Driving a s u s ta i n a b l e future FERTILIZER & WAREHOUSE
TRANSPORT
ENERGY
COAL LOGISTICS
รายงานประจำ�ปี 2557
(1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2557)
วิสัยทัศน์ของ TTA
“ภายในปี 2563 TTA จะก้าวขึ้นมา เป็นกลุ่มบริษัท เพื่อการลงทุน ชั้นนำ�ในเอเชีย ที่ได้รับความไว้วางใจ และความน่าเชื่อถือ มากที่สุด ด้วยการส่งมอบ ประสบการณ์ที่ดี ในทุกแง่มุม ให้กับผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่มอย่างต่อเนื่อง และสม่ำ�เสมอ”
สารบัญ
001 002 003 004 008 012 014 027 028 076 084 103 114 117 120 121 122 138 139 266 272 273 274 285 287 288 292
สรุปข้อมูลส�ำคัญในปี 2557 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป สารจากประธานกิตติมศักดิ์ สารจากประธานกรรมการ บทสัมภาษณ์ CEO ประวัติความเป็นมา คณะกรรมการและคณะผู้บริหาร โครงสร้างองค์กร ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและ การพัฒนาอย่างยั่งยืน รายงานว่าด้วยการก�ำกับดูแลกิจการ ปัจจัยความเสี่ยง รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ การควบคุมภายในและการบริหารจัดการ ความเสี่ยง จุดเด่นทางการเงิน โครงสร้างรายได้ ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายการทางการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท รายการระหว่างกัน นโยบายการจ่ายเงินปันผล ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี โครงสร้างการจัดการ การถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการ และผู้บริหาร โครงสร้างการถือหุ้น การลงทุนในบริษัทต่างๆ ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท
สรุปข้อมูลสำ�คัญในปี 2557
รายงานประจ� ำ ปี 2557
001
สรุปข้อมูลสำ�คัญในปี 2557* 22,341
986
4.51%
รายได้เติบโตร้อยละ 14 จาก 19,570 ล้านบาทในปี 2556
พลิกกลับมากำ�ไร จากผลขาดทุนสุทธิ 109 ล้านบาทในปี 2556
ความสามารถในการทำ�กำ�ไร กับเงินลงทุน (ROE) แข็งแกร่ง เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาที่ผล ตอบแทนการลงทุนติดลบ
1,940
0.80
0.25
กระแสเงินสดจากการดำ�เนิน งานแข็งแกร่งปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 21 จาก 1,609 ล้าน บาทในปี 2556
กำ�ไรต่อหุ้นในปีนี้ดีขึ้น เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ที่ติดลบ 0.12
จ่ายเงินปันผลครั้งแรก ในรอบ 3 ปี
ล้านบาท
ล้านบาท
ผลกำ�ไรสุทธิจาก การดำ�เนินงาน
ธุรกิจหลักสามารถทำ�ผลงาน ได้อย่างแข็งแกร่งแม้จะต้อง เผชิญกับภาวะตลาดผันผวน
ล้านบาท
บาท
บาท
ROE
การปันผล
พลิกกลับมามีกำ�ไรเป็นบวก
เงินปันผลต่อหุ้นในปี 2557 อยู่ที่ 0.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 31 ของกำ�ไรสุทธิจากผลการ ดำ�เนินงาน
* เป็นการเปรียบเทียบแบบ 12 เดือน สิ้นสุด ณ ธันวาคม
002
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป
เปรียบเทียบปีปฏิทิน 2557 และ 2556 (สิ้นสุด ณ เดือนธันวาคม)
2556
รายได้ 986
-109 0
กำ�ไรก่อนรายการด้อยค่าของสินทรัพย์ส่วนที่ เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัท (ล้านบาท)** 2557 2556
4.51% -0.57% 0
เงินปันผลประจำ�ปี (บาทต่อหุ้น)** 2557
2556
22,341
19,570
+14
3,575
2,588
+38
1,978
1,027
+93
1,484
516
+188
986
(109)
+1,006 +119
สำ�หรับปี (หน่วยล้านบาท)
กำ�ไรก่อนรายการด้อยค่าของสินทรัพย์ส่วนที่ เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัท (ล้านบาท)** 2557
การเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)
2557
0.25
2556 0
กำ�ไร กำ�ไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมและค่าตัดจำ�หน่าย กำ�ไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี กำ�ไรก่อนภาษี **กำ�ไรก่อนรายการด้อยค่าของสินทรัพย์ส่วนที่เป็น ของผู้ถือหุ้นของบริษัท กำ�ไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัท เงินสดสุทธิจากการดำ�เนินงาน กระแสเงินสดอิสระ
920
(4,751)
1,940
1,609
+21
(5,161)
(296)
-1,645
ต่อหุ้น
กำ�ไร (บาท) กำ�ไรก่อนภาษี กำ�ไรก่อนรายการด้อยค่าของสินทรัพย์ส่วนที่เป็น ของผู้ถือหุ้นของบริษัท กำ�ไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัท สินทรัพย์สุทธิ (บาท) สินทรัพยมีตัวตนสุทธิ (บาท)
1.20
0.55
-118
0.80
(0.12)
+788
0.74
(5.06)
+115
19.81
28.86
+31
18.33
18.55
+1
24,478
19,261
-27
7,997
7,822
-2
32,474
27,083
-20
(6,983)
(5,363)
-30
(0.22)
(0.20)
-9
4.51%
-0.57%
+885
4.21%
-25.09%
+117
ณ สิ้นปี (หน่วยเป็นล้านบาท) ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินสุทธิ หนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ร้อยละ)
**กำ�ไรก่อนรายการด้อยค่าของสินทรัพย์ส่วนที่เป็น ของผู้ถือหุ้นของบริษัท กำ�ไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัท
Shareholders' Value
เงินปันผล (บาทต่อหุ้น) เงินปันผลระหว่างกาล **เงินปันผลประจำ�ปี เงินปันผลรวม ราคาหุ้น (บาท) ผลตอบแทนการลงทุน (ร้อยละ)
-
-
n.m.
0.25
-
n.m.
0.25
-
n.m.
16.90
17.40
+3
-1.44%
4.82%
n.m.
2556
ผลการดำ�เนินงานประจำ�ไตรมาส (ล้านบาท) รายได้ กำ�ไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมและค่าตัดจำ�หน่าย
2557
ม.ค.มี.ค.
เม.ย.มิ.ย.
ก.ค.ก.ย.
ต.ค.ธ.ค.
ม.ค.มี.ค.
เม.ย.มิ.ย.
ก.ค.ก.ย.
ต.ค.ธ.ค.
3,662
4,773
5,838
5,297
4,902
5,328
5,904
6,207
135
524
836
1,093
824
1,032
920
799
กำ�ไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี
(238)
135
397
733
452
645
504
377
กำ�ไรก่อนหักภาษี
(354)
(2)
264
608
331
525
379
249
กำ�ไรก่อนหักรายการด้อยค่าของสินทรัพย์
(219)
(122)
(18)
250
183
255
342
206
กำ�ไรต่อหุ้น (บาท)*
(0.28)
(0.15)
(0.02)
0.25
0.17
0.23
0.26
0.16
n.m. : ไม่มีนัยสำ�คัญ *ก่อนหักรายการด้อยค่าและถัวเฉลี่ยต่อหุ้นในแต่ละไตรมาส
สารจากประธานกิตติมศักดิ์
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ปร ะยุ ทธ มห า กิ จศิ ริ
ประธ านกิ ต ติ ม ศั ก ดิ์
“
“
มองหาโอกาส เพื่อการเติบโต ในระยะยาว ส�ำหรับ TTA
003
004
สารจากประธานกรรมการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
สารจากประธาน กรรมการ เรียน ท่านผู้ถือหุ้นทุกท่าน
ร
ายงานประจ�ำปีฉบับนี้ นับเป็นฉบับพิเศษที่บริษัทฯ จัดท�ำ ขึ้นตามรอบบัญชีใหม่ที่สอดคล้องกับปีปฏิทิน คือ ระหว่าง 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคมของทุกปี ซึง่ เป็นไปตามมติของ ผู้ถือหุ้นที่อนุมัติให้มีการเปลี่ยนรอบบัญชีของบริษัทฯ หลังจาก ผ่านภาวะการฟื้นตัวของธุรกิจและจะก้าวไปสู่การเติบโตอย่าง ยั่งยืนของธุรกิจในอนาคต
ดังนั้น ข้อมูลส่วนที่ปรากฎอยู่ในรายงานประจ�ำปีฉบับนี้ คือ ผลการด�ำเนินงานในช่วงเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2557 ซึง่ ในช่วง ไตรมาสนี้ ธุรกิจหลักของ TTA โดยเฉพาะอย่างยิง่ ธุรกิจเรือขนส่ง สิ น ค้ า แห้ ง เทกองและธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก ารนอกชายฝั ่ ง ส� ำ หรั บ อุ ต สาหกรรมน�้ ำ มั น และก๊ า ซธรรมชาติ ต ้ อ งเผชิ ญ กั บ ความ ผันผวนและความไม่แน่นอนจากหลายปัจจัย จึงเป็นผลให้ผล ประกอบการของปี 2557 เป็นผลของการด�ำเนินงานทีผ่ สมผสาน ระหว่างช่วงที่ธุรกิจมีก�ำไรเพิ่มขึ้นและช่วงที่มีก�ำไรลดลง ซึ่งโดย ภาพรวม TTA ยังสามารถสร้างผลงานได้เป็นที่น่าพอใจ แม้ว่าจะ ต้องประสบกับภาวะอุตสาหกรรมชะลอตัวในบางช่วงก็ตาม ส�ำหรับรอบบัญชีงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 TTA มีรายได้รวมทั้งสิ้น 6,200 ล้านบาท มีก�ำไรสุทธิ 155 ล้านบาท และผลก�ำไรต่อหุ้นที่ 0.12 บาท โทรีเซน ชิปปิ้ง และเมอร์เมด มีผลงานที่ยอมรับได้ โดยในช่วง ไตรมาสสุดท้าย โทรีเซน ชิปปิ้ง มีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 54 และ ในขณะที่ เมอร์เมด เพิ่มขึ้นร้อยละ 22 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา แต่ก�ำไรสุทธิของทั้งสองบริษัทได้รับผลกระทบจากสภาวะความ ผันผวนของตลาดพอสมควร โดยโทรีเซน ชิปปิ้ง มีก�ำไรสุทธิ ลดลงร้อยละ 84 เนื่องมาจากอัตราค่าจ้างรายวันปรับตัวลดลง และส่วนก�ำไรสุทธิของเมอร์เมด ลดลงร้อยละ 66 ซึง่ ส่วนหนึง่ เป็น ผลมาจากการลดลงของราคาน�ำ้ มัน ท�ำให้กจิ กรรมการส�ำรวจของ ลูกค้าได้รับผลกระทบตามไปด้วย ประกอบกับมีเรือล�ำหนึ่ง ครบก�ำหนดการตรวจสภาพเรือและซ่อมบ�ำรุงตามรอบระยะเวลา ทุกๆ 5 ปี
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ส่วน บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“PMTA”) (บริษัทแม่ของบริษัทบาคองโค จ�ำกัด (“บาคองโค”)) มีรายได้ 589 ล้านบาทในไตรมาสนี้ ซึง่ ลดลงร้อยละ15 เมือ่ เทียบ กั บ ปี ที่ ผ ่ า นมาอั น เป็ น ผลมาจากการที่ ลู ก ค้ า ชะลอการสั่ ง ซื้ อ ปุ๋ย เนื่องจากเกิดเหตุน�้ำท่วมในบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น�้ำโขง และการที่รัฐบาลเวียดนามประกาศนโยบายลดภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ในส่วนของผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับปุ๋ย เป็นเรือ่ งน่ายินดี ที่ บริษทั ยูนคิ ไมนิง่ เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด (มหาชน) (“UMS”) สามารถลดการขาดทุนลงเหลือ 20 ล้านบาท ใน ไตรมาสสุดท้ายของปี 2557 เมื่อเปรียบเทียบกับการขาดทุน ถึง 35 ล้านบาทในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน ผลการด�ำเนินงานดังกล่าวข้างต้น ถือว่าอยูใ่ นระดับทีน่ า่ พึงพอใจ ในช่วงทีธ่ รุ กิจหลักต้องเผชิญกับภาวะตกต�ำ่ ของอุตสาหกรรม โดย เฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกอง และ อุตสาหกรรมน�ำ้ มันและก๊าซธรรมชาติ ซึง่ ต้องเผชิญความผันผวน อย่างรุนแรงในช่วงครึ่งหลังของปี 2557 และมีทีท่าว่าจะเกิดต่อ เนื่องไปจนถึงปี 2558 ซึ่งมีโอกาสที่จะส่งผลกระทบต่อผลการ ด�ำเนินงานของ TTA ในปี 2558 เนื่องจากรายได้หลักของ TTA มาจากสองภาคธุรกิจนี้
อัตราค่าจ้างรายวันในธุรกิจเรือขนส่งได้ รับผลกระทบจากการชะลอตัวของอุปสงค์ จากจีน ในธุรกิจเรือขนส่ง ดัชนีบอลติค BDI ได้ปรับตัวลดลงมาอยู่จุด ต�ำ่ สุดอีกครัง้ ในช่วงต้นปี 2558 ส่งผลให้รายได้ของเรือขนส่งสินค้า ทุกประเภทตกลงมาอยู่ที่ระดับ 5,000-6,000 ดอลลาร์สหรัฐ อเมริกาต่อวัน และมูลค่าของสินทรัพย์ (เรือ) ลดต�่ำลงมาอยู่ใน ระดับเดียวกับปี 2555 สัญญาณเบือ้ งต้นชีว้ า่ มีสาเหตุหลักมาจาก สภาวะอ่อนตัวของอุปสงค์ในตลาดจีน ดังเห็นได้จากจากปริมาณ การน�ำเข้าแร่เหล็กและถ่านหินของจีนลดลงอย่างมากในเดือน มกราคม 2558
สารจากประธานกรรมการ
005
จากจุดต�่ำสุดได้ในไม่กี่เดือนข้างหน้า แต่เราคาดว่ารายได้จาก อัตราค่าระวางเรือโดยเฉลี่ยของปี 2558 ก็น่าจะอยู่ในระดับที่ต�่ำ กว่าปี 2557 เราเชื่อว่าในปี 2558 น่าจะเป็นช่วงตกต�่ำที่สุดของตลาด โดย สถานการณ์ตา่ งๆ จะเริม่ คลีค่ ลายไปในทางทีด่ ขี นึ้ ในปี 2559 และ ผลการด�ำเนินงานจะกลับมาแข็งแกร่งขึ้นอีกครั้งในช่วงปี 2560 ถึงปี 2562 เนื่องจากกองเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองจะเติบโตช้า ลง ทั้ ง นี้ ในปี 2557 กองเรื อ ขนส่ ง สิ น ค้ า แห้ ง เทกองมีการ ขยายตัวร้อยละ 5 ซึ่งเป็นการขยายตัวในระดับที่ต�่ำที่สุดในรอบ 10 ปี เราจึงคาดการณ์วา่ การเติบโตของกองเรือจะชะลอลงในช่วง ปี 2559 ถึงปี 2561 ซึง่ จะช่วยท�ำให้สภาวะตลาดโดยรวมฟืน้ ตัวได้
ราคาน�้ำมันสร้างแรงกดดันสกัดการใช้จ่าย เงินทุนในโครงการต่างๆ ราคาน�้ ำ มั น ที่ ป รั บ ตั ว ลดลงกลายเป็ น ความท้ า ทายใหม่ ข อง อุตสาหกรรมน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเราคาดว่าบริษัทต่างๆ ในธุรกิจนี้หลายบริษัทจะกลับมาทบทวนการลงทุนในโครงการ ต่างๆ และมีโอกาสที่จะชะลอการใช้จ่ายเงินทุนในโครงการ เหล่านั้น บริษัทน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติ บางแห่งเริ่มมีการตัด ค่าใช้จ่ายในการส�ำรวจและพัฒนาโครงการต่างๆ และมีแนวโน้ม ที่บริษัทต่างๆ จะรับมือกับภาวะราคาน�้ำมันตกต�่ำด้วยวิธีการตัด ค่าใช้จ่ายต่อไป เรามั่นใจว่าเมอร์เมดจะสามารถผ่านพ้นวิกฤตราคาน�้ำมันตกต�่ำ ในครั้งนี้ไปได้ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าเมอร์เมดจะไม่ได้รับ ผลกระทบใดๆ การที่เมอร์เมดยังยืนหยัดสู้กับสถานการณ์ได้ เนื่องจากธุรกิจของเมอร์เมดเป็นการปฏิบัติงานกับแหล่งผลิต น�้ำมันที่อยู่ในเขตทะเลน�้ำตื้น แต่ในท้ายที่สุดแล้ว เมอร์เมดเอง ก็ตอ้ งเข้าไปมีสว่ นร่วมและให้การสนับสนุนกับลูกค้าในการรับมือ กับสถานการณ์ราคาน�้ำมันที่เกิดขึ้นด้วย
เรายังคงมีมุมมองที่เป็นบวกแต่ยังคงระมัดระวังในการด�ำเนิน ธุรกิจ เพราะเราเชือ่ ว่าเมอร์เมดสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพในการ การที่อุปสงค์ทางการค้าเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 4 ในช่วงครึ่งหลัง ท�ำธุรกิจและบริหารต้นทุนด�ำเนินการให้ดขี นึ้ ไปจากเดิมได้อกี ใน ของปี 2557 และการชะลอตัวลงอย่างชัดเจนของการค้าขาย ขณะเดียวกันก็ยังคงรักษามาตรฐานการให้บริการที่มีคุณภาพสูง แร่เหล็กและถ่านหินในช่วงครึ่งปีหลัง จึงคาดว่าสถานการณ์นี้จะ ไว้ด้วย ด้วยงบดุลที่แข็งแกร่งของเมอร์เมด ซึ่งนอกจากจะท�ำให้ ยังคงยืดเยื้อต่อไปอีกระยะหนึ่ง เนื่องจากมีการคาดการณ์ว่าจีน บริษัทมีขีดความสามารถในแข่งขันสูงกว่าแล้ว เรายังมีโอกาสที่ จะลงทุนขยายขนาดกองเรือเพิ่มขึ้นด้วย เนื่องจากอาจจะมี จะยังคงด�ำเนินมาตรการลดการน�ำเข้าเหล็กและถ่านหินต่อไป อย่างไรก็ตาม แม้ว่าอัตราค่าระวางเรือมีแนวโน้มปรับตัวขึ้น สินทรัพย์ที่ถูกน�ำออกมาเสนอขายในราคาที่ต�่ำ ซึ่งเป็นโอกาสที่ดี ของเมอร์เมดในช่วงนี้
006
สารจากประธานกรรมการ
มุ่งตรงสู่เป้าหมายที่วางไว้ ถึงแม้ว่าธุรกิจเรือขนส่งและธุรกิจให้บริการนอกชายฝั่งส�ำหรับ อุตสาหกรรมน�ำ้ มันและก๊าซธรรมชาติของเราก�ำลังเผชิญกับภาวะ ความผันผวนของตลาด แต่เราก็มนั่ ใจว่า มาตรการต่างๆ ทีเ่ ราน�ำ มาใช้ในการพยายามรักษาระดับมาร์จิ้น (Margins) ไม่ว่าจะ เป็นการควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ และการ ดูแลให้บริการลูกค้าเป็นอย่างดี จะช่วยให้เราเผชิญหน้ากับวิกฤต ได้
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
การด�ำเนินธุรกิจอย่างมีกลยุทธ์และด้วย ความรอบคอบ จะช่วยให้เราผ่านพ้นวิกฤต ได้
คณะผูบ้ ริหารของบริษทั ในเครือทุกแห่งของเราได้ให้ความส�ำคัญ กับการควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่ายและการเพิ่มประสิทธิภาพใน การปฎิบัติงาน ซึ่งมีตัวอย่างผลงานเป็นที่ประจักษ์ชัดแล้ว คือ การที่โทรีเซน ชิปปิ้ง ด�ำเนินมาตรการควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่าย รายวันติดต่อกันจนท�ำให้มีต้นทุนรายวันต�่ำกว่าบริษัทอื่นๆ ใน จากการที่ TTA มีผลการด�ำเนินงานในปีนที้ แี่ ข็งแกร่งประกอบกับ อุตสาหกรรมเดียวกันมาโดยตลอด ซึ่งการปฏิบัติงานอย่างมี การเพิ่มทุนได้เป็นผลส�ำเร็จ ท�ำให้เรามีความพร้อมอย่างมาก กลยุทธ์ด้วยความสุขุมรอบคอบและรอบด้านนี้ เคยช่วยให้เรา ทั้งการลงทุนในธุรกิจเดิม เพื่อสร้างความเติบโตอย่างรวดเร็วให้ ผ่านพ้นวิกฤตในอดีตมาแล้ว และจะช่วยให้เราผ่านสถานการณ์ กับธุรกิจหลัก และการลงทุนในธุรกิจใหม่ๆ เพื่อกระจายความ ในวันนี้ไปได้เช่นเดียวกัน เสี่ยงให้กับพอร์ตการลงทุนของเรา นอกจากนี้ ความพยายามในการขยายฐานลูกค้า ทั้งการขยาย ขอบเขตพื้นที่การให้บริการไปในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก และการ เพิ่มการลงทุนเพื่อการเติบโตในอนาคต พัฒนาธุรกิจใหม่ๆ เพิ่มขึ้นก็มีส่วนส�ำคัญในการลดความเสี่ยงใน แม้ว่าเราจะต้องประสบกับภาวะอุตสาหกรรมตกต�่ำ แต่เรายังคง ช่วงเปลี่ยนรอบวัฏจักรของอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน เดินหน้าไปตามแผนการที่วางไว้เพื่อให้เราประสบความส�ำเร็จ ธุรกิจน�ำ้ มันและก๊าซธรรมชาติ และธุรกิจเรือขนส่ง และล่าสุด การ ตามเป้าหมาย โดยเรายังมุ่งมั่นที่จะสร้างความแข็งแกร่งให้กับ ที่เราเข้าไปซื้อหุ้นในบริษัท ไซโน แกรนด์เนส ฟู้ด อินดัสตรี กรุ๊ป พอร์ตการลงทุนเดิมทีม่ อี ยูด่ ว้ ยการมองหาลูท่ างในการสร้างธุรกิจ จ�ำกัด (“ไซโน แกรนด์เนส”) ซึ่งเป็นผู้ผลิตเครื่องดื่มน�้ำผลไม้ ให้เติบโตตามความเหมาะสมของแต่ละธุรกิจ ทั้งในลักษณะของ ชั้นน�ำในจีน ก็ถือเป็นหนึ่งตัวอย่างของความพยายามในการที่ การขยายพื้นที่การให้บริการ หรือการเพิ่มรูปแบบการให้บริการ จะลดการพึง่ พารายได้จากธุรกิจหลัก และถือเป็นก้าวแรกสูธ่ รุ กิจ อาหารและเครื่องดื่มของ TTA โดยเราคาดว่าธุรกิจนี้มีโอกาส ในปี 2557 เราได้ซื้อเรือจ�ำนวนหลายล�ำเพื่อขยายกองเรือของ เติบโตสูงมากทัง้ ในประเทศจีนและภูมภิ าคเอเชีย ทัง้ นี้ การลงทุน โทรีเซน ชิปปิ้ง และเมอร์เมด รวมถึงได้ขยายอาณาเขตการ ในธุ ร กิ จ อาหารและเครื่ อ งดื่ ม นั บ ว่ า มี ค วามเชื่ อ มโยงกั บ ให้ บ ริ ก ารของโทรี เ ซน ชิ ป ปิ ้ ง โดยการจั ด ตั้ ง ส� ำ นั ก งานขาย ประสบการณ์และขอบเขตพื้นที่การลงทุนของ TTA เพราะ แห่งใหม่ในแถบภูมิภาคแอฟริกาใต้ ยุโรป และตะวันออกกลาง คณะกรรมการและคณะผูบ้ ริหารของเราต่างก็มปี ระสบการณ์ดา้ น นอกจากนี้ เรายั ง ได้ เ พิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ให้ ธุรกิจกาแฟและธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มมายาวนาน ยิ่งไป กว่านั้น TTA ยังมีเครือข่ายธุรกิจในตลาดต่างประเทศหลายแห่ง กับธุรกิจปุ๋ย และคลังสินค้าของบาคองโคอีกด้วย ซึง่ ไซโน แกรนด์เนส ยังไม่ได้เข้าไปเปิดตลาด และเรายินดีที่ ส่วนโครงการเสนอขายหุ้นสามัญของ PMTA ก็มีความคืบหน้า จะช่วยสนับสนุน ไซโน แกรนด์เนส ในการขยายสู่ตลาดเหล่านี้ ไปมาก โดยเมื่อโครงการนี้ส�ำเร็จ จะช่วยให้เรามีแหล่งเงินทุนที่ เมื่อบริษัท มีความพร้อม แข็งแกร่งที่ช่วยสนับสนุนการเติบโตของบาคองโคและเป็นการ ดังนั้น เราจะใช้ประโยชน์จากสถานะการเงินที่เข้มแข็งของเรา สะท้อนมูลค่าที่แท้จริงของบริษัทอีกด้วย และใช้ประสบการณ์อันเชี่ยวชาญของผู้บริหารในการมองหา นอกเหนือจากโอกาสในการสร้างความเติบโตให้กบั ธุรกิจเดิมของ โอกาสในการขยายกิจการต่อไป เราแล้ว ในช่วงเวลาทีอ่ ตุ สาหกรรมตกต�ำ่ ยังเป็นการเปิดโอกาสให้ เราได้ซื้อสินทรัพย์ใหม่ในตลาดอีกด้วย เงินที่ได้มาจากการขาย หุ้นเพิ่มทุนประกอบกับงบดุลที่แข็งแกร่งของเรา ท�ำให้เรามี สถานะทางการเงินทีไ่ ด้เปรียบในการลงทุนในธุรกิจใหม่ๆ ได้อย่าง ทันท่วงทีเมื่อจังหวะเวลานั้นมาถึง เรายังมีความสนใจในการซื้อ สินทรัพย์ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อกระจายความเสี่ยงและเพิ่ม ความแข็งแกร่งให้กับพอร์ตการลงทุนของเรา
สารจากประธานกรรมการ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
007
เราจะก้าวขึ้นไปเป็นหนึ่งใน SET 50
ค�ำขอบคุณจากใจ
ด้วยกลยุทธ์การลงทุนทีม่ เี อกลักษณ์เฉพาะตัว ประกอบกับความ มุ่งมั่นอย่างแน่วแน่ในการสร้างผลการด�ำเนินงานที่ยอดเยี่ยมให้ กับธุรกิจหลักในพอร์ตการลงทุนทีม่ อี ยู่ จึงท�ำให้เราสามารถสร้าง ผลงานที่ดีเสมอมา และจะท�ำให้เราขับเคลื่อนธุรกิจให้เติบโตไป ถึงจุดหมายที่วางไว้
ผมขอใช้โอกาสนีใ้ นการแสดงความขอบคุณมายังผูถ้ อื หุน้ ทุกท่าน ส�ำหรับการสนับสนุน และความเชื่อมั่นที่มีให้กับบริษัทฯ และ ขอชื่นชมคณะผู้บริหารในการเป็นผู้น�ำที่แข็งแกร่ง และมีความ พยายามอย่ า งไม่ ล ดละในการสร้ า งผลงานที่ ดี ใ ห้ กั บบริษัท ฯ และสุดท้ายนี้ ผมขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้นเป็นอย่างสูงที่ให้การ สนับสนุนการเพิม่ ทุนครัง้ ล่าสุดของเรา ท�ำให้เรามียอดจองซือ้ หุน้ เพิม่ ทุนเต็มจ�ำนวน สามารถระดมเงินทุนได้เกือบ 7,287 ล้านบาท
ในฐานะที่ TTA เป็นกลุ่มบริษัทเพื่อการลงทุนระหว่างประเทศ อย่างแท้จริง ด้วยมีพอร์ตการลงทุนกว่าร้อยละ 90 ในตลาด ต่างประเทศ และในอุตสาหกรรมที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ เรา จึงตัง้ เป้าหมายทีจ่ ะลงทุนในธุรกิจระหว่างประเทศทีม่ กี ารเติบโต สูงเป็นหลัก ซึ่งเครือข่ายธุรกิจที่เรามีอยู่ในปัจจุบัน ได้ช่วยท�ำ ให้เรามองเห็นโอกาสการลงทุนใหม่ๆ ที่น่าสนใจในต่างประเทศ ด้วยจุดยืนและแนวทางดังกล่าว เราเชื่อว่า จะท�ำให้ TTA ก้าว ขึ้นมาเป็นกลุ่มการลงทุนชั้นน�ำในเอเชียภายในปี 2563 และเป็น หนึ่งในบริษัทจดทะเบียนที่อยู่ใน SET 50 ได้ ตามวิสัยทัศน์ที่เรา วางไว้
อนาคตที่ยั่งยืน ปี 2557 นับเป็นปีทมี่ คี วามก้าวหน้าเกิดขึน้ อย่างมากส�ำหรับ TTA และจะด�ำเนินต่อไปเช่นนี้ในปี 2558 ถึงแม้ว่าเราจะพัฒนาใน หลายๆ ด้านแล้ว แต่ก็ยังมีสิ่งที่เราต้องปรับปรุงเพิ่มให้ดียิ่งขึ้นไป อีก ซึ่งเป็นภารกิจที่ท้าทายเราอย่างมากในขณะที่เราต้องเผชิญ กับภาวะอุตสาหกรรมตกต�ำ่ ในระยะเวลาสองสามปีข้างหน้า จะเป็นช่วงเวลาที่น่าตื่นเต้น และสะท้อนภาพความเป็น TTA ที่แท้จริง โดยเราจะลงทุน ทั้ง เวลา ทรัพยากร และเม็ดเงิน เพือ่ ขยับต�ำแหน่งทางการตลาดของ เราให้ดขี นึ้ และท�ำผลงานให้ได้ดกี ว่าเพือ่ นร่วมอุตสาหกรรม ด้วย รากฐานที่แข็งแกร่งของเรา และสิ่งที่เราลงทุนไว้กับธุรกิจต่างๆ ก�ำลังจะผลิดอกออกผล เรามีพนักงานที่ยอดเยี่ยม มีลูกค้าที่เป็น พันธมิตรที่ดีและยังคงมีความต้องการใช้บริการของเราอีกมาก คณะผู้บริหารและพนักงานของเราทุกคนยึดมั่นในเป้าหมาย เดียวกัน คือ การมีผลการด�ำเนินงานที่มีก�ำไรและยั่งยืน เพื่อ ส่งมอบผลประโยชน์สูงสุดตอบแทนให้กับผู้ถือหุ้นของเรา
ขอแสดงความนับถือ
นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ประธานกรรมการ
008
บทสัมภาษณ์ CEO
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
บทสัมภาษณ์ CEO 1. กลุ่มบริษัท TTA ได้รับผลกระทบจาก ความผันผวนของตลาดทั่วโลกอย่างไรบ้าง ตลาดธุรกิจเรือขนส่งกลับมาผันผวนอย่างมากในช่วงไตรมาส สุดท้ายของปี 2557 โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในขณะนีร้ ะดับของความ ผันผวนของดัชนี BDI นั้นใกล้เคียงกับระดับที่เคยเกิดขึ้นเมื่อ ปี 2554 ส่วนตลาดน�้ำมันก็ผันผวนไม่ต่างกัน โดยราคาน�้ำมันดิบ ปรับลดลงมากกว่าร้อยละ 40 ในช่วงเวลาเพียง 3 เดือนสุดท้าย ก่อนสิ้นปี ขณะนี้สถานการณ์ต่างๆ ก็ยังไม่กลับสู่ภาวะปกติ การเปลี่ยนแปลงของตลาดเช่นนี้มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและ ธุรกิจของโลกเป็นอย่างมาก ซึ่งแนวโน้มของทั้งสองตลาดยังคง มีความไม่แน่นอน ในเชิงธุรกิจ เราเองก็ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ดังกล่าวแล้ว เช่นเดียวกัน จะเห็นได้ว่า เรามีก�ำไรสุทธิลดลงมาอยู่ที่ 155 ล้าน บาท ในช่วงสามเดือนสิ้นสุดเดือนธันวาคมปี 2557 ซึ่งเป็นช่วงที่ เราเปลีย่ นรอบบัญชีเป็นปีปฎิทนิ ผลประกอบการของหน่วยธุรกิจ หลัก ไม่ว่าจะเป็น บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) (“เมอร์เมด”) (ผูใ้ ห้บริการวิศวกรรมใต้ทะเลและเรือขุดเจาะ) และ โทรีเซน ชิปปิ้ง ก็มีก�ำไรลดลงเช่นกัน อย่างไรก็ตาม ผมกลับมอง ว่า ผลงานที่เราท�ำได้ นับเป็นที่น่าพอใจ ในภาวะตลาดที่ตกต�่ำ อย่างรวดเร็วเช่นนี้ สิ่งที่เกิดขึ้นในปีนี้ อาจจะเป็นเพียงแค่จุด เริ่มต้นของการเข้าสู่ช่วงภาวะอุตสาหกรรมที่ซบเซา แต่เราจะยัง คงทุม่ เทท�ำงานอย่างเต็มความสามารถเพือ่ ให้ผา่ นพ้นสถานการณ์ ที่ท้าทายเช่นนี้ไปให้ได้ โดยเรามีความมั่นใจในพื้นฐานระยะยาว ของทุกธุรกิจที่เราเข้าไปลงทุน
รายงานประจ� ำ ปี 2557
บทสัมภาษณ์ CEO
009
รกิจใหม่ในเวลานี้ เราเชื่อมั่นในพื้นฐานธุรกิจและแนวโน้ม 2. เพื่อให้กลุ่มบริษัท TTA สามารถผ่าน ทางธุ การเติบโตในพอร์ตธุรกิจของเรา พ้นสถานการณ์ที่ไม่แน่นอนเช่นนี้ไปได้ คุณ วางแผนรับมือไว้อย่างไรบ้าง และจัดล�ำดับ 4. คุณมองว่า ผลก�ำไรและการเติบโตของ ความส�ำคัญของแต่ละแผนงานอย่างไร โทรีเซน ชิปปิ้งเป็นอย่างไรบ้างในปีนี้ สิ่งที่ผมให้ความส�ำคัญเป็นล�ำดับแรกตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมาก็คือ การปรับปรุงประสิทธิภาพการด�ำเนินงานและการบริหารจัดการ ต้นทุนให้อยู่ในระดับที่แข่งขันในธุรกิจได้ บริษัทฯ ได้ควบคุม ต้นทุนค่าใช้จ่ายของธุรกิจต่างๆ ให้มากขึ้น เพราะการสร้าง รายได้ในช่วงที่ตลาดมีแรงกดดันจากปัจจัยที่ไม่แน่นอนต่างๆ ท�ำได้ค่อนข้างยาก นอกจากนี้ เรายังกลับมาทบทวนกลยุทธ์และ แผนธุรกิจใหม่อีกครั้ง ซึ่งผมได้ให้แนวทางกับทีมงานไปอย่าง ชัดเจนว่า การพิจารณาตัดสินใจใดๆ เกีย่ วกับธุรกิจจะต้องกระท�ำ อย่างมีเหตุผลและรอบคอบ และหากจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องท�ำการปรับ โครงสร้างกลุ่มธุรกิจหรือองค์กร เพื่อให้มีก� ำไรและมีสถานะ ทางการเงินที่มั่นคง เราก็ต้องด�ำเนินการให้ส�ำเร็จ เป้าหมายของ ผมในเวลานี้ คือ ท�ำให้ธรุ กิจของเรายืนหยัดอยูไ่ ด้ทา่ มกลางสภาวะ แรงกดดันต่างๆ เปรียบเสมือนกับเรือที่ก�ำลังเผชิญกับพายุที่ รุนแรง เราจะต้องบังคับเรือให้แล่นฝ่าพายุไปได้อย่างปลอดภัย
ด้วยการด�ำเนินธุรกิจที่ยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง (Customer Centricity) รู้จักและเข้าใจความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า ประกอบกับการปฏิบตั งิ านอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้โทรีเซน ชิ ป ปิ ้ ง มี ชื่ อ เสี ย งเป็ น ที่ ย อมรั บ ในธุ ร กิ จ นี้ ถึ ง แม้ ว ่ า อั ต ราค่ า ระวางเรือในไตรมาสสุดท้ายนีจ้ ะอ่อนตัวลง แต่โทรีเซน ชิปปิง้ ยัง คงท�ำผลงานได้ดีกว่าบริษัทอื่นๆ ในธุรกิจเดียวกัน ทั้งความ สามารถในการรั ก ษาอั ต ราค่ า ระวางเรื อ เฉลี่ ย ได้ สู ง กว่ า ดั ช นี Supramax และการควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่ายในการเป็นเจ้าของ เรือได้ต�่ำกว่าตลาดถึงร้อยละ 24 ถึงแม้ว่าเรายังคงมุ่งมั่นที่จะ รักษาต�ำแหน่งผู้น�ำในการมีต้นทุนต�่ำไว้ให้ได้ แต่ในช่วงเวลานี้ที่ อัตราค่าระวางเรืออ่อนตัวลงอย่างมาก โดย BDI ลดถึงระดับที่ต�่ำ ที่สุดในรอบ 30 ปี ท�ำให้เราก�ำลังเผชิญกับแรงกดดันที่จะมีผลต่อ ก�ำไร นอกจากนั้น สภาพตลาดเรือเทกองยังคงได้รับแรงกดดัน จากปัจจัยอื่นๆ อีก เช่น การส่งมอบกองเรือใหม่และความไม่ แน่นอนของเศรษฐกิจในภาพรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเติบโต นอกจากนี้ การทีเ่ รามีหนีส้ นิ ต่อทุนอยูใ่ นระดับต�ำ่ ถือว่าเราอยูใ่ น ทางเศรษฐกิจของประเทศจีนที่ชะลอตัวลง สถานะที่มีความพร้อมมากกว่าบริษัทคู่แข่ง เราคาดการณ์ว่าเงิน ในระบบตลาดสินเชื่ออาจจะตึงตัวขึ้นอีกในช่วง 12-18 เดือน แต่เราก็ยังมีข่าวดีคือ โทรีเซน ชิปปิ้ง เพิ่งเปิดตัวบริการใหม่ ข้างหน้า แต่ที่กล่าวมานี้ ไม่ได้หมายความว่าเราจะพึงพอใจกับ Thoresen Grabbulk ซึง่ เป็นการรวมกลุม่ เรือขนาด Supramax สถาณการณ์เช่นนี้ แต่เรามองว่าเป็นโอกาสทีด่ ที เี่ ราจะสร้างความ ที่มาจากหลายเจ้าของ เพื่อน�ำมาให้บริการเช่าร่วมกัน ซึ่งจาก ได้เปรียบเหนือคู่แข่ง และยังมีโอกาสที่จะซื้อสินทรัพย์ที่ประสบ ผลงานของโทรีเซน ชิปปิ้งย้อนหลัง 3 ปี ที่เราสามารถท�ำผลงาน ปัญหาทางการเงินหรือล้มละลาย (distressed assets) เราจะ ได้ดีกว่าดัชนี Supramax ท�ำให้เรามีความมั่นใจได้ว่า เรา หาทางสร้างความเข้มแข็งให้กบั ธุรกิจทีเ่ ราเข้าไปลงทุนให้สามารถ จะสามารถใช้จุดแข็งที่มีท�ำการตลาดให้กับเจ้าของเรือต่างๆ ซึ่ง แข่งขันในตลาดได้ จะท�ำให้เรามีรายได้ที่แน่นอนจากค่าธรรมเนียมจากการบริหาร จัดการ ในธุรกิจที่ต้องใช้เงินลงทุนสูงและมีการแข่งขันกระจาย ท่ วั่ ทุกภูมภิ าคอย่างธุรกิจเรือขนส่งนี้ เราเชือ่ ว่า การทีจ่ ะแข่งขัน 3. คุณคิดว่า กลุ่มบริษัท TTA จ�ำเป็นต้อง อยู ในธุรกิจนี้ได้ ไม่ได้อยู่ที่ว่าใครมีเงินทุนมากกว่ากัน แต่อยู่ที่ว่า ทบทวนกลยุทธ์ทางธุรกิจใหม่หรือไม่ ใครมีความสามารถในการบริหารจัดการกองเรือและให้บริการ เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ และพันธกิจใหม่ ได้ดีกว่ากัน ว่า “TTA จะก้าวขึน้ เป็น กลุม่ บริษทั เพือ่ การลงทุนชัน้ น�ำในเอเชีย ภายในปี 2563 ด้วยการส่งมอบประสบการณ์ทดี่ ใี ห้กบั ผูม้ สี ว่ นได้ 5. เมอร์เมด มีวิธีด�ำเนินการอย่างไรให้ผ่าน เสียของเราทุกกลุ่ม” ซึ่งนั่นหมายความถึง การวางกลยุทธ์ทาง พ้นช่วงวิกฤตของอุตสาหกรรม ธุรกิจทีม่ คี วามหลากหลายเพือ่ สร้างมูลค่าให้กบั ผูถ้ อื หุน้ เป็นหลัก โดยการสร้างผลก�ำไรในแต่ละธุรกิจ และสร้างการเติบโตและ ในขณะนี้ บริษัทน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติต่างก็ก�ำลังหาวิธีการ ผลตอบแทนที่ยั่งยืนให้กับผู้ถือหุ้น ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา รับมือกับราคาน�ำ้ มันตกต�่ำ โดยหลายบริษัทได้ประกาศแผนการ เราได้เริ่มด�ำเนินกลยุทธ์ทางธุรกิจตามทิศทางนี้แล้วบางส่วน ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายลงทั้งในส่วนของค่าใช้จ่ายในการลงทุน และ ดังนั้น ผมจึงคิดว่าอาจจะเร็วเกินไปที่จะกลับไปทบทวนกลยุทธ์ ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน ซึ่งในส่วนของบริษัทที่ให้บริการ
010
บทสัมภาษณ์ CEO
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
เกี่ยวข้องกับการส�ำรวจน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติได้รับผลกระทบ และสร้างแหล่งเงินทุนที่เข้มแข็งเพื่อรองรับการเติบโตของธุรกิจ มากที่สุดจากการถูกยกเลิกโครงการไปเป็นจ�ำนวนมาก ในขณะ ของบาคองโค ซึ่งผมมั่นใจว่า อิสรภาพทางการเงินจะช่วยเพิ่ม ที่บริษัทซึ่งท�ำงานในส่วนพัฒนาการผลิตอย่างเช่น เมอร์เมด มูลค่าให้กับ PMTA ส�ำหรับเราทุกคนต่อไป ยังสามารถด�ำเนินการโครงการต่างๆ ได้ตามปกติ แต่ในที่สุดแล้ว เมอร์เมดเองก็คงหลีกเลี่ยงผลกระทบจากอุตสาหกรรมนี้ไปไม่ได้ 7. คุ ณ วางแผนที่ จ ะพลิ ก ฟื ้ น กิ จ การของ เพียงแต่ช้ากว่าเท่านั้น ดังนั้น ปี 2558 จึงเป็นปีแห่งความท้าทายที่เราต้องด�ำเนิน มาตรการต่างๆ อย่างจริงจังเพื่อให้ธุรกิจของเราด�ำเนินต่อไปได้ ซึง่ นอกเหนือจากการพัฒนาความสัมพันธ์กบั ลูกค้าให้มากขึน้ เรา ยังต้องบริหารจัดการต้นทุนอย่างเข้มงวดเพื่อให้เราอยู่ในสถานะ ที่สามารถแข่งขันกับรายอื่นๆ ได้ แม้ว่าวิกฤตของอุตสาหกรรม ในครัง้ นีจ้ ะส่งผลให้อตุ สาหกรรมมีความแข็งแกร่งขึน้ ในระยะยาว แต่เราก็ยังคงต้องสร้างความเข้มแข็งให้กับธุรกิจของเมอร์เมด เพือ่ ให้เมอร์เมดสามารถสร้างผลตอบแทนได้ในทุกช่วงของวัฏจักร ซึง่ เรามีศกั ยภาพทีจ่ ะเผชิญกับสถานการณ์ทา้ ทายในปัจจุบนั นีไ้ ด้ และเราเชื่อว่าเมอร์เมดจะอยู่ในสถานะที่จะสร้างความได้เปรียบ จากวั ฏ จั ก รช่ ว งขาลง และกลั บ มาแข็ ง แกร่ ง กว่ า เดิ ม เมื่ อ สถานการณ์กลับเข้าสู่ภาวะปกติ
6. คุณวางแผนที่จะสร้างการเติบโตให้กับ PMTA หรือ บาคองโคอย่างไร บริษทั พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิง้ ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“PMTA”) ซึง่ ก�ำลังเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็น เจ้าของบริษัทบาคองโค จ�ำกัด (“บาคองโค”) ซึ่งเป็นผู้ผลิต ปุ๋ยเคมีเพื่อการเกษตรชั้นน�ำในเวียดนาม โดยบาคองโคเน้นการ ท�ำตลาดปุ๋ยเคมีที่มีคุณภาพสูง ท�ำให้ตั้งราคาขายได้สูงกว่าคู่แข่ง และเป็นที่ต้องการของเกษตรกรชาวเวียดนาม ถึงแม้ว่าเราจะ มั่นใจว่าสามารถครองต�ำแหน่งผู้น�ำส่วนแบ่งการตลาดเวียดนาม แต่เราก็ยงั คงมองหาลูท่ างทีจ่ ะขยายธุรกิจให้เติบโตนอกประเทศ เวียดนามด้วย โดย ที่ผ่านมากลยุทธ์ในการส่งออกปุ๋ยไปยัง ต่างประเทศของเราประสบความส�ำเร็จ ทุกวันนี้ เราส่งออกปุ๋ย ไปมากกว่า 20 ประเทศทัว่ โลก และยังตัง้ เป้าหมายทีจ่ ะขยายฐาน ลูกค้าใหม่ในตลาดเดิมไปพร้อมกับการเจาะตลาดใหม่ในประเทศ อื่นๆ อีก ส�ำหรับการน�ำ PMTA เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยนัน้ นอกจากจะมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ตอบแทนผูถ้ อื หุน้ ของ TTA ด้วยการมอบโอกาสที่ดี ให้ผู้ถือหุ้นร่วมลงทุนในบริษัท เคมี ภั ณ ฑ์ ท างการเกษตรชั้ น น� ำ และผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารโลจิ ส ติ ก ส์ คลังสินค้าทีเ่ ติบโตอย่างรวดเร็วอย่างบาคองโคไปพร้อมๆ กับเราแล้ว เรายังต้องการท�ำให้เห็นมูลค่าการตลาดที่เพิ่มขึ้นของบาคองโค
UMS อย่างไร
เนื่องจากมีเปลี่ยนแปลงจากทั้งปัจจัยภายนอก (ราคาถ่านหิน ในตลาดโลก) และปัจจัยภายใน (ข้อจ�ำกัดในการด�ำเนินงาน ที่โรงงานที่สมุทรสาคร) UMS ได้เผชิญความล�ำบากในการขาย ถ่านหินผ่านช่องทางการจัดจ�ำหน่ายรูปแบบเดิม ที่ผ่านมา แม้ว่า เราจะท�ำการปรับงบดุลและโครงสร้างการปฏิบัติงานแล้ว แต่ ผลประกอบการก็ยังคงขาดทุนอยู่ (ถึงแม้จะขาดทุนลดลง) ซึ่ง แสดงว่า ยังมีสงิ่ ทีเ่ ราต้องปรับปรุงต่อไป ขณะนี้ เราก�ำลังพิจารณา ทบทวนลักษณะการด�ำเนินธุรกิจ ว่าจะต้องปรับเปลีย่ นโครงสร้าง ในส่วนงานใดบ้าง ซึ่งน�ำไปสู่ค�ำถามที่ยากต่อการตัดสินใจ เช่น ควรจะลดขนาดธุรกิจลงและหันมามุ่งเน้นด้านการขายถ่านหิน ในส่วนที่มีก�ำไรเป็นหลัก หรือควรจะหาธุรกิจใหม่เข้ามาเสริม เราไม่เพียงแต่จะต้องการให้ธรุ กิจของ UMS อยูร่ อดต่อไปได้ หาก แต่เราต้องการสร้างรากฐานที่มั่นคงให้กับบริษัท เพื่อการเติบโต ต่อไปอย่างยัง่ ยืน ดังนัน้ เราจะให้การสนับสนุนกลยุทธ์การลงทุน ในธุรกิจใหม่ที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน ที่จะช่วยสร้างผลก�ำไรให้กับ บริษัทได้ในอนาคต
8. ท�ำไมคุณถึงซื้อหุ้นใน ไซโน แกรนด์เนส กลุ่มบริษัท TTA จะขยายการลงทุนสู่ธุรกิจ อาหารและเครื่องดื่มใช่หรือไม่ อั น ที่ จ ริ ง แล้ ว เรามี ค วามประสงค์ จ ะเข้ า สู ่ ธุ ร กิ จ อาหารและ เครื่ อ งดื่ ม ซึ่ ง เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ มี แ นวโน้ ม การเติ บ โตและก� ำ ไรสู ง มาโดยตลอด ดังนัน้ เมือ่ มีโอกาสได้เข้าซือ้ หุน้ ร้อยละ 9 ของบริษทั ไซโนแกรนด์เนส ฟู้ด อินดัสตรี กรุ๊ป จ�ำกัด (“ไซโน แกรนด์เนส”) ซึ่งเป็นบริษัทอาหารและเครื่องดื่มที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว เราก็ไม่รอช้าที่จะด�ำเนินการทันที ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้า ซื้อหุ้นในครั้งนี้ ไม่ใช่เพียงแต่โอกาสที่เราจะได้รุกเข้าสู่ตลาด ผู ้ บ ริ โ ภคในประเทศจี น เท่ า นั้ น แต่ เ รายั ง ได้ เ ป็ น ผู ้ น� ำ ตลาด เครือ่ งดืม่ น�ำ้ ผลไม้ (Loquat) ภายใต้เครือ่ งหมายการค้า “การ์เด้น เฟรช (Garden Fresh) ซึ่งเป็นตลาดที่เติบโตอย่างรวดเร็วและ มีโอกาสขยายตัวได้อีกมากในประเทศจีนอีกด้วย
รายงานประจ� ำ ปี 2557
หลายคนมีค�ำถามกับความตั้งใจของเราในการลงทุนในไซโน แกรนด์เนส ซึ่งผมขอยืนยันว่า เรามีความมั่นใจในบริษัทนี้ ด้วย เชื่อว่า เครื่องดื่มน�้ำผลไม้ ตรา “การ์เด้น เฟรช” มีโอกาสที่ จะขยายการจ�ำหน่ายไปในตลาดประเทศอื่นๆ นอกประเทศจีน ได้ และเราจะให้การสนับสนุนการด�ำเนินการดังกล่าว เนื่องด้วย รสนิ ย มที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น ของผู ้ บ ริ โ ภคในแถบเอเชี ย ตะวั น ออก เฉียงใต้ เราจึงเห็นความเป็นไปได้ที่จะน�ำน�้ำผลไม้โลโคท ตรา “การ์เด้น เฟรช” มาท�ำตลาดในภูมิภาคนี้ ซึ่งอาจจะประเดิมเปิด ตลาดในประเทศไทยเป็นแห่งแรก การลงทุนในไซโน แกรนด์เนส เป็นเพียงจุดเริ่มต้นของธุรกิจ อาหารและเครือ่ งดืม่ ส�ำหรับกลุม่ บริษทั TTA และเราเชือ่ ว่า นีค่ อื การเริม่ ต้นทีด่ ี เราเชือ่ ว่าเรามีความสามารถทีจ่ ะสร้างธุรกิจอาหาร และเครื่องดื่มนี้ให้เติบโตเป็นที่รู้จักได้ในประเทศไทย และขอให้ ทุกคนคอยจับตาต่อไป
9. คุณให้ความส�ำคัญกับการเติบโตของ ธุรกิจทีม่ อี ยู่ หรือมองหาโอกาสในการเข้าซือ้ กิจการมากกว่ากัน เราได้สร้างความเข้มแข็งให้กับธุรกิจหลัก และเราเชื่อว่า พื้นฐาน ของธุรกิจที่เรามีอยู่ มีความแข็งแกร่งพอที่จะท�ำให้เติบโตยิ่งขึ้น ไปอีก ในขณะที่เรายังคงให้ความส�ำคัญกับการสร้างความมั่นคง ให้กบั กิจการทีม่ อี ยู่ แต่ดว้ ยธรรมชาติของธุรกิจทีเ่ ป็นวัฏจักร การ จะท�ำให้กิจการเติบโตอย่างยั่งยืนจึงเป็นงานที่ท้าทายพอสมควร และนี่ก็เป็นเหตุผลหนึ่งที่ท�ำให้เราต้องมองหาโอกาสทางธุรกิจ อื่นๆ เพิ่ม ที่จะท�ำให้เรามีรายได้ที่ต่อเนื่องและมั่นคง ขณะนี้ เราก�ำลังมองหาโอกาสการลงทุนในธุรกิจทีม่ กี ารเติบโตสูง เช่น ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม ธุรกิจพลังงานทางเลือก รวมถึง ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วกั บ โครงสร้ า งพื้ น ฐานอื่ น ๆ ซึ่ ง ไม่ ไ ด้ จ� ำ กั ด ว่ า จะ ต้องเป็นธุรกิจที่อยู่ในประเทศไทยเท่านั้น เรามีศักยภาพและ ประสบการณ์ที่จะลงทุนในธุรกิจในต่างประเทศ โดยอาศัยเครือ ข่ายธุรกิจที่เรามีอยู่ และความสัมพันธ์อันดีกับพันธมิตรต่างชาติ เงินสดที่เราได้มาจากการเพิ่มทุนในรอบที่ผ่านมาเป็นจ� ำนวน 7,000 กว่าล้านบาท เมื่อรวมกับเงินสดเดิมที่เรามีอยู่ ท�ำให้เรา มีเงินสดเกิน 10,000 ล้านบาท ซึ่งท�ำให้เราอยู่ในสถานะที่พร้อม ส�ำหรับการเข้าลงทุนในธุรกิจใหม่ๆ ซึ่งเราขอให้ความมั่นใจแก่ ผู้ถือหุ้นว่า เราจะด�ำเนินการก็ต่อเมื่อมีโอกาสดีๆ เข้ามาเท่านั้น
บทสัมภาษณ์ CEO
011
10. สุดท้ายนี้ ขอทราบวิสัยทัศน์ของ TTA ตั้งแต่ผมเข้ามารับต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร เมือ่ ปลายปีทแี่ ล้ว ภารกิจส�ำคัญทีส่ ดุ ส�ำหรับผม คือ การท�ำให้บริษัทฯ มีความคล่องตัว และแข็งแกร่งกว่าเดิม ถึงแม้ว่าเราจะได้ด�ำเนินการก้าวหน้าไปหลายอย่างแล้ว แต่ยังมี อีกหลายสิ่งที่เราต้องท�ำเพิ่ม เพื่อให้เราไปถึงขีดสุดของศักยภาพ ที่เรามี ดังที่ได้กล่าวไว้ใน วิสัยทัศน์ใหม่ของ TTA ว่าความ ปรารถนาสูงสุดของผม คือ การท�ำให้กลุ่มบริษัท TTA เป็น กลุ่มบริษัทเพื่อการลงทุนชั้นน�ำในเอเชียที่น่าเชื่อถือที่สุดภายใน ปี 2563 ด้วยการท�ำงานอย่างทุ่มเท ตั้งแต่ระดับ ประธานกรรมการ คณะกรรมการ คณะผู้บริหาร จนถึงพนักงานทุกคนที่อยู่ในกลุ่ม บริษัท TTA ผมมีความเชื่อมั่นว่า แต่ละธุรกิจของเราจะสร้าง ผลก�ำไรและมูลค่าที่ดีให้กับผู้ถือหุ้น และถือเป็นหน้าที่ของเราที่ จะต้องท�ำให้สำ� เร็จ เพือ่ ตอบแทนความไว้วางใจทีผ่ ถู้ อื หุน้ มอบให้ แก่บริษัทฯ มาโดยตลอด ผมขอขอบพระคุณผู้ถือหุ้นทุกคนส�ำหรับความไว้วางใจ และการ ให้การสนับสนุนแผนการลงทุนของบริษัทฯ อย่างเต็มที่เสมอมา ซึ่ ง หากปราศจากการสนั บ สนุ น ของทุ ก คนแล้ ว TTA คงจะ ไม่แข็งแกร่งดังเช่นทุกวันนี้ เราจะร่วมกันเอาชนะกับอุปสรรคใน วันนี้และท�ำให้ TTA แข็งแกร่งกว่าเดิมในอนาคต
012
ประวัติความเป็นมา
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ประวัติความเป็นมา
2553 • บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี แอลทีดี ("โซลีอาโด") เข้าถือหุ้นร้อยละ 38.83 ใน บริษัท ปิโตรลิฟต์ จ�ำกัด (“ปิโตรลิฟต์”) ซึ่ง เป็ น บริษัทเรือบรรทุกน�้ำมันปิโตรเลียมใน ประเทศ ฟิลิปปินส์ • บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) ("เมอร์เมด") เข้าถือหุ้นร้อยละ 100 ใน Subtech Ltd. ในประเทศเซเชลส์ เพือ่ ขยาย บริการงานวิศวกรรมใต้ทะเลไปยังตะวันออก กลาง • บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) ("TTA") ออกหุ ้ น กู ้ ใ นประเทศ ประเภทระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน เป็นจ�ำนวนเงินรวม 4,000 ล้าน บาท เพือ่ ใช้ชำ� ระคืนหนีเ้ งินกูธ้ นาคารพาณิชย์ และเพิ่มเงินทุนหมุนเวียน • TTA ได้ซอื้ เรือบรรทุกสินค้าแห้งเทกองรวม 4 ล�ำ เป็นเรือในตลาดมือสอง 3 ล�ำ และเป็น เรือที่สั่งต่อใหม่อีก 1 ล�ำ ส่วนเมอร์เมดได้ซื้อ เรือสนับสนุนงานวิศวกรรมใต้ทะเลมือสอง 1 ล�ำ และที่สั่งต่อใหม่อีก 3 ล�ำ
2554 • โซลีอาโด เข้าถือหุ้นร้อยละ 20 ใน บาเรีย เซเรส โดยเป็นส่วนหนึง่ ของกลยุทธ์ทจี่ ะสร้าง ธุรกิจโลจิสติกส์แบบครบวงจรในประเทศ เวียดนาม • TTA ได้ซอื้ เรือบรรทุกสินค้าแห้งเทกองรวม 3 ล�ำ เป็นเรือในตลาดมือสอง 2 ล�ำ และเรือ ที่สั่งต่อใหม่อีก 1 ล�ำ • โซลีอาโด เข้าซื้อหุ้นเพิ่มเติมในปิโตรลิฟต์ ร้อยละ 1.17 เพื่อเพิ่มสัดส่วนในปิโตรลิฟต์ เป็นร้อยละ 40 • โซลีอาโด เข้าถือหุน้ ร้อยละ 33.33 ใน Qing Mei Pte. Ltd. (“Qing Mei”) เพือ่ การพัฒนา โครงการเหมื อ งถ่ า นหิ น ในประเทศอิ น โด นีเซีย • บริษัท เอเชีย ออฟชอร์ คริลลิ่งค์ จ�ำกัด (“AOD”) ซึง่ เป็นบริษทั ร่วมทีเ่ มอร์เมดถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 33.76 ได้ระดมเงินทุนจ�ำนวน 180 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา จากตลาดทุนใน ประเทศ และได้เซ็นสัญญาสร้างเรือขุดเจาะ แบบ Jack-up จ�ำนวน 3 ล�ำ มูลค่ารวม 538 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกากับ Keppel FELS Ltd. ประเทศสิงคโปร์
2555 2556 2555 • บริ ษั ท โทรี เซนไทย เอเยนต์ ซี ส์ จำ�กั ด (มหาชน) ได้ซื้อเรือบรรทุกสินค้าแห้งเทกอง มือสอง 1 ลำ� และได้มีการโอนเรือสัญชาติ ไทยจำ�นวน 8 ลำ� ของบริษัทฯ ไปยังบริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงคโปร์ พีทีอีแอลทีดี ทัง้ นี้ เป็นไปตามแผนแผนการปรับโครงสร้างธุรกิจ เรือบรรทุกสินค้าแห้งเทกองของบริษัทฯ • หุ้นกู้แปลงสภาพของ TTA ได้ ถึ ง วั น ครบ กำ�หนดอายุไปเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2555 2556 • บริษทั โทรีเซน ชิปปิง้ พีทอี ี แอลทีดี ("TSS") ได้รับมอบเรือบรรทุกสินค้าแห้งเทกองรวม 3 ลำ� เป็นเรือมือสอง 1 ลำ� และเรือที่สั่ง ต่อใหม่อีก 2 ลำ� AOD ได้รับมอบเรือขุดเจาะ แบบ Jack-up ที่สั่งต่อใหม่อีก 3 ลำ� • TTA ได้ ก่ อ ตั้ ง บริ ษั ท โทรี เซน ชิ ป ปิ้ ง เดนมาร์ก เอพีเอส เพือ่ ใช้เป็นสำ�นักงานสาขา ด้านการขายและการตลาดในกรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก เพื่อให้บริการลูกค้าใน แถบทวีปยุโรป • TTA ได้ระดมเงินทุนโดยการออกหุน้ เพิม่ ทุน ควบใบสำ�คัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญขอ งบริษัทฯ ครั้งที่ 3 (TTA-W3) รวมเป็นเงินที่ ได้ รั บ จากการออกหุ้ น สามั ญ เป็ น จำ�นวน 3,964 ล้านบาท เพื่อรองรับการเติบโตของ ธุรกิจของบริษัทฯ • เมอร์เมด ได้ระดมเงินทุนโดยการออกหุ้น เพิ่มทุนจำ�นวนเงิน 175.78 ล้านดอลลาร์ สิงคโปร์ เพือ่ รองรับการเติบโตของธุรกิจของ เมอร์เมด
ประวัติความเป็นมา
รายงานประจ� ำ ปี 2557
013
2557 • TSS ได้ซื้อเรือบรรทุกสินค้าแห้งเทกองมือ สองรวม 6 ล�ำ • บริษทั พรีโม ชิปปิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ เป็น บริษัทที่ TTA ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 99.9 เป็น บริษัทที่เกิดขึ้นจากการควบ 45 บริษัทย่อย ในกลุม่ ธุรกิจขนส่งสินค้าแห้งเทกองของ TTA ซึ่งเป็นบริษัทที่ไม่ได้ด�ำเนินกิจการแล้ว เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในด้านการปฏิบัติการเรือ ขนส่งสินค้าแห้งเทกองทั้งในด้านของรายได้ และการบริหารจัดการต้นทุนให้ดียิ่งขึ้น • TTA ได้ ก ่ อ ตั้ ง บริ ษั ท โทรี เ ซน ชิ ป ปิ ้ ง แอฟริกาใต้ (พีทีวาย) แอลทีดี เพื่อใช้เป็น ส�ำนักงานสาขาด้านการขายและการตลาดใน แอฟริกาใต้ เพื่อให้บริการลูกค้าทั้งในแถบ ทวีปยุโรปและแอฟริกาใต้ • บริษทั พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิง้ ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“PMTA”) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2556 ถือหุ้นโดย TTA ร้อยละ 99.9 และได้แปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน จ�ำกัด เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2557 PMTA เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้น โดยลงทุ น ใน บริ ษั ท บาคองโค จ� ำ กั ด ("บาคองโค") ร้อยละ 100 • TTA ได้ ข ายเงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท PT Perusahaan Pelayaran Equinox (“Equinox”) ซึ่งเป็นบริษัทที่ TTA ถือหุ้น อยู่ร้อยละ 49 เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2557
• บริษัทย่อยของเมอร์เมดได้แก่ เอ็มที อาร์-3 (สิงคโปร์) พีทีอี ลิมิเต็ด เอ็มที อาร์-4 (สิงคโปร์) พีทีอี ลิมิเต็ด และ เมอร์เมด ออฟชอร์ เซอร์วิสเซส พีทีอี ลิมเิ ต็ด ได้มกี ารลงนามในสัญญาสัง่ ต่อเรือ ขุดเจาะแบบ Tender ใหม่ 2 ล�ำ และเรือ สนับสนุนงานบริการนอกชายฝั่ง (Dive Support Vessel) 1 ล�ำ กับบริษัท ไชน่า เมอร์แชนท์ อินดัสตรี โฮลดิง้ ส์ จ�ำกัด โดย มีมูลค่าสัญญารวม 436 ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา เมือ่ วันที่ 9 มกราคม 2557 • TTA ได้ระดมเงินทุนโดยการออกหุ้น เพิ่มทุนควบใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 4 (TTA-W4) รวมเป็นเงินทีไ่ ด้รบั จากการออกหุน้ สามัญ เป็นจ�ำนวน 4,174 ล้านบาท เพื่อรองรับ การเติบโตของธุรกิจของบริษัทฯ • โซลีอาโด ได้มาซึ่งอ�ำนาจควบคุมใน Merton Investment NL BV (“MIN”) โดยการซื้อหุ้นทุนและสิทธิออกเสียงใน MIN ร้อยละ 100 ท�ำให้การถือหุ้นใน SKI Energy Resources Inc. (“SERI”) ผ่าน MIN เพิ่ ม ขึ้ น จากร้ อ ยละ 9.72 เป็ น ร้อยละ 40 ในการแลกเปลี่ยนเงินลงทุน ใน MIN โซลีอาโดได้โอนหุน้ ร้อยละ 24.31 ใน บริษัท เมอร์ตัน กรุ๊ป (ไซปรัส) จ�ำกัด (“เมอร์ตัน”) และหุ้นร้อยละ 33.33 ใน Qing Mei
• โซลีอาโด เข้าถือหุ้นร้อยละ 9.0 ในบริษัท ไซโน แกรนด์เนส ฟู้ด อินดัสตรี กรุ๊ป จ�ำกัด (“ไซโน แกรนด์เนส”) ซึง่ เป็นบริษทั ผูผ้ ลิตและ จั ด จ� ำ หน่ า ยเครื่ อ งดื่ ม น�้ ำ ผลไม้ แ ละอาหาร กระป๋องในสาธารณรัฐประชาชนจีน และเป็น บริษัทที่มีหลักทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศสิงค์โปร์ • การเปลี่ยนรอบบัญชีของบริษัทฯ จากเดิม เริ่มต้นในวันที่ 1 ตุลาคม และสิ้นสุดลงในวัน ที่ 30 กันยายน ของทุกปี เป็นวันที่ 1 มกราคม และสิ้นสุดลงใน วันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี โดยให้เริม่ งวดบัญชีแรกในรอบวันที่ 1 ตุลาคม 2557 และสิ้นสุดในวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และรอบบั ญ ชี ถั ด ไปจะเริ่ ม ต้ น ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม 2558 และสิ้นสุดในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 • ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 TTA เป็นเจ้าของ เรือบรรทุกสินค้าแห้งเทกอง 24 ล�ำ เรือบริการ นอกชายฝั่ง 6 ล�ำ เรือขุดเจาะ 2 ล�ำ และเรือ ขุดเจาะแบบ Jack-up 3 ล�ำ (โดย เมอร์เมด เป็นเจ้าของร้อยละ 33.76) นอกจากนี้ ส�ำหรับ งวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยั ง มี เ รื อ บรรทุ ก สิ น ค้ า แห้ ง เทกองอี ก เป็ น จ�ำนวนประมาณ 21 ล�ำ ทีก่ ลุม่ บริษทั โทรีเซน ได้เช่ามาเสริมเพิ่มเติมแบบเต็มระยะเวลา เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าในช่วง ระหว่างปี
014
คณะกรรมการและคณะผู้บริหาร
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการ
นายโมฮัมหมัด ราเชด อาหมัด เอ็ม. อัลนัสซารี
นายกฤช ฟอลเล็ต
นายสันติ บางอ้อ
นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ
คณะกรรมการและคณะผู้บริหาร
รายงานประจ� ำ ปี 2557
นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์
นางสาวอุษณา มหากิจศิริ
นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์
นายฌ็อง ปอล เทเวอแน็ง
015
นายอีฟ บาบิว
016
คณะกรรมการและคณะผู้บริหาร
นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ (อายุ 62 ปี) ประธานคณะกรรมการ/ ประธานกรรมการบริหาร วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ : 31 มกราคม 2555 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : 0.01
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริ ญ ญาศิ ล ปศาสตร์ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์
สาขาวิ ช าการจั ด การนวั ต กรรมสั ง คม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปี 2555 • ปริ ญ ญาบริ ห ารธุ ร กิ จ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สาขาวิ ช าการบริ ห ารธุ ร กิ จ มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม ปี 2554 • ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบุรี ปี 2551 • ปริ ญ ญาบริ ห ารธุ ร กิ จ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริ ห ารศาสตร์ (NIDA) ปี 2551 • ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2550 • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (M.B.A.) Utah State University ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2520 • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2518
ประวัติการอบรม
• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน
สถาบันวิทยาการพลังงาน รุ่นที่ 3 ปี 2556 Role of Chairman Program (RCP) สมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 28/2555 • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 26/2547 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 3 ปี 2549 • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยส�ำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 6 ปี 2546 • Certificate in Advanced Management Program (AMP), Harvard Business School รุ่นที่ 155 ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2541 • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ 4010) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 10 ปี 2541 • หลั ก สู ต ร
ประสบการณ์การท�ำงาน
2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ/กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) 2555 - ปัจจุบัน : ประธานกรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) 2554 - ปัจจุบัน : กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) 2554 - ปัจจุบัน : ประธานกรรมการ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) 2554 - ปัจจุบัน : กรรมการ/ประธานคณะกรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการ บริษัท อินทัช โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน : สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ : รองกรรมาธิ ก ารพลั ง งานคนที่ 1 คณะกรรมาธิ ก ารพลั ง งาน 2557 - ปัจจุบัน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ 2554 - ปัจจุบัน : ประธานกรรมการองค์กรธุรกิจเพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (TBCSD) 2550 - 2554 : กรรมการ บริษัท ปตท.อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) 2549 - 2556 : ประธานกรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร/กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) 2548 - 2554 : ประธานกรรมการ/กรรมการ บริษทั ปตท. เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) 2546 - 2554 : กรรมการ/ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) 2543 - 2554 : ประธานกรรมการ/กรรมการ บริ ษั ท ปตท.ส� ำ รวจและผลิ ต ปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) 2549 - 2551 : สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
คณะกรรมการและคณะผู้บริหาร
รายงานประจ� ำ ปี 2557
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ (อายุ 36 ปี) กรรมการผู้จัดการใหญ่และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการบริหาร วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ บริษัทฯ : 31 มกราคม 2555 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : 21.77 (รวมหุ้นที่ถือโดยบริษัทที่เกี่ยวข้อง)
017
คุณวุฒิการศึกษา • ปริญญาโท
• ปริญญาตรี
สาขาเศรษฐศาสตร์การเงิน มหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2547 สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยซัฟฟอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2544
ประวัติการอบรม • หลั ก สู ต ร
Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 53/2548 • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 30/2547 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 17 ปี 2556
ประสบการณ์การท�ำงาน
มิ.ย. 2555 - ปัจจุบัน : ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และรองประธานกรรมการบริหาร บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) มิ.ย. 2555 - ปัจจุบัน : รองประธานกรรมการ บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) มิ.ย. 2556 - ปัจจุบัน : ประธานกรรมการ บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) ก.ย. 2554 - ปัจจุบัน : รองประธานกรรมการ บริษัท โพสโค-ไทยน๊อคซ์ จ�ำกัด (มหาชน) เม.ย. 2554 - ปัจจุบัน : รองประธานกรรมการ บริษัท ไทยฟิล์ม อินดัสตรี่ จ�ำกัด (มหาชน) ส.ค. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท พรีโม ชิปปิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) เม.ย. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง เอฟแซดอี มี.ค. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษทั ชิดลม มารีน เซอร์วสิ เซส แอนด์ ซัพพลายส์ จ�ำกัด ก.พ. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จ�ำกัด ก.พ. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส์ จ�ำกัด ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จ�ำกัด ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เฟิร์นเล่ย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงคโปร์ พีทีอี แอลทีดี พ.ย. 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท บาคองโค จ�ำกัด พ.ย. 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส.เอ. ก.ค. 2555 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี แอลทีดี 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เมอร์เมด ดริลลิ่งค์ จ�ำกัด 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เอเชีย ออฟชอร์ ดริลลิ่งค์ จ�ำกัด 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เมอร์เมด ซับซี เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด (เดิมชื่อ บริษัท เมอร์เมด ออฟชอร์ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด) เม.ย. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ มอริเชียส จ�ำกัด ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เอ็มทีอาร์-4 (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เมอร์เมด เอ็มทีเอ็น พีทีอี แอลทีดี (เดิมชื่อ บริษัท เอ็มทีอาร์-5 (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี) 2555 - ปัจจุบัน : ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท โฟร์ วัน วัน เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จ�ำกัด 2548 - ปัจจุบัน : ประธานกรรมการ บริษัท พีเอ็ม กรุ๊ป จ�ำกัด 2541 - ปัจจุบัน : กรรมการผู้จัดการ บริษัท เลควูด คันทรีคลับ จ�ำกัด 2541 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เลควูด แลนด์ จ�ำกัด ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท ควอลลิตี้ คอฟฟี่ โปรดักท์ จ�ำกัด
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : พี่ชายของนางสาวอุษณา มหากิจศิริ
018
คณะกรรมการและคณะผู้บริหาร
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
คุณวุฒิการศึกษา
นายฌ็อง ปอล เทเวอแน็ง (อายุ 74 ปี) กรรมการ/กรรมการบริหาร
• ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต
วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ : 30 มกราคม 2557
ประวัติการอบรม
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : ตนเอง : ไม่มี คู่สมรส : 0.0006 รวม : 0.0006
ประเทศฝรั่งเศส
• ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
สาขาวิชาโลหวิทยา จากมหาวิทยาลัยออร์เซย์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
• หลักสูตร
Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 74/2551
ประสบการณ์การท�ำงาน
ม.ค. 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) 2548 - 2553 : กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยน็อคซ์ เสตนเลส จ�ำกัด (มหาชน) พ.ย. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เมอร์เมด เอ็มทีเอ็น พีทีอี แอลทีดี (เดิมชื่อ บริษัท เอ็มทีอาร์-5 (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี) ก.ย. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เมอร์เมด ดริลลิ่งค์ จ�ำกัด ก.ย. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เอ็มทีอาร์-1 จ�ำกัด ก.ย. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เอ็มทีอาร์-2 จ�ำกัด 2541 - 2547 : ประธานหอการค้าฝรั่งเศส-ไทย
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ (อายุ 55 ปี) กรรมการ/กรรมการบริหาร/ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ : 31 มกราคม 2555 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : ไม่มี
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ซึ่งเป็นโครงการร่วมกับ Kellogg Graduate School of Management of Northwestern University ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัติการอบรม • หลั ก สู ต ร
Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 165/2555
ประสบการณ์การท�ำงาน
มิ.ย. 2555 - ปัจจุบัน : กรรมการบริหาร บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) มิ.ย. 2555 - ปัจจุบัน : กรรมการบริหาร บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) ก.พ. 2558 - ปัจจุบัน : บริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จ�ำกัด ก.พ. 2558 - ปัจจุบัน : บริษัท โทรีเซน ชิ้ปปิ้ง แอนด์ โลจิสติคส์ จ�ำกัด ส.ค. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง เอฟแซดอี 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เมอร์เมด ซับซี เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด (เดิมชื่อ บริษัท เมอร์เมด ออฟชอร์ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด) 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เมอร์เมด ดริลลิ่งค์ จ�ำกัด ม.ค. 2555 - ปัจจุบัน : ผู้อ�ำนวยการบริหารอาวุโส บริษัท พีเอ็ม กรุ๊ป จ�ำกัด 2548 - 2554 : ผู้อ�ำนวยการบริหารอาวุโส สายงานการเงิน บริษัท แอดวานซ์ ไฟแนนซ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
คณะกรรมการและคณะผู้บริหาร
รายงานประจ� ำ ปี 2557
นายกฤช ฟอลเล็ต (อายุ 66 ปี) กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ/ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ
คุณวุฒิการศึกษา
วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ : 12 เมษายน 2555
• หลั ก สู ต ร
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : ไม่มี
019
• ปริญญาโท
พาณิชยศาสตร์มหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2531 • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2512
ประวัติการอบรม
• หลักสูตร Diploma Examination (EXAM) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD)
รุ่นที่ 32/2555 Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 149/2554 • Advance Management Program, Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2543
ประสบการณ์การท�ำงาน
2556 - ปัจจุบัน : กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) 2555 - ปัจจุบัน : กรรมการอิสระและประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไทยวาโก้ จ�ำกัด (มหาชน) 2554 - ปัจจุบัน : กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ธนูลักษณ์ จ�ำกัด (มหาชน) 2553 - ปัจจุบัน : กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2553 - ปัจจุบัน : กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยนครพนม 2552 - 2556 : ที่ปรึกษากรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จ�ำกัด 2551 - 2552 : ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายปฏิบัติการ ธนาคารแห่งประเทศไทย 2547 - 2551 : ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบกิจการภายใน ธนาคารแห่ง ประเทศไทย 2545 - 2547 : ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบ 1 สายก�ำกับสถาบันการเงิน 1 ธนาคารแห่งประเทศไทย 2535 - 2538 : ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายตรวจสอบตลาดทุน ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
020
คณะกรรมการและคณะผู้บริหาร
นายสันติ บางอ้อ (อายุ 68 ปี) กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน/ ประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ/ กรรมการตรวจสอบ วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ : 31 มกราคม 2555 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : ไม่มี
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์การเกษตร มหาวิทยาลัยเท็กซัส เทค ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2523 • ปริญญาตรี
รัฐศาสตร์บัณฑิต (การคลัง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2511
ประวัติการอบรม • หลักสูตร
Audit Committee Program (ACP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 42/2556 • หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 9/2556 • หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 14/2556 • หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 14/2556 • หลักสูตร Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 17/2556 • หลักสูตร Role of the Compensation Committee Program (RCC) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 16/2556 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 12/2544 • ประกาศนียบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 38 ปี 2538 • ประกาศนียบัตร สาขาการพัฒนา มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศสหราชอาณาจักร ปี 2518
ประสบการณ์การท�ำงาน
2556 - ปัจจุบัน : กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ บริษัท ประชาอาภรณ์ จ�ำกัด (มหาชน) 2553 - ปัจจุบัน : กรรมการตรวจสอบ บริษัท ประชาอาภรณ์ จ�ำกัด (มหาชน) 2555 - ปัจจุบัน : อนุกรรมการจัดท�ำบันทึกข้อตกลงและประเมินผลการด�ำเนินงาน รัฐวิสาหกิจ สาขาสื่อสารและพลังงานของคณะกรรมการประเมิน ผลงานรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง 2549 - 2552 : อธิการบดี มหาวิทยาลัยโยนก จังหวัดล�ำปาง 2544 - 2545 : กรรมการ การรถไฟแห่งประเทศไทย 2542 - 2544 : กรรมการ การไฟฟ้านครหลวง 2540 - 2549 : รองเลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ 2539 - 2542 : กรรมการ กองทุนบ�ำเหน็จบ�ำนาญข้าราชการ
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
คณะกรรมการและคณะผู้บริหาร
รายงานประจ� ำ ปี 2557
นางสาวอุษณา มหากิจศิริ (อายุ 34 ปี) กรรมการ/กรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน/ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ
คุณวุฒิการศึกษา
วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ : 31 มกราคม 2555
• หลักสูตร
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : 3.89
021
• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปี 2548 ซึ่งเป็นโครงการร่วมกับ Kellogg Graduate School of Management of Northwestern University ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2545
ประวัติการอบรม
Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 30/2547
ประสบการณ์การท�ำงาน
2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท ไทยฟิล์ม อินดัสตรี่ จ�ำกัด (มหาชน) มี.ค. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษทั ชิดลม มารีน เซอร์วสิ เซส แอนด์ ซัพพลายส์ จ�ำกัด ก.พ. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส์ จ�ำกัด ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี แอลทีดี ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงคโปร์ พีทีอี แอลทีดี 2554 - ปัจจุบัน : ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารและปฏิบัติการ บริษัท พีเอ็ม กรุ๊ป จ�ำกัด : กรรมการผู้จัดการ บริษัท เดอะเนสท์ พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด 2553 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท ควอลลิตี้ คอฟฟี่ โปรดักท์ จ�ำกัด 2553 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โฟร์ วัน วัน เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จ�ำกัด 2551 - ปัจจุบัน : กรรมการผู้จัดการ บริษัท เมาน์เท่น ครีก ดีเวลอปเม้นท์ จ�ำกัด 2549 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เลควูดคันทรี่คลับ จ�ำกัด 2541 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เลควูด แลนด์ จ�ำกัด 2541 - ปัจจุบัน
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : น้องสาวของนายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นายโมฮัมหมัด ราเชด อาหมัด เอ็ม. อัลนัสซารี (อายุ 44 ปี) กรรมการอิสระ/กรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน
คุณวุฒิการศึกษา
วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ : 30 มกราคม 2556
ปัจจุบัน : สมาชิก The National Consulting Council สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ปัจจุบัน : Assistant-Undersecretary in the Financial Department of Abu Dhabi สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ปัจจุบัน : Director General of Pvt. & Official office of H.H Sheikh Mohammed Bin Khalifa Bin Zayed Al Nahyan แห่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ปัจจุบัน : รองประธาน Youth Hostel Society สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท The Emirates Insurance Company สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท The National Investor Company สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท Alwifaq Finance Company สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ปัจจุบัน : ผู้จัดการทั่วไป Al Ain Equestrian, Shooting & Golf Club สหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์ ปัจจุบัน : รองประธาน บริษัท Gulf Islamic Investment Company สหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : ไม่มี
• สาขานิติศาสตร์
Emirates University
ประวัติการอบรม • ไม่มี
ประสบการณ์การท�ำงาน
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
022
คณะกรรมการและคณะผู้บริหาร
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
คุณวุฒิการศึกษา
นายอีฟ บาบิว (อายุ 76 ปี) กรรมการ
• ปริญญาโท
วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ บริษัทฯ : 12 กรกฎาคม 2556
ประวัติการอบรม
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : ไม่มี
ประสบการณ์การท�ำงาน
สาขาบริหารธุรกิจ Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2516 • ปริญญาโท จาก Institut d’Administration des Entreprises de Paris ประเทศฝรัง่ เศส ปี 2510 • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา Ecole Centrale de Paris ประเทศฝรั่งเศส ปี 2504 • ไม่มี
ปัจจุบัน : ปัจจุบัน : ปัจจุบัน : 2546 - ปัจจุบัน : 2543 - 2547 : 2539 - 2543 : 2536 - 2539 : 2532 - 2535 : 2531 - 2532 : 2521 - 2524 : 2519 - 2521 :
ประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท Voluntis S.A. กรรมการบริหาร บริษัท Claranor ประเทศฝรั่งเศส กรรมการบริหาร บริษัท Lucibel ประเทศฝรั่งเศส ประธานบริหาร บริษัท Elsa Consultant S.A. ประธานบริหาร บริษัท CPG Market S.A. ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท NESTLE ITALY ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั NESTLE FRANCE ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท SOPAD NESTLE ประเทศฝรั่งเศส ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท NESTLE THAILAND ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั NESTLE BELGIUM ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท NESTLE VENEZUELA
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
คณะกรรมการและคณะผู้บริหาร
รายงานประจ� ำ ปี 2557
นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ (อายุ 68 ปี) กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ บริษัทฯ : 30 มกราคม 2556 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : ไม่มี
023
คุณวุฒิการศึกษา • M.A.
Economics, Georgetown University ประเทศสหรัฐอเมริกา • เศรษฐศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประวัติการอบรม • หลักสูตร
Audit Committee Program (ACP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 27/2552 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 104/2551 • หลักสูตร Finance for Non- Finance Directors (FND) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 13/2547 • หลักสูตร Role of Chairman Program (RCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 10/2547 • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 8/2547 • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 40 • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ส�ำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 5 • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน (นบส.1) รุ่นที่ 13/2536 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 5
ประสบการณ์การท�ำงาน 2553 - ปัจจุบัน : พ.ค. 2552 - ปัจจุบัน : เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน : 2552 - ปัจจุบัน : 2555 - ปัจจุบัน : 2554 - ปัจจุบัน : 2552 - ปัจจุบัน : พ.ย. 2554 - ต.ค. 2557 : 2549 - 2552 : : 2547 - 2551 2548 - 2550 : 2547 - 2551 : : 2546 - 2550 2546 - 2550 : 2546 - 2547 : 2545 - 2549 :
ประธานกรรมการ บริษัท โซลาร์ตรอน จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการอิสระ บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัท เงินทุนแอ๊ดวานซ์ จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ไทยชูการ์ มิลเลอร์ จ�ำกัด ประธานกรรมการ บริษัท วิทัยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด กรรมการ บริษัท เอเวอร์กรีน พลัส จ�ำกัด ประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/กรรมการสรรหา บริษัท ปตท. เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท โรงกลั่นน�้ำมันระยอง จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ผลิตการไฟฟ้าราชบุรี โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ปลัดกระทรวงพลังงาน
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
024
คณะกรรมการและคณะผู้บริหาร
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ผู้บริหาร
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ
ประวัติของ นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ ปรากฏอยู่ในหัวข้อ “คณะกรรมการ”
(อายุ 36 ปี)
กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการบริหาร วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บริหาร: 31 มกราคม 2555 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : 21.77 (รวมหุ้นที่ถือโดยบริษัทที่เกี่ยวข้อง)
นายสมพร จิตเป็นธม (อายุ 53 ปี)
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชีและ การเงิน (ได้รับการแต่งตั้งและมีผลตั้งแต่ วันที่ 20 มกราคม 2558)/ กรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่ได้รับการแต่งตั้ง : 1 ตุลาคม 2556 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : ไม่มี
คุณวุฒิการศึกษา • ปริญญาโท สาขา Public Policies มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด เคมบริดจ์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2530 • ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2528 ประวัติการอบรม • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่178/2556 • หลักสูตรนักบริหารการคลัง กระทรวงการคลัง และสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลังรุ่นที่ 3 ปี 2555 • หลักสูตรการกำ�กับดูแลกิจการ สำ�หรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน สถาบันพระปกเกล้า ปี 2554 • อบรมผู้บริหารระดับสูงสำ�หรับผู้บริหารภาครัฐวิสาหกิจ ปี 2548 • The Asia Pacific Bankers Congress ปี 2543 • Central Bank Policies and Operations in the Money and Foreign Exchange Markets ปี 2534 ประสบการณ์การทำ�งาน ก.พ. 2558 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จำ�กัด (มหาชน) ก.ย. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท พรีโม ชิปปิ้ง จำ�กัด (มหาชน) ก.ค. 2557 - ปัจจุบัน : รักษาการ กรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชีและการเงิน บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน) ธ.ค. 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท ไทยฟิล์ม อินดัสตรี่ จำ�กัด (มหาชน) พ.ย. 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน) ก.พ. 2558 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส์ จำ�กัด ก.พ. 2558 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จำ�กัด ก.พ. 2558 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เฟิร์นเล่ย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ก.พ. 2558 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โทรีเซน ชิ้ปปิ้ง แอนด์ โลจิสติกส์ จำ�กัด ม.ค. 2558 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำ�กัด ม.ค. 2558 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส์ จำ�กัด ธ.ค. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ Merton Investments NL B.V. มิ.ย. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง เอฟแซดอี มิ.ย. 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี แอลทีดี พ.ย. 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท ปิโตรลิฟต์ จำ�กัด มิ.ย. 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เมาน์เท่น ครีก ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด พ.ค. 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท พีเอ็ม กรุ๊ป จำ�กัด เม.ย. 2556 - ก.ย. 2556 : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ระดับอาวุโส บริษัท พีเอ็ม กรุ๊ป จำ�กัด ธ.ค. 2552 - พ.ค. 2556 : รองกรรมการผู้จัดการ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำ�เข้าแห่งประเทศไทย ก.พ. 2547 - พ.ย. 2552 : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชีและการเงิน ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำ�เข้าแห่งประเทศไทย 2536 - ม.ค. 2547 : ผู้อำ�นวยการฝ่ายอาวุโส ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำ�เข้าแห่งประเทศไทย 2530 - 2536 : ผู้วิเคราะห์ ส่วนวิเคราะห์และธุรกิจตลาดเงินธนาคารแห่งประเทศไทย ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
คณะกรรมการและคณะผู้บริหาร
รายงานประจ� ำ ปี 2557
นายชาตรี อัครจรัลญา (อายุ 72 ปี)
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธาน กลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม/กรรมการบริหาร ความเสี่ยง วันที่ได้รับการแต่งตั้ง : 5 มกราคม 2558 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : ไม่มี
นายคิท เหว่ย อึ้ง เดวิด
(อายุ 37 ปี) รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกลยุทธ์
วันที่ได้รับการแต่งตั้ง : 20 มกราคม 2558 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : ไม่มี
025
คุณวุฒิการศึกษา • การบริหารการตลาด Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2519 • การบริหารการตลาด University of California Extension Berkeley ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2513 ประวัติการอบรม • โปรแกรมการอบรมธุรกิจเอ็นเอฟเอส เนสเล่ อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2537 • หลักสูตรการบริหารระดับสูง เนสเท็ค สวิตเซอร์แลนด์ ปี 2530 • หลักสูตรการเงินและการควบคุมสำ�หรับผู้ไม่ชำ�นาญการ เนสเท็ค ประเทศมาแลเซีย ปี 2530 • หลักสูตรการบริหารการตลาด มหาวิทยาลัยควีนส์ ประเทศแคนาดา ปี 2527 • โปรแกรมการพัฒนาผู้บริหารระดับนานาชาติ American Graduate School of International Management ปี 2522 • หลักสูตรการบริหารการตลาด เนสเท็ค ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ปี 2521 ประสบการณ์การทำ�งาน ก.ค. 2554 - ธ.ค. 2557 : ที่ปรึกษาธุรกิจต่างประเทศ ม.ค. 2552 - มิ.ย. 2554 : หัวหน้าผู้แทนภาคพื้นเอเชียแปซิฟิค ประเทศจีน บริษัท คาลเดร่า อินเตอร์แนชันแนล ประเทศสหรัฐอเมริกา มิ.ย. 2546 - ธ.ค. 2551 : ที่ปรึกษาธุรกิจต่างประเทศ ม.ค. 2544 - ธ.ค. 2545 : ผู้อำ�นวยการฝ่ายขายและการตลาด ภาคพื้นเอเชียแปซิฟิค ประเทศสิงคโปร์ บริษัท แพ็คโซนิซ นิวเจอร์ซี ในเครือบริษัท มีดเวสวาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ม.ค. 2518 - ธ.ค. 2543 : ผู้อำ�นวยการ มาร์เก็ตติ้งเซอร์วิส/ผู้อำ�นวยการเนสเล่ ฟู้ดเซอร์วิส/ตำ�แหน่งอื่นๆ เนสเล่ ประเทศไทย ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร: ไม่มี
คุณวุฒิการศึกษา • Bachelor of Commerce & Management, Lincoln University ประเทศนิวซีแลนด์ ปี 2541 ประวัติการอบรม • Chartered Financial Analyst (CFA) charter holder with the CFA Institute. • CPA Australia ประสบการณ์การทำ�งาน 2556 - 2557 : Senior Vice President, Maybank Kim Eng ประเทศสิงคโปร์ 2548 - 2555 : Executive Director, Goldman Sachs ประเทศสิงคโปร์ 2547 - 2548 : Vice President, ECM Libra ประเทศมาเลเซีย 2543 - 2547 : Analyst, HSBC Securities ประเทศมาเลเซีย 2541 - 2543 : Auditor, Ernst & Young ประเทศมาเลเซีย ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร: ไม่มี
026
คณะกรรมการและคณะผู้บริหาร
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
คุณวุฒิการศึกษา • ปริญญาตรี สาขาบริหารจัดการและการบัญชี Woodbury University ประเทศ สหรัฐอเมริกา ปี 2518
นางสาวอุไร ปลื้มส�ำราญ (อายุ 60 ปี)
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับดูแล วันที่ได้รับการแต่งตั้ง : 12 กรกฎาคม 2553 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ร้อยละ) : 0.012
ประวัติการอบรม • หลักสูตร Diploma Examination (EXAM) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 41/ 2557 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 176/ 2556 • Certified Six Sigma Black Belt ปี 2551 • MBA Program, International School of Management จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2540 ประสบการณ์การท�ำงาน 2550 - 2553 : Managing Director, The Dow Chemical Indonesia Company- Indonesia 2547 - 2550 : Finance Director, The Dow Chemical Indonesia Company- Indonesia 2543 - 2547 : Corporate Audit Process Manager, The Dow Chemical Company - USA 2535 - 2543 : Country Controller, The Dow Chemical Thailand Company and SCC-Dow Group of joint Venture Companies ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
100% 100% 100%
บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง เยอรมัน จีเอ็มบีเอช
บริษัท โทรีเซน ชาร์เตอร์ริ่ง (พีทีอี) จ�ำกัด
บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง เอฟแซดอี
40%
99.9%
(2, 8)
SKI Energy Resources Inc.
