด GRI Standards
4 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
สารจาก กรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่
5 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ปี 2561 เป็นปีที่สําคัญอย่างยิ่งสําหรับบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) (“ไทยเบฟ”) นอกจากเป็นโอกาสทีไ่ ทยเบฟครบรอบ 15 ปีแล้ว บริษัทยังได้รับคัดเลือกเป็นสมาชิกในกลุ่มดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Index หรือ DJSI) ประเภท DJSI World และ Emerging Markets ในฐานะผู้นําในกลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม โดยไทยเบฟสามารถทําคะแนนความยั่งยืนเป็นอันดับหนึ่งของโลก สะท้อนให้เห็นถึงการเติบโตทางธุรกิจของไทยเบฟเพือ่ บรรลุตามเป้าหมาย ที่จะก้าวขึ้นสู่การเป็นผู้นําธุรกิจเครื่องดื่มครบวงจรในภูมิภาคอาเซียน อย่างมั่นคงและยั่งยืน รวมถึงการเป็นบริษัทเครื่องดื่มชั้นนําระดับโลก เพือ่ ดําเนินการตาม “วิสย ั ทัศน์ 2020” ซึง่ มุง่ เน้นกลยุทธ์หลัก 5 ประการ ได้แก่ การเติบโตอย่างมีประสิทธิภาพ ความหลากหลายของตลาด และผลิตภัณฑ์ ตราสินค้าที่โดนใจ การขายและกระจายสินค้าที่แข็งแกร่ง และความเป็นมืออาชีพ ในปี 2561 ไทยเบฟมุ่งมั่นขยายธุรกิจ ในภูมภ ิ าคอาเซียน โดยได้ขยายไปสูส่ องประเทศสําคัญด้วยการซือ้ กิจการ ไซ่ง่อน เบียร์ – แอลกอฮอล์ - เบฟเวอเรจ คอร์เปอเรชั่น (ซาเบโก้) ในเวียดนามและแกรนด์รอยัลกรุ๊ปในเมียนมา ซึ่งช่วยให้บริษัทบรรลุ เป้าหมายตามวิสัยทัศน์ 2020 ได้ และนับตั้งแต่ก่อตั้งบริษัทมา 15 ปี ไทยเบฟเติบโตขึ้นจนสามารถก้าวขึ้นมาเป็นบริษัทเครื่องดื่มที่ยิ่งใหญ่ ในภูมิภาคอาเซียนอย่างแท้จริง ด้วยกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย รวมถึงทีมงานมืออาชีพผู้มีประสบการณ์จากหลากหลายสาขา และการขยายธุรกิจออกสู่ประเทศต่างๆ ทั่วภูมิภาคอาเซียน เมือ่ ธุรกิจพัฒนาขึน ้ บริษท ั ย่อมต้องมีความรับผิดชอบในประเด็นทีส่ าํ คัญ เพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ไทยเบฟขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า บริษัทก็ต้อง ดําเนินการติดตามและประเมินความเสี่ยงและผลกระทบอย่างต่อเนื่อง เพื่อการเติบโตในภูมิภาคอย่างยั่งยืน ไทยเบฟต้องปรับกลยุทธ์ให้ทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมและเทคโนโลยี และคํานึงถึงผลกระทบ ทางสิง่ แวดล้อมตลอดห่วงโซ่อป ุ ทาน อีกทัง้ เมือ่ กลุม ่ ธุรกิจต่างๆ ของบริษท ั มีการเติบโตขึ้นและก้าวข้ามพรมแดนไปสู่เป้าหมายใหม่ ไทยเบฟก็ต้อง รับมือกับความท้าทายใหม่ๆ โดยยังคงไว้ซึ่งค่านิยมของบริษัท และการเคารพในสิทธิของทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน หัวใจหลักในคํามั่นสัญญาที่ไทยเบฟมีต่อทุกชุมชนที่บริษัทเข้าไป ดําเนินกิจการ คือการทุ่มเทเพื่อ “สร้างสรรค์และแบ่งปันคุณค่า จากการเติบโต” อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสื่อให้เห็นว่าไทยเบฟไม่ได้คํานึงถึง เพียงแค่การมีผลกําไรเพิ่มขึ้นเท่านั้น แต่ยังส่งเสริมคุณภาพชีวิต การมีสิ่งแวดล้อมที่ดี และความผาสุกของคนในชุมชน ในช่วงหลายปี ที่ผ่านมา นับตั้งแต่ไทยเบฟได้จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาความยั่งยืน ทางธุรกิจ บริษัทได้นําแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนมาปรับใช้ในการ บริหารจัดการและในกลุ่มธุรกิจต่างๆ โดยคะแนน DJSI ของไทยเบฟ ซึ่งดีขึ้นทุกปีเป็นหลักฐานแสดงถึงการที่บริษัทมีความเข้าใจแนวคิด การพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างลึกซึ้งมากขึ้น รวมทั้งนําแนวทางปฏิบัติที่ดี มาประยุกต์ได้อย่างมีประสิทธิผลยิ่งขึ้นกับการปฏิบัติงานทั้งด้าน ทรัพยากรบุคคล ห่วงโซ่คุณค่า และแนวทางในการดําเนินธุรกิจ ของบริษัท
สําหรับประเทศไทย สิง่ ทีแ่ สดงให้เห็นชัดเจนถึงความมุง่ มัน ่ เพือ่ การพัฒนา ทีย ่ งั่ ยืนของไทยเบฟมิได้มเี พียงความทุม ่ เทภายในองค์กรเพือ่ ลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม และการดูแลสุขภาพของพนักงานและผู้บริโภคเท่านั้น แต่ยังเห็นได้จากการขยายออกไปสู่ชุมชนต่างๆ ผ่านโครงการวิสาหกิจ เพือ่ สังคม ประชารัฐรักสามัคคี ซึง่ เป็นเครือข่ายวิสาหกิจเพือ่ สังคมทีม ่ งุ่ เน้น ให้เป็นการสร้างรายได้อย่างยั่งยืนให้แก่ชุมชนด้วยธุรกิจ 3 กลุ่ม คือ การเกษตร สินค้าแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า และการท่องเที่ยวโดยชุมชน ไทยเบฟสนับสนุนการพัฒนาผ่าน 5 กระบวนการ ได้แก่ การเข้าถึงปัจจัย การผลิต นวัตกรรม การตลาด การสือ่ สารและสร้างการรับรูด ้ า้ นความยัง่ ยืน และการบริหารจัดการ กิจกรรมทัง้ หมดของบริษท ั เป็นการนําหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy Philosophy- SEP) ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 ประการขององค์การสหประชาชาติ มาปรับใช้เป็นแนวทางอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ อีกหนึง่ ความมุง่ มัน ่ ของไทยเบฟในการสร้างประชาคมอาเซียน ที่เจริญรุ่งเรืองคือการทํางานร่วมกับสถาบัน C asean ซึ่งมุ่งสนับสนุน ธุรกิจสตาร์ทอัพ สร้างสัมพันธภาพ และเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขัน ขององค์กรต่างๆ ในกลุม ่ ประเทศอาเซียน โดยไทยเบฟยังคงมีแรงบันดาลใจ เต็มเปี่ยมในการอนุรักษ์และแสดงให้เห็นถึงลักษณะทางวัฒนธรรม อันเป็นเอกลักษณ์ของไทยและอาเซียน จากความสําเร็จตลอด 15 ปีที่ผ่านมา จึงเป็นที่ประจักษ์แล้วว่าไทยเบฟ มีโอกาสที่ยิ่งใหญ่รออยู่เบื้องหน้า ไทยเบฟยังคงยืนหยัดมุ่งมั่นที่จะเป็น ผู้นําธุรกิจในภูมิภาคอาเซียน และเป้าหมายของบริษัทไม่ได้หยุดแค่ การสร้างธุรกิจให้เติบโตอย่างแข็งแกร่ง แต่จะคํานึงถึงผลประโยชน์ ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาสังคม และสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคให้ยั่งยืนต่อไป
ฐาปน สิริวัฒนภักดี กรรมการผู้อํานวยการใหญ่
6 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
สารจาก คณะกรรมการ
7 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริษัทไทยเบฟ (“คณะกรรมการฯ”) มีความ มุ่งมั่นที่จะพัฒนาความยั่งยืนของกลุ่มบริษัท ไทยเบฟ (“กลุ่มไทยเบฟ”) ปัจจัยด้านความยั่งยืน ในด้านของ สิ่งแวดล้อม การบริหารทรัพยากรธรรมชาติ สังคม ธรรมาภิบาล การพัฒนาบุคลากร องค์กร และวัฒนธรรม ขององค์กร เป็นส่วนสําคัญในการพิจารณาเพื่อกําหนด กลยุทธ์ โดยรวมของกลุ่มไทยเบฟ ทั้งนี้ คณะกรรมการฯ มีความตั้งใจในการสนับสนุนคณะผู้บริหารของไทยเบฟ เพื่อพัฒนางานด้านความยั่งยืนอย่างเต็มที่ นอกจากนี้เนื่องจากความยั่งยืนในระยะยาวของกลุ่มไทยเบฟ นับว่าเป็นสิ่งที่ทางคณะกรรมการฯ ให้ความสนใจเป็นอันดับแรก และผลสําเร็จของความยั่งยืนขึ้นอยู่กับการดําเนินงานและการบริหารงาน ของทีมผู้บริหาร ดังนั้น คณะกรรมการฯ จึงได้พิจารณาผลการดําเนินงานดังกล่าว โดยคํานึงถึง ประสิทธิผลในการปฏิบัติตามเป้าหมายด้านความยั่งยืนที่ได้ระบุไว้ ในรายงานฉบับนี้ คณะกรรมการฯ มุ่งมั่นในการบริหารธุรกิจให้มีความโปร่งใส ชัดเจน และเปิดเผยได้ต่อผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กร การเปิดเผยข้อมูลในรายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน และในรายงานประจําปีของไทยเบฟ มีความสอดคล้องกับความมุ่งมั่นดังกล่าว ในรายงานฉบับนี้ เรายังได้กล่าวถึงความพยายามอย่างต่อเนื่องของไทยเบฟในการเสริมสร้างความร่วมมือกับคู่ค้า ทางธุรกิจให้มีความแข็งแกร่ง เพื่อผลักดันให้เกิดประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม ตลอดทั้งห่วงโซ่คุณค่า โดยยึดหลักธรรมาภิบาล คณะกรรมการฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการพัฒนาความยั่งยืนทางธุรกิจและคณะทํางาน เป็นผู้รับผิดชอบในการกํากับดูแลโครงการด้านความยั่งยืนของกลุ่มไทยเบฟ และการจัดทํารายงาน การพัฒนาที่ยั่งยืนฉบับนี้ คณะกรรมการฯ ได้รับการรายงานและการนําเสนอข้อมูลอย่างสม่ําเสมอ จากคณะกรรมการพัฒนาความยั่งยืนทางธุรกิจและคณะผู้บริหารของไทยเบฟ เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ เป้าหมาย การริเริ่ม อุปสรรค ความคืบหน้า และความสําเร็จด้านความยั่งยืน ตลอดจนการบริหาร และการให้ความสําคัญในด้านสิ่งแวดล้อม การบริหารทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ทรัพยากรน้ํา สังคม ธรรมาภิบาล การพัฒนาบุคลากรและวัฒนธรรมขององค์กรที่สําคัญและเกี่ยวข้องกับกลุ่มไทยเบฟ ในปี 2560 คณะกรรมการฯ ได้ขยายขอบเขตหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ให้ครอบคลุมการกํากับดูแลกลยุทธ์ให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเปลี่ยนชื่อเป็นคณะกรรมการ บริหารความยั่งยืนและความเสี่ยง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้จะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพในการประเมิน และบริหารความเสี่ยงแบบบูรณาการให้สอดคล้องกับกลยุทธ์และแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน ของกลุ่มไทยเบฟ และสามารถวางกรอบการทํางานเพื่อรับมือกับประเด็นสําคัญต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การบริหารจัดการน้ํา ไปจนถึงสุขภาพและความปลอดภัย ของผู้บริโภค เห็นได้ชัดว่าไทยเบฟเป็นธุรกิจรายแรกๆ ที่ผนึกรวมกระบวนการทํางานทุกด้าน ให้สอดคล้องกัน กลุ่มไทยเบฟยังได้วางแผนขยายเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนให้ครอบคลุม ถึงธุรกิจในต่างประเทศ เพื่อให้ไทยเบฟก้าวขึ้นเป็นผู้นําธุรกิจเครื่องดื่มชั้นนําที่มั่นคงและยั่งยืน ในภูมิภาคอาเซียน
8 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
“ ไทยเบฟ… อยู่กับคุณทุกช่วงเวลา”
9 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ความสําเร็จของกลุ่มไทยเบฟตลอดระยะเวลา 15 ปี ที่มุ่งมั่น สร้างสรรค์และแบ่งปันคุณค่าจากการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ไทยเบฟมีคํามั่นสัญญาที่จะตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงในทุกยุค ทุกสมัย ทุกเพศ ทุกวัย และที่สําคัญคือการเติมเต็มความสุขในทุกช่วงเวลาของชีวิต ด้วยเครื่องดื่มคุณภาพ รวมทั้งดําเนินธุรกิจตามแนวทาง การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยคํานึงถึงสังคมและสิง่ แวดล้อม ควบคูไ่ ปกับการสร้างผลประกอบการทีด ่ ี อันจะส่งผลให้ ไทยเบฟและทุกภาคส่วนที่ร่วมการเดินทางกับเรา สามารถ เติบโตได้อย่างยั่งยืนต่อไปในทุกด้าน พร้อมเดินสูเ่ ป้าหมาย ทีช่ ด ั เจนในการเป็นผูน ้ าํ บริษท ั เครือ่ งดืม ่ ครบวงจรในภูมิภาค อาเซียนอย่างมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้คํากล่าวที่ว่า “ ไทยเบฟ… อยู่กับคุณทุกช่วงเวลา”
10 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
เกี่ยวกับ รายงานฉบับนี้ GRI 102-1, GRI 102-10, GRI 102-45, GRI 102-48, GRI 102-49, GRI 102-50, GRI 102-52, GRI 102-53, GRI 102-54, GRI 102-56
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) (“ไทยเบฟ”) จัดทํารายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืนเป็นประจําทุกปี เริม ่ ตัง้ แต่ ปี 2554 โดยรายงานฉบับนี้เป็นฉบับที่ 5 ประจําปี 2561 ได้จัดทําขึ้นตามหลักเกณฑ์ในแบบหลัก (Core) ของ กรอบการรายงานความยั่งยืนสากล Global Reporting Initiative (GRI) ฉบับ GRI Standards โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อสื่อสารประเด็นที่มีความสําคัญ ทางธุรกิจและการพัฒนาความยั่งยืนขององค์กรต่อผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งมีหัวข้อและเนื้อหาของรายงานครอบคลุม ประเด็นสําคัญทัง้ 4 ด้าน ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม และศิลปวัฒนธรรม โดยมีเจตนารมณ์ที่ต้องการนําเสนอ กลยุทธ์และแนวทางการดําเนินธุรกิจด้วยหลักการพัฒนา อย่างยั่งยืน หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาความยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งไทยเบฟและบริษัทในกลุ่มไทยเบฟ (“กลุ่มไทยเบฟ”) ได้นอ้ มนํามาปฏิบต ั ิ และในขณะเดียวกัน ได้กาํ หนดเป้าหมาย ให้สอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้ง 17 ประการของ องค์การสหประชาชาติ (UN Sustainable Development Goals: SDGs)
11 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561 ได้จด ั ทําขึน ้ เพือ่ นําเสนอผูม ้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ว่าการดําเนินธุรกิจของกลุม ่ ไทยเบฟเป็นไปตามแนวทางการพัฒนาความยัง่ ยืน รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืนฉบับนี้ได้รับการตรวจสอบผลการดําเนินงาน ด้านการเงินปี 2561 ผ่านการสอบบัญชีจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด KPMG) โดยรายงานของ ผูส้ อบบัญชีได้แสดงไว้ในรายงานประจําปี 2561 ของไทยเบฟ ด้านสิง่ แวดล้อม ด้านการอบรมพนักงาน ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ได้รบ ั การตรวจสอบ ความถูกต้องและให้ความเชื่อมั่นจาก Lloyd’s Register International (Thailand) Limited ซึ่งเอกสารการรับรองความน่าเชื่อถือของข้อมูล แสดงอยู่ในหัวข้อการรับรองจากหน่วยงานภายนอก
ขอบเขตการรายงาน ข้อมูลที่นําเสนอในรายงานฉบับนี้เป็นข้อมูลในปีงบประมาณ 2561 ไทยเบฟรายงาน ประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมครอบคลุมระยะเวลา 12 เดือน จากเดือนตุลาคม 2560 ถึงเดือนกันยายน 2561 • ในปี 2557-2558 ไทยเบฟรายงานประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม ครอบคลุมระยะเวลา 12 เดือน จากเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม • ในปี 2559 ไทยเบฟรายงานประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมโดยแบ่งเป็น 2 ส่วนดังนี้ - ครอบคลุมระยะเวลา 9 เดือน จากเดือนมกราคมถึงเดือนกันยายน 2559 - ครอบคลุมระยะเวลา 12 เดือน จากเดือนตุลาคม 2558 ถึงเดือนกันยายน 2559 โดยข้อมูลในส่วนนี้เป็นการรวบรวมขึ้นจากทางบริษัท แต่ไม่ได้ถูกตรวจประเมิน จากหน่วยงานภายนอก (Independent Limited Assurance) • ในปี 2560 บริษัทไทยเบฟรายงานประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม ครอบคลุมระยะเวลา 12 เดือน จากเดือนตุลาคม 2559 ถึงเดือนกันยายน 2560 โดยมีการเพิ่มเติมขอบเขตดังนี้ - ข้อมูลตัวเลขด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัทในกลุ่มธุรกิจอาหาร ได้แก่ บริษัท โออิชิ เทรดดิ้ง จํากัด (บ้านบึง) - ข้อมูลตัวเลขด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัทในกลุ่มธุรกิจเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ได้แก่ บริษัท เอส.พี.เอ็ม อาหารและเครื่องดื่ม จํากัด - ข้อมูลตัวเลขด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัทในกลุ่มธุรกิจต่อเนื่อง ได้แก่ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ เอ็นเนอร์ยี่ จํากัด และบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ โลจิสติก จํากัด โดยขอบเขตการรายงานครอบคลุมไทยเบฟและบริษัทในกลุ่มไทยเบฟในประเทศไทยเท่านั้น ไม่รวมถึงบริษัทในต่างประเทศ ทั้งนี้ ในส่วนของข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม เป็นการรวบรวม ข้อมูลจากภาคการผลิต 44 แห่ง ได้แก่ โรงงานสุรา 18 แห่ง โรงงานเบียร์ 3 แห่ง และ โรงงานเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ 12 แห่ง (ประกอบด้วยโรงงานโออิชิ 4 แห่ง โรงงาน เสริมสุข 7 แห่ง และโรงงานเอส.พี.เอ็ม อาหารและเครื่องดื่ม 1 แห่ง) และข้อมูลจาก ศูนย์กระจายสินค้า 11 แห่ง {ประกอบด้วย บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ โลจิสติก จํากัด 6 แห่ง และบริษัท เสริมสุข จํากัด (มหาชน) 5 แห่ง} ไทยเบฟจัดทํารายงานการพัฒนาที่ยั่งยืนฉบับนี้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รวมถึง มีการเผยแพร่ในเว็บไซต์ของไทยเบฟ sustainability.thaibev.com หากท่านมีขอ้ เสนอแนะ หรือข้อสงสัย สามารถติดต่อคณะทํางานพัฒนาความยั่งยืนทางธุรกิจ ได้ทาง sustainability@thaibev.com หรือแสดงความเห็นเพิ่มเติม โดยใช้แบบฟอร์มที่แนบท้าย รายงานฉบับนี้ คณะทํางานมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะพิจารณาข้อเสนอแนะดังกล่าว และนําไปปรับปรุงคุณภาพของรายงานต่อไป
12 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
เกี่ยวกับ ไทยเบฟ
Europe North America
Asia
Africa
ThaiBev
Australia
13 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
GRI 102-2, GRI 102-3, GRI 102-4, GRI 102-5, GRI 102-6, GRI 102-7, GRI 102-10
ปัจจุบัน ไทยเบฟนอกจากจะเป็นผู้ผลิตเครื่องดื่มชั้นนํา ในประเทศไทย ยังเป็นหนึง่ ในผูผ ้ ลิตรายใหญ่ในเอเชียอีกด้วย โดยแบ่งธุรกิจออกเป็น 4 สายธุรกิจ ได้แก่ สุรา เบียร์ เครื่องดื่ม ไม่มีแอลกอฮอล์ และอาหาร ในปี 2561 ไทยเบฟได้รับคัดเลือก เป็นสมาชิกในกลุ่มดัชนีแห่งความยั่งยืน Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) ประจําปี 2561 ในกลุ่ม อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม ประเภท DJSI World และประเภท Emerging Markets โดยได้คะแนนความยั่งยืนสูงสุด เป็นอันดับหนึ่งของโลก และได้รับการยอมรับเป็น Industry Leader ในกลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม
วิสย ั ทัศน์ วิสัยทัศน์องค์กร คือ การเป็นกลุ่มบริษัทผู้ผลิตและจัดจําหน่าย เครื่องดื่มครบวงจรระดับโลก โดยมุ่งเน้นที่ความเป็นเลิศ เชิงพาณิชย์ ความต่อเนื่องในการพัฒนาคุณภาพสินค้า ให้อยู่ในระดับพรีเมียม และความเป็นมืออาชีพ
พันธกิจ พันธกิจของเรา คือ การประสาน “สัมพันธภาพ” กับผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียที่มีความสําคัญกับไทยเบฟในทุกๆ ด้าน โดยมอบคุณค่าที่สําคัญ 6 ประการ • มอบผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงสุดให้ลูกค้าทุกกลุ่ม • ตอบสนองความต้องการของผู้แทนจําหน่ายโดยให้บริการ อย่างมืออาชีพ • ให้ความสําคัญเรื่องผลตอบแทนจากการลงทุนให้แก่ผู้ถือหุ้น ด้วยการเติบโตของรายได้และผลกําไรที่มั่นคงและต่อเนื่อง • เป็นแบบอย่างในด้านความเป็นมืออาชีพ ความโปร่งใส และ การดําเนินธุรกิจด้วยหลักธรรมาภิบาล • มอบความไว้วางใจ อํานาจ และรางวัลแก่พนักงาน เพื่อสร้าง ความร่วมรับผิดชอบ • สร้างประโยชน์ให้แก่สังคม
กลยุทธ์ • การเติบโตอย่างมีประสิทธิภาพ ไทยเบฟวางเป้าหมายที่จะ ก้าวขึน ้ เป็นบริษท ั เครือ่ งดืม ่ ขนาดใหญ่ในภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ทม ี่ น ั่ คงและยัง่ ยืน และสร้างผลตอบแทนให้แก่ผถ ู้ อื หุน ้ • ความหลากหลายของตลาดและผลิตภัณฑ์ ไทยเบฟวางแผน ที่จะกระจายรายได้ เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน โดยการ เพิ่มสัดส่วนรายได้จากการขายเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ และรายได้จากการขายสินค้าในต่างประเทศ • ตราสินค้าที่โดนใจ ธุรกิจหลักของไทยเบฟแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ผลิตภัณฑ์ คือ สุรา เบียร์ เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ และ อาหาร ในแต่ละกลุม ่ ผลิตภัณฑ์จะมีการกําหนดผลิตภัณฑ์หลัก รวมถึงตลาดหลักและตลาดรองทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพในการเติบโตสูง โดยยึดหลักผูบ ้ ริโภคและการตลาด เป็นตัวขับเคลือ่ นในการ ขยายธุรกิจ • การขายและกระจายสินค้าที่แข็งแกร่ง นอกจากตราสินค้า ที่โดนใจ การกระจายสินค้าที่แข็งแกร่งและทั่วถึงเป็นสิ่งสําคัญ ไทยเบฟมุ่งมั่นที่จะพัฒนาเครือข่ายกระจายสินค้าที่มีอยู่ให้มี
ความแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้น ผ่านการจัดการซัพพลายเชน ที่เป็นเลิศของบริษท ั และสร้างเครือข่ายกระจายสินค้าเพิม ่ ขึน ้ รวมถึงการหาพันธมิตรเพื่อร่วมกันกระจายสินค้า • ความเป็นมืออาชีพ ไทยเบฟมุ่งมั่นที่จะสร้างทีมงานที่มีความ หลากหลาย และประสิทธิภาพสูง ทีมงานของแต่ละกลุ่ม ผลิตภัณฑ์สามารถทํางานร่วมกันได้อย่างราบรื่น และยัง สามารถใช้ประโยชน์จากการทํางานร่วมกันระหว่างกลุ่ม ผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม อีกทั้งเสริมสร้างศักยภาพ ของกลุ่มไทยเบฟในระยะยาว
สินค้าและบริการ ไทยเบฟมีการจัดจําหน่ายสินค้าครอบคลุมกว่า 90 ประเทศ ทั่วโลก และมีโรงงานกลั่นสุรา 5 แห่งในประเทศสกอตแลนด์ ซึง่ เป็นแหล่งผลิตทีม ่ ชี อื่ เสียงในการผลิตเหล้าวิสกีช้ น ั้ นําระดับโลก อย่าง Balblair, Old Pulteney และ Speyburn นอกจากนี้ ยังมีโรงงานผลิตสุราอีก 1 แห่งในประเทศจีน ได้แก่ Yulinquan ทั้งนี้ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษัทในกลุ่มไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) มีจํานวนรวมทั้งสิ้น 196 บริษัท ดังนี้ • บริษท ั ในประเทศไทย 97 บริษท ั แบ่งเป็นบริษท ั ย่อย 96 บริษท ั และบริษัทซึ่งเป็นบริษัทร่วมของบริษัทย่อย 1 บริษัท คือ บริษัท เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) จํากัด • บริษท ั ในต่างประเทศ 99 บริษท ั (แบ่งเป็นบริษท ั ย่อย 76 บริษท ั และบริษัทซึ่งเป็นบริษัทร่วมของบริษัทย่อย 18 บริษัท และ บริษท ั ร่วมค้าของบริษท ั ย่อยทางอ้อมในกลุม ่ Sabeco 5 บริษท ั ) โรงงานผลิตสุรา 18 แห่ง โรงงานผลิตเบียร์ 3 แห่ง และโรงงาน ผลิตเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์และอาหารรวมกัน 12 แห่ง อีกทั้ง ยังมีเครือข่ายกระจายสินค้าที่ครอบคลุมกว่า 400,000 จุด ทั่วประเทศไทย โดยมีผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อเสียง ดังนี้ • กลุ่มสุรา ได้แก่ รวงข้าว แสงโสม แม่โขง หงส์ทอง เบลนด์ 285 คูลอฟ และสตาร์ คูลเลอร์ • กลุม ่ เบียร์ คือ เบียร์ชา้ ง เป็นผลิตภัณฑ์หลักทีไ่ ด้รบ ั การยอมรับ อย่างกว้างขวางในกลุม ่ นักดืม ่ เบียร์ชาวไทย ประกอบด้วย ช้างคลาสสิก เฟเดอร์บรอย แทปเปอร์ และมีแผนวางจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ใหม่ ได้แก่ ฮันทส์แมน และแบล็ค ดราก้อน ในช่วง เดือนตุลาคม-พฤศจิกายน 2561 • กลุ่มเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ที่มีชื่อเสียง ประกอบด้วย ชาเขียวโออิชิ เครื่องดื่มอัดลมเอส 100 พลัส นํ้าดื่มคริสตัล นํ้าแร่ธรรมชาติ “ช้าง” และ โซดาร็อคเมาเท็น และ มีแผนวางจําหน่ายชาพรีเมียมโออิชิ โกลด์ ในช่วงเดือน พฤศจิกายน-ธันวาคม 2561 • กลุ่มอาหารประกอบไปด้วย ร้านอาหารที่อยู่ในกลุ่มธุรกิจ ดังนี้ OISHI Grand, OISHI Eaterium, OISHI Buffet, Shabushi, OISHI Ramen, Nikuya, Kakashi, Hyde & Seek, Man Fu Yuan, mx cakes & bakery, SO asean Café & Restaurant, Food Street, POT Ministry, Café Chilli, บ้านสุริยาศัย และมีการจัดตั้งบริษัท เดอะ คิวเอสอาร์ ออฟ เอเชีย จํากัด ที่ดําเนินธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหาร KFC ในประเทศไทยจํานวนทั้งหมด 252 สาขา
14 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
โรงงานเบียร์
18
3
138
12
ไทยเบฟ และบริษัทในเครือ
โรงงาน ผลิตเครื่องดื่ม ไม่มีแอลกอฮอล์ และอาหาร
โรงงานสุรา
11
ศูนย์กระจายสินค้า
ยอดขาย
จำนวนพนักงาน
229,695 ล้านบาท
41,551
กำไร
อัตราส่วนหนีส ้ น ิ ต่อส่วนของผูถ ้ อื หุน ้
20,726 ล้านบาท
คน
1.86 เท่า
อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ ้ อื หุน ้
15.18 เปอร์เซ็นต์
15 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน)
19 ปีที่ผ่านมา ไทยเบฟมอบผ้าห่ม
3,800,000 ผืน
เข้าถึงชุมชน 578 อำเภอ 45 จังหวัด
18%
อัตราส่วนการใช้พลังงานต่อหน่วย ผลิตภัณฑ์ลดลง ในธุรกิจเครือ่ งดืม ่ เปรียบเทียบกับปีฐาน 2557
16%
มีเยาวชนเข้าร่วมโครงการ พัฒนาด้านกีฬาของ ไทยเบฟกว่า
150,000 คน จาก 54 จังหวัด
อัตราส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ลดลง ในธุรกิจ เครื่องดื่ม เปรียบเทียบกับปีฐาน 2557
17%
อัตราส่วนการใช้นำ้ ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ ลดลง ในธุรกิจเครือ่ งดืม ่ เปรียบเทียบกับปีฐาน 2557
ไทยเบฟมีโครงการ ที่สร้างสรรค์พัฒนาสังคม
100% ครอบคลุม 77 จังหวัด ของประเทศไทย
89%
ของเสียสามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ได้ ในธุรกิจเครือ่ งดืม ่
16 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ปี 2561
รายได้รวม (ประจำปี)
232,598 ล้านบาท
ตุลาคม 2560-กันยายน 2561 ระยะเวลา 12 เดือน สัดส่วนรายได้ตา่ งประเทศ
25%
สัดส่วนรายได้ประเทศไทย
75% ปี 2560
รายได้รวม (ประจำปี)
190,697 ล้านบาท
ตุลาคม 2559-กันยายน 2560 ระยะเวลา 12 เดือน สัดส่วนรายได้ตา่ งประเทศ
3%
สัดส่วนรายได้ประเทศไทย
97%
17 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
เงินปันผลประจำปี (ล้านบาท)
ต้นทุนการขาย (ล้านบาท)
20,000
200,000
162,477
16,824 131,899 9,793
0
2560
(ตุลาคม 59-กันยายน 60)
2561
(ตุลาคม 60-กันยายน 61)
ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน (ล้านบาท) 18,265
20,000
0
2560
(ตุลาคม 59-กันยายน 60)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ล้านบาท) 6,000
5,132
14,318
0
2560
(ตุลาคม 59-กันยายน 60)
2561
(ตุลาคม 60-กันยายน 61)
2561
(ตุลาคม 60-กันยายน 61)
0
2560
(ตุลาคม 59-กันยายน 60)
4,609
2561
(ตุลาคม 60-กันยายน 61)
หมายเหตุ 1. การสร้างและปันส่วนมูลค่าทางเศรษฐกิจประกอบด้วย รายได้ (อ้างอิง GRI 201-1: Revenue) ต้นทุนขาย (อ้างอิง GRI 201-1: Operating Costs) ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน (อ้างอิง GRI 201-1: Employee Wages and Benefits) ภาษีเงินได้นิติบุคคล (อ้างอิง GRI 201-1: Payments to Government) และเงินปันผลประจําปี (อ้างอิง GRI 201-1: Payments to Providers of Capital) ในขณะที่เนื้อหาของรายงานครอบคลุมเฉพาะการดําเนินงานในประเทศไทย อย่างไรก็ตามหัวข้อการเติบโตทางธุรกิจครอบคลุมไทยเบฟ และบริษัทย่อยในกลุ่มไทยเบฟตามรายงานประจําปี 2561 2. ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงานซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนขาย คือ จํานวน 5,022 ล้านบาท ในช่วงเดือนตุลาคม 2560-เดือนกันยายน 2561 และจํานวน 3,528 ล้านบาท ในช่วงเดือนตุลาคม 2559-เดือนกันยายน 2560 ภาษีสรรพสามิตจ่ายให้รัฐบาลเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการขายด้วย 3. รายได้จําแนกตามเขตภูมิศาสตร์ของกลุ่มบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) ตามงบการเงินของบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับปีนี้สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2561 4. เงินปันผลประจําปีสําหรับผู้ถือหุ้นของบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
18
2
รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
1
GRI 102-9
การผลิต
การจัดซื้อจัดหา การบริหารจัดการ บรรจุภัณฑ์ หลังการบริโภค
5 RT
PO
AIR
R
PR EL OVIN E AU CTR CIAL TH ICI OR TY ITY
TE AR
QU AD
HE
BR
EW
Y OR CT FA
ER Y
DI
ST
G
RY TO AC SF
CO GL LL AS EC S B TI OT ON T L CE E NT ER
AR LF
A
IM
ER Y
S LA
M
AN
ILL
ห่วงโซ่คุณค่า ของไทยเบฟ สําหรับไทยเบฟ การพัฒนาห่วงโซ่คุณค่าเป็นยุทธศาสตร์สําคัญ ที่จะส่งผลสําเร็จทางธุรกิจ ดังนั้น เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณภาพและการเติบโตร่วมกันอย่างยั่งยืน บริษัทจึงใส่ใจในทุกขั้นตอน และทุกกระบวนการของห่วงโซ่คุณค่า ดังนี้
การจัดซือ้ จัดหา ในฐานะผู้นําในการผลิตเครื่องดื่มรายใหญ่ของประเทศ ไทยเบฟให้ความ สําคัญกับกระบวนการจัดซื้อจัดหาที่ต้องมีประสิทธิภาพ มีความโปร่งใส และมุ่งเน้นให้เกิดผลสัมฤทธิ์เพื่อรักษาคุณภาพของสินค้าและบริการ โดยต้องคํานึงถึงปัจจัย ดังนี้ • การให้ความสําคัญกับการพัฒนาศักยภาพของคูค ่ า้ เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย และเติบโตไปพร้อมกับบริษัทอย่างยั่งยืน โดยกําหนดแนวทางปฏิบัติ สําหรับคู่ค้าและนํากลไกการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสินค้า และบริการมาใช้ควบคูไ่ ปกับการบริหารจัดการและตรวจสอบผลงาน ให้เป็นไปตามมาตรฐานและกระบวนการจัดการที่เหมาะสม
• กระบวนการจัดซือ้ จัดหาทีม ่ ม ี าตรฐาน ซึง่ คํานึงถึงปัจจัยทางด้านสิง่ แวดล้อม และสังคม เช่น การบริหารจัดการนํ้า อาชีวอนามัย และความปลอดภัย รวมถึงการกํากับดูแลกิจการเพื่อให้มั่นใจว่าสินค้าและบริการส่งถึงมือ ผู้บริโภคอย่างมีคุณภาพและปลอดภัย • การคํานึงถึงผลกระทบหลังการบริโภคจากการจัดซื้อจัดหา เช่น ขวดนํ้าแร่ช้าง BioPET ซึ่งเป็นพลาสติกที่ได้มาจากพืช 30%
การผลิต ไทยเบฟให้ความสําคัญและใส่ใจในกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็น • การควบคุมคุณภาพของสินค้าให้ถก ู ต้องตามข้อกําหนดทางกฎหมาย และมาตรฐานการจัดการต่างๆ ตามหลักสากล ซึ่งครอบคลุมประเด็น ด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย และผู้บริโภค เช่น มาตรฐาน ISO 9001 GMP HACCP ISO 14001 เครื่องหมายรับรองคุณภาพของนํ้า ดื่ม National Sanitation Foundation: NSF • ความปลอดภัยในการผลิตที่มีการจัดการด้านสุขลักษณะที่ดี โดยเลือกใช้ วัตถุดิบที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ผู้บริโภค • การใช้ทรัพยากรต่างๆ เช่น ทรัพยากรนํ้าและพลังงาน ให้คุ้มค่าและเกิด ประโยชน์สงู สุดโดยไม่กอ่ ให้เกิดมลพิษต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม และมีการ ใช้พลังงานทดแทน การผลิตไอนํ้าสําหรับโรงงานผลิตสุรา การติดตั้ง ระบบบําบัดนํ้าเสียแบบไร้อากาศ การติดตั้งหม้อไอนํ้าแบบไหลทางเดียว รวมถึงมีการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
19 3 4
บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
การกระจายสินค้า
การตลาด และการขาย
การกระจายสินค้า ด้วยกระบวนการกระจายสินค้าทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพพร้อมกับช่องทางการกระจาย สินค้าทีแ่ ข็งแกร่งและครอบคลุมทุกพืน ้ ทีท ่ วั่ ประเทศไทย โดยสามารถ • รักษาคุณภาพของสินค้าและมอบผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงสุดให้ลูกค้า ทุกกลุ่มควบคู่ไปกับความสัมพันธ์ระหว่างคู่ค้าและไทยเบฟได้เป็นอย่างดี รวมถึงตอบสนองความต้องการของผู้แทนจําหน่ายโดยให้บริการ อย่างมืออาชีพ • นําเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและการ วางแผนการกระจายสินค้า รวมถึงระบบการขนส่ง เช่น การควบคุมวินัย ในการขับขีอ่ ย่างปลอดภัยให้แก่พนักงานขับรถ การบริหารการใช้พลังงาน เชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ • รองรับการให้บริการลูกค้าในกลุ่มธุรกิจร้านอาหารในประเทศไทย โดยในปี ที่ผ่านมา บริษัทได้เข้าไปถือหุ้น บริษัท ฮาวี ลอจิสติกส์ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการขนส่งและกระจายสินค้าที่มีการควบคุม อุณหภูมิของสินค้าให้เหมาะสม ตั้งแต่ออกจากโรงงานไปจนถึงมือ ผู้บริโภค (Cold Chain)
การตลาดและการขาย ไทยเบฟส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้กับผู้บริโภคผ่านช่องทางการจัดจําหน่าย ที่มีประสิทธิภาพ ด้วยการ
• สร้างเครือข่ายที่แข็งแกร่งและมุ่งเน้นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับลูกค้า ผ่านโครงการที่หลากหลาย เช่น โครงการ The Agent “Next Gen” และกิจกรรมส่งเสริมการตลาดในช่องทางการขาย ซึ่งเป็นหนึ่งในกลยุทธ์ ด้านการเติบโตอย่างมีประสิทธิภาพตามวิสัยทัศน์ 2020 • สือ่ สารและประชาสัมพันธ์ทแี่ สดงออกถึงความรับผิดชอบต่อผูบ ้ ริโภค และสังคม หรือการจัดโครงการ Serve Responsibly การให้บริการ อย่างมีความรับผิดชอบของผลิตภัณฑ์เครือ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์ และการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับผู้บริโภค พร้อมรับฟังความคิดเห็นจากผู้บริโภคผ่านช่องทางติดต่อสื่อสาร เพื่อนํามาพัฒนาและตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้มากที่สุด
การบริหารจัดการบรรจุภณ ั ฑ์หลังการบริโภค ไทยเบฟเชื่อว่าบรรจุภัณฑ์ที่ดี นอกจากจะทําหน้าที่ปกป้องผลิตภัณฑ์และ มีรูปลักษณ์สวยงามแล้ว ยังต้องสามารถนํากลับมาใช้ซํ้าได้ บริษัทจึงมุ่งเน้น • การนําวัสดุหรือบรรจุภณ ั ฑ์สน ิ ค้าประเภทต่างๆ เช่น กล่องกระดาษ ไส้กล่อง ขวดแก้ว กระป๋อง และลังพลาสติก ทีย ่ งั ใช้ประโยชน์ได้กลับมาใช้ ในกระบวนการผลิตอีกครั้ง • การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่ทําจากวัสดุที่สามารถหมุนเวียนใช้ซํ้านํากลับมา ใช้ใหม่ และสามารถเก็บกลับคืนมาใช้ในกระบวนการได้อีก (Reuse and Recycle) เพือ่ ลดของเสียทีเ่ กิดขึน ้ หลังการบริโภค เพราะ “การใช้ครัง้ เดียว” ทําให้เกิดขยะมากเกินจําเป็นและสิน ้ เปลืองทรัพยากรธรรมชาติในการผลิต อีกด้วย
20 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
แนวทางการพัฒนา อย่างยั่งยืน ไทยเบฟน้อมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อพัฒนาความยั่งยืน พร้อมทั้งยึดถือเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ขององค์การสหประชาชาติ มาประกอบการกําหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนา เพือ่ ผลักดันให้องค์กรดําเนินงาน อย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย
การดำเนินธุรกิจควรตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงถึงหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ประการ
ความพอประมาณ
การมีภูมิคุ้มกันที่ดี
ความพอประมาณ • อยู่ในวิถีและศักยภาพ • หลีกเลี่ยงความสุดโต่ง • มีวินัยทางการเงิน
ความมีเหตุผล
ความมีเหตุผล • ประเมินเหตุและผลของทุก การกระทำที่มีต่อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกฝ่าย • สร้างคุณค่าที่แท้จริง
การมีภูมิคุ้มกันที่ดี • การบริหารจัดการความเสี่ยง • เตรียมพร้อมเพื่อรับผลกระทบ หรือความเปลี่ยนแปลงในอนาคต
โดยปัจจัย 3 ประการนี้จะเกิดขึ้นได้ จะต้องอาศัยความรู้และคุณธรรมเป็นเงื่อนไขพื้นฐาน
ความรู้ • ข้อมูลเชิงลึก • ความเข้าใจที่ถูกต้อง • การให้ความสำคัญกับความรู้ และประสบการณ์
คุณธรรม • ความซื่อสัตย์ • ความบริสุทธิ์ใจ • ความอุตสาหะ • ความมีสติ • ความอ่อนน้อมถ่อมตน
21 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
กรอบแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วย คุณลักษณะ 3 ประการ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดี หากดําเนินตามหลัก 3 ประการ ควบคู่ ไปกับการสร้างความรู้และคุณธรรม ไทยเบฟจะสามารถดํารงอยู่ ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความ เปลี่ยนแปลงต่างๆ พร้อมทั้งนําพาองค์กรไปสู่ความก้าวหน้า อย่างสมดุลใน 4 มิติ คือ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและ วัฒนธรรม ขณะเดียวกันภายใต้กลยุทธ์การพัฒนาความยั่งยืน ขององค์กร ไทยเบฟเชื่อมั่นว่า จะสามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน และสร้างโอกาสทีไ่ ร้ขด ี จํากัดให้แก่ธรุ กิจและสังคมโดยรวมได้ตอ่ ไป
เศรษฐกิจ การสร้างคุณค่า ทางธุรกิจ
สังคม การดูแลและแบ่งปัน
หลักการทั้งสองมุ่งเน้นการใช้ความรู้ ประสบการณ์ และความคิด ในการสร้างความเจริญก้าวหน้าทีม ่ น ั่ คง ส่งเสริมการลดผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล นอกจากนี้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ 2020 ของไทยเบฟ โดยมีจุดมุ่งหมาย ก้าวสูก ่ ารเป็น “ผูน ้ าํ ธุรกิจเครือ่ งดืม ่ ในภูมภ ิ าคอาเซียนอย่างมัน ่ คง และยั่งยืน” และมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมและการสร้างความ สัมพันธ์อันดีกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ยั่งยืนไปพร้อมกับ การเติบโตขององค์กร
สิ่งแวดล้อม การจัดการดูแล ผลกระทบจากธุรกิจ
วัฒนธรรม การอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม
22 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
โครงสร้างการพัฒนาความยัง่ ยืนของไทยเบฟ คณะกรรมการบริหารความยั่งยืน และความเสี่ยง
คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการพัฒนา ความยั่งยืนทางธุรกิจ
กรรมการผู้อำนวยการใหญ่
สำนักพัฒนาความเป็นเลิศ
คณะทำงานพัฒนาความยั่งยืน ทางธุรกิจ
(ตัวแทน) กลุ่มธุรกิจสุรา
(ตัวแทน) กลุ่มธุรกิจเบียร์
(ตัวแทน) กลุม ่ ธุรกิจเครือ่ งดืม ่ ไม่มีแอลกอฮอล์ (ประเทศไทย)
• • • • • • • •
(ตัวแทน) คอร์เปอเรท ฟังก์ชัน
(ตัวแทน) สายธุรกิจอาหาร ประเทศไทย
กลุ่มบริหารลงทุนตราสินค้า กลุ่มบริหารช่องทางการจำหน่าย กลุ่มการเงินและบัญชี กลุ่มเทคโนโลยีและวิศวกรรม สายบริหารทั่วไป สายสนับสนุน สายพัฒนาธุรกิจเพื่อความยั่งยืน สายพัฒนาความเป็นเลิศ
(ตัวแทน) กลุ่มธุรกิจ ต่อเนื่อง
(ตัวแทน) กลุ่มทรัพยากร บุคคล
23 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
การบริหารจัดการด้านความยัง่ ยืน คณะกรรมการพัฒนาความยัง่ ยืนทางธุรกิจของบริษท ั ไทยเบฟ รับผิดชอบ ในการพิจารณา วางแผนกําหนดนโยบาย และดําเนินการด้านการพัฒนา ความยั่งยืนให้สอดคล้องกับทิศทางการดําเนินงานกลยุทธ์ขององค์กร ที่กําหนดโดยคณะกรรมการบริษัทหรือคณะกรรมการบริหาร และมี คณะทํางานพัฒนาความยั่งยืนทางธุรกิจ (Sustainability Development Working Team) เป็นผู้ให้การสนับสนุนคณะกรรมการ พัฒนาความยั่งยืนทางธุรกิจ ซึ่งคณะทํางานพัฒนาความยั่งยืนทางธุรกิจ ประกอบด้วยตัวแทน จากสายงานต่างๆ มีหน้าทีส่ นับสนุนในการกําหนดดัชนีชวี้ ด ั ประสิทธิภาพ ด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย กําหนดแผนงาน สนับสนุน ติดตามการดําเนินงานด้านการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน สือ่ สารกับ คณะกรรมการพัฒนาความยัง่ ยืนทางธุรกิจ รวมถึงมีสว่ นร่วมในขัน ้ ตอน กระบวนการประเมินสาระสําคัญด้านความยั่งยืนของบริษัท โดยที่ คณะทํางานพัฒนาความอย่างยัง่ ยืนทางธุรกิจทําหน้าทีด ่ าํ เนินการ ทวนสอบความครบถ้วนของประเด็นสําคัญต่อความยั่งยืนขององค์กร วิเคราะห์และนําเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาความยั่งยืนทางธุรกิจ เพื่อพิจารณาเห็นชอบ จากนั้นนําเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร เพื่อพิจารณายืนยันและอนุมัติประเด็นสําคัญด้านความยั่งยืน
โดยในปีนี้ไทยเบฟสามารถทําคะแนนขึ้นมาเป็นที่ 1 ในอุตสาหกรรม เครื่องดื่มของโลก และได้รับการประเมินให้เป็นผู้นําในอุตสาหกรรม เครื่องดื่ม อีกทั้งยังเป็นบริษัทแรกในเอเชียที่ได้รับการจัดอันดับให้เป็น ผู้นําในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มในรอบ 11 ปี โดยเป็น 1 ใน 60 บริษัท จาก 24 กลุ่มอุตสาหกรรมที่ได้รับการจัดอันดับเป็น Industry Leader นอกจากนั้นยังได้รับการคัดเลือกให้เป็นสมาชิกกลุ่ม DJSI Emerging Markets หรือกลุ่มตลาดเกิดใหม่ ซึ่งคัดกรองผู้ที่มีผลงานด้าน ความยั่งยืนสูงที่สุดร้อยละ 10 ในแต่ละอุตสาหกรรม ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 (2559-2561) ผลความสําเร็จนี้มาจากความพยายามอย่างต่อเนื่อง ของไทยเบฟที่จะดําเนินธุรกิจบนแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยผลการดําเนินงานด้านความยั่งยืนของไทยเบฟมีการพัฒนา อย่างก้าวกระโดด จนได้รับรางวัล Industry Mover 2 ปีซ้อนใน The Sustainability Yearbook ประจําปี 2560 และ 2561 ของ RobecoSAM
ไทยเบฟได้เข้าร่วมการประเมินความยั่งยืน Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) หรือดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 และได้รับคัดเลือกเป็นสมาชิกในกลุ่ม DJSI World ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 (2560 และ 2561)
การมีสว่ นร่วมของผูม ้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ไทยเบฟได้กําหนดแนวทางการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยมุ่งเน้นส่งเสริมการมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ผ่านกิจกรรมและช่องทางการสื่อสารต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อรับฟังความต้องการ ความคิดเห็น ข้อกังวล และข้อเสนอแนะต่างๆ โดยที่ความถี่ ของการสื่อสารกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มแตกต่างกันไปตามแผนการดําเนินงานของไทยเบฟ ข้อมูลเหล่านี้จึงเป็นประโยชน์ต่อการกําหนด กลยุทธ์ ทิศทาง แผนการดําเนินงาน และแนวทางในการพัฒนาธุรกิจให้เกิดความยั่งยืน รวมถึงป้องกันความเสี่ยงหรือผลกระทบจากการดําเนินธุรกิจ
พนักงาน คู่ค้า
องค์กร พัฒนาเอกชน
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของไทยเบฟ หน่วยงาน กำกับดูแล
ลูกค้า
ชุมชน
ผู้บริโภค นักลงทุน
24 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
การมีสว่ นร่วมกับผูม ้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
พนักงาน
คู่ค้า
ลูกค้า
ผู้บริโภค
แนวทางการมีส่วนร่วม
ตัวอย่างของประเด็น
บทรายงาน
• ข้อความทาง SMS • แอปพลิเคชันไลน์ (Line Application): Line @ “We are Thaibev Group” • เฟซบุ๊ก แฟนเพจ (Facebook Fanpage) • อินทราเน็ต (Intranet) • การประชุมประจําปี เช่น การประชุมผู้บริหาร ประจําปี การประชุมคณะกรรมการลูกจ้าง การประชุมคณะกรรมการสวัสดิการ การประชุม คณะกรรมการความปลอดภัย การประชุม สหภาพแรงงานและการประชุมของหน่วยงาน • กล่องรับความคิดเห็น • การเดินสายพบปะพนักงาน เช่น Core Values Roadshow และวิสัยทัศน์ 2020 Roadshow • การสํารวจประเด็นด้านความยั่งยืนประจําปี • การสํารวจความพึงพอใจและการมีส่วนร่วม ของพนักงาน • Beverest Connect application • Jam application ช่องทางการสื่อสารระหว่าง พนักงานในเครือไทยเบฟโดยเฉพาะ
• ความปลอดภัยในการทํางาน • การอํานวยความสะดวกเรื่องสถานที่ ทํางาน • สวัสดิการพนักงาน • การจัดทําโครงการที่เป็นประโยชน์ ให้แก่สังคม • การออกผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ตรงตามความ ต้องการของผู้บริโภคอย่างสมํ่าเสมอ • การพัฒนาทักษะให้แก่พนักงาน • ข่าวสารเกี่ยวกับองค์กร • กิจกรรมที่องค์กรและผู้บริหาร ได้มีส่วนร่วม • ความสําเร็จ/รางวัล ที่องค์กรได้รับ • กิจกรรมภายในองค์กร • รับสมัครอาสาสมัครในงาน และโครงการต่างๆ
• โอกาสไร้ขีดจํากัด • การส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค • ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ในการทํางาน • ความยั่งยืนด้านสังคม
• การจัดประชุมร่วมกับคู่ค้า • การสํารวจประเด็นด้านความยั่งยืนประจําปี • กิจกรรมพบปะคู่ค้าประจําปี (Business Partner Conference) • การมอบรางวัลประกาศเกียรติคุณคู่ค้า (Supplier Award Program)
• วิสัยทัศน์ของผู้บริหารและแนวทาง การดําเนินธุรกิจ • แนวทางปฏิบัติสําหรับคู่ค้า (Supplier Code of Practice) • การรักษามาตรฐานด้านคุณภาพ การส่งมอบ การบริการ และความยั่งยืน ในการดําเนินธุรกิจของคู่ค้า • การร่วมมือกันระหว่างบริษัท คู่ค้า และคู่ค้า ของคู่ค้าในการบริหารจัดการความเสี่ยง ตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน • การพัฒนาศักยภาพของคู่ค้า • นวัตกรรมและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ เพื่อลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
• การกํากับดูแล การบริหารความเสี่ยงและการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบ • การจัดหาอย่างยั่งยืน • บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก • นวัตกรรม • พลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
• งานนิทรรศการและสัมมนาประจําปี (ThaiBev EXPO 2018) • การประชุมลูกค้าประจําปี • การจัดอบรมและให้ความรู้ลูกค้า • กิจกรรมพัฒนาธุรกิจผ่านการแบ่งปันความรู้ และความคิดเห็นระหว่างไทยเบฟและลูกค้า • กิจกรรม Business Review ประจําปี • การเยี่ยมชมโรงงานประจําปี • โครงการ Agent Next Gen • การสํารวจประเด็นด้านความยั่งยืนประจําปี
• ความปลอดภัยในการบริโภคผลิตภัณฑ์ ของผู้บริโภค • ความชัดเจนของนโยบายในการดําเนินธุรกิจ • ความโปร่งใสในการประกอบธุรกิจ • การรับผิดชอบต่อการบริโภคของผู้บริโภค • การมีสว่ นร่วมในการวางแผนการดําเนินงาน • การอบรมเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะ ในการทํางานของบุคลากร • การสร้างความร่วมมือและเครือข่าย เพื่อสร้างคุณค่าสู่สังคม • การประกอบการค้าที่ยืดหยุ่นและตรงตาม ความต้องการของสภาวะตลาด
• การบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า • การส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค • การกํากับดูแล การบริหารความเสี่ยงและการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบ • โอกาสไร้ขีดจํากัด
• กิจกรรมนอกสถานที่และกิจกรรมส่งเสริม การตลาดในช่องทางการขาย • ช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ เช่น facebook fanpage, website, application line • การสํารวจประเด็นด้านความยั่งยืนประจําปี • การสํารวจพฤติกรรม และความคิดเห็น ต่อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภค
• คุณภาพและความปลอดภัยของสินค้า • ราคาสินค้าที่เป็นธรรมและเหมาะสม • การให้บริการและนําเสนอสินค้า อย่างมีความรับผิดชอบ • ความรับผิดชอบต่อการจัดการสิง่ แวดล้อม • ความโปร่งใสในการดําเนินธุรกิจ • การจัดทําโครงการที่เป็นประโยชน์ ให้แก่สังคม
• • • • •
การส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค การพิทก ั ษ์และฟืน ้ ฟูแหล่งนํา้ การจัดการของเสีย พลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การกํากับดูแลความเสี่ยง และการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบ
25 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
นักลงทุน
ชุมชน
หน่วยงาน ภาครัฐ
องค์กรพัฒนา เอกชน (NGO)
แนวทางการมีส่วนร่วม
ตัวอย่างของประเด็น
บทรายงาน
• • • •
การประชุมผู้ถือหุ้นประจําปี การประชุมประจําไตรมาส การเข้าเยี่ยมชมโรงงานประจําปี การเดินสายพบปะนักลงทุน (Investors Roadshow) • การสํารวจประเด็นด้านความยั่งยืนประจําปี
• ความโปร่งใสในการเปิดเผยข้อมูล • ผลประกอบการของบริษัท • การให้ข้อมูลด้านธุรกิจของไทยเบฟ และรายงานข้อมูลที่เกี่ยวข้องแก่ผู้ถือหุ้น และนักลงทุน • การบริหารและพัฒนาตราสินค้า
• การกํากับดูแล การบริหารความเสี่ยง และการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
• กิจกรรมร่วมกับชุมชนรอบพื้นที่ปฏิบัติงาน • การสัมภาษณ์ตัวแทนจากชุมชน • ลงพื้นที่และประชุมร่วมกับชุมชน ติดตาม ความคืบหน้าโครงการที่ร่วมมือกันดําเนินการ • การประชุมร่วมกับตัวแทนชุมชนรายเดือน และรายไตรมาส • การสํารวจความคิดเห็นโดยใช้แบบสอบถาม • การสํารวจประเด็นด้านความยั่งยืนประจําปี
• การสร้างงานหรือส่งเสริมอาชีพ ให้แก่ชุมชน • การส่งเสริมด้านสาธารณสุขและสุขภาพ ให้กับชุมชน • การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน • การพัฒนาทักษะด้านกีฬา ดนตรี และศิลปะ • การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม การจัดการและฟื้นฟูแหล่งนํ้า • การประเมินผลกระทบที่มีต่อชุมชน • การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม และดูแล เรื่องสภาพแวดล้อมในชุมชน • การส่งเสริมการศึกษาให้กับชุมชน • การลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม • ความปลอดภัยในวัด โรงเรียน และชุมชน • สิทธิมนุษยชน ครอบคลุมไปถึง สิทธิแรงงานและสิทธิผู้บริโภค
• • • • • • •
• การเข้าร่วมรับฟังความคิดเห็นและการนําเสนอ ความคิดเห็นต่อการบังคับใช้กฎหมาย ที่จัดโดยหน่วยงานภาครัฐ • การเข้ารับการอบรมในหลักสูตรด้านต่างๆ ที่จัดโดยหน่วยงานภาครัฐหรือหน่วยงานอื่น ที่รัฐให้การรับรอง • การสํารวจประเด็นความยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง เป็นประจําทุกปี
• การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ต่อร่างกฎหมายฉบับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง • การบริหารและจัดการด้านภาษี อย่างโปร่งใส • การดูแลสวัสดิภาพและความปลอดภัย ด้านแรงงาน • การดูแลด้านสิทธิมนุษยชนและการใช้ แรงงานอย่างถูกกฎหมาย • การดูแลให้การโฆษณาและการขายสินค้า เป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย • การบริหารจัดการด้านสังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม
• การกํากับดูแล การบริหารความเสี่ยง และการปฏิบัติตามกฎระเบียบ • การส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค • ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ในการทํางาน • โอกาสไร้ขีดจํากัด • การบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า • การพิทักษ์และฟื้นฟูแหล่งนํ้า
• การสํารวจประเด็นด้านความยั่งยืนประจําปี
• สุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค • การดําเนินธุรกิจตามกฎหมาย • ความรับผิดชอบต่อสังคม
• การส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค • การกํากับดูแล การบริหารความเสี่ยง และการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
การพัฒนาชุมชนและสังคม โครงการประชารัฐรักสามัคคี การพัฒนาการศึกษา การพัฒนาด้านสาธารณสุข การพัฒนาด้านกีฬา การส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม การพิทักษ์และฟื้นฟูแหล่งนํ้า
26 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ความคิดเห็นจากผูม ้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ในปี 2561 บริษัทไทยเบฟทําการสํารวจประเด็นด้านความยั่งยืนประจําปี กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้ง 8 กลุ่ม โดยให้ผู้เชี่ยวชาญภายนอกดําเนินการสัมภาษณ์ และส่งแบบสอบถามให้กับกลุ่มตัวอย่างของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ซึ่งผลที่ได้จากการสํารวจ Stakeholder engagement survey นี้ ได้นํามาใช้ ในกระบวนการประเมินสาระสําคัญด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์กร
บทสัมภาษณ์จากผู้ทรงคุณวุฒิด้านความยั่งยืน หม่อมหลวงดิศปนัดดา ดิศกุล
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์
“การที่บริษัทจะคืนอะไรสักอย่างกลับสู่สังคม ควรจะทําในลักษณะที่สอดคล้องกับความ เชี่ยวชาญและประสบการณ์ที่บริษัทมีอยู่แล้ว เช่น หากบริษัททํากิจการด้านการเกษตร ก็ควรจะใช้บุคลากร ใช้ห้องทดลองที่จะช่วยในการพัฒนาคุณภาพผักและผลไม้ของ เกษตรกร ลดสารเคมีตกค้างในดิน ให้ความรู้เรื่องการทําเกษตรผสมผสาน ให้คําแนะนํา ด้านเทคนิคและความรู้ใหม่ๆ ที่จะพัฒนาคุณภาพและผลผลิตของเกษตรกรให้ดีขึ้นกว่า เก่า ส่งผลให้เกิดรายได้ที่มากขึ้นและทําให้ชุมชนเกิดความยั่งยืน หากธุรกิจจําหน่ายสินค้า ประเภทเครื่องดื่มต่างๆ ก็อาจจะเอาความรู้ของตนไปช่วยในการพัฒนาแหล่งนํ้าให้สะอาด ให้ดีขึ้น เพื่อจะนําต้นทุนนํ้าเหล่านั้นมาผลิตเป็นเครื่องดื่มที่มีคุณภาพมากกว่าเก่า และ ส่งเสริมให้ทรัพยากรธรรมชาติดีขึ้นกว่าเดิม และให้ชุมชนมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้นด้วย ไทยเบฟในฐานะบริษัทเอกชนขนาดใหญ่ จึงมีบทบาทสําคัญมาโดยตลอด และยังเป็นผู้นํา ด้านความยั่งยืน อันจะเห็นได้จากรางวัลอันดับ 1 ของโลกในหมวดธุรกิจประเภทเครื่องดื่ม จาก Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) มายืนยันอีกด้วย แสดงให้เห็นถึงวิสย ั ทัศน์ อันยาวไกลของผู้บริหาร และความมุ่งมั่นทุ่มเทของพนักงาน โดยผมก็หวังว่าไทยเบฟ จะสามารถช่วยขับเคลื่อนความเปลี่ยนแปลงในสังคมและช่วยผลักดันให้บริษัทอื่นๆ มีความรับผิดชอบ และหันมาใส่ใจกับเรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืนมากยิ่งขึ้นด้วย”
27 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
บทสัมภาษณ์จากผู้ทรงคุณวุฒิด้านความยั่งยืน Brendan Edgerton
Director, Circular Economy, World Business Council for Sustainable Development (WBCSD)
“สภาธุรกิจโลกเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (WBCSD) เป็นศูนย์กลางในการรวมตัวของ องค์กรธุรกิจชัน ้ นําเพือ่ แลกเปลีย ่ น เรียนรู้ และร่วมมือกันสร้างสรรค์โลกทีย ่ ง่ั ยืนให้มท ี รัพยากร เพียงพอสําหรับประชากร 9 พันล้านคน ความร่วมมือที่เข้มแข็งมีความสําคัญอย่างยิ่ง ในการนําแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ไปผสมผสานในห่วงโซ่คุณค่า ขององค์กร ซึ่งปัจจุบันเป็นเทรนด์ระดับโลกในด้านการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ดังนัน ้ สภาธุรกิจโลกเพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (WBCSD) จึงสนับสนุนให้เกิดการมีสว่ นร่วม ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและองค์กรระดับสากล เช่น เครือข่ายอุตสาหกรรมระดับโลก The Consumer Goods Forum (CGF) และสมาชิกของเครือข่าย ร่วมกันผลักดันให้ทั่วโลก ขจัดขยะพลาสติก และเพื่อเป็นการสนับสนุนให้ไทยเบฟนําแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน มาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดห่วงโซ่คุณค่า เราขอแนะนําให้มุ่งเน้นการพัฒนา ใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ ประเด็นด้านการใช้นาํ้ และการฟืน ้ ฟูแหล่งนํา้ (Water Consumption and Water Regeneration) ประเด็นด้านเศรษฐกิจฐานชีวภาพ (Bio-Economy) โดยใช้ ผลิตผลจากการเกษตรและเศษที่เหลือให้เกิดประโยชน์สูงสุด และประเด็นด้านบรรจุภณ ั ฑ์ (Packaging) ตัง้ แต่การออกแบบตลอดไปจนถึงการจัดการหลังการบริโภค โดยสิง่ เหล่านี้ จะเปิดโอกาสให้ไทยเบฟสามารถก้าวขึน ้ มาเป็นผูน ้ าํ ในการสร้างความเปลีย ่ นแปลงในด้าน การพัฒนาอย่างยั่งยืน”
Ani Kavookjian
Sustainable Business and Finance, Bloomberg L.P.