Merton Investments NL BV (3)
Zamil Mermaid Offshore Services Company LLC
บริษัท เมอร์เมด ออฟชอร์ เซอร์วิสเซส พีทีอี แอลทีดี
บริษัท พีที ซีสเคป เซอร์เวยส์ อินโดนีเซีย
บริษัท ซีสเคป เซอร์เวยส์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด
บริษัท เมอร์เมด ซับซี เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด (7)
บริษัท เอเชีย ออฟชอร์ ริก 3 จ�ำกัด
บริษัท เอเชีย ออฟชอร์ ริก 2 จ�ำกัด
บริษัท เมอร์เมด ซับซี เซอร์วิสเซส แอลแอลซี (6) บริษัท เอเชีย ออฟชอร์ ดริลลิ่งค์ จ�ำกัด บริษัท เอเชีย ออฟชอร์ ริก 1 จ�ำกัด
บริษัท เมอร์เมด ซับซี เซอร์วิสเซส (อินเตอร์เนชั่นแนล) จ�ำกัด (5) บริษัท ซับซี ซาอุดิ อาระเบีย จ�ำกัด
บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ มอริเชียส จ�ำกัด บริษัท เมอร์เมด อินเตอร์เนชั่นแนล เวนเจอร์ส
บริษัท เอ็มทีอาร์-4 (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี
บริษัท เอ็มทีอาร์-1 (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี บริษัท เอ็มทีอาร์-2 จ�ำกัด บริษัท เอ็มทีอาร์-3 (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี
บริษัท เมอร์เมด ดริลลิ่งค์ จ�ำกัด
บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน)
ธุรกิจพลังงาน
บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี แอลทีดี
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน)
หมายเหตุ : (1) บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด ถือหุ้น บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) ร้อยละ 88.68 (2) บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุ้นทางตรงร้อยละ 49.6 บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี แอลทีดี ถือหุ้นร้อยละ 6.8 และบริษัท อะธีน โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด ถือหุ้นร้อยละ 1.4 ในบริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) (3) บริษทั พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุ้นบริษัท บาคองโค จ�ำกัด และบริษัท พีเอ็ม โทรีเซน (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี ร้อยละ 100 (4) บริษทั โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี แอลทีดี ถือหุ้นร้อยละ 100 ใน Merton Investments NL BV ถือหุ้นร้อยละ 20 ในบาเรีย เซเรส และถือหุ้นร้อยละ 9 ในบริษัท ไซโน แกรนด์เนส ฟู้ด อินดัสตรี กรุ๊ป จ�ำกัด (5) บริษทั เมอร์เมด ซับซี เซอร์วิสเซส (อินเตอร์เนชั่นแนล) จ�ำกัด เดิมชื่อ บริษัท ซับเทค จ�ำกัด (6) บริษัท เมอร์เมด ซับซี เซอร์วิสเซส แอลแอลซี เดิมชื่อ บริษัท ซับเทค กาตาร์ ไดวิ่ง แอนด์ มารีน เซอร์วิสเซส แอลแอลซี (7) บริษัท เมอร์เมด ซับซี เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด เดิมชื่อ บริษัท เมอร์เมด ออฟชอร์ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (8) โครงสร้างองค์กรภายใต้ บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) แสดงเฉพาะบริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น และที่ยังด�ำเนินกิจการอยู่เท่านั้น
บริษัท เฟิร์นเล่ย์ ชิปโบรคกิ้ง ไพรเวท จ�ำกัด บริษัท ปิโตรลิฟต์ จ�ำกัด
บริษัท เฟิร์นเล่ย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
100% 49%
50% 49%
บริษัท โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส.เอ. บริษัท โทรีเซน-วินามา เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด
บริษัท โทรีเซน-วินามา โลจิสติกส์ จ�ำกัด
51%
บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จ�ำกัด
บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง แอนด์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง แอนด์ โลจิสติกส์ (เมียนมาร์) จ�ำกัด 49% 70%
99.9% 99.9%
บริษัท โทรีเซน ชาร์เตอร์ริ่ง (เอชเค) จ�ำกัด
บริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จ�ำกัด
100%
100%
100%
100%
บริษัท ทอร์ เฟรนด์ชิป ชิปปิ้ง พีทีอี แอลทีดี บริษัท ทอร์ ฮอไรซัน ชิปปิ้ง พีทีอี แอลทีดี
บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง เดนมาร์ก เอพีเอส บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง แอฟริการใต้ (พีทีวาย) แอลทีดี
99.9% 100% 100%
100%
บริษัท พรีโม ชิปปิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงคโปร์ พีทีอี แอลทีดี บริษัท ทอร์ ฟอร์จูน ชิปปิ้ง พีทีอี แอลทีดี
ธุรกิจขนส่ง
บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
โครงสร้างองค์กร 57.8% 95% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 95% 49% 33.8% 100% 100% 100% 100% 100% 49% 100% 40% 100% 40%
100%
100%
บริษัท ไซโน แกรนด์เนส ฟู้ด อินดัสตรี กรุ๊ป จ�ำกัด (3)
ธุรกิจอื่น
9%
88.7% 99.9% 99.9% 99.9% 99.9% 100% บาเรีย เซเรส (3) 20% บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี (4) 100% บริษัท ชิดลม มารีน เซอร์วิสเซส แอนด์ ซัพพลายส์ จ�ำกัด 99.9% บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส์ จ�ำกัด 51% บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง เอฟแซดอี 100% บริษัท ชาร์จา พอร์ต เซอร์วิสเซส แอลแอลซี 49% บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) (1) บริษัท ยูเอ็มเอส ดิสทริบิวชั่น จ�ำกัด บริษัท ยูเอ็มเอส ไลเตอร์ จ�ำกัด บริษัท ยูเอ็มเอส เพลเลท เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด บริษัท ยูเอ็มเอส พอร์ต เซอร์วิสเซส จ�ำกัด บริษัท บาคองโค จ�ำกัด (4)
ธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ� ำ ปี 2557
โครงสร้างองค์กร
027
028
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ธุรกิจทั่วโลกของ TTA
TTA คือหนึ่งในบริษัทเพื่อการลงทุนในเชิงกลยุทธ์ชั้นนำ�ในประเทศไทย ที่มีพอร์ตการลงทุนระหว่างประเทศใน 10 กว่าประเทศชั้นนำ�ทั่วโลก ซึ่งรายได้กว่าร้อยละ 90 ของ TTA มาจากพอร์ตการลงทุนระหว่าง ประเทศเหล่านี้ รายได้รวม
22,341 ล้านบาท บริการให้บริการ นอกชายฝั่ง
เดนมาร์ก
13 ล�ำ
เรือวิศวกรรมใต้น�้ำ*
6 + 17 ตัว
ระบบควบคุมการด�ำน�ำ้ และระบบปรับความดันอากาศ
กาตาร์
ดูไบ ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
15 ล�ำ
ยานส�ำรวจใต้ทะเลแบบไร้คนขับ
4 ล�ำ
เรือขุดเจาะท้องแบน **
3 ล�ำ
เรือขุดเจาะเคลื่อนที่
* รวมเรือที่กำ� ลังสั่งต่อใหม่ 1 ล�ำ และเรือที่เช่า 8 ล�ำ ** รวมเรือที่สั่งต่อใหม่ 2 ล�ำ
แอฟริกาใต้
เรือขนส่งสินค้า แห้งเทกอง*** 44 ล�ำ
***เรือที่เป็นเจ้าของเอง 24 ล�ำ เรือเช่า 19.6 ล�ำ
ยอดขายปุ๋ย
196,784
ตัน (รวมยาฆ่าแมลง)
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
029
เรือขนส่งสินค้าแห้งเทกอง - ไทย - สิงคโปร์ - เดนมาร์ก - แอฟริกาใต้ - ดูไบ
บริการให้บริการนอกชายฝั่ง - ไทย - สิงคโปร์ - อินโดนีเซีย - ซาอุดิอาระเบีย - กาตาร์ - สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ จีน
ปุ๋ยเคมีเพื่อการเกษตรและคลังสินค้า ไทย
เวียดนาม
- เวียดนาม - สิงคโปร์
สิงคโปร์ อินโดนีเซีย
โลจิสติกส์ถ่านหิน - ไทย
อาหารและเครื่องดื่ม - จีน - สิงคโปร์
ยอดขาย ถ่านหิน
339,203 ตัน
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
TTA มองหาโอกาส การลงทุนทั้งในธุรกิจ หลักและธุรกิจใหม่ๆ ที่น่าสนใจ เพื่อให้ เราเติบโตอย่างยั่งยืน ในอนาคต
ลงทุนเพื่อการเติบโต
030
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
4,371 ล้านบาท ซือ้ เรือ Supramax มือสอง จำ�นวน 6 ลำ� ส่งผลให้กองเรือ ของโทรีเซน ชิปปิง้ ขยายเป็น 24 ลำ�
14,052
ล้านบาท
สัง่ ต่อแท่นขุดเจาะทันสมัย ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงจำ�นวน 2 ลำ� และเรือสนับสนุนการ ดำ�น้ำ�อีก 1 ลำ� โดยเรือทัง้ หมด มีกำ�หนดส่งมอบในปี 2559
611 ล้านบาท
ซือ้ หุน ้ จำ�นวนร้อยละ 9 ในบริษทั ไซโน แกรนด์เนส ฟูด ้ อินดัสตรี กรุป๊ ทีม่ ี การเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยเป็นการลงทุนตามกลยุทธ์ การกระจายความเสีย่ ง เพือ่ ลดความผันผวน ตามวัฎจักรของธุรกิจหลัก
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
031
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
4 ธุรกิจหลักสามารถ สร้างผลงานที่แข็งแกร่ง ในรอบปี 2557
พลิกฟื้นกิจการ
032
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
22,341 ล้านบาท
รายได้รวมของกลุม่ TTA ปรับตัว เพิม่ ขึน ้ จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ถึงร้อยละ 14 ซึง่ เป็นผลส่วนใหญ่ มาจาก 2 ธุรกิจหลัก คือ โทรีเซน ชิปปิง้ และเมอร์เมด
3,575 ล้านบาท
ผลกำ�ไรก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี ค่าเสือ่ มและค่าตัดจำ�หน่าย (EBITDA) เพิม่ ขึน ้ จากปีกอ่ น ถึงร้อยละ 38 โดยส่วนใหญ่เป็น ผลมาจากส่วนแบ่งกำ�ไรจาก Asia Offshore Drilling ซึง่ เป็นบริษทั ร่วมทุนของเมอร์เมดพุง่ สูงขึน ้ 1,182 ล้านบาท เพิม่ ขึน ้ จากปีกอ่ น ถึงร้อยละ 141
986 ล้านบาท
ผลกำ�ไรสุทธิรวมจากการดำ�เนินงาน ปกติ เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีกอ่ นทีม่ ผ ี ลขาดทุนสุทธิ 109 ล้านบาท ถ้าหากรวมรายการพิเศษ ทางบัญชีจำ�นวน 4,642 ล้านบาท อันเป็นผลมาจากการตัง้ ด้อยค่า ของกองเรือ ผลกำ�ไรสุทธิของ TTA ในปี 2557 อยูท่ ่ี 920 ล้านบาท เทียบกับผลขาดทุนสุทธิในปี 2556 ที่ 4,751 ล้านบาท
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
033
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
เรามีความพร้อมในการ ลงทุนทั้งในธุรกิจดั้งเดิม และธุรกิจใหม่ๆ ที่น่าสนใจ เพื่อสร้างการเติบโตอย่าง รวดเร็วและผลตอบแทน ที่ดีให้กับผู้ถือหุ้น
รากฐานที่มั่นคง
034
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
45%
สัดส่วนหนีส้ นิ ต่อทุน
งบดุลทีแ่ ข็งแกร่งด้วยการบริหาร จัดการชำ�ระหนีต้ ามกำ�หนด และ มีเงินสดพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินงาน
เงินสด
7,711 ล้านบาท
เงินสดในมือของ TTA และบริษทั ในเครือ ถ้าหักเงินทุนหมุนเวียน สำ�หรับการดำ�เนินงานของบริษทั ในเครือออก TTA มีเงินสดในมือ จำ�นวนทัง้ สิน ้ 2,921 ล้านบาท
7,287
ล้านบาท จากการเพิ่ มทุน ผูถ้ อื หุน ้ ให้การสนับสนุนการซือ้ หุน ้ เพิม่ ทุนครัง้ ล่าสุดเต็มจำ�นวน
เงินสด
10,208
ล้านบาท เพือ่ การเติบโต เงินสดรวมสำ�หรับการเติบโตของ TTA ซึง่ เงินจำ�นวนนีไ้ ม่เพียงแต่ชว่ ย ให้บริษทั ก้าวข้ามช่วงเวลาทีย่ าก ลำ�บากเท่านัน ้ แต่เพียงพอทีจ่ ะคว้า โอกาสทีด ่ สี ำ�หรับการขยายงาน อีกด้วย
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
035
036
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
037
ส่วนองค์กรหลัก บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำ�กัด มหาชน ความเป็นมาของบริษัทฯ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“TTA” หรือ “บริษัทฯ”) เป็นบริษัทเพื่อการลงทุนในเชิงกลยุทธ์ที่มีพอร์ต การลงทุนอยู่ในสามกลุ่มธุรกิจหลัก ได้แก่ กลุ่มธุรกิจขนส่ง กลุม่ ธุรกิจพลังงาน และกลุม่ ธุรกิจโครงสร้างพืน้ ฐาน ปัจจุบนั TTA ติดอยูใ่ น 100 ล�ำดับแรกของบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ TTA เป็นบริษัทที่เติบโตมาจากบริษัท ที่ให้บริการเกี่ยวกับการขนส่งทางเรือ ซึ่งก่อตั้งโดยชาวนอร์เวย์ ในปี 2447 กลายมาเป็ น กลุ ่ ม บริ ษั ท ขนาดใหญ่ ที่ ป ระกอบ ไปด้วยบริษัทย่อยที่ดำ� เนินธุรกิจในระดับสากลเป็นจ�ำนวนมาก TTA เริ่มต้นจากกลุ่มธุรกิจขนส่งด้วยการให้บริการเรือบรรทุก สินค้าแห้งเทกองเป็นครั้งแรก ในปี 2528 ก่อนจะน�ำบริษัทฯ เข้าไปจดทะเบียนอยูใ่ นตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในเวลา 10 ปีต่อมา จากนั้นจึงได้ขยายขอบเขตธุรกิจไปยังกลุ่มธุรกิจ พลังงานด้วยการเข้าซื้อหุ้นบริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) (“เมอร์เมด”) ซึ่งประกอบธุรกิจให้บริการนอกชายฝั่ง แก่บริษัทน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในเวลาต่อมาในปี 2550 TTA จึงได้นำ� เมอร์เมดเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์สงิ คโปร์ (“SGX”) โดยสามารถระดมทุนได้ถึง 246 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ เพื่อสร้างการเติบโตให้กับเมอร์เมดต่อไป
กรุ๊ป (ไซปรัส) แอลทีดี (ซึ่งด�ำเนินธุรกิจอยู่ในประเทศฟิลิปปินส์) และบริษัท ชิง เมย จ�ำกัด (Qing Mei Pte. Ltd.) เพื่อพัฒนา โครงการเหมืองถ่านหินใหม่ในอินโดนีเซีย TTA เพิ่มความแข็งแกร่งให้แก่ธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน โดยการ เข้าซือ้ บริษทั บาคองโค จ�ำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ผลิตและจ�ำหน่ายปุย๋ ในประเทศเวียดนาม จากนั้นได้เข้าซื้อ บาเรีย เซเรซ ตามกลยุทธ์ การสร้างธุรกิจโลจิสติกส์ครบวงจรในประเทศเวียดนาม ต่อมาในปี 2554 เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญที่เป็นการวาง รากฐานและสร้างความเติบโตให้กับบริษัทหลายประการ ซึ่งการ เปลี่ ย นแปลงดั ง กล่ า ว คื อ การเปลี่ ย นโครงสร้ า งการถื อ หุ ้ น โดยครอบครัวมหากิจศิริได้กลายมาเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน TTA เนื่องจากเล็งถึงเห็นโอกาสในการฟื้นฟูธุรกิจของ TTA หลังจาก ที่บริษัทฯ ต้องฝ่าฟันอุปสรรคนานับประการในช่วงขาลงของ วัฏจักร
ด้วยความมุ่งมั่นที่จะฟื้นฟูกิจการ TTA จึงได้มีระดมทุนเพิ่ม ในปี 2556 โดยให้สิทธิผู้ถือหุ้นเดิมจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนใหม่ ซึ่ง บริษัทฯ สามารถระดมทุนจากการเพิ่มทุนในครั้งนี้เป็นจ�ำนวน 3,965 ล้านบาท เพื่อน�ำไปใช้ส�ำหรับขยายกองเรือบรรทุกสินค้า แห้งเทกอง และสนับสนุนเมอร์เมดในการปรับปรุงกองเรือขุด เจาะท้องแบน ซึ่งในอีกไม่กี่เดือนต่อมา เมอร์เมดก็ได้มีการระดม จากเป้าหมายในการสร้างการเติบโตของธุรกิจเพื่อยังประโยชน์ ทุนเพิ่มเติมจ�ำนวน 176 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ ด้วยการออกหุ้น แก่ผู้ถือหุ้น ประกอบกับความมุ่งมั่นในการบรรเทาผลกระทบที่ สามัญเพิม่ ทุนให้กบั ผูถ้ อื หุน้ เดิม และการเสนอขายหุน้ ในวงจ�ำกัด เกิดจากความเป็นวัฏจักรของสองกลุ่มธุรกิจหลักที่มีอยู่ TTA จึง เพื่อหาเรือขุดเจาะท้องแบนมาทดแทนเรือล�ำเก่า พยายามสร้างความหลากหลายให้กบั พอร์ตการลงทุน โดยหันมา กระจายการลงทุนไปในธุรกิจต่างๆ ที่มีความหลากหลายนับแต่ ในปี 2557 TTA มีการระดมทุนเพิ่มเติมอีก 4,174 ล้านบาท เพื่อ นั้นมา ที่จะเร่งฟื้นฟูกองเรือบรรทุกสินค้าแห้งเทกอง เพื่อสร้างขีดความ สามารถในการแข่งขันให้กับกองเรือบรรทุกสินค้าแห้งเทกองใน ปัจจุบนั TTA มีการลงทุนทีเ่ หมาะสมอย่างหลากหลายธุรกิจ เพือ่ ช่วงจังหวะที่ราคาซื้อขายเรือเหมาะสม รวมถึงหาเงินทุน ส�ำหรับ ลดผลกระทบของช่ ว งวั ฏ จั ก รขาลงที่ เ กิ ด กั บ ธุ ร กิ จ หลั ก ของ โอกาสในการลงทุนอื่นๆ เพิ่มเติมตามกลยุทธ์การลงทุนของ บริษัทฯการกระจายการลงทุนเพื่อขยายกิจการที่ผ่านมาของ บริษัทฯ บริษัทฯ ประกอบด้วย การซื้อหุ้นในบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิส เซส จ�ำกัด (มหาชน) (“UMS”) ซึ่งด�ำเนินธุรกิจโลจิสติกส์ถ่านหิน โดยล่าสุด เมื่อปลายปี 2557 ที่ผ่านมา TTA สร้างความแข็งแกร่ง เพื่อตั้งเป็นกลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน ต่อมาก็มีการลงทุนใน และหลากหลายให้กับพอร์ตการลงทุนของบริษัทฯ โดยได้ขยาย ธุรกิจถ่านหินเพิ่มเติม ด้วยการเข้าซื้อหุ้นของบริษัท เมอร์ตัน การลงทุนสูธ่ รุ กิจอาหารและเครือ่ งดืม่ ทีม่ กี ารเติบโตสูงในประเทศ
038
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
อุตสาหกรรม ซึ่งการเข้ามาในครั้งนี้ ส่งผลให้ TTA เกิดการ เปลี่ยนแปลงและปรับโครงสร้างที่ช่วยเพิ่มความสามารถในการ ควบคุม และหันกลับไปให้ความสนใจในการสร้างมูลค่าผู้ถือหุ้น ดังนั้นในปี 2555 จึงเป็นปีแห่งการปรับโครงสร้างและการ เปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญของ TTA ในขณะเดียวกัน ปี 2555 ยัง เป็นปีแห่งวัฏจักรขาลงของอุตสาหกรรมธุรกิจขนส่งสินค้าแห้ง การด�ำเนินงานและการลงทุนเชิงกลยุทธ์ที่ได้กล่าวมาข้างต้น เทกอง โดยอัตราค่าระวางเรือทั่วโลกได้ตกต�่ำอย่างที่สุดในรอบ ได้มีส่วนช่วยให้ TTA กลายเป็นบริษัทเพื่อการลงทุนที่ประสบ 25 ปีอีกด้วย ด้วยสาเหตุข้างต้น ประกอบกับความมุ่งมั่นในการ ความส� ำ เร็ จ โดยมี พ อร์ ต การลงทุ น ที่ ห ลากหลายทั้ ง ในด้ า น สร้างความโปร่งใสทางการเงินให้กับกลุ่มบริษัทฯ TTA จึงได้ ท�ำการประเมินและประกาศการด้อยค่าของสินทรัพย์และการตัด ภูมิศาสตร์และอุตสาหกรรมได้สำ� เร็จ จ�ำหน่ายสินทรัพย์หลายรายการ เพือ่ ให้สะท้อนภาพรวมทีแ่ ท้จริง ของมูลค่ายุติธรรมของกองเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองและมูลค่า ของสินค้าคงคลังใน UMS นอกจากนี้ TTA ยังได้ปรับโครงสร้าง ในฐานะบริษทั ประกอบธุรกิจในการถือหุน้ ผลการด�ำเนินงานและ ของธุรกิจขนส่งสินค้าแห้งเทกอง เพือ่ ให้ได้รบั ประโยชน์ทางภาษี การเงินของ TTA จะขึน้ อยูก่ บั ความสามารถในการบริหารจัดการ และก่อให้เกิดการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น การลงทุนและธุรกิจทั้งหลายด้วยความรอบคอบ และมีประสิทธิ ภาพผ่านวงจรอุตสาหกรรมที่ต่างกันโดยใช้วิธีทางการเงินแบบ ในขณะที่ปี 2556 นับเป็นปีแห่งความแตกต่างอย่างแท้จริง โดยบริษทั ฯ ยังคงต้องเผชิญกับความท้าทายต่างๆ ทีเ่ กิดจากช่วง ระมัดระวัง ขาลงของอุตสาหกรรมอย่างต่อเนือ่ ง จึงส่งผลให้ TTA จ�ำเป็นต้อง บันทึกการด้อยค่าของสินทรัพย์และการตัดจ� ำหน่ายสินทรัพย์ รายการพิเศษอย่างมีนัยส�ำคัญอีกครั้ง อันเป็นผลมาจากสภาวะ ทางเศรษฐกิจที่ไม่เอื้ออ�ำนวย และปัญหาในการด�ำเนินการใน TTA มุ่งหมายที่จะสร้างพอร์ตการลงทุนให้มีความสมดุลและมี บางธุรกิจ การเติบโตอย่างต่อเนือ่ งสม�ำ่ เสมอ ด้วยการแสวงหาและประเมิน โอกาสในการลงทุน ที่สามารถตอบโจทย์ได้ตามเป้าหรือเกินกว่า อย่างไรก็ตาม ในทางตรงกันข้าม บริษัทฯ ก็ประสบความส�ำเร็จ เป้าผลตอบแทนในระยะยาวที่ได้วางไว้ให้กับธุรกิจต่างๆ ในสาม ในการด�ำเนินการที่ส�ำคัญหลายประการ เช่น ได้รับสัญญาว่าจ้าง กลุ่มธุรกิจ ซึ่งได้แก่ กลุ่มธุรกิจขนส่งทางเรือ กลุ่มธุรกิจพลังงาน งานในภาคธุรกิจน�้ำมันและก๊าซที่มีมูลค่าสูงหลายฉบับ ซึ่งสร้าง และกลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งธุรกิจเหล่านี้เป็นธุรกิจที่ใช้ รายได้สุทธิสูงมากให้กับบริษัทฯ ในขณะเดียวกัน TTA ยังได้เพิ่ม เงินลงทุนสูง ขีดความสามารถทางการเงินของตนเองผ่านการเพิ่มทุน ซึ่งเงิน ทุนดังกล่าวได้ชว่ ยให้บริษทั ฯ สามารถลงทุนเพิม่ เติมในธุรกิจการ ซึง่ ในฐานะทีเ่ ป็นบริษทั เพือ่ การลงทุน TTA จึงยังคงมองหาโอกาส ขนส่งสินค้าแห้งเทกองและธุรกิจให้บริการเรือขุดเจาะนอกชายฝัง่ ในการลงทุนระยะยาวในธุรกิจใหม่ๆ โดยบริษัทที่ TTA จะเข้าไป ได้ นอกจากความสามารถในการปรับปรุงผลการด�ำเนินงานแล้ว ลงทุนจะต้องผ่านคุณสมบัติต่อไปนี้ คือมีคณะผู้บริหารที่มีความ TTA ยังประสบความส�ำเร็จในการเปลีย่ นผ่านผูบ้ ริหารระดับสูงที่ สามารถ มีกระแสเงินสดที่ดี เป็นผู้นำ� ในอุตสาหกรรมที่ตนเองท�ำ มีการรับช่วง และส่งต่องานกันอย่างราบรื่น โดยไม่มีการหยุด ธุรกิจอยู่ ที่ผ่านมามีผลประกอบการที่ดี และยังมีโอกาสในการ ชะงักของธุรกิจ เติบโตในอุตสาหกรรมนัน้ ๆ เพือ่ ให้ TTA เป็นบริษทั ทีม่ พี อร์ตการ ลงทุนที่มีส่วนผสมของสินทรัพย์ที่ลงตัวเพื่อการสร้างก�ำไรอย่าง 2557 - มุ่งสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน ยั่งยืน เพื่อผลตอบแทนที่ดีแก่ผู้ถือหุ้น
จีน ด้วยการลงนามซื้อหุ้นจ�ำนวนร้อยละ 9 ในบริษัท ไซโน แก รนด์ เ นส ฟู ้ ด อิ น ดั ส ตรี กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด ("ไซโน แกรนด์ เ นส") ซึง่ เป็นบริษทั สัญชาติจนี ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์สงิ คโปร์ และยั ง เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต ผั ก และผลไม้ บ รรจุ ก ระป๋ อ งและน�้ ำ ผลไม้ โลโคท ชั้นน�ำในประเทศจีน
ข้อมูลและภาพรวมธุรกิจ
กลยุทธ์การลงทุนของ TTA
พัฒนาการที่ส�ำคัญ
รอบปี 2557 นับเป็นปีแห่งการฟืน้ ตัวของบริษทั ฯ โดยใน ปี 2557 ได้ มี ก ารวางกลยุ ท ธ์ ส� ำ คั ญ ที่ ส ร้ า งรากฐานในการพั ฒ นาและ ปูเส้นทางสู่การเติบโตในอนาคตให้กับ TTA
2554 - 2556 : ปีแห่งการวางรากฐานเพือ่ คณะผูบ้ ริหารและการวางทิศทางการด�ำเนิน การเติบโตของบริษัท ในช่วงปลายปี 2554 ครอบครัวมหากิจศิริได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ของ TTA โดยมีเป้าหมายเพื่อพลิกฟื้นกิจการให้กลับมา รุ่งเรืองอีกครั้งหลังจากที่บริษัทฯ ต้องเผชิญกับช่วงตกต�่ำของ
งานใหม่
คณะผู้บริหารได้พยายามเสริมสร้างรากฐานทางธุรกิจของ TTA ให้แข็งแกร่งยิ่งกว่าเดิม ด้วยการบริหารจัดการทางการเงินอย่าง
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
รอบคอบ การจัดท�ำวิสัยทัศน์และพันธกิจใหม่ เพื่อสร้างแรง บันดาลใจและความเป็นอันหนึง่ อันเดียวกันของแต่ละทีม ในภาค ธุรกิจต่างๆ รวมถึงวางกลยุทธ์ใหม่ๆ โดยบริษัทฯ ยังคงแสวงหา ทางเสริมสร้างความแข็งแกร่งและพัฒนา โทรีเซนชิปปิง้ เมอร์เมด และบาคองโค ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ขับเคลื่อนก�ำไรสุทธิ ในขณะ เดียวกัน คณะผูบ้ ริหารใหม่ยงั ได้วางเป้าหมายใหม่ทชี่ ดั เจนในการ เพิ่มความหลากหลายให้แก่พอร์ตการลงทุนบริษัทฯ
ความแข็งแกร่งทางการเงิน ถึงแม้ว่าผลการด�ำเนินงานในช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2557 จะอ่ อ นกว่ า ช่ ว งเดี ย วกั น ของปี ก ่ อ นเนื่ อ งจากภาวะผั น ผวน ของอุ ต สาหกรรม แต่ ส� ำ หรั บ ผลการด� ำ เนิ น งานในปี 2557 (มกราคม-ธันวาคม) ถือเป็นปีที่ TTA มีผลประกอบการที่ดี จากการปรับตัวดีขึ้นของหน่วยธุรกิจต่างๆ ในพอร์ต โดยหลาย ธุรกิจมีการเติบโตและสามารถสร้างผลก�ำไรสูงเป็นประวัติการณ์ โดยในรอบปี 2557 บริษัทฯ มีผลก�ำไรสุทธิ 920 ล้านบาท
039
มากขึ้นได้ช่วยเพิ่มความสามารถของโทรีเซนชิปปิ้ง ในการตอบ สนองความต้องการของฐานลูกค้าที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์ในการซื้อเรือมือสองมาทดแทนการสั่งต่อเรือใหม่ของ โทรีเซนชิปปิ้ง ถูกวางขึ้นให้สอดคล้องกับเป้าหมายของ TTA ใน การส่ ง มอบมู ล ค่ า การลงทุ น ให้ กั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว เนือ่ งจากเรือมือสองจะสามารถน�ำมาให้บริการเพือ่ สร้างรายได้ได้ ทันที นอกจากนี้ TTA ยังได้ประกาศการควบรวมกิจการบริษัท ขนส่งทางเรือ ซึ่งไม่ได้ด�ำเนินการแล้วจ�ำนวน 45 แห่ง เพื่อลด ค่าใช้จ่ายและต้นทุนทางการบริหารที่เกี่ยวข้อง และเพิ่มขีด ความสามารถในการบริหารจัดการเงินทุน
ธุรกิจพลังงาน
เมอร์เมดได้ลงทุนเพิ่มเติม เพื่อขยายขนาดกองเรือวิศวกรรม ใต้ทะเลและเรือขุดเจาะ ซึ่งเป็นไปตามแผนการในการเพิ่มขีด ความสามารถในการให้บริการนอกชายฝั่งแก่บริษัทน�้ำมันและ ก๊าซธรรมชาติของเมอร์เมด โดยเมอร์เมดได้ท�ำสัญญาสั่งต่อเรือ ขุดเจาะใหม่จำ� นวนสองล�ำ และสัง่ ต่อเรือสนับสนุนการปฏิบตั กิ าร นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังประสบความส�ำเร็จในการระดมทุนจ�ำนวน ด�ำน�้ำใหม่อีกหนึ่งล�ำกับบริษัท ไชนา เมอร์แชนท์ อินดัสตรี 4,174 ล้านบาท ซึ่งเป็นการเพิ่มทุนโดยการออกและจัดสรร โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด เป็นจ�ำนวนเงินรวมทั้งสิ้น 436 ล้านดอลลาร์ หุน้ สามัญเพิม่ ทุนใหม่ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ เดิม ซึง่ มีผถู้ อื หุน้ สนใจจองซือ้ สหรัฐอเมริกา ซึง่ คาดว่า เรือขุดเจาะจะสร้างแล้วเสร็จและส่งมอบ หุน้ สามัญหุน้ เพิม่ ทุนดังกล่าวเกินกว่าจ�ำนวนทีจ่ ดั สรรไว้ ส่งผลให้ ได้ภายในไตรมาสที่หนึ่งและสองของปี 2559 ในขณะที่เรือ บริษทั ฯ สามารถลงทุนขยายกองเรือธุรกิจขนส่งสินค้าแห้งเทกอง สนับสนุนการปฏิบัติการด�ำน�้ำจะแล้วเสร็จและส่งมอบได้ใน ไตรมาสที่สามของปี 2559 ในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2557 และธุรกิจขุดเจาะน�ำ้ มันนอกชายฝั่งได้เป็นผลส�ำเร็จ เมอร์เมดได้ขยายการรูปแบบการให้บริการให้ครอบคลุมสู่การ รับจ้างวางท่อและสายเคเบิล
วิสัยทัศน์และพันธกิจใหม่
จากการเปลี่ยนแปลงหลายประการที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเช่นนี้ จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ TTA ต้องมีการวางทิศทางการด�ำเนินงาน ที่ชัดเจน ดังนั้น คณะผู้บริหารจึงได้ใช้เวลาทบทวนและปรับ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมของบริษัทฯ ใหม่ เพื่อสะท้อนตัว ตนและทิศทางใหม่ๆ ที่ TTA จะมุ่งไป ซึ่งวิสัยทัศน์และพันธกิจ ใหม่นี้ คือองค์ประกอบทีส่ ำ� คัญของบริษทั ฯ และยังสอดคล้องกับ แผนกลยุทธ์แม่บทห้าปีของบริษัทฯ อีกด้วย
ธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน
กลยุทธ์ใหม่
การเติบโตจากการควบรวมหรือซื้อกิจการ
การเติบโตจากธุรกิจดั้งเดิม ธุรกิจขนส่ง
TTA ได้ประกาศน�ำบริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“PMTA”) เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย เพือ่ สะท้อนมูลค่าตลาดทีเ่ พิม่ ขึน้ ของบาคองโค และ เป็นการวางกลยุทธ์ทางการเงิน เพือ่ หาแหล่งเงินทุนสนับสนุนการ เติบโตอย่างรวดเร็วให้กับบาคองโค
กลยุทธ์ส�ำหรับการขยายการลงทุนในธุรกิจใหม่ หนึ่งในการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญของ TTA ในปีนี้ คือการตัดสินใจ ลงทุนในภาคธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มที่เติบโตอย่างรวดเร็วใน ประเทศจีน ด้วยการเข้าซื้อหุ้นร้อยละ 9 ของบริษัท ไซโน แกรนด์เนส ฟู้ด อินดัสตรี กรุ๊ป จ�ำกัด (“ไซโน แกรนด์เนส”) ซึ่งเป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายอาหารกระป๋องและเครื่องดื่มผลไม้ใน ประเทศจีน ทีจ่ ดทะเบียนอยูใ่ นตลาดหลักทรัพย์ประเทศสิงคโปร์
กองเรือโทรีเซนชิปปิง้ มีขดี ความสามารถในการบรรทุกสินค้ารวม เพิ่มขึ้นเป็น 1.2 ล้านเดทเวทตัน โดยในปีนี้มีการซื้อเรือขนส่ง สิ น ค้ า แห้ ง เทกองมื อ สองแบบ Supramax เพิ่ ม ขึ้ น หกล� ำ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้ขยายส�ำนักงานให้ครอบคลุมทัว่ โลก โดย การเปิดส�ำนักงานใหม่ที่กรุงเคปทาวน์ หลังเปิดตัวส�ำนักงานที่ กรุงโคเปนเฮเกน ซึ่งเป็นส�ำนักงานแห่งแรกในทวีปยุโรปไปเมื่อ การซื้อขายดังกล่าวเสร็จสิ้นไปเมื่อเดือนธันวาคมที่ผ่านมา โดย ปี 2556 ซึง่ การขยายกองเรือและพืน้ ทีก่ ารให้บริการทีค่ รอบคลุม TTA ได้กลายมาเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่เป็นอันดับสองและสามารถ ส่งตัวแทนไปเป็นกรรมการได้หนึ่งต�ำแหน่งในไซโน แกรนด์เนส
040
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
การลงทุนในไซโน แกรนด์เนส สอดคล้องกับกลยุทธ์ของบริษัทฯ ในการกระจายความเสี่ยง และเพิ่มความหลากหลายของพอร์ต การลงทุน ด้วยการแสวงหาโอกาสในการเติบโตจากการลงทุน ในธุรกิจที่มีศักยภาพสูง มีสถานะการเงินที่แข็งแกร่ง และมี ความสามารถในการท�ำก�ำไร ซึ่งการด�ำเนินการในลักษณะนี้ ถือเป็นการเพิม่ กลุม่ ธุรกิจใหม่เป็นล�ำดับทีส่ ี่ ให้กบั พอร์ตการลงทุน ที่มีอยู่เดิมซึ่งประกอบด้วยกลุ่มธุรกิจขนส่ง กลุ่มธุรกิจพลังงาน และกลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน
แนวโน้มส�ำหรับปี 2558 และปีต่อไป
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน บริษัท บาคองโค จ�ำกัด
(สัดส่วนการถือหุ้น 100%) ผู ้ ผ ลิ ต และจ� ำ หน่ า ยปุ ๋ ย และให้ บ ริ ก ารคลั ง สิ น ค้ า ในประเทศ เวียดนาม
บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน)
(สัดส่วนการถือหุ้น 88.7%) ผู้ให้บริการโลจิสติกส์และจัดจ�ำหน่ายถ่านหินในประเทศไทย
ปี 2558 น่าจะเป็นปีที่ท้าทายส�ำหรับ TTA อันเป็นผลมาจาก แนวโน้มและสถานการณ์ในปัจจุบนั ของตลาดธุรกิจเรือขนส่งสินค้า แห้งเทกองและธุรกิจน�ำ้ มันและก๊าซธรรมชาติ โดยธุรกิจเรือขนส่ง สินค้าแห้งเทกอง น่าจะมีการเติบโตช้าลง ในขณะที่ธุรกิจน�้ำมัน และก๊าซธรรมชาติคาดว่าน่าจะต้องเผชิญกับสถานการณ์ราคา น�้ำมันลดลงต่อไป
ในรอบปีปฏิทิน 2557 บริษัทย่อยหลักทั้ง 4 บริษัท ประกอบด้วย บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงคโปร์ พีทีอี แอลทีดี บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั บาคองโค จ�ำกัด และบริษทั ยูนคิ ไมนิ่ ง เซอร์ วิ ส เซส จ� ำ กั ด (มหาชน) สร้ า งรายได้ ป ระมาณ ร้อยละ 99.03 ของรายได้รวมของ TTA และสร้างก�ำไรก่อนหัก ดอกเบี้ย ภาษี การเสื่อมราคา และการตัดจ�ำหน่าย (EBITDA) ประมาณร้อยละ 104.64 ของ EBITDA รวม
จากรากฐานทีไ่ ด้วางไว้ในปี 2555 และ 2556 พร้อมทัง้ การลงทุน และผลที่เกิดขึ้นในปี 2557 ได้ช่วยผลักดัน TTA ให้ก้าวเดินใน ไปสูเ่ ป้าหมายของบริษทั ฯ ในการเป็นกลุม่ บริษทั ฯ เพือ่ การลงทุน ชั้นน�ำในเอเชียภายในปี 2563 คณะผู้บริหารจะยังคงพยายาม ต่อยอดจากความส�ำเร็จที่ผ่านมาและมุ่งมั่นต่อไป เพื่อพัฒนา ผลการด�ำเนินงานให้ดีขึ้นและเพิ่มมูลค่าในหุ้นให้กับผู้ถือหุ้น
องค์ประกอบส�ำคัญในกลยุทธ์การเติบโตของกลุ่มบริษัทใน TTA คื อ การเพิ่ ม ความแข็ ง แกร่ ง ให้ พ อร์ ต การลงทุ น เดิ ม ที่ มี อ ยู ่ คณะผู้บริหารของ TTA จะเน้นการพัฒนาและสนับสนุนการ เติบโตของบริษัทย่อยหลัก ด้วยการท�ำให้บริษัทย่อยมีโครงสร้าง ทุนที่เหมาะสม และกระแสเงินสดที่เพียงพอ รวมถึงมีขีดความ สามารถในการช�ำระหนี้
การประกอบธุรกิจ
เนื่องจากกลุ่มบริษัทของ TTA พยายามขยายขอบเขตพื้นที่ใน การให้บริการออกไป เอเชียและตะวันออกกลางจึงเป็นภูมิภาค หลั ก ที่ TTA ให้ ค วามสนใจส� ำ หรั บ การลงทุ น ในธุ ร กิ จ ใหม่ โดยบริษัทที่เข้าข่ายการลงทุนจะต้องมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ ก�ำหนดไว้ดังต่อไปนี้คือ มีคณะผู้บริหารที่มีความสามารถ มี ผลประกอบการที่ผ่านมาดี มีกระแสเงินสดที่ดี มีสถานะที่มั่นคง ในอุตสาหกรรม และมีโอกาสในการเติบโตสูง
พอร์ตการลงทุนของ TTA ผลการปฏิบัติงานด้านเศรษฐกิจและการเงินของ TTA จะขึ้นอยู่ กับความสามารถในการบริหารจัดการพอร์ตการลงทุนที่มีความ หลากหลายได้อย่างรอบคอบและมีประสิทธิภาพ พอร์ตการลงทุน ของเรา ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2557 ประกอบด้วยกลุ่มธุรกิจ หลัก 3 กลุ่มดังนี้
ธุรกิจขนส่ง บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงคโปร์ พีทีอี แอลทีด ี
(สัดส่วนการถือหุ้น 100%) ผู้บริการเรือบรรทุกสินค้าแห้งเทกอง
ธุรกิจพลังงาน บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน)
(สัดส่วนการถือหุ้น 57.8%) ผู ้ บ ริ ก ารวิ ศ วกรรมใต้ ท ะเลและบริ ก ารเรื อ ขุ ด เจาะน�้ ำ มั น นอกชายฝั่ง
การน�ำกลยุทธ์เหล่านี้มาด�ำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วย ให้ TTA สามารถบรรลุเป้าหมายระยะยาว ซึ่งก็คือการเพิ่มมูลค่า ทางตลาดของบริษัทฯ เป็น 5 หมื่นล้านบาท และสามารถขยับ เข้าไปเป็นหนึ่งใน 50 อันดับแรกของบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ภายในปี 2559
จุดแข็งของกลุ่มบริษัท การสร้างความเติบโตและความหลากหลายให้กบั พอร์ตการลงทุน รวมถึงสามารถดูแลและบริหารจัดการธุรกิจย่อยหลักที่มีอยู่ได้ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ตั้งอยู่บนจุดแข็งของ TTA ดังต่อไปนี้:
รายงานประจ� ำ ปี 2557
เครือข่ายธุรกิจระดับโลก : TTA ประกอบธุรกิจในกว่า 20 ประเทศผ่านกลุม่ ธุรกิจทีห่ ลากหลายความสัมพันธ์ทแี่ น่นแฟ้นกับ ท่าเรือต่างประเทศจ�ำนวนมากของโทรีเซนชิปปิ้ง ท�ำให้ TTA ได้รับสิทธิประโยชน์พิเศษในการด�ำเนินธุรกิจในต่างประเทศ ส�ำนักงานธุรกิจแห่งใหม่ล่าสุดของโทรีเซนชิปปิ้ง ในกรุงโคเปน เฮเกนและโจฮันเนสเบิร์กช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้กับการเข้า ถึ ง การให้ บ ริ ก ารขนส่ ง สิ น ค้ า ในแถบแอตแลนติ ค เหนื อ ได้ มากยิ่งขึ้น โดยในอนาคต โทรีเซนชิปปิ้ง ยังวางแผนที่จะเปิด ส�ำนักงานแห่งใหม่ในสหรัฐอเมริกา ซึง่ จะช่วยเสริมให้เส้นทางการ ให้บริการมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ขยาย ธุรกิจเข้าไปในตะวันออกกลางและยุโรป โดยผ่านทางเมอร์เมดที่ มีความสัมพันธ์อนั ดีกบั บริษทั น�ำ้ มันและก๊าซธรรมชาติทใี่ หญ่เป็น อันดับต้นๆ ของโลก สถานะทางการเงินที่แข็งแกร่ง : ปี 2557 เป็นปีที่แข็งแกร่ง ส�ำหรับ TTA ทั้งในด้านรายได้และก�ำไร โดยกลุ่มบริษัทฯ มีผล ก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงานทั้งสิ้น 986 ล้านบาท โดยผลการ ด�ำเนินงานที่แข็งแกร่งของโทรีเซนชิปปิ้ง และเมอร์เมด ท�ำให้มี กระแสเงิ น สดสุ ท ธิ 1,940 ล้ า นบาทจากการด� ำ เนิ น กิ จ การ ระหว่างปีซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อนถึงร้อยละ 21 TTA มีเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เป็น จ�ำนวนกว่า 7,711 ล้านบาท ความยืดหยุ่นทางการเงินหลังจากระดมเงินทุนได้ส�ำเร็จ : เงินส่วนหนึ่งจากการระดมทุนเพิ่มเติมในปี 2556 และปี 2557 ได้น�ำไปใช้ส�ำหรับขยายกองเรือบรรทุกสินค้าแห้งเทกองของ โทรีเซนชิปปิ้ง ด้วยการซื้อเรือมือสอง 6 ล�ำในระหว่างปี ในขณะ ที่เงินอีกส่วนก็ได้น�ำไปสนับสนุนเมอร์เมด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่ให้ บริการนอกชายฝั่งแก่บริษัทน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติส�ำหรับการ สั่งต่อเรือขุดเจาะท้องแบนใหม่จ�ำนวน 2 ล�ำ และเรือสนับสนุน การปฏิบตั กิ ารด�ำน�ำ้ ใหม่อกี 1 ล�ำ ซึง่ มีมลู ค่ารวมกันกว่า 1.4 หมืน่ ล้านบาท (436 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา) ซึ่งการด�ำเนินงานใน ครั้งเป็นไปเพื่อขยายขนาดและพัฒนาประสิทธิภาพของกองเรือ และแท่นขุดเจาะน�ำ้ มันของเมอร์เมด กลยุทธ์การกระจายความเสี่ยงเพื่อพอร์ตที่หลากหลาย : ในปี 2557 TTA เข้าลงทุนในไซโน แกรนด์เนส ตามแผนกลยุทธ์การ กระจายความเสี่ยงเพื่อพอร์ตการลงทุนที่หลากหลายของ TTA ซึง่ การลงทุนในครัง้ นีจ้ ะช่วยให้ TTA สามารถเข้าถึงตลาดประเทศ จีน รวมถึงภาคธุรกิจใหม่ (อาหารและเครื่องดื่ม) นอกจากนี้ TTA ยังเล็งเห็นศักยภาพของไซโน แกรนด์เนสในการขยายธุรกิจไป ยังตลาดอื่นๆ นอกประเทศจีน ด้วยการใช้ประสบการณ์และ ความเชี่ยวชาญในเครือข่ายระหว่างประเทศที่ TTA มี
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
041
ความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับทิศทางการค้าสินค้าโภคภัณฑ์ ที่ส�ำคัญ : ด้วยเครือข่ายที่มั่นคงทั่วโลกในธุรกิจเรือบรรทุกสินค้า แห้งเทกอง ธุรกิจถ่านหิน ธุรกิจบริการขุดเจาะน�้ำมันและก๊าซ นอกชายฝั่ง และธุรกิจปุ๋ย TTA จึงอยู่ในฐานะได้เปรียบที่จะ สามารถเฝ้าสังเกตการณ์และตอบสนองต่อแนวโน้มที่ส�ำคัญ ในการค้าสินค้าโภคภัณฑ์ทั่วโลก กองเรือและบริการทีม่ คี วามหลากหลายและมีคณ ุ ภาพสูง : กลุม่ บริษัทของ TTA ส่วนใหญ่เป็นเจ้าของสินทรัพย์ที่น� ำมาใช้ให้ บริการเอง จึงช่วยให้เราสามารถให้บริการทีค่ รบวงจรให้แก่ลกู ค้า สามารถควบคุมต้นทุนการด�ำเนินงานให้ดีขึ้น และสามารถเสนอ ราคาทีแ่ ข่งขันในตลาดได้ ซึง่ มีสว่ นอย่างมากในการสร้างชือ่ เสียง ให้เป็นที่รู้จัก และรักษาสัมพันธภาพในระยะยาวกับลูกค้า เรามี หน่วยงานภายในที่ดูแลรับผิดชอบเรื่องการขายและการตลาด การดูแลเทคนิค และการเงินในแต่ละหน่วยธุรกิจ และ TTA เอง ก็มนี โยบายทีจ่ ะบ�ำรุงรักษาสินทรัพย์ทงั้ หมดทีเ่ กีย่ วข้องกับการให้ บริ ก ารทางทะเลให้ อ ยู ่ ใ นสภาพที่ ดี ก ว่ า ค่ า มาตรฐานทั่ ว ไปที่ ก�ำหนดไว้โดยสถาบันหรือหน่วยงานต่างๆ จุดแข็งที่มีเหล่านี้ ประกอบกับผลงานที่เราได้สร้างไว้ในปีที่ ผ่านมา ท�ำให้ TTA อยู่ในจุดที่สามารถเติบโตได้อย่างมั่นคงในปี 2558 และปีต่อๆ ไป บริษัทฯ ยังคงสร้างการเติบโตที่สมดุลและ สม�ำ่ เสมอให้กับพอร์ตการลงทุน และคาดว่าจะสามารถเร่งสร้าง การเติบโตด้วยการกระจายความเสี่ยงให้มีอยู่อย่างต่อเนื่อง คณะผู้บริหารจะยังคงแสวงหาและคว้าโอกาสในการสร้างผล ตอบแทนจากการลงทุนเชิงกลยุทธ์ในระยะยาวต่อไป กลยุทธ์หลักสีป่ ระการส�ำหรับการลงทุน เพือ่ สร้างความเติบโตให้ กับพอร์ตของ TTA ประกอบด้วย การกระจายความเสีย่ งเพือ่ สร้าง พอร์ตลงทุนที่หลากหลาย การส่งมอบผลประกอบการที่ดีและ มัน่ คง การบริหารจัดการทางการเงินอย่างรอบคอบ และการสร้าง ความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นกับผู้มีส่วนได้เสีย
Business Segment
DRY BULK SHIPPING โทรีเซน ชิปปิ้ง
ปีปฏิทิน (พ.ศ.) 2556 2557
(ล้านบาท)
7%
คือเปอร์เซนต์ทโ่ี ทรีเซน ชิปปิง้ สามารถทำ�ค่าระวาง เรือได้สงู กว่าค่าเฉลีย่ ตลาด ทีป่ รับให้เหมาะสม กับบริษทั ในปี 2557
5,725
ดอลลาร์สหรัฐต่อวัน
ต้นทุนค่าใช้จา่ ยในการดำ�เนินงาน ของโทรีเซน ชิปปิง้
8,094
ดอลลาร์สหรัฐต่อวัน ต้นทุนค่าใช้จา่ ยรวมของ โทรีเซน ชิปปิง้
รายได้
EBITDA
กำ�ไรสุทธิ
044
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ธุรกิจขนส่งสินค้าแห้งเทกอง โทรีเซน ชิปปิ้ง 2) โครงการขยายพื้นที่การให้บริการลูกค้า เพื่อเสริมความ แข็งแกร่งในการเข้าถึงลูกค้า ด้วยการเปิดส�ำนักงานขายแห่งใหม่ TTA ด�ำเนินธุรกิจขนส่งสินค้าแห้งเทกองผ่านบริษัทลูกที่มีชื่อว่า ที่เมืองเคปทาวน์ ประเทศแอฟริกาใต้ เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2557 โทรีเซน ชิปปิ้ง ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ให้บริการเรือขนส่งสินค้าแห้ง ซึ่งภายในเดือนแรกที่ส�ำนักงานแห่งนี้เปิดท�ำการ ปรากฎว่า เทกองระหว่างประเทศชั้นน�ำ ที่สั่งสมชื่อเสียงและประสบการณ์ ประสบความส� ำ เร็ จ เกิ น ความคาดหมาย สามารถให้ บ ริ ก าร อั น เชี่ ย วชาญมาอย่ า งยาวนาน และเป็ น ที่ ย อมรั บ ในแวดวง กลุม่ ลูกค้าเดิมในแถบยุโรป และลูกค้าใหม่ในส่วนของแอฟริกาใต้ พาณิชย์นาวีระดับโลก โดยโทรีเซน ชิปปิ้งให้บริการเรือขนส่ง ได้ดียิ่งขึ้น จากความส�ำเร็จดังกล่าวนี้ โทรีเซน ชิปปิ้ง จึงมองหา สินค้าไปยังจุดหมายปลายทางต่างๆ ของโลกตามความต้องการ หนทางที่จะขยายขอบเขตการให้บริการไปยังพื้นที่ที่เป็นจุดยุทธ ของลูกค้า โดยสินค้าที่ท�ำการขนส่งมีทั้งสินค้าประเภทหีบห่อ ศาสตร์ใหม่ๆ เพิ่มขึ้นอีก และคาดว่าจะเปิดส�ำนักงานขายใหม่ที่ และสินค้าแห้งเทกอง ได้แก่ แร่เหล็ก ถ่านหิน ผลิตภัณฑ์ทางการ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ได้ประมาณเดือนมกราคม 2558 เกษตร สินแร่ และเหล็ก เป็นต้น โทรีเซน ชิปปิง้ สามารถบริหารธุรกิจให้มกี ระแสเงินสดเป็นบวกได้ กองเรือของโทรีเซน ชิปปิ้ง มีรูปแบบการให้บริการที่หลากหลาย ตลอดทั้งปี 2557 แม้จะต้องเผชิญกับปัญหาความผันผวนของ ตามความต้องการของลูกค้า อาทิ แบบการให้เช่าเหมาล�ำตาม ธุรกิจ และอัตราค่าระวางเรืออยูใ่ นระดับต�ำ่ ก็ตาม ซึง่ ปัจจัยทีท่ ำ� ให้ ราคาตลาดภายใต้ระยะเวลาที่ก�ำหนด (spot market under บริษทั สามารถท�ำก�ำไรได้ในระดับสูง ส่วนหนึง่ เป็นผลมาจากการ time charters) บริการให้เช่าเรือตามการเซ็นสัญญารับขนส่ง ที่บริษัทมีจ�ำนวนวันเดินเรือเพิ่มขึ้นสืบเนื่องจากการมีเรือมาให้ สินค้าล่วงหน้า (Contracts of Affreightment หรือ "COA”) บริการเพิ่ม และอีกส่วนหนึ่งมาจากการบริหารรายได้อย่างมี การให้เช่าเหมาล�ำแบบระยะสั้น (short-term time charters) ประสิทธิภาพ การควบคุมโครงสร้างต้นทุนค่าใช้จ่ายในการเป็น และการให้เช่าเหมาล�ำเป็นเที่ยว (voyage charter) นอกจากจะ เจ้าของเรืออย่างเข้มงวด และปฏิบัติตามนโยบายการบริหาร ให้บริการด้วยกองเรือที่ตนเองเป็นเจ้าของแล้ว โทรีเซน ชิปปิ้ง ความเสี่ยงอย่างเคร่งครัด ยังมีการเช่าเรือมาเสริมเพือ่ รองรับความต้องการของลูกค้าทีเ่ พิม่ ขึ้นอีกด้วย ซึ่งกองเรือทั้งหมดจะถูกบริหารจัดการโดยทีมงาน ผลประกอบการของโทรีเซน ชิปปิง้ ในไตรมาสสุดท้ายของปี 2557 มืออาชีพทีม่ ปี ระสบการณ์ ซึง่ ประจ�ำอยูท่ สี่ ำ� นักงานขายทีส่ งิ ค์โปร์ แสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดถึงศักยภาพของบริษัทฯ โดยรายได้ เดนมาร์ก ไทย แอฟริกาใต้ และ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซึ่งเพิ่ง จากค่าระวางเรือของบริษัทฯ ในไตรมาสสุดท้าย ซึ่งแม้ว่าจะได้ รับผลกระทบจากภาวะธุรกิจขนส่งสินค้าแห้งเทกองซบเซาอย่าง เปิดตัวไป มาก แต่บริษัทฯ ก็สามารถท�ำทั้งกระแสเงินสดและก�ำไรสุทธิให้ ในปี 2557 โทรีเซน ชิปปิ้ง บรรลุเป้าหมายตามแผนงาน 2 ได้เป็นบวก โทรีเซน ชิปปิง้ จึงมีผลประกอบการทีด่ มี าก เมือ่ เทียบ กับบริษัทอื่นๆ ในธุรกิจขนส่งสินค้าแห้งเทกองซึ่งส่วนใหญ่มี โครงการ คือ ผลการด�ำเนินงานขาดทุน 1) โครงการขยายกองเรือ เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าที่ เพิม่ สูงขึน้ โดยท�ำการซือ้ เรือ Supramax มือสองอายุนอ้ ยจ�ำนวน ตัวชีว้ ดั ถึงประสิทธิภาพในการด�ำเนินงานทีย่ อดเยีย่ มของโทรีเซน 6 ล�ำในราคาที่เหมาะสม ส่งผลให้โทรีเซน ชิปปิ้งเป็นเจ้าของ ชิปปิง้ คือ การเปรียบเทียบผลการด�ำเนินงานของตนเองกับผลการ กองเรือบรรทุกสินค้าแห้งเทกองจ�ำนวนทั้งสิ้น 24 ล�ำ (ณ วันที่ ด�ำเนินงานของตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับตลาดเรือขนาด 31 ธันวาคม 2557) และมีการเช่าเรือมาเสริมเพื่อให้บริการแก่ Supramax ซึ่งมีดัชนี BSI เป็นเกณฑ์ในการวัดผล ซึ่งอัตรา ลูกค้าอีก 19.6 ล�ำ ท�ำให้มีกองเรือให้บริการแก่ลูกค้ารวมเกือบ ค่าระวางเรือโดยเฉลี่ยของตลาดลดลงร้อยละ 4 ส�ำหรับตลอดปี 2557 และลดลงร้อยละ 30 ส�ำหรับช่วงไตรมาสสุดท้าย แต่อัตรา 44 ล�ำ ค่าระวางเรือเฉลี่ย (TCE) ของโทรีเซน ชิปปิ้งสามารถท�ำผลงาน
แนวโน้มธุรกิจ
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ได้ดกี ว่า BSI ร้อยละ 7 ส�ำหรับผลงานเต็มปี และร้อยละ 4 ส�ำหรับ ช่วงไตรมาสสุดท้าย (ทั้งนี้ เนื่องจากกองเรือของโทรีเซน ชิปปิ้ง ไม่ใช่เรือ Supramax ทัง้ หมด การวัดผลงานเทียบกับ BSI จึงต้อง มีการปรับฐานของรายได้กองเรือให้อยู่ที่ระดับ 91% ของ BSI) การท�ำผลงานได้ดีกว่าตลาดนั้นเป็นผลมาจากโทรีเซน ชิปปิ้ง มีความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าและยังสามารถบริหารกองเรือที่ให้ บริการในพื้นที่ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถ ควบคุมต้นทุนค่าด�ำเนินการได้เป็นอย่างดี ท�ำให้ต้นทุนค่าใช้จ่าย ส�ำหรับการเป็นเจ้าของกองเรือของบริษัทฯ ในปี 2557 เฉลี่ยอยู่ ที่ 3,885 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกาต่อวัน ในขณะที่ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย ของอุตสาหกรรมนี้อยู่ที่ประมาณ 5,100 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ต่อวัน โทรีเซน ชิปปิ้ง จึงเป็นเจ้าของกองเรือที่สามารถควบคุม ค่าใช้จ่ายได้ดีเป็นอันดับต้นๆ เมื่อเทียบกับเจ้าของเรือชั้นน�ำ ทั่วโลก
045
ส�ำหรับแนวโน้มของธุรกิจขนส่งสินค้าแห้งเทกองในปี 2558 คาด ว่าจะเป็นอีกปีที่ท้าท้าย เนื่องจากค่าดัชนีบอลติค (Baltic Dry Index) ได้ปรับตัวลดลงถึงอย่างมากในเดือนกุมภาพันธ์ 2558 ซึง่ เป็นการปรับลดตามเทศกาลตรุษจีนและน่าจะปรับตัวดีขึ้นหลัง จากผ่านพ้นเทศกาลไปแล้ว แต่ระยะเวลาการฟื้นตัวนี้ยังไม่ แน่นอน ดังนัน้ โทรีเซน ชิปปิง้ จะด�ำเนินมาตราการควบคุมต้นทุน ค่าใช้จ่ายและพยายามเพิ่มรายได้ต่อไป โดยจะใช้กลยุทธ์ใหม่ใน การให้บริการลูกค้า ทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพของกองเรือ (ด้วย การหาเรือมาทดแทนและเพิม่ จ�ำนวนเรือให้มากขึน้ ) เพือ่ สร้างให้ ธุรกิจมีการเติบโต การขยายพืน้ ทีก่ ารให้บริการไปยังภูมภิ าคอืน่ ๆ และการให้บริการแบบรวมกลุ่มเรือจากหลายเจ้าของเพื่อปล่อย เช่า (pool service)
โดยสรุป ปี 2557 เป็นอีกปีหนึ่งที่โทรีเซน ชิปปิ้งท�ำผลงานได้ดี ทั้งด้านกลยุทธ์และด้านปฎิบัติการ สามารถขยายพื้นที่บริการได้ เพิม่ ขึน้ และเพิม่ กองเรือได้มากขึน้ และสามารถด�ำเนินธุรกิจได้มี ก�ำไร แม้ว่าจะต้องเผชิญกับความผันผวนของธุรกิจขนส่งสินค้า แห้งเทกอง โดยเฉพาะในไตรมาสสุดท้ายของปี 2557 ในขณะที่ อีกหลายบริษัทในธุรกิจนี้ประสบกับภาวะขาดทุน
ก: ผลิตภัณฑ์และบริการ โครงสร้างกองเรือและรูปแบบการให้บริการ ปัจจุบัน โทรีเซน ชิปปิ้งเป็นเจ้าของเรือรวม 24 ล�ำ ซึ่งประกอบด้วยเรือ Handymax 8 ล�ำและเรือ Supramax 16 ล�ำ มีอายุกองเรือ เฉลี่ยอยู่ที่ 11.21 ปี และมีขนาดระวางบรรทุกเฉลี่ยอยู่ที่ 50,636 เดทเวทตัน โดยกองเรือครึ่งหนึ่งของโทรีเซน ชิปปิ้ง จะให้บริการ ขนส่งในเส้นทางแถบมหาสมุทรแอตแลนติกที่ให้ผลตอบแทนสูง หลังจากที่บริษัทได้เปิดส� ำนักงานขายในกรุงโคเปนเฮเกนประเทศ เดนมาร์ก และกรุงเคปทาวน์ ประเทศแอฟริกาใต้ สามารถลดความเสี่ยงในกรณีที่เกิดความผันผวนของตลาดระหว่างภูมิภาค ได้ดียิ่งขึ้น
โครงสร้างกองเรือ 1) โครงสร้างกองเรือ ประเภทของเรือ Handymax Supramax รวม
เรือที่บริษัทเป็นเจ้าของ 8 16 24
จ�ำนวนเรือ เรือที่เช่ามาเป็นระยะเวลา 3 18 21
เรือที่สั่งต่อใหม่ -
รวม 11 34 45
2) อายุเฉลี่ยกองเรือ (Simple Average Age) ประเภทของเรือ Handymax Supramax รวม
เรือที่บริษัทเป็นเจ้าของ 17.58 8.02 11.21
อายุเฉลี่ยของกองเรือ เรือที่เช่ามาเป็นระยะเวลา 14.70 5.84 7.34
เรือที่สั่งต่อใหม่ -
รวม 15.98 6.37 8.46
046
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
3) รายชื่อเรือบรรทุกสินค้าเทกอง
เรือบรรทุกสินค้าแห้งเทกอง ชื่อเรือ วันที่ส่งมอบเรือจากอู่ต่อเรือ เดทเวทตัน อายุ ชนิดของเรือ การจัดล�ำดับชัน้ เรือ 1 ทอร์ ไดนามิค 43,497 23.69 Standard Bulk > 40,000 dwt BV 30/04/2534 2 ทอร์ เวฟ 39,042 16.43 Open Hatch / Box Shape < 40,000 dwt ABS 30/07/2541 3 ทอร์ วิน 39,087 16.13 Open Hatch / Box Shape Bulk (Box) ABS 18/11/2541 4 ทอร์ เอนเนอร์ยี 42,529 20.14 Open Hatch / Box Shape Bulk (Box) NKK 16/11/2537 5 ทอร์ เอนเดฟเวอร์ 42,529 19.74 Open Hatch / Box Shape Bulk (Box) NKK 11/04/2538 6 ทอร์ เอนเตอร์ไพรส์ 42,529 19.44 Open Hatch / Box Shape Bulk (Box) DNV 28/07/2538 7 ทอร์ ฮาร์โมนี่ 47,111 12.79 Open Hatch / Box Shape Bulk (Box) DNV 21/03/2545 8 ทอร์ ฮอไรซัน 47,111 12.26 Open Hatch / Box Shape Bulk (Box) BV 01/10/2545 9 ทอร์ แอ็คชีพเวอร์ 57,015 4.98 Standard Bulk > 40,000 dwt BV 22/07/2553 10 ทอร์ อินทิกริตี้ 52,375 13.76 Standard Bulk > 40,000 dwt BV 02/04/2544 11 ทอร์ อินดิเพนเด็นซ์ 52,407 13.19 Standard Tess - 52 NKK 20/12/2553 12 ทอร์ อินฟินิตี้ 52,383 12.91 Standard Tess - 52 NKK 21/12/2553 13 ทอร์ อินซูวิ 52,489 9.13 Standard Tess - 52 NKK 02/07/2555 14 ทอร์ เฟรนด์ชิป 54,123 4.97 Semi-Open / Box Shape Oshima - 53 NKK 13/01/2553 15 ทอร์ ฟอร์จูน 54,123 3.55 Semi-Open / Box Shape Oshima 53 NKK 15/06/2554 16 ทอร์ เฟียร์เลส 54,881 9.15 Open Hatch / Box Shape Oshima - 53 NKK 06/06/2556 17 ทอร์ เบรฟ 53,506 2.13 Open Hatch / Box Shape Vinashin DNV 15/11/2555 18 ทอร์ บรีซ 53,506 1.36 Open Hatch / Box Shape Vinashin DNV 20/08/2556 19 ทอร์ เมอร์คิวรี่ 55,862 9.25 Standard Bulk > 40,000 dwt ABS 20/01/2557 20 ทอร์ มากันฮิลด์ 56,023 8.59 Standard Bulk > 40,000 dwt NKK 19/02/2557 21 ทอร์ แม็กซิมัส 55,695 9.25 Standard Oshima - 53 Korean Classed 23/05/2557 22 ทอร์ เมเนลอส 55,710 8.34 Standard Oshima - 53 Korean Classed 03/06/2557 23 ทอร์ เมด็อค 55,695 9.42 Standard Oshima - 53 Korean Classed 13/06/2557 24 ทอร์ โมนาดิค 56,026 8.34 Standard Bulk > 40,000 dwt NKK 07/07/2557 รวมระวางบรรทุกของกองเรือ 1,215,254 เดทเวทตัน
ABS: Amercian Bureau of Shipping BV: Bureau Veritas DNV: Det Norske Veritas NKK: Nippon KaijiKyokai ที่มา: TTA
แผนภูมิ : กองเรือของโทรีเซนระหว่างปี 2549 - 2557 จำนวนเรือ 50 45 1,243,273 40 1,230,514 1,215,254 1,266,518 1,050,839 35 905,809 30 755,342 880,243 25 45 45 44 702,853 20 36 15 27 24 10 15 16 18 5 0 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 จำนวนเรือ เดทเวทตัน
ที่มา: TTA
เดทเวทตัน 1,600,000 1,400,000 1,200,000 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 0
รูปแบบการให้บริการของกองเรือ รายได้ของโทรีเซน ชิปปิง้ ในการให้บริการเรือขนส่งไปยังจุดหมาย ต่างๆ ตามความต้องการของลูกค้ามาจาก: การให้ เ ช่ า เหมาล� ำ แบบเป็ น เที่ ย วหรื อ การให้ เ ช่ า เหมาล� ำ ระยะสั้น โดยคิดค่าเช่าตามอัตราของตลาด ณ ขณะนั้น การให้เช่าเหมาล�ำแบบเช่าเป็นช่วงเวลา ซึ่งเป็นการให้เช่าเรือ โดยก�ำหนดระยะเวลาไว้ล่วงหน้า ซึ่งโดยทั่วไปจะก�ำหนดอัตรา ค่าเช่าแบบคงที่ โดยมักจะพิจารณาปัจจัยอื่นๆ เช่น การปรับค่า เงินเฟ้อ หรืออัตราค่าเช่าเรือของตลาด ณ ปัจจุบัน มาเป็น องค์ประกอบในการคิดอัตราค่าเช่าเรือ และ COA เป็นการเซ็นสัญญารับขนส่งสินค้าล่วงหน้า ซึ่งบริษัทฯ ตกลงจะด� ำ เนิ น การขนส่ ง สิ น ค้ า จ� ำ นวนหนึ่ ง ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ในเส้นทางที่ก�ำหนดไว้แล้ว
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
แผนภูมิ : การให้บริการของกองเรือโทรีเซน จ�ำแนกตามวัน เดินเรือ (ต.ค. - ธ.ค. 2557)
46%
54%
บริการแบบไม่ประจ�ำ เส้นทางโดยให้เช่าชนิด เหมาล�ำเป็นระยะเวลา บริการแบบไม่ประจ�ำ เส้นทางโดยให้เช่า เหมาล�ำเป็นเที่ยว
ที่มา: TTA
ตลอดปี 2557 โทรีเซน ชิปปิ้งให้บริการเรือขนส่งสินค้าเทกองใน หลากหลายรูปแบบตามความต้องการของลูกค้า อาทิ COA และ การให้เช่าเหมาล�ำแบบเป็นช่วงเวลาและแบบระยะสั้น โดยเรือ รูปทรงกล่องของโทรีเซน เหมาะส�ำหรับขนส่งสินค้าแห้งเทกอง และได้รบั การออกแบบโดยเฉพาะส�ำหรับขนส่งสินค้าทีเ่ ป็นหีบห่อ (break bulk) ได้ด้วย เช่น เยื่อไม้ กังหันลม เหล็กกล้า และท่อ จะให้บริการแก่ลูกค้า ทั้งในลักษณะ COA การเช่าเหมาล�ำเป็น ช่วงเวลาและการเช่าแบบระยะสั้น
047
ลูกค้าและกลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย ในปี 2557 โทรีเซน ชิปปิ้ง ยังคงมุ่งเน้นให้การบริการขนส่งสินค้า คุณภาพสูงให้แก่ลูกค้า เพื่อรองรับการให้บริการลูกค้ากลุ่ม อุ ต สาหกรรมรายใหญ่ ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ มากยิ่ ง ขึ้ น เนื่ อ งจาก ส�ำนักงานใหญ่ของฝ่ายขายของโทรีเซน ชิปปิ้ง ในสิงคโปร์ มีนโย บายให้เน้นกลยุทธ์ลกู ค้าเป็นศูนย์กลาง ส่งผลให้จำ� นวนลูกค้าทีม่ า ใช้บริการที่ส�ำนักงานขายย่อยแห่งใหม่ในกรุงโคเปนเฮเกนและ เคปทาวน์เพิ่มมากขึ้น และท�ำให้โทรีเซน ชิปปิ้ง เตรียมจะเปิด สาขาใหม่ที่ดูไบอีกแห่งหนึ่ง นอกจากนี้ ในปี 2557 โทรีเซน ชิปปิ้งได้เพิ่มโอกาสในการให้บริการแก่ลูกค้า ด้วยการเปิดให้ บริการขนส่งแบบเป็นเทีย่ วส�ำหรับลูกค้ารายใหญ่ทตี่ อ้ งการขนส่ง สินค้าแบบเร่งด่วนและฉุกเฉินในตลาดหลักๆ ซึ่งลูกค้ามีสินค้าที่ จะท�ำการขนส่งอยู่แล้วแต่ไม่สามารถหาเรือขนส่งสินค้าได้ สินค้า 5 อันดับทีม่ ปี ริมาณการขนส่งสูงสุดในช่วงสามเดือนสิน้ สุด ธันวาคม 2557 (ต.ค.-ธ.ค. 2557) ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร แร่/สินแร่ ถ่านหิน ผลิตภัณฑ์เหล็กกล้า และทราย แผนภูมิ : สินค้าที่ขนส่งจ�ำแนกตามประเภทของสินค้า (ต.ค. - ธ.ค. 2557) 5.66% 6.88%
4.54% 0.46% 22.77%
ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร แร่/สินแร่ ถ่านหิน ผลิตภัณฑ์เหล็กกล้า ทราย ซีเมนต์ ปุ๋ย สินแร่เหล็ก กระดาษ/ผลิตภัณฑ์ไม้
ในทางภูมศิ าสตร์กองเรือได้รบั การจัดสรรเพือ่ ให้บริการทัง้ ในเขต 8.16% มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟกิ ส่วนในการให้เช่าเหมาล�ำเรือแต่ละล�ำ โทรีเซน ชิปปิ้ง จะจ่ายค่า 11.73% 22.53% คอมมิชชั่นให้แก่นายหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเช่าเหมาล�ำในอัตรา ร้อยละ 1.25 ถึงร้อยละ 2.5 ของอัตราการเช่าเหมาล�ำรายวัน 17.26% กล่าวโดยรวม ธุรกิจการให้บริการแบบไม่ประจ�ำเส้นทาง มีความ ผันผวนตามอุปสงค์และอุปทานของการขนส่งสินค้าแห้งเทกอง ในลักษณะเช่าเหมาล�ำ โดยขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น ราคา ที่ตั้ง ที่มา: TTA ของเรือ ขนาดอายุ และสภาพของเรือ รวมถึงชื่อเสียงของบริษัท ในฐานะเจ้าของและผู้ด�ำเนินการให้บริการ โทรีเซน ชิปปิ้งยังคงประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาความ สัมพันธ์กับลูกค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมหลัก โดยการรักษาระดับ ของกองเรือให้มีคุณภาพสูงติดอันดับต้นๆ ตามเกณฑ์การตรวจ ประเมินของ Rightship ซึง่ เป็นผูค้ วบคุมคุณภาพของอุตสาหกรรม งสินค้าทางเรือ ซึ่งผลการจัดอันดับของ Rightship 1. ลูกค้าและกลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย ช่องทาง การขนส่ เปรียบเสมือนดัชนีชี้วัดที่ส�ำคัญส�ำหรับการให้บริการขนส่งแก่ จัดจ�ำหน่าย ลูกค้าอุตสาหกรรมรายใหญ่ อย่างเช่น BHP Billion, Rio Tinto Shipping และ Cargill Ocean Transportation
ข: การตลาดและคู่แข่ง
048
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
แผนภูมิ : ลูกค้าจ�ำแนกตามรายรับ (ต.ค. - ธ.ค. 2557)
อุปสงค์ ภาพรวมการขนส่งสินค้า
12% 26% 39%
ลูกค้าหลัก 10 รายแรก <1,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ 0.5 - 1,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ <500,000 ดอลลาร์สหรัฐ
23%
ที่มา: TTA
ช่องทางการจัดจ�ำหน่าย โทรีเซน ชิปปิ้ง มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการบริหาร งานทัง้ ทางเทคนิคและการตลาดประจ�ำอยูท่ สี่ ำ� นักงานกรุงเทพฯ ส่วนส�ำนักงานในสิงคโปร์ จะมีทีมงานฝ่ายขายและการตลาด ที่มีประสบการณ์และความช�ำนาญในธุรกิจเดินเรือเป็นอย่างดี รวมถึงมีความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟ้นในอุตสาหกรรมการขนส่ง สินค้าทางเรือ แม้ว่าบริษัทจะควบคุมค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติการ อย่างเข้มงวด แต่ก็ยังสามารถขยายพื้นที่การให้บริการไปใน ระดับโลกได้เพิ่มขึ้น โดยในปี 2557 บริษัทได้เปิดส�ำนักงานขาย แห่งใหม่ในเคปทาวน์ ประเทศแอฟริกาใต้ หลังจากที่ได้เปิด ส�ำนักงานในกรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก ซึง่ เป็นส�ำนักงาน ขายแห่งแรกในยุโรปไปเมื่อปี 2556 และล่าสุดเพิ่งเปิดส�ำนักงาน แห่งใหม่ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ในเดือนมกราคมปี 2558 ที่ผ่านมา
2. ลักษณะอุตสาหกรรมและแนวโน้มใน อนาคต ความเคลื่อนไหวในปีที่ผ่านมา
อุปสงค์ตันไมล์ของการขนส่งสินค้าแห้งเทกองเพิ่มขึ้น ประมาณ ร้อยละ 4 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว โดยมีการขนส่งสินแร่เหล็กเพิ่ม ขึ้นร้อยละ 10 การขนส่งถั่วเหลืองและข้าวสูงขึ้นร้อยละ 9 ในขณะที่การขนส่งถ่านหินลดลงร้อยละ 1 และการขนส่งสินค้า ประเภทอื่นๆ ลดลงร้อยละ 1.5 แม้วา่ ภาวะตลาดขนส่งสินค้าแห้งเทกองจะมีความผันผวนอยูบ่ า้ ง แต่ประเทศจีนก็ยังคงเป็นประเทศที่ขับเคลื่อนอุปสงค์ของตลาด เช่นเดิม จะเห็นได้จากยอดการน�ำเข้าสินค้าแห้งเทกองของจีน เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 โดยการน�ำเข้าแร่เหล็กของจีนเพิ่มขึ้นร้อยละ 14 ธัญพืชเพิ่มขึ้นร้อยละ 60 และถั่วเหลืองเพิ่มขึ้นร้อยละ 13 อย่างไรก็ตาม พบว่าการน�ำเข้าถ่านหินลดลงร้อยละ 11 บอกไซต์ ลดลงร้อยละ 50 และ แร่นิกเกิลลดลงร้อยละ 30 ซึ่งเป็นผล มาจากการสั่งห้ามส่งออกแร่ของอินโดนีเซียในเดือนมกราคม การน�ำเข้าถ่านหินที่ลดลงมีสาเหตุมาจากภาคการผลิตกระแส ไฟฟ้าหันไปใช้พลังงานน�้ำเพิ่มมากขึ้น อุปสงค์ของถ่านหินของ กลุ่มอุตสาหกรรมเหล็กกล้าและอุตสาหกรรมอื่นๆ มีอัตราการ เติบโตลดลงเช่นกัน ถ่านหินคงคลังเพิ่มสูงขึ้น และการผลิต ถ่านหินในประเทศจีนยังคงอัตราเท่าเดิม นอกจากประเทศจีนแล้ว ประเทศอินเดียเป็นอีกประเทศหนึ่งที่ อุปสงค์ขยายตัว ซึง่ เห็นได้จากปริมาณการน�ำเข้าสินค้าแห้งเทกอง ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 16 ส่วนประเทศญี่ปุ่น และประเทศในแถบ ตะวันออกกลาง รวมทั้งประเทศในภูมิภาคเอเชีย มีปริมาณการ น�ำเข้าเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5 - 6 ส่วนแอฟริกาและสหรัฐอเมริกามีการ น�ำเข้าเพิ่มขึ้นในปีนี้เช่นเดียวกัน แต่กลุ่มประเทศในยุโรปมี ปริมาณการน�ำเข้าสินค้าแห้งเทกองลดลงประมาณร้อยละ 1
อุตสาหกรรมการขนส่งสินค้าแห้งเทกองมีความ การพัฒนากองเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกอง จากรายงานของ RS Platou จ�ำนวนเรือที่สั่งต่อใหม่มีระวางการ ผันผวนในปี 2557 อุตสาหกรรมการขนส่งสินค้าแห้งเทกองในปี 2557 มีความ ผันผวนตลอดทั้งปี
สภาพตลาดโดยรวม อัตราค่าระวางเรือในปี 2557 อยูใ่ นระดับต�ำ่ กว่าปี 2556 อุปสงค์ ของตลาดขนส่งสินค้าแห้งเทกองเพิม่ ขึน้ เพียงเล็กน้อยแค่รอ้ ยละ 4 ซึง่ ต�ำ่ กว่าทีค่ าดการณ์ไว้ สืบเนือ่ งมาจากประเทศจีนลดปริมาณ การน�ำเข้าสินค้าประเภทถ่านหิน แร่นกิ เกิล และบอกไซต์ ในขณะ ที่กองเรือทั่วโลกมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบ อุปสงค์กบั อุปทานเข้าด้วยกัน ส่งผลให้อตั ราการใช้ประโยชน์จาก เรือลดลงไปประมาณร้อยละ 1
บรรทุกรวมกัน 48 ล้านเดทเวทตัน ซึ่งต�่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ถึง 12 ล้านเดทเวทตัน เมื่อค�ำนวณจากก�ำหนดการส่งมอบเรือ นอกจากนี้ การปลดระวางเรือสินค้าแห้งเทกองนั้น มีจ�ำนวน 15 ล้านเดทเวทตัน ในขณะทีก่ องเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองมีจำ� นวน เพิ่มขึ้นเล็กน้อยโดยเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 5 ส�ำหรับกองเรือประเภท Panamax/post Panamax ขยายตัว มากทีส่ ดุ ถึงร้อยละ 8 ในขณะทีก่ องเรือประเภท Supramax และ Capesize ขยายตัวเพียงร้อยละ 5 และกองเรือประเภท Handy เติบโตขึ้นร้อยละ 1
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
แนวโน้ม คาดการณ์ว่าอุตสาหกรรมการขนส่งสินค้า แห้งเทกองจะเติบโตเล็กน้อยในปี 2558
049
ขยายตัวของทีด่ นิ ทีเ่ หมาะแก่การเพาะปลูกพืชในแถบแอฟริกาใต้ มีอัตราเพิ่มขึ้น
RS Platou ประเมินสถานการณ์ว่าการขนส่งสินค้าทางเรือใน ภูมิภาคนี้ จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 4 จากปี 2557 ถึงปี 2558 โดย ประเทศจีนจะมีการน�ำเข้าสินแร่เหล็กเพิ่มขึ้น 40 ล้านตัน แต่ อุปสงค์ การน�ำถ่านหินจะเปลีย่ นแปลงเพียงเล็กน้อย ทัง้ นี้ การเติบโตของ การค้าขายสินแร่เหล็ก การผลิตเหล็กกล้า ปริมาณการบริโภค อุปสงค์การขนส่งตันไมล์ที่แท้จริงจะใกล้เคียงกับการเติบโตของ ถ่านหิน และการค้าขายธัญพืชจะเป็นปัจจัยส�ำคัญทีจ่ ะขับเคลือ่ น ปริมาณการขนส่งสินค้า และคาดว่าการขนส่งข้าว ถัว่ เหลือง และ อุปสงค์ของการขนส่งสินค้าแห้งเทกอง ผลิตภัณฑ์จากป่าไม้ในระยะทางไกลจะเพิม่ สูงขึน้ ในขณะทีส่ นิ แร่ เหล็กและถ่านหินมีการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก และ RS Platou คาดการณ์ว่าการใช้เหล็กกล้าทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 จากปี เชื่อว่า แม้ว่าราคาน�้ำมันจะลดต�่ำลงมามากแล้ว แต่ความเร็วใน 2557 เป็นร้อยละ 3 ในปี 2558 และประเด็นที่สำ� คัญคือ อุปสงค์ การวิ่งขนส่งทางเรือจะไม่เพิ่มขึ้น นอกเสียจากว่าอัตราค่าระวาง เหล็กกล้าของประเทศจีนคาดว่าจะเพิม่ ขึน้ เพียงร้อยละ 1 เท่านัน้ เรือจะเพิ่มสูงมากจนคาดไม่ถึง และคาดว่าการน�ำเข้าของจีนซึง่ มีความสัมพันธ์กบั การผลิตเหล็ก อุปทาน (ซึง่ ต้องใช้สนิ แร่และถ่านหินทีใ่ ช้ในการถลุงเหล็ก) จะมีอตั ราการ ขยายตัวช้าลง อีกทั้ง ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมยังเป็นแรงกดดัน กองเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองคาดว่าจะขยายตัวสูงกว่าร้อยละ ที่ท�ำให้การใช้ถ่านหินเป็นแหล่งผลิตพลังงานไฟฟ้าลดลงด้วย 4 ในปี 2558 โดยการสั่งต่อเรือใหม่จะมีขนาดระวางรวมกัน ส�ำหรับการน�ำเข้าของประเทศอินเดียคาดว่าจะเติบโตสูงขึน้ และ ประมาณ 74 ล้านเดทเวทตัน และการส่งมอบเรือใหม่จะมีขนาด การขยายตัวของการผลิตเหล็กกล้าและโรงงานผลิตไฟฟ้าโดยใช้ ระวางประมาณ 58 ล้านเดทเวทตัน เนือ่ งจากจะมีเรือปลดระวาง ถ่านหินจะช่วยผลักดันให้อุปสงค์ถ่านหินเติบโตตามไปได้วย ลงประมาณ 22 - 24 ล้านเดทเวทตัน การค้ า ขายธั ญ พื ช ทั่ ว โลกดู น ่ า จะขยายตั ว เช่ น กั น เนื่ อ งจาก จากปัจจัยดังกล่าว ส่งผลให้อปุ สงค์และอุปทานมีอตั ราการเติบโต พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่เปลี่ยนไปและสัดส่วนของ ไม่เบี่ยงเบนจากเดิมไปมากนัก และพื้นฐานของตลาดยังคงไม่ จ�ำนวนคนชนชั้นกลางที่หันมาควบคุมการบริโภคเนื้อที่เพิ่มขึ้น เปลี่ยนแปลง แม้ว่าในปี 2558 ตลาดจะมีความไม่แน่นอนและ การน�ำเข้าปุ๋ยคาดว่าจะมีเพิ่มมากขึ้นในปี 2558 เนื่องจากมีการ ความผันผวนเกิดขึ้น ตาราง: จ�ำนวนเรือที่สั่งต่อใหม่ส�ำหรับการขนส่งสินค้าแห้งเทกอง ประเภทขนาดเรือ VLOC Capesize Panamax Ultramax Supramax Handymax Handysize รวม
เดทเวทตัน 200,000+ 100,000 - 200,000 70,000 - 100,000 60,000 - 70,000 50,000 - 60,000 40,000 - 50,000 10,000 - 40,000
จ�ำนวนเรือ 152 175 323 474 90 42 365 1,621
ที่มา: เฟิร์นเล่ย์ มกราคม 2558
ภาพรวมการแข่งขันในอุตสาหกรรม
ขนาดระวางบรรทุกรวม (ล้านเดทเวทตัน) 33.8 30.4 26.5 29.8 5.0 1.8 13.1 140.5
ร้อยละของกองเรือที่มีอยู่เดิม (เดทเวทตัน) 33.7% 14.4% 14.5% 104.3% 4.6% 4.8% 14.9% 18.6%
แผนภูมิ : สัดส่วนการถือครองเรือ (ต.ค. - ธ.ค. 2557) (15,000 - 64,999 เดทเวทตัน)
ธุรกิจเรือบรรทุกสินค้าแห้งเทกองเป็นอุตสาหกรรมทีม่ กี ารแข่งขัน สูง ซึ่งประกอบด้วยเรือขนส่งสินค้าทั่วไปและเรือบรรทุกสินค้า แห้งเทกองในปริมาณ 15,000 - 64,999 เดทเวทตัน โดย มีผู้ประกอบการประมาณ 1,367 รายและเรือจ�ำนวนประมาณ 6,042 ล�ำ
32%
29% 8% 20%
ที่มา : TTA
11%
>20 ล�ำ 15-19 ล�ำ 10-14 ล�ำ 5-9 ล�ำ 1-4 ล�ำ
Business Segment
OFFSHORE SERVICES บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จำ�กัด (มหาชน)
ปีปฏิทิน (พ.ศ.) 2556 2557
(ล้านบาท)
470
ล้านดอลลาร์สหรัฐ จำ�นวนมูลค่าสัญญาทีม่ อี ยู่ ในมือซึง่ จะช่วยสนับสนุน อัตราการใช้ประโยชน์ของ เรือในช่วง 12 เดือนข้างหน้า
1,005 ล้านบาท
ส่วนแบ่งผลกำ�ไรจากการ ลงทุนในบริษัทร่วมทุน AOD
436
ล้านดอลลาร์สหรัฐ
มูลค่าทั้งหมดของเรือ ขุดเจาะท้องแบนและเรือ ซ่อมบำ�รุงใต้ทะเลที่สั่งต่อใหม่
รายได้
EBITDA
กำ�ไรสุทธิ
052
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ธุรกิจให้บริการนอกชายฝั่ง บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จำ�กัด (มหาชน) ข้อมูลและภาพรวมธุรกิจ
ธุรกิจการให้บริการนอกชายฝั่งของ TTA ขับเคลื่อนโดยบริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) (“เมอร์เมด”) ซึ่ง TTA ถือหุ้น อยู่ร้อยละ 57.8 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เมอร์เมดเปิดด�ำเนิน การเป็นครั้งแรกในปี 2526 จากนั้นในปี 2538 TTA จึงได้เข้า ซื้อหุ้นบางส่วนในเมอร์เมดและน�ำเมอร์เมดเข้าจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ (“SGX”) ได้ส�ำเร็จในวันที่ 16 ตุลาคม 2550
ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 7.3 ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา หรือคิดเป็นร้อยละ 25
ย้อนกลับไปในปี 2556 ทีเ่ มอร์เมดสามารถระดมเงินทุนได้ประมาณ 176.1 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (140.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา) เพื่อการลงทุนเพิ่มเติมในธุรกิจ โดยในต้นปี 2557 เมอร์เมดได้น�ำ เงินจ�ำนวนนีไ้ ปใช้สำ� หรับสัง่ ต่อเรือขุดเจาะท้องแบน (“Tender”) ใหม่จ�ำนวน 2 ล�ำและเรือสนับสนุนนักประดาน�้ำ (“DSV”) ใหม่อีกหนึ่งล�ำจากบริษัท ไชน่า เมอร์แชนท์ อินดัสตรี โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด รวมเป็นเงิน 436 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (ราคาเรือ เมอร์เมด เป็นที่รู้จักในฐานะผู้น�ำระดับโลกในด้านการให้บริการ ขุดเจาะท้องแบนล�ำละ 149 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ส่วนเรือ งานวิศวกรรมใต้ทะเล (subsea engineering) และบริการ สนับสนุนนักประดาน�้ำล�ำละ 138 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา) เรือขุดเจาะท้องแบน (tender-assisted drilling rig) แก่บริษัท โดยเรื อ ขุ ด เจาะน�้ ำ มั น MTR-3 และ MTR-4 ล� ำ ใหม่ น�้ำมันและก๊าซธรรมชาติทั่วโลกหรือให้บริการแก่ผู้รับจ้างช่วง จะมีกำ� หนดการส่งมอบในช่วงครึง่ แรกของปี 2559 ในขณะที่ DSV ต่อจากบริษัทน�้ำมัน โดยพื้นที่ในการให้บริการของเมอร์เมดอยู่ ซึ่งจะได้รับการตั้งชื่อว่าเมอร์เมดอุษณาจะมีก�ำหนดส่งมอบใน ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค และแถบตะวันออกกลางเป็นหลัก ไตรมาสที่สามของปี 2559 ส� ำ นั ก งานใหญ่ ข องเมอร์ เ มดตั้ ง อยู ่ ใ นประเทศไทย ส่ ว น ฐานปฏิบตั กิ าร มีกระจายอยูใ่ นหลายประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย และสหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์ เพือ่ ให้บริการลูกค้าได้อย่างทัว่ ถึง ปัจจุบนั เมอร์เมดเป็น หนึ่งในผู้ให้บริการสัญชาติเอเชียไม่กี่รายที่มีรูปแบบการบริการ นอกชายฝัง่ แบบครบวงจร ซึง่ มีทมี งานทีเ่ ชีย่ วชาญระดับมืออาชีพ จ�ำนวนกว่า 1,000 คน ประกอบด้วย ทีมนักประดาน�ำ้ นักขุดเจาะ ช่างเทคนิค นักส�ำรวจ ผู้บริหารและทีมงานฝ่ายสนับสนุน
เรือที่สั่งต่อใหม่ทั้งสามล�ำไม่เพียงแต่ช่วยให้เมอร์เมดมีต�ำแหน่ง ทางการตลาดในการเป็นผู้ให้บริการที่มีกองเรือที่ทันสมัยเท่านั้น แต่ยังมีขนาดกองเรือขุดเจาะและเรือสนับสนุนการให้บริการ ใต้ทะเลทีใ่ หญ่ขนึ้ ท�ำให้เมอร์เมดสามารถให้บริการสนับสนุนการ ขุดเจาะน�้ำมันและก๊าซธรรมชาตินอกชายฝั่งแก่ลูกค้าได้ครอบ คลุมมากขึ้น และมีต้นทุนบริการลดลง (economy of scale) อีกด้วย
จากสถานการณ์ราคาน�้ำมันตกต�่ำที่เพิ่งเกิดขึ้นเร็วๆ นี้ เมอร์เมด ในรอบปี 2557 (มกราคม-ธันวาคม) เมอร์เมดยังสามารถต่อ ได้ ต รวจสอบแนวโน้ ม ของธุ ร กิ จ น�้ ำ มั น และก๊ า ซธรรมชาติ ใ น ยอดความส�ำเร็จจากปีก่อน ด้วยการรักษาสถานะทางการเงินที่ ปีหน้าอย่างระมัดระวัง เนื่องจากบริษัทน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติ มั่นคง และสร้างการเติบโตได้อย่างมีเสถียรภาพ แต่ที่สำ� คัญที่สุด อาจมีการทบทวนงบประมาณใช้จ่ายของบริษัทอีกครั้ง อย่างไร คือ สามารถท�ำก�ำไรได้ ถึงแม้วา่ จะต้องเผชิญกับราคาน�้ำมันตกต�ำ่ ก็ดี กองเรือวิศวกรรมใต้ทะเลและเรือขุดเจาะของเมอร์เมดเป็น ในช่ ว งไตรมาสสุ ด ท้ า ย โดยเมอร์ เ มดได้ สั ญ ญาจ้ า งงานด้ า น กองเรือส�ำหรับการให้บริการขุดหาแหล่งน�ำ้ มันและก๊าซธรรมชาติ วิศวกรรมใต้ทะเลในภูมิภาคต่างๆ จ�ำนวนหลายฉบับ อีกทั้ง ในเขตทะเลน�้ำตื้น ซึ่งเป็นบริเวณที่ได้รับผลกระทบจากราคา สามารถเพิ่มอัตราการใช้ประโยชน์ของเรือให้อยู่ในระดับสูงและ น�ำ้ มันลดลงค่อนข้างน้อย เนือ่ งจากจุดคุม้ ทุนของการขุดหาแหล่ง ขยายฐานรายได้ให้เติบโตขึน้ ด้วยการเช่าเรือเข้ามาเสริมเพือ่ ตอบ น�้ำมันและก๊าซธรรมชาติในเขตน�้ำตื้นจะต�่ำกว่าในเขตน�้ำลึก สนองต่อความต้องการใช้บริการที่เพิ่มสูงขึ้น ความส�ำเร็จเหล่านี้ ดังนัน้ แนวโน้มการหดตัวของอุปสงค์ในบริเวณเขตน�ำ้ ตืน้ จึงน้อย ส่งผลให้เมอร์เมดบันทึกก�ำไรสุทธิสูงสุดเป็นประวัติการณ์ที่ 36.3 กว่าเขตน�้ำลึก ในภาพรวม ความต้องการใช้บริการเรือวิศวกรรม ใต้ทะเลและงานบริการสนับสนุนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องยังคงมีอยู่
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
053
ต่อเนื่องในปี 2557 ท�ำให้เมอร์เมดสามารถท�ำก�ำไรได้น่าพอใจ แม้วา่ การด�ำเนินงานในไตรมาสสุดท้ายจะชะลอตัว ซึง่ มีสาเหตุมา จากอัตราการใช้ประโยชน์ของกองเรือลดลง แต่ตน้ ทุนค่าเช่าเรือ สูงขึน้ และเกิดความล่าช้าในโครงการวางท่อและสายเคเบิลใต้นำ�้ ของธุรกิจบริการวิศวกรรมใต้ทะเล (ซึ่งเป็นความพยายามใน การขยายรูปแบบการให้บริการของธุรกิจบริการวิศวกรรมใต้ ทะเล) เพราะสภาพอากาศไม่เอื้ออ�ำนวย
ใหญ่สำ� หรับน�ำ้ ลึกและน�ำ้ ลึกมาก (deepwater and ultra-deepwater heavy construction class systems) นอกจากกองเรือ เหล่านี้แล้ว ส่วนงานวิศวกรรมใต้ทะเลจะมีทีมนักประดาน�้ำ มืออาชีพ ช่างเทคนิค ช่างส�ำรวจ บุคลากรที่เชี่ยวชาญและ พนักงานพิเศษอีกประมาณ 1,000 คน ไม่นบั รวมพนักงานประจ�ำ ที่มีอยู่แล้ว ที่ช่วยงานในโครงการบริการงานวิศวกรรมใต้ทะเล ต่างๆ
ในสภาวะตลาดเช่นนี้ เมอร์เมดยังด�ำเนินงานด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ และไม่เร่งรีบและเตรียมเงินสดส�ำรองให้มีเพียงพอ เพื่อให้บริษัทยังคงรักษาสภาพคล่องและพร้อมที่จะคว้าโอกาส ทางธุรกิจใหม่ๆ ที่จะเกิดในอนาคต รวมถึงสร้างการเติบโตให้กับ ธุรกิจที่มีอยู่ในปัจจุบัน
ประเภทของเรือให้บริการงานวิศวกรรมใต้ทะเล
ก: ผลิตภัณฑ์และบริการ
หากจะกล่าวอย่างกว้างๆ ตลาดเรือบริการและสนับสนุนงาน วิศวกรรมใต้ทะเลสามารถแบ่งออกเป็นเรือก่อสร้างนอกชายฝั่ง (Offshore Construction Vessel - OCV) และเรือสนับสนุน การก่อสร้าง (Construction Support Vessel)
เรือที่จัดอยู่ในประเภทเรือ OCV เป็นเรือที่มีแพลทฟอร์มที่มั่นคง โดยมีดาดฟ้าเรือส�ำหรับวางสินค้าขนาดใหญ่ มีทพี่ กั และเครือ่ งมือ โครงสร้างและบริการของกองเรือ ขนาดใหญ่ เช่น ปัน้ จัน่ ใต้ทะเล (active heave compensation) ยานบรรทุกอุปกรณ์ตรวจสอบใต้น�้ำแบบไร้คนขับ (ROV) ช่อง บริการวิศวกรรมใต้ทะเล ขนส่งเรือด�ำน�ำ้ (Moonpool) และเครือ่ งกว้าน (Winch) เป็นต้น บริการวิศวกรรมใต้ทะเลของเมอร์เมดประกอบด้วยการให้บริการ นอกเหนือจากงานติดตั้งขนาดใหญ่ที่สุดแล้ว งานก่อสร้างนอก ประดาน�้ำและการให้บริการส�ำรวจตรวจสอบใต้ทะเลด้วยยาน ชายฝั่ง ส่วนใหญ่จะใช้เรือที่มีขนาดเล็กกว่าและราคาต�่ำกว่า ส�ำรวจใต้ทะเลแบบไร้คนขับ (“ROV”) ซึ่งด�ำเนินการโดยบริษัท ซึ่งเรียกว่า เรือสนับสนุนการก่อสร้าง ย่อยของเมอร์เมด 3 บริษัท ได้แก่ บริษัท เมอร์เมด ซับซี เซอร์ วิ ส เซส (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด บริ ษั ท เมอร์ เ มด ซั บ ซี เรือ OCV จะปฏิบัติงานโดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการใต้ทะเล เซอร์วิสเซส (อินเตอร์เนชั่นแนล) จ�ำกัด และบริษัท ซีสเคป ขนาดใหญ่ แต่ผู้รับจ้างให้บริการวิศวกรรมใต้ทะเลมักเช่าเรือ เซอร์เวย์ ซึ่งได้รวมกิจการกันและเปิดให้บริการภายใต้ชอื่ ใหม่รว่ ม สนับสนุนการก่อสร้าง ซึ่งเป็นเรือขนาดเล็กกว่า OCV เพื่อร่วม กันว่า “เมอร์เมด ซับซี เซอร์วิสเซส” (Mermaid Subsea ปฏิบัติงานบางส่วนด้วย นอกจากนี้ บริษัทน�้ำมันยังเช่าเรือ Services) โดยมีขอบเขตการให้บริการงานวิศวกรรมใต้ทะเลที่ สนับสนุนการก่อสร้างเองด้วยเพื่อใช้ในงานตรวจสอบ งานซ่อม หลากหลายครอบคลุ ม ตั้ ง แต่ ง านส� ำ รวจ งานซ่ อ มแซมและ บ�ำรุงและงานซ่อมแซม ทั้งนี้ เรือสนับสนุนการก่อสร้างใต้ทะเล การบ�ำรุงรักษางานก่อสร้างงานติดตั้ง และงานโครงการวางท่อ เป็ น เรื อ อเนกประสงค์ ล� ำ เล็ ก หลายล� ำ ซึ่ ง จะติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ ที่จ�ำเป็น อาทิ ปั้นจั่นขนาดกลาง ยานส�ำรวจใต้น�้ำแบบไร้คนขับ และสายเคเบิล เป็นต้น และทีพ่ กั เรือ โดยทัว่ ไป เรือทีใ่ ช้ในงานวิศวกรรมใต้ทะเลส่วนใหญ่ รายได้ของธุรกิจวิศวกรรมใต้ทะเลเพิ่มขึ้นเป็นผลมาจากกลุ่ม จะมีการติดตั้งระบบควบคุมเรือ (Dynamic Positioning) เอาไว้ เรือที่เมอร์เมดเป็นเจ้าของได้รับอัตราค่าจ้างรายวันที่สูงขึ้นจาก ด้วยเพื่อให้เรืออยู่ในต�ำแหน่งที่ต้องการโดยไม่ต้องใช้คนบังคับ ปีก่อนร้อยละ 18 ในขณะที่อัตราการใช้เรือบริการและสนับสนุน งานวิศวกรรมใต้ทะเลโดยเฉลี่ยในปี 2557 อยู่ที่ร้อยละ 58 เมื่อ ทั้งนี้ ปริมาณการสั่งต่อเรือบริการงานวิศวกรรมใต้ทะเลใหม่ เทียบกับอัตราร้อยละ 75 ในปี 2556 เนื่องจากได้รับผลกระทบ เพิ่มขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา แต่คาดว่าจะลดลงในอนาคตใน จากการเช่าเรือมาเพิม่ และอัตราการใช้ประโยชน์ของเรือทีล่ ดลง ปัจจุบันมีเรือบริการงานวิศวกรรมใต้ทะเลเกือบ 120 ล�ำอยู่ใน ในช่วงไตรมาสสุดท้าย เพื่อสนับสนุนการขยายรูปแบบการให้ ระหว่างการก่อสร้าง นอกจากนี้ ยังมีการสั่งต่อเรือบริการงาน วิศวกรรมใต้ทะเลใหม่อีกหลายล�ำในต้นปี 2557 และลดลงใน บริการ ครึ่งปีหลัง โดยส่วนใหญ่เป็นเรือประดาน�้ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กองเรือวิศวกรรมใต้ทะเลประกอบ ด้วยเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมใต้ทะเลจ�ำนวน 7 ล�ำ (รวมเรือที่ บริการของกองเรือและบริการนักประดาน�้ำ เช่ามา) โดย 5 ใน 7 ล�ำเป็นเรือสนับสนุนนักประดาน�้ำ (dive support vessels) แบบพิเศษ และยานส�ำรวจใต้ทะเลแบบ เรือทุกล�ำได้รับการรับรองมาตรฐานจากสถาบัน DNV หรือ ABS ไร้คนขับ (ROV) อีก 15 ล�ำ ที่มีระบบสนับสนุนงานก่อสร้างขนาด ซึ่งทั้ง 2 สถาบันเป็นสถาบันจัดชั้นเรือระดับแนวหน้า เรือทุกล�ำ
054
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ต้องเข้ารับการตรวจสภาพเรืออย่างสม�ำ่ เสมอจากสถาบันจัดชัน้ เรือ นอกเหนือจากการเข้าอูซ่ อ่ มแห้งและเข้าศูนย์ซอ่ มบ�ำรุงตามระยะ เวลาที่กำ� หนดไว้ ความสามารถทีส่ �ำคัญอีกด้านหนึง่ ของส่วนธุรกิจวิศวกรรมใต้ทะเล คือ การให้บริการนักประดาน�้ำตามมาตรฐานระดับโลก โดยเฉพาะ อย่างยิง่ มาตรฐานทีก่ ำ� หนดโดยสมาคมผูผ้ ลิตน�ำ้ มันและก๊าซนานาชาติ (International Oil and Gas Producers Association-OGP) จะเห็นได้ว่างานประมูลใหม่ๆ ซึ่งรวมถึงงานประมูลที่เมอร์เมดชนะการคัดเลือกเมื่อเร็วๆ นี้จาก Saudi Aramco ได้ก�ำหนดการได้ ใบรับรองมาตรฐานของ OGP เป็นคุณสมบัติเงื่อนไขบังคับส�ำคัญข้อหนึ่งก่อนเข้ายื่นซองร่วมประมูล รายการกองเรือบริการและสนับสนุนงานวิศวกรรมใต้ทะเลของเมอร์เมด ล�ำดับที่ ชื่อเรือ 1. เมอร์เมด คอมมานเดอร์ 2. เมอร์เมด เอนดัวเรอร์ 3. เมอร์เมด เอเชียน่า 4. เมอร์เมด แซฟไฟร์ 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.
ประเภทเรือ เรือสนับสนุนการด�ำน�ำ้ ลึกระบบ DP2 เรือสนับสนุนการด�ำน�ำ้ ลึกระบบ DP2 เรือสนับสนุนการด�ำน�้ำลึกระบบ DP2 เรือซึ่งสนับสนุนระบบควบคุมยานส�ำรวจใต้ทะเลและ นักประดาน�้ำระบบ DP2 เมอร์เมด ชาเลนเจอร์ เรือบริการและสนับสนุนงานวิศวกรรมใต้ทะเลชนิด อเนกประสงค์ เอส. เอส. บาร์ราคูด้า เรือบริการและสนับสนุนงานวิศวกรรมใต้ทะเลชนิด อเนกประสงค์ เอนเดฟเวอร์ เรือซึ่งสนับสนุนระบบควบคุมยานส�ำรวจใต้ทะเลและ นักประดาน�้ำระบบ DP2 เรโซลูชัน เรือซึ่งสนับสนุนระบบควบคุมยานส�ำรวจใต้ทะเลและ นักประดาน�้ำระบบ DP2 มูบารัก ซัพพอร์ตเตอร์ เรือก่อสร้างระบบ DP2 เบอร์บอน อิโวลูชัน 806 เรือบริการสนับสนุนวิศวกรรมใต้ทะเลอเนกประสงค์ เสียม ดายา 2 เรือก่อสร้างใต้ทะเลนอกชายฝั่งระบบ DP3 วินเดอร์เมียร์ เรือสนับสนุนการด�ำน�ำ้ ลึกระบบ DP2 เรือ DSV ใหม่ เรือสนับสนุนการด�ำน�ำ้ เมอร์เมด อุษณา *
ปีปฏิทิน (พ.ศ.) ปีที่สร้าง ปีที่ซื้อ 2530 2548 2553 2553 2553 2553 2552 2552 2551
2551
2525
2553
2551
2555 (เช่า)
2556
2556 (เช่า)
2557 2556 2556 2553 2558/59
2557 (เช่า) ตุลาคม 2557 (เช่า) ตุลาคม 2557 (เช่า) 2014 (เช่า) ช�ำระค่ามัดจ�ำ ร้อยละ 15 ใน ปี 2557 ช�ำระส่วนที่ เหลือร้อยละ 85 ในปี 2559
หมายเหตุ : *อยู่ระหว่างการก่อสร้าง และมีกำ� หนดส่งมอบในปี 2559
บริการหลักของส่วนงานวิศวกรรมใต้ทะเล มีรายละเอียดดังนี้ : การส�ำรวจ การส�ำรวจก่อนการติดตั้ง ซึ่งได้แก่ การก�ำหนดต�ำแหน่งที่จะท�ำการขุดเจาะและการให้ความช่วยเหลือในการ ติดตั้งแท่นขุดเจาะ และการซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ใต้น�้ำ การพัฒนา
การติดตั้งท่อส่งใต้น�้ำ การวางท่อขนส่ง การจัดเตรียมเชือกช่วยชีวิต (control umbilicals) ชุดท่อและเสา การ วางและฝังท่อ การติดตั้งและยึดเสาและอุปกรณ์ท่อ การเดินเครื่อง การทดสอบและการตรวจสอบ และการวาง และเชื่อมต่อสายเคเบิ้ลและเชือกช่วยชีวิต
การผลิต
การตรวจสอบ การซ่อมบ�ำรุงและการซ่อมแซมโครงสร้างที่ใช้ในการผลิต เสา ท่อส่ง และอุปกรณ์ใต้น�้ำ
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
055
บริการขุดเจาะนอกชายฝั่ง บริษัท เมอร์เมด ดริลลิ่ง จ�ำกัด (“MDL”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่เมอร์เมดถือหุ้นอยู่ร้อยละ 95 เป็นเจ้าของเรือขุดเจาะแบบท้องแบน (Tender) จ�ำนวน 2 ล�ำและเป็นผู้ให้บริการที่เกี่ยวข้องกับเรือที่พักในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริษัท เอเชีย ออฟชอร์ ดริลลิ่งค์ จ�ำกัด (“AOD”) ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนที่เมอร์เมดถือหุ้นอยู่ร้อยละ 33.8 และเป็นเจ้าของและ ด�ำเนินงานกองเรือขุดเจาะแบบสามขา (Jack-up) ที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัวสูงและทันสมัย AOD ได้รับมอบเรือขุดเจาะแบบ สามขา (Jack-up) AOD I AOD II และ AOD III ในปี 2556 โดยในปี 2557 เรือขุดเจาะแบบสามขา (Jack-up) ของ AOD ได้ก้าวเข้า สู่ปีที่สองของสัญญาระยะเวลา 3 ปีกับ Saudi Aramco โดยมีรายได้รวม 223.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ซึ่งในปี 2557 เรือขุดเจาะใหม่ทั้งสามล�ำมีอัตราการใช้งานโดยเฉลี่ยร้อยละ 96 รายชื่อกองเรือขุดเจาะ ปีปฏิทิน (พ.ศ.) ล�ำดับที่ ชื่อเรือ ประเภทของเรือ ปีที่สร้าง ปีที่ซื้อ 1. MTR-1 เรือที่พัก 2521 2548 2. MTR-2 เรือขุดเจาะแบบท้องแบน (Tender) 2524 2548 3. AOR-1 เรือขุดเจาะแบบสามขา (Jack-up) ที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัวสูง 2556 2553 4. AOR-2 เรือขุดเจาะแบบสามขา (Jack-up) ที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัวสูง 2556 2553 5. AOR-3 เรือขุดเจาะแบบสามขา (Jack-up) ที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัวสูง 2556 2554 6. เรือใหม่ MTR 3 * เรือขุดเจาะแบบท้องแบน 2558/2559 ร้อยละ 15 ในปี 2557 ร้อยละ 85 ในปี 2559 7. เรือใหม่ MTR 4 **เรือขุดเจาะแบบท้องแบน 2558/2559 ร้อยละ 15 ในปี 2557 ร้อยละ 85 ในปี 2559 หมายเหตุ : * มีก�ำหนดส่งมอบในไตรมาสที่ 1 ของปี 2559 ** มีก�ำหนดส่งมอบในไตรมาสที่ 2 ของปี 2559
เรือขุดเจาะแบบท้องแบน (Tender) และเรือขุดเจาะแบบสามขา (Jack-up) ต้องได้รบั การจัดอันดับชัน้ จากสมาคมจัดอันดับชัน้ เรือ ที่มีชื่อเสียงโดยจัดล�ำดับจากมาตรฐานของการปฏิบัติงานและ ความปลอดภัย ซึ่งเรือขุดเจาะของ MDL ได้รับการจัดอันดับ ชั้นจากองค์กรระดับสากล เช่น Det Norske Veritas (“DNV”) American Bureau of Shipping (“ABS”) หรือ Bureau Veritas (“BV”) โดยเรือขุดเจาะแบบท้องแบน MTR-1 ถูกจัด ล�ำดับชั้นโดย ABS และเรือขุดเจาะแบบท้องแบน MTR-2 ถูกจัด ล�ำดับชั้นโดย BV โดยสมาคมจัดชั้นเรือดังกล่าวจะเข้ามาตรวจ สภาพเรือทุกปีเรือขุดเจาะแบบท้องแบน ต้องเข้าอูซ่ อ่ มแห้งทุกๆ 5 ปีและได้รับการตรวจสภาพบ�ำรุงรักษา (Special Periodic Survey) จากสมาคมจัดอันดับชั้นเรือต่างๆ ดังกล่าว ส่วนเรือ ขุดเจาะแบบสามขา (Jack-up) ของ AOD จะได้รับการจัดอันดับ ชั้นโดย ABS
บริการของกองเรือ สัญญาให้บริการเรือขุดเจาะนอกชายฝัง่ ของ MDL จะมีการเจรจา ต่อรองเป็นรายๆ ไป และมีเงื่อนไขและข้อก�ำหนดที่แตกต่างกัน ส่วนใหญ่ MDL ได้รบั สัญญามาจากการประมูลแข่งขันกับผูร้ บั จ้าง รายอืน่ ๆ โดยทัว่ ไป สัญญาว่าจ้างในการขุดเจาะจะก�ำหนดเงือ่ นไข การช�ำระเงินเป็นอัตราค่าจ้างรายวัน โดยอัตราค่าเช่าเรือในช่วง ทีเ่ รือขุดเจาะปฏิบตั งิ านจะสูงกว่า ในช่วงของการเตรียมการหรือ เมือ่ การปฏิบตั งิ านขุดเจาะหยุดชะงักหรือถูกจ�ำกัดเนือ่ งจากความ เสียหายของอุปกรณ์หรือสภาพอืน่ ๆ ซึง่ อยูน่ อกเหนือการควบคุม ของ MDL สัญญาให้บริการขุดเจาะซึง่ ใช้อตั ราค่าเช่าเรือรายวันโดยทัว่ ไปมัก จะครอบคลุมช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยเป็นไปตามเงื่อนไขของ สัญญาที่ก�ำหนดไว้ หรือเป็นงานขุดเจาะที่เป็นหลุมเดี่ยว หรือ หลุมที่เป็นกลุ่ม อย่างไรก็ตาม สัญญาบางฉบับที่ MDL ตกลงกับ ลูกค้าไว้แล้ว ลูกค้าสามารถขอใช้สทิ ธิบอกเลิกได้โดยช�ำระค่าปรับ ในการบอกเลิกสัญญาก่อนก�ำหนด แต่เงินค่าปรับดังกล่าวอาจจะ ไม่สามารถชดเชยกับมูลค่าการสูญเสียสัญญาของ MDL ได้ทงั้ หมด
056
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
เรือขุดเจาะแบบสามขา (Jack-up) จ�ำนวนสามล�ำของ AOD ได้รับการออกแบบในชั้น MOD V-B ซึ่งเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการ ออกแบบเรือขุดเจาะแบบสามขา (Jack-up) ทีม่ สี เปคตามทีบ่ ริษทั ขุดเจาะรายใหญ่ต้องการและบริษัทน�้ำมันต่างๆ นิยมใช้งาน ในพื้นที่น�้ำตื้นทุกแห่งของโลก เรือขุดเจาะแบบนี้จะได้รับการ ออกแบบให้สามารถปฎิบัติงานได้ตลอดทั้งปีในพื้นที่อ่าวเม็กซิโก มหาสมุทรอินเดีย ทะเลเหนือทางใต้ บริเวณชายฝัง่ ตะวันออกกลาง นอกชายฝัง่ อินเดีย นอกชายฝัง่ ออสเตรเลีย นอกชายฝัง่ นิวซีแลนด์ และนอกชายฝั่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในสภาพแวดล้อม ปัจจุบัน มักจะมีการเข้าท�ำสัญญาเช่าใช้เรือขุดเจาะแบบสามขา (Jack-up) เป็นระยะเวลานาน 300 วันขึ้นไป
ข: การตลาดและคู่แข่ง
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ในเอเชีย เมอร์เมดได้รบั สัญญาระยะเวลา 2 ปีซงึ่ มีมลู ค่า 55 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เพื่อให้บริการการตรวจสอบซ่อมแซม และบ�ำรุงรักษานอกชายฝั่ง (“IRM”) แก่ผู้ประกอบการน�้ำมัน และก๊าซธรรมชาติตน้ น�ำ้ รายใหญ่ทตี่ งั้ อยูใ่ นอินโดนีเซีย ซึง่ สัญญา ดังกล่าวยังด�ำเนินไปอย่างราบรื่นและจะเป็นเช่นนั้นจนกว่า สัญญาจะสิน้ สุดลงในเดือนกันยายน 2558 (ให้บริการในนามของ Seascape บริษัทย่อยของเมอร์เมด) นอกจากนี้ MOS ยังได้รับสัญญาระยะเวลา 2 ปีซึ่งมีมูลค่า 19 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เพื่อให้บริการ ROV ใต้ทะเลใน ประเทศไทย จากผู้ประกอบการน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติต้นน�้ำ รายใหญ่
นอกจากนี้ เมอร์เมดยังขยายการเติบโตของบริษัทต่อไปด้วย ทธ์การขยายฐานรายได้ของบริษทั ผ่านการเช่าเรือมาเพิม่ เติม 1. ลูกค้าและลูกค้ากลุ่มเป้าหมายช่อง กลยุ เพื่อน�ำมาให้บริการแก่ลูกค้าที่ท�ำสัญญาไว้ เนื่องจากความต้อง การใช้บริการวิศวกรรมใต้ทะเลเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะในตลาด ทางการจัดจ�ำหน่าย ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของเมอร์เมด ท�ำให้ในเดือนมิถุนายน 2557 เมอร์เมดได้เช่าเรือ DP2 PSV ชื่อ Lewek Atria แบบสัญญา บริการวิศวกรรมใต้ทะเล ระยะสั้น เป็นเวลาหลายเดือน เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าในอ่าวไทย ต่อมาในเดือนสิงหาคม 2557 เมอร์เมดได้รับมอบเรือขุดเจาะ ลูกค้า ท้องแบน ส�ำหรับการก่อสร้าง (DP2 Construction (CLB) ลูกค้าของเมอร์เมดประกอบด้วยผู้ผลิตและจัดหาน�้ำมันและ Barge) ชื่อว่า “มูบารัก ซัพพอร์ตเตอร์” มาให้บริการตาม ก๊าซธรรมชาติอิสระรายใหญ่ บริษัทขนส่งทางท่อและบริษัท สัญญา 1+1+1 ปี ก่อสร้างงานวิศวกรรมใต้ทะเล โดยในปี 2557 เมอร์เมดให้บริการ วิศวกรรมใต้ทะเลแก่ลูกค้ากว่า 40 ราย เมอร์เมด คาดหวังว่า จะรักษาระดับการเติบโตของงานวิศวกรรม ใต้ทะเลให้เกิดขึน้ ทัว่ ทัง้ ภูมภิ าคตะวันออกกลาง เอเชียตะวันออก ลูกค้าในตะวันออกกลางยังคงเป็นลูกค้าหลักของธุรกิจเมอร์เมด เฉียงใต้และทะเลเหนือ ในระดับนี้ต่อไปในอีกสองสามปีข้างหน้า สัญญาการให้บริการการประดาน�้ำฉบับส�ำคัญทีบ่ ริษทั ฯ ได้มาใน ปี 2556 ผ่านบริษทั Zamil ซึง่ เป็นกิจการร่วมค้าของเมอร์เมดใน นอกจากนี้ เมอร์เมดยังคงหาทางเพิ่มอัตราการใช้ประโยชน์ ตะวันออกกลาง ท�ำให้เมอร์เมดยังคงมีรายได้และผลก�ำไรทีส่ งู และ ในเรือให้สงู ขึน้ ต่อไปและในขณะเดียวกันก็เน้นการให้บริการเสริม จะยังคงเป็นเช่นนี้ต่อไป จนกว่าจะครบสัญญาในปี 2560 ซึ่งมี แก่ลูกค้ามากขึ้น รวมถึงหาสัญญาที่มีระยะเวลาสัญญาที่ยาวขึ้น สิทธิที่จะได้รับการต่อสัญญาออกไปได้หลังจากสิ้นสุด ในพืน้ ทีท่ ตี่ อ้ งการสร้างความเติบโต เช่น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตะวันออกกลาง และทะเลเหนือ ในเดือนกันยายน 2557 เมอร์เมดได้รับสัญญาให้บริการการ ด�ำน�้ำลึกจ�ำนวน 2 ฉบับ ในตะวันออกกลางซึ่งมีมูลค่ารวมโดย พนักงาน ประมาณ 45 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา โดยในการให้บริการ ตามสัญญาดังกล่าว เมอร์เมดได้เช่าเรือสนับสนุนเอนกประสงค์ ส่วนงานวิศวกรรมใต้ทะเลจ�ำเป็นต้องพึ่งพาบุคลากรที่มีคุณภาพ DP3 “เบอร์บอน อิโวลูชัน” มาให้บริการเนื่องจากกองเรือที่มีอยู่ สูง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เมอร์เมด ซับซี เซอร์วิสเซส ติดสัญญาการให้บริการกับลูกค้ารายอื่น ทั้งนี้ คาดว่าจะใช้เวลา มี บุ ค ลากรประจ� ำ และบุ ค ลากรภายใต้ สั ญ ญากว่ า 290 คน ด�ำเนินการโดยรวมประมาณ 6 ถึง 8 เดือน ซึ่งสัญญาฉบับแรกได้ ซึ่งกระจายอยู่ในประเทศไทย กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย และ เริม่ ท�ำงานแล้ว ส่วนสัญญาฉบับทีส่ องจะเริม่ ท�ำงานทันทีทสี่ ญ ั ญา อินโดนีเซีย ฉบับแรกสิ้นสุดลง นอกจากนี้ เมอร์เมดจะใช้อุปกรณ์การด�ำน�้ำ พิเศษ คือ ยานส�ำรวจใต้ทะเลแบบไร้คนขับ (ROV) นักประดาน�้ำ พิเศษและทีมงานโครงการ เพื่อให้บริการอย่างครบวงจรตาม สัญญาทั้งสองฉบับ
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
057
คู่แข่ง
พนักงาน
การท�ำสัญญาในธุรกิจทางทะเลมีการแข่งขันสูงมาก ในขณะที่ ราคาเป็นปัจจัยอย่างหนึ่ง แต่ความสามารถที่จะจัดหาเรือพิเศษ และว่าจ้างและรักษาบุคลากรที่มีทักษะความสามารถ รวมทั้ง มีประวัติการท�ำงานที่ดี มีความปลอดภัยก็มีความส�ำคัญเช่นกัน คู่แข่งในส่วนงานวิศวกรรมใต้ทะเล ได้แก่ บริษัทในท้องถิ่น ซึ่งมี ฐานอยูใ่ นเอเชียและตะวันออกกลาง รวมถึงบริษทั ข้ามชาติขนาด ใหญ่ที่เป็นบริษัทของยุโรปหรือสหรัฐอเมริกา บริษัทข้ามชาติ เหล่านี้ ส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบธุรกิจทางด้านงานวิศวกรรมงาน จัดหาและนายหน้ารับเหมาโครงการ (“EPIC”)
MDL ต้องการบุคลากรซึง่ มีทกั ษะความสามารถสูงเพือ่ การปฏิบตั ิ งานเรือขุดเจาะ ดังนั้น MDL จึงได้ด�ำเนินโครงการจัดหาบุคลกร จัดฝึกอบรมและจัดท�ำโครงการเพื่อความปลอดภัยของบุคลากร อย่างครอบคลุม ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 MDL มีพนักงาน จ�ำนวน 42 คน
อย่างไรก็ตาม บริการประเภทนี้ยังคงอยู่ในตลาดเฉพาะกลุ่ม และมีผู้ให้บริการและหน่วยบริการทั่วโลกอยู่จำ� นวนจ�ำกัด ท�ำให้ ธุรกิจนี้ยังคงมีอนาคตที่สดใส เมอร์เมดยังคงมองเห็นการเติบโต ของอุปสงค์ส�ำหรับเรือให้บริการใต้ทะเลและบริการที่เกี่ยวข้อง อยูใ่ นระดับสูง ซึง่ จะเห็นได้จากสัญญาต่างๆ ทีเ่ มอร์เมดได้มา รวม ถึงมีความต้องการเพิ่มเติมจากลูกค้าทั้งรายใหม่และรายเดิม
บริการขุดเจาะนอกชายฝั่ง ลูกค้า MDL ให้บริการขุดเจาะนอกชายฝัง่ แก่บริษทั น�ำ้ มันชัน้ น�ำระหว่าง ประเทศรวมถึงบริษทั ทีค่ วบคุมโดยรัฐและบริษทั อิสระ ในปีทผี่ า่ น มา เรือ MTR-1 อยูใ่ นสถานะพร้อมให้บริการและน�ำเสนอบริการ ในลักษณะเป็นเรือทีพ่ กั ส่วนเรือ MTR-2 มีอตั ราใช้งานในปี 2557 ร้อยละ 95 โดยน�ำไปใช้ให้บริการขุดเจาะนอกชายฝั่งแก่บริษัท เชฟรอน ในอินโดนีเซีย ตามสัญญาที่ทำ� ไว้ อย่างไรก็ตาม สัญญา ดังกล่าวถูกบอกเลิกก่อนก�ำหนดในช่วงปลายเดือนธันวาคม 2557 เนื่องจากลูกค้าไม่สามารถขอใบอนุญาตจากรัฐบาลได้ส�ำเร็จ เหตุการณ์นเี้ กิดขึน้ โดยมิได้เป็นความผิดของเมอร์เมดแต่อย่างใด เรือขุดเจาะแบบสามขา (Jack-up) จ�ำนวน 3 ล�ำของ AOD ยังคง ให้บริการแก่ Saudi Aramco บริษัทน�ำ้ มันและก๊าซที่ใหญ่ที่สุด ในโลก โดยสัญญาฉบับนี้จะสิ้นสุดลงในไตรมาสที่ 4 ของปี 2559 (โดยได้สทิ ธิในการต่อสัญญาออกไปได้ถงึ ปี 2560) ด้วยเหตุนี้ AOD จึงมีอัตราการใช้งานที่สูงถึงร้อยละ 96 โดยเฉลี่ยส�ำหรับเรือ ขุดเจาะทั้งสามล�ำ ซึ่งเป็นไปตามแผนที่บริษัทวางไว้ อัตราการใช้ งานที่สูงนี้เป็นผลมาจากการที่เรือขุดเจาะปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพโดยมีช่วงเวลาที่ปฏิบัติงานไม่ได้น้อยมาก บริษัทมี ความมั่นใจว่า AOD จะยังคงสามารถให้บริการแก่ลูกค้ารายนี้ ต่อไปได้อกี หลังจากสัญญาสิน้ สุดลง ซึง่ เห็นได้จากทีผ่ า่ นมา ลูกค้า รายเดิมได้ท�ำการขยายสัญญาทั้งในระยะสั้นและระยะกลางของ ผู้รับจ้างให้บริการเรือขุดเจาะแบบสามขา (Jack-up) รายอื่นที่ ครบก�ำหนดระยะเวลาไปแล้ว
คู่แข่ง คูแ่ ข่งรายส�ำคัญของ MDL คือ บริษทั ผูใ้ ห้บริการเรือขุดเจาะนอก ชายฝั่งในระดับภูมิภาคและทั่วโลก รวมถึง Sapura Kencana บริษทั ผูใ้ ห้บริการนอกชายฝัง่ ของมาเลเซีย ซึง่ หากได้รบั สัญญาว่า จ้าง จะท�ำให้ Sapura Kencana เป็นผู้ประกอบการด้านเรือขุด เจาะแบบท้องแบนรายใหญ่ที่สุดของโลก เรือขุดเจาะแบบท้องแบน (Tender) ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 80) ให้ บริการอยู่ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตามสัญญาที่มีระยะ เวลาตั้งแต่ 1 ถึง 5 ปี ตลาดส�ำหรับแท่นขุดเจาะแบบท้องแบน เป็นตลาดเฉพาะกลุ่ม ซึ่งโดยทั่วไปจะมีวัฏจักรเดียวกันกับตลาด ส�ำหรับธุรกิจขุดเจาะนอกชายฝั่งเคลื่อนที่อื่นๆ โดยเฉพาะเรือขุด เจาะแบบสามขา (Jack-up) อย่างไรก็ตาม พบว่าเรือขุดเจาะแบบ ท้องแบนก�ำลังเป็นต้องการในพืน้ ทีน่ อกชายฝัง่ แอฟริกาตะวันตก กองเรือขุดเจาะแบบท้องแบน (Tender) ก�ำลังมีอายุมากขึน้ โดย เกือบครึ่งหนึ่งของเรือทั้งหมดที่มีอยู่ทั่วโลก มีอายุมากกว่า 30 ปี ทั้งนี้ มีเรือขุดเจาะแบบท้องแบน ทั้งหมดทั่วโลก จ�ำนวน 25 ล�ำ โดยในจ�ำนวนนี้ มี 15 ล�ำ ที่ได้รับสัญญาจ้างงาน ซึ่งส่วนใหญ่เป็น เรือขุดเจาะใหม่ทอี่ ายุนอ้ ยในขณะทีอ่ ีก 10 ล�ำยังไม่มสี ัญญา ต้อง จอดนิง่ หรือรอเข้าซ่อมแซมหรือบ�ำรุงรักษา (cold stacked) หรือ ก�ำลังรอท�ำสัญญาอยู่ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเรือที่มีอายุมาก และ ในจ�ำนวนเรือ 15 ล�ำที่มีสัญญาว่าจ้างงาน มี 10 ล�ำ ที่ท�ำงานอยู่ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และที่เหลืออีก 5 ล�ำอยู่ในแอฟริกา ตะวันตก นอกจากนี้ ยังมีเรือขุดเจาะแบบท้องแบน (Tender) ใหม่ 7 ล�ำ ซึ่งก�ำลังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง และมีก�ำหนดการ ส่งมอบภายในปี 2558 และ 2559
2. ลักษณะอุตสาหกรรมและแนวโน้มใน อนาคต การเข้าสู่สถานการณ์ราคาน�้ำมันระดับต�่ำ รอบใหม่ ราคาน�้ำมันเริ่มลดลงครั้งแรกเมื่อกลางปี และลดต�่ำอย่างรวดเร็ว ในไตรมาสสุดท้ายของปี 2557 ส่งให้ราคา Brent Spot ในวันนี้ ลดมาอยู่ที่ 59.55 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกาต่อบาร์เรล ซึ่งเป็น การปรับตัวลดลงถึงร้อยละ 46.8 จากช่วงสูงสุดของปี 2557 จาก
058
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
เดิมที่ตลาดต้องเผชิญกับปัญหาอุปทานส่วนเกิน แต่ในช่วงไตร มาสสุดท้าย ตลาดยังต้องเจอกับปัญหาอุปสงค์ลดลงอีกด้วย ซึ่งเท่านั้นยังไม่พอการที่กลุ่มประเทศผู้ส่งออกน�้ำมันอย่างโอเปค ให้ความส�ำคัญกับการรักษาส่วนแบ่งทางการตลาดมากกว่าราคา จึงไม่ได้ลดก�ำลังการผลิตน�้ำมันลง จึงส่งผลให้มีอุปทานน�้ำมัน ส่วนเกินอยู่ในตลาดมากมาย และยิ่งกดดันให้ราคาน�้ำมันลดลง ไปอีก ในรายงานขององค์กรพลังงานระหว่างประเทศ (International Energy Agency: “IEA”) คาดการณ์ว่า ความต้องการใช้น�้ำมัน ทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นอีก 900,000 บาร์เรลต่อวันในปี 2558 ซึ่งปรับ ลดลง 230,000 บาร์เรลต่อวันจากตัวเลขเดิมเป็นผลจากการ คาดการณ์ก่อนหน้านี้ที่มีต่อการชะลอตัวของการเติบโตทาง เศรษฐกิจนอกสหรัฐอเมริกา และการคาดการณ์ความต้องการใช้ น�้ำมันที่ลดลงที่ท�ำโดยประเทศผู้ส่งออกน�้ำมัน แม้ว่าต่อไปข้างหน้า ราคาน�้ำมันอาจจะปรับตัวดีขึ้นในระยะยาว แต่ในระยะสั้น ราคาจะยังคงถูกกดดันต่อจากความต้องการใช้ น�้ำมันทั่วโลกที่ยังส่งสัญญาณอ่อนตัว
ค่าใช้จา่ ยส�ำหรับการส�ำรวจและผลิตน�ำ้ มันมี แนวโน้มลดลงในปี 2558
ไม่ใช่ว่าทุกบริษัทจะได้รับผลกระทบเต็มๆ จากราคาน�้ำมันลง พร้อมกันทันทีในเวลานี้ บริษทั ทีด่ ำ� เนินการในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับ พัฒนาการผลิตยังคงด�ำเนินธุรกิจตามปกติ แต่บริษทั ทีด่ ำ� เนินการ เกี่ยวกับการส�ำรวจจะได้รับผลกระทบจากการยกเลิกโครงการ แต่ในที่สุดทุกบริษัทก็จะได้รับผลกระทบ เพียงแต่ขึ้นอยู่กับเวลา ว่า ส่วนไหนจะได้รบั ผลกระทบก่อน ดังนัน้ การขาดความชัดเจน ในเรื่องทิศทางของราคาน�้ำมันจะยิ่งสร้างความไม่แน่นอนให้กับ โครงการทีก่ ำ� ลังรออนุมตั ใิ นระยะเวลาอันสัน้ เนือ่ งจากคาดการณ์ ว่าสถานการณ์ราคาน�้ำมันระดับต�่ำจะยังคงอยู่เช่นนี้ไปอีก 1-3 ปี ข้างหน้า ในความเป็นจริงแล้ว บริษัทน�้ำมันต่างก็ได้รับแรงกดดันจากการ ชะลอการใช้จ่ายเพื่อระงับและลดต้นทุนมาตั้งแต่ปี 2556 แล้ว เพียงแต่ยังไม่ได้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงในช่วง 12 เดือนที่ ผ่านมา แต่การที่ราคาน�้ำมันอ่อนตัวลงไปอีกในเวลานี้ จึงกลาย เป็นแรงกดดันให้ทงั้ อุตสาหกรรมต้องหันกลับมาทบทวนค่าใช้จา่ ย อย่ า งไรก็ ดี การชะลอตั ว ของค่ า ใช้ จ ่ า ยจะไม่ รุ น แรงมากนั ก เนื่องจากได้มีการท�ำสัญญาซื้อขายล่วงหน้าไปเป็นจ�ำนวนมาก แล้วและโครงการพัฒนาการผลิตในเขตน�้ำลึกซึ่งส่วนใหญ่อยู่ ในบราซิลมีการด�ำเนินการคืบหน้าไปมากแล้ว
ค่าใช้จ่ายส�ำหรับการส�ำรวจและผลิตทั่วโลกคาดว่าจะลดลงราว ร้อยละ 5 โดยมีเพียงแค่ภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกา ผู้ผลิตน�้ำมันทั้งที่เป็นบริษัทน�้ำมันระหว่างประเทศ และบริษัท เท่านั้น ที่คาดว่าจะมีการใช้จ่ายส่วนนี้เพิ่มขึ้น เมื่อปี 2529 และ น�้ำมันแห่งชาติต่างก็ได้รับผลกระทบจากรายได้ที่ลดลง ผู้ผลิต 2542 ค่าใช้จ่ายในการลงทุนเคยถูกตัดลงถึงร้อยละ 33 และ น�้ำมันเหล่านี้ จึงมีการวางแผนที่จะลดค่าใช้จ่ายในการลงทุน ร้อยละ 23 ตามล�ำดับ แต่สถานการณ์ครั้งที่ผ่านมาคงจะไม่ใช่ (Capital expenditure) และค่ า ใช้ จ ่ า ยในการด� ำ เนิ น งาน แบบอย่างส�ำหรับสถานการณ์ในคราวนี้ เนื่องจากโครงการของ (Operating expenditure) ลงซึ่งแน่นอนว่า ย่อมส่งผลกระทบ หลุมน�้ำมันนอกชายฝั่งนั้นใช้เวลาพัฒนาที่ค่อนข้างยาว โดยตัวที่ ต่ออุตสาหกรรมน�้ำมันปิโตรเลียมโดยรวมทั้งหมด ดังนั้น จึงไม่ คอยรั้งไว้ยังคงเป็นโครงการพัฒนาการผลิตในเขตน�้ำลึกของ แปลกใจที่จะเห็นบริษัทต่างๆ ในกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเลียม บราซิล ซึ่งยังคงมีการใช้จ่ายตามแผนเช่นเดิม ปรับลดการใช้จ่ายลง การประกาศลดค่าใช้จ่ายส�ำหรับการลงทุนของบริษัทน�้ำมันขนาดใหญ่ทั่วโลก
OCCIDENTAL CONOCOPHILLIPS BG GROUP ROYAL DUTCH SHELL* HESS CORP CHEVRON BP EXXON MOBIL ANADARKO STATOIL TOTAL
ค่าใช้จ่ายส�ำหรับการลงทุนใน ปี 2558 เทียบกับ 2557 -33% -32% -25% -16% -15% -13% -13% เข้มงวดกับการใช้จ่าย ลดอย่างมีนัยส�ำคัญ -10% -13%
แนวทางค่าใช้จา่ ยส�ำหรับการผลิตใน ปี 2258 เทียบกับค่าใช้จ่ายจริงในปี 2557 6 - 10% 2 - 3% 7 - 14% ลดลงเนื่องจากขายทรัพย์สินและใบอนุญาตหมดอายุ 6 - 9% 0 - 3% ไม่มีการเปลี่ยนแปลง N/A N/A 2% >8%
* Shell ประกาศปรับลด Capex ระหว่างปี 2558-2560 ประมาณ 15,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ซึ่งคาดว่า Capex ในปี 2558 จะลดลงจากปี 2557 ประมาณ 5,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ที่มา : Bloomberg, ณ วันที่ 6 มีนาคม 2558
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
059
ค่าใช้จ่ายในการส�ำรวจและผลิตในระหว่างปี 2557-2558 (พันล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา)
2557 224.7 39.5 69.9 46.9 39.9 100.2 96.6 24.1 53.4 34.1 729.2
อเมริกาเหนือ ตะวันออกกลาง ละตินอเมริกา รัสเซียและกลุ่มประเทศที่เคยเป็นสหภาพโซเวียต ยุโรป อินเดีย เอเชีย และออสเตรเลีย Majors (International Spending) แอฟริกา North America Independents (International Spending) อื่นๆ การใช้จ่ายทั่วโลก
ที่มา : Company Reports, Evercore ISI Energy Research, Rigzone
2558 199.9 45.6 67.4 45.4 37.8 97.5 92.1 25.5 49.8 33.1 693.9
% เปลี่ยนแปลง -11.0% 15.3% -3.5% -3.3% -5.4% -2.7% -4.7% 6% -6.8% -2.9% -4.8%
อัตราการใช้ประโยชน์และค่าจ้างรายวันมี แนวโน้มลดลงแต่ผลกระทบอยู่ในวงจ�ำกัด เนือ่ งจากต�ำแหน่งทางการตลาดของบริษทั
แต่สุดท้ายก็ยังคงเกิดภาวะอุปทานล้นตลาด ดังนั้น เรือเก่าๆ ที่มี ขีดความสามารถในการปฏิบัติงานน้อยกว่าเรือใหม่ๆ จะหางาน ยากมากขึน้ โดยเฉพาะงานในแถบน�ำ้ ลึกและทะเลเหนือทีต่ อ้ งการ ใช้เรือใหม่มากกว่า ทั้งนี้ ประมาณ 1 ใน 5 ของกองเรือวิศวกรรม การลดค่าใช้จา่ ยในการลงทุนของบริษทั น�ำ้ มันในช่วงเวลาทีร่ าคา ใต้ทะเลทั่วโลกเป็นเรือที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป น�้ำมันลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญ ได้ส่งผลให้เกิดการลดงบประมาณ การขุดเจาะในปี 2558 และกลายเป็นความท้าทายส�ำหรับเรือสัง่ แผนภูมิ : ความต้องการใช้เรือวิศวกรรมใต้ทะเลในระหว่างปี ต่อใหม่จ�ำนวนมากที่ก�ำลังจะเข้าสู่ตลาดในช่วง 12-24 เดือน 2543-2562 (ประมาณการ) (กรณีฐาน) ข้างหน้า ซึง่ จะกดดันอัตราการใช้ประโยชน์และค่าจ้างรายวันกับ เรือที่มีอยู่ในตลาด ดังนั้น ปี 2558 จึงเป็นปีที่ท้าทายอย่างมาก ส�ำหรับอุตสาหกรรมนี้ เนือ่ งจากบริษทั น�ำ้ มัน ก�ำลังคอยจับตาเฝ้า ดูสถานการณ์น�้ำมันนับจากนี้ก่อนที่จะตัดสินใจท�ำอะไรต่อหลัง จากสั่นสะเทือนกันไปแล้วกับราคาน�้ำมันที่ลดต�่ำลง Vessel Year 325
actual
forecast
300 275 250 225 200
สถานการณ์อุปทานล้นตลาดจะมีผลท�ำให้อัตราการใช้ประโยชน์ ของเรือลดลง โดยเฉพาะในตลาดธุรกิจวิศวกรรมใต้ทะเล จะมีเรือ ใหม่ๆ ทยอยเข้ามาสู่ตลาดในระหว่างปีนี้จนถึงปี 2560 เป็น จ�ำนวนมาก (โดยส่วนใหญ่จะเข้ามาในปี 2559 และ 2560) จึงท�ำให้มีการคาดการณ์ว่า กองเรือวิศวกรรมใต้ทะเลทั่วโลก จะขยายขึ้นไปถึง 450 ล�ำ ซึ่งใหญ่เป็นสี่เท่าของขนาดกองเรือใน ช่วง 15 ปีที่ผ่านมา ถึงแม้ว่า แนวโน้มราคาน�้ำมันดิบยังคงไม่สู้ดี นักในอนาคตจะท�ำให้การสัง่ ต่อเรือเกิดการชะลอหรือการยกเลิก
175 150 125 100 75 25 0
2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019
ROV Support LAYSV Diving Support
ที่มา : Strategic Offshore Research
060
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
แผนภูมิ : อัตราการใช้ประโยชน์ของเรือทั่วโลกจนถึงปี 2562 Base Case
แผนภูมิ : ตัวเลขคาดการณ์ของจ�ำนวนเรือใหม่ทจี่ ะเข้าสูต่ ลาด 250
100% 90%
200
80% 150
70% 60%
100
50% 50
40% 2001
2003 2005
2007 2009
2011 2013 2015
2017 2019 0
Diving support
DSV
LAYSV ROV support
Total
ที่มา: Strategic Offshore Research
LAYSV
ROVSY
Additions through 2017
11
43
31
Delivered
87
99
179
ที่มา: Strategic Offshore Research
เรือที่สั่งต่อใหม่ เจ้าของ และก�ำหนดส่งมอบ สั่งซื้อในเสปค สถานะของผู้สั่ง ไม่มีข้อมูลจ�ำเพาะ ผู้รับเหมา ผู้รับจ้างและบริษัทน�ำ้ มัน บริษัทน�้ำมัน รวมแบบไม่เก็งก�ำไร แบบเก็งก�ำไร ผู้รับเหมา ไม่ระบุ รวมแบบเก็งก�ำไร ยอดรวม
2557 7 4 1 12 2 22 24 36
2558 9 2 1 12 29 29 41
2559 11 13 1 25 19 19 44
ส่งมอบ ม.ค. 2557 26 19 5 50 5 60 65 115
รวม 27 19 3 49 2 71 73 122
ส่งมอบ ม.ค. 2556 17 8 7 32 9 44 53 85
ที่มา: Strategic Offshore Research
แผนภูมิ : อัตราการใช้ประโยชน์ของเรือ กับความต้องการใช้เรือของอุตสาหกรรมแบ่งตามอายุ 110%
100%
100%
90% 80%
90%
70% 60%
80%
50%
70%
40% 30%
60%
20%
50%
2014
2013
2012
2011
2010
2009
2008
2007
2006
2005
2004
2003
10% 0% 2003
2004
2005
0.5
0.5
16-20
0-10
6-10
20+
11-15
11-15
16+
ที่มา: Strategic Offshore Research
2006
2007
2008
2009
2010
2011
2011
2013
2014
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
แนวโน้ ม ของธุ ร กิ จ เรื อ ขุ ด เจาะแบบท้ อ งแบนอาจจะมี ค วาม แผนภูมิ: อัตราค่าจ้างรายวันของเรือในแถบทะเลเหนือ เสียหายน้อยกว่า เนือ่ งจากเรือขุดเจาะแบบท้องแบนทีอ่ ยูร่ ะหว่าง 180 ก่อสร้างมีจ�ำนวนน้อยกว่า ซึ่งเป็นสัญญาณที่ดีส�ำหรับความต้อง 160 การใช้งานในอนาคตของเรือขุดเจาะสองล�ำของเราที่ก�ำลังอยู่ 140 ระหว่างก่อสร้าง เนือ่ งจากเรือขุดเจาะทัว่ โลกส่วนใหญ่มอี ายุมาก 120 แล้ว โดยเกือบครึ่งหนึ่งของเรือขุดเจาะทั่วโลกมีอายุมากกว่า 30 100 ปี ปัจจุบัน เรือขุดเจาะที่สามารถใช้งานได้มีเพียงแค่ 25 ล�ำ 80 ทั่วโลก โดย 15 ล�ำ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเรือที่อายุยังไม่มาก 60 มีงานสัญญาว่าจ้างงานอยู่ โดย 2 ใน 3 ก�ำลังปฏิบตั งิ านอยูใ่ นแถบ 40 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในขณะที่อีก 10 ล�ำ ส่วนใหญ่เป็นเรือที่ 20 มีอายุมากแล้ว อยู่ระหว่างเข้าซ่อมบ�ำรุงหรือก�ำลังรองานใหม่ 0 1996
การลดลงอย่างรวดเร็วของราคาน�้ำมัน ส่งผลให้บริษัทน�้ำมัน ส่วนใหญ่ต้องหาวิธีการประหยัดต้นทุน โดยบางบริษัทลดต้นทุน ด้วยการเจรจาสัญญาใหม่ หรือยกเลิกสัญญาเดิมทีม่ อี ยู่ ซึง่ วิธกี าร ลดต้นทุน กับภาวะอุปทานส่วนเกินยิ่งกดดันท�ำให้อัตราค่าจ้าง รายวันลดลง
1198
2000
2002
2004
2006
2008
2010
2012
061
2014
DSV1 DSV2 LAYSV ROVSV1 ROVSV2
ที่มา : Strategic Offshore Research
ปั จ จั ย พื้ น ฐานที่ อ ่ อ นตั ว ลงได้ ส ่ ง ผลกระทบในทางลบต่ อ อุตสาหกรรมในภาพกว้ า ง แต่ ด ้ ว ยการวางกลยุ ท ธ์ ต� ำ แหน่ ง ทางการตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเน้นท�ำตลาดให้กับลูกค้า ในตะวั น ออกกลางท� ำ ให้ เ ราสามารถยื น หยั ด ได้ ใ นช่ ว งภาวะ อุตสาหกรรมถดถอย
Business Segment
fertilizer& WAREHOUSE PMTA
ปีปฏิทิน (พ.ศ.) 2556 2557
(ล้านบาท)
450,000
ตันต่อปี
ความสามารถในการ ผลิตปุ๋ยทั้งหมด
31,800
ตารางเมตร
พื้นที่เฉลี่ยของคลังสินค้า ให้เช่า
196,784
ตัน
จำ�นวนของการขายปุ๋ย (รวมยาฆ่าแมลง) ทั้งหมดในปี 2557
รายได้
EBITDA
กำ�ไรสุทธิ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
063
064
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ธุรกิจปุ๋ยเคมีเพื่อการเกษตรและคลังสินค้า บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จำ�กัด (มหาชน) ธุรกิจปุ๋ยเคมีเพื่อการเกษตร
บริ ษั ท พี เ อ็ ม โทรี เ ซน เอเชี ย โฮลดิ้ ง ส์ จ� ำ กั ด (มหาชน) (“PMTA”) เป็นบริษทั เพือ่ การลงทุน ทีป่ ระกอบธุรกิจโดยการถือ หุ้นในบริษัท บาคองโค จ�ำกัด หรือ “บาคองโค” ซึ่งเป็นหนึ่งใน ผู้น�ำด้านการผลิตและจ�ำหน่ายปุ๋ยเคมีในเวียดนาม และยังเป็น ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ดว้ ยการให้เช่าพืน้ ทีโ่ รงงานเพือ่ เก็บสินค้าใน พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม Phu My ซึ่งอยู่ห่างจากกรุงโฮจิมินห์ ประมาณ 70 กิโลเมตร ธุรกิจหลักของบาคองโคคือ ธุรกิจปุ๋ยเคมี เพื่อการเกษตรซึ่งมีวางจ�ำหน่ายทั้งในเวียดนามและต่างประเทศ ปุ ๋ ย เคมี ข องบาคองโคเป็ น ที่ รู ้ จั ก ภายใต้ เ ครื่ อ งหมายการค้ า “STORK” ซึ่งเริ่มมีมาตั้งแต่ปี 2482 และได้กลายเป็นแบรนด์ที่ ได้รับการยอมรับและได้รับความเชื่อถือในด้านคุณภาพสูงทั้ง ตลาดในประเทศและตลาดส่งออก
เครือ่ งหมายการค้า STORK ของบาคองโคได้รบั การจดทะเบียน ในเวียดนามตั้งแต่ปี 2548 บาคองโคมีส่วนแบ่งทางการตลาดที่แข็งแกร่งอยู่ที่ประมาณร้อย ละ 25 ในตลาดปุ๋ยเคมีเชิงผสม NPK คุณภาพสูงระดับพรีเมียม และมีโรงงานผลิตปุ๋ยเคมีผสม NPK ที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนาม โดยมี ย อดขายสู ง ถึ ง 91 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ อเมริ ก าต่ อ ปี บาคองโคพยายามที่จะบริหารการผลิตให้มีประสิทธิผลสูงสุด ด้ ว ยการจั ด การต้ น ทุ น ให้ ต�่ ำ ลง รวมทั้ ง การจั ด เก็ บ วั ต ถุ ดิ บ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นสิ น ค้ า คงคลั ง ในปริ ม าณที่ น ้ อ ยที่ สุ ด และใช้ นโยบายช�ำระเงินด้วยเงินสดเท่านั้น
ในปี 2557 บาคองโคได้ลงทุนตัง้ สายการผลิตปุย๋ เคมีชนิดเม็ดใหม่ ซึ่งมีก�ำลังการผลิต 100,000 เมตริกตัน ส่งผลให้ก�ำลังการผลิต รวมของบาคองโคเพิ่มขึ้นเป็น 450,000 เมตริกตันต่อปี ส่งผลให้ บาคองโคเป็นบริษัทที่ผลิตปุ๋ยเคมีรายใหญ่ที่สุดในเวียดนาม ทั้งนี้ เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าที่เพิ่มขึ้น ถึงแม้ว่าผลการด�ำเนินงานในช่วงไตรมาสล่าสุดจะอ่อนตัวลง แต่ ผลก�ำไรตลอดทั้งปี 2557 ของ PMTA ยังคงแข็งแกร่ง ทั้งนี้ยอด ขายปุ๋ยในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปีปฏิทิน 2557 ลดลงเพราะ ลูกค้ามีการชะลอการสั่งซื้อปุ๋ย เนื่องจากเกิดเหตุฝนตกหนักผิด ปกติ และมีนำ�้ ท่วมบริเวณสามเหลีย่ มแม่นำ�้ โขง ผนวกกับการคาด การณ์วา่ จะมีการปรับลดภาษีมลู ค่าเพิม่ ส�ำหรับการขายปุย๋ ลงร้อย ละ 5 ซึ่งจะมีผลในวันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป ส�ำหรับ ผลการด�ำเนินงานทั้งปี บาคองโคยังคงท�ำผลงานได้ดีทั้งในส่วน ของธุรกิจปุ๋ยและธุรกิจคลังสินค้า โดยธุรกิจปุ๋ยมียอดขายและ อัตราผลก�ำไรสูงขึน้ ในขณะทีธ่ รุ กิจคลังสินค้าก็ได้มกี ารขยายพืน้ ที่ อีก 7,800 ตรม. เป็นพื้นที่รวมทั้งสิ้น 31,800 ตรม. และลูกค้ายัง คงให้ความสนใจมาเช่าใช้พื้นที่เกือบเต็มจ�ำนวน การน�ำ PMTA เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ยังคงด�ำเนินการไปตามแผน โดยในขณะนี้อยู่ระหว่างการเตรียม การออกและเสนอขายหุ้นต่อประชาชนทั่วไป (IPO) คาดว่าจะ แล้วเสร็จในไตรมาส 2/2558 ซึ่งการด�ำเนินการดังกล่าวเป็นเพื่อ สะท้อนให้เห็นถึงมูลค่าการตลาดที่เพิ่มขึ้นของ PMTA และ เป็นการจัดหาแหล่งเงินทุนส�ำหรับการเติบโตให้กับ PMTA
ก: ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ บาคองโค พัฒนา ผลิต ด�ำเนินกิจกรรมทางการตลาด และ จ� ำ หน่ า ยปุ ๋ ย เชิ ง ประกอบและปุ ๋ ย เคมี เ ชิ ง เดี่ ย ว (รวมเรี ย กว่า “ผลิตภัณฑ์ปยุ๋ เคมี”) โดยมีโรงงานผลิตปุย๋ NPK บด/อัดเม็ด และ บรรจุถุงที่ทันสมัย ด้วยก�ำลังในการผลิตรวมประมาณ 450,000 เมตริกตันต่อปี และมีกำ� ลังในการบรรจุหบี ห่อประมาณ 550,000 เมตริกตันต่อปี
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
บาคองโคยั ง สามารถพั ฒ นาและผลิ ต ปุ ๋ ย เคมี สู ต รใหม่ เพื่ อ ตอบสนองความต้องการของลูกค้ารายส�ำคัญ และตามค�ำสั่งซื้อ ของลูกค้าเฉพาะราย โดยมีปุ๋ยจ�ำหน่ายมากกว่า 90 สูตร บาคอง โคได้พยายามขยายฐานลูกค้าในต่างประเทศอย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้ ยอดส่งออกเพิ่มจากปีก่อนร้อยละ 8 เป็น 74,145 ตัน ในปี 2557 และท�ำให้แบรนด์ “STORK” ของบาคองโค มีชื่อเสียงในตลาด แอฟริกา ไต้หวัน เกาหลี กัมพูชา และลาว สูตรปุ๋ยเคมีที่ได้รับ ความนิยมมากที่สุดของบาคองโค มีดังนี้
ปุ๋ยเคมีเพื่อการเกษตร ปุ๋ยเคมีเชิงผสม NPK ปุย๋ เคมีเชิงผสม NPK เป็นผลิตภัณฑ์หลักของบาคองโคทีม่ กี ารจัด จ�ำหน่ายทั้งในเวียดนามและในต่างประเทศ โดยปุ๋ยประเภทนี้ สามารถท�ำรายได้คิดเป็นร้อยละ 95 ของรายได้จากยอดขาย ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดของบาคองโค ส�ำหรับรอบปีปฏิทินสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ปุ๋ยเคมีเชิงผสม NPK ประกอบไปด้วยสารอาหารหลักสามอย่าง คือ ไนโตรเจน (N) ฟอสเฟต (P2O5) และโพแทส (K2O) ไนโตรเจน และฟอสเฟตจะมอบให้ฟอสฟอรัส (P) แก่พืช ในขณะที่โพแทส
065
จะให้โพแทสเซียม (K) แก่พืช ส่วนผสม N-P และ K อาจแตกต่าง กันตามวัตถุประสงค์และความต้องการทางชีวภาพของพืชแต่ละ ชนิด
ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมีอื่นๆ สินค้าในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย ปุ๋ยเคมีเชิงเดี่ยวหรือแม่ปุ๋ยที่มีธาตุ อาหารหลักธาตุเดียว และปุ๋ยเคมีเชิงประกอบที่ได้จากกรรมวิธี ทางเคมีและมีธาตุอาหารหลักตั้งแต่ 2 ธาตุขึ้นไป ปุ๋ยเคมีชนิด ดังกล่าวนิยมใช้กันเนื่องจากความยืดหยุ่นในการผสมสูตรตาม ความต้องการของผู้ใช้แต่ละคนหรือพืชแต่ละชนิด โดยในรอบ ปีปฏิทินสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บาคองโค มีรายได้ จากการขายผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมีอื่นๆ อยู่ที่ร้อยละ 1.1 จากรายได้ ของการขายปุ๋ยทุกชนิดรวมกัน ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนเป็นส่วนผสมหลัก จะมีประโยชน์ในการเร่งการ เจริญเติบโตของใบ ซึ่งช่วยในการสังเคราะห์แสงและการผลิต เมล็ดพืชปุย๋ ทีม่ ฟี อสเฟตเป็นส่วนผสมหลัก ช่วยในการพัฒนาและ เจริญเติบโตของล�ำต้นและรากของพืช ส่วนปุ๋ยที่มีโพแทส เป็น ส่วนผสมหลักจะช่วยสร้าง และเคลือ่ นย้ายสารอาหารจ�ำพวกแป้ง และน�้ำตาลไปเลี้ยงในส่วนที่ก�ำลังเติบโต เพื่อเป็นเสบียง และมี ประโยชน์ในการเพิม่ คุณภาพของผลผลิต และเพิม่ ปริมาณโปรตีน เพื่อป้องกันการติดโรค
แผนภาพแสดงกระบวนการผลิตปุ๋ยในบาคองโค
วัตถุดิบ ซึ่งคือ แม่ปุ๋ย (ไนโตรเจน ฟอสเฟต และโพแทส) ยูเรีย ซูเปอร์ฟอสเฟต (USP) กระบวนการผลิตปั้มเม็ดด้วยไอน�้ำ (Steam Granulation)
กระบวนการบีบอัด (Compaction)
สารอินทรีย์กระตุ้นประสิทธิภาพ (Bio Stimulant)
กระบวนการผสม (Bulk Blending)
ผลิตภัณฑ์สำ�เร็จรูป (ปุ๋ยเคมีกว่า 90 สูตร และปุ๋ยเคมีที่ผลิตตามความต้องการของลูกค้า)
066
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
ผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อการเกษตรอื่นๆ ผลิตภัณฑ์กลุ่มนี้ ประกอบไปด้วย สารเคมีป้องกันและก�ำจัด ศัตรูพชื สารก�ำจัดแมลง และปุย๋ ทางใบ ซึง่ บาคองโคว่าจ้างบุคคล ภายนอกให้ด�ำเนินการผลิตและบรรจุตามสูตรและมาตรฐาน ทีบ่ าคองโคก�ำหนด แล้วน�ำมาจ�ำหน่ายภายใต้เครือ่ งหมายการค้า ของบาคองโค ส�ำหรับรอบปีปฏิทิน สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บาคองโค มี ร ายได้ จ ากการขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นกลุ ่ ม นี้ คิดเป็นร้อยละ 4.4 ของรายได้จากการขายรวมทั้งหมด
1) สารเคมีป้องกัน ก�ำจัดศัตรูพืชและสารก�ำจัดแมลง สารเคมี ป ้ อ งกั น และก� ำ จั ด ศั ต รู พื ช และสารก� ำ จั ด แมลง เป็ น สารเคมีชีวภาพหรือสารเคมีสังเคราะห์ เพื่อท�ำลาย ป้องกัน หรือ ไล่ศัตรูพืชและแมลง ซึ่งศัตรูพืชที่พบได้บ่อยที่สุด คือ แมลง โรคพืช วัชพืช และจุลินทรีย์ที่เป็นพาหะน�ำโรค และก่อให้เกิด ความเสียหายต่อการเกษตรกรรม และส่งผลให้ผลผลิตทาง การเกษตรลดลง บาคองโคจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์กลุ่มนี้ ภายใต้ เครื่องหมายการค้า STORK ในเวียดนามเท่านั้น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ปุย๋ เคมีเชิงประกอบ ปุย๋ ทางใบ และสารเคมีปอ้ งกันและก�ำจัดศัตรู พืช ได้แก่ บริษทั ค้าส่งทีจ่ ดั จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ให้แก่ผคู้ า้ ปลีกและ เกษตรกรผู้ใช้ (End Users) อีกต่อหนึ่ง ในตลาดส่งออก ลูกค้าโดยตรงของบาคองโคส�ำหรับปุ๋ยเคมี เชิงผสม NPK ปุย๋ เคมีเชิงเดีย่ ว ปุย๋ เคมีเชิงประกอบ และปุย๋ ทางใบ ได้แก่ บริษัทที่ประกอบธุรกิจซื้อมาขายไป (Trader) ซึ่งในตลาด เหล่านี้ บาคองโคท�ำหน้าที่เป็นผู้รับจ้างผลิต และผลิตภัณฑ์ของ บาคองโคจะไม่น�ำไปขายภายใต้เครื่องหมายการค้า STORK
ช่องทางในการจัดจ�ำหน่าย บาคองโคมีเครือข่ายที่แข็งแกร่ง โดยมีลูกค้าประเภทผู้ค้าส่งกว่า 300 ราย ที่จัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ของบาคองโคให้แก่ผู้ค้าปลีก มากกว่า 5,000 รายทั่วประเทศ ภายใต้เครื่องหมายการค้า STORK ในเวียดนาม ลาว และกัมพูชา
ส� ำ หรั บตลาดภายในประเทศ บาคองโคมี บุค ลากรที่ เ ป็ นทีม ขายจ�ำนวน 49 คนซึ่งครอบคลุมเขตการขายที่แบ่งตามประเภท ของพืชที่แตกต่างกัน ในขณะเดียวกัน ลูกค้าต่างประเทศของ 2) ปุ๋ยทางใบ บาคองโคเป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจซื้อมาขายไป ที่จ้างบาคอง ปุ๋ยทางใบเป็นปุ๋ยสารละลายที่ใช้ในการฉีดพ่นพืชเพื่อการดูดซึม โคผลิตปุ๋ยเคมีให้ตามสูตรที่ก�ำหนดมา ทางใบ โดยสารอาหารจะถูกดูดซึมทางใบได้เร็วกว่าทางราก ปุย๋ ทางใบให้สารอาหารทีค่ ล้ายกันกับปุย๋ เคมีเชิงผสม NPK จึงเป็น คู่แข่ง ที่นิยมใช้กับการปลูกผักและผลไม้ โดยจะให้ผลผลิตที่สูงและ ธุรกิจปุ๋ยในเวียดนามยังคงมีการแข่งขันค่อนข้างสูง เนื่องจากมี คุณภาพดีกว่า ผู ้ ป ระกอบธุ ร กิ จ ในอุ ต สาหกรรมเคมี เ พื่ อ การเกษตรจ� ำ นวน มากกว่า 500 ราย และส่วนใหญ่เป็นบริษัทของรัฐบาล ซึ่ง รายใหญ่ที่สุดก็คือ Petro Vietnam ด�ำเนินการก่อสร้างโรงงาน ปุย๋ NPK ขนาดใหญ่ในนิคมอุตสาหกรรม Phu My เสร็จเรียบร้อย 1. ลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ช่องทางการจัด แล้ว โดยยกเลิกแผนการสร้างโรงงานปุ๋ย NPK ในเวียดนามใต้ไป
ข: การตลาดและการแข่งขัน จ�ำหน่าย
อย่างไรก็ตาม ส่วนของปุ๋ยเคมีเชิงผสม NPK เป็นตลาดที่กระจุก ตัว โดยที่ส่วนแบ่งทางการตลาดเกินร้อยละ 80 เป็นของบริษัท กลุ่มลูกค้า รายใหญ่ 5 อันดับแรก คือ บริษัท Lam Thao Fertilizer and ลูกค้าหลักของบาคองโค คือ เกษตรกรชาวเวียดนามหลาย Chemical บริษัท Binh Dien Fertilizer บริษัท Southern ล้านคน ส่วนในต่างประเทศ บาคองโคส่งออกสินค้าไปทั่วเอเชีย Fertilizer บริษัท Japan Vietnam Fertilizer และบาคองโค ไปยังฟิลิปปินส์ กัมพูชา ไทย อินโดนีเซีย เกาหลี ไต้หวัน และ ปุ๋ยเคมีที่จ�ำหน่ายในเวียดนามอาจแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มหลักตาม แอฟริกา ซึ่งแสดงให้เห็นว่าแบรนด์ STORK ของบาคองโค เป็น คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ กลุ่มปุ๋ยเคมีคุณภาพต�่ำ คุณภาพ แบรนด์ ที่ แ ข็ ง แกร่ ง และมี ชื่ อ เสี ย งในตลาดเหล่ า นี้ ปั จ จุ บั น ปานกลาง และคุ ณ ภาพสู ง ในขณะที่ บริ ษั ท Lam Thao บาคองโคส่งออกผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมีไปยัง 32 ประเทศทั่วโลก Fertilizer and Chemical บริษัท Binh Dien Fertilizer และ ซึ่งรวมไปถึงกลุ่มลูกค้าหลักในทวีปแอฟริกาด้วย บริษัท Southern Fertilizer ครองตลาดปุ๋ยเคมีคุณภาพต�่ำถึง ปานกลาง แต่บริษัท Japan Vietnam Fertilizer บริษัท Binh เนื่องจากลักษณะของธุรกิจที่แตกต่างกันในตลาดเวียดนามและ Dien Fertilizer บริษัท Yara และบาคองโค แข่งขันกันในตลาด ตลาดต่างประเทศ บาคองโคจึงมีกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่แตกต่าง ปุ๋ยเคมีคุณภาพสูง เกรดคุณภาพของปุ๋ยจะถูกก�ำหนดโดยความ กั น ในแต่ ล ะตลาด โดยในเวี ย ดนามลู ก ค้ า ทางตรงหลั ก ของ บริสุทธิ์ขององค์ประกอบปุ๋ยและความแม่นย�ำตามสูตรที่ระบุไว้ บาคองโคส�ำหรับผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเชิงผสม NPK ปุ๋ยเคมีเชิงเดี่ยว บนบรรจุภัณฑ์
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
067
2. ลักษณะอุตสาหกรรมและแนวโน้มใน อุตสาหกรรมปุ๋ยของเวียดนาม ตามข้อมูลของ InterControl ซึ่งเป็นหน่วยงานค้นคว้าวิจัยและ อนาคต
ตรวจสอบอิสระ ซึง่ ท�ำการศึกษาอุตสาหกรรมปุย๋ ในเวียดนาม ระบุ ว่า เวียดนามมีฤดูเก็บเกี่ยวสามฤดู คือ ฤดูหนาว ฤดูหนาวถึงฤดู ภาพรวมอุตสาหกรรม ใบไม้ผลิ และฤดูร้อนถึงฤดูใบไม้ร่วง และพื้นที่เพาะปลูกยังคงที่ ถึงแม้ว่าตลาดปุ๋ยทั่วโลกจะอยู่ในสภาวะเกินดุล แต่ตลาดปุ๋ย อยู่ระดับ 7,600 เฮกแตร์ ในขณะที่ความสามารถในการผลิต ในทวีปเอเชียและโอเชเนียยังคงมีภาวะขาดดุลและมีแนวโน้มว่า (เมตริกตันต่อเฮกแตร์) เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ นีร้ อ้ ยละ 69 ของ ความต้องการใช้ปุ๋ยจะเติบโตเพิ่มขึ้น พื้นที่เพาะปลูกอยู่ในเวียดนามใต้ ซึ่งท�ำให้พื้นที่บริเวณเวียดนาม ตอนใต้เป็นตลาดปุ๋ยเคมีที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ นอกจากนี้กลุ่ม เมือ่ หันกลับมาดูเฉพาะประเทศเวียดนาม ก็พบว่า มีความต้องการ เกษตรกรทางตอนใต้และทางตอนเหนือยังมีรปู แบบการใช้ปยุ๋ เคมี ใช้ปุ๋ยเคมีแบบพรีเมี่ยมส�ำหรับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรมากขึ้น ทีแ่ ตกต่างกัน กล่าวคือ กลุม่ เกษตรกรทางตอนใต้คำ� นึงถึงคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทางแถบตอนใต้ของเวียดนาม ทั้งนี้ อัตรา และประสิ ท ธิ ภ าพของปุ ๋ ย เป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ในการเลื อ กซื้ อ การเติบโตของประชากรยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่อัตราการ ผลิตภัณฑ์ ในขณะที่กลุ่มเกษตรกรทางตอนเหนือค�ำนึงถึงเรื่อง เติบโตของพื้นที่เก็บเกียวไม่มีการเคลื่อนไหว มีการคาดการณ์ว่า ราคาเป็นหลัก มีความต้องการใช้ปยุ๋ เคมีแบบพรีเมีย่ มมากขึน้ จากทางตอนใต้ของ เวียดนาม เนือ่ งจากมีพนื้ ทีเ่ ก็บเกีย่ วถึงร้อยละ 69 และชาวนาส่วน อย่างไรก็ดี ความต้องการใช้ปุ๋ยในเวียดนามยังคงสูงอยู่ โดย ใหญ่ชอบใช้ของที่มีคุณภาพและให้ผลผลิตที่ดีมากกว่า ในส่วน InterControl คาดการณ์ว่าเวียดนามจะน�ำเข้าปุ๋ยเชิงผสม NPK ของด้านอุปทาน มีการคาดการณ์ว่า วัตถุดิบส�ำหรับ NPK จะยัง ประมาณ 450,000 เมตริกตันในปี 2557 คงมาจากการน�ำเข้าเป็นหลัก
ตลาดปุ๋ย ตลาดปุ๋ยทั่วโลก จากข้อมูลของสมาคมอุตสาหกรรมปุ๋ยระหว่างประเทศ (International Fertilizer Industry Association: IFA) ทวีปเอเชีย เป็นตลาดที่มีการอุปโภคผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมีมากที่สุด ซึ่งคิดเป็น ส่ ว นแบ่ ง การตลาดร้ อ ยละ 58.7 โดยส่ ว นใหญ่ จ ะมี ก ารใช้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปุ ๋ ย เคมี ใ นภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกและเอเชี ย ใต้ ซึ่งประสบกับปัญหาขาดดุลสารอาหารไนโตรเจน ฟอสเฟต และ โพแทส อยู่ประมาณ 3 ล้านเมตริกตัน 2 ล้านเมตริกตัน และ 7 ล้านเมตริกตัน ตามล�ำดับ จากข้อมูลของสมาคมอุตสาหกรรมปุย๋ ระหว่างประเทศอุตสาหกรรม ปุย๋ เคมีระดับโลกจะยังคงอยูใ่ นสภาวะเกินดุลในปี 2557 ปี 2558 และปี 2559 อันเป็นผลมาจากการเปิดโรงงานผลิตปุ๋ยใหม่หลาย แห่ง อย่างไรก็ตาม ตลาดเอเชียจะยังคงประสบกับสภาวะขาดดุล ในสารอาหารฟอสเฟตและโพแทสในขณะที่จะมีปริมาณสาร อาหารไนโตรเจนเกินดุลนับตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นไป เนื่องจาก โรงงานผลิตปุ๋ยสารอาหารไนโตรเจนใหม่จะเริ่มเปิดด�ำเนินการ ในปี 2558
InterControl เชื่อว่าอุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ยในเวียดนามจะไม่ ได้รับผลกระทบจากสภาวะทางเศรษฐกิจที่ถดถอยมากนัก และ คาดการณ์วา่ บริษทั ผูผ้ ลิตปุย๋ จะยังคงด�ำเนินธุรกิจได้อย่างราบรืน่ นอกจากนี้ การเปิดด�ำเนินการของโรงงานผลิตยูเรียและฟอสเฟต ซึ่งเป็นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยเคมีเชิงผสม NPK จะช่วยเพิ่ม ปริมาณสารอาหารไนโตรเจนและฟอสเฟตให้เวียดนามให้มี สภาวะเกินดุล ซึ่งสิ่งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ผลิตปุ๋ยเคมีเชิงผสม NPK เนื่องจากราคาวัตถุดิบจะต�่ำลง และจะส่งผลให้ต้นทุนการ ผลิตลดลงตามไปด้วย แผนภูมิต่อไปนี้แสดง (1) ปริมาณการผลิตจริงของปุ๋ยเคมี เชิงผสม NPK (เมตริกตัน) และ (2) ส่วนแบ่งการตลาด (ร้อยละ) ในเวียดนาม (500)
(600) 22%
(200)
Lam Thao Binh Dien SFC JVF บาคองโค อื่นๆ
26%
9% 19%
11% (250)
13%13% (300)
ที่มา: ภาพรวมตลาดปุ๋ย 2556, InterControl
(450)
068
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
แผนภูมิ: ปริมาณการอุปโภคปุ๋ยในเวียดนาม (2545-2560) 9,000,000 8,000,000 7,000,000 6,000,000 5,000,000 4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000 0
+3%
-25%
+10%
2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560
ยอดรวมปุยทั้งหมด
ยอดรวมปุย NPK
ที่มา: บาคองโค
ธุรกิจคลังสินค้า
ธุรกิจบริการหน้าท่าของบาคองโคเกิดขึ้นได้จากการที่โซลีอาโด ซือ้ หุน้ ร้อยละ 20 ใน Baria Joint Stock Company of Services for Import Export of Agro-forestry Commodities and Fertilizers (“บาเรีย เซเรส”) จาก Yara Asia Pte. Ltd. เมื่อปี 2553 โดยบาเรีย เซเรสเป็นเจ้าของและผู้บริหารจัดการท่าเรือ Phu My ในเวียดนามใต้ โดยท่าเรือแห่งนี้ตั้งอยู่ที่แม่น�้ำ Thi Vai ซึ่งห่างจากทะเลเปิดประมาณ 17 ไมล์และตั้งอยู่ติดกับนิคม อุตสาหกรรม Phu My ซึ่งหากจากกรุงโฮจิมินห์ประมาณ 70 กิโลเมตร และเป็นท่าเรือน�ำ้ ลึกที่ใหญ่ที่สุดของเวียดนาม ส�ำหรับ การขนส่งสินค้าแห้งเทกองไม่ว่าจะเป็นผลผลิตทางการเกษตร ถ่านหิน และปุ๋ย ซึ่งสามารถรองรับการขนส่งสินค้าได้ 7 ล้านตัน ต่อปี นิคมอุตสาหกรรม Phu My เป็นหนึ่งในศูนย์กลางการส่งออกที่ ส�ำคัญทางตอนใต้ของเวียดนาม ดังนั้น นิคมอุตสาหกรรมแห่งนี้ จึงได้รับประโยชน์จากความต้องการคลังสินค้าและพื้นที่จัดเก็บ สินค้าก่อนการขนส่ง วิสัยทัศน์ของ TTA ในการเป็นผู้ให้บริการงานด้านโลจิสติกส์ที่ ครบวงจร และอย่างเป็นมืออาชีพในเวียดนามตอนใต้ได้ใกล้ เข้าสู่ความส�ำเร็จอีกขั้นในปีที่ผ่านมา จากการลงทุนของเราใน บาคองโค บริษัท โทรีเซน-วินาม่า โลจิสติกส์ จ�ำกัด และบาเรีย เซเรส ท�ำให้เรามีพนื้ ทีใ่ ห้บริการคลังสินค้าเพิม่ เป็น 53,000 ตาราง เมตร และสามารถรองรับสินค้าได้เกือบ 190,000 เมตริกตัน และ ท�ำให้ในปี 2557 เราอยู่ในสถานะที่ได้เปรียบและมีความพร้อม อย่ า งยิ่ ง ในการให้ บ ริ ก ารงานด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ ที่ ค รบวงจรที่ ครอบคลุมทั้งทางด้านการขนส่งทางบกและทางเรือ คลังสินค้า บรรจุหีบห่อ การบริการขนส่งสินค้า (forwarding) และพิธีการ ทางศุลกากร ซึ่งผลตอบแทนที่ได้จากการลงทุนข้างต้น ได้ส่งให้ ธุรกิจคลังสินค้าของบาคองโคเติบโตอย่างรวดเร็ว
ก: ผลิตภัณฑ์และบริการ ในปัจจุบันพื้นที่ให้บริการคลังสินค้าของบาคองโคได้มาตรฐาน ระดับสากล โดยมีการก่อสร้างอย่างแข็งแกร่งเพื่อการใช้งานใน ระยะยาวและสามารถรองรับสินค้าได้น�้ำหนักถึง 10 เมตริกตัน ต่อตารางเมตร คลังเก็บสินค้าของบาคองโคจึงมีความยืดหยุ่นสูง และสามารถจัดแบ่งเป็นสัดส่วนทีม่ ขี นาดต่างกัน เพือ่ ให้สอดคล้อง กับความต้องการของลูกค้าแต่ละราย นอกจากนี้เรายังมีบริการ เสริมต่างๆ เช่น พื้นที่ให้เช่าเป็นส�ำนักงานของผู้ดูแลลูกค้า ลานจอดรถบรรทุก บริการด้านการรักษาความปลอดภัย และ บริการโครงสร้างพืน้ ฐานอืน่ ๆ (ไฟฟ้า น�ำ้ ประปา และระบบระบาย อากาศ) • คลั ง สิ น ค้ า บาคองโค 1 (“BCC I”) และ บาคองโค 3 (“BCC III”) ให้บริการกลุ่มธุรกิจปุ๋ยส�ำหรับการจัดเก็บวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูป ชิ้นส่วน และการจัดเก็บสิ่งของที่จ�ำเป็น ในธุรกิจปุ๋ยเคมีเพื่อการเกษตร ในขณะที่พื้นที่ส่วนที่เหลือ จัดสรรให้ผู้อื่นเช่าในช่วงระยะสั้น • คลังสินค้าบาคองโค 5 (“BCC V”) ได้รบั การออกแบบเป็นพิเศษ ส�ำหรับการให้เช่าเป็นคลังสินค้าโดยเฉพาะ โดยร้อยละ 75 ของ ลูกค้าท�ำสัญญาระยะยาวตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป ส่วนอีกร้อยละ 25 จะเป็นการท�ำสัญญาเช่าในระยะสั้น สืบเนือ่ งจากบาคองโคมีขอ้ จ�ำกัดในการด�ำเนินกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับ ตลาดค้าปลีก ตามข้อบังคับว่าด้วยการลงทุนของบริษัทต่างชาติ บริษัทฯ จึงได้ลงนามในสัญญาให้เช่าพื้นที่แก่บริษัท โทรีเซนวินาม่า เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (“TVA”) ซึ่งเป็นผู้ถือใบอนุญาต ประกอบธุรกิจด้านโลจิสติกส์ และสามารถให้บริการเช่าพืน้ ทีค่ ลัง สินค้าได้กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องของเวียดนามภายใต้ เงื่อนไขการก�ำหนดราคาและเงื่อนไขอื่นๆ
ลูกค้า ลูกค้าทีใ่ ช้บริการเช่าคลังสินค้าประกอบด้วย ผูค้ า้ ส่งผลิตภัณฑ์ปยุ๋ ของบาคองโค ผู้ผลิตขวด ผู้น�ำเข้าวัตถุดิบ และผู้ผลิตท่อเหล็ก
ภาวะการแข่งขัน คลังสินค้าอื่นๆ ที่ตั้งไกลออกไปจากเขตพื้นที่ยุทธศาสตร์ที่คลัง สินค้าบาคองโคตั้งอยู่ ส่วนใหญ่ให้บริการด้วยมาตรฐานที่ต�่ำกว่า แต่ความต้องการทางด้านโลจิสติกส์ และบริการให้เช่าคลังสินค้า ที่ได้มาตรฐานระดับมืออาชีพในเขตนิคมอุตสาหกรรม Phu My ซึ่งเป็นที่ตั้งของคลังสินค้าของบาคองโคกลับอยู่ในระดับสูงมาก และจะสูงขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมีการก่อสร้างโรงงานและท่าเรือ ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่องในบริเวณดังกล่าว
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ข: การตลาดและการแข่งขัน
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
069
นิคมอุตสาหกรรมหนาแน่นที่สุด โดยเฉพาะในบริเวณใกล้เคียง กับ Baria และท่าเรือ Phu My มีนิคมอุตสาหกรรมถึง 10 แห่ง ณ ปัจจุบนั ระบบท่าเรือของเวียดนามก�ำลังได้รบั การพัฒนาอย่าง ทิศทางธุรกิจคลังสินค้าในเวียดนาม มีนัยส�ำคัญ โดยเฉพาะท่าเรือที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ แต่โครงสร้าง ภาคอุตสาหกรรมในเวียดนามแบ่งออกเป็นเขตเศรษฐกิจส�ำคัญ พืน้ ฐานทีร่ องรับก็ยงั มีขอ้ จ�ำกัดในแง่การรองรับตูส้ นิ ค้าและสินค้า 3 แห่ง ได้แก่ เขตเศรษฐกิจส�ำคัญภาคเหนือ (Northern Key เทกอง Economic Region หรือ “NKER”) เขตเศรษฐกิจส�ำคัญภาค กลาง (The Central Key Economic Region หรือ “CKER”) ดังนั้น การพัฒนาคลังสินค้าและความพร้อมในการให้เช่า ผนวก และเขตเศรษฐกิจส�ำคัญภาคใต้ (the Southern Key Economic กับการบริหารจัดการทางด้านโลจิสติกส์อย่างเชีย่ วชาญคือปัจจัย Region หรือ “SKER”) ซึ่งเขตเศรษฐกิจส�ำคัญภาคใต้มีจ�ำนวน ส� ำ คั ญ ในการสนั บ สนุ น โครงสร้ า งพื้ น ฐานท่ า เรื อ และภาค อุตสาหกรรมของเวียดนาม
Business Segment
COAL LOGISTICS
บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน) ปีปฏิทิน (พ.ศ.) 2556 2557
(ล้านบาท)
580 ล้านบาท
จำ�นวนหนีส้ น ิ สุทธิตอ่ ธนาคารคงเหลือ ณ สิน ้ ธันวาคม 2557 ซึง่ ลดลงจาก 1,138 ล้านบาท ณ สิน ้ ปี 2556
2
โรงงาน
จำ�นวนโรงงานคัดแยกถ่าน ตัง้ อยูท่ จ่ี งั หวัดสมุทรสาคร (สวนส้ม) และ อยุธยา (นครหลวง)
รายได้
EBITDA
กำ�ไรสุทธิ
16,690 ตารางเมตร
จำ�นวนพืน ้ ทีข่ องโรงงาน
072
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ธุรกิจโลจิสติกส์ถ่านหิน บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำ�กัด (มหาชน) ภาพรวมธุรกิจ
UMS เป็นผู้จัดจ�ำหน่ายถ่านหินและให้บริการโลจิสติกส์ขนส่ง ถ่านหินแบบครบวงจรในประเทศไทย โดย UMS สามารถที่จะ ส่งมอบถ่านหินถึงมือลูกค้าได้ทันทีที่ลูกค้าต้องการ เนื่องจาก UMS มีโรงงานคัดแยกถ่านหินอยู่ในจังหวัดสมุทรสาคร และ จังหวัดอยุธยา และมีเรือล�ำเลียงสินค้าจ�ำนวน 12 ล�ำ ที่สามารถ รองรับความต้องการการใช้ถ่านหินที่เพิ่มขึ้นของกลุ่มลูกค้า โรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมที่ใช้หม้อไอน�้ำ ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงในการให้ความร้อน UMS วางรูปแบบการจัดส่งถ่านหินให้ถึงมือลูกค้าอย่างทันท่วงที ด้วยการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน (supply chain) แบบ ครบวงจร โดยมีการบริหารจัดการกับกองถ่านหิน และคลังสินค้า เป็นอย่างดี เพื่อให้มั่นใจว่า เรามีถ่านหินเพียงพอส�ำหรับส่งมอบ ให้ ลู ก ค้ า ดั ง นั้ น ลู ก ค้ า จึ ง สามารถที่ จ ะสั่ ง ซื้ อ ถ่ า นหิ น ได้ ใ น ระยะเวลาอันสั้นเพียงแค่ 1 วัน ล่วงหน้า ซึ่งท�ำให้ลูกค้าไม่ต้อง คอยกังวลเกี่ยวกับเรื่องการส�ำรองถ่านหินและเตรียมพื้นที่หรือ คลังสินค้าในการจัดเก็บถ่านหินด้วยตัวเอง ในรอบปีปฏิทิน 2557 ถือเป็นปีแห่งการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ส�ำหรับ UMS โดยบริษัทหันมาให้ความส�ำคัญกับการระบาย ปริมาณถ่านหินขนาด 0-5 มม. ในคลังสินค้าลง เพื่อปรับสมดุล ให้กับโครงสร้างทางการเงิน ซึ่งถือเป็นกระบวนการที่ส�ำคัญ ส�ำหรับการท�ำให้งบดุลแข็งแกร่งขึ้น และเป็นการวางรากฐาน ส�ำหรับการพลิกฟื้นกิจการต่อไป โดยหนี้สินสุทธิที่มีกับธนาคาร ลดลงเหลือ 580 ล้านบาท จาก 1,138 ล้านบาทเมื่อสิ้นปี 2556 ท�ำให้ UMS มีสถานะทางการเงินที่แข็งแกร่งขึ้น ในช่วงไตรมาส สุดท้ายของปีปฏิทิน 2557 UMS ได้ค่อยๆ เริ่มกลับมาน�ำเข้า ถ่านหินและเริม่ การจัดจ�ำหน่ายถ่านหินอีกครัง้ หลังจากแผนการ ปรับปรุงการด�ำเนินงานเป็นผลส�ำเร็จ อย่างไรก็ดี ตลอดทั้ง ปีปฏิทิน 2557 UMS ยังคงเปิดด�ำเนินการโรงงานที่ อ.สวนส้ม จ.สมุทรสาครได้ไม่เต็มที่ เนือ่ งจากยังมีการห้ามขนส่งถ่านหินผ่าน แม่น�้ำแม่กลอง
ผลประกอบการของ UMS ทัง้ งวด 3 เดือนและงวดปีปฏิทนิ มีการ ปรับตัวดีขนึ้ โดยมีผลขาดทุนสุทธิลดลง เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีกอ่ นทัง้ สองงวด ซึง่ ทัง้ หมดเป็นผลมาจากกลยุทธ์การระบาย ปริมาณถ่านหินในคลังสินค้าลง ผนวกกับการมีต้นทุนในการขาย ที่ลดลง เนื่องจากมีการกลับรายการทางบัญชี (net realized value) ที่ เ คยตั้ ง ไว้ ส� ำ หรั บ มู ล ค่ า ของถ่ า นหิ น ในคลั ง สิ น ค้ า เนื่องจากราคาถ่านหินมีการปรับตัวสูงขึ้น ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ลดลง และการควบคุมต้นทุนที่ดีขึ้น จึงท�ำให้ผลขาดทุนสุทธิลด ลง ทั้งนี้ในช่วง 3 เดือนล่าสุดนี้ UMS เริ่มที่จะกลับมาน�ำเข้าและ จัดจ�ำหน่ายถ่านหินอีกครัง้ เนือ่ งจากงบดุลเริม่ แข็งแรงและมัน่ คง มากขึ้น จากนี้ไป UMS จะยังคงพยายามด�ำเนินการทุกวิถีทาง เพื่อให้ สามารถกลับมาใช้ท่าเรือที่จังหวัดสมุทรสาครได้อีกครั้ง และ พยายามที่จะพลิกฟื้นกิจการให้ได้
ก: ผลิตภัณฑ์และบริการ UMS เน้นน�ำเข้าถ่านหินประเภท ซับบิทูมินัสและบิทูมินัสมายัง ประเทศไทย ถ่านหินเป็นเชือ้ เพลิงธรรมชาติทมี่ สี ถานะเป็นของแข็ง มีคาร์บอน เป็นองค์ประกอบส�ำคัญ โดยทัว่ ไป ถ่านหินจะมีสนี ำ�้ ตาลหรือสีดำ� และสามารถแยกออกเป็นหลายประเภท ตามระยะเวลาการ พัฒนาการของความสมบูรณ์ทางธรณีวทิ ยา จนกลายเป็นถ่านหิน (coalification process) ซึ่ ง ในชั้ น แรกจะพั ฒ นาจาก ถ่านหินพีต (peat) จนมาเป็นถ่านหินแอนทราไซท์ (anthracite) ซึ่งโดยกระบวนการเกิดของถ่านหินมีความส�ำคัญต่อคุณสมบัติ ทางกายภาพและทางเคมี ข องถ่ า นหิ น อย่ า งยิ่ ง ท�ำให้ ถ ่ า นหิน ถูกแบ่งประเภทตามปริมาณของคาร์บอน จากต�่ำสุดไปสูงสุด ได้แก่ ถ่านหินลิกไนต์ ถ่านหินซับบิทูมินัส ถ่านหินบิทูมินัส และ ถ่านหินแอนทราไซท์
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
073
UMS เลือกทีจ่ ะน�ำเข้าถ่านหินซับบิทมู นิ สั และถ่านหินบิทมู นิ สั เข้า 2. ลักษณะของอุตสาหกรรมและแนวโน้ม มาจ�ำหน่ายในประเทศไทย เนื่องจากเป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพดี มีค่าความร้อนปานกลาง มีระดับเถ้าและความชื้นที่เหมาะสม ในอนาคต และมีปริมาณก�ำมะถันต�่ำเมื่อเทียบกับน�้ำมันเตา (น�้ำมันเตามี ในปี 2558 ปัญหาอุปทานส่วนเกินของถ่านหินล้นตลาดจะยังคง ปริมาณก�ำมะถันประมาณร้อยละ 0.1-0.3) ซึ่งท�ำให้เกิดมลภาวะ ส่งผลกดดันราคาถ่านหินและส่งผลกระทบต่อตลาดถ่านหิน ต่อสิ่งแวดล้อมน้อยมาก ส�ำหรับโรงไฟฟ้าโดยรวม มีการคาดการณ์ว่าความต้องการใช้ ถ่านหินส�ำหรับโรงไฟฟ้าถ่านหินยังคงเติบโตต่อเนื่อง โดยเฉพาะ UMS จะน�ำเข้าถ่านหิน เฉพาะเวลาที่ได้รับค�ำสั่งซื้อจากลูกค้า ในประเทศอินเดียทีย่ งั ไม่สามารถผลิตถ่านหินให้เพียงพอต่อความ รายใหญ่เท่านัน้ เนือ่ งจากถ่านหินบิทมู นิ สั มีราคาค่อนข้างสูง ส่วน ต้องการใช้งานในประเทศจึงต้องมีการน�ำเข้าถ่านหินมาเพื่อใช้ ถ่านหินแอนทราไซท์ มีต้นทุนสูงมาก UMS จึงไม่ได้น�ำเข้า การผลิตไฟฟ้า โดยอัตราการน�ำเข้าถ่านหินของอินเดียเติบโตใน ในขณะที่ถ่านหินประเภทลิกไนต์นั้น ไม่เป็นที่นิยมใช้กันมากนัก ระดับเลขสองหลัก ส่วนประเทศจีนยังคงเป็นผู้น�ำเข้าถ่านหิน ในประเทศไทยเนื่องจากเป็นถ่านหินคุณภาพต�่ำและมีปริมาณ ส�ำหรับโรงไฟฟ้าถ่านหินด้วยปริมาณที่สูงติดอันดับ แต่อัตราการ ก�ำมะถันสูง ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้ เติบโตของการน�ำเข้าถ่านหินในปี 2558 ยังคงต้องจับตามอง เนือ่ งจากการน�ำเข้าถ่านหินของจีนได้รบั ผลกระทบหลายประการ จากการชะลอตัวของการเติบโตทางเศรษฐกิจ มาตรการป้องกัน มลพิษ การกีดกันทางการค้าภายในประเทศ เป็นต้น ส�ำหรับกลุม่ 1. ลูกค้าและลูกค้ากลุม่ เป้าหมาย ช่องทาง ประเทศที่ไม่เป็นสมาชิกองค์กรความร่วมมือและพัฒนาทาง เศรษฐกิจ (non-OECD) โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากแถบเอเชียและ จัดจ�ำหน่าย อเมริกาใต้จะยังคงเป็นผู้ผลักดันอัตราการเติบโตของถ่านหิน
ข: การตลาดและคู่แข่ง ลูกค้า
คาดว่าการปรับลดค่าใช้จ่ายจะเป็นประเด็นหลักที่ผู้ผลิตถ่านหิน ลูกค้าหลักส่วนใหญ่ของ UMS มักใช้ถ่านหินที่มีค่าความร้อนต�่ำ ส�ำหรับโรงไฟฟ้าให้ความส�ำคัญในปี 2558 แต่ถึงอย่างนั้น ก็ยังมี (ถ่านหินซับบิทมู นิ สั มีคา่ ความร้อนที่ 4,000-4,200 kcal/kg GAR คาดการณ์ว่า อุปทานส่วนเกินของถ่านหินจะยังคงมีอยู่ ซึ่งส่วน (gross as received) ซึ่งสามารถสั่งน�ำเข้าจากผู้จัดจ�ำหน่าย ใหญ่จะมาจากผูผ้ ลิตถ่านหินรายใหญ่จากประเทศส่งออกหลักเช่น (suppliers) ที่เชื่อถือได้ในประเทศอินโดนีเซียที่มีอยู่จ� ำนวน ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย โคลัมเบีย รัสเซีย และแอฟริกาใต้ ซึ่งมัก ไม่น้อยกว่า 10 ราย UMS ขายถ่านหินให้แก่ลูกค้าในกลุ่ม จะเป็ น ผู ้ ผ ลิ ต ที่ มี ต ้ น ทุ น ต�่ ำ ส� ำ หรั บ ผู ้ ผ ลิ ต จากออสเตรเลี ย อุตสาหกรรมต่างๆ ในประเทศ อาทิ อุตสาหกรรมกระดาษ สิง่ ทอ ปริมาณตามข้อตกลงถ้าขนในปริมาณต�่ำกว่าที่ตกลงจะถูกปรับ (take-or-pay contract) ยังคงเป็นปัจจัยส�ำคัญที่สนับสนุนให้ อาหารส�ำเร็จรูป และซีเมนต์ ผู้ผลิตท�ำการส่งออกถ่านหิน ทั้งนี้ กลยุทธ์การน�ำเข้าและผลิตถ่านหินของ UMS จะมีการ ปรับเปลีย่ น เพือ่ ให้เข้ากับข้อก�ำหนดทางวิศวกรรมของหม้อไอน�ำ้ ในระยะยาว จากรายงานของ BP’s Energy Outlook 2035 มองภาพในระยะยาวว่า ถึงแม้ว่าอัตราการเติบโตของถ่านหินจะ ที่ใช้ในอุตสาหกรรมแต่ละประเภท ชะลอตัวลง แต่ถา่ นหินจะยังคงเป็นแหล่งพลังงานส�ำคัญทีจ่ ะป้อน ให้กับความต้องการใช้พลังงานของโลก สัดส่วนของถ่านหินใน คู่แข่ง ฐานะแหล่งพลังงานของโลกจะลดลงและถูกทดแทนด้วยพลังงาน ธุรกิจการจัดจ�ำหน่ายถ่านหินในประเทศไทยมีผู้ประกอบการอยู่ ทางเลือก การเติบโตของการใช้ถ่านหินทั่วโลกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น ประมาณ 20 ราย ซึ่งประมาณ 8 รายในจ�ำนวนนี้นับเป็นคู่แข่ง เพียงแค่ร้อยละ 1.1 ต่อปี จนถึงปี 2558 ตามรายงานของ BP ซึ่ง โดยตรงของ UMS ในตลาดกลุ่มลูกค้าอุตสาหกรรมขนาดกลาง อัตราการเติบโตนี้เกิดจากกลุ่มประเทศ non-OECD ซึ่งคาดว่า และขนาดย่อม (SME) ปัจจุบัน UMS มีส่วนแบ่งทางการตลาด จะเติบโตที่ 1.6% ในขณะที่ จีนและอินเดียจะมีส่วนช่วยผลักดัน น้อยกว่าร้อยละ 10 แต่ก�ำลังพยายามชิงส่วนแบ่งทางการตลาด การเติบโตของถ่านหินประมาณร้อยละ 87% กลับคืนมาอยู่ในระดับเดิมที่ประมาณร้อยละ 35
074
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ส�ำหรับตลาดถ่านหินในประเทศไทย แม้วา่ ความต้องการถ่านหิน แผนภูมิ: อุปสงค์พลังงานหลักในอาเซียน แยกตามแหล่ง ในไทยในอดีตที่ผ่านมาอยู่ในระดับที่ต�่ำเมื่อเทียบกับประเทศใน พลังงาน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียเหนือส่วนใหญ่ แต่ความ Mtoe ต้องการถ่านหินส�ำหรับภาคอุตสาหกรรมและการผลิตไฟฟ้า 350 ภายในประเทศไทย คาดว่าจะสูงขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญในช่วงเวลา 10 ปีข้างหน้า เนื่องจากการลดลงของปริมาณก๊าซธรรมชาติ 300 ในอ่าวไทย ดังนัน้ จึงคาดการณ์ได้วา่ เป้าหมายในสร้างการเติบโต 250 ทางเศรษฐกิจของไทย และการตอบสนองความต้องการพลังงาน 200 ในอนาคต จะต้องพึ่งพาพลังงานจากถ่านหินเพิ่มขึ้น 150 ตามข้อมูลของ Oxford Business Group ถ่านหินน่าจะเป็น พลั ง งานที่ จ ะมาทดแทนการใช้ น�้ ำ มั น ดิ บ และก๊ า ซธรรมชาติ โดยคาดว่าปริมาณการใช้ถ่านหินจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 4 ต่อปีเป็น 47 ล้านตันเทียบเท่ากับน�้ำมันดิบ (“TOE”) ภายในปี 2578 โดย ส่วนใหญ่จะเป็นการใช้ในโรงไฟฟ้า เนือ่ งจากความต้องการไฟฟ้า ยังคงเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ในขณะทีก่ า๊ ซธรรมชาติมปี ริมาณค่อน ข้างจ�ำกัดในประเทศไทย ราคาน�้ำมันดิบยังคงมีความผันผวนสูง และพลังงานชีวมวลยังคงมีความไม่แน่นอนจึงท�ำให้ถา่ นหินกลาย เป็นแหล่งพลังงานทีน่ า่ เชือ่ ถือ คุม้ ค่า และมีประสิทธิภาพมากขึน้
100 50 0
2523
2533
น้ำมันดิบ กาซธรรมชาติ พลังงานทดแทนอื่น นิวเคลียร
2543
2553
2563
ถานหิน พลังงานชีวมวล พลังงานน้ำ
ที่มา: OECD/IEA World Energy Outlook 2013
2573
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
075
076
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและ การพัฒนาอย่างยั่งยืน
รายงานประจ� ำ ปี 2557
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
077
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“TTA” หรือ “บริษัทฯ”) มีความมุ่งมั่นที่จะเป็น บริษัทชั้นน�ำเพื่อการลงทุนที่มีความน่าเชื่อถือและได้รับความไว้วางใจมากที่สุดในเอเชีย โดยการ ด�ำเนินธุรกิจภายใต้การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ยึดหลักธรรมาภิบาล ควบคู่ไปกับการใส่ใจดูแลรักษา สิ่งแวดล้อม มีส�ำนึกรับผิดชอบต่อชุมชน และตอบแทนสู่สังคมอย่างแท้จริง และด้วยการส่งมอบ ประสบการณ์ที่ดีให้กับผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายในและภายนอก ตั้งแต่ผู้ถือหุ้น พนักงาน พันธมิตร ทางธุรกิจ ชุมชน และสังคม ทั้งนี้เพื่อสร้างความสมดุลและก่อให้เกิดผลกระทบในเชิงบวกที่จะ ช่วยขับเคลื่อนมิติทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อันน�ำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
078
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
แนวทางการพั ฒ นาองค์ ก รธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น ของ TTA เพือ่ พัฒนาองค์กรธุรกิจให้มคี วามยัง่ ยืน TTA วาง กรอบการบริหารจัดการอย่างยั่งยืน โดยอ้างอิง มาจากแนวทางการด�ำเนินการในระดับสากล ซึง่ ครอบคลุมทั้งมิติทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและ สิง่ แวดล้อม ภายใต้หลักบรรษัทภิบาลทีด่ ี เพือ่ ให้ เกิดการด�ำเนินงานที่สอดคล้องกันในทุกธุรกิจ โดยก�ำหนดแนวทางและเป้าหมายการด�ำเนิน งานให้ทุกธุรกิจน�ำไปปฏิบัติอย่างเหมาะสม
มิตขิ องการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนด้านเศรษฐกิจ
TTA มีเป้าหมายสูงสุดของการด�ำเนินธุรกิจ คือ “Sustainable Value Creation” การมุ่งเน้นสร้างคุณค่าให้แก่ผู้มีส่วนได้เสีย ทุกฝ่ายอย่างสมดุล โดยมีผลตอบแทนของการลงทุนเป็นเสมือน ทางผ่านไปสู่ประโยชน์สุขร่วมกันของทุกฝ่าย ในการที่จะเติบโต อย่างยั่งยืนไปพร้อมๆ กัน แนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนด้าน เศรษฐกิจของบริษัทฯ มีดังนี้
รักษาพอร์ตการลงทุนที่สมดุลและสร้าง การเติบโตให้กับกิจการ มุ่งเน้นกลยุทธ์ด้านการสร้างสมดุลให้กับพอร์ตการลงทุน และ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนให้แก่กิจการที่บริษัทฯ เข้าไปลงทุน โดยท�ำการวิเคราะห์จดุ แข็ง จุดอ่อนของแต่ละธุรกิจอย่างละเอียด รอบคอบ บริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม และค�ำนึงถึง การสร้างมูลค่าเพิม่ และประโยชน์สงู สุดให้แก่ผถู้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ น ได้เสียทุกฝ่ายอย่างต่อเนื่อง มั่นคง และยั่งยืน
รายงานประจ� ำ ปี 2557
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
แสวงหาการลงทุนในธุรกิจใหม่ที่สอดคล้องกับ สถานการณ์ แสวงหาโอกาสการลงทุ น ในธุ ร กิ จ ใหม่ ๆ ที่ มี ศั ก ยภาพสู ง ใน การสร้างรายได้และผลตอบแทนที่รวดเร็ว โดยใช้กลยุทธ์การ ปรับตัวอย่างรวดเร็ว พร้อมรับกระแสการเปลีย่ นแปลงและปัจจัย ความไม่แน่นอนต่างๆ โดยการวางแผนการลงทุนอย่างระมัด ระวัง โดยเฉพาะด้านการเงิน และบริหารกระจายความเสี่ยงซึ่ง การด�ำเนินการต่างๆ จะต้องท�ำให้บริษัทฯ มีฐานะทางการเงินที่ แข็งแกร่งและมั่นคงยิ่งขึ้น
พัฒนาบุคลากร เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งนวัตกรรม มุ ่ ง พั ฒ นาพนั ก งานและปลู ก ฝั ง วั ฒ นธรรมการเป็ น องค์ ก ร นวัตกรรมโดยการสร้างบรรยากาศให้พนักงานทุกระดับ คิด นอกกรอบ กล้าแสดงความคิดเห็น เปิดใจรับฟัง ส่งเสริมการเรียน รู้และพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนา เปลี่ยนแปลงในทางที่เป็นประโยชน์ส�ำหรับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น ผู้ถือหุ้น พันธมิตรทางธุรกิจ ชุมชน รวมทั้งพนักงาน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืน
มิติของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้านสิ่งแวดล้อม ด้วยตระหนักดีวา่ ธุรกิจที่ TTA เข้าไปลงทุนส่วนใหญ่จะต้องพึง่ พิง ทรัพยากรธรรมชาติ บริษัทฯ จึงให้ความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด จึงมีการน�ำเทคโนโลยีมาใช้และมีการ พัฒนากระบวนการท�ำงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมพร้อมไป กับการปลูกฝังให้พนักงานมีจติ ส�ำนึกในการค�ำนึงถึงผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการปฏิบัติงานในหน้าที่
มิติของการพัฒนาอย่างยั่งยืนด้านสังคม
079
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน TTA เชื่อว่าธุรกิจที่เจริญก้าวหน้าและเติบโตได้อย่างมั่นคงยั่งยืน จะต้องพัฒนาองค์กรควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิง่ แวดล้อม โดยบุคลากรทัว่ ทัง้ องค์กรจะต้องเห็นคุณค่าและความ ส�ำคัญของการด�ำเนินการต่างๆ ที่แสดงออกถึงความรับผิดชอบ ต่อสังคมอย่างเป็นรูปธรรม และสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และ พันธกิจทีก่ ำ� หนดไว้ ไม่วา่ TTA จะไปลงทุนในธุรกิจใด ในประเทศ ใดก็ตาม TTA จะด�ำเนินการอย่างถูกต้องตามหลักจริยธรรม และ ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น เพื่อสร้างความมั่นใจต่อผู้มีส่วนได้เสียกับองค์กร TTA จึง ได้กำ� หนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจ อย่างยัง่ ยืน และได้ดำ� เนินงานและจัดกิจกรรมต่างๆ ตามแนวทาง “เข็มทิศธุรกิจเพื่อสังคม 8 ด้าน” ดังรายละเอียดต่อไปนี้
หมวดที่ 1 การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการได้ทบทวนและอนุมัตินโยบาย การก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ไว้ ณ วันที่ 24 ธันวาคม 2555 ดังต่อไปนี้ • ข้อก�ำหนดของกฎหมาย
การบริหารจัดการและการด�ำเนิน ธุรกิจจะต้องเป็นไปตามกฎหมาย กฎบัตร กฎเกณฑ์และมติของ คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง • ความรับผิดชอบ ผูเ้ กีย ่ วข้องทุกราย รวมถึงคณะกรรมการและ ฝ่ายจัดการจะต้องตระหนักถึงหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของตน • ความโปร่งใส การประกอบธุรกิจและการด�ำเนินการทางธุรกิจ จะต้องสามารถตรวจสอบได้และมีความโปร่งใส • การมีส่วนร่วม ต้องรับรู้และยอมรับในสิทธิของผู้ถือหุ้นและ ผู้มีส่วนได้เสียในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของบริษัทฯ • หลักความคุ้มค่า ในการลงทุนและการใช้ทรัพยากรทั้งหลาย จะต้องค�ำนึงถึงผลตอบแทนทางการเงินและเศรษฐกิจ
ส่งเสริมการสร้างสรรค์สงั คม รวมถึงพัฒนาศักยภาพ และยกระดับ คุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสังคมให้ดีขึ้น เพื่อให้สังคม องค์ประกอบส�ำคัญของนโยบายข้างต้นสอดคล้องกับแนวทางของ ไทยยั่งยืน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังนี้ 1. สิทธิและการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกันต่อผู้ถือหุ้น เริ่มตั้งแต่สังคมภายในองค์กร บริษัทฯ ถือว่า “พนักงาน” เป็น 2. สิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย สินทรัพย์ที่มีค่าและส�ำคัญที่สุด โดยได้พัฒนาทักษะความรู้ใน 3. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส วิชาชีพตามสายงานให้กับพนักงานควบคู่ไปกับการส่งเสริมให้ 4. โครงสร้างและความรับผิดชอบของคณะกรรมการ พนักงานมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม 5. จริยธรรมทางธุรกิจและจรรยาบรรณ โดยได้ขยายขอบเขตการพัฒนาไปสู่ชุมชนและสังคมในวงกว้าง ผ่านการด�ำเนินโครงการและกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม อย่างต่อเนื่อง
080
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ซึง่ รายละเอียดของการด�ำเนินงานตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ 3. พัฒนาพนักงาน ฝึกฝนทักษะและเพิ่มพูนศักยภาพ และเปิด ข้างต้น ได้ถูกจัดท�ำแยกไว้ในหัวข้อ “รายงานว่าด้วยการก�ำกับ โอกาสให้พนักงานมีการเรียนรู้และเลื่อนต�ำแหน่งเมื่อมีโอกาสที่ ดูแลกิจการ” ในรายงานประจ�ำปีฉบับนี้ เหมาะสม
หมวดที่ 2 การประกอบธุรกิจด้วยความ เป็นธรรม 1. ด�ำเนินธุรกิจและการลงทุน โดยยึดหลักจริยธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ ปฏิบัติตามพันธสัญญาที่ได้ตกลงกันไว้ และมี การแบ่งปันผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม 2. ส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าอย่างยุติธรรม ในกระบวน การจัดซือ้ จัดจ้างทีเ่ ป็นระบบ โดยมีการก�ำหนดนโยบายอย่างเป็น รูปธรรม และมีการจ่ายค่าจ้างและค่าตอบแทนแก่คู่ค้าตาม ข้อตกลงที่เป็นธรรม รวมถึงการจ่ายดอกเบี้ยและช�ำระหนี้ตรง ตามก�ำหนดเวลาที่ตกลงกันไว้
4. จัดให้มีเงื่อนไขการจ้างงานที่เป็นธรรมส�ำหรับพนักงาน และ มอบค่าตอบแทนที่เหมาะสมตามศักยภาพ 5. เคารพสิ ท ธิ ใ นการแสดงความคิ ด เห็ น ของพนั ก งาน ซึ่ ง ครอบคลุมถึง การให้อิสระในการแสดงความเห็นโดยปราศจาก การแทรกแซง การได้ รั บ ข้ อ มู ล หรื อ ความคิ ด เห็ น ผ่ า นสื่ อ ประชาสัมพันธ์และเว็บไซต์ รวมทั้งมีช่องทางการสื่อสารเพื่อ รับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย 6. ส่งเสริมให้พนักงานมีดลุ ยภาพในการใช้ชวี ติ ระหว่างชีวติ การ ท�ำงานและชีวิตส่วนตัว และส่งเสริมให้พนักงานมีโอกาสบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ท�ำความดีเพื่อสังคม รวมทั้งการปฏิบัติตามหลักธรรม ของศาสนาต่างๆ อย่างเท่าเทียมกัน
3. รณรงค์ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานเห็นความส�ำคัญ ของการต่อต้านการทุจริต
7. จัดตั้งคณะกรรมการสวัสดิการ เพื่อดูแลและให้ค�ำแนะน�ำ เกี่ยวกับสวัสดิการต่างๆ ของพนักงาน
กิจกรรมที่ด�ำเนินการในปี 2557
8. จัดให้มชี อ่ งทางในการน�ำส่งข้อร้องเรียนมายังคณะกรรมการ ตรวจสอบ โดยผ่านทางเว็บไซต์ หรือ ตูป้ ณ. ส�ำหรับพนักงานทีไ่ ด้ รับการปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม
การจั ด อบรมเรื่ อ งจริ ย ธรรมธุ ร กิ จ (Code of Business Conduct) รวมถึงนโยบายและกระบวนการการแจ้งการกระท�ำ ทีผ่ ดิ ปกติในองค์กร และนโยบายการต่อต้านการแก้แค้นอันเนือ่ ง มาจากการแจ้งการท�ำผิดดังกล่าว (The Whistle Blowing and Non-Retaliation Policy and Procedures) • การจัดอบรมให้พนักงานมีความเข้าใจในเรือ ่ งนโยบายการมอบ หมายอ�ำนาจหน้าที่ (Authorization Policy) และการท�ำรายการ ทีเ่ กีย่ วโยงกันกับบุคคลทีอ่ าจจะเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กับบริษัทฯ (Connected Transaction) เช่น การท�ำรายการ ระหว่างกันระหว่างบริษทั ฯ กับบริษทั ร่วม หรือบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง กัน •
9. จัดตั้งคณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาวะแวดล้อมในบริษัทฯ เพื่อดูแลให้พนักงานทุกคนท�ำงานใน สถานทีท่ มี่ คี วามปลอดภัย รวมถึงการก�ำหนดนโยบายให้พนักงาน ทุกคนจะต้องรายงานสภาพแวดล้อมในการท�ำงานทีไ่ ม่ปลอดภัย ต่อผู้บังคับบัญชาพร้อมข้อเสนอแนะต่างๆ (ถ้ามี) 10. จัดให้มกี ารดูแลในเรือ่ งสวัสดิการแก่พนักงานตามสมควร เช่น วันหยุดประจ�ำปี วันหยุดลาคลอด วันลาพักผ่อนประจ�ำปี เงินค่า จ้างส�ำหรับการท�ำงานล่วงเวลา ค่ารักษาพยาบาล กองทุนส�ำรอง เลี้ยงชีพ ประกันชีวิต ประกันสุขภาพส่วนบุคคล และการตรวจ สุขภาพประจ�ำปี
หมวดที่ 3 การเคารพสิทธิมนุษยชนและ การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม กิจกรรมที่ด�ำเนินการในปี 2557 1. สนับสนุนและเคารพในการปกป้องสิทธิมนุษยชน โดยมิให้ ธุรกิจที่บริษัทฯ เข้าไปลงทุน เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการล่วง ละเมิดสิทธิมนุษยชน เช่น ไม่สนับสนุนการบังคับใช้แรงงานต่อ ต้านการใช้แรงงานเด็ก เป็นต้น
2. มีระบบการท�ำงานทีม่ งุ่ เน้นความปลอดภัยและสุขอนามัยใน สถานที่ท�ำงานอย่างเหมาะสม เช่น การจัดให้มีสถานที่ทำ� งานที่ สะอาดและปลอดภัยจากอันตรายที่อาจเกิดขึ้นทั้งจากอุบัติภัย และโรคภัย
โครงการพัฒนาความรู้ของบุคลากร • จัดให้พนักงานฝ่ายทรัพยากรบุคคลได้รบ ั การอบรมในหลักสูตร
การจัดการการเงินส่วนบุคคลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยเพื่อน�ำความรู้มาถ่ายทอดให้กับพนักงานในบริษัทฯ ท�ำให้ พนักงานตระหนักถึงความส�ำคัญของการวางแผนการออมเงิน และสามารถบริหารการเงินของตนเองได้
รายงานประจ� ำ ปี 2557
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
• จัดกิจกรรม “Town Hall” เป็นประจ�ำทุกไตรมาส เพือ ่ ให้ขอ้ มูล
เกี่ยวกับผลประกอบการและทิศทางการด�ำเนินงาน รวมถึง กิจกรรมส�ำคัญๆ แก่พนักงาน เพื่อให้พนักงานได้ท�ำความเข้าใจ และสามารถปรั บ ปรุ ง แผนการด� ำ เนิ น งานให้ เ หมาะสมและ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น • น�ำเสนอข้อมูลใหม่ๆ เรื่องการลงทุนในกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ให้กบั พนักงาน เพือ่ ให้พนักงานมีความเข้าใจในนโยบายการลงทุน และเลือกรูปแบบการลงทุนได้อย่างเหมาะสม
081
หมวดที่ 4 ความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น และพันธมิตรทางธุรกิจ 1. พิจารณาการลงทุนในธุรกิจที่หลากหลาย เพื่อรักษาพอร์ต การลงทุ น ที่ ส มดุ ล และเป็ น การกระจายความเสี่ ย งอย่ า ง เหมาะสม เลือกลงทุนในธุรกิจที่สร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างรายได้ที่ มั่นคง ให้ผลตอบแทนในระยะสั้นและระยะยาว อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีและการท�ำงานอย่าง 2. ด� ำ เนิ น การพั ฒ นาและดู แ ลธุ ร กิ จ ที่ เ ข้ า ไปลงทุ น ให้ เ จริ ญ ก้าวหน้าและเติบโตต่อไปอย่างยั่งยืน มีความสุข • จัดตรวจสุขภาพประจ�ำปีฟรี
พร้อมกับการจัดสัมมนาเรื่องการ ดูแลสุขภาพให้ปลอดจากโรคออฟฟิศซินโดรม • จั ด สวั ส ดิ ก ารเพิ่ ม พู น ความสุ ข ให้ กั บ พนั ก งาน ด้ ว ยการจั ด กิจกรรมชมภาพยนตร์ให้กับพนักงานในกลุ่ม TTA ทุกบริษัท ที่ด�ำเนินธุรกิจอยู่ในประเทศไทย ไตรมาสละ 1 ครั้ง • จัดกิจกรรมระหว่างพนักงานในกลุ่ม TTA รวมกัน เพื่อลดช่อง ว่างและเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน ได้แก่ กิจกรรม วันปีใหม่ และกิจกรรมการแข่งขันกีฬาสี • ส่งเสริมสุขภาพและกระตุ้นให้พนักงานออกก�ำลังกาย ด้วยการ จัดกิจกรรมเต้นแอโรบิคและเล่นโยคะในที่ทำ� งาน โดยมีวิทยากร มาสอนสัปดาห์ละ 2 วัน
โครงการสนับสนุนทางการศึกษา • โทรีเซนชิปปิ้ง
จัดกิจกรรม “Maritime Awards” ครั้งที่ 10 เพื่อมอบทุนการศึกษา จ�ำนวน 14 ทุน มูลค่าทุนละ 5,000 บาท ให้กบั บุตรธิดาของลูกเรือทีม่ ผี ลการเรียนดีสม�ำ่ เสมอ เพือ่ เป็นขวัญ และก�ำลังใจให้กับลูกเรือที่มีผลงานดี และมอบรางวัลผลงาน ยอดเยี่ยมให้กับลูกเรือใน 3 สาขา • โทรีเซนชิปปิง้ มอบทุนการศึกษาให้กบ ั นักศึกษาจากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่มีผลการเรียนเกรดเฉลี่ย ไม่ต�่ำกว่า 3.0 จ�ำนวนทั้งสิ้น 4 ทุน มูลค่าทุนละ 25,000 บาท
3. เผยแพร่ข้อมูลผลประกอบการ และฐานะทางการเงิน ให้แก่ ผู้ถือหุ้น และพันธมิตรทางธุรกิจ อย่างถูกต้อง โปร่งใส และ เพี ย งพอ ทั้ ง บนเว็ บ ไซต์ หนั ง สื อ รายงานประจ� ำ ปี และสื่ อ ประชาสัมพันธ์อื่นๆ 4. เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยได้มสี ว่ นร่วมในการแสดงความ คิดเห็น ในการประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี
กิจกรรมที่ด�ำเนินการในปี 2557 • จัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี • จัดงาน
Set Opportunity Day ประจ�ำไตรมาส • รายงานข่าวทีเ่ กีย ่ วข้องกับการลงทุนและการคืบหน้าของกิจการ ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และบนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ • จัดท�ำเผยแพร่หนังสือรายงานประจ�ำปี • เปิดช่องทางให้ผถ ู้ อื หุน้ รายย่อยมีสว่ นร่วมกับการบริหารกิจการ โดยส่ ง ข้ อ เสนอแนะ หรื อ ข้ อ ร้ อ งเรี ย นผ่ า นทางเว็ บไซต์และ ตู้ไปรษณีย์ของบริษัทฯ • จัดประชุมนักวิเคราะห์ ประจ�ำไตรมาส และในโอกาสที่มีการ ลงทุนในธุรกิจใหม่ เพือ่ ชีแ้ จงท�ำความเข้าใจ เพือ่ สร้างความมัน่ ใจ ในการบริหารธุรกิจของบริษัทฯ
หมวดที่ 5 การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม
กิจกรรมเสริมสร้างความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ 1. สนับสนุนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมสร้างสรรค์สังคมอย่างสม�่ำ สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน • จัดกิจกรรมซ้อมหนีไฟประจ�ำปี
และตรวจสอบประสิทธิภาพ ในการสื่อสาร Call Tree เพื่อให้ทราบถึงสิ่งที่ควรปฏิบัติและ ไม่ควรปฏิบัติ หากเกิดไฟไหม้ในอาคารส�ำนักงาน และการดูแล ความปลอดภัยของพนักงานหลังจากออกมาจากอาคารได้
เสมอ โดยจัดงบประมาณส่วนหนึง่ จากรายได้ของบริษทั ฯ เพือ่ ใช้ ด�ำเนินกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) โดยเฉพาะใน ด้านการพัฒนาชุมชนและสังคม
2. ด�ำเนินการปลูกฝังจิตส�ำนึกของพนักงานให้ร่วมกันรักษา สภาพแวดล้อมในชุมชนและสังคมให้น่าอยู่และสละเวลาบ�ำเพ็ญ ประโยชน์เพื่อสาธารณะและกิจกรรมการกุศลต่างๆ ในโอกาสที่ เหมาะสม เพื่อให้ชุมชนและสังคมเติบโตอย่างยั่งยืน
082
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
กิจกรรมที่ด�ำเนินการในปี 2557 โครงการท�ำนุบ�ำรุงศาสนา • ร่วมโครงการ “Be Buddhawajana World 2014” ซึ่งจัดโดย
กองทุนเผยแผ่พุทธวจน เพื่อช่วยสนับสนุนการเผยแพร่ค�ำสอน ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างถูกต้อง คือ “พุทธวจน” เพื่อ ประกาศให้ชาวโลกได้รับรู้ และเกิดความศรัทธา โดยบริจาคเงิน สนับสนุนโครงการ เป็นจ�ำนวน 200,000 บาท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
หมวดที่ 6 การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 1. ส่งเสริมให้พนักงานทุกฝ่าย ทุกบริษทั ตระหนักถึงข้อพึงระวัง ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการปฏิบัติงาน 2. รณรงค์แนวคิด “ลด ใช้ซ�้ำ และน�ำกลับมาใช้ใหม่ให้คุ้มค่า” เช่น การใช้กระดาษพิมพ์สองด้าน การจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ การน�ำวัสดุทใี่ ช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ เป็นต้น
3. จัดให้มีมาตรการประหยัดพลังงานในที่ท�ำงาน ได้แก่ การใช้ การบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยและผู้ประสบภัย หลอดไฟประหยัดพลังงาน การปิดไฟและเครื่องปรับอากาศ ในจุดที่ไม่จ�ำเป็นต้องใช้งาน หรือในช่วงพักกลางวัน และช่วง ธรรมชาติ นอกเวลางาน • ร่ ว มกั บ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย มอบเงิ น บริ จ าค เพือ่ ช่วยเหลือประชาชนชาวฟิลปิ ปินส์ทปี่ ระสบภัยจากพายุไต้ฝนุ่ 4. บริษัทในกลุ่ม TTA ได้มีส่วนร่วมในการลดสภาวะโลกร้อน โดยการก�ำหนดมาตรการการลดสภาวะเรือนกระจกและปฏิบัติ ไห่เยี่ยน เป็นจ�ำนวน 200,000 บาท • ร่วมแคมเปญ “Ice Bucket Challenge” โดยบริจาคเงินให้กบ ั ตามมาตรการนั้นอย่างจริงจัง มูลนิธิช่วยคนปัญญาอ่อนแห่งประเทศไทย จ�ำนวน 50,000 บาท และกองทุนเพือ่ ผูป้ ว่ ยโรคกล้ามเนือ้ อ่อนแรง จ�ำนวน 50,000 บาท กิจกรรมที่ด�ำเนินการในปี 2557 รวมเป็นเงิน 100,000 บาท ตัวอย่างเช่น โทรีเซนชิปปิ้ง ได้ก�ำหนดมาตรการที่จะช่วยลด ผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและระบบนิเวศน์ทางทะเลเพื่อ โครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อสาธารณะ ลดการเกิดสภาวะเรือนกระจกไว้ ดังนี้ จัดโครงการ “Born to Be Good” ต่อเนื่องจากปี 2556 โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ เปิดโอกาสให้พนักงานจิตอาสาได้ออกไปกระท�ำ ก. ปฏิบัติตามกฎ MARPOL Annex VI ในการใช้เชื้อเพลิง ความดี แบ่งปัน และเอื้อเฟื้อต่อผู้อื่น โดยเฉพาะผู้ที่ด้อยโอกาส ก�ำมะถันต�ำ่ ส�ำหรับเรือทุกล�ำในกองเรือ ทัง้ ในขณะทีเ่ รืออยูใ่ นเขต กว่าตน โดยไม่หวังผลตอบแทน และในปี 2557 ได้จัดกิจกรรม บังคับการปล่อยแก๊สและเขตทั่วโลก และให้การสนับสนุนอย่าง เต็มที่ในการจัดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อ รวม 3 ครั้ง ดังนี้ ลดการเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และปริมาณก๊าซไนโตรเจน • กิจกรรม “ของเก่าทีไ่ ม่ใช้ ...เราขอ” เพือ ่ สนับสนุนโครงการอ่าน ออกไซด์ สร้างชาติของมูลนิธิกระจกเงา ซึ่งรวบรวมหนังสือบริจาคจาก พนักงานทุกฝ่าย พร้อมเงินบริจาคจากทางบริษทั ฯ น�ำมาจัดสร้าง ข. ปฏิบตั ติ ามมาตรการเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานและลด เป็นตู้หนังสือ มอบให้กับมูลนิธิกระจกเงา จ�ำนวน 30 ตู้ ส�ำหรับ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกซึ่งก�ำหนดโดยองค์การทางทะเล น�ำไปมอบต่อให้กับชุมชนที่เขตพื้นที่ที่ต้องการจ�ำนวน 30 ชุมชน ระหว่างประเทศ (International Maritime Organization หรือ IMO) อย่างเคร่งครัด • กิจกรรม “แบ่งปันรักให้ปุกปุย” โดยพนักงานจิตอาสาเดินทาง ไปบริจาคเงิน อาหารและยารักษาโรค เพื่อช่วยเหลือสุนัขและ ค. การปฏิบตั ติ ามกฎข้อบังคับว่าด้วยเรือ่ งจัดการเปลีย่ นถ่ายน�ำ้ แมว ที่มูลนิธิบ้านสงเคราะห์ อับเฉาเรือ (water ballast treatment) เพื่อรักษาระบบนิเวศน์ • กิจกรรม “เล่านิทานให้น้องฟัง” ที่บ้านครูน้อย โดยพนักงาน ในทะเล เพื่อลดและขจัดปัญหาการย้ายถิ่นหรือแพร่ระบาดของ จิตอาสาช่วยปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้กับเด็กๆ ผ่านการเล่า สิง่ มีชวี ติ ทัง้ พืชและสัตว์ และเชือ้ โรคทีเ่ ป็นอันตราย ทีต่ ดิ อยูใ่ นน�ำ้ นิทานเรื่อง “หมาป่าที่ไม่ธรรมดา” ท�ำให้เด็กๆ เห็นถึงประโยชน์ อับเฉาเรือ เพื่อป้องกันผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ และสุขภาพ ของการอ่ า นหนั ง สื อ ที่ จ ะท� ำ ให้ เ ป็ น เด็ ก ที่ มี ค วามรู ้ มี ป ั ญ ญา อนามัยของมนุษย์ในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก นอกจากนี้ ยังได้จัดกิจกรรม “วิ่งผลัดหยอดกระปุก” เพื่อช่วย ส่งเสริมวินัยการออมเงิน ตั้งแต่วัยเด็ก รวมทั้งได้จัดเลี้ยงอาหาร กลางวันและมอบทุนการศึกษาให้กับเด็กๆ อีกด้วย
รายงานประจ� ำ ปี 2557
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
หมวดที่ 7 นวัตกรรมและการเผยแพร่ นวัตกรรมการด�ำเนินความรับผิดชอบต่อ สังคม เนื่องจากธุรกิจที่บริษัทฯ เข้าไปลงทุนอยู่ในภาคธุรกิจขนส่ง มีความเสีย่ งต่อสิง่ แวดล้อม ทัง้ ด้านการใช้พลังงานด้านการปล่อย ก๊าซทีจ่ ะส่งผลกระทบถึงชัน้ บรรยากาศโลก และด้านระบบนิเวศน์ ทางทะเล ดั ง นั้ น บริ ษั ท ฯ จึ ง สนั บ สนุ น ให้ โทรี เ ซนชิ ป ปิ ้ ง หาแนวทางการลดผลกระทบดังกล่าวให้ได้มากที่สุด รวมทั้ง ส่งเสริมให้สร้างจิตส�ำนึกของกองเรือในการลดปริมาณการใช้ พลั ง งานในขณะที่ เ ดิ น เรื อ ขนส่ ง สิ น ค้ า อี ก ทั้ ง ต้ อ งพยายาม ลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และไนโตรเจน ออกไซด์ได้เหลือน้อยทีส่ ดุ ตลอดจน ช่วยดูแลรักษาระบบนิเวศน์ ในทะเลให้คงอยู่อย่างสมดุลย์และปลอดภัยอย่างยั่งยืน โทรี เ ซนชิ ป ปิ ้ ง ได้ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การมี ส ่ ว นในการลดผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์ในทะเลอย่างจริงจัง โดยนอกเหนือจากการปฏิบัติตามกฎระเบียบของ MARPOL Annex VI และ IMO แล้ว ยังได้ริเริ่มน�ำนวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ ปรับปรุงกระบวนการท�ำงานอีกด้วย
กิจกรรมที่ด�ำเนินการในปี 2557 มาตรการลดมลพิษ และปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก • การใช้น�้ำมันเชื้อเพลิง
ซึ่งมีส่วนผสมของก�ำมะถันต�่ำ (Low Sulfur) และการทดลองใช้นำ�้ ยาพิเศษผสมในน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงเพือ่ ช่วยท�ำให้การเผาไหม้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น • การใช้ระบบควบคุมปริมาณน�ำ้ มันหล่อลืน ่ (Alpha Lubricator) ของเชื้อสูบเครื่องจักรใหญ่ และการติดตั้งอุปกรณ์ Mewis Duct ให้กับเรือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องยนต์
083
การปฏิบัติการเพื่อประหยัดพลังงาน • การติดตัง้ ซอฟต์แวร์ทส ี่ ามารถค�ำนวณหาอัตราการกินน�ำ้ ลึกของ
เรือได้อย่างเหมาะสมกับร่องน�้ำในแต่ละเขต ท�ำให้ประหยัด พลังงานที่ใช้ในการขับเคลื่อนเครื่องยนต์ • เพิ่มความถี่ในการขัดล้างตัวเรือและใบจักร เพื่อลดแรงเสียด ทานขณะเรือวิ่ง • ทดสอบกระบวนการขัดล้างตัวเรือ 100% และใช้สีที่ลดแรง เสียดทานของน�้ำทะเล • การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้แรงลมขับเคลือ ่ นตัวเรือโดย ใช้ Sky Sail • ปรับโหมดเดินเรือให้เป็นแบบประหยัดพลังงาน • การใช้สก ี นั เพรียง ปลอดสารดีบกุ ระหว่างทีน่ ำ� เรือเข้าอูเ่ พือ่ ซ่อม บ�ำรุงรักษา นวัตกรรมเหล่านี้ เป็นการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อ สั ง คม ที่ มีก ารสื่ อ สารและเผยแพร่ ใ ห้ กั บกลุ ่ มผู ้ มีส ่ ว นได้เสีย รับทราบทัง้ ทางตรงและทางอ้อม โดยผ่านช่องทางการสือ่ สารและ กิจกรรมทีห่ ลากหลาย อาทิ เว็บไซต์บริษทั ฯ รายงานประจ�ำปี สือ่ ประชาสัมพันธ์ ฯลฯ เพื่อให้มั่นใจว่าข้อมูลข่าวสารของบริษัทฯ เข้าถึงกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียได้อย่างทั่วถึง
หมวดที่ 8 การจัดท�ำรายงานความรับผิด ชอบต่อสังคม โดยสรุปแล้วตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ตระหนัก ถึงความรับผิดชอบต่อสังคม โดยสร้างความเข้าใจให้กับผู้บริหาร และพนักงานในเรื่องของความรับผิดชอบต่อสังคมและส่งเสริม ให้ผู้บริหารและพนักงานมีส่วนร่วมในกิจกรรมความรับผิดชอบ ต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง ได้ มี ก ารเผยแพร่ ข ้ อ มู ล และรายงานเกี่ ย วกั บ กิ จ กรรมความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ ม ผ่ า นสื่ อ ภายในและเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ อย่างสม�่ำเสมอ
084
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานว่าด้วยการก�ำกับดูแลกิจการ การก�ำกับดูแลกิจการ หมายถึง ระบบที่จัดให้มีโครงสร้างและ กระบวนการของความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ บริษัท และผู้ถือหุ้นของบริษัท เพื่อสร้างความสามารถในการ แข่ ง ขั น น� ำ ไปสู ่ ก ารเติ บ โตและเพิ่ ม คุ ณ ค่ า ให้ กั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ใน ระยะยาว
1. สิทธิและการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกันต่อผู้ถือหุ้น 2. สิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย 3. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 4. โครงสร้างและความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 5. จริยธรรมทางธุรกิจและจรรยาบรรณ
ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“บริ ษั ท ฯ” หรื อ “TTA”) ที่ จั ด ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 28 พฤศจิกายน 2554 ได้มมี ติให้แต่งตัง้ คณะกรรมการก�ำกับดูแล กิจการ เพือ่ ท�ำหน้าทีท่ บทวนแนวปฏิบตั ใิ นการก�ำกับดูแลกิจการ และคูม่ ือจริยธรรมธุรกิจ และตรวจสอบการปฏิบัตใิ ห้เป็นไปตาม กรอบของจริยธรรม
คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการได้ตรวจสอบรายงานว่าด้วย การก�ำกับดูแลและมีความเห็นว่า TTA ได้ปฏิบตั ติ ามข้อพึงปฏิบตั ิ ในการก�ำกับดูแลกิจการโดยทั่วไป
คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการได้ทบทวนนโยบายการก�ำกับ ดูแลกิจการของบริษัทฯ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ ได้อนุมัติเมื่อ วันที่ 24 ธันวาคม 2555
1. สิทธิและการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน ต่อผู้ถือหุ้น
หลักการก�ำกับดูแลกิจการของ TTA มีดังต่อไปนี้
(ก) สิทธิทั่วไปและความเท่าเทียมกัน
• ข้อก�ำหนดของกฎหมาย
บริษัทฯ มีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นทั้งในแง่การเปิดเผยข้อมูล วิธีท�ำบัญชี การใช้ข้อมูลภายใน และผลประโยชน์ที่ขัดแย้ง
การบริหารจัดการและการด�ำเนิน ธุรกิจจะต้องเป็นไปตามกฎหมาย กฎบัตร กฎเกณฑ์และมติของ คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง • ความรับผิดชอบ ผูเ้ กีย ่ วข้องทุกราย รวมถึงคณะกรรมการและ ฝ่ายจัดการจะต้องตระหนักถึงหน้าที่และความรับผิดชอบ ของตน • ความโปร่งใส การประกอบธุรกิจและการด�ำเนินการทางธุรกิจ จะต้องสามารถตรวจสอบได้และมีความโปร่งใส • การมีส่วนร่วม ต้องรับรู้และยอมรับในสิทธิของผู้ถือหุ้นและ ผู้มีส่วนได้เสียในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของบริษัทฯ • หลักความคุ้มค่า ในการลงทุนและการใช้ทรัพยากรทั้งหลาย จะต้องค�ำนึงถึงผลตอบแทนทางการเงินและเศรษฐกิจ องค์ ป ระกอบส� ำ คั ญ ของนโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การของ บริ ษั ท ฯ อั น สอดคล้ อ งกั บ แนวทางของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์ฯ”) มีดังต่อไปนี้
การด� ำ เนิ น งานตามหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การส� ำ หรั บ งวด สามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีดังนี้
บริษัทฯ ตระหนักถึงหน้าที่ในการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกคนอย่าง เท่าเทียมกัน บริษัทฯ มีหน้าที่ปกป้องผลประโยชน์และสิทธิของ ผู้ถือหุ้น ซึ่งรวมถึงสิทธิในการได้รับเงินปันผลและรับทราบข้อมูล ที่เกี่ยวข้องและเพียงพอจากบริษัทฯ ในเวลาอันสมควรอย่าง สม�่ำเสมอ บริษัทฯ ยังมีหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลอย่างโปร่งใสและ แสดงความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารผ่านการจัดประชุมผูถ้ อื หุน้ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีธรรมเนียมปฏิบัติที่จะอ�ำนวยความ สะดวกให้กับผู้ถือหุ้นอย่างเต็มที่ในการประชุมผู้ถือหุ้นแต่ละครั้ง ก่อนการประชุมผูถ้ อื หุน้ ใดก็ตาม ผูถ้ อื หุน้ แต่ละรายจะได้รบั ข้อมูล ทีค่ รบถ้วนและเพียงพอเกีย่ วกับวาระการประชุมทีม่ กี ารน�ำเสนอ ซึ่งจะแนบไปพร้อมกับหนังสือบอกกล่าวการประชุม ผู้ถือหุ้นจะได้รับแบบฟอร์มหนังสือมอบฉันทะ เพื่อเปิดโอกาส ให้ผถู้ อื หุน้ แต่งตัง้ ตัวแทน หรือเลือกกรรมการอิสระคนใดคนหนึง่ เป็นผู้รับมอบอ�ำนาจในการเข้าร่วมประชุมและออกเสียงลงมติ ในที่ประชุมแทนตน
รายงานประจ� ำ ปี 2557
(ข) การประชุมผู้ถือหุ้น นโยบายของบริษัทฯ คือจะจัดประชุมผู้ถือหุ้นตามที่กฎหมาย ก�ำหนด และเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิของตนอย่างเต็มที่ โดยได้รับข้อมูลอย่างดีก่อนหน้าที่จะใช้สิทธิดังกล่าว บริษัทฯ จะจัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีภายใน 4 เดือน นับจาก วันสิน้ รอบปีบญ ั ชีของบริษทั ฯ โดยเป็นไปตามกฎหมายทีใ่ ช้บงั คับ และข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ นับตั้งแต่การเรียกประชุม การแจ้งวาระการประชุม การส่งเอกสารการประชุม การด�ำเนิน การประชุมไปจนถึงการน�ำส่งรายงานการประชุม การประชุม ผูถ้ อื หุน้ คราวอืน่ นอกจากทีก่ ล่าวมาแล้ว ในกรณีทบี่ ริษทั ฯ มีความ จ� ำ เป็ น เร่ ง ด่ ว นต้ อ งเสนอวาระเป็ น กรณี พิ เ ศษ ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ ง ทีก่ ระทบหรือเกีย่ วข้องกับผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ หรือเกีย่ วข้อง กับเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ กฎหมายที่ใช้บังคับ ที่ต้องได้รับการ อนุมัติจากผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จะเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น เป็นกรณีไป นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ตีพิมพ์หนังสือบอกกล่าวการประชุม ในหนังสือพิมพ์รายวันฉบับภาษาไทยอย่างน้อย 1 ฉบับ และ หนังสือพิมพ์รายวันฉบับภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 ฉบับ เป็นเวลา ติดต่อกันอย่างน้อย 3 วันก่อนการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี แต่ละครั้ง รวมถึง บริษัทฯ ยังได้เผยแพร่หนังสือบอกกล่าวการ ประชุมในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ที่ http://www.thoresen.com อีกด้วย ทั้งนี้ ในรอบปีบัญชี 2557 บริษัทฯ ได้จัดการประชุมใหญ่สามัญ ประจ�ำปีของผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2558 เมือ่ วันที่ 28 มกราคม 2558 เวลา 13.30 น. ณ ห้องแอทธินคี ริสตัลฮอลล์ ชัน้ 3 โรงแรมพลาซ่า แอทธินี กรุงเทพฯ เลขที่ 61 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 ประเทศไทย และไม่มีการเรียกประชุม วิสามัญผู้ถือหุ้น รายละเอียดกระบวนการประชุมผู้ถือหุ้น มีดังนี้
(ข.1) วิธีการก่อนการประชุม ในรอบปีบัญชี 2557 ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่ง ประชุมเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2557 มีมติให้จัดการประชุมใหญ่ สามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2558 ในวันที่ 28 มกราคม 2558 เวลา 13.30 น. ณ ห้องแอทธินีคริสตัลฮอลล์ ชั้น 3 โรงแรม พลาซ่าแอทธินี กรุงเทพฯ เลขที่ 61 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 ประเทศไทย โดยสถานทีจ่ ดั การประชุมผูถ้ อื หุน้ ดังกล่าว เป็นสถานทีซ่ งึ่ มีระบบ ขนส่งมวลชนที่ผู้ถือหุ้นสามารถใช้ในการเดินทางไปเข้าร่วม ประชุมได้อย่างสะดวก ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้แจ้งก�ำหนดวัน เวลา สถานที่ประชุมและระเบียบวาระการประชุมพร้อมรายละเอียด ประกอบมติคณะกรรมการบริษัทฯ ในแต่ละวาระที่เสนอต่อ
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
085