“คณะกรรมการจัดการบริษัทจําเป็นที่จะต้องมีความเข้าใจในประเด็นด้าน สภาพภูมอิ ากาศทีเ่ ปลีย ่ นแปลง การปรับตัวสูส่ งั คมคาร์บอนตํา่ รวมไปถึงความเสีย ่ ง และโอกาสที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คณะกรรมการจัดการจะต้องมีการบริหารจัดการ เพื่อให้องค์กรสามารถอยู่รอดและเติบโตในสภาพภูมิอากาศ (Climate scenarios) หลายรูปแบบ นอกจากนี้ ไทยเบฟควรให้ความสําคัญกับการนําเสนอข้อมูล ของประเด็นด้านความยั่งยืนในรูปแบบ และหน่วยที่นักลงทุนสามารถเข้าใจ และนําไปเปรียบเทียบได้ ยิง่ ไปกว่านัน ้ ถ้าบริษท ั แสดงการสนับสนุน TCFD (Task Force on Climate-related Financial Disclosure ) ไทยเบฟจะสามารถดึงดูดนักลงทุนที่สนใจ ซึ่งให้ ความสําคัญกับเป้าหมายระยะยาวได้ ปัจจุบันนักลงทุนให้ความสนใจบริษัทใน ตลาดเกิดใหม่/ตลาดกําลังพัฒนา (Emerging Markets) มากขึ้นเรื่อยๆ”
28 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
กระบวนการประเมินสาระสําคัญด้านความยัง่ ยืน ในปี 2561 ไทยเบฟได้การประเมินสาระสําคัญด้านความยั่งยืน โดยเปรียบเทียบกับ บริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน และพิจารณาจากข้อมูลทิศทางการเปลี่ยนแปลง ของประเด็นด้านความยั่งยืนของโลก และผลจากการสํารวจพบว่าไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลง ประเด็นสําคัญจากปี 2560 1. การกําหนดประเด็น ไทยเบฟคัดเลือกประเด็นด้านความยั่งยืนที่มีความสอดคล้องกับการดําเนินธุรกิจ โดยผู้บริหารและผู้เชี่ยวชาญจากสายงานธุรกิจทุกสายงาน ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ จากหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านความยั่งยืน จากภายนอก ในบริบทที่เกี่ยวกับความยั่งยืนของธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม โดยศึกษาแนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก ประเด็นสําคัญด้านความยั่งยืน ของบริษท ั อืน ่ ๆ ในอุตสาหกรรมเดียวกัน ตลอดจนสํารวจความคิดเห็นของผูม ้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ทุกกลุ่มถึงประเด็นสําคัญด้านความยั่งยืนขององค์กรในปีนี้อีกด้วย 2. การจัดลําดับความสําคัญ ไทยเบฟนําประเด็นที่ได้จากขั้นตอนการกําหนดประเด็นมาจัดลําดับความสําคัญ โดยพิจารณาจากผลกระทบที่มีต่อการดําเนินธุรกิจของไทยเบฟ ความคิดเห็น ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มในด้านความสําคัญและความสนใจที่มีต่อผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อกลั่นกรองประเด็นที่มีนัยสําคัญต่อความยั่งยืนขององค์กร โดยประเด็นที่ถูกจัดลําดับว่าสําคัญมาก โดยทัง้ ไทยเบฟและผูม ้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย จะถูกกําหนดเป็นประเด็นทีม ่ ค ี วามสําคัญสูงทีส่ ด ุ 3. การทวนสอบ คณะทํางานเพือ่ ความยัง่ ยืนทางธุรกิจของบริษท ั ดําเนินการทวนสอบความครบถ้วน ของประเด็นสําคัญต่อความยัง่ ยืนขององค์กร และนําเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนา ความยัง่ ยืนทางธุรกิจเพือ่ พิจารณาเห็นชอบ จากนัน ้ นําเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร เพือ่ พิจารณายืนยันและอนุมต ั ป ิ ระเด็นสําคัญด้านความยัง่ ยืน 4. การกําหนดขอบเขตการรายงาน ไทยเบฟกําหนดขอบเขตการรายงานประเด็นสําคัญทั้ง 17 ประเด็น โดยรวบรวมข้อมูล จากหน่วยงานต่างๆ และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีความเกี่ยวข้องกับประเด็นดังกล่าว มากที่สุด เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุมและครบถ้วน แม่นยํา ตอบโจทย์ทุกประเด็น ที่เป็นความสนใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของไทยเบฟ 5. การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไทยเบฟมุ่งมั่นที่จะดําเนินธุรกิจตามแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง โดยนํามุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อประเด็นสําคัญ รวมถึงข้อเสนอแนะ มาใช้ในการพัฒนาแนวปฏิบัติให้สอดคล้องกับการดําเนินงานด้านความยั่งยืน ที่เหมาะสมและเป็นธรรมต่อไป
29 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
การกำหนด ประเด็น การจัดลำดับ ความสำคัญ
การพัฒนา อย่างต่อเนื่อง
กระบวนการประเมิน สาระสำคัญด้านความยั่งยืน
การทวนสอบ การกำหนด ขอบเขต การรายงาน
สาระสําคัญด้านการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืนของไทยเบฟ
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านสังคม
• นวัตกรรม • การบริหารจัดการบรรจุภัณฑ์ • การบริโภคอย่างมีความรับผิดชอบ • การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน • การกำกับดูแลองค์กรและ จรรยาบรรณในการดำเนินการ
• การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และการตอบสนองต่อการเปลีย ่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ • การบริหารจัดการน้ำ และอนุรักษ์แหล่งน้ำ • การจัดการของเสีย
• การดูแลสุขภาพและความปลอดภัย ของผู้บริโภค • ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี • สิทธิมนุษยชน • การเป็นองค์กรที่ดีของสังคม • ผลิตภัณฑ์ที่ดีต่อสุขภาพและมีคุณค่า ทางโภชนาการ • การพัฒนาบุคลากร และสร้างแรงจูงใจ และรักษาพนักงานที่มีความสามารถ • การสร้างความร่วมมือและเครือข่าย เพื่อสร้างคุณค่าสู่สังคม • การบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ • ฉลากผลิตภัณฑ์และการตลาด
30 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ตารางแผนภูมิความเสี่ยงของไทยเบฟ โอกาส/ความถี่ในการเกิดเหตุการณ์ ระดับ ผลกระทบ
5
สูงมาก
4
สูง
3
ปานกลาง
2
เล็กน้อย
1
ไม่มีผล
1
น้อยมาก
H
5
M
4
M
3
L
2
L
1
2
น้อย
H
10
M
8
M
6
L
4
L
2
มาตรการตอบสนองความเสี่ยง
3
4
5
ระดับความเสี่ยง
มาตรการ
E
สูงมาก (E)
การปฏิบัติเพื่อตอบสนองต่อความเสี่ยงนั้นทันที
E
สูง (H)
ผู้บริหารระดับสูงต้องให้ความสนใจ หรือความสำคัญ
H
ปานกลาง (M)
ต้องมีการระบุหน้าที่ความรับผิดชอบ ให้แก่ฝ่ายจัดการ (ระดับผู้ช่วยกรรมการ ผู้อำนวยการใหญ่ ผู้อำนวยการสำนัก)
ต่ำ (L)
บริหารจัดการโดยวิธีการปฏิบัติงานประจำ
ปานกลาง ค่อนข้างมาก มาก
H
15
H
12
H
9
M
6
L
3
E
20
H
16
H
12
M
8
M
4
25 20 15
H
10
M
5
ทั้งนี้คณะทํางานพัฒนาความยั่งยืนทางธุรกิจและผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้ดําเนินการประชุมเชิงปฏิบัติการ กับผู้บริหาร เพื่อนําเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาความยั่งยืนทางธุรกิจของไทยเบฟให้พิจารณาอนุมัติ ผลจากการดําเนินการ ทําให้ไทยเบฟได้คัดเลือก 17 ประเด็นที่เป็นสาระสําคัญของไทยเบฟ
เศรษฐกิจ
สิ่งแวดล้อม
สังคม
ระดับผลกระทบและอิทธิพลที่มีต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
สูง
การดูแลสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค การบริหารจัดการน้ำ และการอนุรักษ์แหล่งน้ำ สิทธิมนุษยชน
ผลิตภัณฑ์ที่ดีต่อสุขภาพ และมีคุณค่าทางโภชนาการ การจัดการของเสีย
การพัฒนาบุคลากร และสร้างแรงจูงใจ และรักษาพนักงานทีม ่ ค ี วามสามารถ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี การกำกับดูแลองค์กรและจรรยาบรรณ ในการดำเนินการ
ฉลากผลิตภัณฑ์และการตลาด
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
การบริโภคอย่างมีความรับผิดชอบ การสร้างความร่วมมือและเครือข่าย เพื่อสร้างคุณค่าสู่สังคม
การบริหารจัดการ การเป็นองค์กรที่ดีของสังคม ลูกค้าสัมพันธ์ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ นวัตกรรม และการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ
การบริหารจัดการบรรจุภัณฑ์
ต่ำ
ระดับผลกระทบและโอกาสที่มีต่อธุรกิจ
สูง
31 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
สรุปประเด็นสําคัญในการรายงาน ขอบเขตของผลกระทบ ภายในบริษัท บท
ประเด็นสําคัญ
การกํากับดูแล การบริหารความเสี่ยง และการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
การกํากับดูแลองค์กรและ จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ
นวัตกรรม
นวัตกรรม
การส่งเสริมสุขภาพและ ความปลอดภัยของผู้บริโภค
การดูแลสุขภาพและความปลอดภัย ของผู้บริโภค ฉลากผลิตภัณฑ์และการตลาด ผลิตภัณฑ์ที่ดีต่อสุขภาพ และมีคุณค่าทางโภชนาการ
การบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า
การบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ การบริโภคอย่างมีความรับผิดชอบ
การจัดหาอย่างยั่งยืน
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
โอกาสไร้ขีดจํากัด
สิทธิมนุษยชน การพัฒนาบุคลากร การสร้าง แรงจูงใจ และรักษาพนักงาน ที่มีความสามารถ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางาน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี
พลังงานและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ
การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ
บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก
การบริหารจัดการบรรจุภัณฑ์ การจัดการของเสีย
การพิทักษ์และฟื้นฟูแหล่งนํ้า
การบริหารจัดการนํ้า และอนุรักษ์แหล่งนํ้า
การจัดการของเสีย
การจัดการของเสีย
ความยั่งยืนด้านสังคม
การสร้างความร่วมมือและเครือข่าย เพื่อสร้างคุณค่าสู่สังคม
การส่งเสริมและอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม
การเป็นองค์กรที่ดีของสังคม
บริษัทไทยเบฟ และบริษัทในเครือ พนักงาน
ภายนอกบริษัท
คู่ค้า
ลูกค้า
ผู้บริโภค
นักลงทุน
ชุมชน
หน่วยงาน องค์กร กํากับดูแล พัฒนาเอกชน
32 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
GRI 102-11, GRI 102-13, GRI 102-15, GRI 102-16, GRI 102-17, GRI 201-2, GRI 205-2, GRI 205-3, GRI 419-1, GRI 415-1
การกํากับดูแล การบริหารความเสี่ยง และการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ไทยเบฟดําเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ โปร่งใส ความเป็นธรรม และคงไว้ซึ่งจริยธรรม โดยยึดมั่นการ ปฏิบัติภายใต้กรอบจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของบริษัท ในกลุ่มไทยเบฟ การกํากับดูแลเป็นปัจจัยสําคัญอย่างหนึ่งในการ ปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กร ซึ่งเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ระหว่างฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกํากับดูแลทําให้เกิดโครงสร้างที่สําคัญ ซึ่งเป็นกลไกในการกําหนดวัตถุประสงค์ของการดําเนินธุรกิจและ การกําหนดวิธีการดําเนินการที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว รวมถึงการสอดส่องดูแลผลการปฏิบัติงาน ไทยเบฟจึงมุ่งเน้น การปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยมีการวางแผน จัดการบริหารความเสี่ยงอย่างเหมาะสมตามแนวทางการพัฒนา ที่ยั่งยืน การกํากับดูแลกิจการที่ดีเป็นแนวทางการบริหารองค์กร ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ซึ่งสอดคล้องกับจรรยาบรรณ เครือไทยเบฟ เป็นระบบบริหารจัดการที่ก่อให้เกิดความเป็นธรรม โปร่งใส สามารถสร้างความเชือ่ มัน ่ ต่อผูถ ้ อื หุน ้ ผูม ้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ทุกฝ่าย อีกทั้งยังส่งเสริมให้ไทยเบฟดําเนินธุรกิจให้เจริญเติบโต ได้อย่างยั่งยืน
การกํากับดูแลกิจการทีด ่ ขี ององค์กร ไทยเบฟตั้งใจและมุ่งมั่นในการกํากับดูแลกิจการตามหลัก บรรษัทภิบาลที่ดี ควบคู่กับการดําเนินงานด้วยระบบการบริหาร ที่มีประสิทธิภาพ มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ กล่าวคือ ไม่เพียงแต่ประกอบธุรกิจภายใต้กฎหมายและกฎระเบียบเท่านั้น แต่ยังมีเป้าหมายในการเป็นแบบอย่างที่ดีในการดําเนินธุรกิจ อย่างเป็นมืออาชีพ คือ ดําเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส และ การดําเนินธุรกิจด้วยหลักบรรษัทภิบาล เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน ่ ให้แก่ผถ ู้ อื หุน ้ นักลงทุน พนักงาน ลูกค้า และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทุกฝ่าย
นอกจากนี้ ไทยเบฟได้รายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดีไว้ใน รายงานประจําปี 2561 ซึ่งอธิบายถึงโครงสร้างและกระบวนการ ในการเปิดเผยข้อมูลบรรษัทภิบาล ในรายงานประจําปีดังกล่าว ยังได้เปิดเผยข้อมูลผลประกอบการ แสดงแนวทางในการ พัฒนาเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในองค์กรระหว่างคณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ และผู้ถือหุ้นของบริษัท เพื่อสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน รวมทั้งให้ความสําคัญในการมุ่งมั่น สนับสนุน และพัฒนาศักยภาพทางธุรกิจให้แก่ลูกค้า เพื่อสร้างความเจริญ เติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน และเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผู้ถือหุ้น ในระยะยาว โดยคํานึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภายใน และภายนอกองค์กรด้วย ไทยเบฟมีแผนการจัดอบรมให้ความรู้ ทางด้านกฎหมายและหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับตลาดหลักทรัพย์ สิงคโปร์ โดยทุกปี ส่วนงานกํากับดูแล สํานักเลขานุการบริษัท จะจัดให้ความรู้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานจากส่วนงาน ที่เกี่ยวข้องในกลุ่มบริษัทไทยเบฟ และเมื่อมีการแก้ไขเพิ่มเติม กฎหมายและหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ก็จะแจ้งให้ทราบในที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร หรือผ่าน ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (อีเมล) แล้วแต่กรณี นอกจากนี้ ไทยเบฟได้ประกาศใช้นโยบายการรับข้อร้องเรียน เพื่อเน้นยํ้าถึงการให้ความสําคัญกับการรับฟังข้อร้องเรียน จากกรรมการ ผูบ ้ ริหาร และพนักงานของไทยเบฟ ทัง้ นี้ ปี 2561 ไม่พบรายการขัดแย้งทีม ่ น ี ย ั สําคัญและไม่พบข้อร้องเรียน ด้านจริยธรรมที่มีนัยสําคัญ
33 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ
การต่อต้านการทุจริต
เพื่อให้การดําเนินธุรกิจเจริญเติบโตก้าวหน้า มีความมั่นคงยั่งยืน และ เป็นที่ยอมรับของสังคม จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจจึงเป็นส่วน สําคัญ ดังนั้นไทยเบฟจึงกําหนดจรรยาบรรณ ด้วยเจตนารมณ์มุ่งเน้น พฤติกรรมที่มีความซื่อสัตย์สุจริต ปฏิบัติตามกฎหมาย มีศลี ธรรมและ จริยธรรม ทัง้ นีค ้ ณะกรรมการ ผูบ ้ ริหาร และพนักงานทุกคน ต้องยึดถือ ปฏิบต ั ต ิ ามเพือ่ ให้บริษท ั บรรลุจด ุ มุง่ หมายในการรักษาไว้ซงึ่ จรรยาบรรณ และยังส่งเสริมการรักษามาตรฐานทางจรรยาบรรณไว้อย่างสมํ่าเสมอ
ไทยเบฟคํานึงถึงความสําคัญของการดําเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส มีคณ ุ ธรรม ยึดหลักความยุตธิ รรม และปฏิบต ั ต ิ ามจรรยาบรรณทางธุรกิจ พร้อมทั้งคํานึงถึงผลประโยชน์สูงสุดต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายจากการ ดําเนินธุรกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศ ดังนั้นไทยเบฟจึงได้กําหนด นโยบายการต่อต้านคอร์รัปชันขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัติในการต่อต้าน และป้องกันการคอร์รัปชัน รวมถึงเป็นแนวทางในการดําเนินธุรกิจ และเสริมสร้างความมั่นคงอย่างยั่งยืนในอนาคต
ไทยเบฟมีหน้าทีท ่ จี่ ะทําให้เกิดความโปร่งใสในการดําเนินงานและจะปกป้อง ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น โดยคํานึงถึงภาวะและปัจจัยความเสี่ยงทั้งใน ปัจจุบันและอนาคต และจะปฏิบัติต่อพนักงาน ลูกค้า และคู่ค้าทุกคน อย่างถูกต้องชอบธรรม ไทยเบฟมุ่งเน้นให้พนักงานทุกคนเข้าใจเนื้อหา และความหมายที่กําหนดไว้อย่างถ่องแท้ และประกาศให้บุคลากร ทุกระดับทราบ ประกอบกับต้องยอมรับและยึดถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด หากบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกๆ ส่วนให้ความร่วมมือและปฏิบัติ ตามจรรณยาบรรณของไทยเบฟอย่างจริงจังภายใต้นโยบายการกํากับ ดูแลที่ดี จะส่งผลดังนี้
ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ กฎระเบียบ มาตรฐาน และ กฎหมาย กรรมการผู้อํานวยการใหญ่และคณะผู้บริหารมีหน้าที่ติดตาม และกําหนดให้มีระบบรองรับการต่อต้านการคอร์รัปชันที่มีประสิทธิภาพ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้มก ี ารตรวจสอบและทบทวนนโยบายให้ทน ั สมัยและสอดคล้อง กับการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ นอกจากนี้ ไทยเบฟยังกําหนดขอบเขต การปฏิบัติตามนโยบายของทุกฝ่าย ดังนี้
• ช่วยให้ไทยเบฟรักษาความรับผิดชอบต่อสังคมและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกฝ่าย • ทําให้พนักงานมีประสิทธิภาพในการทํางาน • ทําให้เกิดความเป็นธรรมในองค์กร • พนักงานมีเกียรติ มีศักดิ์ศรี เป็นคนดี คนเก่ง • องค์กรเป็นที่ยอมรับต่อสังคม • เพื่อความผาสุกของพนักงาน
• ผู้บริหารระดับสูงมีหน้าที่เสริมสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตาม นโยบาย พร้อมทั้งร่วมมือกับกรรมการ ผู้บังคับบัญชา และพนักงาน ช่วยกันสอดส่องดูแล • กรรมการและพนักงานมีหน้าที่รักษามาตรฐานสูงสุดในการดําเนิน ธุรกิจ • พนักงานต้องไม่ทนหรือเพิกเฉย เมื่อพบเห็นการกระทําที่เข้าข่าย การทุจริตคอร์รัปชัน • พนักงานต้องให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง ทั้งนี้ การไม่ปฏิบัติตามนโยบายอาจถือเป็นความผิดทางวินัยอย่าง ร้ายแรง เป็นการขัดต่อสัญญาและเป็นความผิดทางอาญาของบุคคลนัน ้ ๆ และอาจสร้างความเสียหายร้ายแรงต่อชื่อเสียงและสถานะของไทยเบฟ หากพบเห็นการคอร์รัปชัน ให้แจ้งการกระทําดังกล่าวแก่ผู้บังคับบัญชา หรือหากพบบุคคลที่กระทําผิด จะถูกลงโทษตามกฎระเบียบของบริษัท และดําเนินคดีตามกฎหมายต่อไป
34 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
การรับข้อร้องเรียน
การละเมิดกฎระเบียบข้อบังคับ และกฎหมาย
ไทยเบฟมีนโยบายรับข้อร้องเรียน โดยพนักงานทุกคนมีสิทธิ์ ทีจ่ ะแจ้งข้อร้องเรียนหากพบเห็นการกระทําทีเ่ ข้าข่ายเป็นความผิด
ไทยเบฟกําหนดให้พนักงานต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับ ขององค์กรและข้อกฎหมายของทุกประเทศที่บริษัทเข้าไปดําเนิน กิจการ หากมีการละเมิดกฎระเบียบข้อบังคับใดๆ ทั้งด้าน จรรยาบรรณ ความเป็นเลิศขององค์กร และสิทธิมนุษยชน ในสถานที่ประกอบการหรือสถานที่ดําเนินธุรกิจ จะต้องหยุดการ ละเมิดนั้นในทันที และใช้มาตรการจัดการที่เหมาะสม ในปี 2561 ไทยเบฟพบว่า มีการละเมิดที่ไม่รุนแรง และกรณีรุนแรง โดยเป็นการจัดกลุ่มระดับของการละเมิดตามผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยกําหนดเกณฑ์ตามมูลค่าทางการเงิน กรณีรุนแรง (Major Case) คือ กรณีที่มีผลกระทบทางการเงินมากกว่าหรือเท่ากับ 300,000 บาท และกรณีไม่รุนแรง (Minor Case) คือกรณีที่มี ผลกระทบทางการเงินน้อยกว่า 300,000 บาท เพือ่ ป้องกัน ไม่ให้เกิดการละเมิดกฎระเบียบข้อบังคับ ไทยเบฟมีแนวทางแก้ไข เบื้องต้นดังนี้
• หากกรรมการมีข้อร้องเรียน ให้กรรมการแจ้งข้อร้องเรียน ดังกล่าวไปยังประธานกรรมการตรวจสอบ • หากพนักงานมีข้อร้องเรียน ให้พนักงานแจ้งข้อร้องเรียน ดังกล่าวเป็นลายลักษณ์อักษรผ่านช่องทางที่แนะนํา โดยระบุ ชื่อและรายละเอียดเพื่อใช้ในการติดต่อ แล้วแจ้งไปยังบุคคล ที่มีหน้าที่รับผิดชอบ • พนักงานทุกคนสามารถแจ้งข้อมูลที่อยู่ในข่ายอันสงสัยมายัง กรรมการผู้อํานวยการใหญ่โดยตรง ผ่านทางอีเมล whistleblowing@thaibev.com หรือส่งมายังผู้บริหาร โดยตรง • ไทยเบฟพร้อมที่จะปกป้องพนักงานที่แจ้งข้อร้องเรียนที่มีมูล ความจริง โดยรักษาข้อมูลไว้เป็นความลับและจะดําเนินการ กับการกระทําความผิดที่เกิดขึ้นอย่างเข้มงวด • พนักงานที่แจ้งข้อเท็จจริงจะไม่ได้รับความเดือดร้อน หรือเสียหายใดๆ หากเป็นการร้องเรียนโดยสุจริต • ไทยเบฟจะดําเนินการอย่างเหมาะสมเพื่อคุ้มครองกรรมการ และพนักงานจากความเสียหายหรือการถูกทําร้ายอันมีสาเหตุ มาจากการแจ้งข้อร้องเรียนที่เกิดขึ้น เมื่อมีพนักงานแจ้งข้อร้องเรียน ไทยเบฟจะมีการประเมินเพื่อ ตัดสินใจว่าจะดําเนินการอย่างไร หากภายหลังพบว่าข้อร้องเรียน เป็นเท็จหรือโดยทุจริต หรือมีลักษณะประสงค์ร้าย หรือปราศจาก ความรอบคอบ หรือเพื่อประโยชน์ส่วนบุคคล การกระทําดังกล่าว ถือเป็นการกระทําผิดซึ่งนําไปสู่การพิจารณาความผิดทางวินัย ตามทีร่ ะบุไว้ในหัวข้อการพิจารณาความผิดทางวินย ั และบทลงโทษ ในคู่มือพนักงานของไทยเบฟ นอกจากนี้ ยังมีการประชาสัมพันธ์ ถึงช่องทางแจ้งข้อร้องเรียน ผ่านสื่อภายในองค์กร
แนวทางการลดการทุจริตในองค์กร 1. ไทยเบฟจัดให้มีการปฐมนิเทศให้กับพนักงานใหม่และผู้บริหาร 2. จัดให้มีหลักสูตรการอบรมแบบออนไลน์ 3. ไทยเบฟให้ความสําคัญในการสื่อสารและทําความเข้าใจ ในจริยธรรมในการปฏิบัติงานของพนักงานและผู้บริหาร (Business Ethic) 4. ไทยเบฟมุ่งมั่นสื่อสารทําความเข้าใจ และกําหนดให้พนักงาน และผู้บริหารปฏิบัติตามจรรยาบรรณ 5. หากตรวจพบการทุจริต บริษัทจะดําเนินการขั้นเด็ดขาดทันที และอาจถูกดําเนินคดี 6. ไทยเบฟได้จัดให้มีกระบวนการตรวจสอบการทุจริตในองค์กร อย่างสมํ่าเสมอ
หมายเหตุ รายละเอียดของกรณีละเมิดที่ไม่รุนแรง และกรณีรุนแรง สามารถดู เพิ่มเติมได้ที่ Sustainability.thaibev.com
35 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ไทยเบฟและการดําเนินงานทีเ่ กีย ่ วข้อง กับนโยบายสาธารณะ (Public Policy) ไทยเบฟยึดหลักในการดําเนินธุรกิจโดยปฏิบัติตามหลัก ธรรมาภิบาล โดยมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และกําหนดนโยบายบนพื้นฐานความรับผิดชอบ ต่อส่วนรวม และเป็นกลาง ไทยเบฟได้เข้าไปมีส่วนร่วมและให้การ สนับสนุนองค์กรของภาครัฐ เพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และ การผลิต ได้แก่ หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อเพิ่มศักยภาพในการ แข่งขันของไทยเบฟ และสร้างเครือข่ายที่แข็งแกร่งร่วมกับบริษัท ต่างๆ ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม โดยให้การสนับสนุนทั้งในส่วน ของงบประมาณ และการเข้าไปมีส่วนร่วมในการแบ่งปันข้อมูล การสนับสนุนกิจกรรม และร่วมให้ข้อเสนอแนะและแนวทาง ในส่วนที่สร้างประโยชน์ให้ส่วนรวม ทั้งภาคธุรกิจ และผู้บริโภค โดยมีเจตนารมณ์ในการประสานนโยบายภาครัฐกับเอกชน สนับสนุนและส่งเสริมอุตสาหกรรมโดยรวมให้มีการเติบโต และพัฒนาอย่างยั่งยืนร่วมกัน • สนับสนุนเงินสมทบให้กับหอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่ง ประเทศไทย เป็นค่าธรรมเนียมสมาชิก เพือ่ ให้เกิดการมีสว่ นร่วม ในการให้ความช่วยเหลือ การอํานวยความสะดวก และการ เชื่อมโยงในการปฏิบัติตามขอบเขตและแผนงานที่ทางภาครัฐ ได้กาํ หนดไว้อย่างถูกต้องตามกระบวนการ เช่น พระราชบัญญัติ ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี กฎกระทรวง ระเบียบสรรพสามิต ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อภาคอุตสาหกรรม • สนับสนุนเงินให้กับสถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิล เพื่อสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย (TIPMSE) ภายใต้ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในการส่งเสริม 3Rs ได้แก่ ลดการใช้ (Reduce) การใช้ซํ้า (Reuse) และการนํากลับมา ใช้ใหม่ (Recycle) และแนวทางการปฏิบต ั ด ิ า้ นบรรจุภณ ั ฑ์ เพือ่ ส่งเสริมสังคมที่มุ่งเน้นการรักษาสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
• สนับสนุนสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มอบทุนวิจัย เพื่อสนับสนุนการจัดการบรรจุภัณฑ์ เพื่อลดผลกระทบ กับสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยและตอบโจทย์ความยั่งยืน การเข้าไปมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นผ่านทางตัวแทน จากไทยเบฟที่เข้าร่วมประชุมในวาระต่างๆ หรือในการประชุมใหญ่ สามัญประจําปีของหอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ส่งผลให้ไทยเบฟสามารถรับรู้ในการเปลี่ยนแปลงข้อบังคับ และข้อกําหนด และทบทวนร่างนโยบาย ข้อบังคับของรัฐบาล และทําให้ไทยเบฟสามารถพัฒนามาตรการบรรเทาผลกระทบ และวางแผนธุรกิจเพื่อรับกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ให้ดําเนิน ไปตามขอบเขตทีท ่ างภาครัฐกําหนดไว้ พร้อมทัง้ รักษาชือ่ เสียงทีด ่ ี ให้กบ ั ไทยเบฟ พร้อมทัง้ สร้างผลประโยชน์สงู สุดให้แก่อต ุ สาหกรรม ในส่วนของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ไทยเบฟให้การ สนับสนุนด้านการวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน รวมถึงการส่งเสริมการใช้หลัก 3Rs ผ่านช่องทางการสื่อสาร การฝึกอบรม และการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างคู่ค้า ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม ซึ่งเป็นความร่วมมือของภาคเอกชน ในการจัดการของเสียจากบรรจุภัณฑ์ด้วยวิธีแก้ไขเชิงบูรณาการ แบบองค์รวมอย่างยั่งยืน โดยมุ่งเน้นในการช่วยลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม และยังสามารถช่วยการจัดการของเสีย จากบรรจุภัณฑ์ในประเทศไทยให้ดียิ่งขึ้น
36 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
การบริหารความเสี่ยง • การบริหารความเสี่ยงเป็นสิ่งจําเป็นสําหรับการดําเนินธุรกิจในปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยเพิ่ม ความมั่นใจให้กับไทยเบฟในการบรรลุผลตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กําหนดไว้ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ขณะเดียวกัน ช่วยลดความสูญเสียให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และ/หรือเพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจให้กับไทยเบฟ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและการเติบโตของไทยเบฟ • ไทยเบฟจึงกําหนดกรอบและแนวทางของการบริหารความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นทั่วทั้งองค์กรอย่างเป็นระบบ โดยสร้าง ความเข้าใจกับผู้บริหารและพนักงานทุกคนถึงโอกาสและความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น นอกจากนี้ยังกําหนดแผนการ ลดความเสีย ่ ง พร้อมด้วยระบบการติดตามและประเมินผลการบริหารความเสีย ่ ง เพือ่ ค้นหาความเสีย ่ งใหม่ๆ ทีอ่ าจเกิดขึน ้ ในอนาคต • นอกเหนือจากการบริหารความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในการดําเนินงานตามปกติ ไทยเบฟได้วิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจส่งผล ต่อความยั่งยืนของไทยเบฟ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ 4 ประการ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม คือ 1. การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างของประชากรและการเข้าสู่สังคมสูงวัย 2. การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ 3. การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทําธุรกิจ 4. ภัยคุกคามต่อความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ ซึ่งทั้งหมดถือเป็น “ความเสี่ยงที่กําลังเกิดขึ้นใหม่ (Emerging Risks)” ซึ่งอาจทําให้เกิดอุปสรรคและการเสียโอกาสในการ ดําเนินธุรกิจ และส่งผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ รวมทั้งชื่อเสียง ความมั่นคง และความยั่งยืนของไทยเบฟ
ภารกิจสําคัญ
โครงสร้างการกํากับดูแลและบริหารความเสี่ยง
แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับองค์กร และระดับกลุ่มธุรกิจ หรือสายธุรกิจ ระดับองค์กร มีคณะกรรมการบริหารความยั่งยืนและความเสี่ยง1 (Sustainability and Risk Management Committee : SRMC) ซึ่งประกอบด้วยกรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสูงของแต่ละกลุ่ม ธุรกิจหรือสายธุรกิจที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท ทําหน้าที่กําหนดนโยบายด้านการบริหารความยั่งยืนและนโยบาย การบริหารความเสี่ยง กํากับดูแลด้านกลยุทธ์ของธุรกิจในด้าน การพัฒนาอย่างยั่งยืนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล กําหนดกรอบ การดําเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยงของบริษัท รวมทั้งติดตาม กลั่นกรองให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ระดับกลุ่มธุรกิจหรือสายธุรกิจ มีผู้บริหารระดับสูงของแต่ละกลุ่ม ธุรกิจหรือสายธุรกิจ ทําหน้าทีค ่ วบคุมและติดตามการบริหารความเสีย ่ ง ของกลุ่มธุรกิจหรือสายธุรกิจ และรายงานผลต่อคณะกรรมการ บริหารความยั่งยืนและความเสี่ยง นอกจากนี้ ยังมีผู้ประสานงาน
ความเสี่ยงของแต่ละกลุ่มธุรกิจหรือสายธุรกิจ ทําหน้าที่ช่วยควบคุม ดูแลและติดตามการดําเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยงภายใน กลุ่มธุรกิจหรือสายธุรกิจ ตลอดจนประสานงานกับคณะทํางาน บริหารความเสี่ยงองค์กร (Corporate Risk Management Working Team) นอกเหนือจากการบริหารความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการดําเนินงาน ตามปกติของแต่ละกลุ่มธุรกิจหรือสายธุรกิจ ไทยเบฟยังบริหาร ความเสี่ยงเชื่อมโยงกับกระบวนการจัดทําแผนกลยุทธ์ การลงทุน และการวางแผนธุรกิจที่ได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการ ทีเ่ กีย ่ วข้องในเรือ่ งนัน ้ ๆ อาทิ คณะกรรมการจัดซือ้ วัตถุดบ ิ คณะจัดการ คณะกรรมการลงทุน และคณะกรรมการบริหาร ซึ่งประเด็น ที่เป็นความเสี่ยงระดับองค์กร (Corporate Risk) จะต้องรายงานต่อ คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบด้วย เพื่อให้มั่นใจ ว่าทุกความเสี่ยงได้รับการจัดการตามมาตรการที่กําหนดไว้
1 หมายเหตุ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 5/2560 ได้อนุมต ั ก ิ ารแก้ไขเปลีย ่ นแปลงชือ่ “คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง” เป็น “คณะกรรมการบริหารความยั่งยืนและความเสี่ยง” และการเพิ่มขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบให้ครอบคลุมการกํากับดูแลกลยุทธ์ให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
37 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
กระบวนการบริหารความเสีย ่ ง กระบวนการบริหารความเสีย ่ งของไทยเบฟเป็นแบบบูรณาการ (Integrated Risk Management) แบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ
กระบวนการบริหารความเสี่ยงแบบบูรณาการ ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้
การบริหารความเสี่ยงแบบบนลงล่าง และ การบริหารความเสี่ยงแบบ ล่างขึ้นบน (Top-Down and Bottom-Up Enterprise Risk Management) เช่น ผู้บริหารระดับสูงมีส่วนในการระบุและประเมิน ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ขององค์กรโดยวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและ ภายในที่เกี่ยวข้อง พิจารณาจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงไปพร้อมกับ การจัดทําแผนธุรกิจ/แผนปฏิบัติการประจําปี/แผนการลงทุน ตลอดจนติดตามผลการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง ส่วนในระดับปฏิบัติการ หัวหน้าหน่วยงานและพนักงานจะต้องระบุ และประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน จัดทําแผนบริหาร ความเสี่ยง ดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานผล อย่างต่อเนื่องในทุกระดับตั้งแต่ระดับสายงานและบริษัทย่อย ระดับ สายธุรกิจหรือกลุ่มธุรกิจและระดับองค์กร
1. การกําหนดวัตถุประสงค์ (Define Objectives) ทั้งวัตถุประสงค์ของ องค์กร และของกลุม ่ ธุรกิจหรือสายธุรกิจซึง่ ต้องมีความสอดคล้องกัน 2. การระบุความเสี่ยง (Identify Risks) ที่องค์กรหรือธุรกิจเผชิญอยู่ หรือแฝงอยู่ในการดําเนินงาน ซึ่งอาจเกิดขึ้นและส่งผลในทางลบ ต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์กรหรือธุรกิจ 3. การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง (Analyze and Assess Risks) เพื่อหาสาเหตุของความเสี่ยง จําแนกและจัดลําดับความสําคัญของ ความเสี่ยงที่มีอยู่ โดยประเมินโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยง และผลกระทบ หรือระดับความรุนแรงของความเสียหายที่จะเกิดขึ้น 4. การกําหนดแผนบริหารความเสี่ยง (Plan the Risk Management Actions) 5. การปฏิบต ั ต ิ ามแผนบริหารความเสีย ่ ง (Implement the Action Plans) 6. การติดตามความคืบหน้า รายงานและประเมินผลการบริหารความเสีย ่ ง (Follow Up, Report and Evaluate Risk Management) โดย เปรียบเทียบกับตัวชีว้ ด ั ด้านการบริหารจัดการความเสีย ่ ง (Key Risk Indicators) ที่กําหนดเพื่อเป็นเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน สําหรับผู้บริหารระดับกลางขึ้นไป
ิ ารความ ารบรห เสยี่ บวนก ะ ร ง ก กำหนด วัตถุประสงค์
1
ระบุ ความเสี่ยง
การเติบโต
ความยั่งยืน
5 ปฏิบัติตาม แผนบริหาร ความเสี่ยง
คม สงั
ติดตาม รายงานและ ประเมินผล
เศรษ ฐก จิ
6
ความมั่นคง
สิ่ง แ ว ด ล้อ ม
4
กำหนด แผนบริหาร ความเสี่ยง
2 วิเคราะห์ และประเมิน ความเสี่ยง
3
38 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
วัฒนธรรมการจัดการความเสีย ่ ง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและปลูกฝังการบริหารจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในจิตสํานึก ของพนักงานทุกคน และพัฒนาให้เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กรที่มีส่วนช่วยให้ ไทยเบฟเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน บริษัทจึงได้ดําเนินการ • จัดอบรมเรื่องการบริหารความเสี่ยงเป็นการเฉพาะแก่ผู้ประสานงานความเสี่ยงของ แต่ละกลุ่มธุรกิจหรือสายธุรกิจ ตลอดจนจัดกิจกรรมฝึกอบรมพนักงานและปฐมนิเทศ พนักงานใหม่ให้เข้าใจถึงปัจจัยเสี่ยงขององค์กร กระบวนการบริหารจัดการความเสีย ่ ง และเครื่องมือบริหารจัดการความเสี่ยงทั้งในเรื่องทั่วไป และเรื่องเฉพาะเจาะจง อย่างสมํา่ เสมอ เพื่อเตรียมความพร้อมให้พนักงานสามารถรับมือกับเหตุการณ์ ที่อาจเกิดขึ้นในการดําเนินธุรกิจทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว • ส่งเสริมและสนับสนุนให้พนักงานได้พด ู คุยหรือสือ่ สารเรือ่ งความเสีย ่ งหรือความปลอดภัย ภายในองค์กร รวมถึงเสนอความเห็นด้านการจัดการความเสี่ยงในการประชุม/อบรม • จัดให้มห ี น่วยงานภายใน เช่น สํานักกฎหมาย ส่วนงานกํากับดูแล สํานักเลขานุการบริษท ั คณะทํางานบริหารความเสี่ยงองค์กร และสํานักตรวจสอบภายใน ทําหน้าที่ตรวจสอบ ติดตามการดําเนินงาน ให้คาํ ปรึกษาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการดําเนินงานกับ กลุ่มธุรกิจ สายธุรกิจ และหน่วยงานต่างๆ • มีโครงการ Ways of Work Awards หรือ WOW Awards เพื่อให้พนักงานสามารถ นําเสนอผลงานที่อาจเป็นแนวคิดหรือวิธีการปฏิบัติงานที่สร้างสรรค์และสนับสนุนการ พัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืนเข้าประกวดชิงรางวัล ซึ่งผู้บริหารระดับสูงจะเป็นกรรมการ พิจารณาคัดเลือกผลงานที่น่าสนใจและสร้างประโยชน์ให้แก่องค์กรเมื่อนําผลงานไป ปฏิบัติจริง นอกจากนี้ พนักงานยังสามารถรายงานความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นแก่องค์กร เป็นลายลักษณ์อักษรแก่ผู้บังคับบัญชาตามสายงาน หรือสามารถรายงานไปยัง สํานักกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ด้วยอีเมลที่บริษัทได้กําหนดขึ้น จากนั้น กรรมการผู้อํานวยการใหญ่จะพิจารณาและดําเนินการตามที่เห็นสมควรต่อไป
39 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ทิศทางการดําเนินงาน ทิศทางการดําเนินงาน การรับมือกับความเสี่ยงที่กําลังเกิดขึ้นใหม่ 1. ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างของประชากรและการเข้าสู่สังคมสูงวัย ได้แก่ • การเพิม ่ ขึน ้ ของประชากรสูงวัยในหลายประเทศรวมทัง้ ประเทศไทย เป็นการเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุ โดยสัดส่วน จํานวนประชากรในวัยทํางานและวัยเด็กลดลง • การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ให้ความสนใจในเรื่องสุขภาพมากขึ้น • ผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคสินค้าและบริการที่หลากหลาย คาดหวังในคุณภาพหรือมาตรฐาน ของสินค้าสูงขึ้น • ภาครัฐให้ความสําคัญกับการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยของประชากรผู้สูงอายุ เพื่อลดภาระในการดูแล และให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ ด้วยการแก้ไขและปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสินค้า และบริการที่มีผลต่อสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค
ผลกระทบทางธุรกิจที่อาจเกิดขึ้น
มาตรการจัดการความเสี่ยง
• โอกาสที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมกลุ่มเครื่องดื่มและ อาหารเพื่อสุขภาพ หรือธุรกิจใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแนวโน้มนี้ • ไทยเบฟไม่สามารถเปลี่ยนแปลงหรือปรับตัวตามพฤติกรรม และ/หรือความต้องการของผู้บริโภคได้ทันเวลา • หากบริษัทคู่แข่งสามารถคว้าโอกาสได้ก่อน ทําให้ไทยเบฟ เสียโอกาส/ความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจและ/หรือ การเป็นผู้นําตลาด • หากไทยเบฟไม่สามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับสินค้าและบริการที่มีผลต่อสุขภาพและความปลอดภัย ของผูบ ้ ริโภคทีบ ่ งั คับใช้โดยภาครัฐ อาจส่งผลกระทบต่อชือ่ เสียง ของไทยเบฟ การถูกลงโทษและค่าปรับ • ไทยเบฟขาดแคลนแรงงาน ไม่สามารถรับพนักงานได้ตาม เป้าหมาย เนื่องจากประชากรในวัยทํางานมีแนวโน้มลดลง
• การคิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มและอาหารเพื่อ สุขภาพตามนโยบายด้านสุขภาพและโภชนาการของไทยเบฟ และตอบสนองพฤติกรรมการบริโภคของผู้บริโภคแต่ละกลุ่ม หรือช่วงอายุ • การพัฒนาและลงทุนในธุรกิจอาหารในรูปแบบร้านอาหาร ที่หลากหลาย สามารถเข้าถึงลูกค้าได้หลายกลุ่ม เพื่อขยาย ธุรกิจโดยรวม และสนับสนุนธุรกิจเครื่องดื่ม • การออกแบบและพัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ที่สื่อสารถึงข้อมูล และคุณค่าทางโภชนาการของเครื่องดื่มและอาหารของไทยเบฟ • การสื่อสารหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศที่สอดคล้องกับพฤติกรรมและรูปแบบการดํารงชีวิต ของผู้บริโภค และเข้าถึงผู้บริโภคเป้าหมาย • การติดตามอย่างต่อเนือ่ งถึงการแก้ไขและปรับปรุงกฎระเบียบ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการ รวมถึงสิทธิของผู้บริโภค เพื่อกําหนดเป็นหลักเกณฑ์ในการผลิตสินค้าและให้บริการ ของไทยเบฟ และมีการสื่อสารทําความเข้าใจแก่ทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง • การพัฒนาระบบงานที่นําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ ปฏิบัติงานเพื่อลดการใช้แรงงานคน
40 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
2. ความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ ได้แก่ • การเกิดภัยธรรมชาติบ่อยครั้งและมีความรุนแรงมากขึ้นทั้งที่เป็นภาวะภัยแล้งและนํ้าท่วม • การเคลือ่ นไหวเพื่อรักษาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในรูปแบบต่างๆ • การเพิ่มมาตรการกํากับดูแลด้านสิ่งแวดล้อมหรือการใช้ทรัพยากรธรรมชาติด้วยการออกกฎหมายใหม่ หรือเพิ่มความเข้มงวดของกฎหมายโดยภาครัฐ
ผลกระทบทางธุรกิจที่อาจเกิดขึ้น
มาตรการจัดการความเสี่ยง
• ปัญหาด้านคุณภาพของนํา้ และความไม่เพียงพอของนํา้ ตามแหล่งนํา้ ธรรมชาติทสี่ ง่ ผลกระทบต่อการผลิตทีต ่ อ้ งใช้นา้ํ ในปริมาณมาก ในกระบวนการผลิต • ความไม่แน่นอนและการเปลีย ่ นแปลงของปริมาณและราคาของสินค้า ทางการเกษตรทีเ่ ป็นวัตถุดบ ิ ในการผลิตสินค้าของไทยเบฟ ซึง่ มีผลกระทบต่อเนื่องของกระบวนการจัดการห่วงโซ่อุปทาน ทั้งด้านการผลิต การขาย และการขนส่งสินค้า • ความต่อเนือ่ งในการดําเนินธุรกิจหลังจากเหตุการณ์ภย ั ธรรมชาติ ทีร่ น ุ แรงและเกิดขึ้นกะทันหัน • กฎหมายใหม่ด้านสิ่งแวดล้อมอาจส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิต ของไทยเบฟในอนาคต • การสูญเสียชื่อเสียงขององค์กร และการสูญเสียทางการเงิน ในลักษณะของค่าปรับ หากมีส่วนสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศ
• ทุกกลุ่มธุรกิจต้องปฏิบัติตามนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม นโยบาย การบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าขององค์กรอย่างเคร่งครัด เช่น การใช้ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 การใช้หลัก 3Rs (Reduce, Reuse, Recycle) การสํารองนํ้าให้เพียงพอเพื่อใช้ใน การผลิต การบริหารจัดการและลดปริมาณการใช้นํ้าในการผลิต การเข้าร่วมโครงการ Water Footprint รวมถึงโครงการ Carbon Footprint ระดับองค์กรและผลิตภัณฑ์ การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย และประหยัดพลังงานในการบําบัดและกําจัดนํ้าเสียของโรงงาน รวมทั้งนําพลังงานที่เกิดขึ้นในกระบวนการบําบัดนํ้าเสียดังกล่าว มาใช้เป็นพลังงานทางเลือกในโรงงาน • การใช้เทคโนโลยีการผลิตและเครื่องจักรที่ทันสมัยและประหยัด พลังงาน เพื่อลดการใช้ทรัพยากรและพลังงาน และลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก ซึ่งช่วยลดค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนการผลิต รวมถึง เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการผลิต • การประยุกต์ใช้แนวคิดเรื่องเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) โดยการนําของเสียจากกระบวนการผลิตมาใช้ใหม่ ในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม เพื่อลดการมีส่วนสร้าง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม • การส่งเสริมการพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยหรือต้นทุนการผลิต เพิม ่ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการผลิต กระบวนการขนส่ง รวมถึงการสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดีให้ตราสินค้า • การบริหารจัดการตามแนวทางการปฏิบต ั ขิ องคูค ่ า้ ในเรือ่ งสิง่ แวดล้อม และการพัฒนาอย่างยั่งยืน • การวิเคราะห์และติดตามการเปลี่ยนแปลงของราคาและปริมาณ ของวัตถุดิบหลักอย่างต่อเนื่อง เพื่อใช้เป็นแนวทางบริหารด้านการ จัดซื้อสินค้าและบริการแบบองค์รวมของไทยเบฟ (Consolidated Strategic Sourcing and Procurement) เพื่อจัดการปัญหา การขาดแคลนและความผันผวนของราคาวัตถุดบ ิ ทีไ่ ด้รบ ั ผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ รวมถึงเพื่อส่งเสริม การใช้พลังงานในด้านโลจิสติกส์ของซัพพลายเออร์อย่างมี ประสิทธิภาพ (GHG Emission Scope 3) เป็นต้น
41 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
3. ความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทําธุรกิจ ได้แก่ • การพัฒนาอย่างรวดเร็วของดิจิทัลและเทคโนโลยี มีผลต่อตลาดและผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมต่างๆ รวมถึงธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม • บริษัทหลายแห่งโดยเฉพาะคู่แข่งทําการปรับเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงและ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันทางธุรกิจ โดยการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าใหม่ผ่านการนําเสนอผลิตภัณฑ์ หรือบริการใหม่ๆ ที่ใช้เทคโนโลยี
ผลกระทบทางธุรกิจที่อาจเกิดขึ้น
มาตรการจัดการความเสี่ยง
• ไทยเบฟไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีได้ทันเวลา หรือหากบริษัทคู่แข่งสามารถสร้างโอกาส ทางธุรกิจได้ก่อนไทยเบฟ จะมีผลกระทบต่อการเติบโตของรายได้ ส่วนแบ่งการตลาด คุณค่าและความภักดีในตราสินค้า เป็นต้น • โอกาสที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมหรือธุรกิจใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
• จัดทําแผนแม่บทด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Master Plan) เพื่อรองรับและบริหารจัดการด้านดิจิทัลและเทคโนโลยีอย่างยั่งยืน • ศึกษาและพัฒนาระบบงานที่นําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ ดําเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยเบฟ เช่น ระบบ สารสนเทศภายใต้วงจรห่วงโซ่อุปทาน
4. ความเสี่ยงด้านความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ ได้แก่ • ภัยคุกคามด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Cyber Security Attacks) ที่เกิดบ่อยครั้งกับหลายองค์กร หน่วยงาน และมีผลกระทบรุนแรง
ผลกระทบทางธุรกิจที่อาจเกิดขึ้น
มาตรการจัดการความเสี่ยง
• การรั่วไหลของข้อมูลที่สําคัญในการดําเนินธุรกิจ เช่น แผนธุรกิจ ข้อมูลการขาย ผลประกอบการ ข้อมูลลูกค้าและคู่ค้าทางธุรกิจ ซึ่งก่อให้เกิดการสูญเสียชื่อเสียงและภาพพจน์ขององค์กร และ ผลกระทบทางการเงินจากการสูญเสียลูกค้าและคู่ค้าทางธุรกิจ • ระบบสารสนเทศของไทยเบฟไม่พร้อมใช้ในการปฏิบัติงานหรือการ ดําเนินธุรกิจ ทําให้การปฏิบัติงานเกิดความล่าช้า ขาดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล และไม่สามารถบรรลุเป้าหมายที่กําหนดไว้
• การกํากับดูแล การระบุ และการแก้ไขภัยคุกคามด้านไซเบอร์ และกิจกรรมภายในที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสงสัย • จัดทําแผนการสร้างความรู้ด้านดิจิทัลและการเข้าถึงระบบและข้อมูล สารสนเทศทีเ่ กีย ่ วข้องกับการปฏิบต ั งิ านของพนักงานทุกระดับ • สร้างความตระหนักด้าน Cyber Security ให้แก่พนักงาน ด้วยการ จัดอบรมหรือให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการและการป้องกัน ความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศอย่างสมํ่าเสมอ • การทดสอบการกู้คืนภัยพิบัติ และกําหนดมาตรการตอบรับ และการฟื้นฟูในแผนการบริหารความเสี่ยงด้านไซเบอร์
42 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
GRI 103-1, GRI 103-2
นวัตกรรม • ศูนย์วิจัยและพัฒนาของไทยเบฟเปิดรับแนวคิด ความรู้ และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพทั้งสินค้า และบริการอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร เพือ่ สร้างผลิตภัณฑ์ บริการ และกระบวนการ ใหม่ๆ โดยส่งเสริมให้มีการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต รวมทั้งมีการสร้างผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น ในตลาด • ไทยเบฟให้ความสําคัญในการคิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่เพื่อให้เกิดความหลากหลาย ในเชิงธุรกิจ เพื่อตอบสนองความต้องการและการดําเนินชีวิตของผู้บริโภคทุกช่วงวัย ในทุกช่วงเวลา • นวัตกรรมมีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตและการให้บริการแก่ลูกค้า พนักงาน และผู้บริโภค รวมถึงการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและปลอดภัยต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม
แบ่งปันคุณค่า กระบวนการผลิตเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน รวมถึงส่งเสริม คุณภาพสิ่งแวดล้อมการทํางานของพนักงาน นอกจากนั้นยังเป็น การพัฒนานวัตกรรมเพื่อลดผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมและสังคม ไทยเบฟมีการสร้างวัฒนธรรมทางด้านนวัตกรรมขององค์กรอย่างไร ปัจจัยที่สําคัญในการพัฒนาองค์กรคือ บุคลากร องค์กรจึงได้เปิด โอกาสในพนักงานเสนอความคิดเห็นที่แปลกใหม่และให้ลงมือปฏิบัติ งานจริง พร้อมทั้งสนับสนุนในการเรียนรู้และปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง เสริมสร้างให้กลายเป็นวัฒนธรรมขององค์กร จึงเป็นที่มาของการ เปิดเวที WOW Awards 2018 เพื่อค้นหาสุดยอดผลงานและไอเดีย สร้างสรรค์จากพนักงานในกลุ่มบริษัทไทยเบฟเวอเรจทั่วโลก อันเกิด จากวิถีการทํางานด้วยความรู้ ความชํานาญ และความเชี่ยวชาญ ในกระบวนการภายในและสามารถนําไปประยุกต์ใช้ให้เกิดแนวทาง (ThaiBev Way of Work) หรือนวัตกรรมใหม่ๆ อย่างสร้างสรรค์ และสามารถเป็นแบบอย่างให้เกิดการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน นําไป ต่อยอดให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ธุรกิจ ดร.พิษณุ วิเชียรสรรค์
กรรมการรองกรรมการผู้อํานวยการใหญ่อาวุโส ผู้บริหารสูงสุด กลุ่มเทคโนโลยีและวิศวกรรม
นวัตกรรมมีความสําคัญในการเติบโตของไทยเบฟอย่างไร นวัตกรรมเป็นกุญแจสําคัญของความสําเร็จของธุรกิจในระยะยาว และทําให้เราเป็นผู้นําทางธุรกิจอย่างยั่งยืนได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในยุคที่สถานการณ์ทางธุรกิจมีความผันผวนทั้งจากพฤติกรรม ผูบ ้ ริโภค มีการเปลีย ่ นแปลงอย่างรวดเร็ว และมีการแข่งขันในระดับสูง นวัตกรรมเป็นสิ่งที่สร้างความแตกต่างและเป็นทางเลือกให้กับ ผู้บริโภค ในขณะเดียวกันไทยเบฟได้นํานวัตกรรมมาพัฒนา
นวัตกรรมและความยั่งยืนมีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร นวัตกรรมจะส่งเสริมให้เกิดความยั่งยืน ทั้งด้านทรัพยากรที่มีความ ผันผวนทั้งในแง่ของราคาและปริมาณ รวมถึงทรัพยากรที่มีการ ใช้แล้วหมดไป นวัตกรรมจะทําให้การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ทรัพยากรให้น้อยเพื่อได้ประโยชน์ที่มากขึ้น อาทิ โครงการการลด การใช้ทรัพยากรให้น้อยที่สุดอย่างมีประสิทธิภาพ (Less is More) ที่แสดงให้เห็นว่าการใช้ทรัพยากรเม็ดพลาสติก (PET Resin) โดย ปรับลดนํ้าหนักพลาสติกของขวด 15.5 กรัม เป็น 13.5 กรัม และ ใช้กระบวนการออกแบบนวัตกรรม เพื่อให้ยังคงได้คุณภาพที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังเป็นการสร้างจิตสํานึกของบุคลากรให้มีการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นปัจจัยสําคัญที่ทําให้เกิดความยั่งยืน
43 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภารกิจสําคัญ
ศูนย์กลางทางด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรม
Mechanization
Engineering Excellence
Packaging Business
Engineering Management Center
Technology Development
Turnkey Provider
ไทยเบฟได้จด ั ตัง้ บริษท ั เบฟเทค จํากัด เพือ่ เป็นบริษท ั ทีเ่ ป็นศูนย์กลาง ทางด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรม โดยหนึ่งในเป้าหมายคือการพัฒนา เครื่องจักรหุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติ (Mechanization and Automation) ซึ่งมีการคัดเลือกทีมวิศวกร และนักวิทยาศาสตร์ ที่มีความเชี่ยวชาญจากหน่วยงานต่างๆ เข้าร่วมวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีขั้นสูงในการผลิตอุปกรณ์เครื่องจักรและหุ่นยนต์ เพื่อนํา ระบบ “อัตโนมัติ” และหุ่นยนต์มาใช้ในโรงงานของกลุ่มธุรกิจต่างๆ มากขึ้น โดยมุ่งเน้นการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้กับกลุ่มธุรกิจ เพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพในการผลิต รวมถึงเพิ่มความปลอดภัย
Corporate Quality Management System
ในการทํางานของพนักงาน ลดความเสี่ยงในการขาดแคลนแรงงาน และที่สําคัญคือลดการเกิดของเสียและลดการใช้พลังงาน ที่อาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งปัจจุบันมีการใช้เครื่องจักร ในกระบวนการผลิตหลายอย่าง เช่น แขนหุ่นยนต์จัดเรียงสินค้า บนพาเลต เครือ่ งใส่ไส้กล่องแบบอัตโนมัติ และเครือ่ งคัดแยกขวดเก่า แบบอัตโนมัติ อีกทั้งยังเป็นการสร้างจิตสํานึกของบุคลากร เพื่อให้มก ี ารพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ เป็นปัจจัยสําคัญทีท ่ าํ ให้เกิดการ พัฒนาทางด้านนวัตกรรมอย่างยั่งยืน
44 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ระบบสายพานคัดขวดอัตโนมัติ บริษท ั เบฟเทค จํากัด ได้รว่ มมือกับ บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ รีไซเคิล จํากัด ซึ่งเป็นบริษัทที่ทําหน้าที่ในการดูแล จัดซื้อจัดหาและขนส่ง รวมทัง้ เพิม ่ มูลค่าให้แก่บรรจุภณ ั ฑ์ จัดสร้างระบบสายพานคัดขวด อัตโนมัติที่มีการใช้ระบบเครื่องจักรและหุ่นยนต์ใช้งานแทน การทํางานเดิมโดยแรงงานคน สิ่งที่ได้รับในทันทีคือ • ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงาน ให้ดีขึ้น • ส่งเสริมสมรรถนะการทํางานจากการใช้แรงงานในการควบคุม เครื่องจักร สามารถลดการใช้แรงงานคนได้กว่าร้อยละ 60 • ส่งเสริมด้านคุณภาพของขวดที่ดีขึ้น โดยมีความสามารถใน การตรวจจับสิ่งแปลกปลอมทั้งชิ้นใหญ่และชิ้นเล็กด้วยระบบ Vision Inspector (VI) ซึ่งเป็นการติดตั้งเซนเซอร์ตรวจสอบ สิ่งแปลกปลอมด้วยการถ่ายภาพ และประมวลผลส่งสัญญาณ เพื่อให้เครื่องจักรแยกขวดที่ไม่ได้คุณภาพออกจาก กระบวนการ ซึ่งเป็นการสร้างความเชื่อมั่นทางด้านคุณภาพ ของขวดที่มีการนํามาใช้งานในกระบวนการผลิต
นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาแขนกล ที่สามารถหยิบกล่อง ลงจากพาเลต หยิบขวดออกจากสายพาน นํามาลงลัง เพื่อเตรียมการใช้งานได้ และยังสามารถเรียงลังบนพาเลตได้ ซึ่งโครงการนี้ได้รับรางวัล The Winner และรางวัล Spark Inspirations จากโครงการ WOW Awards 2018 เวทีค้นหาสุดยอดผลงานและไอเดียสร้างสรรค์จากพนักงาน ในกลุ่มบริษัทไทยเบฟเวอเรจ จากผลงานเข้าร่วมประกวด ทั้งสิ้น 84 โครงการ ซึ่งรางวัลดังกล่าว เป็นรางวัลที่แสดงถึง ผลงานที่ทําให้เกิดประสิทธิภาพจากการใช้งาน และสามารถ สร้างทรัพย์สินทางปัญญาให้กับองค์กร พร้อมทั้งเพิ่ม คุณภาพชีวิตในการทํางานให้ดีขึ้น และเป็นการพัฒนาศักยภาพ การทํางานของพนักงานให้มีความเชี่ยวชาญในการใช้ เทคโนโลยีและเครื่องจักรจนสามารถยกระดับจากพนักงาน ที่ใช้แรงงานเป็นพนักงานที่ใช้ทักษะในการทํางานได้
45 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ผลิตภัณฑ์เครือ่ งดืม ่ จากน้าํ นมข้าว “นํ้านมข้าว” ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพที่ผ่านการคัดสรร วัตถุดิบคุณภาพเยี่ยมจากแหล่งกําเนิดที่ดีทั่วประเทศไทย ได้แก่ 1. ข้าวกล้องหอมมะลิ จากแหล่งเพาะปลูกจังหวัดร้อยเอ็ด หนึง่ ใน พืน ้ ทีเ่ ขต “ทุง่ กุลาร้องไห้” ซึง่ เป็นพืน ้ ทีท ่ ไี่ ด้รบ ั การส่งเสริมให้ทาํ การผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออกของกรมส่งเสริม สหกรณ์ โดยผลิตผลข้าวหอมมะลิจากแหล่งเพาะปลูกดังกล่าว จะให้ความหอมมากกว่าข้าวหอมมะลิจากแหล่งอื่นๆ เนื่องจาก มีสภาพภูมิประเทศ สภาพอากาศ และอาหารในดินที่ส่งผล ต่อการหลั่งสารหอม (2AP) 2. ข้าวหอมมะลิตราจันกะผัก เป็นพันธุ์ข้าวหอมมะลิ 105 ผลิตผล จากโครงการศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ จังหวัด สุรินทร์ มูลนิธิชัยพัฒนา ที่มีการควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว และขั้นตอนการผลิตที่ประณีต ตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียมแปลงนา จนถึงการเก็บเกี่ยว โดยการปลูกด้วยวิธีปักดําเท่านั้น และต้อง เก็บเกี่ยวด้วยมือหรือรถเกี่ยวข้าวที่สะอาด เพื่อป้องกันการปน ของข้าวพันธุ์อื่นหรือข้าวเมล็ดแดง นํ้านมข้าวให้พลังงานและโปรตีน ซึ่งนํ้านมข้าวสามารถย่อยและ ดูดซึมได้ง่าย ทั้งยังไม่มีคอเลสเตอรอล เพราะไม่มีส่วนประกอบของ ไขมันสัตว์ แต่มีส่วนประกอบของไขมันพืช ซึ่งเป็นไขมันไม่อิ่มตัวที่ดี ต่อสุขภาพ จึงเหมาะอย่างยิ่งสําหรับผู้ที่ต้องการควบคุมนํ้าหนัก
ทิศทางการดําเนินงาน ผลจากการพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ทําให้ไทยเบฟได้ดําเนินการ จดลิขสิทธิ์ทางปัญญากับกรมทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อให้เกิด ความคิดสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน และสามารถนําความคิดนั้นมาพัฒนา ต่อยอด และนําไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไทยเบฟได้ยื่นจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตรกับกรมทรัพย์สินทางปัญญา จนถึงปัจจุบันมีจํานวน
130
รายการ
ในปี 2561
46 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
GRI 103-1, GRI 103-2, GRI 416-1, GRI 417-1
การส่งเสริมสุขภาพและ ความปลอดภัยของผูบ ้ ริโภค • จัดหาวัตถุดบ ิ ทีป ่ ลอดภัยสําหรับผูบ ้ ริโภค โดยใส่ใจการคัดเลือกวัตถุดบ ิ จากทุกแหล่งให้มม ี าตรฐานตรงตาม ข้อกําหนดของบริษท ั และสามารถตรวจสอบย้อนกลับไปยังผูผ ้ ลิตได้ เพือ่ สร้างความมัน ่ ใจให้แก่ผบ ู้ ริโภค ว่าวัตถุดิบที่ใช้มาจากแหล่งที่ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะตามหลักโภชนาการและมีคุณภาพ ซึ่งสอดคล้องกับ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ • ควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยในกระบวนการผลิต รวมถึงการจัดเก็บ การขนส่งและกระจายสินค้า เพื่อรักษามาตรฐานด้านคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานระดับสากล เช่น ISO 22000, NSF, BRC และ GMP/HACCP • ค้นคว้าและวิจัยอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มสัดส่วนของผลิตภัณฑ์ที่ดีต่อสุขภาพมากขึ้น โดยคํานึงถึงคุณค่า ทางสารอาหารและประโยชน์ทางโภชนาการ ในขณะเดียวกัน ยังคงรักษารสชาติที่ดีสําหรับผู้บริโภค ซึ่งจากผลการวิจัยพบว่าผู้บริโภคจํานวนร้อยละ 80 เห็นว่าผลิตภัณฑ์ชาพร้อมดื่มและนํ้าดื่มดีต่อสุขภาพ และสะอาดปลอดภัย • ไทยเบฟเปิดเผยให้ผบ ู้ ริโภครับทราบถึงข้อมูลทางโภชนาการอย่างครบถ้วน ทัง้ ปริมาณนํา้ ตาล ไขมัน โซเดียม ตามกฎหมายและกฎระเบียบด้านโภชนาการ ผ่านทางฉลากโภชนาการของผลิตภัณฑ์
แบ่งปันคุณค่า ผลิตภัณฑ์ของเราเป็นอาหาร เพราะฉะนั้นเรื่องความปลอดภัยมีความสําคัญ มาก ถ้าเราทําธุรกิจอะไร เราต้องมั่นใจสิ่งที่ตัวเองทําก่อน ถ้าเราจะส่งมอบ สินค้าให้กับลูกค้า เราเองต้องมั่นใจก่อนว่าเรากล้าบริโภค กล้าแนะนําให้เพื่อน ให้ครอบครัว ให้ทุกคนกินได้ นี่ถือเป็นจรรยาบรรณของคนทําอาหารด้วย ไม่ใช่ว่าทําอะไรก็ได้ออกไป สมัยนี้คนซื้อเขาก็ดูแลตัวเองเรื่องโภชนาการ กับความปลอดภัย เราต้องการให้ทุกคนอยู่กันอย่างยั่งยืน
คุณนงนุช บูรณะเศรษฐกุล
ผู้ช่วยกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ กลุ่มธุรกิจอาหาร
วันนี้ความสําเร็จของโออิชิเราได้พัฒนาระบบและการดูแลร้าน ทําให้เราได้รับ การรับรองคุณภาพ GMP HACCP และ ISO ซึ่งบริษัทที่ให้การรับรอง มาตรฐานกับเราคือบริษัท SGS ซึ่งเป็นบริษัทชั้นนําของโลกทางด้านการ ตรวจสอบและการรับรองระบบ เป็นสิ่งที่เราภูมิใจเพราะเราเป็นธุรกิจอาหาร รายเดียวที่ได้รับการรับรองคุณภาพนี้ ไม่ใช่แค่ในประเทศไทย แต่เป็นระดับ เอเชียด้วย และทุกแบรนด์ภายใต้โออิชิรวมถึงทุกสาขาด้วยที่ได้รับการรับรอง เป็นความภูมิใจที่ทําให้เรากล้าบอกกับลูกค้าและพนักงานของเราว่า วันนี้ เราได้ส่งมอบสินค้าทุกอย่างที่มีคุณภาพมากที่สุดให้กับลูกค้าเป็นอย่างดี เรามัน ่ ใจในระบบการตรวจสอบและระบบการทํางาน การเป็นผูน ้ าํ ไม่ใช่เรือ่ งง่าย เราต้องรักษามาตรฐานแบบนี้อย่างต่อเนื่องและมีการควบคุมคุณภาพ ทุกอย่าง โลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เราต้องพัฒนาปรับปรุงระบบ ของเราให้ทันสมัยกับยุคสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลง และสุดท้ายที่สําคัญคือ เราต้องเรียนรูว้ วิ ฒ ั นาการใหม่ๆ ให้เข้ากับพฤติกรรมและไลฟ์สไตล์ของผูบ ้ ริโภค ที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อที่เราจะได้อยู่กับลูกค้าและสังคมได้อย่างยั่งยืน
47 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
แบ่งปันคุณค่า คุณเลสเตอร์ ตัน เต็ก ชวน
ผู้ช่วยกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ กลุ่มธุรกิจเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์
จากการที่ผู้บริโภคเพิ่มจํานวนขึ้นพร้อมกับการเติบโตทางธุรกิจ ของบริษัท เราจึงต้องคํานึงถึงความรับผิดชอบที่มีต่อผู้บริโภค อย่างเต็มที่ เราต้องมั่นใจว่าเราได้มอบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูงสุด และปลอดภัยที่สุดให้กับลูกค้า นอกจากนี้ เราอยากพัฒนาไปอีกระดับหนึ่งคือ เป็นทางเลือกให้กับ ผู้บริโภคที่ใส่ใจในสุขภาพและการออกกําลังกาย ในปัจจุบันลูกค้า มีความต้องการผลิตภัณฑ์ที่มีนํ้าตาลน้อยและมีสารอาหารที่ให้ ประโยชน์มากขึ้น เราตอบโจทย์ความต้องการตลาดด้วยผลิตภัณฑ์ สูตรใหม่ที่มีนํ้าตาลน้อย รวมถึงลดปริมาณนํ้าตาลในผลิตภัณฑ์ ที่มีอยู่เดิม ในระยะยาวเรายังคงมุ่งมั่นทุ่มเทให้กับลูกค้า เราอยากเป็น ส่วนหนึ่งของการดูแลสุขภาพ และอยากเป็นส่วนหนึ่งของการดูแล ด้านโภชนาการของลูกค้าด้วย
ภารกิจสําคัญ
ISO 22000
มาตรฐานด้านความปลอดภัยและคุณภาพของเรา
GMP& HACCP
NSF
• ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มของบริษัททั้งหมด ผ่านการรับรองมาตรฐาน ระบบการจัดการความปลอดภัยอาหาร หรือ ISO 22000 ที่ครอบคลุมการจัดการบริหารความเสี่ยงและมาตรฐาน ด้านความปลอดภัยของอาหาร • ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ทั้งหมดและร้านอาหาร ผ่านการรับรองระบบการจัดการ สุขาภิบาลอาหารและความปลอดภัย อาหารต่อผูบ ้ ริโภค หรือ GMP & HACCP (Good Manufacturing Practice & Hazard Analysis and Critical Control Point) • กระบวนการผลิตนํ้าดื่มช้าง นํ้าแร่ธรรมชาติตราช้าง และ นํ้าดื่มคริสตัล ผ่านการรับรองมาตรฐานนํ้าดื่มจากสมาคม สุขาภิบาลแห่งชาติสหรัฐ (NSF: National Sanitation Foundation) ซึ่งรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์นํ้าดื่มตามมาตรฐาน ขององค์การอาหารและยาสหรัฐ (U.S. FDA: The United States Food and Drug Administration)
FSSC 22000
Food Safety
Gold Quality
• กระบวนการผลิตเครื่องดื่มบรรจุกล่องโออิชิผ่านการรับรอง มาตรฐานความปลอดภัยสําหรับการผลิตอาหาร (Food Safety System Certification 22000: FSSC 22000) • บริษัทเสริมสุขได้รับการรับรอง FSSC 22000 หรือ Food Safety Certificate Version 4.1 ครอบคลุมระบบการจัดการความ ปลอดภัยอาหาร ความรับผิดชอบฝ่ายบริหาร การจัดการทรัพยากร การวางแผนและการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย ตลอดจน การยืนยันความสมบูรณ์ การทวนสอบ และการปรับปรุงระบบ การจัดการอาหารปลอดภัย และข้อกําหนดเพิม ่ เติมทีน ่ อกเหนือจาก ระบบ ISO 22000:2005 Food Safety ได้แก่ การจัดการ ด้านงานบริการ การปกป้องอาหาร (Food Defense) การป้องกัน อาหารปลอม (Food Fraud) และการแสดงฉลากผลิตภัณฑ์ • นํ้าแร่ตราช้างได้รับรางวัล Gold Quality จาก Monde Selection International Quality Institute ซึ่งเป็นรางวัลที่มอบให้แก่ ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพต่อผู้บริโภค
48 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ผลิตภัณฑ์เพือ่ สุขภาพ การลดปริมาณโซเดียมในผลิตภัณฑ์ นอกเหนือจากนํ้าตาลที่เป็นต้นเหตุของโรคอ้วนหรือโรคเบาหวานแล้ว โซเดียมก็เป็นหนึ่งในสาเหตุสําคัญที่ทําให้เกิดโรคไต ซึ่งในขณะนี้ใน ประเทศไทยมีคนจํานวนกว่า 8 ล้านคนที่ป่วยเป็นโรคไตเรื้อรัง ซึ่งนับเป็น อันดับ 3 ของกลุ่มประเทศอาเซียน ในฐานะผู้ประกอบธุรกิจอาหาร ไทยเบฟจึงให้ความสําคัญในการลดปริมาณโซเดียมในผลิตภัณฑ์อาหาร โดยปัจจุบันนี้มีรายการอาหารที่ลดปริมาณโซเดียม หรือไม่มีการเติม โซเดียมลงไปเพิ่มเติมในอาหารภายใต้เครือโออิชิ เช่น หัวปลาแซลมอน ต้มซีอิ๊ว ซุปมิโสะ ฯลฯ ผลิตภัณฑ์ปราศจากไขมันทรานส์ (Trans Fat-Free) ไขมันทรานส์ถอื ว่าเป็นไขมันชนิดทีม ่ อี น ั ตรายต่อสุขภาพ มีสว่ นทําให้ระดับ คอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี (LDL-cholesterol) เพิม ่ ขึน ้ หากมีปริมาณสูง อาจเสี่ยงต่อการเกิดหลอดเลือดตีบตันและโรคหัวใจ ทั้งนี้ ในปี 2561 กระทรวงสาธารณสุขได้มีคําสั่งประกาศเรื่อง กําหนดอาหารที่ห้ามผลิต นําเข้า หรือจําหน่าย โดยกําหนดให้น้ํามันที่ผ่านกระบวนการเติม ไฮโดรเจนบางส่วนและอาหารทีม ่ น ี า้ํ มันทีผ ่ า่ นกระบวนการเติมไฮโดรเจน บางส่วนเป็นส่วนประกอบ โดยผลิตภัณฑ์อาหารและวัตถุดบ ิ ทุกชนิดของ บริษท ั โออิชิ ไม่มสี ว่ นประกอบของนํา้ มันทีผ ่ า่ นการเติมไฮโดรเจนบางส่วน “Partially Hydrogenated Oils” (PHOs) เพื่อให้ได้อาหารที่ปลอดภัย ส่งถึงมือผู้บริโภค โออิชิแซนด์วิชพลัส รสทูน่าเห็ดและควินัว โออิชิได้พัฒนาขนมปัง Multigrain จากธัญพืช 4 ชนิด ได้แก่ ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวไรซ์เบอร์รี และเมล็ดถั่วเหลือง ผสมผสานกับปลาทูน่า ที่ให้ประโยชน์คือ มีโปรตีนไขมันตํ่าและมีโอเมก้า 3 ช่วยบํารุงสมอง พร้อมด้วยส่วนผสมของควินัวที่อุดมไปด้วยไฟเบอร์ วิตามินอี วิตามินบี ธาตุเหล็ก โพแทสเซียม ที่มีคุณค่าทางโภชนาการและให้พลังงานสูง
49 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ทิศทางการดําเนินงาน ในปี 2563
มีเป้าหมายว่าเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพจะมียอดขายเพิ่มขึ้นคิดเป็น ร้อยละ 67 ของเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ทั้งหมด โดยขณะนี้ มียอดขายอยู่ที่ร้อยละ 70
ในปี 2568
มีเป้าหมายว่าผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ร้อยละ 50 ที่ได้รับการรับรองเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ (Healthier Choice) ซึ่งในขณะนี้มีผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพที่ผ่านการรับรองจาก มหาวิทยาลัยมหิดล ทั้งหมด 10 รายการ หรือคิดเป็นร้อยละ 40
เปลี่ยนรูปแบบบรรจุภัณฑ์โดยเพิ่มสัญลักษณ์ QR Code เพื่อแสดงข้อมูลทางด้านโภชนาการต่างๆ ของผลิตภัณฑ์ ได้อย่างละเอียด
สําหรับผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ มีเป้าหมายในการลด ปริมาณนํ้าตาลเพื่อสุขภาพที่ดีของลูกค้า เช่น ลดนํ้าตาล ในผลิตภัณฑ์กว่า 10 รายการ ทั้งในเครื่องดื่มอัดลมเอสเพลย์ และเครื่องดื่มชาเขียวพร้อมดื่มโออิชิ
50 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
GRI 103-1, GRI 103-2
การบริหาร ความสัมพันธ์ลูกค้า • “ลูกค้า” คือบุคคลสําคัญและถือเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักของไทยเบฟ การทํางานร่วมกัน และพัฒนาให้ลก ู ค้ามีโอกาสเติบโตทางธุรกิจและได้รบ ั ผลประโยชน์ในด้านต่างๆ ทําให้ไทยเบฟมีฐานลูกค้าทีม ่ น ั่ คง และมีความสัมพันธ์แบบยั่งยืน เติบโตไปด้วยกัน • การบริหารจัดการความสัมพันธ์ลูกค้า ถือเป็นกุญแจหลักในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า และเพื่อ ตอบสนองความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้า ไทยเบฟจึงกําหนดการวัดผล ติดตาม ประเมินความพึงพอใจ ของลูกค้าด้วยวิธีการที่แตกต่างกัน ตามลักษณะความต้องการ ความคาดหวัง การดําเนินธุรกิจของลูกค้า และช่องทางการจัดจําหน่าย • ไทยเบฟดูแลเอาใส่ใจลูกค้าโดยครอบคลุมด้านต่างๆ ดังนี้ 1. การคัดสรรวัตถุดิบที่มีคุณภาพ 2. การพัฒนาและควบคุมกระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐานสากลและเชื่อถือได้ 3. การวิจัยและสร้างสรรค์ “นวัตกรรม” ใหม่เพื่อนําส่งสิ่งใหม่ให้กับลูกค้า 4. กระบวนการจัดส่งสินค้าที่ลูกค้าติดตามตรวจสอบได้ 5. การพัฒนาศักยภาพของลูกค้าโดยการจัดอบรมต่างๆ และนําเทคโนโลยีสมัยใหม่ มาใช้เพื่อติดต่อสื่อสารกับลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพ
แบ่งปันคุณค่า
คุณอวยชัย ตันทโอภาส กรรมการรองกรรมการผู้อํานวยการใหญ่อาวุโส ผู้บริหารสูงสุดกํากับดูแลปฏิบัติการ ประเทศไทย
ลูกค้าคือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) ที่สําคัญขององค์กร ของเรา และเป็นตัวแปรสําคัญที่จะทําให้เราสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ ของเราได้ ดังนั้นเราจําเป็นต้องช่วยกันพัฒนาศักยภาพลูกค้าให้มี ประสิทธิภาพในการทํางานกับเราได้อย่างกลมกลืน เพื่อช่วยนําพา สินค้าของเราไปสูม ่ อื ผูบ ้ ริโภค ไทยเบฟเองก็จะเจริญเติบโต ถ้าผูบ ้ ริโภค มีความพึงพอใจกับสินค้าของเรา ได้รับสินค้าของเราไปบริโภค และกลับมาซื้อสินค้าของเราใหม่ เรื่องนี้ถือเป็นปัจจัยแห่งความสําเร็จ ทางธุรกิจ โดยสรุปแล้ว ลูกค้ามีความสําคัญ เพราะฉะนั้นการบริหาร ลูกค้า ไม่ใช่การบังคับ ต้องพยายามทําให้ลูกค้าทํางานกับเราได้ อย่างมีความสุข มีความพึงพอใจ มีกําไร และอยู่กับเราตลอดไป
51 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภารกิจสําคัญ
การบริหารช่องทางการจัดจําหน่าย
การบริหารช่องทางการจัดจําหน่ายของไทยเบฟในปัจจุบัน แยกพิจารณาตามกลุ่มดังนี้ 5. ช่องทางการค้าขายให้กับร้านอาหารและสถานบันเทิงที่ต้องมี ใบอนุญาต (On Trade/On Premises) เช่น ผับ บาร์ และร้านอาหาร หรือสวนอาหารต่างๆ กลุ่มผู้บริโภค (Consumer) เป็นกลุ่มที่ไทยเบฟจําหน่ายสินค้า ให้โดยตรง เรามุ่งเน้นให้ผู้บริโภคมีความพึงพอใจกับสินค้าของเรา ได้รับสินค้าของเราไปบริโภคอย่างมีความสุข มีประสบการณ์ที่ดีเยี่ยม และกลับมาซื้อสินค้าหรือบริการของเราใหม่ต่อไป ซึ่งผ่านช่องทาง ดังนี้ 1. ผ่านทางร้านอาหารของไทยเบฟ ภายใต้ตราสินค้าที่หลากหลาย เช่น • OISHI ประกอบด้วยโออิชิ แกรนด์ (OISHI Grand) โออิชิ อีทเทอเรียม (OISHI Eaterium) โออิชิ บุฟเฟต์ (OISHI Japanese Buffet) นิกุยะ (Nikuya) ชาบูชิ (Shabushi) โออิชิ ราเมน (OISHI Ramen) คาคาชิ (Kakashi)* กลุ่มลูกค้า (Customer) เป็นกลุ่มที่จะนําสินค้าของไทยเบฟไปส่งต่อ ถึงผู้บริโภค และสร้างความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ที่ดีของไทยเบฟ ต่อผู้บริโภคอย่างมีความสุขและอยู่กับเราตลอดไป ซึ่งประกอบด้วย 1. ช่องทางการค้าขายแบบดั้งเดิม (Traditional Trade) เป็นการ จําหน่ายผ่านระบบตัวแทนจําหน่ายในแต่ละจังหวัดและอําเภอ 2. ช่องทางการค้าขายสมัยใหม่ (Modern Trade) เป็นการจําหน่าย ผ่านห้างค้าปลีกสมัยใหม่ เช่น แม็คโคร เทสโก้ โลตัส บิ๊กซี เซเว่น อีเลฟเว่น ท็อปส์ ซูเปอร์มาร์เก็ต เดอะมอลล์ และรวมถึงห้างค้าปลีก สมัยใหม่ตามท้องถิน ่ ด้วย เช่น ซีเจ (ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสงคราม และจังหวัดอื่นๆ) ทีเอ็มเค (กาญจนบุรี) หรือ ซุปเปอร์ชีป (ภูเก็ต) 3. ช่องทางการค้าขายด้วยหน่วยรถเงินสดของไทยเบฟ (Cash Van) ไปยังร้านค้าปลีกในแต่ละชุมชน เช่น ร้านโชว์ห่วย ร้านสวัสดิการ ร้านอาหารตามสั่ง ร้านค้าปลีกในสถานที่ราชการหรือโรงพยาบาล 4. ช่องทางการค้าขายให้กับร้านอาหาร โรงแรม และธุรกิจการบริการ ท่องเที่ยวและจัดงานเลี้ยง (HoReCa)
• Food of Asia ประกอบด้วยโซอาเซียน คาเฟ่ แอนด์ เรสเตอรองท์ (So Asean Café & Restaurant) หม่าน ฟู่ หยวน คิทเช่น (Man Fu Yuan Kitchen) บ้านสุริยาศัย (Baan Suriyasai) ฟูด ้ สตรีท (Food Street) ไฮด์แอนด์ซค ี (Hyde & Seek) เอ็มเอ็กซ์ เค้กแอนด์เบเกอรี่ (mx cakes & bakery) คาเฟ่ ชิลลี่ (Cafe Chilli) ชิลลี่ ไทย เรสเตอรองท์ (Chilli Thai Restaurant) อีทพอท เกาเหลาหม้อไฟ (Eat Pot by Café Chilli) พอท มินิสทรี (POT Ministry) เสือใต้ (South Tiger) และ เคเอฟซี (KFC) เฉพาะร้านทีอ่ ยูภ ่ ายใต้การบริหารร้านของ ไทยเบฟ เดอะ คิวเอสอาร์ ออฟ เอเชีย จํากัด (QSA)** 2. ผ่านช่องทางออนไลน์และเว็บไซต์ (https://oishidelivery.com/th) ด้วยมือถือหรือคอมพิวเตอร์ หรือวิธก ี ารโทร. สัง่ (OISHI Delivery 1773) ซึ่งเป็นช่องทางที่ตรงกับไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ และ คนทีอ่ าศัยในเมือง โดยมุง่ เน้นทีก ่ ารสร้างประสบการณ์ความพึงพอใจ ในการบริการอย่างดีที่สุด * ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.oishifood.com/ restaurant.php ** ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.foa.co.th/brand.php
52 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
กําหนดการวัดผล ติดตาม ประเมินความพึงพอใจของลูกค้า จากการทีไ่ ทยเบฟมีชอ่ งทางการจัดจําหน่ายทีห ่ ลากหลาย เน้นการเข้าถึงลูกค้าและการบริการทีค ่ รอบคลุม และเพื่อให้การบริหารลูกค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ไทยเบฟจึงมีการกําหนดการวัดผล/ ติดตาม/ประเมินความพึงพอใจของลูกค้าและผู้บริโภค ด้วยวิธีการที่แตกต่างกันตามลักษณะ ความต้องการ ความคาดหวัง การดําเนินธุรกิจของลูกค้าและผู้บริโภคในแต่ละช่องทางการจัดจําหน่าย ที่ต่างกัน ดังนี้
• ช่องทางการค้าขายแบบดั้งเดิม (Traditional Trade) ซึ่งเป็นตัวแทนในแต่ละจังหวัดและมีการ สั่งซื้อสินค้าครั้งละเป็นจํานวนมาก ย่อมคาดหวังที่จะได้สินค้าครบถ้วนตามจํานวนที่สั่ง สินค้า มีความสดใหม่และสภาพบรรจุภัณฑ์ที่สมบูรณ์ตามที่สั่งซื้อ กระบวนการวัดผลและประเมินความ พึงพอใจของลูกค้าจึงมุ่งเน้นในเรื่องความพร้อม ความสมบูรณ์และครบถ้วนของสินค้าที่จัดส่ง และรวมถึงการให้บริการของพนักงานขนส่งที่อ่อนน้อมเมื่อไปถึงลูกค้าด้วยเช่นกัน • ช่องทางการค้าขายให้กับร้านอาหาร โรงแรม ธุรกิจการบริการท่องเที่ยวและจัดงานเลี้ยง (HoReCa) มีความคาดหวัง คือ ทักษะความรู้ การให้คําแนะนํา ซึ่งรวมถึงการให้ความรู้ ในโครงการการให้บริการแบบมีความรับผิดชอบ (Serve Responsibly) และการให้บริการของ พนักงานขาย ในเรื่องการให้ข้อมูลสินค้าที่จําหน่ายในร้านอาหารหรือโรงแรมของลูกค้า รวมถึง การดูแลและจัดหาสื่อส่งเสริมการขายเพื่อใช้ ณ จุดขาย โดยทีม HoReCa Management จะทําการสํารวจความพึงพอใจของลูกค้าโดยจัดส่งแบบสอบถามผ่าน QR Code และส่งข้อมูล ทางออนไลน์ เพื่อความโปร่งใสและให้ลูกค้ามีอิสระในการประเมินและแจ้งผลกลับมายังไทยเบฟ • กลุม ่ ลูกค้าทีเ่ ป็นผูบ ้ ริโภค (Consumer) มีการติดตาม/วัดผลความพึงพอใจแยกตามความสะดวก และรวดเร็ว และประสบการณ์ของผู้บริโภคผ่านกิจกรรมต่างๆ ตามช่องทางการจัดจําหน่าย ที่แตกต่างกัน เช่น เมื่อลูกค้ามาใช้บริการที่ร้านอาหารในเครือของไทยเบฟ จะมีการสํารวจ ความพึงพอใจในการใช้บริการทันที โดยให้ลก ู ค้าประเมินความพึงพอใจผ่าน QR Code ท้ายใบเสร็จ รับเงิน จากนั้นจะมีการติดตามและแจ้งผลไปยังลูกค้า (กรณีลูกค้าต้องการข้อมูลเพิ่มเติม) ส่วนกรณีการโทร. สั่งจาก OISHI Delivery 1773 ลูกค้าสามารถโทร. เพื่อร้องเรียนและติชม ผ่านทางเบอร์โทรศัพท์ดังกล่าวได้เช่นกัน
การต่อยอดและเสริมสร้างศักยภาพทางธุรกิจให้กับลูกค้า ไทยเบฟเล็งเห็นความสําคัญของการเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันให้กับลูกค้า เพื่อให้ลูกค้า สามารถดําเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีทักษะและความรู้ที่เพิ่มพูนมากขึ้น จึงได้มีการ จัดอบรมให้ความรู้ โดยอาศัยการแบ่งปันประสบการณ์ของผู้บริหารไทยเบฟ และเชิญผู้เชี่ยวชาญ จากภายนอกมาร่วมโครงการการอบรมต่างๆ เพื่อสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาศักยภาพให้กับ ลูกค้า ตลอดจนองค์ความรู้ใหม่ๆ ดังตัวอย่างของโครงการต่อไปนี้
53 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
โครงการพัฒนาทายาทตัวแทนจําหน่าย (Agent Next Gen) เป็นโครงการพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพการทํางานของลูกค้า และทายาทของลูกค้าจากช่องทางตัวแทนจําหน่าย ซึ่งจัดมาอย่าง ต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 3 ปี เพื่อให้ความรู้ในด้านต่างๆ ดังนี้ • การจัดสายรถเร่เงินสด (เป็นหน่วยขายของลูกค้าที่มีการแบ่งรถขาย แต่ละคันเป็นแต่ละสายส่งสินค้าในพื้นที่ลูกค้ารับผิดชอบ) โดยให้ แต่ละสายไม่ให้ทับซ้อนและเข้าถึงร้านค้าในพื้นที่ให้ครอบคลุมให้มาก ที่สุด ซึ่งจะทําให้การกระจายสินค้าไปยังร้านค้าในพื้นที่ได้อย่างทั่วถึง และส่งมอบสินค้าได้ถึงมือผู้บริโภค • การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทีมขายของลูกค้า โดยจัดให้การ อบรมทั้งทักษะการขาย (การวางแผนและเตรียมการขายก่อนการ ออกขาย การตรวจและเตรียมปัจจัยกระตุ้นการขายต่างๆ ให้พร้อม ก่อนออกขาย การกําหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายการขายใน วันนั้นๆ การเจรจานําเสนอการขายและปิดการขายกับเจ้าของร้านค้า การจัดเรียงสินค้าหลังจัดส่งพร้อมกับติดสื่อการขาย การสรุป ยอดขายพร้อมทบทวนผลการขายในวันนั้นๆ) ทําให้มีการพัฒนา การทํางานของพนักงานขายของลูกค้าให้มีความเป็นมืออาชีพ ด้านการขายมากขึ้น และเข้าใจบทบาทการทํางานขาย และสามารถ ติดตามวัดผลได้ • การกําหนดเป้าหมายการขายของแต่ละสาย โดยการประชุมร่วมกัน ของทีมขายของลูกค้าก่อนออกขายจริงในแต่ละวัน ซึ่งจะทําให้ พนักงานขายของลูกค้ารับทราบถึงความสําคัญและเป้าหมายในการ สร้างรายได้ของพนักงานขายในแต่ละสายส่ง รวมถึงกําหนด กระบวนการทํางานในแต่ละวัน การเตรียมการและแผนปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายดังกล่าวได้ รวมถึงแนวทางในการแก้ไข ปัญหาเพื่อสนับสนุนการขายให้มีประสิทธิภาพอย่างดีที่สุด
• การอบรมในพื้นที่การขายจริง โดยพนักงานไทยเบฟจะให้คําแนะนํา ในพื้นที่ขายจริง โดยออกขายพร้อมกับทีมพนักงานขายของลูกค้า ในแต่ละสายส่ง (On the Job Training) ทําให้เกิดการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์และเป็นการปรับพฤติกรรมการทํางานให้สอดคล้อง กับลักษณะพื้นที่การขายจริง และกําหนดเป็นแบบแผนในการทํางาน มาตรฐานต่อไป และสามารถถ่ายทอดแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้กับ ทีมงานขายสายส่งอื่นๆ ได้
• การสรุปผลยอดขายในแต่ละสายส่งในแต่ละวัน เพื่อเรียนรู้/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับสิ่งที่พบเห็นทั้งที่เป็นประโยชน์ และสิ่งที่ จะต้องปรับปรุง/แก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน ้ ทัง้ ในสมุดรายบุคคลและตาราง ผลงานภาพรวม (Dashboard) ของลูกค้า ทําให้รับรู้ว่า จะต้องปรับ แผนงานขายให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในแต่ละช่วงระยะเวลาที่เหลือ ของเดือน เพื่อให้สามารถเร่งผลักดันยอดขายประจําเดือนให้บรรลุ ตามเป้าหมาย นอกจากนี้ยังมีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้กับทีมพนักงานขายของ ลูกค้าในพื้นที่ขายจริง เช่น โครงการนําร่องที่สวรรคโลก จ.สุโขทัย ที่มี การตกลงกับลูกค้าที่จะพัฒนา/เพิ่มยอดขายให้กับหน่วยรถเงินสด ของลูกค้า โดยตัง้ เป้าหมายขัน ้ ต้นไว้ตอ่ คันจะต้องเพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 40 จาก ยอดขายในปัจจุบัน ซึ่งผลการอบรมและติดตามผลในพื้นที่จริง พบว่า ยอดขายของลูกค้าเพิม ่ ขึน ้ เฉลีย ่ ต่อสายมากขึน ้ ถึงร้อยละ 56 (เมือ่ เทียบกับ เป้าหมายเดิมทีต ่ งั้ ไว้รอ้ ยละ 40) ส่งผลให้ลก ู ค้า (ตัวแทนจําหน่าย) มีความ พึงพอใจในประโยชน์ของโครงการและมั่นใจในการทําธุรกิจร่วมกับ ไทยเบฟต่อไปอย่างมั่นคงและยั่งยืน
54 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
แบ่งปันคุณค่า ตั้งแต่ที่ผมได้เข้าร่วมโครงการ Next Gen ผมได้เรียนรู้และเปิด มุมมองธุรกิจใหม่ๆ เกีย ่ วกับเทคนิคและแนวทางการบริหารงานในด้าน ต่างๆ เป็นต้นว่า การพัฒนารถเร่ การสํารวจตลาด การบริหารความ สัมพันธ์กับร้านค้า ซับเอเยนต์และร้านค้าปลีก การบริหารคลังสินค้า หรือการวางแผนงานในแต่ละเดือน ซึ่งทั้งหมดนี้ถูกนํามาปรับใช้กับ หจก.อภิชาตินํ้าทิพย์ ทําให้เราสามารถบริหารจัดการพื้นที่การขายได้ ดีขึ้น ไม่ใช่แค่เพียงซื้อของ-ขายของเท่านั้น แต่ควรออกไปเจอร้านค้า และสร้างความสัมพันธ์กับร้านค้าซับเอเยนต์และร้านค้าปลีกด้วย เพื่อศึกษาสภาพตลาดและความต้องการของผูบ ้ ริโภค จะมารอแต่ ออเดอร์ร้านค้าอย่างเดียวไม่ได้ เราต้องไปสร้างออเดอร์ให้เกิดขึ้น เพื่อเพิ่มยอดขาย เราถึงจะแข่งขันในตลาดค้าปลีกในปัจจุบันได้
คุณชํานาญวิทย์ อภิชาตตรากูล ทายาทตัวแทนจําหน่าย (Agent) หจก.อภิชาติน้ําทิพย์ จังหวัดสุโขทัย
ความรู้สึกและสิ่งที่ได้รับหลังจากตัวแทนจัดจําหน่ายหรือเอเยนต์ เข้าร่วมโครงการ Next Gen และโครงการพัฒนารถเร่สวรรคโลก ผมรู้สึกประทับใจกับการให้ความช่วยเหลือเพื่อพัฒนาเอเยนต์ของ ไทยเบฟเป็นอย่างมาก การดูแลของทีมงานถือว่าดีที่สุด ดีกว่าบริษัท อื่นๆ ที่ร่วมทํางานกันมา เริ่มตั้งแต่ระดับหัวหน้าหน่วยและผู้ช่วย ผู้จัดการศูนย์ ที่มีแผนงานเข้ามาดูแลเอเยนต์และร้านค้าซับเอเยนต์ เป็นประจําทุกอาทิตย์เพื่อเยี่ยมร้านค้า ตลอดจนกระตุ้นให้ซับเอเยนต์ ซื้อสินค้าให้ถึงเป้าหมาย หรือในระดับผู้จัดการศูนย์และภาคการขาย ที่เข้าร่วมประชุมในทุกๆ เดือน เพื่อรับฟังปัญหาและร่วมวางแผน พัฒนาพื้นที่การขายของเอเยนต์ในแต่ละจังหวัดเป็นประจํา
โครงการจัดอบรมให้กบ ั ผูป ้ ระกอบการ ร้านอาหารและโรงแรม โดยทีมโฮเรก้า แมนเนจเม้นท์ บริษัท โฮเรก้า แมนเนจเม้นท์ จํากัด (Horeca Management Co.,Ltd.) บริษัทในเครือกลุ่มไทยเบฟ ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อดูแล และบริหารช่องทางการจําหน่ายลูกค้าร้านอาหาร โรงแรม และธุรกิจ การบริการและท่องเที่ยว (Hotel, Restaurant and Catering) ซึง่ ตลอด 3 ปีทผ ี่ า่ นมา ทางโฮเรก้า แมนเนจเม้นท์ ได้ดาํ เนินงานด้าน การขาย โดยยึดหลักการบริการอย่างมืออาชีพและมีความรับผิดชอบ ต่อสังคม ทั้งในด้านการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ และการให้ บริการหลังการขายที่ให้ความเชื่อมั่นให้กับลูกค้า โดยผ่านกิจกรรม ที่หลากหลาย เช่น การเดินสายทั่วประเทศอบรมให้ความรู้เรื่อง ผลิตภัณฑ์ การเก็บรักษาดูแลผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพดี (Perfect Serve) การเยี่ยมชมโรงงานเบียร์และสุราแม่โขง (บริษัท คอสมอส บริวเวอรี่ (ประเทศไทย) จํากัด และบริษท ั สุราบางยีข่ น ั จํากัด ตามลําดับ) และการอบรมเชิงปฏิบัติการ Serve Responsibly หรือ การให้บริการอย่างรับผิดชอบต่อสังคมตามหลักมาตรฐานสากล
ส่วนโครงการพัฒนารถเร่สววรคโลก ต้องขอขอบคุณทีมพัฒนา ธุรกิจ-ช่องทางการขาย และทีมงานอื่นๆ ในโครงการนี้ที่ให้โอกาส ซึ่งโครงการได้นําผู้ฝึกสอนมาอบรมและพัฒนาพนักงานขายทุกคน อย่างใกล้ชิด ทําให้รถเร่ของที่ร้านมีความรู้ในผลิตภัณฑ์ของไทยเบฟ ต่างๆ มากขึ้นและปรับปรุงการทํางานให้เป็นมืออาชีพมากขึ้น เช่น เรามีการประชุมช่วงเช้า ประจําวัน มีการลงข้อมูลขาย มีการแข่งขัน ระหว่างพนักงานขายด้วยกันเอง มีการลงพื้นที่และสอนพนักงานขาย ให้มีทักษะการขายมากขึ้น ตลอดจนวางแผนงานและประชุมพนักงาน ขายประจําเดือน เพือ่ วางเป้าหมายการขายและรับทราบปัญหาในพืน ้ ที่ เพื่อหาทางแก้ไขปัญหาต่อไป การอบรมโครงการ Next Gen และพัฒนารถเร่โครงการสวรรคโลก ช่วยสร้างยอดขายและเพิ่มผลกําไรให้ทางร้านได้มากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบยอดขายจากเดือนมกราคมถึงเมษายน 2561 จะพบว่าในเดือนเมษายนมียอดขายเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 90 เมื่อเทียบกับก่อนเริ่มโครงการ โดยเฉพาะเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดสูงถึงร้อยละ 319 เมื่อเทียบกับปีก่อน
55 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
การเชิญคูค ่ า้ เข้าเยีย ่ มชมโรงงาน เพือ่ ให้ความรูด ้ า้ นผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพของผลิตภัณฑ์และการบริโภค เครื่องดื่มอย่างดีที่สุด ไทยเบฟได้เชิญลูกค้าเข้าเยี่ยมชมโรงงานเบียร์ ที่ อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา (บริษัท คอสมอส บริวเวอรี่ (ประเทศไทย) จํากัด) และโรงงานสุราแม่โขง (บริษท ั สุราบางยีข่ น ั จํากัด) เพื่อให้ลูกค้าได้เห็นกระบวนการผลิตที่สะอาด ปลอดภัย ทันสมัยและ ได้มาตรฐานระดับสากล อีกทั้งให้ความรู้เพิ่มเติมในการเก็บรักษาและ การเสิร์ฟเครื่องดื่มอย่างถูกวิธี เช่น การเก็บรักษาถังเบียร์สด อายุตอ้ งไม่เกิน 3 เดือน หลักการ FEFO (First Expired, First Out) คือการนําสินค้าออกมาจําหน่ายก่อนสินค้าหมดอายุ การเสิร์ฟเบียร์ ควรอยูท ่ ี่ 4–8 องศา เพือ่ จะได้สม ั ผัสรสชาติทด ี่ ท ี สี่ ด ุ (Perfect Serve) การรินเบียร์ควรเอียง 45 องศา เพื่อให้เกิดฟองเบียร์ที่พอดีชวนดื่ม
แบ่งปันคุณค่า คุณจุลพัฒน์ เจริญเลิศ Principal Bartender #FindThePhotoBooth
ความรู้สึกที่ได้รับจากการมาเยี่ยมชมก็เป็นความรู้สึกที่ดีนะครับ เพราะผมทํางานในด้านเครื่องดื่ม แล้วก็เป็นครั้งแรกในชีวิตทีไ่ ด้เห็น โรงกลัน ่ แบบจริงๆ เห็นวิธก ี ารทํางานว่าเป็นอย่างไรบ้าง จากทีป ่ กติ เราได้เรียนรู้แค่จากทางทฤษฎีหรือเห็นแค่ในภาพ วันนี้เรามาเห็นโรงกลั่นที่เป็นของจริง แล้วก็ถึงคิววิทยากรที่ให้ความรู้ ในเรื่องของการกลั่นเหล้ากับเรา และให้ความรู้ต่างๆ ในเรื่องของ ผลิตภัณฑ์ของแม่โขงและไทยเบฟนะครับ อันนี้เป็นเรื่องที่ประทับใจ ที่สุดครับ ได้ความรู้จากการกลั่นเหล้า ที่ชอบมากที่สุดก็ใน Gallery มีการจําลองรูปแบบโรงกลั่นซึ่งทําออกมาได้สวยงาม แล้วเข้าใจถึง ประวัติความเป็นมาในเรื่องราวของแม่โขงซึ่งมีประวัติยาวนาน อยู่คู่คนไทยมานาน
คุณนิติศักดิ์ ลาภหิรัญ Floor manager #FindTheLockerRoom
การมาครั้งนี้ก็ได้ประสบการณ์ครับ ก็ได้เรียนรู้อะไรไหม่ๆ เกี่ยวกับสุราไทย ชอบที่สุดคือการที่ได้ไปในโรงกลั่นครับผม ได้ไปเห็นของจริง คือจริงๆ แล้ว เราอ่านหนังสือมาเยอะ เราอ่านหนังสือเกี่ยวกับพวกการผลิต เหล้า แต่ว่าวันนี้ได้เห็นของจริง ได้เห็นวิธีการทําจริงๆ ครับ
56 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
การให้บริการอย่างมีความรับผิดชอบ หรือ Serve responsibly ไทยเบฟเห็นถึงความสําคัญของการให้บริการเครือ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์ อย่างมีความรับผิดชอบ และมีความประสงค์ที่จะผลักดันให้ พนักงานบริการและตัวแทนคู่ค้าของเราให้บริการเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์อย่างมีจิตสํานึกต่อผู้บริโภค และไม่บริการเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ให้กับคนที่ดื่มจนมีสภาพร่างกายที่ไม่พร้อมดื่มได้อีก เพื่อลดปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในสังคม ไทยเบฟจึงจัดอบรม เชิงปฏิบต ั ก ิ ารเพือ่ ให้ความรูด ้ า้ นกฎหมายและข้อมูลทางการแพทย์ โดยเชิญผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ เช่น แพทย์ ตํารวจ และ นักกฎหมาย มาให้ความรูเ้ กีย ่ วกับปัจจัยทีม ่ ผ ี ลต่อร่างกายจากการ ดื่มแอลกอฮอล์ รวมถึงแนวทางการปฏิบัติเพื่อให้บริการอย่าง มีความรับผิดชอบ โดยหลังจากจบหลักสูตร ทางไทยเบฟจะมอบ ประกาศนียบัตรเพื่อรับรองว่าพนักงานได้ผ่านการอบรมการ ให้บริการเครือ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์อย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งที่ผ่านมา ไทยเบฟได้จัดอบรมมาแล้ว 5 ครั้ง โดยเชิญลูกค้า โรงแรมและร้านค้าพรีเมียมจากกรุงเทพฯ 3 ครั้ง ชะอํา 1 ครั้ง และพัทยา 1 ครั้ง ซึ่งมีจํานวนผู้เข้าร่วมอบรมมากกว่า 300 คน จากการศึกษาข้อมูลของทีมงานพบว่า พนักงานผู้ให้บริการ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 1 คน จะให้บริการลูกค้าเฉลี่ย 20 คน ต่อวัน หรือประมาณ 500 คน ต่อเดือน และ 6,000 คน ต่อปี (คิดจากจํานวนวันทํางาน 25 วัน/เดือน) ดังนัน ้ หากมีพนักงาน ได้เข้ารับการอบรมนี้จํานวน 200 คนต่อปี ไทยเบฟคาดว่า พนักงานเหล่านี้จะสามารถมีส่วนในการเตือนผู้บริโภคที่บริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้ถึง 1,200,000 คน ต่อปี
โครงการนีส้ อดคล้องกับการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของสหประชาชาติ (UN SDGs) ข้อ 3 ประเด็นการดื่มแอลกอฮอล์ในระดับอันตราย นิยามตามบริบทของประเทศ หลังจากเริ่มโครงการนี้พบว่า พนักงานที่ได้ผ่านการอบรมนี้ สามารถนําความรู้ที่ได้รับไปใช้ ในการปฏิบัติงาน คือหยุดเสิร์ฟให้กับลูกค้าที่เริ่มมีอาการ สภาพร่างกายที่ไม่ควรจะดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์เพิ่มเติมอีก (ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม ปริมาณการเสิร์ฟลดลงไป ร้อยละ 33) เป้าหมายในอนาคต • ขยายผลไปยังโรงแรมและร้านอาหารพรีเมียมในพืน ้ ทีต ่ า่ งๆ ทัว่ ประเทศ โดยเน้นหัวเมืองใหญ่ในแต่ละภูมิภาค เช่น เชียงใหม่ เชียงราย นครราชสีมา ภูเก็ต ฯลฯ • มีแผนที่จะขยายผลในการจัดกิจกรรมเพิ่มเติม โดยจะจัด กิจกรรมการประกวดคลิปวิดีโอหัวข้อ Serve responsibly ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการนี้ สําหรับนํามาใช้ในการอบรม ทั้งนี้ เพื่อขยายฐานการรับรู้ให้กับผู้คนในสังคมมากยิ่งขึ้น และร่วมปลูกจิตสํานึกเพื่อช่วยกันสร้างสรรค์ให้เป็นสังคม ที่ปลอดภัยและน่าอยู่มากขึ้น
57 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
คุณบวร พงศ์สุภาพ Captain โรงแรม Anantara Sathorn Bangkok
หลังจากที่ได้เข้ารับการอบรม ทําให้เราต้องตระหนักถึงเรื่องความ ปลอดภัยและสุขภาพของลูกค้ามากยิ่งขึ้น จากเดิมที่เคยคิดว่า แค่บริการให้ลูกค้าพึงพอใจและมีความสุขก็เพียงพอแล้ว ต้องขอขอบคุณทางไทยเบฟมากๆ ที่มาให้ความรู้ในครั้งนี้
คุณยงยุทธ อุดมพัฒน์
Wine Guru โรงแรม Anantara Riverside Bangkok Resort
การอบรมนี้ทําให้ได้รับทั้งความรู้และความสนุกจากการทํากิจกรรม Workshop และทําให้เข้าใจว่าทําไมต้องให้บริการอย่างมีความ รับผิดชอบ ซึ่งจะนําความรู้ทั้งหมดไปบอกต่อเพื่อนร่วมงาน ให้รับทราบและช่วยกันปฏิบัติ
คุณประภัสสร บุญทองช่วย
Supervisor โรงแรม Laksasubha Hua Hin
ขอขอบคุณทางไทยเบฟที่เปิดโอกาสให้ได้เข้าร่วมโครงการดีๆ ทําให้ตระหนักถึงเรื่องการให้บริการอย่างมีความรับผิดชอบมากขึ้น ซึ่งไทยเบฟไม่ได้มุ่งเน้นแต่เรื่องการผลิตและการจําหน่ายเท่านั้น แต่ไทยเบฟยังสร้างสิง่ ดีๆ ให้กบ ั สังคม สังคมไทยจะได้นา่ อยูม ่ ากขึน ้ ค่ะ
ทิศทางการดําเนินงาน ถึงแม้จะมีการวัดผลและประเมินความพึงพอใจของลูกค้าในแต่ละ ช่องทางการจัดจําหน่าย แต่ไทยเบฟก็ไม่เคยหยุดนิง่ ยังคงพัฒนาและ นําเทคโนโลยีสมัยใหม่เพือ่ สร้างความพึงพอใจให้กบ ั ลูกค้าหรือผูบ ้ ริโภค สินค้าของไทยเบฟ ทําให้ลูกค้าสามารถติดต่อสื่อสารกับไทยเบฟได้ ง่ายและสะดวกขึ้น เช่น ลูกค้าที่ใช้บริการร้านอาหารในเครือไทยเบฟ
สามารถแสดงความคิดเห็นหรือร้องเรียน (ถ้ามี) ผ่าน QR Code หรือลูกค้าที่ใช้บริการร้านอาหารในเครือโออิชิกรุ๊ปสามารถใช้ Mobile Application ชื่อ OISHI Pointo เปลี่ยนการใช้จ่ายมาเป็นคะแนน สะสม เพื่อใช้คะแนนสะสมแทนเงินสดในการใช้บริการโดยไม่ต้องพก บัตรสมาชิก
58 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
GRI 204-1, GRI 308-1, GRI 414-1
การจัดหาอย่างยั่งยืน • การจัดหาเป็นกระบวนการคัดสรรและจัดหาวัตถุดิบ ที่มีคุณภาพสําหรับการผลิต ไทยเบฟจึงได้กําหนด แนวทางปฏิบัติสําหรับคู่ค้า เพื่อใช้เป็นมาตรฐาน ในการดําเนินงานของคูค ่ า้ และช่วยลดผลกระทบทีอ่ าจ เกิดขึ้นต่อภาคการผลิต สิง่ แวดล้อม สังคม และธุรกิจ พร้อมทัง้ กําหนดมาตรการระงับการซือ้ ขายสําหรับคูค ่ า้ ทีล่ ะเมิดข้อกําหนดในแนวทางปฏิบัติสําหรับคู่ค้า หรือ คู่ค้าที่ไม่ดําเนินการแก้ไขตามข้อร้องเรียน • กําหนดมาตรฐานการคัดกรองคู่ค้าและตรวจสอบ คุณภาพอย่างเข้มงวด โดยให้ความสําคัญกับ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อให้มั่นใจว่า ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพผ่านกระบวนการจัดหาที่มี มาตรฐานและแสดงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคม
• ให้การสนับสนุนคู่ค้าในประเทศ โดยมีจุดประสงค์หลัก คือ ส่งเสริมเศรษฐกิจในประเทศ พัฒนาศักยภาพคูค ่ า้ ภายในประเทศให้ทัดเทียมกับนานาชาติ และกระจาย รายได้สู่ชุมชนให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ • บริหารจัดการความเสีย ่ งโดยประเมินความสําคัญของ กลุ่มสินค้าตามมูลค่าการจัดหาและระดับความเสี่ยง ในการจัดหา เพื่อจัดลําดับความสําคัญและแนวทาง บรรเทาความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
59 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภารกิจสําคัญ
การจัดหาแบบรวมศูนย์ (Centralized Procurement)
ไทยเบฟใช้รูปแบบการจัดหาแบบรวมศูนย์ (Centralized Procurement) โดยกําหนดนโยบายและควบคุมการบริหารการจัดหาจากหน่วยงาน จัดซื้อกลาง เพื่อเพิ่มอํานาจในการเจรจาต่อรอง เสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันด้านต้นทุน และที่สําคัญคือควบคุมคุณภาพและความโปร่งใส ในการจัดหา โดยจําแนกคู่ค้าตามประเภทสินค้าที่จําหน่ายเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มวัสดุหลัก คือ กลุ่มสินค้าที่เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ หรือนํามาใช้ในกระบวนการผลิตโดยตรง มีกลุม ่ สินค้าไม่หลากหลาย แต่มูลค่าจัดหาสูง จําแนกเป็นบรรจุภัณฑ์ สินค้าโภคภัณฑ์ และ สารเคมี
2. กลุ่มวัสดุรอง คือ กลุ่มสินค้าอื่นๆ ที่ไม่อยู่ในกลุ่มวัสดุหลัก ซึ่งช่วย สนับสนุนการดําเนินธุรกิจของบริษัทให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดชะงัก มีมูลค่าจัดหาไม่สูง แต่มีกลุ่มสินค้าที่หลากหลาย ได้แก่ เครื่องจักร อะไหล่ วัสดุสิ้นเปลือง
>2,500
>40,000
ล้านบาท
มูลค่าการจัดหาปี 2561
จำนวนคู่ค้า
อัตราส่วนมูลค่าการจัดหาในปี 2561 อัตราส่วนการจัดหาสินค้าวัสดุหลัก บรรจุภัณฑ์
59%
อัตราส่วนการจัดหาสินค้าวัสดุรอง
66%
งาน รับเหมาก่อสร้าง เครื่องจักร และอะไหล่ อุปกรณ์ ขนถ่ายวัสดุ สินค้า ส่งเสริมการขาย งานบริการ % และอุปกรณ์ IT วัสดุรอง วัสดุ สิ้นเปลือง
วัสดุหลัก
สินค้า โภคภัณฑ์
36%
5%
34
สารเคมี
100
98%
98%
97%
91%
92%
87%
2557
2558
2559
97%
96%
97%
91%
2560
2561
27% 26% 21% 15% 6% 5%
จำนวนคู่ค้าในประเทศ มูลค่าการซื้อในประเทศ
96% จำนวนคู่ค้า ในประเทศ
0
หมายเหตุ 1. คู่ค้าในประเทศ หมายถึง คู่ค้าที่มีการดําเนินธุรกิจในประเทศที่กลุ่มไทยเบฟมีฐานการผลิตอยู่ และเป็นคู่ค้าที่ติดต่อโดยตรงกับกลุ่มไทยเบฟเท่านั้น 2. ข้อมูลในปี 2557 ครอบคลุมการจัดซื้อสินค้าและบริการของไทยเบฟสําหรับกลุ่มธุรกิจสุราและเบียร์ในประเทศไทยเท่านั้น 3. ข้อมูลในปี 2558 เป็นต้นไป ครอบคลุมการจัดซื้อสินค้าและบริการของไทยเบฟสําหรับกลุ่มธุรกิจสุรา เบียร์ และเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ในประเทศไทยเท่านั้น 4. ข้อมูลในปี 2559 ครอบคลุมระยะเวลาตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนกันยายน 2559 เนื่องจากกลุ่มไทยเบฟมีการปรับเปลี่ยนนโยบายปีงบประมาณใหม่ 5. ข้อมูลในปี 2560 ครอบคลุมระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึงเดือนกันยายน 2560
60 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
นโยบายการจัดหาอย่างยัง่ ยืน ไทยเบฟได้ประกาศบังคับใช้แนวทางปฏิบัติสําหรับคู่ค้า (Supplier Code of Practice) เพื่อกําหนดมาตรฐานในการดําเนินธุรกิจ ของคูค ่ า้ ในมิตอิ น ื่ ๆ นอกเหนือจากด้านพาณิชย์ ได้แก่ ด้านสิง่ แวดล้อม สังคม และหลักธรรมาภิบาล รวมถึงส่งเสริมให้คค ู่ า้ นําหลักปฏิบต ั ิ ดังกล่าวไปปรับใช้ในการดําเนินธุรกิจของตนและสือ่ สารไปยังคูค ่ า้ ของคูค ่ า้ เองเช่นกัน พร้อมตัง้ เป้าหมายให้คค ู่ า้ ทุกรายทีม ่ ก ี ารดําเนินธุรกิจ กับบริษท ั ยอมรับและปฏิบต ั ต ิ ามแนวทางดังกล่าวทุกรายภายในปี 2563 เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ของการเผยแพร่นโยบายการจัดหาอย่างยัง่ ยืน ไปสู่วงกว้างและสร้างห่วงโซ่อุปทานที่ยั่งยืนให้เกิดขึ้นในประเทศ อันสอดคล้องกับเป้าหมายเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การ สหประชาชาติ (UN SDGs) ข้อ 12 ในประเด็นด้านการส่งเสริมแนวปฏิบัติด้านการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐที่ยั่งยืน ผ่านการกําหนด นโยบายการจัดหาอย่างยั่งยืนขององค์กรให้สอดคล้องกับนโยบายของประเทศ
จริยธรรมทางธุรกิจ
สิทธิมนุษยชน
การบริหารจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อม
อาชีวอนามัย และความปลอดภัย
การบังคับใช้นโยบาย ไทยเบฟกําหนดความรับผิดชอบในการบังคับใช้นโยบายดังกล่าวตั้งแต่ระดับ ผูบ ้ ริหารระดับสูงสุดขององค์กรไปจนถึงระดับปฏิบต ั ก ิ าร และสือ่ สารให้กบ ั คูค ่ า้ รับทราบอย่างสมํ่าเสมอผ่านช่องทางออนไลน์ รวมถึงการแบ่งปันวิสัยทัศน์ ของผูบ ้ ริหารผ่านกิจกรรมสัมมนาคูค ่ า้ ประจําปี เพือ่ ให้มน ่ั ใจได้วา่ ทุกๆ ขัน ้ ตอน ในกระบวนการจัดหาสอดคล้องกับกลยุทธ์ นโยบาย และเป้าหมาย การดําเนินงานของบริษัท
รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ กลุ่มธุรกิจต่อเนื่อง
กำหนดกลยุทธ์และเป้าหมาย ในการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
กรรมการผู้จัดการ ของหน่วยงานจัดซื้อ
กำหนดนโยบายจัดหาอย่างยัง่ ยืน ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ และเป้าหมาย
ผู้จัดการจัดซื้อ
กำกับดูแลกระบวนการจัดหาให้เป็น ไปตามกลยุทธ์ นโยบาย และเป้าหมาย
เจ้าหน้าที่จัดซื้อ
จัดหาสินค้าและบริการให้เป็นไปตาม กลยุทธ์ นโยบาย และเป้าหมาย
อัตราส่วนคู่ค้าที่ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติสำหรับคู่ค้า 100%
100
69% 51%
12% 0
2559
2561
2562
2563
การประเมินความสําคัญของกลุม ่ สินค้าและคูค ่ า้ ไทยเบฟประเมินความสําคัญของกลุ่มสินค้าและคู่ค้าตามมูลค่าการจัดหาและระดับ ความเสี่ยงในการจัดหา เพื่อสามารถจัดลําดับความสําคัญและแนวทางบรรเทา ความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยพิจารณาจากกลุ่มสินค้าและคู่ค้าที่มีมูลค่าสูง ระดับความเสี่ยง และผลกระทบต่อรายได้บริษัท
26
จำนวนคูค ่ า้ รายสำคัญทีจ่ ำหน่าย สินค้าและบริการให้กบ ั บริษท ั โดยตรง (Critical Tier 1 Suppliers)
61 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
จำนวนคู่ค้ารายสำคัญตามปัจจัยการพิจารณา ระดับการพึง่ พาคูค ่ า้
26 20
ความพร้อมรับมือสถานการณ์ฉก ุ เฉิน 12
ความสามารถในการทดแทน การให้บริการและการส่งมอบ
2
ผลกระทบต่อต้นทุน
2
จำนวนและอัตราส่วนมูลค่าจัดหาจากคู่ค้าโดยตรงรายสำคัญ (Critical Tier 1 Suppliers) ต่อมูลค่าจัดหารวม จำนวนคูค ่ า้
อัตราส่วนมูลค่าจัดหา 2559
21
43%
2560
17
36%
2561
26
28%
การบริหารจัดการความเสีย ่ งด้านความยัง่ ยืน ในกระบวนการจัดหาอย่างยั่งยืน บริษัทพิจารณาปัจจัยความเสี่ยงโดยครอบคลุมประเด็นด้านหลักธรรมาภิบาล สิ่งแวดล้อมและสังคม เริ่มตั้งแต่ การคัดเลือกคู่ค้ารายใหม่ การคัดกรองคู่ค้าก่อนการซื้อขาย การประเมินผลงานคู่ค้า ไปจนถึงการติดตามผลและพัฒนาคู่ค้าอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานให้สามารถรองรับการเติบโตของธุรกิจ
การลงทะเบียน คู ค ่ า้ รายใหม่ยน การลงทะเบี คูค่ ค ่ า้ า้ รายใหม่ รายใหม่ คู ทก ุ รายต้อง
ยอมรับและปฏิบต ั ต ิ าม คูค ่ า้ รายใหม่ทก ุ รายต้อง แนวทางปฏิบต ั สิ ำหรับคูค ่ า้ ยอมรับและปฏิบต ั ต ิ าม แนวทางปฏิบต ั สิ ำหรับคูค ่ า้
100 % 100%
ของคูค ่ า้ รายใหม่ยอมรับ และปฏิบต ั ต ิ ามแนวทาง ของคูค ่ า้ รายใหม่ยอมรับ ปฏิบต ั สิ ำหรับคูค ่ า้ และปฏิบต ั ต ิ ามแนวทาง ปฏิบต ั สิ ำหรับคูค ่ า้
การคัดกรอง คูค ่ า้ รายใหม่ การคั ดกรอง คูค ่ ษา้ ทั รายใหม่ บริ มีกระบวนการประเมิน
ความเสีย ่ งด้านความยัง่ ยืน บริษท ั มีกระบวนการประเมิน ของคูค ่ า้ รายใหม่ โดย ความเสีย ่ งด้านความยัง่ ยืน จำแนกคูค ่ า้ ตามระดับความ ของคูค ่ า้ รายใหม่ โดย เสีย ่ งและพิจารณาศักยภาพ จำแนกคูค ่ า้ ตามระดับความ ในการดำเนินธุรกิจ เสีย ่ งและพิจารณาศักยภาพ ในการดำเนินธุรกิจ
100 % 100%
ของคูค ่ า้ รายใหม่เข้ารับการ ประเมินความเสีย ่ งด้านความ ของคูค ่ า้ รายใหม่เข้ารับการ ยัง่ ยืนก่อนการซือ้ ขาย ประเมินความเสีย ่ งด้านความ ยัง่ ยืนก่อนการซือ้ ขาย
การพิจารณา ซืการพิ อ้ สินค้ า จารณา ซืบริอ้ ษสิทั นกำหนดเงื ค้า อ่ นไข
การประเมิน ผลงานคู ่ นา้ การประเมิค ผลงานคู ค ่ า้ บริษท ั มีกระบวนการ
100 % 100%
100 % 100%
ด้านความยัง่ ยืนในสัญญา บริษท ั กำหนดเงือ่ นไข ทุกฉบับทีจ่ ะทำร่วมกับคูค ่ า้ ด้านความยัง่ ยืนในสัญญา เพือ่ ป้องกันการล่วงละเมิด ทุกฉบับทีจ่ ะทำร่วมกับคูค ่ า้ หรือการปฏิบต ั ท ิ ผ ่ี ด ิ เพือ่ ป้องกันการล่วงละเมิด หลักศีลธรรมทางธุรกิจ หรือการปฏิบต ั ท ิ ผ ่ี ด ิ สิง่ แวดล้อมและสิทธิมนุษยชน หลักศีลธรรมทางธุรกิจ สิง่ แวดล้อมและสิทธิมนุษยชน
ของมูลค่าสัญญาทีร่ ะบุ เงือ่ นไขด้านความยัง่ ยืน ของมูลค่าสัญญาทีร่ ะบุ เงือ่ นไขด้านความยัง่ ยืน
ตรวจสอบผลงานคูค ่ า้ บริษท ั มีกระบวนการ หลังการซือ้ ขาย ตรวจสอบผลงานคูค ่ า้ ณ สถานประกอบการ หลังการซือ้ ขาย และจัดกลุม ่ คูค ่ า้ ตาม ณ สถานประกอบการ ผลการตรวจประเมิน และจัดกลุม ่ คูค ่ า้ ตาม ผลการตรวจประเมิน
ของคูค ่ า้ รายสำคัญทีไ่ ด้รบ ั การตรวจประเมิน ของคูค ่ า้ รายสำคัญทีไ่ ด้รบ ั ณ สถานประกอบการ การตรวจประเมิน ณ สถานประกอบการ
การติดตามผล และพั ฒตามผล นาศักยภาพ การติด และพั ฒปนาศั กยภาพ บริ ษท ั ระบุ ญ ั หาจากการ
ตรวจสอบผลงานคูค ่ า้ และ บริษท ั ระบุปญ ั หาจากการ กำหนดมาตรการให้คค ู่ า้ ตรวจสอบผลงานคูค ่ า้ และ จัดทำแผนและดำเนินการ กำหนดมาตรการให้คค ู่ า้ แก้ไขภายในระยะเวลา จัดทำแผนและดำเนินการ ทีก ่ ำหนด แก้ไขภายในระยะเวลา ทีก ่ ำหนด
100 % 100%
ของคูค ่ า้ จัดทำแผนและ ดำเนินการแก้ไขข้อร้องเรียน ของคูค ่ า้ จัดทำแผนและ ตามกำหนด ดำเนินการแก้ไขข้อร้องเรียน ตามกำหนด
62 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
โครงการประกาศเกียรติคณ ุ คูค ่ า้ เป็นโครงการที่ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของคู่ค้า กระตุ้นการแข่งขันทางธุรกิจ และ สรรค์สร้างนวัตกรรมในภาคอุตสาหกรรม โดยมีการจัดตัง้ คณะกรรมการและเกณฑ์การพิจารณา การมอบรางวัลประกาศเกียรติคุณคู่ค้าอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้มั่นใจได้ว่าคู่ค้าที่ได้รับรางวัล มีมาตรฐานในการดําเนินงานอันเป็นเลิศ และเป็นแม่แบบในการดําเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนให้กับ คู่ค้ารายอื่นๆ
63%
ของคูค ่ า้ ทีเ่ ข้าร่วมโครงการรักษามาตรฐาน และปรับปรุงด้านคุณภาพ
แผนการดำเนินงานระยะยาว ไทยเบฟมีการกำหนดแผนการดำเนินงานระยะยาว เพื่อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของคู่ค้าอย่างต่อเนื่อง
2559
2560
2561
2562
2563
ริเริ่มโครงการ
พิจารณาการมอบ รางวัลจากปัจจัยด้าน คุณภาพ ด้านพาณิชย์ ด้านการส่งมอบ และด้านนวัตกรรม และการให้บริการ
เพิ่มปัจจัยด้านความ ยั่งยืนเป็นอีกหนึ่ง ปัจจัยหลักในการ พิจารณามอบรางวัล
ประกาศรางวัลด้าน ความยั่งยืน (Sustainability Award)
ส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างบริษัทและคู่ค้า เต็มรูปแบบ เพื่อความ สัมพันธ์ทางธุรกิจ ที่ยั่งยืน
แบ่งปันคุณค่า
คุณสาโรช ชยาวิวัฒน์กุล
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยเบเวอร์เรจ แคน จํากัด
โครงการประกาศเกียรติคุณคู่ค้าของไทยเบฟช่วยผลักดันให้เราต้องพัฒนา ตัวเองอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้สามารถแข่งขันกับคู่ค้ารายอื่นๆ ได้ ทั้งในด้าน ต้นทุน คุณภาพ และมาตรฐาน นอกจากนี้ ยังช่วยให้เราตระหนักถึงแนวทาง การทําธุรกิจบนรากฐานที่ยั่งยืน มีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของ เรา ซึ่งในอนาคตอันใกล้นี้ เราต้องการจะสานต่อแนวทางการดําเนินธุรกิจที่ ยั่งยืนไปยังคู่ค้าของเราเองด้วย เพื่อสร้างห่วงโซ่อุปทานของกระป๋องเครื่องดื่ม ที่ยั่งยืนในประเทศ
63 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภารกิจสําคัญ
การบริหารจัดการคู่ค้าทางอ้อม
คูค ่ า้ ทางอ้อม คือ คูค ่ า้ ทีไ่ ม่ได้ทาํ ธุรกิจกับบริษท ั โดยตรง (Non-tier 1 Suppliers) บริษท ั คํานึงถึงผลกระทบต่อการจัดหาเช่นกัน โดยกําหนดเกณฑ์ การประเมินความเสี่ยงเพื่อระบุคู่ค้าทางอ้อมรายสําคัญ (Critical Non-tier 1 Suppliers) ทั้งจากปัจจัยทางธุรกิจ และปัจจัยด้านความยั่งยืน เช่น ผลกระทบต่อรายได้ของบริษัท อิทธิพลทางการตลาด การให้ความร่วมมือในการพัฒนาความยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทาน และความถี่ในการตรวจพบ ความเสี่ยงด้านความยั่งยืน
31
จำนวนคูค ่ า้ รายสำคัญทีไ่ ม่ได้ ทำธุรกิจกับบริษท ั โดยตรง (Critical Non-tier 1 Suppliers)
100%
แรงงานต่างชาติทว่ี า่ จ้างมา อย่างถูกต้องตามกฎหมายและ ได้รบ ั การปฏิบต ั อิ ย่างเท่าเทียม
ไทยเบฟร่วมมือกับคูค ่ า้ ผูใ้ ห้บริการแรงงานขับรถขนส่ง ในการส่งเสริม ให้แรงงานต่างชาติได้รบ ั สิทธิประโยชน์และสวัสดิการเท่าเทียมแรงงาน ท้องถิน ่ และเป็นแรงงานทีข่ น ้ึ ทะเบียนตามทีก ่ ฎหมายกำหนด
ทิศทางการดําเนินงาน เป้าหมาย ไทยเบฟได้กําหนดเป้าหมายระยะสั้นและระยะยาว เพื่อบริหารจัดการกระบวนการจัดซื้อจัดหาให้เป็นไปตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ระยะสั้น ปี 2563
95%
ของสัดส่วนจำนวนคูค ่ า้ เป็นคูค ่ า้ ในประเทศ
100%
ของมูลค่าการจัดหาจาก คูค ่ า้ ทีป ่ ฏิบต ั ต ิ ามแนวทาง ปฏิบต ั สิ ำหรับคูค ่ า้
100%
ของคูค ่ า้ รายใหม่ได้รบ ั การ ประเมินด้านความยัง่ ยืน ในการดำเนินธุรกิจ
ระยะยาว ปี 2568
100%
ของคูค ่ า้ ทีจ่ ำหน่ายสินค้าและบริการให้กบ ั บริษท ั โดยตรง (Tier 1 Suppliers) ได้รบ ั การตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ
นิยาม : คู่ค้า หมายถึง ผู้ผลิต ผู้จัดจําหน่าย ผู้รับเหมา ผู้ให้บริการ
100%
ของคูค ่ า้ รายสำคัญ ได้รบ ั การตรวจประเมิน ณ สถานประกอบการ
100%
ของคูค ่ า้ จัดทำแผน และดำเนินการแก้ไข ข้อร้องเรียนตามกำหนด
64 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
GRI 103-2, GRI 401-1, GRI 403-2, GRI 404-1, GRI 404-2, GRI 404-3
โอกาสไร้ขีดจํากัด
• แนวคิดโอกาสไร้ขีดจํากัด (Limitless Opportunities) ของไทยเบฟเกิดขึ้นเพื่อมอบโอกาส ให้พนักงานได้ก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Opportunities) พร้อมสร้างเครือข่ายและ ความสัมพันธ์อันเข้มแข็ง (Connectivity Opportunities) และทําประโยชน์ให้ชุมชนและสังคม (Contribution Opportunities) โดยพนักงานจะเติบโตไปพร้อมกับองค์กร พร้อมทั้งได้รับโอกาส เรียนรู้ พัฒนาทักษะ เสริมสร้างสมรรถนะเพื่อนําไปสู่ความสําเร็จร่วมกัน • ไทยเบฟกําหนด 7 ยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการบุคลากร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง ความแข็งแกร่งของบุคลากรและรองรับการเติบโตอย่างต่อเนื่องของธุรกิจ ควบคู่ไปกับการ สร้างความเป็นหนึ่งเดียวภายในองค์กร และเตรียมความพร้อมให้พนักงานก้าวหน้าไปพร้อม การเปลี่ยนแปลง
65 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
1
โครงสร้างและ บทบาทที่ชัดเจน
7
2
การส่งเสริมวัฒนธรรม ที่สร้างความผูกพันต่อองค์กร
ค่าตอบแทนและสวัสดิการ ที่แข่งขันได้กับตลาด
7
ยุทธศาสตร์ ในการบริหาร จัดการบุคลากร
6
3
การสรรหาพนักงานที่มี ศักยภาพและดูแลพนักงานใหม่
การบริหารผลการ ดำเนินงานที่โดดเด่น
5
การบริหารผู้สืบทอด ตำแหน่งและบุคลากรเชิงรุก
4
การพัฒนาพนักงาน ที่มีศักยภาพสูงแบบองค์รวม
ThaiBev Global Values คือ ค่านิยมกลุ่มไทยเบฟที่ยึดถือร่วมกันเพื่อสร้างความเป็นหนึ่งเดียวและนําไทยเบฟ ไปสู่การเป็นบริษัทเครื่องดื่มและอาหารชั้นนําของเอเชีย ค่านิยมกลุ่มไทยเบฟ หรือ Global Values ประกอบด้วยหลักสําคัญ 3 ประการที่ไทยเบฟคาดหวังให้พนักงาน ทุกระดับยึดถือและลงมือปฏิบัติด้วยความสมํ่าเสมอ นั่นคือ ร่วมกันผสานพลัง (Collaboration) ใช้ประโยชน์จากจุดแข็งและความหลากหลายของแต่ละบุคคล เพือ่ ผสานความแข็งแกร่งและมุง่ สูเ่ ป้าหมายร่วมกัน สร้างสรรค์คุณค่า (Creating Values) มุ่งมั่นที่จะริเริ่มสิ่งใหม่และพร้อมที่จะคว้าโอกาสในการสร้างสรรค์คุณค่าให้เกิดขึ้นแก่ไทยเบฟและสังคม เอาใจใส่ต่อผู้เกี่ยวข้อง (Caring for Stakeholders) เอาใจใส่และทําความเข้าใจทุกมุมมองของทุกฝ่ายด้วยความตั้งใจดี เพื่อให้มั่นใจว่าทุกคนเติบโตอย่างมั่นคง และยั่งยืนไปพร้อมกัน
66 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ยุทธศาสตร์ท่ี 1: โครงสร้างและบทบาททีช่ ด ั เจน (Clear Structure and Roles) • การจัดโครงสร้างองค์กรเป็นการกําหนดหน้าที่การทํางานของ พนักงานแต่ละคนให้ชัดเจน รวมไปถึงเชื่อมโยงการประสาน งาน ทั้งในระดับบุคคล ระหว่างทีมงาน แผนก และฝ่ายงาน ต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงยังเป็นกลไกรองรับ การปฏิบัติงานตามแผนกลยุทธ์ของแต่ละสายงานเพื่อให้เกิด การพัฒนาอย่างต่อเนื่องและสร้างข้อได้เปรียบในการแข่งขัน ทางธุรกิจ • การจัดโครงสร้างองค์กรเปรียบเสมือนการจัดทัพให้มี ประสิทธิภาพเพื่อช่วยเสริมสร้างจุดแข็งและตอบโจทย์ความ ต้องการทางธุรกิจ อีกทั้งนําองค์กรไปสู่ชัยชนะในการแข่งขัน โดยไทยเบฟยึดโครงสร้างองค์กรในรูปแบบกลุ่มธุรกิจ (Product Group) กลุ่มงานสนับสนุนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Support Group) และกลุ่มงานสนับสนุนการบริหารองค์กร
(Corporate Functions Group) ซึ่งครอบคลุมบริษัทในกลุ่ม ทั้งภายในและต่างประเทศ เมื่อผสานพลังทั้งหมดจึงเกิด ความเชี่ยวชาญในการสร้างความหลากหลายทางธุรกิจ ตราสินค้า และการตลาด การกระจายสินค้า และความเป็น มืออาชีพ เพื่อยกระดับความสามารถของไทยเบฟ • โครงสร้างองค์กรเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการทางธุรกิจ มีการเพิ่มจํานวนพนักงาน และหน้าที่การทํางาน ซึ่งการ เติบโตอย่างรวดเร็วส่วนหนึ่งเกิดจากการควบรวมกิจการและ การร่วมทุน ส่งผลให้เกิดความซํ้าซ้อนและต้นทุนการบริหาร เพิ่มขึ้น ดังนั้นการทบทวนการออกแบบโครงสร้างองค์กรและ บทบาทการบริหารจึงเป็นปัจจัยสําคัญที่จะช่วยลดต้นทุน เพิม ่ ประสิทธิภาพในการทํางาน เพิม ่ ความสามารถในการแข่งขัน และทําให้ไทยเบฟบรรลุเป้าหมายวิสัยทัศน์ปี 2020
67 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
แบ่งปันคุณค่า คุณภาณุพงศ์ เพชรบูรณ์ นิติกร สํานักกฎหมาย
เดิมผมเคยเห็นเพียงโอกาสการเติบโตในหน่วยงานตัวเองเท่านั้น แต่เมือ่ ผมได้เข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาของไทยเบฟ ผมได้เห็นโครงสร้าง องค์กรและโอกาสที่เปิดกว้างมากขึ้น ที่สําคัญผมได้พบว่าผู้บริหาร ระดับสูง โดยเฉพาะคุณฐาปน สิรวิ ฒ ั นภักดี กรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่ ให้ความสําคัญจริงๆ ในการส่งเสริมให้พวกเราเห็นเป้าหมายในอนาคต และใช้ชวี ต ิ ให้คม ุ้ ค่าแบบท้าทาย ถึงแม้ผมเป็นสมาชิกใหม่ของไทยเบฟ ผมรู้สึกมีแรงบันดาลใจที่จะศึกษาโอกาสต่างๆ ในไทยเบฟและมุ่งมั่น ที่จะลงมือทําอย่างเต็มที่
ภารกิจสําคัญ นอกจากจะมีการจัดทัพเพื่อให้ตอบโจทย์ธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วแล้ว ไทยเบฟยังมีการลงทุนอย่างต่อเนื่องในเรื่องการพัฒนา โครงสร้างองค์กรและบทบาทการบริหาร โดยนําหลักวิธีการตีค่างาน โดยประเมินคุณภาพงานของแต่ละตําแหน่งตามมาตรฐานสากลมา ประยุกต์ใช้ในการตีค่างานทุกตําแหน่งงานในไทยเบฟ ทําให้ทุกบริษัท ในกลุ่มทั่วโลกมีระดับตําแหน่งงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ส่งผลให้
เกิดการโยกย้ายและเลื่อนตําแหน่งระหว่างกันได้ ซึ่งเป็นการเพิ่ม โอกาสความก้าวหน้าทางสายอาชีพให้กับพนักงาน นอกจากนี้ การตีค่างานและการกําหนดชื่อตําแหน่งงานตามมาตรฐานสากล ยังเป็นพื้นฐานสําคัญทําให้การขยายธุรกิจผ่านการควบรวมกิจการ และซื้อกิจการมีความรวดเร็วและราบรื่นยิ่งขึ้นอีกด้วย
ยุทธศาสตร์ท่ี 2: ค่าตอบแทนและสวัสดิการทีแ่ ข่งขันได้กบ ั ตลาด (Market-oriented Compensation and Benefits) เพื่อเป้าหมายในการก้าวเป็นสุดยอดนายจ้าง (Best Employer) และ ผู้นําที่ยั่งยืนในระดับภูมิภาคอาเซียน ไทยเบฟจึงได้มีการวางระบบ บริหารค่าตอบแทนและสวัสดิการที่ชัดเจนและสามารถปรับให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• ไทยเบฟมีการจัดสรรสวัสดิการให้กับพนักงานเพื่อเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตที่ดีและคุ้มครองสวัสดิภาพของพนักงาน เช่น ค่ารักษาพยาบาล การตรวจสุขภาพประจําปี การประกันอุบัติเหตุ และการประกันชีวิตให้กับพนักงาน
• ไทยเบฟบริหารค่าตอบแทนให้เป็นไปอย่างยุติธรรม สามารถ เทียบเคียงได้กับบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน โดยร่วมงาน กับบริษัทชั้นนําระดับโลกในการวางระบบบริหารค่าตอบแทน และสวัสดิการให้เทียบเคียงได้กับจุดอ้างอิงที่เหมาะสมกับตลาด และสอดคล้องกับการดําเนินธุรกิจของไทยเบฟ
• ไทยเบฟยังได้วางระบบประเมินค่างาน (Job Evaluation) ภายใต้ โครงสร้างองค์กรตามหลักการวัดค่างานสากล ซึ่งสามารถนําไป อ้างอิงกับข้อมูลค่าตอบแทนในตลาดได้อย่างเป็นระบบ
68 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
• มีการสร้างแรงจูงใจสําหรับบุคลากรที่มีความตั้งใจ มุ่งมั่น และ ทุ่มเทในการทํางาน โดยการให้รางวัลตอบแทนอย่างเหมาะสม ตามความสามารถและผลการปฏิบัติงานรายบุคคล รวมถึง โครงการค่าตอบแทนจูงใจระยะยาว หรือ Long Term Incentive Plan (LTIP) ที่ให้ผู้บริหารมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของกิจการในรูปแบบ หุ้นบริษัทเพื่อส่งเสริมการทุ่มเทในการทํางานอย่างต่อเนื่องและ รักษาบุคลากรที่มีคุณค่าให้ปฏิบัติงานกับไทยเบฟต่อไปในระยะยาว ซึ่งเป็นผลดีในการดําเนินธุรกิจ
• มีสิทธิพิเศษอื่นๆ สําหรับพนักงานเพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจ ในไทยเบฟ เช่น ส่วนลดร้านอาหารในเครือ ส่วนลดค่าพักโรงแรม ส่วนลดค่ารักษาพยาบาล และส่วนลดผลิตภัณฑ์ต่างๆ ภายใน ไทยเบฟ
แบ่งปันคุณค่า ดร.เอกพล ณ สงขลา
รองกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ ผู้บริหารสูงสุดกลุ่มทรัพยากรบุคคล
ไทยเบฟมุ่งหวังที่จะเป็นองค์กรซึ่งเป็นที่ชื่นชมและมีความมั่นคงยั่งยืน ดังนั้นปรัชญาด้านระบบบริหารค่าตอบแทนและสวัสดิการจึงสะท้อน ถึงคุณค่าของงานในตําแหน่งต่างๆ ซึ่งมีอยู่หลากหลาย ตั้งแต่ พนักงานระดับปฏิบัติการซึ่งกระจายอยู่ทั่วประเทศ ไปจนถึงพนักงาน รุ่นใหม่ซึ่งมีค่านิยมและการใช้ชีวิตสะท้อนการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว ของสังคม รวมทั้งกลุ่มพนักงานระดับผู้จัดการและผู้บริหารซึ่งมี ความท้าทายในการบริหารธุรกิจข้ามชาติ โดยระบบบริหารค่าตอบแทน และสวัสดิการของกลุม ่ ไทยเบฟได้ออกแบบและปรับให้มค ี วามสอดคล้อง กับแต่ละระดับงานในแต่ละบริษัทซึ่งอาจทําธุรกิจแตกต่างกันไป และสะท้อนถึงสภาวะการจ้างงานในแต่ละประเทศที่ไทยเบฟ ดําเนินธุรกิจอยู่ ขณะเดียวกัน ไทยเบฟให้ความสําคัญในการส่งเสริมการเติบโต ของพนักงานและความผูกพันกับองค์กรในระยะยาว ควบคู่ไปกับ ความสามารถในการแข่งขัน ไทยเบฟใส่ใจในการเติบโตของพนักงาน อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการส่งเสริมการเติบโตในสายอาชีพ ช่วยทําให้เราสามารถขยายธุรกิจโดยมีความมั่นคงในด้านบุคลากร และเพิ่มพูนความสามารถในการแข่งขันระดับภูมิภาคอาเซียน