ทีป่ ระชุม ให้ผถู้ อื หุน้ รับทราบผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ ในวันท�ำการถัดจากวันที่คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติให้เรียก ประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ก�ำหนดวันปิดสมุดทะเบียนรายชื่อผู้ถือหุ้น เพื่อเป็นการ ให้เวลาในการพิจารณาหนังสือบอกกล่าวการประชุม หรือการขอ ข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ก่ อ นการประชุ ม โดยบริ ษั ท ฯ ได้ ส ่ ง หนั ง สื อ บอกกล่าวการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2558 และเอกสารการประกอบการพิจารณาให้กบั ผูถ้ อื หุน้ และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2558 ซึ่งไม่น้อยกว่า 14 วันก่อนการประชุมแต่ละครั้ง อย่างไรก็ดี บริษัทฯ จะพยายาม อย่างเต็มทีท่ จี่ ะด�ำเนินการจัดส่งหนังสือบอกกล่าวการประชุมให้ แก่ผู้ถือหุ้นให้ได้มากกว่า 14 วันล่วงหน้าก่อนการประชุม ตาม หลักปฏิบัติที่ดีของตลาดหลักทรัพย์ฯ นอกจากนี้ หนังสือบอก กล่าวการประชุมดังกล่าวได้ถกู น�ำมาลงไว้ในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ล่วงหน้าก่อนการประชุม เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ มีเวลาในการศึกษาข้อมูล เพื่อประกอบการตัดสินใจ ทั้งนี้ความเห็นของคณะกรรมการ บริษัทฯ จะมีอยู่ในแต่ละวาระของการประชุม บริษัทฯ สนับสนุนส่งเสริมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ทุกกลุ่ม รวมถึง ผูถ้ อื หุน้ ประเภทสถาบันให้เข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ ทัง้ นี้ นอกเหนือ จากการส่งเอกสารทางไปรษณีย์แล้ว เพื่อผลประโยชน์ของผู้ถือ หุ้น บริษัทฯ จึงได้มีการแจ้งให้ผู้ถือหุ้นรับทราบผ่านช่องทางของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ถึงการเผยแพร่หนังสือบอกกล่าวการประชุม ใหญ่สามัญประจ�ำปีผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2558 พร้อม เอกสารประกอบการประชุมทั้งชุด ให้สามารถดาวน์โหลดจาก เว็บไซต์ของบริษัทฯ ที่ http://www.thoresen.com ได้ตั้งแต่ วันที่ 9 มกราคม 2558 นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ตีพิมพ์หนังสือบอกกล่าวการประชุมใน หนังสือพิมพ์รายวันฉบับภาษาไทยอย่างน้อย 1 ฉบับ และ หนังสือพิมพ์รายวันฉบับภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 ฉบับ เป็นเวลา ติดต่อกันอย่างน้อย 3 วัน ซึ่งไม่น้อยกว่า 3 วันล่วงหน้าก่อน การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีแต่ละครั้ง ทั้งนี้ หนังสือ บอกกล่าวการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปีผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2558 ได้ตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์ภาษาไทยและภาษา อังกฤษ เป็นเวลา 3 วัน คือวันที่ 21-23 มกราคม 2558 นอกจากนี้ ก่ อ นการประชุ ม สามั ญ ประจ� ำ ปี ข องผู ้ ถื อ หุ ้ น ใน แต่ละครัง้ ผูถ้ อื หุน้ จะได้รบั รายละเอียดการประชุม เช่น เวลา และ สถานที่จัดการประชุม ระเบียบวาระการประชุมประกอบกับ เหตุผลและข้อคิดเห็นของคณะกรรมการบริษัทฯ ในแต่ละวาระ ที่เสนอต่อที่ประชุม แบบฟอร์มหนังสือมอบฉันทะ และรายการ เอกสารทีต่ อ้ งใช้ในการเข้าร่วมประชุม เพือ่ ช่วยผูถ้ อื หุน้ ในการใช้ สิทธิและลงคะแนนเสียงในแต่ละวาระการประชุม
086
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
(ข.2) ณ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น
(ข.4) วิธีการหลังการประชุม
ในที่ประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้อ�ำนวยความสะดวกในการ ลงทะเบี ย นผู ้ ถื อ หุ ้ น โดยการจั ด ช่ อ งลงทะเบี ย นแยกระหว่ า ง ผูถ้ อื หุน้ และผูร้ บั มอบฉันทะ และได้นำ� ระบบบาร์โค้ดมาใช้ในการ ลงทะเบียนส�ำหรับผู้เข้าร่วมประชุม และใช้ในการนับคะแนน พร้อมกันนี้บริษัทฯ ได้แนบซองจดหมายแบบตอบรับไว้ เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นส่งหนังสือมอบฉันทะมาทางไปรษณีย์อีกด้วย นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้มกี ารน�ำระบบการลงคะแนนเสียงแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-voting) ของบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด (TSD) มาใช้ในการลงทะเบียนผู้ถือหุ้นและการนับคะแนน เสียงเพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและความโปร่งใส
บริษทั ฯ ได้แจ้งมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พร้อมรายละเอียดผลการออก เสียงลงคะแนนของแต่ละวาระการประชุมผ่านช่องทางของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ และเผยแพร่ ใ นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ ที่ http://www.thoresen.com
(ข.3) ระหว่างการประชุม
2. นโยบายว่าด้วยสิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย
บริษัทฯ จัดเตรียมและน�ำส่งรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2558 ให้กับตลาดหลักทรัพย์ฯ และกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ภายในระยะเวลาทีก่ ำ� หนดหลังจากการประชุม นอกจากนี้ ยังมีการเผยแพร่รายงานการประชุมในเว็บไซต์ของ บริษัทฯ อีกด้วย
ประธานกรรมการท�ำหน้าที่เป็นประธานการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ เล็งเห็นและตระหนักถึงความส�ำคัญของกลุ่มผู้มีส่วนได้ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้กบั ผูถ้ อื หุน้ และเพือ่ ให้เกิดความชัดเจน เสียทุกกลุ่ม และบริษัทฯ ตระหนักดีว่า การสนับสนุนของกลุ่ม มีการใช้สื่อมัลติมีเดียในการน�ำเสนอระหว่างการประชุมทั้งหมด ผูม้ สี ว่ นได้เสียจะช่วยสร้างความยัง่ ยืนให้กบั ความได้เปรียบในการ บริษัทฯ จัดการประชุมตามวาระที่ได้ก�ำหนดและเปิดโอกาส แข่งขัน และความสามารถในการท�ำก�ำไรของบริษทั ฯ บริษทั ฯ จึง ให้ผู้ถือหุ้นทุกคนได้ลงคะแนนเสียงของตนอย่างเท่าเทียมกัน ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ทัง้ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ภายในองค์กร กล่าวคือ ผู้ถือหุ้น พนักงานและฝ่ายบริหาร และ ในที่ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2558 ที่ ผู้มีส่วนได้เสียภายนอกองค์กร เช่น เจ้าหนี้ คู่ค้า ลูกค้า ชุมชน ผ่านมานัน้ บริษทั ฯ ได้เชิญทีป่ รึกษากฎหมายจากบริษทั กฎหมาย หน่วยงานราชการ และองค์กรที่เกี่ยวข้องอื่นๆ บริษัทฯ ปกป้อง เอชเอ็นพี จ�ำกัด เป็นคนกลางที่เป็นอิสระ (independent สิทธิของบุคคลดังกล่าวด้วยการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อบังคับ inspector) เพื่อท�ำหน้าที่ตรวจสอบการลงทะเบียนและการนับ ต่างๆ ที่ใช้บังคับอย่างเคร่งครัด ตลอดจนก�ำหนดให้มีระบบการ คะแนนเสียงในทีป่ ระชุม และประธานในทีป่ ระชุมได้ขอให้มผี ถู้ อื ควบคุมภายในที่เหมาะสมและตรวจสอบการปฏิบัติตามด้วย หุ้น 2 คนมาเป็นสักขีพยานในการนับคะแนนเสียงด้วย ซึ่งได้มี ผู้ถือหุ้นในที่ประชุม 2 คนเสนอขอเป็นสักขีพยานในการนับ ั ชัน่ คะแนนเสียงในการประชุม เพือ่ ให้การประชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (ก) การด�ำเนินการในการต่อต้านคอร์รป เป็นไปอย่างโปร่งใสและถูกต้องตามกฎหมาย บริ ษั ท ฯ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี คุ ณ ธรรม โดยยึ ด มั่ น ในความ รับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกฝ่าย เพือ่ ให้เป็นแนวทางในการ บริษัทฯ ได้รับการประเมินผลจากการส�ำรวจการก�ำกับดูแล ปฏิบัติเกี่ยวกับการต่อต้านคอร์รัปชั่น คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ กิจการบริษัทจดทะเบียนในระดับ “ดีเลิศ” (ช่วงคะแนนระหว่าง อนุมตั ใิ ห้มนี โยบายการต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ (Anti-Corruption 90-99) ส�ำหรับคุณภาพของการจัดงานการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ Policy) อีกทัง้ ยังได้มกี ารรวบรวมข้อพึงปฏิบตั ไิ ว้เป็นลายลักษณ์ ประจ�ำปี อย่างต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ ปี 2550 ทัง้ นี้ ในปี 2557 บริษทั ฯ อักษรมาตั้งแต่ปี 2553 เพื่อให้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานที่ ได้รับผลคะแนนการประเมินคุณภาพการจัดงานการประชุม สอดคล้องกับนโยบายของบริษัทฯ ในเรื่องการต่อต้านการทุจริต สามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2557 ทีจ่ ดั ขึน้ เมือ่ วันที่ 30 มกราคม 2557 เท่ากับ 96.125 คะแนน เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ ปี 2556 ที่ได้ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดเป็นแนวปฏิบัติข้อหนึ่งในคู่มือจริยธรรมธุรกิจ 91.88 คะแนน โดยผลคะแนนอยูใ่ นระดับ “ดีเลิศ” สูงกว่าคะแนน ทีพ่ นักงานทุกคนจะต้องปฏิบตั ใิ นเรือ่ งเกีย่ วกับของขวัญ และการ เฉลี่ยของบริษัทจดทะเบียนโดยรวมทั้งหมด 528 บริษัทที่เข้า เลี้ยงรับรองต่างๆ พนักงานไม่ควรรับหรือให้ของขวัญ ความช่วย ร่วมโครงการ ทั้งนี้ ผลการประเมินมาจากแบบการประเมิน เหลือในการเลี้ยงรับรองต่างๆ หากการรับหรือการให้นั้นผูกมัด ด�ำเนินการโดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย (Thai Investors หรือดูเหมือนว่าจะผูกมัดผู้รับ หรือหากการรับหรือการให้นั้น Association or TIA) ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลัก ถือว่าเป็นความพยายามที่จะให้มีอิทธิพลอยู่เหนือการตัดสินใจ ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“ก.ล.ต.”) และสมาคมบริษัทจด ทะเบียนไทย กรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงาน และสมาชิกครอบครัวของ บุคคลเหล่านี้ ไม่ควรจะยอมรับหรือรับของขวัญหรือการเลี้ยง รับรองใดๆ ในกรณีดงั ต่อไปนี้ (ก) ไม่สอดคล้องกับแนวปฏิบตั เิ ชิง ธุรกิจที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา (ข) มีมูลค่าสูงมาก (ค) อาจตีความได้
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ว่าเป็นเงินที่มีภาระผูกพัน เงินสินบน หรือการจ่ายเงินที่ละเมิด ต่อกฎหมาย (ง) ละเมิดต่อกฎหมายหรือเสื่อมเสียชื่อเสียงแก่ บริษัทฯ หากถูกเปิดเผย บริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับการจัดซื้อที่มีระบบ เพื่อ ป้องกันการทุจริต โดยระบุขั้นตอนการจัดซื้อ อ�ำนาจหน้าที่ ของเจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อคณะกรรมการชุดย่อยที่ท�ำการตรวจรับ สินค้า ซึ่งจะเป็นคนละกลุ่มกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อ บริษัทฯ มีมาตรการคุ้มครองให้กับผู้รายงาน ผู้ร้องเรียน ผู้แจ้ง เบาะแสในการกระท�ำผิด หรือผู้ที่ให้ความร่วมมือในการรายงาน ดังกล่าว (Whistle Blowing Policy) โดยผู้รายงาน ผู้ร้องเรียน หรือผูแ้ จ้งเบาะแสสามารถเลือกทีจ่ ะไม่เปิดเผยตนเองได้ หากเห็น ว่าการเปิดเผยนั้นจะท�ำให้เกิดความไม่ปลอดภัย หรือความ เสียหาย และบริษัทฯ จะเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้เป็นความลับ และค�ำนึงถึงความปลอดภัยของผู้รายงาน ผู้ร้องเรียน หรือผู้แจ้ง เบาะแส บริษทั ฯ ได้กำ� หนดนโยบายคุม้ ครองการร้องเรียนทีส่ จุ ริต กรณีผรู้ อ้ งเรียนเป็นพนักงาน เพือ่ ปกป้องพนักงานผูร้ อ้ งเรียนจาก การถูกตอบโต้หรือแก้แค้น โดยบริษัทฯ จะด�ำเนินการทางวินัย รวมถึงการเลิกจ้างพนักงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการตอบโต้หรือ การแก้แค้นดังกล่าว ตามที่ได้ระบุไว้ในคู่มือจริยธรรมธุรกิจของ บริษัทฯ
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
087
นอกจากสิ ท ธิ ขั้ น พื้ น ฐาน สิ ท ธิ ที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นกฎหมายและ ข้อบังคับบริษัทฯ อาทิ สิทธิในการขอตรวจสอบจ�ำนวนหุ้น สิทธิ ในการได้รับใบหุ้น สิทธิในการเข้าประชุมผู้ถือหุ้นและออกเสียง ลงคะแนน สิทธิในการแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระในที่ประชุม ผู้ถือหุ้น รวมถึงสิทธิที่จะได้รับผลตอบแทนอย่างเป็นธรรมแล้ว บริษัทฯ ยังได้ให้สิทธิผู้ถือหุ้นในการเสนอแนะข้อคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ในฐานะเจ้าของบริษัทฯ ผ่านกรรมการอิสระ โดยทุกๆ ข้อคิดเห็นจะได้รับการรวบรวม เพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา
(ค) พนักงาน
บริษทั ฯ ถือว่าพนักงานเป็นหนึง่ ในทรัพยากรทีส่ ำ� คัญของบริษทั ฯ จึงได้วา่ จ้างพนักงานทีม่ คี วามสามารถและประสบการณ์ตามแผน กลยุทธ์และแผนปฏิบัติการของบริษัทฯ และมุ่งรักษาพนักงาน ให้ท�ำงานในระยะยาว โดยสร้างสมดุลระหว่างชีวิตการท�ำงาน และชีวิตส่วนตัวให้กับพนักงาน บริษัทฯ มีการจ่ายผลตอบแทน ให้ แ ก่ พ นั ก งานอย่ า งเหมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ การจ่ า ย ผลตอบแทนของอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น บริ ษั ท ฯ มี น โยบาย ค่ า ตอบแทนพนั ก งานที่ ส อดคล้ อ งกั บ ผลการด� ำ เนิ น งานของ บริ ษั ท ฯ ทั้ ง ในระยะสั้ น และระยะยาว โดยการพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนของพนักงานจะพิจารณาจากผลประเมินการปฏิบตั งิ าน ของพนักงาน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดให้มีช่องทางในการรายงานมายังคณะกรรมการ บริษัทฯ ยังจัดให้มีสวัสดิการต่างๆ ให้กับพนักงานประจ�ำ ซึ่งรวม ตรวจสอบ หากมีข้อสงสัย หรือพบเห็นการฝ่าฝืน หรือการ ถึงกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ ประกันชีวติ ประกันสุขภาพส่วนบุคคล กระท� ำ ทุ จ ริ ต และคอร์ รั ป ชั่ น โดยแจ้ ง ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ข อง วั น หยุ ด ลาคลอด และวั น หยุ ด ประจ� ำ ปี อี ก ทั้ ง ได้ จั ด ตั้ ง บริษัทฯ ที่ http://www.thoresen.com หรือ ทางอีเมล คณะกรรมการสวัสดิการ เพื่อที่จะให้ค�ำปรึกษาและค�ำแนะน�ำ whistleblowing@thoresen.com หรือ ทางไปรษณียต์ ามทีอ่ ยู่ เกีย่ วกับสวัสดิการต่างๆ ของพนักงาน โดยหน้าทีแ่ ละความรับผิด ชอบหลักของคณะกรรมการสวัสดิการ ประกอบไปด้วย การให้ ด้านล่างนี้ ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับสวัสดิการต่างๆ การตรวจเช็ค และตรวจสอบ สวัสดิการที่มอบให้แก่พนักงาน รวมทั้งให้ความเห็น และเสนอ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) แนะแนวทางเพิม่ เติม หรือทีจ่ ำ� เป็นเกีย่ วกับการจัดสวัสดิการต่างๆ ตู้ ป.ณ.12 ปณฝ. ไทยพาณิชย์ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ในด้านสภาพแวดล้อมและสุขอนามัยในสถานที่ท�ำงาน บริษัทฯ ทั้งนี้ ส�ำหรับข้อมูลที่ได้รับ แผนกตรวจสอบภายใน (Internal ได้ก�ำหนดนโยบายความปลอดภัย และจัดตั้งคณะกรรมการ Audit) จะเปิดกล่องไปรษณีย์เดือนละ 2 ครั้ง จากนั้นจดหมาย อาชีวอนามัยความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบ ทัง้ หมดจะถูกส่งให้คณะกรรมการตรวจสอบ (หากมี) เพือ่ รายงาน การ เพือ่ สร้างอาชีวอนามัยและสิง่ แวดล้อมในบริษทั ฯ ทีป่ ลอดภัย กับทั้งชีวิตและทรัพย์สินของพนักงานและของบริษัทฯ พนักงาน ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมทุกไตรมาส ทุกคนจะต้องรายงานสภาพแวดล้อมของการท�ำงานทีไ่ ม่ปลอดภัย ให้กับผู้บังคับบัญชาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากบริษัทฯ ทราบ (ข) ผู้ถือหุ้น ส� ำ หรั บ พนั ก งานใหม่ ได้ มี ก ารอบรมเรื่ อ งความปลอดภั ย ใน บริษัทฯ มุ่งที่จะด�ำเนินการเพื่อให้เกิดผลประโยชน์ในระยะยาว วันปฐมนิเทศพนักงานใหม่ เพื่อให้พนักงานตระหนักถึงอันตราย สูงสุดแก่ผู้ถือหุ้นด้วยการพิจารณาความเสี่ยงในการด�ำเนินธุรกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในที่ท�ำงาน และรู้ถึงการปฏิบัติตัวในกรณีที่เกิด อย่างรอบคอบ บริษัทฯ เปิดเผยข้อมูลทั้งหมดอย่างยุติธรรมและ เหตุการณ์อันตรายดังกล่าว โปร่งใสในเวลาอันสมควร และพยายามอย่างดีที่สุดที่จะปกป้อง ทรัพย์สิน และชื่อเสียงของบริษัทฯ
088
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การพั ฒ นาของ และวิธกี ารบริหารความเสีย่ ง หลักเกณฑ์การคัดเลือกผูใ้ ห้บริการ พนักงาน โดยผลักดันผ่านแผนพัฒนารายบุคคล (Individual จากภายนอก มีดังนี้ Development Plan) ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของ พนักงานแต่ละคน บริษทั ฯ ส่งเสริมให้มกี ารเรียนรูแ้ ละการพัฒนา • ความสามารถทางเทคนิค รวมถึงความเชีย่ วชาญและประสบการณ์ ของบุคลากร โดยสนับสนุนและจัดให้มีการฝึกอบรมทั้งภายใน • สถานภาพทางการเงิน และภายนอกบริษัทฯ ในหลักสูตรที่เหมาะสมกับอายุงาน สาย • ความมีชอื่ เสียงทางธุรกิจ อาชีพ และความรับผิดชอบ ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ • ประวัตทิ เี่ กีย่ วข้องกับการร้องเรียนและการด�ำเนินคดี 31 ธันวาคม 2557 มีการจัดอบรมและสนับสนุนให้พนักงานได้ • นโยบายด้านการให้บริการ รับการอบรมทั้งหมด 7 หลักสูตร โดยหัวข้อการอบรมครอบคลุม • ความเสีย่ งจากการให้บริการลูกค้าหลายราย ทัง้ ความรูด้ า้ นเทคนิคและทักษะต่างๆ ในการท�ำงาน (Technical • การรักษาความปลอดภัย และสิง่ แวดล้อม Skills and Soft Skills) บริษัทฯ เชื่ออย่างยิ่งว่าการพัฒนาขีด ความสามารถของพนักงานจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการ • ประวัตกิ ารทุจริตคอร์รปั ชัน่ แข่งขันขององค์กรในระยะยาว ในทางกลับกัน บริษัทฯ มีการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมต่อผู้ให้ บริการจากภายนอก
(ง) คู่สัญญา
บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจกับผู้มีส่วนได้เสียที่ส�ำคัญ ซึ่งรวมถึง ลูกค้า (จ) ลูกค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ และคู่ค้า และอื่นๆ ตามข้อก�ำหนดและเงื่อนไขการ ซือ้ ขายทีไ่ ด้ทำ� เป็นสัญญาอย่างยุตธิ รรมและมีจริยธรรม โดยมีแนว บริษัทฯ ตระหนักดีว่าลูกค้ามีความส�ำคัญอย่างยิ่งยวดต่อความ ปฏิบัติต่อคู่สัญญา เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีและความร่วมมือ ส�ำเร็จในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ จึงมุ่งที่จะสร้าง ความพอใจให้แก่ลูกค้าด้วยการให้บริการที่มีคุณภาพสูง ซึ่งตอบ ระหว่างกัน ดังนี้ สนองความต้องการและความคาดหวังของลูกค้าอย่างยุติธรรม และอย่างมืออาชีพ โดยบริษทั ฯ มีนโยบายและแนวทางปฏิบตั ติ อ่ คู่แข่ง บริษัทฯ มีแนวปฏิบัติต่อคู่แข่งโดยการด�ำเนินธุรกิจด้วย ลูกค้า ซึ่งได้ก�ำหนดไว้ในคู่มือจริยธรรมธุรกิจของบริษัทฯ ดังนี้ ความซื่อตรงและเป็นมืออาชีพ ดังนี้ • บริ ษั ท ฯ จะไม่ ก ระท� ำ การใดๆ ที่ เ ป็ น การฝ่ า ฝื น หรื อ ขั ด ต่ อ • ส่งมอบการให้บริการ และสินค้าทีม ่ คี ณ ุ ภาพตามทีล่ กู ค้าต้องการ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการแข่งขันทางการค้า • ให้ขอ ้ มูลเกีย่ วกับสินค้าและบริการของบริษทั ฯ ทีถ่ กู ต้อง ครบถ้วน • มีนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น และห้ามมิให้กรรมการ และในเวลาทีเ่ หมาะสมแก่ลกู ค้า ผู้บริหาร พนักงาน และบุคคลอื่นใดที่กระท�ำการในนามของ บริษัทฯ ด�ำเนินการอันมิชอบด้วยกฎหมายหรือไม่เหมาะสม • ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนด และเงือ่ นไขทีใ่ ห้ไว้กบั ลูกค้าอย่างเคร่งครัด • ปฏิบต ั ติ อ่ ลูกค้าอย่างสุภาพ และอย่างมีประสิทธิภาพเพือ่ ให้ได้มาซึง่ เพื่อให้ได้มาซึ่งความได้เปรียบทางธุรกิจ ความไว้วางใจจากลูกค้า เจ้าหนี้ บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะรักษาสัมพันธภาพที่ยั่งยืน • รักษาความลับของลูกค้า และหลีกเลีย่ งการใช้ความลับดังกล่าว เพื่อประโยชน์ส่วนตัว หรือเพื่อผลประโยชน์ของบุคคลอื่นใด ระหว่างบริษัทฯ และเจ้าหนี้อยู่เสมอ บริษัทฯ มีนโยบายใน การปฏิบัติต่อเจ้าหนี้อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม โดยให้ข้อมูล ที่ถูกต้อง โปร่งใส และตรวจสอบได้แก่เจ้าหนี้ และยึดมั่นในการ (ฉ) ความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และ ปฏิ บั ติ ต ามข้ อ กํ า หนดและเงื่ อ นไขของสั ญ ญาที่ มี ต ่ อ เจ้ า หนี้ สิ่งแวดล้อม โดยเคร่งครัด ทั้งในเรื่องการชําระคืนเงินต้น ดอกเบี้ย และ ค่าธรรมเนียม การดํารงอัตราส่วนทางการเงิน และเงื่อนไขอื่นๆ บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้ เป็นต้น และหากเกิดกรณีทบี่ ริษทั ฯ ไม่สามารถปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไข เกิดประโยชน์สงู สุด มีผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมน้อยทีส่ ดุ มีการน�ำ ข้อใดข้อหนึ่งได้ บริษัทฯ จะแจ้งให้เจ้าหนี้ทราบโดยเร็ว เพื่อร่วม เทคโนโลยีมาใช้และมีการพัฒนากระบวนการท�ำงานที่เป็นมิตร กันพิจารณาหาแนวทางแก้ไข ทัง้ นีใ้ นปีทผี่ า่ นมา บริษทั ฯ ไม่มเี หตุ ต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมไปกับการปลูกฝังให้พนักงานมีจิตส�ำนึกใน การค�ำนึงถึงผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมควบคูไ่ ปกับการปฏิบตั งิ าน ผิดนัดชําระหนี้แต่อย่างใด ในหน้าที่ บริษัทฯ เชื่อว่าธุรกิจที่เจริญก้าวหน้าและเติบโตได้ คูค่ า้ บริษทั ฯ มีหลักการคัดเลือกคูค่ า้ หรือผูใ้ ห้บริการจากภายนอก อย่างมั่นคงยั่งยืน จะต้องพัฒนาองค์กรควบคู่ไปกับความรับผิด โดยเน้นการพิจารณาจากการวางกลยุทธ์ทางธุรกิจของผูใ้ ห้บริการ ชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม รายละเอียดต่างๆ อยู่ในหัวข้อ ที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัทฯ เช่น ความสามารถ “นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ในการแข่งขัน ความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ การป้องกันและดูแลลูกค้า ของบริษัทฯ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
3. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทฯ ได้มีการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ ทั้งที่เป็นข้อมูล ทางการเงิน และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ ในเวลาที่เหมาะสม ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะถูกเผยแพร่ให้กับผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ผ่านทางระบบการสื่อสารของตลาด หลักทรัพย์ฯ ทางเว็บไซต์ของบริษทั ฯ (http://www.thoresen. com) ข่าวประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่างๆ (press release) แบบ แสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี 56-1 และทางรายงานประจ�ำปีของ บริษัทฯ ตลอดจนการเข้าร่วมกิจกรรม Opportunity Days ที่จัดขึ้นโดยตลาดหลักทรัพย์ฯ ทุกไตรมาส ข้อมูลส�ำคัญที่เปิดเผย มีดังนี้
3.1 นโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การและ ผลการปฏิบัติ ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ ได้ ปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ยกเว้นเรื่องต่อไปนี้ (1) บริษทั ฯ ไม่ได้ระบุวาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการอิสระ ไว้อย่างชัดเจน เนื่องจากบุคลากรที่มีประสบการณ์และความรู้ ความสามารถในกลุ่มธุรกิจหลักของบริษัทฯ มีอยู่อย่างจ�ำกัด อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีการทบทวนคุณสมบัติ ของกรรมการอิสระแต่ละท่านอย่างสม�่ำเสมอทุกปี บริษัทฯ เห็นว่า กรรมการของบริษทั ฯ ทุกคนทีไ่ ด้รบั เลือกตัง้ จากทีป่ ระชุม ผู้ถือหุ้นต่างเป็นกรรมการที่ทรงคุณวุฒิมีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรมและจริยธรรม ตลอดจนปฏิบัติหน้าที่ได้เป็นอย่างดี ตลอดมา และหากที่ประชุมผู้ถือหุ้นยังคงให้ความไว้วางใจโดย เลือกตัง้ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒดิ งั กล่าวเป็นกรรมการของบริษทั ฯ ก็ย่อมจะต้องเคารพสิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จึงไม่ได้มีการ ก�ำหนดจ�ำนวนวาระการด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันของกรรมการ หรือกรรมการอิสระไว้ตายตัว (2) บริษัทฯ ไม่ได้ก�ำหนดจ�ำนวนบริษัทที่กรรมการและผู้บริหาร ระดับสูงแต่ละคนจะไปด�ำรงต�ำแหน่งไว้เนือ่ งจากเกรงว่าจะท�ำให้ บริษัทฯ สูญเสียโอกาสในการได้บุคลากรที่มีคุณภาพมาด�ำรง ต�ำแหน่งกรรมการ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มกี าร ทบทวนจ�ำนวนบริษัทที่กรรมการแต่ละคนด�ำรงต�ำแหน่งอย่าง สม�่ำเสมอทุกปี
3.2 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ได้รายงานไว้แล้วในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ เรื่อง ค่าตอบ แทนกรรมการและผู้บริหาร”
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
089
3.3 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อ รายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องของการ จัดท�ำงบการเงินของบริษัทฯ ที่สามารถแสดงรายละเอียดข้อมูล ทางการเงิ น อย่ า งเพี ย งพอ มี ค วามโปร่ ง ใสถู ก ต้ อ ง รวมทั้ ง มีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบ งบการเงินของบริษัทฯ ตามมาตรฐานการบัญชีที่เหมาะสม และ ถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ โดยผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชี รับอนุญาตที่มีความเป็นอิสระและมีความน่าเชื่อถือ ที่ได้รับ การรับรองจาก ก.ล.ต. และ/หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผ่าน การสอบทานจากคณะกรรมการตรวจสอบแล้ว รวมถึงได้เปิดเผย ค่าสอบบัญชีและค่าบริการอื่นๆ ไว้ในรายงานประจ�ำปี ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้จัดท�ำรายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินไว้ในรายงานประจ�ำปี และ แบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี 56-1 ด้วย นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีการจัดประชุมพบปะกับนักวิเคราะห์และมีการแถลงข่าว ต่อสื่อมวลชน รวมถึงการจัดท�ำจดหมายข่าวที่น�ำเสนอถึงฐานะ การเงินของบริษัทฯ
3.4 บทบาทและการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อง คณะกรรมการ บริษัทฯ เปิดเผยรายนามพร้อมประวัติของกรรมการแต่ละคน รวมทั้งบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และ คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ ไว้ในหัวข้อ “รายงานว่าด้วยการ ก�ำกับดูแลกิจการ” นี้ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้เกี่ยวข้องทราบถึง ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์และข้อมูลที่ส�ำคัญอื่นๆ ของ กรรมการที่ช่วยสนับสนุนให้บริษัทฯ ประสบความส�ำเร็จใน การด�ำเนินธุรกิจได้
3.5 ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ตั้ ง หน่ ว ยงานสื่ อ สารองค์ ก ร (Corporate Communications) และนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) เพื่อท�ำหน้าที่ในการสื่อสารกับนักลงทุน ผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาชนทั่วไปอย่างเหมาะสมและ เท่าเทียมกัน ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ ได้มีการพบปะและให้ข้อมูลแก่ผู้สนใจในหลายโอกาส ดังนี้ 1. การประชุมตัวต่อตัวกับผู้ถือหุ้น เจ้าหนี้ และนักวิเคราะห์ หลักทรัพย์ (13 ครั้ง)
090
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
2. การประชุ ม รายไตรมาสกั บ นั ก วิ เ คราะห์ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละ นักลงทุนเพือ่ พูดคุยถึงผลการด�ำเนินงานทางการเงินครัง้ ล่าสุด ของบริษัทฯ (1 ครั้ง) 3. การรายงานผลประกอบการของบริษัทฯ ประจ�ำไตรมาส ในงาน Opportunity Day ที่จัดขึ้นที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ (1 ครั้ง) 4. การเปิดเผยสารสนเทศทีต่ อ้ งรายงานตามรอบระยะเวลาบัญชี (Periodic Reports) เช่น งบการเงิน รายไตรมาส รายงาน ผลประกอบการประจ�ำไตรมาส สรุปผลการด�ำเนินงานของ บริษัทฯ และบริษัทย่อย (แบบ F45-3) แบบแสดงรายการ ข้อมูลประจ�ำปี 56-1 และ รายงานประจ�ำปี เป็นต้น (4 ครั้ง) 5. การเปิ ด เผยสารสนเทศตามเหตุ ก ารณ์ (Non-Periodic Reports) เช่น การประชุมผู้ถือหุ้น มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น การได้มาและจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ การลงทุนต่างๆ ของ บริษัทฯ เป็นต้น (11 ครั้ง) 6. ข่าวประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่างๆ (5 ครั้ง) 7. การส่งข่าวและภาพข่าวกิจกรรมของบริษทั ฯ ให้แก่สอื่ มวลชน (1 ครั้ง) 8. การจัดกิจกรรมสัมพันธ์กับสื่อมวลชน (12 ครั้ง แบ่งเป็น กิจกรรมสัมพันธ์ 3 ครั้ง การให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนใน ประเทศ 5 ครั้ง และกับสื่อมวลชนต่างประเทศ 4 ครั้ง) โดยผูบ้ ริหารมีสว่ นร่วมในการด�ำเนินงานนักลงทุนสัมพันธ์ทกุ ครัง้ ทั้งนี้สามารถติดต่อหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ได้ที่ หมายเลข โทรศัพท์ 02 254-8437 ต่อ 292 หมายเลขโทรสาร 02 655-5631 หรือ ที่อีเมล Investors@thoresen.com
3.6 นโยบายการแจ้งเบาะแสและนโยบาย คุ้มครองการร้องเรียนที่สุจริต บริษัทฯ มีนโยบายการแจ้งเบาะแสและนโยบายคุ้มครองการ ร้องเรียนที่สุจริต ซึ่งเป็นนโยบายที่อยู่ภายใต้จริยธรรมธุรกิจของ บริษัทฯ เพื่อให้บริษัทฯ มีการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และให้สิทธิ แก่พนักงานทุกคนและผูม้ สี ว่ นได้เสียมีชอ่ งทางในการสือ่ สารมายัง คณะกรรมการตรวจสอบโดยตรง กรณีมีข้อสงสัย หรือพบเห็น การฝ่าฝืน หรือการกระท�ำทุจริตและคอร์รัปชั่น การกระท�ำผิด กฎหมาย ผิดจรรยาบรรณหรือนโยบายบริษทั ฯ หรือการร้องเรียน การถูกละเมิดสิทธิ และในการแสดงความคิดเห็น ข้อร้องเรียน หรือค�ำแนะน�ำใดๆ ที่มีผลต่อบรรษัทภิบาลและจริยธรรมธุรกิจ ช่องทางการสื่อสาร มีดังนี้ • เว็บไซต์
http://www.thoresen.com • อีเมล whistleblowing@thoresen.com • ทางไปรษณีย์ ที่ตู้ ป.ณ.12 ปณฝ. ไทยพาณิชย์ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
เบาะแส ข้อร้องเรียน และข้อเสนอแนะต่างๆ จะได้รับการ พิจารณาและด�ำเนินการตามความเหมาะสม โดยพิจารณาเป็น รายกรณี และไม่เปิดเผยชื่อผู้แจ้งเบาะแส รวมทั้งด�ำเนินการ จั ด เก็ บ ข้ อ มู ล การร้ อ งเรี ย นไว้ เ ป็ น ความลั บ และมี ม าตรการ คุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส เพื่อให้ผู้แจ้งเบาะแสและผู้ร้องเรียน มั่ น ใจว่ า จะไม่ ไ ด้ รั บผลกระทบจากการแจ้ ง เบาะแสและการ ร้องเรียนดังกล่าว
3.7 นโยบายว่าด้วยความรับผิดชอบต่อ สังคม ได้รายงานไว้แล้วในหัวข้อ “นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม และการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ของบริษัทฯ
4. โครงสร้างและหน้าที่ความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ (ก) โครงสร้างคณะกรรมการ จ�ำนวนของคณะกรรมการเป็นไปตามทีร่ ะบุไว้ใน พระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 และข้อบังคับของบริษัทฯ กรรมการทุกคนมีหน้าที่และความรับผิดชอบหลายประการตาม ทีร่ ะบุไว้ในข้อบังคับของบริษัทฯ ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ กรรมการจะต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ความใส่ใจ และความซือ่ สัตย์ และควรต้องเป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น
(ก.1) กรรมการอิสระ กรรมการอิสระคือกรรมการที่ไม่ได้บริหารจัดการบริษัทฯ หรือ บริษัทย่อยของบริษัทฯ มีความเป็นอิสระจากคณะผู้บริหารและ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และไม่มีธุรกิจกับบริษัทฯ ซึ่งอาจส่งผลกระทบ ในทางลบต่อผลประโยชน์ของบริษทั ฯ และ/หรือผลประโยชน์ของ ผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ คุณสมบัติของกรรมการอิสระเป็นไปตามค�ำนิยามของคณะ กรรมการก�ำกับตลาดทุน (Capital Market Supervisory Board) ซึง่ เปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ กรรมการอิสระแต่ละคนต้อง เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ให้นบั รวมการถือหุน้ ของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจ�ำหรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุม ของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า สองปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าว ไม่รวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ ปรึ ก ษา ของส่ ว นราชการซึ่ ง เป็ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการ จดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะทีเ่ ป็นบิดา มารดา คูส่ มรส พีน่ อ้ ง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตร ของกรรมการรายอืน่ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ� นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะ ได้รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหารหรือผู้มีอ�ำ นาจ ควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบ ริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณ อย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ บริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่หรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดัง กล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ และ ไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของ ส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษทั ร่วมผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ สังกัดอยู่เว้นแต่ จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสองปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการ ให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปี จากบริษัทฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำนาจควบคุม ของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้ พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี ก่อน ได้รับการแต่งตั้ง
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
091
7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของ กรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็น ผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขัน ที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้น ส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วม บริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่าง เดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือ บริษัทย่อย 9. ไม่ มี ลั ก ษณะอื่ น ใดที่ ท� ำ ให้ ไ ม่ ส ามารถให้ ค วามเห็ น อย่ า ง เป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอิสระที่มีลักษณะเป็น ไปตามข้อ (1) ถึง (9) แล้ว กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการของ บริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม บริ ษั ท ย่ อ ยล� ำ ดั บ เดี ย วกั น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ โดยมีการ ตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (collective decision) ได้
(ก.2) คณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการ 11 คน อย่างไร ก็ตาม ต�ำแหน่งกรรมการ 1 ต�ำแหน่งในคณะกรรมการบริษัทฯ ทีว่ า่ งอยูเ่ นือ่ งจากกรรมการลาออก ยังมิได้มกี ารแต่งตัง้ กรรมการ เข้ามาแทนทีน่ บั ตัง้ แต่เดือนพฤษภาคม 2557 เป็นต้นมา จึงท�ำให้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีกรรมการ 10 คน โดยเป็นกรรมการ ที่เป็นผู้บริหาร 1 คน (ร้อยละ 10 จากจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด) กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 9 คน (ร้อยละ 90 จากจ�ำนวน กรรมการทั้งหมด) และกรรมการอิสระ 4 คน (ร้อยละ 40 จากจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบไปด้วยกรรมการดังต่อไปนี้
092
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
รายนามคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ชื่อ 1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 2. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ 3. นายฌ็อง ปอล เทเวอแน็ง 4. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ/1 5. นายกฤช ฟอลเล็ต/2 6. นายสันติ บางอ้อ 7. นางสาวอุษณา มหากิจศิริ 8. นายโมฮัมหมัด ราเชด อาหมัด เอ็ม. อัลนัสซารี 9. นายอีฟ บาบิว 10. นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์/3
ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการบริหาร กรรมการ/กรรมการบริหาร กรรมการ/กรรมการบริหาร/ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการก�ำกับดูแล กิจการ กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน/ ประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ/ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ/กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน/ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ/กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/กรรมการบริหารความเสี่ยง
วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ ครั้งแรก 31 มกราคม 2555 31 มกราคม 2555 30 มกราคม 2557 31 มกราคม 2555 12 เมษายน 2555 31 มกราคม 2555 31 มกราคม 2555 30 มกราคม 2556 12 กรกฎาคม 2556 30 มกราคม 2556
หมายเหตุ /1 นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2557 แทนนายกฤช ฟอลเล็ต /2 นายกฤช ฟอลเล็ต ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2557 แทนนายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ /3 นายเชิดพงษ์ สิริวชิ ช์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 แทนนายเฉลิมชัย มหากิจศิริ
อ�ำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ 1) พิจารณาทบทวนและอนุมัติวิสัยทัศน์ พันธกิจ และคู่มือ จริยธรรมธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงส่งเสริมและสนับสนุนให้ การบริหารงานของบริษทั ฯ เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดี 2) พิจารณาทบทวนและอนุมัติกลยุทธ์ แผนธุรกิจ งบประมาณ และนโยบาย รวมถึงแผนธุรกิจประจ�ำปี งบประมาณการลงทุน และวัตถุประสงค์ในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ 3) แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย และมอบหมายอ�ำนาจ หน้าที่ ให้กับคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะในการปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ 4) มอบอ�ำนาจหน้าที่ให้แก่กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร ในการบริหารงานบริษัทฯ ให้เป็นไปตาม นโยบาย กลยุทธ์ แผนธุรกิจ งบประมาณ และวัตถุประสงค์ใน การด�ำเนินงาน 5) ติ ด ตามให้ ฝ ่ า ยบริ ห ารปฏิ บั ติ ต ามแผนงานให้ เ ป็ น ไปตาม ทิศทางและกลยุทธ์องค์กรอย่างสม�่ำเสมอ
6) ทบทวนและอนุมัติกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล และ แผนพั ฒ นาบุ ค ลากร รวมถึ ง ก� ำ หนดนโยบายค่ า ตอบแทนที่ เหมาะสม 7) ก�ำหนดให้บริษทั ฯ มีระบบการสือ่ สารทีเ่ หมาะสม เพือ่ ให้มนั่ ใจ ว่าการสือ่ สารกับผูม้ สี ว่ นได้เสียและสาธารณชนมีประสิทธิผล และ ตรวจสอบการใช้ระบบสื่อสารดังกล่าว 8) ก�ำหนดแนวทางในการประเมินผลคณะกรรมการบริษทั ฯ และ ด�ำเนินการประเมินผลการท�ำงานของคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างสม�่ำเสมอ
(ก.3) การแยกต�ำแหน่ง คณะกรรมการบริษทั ฯ แต่งตัง้ กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหารหนึง่ คน ให้ เ ป็ น ประธานกรรมการ ประธานกรรมการและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหารจะไม่เป็นบุคคลคน เดียวกัน ประธานกรรมการท�ำหน้าที่ดูแลการใช้นโยบายและ แนวทางการปฏิบัติงานเชิงกลยุทธ์ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายบริหารได้พิจารณาและจัดท�ำขึ้น ตลอดจนดูแลให้การ ประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ด�ำเนินไปจนส�ำเร็จลุลว่ ง กรรมการ ทุกคนควรมีสว่ นร่วมในการประชุมและตัง้ ค�ำถามส�ำคัญๆ ระหว่าง การประชุมแต่ละครั้ง
รายงานประจ� ำ ปี 2557
อ�ำนาจของคณะกรรมการและฝ่ายบริหาร ได้รับการจ�ำกัดความ และแยกออกจากกันอย่างชัดเจน ในขณะเดียวกัน คณะกรรมการ จะไม่ยุ่งเกี่ยวกับงานประจ�ำ หรือกิจกรรมทางธุรกิจภายใต้ความ รับผิดชอบของฝ่ายบริหาร หน้าที่และความรับผิดชอบของประธานกรรมการ 1) เรียกประชุมคณะกรรมการและมอบหมายให้เลขานุการ บริษทั ดูแลเรือ่ งการจัดส่งหนังสือเชิญประชุม รวมทัง้ เอกสารต่างๆ เพื่อให้คณะกรรมการได้รับข้อมูลอย่างเพียงพอและทันเวลา 2) เป็นประธานที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ 3) เป็นประธานที่ประชุมผู้ถือหุ้น และด�ำเนินการประชุมให้เป็น ไปตามข้อบังคับบริษัทฯ และตามระเบียบวาระที่ก�ำหนดไว้ 4) ดูแลให้การติดต่อสือ่ สารระหว่างกรรมการและผูถ้ อื หุน้ เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ 5) ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีก่ ฎหมายก�ำหนดไว้โดยเฉพาะให้เป็นหน้าที่ ของประธานกรรมการ หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการใหญ่และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหารมีอ�ำนาจ หน้าที่เกี่ยวกับการบริหารบริษัทฯ ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย และจะต้ อ งบริ ห ารบริ ษั ท ฯ ตามแผนงาน หรื อ งบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ รักษา ผลประโยชน์ของบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ อ�ำนาจหน้าทีข่ องกรรมการ ผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหารครอบคลุมถึงเรื่อง อื่นๆ ด้วย ดังนี้ 1) ด�ำเนินกิจการ และบริหารงานประจ�ำวันของบริษัทฯ 2) อนุมตั คิ า่ ใช้จา่ ยในการด�ำเนินงาน รายจ่ายลงทุนให้เป็นไปตาม งบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ
(ก.4) วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการบริษัทฯ จ�ำนวนปีที่ด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการบริษัทฯ ข้อบังคับของบริษทั ฯ ได้กำ� หนดจ�ำนวนปีทดี่ ำ� รงต�ำแหน่งในแต่ละ วาระของกรรมการบริษัทฯ เป็นไปตามพระราชบัญญัติบริษัท มหาชนจ�ำกัด โดยในการประชุมสามัญประจ� ำปีของผู้ถือหุ้น กรรมการบริษทั ฯ ต้องออกจากต�ำแหน่งจ�ำนวน 1 ใน 3 ถ้าจ�ำนวน กรรมการแบ่งออกให้ตรงเป็น 3 ส่วนไม่ได้ก็ให้ออกโดยจ�ำนวน ใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 ทั้งนี้ กรรมการบริษัทฯ ที่จะต้องออก จากต� ำ แหน่ ง นั้ น ให้ พิ จ ารณาจากกรรมการบริ ษั ท ฯ ที่ อ ยู ่ ใ น ต�ำแหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง ซึ่งกรรมการแต่ละคน จะด�ำรงต�ำแหน่งตามวาระประมาณ 3 ปี กรรมการบริษทั ฯ ทีค่ รบ วาระนั้นอาจได้รับเลือกตั้งให้ดำ� รงต�ำแหน่งอีกก็ได้
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
093
จ�ำนวนวาระการด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันของกรรมการ บริษทั ฯ เห็นว่า กรรมการของบริษทั ฯ ทุกคนทีไ่ ด้รบั เลือกตัง้ จาก ที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่างเป็นกรรมการที่ทรงคุณวุฒิมีความรู้ ความ สามารถ มีคุณธรรมและจริยธรรม ตลอดจนปฏิบัติหน้าที่ได้เป็น อย่างดีตลอดมา และหากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ยังคงให้ความไว้วางใจ โดยเลือกตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิดังกล่าวเป็นกรรมการของ บริษัทฯ ก็ย่อมจะต้องเคารพสิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จึงไม่ได้มี การก�ำหนดจ�ำนวนวาระการด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันของกรรมการ หรือกรรมการอิสระไว้ตายตัว อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริษัทฯ จะหาแนวทางที่เหมาะสม เกี่ยวกับจ�ำนวนวาระการด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันของกรรมการ และกรรมการอิสระต่อไป การสรรหากรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน ท�ำหน้าที่สรรหาบุคคลผู้ที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมในการเป็นกรรมการบริษัทฯ ซึ่งคณะกรรมการสรรหา และก� ำ หนดค่ า ตอบแทนจะพิ จ ารณาประวั ติ อายุ ความรู ้ ประสบการณ์ ศักยภาพ และปัจจัยอื่นๆ ที่พิจารณาว่าเหมาะสม ที่จะเป็นกรรมการของบริษัทฯ ได้ การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้มีการประชุมคณะกรรมการ จ�ำนวนอย่างน้อย 6 ครั้งต่อปี โดยก�ำหนด วันประชุมไว้เป็นการ ล่วงหน้าตลอดทั้งปี และแจ้งให้กรรมการแต่ละคนทราบ ในการ จัดประชุมคณะกรรมการ ประธานกรรมการจะเป็นผูด้ แู ลให้ความ เห็นชอบก�ำหนดวาระการประชุม ทั้งนี้ให้กรรมการแต่ละคน มีอิสระที่จะเสนอเรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ เข้าสู่วาระ การประชุมด้วย โดยเลขานุการคณะกรรมการบริษัทฯ ท�ำหน้าที่ จัดส่งหนังสือเชิญประชุม พร้อมระเบียบวาระการประชุมและ เอกสารประกอบการประชุมให้กรรมการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน เพื่อให้กรรมการได้มีเวลาศึกษามาก่อนล่วงหน้าตามข้อ บังคับของบริษัทฯ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ต้องมี กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการ ทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ ได้ มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ รวมทั้งสิ้น 3 ครั้ง และมีการ ประชุมอย่างไม่เป็นทางการระหว่างกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร จ�ำนวนทั้งสิ้น 3 ครั้ง
094
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
(ข) เลขานุการบริษัทและคณะกรรมการ ชุดย่อย
• ให้ค�ำแนะน�ำแก่กรรมการเกี่ยวกับข้อก�ำหนด กฎ ระเบียบและ
ข้ อ บั ง คั บ ต่ า งๆ ของบริ ษั ท ฯ และติ ด ตามข้ อ ก� ำ หนดและ กฎหมายใหม่ๆ อย่างสม�่ำเสมอ และแจ้งการเปลี่ยนแปลง ที่ส�ำคัญให้คณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งเลขานุการบริษัท และคณะ กรรมการชุดย่อย 5 คณะ ได้แก่ 1) คณะกรรมการตรวจสอบ • จัดการประชุมผู้ถือหุ้น และประชุมกรรมการให้เป็นไปตาม กฎหมาย ข้อบังคับของบริษัทฯ และข้อพึงปฏิบัติต่างๆ (Audit Committee) 2) คณะกรรมการบริหาร (Executive Committee) 3) คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน • บั น ทึ ก รายงานการประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น และการประชุ ม คณะ กรรมการบริษัทฯ รวมทั้งติดตามให้มีการปฏิบัติตามมติที่ (Nomination and Remuneration Committee) ประชุมผู้ถือหุ้นและมติที่ประชุมคณะกรรมการ 4) คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ (Corporate Governance Committee) และ 5) คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง • ดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศ ในส่วนที่ รับผิดชอบตามระเบียบและข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ (Risk Management Committee) และ ก.ล.ต. • ดู แ ลและประสานงานกิ จ กรรมของคณะกรรมการ รวมถึ ง (ข.1) เลขานุการบริษัท การปฐมนิเทศกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้ง นางสาวมัณฑนี สุรกาญจน์กุล ให้ • ดูแลเอกสารส�ำคัญของบริษัทฯ ได้แก่ ทะเบียนกรรมการ เป็นเลขานุการบริษทั เมือ่ วันที่ 14 สิงหาคม 2551 เพือ่ รับผิดชอบ หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม คณะกรรมการ รายงานการประชุ ม เรื่องที่เกี่ยวกับการประชุมคณะกรรมการและผู้ถือหุ้น และเพื่อ คณะกรรมการ รายงานประจ�ำปี หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น ช่วยเหลืองานทีเ่ กีย่ วกับแนวปฏิบตั ดิ า้ นการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการมีส่วนได้เสียของ นอกจากนี้ ยังท�ำหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการบริษัทฯ และ กรรมการหรือผู้บริหาร คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ รวมทั้งประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ ดังนี้ รายละเอียดของเลขานุการบริษัท ชื่อ นางสาวมัณฑนี สุรกาญจน์กุล (อายุ 49 ปี) เลขานุการบริษัท (ตั้งแต่วันที่ 14 สิงหาคม 2551 - ปัจจุบัน)
สัดส่วนการถือหุ้น ในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
คุณวุฒิการศึกษา
ร้อยละ 0.002
• ปริญญาโทสาขาการบริหาร •
ประวัติการอบรม
Company Secretary สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ Program (CSP) รุ่น ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์ ที่15/2549 จากสมาคมส่ง มหาวิทยาลัย เสริมสถาบันกรรมการบริษัท ไทย (IOD) • อักษรศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Effective Minutes Taking (EMT) รุ่นที่ 2/2549 จากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • Improving the Quality of Financial Reporting (QFR) รุ่นที่ 2/2549 จาก สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS) รุ่นที่ 1/2549 จากสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Directors Certification Program (DCP) รุ่น 1/2543 จากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)
ประสบการณ์การท�ำงาน 2533-ปัจจุบนั : ผูอ้ ำ� นวยการ แผนกทะเบียนหุ้น บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
095
คณะกรรมการตรวจสอบได้รับอ�ำนาจอย่างเต็มที่จากคณะกรรม การบริษัทฯ ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ของตนทั้งนี้ ได้มีการ ก� ำ หนดแผนตรวจสอบประจ� ำ ปี แ ละการประชุ ม ของคณะ กรรมการตรวจสอบ เพือ่ ให้คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน กระบวนการรายงานข้อมูลทางการเงิน ระบบการควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยงทางการเงิน กระบวนการ (ข.2) คณะกรรมการตรวจสอบ ตรวจสอบ รวมถึงกระบวนการในการติดตามก�ำกับดูแลการ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบไปด้ ว ยกรรมการอิ ส ระ ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ อย่างน้อย 3 คน ในวันที่ 14 สิงหาคม 2555 คณะกรรมการ บริษัทฯ ได้มีการทบทวนและอนุมัติกฎบัตรของคณะกรรมการ ตรวจสอบฉบับแก้ไขเพิ่มเติม รายละเอียดหน้าที่ของเลขานุการบริษัทมีอยู่บนเว็บไซต์ของ บริษัทฯ และในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี 56-1 ของ บริษทั ฯ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้สนับสนุนให้เลขานุการบริษทั เข้าอบรม หลักสูตรเกี่ยวเนื่องกับเลขานุการบริษัท มาโดยตลอด
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบไปด้วยกรรมการต่อไปนี้ ที่ 1 2 3
ชื่อ นายกฤช ฟอลเล็ต นายสันติ บางอ้อ นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์
ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
กรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบเป็นกรรมการอิสระทั้งสิ้น ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะ กรรมการตรวจสอบได้มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง
วันที่ได้รับแต่งตั้ง 12 เมษายน 2555 14 กุมภาพันธ์ 2555 14 กุมภาพันธ์ 2556
• ประเมินผลการปฏิบต ั งิ านของผูบ้ ริหารระดับสูงฝ่ายตรวจสอบ
ภายในร่วมกับกรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร • พิจารณาและอนุมัติแผนการตรวจสอบ งบประมาณประจ�ำปี บทบาทและหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการ แผนอัตราก�ำลัง และแผนพัฒนาความรูแ้ ละทักษะของบุคลากร ตรวจสอบ ของฝ่ายตรวจสอบภายใน เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการตรวจสอบเป็นไป อย่างครอบคลุมทัง้ ด้านการเงิน บัญชี และการปฏิบตั กิ าร พร้อม 1. สอบทานความถูกต้อง ความเพียงพอ ความเชื่อถือได้ และ ทั้งติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนงานต่างๆ เหล่านั้น ความเที่ ย งตรงของกระบวนการรายงานข้ อ มู ล ทางการเงิ น โดยการประสานงานร่วมกับผูส้ อบบัญชี และผูบ้ ริหารทีร่ บั ผิดชอบ 3. สอบทานการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจว่า การ ในการจัดท�ำรายงานข้อมูลทางการเงินรายไตรมาส และรายปี ด�ำเนินธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ 2. สอบทานความเหมาะสม และประสิทธิผลของระบบการ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และ ควบคุมภายใน และหน้าทีข่ องการตรวจสอบภายใน เพือ่ ให้มนั่ ใจ กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ ในความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน รวมถึงหน้าที่ของ 4. พิจารณา คัดเลือก และเสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็นอิสระ การตรวจสอบภายใน โดยประสานงานร่วมกับผู้สอบบัญชีและ เพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ รวมถึงการต่อรอง ผู้ตรวจสอบภายใน เพื่อพิจารณาในประเด็นดังต่อไปนี้ ค่าสอบบัญชีและด�ำเนินกิจกรรมหลักดังต่อไปนี้ • สอบทานกิจกรรมการด�ำเนินงาน และการจัดโครงสร้างองค์กร • สอบทานผลการปฏิ บั ติ ง านของผู ้ ส อบบั ญ ชี โดยพิ จ ารณา ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน เพื่อให้มั่นใจว่า ไม่มีการจ�ำกัด ถึงความเชื่อถือได้ ความเพียงพอของทรัพยากร ขอบเขต ขอบเขตการปฏิบัติงาน การปฏิบตั งิ าน และประสบการณ์ของผูช้ ว่ ยผูส้ อบบัญชีทไี่ ด้รบั มอบหมายให้ปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ • ประเมินความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน • พิจารณาและอนุมต ั กิ ารแต่งตัง้ ถอดถอน โอนย้าย หรือเลิกจ้าง • สอบทานขอบเขตและแนวทางการตรวจสอบของผู้สอบบัญชี ผู้บริหารระดับสูงฝ่ายตรวจสอบภายใน เพือ่ ให้มนั่ ใจในความเหมาะสมและมิได้มกี ารจ�ำกัดขอบเขตการ ตรวจสอบ • พิจารณารายงานการตรวจสอบ และข้อเสนอแนะที่น�ำเสนอ โดยฝ่ า ยตรวจสอบภายในและก� ำ กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ต าม • ให้ค�ำแนะน�ำแก่คณะกรรมการบริษัทฯ ในการแต่งตั้งผู้สอบ ข้อเสนอแนะ บัญชี • สอบทานความเพียงพอในการบริหารจัดการความเสี่ยงของ • พิจารณารายงานการตรวจสอบและข้อเสนอแนะที่เสนอโดย บริษัทฯ อีกทั้งเพื่อให้มั่นใจว่า การบริหารจัดการความเสี่ยง ผูส้ อบบัญชี และก�ำกับดูแลการปฏิบตั ติ ามข้อเสนอแนะดังกล่าว ดังกล่าวเป็นไปตามแนวปฏิบตั ขิ องหน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง และสอดคล้องกับนโยบายภายในของบริษัทฯ
096
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
• ในระหว่างปี คณะกรรมการตรวจสอบจะประชุมร่วมกับผู้สอบ
บัญชีและหัวหน้าฝ่ายตรวจสอบภายใน โดยไม่มีฝ่ายบริหาร เข้าร่วมด้วยอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง 5. พิจารณาการด�ำเนินธุรกิจรวมถึงรายการที่เกี่ยวโยงกัน เพื่อ ให้มั่นใจว่าไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการพิจารณา ด� ำ เนิ น รายการค้ า ระหว่ า งบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย หรื อ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจในประสิทธิภาพของ ระบบการก�ำกับดูแลการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ ต่างๆ รวมถึงความสมเหตุสมผลของการด� ำเนินรายการ เพื่อ คงไว้ซึ่งผลประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ 6. จัดท�ำและเปิดเผยรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ลงนาม โดยประธานกรรมการตรวจสอบในรายงานประจ�ำปีของบริษทั ฯ โดยรายงานคณะกรรมการตรวจสอบดังกล่าวต้องประกอบไปด้วย ข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ • ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วนและความเชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ • ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ของบริษัทฯ • ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ • ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี บริษัทฯ มี นโยบายในการรักษาความเป็นอิสระของผูส้ อบบัญชี โดยจ�ำกัด มิให้ผู้สอบบัญชีให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้องกับงานสอบบัญชีและ งานบริการด้านภาษี และทบทวนความเหมาะสมของผู้สอบ บัญชีทุกๆ 3 - 5 ปี • ความเห็นต่อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • จ�ำนวนการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบและจ�ำนวนการ เข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละคน • ความเห็น หรื อข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบ ได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร • รายการอืน ่ ทีเ่ ห็นว่าผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ 8. รายงานผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบให้แก่ คณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบเป็นรายไตรมาส 9. สอบทานข้อสรุป และหลักฐานการฉ้อโกงของพนักงานหรือ ผู้บริหาร ซึ่งส่งผลให้บริษัทฯ ได้รับความเสียหายและน�ำเสนอ รายงานที่ได้รับการสอบทานโดยคณะกรรมการตรวจสอบให้แก่ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา 10. สอบทานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจ�ำปี
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
11. ส อบทานและประเมิ น ความเหมาะสมของกฎบั ต ร คณะกรรมการตรวจสอบ และน�ำเสนอข้อปรับปรุงแก้ไขให้แก่ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่ออนุมัติ การแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีและการก�ำหนดค่าตอบแทนในการสอบ บัญชี คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ เป็นผูพ้ จิ ารณา และเสนอการแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีและค่าตอบแทน ในการสอบบัญชีแก่ผู้ถือหุ้น เพื่อขอความเห็นชอบในที่ประชุม ใหญ่สามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้นทุกครั้ง ในที่ประชุมใหญ่สามัญ ประจ�ำปีของผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2558 ผู้ถือหุ้นให้ความเห็นชอบ ดังต่อไปนี้ 1. แต่งตั้ง นายวีระชัย รัตนจรัสกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลข ทะเบียน 4323 หรือ นางศิริเพ็ญ สุขเจริญยิ่งยง ผู้สอบบัญชี รับอนุญาตเลขทะเบียน 3636 หรือ นายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ ผู ้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุ ญ าตเลขทะเบี ย น 4068 หรื อ นางสาว พรทิพย์ ริมดุสิต ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 5565 จากบริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด ให้เป็นผูส้ อบบัญชี ส�ำหรับรอบระยะเวลาสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2. ค่าธรรมเนียมการสอบบัญชีจ�ำนวน 0.95 ล้านบาท เพื่อ สอบทานและตรวจสอบงบการเงินของบริษทั ฯ และงบการเงินรวม หลังจากพิจารณาข้อก�ำหนดและค่าธรรมเนียมในการว่าจ้างการ สอบบัญชีตามทีม่ กี ารเสนอแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบได้ชแี้ จง ให้คณะกรรมการบริษัทฯ ทราบถึงผลการประเมินของตน และ แนะน�ำคณะกรรมการบริษทั ฯ ให้แต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชี และก�ำหนด ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี โดยจะน�ำเสนอผู้ถือหุ้นในที่ประชุมใหญ่ สามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบจึ ง เสนอบริ ษั ท เคพี เ อ็ ม จี ภู มิ ไ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด ให้เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ซึ่งจะเสนอต่อ ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ในทีป่ ระชุมใหญ่สามัญประจ�ำปีของผูถ้ อื หุน้ ครั้งต่อไปที่จะจัดขึ้นในวันที่ 27 เมษายน 2558
(ข.3) คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ บริหาร ในที่ประชุมคณะกรรมการในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555 และในการประชุมคณะกรรมการในวันที่ 15 มีนาคม 2555 คณะ กรรมการบริษัทฯ อนุมัติกฎบัตรของคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารประกอบด้วยสมาชิกอย่างน้อย 4 คน ที่มา จากกรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
097
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริหาร ประกอบไปด้วยกรรมการต่อไปนี้ ที่ 1 2 3 4
ชื่อ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นายฌ็อง ปอล เทเวอแน็ง นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ
ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร
คณะกรรมการบริหารได้มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 3 ครั้ง ส�ำหรับ งวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
วันที่ได้รับแต่งตั้ง 14 กุมภาพันธ์ 2555 14 กุมภาพันธ์ 2555 12 กุมภาพันธ์ 2557 14 กุมภาพันธ์ 2555
(ข.4) คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนประกอบไปด้วย หน้าที่หลักของคณะกรรมการบริหารรวมถึงการพิจารณาแผน กรรมการที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห ารอย่ า งน้ อ ย 3 คน เมื่ อ วั น ที่ ธุรกิจ และงบประมาณประจ�ำปีของบริษัทฯ เพื่อที่จะเสนอต่อ 13 พฤษภาคม 2554 คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติกฎบัตรของ คณะกรรมการบริษัทฯ และการพิจารณากลยุทธ์ของการลงทุน คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และการเงินของบริษัทฯ และอนุมัติรายการต่างๆ ตามกรอบ อ�ำนาจที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ประกอบไปด้วยกรรมการต่อไปนี้ ที่ ชื่อ ต�ำแหน่ง วันที่ได้รับแต่งตั้ง 1 นายสันติ บางอ้อ ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 14 กุมภาพันธ์ 2556 2 นางสาวอุษณา มหากิจศิริ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 14 กุมภาพันธ์ 2555 3 นายโมฮัมหมัด ราเชด อาหมัด เอ็ม. อัลนัสซารี กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 14 กุมภาพันธ์ 2556 คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนได้มีการประชุม รวมทั้งสิ้น 2 ครั้ง ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 หน้าทีห่ ลักของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนรวม ถึงการก�ำหนดกระบวนการ และหลักเกณฑ์ในการสรรหา และ คุณสมบัตขิ องผูท้ ไี่ ด้รบั การเสนอชือ่ รับการคัดเลือกตามโครงสร้าง ขนาด และองค์ประกอบของคณะกรรมการตามที่ได้ก�ำหนด ไว้ และทบทวนและเสนอค�ำแนะน�ำต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เกี่ยวกับผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้ารับคัดเลือก (ไม่ว่าจะโดย คณะกรรมการ หรืออื่นๆ) เพื่อการแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการ บริษัทฯ โดยพิจารณาถึงประวัติ อายุ ความรู้ ประสบการณ์ ศักยภาพ จ�ำนวนครั้งที่ได้เคยด�ำรงต�ำแหน่งในคณะกรรมการ บริษัทฯ และปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนยังมีหน้าที่ในการ ประเมินผลงานประจ�ำปีของผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ ได้แก่ กรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ แ ละประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และ ผูบ้ ริหารในระดับผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ซึง่ ผลการประเมิน
การท�ำงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร และผู้บริหารในระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ จะ ถู ก น� ำ มาใช้ ใ นการเสนอค่ า ตอบแทนของผู ้ บ ริ ห าร เพื่ อ ให้ คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ ในส่ ว นของค่ า ตอบแทนกรรมการที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห ารทั้ ง หมด คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนจะเป็นผู้พิจารณา และน� ำ เสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ น� ำ เสนอให้ ผู้ถือหุ้นอนุมัติ โดยมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาตามแนวทาง ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทยเกีย่ วกับแนวปฏิบตั ิ ที่ดีในการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ (ฉบับเดือนกันยายน 2549)
(ข.5) คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษทั ฯ อนุมตั ใิ ห้มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการก�ำกับ ดูแลกิจการ ในที่ประชุมคณะกรรมการ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2554 และในการประชุมคณะกรรมการวันที่ 21 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติกฎบัตรของคณะกรรมการก�ำกับ ดูแลกิจการ โดยคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ จะประกอบด้วย กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารอย่างน้อย 3 คน
098
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ ประกอบไปด้วยกรรมการต่อไปนี้ ที่ 1 2 3
ชื่อ
นายสันติ บางอ้อ นางสาวอุษณา มหากิจศิริ นายกฤช ฟอลเล็ต/1
ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ
วันที่ได้รับแต่งตั้ง 14 กุมภาพันธ์ 2555 14 กุมภาพันธ์ 2555 22 ธันวาคม 2557
หมายเหตุ /1นายกฤช ฟอลเล็ต ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2557 แทน นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ
หน้ า ที่ ห ลั ก ของคณะกรรมการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การรวมถึ ง การ ทบทวนนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ และคู่มือจริยธรรมธุรกิจ และตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามนโยบายและหลักการของการก�ำกับ ดูแลกิจการเพื่อที่จะได้คงไว้ให้อยู่ในกรอบของหลักจริยธรรม และตรวจสอบพัฒนาการเทียบจากผลที่ประเมิน คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการได้มีการประชุม 1 ครั้ง ส�ำหรับ งวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ในปี 2555 คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการได้มีการทบทวน นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ รวมถึงการปรับปรุงแบบฟอร์มการ ประเมิ น ผลการด� ำ เนิ น งานของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และ ประเมินผลการด�ำเนินงานของคณะกรรมการบริษัทฯ ในปี 2556 - 2557 คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ ได้พิจารณา และน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ ในการออกนโยบายต่างๆ
เป็นลายลักษณ์อักษร และปรับปรุงนโยบายที่มีอยู่เดิมให้ดีขึ้น อาทิ นโยบายการมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่ นโยบายการบริหาร ความเสีย่ งองค์กร นโยบายการตรวจสอบภายใน นโยบายการจัด ซื้อจัดจ้าง นโยบายการต่อต้านการคอร์รัปชั่น นโยบายการใช้ ข้อมูลภายใน นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ นโยบายการเดินทาง และค่ารับรอง และนโยบายเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล เป็นต้น
(ข.6) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง ในทีป่ ระชุมคณะกรรมการวันที่ 14 พฤษภาคม 2553 และในที่ประชุมคณะกรรมการวันที่ 14 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติกฎบัตรของคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง โดยคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง จะประกอบด้วย สมาชิกอย่างน้อย 4 คนที่มาจากคณะกรรมการบริษัทฯ และ คณะผู้บริหารของบริษัทฯ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบไปด้วยสมาชิกต่อไปนี้ ที่ ชื่อ 1 นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ/1 2 นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์/2 3 นายสมพร จิตเป็นธม 4 นายชาตรี อัครจรัลญา/3
ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง/ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชีและการเงิน กรรมการบริหารความเสี่ยง/ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานกลุ่มธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม
วันที่ได้รับแต่งตั้ง 22 ธันวาคม 2557 26 พฤศจิกายน 2557 27 พฤศจิกายน 2556 24 กุมภาพันธ์ 2558
หมายเหตุ /1 นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2557 แทน นายกฤช ฟอลเล็ต /2 นายเชิ ด พงษ์ สิ ริ วิ ช ช์ ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง เมื่ อ วั น ที่ 26 พฤศจิ ก ายน 2557 แทน นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ /3 นายชาตรี อัครจรัลญา ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 แทนนายไกรลักขณ์ อัศวฉัตรโรจน์
รายงานประจ� ำ ปี 2557
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไม่ได้มีการประชุม ส�ำหรับ งวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
099
(ค.2) การก�ำกับดูแลการใช้ข้อมูลภายใน
คณะกรรมการบริษทั ฯ ห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน หน้าที่หลักของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รวมถึงการ ใช้โอกาสหรือข้อมูลที่ได้รับขณะท�ำงานในต�ำแหน่งของตนเพื่อ ทบทวนประสิทธิภาพของระบบการจัดการความเสีย่ งขององค์กร หาผลประโยชน์ส่วนตัว หรือเพื่อจัดตั้งธุรกิจที่แข่งหรือเกี่ยวข้อง ภายในกลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจได้ ว ่ า สามารถระบุ ป ั จ จั ย กับธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งรวมถึงการห้ามใช้ข้อมูลภายในที่ส�ำคัญ ความเสี่ยงที่ส�ำคัญได้อย่างครบถ้วน และมีกระบวนการจัดการ เพือ่ ซือ้ หรือขายหุน้ และหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ เพือ่ ผลประโยชน์ ความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการก�ำหนดและปรับปรุง ของบุคคลเหล่านั้น และห้ามการให้ข้อมูลภายในแก่บุคคลหรือ นิติบุคคลอื่นเพื่อซื้อหรือขายหุ้นและหลักทรัพย์ของบริษัทฯ นโยบายของกลุ่มบริษัทฯ อย่างเหมาะสม บริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้กรรมการและผู้บริหารจะต้องรายงาน ธุรกรรมการซือ้ ขายหุน้ และหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ และฐานะการ ถือครองหุน้ ของตนทุกครัง้ เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลง โดยให้รายงาน การซื้อขายหลักทรัพย์ให้แก่บริษัทฯ ในวันเดียวกับที่ส่งรายงาน ต่อ ก.ล.ต. บริษทั ฯ มีขอ้ ก�ำหนดห้ามกรรมการและผูบ้ ริหารอาวุโส ทุกคนซื้อขายหุ้นและหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ในช่วง 3 สัปดาห์ ก่อนการเปิดเผยผลการด�ำเนินงานทางการเงินรายไตรมาสและ รายปีของบริษัทฯ ข้อห้ามนี้ใช้บังคับกับนิติบุคคลที่กรรมการ ของบริษัทฯ มีส่วนได้เสียที่เป็นประโยชน์ นิติบุคคลที่ว่าจ้าง กรรมการของบริษัทฯ หรือที่กรรมการของบริษัทฯ ท�ำการ (ค) ผลประโยชน์ที่ขัดแย้ง เป็ น ตั ว แทน โดยเลขานุ ก ารบริ ษั ท จะท� ำ หน้ า ที่ แ จ้ ง เตื อ น (ค.1) ธุรกรรมที่อาจท�ำให้เกิดผลประโยชน์ที่ขัดแย้ง คณะกรรมการและผูบ้ ริหารเป็นการล่วงหน้าอย่างน้อย 1 สัปดาห์ ก่อนถึงช่วงระยะเวลาห้ามการซื้อขายหลักทรัพย์ และธุรกรรมระหว่างบริษัท นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการ และ การอบรมด้านการบริหารความเสี่ยงส�ำหรับแต่ละกลุ่มธุรกิจ การอบรมมุง่ เน้นถึงแนวคิด หลักการ และการด�ำเนินการเกีย่ วกับ การบริหารความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องค์กร เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั ฯ มีการ เติบโตอย่างยัง่ ยืน รวมทัง้ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผูม้ สี ว่ นได้เสียและ ผู้ถือหุ้นในระยะยาว อีกทั้ง การบริหารความเสี่ยงยังได้ถูกรวม เป็นปัจจัยทีส่ ำ� คัญในการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของพนักงาน อีกด้วย
ตั้งแต่ปี 2552 บริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้กรรมการและผู้บริหารของ บริษัทฯ ส่งรายงานการมีส่วนได้เสียซึ่งมีเนื้อหาสรุปเกี่ยวกับการ ถือครองหุน้ และการเป็นกรรมการในบริษทั อืน่ ของกรรมการและ ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ และของบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับกรรมการและ ผู้บริหารของบริษัทฯ ซึ่งข้อมูลนี้จะถูกเก็บไว้กับบริษัทฯ เพื่อ ติดตามรายการเกี่ยวโยงหรือรายการกับบุคคลที่เกี่ยวข้องที่อาจ เกิดขึน้ กรรมการและผูบ้ ริหารอาวุโสทีเ่ ข้าใหม่ของบริษทั ฯ จะส่ง รายงานนี้ภายใน 30 วันหลังจากวันที่ได้รับการแต่งตั้ง ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงของบุคคลเกี่ยวโยงและญาติสนิท กรรมการและผู ้ บ ริ ห ารจะส่ ง รายงานที่ แ ก้ ไ ขใหม่ ใ ห้ บ ริ ษั ท ฯ ภายใน 14 วันหลังจากวันที่มีการเปลี่ยนแปลง
(ง) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทฯ จะต้องประชุมกันอย่างน้อยทุกไตรมาส ต่อปี ตามข้อบังคับของบริษัทฯ การประชุมพิเศษจะจัดขึ้น ตามความจ�ำเป็นตามจุดประสงค์เฉพาะกิจ ส�ำหรับงวดสามเดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริษัทฯ ประชุม ทั้งหมด 3 ครั้ง วาระการประชุมหลัก ได้แก่ พิจารณาทิศทาง เชิงกลยุทธ์ของบริษัทฯ แผนธุรกิจและงบประมาณประจ�ำปี รายงานการเงิ น รายไตรมาส และการเข้ า ซื้ อ และจ� ำ หน่ า ย สินทรัพย์ที่ส�ำคัญ
คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนดให้สมาชิกทุกคนอุทิศเวลาอย่าง เพี ย งพอให้ กั บ งานของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ รั บ ผิ ด ชอบ กรรมการ ผู ้ บ ริ ห าร และพนั ก งานจะต้ อ งละเว้ น จากการ ต่อหน้าทีข่ องกรรมการ และพยายามอย่างสุดความสามารถทีจ่ ะ ท� ำ ธุ ร กรรมที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งใดๆ ที่ อ าจน� ำ ไปสู ่ ก ารขั ด แย้ ง ทาง เข้าประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ทุกครั้ง ได้มีการสนับสนุนให้ ผลประโยชน์กับบริษัทฯ นอกจากนี้ กรรมการ ผู้บริหาร และ กรรมการทุกคนเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ไม่น้อย พนั ก งานคนใดที่ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย จะไม่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตให้ เ ข้ า ร่ ว ม กว่าร้อยละ 75 ของจ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ในกระบวนการตัดสินใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรรมการจะถูกห้าม ทั้งหมดที่ได้จัดให้มีขึ้นในรอบปี ไม่ให้พิจารณาหรือลงคะแนนเสียงในเรื่องที่อาจมีการขัดกัน ระหว่างผลประโยชน์ของกรรมการเหล่านั้นกับบริษัทฯ
100
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
รายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการชุดย่อย ส�ำหรับงวดสามเดือนสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 การประชุมกรรมการบริษัทฯ ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 กรรมการ กรรมการ สรรหาและ กรรมการ บริหารความ เสี่ยง กรรมการ ก�ำหนดค่า ก�ำกับดูแล กรรมการ กรรมการ การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ (ไม่มีการ ระหว่างงวดสามเดือนสิ้นสุด กิจการ ตอบแทน บริหาร บริษัทฯ ตรวจสอบ (รวม 3 ครั้ง) (รวม 5 ครั้ง) (รวม 3 ครั้ง) (รวม 2 ครั้ง) (รวม 1 ครั้ง) ประชุม) รายชื่อกรรมการ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 3/3 3/3 3/3 3/3 0/0 2. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ 3. นายฌ็อง ปอล เทเวอแน็ง 3/3 3/3 4. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ 3/3 3/3 0/1 0/0 เป็นประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2557 2/3 5/5 0/0 0/0 เป็นกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ 5. นายกฤช ฟอลเล็ต เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2557 6. นายสันติ บางอ้อ 3/3 5/5 2/2 1/1 7. นางสาวอุษณา มหากิจศิริ 2/3 2/2 1/1 8. นายโมฮัมหมัด ราเชด อาหมัด เอ็ม. อัลนัสซารี 2/3 2/2 9. นายอีฟ บาบิว 2/3 10. นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์
2/3
3/5
-
-
-
0/0
เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2557
หมายเหตุ ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ รวม 3 ครั้ง เป็นการประชุม ปกติ 2 ครั้ง และประชุมนัดพิเศษ 1 ครั้ง
* สาเหตุที่กรรมการไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ เนื่องจากติดภารกิจไปต่างประเทศหรือติดภารกิจอื่น โดยกรรมการแต่ละคน จะมีการส่งหนังสือลาประชุมให้กับประธานกรรมการหรือบอกกล่าวให้ทราบล่วงหน้าก่อนการประชุม
(จ) การประเมินของคณะกรรมการ
ทั้งนี้ในปี 2557 ผลประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการทั้ง คณะ (as a whole) อยู่ในเกณฑ์ “ดีมาก” โดยคณะกรรมการ บริษัทฯ ได้มีการหารือเกี่ยวกับผลการประเมินและการปรับปรุง และขอให้คณะกรรมการชุดย่อยคณะต่างๆ เสนอวิธกี ารปรับปรุง ประสิทธิภาพของคณะกรรมการ
คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารประเมิ น ผลการท� ำ งานของ คณะกรรมการอย่ า งเป็ น ทางการในปี 2557 โดยประธาน กรรมการก�ำกับดูแลกิจการเป็นผู้ด�ำเนินการส่งแบบประเมิน ผลงานของคณะกรรมการให้แก่กรรมการแต่ละคนโดยแบบฟอร์ม ทีต่ อบกลับมาจะเก็บไว้ทเี่ ลขานุการบริษทั และประธานกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการจะรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการ (ฉ) การปฐมนิเทศและการพัฒนากรรมการ บริษัทฯ บริษัทฯ ได้มีการจัดท�ำคู่มือกรรมการบริษัทฯ ซึ่งสรุปข้อมูลของ บริษัทฯ นโยบายและกฎบัตรต่างๆ ของบริษัทฯ โครงสร้างของ ทั้งนี้ การประเมินแบ่งเป็นเรื่องหลักๆ 6 ประเด็น ดังนี้ กลุ ่ มบริ ษั ท ฯ และแจกให้ แก่ ก รรมการทุ ก คนเพื่ อ เป็ น ข้ อมูล 1. โครงสร้างและคุณลักษณะของคณะกรรมการ เบื้องต้น บริษัทฯ มีการจัดการปฐมนิเทศให้กับสมาชิกใหม่ของ 2. บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ให้กรรมการทีเ่ ข้ารับต�ำแหน่งสามารถ 3. การประชุมคณะกรรมการ ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเร็วที่สุด โดยมีกรรมการผู้จัดการใหญ่และ 4. ผลงานของคณะกรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จะเป็นผู้ด�ำเนินการปฐมนิเทศให้กับ 5. ความสัมพันธ์กับฝ่ายบริหาร สมาชิกใหม่ของคณะกรรมการบริษทั ฯ ในการประชุมดังกล่าว จะ 6. การพัฒนาส่วนบุคคลของกรรมการ มีการชี้แจงนโยบายของบริษัทฯ และธุรกิจหลักๆ นอกจากนี้ กรรมการเข้าใหม่จะได้มีโอกาสพบปะผู้บริหารของบริษัทใน กลุ่มธุรกิจต่างๆ เพื่อรับทราบข้อมูลธุรกิจต่างๆ ของบริษัทฯ ใน รายละเอียดที่มากขึ้น
รายงานประจ� ำ ปี 2557
นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังสนับสนุนให้กรรมการเข้าร่วมหลักสูตรหรือ กิจกรรมทีม่ งุ่ ปรับปรุงการท�ำงานของกรรมการในคณะกรรมการ บริษทั ฯ และคณะกรรมการชุดย่อย ปัจจุบนั กรรมการ 8 คน จาก จ�ำนวนทัง้ หมด 10 คน ได้เข้าอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคม ส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย (Thai Institute of Directors Association (“IOD”)) ซึง่ รวมถึงหลักสูตร The Role of Chairman Program (“RCP”) หลักสูตร The Director Accreditation Program (“DAP”) หลั ก สู ต ร Director Certification Program (“DCP”) หลักสูตร The Finance for Non-Finance Director Program (“FND”) หลักสูตร The Role of the Compensation Committee Program (“RCC”)
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
101
หลักสูตร The Audit Committee Program (“ACP”) หลักสูตร 4M; Monitoring Fraud Risk Management (“MFM”), Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (“MIR”), Monitoring the Internal Audit Function (“MIA”), Monitoring the Quality of Financial Reporting (“MFR”) และหลักสูตร Diploma Examination (“EXAM”) บริ ษั ท ฯ สนั บสนุ น ให้ ก รรมการที่ ยั ง มิ ไ ด้ เ ข้ า รั บการอบรมใน หลักสูตรดังกล่าวข้างต้น เข้ารับการอบรมในหลักสูตรดังกล่าวโดย บริษัทฯ จะเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการอบรม
หลักสูตรที่กรรมการบริษัทฯ ได้ผ่านการอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) มีดังนี้ Finance for Role of the Role of Director Director Non-Finance Compensation Audit Chairman Accreditation Certification Director Committee Committee Diploma Program Program Program Program Program Program Examination รายชื่อกรรมการ (RCP) (DAP) (DCP) (FND) (RCC) (ACP) (EXAM) 4M 1. นายประเสริฐ RCP DAP บุญสัมพันธ์ 28/2555 26/2547 2. นายเฉลิมชัย DAP DCP มหากิจศิริ 30/2547 53/2548 DAP 3. นายฌ็อง ปอล เทเวอแน็ง 74/2551 4. นายเชีย วัน DCP ฮัท โจเซฟ 165/2555 DCP EXAM 5. นายกฤช ฟอลเล็ต 149/2554 32/2555 6. นายสันติ บางอ้อ DCP RCC ACP MFM 9/2556 12/2544 16/2556 42/2556 MIR 14/2556 MIA 14/2556 MFR 17/2556 7. นางสาวอุษณา DAP มหากิจศิริ 30/2557 RCP DAP DCP FND ACP 8. นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ 10/2547 8/2547 104/2551 13/2547 27/2552
102
รายงานว่าด้วยการกำ�กับดูแลกิจการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
5. จริยธรรมทางธุรกิจและจรรยาบรรณ (ข) จรรยาบรรณ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความเห็นชอบกรอบค่านิยมหลัก ของบริษัท (ก) แนวทางด้านจริยธรรมและการปฏิบัติ การของบริษัทฯ บริษัทฯ มีแนวทางด้านจริยธรรมและการปฏิบัติการ ดังนี้ 1. ความยุติธรรม บริษทั ฯ เชือ่ ในความยุตธิ รรมต่อคูส่ ญ ั ญาทุกรายทีม่ คี วามสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ และหลีกเลีย่ งการปฏิบตั ติ อ่ บุคคลใดบุคคล หนึ่งดีกว่าบุคคลอื่นหรือสถานการณ์ที่จะน�ำไปสู่การขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ 2. ความเป็นมืออาชีพ บริษัทฯ รับผิดชอบงานของบริษัทฯ อย่างมืออาชีพ และมุ่งมั่น ทีจ่ ะด�ำเนินการอย่างเป็นเลิศด้วยการท�ำงานให้ได้ผลในระดับทีด่ ี ขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยการใช้วิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ 3. การท�ำงานเชิงรุก บริษัทฯ ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าและการเปลี่ยน แปลงทางสังคม เทคนิค และเศรษฐกิจ และปรับเปลีย่ นให้เข้ากับ สถานการณ์ 4. วินัยและการปฏิบัติตามกฎระเบียบ บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจด้วยวินัยและหลักการด้านจริยธรรม และ ท�ำการทุกอย่างให้มนั่ ใจว่าธุรกิจของบริษทั ฯ เป็นไปตามกฎหมาย กฎและระเบียบต่างๆ
ขององค์กร พันธกิจ และวิสัยทัศน์ (VMV Framework) เพื่อเป็น แนวทางในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2553 ได้มีมติอนุมัติคู่มือ จรรยาบรรณธุรกิจ เพื่อน�ำกรอบค่านิยม พันธกิจ และวิสัยทัศน์ ดังกล่าวมาใช้ โดยเน้นค่านิยมหลัก 4 ประการของบริษัทฯ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้มีการอบรมจรรยาบรรณให้แก่พนักงานทุกคน เพือ่ ทีจ่ ะได้มนั่ ใจได้วา่ พนักงานทุกคนได้เข้าใจหลักการปฏิบตั ทิ ดี่ ี และยังได้รวมการอบรมจรรยาบรรณเข้าเป็นส่วนหนึ่งของการ ปฐมนิเทศส�ำหรับพนักงานใหม่อีกด้วย ค่านิยมหลัก 4 ประการของบริษัทฯ ได้แก่ 1. คุณธรรม เราจะเป็นบุคคลที่เปิดเผย และซื่อสัตย์ต่อกันและกันในการ ท�ำงานร่วมกัน จะปฏิบัติตามที่ให้สัญญาไว้ ตลอดเวลา และจะ สร้างและรักษาความไว้วางใจในการท�ำงานร่วมกัน 2. ความเป็นเลิศ เราจะท� ำ งานด้ ว ยมาตรฐานระดั บ สู ง ในด้ า นคุ ณ ภาพ ความ ปลอดภัย การรักษาสภาพแวดล้อม ความมั่นคง การบริการ เรา พร้อมรับมือกับงานท้าทายเสมอ และจะด�ำเนินธุรกิจของเราอย่าง มืออาชีพ 3. จิตส�ำนึกของการท�ำงานร่วมกันเป็นทีม เราใส่ใจในลูกค้า พนักงาน และคู่ค้าของเรา และจะปฏิบัติตนใน อันทีจ่ ะส่งเสริม และสร้างสรรค์การร่วมมือกันท�ำงานเป็นทีม และ เคารพต่อกันและกัน 4. การยึดมั่นในพันธะ เราจะค� ำ นึง ถึ งอนาคตของบริษั ทฯ ตลอดเวลา และจะเป็น ผู้รับผิดชอบต่อผลและความส�ำเร็จทางธุรกิจของบริษัทฯ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ปัจจัยความเสี่ยง
103
ปัจจัยความเสี่ยง บริษัทฯ ได้มีการออกแบบกรอบการบริหารความเสี่ยงองค์กร รวมถึงนโยบายและขัน้ ตอนการด�ำเนินงานบริหารความเสีย่ งตาม แนวทางของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (“COSO”) เพื่อให้สอดคล้อง กับโครงสร้างและแบบแผนการด�ำเนินงานของบริษัทฯ โครงสร้างการบริหารความเสีย่ งของกลุม่ บริษทั ฯ ประกอบด้วย : • คณะกรรมการบริษัทฯ
ตรวจสอบและทบทวนประสิทธิภาพ ของกรอบการบริหารความเสีย่ ง และขีดจ�ำกัดในการรับความเสีย่ ง ของบริษัทฯ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการความเสี่ยงในภาพรวม • คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง ปฏิบตั กิ ารควบคุมดูแลการจัดการ ความเสีย่ งของกลุม่ บริษทั ฯ อย่างเป็นอิสระ โดยมีหน้าที่ : - ก�ำกับดูแลการบริหารความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทฯ - ทบทวนแนวทางและกรอบการบริหารความเสี่ ย งองค์ ก ร โดยรวม - ประเมินความเพียงพอและประสิทธิภาพของนโยบายและ ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง - ทบทวนความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เทียบกับขีดจ�ำกัดในการรับ ความเสี่ยงของบริษัทฯ • ผูบ ้ ริหารทุกคนมีหน้าทีต่ รวจสอบความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้อง โดยยึด ตามนโยบายการบริหารความเสีย่ ง และขีดจ�ำกัด ทีก่ ำ� หนดโดย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการบริษัทฯ • ฝ่ายบริหารความเสี่ยงมีหน้าที่ประสานงานและช่วยผู้บริหาร ทุกคนในการบริหารจัดการความเสีย่ งส�ำคัญทัง้ หมดของบริษทั ฯ กรอบการบริหารความเสี่ยงองค์กร ระบุแนวทางและขั้นตอน ปฏิบตั อิ ย่างเป็นระบบในการระบุ ประเมินและการจัดการความเสีย่ ง แบบองค์รวม ท�ำให้บริษัทฯ เตรียมรับมือกับความไม่แน่นอนได้ ดีขึ้น ซึ่งช่วยเพิ่มโอกาสทางธุรกิจและคงความสามารถในการ แข่งขัน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีหน้าทีช่ ว่ ยคณะกรรมการ บริษัทฯ ควบคุมดูแลการบริหารความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทฯ โดย ความเสี่ยงหลักและความคืบหน้าของโครงการส�ำคัญต่างๆ ของ บริษัทฯ จะถูกตรวจสอบและหารือกับผู้บริหารอย่างสม�ำ่ เสมอ
บริษัทฯ ซึ่งแผนบรรเทาความเสี่ยงจะถูกก�ำหนดขึ้นและติดตาม ความคืบหน้าในการปฏิบัติตามแผนงานอย่างใกล้ชิด บริ ษั ท ฯ จะท� ำ การพิ จ ารณาปั จ จั ย หลั ก ต่ า งๆ ในการลงทุ น แต่ละครั้งเพื่อประเมินความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น เช่น ความ สอดคล้ อ งกั บเป้ า หมายกลยุ ท ธ์ การควบคุ มการด�ำ เนินงาน ผลกระทบทางการเงิน ภาระผูกพัน กฎหมาย และข้อบังคับของ แต่ละประเทศ ความช�ำนาญทางเทคนิค รวมถึงทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจลงทุนอย่างละเอียดรอบคอบ หลักเกณฑ์และขีดจ�ำกัดในการประเมินความเสี่ยงจะถูกทบทวน เป็นระยะ เพื่อใช้ในการสนับสนุนเป้าหมายธุรกิจและบริหาร จัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง โดยการทบทวน หลักเกณฑ์และขีดจ�ำกัดในการประเมินความเสี่ยงจะค�ำนึงถึง สภาพแวดล้อมและโอกาสในการด�ำเนินธุรกิจ รวมถึงขีดจ�ำกัดใน การรับความเสี่ยงของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ จะท�ำการ ทบทวนแผนงานความเสี่ยงเป็นรายไตรมาส ซึ่งความเสี่ยงและ แผนบรรเทาความเสี่ยงที่ระบุจะถูกตรวจสอบตามโปรแกรม ตรวจสอบการด�ำเนินงานและการเงินของบริษัทฯ การสนับสนุนอย่างจริงจังของผูบ้ ริหาร ช่วยผลักดันให้การบริหาร จัดการความเสีย่ งของกลุม่ บริษทั ฯ ภายใต้สภาวะการเปลีย่ นแปลง ของธุรกิจที่รวดเร็วทั้งในและต่างประเทศ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การรวมหลักการบริหารความเสี่ยงเข้ากับการด�ำเนินงานประจ�ำ วันท�ำให้บริษัทฯ สามารถวิเคราะห์และจัดการกับความเสี่ยงที่ อาจจะเกิดขึ้นอย่างทันท่วงที ซึ่งการค�ำนึงถึงความเสี่ยงในการ วางแผนหรือการตัดสินใจในการด�ำเนินธุรกิจ ท�ำให้บริษัทฯ สามารถควบคุมความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน ส่งผลให้มีการ ด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
ปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ ที่กล่าวถึงในรายงานประจ�ำปีนี้ เป็น ความเสี่ยงหลักซึ่งประเมินจากแผนงานกลยุทธ์ แบบแผนการ ด�ำเนินธุรกิจ สภาพแวดล้อมภายนอกและระบบการเงินของ บริษัทฯ อย่างไรก็ตาม อาจมีความเสี่ยงบางอย่างซึ่งบริษัทฯ ยัง ไม่ทราบ หรือเป็นความเสี่ยงซึ่งในขณะนี้เชื่อว่าไม่มีนัยส�ำคัญ ตามกระบวนการบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ จะท�ำการประเมิน แต่ในที่สุดแล้วอาจมีผลกระทบอย่างส�ำคัญต่อธุรกิจของบริษัทฯ ความเสี่ยงจากแผนกลยุทธ์ โดยเน้นความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบ ได้ ความเสี่ยงต่างๆ อาจส่งผลกระทบในเวลาที่ต่างกัน หรือใน อย่างมากต่อการด�ำเนินงาน สถานะการเงินและชื่อเสียงของ
104
ปัจจัยความเสี่ยง
เวลาเดียวกัน และผลกระทบรวมของความเสี่ยงเหล่านั้นอาจส่ง ผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญกับบริษัทฯ ในด้านต่างๆ เช่น • แผนธุรกิจในระยะสั้น
และระยะยาว • รายได้ และกระแสเงินสด • ผลลัพธ์ทางการเงิน และความเชื่อมั่นในการลงทุน • มูลค่าปัจจุบันของทรัพย์สิน • มูลค่าทรัพย์สินในอนาคต และศักยภาพในการเติบโต • แผนสุขภาพและความปลอดภัยในระยะสั้น กลาง และยาว • ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม • ชื่อเสียงของบริษัทฯ การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ เป็นส่วนหนึ่งของแผน การบริหารความเสี่ยงองค์กร เพื่อใช้บริหารจัดการภัยคุกคาม หรือเหตุการณ์ด้านลบต่างๆ ซึ่งขัดขวางการด�ำเนินงานของ บริษทั ฯ ซึง่ ได้แก่ โรคระบาด ภัยจากการก่อการร้าย ภัยธรรมชาติ ซึง่ สร้างความเสียหายแก่ทรัพย์สนิ ส�ำคัญของบริษทั ฯ คณะกรรมการ บริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ มีหน้าทีก่ ำ� กับดูแลการปฏิบตั ติ าม แผนงานบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจเพื่อช่วยลดผลกระทบ จากภัยคุกคามต่างๆ ให้บริษัทฯ สามารถกลับมาด�ำเนินงานได้ ตามระยะเวลาทีก่ ำ� หนดไว้ บริษทั ย่อยแต่ละแห่งจะมีการก�ำหนด แผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจและแผนการจัดการในภาวะ วิกฤติ ซึ่งจะถูกทบทวนและทดสอบอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจ ว่าบริษทั ฯ ได้มแี ผนรองรับภาวะวิกฤติทมี่ ปี ระสิทธิภาพซึง่ ช่วยลด การหยุดชะงักในการด�ำเนินงาน เพือ่ สนับสนุนความสามารถในการจัดการภาวะวิกฤติ บริษทั ฯ ได้ จัดอบรมการสื่อสารในภาวะวิกฤติให้กับผู้บริหารที่เป็นตัวแทน ของบริษัทฯ ในการสื่อสารกับบุคคลภายนอก (spokesperson) เพื่อเตรียมพร้อมในการสื่อสารกับนักข่าวและบุคคลที่เกี่ยวข้อง อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความคุ้นเคยกับสถานการณ์ที่ อาจเกิดขึ้นในช่วงวิกฤติ นอกจากนี้ บริษัทย่อยต่างๆ ได้ทำ� การ ฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ ทัง้ บนแท่นขุดเจาะ บนเรือ และในส�ำนักงาน โดยการฝึกซ้อมนี้รวมถึงการทดสอบแผนฟื้นฟูความเสียหาย เพือ่ ให้แน่ใจว่าระบบคอมพิวเตอร์และโปรแกรมต่างๆ จะสามารถ กลับมาใช้งานได้ตามปกติภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด หลังจาก การฝึกซ้อม บริษัทฯ จะมีการวิเคราะห์และทบทวนข้อบกพร่อง ต่างๆ และก�ำหนดแผนงานเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องนั้นๆ บริษัทฯ มีการทบทวนและทดสอบแผนการบริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ เป็นระยะเพือ่ ปรับปรุงความสามารถในการปรับตัวและตอบสนอง ภาวะวิกฤติของบริษัทฯ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้ นโยบายและกระบวนการแจ้งการกระท�ำ ทีผ่ ดิ ปกติในองค์กร และนโยบายการต่อต้านการแก้แค้นอันเนือ่ ง มาจากการแจ้งการท�ำผิดดังกล่าว เป็นหนึ่งในนโยบายที่ส�ำคัญ ของจรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ ในการปฐมนิ เ ทศพนั ก งานใหม่ บริษัทฯ ได้แจ้งให้พนักงานปฏิบัติตามนโยบายและกระบวนการ ต่างๆ ของบริษทั ฯ โดยให้พนักงานทุกคนลงลายมือชือ่ เพือ่ ยืนยัน การรับทราบในการปฏิบัติตาม นอกจากนี้ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล จะท�ำการจัดอบรมเป็นระยะ เพื่อกระตุ้นเตือนพนักงาน ขณะที่ ฝ่ายตรวจสอบภายในท�ำการตรวจสอบและแจ้งจุดบกพร่องของ ระบบควบคุมภายในให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ รวมถึงรายงานให้ ผู้บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบ บริษัทฯ ได้จัดตั้ง “ตู้ไปรษณีย์” เพื่อเป็นช่องทางสื่อสารให้ ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคนสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียน ค�ำติชม ความเห็น หรือค�ำแนะน�ำต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารธุรกิจ และการ ปฏิบัติตามหลักจริยธรรมทางธุรกิจกับคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นกรรมการอิสระได้โดยตรง ตามที่อยู่ดังต่อไปนี้ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) ตู้ ป.ณ. 12 ปณฝ. ไทยพาณิชย์ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 whistleblowing@thoresen.com ผู้ตรวจสอบภายในที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น ที่จะสามารถเปิด “ตู้ไปรษณีย์” เพื่อเก็บจดหมายเดือนละสองครั้ง โดยจดหมาย ทัง้ หมดจะถูกส่งให้คณะกรรมการตรวจสอบโดยตรง เพือ่ ตรวจสอบ เรื่องร้องเรียน และพิจารณาการด�ำเนินการอย่างเหมาะสม รวมถึงรายงานในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ที่จัดขึ้นทุก ไตรมาส
ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ถึงแม้วา่ บริษทั ฯ จะมีการวางแผนกลยุทธ์อย่างละเอียดรอบคอบ แต่ก็ไม่ได้เป็นหลักประกันว่าจะสามารถบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ ได้ ความส� ำ เร็ จ ของแผนยั ง ขึ้ น อยู ่ กั บ การบริ ห ารความเสี่ ย ง และความไม่แน่นอนต่างๆ อีกด้วย เช่น ผลกระทบที่อาจเกิดจาก ความเสีย่ งทัง้ ทีบ่ ริษทั ฯ ทราบและไม่ทราบ การตัง้ สมมุตฐิ านทาง ธุรกิจไม่ถูกต้อง รวมถึงการที่ผลการด�ำเนินงานไม่เป็นไปตามที่ คาดการณ์หรือวางแผนไว้
แผนควบคุมการทุจริต เป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญของกรอบการ ความเสี่ ย งจากการก� ำ หนดแผนกลยุ ท ธ์ ที่ ไ ม่ บริหารความเสี่ยง มาตรฐานที่เข้มงวดในการด�ำเนินธุรกิจและ เหมาะสม หลักบรรษัทภิบาลเป็นสิ่งส�ำคัญที่ช่วยให้บริษัทฯ สามารถขยาย ธุ ร กิ จ และเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ดั ง นั้ น บริ ษั ท ฯ จึ ง น� ำ หลั ก การที่บริษัทฯ ไม่สามารถวางและปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์อย่าง จรรยาบรรณทางธุรกิจมาใช้ เพื่อเป็นแนวทางให้คณะกรรมการ ถูกต้อง รวมถึงไม่สามารถปรับแผนกลยุทธ์ตามการเปลี่ยนแปลง บริษทั ฯ ผูบ้ ริหารและพนักงานในการด�ำเนินธุรกิจอย่างมืออาชีพ ของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจได้อย่างทันเวลา เป็นความเสี่ยงที่
ปัจจัยความเสี่ยง
รายงานประจ� ำ ปี 2557
อาจมีผลกระทบด้านลบต่อการท�ำก�ำไรของบริษทั ฯ ในระยะกลาง และระยะยาว บริษทั ฯ จัดการกับความเสีย่ งนีโ้ ดยการจัดตัง้ ระบบ และกระบวนการในการทบทวนแผนกลยุทธ์ที่ท�ำขึ้นโดยหน่วย งานต่างๆ เป็นระยะ โดยค�ำนึงถึงความสามารถในการแข่งขัน และ การขยายแผนการลงทุนเพื่อสร้างมูลค่าธุรกิจ บริษัทฯ มีการ จัดประชุมคณะกรรมการบริหารทุกเดือน เพื่อตรวจสอบผลการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการปรับ แผนธุรกิจ และแผนกลยุทธ์ในระยะสั้น เพื่อให้บริษัทฯ สามารถ บรรลุ ต ามเป้ า หมายที่ ตั้ ง ไว้ รวมถึ ง การรายงานต่ อ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร ถ้ามีความจ�ำเป็นที่ต้องเปลี่ยนทิศทางการ ด�ำเนินธุรกิจ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้ทำ� การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ข้อมูล และสมมุติฐานที่บริษัทฯ ใช้ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่ เชือ่ ถือได้ และได้มกี ารปรึกษากับผูเ้ ชีย่ วชาญภายนอก เพือ่ ท�ำการ วิเคราะห์ และคาดการณ์สภาพเศรษฐกิจ สังคม และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินธุรกิจ
สภาพเศรษฐกิจที่ถดถอยอาจส่งผลท�ำให้รายได้ จากการด� ำ เนิ น งานลดลง และท� ำ ให้ บ ริ ษั ท ฯ สูญเสียความสามารถในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน ในต้นทุนที่เหมาะสม วั ฏ จั ก รในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ และสภาพเศรษฐกิ จ โดยรวมของ อุตสาหกรรม มีผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ธุรกิจ ขนส่ ง พลั ง งาน และโลจิ ส ติ ก ส์ มี ห นี้ สิ น เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ โครงสร้างเงินทุน ธุรกิจดังกล่าวขึ้นอยู่กับความสามารถในการ กู้ยืมเงินในอัตราและต้นทุนที่เหมาะสม ซึ่งในภาวะการเข้าถึง ตลาดเงินทุนที่จ�ำกัด หรือต้นทุนในการกู้ยืมที่สูงขึ้น อาจส่งผลให้ บริษัทฯ ไม่สามารถคงอัตราเติบโตตามที่ได้วางแผนไว้
105
ที่เกินคาดการณ์จากการขายกิจการในกรณีที่ผู้ซื้อไม่ปฏิบัติตาม ข้อตกลงในสัญญาซื้อขายกิจการ
การด�ำเนินงานของบริษัทร่วมทุน และหุ้นส่วน ธุรกิจ รวมถึงธุรกิจที่บริษัทฯ ไม่ได้บริหารงาน เอง อาจไม่ประสบผลส�ำเร็จตามเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ หรือ ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานของบริษัทฯ ปัจจุบัน บริษัทฯ มีการท�ำธุรกิจกับบริษัทร่วมทุนและหุ้นส่วน หลายบริษัท และอาจจะมีเพิ่มขึ้นในอนาคต จึงมีความเสี่ยงใน เรื่องของการบริหารจัดการบริษัทร่วมทุนและหุ้นส่วน ถึงแม้ว่า บริษทั ฯ จะถือหุน้ ใหญ่ หรือมีอำ� นาจในการควบคุมการด�ำเนินงาน ในบริษัทร่วมทุน แต่มีความเสี่ยงที่หุ้นส่วนอาจจะ: • มี ค วามสนใจและเป้ า หมายทางเศรษฐกิ จ และธุ ร กิ จ ที่ ไ ม่
สอดคล้องกับบริษัทฯ
• ใช้ สิ ท ธิ ใ นการยั บ ยั้ ง การปฏิ บั ติ ง านหรื อ กิ จ กรรมที่ บ ริ ษั ท ฯ
เชื่อว่าเป็นประโยชน์มากที่สุดกับบริษัทร่วมทุน • ไม่สามารถทีจ ่ ะปฏิบตั ติ ามข้อตกลงทีก่ ำ� หนดไว้ในสัญญาร่วมทุน ได้ เช่น การเพิ่มเงินทุนเพื่อขยายธุรกิจ หรือการบริหารจัดการ โครงการร่วมทุน เป็นต้น
กรณีที่หุ้นส่วนหรือบริษัทอื่นเป็นผู้บริหารจัดการบริษัทร่วมทุน บริษทั ฯ ได้มกี ารจัดหาผูเ้ ชีย่ วชาญเพือ่ ให้คำ� แนะน�ำในการปฏิบตั ิ งานอย่ า งถู ก ต้ อ งและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ แต่ เ นื่ อ งจากบริ ษั ท ฯ มีอ�ำนาจในการควบคุมที่จ�ำกัด อาจท�ำให้หุ้นส่วนที่บริหารงาน ปฏิบัติไม่สอดคล้องหรือไม่ตรงกับนโยบายในการด�ำเนินงานของ บริษัทฯ
การส�ำรวจหรือพัฒนาโครงการใหม่อาจจะไม่ ความน่าเชื่อถือของบริษัทฯ ขึ้นอยู่กับการรักษา เป็นผลส�ำเร็จผลตอบแทนที่ได้จากการลงทุน ชื่อเสียงและการปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ไม่สามารถชดเชยกับค่าใช้จ่ายที่เสียไปหรือเงิน ของบริษทั ฯ บริษทั ฯ ใช้จรรยาบรรณทางธุรกิจเป็นแนวทางในการด�ำเนินธุรกิจ ทุนส�ำรองที่ใช้ไปได้ทั้งหมด บริษัทฯ มีการก�ำหนดโครงการลงทุนใหม่ในแผนงานการพัฒนา ธุรกิจเพื่อเพิ่มมูลค่าองค์กร บริษัทฯ อาจไม่สามารถหาแหล่ง เงินทุนที่เพียงพอ หรือไม่สามารถหาหุ้นส่วนที่เหมาะสมในการ แบ่งต้นทุนของการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ การท�ำกิจกรรม ที่หลากหลายในการด�ำเนินธุรกิจก่อให้เกิดความเสี่ยงในหลาย รูปแบบ เช่น ประสิทธิภาพในการควบรวมกิจการเพื่อผนึกก�ำลัง ทางธุรกิจ การจ�ำหน่ายหนีส้ ญ ู หรือปรับโครงสร้างค่าใช้จา่ ยอย่าง มีนัยส�ำคัญ และการเกิดต้นทุนที่ไม่ได้คาดการณ์ไว้ นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ อาจจะต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การด� ำ เนิ น งานในอดี ต การละเลย และหนี้สินที่เกินคาดการณ์ซึ่งเกิดจากการควบรวม กิจการ ในทางกลับกัน บริษัทฯ อาจจะต้องรับภาระหนี้สิน
การท�ำให้พนักงานทุกคนปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณดังกล่าว เป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก เพราะการที่บริษัทฯ ไม่ปฏิบัติตามหรือ ถูกเข้าใจว่าไม่ท�ำตามหลักจรรยาบรรณ และข้อก�ำหนดทาง กฎหมายนั้นอาจท�ำให้ชื่อเสียงของบริษัทฯ เสียหาย ซึ่งอาจส่ง ผลกระทบต่อใบอนุญาตในการด�ำเนินกิจการ ชื่อเสียงบริษัทฯ โอกาส และความสามารถในการลงทุนหรือหาทรัพยากรใหม่ๆ ท�ำให้โอกาสในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนมีจำ� กัด ซึง่ ส่งผลต่อผลการ ด�ำเนินงานและสถานะการเงินของบริษัทฯ ในที่สุด นอกจากนี้ ยังมีหลายปัจจัยที่มีผลกระทบต่อมูลค่าและชื่อเสียง ของบริษัทฯ บางปัจจัยเป็นสิ่งที่บริษัทฯ ควบคุมไม่ได้ ได้แก่ การเปิดเสรีทางการตลาด ความชอบและรสนิยมของลูกค้า
106
ปัจจัยความเสี่ยง
การที่บริษัทฯ และบริษัทร่วมไม่ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ ทางกฎหมาย หรือปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อความพอใจใน การซือ้ สินค้าและบริการของลูกค้า ซึง่ สิง่ เหล่านีอ้ าจส่งผลกระทบ ทางด้านลบต่อชื่อเสียงของบริษัทฯ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ความเสี่ยงจากปัจจัยภายนอก ด้านสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจโลก ตลาดเงิน และตลาดสินค้า นอกจากความส�ำคัญในการรักษาชื่อเสียง บริษัทฯ ได้มีการ โภคภัณฑ์ มีอิทธิพลต่อผลการด�ำเนินงานและสถานะการเงิน ด�ำเนินการปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา เช่น การจดทะเบียน ของบริษัทฯ เนื่องจากรูปแบบในการด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวข้องกับ เครื่ อ งหมายการค้ า อย่ า งไรก็ ต ามกฎหมายและข้ อ บั ง คั บ มี ตลาดการค้าระหว่างประเทศ การเงิน อัตราดอกเบี้ย และอัตรา การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การละเมิดลิขสิทธิ์อย่างแพร่หลาย แลกเปลีย่ นสกุลเงิน การถดถอยของเศรษฐกิจโลกอาจท�ำให้ลกู ค้า และการที่ บ ริ ษั ท ฯ มี ก ารควบคุ ม ความเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วกั บ เลื่อนการท�ำธุรกิจและการลงทุนกับบริษัทฯ หรือมีมาตรการ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่ไม่เพียงพอ อาจส่งผลกระทบอย่าง ในการลดต้นทุนเพื่อรักษาสถานะทางการเงิน ปัจจัยเหล่านี้ รุนแรงต่อมูลค่าและความสามารถในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ อาจท�ำให้ความต้องการสินค้าหรือบริการลดลง และส่งผลกระทบ กับผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ
บริ ษัท ฯ ต้ อ งการศักยภาพในการบริหารการ เปลี่ยนแปลงของบุคลากรหลัก และผู้บริหาร ความเสี่ยงเฉพาะของแต่ละประเทศ บริษัทฯ มีการท�ำธุรกิจในหลายประเทศ ซึ่งท�ำให้เกิดความเสี่ยง ระดับสูงของบริษัทฯ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการด�ำเนินงาน บริษัทฯ ต้องสรรหา บุคลากรใหม่ รวมถึงการรักษาบุคลากรเดิมที่มีความรู้ความ สามารถและมีความเชี่ยวชาญสูงในการด�ำเนินธุรกิจ บริษัทฯ อาจไม่สามารถปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ได้ ถ้าขาดบุคลากรหลัก และผู้บริหารที่มีความรู้ความสามารถ ขาดการท�ำแผนสืบทอด บุคลากรอย่างต่อเนื่อง หรือการลงทุนในการพัฒนาบุคลากร ในบางธุรกิจที่บริษัทฯ มีการด�ำเนินงานอยู่ มีอัตราการเติบโตสูง ท�ำให้บริษัทฯ ต้องแข่งขันกับบริษัทอื่นเพื่อหาบุคลากรที่มีความ สามารถเข้าท�ำงาน การที่บริษัทฯ ไม่สามารถหาหรือรักษา บุคลากรเหล่านี้ไว้ได้อาจส่งผลกระทบต่อความส�ำเร็จในการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ อันได้แก่ ชื่อเสียง ความปลอดภัย และ ต้นทุนในการด�ำเนินงาน นอกจากนี้ ถ้าบริษทั ฯ ไม่มกี ารสนับสนุน การแบ่งปันหรือสืบทอดความรู้หรือทักษะในการท�ำงานภายใน องค์กร บริษทั ฯ อาจสูญเสียองค์ความรูท้ สี่ �ำคัญในการด�ำเนินงาน ถ้าพนักงานเหล่านั้นลาออกจากบริษัทฯ
บริษัทฯ มีความเสี่ยงทางด้านเทคโนโลยีและ ระบบสารสนเทศที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ การด�ำเนินงานของบริษัทฯ ต้องอาศัยระบบคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะระบบที่รวมเข้า กับกระบวนการในการด�ำเนินงาน ความเสียหายที่เกิดกับระบบ คอมพิวเตอร์ดงั กล่าว อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อประสิทธิภาพ ในการด�ำเนินงาน ถึงแม้ว่าบริษัทฯ ได้มีการเตรียมแผนบริหาร ความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ หรือ แผนฟืน้ ฟูความเสียหายไว้แล้วก็ตาม บริษัทฯ อาจสูญเสียลูกค้าหรือความสามารถในการหาลูกค้า ใหม่ๆ ท�ำให้เกิดต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่สูงตามมา ดังนั้น บริษัทฯ ได้มีการลงทุนเป็นอย่างมากในการป้องกันความเสียหายที่อาจ เกิดขึ้นกับระบบคอมพิวเตอร์ดังกล่าว เพื่อคงความได้เปรียบ ในการด�ำเนินธุรกิจ
ด้านการด�ำเนินงานในประเทศต่างๆ เช่น สถานการณ์ไม่สงบ การก่อการร้าย ความไม่มั่นคงทางเศรษฐกิจและการเมือง การ กีดกันทางการค้า การก�ำหนดให้มีการควบคุมอัตราแลกเปลี่ยน เงินตรา การประกาศสินทรัพย์สงวนของประเทศ สิง่ เหล่านีท้ ำ� ให้ บริษัทฯ ต้องมีความเชี่ยวชาญในการบริหารความเสี่ยง นอกจาก ปัจจัยเสี่ยงที่ได้กล่าวมาแล้ว อาจมีความไม่แน่นอนในเรื่อง กฏระเบียบและข้อบังคับของแต่ละภูมิภาค ถึงแม้ว่าบริษัทฯ มี ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติตามกฏระเบียบเหล่านั้น แต่การฝ่าฝืน โดยไม่ได้ตั้งใจอาจส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ
ความเสี่ยงด้านภัยธรรมชาติ การเกิดแผ่นดินไหว น�้ำท่วม พายุ หรือการเปลี่ยนแปลงสภาพ อากาศ เป็นภัยธรรมชาติที่อาจส่งผลให้เกิดการสูญเสียทาง การค้าหรือท�ำให้การด�ำเนินงานหยุดชะงักได้ ถึงแม้บริษัทฯ จะมี การท�ำประกันภัยแต่ก็ไม่อาจคุ้มครองทุกความเสียหายได้ และ การเพิม่ ความคุม้ ครองเพือ่ ให้ครอบคลุมความเสีย่ งอย่างเพียงพอ ก็มคี า่ ใช้จา่ ยทีส่ งู มาก ดังนัน้ เหตุการณ์หรือภัยธรรมชาติทเี่ กิดขึน้ นอกเหนือความคุ้มครองจึงอาจส่งผลกระทบร้ายแรงกับการ ด�ำเนินธุรกิจ
ความเสี่ยงจากภัยโจรสลัด ธุรกิจการเดินเรือและแท่นขุดเจาะนอกชายฝั่งเป็นธุรกิจที่มี ความเสี่ยงจากการโจมตีของโจรสลัด ในกรณีที่เกิดการโจมตี และเรือหรือแท่นขุดเจาะโดนยึด ท�ำลาย หรือเกิดความเสียหาย นอกเหนือจากความคุ้มครองของกรมธรรม์ประกันภัย หรือเกิด การบาดเจ็บหรือสูญเสียบุคลากร อาจส่งผลร้ายแรงต่อสถานะ การเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ
ปัจจัยความเสี่ยง
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ความเสีย่ งในการเกิดข้อพิพาทกับชุมชนท้องถิน่ การด� ำ เนิ น งานในบางแห่ ง ของบริ ษั ท ฯ ทั้ ง ในปั จ จุ บั น และ ในอนาคต ตั้งอยู่ใกล้กับชุมชนที่อาจมีการต่อต้านเนื่องจากมี ความเข้าใจว่าการปฏิบัติงานอาจเป็นอันตรายกับสิ่งแวดล้อม ความคาดหวังของชุมชนที่มีความซับซ้อนอาจขัดแย้งกับมุมมอง ทางธุรกิจของผู้ร่วมผลประโยชน์รายอื่นซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหา ที่ ย ากจะแก้ ไ ขตามมา ความคิ ด เห็ น ของผู ้ ร ่ ว มผลประโยชน์ และการยอมรับของชุมชน ขึน้ อยูก่ บั หลายปัจจัย เช่น อุตสาหกรรม ที่เกี่ยวข้อง การด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทอื่นๆ เหตุการณ์ที่ เกีย่ วข้องกับการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ในระดับท้องถิน่ ภูมภิ าค หรื อ ในประเทศ ในกรณี ที่ ร ้ า ยแรงที่ สุ ด ฐานการปฏิ บั ติ ง าน ของบริษัทฯ อาจตกเป็นเป้าหมายในการก่อความไม่สงบหรือ อาชญากรรม
บริษัทฯ มีความเสี่ยงที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบ ต่อสังคม มี ป ั จ จั ย หลายประการที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ชื่ อ เสี ย งและมู ล ค่ า ของ เครื่องหมายการค้าของบริษัทฯ รวมถึงแนวความคิดของผู้ร่วม ผลประโยชน์และความเข้าใจของชุมชนในพื้นที่ปฏิบัติงานของ บริษัทฯ ผลกระทบกับธุรกิจที่เกิดจากสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็น ปัญหาที่ต้องตรวจสอบอย่างละเอียด และอาจก่อให้เกิดความ เสียหายต่อชือ่ เสียง ถ้าบริษทั ฯ ไม่สามารถแสดงความรับผิดชอบ ทีเ่ พียงพอต่อสังคม หรือไม่ปฏิบตั ติ ามกฎข้อบังคับในเรือ่ งทีเ่ กีย่ ว กับความปลอดภัย ความมั่นคง การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน สิทธิมนุษยชน และการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของคน ในท้องถิ่น
การเปลี่ยนแปลงข้อก�ำหนดทางกฎหมายอาจ ส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินงานในอนาคต การพัฒนากฎหมายและข้อก�ำหนดต่างๆ ซึ่งรวมถึงการเปลี่ยน แปลงข้อบังคับในการผลิต ความรับผิดชอบต่อสินค้าและบริการ การจัดส่ง การน�ำเข้าสินค้า เครื่องหมายการค้าและบรรจุภัณฑ์ การบริโภค การโฆษณา การเปลี่ยนแปลงกฎหมายด้านภาษี (รวมถึ ง การเรี ย กเก็ บ ภาษี เ พิ่ ม ) มาตรฐานการบั ญ ชี การ เปลี่ ย นแปลงข้ อก� ำ หนดส� ำ หรับธนาคารและสถาบั น การเงิ น การเปลี่ยนแปลงกฎหมายสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และกฎหมาย ทีเ่ กีย่ วข้องกับแรงงานและเงินบ�ำนาญ ถึงแม้เปลีย่ นแปลงดังกล่าว อาจจะยังไม่ชัดเจนมากนัก แต่การริเริ่มเปลี่ยนแปลงสิ่งเหล่านี้ จะส่งผลกระทบอย่างมากในการเปลี่ยนแปลงกฎหมายและ ข้อบังคับที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน โดยยังมีความไม่ชัดเจนหรือไม่เข้าใจ ในข้ อ บั ง คั บ หลายๆ ข้ อ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ พระราชบั ญ ญั ติ ท าง กฎหมายที่ยังไม่ได้ถูกบัญญัติขึ้น และผลกระทบที่เกิดจากการ ปฏิ บั ติ ต ามพระราชบัญ ญัตินั้น ๆ การริเริ่ม เปลี่ยนแปลงและ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติตาม อาจส่งผลกระทบด้านลบ
107
อย่างรุนแรงกับการด�ำเนินธุรกิจ รวมถึงธุรกิจที่บริษัทฯ ไม่ได้ ควบคุ ม การด� ำ เนิ น งานแต่ ถื อ หุ ้ น อยู ่ เ ป็ น จ� ำ นวนมาก ทั้ ง นี้ บริษัทฯ ไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่า การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จะ มีผลกระทบมากน้อยเพียงใดกับงบการเงินรวม ผลการด�ำเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทฯ
ความเสี่ยงด้านการเงิน เงินปันผลหรือผลตอบแทนจากบริษัทย่อยและ บริษัทร่วม เนื่องจากทรัพย์สินส่วนใหญ่ของบริษัทฯ เป็นหุ้นที่ถืออยู่ใน บริษัทย่อยและบริษัทร่วมต่างๆ ดังนั้น กระแสเงินสดและความ สามารถในการช�ำระหนี้ต่างๆ ของบริษัทฯ ขึ้นอยู่กับเงินปันผล หรือผลตอบแทนที่ได้จากบริษัทเหล่านี้ ระยะเวลาและความสามารถในการจ่ายเงินปันผลของบริษทั ย่อย และบริษัทร่วมขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น กฎหมายที่ เกีย่ วข้อง สภาวะหนีส้ นิ และสถานะทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และการคาดการณ์ธุรกิจในอนาคต นอกจากนี้ การรับเงินปันผล จะมีการหักภาษี ณ ที่จ่าย ซึ่งท�ำให้จ�ำนวนเงินปันผลที่ได้รับจริง ลดลง ในกรณีที่บริษัทย่อยหรือบริษัทร่วมไม่จ่ายเงินปันผลหรือจ่าย ไม่สม�่ำเสมอ หรือโดนหักภาษี ณ ที่จ่ายในอัตราที่สูง อาจส่ง ผลกระทบอย่างมากต่อสถานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ สัดส่วนในการถือหุ้นของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมอาจลดลง ถ้าบริษัทย่อยและบริษัทร่วมนั้นมีการขอเพิ่มทุน และบริษัทฯ ตัดสินใจไม่เพิ่มทุนตามที่ร้องขอ นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นของบริษัท ย่อยและบริษัทร่วมรายอื่นอาจท�ำธุรกิจที่เป็นการแข่งขันกับ บริษัทฯ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งอาจท�ำให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์กบั ผูถ้ อื หุน้ รายอืน่ ของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นจากการลงทุนและการ ลดลงของมูลค่าเป้าหมายตามที่ตั้งไว้ บริษทั ฯ มีการกระจายการลงทุนในหลายอุตสาหกรรม การลดลง ของมูลค่าเป้าหมายในการลงทุนขนาดใหญ่อาจท�ำให้สว่ นผูถ้ อื หุน้ และมูลค่าทางบัญชีต่อหุ้นในงบการเงินรวมลดลงอย่า งมาก ในสถานการณ์ทมี่ ลู ค่าเป้าหมายของการลงทุนลดลงอย่างมีสาระ ส�ำคัญ บริษัทฯ อาจมีความจ�ำเป็นต้องบันทึกผลขาดทุนจาก การด้อยค่าของเงินลงทุน
108
ปัจจัยความเสี่ยง
บริษัทฯ มีการลงทุนส่วนใหญ่ในธุรกิจขนส่ง ธุรกิจบริการนอก ชายฝั่ง และธุรกิจโลจิสติกส์ การลดลงของมูลค่าเป้าหมายใน การลงทุนอาจท�ำให้กำ� ไรทางบัญชีลดลงอย่างมาก ซึง่ ท�ำให้ความ ได้เปรียบในการแข่งขันลดลงและส่งผลกระทบอย่างมากต่อความ สามาถในการลงทุนในธุรกิจใหม่ ท�ำให้กระทบต่อผลก�ำไรของ บริษัทฯ ในอนาคต
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัทฯ ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อก�ำหนดเหล่านั้นได้ ผู้ให้กู้อาจ เรียกร้องให้บริษัทฯ จ่ายหนี้คืนทั้งหมดก่อนถึงก�ำหนดช�ำระ ในกรณีที่สถานะทางการเงินไม่เป็นไปตามความคาดหวังของ ตลาด บริษทั ฯ อาจไม่สามารถท�ำรีไฟแนนซ์ทรัพย์สนิ ปัจจุบนั ของ บริษัทฯ ได้ในเงื่อนไขที่เหมาะสม แหล่งเงินทุนส�ำหรับการกู้ยืม ในอนาคต ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับสถานการณ์และสภาพคล่องของ ตลาดทุน
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจโลก ตลาดเงิน และ ตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ มีอทิ ธิพลต่อผลการด�ำเนิน สภาพคล่ อ งและกระแสเงิ น สดของบริ ษั ท ฯ งานและสถานะการเงินของบริษัทฯ เนื่องจาก อาจไม่เป็นไปตามทีค่ าดหวังส่งผลกระทบต่อแผน รูปแบบในการด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวข้องกับความ ค่าใช้จ่าย เสี่ยงด้านตลาดการค้าระหว่างประเทศ การเงิน การหาเงินทุนเพื่อใช้ในกิจกรรมและการด�ำเนินงานของบริษัทฯ เช่น การเพิ่มทุน การควบรวมกิจการ การสร้างนวัตกรรมใหม่ อัตราดอกเบี้ย และอัตราแลกเปลี่ยนสกุลเงิน และค่าใช้จ่ายอื่นๆ อาจเกิดความล่าช้าถ้าสถานะการเงินไม่ดีพอ บริษทั ย่อยและบริษทั ที่ TTA ถือหุน้ อยูม่ กี ารด�ำเนินงานในสภาวะ เศรษฐกิจและตลาดการเงินที่แตกต่างกันทั่วโลก ความไม่มั่นคง ทางการเมืองและเศรษฐกิจมีผลกระทบต่อตลาดเงินเหล่านั้น บริษัทฯ มีการออกหุ้นกู้และตราสารพาณิชย์เพื่อเป็นการเพิ่มทุน ในปัจจุบันการเข้าถึงตลาดทุนท�ำได้ยากขึ้น ซึ่งอาจส่งผลกระทบ ในทางลบต่ อ สภาพคล่ อ งและการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ความเสี่ยงทางด้านการเงิน รวมถึง ความผันผวนของราคาสินค้า โภคภัณฑ์ อัตราดอกเบี้ย และอัตราแลกเปลี่ยน การผิดนัด ช� ำ ระหนี้ ข องคู ่ ค ้ า และความเสี่ ย งจากการด� ำ เนิ น งานต่ า งๆ เนื่องจากบริษัทฯ มีฐานการด�ำเนินงานในหลายประเทศทั่วโลก ท�ำให้มีความเสี่ยงด้านการเปลี่ยนแปลงมูลค่าสกุลเงินและการ ควบคุมอัตราแลกเปลี่ยน ถึงแม้ว่าบริษัทฯ จะมีการใช้เครื่องมือ ป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน แต่การป้องกันก็ไม่ได้ ครอบคลุมในทุกกิจกรรมของบริษัทฯ ดังนั้น จึงยังมีความเสี่ยง ด้านอัตราแลกเปลี่ยนที่อาจมีผลกระทบต่อรายได้และกระแส เงินสดของบริษัทฯ บริษัทฯ มีการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการผันผวนของ อัตราดอกเบี้ยและลดต้นทุนดอกเบี้ย โดยการสร้างสมดุลและ ความเหมาะสมระหว่างการใช้อตั ราดอกเบีย้ แบบคงทีแ่ ละลอยตัว ส�ำหรับเงินกู้ยืม และการใช้ตราสารอนุพันธ์ เช่น การแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ยส�ำหรับเงินกู้ยืมระยะยาว นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังบริหารจัดการระยะเวลาโดยเฉลี่ยของเงินกู้ยืมให้สัมพันธ์ กับกระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานของบริษัทฯ
บริษัทฯ มีความเสี่ยงด้านความสามารถในการกู้ ยืมและการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดในสัญญาเงินกู้ บริษทั ฯ ต้องรักษาหรือเพิม่ ขีดความสามารถในการกูย้ มื เพือ่ ให้ได้ เงินทุนตามที่ได้คาดการณ์ไว้ โดยส่วนใหญ่ความสามารถในการ กู้ยืมจะขึ้นอยู่กับการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดในสัญญาเงินกู้ ถ้า
มูลค่าของเงินทุนส�ำรองที่ลดลงหรือมีเงินทุนส�ำรองไม่เพียงพอ รวมถึงการไม่สามารถใช้เงินทุนส�ำรอง ท�ำให้ความสามารถและ โอกาสในการรอดพ้นจากวิกฤติเศรษฐกิจลดลง
ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้จัดท�ำระบบการวางแผนกระแสเงินสด งบประมาณ รวมถึงคาดการณ์ความต้องการสภาพคล่องของ บริษัทฯ ในระยะสั้น กลาง และยาว บริษัทฯ ได้จัดตั้งมาตรการ ทางการเงินหลายด้านเพื่อรองรับความต้องการสภาพคล่องของ บริษัทฯ ได้แก่ จัดตั้งศูนย์กลางในการบริหารเงินสด รักษาระดับ เงินทุนให้เหมาะสม และจัดเตรียมวงเงินสินเชือ่ ทีไ่ ด้รบั การอนุมตั ิ แล้ว ซึง่ การทีบ่ ริษทั ฯ มีเงินทุนส�ำรองทีเ่ พียงพอและกระแสเงินสด จากการด� ำ เนิ น งานที่ มั่ น คง ท� ำ ให้ บ ริ ษั ท ฯ สามารถจั ด การ ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องและการกู้ยืมได้ ส่งผลให้เกิดความ มั่นคงทางการเงิน
ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ โทรีเซนชิปปิง้ : ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วกับธุรกิจขนส่ง สินค้าแห้งเทกอง โทรีเซนชิปปิ้ง เป็นเจ้าของ ผู้ด�ำเนินกิจการ และผู้เช่าเหมาเรือ ของกิจการเรือเดินทะเลแบบสินค้าแห้งเทกองทีใ่ ห้บริการทัว่ โลก ยกเว้นประเทศที่โดนคว�่ำบาตรทางการเมือง มีการท�ำประกันตัว เรือและเครื่องจักร และมีระบบน�ำร่องการเดินเรือที่ได้มาตรฐาน ลักษณะกิจการของบริษัทฯ ต้องเผชิญกับความเสี่ยงทางด้าน ภัยพิบัติทางทะเล อุบัติเหตุที่เกิดจากสภาพแวดล้อมซึ่งอาจ ส่งผลให้เกิดการเรียกร้องค่าชดเชยจ� ำนวนมาก ความสูญเสีย หรือความเสียหายของสินค้า/ทรัพย์สิน และการหยุดชะงักของ ธุรกิจเนื่องจากอุบัติเหตุหรือเหตุการณ์อื่นๆ ที่เกิดขึ้นจากความ บกพร่องของเครื่องจักร ความผิดพลาดของมนุษย์ การเมือง ในประเทศต่างๆ การนัดหยุดงาน การก่อการร้าย การปล้นสะดม สภาพอากาศที่รุนแรง รวมถึงกรณีและเหตุการณ์อื่นๆ ซึ่งอาจ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ต้ น ทุ น ที่ สู ง ขึ้ น เกิ ด ผลกระทบทางด้ า นชื่ อ เสี ย ง หรื อ การสู ญ เสี ยรายได้ อย่างไรก็ต าม บริษัทฯ ได้ มีก ารท� ำ ประกันภัยกับอุตสาหกรรมการประกันภัยระหว่างประเทศเพื่อ คุ้มครองความเสี่ยงเหล่านี้เกือบทั้งหมด อันเป็นมาตรฐานในการ ด�ำเนินงานส�ำหรับเจ้าของ/ผูป้ ระกอบการเรือระหว่างประเทศ ดัง นั้น บริษัทฯ ซึ่งประกอบธุรกิจขนส่งสินค้าแห้งเทกองจึงมีความ คุ ้ ม ครองที่ เ พี ย งพอส� ำ หรั บ กรณี แ ละเหตุ ก ารณ์ ดั ง ที่ ก ล่ า วมา ข้างต้น ถึงแม้ว่าเบี้ยประกันภัยจะแตกต่างกันไปตามความเสี่ยง ต่างๆ ที่สามารถประเมินได้ของบริษัทฯ รวมถึงพื้นที่ในการ เดินเรือ การด�ำเนินงานของบริษัทขนส่งสินค้าแห้งแบบเทกอง อยู่ภายใต้ กฎหมายและกฎระเบียบที่กว้างและมีการเปลี่ยนแปลงเสมอ การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบเหล่านี้ อาจส่งผลให้เรือถูกกักกัน น�ำไปสูก่ ารสูญเสียรายได้หรือการเรียกร้องค่าชดเชยจากผูเ้ ช่าเรือ โดยการปฏิบตั ติ ามกฏระเบียบใหม่นนั้ อาจมีคา่ ใช้จา่ ยทีส่ ำ� คัญใน การปรับปรุงเรือหรือการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการด�ำเนินงาน อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีความระมัดระวังในเรื่องเหล่านี้ และ มี ก ารด� ำ เนิ น งานตามมาตรฐานทางด้ า นเทคนิ ค และความ ปลอดภัยที่ก�ำหนดขึ้นระหว่างประเทศ ท�ำให้เรือของบริษัทฯ ไม่ประสบปัญหาโดนกักกันในปี 2557 ที่ผ่านมา ในการด�ำเนินงานของเรือ จ�ำเป็นต้องใช้บุคลากรที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมและมีทักษะความสามารถ ไม่ว่าจะเป็นพนักงานหรือ ลูกเรือ ในท�ำนองเดียวกัน บริษัทฯ จ�ำเป็นต้องมีผู้จัดการซึ่ง มี คุ ณ สมบั ติ แ ละความสามารถที่ เ หมาะสมในระดั บ องค์ ก ร ตลอดจนความรู้และประสบการณ์ทางเทคนิค การสรรหาและ รักษาบุคลากรดังกล่าวเป็นเรื่องที่ส�ำคัญส�ำหรับความส�ำเร็จใน การด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งประกอบธุรกิจขนส่งสินค้าแห้ง เทกอง อย่างไรก็ดี ด้วยการใช้นโยบายพนักงานที่เป็นธรรมและ เหมาะสม บริษัทฯ จึงประสบความส�ำเร็จในด้านการสรรหาและ รักษาบุคลากรที่มีทักษะความสามารถและคุณสมบัติสูง บริษัทฯ มีการวางแผนในการสรรหาและรักษาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง จึงท�ำให้ความเสี่ยงทางด้านนี้ลดลง เนือ่ งจากบริษทั ฯ ซึง่ ประกอบธุรกิจขนส่งสินค้าแห้งเทกองได้เพิม่ ระดับของการท�ำสัญญารับขนส่งสินค้าล่วงหน้า และมีการจัด ช่วงเวลาในการท�ำสัญญาเช่าให้สมดุลกับการเช่าเรือระยะยาว ดังนั้น จึงมีความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาน�้ำมันที่อาจ จะสูงขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงนี้ บริษัทฯ ได้เข้าท�ำสัญญาป้องกัน ความเสี่ยงส�ำหรับน�้ำมันเชื้อเพลิงที่จ�ำเป็นต้องใช้ในสัญญารับ ขนส่งสินค้าล่วงหน้า ซึ่งท�ำให้บริษัทฯ สามารถก�ำหนดสัดส่วน ต้นทุนทีส่ ำ� คัญทีเ่ กีย่ วข้องกับผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการเดินเรือ ได้ อุตสาหกรรมและตลาดการเดินเรือมีวัฏจักร และต้องประสบ กับความผันผวนในด้านความสามารถในการท�ำก�ำไร มูลค่า
ปัจจัยความเสี่ยง
109
ของเรือและอัตราค่าเช่าเรือ อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลง ในอุปทานและอุปสงค์ของปริมาณการขนส่งดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ในหัวข้อ “ข้อมูลและภาพรวมธุรกิจของธุรกิจขนส่งสินค้าแห้ง เทกอง” โดยวัฏจักรนี้อาจแตกต่างกันในเรื่องของจังหวะและ ระยะเวลาในการเกิด จากความไม่แน่นอนและความผันผวนอย่าง มากในตลาด ที่ซึ่งอัตราค่าเช่าเรืออาจปรับขึ้นหรือปรับลดอย่าง รวดเร็ว บริษัทฯ จึงมีความเห็นว่าเป็นการรอบคอบที่จะประกัน รายได้ในอนาคตด้วยการใช้อตั ราค่าเช่าเรือทีส่ งู ตามสมควรเท่าที่ จะเป็นไปได้ เพือ่ รองรับการปรับลดอย่างรวดเร็วของอัตราค่าเช่า เรือในตลาดให้เช่าระยะสัน้ และจ�ำกัดความผันผวนนี้ กลุม่ บริษทั ฯ มีเป้าหมายที่จะให้บริการกองเรือที่หลากหลายเพื่อให้เกิดความ สมดุล บริษัทฯ แบ่งเรือจ�ำนวนหนึ่งเพื่อให้เช่าเหมาล�ำแบบระยะ ยาว โดยมีสัญญารับขนส่งสินค้าล่วงหน้า นอกจากนี้ ยังมีการ กระจายความเสีย่ งในประเภทสินค้าและพืน้ ทีท่ ที่ ำ� การขนส่งไม่ให้ กระจุกตัวทีส่ นิ ค้าชนิดเดียวหรือพืน้ ทีใ่ ดพืน้ ทีห่ นึง่ ในการเดินเรือ บริษัทฯ มีการบริหารความเสี่ยงอย่างเข้มงวดเพื่อป้องกันการ ลดลงอย่างมากของอัตราค่าระวางเรือ โดยการท�ำสัญญาซื้อขาย ค่าระวางเรือล่วงหน้า (FFA) เพื่อเปรียบเทียบอัตราค่าระวางเรือ ประจ�ำวันกับอัตราเช่าในสัญญา บริษัทฯ ท�ำสัญญาซื้อขาย ค่าระวางเรือล่วงหน้าเพื่อป้องกันความเสี่ยงและผลขาดทุนใน กรณีทคี่ า่ ระวางเรือลดลงอย่างมีสาระส�ำคัญเท่านัน้ ไม่มนี โยบาย ในการเก็งก�ำไรจากการท�ำสัญญาประเภทนี้ อย่างไรก็ตามบริษทั ฯ มี ก ารติ ด ตามความเสี่ ย งด้ า นค่ า ระวางเรื อ เป็ น รายวั น และ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ อ นุ มั ติ ก ฎเกณฑ์ แ ละขี ด จ� ำ กั ด ใน การด�ำเนินงานเพื่อให้แน่ใจว่าบริษัทฯ จะได้รายได้จากการเดิน เรือตามที่ได้ตั้งเป้าไว้ อุ ป สงค์ ใ นธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ เกิ ด ขึ้ น มาจากปริ ม าณสิ น ค้ า ที่ ต้องการให้เรือของบริษัทฯ ท�ำการขนส่ง โดยอุปสงค์เหล่านี้ขึ้น อยู่กับการเติบโตของการค้าและเศรษฐกิจโลก ภาวะการเติบโต และการค้าทีต่ กต�ำ่ อย่างรุนแรงบวกกับการเปลีย่ นแปลงของแหล่ง วัตถุดิบ อาจมีผลกระทบกับอุปสงค์ของเรือ และการลดลงอย่าง มีสาระส�ำคัญของอุปสงค์ทำ� ให้ค่าระวางเรือต�่ำลง เช่นเดียวกับธุรกิจอื่น บริษัทฯ ซึ่งประกอบธุรกิจขนส่งสินค้า แห้งเทกองมีความเสี่ยงทางด้านคู่สัญญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ช่วงเวลาที่มีความฝืดเคืองทางด้านการเงิน อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ตระหนักถึงความเสีย่ งทางด้านคูส่ ญ ั ญาทีเ่ กีย่ วข้องกับการเช่าเรือ ระยะยาวและการท� ำสัญญารับขนส่งสินค้าล่วงหน้าอยู่เสมอ โดยได้ ใ ช้ ขั้ น ตอนการประเมิ น ที่ เ หมาะสมก่ อ นเข้ า ท�ำสัญ ญา บริษัทฯ ได้ท�ำการตรวจสอบสถานะทางการเงินและชื่อเสียง ของผู้เช่าเรือก่อนท�ำสัญญาเสมอ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้รักษา มาตรฐานในเรือ่ งการช�ำระเงินอย่างเข้มงวด โดยไม่คำ� นึงถึงระดับ ความน่าเชื่อถือทางการเงิน ด้วยเหตุนี้ในช่วงที่ตลาดซบเซาใน รอบปี ที่ ผ ่ า น บริ ษั ท ฯ จึ ง ไม่ มี ค วามสู ญ เสี ย ที่ มี นั ย ส� ำ คั ญ อันเนื่องจากการผิดสัญญาของผู้เช่าเรือ
110
ปัจจัยความเสี่ยง
จ�ำนวนหรือปริมาณของลูกค้า มีผลต่อรายได้ในการด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ ซึ่งรายได้ส่วนใหญ่ของบริษัทฯ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับลูกค้า รายใดรายหนึ่ง ดังนั้น บริษัทฯ จึงไม่มีความเสี่ยงในด้านการ กระจุกตัวในการท�ำธุรกิจหรือการสูญเสียธุรกิจจากลูกค้ารายใด รายหนึง่ และไม่มผี ลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อธุรกิจของบริษทั ฯ รวมถึงไม่ส่งผลให้เกิดการสูญเสียรายได้อย่างมีนัยส�ำคัญในทันที
ความเสี่ ย งด้ า นความสามารถในการทดแทน หรือขยายกองเรือ เรือมีอายุการใช้งานที่แน่นอน ดังนั้น บริษัทฯ จึงต้องท�ำการ หาเรือใหม่ทมี่ อี ายุนอ้ ยกว่าหรือทีม่ ขี นาดใหญ่กว่ามาทดแทนเรือ ที่ขายไปหรือหมดอายุอย่างต่อเนื่อง เพื่อคงไว้ซึ่งขนาดของ กองเรือทีส่ ามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริษทั ฯ มีความเสี่ยงที่อาจจะไม่สามารถซื้อเรือมือสอง (หรือรับมอบ เรือใหม่) ได้ในทันทีหรือในระยะเวลาอันรวดเร็ว และการที่ ไม่สามารถซื้อเรือได้ในราคาหรือเวลาที่เหมาะสม อาจท�ำให้ บริษัทฯ มีความเสี่ยงที่จะไม่สามารถหาเรือมาทดแทนเรือล�ำที่ ขายไปได้
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
และก๊าซธรรมชาติ ซึ่งมีผลกระทบต่อกิจกรรมการส�ำรวจการ พัฒนา และการผลิตน�ำ้ มันและก๊าซธรรมชาติในภูมภิ าคทีบ่ ริษทั ฯ ให้บริการอยู่ ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตะวันออกกลางและ แถบทะเลเหนือ บริษัทต่างๆ ที่ส�ำรวจน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติอาจยกเลิกหรือ ลดกิจกรรมการส�ำรวจ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับราคาตลาดของน�้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ ซึ่งอาจท�ำให้อุปสงค์งานบริการนอกชายฝั่ง ต่างๆ ของเมอร์เมดลดลงตามไปด้วย ถ้ากิจกรรมขุดเจาะและ การผลิตลดลงเป็นเวลานานอาจส่งผลทางด้านลบกับธุรกิจและ การด�ำเนินงานของบริษัทฯ
อุปสงค์ของธุรกิจงานบริการนอกชายฝั่งของเมอร์เมด มีความ ผันผวน ในช่วงเวลาที่มีอุปสงค์สูงแต่อุปทานมีอยู่จ�ำกัดจึงท�ำให้ มีอัตราค่าเช่าเรือสูง แต่ส่วนใหญ่มักจะตามด้วยช่วงเวลาที่มี อุปสงค์ตำ�่ ท�ำให้อุปทานล้นตลาด และมีผลท�ำให้อัตราค่าเช่าเรือ ต�่ำ การที่มีเรือสั่งต่อใหม่ เรือที่มีการปรับปรุงสภาพ เรือขุดเจาะ หรือเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมใต้นำ�้ ทีน่ ำ� กลับมาใช้ปฏิบตั งิ านอีก เข้ามาในตลาดท�ำให้เกิดอุปทานในตลาดมากขึ้น ซึ่งจะท�ำให้ยาก ต่อการขึ้นอัตราค่าเช่าเรือ หรืออาจมีผลท�ำให้อัตราค่าเช่าเรือ ในปลายปี 2554 บริษัทฯ ได้ลดกองเรือเหลือเพียง 15 ล�ำ ลดลงไป ทรัพย์สินที่ให้บริการนอกชายฝั่งของเมอร์เมดอาจต้อง เนื่องจากผลคาดการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจต�่ำลง ความรุ่งเรือง ถูกปล่อยทิ้งไว้โดยไม่ได้ใช้งาน หรือไม่เช่นนั้นแล้วเมอร์เมดต้อง ของตลาดการขนส่งระหว่างประเทศเมื่อไม่กี่ปีก่อนหน้านี้ ท�ำให้ ยอมท�ำสัญญาที่ได้รับค่าตอบแทนต�่ำตามสภาพตลาดในอนาคต ราคาเรือมือสองในตลาดสูงขึ้นอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน ดังนั้น ความสามารถในการต่อสัญญา หาลูกค้าใหม่ หรือการก�ำหนด บริษทั ฯ จึงคิดว่าไม่ควรซือ้ เรือในราคาทีส่ งู เกินไป เพราะจะท�ำให้ เงื่อนไขในสัญญาขึ้นอยู่กับสภาวะตลาดในขณะนั้น มีความเสี่ยงในเรื่องการด้อยค่าของทรัพย์สิน ถ้าตลาดการขนส่ง ระหว่างประเทศตกต�่ำลงและส่งผลให้เรือมีราคาลดลง อย่างไร นอกจากนี้ เนื่องด้วยสัญญาการให้บริการงานวิศวกรรมใต้น�้ำ ก็ตาม ในสามปีที่ผ่านมา (2555-2557) บริษัทฯ ขายเรือเพียง ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นสัญญาระยะสั้น การเปลี่ยนแปลงต่างๆ หนึง่ ล�ำ ในขณะทีไ่ ด้รบั มอบเรือต่อใหม่สองล�ำ และซือ้ เรือมือสอง ของสภาวะตลาดสามารถส่งผลกระทบต่อธุรกิจอย่างรวดเร็ว เป็นจ�ำนวนแปดล�ำในราคาที่เหมาะสม จึงเห็นได้ว่าความเสี่ยง และเนือ่ งด้วยธุรกิจงานบริการนอกชายฝัง่ ของเมอร์เมดเป็นธุรกิจ ทีบ่ ริษทั ฯ จะไม่สามารถหาเรือมาทดแทนได้ทนั เวลานัน้ ลดลงเป็น ทีท่ �ำสัญญาเป็นรายโครงการ ดังนัน้ กระแสเงินสดหมุนเวียนของ อย่างมากและคาดว่าจะไม่ส่งผลต่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ กลุ่มธุรกิจงานบริการนอกชายฝั่งจึงไม่อาจคาดเดาได้และอาจ ในปัจจุบันหรืออนาคตอันใกล้นี้ โดยการซื้อเรือดังกล่าวทดแทน ไม่สม�่ำเสมอ และจากความผันผวนของอุปสงค์ อาจท�ำให้ผล เรื อที่ ข ายไปก่ อ นหน้านี้ ท�ำ ให้บ ริษัทฯ มีค่าเสื่อมเฉลี่ ย และ ประกอบการของเมอร์เมดผันผวนได้ กลยุทธ์ของบริษัทฯ คือ ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานลดลง และเพื่อเตรียมพร้อมส�ำหรับ การให้สินทรัพย์ส่วนใหญ่ของเมอร์เมด มีสัญญาว่าจ้างระยะยาว การให้บริการเดินเรือที่ดีขึ้นในอนาคตเมื่อค่าระวางเรือกลับมา ซึ่งจะช่วยให้เมอร์เมดมีรายได้ที่แน่นอนและไม่ได้รับผลกระทบ จากสภาวะของตลาดในระยะสัน้ และยังเป็นเกราะป้องกันความ อยู่ที่ระดับปกติ เสี่ยงจากการผันผวนของตลาด
บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) : ความเสี่ยงที่เกี่ยวกับกลุ่มธุรกิจให้บริการนอก ชายฝั่ง
ธุรกิจงานบริการนอกชายฝัง่ ของเมอร์เมดมีความเสีย่ งหลายอย่าง โดยธรรมชาติทเี่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมน�ำ้ มันและก๊าซธรรมชาติ อาทิ อัคคีภยั ภัยธรรมชาติ ระเบิด การเผชิญกับความดันผิดปกติ การพุ่งออกมาของน�้ำมันหรือก๊าซระหว่างการขุดเจาะ ท่อน�้ำมัน บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) (“เมอร์เมด”) เป็น แตกและน�้ำมันล้นหรือรั่ว รวมถึงอุบัติเหตุที่มีผลกระทบด้าน ผู้ให้บริการงานนอกชายฝั่ง อันได้แก่งานขุดเจาะและวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม ส่งผลให้มีการเรียกร้องค่าเสียหายและธุรกิจหยุด ใต้น�้ำให้กับอุตสาหกรรมน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ธุรกิจของ ชะงัก เนือ่ งจากอุบตั เิ หตุทเี่ กิดจากเครือ่ งจักรช�ำรุด ความผิดพลาด เมอร์เมดอาจได้รับผลกระทบจากความผันผวนของราคาน�้ำมัน ที่เกิดจากคน สถานะการทางการเมือง สภาพอากาศแปรปรวน
รายงานประจ� ำ ปี 2557
และเหตุการณ์ดา้ นลบอืน่ ๆ ความเสีย่ งต่างๆ เหล่านีอ้ าจมีผลตาม มาอย่างร้ายแรง รวมทัง้ การสูญเสียชีวติ หรือบาดเจ็บอย่างรุนแรง ความเสียหายต่อทรัพย์สิน และอุปกรณ์ของเมอร์เมดหรือของ บริษัทลูกค้า เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม การฟ้องร้องเรียก ค่าเสียหายต่อการบาดเจ็บของบุคคล ผลกระทบต่างๆ ทางการ เมือง ต้นทุนที่สูงขึ้นและความเสียหายต่อชื่อเสียงของเมอร์เมด อย่างไรก็ตาม เมอร์เมดได้มกี ารซือ้ ประกันให้ครอบคลุมสถานการณ์ ที่กล่าวมาทั้งหมดอย่างเพียงพอ ซึ่งเบี้ยประกันภัยขึ้นอยู่กับการ ประเมินความเสียหายที่อาจเกิดจากความเสี่ยงดังกล่าว
ปัจจัยความเสี่ยง
111
ประการ คือ ความพร้อมของเรือทีจ่ ะใช้ขนส่ง และอัตราค่าระวาง เรือทีอ่ าจจะผันผวนในช่วงระยะเวลาทีม่ กี ารขนส่ง UMS ตระหนัก ถึ ง สถานการณ์ เ หล่ า นี้ ดี และได้ ด�ำ เนิ น การแก้ ไ ขด้ ว ยการเข้า ท�ำสัญญาระยะยาวแบบมีก�ำหนดเวลา (fixed long term contracts) กับผู้ขนส่งสินค้า ควบคู่ไปกับการท�ำสัญญาขนส่ง แบบทันทีตามราคาตลาด (spot contracts) เพื่อสร้างความ สมดุลด้านต้นทุนการขนส่ง ในขณะเดียวกัน ธุรกิจการขนส่งสินค้า แห้งเทกองของบริษทั ฯ ก็ได้ให้การสนับสนุนในเรือ่ งการปรับปรุง ข้อมูลและการวิเคราะห์ความเคลื่อนไหวของอัตราค่าระวาง ทุกสัปดาห์ ซึ่งท�ำให้ UMS สามารถท�ำการตัดสินใจได้อย่าง ถูกต้องและรวดเร็ว
เมอร์เมดมีการลงทุนอย่างมากในกองเรือ เพื่อขยายขีดความ สามารถในด้านความทันสมัยและขนาดของเรือ โดยเน้นการบ�ำรุง รักษาแบบครบวงจร รวมถึงการเข้าซ่อมแซมตามก�ำหนดระยะ เวลา เพื่อที่จะลดความเสี่ยงด้านความบกพร่องของอุปกรณ์ นอกจากนี้ เมอร์เมดยังคงเน้นย�้ำด้านความปลอดภัยอยู่เสมอ โดยมีระบบบริหารจัดการความปลอดภัยทีค่ รบถ้วนพร้อมใช้งาน ซึง่ จะประกอบไปด้วยแนวทางปฏิบตั ดิ า้ นความปลอดภัยทีช่ ดั เจน รวมไปถึง การจัดฝึกอบรมด้านความปลอดภัยอย่างละเอียด และจั ด โครงการเพื่ อ กระตุ ้ น ความสนใจด้ า นความปลอดภั ย ยิ่งไปกว่านั้น ลูกค้าได้มีการตรวจสอบกองเรืออยู่เป็นประจ�ำ และได้ให้ข้อมูลกับเมอร์เมดเพื่อใช้ในการตรวจซ่อมและบ�ำรุง รักษากองเรืออย่างต่อเนื่อง
1) ปริมาณของถ่านหินในตลาดตามข้อก�ำหนดเฉพาะ/คุณภาพที่ ต้องการ 2) ราคาของถ่านหินตามข้อก�ำหนดเฉพาะ/คุณภาพที่ต้องการ 3) อัตราแลกเปลี่ยนสกุลเงิน
ลูกค้าทีม่ ศี กั ยภาพของธุรกิจขุดเจาะก็มจี �ำนวนจ�ำกัด และจ�ำนวน โครงการที่มีศักยภาพของธุรกิจบริการนอกชายฝั่งก็มีจ�ำนวน จ� ำ กั ด เช่ น กั น ในแต่ ล ะปี จ� ำ นวนสั ญ ญา และโครงการไม่ กี่ โครงการ เป็นสัดส่วนทีส่ ำ� คัญต่อรายได้และก�ำไรของธุรกิจบริการ นอกชายฝั่งของเมอร์เมด ดังนั้น การสูญเสียลูกค้าของธุรกิจการ ขุดเจาะไปรายหนึ่งท�ำให้มีผลกระทบที่ร้ายแรงต่อธุรกิจขุดเจาะ และอาจส่งผลถึงรายได้และผลก�ำไรของเมอร์เมดโดยรวม ถ้า เมอร์เมดไม่สามารถหาลูกค้ารายใหม่มาทดแทนลูกค้าที่สูญเสีย ไปได้
จากมุมมองด้านราคา ดัชนีราคาถ่านหินส่วนใหญ่จะอิงตามราคา ตลาดโลก ราคาของถ่านหินจะผันผวนตามอุปทานและอุปสงค์ ทั่วโลก ดังนั้น การผันผวนของราคาถ่านหินจึงมีผลกระทบต่อ ต้นทุนสินค้า UMS มีการติดตามดัชนีราคาถ่านหินอย่างใกล้ชิด และด้วยการใช้สัญญาการจัดหาถ่านหินแบบมีก�ำหนดเวลาคงที่ ระยะยาวควบคู่กับสัญญาการจัดหาถ่านหินแบบระยะสั้น ท�ำให้ UMS สามารถบริหารต้นทุนสินค้าขายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปัจจัยหลักที่กระทบต่อต้นทุนและการจัดซื้อถ่านหินมีดังนี้ :
ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วกับปริมาณถ่านหินในตลาด มีผลกระทบมาจาก ประสิทธิภาพการผลิตของเหมือง และข้อก�ำหนดเกี่ยวกับความ ต้องการจากผู้น�ำเข้ารายใหญ่ โดยเฉพาะ โรงไฟฟ้าของประเทศ จีน ญี่ปุ่น อินเดีย และเกาหลี นอกจากนี้ UMS ยังมีความเสี่ยงที่ ในธุรกิจให้บริการวิศวกรรมนอกชายฝั่ง มีจ�ำนวนลูกค้าจ�ำกัด เกี่ยวกับข้อก�ำหนดเฉพาะและคุณภาพของถ่านหินซึ่งเกิดขึ้น เนื่องจากเป็นตลาดเป้าหมายเฉพาะกลุ่ม ดังนั้น เมอร์เมดอาจ ในประเทศอินโดนีเซียอยูเ่ สมอ UMS จะก�ำหนดปริมาณทีต่ อ้ งการ ได้รับผลกระทบด้านรายได้และก�ำไรเป็นอย่างมากถ้าลูกค้าหลัก น�ำเข้าถ่านหิน ตลอดจนข้อก�ำหนดเฉพาะและคุณภาพทีต่ อ้ งการ ของเมอร์เมดบอกยกเลิกสัญญาหรือปฏิเสธการต่อสัญญา และ โดยจะถู ก ระบุ อ ย่ า งละเอี ย ดในสั ญ ญาจั ด หาถ่ า นหิ น ซึ่ ง รวม ข้อก�ำหนดเกี่ยวกับเกณฑ์การปฏิเสธสินค้าและค่าปรับเนื่องจาก เมอร์เมดไม่สามารถหาลูกค้ารายใหม่มาทดแทนได้ สินค้าไม่ตรงตามที่ต้องการ
บริษทั ยูนคิ ไมนิง่ เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด (มหาชน) : ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มธุรกิจโลจิสติกส์ ถ่านหิน บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) (“UMS”) น�ำเข้า ถ่านหินมาจากประเทศอินโดนีเซีย โดยจะใช้เรือบรรทุกสินค้า แห้งเทกองหรือเรือล�ำเลียง ซึ่งมีความเสี่ยงที่เป็นไปได้อยู่สอง
ต้นทุนสินค้าขายของ UMS ประมาณร้อยละ 90 อยู่ในสกุลเงิน ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ในขณะที่รายได้ทั้งหมดเป็นเงินบาท เป็นเพราะรูปแบบการท�ำธุรกิจของ UMS เป็นการน�ำเข้าถ่านหิน จากประเทศอินโดนีเซียเพื่อน�ำมาขายให้อุตสาหกรรมภายใน ประเทศ ดังนั้น UMS จึงอาจมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ในขณะที่เงินบาทไทยมีมูลค่าลดลง ต้นทุนวัตถุดิบน�ำเข้าของ UMS จะสูงขึ้น UMS บริหารความเสี่ยงนี้ด้วยการใช้สัญญา ซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) ส�ำหรับต้นทุนการน�ำเข้าทั้งหมด จึงท�ำให้ UMS สามารถลด ความเสี่ยงทางด้านอัตราแลกเปลี่ยนได้เป็นอย่างมาก
112
ปัจจัยความเสี่ยง
คู่แข่งทางธุรกิจ การแข่งขันที่เพิ่มขึ้นได้ส่งผลให้เกิดการตัดราคาและท�ำให้อัตรา ก�ำไรขั้นต้นโดยรวมของผู้ค้าถ่านหินลดลง UMS ยังคงใช้กลยุทธ์ หลักในการสร้างความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ให้ต่างจากคู่แข่ง ตั ว อย่ างเช่ น UMS ให้ค�ำแนะน�ำ แก่ลูก ค้าเกี่ยวกับ คุ ณ ภาพ ของถ่ า นหิ น ที่ เ หมาะสมกั บ หม้ อ ไอน�้ ำ แต่ ล ะประเภทของ แต่ละอุตสาหกรรม รวมทั้งให้ค�ำแนะน�ำแก่ลูกค้าส�ำหรับค�ำถาม และปัญหาทางเทคนิค รวมถึงค�ำถามที่เกี่ยวกับบริการอื่นๆ เพื่อให้ลูกค้าได้รับสินค้าที่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท บาคองโค จ�ำกัด : ความเสี่ยงที่เกี่ยวกับ ธุรกิจปุ๋ย ราคาวัตถุดิบของปุ๋ยมีความผันผวนทั้งในประเทศและทั่วโลก ดังนั้น บริษัท บาคองโค จ�ำกัด (“บาคองโค”) จึงมีความเสี่ยง ในเรื่องการปรับปรุงต้นทุนสินค้าคงคลัง โดยเฉพาะเมื่อตลาดอยู่ ในภาวะตกต�่ำ หรือ อาจมีก�ำไรลดลงในภาวะที่ตลาดและราคา วัตถุดิบมีการปรับตัวสูงขึ้น ความเสี่ยงเหล่านี้สามารถเกิดขึ้นได้ ถ้าบาคองโคไม่สามารถปรับราคาขายได้อย่างรวดเร็วตามภาวะ ของตลาด
จากการที่ชุมชนมีความกังวลมากขึ้นเกี่ยวกับกระบวนการของ ถ่านหิน เมื่อเร็วๆ นี้ หน่วยงานในระดับท้องถิ่นและจังหวัด หลายแห่งได้ทำ� การบังคับใช้หรือเพิม่ เติมข้อก�ำหนดทีเ่ กีย่ วกับการ ป้องกันอย่างเคร่งครัด เพือ่ ทีจ่ ะปกป้องดูแลชุมชนและสิง่ แวดล้อม UMS ได้ปรับปรุงโรงงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เป็นไปตามและ/ หรือเหนือกว่าข้อก�ำหนดดังกล่าว ท�ำให้ UMS ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ISO 14001 ซึ่งข้อก�ำหนดเหล่านี้จะเป็นการป้องกัน ไม่ให้ผปู้ ระกอบการรายย่อยทีม่ กี ารลงทุนเพียงเล็กน้อยเข้ามาท�ำ ธุรกิจได้โดยง่าย เพราะในทีส่ ดุ แล้วผูป้ ระกอบการเหล่านัน้ จ�ำเป็น จะต้องมีการลงทุนเพิม่ เป็นจ�ำนวนมากในการปรับปรุงเครือ่ งจักร และอุปกรณ์ ทีก่ องเก็บถ่านหิน เพือ่ ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดป้องกัน สิ่งแวดล้อมที่ได้ก�ำหนดขึ้น
ถึงแม้วา่ ความเสีย่ งเหล่านีอ้ าจจะไม่สามารถถูกก�ำจัดไปได้ทงั้ หมด แต่สามารถบรรเทาและลดลงได้ด้วยการใช้แนวทางการควบคุม 2 วิธี คือ
ความเข้าใจของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อม
บาคองโคจั ด ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ ทั้ ง จากในประเทศและต่ า งประเทศ ในสัดส่วนที่เท่ากัน คือ ซื้อจากในประเทศร้อยละ 50 และ ต่างประเทศร้อยละ 50 ด้วยนโยบายเชิงกลยุทธ์ของบาคองโค ในการด�ำรงสินค้าคงคลังทีร่ ะดับต�ำ่ และการจัดซือ้ วัตถุดบิ แบบทัน เวลา (just-in-time) ส่งผลให้บาคองโคมีความเสี่ยงต่อโอกาสที่ จะขาดแคลนวัตถุดิบมากขึ้นในเวลาที่วัตถุดิบในตลาดมีปริมาณ น้อย
ก) การรักษาสินค้าคงคลังให้อยู่ในระดับต�่ำ เพื่อจ�ำกัดความเสี่ยง ในภาวะตลาดตกต�่ำ และ ข) การใช้นโยบายก�ำหนดราคาและส่วนลดที่แน่นอน ควบคู่กับ การบริหารจัดการลูกค้าด้วยมาตรฐานของคุณภาพทีเ่ หนือกว่า ดังนั้น บาคองโคจึงสามารถรักษาสัดส่วนก�ำไรไว้ได้ ถึงแม้ว่า จะมีการปรับขึ้นของราคาวัตถุดิบก็ตาม
การจัดซื้อวัตถุดิบ
ถ่านหินมีหลายประเภท ได้แก่ แอนทราไซต์ บิทมู นิ สั ซับบิทมู นิ สั และลิกไนต์ เมื่อมีการเผาไหม้ถ่านหิน ออกซิเจนในอากาศจะ ท�ำปฏิกิริยากับถ่านหิน ท�ำให้เกิดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ถ้า SO2 ถูกสูดดมเข้าไปในร่างกายหรือสัมผัสกับผิวหนัง อาจ มีผลกระทบกับปอดหรือเกิดอาการแพ้ได้ ซึ่งฝุ่นจากถ่านหินก็ บาคองโคมีการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้จัดหาสินค้าและ ท�ำให้เกิดอาการแพ้ได้เช่นกัน วั ต ถุ ดิ บทั้ ง ขนาดกลางและขนาดใหญ่ ใ นต่ า งประเทศมาเป็น ปัจจุบัน UMS น�ำเข้าถ่านหินบิทูมินัสและซับบิทูมินัส ซึ่งมีค่า เวลานาน ซึ่งผู้จัดหาสินค้าเหล่านี้ต่างให้การช่วยเหลือและ ก�ำมะถันในระดับต�ำ่ (ปริมาณก�ำมะถันอยู่ในช่วงร้อยละ 0.1-1.5 สนั บสนุ น บาคองโคอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ด้ ว ยมาตรฐานการยึ ดมั่น ในขณะที่น�้ำมันเตามีก�ำมะถันอยู่ในช่วงร้อยละ 0.1-3.0) ซึ่ง ด้า นคุ ณ ภาพ การปฏิ บัติ ต ามข้ อผู ก พั นทางสั ญญา และการ ช�ำระเงินที่ตรงเวลา ท�ำให้บาคองโคสามารถซื้อวัตถุดิบจาก ท�ำให้เกิดผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า ผู้จัดหาสินค้าได้ตามปริมาณและในเวลาที่ต้องการเสมอ เพือ่ ทีจ่ ะลดทัศนคติในเชิงลบและผลกระทบทางด้านสิง่ แวดล้อม ต่อชุมชน UMS จึงได้ควบคุมดูแลกระบวนการผลิตอย่างใกล้ชิด และให้เป็นไปตามกฎข้อบังคับของรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง UMS ได้ลดการแพร่กระจายของฝุ่นละอองด้วยการใช้ระบบการ จัดเก็บแบบปิด การจัดให้มีผ้าใบคลุมรอบกองถ่านหิน การฉีดน�ำ้ ดักฝุ่นไม่ให้ฟุ้งกระจาย การสร้างรั้วสูงรอบคลังสินค้า และการ ปลูกต้นไม้โดยรอบบริเวณโรงงานเพื่อดักฝุ่นละออง รถที่บรรทุก ถ่านหินจะมีผ้าใบปิดคลุมมิดชิด และจะมีการล้างล้อรถบรรทุก ก่อนที่จะออกจากโรงงานเพื่อไม่ให้เศษถ่านหินตกลงบนถนน
การแข่งขันของธุรกิจปุ๋ยภายในประเทศ ประเทศเวียดนามเป็นตลาดทีม่ กี ารแข่งขันสูงส�ำหรับปุย๋ และเคมี เกษตรกรรม (Agrochemical) ปัจจุบัน การผลิตปุ๋ย NPK ในเวี ย ดนาม (ทั้ ง แบบผสมและอั ด เม็ ด ) อยู ่ ใ นระดั บ เกิ น ขี ด ความสามารถของการผลิต ซึ่งขณะนี้ก�ำลังมีการวางแผนการ ด�ำเนินงานอีกหลายโครงการส�ำหรับปีต่อๆ ไป
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ปัจจัยความเสี่ยง
113
บาคองโคเลื อ กกลยุ ท ธ์ ก ารสร้ า งความแตกต่ า งและมุ ่ ง เน้ น ที่ผลิตภัณฑ์พิเศษเฉพาะทาง เพื่อจ�ำกัดความเสี่ยงในการแข่งขัน บาคองโคมีสตู รปุย๋ มากกว่า 50 สูตร ตัง้ แต่สตู รทีใ่ ช้ในตลาดทัว่ ไป จนถึงสูตรพิเศษเฉพาะ ซึ่งท�ำให้มั่นใจได้ว่าบาคองโคยังคงเป็น ผูน้ ำ� ในการแข่งขัน ซึง่ โดยทัว่ ๆ ไปแล้วจะมีผลิตภัณฑ์เพียง 10-15 ประเภทเท่านั้น
ค�ำเตือนและค�ำแนะน�ำในเรื่องข้อความที่กล่าว ถึ ง เหตุ ก ารณ์ ข ้ า งหน้ า หรื อ ที่ มี ก ารคาดการณ์ ล่วงหน้า
บาคองโคจัดการความเสีย่ งนีโ้ ดยการบริหารจัดการห่วงโซ่อปุ ทาน (Supply chain) อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้มีการสื่อสาร และการประสานงานระหว่ า งฝ่ า ยขายและฝ่ า ยผลิ ต อย่ า งมี ประสิทธิภาพ โรงงานจะทราบถึงค�ำสัง่ ซือ้ ทีเ่ ข้ามาล่วงหน้าหลาย สัปดาห์ บวกกับบาคองโคมีแผนการบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์และ เครื่องจักรเพื่อป้องกันความช�ำรุดบกพร่อง และเพื่อรักษาก�ำลัง การผลิ ต ไว้ อ ย่ า งสม�่ ำ เสมอ หลั ง จากนั้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ะผ่ า น กระบวนการบรรจุลงถุงแบบอัตโนมัติ และถูกจัดส่งให้กับลูกค้า โดยเร็วที่สุด
เหตุการณ์ข้างหน้าที่กล่าวถึงนี้ เป็นการคาดการณ์ข้อมูลหรือ เหตุการณ์จนถึงในช่วงเวลาที่เอกสารนี้ถูกท�ำขึ้นเท่านั้น บริษัทฯ ไม่มีหน้าที่ในการปรับปรุงข้อความที่กล่าวถึงเหตุการณ์ข้างหน้า ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงในเงื่อนไขหรือสถานการณ์ต่างๆ ที่ ไ ด้ ก ล่ า วถึ ง ไปแล้ ว อย่ า งไรก็ ต าม ผู ้ อ ่ า นควรศึ ก ษาข้ อ มู ล เพิ่มเติมจากเอกสารหรือข้อมูลที่บริษัทฯ ประกาศหรือส่งให้กับ คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ซึ่งผู้อ่านทุกคนควรรับทราบถึงการเปิดเผยข้อมูลเหล่านั้น
ข้อมูลหรือเอกสารนี้มีข้อความที่กล่าวถึงเหตุการณ์ข้างหน้า ซึง่ ข้อความเหล่านีไ้ ม่เกีย่ วกับข้อเท็จจริงทีเ่ คยเกิดขึน้ ในอดีตหรือ ปัจจุบัน โดยข้อความที่กล่าวถึงเหตุการณ์ข้างหน้า รวมถึง บาคองโคมีกระบวนการผลิตหลายระบบ และยังเพิม่ มูลค่าให้กบั ข้อความทั้งหมดที่เป็นการคาดการณ์ วางแผน ทัศนคติและการ ผลิตภัณฑ์ดว้ ยกระบวนการผลิตพิเศษเฉพาะทาง เช่น การอัดแน่น มองแนวโน้มที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต อันได้แก่ ผลการด�ำเนินงาน (Compaction) USP และการเคลือบปุ๋ยด้วยสารชีวภาพ ด้วย ก�ำไร อัตราการเติบโต แนวโน้มตลาด ผลกระทบจากอัตรา แนวทางนี้ ท�ำให้บาคองโคสามารถรักษาชือ่ เสียงและภาพลักษณ์ แลกเปลีย่ นและดอกเบีย้ ความสามารถและต้นทุนในการกูย้ มื ของ ของผลิตภัณฑ์ในตลาดซึง่ เป็นสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพสูง มีการให้บริการ บริษัทฯ การคาดการณ์ต้นทุนและเงินส�ำรอง การปฏิบัติตาม ทีด่ ี และคิดค้นสิง่ ใหม่อย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้บาคองโคสามารถรักษา แผนกลยุทธ์และการปรับโครงสร้าง การคาดการณ์อัตราภาษี สัดส่วนก�ำไรและส่วนแบ่งการตลาดไว้ได้ และสภาวะเศรษฐกิ จ โดยรวม โดยปกติ ข ้ อ ความที่ ก ล่ า วถึ ง เหตุการณ์ข้างหน้าจะมีความเสี่ยงและความไม่แน่นอน เพราะ การส่งมอบปุ๋ยที่ตรงเวลา เป็นการกล่าวถึงเหตุการณ์ทยี่ งั ไม่เกิดขึน้ หรือเป็นเหตุการณ์ทขี่ นึ้ ด้วยนโยบายการผลิตแบบทันเวลาของบาคองโค สินค้าส�ำเร็จรูป อยู่กับปัจจัยต่างๆ ในอนาคต โดยมีหลายปัจจัยที่อาจท�ำให้ คงคลังจึงมีปริมาณต�่ำ ซึ่งอาจท�ำให้ความเสี่ยงที่จะส่งมอบสินค้า ข้อความทีก่ ล่าวถึงเหตุการณ์ขา้ งหน้าเหล่านีไ้ ม่ตรงกับข้อเท็จจริง ทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ รวมถึงปัจจัยภายนอกทีบ่ ริษทั ฯ ไม่สามารถควบคุมได้ ให้แก่ลูกค้าล่าช้ามีมากขึ้น
การปฏิบัติตามกฏข้อบังคับทางกฎหมาย รัฐบาลเวียดนามได้กำ� หนดมาตรฐานส�ำหรับสูตรปุย๋ เพือ่ คุม้ ครอง ผูบ้ ริโภค และมีการบังคับใช้บทลงโทษต่างๆ ถ้ามีการตรวจพบว่า ผลิตภัณฑ์ไม่ได้ผลิตตามมาตรฐานและข้อก�ำหนดเฉพาะที่ได้ ก�ำหนดไว้ บาคองโคมีการน�ำเข้าและจัดซื้อวัตถุดิบจากผู้จัดหา สินค้าต่างประเทศและในประเทศที่เชื่อถือได้ อีกทั้งมีชื่อเสียง ในฐานะเป็นผู้ผลิตปุ๋ยที่มีคุณภาพสูง นอกจากนี้ ด้วยแนวทางใน การคิดค้นและสร้างสรรค์สูตรการผลิต ผลิตภัณฑ์ของบาคองโค จึงเป็นไปตามหรือเหนือกว่ามาตรฐานต่างๆ ที่รัฐบาลก�ำหนด ไว้เสมอ
114
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ส�ำหรับงวด 3 เดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
“ความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการตรวจสอบรวมถึ ง การก�ำกับดูแลความโปร่งใสของงบการเงินของบริษัทฯ ความ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพของระบบการควบคุม ภายใน และติ ดตาม สอบทานประสิทธิภาพ ผลการปฏิบัติงาน และความเป็น อิสระของผู้ตรวจสอบภายในและผู้สอบบัญชีจากภายนอก”
หน้าที่และความรับผิดชอบ
บริษัทฯ ได้มีการเปลี่ยนรอบปีบัญชีจากเดิม เพื่อให้การด�ำเนิน งานด้านบัญชีของบริษัทฯ เป็นไปตามสากลปฏิบัติและเพื่อ ประโยชน์ตอ่ ผูใ้ ช้งบการเงิน บริษทั ฯ จึงได้มกี ารเปลีย่ นแปลงรอบ ระยะเวลาบัญชีจากวันที่ 1 ตุลาคม - 30 กันยายน ของทุกปี เป็นวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม ของทุกปี ในระหว่างงวด สามเดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ซึ่งเป็นงวดแรกที่มีการ เปลี่ยนรอบระยะเวลาบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบมีการ ประชุมรวม 5 ครั้ง การเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบ แต่ละท่านสรุปได้ตามตาราง ดังนี้
คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและรับฟังค�ำชี้แจง จาก ผูส้ อบบัญชีและผูบ้ ริหารทีร่ บั ผิดชอบในการจัดท�ำรายงานทางการ เงิน ในเรื่องข้อมูลที่ส�ำคัญของงบการเงินของบริษัทฯ รวมทั้ง งบการเงินรวมของบริษทั โทรีเซนไทย เอเยนต์ซสี ์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ตลอดจนการเปลีย่ นแปลงนโยบายบัญชีทมี่ สี าระ ส�ำคัญ รายการระหว่างกันกับบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกันที่มี สาระส�ำคัญ รายการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ ทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ ที่มีสาระส�ำคัญ การเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องและครบถ้วน รายการผิ ด ปกติ แ ละประมาณการที่ มี ส าระส� ำ คั ญ (ถ้ า มี ) เพื่ อ ประโยชน์ ข องนั ก ลงทุ น หรื อ ผู ้ ใ ช้ ง บการเงิ น ก่ อ นเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ อนุมตั งิ บการเงินดังกล่าว ผูบ้ ริหาร เป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบในการจั ด ท� ำ การน� ำ เสนองบการเงิ น และ การควบคุมภายในที่จ�ำเป็นในการจัดท�ำงบการเงิน ในขณะที่ ผู ้ ส อบบั ญ ชี รั บ ผิ ด ชอบในการแสดงความเห็ น ต่ อ งบการเงิ น ดังกล่าว ในการสอบทาน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน
หน้าที่และความรับผิดชอบหลักของคณะกรรมการตรวจสอบ คือการให้การสนับสนุนต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ในการท�ำ หน้าที่ก�ำกับดูแลในเรื่องที่เกี่ยวกับรายงานทางการเงิน ความมี ประสิทธิผลของระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม ภายใน การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง เรียนท่านผู้ถือหุ้น การติดตามดูแลคุณสมบัติ ความเชี่ยวชาญ ความเพียงพอของ กรรมการตรวจสอบทุกท่านมีความเป็นอิสระ ไม่เป็นกรรมการ ที ม งานและความเป็ น อิ ส ระของทั้ ง ผู ้ ต รวจสอบภายในและ ที่มีส่วนร่วมในการบริหารงานของบริษัทฯ จากการเคยด�ำรง ผูต้ รวจสอบบัญชีของบริษทั ฯ รวมทัง้ การประเมินประสิทธิผลของ ต�ำแหน่งผู้ช่วยผู้ว่าการ สายปฏิบัติการและผู้อ�ำนวยการอาวุโส การปฏิบตั งิ านของผูต้ รวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบรายงาน ฝ่ายตรวจสอบ ธนาคารแห่งประเทศไทย นายกฤช ฟอลเล็ต ผลการปฏิบตั งิ านพร้อมทัง้ ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ รั บ การพิ จ ารณาจากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ว่ า เป็ น ผู ้ ที่ มี อย่ า งสม�่ ำ เสมอ เมื่ อ ไหร่ ก็ ต ามที่ ค ณะกรรมการตรวจสอบมี ประสบการณ์ ท างด้ า นการบั ญ ชี แ ละการเงิ น และเป็ น ผู ้ ที่ มี ข้อสงสัย หรือมีความเห็นว่าควรมีการด�ำเนินการแก้ไขหรือ ความรู้ความสามารถที่เหมาะสมกับต�ำแหน่งประธานกรรมการ ปรับปรุงในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการบริหารความเสีย่ งและการควบคุม ตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบท่านอื่นๆ มีคุณสมบัติครบถ้วน ภายใน รายงานทางการเงิน หรือในเรื่องอื่นๆ ที่ตรวจสอบพบ ตามที่ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ง คณะกรรมการตรวจสอบจะรายงานข้อสงสัยหรือข้อเสนอแนะใน สอดคล้องกับข้อก�ำหนดและแนวทางปฏิบัติที่ดีของส�ำนักงาน เรื่องต่างๆ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างทันท่วงที การปฏิบัติ คณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และ หน้าที่ที่ส�ำคัญของคณะกรรมการตรวจสอบสามารถสรุปได้ดังนี้ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งมีความเข้าใจด้านการ บัญชีหรือการเงินและมีนางสาวรัญชน์ภาวี แดงน้อย ผูอ้ ำ� นวยการ การปฏิบัติหน้าที่ที่ส�ำคัญ ฝ่ายตรวจสอบภายใน (Chief Audit Executive “CAE”) ท�ำ หน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ 1. รายงานทางการเงิน
นายกฤช ฟอลเล็ต นายสันติ บางอ้อ นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์
จ�ำนวนครั้งของการประชุม 1 2 3 4 5 • • •
• • •
• •
• •
• • •
รายงานประจ� ำ ปี 2557
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ
115
รายงานที่ได้รับจากทั้งผู้บริหารและผู้สอบบัญชี โดยเฉพาะการ และมุ่งเน้นให้ตรวจสอบประสิทธิผลของจุดควบคุมภายในที่ รายงานในเรือ่ งความเสีย่ งหรือการประเมินต่างๆ ทีม่ สี าระส�ำคัญ ส�ำคัญของแต่ละระบบงาน ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้น นางสาวรัญชน์ภาวี แดงน้อย ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชี ผู้อ�ำนวยการฝ่ายตรวจสอบภายใน (Chief Audit Executive โดยไม่มีฝ่ายบริหาร เพื่อปรึกษาหารือกันอย่างอิสระถึงข้อมูลที่มี “CAE”) เมื่อเดือนกันยายน 2555 ภายหลังจากการพิจารณา สาระส�ำคัญในการจัดท�ำงบการเงิน รวมทั้งปัญหาหรืออุปสรรค คั ด เลื อ กผู ้ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว นอย่ า งรอบคอบ ในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมี ม ติ เ ห็ น ว่ า นางสาวรั ญ ชน์ ภ าวี มี มีความเห็นว่าบริษัทฯ มีระบบรายงานทางการเงินที่เหมาะสม ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์การท�ำงานที่เหมาะสม เพื่อการเปิดเผยข้อมูลทางการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูล กับการด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการฝ่ายตรวจสอบภายในของ ที่ขัดแย้งกับข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญ และมีการจัดท�ำตาม บริษัทฯ ในการท�ำงานที่ผ่านมา นางสาวรัญชน์ภาวี ได้น�ำเสนอ ต่อคณะกรรมการตรวจสอบถึงแนวทางและวิธีการปฏิบัติงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ของฝ่ า ยตรวจสอบภายใน เพื่ อ ให้ ก ารท�ำงานเป็ น ไปอย่า งมี นอกจากทีก่ ล่าว ผูต้ รวจสอบภายในได้ทำ� การสอบทานรายการที่ ประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ทัง้ กิจกรรมการตรวจสอบภายใน เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยให้ความส�ำคัญกับบริษทั ย่อยหรือหน่วยงานทีม่ ีความเสีย่ งสูง เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า รายการดั ง กล่ า วเป็ น ไปตามข้ อ ก� ำ หนดของ จากการประเมินความเสี่ยงของบริษัทฯ และในการให้ค�ำปรึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แก่ ห น่ ว ยงานต่ า งๆ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส ่ ง เสริ ม และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหน่วยงานก�ำกับดูแล ความเป็นอิสระของผู้อ�ำนวยการฝ่ายตรวจสอบภายใน และได้ อื่ น ๆ มี ค วามสมเหตุ ส มผลเพื่ อ ประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริ ษั ท ฯ ท�ำการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของ นางสาวรัญชน์ภาวี ร่วมกับ ผลการสอบทานได้น�ำเสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบและ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และสรุปว่า คณะกรรมการบริษัทฯ ตามล�ำดับ ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจสอบ สามารถปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและที่ก� ำหนด ได้มคี วามเห็นว่ารายการเกีย่ วโยงกันมีความโปร่งใส สมเหตุสมผล ไว้ในกฎบัตรอย่างดีเยี่ยม และเป็นไปตามมาตราฐานสากลการ เป็นธรรม ปราศจากความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในสาระส�ำคัญ ปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่บริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานผลการประเมิ น ความ เพี ย งพอและเหมาะสมของระบบการควบคุ ม ภายใน ที่ ฝ ่ า ย 2. ระบบการควบคุมภายใน ตรวจสอบภายในได้รายงาน รวมทั้งผลการตรวจสอบระบบงาน คณะกรรมการบริษทั ฯ รับผิดชอบในการให้ความมัน่ ใจว่าบริษทั ฯ ทีส่ ำ� คัญในธุรกิจหลักของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย นอกจากทีก่ ล่าว มีกระบวนการการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่ คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินระบบการควบคุมภายในด้าน เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ กระบวนการนัน้ ได้ถกู จัดท�ำขึน้ เพือ่ การบริหาร ด้านการเงิน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ตาม บริหารหรือลดระดับความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่บริษัทฯ สามารถ แนวทางทีก่ ำ� หนด โดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ บรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการท� ำ ธุ ร กิ จ ได้ มิ ใ ช่ เ พื่ อ ก� ำ จั ด ไม่ ใ ห้ มี และตลาดหลักทรัพย์ ผูต้ รวจสอบภายในได้แจ้งผลการตรวจสอบ ความเสี่ยงเกิดขึ้น และกระบวนการดังกล่าวสามารถให้ความ และประเด็นที่พบแก่ผู้รับตรวจและผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง มั่นใจในระดับที่สมเหตุสมผลว่า จะไม่มีข้อผิดพลาดหรือความ ข้ อ แนะน� ำ ที่ เ หมาะสมและติ ด ตามการด� ำ เนิ น การแก้ ไ ขหรื อ เสียหายที่มีสาระส�ำคัญ มิใช่การก�ำจัดข้อผิดพลาดหรือความ ปรับปรุง และรายงานผลต่อคณะกรรมการตรวจสอบ จากผล เสียหายทั้งหมด การตรวจสอบพบว่าระบบงานดังกล่าวทีว่ างไว้เหมาะสมกับธุรกิจ ของบริษัทฯ นอกจากที่กล่าว ผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็นที่ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาความเป็นอิสระของฝ่าย สอดคล้องว่าไม่พบข้อบกพร่องในการควบคุมภายในที่เป็นสาระ ตรวจสอบภายใน ซึ่ ง ครอบคลุ ม ถึ ง สายการบั ง คั บ บั ญ ชา ส�ำคัญที่มีผลกระทบต่องบการเงินของบริษัทฯ คณะกรรมการ ในฝ่าย เพื่อให้มั่นใจว่าฝ่ายตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระ ตรวจสอบจึงมีความเห็นว่าบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ และน่าเชื่อถือ ตลอดจนทุกกิจกรรมการตรวจสอบภายในและ เหมาะสมและเพียงพอ รวมถึงการประเมินสภาพแวดล้อมการ บทบาทในการเป็นที่ปรึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ควบคุมขององค์กร การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม มีประสิทธิผล เพื่อประโยชน์สูงสุดแก่บริษัทฯ และผู้ถือหุ้น โดย ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล และระบบการติดตาม การตรวจทานขอบเขตในการตรวจสอบ ความรับผิดชอบและ ผลการด�ำเนินงาน ตามที่ฝ่ายบริหารเห็นว่าจ�ำเป็นส�ำหรับการ หน้าที่ของผู้ตรวจสอบภายใน รวมถึงอนุมัติการแก้ไขกฎบัตร ประกอบกิจการของบริษัทฯ และไม่พบข้อบกพร่องของการ ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน และการปรับแผนการตรวจสอบ ควบคุมภายในที่มีสาระส�ำคัญ ประจ�ำปี ที่จัดท�ำขึ้นตามความเสี่ยงที่มีสาระส�ำคัญของบริษัทฯ
116
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ
3. การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ป ระชุม ร่ว มกับ แผนกก�ำกั บดู แล กิจการ เพื่อสอบทานให้มั่นใจในการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ตลอดจนกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ บริษัทฯ นอกจากนี้ ในรอบระยะเวลาสามเดือนนี้ไม่มีรายงาน จากผู ้ ส อบบั ญ ชี ว ่ า พบพฤติ ก ารณ์ อั น ควรสงสั ย ว่ า กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ได้กระท�ำความผิดตามมาตรา 89/25 แห่งพระราชบัญญัติ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ จึ ง มี ค วามเห็ น ว่ า บริ ษั ท ฯ ได้ ป ฏิ บั ติ ต ามกฎหมายข้ อ บั ง คั บ และระเบี ย บที่ ใ ช้ บั ง คั บ กั บ การด�ำเนินงานของบริษัทฯ ตามกฎหมายที่สำ� คัญ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการตรวจสอบจึ ง เสนอบริ ษั ท เคพี เ อ็ ม จี ภู มิ ไ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีให้คณะกรรมการบริษัทฯ พิ จ ารณา ก่ อ นเสนอขออนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น แต่ ง ตั้ ง นางศิริเพ็ญ สุขเจริญยิ่งยง ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3636 และ/หรื อ นายเจริ ญ ผู ้ สั มฤทธิ์ เ ลิ ศ ผู ้ ส อบบั ญชี รั บอนุ ญาต เลขที่ 4068 และ/หรือ นายวีระชัย รัตนจรัสกุล ผู้สอบบัญชี รับอนุญาตเลขที่ 4323 และ/หรือ นางสาวพรทิพย์ ริมดุสิต ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 5565 จากบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ส�ำหรับปีสิ้นสุด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 และอนุ มั ติ ค ่ า สอบบั ญ ชี ส� ำ หรั บ งบการเงินเฉพาะบริษัทฯ และส�ำหรับบริษัทในกลุ่มบริษัทฯ เป็น จ�ำนวนเงิน 3.63 ล้านบาท และ 18.95 ล้านบาท ตามล�ำดับ
6. การประเมินผลการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรม 4. การรับแจ้งข้อมูลการกระท�ำผิดและการทุจริต การตรวจสอบ (Whistleblowing) ในกรณีที่มีข้อร้องเรียนเกิดขึ้น คณะกรรมการตรวจสอบจะได้ รับทราบรายการสรุปข้อร้องเรียนการกระท�ำผิดและการทุจริต รวมถึงผลการสอบสวนของผู้ตรวจสอบภายในตามนโยบายการ ให้ข้อมูลการกระท�ำผิดและการทุจริต ไม่มีข้อร้องเรียนในเรื่อง การกระท�ำผิดหรือการทุจริตในรอบระยะเวลาสามเดือนนี้
5. การพิจารณาเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประเมินความเหมาะสมของ ขอบเขตการปฏิบัติงาน ค่าสอบบัญชี ความโปร่งใส และความ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการปฏิ บั ติ ง านของผู ้ ส อบบั ญ ชี จ ากบริ ษั ท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด การประเมินประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงาน จะท�ำการประเมินก่อนที่จะมีการให้คำ� แนะน�ำใน การแต่งตั้งผู้สอบบัญชีต่อคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการ ตรวจสอบท�ำการสอบทานประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ ผู้สอบบัญชี โดยเปรียบเทียบกับข้อตกลงต่างๆ ที่ได้ท�ำไว้ใน ตอนแรกและการท�ำงานกับผู้บริหารของบริษัทฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังพิจารณาถึงผลสะท้อนจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับการท�ำงานของผู้สอบบัญชี ในการพิจารณาจะ ครอบคลุมในเรื่องต่างๆ เช่น คุณภาพของการตรวจสอบทั้งหมด การใช้เวลาในการให้ค�ำแนะน�ำในการแก้ปัญหา คุณภาพของ ทีมงานในเรื่องความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในธุรกิจ หลักของบริษัทฯ และการท�ำงานตามแผนงานที่วางไว้
คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบร่ ว มกั น ทั้ ง คณะ ตามกฎบั ต ร คณะกรรมการตรวจสอบที่ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษัทฯ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง และตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นไป ตามเกณฑ์ ตามแบบประเมินจากคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ ซึ่งผลของการประเมินแสดงให้เห็นว่า คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและที่ก�ำหนดไว้ใน กฎบัตรอย่างดีเยี่ยม โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามความ รับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ด้วย ความระมั ด ระวั ง และรอบคอบ และมี ค วามเป็ น อิ ส ระอย่ า ง เพียงพอ ตลอดจนได้ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อ ประโยชน์ตอ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกันอย่างต่อเนือ่ ง คณะกรรมการตรวจสอบให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การมี ร ะบบการ ควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่ต่อเนื่อง ซึ่งจะท� ำ ให้บริษัทฯ มีการก�ำกับดูแลที่ดี โดยมีระบบการควบคุมภายใน ที่เพียงพอและเหมาะสมกับธุรกิจของบริษัทฯ มีการบริหาร ความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ ระบบบัญชีและรายงานทางการเงิน มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือ และการปฏิบัติงามกฎหมายและ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน)
จากการพิจาณาอย่างรอบคอบคณะกรรมการตรวจสอบมีมติ เห็นว่า ผูส้ อบบัญชีจากบริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด มีความเป็นอิสระ มีความรู้และประสบการณ์ในระดับแนวหน้า ของการปฏิบัติงานสอบบัญชี ประกอบกับจากการพิจารณา ผลการปฏิบัติงานในปีที่ผ่านมา พบว่าเป็นที่น่าพอใจ รวมถึง นายกฤช ฟอลเล็ต ค่าตอบแทนมีความเหมาะสม ประธานกรรมการตรวจสอบ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
117
การควบคุมภายในและ การบริหารจัดการความเสี่ยง ส�ำหรับงวด 3 เดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
“TTA ให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินงานที่มีระบบการควบคุม ภายในที่ เ ข้ ม แข็ ง ที่ ท� ำ ให้ ธุ ร กิ จ สามารถด� ำ เนิ น ไปควบคู ่ ไปกับการบริหารจัดการความเสีย่ งโดยไม่ทำ� ให้บริษทั ฯ มีความ เสี่ยงที่ไม่สามารถยอมรับได้ หรือชื่อเสียงของบริษัทฯ ได้รับ ความเสียหาย”
การควบคุมภายใน คณะกรรมการบริษัทฯ รับผิดชอบในการก�ำกับดูแลให้ TTA มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม โดยพิจารณาเรื่องดังต่อไปนี้ · ก� ำ หนดลั ก ษณะและขนาดของความเสี่ ย งที่ มี ส าระส� ำ คั ญ ที่สามารถยอมรับได้ ในการที่จะท�ำให้บริษัทฯ สามารถบรรลุ เป้าหมายทางกลยุทธ์ (the Board’s risk appetite) และ · ก�ำหนดให้ผู้บริหารจัดให้มีกระบวนการในการระบุ ประเมิน รวมทั้งการลดระดับความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในด้าน การสอบทานการมีประสิทธิภาพของระบบการควมคุมภายใน ของบริ ษั ท ฯ ในการสอบทานคณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ซึ่งรวมถึงข้อมูลดังต่อไปนี้ ่ มัน่ จากการท�ำงานของผูต้ รวจสอบภายใน ผ่าน · การให้ความเชือ ขัน้ ตอนการวางแผนการตรวจสอบประจ�ำปี ซึง่ ได้รบั การอนุมตั ิ จากคณะกรรมการตรวจสอบ ในการวางแผนการตรวจสอบ จะเน้นในเรือ่ งการพิจารณาประเมินความเสีย่ ง และการควบคุม ภายในที่ส�ำคัญที่ได้ถูกวางไว้ เพื่อลดระดับหรือป้องกันความ เสี่ยงนั้น · การรายงานผลของการบริ ห ารความเสี่ ย ง การปฏิ บั ติ ต าม กฎระเบียบและข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง โดยเฉพาะในเรือ่ งทีม่ สี าระ ส�ำคัญ ซึ่งได้มีการรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบโดย ผู้บริหารระดับสูงอย่างสม�ำ่ เสมอ · การให้ ค วามเชื่ อ มั่ น ในเรื่ อ งที่ ต รวจสอบโดยผู ้ ต รวจสอบ ภายนอก
ฝ่ายตรวจสอบภายใน เป็นหน่วยงานที่มีความเป็นอิสระและ รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ฝ่ายตรวจสอบภายใน ท�ำหน้าที่ในการสนับสนุนการท�ำงานของคณะกรรมการตรวจ สอบและคณะกรรมการบริษัทฯ โดยการท�ำการประเมินความ เหมาะสมของระบบการควบคุมภายในที่ส�ำคัญที่บริษัทฯ วางไว้ อย่างสม�่ำเสมอ ทั้งในด้านความเหมาะสมของการควบคุมและ การปฏิบัติตามระบบ ประเด็นที่ตรวจพบไม่ว่าจะเป็นจากความ เสี่ยงจากการด�ำเนินธุรกิจ การควบคุมภายใน และในเรื่องอื่น ไม่ว่าจะเป็นจากปัจจัยภายในหรือภายนอกจะถูกน�ำมาพิจารณา ว่ามีผลกระทบในวงกว้างหรือไม่ ประเด็นจากการตรวจสอบที่ ส�ำคัญจะถูกรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ บริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบจะท�ำการติดตามการแก้ไขหรือ ปรับปรุงของผูบ้ ริหารจนกว่าจะได้ขอ้ สรุปเป็นทีน่ า่ พอใจ นอกจาก นี้ รายงานที่ส�ำคัญจะถูกน�ำเสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างสม�่ำเสมอทั้งจากผู้บริหาร ฝ่าย ตรวจสอบภายใน และฝ่ายก�ำกับดูแล โดยรายงานจะครอบคลุม ในเรือ่ งทางการเงิน การควบคุมภายในในการด�ำเนินงานและการ ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง การควบคุมภายในของบริษัทฯ ปฏิบัติตามกรอบโครงสร้าง การควบคุมภายในซึ่งอ้างอิงตามอิงตามมาตรฐานสากลของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) ซึ่งมีองค์ประกอบที่ส�ำคัญ 5 องค์ประกอบดังนี้
1. สภาพแวดล้อมภายในองค์กร บริษัทฯ สนับสนุนให้มีสภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ดี โดยมีการ ก�ำหนดนโยบาย การวางแผน การด�ำเนินการ การควบคุม และ การก� ำ กั บ ดู แ ลที่ เ หมาะสม มี ก ารจั ด โครงสร้ า งการบริ ห าร ให้เหมาะสมกับขนาดและการด�ำเนินธุรกิจของ บริษัทฯ ยึดมั่น ในปรัชญาและจรรยาบรรณธุรกิจ โดยบริษัทฯ คาดหมายให้ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง เป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี ใ นเรื่ อ งความซื่ อ สั ต ย์ แ ละ จริยธรรมแก่พนักงานทุกคน มีการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อย่างเท่าเทียมกันโดยค�ำนึงถึงความเป็นธรรมต่อทุกฝ่ายตาม หลักบรรษัทภิบาลที่ดี
118
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
บริษัทฯ ได้มีการก�ำหนดวิธีการในการกระจายอ�ำนาจหน้าที่ เพื่อให้มั่นใจว่าการอนุมัติในเรื่องที่มีสาระส�ำคัญต่างๆ จะได้รับ การพิจารณาโดยผู้มีอ�ำนาจหน้าที่ที่เหมาะสม ความรับผิดชอบ ของพนักงานในแต่ละระดับได้ถกู ก�ำหนดขึน้ อย่างชัดเจน พืน้ ฐาน ทีส่ ำ� คัญของคุณภาพในการท�ำงานได้ถกู อธิบายไว้ในคูม่ อื พนักงาน (Code of Conduct) ส�ำหรับพนักงานทุกคน โดยเน้นการสร้าง ส�ำนึกถึงความรับผิดชอบต่อลูกค้า การท�ำงานให้บรรลุเป้าหมาย ร่วมกัน การให้ความเคารพซึ่งกันและกัน การท�ำงานร่วมกัน และเชื่อมั่นซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ เป้าหมายและวิธีที่จะบรรลุ เป้ า หมายทางธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ได้ ถู ก วางแผนและก� ำ หนด เป็นแนวทางไว้ส�ำหรับพนักงานทุกคนร่วมกันปฏิบัติตาม โดยมี การติดตามประเมินผลอย่างใกล้ชิดจากฝ่ายบริหาร นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ให้ มี ก ารจั ด ท� ำ ขอบเขตอ� ำ นาจหน้ า ที่ เ ฉพาะ ต�ำแหน่ง (Job description) การก�ำหนดขอบเขตลักษณะงาน (Job specification) และการมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่และ ความรับผิดชอบในแต่ละต�ำแหน่งงานอย่างเหมาะสม บริษัทฯ ตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการก� ำ หนดสภาพแวดล้ อ มของ การควบคุ ม ที่ เ หมาะสมจะน� ำ ไปสู ่ ค วามมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลขององค์กร
2. การประเมินความเสี่ยง ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ ได้มีการทบทวนนโยบาย แนวทาง และแผนการบริหารจัดการความเสีย่ งอย่างสม�ำ่ เสมอ นอกจากนี้ ผู้บริหารและพนักงานทุกคนได้รับการสนับสนุนให้มีความเข้าใจ และตระหนักถึงความส�ำคัญของการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อลดระดับผลกระทบ หรือป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นอย่างทันท่วงที ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้สนับสนุนให้มีการตระหนักถึงความรับผิดชอบ ร่วมกันของพนักงานทุกคนต่อการบริหารจัดการความเสีย่ งส�ำคัญ ที่มีผลกระทบต่อเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ขององค์กร โครงสร้างการ บริหารจัดการความเสีย่ งได้จดั วางอย่างมีแบบแผน มาตรการและ แผนการบริหารความเสี่ยงได้ถูกก�ำหนดจากปัจจัยความเสี่ยงที่ อาจเกิดขึ้นต่อธุรกิจ เป้าหมาย และการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ทั้งจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก การประเมินความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้นยังน�ำมาถึงเป้าหมายของการควบคุมบริหารความ เสี่ยงโดยการใช้วิธีการควบคุมต่างๆ ที่เหมาะสม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้มีการก�ำหนดให้มีการรายงานความเสี่ยงที่อาจ เปลีย่ นแปลงไป รวมทัง้ การควบคุมติดตามให้มกี ารบริหารจัดการ ความเสี่ยงนั้นๆ อย่างเหมาะสมและทันท่วงที แผนการบริหาร ความเสี่ ย งจะถู ก ติ ด ตามและทบทวนความเหมาะสมอย่ า ง รอบคอบก่อนจะให้กบั คณะกรรมการบริษทั ฯ โดยคณะกรรมการ ของบริษัทฯ ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ท�ำหน้าทีใ่ นการด�ำเนินการทบทวนกรอบนโยบายการบริหารความ เสี่ยง และโครงสร้างการบริหารความเสี่ยง รวมทั้งให้ข้อเสนอ แนวทางในการบริหารความเสี่ยงที่สอดคล้องต่อทิศทางกลยุทธ์ การด�ำเนินงานและแผนธุรกิจ พร้อมก�ำกับดูแลติดตามและ สอบทานการรายงานการบริหารความเสี่ยงที่ส�ำคัญ เพื่อให้ สอดคล้องกับมาตรฐานและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
3. กิจกรรมการควบคุม บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ ภายใต้ความเสีย่ งทีส่ ามารถยอมรับได้ เหมาะสมกับธุรกิจและการ ปฏิบัติงานของพนักงานในแต่ละฝ่าย การควบคุมภายในถูก ก�ำหนดให้มีการปฏิบัติตามผ่านข้อก�ำหนด นโยบายและวิธีการ ปฏิบัติงานของบริษัทฯ และได้มีการสอบทานและพัฒนาอย่าง สม�่ำเสมอ การท�ำรายการธุรกรรมระหว่างบริษัทฯ และบุคคลที่ เกี่ยวข้องกัน รวมทั้งข้อตกลงต่างๆ ทางการค้าได้มีการควบคุม ดูแลอย่างระมัดระวังและรอบคอบ เสมือนหนึ่งว่าธุรกรรมและ ข้อตกลงนั้นได้ถูกท�ำกับบริษัทอื่นๆ ตามปกติในทางการค้าเพื่อ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ เพือ่ ป้องกันมิให้เกิดความขัดแย้งกับ ผลประโยชน์ของทางบริษัทฯ และเป็นไปตามข้อก�ำหนดของ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและหน่วยงานก�ำกับดูแล อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังสนับสนุนให้พนักงาน ให้ความส�ำคัญกับการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่วาง ไว้ รวมทั้งกฎหมาย ข้อบังคับและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อลด ความเสี่ยงในด้านต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นรวมทั้งความเสี่ยงจากการ ทุจริตและการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายต่างๆ
4. ข้อมูลและการติดต่อสื่อสาร ระบบสารสนเทศได้รบั การพัฒนาเพือ่ ประสิทธิภาพในการด�ำเนิน ธุรกิจ และตอบสนองความต้องการของฝ่ายบริหาร บริษัทฯ ยังให้ความส�ำคัญเกีย่ วกับความถูกต้อง เชือ่ ถือได้และทันต่อเวลา ของข้อมูลสารสนเทศ รวมถึงการสือ่ สารข้อมูล ทัง้ นีว้ ตั ถุประสงค์ หลักก็เพื่อความถูกต้อง และทันเวลาของข้อมูลที่จะน� ำมาใช้ ประกอบการตัดสินใจ โดยบริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อระบบ สารสนเทศและการสื่อสารโดยจัดให้มีการประมวลผลอย่างเป็น ระบบ ตลอดจนมีระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล และ การก�ำหนดแผนส�ำรองฉุกเฉินทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ส�ำหรับป้องกันใน เรือ่ งความปลอดภัยของระบบสารสนเทศขณะทีม่ อี บุ ตั ภิ ยั ร้ายแรง จนระบบไม่สามารถปฏิบัติงานได้ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีระบบ การจัดเก็บข้อมูลที่สามารถตรวจสอบความถูกต้องย้อนหลังได้ และระบบข้อมูลที่สามารถวิเคราะห์หรือบ่งชี้จุดที่อาจจะเกิด ความเสี่ยง ซึ่งท�ำการประเมินและจัดการความเสี่ยงพร้อมทั้ง บันทึกหรือรายงานผลไว้อย่างครบถ้วน นอกจากนี้ ระบบการ ควบคุมภายที่เกี่ยวข้องกับการบัญชีและการเงินได้ถูกจัดวางไว้ อย่างเหมาะสม เพือ่ ท�ำให้สามารถจัดท�ำข้อมูลทีเ่ พียงพอแก่ให้แก่ ผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง โดยบริษัทฯ ได้ด�ำเนินการตามพระราช บัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในการ จัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ตามประกาศกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร บริษัทฯ ยังได้ลงทุนเพื่อ สร้ า งระบบการสื่ อ สารที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพทั้ ง จากภายในและ ภายนอกบริษทั ฯ รวมทัง้ จัดให้มกี ารสือ่ สารภายในองค์กรผ่านช่อง ทางหลายช่องทาง เช่นการประชุมพนักงานบริษทั ฯ ทุกๆ ไตรมาส
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์กร และอีเมล การบันทึก รายการทางบัญชีเป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และมีการบันทึกข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างสม�ำ่ เสมอ เอกสารซึ่ง ประกอบด้วยข้อมูลทีเ่ พียงพอต่อการตัดสินใจส�ำหรับการประชุม ผูถ้ อื หุน้ และการประชุมคณะกรรมการได้ถกู จัดส่งแก่ผถู้ อื หุน้ และ คณะกรรมการบริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนการประชุม
5. การติดตามผล จากระบบข้อมูลในปัจจุบนั ทีส่ ามารถให้ขอ้ มูลทีเ่ ชือ่ ถือได้และทัน ต่อเวลา ท�ำให้ฝ่ายบริหารและคณะกรรมการบริษัทฯ สามารถ ควบคุมและติดตามผลการด�ำเนินงานผ่านรายงานทางการเงิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยสนับสนุนให้การด�ำเนินงาน สามารถบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจที่ วางไว้ ในขณะเดียวกันก็สามารถสอบทาน ประเมิน และให้ ค�ำแนะน�ำเพือ่ ปรับปรุงแผนธุรกิจผ่านกระบวนการก�ำกับดูแลทีม่ ี ประสิทธิภาพโดยฝ่ายตรวจสอบภายในท�ำการตรวจสอบการ ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง ฝ่ายตรวจสอบภายในปฏิบัติงานตามแผนการตรวจสอบที่ได้รับ การอนุมตั ิ และติดตามผลจากคณะกรรมการตรวจสอบ แผนการ ตรวจสอบซึ่งท�ำขึ้นจากผลการประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยง ของบริษัทฯ รวมถึงล�ำดับความส�ำคัญของบริษัทย่อยในกลุ่ม บริษัทฯ กลุ่มธุรกิจหลักและกระบวนการที่เกี่ยวข้อง ผลของ การตรวจสอบ การติดตามการปรับปรุงแก้ไขจะน�ำเสนอต่อ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษั ท ฯ จนถึ ง ปัจจุบัน ผลการตรวจสอบไม่พบข้อบกพร่องของการควบคุม ภายในที่มีสาระส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม ได้มีการเสนอแนะการ ปรับปรุงระบบการควบคุมภายในบางจุดที่ตรวจพบ นอกจากนี้ ฝ่ายตรวจสอบภายในยังได้สอบทานระบบการปฏิบัติงานหลัก และกิจกรรมทางการเงินทีส่ ำ� คัญ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ามีการด�ำเนินงาน อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามข้อก�ำหนดของกฎหมาย
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
119
คณะกรรมการบริษัทฯ จะท�ำการสอบทานประสิทธิภาพของ ระบบการควบคุมภายในเป็นประจ� ำ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง โดยค�ำนึงถึงความเสี่ยงที่มีสาระส�ำคัญ ประเมินผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้น และการบริหารจัดการความเสี่ยงนั้นๆ โดยใช้แนวทาง แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ที่ถูก จั ด ท� ำ โดยส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 3/2558 เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุม ด้วย คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ประเมินประสิทธิภาพของระบบ การควบคุมภายในของบริษัทฯ ใน 5 องค์ประกอบดังกล่าว ข้างต้น และมีขอ้ สรุปว่าบริษทั ฯ ได้ก�ำหนดให้มรี ะบบการควบคุม ภายในที่พอเพียงและมีประสิทธิภาพ และไม่พบข้อบกพร่อง ในระบบการควบคุมภายในที่ส�ำคัญ บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด ซึง่ เป็นผูส้ อบบัญชีของ บริษัทฯ ได้ให้ความเห็นในรายงานการตรวจสอบงบการเงิน ประจ�ำงวดสามเดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ว่าตรวจไม่ พบข้อบกพร่องในระบบการควบคุมภายในในด้านการบัญชีและ การเงินที่ส�ำคัญ
120
จุดเด่นทางการเงิน
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
จุดเด่นทางการเงิน ส�ำหรับงวดสามเดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 งบก�ำไรขาดทุน : รายได้จากการเดินเรือ ค่าใช้จ่ายในการเดินเรือ* ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานเกี่ยวกับเรือเดินทะเล - ส่วนของเจ้าของเรือ* รายได้จากธุรกิจบริการนอกชายฝั่ง ค่าใช้จ่ายจากธุรกิจบริการนอกชายฝั่ง รายได้จากการขาย ต้นทุนขาย* รายได้จากกลุ่มบริษัทที่ให้บริการและแหล่งอื่นๆ* ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าใช้จ่ายทั่วไปและค่าใช้จ่ายการบริหาร* ดอกเบี้ยจ่าย ดอกเบี้ยรับ ส่วนแบ่งก�ำไร จากการลงทุนในบริษัทร่วม ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ ข้อมูลต่อหุ้น : ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ-ขั้นพื้นฐาน เงินปันผลจ่าย มูลค่าทางบัญชี งบดุล (ณ วันสิ้นรอบบัญชี) : เงินสดและเงินลงทุนระยะสั้น เรือเดินทะเล เรือขุดเจาะ เครื่องจักร และอุปกรณ์สุทธิ รวมสินทรัพย์ หนี้สินรวม ทุนเรือนหุ้นที่จดทะเบียนและช�ำระแล้ว (บาท) รวมส่วนของผู้ถือหุ้น ข้อมูลทางการเงินอื่นๆ : กระแสเงินสดได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมด�ำเนินงานสุทธิ กระแสเงินสดได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมลงทุนสุทธิ กระแสเงินสดได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมในจัดหาเงินสุทธิ ค่าใช้จ่ายฝ่ายทุน : ยอดรวมการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน อัตราส่วนทางการเงิน : อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (%) อัตราก�ำไรสุทธิต่อรายได้รวม (%) ยอดหนี้สินทั้งหมดต่อทุนของบริษัทฯ ยอดหนี้สินสุทธิต่อทุนสุทธิ หมายเหตุ *: ไม่รวมรายการ one-off items
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (หน่วย : ล้านบาท ยกเว้น หุ้น/ข้อมูลต่อหุ้นและอัตราส่วนทางการเงิน) 2,213.70 1,644.52 321.22 3,234.74 2,641.08 693.94 550.79 96.84 422.12 478.34 128.04 13.52 258.06 73.34 154.73
6,887.49 4,543.36 1,072.70 10,088.18 7,494.80 4,201.60 3,324.86 353.63 1,534.26 2,057.88 475.76 55.37 1,186.09 181.47 1,015.23
4,746.61 3,250.20 864.30 8,243.40 5,989.00 5,140.74 4,561.94 440.62 1,595.21 1,864.51 487.47 38.38 254.66 71.20 (5,119.06)
0.12 0.00 24.96
0.88 0.00 24.43
(5.91) 0.00 25.65
8,298.42 23,009.97 51,621.86 19,147.55 1,301,174,740 32,474.31
7,632.30 22,840.47 49,330.73 17,731.34 1,293,234,814.60 31,599.38
7,961.59 18,997.00 43,297.81 17,856.29 991,837,961 25,441.52
572.06 (98.25) 933.55
2,582.63 (7,477.25) 3,852.97
1,142.99 (2,671.71) 5,405.63
287.68
6,958.03
2,411.73
0.64% 0.31% 2.49% 0.32 0.17
4.85% 2.19% 4.74% 30.29% 16.18%
-27.82% -12.17% -27.73% 0.36 0.19
% การถือหุ้นของ TTA 100 57.8 88.7 100 51/100
ด�ำเนินการโดย
Shipping เมอร์เมด UMS/1 บาคองโค/2 GTL/CMSS
หมายเหตุ: /1 ถือหุ้นโดยอ้อมผ่านบริษัท อะธีน โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด /2 ถือหุ้นโดยอ้อมผ่านบริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
กลุ่มธุรกิจขนส่ง กลุ่มธุรกิจพลังงาน ถ่านหิน/กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน ปุ๋ย/กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานอื่น รายได้อื่น รวม
กลุ่มธุรกิจ
โครงสร้างรายได้ 4,811,880,466 8,243,401,118 1,931,065,483 3,229,389,323 247,352,282 289,611,294 18,752,699,966
ส�ำหรับปีสิ้นสุด 30 ก.ย. 2556 (ปรับปรุงใหม่) 26 44 10 17 1 2 100
% 6,901,909,046 10,088,183,138 1,038,473,327 3,192,005,566 210,667,192 339,592,667 21,770,830,936
ส�ำหรับปีสิ้นสุด 30 ก.ย. 2557
รายได้ (บาท)
32 46 5 15 1 1 100
%
2,214,424,491 3,234,735,324 112,524,124 588,964,714 56,027,778 158,320,160 6,364,996,591
ส�ำหรับงวดสามเดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 2557
35 51 2 9 1 2 100
%
รายงานประจ� ำ ปี 2557
โครงสร้างรายได้
121
122
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ค� ำ อธิ บ ายและการวิ เ คราะห์ ของฝ่ า ยจั ด การ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“TTA” หรือ “บริ ษั ท ”) รายงานผลการด� ำ เนิ น งานประจ� ำ ปี 2557 ตาม รอบบัญชีใหม่ (“รอบปีปฏิทิน”) ซึ่งเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ว่ า บริษัทมีผลก�ำไรสุทธิจ าก การด�ำเนินงานปกติ (normalized net profit) จ�ำนวน 986 ล้านบาท เมื่อเทียบกับผลขาดทุนสุทธิ (109) ล้านบาท ในช่วง เวลาเดียวกันของปีก่อน ส่วนผลการด�ำเนินงานระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (“งวด 3 เดือน”) นั้น บริษัทมีก�ำไรสุทธิจ�ำนวน 155 ล้านบาท ลดลง 38% เมื่อเทียบ กับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนที่มีก�ำไรสุทธิ 250 ล้านบาท
Income statement restated Baht millions 2013 2014 %yoy Net profits (losses) attributable to - Non-controlling interest 384 487 27% - Owner of the Company (4,751) 920 119% Breakdown of Net Profit to Owner of the Company Impairment charges and write-offs (4,642) (66) -99% Normalised Net Profits (109) 986 1003% Net profits (4,751) 920 119%
ทั้งนี้ ที่ประชุมสามัญประจ�ำปีผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2557 ได้มีมติ อนุมัติให้ TTA ท�ำการเปลี่ยนรอบระยะเวลาบัญชีจากเดิม คือ วันที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 30 กันยายน เป็น วันที่ 1 มกราคม ถึง วันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี โดยมีก�ำหนดเริ่มเมื่อสิ้นสุดงวดบัญชี วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เป็นต้นไป ดังนั้น TTA จึงได้จัดท�ำ งบการเงินส�ำหรับรอบระยะเวลา 1 ตุลาคม ถึง 31 ธันวาคม 2557 เพือ่ มารองรับงบการเงินส�ำหรับงวดบัญชีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ซึ่งเป็นรอบระยะเวลาบัญชีใหม่เป็นครั้งแรกในคราวนี้
Income statement
สรุปผลการด�ำเนินงานโดยรวม Income statement Baht millions Revenues Costs Gross profits Equity income Other income SG&A EBITDA "Depreciation & Amortisation" Finance costs EBT Income taxes Non-recurring items Forex translation Net profit
restated 2013 2014 19,570 22,341 (15,490) (17,700) 4,080 4,641 491 1,182 145 170 (2,128) (2,418) 2,588 3,575 (1,561) (1,597) (511) (494) 516 1,484 (358) (212) (4,665) (78) 140 213 (4,366) 1,407
%yoy 14% 14% 14% 141% 18% 14% 38% 2% -3% 188% -41% -98% 52% 132%
No. of shares (million) Basic EPS (Baht)*
Baht millions Revenues Costs Gross profits Equity income Other income SG&A EBITDA "Depreciation& Amortisation" Finance costs EBT Income taxes Non-recurring items Forex translation Net profits
994 (5.06)
1,301 0.74
restated Oct-Dec Oct-Dec 2013 2014 %yoy 5,297 6,207 17% (4,038) (5,190) 29% 1,259 1,017 -19% 262 258 -2% 31 46 51% (459) (522) 14% 1,093 799 -27% (359) (422) 18% (126) (128) 2% 608 249 -59% (193) (91) -53% (29) (22) -25% 42 73 76% 428 209 -51%
Net profits (losses) attributable to - Non-controlling interest - Owner of the Company
(178) 250
No. of shares (million) Basic EPS (Baht)*
994 0.25
*ค�ำนวณโดยใช้จ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก
(54) -70% 155 -38% 1,301 0.12
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
TTA สามารถพลิกผลการด�ำเนินงานกลับมามีก�ำไรสุทธิได้ ในรอบปีปฏิทิน 2557 โดยธุรกิจหลักทั้งเมอร์เมด มาริไทม์ โทรีเซนชิปปิง้ และ PMTA ต่างมีผลประกอบการทีด่ ี ในขณะที่ UMS ก็มีผลขาดทุนลดลงซึ่งเป็นผลจากแผนการระบายถ่าน ฝุ่นคงค้างเป็นหลัก ส�ำหรับผลประกอบการงวด 3 เดือน (เริ่ม 1 ตุลาคม ถึง 31 ธันวาคม) TTA มีผลก�ำไรลดลง เนื่อง มาจากผลการด�ำเนินงานของโทรีเซนชิปปิง้ เมอร์เมด มาริไทม์ และ PMTA ปรับตัวลดลง โทรีเซนชิปปิ้ง:
รอบปีปฏิทิน 2557 มีผลก�ำไรสุทธิจ�ำนวน 257 ล้านบาท เมื่อเทียบกับผลขาดทุนสุทธิก่อนรายการพิเศษ (129) ล้านบาท จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนผลประกอบ การงวด 3 เดือนได้รบั แรงกดดันจากการอ่อนตัวของตลาดเดิน เรือสินค้าแห้งเทกอง สภาพตลาดธุรกิจขนส่งสินค้าแห้งเทกอง ค่อนข้างผันผวนในปี 2557 ในช่วงแรกของไตรมาสสุดท้ายของปี มีสัญญาณการฟี้นตัวของตลาด แต่แล้วก็เกิดการอ่อนตัวของ สภาพตลาดโดยรวมในภายหลัง อย่างไรก็ดี โทรีเซนชิปปิ้งยัง คงด�ำเนินธุรกิจด้วยการดูแลบริหารจัดการโครงสร้างต้นทุนอย่าง มีประสิทธิภาพ และสามารถท�ำรายได้ค่าระวางเรือได้สูงกว่า ตลาดเมื่อพิจารณาจากอัตราค่าระวางเรือ (Time Charter Equivalent - TCE)
เมอร์เมด
มาริไทม์: รายงานผลก�ำไรสุทธิ 675 ล้านบาท ใน รอบปีปฏิทิน 2557 เพิ่มขึ้น 22% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ผลการด�ำเนินงานงวด 3 เดือนได้รับผลกระทบจากอัตรา การใช้ประโยชน์ของเรือและอัตราก�ำไรที่ลดลงของทั้งธุรกิจ วิศวกรรมใต้ทะเลและธุรกิจเรือขุดเจาะ ผลการด�ำเนินงานใน รอบปีปฏิทิน 2557 ที่แข็งแกร่งของเมอร์เมดมาจากผลงานของ ธุรกิจเรือขุดเจาะทีไ่ ด้สญ ั ญาระยะยาวทีใ่ ห้อตั ราก�ำไรสูง โดยส่วน แบ่งผลก�ำไรจากการลงทุน (Equity Income) เพิม่ ขึ้นจากปีก่อน ถึง 169% ซึ่งมาจากการให้บริการเรือขุดเจาะสามขาทั้งสามล�ำ แก่บริษัทน�ำ้ มันแห่งชาติซาอุดิอาระเบีย ของบริษัทร่วมทุน Asia Offshore Drilling (AOD) ที่เมอร์เมดถือหุ้นอยู่ 33.8% ส�ำหรับ
123
ผลการด�ำเนินงานงวด 3 เดือน ธุรกิจวิศวกรรมใต้ทะเลได้รับ ผลกระทบจากหลายปัจจัย เช่น อัตราการใช้ประโยชน์ของ กองเรือลดลง ค่าใช้จา่ ยในการน�ำเรือเข้าซ่อมบ�ำรุง ค่าใช้จา่ ยจาก การเช่าเรือเพื่อมาใช้ในโครงการสาธารณูปโภคใหม่ที่สูงขึ้น และ การขาดทุนจากการด้อยค่าของเรือ ส่วนธุรกิจเรือขุดเจาะได้รับ ผลกระทบจากการลดลงของค่าเช่าเรือและการปรับตัวลดลงเล็ก น้อยของอัตราการใช้ประโยชน์ของเรือ MTR-2 UMS: มีผลขาดทุนสุทธิลดลง ทั้งส�ำหรับรอบปีปฏิทิน 2557
และงวด 3 เดือน UMS มีสถานะทางการเงินที่ดีขึ้นหลังจากได้ ระบายสินค้าคงคลังเพื่อปรับโครงสร้างเงินทุน ณ สิ้นปีปฏิทิน 2557 หนี้สินสุทธิที่มีกับธนาคารลดลงเหลือ 580 ล้านบาท จาก 1,138 ล้านบาทเมื่อสิ้นปี 2556 ในขณะที่ ผลการด�ำเนินงานงวด 3 เดือนได้รับประโยชน์จากอัตราผลก�ำไรที่ดีขึ้นจากการปรับตัว สูงขึ้นของราคาถ่านหิน และการลดลงของค่าใช้จ่ายในการขาย บริหาร และทั่วไป (SG&A)
PMTA:
ยังคงโชว์ผลการด�ำเนินงานที่แข็งแกร่งในปี 2014 แม้ว่าผลการด�ำเนินงานงวด 3 เดือนจะลดลงจากผลกระทบ ของเหตุการณ์ที่ไม่ปกติ ในงวด 3 เดือน PMTA มียอดขาย ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยลดลง เนื่องจากลูกค้าชะลอการซื้อออกไปหลังจาก เกิดเหตุการณ์ฝนตกอย่างหนักและเกิดน�้ำท่วมในลุ่มแม่น�้ำโขง ผนวกกับแผนการประกาศปรับลด VAT ลง 5% ส�ำหรับการซื้อ ผลิตภัณฑ์ปยุ๋ ซึง่ มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้น มา อย่างไรก็ตาม ผลการด�ำเนินงานในรอบปี ปฏิทนิ 2557 ธุรกิจ ปุ๋ยยังโชว์ผลงานที่ดี โดยอัตราผลก�ำไรมีการปรับตัวสูงขึ้นจาก ความสามารถในการตรึงราคาขายไว้ ถึงแม้ว่าราคาวัตถุดิบ ของปุ๋ยจะปรับลดลง สัดส่วนรายได้จากการส่งออกปุ๋ยไปยัง ต่างประเทศขยายเพิ่มเป็น 35% จาก 30% ในช่วงเวลาเดียวกัน ของปีก่อน ธุรกิจคลังสินค้ามีรายได้เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของ ปีก่อน 49% เนื่องจากมีอัตราการใช้ประโยชน์คลังสินค้าอยู่ใน ระดับ 96% รวมทั้งมีการเพิ่มจ�ำนวนพื้นที่และปรับราคาค่าเช่า ให้สูงขึ้น
124
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
Transport Thoresen Shipping Baht millions 2013* 2014 Revenues 4,976 7,661 EBITDA 697 1,093 EBITDA margins 14% 14% Net profits (4,046) 257 Net profit margins -81% 3% Net profits to TTA (4,046) 257 Outperform industry in revenue and cost. 697
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
12-Month (Jan-Dec) Period Energy Infrastructure Mermaid Maritime UMS Baconco 2013* 2014 2013* 2014 2013* 2014 9,277 10,664 1,867 712 3,152 3,088 2,004 2,243 (263) 32 386 373 22% 21% -14% 4% 12% 12% 963 1,180 (422) (119) 271 270 10% 11% -23% -17% 9% 9% 554 675 (374) (105) 271 270 Rebalance capital Solid sale volume Ramp up in structure and with improved AOD Operation excessive inventories. profit margins.