ยุทธศาสตร์ท่ี 3: การบริหารผลการดําเนินงานทีโ่ ดดเด่น (Recognition-based Performance Management) • ในการบริหารผลการปฏิบัติงาน ไทยเบฟได้พัฒนาแนวทางในการ ตั้งเป้าหมายและการประเมินผลการปฏิบัติงานไว้อย่างเป็นระบบ และดําเนินการอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีการตั้งเป้าหมายทั้งด้าน ตัวเลขทางการเงินและผลลัพธ์ทางธุรกิจซึ่งสอดคล้องกับ เป้าหมายของไทยเบฟ อีกทั้งยังมีการประเมินในด้านอื่นๆ ได้แก่ ด้านการปรับปรุงกระบวนการทํางาน เพื่อให้พนักงานและไทยเบฟ สามารถเดินหน้าพัฒนาการทํางานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ด้านความยั่งยืน เพื่อให้การทํางานและผลลัพธ์ทางธุรกิจ สอดคล้องกัน และด้านการพัฒนาบุคลากร เพื่อให้มั่นใจได้ว่า พนักงานมีความสามารถที่จะถ่ายทอดความรู้ความสามารถให้ ผู้อื่น และก่อให้เกิดการแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing) ภายในไทยเบฟ ทั้งนี้เพื่อเสริมสร้างวัฒนธรรมการทํางานที่มี ผลลัพธ์สูง (High Performance Culture)
69 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
• นอกจากสนับสนุนการดําเนินการตามเป้าหมาย ไทยเบฟยังให้ ความสําคัญกับคุณค่าองค์กรหรือพฤติกรรมที่ต้องการสร้าง วัฒนธรรมการทํางานร่วมกันเพื่อทําให้เป้าหมายสําเร็จ ดังนั้น ในการประเมินผลการปฏิบต ั งิ าน ไทยเบฟจึงนําค่านิยมกลุม ่ ไทยเบฟ หรือ ThaiBev Global Values มาใช้ควบคูไ่ ปด้วย เพือ่ ให้พนักงาน เกิดความเป็นหนึ่งเดียว ส่งเสริมและสนับสนุนช่วยกันสร้าง วัฒนธรรมองค์กรที่แข็งแกร่ง ทําให้ไทยเบฟมั่นคงและยั่งยืน • ไทยเบฟได้พัฒนาระบบ Beverest ซึ่งเป็นระบบบริหารจัดการ ด้านทรัพยากรบุคคลแบบครบวงจร เพื่อใช้บันทึกและบริหารข้อมูล พนักงาน ดําเนินการขั้นตอนด้านบุคคล และวิเคราะห์ข้อมูล พนักงานสําหรับการวางแผนกลยุทธ์ทรัพยากรบุคคลในอนาคต และยังสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยผ่านอุปกรณ์สื่อสาร เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบและติดตามผลระหว่างหัวหน้า และพนักงาน
• ไทยเบฟได้กําหนด Balanced Scorecard เป็นเครื่องมือในการ บริหารผลการปฏิบัติงานเพื่อวัดประสิทธิภาพและศักยภาพของ ไทยเบฟ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการเงิน (Financial Perspective) ด้านลูกค้า (Customer Perspective) ด้านกระบวนการทาง ธุรกิจ/ระบบปฏิบัติการภายในองค์กร (Business Process/ Internal Operations Perspective) และด้านการเรียนรู้และ เติบโต (Learning and Growth Perspective) นอกจากนี้ ยังใช้ในการกําหนดนํ้าหนักของเป้าหมายในแต่ละด้าน ให้ครอบคลุมเป้าหมายที่สําคัญของไทยเบฟ
แบ่งปันคุณค่า คุณนพดล เลิศมงคลธรรม
เจ้าหน้าที่ขาย บริษัท ไทยดริ้งค์ จํากัด
หลังจากไทยเบฟได้ขยายการใช้งานระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ทําให้ผมได้ใช้งาน ฟังก์ชันเป้าหมายการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบัติงานบนระบบ Beverest ความรู้สึก ที่ได้ใช้ต้องยอมรับว่ารู้สึกไม่ชินในตอนแรก และการแสดงผลต่างๆ ผมไม่คุ้นเคย แต่ไทยเบฟมีการสื่อสารผ่านช่องทางต่างๆ ในระบบมีการเพิ่มวิดีโอการใช้งานในแต่ละ ฟังก์ชัน มีการจัดอบรมการใช้งานโดยทีมกลุ่มทรัพยากรบุคคล ทําให้ผมเข้าใจมากขึ้น ประกอบกับการต้องเข้าไปใช้งานค่อนข้างบ่อยในช่วงการตั้งเป้าหมาย ทําให้ผม เริ่มคุ้นเคยกับการใช้งานระบบ หากติดขัดตรงไหน ผมสามารถถามหัวหน้างานหรือ โทรศัพท์หา HC Helpdesk ซึ่งเปรียบเสมือนคอลเซ็นเตอร์ของกลุ่มทรัพยากรบุคคล เพื่อช่วยผมให้ทํางานบนระบบต่อไปได้ครับ ปัจจุบัน สามารถใช้งานผ่านแอปพลิเคชัน บนสมาร์ตโฟน ทําให้ผมได้รับความสะดวก สามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลาตามที่ผม ต้องการ
คุณกัญชลิกา อาจวิชัย
ผู้จัดการงานทรัพยากรบุคคล กลุ่มธุรกิจเบียร์
ระบบ Beverest เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ทําให้สามารถเข้าไปถึงโครงสร้างของไทยเบฟได้อย่าง ชัดเจนมากขึ้น ทําให้รู้ว่าเราอยู่จุดไหนของไทยเบฟ สิ่งที่ประทับใจคือ พนักงานใหม่ที่เข้ามาใช้จะได้รู้ ว่าตนเองอยู่ภายใต้กลุ่มไหน ทีมงานไหนที่จะต้องทํางานด้วย รู้สึกว่าเรื่องของโครงสร้างองค์กร มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถ้า KPI ข้อไหนที่ตั้งไว้ใกล้ที่จะบรรลุเป้าหมายแล้ว จะได้รู้ตัวว่าใกล้ประสบ ความสําเร็จ แต่ถ้าประเมินผลงานแล้วพบว่ายังไม่ประสบความสําเร็จ เราต้องกระตุ้นตัวเอง เพื่อไปให้ถึงจุดนั้น
70 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ภารกิจสําคัญ หลักการ WOW (Way of Work) ไทยเบฟนําแนวคิดเรื่อง WOW (Way of Work) มากําหนดให้อยู่ใน ดัชนีชี้วัดผลงานหรือความสําเร็จของงาน (Individual KPI) ของ พนักงานทุกระดับ โดยมีการประเมินผลงานอย่างเป็นทางการปีละ 2 ครั้ง เพื่อให้พนักงานได้มีโอกาสคิดและนําเสนอแลกเปลี่ยนกับ
เพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชาเกี่ยวกับการพัฒนาปรับปรุงงานให้ ง่ายขึน ้ มีประสิทธิภาพมากขึน ้ และสร้างโอกาสในการแข่งขันทางธุรกิจ ได้มากขึน ้ ซึง่ ได้รบ ั ผลตอบรับทีด ่ จี นทําให้เกิดโครงการ WOW Awards 2018 ขึ้น โดยมีพนักงานสนใจเข้าร่วมงานจากหลากหลายประเทศ
ยุทธศาสตร์ท่ี 4: การพัฒนาพนักงานทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพสูงแบบองค์รวม (Holistic High Performer Retention and Development)
ในปี 2561 จำนวนชั่วโมงอบรมเฉลี่ย ของพนักงานเท่ากับ
19
ชั่วโมงต่อคนต่อปี
ในปี 2561 ไทยเบฟใช้งบประมาณกว่า
155
ล้านบาท ในการพัฒนาศักยภาพ ของพนักงาน
เพื่อให้พนักงานเชื่อมั่นในโอกาสการเติบโตในไทยเบฟอย่างไร้ขีดจํากัด ไทยเบฟจึงส่งเสริมให้พนักงาน ได้พัฒนาศักยภาพของตนเองโดยใช้หลักการพัฒนา 2 รูปแบบ คือ 1. ระบบการพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Development System) 2. โครงการพัฒนาบุคลากรศักยภาพสูง (Talent Development Program) 1. ระบบการพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Development System) • ไทยเบฟได้ออกแบบเส้นทางอาชีพ (Career Path) และสมรรถนะตามสายงาน (Functional Competency) เพื่อให้พนักงานวางแผนเส้นทางอาชีพของตนเองในไทยเบฟ รวมถึงพัฒนาศักยภาพ และความก้าวหน้าในสายงาน โดยใช้แผนการพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) เพื่อเพิ่มโอกาสการเติบโตในไทยเบฟอย่างไร้ขีดจํากัด • ในแผนการพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) ไทยเบฟใช้หลักการพัฒนา ศักยภาพของพนักงานในรูปแบบ 70:20:10 คือ - 70% คือการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ เช่น การรับผิดชอบงานใหม่ๆ การทํางานโครงการพิเศษ การเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง - 20% คือการเรียนรู้จากบุคคลอื่น เช่น การโค้ช การสอนงานโดยผู้เชี่ยวชาญ การเข้าร่วมสมาชิก ชมรม การรับฟังข้อคิดเห็นและคําแนะนําจากผู้อื่น การเรียนรู้จากการทํางานของผู้บริหาร - 10% คือการเรียนรู้จากการเข้าอบรมอย่างเป็นทางการ เช่น เข้าเรียนตามโปรแกรมฝึกอบรม การ เรียนผ่านบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-learning) หรือเข้าเรียนในโปรแกรมพัฒนาบุคลากรระยะสั้น • ในการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลของพนักงานในกลุ่มสายงานดังกล่าวข้างต้น มีขั้นตอนดังนี้ 1. เริ่มจากการศึกษาเส้นทางสายอาชีพและสมรรถนะตามสายงานที่ได้กําหนดไว้ 2. จากนั้นทําการประเมินสมรรถนะตามสายอาชีพ เพื่อระบุช่องว่างการพัฒนา (Competency Gap) 3. จัดทําแผนการพัฒนารายบุคคลตามผลการประเมินรวมถึงเป้าหมายในสายอาชีพที่พนักงานวางไว้ ผ่านระบบ Beverest ซึ่งเป็นระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลของไทยเบฟ • สําหรับพนักงานทุกระดับในกลุ่มงานอื่นๆ ได้มีการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลเช่นกัน โดยให้ระดับ หัวหน้าได้จัดทําแผนพัฒนารายบุคคลในระบบ Beverest ทําให้สามารถติดตามและตรวจสอบ ความก้าวหน้าของแผนพัฒนาได้
71 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
เส้นทางอาชีพที่คุณออกแบบได้ Craft Your Career Journey
1.สำรวจเส้นทางสายอาชีพในกลุม ่ ไทยเบฟ • กลุ่มงานไทยเบฟ • สมรรถนะในการทำงาน • ลักษณะเส้นทางการเติบโต ในสายอาชีพ
2.สมรรถนะในการทำงาน • ค่านิยมกลุ่มไทยเบฟ • สมรรถนะความเป็นผู้นำ • สมรรถนะในการทำงาน
อนาคตเส้นทางอาชีพที่คุณสามารถ กำหนดได้ด้วยตนเอง
ทราบถึงสมรรถนะการทำงาน เพื่อการพัฒนาอันไร้ขีดจำกัด
เช็กตัวคุณผ่านการประเมินสมรรถนะต่างๆ เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
3.โอกาสการเรียนรูแ ้ ละพัฒนา • รูปแบบการเรียนรู้ 70:20:10 • โปรแกรมการเรียนรู้ และพัฒนาต่างๆ • ทุนการศึกษา การเรียนรู้ต่างๆ ที่คุณสามารถ ออกแบบได้ด้วยตนเองเพื่อการ พัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ
การเติบโตที่มั่นคงและยั่งยืนของพนักงาน
เป้าหมาย ในอาชีพ
จส
อ
นเอ
ง
การโค้ชพนักงาน และหัวหน้างาน
แผนพัฒนา รายบุคคล (IDP)
เอ ง
ผลการประเมิน สมรรถนะความ เป็นผู้นำ 360 ํ
ตรว
บต
ผลการ ปฏิบัติงาน
ตน
ผลการประเมิน สมรรถนะตาม สายอาชีพ
พั ฒ
นา
72 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
แบ่งปันคุณค่า คุณสมชัย สมทอง
รักษาการผู้จัดการ Customer Management, Cash Van Management พนักงานที่ได้รับการพัฒนาและเติบโตในสายอาชีพกลุ่มงานขาย
ผมเริ่มต้นอาชีพการขายกับไทยเบฟครั้งแรกใน พ.ศ. 2554 โดยเริ่มจากการเป็น พนักงานขายรถเร่ (Cash Van) ตั้งแต่ยังไม่มีอุปกรณ์แท็บเล็ตเข้ามาช่วยในการขาย จนถึงปัจจุบน ั ผมได้เป็นผูจ้ ด ั การ Customer Management ผมเห็นความเปลีย ่ นแปลง ที่เกิดขึ้นทั้งกับไทยเบฟ คู่แข่ง และตัวเอง ซึ่งผมได้ตั้งเป้าหมายในการทํางานตั้งแต่ วันแรกว่า เราทุกคนทําเพื่อไทยเบฟ ทุกอย่างต้องทําได้ และจะทํางานมากกว่าตําแหน่ง ที่ได้รับเสมอ เพื่อที่จะมีโอกาสเติบโตควบคู่ไปกับการพัฒนาความรู้และทักษะในการขาย โดยปรึกษาหารือกับหัวหน้างานอย่างสมํ่าเสมอในเป้าหมายที่คาดหวังไว้ โดยมีแผน พัฒนารายบุคคล หรือ IDP เป็นเครื่องมือและแนวทางที่ใช้จัดลําดับความสําคัญของ สิ่งที่ต้องทําและสิ่งที่ผมต้องพัฒนาเพื่อให้เติบโตตามที่ตั้งใจไว้ นอกจากนั้นผมมุ่งมั่น ที่จะสร้างทีมงานขายที่แข็งแกร่งและส่งต่อความสําเร็จให้กับทีมขายไม่ว่าจะอยู่ในพื้นที่ ใดก็ตาม อันจะเป็นสิ่งสําคัญที่ทําให้ยอดขายเป็นไปตามที่ไทยเบฟตั้งเป้าไว้
คุณรัชนันท์ ดีแสน
ผู้จัดการงานทรัพยากรบุคคล กลุ่มธุรกิจเบียร์ พนักงานที่ได้รับการพัฒนาและเติบโตในกลุ่มงานทรัพยากรบุคคล และทํางานในต่างประเทศ
จากจุดเริ่มต้นในตําแหน่งผู้ช่วยผู้จัดการทรัพยากรบุคคลที่ดูแลด้านการพัฒนา บุคลากร ที่บริษัท โมเดิร์นเทรดแมเนจเม้นท์ จํากัด จนถึงวันนี้ที่บริษัทได้มอบโอกาสให้ ดูแลงานด้านทรัพยากรบุคคลให้กับบริษัท SABECO ที่เวียดนาม ซึ่งเป็นประสบการณ์ ใหม่ที่ต้องทํางานในสภาพแวดล้อม วัฒนธรรม และเชื้อชาติที่แตกต่าง โดยส่วนตัวมี ความเชื่อเสมอว่า การเรียนรู้ที่จะทําให้เราเติบโตได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วที่สุด คือการลงมือทํา ซึ่งจากประสบการณ์ ถือเป็นก้าวกระโดดครั้งสําคัญที่ทําให้เข้าใจ กิจกรรมการเรียนรู้ 70:20:10 ที่ได้ผ่านการปรึกษากับผู้บังคับบัญชาในการจัดทํา IDP เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง ให้พร้อมเติบโตในสายงานและคว้าโอกาส ที่ไทยเบฟมอบให้ตามศักยภาพและความเหมาะสม ดังนัน ้ การทํางานทีเ่ วียดนาม จึงถือเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการลงมือทํา (70) และการปรึกษาหารือ กับผู้ใหญ่ที่มากประสบการณ์ (20) ที่จะทําให้สามารถพัฒนาตนเองไปอีกขั้น ที่พร้อมจะเติบโตในสายงานตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้
73 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
2. โครงการพัฒนาบุคลากรศักยภาพสูง (Talent Development Program) • โปรแกรมการพัฒนาศักยภาพรูปแบบต่างๆ เพื่อเพิ่มเติมความรู้ ทางธุรกิจและส่งเสริมภาวะความเป็นผู้นําให้พนักงานมีทักษะในการ ทํางานเพิ่มมากขึ้น โดยใช้หลักการพัฒนาศักยภาพในรูปแบบ 70:20:10 และการเรียนรูผ ้ า่ นการลงมือทําด้วยการนําเสนอโปรเจกต์ ที่ตอบโจทย์ทางธุรกิจ (Action-Learning Project) ซึ่งเป็นเวทีให้ พนักงานได้นําเสนอไอเดียที่จะส่งเสริมธุรกิจให้บรรลุวิสัยทัศน์ของ ไทยเบฟ ตลอดจนทําให้ผู้บริหารระดับสูงเห็นศักยภาพของพนักงาน ก่อให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพมากกว่าการเรียนรู้ในห้องเรียน แต่เพียงอย่างเดียว • โปรแกรมการพัฒนาได้รับการออกแบบโดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริม และต่อยอดให้บุคลากรในแต่ละระดับได้เติบโตในไทยเบฟ โดยการ ยึดหลักพนักงานหรือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Learner Centric)
• ไทยเบฟได้พัฒนาคู่มือการพัฒนาสมรรถนะความเป็นผู้นํา (Leadership Competency Development Guidebook) ให้กับ พนักงานเพื่อช่วยในการคัดเลือกกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักการ พัฒนาศักยภาพแบบ 70:20:10 ขณะเดียวกันช่วยสนับสนุน การจัดทําแผนการพัฒนารายบุคคล (IDP) ตัวอย่าง เป้าหมายหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพของโครงการ Supervisory Development Program (SDP), Management Development Program (MDP), ASEAN Management Development (AMD), Senior Executive Development Program (SEDP) ที่ผู้บริหารระดับสูงจะเข้าร่วมในการนําเสนอและ ให้ข้อเสนอแนะ เพื่อต่อยอดในการนํากรณีศึกษามาประยุกต์ให้ สามารถนํามาปฏิบัติได้จริง
โปรแกรมการพัฒนาบุคลากรศักยภาพสูง Talent Development Program Framework
หลักการเรียนรู้
เรียนรู้จากประสบการณ์
เรียนรู้จากผู้อื่น
เรียนรู้จากการอบรม
การทำงานต่างประเทศ Mobility Program (Global)
การเรียนรู้จากที่ปรึกษา Executive Mentoring
ฟอรั่มการเรียนรู้จากผู้นำ ThaiBev Leaders Forum
การหมุนเวียนงานภายในประเทศ Job Rotation (Local)
การโค้ช Coaching
การเรียนรู้ผ่านช่องทางออนไลน์ Online Learning
แผนพัฒนารายบุคคล
The Ocean
โปรแกรมการพัฒนา
Senior Executive Development Program (SEDP) โครงการพัฒนาศักยภาพผู้บริหารระดับสูง
13
Asean Management Development Program (AMD) โครงการพัฒนาศักยภาพผู้บริหารระดับอาเซียน
The River
The Spring & Streams ทุนการศึกษา
14-15
10-12
Management Development Program (MDP) โครงการพัฒนาศักยภาพพนักงานระดับบังคับบัญชา
8-9
Supervisory Development Program (SDP) โครงการพัฒนาศักยภาพพนักงานระดับหัวหน้างาน
4-7
Rocket Development Program โครงการสร้าง “ผู้นำรุ่นใหม่”
ThaiBev Scholarship
ThaiBev CMKL Scholarship
74 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
แบ่งปันคุณค่า คุณสุภรณ์ เด่นไพศาล
รองผู้อํานวยการสายงานการตลาด กลุ่มธุรกิจเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์
จากประสบการณ์ทํางานกับไทยเบฟในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา นับว่าดิฉันโชคดี มากเพราะได้รับโอกาสในการพัฒนาและเติบโตจากทั้งหัวหน้างานและผู้บริหาร ผ่านการเรียนรู้จากการทํางาน (On the Job Training) การเข้าอบรมหลักสูตร ต่างๆ และการวางแผนเป้าหมายและการพัฒนาตนเอง (IDP) ดิฉันได้รับ มอบหมายให้หมุนเวียนทํางานดูแลแบรนด์ต่างๆ เช่น โออิชิ เอส 100 พลัส และ ล่าสุดได้รับมอบหมายให้ดูแลตลาดต่างประเทศ ซึ่งเป็นโอกาสได้เรียนรู้การทํา การตลาดหลากหลายแบรนด์ ได้พัฒนาทักษะการวางแผน การต่อรอง และ การเป็นผู้นํา นอกจากนี้ยังได้เข้าอบรมหลักสูตรต่างๆ เช่น SEDP ทําให้ได้เรียนรู้ เกี่ยวกับไทยเบฟ การบริหาร และได้โอกาสในการทํางานร่วมกับผู้บริหาร ในหน่วยงานต่างๆ ความประทับใจล่าสุดคือการทีค ่ ณ ุ ฐาปน สิรวิ ฒ ั นภักดี CEO ของบริษัท สละเวลามาฟังแผนและเป้าหมายการพัฒนาตนเองของพนักงาน ด้วยตัวเอง แสดงให้เห็นว่าท่านให้ความสําคัญกับการพัฒนาของเราในองค์กร อย่างมาก คุณกฤษณ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา
Assistant Export Sales Manager กลุ่มธุรกิจสุรา International Spirit Sales ผู้เข้าร่วมโครงการผู้นํารุ่นใหม่ ปัจจุบันได้รับทุนไปศึกษาต่อระดับปริญญาโทที่ The University of Edinburgh ประเทศสกอตแลนด์ ตามการวางแผนอาชีพ
ผมรู้สึกดีใจมากที่ไทยเบฟและผู้บริหารระดับสูงมองเห็นศักยภาพและพร้อมที่จะ ให้โอกาสสนับสนุนพนักงานรุ่นใหม่อย่างตัวผมที่มีความมุ่งมั่นและตั้งใจที่จะ เติบโตในไทยเบฟ โดยใช้ความสามารถและพลังที่มีเพื่อจะผลักดันไทยเบฟ ให้ประสบความสําเร็จตามความคาดหมาย การไปเรียนครั้งนี้ ผมคาดหวังว่า จะนําสิ่งที่เรียนมาเพิ่มความมั่นใจให้กับไทยเบฟ และจะนําประสบการณ์จากการ ทํางานที่ผ่านมาทั้งหมดบวกกับด้านวิชาการ ไปวางแผนและต่อยอดในการ บริหารและดําเนินธุรกิจของไทยเบฟต่อไป
ภารกิจสําคัญ
ผลงานต่อยอดจากโครงการพัฒนาศักยภาพพนักงาน
โครงการ ThaiBev Catering เกิดจากการนําเสนอของ ผู้เข้ารับการเรียนรู้ในโครงการพัฒนาศักยภาพพนักงาน ระดับบังคับบัญชา (Management Development Program: MDP) ในปี 2017 และได้ทําต่อเนื่องมาถึง ปัจจุบัน เป็นการเสนอแนวคิดต่อยอดธุรกิจของไทยเบฟ ให้ครอบคลุมบริการทางด้านเครื่องดื่ม อาหาร และการ จัดอีเวนต์เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าอย่าง ครบวงจร ซึ่งไทยเบฟได้เปิดตัว Horeca ธุรกิจบริการ
ทางด้านเครื่องดื่มและอาหาร (Catering) ในงาน HoReCa Asia 2017 และ ดําเนินการต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน ซึ่งธุรกิจบริการทางด้านเครือ่ งดืม ่ และอาหาร (Catering) นี้ มียอดขายบรรลุเป้า และมีกาํ ไรตั้งแต่ปีแรกที่เริ่มธุรกิจ โดยใช้ หลักการ “Customization, budget control and convenience” คือตอบโจทย์ ความต้องการของลูกค้า ภายใต้งบประมาณที่มี และให้เกิดความสะดวกสบาย สูงสุด อีกทัง้ ยังส่งเสริมนโยบายเมาไม่ขบ ั เพราะเป็นการบริการถึงบ้านให้แก่ลก ู ค้า ตลอดจนยกระดับการให้บริการแก่คู่ค้าด้วยการให้บริการแบบบาร์เต็มรูปแบบ (full bar service) ในงานอีเวนต์ต่างๆ
75 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
โครงการพัฒนาศักยภาพผูบ ้ ริหาร ThaiBev - NUS Global Executive Leaders Program “Realizing Vision 2020: Strategies for Sustainable ASEAN Leadership” ไทยเบฟร่วมกับ National University of Singapore ซึ่งเป็นสถาบัน การศึกษาอันดับหนึ่งของเอเชีย และอันดับ12 ของโลก โดยมีเป้าหมาย ที่จะพัฒนาศักยภาพผู้บริหารของไทยเบฟให้มีความพร้อมที่จะก้าวขึ้น เป็นผู้นําในระดับภูมิภาคและระดับสากล ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายและ วิสัยทัศน์ 2020 ของไทยเบฟที่จะก้าวขึ้นเป็นผู้นําในธุรกิจเครื่องดื่ม ในภูมิภาคอาเซียนได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน โดยมีผู้บริหารเข้าร่วมทั้งสิ้น 25 คน หนึ่งในโครงการที่ได้นํามาประยุกต์ใช้จริง คือ โครงการ Synergy Project เกิดจากแนวคิดในการใช้ประโยชน์คลังสินค้าร่วมกัน ระหว่างบริษัทภายในกลุ่ม โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อให้พนักงานขาย อยู่ใกล้ชิดร้านค้ามากขึ้น เน้นการเพิ่มยอดขายและเพิ่มการบริการให้แก่
ร้านค้า รวมทั้งลดค่าขนส่งสินค้าให้กลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีแอลกอฮอล์ คณะทํางานทีม Synergy จึงได้ริเริ่มโครงการโดยคัดเลือกคลังจังหวัด มหาสารคาม มาทําการทดลองใช้พื้นที่คลังสินค้าร่วมกัน ซึ่งได้วาง เป้าหมายการเพิ่มยอดขาย และการกระจายสินค้าในพื้นที่จังหวัดไว้ที่ กว่า 1,000 ร้านค้า ซึง่ ยังต้องเปิดร้านค้าเพิม ่ อีกจํานวนมาก คณะทํางาน ได้เริม ่ โครงการทดสอบในเดือนสิงหาคม 2561 และผลจากการทดสอบ ดังกล่าวตัง้ แต่ชว่ งเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคมทีผ ่ า่ นมา ยอดการ กระจายสินค้าเติบโตร้อยละ 23 ขยายร้านค้าได้เพิ่มกว่าหนึ่งเท่าตัวจาก ที่มีอยู่เดิม และมีรา้ นค้าทีซ่ อื้ เติบโตขึน ้ ร้อยละ 16.5 และยอดขาย ของบริษท ั เสริมสุขเติบโตขึ้นร้อยละ 44.5
76 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ยุทธศาสตร์ที่ 5: การบริหารผู้สืบทอดตําแหน่งและบุคลากรเชิงรุก (Proactive Succession and Workforce Planning)
ไทยเบฟสามารถจัดหาพนักงาน ที่จะดำรงตำแหน่งผู้สืบทอดได้คิดเป็น
93%
ของตำแหน่งทั้งหมด ที่กำหนดในแผนการสืบทอด
• เพื่อความต่อเนื่องทางธุรกิจในการสรรหาผู้ดํารงตําแหน่งแทนพนักงานระดับผู้บริหารระดับสูง ที่ใกล้เกษียณ ไทยเบฟวางแผนการสรรหาผู้สืบทอดตําแหน่ง (Succession Plan) เพื่อให้ธุรกิจ เดินหน้าไปได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ตามพันธกิจและคํามั่นสัญญาของไทยเบฟที่มีต่อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ลูกค้า และสังคม รวมถึงรักษาวัฒนธรรมการบริหารจัดการที่ดี โดยจัดทําแผนทดแทน ตําแหน่งงาน ดังนี้ (1) กําหนดตําแหน่งงานหลัก (Critical Position) เพื่อจัดทําแผนทดแทนตําแหน่งงาน (2) กําหนดคุณลักษณะของผู้นําที่เหมาะสมกับตําแหน่งงานหลัก เป็นหลักเกณฑ์ในการพิจารณา คัดเลือก (3) ประเมินความพร้อมของผู้บริหารที่ได้รับการพิจารณาเพื่อทดแทนตําแหน่งงาน โดยใช้กรอบ WAR ในการประเมิน คือ ความมุ่งมั่น (Willing) มีความสามารถ (Able) และมีความพร้อม (Ready) (4) จัดทําแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) และมีการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง • ไทยเบฟสามารถจัดหาพนักงานที่จะดํารงตําแหน่งผู้สืบทอดได้คิดเป็นร้อยละ 93 จากทั้งหมด 121 ตําแหน่งที่กําหนดในแผนการสืบทอดของตําแหน่งหลัก (Critical Position)
ภารกิจสําคัญ การสร้างบุคลากรที่มีความมุ่งมั่น (Willing) มีความสามารถ (Able) และมีความพร้อม (Ready) เพื่อก้าวขึ้นดํารงตําแหน่งงานสําคัญๆ ของไทยเบฟ ประกอบไปด้วย • ระบบและกระบวนการในการประเมินพนักงานที่มีศักยภาพสูง (Talent Assessment) จากทุกสายงาน เพื่อค้นหา Global Talent Pool หรือพนักงานที่มีศักยภาพในการเติบโตเป็นผู้นํา ไทยเบฟในอนาคต ซึ่งจะเชื่อมต่อกับการจัดทําแผนทดแทน ตําแหน่งงานได้อย่างต่อเนื่อง • การกําหนดตําแหน่งงานหลัก (Critical Position) เพื่อจัดทําแผน ทดแทนตําแหน่งงาน รวมถึงหลักเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือก เพื่อใช้ในการคัดเลือกและประเมินความพร้อมของผู้บริหารที่ได้รับ การพิจารณาเพื่อทดแทนตําแหน่งงาน
• การจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan) และมีการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมความพร้อม ในการก้าวสู่ตําแหน่งงานหลัก (Critical Position) ผ่านรูปแบบ การเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experiential Learning) รวมถึง ระบบสนับสนุนโอกาสการทํางานต่างประเทศ (Global Mobility Platform) เพื่อพัฒนาความพร้อมในระยะเวลาอันรวดเร็วและ รองรับแผนการขยายธุรกิจในต่างประเทศของไทยเบฟอีกด้วย
77 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
WAR Model: Willing, Able & Ready
พนักงานมีความมุ่งมั่น ต้องการที่จะ รับบทบาทที่ได้รับมอบหมาย
ความมุ่งมั่น Willing
ความสามารถ Able
พนักงานเป็นผู้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถ เหมาะสมกับบทบาท ที่ได้รับมอบหมาย
ความพร้อม Ready
พนักงานมีความพร้อมที่จะรับบทบาทที่ได้รับมอบหมาย
การนำเอา WAR Model มาประยุกต์ใช้ในการประเมินความพร้อมของผู้ที่ได้รับพิจารณาเพื่อทดแทนตำแหน่งงาน
ยุทธศาสตร์ที่ 6: การสรรหาพนักงานที่มีศักยภาพและดูแลพนักงานใหม่ (Strategic Talent Acquisition and Onboarding) การสรรหาพนักงานที่มีศักยภาพและมีประสบการณ์ในการทํางาน เป็นสิ่งสําคัญสําหรับไทยเบฟ โดยบริษัทมีกระบวนการสรรหาและ คัดเลือกอย่างเป็นระบบและหลากหลายช่องทางดังนี้ • การรับสมัครงานผ่านเว็บไซต์สมัครงานของไทยเบฟ ซึ่งมีตําแหน่ง งานว่างครอบคลุมทั้งในประเทศและต่างประเทศ และเว็บไซต์หางาน ภายนอก หรือช่องทางอื่นๆ เช่น Job Fair, Campus Recruitment และ Recruitment Road Show ซึ่งจัดขึ้นตามมหาวิทยาลัยของ รัฐบาลและเอกชนเพื่อให้ครอบคลุมเข้าถึงผู้มีศักยภาพในทุกๆ กลุ่ม • ใช้ระบบ Beverest โดยบุคคลภายนอกทัว่ ไปทีส่ นใจ สามารถสมัครงาน กับทางไทยเบฟได้อย่างง่ายดาย เช่น สามารถตรวจสอบตําแหน่ง
ว่างงานทั้งหมดในระบบ และสามารถฝากประวัติการสมัครผ่านระบบ ได้โดยกรอกข้อมูลส่วนตัวในระบบและแนบประวัตก ิ ารทํางาน นอกจากนี้ ยังมีกระบวนการเตรียมความพร้อมสําหรับพนักงานใหม่ โดยต้นสังกัด สามารถเข้าไปดูแลผูส้ มัครผ่านระบบนี้ เช่น การเขียนข้อความต้อนรับ การแนะนําข้อมูลต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ การแนะนําเจ้าหน้าที่ ทีพ ่ นักงานใหม่จะต้องติดต่อเกี่ยวข้อง และการเตรียมอุปกรณ์ เบื้องต้นสําหรับพนักงานใหม่ • ไทยเบฟยังเปิดโอกาสให้พนักงานสมัครงานภายใน (Internal Recruitment Program) ผ่านระบบ Beverest และยังมีทีม Talent Acquisition ช่วยให้คําแนะนําพนักงานเกี่ยวกับตําแหน่งงานต่างๆ ที่กําลังเปิดรับอีกด้วย
78 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
แบ่งปันคุณค่า คุณสุชลทิพย์ ตรีสุชน
รักษาการผู้บริหารฝ่ายสรรหาและดูแลพนักงานใหม่
เพื่อสรรหาบุคลากรที่เป็น “คนดีและคนเก่ง” ไทยเบฟจึงช่วยพัฒนา ทรัพยากรบุคคลของประเทศให้มีองค์ความรู้ ทักษะ ความชํานาญ และความเข้าใจในสายวิชาชีพของตนเองอย่างแท้จริง ดังนั้นไทยเบฟ จึงจัดโครงการฝึกงานภาคฤดูร้อน “ช้างจูเนียร์” ขึ้นเพื่อรับ นักศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างๆ เข้าฝึกงานกับไทยเบฟ อีกทั้ง ยังเป็นการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมโดยเปิดโอกาสให้นิสิต นักศึกษาได้เรียนรู้ขั้นตอนและวิธีการทํางาน รวมถึงวัฒนธรรมในการ ทํางานเพือ่ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมการทํางานจริงได้ นอกจากนี้ โครงการนี้ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับสถาบันการศึกษา ซึ่งส่งผลต่อการสรรหาบุคลากรที่ดี มีศักยภาพและเหมาะสม กับไทยเบฟในอนาคต
ภารกิจสําคัญ
Career Day
ไทยเบฟต้องการสนับสนุนให้พนักงานมีโอกาสเติบโต ในองค์กร ไม่วา่ จะเติบโตภายในสายงานหรือข้ามสายงาน และยังสนับสนุนให้หัวหน้างานเปิดโอกาสให้พนักงาน สมัครงานภายในไทยเบฟอีกด้วย ซึง่ ทางกลุม ่ ทรัพยากร บุคคลได้จด ั งาน Career Day ขึน ้ เพือ่ เป็นการเปิดโอกาส ไร้ขีดจํากัดอย่างแท้จริง โดยพนักงานทุกคนสามารถ มาร่วมงานได้ ภายในงานจะมีการเปิดบูทรับสมัครงาน จากหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้พนักงานทราบถึงตําแหน่ง งานที่ว่างทั้งในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมี การแนะนําพนักงานถึงคุณสมบัติของตําแหน่งงาน ทีเ่ หมาะสม รวมถึงมีแบบทดสอบบุคลิกภาพให้พนักงานทํา เพื่อเข้าใจถึงสายอาชีพที่เหมาะกับตัวเอง ซึ่งที่ผ่านมา มีพนักงานให้ความสนใจในการโอนย้ายและมาลงทะเบียน และเห็นโอกาสเติบโตในสายอาชีพอย่างต่อเนื่อง
79 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
โครงการช้างจูเนียร์ โครงการฝึกงานภาคฤดูร้อน “ช้างจูเนียร์” จัดขึ้นเพื่อรับ นักศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างๆ เข้าฝึกงานกับไทยเบฟ โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ขั้นตอนและวิธีการทํางาน การทําโปรเจกต์และนําเสนอ รวมถึงรู้จักวัฒนธรรมในการทํางาน เพื่อประโยชน์ในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมการทํางานต่อไป โดยโครงการเริ่มจัดขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2555 และจัดขึ้นอย่าง ต่อเนื่องทุกปี มีนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยชั้นนําให้ความสนใจ อย่างมาก ซึ่งใน พ.ศ. 2561 เป็นปีที่ 7 มีผู้สมัครเข้าร่วม โครงการถึง 523 คนและผ่านการคัดเลือกเข้าฝึกงานกับทาง ไทยเบฟ 74 คน • ประโยชน์กับไทยเบฟ : พนักงานที่รับหน้าที่พี่เลี้ยงให้แก่ นักศึกษาได้ฝึกทักษะในการเป็นผู้นําและการถ่ายทอดความรู้ และเทคโนโลยี ซึ่งถือเป็นการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร และยังถือเป็นการสร้างเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของไทยเบฟ ต่อสังคมภายนอก • ประโยชน์กับนิสิตนักศึกษา : นักศึกษาจะได้รับประสบการณ์ วิชาชีพตามสาขาวิชาที่เรียน ได้พัฒนาความรู้ มีความมั่นใจ ในตัวเองมากขึ้น รวมถึงได้ทักษะการสื่อสารและการทํางาน ในองค์กร เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนก้าวเข้าสู่โลกของการ ทํางานจริง นอกจากนี้ นักศึกษายังมีขอ้ มูลในการเลือกสายงาน อาชีพได้ถูกต้อง โดยค้นพบตนเองก่อนเรียนจบ และบางคน อาจได้รับการเสนองานก่อนสําเร็จการศึกษาอีกด้วย
จากผลการสํารวจนักศึกษามหาวิทยาลัยในประเทศไทยประจําปี 2018 โดย Universum ชี้ให้เห็นว่าปัจจัยที่จะเป็นแรงจูงใจให้ สมัครงานกับบริษัทต่างๆ นั้นมีหลายประการ เช่น เส้นทางอาชีพ เพื่อความก้าวหน้า ผู้บริหารที่สนับสนุนการพัฒนาของพนักงาน ความสําเร็จขององค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม หรือโอกาส ในการทํางานในต่างประเทศ ซึง่ ไทยเบฟมีปจั จัยดังกล่าวครบถ้วน
โครงการนักศึกษาฝึกงาน MySEAN Internship ไทยเบฟได้เข้าร่วมโครงการนักศึกษา MySEAN Internship เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับรัฐบาลมาเลเซีย และเป็นการ แลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรม อีกทั้งยังส่งเสริมให้ไทยเบฟ เป็นที่รู้จักมากขึ้นในภูมิภาคอาเซียน โดยโครงการนี้จัดขึ้น เพื่อรับนักศึกษาฝึกงานต่างชาติซึ่งจะส่งตัวมาจากบริษัท Talent Corporation Malaysia Berhad (TalentCorp) ทั้งนี้ ใน พ.ศ. 2560 มีนักศึกษาจากประเทศมาเลเซียเข้าร่วม โครงการ 2 คน ได้มาเรียนรู้และฝึกปฏิบัติงานจริงในสํานัก สารสนเทศและกลุ่มทรัพยากรบุคคลของไทยเบฟ
80 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ยุทธศาสตร์ที่ 7: การส่งเสริมวัฒนธรรมที่สร้างความผูกพันต่อองค์กร (Engaging Corporate Culture) • เพื่อเสริมสร้างให้พนักงานมีความรู้สึกเป็นเจ้าของหรือมี ส่วนร่วมในไทยเบฟสูงขึน ้ ไทยเบฟจึงทําการสํารวจความผูกพัน ของพนักงาน เพื่อวัดปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพัน ของพนักงานต่อองค์กร • ไทยเบฟได้นําผลสํารวจไปวิเคราะห์เชิงลึก โดยผู้บริหารของ ไทยเบฟได้มีส่วนร่วมวิเคราะห์ เพื่อจัดทําแผนการปรับปรุง การดําเนินงานเพื่อเพิ่มระดับความผูกพันของพนักงานต่อ ไทยเบฟ โดยเน้นปัจจัยหลักๆ ได้แก่ สวัสดิการของพนักงาน สภาพความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงานในสถานที่ทํางาน ค่าตอบแทนของพนักงาน บทบาทหน้าที่ในองค์กร และการ ชื่นชมผลการดําเนินงานของพนักงาน
• เพื่อเป็นการส่งเสริมวัฒนธรรมในการทํางาน ไทยเบฟได้นํา ค่านิยมกลุ่มไทยเบฟ หรือ ThaiBev Global Values มาเป็น ส่วนหนึ่งในการประเมินผลการดําเนินการของพนักงาน • ไทยเบฟได้จัดกิจกรรมส่งเสริมความผูกพันต่อองค์กร โดยปรับรูปแบบและเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม พื้นที่ การจัดกิจกรรม เพื่อเพิ่มโอกาสการมีส่วนร่วมของพนักงาน ให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น เช่น ริเริ่มโครงการ WOW Awards ซึ่งเป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมให้พนักงานนําหลักการ WOW (Way of Work) มาใช้ในการทํางาน โดยมีการ ตัดสินและมอบรางวัลสําหรับโครงการที่มีผลสําเร็จและนําไป ต่อยอดได้
81 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
แบ่งปันคุณค่า คุณนงนุช บูรณะเศรษฐกุล
ผู้ช่วยกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ กลุ่มธุรกิจอาหาร (ประเทศไทย) กับมุมมองเกี่ยวกับ ThaiBev Global Values หรือค่านิยมกลุ่มไทยเบฟ
คนทุกคนย่อมมีคุณค่าที่ตัวเองยึดถือและปฏิบัติ ดิฉันมองว่าทุกคน เกิดมาจากต่างครอบครัว เพราะฉะนั้นการมาอยู่รวมกันจําเป็นต้องมี พื้นฐานในการอยู่ร่วมกัน เพื่อให้เรามองไปในเป้าหมายเดียวกัน และ เนื่องจากไทยเบฟเป็นบริษัทสัญชาติไทย ดังนั้นคุณค่าพื้นฐานของ คนไทยจะเป็นรูปแบบหนึง่ แต่ปจั จุบน ั ไทยเบฟเติบโตจากเดิมเยอะมาก มีการควบรวมธุรกิจต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศมากมาย เพราะฉะนัน ้ การมีคา่ นิยมกลุม ่ ไทยเบฟ หรือ ThaiBev Global Values จะทําให้ ทุกคนให้ความสําคัญและยึดถือปฏิบัติในคุณค่าแบบเดียวกัน ถ้าทุกคนมองและเดินไปในทิศทางเดียวกัน ไทยเบฟจะเคลือ่ นทีไ่ ปได้เร็ว ไม่ใช่ต่างคนต่างไป ช่วยให้ทุกธุรกิจเดินไปด้วยกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
ภารกิจสําคัญ
โครงการ WOW Awards 2018 เพื่อส่งเสริมพนักงานให้มีส่วนร่วมในการนําเสนอแนวคิดหรือผลลัพธ์ ที่ได้จากการดําเนินโครงการตามค่านิยมกลุ่มไทยเบฟ (ThaiBev Global Values) โดยสนับสนุนให้พนักงานร่วมกันผสานพลัง (Collaboration) สร้างสรรค์คุณค่า (Creating Values) เอาใจใส่ ต่อผู้เกี่ยวข้อง (Caring for Stakeholders) ผนวกกับแนวคิดเรื่อง WOW (Way of Work) ก่อให้เกิดประโยชน์แก่องค์กรทั้งด้านการ พัฒนาปรับปรุงกระบวนการทํางาน (Simplicity) การเพิ่มขีดความ สามารถ (Efficiency) และการได้เปรียบเชิงการแข่งขันทางธุรกิจ (Competitiveness) ไทยเบฟจึงริเริ่มโครงการ WOW Awards 2018 เพื่อกระตุ้นให้พนักงานได้แสดงพฤติกรรมที่ไทยเบฟคาดหวัง และเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มธุรกิจต่อไป โดยแบ่งการให้ รางวัลเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) WOW Project คือ โครงการที่พนักงานได้คิดและลงมือปฏิบัติ จนเกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมแล้ว 2) WOW Idea คือ การคิดและนําเสนอหลักการหรือแนวความคิด เพื่อให้เกิดผลลัพธ์หรือนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ธุรกิจมากขึ้น
82 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
สิทธิมนุษยชนด้านแรงงาน ในปี 2561 ไทยเบฟได้จัดตั้งทีมบริหารด้านแรงงานสัมพันธ์ เพื่อควบคุมดูแลและบริหาร ความเสี่ยงไม่ให้มีผลกระทบหรือการปฏิบัติที่ไม่สอดคล้องกับข้อกฎหมาย เช่น การจ้างงาน ลูกจ้างรับเหมาค่าแรง การจ้างงานผูพ ้ ก ิ าร การจ้างแรงงานต่างด้าวตามข้อตกลงความร่วมมือ หรือ MOU นอกจากนี้ไทยเบฟยังได้ดําเนินการด้านเกษียณอายุพนักงานเมื่อพนักงานมีอายุ ครบ 60 ปีบริบูรณ์ ให้ได้รับเงินตามกฎหมาย โดยไทยเบฟได้พิจารณาทําสัญญาจ้างพนักงาน ที่เกษียณอายุงานใหม่เป็นรายบุคคล เป็นการตอบรับนโยบายของรัฐในการจ้างงานผู้สูงอายุ ให้ใช้เวลาอย่างมีประสิทธิภาพและมีรายได้
83 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ทิศทางการดําเนินงาน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : โครงสร้างและบทบาทที่ชัดเจน • ทบทวนโครงสร้างองค์กรเพื่อหาโอกาสปรับปรุงกระบวนการทํางานเพื่อเพิ่มความสามารถของไทยเบฟ อย่างต่อเนื่อง • ขยายการพัฒนาสมรรถนะ (Competency) และเส้นทางอาชีพ (Career Path) ในกลุ่มงาน (Job Family) ให้สอดคล้องกับการออกแบบโครงสร้างและบทบาทการบริหารของไทยเบฟ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ค่าตอบแทนและ สวัสดิการที่แข่งขันได้กับตลาด • บริหารและวิเคราะห์ค่าจ้าง ค่าตอบแทน และสวัสดิการ ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงาน และความต้องการของบุคลากรในแต่ละรุ่นอย่างต่อเนื่อง • ให้สิทธิพิเศษกับพนักงานไทยเบฟเพื่อให้พนักงานรู้จักและ มีความผูกพันกับสินค้าของไทยเบฟมากขึ้น และเป็นตัวแทน ในการสร้างแบรนด์ของสินค้านั้นๆ ต่อไป
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การบริหาร ผลการดําเนินงานที่โดดเด่น • ขยายช่องทางการเข้าใช้งานผ่านอุปกรณ์สื่อสาร เพื่อตอบโจทย์ พนักงานรุ่นใหม่และสามารถเข้าใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา • วางแผนพัฒนาศักยภาพพนักงานที่เป็นระดับผู้จัดการ ให้มีความรู้และทักษะด้านการเป็นโค้ช เพื่อส่งต่อความรู้ ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การพัฒนาพนักงาน ที่มีศักยภาพสูงแบบองค์รวม • ส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ตลอดชีวต ิ (Lifelong Development) โดยจะเพิม ่ เติมการเรียนรู้ รูปแบบ 70:20:10 ที่สนับสนุนพนักงานในการเรียนรู้ด้วย ตนเองจากสื่อต่างๆ เช่น Digital Learning, Digital Library • ต่อยอดการพัฒนาพนักงานที่มีศักยภาพสูงโดยใช้แผนการ พัฒนารายบุคคล (IDP) และ Mentoring Program เพื่อติดตามความก้าวหน้าทางอาชีพของพนักงาน
ยุทธศาสตร์ที่ 5 : การบริหารผู้สืบทอด ตําแหน่งและบุคลากรเชิงรุก • ยกระดับการเตรียมความพร้อมเพื่อให้พนักงานและผู้บริหาร ในการสืบทอดตําแหน่งมีความพร้อม (Ready) ซึ่งเป็น องค์ประกอบสําคัญในการเป็น WAR Team (Willing ความมุ่งมั่น -Able ความสามารถ -Ready ความพร้อม) • ขยายการจัดทําแผนการสืบทอดตําแหน่งไปยังตําแหน่ง พนักงานในระดับอื่นๆ ต่อไป
ยุทธศาสตร์ที่ 6 : การสรรหาพนักงาน ที่มีศักยภาพและดูแลพนักงานใหม่ • เพิ่มโครงการใหม่ๆ เพื่อดึงดูดผู้ร่วมงานที่มีศักยภาพสูงและ ยกระดับโครงการช้างจูเนียร์โดยคัดเลือกนักศึกษาที่มีศักยภาพ สูงขึ้นจากเดิมรับนักศึกษาที่มีเกรดเฉลี่ย 2.75 ขึ้นไป เป็นเกรดเฉลี่ย 3.00 ขึ้นไป • ปรับเพิ่มการสื่อสารผ่านช่องทาง social media เพื่อให้บุคคล ทั่วไปและผู้สนใจบริษัทรู้จักบริษัทไทยเบฟในฐานะนายจ้างดีเด่น มากยิ่งขึ้น
ยุทธศาสตร์ที่ 7 : การส่งเสริมวัฒนธรรม ที่สร้างความผูกพันต่อองค์กร • เสริมสร้างความเป็นหนึ่งเดียว (Oneness) ผ่านค่านิยมกลุ่ม ไทยเบฟ เพือ่ การเติบโตอย่างยัง่ ยืนในไทยเบฟ • ปลูกฝังกระบวนการทางความคิดที่พร้อมจะเปลี่ยนแปลง (Transformation Mindset) เพื่อให้ทุกคนพร้อมสําหรับความ เปลี่ยนแปลงและเสริมสร้างขีดความสามารถในระดับภูมิภาค อาเซียน เพื่อก้าวไปสู่ความสําเร็จอย่างยั่งยืนพร้อมกัน
84 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน
ไทยเบฟมุง่ มัน ่ ทีจ่ ะสร้างสรรค์องค์กรแห่งความผาสุก ดังนัน ้ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางาน สําหรับพนักงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจึงมีความสําคัญอย่างยิ่ง ไทยเบฟใส่ใจในการกําหนด แนวทางและมาตรฐานสําคัญ ที่จะเอื้อต่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นองค์กรที่ได้รับการชื่นชม และเป็นตัวอย่างที่ดีของสังคม • ไทยเบฟกําหนดให้มีระบบบริหารจัดการด้านความปลอดภัยให้สอดคล้องกับกฎหมาย มาตรฐานสากล และข้อกําหนดอื่นๆ เพื่อให้พนักงาน คู่ค้า ผู้รับเหมา และทุกคนที่เข้ามาปฏิบัติงานได้รับความปลอดภัย สูงสุดในการทํางานด้วยมาตรการป้องกันความเสี่ยงซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการทํางาน อุบัติเหตุ การบาดเจ็บ และการเจ็บป่วยจากการทํางาน • ส่งเสริมให้มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทํางานให้เหมาะสมต่อสภาพร่างกาย จิตใจของพนักงาน ถูกสุขลักษณะ เพื่อคุณภาพชีวิตในการทํางานและสุขภาพที่ดีของพนักงาน • ให้ความรู้ผ่านการฝึกอบรม รวมถึงการจัดกิจกรรมและโครงการในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้าง จิตสํานึกและการมีส่วนร่วมให้กับพนักงานทุกระดับคํานึงถึงความสําคัญของความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน
85 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
วัฒนธรรมความปลอดภัย การเสียชีวต ิ การทุพพลภาพ สิน ้ เชิงถาวร การเกิดอุบต ั เิ หตุถงึ ขัน ้ หยุดงาน การถูกจำกัดลักษณะการทำงาน การรับการรักษาทางการแพทย์ การปฐมพยาบาล เหตุการณ์เกือบเกิดอุบต ั เิ หตุ การบาดเจ็บจากการทำงาน
ภารกิจสําคัญ
การเจ็บป่วยจากการทำงาน
ด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย • การฝึกอบรมหลักสูตรด้านความปลอดภัยในการทํางาน รวมถึงการซ้อมแผนฉุกเฉินกรณีต่างๆ ให้กับพนักงานไทยเบฟ โดยจัดอบรมอย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้มีความรู้ ความเข้าใจถึงบทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบด้านความปลอดภัย และสามารถจัดทําแผนงาน โครงการและการติดตาม ผลการดําเนินงานได้ • จัดกิจกรรม “สัปดาห์สร้างความสุขความปลอดภัยในสถานที่ ทํางาน: Smile @ Safety Week” ประจําปี 2561 ที่สํานักงาน ใหญ่ของไทยเบฟ เพื่อปลูกจิตสํานึก ความตระหนักและส่งเสริม วัฒนธรรมด้านความปลอดภัยให้เกิดขึ้นแก่พนักงานในองค์กร โดยมีพนักงานเข้าร่วมกว่า 1,000 คน ซึ่งในงานได้จัดบูท นิทรรศการเพื่อสร้างความสุข ความปลอดภัย ลดอุบัติเหตุในการ ทํางาน และด้านสุขภาพอนามัย เช่น สัญลักษณ์ความปลอดภัย ในสถานที่ทํางาน การสาธิตการช่วยชีวิตโดยมูลนิธิหัวใจฯ ความรู้ เกี่ยวกับอัคคีภัยและวิธีใช้อุปกรณ์ดับเพลิงที่ถูกต้อง โดยพนักงาน ได้ร่วมสนุกผ่านกิจกรรมสอดแทรกความรู้ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน • ไทยเบฟมุง่ เน้นในด้านการรับรองระบบการจัดการด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย ตามมาตรฐาน OHSAS 18001 และบริษัท ในเครือได้รับรางวัลสถานประกอบการกิจการต้นแบบดีเด่น ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน ติดต่อกันหลายปี
86 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ด้านความผาสุกของพนักงาน ในปี 2561 ไทยเบฟได้กาํ หนดทิศทางนโยบายและแผนงานกิจกรรมต่างๆ เพือ่ เสริมสร้างความผาสุกให้กบ ั พนักงาน กลุม ่ ต่างๆ ภายในองค์กรทีเ่ กือ้ หนุนต่อการมีสขุ ภาวะทีด ่ แี ละความปลอดภัย โดยครอบคลุมองค์ประกอบหลัก 4 ด้าน คือ ด้านสุขภาพกาย ด้านสุขภาพจิต ด้านความปลอดภัย และด้านการจัดสภาพแวดล้อมการทํางาน • การตรวจสุขภาพประจําปีของพนักงานเพื่อส่งเสริมให้พนักงานมีสุขภาพที่ดี โดยไทยเบฟจัดโปรแกรม การตรวจสุขภาพให้เหมาะสมตามปัจจัยเสีย ่ งและตามกลุม ่ อายุ เช่น การตรวจคลืน ่ ไฟฟ้าหัวใจสําหรับกลุม ่ พนักงาน อายุ 35 ปีขน ้ึ ไป และการตรวจโรคมะเร็งเต้านมสําหรับกลุม ่ พนักงานหญิงทีม ่ ค ี วามเสีย ่ ง รวมถึงโปรแกรมเสริม เช่น การฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่เป็นประจําทุกปี • โครงการวางแผนเตรียมความพร้อมพนักงานทุกช่วงวัย เพื่อความสุขใจหลังเกษียณ เป็นกิจกรรมเสวนา สร้างความตระหนักและให้ความรู้ที่สอดคล้องกับความสนใจของพนักงานในแต่ละช่วงอายุ โดยที่ผ่านมาได้จัด กิจกรรม “2 Talks 2 Tones” 2 ครัง้ ภายใต้ธม ี “สนุกกับงาน เบิกบานกับชีวต ิ ” สําหรับพนักงานรุน ่ ใหม่ซง่ึ เป็น กลุ่มเป้าหมายหลัก และ “บริหารความพร้อม สุขใจก่อนวัยเกษียณ” สําหรับพนักงานทั่วไป โครงสร้างเนื้อหา ประกอบด้วยหลักคิดเกี่ยวกับการออมและการใช้จ่าย การวางแผนบริหารการเงิน ข้อมูลด้านสิทธิประโยชน์ต่างๆ จากไทยเบฟและภาครัฐ รวมถึงการดูแลสุขภาพและการบริหารอารมณ์ โดยแต่ละครั้งจะคัดเลือกวิทยากร และ จัดเนื้อหาให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายหลัก ซึ่งปีที่ผ่านมาเป็นการจัดครั้งแรก และมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมรวมกว่า 300 คน ทั้งนี้จะยังคงจัดอย่างต่อเนื่องในปีถัดไป • โครงการด้วยรักและห่วงใยแก่บต ุ รพนักงาน (Day Care for ThaiBev Kids) เป็นโครงการนําร่องในการจัดกิจกรรม ช่วงปิดเทอมให้บต ุ รของพนักงานในวัยอนุบาลและประถมศึกษา ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ดว้ ยการทํากิจกรรม เชิงศิลปะและเสริมสร้างทักษะชีวต ิ ในด้านต่างๆ เช่น การเคารพระเบียบส่วนรวม การรับผิดชอบตนเอง การช่วยเหลือ และแบ่งปัน ตลอดจนการปรับตัวในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น โดยมีคุณครูผู้นําหมุนเวียนดูแลการทํากิจกรรม และสันทนาการในแต่ละวัน ซึ่งเป็นการจัดครั้งแรกในช่วงปิดเทอมเมื่อเดือนเมษายน ปี 2561 ที่ผ่านมา
87 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ด้านสภาพแวดล้อมในการทํางาน • ดําเนินการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมในสถานที่ทํางานตามกฎหมาย ซึ่งรวมถึงการตรวจวัดความเข้มของ แสงสว่าง ตรวจวัดความร้อน ตรวจวัดเสียง และวัดปริมาณฝุ่นละอองและสารเคมีในบรรยากาศการทํางาน สําหรับจุดที่ไม่ผ่านการตรวจวัดจะดําเนินการแก้ไข เช่น ในจุดที่มีปัญหาแสงสว่างได้เปลี่ยนหลอดไฟ จากฟลูออเรสเซนต์เป็นหลอด LED นอกจากนี้ยังมีการตรวจเพิ่มเติมในส่วนของอาคารสํานักงาน ได้แก่ ตรวจวัดคุณภาพอากาศในอาคาร โดยไทยเบฟจะทําการตรวจวัดอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • ปรับปรุงอุปกรณ์ระบบดับเพลิง เช่น ติดตั้งถังดับเพลิงเพิ่ม และวางแผนทดสอบระบบดับเพลิงอัตโนมัติ ภายในอาคาร พร้อมปรับปรุงสายฉีดนํ้าดับเพลิง ตู้เก็บสายดับเพลิง และทําแผนติดตั้งหัวรับนํ้าดับเพลิง ด้านข้างอาคารเพื่อไว้รับนํ้าจากรถดับเพลิง กรณีนํ้าในระบบอาคารไม่เพียงพอ
ทิศทางการดําเนินงาน อัตราการหยุดงานจากการบาดเจ็บเนื่องจากการทํางาน
(Lost Time Injury Frequency Rate)
3.48 2558
3.16 2559
1.90
• พัฒนามาตรฐานด้านความปลอดภัยอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีเป้าหมาย ให้อต ั ราการหยุดงานจากการบาดเจ็บเนือ่ งจากการทํางาน (LTIFR) เท่ากับ 1.0 ภายในปี 2020 • พัฒนาโครงสร้างและหน้าที่ความรับผิดชอบด้านความปลอดภัย และการเสริมสร้างความผาสุกของพนักงานให้รองรับเป้าหมาย องค์กรในการดูแลพนักงานแบบคลอบคลุมทั้งสุขภาพกายและใจ • สํารวจรับฟังความคิดเห็นของพนักงานและจัดทําแผนกิจกรรม ด้านการเสริมสร้างความผาสุกในการทํางานที่สอดคล้อง กับความต้องการของพนักงานในช่วงอายุต่างๆ และลักษณะ การทํางานของแต่ละพื้นที่
2560
1.36 2561
1.00 2563
• เตรียมความพร้อมให้กับพนักงานทุกช่วงวัย เพื่อความสุขใจ หลังเกษียณ โดยจัดบรรยายเสวนาและกิจกรรมให้ครอบคลุม เนื้อหาที่เป็นประโยชน์ด้านต่างๆ ทั้งการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ การบริหารเงิน การเสริมสร้างความรู้ด้านสิทธิประโยชน์ ต่างๆ การเสริมสร้างการงานอาชีพ และประชาสัมพันธ์ เพื่อเพิ่มจํานวนพนักงานที่จะเข้าร่วมได้ทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
88 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
การจัดการดูแลผลกระทบจากธุรกิจ
ไทยเบฟใส่ใจและให้ความสำ�คัญกับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการ ผลิตตามวิสัยทัศน์ 2020 บริษัทได้กำ�หนดเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม ในหัวข้อที่ครอบคลุมดังต่อไปนี้ ทรัพยากรน้ำ� พลังงาน การปล่อยก๊าซ เรือนกระจก น้ำ�ทิ้งและของเสีย เพื่อที่จะจำ�กัดและลดผลกระทบ จากกระบวนการผลิต ตลอดจนบรรลุการเติบโตอย่างยั่งยืนสำ�หรับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน ไทยเบฟได้กำ�หนดนโยบายการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ� นโยบายด้าน สิ่งแวดล้อม และนโยบายด้านความยั่งยืน เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติสำ�หรับ พนักงานและการบริหารจัดการภายใน ที่จะทำ�ให้มั่นใจได้ว่าการจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัทนั้นตรงกันและตรงกับกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับและมาตรฐานทั้งภายในและระหว่างประเทศ จนเกิดความเป็นเลิศ ทางการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง บริษัทจึงมีการตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม อยู่เป็นประจำ�ตามมาตรฐานการรับรอง ISO 14001 และ ISO 50001 นโยบายเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ที่ชัดเจนของไทยเบฟในการที่จะ จัดการและป้องกันผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม เพื่อผลประโยชน์ ของคนรุ่นปัจจุบันและอนาคต ในขณะเดียวกันไทยเบฟมุ่งมั่นในการพัฒนา อย่างต่อเนื่องตลอดทั้งห่วงโซ่คุณค่า โดยการใช้เทคโนโลยีใหม่เพื่อปรับปรุง ประสิทธิภาพ การจัดการความเสี่ยงจากการดำ�เนินงาน และการตระหนักถึง โอกาสที่สามารถเป็นประโยชน์ร่วมกันในการเติบโตของธุรกิจและคุณค่า ด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม ด้วยความตั้งใจนี้ ไทยเบฟจึงสนับสนุนความตกลงปารีสภายใต้กรอบ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่ทางรัฐบาลไทยได้เข้าร่วมและตั้งเป้าที่จะเป็นผู้นำ�อุตสาหกรรม ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
89 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ใบชา
ข้าว
มอลต์
การดึงนํ้า จากแหล่งนํ้า
การระบายนํ้า ออกสู่ แหล่งนํ้า
ความยั่งยืนด้าน สิ่งแวดล้อม : การจัดการดูแล ผลกระทบจากธุรกิจ
อ้อย
90 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
GRI 103-1, GRI 103-2, GRI 303-1, GRI 303-3, GRI 306-1
การพิทักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ํา • ไทยเบฟได้สร้างระบบบริหารจัดการนํา้ ทีค ่ รบวงจรตัง้ แต่ตน ้ นํา้ จนถึงปลายนํา้ ของห่วงโซ่คณ ุ ค่า โดยร่วมกับ หน่วยงานต่างๆ จัดกิจกรรมภายในชุมชนรอบโรงงานไปจนถึงโครงการระดับประเทศ เพือ่ ส่งเสริมการอนุรก ั ษ์ และฟื้นฟูแหล่งนํ้า และคืนนํ้าสะอาดกลับสู่ธรรมชาติ • ไทยเบฟทําการประเมินความเสีย ่ งด้านนํา้ ของโรงงานผลิตแต่ละแห่งภายใต้โครงการชือ่ การประเมินความยัง่ ยืน ด้านนํา้ (Water Sustainability Assessment: WSA) เพือ่ นําผลการประเมินมาเป็นแนวทางในการบริหาร จัดการนํ้า ลดความเสี่ยงและผลกระทบจากการใช้นํ้าของโรงงานผลิตทั้งในระยะสั้นและระยะยาว • นอกจากการใช้นาํ้ จากแหล่งทีเ่ หมาะสม บริษท ั ยังใช้หลักการ 3Rs คือ ลดการใช้นาํ้ การนํามาใช้ซาํ้ และการนํา กลับมาใช้ใหม่ ทําให้เกิดการใช้นํ้าอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด • ไทยเบฟใช้มาตรฐานสากลในการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อม (ISO14001: 2015) รวมถึงควบคุมมาตรฐาน การปล่อยนํ้าทิ้งโดยสามารถบําบัดนํ้าทิ้งจนมีคุณภาพดีกว่าข้อกําหนดตามกฎหมายก่อนปล่อยสู่แหล่งนํ้า
การบริหาร จัดการต้นน้ำ
การบริหารจัดการ และการดำเนินงาน
การบริหาร จัดการปลายน้ำ
องค์กรกับการอนุรักษ์และ คืนน้ำสะอาดกลับสู่ธรรมชาติ
องค์กรกับการบริหารจัดการ ความเสี่ยงเรื่องน้ำ
องค์กรกับการควบคุมมาตรฐาน การปล่อยน้ำทิ้ง
• การพัฒนาระบบตะบันน้ำขึ้นที่สูง และสร้างระบบฝายชะลอน้ำ • การปลูกป่า • การลดการกีดขวางทางน้ำ และปรับทัศนียภาพแม่น้ำ • การปรับปรุงระบบผลิตน้ำประปาชุมชน
• โครงการประเมินความยั่งยืนด้านน้ำ (WSA) • เครื่องมือประเมินความเสี่ยงด้านน้ำ Global Water Tool
• ระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2015 • มาตรฐานการปล่อยน้ำทิ้ง ตามข้อกำหนดทางกฎหมาย
องค์กรกับการใช้ทรัพยากรน้ำ อย่างมีประสิทธิภาพ • การใช้น้ำจากแหล่งที่เหมาะสม • การประเมินวอเตอร์ฟุตพรินต์ (Water Footprint) • มาตรการ 3Rs
91 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
แบ่งปันคุณค่า การเข้าร่วมโครงการประเมินและรับใบประกาศนียบัตรการใช้ นํ้าบาดาลตลอดวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Water Footprint) รวมไปถึงการบริหารจัดการนํ้าที่ดีของบริษัทไทยเบฟจะก่อให้เกิด ประโยชน์แก่สังคมและสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร โครงการประเมินการใช้นํ้าตลอดวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Water Footprint) จัดโดยกรมทรัพยากรนํ้าบาดาลและสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย เป็นการประเมินปริมาณการใช้นํ้าของทั้งภายใน โรงงานผลิตและตลอดห่วงโซ่อุปทาน ทําให้เห็นกระบวนการหรือ ขั้นตอนที่มีการใช้นํ้าสูง เพื่อนําไปสู่การหาแนวทางลดการใช้นํ้าและ สร้างความตระหนักในการใช้นํ้า รวมทั้งสนับสนุนการขยายผลการ พัฒนาความยั่งยืนและบริหารจัดการนํ้าตลอดห่วงโซ่อุปทานให้มี ความเข้มแข็งมากขึ้น ทําให้บริษัทสามารถสร้างคุณค่าและแบ่งปัน สู่สังคมและสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน ในฐานะตัวแทนบริษัทไทยเบฟ มองเห็นแนวทางของบริษัทในการ พัฒนาความยั่งยืนและการบริหารจัดการนํ้าอย่างไร ในปัจจุบันการขาดแคลนนํ้ากลายเป็นประเด็นที่ทวีความรุนแรงขึ้น ทั่วโลก ไทยเบฟตระหนักถึงความเสี่ยงและผลกระทบต่อชุมชน จึงกําหนดแนวทางปฏิบัติในการบริหารจัดการนํ้าทั้งด้านปริมาณ และคุณภาพอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้สามารถรักษาสมดุลระหว่าง การดําเนินธุรกิจ ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เช่น คุณนพวารินทร์ ดวงดี
ผู้ช่วยผู้จัดการโรงงานสุราบริษัท แสงโสม จํากัด
โรงงานสุราบริษัท แสงโสม จํากัด ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของไทยเบฟ ได้เข้าร่วมโครงการประเมินการใช้นํ้าบาดาลตลอดวัฏจักรชีวิต ผลิตภัณฑ์ (Water Footprint) กับกรมทรัพยากรนํ้าบาดาล และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และรับใบประกาศนียบัตร เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2561 วอเตอร์ฟุตพรินต์ (Water Footprint) คืออะไร วอเตอร์ฟุตพรินต์ เป็นค่าชี้วัดปริมาณนํ้าที่ใช้ในกระบวนการผลิต สินค้าทั้งทางตรงและทางอ้อมตลอดห่วงโซ่อุปทานที่สามารถนําไป ต่อยอดให้เกิดการใช้ทรัพยากรนํ้าผิวดินและนํ้าบาดาลอย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันทางธุรกิจได้อย่างยั่งยืน
• ลดผลกระทบต่อแหล่งนํา้ ธรรมชาติ เพือ่ ให้ชม ุ ชนมีนาํ้ ทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพดี เพียงพอสําหรับการอุปโภคและบริโภค • ส่งเสริมให้พนักงานทุกคนใช้นํ้าอย่างมีประสิทธิภาพและดําเนินการ ตามแนวปฏิบัติด้านการอนุรักษ์นํ้า เช่น รณรงค์ส่งเสริมการ อนุรก ั ษ์นาํ้ ด้วยการใช้นาํ้ อย่างรูค ้ ณ ุ ค่า ผ่านสือ่ ประชาสัมพันธ์ตา่ งๆ เช่น สื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์ หรือบอร์ดประชาสัมพันธ์ ฯลฯ • ใช้เทคโนโลยีเพือ่ เพิม ่ การนํานํา้ กลับมาใช้ประโยชน์สงู สุดตามหลัก 3Rs เช่น การปรับเปลี่ยนเครื่องจักรในระบบบําบัดนํ้าให้เป็นระบบ อัตโนมัติ (Automation) เพื่อลดปริมาณการใช้นํ้า • ร่วมมือกับชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในด้านการใช้นํ้าและ การอนุรักษ์แหล่งนํ้า เช่น โครงการจิตอาสาพัฒนาคูคลองสองฝั่ง แม่นํ้าท่าจีน เป็นโครงการที่บริษัทร่วมมือกับบริษัทเอกชน องค์การบริหารส่วนท้องถิน ่ และชุมชน ในการดูแลรักษาแม่นาํ้ ท่าจีน ที่เป็นแหล่งนํ้าสําคัญของชุมชน
92 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ภารกิจสําคัญ
การบริหารจัดการน้ํา • ใช้แผนที่ทางอากาศเพื่อศึกษาเส้นทางการไหลของนํ้า (Stream) พื้นที่รับนํ้า (Watershed) ความลาดเอียงของ พื้นที่ (Slope pattern) และการใช้พื้นที่ในพื้นที่ศึกษา (รัศมี 5 กิโลเมตรรอบโรงงาน) รวมไปถึงแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงการใช้พื้นที่ในรอบ 20 ปีที่ผ่านมา การเปลี่ยนแปลงทางกฎหมาย (Regulatory) ทบทวนข้อกําหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนํ้าในปัจจุบันและ ร่างข้อกําหนดและกฎหมายที่อาจจะมีผลบังคับใช้ในอนาคต ทัศนคติของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) • สํารวจและรับฟังความคิดเห็นจากชุมชน หมู่บ้าน และ หน่วยงานราชการท้องถิ่น • ศึกษาตัวชี้วัดหลักทางเศรษฐกิจและสังคมของพื้นที่ศึกษา (Key socio-economic indicators)
ปัญหาการเข้าถึงนํ้าสะอาดถือเป็นความท้าทายในอนาคตของผู้ใช้นํ้า ไม่วา่ จะเป็นบริษท ั ไทยเบฟในฐานะผูผ ้ ลิตหรือชุมชนโดยรอบโรงงานผลิต ด้วยความห่วงใยชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่อาจได้รับผลกระทบ จากการใช้นํ้า ไทยเบฟจึงใช้กระบวนการบริหารจัดการนํ้า โดยแบ่ง การทํางานออกเป็น 3 ด้าน ดังนี้ 1. ประเมินความเสี่ยงด้านนํ้า ไทยเบฟได้ริเริ่มโครงการประเมินความเสี่ยงด้านนํ้าภายใต้ชื่อ การประเมินความยั่งยืนด้านนํ้า (Water Sustainability Assessment: WSA) ซึ่งเป็นโครงการที่ใช้ผู้เชี่ยวชาญ ที่มีประสบการณ์ในการประเมินความยั่งยืนด้านนํ้า โดยเริ่มต้นที่ โรงงานสุรา บริษัท สุราบางยี่ขัน จํากัด จ.ปทุมธานี จุดประสงค์ เพื่อประเมินความเสี่ยงด้านนํ้าในเชิงลึกทั้งในปัจจุบันและที่อาจ เกิดขึ้นในอนาคต ครอบคลุม 4 มิติคือ ความพอเพียงของนํ้า (Availability) คุณภาพนํ้า (Quality) การเปลี่ยนแปลงทาง กฎหมาย (Regulatory) และทัศนคติของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ซึ่งมีขั้นตอนการศึกษาดังนี้
สรุปและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ เพื่อนําไปวางแผนการจัดการนํ้า แบบบูรณาการ เพื่อลดความเสี่ยงในทุกมิติของโรงงานผลิต ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อไป ใช้ Global Water Tool ซึ่งเป็นเครื่องมือที่พัฒนาโดยสภาธุรกิจ โลกเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน หรือ World Business Council for Sustainable Development (WBCSD) เพื่อประเมินระดับ ความตึงเครียดของนํ้า (Water Stress) ในแต่ละโรงงาน โดยใช้ ตําแหน่งที่ตั้งของโรงงานร่วมกับปริมาณการใช้นํ้าในโรงงานต่างๆ ทําบัญชีปริมาณการใช้นาํ้ แหล่งนํา้ และการสํารองนํา้ เพือ่ ให้การใช้นาํ้ ของบริษท ั มีเสถียรภาพและไม่กระทบกับผูม ้ สี ว่ นได้สว่ นเสียและชุมชน 2. เพิ่มประสิทธิภาพการใช้นํ้า ใช้วอเตอร์ฟต ุ พรินต์ (Water Footprint) เพือ่ วัดปริมาณการใช้นาํ้ เริ่มจากวัตถุดิบ กระบวนการผลิต จนมาเป็นผลิตภัณฑ์ จากนั้น นําผลที่ได้มาขยายผลในการปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพ ของการใช้นํ้า
ความพอเพียงของนํา้ (Availability) และคุณภาพนํา้ (Quality)
ปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อให้ใช้นํ้าอย่างมีประสิทธิภาพด้วย หลักการ 3Rs คือ ลดการใช้ การนํามาใช้ซํ้า และนํากลับมาใช้ใหม่
• รวบรวมข้อมูลปริมาณการใช้นํ้าจากแหล่งนํ้าต่างๆ ปริมาณ การปล่อยนํ้าทิ้งที่บําบัดแล้ว และปริมาณการเติมนํ้ากลับ เพื่อวิเคราะห์สมดุลในการใช้นํ้า • สํารวจสถานที่ตั้งและรายละเอียดของโรงงาน เช่น บ่อสํารอง นํ้าดิบ ระบบในการผลิต ถังเก็บวัตถุดิบและสารเคมี ระบบ บําบัดนํ้าเสีย เพื่อนําข้อมูลไปวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านปริมาณ และคุณภาพ • สํารวจชุมชน โรงงานอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อมต่างๆ ในพื้นที่ศึกษา (รัศมี 5 กิโลเมตรรอบโรงงาน) • ศึกษาข้อมูลอุตุนิยมวิทยาอุทกหรืออุตุนิยมวิทยาที่เกี่ยวข้อง กับนํ้าในบรรยากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น ปริมาณ ฝน การเกิดนํ้าท่วม การเกิดแผ่นดินไหว ภัยแล้ง ฯลฯ
ใช้การบํารุงรักษาแบบทวีผลทีท ่ ก ุ คนมีสว่ นร่วม (Total Productive Maintenance: TPM) เป็นการดูแลรักษาเครื่องจักรและอุปกรณ์ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานสูงสุด เพื่อลดการสูญเสียนํ้าและ พลังงานในระบบการผลิต 3. ควบคุมมาตรฐานการปล่อยนํ้าทิ้ง บริษัทมีระบบบําบัดนํ้าเสียที่ออกแบบให้เหมาะสมกับแต่ละธุรกิจ มีการควบคุมมาตรฐานนํ้าทิ้งให้เป็นไปตามประกาศกระทรวง อุตสาหกรรมเรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าทิ้ง จากโรงงาน พ.ศ. 2560 และดําเนินการตามมาตรฐานสากล ในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001: 2015) และโรงงานได้มก ี ารบําบัดนํา้ ทิง้ จนมีคณ ุ ภาพดีเกินกว่าข้อกําหนด ตามกฎหมายก่อนปล่อยสู่แหล่งนํ้า
93 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
การอนุรก ั ษ์และคืนน้าํ สะอาด กลับสูธ่ รรมชาติ บริษัทสนับสนุนหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกในการจัด กิจกรรมและโครงการต่างๆ เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าต้นนํ้า และคืนนํ้าสะอาดกลับสู่ธรรมชาติ รวมถึงการฟื้นฟูแหล่งนํ้า และระบบนิเวศให้อุดมสมบูรณ์ • โครงการไทยเบฟร่วมสร้างต้นแบบตําบลสัมมาชีพ ต.บัวใหญ่ จ.น่าน เป็นโครงการที่เกิดจากแนวคิด การบริหารจัดการนํ้า ต้นทุนในพื้นที่การเกษตรผสมผสานเพื่อต่อยอดและขยาย แนวคิด 1 ไร่ เกษตรอินทรีย์ โดยมีเป้าหมายเพื่อฟื้นฟูป่า ต้นนํ้าน่าน ไทยเบฟจึงร่วมกับชุมชนพัฒนาระบบตะบันนํ้าขึ้น ที่สูงและสร้างระบบฝายชะลอนํ้าเพื่อใช้เก็บกักนํ้าในการเกษตร โดยให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตัวเองได้ นอกจากนี้ ยังร่วมกัน พัฒนาระบบประปาภูเขา ซึ่งโครงการดังกล่าวยังให้ความรู้และ ช่วยกระตุ้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนจากการปลูกพืชเชิงเดี่ยว ไปสู่เกษตรผสมผสานอีกด้วย • โครงการความร่วมมือกับศูนย์ศก ึ ษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ไทยเบฟฯ ร่วมอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าพัฒนาคุณภาพชีวิต ต.นํ้าพาง จ.น่าน สร้างฝายชะลอนํ้า ช่วยอนุรักษ์ต้นนํ้าและ ฟืน ้ ฟูระบบนิเวศให้อด ุ มสมบูรณ์เพือ่ การฟืน ้ ฟูปา่ ต้นนํา้ น่าน • โครงการสานสัมพันธ์ นทีชัย แก่งกรุง ร่วมกันสร้างฝาย ชะลอนํ้าที่อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง อ.วิภาวดี จ.สุราษฏร์ธานี เป็นการอนุรักษ์ต้นนํ้าและฟื้นฟูระบบนิเวศให้อุดมสมบูรณ์
• โครงการรักนํ้า รักป่า รักษาแผ่นดิน “ จิตอาสา สร้างป่า รักษ์นํ้า” พนักงาน (บริษัท มงคลสมัย จํากัด) ร่วมปลูกป่า กับองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุตรดิตถ์และองค์การบริหาร ส่วนตําบลผาจุก ที่บึงมาย ต.บ้านด่านแม่คามัน อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์ เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรนํ้า ป่าไม้ ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • โครงการจิตอาสาพัฒนาคูคลองสองฝั่งท่าจีน และโครงการ คลองสวยนํ้าใส เป็นโครงการที่บริษัทร่วมมือกับบริษัทเอกชน องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและชุมชน ในการดูแลทําความ สะอาดเก็บผักตบชวาและวัชพืชในแม่นาํ้ ท่าจีน คลองเจดียบ ์ ชู า จ.นครปฐม และคลองแสนสุข จ.สมุทรสาคร ที่เป็นแหล่งนํ้า ในชุมชนรอบโรงงาน เพื่อช่วยระบายนํ้าโดยลดการกีดขวาง ทางนํ้าและช่วยป้องกันความเสียหายต่อทรัพย์สินและพื้นที่ เกษตรกรรมในช่วงฤดูฝน ลดการเกิดนํ้าเน่าเสีย และปรับ ทัศนียภาพของแม่นํ้าและคูคลอง • โครงการปรับปรุงระบบผลิตนํ้าประปาชุมชน ที่ประปาชุมชน บ้านโคกก่องและประปาชุมชนบ้านดงยายเภา จ.บุรีรัมย์ โดยบริษัทเข้าไปทําการปรับปรุงระบบท่อสูบนํ้า ระบบไฟฟ้า และระบบผลิตนํ้าประปา เก็บตัวอย่างนํ้าประปาไปวิเคราะห์ คุณภาพ รวมถึงให้คําแนะนําต่างๆ แก่ผู้ผลิตประปาชุมชน เพื่อให้นํ้าประปาสําหรับการอุปโภคของชุมชนรอบโรงงาน เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
94 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ทิศทางการดําเนินงาน จากการบริหารจัดการนํ้าที่มีประสิทธิภาพส่งผลให้ในปี 2561 บริษัทมีอัตราส่วนของการนํานํ้ากลับมาใช้ซํ้าและนํากลับมาใช้ใหม่ คิดเป็น
10.54%
การลด • โครงการลดการสูญเสียจากการ รั่วไหลในระบบท่อต่างๆ • โครงการลดการใช้น้ำในขั้นตอน การล้างถังหมักเบียร์ • โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ ไอน้ำในกระบวนการกลั่น
การนำ มาใช้ซ้ำ
5.04%
• โครงการนำน้ำคอนเดนเสตกลับมา ป้อนเครื่องกำเนิดไอน้ำเพื่อลดการใช้น้ำ และลดการใช้พลังงานความร้อน • โครงการนำน้ำทิ้งในกระบวนการปรับ สภาพน้ำบางส่วนกลับมาใช้ในระบบ สาธารณูปโภคทำให้ลดการใช้ทรัพยากร น้ำจากแหล่งน้ำต่างๆ ลง
การนำกลับ มาใช้ใหม่
5.50%
• โครงการนำน้ำทิ้งที่ผ่านการบำบัด มาใช้รดน้ำต้นไม้ในโรงงาน
5%
เป้าหมาย
การลดอัตราส่วนของการใช้นำ้ จาก แหล่งน้ำต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ ภายในปี 2563 เปรียบเทียบกับปีฐาน 2557
ในธุรกิจเครื่องดื่ม อัตราส่วนของการใช้นํ้าต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ลดลง 1.37 เฮกโตลิตร ต่อเฮกโตลิตร หรือคิดเป็นร้อยละ 16.72 เมื่อเปรียบเทียบกับฐานปี 2557 สําหรับในธุรกิจอาหาร อัตราส่วนลดลง 0.06 เฮกโตลิตรต่อกิโลกรัม หรือคิดเป็น ร้อยละ 22.86 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2560
95 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
อัตราส่วนของการใช้น้ำจากแหล่งน้ำต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ของธุรกิจเครื่องดื่ม (เฮกโตลิตรต่อเฮกโตลิตรผลิตภัณฑ์)
8.21
0
2557
7.71
7.51
2558
2559
8.20
2560
6.84
2561
อัตราส่วนของการใช้น้ำจากแหล่งน้ำต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ของธุรกิจอาหาร (เฮกโตลิตรต่อกิโลกรัมผลิตภัณฑ์์)
0.28
0
2560
0.22
2561
ไทยเบฟมีแผนจะขยายการประเมินความยั่งยืนด้านนํ้า (Water Sustainability Assessment: WSA) เพื่อประเมินและหา แนวทางบริหารจัดการความเสี่ยงด้านนํ้าทุกมิติในทุกกลุ่ม ธุรกิจของบริษท ั ซึง่ คาดว่าการประเมินความยัง่ ยืนของนํา้ ใต้ดน ิ (Groundwater Sustainability Assessment: GSA) ในโรงงานบริษัท เบียร์ทิพย์ บริวเวอรี่ (1991) จํากัด จ.พระนครศรีอยุธยา จะเสร็จสิ้นในเดือนพฤศจิกายน 2561 และในปีต่อๆ ไปคาดว่าจะขยายการประเมินไปในทุกโรงงาน ในกลุ่มธุรกิจสุรา กลุ่มธุรกิจเบียร์ กลุ่มธุรกิจเครื่องดื่ม ไม่มีแอลกอฮอล์ และกลุ่มธุรกิจอาหาร
ในด้านการลดปริมาณการใช้นํ้า บริษัทอยู่ระหว่างการเชิญชวน บริษัทคู่ค้าเข้าร่วมประเมินวอเตอร์ฟุตพรินต์ (Water Footprint) คือ บริษัทผู้ผลิตนํ้าตาล ซึ่งคาดว่าจะมีบริษัท ผู้ผลิตนํ้าตาลอย่างน้อย 1 แห่ง เสร็จสิ้นการประเมินภายในปี 2562 และยังมีแผนเชิญชวนคู่ค้าวัตถุดิบหลักของบริษัท เช่น ผู้ผลิตขวดแก้ว ฯลฯ ในปีต่อๆ ไปด้วยเช่นกัน เพื่อให้เกิดการ บริหารจัดการนํ้าแบบบูรณาการตลอดห่วงโซ่คุณค่า
96 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
GRI 103-1, GRI 103-2, GRI 306-2
การจัดการของเสีย
ไทยเบฟประยุกต์ใช้หลักการจัดลําดับความสําคัญของการจัดการของเสีย (Waste Hierarchy) และหลักการ เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) คือ นํากลับมาใช้ใหม่ (Reuse/Redistribution) หรือนํากลับมา ผลิตอีกครั้ง (Re-manufacturing/Recycle) เพื่อลดและป้องกันการเกิดผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน โดยนํามาใช้ในการดําเนินงาน ดังนี้ • ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์และบริหารจัดการบรรจุภณ ั ฑ์หลังการบริโภคเพือ่ ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในบรรจุภณ ั ฑ์ หลัก แต่ยังคงคุณภาพและความแข็งแรง เช่น ออกแบบขวดนํ้าดื่มให้ใช้ปริมาณพลาสติกลดลง นําขวดแก้วและ ไส้กล่องหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ในการผลิตเครื่องดื่ม • ให้ความรู้และฝึกอบรมพนักงานให้มีส่วนร่วมในการลดและป้องกันการเกิดของเสียโดยใช้เครื่องมือการบริหาร จัดการคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management: TQM) และเครื่องมือการบํารุงรักษาทวีผล แบบทุกคนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance: TPM) • เพิ่มมูลค่าของเสียหรือผลผลิตพลอยได้ โดยนําไปใช้เป็นวัตถุดิบในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อสนับสนุนให้ลดการใช้ปุ๋ยเคมี เช่น นํากากข้าวมอลต์ กากส่าธัญพืช จากการผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไปใช้ เป็นส่วนผสมของอาหารสัตว์ หรือนํากากตะกอนส่าและนํ้ากากส่าที่ผ่านการหมักจากกระบวนการผลิตสุราไปใช้ เป็นสารปรับปรุงดินในการปลูกพืช เช่น อ้อย ข้าว มันสําปะหลัง ปาล์มนํ้ามัน • นําของเสียจากกระบวนการผลิตเครื่องดื่มมาผลิตพลังงานจากชีวภาพและชีวมวล เช่น นํานํ้ากากส่าซึ่งเป็น ของเสียจากกระบวนการผลิตสุรา และนํ้าเสียจากการผลิตเบียร์มาผลิตก๊าซชีวภาพ และนํานํ้ากากส่า มาระเหยนํ้าออกเพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงานชีวมวลในการผลิตพลังงานความร้อนและพลังงานไฟฟ้า
97 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
มีประ ส ิทธิภ าพ สูงสุด
ลดการใช้
บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก
การใช้ซ้ำ การเพิ่มมูลค่าของเสีย การนำกลับ มาใช้ใหม่
ฟื้นฟูเป็น พลังงาน
การพัฒนา ของเสียสู่พลังงาน
การเผา
ม ีประส ิท ธิ ภา พ
การฝังกลบ
ต่ำสุด
การบำบัดหรือการกำจัด ของเสียอย่างรับผิดชอบ
การสนับสนุน ให้พนักงาน มีส่วนร่วมในการ ลดของเสีย
98 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
แบ่งปันคุณค่า บริษัทไทยเบฟได้ส่งโครงการใดเข้าประกวด และประสบความสําเร็จ อย่างไร โครงการผลิตพลังงานหมุนเวียนจากนํ้ากากส่าของบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ เอ็นเนอร์ยี่ จํากัด สาขาจังหวัดบุรีรัมย์ ได้รับรางวัล ดีเด่นด้านพลังงานทดแทน ประเภทโครงการผลิตไฟฟ้าและ ความร้อนร่วม (Cogeneration) เป็นโครงการที่ผลิตก๊าซชีวภาพจาก การบําบัดนํ้ากากส่ามาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าและไอนํ้า ซึ่งสามารถทดแทนการใช้เชื้อเพลิงนํ้ามันเตาในกระบวนการผลิตสุรา ได้ทั้งหมดและยังเพียงพอต่อการนําไปผลิตไฟฟ้าเพื่อจําหน่ายให้แก่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) อีกด้วย ภายหลังได้รับรางวัล ทางบริษัทฯ มีแผนในการจัดการของเสีย สู่พลังงานในอนาคตอย่างไร ในอนาคต บริษัทมีแผนจะขยายโครงการผลิตพลังงานทดแทน ไปในทุกโรงงาน เพื่อกําจัดและบําบัดของเหลือทิ้งจากภาคการผลิต รักษาสิ่งแวดล้อม สร้างความยั่งยืนและมั่นคงทางด้านพลังงานให้กับ องค์กร เนื่องจากพลังงานเป็นอีกปัจจัยที่สําคัญของอุตสาหกรรม ที่ขาดไม่ได้
คุณปราโมทย์ สมชัยยานนท์
กรรมการผู้จัดการบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ เอ็นเนอร์ยี่ จํากัด
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ เอ็นเนอร์ยี่ จํากัด ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ กลุ่มไทยเบฟ มีภารกิจหลักคือนําของเหลือทิ้งจากการผลิตมาแปลง กลับมาเป็นพลังงาน (Waste to Energy) ส่งผลให้บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ เอ็นเนอร์ยี่ จํากัด สาขาจังหวัดบุรีรัมย์ ได้รับรางวัล ดีเด่นด้านพลังงานทดแทน ประเภทโครงการผลิตไฟฟ้าและ ความร้อนร่วม (Cogeneration) จากเวที Thailand Energy Awards 2018
ผลประโยชน์จากโครงการ • เสริมสร้างความยั่งยืนและมั่นคงด้านพลังงาน • ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลที่ใช้แล้วมีวันหมดไป • เพิ่มสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนของประเทศไทย • ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากกว่า 80,000 ตัน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี* • แก้ไขปัญหากลิ่นรบกวนโดยปรับปรุงระบบบําบัดนํ้ากากส่า เป็นระบบบ่อปิด • เกษตรกรสามารถนํานํ้ากากส่าที่ผ่านการบําบัดแล้วไปใช้เป็นสาร ปรับปรุงดิน • เกิดการจ้างแรงงานในท้องถิ่นเพื่อเป็นบุคลากรภายในโครงการ
Thailand Energy Awards คืออะไร Thailand Energy Awards เป็นโครงการทีช่ วี้ ด ั ความสําเร็จของภาครัฐ และภาคเอกชนที่มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาพลังงานทางเลือกและ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ พิจารณาทั้งด้านการจัดการ สิ่งแวดล้อม ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม การขยายผล และ ศักยภาพในการนําไปใช้ *หมายเหตุ อ้างอิงตามโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER)
99 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภารกิจสําคัญ
โครงการลดขยะและลดการใช้พลาสติกในชีวิตประจําวัน
บริษัทมีโครงการสนับสนุนการลดขยะและลดการใช้พลาสติกในชีวิต ประจําวันภายในองค์กรอย่างต่อเนื่องโดยริเริ่มโครงการต่างๆ ดังนี้ • โครงการธนาคารขยะ โครงการคัดแยกขยะ และกิจกรรมการมี ส่วนร่วมในการจัดการขยะ เพื่อส่งเสริมการลดและการคัดแยกขยะ ตั้งแต่จุดกําเนิดเพื่อให้สามารถนําขยะไปใช้ประโยชน์หรือก่อให้เกิด มูลค่าก่อนกําจัดอย่างถูกวิธีต่อไป คาดว่าสามารถลดขยะได้ 600 กิโลกรัมต่อโรงงานต่อปี • โครงการเปลี่ยนขยะอาหาร (Food Waste) เป็นปุ๋ย เพื่อลด ปริมาณขยะและลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมในการกําจัดขยะ อาหาร อีกทั้งยังเป็นการนําขยะไปใช้ประโยชน์ คาดว่าสามารถลด ขยะได้ 1.8 ตันต่อโรงงานต่อปี
• โครงการลด ละ เลิก การใช้ถุงพลาสติกและกล่องโฟมบรรจุ อาหาร โครงการสะสมแต้มในการใช้ถุงผ้าลดโลกร้อน และ โครงการส่วนลดหากนําแก้วนํ้ามาเอง เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิด การลดการใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง (Single-use plastic) และกระตุ้นให้ใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาของเสียสูพ ่ ลังงาน ไทยเบฟสามารถนําของเสียจากการผลิตฟื้นฟูกลับมาเป็นพลังงาน หมุนเวียน (Renewable Energy) ได้ โดยแบ่งพลังงานออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. พลังงานจากก๊าซชีวภาพ ได้มาจากกระบวนการผลิตเครือ่ งดืม ่ โดยนํากลับมาใช้ทดแทนพลังงานจากเชือ้ เพลิงฟอสซิล ซึง่ เชือ้ เพลิง ก๊าซชีวภาพปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG Emission) น้อยกว่า เชื้อเพลิงฟอสซิล นอกจากนี้ยังช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิงของ บริษัท โดยในปี 2561 ไทยเบฟสามารถทดแทนการใช้นํ้ามันเตา ได้ถึง 19.26 ล้านลิตร หรือคิดเป็นเงิน 306.85 ล้านบาท 2. พลังงานจากเชื้อเพลิงชีวมวล ไทยเบฟมีโรงงานผลิตพลังงาน ทดแทนจากนํ้ากากส่าที่จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งเป็นระบบผลิต พลังงานร่วม (Cogeneration system) สามารถผลิตได้ทั้ง พลังงานไฟฟ้าและพลังงานความร้อนจากเชื้อเพลิงชีวมวลจาก นํ้ากากส่าที่ถูกทําให้เข้มข้น โดยโครงการดังกล่าวได้เริ่มจําหน่าย ไฟฟ้าให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เมื่อ 11 กันยายน พ.ศ. 2561 ซึ่งคาดว่าจะผลิตพลังงานความร้อนในรูปของไอนํ้า ใช้สําหรับการผลิตสุราของบริษัทได้ถึง 60 ตันต่อชั่วโมง และผลิตไฟฟ้าจําหน่ายให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้สูงสุดถึง 7,500 กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง
100 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ทิศทางการดําเนินงาน
แม้จะมีมาตรการป้องกันการเกิดของเสียเพื่อลดการนําขยะไปฝังกลบ ให้น้อยที่สุด แต่ไม่อาจเลี่ยงของเสียที่เกิดจากการควบคุมคุณภาพ และความปลอดภัยของผู้บริโภคได้ ดังนั้นเพื่อการดําเนินธุรกิจอย่าง มีความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม ไทยเบฟจําเป็น ต้องบําบัดหรือกําจัดของเสียอย่างถูกวิธีและถูกต้องตามกฎหมาย ซี่งความสําเร็จในปี 2561 มีดังนี้ • สามารถลดการใช้ทรัพยากรในบรรจุภัณฑ์หลักได้ทั้งสิ้น 598,199 ตัน
• ธุรกิจเครื่องดื่ม สามารถนํากลับไปใช้ประโยชน์ (การใช้ซํ้า การนํา กลับมาใช้ใหม่ และการนําไปผลิตเป็นพลังงาน) ได้ถงึ ร้อยละ 88.63 จากปริมาณของเสียจากกระบวนการผลิตทั้งหมด 12,677 ตัน • ธุรกิจอาหาร สามารถนํากลับไปใช้ประโยชน์ (การใช้ซํ้า การนํากลับ มาใช้ใหม่ และการนําไปผลิตเป็นพลังงาน) ได้ถึงร้อยละ 44.08 จากปริมาณของเสียจากกระบวนการผลิตทั้งหมด 796 ตัน
ปริมาณของเสียและวิธีการกำจัดของกลุ่มธุรกิจเครื่องดื่ม
ปริมาณของเสียและวิธีการกำจัดของกลุ่มธุรกิจอาหาร
(หน่วย: ตัน)
(หน่วย: ตัน)
56%
1% 11% 1%
44%
3% 6% 78%
การใช้ซ้ำ การนำกลับมาใช้ใหม่ การหมักทำปุ๋ย การนำไปผลิตเป็นพลังงาน การเผา การฝังกลบ
12,677 ตัน
796 ตัน
101 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ใน พ.ศ. 2562 บริษัทมีแผนในการขยายธุรกิจด้านการจัดการของเสีย ดังนี้ • ธุรกิจบริหารจัดการบรรจุภัณฑ์หลังการบริโภค ไทยเบฟมีแผนการก่อสร้างโรงงานรีไซเคิลในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในปี 2562 เพื่อขยายผลจากเดิมที่มีการจัดการบรรจุภัณฑ์ ขวดแก้วครบวงจรสู่การเป็นผู้นําในธุรกิจขวดแก้วและรีไซเคิล
2547-2558
กล่าวคือบริษัทจะขยายไปยังธุรกิจรีไซเคิลวัสดุของบรรจุภัณฑ์ ที่หลากหลายยิ่งขึ้น เช่น ขวดพลาสติก กระป๋องอะลูมิเนียม กระดาษลูกฟูก
2559
2560
จุดเริ่มต้นของ ธุรกิจรีไซเคิล
การขยายธุรกิจ รีไซเคิล
เพิ่มประสิทธิภาพ ของกระบวนการ
โรงงานรีไซเคิล แห่งแรก
เพิ่มความหลากหลาย ผู้นำอย่างยั่งยืน ของวัสดุที่นำกลับมา รีไซเคิล
ตั้งศูนย์รับซื้อ เพื่อเก็บขวดแก้ว กลับคืนหลังการ บริโภค เพื่อนำกลับ มาใช้ซำ้ (Reuse) และนำกลับมา ใช้ใหม่ (Recycle)
เริ่มมีการรับซื้อ เศษแก้วเพื่อนำ กลับมาใช้ใน กระบวนการผลิต ขวดแก้ว
ประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีและ เครื่องจักร และ กำหนดกระบวนการ มาตรฐาน
เปิดโรงงาน รีไซเคิลแห่งแรก ที่จังหวัด พระนครศรีอยุธยา
ขยายธุรกิจรีไซเคิล ไปยังวัสดุบรรจุภณ ั ฑ์ อื่นๆ ได้แก่ ขวด พลาสติก กระป๋อง อะลูมิเนียม กระดาษ ลูกฟูก
• ธุรกิจพลังงานทดแทน ภายในปี 2562 ไทยเบฟจะมีการก่อสร้างโรงงานผลิตก๊าซชีวภาพ จากนํ้ากากส่าของโรงงานผลิตสุราเพิ่มขึ้นอีก 2 แห่ง คือ จังหวัด หนองคายและจังหวัดนครสวรรค์ ปัจจุบันได้จัดประชุมรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชนและจัดทํารายงานการวิเคราะห์ ความเสี่ยงที่เกิดจากการประกอบกิจการโรงงานของทั้ง 2 แห่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้ว และคาดว่าทั้ง 2 แห่งจะสามารถผลิต
2561
2562
2563
ในธุรกิจขวดแก้ว และธุรกิจรีไซเคิล
ก๊าซชีวภาพไปใช้ทดแทนนํ้ามันเตาในการผลิตของโรงงานในปี 2563 โดยสามารถช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกไปได้ ถึงแห่งละ 30,000 ตันต่อปี นอกจากนี้จะมีการริเริ่มโครงการ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ในโรงงานผลิตเบียร์ และโรงงานผลิตชาเขียวด้วย
102 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
GRI305-5
บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก • บรรจุภัณฑ์หลักที่มีการใช้มากที่สุดในกระบวนการ ผลิตสุรา เบียร์ เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ และอาหาร ได้แก่ แก้ว กระดาษ และพลาสติก • ในการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ นอกจากรูปลักษณ์ ที่สวยงาม บริษัทยังคํานึงถึงปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม จึงใช้หลัก 3Rs คือ Reduce ลดการใช้, Reuse การใช้ซํ้า และ Recycle การนํากลับมาใช้ใหม่ เพื่อ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในระยะยาว
• ไทยเบฟร่วมกับทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมชนท้องถิ่น ริเริ่มโครงการและกิจกรรมหลายอย่าง เพื่อส่งเสริม ความร่วมมือในการจัดการปัญหาขยะและมลพิษ ที่เกิดจากบรรจุภัณฑ์
แบ่งปันคุณค่า
คุณสินชัย เทียนศิริ
ผู้อํานวยการ สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดล้อม (TIPMSE)
บรรจุภัณฑ์ใช้แล้วประเภทต่างๆ ถือเป็นวัตถุดิบอย่างหนึ่ง ซึ่งหากเรามีการแยก ประเภทบรรจุภัณฑ์หลังการบริโภคอย่างเหมาะสมแล้วนั้น สุดท้ายบรรจุภัณฑ์ก็จะถูก นํากลับไปเป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิต ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนล้วนต้องเข้ามามีบทบาทในการส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีความ ตระหนักและรับผิดชอบผลจากการบริโภคของตนเองและเพิม ่ ช่องทางให้ผบ ู้ ริโภค เข้ามามีสว่ นร่วมในการปรับพฤติกรรม เพือ่ ร่วมสร้างสังคมแห่งการบริโภคอย่างยัง่ ยืน ในระดับประเทศ
103 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภารกิจสําคัญ
การบริหารจัดการบรรจุภัณฑ์หลัก
ไทยเบฟมีแนวคิดในการนําวัสดุบรรจุภัณฑ์หลังการบริโภคกลับคืนมาสู่กระบวนการผลิตและห่วงโซ่อุปทาน โดยมุ่งเน้นการสร้างความร่วมมือ และการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ทั้งบริษัทเอง คู่ค้า ร้านค้า และผู้บริโภค เพื่อลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากผลิตภัณฑ์ ของเราอย่างยั่งยืน โดยยึดหลักการเดียวกันกับเป้าหมายเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (UN SDGs) ข้อ 12 เรื่องการส่งเสริมรูปแบบการผลิตและบริโภคอย่างยั่งยืน ในด้านการลดการเกิดของเสีย โดยเฉพาะบรรจุภัณฑ์หลักของบริษัท ผ่านการ ลดปริมาณ การใช้ซํ้า และการนํากลับมาใช้ใหม่
การบริหารจัดการบรรจุภัณฑ์ขวดแก้วในระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน
ร้านค้า
โรงงานบรรจุ โรงงานผลิตขวดแก้ว
ผู้บริโภค
โรงงานแปรรูปเศษแก้ว
โรงงานรีไซเคิล
ขวดแก้ว
ร้านรับซื้อขวดแก้ว และเศษแก้ว
การลด ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ (ทราย)
• ลดน้ำหนักขวดสำหรับขวดที่ใช้ครั้งเดียวและนำกลับ มาใช้ใหม่เป็นวัตถุดิบในการผลิต
43,680
• ออกแบบรูปทรงให้แข็งแรงและทนต่อแรงกระแทก เพื่อรักษาสภาพให้พร้อมเก็บกลับคืนและนำกลับมาใช้ซ้ำ เพื่อให้บรรจุได้จำนวนรอบมากที่สุด
การนำกลับมาใช้ใหม่
• ริเริ่มธุรกิจรับซื้อเศษแก้วคืนจากผู้บริโภคโดยตรง เพื่อนำ ของเสียกลับมาเป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิต
ตัน
ในกระบวนการผลิตขวดแก้ว
นำเศษแก้วกลับมาใช้ใหม่ในกระบวนการ ผลิตเป็นจำนวน
108,256
ตัน
การใช้ซ้ำ
นำขวดแก้ว
1,490
ล้านขวด กลับมาใช้ในกระบวนการผลิต
104 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
กล่องลูกฟูก
การลด ลดการใช้ทรัพยากรกระดาษโดยเฉลี่ย
• เพิ่มอัตราส่วนกระดาษที่นำมาใช้ใหม่ และนำกล่องชำรุด มาทำกระดาษอัดก้อนเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ในกระบวนการ ผลิตกล่องลูกฟูก • ใช้เทคโนโลยีในการผลิต ลดการใช้ทรัพยากรกระดาษ โดยรักษาคุณภาพการปกป้องบรรจุภัณฑ์ตามเดิม • ส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีส่วนร่วมในการเก็บกล่องกระดาษ ที่ใช้บรรจุขวดแก้วที่ใช้แล้วนำมาแลกเป็นเงิน
7%
ต่อหน่วย ในกระบวนการผลิตกล่องลูกฟูก การนำกลับมาใช้ใหม่
78%
อัตราส่วนกระดาษทีถ ่ ก ู นำมาใช้ใหม่ ต่อหนึง่ หน่วย (recycled content per unit)
100%
ของกล่องลูกฟูกในกลุม ่ ธุรกิจสุราและเบียร์ มีองค์ประกอบเป็นกระดาษทีถ ่ ก ู นำกลับมาใช้ใหม่
การใช้ซ้ำ นำกล่องบรรจุภัณฑ์พร้อมไส้กล่อง จำนวนมากกว่า
10
ล้านกล่อง กลับมาใช้ซ้ำในกระบวนการเก็บกลับคืน
ขวดและถุงพลาสติก • ยกเลิกการใช้พลาสติกหุ้มฝาขวด • เพิ่มอัตราส่วนวัสดุที่มีแหล่งที่มาจากธรรมชาติ (bio-based) ในขวดพลาสติกบรรจุน้ำแร่ • เปลี่ยนมาใช้ถุงพลาสติกบรรจุอาหารที่ย่อยสลาย ทางชีวภาพได้
การลด
>340
ล้านชิ้น
จำนวนพลาสติกหุ้มฝาขวดที่ลดไป จากการยกเลิกการใช้ คิดเป็น
65%
จากปริมาณขวดพลาสติก
การใช้วัสดุจากแหล่งธรรมชาติ
30%
อัตราส่วนผสมจากธรรมชาติในขวด พลาสติก
ระยะเวลาที่ใช้ในการย่อยสลายทางชีวภาพ ของถุงพลาสติก
3 150
ปีโดยเฉลี่ย
น้อยกว่าถุงพลาสติกปกติถงึ
เท่า
105 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ยกเลิกการใช้พลาสติกหุม ้ ฝาขวดน้าํ ดืม ่
>340
เพื่อให้สอดคล้องกับแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559-2564) ในมาตรการลดหรือเลิกใช้พลาสติกที่ไม่มีความจําเป็นต้องใช้ และก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ไทยเบฟ ในฐานะผู้นําตลาดนํ้าดื่มของ ประเทศไทย ให้ความร่วมมือด้วยการจัดโครงการ “ยกเลิกการใช้พลาสติกหุม ้ ฝาขวด นํา้ ดืม ่ (No plastic bottle cap seal)” เพือ่ ช่วยลดปริมาณขยะพลาสติกในสิง่ แวดล้อม โดยมีบริษัท เสริมสุข จํากัด และบริษัท ไทยดริ้งค์ จํากัด ร่วมกันลงนามบันทึก ความร่วมมือ (MOU) ในโครงการดังกล่าว เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ณ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทําข้อตกลง ยกเลิกการใช้พลาสติกหุ้มฝาขวดนํ้าดื่ม นับจากการผลิตสินค้าที่ออกจากโรงงาน เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป
ล้านชิ้น
ปริมาณพลาสติกหุม ้ ฝาขวด ทีย ่ กเลิกการใช้
น้าํ แร่ชา้ ง bioPET จากพฤติกรรมที่ผู้บริโภคนิยมผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไทยเบฟ จึงได้ทําการศึกษาวัตถุดิบที่ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม และสามารถลดปริมาณการ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากกระบวนการผลิต รวมไปถึงกระบวนการกําจัดทิ้ง เมื่อหมดอายุการใช้งานตามวัฏจักร ในการนํามาผลิตขวดพลาสติกสําหรับบรรจุนํ้าดื่ม โดยทําการศึกษาพลาสติก bioPET ซึ่งเปลี่ยนวัตถุดิบจากปิโตรเลียมมาเป็น Monoethylene Glycol (MEG) จากพืชประมาณ 30% เพื่อนํามาใช้ในการผลิต บรรจุภัณฑ์สําหรับการผลิตขวดนํ้าดื่ม (bioPET) และมีการผลิตนํ้าแร่ตราช้างโดย bioPET สําหรับใช้ในกิจกรรมพบปะคูค ่ า้ ประจําปี 2561 (ThaiBev Business Partner Conference) เป็นการนําร่อง เพื่อเป็นการสื่อสารและแสดงให้เห็นถึงทิศทาง และแนวทางกับคู่ค้าพันธมิตรตลอดห่วงโซ่ของการผลิตสินค้า
30%
ของเม็ดพลาสติกเป็น ส่วนผสมจากพืช
สมุยโมเดล
2,400
ตัน
ปริมาณแก้วที่เก็บกลับคืน
ศูนย์การนำวัสดุ กลับมาใช้ใหม่
บริษัทร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐท้องถิ่นที่เกาะสมุย จัดตั้งศูนย์การนําวัสดุกลับมาใช้ ใหม่ (recycling center) บนเกาะ เพื่อรับซื้อขวดแก้วใช้แล้วและเศษแก้วกลับคืน พร้อม ให้บริการขนส่งไปยังภาคพื้นดิน โดยมีจุดประสงค์เพื่อสนับสนุนให้คู่ค้าและประชาชน มีส่วนร่วมในการลดปัญหาขยะบนเกาะ และกระจายรายได้สู่ชุมชน
ขนส่งโดยรถบรรทุกและเรือ
ศูนย์รับซื้อขวดแก้ว และเศษแก้ว
106 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
โครงการ Crystal Open House
60
60
ตัน
สถานีรักษ์โลก
ปริมาณพลาสติกที่เก็บกลับคืนมา
โครงการให้ความรู้และปลูกฝังจิตสํานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมเข้าเยี่ยมชมกระบวนการ ผลิตนํ้าดื่มคริสตัลทั่วประเทศ ที่มุ่งเน้นในเรื่องคุณภาพและ การรักษาสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังจัดตั้งสถานีรักษ์โลก (Upcycling Station) ที่โรงเรียนต่างๆ เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับกระบวนการจัดการบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้ว พร้อมทั้งเก็บคืน ขวดพลาสติกและชิ้นส่วนไปคัดแยกและส่งต่อให้กับคู่ค้าของบริษัท เพื่อนําไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้าอื่นๆ ต่อไป
เด็กนักเรียนเก็บขวด
สถานีรักษ์โลก
คัดแยกขวดและชิ้นส่วน
นำไปผลิต
สินค้าจากขวดพลาสติกใช้แล้ว
โครงการลดการใช้ทรัพยากรให้นอ้ ยทีส่ ด ุ อย่างมีประสิทธิภาพ (Less is More) เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ไทยเบฟ ได้มีโครงการลดปริมาณการใช้วัตถุดิบมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2555 โดยปรับลดนํ้าหนักพลาสติกของขวดพีอีที จาก 17 กรัม เป็น 13.5 กรัม ทั้งนี้ต้องมีการพัฒนากระบวนการ และการออกแบบเพื่อให้คุณภาพ ยังคงเดิมหรือดีขึ้นกว่าเดิม โดยไทยเบฟได้ตัดสินใจลงทุนผลิตบรรจุภัณฑ์ที่มีมูลค่าการใช้และปริมาณการใช้ต่อปีสูง โดยเปลี่ยนจากผู้ซื้อ ขวดพลาสติกพีอีที มาเป็นผู้เป่าขวดพีอีทีและฉีดพรีฟอร์มเอง ซึ่งช่วยลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และบริหารจัดการต้นทุนโดยรวมได้ดีขึ้น
17กรัม 15.5กรัม 14.6กรัม 13.5กรัม แรกเริ่ม
2555
2559
2560
12.7
กรัม
เป้าหมายต่อไป
107 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ทิศทางการดําเนินงาน ผลสําเร็จในปี 2561
ลดปริมาณของเสียที่เป็นบรรจุภัณฑ์หลักไปได้รวมทั้งสิ้น
598,199
เป้าหมาย
แก้ว
572,984
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
608,332
ตัน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า
ตัน
กระดาษ
ตัน
25,158
พลาสติก
57
ตัน
ตัน
เป้าหมาย
80%
ของบรรจุภัณฑ์หลักมาจากการใช้ซ้ำ การนำกลับมาใช้ใหม่ และการเก็บกลับคืน ในปี 2563
80%
บริษัทได้กําหนดเป้าหมายระยะยาวเพื่อพัฒนาและจัดการบรรจุภัณฑ์ ให้เป็นไปตามแนวทางการพั นาอย่ ่งยืน โดยคํ านึงถึงผลกระทบ บริษัทได้กำหนดเป้าหมายระยะยาวเพื่อพัฒนาและจัดการบรรจุภัณฑ์ให้เป็นไปตามแนวทางการพั ฒนาอย่ฒ างยั ่งยืนางยั โดยคำนึ งถึงผลกระทบ ของบรรจุ หลัขกั้นมาจากการใช้ ้ำ การนำกลั มาใช้ ใหม่ งกระบวนการกำจั ของผลิ ของผลิ ตภัณภ ฑ์ัณ ตั้งฑ์แต่ ตอนเริ่มพัฒซนาผลิ ตภัณฑ์บใหม่ ไปจนถึ ด ตภัณฑ์ตั้งแต่ขั้นตอนเริ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ไปจนถึง และการเก็บกลับคืน ในปี 2563 กระบวนการกําจัด บริษัทได้กำหนดเป้าหมายระยะยาวเพื่อพัฒนาและจัดการบรรจุภัณฑ์ให้เป็นไปตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยคำนึงถึงผลกระทบ ของผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ขั้นตอนเริ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ไปจนถึงกระบวนการกำจัด
การพัฒนาหรือปรับโฉม ผลิตภัณฑ์ใหม่
การสรรหาวัสดุบรรจุภัณฑ์
การผลิต
การจัดการบรรจุภัณฑ์ หลังการบริโภค
พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต • ตั้งศูนย์รับซื้อบรรจุภัณฑ์ใช้แล้ว คำนึงถึงปลายทางของบรรจุภณ ั ฑ์ • กำหนดมาตรฐานด้านสิง่ แวดล้อม บรรจุภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพ ในการคัดสรรวัสดุบรรจุภัณฑ์ รวมถึงเศษวัสดุบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้หลังการบริโภค รวมถึงกลไก ในการใช้ ท รั พ ยากรมากยิ ง ่ ขึ น ้ ที น ่ ำมาใช้ ใ นกระบวนการผลิ ต และ ได้ แก่ ขวดแก้ เศษแก้ว ภกล่ ในการนำกลั บ มาใช้ ใ นกระบวนการ การจัดวการบรรจุ ัณอฑ์ง การพัฒนาหรือปรับโฉม การสรรหาวัสดุบรรจุภัณฑ์ การผลิต หลังการบริ ภัณฑ์ใหม่ เช่น ลดอัตราส่วนของเสีย บรรจุ เช่น วัสดุทน ่ี ำกลับมาใช้ใหม่ ลูกฟูก กระจายอยู ่ทั่วทุโกภค ภูมิภาค ผลิตอีกครั้ง ผลิ ไม่วตา่ จะโดยการนำ ของวัสดุบรรจุภัณฑ์ที่เกิดจาก (recycled material) กลับมาใช้ใหม่หรือใช้ซำ้ พัฒนาเทคโนโลยี • ตั้งศูนาย์หมายในการนำ รับซื้อบรรจุภัณฑ์ใช้แล้ว คำนึงถึงปลายทางของบรรจุภณ ั ฑ์ • กำหนดมาตรฐานด้านสิง่ แวดล้อม กระบวนการผลิ ต การผลิต • กำหนดเป้ บรรจุ ภ ณ ั ฑ์ ใ ห้ ม ป ี ระสิ ท ธิ ภ าพ ในการคั ด สรรวั ส ดุ บ รรจุ ภ ณ ั ฑ์ รวมถึ ง เศษวั สดุบซรรจุ ที่ใช้หลังการบริโภค รวมถึงกลไก• ร่วมมื อกับคู่ค้าในการสร้างสรรค์ บรรจุภัณฑ์กลับมาใช้ ำ้ ในภัณฑ์ ในการใช้ ท รั พ ยากรมากยิ ง ่ ขึ น ้ น ่ ำมาใช้าในบรรจุ นกระบวนการผลิ ต และ ได้ แ ก่ ขวดแก้ ว เศษแก้ ในการนำกลับมาใช้ในกระบวนการ นวัตทีกรรมด้ ภัณฑ์ กระบวนการบรรจุและผลิต ว กล่อง เช่ น ลดอั ต ราส่ ว นของเสี ย เช่ น วั ส ดุ ท น ่ ี ำกลั บ มาใช้ ใ หม่ ลูกฟูก กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ผลิตอีกครั้ง ไม่วา่ จะโดยการนำ เพื่อบรรจุ ตอบโจทย์การลดผลกระทบ ของวั ส ดุ บ รรจุ ภ ณ ั ฑ์ ท เ ่ ี กิ ด จาก (recycled material) กลับมาใช้ใหม่หรือใช้ซำ้ ด้านสิ่งแวดล้อมในระยะยาว • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ กระบวนการผลิต ผู•้บริกำหนดเป้ โภคและชุามหมายในการนำ ชนในการจัดการ • ร่วมมือกับคู่ค้าในการสร้างสรรค์ บรรจุ บรรจุภัณภฑ์ัณ ใช้ฑ์ แล้กวลับมาใช้ซำ้ ใน นวัตกรรมด้านบรรจุภัณฑ์ กระบวนการบรรจุและผลิต เพื่อตอบโจทย์การลดผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อมในระยะยาว • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ผู้บริโภคและชุมชนในการจัดการ
108 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
GRI 103-1, GRI 103-2, GRI 302-1, GRI 302-3, GRI 302-4, GRI 305-1, GRI 305-2, GRI 305-4, GRI 305-5
พลังงานและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ • พัฒนากระบวนการผลิต และการบริหารจัดการ โดยใช้หลัก 3Rs คือ ลดการใช้ การใช้ซาํ้ และการนํากลับมาใช้ใหม่ (Reduce, Reuse, Recycle) โดยเริ่มตั้งแต่การออกแบบ กระบวนการ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการบริหาร จัดการตลอดห่วงโซ่คุณค่าของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการ ส่งเสริมการสร้างจิตสํานึกของพนักงานในชีวิตประจําวัน
• ลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตลอด ห่วงโซ่คณ ุ ค่าของไทยเบฟ โดยสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี และโครงการการใช้พลังงานทดแทน การส่งเสริมกิจกรรม อนุรักษ์การใช้พลังงานและการใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าที่สุด • ส่งเสริมพนักงานให้มีส่วนร่วมในการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต ตลอดจนการลดต้นทุน ควบคู่ไปกับการสร้าง จิตสํานึกความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ผ่านการดําเนินโครงการต่างๆ อาทิ การใช้พลังงานทดแทน จากเซลล์แสงอาทิตย์ และการนําผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ จากกระบวนการผลิตมาเป็นเชื้อเพลิงสําหรับการผลิต เช่น ก๊าซชีวภาพจากกระบวนการบําบัดนํ้าเสียถูกใช้เป็นเชื้อเพลิง ผลิตไอนํ้าแทนนํ้ามันเตา
ไทยเบฟ ได้วางกรอบการทํางาน เพื่อดําเนินการทางด้านเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างมีประสิทธิภาพ
คว าม เ
าส ะโอก แล ง สย่ี
การบริหารจัดการ การเปลีย ่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ
ะ กร
จก
การดำเนินงาน
• จัดตั้งโครงสร้างการบริหารจัดการระหว่างหน่วยงาน เพือ่ การบริหารจัดการประเด็นความเสีย ่ งและโอกาส ทีเ่ กิดขึ้น ทั้งด้านกายภาพและด้านการเปลี่ยนแปลง • ยกระดับประเด็นที่มีสาระสำคัญขึ้นไปถึงฝ่ายบริหาร เพื่อการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์
ิ า การบรห ร ก า ๊ ซ เรอื น กระ จก
น เรอื ี า๊ ซ การจด ั ทำบัญชก
• มีการจัดทำบัญชีกา๊ ซเรือนกระจกทางตรง (Scope 1) ทางอ้อม (Scope 2) และทางอ้อมอืน ่ ๆ (Scope 3) ที่ได้รับการรับรอง • มีการจัดทำบัญชีกา๊ ซเรือนกระจกตลอดวงจรชีวต ิ ผลิตภัณฑ์
กลยุทธ์
การ กำก บั ด
แู ล
• มีกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยงจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านกายภาพ และ ความเสี่ยงด้านการเปลี่ยนแปลงทางพลังงาน • มีนวัตกรรมและโอกาสในการพัฒนาธุรกิจ จากผลิตภัณฑ์/บริการที่ช่วยลดคาร์บอน
การเปด ิ เผ ย
• ตัง้ เป้าหมายและดำเนินการเพือ่ บรรลุเป้าหมายในการ ลดก๊าซเรือนกระจกในระดับองค์กร (เป้าหมายเชิง ปริมาณหรือความเข้มข้น) โดยใช้ MAC Curve • มีเป้าหมายในการรักษาอุณหภูมิเฉลี่ยโลกให้ต่ำกว่า 2 องศาเซลเซียส และเป้าหมายสำหรับพลังงานทดแทน
• สือ่ สารกับผูม ้ ส ี ว่ นได้สว่ นเสียทีเ่ กีย ่ วข้อง (ผูบ ้ ริโภค นักลงทุน คูค ่ า้ ) • มีสว่ นร่วมกับผูว้ างนโยบายและองค์กรในอุตสาหกรรมเดียวกันเพือ่ ผลักดันนโยบายและกรอบของอุตสาหกรรมทีเ่ อือ้ ต่อธุรกิจคาร์บอนต่ำ
นักลงทุนสัมพันธ์ การสือ่ สาร
สิง่ แวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย (EHS)
การพัฒนานวัตกรรม และวิจย ั พัฒนา
ความยัง่ ยืน
การบริหารจัดการความเสีย ่ ง
109 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
แบ่งปันคุณค่า
ไทยเบฟมีการประเมินความเสี่ยงทางด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศเพื่อไม่ให้กระทบต่อการดําเนินการทางธุรกิจ ไทยเบฟได้ดําเนินการบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการกํากับดูแล ผ่านคณะกรรมการบริหารความยั่งยืนและความเสี่ยงขององค์กร ซึ่งในทีมนี้จะประกอบด้วยกรรมการบริษัท และผู้บริหารระดับสูง พร้อมทั้งกรรมการบริษัทที่เป็นกรรมการอิสระ โดยมีหน้าที่กําหนด นโยบายความยั่งยืน และนโยบายความเสี่ยง รวมถึงวางกลยุทธ์ เพื่อรับมือกับผลกระทบทีอ่ าจจะเกิดขึน ้ กับองค์กรทีเ่ กีย ่ วข้องกับ การเปลีย ่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อหาแนวทางการดําเนินการ เพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้นได้
ดร.พิษณุ วิเชียรสรรค์
กรรมการรองกรรมการผู้อํานวยการใหญ่อาวุโส ผู้บริหารสูงสุด กลุ่มเทคโนโลยีและวิศวกรรม
ไทยเบฟให้ความสําคัญกับการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศ ท่ามกลางวิกฤตจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีความ รุนแรงเพิ่มมากขึ้น ทําให้เกิดผลกระทบด้านทรัพยากรธรรมชาติ และ พลังงาน ไทยเบฟได้ตระหนักถึงความสําคัญของการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศเป็นอย่างยิง่ เนือ่ งจากเป็นผูผ ้ ลิตอาหารและเครือ่ งดืม ่ รายใหญ่ที่มีการใช้นํ้าและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรเป็นวัตถุดิบหลัก จึงจะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ โดยตรง อีกทั้งขีดจํากัดด้านพลังงานจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เช่น การเรียกเก็บภาษีคาร์บอนตาม ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่องค์กรเป็นผู้รับผิดชอบ
ไทยเบฟมีการดําเนินการเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ไทยเบฟสนับสนุนในการลงทุนและพัฒนาในการใช้พลังงานทางเลือก เพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น โครงการติดตั้งแผงไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar rooftop) ระบบการผลิตไอนํา้ จากก๊าซชีวภาพจากกระบวนการบําบัดนํา้ เสีย โดยองค์กรมีการตรวจสอบและติดตามผล ทั้งนี้ องค์กรยังได้เข้าร่วม การประเมินการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในส่วนของคาร์บอน ฟุตพรินต์ผลิตภัณฑ์ (Carbon Footprint of Product, CFP) และ คาร์บอนฟุตพรินต์องค์กร (Carbon Footprint for Organization, CFO) ร่วมกับองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การ มหาชน) ซึ่งหน่วยงานดังกล่าวเป็นศูนย์กลางข้อมูลที่เกี่ยวกับ สถานการณ์ดําเนินงานด้านก๊าซเรือนกระจก ตลอดจนให้คําแนะนํา แก่หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนเกี่ยวกับการบริหารจัดการ ก๊าซเรือนกระจก นอกจากนี้ องค์กรยังได้เข้าร่วมเป็นบริษัทนําร่อง ในโครงการประเมินการใช้นํ้าบาดาลตลอดวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Water Footprint) ร่วมกับกรมทรัพยากรนํ้าบาดาลและ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยอีกด้วย
110 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ภารกิจสําคัญ
การใช้พลังงานทดแทน • การติดตั้งแผงพลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์ของโรงงาน ในกลุ่มเบียร์ ด้วยงบลงทุนประมาณ 105 ล้านบาท เพื่อนํามา ทดแทนพลังงานไฟฟ้าได้กว่า 1.3 ล้านหน่วย โดยเป็น โครงการต่อเนื่องที่จะแล้วเสร็จระหว่างปี 2562-2564 จนครบทุกโรงเบียร์ในกลุ่มไทยเบฟ • การทําโครงการผลิตนํ้าร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Hot Water) ร่วมกับการนําพลังงานความร้อนเหลือทิ้งจาก ระบบอัดอากาศ มาเป็นพลังงานทดแทนเชื้อเพลิงจากนํ้ามัน เตา โดยเป็นกระบวนการเพิ่มอุณหภูมิของนํ้าก่อนเข้าสู่ระบบ หม้อไอนํ้า ทําให้สามารถช่วยลดปริมาณการใช้เชื้อเพลิง นํ้ามันเตา • การก่อตั้งโรงงานผลิตเชื้อเพลิงชีวมวล เพื่อนําผลิตภัณฑ์ ผลพลอยได้จากกระบวนการผลิต เช่น นํ้ากากส่ามาผลิตเป็น พลังงานทดแทน และนําพลังงานความร้อนไปใช้ในการกลั่น สุรา และนําส่วนที่เหลือมาผลิตไฟฟ้าจําหน่ายให้แก่การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค
ไทยเบฟมุ่งมั่นที่จะลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศตลอดห่วงโซ่คณ ุ ค่าของบริษท ั โดยการเลือก เทคโนโลยีที่ใช้พลังงานทดแทน รวมทั้งการส่งเสริมกิจกรรม การลดการใช้พลังงานและการใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าที่สุด
• การติดตั้งระบบการบําบัดนํ้าเสียแบบไร้อากาศ เพื่อลดการใช้ พลังงานไฟฟ้า และสามารถนําก๊าซชีวภาพจากระบบดังกล่าว มาใช้ทดแทนการใช้พลังงานเชื้อเพลิงในการผลิตไอนํ้า
• การจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าภูมิภาค ที่ได้รับการออกแบบ ให้มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม โดยการติดตั้งแผง พลังงานแสงอาทิตย์บริเวณหลังคาของอาคาร ทําให้ระบบ แสงสว่างของคลังสินค้าจากศูนย์กระจายสินค้าแห่งนี้ ใช้พลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์ร้อยละ 50
คาร์บอนฟุตพรินต์ (Carbon Footprint) คาร์บอนฟุตพรินต์ หมายถึง ปริมาณการปล่อยและดูดกลับ ก๊าซเรือนกระจก ทั้งที่เกิดจากกิจกรรมการดําเนินงานขององค์กร (คาร์บอนฟุตพรินต์องค์กร) หรือปริมาณก๊าซเรือนกระจก ทีป ่ ล่อยออกมาตลอดวัฏจักรชีวต ิ ของผลิตภัณฑ์ ตัง้ แต่การจัดหา วัตถุดิบ การผลิต การขนส่ง การบริโภค และการกําจัดซาก ผลิตภัณฑ์หลังการบริโภค (คาร์บอนฟุตพรินต์ผลิตภัณฑ์) โดยคํานวณออกมาในรูปของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ไทยเบฟ สนับสนุนแนวทางการบริหารจัดการเพื่อลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างมีประสิทธิภาพ โดยขอรับรอง
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์ และการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกขององค์กร จากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือน กระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. ทําให้บริษัทมีฐานข้อมูล ที่สําคัญและถูกต้องจากการตรวจวัดก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อย ออกมาจากกิจกรรมขององค์กร สามารถจําแนกสาเหตุของการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มีนัยสําคัญ และหาแนวทางการจัดการ เพื่อลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ส่งผลให้ไทยเบฟ สามารถลดการใช้ทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม และสื่อสารให้กับ ผูบ ้ ริโภคตระหนักรูถ ้ งึ สาเหตุสาํ คัญทีส่ ง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ
111 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน)
ปี 2561
ไทยเบฟได้รับเครื่องหมาย คาร์บอนฟุตพรินต์ขององค์กรจำนวน
15
ไทยเบฟได้รับเครื่องหมาย คาร์บอนฟุตพรินต์ของผลิตภัณฑ์จำนวน
50
บริษัท
ผลิตภัณฑ์
ไทยเบฟได้รับฉลาก ลดคาร์บอนฟุตพรินต์จำนวน
16
ผลิตภัณฑ์
ทิศทางการดำ�เนินงาน การใช้พลังงาน เป้าหมาย
5%
การลดอัตราส่วนการใช้พลังงาน ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ลงภายในปี 2563 เปรียบเทียบกับปีฐาน 2557
ความสำเร็จ
18%
การลดอัตราส่วนในการใช้ พลังงานต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ เปรียบเทียบกับปีฐาน 2557
204.70 เมกะจูลต่อเฮกโตลิตร
37.23
อัตราการใช้พลังงาน ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ ของธุรกิจเครื่องดื่ม
อัตราการใช้พลังงาน ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ ของธุรกิจอาหาร
เมกะจูลต่อกิโลกรัม
อัตราการใช้พลังงานหมุนเวียน พลังงานสิ้นเปลือง และพลังงานทั้งหมด ตั้งแต่ปี 2557 ถึง 2561 (ธุรกิจเครื่องดื่ม) เมกะจูลต่อหน่วยผลิตภัณฑ์
250.53 45.49 205.04
2557
233.90 42.06 191.84
2558
213.39
218.79
217.97
38.78
39.02
36.50
174.61
179.77
181.47
2559
2560
2561
สัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียน สัดส่วนการใช้พลังงานสิ้นเปลือง สัดส่วนการใช้พลังงานทั้งหมด
112 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป้าหมาย
10%
การลดอัตราส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ลงภายในปี 2563 เปรียบเทียบกับปีฐาน 2557
ความสำเร็จ
16%
การลดอัตราส่วนการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ เปรียบเทียบกับปีฐาน 2557
25.84
2.56
กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า/เฮกโตลิตร
กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า/กิโลกรัม
อัตราส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ของธุรกิจเครื่องดื่ม
อัตราส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ของธุรกิจอาหาร
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทางตรง (Scope 1) ทางอ้อม (Scope 2) และทั้งหมด ตั้งแต่ปี 2557 ถึง 2561 (ธุรกิจเครื่องดื่ม)
กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า/เฮกโตลิตร
30.68
31.82
5.71
5.52
26.32
26.33
26.75
24.96
26.30
5.31
6.03
5.75
21.01
20.30
21.00
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทางตรง (Scope 1) ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทางอ้อม (Scope 2) ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด 2557
2558
2559
2560
2561
113 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน)
โครงการการใช้พลังงานทดแทน
ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการลดใช้พลังงานไฟฟ้า จากการติดตั้งแผงพลังงานแสงอาทิตย์เป็นปริมาณ
ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการลดการใช้พลังงาน ของการผลิตน้ำร้อน จากการติดตั้ง Solar tube เป็นปริมาณ
ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี
ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี
ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการลดการใช้เชือ้ เพลิง เช่น น้ำมันเตา/ถ่านหิน ของการผลิตไอน้ำ จากการติดตัง้ ระบบ UASB รวมทัง้ ลดการใช้ไฟฟ้าในระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นปริมาณ
ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานจาก ผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากการตั้งโรงไฟฟ้า เป็นปริมาณ
ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี
ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี
71.52
12,167
60.04
157,261
114 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
GRI 102-12, GRI 103-1, GRI 103-2, GRI 103-3, GRI 413-1
ความยั่งยืนด้านสังคม การสร้างสรรค์และแบ่งปันคุณค่า จากการเติบโต ในทุกย่างก้าวของการดําเนินธุรกิจ ไทยเบฟคํานึงถึงความ รับผิดชอบต่อสังคมมาอย่างต่อเนื่อง โดยตระหนักถึงหน้าที่ สําคัญในการมีสว่ นร่วมสร้างประโยชน์ให้สงั คมและชุมชน ไทยเบฟ จะสามารถดําเนินกิจการอยู่ได้ ต้องเติบโตควบคู่ไปพร้อมกับการ พัฒนาชุมชน ไม่วา่ จะเป็นชุมชนรอบโรงงาน หรือสังคมในภาพรวม ไทยเบฟจึงได้น้อมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ ใช้ในการร่วมพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างอาชีพให้ชุมชน ส่งเสริม ด้านสาธารณสุข สนับสนุนด้านการศึกษา กีฬา เยาวชน การรักษาศิลปวัฒนธรรม รวมถึงทํานุบํารุงศาสนาและประเพณี ท้องถิน ่ นอกจากนี้ ไทยเบฟให้การสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติทั้ง 17 ข้อ เช่น การขจัดความ ยากจน ขจัดความหิวโหย การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี และมีการศึกษาที่เท่าเทียม ไทยเบฟได้ผนึกความร่วมมือกับ
พันธมิตรจากภาคธุรกิจ รัฐบาลและประชาสังคม ช่วยกันขับเคลือ่ น การพัฒนาชุมชนและสังคม ให้เกิดผลสําเร็จภายใต้หลักการ “การสร้างสรรค์และแบ่งปันคุณค่าจากการเติบโตที่ยั่งยืน” โดยริเริ่มโครงการและกิจกรรม เพื่อทําประโยชน์ให้แก่สังคม ทั้งทางตรงและทางอ้อมในทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ไทยเบฟและบริษัทในกลุ่มไทยเบฟได้กําหนดนโยบายความ รับผิดชอบต่อสังคมเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในการสร้างคุณค่า และเป็นแบบอย่างของธุรกิจที่สร้างผลตอบแทนคืนสู่สังคม และผูม ้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุม ่ โดยมีสว่ นช่วยสร้างสรรค์โครงการ พัฒนาชุมชนต่างๆ ให้ทุกฝ่ายมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมุ่งหวัง ทีจ่ ะสร้างความร่วมมือและคุณค่าสูส่ งั คม พร้อมทัง้ เป็นองค์กรทีด ่ ี ของสังคมอย่างยั่งยืน
กิจกรรมตัวอย่างเพื่อสังคมของไทยเบฟ ที่สอดคล้องกับการสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ และตอบสนองต่อสิ่งที่เป็นสาระสําคัญด้านความยั่งยืนของไทยเบฟ UN SDGs
โครงการ
ตัวชี้วัด
ไทยเบฟ...รวมใจต้านภัยหนาว
• ลดจํานวนผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุรุนแรงที่เกี่ยวข้องกับภูมิอากาศ และภัยพิบัติกว่า 200,000 คน
ไทยเบฟร่วมสร้างต้นแบบตําบลสัมมาชีพ
• การรณรงค์การบริหารจัดการการเกษตรแบบยั่งยืน ช่วยเกษตรกรกว่า 50 ราย (302 ครัวเรือน) และสร้างรายได้เฉลี่ย 11,356 บาท ครัวเรือน/ปี
โครงการด้านสาธารณสุข
• ปี 2561 ไทยเบฟสนับสนุนเงินช่วยเหลือเพื่อการพัฒนางานวิจัยทางการแพทย์ อุปกรณ์ทางการแพทย์และด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานต่างๆ รวมกว่า 50 ล้านบาท
โครงการให้ทุนการศึกษาบุตรพนักงาน โครงการครูเจ้าฟ้ากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โครงการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่เพื่อสังคม (Beta Young Entrepreneur) โครงการชุมชนดีมีรอยยิ้ม
• ปี 2561 ไทยเบฟสนับสนุนทุนการศึกษาตั้งแต่ระดับประถมศึกษาถึงระดับอุดมศึกษา รวมถึงการฝึกฝนอาชีพเป็นมูลค่ารวมกว่า 10 ล้านบาท แก่เยาวชนและครูในถิ่นทุรกันดาร ทั่วประเทศ จํานวนรวม 1,177 ทุน • เด็กได้รับการพัฒนาทักษะด้านกีฬา ดนตรี ศิลปะ จํานวนกว่า 2,000 คน • เพิ่มจํานวนครูที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะในถิ่นทุรกันดาร จํานวน 87 คน
115 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
UN SDGs
โครงการ
ตัวชี้วัด
โครงการผู้นําเพื่อการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน (CONNEXT ED) โครงการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่เพื่อสังคม (Beta Young Entrepreneur) การพัฒนาด้านกีฬา โครงการประชารัฐรักสามัคคี
• เด็กนักเรียนและเยาวชนรวมกว่า 70,000 คน ได้รับการฝึกฝนอาชีพและมีงานที่ดีทํา เพื่อเสริมรายได้ให้แก่ตนเองและครอบครัว • สร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ จากโครงการ Beta Young จํานวน 68 คน และรับเข้าเป็นพนักงาน ไทยเบฟจํานวน 2 คน • สร้างและสนับสนุนนักกีฬามืออาชีพได้มากกว่า 800 คน • ตั้งแต่เริ่มโครงการประชารัฐรักสามัคคี จํานวนชุมชนกว่า 350 ชุมชนทั่วประเทศ มีรายได้เพิ่มขึ้น จากการสนับสนุนกิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน คิดเป็นมูลค่ารายได้รวมกว่า 42 ล้านบาท
โครงการประชารัฐรักสามัคคี
• เพิ่มจํานวนชุมชนกว่า 60,000 ครัวเรือนที่ยากจนให้มีรายได้เพิ่มขึ้นเหนือเส้นแบ่งความยากจน
การจัดงานสัมมนา C asean Sustainable Development Forum & Transforming Asia Pacific: Innovative Solutions, Circular Economy and Low Carbon Lifestyles
• เพิ่มการตระหนักรู้ และขอความร่วมมือจาก 7 นานาประเทศเป็นอย่างน้อยในการหาแนวทาง เพื่อลดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
โครงการปลูกป่าในใจคนตามศาสตร์พระราชา โครงการรวมพลังพลิกฟื้นคืนธรรมชาติสู่สิ่งแวดล้อม (ปลูกป่าสิรินธรฯ) โครงการความร่วมมือศูนย์ฯ ห้วยฮ่องไคร้
• การส่งเสริมการดําเนินการบริหารจัดการป่าไม้ทุกประเภทอย่างยั่งยืน หยุดยั้งการตัดไม้ทําลายป่า ฟื้นฟูป่าที่ถูกรุกลํ้า เพิ่มการปลูกป่า สามารถรักษาพื้นป่าได้กว่า 200 ไร่ และสามารถปลูกต้นไม้ เพิ่มเติมได้ 46,133 ต้น (จํานวนป่าชายเลน 40,000 ต้น) • โครงการรวมพลังพลิกฟื้นคืนธรรมชาติสู่สิ่งแวดล้อม (ปลูกป่าสิรินธรฯ) 6,133 ต้น
โครงการประชารัฐรักสามัคคี
• สนับสนุนการส่งเสริมหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม วิชาการ และ ประชาชน เพื่อจัดตั้งเป็นบริษัท ประชารัฐรักสามัคคี วิสาหกิจเพื่อสังคม จํานวน 77 จังหวัด เป็นมูลค่าเงินร่วมทุน 337 ล้านบาท
กระบวนการสร้างสรรค์และแบ่งปัน เพือ่ การเติบโตทีย ่ ง่ั ยืน เพื่อบรรลุนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม ไทยเบฟจึงส่งเสริม และสนับสนุนให้กรรมการและพนักงานเป็นอาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรม ทางสังคมและสาธารณกุศลในทุกรูปแบบ โดยจัดให้มีหน่วยงานหรือ คณะทํางานกิจกรรมเพื่อสังคมหลายฝ่ายดูแลโครงการพัฒนาชุมชน ต่างๆ ซึ่งแบ่งการดําเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) การจัดการจากส่วนกลางประกอบด้วย กลุ่มโครงการพัฒนาชุมชน กลุ่มโครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม กลุ่มประสานงาน ภายนอกองค์กร กลุ่มโครงการไทยทาเลนท์ กลุ่มโครงการส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรม กลุ่มสํานักทรัพยากรบุคคล และกลุ่มสํานักสื่อสาร องค์กร 2) การจัดการในระดับพืน ้ ทีร่ อบโรงงาน ประกอบด้วย หน่วยงานมวลชน สัมพันธ์และแผนกสิง่ แวดล้อมของแต่ละโรงงาน ซึง่ ทํางานประสานกับ ส่วนกลางอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ นี้ แต่ละหน่วยงานจะทําหน้าทีป ่ ระสานงาน และดําเนินโครงการทีร่ เิ ริม ่ เอง หรือร่วมมือกับกลุม ่ งานต่างๆ ในสังคม การดําเนินโครงการพัฒนาชุมชนจากทั้ง 2 ส่วน ทําให้ทุกพื้นที่ที่มี สถานประกอบการของไทยเบฟ สามารถตอบสนองความต้องการและ ลดผลกระทบต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นแก่ชุมชน และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของไทยเบฟได้อย่างครอบคลุมร้อยละ 100 ในการริเริ่มโครงการและกิจกรรมเพื่อสร้างประโยชน์แก่ชุมชน สังคม และ สิ่งแวดล้อมครอบคลุมทุกพื้นที่การดําเนินธุรกิจ ไทยเบฟมีขั้นตอน ดําเนินงานการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียดังนี้
• ทําการประเมินผลกระทบทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่าง สมํ่าเสมอ ผ่านการสานสัมพันธ์และสอบถามความคิดเห็นหรือ ความต้องการจากกลุ่มชุมชนเป้าหมาย ทั้งที่เป็นชุมชนรอบโรงงาน รอบสถานประกอบการทั้งหมด และชุมชนที่ใกล้ชิดกับผลิตภัณฑ์ของ ไทยเบฟ ด้วยวิธีการใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การจัดประชุม สาธารณะ การพูดคุยกับกลุ่มผู้นําชุมชน กลุ่มผู้ปกครอง คณะกรรมการโรงเรียน หรือการจัดกลุ่มประชุมย่อยที่เป็นกันเอง รายสัปดาห์ (สภากาแฟ) • จากความคิดเห็นของกลุ่มชุมชนเป้าหมาย ทําให้เกิดการสร้าง กิจกรรมเพื่อสังคมโดยแบ่งออกเป็น 5 ด้านหลัก คือ ด้านการพัฒนา ชุมชนและสังคม ด้านการศึกษา ด้านสาธารณสุข ด้านกีฬา และ ด้านศิลปวัฒนธรรม ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อตอบสนองความต้องการ ของชุมชนทุกเพศและวัย รวมถึงชนกลุ่มน้อย ผู้พิการ ผู้ขาดโอกาส และผู้ที่อยู่ในเขตทุรกันดาร • ทุกโครงการที่จัดทําจะต้องมีการวัดผลลัพธ์การทํางานอย่างเป็น รูปธรรม ด้วยการวัดความพึงพอใจของชุมชน กลุม ่ ผูม ้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย การวัดผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการติดตาม รายงานความคืบหน้าจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ อาทิ หน่วยงานราชการ มหาวิทยาลัย ประชาสังคม
116 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ขั้นตอนการดําเนินงานการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ทำความเข้าใจความต้องการ • ระบุกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ออกแบบรูปแบบการมีส่วนร่วม • สรุปประเด็นความต้องการ
บริหารจัดการโครงการ
ประเมินผลกิจกรรม
• ออกแบบการดำเนินงาน/ขอบเขตการทำงาน • จัดตัง้ คณะทำงาน/คณะกรรมการทีป ่ รึกษา • เชื่อมโยงหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันทำงาน • จัดหาตัวแทนชุมชน • การบริหารจัดการความเสี่ยง และผลกระทบต่างๆ
• สำรวจความพึงพอใจของผูม ้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย • จัดตั้งช่องทางเพื่อรับข้อร้องเรียน • ประเมินผลกระทบทางสังคม/สิ่งแวดล้อม • ติดตามผลการทำงานเป็นระยะตลอด การดำเนินงาน (อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง)
ไทยเบฟร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานท้องถิ่นต่างๆ จัดตั้งเป็นคณะ กรรมการความปลอดภัย คณะกรรมการให้คําปรึกษา รวมถึงทีมงาน ที่รับฟังข้อร้องเรียนของชุมชนเพื่อบริหารและจัดการกับผลกระทบต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น เช่น แผนกมวลชนสัมพันธ์ แผนกสิ่งแวดล้อมประจํา โรงงานในกลุ่มไทยเบฟทั่วประเทศ โดยจะมีการติดตามและรายงาน ผลการดําเนินการเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจว่ากิจกรรม สาธารณประโยชน์ที่ไทยเบฟให้การสนับสนุน สามารถตอบสนอง ความต้องการของชุมชนและเกิดประโยชน์แก่ส่วนรวมอย่างยั่งยืน
ไทยเบฟจัดทําโครงการเพื่อสร้างความยั่งยืนสู่สังคมหลากหลายรูปแบบ โดยในปี 2561 ใช้งบประมาณ 500 ล้านบาท สําหรับดําเนินโครงการ ให้ครอบคลุม 5 ด้านหลัก ดังนี้ • ด้านการพัฒนาชุมชนและสังคม ร้อยละ 28 • ด้านการศึกษา ร้อยละ 7 • ด้านสาธารณสุข ร้อยละ 8 • ด้านกีฬา ร้อยละ 44 • ด้านศิลปวัฒนธรรม ร้อยละ 13
ไทยเบฟจัดทำโครงการเพื่อสร้างความยั่งยืน สู่สังคมหลากหลายรูปแบบ โดยในปี 2561 ใช้งบประมาณ
500
ล้านบาท
สำหรับดำเนินโครงการให้ครอบคลุม 5 ด้านหลัก ดังนี้
ด้านศิลปวัฒนธรรม
13%
ด้านการพัฒนา ชุมชนและสังคม
28%
ด้านสาธารณสุข
8% ด้านกีฬา
44%
ด้านการศึกษา
7%
117 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
• โครงการประชารัฐรักสามัคคี และโครงการพัฒนาชุมชน • โครงการ Connext ED • โครงการ Partnership School • โครงการการพัฒนาด้านกีฬา โครงการการพัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรม
100%
ของสถานประกอบการที่มีการดําเนินโครงการพัฒนาชุมชน เปรียบเทียบกับจํานวนสถานประกอบการทั้งหมด **หมายเหตุ สถานประกอบการ หมายถึง สถานประกอบการที่มีการประเมิน โครงการที่อาจมีผลกระทบต่อชุมชนในกรอบของโรงงานที่มีการ ดําเนินการทั่วประเทศ (29 แห่ง)
การมีส่วนร่วมของพนักงานจิตอาสาไทยเบฟ สร้างการมีส่วนรวมพนักงาน
2,000
คน คิดเป็น ชั่วโมงจิตอาสา
88,000
ชั่วโมง
118 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
การพัฒนาชุมชนและสังคม • ชุมชนคือหนึ่งในผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สําคัญต่อ ไทยเบฟ เรามุ่งมั่นที่จะสร้างความมั่นคงและยั่งยืน ให้ชุมชนและสังคมเติบโตควบคู่กับธุรกิจของเรา โดยให้ความสําคัญในการพัฒนาชุมชนและสังคม อย่างต่อเนื่องมากว่า 15 ปี • ดําเนินโครงการพัฒนาชุมชนในหลากหลายด้าน มีเป้าหมายสําคัญคือ ชุมชนต้องพึ่งพาตัวเองได้ อย่างยั่งยืน และเป็นต้นแบบสําหรับการพัฒนาให้ พื้นที่อื่นต่อไป • สร้างกลุ่มผู้นําเยาวชนเพื่อส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ และยังเชื่อมโยงขยายผลจากเยาวชนไปสู่ภาคส่วน ต่างๆ ทั้งหมดของชุมชน
• พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยผ่านการดําเนินโครงการ ไทยเบฟ ร่วมสร้างต้นแบบตําบลสัมมาชีพให้กบ ั ชุมชน เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ โดยไม่เบียดเบียนตนเอง ผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม • บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ฟื้นฟู เพิ่มพื้นที่ ป่าและแหล่งนํ้า โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของ ชุมชน ตั้งแต่ลงพื้นที่ชวนชุมชนร่วมคิดหาแนวทาง ร่วมกันลงมือทํา พร้อมทั้งร่วมกันพัฒนาบริหาร จัดการ
119 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
แบ่งปันคุณค่า โครงการพัฒนาชุมชน ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่สําคัญของแนวคิด การพัฒนาแบบยั่งยืนโดยสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และ สร้างพื้นที่ต้นแบบที่ให้การสนับสนุนระหว่างชุมชนที่เข้มแข็ง กับภาคธุรกิจ โดยมีเป้าหมายเพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ โดยไม่เบียดเบียนตนเอง ผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม ภายใต้โครงการ ไทยเบฟร่วมสร้างชุมชนดีมีรอยยิ้ม สร้างรูปแบบการทํางานแบบมีส่วนร่วมระหว่างองค์กร กับชุมชน ไทยเบฟมุ่งเน้นการสร้างความเข้มแข็งจากภายในชุมชนและ พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นในทุกด้าน เพื่อนําไปสู่ความมั่นคง ทางเศรษฐกิจชุมชน ควบคู่ไปกับการสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างองค์กรกับชุมชน โดยร่วมมือกับชุมชนในการคิดและ พัฒนาให้เกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน ขณะเดียวกันส่งเสริม การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อสร้างการทํางานร่วมกัน แบบยั่งยืน สร้างความผูกพันในพื้นที่ และสร้างความเข้าใจที่ดี ต่อองค์กร ซึ่งนําไปสู่การลดหรือป้องกันความขัดแย้งระหว่าง ชุมชนกับองค์กรได้อย่างยั่งยืน
คุณธารทิพย์ ศิรินุพงศ์
ผู้อํานวยการโครงการพัฒนาชุมชน
จุดเริ่มต้นในการปรับเปลี่ยนรูปแบบกิจกรรมเพื่อสังคมสู่การ สร้างความยั่งยืนของชุมชน ไทยเบฟมีแนวคิดว่า การที่เราเติบโตทางด้านธุรกิจตามลําดับ ขั้นนั้นยังไม่เพียงพอ แต่จะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อองค์กรได้แบ่งปัน คุณค่านัน ้ กลับคืนสูส่ งั คมด้วย ด้วยเหตุนี้ คุณฐาปน สิรวิ ฒ ั นภักดี กรรมการผู้อํานวยการใหญ่ จึงดําริให้จัดตั้งหน่วยงาน
ผลลัพธ์ที่คาดหวังจากโครงการพัฒนาชุมชน เราเชื่อว่าการสร้างความเข้มแข็งในรูปแบบดังกล่าวจะนําไปสู่ ผลลัพธ์ทเี่ ป็นรูปธรรมทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม ของชุมชน ส่งผลให้คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น เกิดการ รวมกลุ่มกันเป็นวิสาหกิจชุมชน มีระบบการบริหารจัดการนํ้า เพื่อใช้ทําการเกษตรในชุมชน และเกิดพื้นที่สีเขียวผ่านการ ฟื้นฟูป่าไม้ และเมื่อเกิดความมั่นคงแล้ว ชุมชนเองก็สามารถ แบ่งปันคุณค่าของการเติบโตโดยการขยายองค์ความรู้และ แนวทางการทํางานของตนเองไปสู่ชุมชนใกล้เคียง ซึ่งจะสร้าง ความยั่งยืนให้กระจายไปในระดับท้องถิ่นและนําไปสู่การพัฒนา ระบบเศรษฐกิจในระดับประเทศได้อย่างแท้จริง
120 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ภารกิจสําคัญ
โครงการไทยเบฟ...รวมใจต้านภัยหนาว ปีที่ 19
จะถูกลําเลียงไปยังพื้นที่เพื่อส่งมอบให้พี่น้องในช่วงเดือน พฤศจิกายนของทุกปี ก่อนที่ภัยหนาวจะมาเยือน ซึ่งตลอด ระยะเวลา 19 ปี ผ้าห่มจํานวน 3,800,000 ผืน ได้กระจายไปสู่ ผู้ประสบภัยครอบคลุม 45 จังหวัด 578 อําเภอ นอกจากการมอบผ้าห่ม ยังมีความช่วยเหลือด้านอืน ่ ๆ ทีไ่ ทยเบฟ ได้รับความร่วมมือจากพันธมิตรหลายภาคส่วน เช่น การตรวจ สุขภาพเบื้องต้นโดยหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ กิจกรรมส่งเสริม ทักษะด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ ให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ และการมอบอุปกรณ์การเรียนการสอนและทุนการศึกษา ให้แก่โรงเรียนที่ขาดแคลน
เพื่อให้ความช่วยเหลือ แบ่งปัน และสนับสนุนการดําเนินงาน ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบภัยหนาวของรัฐบาล โครงการ ไทยเบฟ...รวมใจต้านภัยหนาว ปีที่ 19 ยังคงเดินหน้าส่งมอบ ผ้าห่มผืนเขียวอันเป็นสัญลักษณ์ของความอบอุ่นปีละ 200,000 ผืน ในพื้นที่ประสบภัยหนาว 15 จังหวัด ในภาค เหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เนื่องจาก พี่น้องที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ห่างไกลจํานวนมากของประเทศไทย ยังคงขาดแคลน ไม่มเี สือ้ ผ้าหรือผ้าห่มคลายหนาวอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะพื้นที่แถบภูเขาสูงที่มีเส้นทางทุรกันดารและยาก ต่อการเข้าถึง โดยไทยเบฟร่วมกับกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย รวบรวมข้อมูลผูป ้ ระสบภัยหนาว และจํานวนประชากรผู้ประสบภัยในแต่ละจังหวัด จากนั้นผ้าห่ม
คุณธงชัย คุณาพรหม
เจ้าหน้าที่ธุรการ โรงเรียนบ้านสายโท 4 ใต้ อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์
พวกเราดีใจเป็นอย่างยิ่งที่ไทยเบฟจัดโครงการมอบผ้าห่ม ให้กับชาวบ้านในชุมชนนี้ และรู้สึกประทับใจที่ไทยเบฟเห็นถึง ความสําคัญของชาวบ้านในชุมชนนี้ ขอขอบคุณไทยเบฟทีม ่ สี ว่ น มาเติมเต็มให้กบ ั ชุมชนของเรา และอยากให้มโี ครงการดีๆ แบบนี้ อีกในครั้งต่อๆ ไป และขอขอบคุณไทยเบฟที่มอบอุปกรณ์ การเรียนการสอนให้กับน้องๆ นักเรียน ขอบคุณมากๆ ครับ
121 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
โครงการชุมชนดีมรี อยยิม ้ โครงการชุมชนดีมีรอยยิ้มเริ่มดําเนินการมาตั้งแต่ปี 2555 โดยมี จุดประสงค์เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีในทุกๆ ด้านให้กับชุมชนรอบโรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พัฒนาความรู้ความสามารถให้กับเยาวชนในชุมชน ที่ขาดโอกาส โดยจัดกิจกรรมเสริมทักษะ 3 ด้าน ให้เด็กและเยาวชน เป็นเวลา 1 วัน • ด้านกีฬา ร่วมกับโครงการ Chang Mobile Football Unit นําผู้ฝึกสอนด้านกีฬามาให้ความรู้และฝึกสอนทักษะพื้นฐานให้เยาวชน เหมือนกับการฝึกนักกีฬามืออาชีพ โดยมีบุคคลที่มีชื่อเสียงจาก หลายหน่วยงานหมุนเวียนมาร่วมกิจกรรม เช่น สมาคมวอลเลย์บอล แห่งประเทศไทย หรือสโมสรฟุตบอลชื่อดังของจังหวัด ซึ่งนอกจาก จะสอนเทคนิคพื้นฐานด้านกีฬาแล้ว ยังปลูกฝังแนวคิดเรื่องการรู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย และมีนํ้าใจนักกีฬา เพื่อนําไปประยุกต์ใช้กับการดําเนิน ชีวิตในทุกสถานการณ์ • ด้านดนตรี ได้รับความร่วมมือจากมูลนิธิอาจารย์สุกรี เจริญสุข นําวิทยากรช่วยฝึกสอนเทคนิคพื้นฐานให้เด็กๆ ที่สนใจ สามารถ ร้องเพลงและเล่นดนตรีได้ถูกต้องตามมาตรฐานสากล รวมทั้งเสริม ทักษะให้กับวงดุริยางค์และวงดนตรีสากล โดยจะเน้นเพลงที่ใช้ในชีวิต ประจําวัน เช่น เพลงชาติ นอกจากนี้ ยังช่วยต่อยอดให้เด็กและ เยาวชนที่มีความสามารถทางดนตรีได้เห็นแนวทางการพัฒนา ไปสู่ความเป็นเลิศในอนาคต • ด้านศิลปะ จัดกิจกรรมสอนการนําศิลปะมาต่อยอดเป็นชิน ้ งานสิง่ ประดิษฐ์ ที่ใช้งานได้จริง เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สร้างแรงบันดาลใจ ใหม่ๆ และยังสร้างรายได้ให้กับนักเรียนและชุมชนจากสิ่งของเหลือใช้ ตลอดระยะเวลากว่า 7 ปี โครงการชุมชนดีมีรอยยิ้มช่วยเสริมทักษะ จุดประกายความคิดสร้างสรรค์ และสร้างแรงบันดาลใจ ให้เด็กๆ ในชุมชน รอบโรงงานในเครือไทยเบฟ ครบทั้ง 21 แห่ง และขยายผลไปยัง โรงงานนํ้าตาล 3 แห่ง โดยครอบคลุม 61 จังหวัดในประเทศไทย
ด.ช.ศักดิ์สิทธิ์ ศิลป์สร
ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลหนึ่งวัดละไม
ผมชอบเรียนวิชาศิลปะอยู่แล้วครับ คุณครูเลยแนะนํา ให้เข้ามาทํากิจกรรมนี้ พอได้ทําแล้วก็ทําไม่ยาก ได้ความรู้ ได้เพื่อนใหม่ๆ และได้สมาธิครับ ผมชอบ รังไหมที่เป็นวัสดุจากธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชน เราไม่ต้องลงทุนเยอะก็สามารถมีพวงกุญแจน่ารักๆ เอาไปห้อยกระเป๋า และยังสร้างรายได้ให้ผมและ เพื่อนๆ อีกด้วยครับ
122 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
โครงการไทยเบฟร่วมสร้างต้นแบบ ตําบลสัมมาชีพ ตําบลบัวใหญ่ จังหวัดน่าน ในการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการนํ้าเพื่อทําการเกษตร ในพื้นที่สูง ผลสําเร็จที่ได้คือ • • • •
ระบบตะบันนํ้า : 11 จุด พื้นที่รับประโยชน์ 11 ไร่ ระบบฝายชะลอนํ้า : 8 ฝาย พื้นที่รับประโยชน์ 24 ไร่ ระบบประปาภูเขา : ระยะทาง 9,622 เมตร พื้นที่ 1,000 ไร่ สมาชิกผู้รับประโยชน์ 35 ราย ปริมาณนํ้าจํานวน 15 ถัง 1,178.1 ลิตร เท่ากับ17,671.5 ลิตร (17.67150 ลูกบาศก์เมตร)
ในการปรับเปลี่ยนการปลูกพืชเชิงเดี่ยวสู่เกษตรผสมผสาน ผลสําเร็จที่ได้คือ • เกษตรกรในตําบลบัวใหญ่ได้ปรับเปลี่ยนเป็นเกษตรอินทรีย์ แล้ว 34 ราย จํานวน 36 แปลง ในพื้นที่ 146.1 ไร่ ภายใต้ ระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม
ไทยเบฟสนับสนุนชุมชนตําบลบัวใหญ่ อําเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ที่เกิดปัญหาการบริหารจัดการนํ้าเพื่อทําการเกษตรในพื้นที่สูง ซึ่งตําบลบัวใหญ่ มีแหล่งนํ้าต้นทุน ลําห้วย 214 ลําห้วย แต่มีนํ้าไหลตลอดปีเพียงแค่ 4 ลําห้วย ทําให้รป ู แบบการเกษตร ส่วนใหญ่เป็นการปลูกพืชเชิงเดี่ยวที่ใช้ปริมาณนํ้าค่อนข้างน้อย ซึ่งส่งผลกระทบต่อเนื่องเป็นลูกโซ่มาเป็นเวลานาน จากความตั้งใจของชุมชนและการสนับสนุนของภาคธุรกิจและ องค์กรภาคี จึงเกิดแนวคิด การบริหารจัดการนํ้าต้นทุนในพื้นที่ การเกษตรผสมผสาน เพื่อต่อยอดและขยายแนวคิด 1 ไร่ เกษตรอินทรีย์ โดยมีเป้าหมายเพื่อการฟื้นฟูป่าต้นนํ้าน่าน ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชน อย่างสิ้นเชิง แต่ความท้าทายอีกอย่างหนึ่งคือ ทําอย่างไรจึงจะนํานํ้าขึ้นมายัง พืน ้ ทีก ่ ารเกษตรทีอ่ ยูบ ่ นภูเขาสูงได้ ไทยเบฟจึงร่วมกับชุมชน พัฒนาระบบ “ตะบันนํ้า” ขึ้นที่สูง และสร้างฝาย 3 จุด เพื่อใช้ เก็บกักนํ้าเพื่อการเกษตร พร้อมกันนี้ได้ผลักดันให้ชุมชนจัดตั้ง กติกาและระเบียบการใช้นํ้าและกองทุนการใช้นํ้า ซึ่งเป็นข้อตกลง ร่วมกัน และนํากองทุนดังกล่าวมาใช้ในการซ่อมแซมกรณีชํารุด เสียหาย เพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตัวเองได้โดยไม่ต้องรอ งบประมาณจากภาครัฐ นอกจากนี้ยังร่วมกันพัฒนาระบบประปา ภูเขาระยะทาง 9,622 เมตร โดยมีพื้นที่รับประโยชน์ประมาณ 1,000 ไร่
• เกิดกลุ่มเกษตรอินทรีย์ตําบลบัวใหญ่ที่มีจํานวนสมาชิก 163 ราย จํานวน 815 ไร่ โดยส่งเสริมให้ปลูกไม้สามอย่าง ประโยชน์สี่อย่าง เพื่อทดแทนการปลูกพืชเชิงเดี่ยว และสามารถปลูกพืชรายวัน รายเดือน รายปี และส่งเสริม การปลูกพืชอินทรีย์ คือ ฟักทองอินทรีย์ (ระยะปรับเปลี่ยน) สายพันธุ์พื้นเมือง ได้แก่ สายพันธุ์คางคก ไข่เน่า ซึ่งมีเกษตรกรปลูกจํานวน 50 ราย • สร้างรายได้เพิ่มให้กับชุมชน โดยเพิ่มช่องทางการจําหน่าย สินค้าเกษตรอินทรีย์ผ่านห้างโมเดิร์นเทรด เช่น ฟักทอง อินทรีย์ (ระยะปรับเปลี่ยน) รายได้มูลค่ารวมในปี 2561 จํานวน 300,000 บาท
123 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ผลลัพธ์ • พื้นที่ป่าชายเลนเพิ่มขึ้นจํานวน 50 ไร่ • จํานวนต้นไม้เพิม ่ ขึน ้ 40,000 ต้น นําไปสูป ่ ระโยชน์ดา้ นระบบนิเวศ ชายฝั่งและเอื้อต่อการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์นํ้ากว่า 70 ชนิด • เพิ่มรายได้ให้ชุมชนเขตบางขุนเทียน ในการปลูกและดูแลรักษา ต้นไม้ในระยะเวลา 3 ปี จากจุดเริ่มต้นเพื่อการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง นํามาซึ่ง ความร่วมมือของหน่วยงานต่างๆ และชุมชนชาวบางขุนเทียน ก่อให้เกิดประโยชน์ที่กระจายไปในพื้นที่อย่างทั่วถึง และยังสามารถ นําไปสู่การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์แห่งใหม่ของ กรุงเทพมหานคร นํามาซึ่งเศรษฐกิจชุมชนอย่างมั่นคงและยั่งยืน
นายสมบุญ คํารม
เกษตรกรผู้ได้ร่วมโครงการสัมมาชีพ ต.บัวใหญ่ จ.น่าน
ก่อนหน้าที่จะทําตะบันนํ้า ลุงเคยทํากาลักนํ้ามาก่อน แต่ว่า ล้มเหลว พอได้รับความรู้และการสนับสนุนจากไทยเบฟ และรู้ วิธีการดึงนํ้าขึ้นสู่ที่สูงจึงได้ลองทําตะบันนํ้าดู ซึ่งก็ได้ผลดีมาก ตอนนี้สามารถปั๊มนํ้าขึ้นมาเก็บไว้ในแท็งก์ด้านบน และกระจาย นํ้าใช้ได้ในทุกจุดแปลงเกษตรในกลุ่มต่างๆ อีก 5 ครัวเรือน ที่ต้องใช้นํ้าร่วมกัน
โครงการปลูกป่าในใจคน ตามศาสตร์พระราชา ไทยเบฟรับทราบถึงปัญหานํ้าทะเลกัดเซาะชายฝั่งทะเลบางขุนเทียน ความยาวกว่า 4.7 กิโลเมตร ทําให้ที่ดินเดิมของชายทะเลหายไปกว่า 3,000 ไร่ และผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงคือ ประชาชนชาว บางขุนเทียนที่ต้องอพยพหนีนํ้าเข้ามาประมาณ 1.3 กิโลเมตรจาก หลักเขตเดิม เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน และสร้างประโยชน์กลับคืนสู่ชุมชนทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม ไทยเบฟจึงร่วมมือกับมูลนิธิปลูกป่าในใจคนตามศาสตร์ พระราชา สนับสนุนการปลูกป่าชายเลนในพื้นที่ 50 ไร่ มูลค่า 12 ล้านบาท โดยส่งเสริมให้เกิดการจ้างแรงงานจากชุมชนโดยรอบ และจัดซื้อกล้าไม้ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่จํานวน 40,000 ต้น เพื่อนําไปปลูกในพื้นที่ 50 ไร่ ริมชายฝั่งทะเลบางขุนเทียน ตลอดจน การดูแลรักษาต้นกล้าต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 3 ปี
124 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
โครงการความร่วมมือศูนย์ฯ ห้วยฮ่องไคร้ ไทยเบฟ ร่วมฟื้นฟูป่า พัฒนาคุณภาพชีวิต บ้านน้ําปูน ตําบลน้ําพาง และบ้านศรีนาป่าน ตําบลเรือง จังหวัดน่าน ไทยเบฟเล็งเห็นถึงความสําคัญของการฟื้นฟูป่าต้นนํ้าลําธาร การพัฒนาป่า และการพัฒนาคุณภาพชีวิต ไทยเบฟจึงได้ร่วมกับศูนย์ศึกษาการพัฒนา ห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จัดทําโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการสํานึก ในพระมหากรุณาธิคุณในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสทีท ่ รงเจริญพระชนมายุครบ 5 รอบ วันที่ 2 เมษายน 2558 โดยนํา รูปแบบการพัฒนาตามแนวพระราชดําริที่ประสบความสําเร็จของศูนย์ศึกษา การพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม่ มาประยุกต์และปรับใช้ในการพัฒนาบนพื้นที่ที่จังหวัดน่าน เพื่อฟื้นฟูป่า ต้นนํ้าลําธารพร้อมกับพัฒนาคุณภาพชีวต ิ ให้พงึ่ พาตนเองได้อย่างยัง่ ยืน โดยได้กาํ หนดพื้นที่เป้าหมายของโครงการฯ ใน 2 หมู่บ้าน คือ หมู่บ้านนํ้าปูน และหมู่บ้านศรีนาป่าน จังหวัดน่าน และนําความรู้ต่างๆ จากศูนย์ฯ ห้วยฮ่องไคร้ ไปขยายผลในพืน ้ ที่ 2 หมูบ ่ า้ น และทําการบันทึกการเปลีย ่ นแปลงต่างๆ เพือ่ ศึกษา หาแนวทางการพัฒนาสู่ความเป็นต้นแบบของชุมชนอื่นๆ ต่อไป ในปี 2560 ชุมชนเป้าหมายทั้ง 2 หมู่บ้าน จํานวน 150 คน ได้รับการอบรม เรียนรู้และรับมอบปัจจัย วัตถุดิบต่างๆ ในการเลี้ยงสัตว์และพืชเพื่อบริโภคในชีวิต ประจําวันและเป็นการลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนเบื้องต้น โดยมุ่งหวังว่า เมื่อเลี้ยงไป ได้ระยะหนึ่งแล้ว หากมีเหลือจากการบริโภค กลุ่มเกษตรกรจะสามารถรวมกลุ่มกัน เพื่อจําหน่ายสินค้าที่มีมาตรฐานต่อไป ซึ่งในปี 2561 พบว่าชุมชนในทั้ง 2 พื้นที่ สามารถมีรายได้จากการเลี้ยงปศุสัตว์เพิ่มขึ้นร้อยละ 150-220
125 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
คุณประโภชฌ์ สภาวสุ
รองผู้อํานวยการสํานักกรรมการผู้อํานวยการใหญ่
ไทยเบฟมองเห็นโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ป่าสงวนที่ถูกแผ้วถางป่า เป็นบริเวณกว้างมานานหลายชัว่ อายุคน ในสภาพปัจจุบน ั พืน ้ ทีเ่ ป็นป่า เขาหัวโล้นโดยรอบ และเมือ่ รัฐบาลเข้ามาควบคุมอย่างจริงจัง ชาวบ้าน จึงหมดหนทางทํามาหากิน หน้าที่สําคัญที่ถือเป็นภารกิจเร่งด่วนของ ไทยเบฟคือ จะทําอย่างไรให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ มีอาหาร มีโปรตีนกินและอยู่รอดได้อย่างยั่งยืน ผมได้พาชุมชนไปศึกษาดูงาน ที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ได้เปิดโอกาสให้ชุมชนศึกษาดูงาน โดยรอบศูนย์ฯ และตัดสินใจที่จะหาสิ่งที่ตนสนใจและคิดว่าถนัด บางคนสนใจอยากเลีย ้ งสุกร ปลาดุก กบนา ไก่ไข่ หรือเพาะเห็ดนางฟ้า ภูฏาน เราก็พร้อมทีจ่ ะสนับสนุนปัจจัยต่างๆ ให้ โครงการเราทําต่อเนือ่ ง และจริงจัง ตลอดระยะเวลา 5 ปี เราได้ให้การสนับสนุน ต่อยอด และ ขยายผลจนชุมชนที่ประสบความสําเร็จหลายคนได้รับการสนับสนุน ในระดับของเกษตรกรตัวอย่างและคาดว่าอีกไม่นาน เราอาจจะได้ศน ู ย์ฯ เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงขึ้นในพื้นที่แห่งนี้ก็เป็นได้ สิ่งที่น่าภูมิใจคือ เราได้เป็นผูใ้ ห้โอกาสแห่งการเรียนรูต ้ ามแนวทางทีถ ่ ก ู ต้อง เป็นแนวทาง แห่งศาสตร์พระราชา และช่วยให้ชุมชนมีรายได้ สามารถลดรายจ่าย ครัวเรือนได้อย่างเป็นรูปธรรม
คุณเครือวัลย์ ไชยเรียน (คนซ้าย)
อาชีพเกษตรกรปลูกชาเมี่ยง การศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (กศน.) หมู่บ้านศรีนาป่าน ตําบลเรือง อําเภอเมือง จังหวัดน่าน เกษตรกรตัวอย่าง ในโครงการฯ
ได้รู้จักโครงการนี้มาตั้งแต่ปี 2558 สบายใจดี อยากกินอะไรก็ได้กิน อยากเลี้ยงอะไรเขาก็มีมาให้ ตั้งแต่แรกทีมงานพาพวกเราไปที่ศูนย์ฯ ห้วยฮ่องไคร้ ดอยสะเก็ด เชียงใหม่ ได้เรียนรู้ว่ามีการเลี้ยงสุกร ปลา ไก่ไข่แบบที่ถูกต้องเขาทํากันอย่างไร แล้วเราก็เริ่มเลี้ยงหมูเรื่อยมา แบบที่เขาสอน ปัจจุบันเราเลี้ยงหมู ผสมพันธุ์หมูได้เอง และสามารถ ออกลูกได้คราวละไม่ตํ่ากว่า 10 ตัว ขายได้ราคาดี และไม่ต้องใช้ชีวิต เกี่ยวข้องกับการปลูกข้าวโพด ใช้สารเคมีอีกต่อไป
126 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
โครงการส่งเสริมฝึกอบรมอาชีพการเลีย ้ งไก่ไข่ การปลูกพืชด้วยระบบ ไฮโดรโปนิกส์ และเพาะเห็ดเศรษฐกิจ สําหรับผูพ ้ ก ิ ารและผูด ้ แู ล ผูพ ้ ก ิ าร ของบริษท ั เสริมสุข จํากัด (มหาชน) ตั้งแต่ปี 2559-2561 บริษัท เสริมสุข จํากัด (มหาชน) ได้จัด โครงการส่งเสริมฝึกอบรมอาชีพการเลี้ยงไก่ไข่ การปลูกพืชด้วย ระบบไฮโดรโปนิกส์ และเพาะเห็ดเศรษฐกิจ สําหรับผู้พิการและ ผู้ดูแลผู้พิการ เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีและความรู้ด้านการเกษตร และการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ สามารถนําไปประกอบอาชีพ เช่น การเลี้ยงไก่ไข่ พร้อมทั้งการ ก่อสร้างโรงเรือนและติดตัง้ อุปกรณ์สาํ หรับการเลีย ้ งไก่ไข่ การปลูกพืช ด้วยระบบไฮโดรโปนิกส์ และการเพาะเห็ดเศรษฐกิจ เพื่อเป้าหมายให้ ผู้พิการสามารถประกอบอาชีพ มีรายได้เลี้ยงดูตนเองและครอบครัว ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน และอยู่ร่วมกับชุมชนและสังคม ได้อย่างมีคุณค่า
ปัจจุบันมีผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการเข้าร่วมโครงการแล้วจํานวน 111 ราย ได้ผลผลิตที่ดี มีคุณภาพและปลอดภัย มีปริมาณเพียงพอ สําหรับการบริโภคภายในครัวเรือน และแบ่งสรรสําหรับจําหน่ายใน พื้นที่ เช่น การเลี้ยงไก่ไข่สามารถสร้างรายได้เฉลี่ยเดือนละ 2,178 บาท การปลูกพืชด้วยระบบไฮโดรโปนิกส์ และการเพาะเห็ดเศรษฐกิจ สร้างรายได้เฉลี่ยเดือนละ 1,830 บาท อีกทั้งยังเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ของเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อนําไปเป็นแบบอย่างให้เกิดการ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และนําไปสู่การพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
ทิศทางการดําเนินงาน เพื่อนําองค์กรไปสู่การพัฒนาสังคมที่อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขและ ยัง่ ยืน ไทยเบฟยังคงเดินหน้าสนับสนุนให้ชม ุ ชนดํารงอยูไ่ ด้ดว้ ยตนเอง อย่างมั่นคง โดยมุ่งเน้นดําเนินกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่องและ ขยายผลมากขึ้น ด้วยโครงการต่างๆ ดังนี้ 1. โครงการ 1 ตําบล1 สัมมาชีพ มุ่งเน้นการขยายพื้นที่ สร้างพื้นที่ ต้นแบบสัมมาชีพในบริเวณรอบโรงงานและพื้นที่อื่นๆ อย่างน้อย 2 พื้นที่ พร้อมเพิ่มรายได้ให้ชุมชนอย่างน้อยร้อยละ 10 ภายใน ปี 2562 2. โครงการชุมชนดีมีรอยยิ้ม • ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม : ขยายพื้นที่ใหม่และต่อยอด พื้นที่การทํางานด้านการบริหารจัดการนํ้า และพื้นที่สีเขียว เพื่อชุมชนให้มากขึ้น อย่างน้อย 2 พื้นที่
• ด้านเด็กและเยาวชน : เพิ่มจํานวนเด็กและเยาวชนให้เข้าถึง โอกาสผ่านการพัฒนาด้านทักษะอาชีพและทักษะชีวิต มากขึ้นร้อยละ 10 ภายในปี 2562 3. โครงการความร่วมมือศูนย์ฯ ห้วยฮ่องไคร้ มุ่งขยายแนวทาง ศาสตร์พระราชาที่กระจายอยู่ในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่อง มาจากพระราชดําริ ในภาคต่างๆ ทัง้ 6 แห่ง ซึง่ ตัง้ ในจังหวัดเพชรบุรี ฉะเชิงเทรา จันทบุรี สกลนคร เชียงใหม่ และนราธิวาส กระจายสู่ ชุมชนผ่านแนวทางของศูนย์ โดยจะเลือกหมู่บ้านที่เหมาะสม เพื่อขยายผลต่อไป
127 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภาพรวม ผลลัพธ์ของโครงการทีเ่ ชือ่ มโยงเพือ่ ให้เกิดความยัง่ ยืน
15 โครงการพัฒนาชุมชน ด้านเศรษฐกิจฐานราก
การบริหารจัดการน้ำ
35 ครัวเรือน
สร้างรายได้เฉลีย ่
ได้รับประโยชน์จากน้ำ ในการทำการเกษตร
11,356 บาท ครัวเรือน/ปี
ระบบฝายชะลอน้ำ
58 ฝาย
ได้รับการแปรรูป และการเพิ่มมูลค่า
ระบบตะบันน้ำ
14 รายการ
11 จุด
พืน ้ ทีร่ บ ั ประโยชน์
พื้นที่เกษตรอินทรีย์ รวม
ระบบประปาภูเขา ระยะทาง
1,447 ไร่
9,622 เมตร ปริมาณน้ำ
10,800 ลิตร/วัน
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
เด็กและเยาวชนที่ได้เข้าร่วมกิจกรรม เพิ่มพื้นที่สีเขียว
613 ไร่
จำนวนต้นไม้บนบก
6,314 คน
จำนวนต้นไม้ปา่ ชายเลน
27,133 ต้น 40,000 ต้น
แปลงหญ้า
ได้รับการพัฒนาทักษะด้านต่างๆ
โรงเรียนที่ได้ร่วมโครงการ
โป่งเทียม
250 ไร่
66 แห่ง
50 แห่ง การบรรเทาภัยหนาวและความช่วยเหลืออืน ่ ๆ
แจกจ่ายผ้าห่มสู่พี่น้องผู้ประสบภัยหนาว
มอบผ้าห่ม จำนวน
200,000 ผืน/ปี
ชาวบ้านกว่า
3,000คน
ใน 11 จังหวัดภาคเหนือ/อีสาน ที่มารับมอบผ้าห่ม ได้รับโอกาส เข้าถึงการตรวจสุขภาพจาก หน่วยแพทย์เคลื่อนที่
15
จังหวัด
มอบอุปกรณ์การเรียนและ คอมพิวเตอร์ให้โรงเรียนที่ส่งมอบ ผ้าห่มกว่า
15 แห่ง กว่า
20 พันธมิตร
จากหลากหลายภาคส่วนร่วมแบ่งปัน ความสุขและรอยยิม ้ ให้แก่ชาวบ้าน ในคาราวานผ้าห่ม
128 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
โครงการ ประชารัฐรักสามัคคี • คณะทํางานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ (E3) มุ่งเน้น ลดความเหลื่อมลํ้า สร้างรายได้ให้ชุมชน เพื่อประชาชนมีความสุข • การจัดตั้ง บริษัท ประชารัฐรักสามัคคี วิสาหกิจเพื่อสังคม ขึ้นใน 77 จังหวัด ถือเป็นนวัตกรรมทางสังคมของประเทศไทยที่เชื่อมโยง 5 ภาคส่วนของ สังคมเข้าด้วยกัน ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน • ตั้งแต่ดําเนินงานมา 3 ปี มีผลประกอบการกว่า 830 โครงการ ก่อให้เกิด รายได้แก่ชุมชนเป้าหมายมากกว่า 329 ล้านบาท ครอบคลุมชุมชน 61,292 ครัวเรือนทั่วประเทศ
แบ่งปันคุณค่า คุณต้องใจ ธนะชานันท์
กรรมการผู้จัดการบริษัท ประชารัฐรักสามัคคี วิสาหกิจเพื่อสังคม (ประเทศไทย) จํากัด
เครือข่ายประชารัฐรักสามัคคีเป็นพื้นที่ใหม่ในการสร้างความร่วมมือของ สังคมไทยที่ผนึกกําลังจากทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน ชนบท เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม การจัดตัง้ เครือข่ายประชารัฐรักสามัคคีในรูปแบบวิสาหกิจเพือ่ สังคม เป็นการ แสดงเจตนารมณ์ที่ชัดเจนในการสร้างความยั่งยืนให้กับพื้นที่แห่งความ ร่วมมือนี้ นับแต่การเริ่มโครงการในปี 2559 เราได้รับความร่วมมือจาก บริษัทเอกชนรายใหญ่กว่า 15 แห่งในการเข้าร่วมลงทุนและร่วมทํางาน ในโครงการต่างๆ รวมถึงสถาบันการศึกษาและหน่วยงานภาครัฐและ ภาคประชาสังคมอีกมากมาย เพื่อปลูกฝังแนวทางการทํางานรูปแบบ ใหม่นี้ให้กับคนรุ่นใหม่ เราได้จัดทําโครงการ “สานพลังเพื่อบ้านเกิด” เพื่อเฟ้นหาและพัฒนาผู้ที่มีความสนใจในการพัฒนาชุมชนบ้านเกิด ของตนเป็นจํานวนกว่า 150 คน ในปี 2561 เราได้คัดเลือกผู้เข้าร่วม โครงการ “สานพลังเพื่อบ้านเกิด” ซึ่งมีผลการทํางานดีเยี่ยมจํานวน 13 คน ให้จัดตั้งและบริหารงานวิสาหกิจเพื่อสังคมในระดับอําเภอ เพื่อให้แนวทางการสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วนนี้หยั่งรากลึก ลงในสังคมไทย
129 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภารกิจสําคัญ จากนโยบาย “สานพลังประชารัฐ” ของรัฐบาลที่มุ่งหวังให้เกิดการประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการ ร่วมกันแก้ปัญหาและคิดหาทางสร้างอนาคตให้ประเทศไทย บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) ได้เข้าเป็น หัวหน้าคณะทํางานภาคเอกชนในคณะทํางานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ ซึ่งมีเป้าหมายหลัก ในการสร้างรายได้ให้ชุมชนเพื่อประชาชนมีความสุข โดยการทํางานผ่านกลไกการสานพลังจาก 5 ภาคส่วน คือ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ และภาคประชาชน เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนเศรษฐกิจในชุมชน ให้มีการพัฒนาไปทั้งระบบ ตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง โดยเน้นการทํางานใน 3 กลุ่มงาน คือ เกษตร แปรรูป และท่องเที่ยวโดยชุมชน พร้อมทั้งสร้างความเชื่อมโยงการทํางานของเครือข่าย บริษัทประชารัฐ รักสามัคคี ทั่วประเทศ เพื่อให้การขับเคลื่อนงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีผลเป็นรูปธรรมและมีความต่อเนื่องในระยะยาว คณะทํางานฯ ได้ผลักดันให้มีการจัดตั้ง “วิสาหกิจเพื่อสังคม” ภายใต้ชื่อ “ประชารัฐรักสามัคคี” ขึ้นในทุกจังหวัด และจัดตั้งบริษัทประชารัฐรักสามัคคี วิสาหกิจเพื่อสังคม (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อเป็นหน่วยงานกลางในการ ประสานความเชื่อมโยงระหว่างภาคส่วนต่างๆ ทั่วประเทศ ทั้งนี้เครือข่ายประชารัฐรักสามัคคี วิสาหกิจเพื่อสังคม ได้รับการจัดตั้งครบทั้ง 77 แห่งเป็นที่เรียบร้อยแล้วในปี 2559 ตลอดปี 2561 บริษัท ประชารัฐรักสามัคคี จังหวัด (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จํากัด ทั้ง 76 แห่ง สามารถดําเนินการ พัฒนาธุรกิจชุมชนทั่วประเทศ 428 โครงการ แบ่งเป็น 3 ประเภทกลุ่มงาน คือ เกษตร (ร้อยละ 29) แปรรูป (ร้อยละ 52) ท่องเที่ยว (ร้อยละ 19) โดยสามารถสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนในเครือข่าย 35,346 ครัวเรือน เป็นมูลค่ารวมทั้งสิ้นกว่า 172 ล้านบาท
สร้างสรรค์การพัฒนาสินค้าชุมชน ในปี 2561 บริษท ั ประชารัฐรักสามัคคี วิสาหกิจเพือ่ สังคม (ประเทศไทย) จํากัด ภายใต้การสนับสนุนของไทยเบฟ ได้ดําเนินโครงการเพื่อการ พัฒนาสินค้าชุมชน ทั้งด้านการออกแบบและคุณภาพสินค้า เพื่อยกระดับให้มีความทัดเทียมระดับนานาชาติและเพื่อตอบสนอง ความต้องการของผู้บริโภคในยุคใหม่ได้อย่างเต็มที่ • ผ้าขาวม้าท้องถิ่นหัตถศิลป์ไทย นับตั้งแต่ปี 2559 โครงการนี้ มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผ้าขาวม้าทอมือผ่าน 4 มิติ ได้แก่ การสร้างความตระหนักรู้และความสนใจในสินค้าผ้าขาวม้าทอมือ ในกลุม ่ ผูบ ้ ริโภคทัง้ ในและต่างประเทศ การสร้างนวัตกรรมการผลิต และแปรรูปสินค้าเพื่อเพิ่มความหลากหลายในการใช้งาน การ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างชุมชนและผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ รวมทั้งการผลักดันให้เกิดการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ของชุมชนทั้งในด้านลิขสิทธิ์ลายผ้า เครื่องหมายการค้า และ สิทธิบัตรต่างๆ ซึ่งในปี 2561 โครงการฯ มีการจัดกิจกรรมหลัก 3 อย่าง ซึ่งสามารถสร้างรายได้กว่า 30 ล้านบาท ให้กับชุมชน ผู้ผลิตผ้าขาวม้าทั่วประเทศ นั่นคือ
130 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
- การต่อยอดการพัฒนาชุมชนผู้ผลิต จัดงานสัมมนา เชิงปฏิบัติการแก่ชม ุ ชนผูผ ้ ลิตผ้าขาวม้าทอมือในจังหวัดต่างๆ ทัว่ ประเทศ กว่า 400 ชุมชน เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ในด้านการ ผลิตและบริหารธุรกิจ ตลอดจนเชื่อมโยงชุมชนผู้ผลิตจนเกิดเป็น เครือข่ายที่ทํางานร่วมกัน - การรวมพลังคนรุ่นใหม่ ให้มีความสนใจในการสานต่อการผลิต ออกแบบและพัฒนาสินค้าผ้าขาวม้า ผ่าน 2 กิจกรรมหลัก คือ การเฟ้นหาทายาทผ้าขาวม้าไทย ซึ่งคัดเลือกคนรุ่นใหม่ในชุมชน ผู้ผลิตที่ได้สานต่อการผลิตสินค้าผ้าขาวม้าทอมือใน 15 ชุมชน ทั่วประเทศ และการจัดการประกวดการออกแบบ นวอัตลักษณ์ ซึ่งมีผู้รว่ มส่งผลงานเข้าประกวดกว่า 260 ชิน ้ ใน 3 สาขา การประกวด ได้แก่ สาขาแฟชั่น สาขาเคหะสิ่งทอ และสาขาลายผ้า - การเชื่อมโยงตลาด และการประชาสัมพันธ์สินค้าผ้าขาวม้าทอมือ ของชุมชนที่มีความพร้อมให้ออกสู่ตลาดใหม่ๆ ผ่านการร่วมงาน กับนักออกแบบชั้นนํา การเข้าร่วมงานออกร้าน และการทํา แคตตาล็อกแฟชั่นสินค้าผ้าขาวม้า ฯลฯ นับแต่การเริ่มโครงการ กิจกรรมเหล่านี้สามารถสร้างรายได้กว่า 30 ล้านบาท ให้กับชุมชนผู้ผลิตผ้าขาวม้าทั่วประเทศ • ผ้าพื้นถิ่นสะพาย-สายแนว งานพัฒนาและประยุกต์ผ้าพื้นถิ่น ผ่านการทํางานร่วมกับคนรุน ่ ใหม่ในพืน ้ ทีภ ่ าคเหนือตอนบน (เชียงใหม่ เชียงราย แพร่ น่าน ลําปาง และลําพูน) ให้สืบสานอัตลักษณ์และเพิ่ม มูลค่าให้กับผ้าท้องถิ่นของตน โครงการนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอและดีไซเนอร์ทั้งในระดับท้องถิ่น และระดับประเทศในการออกแบบและพัฒนาสินค้า “ย่าม” ซึ่งนําวัตถุดิบจากผ้าท้องถิ่นต่างๆ มาประกอบเพื่อสะท้อนให้เห็น เอกลักษณ์ของชาติพันธุ์ที่หลากหลาย นอกจากนี้ ไทยเบฟ ยังมีส่วนในการผลักดันสินค้าเข้าสู่ตลาดใหม่ๆ ตลอดจนสนับสนุน สื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ และการสอนขายทางออนไลน์ให้กับชุมชน โครงการนี้ช่วยสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชนจํานวน 959 คน ที่เข้าร่วมงาน รวมทั้งสิ้นกว่า 2 ล้านบาท ในระยะเวลาเพียง 5 เดือน หลังจากเริ่มโครงการ
131 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
เชือ่ มโยงสินค้าชุมชนสูต ่ ลาดใหม่ บริษัทประชารัฐรักสามัคคีสร้างช่องทางจําหน่ายใหม่ให้กับสินค้าชุมชน โดยดําเนินโครงการหลัก ดังนี้ • โครงการโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย บริษัทประชารัฐรักสามัคคี ได้รว่ มลงนามความร่วมมือกับกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสถาบันพัฒนา องค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) เพื่อผลักดันการผลิตและบริโภค อาหารที่ปลอดภัย ผ่านการเชื่อมโยงตลาดให้กับผัก/ผลไม้ปลอดภัย และเกษตรอินทรีย์เข้าสู่โรงพยาบาลภายใต้การควบคุมของกระทรวง สาธารณสุขทัว่ ประเทศ โดยมีบริษท ั ประชารัฐรักสามัคคีในแต่ละจังหวัด ทําหน้าที่ช่วยวางแผนการผลิตและพัฒนามาตรฐานชุมชนเกษตรกร รวมถึงประสานงานการขายและจัดส่งผลผลิตสูโ่ รงพยาบาลในจังหวัด ในปี 2561 มีชุมชนในเครือข่ายประชารัฐรักสามัคคี 20 จังหวัด เข้าร่วมโครงการ และสร้างรายได้เพิ่มขึ้นกว่า 15 ล้านบาท • การสร้างช่องทางขายผ่านสื่อออนไลน์ บริษัทประชารัฐรักสามัคคี ได้เชื่อมโยงกับภาคเอกชนซึ่งเป็นผู้นําด้านสื่อโทรคมนาคม และตลาดออนไลน์ เพื่อสร้างช่องทางและพัฒนาทักษะการขายสินค้า ในตลาดออนไลน์ให้กับชุมชนโดยผ่านแอปพลิเคชัน “ฟาร์มสุข” และตลาดออนไลน์ “ลาซาด้า” รวมถึงการสร้างแคตตาล็อกสินค้า ชุมชนในช่องทางสื่อสารออนไลน์กลางของบริษัทฯ ร่วมนําสินค้า ชุมชนกว่า 400 ประเภท (SKU) จาก 112 ชุมชนใน 53 จังหวัด ทั่วประเทศขึ้นสู่ระบบออนไลน์
• รายการชืน ่ ใจไทยแลนด์ ไทยเบฟร่วมกับบริษท ั ประชารัฐรักสามัคคี และบริษท ั อมรินทร์ เทเลวิชน ่ั จํากัด สนับสนุนการประชาสัมพันธ์ การท่องเทีย ่ วโดยชุมชนให้เป็นทีร่ จู้ ก ั ในวงกว้าง ผ่านรายการ ชืน ่ ใจ ไทยแลนด์ เป็นสารคดีเชิงท่องเทีย ่ วซึง่ ออกอากาศทางช่องอมรินทร์ TV HD 34 โดยเริม ่ ออกอากาศครัง้ แรกในปี 2559 มีเนือ้ หา ครอบคลุม 94 ชุมชน ใน 62 จังหวัด การประชาสัมพันธ์ผา่ นรายการ ชืน ่ ใจไทยแลนด์และกิจกรรมเสริมทีน ่ าํ ชุมชนในรายการเข้าออกร้าน ในงานต่างๆ สามารถสร้างรายได้ให้แก่ชม ุ ชนได้กว่า 30 ล้านบาท • การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างจังหวัด มุ่งเน้นการแลกเปลี่ยน ระบายสินค้า และแก้ปัญหาสินค้าเกษตรล้นตลาด โดยมีบริษัท ประชารัฐรักสามัคคีในแต่ละจังหวัดเป็นตัวกลางประสานงานและ เชื่อมโยง ซึ่งในปี 2561 มีการเชื่อมโยงการรับซื้อสินค้าเกษตร อาทิ สับปะรดจากจังหวัดลําปาง เพชรบูรณ์ ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ กระเทียมจากจังหวัดแม่ฮ่องสอน ลําไยจากจังหวัดน่าน พริกสด จากจังหวัดพัทลุง และลิ้นจี่จากจังหวัดสมุทรสงคราม นอกจากนี้ ยังมีการประสานงานจัดหาพื้นที่จําหน่ายสินค้าให้แก่ชุมชน สู่ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) ในจังหวัดต่างๆ โดยตลอดปี 2561 บริษัทประชารัฐรักสามัคคีและเครือข่ายได้จัดหา สถานที่จําหน่ายผลผลิตให้แก่ชุมชนไปแล้วกว่า 150 ชุมชน และสามารถสร้างรายได้รวมทัง้ สิน ้ กว่า 30 ล้านบาท
132 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
เผยแพร่องค์ความรู้ • ร่วมผลักดันเทคโนโลยี วิทย์แก้จน ไทยเบฟและบริษัท ประชารัฐ รักสามัคคี วิสาหกิจเพื่อสังคม (ประเทศไทย) จํากัด ได้ทํางานร่วมกับ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเผยแพร่เทคโนโลยีพร้อมใช้ เข้าสู่ชุมชน ผ่านช่องทางสื่อต่างๆ เช่น สื่อออนไลน์ เว็บไซต์ และการ ร่วมฝึกอบรมชุมชนเป้าหมาย ฯลฯ โดยมุ่งเน้นการยกระดับสินค้า ชุมชนและลดต้นทุนการผลิตให้กับกลุ่มผู้ผลิต OTOP เกรด C และ D ใน 10 จังหวัด ได้แก่ แม่ฮ่องสอน กาฬสินธุ์ บุรีรัมย์ น่าน นครพนม นราธิวาส ปัตตานี ชัยนาท ตาก และอํานาจเจริญ
• เข้าร่วมการประชุม High – Level Political Forum on Sustainable Development in 2017 (HLPF) ที่องค์การ สหประชาชาติ นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมี คุณฐาปน สิริวัฒนภักดี หัวหน้าทีมภาคเอกชน คณะทํางานการพัฒนา เศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ ร่วมนําเสนอ Voluntary National Reviews ในการดําเนินการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ สู่การบรรลุเป้าหมายความยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (SDGs) เพื่อให้แนวทางการทํางานที่ผนึกกําลังจากทุกภาคส่วนของสังคม ในรูปแบบประชารัฐรักสามัคคีเป็นที่รับรู้ในระดับสากล
ทิศทางการดําเนินงาน ไทยเบฟและบริษัท ประชารัฐรักสามัคคี วิสาหกิจเพื่อสังคม (ประเทศไทย) จํากัด จะยังคงมุ่งมั่นดําเนินโครงการต่างๆ ที่ได้ทํามา แล้วอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นโครงการผ้าขาวม้าท้องถิ่นหัตถศิลป์ ไทย โครงการสานพลังเพื่อบ้านเกิด โครงการโรงพยาบาลอาหาร ปลอดภัย รวมถึงโครงการอื่นๆ เพื่อให้ความร่วมมือในการพัฒนา ชุมชนในชนบทจากทุกภาคส่วนของเครือข่ายประชารัฐรักสามัคคี ทัว่ ประเทศมีความต่อเนือ่ งและยัง่ ยืน บริษท ั ได้วางแผนการดําเนินงาน ในอนาคตดังนี้ • ไทยเบฟและบริษัท ประชารัฐรักสามัคคี วิสาหกิจเพื่อสังคม (ประเทศไทย) จํากัด มีแผนงานที่จะจัดทําการถอดบทเรียน การทํางานของโครงการต่างๆ ทั่วประเทศเพื่อวิเคราะห์บริบท ผลสัมฤทธิ์ ปัจจัยความสําเร็จ ปัจจัยความเสี่ยง และนํามารวบรวม เป็นองค์ความรู้เพื่อเผยแพร่ต่อไป
• จัดตั้ง มูลนิธิสถาบันพัฒนาวิสาหกิจเพื่อสังคมแห่งประเทศไทย เพือ่ เชือ่ มโยงวิสาหกิจเพือ่ สังคมต่างๆ ทัง้ ทีอ่ ยูใ่ นเครือข่ายประชารัฐ รักสามัคคีและเครือข่ายอืน ่ ๆ ให้มโี อกาสแลกเปลีย ่ นประสบการณ์ และทํางานร่วมกัน ตลอดจนสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้อันเป็น ประโยชน์ต่อการทํางานของวิสาหกิจเพื่อสังคมทั้งในระดับชาติ และระดับสากล • ร่วมจัดตัง้ วิสาหกิจเพือ่ สังคมกับชุมชนทีม ่ ค ี วามพร้อมและความสนใจ ในการพัฒนาชุมชนของตนเอง โดยขยายพื้นที่การทํางานของ วิสาหกิจเพื่อสังคม ให้ครอบคลุมจํานวนชุมชนได้เพิ่มมากยิ่งขึ้น
133 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภาพรวม
ภาพรวมการทำงานโครงการประชารัฐรักสามัคคี จัดตัง้ บริษท ั ประชารัฐรักสามัคคี วิสาหกิจ เพือ่ สังคม จำกัด ใน
77 จังหวัด
428 โครงการจาก 3 กลุม ่ งาน คือ
ครอบคลุมทัว่ ประเทศ
29%
เกษตร
52%
โครงการผ้าขาวม้าท้องถิน ่ หัตถศิลป์ไทย พัฒนาความรูแ้ ก่ชม ุ ชนผูผ ้ ลิตผ้าขาวม้า ทอมือกว่า
แปรรูป
400 ชุมชน
19%
ท่องเที่ยว
รวมพลังคนรุน ่ ใหม่เป็นทายาท ผ้าขาวม้า
15 ชุมชน ทัว่ ประเทศ สร้างรายได้
30 ล้านบาท โครงการผ้าพืน ้ ถิน ่ สะพาย-สายแนว สร้างรายได้กว่า
2 ล้านบาท
ชุมชน จำนวน
35,346 ครัวเรือน
เป็นมูลค่ากว่า
172
ล้านบาท
โครงการโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย สร้างรายได้ให้ชม ุ ชนกว่า
15 ล้านบาท ใน 20 จังหวัด
ให้คนในชุมชน
959 คน ในเวลา 5 เดือน รายการทีวี ชืน ่ ใจไทยแลนด์ ประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเทีย ่ วให้กบ ั ชุมชน
94 พืน้ ที่ ใน 62 จังหวัด สร้างรายได้ชม ุ ชนกว่า
30 ล้านบาท
การเชือ่ มโยงระหว่างจังหวัด สร้างรายได้กว่า
30 ล้านบาท ให้แก่ 150 ชุมชน จำนวนคณะทำงานจาก
5 ภาคส่วน 800+ คนทัว่ ประเทศ
134 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
การพัฒนาด้านการศึกษา • ไทยเบฟให้ความสําคัญกับการพัฒนาความรูแ้ ละเพิม ่ ขีดความสามารถของทรัพยากรบุคคล จึงริเริม ่ โครงการสนับสนุนและส่งเสริมด้านการศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชน เพือ่ สร้างบุคลากร ที่มีคุณภาพและเป็นกําลังสําคัญให้กับประเทศชาติต่อไป • ในปี 2561 ดําเนินกิจกรรมและโครงการต่างๆ เพื่อสนับสนุนทุนการศึกษา ส่งเสริม ให้เกิดการสร้างอาชีพ และพัฒนาทักษะในการทํางานให้กับคนทั้งในองค์กร ชุมชน และ สถานศึกษาต่างๆ รวมกว่า 80,000 คน ด้วยมุ่งหวังให้ทุกคนก้าวไปสู่การพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติต่อไป
ภารกิจสําคัญ
โครงการทุนการศึกษาบุตรพนักงาน ไทยเบฟริเริ่มโครงการทุนการศึกษาบุตรพนักงานมาตั้งแต่ปี 2553 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนความก้าวหน้าทางการศึกษาให้แก่บุตรของ พนักงานที่มีผลการเรียนดี อีกทั้งช่วยเหลือและแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่าย ของผู้ปกครอง โดยมีสถิติการมอบทุนการศึกษาตั้งแต่เริ่มต้น จนถึงปีปัจจุบันจํานวน 9,243 ทุน รวมเป็นเงิน 57,198,000 บาท สําหรับในปี 2561 มีบุตรพนักงานได้รับทุนจํานวน 1,075 ทุน เป็นเงินทั้งสิ้น 6,670,000 บาท โดยแบ่งออกเป็น ทุนการศึกษา กรณีทั่วไป 1,065 ทุน และทุนการศึกษากรณีพิเศษ (โครงการ ช้างเผือก) จํานวน 10 ทุน โดยแบ่งตามระดับตั้งแต่ประถมศึกษา ไปจนถึงอุดมศึกษา นอกจากนี้ยังมีผู้ที่ได้รับทุนการศึกษา 9 ปี ต่อเนื่องกัน ทั้งสิ้น 23 ราย รวมถึงบุตรที่ได้รับทุนการศึกษาทั้งกรณี พิเศษ (โครงการช้างเผือก) และทุนกรณีทั่วไปที่ได้เข้าร่วมทํางานกับ ไทยเบฟ ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปัจจุบันรวมทั้งสิ้นจํานวน 40 คน ไทยเบฟยังคงยึดมั่นในการสนับสนุนทุนการศึกษาแก่บุตรของ พนักงาน เพื่อให้พวกเขาเติบโตเป็นกําลังสําคัญและเป็นรากฐาน ทางการศึกษาที่มั่นคงต่อไป
135 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
โครงการผูน ้ าํ เพือ่ การพัฒนาการศึกษา ทีย ่ ง่ั ยืน (Connext ED) ไทยเบฟ ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการและภาคเอกชน 12 บริษัท ในโครงการประชารัฐรักสามัคคี กลุม ่ การศึกษาพืน ้ ฐาน และการพัฒนา ผู้นํา จัดทําโครงการให้นักเรียนทดลองการทําธุรกิจผ่านการลงมือ ปฏิบัติจริง เพื่อให้เด็กนักเรียนสามารถบริหารจัดการและตระหนักถึง คุณค่าของ “เงิน” รวมทั้งสร้างทักษะการประกอบธุรกิจขั้นพื้นฐาน เพื่อให้เป็นที่พึ่งพาครอบครัวและตนเองได้ โดยส่งเสริมให้นักเรียน เรียนรู้เรื่องบัญชีครัวเรือน ต้นทุนและกําไร สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ การประกอบธุรกิจเบื้องต้น ผ่านการเรียนรู้ที่มี “เด็ก” เป็นศูนย์กลาง
ภายใต้การดูแลและให้คําแนะนําจากผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัย ภายใต้แนวคิด “พี่ช่วยน้อง” โดยไทยเบฟจะให้ทุนตั้งต้น เพื่อเป็น จุดเริม ่ ต้นในการทดลองทําโครงการธุรกิจ ส่งเสริมให้นก ั เรียนนําความรู้ และทักษะมาประยุกต์ใช้ มีประสบการณ์จริงในบทบาทผู้ประกอบการ นอกจากนี้ ทางไทยเบฟได้ร่วมกับกรมพัฒนาชุมชน เปิดโอกาสให้ นักเรียนมีพื้นที่สําหรับการแข่งขัน เพื่อการพัฒนาสู่ความเป็น มืออาชีพ ผ่านการประกวด OTOP JUNIOR ครั้งที่ 2 เพื่อชิงทุน การศึกษากว่า 5 แสนบาท
ปีนี้เป็นปีที่ 2 ซึ่งได้รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยพันธมิตร 27 แห่ง ให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน 76,325 คน จาก 292 โรงเรียน ใน 47 จังหวัด เรื่องการบริหารเงิน และทักษะการจัดการธุรกิจขั้นต้น เพื่อสร้างรากฐานและจุดประกายความรู้ มาพัฒนาต่อยอดและ ประยุกต์ใช้ผ่านการทดลองทําโครงการธุรกิจ จํานวน 292 โครงการ
โครงการนี้มุ่งเน้นการส่งเสริมความรู้และทักษะในเรื่องบัญชี และ การจัดการธุรกิจ พร้อมการพัฒนาภาวะผู้นําและการทํางานเป็นทีม เปรียบเสมือนการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับนักเรียนในการดํารงชีวิต ประจําวันและในชีวิตการทํางานในอนาคต
ด.ญ.สุพัตรา ฉุยฉาย และ ด.ญ.นรัญญา ลิ้มเจริญ
โรงเรียนวัดกระทุ่ม (โสมประชาสรรค์) จังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการทํามาค้าขาย “ทองม้วนจูเนียร์ มี 9 รสชาติ” รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 โครงการ โอทอป จูเนียร์ (OTOP Junior)
ได้เรียนรู้การทําบัญชีโครงการ บัญชีกําไร-ขาดทุน บัญชี ทํามาค้าขาย โดยจดบันทึกทุกครัง้ หลังจากทําขนมทองม้วน ทําให้เห็น กําไรชัดเจนขึ้น เอาเงินไปหยอดกระปุก เพราะเวลาต้องการใช้จะได้นํา ออกมาใช้ ทําให้รวู้ า่ พ่อแม่หาเงินเหนือ่ ยมาก แต่ถา้ เราไม่ทาํ งานด้วย ตัวเอง และหาเงินด้วยตัวเอง พ่อแม่ก็ต้องหาให้เราอยู่ดี พ่อแม่ก็จะ เหนื่อยกว่าเดิม ดีใจและภูมิใจที่สามารถหาเงินใช้ได้ในระหว่างเรียน
คุณพิทักษ์ ฉิมสุด
ครูผู้ดูแลโครงการโรงเรียนประชารัฐ โรงเรียนบ้านสันป่าไร่ จังหวัดตาก
โครงการนี้ได้ให้ความสําคัญในเรื่องการสร้างทักษะอาชีพ ทางโรงเรียนจึงสามารถนําโครงการมาบูรณาการเข้ากับการเรียน การสอนในแต่ละรายวิชาของโรงเรียนได้
136 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
เด็กพิเศษโรงเรียนกาวิละอนุกูล ตําบลวัดเกตุ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ กําลังสร้างผลงานศิลปะภาพนูนตํ่า จากกระดาษรีไซเคิล
มอบโอกาสให้เด็กพิเศษ ไทยเบฟให้การสนับสนุนโรงเรียนเด็กพิเศษจํานวน 7 โรงเรียน จาก 6 จังหวัดทั่วประเทศ ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย นครสวรรค์ พิษณุโลก อุบลราชธานี และสงขลา เพื่อเปิดการเรียนการสอน แก่เด็กทีม ่ ค ี วามบกพร่องทางสติปญ ั ญาและพิการซํา้ ซ้อน โดยมีคณะทํางานของไทยเบฟและมหาวิทยาลัยพันธมิตรในพื้นที่ เป็นที่ปรึกษาและเป็นผู้ดําเนินโครงการนี้ พร้อมกันนี้ยังมอบเงินสนับสนุนเพื่อต่อยอดโครงการ “ผลิต ศิลปะภาพนูนตํ่าจากกระดาษรีไซเคิล” ให้กับทางโรงเรียน และ นําไปจัดจําหน่ายที่สหกรณ์ ด้วยมุ่งหวังช่วยพัฒนาการเรียนรู้ ฝึกสมาธิ พัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่และมัดเล็กให้เคลื่อนไหว และทํางานให้ดียิ่งขึ้น และยังช่วยพัฒนาอารมณ์ของเด็กๆ ให้สามารถจดจ่อกับสิ่งที่ทําอยู่ได้นานขึ้น รวมถึงกล้าตัดสินใจ ด้วยตัวเองมากขึ้น
โครงการชาใบหม่อน โรงเรียน บ้านหนองกระโดน จังหวัดนครปฐม ไทยเบฟร่วมมือกับคณะบริหารการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม ได้คด ิ ค้นการนําใบหม่อนทีเ่ หลือทิง้ จากการนําลูกหม่อน ไปทํานํ้าขายและทิ้งใบหม่อน มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ชา ใบหม่อน เพื่อเพิ่มมูลค่าและนําไปพัฒนาเป็นสินค้าหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ โดยดําเนินการดังนี้ • ให้ความรู้และคําปรึกษาเพื่อพัฒนาตั้งแต่กระบวนการผลิต สินค้า การตลาด การจัดจําหน่าย จนถึงบริการหลังการขาย • ให้นักเรียน (ระดับชั้น ป.4-ม.3) รวมกลุ่มกัน จํานวน 150 คน ตั้งเป็นชมรมเพื่อทําการบริหารจัดการกิจกรรม แบ่งบทบาทและหน้าที่กันอย่างชัดเจน เพื่อให้เรียนรู้หลัก การทําธุรกิจ เริ่มตั้งแต่การคํานวณต้นทุน กําไร และบริหาร ให้เกิดเงินหมุนเวียน ตลอดจนการสร้างมูลค่าเพิม ่ ให้ผลิตภัณฑ์ โดยนําอัตลักษณ์ของจังหวัดมาเป็นจุดเด่นของการออกแบบ ผลิตภัณฑ์
137 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
• ฝึกฝนทักษะความเป็นผู้นําและนําเสนอผ่านการลงมือ ทํามาค้าขายจริง ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ชาใบหม่อนเป็นสินค้าที่หาซื้อได้ที่ร้านค้า สวัสดิการโรงเรียนและร้านค้าในชุมชน มีแบบบรรจุภัณฑ์แยก กล่อง และแบบชุดกล่องของฝากที่ระลึกด้วยภาพสถานที่สําคัญ ของจังหวัด มีกลิ่นที่หลากหลาย และกลายเป็นกิจกรรมต้นแบบ ที่ผลักดันให้นักเรียนสามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ ก้าวจาก โอทอปจูเนียร์ (OTOP Junior) เป็น ยังโอทอป (Young OTOP) และเป็นผู้ประกอบการต่อไป สามารถพึ่งพาตนเองและดูแล ครอบครัวได้
โครงการโรงเรียนร่วมพัฒนา (Partnership School) ไทยเบฟจับมือกับกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกันขับเคลื่อน โครงการโรงเรียนร่วมพัฒนา หรือ Partnership School ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ภาคส่วนอื่นๆ ได้มีโอกาสเข้ามาร่วมบริหารสถานศึกษา พัฒนาหลักสูตร ให้เหมาะกับความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน รวมถึงบริบท และทิศทางของโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ภายใต้ การสนับสนุนทรัพยากรและการบริหารที่จําเป็นและเหมาะสม จากผูส้ นับสนุน โดยร่วมวางแผนพัฒนาสถานศึกษา ซึง่ ครอบคลุม ถึงการพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมภายในสถานศึกษา การบริหารจัดการบุคลากร ตลอดจนแนวทางการวัดผลความสําเร็จ ของสถานศึกษา มุ่งหวังพัฒนาให้เด็กนักเรียนมีทักษะในการ
ดําเนินชีวิต ทักษะอาชีพ และเป็นคนดีของสังคม ทั้งนี้ ในปีแรก ของการจัดทําโครงการนี้ ไทยเบฟได้ให้การสนับสนุนโรงเรียน จํานวนทั้งสิ้น 19 แห่ง และพัฒนานักเรียนกว่า 10,000 คน รวมถึงมีการจัดกิจกรรมภายในโรงเรียนเพื่อส่งเสริมการพัฒนา โรงเรียนในด้านต่างๆ ตัวอย่างเช่น • โรงเรียนอนุบาลเกาะคา จ.ลําปาง ร่วมจัดกิจกรรม Big Cleaning Day นําโดย คุณขจร พีรกิจ พร้อมด้วยพนักงาน จากบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ โลจิสติก จํากัด รวมกว่า 70 คน อบจ.ลําปาง กศน. คณะครู นักเรียน และผู้ปกครอง เพื่อปรับสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาดและปลอดภัย สําหรับนักเรียน • โรงเรียนท่าฉางวิทยาคาร จ.สุราษฏร์ธานี ร่วมจัดกิจกรรม Big Cleaning Day นําโดยคุณอรพรรณ ยุวนานนท์ และ คุณชนาวุฒิ นาคเวก พร้อมกับพนักงานจากบริษัทในเครือ ของไทยเบฟ ช่วยทําความสะอาดและปรับปรุงห้องผลิตนํ้าดื่ม ให้ถูกสุขอนามัย นอกจากนี้โรงงานนทีชัยได้นํารถแทรกเตอร์ มาช่วยปรับพื้นที่บางส่วน เตรียมสําหรับการทําโครงการ ปลูกปาล์มนํ้ามัน และยังร่วมทาสีอาคารเรียน ผนังห้องเรียน ทําความสะอาดรางนํ้ารอบโรงเรียนอีกด้วย • โรงเรียนสาธิตชุมชนการเรียนรู้สมเด็จย่าฯ เชียงใหม่ นําโดย คุณประโภชฌ์ สภาวสุ ส่งคณะครูเข้าอบรมงานที่ศูนย์ฯ ห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดเชียงใหม่ และยังมีทีมไทยเบฟเป็นวิทยากรสอนหลักสูตรตัดผมชาย สอนหลักสูตรทําอาหารจานเดียว และสอนวิชาศิลปะ
138 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
โครงการครูเจ้าฟ้ากรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ ไทยเบฟให้การสนับสนุนโครงการที่มุ่งเน้นถึงความเสียสละ ของครูที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในถิ่นทุรกันดาร โดยมีการคัดเลือกครู จาก 3 หน่วยงาน คือ สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กองบัญชาการตํารวจตระเวน ชายแดน (ตชด.) หน่วยงานละ 3 ท่าน ต่อรุ่น ในปัจจุบันมี ครูเจ้าฟ้าฯ ทั้งหมด 10 รุ่น รวมทั้งหมด 87 ท่าน ซึ่งไทยเบฟ ร่วมสนับสนุนรางวัลครูเจ้าฟ้ากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ตั้งแต่รุ่นที่ 5 เป็นต้นมา) เป็นเงินจํานวน 1,000,000 บาท ต่อปี โดยแบ่งรางวัลออกเป็น 2 ประเภท คือ รางวัลเพื่อมอบแก่ ครูเจ้าฟ้าฯ รุ่นปัจจุบัน เป็นเงินจํานวน 900,000 บาท และ สําหรับครูเจ้าฟ้าฯ รุน ่ เก่า เป็นเงินทัง้ หมดจํานวน 100,000 บาท เพื่อนําไปดําเนินโครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
โครงการเรียนเพิม ่ เสริมอาชีพ กับไทยเบฟ
ทั้งนี้ โครงการครูเจ้าฟ้าฯ ยังได้ริเริ่มจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการสร้างอาชีพและรายได้แบบพึง่ พาตนเอง ให้แก่ชุมชนที่อยู่ห่างไกล เช่น โครงการปลูกผักบนโต๊ะเพื่อเป็น แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน โครงการศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนบ้านนํ้าปุก ทําให้ชุมชนเกิดแหล่ง เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เกิดอาชีพใหม่ในชุมชน มีกองทุน เพื่อการพึ่งพาตนเอง มีทักษะเพิ่มเติมในด้านการเกษตร ปศุสัตว์และประมง รวมไปถึงเกิดการอนุรักษ์ป่า ฟื้นฟูประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงการนําเสนอหลักสูตรต่างๆ เพือ่ ตอบสนองความต้องการ ของชุมชนทีอ่ ยูใ่ นถิน ่ ทุรกันดาร แต่มค ี วามพร้อม มีเวลา และมีความสนใจในโครงการ เพื่อให้ชุมชนมีอาชีพ มีรายได้ เป็นการวางรากฐานความยั่งยืนที่ดีของชุมชนและลดปัญหา ความเหลื่อมลํ้าในการเรียนรู้ ซึ่งโครงการนี้ประกอบด้วย หลักสูตรตัดผมชายและหญิง หลักสูตรตัดเย็บเสือ้ ผ้า หลักสูตร การสอนการทําอาหารและขนมประเภทต่างๆ หลักสูตรการซ่อม มอเตอร์ไซค์ หลักสูตรการเกษตรสวนครัวจากวัสดุเหลือใช้ เป็นต้น
139 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
คุณประโภชฌ์ สภาวสุ
รองผู้อํานวยการสํานักกรรมการผู้อํานวยการใหญ่
รางวัลครูเจ้าฟ้ากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์เป็นรางวัลที่มอบให้ แก่คุณครูผู้เสียสละในการปฏิบัติหน้าที่รับราชการครูในพื้นที่ที่ ทุรกันดาร เสี่ยงภัยเป็นระยะเวลาต่อเนื่องยาวนาน ทําประโยชน์ให้แก่ โรงเรียนและนักเรียนโดยมุ่งสร้างให้นักเรียนเติบโตมาเป็นคนดีที่มี ความรู้คู่คุณธรรม อีกทั้งครูยังเป็นแกนกลางในการพัฒนาชุมชนอีก ด้วย ถ้าไม่ได้ทําโครงการนี้คงจะไม่เชื่อว่าในประเทศเราจะมีครูที่อดทน และมีใจสู้ได้ถึงขนาดนี้ ครูบางคนเป็นไข้มาลาเรียปีละ 10 กว่าครั้ง เลย เราได้มอบรางวัลให้กับครูทุกท่านที่ได้รับรางวัลนี้ทุกปีเพื่อนําไป ใช้เป็นทุนในการสร้างโครงการต่างๆ ที่คุณครูอยากทํา อยากพัฒนา หรือนําไปต่อยอดในโครงการอื่นๆ ที่ทําไว้ แต่อาจยังขาดอุปกรณ์บาง อย่าง เช่น ฐานเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อโครงการอาหารกลางวัน นักเรียน งานเกษตรผสมผสาน โครงการเลี้ยงไก่ไข่
ครูสิงหา แซ่ตึ้ง
รักษาการ ผอ.โรงเรียนชุมชนการเรียนรู้สมเด็จย่าฯ วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย แม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
โครงการที่ไทยเบฟเข้ามาให้ความรู้ในด้านการเสริมสร้างอาชีพ แบ่งเป็น 3 เรื่องหลักๆ 1. เกษตรอินทรีย์ ทางโรงเรียนก็สามารถนําความรู้ที่ได้ไปต่อยอด สอนเด็ก และยังนําไปส่งเสริมชาวบ้านให้ทําเกษตรอินทรีย์ ที่ปลอดภัยจากสารเคมี แล้วกลับมาส่งให้กับโรงเรียนในรูปแบบ วิสาหกิจชุมชน ส่วนนักเรียนเองที่ทําเกษตรอินทรีย์ก็มีรายได้ ระหว่างเรียน แถมยังทําให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงด้วย 2. การสอนตัดผม เด็กๆ สามารถทําเป็นอาชีพได้ มีรายได้เสริม ทําให้ มีทุนการศึกษาต่อ มีเด็กคนหนึ่งที่เป็นนักมวย ไปอยู่ค่ายมีนะโยธิน เขาก็มีหน้าที่ตัดผมให้นักมวยในค่าย แถมยังตัดผมให้นักมวย ที่เป็นแชมป์โลกด้วย 3. การทําอาหาร เด็กๆ ที่เข้าโครงการสามารถทําอาหารได้ หลากหลาย อย่างข้าวขาหมู ข้าวมันไก่ ก็ถือว่าเป็นเมนูพิเศษ เวลาแขกมาเยี่ยมชมมาดูงาน เด็กๆ ก็จะทําเป็นประจํา ผมว่าเด็กๆ ที่เข้าร่วมโครงการนําไปประกอบอาชีพได้แน่นอนครับ