1,093 32 257 2,243
(263)
(105) 386
2,004
373
(4,046)
EBITDA & Net Profits
963
2013* 2014
*Restated
1,180
2013* 2014
(374)
2013* 2014
271
2013* 2014
EBITDA
EBITDA
EBITDA
EBITDA
Net profits
Net profits
Net profits
Net profits
สรุปผลการด�ำเนินงานโดยรวมของ ปีปฏิทิน 2557 (1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2557)
270
ก�ำไรขัน้ ต้นเติบโตจากปีกอ่ น 14% มาอยูท่ ี่ 4,641 ล้านบาท
โทรีเซนชิปปิ้ง PMTA และ UMS มีก�ำไรขั้นต้นเติบโตขึ้น โดย โทรีเซนชิปปิ้งมีอัตราก�ำไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นจากการขยายกองเรือ การควบคุมค่าใช้จ่าย และการเพิ่มเรือเช่าเหมาล�ำ (Chartered-in) เพือ่ รองรับการเติบโตของฐานลูกค้า ในส่วนของ PMTA รายได้รวมขยายตัวจากปีก่อน 14% มาอยู่ที่ 22,341 ล้าน อัตราก�ำไรขั้นต้นสูงขึ้นจากยอดขายปุ๋ยที่เพิ่มขึ้น และการตรึง บาท รายได้จากธุรกิจหลักเพิ่มขึ้น โทรีเซนชิปปิ้ง (+54% จาก ราคาขายไว้ในระดับสูงได้แม้วา่ ราคาวัตถุดบิ ลดลง UMS มีตน้ ทุน ปีก่อน) เมอร์เมด มาริไทม์ (+15% จากปีก่อน) ในขณะที่ PMTA ค่าใช้จ่ายในการขายที่ลดลง ซึ่งเป็นผลมาจากการกลับรายการ มีรายได้พอๆกับงวดเดียวกันของปีที่แล้ว (-2% จากปีก่อน) ทางบัญชี (net realize value) ที่เคยตั้งเผื่อมูลค่าถ่านหินลดลง ซึ่งการปรับตัวเพิ่มขึ้นนี้เพียงพอที่จะชดเชยรายได้ที่ลดลงของ แต่ราคาถ่านหินในสินค้าคงคลังมีการปรับตัวดีขึ้น ในขณะที่ UMS (-62% จากปีก่อน) โทรีเซนชิปปิ้งได้เพิ่มจ�ำนวนเรือทั้งที่ เมอร์เมด มาริไทม์เผชิญกับอัตราผลก�ำไรลดลง เป็นผลมาจาก เป็นเจ้าของและเช่าเหมาล�ำผนวกกับสภาพตลาดเรือขนส่งสินค้า อัตราการใช้ประโยชน์ของเรือลดลง เนือ่ งจากเรือทีเ่ ช่ามายังไม่ได้ แห้งเทกองทีอ่ ยูใ่ นระดับน่าพอใจ ส่งผลให้จำ� นวนวันเดินเรือและ มีการเริ่มท�ำงานไตรมาสสุดท้ายของปี และมีการเช่าเหมาล�ำเรือ อัตราค่าระวางเรือปรับเพิ่มขึ้น ขณะที่เมอร์เมด มาริไทม์ รับรู้ เพิ่มขึ้น เพื่อน�ำมาให้บริการในโครงการสาธารณูปโภคใหม่ที่หา รายได้จากสัญญาระยะยาวในการให้บริการด�ำน�ำ้ ทีท่ ำ� ไว้กบั บริษทั มาได้ น�ำ้ มันแห่งชาติซาอุดอิ าระเบียและลูกค้ารายอืน่ และมีรายได้เพิม่ จากเรือเช่าเหมาล�ำ ซึ่งมีการเช่ามากขึ้นเพื่อรักษาฐานลูกค้าเดิม ส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนเพิ่มขึ้น จากปีก่อน 141% และขยายฐานลูกค้าใหม่ มาอยู่ที่ 1,182 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่มาจากการเติบโตของ ส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนของเมอร์เมด มาริไทม์ ใน AOD ซึ่ง AOD มีส่วนแบ่งรายได้ในปีนี้เท่ากับ 1,005 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จาก 374 ล้านบาทในงวดเดียวกันของปีก่อน
125
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ทั้งหมดนี้ส่งผลให้ TTA รับรู้ก�ำไรจากการด�ำเนินงานก่อนหัก ดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจ�ำหน่าย (EBITDA) รอบปีปฏิทนิ 2557 ที่ 3,576 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 38% ที่ 2,558 ล้านบาท และมีผลก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงานปกติ ที่ 986 ล้านบาท เมื่อเทียบกับผลขาดทุนสุทธิ (109) ล้านบาท หากมีการรวมรายการพิเศษทางบัญชีเข้ามา ก�ำไรสุทธิของ ปีปฏิทิน 2557 จะเท่ากับ 920 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับ ผลขาดทุนสุทธิจ�ำนวน (4,751) ล้านบาท ที่มีการรวมการ บันทึกด้อยค่าของสินทรัพย์จ�ำนวน 4,642 ล้านบาท Transport Thoresen Shipping
ทัง้ นี้ ผลขาดทุนสุทธิรวมของปี 2556 ได้มกี ารปรับปรุงใหม่จากการที่บริษทั ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีปรับปรุงใหม่ ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) เรื่องภาษีเงินได้การปฏิบัติตามมาตรฐานทางการบัญชีใหม่ทั้ง 2 ฉบับ ส่งผล ให้ผลขาดทุนสุทธิเพิ่มขึ้น 58 ล้านบาท
3-Month (Jan-Dec) Period Energy Infrastructure Mermaid Maritime UMS Baconco
Baht millions Oct-Dec 13* Oct-Dec 14 Oct-Dec 13* Oct-Dec 14 Oct-Dec 13* Oct-Dec 14 Oct-Dec 13* Oct-Dec 14 Revenues 1,440 2,214 2,659 3,235 439 113 693 589 EBITDA 289 233 752 500 0 9 115 70 EBITDA margins 20% 11% 28% 15% 0% 8% 17% 12% Net profits 117 19 421 142 (40) (22) 88 55 Net profit margins 8% 1% 16% 4% -9% -20% 13% 9% Net profits to TTA 117 19 238 82 (35) (20) 88 55 Outperform Lower utilization in Resuming coal Delay in Fertilizer industry in revenue Subsea Lower day rate import and orders from unusval and cost. in Drilling Sale activities events 752
500 421 289 233
EBITDA & Net Profits *Restated
OctDec 13*
115
142
117 19 OctDec 14
0 OctOctDec 13* Dec 14
EBITDA
EBITDA
Net profits to TTA
Net profits to TTA
สรุปผลการด�ำเนินงานรวมของรอบ ระยะเวลา 3 เดือน (1 ต.ค. - 31 ธ.ค. 2557)
(40)
9
88 (22)
OctOctDec 13* Dec 14
EBITDA Net profits to TTA
70 55
OctOctDec 13* Dec 14 EBITDA Net profits to TTA
อาระเบียและลูกค้ารายอื่น และมีรายได้เพิ่มจากเรือเช่าเหมาล�ำ เพิ่มขึ้นเพื่อคงฐานลูกค้าเดิมและขยายฐานลูกค้าใหม่ ส� ำหรับ PMTA รายได้ลดลงจากผลการด�ำเนินงานที่อ่อนลงของธุรกิจปุ๋ย จากปริมาณขายทีล่ ดลงหลังจากเหตุการณ์ทไี่ ม่ปกติและราคาขาย รายได้รวมขยายตัว 17% จากปีก่อน มาอยู่ที่ 6,207 ล้าน ที่ลดลงจากการให้ส่วนลดแก่ลูกค้า ส่วน UMS ได้รับผลกระทบ บาท รายได้เพิ่มขึ้นจากโทรีเซนชิปปิ้ง (+54% จากปีก่อน) จากการที่เพิ่งเริ่มกลับมาน�ำเข้าถ่านหินและขาย เมอร์เมด มาริไทม์ (+22% จากปีก่อน) ซึ่งการปรับตัวเพิ่มขึ้นนี้ ก�ำไรขั้นต้นลดลง 19% จากปีก่อน มาอยู่ที่ 1,017 ล้านบาท ก็เพียงพอที่จะชดเชยรายได้ที่ลดลงของ PMTA (-15% จากปี ก�ำไรขั้นต้นลดลงจากโทรีเซนชิปปิ้ง เมอร์เมด มาริไทม์ และ ก่อน) และ UMS (-74% จากปีกอ่ น) โทรีเซนชิปปิง้ ได้เพิม่ จ�ำนวน PMTA โดยโทรีเซนชิปปิ้งมีอัตราก�ำไรขั้นต้นลดลงจากการลดลง เรือทั้งที่เป็นเจ้าของและเช่าเหมาล�ำท�ำให้จ�ำนวนวันเดินเรือ ของอัตราค่าระวางเรือที่เป็นผลมาจากการอ่อนตัวของสภาพ เพิม่ ขึน้ ขณะทีเ่ มอร์เมด มาริไทม์ รับรูร้ ายได้จากสัญญาระยะยาว ตลาดเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกอง ส�ำหรับเมอร์เมด มาริไทม์ อัตรา ในการให้บริการด�ำน�้ำที่ท�ำไว้กับบริษัทน�้ำมันแห่งชาติซาอุดิ ผลก�ำไรขั้นต้นลดลงเกิดจากอัตราค่าเช่าเรือที่ลดลงของเรือขุด
126
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
เจาะ MTR-2 และค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นของธุรกิจวิศวกรรมใต้ทะเล จากการน�ำเรือเข้าอูซ่ อ่ มประจ�ำปี การเช่าเรือเหมาล�ำเพิม่ ขึน้ เพือ่ ให้บริการโครงการสาธารณูปโภคใหม่ และการใช้ประโยชน์จาก เรือเช่าเหมาล�ำได้ไม่เต็มเนื่องจากสภาพอากาศ การปรับแต่งเรือ ให้เหมาะกับสภาพโครงการ และ การที่มีโครงการเริ่มช้ากว่า ก�ำหนด ในส่วนของ PMTA นั้นมีผลมาจากการให้ส่วนลดลูกค้า ในทางกลับกัน UMS รับรูผ้ ลก�ำไรขัน้ ต้นเพิม่ ขึน้ จากการทีเ่ ริม่ กลับ มาน�ำเข้าและขายถ่านหิน ส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนจ�ำนวน 258 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2% จากปีก่อน เนื่องจากการรับรู้ส่วนแบ่งก�ำไรที่ลดลงเล็กน้อย ของบริษัทร่วมทุน AOD ของเมอร์เมด ในงวด 3 เดือนอยู่ที่ 230 ล้านบาท ลดจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่ 234 ล้านบาท
เมื่อรวมค่าใช้จ่ายในการขาย บริหาร และ ทั่วไป (SG&A) ที่ 522 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 14% เนื่องมาจากการที่ เมอร์เมดขยายงานไปในตะวันออกกลางเข้าไปด้วย จึงส่งผล ให้กำ� ไรจากการด�ำเนินงานก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี ค่าเสือ่ มราคา และค่าตัดจ�ำหน่าย (EBITDA) ของ TTA ส�ำหรับรอบปีปฏิทิน 2557 ลดลง 27% จาก 1,093 ล้านบาทเมื่อปีก่อน มาเป็น 799 ล้านบาท และส่วนก�ำไรสุทธิในรอบปีปฏิทนิ 2557 เท่ากับ 155 ล้านบาทลดลง 38% จาก 250 ล้านบาทในปีก่อน ทัง้ นี้ ผลขาดทุนสุทธิรวมของปี 2556 ได้มกี ารปรับปรุงใหม่จากการที่บริษทั ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีปรับปรุงใหม่ ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) เรื่องภาษีเงินได้การปฏิบัติตามมาตรฐานทางการบัญชีใหม่ทั้ง 2 ฉบับ ส่งผล ให้ผลขาดทุนสุทธิเพิ่มขึ้น 22 ล้านบาท
สรุปผลการด�ำเนินงานแยกตามกลุ่มธุรกิจ
3-Month Period
restated Revenue contribution by business line Baht millions Oct-Dec 13 Oct-Dec 14 Transport 1,450 2,214 Infrastructure 1,188 758 Energy 2,659 3,235 Corporate* Total revenues 5,297 6,207 restated Net profit contribution by business line Baht millions Oct-Dec 13 Oct-Dec 14 Transport 143 32 Infrastructure 57 47 Energy 235 82 Corporate* (185) (6) Net profits 250 155 * Corporate = TTA, the holding company, and inter-company eliminations
Key Ratios Profitability ratios Gross margin EBITDA margin Net margin
restated
Oct-Dec 13 Oct-Dec 14 24% 16% 21% 13% 5% 2%
12-Month Period
%yoy 53% -36% 22% 17% %yoy -78% -16% -65% 97% -38% %yoy -7% -8% -2%
restated Summary of Statement of Cash Flows Baht millions Oct-Dec 13 Oct-Dec 14 %yoy Cash flows from operating activities 1,606 572 -64% Cash flows from investing activities (53) (98) -85% Cash flows from financing activities (102) 933 1015% Net increase in cash and cash equivalents during the period 1,451 1,407 -3% Currency translation differences (4) 9 325% Cash and cash equivalents at the 7,446 6,286 -16% beginning of the period Cash and cash equivalents at the end of the period 8,893 7,702 -13%
* The figures are net Bank overdraft.
restated
2013 5,036 5,257 9,277 19,570
restated
2013 (3,899) (82) 528 (1,298) (4,751) restated
2013 21% 13% -24%
restated
2014 %yoy 7,666 52% 4,011 -24% 10,664 15% 22,341 14% 2014 %yoy 399 110% 199 341% 664 26% (341) 74% 920 119% 2014 %yoy 21% 0% 16% 3% 4% 28%
2013 1,609 (2,704) 6,113
2014 %yoy 1,940 21% (7,522) -178% 4,496 -26%
5,017 6 3,870
(1,086) -122% (105) -1931% 8,893 130%
8,893
7,702
-13%
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
โทรีเซน ชิปปิ้ง โทรีเซนชิปปิง้ ยังคงมีผลประกอบการเป็น บวก แม้ว่า ตลาดโดยรวมจะซบเซาลงใน ช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2557
3 เดือน : สรุปรายได้และก�ำไรสุทธิ BDI
2,000
1,500
ถึ ง แม้ ว ่ าอั ต ราการเติบ โตของก�ำไรสุทธิในช่ว งเดือ นตุ ล าคมธันวาคม 2557 จะลดลง แต่โทรีเซนชิปปิ้งก็ยังสามารถรายงาน 1,000 ผลประกอบการเป็นบวก ในขณะที่บริษัทอื่นๆ ในตลาดมีผลการ ด�ำเนินงานขาดทุน 500 ป้จจัยหลักที่ส่งผลกระทบต่อการอ่อนตัวลงของผลประกอบการ ในช่วงสามเดือนสุดท้ายของปี ได้แก่ ค่าเฉลี่ยดัชนีบอลติค (BDI) 0 Oct-Dec 14 Oct-Dec 13 ปรับลดลงจากปีก่อนถึง 40% มาปิดที่ 1,120 จุด ในขณะที่อัตรา Freight revenues 1,440 2,214 ค่าระวางเรือเฉลีย่ ของเรือขนาด Supramax ก็ปรับลดจากปีกอ่ น 19 117 Net profits 30% มาปิดที่ 9,784 เหรียญสหรัฐต่อวัน รายได้คา่ ระวางเรือของโทรีเซนชิปปิง้ เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของ 3 เดือน : อัตราค่าระวางเรือกับค่าใช้จ่ายรวมต่อวัน ปีกอ่ น 54% มาเป็น 2,214 ล้านบาท เนือ่ งจากจ�ำนวนวันเดินเรือ ที่เพิ่มขึ้นของทั้งเรือที่เราเป็นเจ้าของเอง และเรือที่เช่าเข้ามา ถึงแม้อัตราค่าระวางเรือ (TCE) จะลดลง โทรีเซนชิปปิ้งบริหาร กองเรือเฉลี่ยรวมทั้งสิ้น 44.9 ล�ำ (เรือที่เป็นเจ้าของเอง 23.3 ล�ำ และเรือที่เช่าเสริมอีก 21.6 ล�ำ) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่ค่าเฉลี่ย ของกองเรืออยูท่ ี่ 32.5 ล�ำ (เรือทีเ่ ป็นเจ้าของเอง 17.6 ล�ำและเรือ เช่า 14.9 ล�ำ) ในขณะที่อัตราค่าระวางเรือ (TCE) ลดลงจากปี ก่อน 17% มาอยู่ที่ 8,683 เหรียญสหรัฐต่อวัน อย่างไรก็ดี อัตรา ก�ำไรเบือ้ งต้นลดลงโดยส่วนใหญ่เป็นผลมาจาก อัตราค่าระวางเรือ ลดลงจากสภาพตลาดเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองที่อ่อนตัวลง ต้นทุนค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินการในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปียงั คงแข็งแกร่ง โดยค่าใช้จ่ายในการเป็นเจ้าของเรืออยู่ที่ 3,896 เหรียญสหรัฐต่อวัน และมีตน้ ทุนค่าใช้จา่ ยรวมอยูท่ ี่ 7,954 เหรียญ สหรัฐต่อวัน ลดลงเล็กน้อยแค่ 2% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ในไตรมาสนี้ โทรีเซนชิปปิ้ง มีผลก�ำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี 2557 : รายได้และสรุปก�ำไรสุทธิ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจ�ำหน่าย (EBITDA) จ�ำนวนทั้งสิ้น 233 THB MN ล้านบาท (ลดลงจากปีก่อน 19%) และก�ำไรสุทธิ 19 ล้านบาท 10,000 (ลดลงจากปีก่อน 84%) 8,000 USD/day 12,000
10,000
8,000 6,000
4,000
2,000
0
Oct-Dec 13
Oct-Dec 14
Cash OPEX
Depreciation
Thoresen’s TCE
ผลประกอบการยังคงแข็งแกร่งจากกอง เรือที่ใหญ่ขึ้นผนวกกับการบริหารจัดการ รายได้อย่างมีประสิทธิภาพและการดูแล โครงสร้างต้นทุนค่าใช้จ่ายอย่างเข้มงวด ในปีปฎิทิน 2557 รายได้จากค่าระวางของโทรีเซนชิปปิ้งในปี 2557 อยู่ที่ 7,661 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 54% จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น โดยส่วนใหญ่ เป็นผลมาจากจ�ำนวนวันเดินเรือที่เพิ่มขึ้นจากทั้งเรือที่เราเป็น
6,000 4,000 2,000 0 -2,000 -4,000 -6,000 Freight revenues Net profits
2013
2014
4,976
7,661
(4,046)
257
127
128
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
เจ้าของและเรือทีเ่ ช่ามาเสริมกองเรือ ในรอบปี 2557 โทรีเซนชิป ปิ้งบริหารกองเรือเฉลี่ย 41.0 ล�ำ (เรือที่เป็นเจ้าของ 21.4 ล�ำและ เรือที่เช่ามาเสริม 19.6 ล�ำ) เพิ่มขึ้นจากค่าเฉลี่ยของ ปี 2556 ที่ มีเพียง 30.2 ล�ำ (16.6 ล�ำเป็นเรือที่เป็นเจ้าของและ 13.6 เป็น เรือที่เช่ามาเสริม) อัตราค่าระวางเรือรวม (combined TCE) ในปี 2557 ยังคงสูง อยู่ที่ 9,432 เหรียญสหรัฐต่อวันเพิ่มขึ้น 3% จากระดับ 9,143 เหรียญสหรัฐในปี 2556 เมื่อเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานในการวัด ผลงานคือ อัตราค่าระวางเฉลี่ยของตลาด supramax (BSI) โดยปรับฐานของขนาดกองเรือ (91% ของ BSI) โทรีเซนชิปปิ้ง สามารถท�ำอัตรค่าค่าระวางเรือได้สูงกว่า BSI ประมาณ 7% ในปี 2557 ขณะทีอ่ ตั ราค่าระวางของเรือเช่าเหมาล�ำปรับตัวดีขนึ้ จาก 325 เหรียญสหรัฐต่อวันในปีกอ่ นมาเป็น 448 เหรียญสหรัฐต่อวัน ในปีนี้ โทรีเซนชิปปิง้ ยังคงด�ำเนินงานด้วยต้นทุนค่าใช้จา่ ยทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดยค่าใช้จ่ายการเป็นเจ้าของเรือ ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่เป็นเงินสด ส�ำหรับการด�ำเนินงานที่ใหญ่ที่สุดอยู่ที่ 3,885 เหรียญสหรัฐต่อ วัน ลดลง 4% จากปีก่อน ซึ่งต�่ำกว่า ค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยของ อุตสาหกรรมที่ 5,121 เหรียญสหรัฐต่อวัน (ข้อมูลจาก Moore Stephens 2556) 24% ค่าใช้จ่ายในการเข้าอู่ซ่อมบ�ำรุงลดลง จากปีก่อน 14% มาอยู่ที่ 604 เหรียญสหรัฐต่อวัน เนื่องจาก แผนการปรับโครงสร้างกองเรือและการซ่อมบ�ำรุงดูแลบนเรือ อย่างสม�่ำเสมอ ในขณะที่ค่าใช้จ่ายทั่วไปและค่าใช้จ่ายในการ บริหารเท่ากับ 1,237 เหรียญสหรัฐต่อวัน ลดลง 18% จากปีกอ่ น ดังนั้นค่าใช้จ่ายรวมเท่ากับ 8,094 เหรียญสหรัฐต่อวันในปี 2557 ลดลงจากปีก่อน 13% Thoresen Shipping's income statement* Baht millions 4Q13 Total revenues 1,440 Total costs (1,138) Gross profits 302 Gross margins (%) 21% Other incomes 39 SG&A (52) EBITDA 289 EBITDA margins (%) 20% Net profits 117 Net profit margins (%) 8% *as consolidated on TTA's P&L
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
2557 : อัตราค่าระวางเรือ และค่าใช้จา่ ยรวมต่อวัน USD/day 10,000
8,000
6,000
4,000
2,000
0 2013
2014
Cash OPEX Depreciation Thoresen’s TCE
ส่งผลให้ โทรีเซนชิปปิ้งสร้างผลก�ำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย (EBITDA) จ�ำนวน 1,093 ล้านบาท ในปี 2557 เพิ่มขึ้น 57% จากปีก่อนที่ และมีก�ำไรสุทธิ จ�ำนวน 257 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากผลขาดทุนจ�ำนวน 129 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลขาดทุนที่เกิดจากการด�ำเนินงานตามปกติ ไม่รวมรายการปรับปรุงทางบัญชีทบี่ นั ทึกการด้อยค่าของกองเรือ จ�ำนวน 3,917 ล้านบาท
restated
4Q14 2,214 (1,966) 248 11% 47 (62) 233 11% 19 1%
restated
%yoy 54% 73% -18% -10% 22% 21% -19% -10% -84% -7%
2013 4,976 (4,151) 825 17% 154 (282) 697 14% (4,046) -81%
2014 7,661 (6,444) 1,217 16% 191 (315) 1,093 14% 257 3%
%yoy 54% 55% 48% -1% 24% 12% 57% 11% 106% 85%
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
Average Daily Operating Results (USD/Day) restated USD/Day 4Q13 USD/THB Rate (Daily Average) 31.73 Time charter equivalent (TCE Rate)* $10,446 TCE Rate of Owned Fleet $9,987 TCE Rate of Chartered-In $459 Vessel operating expenses (Owner's expenses) $4,057 Dry-docking expenses $664 General and administrative expenses $999 Cash costs $5,720 Finance costs, net -$135 Depreciation $2,221 Total costs $7,806
129
restated
4Q14 %yoy 32.71 3% $8,683 -17% $8,653 -13% $30 -93% $3,896 -4% $625 -6% $905 -9% $5,426 -5% $110 181% $2,418 9% $7,954 2%
2013 30.73 $9,143 $8,818 $325 $4,043 $706 $1,507 $6,256 -$196 $3,213 $9,272
2014 32.48 $9,436 $8,988 $448 $3,885 $604 $1,237 $5,725 -$4 $2,372 $8,094
%yoy 6% 3% 2% 38% -4% -14% -18% -8% -98% -26% -13%
*The per day basis is calculated based on available service days. **Restated in compliance with IFRS
ข้อมูลกองเรือโดยสรุป เดทเวทตันเฉลี่ย จ�ำนวนวันเดินเรือในรอบปีปฏิทนิ ของเรือทีบ่ ริษทั เป็นเจ้าของ (1) จ�ำนวนวันที่ให้บริการของเรือที่บริษัทเป็นเจ้าของ (2) จ�ำนวนวันท�ำการของเรือที่บริษัทเป็นเจ้าของ (3) อัตราการใช้ประโยชน์จากเรือที่บริษัทเป็นเจ้าของ (4) จ�ำนวนวันเดินเรือท�ำการของเรือที่บริษัทเช่ามาเสริมกองเรือ จ�ำนวนเรือเฉลี่ย (5) หมายเหตุ: (1) จ�ำนวนวันเดินเรือในรอบปีปฏิทิน (Calendar Days) คือ จ�ำนวนวันทั้งหมด ของเรือทีบ่ ริษทั เป็นเจ้าของในช่วงระยะเวลานัน้ ๆ ซึง่ รวมวันทีไ่ ม่ได้ใช้ประโยชน์ จากเรือ เช่น การซ่อมแซมครั้งใหญ่ การเข้าอู่แห้ง หรือ การตรวจสอบระหว่าง ระยะเวลา 5 ปี (intermediate survey) และการตรวจสอบระดับพิเศษ (2) จ�ำนวนวันทีใ่ ห้บริการของเรือ คือ จ�ำนวนวันเดินเรือในรอบปีปฏิทนิ (1) หักวัน ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์จากเรือที่ทราบล่วงหน้า (planned off hire days) กับ การซ่อมแซมครั้งใหญ่ การเข้าอู่แห้ง หรือ การตรวจสอบระหว่างระยะเวลา 5 ปี (intermediate survey) หรือการตรวจสอบระดับพิเศษ (3) จ�ำนวนวันท�ำการ (Operating Days) คือ จ�ำนวนวันทีใ่ ห้บริการของเรือทีบ่ ริษทั เป็นเจ้าของ (2) หักจ�ำนวนวันทีไ่ ม่ได้ใช้ประโยชน์จากเรือทีไ่ ม่ทราบล่วงหน้าใน ช่วงที่เรือให้บริการอยู่ (4) อัตราการใช้ประโยชน์จากเรือ (Fleet Utilisation) คือ ร้อยละของเวลาที่เรือ สามารถหารายได้ โดยวัดจากจ�ำนวนวันท�ำการหารด้วยจ�ำนวนวันที่ให้บริการ ของเรือในช่วงเวลานั้นๆ (5) จ�ำนวนเรือเฉลี่ยเท่ากับ จ�ำนวนเรือที่อยู่ในกองเรือ ณ ช่วงเวลานั้น โดยวัดจาก ผลรวมของจ�ำนวนวันท�ำการเดินเรือทัง้ หมดของเรือทีบ่ ริษทั ฯ เป็นเจ้าของ และ จ�ำนวนวันเดินเรือของเรือที่เช่ามาเสริมกองเรือหารด้วยจ� ำนวนวันในรอบ ปีปฏิทินในช่วงเวลานั้นๆ
4Q13 46,087 1,656 1,628 1,623 100% 1,370 32.5
4Q14 %yoy 50,636 10% 2,208 33% 2,172 33% 2,143 32% 99% -1% 1,939 41% 44.9 38%
2013 46,087 6,182 6,065 6,051 100% 4,975 30.2
2014 50,636 8,044 7,888 7,808 99% 7,160 41.0
จ�ำนวนเรือกับเดทเวทตัน
%yoy 10% 30% 30% 29% -1% 44% 36% (จ�ำนวนเรือ)
DWT 60,000
50
50,000
25
40,000
20 29.5
30,000
20,000
23.3 17.8
10 10.7
10,000
0
15
5
1Q10
3Q10 1Q11 3Q11
1Q12 3Q12
Avg DWT-UHS Avg of vessels (owned fleet) - RHS Avg DWT (years) - RHS
1Q13 3Q13
1Q14
3Q14
0
130
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
กองเรือ Supramax และ Handymax ส่วนที่เป็นเจ้าของเองรวม 24 ล�ำ พร้อมที่จะสร้างผลก�ำไร ในปี 2557 โทรีเซนชิปปิง้ มีการรับมอบเรือมือสองจ�ำนวนทัง้ สิน้ 6 ล�ำ โดยทัง้ หมดเป็นเรือทีส่ ร้างขึน้ จากอูต่ อ่ เรือญีป่ นุ่ ตามรายละเอียด ดังต่อไปนี้ ชื่อเรือ 1. ทอร์ เมอร์คิวรี่ 2. ทอร์ มากันฮิลด์ 3. ทอร์ แม็กซิมัส 4. ทอร์ เมเนลอส 5. ทอร์ เมด็อค 6. ทอร์ โมนาดิค
วันที่ส่งมอบเรือ 21 มกราคม 2557 19 กุมภาพันธ์ 2557 23 พฤษภาคม 2557 3 มิถุนายน 2557 13 มิถุนายน 2557 7 กรกฎาคม 2557
ณ สิน้ ปีบญ ั ชี 2557 โทรีเซนชิปปิง้ เป็นเจ้าของกองเรือจ�ำนวน 24 ล�ำ ประกอบด้วย Handymax 8 ล�ำ และ Supramax 16 ล�ำ อายุเฉลี่ยของกองเรือถ่วงน�้ำหนักถัวขนาดของเรือ (เดทเวทตัน) อยู ่ ที่ 10.7 ปี ด้ ว ยขนาดระวางบรรทุ ก เฉลี่ ย รวม 50,636 เดทเวทตัน และเพือ่ รองรับความต้องการของลูกค้าโทรีเซนชิปปิง้ ได้เช่าเรือเหมาล�ำเฉลี่ยจ�ำนวน 18.0 ล�ำ ในปี 2557
ปีที่สร้างเรือ 2548 2549 2548 2549 2548 2549
ราคา (ล้าน) ดอลลาร์สหรัฐฯ 19 22 23 24 23 22
บาท 639 730 750 792 752 708
ตลาดธุ ร กิ จ เรื อ ขนส่ ง สิ น ค้ า แห้ ง เทกองส่ ง สั ญ ญาณผั น ผวน ตลอดทั้งปี 2557 โดยมีสัญญาณการฟื้นตัวของตลาดให้เห็นเป็น ช่วงๆ แต่แล้วสัญญาณดังกล่าวก็ถกู กลบโดยการชะลอการน�ำเข้า วัตถุดิบของจีน และผลกระทบชั่วคราวอื่นๆ การน�ำเข้าแร่เหล็ก ถ่านหิน และธัญพืชของจีนเพิ่มสูงสุดในช่วงปลายปี 2556 และ
ต้นปี 2557 ซึ่งส่งผลให้ตลาดเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองฟื้นตัว แต่การน�ำเข้าดังกล่าวเริ่มชะลอลงตั้งแต่เดือนเมษายน 2557 เป็นต้นมา อัตราการเติบโตทางการค้าที่ชะลอลงดึงให้อัตราการ ใช้ประโยชน์ของกองเรือลดลงจากระดับ 88% ในปลายปี 2556 ต่อต้นปี 2557 มาอยู่ในระดับต�่ำกว่า 87% ในระหว่างเดือน เมษายน-กันยายน 2557 (ข้อมูลจากมาร์ซอฟต์ พฤศจิกายน 2557) ส่วนผลกระทบชั่วคราวอื่น ที่มีผลต่อความผันผวนของ ตลาด ได้แก่ ความล่าช้าของการส่งออกธัญพืชของทวีปอเมริกาใต้ การห้ามส่งออกแร่นเิ กิลและแร่อลูมเิ นีย่ มของประเทศอินโดนีเซีย ปัญหาสินเชือ่ อย่างต่อเนือ่ งในประเทศจีน ฤดูกาลมรสุมช่วงเดือน พฤษภาคม-มิถุนายนในอินเดีย และสถานการณ์คุกรุ่นทางการ เมืองในประเทศต่างๆ ส�ำหรับช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2557 ยัง คงเห็นความต่อเนื่องของปัจจัยเหล่านี้ในช่วงต้นของไตรมาส ซึ่ ง เป็ น ผลกดดั น จากสถานการณ์ ท างการเมื อ งที่ ไ ม่ มั่ น คงใน ประเทศต่างๆ และการปรับลดลงของการคาดการณ์แนวโน้ม เศรษฐกิจโลก
BDI & อัตราค่าระวาง BDI & TC rates
การเติบโตของอุปสงค์และอุปทานของธุรกิจเรือขนส่งสินค้า แห้ งเทกอง Demand and Supply Growth of Dry Bulk Shipping
ตลาดธุรกิจเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองมี ความผันผวนอย่างมากในปี 2557
USD/day
Index 2,500
4Q FY14
1Q FY14
2Q FY14
3Q FY14
4Q FY14
20%
40,000 35,000
14.9%
15%
30,000
1,500
25,000
1,000
500
12.6%
11.8% 10%
20,000 15,000
15.3%
7.4% 5%
6.0%
6.2%
10,000
6.5% 5.1% 5.7% 5.1%
5,000
0
0
Oct-13
Jan-14
Apr-14
BDI (LHS)
TC Avg BCI
TC Avg BHSI
TC Avg BSI
ที่มา : มาร์ซอฟต์
Jul-14
Oct-14
0%
2009 1.7%
2010
2011
2012
¡ÒÃàµÔºâµ¢Í§¡Í§àÃ×Í·Ñ่ÇâÅ¡ ¡ÒÃàµÔºâµ¢Í§Íػʧ¤ µŒ¹äÁÅ ·Ñ่ÇâÅ¡
ที่มา : มาร์ซอฟต์, พฤศจิกายน 2557
2013
4.5% 4.2%
2014e 2015e
5.0% 5.2%
2016e
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
อัตราเฉลี่ยของดัชนีบอลติค (BDI) ในปี 2557 อยู่ที่ระดับ 1,105 จุด ลดลงจากปีก่อน 9% โดยระหว่างปีดัชนีมีความผันผวน พุ่งสูงสุดที่ 2,113 จุด และลงต�่ำสุดที่ 723 จุด ตลาดที่มีการปรับ ตัวลดลงน้อยสุดคือ ตลาดของเรือขนาด Supramax ที่มีอัตรา เฉลี่ยอยู่ที่ 1,038 จุด ลดลงจากปีก่อน 4% โดยอัตราค่าระวาง เรือเฉลี่ยของขนาดเรือ Supramax อยู่ที่ระดับ 9,818 เหรียญ สหรัฐใน ปี 2557 เมื่อเทียบกับระดับ 10,279 เหรียญสหรัฐใน ปี 2556 ตามด้วยอัตราค่าระวางเรือเฉลี่ยต่อวันของเรือขนาด Pananamax ทีล่ ดลงจากปีกอ่ น 5% มาเฉลีย่ อยูท่ ี่ 8,980 เหรียญ สหรัฐ และอัตราค่าระวางเฉลีย่ ของเรือขนาด Capesize ทีล่ ดจาก ปีก่อน 6% มาที่ 13,800 เหรียญสหรัฐต่อวัน ส่วนอัตราค่าระวาง เฉลี่ยของเรือขนาด Handysize อยู่ที่ 7,681 เหรียญสหรัฐต่อวัน ลดลง 6% จากปีก่อน ส�ำหรับช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี ค่าเฉลี่ยของ BDI อยู่ที่ 1,120 จุดลดลงจากช่วงเดียวกันของปีกอ่ นถึง 40% โดยตลาดทีล่ ดน้อย ที่สุดคือ Handysize ที่อัตราเฉลี่ยค่าระวางลดลง 29% มาอยู่ ที่ระดับ 7,119 เหรียญสหรัฐต่อวัน ตามด้วยตลาดของเรือ Supramax ที่อัตราค่าระวางเรือเฉลี่ยลดลง 30% มาอยู่ที่ระดับ 9,784 เหรียญสหรัฐต่อวัน และอัตราค่าระวางเรือเฉลี่ยของ Pananmax ลดลง 42% มาอยูท่ ี่ 8,310 เหรียญสหรัฐต่อวัน และ อัตราค่าระวางเรือเฉลี่ยของ Capesize มาอยู่ที่ระดับ 14,355 เหรียญสหรัฐต่อวัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 47% จากรายงานล่าสุดของมาร์ซอฟต์เมือ่ เดือนพฤศจิกายน 2557 คาด ว่าปริมาณความต้องการใช้งานเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองจะ ชะลอตัวลง เนื่องจากการลดลงของการค้าแร่เหล็ก การขยายตัว ของเหมือง การค้าผลิตภัณฑ์เหล็ก และการค้าขายธัญพืช ถึงแม้วา่ การค้าขายถ่านหินจะเพิ่มขึ้นก็ตาม ในภาพรวมปริมาณความ ต้องการการขนส่งสินค้าต่อตันไมล์จะชะลอลงในช่วง 2-3 ปี ข้างหน้า หลังจากทีเ่ คยเติบโตเฉลีย่ ที่ 6.1% ต่อปีในปี 2557 และ 5.2% ในปี 2558 การชะลอตัวดังกล่าวเกิดจากอัตราการเติบโต ที่ช้าลงของการค้าแร่เหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กกล้า ในขณะที่ การค้าขายของถ่านหินจะปรับตัวดีขนึ้ ในขณะเดียวกัน การเติบโต ของกองเรือก็คาดว่าจะขยายตัวประมาณ 5.1% ในปี 2557 และ ลดลงมาอยู่ที่ 4.2% ในปี 2558 ก่อนจะกลับขึ้นไปอีกที่ระดับ 5.2% ในปี 2559-2561 อัตราค่าระวางเรือระยะสั้นของเรือ Supramax คาดว่าจะอยู่ที่เฉลี่ยประมาณ 10,500 เหรียญ สหรัฐต่อวันในปี 2558 และ 11,500 เหรียญสหรัฐต่อวันตั้งแต่ปี 2559-2561
131
บริษทั เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) ก�ำไรในช่วงไตรมาสสุดท้ายลดลง เนือ่ งมา จากเรือเช่าว่างงานและค่าใช้จ่ายในการ ส่งเรือเข้าอู่ซ่อมบ�ำรุง ด้วยกลยุทธ์ในการขยายขอบเขตและเพิ่มรูปแบบการให้บริการ ท�ำให้เมอร์เมด ยังคงรักษาการเติบโตของรายได้ในรอบ 3 เดือน สุดท้ายของปีปฏิทิน 2557 ไว้ในระดับ 3,235 ล้านบาท อย่างไร ก็ดี การเติบโตของรายได้ดังกล่าว ไม่ได้ส่งผลดีต่อก�ำไรเท่าที่ควร เนื่องจากผลกระทบของต้นทุนค่าเช่าเรือส�ำหรับโครงการใหม่ ที่ยังไม่ได้เริ่มงาน และเรือเช่าบางล�ำยังไม่สามารถออกไปท�ำงาน ได้เพราะสภาพอากาศที่แปรปรวน รวมถึงค่าใช้จ่ายของการ ปรับปรุงคุณสมบัติทางเทคนิคของเรือ และโครงการที่ล่าช้าออก ไป เกิดขึน้ ในไตรมาสนี้ นอกจากนี้ อัตราการใช้ประโยชน์ของเรือ วิศวกรรมใต้ทะเลก็ลดลง เนื่องจากมีเรือถึงก�ำหนดเข้าซ่อมบ�ำรุง ตามรอบระยะเวลาทุกๆ 5 ปี อัตราการใช้ประโยชน์ของกองเรือวิศวกรรมใต้ทะเล
Jan - Mar 1Q
Apr-Jun 2Q
Jul-Sep 3Q
Oct-Dec 4Q
FY13
64.0%
78.0%
80.0%
81.0%
FY14
51.0%
66.0%
66.0%
49.0%
*อัตราการใช้ประโยชน์ของเรือในรอบปีปฏิทิน
ธุ ร กิ จ เรื อ ขุ ด เจาะยั ง คงท� ำ ผลงานได้ ดี อ ย่ า งสม�่ ำ เสมอในช่ ว ง ไตรมาสล่าสุด ซึ่งเป็นผลงานของบริษัทร่วมทุน Asia Offshore Drilling - AOD ในขณะที่เรือขุดเจาะ MTR-2 ให้บริการลูกค้า จนถึงสิ้นเดือนธันวาคม 2557 ก่อนที่สัญญาจะถูกยกเลิกก่อน ก�ำหนด เนื่องจากลูกค้าไม่ได้รับใบอนุญาตให้ปฏิบัติงานต่อจาก รัฐบาล ซึง่ เมอร์เมดก�ำลังมองหาสัญญาจ้างงานฉบับใหม่ให้กบั เรือ ขุดเจาะ MTR-2 ในบริเวณภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้
132
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
อัตราการใช้ประโยชน์ของกองเรือขุดเจาะ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
รายได้รวมอยูท่ ี่ 10,664 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 15% จากช่วงเดียวกัน ของปีก่อน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากธุรกิจวิศวกรรมใต้ทะเลที่ สามารถหาสัญญาจ้างงานระยะยาวแบบครบวงจรได้ เช่น สัญญา จ้างด�ำน�้ำของบริษัทน�้ำมันแห่งชาติซาอุดิอาระเบีย ซึ่งส่งผลให้ ค่าเฉลีย่ ของค่าจ้างรายวันสูงขึน้ กว่าปีกอ่ นถึง 30% ถึงแม้วา่ อัตรา การใช้ประโยชน์ของเรือวิศวกรรมใต้ทะเลจะได้รบั ผลกระทบจาก ก�ำหนดการน�ำเรือเข้าซ่อมบ�ำรุงในไตรมาสนี้ ซึง่ ส่งผลให้อตั ราการ ใช้ประโยชน์โดยเฉลี่ยตลอดทั้งปี 2557 ลดลงถึง 58% เมื่อ เทียบกับปี 2556 ที่ 76% แต่ก็ได้อัตราค่าจ้างรายวันที่สูงขึ้นมา ช่วยชดเชยไว้ได้ เมอร์เมดมีการเช่าเรือเพิ่มขึ้นในปี 2557 เพื่อ รักษาเครือข่ายของลูกค้า รวมถึงเพิ่มการให้บริการวิศวกรรมใต้ ทะเลรูปแบบใหม่ๆ การให้บริการวางโครงข่ายสายเคเบิ้ลใต้น�้ำ เพื่อให้ขอบเขตของการให้บริการขยายครอบคลุมมากขึ้น ซึ่งจะ Jan - Mar Apr-Jun Jul-Sep Oct-Dec 1Q 2Q 3Q 4Q ส่งผลให้มีฐานรายได้เพิ่มขึ้น แต่มีผลกระทบต่ออัตราก�ำไร FY13 20.0% 39.8% 58.0% 76.2% FY14 73.9% 76.4% 78.8% 77.8% รายได้จากธุรกิจเรือขุดเจาะส่วนใหญ่มาจากการท�ำงานของ เรือขุดเจาะ MTR-2 ซึ่งมีอัตราการใช้ประโยชน์อยู่ที่ 95% ซึ่ง *อัตราการใช้ประโยชน์ของเรือในรอบปีปฏิทิน อัตราการเติบโตดังกล่าวน่าจะเพิ่มสูงขึ้นอีก หากลูกค้าไม่ได้ นอกจากนี้ ก� ำ ไรสุ ท ธิ ข องเมอร์ เ มด ยั ง ได้ รั บ ผลกระทบจาก ขอเจรจาต่อรองเพื่อปรับลดค่าจ้างรายวันเมื่อเดือนมิถุนายน ใน การบันทึกการด้อยค่าของเรือวิศวกรรมใต้น�้ำบางล�ำจ�ำนวน 49 ระหว่างที่ลูกค้ารอด�ำเนินเรื่องขอใบอนุญาตในการขุดเจาะจาก ล้านบาทอีกด้วย รัฐบาลอินโดนีเซีย ทั้งนี้ MTR-2 ได้รับสัญญาจ้างงาน 2 ปีใน อินโดนีเซียจากเชฟรอน เมอร์เมดยังคงสามารถรักษาการเติบโต ก�ำไรขั้นต้นลดลงเพียงเล็กน้อยแค่ 1% จากช่วงเดียวกันของ น แต่อัตราก�ำไรขั้นต้นลดลงมาอยู่ที่ 23% เมื่อเปรียบเทียบ ของก�ำไรเป็นตัวเลขสองหลัก ส�ำหรับ ปีกับก่อ27% ในปี 2556 ซึง่ เป็นผลกระทบจากการด�ำเนินงานในช่วง ผลการด�ำเนินงานรอบปีปฏิทิน 2557 ไตรมาสสุดท้ายของปีปฏิทิน 2557 ในส่วนของค่าใช้จ่ายใน การขาย ทั่วไป และการบริหารจัดการ (SG&A) ตัวเลขเพิ่มขึ้น ในรอบปีปฏิทิน 2557 ผลก�ำไรสุทธิของเมอร์เมดที่มาถึง TTA 40% มาอยู่ที่ 1,270 ล้านบาท เนื่องจากค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 675 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 22% จากช่วงเดียวกัน ในแถบตะวันออกกลางที่เพิ่มขึ้น ของปีก่อนที่ 554 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลงานของธุรกิจเรือ ขุดเจาะ ซึ่งมีก�ำไรสูงขึ้นและได้สัญญาระยะยาว ในขณะธุรกิจ ส่ ว นแบ่ ง ผลก� ำ ไรจากการลงทุ น เพิ่ ม ขึ้ น จาก 374 ล้ า นบาท วิศวกรรมใต้ทะเลก็ได้รับอัตราค่าจ้างงานรายวันที่สูงขึ้น แต่ก็ถูก ในปี 2556 มาเป็น 1,005 ล้านบาทในปี 2557 เป็นผลมาจาก หักลบด้วยอัตราการใช้ประโยชน์ของเรือและอัตราก�ำไรที่ลดลง บริษัทร่วมทุน Asia Offshore Drilling - AOD ที่เมอร์เมดถือหุ้น อยู่ 33.8% โดยเรือขุดเจาะสามขาที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัวสูง ำนวน 3 ล�ำ ของ AOD ได้เริ่มให้บริการตามสัญญาว่าจ้างงาน ในรอบปีปฏิทิน 2557 ธุรกิจวิศวกรรมใต้ จ�ระยะเวลา 3 ปีจากบริษัทน�้ำมันแห่งชาติซาอุดิอรามโค ทะเลได้รบั อัตราค่าจ้างรายวันทีส่ งู ขึน้ ใน โดยสรุป ก�ำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมและค่าตัดจ�ำหน่าย ขณะที่ธุรกิจเรือขุดเจาะมีอัตราการใช้ (EBITDA) เพิ่มขึ้น 12% จากช่วงเดียวกันของปีก่อนมาอยู่ที่ 2,242 ล้านบาท
ประโยชน์ของเรือและค่าจ้างรายวันที่ สูงขึ้นด้วยเช่นกัน
Mermaid’s income statement* Baht millions Total revenues Total costs Gross profits
Gross margins (%)
Equity incomes Other incomes SG&A EBITDA
EBITDA margins (%)
Net profits
Net profit margins (%)
Net profits to TTA
133
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
restated
restated
4Q13
4Q14
%yoy
2013
2014
%yoy
2,659
3,235
22%
9,277
10,664
15%
(1,958)
(2,641)
35%
(6,763)
(8,178)
21%
701
594
-15%
2,514
2,486
-1%
26%
18%
-8%
27%
23%
-4%
234
230
-2%
374
1,005
169%
7
6
-18%
26
22
-14%
(190)
(329)
73%
(910)
(1,270)
40%
751
500
-33%
2,003
2,242
12%
28%
15%
-13%
22%
21%
-1%
421
142
-66%
963
1,180
23%
16%
3%
-13%
10%
11%
1%
238
82
-66%
554
675
22%
*as consolidated on TTA’s P&L
มีการสั่งต่อเรือขุดเจาะใหม่และเรือซ่อมบ�ำรุงล�ำใหม่ เพื่อรองรับความต้องการของ ลูกค้า เมือ่ เดือนมกราคม 2557 เมอร์เมด มาริไทม์ ได้ลงนามในสัญญาสัง่ ต่อเรือขุดเจาะท้องแบนใหม่จำ� นวน 2 ล�ำ และเรือซ่อมบ�ำรุงใต้ทะเล อีก 1 ล�ำ กับบริษัทไชน่า เมอร์แชนท์ อินดัสตรี้ โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด โดยมีรายละเอียดดังนี้ สินทรัพย์ใหม่ เรือขุดเจาะท้องแบน - MTR 3 เรือขุดเจาะท้องแบน - MTR 4 เรือซ่อมบ�ำรุงใต้ทะเล DSV
ราคา (ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) 149 149 138
แนวโน้มของอุตสาหกรรมยังคงเป็นบวก แต่ตอ้ งเพิม่ ความระมัดระวัง: เมอร์เมดยัง คงอยู่ในสถานะที่สามารถรับมือกับการ อ่อนตัวลงของราคาน�้ำมัน
ก�ำหนดการส่งมอบเรือ ไตรมาส 1 ปี 2559 ไตรมาส 2 ปี 2559 ไตรมาส 3 ปี 2559
เวลาเร่งด่วน เมอร์เมด มาริไทม์ยังคงด�ำเนินการตามแผนการ ขยายรูปแบบและพื้นที่ในการให้บริการไปยังตลาดเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ และตลาดตะวันออกกลาง ซึ่งค่อนข้างมีเสถียรภาพ กว่าตลาดอืน่ ๆ เรือวิศวกรรมใต้ทะเลหลายล�ำมีกำ� หนดเข้ารับการ ตรวจซ่อมบ�ำรุงตามระยะเวลา ซึ่งบังเอิญตรงกับช่วงฤดูที่ไม่ค่อย มีงาน ด้วยกิจกรรมการใช้งานแท่นขุดเจาะที่มีอยู่อย่างต่อเนื่อง การลดลงอย่างมากของราคาน�้ำมันในตลาดโลก ถือเป็นความ และสัญญาที่เคยหาไว้ เมอร์เมด มาริไทม์คาดว่า เรือเหล่านี้จะ ท้าทายรอบใหม่ส�ำหรับอุตสาหกรรมน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ได้ออกไปปฏิบัติการหลังจากผ่านการซ่อมบ�ำรุงเป็นที่เรียบร้อย ของโลก บริษัทน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติต่างๆ ได้เริ่มที่ทยอยตัด ส�ำหรับกลุ่มเรือขุดเจาะ ทางเมอร์เมด มาริไทม์ก�ำลังพยายามที่ ค่าใช้จ่ายในการส�ำรวจและผลิตบางส่วนลง และมีแนวโน้มว่า จะหางานให้กับเรือขุดเจาะท้องแบน MTR-1 และ MTR-2 รวม การลดงบประมาณส่วนนีจ้ ะแผ่ขยายวงกว้างออกไปอีก เนือ่ งจาก ถึงเรือขุดเจาะล�ำใหม่ MTR-3 และ MTR-4 ซึง่ เป็นความพยายาม บริ ษั ท ต่ า งๆ ในอุ ต สาหกรรมนี้ ก็ เ ริ่ ม มองหาวิ ธี ก ารรั บ มื อ กั บ ในการบุกตลาดใหม่ๆ ที่มีความเข้มแข็ง ถึงแม้ว่าจะต้องเผชิญ แนวโน้ ม ของราคาน�้ ำ มั น ที่ จ ะลดลงไปมากกว่ า นี้ เมอร์ เ มด กับสถานการณ์ราคาน�้ำมันตกต�่ำ มาริไทม์ยงั คงสามารถรับมือกับสถานการณ์ดงั กล่าวได้ เนือ่ งด้วย ธุ ร กิ จ ของเมอร์ เ มดส่ ว นใหญ่ ใ ห้ บ ริ ก ารส� ำ รวจและผลิ ต อยู ่ เมอร์เมด มาริไทม์ได้มีการตรวจสอบการก่อสร้างเรือล�ำใหม่ ในบริเวณน�ำ้ ตืน้ ซึง่ ได้รบั ผลกระทบน้อยกว่า แต่เมอร์เมด มาริไทม์ ทั้งสามล�ำที่ก�ำลังด�ำเนินการอยู่ในประเทศจีนอย่างต่อเนื่อง เพื่อ ยังคงพยายามที่จะมีส่วนร่วมและสนับสนุนลูกค้าให้มากขึ้นใน ให้สามารถส่งมอบได้ตามก�ำหนดเวลาในปี 2559 ซึ่งคาดว่าน่า จะสร้างการเติบโตให้กับเมอร์เมดได้เป็นอย่างดีเมื่อมีสัญญาจ้าง การรับมือกับความท้าทายรอบใหม่ของอุตสาหกรรมนี้ งานแล้ว ธุรกิจวิศวกรรมใต้ทะเลยังคงท�ำงานในรูปแบบสัญญาระยะสั้นๆ และยังต้องคอยปรับเปลี่ยนการให้บริการตามที่ลูกค้าร้องขอใน ในขณะทีเ่ มอร์เมด มาริไทม์ ยังมีมมุ มองทีเ่ ป็นบวกกับอุตสาหกรรม แต่ก็เพิ่มความระมัดระวังมากขึ้น ด้วยการท�ำผลงานให้ดีขึ้น
134
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
ปรับปรุงต้นทุนค่าใช้จ่ายให้มีประสิทธิภาพ แต่ในขณะเดียวกันก็ ยังรักษาคุณภาพในการให้บริการไว้ในระดับสูงตามที่ได้เคยมอบ ให้กบั ลูกค้า งบดุลทีแ่ ข็งแกร่งของบริษทั นอกจากจะท�ำให้บริษทั อยู่ในสถานะที่พร้อมส�ำหรับการแข่งขันแล้ว ยังเป็นการเปิด โอกาสให้บริษัทขยายตัวด้วยการเข้าซื้อสินทรัพย์ที่มีคุณภาพที่ ถูกน�ำมาออกขายในช่วงนี้ และเมอร์เมดยังคงให้ความส�ำคัญกับ การสร้างมูลค่าให้กับผู้ถือหุ้น
บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน)
เริ่มกลับมาน�ำเข้าถ่านหินและการขาย แบบปกติ
หลังจากใช้เวลา 3 ไตรมาสแรกในการด�ำเนินมาตรการปรับสมดุล โครงสร้างเงินทุนและขายสินค้าคงคลังส่วนเกินออกไป UMS สามารถกลับมาน�ำเข้าถ่านหินและด�ำเนินกิจกรรมการขายได้ตาม ปกติในไตรมาสสุดท้ายของปี 2557 โดย UMS มีผลขาดทุนสุทธิ (20) ล้านบาท ส�ำหรับงวด 3 เดือน (สิ้นสุด ณ เดือนธันวาคม 2557) ลดลงจาก (35) ล้านบาทในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเมื่อน�ำมาเปรียบเทียบกับรอบปีปฎิทิน 2557 พบว่าตัวเลข ขาดทุนลดลงเช่นเดียวกัน กล่าวคือ UMS มีผลขาดทุนสุทธิ ลดลงจาก (374) ล้านบาท ในปี 2556 เหลือเพียง (105) ล้านบาทในปี 2557 และมีกระแสเงินสดและสถานะการเงินปรับ ตัวดีขึ้นอย่างมาก ซึ่งเป็นผลจากความส�ำเร็จในการปรับแผนการ ระบายสินค้าคงคลัง ผลประกอบการงวด 3 เดือน (สิ้นสุด ณ เดือนธันวาคม 2557) UMS มีรายได้ 113 ล้านบาท ลดลง 74% เมื่อเทียบกับปีก่อน เนือ่ งจากมีการเพิม่ ปริมาณการน�ำเข้าและด�ำเนินกิจกรรมการขาย ถ่านหิน โดยรายได้จากการขายถ่านหินขนาด 0-5 มม. ลดลง มาอยู่ที่ 10% เมื่อเทียบกับปีก่อนที่ท�ำได้ 46% อัตราก�ำไรขั้นต้น เพิ่มขึ้น 35% เนื่องจาก UMS มีก�ำไรจากการขายเพิ่มขึ้นและ มีต้นทุนขายลดลง UMS' income statement* Baht millions Total revenues Total costs Gross profits Gross margins (%) Other incomes SG&A EBITDA EBITDA margins (%) Net profits Net profit margins (%) Net profits to TTA *as consolidated on TTA's P&L
restated
4Q13 439 (364) 75 17% 7 (82) 0 0% (40) -9% (35)
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
UMS กำไรขั้นตน
รายได (ลานบาท) 2,000 1,500 500 500 0 กำไรขั้นตน ถานหิน : ขนาด 0.5 มม. ถานหิน : ขนาดอื่นๆ
60% 40% 20% 0%
ป 2556 3 292 1,575
ป 2557 31 486 226
ในปี 2557 ทีมผู้บริหารของ UMS ให้ความส�ำคัญกับการขาย ถ่านหินคงคลังขนาด 0-5 มม. ประกอบกับการจ�ำกัดปริมาณ การผลิตถ่านหินคัดขนาด เพื่อปรับสมดุลโครงสร้างเงินทุนจึงส่ง ผลให้ UMS มีรายได้ 712 ล้านบาท ลดลง 62% จากปีก่อน และ สัดส่วนการขายถ่านหินขนาด 0-5 มม. คิดเป็น 42% ของปริมาณ การขายถ่านหินทั้งหมด เมื่อเทียบกับปี 2556 ซึ่งเคยท�ำได้ 26% UMS มีอัตราก�ำไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นเป็น 31% จากต้นทุนค่าใช้จ่าย ในการขายที่ลดลงเนื่องจากการกลับรายการทางบัญชี (net realized value) ที่เคยมีการตั้งค่าเผื่อมูลค่าถ่านหินลดลงแต่ ราคาถ่านหินในสินค้าคงคลังปรับตัวดีขึ้น
สถานะการเงิ น และโครงสร้ า งเงิ น ทุ น แข็งแกร่งขึน้ หนีส้ นิ สุทธิตอ่ ธนาคารลดลง เหลือ 580 ล้านบาท
ในการขายถ่านหินขนาด 0-5 มม.นั้น แม้ว่าจะไม่สร้างผลก�ำไร เพราะราคาถ่านหินต�่ำลง แต่ช่วยสร้างกระแสเงินสดที่ดีให้กับ UMS อย่างมาก เพือ่ ปรับสมดุลโครงสร้างทางการเงิน เห็นได้จาก หนี้สินสุทธิต่อธนาคารลดลงจาก 1,138 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2556 เหลือเพียง 580 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2557 4Q14 113 (73) 40 35% 0 (31) 8 7% (22) -20% (20)
%yoy -74% -80% -47% 18% -100% -62% 2729% 7% -44% -11% -44%
restated
2013 1,867 (1,805) 62 3% 11 (336) (263) -14% (422) -23% (374)
2014 712 (495) 217 30% (4) (182) 32 4% (119) -17% (105)
%yoy -62% -73% 247% 27% -137% -46% 112% 19% -72% 6% -72%
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
135
PMTA กำไรขั้นตน
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ธุ ร กิ จ ซบเซาในไตรมาสสุ ด ท้ า ยเพราะ ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ผิดปกติ ส�ำหรับงวด 3 เดือน (สิ้นสุด ณ เดือนธันวาคม 2557) PMTA มี ก�ำไรสุทธิลดลง 37% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นผลมาจากยอดขายที่ลดลง แต่มีต้นทุนในการขายและ การบริหารจัดการสูงขึ้น ปริมาณยอดขายที่ลดลงในไตรมาสนี้ เพราะประสบปั ญ หาฝนตกหนั ก และเกิ ด น�้ ำ ท่ ว มในบริ เ วณ สามเหลี่ยมปากแม่น�้ำโขง ท�ำให้ลูกค้าระงับค�ำสั่งซื้อไว้ชั่วคราว นอกจากนี้ ลู ก ค้ า หลายรายยั ง ชะลอค� ำ สั่ ง ซื้ อ เพราะคาดว่ า นโยบายลดภาษีมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเหลือ 5% จะเริ่ม มีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2558
30% 20% 10% 0% ปริมาณการขาย ’000 ตัน 200 150 100 50 0 กำไรขั้นตน ปริมาณการขาย
ป 2556 16% 194
ป 2557 20% 198
1) ธุรกิจปุ๋ย
PMTA มียอดขายปุ๋ยเพื่อการเกษตรจ�ำนวน 197,535 ตัน ใน อย่างไรก็ตาม PMTA ยังคงมีผลประกอบการที่ดีในปี 2557 โดย ปี 2557 เพิ่มขึ้น 2% จากปีก่อน ยอดขายในช่วงไตรมาสสุดท้าย มีก�ำไรสุทธิ 270 ล้านบาท ซึ่งเป็นอัตราการเติบโตที่ใกล้เคียงกับ ลดลง 11% จากปีกอ่ น เนือ่ งจากลูกค้าชะลอการสัง่ ซือ้ ปุย๋ ซึง่ เป็น ปี 2556 ซึง่ เป็นผลมาจากปริมาณการขายปุย๋ ในประเทศเวียดนาม ผลมาจากปั ญ หาฝนตกหนั ก และเกิ ด น�้ ำ ท่ ว มในสามเหลี่ ย ม และการส่งออกทีม่ อี ตั ราผลก�ำไรเพิม่ สูงขึน้ PMTA มีรายได้เท่ากับ ปากแม่น�้ำโขง และนโยบายการลดภาษีมูลค่าเพิ่มส�ำหรับสินค้า 3,088 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 2% เนื่องจากราคาปุ๋ยต�ำ่ ลง ประเภทปุย๋ เหลือ 5% ซึง่ จะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2558 แม้ว่าปริมาณการขายจะเพิ่มสูงขึ้น ขณะที่ต้นทุนการขายลดลง โดยสัดส่วนการขายปุ๋ย NPK คิดเป็น 98% ของยอดขายทั้งหมด มากถึง 7% จากปีก่อน ตามราคาวัตถุดิบที่ลดลง ท�ำให้อัตราผล ในปี 2557 ซึ่งใกล้เคียงกับปี 2556 อย่างไรก็ตาม แม้ว่าราคาปุ๋ย ก�ำไรขั้นต้นในปี 2557 เพิ่มขึ้น 20% จาก 16% ในปี 2556 ก�ำไร จะต�่ำลง แต่ก�ำไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นจากปีก่อน เนื่องจาก PMTA ก่อนหักดอกเบี้ยจ่าย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจ�ำหน่าย เน้นขายผลิตภัณฑ์ที่มีก�ำไรสูง และมีการตั้งสายการผลิตปุ๋ยชนิด (EBITDA) ลดลงจากปีกอ่ น 3% มาอยูท่ ี่ 374 ล้านบาทในปี 2557 เม็ดขึ้นใหม่ ซึ่งช่วยเพิ่มก�ำลังการผลิตได้ประมาณ 100,000 ในขณะที่ EBITDA margins เท่ากับ 12% แม้ว่าค่าใช้จ่ายใน เมตริกตัน เป็น 450,000 เมตริกตัน โดยสายการผลิตใหม่นี้ การขาย บริหาร และ ทั่วไป (SG&A) เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 95% เสร็จใช้งานได้สมบูรณ์ในไตรมาสที่ 4 ของปี 2557 ซึ่งคาดว่าจะ ช่วยเพิม่ ยอดส่งออกตัง้ แต่ไตรมาสแรกของปี 2558 PMTA มียอด งออกในปี 2557 เท่ากับ 79,385 เมตริกตัน ผลการด�ำเนินงานในรอบปีปฎิทิน 2557 ขายจากการส่ ซึ่งคิดเป็น 41% ของยอดขายรวมทั้งหมด และมีรายได้จาก แข็งแกร่งทัง้ ธุรกิจปุย๋ และธุรกิจคลังสินค้า การส่งออกคิดเป็น 35% ของรายได้รวมทัง้ หมดทีม่ าจากการขาย ปุ๋ย ซึ่งสูงขึ้น 30% จากปี 2556
PMTA's income statement* Baht millions Total revenues Total costs Gross profits Gross margins (%) Other incomes SG&A EBITDA EBITDA margins (%) Net profits Net profit margins (%) *as consolidated on TTA's P&L
restated
4Q13 693 (552) 141 20% 7 (33) 115 17% 88 13%
restated
4Q14 589 (477) 112 19% 11 (53) 70 12% 55 9%
%yoy -15% -14% -21% -1% 50% 59% -39% -5% -37% -3%
2013 3,152 (2,656) 496 16% 27 (137) 385 12% 271 9%
2014 3,088 (2,483) 605 20% 36 (267) 374 12% 270 9%
%yoy -2% -7% 22% 4% 31% 95% -3% 0% 0% 0%
136
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
2) ธุรกิจคลังสินค้า
ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้อนุมตั แิ บบแสดงรายการข้อมูล (filling) และการเสนอ ในปี 2557 PMTA มีรายได้จากการให้เช่าคลังสินค้า 32 ล้านบาท ขายหลักทรัพย์ของ บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด เพิม่ ขึน้ จากปี 2556 ทีม่ รี ายได้เท่ากับ 22 ล้านบาท เป็นผลมาจาก (มหาชน) (“PMTA”) เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2557 คลังสินค้า BCC 5 ให้บริการเต็มทั้งปีและอัตราค่าเช่าที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม รายได้จากการให้เช่าพืน้ ทีเ่ ก็บสินค้ายังคงน้อยกว่า ต่อมาในเดือนมกราคม 2558 คณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ รายได้จากการขายปุย๋ แม้วา่ ได้ทำ� การขยายธุรกิจคลังสินค้าอย่าง ได้อนุมตั สิ ดั ส่วนการเสนอขายหุน้ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ เดิมของ TTA และ ต่อเนือ่ งแล้วก็ตาม อัตราการใช้ประโยชน์ของคลังสินค้าโดยเฉลีย่ ก�ำหนดช่วงราคาขายของหุน้ สามัญเพิม่ ทุนของ PMTA ทีจ่ ะเสนอ อยู่ในระดับสูงถึง 100% ในปี 2557 เทียบกับ 88% ในปี 2556 ขายต่อประชาชนทั่วไป ในเดือนมีนาคม 2558 คณะกรรมการ ปัจจุบนั PMTA มีพนื้ ทีใ่ ห้เช่าเก็บสินค้ารวมทัง้ สิน้ 31,800 ตาราง บริหารของบริษทั ฯ ได้อนุมตั ริ าคาเสนอขายและวิธกี ารจองซือ้ ห้นุ สามัญเพิ่มทุนของ PMTA เมตร ซึ่งรองรับสินค้าได้ประมาณ 124,000 เมตริกตัน • สัดส่วนการเสนอขายให้กับผู้ถือหุ้นเดิมของ TTA คือ 37 หุ้น ญของ TTA ต่อ 1 หุ้นสามัญเพิ่มทุนของ PMTA (37:1) การน�ำ PMTA เข้าจดทะเบียนในตลาด สามั • ราคาเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ PMTA แก่ผู้ถือหุ้นของ หลักทรัพย์ ไฟลิ่งมีผลบังคับใช้ มีการ TTA และประชาชนทั่วไป อยู่ที่ 18 บาทต่อหุ้น • ก�ำหนดระยะเวลาเสนอขายหุ้นเพิ่มทุนและหุ้นสามัญเดิมของ ก� ำ หนดสั ด ส่ ว นการเสนอขายและช่ ว ง PMTA ในช่วงระหว่างวันที่ 30 มีนาคม - 3 เมษายน 2558
ราคาแล้ว
ส่วนองค์กรหลัก
ขยายการลงทุนในปี 2557 เพื่อสร้างการเติบโตของธุรกิจ บริษัท โทรีเซนชิปปิ้ง เมอร์เมด มาริไทม์ บาคองโค TTA TTA
รายการการลงทุน ซื้อเรือขนาด Supramax 6 ล�ำ สั่งต่อเรือขุดเจาะท้องแบน 2 ล�ำ และ DSV 1 ล�ำ สร้างสายการผลิตเพื่อการส่งออก ซื้อหุ้นในเมอร์เมดเพิ่ม 0.44% ซื้อหุ้น 9% ในบริษัท บริษัท ไซโน แกรนด์เนส ฟู้ด อินดัสตรี กรุ๊ป จ�ำกัด
มูลค่า (ล้านบาท) 4,371 14,052 125 60 611
ขอบคุณผู้ถือหุ้นที่ให้การสนับสนุนแผน ฐานะทางการเงิน การเพิ่มทุนเมื่อเดือนมกราคม 2558 สินทรัพย์รวมจ�ำนวน 51,622 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 5% จากรอบ TTA ขอขอบคุณผู้ถือหุ้นทุกท่านที่สนับสนุนแผนการเพิ่มทุน ของบริษทั ฯ เมือ่ เดือนมกราคม 2558 ทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ วางแผน ทีจ่ ะน�ำเงินไปใช้ในการลงทุนในธุรกิจใหม่ๆ เมือ่ โอกาสเอือ้ อ�ำนวย เพื่อท�ำให้พอร์ตการลงทุนของบริษัทฯ เติบโตอย่างแข็งแกร่ง และยั่งยืนต่อไป TTA ก�ำลังศึกษาลูท่ างในการลงทุนในธุรกิจขนาดใหญ่หลายธุรกิจ อาทิ เช่น การซือ้ กิจการของบริษทั ทีด่ ำ� เนินธุรกิจด้านอาหารและ เครื่องดื่ม การลงทุนในธุรกิจพลังงานทดแทน รวมถึงธุรกิจ โครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ โดยเงินที่ได้จากการระดมทุน ในครั้งนี้ จะท�ำให้บริษัทฯ มีความพร้อมที่จะลงทุนในธุรกิจต่างๆ ได้ในจังหวะเวลาที่เหมาะสม และมีศักยภาพที่จะรับมือกับความ ผันผวนของตลาดที่ค่อนข้างสูงได้
บัญชีสนิ้ สุดเดือนกันยายน 2557 สินทรัพย์หมุนเวียนเพิม่ ขึน้ 5% จากรอบบัญชีสิ้นสุดเดือนกันยายน 2557 เป็น 15,408 ล้านบาท โดยเป็นการเพิ่มในส่วนของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (cash and cash equivalents) อันเกิดจากการที่บริษัทฯ ได้มี การกูย้ มื จากสถาบันการเงินเพือ่ น�ำมาใช้เป็นเงินทุนในการซือ้ เรือ ก่อนหน้านี้ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้น 4% จากรอบบัญชีสิ้นสุดเดือน กันยายน 2557 โดยหลักแล้วเป็นผลมาจากการที่บริษัทฯ ได้ ลงทุนในบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น 19% เป็น 5,805 ล้านบาท โดย TTA ได้เข้าลงทุนในบริษัท ไซโน แกรนด์เนส ฟู้ด อินดัสตรี กรุ๊ป จ�ำกัด (“SGFI”) 9% คิดเป็นมูลค่า 611 ล้านบาท
รายงานประจ� ำ ปี 2557
หนี้สินรวมจ�ำนวน 19,148 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 8% จากรอบบัญชี สิ้นสุดเดือนกันยายน 2557 จ�ำนวนหนี้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ้น 9% จากรอบบัญชีสิ้นสุดเดือนกันยายน 2557 เป็น 9,055 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักมาจากจ�ำนวนเจ้าหนี้การค้า (trade account payable) ที่เพิ่มขึ้น 38% จากรอบบัญชีสิ้นสุดเดือนกันยายน 2557 การเพิ่มกิจกรรมการเช่าเรือแบบเหมาล�ำของ เมอร์เมด มาริไทม์ ส่งผลให้มีจ�ำนวนเจ้าหนี้การค้าส�ำหรับเช่าเรือที่เพิ่มสูง ขึ้น หนี้สินไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้น 7% จากรอบบัญชีสิ้นสุดเดือน กันยายน 2557 เป็น 10,093 ล้านบาท การกู้ยืมระยะยาวจาก สถาบันการเงินสูงขึ้น 578 ล้านบาท เป็น 7,734 ล้านบาท เป็น ผลมาจากการเบิกเงินกูย้ มื จากธนาคารทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในการ ปล่อยกู้ของธุรกิจขนส่งส�ำหรับการซื้อเรือที่ได้ท�ำไปก่อนหน้านี้ ซึ่งทาง TTA ได้ใช้เงินทุนตัวเองในการซื้อไปก่อนทั้งหมด ส่วนของผู้ถือหุ้นรวมจ�ำนวน 32,474 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 3% จาก รอบบัญชีสิ้นสุดเดือนกันยายน 2557 ซึ่งมีส่วนที่เป็นส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ จ�ำนวน 24,478 ล้านบาท ในไตรมาสสุดท้ายของ รอบปีบัญชี 2557 ในส่วนของทุนช�ำระแล้วของบริษัท มีจ�ำนวน เพิม่ ขึน้ ประมาณ 8 ล้านหุน้ เป็นผลมาจากการใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญ ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ TTA-W3 และ TTA-W4
โครงสร้างเงินทุน ภาระหนี้สินส่วนใหญ่ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย แบ่งเป็น เงินกู้ระยะยาวจ�ำนวน 7,734 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8% จากปีก่อน เป็นการเพิม่ ขึน้ ในส่วนของเงินกูร้ ะยะยาวจากสถาบันการเงินเพือ่ ใช้ในการซื้อสินทรัพย์ ณ สิ้นรอบปีบัญชี 2557 สัดส่วนหนี้สิน ระยะสั้นและระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 0.45 เท่า เท่ากับปีก่อนที่ 0.45 เท่า
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
137
สภาพคล่อง ส�ำหรับรอบระยะเวลา 3 เดือน (ตุลาคม-ธันวาคม 2557) กระแส เงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงานลดลงจาก 1,606 ล้านบาทในช่วง เวลาเดียวกันของปีก่อน เป็น 572 ล้านบาท โดยกระแสเงินสด จากกิจกรรมด�ำเนินงานที่ลดลงเป็นผลเนื่องมาจากผลประกอบ การของเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2557 ทีช่ ะลอตัวลง เมือ่ เทียบกับ ผลประกอบการของเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2556 ทัง้ นี้ ได้รบั ผลก ระทบจากการลงทุนใน SGFI ในขณะทีก่ ระแสเงินสดจากกิจกรรม การจัดหาทุนนั้นเพิ่มขึ้นอันเป็นผลมาจากการกู้ยืมเพื่อน�ำมาใช้ เป็นทุนในการซื้อเรือก่อนหน้านี้ ส�ำหรับรอบระยะเวลา 12 เดือน (มกราคม-ธันวาคม 2557) กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงานเพิ่มขึ้นจาก 1,609 ล้าน บาทในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว เป็น 1,940 ล้านบาท ซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการปรับตัวดีขึ้นของผลการด�ำเนินงาน ส�ำหรับการเปลีย่ นแปลงของกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนนัน้ มีผลกระทบจากการลงทุนในเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองมือสอง ขนาด Supramax 6 ล�ำ และการจ่ายเงินล่วงหน้า (ประมาณ 15% ของมูลค่าทั้งหมด) ของการสั่งต่อเรือขุดเจาะท้องแบนใหม่ 2 ล�ำ และ เรือ DSV ใหม่ 1 ล�ำ
138
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่ อ รายงานทางการเงิ น
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
เรียน ผู้ถือหุ้น บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญต่อหน้าที่และความรับผิดชอบ ในการดูแลกิจการบริษัทฯ ให้มีการจัดการที่ดี ให้เป็นไปตามกฎหมายวัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไป โดยก�ำกับดูแลให้รายงานทางการเงินของบริษัทฯ มีการบันทึกข้อมูลทาง บัญชีที่ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถสะท้อนฐานะการเงินและผลด�ำเนินงานที่เป็นจริงของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วย กรรมการอิสระที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิมีคุณสมบัติ ครบถ้วนตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้เข้ามาท�ำหน้าที่สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงานการเงิน อย่างถูกต้องเพียงพอ สอบทานระบบควบคุมภายใน รวมทัง้ สอบทานการปฏิบตั ขิ องบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบ ได้รายงานผลการปฏิบัติงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ แล้ว คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจ และสามารถ ให้ความมัน่ ใจอย่างมีเหตุผลต่อความเชือ่ ถือได้ของงบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ส�ำหรับงวดสามเดือนสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ซึ่งผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ได้ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป และแสดงความเห็นว่างบการเงิน แสดงฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานโดยถูกต้อง ตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป
นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ประธานกรรมการ
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
รายงานประจ� ำ ปี 2557
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
139
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต
เสนอ ผูถือหุนบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัท ยอย (“กลุมบริษัท”) และของเฉพาะบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) ตามลําดับ ซึ่งประกอบดวยงบ แสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 งบกําไรขาดทุนรวมและงบกําไรขาดทุน เฉพาะกิจการ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวม และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับ งวดสามเดือนสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุซึ่งประกอบดวยสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญและเรื่องอื่น ๆ ความรับผิดชอบของผูบริหารตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบริหารเปนผูรับผิดชอบในการจัดทําและการนําเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหลานี้โดยถูกตองตามที่ควรตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผูบริหารพิจารณาวาจําเปนเพื่อใหสามารถจัดทํางบ การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญไมวาจะเกิดจากการทุจริต หรือขอผิดพลาด ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชี ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการดังกลาวจากผลการตรวจสอบของ ขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกําหนดใหขาพเจาปฏิบัติตามขอกําหนดดานจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการตรวจสอบเพื่อใหไดมาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจํานวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบ การเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใชขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูสอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอ ขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญของงบการเงินไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาดในการประเมินความเสี่ยงดังกลาว ผูสอบ บัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับการจัดทําและการนําเสนองบการเงิน
140
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
โดยถูกตองตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ แตไมใชเพื่อวัตถุประสงคในการแสดง ความเห็นตอประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชี ที่ผูบริหารใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดทําขึ้นโดยผูบริหาร รวมทั้งการประเมินการนําเสนองบการเงิน โดยรวม ขาพเจาเชื่อวาหลักฐานการสอบบัญชีที่ขาพเจาไดรับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใชเปนเกณฑในการแสดงความเห็นของขาพเจา ความเห็น ขาพเจาเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการขางตนนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของกลุม บริษัท และบริษัท ตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแส เงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน เรื่องอื่นๆ ขาพเจาขอใหสังเกตเกี่ยวกับการที่กลุมบริษัทไดเปลี่ยนแปลงรอบระยะเวลาบัญชีจากสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน เปนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สงผลใหงบกําไรขาดทุนรวม งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวม และงบกระแส เงินสดรวมสําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ครอบคลุมระยะเวลาสามเดือนเทานั้น ขณะที่ขอมูลเปรียบเทียบเปนขอมูล สําหรับระยะเวลาสิบสองเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 ซึ่งทําใหขอมูลที่นําเสนอในรอบระยะเวลาดังกลาวไมสามารถเปรียบเทียบ กันได ดังนั้นกลุมบริษัทไดนําเสนอขอมูลเพิ่มเติมในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 36 ในรูปแบบของงบกําไรขาดทุนรวมสําหรับ ระยะเวลาสิบสองเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ซึ่งขาพเจาไมไดตรวจสอบและแสดงความเห็นตอขอมูลเพิ่มเติม ดังกลาว
(วีระชัย รัตนจรัสกุล) ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4323 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด กรุงเทพมหานคร 27 กุมภาพันธ 2558
2
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
รายงานประจ� ำ ปี 2557
141
งบแสดงฐานะการเงิ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน
บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย งบการเงินรวม สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สวนของเงินใหกูระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป ตนทุนสัญญารอการตัดบัญชี สินคาคงเหลือ วัสดุและของใชสิ้นเปลืองสําหรับเรือเดินทะเล คาใชจายจายลวงหนา สินทรัพยที่ถือไวเพื่อขาย สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินใหกูระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทรวม เงินลงทุนในกิจการรวมคา คาความนิยม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน
หมายเหตุ
31 ธันวาคม 2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ
30 กันยายน 31 ธันวาคม 2557 2557 (พันบาท)
30 กันยายน 2557
5 6 4, 7 8 4 4
7,710,644 587,780 4,439,868 349,537 10,802 -
6,289,847 1,342,450 4,243,971 428,153 6,774 -
2,920,551 62,385 366 466,639 1,462,280
2,052,840 66,393 12,799 495,690 2,083,753
4 9 10
2,073 190,275 770,657 673,102 227,591 445,649 15,407,978
2,073 203,385 659,058 696,790 195,651 149,416 368,125 14,585,693
6,573
2,106 4,925,825
607,723 4,591 2,377 5,326,166
5,804,516 1,298,022 984,598 27,260,692 225,765 202,677 437,609 36,213,879
4,861,412 1,110,618 978,620 26,924,236 246,558 178,083 445,506 34,745,033
694,508 23,328,744 42,368 19,984 179,374 49,360 104,492 1,691 24,420,521
734,876 27,733,152 42,368 17,968 182,404 53,396 80,275 511 28,844,950
51,621,857
49,330,726
29,346,346
34,171,116
11
4 12 13 14 15 16 17 18 19
รวมสินทรัพย หมายเหตุประกอบงบการเงิ น เป็ น ส่ วนหนึ่ ง ของงบการเงิ นนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3
4,925 -
142
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบแสดงฐานะการเงิ น บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน
บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย งบการเงินรวม หนี้สินและสวนของผูถือหุน
หมายเหตุ
หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูระยะสั้น เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินรับลวงหนาจากลูกคา เงินกูระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน สวนของเงินกูระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งป สวนของหุนกูที่ถึงกําหนดไถถอนภายในหนึ่งป หนี้สินตามสัญญาเชาการเงินที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป
20 20
หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน
30 กันยายน 31 ธันวาคม 2557 2557 (พันบาท)
4,20
4,244 284,044 1,229,828 152,607 7,576 171,248 -
55,407 1,287,653
9,686 61 365,001 5,816,657
20 20
2,463,544 1,999,627
2,272,635 1,999,445
300,000 1,999,627
360,000 1,999,445
20
6,693 57,310 165,548 1,464,823 322,807 9,054,548
6,264 66,047 154,030 1,580,745 363,114 8,291,827
43,413 16,647 3,709,331
102,685 137,308 8,790,843
20 20 20 18 21
7,734,090 1,998,700 9,332 195,860 155,016 10,092,998 19,147,546
7,156,341 1,998,569 9,186 163,757 111,663 9,439,516 17,731,343
480,000 1,998,700 13,196 2,491,896 6,201,227
580,000 1,998,569 12,343 2,590,912 11,381,755
4
รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน หมายเหตุประกอบงบการเงิ น เป็ น ส่ วนหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
-
30 กันยายน 2557
8,525 473,279 1,702,766 193,288 5,698 190,640 -
เงินคาหุนคางชําระที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป ภาษีเงินไดคางจาย คาใชจายคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูระยะยาว หุนกู - สุทธิ หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน
31 ธันวาคม 2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ
6,584
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
รายงานประจ� ำ ปี 2557
143
งบแสดงฐานะการเงิ น บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน
บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย งบการเงินรวม หนี้สินและสวนของผูถือหุน
หมายเหตุ
สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชําระแลว สวนเกินมูลคาหุนสามัญ กําไรสะสม จัดสรรแลว - ทุนสํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน
31 ธันวาคม 2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ
30 กันยายน 31 ธันวาคม 2557 2557 (พันบาท)
30 กันยายน 2557
22
1,544,106 1,301,175 9,282,187
1,544,106 1,293,235 9,161,644
1,544,106 1,301,175 9,282,187
1,544,106 1,293,235 9,161,644
23
110,340 12,452,026 1,332,079
98,830 12,308,809 863,262
110,340 12,461,989 (10,572)
98,830 12,243,423 (7,771)
รวมสวนของผูถือหุนของบริษัท สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม รวมสวนของผูถือหุน
24,477,807 7,996,504 32,474,311
23,725,780 7,873,603 31,599,383
23,145,119 23,145,119
22,789,361 22,789,361
รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน
51,621,857
49,330,726
29,346,346
34,171,116
หมายเหตุประกอบงบการเงิ น เป็ น ส่ วนหนึ่ ง ของงบการเงิ นนี้
144
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบก� ำ ไรขาดทุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุน
บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย งบการเงินรวม สําหรับงวด สามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุ 2557
รายได รายไดจากการบริการ คาระวาง คาบริการจากธุรกิจนอกชายฝง คาบริการและคานายหนา รายไดจากการขาย รวมรายได
25
ตนทุน ตนทุนการใหบริการ คาใชจายในการดําเนินงานเกี่ยวกับเรือเดินทะเล คาใชจายในการบริการจากธุรกิจนอกชายฝง คาใชจายในการใหบริการและคานายหนา ตนทุนขาย รวมตนทุน กําไรขั้นตน รายไดจากการดําเนินงานอื่น กําไรกอนคาใชจาย
26
คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร รวมคาใชจาย กําไรจากการดําเนินงาน สวนแบงกําไรจากบริษัทรวมและกิจการรวมคา กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินได (ผลประโยชน) กําไรสุทธิสําหรับงวด/ป
25 13, 14
28
หมายเหตุประกอบงบการเงิ น เป็ น ส่ วนหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557
สําหรับงวด สามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 (พันบาท)
สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557
2,213,697 3,234,735 64,307 693,937 6,206,676
6,887,489 10,088,183 253,963 4,201,603 21,431,238
-
-
2,136,311 2,830,048 36,726 567,346 5,570,431
6,219,423 8,233,895 132,790 3,386,129 17,972,237
-
-
636,245 158,320 794,565
3,459,001 339,593 3,798,594
-
-
44,491 580,152 624,643
315,222 2,237,976 2,553,198
-
169,922 258,063 427,985 128,044 299,941 91,038 208,903
1,245,396 1,186,091 2,431,487 491,859 1,939,628 314,353 1,625,275
355,697 355,697
760,061 760,061 -
69,159 69,159
336,988 336,988
286,538
423,073 423,073 332,627 90,446 (16,009) 106,455
286,538 79,978 206,560 (23,516) 230,076
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
รายงานประจ� ำ ปี 2557
145
งบก� ำ ไรขาดทุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุน
บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย งบการเงินรวม สําหรับงวด สามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุ 2557 การปนสวนกําไรสุทธิ สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัท สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
กําไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) กําไรตอหุนปรับลด (บาท)
29
หมายเหตุประกอบงบการเงิ น เป็ น ส่ วนหนึ่ ง ของงบการเงิ นนี้
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557
สําหรับงวด สามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 (พันบาท)
154,727 54,176 208,903
1,015,229 610,046 1,625,275
0.12 0.12
0.88 0.85
สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557
230,076
106,455
230,076
106,455
0.18 0.17
0.09 0.09
-
146
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบก� ำ ไรขาดทุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับงวด
สําหรับป
สําหรับงวด
สําหรับป
สามเดือนสิ้นสุดวันที่
สิ้นสุดวันที่
สามเดือนสิ้นสุดวันที่
สิ้นสุดวันที่
31 ธันวาคม
30 กันยายน
31 ธันวาคม
30 กันยายน
2557
2557
2557
2557
กําไรสุทธิสําหรับงวด/ป
208,903
(พันบาท) 1,625,275
230,076
106,455
-
-
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น ผลตางจากการแปลงคางบการเงินของบริษัทยอย
552,573
579,458
32,469
8,137
(416)
462
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับงวด/ป
(6,493) 578,133
(1,627) 586,430
701 (2,801)
(1,627) 6,510
รวมกําไรเบ็ดเสร็จสําหรับงวด/ป
787,036
2,211,705
227,275
112,965
สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัท
596,371
1,389,781
227,275
112,965
สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
190,665 787,036
821,924 2,211,705
227,275
112,965
ผลตางจากการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรม ของเงินลงทุนเผื่อขาย สํารองสําหรับการจายโดยใชหุนเปนเกณฑ
(3,502) -
8,137 -
ภาษีเงินไดเกี่ยวกับองคประกอบ ของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
การปนสวนกําไรเบ็ดเสร็จ
หมายเหตุประกอบงบการเงิ น เป็ น ส่ วนหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้
งบแสดงการเปลี่ ย นแปลงของผู ้ ถื อ หุ้ น
หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของงบการเงิน นี้
9,161,644
-
1,293,235
-
-
5,330 98,830
-
-
-
-
-
-
-
93,500
367,580
367,580
-
-
-
-
-
(1,904,393)
(5,330) 12,308,809 (1,536,813)
1,015,229
1,015,229 -
-
-
-
-
-
11,298,910
6,510
6,510
(7,771)
-
-
-
-
-
-
(14,281)
ผลตางจากการ เปลี่ยนแปลงใน มูลคายุติธรรม ของเงินลงทุน เผื่อขาย
(50,030)
-
-
-
-
-
-
-
(50,030)
2,456,586
-
-
(18,338)
5,080 (23,418)
-
-
-
2,474,924
-
-
-
-
-
-
-
1,290
462
462
828
สํารอง สวนทุนจาก การเปลี่ยนแปลง สํารอง การปรับ สวนไดเสียของ สําหรับ โครงสราง บริษัทใหญ การจายโดยใช ธุรกิจ ในบริษัทยอย หุนเปนเกณฑ (พันบาท)
863,262
374,552
374,552
(18,338)
5,080 (23,418)
-
-
-
507,048
รวม องคประกอบอื่น ของสวนของ ผูถือหุน
23,725,780
1,389,781
1,015,229 374,552
4,212,561
5,080 (23,418)
-
-
4,230,899
18,123,438
รวมสวน ของผูถือหุน ของบริษัท
7,873,603
821,924
610,046 211,878
(64,118) (266,402)
(47,041) -
4,118
(159,361)
-
7,318,081
สวนของ สวนไดเสีย ที่ไมมีอํานาจ ควบคุม
31,599,383
2,211,705
1,625,275 586,430
(64,118) 3,946,159
(41,961) (23,418)
4,118
(159,361)
4,230,899
25,441,519
รวมสวนของ ผูถือหุน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2557
กําไรเบ็ดเสร็จสําหรับป กําไรสุทธิสําหรับป กําไรเบ็ดเสร็จอื่น รวมกําไรเบ็ดเสร็จสําหรับป
301,397
การสูญเสียการควบคุมจากการจําหนายงบการเงินของบริษัทยอย รวมเงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุน
3,929,502
-
-
-
3,929,502
-
-
301,397
5,232,142
-
23
22
991,838
เงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุนที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย การลดลงของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ของบริษัทยอย การเปลี่ยนแปลงสวนไดเสียของบริษัทใหญในบริษัทยอย
อํานาจควบคุม
รายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน เงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุน ออกหุนสามัญ เงินปนผลจายจากบริษัทยอยใหแกสวนไดเสียที่ไมมี
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557
ผลตางจาก การแปลงคา กําไรสะสม งบการเงินของ ทุนที่ออก สวนเกิน ทุนสํารอง บริษัทยอย หมายเหตุ และชําระแลว มูลคาหุนสามัญ ตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร ในตางประเทศ
งบการเงินรวม องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน
บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน
รายงานประจ� ำ ปี 2557
147
23
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้
โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
9,282,187
-
1,301,175
-
-
120,543
-
7,940
-
120,543
9,161,644
11,510 110,340
-
-
-
-
-
98,830
416,084 416,084
-
-
-
-
(1,536,813)
10
(11,510) 12,452,026 (1,120,729)
154,727
154,727
-
-
-
12,308,809
ยังไมไดจัดสรร ในตางประเทศ
18,205
25,976 25,976
-
-
-
-
(7,771)
เผื่อขาย
สํารอง
(50,030)
-
-
-
-
-
(50,030)
2,483,759
-
-
25,973 1,200 27,173
-
-
2,456,586
-
-
-
-
-
874
(416) (416)
1,290
หุนเปนเกณฑ
การเปลี่ยนแปลง สํารอง สวนไดเสียของ สําหรับ บริษัทใหญ การจายโดยใช
ธุรกิจ ในบริษัทยอย (พันบาท)
สวนทุนจาก การปรับ โครงสราง
1,332,079
441,644 441,644
-
25,973 1,200 27,173
-
-
863,262
ผูถือหุน
รวม องคประกอบอื่น ของสวนของ
24,477,807
441,644 596,371
154,727
25,973 1,200 155,656
-
128,483
23,725,780
ของบริษัท
รวมสวน ของผูถือหุน
1,334
7,996,504
136,489 190,665
54,176
(69,098) (67,764)
-
7,873,603
ควบคุม
สวนของ สวนไดเสีย ที่ไมมีอํานาจ
32,474,311
578,133 787,036
208,903
(43,125) 1,200 87,892
1,334
128,483
31,599,383
ผูถือหุน
รวมสวนของ
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
กําไรเบ็ดเสร็จสําหรับงวด กําไรสุทธิสําหรับงวด กําไรเบ็ดเสร็จอื่น รวมกําไรเบ็ดเสร็จสําหรับงวด
-
7,940
การลดลงของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ของบริษัทยอย การเปลี่ยนแปลงสวนไดเสียของบริษัทใหญในบริษัทยอย รวมเงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุน
22
1,293,235
เงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุนที่ไมมี อํานาจควบคุมของบริษัทยอย
รายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน เงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุน ออกหุนสามัญ
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557
สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
ทุนที่ออก สวนเกิน ทุนสํารอง หมายเหตุ และชําระแลว มูลคาหุนสามัญ ตามกฎหมาย
กําไรสะสม
ผลตางจากการ
การแปลงคา เปลี่ยนแปลงใน งบการเงินของ มูลคายุติธรรม บริษัทยอย ของเงินลงทุน
ผลตางจาก
งบการเงินรวม องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน
บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน
งบแสดงการเปลี่ ย นแปลงของผู ้ ถื อ หุ้ น
148 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
23
22
1,293,235
-
301,397
301,397
991,838
11
9,161,644
-
3,929,502
3,929,502
5,232,142
สวนเกิน มูลคาหุนสามัญ
5,330 98,830
-
-
-
93,500
ทุนสํารอง ตามกฎหมาย
(5,330) 12,243,423
106,455 106,455
-
-
12,142,298
ยังไมไดจัดสรร (พันบาท)
6,510 6,510 (7,771)
-
-
-
(14,281)
-
-
-
-
(7,771)
6,510 6,510
(14,281)
รวม องคประกอบอื่น ของสวนของ ผูถือหุน
22,789,361
106,455 6,510 112,965
4,230,899
4,230,899
18,445,497
รวมสวนของ ผูถือหุน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
รวมเงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป กําไรสุทธิสําหรับป กําไรเบ็ดเสร็จอื่น รวมกําไรเบ็ดเสร็จสําหรับป
เงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุน ออกหุนสามัญ
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 รายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557
หมายเหตุ
ทุนที่ออก และชําระแลว
กําไรสะสม
ผลตางจากการ เปลี่ยนแปลงใน มูลคายุติธรรม ของเงินลงทุน เผื่อขาย
องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน
บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ องบการเงิ ย นเฉพาะกิจการ
งบแสดงการเปลี่ ย นแปลงของผู ้ ถื อ หุ้ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน
รายงานประจ� ำ ปี 2557
149
งบแสดงการเปลี่ ย นแปลงของผู ้ ถื อ หุ้ น
23
22
1,301,175
-
7,940 7,940
1,293,235
12
9,282,187
-
120,543 120,543
9,161,644
สวนเกิน มูลคาหุนสามัญ
11,510 110,340
-
-
98,830
ทุนสํารอง ตามกฎหมาย
(11,510) 12,461,989
230,076 230,076
-
12,243,423
ยังไมไดจัดสรร (พันบาท)
(10,572)
(2,801) (2,801)
-
-
(7,771)
(2,801) (2,801) (10,572)
-
-
(7,771)
รวม องคประกอบอื่น ของสวนของ ผูถือหุน
23,145,119
230,076 (2,801) 227,275
128,483 128,483
22,789,361
รวมสวนของ ผูถือหุน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 รายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน เงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุน ออกหุนสามัญ รวมเงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุน กําไรเบ็ดเสร็จสําหรับงวด กําไรสุทธิสําหรับงวด กําไรเบ็ดเสร็จอื่น รวมกําไรเบ็ดเสร็จสําหรับงวด
สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
หมายเหตุ
ทุนที่ออก และชําระแลว
กําไรสะสม
ผลตางจากการ เปลี่ยนแปลงใน มูลคายุติธรรม ของเงินลงทุน เผื่อขาย
งบการเงินเฉพาะกิจการ องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน
บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน
150 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
รายงานประจ� ำ ปี 2557
151
งบกระแสเงิ น สด
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด
บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย
หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิสําหรับงวด/ป รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนายคาใชจายในการซอมเรือ ครั้งใหญรอตัดบัญชี คาตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน คาตัดจําหนายคาใชจายจายลวงหนา คาตัดจําหนายดอกเบี้ยรับรอตัดบัญชี หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อสุทธิ (กลับรายการ) หนี้สงสัยจะสูญและสํารอง สําหรับภาษีมูลคาเพิ่มที่คาดวาจะไมไดรับคืน การดอยคาของเงินใหกูระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน กลับรายการคาเผื่อมูลคาสินคาลดลง กลับรายการการดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทยอย (กลับรายการ) การดอยคาสุทธิของเงินลงทุนในกิจการรวมคา การดอยคาและตัดจําหนายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ และสินทรัพยไมมีตัวตน ตนทุนทางการเงิน คาใชจายภาษีเงินได (ผลประโยชน) ขาดทุนจากการตัดจําหนายภาษีหัก ณ ที่จาย กําไรสุทธิจากการจําหนายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ และสินทรัพยไมมีตัวตน เงินปนผลรับจากเงินลงทุนระยะสั้น เงินปนผลรับจากบริษัทรวม เงินปนผลรับจากบริษัทยอย (กําไร) ขาดทุนสุทธิจากการจําหนายเงินลงทุนใน บริษัทยอย บริษัทรวม และกิจการรวมคา
หมายเหตุประกอบงบการเงิ น เป็ น ส่ วนหนึ่ ง ของงบการเงิ นนี้
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวดสามเดือน สําหรับงวดสามเดือน สําหรับป สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 30 กันยายน 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 208,903
1,625,275
230,076
106,455
16
400,258
1,443,406
4,002
17,491
16 17
95,392 21,865 893 (115) 1,484
324,877 90,858 3,611 9,967
4,611
(52,368) (289,168) -
7
27 10 27 27
(12,190) -
28 27 26 26 26 26
54,114 128,044 91,038 10,062
15,017 491,859 314,353 9,910
(5,180)
(5,247) (1,606)
-
(38,148)
4,036 39,617 (1,341) (2,016) 79,978 (23,516) (328,643)
9,249
-
16,181 506,901 (505,867) 1,813 332,627 (16,009) (612) (1,606) (9,800) (507,749) 10,144
152
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบกระแสเงิ น สด
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด
บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย
หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน (ตอ) กําไรสุทธิจากการจําหนายเงินลงทุนระยะสั้น สวนแบงกําไรจากบริษัทรวมและกิจการรวมคา ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจาก เงินลงทุนระยะสั้นและเงินกู (กําไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจริงจากเงินกู ขาดทุนจากการครบกําหนดชําระตามสัญญาแลกเปลี่ยน สกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย คาใชจายจากการจายโดยใชหุนเปนเกณฑ
การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ วัสดุและของใชสิ้นเปลืองสําหรับเรือเดินทะเล คาใชจายจายลวงหนา สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น เงินรับลวงหนาจากลูกคา ภาษีเงินไดคางจาย คาใชจายคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ผลตางจากการแปลงคางบการเงินของบริษัทตางประเทศ เงินสดไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน จายตนทุนทางการเงิน จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน
หมายเหตุประกอบงบการเงิ น เป็ น ส่ วนหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้
26 13, 14
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวดสามเดือน สําหรับงวดสามเดือน สําหรับป สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 30 กันยายน 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) (258,063)
(110) (1,186,091)
-
(110) -
(8,841)
29,421 (1,411)
17,869 80,608
(37,498) 18,903
4,401 96 698,624
4,865 462 2,837,129
4,401
4,865
105,071
(63,871)
(146,555) 78,616 (53,126) (108,769) 77,050 (27,883) (62,585) 19,941 448,861 (2,126) (80,941) 16,226 (49,468) (111,335) (44,780) 41,361 70,557 763,668 (158,617) (32,990) 572,061
(1,268,223) (152,977) 1,069,992 1,007,186 (303,492) (9,938) 93,569 28,334 (184,711) (6,951) (124,441) 55,030 94,079 116,462 188,860 6,960 33,198 3,480,066 (495,112) (402,325) 2,582,629
-
-
12,433 46,395 (333) 460 (1,180) (3,102) 296,260 (327) (50,667) (120,661) 853 285,202 (353,952) (190) (68,940)
19,499 1,342 (9,875) 187 (3,646) 60,592 (142) 31,706 97,036 1,223 134,051 (238,636) (1,751) (106,336)
153
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
รายงานประจ� ำ ปี 2557
งบกระแสเงิ น สด บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด
บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย งบการเงินรวม สําหรับงวดสามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน หมายเหตุ
2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวดสามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน
2557
2557
2557
(พันบาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจายซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ และสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดจายเพื่อซอมเรือครั้งใหญ เงินสดจายเงินใหกูระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดจายเงินใหกูระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดจายลงทุนในบริษัทยอย บริษัทรวม และกิจการรวมคา เงินปนผลรับจากเงินลงทุนระยะสั้น เงินปนผลรับจากบริษัทยอย เงินปนผลรับจากบริษัทรวม เงินปนผลรับจากกิจการรวมคา เงินสดรับจากการจําหนายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ และสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดรับ (เงินสดจาย) จากเงินลงทุนระยะสั้น เงินสดรับคืนจากการจําหนายเงินลงทุนในบริษัทยอย บริษัทรวม และกิจการรวมคา เงินสดรับคืนจากการลดทุนของบริษัทยอย เงินสดรับคืนจากเงินใหกูระยะยาว เงินสดรับคืนจากเงินใหกูระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดรับคืนจากเงินใหกูระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากเงินกูระยะยาว เงินสดรับ (จายคืน) สุทธิจากเงินกูระยะสั้น เงินสดจายคืนเงินกูระยะยาวและหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน เงินปนผลจายจากบริษัทยอยใหแกสวนไดเสียที่ ไมมีอํานาจควบคุม เงินปนผลจายใหแกผูถือหุน เงินสดรับจากการเพิ่มทุนเรือนหุน เงินสดรับจากการเพิ่มเงินลงทุนจากสวนไดเสียที่ ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย เงินสดจายสุทธิจากสัญญาแลกเปลี่ยน สกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน
(205,944) (81,737)
-
(1,550) (15,000) (4,528,827) 1,606 401,246 9,800 -
19,380 817,061
8,590 (816,935)
-
612 2,717
2,403
49,328
-
(98,250)
112,924 500 (7,477,245)
49,328 112,924 1,155,969 318,211 (2,494,160)
1,144,976 189,235 (526,080)
1,525,219 (681,630) (1,453,904)
-
-
-
128,483
(159,361) (88) 4,230,899
1,334
396,698
-
(4,401) 933,547
(4,865) 3,852,968
(649,413) -
-
22
หมายเหตุประกอบงบการเงิ น เป็ น ส่ วนหนึ่ ง ของงบการเงิ นนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
(6,757,408) (200,625) (113,144) 1,606 64,844 173,075
(358) -
(1,196) -
(756,894) (767,801) 328,643
264,693 1,296,489 612,257 977,029
(160,000)
(220,000) -
128,483
(88) 4,230,899 -
(4,401) (35,918)
(4,865) 4,005,946
154
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบกระแสเงิ น สด
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด
บริ ษั ท โทรี เ ซนไทย เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย งบการเงินรวม สําหรับงวดสามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน หมายเหตุ
2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวดสามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน
2557
2557
2557
(พันบาท) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 และ 2556
1,407,358 6,285,603
(1,041,648) 7,446,247
872,171 2,052,840
-
-
9,158 7,702,119
(90,560) (28,436) 6,285,603
(4,460) 2,920,551
(3,587) 2,052,840
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม / 30 กันยายน ประกอบดวย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 5 7,710,644 เงินเบิกเกินบัญชี (8,525) 7,702,119
6,289,847 (4,244) 6,285,603
2,920,551 2,920,551
2,052,840 2,052,840
ผลกระทบจากการสูญเสียการควบคุมจากการจําหนาย งบการเงินของบริษัทยอย ผลกระทบของอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราตางประเทศ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม / 30 กันยายน
รายการที่ไมใชเงินสด หนี้สินคางชําระคาซอมเรือครั้งใหญ หนี้สินคางชําระจากการซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ และสินทรัพยไมมีตัวตน เงินปนผลรับหักกลบลบหนี้กับเงินกูระยะสั้นจากบริษัทยอย เงินปนผลคางจาย เพิ่ม (จําหนาย) เงินลงทุนในบริษัทยอยโดยการหักกลบลบหนี้กับ เงินกูยืมระยะสั้นและลูกหนี/้ เจาหนี้บริษัทยอย จําหนายเงินลงทุนในบริษัทรวม และกิจการรวมคา โดยการหักกลบลบหนี้กับเงินลงทุนในบริษัทยอย การจายคืนเงินกูระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกันโดยการหัก กลบลบหนี้กับเงินใหกูระยะสั้นและเงินใหกูระยะยาวแก กิจการที่เกี่ยวของกัน การซื้อกิจการรวมคาโดยแลกเปลี่ยนกับเงินลงทุน ในบริษัทรวมและกิจการรวมคา
หมายเหตุประกอบงบการเงิ น เป็ น ส่ วนหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้
3,703
8,440
82,384
255,981
-
12
(152,138)
13
168,646
-
-
3,985
-
(4,908,857)
1,492,274
-
-
-
-
-
29,046
-
-
-
-
-
-
409 106,503 3,985
3,985 12
1,405,450 650,977
206 -
3,985
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
รายงานประจ� ำ ปี 2557
หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ประกอบงบการเงิ น เอเยนต์ ซี ส ์ จ� ำ กั ด บริหมายเหตุ ษั ท โทรี เ ซนไทย หมายเหตุ
สารบัญ
1 ขอมูลทั่วไป 2 เกณฑการจัดทํางบการเงิน 3 นโยบายการบัญชีที่สําคัญ 4 บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน 5 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 6 เงินลงทุนระยะสั้น 7 ลูกหนี้การคา 8 ลูกหนี้อื่น 9 ตนทุนสัญญารอการตัดบัญชี 10 สินคาคงเหลือ 11 สินทรัพยที่ถือไวเพื่อขาย 12 เงินลงทุนในบริษัทยอย 13 เงินลงทุนในบริษัทรวม 14 เงินลงทุนในกิจการรวมคา 15 คาความนิยม 16 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ 17 สินทรัพยไมมีตัวตน 18 ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี 19 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น 20 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 21 ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน 22 ทุนเรือนหุน และใบสําคัญแสดงสิทธิ 23 สํารอง 24 การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ 25 สวนงานดําเนินงาน 26 รายไดจากการดําเนินงานอื่น บริ ษ ท ั โทรี เ ซนไทย เอเยนต ซีส จํากกัษณะ ด (มหาชน) และบริษัทยอย 27 คาใชจายตามลั หมายเหตุประกอบงบการเงิ 28 ภาษีเงินนได 29 กําไรตอหุน 30 เงิสารบั นปนญผล หมายเหตุ 31 สิทธิประโยชนจากการสงเสริมการลงทุน 32 เครื่องมือทางการเงิน 33 ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น 34 เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน 35 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไมไดใช 36 ขอมูลเพิ่มเติม (ไมไดตรวจสอบ) 17
155
(มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 156 ปงบการเงิ หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น นรวมและงบการเงิ นของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ไดรับการอนุมัติใหออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2558 1
ขอมูลทั่วไป บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีที่อยูจดทะเบียน ตั้งอยูเลขที่ 26/26-27 อาคารอรกานต ชั้น 8 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2538 บริษัทและบริษัทยอย (“กลุมบริษัท”) ประกอบธุรกิจหลักในธุรกิจเจาของเรือเดินทะเลประเภทเทกอง ธุรกิจบริการที่เกี่ยวของ กับการเดินเรือทะเล ธุรกิจบริการน้ํามันและกาซนอกชายฝง ผลิตและจําหนายปุย ถานหิน และธุรกิจบริการคลังเก็บสินคาและ ขนสง ซึ่งธุรกิจของกลุมบริษัทสามารถแบงออกเปน 4 ประเภทหลัก คือ ธุรกิจขนสง ธุรกิจโครงสรางพื้นฐาน ธุรกิจพลังงาน และธุรกิจการถือหุนเพื่อการลงทุน รายละเอียดของบริษัทยอย บริษัทรวม และกิจการรวมคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 ไดเปดเผยไวในหมาย เหตุประกอบงบการเงินขอ 12 และ 13 และ 14
2
เกณฑการจัดทํางบการเงิน
(ก)
เกณฑการถือปฏิบัติ งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของประเทศไทย (“มาตรฐานการรายงานทางการเงิน”) รวมถึงแนว ปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใชโดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยที่เกี่ยวของ สภาวิชาชีพบัญชีไดออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่งเกี่ยวของกับการดําเนินงานของกลุม บริษัท/บริษัท และมีผลบังคับใชตั้งแตรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 ดังตอไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555)
เรื่อง การนําเสนองบการเงิน งบกระแสเงินสด ภาษีเงินได สัญญาเชา รายได ผลประโยชนของพนักงาน 19
บริ ษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
157
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) การเปดเผยขอมูลเกีย่ วกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) เงินลงทุนในบริษัทรวม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) สวนไดเสียในการรวมคา มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) งบการเงินระหวางกาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) การดอยคาของสินทรัพย มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555) สินทรัพยไมมีตัวตน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 การรวมธุรกิจ (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการ (ปรับปรุง 2555) ดําเนินงานที่ยกเลิก มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 สวนงานดําเนินงาน (ปรับปรุง 2555) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม ฉบับที่ 4 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน งบการเงินระหวางกาลและการดอยคา ฉบับที่ 10 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน การจายสินทรัพยที่ไมใชเงินสดใหเจาของ ฉบับที่ 17 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน การโอนสินทรัพยจากลูกคา ฉบับที่ 18 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 สัญญาเชาดําเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรูปแบบกฎหมาย ในเบื้องตนการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหมขางตนนั้น มีผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชีของกลุมบริษัทในบางเรื่อง การเปลี่ยนแปลงนี้ไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงิน
20
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 158 ปงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
นอกเหนือจากมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่ออกและปรับ ปรุง ใหมขา งต น สภาวิชาชี พบัญ ชีไ ดออกและปรับ ปรุ ง มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่น ๆ ซึ่งมีผลบังคับสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เปนตนไป และไมไดมีการนํามาใชสําหรับการจัดทํางบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหมที่ เกี่ยวกับการดําเนินงานของกลุมบริษัทไดเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 35 (ข)
เกณฑการวัดมูลคา งบการเงินนี้จัดทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑการบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเวนที่กลาวไวในนโยบายการบัญชี
(ค)
สกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานและการนําเสนองบการเงิน งบการเงินนี้จัดทําและแสดงหนวยเงินตราเปนเงินบาทซึ่งเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานของบริษัท ขอมูลทางการเงิน ทั้งหมดมีการปดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อใหแสดงเปนหลักพันบาท ยกเวนที่ระบุไวเปนอยางอื่น
(ง) การประมาณการและการใชดุลยพินิจ ในการจั ดทํ างบการเงิ นใหเ ปน ไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ผู บ ริห ารตอ งใชดุ ลยพินิ จ การประมาณและข อ สมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอการกําหนดนโยบายการบัญชีและจํานวนเงินที่เกี่ยวกับสินทรัพย หนี้สิน รายได และ คาใชจายที่ไดรายงานไว ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางจากที่ประมาณการไว ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทํางบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางตอเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชีจะ บันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกลาวไดรับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ไดรับผลกระทบ
21
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
159
ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ การประมาณการ ความไม แ น น อนและข อ สมมติ ฐ านที่ สํ า คั ญ ในการกํ า หนดนโยบายการบั ญ ชี มี ผ ลกระทบสํ า คั ญ ต อ การรั บ รู จํ า นวนเงิ น ในงบการเงิ น ซึ่ ง ประกอบด ว ยหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ต อ ไปนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 12 และ 15 และ 16 หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 21 หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 24 หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 32 หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 33
ขอสมมติฐานสําคัญสําหรับการประมาณการในการคิดลดกระแสเงินสด ในอนาคต การวัดมูลคาของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน การวัดมูลคาของการจายโดยใชหุนเปนเกณฑ การตีมูลคาของเครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึน้
(จ) การเปลี่ยนรอบระยะเวลาบัญชี ที่ประชุมสามัญประจําปผูถือหุนของบริษัท เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2557 ผูถือหุนมีมติอนุมัติการเปลี่ยนแปลงรอบระยะเวลา บัญชีของบริษัทจากเดิมเริ่มตนวันที่ 1 ตุลาคม และสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน เปนเริ่มตนวันที่ 1 มกราคม และสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ซึ่งบริษัทไดจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงรอบระยะเวลาบัญชีดังกลาวกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย และ ไดรับการอนุมัติจากกรมสรรพากรเสร็จสิ้นแลว ซึ่งสงผลใหรอบระยะเวลาบัญชีแรกที่เปลี่ยนแปลงของบริษัทสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 โดยงบการเงินสําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ไดถูกจัดทําสําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2557 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ดังนั้นตัวเลขซึ่งแสดงเปรียบเทียบในงบกําไรขาดทุน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน และงบกระแสเงินสด จึงไมสามารถเปรียบเทียบกันได 3