140 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ศูนย์ C asean ศูนย์ ซี อาเซียน (C asean) ภายใต้การบริหารของบริษัท ซี เอ ซี จํากัด เป็นองค์กรสร้างสรรค์สังคมเพื่อเป็นศูนย์กลางในการ เชื่อมโยงและเสริมสร้างศักยภาพในกลุ่มประเทศอาเซียน โดย มุ่งเน้นทั้งด้านศิลปะ วัฒนธรรมและธุรกิจ มีกลุ่มเป้าหมายหลัก คือคนรุ่นใหม่ซึ่งเป็นทรัพยากรสําคัญในการสร้างสรรค์อนาคต ของภูมิภาคต่อไป ศูนย์ ซี อาเซียน ได้จัดกิจกรรมหลากหลายรูปแบบอย่างต่อเนื่อง ทั้งการอบรม สัมมนา การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การจัดรายการโทรทัศน์ รวมถึงการจัดสร้างวงดนตรีพื้นบ้าน แห่งภูมิภาคอาเซียน โดยยึดหลักการสร้างการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนให้กับภูมิภาค มุ่งหวังให้กลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่มีความรู้ และความคิดที่นําไปสู่การปฏิบัติ เพื่อสร้างสรรค์สังคมให้มี ความเชื่อมโยงกันทุกมิติ ทั้งด้านเทคโนโลยี รวมถึงศิลปะและ วัฒนธรรม ภายใต้หลัก “การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน” ซึง่ ในปี 2561 ศูนย์ ซี อาเซียนได้จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ • การประชุมสัมมนาการพัฒนาอย่างยั่งยืน (C asean Sustainable Development Forum ) ศูนย์ ซี อาเซียน (C asean) ร่วมกับ โครงการสิ่งแวดล้อม แห่งสหประชาชาติ (UN Environment) และมูลนิธิสถาบัน พัฒนาธุรกิจเพื่อสังคม (FINSEDT) ร่วมกันจัดงานประชุม สัมมนาการพัฒนาอย่างยั่งยืน หรือ C asean Sustainable Development Forum อีกทั้งยังร่วมจัดการประชุมสัมมนา กับองค์กรการควบคุมสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติในหัวข้อ
Transforming Asia Pacific: Innovative Solutions, Circular Economy และ Low Carbon Lifestyles ระหว่าง วันที่ 17-19 กันยายน 2018 ณ ศูนย์ ซี อาเซียน (C asean) กรุงเทพฯ ซึ่งจุดประสงค์ของการจัดงานคือ มุ่งเน้นแนวคิด การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืนโดยคํานึงถึงผลกระทบ ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมทั้งในระดับอาเซียนจนถึงระดับโลก ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร อีกทั้ง เพื่อสร้างความพร้อมในการดําเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม และมีวจิ ารณญาณ คํานึงถึงผลกระทบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม โดยหยิบยกประเด็น การสร้างสรรค์สังคมการใช้คาร์บอนตํ่า หรือ Low Carbon Consumption Lifestyle เป็นแกนหลัก ของการจัดงาน เพื่อยับยั้งปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (Climate Change) และสร้างรากฐานการพัฒนา ความยั่งยืนของอาเซียนจนถึงระดับโลก • โครงการ Win-Win WAR Thailand (สุดยอดนักธุรกิจ แบ่งปัน) ศูนย์ ซี อาเซียน ( C asean) จัดโครงการ Win-Win WAR เพื่อเฟ้นหาคนรุ่นใหม่ที่มีความมุ่งมั่นสร้างธุรกิจในฝัน พร้อมการเติบโตไปกับสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ยั่งยืน ผ่านรายการแข่งขันเสนอแผนธุรกิจในรูปแบบสถานการณ์จริง หรือ Reality Show โดยไม่มีการเขียนบท เพื่อเป็นเวทีให้ นักธุรกิจรุน ่ ใหม่นาํ เสนอแนวความคิดเกีย ่ วกับธุรกิจ ผลิตภัณฑ์ หรือการบริการที่สามารถตอบโจทย์ของเป้าหมาย คือการพัฒนาธุรกิจเพื่อสังคมอย่างยั่งยืน
141 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
EISA: Educational Instituted Support Activity และโครงการ จัดทําบริษท ั จําลองในมหาวิทยาลัย ไทยเบฟริเริ่มก่อตั้งโครงการ Education Instituted Support Activity หรือ EISA เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางด้านกีฬาในระดับ มหาวิทยาลัย และสนับสนุนการเรียนรู้ตามหลักสูตรในชั้นเรียน เพื่อให้นิสิต นักศึกษา มีประสบการณ์ในการทํางานจริงและ เตรียมความพร้อมเข้าสูก ่ ารทํางานจริงหลังจากจบการศึกษาแล้ว ในปี 2560–2561 ทางโครงการเริ่มจัดตั้ง ”บริษัทจําลอง หรือ Dummy Business” ในรูปแบบของร้านสะดวกซื้อ หรือ Mini Mart เพื่อให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง ทางโครงการ EISA เชิญวิทยากรผูเ้ ชีย ่ วชาญในสายงานอาชีพต่างๆ ของบริษท ั ในเครือไทยเบฟและเครือทีซีซี ให้ความรู้นักศึกษาเพื่อนําไป ปฏิบัติในบริษัทจําลอง โครงการบริษัทจําลองนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน ของหลักสูตรคณะบริหารธุรกิจในมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่ตอบรับ และเข้าร่วมในการจัดทําบริษัทจําลองนี้ โดยในปีที่ผ่านมาได้เปิด ร้านค้าไปแล้วทั้งสิ้น จํานวน 5 ร้านค้า คือ ร้าน RBS Mart มหาวิทยาลัยรังสิต ร้าน SWU Mart มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตองครักษ์ ร้าน RMUTR Mart มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา
ร้าน Smart Market Co. มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขต เพชรบุรี และร้าน KKW Mart มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล ซึ่งแต่ละร้านค้าดังกล่าว จะเป็นแหล่งทดลองการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ ในระยะเวลา 1 ปี จะมีจํานวนนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจเข้ามาฝึก ปฏิบัติงานจริงที่ร้านค้ากว่า 400 คน (จํานวน 5 ร้านค้า/ ร้านค้าละ 40 คนต่อภาคการศึกษา/ปีละ 2 ภาคการศึกษาปกติ)
แบ่งปันคุณค่า คุณสุรพล อุทินทุ
ผู้อํานวยการสํานักประสานงานภายนอก บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
โครงการ EISA สนับสนุนกิจกรรมกีฬาในมหาวิทยาลัยเพื่อให้เด็กๆ มี เส้นทางการเติบโต นอกเหนือจากกีฬา เรามองเห็นโอกาสขยายความร่วมมือ ผ่านกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการศึกษาด้านอื่น เราจึงเริ่มขยายผลโครงการ ผ่านแกนหลัก 4 ด้านด้วยกัน ได้แก่ 1. กีฬา 2. การขาย 3. สร้างการจดจํา แบรนด์ในใจ (Top of Mind) และ 4. กิจกรรมของประชารัฐรักสามัคคี ทุกคนต้องแบ่งปันองค์ความรู้และประสบการณ์ผ่านการสร้างร้านค้า บริษัทจําลองในมหาวิทยาลัย โดยไทยเบฟเป็นผู้สนับสนุนและมอบความรู้ ตั้งแต่การตั้งร้านค้า การออกแบบ การจัดการบัญชี การบริหารสต็อกสินค้า การประชาสัมพันธ์ แต่น้องจะบริหารร้านค้าด้วยตัวเอง เพื่อให้เขาได้เรียนรู้ ผ่านการลงมือปฏิบัติจริงมากกว่าความรู้จากทฤษฎีในห้องเรียน
142 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
แบ่งปันคุณค่า
คุณชนุดม กิตติสาเรศ
ตัวแทนนักศึกษาคณะการจัดการสาขาการตลาด ม.ศิลปากร ปี 4
เป็นประสบการณ์ที่แตกต่างจากในห้องเรียน การได้ลองทําจริง ฝึกแก้ไขปัญหา หลายอย่างที่ในห้องเรียนไม่มี ได้มาเรียนรู้จากการทําจริงและนําเอาวิธีการแก้ไข ปัญหาจากการอบรมกับไทยเบฟ มาแก้ไขจริง รู้จักสังเกตผู้บริโภคว่าเขาต้องการ อะไร อยากได้อะไรเพิม ่ เราก็จะปรับเปลีย ่ นให้ตรงกับความต้องการ นั่นคือสิ่งที่เรา ต้องตอบโจทย์ลูกค้า
ในปี 2020 ทางโครงการ EISA หวังว่าจะทําการขยายโครงการบริษัทจําลอง โดยจะเปิดจํานวนร้านเพิม ่ มากขึน ้ ในมหาวิทยาลัยต่างๆ ทัง้ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมไปถึงมหาวิทยาลัยในจังหวัดใหญ่ๆ ทั่วประเทศ นอกจากแผนการเพิม ่ จํานวนร้านค้าแล้ว ทางโครงการ ยังวางแผนปรับปรุงประสิทธิภาพเพื่อให้ร้านค้าอยู่ได้ด้วยตนเองและมีความยั่งยืนต่อไป เช่น โครงการ CU Waste Zero ของจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โครงการ TU-Smart University ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้และสร้างประสบการณ์ให้แก่นักศึกษา รุ่นต่อไปในอนาคต
โครงการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่เพื่อสังคม (BETA YOUNG ENTREPRENEUR) เป็นความร่วมมือกันระหว่างสภาหอการค้าไทย มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย และมูลนิธิสิริวัฒนภักดี เพื่อพัฒนานักศึกษารุ่นใหม่ สู่เส้นทางของผู้ประกอบการที่มีศักยภาพ คุณธรรม จริยธรรม และมี ความรับผิดชอบต่อสังคม โดยแบ่งกิจกรรมหลักออกเป็น 2 ด้าน คือ
โครงการได้ผลิตผู้ประกอบการรุ่นใหม่ออกสู่สังคมแล้ว จํานวน 4 รุ่น มีนักศึกษาจํานวน 134 คน ซึ่งผู้ที่จบจากโครงการได้เลือกทํางาน ในสายอาชีพทีแ่ ตกต่างกันออกไป ทัง้ ประกอบธุรกิจของตัวเอง ต่อยอด ธุรกิจของครอบครัว ทํางานประจํา และไปศึกษาต่อ
• กิจกรรมเชิงธุรกิจ นักศึกษาจะได้ฝึกงานที่บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ (ชั้นปีที่ 1) ได้เรียนรู้ทดลอง ทําธุรกิจจริงผ่านกิจกรรมธุรกิจตั้งต้น 20,000 บาท (ชั้นปีที่ 2) และบริษัทจําลอง (ชั้นปีที่ 3) รวมถึงไปดูงานที่บริษัทในเครือ
สําหรับนักศึกษาทีจ่ บจากโครงการและออกไปประกอบธุรกิจ ส่วนใหญ่ จะเริ่มทําธุรกิจที่ตัวเองสนใจ เช่น ธุรกิจโรงแรมแมว กระเป๋า รับจัด อีเวนต์คอนเสิร์ต และรับจัดอีเวนต์ต่างๆ บางส่วนอาจต่อยอด จากธุรกิจครอบครัว เช่น ร้านกาแฟในปั๊มนํ้ามัน เปิดปั๊มนํ้ามัน กิจการฟาร์มหมู ธุรกิจขายส่งของเล่นเด็ก เสื้อผ้าเด็ก หรืออาจ ต่อยอดจากการทําธุรกิจตั้งต้น 20,000 บาท เช่น ร้านเครื่องประดับ เสื้อผ้าออนไลน์ สวนขวด
• กิจกรรมเพือ่ สังคม ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ ต่อสังคม ผ่านกิจกรรมต่างๆ ของไทยเบฟ เช่น ไทยเบฟ...รวมใจ ต้านภัยหนาว Water Festival River Festival
ไทยเบฟเชื่อมั่นว่ายังจะสามารถสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่ดี และมีความสามารถออกสู่สังคมได้อย่างต่อเนื่อง
143 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
แบ่งปันคุณค่า
คุณฐาปน สิริวัฒนภักดี
กรรมการผู้อํานวยการใหญ่ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) งานมอบประกาศนียบัตรธุรกิจตั้งต้น 20,000 บาท และบริษัทจําลอง 8 มีนาคม 2561
รู้สึกดีใจ ภาคภูมิใจที่น้องๆ ทุกๆ คนได้เก็บเกี่ยววิชาความรู้ และประสบการณ์ สิ่งที่สําคัญอย่างยิ่ง เราได้ลองผิดลองถูก ได้ทําในสิ่งที่เราเชื่อมั่นว่าจะเป็นประโยชน์กับตัวเราเอง กับองค์ความรู้ที่เรารํ่าเรียนมาจากวิชา จากด้านหลักสูตรของ มหาวิทยาลัย จากทางคณาจารย์ที่ได้พรํ่าสอน ได้แนะแนว ทางต่างๆ แต่สิ่งที่สําคัญ เราได้ประสบการณ์จริงให้กับตัว พวกเราเองทุกๆ คน เรามุ่งหวังที่จะสร้างและพัฒนาให้ นักศึกษามีความเข้มแข็ง ความมุ่งมั่น ความมั่นใจ และ ก้าวขึ้นมาเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่สร้างสังคมคุณภาพ ให้กับประเทศของเราต่อไป
คุณรมิดา คณิวรานนท์
ศิษย์เก่า Beta Young รุน ่ ที่ 1 ปัจจุบน ั เป็นเจ้าหน้าทีโ่ ครงการไทยเบฟ ไทยทาเลนท์ บริษัท ทศภาค จํากัด
เวลาเราทํางานร่วมกันกับคนอื่นจะมีความขัดแย้ง ถ้าตอนเรียน เราไม่มี การทําธุรกิจจําลอง ไม่มีการทํากิจกรรมร่วมกับเพื่อน เราอาจไม่สามารถ แก้ปัญหาตอนที่เราทํางานได้ อย่างเวลาเราเจอคนขัดแย้ง เราต้องแก้ไข ยังไง ทําให้เราทํางานได้ดีขึ้น จากที่เราได้เรียนรู้มาจากโครงการ
144 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
แบ่งปันคุณค่า
คุณชัยวัฒน์ โกยสันติสุข
ศิษย์เก่า Beta Young รุ่นที่ 2 ปัจจุบันเป็นเจ้าของธุรกิจสัญญาณกันขโมย
การทํากิจกรรม UTCC Beta Dummy Company (บริษัทจําลอง) เป็นจุดใหญ่ที่สามารถนํามาประยุกต์ใช้กับธุรกิจได้มากที่สุด เพราะ ตอนนั้นเป็นยุคบุกเบิกเริ่มต้นก่อตั้งบริษัทจําลอง มีปัญหาต่างๆ ที่เราเจอแล้วได้แก้ไข บางปัญหาแก้เสร็จ บางปัญหาแก้ไม่เสร็จ ซึ่งสุดท้ายพอมาทําธุรกิจของเราเอง เรารู้สึกว่าเราเคยเจอปัญหา ตรงนี้มาก่อน ทําให้เราตั้งรากฐานของธุรกิจได้ค่อนข้างมั่นคงมาก มีการทําระบบเรื่องของสต็อก เรื่องของยอดขาย เรื่องของการดูแล รักษาลูกค้า ได้นําประสบการณ์จากบริษัทจําลองมาใช้กับธุรกิจ ของตัวเอง
คุณรชต เอี่ยมสงคราม
ศิษย์เก่า Beta Young รุ่นที่ 3 ปัจจุบันเป็นเจ้าของกิจการ ร้าน แจ๊ะ เครื่องประดับ
ทักษะที่ผมได้รับจากการเรียนรู้ธุรกิจตั้งต้น คือการค้าขาย ออกไป ขายของเอง ออกไปเจอลูกค้าด้วยตัวเอง ด้วยเงิน 20,000 บาท ที่ทางมูลนิธิฯ ให้มา ช่วยฝึกทักษะการค้าขาย ซึ่งเราอาจไม่เคยทํา หรือสัมผัสมาก่อน
145 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภาพรวม
ภาพรวมการสนับสนุนด้านการศึกษาของไทยเบฟ
มากกว่า
80,000
คน ได้รบ ั ผลประโยชน์จากโครงการพัฒนาการศึกษา
ทุนบุตรพนักงาน
1,075 ทุน
โครงการโรงเรียนร่วมพัฒนา สนับสนุนโรงเรียน
19 แห่ง
พัฒนานักเรียนกว่า
เงินสนับสนุนด้านการศึกษา ปี 2561
44 ล้านบาท
10,000 คน เด็กพิเศษทีไ่ ด้รบ ั ประโยชน์
265 คน
146 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
การพัฒนาด้านสาธารณสุข • โรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์สร้างอาคารรักษาผู้ป่วย สนับสนุนเครื่องมือ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ ส่งเสริมสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ด้วยการจัดทําโครงการที่เป็นประโยชน์ในด้านสาธารณสุขต่างๆ • โครงการช้างคลินิกเวชกรรม คลินิกเคลื่อนที่ ณ อําเภอคลองขลุง จังหวัดกําแพงเพชร เปิดให้บริการแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และยาในราคาต้นทุนแก่พนักงานและประชาชนบริเวณ ใกล้เคียงมากว่า 10 ปี
แบ่งปันคุณค่า ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ธีรชัย ฉันทโรจน์ศิริ ผู้อํานวยการโรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์
ต้องขอขอบคุณ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) ที่เล็งเห็นถึงความสําคัญ ของการสร้างประโยชน์ต่อสังคมในด้านสาธารณสุข สุขภาพอนามัยของคนในสังคม อย่างต่อเนื่อง ในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ด้วยการให้การสนับสนุน และจัดทําโครงการทีเ่ ป็นประโยชน์ในด้านสาธารณสุขต่างๆ มากมาย ผ่านมูลนิธิสิริวัฒนภักดี เช่น โรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ ที่ได้ก่อตั้งขึ้นมาเนื่องในวโรกาสอันเป็นมหามงคลยิ่งที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เมื่อปี พุทธศักราช 2549 โดย คุณเจริญ-คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี และครอบครัว สิริวัฒนภักดี ได้น้อมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่ได้พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย และครอบครัวสิริวัฒนภักดี จึงได้จัดสร้าง “โรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์” ซึ่งเป็นโรงพยาบาล เฉพาะทางโรคไตแห่งแรกในประเทศไทย และได้รบ ั พระมหากรุณาธิคณ ุ จาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์ประธานมูลนิธิ เพื่อให้เป็นสถาบันทางการแพทย์เฉพาะทางชั้นนําระดับเอเชียทีท ่ าํ การดูแลรักษา ผูป ้ ว่ ยโรคไตอย่างครบวงจร นอกจากการก่อตัง้ โรงพยาบาลแห่งนี้ บริษท ั ไทยเบฟ ยังคงให้การสนับสนุนงานด้านสาธารณสุขทีส่ าํ คัญอืน ่ ๆ ในนามของมูลนิธสิ ริ วิ ฒ ั นภักดี โดยคุณเจริญและคุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี อีกมากมายมาอย่างต่อเนื่อง
147 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภารกิจสําคัญ
โรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์
โรงพยาบาลเปิดดําเนินการมาตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2555 โดยให้บริการดูแลผู้ป่วยนอกทั้งหมด 279,135 คน ผู้ป่วยที่รับ บริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม 151,302 รอบ และได้ ขยายการบริการฟอกเลือดด้วยเครือ่ งไตเทียมทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพสูง อีก 16 เครื่อง มีผู้ป่วยที่ทําการผ่าตัดเกี่ยวกับเส้นเลือดสําหรับ เตรียมการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม 1,493 คน ผ่าตัด เกี่ยวกับไต ทางเดินปัสสาวะ และต่อมลูกหมาก 826 คน ผ่าตัด ปลูกถ่ายไตสําเร็จเรียบร้อยดี 7 คน อบรมให้ความรู้แก่ประชาชน เกี่ยวกับโรคไต และการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีทุก 3 เดือน ทั้งหมด 16 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมมากกว่า 4,000 คน นอกจากนี้ยังมีงานป้องกันโรคไตในชุมชนที่จังหวัดกําแพงเพชร และงานวิจัยเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคไตได้มีความรู้และ ความเข้าใจที่ดี สามารถอยู่กับสภาวะที่เป็นอยู่อย่างมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น และยังร่วมมือกับกระทรวงสาธารณสุข โดยมีโครงการ ดูแลและป้องกันโรคไตในชุมชนในโรงพยาบาลต่างๆ ของกระทรวงสาธารณสุขทั่วประเทศ
โครงการช้างคลินก ิ เวชกรรม เป็นคลินิกเคลื่อนที่ซึ่งตั้งอยู่ที่อําเภอคลองขลุง จังหวัดกําแพงเพชร ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อให้บริการตรวจ รักษาฟรีให้แก่สมาชิกในชุมชนรอบโรงงานเขตจังหวัด กําแพงเพชรและพื้นที่ใกล้เคียงได้มีโอกาสเข้าถึง การรักษาและได้รับการดูแลจากสถานพยาบาลที่มี ประสิทธิภาพ ภายใต้ปณิธานของคุณเจริญและ คุณหญิงวรรณา สิรวิ ฒ ั นภักดี ประธานและรองประธาน กรรมการ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) ที่ดําริไว้ตั้งแต่เมื่อครั้งก่อตั้งว่า “คนไทยให้กันได้” นอกจากการช่วยเหลือด้านการแพทย์ในชุมชน รอบโรงงาน ยังมีโครงการอื่นๆ เช่น โครงการตรวจ สุขภาพนักเรียนและครูโรงเรียนวัดหอมเกร็ด ประจําปี ที่มูลนิธิสิริวัฒนภักดีและบริษัทไทยเบฟได้ดําเนินการ มาอย่างต่อเนื่อง หรือ โครงการขาเทียมเพื่อ ผูพ ้ ก ิ ารและตรวจสุขภาพผูส้ งู อายุ โดยมอบขาเทียม แก่ผพ ู้ ก ิ ารจํานวน 60 ราย และตรวจสุขภาพผูส้ งู อายุ จํานวน 100 ราย นอกจากนี้ยังมอบเครื่องช่วยฟัง แว่นสายตา อุปกรณ์ไม้คํ้ายันให้แก่ผู้สูงอายุ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายอีกด้วย
148 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
งานด้านสาธารณสุขอืน ่ ๆ • มอบอาคารสิริวัฒนภักดี 1 และ 2 ให้แก่ โรงพยาบาลวัดญาณสังวราราม จังหวัดชลบุรี • มอบเครื่องมือแพทย์ให้กับกระทรวงสาธารณสุข เพื่อสนับสนุนโครงการต่างๆ และสนับสนุนการจัดประชุม วิชาการด้านโรคไม่ติดต่อ หรือ NCD Forum ประจําปี 2559-2560 ปีละ 1 ล้านบาท รวมทั้งบริจาคเครื่องมือ ทางการแพทย์ให้แก่โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวง สาธารณสุข ได้แก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร โรงพยาบาลปัตตานี โรงพยาบาลพระพุทธชินราช โรงพยาบาลสามพราน โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช และโรงพยาบาลชะอวด • มอบเงินสนับสนุนให้กับโรงพยาบาลพรหมบุรี จังหวัด สิงห์บุรี พร้อมร่วมเปิดอาคาร 99 ปี พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร เจริญพานิช) อย่างเป็นทางการ เพื่อไว้ใช้ในกิจกรรม ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย และประชาชนทั่วไป • มอบเงินสนับสนุน 11 ล้านบาท ร่วมในโครงการ “ก้าวคนละ ก้าว” เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ทางการแพทย์ให้แก่อาคาร นวมินทรบพิตร ๘๔ พรรษา คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล • มอบเงินบริจาคสนับสนุนงานด้านสาธารณสุข ให้แก่ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย มูลนิธิศิริราช และมูลนิธิหัวใจ แห่งประเทศไทย
ทิศทางการดําเนินงาน ไทยเบฟยังคงมุ่งมั่นสนับสนุนกิจกรรมด้านสาธารณสุขเพื่อชุมชนในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพราะเชื่อว่า ทุกคนควรจะมีสุขภาพพลานามัย ที่แข็งแรง อันจะเป็นพื้นฐานสําคัญของชุมชนที่ยั่งยืนต่อไป
149 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภาพรวม
ภาพรวมการสนับสนุนด้านสาธารณสุขของไทยเบฟ
งบประมาณไทยเบฟสนับสนุนด้านสาธารณสุข ปี 2561 กว่า
50
ล้านบาท
จํานวนผู้ป่วยที่มาใช้บริการ ก.ย. ปี 55 - ต.ค. ปี 60 ผู้ป่วยนอก
279,135
คน
จํานวนผู้ป่วยฟอกเลือด
151,302
รอบ
1,493
คน
ผู้ป่วยผ่าตัดส่องกล้องทางเดินปัสสาวะ
255
คน
ผู้ป่วยผ่าตัดเกี่ยวกับโรคไต
379
คน
ผู้ป่วยผ่าตัดแก้ไขเส้นเลือดอุดตัน
238
คน
ผู้ป่วยผ่าตัดเกี่ยวกับต่อมลูกหมาก
192
คน
83
คน
454
คน
ผู้ป่วยผ่าตัดเกี่ยวกับเส้นเลือด
ผู้ป่วยผ่าตัดทําเส้นเลือดเทียมถวายสมเด็จพระเทพฯ ผ่าตัดอื่นๆ
จำนวนรอบฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
จำนวนผู้ป่วยที่ทำการผ่าตัดปลูกถ่ายไต ปี 58-ปี 61
ปี 55- ต.ค. ปี 60
50,000
มีการปลูกถ่ายไตสำเร็จแล้วทั้งหมด 7 ราย
42,266
43,591
34,958 24,566 12,381
1
ราย
0
932 2555 2556 2557 2558 2559 2560
2558
2
ราย
2559
4
ราย
2561
150 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
การพัฒนาด้านกีฬา
ไทยเบฟมีนโยบายสนับสนุนวงการกีฬาหลายประเภทมาอย่างยาวนาน ตั้งแต่ ระดับเยาวชนจนถึงระดับอาชีพ โดยยึดหลักพื้นฐานที่มั่นคง ความร่วมมือ ทีแ ่ ข็งแกร่ง การสร้างโอกาส และพัฒนาสูค ่ วามสําเร็จ และมีหน่วยงาน “ไทยเบฟ ไทยทาเลนท์” รับผิดชอบการดําเนินงานในกีฬากว่า 15 ประเภท สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ กว่า 200 หน่วยงานทั่วประเทศ สร้างโอกาสให้กบ ั เยาวชนทัว่ ประเทศเพือ่ สร้างรากฐานด้านกีฬาทีถ ่ ก ู ต้องและ พัฒนาความสามารถไปสู่การเป็นนักกีฬาอาชีพต่อไป ซึ่งปัจจุบันไทยเบฟ มีโครงการกีฬาสําหรับเยาวชนมากกว่า 10 โครงการ ในกีฬา 6 ประเภท คือ ฟุตบอล กอล์ฟ วอลเลย์บอล บาสเกตบอล เทนนิส และนักพากย์เรือยาว รุ่นจิ๋ว โดยได้รับความร่วมมืออย่างแข็งแกร่งจากทุกหน่วยงาน
151 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ข้อมูลโครงการเพื่อการสร้างโอกาส และพัฒนาสู่ความสําเร็จของเยาวชน ปี 2561 กีฬา
(เพื่อพัฒนาเยาวชน) ฟุตบอล
โครงการ
รูปแบบการดําเนินงาน
ระยะเวลา
จํานวนคน/ปี
1 Chang Junior Football Project - Chang Junior Cup
- การแข่งขันฟุตบอลเยาวชน รุ่นอายุตํ่ากว่า 13 ปี
6 ปี (2556-2561)
7,000
- Chang Advance Football Clinic
- สอนทักษะการเล่นฟุตบอลขั้นสูงตามมาตรฐานสากล
13 ปี (2549-2561)
200
- Chang - AFC [C / B License] Coaching
- อบรมผู้ฝึกสอนในระดับไลเซนส์ โดย AFC
6 ปี (2556-2561)
24
- Chang Junior Cup Road to England
- สร้างประสบการณ์และแรงบันดาลใจ
5 ปี (2557-2561)
30
2 TBFA [ThaiBev Football Academy]
- อะคาเดมีสอนทักษะการเล่นฟุตบอลขั้นต้น ตามมาตรฐานสากล
10 ปี (2552-2561)
70,000
3 Chang Junior Football Team
- จัดตั้งและบริหารทีมฟุตบอลเยาวชน รุ่นอายุ 12-15 ปี
8 ปี (2554-2561)
50
4 Chang Mobile Football Unit
- สอนทักษะการเล่นฟุตบอลขั้นต้นในส่วนภูมิภาค
6 ปี (2556-2561)
10,000
5 Chang Football Community
- สร้างเครือข่าย ชุมชนฟุตบอล ในส่วนภูมิภาค
5 ปี (2557-2561)
1,000
6 Chang Soccer School
- การคัดเลือกเยาวชนสู่ “โครงการช้างเผือกด้านฟุตบอล”
10 ปี (2552-2561)
5,000
7 ช้างชวนชล...ช่วยน้อง
- ความร่วมมือกับชลบุรี เอฟซี เพื่อการสร้างโอกาส ให้กับเยาวชน
2 ปี (2560-2561)
1,000
8 Assumption Thonburi Football School
- อะคาเดมีฟุตบอล สู่ความเป็นเลิศ
10 ปี (2552-2561)
120
9 Assumption Thonburi Unite
- สโมสรฟุตบอล T4 เพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้นักกีฬา
8 ปี (2554-2561)
30
10 กองทุนพัฒนากีฬาฟุตบอล
- ความร่วมมือกับสมาคมกีฬาฟุตบอลฯ สู่การพัฒนาฟุตบอล (รากหญ้า)
10 ปี (2560-2569)
FA Plan
11 สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ
- ความร่วมมือเฉพาะโครงการที่เกี่ยวเนื่องกับเยาวชน และการอบรมโค้ช
15 ปี (2546-2561)
1,000
12 Chang Thailand Junior Golf Circuit
- การแข่งขันกอล์ฟระดับเยาวชน รุน ่ อายุ 8-12/13-18 ปี
5 ปี (2557-2561)
1,200
13 Chang Junior Golf Clinic
- สอนทักษะการเล่นกอล์ฟใน 4 ระดับ (ระดับพื้นฐาน-PGA Tour Academy)
8 ปี (2554-2561)
250
14 ThaiTalent Golfer
- สนับสนุนนักกีฬาระดับเยาวชน สู่การเป็นนักกอล์ฟอาชีพ
8 ปี (2554-2561)
17
15 Chang - Air Force Youth Tournament
- ความร่วมมือกับกองทัพอากาศสอนทักษะการเล่นกอล์ฟ พื้นฐาน (ภาคฤดูร้อน)
10 ปี (2552-2561)
500
16 100 Plus Training Clinic
- สอนทักษะการเล่นเทนนิสตามมาตรฐานสากล
2 ปี (2560-2561)
400
17 100 Plus Junior Championship
- การแข่งขันเทนนิสระดับเยาวชน
10 ปี (2552-2561)
1,800
18 100 Plus U-Team League
- การแข่งขันเทนนิสระดับมหาวิทยาลัย
3 ปี (2559-2561)
1,200
19 est Cola Volleyball Your Way
- มหกรรมการสอนวอลเลย์บอลโดยนักกีฬาทีมชาติ ในพื้นที่ห่างไกล
5 ปี (2557-2561)
1,500
20 est Volleyball U16 Championship
- การแข่งขันวอลเลย์บอลหญิง ระดับเยาวชน (เส้นทางสู่การค้นหาทีมชาติ)
8 ปี (2554-2561)
15,000
21 สมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย
- ความร่วมมือเฉพาะโครงการที่เกี่ยวเนื่องกับเยาวชน
32 ปี (2529-2561)
1,000
บาสเกตบอล
22 100 Plus Basketball School Tour
- สอนทักษะการเล่นบาสเกตบอลตามมาตรฐานสากล โดยนักกีฬาอาชีพ
1 ปี (2561)
1,000
เรือยาวไทย
23 การแข่งขัน “มหกรรมเรือยาวขุดประเพณี”
- การแข่งขันเรือยาวขุด เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรม การแข่งเรือยาวไทย
1 ปี (2561)
20,000
24 นักพากย์เรือยาวรุ่นจิ๋ว
- การแข่งขันพากย์เรือยาว ระดับเยาวชน
5 ปี (2557-2561)
150
กอล์ฟ
เทนนิส
วอลเลย์บอล
152 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
แบ่งปันคุณค่า
คุณสุรพล อุทินทุ
ผู้อํานวยการโครงการไทยเบฟ ไทยทาเลนท์
การเล่นกีฬาที่เป็นกีฬาอาชีพ ไม่ใช่แค่พออายุ 12 ถึง 13 แล้วมา เล่นกัน ปลูกฝังอย่างนั้นไม่ได้ ต้องปลูกฝังตั้งแต่เด็กเล็กๆ ดังนั้น เยาวชนจึงเป็นแก่นในการพัฒนากีฬาอย่างยั่งยืน
คุณมันทนา ประไพเพ็ชร์
ผู้จัดการโครงการไทยเบฟ ไทยทาเลนท์
กีฬาเป็นเครื่องมือในการสร้างคนดีให้กับสังคม ที่ใกล้ตัวและเป็นรูปธรรม เห็นได้ชัดเจน ด้วยเข้าใจในความสําคัญของกีฬาอย่างแท้จริง โครงการกีฬา เพื่อเยาวชนจากไทยเบฟจึงเกิดขึ้นและผลิดอกออกผลจนเริ่มสัมผัสได้ อย่างต่อเนื่อง
ดร.ปกรณ์ มุ่งเจริญพร ประธานสโมสรสุรินทร์ ซิตี้
วันนี้กีฬาฟุตบอลนอกจากจะสร้างความสามัคคีแล้ว ยังสามารถ สร้างชื่อเสียงให้กับตัวเอง ครอบครัว ประเทศชาติ อีกทั้งยังเป็น มากกว่ากีฬา สามารถสร้างอาชีพที่มั่นคงได้ด้วย
อ.ประเสริฐ ดาทอง
ผู้ฝึกสอนหินโคน อะคาเดมี จ.สุรินทร์
ทางชุมชนเน้นการนํากีฬาฟุตบอลเข้ามาพัฒนาเยาวชน และต้องขอบคุณ ไทยเบฟ ที่ให้ความเชื่อมั่น ให้โอกาสชุมชนเล็กๆ เหมือนเป็นการส่งต่อโอกาส ไปสู่เด็กๆ ทําให้บุคคลภายนอกได้เห็นว่า ชุมชนเล็กๆ นี้สามารถพัฒนาได้
153 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภารกิจสําคัญ
โครงการ ช้าง ฟุตบอล ชุมชน
โครงการสร้างเครือข่ายกีฬาฟุตบอลในท้องถิ่นที่ขาดโอกาส โดยมุ่งหวังที่จะสร้างชุมชนฟุตบอลที่เข้มแข็ง จํานวน 5 แห่ง ในภูมภ ิ าคต่างๆ ทัว่ ประเทศ เพือ่ สร้างฐานความรูด ้ า้ นกีฬาฟุตบอลทีถ ่ ก ู ต้องตามมาตรฐาน สากล รวมถึงการจัดหาอุปกรณ์ที่จําเป็นต่อการสร้างองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ ซึ่งทั้ง 5 แห่ง ได้ดําเนินงานมาเป็นเวลา 5 ปี
บ้านปุเปือย จ.อุบลราชธานี
ชุมชนม่อนแจ่ม จ.เชียงใหม่ จำนวนคน 100 คน (เยาวชนชาวเผ่าบนภูเขาสูง) ผลสำเร็จ ปี 2561 6% ก้าวสูน ่ ก ั ฟุตบอลอาชีพ เป้าหมาย ปี 2562 เพิม ่ % ความสำเร็จ และคุณภาพของโครงการ
จำนวนคน 50 คน (เยาวชนในพืน ้ ทีแ่ ละจังหวัดใกล้เคียง) ผลสำเร็จ ปี 2561 1% ก้าวสูน ่ ก ั ฟุตบอลเยาวชนทีมชาติ เป้าหมาย ปี 2562 เพิม ่ % ความสำเร็จ และคุณภาพของโครงการ
บ้านหินโคน จ.สุรน ิ ทร์ จำนวนคน 150 คน ผลสำเร็จ ปี 2561 2% ก้าวสูน ่ ก ั ฟุตบอลอาชีพ เป้าหมาย ปี 2562 เพิม ่ % ความสำเร็จ และความร่วมมือของชุมชน (แนวโน้มในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง)
แม่โมก จ.สุราษฏร์ธานี จำนวนคน 50 คน ผลสำเร็จ ปี 2561 28% ก้าวสูน ่ ก ั ฟุตบอลอาชีพระดับจังหวัด เป้าหมาย ปี 2562 เพิม ่ % ความสำเร็จ และคุณภาพของโครงการ
บ้านกรุณา จ.สมุทรปราการ จำนวนคน 100 คน (เยาวชนในสถานพินจิ ) ผลสำเร็จ ปี 2561 เริม ่ เห็นช่องทางการลดความตึงเครียดภายใน สถานพินจิ เป้าหมาย ปี 2562 สร้างตัวชีว้ ด ั ทีเ่ ป็นจริง สามารถวัดผลได้อย่าง ชัดเจน
154 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ภาพรวม ภาพรวมผลลัพธ์การพัฒนาด้านกีฬา
ข้อมูลงบประมาณโครงการเพือ่ การสร้างโอกาส และพัฒนาสูค ่ วามสำเร็จของเยาวชน
สัดส่วนงบประมาณกีฬาทีไ่ ทยเบฟสนับสนุน งบประมาณโครงการประจำปี 2018 จำนวนกว่า
200
งบประมาณการสร้างโอกาส และแรงบันดาลใจ จำนวนกว่า
งบประมาณการพัฒนาสูค ่ วามสำเร็จ จำนวนกว่า
100 ล้านบาท
100 ล้านบาท
ล้านบาท
1% 4% 1%
6% 7% 1% 4%
กีฬา
งบประมาณ การสร้างโอกาส
63% กอล์ฟ
เทนนิส
3% 3%
งบประมาณการ พัฒนาสูค ่ วามสำเร็จ
14%
19%
ฟุตบอล
6%
6%
36%
28% วอลเลย์บอล
บาสเกตบอล
เรือยาวไทย
ความร่วมมือและพันธมิตรทีแ ่ ข็งแกร่ง หน่ว่ ยงานภาครัฐและเอกชน
ไทยเบฟสนับสนุนกีฬาประเภทต่างๆ พร้อมพันธมิตรที่แข็งแกร่ง
200 หน่วยงาน 8,000 บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้อง
บุคลากรทีเ่ กีย ่ วข้อง
0%
100%
ฟุตบอล
กอล์ฟ
โบว์ลง่ิ
สนุกเกอร์
วอลเลย์บอล
เทนนิส
การสร้างโอกาสและการพัฒนาสูค ่ วามสำเร็จ จำนวนโครงการ
24
โครงการ
เยาวชนทีเ่ ข้าร่วมโครงการกว่า
150,000
คน
จำนวนจังหวัด
54
จังหวัด
ประเภทของกีฬา
6
ชนิดกีฬา
ความร่วมมือและพันธมิตรทีแ ่ ข็งแกร่ง
155
หน่ว่ ยงานภาครัฐและเอกชน
บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
บุคลากรทีเ่ กีย ่ วข้อง
ไทยเบฟสนับสนุนกีฬาประเภทต่างๆ พร้อมพันธมิตรที่แข็งแกร่ง
200 หน่วยงาน 8,000 บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้อง
0%
100%
ฟุตบอล
กอล์ฟ
โบว์ลง่ิ
สนุกเกอร์
วอลเลย์บอล
เทนนิส
การสร้างโอกาสและการพัฒนาสูค ่ วามสำเร็จ จำนวนโครงการ
24
500 คน
โครงการ
เข้าสูร่ ะดับเยาวชน
150 คน
เข้าสู่ระดับ อาชีพ/ทีมชาติ
เยาวชนทีเ่ ข้าร่วมโครงการกว่า
150,000
250
คน เข้าสูร่ ะดับเยาวชน
400
คน ได้รบ ั โอกาสพัฒนา ทักษะสูค ่ วามเป็นเลิศ
17
คน เข้าสูร่ ะดับ อาชีพ
จำนวนจังหวัด
54
คน
1,500 คน
ได้รบ ั โอกาสพัฒนา ทักษะสูค ่ วามเป็นเลิศ
100
คน เข้าสู่ระดับ อาชีพ/ทีมชาติ
ประเภทของกีฬา
6
จังหวัด
1,000 คน
ได้รบ ั โอกาสพัฒนา ทักษะสูค ่ วามเป็นเลิศ
ชนิดกีฬา
150
คน ได้รบ ั โอกาสพัฒนา ทักษะสูค ่ วามเป็นเลิศ
20
คน เข้าสู่ระดับ อาชีพ/ทีมชาติ
ภารกิจปี 2562 ความร่วมมือและพันธมิตรทีแ ่ ข็งแกร่ง
การสร้างโอกาสและการพัฒนาสูค ่ วามสำเร็จ เป้าหมายที่ไทยเบฟต้องการผลักดัน
30%
30%
10%
0
ไทยเบฟสนับสนุนกีฬาอย่างต่อเนือ่ ง มุง่ เน้นความร่วมมือ ผลักดันพันธมิตร เพือ่ ทำให้วงการกีฬาเข้มแข็งยิง่ ขึน ้
5%
5%
ผูเ้ ข้าร่วม จังหวัดทีท ่ ำ สร้างการรับรู้ โครงการ เพิม ่ ขึน ้ โครงการ เพิม ่ ขึน ้ คุณภาพโครงการ เพิม ่ ขึน ้
พัฒนาเยาวชน เข้าสูร่ ะดับอาชีพ เพิม ่ ขึน ้
หมายเหตุ: ใช้แบบสอบถามและการบันทึกข้อมูลแต่ละโครงการเป็นตัวชีว้ ด ั
156 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
การส่งเสริมและอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม • ไทยเบฟร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และเครือข่ายพันธมิตร สนับสนุนโครงการอนุรักษ์ สืบสาน และสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมของชาติ รวมถึงกิจกรรมด้านศาสนาและประเพณีไทย อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้คนในสังคมตระหนักถึงคุณค่า ด้านศิลปวัฒนธรรม เกิดความรักชาติ รักมรดก ทางวัฒนธรรม และมีความมุ่งมั่นที่จะเผยแพร่ อัตลักษณ์ความเป็นไทย ออกสู่อาเซียนและสากล
• ในการทํางานด้านศิลปวัฒนธรรม ไทยเบฟสนับสนุน การขับเคลื่อนตามปณิธานภายใต้กลยุทธ์ 3 ประการ คือ รักษา ร่วมมือ และสร้างเสริม • ไทยเบฟสนับสนุนให้เยาวชนคนรุน ่ ใหม่ได้เรียนรูฝ ้ ก ึ ฝน ด้านศิลปวัฒนธรรมในแขนงต่างๆ นอกตําราเรียน และนอกห้องเรียนอย่างเหมาะสมและเท่าเทียมกัน
แบ่งปันคุณค่า คุณนิติกร กรัยวิเชียร
ผู้อํานวยการโครงการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
เนื่องจากไทยเบฟ เป็นบริษัทที่ดําเนินธุรกิจรายใหญ่ของประเทศไทย ผมมองเห็นว่าเรามีพันธะที่จะต้องตอบแทนสังคมด้วย นอกเหนือ จากการทํางานด้านธุรกิจเพียงอย่างเดียว เราจึงได้มีกิจกรรมพิเศษ หลายด้าน เพื่อที่จะช่วยเหลือสังคมในเรื่องของศิลปวัฒนธรรม เราเห็นว่า ศิลปวัฒนธรรมเป็นรากฐานและจิตวิญญาณที่เราจะต้อง ช่วยกันรักษาไว้ เราจึงเห็นว่า ไม่วา่ จะเป็นคนรุน ่ ใหม่ หรือคนรุน ่ เก่าก็ตาม สิง่ เหล่านีจ้ ะเป็นสิง่ ทีส ่ บ ื สานความเป็นไทยให้คงอยู่ และเราถือว่าเรือ่ งนี้ เป็นภารกิจสําคัญทีจ่ ะช่วยเหลือสังคมได้ ตลอดระยะเวลา 15 ปีทผ ี่ า่ นมา ไทยเบฟได้ทํางานด้านการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมอย่างกว้างขวาง ให้กับสังคมโดยรวม งานด้านศิลปวัฒนธรรมเป็นสิ่งสําคัญ เป็นรากฐานของชาติ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นชาตินั้นๆ ประเทศไทยของเราเป็นประเทศทีเ่ ก่าแก่ ยาวนาน และมีศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณีอันดีงามมากมาย สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ไม่ใช่ในทุกๆ ประเทศมี ฉะนั้นเมื่อเรามีของดี เราก็ควรต้องอนุรักษ์และส่งเสริมเอาไว้ สิ่งนี้ จึงถือเป็นพันธกิจและภารกิจสําคัญที่เราให้ความสําคัญตลอดมา
157 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
แบ่งปันคุณค่า ครูดุษฎี พนมยงค์
ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดงดนตรีสากล พ.ศ. 2557 ผู้อํานวยการคณะนักร้องประสานเสียงสวนพลู
ไทยเบฟกับบทบาทด้านการทํางานด้านการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สะท้อนให้เห็นถึงวิสัยทัศน์ของไทยเบฟ ที่เล็งเห็นความสําคัญต่อการพัฒนาสังคมอย่างรอบด้าน สังคมไทย ต้องการการพัฒนาทุกด้านไปพร้อมๆ กัน ขณะเดียวกันองค์กรภาครัฐ ยังกระจายงบประมาณไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะด้านศิลปวัฒนธรรม ซึ่งมี ความสําคัญไม่น้อยไปกว่าด้านกีฬา หรืออื่นๆ ประเทศชาติจะมั่นคง และทัดเทียมอารยประเทศได้กด ็ ว้ ยวัฒนธรรมอันดีงามทีค ่ วรอนุรก ั ษ์ไว้ และสืบทอดถึงรุ่นต่อๆ ไป สิ่งนี้จึงเป็นจุดแข็งของ “ไทยเบฟ” ทั้งนี้ ในมุมมองของคณะนักร้องประสานเสียงสวนพลู ไทยเบฟเป็นบริษัท ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ทงั้ อุปโภคและบริโภค ซึง่ เป็นทีย ่ อมรับของประชาชน ทุกเพศ ทุกวัย และทุกระดับ ในราคาสมเหตุสมผล และยังเป็นบริษัท ที่มีสว่ นในการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ของชุมชน เพือ่ ต่อยอดทางธุรกิจ ให้กับชุมชน แสดงให้เห็นว่าไทยเบฟได้มีส่วนรับผิดชอบต่อ การพัฒนาประเทศด้วย อาจารย์มาลินี สาคริก
มูลนิธิหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
มูลนิธิหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้รับการสนับสนุนจาก ไทยเบฟ ในการจัดกิจกรรมประกวดดนตรีไทยรางวัลศรทอง ชิงถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มาอย่างต่อเนื่อง และได้รับการ สนับสนุนในโครงการอื่น เช่น ค่ายเยาวชนดนตรีไทย โครงการเพื่อนดนตรี รวมถึงให้โอกาสในการร่วมจัดตั้งวงดุริยางค์เยาวชนอาเซียน ไทยเบฟ ได้ให้อิสระในการจัดกิจกรรมอย่างเต็มที่ โดยมุ่งเน้นในเป้าหมายร่วมกันคือ การสร้างเยาวชนที่มีคุณภาพ มีความรอบรู้ ความสามารถในศิลปวัฒนธรรม และเพื่อการสร้างเครือข่ายสนับสนุนการทํางานต่อไปในอนาคต จึงอาจกล่าว ได้ว่า ตลอด 5 ปี ที่มูลนิธิหลวงประดิษฐไพเราะฯ ได้รับการสนับสนุน ในการจัดกิจกรรมทางดนตรีศิลปวัฒนธรรม ได้ทําให้ตระหนักว่า ไทยเบฟ ได้ให้ความสนับสนุนอย่างบริสท ุ ธิใ์ จ ทํางานด้วยหัวใจ มิได้มเี งือ่ นไขทางธุรกิจ มาเกี่ยวข้อง พร้อมยังชี้แนะช่องทางต่างๆ ในการที่จะทําให้กิจกรรมได้ถูก ต่อยอด เกิดความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ยิ่งๆ ขึ้นไป ไทยเบฟ เป็นองค์กรทีม ่ ผ ี บ ู้ ริหารทีม ่ ห ี วั ใจ มีบค ุ ลิก กิรย ิ ามารยาท และวิสย ั ทัศน์ ที่โดดเด่น ที่ส่งผลต่อภาพรวมขององค์กร การมีจิตสาธารณะ ยินดีที่จะช่วยเหลือผูอ้ น ื่ ในโครงการกิจกรรมต่างๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ สังคม ด้วยวิธก ี ารลงแรง ชวนเพื่อนทํางาน ซึ่งเป็นการสนับสนุนที่ทําเริ่มจาก รากฐาน เพื่อความยั่งยืนต่อไป
158 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
แบ่งปันคุณค่า คุณอภิรักษ์ โกษะโยธิน
ประธานมูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (หอศิลป์กรุงเทพฯ) เป็นหอศิลป์ แห่งเมืองที่ได้ทําหน้าที่แหล่งเรียนรู้ด้านศิลปะนอกห้องเรียนของเด็กและ เยาวชนทั้งในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ตลอดระยะเวลาการดําเนินงาน 10 ปี ของหอศิลป์กรุงเทพฯ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) เป็นองค์กร ภาคเอกชนที่ได้แสดงตนอย่างชัดเจนในฐานะของผู้เห็นคุณค่าและตระหนัก ถึงความสําคัญของการธํารงไว้และเผยแพร่งานด้านศิลปวัฒนธรรม โดยเป็นผู้สนับสนุนรายแรกที่เข้ามาส่งเสริมสนับสนุนการดําเนินงานด้าน ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยที่หลากหลายของหอศิลป์กรุงเทพฯ และยังคง สนับสนุนอย่างสมํ่าเสมอตลอดเวลาที่ผ่านมา สะท้อนให้เห็นจุดแข็งของ ไทยเบฟ อันได้แก่ วิสย ั ทัศน์ของผูบ ้ ริหารทีต ่ ระหนักถึงคุณค่าและความ สําคัญที่จะส่งต่อมรดกทางศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยสู่เยาวชนคนรุ่นใหม่ กอปรกับความพร้อมขององค์กร ศักยภาพของเครือข่ายและทรัพยากร เอื้อให้การสนับสนุนวงการศิลปะเป็นไปได้อย่างทั่วถึง ยิ่งไปกว่านั้น ไทยเบฟ ยังมีความโดดเด่นในฐานะที่เป็นองค์กรที่ทันสมัย ร่วมสมัย ไม่หยุดนิ่ง ซึ่งนับเป็นองค์ประกอบสําคัญยิ่งต่อการพัฒนาและสร้างคุณค่าร่วมกัน ให้แก่สังคมอย่างยั่งยืน จึงถือเป็นองค์กรสําคัญผู้สร้างสรรค์ ส่งเสริม พัฒนาและต่อยอดให้แก่ความเจริญก้าวหน้าในวงการศิลปวัฒนธรรม ร่วมสมัยของไทย
คุณเอกชัย เจียรกุล
แชมป์กีตาร์คลาสสิก GFA Guitar Foundation of America International Concert Artist Competition 2014 และ หนึ่งในเยาวชนในโครงการ ThaiBev ThaiTalent
ไทยเบฟ มีความสําคัญต่อการขับเคลื่อนและผลักดันด้านศิลปวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในแง่ของดนตรี ซึ่งที่ผ่านมา ผมมีโอกาสได้รับการสนับสนุนจากทางไทยเบฟมาโดยตลอด ไม่ว่าจะ เป็นเรื่องการแข่งขันดนตรีในระดับสากล ที่มีส่วนช่วยให้วงการดนตรี คลาสสิกของประเทศไทยมีชื่อเสียงขึ้นมาในระดับนานาชาติ หรือด้าน การทําโปรเจกต์บันทึกเสียงบทเพลงพระราชนิพนธ์ ในหลวง ร.9 รวมไปถึงการสนับสนุนการทําคอนเสิร์ตต่างๆ และไทยเบฟยังได้ พยายามให้ความสําคัญและสนับสนุนศิลปะในทุกๆ แขนง ไม่ได้เจาะจง เฉพาะด้านใดด้านนึง จึงเป็นจุดเด่นทําให้คนภายนอกสามารถรับรู้ และเห็นศักยภาพของศิลปวัฒนธรรมในรูปแบบต่างกันออกไป ผ่านการผลักดันจากไทยเบฟ คําจํากัดความสั้นๆ สําหรับผม ไทยเบฟคือ “ผูม ้ อบโอกาส” เพราะทีผ ่ า่ นมาตัวผมเองสามารถเติบโต และมีผลงานออกมา ก็เกิดจากการได้รับโอกาสจากทางไทยเบฟ
159 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภารกิจสําคัญ การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมเป็นภารกิจสําคัญด้านหนึ่งของไทยเบฟ ตลอดเวลาที่ผ่านมา ไทยเบฟร่วมกับองค์กรภาคีต่างๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ศิลปวัฒนธรรมไทยและสากลได้รับการเชิดชู อนุรักษ์ พัฒนา และสนับสนุนการดําเนินโครงการ หรือกิจกรรมที่เป็นมาตรฐานสากล ผสานแนวการทํางานเชิงวิชาการ เพื่อสร้างคุณค่าให้สังคม ผ่านการพัฒนา เรียนรู้ และรับรู้ ซึ่งหากสังคมตระหนักถึงคุณค่าด้านศิลปวัฒนธรรม ก็จะเกิดความรักชาติ รักมรดกทางวัฒนธรรม เมื่อค่านิยมนี้ ได้รับการเผยแพร่ ก็จะช่วยเพิ่มคุณค่าให้แก่องค์กร ในฐานะองค์กรธรรมาภิบาลที่รณรงค์เรื่องนี้
เกียรติยศ • วันที่ 23 มิถุนายน 2561 รับพระราชทาน เข็มเกียรติคุณผู้ทําคุณประโยชน์ด้านวัฒนธรรม เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย ประจําปี 2561 จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี • คุณฐาปน สิริวัฒนภักดี ในฐานะไวยาวัจกร วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ร่วมคณะพระธรรมทูตและคณะทํางาน เข้าเฝ้า สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเพื่อถวายคัมภีร์ พระมาลัยฉบับแปลเป็น 3 ภาษา คือ ภาษาขอมสมัยใหม่ ภาษาบาลี ภาษาไทย และของที่ระลึก ณ นครรัฐวาติกัน วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ทั้งนี้ ได้ดําเนินงานผ่านการขับเคลื่อนตามปณิธานภายใต้ กลยุทธ์ 3 ประการ ได้แก่ • การรักษา เผยแพร่ และเชิดชูศลิ ปวัฒนธรรม ให้อยูค ่ สู่ งั คม • การสนับสนุนร่วมมือกับหน่วยงาน หรือโครงการ ศิลปวัฒนธรรมให้ดาํ รงสืบสานได้อย่างต่อเนือ่ ง • การเสริมสร้างริเริม ่ โครงการศิลปวัฒนธรรม ในเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์
160 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินไปทรงเปิดนิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ณ หอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2560
การรักษา เผยแพร่ และเชิดชูศลิ ปวัฒนธรรม ให้อยูค ่ สู่ งั คม • สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระราชานุญาตให้สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เชิญภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จํานวน 200 ภาพ ไปจัดแสดงยังหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร พร้อมพระราชทานพระราชานุญาตในการจัดพิมพ์หนังสือภาพถ่าย ฝีพระหัตถ์ ซึ่งสนับสนุนการจัดนิทรรศการ และจัดพิมพ์โดย มูลนิธิสิริวัฒนภักดีและบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) • นิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งจัดอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นมา ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดยในปี 2560 ถูกจัดขึน ้ ในชื่อ นิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ “กาวยประภา” • สนับสนุนการสร้างอาคาร “ญาณสังวร อนุสรณ์ไทย–ญี่ปุ่น” พร้อมอัญเชิญพระรูปเหมือนพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ไปประดิษฐาน ณ วัดป่าพุทธรังษี กรุงโตเกียว
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนิน ไปทรงเปิดนิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ “กาวยประภา” ณ หอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2560
• งานอุ่นไอรัก คลายความหนาว ซึ่งจัดขึ้นตามที่ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชดําริที่จะให้ประชาชนได้มีความสุข ความรื่นเริง และรําลึกถึงวิถีชีวิตที่ผ่านมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ที่ได้ออกร้าน จําหน่ายสินค้าในโครงการประชารัฐรักสามัคคี และห้องภาพ “ฉายานิติกร” ให้บริการถ่ายภาพย้อนยุคแก่ผู้ที่มาเที่ยวชมงาน • งานเถลิงศกสุขสันต์ มหาสงกรานต์ตํานานไทย ซึ่งจัดขึ้นตามที่ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้จด ั งานเถลิงศกสุขสันต์ มหาสงกรานต์ ตํานานไทย เพื่อส่งเสริม สืบสานศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของชาติ โดยเปิด ห้องภาพ “ฉายานิติกร” ให้บริการถ่ายภาพบรรยากาศงานสงกรานต์ แก่ผู้ที่มาเที่ยวชมงาน
161 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
กฐินพระราชทาน วัดกัลยาณมิตร วรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร โดย ภูธร ภูมะธน
กฐินพระราชทาน
กฐินพระราชทาน
หนังสือที่ระลึกในโอกาสงานกฐินพระราชทานวัดกัลยาณมิตร วรมหาวิหาร ประจ�าปี ๒๕๖๑ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จ�ากัด (มหาชน)
หนังสือที่ระลึกในโอกาสงานกฐินพระราชทานวัดพระธาตุชอ ประจ�าปี ๒๕๖๑ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จ�ากัด (มหาชน)
วัดกัลยาณมิตร วรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร
วัดพร าตุ
ังหวัด พร
เวียง พร ต�านานพระธาตุชอ
• การจัดทําหนังสือเชิงประวัติศาสตร์วิชาการด้านศิลปวัฒนธรรม - หนังสือ “เฉลิมฟิล์มกระจก ฉลองมรดกความทรงจําแห่งโลก” โดยร่วมกับหอจดหมายเหตุแห่งชาติ และมูลนิธิสิริวัฒนภักดี ในโอกาสทีภ ่ าพถ่ายโบราณและฟิลม ์ กระจก ชุด “หอสมุดวชิรญาณ” ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจําแห่งโลกเมื่อปี 2560 โดยองค์การสหประชาชาติ - หนังสือที่ระลึกเนื่องในงานกฐินพระราชทานวัดกัลยาณมิตร วรมหาวิหาร - หนังสือที่ระลึกเนื่องในงานกฐินพระราชทานวัดพระธาตุเชิงชุม
การสนับสนุนร่วมมือกับหน่วยงาน หรือโครงการศิลปวัฒนธรรม ให้ดาํ รงสืบสานได้อย่างต่อเนือ่ ง • การสนับสนุนนิทรรศการ “เฉลิมฟิลม ์ กระจก ฉลองมรดกความทรงจํา แห่งโลก” ร่วมกับสํานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ และมูลนิธิสิริวัฒนภักดี ในโอกาสที่ภาพถ่ายโบราณและฟิล์มกระจก ชุด “หอสมุดวชิรญาณ” ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจํา แห่งโลกเมื่อปี 2560 โดยองค์การสหประชาชาติ • การสนับสนุนนิทรรศการ “วังน่านิมิต” ในโครงการศึกษาพระราชวัง บวรสถานมงคล และสื่อความหมายด้วยเทคโนโลยี โดยกรมศิลปากร ผสานความร่วมมือกับสํานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ และมูลนิธิ พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี • สนับสนุนงบประมาณการดําเนินงานหอศิลปวัฒนธรรม แห่งกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ปี 2551 • สนับสนุนวงดนตรี Thailand Philharmonic Orchestra (TPO) อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2553 • สนับสนุนทุนการศึกษาแก่วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2553 • สนับสนุนมูลนิธิ อ.สุกรี เจริญสุข อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2553
162 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
• สนับสนุนทุนดําเนินกิจกรรมให้คณะนักร้องประสานเสียงสวนพลู เป็นประจําทุกปี ซึ่งปี 2561 นี้ ได้เป็นตัวแทนประเทศไทยไปแข่งขัน ในรายการ 2nd Corfu International Festival & Choir ณ เมือง คอร์ฟู ประเทศกรีซ ซึ่งประสบความสําเร็จสูงสุด โดยได้รับ รางวัลประกาศนียบัตรทอง (Gold Diploma) และได้รับ รางวัลชนะเลิศคะแนนสูงสุดจากทั้ง 3 สาขาที่ลงแข่งขัน • สนับสนุนงานวิจัยเรื่อง “พระอัจฉริยภาพทางดนตรี ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร กรณีศึกษา การบันทึกเสียงการขับร้องประสานเสียงบทเพลง พระราชนิพนธ์ทม ี่ ค ี าํ ร้องจํานวน 41 บทเพลง (The Musical Genius of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej: A Case Study of the Recording of 41 Royal Compositions with Lyrics for Choir โดย ผศ.ดร.มนสิการ เหล่าวานิช เพื่อเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และเผยแพร่พระอัจฉริยภาพทางการดนตรีให้ปรากฏอยู่ตลอดไป • สนับสนุนสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนาด้านดนตรีคลาสสิก โดยให้ โอกาสแสดงในกิจกรรมต่างๆ หรือร่วมมือกันจัดโครงการพิเศษ ในวาระต่างๆ • สนับสนุนงบประมาณการดําเนินงานของมูลนิธิหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) และขยายผลสู่โครงการเพื่อนดนตรี เพื่อสร้าง เครือข่ายบุคลากรในวงการดนตรีไทย ให้ได้ร่วมสร้างสรรค์กิจกรรม สู่ชุมชนได้ขยายวงกว้างมากขึ้น
163 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
• สนับสนุนโครงการเพื่อนดนตรี ได้เริ่มดําเนินการกับโรงเรียน วัดทางกลาง บางปะหัน โดยได้เดินทางไปสํารวจความพร้อม ในการเรียนการสอนดนตรี ทั้งในส่วนของเครื่องดนตรี ครูผู้สอน และสื่อการสอน เช่น หนังสือ สื่อการเรียนรู้มัลติมีเดีย รวมถึง การออกแบบกิจกรรมที่ดนตรีจะเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องในกิจกรรม ของโรงเรียนเอง และกิจกรรมร่วมกับชุมชน เพื่อให้การเรียนดนตรี ของเด็กๆ สามารถพัฒนาได้ตามปัจจัยความพร้อมที่มีในเบื้องต้น
• โครงการเพื่อนดนตรีจึงได้มอบอุปกรณ์เครื่องดนตรีต่างๆ เพื่อเป็นการสนับสนุน ได้แก่ 1. การมอบเครื่องดนตรี ขลุ่ยเพียงออ จํานวน 100 เลา (ได้รับจาก การระดมจิตอาสาช่วยสนับสนุน) และวงกลองยาว 1 วง (กลองยาว 8 ใบ พร้อมเครื่องประกอบจังหวะ ฉิ่ง ฉาบ กรับ โหม่ง) ให้แก่ โรงเรียนวัดทางกลางได้นาํ เครือ่ งดนตรีเหล่านีเ้ พือ่ การเรียนรู้ และสามารถทํากิจกรรมบรรเลงดนตรีในงานต่างๆ เช่น งานแห่เทียนพรรษา งานวันแม่ 2. ดําเนินการร่วมกับโครงการโรงเรียนร่วมพัฒนา (Partnership school) โดยไปสํารวจความพร้อมให้คําปรึกษากับโรงเรียน วัดจุฬามณี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในการจัดแผนการเรียนรู้ ดนตรีไทยให้กบ ั โรงเรียน เนือ่ งด้วยทางโรงเรียนยังขาดครูสอน ดนตรีไทย ซึ่งกําลังอยู่ในช่วงของการทําแผนปฏิบัติการ 3. สนับสนุนส่งวิทยากรผู้มีความรู้ความสามารถทางดนตรี จากส่วนกลางไปยังโรงเรียนอนุบาลลืออํานาจ (บ้านเฉือน) จ.อํานาจเจริญ เพื่อให้ความรู้และแนวอาชีพแก่ผู้สนใจ 4. เป็นสือ่ กลางในการจัดกิจกรรมดนตรีตา่ งๆ โดยอํานวยความสะดวก ด้านสถานที่ การประสานงาน การประชาสัมพันธ์ จัดนิทรรศการ การจัดพิมพ์หนังสือที่ระลึก เพื่อเผยแพร่เป็นสาธารณะ (ไม่คิดค่าใช้จ่าย) ณ เรือนบรรเลง มูลนิธิหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
164 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ผลงานรางวัลช้างเผือก ครั้งที่ 7 หัวข้อ “แรงบันดาลใจจากทุกคนเพื่อชุมชนที่ยั่งยืน” ชื่อภาพ “ลูกหลานชาวนา” โดย นายบุญนํา สาสุด
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนิน ไปทรงเปิดนิทรรศการศิลปกรรมช้างเผือก ครั้งที่ 7 ณ หอศิลปวัฒนธรรม แห่งกรุงเทพมหานคร วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2561
การเสริมสร้างริเริม ่ โครงการศิลปวัฒนธรรม ในเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ • โครงการประกวดศิลปกรรมช้างเผือก เพื่อส่งเสริมแนวทางศิลปะในเชิง เสมือนจริงและศิลปะรูปลักษณ์ และให้การสนับสนุนศิลปินในแนวทางดังกล่าว ได้มีเวทีในการแสดงความสามารถเป็นการเฉพาะ ซึ่งเงินรางวัลชนะเลิศ ศิลปกรรมช้างเผือกสูงถึง 1 ล้านบาท โดยในปี 2561 ได้ดาํ เนินการโครงการ ต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 8 ภายใต้แนวคิด “รื่นเริงเถลิงศก” • ห้องภาพฉายานิตก ิ ร เริม ่ ต้นขึน ้ ครัง้ แรกในงาน “อุน ่ ไอรัก คลายความหนาว” พ.ศ. 2561 โดยทีมงานของไทยเบฟ เพื่อให้บริการถ่ายภาพย้อนยุคสําหรับ ผู้ที่มาเที่ยวชมงาน ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง จนเป็นที่กล่าวขานทั่วไป หลังจากงาน “อุ่นไอรัก คลายความหนาว” แล้ว ยังมีบริษัทและหน่วยงาน ต่างๆ ให้ความสนใจติดต่อขอให้ไปเปิดบริการถ่ายภาพอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรายได้จากการถ่ายภาพทั้งหมดได้นําไปใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ ในรูปแบบต่างๆ • เทศกาลวิถน ี า้ํ วิถไี ทย (Water Festival) เพือ่ ตอกยํา้ แนวคิดการท่องเทีย ่ ว วิถีไทย ให้คนรุ่นใหม่ได้ร่วมเรียนรู้ สืบสาน และบอกเล่าประเพณีสงกรานต์ อันเป็นเอกลักษณ์ความเป็นไทยทีร่ ว่ มสมัย ไปพร้อมกับกลิน ่ อายของวิถชี ม ุ ชน ที่โอบล้อมด้วยมรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่า • เทศกาลสายนํ้าแห่งวัฒนธรรมไทย (River Festival) เพื่อร่วมอนุรักษ์ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ที่แสดงถึงวิถีชีวิตคนไทย อันช่วยผลักดัน การท่องเที่ยวไทยให้โดดเด่นในด้านศิลปวัฒนธรรมและประเพณี อันเป็น เอกลักษณ์ความเป็นไทยให้เป็นที่รู้จักแก่นักท่องเที่ยวทั่วโลก และช่วยกระตุ้น ให้เกิดการท่องเที่ยวของประเทศได้
165 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
Aurele (France) ‘Lost Dog Ma Long’ 2018 gold leaf on fiber glass height: 5.90 m. Collection of the Artist
Yayoi Kusama (Japan) ‘14 Pumpkins’ 2017 inflatable Pumpkins, fabric, 14 pieces Collection of the Artist
• งานด้านศิลปะและวัฒนธรรม โดยวงดนตรีพื้นบ้านแห่งภูมิภาค C asean Consonant เป็นการนําศิลปะทางดนตรีซงึ่ เป็นภาษาสากล มาเชื่อมโยงความสัมพันธ์และหลอมรวมคนในภูมิภาคที่มีความ หลากหลายทางวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา การเมือง ให้เป็นหนึ่งเดียว C asean Consonant นําเสนอเอกลักษณ์ผ่านเสียงเครื่องดนตรี พื้นบ้านประจําชาติ จากนักดนตรีเยาวชน 10 ประเทศอาเซียน สูส่ ายตา ประชาคมโลก สะท้อนถึงศิลปะพื้นบ้านของ 10 ชาติอันงดงาม ประสานเป็นหนึ่งเดียว เพื่ออนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมด้านดนตรี พร้อมเผยแพร่และถ่ายทอดสู่เยาวชนคนรุ่นใหม่ ในปี 2561 “C asean Consonant” ได้รบ ั เชิญให้เข้าร่วมเป็นส่วนหนึง่ ของเทศกาลศิลปะร่วมสมัยนานาชาติ บางกอก อาร์ต เบียนนาเล่ (BAB 2018) ซึ่งเป็นงานที่รวมผลงานศิลปะของทั้งศิลปินชาวไทย และต่างประเทศกว่า 75 ศิลปิน ทั้งนี้ C asean Consonant ได้ทําการแสดงในวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ณ หอประชุม กองทัพเรือ กรุงเทพฯ เพื่อให้ผู้ชมได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยน วัฒนธรรมอาเซียนในงานครั้งนี้อีกด้วย • เทศกาลศิลปะร่วมสมัยนานาชาติ บางกอก อาร์ต เบียนนาเล่ (Bangkok Art Biennale: BAB) เทศกาลศิลปะร่วมสมัยระดับ นานาชาติทม ี่ ม ี าอย่างยาวนาน คําว่า เบียนนาเล่ (Biennale) หมายถึง สองปีครั้ง จัดขึ้นในหลายเมืองทั่วโลก ในปี 2561นี้ จัดขึ้นที่ กรุงเทพฯ เนื่องด้วยกรุงเทพฯ เป็นเมืองที่ได้รับการยอมรับว่าเป็น
สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจที่สุดแห่งหนึ่งของโลกที่มีความหลากหลาย ในด้านศาสนา ชาติพันธุ์ และวิถีชีวิตชุมชนที่งดงาม อีกทั้งยังเป็นเมือง แห่งศิลปะและวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าที่สะท้อนอัตลักษณ์ความเป็นไทย ได้อย่างแท้จริง จนได้รับการขนานนามว่า กรุงเทพฯ คือเวนิสแห่งตะวันออก จึงเป็นอีกหนึง่ ทีม ่ าของแรงบันดาลใจในการจัดงานบางกอก อาร์ต เบียนนาเล่ 2018 ที่มีศิลปินชั้นนําของโลกมาร่วมแสดงผลงานศิลปะร่วมสมัยมากมาย ภายใต้แนวความคิด “สุขสะพรั่ง พลังอาร์ต” (Beyond Bliss) ทั้งหมดนี้ถือเป็นนิมิตหมายอันดีที่จะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ ด้านการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของประเทศไทย ที่จะทําให้บรรดาศิลปินและ นักท่องเที่ยวจากทั่วทุกมุมโลกต้องกําหนดเส้นทางให้กรุงเทพฯ เป็นอีกหนึ่ง เป้าหมายในการเดินทางมาเทีย ่ วชม และในเวลาเดียวกันถือเป็นการเปิดโอกาส ให้ศิลปินไทยรุ่นใหม่ได้แสดงฝีมือ และยังเป็นการช่วยพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ทางด้านความคิดสร้างสรรค์ได้อย่างดีบนพื้นที่สําคัญ 20 จุด งานบางกอก อาร์ต เบียนนาเล่ ครั้งที่ 1 จะมีระยะเวลาในการจัดงานตั้งแต่ วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2561-3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 เอกลักษณ์ ของเทศกาลคือการนําเสนองานศิลปะร่วมสมัยหลากหลายแขนงบน พืน ้ ทีส่ าํ คัญ อาทิ อาคารประวัติศาสตร์ พื้นที่สําคัญริมฝั่งแม่นํ้าเจ้าพระยา หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โครงการอสังหาริมทรัพย์ แห่งอนาคต วัน แบงค็อก ฯลฯ งานบางกอก อาร์ต เบียนนาเล่ 2018 มีศิลปินนานาชาติ เข้าร่วมทั้งสิ้น 75 ท่าน จาก 33 ประเทศ ทั้งเดี่ยว คู่ และกลุ่ม ที่ได้รับคัดเลือกจาก ทีมภัณฑารักษ์นานาชาติ ซึ่งมีชิ้นงานร่วมแสดงมากกว่า 200 ชิ้นงาน
166 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินไปทรงเปิดงานนิทรรศการศิลปะ ร่วมสมัยนานาชาติ บางกอก อาร์ต เบียนนาเล่ 2018 (Bangkok Art Biennale: BAB 2018) ณ หอศิลป์ บางกอก อาร์ต เบียนนาเล่ (BAB BOX) วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2561