นโยบายการบัญชีที่สําคัญ นโยบายการบัญชีที่นําเสนอดังตอไปนี้ไดถือปฏิบัติโดยสม่ําเสมอสําหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน
(ก)
เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบดวยงบการเงินของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน (รวมกันเรียกวา “กลุม บริษัท”) และสวนไดเสียของกลุมบริษัทในบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน การรวมธุรกิจ กลุมบริษัทบันทึกบัญชีสําหรับการรวมธุรกิจตามวิธีซื้อ ยกเวนในกรณีที่เปนการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน
22
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 160 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
การควบคุม หมายถึงอํานาจในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการเพื่อใหไดมาซึ่งประโยชนจาก กิจกรรมของกิจการนั้น ในการพิจารณาอํานาจในการควบคุม กลุมบริษัทตองนําสิทธิในการออกเสียงที่เกิดขึ้นมารวมในการ พิจารณา วันที่ซื้อกิจการคือวันที่อํานาจในการควบคุมนั้นไดถูกโอนไปยังผูซื้อ การกําหนดวันที่ซื้อกิจการและการพิจารณาวา อํานาจควบคุมไดถูกโอนจากฝายหนึ่งไปยังอีกฝายหนึ่งหรือไม ตองใชดุลยพินิจเขามาเกี่ยวของ สิ่งตอบแทนที่โอนให รวมถึงมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่โอน หนี้สินที่กลุมบริษัทตองชําระใหแกเจาของเดิม และสวนไดเสีย ในสวนของเจาของที่ออกโดยกลุมบริษัท ทั้งนี้สิ่งตอบแทนที่โอนใหยังรวมถึงมูลคายุติธรรมของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและมูลคา ของโครงการจ า ยโดยใช หุ น เป น เกณฑ ที่ อ อกแทนโครงการของผู ถู ก ซื้ อ เมื่ อ รวมธุ ร กิ จ หากการรวมธุ ร กิ จ มี ผ ลให สิ้ น สุ ด ความสัมพันธของโครงการเดิมระหวางกลุมบริษัทและผูถูกซื้อ ใหใชราคาที่ต่ํากวาระหวาง มูลคาจากการยกเลิกสัญญาตามที่ ระบุในสัญญา และมูลคาองคประกอบนอกตลาดหักออกจากสิ่งตอบแทนที่โอนให และรับรูเปนคาใชจายอื่น หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นของบริษัทที่ถูกซื้อที่รับมาจากการรวมธุรกิจ รับรูเปนหนี้สินหากมีภาระผูกพันในปจจุบันซึ่งเกิดขึ้นจาก เหตุการณในอดีต และสามารถวัดมูลคายุติธรรมไดอยางนาเชื่อถือ กลุมบริษัทวัดมูลคาสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมตามอัตราสวนไดเสียในสินทรัพยสุทธิที่ระบุไดที่ไดรับมาจากผูถูกซื้อ ตนทุนที่เกี่ยวของกับการซื้อของกลุมบริษัทที่เกิดขึ้นจากผลของการรวมธุรกิจ เชน คาที่ปรึกษากฎหมาย คาธรรมเนียมวิชาชีพ และคาที่ปรึกษาอื่นๆ ถือเปนคาใชจายเมื่อเกิดขึ้น การรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน การรวมธุรกิจของกิจการหรือการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกันบันทึกบัญชีโดยใชวิธีเสมือนวาเปนวิธีการรวมสวนไดเสีย และตามแนวปฏิบัติที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีในป 2552 บริษัทยอย บริษัทยอยเปนกิจการที่อยูภายใตการควบคุมของกลุมบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุมบริษัทมีอํานาจควบคุมทั้งทางตรงหรือ ทางออมในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการนั้น เพื่อไดมาซึ่งประโยชนจากกิจกรรมของบริษัทยอย งบการเงินของบริษัทยอยไดถูกรวมอยูในงบการเงินรวม นับแตวันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง
23
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
161
นโยบายการบัญชีของบริษัทยอยไดถูกเปลี่ยนตามความจําเปนเพื่อใหเปนไปตามนโยบายของกลุมบริษัท ผลขาดทุนในบริษัท ยอยจะตองถูกปนสวนไปยังสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมแมวาการปนสวนดังกลาวจะทําใหสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมมี ยอดคงเหลือติดลบก็ตาม การสูญเสียอํานาจควบคุม เมื่อมีการสูญเสียอํานาจควบคุม กลุมบริษัทจะตัดรายการสินทรัพยและหนี้สินในบริษัทยอย สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม และสวนประกอบอื่นในสวนของเจาของที่เกี่ยวของกับบริษัทยอยนั้น กําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการสูญเสียอํานาจ ควบคุมในบริษัทยอยรับรูในงบกําไรขาดทุน สวนไดเสียในบริษัทยอยเดิมที่ยังคงเหลืออยูใหวัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่สูญเสียอํานาจควบคุม และจัดประเภทเงินลงทุนเปนเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียหรือเงินลงทุนเผื่อขาย ขึ้นอยูกับระดับ ของอิทธิพลที่คงเหลืออยู บริษัทรวม และกิจการที่ควบคุมรวมกัน (เงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียในตราสารทุน-การบัญชีดานผูลงทุน) บริษัทรวมซึ่งเปนกิจการที่กลุมบริษัทมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญแตไมมีอํานาจควบคุมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายทาง การเงินและการดําเนินงาน การมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญถูกสันนิษฐานวามีอยูเมื่อกลุมบริษัทมีอํานาจในการออกเสียงใน กิจการอื่นในอัตราตั้งแตรอยละ 20 ถึง รอยละ 50 กิจการที่ควบคุมรวมกันเปนกิจการที่กลุมบริษัทมีสวนรวมในการควบคุม การดําเนินงานตามที่ตกลงไวในสัญญา และในการตัดสินใจทางการเงินและการปฏิบัติการเชิงกลยุทธตองไดรับความเห็นชอบ เปนเอกฉันท เงินลงทุนในบริษัทรวม และกิจการที่ควบคุมรวมกัน บันทึกในงบการเงินรวมโดยใชวิธีสวนไดเสีย (เงินลงทุนตามวีธีสวนไดเสีย ในตราสารทุน - การบัญชีดานผูลงทุน) โดยรับรูรายการเริ่มแรกดวยราคาทุน รวมถึงตนทุนที่เกี่ยวของกับการซื้อที่เกิดจากการ ทํารายการดังกลาว งบการเงินรวมไดรวมสวนแบงของกลุมบริษัทในงบกําไรขาดทุน และกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของบริษัทที่ถูกลงทุนภายหลัง จากการปรับปรุงนโยบายการบัญชีใหเปนไปตามนโยบายของกลุมบริษัท นับจากวันที่อิทธิพลอยางมีนัยสําคัญไดมีขึ้น จนถึง วันที่อิทธิพลอยางมีนัยสําคัญนั้นสิ้นสุดลง เมื่อสวนแบงผลขาดทุนที่กลุมบริษัทไดรับมีจํานวนเกินกวาสวนไดเสียในบริษัทที่ไป ลงทุนนั้น มูลคาตามบัญชีของสวนไดเสียของกลุมบริษัทจะถูกทอนลงจนเปนศูนยและจะไมรับรูสวนแบงผลขาดทุนอีกตอไป เวนแตกรณีที่กลุมบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือตองจายเงินเพื่อชําระภาระผูกพันแทนในนามของผูถูกลงทุน
24
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 162 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหวางกิจการในกลุม รวมถึงรายไดหรือคาใชจายที่ยังไมเกิดขึ้นจริงซึ่งเปนผลมาจากรายการ ระหวางกิจการในกลุม ถูกตัดรายการในการจัดทํางบการเงินรวม กําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริงซึ่งเปนผลมาจากรายการกับบริษัท รวมและกิจการที่ควบคุมรวมกันถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเทาที่กลุมบริษัทมีสวนไดเสียในกิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยัง ไมเกิดขึ้นจริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับกําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริง แตเทาที่เมื่อไมมีหลักฐานการดอยคาเกิดขึ้น (ข)
สกุลเงินตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนสกุลเงินตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนสกุลเงินตางประเทศแปลงคาเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานของแตละบริษัทในกลุมบริษัทโดยใชอัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินและเปนสกุลเงินตางประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงคาเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงาน โดย ใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เปนสกุลเงินตางประเทศซึ่งบันทึกตามเกณฑราคาทุนเดิม แปลง คาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจากการแปลงคาใหรับรูเปนกําไรหรือขาดทุนในงวดบัญชีนั้น หนวยงานในตางประเทศ สินทรัพยและหนี้สินของหนวยงานในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน คาความนิยมและรายการปรับปรุงมูลคายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อหนวยงานในตางประเทศ แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน รายไดและคาใชจายของหนวยงานในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนที่ใกลเคียงกับอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ ผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงคา บันทึกในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และแสดงเปนรายการผลตางจากการ แปลงคางบการเงินของบริษัทยอยในตางประเทศในสวนของผูถือหุน จนกวามีการจําหนายเงินลงทุนนั้นออกไป
25
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำปปีระกอบงบการเงิ 2557 หมายเหตุ น (ค)
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
163
การปองกันความเสี่ยง การปองกันความเสีย่ งจากรายการที่เปนเงินตราตางประเทศที่จะมีในอนาคต กําไรหรือขาดทุนจากสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาและสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ที่ถูกใชในการ ปองกันความเสี่ยงของรายการที่เปนเงินตราตางประเทศที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต จะถูกบันทึกรอไวในบัญชีจนกวารายการ ที่คาดไวเกิดขึ้น หากรายการที่ไดรับการปองกันความเสี่ยงไดรับการรับรูเปนสินทรัพยหรือหนี้สิน รายการดังกลาวจะไดรับการ แปลงคาโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนลวงหนาตามสัญญา สินทรัพยหรือหนี้สินที่มีคาเปนเงินตราตางประเทศ และไดรับการปองกันความเสี่ยงดวยสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ลวงหนาแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนลวงหนาตามสัญญา การปองกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ผลตางที่เกิดจากสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยรับรูและบันทึกโดยปรับปรุงกับดอกเบี้ยจายของเงินกูยืมที่ไดรับการปองกัน ความเสี่ยงนั้น ในกรณีของสัญญาซื้อขายอัตราดอกเบี้ยลวงหนา จํานวนเงินที่ไดรับหรือจายเมื่อชําระดวยเงินสด ซึ่งเปนกําไร หรือขาดทุนจะถูกบันทึกรอไวในบัญชีและรับรูตลอดชวงอายุของสินทรัพยหรือหนี้สินที่เปนตัวเงินโดยการปรับปรุงกับดอกเบี้ย รับหรือดอกเบี้ยจาย ในกรณีของสัญญาซื้ออัตราดอกเบี้ยชนิดสามารถเลือกใชสิทธิ สวนเพิ่มที่จายจะรวมเปนสินทรัพยอื่นหรือ หนี้สินอื่นในงบแสดงฐานะการเงิน และจะตัดบัญชีเปนดอกเบี้ยรับหรือดอกเบี้ยจายตลอดอายุของสัญญา การปองกันความเสี่ยงจากราคาน้ํามันและคาระวางเรือ ผลตางที่เกิดจากสัญญาแลกเปลี่ยนราคาน้ํามันถูกรับรูและบันทึกโดยปรับปรุงกับราคาตนทุนของน้ํามันที่ไดรับการปองกันความ เสี่ยงนั้น ในกรณีของสัญญาซื้อขายคาระวางเรือลวงหนา จํานวนเงินที่ไดรับหรือจายเมื่อชําระดวยเงินสด ซึ่งเปนกําไรหรือ ขาดทุนจะถูกบันทึกรอไวในบัญชีและรับรูตลอดชวงอายุของสินทรัพยหรือหนี้สินที่เปนตัวเงินโดยการปรับปรุงกับรายไดคา ระวาง ในกรณีของสัญญาซื้อคาระวางเรือชนิดสามารถเลือกใชสิทธิ สวนเพิ่มที่จายจะรวมเปนสินทรัพยอื่นหรือหนี้สินอื่นในงบ แสดงฐานะการเงิน และจะตัดบัญชีเปนดอกเบี้ยรับหรือดอกเบี้ยจายตลอดอายุของสัญญา
(ง)
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดประกอบดวย เงินสด เงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพ คลองสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งตองชําระคืนเมื่อทวงถามถือเปนสวนหนึ่งของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดในงบ กระแสเงินสด
26
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 164 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
(จ) ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจงหนี้หักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะหประวัติการชําระหนี้ และการคาดการณเกี่ยวกับการชําระหนี้ในอนาคตของ ลูกคา หนี้สูญจะถูกตัดจําหนายออกจากบัญชีเมื่อเกิดขึ้น (ฉ)
สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ราคาทุนของสินคาคํานวณโดยใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ราคาทุนสินคาประกอบดวยตนทุนซื้อ ตนทุนแปลงสภาพหรือตนทุน อื่นเพื่อใหสินคาอยูในสถานที่และสภาพปจจุบัน ในกรณีของสินคาที่ผลิตเองและสินคาระหวางผลิต ราคาทุนของสินคาไดรวม การปนสวนของคาโสหุยการผลิตอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึงระดับกําลังการผลิตตามปกติ มูลคาสุทธิที่จะไดรับเปนการประมาณการราคาที่จะขายไดจากการดําเนินธุรกิจปกติหักดวยคาใชจายที่จําเปนสําหรับการขาย นั้น
(ช)
วัสดุและของใชสิ้นเปลืองสําหรับเรือเดินทะเล วัสดุและของใชสิ้นเปลืองสําหรับเรือเดินทะเลสวนใหญประกอบดวยน้ํามัน วัสดุและของใชสิ้นเปลืองประจําเรือเดินทะเล น้ํามัน แสดงตามราคาทุนโดยวิธีเขากอนออกกอน วัสดุและของใชสิ้นเปลืองประจําเรือเดินทะเลแสดงตามราคาทุนโดยใชวิธีถัวเฉลี่ย ถวงน้ําหนัก สวนวัสดุและของใชสิ้นเปลืองประจําเรือขุดเจาะแสดงตามราคาทุนเริ่มแรกโดยใชหลักเกณฑราคาเฉพาะเจาะจง วัสดุ และของใชสิ้นเปลืองประจําเรือเดินทะเล และเรือขุดเจาะที่ซื้อเพื่อเปลี่ยนแทนวัสดุสิ้นเปลืองที่ถูกใชไปในระหวางปแสดงเปน คาใชจายในการดําเนินงานเกี่ยวกับเรือเดินทะเล และคาใชจายในการบริการจากธุรกิจนอกชายฝงในงบกําไรขาดทุน
(ซ)
สินทรัพยที่ถือไวเพื่อขาย สินทรัพย (หรือกลุมสินทรัพยที่ยกเลิกซึ่งประกอบดวยสินทรัพยและหนี้สิน) ที่คาดวามูลคาตามบัญชีที่จะไดรับคืนสวนใหญมา จากการขายมากกวามาจากการใชประโยชนจากสินทรัพยนั้นตอไป จัดประเภทเปนสินทรัพยที่ถือไวเพื่อขาย สินทรัพย (หรือ สวนประกอบของกลุมสินทรัพยที่ยกเลิก) วัดมูลคาดวยจํานวนที่ต่ํากวาระหวางมูลคาตามบัญชีกับมูลคายุติธรรมหักตนทุนใน การขาย ผลขาดทุนจากการดอยคาสําหรับกลุมสินทรัพยที่ยกเลิกนําไปปนสวนใหกับคาความนิยมเปนลําดับแรก แลวจึงปน สวนใหกับยอดคงเหลือของสินทรัพยและหนี้สินตามสัดสวน ยกเวนไมปนสวนรายการขาดทุนใหกับสินคาคงเหลือ สินทรัพย ทางการเงิน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี และอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ผลขาดทุนจากการดอยคาสําหรับการลด มูลคาในครั้งแรกและผลกําไรและขาดทุนจากการจากการวัดมูลคาในภายหลังรับรูในกําไรหรือขาดทุน ผลกําไรรับรูไมเกินยอด ผลขาดทุนจากการดอยคาสะสมที่เคยรับรู 27
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำป ปี ระกอบงบการเงิ 2557 หมายเหตุ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
165
(ฌ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทยอย บริษัทรวม และกิจการที่ควบคุมรวมกัน เงินลงทุนในบริษัทยอย บริษัทรวม และกิจการที่ควบคุมรวมกัน ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัทบันทึกบัญชีโดยใชวิธี ราคาทุน สําหรับการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกันในงบการเงินรวมใชวิธีสวนไดเสีย เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนอื่น ตราสารหนี้ซึ่งกลุมบริษัทตั้งใจและสามารถถือจนครบกําหนดจัดประเภทเปนเงินลงทุนที่จะถือจนครบกําหนด เงินลงทุนที่จะ ถือจนครบกําหนด แสดงในราคาทุนตัดจําหนายหักดวยขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุน ผลตางระหวางราคาทุนที่ซื้อมา กับมูลคาไถถอนของตราสารหนี้จะถูกตัดจายโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงตลอดอายุของตราสารหนี้ที่เหลือ ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเปนหลักทรัพยในความตองการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไวเพื่อคาหรือตั้งใจถือไวจนครบ กําหนดจัดประเภทเปนเงินลงทุนเผื่อขาย ภายหลังการรับรูมูลคาเริ่มแรก เงินลงทุนเผื่อขายจะแสดงในมูลคายุติธรรม และการ เปลี่ยนแปลงที่ไมใชผลขาดทุนจากการดอยคาและผลตางจากการแปลงคาเงินตราตางประเทศของรายการที่เปนตัวเงิน บันทึก โดยตรงในสวนของผูถือหุน สวนผลขาดทุนจากการดอยคาและผลตางจากการแปลงคาเงินตราตางประเทศรับรูในงบกําไร ขาดทุน เมื่อมีการตัดจําหนายเงินลงทุน จะรับรูผลกําไรหรือขาดทุนสะสมที่เคยบันทึกโดยตรงในสวนของผูถือหุนเขางบกําไร ขาดทุน ในกรณีที่เปนเงินลงทุนประเภทที่มีดอกเบี้ย จะตองบันทึกดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไมใชหลักทรัพยในความตองการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการดอยคา เงินฝาก ประจําแสดงดวยราคาทุนตัดจําหนายโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง มูลคายุติธรรมของหลักทรัพยในความตองการของตลาดที่จัดประเภทเปนเงินลงทุนเผื่อขายจะใชราคาเสนอซื้อ ณ วันที่รายงาน การจําหนายเงินลงทุน เมื่อมีการจําหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางจํานวนเงินสุทธิที่ไดรับและมูลคาตามบัญชีและรวมถึงกําไรหรือขาดทุนสะสมที่เคย บันทึกในสวนของผูถือหุน จะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุน ในกรณีที่กลุมบริษัทจําหนายเงินลงทุนที่ถืออยูบางสวน การคํานวณตนทุนสําหรับเงินลงทุนที่จําหนายไปจะใชวิธีถัวเฉลี่ยถวง น้ําหนักปรับใชกับมูลคาตามบัญชีของเงินลงทุนที่ถืออยูทั้งหมด
28
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 166 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
(ญ) ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ การรับรูและการวัดมูลคา สินทรัพยที่เปนกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณแสดงดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา (ถามี) ราคาทุนรวมถึงตนทุนทางตรงที่เกี่ยวของกับการไดมาของสินทรัพย ตนทุนของการกอสรางสินทรัพยที่กิจการกอสรางเอง ซึ่ง รวมถึงตนทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และตนทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดหาสินทรัพยเพื่อใหสินทรัพยนั้นอยูใน สภาพที่พรอมจะใชงานไดตามความประสงค ตนทุนในการรื้อถอน การขนยาย การบูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพยและตนทุน การกู ยื ม สํ า หรั บ อุ ปกรณ ที่ ไ ม ส ามารถทํ างานได โ ดยปราศจากโปรแกรมคอมพิ วเตอร ใ ห บั น ทึ ก ค า สิท ธิ ก ารใช โ ปรแกรม คอมพิวเตอรดังกลาวเปนสวนหนึ่งของอุปกรณนั้น สวนประกอบของรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณแตละรายการที่มีอายุการใหประโยชนไมเทากันตองบันทึกแตละ สวนประกอบที่มีนัยสําคัญแยกออกจากกัน กําไรหรือขาดทุนจากการจําหนายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ คือผลตางระหวางสิ่งตอบแทนสุทธิที่ไดรับจากการจําหนายกับ มูลคาตามบัญชีของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ โดยรับรูสุทธิเปนรายไดอื่นหรือคาใชจายในการบริหารในงบกําไรขาดทุน สินทรัพยที่เชา การเชาซึ่งกลุมบริษัทไดรับความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพยสินที่เชาเปนสวนใหญนั้น ใหจัดประเภทเปน สัญญาเชาการเงิน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณที่ไดมาโดยทําสัญญาเชาการเงินบันทึกเปนสินทรัพยดวยมูลคายุติธรรมหรือมูลคา ปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตจํานวนใดจะต่ํากวา หักดวยคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจาก การดอยคา คาเชาที่ชําระจะแยกเปนสวนที่เปนตนทุนทางการเงิน และสวนที่จะหักจากหนี้สินตามสัญญาเชา เพื่อใหอัตรา ดอกเบี้ยแตละงวดเปนอัตราคงที่สําหรับยอดคงเหลือของหนี้สิน ตนทุนทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในงบกําไรขาดทุน ตนทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง ตนทุนในการเปลี่ยนแทนสวนประกอบจะรับรูเปนสวนหนึ่งของมูลคาตามบัญชีของรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ถามีความ เปนไปไดคอนขางแนที่กลุมบริษัทจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากสวนประกอบนั้น และสามารถวัดมูลคาตนทุนของ รายการนั้นไดอยางนาเชื่อถือ สวนประกอบที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจําหนายตามมูลคาตามบัญชี ตนทุนที่เกิดขึ้นในการซอม บํารุงที่ดิน อาคาร และอุปกรณที่เกิดขึ้นเปนประจําจะรับรูในงบกําไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น
29
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� 2557 หมายเหตุำปีประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
167
คาเสื่อมราคา คาเสื่อมราคาคํานวณจากมูลคาเสื่อมสภาพ ซึ่งประกอบดวยราคาทุนของสินทรัพยหรือตนทุนในการเปลี่ยนแทนหักดวยมูลคา คงเหลือของสินทรัพย คาเสื่อมราคาบันทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุน คํานวณโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุการใหประโยชนโดยประมาณของ สวนประกอบของสินทรัพยแตละรายการ ประมาณการอายุการใหประโยชนของสินทรัพยแตละประเภทแสดงไดดังนี้ อาคารและโรงงาน สวนปรับปรุงอาคาร เรือสนับสนุนนอกชายฝง เรือเดินทะเล (เรือใชแลวและเรือใหม) เรือขุดเจาะมือสอง คาใชจายในการซอมเรือครั้งใหญ เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องตกแตง ติดตั้งและอุปกรณเครื่องใชสํานักงาน รถยนต เรือยนต เรือขนถานหิน
3 - 20 3 - 20 5 - 30 2 - 24 1 - 20 2-5 1 - 15 2 - 10 3 - 10 10 15 - 29
ป ป ป ป ป ป ป ป ป ป ป
ไมมีการคิดคาเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและสินทรัพยที่อยูระหวางการกอสราง วิธีการคิดคาเสื่อมราคา อายุการใหประโยชนของสินทรัพย และมูลคาคงเหลือภายหลังจากหมดอายุการใหประโยชน ถูก ทบทวนทุกสิ้นรอบปบัญชี และปรับปรุงหากมีความเหมาะสม (ฎ)
คาความนิยม คาความนิยม คือตนทุนของเงินลงทุนที่สูงกวามูลคายุติธรรมของเงินลงทุนที่กลุมบริษัทมีสวนแบงในสินทรัพยสุทธิที่ระบุไดของ บริษัทยอยหรือบริษัทรวม ณ วันที่ไดมาซึ่งบริษัทนั้น คาความนิยมที่เกิดจากการไดมาซึ่งบริษัทยอยถูกแสดงแยกบรรทัดไวในงบ แสดงฐานะการเงินรวม คาความนิยมที่เกิดจากการไดมาซึ่งบริษัทรวมและกิจการรวมคาจะรวมไวในบัญชีเงินลงทุนในบริษัท รวมและกิจการรวมคา และจะถูกทดสอบการดอยคาโดยรวมเปนสวนหนึ่งของเงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการรวมคา คาความนิยมที่รับรูแยกออกมาตางหากจะตองถูกทดสอบการดอยคาทุกป และแสดงดวยราคาทุนหักขาดทุนจากการดอยคา สะสม ขาดทุนจากการดอยคาของคาความนิยมที่รับรูแลวจะไมมีการกลับรายการ ทั้งนี้มูลคาคงเหลือตามบัญชีของคาความ นิยมจะถูกรวมในการคํานวณกําไรหรือขาดทุนเมื่อมีการขายกิจการ
30
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 168 ปงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
คาความนิยมถูกปนสวนโดยหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดสําหรับการทดสอบการดอยคา การปนสวนจะปนใหกับหนวย สินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดหรือกลุมของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดซึ่งคาดวาจะไดรับประโยชนจากการรวมธุรกิจที่คา ความนิยมนั้นเกิดขึ้น (ฏ)
สินทรัพยไมมีตัวตน โปรแกรมคอมพิวเตอร สิทธิการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ไดมาจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยตนทุนในการไดมาและการดําเนินการใหโปรแกรม คอมพิวเตอรนั้นสามารถใชงานได สินทรัพยไมมีตัวตนอื่น เครื่องหมายทางการคาและความสัมพันธกับลูกคาที่ไดมาจากการรวมธุรกิจถูกบันทึกเปนสินทรัพยดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่ ไดมา เครื่องหมายทางการคาและความสัมพันธกับลูกคา มีระยะเวลาการใหประโยชนที่จํากัดและแสดงดวยราคาทุนหักคาตัด จําหนายสะสมและคาเผื่อการดอยคา (ถามี) คาตัดจําหนาย คาตัดจําหนายคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพยหรือตนทุนในการเปลี่ยนแทนหักดวยมูลคาคงเหลือ คาตัดจําหนายรับรูในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุการใหประโยชน โดยเริ่มตัดจําหนายเมื่อสินทรัพยนั้นพรอมที่จะ ให ประโยชน ซึ่ง โดยส วนใหญ จะสะท อ นรู ป แบบการใช ประโยชน เ ชิง เศรษฐกิ จในอนาคตจากสิน ทรัพ ย ได ใกล เคี ย งที่ สุ ด ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนสําหรับปปจจุบันและปเปรียบเทียบแสดงไดดังนี้ โปรแกรมคอมพิวเตอร เครื่องหมายทางการคาและความสัมพันธกับลูกคา
1 - 10 5 - 8.2
ป ป
วิธีการตัดจําหนาย ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนและมูลคาคงเหลือจะไดรับการทบทวนทุกสิ้นรอบปบัญชีและปรับปรุง ตามความเหมาะสม
31
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำปปีระกอบงบการเงิ 2557 หมายเหตุ น (ฐ)
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
169
การดอยคา ยอดสินทรัพยตามบัญชีของกลุมบริษัทไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานวามีขอบงชี้การดอยคาหรือไม ในกรณีที่มีขอบงชี้ จะทําการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุ น จากการด อ ยค า รั บ รู เ มื่ อ มู ล ค า ตามบั ญ ชี ข องสิ น ทรั พ ย หรื อ มู ล ค า ตามบั ญ ชี ข องหน ว ยสิ น ทรั พ ย ที่ ก อ ให เ กิ ด เงินสดสูงกวามูลคาที่จะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาบันทึกในงบกําไรขาดทุน เมื่อมีการลดลงในมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนเผื่อขาย ซึ่งบันทึกโดยตรงในสวนของผูถือหุน และมีหลักฐานชัดเจนวาสินทรัพย ดังกลาวมีการดอยคา ยอดขาดทุนสะสมซึ่งเคยบันทึกโดยตรงในสวนของผูถือหุนจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุนโดยไมตองปรับ กับยอดสินทรัพยทางการเงินดังกลาว ยอดขาดทุนสะสมที่บันทึกในงบกําไรขาดทุนเปนผลตางระหวางราคาทุนที่ไดมากับมูลคา ยุติธรรมในปจจุบันของสินทรัพย หักขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงินนั้น ซึ่งเคยรับรูแลวในงบกําไรขาดทุน การคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของเงินลงทุนเผื่อขาย คํานวณโดยอิงมูลคายุติธรรม มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงิน หมายถึง มูลคาที่จะไดรับจากการใชงานของสินทรัพยหรือ มูลคายุติธรรมของสินทรัพยหักตนทุนในการขายแลวแตมูลคาใดจะสูงกวา ในการประเมินมูลคาที่จะไดรับจากการใชงานของ สินทรัพย ประมาณการกระแสเงินสดที่จะไดรับในอนาคตจะถูกคิดลดเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดกอนภาษีเพื่อให สะทอนการประเมินมูลคาของเงินตามเวลาในตลาดปจจุบัน และความเสี่ยงที่มีตอสินทรัพย สําหรับสินทรัพยที่ไมกอใหเกิด กระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพยอื่น จะพิจารณามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนรวมกับหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดที่ สินทรัพยนั้นเกี่ยวของดวย การกลับรายการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงินจะถูกกลับรายการเมื่อมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการ เพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธโดยตรงกับเหตุการณที่เกิดขึ้นภายหลังการรับรูขาดทุนจากการดอยคาที่เคยรับรูแลวในงบกําไรขาดทุน สําหรับสินทรัพยทางการเงินที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจําหนายและตราสารหนี้ที่จัดประเภทเปนเงินลงทุนเผื่อขาย การกลับ รายการจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุน สําหรับตราสารทุนที่จัดประเภทเปนเงินลงทุนเผื่อขาย การกลับรายการจะถูกรับรูใน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ขาดทุนจากการดอยคาของคาความนิยมจะไมมีการกลับรายการ ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการ เงินอื่นที่เคยรับรูในงวดกอนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่รายงานวามีขอบงชี้วาขาดทุนนั้นลดลงหรือไมมีอยูแลวหรือไม ขาดทุน จากการดอยคาจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใชในการคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุน จากการดอยคาจะถูกกลับรายการเพียงเทาที่มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยจะไมเกินกวามูลคาตามบัญชีภายหลังสุทธิจากคา เสื่อมราคาหรือคาตัดจําหนาย เสมือนหนึ่งไมเคยมีการบันทึกขาดทุนจากการดอยคามากอน 32
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 170 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
(ฑ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจะถูกบันทึกเริ่มแรกในมูลคายุติธรรมหักคาใชจายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี้สิน ภายหลังจากการบันทึก เริ่มแรก หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจะแสดงโดยวิธีราคาทุนตัดจําหนาย ผลตางระหวางยอดหนี้เริ่มแรกและยอดหนี้เมื่อครบ กําหนดไถถอนจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนตลอดอายุการกูยืมโดยใชวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง (ฒ) เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ณ) ผลประโยชนของพนักงาน โครงการสมทบเงิน โครงการสมทบเงินเปนโครงการผลประโยชนพนักงานหลังออกจากงาน ซึ่งกิจการจายสมทบเปนจํานวนเงินที่แนนอนไปอีก กิจการหนึ่งแยกตางหาก และจะไมมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะตองจายสมทบเพิ่มเติม ภาระ ผูกพันในการสมทบเขาโครงการสมทบเงินจะถูกรับรูเปนคาใชจายพนักงานในรอบระยะเวลาที่พนักงานไดทํางานใหกับกิจการ โครงการผลประโยชนที่กําหนดไว โครงการผลประโยชนที่กําหนดไวเปนโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานนอกเหนือจากโครงการสมทบเงิน การคํานวณนั้น จั ด ทํ า โดยนั ก คณิ ต ศาสตร ป ระกั น ภั ย อิ ส ระโดยวิ ธี คิ ด ลดแต ล ะหน ว ยที่ ป ระมาณการไว มู ล ค า ป จ จุ บั น ของภาระผู ก พั น ผลประโยชนคํานวณจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจายออกไปในอนาคตโดยใชอัตราดอกเบี้ยตามพันธบัตรรัฐบาลที่ใชสกุล เงิน เดีย วกั บสกุ ลเงินของภาระผูก พัน และมีอายุก ารครบกําหนดชํ าระใกลเ คียงกับระยะเวลาที่ตอ งจา ยผลประโยชน เมื่อ เกษียณอายุ กําไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยที่เกิดจากการปรับปรุงจากประสบการณ และ การเปลี่ยนสมมติฐานทางสถิติถูกรับรูในงบกําไรขาดทุน ผลประโยชนอื่นของพนักงาน บริษัทของกลุมบริษัทที่ใหบริการสนับสนุนงานสํารวจและขุดเจาะแกอุตสาหกรรมปโตรเคมีนอกชายฝงไดจัดใหมีผลตอบแทน เพื่อจูงใจพนักงานสําหรับพนักงานบางสวน พนักงานมีสิทธิที่จะไดรับผลตอบแทนดังกลาวเมื่อพนักงานไดทํางานกับกิจการจน ครบตามระยะเวลาขั้นต่ําที่จะไดรับสิทธิ ประมาณการตนทุนของผลตอบแทนดังกลาวจะถูกบันทึกคางจายตลอดระยะเวลาขั้น ต่ําที่จะไดรับสิทธิโดยไมไดคิดลดใหเปนมูลคาปจจุบัน เนื่องจากไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญจากการใชวิธีอัตราคิดลด
33
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
171
ผลประโยชนเมื่อเลิกจาง ผลประโยชนเมื่อเลิกจางรับรูเปนคาใชจายเมื่อกลุมบริษัทแสดงเจตนาผูกพันอยางชัดเจนเกี่ยวกับการเลิกจาง และไมมีความ เปนไปไดที่จะยกเลิก มีรายละเอียดอยางเปนทางการทั้งการเลิกจางกอนวันเกษียณตามปกติ หรือการสนับสนุนการออกจาก งานโดยสมัครใจ ผลประโยชนเมื่อเลิกจางรับรูเปนคาใชจายเมื่อกลุมบริษัทเสนอใหมีการออกจากงานโดยสมัครใจ และมีความ เปนไปไดที่จะไดรับการตอบรับขอเสนอนั้น และสามารถประมาณจํานวนของการยอมรับขอเสนอไดอยางสมเหตุสมผล มีการ คิดลดกระแสเงินสดหากระยะเวลาการจายผลประโยชนเกินกวา 12 เดือนนับจากวันที่รายงาน ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชนระยะสั้นของพนักงานวัดมูลคาโดยมิไดคิดลดกระแสเงินสดและรับรูเปนคาใชจายเมื่อพนักงานทํางาน ให หนี้สินรับรูดวยมูลคาที่คาดวาจะจายชําระสําหรับแผนระยะสั้นในการจายโบนัสเปนเงินสด หากกลุมบริษัทมีภาระผูกพันตาม กฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะตองจายอันเปนผลมาจากการที่พนักงานไดทํางานใหในอดีตและภาระผูกพันนี้ สามารถประมาณไดอยางสมเหตุสมผล การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ กลุมบริษัทดําเนินโครงการผลตอบแทนพนักงานโดยใชหุนเปนเกณฑที่ชําระดวยตราสารทุน โดยที่กิจการไดรับบริการจาก พนักงาน เป นสิ่งตอบแทนสําหรับตราสารทุน (สิ ทธิซื้อหุน) ที่กิจการออกให มูลคายุ ติธรรมของบริการของพนักงานเพื่ อ แลกเปลี่ยนกับการใหสิทธิซื้อหุนจะรับรูเปนคาใชจาย จํานวนรวมที่ตัดเปนคาใชจายจะอางอิงจากมูลคาของยุติธรรมของสิทธิ ซื้อหุนที่ออกใหโดย • รวมเงื่อนไขทางการตลาด • ไมรวมผลกระทบของการบริการและเงื่อนไขการไดรับสิทธิที่ไมใชเงื่อนไขการตลาด (ตัวอยางเชน ความสามารถทํากําไร การ เติบโตของกําไรตามที่กําหนดไว และ พนักงานจะยังเปนพนักงานของกิจการในชวงเวลาที่กําหนด) และ • ไมรวมผลกระทบของเงื่อนไขการไดรับสิทธิที่ไมใชเงื่อนไขการบริการหรือผลงาน (ตัวอยางเชน ขอกําหนดดานความปลอดภัย ของพนักงาน) เงื่อนไขการไดรับสิทธิที่ไมใชเงื่อนไขทางตลาดจะรวมอยูในขอสมมติฐานเกี่ยวกับจํานวนของสิทธิซื้อหุนที่คาดวาจะไดรับสิทธิ คาใชจายทั้งหมดจะรับรูตลอดระยะเวลาไดรับสิทธิ ซึ่งเปนไปตามเงื่อนไขการไดรับสิทธิที่กําหนดไว กลุมบริษัทจะทบทวนการ ประเมินจํานวนของสิทธิซื้อหุนที่คาดวาจะไดรับสิทธิ ซึ่งขึ้นกับเงื่อนไขการไดรับสิทธิที่ไมใชเงื่อนไขการตลาด และจะรับรู ผลกระทบของการปรับปรุงประมาณการเริ่มแรกในงบกําไรหรือขาดทุนพรอมกับการปรับปรุงรายการไปยังสวนของผูถือหุน ณ วันที่สิ้นรอบระยะเวลาการรายงาน
34
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 172 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
เมื่อมีการใชสิทธิ บริษัทจะออกหุนใหม สิ่งตอบแทนที่ไดรับสุทธิของตนทุนในการทํารายการทางตรงจะเครดิตไปยังทุนเรือนหุน (มูลคาตามบัญชี) และสวนเกินมูลคาหุนเมื่อมีการใชสิทธิ กรณี ที่ ก ลุ ม บริ ษั ท ให สิ ท ธิ ซื้ อ ตราสารทุ น แก พ นั ก งานของกลุ ม บริ ษั ท และปฏิ บั ติ เ หมื อ นการเพิ่ ม ทุ น อย า งหนึ่ ง กลุมบริษัทตองวัดมูลคายุติธรรมของบริการของพนักงาน โดยอางอิงกับมูลคายุติธรรมของตราสารทุนที่ออกให มูลคาของตรา สารทุนเหลานั้นตองวัด ณ วันที่ใหสิทธิ ซึ่งจะรับรูตลอดระยะเวลาที่ไดรับสิทธิ เชนเดียวกันกับการเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนใน บริษัทยอย และบันทึกไปยังสวนของผูถือหุน (ด)
ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรูก็ตอเมื่อกลุมบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปจจุบันหรือที่กอตัวขึ้นอันเปนผลมาจาก เหตุการณในอดีต และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาประโยชนเชิงเศรษฐกิจจะตองถูกจายไปเพื่อชําระภาระหนี้สิน ดังกลาว ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจายในอนาคตโดยใชอัตราคิดลดในตลาดปจจุบันกอน คํานึงถึงภาษีเงินได เพื่อใหสะทอนจํานวนที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอหนี้สิน ประมาณการคาใชจายจากสัญญาที่เสียเปรียบหรือกอใหเกิดภาระ ประมาณการคาใชจายของสัญญาที่เสียเปรียบหรือกอใหเกิดภาระแกกลุมบริษัทจะบันทึกเมื่อประโยชนที่กลุมบริษัทพึงไดรับ นอยกวาตนทุนที่จําเปนในการดําเนินการตามขอผูกพันในสัญญา การประมาณคาใชจายรับรูดวยมูลคาปจจุบันของตนทุนสุทธิ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดสัญญา หรือ ตนทุนสุทธิที่คาดวาจะเกิดขึ้นเมื่อดําเนินสัญญาตอ แลวแตมูลคาใดจะต่ํากวา
(ต)
ทุนเรือนหุน หุนสามัญ หุนสามัญจัดประเภทเปนสวนของผูถือหุน ตนทุนสวนเพิ่มที่เกี่ยวของโดยตรงกับการออกหุนสามัญและสิทธิซื้อหุน สุทธิจาก ผลกระทบทางภาษี รับรูเปนรายการหักจากสวนของทุน
(ถ)
รายได รายไดที่รับรูไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม และแสดงสุทธิจากสวนลดการคา และสวนลดพิเศษ รายไดจากการใหบริการ กลุมบริษัทรับรูคาระวางเรือแตละเที่ยวเปนรายไดเมื่อเที่ยวเรือสิ้นสุดลงและรับรูรายไดคาระวางเรือของเที่ยวที่ยังอยูระหวาง การเดินทาง ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน โดยกลุมบริษัทจะรับรูรายไดตามสัดสวนของระยะเวลาที่เรือไดเดินทางไปแลว เทียบกับระยะเวลาที่ตองใชในการเดินเรือทั้งหมดของเที่ยวเรือนั้น คาระวางที่แสดงอยูในงบกําไรขาดทุนเปนยอดสุทธิหลังหัก คานายหนาที่เกี่ยวของ 35
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
173
กลุมบริษัทรับรูรายไดจากการใหบริการนอกชายฝงแกลูกคาเมื่อไดใหบริการโดยอางอิงตาม (ก) อัตราคาบริการรายวันตาม สัญญา และจํานวนวันที่ดําเนินงานในระหวางงวด หรือ (ข) อัตราคาบริการที่ตกลงกันตามสัญญา กิจกรรมการเคลื่อนยายอุปกรณเกี่ยวกับเรือขุดเจาะ เปนการเคลื่อนยายเรือขุดเจาะจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่งภายใต สัญญาบริการ สัญญาบริการบางสัญญาไดรวมคาธรรมเนียมการเคลื่อนยายอุปกรณเกี่ยวกับเรือขุดเจาะซึ่งจะมีการจาย ณ วัน เริ่มตนสัญญา ในกรณีที่คาธรรมเนียมการเคลื่อนยายอุปกรณเรือขุดเจาะรวมถึงคาปรับปรุงโดยทั่วไปหรือเจาะจงสําหรับเรือขุด เจาะหรืออุปกรณเพื่อใหเปนไปตามที่ผูรับบริการตองการ คาธรรมเนียมดังกลาวจะรับรูเปนรายไดตลอดอายุของสัญญา ในกรณี ที่คาธรรมเนียมการเคลื่อนยายอุปกรณเรือขุดเจาะรวมคาใชจายในการเริ่มดําเนินงาน ณ วันเริ่มตนของสัญญา คาธรรมเนียม ดังกลาวจะรับรูเปนรายไดในงวดเดียวกันกับที่เกิดคาใชจาย การขายสินคา รายไดจากการขายสินคารับรูเมื่อไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสินคาที่มีนัยสําคัญไปใหกับผูซื้อแลว และจะไมรับรูรายไดถาฝายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินคาที่ขายไปแลวนั้นหรือมีความไมแนนอนที่มีนัยสําคัญ เกี่ยวกับการไดรับชําระเงิน ตนทุนที่เกิดขึ้น หรือมีความเปนไปไดคอนขางแนที่จะตองรับคืนสินคา คานายหนา คานายหนาจากการใหบริการแกเรือและคาบริการตางๆ รับรูเปนรายไดเมื่อบริษัทไดใหบริการแลวเสร็จและเรียกเก็บเงิน รายไดคาเชา รายไดคาเชารับรูตามเกณฑคงคางตามจํานวนที่ระบุในสัญญาเชา เงินปนผลรับ เงินปนผลรับรูในงบกําไรขาดทุนในวันที่กลุมบริษัทมีสิทธิไดรับเงินปนผล ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับรูในงบกําไรขาดทุนตามเกณฑคงคาง
36
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น 174 ปงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
(ท) ตนทุนทางการเงิน ตนทุนทางการเงินประกอบดวยดอกเบี้ยจายและตนทุนที่เกี่ยวของกับการกูยืม ตนทุนการกูยืมที่ไมไดเกี่ยวกับการไดมา การกอสรางหรือ การผลิตสินทรัพยที่เขาเงื่อนไข รับรูในงบกําไรขาดทุนโดยใชวิธีอัตรา ดอกเบี้ยที่แทจริง (ธ)
สัญญาเชาดําเนินงาน รายจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงานรับรูในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสญ ั ญาเชา คาเชาที่อาจเกิดขึ้นตองนํามารวมคํานวณจํานวนเงินขั้นต่ําทีต่ องจายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเชา ยืนยันการปรับคาเชา
(น)
เมื่อไดรับการ
ภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินไดสําหรับปประกอบดวยภาษีเงินไดของงวดปจจุบัน ภาษีเงินไดของงวดปจจุบันไดแกภาษีที่คาดวาจะจาย ชําระหรือไดรับชําระ โดยคํานวณจากกําไรหรือขาดทุนประจําปที่ตองเสียภาษี โดยใชอัตราภาษีที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีผล บังคับใช ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปกอนๆ ในการกําหนดมูลคาของภาษีเงินไดของงวดปจจุบัน บริษัทตองคํานึงถึงผลกระทบของสถานการณทางภาษีที่ไมแนนอนและ อาจทําใหจํานวนภาษีที่ตองจายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ตองชําระ บริษัทเชื่อวาไดตั้งภาษีเงินไดคางจายเพียงพอสําหรับภาษี เงินไดที่จะจายในอนาคต ซึ่งเกิดจากการประเมินผลกระทบจากหลายปจจัย รวมถึง การตีความทางกฎหมายภาษี และจาก ประสบการณในอดีต การประเมินนี้อยูบนพื้นฐานการประมาณการและขอสมมติฐาน และอาจจะเกี่ยวของกับการตัดสินใจ เกี่ยวกับเหตุการณในอนาคต ขอมูลใหมๆอาจจะทําใหบริษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ้นอยูกับความเพียงพอของภาษีเงินไดคาง จายที่มีอยู การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินไดคางจายจะกระทบตอคาใชจายภาษีเงินไดในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีบันทึกโดยคํานวณจากผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหวางมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สิน และจํานวนที่ใชเพื่อความมุงหมายทางภาษี ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะไมถูกรับรูเมื่อเกิดจากผลแตกตางชั่วคราวตอไปนี้ การรับรูคาความนิยมในครั้งแรก การรับรูสินทรัพยหรือหนี้สินในครั้งแรกซึ่งเปนรายการที่ไมใชการรวมธุรกิจและรายการนั้นไม มีผลกระทบตอกําไรขาดทุนทางบัญชีหรือทางภาษี และผลแตกตางที่เกี่ยวของกับเงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุม รวมกันหากเปนไปไดวาจะไมมีการกลับรายการในอนาคตอันใกล การวั ด มู ล ค า ของภาษี เ งิ น ได ร อการตั ด บั ญ ชี ต อ งสะท อ นถึ ง ผลกระทบทางภาษี ที่ จ ะเกิ ด จากลั ก ษณะวิ ธี ก ารที่ กลุมบริษัทคาดวาจะไดรับผลประโยชนจากสินทรัพยหรือจะจายชําระหนี้สินตามมูลคาตามบัญชี ณ วันที่สิ้นรอบระยะเวลาที่ รายงาน 37
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำปปีระกอบงบการเงิ 2557 หมายเหตุ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
175
ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีวัดมูลคาโดยใชอัตราภาษีที่คาดวาจะใชกับผลแตกตางชั่วคราวเมื่อมีการกลับรายการโดยใชอัตราภาษี ที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีผลบังคับใช ณ วันที่รายงาน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะบันทึกตอเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวากําไรเพื่อเสียภาษีในอนาคตจะมีจํานวน เพียงพอกับการใชประโยชนจากผลแตกตางชั่วคราวดังกลาว สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่ รายงานและจะถูกปรับลดลงเทาที่ประโยชนทางภาษีจะมีโอกาสถูกใชจริง สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสามารถหักกลบไดเมื่อกิจการมีสิทธิตามกฎหมายที่จะ นําสินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินไดของงวดปจจุบันและภาษีเงินไดนี้ประเมินโดยหนวยงาน จัดเก็บภาษีหนวยงานเดียวกันสําหรับหนวยภาษีเดียวกัน หรือสําหรับหนวยภาษีตางกันแตกิจการมีความตั้งใจจะจายชําระ หนี้สินและสินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันดวยยอดสุทธิหรือตั้งใจจะรับคืนสินทรัพยและจายชําระหนี้สินในเวลาเดียวกัน (บ) กําไรตอหุน กลุมบริษัทแสดงกําไรตอหุนขั้นพื้นฐานและกําไรตอหุนปรับลดสําหรับหุนสามัญ กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหาร กําไรหรือขาดทุนของสวนที่เปนของผูถือหุนสามัญของบริษัท ดวยจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกจําหนายระหวางป กําไรตอหุนปรับลดคํานวณโดยการหารกําไรหรือขาดทุนของสวนที่เปนของผูถือหุนสามัญที่ปรับปรุงดวยจํานวนหุนสามัญถัว เฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกจําหนาย และผลกระทบของตราสารที่อาจเปลี่ยนเปนหุนสามัญปรับลดทั้งหมดซึ่งรวมถึงสิทธิซื้อหุน (ป) การจายเงินปนผล เงินปนผลที่จะจายใหแกผูถือหุนของบริษัทจะรับรูเปนหนี้สินในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในงวดที่มีการอนุมัติโดย คณะกรรมการของบริษัทสําหรับเงินปนผลระหวางกาล และเมื่อมีการอนุมัติโดยผูถือหุนของบริษัทสําหรับเงินปนผลประจําป (ผ)
รายงานทางการเงินจําแนกตามสวนงาน ผลการดําเนิ นงานของส วนงานที่รายงานตอประธานเจาหน าที่บริหารของกลุมบริษัท (ผูมีอํานาจตัดสินใจสู งสุดดานการ ดําเนินงาน) จะแสดงถึงรายการที่เกิดขึ้นจากสวนงานดําเนินงานนั้นโดยตรงรวมถึงรายการที่ไดรับการปนสวนอยางสมเหตุสมผล
4
บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เพื่อวัตถุประสงคในการจัดทํางบการเงิน บุคคลหรือกิจการจะถูกพิจารณาเปนบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับกลุมบริษัท หาก กลุมบริษัทมีอํานาจควบคุมหรือควบคุมรวมกันไมวาทางตรงหรือทางออม หรือมีอิทธิพลอยางมีสาระสําคัญตอบุคคลหรือกิจการใน การตัดสินใจทางการเงินและการบริหารหรือในทางกลับกัน หรือกลุมบริษัทอยูภายใตการควบคุมเดียวกันหรืออยูภายใตอิทธิพล อยางมีสาระสําคัญเดียวกันกับบุคคลหรือกิจการนั้น การเกี่ยวของกันนี้อาจเปนบุคคลหรือเปนกิจการ
38
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ น 176ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ความสัมพันธกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ยกเวนบริษัทยอย บริษัทรวมและกิจการรวมคาที่ไดเปดเผยไวแลวในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินขอ 12 และ 13 และ 14 มีดังนี้ ชื่อกิจการ ผูบริหารสําคัญ
SKI Energy Resources Inc. (“SERI”)
ประเทศที่จัดตั้ง /สัญชาติ หลายสัญชาติ
ลักษณะความสัมพันธ บุคคลที่มีอํานาจและความรับผิดชอบในการวางแผน สั่งการและ ควบคุมกิจกรรมตางๆ ของกิจการไมวาทางตรงหรือทางออม ทั้งนี้ รวมถึง กรรมการของกลุม บริษั ท/บริ ษัท (ไม ว าจะทํา หนา ที่ ใ น ระดับบริหารหรือไม) กิจการรวมคาของกลุมบริษัทสําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 (สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557: บริษัทรวมของ Merton Group (Cyprus) Limited ซึ่งเปนบริษัทรวมของบริษัท)
ฟลิปปนส
นโยบายการกําหนดราคาสําหรับแตละประเภทรายการอธิบายไดดังตอไปนี้ รายการ รายไดคาบริการสารสนเทศและคาเชา สํานักงานและอุปกรณสํานักงาน รายไดคาบริการจากธุรกิจนอกชายฝง รายไดคาบริการ รายไดคาบริหารจัดการ ดอกเบี้ยรับ/ดอกเบีย้ จาย คาธรรมเนียมการบริหารและการจัดการ คาใชจายบริการสารสนเทศและคาบริการ คาใชจายในการดําเนินงานเกี่ยวกับ เรือเดินทะเล คาใชจายในการบริการจากธุรกิจ นอกชายฝง และตนทุนขาย
นโยบายการกําหนดราคา ราคาปกติที่ใหบริการกับบุคคลภายนอก ราคาปกติที่ใหบริการกับบุคคลภายนอก ราคาปกติที่ใหบริการกับบุคคลภายนอก ราคาตนทุนบวกกําไรสวนเพิ่ม อางอิงกับอัตราตลาด/ตนทุนการกูยืมของบริษัทที่ใหเงินกู ราคาตนทุนบวกกําไรสวนเพิ่ม ราคาปกติที่รับบริการจากบุคคลภายนอก ราคาปกติที่รับบริการจากบุคคลภายนอก
39
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
177
รายการที่มีสาระสําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และสําหรับปสิ้นสุด วันที่ 30 กันยายน 2557 สรุปไดดังนี้ งบการเงินรวม สําหรับงวด สามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 บริษัทยอย รายไดคาบริการสารสนเทศและคาเชา สํานักงานและอุปกรณสํานักงาน รายไดคาบริการ ดอกเบี้ยรับ คาใชจายบริการสารสนเทศ และคาบริการ ดอกเบี้ยจาย ผูบริหารสําคัญ คาตอบแทนผูบริหารสําคัญ ผลประโยชนระยะสั้น ผลประโยชนหลังการจางงาน รวมคาตอบแทนผูบริหารสําคัญ
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวด สามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (พันบาท)
-
-
4,534 160 4,732
16,982 624 26,541
-
-
481 33,661
1,740 140,695
48,997 2,660 51,657
207,903 7,590 215,493
14,048 2,130 16,178
72,706 5,142 77,848
40
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 178ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ น งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
คาตอบแทนผูบริหารสําคัญประกอบดวยเงินเดือน ผลประโยชนอื่น คาตอบแทนอื่น และคาเบี้ยประชุม งบการเงินรวม สําหรับงวด สามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 บริษัทรวมและกิจการรวมคา รายไดคาบริการสารสนเทศและคาเชา สํานักงานและอุปกรณสํานักงาน รายไดคาบริการจากธุรกิจนอกชายฝง รายไดคาบริการ ดอกเบี้ยรับ รายไดอื่น คาใชจายในการดําเนินงานเกี่ยวกับ เรือเดินทะเล คาใชจายในการบริการจาก ธุรกิจนอกชายฝง ตนทุนขาย คาธรรมเนียมการบริหารและการจัดการ
11,335 691,913 45 313
36,508 2,701,004 207 -
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวด สามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (พันบาท) 1,984 50 45 313
8,127 211 207 -
-
1,570
-
-
4,780 29,416 1,890
15,926 13,909 2,741
-
-
ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และวันที่ 30 กันยายน 2557 มีดังนี้
หมายเหตุ ลูกหนีก้ ารคา บริษัทรวมและกิจการรวมคา ลูกหนีก้ ิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัทรวมและกิจการรวมคา กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
7
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 1,094,436
1,426,808
-
-
258,857 258,857 (248,055) 10,802
6,774 243,617 250,391 (243,617) 6,774
465,676 963 466,639 466,639
494,865 825 495,690 495,690
41
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
179
งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคางรับจากกิจการที่เกี่ยวของกันไดรวมเงินจายลวงหนาสําหรับคาหุนใน SKI Energy Resources Inc. (“SERI”) กิจการรวมคาแหงหนึ่ง (30 กันยายน 2557 : กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน) รวมเปนเงินทั้งสิ้น 5 ลานเหรียญสหรัฐฯ และดอกเบี้ยคางรับจํานวน 2.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งถูกตั้งสํารองไวเต็มจํานวนแลว เนื่องจากผูบริหารคาดวา SERI จะไมมีเงินทุน ในการดําเนินงานเพียงพอใหผลิตถานหินจนผานจุดคุมทุนได งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) เงินใหกูระยะสัน้ แกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัทรวมและกิจการรวมคา กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน หัก คาเผื่อการดอยคา สุทธิ
141,741 141,741 (141,741) -
139,205 139,205 (139,205) -
1,462,280 1,462,280 1,462,280
2,083,753 2,083,753 2,083,753
บริษัท เงินใหกูระยะสั้นแกบริษัทยอยมีกําหนดเวลาชําระคืนเมื่อทวงถามและไมมีหลักประกัน โดยสวนใหญคิดดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 4.6 ตอป (30 กันยายน 2557: รอยละ 3.0 และรอยละ 4.6 ตอป) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 Soleado Holdings Pte. Ltd. (“Soleado”) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่บริษัทถือหุนทั้งหมด มีเงินใหกู ระยะสั้นและเงินใหกูที่สามารถแปลงสภาพใหแก SERI ซึ่งเปนกิจการรวมคา (30 กันยายน 2557: เปนกิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน) ในสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ จํานวน 4.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือคิดเปนเงินบาทจํานวน 141.7 ลานบาท (30 กันยายน 2557: 4.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือคิดเปนเงินบาท จํานวน 139.2 ลานบาท) เงินใหกูดังกลาวไมมีหลักประกันและสามารถเรียกคืนไดเมื่อทวง ถาม และถูกตั้งสํารองไวเต็มจํานวนแลว
42
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ น 180 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) เงินใหกูระยะยาวแกกจิ การที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัทรวมและกิจการรวมคา กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน หัก คาเผื่อการดอยคา สุทธิ
588,814 588,814 (586,741) 2,073
2,073 576,245 578,318 (576,245) 2,073
3,977,053 2,073 3,979,126 (3,278,045) 701,081
4,578,953 2,073 4,581,026 (3,238,427) 1,342,599
บริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทไดใหเงินกูระยะยาวในสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ และสกุลเงินบาทซึ่งเปนเงินใหกูที่ไมมีหลักประกัน แกบริษัทยอย เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 3,977 ลานบาท (30 กันยายน 2557: 4,579 ลานบาท) เงินใหกูนี้มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ (30 กันยายน 2557: อัตราดอกเบี้ยคงที่) และมีกําหนดชําระคืนเปนรายเดือน นอกจากนี้ บริษัทยังใหเงินกูระยะยาวไมมีหลักประกันแกบริษัทรวมแหงหนึ่งจํานวน 2.1 ลานบาท (30 กันยายน 2557: 2.1 ลานบาท) ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารพาณิชยเรียกเก็บจากลูกคารายใหญชั้นดีประเภทเงินเบิกเกินบัญชี (“MOR”) บวกสวน เพิ่ม (30 กันยายน 2557: อัตราดอกเบี้ย MOR บวกสวนเพิ่ม) ในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทตั้งสํารองคาเผื่อการดอยคาของเงินใหกูระยะยาวแกบริษัทยอยแหง หนึ่งเพิ่มเติมจํานวน 39.6 ลานบาท เนื่องจากเงินลงทุนของบริษัทยอยสวนหนึ่งไดถูกพิจารณาวาดอยคา ผูบริหารของบริษัทจึงได ประเมินการดอยคาของเงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน โดยใชมูลคาจากการใชประโยชนของผลตอบแทนจากเงิน ลงทุนในบริษัทยอย โดยพิจารณาตามแผนทางกลยุทธของบริษัทยอยดังกลาวซึ่งมีการทบทวนเปนประจําทุกป งบการเงินรวม เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2552 Soleado ไดเขาทําสัญญาใหวงเงินกูแก Merton Investments NL BV (“MIN”) ในวงเงินใหกูยืมแก MIN ไมเกิน 15 ลานเหรียญสหรัฐฯ โดยมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ เงินกูดังกลาวมีระยะเวลาครบกําหนด 3 ป จากวันที่ 23 พฤศจิกายน 2552 ซึ่งเปนวันเบิกถอนเงินครั้งแรก โดย MIN จะนําเงินกูดังกลาวไปให SERI กูยืมตอ เงินกูทั้ง 2 วงเงินกูยืมดังกลาว จะถูกเบิก ถอนตามความกาวหนาของการกอสรางเหมืองถานหินของ SERI ในประเทศฟลิปปนส
43
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
181
หลักประกันของวงเงินกูที่ Soleado ใหแก MIN รวมถึงการจํานําหุนทั้งหมดใน MIN ที่ถือโดย Merton Group (Cyprus) Limited (“Merton”) การจํานําหุนทั้งหมดใน SERI ที่ถือโดย MIN การจํานําเงินฝากธนาคารของ MIN การโอนสิทธิดอกเบี้ย ของ MIN และผลประโยชน และการจํานองอสังหาริมทรัพยและสินทรัพยของ SERI เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2554 MIN และ Soleado ตกลงกันวา MIN จะมอบสิทธิที่มีเหนือเงินที่ให SERI กูแก Soleado โดย ยอดคงคางทั้งเงินตนและดอกเบี้ยทั้งหมด ณ วันที่ 23 สิงหาคม 2554 จํานวน 20.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ จะถูกแปลงเปนทุนใน SERI โดยการขอปรับโครงสรางการถือหุนของ SERI จะขึ้นอยูกับการไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพยแหงประเทศฟลิปปนส อยางไรก็ตาม เนื่องจากคํารองที่เกี่ยวของกับขอกําหนดการถือครองหุนโดยชาวตางชาติใน บริษัทฟลิปปนสที่ประกอบธุรกิจเหมืองแรยังไมมีขอสรุป การขอปรับโครงสรางการถือหุนที่เสนอโดย SERI Soleado และผูถือ หุนของ SERI ครั้งแรกจึงถูกปฏิเสธโดยคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศฟลิปปนส นอกจากนี้ จากการที่กลุมผูถือหุนของ SERI ไมสามารถใหความสนับสนุนทางการเงินไดตามที่ควร จึงทําให SERI ยังไมสามารถผลิตถาน หินใหไดถึงจุดคุมทุนของกระแสเงินสด ประกอบกับกิจการยังอยูในระหวางการปรับโครงสรางใหม เพื่อความรอบคอบ คาเผื่อ การดอยคาสําหรับเงินใหกูคงคาง รวมถึงดอกเบี้ยคางรับและเงินจายคาหุนลวงหนา จึงถูกตั้งขึ้นเต็มจํานวนเพื่อสํารองสําหรับ การที่อาจจะไมไดรับชําระหนี้คืน รายการเคลื่อนไหวของเงินใหกูระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกันระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีดังตอไปนี้
งบการเงินรวม (พันบาท) เงินใหกูระยะยาวแกกจิ การที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 ชําระคืน กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึน้ จริง การดอยคาของเงินใหกูระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 หัก สวนของเงินใหกูระยะยาวที่ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินใหกูระยะยาว - สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป
44
2,073 2,073 (2,073) -
งบการเงิน เฉพาะกิจการ
1,342,599 (612,257) 10,357 (39,618) 701,081 (6,573) 694,508
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น นของบริษัท 182 ปงบการเงิ นรวมและงบการเงิ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัทรวมและกิจการรวมคา
5,698 5,698
7,576 7,576
55,407 55,407
365,001 365,001
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) เงินกูระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย
-
-
1,287,653 1,287,653
5,816,657 5,816,657
บริษัท เงินกูระยะสั้นจากบริษัทยอยมีกําหนดเวลาชําระคืนเมื่อทวงถามและไมมีหลักประกัน โดยคิดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 2.2 ตอป (30 กันยายน 2557: รอยละ 2.2 และรอยละ 3.0 ตอป) 5
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด
เงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร รวม
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 10,501 30 30 11,713 6,279,346 2,920,521 2,052,810 7,698,931 6,289,847 2,920,551 2,052,840 7,710,644
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เงินฝากธนาคารมีอัตราดอกเบี้ยระหวางรอยละ 0 ถึง 5 ตอป (30 กันยายน 2557: รอยละ 0 ถึง 5 ตอป)
45
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำปปีระกอบงบการเงิ 2557 หมายเหตุ น 6
183
เงินลงทุนระยะสั้น
ตราสารทุน ตราสารหนี้ เงินฝากประจํา เงินลงทุนอื่น การเปลีย่ นแปลงในมูลคายุติธรรมสะสม รวม 7
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 56,208 56,208 56,208 68,903 1,297 1,297 1,297 1,297 1,276,057 476,731 18,601 18,094 18,601 18,094 1,352,163 75,599 76,106 565,025 22,755 (9,713) (13,214) (9,713) 1,342,450 62,385 66,393 587,780
ลูกหนีก้ ารคา งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 30 กันยายน หมายเหตุ 2557 2557 กิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้การคา
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (พันบาท)
1,094,436
1,426,808
-
-
หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
2,991,345 546,033 3,537,378 (191,946) 3,345,432
2,576,378 428,572 3,004,950 (187,787) 2,817,163
-
-
รวม
4,439,868
4,243,971
-
-
1,484
9,967
-
-
กิจการอื่นๆ ลูกหนี้การคา รายไดคางรับ
หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ
4
46
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 184 ปงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
การวิเคราะหอายุของลูกหนี้การคา มีดังนี้ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 กิจการที่เกี่ยวของกัน ยังไมครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ : นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (พันบาท)
625,622
397,849
-
-
468,814 1,094,436
646,699 382,260 1,426,808
-
-
1,513,873
1,307,659
-
-
หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
974,871 267,120 53,809 181,672 2,991,345 (191,946) 2,799,399
921,771 122,560 46,657 177,731 2,576,378 (187,787) 2,388,591
-
-
รวม
3,893,835
3,815,399
-
-
กิจการอื่นๆ ยังไมครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ : นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน
บริษัทตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไวเต็มจํานวนสําหรับลูกหนี้การคาที่ผูบริหารพิจารณาวาจะไมสามารถเรียกชําระเงินได
47
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� หมายเหตุำปีป2557 ระกอบงบการเงิน 8
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
185
ลูกหนี้อนื่ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) เงินจายลวงหนาสําหรับคาใชจาย ในการดําเนินธุรกิจ ลูกหนี้อื่น เงินทดรองจายแกพนักงาน รายไดดอกเบีย้ คางรับ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
9
237,088 74,271 37,400 778 349,537 349,537
154,486 217,752 39,915 16,000 428,153 428,153
11 353 2 366 366
182 12,617 12,799 12,799
ตนทุนสัญญารอการตัดบัญชี งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (พันบาท) 261,202 203,385 (16,686) (65,711) 7,894 3,576 203,385 190,275
ณ วันตนงวด/ป ตนทุนสัญญาตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคาเงินตราตางประเทศ ณ วันสิ้นงวด/ป
48
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 186 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 เงินจํานวน 9.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ (เทียบเทากับ 286.7 ลานบาท) ซึ่งจายโดย Mermaid Subsea Services (International) Ltd. บริษัทยอยแหงหนึ่งของบริษัท เมอรเมด มาริไทม จํากัด (มหาชน) (“MMPLC”) ใหแก General Technology & Systems Co., Ltd. (“Gentas”) โดยการจายดังกลาวประกอบดวย (ก) จํานวน 0.3 ลาน เหรียญสหรัฐฯ (เทียบเทากับ 9.2 ลานบาท) เปนการจายสําหรับการซื้อสวนไดเสียรอยละ 30 ใน Subtech Saudi Arabia ที่ ถือโดย Gentas (บันทึกในบัญชีลูกหนี้อื่น) และ (ข) จํานวน 9.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ (เทียบเทากับ 277.5 ลานบาท) (บันทึกใน บัญชีตนทุนสัญญารอการตัดบัญชี) เปนการจายสําหรับ (1) คาชดเชยการสูญเสียกําไรของ Gentas ที่คาดวาจะไดรับหาก Gentas ไมไดขายสวนไดเสียรอยละ 30 ใน Subtech Saudi Arabia ซึ่งกําไรดังกลาวเกี่ยวเนื่องกับการไดรับสัญญาในการ ใหบริการสํารวจใตน้ํา ซอมแซม และซอมบํารุง เปนระยะเวลา 5 ปที่ทํากับ Saudi Aramco (“สัญญา IRM”) ที่มีมูลคารายได มากกวา 530 ลานเหรียญสหรัฐฯ และ (2) เงินจายลวงหนาสําหรับบริการที่ Gentas ชวยเหลือในการใหไดมาซึ่งสัญญา IRM เงินจายจํานวน 9.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ เปนตน ทุน สัญ ญาที่เ กี่ย วขอ งกับ การใหไ ดม าซึ่ง สัญ ญา IRM และจะดํา เนิน งาน โดย Zamil Mermaid Offshore Services Co. (LLC) (“ZMOS”) ซึ่ง เปน กิจ การดํา เนิน งานที่ค วบคุม รว มกัน (Jointly-controlled operation) แหงหนึ่งของ MMPLC โดยตน ทุน สัญ ญารอการตัด บัญ ชีจ ะบัน ทึก ตัด จํา หนา ยตาม สัด สว นตลอดอายุข องสัญ ญา ซึ่ง มีร ะยะเวลาโดยประมาณ 5 ป นับ จากวัน ที่มีก ารรับ รูร ายไดเ ปน ครั้ง แรก โดยรายได ทั้งหมดตามสัญญา IRM สําหรับ ระยะเวลา 5 ป คิด เปน จํา นวนเงิน รวมประมาณ 530 ลา นเหรีย ญสหรัฐ ฯ กลุม บริษัท คาดวารายไดที่จะเกิดภายใตสัญ ญา IRM อยูร ะหวา งรอ ยละ 60 ถึง รอ ยละ 70 ของรายไดต ามสัญ ญา IRM ตลอดชว ง ระยะเวลาดังกลาว เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2555 ZMOS ไดรับงานตามสัญญา IRM โดย ZMOS เปนกิจการที่ตั้งขึ้นใหมซึ่งมีการควบคุมรวมกัน ระหวางกลุมบริษัทกับ Zamil Offshore Services Co. (“Zamil”) โดยที่ ZMOS จะเรียกเก็บ Saudi Aramco ตามอัตราที่ ตกลงในสัญญา IRM และผูรวมคาทั้งสองฝายจะเรียกเก็บ ZMOS สําหรับตนทุนที่เกิดจากการดําเนินงานภายใตสัญญา IRM
49
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รายงานประจ� ำ ปี 2557 10
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
187
สินคาคงเหลือ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) สินคาคงเหลือ เครื่องมือและวัสดุสิ้นเปลือง รวม หัก คาเผื่อมูลคาสินคาลดลง สุทธิ กลับรายการคาเผื่อมูลคาสินคาลดลง
899,390 50,629 950,019 (179,362) 770,657 (12,190)
802,635 47,975 850,610 (191,552) 659,058 (289,168)
-
-
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 สินคาคงเหลือมูลคา 222 พันลานดองเวียดนาม หรือคิดเปนเงินบาทจํานวน 355 ลานบาท (30 กันยายน 2557 : 170 พันลานดองเวียดนาม หรือเทียบเทากับ 255 ลานบาท) ไดถูกนําไปใชเพื่อเปนหลักประกันวงเงินกูกับ ธนาคารพาณิชยแหงหนึ่งจํานวน 270 พันลานดองเวียดนาม หรือ 432 ลานบาท 11
สินทรัพยที่ถือไวเพื่อขาย ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 สินทรัพยที่ถือไวเพื่อขายเปนเงินลงทุนในบริษัทรวม Merton Group (Cyprus) Ltd., (“Merton”) และเงินลงทุนใน Qing Mei Pte. Ltd. (“Qing Mei”) ซึ่งเปนกิจการรวมคา ที่ถือโดยบริษัทยอยของบริษัท ซึ่ง บริษัทยอยของบริษัทมีสิทธิตามสัญญาในการแลกเปลี่ยนเงินลงทุนดังกลาวกับเงินลงทุนพรอมกับสิ่งตอบแทนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 การโอนหุนและการชําระคาตอบแทนในการแลกเปลี่ยนเงินลงทุนดังกลาวไดเสร็จสิ้นเรียบรอยแลว (ดูหมาย เหตุประกอบงบการเงินขอ 12)
50
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 188 งบการเงิ นรวมและงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น นของบริษัท 12
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 ประกอบดวยเงินลงทุนในบริษัทดังตอไปนี้ ชื่อของบริษัทยอย
ประเภทกิจการ
กลุมการถือหุนเพื่อการลงทุน - Soleado Holdings Pte. Ltd. (“Soleado”) เพื่อการลงทุน ซึ่งมีบริษัทยอยดังนี้ - Merton Investments NL BV เพื่อการลงทุน (“MIN”)* ซึ่งมีกิจการรวมคาดังนี้ - SKI Energy Resources Inc. เหมืองถานหิน ซึ่งมีบริษัทรวมดังนี้ - Merton Group (Cyprus) Limited* เหมืองถานหิน - Baria Serece บริการทาเรือเกี่ยวกับ การขนถายสินคา - Sino Grandness Food Industry ผลิตและจําหนาย Group Limited อาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งมีกิจการรวมคาดังนี้ - Petrolift Inc. บริการขนสงทางทะเล - Qing Mei Pte. Ltd.* เหมืองถานหิน - บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส จํากัด เพื่อการลงทุน - บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส ” จํากัด มหาชน (“PMTA”) ซึ่งมีบริษัทยอยดังนี้ - PM Thoresen Asia (Singapore) เพื่อการคาทั่วไป Pte. Ltd. - Baconco Co., Ltd. ผลิตและจําหนายปุย กลุมขนสง - บริษัท พรีโม ชิปปง จํากัด (มหาชน) รับจัดการเรือเดินทะเล (“Premo”) - Thoresen Shipping Singapore Pte. Ltd. ขนสงสินคาระหวาง (“TSS”) ประเทศทางทะเล ซึ่งมีบริษัทยอยดังนี้ - Thor Friendship Shipping Pte. Ltd. ” 51
ประเทศที่ จดทะเบียน
อัตรารอยละของหุนที่ถือ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
ประเทศสิงคโปร
100.0
100.0
ประเทศ เนเธอรแลนด
100.0
-
ประเทศฟลิปปนส ประเทศสิงคโปร ประเทศไทย ประเทศไทย
99.9 99.9
99.9 99.9
ประเทศสิงคโปร
100.0
100.0
ประเทศเวียดนาม
100.0
100.0
ประเทศไทย
99.9
99.9
ประเทศสิงคโปร
100.0
100.0
ประเทศสิงคโปร
100.0
100.0
ประเทศฟลิปปนส ประเทศไซปรัส ประเทศเวียดนาม สาธารณรัฐ ประชาชนจีน
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ชื่อของบริษัทยอย กลุมขนสง (ตอ) - Thor Fortune Shipping Pte. Ltd. - Thor Horizon Shipping Pte. Ltd. - Thoresen Shipping Denmark APS
- Thoresen Shipping South Africa (PTY) Ltd. - บริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จํากัด - Thoresen Chartering (HK) Ltd.*** - Thoresen Shipping Germany GmbH - บริษัท เฮราเคิลส ชิปปง จํากัด** - บริษัท เฮรอน ชิปปง จํากัด** - Thoresen Chartering (PTE) Ltd.*** - บริษัท โทรีเซน เซอรวสิ เซ็นเตอร จํากัด*** - บริษัท เอเชีย โคดติ้ง เซอรวสิ เซส จํากัด*** - Thoresen Shipping FZE ซึ่งมีบริษัทรวมดังนี้ - Sharjah Ports Services LLC
ประเภทกิจการ
ขนสงสินคาระหวาง ประเทศทางทะเล ” ใหบริการเชาเรือและรับ ขนสงสินคาแหง เทกอง ”
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
ประเทศที่ จดทะเบียน
189
อัตรารอยละของหุนที่ถือ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
ประเทศสิงคโปร
100.0
100.0
ประเทศสิงคโปร ประเทศเดนมารก
100.0 100.0
100.0 100.0
ประเทศแอฟริกาใต
100.0
100.0
ประเทศไทย ประเทศฮองกง
99.9 99.9
99.9 99.9
ประเทศเยอรมนี ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศสิงคโปร ประเทศไทย
100.0 99.9 99.9 100.0 99.9
100.0 99.9 99.9 100.0 99.9
ประเทศไทย
99.9
99.9
ตัวแทนเรือ
ประเทศสหรัฐ อาหรับเอมิเรต
100.0
100.0
บริการทาเรือเกี่ยวกับ การขนถายสินคา
ประเทศสหรัฐ อาหรับเอมิเรต
รับจัดการเรือเดินทะเล ขนสงสินคาระหวาง ประเทศทางทะเล ” ” ” นายหนาเชาเหมาเรือ ใหบริการดานการ บริหารงาน บริการทาสีเรือ
52
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 190 งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ชื่อของบริษัทยอย
ประเภทกิจการ
กลุมพลังงาน - บริษัท เมอรเมด มาริไทม จํากัด ลงทุนในธุรกิจใหบริการ (มหาชน) (“MMPLC”) นอกชายฝง ซึ่งมีบริษัทยอยดังนี้ - บริษัท เมอรเมด ซับซี เซอรวสิ เซส ใหบริการธุรกิจ (ไทยแลนด) จํากัด (เดิมชื่อ นอกชายฝงที่เกี่ยวกับ บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวสิ เซส อุตสาหกรรมน้ํามันและ จํากัด (“MOS”)) กาซธรรมชาติ นอกชายฝง ซึ่งมีบริษัทยอยดังนี้ - บริษัท ซีสเคป เซอรเวยส ใหบริการสํารวจแผนที่ (ประเทศไทย) จํากัด ทางทะเลและการ วางตําแหนงใน อุตสาหกรรม ปโตรเลียม - Seascape Surveys Pte. Ltd. ” ซึ่งมีบริษัทยอยดังนี้ - PT Seascape Surveys ” Indonesia - Mermaid Offshore Services ใหบริการดานการตลาด Pte. Ltd. สําหรับธุรกิจสํารวจและ ขุดเจาะปโตรเลียม - บริษัท เมอรเมด ดริลลิ่งค จํากัด ใหบริการและ สนับสนุนงานสํารวจ และขุดเจาะแกธุรกิจ ปโตรเคมี นอกชายฝงทะเล ซึ่งมีบริษัทยอยดังนี้ - บริษัท เอ็ม ทีอาร - 1 จํากัด ใหบริการขุดเจาะแก ธุรกิจปโตรเคมี - บริษัท เอ็ม ทีอาร - 2 จํากัด ” Mermaid Drilling (Malaysia) ” Sdn. Bhd. 53
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ประเทศที่ จดทะเบียน
อัตรารอยละของหุนที่ถือ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
ประเทศไทย
57.8
57.1
ประเทศไทย
100.0
100.0
ประเทศไทย
100.0
100.0
ประเทศสิงคโปร
100.0
100.0
ประเทศอินโดนีเซีย
49.0
49.0
ประเทศสิงคโปร
100.0
100.0
ประเทศไทย
95.0
95.0
ประเทศไทย
95.0
95.0
ประเทศไทย ประเทศมาเลเซีย
95.0 95.0
95.0 95.0
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ชื่อของบริษัทยอย
ประเภทกิจการ
กลุมพลังงาน (ตอ) - MTR-1 (Singapore) Pte. Ltd.
ใหบริการขุดเจาะแก ธุรกิจปโตรเคมี - MTR-2 (Singapore) Pte. Ltd. ” - Mermaid Drilling (Singapore) ใหบริการและสนับสนุน Pte. Ltd. งาน สํารวจและขุดเจาะ แกธุรกิจปโตรเคมี นอกชายฝงทะเล - MTR-3 (Singapore) Pte. Ltd. ” - MTR-4 (Singapore) Pte. Ltd. ” ” - Mermaid MTN Pte. Ltd. (เดิมชื่อ MTR-5 (Singapore) Pte. Ltd.) - Mermaid Maritime Mauritius Ltd. เพื่อการลงทุน ซึ่งมีบริษัทยอยดังนี้ - Mermaid International ” Ventures ซึ่งมีบริษัทยอยดังนี้ - Mermaid Subsea services ใหบริการสํารวจแผนที่ (International) Ltd. ทางทะเลและบริการ ตรวจสอบใตน้ําและ รับเหมาสําหรับธุรกิจ สํารวจและขุดเจาะ ปโตรเลียม ซึ่งมีบริษัทยอยดังนี้ - Subtech Saudi Arabia ” Limited - Mermaid Services LLC ” (เดิมชื่อ Subtech Qatar Diving and Marine Services LLC) ซึ่งมีบริษัทรวมดังนี้ - Asia Offshore Drilling ใหบริการขุดเจาะแก Limited, ธุรกิจปโตรเคมี 54
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
ประเทศที่ จดทะเบียน
อัตรารอยละของหุนที่ถือ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
ประเทศสิงคโปร
95.0
95.0
ประเทศสิงคโปร ประเทศสิงคโปร
95.0 100.0
95.0 100.0
ประเทศสิงคโปร ประเทศสิงคโปร ประเทศสิงคโปร
100.0 100.0 100.0
100.0 100.0 100.0
ประเทศมอริเชียส
100.0
100.0
หมูเกาะเคยแมน
100.0
100.0
ประเทศเซเชลส
100.0
100.0
ประเทศ ซาอุดิอาระเบีย ประเทศกาตาร
95.0
70.0
49.0
49.0
ประเทศเบอรมิวดา
191
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 192 งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ชื่อของบริษัทยอย
ประเภทกิจการ
กลุมพลังงาน (ตอ) ซึ่งมีบริษัทยอยดังนี้ - Asia Offshore Rig 1 Limited ใหบริการขุดเจาะแก ธุรกิจปโตรเคมี - Asia Offshore Rig 2 Limited ” - Asia Offshore Rig 3 Limited ” ซึ่งมีกิจการรวมคาดังนี้ - Zamil Mermaid Offshore ใหบริการตรวจสอบ, Services Co. (LLC) ติดตั้ง และซอมแซม แกธุรกิจปโตรเคมี นอกชายฝงทะเล กลุมโครงสรางพื้นฐาน - บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด จัดหาอุปกรณสําหรับจัด วางสินคาในเรือเดินทะเล ซัพพลายส จํากัด - บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติกส จํากัด คลังเก็บสินคา - บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จํากัด (มหาชน) จําหนายถานหิน (“UMS”) (ลงทุนโดย บริษัท อะธีน โฮลดิ้ง จํากัด) ซึ่งมีบริษัทยอยดังนี้ - บริษัท ยูเอ็มเอส ดิสทริบิวชั่น จํากัด บริหารจัดการดาน ขนถายสินคา - บริษัท ยูเอ็มเอส ไลทเตอร จํากัด ขนสงทางน้ํา - บริษัท ยูเอ็มเอส เพลเลท จําหนายไมอัดแทง เอ็นเนอรยี่ จํากัด ใชเปนเชื้อเพลิง - บริษัท ยูเอ็มเอส พอรต เซอรวิสเซส บริการทาเทียบเรือ จํากัด - Baconco Co., Ltd. (ลงทุนโดย PMTA) ผลิตและจําหนายปุย *
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ประเทศที่ จดทะเบียน
อัตรารอยละของหุนที่ถือ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
ประเทศเบอรมิวดา ประเทศเบอรมิวดา ประเทศเบอรมิวดา ประเทศ ซาอุดิอาระเบีย
ประเทศไทย
99.9
99.9
ประเทศไทย ประเทศไทย
51.0 88.7
51.0 88.7
ประเทศไทย
99.9
99.9
ประเทศไทย ประเทศไทย
99.9 99.9
99.9 99.9
ประเทศไทย
99.9
99.9
ประเทศเวียดนาม
100.0
100.0
การแลกเปลี่ยนหุนของ MIN ดวยหุนของ Merton และ Qing Mei ไดเสร็จสิ้นแลวในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ** อยูในกระบวนการจดทะเบียนเลิกกิจการ *** บริษัทหยุดการดําเนินธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557
55
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
193
การเคลื่อนไหวของเงินลงทุนในบริษัทยอยในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และสําหรับปสิ้นสุด 30 กันยายน 2557 มีดังตอไปนี้
ณ วันตนงวด/ป ลงทุนเพิ่ม - จายดวยเงินสด - หักกลบกับเงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทยอย จําหนายเงินลงทุน - รับชําระดวยเงินสด - หักกลบกับเงินกูยมื ระยะสั้นแกบริษัทยอยและลูกหนี/้ เจาหนี้บริษทั ยอย กลับรายการการดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทยอย - สุทธิ ณ วันสิ้นงวด/ป
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (พันบาท) 27,733,152 21,265,656 767,801 -
4,528,827 1,492,274
(264,693) (4,908,857) 1,341 23,328,744
(59,471) 505,866 27,733,152
รายการเคลื่อนไหวที่สําคัญของเงินลงทุนในบริษัทยอยในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 มีดังตอไปนี้ สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทไดซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 29.92 ลานหุนของTSS ในมูลคา หุนละ 1 เหรียญสิงคโปร เปนจํานวนรวมเทียบเทากับ 767.80 ลานบาท ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของ Premo เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2557 ผูถือหุนไดมีมติอนุมัติการลดทุนจดทะเบียนและทุนที่ชําระแลว จาก 7,393.55 ลานบาท เปน 2,220.00 ลานบาท โดยการลดจํานวนหุนสามัญจาก 73,935,500 หุน เปน 22,200,000 หุน ซึ่ง มีมูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท การจดทะเบียนการลดทุนที่ชําระแลวดังกลาวไดเสร็จสมบูรณแลวเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2557 ซึ่งสงผลใหบริษัทไดรับเงินสดจํานวนเงิน 264.69 ลานบาท และหักกลบกับเงินกูยืมระยะสั้นและลูกหนี้ที่บริษัทมีกับ Premo เปนจํานวนเงิน 4,908.86 ลานบาท
56
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 194 ปงบการเงิ หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น นรวมและงบการเงิ นของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัทยอย -MMPLC เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2557 Mermaid Subsea Services (International) Ltd. ซึ่งเปนบริษัทยอยไดลงทุนเพิ่มใน Subtech Saudi Arabia Limited จากรอยละ 70 เปนรอยละ 95 ซึ่งสงผลใหปจจุบันบริษัทถือหุนทางออมรอยละ 95 ใน Subtech Saudi Arabia Limited ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตรารอยละของหุนที่ถือในบริษัทยอยโดยไมมีผลตอการสูญเสียอํานาจควบคุม มีดังนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (พันบาท) 9,577 81 (890) 8,768
มูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนให รายการปรับปรุงจากการแปลงคาเงินตราตางประเทศ สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมที่รับมา มูลคาของสิ่งตอบแทนสูงกวาสินทรัพยสุทธิที่รับมา บริษัทยอย – Soleado
ในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 Soleado ใชสิทธิซื้อหุนสามัญของ MMPLC จํานวน 5,375,000 หุนที่ ราคาเฉลี่ยหุนละ 0.32 เหรียญสิงคโปร เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 1.7 ลานเหรียญสิงคโปร หรือเทียบเทากับ 42.8 ลานบาท การซื้อเงินลงทุนใน Merton Investment NL BV ในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 Soleado ไดมาซึ่งอํานาจควบคุมใน Merton Investment NL BV (“MIN”) โดยการซื้อหุนทุนและสิทธิออกเสียงใน MIN รอยละ 100 ซึ่ง MIN ถือหุนในสัดสวนรอยละ 40 ใน SKI Energy Resources Inc. (“SERI”) ทําใหกลุมบริษัทมีสวนไดเสียใน MIN เพิ่มขึ้นจากเดิมรอยละ 24.31 เปนรอยละ 100 และสวนไดเสีย ใน SERI เพิ่มขึ้นจากเดิมรอยละ 9.72 เปนรอยละ 40 ในการแลกเปลี่ยนเงินลงทุนใน MIN Soleado ไดโอนหุนรอยละ 24.31 ใน Merton Group (Cyprus) Limited (“Merton”) และหุนรอยละ 33.33 ใน Qing Mei Pte. Ltd. (“Qing Mei”) (แสดงเปนสินทรัพที่ถือไวเพื่อขาย ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 และดูหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 11) และไดรับชําระเปนเงินสดและเปนตั๋วสัญญาใชเงินซึ่งครบกําหนดชําระในสามป
57
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
195
ข อ มู ล ของสิ่ ง ตอบแทนทั้ ง หมดที่ โ อนให แ ละมู ล ค า ที่ รั บ รู ณ วั น ที่ ซื้ อ สํ า หรั บ สิ น ทรั พ ย ที่ ไ ด ม าและหนี้ สิ น ที่ รั บ มา แตละประเภทที่สําคัญ มีดังนี้
เงินลงทุนในกิจการรวมคา เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น เงินสด สินทรัพยที่ถือไวเพื่อขาย อื่นๆ กําไรจากการจําหนายบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน
หมายเหตุ 14 19 11 26
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (พันบาท) 168,646 19,995 2,403 (152,138) (758) 38,148
การวัดมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนใน MIN เปนการวัดมูลคาจากมูลคาประเมินของเหมืองถานหินใน SERI ที่จัดทําและรายงาน โดยผูประเมินอิสระ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 บริษัทไดซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนในบริษัทยอย ดังนี้ 1. หุนสามัญเพิ่มทุนของ PMTA จํานวน 93 ลานหุน มูลคาหุนละ 10 บาท เปนจํานวนรวม 930 ลานบาท โดยกลุมบริษัท ยังคงสัดสวนการถือหุนใน PMTA ในสัดสวนเดิมคือรอยละ 99.99 2. หุนสามัญเพิ่มทุนของ TSS จํานวน 140.06 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 เหรียญสิงคโปร เปนจํานวนรวม 3,598.83 ลานบาท โดยกลุมบริษัทยังคงถือหุนในTSS ในสัดสวนเดิมคือรอยละ 100 เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2557 Soleadoไดโอนหุนสามัญของ MMPLC ใหกับบริษัทจํานวน 110 ลานหุน (คิดเปนสัดสวนรอย ละ 7.79) เปนจํานวนเงิน 57.2 ลานเหรียญสิงคโปร (เทียบเทากับ 1,492 ลานบาท) ที่ราคาตลาด 0.52 เหรียญสิงคโปรตอหุน โดยหักกลบลบหนี้กับเงินใหกูระยะสั้นแก Soleadoในจํานวนเดียวกัน ซึง่ การโอนครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อรักษาสถานะสัดสวน การถือหุนของบริษัทไทยใน MMPLC และไมมีการเปลี่ยนแปลงสัดสวนการถือหุนใน MMPLC ของกลุมบริษัท
58
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 196 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ในเดือนธันวาคม 2556 บริษัทไดตกลงทําสัญญาซื้อขายหุนกับ PT Pesona Sentra Utama และ Mika Rungtoya Trisnad เพื่อขายหุนของ PT Perusahaan Pelayaran Equinox (“Equinox”) เปนจํานวนรวม 1.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ (เทียบเทากับ จํานวนเงิน 49.32 ลานบาท) โดยบริษัทไดขายเงินลงทุนดังกลาวในเดือนมกราคม 2557 และรับรูผ ลขาดทุนจากการจําหนาย เงินลงทุน เปนจํานวน 10.14 ลานบาทในงบการเงินเฉพาะกิจการสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 รายละเอียดของการจําหนายมีดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ (พันบาท) 49,327 (59,471) (10,144)
สิ่งตอบแทนในการขาย มูลคาตามบัญชีสุทธิของเงินลงทุน ขาดทุนจากการจําหนายเงินลงทุนในบริษัทยอย
การจําหนายเงินลงทุนดังกลาวมีผลทําใหอํานาจควบคุมหมดไป ดังนั้นบริษัทไดทําการจําหนายงบการเงินของ Equinox จากงบ การเงินรวมตั้งแตวันที่เกิดรายการและบันทึกผลขาดทุนจากการจําหนายเงินลงทุนเปนจํานวน 9.25 ลานบาทในงบกําไรขาดทุน รวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 บริษัทยอย – Soleado ในเดือน สิงหาคม 2557 Soleado ใชสิทธิซื้อหุนของ MMLPC จํานวน 4,187,000 หุน ที่ราคาเฉลี่ยหุนละ 0.39 เหรียญ สิงคโปร เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 1.6 ลานเหรียญสิงคโปร หรือเทียบเทากับ 42.0 ลานบาท การดอยคาของสินทรัพย การดอยคาของเงินลงทุนบางสวนไดถูกหักกลบกับการกลับรายการดอยคาสําหรับเงินลงทุนในบริษัทยอยที่เคยรับรูในอดีต ซึ่ง หยุดดําเนินงานแตยังมีรายไดจากกิจกรรมการลงทุน ผลจากการทบทวนมูลคาที่บริษัทคาดวาจะไดรับคืนจากเงินลงทุนนั้นทําให บริษัทไดกลับรายการการดอยคาของเงินลงทุนเปนจํานวนเงิน 3.4 ลานบาท ในระหวางงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 (สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557: 505.9 ลานบาท)
59
3,092 100 931 2,225 11,490 3 1
3,092 100 931 7,393 10,722 3 1
60
3 1
931 7,398 10,722
3,092 100
ทุนชําระแลว ราคาทุน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557
บริษัทยอยโดยตรง Soleado Holdings Pte. Ltd. 3,092 บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส จํากัด 100 บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 931 บริษัท พรีโม ชิปปง จํากัด (มหาชน) 2,278 บริษัท ทอร ไดนามิค ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร อินทิกริตี้ ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร จูปเตอร ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร วิน ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร เวฟ ชิปปง จํากัด Thoresen Shipping Singapore Pte. 11,490 Ltd. Thoresen Chartering (HK) Ltd. 3 Thoresen Shipping Germany GmbH 1
ชื่อของบริษัทยอย
-
(499)
(100)
(1)
-
(499)
-
(100)
งบการเงินเฉพาะกิจการ การดอยคา 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (ลานบาท)
3 1
931 2,225 10,991
3,092 -
3 1
931 7,397 10,223
3,092 -
-
329 -
-
-
10 5 111 9 2 -
-
-
ราคาทุน-สุทธิ เงินปนผลรับ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557
เงินลงทุนในบริษัทยอยที่บริษัทลงทุนทางตรง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 และเงินปนผลรับจากบริษทั ยอยดังกลาวสําหรับงวดสามเดือนและสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน ตามลําดับ มีดังตอไปนี้
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายงานประจ� ำ ปี 2557
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
197
บริษัท ทอร เมอรคิวรี่ ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร มารีเนอร ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร เมอรแชนท ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร กัปตัน ชิปปง จํากัด บริษัท เฮอรมิส ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร ไพล็อต ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร มาสเตอร ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร คอมมานเดอร ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร ทรานสปอรตเตอร ชิปปง จํากัด บริษัท เฮราเคิลส ชิปปง จํากัด บริษัท เฮรอน ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร แชมเปยน ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร สกิปเปอร ชิปปง จํากัด บริษัท ทอรเซลเลอร ชิปปง จํากัด บริษัท ทอรซัน ชิปปง จํากัด บริษัท ทอรสกาย ชิปปง จํากัด บริษัท ทอรซี ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร โลตัส ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร เทรดเดอร ชิปปง จํากัด
ชื่อของบริษัทยอย
2 1 -
2 1 -
1 1
61
-
1 1
งบการเงินเฉพาะกิจการ การดอยคา 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (ลานบาท) (1) (1) -
1 -
1
-
3 32 48 5 2 4 6 6 8 4 5 2 16 4 3 14 3
ราคาทุน-สุทธิ เงินปนผลรับ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
-
-
ทุนชําระแลว ราคาทุน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
198 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท ทอร แทรเวลเลอร ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร เวนเจอร ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร ไทรอัมพ ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร การเดียน ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร คอนฟเดนซ ชิปปง จํากัด บริษัท ทอรเนปจูน ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร ทริบิวท ชิปปง จํากัด บริษัท ทอร อลายอันซ ชิปปง จํากัด Thoresen Chartering (Pte) Ltd. บริษัท โทรีเซน เซอรวิส เซ็นเตอร จํากัด บริษัท เอเชีย โคดติ้ง เซอรวิสเซส จํากัด Thoresen Shipping FZE บริษัท เมอรเมด มาริไทม จํากัด (มหาชน) บริ ษั ท ชิ ด ลม มารี น เซอร วิ ส เซน แอนด ซัพพลายส จํากัด บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติกส จํากัด
ชื่อของบริษัทยอย
2 35 80 7 5,889
2 35 80 7 1,413 70 75 23,927
2 35 80 7 1,413
70 75 19,580
70 38 23,965
-
-
-
(636)
(637)
งบการเงินเฉพาะกิจการ การดอยคา 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (ลานบาท) (35) (35) (1) (1) 70 38 27,733
79 7 5,889
79 7 5,889 70 38 23,329
2
2
-
329
-
508
3 5 4 5 6 6 6 16 155
ราคาทุน-สุทธิ เงินปนผลรับ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
62
70 38 28,370
2 35 80 7 5,889
-
ทุนชําระแลว ราคาทุน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายงานประจ� ำ ปี 2557
199
13
63
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
Sino Grandness Food Industry Group Limited เปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศสิงคโปรโดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีราคาปดอยูที่ 0.45 เหรียญสิงคโปรตอหุน ทําให มูลคาตลาดของเงินลงทุนใน Sino Grandness Food Industry Group Limited ทั้งหมดเทากับ 679 ลานบาท
เงินลงทุนในบริษัทรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 และเงินปนผลรับจากเงินลงทุนดังกลาวสําหรับงวดสามเดือนและสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันตามลําดับ มีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม มูลคาตามวิธี ชื่อของบริษัทรวม ราคาทุน มูลคาตามวิธีสวนไดเสีย การดอยคา สวนไดเสีย - สุทธิ เงินปนผลรับ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 2557 2557 2557 2557 2557 2557 (ลานบาท) บริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จํากัด 18 18 60 60 60 60 24 35 34 35 34 10 บริษัท โทรีเซน ชิปปง แอนด โลจิสติกส จํากัด 24 Sharjah Ports Services LLC 55 113 108 113 108 43 (ถือหุนโดย Thoresen Shipping FZE) 55 Asia Offshore Drilling Limited (ถือหุนโดย MMPLC) 2,964 2,964 4,557 4,253 4,557 4,253 334 432 406 432 406 12 Baria Serece (ถือหุนโดย Soleado) 334 Sino Grandness Food Industry Group Limited 607 607 (ถือหุนโดย Soleado) 607 3,395 5,804 4,861 5,804 4,861 65 4,002
เงินลงทุนในบริษัทรวม
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
200 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท โทรีเซน ชิปปง แอนด โลจิสติกส จํากัด
ชื่อของบริษัทรวม
18 24 42
18 24 42
ราคาทุน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
-
10 10
เงินปนผลรับ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
64
งบการเงินเฉพาะกิจการ การดอยคา ราคาทุน – สุทธิ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (ลานบาท) 18 18 24 24 42 42
รายงานประจ� ำ ปี 2557
201
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 202 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
รายการเคลื่อนไหวของเงินลงทุนในบริษัทรวมในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 มีดังตอไปนี้
ณ วันตนงวด/ป ลงทุนเพิ่ม เงินปนผลรับ สวนแบงกําไรในบริษัทรวม การจัดประเภทรายการใหมเปน สินทรัพยที่ถือไวเพื่อขาย ผลตางจากการแปลงคาเงินตรา ตางประเทศ ณ วันสิ้นงวด/ป
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 3,732,203 42,368 42,368 4,861,412 34,257 606,661 (64,844) 1,102,015 241,698 94,745 5,804,516
(39,471) 97,252 4,861,412
-
-
42,368
42,368
รายการเคลื่อนไหวของเงินลงทุนในบริษัทรวมที่สําคัญของบริษัทระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 มีดังตอไปนี้ สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทยอย – Soleado เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2557 Soleado ไดเขาลงนามในสัญญาซื้อหุนจํานวน 60,601,035 หุน ซึ่งคิดเปนรอยละ 9 ของทุนของ Sino Grandness Food Industry Group Limited (“SGFI”) ในราคา 0.4035 เหรียญสิงคโปรตอหุน คิดเปนเงินลงทุนรวม ทั้งสิ้น 24.45 ลานเหรียญสิงคโปร หรือ 606.66 ลานบาท โดยตามสัญญาซื้อหุน Soleado จะมีตัวแทนเปนคณะกรรมการ บริษัทใน SGFI และมีการกําหนดนโยบายการจายเงินปนผลและหากมีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขและขอตกลงจะตองผานการ เห็นชอบจาก Soleado ซึ่งการมีตัวแทนอยูในคณะกรรมการบริษัทแสดงใหเห็นวาบริษัทมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญใน SGFI ดังนั้น บริษัทจึงจัดประเภท SGFI เปนบริษัทรวม คาตอบแทนที่จายทั้งหมดไดถูกพิจารณาเทียบเทากับมูลคายุติธรรมของเงินลงทุน ณ วันที่ซื้อหุนของ SGFI และไมมีคาความ นิยม
65
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
203
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 บริษัทยอย - Thoresen Shipping FZE เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2557 Thoresen Shipping FZE ไดจองหุนสามัญใหมของ Sharjah Ports Services LLC จํานวน 39,200 หุน ในราคา 100 สหรัฐอาหรับเอมิเรตสเดอรแฮมตอหุน เปนจํานวนเงินลงทุนทั้งหมดมูลคา 3.92 ลานสหรัฐอาหรับเอ มิเรตสเดอรแฮม หรือ 34.26 ลานบาท สัดสวนการถือครองใน Sharjah Ports Services LLC ของกลุมบริษัทยังคงเปนรอยละ 49 เชนเดิม ส ว นแบ ง ของกลุ ม บริ ษั ท ในผลประกอบการ สิ น ทรั พ ย ซึ่ ง รวมถึ ง ค า ความนิ ย ม และหนี้ สิ น ของบริ ษั ท ร ว มที่ สํ า คั ญ มีดังตอไปนี้
ชื่อบริษัท บริษัท โทรีเซน ชิปปง แอนด โลจิสติกส จํากัด Baria Serece Asia Offshore Drilling Ltd. Sino Grandness Food Industry Group Limited
สินทรัพย
สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 อัตรารอยละ กําไร ของหุน หนี้สิน รายได (ขาดทุน) ที่ถือ (พันบาท) (รอยละ)
สวนแบง กําไร (ขาดทุน) (พันบาท)
161,233 1,302,593 24,921,149
87,863 193,007 11,962,405
41,280 172,125 1,902,083
4,309 58,769 665,888
49.0 20.0 33.8
2,112 11,754 224,805
13,930,683
5,580,774
2,681,315
(340,733)
9.0
-* 238,671 3,027 241,698
บวก อื่นๆ
* ไมมีสวนแบงกําไรจาก SGFI ในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 เนื่องจาก Soleado ไดซื้อ SGFI มาเมื่อ วันที่ 30 ธันวาคม 2557
66
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ204 ประกอบงบการเงิ น
ชื่อบริษัท บริษัท โทรีเซน ชิปปง แอนด โลจิสติกส จํากัด Baria Serece Asia Offshore Drilling Ltd.
สินทรัพย
154,239 1,163,510 24,663,178
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 อัตรารอยละ กําไร ของหุน หนี้สิน รายได (ขาดทุน) ที่ถือ (พันบาท) (รอยละ) 85,154 182,043 12,613,997
บวก อื่นๆ
67
122,317 488,165 6,620,588
13,530 176,958 2,965,496
49.0 20.0 33.8
สวนแบง กําไร (ขาดทุน) (พันบาท) 8,181 35,392 1,001,152 1,044,725 57,290 1,102,015
14
Thoresen (Indochina) S.A. บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด Petrolift Inc. (ถือหุนโดย Soleado) Zamil Mermaid Offshore Services Co. (LLC) (ถือหุนโดย MMPLC) SKI Energy Resources Inc. (ถือหุนโดย MIN)
ชื่อของกิจการรวมคา
7
7 169 1,126 957
9 11 930
9 11 930
ราคาทุน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
14 169 1,298
129 11 975
68
1,111
9
122 9 971
มูลคาตามวิธีสวนไดเสีย 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
-
-
การดอยคา 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (ลานบาท) -
งบการเงินรวม
14 169 1,298
129 11 975
1,111
9
122 9 971
มูลคาตามวิธี สวนไดเสีย - สุทธิ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
-
-
173
173
เงินปนผลรับ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
เงินลงทุนในกิจการรวมคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ วันที่ 30 กันยายน 2557 และเงินปนผลรับจากเงินลงทุนดังกลาวสําหรับงวดสามเดือนและสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันตามลําดับ มี ดังตอไปนี้
เงินลงทุนในกิจการรวมคา
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายงานประจ� ำ ปี 2557
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
205
บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด Thoresen (Indochina) S.A.
ชื่อของกิจการรวมคา
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
11 9 20 11 9 20
ราคาทุน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 -
-
เงินปนผลรับ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
69
งบการเงินเฉพาะกิจการ การดอยคา ราคาทุน – สุทธิ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (ลานบาท) (2) 11 9 9 9 (2) 20 18
206 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
207
รายการเคลื่อนไหวของเงินลงทุนในกิจการรวมคาในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และสําหรับปสิ้นสุด วันที่ 30 กันยายน 2557 มีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
(พันบาท) ณ วันตนงวด/ป การลงทุนเพิ่ม เงินปนผลรับ สวนแบงกําไรในกิจการรวมคา กลับรายการ (การดอยคา) การจัดประเภทรายการใหมเปน สินทรัพยที่ถือไวเพื่อขาย ผลตางจากการแปลงคาเงินตรา ตางประเทศ ณ วันสิ้นงวด/ป
1,110,618 168,647 16,365 -
1,306,463 (173,075) 84,076 -
17,968 2,016
-
(109,946)
-
-
19,984
17,968
2,392 1,298,022
3,100 1,110,618
19,781 (1,813)
รายการเคลื่อนไหวของเงินลงทุนในกิจการรวมคาที่สําคัญของบริษัทในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีดังตอไปนี้ บริษัทยอย - Soleado สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 Soleado ซื้อหุนรอยละ 100 ใน MIN (หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 12) ซึ่ง MIN มีหุนรอยละ 40 ของ SKI Energy Resources Inc. (“SERI”) ซึ่งเปนกิจการรวมคาแหงหนึ่ง มูลคายุติธรรม เริ่มแรกของ SERI ใน MIN มีมูลคาประมาณ 5.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งอางอิงจากมูลคาของเหมืองถานหินของ SERI ณ วันที่ซื้อ กิจการ
70
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 208ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ น งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ส ว นแบ ง ของกลุ ม บริ ษั ท ในผลการดํ า เนิ น งาน สิ น ทรั พ ย ซึ่ ง รวมถึ ง ค า ความนิ ย ม และหนี้ สิ น ของกิ จ การร ว มค า มีดังตอไปนี้
ชื่อบริษัท Thoresen (Indochina) S.A. Petrolift Inc.
สินทรัพย 260,186 3,526,805
สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 อัตรา ของการ หนี้สิน รายได กําไร ถือหุน (รอยละ) (พันบาท) 8,932 67,610 9,598 50.0 1,648,956 80,793 10,645 40.0
บวก อื่นๆ
สวนแบง กําไร (ขาดทุน) (พันบาท) 4,799 4,258 9,057 7,308 16,365
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557
ชื่อบริษัท Thoresen (Indochina) S.A. Petrolift Inc.