บทสัมภาษณ์ เทศกาลศิลปะร่วมสมัย Bangkok Art Biennale 2018 ถือเป็นการจัดขึ้น ครั้งแรกของกรุงเทพมหานคร ที่เกิดขึ้นจากการผสานความร่วมมือครั้งสําคัญ ทั้งจากภาครัฐ และเอกชน ซึ่งต้องขอขอบพระคุณกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กรุงเทพมหานคร การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สถานทูตต่างประเทศประจํา ประเทศไทย เครือข่ายพันธมิตรทุกภาคส่วนที่เข้ามาร่วมกันสนับสนุนการจัดงาน เทศกาลงานศิลปะระดับโลกในครั้งนี้ ซึ่งจะมีการจัดขึ้นในทุกๆ 2 ปี สําหรับงาน Bangkok Art Biennale 2018 พวกเรามีความมุ่งหวังเดียวกันคือ ต้องการให้กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางแห่งเมืองศิลปะร่วมสมัยระดับโลก และช่วยกระตุ้นอุตสาหกรรมด้านการท่องเที่ยว เพื่อสร้างรายได้ในภาพรวมตั้งแต่ ชุมชนคนรักศิลปะไปจนถึงเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนบริเวณโดยรอบของพื้นที่ จัดงานอีกด้วย โดยจากเป้าหมายของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ที่ตั้งเป้า รายได้จากการท่องเที่ยวในปี 2561 ถึง 3 ล้านล้านบาทนั้น เราหวังเป็นอย่างยิ่งว่า บางกอก อาร์ต เบียนนาเล่ ตลอดระยะเวลาของการจัดงานต่อเนื่องเกือบ 4 เดือน ในครั้งนี้ เราคาดว่าจะมีนักท่องเที่ยว นักสะสมงานศิลปะ ภัณฑารักษ์ ศิลปิน คนใน วงการทั่วโลก เข้าร่วมงานเป็นจํานวนมาก และจะช่วยสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ ได้อย่างมหาศาล จะเป็นส่วนสําคัญที่ช่วยสนับสนุนทําให้ภาคอุตสาหกรรมการ ท่องเทีย ่ วสามารถบรรลุเป้าหมายรายได้ดา้ นการท่องเทีย ่ วเชิงคุณภาพ อีกทัง้ ยังช่วย ส่งเสริมภาพลักษณ์ดา้ นการท่องเทีย ่ วของประเทศไทยในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรื่องของศิลปวัฒนธรรมของไทยให้ประจักษ์แก่สายตานักท่องเที่ยวชาวไทย และชาวต่างชาติ เพื่อบอกเล่าความเป็นไทยไปทั่วโลกอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมสําหรับผู้ที่สนใจในศิลปะอย่าง “DEK BAB” ที่เปิดโอกาส ให้กลุ่มคนอาสาตั้งแต่ระดับนิสิตนักศึกษาไปจนถึงบุคคลทั่วไปได้เข้ามามีส่วนร่วม กับการจัดงาน ทําหน้าที่คล้ายกับทูตที่เชื่อมต่อระหว่างศิลปินกับผู้ชม ซึ่งมีทั้ง คนไทยและต่างประเทศ เชื่อมงานศิลปะระดับโลกกับบริบทของกรุงเทพฯ ประหนึ่ง ว่า DEK BAB คือองค์ประกอบที่เติมเต็มให้งานเทศกาลศิลปะร่วมสมัยนานาชาติ บางกอก อาร์ต เบียนนาเล่ นี้สมบูรณ์ ซึ่งมีผู้สมัครเข้าร่วมกว่า 700 คน โดย DEK BAB จะได้รับประสบการณ์จริงที่สามารถเติมเต็มความรู้ ความเข้าใจ ความคิดทางด้านศิลปะ และสามารถถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อีกด้วย
ศ.ดร.อภินันท์ โปษยานนท์
ประธานอํานวยการและผู้อํานวยการศิลป์ Bangkok Art Biennale 2018
167 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ภาพรวมผูไ้ ด้รบ ั ผลประโยชน์จากกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม โครงการและกิจกรรมสนับสนุนงานด้านศิลปวัฒนธรรมให้กับครูและเยาวชน
กิจกรรมการศึกษาของหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
เยาวชน 2,200 คน
โครงการประกวดดนตรีไทยศรทอง และค่ายเยาวชนศรทอง
เยาวชน 1,600 คน
โครงการเพื่อนดนตรี • รร.วัดทางกลาง บางปะหัน มอบขลุ่ยจํานวน 100 เลาและกลองยาว 1 วง (กลองแปดใบ + ฉิง่ ฉาบ กรับ โหม่ง) ซึง่ ทาง รร.วัดทางกลาง ได้นาํ เครื่องดนตรีเหล่านี้ออกทํากิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน • รร.อนุบาลลืออํานาจ (บ้านเฉือน) จ.อํานาจเจริญ โดยนําวิทยากรทาง ดนตรีในโครงการเพื่อนดนตรีไปแนะแนวอาชีพในกิจกรรมแนะแนวอาชีพ กิจกรรมของมูลนิธิ อ.สุกรี เจริญสุข ผ่าน 7 กิจกรรม ได้แก่ 1. โครงการดนตรีบําบัดในสถานพัฒนาและฟื้นฟูเด็ก จังหวัดชลบุรี 2. โครงการดนตรีเพื่อพัฒนาเยาวชน กรณีศูนย์ฝึกและอบรมเด็ก และเยาวชนหญิงบ้านปรานี 3. โครงการพัฒนาวงดนตรีต้นแบบนําร่องเพื่อเด็กและเยาวชน กรณีวงดนตรีขลุ่ยรีคอร์เดอร์ โรงเรียนวัดสุวรรณาราม 4. โครงการเด็กภูมิดีด้วยดนตรีพื้นบ้าน กรณีโรงเรียนวัดลาดทราย 5. โครงการวิจัยพรสวรรค์ศึกษา 6. โครงการชุมชนดีมีรอยยิ้ม 7. โครงการดนตรีคลาสสิกเพื่อสังคม “พลังฝัน กําลังใจ”
เยาวชน 100 คน/ครู 20 คน
เยาวชนที่เข้าร่วม 170 คน/ครู 15 คน
เยาวชนเข้าร่วม 30 คน/ผู้ได้รับประโยชน์ 500 คน เยาวชนเข้าร่วม 50 คน/ผู้ได้รับประโยชน์ 200 คน เยาวชนเข้าร่วม 80 คน/ผู้ได้รับประโยชน์ 300 คน เยาวชนผู้เข้าร่วม 70 คน/นักเรียนโรงเรียนข้างเคียง 200 คน/ ผู้ได้รับประโยชน์ 500 คน เยาวชนผู้เข้าร่วม 120 คน/ผู้ได้รับประโยชน์ 1,500 คน เยาวชนผู้เข้าร่วม 500 คน/ผู้ได้รับประโยชน์ 5,000 คน เยาวชนผู้เข้าร่วม 250 คน/ผู้ได้รับประโยชน์ 1,500 คน
168 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
สรุปประสิทธิภาพการดําเนินงาน ประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านเศรษฐกิจ 2557 ตัวชี้วัด GRI 201-1
ผลการดําเนินงาน
2559
หน่วย
(ม.ค.-ก.ย. 59)
2560
2561
(ต.ค. 58 -ก.ย. 59)
ความสามารถทางธุรกิจ รายได้รวม (ประจําปี)
GRI 204-1
2558
ล้านบาท
162,790
173,419
139,887
191,205
190,697
232,598
สัดส่วนรายได้ที่เกิดจากประเทศไทย
ร้อยละ
95
96
96
96
97
75
สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศ
ร้อยละ
5
4
4
4
3
25
เงินปันผล (ประจําปี)
ล้านบาท
15,317
15,317
15,066
16,543
16,824
9,793
ต้นทุนการขาย
ล้านบาท
114,710
121,830
97,591
134,371
131,899
162,477
ค่าใช้จ่ายด้านผลประโยชน์พนักงาน
ล้านบาท
11,638
12,653
10,389
13,731
14,318
18,265
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ล้านบาท
4,552
4,508
3,643
4,835
5,132
4,609
การจัดซื้อจัดหา การจัดหาโดยใช้คู่ค้าภายในประเทศ จํานวนคู่ค้าในประเทศ (รวม)
ร้อยละ
98
98
97
97
97
96
มูลค่าการซื้อในประเทศ (รวม)
ร้อยละ
91
92
87
87
97
91
จํานวนคู่ค้าในประเทศ (ธุรกิจเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์)
ร้อยละ
98
97
97
97
95
95
มูลค่าการซื้อในประเทศ (ธุรกิจเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์)
ร้อยละ
87
86
80
80
96
92
จํานวนคู่ค้าในประเทศ (ธุรกิจเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์)
ร้อยละ
99
99
98
98
98
97
มูลค่าการซื้อในประเทศ (ธุรกิจเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์)
ร้อยละ
98
99
98
98
99
91
ประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด GRI 302-1
ผลการดําเนินงาน
หน่วย
2557[1]
2558[1]
2559[2]
2560[3]
2561[3]
การใช้พลังงานภายในองค์กรทั้งหมด
เมกะจูล
6,062,992,998
6,224,230,629
6,652,654,751
6,499,783,690
6,192,775,688
การใช้เชื้อเพลิงภายในองค์กรจาก แหล่งที่ใช้แล้วหมดไป
เมกะจูล
4,063,977,026
4,153,109,374
4,368,963,332
4,168,618,353
4,070,618,040
- นํ้ามันเตา
เมกะจูล
1,769,249,892
1,697,261,693
1,784,765,661
1,817,833,830
1,364,409,734
- ก๊าซธรรมชาติ
เมกะจูล
217,429,005
250,190,621
262,852,131
112,984,871
311,120,573
- ก๊าซอีเทน
เมกะจูล
100,576,544
15,220,029
787,146
0
0
- นํ้ามันรียูส
เมกะจูล
0
0
0
0
64,885,721
- นํ้ามันเบนซิน
เมกะจูล
4,233,575
4,699,564
5,126,389
4,584,687
4,303,097
- นํ้ามันดีเซล
เมกะจูล
1,163,228,284
1,169,709,879
1,149,569,325
1,088,820,492
918,584,581
- ถ่านหินบิทูมินัส
เมกะจูล
741,408,977
934,377,042
1,067,712,824
1,040,995,429
1,300,044,619
- ก๊าซปิโตรเลียมเหลว
เมกะจูล
67,850,750
81,650,547
98,149,857
103,399,044
107,269,714
การใช้พลังงานภายในองค์กร
169 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ตัวชี้วัด
ผลการดําเนินงาน
หน่วย
2557[1]
2558[1]
2559[2]
2560[3]
2561[3]
การใช้เชื้อเพลิงภายในองค์กร จากแหล่งที่เกิดขึ้นทดแทนใหม่ได้
เมกะจูล
1,100,958,369
1,126,326,413
1,235,179,077
1,190,073,807
1,072,622,936
- ก๊าซชีวภาพ
เมกะจูล
433,932,481
485,895,952
587,051,682
583,460,442
565,276,866
- นํ้ากากส่าเข้มข้น
เมกะจูล
640,559,063
554,759,707
579,916,771
558,402,242
451,631,413
- แอลกอฮอล์หัว-หาง
เมกะจูล
26,466,826
85,670,754
68,210,624
48,211,123
55,714,657
ไฟฟ้าและไอนํ้าที่ซื้อจากภายนอก
เมกะจูล
898,057,603
951,857,912
1,074,712,602
1,172,076,339
1,085,069,893
- ไฟฟ้า
เมกะจูล
892,156,206
947,529,974
1,066,652,905
1,094,353,260
991,558,614
- ไอนํ้า
เมกะจูล
5,901,397
4,327,938
8,059,697
77,723,079
93,511,279
ไฟฟ้าทีผ ่ ลิตเองจากแหล่งทีเ่ กิดขึน ้ ทดแทนใหม่ได้
เมกะจูล
0
0
0
456
442,337
- พลังงานแสงอาทิตย์
เมกะจูล
0
0
0
456
442,337
ไฟฟ้าที่ขายสู่ภายนอก
เมกะจูล
0
7,063,070
26,200,260
30,985,265
35,977,518
- ไฟฟ้าพลังงานทดแทนที่ขายได้
เมกะจูล
0
7,063,070
26,200,260
30,985,265
35,977,518
อัตราส่วนการใช้พลังงานต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ เครื่องดื่ม
เมกะจูลต่อเฮกโตลิตร
250.53
233.90
213.39
216.43
204.70
- อัตราส่วนการใช้พลังงานต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ สุรา
เมกะจูลต่อเฮกโตลิตร
529.57
496.51
485.13
453.56
459.67
- อัตราส่วนการใช้พลังงานต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ เบียร์
เมกะจูลต่อเฮกโตลิตร
165.41
155.64
159.77
172.19
180.09
- อัตราส่วนการใช้พลังงานต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ เครื่องดื่มโออิชิ
เมกะจูลต่อเฮกโตลิตร
166.56
142.03
122.04
119.65
111.48
- อัตราส่วนการใช้พลังงานต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ เครื่องดื่มเสริมสุข
เมกะจูลต่อเฮกโตลิตร
53.59
53.72
47.23
50.18
43.16
N/A
N/A
N/A
8.86
37.23
อัตราส่วนการใช้พลังงานต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ อาหาร GRI 303-1
เมกะจูลต่อกิโลกรัม
การใช้ทรัพยากรนํ้าแยกตามประเภทของแหล่งนํ้า ปริมาณการใช้ทรัพยากรนํ้าทั้งหมด
ลูกบาศก์เมตร
19,975,729
20,616,340
23,516,238
24,842,270
19,883,174
- นํ้าผิวดิน
ลูกบาศก์เมตร
14,132,214
14,189,350
15,177,519
18,568,743
14,890,220
- นํ้าบาดาล
ลูกบาศก์เมตร
3,707,780
4,224,647
5,761,146
3,892,405
3,434,864
- นํ้าฝน
ลูกบาศก์เมตร
108,900
102,850
98,645
257,807
237,776
- นํ้าประปา
ลูกบาศก์เมตร
2,026,835
2,099,492
2,478,928
2,123,315
1,320,313
ปริมาณการใช้ทรัพยากรนํ้าสุทธิ
ลูกบาศก์เมตร
19,866,829
20,513,490
23,417,593
24,584,463
19,645,398
อัตราส่วนการใช้นาํ้ ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์เครือ่ งดืม ่
เฮกโตลิตรต่อเฮกโตลิตร
8.21
7.71
7.51
8.20
6.84
- อัตราส่วนการใช้นํ้าต่อหน่วยผลิตภัณฑ์สุรา
เฮกโตลิตรต่อเฮกโตลิตร
15.24
14.60
14.13
15.60
12.03
- อัตราส่วนการใช้นํ้าต่อหน่วยผลิตภัณฑ์เบียร์
เฮกโตลิตรต่อเฮกโตลิตร
6.12
6.19
7.11
7.25
7.06
- อัตราส่วนการใช้นํ้าต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ เครื่องดื่มโออิชิ
เฮกโตลิตรต่อเฮกโตลิตร
7.35
5.85
5.22
6.57
5.28
- อัตราส่วนการใช้นํ้าต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ เครื่องดื่มเสริมสุข
เฮกโตลิตรต่อเฮกโตลิตร
5.75
5.40
4.99
5.10
4.26
เฮกโตลิตรต่อกิโลกรัม
N/A
N/A
N/A
0.28
0.22
อัตราส่วนการใช้นํ้าต่อหน่วยผลิตภัณฑ์อาหาร
170 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ตัวชี้วัด GRI 303-3
ผลการดําเนินงาน
หน่วย
GRI 305-2
2561[3]
2,090,197
2,322,318
2,556,282
2,198,748
2,095,376
- ปริมาณนํ้านํากลับมาใช้ซํ้า
ลูกบาศก์เมตร
781,917
1,000,296
1,169,814
1,103,868
1,001,266
- ปริมาณนํ้านํากลับมาใช้ใหม่
ลูกบาศก์เมตร
1,308,280
1,322,022
1,386,469
1,094,880
1,094,109
10.46
11.26
10.87
8.85
10.54
ร้อยละ
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง (ประเภทที่ 1) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง (ประเภทที่ 1) [4]
ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า
604,159
699,876
654,995
603,059
596,692
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรงขั้นต้น (ประเภทที่ 1)
ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า
453,968
539,439
499,089
451,268
450,657
การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทางชีวภาพ
ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า
150,191
160,437
155,907
151,791
146,035
ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า
138,240
146,931
165,668
179,078
163,317
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (ประเภทที่ 2)
อัตราส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (ประเภทที่ 1 และ 2)
ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า
742,399
846,808
820,663
782,137
760,009
อัตราส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม
กิโลกรัม คาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่าต่อเฮกโตลิตร
30.68
31.82
26.32
26.03
25.84
- อัตราส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์สุรา
กิโลกรัม คาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่าต่อเฮกโตลิตร
61.93
61.13
59.44
55.69
59.10
- อัตราส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์เบียร์
กิโลกรัม คาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่าต่อเฮกโตลิตร
17.20
16.83
17.04
18.20
19.46
- อัตราส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มโออิชิ
กิโลกรัม คาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่าต่อเฮกโตลิตร
16.05
13.77
12.39
12.31
11.99
- อัตราส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มเสริมสุข
กิโลกรัม คาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่าต่อเฮกโตลิตร
4.97
4.89
4.22
5.12
4.39
กิโลกรัม คาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่าต่อกิโลกรัม
N/A
N/A
N/A
1.12
2.56
ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า
N/A
640,054
N/A
634,782
608,332
7,136,430
8,855,786
10,635,237
11,558,767
8,169,012
8.00
8.00
7.80
7.75
7.79
การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
GRI 306-1
2560[3]
ลูกบาศก์เมตร
อัตราส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์อาหาร GRI 305-5
2559[2]
ปริมาณการนํานํ้ากลับมาใช้ซํ้าและกลับมาใช้ใหม่ ขององค์กรทั้งหมด
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (ประเภทที่ 2) GRI 305-4
2558[1]
การนํานํ้ากลับมาใช้ซํ้าและกลับมาใช้ใหม่
ร้อยละของการนํานํ้ากลับมาใช้ซํ้าและ กลับมาใช้ใหม่ GRI 305-1
2557[1]
การระบายนํ้าทิ้งออกจากโรงงาน ปริมาณนํ้าทิ้งที่ระบายออกจากโรงงานทั้งหมด คุณภาพนํ้าทิ้ง
ลูกบาศก์เมตร
[5]
- ความเป็นกรด-ด่าง
-
- ปริมาณบีโอดี (ความต้องการออกซิเจน ทางชีวเคมี)
ตัน
21
64
90
123
66
- ปริมาณซีโอดี (ความต้องการออกซิเจน ทางเคมี)
ตัน
200
337
543
673
389
171 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
ตัวชี้วัด
GRI 306-2
ผลการดําเนินงาน
หน่วย
2557[1]
2558[1]
2559[2]
2560[3]
2561[3]
- ปริมาณของของแข็งที่ละลายในนํ้า
ตัน
6,523
9,268
13,144
12,227
8,404
- ปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมด
ตัน
64
153
261
216
115
ปริมาณของเสียทั้งหมด [6] [7]
ตัน
91,125
53,117
79,468
65,645
13,473
- ของเสียทั่วไป
ตัน
2,502
2,217
2,053
2,936
N/A
- ของเสียอันตราย
ตัน
284
216
194
261
N/A
- ของเสียผลิตภัณฑ์ชนิดที่เป็นผลพลอยได้
ตัน
59,400
35,827
64,789
46,922
N/A
- ของเสียที่มีมูลค่า
ตัน
28,939
14,856
12,432
15,526
N/A
ปริมาณของเสียอันตรายทั้งหมด
ตัน
N/A
N/A
N/A
N/A
318
- นํากลับมาใช้ซํ้า
ตัน
N/A
N/A
N/A
N/A
1
- นํากลับมาใช้ใหม่
ตัน
N/A
N/A
N/A
N/A
173
- ทําเป็นปุ๋ย
ตัน
N/A
N/A
N/A
N/A
0
- ฟื้นฟูเป็นพลังงาน
ตัน
N/A
N/A
N/A
N/A
31
- เผาทิ้ง
ตัน
N/A
N/A
N/A
N/A
11
- ฝังกลบ
ตัน
N/A
N/A
N/A
N/A
102
ปริมาณของเสียไม่อันตรายทั้งหมด
ตัน
N/A
N/A
N/A
N/A
13,155
- นํากลับมาใช้ซํ้า
ตัน
N/A
N/A
N/A
N/A
121
- นํากลับมาใช้ใหม่
ตัน
N/A
N/A
N/A
N/A
10,051
- ทําเป็นปุ๋ย
ตัน
N/A
N/A
N/A
N/A
864
- ฟื้นฟูเป็นพลังงาน
ตัน
N/A
N/A
N/A
N/A
346
- เผาทิ้ง
ตัน
N/A
N/A
N/A
N/A
67
- ฝังกลบ
ตัน
N/A
N/A
N/A
N/A
1,706
ปริมาณของเสียทีก ่ าํ จัดด้วยวิธเี ผาทิง้ และฝังกลบ
ตัน
2,786
2,433
2,248
3,197
1,886
ของเสียซึ่งแบ่งตามประเภทและวิธีการกําจัด
หมายเหตุ: N/A : ไม่มีข้อมูล - ข้อมูลตัวเลขของปี 2557-2560 ได้ปรับปรุงจากรายงานความยั่งยืนปี 2560 เนื่องจากไทยเบฟปรับปรุงค่าความร้อนของเชื้อเพลิง (Heating Value) และค่าสัมประสิทธิ์ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Emission Conversion Factor) ให้เป็นค่าของปัจจุบัน ซึ่งอ้างอิงจากมาตรฐาน วิธีการ สมมติฐาน หรือหลักการคํานวณสากลที่เป็นที่ยอมรับ 1. ในปี 2557-2558 ไทยเบฟรายงานประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมครอบคลุมระยะเวลา 12 เดือน จากเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม 2 ในปี 2559 ไทยเบฟรายงานประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมครอบคลุมระยะเวลา 12 เดือน จากเดือนตุลาคม 2558 ถึงเดือนกันยายน 2559 3. ในปี 2560-2561 ไทยเบฟรายงานประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมครอบคลุมระยะเวลา 12 เดือน จากเดือนตุลาคม 2559 ถึงเดือนกันยายน 2560 โดยมีการ รายงานบริษัทเหล่านี้เพิ่มเติม 3.1 ข้อมูลตัวเลขด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัทในกลุ่มธุรกิจอาหาร ได้แก่ บริษัท โออิชิ เทรดดิ้ง จํากัด (บ้านบึง) 3.2 ข้อมูลตัวเลขด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัทในกลุ่มธุรกิจเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ได้แก่ บริษัท เอส.พี.เอ็ม อาหารและเครื่องดื่ม จํากัด 3.3 ข้อมูลตัวเลขด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัทในกลุ่มธุรกิจต่อเนื่อง ได้แก่ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ เอ็นเนอร์ยี่ จํากัด และบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ โลจิสติก จํากัด 3.4 เพิ่มอัตราส่วนต่างๆ ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ของธุรกิจอาหาร 4. ค่าสัมประสิทธิ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Emission Conversion Factor) ของนํ้ามันเบนซิน นํ้ามันดีเซล และก๊าซปิโตรเลียมเหลว ในปี 2557-2560 ยังไม่ได้ถูกแยกตาม ประเภทการเผาไหม้ (การเผาไหม้แบบอยู่กับที่และการเผาไหม้แบบเคลื่อนที่) จึงใช้ค่าสัมประสิทธิ์ที่สูงกว่า 5. ค่าคุณภาพนํ้าทิ้งใช้ค่าเฉลี่ยในการรายงาน 6. ในปี 2557-2560 การกําจัดของเสียจะแบ่งตามประเภทของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 6.1 ของเสียทั่วไปซึ่งมีผู้รับไปกําจัด ได้แก่ หน่วยงานท้องถิ่น เช่น เทศบาล หรือองค์การบริหารส่วนตําบล 6.2 ของเสียอันตรายซึ่งมีผู้รับไปกําจัด ได้แก่ บริษัทจ้างกําจัดที่มีใบอนุญาตถูกต้องตามกฎหมายกําหนด 6.3 ของเสียผลิตภัณฑ์ชนิดที่เป็นผลพลอยได้ ซึ่งมีบริษัทในเครือรับไปดําเนินการทําให้เกิดรายได้กับบริษัทไทยเบฟ ได้แก่ บริษัท อาหารเสริม จํากัด 6.4 ของเสียมีมูลค่า ซึ่งมีการคัดแยกชนิดที่สามารถนํากลับมาใช้ซํ้า (Reuse) และนํากลับมาใช้ใหม่ (Recycle) 7. ในปี 2561 ไทยเบฟรายงานชนิดและการกําจัดของเสียตามมาตรฐาน GRI 306-2
172 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านสังคม 2557 ตัวชี้วัด GRI 102-8
ผลการดําเนินงาน
2558
2559
2560
2561
หน่วย
ชาย
หญิง
ชาย
หญิง
ชาย
หญิง
ชาย
หญิง
ชาย
หญิง
จํานวนพนักงานทั้งหมด
คน
23,588
14,791
24,057
15,278
24,710
15,992
24,821
16,546
24,538
17,013
จํานวนพนักงานประจําที่สํานักงานใหญ่
คน
1,576
1,615
1,416
1,656
1,512
1,740
1,324
1,555
1,711
2,066
จํานวนพนักงานสํานักงานอื่น
คน
22,012
13,176
22,641
13,622
23,198
14,252
23,497
14,991
22,827
14,947
จํานวนพนักงานระดับบริหาร
คน
997
657
1,124
682
1,329
875
1,307
846
1,477
947
จํานวนพนักงานระดับพนักงาน
คน
22,591
14,134
22,933
14,596
23,381
15,117
23,514
15,700
23,061
16,066
คน
3,492
4,641
4,825
4,902
5,909
6,435
3,101
1,472
3,308
3,056
คน
2,353
3,857
3,010
3,934
4,079
5,517
1,904
1,080
2,075
2,497
67
83
62
80
69
86
61
73
63
82
จํานวนพนักงาน (แยกตามรายสาขา/กลุ่มธุรกิจ) กลุ่มบริษัทไทยเบฟ
GRI 401-1
การจ้างพนักงานใหม่และการหมุนเวียนออกของพนักงาน การจ้างพนักงานใหม่ กลุ่มบริษัทไทยเบฟ จํานวนพนักงานจ้างใหม่ทั้งหมด กลุ่มอายุตํ่ากว่า 30 ปี ช่วงอายุ 30-50 ปี กลุ่มอายุสูงกว่า 50 ปี
ร้อยละ
1,117
758
1,755
926
1,807
876
1,181
379
1,212
538
ร้อยละ
32
16
36
19
31
14
38
26
37
18
คน
22
26
60
42
23
42
16
13
21
21
ร้อยละ
0.6
0.6
1.2
0.9
0.4
0.7
0.5
0.9
0.6
0.7
คน
3,530
2,012
3,257
1,764
3,421
2,148
3,851
1,725
3,394
2,502
คน
1,621
1,128
1,514
1,010
1,540
1,363
1,707
931
1,558
1,696
คน
การหมุนเวียนออกของพนักงาน กลุ่มบริษัทไทยเบฟ จํานวนพนักงานออกทั้งหมด กลุ่มอายุตํ่ากว่า 30 ปี ช่วงอายุ 30-50 ปี กลุ่มอายุสูงกว่า 50 ปี จํานวนพนักงานลาออกโดยสมัครใจ GRI 404-1
ร้อยละ คน
46
56
46
57
45
63
44
54
46
68
1,602
772
1,476
648
1,564
676
1,728
641
1,404
620
45
37
41
25
45
38
45
37
39
39
คน
307
112
267
106
317
109
416
153
413
205
ร้อยละ
8.7
5.6
8.2
6.0
6.5
6.5
10.8
8.9
12.2
8.2
3,027
1,847
2,690
1,644
2,848
2,057
3,084
1,594
2,776
2,302
ร้อยละ
คน
ชั่วโมงการฝึกอบรมพนักงานแยกตามเพศและระดับพนักงาน กลุ่มบริษัทไทยเบฟ ระดับผู้บริหาร (รวม)
จํานวนชั่วโมงอบรม เฉลี่ยต่อคนต่อปี
N/A
ระดับผู้บริหาร ระดับ 13-15 (ระบุจํานวนแยกเพศ ชาย-หญิง)
จํานวนชั่วโมงอบรม เฉลี่ยต่อคนต่อปี
N/A
ผู้บริหารระดับกลาง (รวม)
จํานวนชั่วโมงอบรม เฉลี่ยต่อคนต่อปี
N/A
ผู้บริหารระดับกลาง ระดับ 10-12 (ระบุจํานวนแยกเพศ ชาย-หญิง)
จํานวนชั่วโมงอบรม เฉลี่ยต่อคนต่อปี
N/A
หัวหน้าส่วนงาน (รวม)
จํานวนชั่วโมงอบรม เฉลี่ยต่อคนต่อปี
N/A
หัวหน้าส่วนงาน ระดับ 8-9 (ระบุจํานวนแยกเพศ ชาย-หญิง)
จํานวนชั่วโมงอบรม เฉลี่ยต่อคนต่อปี
N/A
พนักงานอาวุโส (รวม)
จํานวนชั่วโมงอบรม เฉลี่ยต่อคนต่อปี
N/A
พนักงานอาวุโส ระดับ 4-7 (ระบุจํานวนแยกเพศ ชาย-หญิง)
จํานวนชั่วโมงอบรม เฉลี่ยต่อคนต่อปี
N/A
28.59 61.74
9.50
48.90 94.04
23.92
39.97 47.75
32.11
17.01 17.25
16.71
41.21 40.45
43.02
48.14 47.69
48.90
38.24 38.08
38.47
20.83 21.24
20.40
33.55 31.80
38.25
62.01 65.99
55.79
60.87 64.48
56.33
39.15 38.94
39.36
51.41 46.42
63.39
62.71 60.12
66.87
58.12 53.55
63.83
35.72 29.95
41.86
173 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
2557 ตัวชี้วัด
GRI 404-3
ผลการดําเนินงาน
หน่วย
ชาย
2558
หญิง
พนักงาน (รวม)
จํานวนชั่วโมงอบรม เฉลี่ยต่อคนต่อปี
NA
พนักงานระดับ 1-3 (ระบุจํานวนแยกเพศ ชาย-หญิง)
จํานวนชั่วโมงอบรม เฉลี่ยต่อคนต่อปี
NA
ชาย
2559
หญิง
ชาย
8.72 18.28
2560
หญิง
ชาย
10.91
8.68
9.21
2561
หญิง
ชาย
10.19
15.93
10.00
หญิง 5.09
10.69
4.77
5.96
สัดส่วนพนักงานทีไ่ ด้รบ ั การประเมินประสิทธิภาพการทํางานและการพัฒนาอาชีพ แยกตามเพศและระดับพนักงาน กลุ่มบริษัทไทยเบฟ พนักงานทั้งหมด พนักงานระดับ 15 และผู้บริหารระดับสูง พนักงานระดับ 15 และผู้บริหารระดับสูง (ระบุจํานวนแยกเพศ ชาย-หญิง) พนักงานระดับ 8-14 พนักงานระดับ 8-14 (ระบุจํานวนแยกเพศ ชาย-หญิง) พนักงานระดับ 1-7 พนักงานระดับ 1-7 (ระบุจํานวนแยกเพศ ชาย-หญิง)
GRI 413-1
คน
29,723
29,870
30,653
31,325
31,549
ร้อยละ
100
100
100
100
100
คน
55
63
73
60
60
100
ร้อยละ
100
100
100
100
คน
45
10
50
13
59
14
46
14
45
15
ร้อยละ
100
100
100
100
100
100
100
100
100
100
คน
1,452
1,812
1,956
2,047
2,266
ร้อยละ
100
100
100
100
100
คน
854
598
1,076
736
1,159
797
1,205
842
1,330
936
ร้อยละ
100
100
100
100
100
100
100
100
100
100
คน
28,216
27,995
28,624
29,218
29,223
ร้อยละ
100
100
100
100
100
คน ร้อยละ
19,015 9,201 18,832 9,163 19,109 9,515 19,328 9,890 19,095 10,128 100
100
100
100
100
100
100
100
100
100
โครงการพัฒนาชุมชน การประเมินผลกระทบการมีส่วนร่วมกับชุมชนท้องถิ่น สัดส่วนจํานวนสถานประกอบการที่มีการ ดําเนินโครงการพัฒนาชุมชน เปรียบเทียบกับ จํานวนสถานประกอบการทั้งหมด
ร้อยละ
14
81
100
100
100
สัดส่วน จํานวนสถานประกอบการที่มีการ สานสัมพันธ์กับชุมชน เทียบกับจํานวน สถานประกอบการทั้งหมด
ร้อยละ
90
100
100
100
100
สัดส่วน จํานวนสถานประกอบการที่มีการ ประเมินผลกระทบที่มีต่อชุมชน เทียบกับ จํานวนสถานประกอบการทั้งหมด
ร้อยละ
50
81
100
100
100
หมายเหตุ: N/A: ไม่มีข้อมูล 1. ในปี 2557-2558 บริษัทไทยเบฟรายงานประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านสังคมครอบคลุมระยะเวลา 12 เดือน จากเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม 2. เริ่มตั้งแต่ปี 2559 บริษัทไทยเบฟรายงานประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านสังคมครอบคลุมระยะเวลา 12 เดือน จากวันที่ 1 ตุลาคม ถึง 30 กันยายน ของทุกปี 3. การออกของพนักงานทัง้ หมด ประเมินจากจํานวนพนักงานระดับ 1-15 ทีอ่ อกจากบริษท ั ด้วยเหตุผลทีค ่ รอบคลุมการลาออกโดยสมัครใจ การเลิกจ้าง การเกษียณอายุ และเสียชีวต ิ 4. การลาออกของพนักงานโดยสมัครใจ ประเมินจากจํานวนพนักงานระดับ 1-15 ที่จงใจออกจากบริษัทด้วยเหตุผลต่างๆ 5. ปี 2559 ไทยเบฟและโออิชิเปลี่ยนการทํางบประมาณประจําปีเป็นช่วง 1 มกราคม-30 กันยายน 2559 ส่วนบริษัทเสริมสุข จํากัด (มหาชน) ยังคงทํางบประมาณประจําปีช่วง 1 มกราคม-31 ธันวาคม 2559 ดังนั้นในข้อ GRI404-3 ในส่วนที่ครอบคลุมระยะเวลา 9 เดือน จึงไม่ได้รวมข้อมูลของบริษัท เสริมสุข จํากัด (มหาชน) 6. สํานักงานใหญ่ = อาคารซีดับเบิ้ลยู ทาวเวอร์ อาคารทีซีซีสุรวงศ์ อาคารปาร์คเวนเชอร์ อาคารเล้าเป้งง้วน 1 อาคารอรุณอัมรินทร์ อาคารอีสท์วอเตอร์ อาคารแสงโสม พหลโยธิน อาคารแสงโสม วิภาวดี อาคารเมืองไทยภัทร คอมเพล็กซ์ 7. ในปี 2561 ชั่วโมงการฝึกอบรมพนักงานระดับ 1-15 มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 19 ชั่วโมงต่อคนต่อปี; ชั่วโมงการฝึกอบรมพนักงานระดับ 1-15 รวมถึงพนักงานชั่วคราว มีค่าเฉลี่ย อยู่ที่ 15 ชั่วโมงต่อคนต่อปี 8. ข้อมูลโครงการการพัฒนาชุมชน การประเมินผลกระทบการมีส่วนร่วมกับชุมชนท้องถิ่น ระหว่างปี 2557-2561 เป็นการแสดง 1) สัดส่วนพื้นที่หรือจังหวัดที่ได้ดําเนินการ เปรียบเทียบกับพื้นที่จังหวัดทั้งหมด 2) สัดส่วนพื้นที่ที่ได้ดําเนินโครงการพัฒนาชุมชนรอบโรงงาน และ 3) สัดส่วนพื้นที่เป้าหมายการขาย 9. ข้อมูลโครงการพัฒนาชุมชน การประเมินผลกระทบการมีส่วนร่วมกับชุมชนท้องถิ่น ปี 2561 คําว่า สถานประกอบการ หมายถึง สถานประกอบการที่มีการประเมินโครงการ ที่อาจมีผลกระทบต่อชุมชนในกรอบของโรงงาน ที่มีการดําเนินการทั่วประเทศ (29 แห่ง)
174 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ตัวชีว้ ด ั ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน
ปี 2557 - 2561 รายการอ้างอิงตัวชี้วัด
ชื่อ
หน่วย
2557
2558
2559
2560
2561
GRI INDICATORS GRI 403-1
จํานวนคณะกรรมการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย
GRI 403-2
การเสียชีวิต
%
3%
3%
4%
2%
2%
- ผู้ชาย
คน
1
0
0
5
3
- ผู้หญิง
คน
1
0
0
1
2
- ผู้ชาย
คน
0
0
0
0
0
- ผู้หญิง
คน
0
0
0
0
0
1. พนักงาน
2. ผู้รับเหมา
GRI 403-2
อัตราการบาดเจ็บ 1. พนักงาน - ผู้ชาย
ต่อ 200,000 ชั่วโมง
1.30
1.43
1.42
0.82
0.64
- ผู้หญิง
ต่อ 200,000 ชั่วโมง
0.79
0.62
0.53
-
0.31
- ผู้ชาย
ต่อ 200,000 ชั่วโมง
0.75
0.33
0.99
0.28
0.00
- ผู้หญิง
ต่อ 200,000 ชั่วโมง
0.68
0.00
0.36
0.60
0.00
2. ผู้รับเหมา
GRI 403-2
อัตราการเจ็บป่วยจากการทํางาน (Occupational Disease Rate) 1. พนักงาน - ผู้ชาย
ต่อ 200,000 ชั่วโมง
0.01
0.00
0.00
0.02
0.00
- ผู้หญิง
ต่อ 200,000 ชั่วโมง
0.00
0.00
0.00
0.01
0.00
- ผู้ชาย
ต่อ 200,000 ชั่วโมง
0.00
0.00
0.00
0.00
0.00
- ผู้หญิง
ต่อ 200,000 ชั่วโมง
0.00
0.00
0.00
0.00
0.00
2. ผู้รับเหมา
175 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
รายการอ้างอิงตัวชี้วัด GRI 403-2
ชื่อ
หน่วย
2557
2558
2559
2560
2561
อัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บและเจ็บป่วยจากการทํางาน 1. พนักงาน - ผู้ชาย
ต่อ 200,000 ชั่วโมง
8.69
9.69
8.97
6.33
4.70
- ผู้หญิง
ต่อ 200,000 ชั่วโมง
7.44
1.58
4.28
4.24
1.53
- ผู้ชาย
ต่อ 200,000 ชั่วโมง
1.16
0.28
0.90
1.14
0.49
- ผู้หญิง
ต่อ 200,000 ชั่วโมง
3.83
0.00
0.00
1.28
0.81
2. ผู้รับเหมา
GRI 403-2
อัตราการหยุดงานโดยไม่ได้วางแผนล่วงหน้า 1. พนักงาน - ผู้ชาย
%
1.95%
2.60%
2.48%
1.77%
2.11%
- ผู้หญิง
%
2.32%
2.30%
2.22%
1.40%
2.56%
- ผู้ชาย
%
0.26%
0.46%
0.47%
0.43%
0.21%
- ผู้หญิง
%
0.40%
0.48%
0.52%
0.66%
0.49%
2. ผู้รับเหมา
DJSI INDICATORS DJSI 3.6.2
อัตราการหยุดงานจากการบาดเจ็บ เนื่องจากการทํางาน - ผู้รับเหมา
ต่อ 1,000,000 ชั่วโมง
2.31
0.67
1.43
1.22
0.89
DJSI 3.6.3
อัตราการหยุดงานจากการบาดเจ็บ เนื่องจากการทํางาน - พนักงาน
ต่อ 1,000,000 ชั่วโมง
4.06
3.48
3.16
1.90
1.36
DJSI 3.6.4
อัตราความถี่ของการเจ็บป่วยจากการทํางาน - พนักงาน (Occupational Illness Frequency Rate)
ต่อ 1,000,000 ชั่วโมง
0.04
0.00
0.00
0.06
0.00
DJSI 3.6.5
รวมการเสียชีวิต (พนักงานและผู้รับเหมา)
2
0
0
6
5
คน
176 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
การรับรองจากหน่วยงานภายนอก
LRQA Assurance Statement
Relating to Thai Beverage Public Company Limited’s Sustainability Report for the financial year 2018 (1 October 2017 – 30 September 2018) This Assurance Statement has been prepared for Thai Beverage Public Company Limited in accordance with our contract but is intended for the readers of this Report.
Terms of Engagement Lloyd’s Register Quality Assurance Ltd. (LRQA) was commissioned by Thai Beverage Public Company Limited (ThaiBev) to provide independent assurance on its Sustainability Report for the financial year 2018 (“the Report”) against the assurance criteria below to a limited level of assurance and at the materiality of the professional judgement of the verifier using LRQA’s verification approach. LRQA’s verification approach is based on current best practice and uses the principles of AA1000AS (2008) - Inclusivity, Materiality, Responsiveness and Reliability of performance data and processes defined in ISAE3000. Our assurance engagement covered ThaiBev’s operations and activities in Thailand, including its subsidiary companies and specifically the following requirements: Looking at how ThaiBev has applied the GRI Sustainability Reporting Standards, 2016 to prepare this Report; especially whether they have followed the Universal standard for: - Stakeholder Inclusivness and Materiality reporting principles - GRI 102-18 Governance Structure. Evaluating the reliability of data and information for the following topic specific standards: - Economic: GRI 201-1 Direct economic value generated and distributed - Environmental : GRI 302-1 Energy consumption within the organization GRI 305-1 Direct (scope 1) GHG emissions GRI 305-2 Energy indirect (scope 2) GHG emissions GRI 303-1 Total water withdrawal by source GRI 303-3 Water recycled and reused GRI 306-1 Water discharge by quality and destination GRI 306-2 Waste by type and disposal method - Social: GRI 403-2 Types of injury and rates of injury, occupational diseases, lost days, absenteeism and number of work-related fatalities* GRI 404-1 Average hours of training per year per employee* GRI 404-3 Percentage of employees receiving regular performance and career development reviews* GRI 413-1 Operations with local community engagement, impact assessments, and development programs. Note : GRI 403-2, 404-1,3, cover 69 subsidiaries company
Our assurance engagement excluded the data and information of ThaiBev’s operations and activities outside of Thailand. LRQA’s responsibility is only to ThaiBev. LRQA disclaims any liability or responsibility to others as explained in the end footnote. ThaiBev’s responsibility is for collecting, aggregating, analysing and presenting all the data and information within the Report and for maintaining effective internal controls over the systems from which the Report is derived. Ultimately, the Report has been approved by, and remains the responsibility of ThaiBev.
LRQA’s Opinion
Based on LRQA’s approach nothing has come to our attention that would cause us to believe that ThaiBev has not: Met the requirements above Disclosed reliable performance data and information for the selected topic specific standards Covered all the issues that are important to the stakeholders and readers of this Report. The opinion expressed is formed on the basis of a limited level of assurance and at the materiality of the professional judgement of the Verifier. Note: The extent of evidence-gathering for a limited assurance engagement is less than for a reasonable assurance engagement. Limited assurance engagements focus on aggregated data rather than physically checking source data at sites.
LRQA’s Approach
LRQA’s assurance engagements are carried out in accordance with LRQA’s Report Verification procedure. The following tasks though were undertaken as part of the evidence gathering process for this assurance engagement: Reviewing ThaiBev’s approach to stakeholder engagement and determining material issues to confirm that this information had been used to prepare their Report. We did this by comparing reports written by ThaiBev’s peers to establish whether the majority of sector issues were included in this Report.
This document is subject to the provision on page 2.
177 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
Checking whether ThaiBev had followed GRI’s Universal Standard for disclosing their Governance Structure. We did this by confirming that the duty for sustainable development was part of ThaiBev’s senior management’s responsibility. Auditing ThaiBev’s data management systems to confirm that there were no significant errors, omissions or misstatements in the Report. We did this by reviewing the effectiveness of data handling process, and systems. We also spoke with key people in various facilities responsible for compiling the data and information. Undertaking site visits to understand the data management systems, as well as sampling the data to confirm the reliability of the topic specific standards. Sites visited were: - Non-alcoholic beverage plant (Sermsuk, Pathum Thani) - Spirits plant (Sangsom Co., Ltd., Nakornphathom), and - Beer plant (Beer Thai (1991) Public Company Limited., Kamphangphet) Note: LRQA did not verify the data back to its original sources, nor did it assess the accuracy and completeness of the data reported by individual locations.
Observations
Further observations and findings, made during the assurance engagement, are: Inclusivity: We are not aware of any key stakeholder groups that have been excluded from ThaiBev’s stakeholder engagement process. However, future engagements should embrace other stakeholders being affected by ThaiBev’s operations e.g. temporary workers. Materiality: ThaiBev has revalidated its material issues using its existing materiality assessment process. We have confirmed that these issues are then part of Management ’s sustainability strategy and vision 2020. Responsiveness: ThaiBev has Group policies to address stakeholders’ concerns. However, in order to achieve sustainability performance, we believe that both group and site level should further advance their implementation of these policies and strategies. Reliability: ThaiBev’s data management system remains unchanged. However, we would still encourage ThaiBev to adopt a QA/QC system, to internally verify its own data management systems, to improve data reliability and ensure consistent reporting methodologies across all its operations.
LRQA’s competence and independence
LRQA ensures the selection of appropriately qualified individuals based on their qualifications, training and experience. The outcome of all verification and certification assessments is then internally reviewed by senior management to ensure that the approach applied is rigorous and transparent. This verification is the only work undertaken by LRQA for ThaiBev and as such does not compromise our independence or impartiality. Signed
Dated: 26 November 2018
Nit Tanasuthiseri LRQA Lead Verifier On behalf of Lloyd’s Register Quality Assurance Ltd. Lloyd’s Register International (Thailand) Limited 22th Floor, Sirinrat Building, 3388/76 Rama IV Road Klongton, Klongtoey, Bangkok 10110 THAILAND LRQA Reference: BGK00000251
Lloyd's Register Group Limited, its affiliates and subsidiaries, including Lloyd’s Register Quality Assurance Limited (LRQA), and their respective officers, employees or agents are, individually and collectively, referred to in this clause as 'Lloyd's Register'. Lloyd's Register assumes no responsibility and shall not be liable to any person for any loss, damage or expense caused by reliance on the information or advice in this document or howsoever provided, unless that person has signed a contract with the relevant Lloyd's Register entity for the provision of this information or advice and in that case any responsibility or liability is exclusively on the terms and conditions set out in that contract. The English version of this Assurance Statement is the only valid version. Lloyd’s Register Group Limited assumes no responsibility for versions translated into other languages. This Assurance Statement is only valid when published with the Report to which it refers. It may only be reproduced in its entirety. Copyright © Lloyd's Register Quality Assurance Limited, 2018. A member of the Lloyd’s Register Group.
178 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
คําอธิบายศัพท์ คําศัพท์
ความหมาย
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก (Megatrend)
แนวโน้มใหญ่ของโลก ซึ่งจะต้องเป็นการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวที่ต่อเนื่องยาวนานมากกว่า 5 ปีขึ้นไป
ความยั่งยืน (Sustainability)
การบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากรที่มีจํากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม
ประเด็นสําคัญ (Materiality)
ข้อมูลที่ครอบคลุมถึงหัวข้อและตัวชี้วัดที่สะท้อนถึงผลกระทบทั้งโอกาสและความเสี่ยงต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ อย่างมีนัยสําคัญต่อการตัดสินใจและประเมินผล ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง (Direct GHG Emission, Scope 1)
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง คือ การปลดปล่อยจากแหล่งกําเนิดขององค์กรที่มีอํานาจในการจัดการและ/ หรือสามารถควบคุมได้
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (Indirect GHG Emission, Scope 2)
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมจากการใช้พลังงาน ได้แก่ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากการผลิตไฟฟ้า ความร้อน หรือไอนํ้าที่ถูกนําเข้าจากภายนอกเพื่อใช้งานภายในองค์กร
จีเอ็มโอ (GMO: Genetically Modified Organism)
สิ่งมีชีวิตครอบคลุมพืช สัตว์ แบคทีเรีย หรือจุลินทรีย์ ที่ถูกดัดแปลงพันธุกรรม จากกระบวนการทางพันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) โดยการตัดเอายีน (Gene) ของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง มาใส่เข้าไปในยีนของสิ่งมีชีวิต อีกชนิดหนึ่ง ซึ่งตามปกติไม่เคยผสมพันธุ์กันได้ในธรรรมชาติ เพื่อให้สิ่งมีชีวิตชนิดนั้น มีคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ ตามที่ต้องการ
Global Water Tool (GWT)
เครือ่ งมือสําหรับแยกความเสีย ่ งและโอกาสเรือ่ งนํา้ ขององค์กร ซึง่ จัดทําโดยสภาธุรกิจโลกเพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (World Business Council on Sustainable Development)
Water Resources Review (WRR)
เครื่องมือสําหรับทบทวนความเสี่ยงเรื่องทรัพยากรแหล่งนํ้าภายในองค์กร
การประเมินการใช้นํ้าตลอดวัฏจักรผลิตภัณฑ์ (Water Footprint)
การประเมินปริมาณการใช้นํ้าและปริมาณการเกิดมลภาวะนํ้า (หรือนํ้าที่เสื่อมคุณภาพ) โดยตลอดทั้งวัฏจักรชีวิต ของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่ การผลิตวัตถุดิบ การแปรรูปการจัดจําหน่าย การบริโภค และการจัดการของเสีย
3Rs (Reduce, Reuse, and Recycle)
Reduce คือ การลดการใช้ การบริโภคทรัพยากรที่ไม่จําเป็นลง ลดการก่อให้เกิดขยะ Reuse คือ การใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าที่สุด โดยการนําสิ่งของเครื่องใช้มาใช้ซํ้า Recycle คือ การนําสิ่งของที่ใช้ประโยชน์ในรูปแบบเดิมไม่ได้แล้ว หรือเรียกอีกอย่างว่าเป็นขยะ นําไปจัดการ ด้วยกระบวนการต่างๆ แล้วแปรรูปมาเป็นสิ่งใหม่ จากนั้นก็นํามาใช้ใหม่
ระบบเศรษฐกิจแบบหมุนเวียน (Circular Economy)
ระบบการผลิตที่โลกจะไม่มีของเสียอีกต่อไป โดยของเสียของธุรกิจหนึ่งจะเป็นวัตถุดิบต้นทางของอีกธุรกิจเสมอ
นวัตกรรม (Innovation)
การนําสิ่งใหม่ๆ อาจเป็นแนวความคิด หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลง จากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัย และได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม
การผลิตโดยใช้เครื่องจักร (Mechanization)
การปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตจากการผลิตโดยใช้แรงงานคนเป็นหลักแทนที่ด้วยการใช้เครื่องจักร ในกระบวนการผลิต
เทคนิคโคลด์ อินฟิวชัน (Cold Infusion Technique)
เทคนิคที่ช่วยเพิ่มอัตราการสลายตัวของ CO2 ในนํ้าโดยการเพิ่มความดันและลดอุณหภูมิของนํ้าเพื่อทําให้ CO2 ละลายตัวในนํ้าได้มากยิ่งขึ้น และเป็นการเพิ่มความเสถียรของ CO2 ในนํ้า
การทํานาแบบประณีต (System of Rice Intensification) หรือการดํานากล้าต้นเดียว
การผลิตข้าว ที่เน้นให้ความสําคัญกับศักยภาพที่แท้จริงของต้นข้าว ช่วยลดเมล็ดพันธุ์และปริมาณนํ้าได้มากกว่า ครึ่งของการทํานาแบบปกติ แต่ได้ผลผลิตข้าวมากขึ้นหรือเท่าเดิม
ธุรกิจค้าปลีกค้าส่งสมัยใหม่ (Modern Trade)
การค้าขายสินค้าและบริการอย่างสมัยใหม่ สมัยใหม่นั้นแปลว่า การขายสินค้าและบริการที่มีการจัดการอย่างเป็น ระบบ คือ 1.การจัดการด้านรูปแบบของร้านและการตกแต่งร้าน 2.การจัดการเรื่องสินค้าและบริการ 3.การจัดการ เรื่องระบบในการควบคุมสินค้าและบริการ 4.การจัดการเรื่องการบริหารคน เงิน และการตลาด
179 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
คําศัพท์
ความหมาย
โรคไม่ติดต่อ หรือ เอ็นซีดี (NCDs: Non-communicable Diseases)
กลุ่มโรคไม่ติดต่อ ที่ไม่สามารถแพร่กระจายโรคจากคนสู่คนได้ โดยทั่วไปอาจเรียกว่า กลุ่มโรคเรื้อรัง ซึ่งหมายถึงโรค ที่เกิดต่อเนื่องยาวนาน และมีการดําเนินของโรคเป็นไปอย่างช้าๆ ซึ่งแตกต่างจากโรคติดเชื้อส่วนใหญ่ ที่มักมีการ ดําเนินโรคอย่างรวดเร็ว
ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gases – GHGs)
ประกอบด้วย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน (CH4) ไนตรัสออกไซด์ (N2O) กลุ่มไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFCs) กลุ่มเพอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PFCs) และซัลเฟอร์เฮ็กซาฟลูโอไรด์ (SF6) และก๊าซอื่นๆ ที่มีคุณสมบัติเป็น ก๊าซเรือนกระจก
ฉลากคาร์บอนฟุตพรินต์ (Carbon Footprint Label)
ฉลากที่แสดงระดับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก หรือแสดงปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อหน่วยสินค้า หรือบริการ เพื่อเป็นข้อมูลสําหรับผู้บริโภคประกอบการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า ผลการประเมินจะถูกเทียบเป็น ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (CO2e) ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์
นํ้ากากส่า Distillery Slop (Vinasse)
ของเสียผลิตภัณฑ์ชนิดที่เป็นผลพลอยได้ที่มีลักษณะเป็นของเหลวจากกระบวนการกลั่นสุรา
หน่วย วัตต์ (Watt)
หน่วยวัดกําลังไฟฟ้าที่เป็นตัวบอกพลังงานไฟฟ้าของอุปกรณ์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดใช้ในการทํางาน
จูล (Joule)
หน่วยของงานหรือพลังงาน โดย 1 จูล คือ งานที่ได้จากการใช้แรง 1 นิวตันกระทําต่อวัตถุทําให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตาม ทิศทางของแรงเป็นระยะทาง 1 เมตร
เฮกโตลิตร (Hectolitre)
หน่วยวัดความจุตามมาตราเมตริกมีค่าเท่ากับ 100 ลิตร
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (CO2e)
หน่วยแสดงความสามารถในการทําให้โลกร้อนเมื่อเทียบในรูปปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
มาตรฐาน ISO 14001
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล
ISO 14046
แนวทางการจัดทํารอยเท้านํ้าหรือวอเตอร์ฟุตพรินต์
ISO 50001
ระบบการจัดการพลังงานตามมาตรฐานสากล
ISO 22000
ระบบการจัดการความปลอดภัยอาหาร
NSF (National Sanitation Foundation)
มาตรฐานนํ้าดื่มจากมูลนิธิสุขาภิบาลแห่งชาติสหรัฐอเมริกา ซึ่งรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์นํ้าดื่มตามมาตรฐาน U.S. FDA (The United States Food and Drug Administration)
GMP/ HACCP (Good Manufacturing Practice & Hazard Analysis and Critical Control Point)
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร และความปลอดภัยด้านอาหารต่อผู้บริโภค
FSSC 22000 (Food Safety System Certification 22000)
ระบบมาตรฐานการรับรองความปลอดภัยสําหรับการผลิตอาหาร
DJSI (Dow Jones Sustainability Indices)
ดัชนีชี้วัดความยั่งยืนดาวน์โจนส์ เป็นดัชนีหลักทรัพย์ที่ใช้ประเมินประสิทธิผลการดําเนินธุรกิจตามแนวทางการ พัฒนาอย่างยั่งยืนของบริษัทชั้นนําระดับโลก
GRI (Global Reporting Initiatives)
แนวทางสําหรับการรายงานผลการดําเนินงานด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
SASB (Sustainability Accounting Standards Board)
มาตรฐานทางบัญชีความยั่งยืน โดยมีการจําแนกออกเป็น 79 อุตสาหกรรมใน 10 สาขา
180 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
ข้อมูลตามตัวชีว้ ด ั GRI Standards Universal Standards Profile
Page/Link/Comment
External Assurance
GRI 102: GENERAL DISCLOSURES Organizational Profile GRI 102-1
Name of the organization
10
GRI 102-2
Activities, brands, products, and services
13, Please refer to ThaiBev Annual Report
GRI 102-3
Location of headquarters
12-13, Please refer to ThaiBev Annual Report
GRI 102-4
Location of operations
12-13, Please refer to ThaiBev Annual Report
GRI 102-5
Ownership and legal form
12-13, Please refer to ThaiBev Annual Report
GRI 102-6
Markets served
12-13, Please refer to ThaiBev Annual Report
GRI 102-7
Scale of the organization
14
GRI 102-8
Information on employees and other workers
14, 172
GRI 102-9
Supply chain
http://www.sustainability.thaibev.com/en/supply_chain_critical_ supplier.php
GRI 102-10
Significant changes to the organization and its supply chain
10-19
GRI 102-11
Precautionary Principle or approach
36-41
GRI 102-12
External initiatives
93, 114-117
GRI 102-13
Membership of associations
Please refer to Thaibev’s website: http://www.thaibev.com/en08/ aboutus.aspx?sublv1gID=137
GRI 102-14
Statement from senior decision-maker
4-7
GRI 102-15
Key impacts, risks, and opportunities
36-41
Strategy
Ethics and Integrity GRI 102-16
Values, principles, standards, and norms of behavior
3
GRI 102-17
Mechanisms for advice and concerns about ethics
32-35
GRI 102-18
Governance structure
20-31
GRI 102-25
Conflicts of interest
Please refer to Thaibev’s Corporate Governance Report: http://www.thaibev.com/en08/aboutus.aspx?sublv1gID=139
GRI 102-28
Evaluating the highest governance body’s performance
Please refer to Thaibev’s Corporate Governance Report: http://www.thaibev.com/en08/aboutus.aspx?sublv1gID=139
GRI 102-30
Effectiveness of risk management processes
Please refer to Thaibev’s Corporate Governance Report: http://www.thaibev.com/en08/aboutus.aspx?sublv1gID=139
GRI 102-32
Highest governance body’s role in sustainability reporting
22, 28
Governance Yes
181 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
Profile
Page/Link/Comment
External Assurance
Stakeholder Engagement GRI 102-40
List of stakeholder groups
23-25
Yes
GRI 102-41
Collective bargaining agreements
Our employees across Thaibev Group have the freedom and right to join an organization and collective bargaining.
Yes
GRI 102-42
Identifying and selecting stakeholders
23-25
Yes
GRI 102-43
Approach to stakeholder engagement
20-31
Yes
GRI 102-44
Key topics and concerns raised
20-31
Yes
Reporting Practice GRI 102-45
Entities included in the consolidated financial statements
Please refer to Thaibev’s Annual Report
Yes
GRI 102-46
Defining report content and topic Boundaries
20-31
Yes
GRI 102-47
List of material topics
20-31
Yes
GRI 102-48
Restatements of information
10-11, 171-173
Yes
GRI 102-49
Changes in reporting
10-11, 171-173
Yes
GRI 102-50
Reporting period
10-11, 171-173
GRI 102-51
Date of most recent report
10-11, 171-173
GRI 102-52
Reporting cycle
10-11
GRI 102-53
Contact point for questions regarding the report
10-11
GRI 102-54
Claims of reporting in accordance with the GRI Standards
10-11
GRI 102-55
GRI content index
180-183
GRI 102-56
External assurance
176-177
GRI 103: MANAGEMENT APPROACH GRI 103-1
Explanation of the material topic and its boundary
In each section of the Sustainability Report
GRI 103-2
The management approach and its components
In each section of the Sustainability Report
GRI 103-3
Evaluation of the management approach
In each section of the Sustainability Report
Yes
182 รายงานการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน 2561
Topic-specific Standards Profile
Page/Link/Comment
External Assurance
ECONOMIC GRI 201: ECONOMIC PERFORMANCE GRI 201-1
Direct economic value generated and distributed
16-17, 168
GRI 201-2
Financial implications and other risks and opportunities due to climate change
99, 108-113
Yes
GRI 204: PROCUREMENT PRACTICES GRI 204-1
Proportion of spending on local suppliers
58-63
GRI 205: ANTI-CORRUPTION GRI 205-2
Communication and training about anti-corruption policies and procedures
32-35
GRI 205-3
Confirmed incidents of corruption and actions taken
32-35
ENVIRONMENT GRI 302: ENERGY GRI 302-1
Energy consumption within the organization
108-113, 168-171
GRI 302-3
Energy intensity
108-113, 168-171
GRI 302-4
Reduction of energy consumption
108-113
Yes
GRI 303: WATER GRI 303-1
Water withdrawal by source
90-95, 168-171
Yes
GRI 303-3
Water recycled and reused
90-95, 168-171
Yes
GRI 305: EMISSIONS GRI 305-1
Direct (Scope 1) GHG emissions
108-113, 168-171
Yes
GRI 305-2
Energy indirect (Scope 2) GHG emissions
108-113, 168-171
Yes
GRI 305-4
GHG emissions intensity
108-113, 168-171
GRI 305-5
Reduction of GHG emissions
102-113, 168-171
GRI 306: EFFLUENTS AND WASTE GRI 306-1
Water discharge by quality and destination
90-95, 168-171
Yes
GRI 306-2
Waste by type and disposal method
96-101, 168-171
Yes
GRI 308: SUPPLIER ENVIRONMENTAL ASSESSMENT GRI 308-1
New suppliers that were screened using environmental criteria
58-63
SOCIAL GRI 401: EMPLOYMENT GRI 401-1
New employee hires and employee turnover
64-83, 172-173
GRI 403: OCCUPATIONAL HEALTH AND SAFETY GRI 403-1
Workers representation in formal joint management worker health and safety committees
174-175
183 บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
Profile GRI 403-2
Types of injury and rates of injury, occupational diseases, lost days, and absenteeism, and number of work-related fatalities
Page/Link/Comment
External Assurance
64-83,174-175
Yes
Yes
GRI 404: TRAINING AND EDUCATION GRI 404-1
Average hours of training per year per employee
64-83, 172-173
GRI 404-2
Programs for upgrading employee skills and transition assistance programs
64-83
GRI 404-3
Percentage of employees receiving regular performance and career development reviews
64-83, 172-173
Yes
GRI 407: FREEDOM OF ASSOCIATION AND COLLECTIVE BARGAINING GRI 407-1
Operations and suppliers in which the right to freedom of association and collective bargaining may be at risk
58-83
GRI 408: CHILD LABOR GRI 408-1
Operations and suppliers at significant risk for incidents of child labor
58-83
GRI 409: FORCED OR COMPULSORY LABOR GRI 409-1
Operations and suppliers at significant risk for incidents of forced or compulsory labor
32-35,58-83
GRI 412: HUMAN RIGHTS ASSESSMENT GRI 412-1
Operations that have been subject to human rights reviews or impact assessments
58-83, http://www.sustainability.thaibev.com/en/employee_ human_rights.php
GRI 413: LOCAL COMMUNITIES GRI 413-1
Operations with local community engagement, impact assessments, and development programs
114-117
GRI 414: SUPPLIER SOCIAL ASSESSMENT GRI 414-1
New suppliers that were screened using social criteria
58-63
GRI 415: PUBLIC POLICY GRI 415-1
Political Contributions
32-35
GRI 416: CUSTOMER HEALTH AND SAFETY GRI 416-1
Assessment of the health and safety impacts of product and service categories
46-49
GRI 417: MARKETING AND LABELING GRI 417-1
Requirements for product and service information and labeling
46-49
GRI 419: SOCIOECONOMIC COMPLIANCE GRI 419-1
Non-compliance with laws and regulations in the social and economic area
32-35
Yes
แบบตอบกลบ ั รายงานการพฒ ั นาทียังยน ื ของไทยเบฟ 2561 2561
sustainability
เลขที 14 อาคารแสงโสม ถนนวภ ิ าวดรีงัสต ิ แขวงจอมพล เขตจตจุก ั ร กรงุเทพมหานคร 10900
ชม ุ ชน
พนก ั งาน
นก ั ลงทน ุ
เมอื 5 หมายถงึ ดเียย ี ม และ 1 หมายถงึ ควรปรบ ั ปรงุ)
2.1 แนวทางการพฒ ั นาความยงัยน ื ของไทยเบฟ
2.5 อน ื ๆ โปรดระบุ : ................................................................................................................................................................. 2560
และ 1 หมายถงึ ควรปรบ ั ปรงุ)*
3.1 ความสมดล ุ ของเนอืหา 3.2 ความชด ั เจนของเนอืหา
(
Note
Note
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ประเทศไทย
โทร. +66 2 785 5555 แฟ็กซ์. +66 2 272 3026 www.thaibev.com