สินทรัพย 238,678 3,439,244
หนี้สิน
รายได (พันบาท) 1,419 632,101 1,612,973 1,050,704
บวก อื่นๆ
71
กําไร 31,075 171,173
อัตรา ของการ ถือหุน (รอยละ) 50.0 40.0
สวนแบง กําไร (ขาดทุน) (พันบาท) 18,828 58,587 77,415 6,661 84,076
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำป ปี ระกอบงบการเงิ 2557 หมายเหตุ น 15
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
209
คาความนิยม รายการเคลื่อนไหวของคาความนิยมในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 มีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (พันบาท) ราคาตามบัญชีตนงวด/ป การดอยคา ผลตางจากการแปลงคาเงินตราตางประเทศ ราคาตามบัญชีสิ้นงวด/ป
978,620 5,978 984,598
968,661 9,959 978,620
คาความนิยมไดถูกปนสวนใหแกหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสด (“CGU”) ที่ถูกกําหนดตามสวนงานทางธุรกิจ การปนสวนของคาความนิยมตามสวนงานทางธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 สามารถแสดงไดดังนี้
กลุมพลังงาน
การปนสวนของคาความนิยม หัก การดอยคา สุทธิ
984,598 984,598
72
กลุมโครงสราง พื้นฐาน (พันบาท) 2,834,697 (2,834,697) -
รวม
3,819,295 (2,834,697) 984,598
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 210 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2556 UMS และบริษัทยอย (“กลุมบริษัท UMS”) มีผลขาดทุนสุทธิเปนจํานวนเงิน 375.5 ลานบาท และ ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 กลุมบริษัท UMS มีหนี้สินหมุนเวียนสูงกวาสินทรัพยหมุนเวียนเปนจํานวน เงิน 555.2 ลานบาท นอกจากนี้ กลุมบริษัท UMS ยังไมสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขบางประการที่กําหนดในสัญญาเงินกูที่ทําไว กับสถาบันการเงิน ปจจัยเหลานี้จึงทําใหเกิดขอสงสัยตอมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนจากกลุมบริษัท UMS ดังนั้นในระหวางป สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2556 คณะกรรมการของบริษัทจึงพิจารณาตั้งขาดทุนจากการดอยคาเพิ่มเติมสําหรับคาความนิยม และความสัมพันธกับลูกคา เปนจํานวนเงิน 516.0 ลานบาท และ 79.8 ลานบาท ตามลําดับ มูลคาการใชประโยชนคํานวณโดยการใชวิธีรายไดซึ่งคํานวณจากประมาณการกระแสเงินสดเหลือใชในชวงระยะเวลา 5 ป ขางหนา ตามแผนทางกลยุทธของ UMS ที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท กระแสเงินสดภายหลังปที่ 5 ถูกประมาณขึ้น ภายใตสมมติฐานวาไมมีอัตราการเติบโตและอัตราคิดลดที่รอยละ 15 ซึ่งเปนตนทุนของเงินลงทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของ UMS
73
(4,579)
191,055 363 710 192,128
-
41,130
1,433,327 -
36,743 1,470,070
-
824
607,632 -
494 608,126
1,151
198,821 1,271 50 (5,659)
สวน ปรับปรุง อาคาร
1,397,479 350 4,830 (10,462)
อาคาร และ โรงงาน
606,808 -
ที่ดิน
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ
ราคาทุน ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 เพิ่มขึ้น โอน จําหนายและตัดจําหนาย การจําหนายงบการเงิน ของบริษัทยอย ผลตางจากการแปลงคา เงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 และ 1 ตุลาคม 2557 เพิ่มขึ้น โอน จําหนายและตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคา เงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
16
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
552,035 32,435,374
31,878,884 4,455 -
767,645
80,219
26,687,688 4,343,357 (25)
เรือเดินทะเล เรือสนับสนุน เรือกลเดินทะเล และเรือขุดเจาะ
85,216 4,579,949
4,367,616 81,635 104,008 (58,526)
93,158
(10,045)
3,917,154 196,089 233,926 (62,666)
3,967 175,144
164,240 7,731 (794)
(613)
(1,076)
141,305 29,633 2,615 (7,624)
รถยนต
604 33,920
33,049 267 -
882
-
27,575 1,634 2,958 -
เรือยนต
140,655
140,374 1,056 (775)
-
-
140,374 -
เรือขน ถานหิน
49,569 2,550,022
2,390,621 218,520 (108,688) -
12,325
-
206,302 2,416,373 (244,379) -
งานระหวาง กอสราง
729,338 43,817,930
42,738,613 410,074 (60,095)
916,502
64,519
35,029,513 7,176,247 (448,168)
รวม
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
74
1,632,542
1,531,815 96,047 4,680 -
-
-
1,706,007 187,540 (361,732)
คาใชจาย ในการ ซอมเรือ ครั้งใหญ
งบการเงินรวม เครื่องตกแตง ติดตั้ง เครื่องจักร และอุปกรณ เครื่องใช (พันบาท)
รายงานประจ� ำ ปี 2557
211
คาเสื่อมราคาและขาดทุน จากการดอยคา ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 คาเสื่อมราคาสําหรับป การดอยคา - สุทธิ กลับรายการการดอยคา จําหนายและตัดจําหนาย การจําหนายงบการเงิน ของบริษทั ยอย ผลตางจากการแปลงคา เงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 และ 1 ตุลาคม 2557 คาเสื่อมราคาสําหรับงวด การดอยคา - สุทธิ กลับรายการการดอยคา จําหนายและตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคา เงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
500,483 72,930 (10,494)
-
1,966
564,885 18,445 -
11,978 595,308
-
-
-
-
-
ที่ดิน
อาคาร และ โรงงาน
570 150,313
197,202 12,353,056
11,833,395 274,003 48,456 -
299,585
80,219
10,504,719 948,897 (25)
เรือเดินทะเล เรือสนับสนุน เรือกลเดินทะเล และเรือขุดเจาะ
75
(11,960) 855,897
773,668 95,392 464 (1,667) -
(26,596)
-
837,119 324,877 (361,732)
คาใชจาย ในการ ซอมเรือ ครั้งใหญ
47,151 2,428,945
2,330,782 97,040 2,255 (48,283)
39,702
(9,134)
1,972,010 379,346 12,047 (3,515) (59,674)
งบการเงินรวม เครื่องตกแตง ติดตั้ง เครื่องจักร และอุปกรณ เครื่องใช (พันบาท)
1,850 106,503
100,590 4,857 (794)
(1,130)
(780)
92,529 17,546 (7,575)
รถยนต
223 13,366
11,539 1,604 -
196
-
5,476 5,867 -
เรือยนต
47,444
47,273 405 (234)
-
-
45,950 1,323 -
เรือขน ถานหิน
6,406
6,406 -
-
-
6,406 -
งานระหวาง กอสราง
247,014 16,557,238
15,814,377 495,650 51,175 (1,667) (49,311)
314,516
66,791
14,094,976 1,768,283 18,453 (3,515) (445,127)
รวม
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
145,839 3,904 -
793
(3,514)
136,690 17,497 (5,627)
สวน ปรับปรุง อาคาร
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
212 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
606,808
607,632
608,126
มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556
ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 และ 1 ตุลาคม 2557
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
ที่ดิน
874,762
868,442
896,996
อาคาร และ โรงงาน
41,815
45,216
62,131
สวน ปรับปรุง อาคาร
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
20,082,318
20,045,489
16,182,969
เรือเดินทะเล เรือสนับสนุน เรือกลเดินทะเล และเรือขุดเจาะ
76
776,645
758,147
868,888
คาใชจาย ในการ ซอมเรือ ครั้งใหญ
2,151,004
2,036,834
1,945,144
งบการเงินรวม เครื่องตกแตง ติดตั้ง เครื่องจักร และอุปกรณ เครื่องใช (พันบาท)
68,641
63,650
48,776
รถยนต
20,554
21,510
22,099
เรือยนต
93,211
93,101
94,424
เรือขน ถานหิน
2,543,616
2,384,215
206,302
งานระหวาง กอสราง
27,260,692
26,924,236
20,934,537
รวม
รายงานประจ� ำ ปี 2557
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
213
99,947 99,947 99,947 99,947 99,947 99,947
คาเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 คาเสื่อมราคาสําหรับป ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 และ 1 ตุลาคม 2557 คาเสื่อมราคาสําหรับงวด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 และ 1 ตุลาคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
ที่ดิน
ราคาทุน ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 และ 1 ตุลาคม 2557 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
77
18,075 12,920 11,932
73,888 5,368 79,256 988 80,244
91,963 213 92,176 92,176
6,470 4,900 5,226
62,716 2,728 65,444 646 66,090
69,186 1,158 70,344 972 71,316
-
2,806 2,806 2,806
2,806 2,806 2,806
รถยนต
198,524 182,404 179,374
269,124 17,491 286,615 4,002 290,617
467,648 1,371 469,019 972 469,991
รวม
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
74,032 64,637 62,269
129,714 9,395 139,109 2,368 141,477
203,746 203,746 203,746
อาคาร
งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องตกแตง สวนปรับปรุง ติดตั้งและ อาคาร อุปกรณ (พันบาท)
214 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
215
รายการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของที่ดิน อาคารและอุปกรณของกลุมบริษัทในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 มีดังตอไปนี้ การเพิ่มขึ้น การจําหนาย และการตัดจําหนายที่สําคัญ สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 การเพิ่มขึ้นที่สําคัญ ไดแก ก) การจายเงินสําหรับการซอมเรือครั้งใหญของเรือเดินทะเลและแทนขุดเจาะ ข) การจายเงินสําหรับ อุปกรณที่ใชสําหรับเรือสนับสนุนและเรือขุดเจาะและจายเงินตามขั้นความสําเร็จของอุปกรณใหมที่อยูระหวางการกอสรางและ ติดตั้ง และ ค) การจายเงินสําหรับการกอสรางโกดังสินคา สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 การเพิ่มขึ้นที่สําคัญ ไดแก ก) การจายเงินคางวดสุดทายสําหรับซื้อเรือเดินทะเลที่สรางใหม ข) การจายเงินสําหรับการซอมเรือครั้ง ใหญของเรือเดินทะเลและแทนขุดเจาะ ค) การจายเงินสําหรับซื้อเรือเดินทะเลใชแลว ง) การจายเงินสําหรับอุปกรณที่ใชสําหรับเรือ สนับสนุนและเรือขุดเจาะและจายเงินตามขั้นความสําเร็จของอุปกรณใหมที่อยูระหวางการกอสรางและติดตั้ง และ จ) การจายเงิน สําหรับการกอสรางโกดังสินคา การจําหนายและการตัดจําหนายที่สําคัญ ไดแก ก) การจําหนายเรือเดินทะเลและเครื่องตรวจสอบใตน้ําซึ่งเคลื่อนที่ไดโดยระบบ รีโมทคอนโทรล และ ข) การยกเลิกสัญญาซื้อเครื่องยนตหลักสําหรับเรือเดินทะเล ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 ที่ใชค้ําประกันวงเงินกูตาง ๆ สามารถสรุปได ดังนี้ •
เรือเดินทะเลจํานวนหลายลํา ซึ่งมีมูลคาตามบัญชี 312.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ (30 กันยายน 2557: 247.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ) ได ถูกจํานองไวกับสถาบันการเงินหลายแหงเพื่อค้ําประกันวงเงินกู โดยมีมูลคาการจํานองทั้งหมด 161.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ (30 กันยายน 2557: 131.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ)
•
เรือวิศวกรรมโยธาใตน้ําจํานวนหลายลํา และเรือขุดเจาะน้ํามัน 1 ลํา ซึ่งมีมูลค าตามบัญชี 176.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ (30 กันยายน 2557: 201.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ)ไดถูกจํานองไวกับธนาคารหลายแหงเพื่อค้ําประกันเงินเบิกเกินบัญชีและวงเงินกู ตางๆ โดยมีมูลคาการจํานองทั้งหมด 110.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ (30 กันยายน 2557: 1,129.5 ลานบาท และ 110.0 ลาน เหรียญสหรัฐฯ)
•
เรือขนถานหินจํานวนหลายลํา ซึ่งมีมูลคาตามบัญชี 123.1 ลานบาท (30 กันยายน 2557:123.1 ลานบาท) ไดถูกจํานองไว กับธนาคารแหงหนึ่งเพื่อเปนหลักประกันเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูระยะยาวโดยมีมูลคาการจํานองรวม 123.0 ลาน บาท (30 กันยายน 2557: 125.0 ลานบาท) 78
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 216 งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท หมายเหตุประกอบงบการเงิน •
17
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ที่ดิน อาคาร และเครื่องจักรบางสวนของกลุมบริษัท ซึ่งมีมูลคาตามบัญชี 603.3 ลานบาทและ 2.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ และ 79,421 ลานดองเวียดนาม ตามลําดับ (30 กันยายน 2557: 602.8 ลานบาทและ 2.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ และ 81,359 ลาน ดองเวียดนาม) ไดถูกจํานองไวกับธนาคารหลายแหงเพื่อค้ําประกันวงเงินกู วงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และหนังสือค้ํา ประกันโดยมีมูลคาการจํานองรวม 748.5 ลานบาท และ 7.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ (30 กันยายน 2557: 905.0 ลานบาท และ 7.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ)
สินทรัพยไมมีตัวตน งบการเงินรวม
ความสัมพันธ กับลูกคา ราคาทุน ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 เพิ่มขึ้น จําหนายและตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคา เงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 และ 1 ตุลาคม 2557 เพิ่มขึ้น จําหนายและตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคา เงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
สินทรัพย ไมมตี ัวตนอื่น
โปรแกรม คอมพิวเตอร (พันบาท)
โปรแกม คอมพิวเตอร ระหวาง ติดตั้ง
รวม
563,851 -
8,256 -
-
-
563,851 -
8,256 -
340,014 1,413 (19,709)
6,095 -
918,216 1,413 (19,709)
1,044 564,895
550 8,806
1,244 322,962
6,095
2,838 902,758
79
322,906 18,970 (5,156) 3,294
6,095 -
901,108 18,970 (5,156) 3,294
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ำ ปี 2557 น หมายเหตุปรายงานประจ� ระกอบงบการเงิ
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
งบการเงินรวม
ความสัมพันธ กับลูกคา คาตัดจําหนาย ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 คาตัดจําหนายสําหรับป จําหนายและตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคา เงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 และ 1 ตุลาคม 2557 คาตัดจําหนายสําหรับงวด การดอยคา - สุทธิ จําหนายและตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคา เงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 และ 1 ตุลาคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
สินทรัพย ไมมตี ัวตนอื่น
โปรแกรม คอมพิวเตอร (พันบาท)
โปรแกม คอมพิวเตอร ระหวาง ติดตั้ง
รวม
354,727 51,249 -
4,639 1,126 -
225,314 38,483 (4,775)
-
584,680 90,858 (4,775)
(35)
(12)
942
-
895
405,941 12,804 -
5,753 278 -
259,964 8,783 (133) 18,995
-
671,658 21,865 (133) 18,995
1,044 419,789
402 6,433
(36,838) 250,771
-
(35,392) 676,993
209,124
3,617
97,592
6,095
316,428
157,910 145,106
2,503 2,373
80,050 72,191
6,095 6,095
246,558 225,765
80
217
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 218 งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
โปรแกรม คอมพิวเตอร
งบการเงินเฉพาะกิจการ โปรแกรม คอมพิวเตอร ระหวางติดตั้ง (พันบาท)
รวม
ราคาทุน ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 และ 1 ตุลาคม 2557 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
186,376 186,376 186,376
6,095 6,095 6,095
192,471 192,471 192,471
คาตัดจําหนาย ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 คาตัดจําหนายสําหรับป ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 และ 1 ตุลาคม 2557 คาตัดจําหนายสําหรับงวด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
122,894 16,181 139,075 4,036 143,111
-
122,894 16,181 139,075 4,036 143,111
มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 ตุลาคม 25556 ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 และ 1 ตุลาคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
63,482 47,301 43,265
6,095 6,095 6,095
69,577 53,396 49,360
81
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 18
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
219
ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 มีดังนี้
เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การคา ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน ภาระผูกพันผลประโยชน พนักงาน ยอดขาดทุนยกไป อื่นๆ รวม หักกลบภาษีเงินได สินทรัพย (หนี้สิน) ภาษีเงินได รอการตัดบัญชีสุทธิ
เงินลงทุนระยะสั้น สินทรัพยไมมีตัวตน ภาระผูกพันผลประโยชน พนักงาน ยอดขาดทุนยกไป อื่นๆ รวม หักกลบภาษีเงินได สินทรัพยภาษีเงินได รอการตัดบัญชีสุทธิ
งบการเงินรวม หนี้สิน สุทธิ สินทรัพย 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 2,643 1,942 (7,194) (4,551) 1,942 6,281 6,372 6,281 6,372 28 (98,711) (93,941) (83,768) (93,913) 14,943 (63,750) (69,363) (63,750) (69,363) 23,538 153,047 16,242 216,785 (14,108)
13,459 125,990 31,935 179,635 (1,552)
(40,313) (209,968) 14,108
(2,005) (165,309) 1,552
23,538 153,047 (24,071) 6,817 -
13,459 125,990 29,930 14,326 -
202,677
178,083
(195,860)
(163,757)
6,817
14,326
งบการเงินเฉพาะกิจการ หนี้สิน สุทธิ สินทรัพย 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 2,643 1,942 2,643 1,942 (276) (1,067) (276) (1,067) 2,639 98,860 626 104,768 (276)
2,468 66,221 10,711 81,342 (1,067)
(276) 276
104,492
80,275
-
82
(1,067) 1,067
2,639 98,860 626 104,492 -
2,468 66,221 10,711 80,275 -
-
104,492
80,275
เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การคา ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ยอดขาดทุนยกไป อื่นๆ รวม
1,942 6,281 (93,913) (69,363) 13,459 125,990 29,930 14,326
ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 ผลตางอัตรา แลกเปลีย่ น (พันบาท) (6,493) (805) (22) (6,493) (827)
กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น
-
การจําหนาย งบการเงินของ บริษัทยอย
(4,551) 6,372 (83,768) (63,750) 23,538 153,047 (24,071) 6,817
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
91 10,950 5,635 10,079 27,057 (54,001) (189)
-
กําไรหรือ ขาดทุน
งบการเงินรวม บันทึกเปนรายจาย/(รายไดใน)
รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพยและหนีส้ ินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 มีดังตอไปนี้
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
220 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การคา ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ยอดขาดทุนยกไป อื่นๆ รวม
3,569 14,043 (85,229) (86,842) 9,275 166,675 15,231 36,722
ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ผลตางอัตรา แลกเปลีย่ น (พันบาท) (1,627) 5 (1) (290) (5) (1,627) (291)
กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น
(6,628) (6,628)
-
การจําหนาย งบการเงินของ บริษัทยอย
1,942 6,281 (93,913) (69,363) 13,459 125,990 29,930 14,326
ณ วันที่ 30 กันยายน 2557
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
84
(1,134) (8,689) 17,480 4,184 (40,395) 14,704 (13,850)
กําไรหรือ ขาดทุน
งบการเงินรวม บันทึกเปนรายจาย/(รายไดใน)
รายงานประจ� ำ ปี 2557
221
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ น 222ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท
ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 เงินลงทุนระยะสั้น สินทรัพยไมมีตัวตน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ยอดขาดทุนยกไป อื่นๆ รวม
1,942 (1,067) 2,468 66,221 10,711 80,275
ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 เงินลงทุนระยะสั้น สินทรัพยไมมีตัวตน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ยอดขาดทุนยกไป อื่นๆ รวม
3,569 (3,180) 2,224 58,928 4,352 65,893
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเปนรายจาย / (รายไดใน) กําไรขาดทุน กําไรหรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น (พันบาท) 701 791 171 32,639 (10,085) 23,516 701 งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเปนรายจาย / (รายไดใน) กําไรขาดทุน กําไรหรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น (พันบาท) (1,627) 2,113 244 7,293 6,359 16,009 (1,627)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2,643 (276) 2,639 98,860 626 104,492
ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 1,942 (1,067) 2,468 66,221 10,711 80,275
สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกิดจากผลแตกตางชั่วคราวและยอดขาดทุนยกไปที่มิไดรับรูในงบการเงินมีรายละเอียด ดังนี้ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 ผลแตกตางชั่วคราว ขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใช รวม
1,518,170 285,199 1,803,369
85
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (พันบาท) 1,511,412 782,749 775,497 286,086 1,797,498 782,749 775,497
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
223
ขาดทุนทางภาษีจะสิ้นอายุในป 2558 ถึง 2564 ผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษีที่ยังไมสิ้นอายุตามกฎหมายเกี่ยวกับภาษีเงินได ปจจุบันนั้น กลุมบริษัทและบริษัทยังมิไดรับรูรายการดังกลาวเปนสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีเนื่องจากยังไมมีความ เปนไดคอนขางแนวากลุมบริษัทและบริษัทจะมีกําไรทางภาษีเพียงพอที่จะใชประโยชนทางภาษีดังกลาว 19
สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) คาเชาระยะยาวจายลวงหนา - สิทธิการใชที่ดิน - สุทธิ ลูกหนี้คาสินไหมทดแทน เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระผูกพัน เกินกวาหนึ่งป เงินใหกูระยะยาวแกกิจการอื่น สินทรัพยอื่น รวม
1,931 196,138
2,250 252,153
131,899 19,995 87,646 437,609
129,533 61,570 445,506
1,691 1,691
511 511
เงินฝากสถาบันการเงินติด ภาระผูกพันที่มีอายุเกินกวาหนึ่ง ป เปน เงินค้ํา ประกันภายใตสัญญาเงินกูระยะยาวกับ สถาบัน การเงินในประเทศแหงหนึ่งซึ่งกําหนดวาจํานวนเงินฝากสถาบันการเงินจะตองคงไวไมต่ํากวาจํานวนของเงินตนและดอกเบี้ย ที่ตองจายในสองงวดภายหลังสิ้นสุดระยะเวลาปลอดชําระเงินตนสองปในวันที่ 30 กันยายน 2556 เงินใหกูระยะยาวแกกิจการอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เงินใหกูระยะยาวแกกิจการอื่นเปนตั๋วสัญญาใชเงินที่ออกโดย Merton และ Britmar (Asia) Pte.Ltd. ดวยราคาหนาตั๋วเงินจํานวน 0.76 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเปนสวนหนึ่งของสิ่งตอบแทนภายใตสัญญาจายชําระตามที่ เปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 12 ตั๋วสัญญาใชเงินนี้มีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 1.5 ตอป
86
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 224ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น 20
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
หนี้สินทีม่ ีภาระดอกเบี้ย งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 30 กันยายน หมายเหตุ 2557 2557 สวนที่หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกูระยะสั้น เงินกูระยะสั้นจากกิจการ ที่เกี่ยวของกัน สวนของเงินกูระยะยาวที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนของหุนกูที่ถึงกําหนด ไถถอนภายในหนึ่งป หนี้สินตามสัญญาเชาการเงินที่ ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่ไมหมุนเวียน เงินกูระยะยาว หุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน
รวม
4
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (พันบาท)
8,525 473,279
4,244 284,044
-
-
-
-
1,287,653
5,816,657
2,463,544
2,272,635
300,000
360,000
1,999,627
1,999,445
1,999,627
1,999,445
6,693 4,951,668
6,264 4,566,632
3,587,280
8,176,102
7,734,090 1,998,700 9,332 9,742,122
7,156,341 1,998,569 9,186 9,164,096
480,000 1,998,700 2,478,700
580,000 1,998,569 2,578,569
14,693,790
13,730,728
6,065,980
10,754,671
ระยะเวลาการครบกําหนดของเงินกูระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 มีดังตอไปนี้
ภายใน 1 ป ระหวาง 1 ป แตไมเกิน 5 ป มากกวา 5 ป รวม
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 2,272,635 300,000 360,000 2,463,544 4,560,242 480,000 580,000 5,251,438 2,596,099 2,482,652 9,428,976 780,000 940,000 10,197,634 87
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
225
ยอดคงเหลือของเงินกูระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 อยูในสกุลเงินมีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 1,355,654 780,000 940,000 1,155,980 8,073,322 9,041,654 9,428,976 780,000 940,000 10,197,634
บาท เหรียญสหรัฐฯ รวม บริษัท เงินกูระยะยาว
เงินกูเพื่อการไถถอนหุนกูแปลงสภาพเปนเงินกูจากธนาคารพาณิชยในประเทศในสกุลเงินบาท มียอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จํานวน 780 ลานบาท (30 กันยายน 2557: 940 ลานบาท) มีระยะเวลาชําระหนี้คืนภายใน 5 ป และไมมีหลักประกัน อัตรา ดอกเบี้ยเงินกูเปนอัตราดอกเบี้ยลอยตัวบวกสวนเพิ่ม หุนกู ในเดือนกรกฎาคม 2553 บริษัทไดออกและเสนอขายหุนกูสกุลเงินบาทประเภทไมดอยสิทธิและไมมีหลักประกันจํานวน 2 ชุด ใน ราคาตามมูลคารวมเปนจํานวนเงิน 4 พันลานบาท รายละเอียดของหุนกู มีดังตอไปนี้
หุนกู ชุดที่ 1 ชุดที่ 2
จํานวนหนวย
ราคาตามมูลคา/หนวย (บาท)
2,000,000 2,000,000
1,000 1,000
อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป) 3.60 3.82
วันที่ครบกําหนด ไถถอน 9 กรกฎาคม 2558 29 มิถุนายน 2560
หุนกูสกุลเงินบาทที่นําออกขายนั้นมีราคาตามมูลคาที่ตราไวที่ 1,000 บาทตอหนวย หุนกูชุดที่หนึ่งมีอายุ 5 ป นับจากวันที่ออก หุนกู และหุนกูชุดที่สองมีอายุ 6 ป 11 เดือน และ 20 วันนับจากวันที่ออก บริษัทจะจายดอกเบี้ยทุก ๆ สามเดือน และจะไถถอน หุนกูทั้งจํานวน ณ วันที่ครบกําหนด หุนกูชุดที่ 1 ที่มีมูลคาสุทธิทางบัญชีจํานวน 1,999.4 ลานบาทไดถูกจัดประเภทเปนหุนกูสวนที่ถึงกําหนดไถถอนภายใน 1 ป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 ตามวันที่ครบกําหนดไถถอน
88
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 226 งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
รายการเคลื่อนไหวของหุนกูในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 มี ดังตอไปนี้ งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ งวดสามเดือน สิ้นสุดวันที่ ปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (พันบาท) 3,998,014 3,996,772 313 1,242 3,998,327 3,998,014
ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 และ 2556 คาตัดจําหนายคาใชจายในการออกหุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 งบการเงินรวม เงินกูระยะสั้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุมบริษัทมีเงินกูระยะสั้นในรูปแบบของตั๋วสัญญาใชเงินและตั๋วเงินที่ไมมีหลักประกัน และสัญญา ทรัสตรีซีทจากสถาบันการเงินในประเทศจํานวน 473.3 ลานบาท (30 กันยายน 2557: 284.0 ลานบาท)
89
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
227
เงินกูระยะยาว รายการเคลื่อนไหวของเงินกูระยะยาวในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 มีดังตอไปนี้
ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 และ 2556 เพิ่มขึ้น ชําระคืน จัดประเภทใหมเปนเงินกูยืมระยะสั้น กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึน้ แลว กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้น ผลตางจากการแปลงคาเงินตราตางประเทศ คาตัดจําหนายคาใชจายในการไดรบั เงินกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 หัก สวนของเงินกูระยะยาวที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป เงินกูระยะยาว - สุทธิจากสวนทีถ่ ึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป ก)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 9,428,976 8,907,201 940,000 1,160,000 1,525,219 1,144,976 (1,448,891) (160,000) (220,000) (524,363) 202,676 12 700 238,099 146,970 1,075 3,960 10,197,634
9,428,976
780,000
940,000
(2,463,544)
(2,272,635)
(300,000)
(360,000)
7,734,090
7,156,341
480,000
580,000
เงินกูเพื่อซื้อและกอสรางเรือเดินทะเล เรือขุดเจาะ เรือสนับสนุนและอุปกรณ และเรือขนถานหิน -
เงินกูเพื่อซื้อและกอสรางเรือเดินทะเลเปนเงินกูจากสถาบันการเงินตางประเทศหลายแหง โดยกูในสกุลเงินเหรียญ สหรัฐฯ มียอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จํานวน 161.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ (30 กันยายน 2557: 131.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ) มีระยะเวลาชําระหนี้คืนภายใน 5 ถึง 17 ป นับจากวันสงมอบเรือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 อัตราดอกเบี้ยการกูยืมและหลักทรัพยค้ําประกันมีดังนี้ -
เงินกูจํานวน 27.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ (30 กันยายน 2557: 28.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ) : อัตราดอกเบี้ยคงที่และ อัตรา LIBOR บวกสวนเพิ่ม เงินกูดังกลาวไดรับการค้ําประกันโดยการจํานองเรือเดินทะเล 2 ลํา และค้ํา ประกันโดยบริษัท
90
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 228 ปงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น -
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
เงินกูจํานวน 134.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ (30 กันยายน 2557: 102.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ) : อัตราดอกเบี้ย LIBOR บวกสวนเพิ่ม และไดรับการค้ําประกันโดยการจํานองเรือเดินทะเลของกลุมบริษัทจํานวน 12 ลํา และ เรือที่สรางใหมหรือเรือใชแลวซึ่งไดมาโดยใชวงเงินกูยืมเหลานี้ สัญญาประกันภัยของเรือเดินทะเล ซึ่งไดทํา สัญญาค้ําประกันเรือเดินทะเล จํานําหรือเปลี่ยนบัญชีธนาคาร และค้ําประกันโดยบริษัท
-
เงินกูสําหรับการซอมแซมพิเศษของเรือขุดเจาะเปนเงินกูจากธนาคารพาณิชยในประเทศแหงหนึ่งโดยกูในสกุลเงิน เหรียญสหรัฐฯ มียอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 จํานวน 3.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ มีระยะเวลาชําระหนี้ คืนภายใน 2 ป โดยมีอัตราดอกเบี้ย USD-LIBOR บวกสวนเพิ่ม และไดรับการค้ําประกันโดยการจํานองเรือขุดเจาะ และค้ําประกันโดยบริษัทยอยหลายแหง เงินกูดังกลาวไดถูกชําระคืนเต็มจํานวนในระหวางงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
-
เงินกูเพื่อซื้อเรือสนับสนุนและอุปกรณเปนเงินกูจากธนาคารพาณิชยในประเทศ โดยกูในสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ มี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จํานวน 113.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ (30 กันยายน 2557: 115.1 ลานเหรียญ สหรัฐฯ) มีระยะเวลาชําระหนี้คืนภายใน 8 ถึง 10 ป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เงินกูดังกลาวมีอัตราดอกเบี้ย USD-LIBOR บวกสวนเพิ่ม (30 กันยายน 2557: USD-LIBOR บวกสวนเพิ่ม) เงินกูดังกลาวไดรับการค้ําประกันโดย การจํานองเรือสนับสนุน และค้ําประกันโดยบริษัทยอยแหงหนึ่ง
-
เงินกูเพื่อซื้อเรือขนถานหินเปนเงินกูจากธนาคารพาณิชยในประเทศแหงหนึ่งโดยกูในสกุลเงินบาท มียอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จํานวน 6.4 ลานบาท (30 กันยายน 2557: 9.4 ลานบาท) มีระยะเวลาชําระคืนภายใน 7 ป โดยมีอัตราดอกเบี้ย MLR หักดวยสวนลดและเงินกูดังกลาวไดรับการค้ําประกันโดยการจํานองเรือขนถานหิน ทั้งหมด นอกจากนี้ เงื่อนไขของสัญญาเงินกูกําหนดวาบริษัทและบริษัทยอยตองไมนําทรัพยสินที่ติดภาระค้ําประกันไปกอ ภาระผูกพัน หรือยินยอมใหมีการกอภาระผูกพันอื่นอีก เวนแตจะไดรับคํายินยอมจากผูใหกูอยางเปนทางการ อีก ทั้งบริษัทและบริษัทยอยจะตองปฏิบัติตามเงื่อนไขและขอจํากัดอื่นตามที่ระบุไวในสัญญาเงินกู
ข)
เงิ น กู เ พื่ อ การก อ สร า งอาคารและคลั ง สิ น ค า เป น เงิ น กู จ ากธนาคารพาณิ ช ย ใ นประเทศโดยกู ใ นสกุ ล เงิ น บาท มียอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จํานวน 46.5 ลานบาท (30 กันยายน 2557: 50.4 ลานบาท) มีระยะเวลาชําระ หนี้คืนภายใน 6.5 ถึง 8 ป เงินกูนี้มีอัตราดอกเบี้ย MLR หักดวยสว นลด เงิน กูดัง กลา วไดรับ การค้ํา ประกัน โดยการ จํานองที่ดินและอาคารของบริษัทยอยและค้ําประกันโดยบริษัท
ค)
เงินกูเพื่อการกอสรางเครื่องจักรและคลังสินคาและเงินทุนหมุนเวียนเปนเงินกูจากธนาคารพาณิชยในประเทศโดยกูใน สกุลเงินบาท มียอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จํานวน 319.9 ลานบาท (30 กันยายน 2557: 355.9 ลานบาท) มีระยะเวลาชําระหนี้คืนภายใน 3 ถึง 7 ป เงินกูดังกลาวมีอัตราดอกเบี้ย MLR หักดวยสวนลดและไดรับการค้ําประกันโดย การจํานองที่ดินบางสวนและอาคารกอสรางบนที่ดินนั้นของบริษัทยอย
91
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำป ปี ระกอบงบการเงิ 2557 หมายเหตุ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
229
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทในฐานะผูค้ําประกันเงินกูของบริษัทยอย และบริษัทและ UMS ในฐานะผูกูไมสามารถปฏิบัติ ตามเงื่อนไขบางประการที่กําหนดในสัญญาเงินกู ภายใตมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง การนําเสนองบ การเงิน กิจการตองจัดประเภทหนี้สินเปนหนี้สินหมุนเวียน หากกิจการไมสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดในสัญญาเงินกู ระยะยาวที่มีผลในหรือกอนวันทีท่ ี่ออกรายงาน แมวาภายหลังจากวันที่ที่ออกรายงาน และกอนวันที่ที่งบการเงินไดรับการอนุมัติ ใหเปดเผยสูสาธารณะ ผูใหกูจะยินยอมไมเรียกคืนเงินกู เนื่องจากการไมปฏิบัติตามเงื่อนไข ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่จะถึงกําหนดชําระเกิน 1 ป จํานวน 983.42 ลานบาท (30 กันยายน 2557: 844.64 ลานบาท) จึง ถูกจัดประเภทเปนหนี้สินหมุนเวียน ปจจุบันผูบริหารอยูในระหวางการเจรจากับธนาคารที่เกี่ยวของ และมีความเห็นวาผลการ เจรจาดังกลาวจะไมสงผลกระทบทางลบอยางมีสาระสําคัญ 21
ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน งบการเงินรวม สําหรับงวด สามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน มูลคาที่รับรูในงบกําไรขาดทุน
155,016 10,594
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวด สามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (พันบาท) 111,663 13,196 12,343 11,121 986 3,026
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 ภาระผูกพันในงบแสดงฐานะการเงิน ประกอบดวย ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน
155,016
92
111,663
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (พันบาท)
13,196
12,343
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 230 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุ รายการเคลื่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุในระหวางปมีดังตอไปนี้
ยอดยกมาตนงวด/ป การจําหนายงบการเงินของบริษัทยอย ตนทุนบริการปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย กําไรตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย โบนัสสะสม จัดประเภทรายการจากคาใชจายคางจาย ผลประโยชนจาย ผลตางจากการแปลงคาเงินตราตางประเทศ ยอดคงเหลือสิ้นงวด/ป
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 111,663 108,640 12,343 11,121 (5,738) 10,169 26,824 904 3,404 425 1,929 82 307 (17,632) (685) 5,990 25,197 (419) (4,160) (133) (1,804) 1,991 1,800 155,016 111,663 13,196 12,343
รายการทีร่ ับรูในงบกําไรขาดทุน มีดังตอไปนี้
ตนทุนบริการปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย การตัดจําหนายกําไรตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัย รวม (แสดงอยูในคาใชจายเกี่ยวกับพนักงาน)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 10,169 26,824 904 3,404 425 1,929 82 307 10,594
(17,632) 11,121
คาใชจายดังกลาวไดรวมอยูในตนทุนการใหบริการ คาใชจายในการขาย และคาใชจายในการบริหาร
93
986
(685) 3,026
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ�ป ำ ปีระกอบงบการเงิ 2557 หมายเหตุ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
231
สมมติฐานทางสถิติทสี่ ําคัญที่ใช มีดังตอไปนี้
อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตราการตาย อัตราการลาออก
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (รอยละ) 2.1 - 3.8 2.1 - 3.8 4-8 4-8 0.08 - 1.03 0.08 - 1.03 0 - 34 0 - 34
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (รอยละ) 3.47 3.47 6 6 TMO2008* TMO2008* 0 - 23 0 - 23
* Male and Female Thai Mortality Ordinary Table of 2008 คือตารางอัตราการตายลาสุดจาก สํานักงาน คณะกรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) 22
ทุนเรือนหุนและใบสําคัญแสดงสิทธิ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน มูลคาหุน ตอหุน (บาท) ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 และ 2556 - หุนสามัญ ลดมูลคาหุน ออกหุนใหม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 - หุนสามัญ ทุนที่ออกและชําระแลว ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 และ 2556 - หุนสามัญ ออกหุนใหม ใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 - หุนสามัญ
2557 จํานวนหุน
2557 บาท จํานวนหุน (พันหุน / พันบาท)
บาท
1 1 1 1
1,544,106 -
1,544,106 -
1,132,807 (1) 411,300
1,132,807 (1) 411,300
1
1,544,106
1,544,106
1,544,106
1,544,106
1 1 1
1,293,235 7,940
1,293,235 7,940
991,838 298,111 3,286
991,838 298,111 3,286
1
1,301,175
1,301,175
1,293,235
1,293,235
1
94
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 232 ปงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
การลดทุนจดทะเบียน เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2557 ที่ประชุมใหญสามัญประจําปของผูถือหุนครั้งที่ 1/2557 ไดมีการอนุมัติใหลดทุนจดทะเบียนที่ยังไมได ชําระจํานวน 641 หุน ซึ่งถูกจัดสรรไวสํารองสําหรับการออกหุนที่จะออกใหมในป 2556 เปนผลใหทุนจดทะเบียนของบริษัทลดลง จาก 1,132,807,060 บาท เปน 1,132,806,419 บาท แบงออกเปน หุนสามัญ 1,132,806,419 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท การออกหุนสามัญและใบสําคัญแสดงสิทธิฯ เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2557 ที่ประชุมใหญสามัญประจําปของผูถือหุนครั้งที่ 1/2557 ไดอนุมัติมติดังตอไปนี้ - เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทเปนจํานวน 411,299,416 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจํานวน 1,132,806,419 บาท เปนทุนจดทะเบียนใหมจํานวน 1,544,105,835 บาท แบงเปนหุนจํานวน 1,544,105,835 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท - ออกและเสนอขายหลักทรัพยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ - หุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทจํานวนไมเกิน 298,110,588 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท ควบคูกับ - ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัท ครั้งที่ 4 (“TTA-W4” หรือ “ใบสําคัญแสดงสิทธิฯ”) จํานวนไมเกิน 99,370,196 หนวย หลักทรัพยดังกลาวจะถูกเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมตามสัดสวนการถือหุน (Right Offering : RO) ในอัตราสวน 10 หุนสามัญ เดิม ตอ 3 หุนสามัญใหมควบคูกับ 1 หนวยใบสําคัญแสดงสิทธิฯ (10:3:1) ในราคาเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนหุนละ 14 บาท ราคาเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิฯ หนวยละศูนยบาท และมีราคาใชสิทธิซื้อหุนตามใบสําคัญแสดงสิทธิฯ 18.5 บาทตอหุน (เวนแตกรณีมีการปรับสิทธิ) ทั้งนี้ ผูถือหุนเดิมที่ใชสิทธิจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนจะตองใชสิทธิจองซื้อใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ทั้งหมดในคราวเดียวกันและเปนไปตามสัดสวน - ใหจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนดังตอไปนี้ การเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุน - จัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนใหมจํานวนไมเกิน 298,110,588 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาทเสนอขายใหแก ผูถือหุนเดิม ตามสัดสวนการถือหุน (Right Offering) ในอัตราสวน 10 หุนสามัญเดิม ตอ 3 หุนสามัญใหมโดยเสนอขายในราคาหุนละ 14 บาท
95
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
233
- ผูถือหุนเดิมมีสิทธิจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนเกินกวาสิทธิของตนตามอัตราสวนที่กําหนดไวขางตนได โดยแสดงความจํานง จองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนเกินกวาสิทธิไดไมเกินรอยละ 50 ของจํานวนหุนเดิมที่ผูถือหุนแตละรายนั้นถืออยู ทั้งนี้ผูถือหุน เดิมที่จองซื้อหุนเกินกวาสิทธิจะไดรับการจัดสรรหุนที่จองซื้อเกินกวาสิทธิก็ตอเมื่อมีหุนที่เหลือจากการจัดสรรใหแกผูถือ หุนเดิมที่ไดจองซื้อตามสิทธิครบถวนทั้งหมดแลวเทานั้น และการจัดสรรหุนที่จองซื้อเกินกวาสิทธิดังกลาวจะเปนไปตาม สัดสวนการถือหุนและอยูภายใตบังคับหลักเกณฑขอจํากัดการถือหุนของคนตางดาวตามที่ระบุไวในขอบังคับของบริษัท ซึ่งปจจุบันอนุญาตใหคนตางดาวถือหุนอยูในบริษัท ไดไมเกินรอยละ 49 ของจํานวนหุนที่ออกจําหนายทั้งหมดของบริษัท - ในกรณีที่หุนสามัญเพิ่มทุนเหลือจากการจัดสรรใหแกผูถือหุนเดิม บริษัทจะจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนที่เหลืออยูดังกลาวแก บุคคลในวงจํากัด (“การเสนอขายหุนที่ออกใหมตอบุคคลในวงจํากัด”) โดยราคาเสนอขายหุนที่ออกใหมตอบุคคลใน วงจํากัดนี้จะไมต่ํากวารอยละ 90 ของราคาตลาด อยางไรก็ตาม ราคาเสนอขายหุนที่ออกใหมตอบุคคลในวงจํากัดนี้จะไม ต่ํากวาราคาเสนอขายหุนตอผูถือหุนเดิมตามสัดสวน การจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิฯ - จัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุน จํานวนไมเกิน 99,370,196 หุน เพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ครั้งที่ 4 เพื่อ ซื้อหุนสามัญของบริษัท ที่จะเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมของบริษัทตามสัดสวน การจดทะเบียนเพิ่มทุนไดรับการอนุมัติจากกรมพัฒนาธุรกิจ กระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2557 เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2557 บริษัทไดประกาศการขายหุนใหกับผูถือหุนเดิมจํานวน 298,110,588 หุน เปนผลใหไดรับเงินสด จํานวน 4,173.55 ลานบาท (ทุนที่ชําระแลวจํานวน 298.11 ลานบาทและสวนเกินมูลคาหุนสามัญจํานวน 3,875.44 ลานบาท) เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2557 บริษัทไดประกาศผลของการออกและเสนอขายหลักทรัพย TTA-W4 ใหแกผูถือหุนเดิมที่ซื้อหุน สามัญที่ออกใหมและไดรับจัดสรร TTA-W4 จํานวน 99,370,196 หนวย ที่ราคาเสนอขายจํานวนศูนยบาทตอหนวย หุนสามัญที่ออกใหมและ TTA-W4 ไดมีการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2557 และ 26 มีนาคม 2557 ตามลําดับ การใชสิทธิของ TTA-W3 ในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีการจดทะเบียนทุนที่ออกและชําระแลวจากการใชสิทธิ TTA-W3 จํานวน 7.88 ลานหุน และไดรับเงินเปนจํานวน 127.45 ลานบาท (ทุนที่ออกและชําระแลวจํานวน 7.88 ลานบาทและสวนเกิน มูลคาหุนสามัญจํานวน 119.57 ลานบาท) ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 บริษัทมีการจดทะเบียนทุนที่ออกและชําระแลวจากการใชสิทธิ TTA-W3 จํานวน 2.14 ลานหุน และไดรับเงินเปนจํานวน 36.18 ลานบาท (ทุนที่ออกและชําระแลวจํานวน 2.14 ลานบาทและสวนเกินมูลคาหุน สามัญจํานวน 34.04 ลานบาท) 96
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 234 ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ น งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
การใชสิทธิของ TTA-W4 ในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีการจดทะเบียนทุนที่ออกและชําระแลวจากการใชสิทธิ TTA-W4 จํานวน 0.06 ลานหุน และไดรับเงินเปนจํานวน 1.03 ลานบาท (ทุนที่ออกและชําระแลวจํานวน 0.06 ลานบาทและ สวนเกินมูลคาหุนสามัญจํานวน 0.97 ลานบาท) ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 บริษัทมีการจดทะเบียนทุนที่ออกและชําระแลวจากการใชสิทธิ TTA-W4 จํานวน 1.14 ลานหุน และไดรับเงินเปนจํานวน 21.17 ลานบาท (ทุนที่ออกและชําระแลวจํานวน 1.14 ลานบาทและสวนเกินมูลคาหุนสามัญ จํานวน 20.03 ลานบาท) รายการเคลื่อนไหวของจํานวนสิทธิซื้อหุนที่คงเหลือ และราคาใชสิทธิถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่เกี่ยวของกันมีดังตอไปนี้
ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 สิทธิเลือกที่มีการใชสิทธิ
งบการเงินรวม ราคาใชสิทธิ ถัวเฉลี่ย ตอหุน จํานวนสิทธิ (บาท) (พันสิทธิ) 17.6 229,512 18.5 (2)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
17.6
งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาใชสิทธิ ถัวเฉลี่ย ตอหุน จํานวนสิทธิ (บาท) (พันสิทธิ) 17.6 229,512 18.5 (2)
229,510
17.6
229,510
* เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ 2557 บริษัทไดปรับปรุงราคาการใชสิทธิและสัดสวนของการใชสิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิครั้งที่ 3 (“TTA-W3”) ดังตอไปนี้ ราคาใชสิทธิเดิมกอนการปรับปรุง ราคาใชสิทธิใหมหลังการปรับปรุง สัดสวนการใชสิทธิเดิมกอนการปรับปรุง สัดสวนการใชสิทธิใหมหลังการปรับปรุง
: : : :
97
17.0000 บาทตอ 1 หุนสามัญ 16.1655 บาทตอ 1 หุนสามัญ 1 หนวยตอ 1.0000 หุนสามัญ 1หนวยตอ 1.0516 หุนสามัญ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ น รายงานประจ�ปำ ปีระกอบงบการเงิ 2557 23
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
235
สํารอง สํารองประกอบดวย การจัดสรรกําไรและ/หรือ กําไรสะสม สํารองตามกฎหมาย
ยอดยกมาตนงวด/ป จัดสรรระหวางงวด/ป ยอดคงเหลือสิ้นงวด/ป
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 93,500 98,830 93,500 98,830 11,510 5,330 11,510 5,330 98,830 110,340 98,830 110,340
ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะตองจัดสรรทุนสํารอง (“สํารองตาม กฎหมาย”) อยางนอยรอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสํารองดังกลาวมีจํานวนไม นอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจายเปนเงินปนผลไมได องคประกอบอืน่ ของสวนของผูถอื หุน ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ผลตางจากการแปลงคางบการเงินแสดงในสวนของเจาของประกอบดวยผลตา งการแปลงคาทั้งหมดจากงบการเงินของ หนวยงานในตางประเทศ ผลตางจากการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนเผื่อขาย ผลต า งจากการเปลี่ ย นแปลงในมู ล ค า ยุ ติ ธ รรมของเงิ น ลงทุ นเผื่ อ ขายแสดงในส ว นของเจา ของประกอบด ว ยผลรวมการ เปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนเผื่อขายจนกระทั่งมีการตัดรายการหรือเกิดการดอยคา การเปลี่ยนแปลงสวนไดเสียของบริษัทใหญในบริษัทยอย การเปลี่ยนแปลงสวนไดเสียของบริษัทใหญในบริษัทยอยในสวนของผูถือหุนประกอบดวย ผลกระทบจากการปรับลดสัดสวน การถือหุนของบริษัทในบริษัทยอย และผลตางจากการเปลี่ยนแปลงสวนไดเสียของบริษัทใหญในบริษัทยอยโดยที่ไมไดทําให บริษัทใหญสูญเสียอํานาจในการควบคุม 98
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 236 ปงบการเงิ หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น นรวมและงบการเงิ นของบริษัท 24
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ ในระหวางป MMPLC มีโครงการใหสิทธิการซื้อหุนสามัญจํานวน 3 โครงการที่ใชในการดําเนินงาน โครงการทั้งหมดดังกลาวถือ เปนการจายโดยใชหุนเปนเกณฑที่ชําระดวยตราสารทุน (ก) โครงการใหสิทธิการซื้อหุนสามัญแกพนักงานป 2552 (“ESOP 2009”) ไดรับการอนุมัติโดยผูถือหุนของ MMPLC เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2552 โครงการดังกลาวอนุมัติใหออกสิทธิการซื้อหุนสามัญใหแกกรรมการในระดับบริหารของ MMPLC โดย สิทธิในการซื้อหุนดังกลาวสามารถใชสิทธิไดทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแตวันครบรอบปที่ 3 นับจากวันที่สิทธิดังกลาวไดออก และ จะหมดอายุในปที่ 5 นับจากวันออกสิทธิ โดยสิทธิทั้งหมดที่ออกจะถือวาหมดอายุโดยอัตโนมัติ และจะไมมีการออกสิทธิ เพิ่มเติมภายใตโครงการนี้ (ข) โครงการใหสิทธิการซื้อหุนสามัญแกพนักงานป 2553 (“ESOP 2010”) ไดรับการอนุมัติโดยผูถือหุนของ MMPLC เมื่อ วันที่ 28 มกราคม 2553 โครงการดังกลาวอนุมัติใหออกสิทธิการซื้อหุนสามัญใหแกกรรมการ (ไมวาจะทําหนาที่ในระดับ บริหารหรือไม) ของ MMPLC โดยสิทธิในการซื้อหุนดังกลาวสามารถใชสิทธิไดทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแตวันครบรอบปที่ 3 นับ จากวันที่สิทธิดังกลาวไดออก และจะหมดอายุในปที่ 5 นับจากวันออกสิทธิ โดยสิทธิทั้งหมดที่ออกจะถือวาหมดอายุโดย อัตโนมัติ และจะไมมีการออกสิทธิเพิ่มเติมภายใตโครงการนี้ (ค) โครงการใหสิทธิการซื้อหุนสามัญแกพนักงานป 2554 (“ESOP 2011”) ไดรับการอนุมัติโดยผูถือหุนของ MMPLC เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2554 โครงการดังกลาวอนุมัติใหออกสิทธิการซื้อหุนสามัญใหแกกรรมการ (ไมวาจะทําหนาที่ในระดับบริหาร หรือไม) ของ MMPLC โดยสิทธิในการซื้อหุนดังกลาวสามารถใชสิทธิไดทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแตวันครบรอบปที่ 3 นับจากวันที่ สิทธิดังกลาวไดออก และจะหมดอายุในปที่ 5 นับจากวันออกสิทธิ โดยสิทธิทั้งหมดที่ออกจะถือวาหมดอายุโดยอัตโนมัติ และ จะไมมีการออกสิทธิเพิ่มเติมภายใตโครงการนี้ MMPLC ใหสิทธิซื้อหุนแกกรรมการ(ไมวาจะทําหนาที่ในระดับบริหารหรือไม)ที่ไดรับเลือกของ MMPLC และบริษัทยอย มูลคา ของสิทธิการซื้อหุนเทากับราคาตลาดถัวเฉลี่ยซึ่งคํานวณจากราคาตลาดถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย สิงคโปร ในชวง 15 วันที่มีการซื้อขายในตลาดติดตอกันกอนวันที่ไดรับสิทธิ ผูไดรับสิทธิตองเปนพนักงานที่ปฏิบัติงานตลอด 3 ป (ระยะเวลาการไดรับสิทธิ) และใชสิทธิไดภายหลัง 3 ปนับจากวันที่ไดรับสิทธิ กลุม MMPLC ไมมีภาระผูกพันทางกฎหมายในการ ซื้อสิทธิกลับคืน หรือจายชําระสิทธิซื้อหุนเปนเงินสด ซึ่งไมมีผูที่รวมโครงการดังกลาวที่ไดรับสิทธิรอยละ 5 หรือสูงกวา ของจํานวนสิทธิทั้งหมดของแตละโครงการและไมมีสิทธิการ ซื้อหุนที่ออกในราคาสวนลด นอกจากนี้กรรมการและผูถือหุนที่มีอํานาตควบคุมของ MMPLC ถือสิทธิการซื้อหุนตามโครงการ ดังกลาวและไมมีสิทธิการซื้อหุนที่ถือโดยบริษัทหรือบริษัทยอยอื่นๆ รวมทั้งกรรมการและพนักงานของบริษัท
99
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
237
รายการเคลื่อนไหวของจํานวนสิทธิซื้อหุนที่คงเหลือ และราคาใชสิทธิถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่เกี่ยวของกันมีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม
ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 สิทธิเลือกที่ถูกริบ สิทธิเลือกที่ใช สิทธิเลือกที่หมดอายุ ณ วันที่ 30 กันยายน 2557
ราคาใชสิทธิ ถัวเฉลี่ย เหรียญสิงคโปร (ตอหุน) 0.39 0.28 0.27 0.27 0.46
จํานวนสิทธิ (พันสิทธิ) 2,455 (209) (535) (210) 1,501
ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 สิทธิเลือกทีใ่ ช สิทธิเลือกที่หมดอายุ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
0.46 0.21 0.72 0.31
1,501 (248) (622) 631
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 สิทธิซื้อหุนคงเหลือจํานวน 631,049 สิทธิ (30 กันยายน 2557: 937,562 สิทธิ) ที่สามารถใชสิทธิได ราคาหุนถัวเฉลี่ยในระหวางงวดตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2557 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 เทากับ 0.32 เหรียญสิงคโปรตอหุน (สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557: 0.44 เหรียญสิงคโปรตอหุน) สิทธิซื้อหุนคงเหลือ ณ วันสิ้นงวดสามเดือน/ปแยกแสดงตามวันที่หมดอายุการใชสิทธิ และมีราคาใชสิทธิดังตอไปนี้
ราคาใชสิทธิ เหรียญ สิงคโปร (ตอหุน) วันหมดอายุการใชสิทธิ 16 พฤศจิกายน 2557 1 ธันวาคม 2558 15 ธันวาคม 2559
0.72 0.40 0.21
100
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2557
30 กันยายน 2557 (พันหุน)
315 316 631
622 316 563 1,501
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 238 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
มูลคายุติธรรมถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของสิทธิการซื้อหุนที่ใหสิทธิระหวางป 2554 ประมาณโดยใชแบบจําลองการวัดมูลคาแบบ Binomial Lattice มีมูลคา 0.09 เหรียญสิงคโปรตอสิทธิ ขอมูลสําคัญที่ใชในแบบจําลองคือราคาหุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ณ วัน ใหสิทธิ มูลคา 0.23 เหรียญสิงคโปร คาความผันผวนรอยละ 45 อัตราผลตอบแทนของเงินปนผลรอยละศูนย ประมาณการอายุ ของสิทธิ 3.85 ป และอัตราดอกเบี้ยปราศจากความเสี่ยงรอยละ 3.015 ถึงรอยละ 3.081 ตอป ณ วันที่ 15 ธันวาคม 2554 มีจํานวนสิทธิที่ใหแกกรรมการของ MMPLC (ไมวาจะทําหนาที่ในระดับบริหารหรือไม) จํานวน 1,310,000 หนวย โดยมีราคาใชสิทธิที่ราคาตลาดของหุน ณ วันใหสิทธิมูลคา 0.24 เหรียญสิงคโปรตอหุน (ราคาหุน: 0.23 เหรียญสิงคโปรตอหุน) (วันหมดอายุการใชสิทธิ :วันที่ 15 ธันวาคม 2559) จากการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินฉบับที่ 2 เรื่อง การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ ซึ่งมีผลบังคับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2554 เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการ บัญชีดังกลาว การใหสิทธิซื้อหุนนี้มีระยะเวลาใหไดรับสิทธิ 3 ปโดยคาใชจายที่เกิดขึ้นจากโครงการดังกลาวตัดจําหนายตามวิธี เสนตรงตลอด 3 ป คาใชจายประมาณการดังกลาวคํานวณโดยนักคณิตศาสตรประกันภัยและบันทึกรับรูในสวนของผูถือหุนใน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนสําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 จํานวนเงิน 0.10 ลานบาทหรือ 2,902.8 เหรียญสหรัฐฯ (สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557: 0.46 ลานบาทหรือ 14,272.9 เหรียญสหรัฐฯ) 25
สวนงานดําเนินงาน กลุมบริษัทไดนําเสนอขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงานธุรกิจของกลุมบริษัท รูปแบบหลักในการรายงานสวนงานธุรกิจ พิจารณาจากระบบการบริหารการจัดการและโครงสรางการรายงานทางการเงินภายในของกลุมบริษัทเปนเกณฑในการกําหนด สวนงาน สวนงานธุรกิจ กลุมบริษัทเสนอสวนงานธุรกิจหลัก ดังนี้ สวนงาน 1 สวนงาน 2 สวนงาน 3 สวนงาน 4
กลุมขนสง กลุมโครงสรางพื้นฐาน กลุมพลังงาน กลุมการถือหุนเพื่อการลงทุน
101
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำปปีระกอบงบการเงิ 2557 หมายเหตุ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
239
ขอมูลเกี่ยวกับสวนงานที่รายงาน รายไดและผลการดําเนินงานจากสวนงานทางธุรกิจในงบการเงินรวมสําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม2557 และ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 มีดังตอไปนี้
กลุมขนสง รายไดจากการดําเนินงาน รายไดระหวางสวนงานธุรกิจ รายไดจากบุคคลภายนอก คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย กําไรจากการดําเนินงาน สวนแบงกําไรในบริษัทรวมและ กิจการรวมคา ตนทุนทางการเงิน ภาษีเงินได กําไรสุทธิสําหรับงวด
2,256,265 (41,840) 2,214,425 216,286 72,511
งบการเงินรวม สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 การตัดรายการ กลุมโครงสราง กลุมการถือหุน ระหวางสวนงาน กลุมพลังงาน เพื่อการลงทุน พื้นฐาน ทางธุรกิจ (พันบาท) 757,581 3,234,734 (41,904) (64) 41,904 757,517 3,234,734 30,060 248,569 22,609 (9) 61,661 29,461 252,894 (246,605)
รวม 6,206,676 6,206,676 517,515 169,922
14,196 (41,328) (13,660) 31,719
14,049 (17,045) (16,424) 42,241
229,818 (28,085) (89,159) 142,035
(79,978) 29,204 202,120
38,392 (999) (209,212)
258,063 (128,044) (91,038) 208,903
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ
12,903,864
1,615,911
12,468,660
291,129
(18,872)
27,260,692
สินทรัพยรวม
17,660,740
3,227,323
25,162,367
33,534,122
(27,962,695)
51,621,857
2,021
51,025
-
-
-
53,046
-
(1,737)
-
-
-
(1,737)
รายการที่ไมเปนตัวเงินอื่นที่มี สาระสําคัญ - ขาดทุนจากการดอยคาที่ดิน อาคารและอุปกรณและ สินทรัพยไมมีตัวตน - กลับรายการขาดทุนจากการ สํารองดอยคาที่ดิน อาคารและ อุปกรณและสินทรัพย ไมมีตัวตน
102
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ น 240ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 การตัดรายการ กลุมการถือหุน ระหวางสวนงาน กลุมพลังงาน เพื่อการลงทุน ทางธุรกิจ (พันบาท) 10,088,183 (295,159) 295,159 10,088,183 950,121 92,449 (35) 741,134 859,030 (1,214,772)
กลุมขนสง
กลุมโครงสราง พื้นฐาน
7,197,004 (295,095) 6,901,909 695,691 551,493
4,441,210 (64) 4,441,146 120,915 308,511
157,548 (124,398) (72,991) 511,652
33,579 (76,836) (76,835) 188,419
994,964 (125,234) (166,063) 1,444,801
(332,627) 2,726 529,129
167,236 (1,190) (1,048,726)
1,186,091 (491,859) (314,353) 1,625,275
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ
12,845,348
1,600,093
12,204,325
291,463
(16,993)
26,924,236
สินทรัพยรวม
22,752,523
3,240,167
24,191,228
37,468,125
(38,321,317)
49,330,726
รายไดจากการดําเนินงาน รายไดระหวางสวนงานธุรกิจ รายไดจากบุคคลภายนอก คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย กําไรจากการดําเนินงาน สวนแบงกําไรในบริษัทรวมและ กิจการรวมคา ตนทุนทางการเงิน ภาษีเงินได กําไรสุทธิสําหรับป
รายการที่ไมเปนตัวเงินอื่นที่มี สาระสําคัญ - ขาดทุนจากการดอยคาที่ดิน อาคารและอุปกรณและ สินทรัพยไมมีตัวตน
-
14,938
-
103
-
-
รวม 21,431,238 21,431,238 1,859,141 1,245,396
14,938
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
241
ขอมูลทางภูมิศาสตร กลุมบริษัทขยายการลงทุนและดําเนินกิจการในตางประเทศ โดยนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับการจําแนกขอมูลทางภูมิศาสตรสําหรับ รายการรายไดจากการขายและสินทรัพยไมหมุนเวียนที่มีมูลคาเปนสาระสําคัญ โดยรายไดจากการขายตามสวนงานแยกตาม ที่ตั้งทางภูมิศาสตรของลูกคา และรายการเคลื่อนไหวของสินทรัพยไมหมุนเวียนตามสวนงานแยกตามสถานที่ตั้งตามภูมิศาสตร ของสินทรัพย งบการเงินรวม
เอเชีย แอฟริกา อเมริกา ยุโรป อื่นๆ รวม
รายไดจากการขาย สินทรัพยไมหมุนเวียน สําหรับงวด สามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 16,968,083 35,841,147 34,565,242 4,246,641 417,893 876,492 316 344 729,176 388,961 2,647,951 169,739 1,364 1,106,910 209,536 46,271 21,431,238 36,011,202 34,566,950 6,206,676
เอเชีย รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ รายไดจากการขาย สินทรัพยไมหมุนเวียน สําหรับงวด สามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 24,316,029 28,764,675 24,316,029 28,764,675 -
ลูกคารายใหญ รายไดจากลูกคารายใหญจากสวนงานกลุมบริษัทพลังงานสําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 เปนจํานวนเงิน ประมาณ 1,393.47 ลานบาท (สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557: 3,799.83 ลานบาท) จากรายไดรวมของกลุมบริษัท 104
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 242 งบการเงิ นรวมและงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น นของบริษัท 26
รายไดจากการดําเนินงานอื่น
รายไดจากเงินปนผล กําไรจากอัตราแลกเปลีย่ น ดอกเบี้ยรับ กําไรจากการจําหนายที่ดนิ อาคาร และอุปกรณ กําไรจากการจําหนายเงินลงทุนระยะสัน้ กําไรจากการจําหนายเงินลงทุนใน บริษัทรวมและกิจการรวมคา รายไดอื่น รวม 27
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวดสาม สําหรับปสิ้นสุด สําหรับงวด สําหรับปสิ้นสุด วันที่ เดือนสิ้นสุดวันที่ วันที่ สามเดือน 31 ธันวาคม 30 กันยายน สิ้นสุดวันที่ 31 30 กันยายน ธันวาคม 2557 2557 2557 2557 หมายเหตุ (พันบาท) 1,606 328,643 519,155 73,338 181,474 8,999 154,583 13,521 55,368 11,144 51,392
12
5,180 -
5,247 110
38,148 28,133 158,320
95,788 339,593
-
612 110
6,911 355,697
34,209 760,061
คาใชจายตามลักษณะ งบกําไรขาดทุนไดรวมการวิเคราะหคาใชจายตามหนาที่ คาใชจายตามลักษณะไดเปดเผยตามขอกําหนดในมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับตางๆ ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวด สําหรับงวด สามเดือน สําหรับป สามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) คาใชจายซึ่งรวมอยูในคาใชจายในการดําเนินงาน เกี่ยวกับเรือเดินทะเล คาใชจายในการเดินเรือ คาใชจายเกี่ยวกับวัสดุและของใชสิ้นเปลืองสําหรับ เรือเดินทะเลและคาใชจายในการซอมแซมบํารุง รักษาเรือ
998,106
2,235,076
-
-
80,562
257,814
-
-
105
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ น รายงานประจ�ปำ ปีระกอบงบการเงิ 2557
คาใชจายเกี่ยวกับลูกเรือและพนักงาน คาเชาเรือ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาใชจายซึ่งรวมอยูในคาใชจายบริการ จากธุรกิจนอกชายฝง คาใชจายเกี่ยวกับวัสดุและของใชสิ้นเปลือง สําหรับเรือและคาใชจายในการซอมแซมเรือ คาใชจายเกี่ยวกับลูกเรือ พนักงานและผูรับเหมา คาเชาเรือและคาเชาอุปกรณ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาใชจายซึ่งรวมอยูในตนทุนขาย ตนทุนวัตถุดิบ คาใชจายเกี่ยวกับวัสดุและของใชสิ้นเปลือง และคาใชจายในการซอมแซมบํารุงรักษา คาใชจายเกี่ยวกับพนักงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
243
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวด สําหรับงวด สามเดือน สําหรับป สามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 146,100 472,416 646,415 2,369,735 686,575 214,963
561,829 1,112,706 781,100 239,970
1,758,662 4,088,603 1,084,940 919,314
-
-
507,266
3,091,365
-
-
9,547 19,739 16,553
39,400 100,826 73,820
-
-
106
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 244 งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวด สําหรับงวด สามเดือน สําหรับป สามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) คาใชจายซึ่งรวมอยูในคาใชจายในการใหบริการ การขายและการบริหาร คาใชจายเกี่ยวกับพนักงาน คาธรรมเนียมวิชาชีพ คาเชาสํานักงานและอุปกรณสํานักงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย การดอยคาของเงินใหกูระยะยาวแก กิจการที่เกี่ยวของกัน (กลับรายการ) การดอยคาของเงินลงทุนใน บริษัทยอย บริษัทรวมและกิจการรวมคา การดอยคาของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ และสินทรัพยไมมีตัวตน คาตัดจําหนายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ คาตัดจําหนายภาษีถูกหัก ณ ที่จาย
28
265,957 58,126 15,312 46,029
1,342,465 154,863 54,933 179,432
4,449 4,912 2,218 8,038
202,807 27,223 6,989 33,673
-
-
39,617
506,901
-
-
(3,357)
(504,054)
51,309 2,805 10,062
14,938 79 9,910
-
-
ภาษีเงินได ภาษีเงินไดแสดงในงบกําไรขาดทุนรวมและงบกําไรขาดทุนเฉพาะกิจการคํานวณจากกําไรสุทธิทางภาษีจากกิจการซึ่งไมไดรับ การสงเสริมการลงทุนและในอัตราภาษีที่ใชบังคับอยูในประเทศไทยและอัตราเฉพาะเจาะจงของ แตละประเทศสําหรับการ ดําเนินงานในตางประเทศ กิจการที่ไมไดรับการสงเสริมการลงทุน ไดแก กําไรจากการจําหนายสินทรัพย งานบริการที่เกี่ยวของ กับการเดินเรือ เชน สวนงานธุรกิจตัวแทนเรือ สวนงานบริการการขุดเจาะนอกชายฝงที่อยูนอกประเทศไทยและบริการอื่นที่ เกี่ยวของกับบริการนอกชายฝง และธุรกิจการผลิตและจําหนายปุยและถานหิน
107
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
245
ภาษีเงินไดรับรูในสวนของกําไรหรือขาดทุน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวด สําหรับงวด สามเดือน สําหรับป สามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน หมายเหตุ 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) ภาษีเงินไดของปปจจุบัน สําหรับปปจ จุบัน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี การเปลีย่ นแปลงของ ผลแตกตางชั่วคราว รวมคาใชจายภาษีเงินได (ผลประโยชน)
18
90,849
300,503
-
-
189
13,850
(23,516)
(16,009)
91,038
314,353
(23,516)
(16,009)
ภาษีเงินไดที่รับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น งบการเงินรวม สําหรับงวดสามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 รายได รายได (คาใชจาย) สุทธิจากภาษี กอนภาษี (คาใชจาย) สุทธิจากภาษี เงินได เงินได เงินได ภาษีเงินได กอนภาษีเงินได ภาษีเงินได (พันบาท) ผลตางจากการเปลี่ยนแปลง ในมูลคายุติธรรมของเงิน ลงทุนเผื่อขาย
32,469
(6,493)
108
25,976
8,137
(1,627)
6,510
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ246 ประกอบงบการเงิ น งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวดสามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 รายได รายได (คาใชจาย) สุทธิจากภาษี กอนภาษี (คาใชจาย) สุทธิจากภาษี เงินได เงินได เงินได ภาษีเงินได กอนภาษีเงินได ภาษีเงินได (พันบาท) ผลตางจากการเปลี่ยนแปลง ในมูลคายุติธรรมของเงิน ลงทุนเผื่อขาย
(3,502)
701
(2,801)
8,137
(1,627)
6,510
การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แทจริง งบการเงินรวม สําหรับงวดสามเดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 อัตราภาษี (รอยละ) (พันบาท) 299,941 20 59,988 5 14,982 19 57,568 (46) (136,228) 24 71,814 (1) (2,606)
กําไรกอนภาษีเงินได จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได การลดภาษีเงินได- ภาษีเงินไดของปปจจุบัน การลดภาษีเงินได- ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดสวนตางจากกิจการในตางประเทศ รายไดที่ไมตองเสียภาษี คาใชจายตองหามทางภาษี การใชขาดทุนทางภาษีที่เดิมไมไดบันทึก ผลขาดทุนในปปจจุบันที่ไมรับรูเ ปน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีหัก ณ ที่จายที่ตัดจําหนาย (ไดรับคืน) ภาษีงวดกอนๆ ที่บันทึกต่ําไป (สูงไป) ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน รวม
11 (7) 5 30
109
32,019 148 (20,876) 14,229 91,038
สําหรับป
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 อัตราภาษี (รอยละ) (พันบาท) 1,939,628 20 387,926 (2) (37,796) (7,612) 7 140,405 (32) (622,858) 4 72,729 (6) (112,856) 23 1 1 16
443,584 (148) 28,481 22,498 314,353
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
รายงานประจ� ำ ปี 2557
247
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวดสามเดือน สําหรับป
กําไรกอนภาษีเงินได จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได รายไดที่ไมตองเสียภาษี คาใชจายตองหามทางภาษี ภาษีงวดกอนๆ ที่บันทึกต่ําไป (สูงไป) รวม
สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 อัตราภาษี (รอยละ) (พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 อัตราภาษี (รอยละ) (พันบาท)
206,560 41,312 (43,986) 7,618 (28,460) (23,516)
90,446 18,089 (37,260) 2,337 825 (16,009)
20 (21) 4 (14) (11)
20 (41) 3 1 (17)
การลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร ฉบับที่ 530 พ.ศ. 2554 ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2554 ใหลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิเปนระยะเวลาสามรอบระยะเวลาบัญชีไดแกป 2555 2556 และ 2557 จากอัตรารอยละ 30 เหลืออัตรารอยละ 23 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2555 ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2555 และรอยละ 20 ของกําไรสุทธิสําหรับสองรอบระยะเวลาบัญชีถัดมา (2556 และ 2557) ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 และ 2557 ตามลําดับ พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร ฉบับที่ 577 พ.ศ. 2557 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 ขยายเวลาการลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลรอยละ 20 สําหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีป 2558 ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 กลุมบริษัทใชอัตราภาษีเงินไดที่ลดลงเหลือรอยละ 20 ในการวัดมูลคาสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ตามคําชี้แจงของสภาวิชาชีพบัญชีที่ออกในป 2555
110
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 248 งบการเงิ นรวมและงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น นของบริษัท 29
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
กําไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน การคํานวณกําไรตอหุนขั้นพื้นฐานสําหรับป คํานวณจากกําไรสําหรับปที่เปนสวนของผูถือหุนสามัญของบริษัทและจํานวนหุน สามัญที่ออกจําหนายแลวระหวางปโดยวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก แสดงการคํานวณดังตอไปนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวด สําหรับงวด สามเดือน สําหรับป สามเดือน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท/พันหุน) กําไรสุทธิสําหรับงวดสามเดือน/ปที่เปนของ ผูถือหุนสามัญของบริษัท (ขัน้ พื้นฐาน) จํานวนหุนสามัญคงเหลือ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 และ 2556 ผลกระทบจากหุนที่ออก จําหนายระหวางงวด/ป จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ย ถวงน้ําหนัก (ขั้นพืน้ ฐาน) ผลกระทบจากการใชสิทธิตามใบสําคัญ แสดงสิทธิ TTA-W3 ผลกระทบจากการใชสิทธิตามใบสําคัญ แสดงสิทธิ TTA-W4 จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ย ถวงน้ําหนัก (ปรับลด) กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) กําไรตอหุนปรับลด (บาท)
154,727
1,015,229
230,076
106,455
1,293,235
991,838
1,293,235
991,838
7,163
166,374
7,163
166,374
1,300,398
1,158,212
1,300,398
1,158,212
26,992
25,456
26,992
25,456
7,778
5,413
7,778
5,413
1,335,168 0.12 0.12
1,189,081 0.88 0.85
1,335,168 0.18 0.17
1,189,081 0.09 0.09
111
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุำปีป2557 ระกอบงบการเงิน รายงานประจ� 30
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
249
เงินปนผล ก) สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 PMTA เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2557 ที่ประชุมคณะกรรมการของ PMTA ไดอนุมัติการจายเงินปนผลระหวางกาล สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 เปนจํานวน 328.64 ลานบาท โดยเงินปนผลไดถูกจายใหแกผูถือหุนเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2557 ข) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557 MMPLC ที่ประชุมใหญสามัญประจําปของผูถือหุนครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2557 ผูถือหุนไดอนุมัติการจายเงินปนผล ประจําปเปนจํานวน 0.2630 บาทตอหุน รวมเปนเงินทั้งสิ้น 371.6 ลานบาท โดยเงินปนผลไดถูกจายใหแกผูถือหุนในวันที่ 21 กุมภาพันธ 2557
31
สิทธิพิเศษที่ไดรับจากการสงเสริมการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 บริษัทยอยทางตรงแหงหนึ่ง และบริษัทยอยทางออม 6 แหง ไดรับสิทธิ พิเศษจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ภายใตบริการตรวจสอบโครงสรางใตทองทะเล ใหบริการอุปกรณใตน้ํา กิจการ ใหบริการตรวจสอบมลภาวะของน้ําทะเล รวมถึงกิจการใหบริการการขุดเจาะ การเปนสํานักงานเพื่อการลงทุน และการ ใหบริการทาเรือ สิทธิพิเศษที่สําคัญรวมถึงการไดรับยกเวนอากรขาเขาสําหรับการนําเขาเครื่องจักรและการไดรับยกเวนภาษี เงินไดนิติบุคคลสําหรับกิจการที่ไดรับการสงเสริมเปนระยะเวลา 8 ป นับตั้งแตวันที่เริ่มมีรายไดจากกิจการที่ไดรับการสงเสริม หรือวันที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน นอกจากนี้ บริษัทยอยที่ประกอบกิจการเดินเรือทะเลแหงหนึ่งไดรับสิทธิพิเศษจาก the Maritime and Port Authority of Singapore (“MPA”) ภายใตบริการเดินเรือในประเทศและระหวางประเทศ สิทธิพิเศษที่สําคัญรวมถึงการไดรับยกเวนภาษีเงินได นิติบุคคลสําหรับกําไรจากกิจการเดินเรือทะเลตั้งแต วันที่ 8 กันยายน 2551 ถึงวันที่ 8 กันยายน 2559 เพื่อใหไดรับสิทธิพิเศษดังกลาว กลุมบริษัทจะตองปฏิบัติตามเงื่อนไขและขอกําหนดที่เกี่ยวของกับสิทธิและประโยชนที่ไดรับนั้น ตามที่ระบุไวในบัตรสงเสริมการลงทุน
112
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 250 ปงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น 32
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางดานการเงิน กลุมบริษัทตองเผชิญกับความเสี่ยงทางการเงินที่สําคัญไดแกความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราตางประเทศความเสี่ยง จากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากราคาน้ํามัน ความเสี่ยงจากอัตราคาระวางและความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ กลุมบริษัทใช เครื่องมือทางการเงินเพื่อลดความไมแนนอนของกระแสเงินสดในอนาคตที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนอัตรา ดอกเบี้ย ราคาน้ํามัน และอัตราคาระวาง และเพื่อชวยในการบริหารสภาพคลองของเงินสด การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงคของกลุมบริษัทในการบริหารทุนของบริษัทนั้นเพื่อดํารงไวซึ่งความสามารถในการดําเนินงานอยางตอเนื่องของ กลุมบริษัทเพื่อสรางผลตอบแทนตอผูถือหุนและเปนประโยชนตอผูที่มีสวนไดเสียอื่น และเพื่อดํารงไวซึ่งโครงสรางของทุนที่ เหมาะสมเพื่อลดตนทุนทางการเงินของทุน ในการดํารงไวหรือปรับโครงสรางของทุน กลุมบริษัทอาจปรับนโยบายการจายเงินปนผลใหกับผูถือหุน และออกหุนสามัญใหม หรือหุนกู ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศและอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเปนความเสี่ยงหลักที่ตองเผชิญเนื่องจากกลุมบริษัทมีรายการซื้อและใหบริการสวนใหญเปนเงินตรา ตางประเทศ สวนความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยเปนความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวนในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งความ ผันผวนดังกลาวจะสงผลกระทบตอผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดของกลุมบริษัท โดยกลุมบริษัทบริหารความเสี่ยงดังกลาว ดังตอไปนี้ ก) สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศและอัตราดอกเบี้ย บริษัทไดทําสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศและอัตราดอกเบีย้ กับสถาบันการเงินแหงหนึ่งสําหรับหุนกูสกุลเงินบาท อายุ 5 ปและ 7 ป และจะครบกําหนดในป 2558 และ 2560 มีอัตราดอกเบี้ยคงที่เปนสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ รอยละ 3.65 ตอปและ 3.60 ตอป ตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 หุนกูมียอดคงเหลือจํานวน 127.83 ลานเหรียญสหรัฐฯ (30 กันยายน 2557: 127.83 ลานเหรียญสหรัฐฯ) โดยหุนกูนมี้ ียอดตามสกุลเงินเดิมจํานวน 4,000 ลานบาท (30 กันยายน 2557: 4,000 ลานบาท)
113
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
251
บริษัทไดทําสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศและอัตราดอกเบี้ยกับสถาบันการเงินแหงหนึ่งสําหรับเงินกูร ะยะยาวซึง่ มี กําหนดชําระคืนมากกวา 5 ป บริษัทไดแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยจากอัตราดอกเบี้ยคงที่สําหรับสกุลเงินบาทประจํา 6 เดือนบวกรอยละ 2 ตอป เปนอัตราดอกเบี้ยสําหรับสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ อัตรา LIBOR ประเภท 6 เดือนบวกรอยละ 2.93 ตอป ในเดือนกันยายน 2557 บริษัทไดยกเลิกสัญญาบางสวน (unwind) เพื่อใหภาระหนี้สินบางจํานวนกลับไปเปน เงินบาทเพื่อใหสอดคลองกับแหลงเงินทุนของบริษัท ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือของเงินกูระยะยาว จํานวน 25.04 ลานเหรียญสหรัฐฯ (30 กันยายน 2557 แบงออกเปน 2 สกุลเงิน : 60 ลานบาท และ 28.25 ลานเหรียญ สหรัฐฯ) โดยเงินกูยืมนี้มียอดตามสกุลเงินเดิมจํานวน 780 ลานบาท (30 กันยายน 2557 : 940 ลานบาท) มูลค ายุติ ธรรมสุ ทธิข องสัญญาแลกเปลี่ย นเงินตราต างประเทศและอัต ราดอกเบี้ย ณ วัน ที่ในงบแสดงฐานะการเงิ น มีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตาง ประเทศและอัตราดอกเบี้ยที่เปน หนี้สิน
325,627
277,945
325,627
277,945
มูลคายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศและอัตราดอกเบี้ยไดคํานวณโดยใชอัตราที่กําหนดโดยธนาคาร คูสัญญา โดยถือเสมือนวาไดยกเลิกสัญญาเหลานั้น ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน
114
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 252 งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุประกอบงบการเงิ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 กลุมบริษัทและบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศซึ่งเกิดจากการมีสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินซึ่งกําหนดในสกุลเงินตางประเทศ มีดังตอไปนี้
หมายเหตุ เหรียญสหรัฐฯ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การคา ลูกหนี้จากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้นแก กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาว แกบุคคลภายนอก เงินกูยืมระยะสั้น เงินกูยืมระยะสั้นจาก กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น เจาหนี้กิจการทีเ่ กี่ยวของกัน เงินรับลวงหนาจากลูกคา เงินกูยืมระยะยาว ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงิน ที่มีความเสี่ยง สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ความเสี่ยงสุทธิ
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 4,442,962 17,898 2,830,674 1,098,593
20
3,861,714 17,508 446,421 1,426,811
506,113 -
555,921 52,639 1,083,845
-
-
-
20,110 (219,329)
-
-
-
(1,151,365) (127,685) (1,454) (459,046) (8,666,045)
(809,788) (244,923) (1,829) (216,039) (7,741,427)
(1,219,394) (1,185) (27) (275) -
(1,197,406) (592) (26) (270) -
(2,214,687)
(3,261,552)
(714,768)
494,111
(2,214,687)
(3,261,552)
(714,768)
494,111
115
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
253
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) เหรียญสิงคโปร เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา เงินใหกูยืมระยะสั้นแก กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น เจาหนี้กิจการทีเ่ กี่ยวของกัน ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงิน ที่มีความเสี่ยง สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ความเสี่ยงสุทธิ
167,378 65
63,747 -
266 -
273
(25,183) (4,262) -
(10,414) -
747,331 (51,118)
(52,203)
137,998 137,998
53,333 53,333
696,479 696,479
(51,930) (51,930)
-
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) ดองเวียดนาม เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา เจาหนี้การคา ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงิน ที่มีความเสี่ยง
151,756 13,029 (33,642)
263,120 51,041 (42,939)
-
-
131,143
271,222
-
-
สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ความเสี่ยงสุทธิ
131,143
271,222
-
-
116
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ น 254ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) ปอนดสเตอรลิง เงินลงทุนระยะสั้น ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงิน ที่มีความเสี่ยง
18,093
15,929
18,093
15,929
18,093
15,929
18,093
15,929
สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ความเสี่ยงสุทธิ
18,093
15,929
18,093
15,929
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) รูเปย อินโดนีเซีย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงิน ที่มีความเสี่ยง
6,823 (19,549) (19,041)
13,141 (26,363) (17,202)
-
-
(31,767)
(30,424)
-
-
สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ความเสี่ยงสุทธิ
(31,767)
(30,424)
-
-
ข) สัญญาแลกเปลี่ยนราคาน้ํามัน ในระหวางงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทยอยไดทําสัญญาแลกเปลี่ยนราคาน้ํามันกับธนาคารพาณิชย เพื่อปองกันความเสี่ยงจากราคาน้ํามัน ที่เกี่ยวของกับภาระผูกพันในการใหบริการตามสัญญาขนสงระยะยาว ภายใตสัญญา แลกเปลี่ยนราคาน้ํามันนี้ ราคาน้ํามันจะถูกกําหนดอยูในชวง 365.0 เหรียญสหรัฐฯ ถึง 383.5 เหรียญสหรัฐฯ (30 กันยายน 2557 เปน 572.0 ถึง 594.0 เหรียญสหรัฐฯ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ปริมาณน้ํามันคงเหลือเทากับ 2,000 เมทริกตัน (30 กันยายน 2557 เปน 6,000 เมทริกตัน) 117
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
255
มูลคายุติธรรมสุทธิของสัญญาแลกเปลี่ยนราคาน้ํามัน ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน มีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันเหรียญสหรัฐฯ) สัญญาแลกเปลี่ยนราคาน้ํามัน - สุทธิ เปนสินทรัพย
143
320
-
-
ค) สัญญาซื้อขายคาระวางลวงหนา TSS ไดทําสัญญาซื้อขายคาระวางลวงหนากับสถาบันการเงิน เพื่อปองกันความเสี่ยงจากราคาคาระวางสําหรับเรือเดินทะเล เชา ภายใตสัญญาซื้อขายคาระวางลวงหนานี้ ราคาคาระวางจะถูกกําหนดอยูในชวง 8,750 เหรียญสหรัฐฯ ถึง 9,500 เหรียญ สหรัฐฯตอวัน (30 กันยายน 2557: 11,300 เหรียญสหรัฐฯ ถึง 14,200 เหรียญสหรัฐฯตอวัน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีสัญญาซื้อขายคาระวางลวงหนาสําหรับขาย จํานวน 420 วัน (30 กันยายน 2557: 60 วัน) มูลคายุติธรรมสุทธิของสัญญาซื้อขายคาระวางลวงหนา ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน มีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันเหรียญสหรัฐฯ) สัญญาซื้อขายคาระวางลวงหนา สุทธิที่เปนสินทรัพย
109
96
-
-
ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ คือความเปนไปไดที่เกิดผลขาดทุนทางการเงินจากการผิดนัดของลูกคาหรือคูคาในการชําระภาระ ผูกพันทางการเงินและขอตกลงทางสัญญาใหแกกลุมบริษัทเมื่อถึงกําหนด รายไดสวนใหญของกลุมบริษัท ซึ่งไดแกคาระวางเรือ ลูกคาจะจายใหลวงหนาหรือจายใหกอนสินคาจะสงถึงลูกคา ดังนั้น ผูบริหารจึงมีความเห็นวาความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อไมเปนสาระสําคัญและคาใชจายในการปองกันความเสี่ยงไมคุมกับ ประโยชนที่ไดรับ กลุมบริษัทไมไดทําสัญญาอนุพันธทางการเงินใดที่เกี่ยวของกับความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ
118
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 256 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
สําหรับรายไดจากการใหบริการนอกชายฝง และรายไดจากการขายและใหบริการ ผูบริหารมีความเห็นวาความเสี่ยงดานการให สินเชื่อไมเปนสาระสําคัญ บริษัทมีนโยบายที่เหมาะสมที่จะทําใหเชื่อมั่นไดวาบริษัทขายสินคาและใหบริการแกลูกคาที่มีประวัติ ดานสินเชื่อที่เหมาะสม การกําหนดมูลคายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปดเผยของกลุมบริษัท/บริษัท กําหนดใหมีการกําหนดมูลคายุติธรรมทั้งสินทรัพยและหนี้สินทั้งทาง การเงินและไมใชทางการเงิน มูลคายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพยหรือชําระหนี้สิน กัน ในขณะที่ทั้งสองฝายมีความรอบรูและเต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะ ของผูที่ไมมีความเกี่ยวของกัน วัตถุประสงคของการวัดมูลคาและ/หรือการเปดเผยมูลคายุติธรรมถูกกําหนดโดยวิธีตอไปนี้ ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานในการกําหนดมูลคายุติธรรมถูกเปดเผยในหมายเหตุที่เกี่ยวของกับสินทรัพยและหนี้สินนั้นๆ มูลคายุติธรรมของลูกหนี้การคาและลูกหนี้ระยะสั้นอื่นๆ เปนมูลคาที่ใกลเคียงกับมูลคาตามบัญชี มูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินมีมูลคายุติธรรมใกลเคียงกับมูลคาตามบัญชีที่ปรากฏในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 33
ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
33.1 ภาระผูกพันฝายทุน กลุมบริษัทมีภาระผูกพันฝายทุนที่สําคัญจากสัญญาเกี่ยวกับอาคาร เครื่องจักร การกอสรางโกดังเก็บสินคา การสรางเรือ การซอมเรือครั้งใหญ และอุปกรณสําหรับเรือ แตยังไมไดรับรูเปนหนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ วันที่ 30 กันยายน 2557 ดังตอไปนี้ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 (ลาน)
เหรียญสหรัฐฯ ดองเวียดนาม บาท
374.4 47,752.6 1.9
119
372.1 79,426.8 1.9
-
-
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำปปีระกอบงบการเงิ 2557 หมายเหตุ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
257
33.2 ภาระผูกพันอื่น ก)
ภาระผูกพันตามสัญญาเชาดําเนินงาน จํานวนเงินขั้นต่ําที่กลุมบริษัทตองจายในอนาคตตามสัญญาเชาดําเนินงานที่ไมสามารถยกเลิกไดของเรือและที่ดิน ดังตอไปนี้
ภายใน 1 ป ระหวาง 1 ป แตไมเกิน 5 ป มากกวา 5 ป รวม ข)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 2557 2557 (พันบาท) 1,015,069 324,716 296,184 2,315,962 160,620 99,164 720,064 3,491,651
ภาระผูกพันตามสัญญาซื้อขายถานหิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 30 กันยายน 2557 UMS ซึ่งเปนบริษัทยอยมีภาระผูกพันตามสัญญาซื้อขายถานหินกับ ผูผลิตถานหินในตางประเทศในปริมาณที่กําหนดตามสัญญา บวกหรือหักรอยละ 10 ราคาของถานหินสามารถเปลี่ยนแปลง ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับคุณภาพของถานหินตามสูตรการคํานวณที่ระบุในสัญญา นอกจากนี้ UMS มีภาระผูกพันตามสัญญาขาย ถานหินแกผูประกอบการในประเทศในปริมาณที่กําหนดบวกหรือหักรอยละ 10 ดวยราคาคงที่ตามสัญญา
33.3 สัญญาที่สําคัญ สัญญาเชาเรือเดินทะเลและเรือขุดเจาะน้ํามัน งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557 สัญญาใหเชาระยะยาว จํานวนเรือเดินทะเลและเรือขุดเจาะน้ํามัน ระยะเวลาที่เหลือ (เดือน) สัญญาเชาระยะยาว จํานวนเรือเดินทะเล ระยะเวลาที่เหลือ (เดือน)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 30 กันยายน 2557 2557
1 15
1 18
-
-
3 14 - 60
2 5 - 26
-
-
120
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 258ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
33.4 หนี้สินที่คาดวาจะเกิดขึ้น ก) การค้ําประกัน บริษัทและกลุมบริษัทไดค้ําประกันเพื่อประโยชนในการประกอบธุรกิจตามปกติ ดังตอไปนี้ 31 ธันวาคม 2557 งบการเงินรวม
ลานบาท หนังสือค้ําประกันที่ธนาคารออกให ในนามกลุมบริษัท ภาระค้าํ ประกันโดยกลุมบริษัทแก สถาบันการเงินเพื่อค้ําประกันวงเงิน สินเชื่อการซื้อวัตถุดิบ สัญญาประกัน ราคาน้ํามันและสัญญาซื้อขายคาระวาง ลวงหนา
ลานเหรียญ สหรัฐฯ
25.7
26.5
3.1
252.3
ลานดอง เวียดนาม
ลาน อาหรับเอมิเรตส เดอรแฮม
128,174.5
5.0
-
-
31 ธันวาคม 2557 งบการเงินเฉพาะกิจการ ลานบาท ลานเหรียญสหรัฐฯ หนังสือค้ําประกันที่ธนาคารออกให ในนามกลุมบริษัท
2.7
ภาระค้าํ ประกันโดยกลุมบริษัทแกสถาบันการเงินเพื่อค้ําประกัน วงเงินสินเชื่อ การซื้อวัตถุดิบ สัญญาประกันราคาน้ํามัน และสัญญาซื้อขายคาระวางลวงหนา
3.1
121
-
127.9
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น รายงานประจ� ำ ปี 2557
259
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
30 กันยายน 2557 งบการเงินรวม
ลานบาท หนังสือค้ําประกันที่ธนาคารออกให ในนามกลุมบริษัท ภาระค้าํ ประกันโดยกลุมบริษัทแก สถาบันการเงินเพื่อค้ําประกันวงเงิน สินเชื่อการซื้อวัตถุดิบ สัญญาประกัน ราคาน้ํามันและสัญญาซื้อขาย คาระวางลวงหนา
ลานเหรียญ สหรัฐฯ
26.0
26.5
3.1
226.2
ลานดอง เวียดนาม
ลานอาหรับ เอมิเรตส เดอรแฮม
43,172.0
5.0
-
-
30 กันยายน 2557 งบการเงินเฉพาะกิจการ ลานบาท ลานเหรียญสหรัฐฯ หนังสือค้ําประกันที่ธนาคารออกให ในนามกลุมบริษัท
3.1
ภาระค้าํ ประกันโดยกลุมบริษัทแกสถาบันการเงินเพื่อค้ําประกัน วงเงินสินเชื่อ การซื้อวัตถุดิบ สัญญาประกันราคาน้ํามัน และสัญญาซื้อขายคาระวางลวงหนา
3.1
-
97.1
ข) หนี้สินที่คาดวาจะเกิดขึ้นอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทยอยแหงหนึ่งมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นอื่นเปนจํานวนประมาณ 2 ลานเหรียญสหรัฐฯ (30 กันยายน 2557: 2 ลานเหรียญสหรัฐฯ) 34
เหตุการณภายหลังวันที่ในงบการเงิน บริษัท ที่ประชุมคณะกรรมการ เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2558 ไดอนุมัติใหเงินสนับสนุนแก UMS ในรูปแบบของเงินกูยืมหรือ วงเงินสินเชื่อ เปนจํานวนเงินไมเกิน 125 ลานบาท มีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.6 เพื่อสนับสนุนความตองการเงินทุนหมุนเวียนของ UMS 122
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 260 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ที่ประชุมใหญสามัญประจําปของผูถือหุนครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2558 ผูถือหุนมีมติอนุมัติดังตอไปนี้ • •
•
•
การจายเงินปนผลประจําป เปนจํานวน 0.25 บาทตอหุน รวมเปนเงินทั้งสิ้น 325.3 ลานบาท โดยเงินปนผลไดถูกจาย ใหแกผูถือหุนในวันที่ 23 กุมภาพันธ 2558 การลดทุนจดทะเบียนของบริษัทโดยตัดหุนสามัญจดทะเบียนที่ยังไมไดนําออกจําหนายจํานวนรวม 6,642,035 หุน ทํา ใหลดทุนจดทะเบียนของบริษัทจากจํานวน 1,544,105,835 บาท เปนทุนจดทะเบียนจํานวน 1,537,463,800 บาท แบงออกเปนหุนสามัญจํานวน 1,537,463,800 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท การเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจํานวน 739,383,450 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท จากทุนจดทะเบียนของบริษัท เดิมจํานวน 1,537,463,800 บาท ทุนจดทะเบียนใหมของบริษัทจํานวน 2,276,847,250 หุน แบงออกเปนหุนสามัญ จํานวน 2,276,847,250 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท และแกไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณหสนธิขอ 4 ของบริษัท เพื่อใหสอดคลองกับการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท ใหออกและเสนอขายหลักทรัพยดังมีรายละเอียดตอไปนี้ - หุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทจํานวนไมเกิน 520,470,459 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท ควบกับ - ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ 5 (“TTA-W5” หรือ “ใบสําคัญแสดงสิทธิ”) จํานวนไมเกิน 173,490,153 หนวย หลักทรัพยดังกลาวจะเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมตามสัดสวนการถือหุน (Rights Offering : RO) ในอัตราสวน 15 หุนสามัญเดิม ตอ 6 หุนสามัญใหมควบกับ 2 หนวยใบสําคัญแสดงสิทธิ(อัตราสวน 15:6:2)ราคา RO หุนละ 14 บาท ราคาเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิหนวยละ 0 บาทและมีราคาใชสิทธิซื้อหุนตามใบสําคัญแสดงสิทธิ 18.5 บาทตอหุน (เวนแตในกรณีมีการปรับสิทธิ) ผูถือหุนเดิมที่ใชสิทธิจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนจะตองใชสิทธิจองซื้อ ใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมดในคราวเดียวกันและเปนไปตามสัดสวน
•
จัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ดังตอไปนี้ การเสนอขายหุนสามัญเพิม่ ทุน - จัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวนไมเกิน 520,470,459 หุนมูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาทเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิม ตามสัดสวนการถือหุน ในอัตราสวน 15 หุนสามัญเดิมตอ 6 หุนสามัญใหม ราคาเสนอขายหุนละ 14 บาท - ผูถือหุนมีสิทธิจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนเกินกวาสิทธิของตนตามอัตราสวนที่กําหนดไวขางตนได สิทธิ ดังกลาวจะ ใชไดไมเกินรอยละ 20 ของจํานวนหุนที่ผูถือหุนแตละรายนั้นถืออยู โดยผูถือหุนเดิมที่จองซื้อหุนเกินกวาสิทธิจะ ไดรับการจัดสรรหุนที่จองซื้อเกินกวาสิทธิก็ตอเมื่อมีหุนที่เหลือจากการจัดสรรใหแกผูถือหุนเดิมที่ไดจองซือ้ ตามสิทธิ ครบถวนทั้งหมดแลวเทานั้น การจัดสรรหุนที่จองซื้อเกินกวาสิทธิ จะตองรักษาสัดสวนการถือหุน ใหอยูภายใต ขอบังคับของบริษัทที่อนุญาตใหคนตางดาวถือหุนอยูในบริษัทไดไมเกินรอยละ 49 ของจํานวนหุนที่ออกจําหนาย ทั้งหมดของบริษัท - ในกรณีที่มีหุนสามัญเพิ่มทุนเหลือจากการจัดสรรใหแกผูถือหุนเดิม บริษัทจะดําเนินการจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนที่ เหลืออยูแกบุคคลในวงจํากัด (“การเสนอขายหุนที่ออกใหมตอบุคคลในวงจํากัด”)ราคาเสนอขายหุนที่ออกใหมตอ บุคคลในวงจํากัดนี้จะไมต่ํากวารอยละ 90 ของราคาตลาด อยางไรก็ตาม ราคาเสนอขายหุนที่ออกใหมตอบุคคลใน วงจํากัดนี้จะไมต่ํากวาราคาเสนอขายหุนตอผูถือหุนเดิมตามสัดสวน 123
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
261
การจัดสรรหุนสามัญเพิม่ ทุนเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ - จัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนไมเกิน 173,490,153 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาทเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทครั้งที่ 5 บริษัทอยูระหวางดําเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ 2558 บริษัทปรับราคาใชสิทธิและอัตราใชสิทธิใหมสําหรับ TTA-W3 และ TTA-W4 ดังนี้ TTA-W3 ราคาใชสิทธิเดิมกอนการปรับสิทธิ ราคาใชสิทธิใหมหลังการปรับสิทธิ อัตราใชสิทธิเดิมกอนการปรับสิทธิ อัตราใชสิทธิใหมหลังการปรับสิทธิ
: : : :
16.1655 บาท ตอหุน 15.2628 บาท ตอหุน 1 หนวยใบสําคัญแสดงสิทธิ ตอ 1.0516 หุนสามัญ 1 หนวยใบสําคัญแสดงสิทธิ ตอ 1.1138 หุนสามัญ
TTA-W4 ราคาใชสิทธิเดิมกอนการปรับสิทธิ ราคาใชสิทธิใหมหลังการปรับสิทธิ อัตราใชสิทธิเดิมกอนการปรับสิทธิ อัตราใชสิทธิใหมหลังการปรับสิทธิ
: : : :
18.5000 บาท ตอหุน 17.4669 บาท ตอหุน 1 หนวยใบสําคัญแสดงสิทธิ ตอ 1.0000 หุนสามัญ 1 หนวยใบสําคัญแสดงสิทธิ ตอ 1.0591 หุนสามัญ
งบการเงินรวม TSS เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2557 TSS ไดจองซื้อหุนสามัญใหมของบริษัทยอยแหงใหม Thoresen Shipping Arabia DMCC จํานวน 10 หุน ในราคา 10,000 สหรัฐอาหรับเอมิเรตสเดอรแฮมตอหุน เปนจํานวนเงินลงทุนทั้งหมดมูลคา 100,000 สหรัฐ อาหรับเอมิเรตสเดอรแฮม สัดสวนการถือครองของกลุมบริษัทเปนรอยละ 100 MMPLC การจายเงินปนผล ที่ประชุมสามัญประจําปของผูถือหุนของ MMPLC เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2558 ผูถือหุนไดอนุมัติการจัดสรรเงินปนผลจํานวน 0.0047 เหรียญสหรัฐฯตอหุน เปนจํานวนเงินรวม 6.7 ลานเหรียญสหรัฐฯเทียบเทากับ 218 ลานบาท โดยเงินปนผลไดถูกจาย ใหแกผูถือหุนของ MMPLC เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2558 124
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 262 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
การเสนอจายเงินปนผล ที่ประชุมคณะกรรมการของ MMPLC เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2558 ไดอนุมัติเสนอการจายเงินปนผลประจําปเปนจํานวน 0.0040 เหรียญสหรัฐฯตอหุน หรือ เทียบเทากับ 0.1279 บาทตอหุน เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 5.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือ เทียบเทากับ 181 ลานบาท เงินปนผลจะถูกเสนอตอที่ประชุมใหญสามัญประจําปของผูถือหุนใน เดือนเมษายน 2558 เพื่อการ พิจารณาและอนุมัติ 35
มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไมไดใช มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหมหลายฉบับไดมีการประกาศและยังไมมีผลบังคับใชและไมไดนํามาใช ในการจัดทํางบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหมเหลานี้อาจเกี่ยวของกับการดําเนินงานของ กลุมบริษัท และถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ในปดังตอไปนี้ กลุม บริษัท/บริษัทไมมีแผนที่จะนํามาตรฐานการรายงานทางการเงินเหลานี้มาใชกอนวันถือปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2557)
เรื่อง การนําเสนองบการเงิน สินคาคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทาง บัญชีและขอผิดพลาด เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ภาษีเงินได ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สัญญาเชา รายได ผลประโยชนของพนักงาน ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ ตนทุนการกูยืม การเปดเผยขอมูลเกีย่ วกับบุคคลหรือกิจการที่ เกี่ยวของกัน การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชนเมื่อ ออกจากงาน งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทรวมและการรวมคา กําไรตอหุน 125
ปที่มีผล บังคับใช 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557)
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
เรื่อง งบการเงินระหวางกาล การดอยคาของสินทรัพย ประมาณการหนี้สิน หนีส้ ินที่อาจเกิดขึ้น และ สินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพยไมมีตัวตน อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ
263
ปที่มีผล บังคับใช 2558 2558 2558 2558 2558 2558
การรวมธุรกิจ
2558
สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการ ดําเนินงานที่ยกเลิก สวนงานดําเนินงาน
2558
งบการเงินรวม การรวมการงาน การเปดเผยขอมูลเกีย่ วกับสวนไดเสียในกิจการอื่น การวัดมูลคายุติธรรม ความชวยเหลือจากรัฐบาล-กรณีที่ไมมีความเกี่ยวของ อยางเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน สัญญาเชาดําเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา
2558 2558 2558 2558 2558
ภาษีเงินได-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของ กิจการหรือของผูถือหุน การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรูปแบบ กฎหมาย การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชา หรือไม การโอนสินทรัพยจากลูกคา
2558
2558
2558
2558 2558 2558
กลุมบริษัทไดประเมินในเบื้องตนถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตองบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะกิจการจากการถือปฏิบัติตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหมเหลานี้ซึ่งคาดวาไมมีผลกระทบที่มีสาระสําคัญตองบการเงินในงวดที่ถือ ปฏิบัติ 126
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 264 ประกอบงบการเงิ งบการเงินรวมและงบการเงิ นของบริษัท หมายเหตุ น 36
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ขอมูลเพิ่มเติม (ไมไดตรวจสอบ) ตามที่อธิบายในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอที่ 2 (จ) เรื่องการเปลี่ยนรอบระยะเวลาบัญชีของบริษัท งบการเงินรวมสําหรับ ระยะเวลาสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ไดถูกจัดทําและนําเสนอเปนครั้งแรกสําหรับรอบระยะเวลาใหมตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2557 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ซึ่งเปนไปตามรูปแบบการนําเสนองบการเงินที่กําหนด เพื่อประโยชนตอผูใชงบการเงินในการเปรียบเทียบและวิเคราะหขอมูลทางการเงิน บริษัทจึงไดจัดทําขอมูลเพิ่มเติมในรูปแบบ งบกําไรขาดทุนรวมสําหรับระยะเวลาสิบสองเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 โดยมีรายละเอียดดังตอนี้ งบกําไรขาดทุนรวม 2557 (ไมไดตรวจสอบ)
2556 (ไมไดตรวจสอบ) (พันบาท)
รายได รายไดจากการบริการ คาระวาง คาบริการจากธุรกิจนอกชายฝง คาบริการและคานายหนา รายไดจากการขาย รวมรายได
7,661,246 10,664,400 245,457 3,770,150 22,341,253
4,975,885 9,276,747 319,647 4,997,274 19,569,553
ตนทุน ตนทุนการใหบริการ คาใชจายในการดําเนินงานเกี่ยวกับเรือเดินทะเล คาใชจายในการบริการจากธุรกิจนอกชายฝง คาใชจายในการใหบริการและคานายหนา ตนทุนขาย รวมตนทุน
7,071,331 8,923,249 134,459 3,023,431 19,152,470
4,774,421 7,454,473 143,353 4,278,584 16,650,831
127
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานประจ� ำ ปี 2557 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
งบกําไรขาดทุนรวม 2557 (ไมไดตรวจสอบ)
2556 (ไมไดตรวจสอบ) (พันบาท)
กําไรขั้นตน รายไดจากการดําเนินงานอื่น กําไรกอนคาใชจาย
3,188,783 383,116 3,571,899
2,918,722 311,320 3,230,042
คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร การดอยคาและการตัดจําหนาย รวมคาใชจาย
281,902 2,269,603 89,103 2,640,608
304,251 2,030,381 4,884,949 7,219,581
กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงาน สวนแบงกําไรจากบริษัทรวมและกิจการรวมคา กําไร (ขาดทุน) กอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได
931,291 1,182,068 2,113,359
(3,989,539) 490,788 (3,498,751)
494,165
511,298
1,619,194 212,277 1,406,917
(4,010,049) 357,737 (4,367,786)
920,422 486,495 1,406,917
(4,751,397) 383,611 (4,367,786)
0.74 0.72
(5.06) (5.06)
ตนทุนทางการเงิน กําไร (ขาดทุน) กอนภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินได กําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับป การปนสวนกําไร (ขาดทุน) สุทธิ สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัท สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม กําไร (ขาดทุน) ตอหุน กําไร (ขาดทุน) ตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) กําไร (ขาดทุน) ตอหุนปรับลด (บาท)
128
265
บริษัท โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส. เอ.
บริษัท โทรีเซนวินามา เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด
2. บริษัท บาคองโค จ�ำกัด
บริษัทที่เกี่ยวข้อง
1. บริษัท บาคองโค จ�ำกัด
บริษัท
บริษัท บาคองโค จ�ำกัด ให้เช่าพื้นที่โรงงานกับ บริษัท โทรีเซน-วินามา เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด บริษัท บาคองโค จ�ำกัด ใช้บริการขนส่งสินค้าจาก บริษัท โทรีเซน-วินามา เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด
บริษัท บาคองโค จ�ำกัด ใช้บริการขนส่งสินค้าจาก บริษัท โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส. เอ.
ลักษณะรายการ
29,284,232 (บันทึกเป็น รายได้ค่าเช่า)
ราคาใกล้เคียงกับราคาตลาด 44,803,612 (บันทึกเป็น รายจ่ายค่าขนส่ง) 8,019,159 (บันทึกเป็น รายจ่ายค่าขนส่ง)
ราคาใกล้เคียงกับราคาตลาด
ราคาปกติที่บริษัท โทรีเซน 88,479,298 (อินโดไชน่า) เอส.เอ. ให้บริการ (บันทึกเป็น รายจ่ายค่าขนส่ง) กับลูกค้ารายอืน่
9,614,220 (บันทึกเป็น รายได้ค่าเช่า)
9,180,773 (บันทึกเป็น รายจ่ายค่าขนส่ง)
นโยบายการคิดราคา
รายการระหว่างกัน
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุ้น ร้อยละ 100 ในบริษัท บาคองโค จ�ำกัด TTA ถือหุ้นร้อยละ 50 ใน บริษัท โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส. เอ. จ�ำกัด TTA ถือหุ้นทางอ้อมใน บริษัท บาคองโค จ�ำกัด และถือหุ้น ทางตรงใน บริษัท โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส.เอ จ�ำกัด TTA ถือหุ้นร้อยละ 100 ใน บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
TTA ถือหุ้นร้อยละ 100 ใน บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ความสัมพันธ์
มูลค่ารายการ (บาท) 31 ธันวาคม 2557 30 กันยายน 2557
ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 รายการระหว่างกันของบริษัทฯ กับบริษัทย่อย หรือระหว่างกันภายในบริษัทย่อย ได้แสดงไว้ในหมายเหตุประกอบงบของงบการเงินรวมของบริษัทฯ แล้ว ทั้งนี้ รายการระหว่างกันซึ่งมีสาระส�ำคัญของ บริษัทฯ และบริษัทย่อยกับบริษัทร่วม หรือกิจการร่วมค้า หรือรายการระหว่างกันกับบริษัทหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีดังต่อไปนี้
รายการระหว่างกัน
266 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
3. บริษัท บาคองโค จ�ำกัด
บริษัท
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุ้น ร้อยละ100 ใน บริษัท บาคองโค จ�ำกัด TTA ถือหุ้นร้อยละ 50 ใน บริษัท โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส. เอ. และบริษัท โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส.เอ. ถือหุ้น ร้อยละ 49 ใน บริษัท โทรีเซนวินามา เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด
ความสัมพันธ์
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 100 ในบริษัท บาคองโค จ�ำกัด TTA ถือหุ้นร้อยละ 50 ในบริษัท โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส. เอ. และบริษัท โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส.เอ. ถือหุ้นร้อยละ 49 ในบริษัท โทรีเซน-วินามา เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด
TTA ถือหุ้นทางอ้อมทั้งสอง บริษัท บริษัท โทรีเซน-วินามา TTA ถือหุ้นร้อยละ 100 ใน โลจิสติกส์ จ�ำกัด บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัทที่เกี่ยวข้อง
บริษัท โทรีเซน-วินามา โลจิสติกส์ จ�ำกัด ให้บริการ ด้านโลจิสติกส์ กับบริษัท บาคองโค จ�ำกัด
ลักษณะรายการ
8,177,833 (บันทึกเป็น รายจ่ายค่าขนส่ง
27,931,530 (บันทึกเป็น รายจ่ายค่าขนส่ง
มูลค่ารายการ (บาท) 31 ธันวาคม 2557 30 กันยายน 2557
ราคาใกล้เคียบกับราคาตลาด
นโยบายการคิดราคา
รายงานประจ� ำ ปี 2557
รายการระหว่างกัน
267
บาเรีย เซเรส
บริษัทที่เกี่ยวข้อง
และ บริษัท โทรีเซน-วินามา เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด ถือหุ้นร้อยละ 100 ใน บริษัท โทรีเซน-วินามา โลจิสติกส์ จ�ำกัด TTA ถือหุ้นทางอ้อมทั้งสองบริษัท TTA ถือหุ้นร้อยละ 100 ใน บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี แอลทีดี บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุ้น ร้อยละ 100 ใน บริษัท บาคองโค จ�ำกัด บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี แอลทีดี ถือหุ้นร้อยละ 20 ในบาเรีย เซเรส TTA ถือหุ้นทางอ้อมทั้งสองบริษัท TTA ถื อ หุ ้ น ร้ อ ยละ 57.8 (30 กันยายน พ.ศ. 2557 : ถือหุ้น ร้อยละ 57.42) ในบริษทั เมอร์เมด มาริไทม์ จ� ำกัด (มหาชน) โดย บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 100 ใน บริษทั เมอร์เมด ซับซี เซอร์วสิ เซส (อินเตอร์เนชัน่ แนล) จ�ำกัด และถือ หุ้นร้อยละ 40 ใน Zamil Mermaid Offshore Services Company (LLC).
ความสัมพันธ์
1,589,943 6,332,598 ตามต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง (บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย (บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย ในการบริหาร) ในการบริหาร)
บาเรีย เซเรส เรียกเก็บ ค่าใช้จ่ายในการบริหาร จากบริษัท บาคองโค จ�ำกัด
Zamil Mermaid Offshore 691,912,286 2,701,004,010 ราคาตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัท Services Company (LLC). (บันทึกเป็นรายได้จาก (บันทึกเป็นรายได้ เมอร์เมด ซับซี เซอร์วิสเซส ว่าจ้างบริษัท เมอร์เมด ซับซี การให้บริการ) จากการให้บริการ) (อินเตอร์เนชั่นแนล) จ�ำกัด กับ เซอร์วิสเซส (อินเตอร์ Zamil Mermaid Offshore เนชั่นแนล) จ�ำกัด เพื่อให้ Services Company (LLC). บริการส�ำรวจใต้ทะเล ซึ่งเป็นราคาปกติที่ให้กบั บุคคล ซ่อมแซม และซ่อมบ�ำรุงแก่ ภายนอก บริษัท Saudi Aramco
4,038,023 21,901,515 ราคาใกล้เคียงกับราคาตลาด (บันทึกเป็นรายจ่าย (บันทึกเป็นรายจ่าย ค่าขนส่ง) ค่าขนส่ง)
นโยบายการคิดราคา
บริษัท บาคองโค จ�ำกัด ใช้บริการที่เกี่ยวข้องกับ ท่าเรือจาก บาเรีย เซเรส
ลักษณะรายการ
รายการระหว่างกัน
5. บริษัท เมอร์เมด Zamil Mermaid ซับซี เซอร์วิสเซส Offshore Services (อินเตอร์เนชั่นแนล) Company (LLC). จ�ำกัด
4. บริษัท บาคองโค จ�ำกัด
บริษัท
มูลค่ารายการ (บาท) 31 ธันวาคม 2557 30 กันยายน 2557
268 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ราคาใกล้เคียง กับราคาตลาด
ราคาใกล้เคียง กับราคาตลาด
67,800 17,500 TTA ถือหุ้นร้อยละ 57.8 (30 กันยายน TTA ให้บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ พ.ศ. 2557 : ถือหุ้นร้อยละ 57.42) ใน จ�ำกัด (มหาชน) เช่าห้องประชุม (บันทึกเป็นรายได้จาก (บันทึกเป็นรายได้จาก การให้บริการ) การให้บริการ) บริษทั เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) และที่จอดรถ โดยมี น ายเฉลิ ม ชั ย มหากิ จ ศิ ริ เ ป็ น ผู้ถือหุ้นในทั้งสองบริษัท 1,722,600 (บันทึกเป็นรายจ่าย ค่าเช่าส�ำนักงาน)
TTA ถือหุน้ ร้อยละ 57.8 (30 กันยายน TTA เช่าพื้นที่ส�ำนักงาน ชั้น 9 พ.ศ. 2557 : ถือหุ้นร้อยละ 57.42) อาคารอรกานต์ จากบริ ษั ท ในบริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) (มหาชน) โดยมี นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ เป็นผู้ถือหุ้นในทั้งสองบริษัท
ราคาใกล้เคียง 68,954.75 386,220 TTA ถือหุ้นร้อยละ 57.8 (30 กันยายน TTA ให้เช่าพืน้ ทีส่ ำ� นักงาน ชัน้ 10 (บันทึกเป็นรายได้ค่าเช่า (บันทึกเป็นรายได้ค่าเช่า กับราคาตลาด พ.ศ. 2557 : ถือหุ้นร้อยละ 57.42) ใน อาคารอรกานต์ แก่บริษัท และค่าธรรมเนียม) และค่าธรรมเนียม) บริ ษั ท เมอร์ เ มด มาริ ไ ทม์ จ� ำ กั ด เมอร์เมด ดริลลิ่งค์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 95 ใน บริษัท เมอร์เมด ดริลลิ่งค์ จ�ำกัด โดยมี นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ เป็นผูถ้ อื หุน้ ใน ทั้ง บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท เมอร์เมด ดริลลิ่งค์ จ�ำกัด
2. บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน)
3. บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน)
4. บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน)
415,800 (บันทึกเป็นรายจ่าย ค่าเช่าส�ำนักงาน)
ราคาใกล้เคียง กับราคาตลาด
นโยบายการคิด ราคา
299,011.50 (บันทึกเป็นรายรับ ค่าบริการด้าน IT)
ลักษณะรายการ
TTA ถือหุ้นร้อยละ 57.8 (30 กันยายน TTA ให้บริการ IT Co-location พ.ศ. 2557 : ถือหุ้นร้อยละ 57.42) ใน กั บ บริ ษั ท เมอร์ เ มด มาริ ไ ทม์ (ไม่มีรายการในช่วง ตุลาคม-ธันวาคม 2557) บริษทั เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำกัด (มหาชน) โดยมี นายเฉลิ ม ชั ย มหากิ จ ศิ ริ เ ป็ น ผู้ถือหุ้นในทั้งสองบริษัท
ความสัมพันธ์
บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัทที่เกี่ยวข้อง
มูลค่ารายการ (บาท) 31 ธันวาคม 2557 30 กันยายน 2557
1. บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท
รายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง
รายงานประจ� ำ ปี 2557
รายการระหว่างกัน
269
ราคาปกติที่รับ บริการจาก บุคคลภายนอก
ราคาปกติที่รับ บริการจาก บุคคลภายนอก
197,430 บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) ซื้อขนมเป็นของขวัญปี (บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายใน (ไม่มีรายการระหว่าง ปี 2557) การบริหาร) ใหม่จากบริษัท พีเอช มาการอง (ประเทศไทย) จ�ำกัด
308,000 บริษทั พีเอช มาการอง นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ และนางสาว บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ อุษณา มหากิจศิริ เป็นผู้ถือหุ้นในทั้ง จ�ำกัด (มหาชน) ซื้อขนมเป็นของ (บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายใน (ไม่มีรายการระหว่าง (ประเทศไทย) ปี 2557) การบริหาร) ขวั ญ ปี ใ หม่ จากบริ ษั ท พี เ อช สองบริษทั จ�ำกัด มาการอง (ประเทศไทย) จ�ำกัด
8. บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน)
TTA ถือหุ้นร้อยละ 57.8 (30 กันยายน พ.ศ. 2557 : ถือหุ้นร้อยละ 57.42) ในบริ ษั ท เมอร์ เ มด มาริ ไ ทม์ จ� ำ กั ด (มหาชน) โดยมีนายเฉลิมชัย มหากิจศิริ และนางสาวอุษณา มหากิจศิริ เป็น ผู้ถือหุ้นใน บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท พี เ อช มาการอง (ประเทศไทย) จ�ำกัด
บริษัท พีเอช มาการอง (ประเทศไทย) จ�ำกัด
7. บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน)
ราคาใกล้เคียง กับราคาตลาด
10,000 บริ ษั ท พี เ อ็ ม กรุ ๊ ป TTA และ บริษัท พีเอ็ม กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด มีกรรมการร่วมกันได้แก่ นายเฉลิมชัย จ�ำกัด (มหาชน) ให้เช่าห้องประชุม (บันทึกเป็นรายได้ค่าเช่า (ไม่มีรายการระหว่าง ปี 2557) และค่าธรรมเนียม) มหากิจศิริ และนางสาวอุษณา มหากิจศิริ แก่บริษัท พีเอ็ม กรุ๊ป จ�ำกัด โดยที่นายเฉลิมชัย มหากิจศิ ริ เป็ น ผู้ถือหุ้นใหญ่ในทั้งสองบริษัท
6. บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน)
นโยบายการคิด ราคา
ราคาปกติที่รับ บริการจาก บุคคลภายนอก
ลักษณะรายการ
2,888,688.94 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) ว่าจ้างบริษทั โฟร์ (ไม่มีรายการในช่วง (บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย ในการบริหาร) วัน วัน เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จ�ำกัด ตุลาคม-ธันวาคม2557) ในการจัดงานฉลองปีใหม่ 2556 ให้กับพนักงาน
ความสัมพันธ์
บริษัท โฟร์ วัน วัน TTA และ บริษัท โฟร์ วัน วัน เอ็นเตอร์ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ เทนเม้นท์จ�ำกัด มีกรรมการร่วมกัน ได้แก่ นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ และ จ�ำกัด นางสาวอุษณา มหากิจศิริ
บริษัทที่เกี่ยวข้อง
5. บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท
มูลค่ารายการ (บาท) 31 ธันวาคม 2557 30 กันยายน 2557
270 รายการระหว่างกัน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผลของ รายการระหว่างกัน ในกรณีที่บริษัทฯ หรือบริษัทย่อยเข้าท�ำสัญญาใดๆ ก็ตาม หรือมี การท�ำรายการระหว่างกันกับบริษัทย่อย บริษัทร่วม และ/หรือ บุคคลภายนอก บริษัทฯ จะพิจารณาถึงความจ�ำเป็นและความ เหมาะสมในการเข้าท�ำสัญญานั้นๆ โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ ของบริษัทฯ เป็นหลัก
มาตรการหรื อ ขั้ น ตอนการอนุ มั ติ ก ารท� ำ รายการระหว่างกัน ในกรณีที่บริษัทฯ หรือบริษัทย่อยเข้าท�ำสัญญาใดๆ ก็ตาม หรือมี การท�ำรายการระหว่างกันกับบริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทที่ เกี่ยวข้อง บุคคลภายนอก และ/หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เพือ่ ประโยชน์ของบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนดให้ตอ้ ง ปฎิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรื่องการ เปิดเผยข้อมูลและการปฎิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในราย การที่ เ กี่ ย วโยงกัน และให้มีราคาและเงื่อนไขเสมื อ นการท� ำ รายการกับบุคคลภายนอก และท�ำเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของ บริษัทฯ และผู้ถือหุ้น โดยกรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงานที่มี ส่วนได้เสียในรายการนั้นจะต้องไม่มีส่วนในการพิจารณาอนุมัติ
นโยบายการท�ำรายการระหว่างกันในอนาคต กรรมการตรวจสอบและบริษัทฯ จะร่วมกันดูแลรายการระหว่าง กันดังกล่าวที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตว่าจะเป็นรายการที่มีความ จ�ำเป็นและให้เป็นไปในราคาที่ยุติธรรม
รายการระหว่างกัน
271
272
นโยบายการจ่ายเงินปันผล
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
นโยบายการจ่ายเงินปันผล ช่วงเวลาและจ�ำนวนเงินปันผล (ถ้ามี) ขึ้นอยู่กับผลการ ด�ำเนินงาน สถานะทางการเงิน ความต้องการใช้เงินสด และ เงินสดทีม่ อี ยู่ ข้อจ�ำกัดต่างๆ ทีร่ ะบุไว้ตามสัญญากูเ้ งิน และปัจจัย อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องตามความเห็นชอบของคณะกรรมการ บริษัทฯ ประกอบธุรกิจโดยการเข้าไปถือหุน้ และไม่ได้เป็นเจ้าของทรัพย์สนิ ใดๆ นอกจากหุ้นที่ถืออยู่ในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ดังนั้น ความสามารถในการจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้นจะขึ้นอยู่กับ ผลก�ำไรและเงินปันผลจ่ายของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม
จากเงินประเภทอื่นนอกจากก�ำไร (ก�ำไรสุทธิรวมก�ำไรสะสมและ หักขาดทุนสะสมใดๆ) ทั้งนี้ บริษัทจะต้องจัดสรรเงินไว้เป็น ทุนส�ำรองจนกว่าจะมีจำ� นวนถึงหนึง่ ในสิบของทุนของบริษทั หรือ มากกว่านั้นตามข้อบังคับของบริษัท อีกทั้งห้ามจ่ายเงินปันผล หากบริษทั อยูใ่ นภาวะล้มละลายหรืออาจเข้าข่ายล้มละลาย ถ้าท�ำ การจ่ายเงินปันผล
บริษัทย่อยของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) ส่วนใหญ่มนี โยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่บริษทั โทรีเซนไทย บริษทั ฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่นอ้ ยกว่า เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของก�ำไรสุทธิ ร้อยละ 25 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินรวมหลังหักภาษีเงินได้ ของบริษัทย่อย ยกเว้นบริษัทที่ให้บริการที่เกี่ยวข้องกับการ แต่ไม่รวมก�ำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้น เดินเรือที่มีขนาดเล็ก บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) จริง ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั แผนการลงทุน และปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ ๆ โดย (“เมอร์เมด”) บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด คณะกรรมการของบริษัทฯ อาจจะพิจารณาทบทวน และแก้ไข (มหาชน) (“PMTA”) และบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด นโยบายการจ่ายเงินปันผลเป็นครั้งคราว เพื่อให้เป็นไปตามแผน (มหาชน) (“UMS”) ซึ่งจากการที่เมอร์เมดและ UMS เป็นบริษัท การเติบโตทางธุรกิจของบริษัทฯ ในอนาคต ความต้องการใช้เงิน ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศสิงคโปร์ และ ลงทุน และปัจจัยด้านอื่นๆ ที่เห็นสมควร ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผล ตลาดหลักทรัพย์ MAI ตามล�ำดับ และ PMTA เป็นบริษัทที่ ดังกล่าว จะไม่เกินก�ำไรสะสมที่ปรากฏอยู่ในงบการเงินเฉพาะ ก�ำลังจะเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการของเมอร์เมด UMS และ PMTA จะใช้ดุลยพินิจ ของบริษัทฯ ในการจ่ายเงินปันผลเช่นเดียวกับคณะกรรมการบริษทั ฯ การจ่าย การประกาศจ่ายเงินปันผลจะเป็นไปตามข้อก�ำหนดทาง เงินปันผลของเมอร์เมด UMS และ PMTA ในอนาคตขึ้นอยู่ กฎหมายไทย ตัวอย่างเช่น กฎหมายก�ำหนดไว้วา่ การประกาศและ กับปัจจัยหลายๆ ประการ รวมถึง ผลตอบแทนต่อส่วนของ จ่ า ยเงิ น ปั น ผลประจ� ำ ปี จ ะขึ้ น อยู ่ กั บ ดุ ล ยพิ นิ จ ของที่ ป ระชุ ม ผูถ้ อื หุน้ ก�ำไรสะสม ผลประกอบการทีค่ าดไว้ในอนาคต ประมาณ ผู้ถือหุ้น ซึ่งจะพิจารณาตามที่คณะกรรมการเสนอ และในกรณี การค่ า ใช้ จ ่ า ยฝ่ า ยทุ น และแผนการการลงทุ น อื่ น ๆ รวมทั้ ง การประกาศและจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจะขึน้ อยูก่ บั ดุลยพินจิ ข้อจ�ำกัดในการจ่ายเงินปันผล ที่อาจเกิดขึ้นจากการจัดหาทุน ของคณะกรรมการ นอกจากนี้ กฎหมายไทยยังห้ามจ่ายเงินปันผล เงินกู้ต่างๆ เป็นต้น การจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ ในรอบ 5 ปีบัญชีที่ผ่านมา เป็นดังนี้ รอบปีบัญชี 30 กันยายน อัตราก�ำไรสุทธิต่อหุ้น (บาท) อัตราเงินปันผลต่อหุ้น (บาท)
2557 0.88 0.25
2556 (ปรับปรุงใหม่) (5.91) งดจ่าย
2555 (ปรับปรุงใหม่) (6.35) งดจ่าย
2554 (ปรับปรุงใหม่) 0.24 1.00/1
2553 1.12 0.26
หมายเหตุ : /1 เงินปันผลจ่ายของบริษัทฯ ของรอบปีบัญชี 2554 รวม 1.00 บาทต่อหุ้น แบ่งเป็น 1) เงินปันจ่ายผลระหว่างรอบปีบัญชี 2554 ในอัตรา หุ้นละ 0.50 บาท และ 2) เงินปันผลจ่ายสิ้นสุดรอบปีบัญชี 2554 ในอัตราหุ้นละ 0.50 บาท
ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี
รายงานประจ� ำ ปี 2557
273
ค่าตอบแทนของ ผู้สอบบัญชี ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
บริษัท บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทย่อยอื่น รวมค่าสอบบัญชี (แยกตามสังกัดผู้สอบบัญชี)
หน่วย: บาท ผู้สอบบัญชีของ บริษัทสังกัด KPMG 950,000 5,009,588 5,959,588
ผู้สอบบัญชีของ บริษัทสังกัดอื่นๆ 2,952,802 2,952,802
รวมค่าสอบบัญชี (แยกตามบริษัท) 950,000 7,962,390 8,912,390
ค่าบริการอื่นที่มิใช่การสอบบัญชี ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
บริษัท บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทย่อยอื่น รวมค่าบริการอื่น (แยกตามสังกัดผู้สอบบัญชี)
หน่วย: บาท ผู้สอบบัญชีของ บริษัทสังกัด KPMG 40,000 40,000
ผู้สอบบัญชีของ บริษัทสังกัดอื่นๆ 738,300 8,852,480 9,590,780
รวมค่าสอบบัญชี (แยกตามบริษัท) 738,300 8,892,480 9,630,780
หมายเหตุ : ค่าบริการอื่นที่มิใช่การสอบบัญชีสำ� หรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ส่วนใหญ่เป็นการตรวจสอบบริษัทย่อยเพื่อให้เป็นไปตาม เงื่อนไขของบัตรส่งเสริมการลงทุน (BOI) การยื่นช�ำระภาษีและให้ค�ำปรึกษาทางด้านภาษี
274
โครงสร้างการจัดการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการของบริษทั ฯ ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการชุดย่อย 5 คณะได้แก่ คณะกรรมการบริหาร (Executive Committee) คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) คณะกรรมการสรรหาและก� ำหนดค่าตอบแทน (Nomination and Remuneration Committee) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) และ คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ (Corporate Governance Committee)
1. คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ที่ รายชื่อกรรมการ 1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 2. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ 3. นายฌ็อง ปอล เทเวอแน็ง 4. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ /1 5. นายกฤช ฟอลเล็ต /2 6. นายสันติ บางอ้อ 7. นางสาวอุษณา มหากิจศิริ 8. นายโมฮัมหมัด ราเชด อาหมัด เอ็ม. อัลนัสซารี 9. นายอีฟ บาบิว 10. นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ /3
ต�ำแหน่ง ประธานคณะกรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการบริหาร กรรมการ/กรรมการบริหาร กรรมการ/กรรมการบริหาร/ประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการตรวจสอบ/ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน/ประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ/ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ/กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน/ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ/กรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง
จ�ำนวนครั้ง การเข้าร่วม การประชุม การประชุม คณะกรรมการ คณะกรรมการ (1 ต.ค. 57 - (1 ต.ค. 57 31 ธ.ค. 57) 31 ธ.ค. 57) 3 3 3 3 3 3
3 3
3
2
3
3
3
2
3
2
3 3
2 2
หมายเหตุ : /1 นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2557 แทนนายกฤช ฟอลเล็ต /2 นายกฤช ฟอลเล็ต ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2557 แทนนายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ /3 นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 แทนนายเฉลิมชัย มหากิจศิริ
โครงสร้างการจัดการ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
275
กรรมการผู้มีอ�ำนาจผูกพันบริษัทฯ กรรมการซึง่ มีอำ� นาจลงลายมือชือ่ แทนบริษทั ฯ ตามหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิตบิ คุ คล กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ณ วันที่ 9 มกราคม 2558 คือ นายฌ็อง ปอล เทเวอแน็ง หรือ นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ ลงนามร่วมกันกับ นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ หรือ นางสาวอุษณา มหากิจศิริ รวมเป็นสองคนและประทับตราบริษัท กรรมการของบริษทั ย่อยทีเ่ ป็นธุรกิจหลัก ได้แก่ บริษทั โทรีเซน ชิปปิง้ สิงคโปร์ พีทอี ี แอลทีดี บริษทั เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท บาคองโค จ�ำกัด มีดังนี้ ก) บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงคโปร์ พีทีอี แอลทีดี ที่ 1. 2. 3. 4. 5.
รายชื่อกรรมการ นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นางสาวอุษณา มหากิจศิริ นายเอียน คลิฟฟอร์ด แคลกซ์ตั้น นายลี เวย์ ชุง นายตัน คิง ชาง
ต�ำแหน่ง กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการตัวแทน
จ�ำนวนครั้งการประชุม คณะกรรมการ (1 ต.ค. 57 - 31 ธ.ค. 57) 1 1 1 1 -
การเข้าร่วมการประชุม คณะกรรมการ (1 ต.ค. 57 - 31 ธ.ค. 57) 1 1 1 1 -
ข) บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) ที่ รายชื่อกรรมการ 1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 2. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ 3. 4. 5. 6. 7.
ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร รองประธานกรรมการบริหาร/ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ กรรมการบริหาร นายโต๊ะ เวิน เคียง โจอะคิม กรรมการอิสระ นายฌ็อง ปอล เทเวอแน็ง กรรมการ นายอึง เชอ ยาน กรรมการอิสระ นายเจน โจเซฟ สโกรูปา กรรมการอิสระ
คณะกรรมการ (1 ต.ค. 57 31 ธ.ค. 57) 2 2
คณะกรรมการ (1 ต.ค. 57 31 ธ.ค. 57) 2 2
2 2 2 2 2
2 1 2 2 2
276
โครงสร้างการจัดการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ค) บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน)
ที่ รายชื่อกรรมการ 1. พลต�ำรวจเอก ดร. ชิดชัย วรรณสถิตย์ 2. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ 3. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ 4. 5. 6. 7. 8.
ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ กรรมการ/กรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน นายเอกวัจน์ อมรวิวัฒน์ กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการ ตรวจสอบ นายสุชาติ ธรรมาพิทักษ์กุล กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/ ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน พลต�ำรวจโท ค�ำรบ ปัญญาแก้ว กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ นายธราธร วงศ์ประศาสตร์ กรรมการอิสระ/กรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน นายสมพร จิตเป็นธม กรรมการ/รักษาการกรรมการ ผู้จัดการและผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานบัญชีและการเงิน
จ�ำนวนครั้ง การประชุม คณะกรรมการ (1 ต.ค. 57 31 ธ.ค. 57) 2
การเข้าร่วม การประชุม คณะกรรมการ (1 ต.ค. 57 31 ธ.ค. 57) 2
2 2
1 2
2
2
2
2
2 2
2 2
2
2
ง) บริษัท บาคองโค จ�ำกัด
ที่ รายชื่อกรรมการ 1. นายซิกมันต์ สตรอม 2. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ 3. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ/1
จ�ำนวนครั้งการประชุม คณะกรรมการ ต�ำแหน่ง (1 ต.ค. 57 - 31 ธ.ค. 57) ประธานกรรมการบริษัท 1 กรรมการ 1 กรรมการ 1
การเข้าร่วม การประชุม คณะกรรมการ (1 ต.ค. 57 - 31 ธ.ค. 57) 1 1 1
หมายเหตุ 1/ นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2558 แทนนายไกรลักขณ์ อัศวฉัตรโรจน์ กรรมการที่ลาออก เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558
โครงสร้างการจัดการ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
277
2. ผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) ที่ 1. 2. 3. 4. 5.
รายชื่อผู้บริหาร นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นายสมพร จิตเป็นธม /1 นายชาตรี อัครจรัลญา /2 นายคิท เหว่ย อึ้ง /3 นางสาวอุไร ปลื้มส�ำราญ
ต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชีและการเงิน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกลยุทธ์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับดูแลกิจการ
หมายเหตุ /1 นายสมพร จิตเป็นธม ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชีและการเงินเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 /2 นายชาตรี อัครจรัลญา ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานกลุ่มอาหารและเครื่องดื่มเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2558 /3 นายคิท เหว่ย อึ้ง ได้รับแต่งตั้งเป็นรักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกลยุทธ์เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558
ผูบ้ ริหารของบริษทั ย่อยทีเ่ ป็นธุรกิจหลัก ได้แก่ บริษทั โทรีเซน ชิปปิง้ สิงคโปร์ พีทอี ี แอลทีดี บริษทั เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท บาคองโค จ�ำกัด มีดังนี้ ก) บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงคโปร์ พีทีอี แอลทีดี ที่ 1. 2. 3.
รายชื่อผู้บริหาร นายเอียน คลิฟฟอร์ด แคลกซ์ตั้น นายไมเคิล แอนเดอร์สัน นายมิเคล โบ
ต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพาณิชย์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารความเสี่ยง
หมายเหตุ ฝ่ายบริหารกองเรือและฝ่ายบัญชีด�ำเนินการโดยบริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จ�ำกัด
ข) บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) ที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6.
รายชื่อผู้บริหาร นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นายพอล ไวลีย์ นายนีล โฮวี นายปีเตอร์ ริคเคิลไมเออร์ นายคฑารัฐ สุขแสวง นายเจฟฟรีย์ อัลเลน บรีล
ต�ำแหน่ง รองประธานกรรมการบริหาร/ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการบริหาร เมอร์เมด ซับซี เซอร์วิสเซส Group Regional Director, Western Hemisphere Group Regional Director, Eastern Hemisphere ผู้อำ� นวยการฝ่ายบัญชีและการเงิน Operations Manager, Mermaid Drilling
ค) บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) ที่ 1. 2. 3.
รายชื่อผู้บริหาร นายสมพร จิตเป็นธม นายสถาพร ตากด�ำรงค์กุล นายตัน เต้า ซ้ง
ต�ำแหน่ง รักษาการกรรมการผู้จัดการและผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการสายงานบัญชีและการเงิน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการสายงานการเงินและบริหาร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการสายงานธุรกิจถ่านหิน และรักษาการสายงานการผลิต
278
โครงสร้างการจัดการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ง) บริษัท บาคองโค จ�ำกัด ที่ 1. 2.
รายชื่อผู้บริหาร นาย Pierre Siquet นาย Didier Pinguet
3. 4. 5.
นาย Ho Ngoc Chau นาย Nguyen Dang Cat นาย Ngo Xuan Giang Hai Phong
ต�ำแหน่ง
General Director Deputy General Director, Commercial Director & Acting Sales Manager Financial and Administrative Director Plant Manager Office Manager
โครงสร้างการบริหารจัดการของ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
คณะกรรมการก�ำกับ ดูแลกิจการ
คณะกรรมการ
คณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน
คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง เลขานุการบริษัทฯ
คณะกรรมการ บริหาร ส�ำนักงานประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชีและการเงิน
คณะกรรมการ ตรวจสอบ แผนกตรวจสอบภายใน
กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกลยุทธ์
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารความเสี่ยง และก�ำกับดูแลกิจการ
สายงานทรัพยากร บุคคล
สายงานสื่อสาร องค์กร
รายงานประจ� ำ ปี 2557
โครงสร้างการจัดการ
279
9 คน จะได้ รั บ ค่าตอบแทนรายเดือนรวมทัง้ สิน้ 430,000 บาท หากมีกรรมการ ที่มิใช่เป็นผู้บริหารได้รับแต่งตั้งเพิ่มเติมเข้ามาใหม่ จะได้รับ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้ง นางสาวมัณฑนี สุรกาญจน์กุล ค่าตอบแทนรายเดือนคนละ 35,000 บาท กรรมการที่มิใช่เป็น เป็นเลขานุการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2551 โดยก�ำหนด ผู้บริหารจะได้รับเบี้ยประชุมเป็นเงินจ�ำนวน 45,000 บาทต่อ ขอบเขตหน้าที่ตามรายงานก�ำกับดูแลกิจการหัวข้อ เลขานุการ ครั้ง ประธานกรรมการจะได้รับเบี้ยประชุมเป็นเงินจ�ำนวน บริษัทและกรรมการชุดย่อย 54,000 บาทต่อครัง้ (เท่ากับ 1.20 เท่า ของกรรมการทีม่ ใิ ช่เป็น ้บริหารคนอื่นๆ) 4. ค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหาร • ผูประธานกรรมการตรวจสอบ จะได้รบั เบีย้ ประชุม 48,000 บาท ต่ อ ครั ้ ง (เท่ า กั บ 1.20 เท่ า ของเบี้ ย ประชุ มของกรรมการ 4.1 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด ตรวจสอบคนอื่นๆ) ขณะที่กรรมการตรวจสอบคนอื ่นๆ จะได้ (มหาชน) รับเบี้ยประชุม 40,000 บาทต่อครั้ง • ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง และประธานกรรมการ ค่ า ตอบแทนคณะกรรมการ คณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการจะได้รับเบี้ยประชุม 18,000 บาทต่อครั้ง ชุดย่อย และผู้บริหาร ซึ่งเท่ากับ 1.20 เท่าของกรรมการบริหารความเสี่ยง และ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการคนอืน่ ๆ กรรมการบริหารความเสีย่ ง ค่าตอบแทนของคณะกรรมการประกอบด้วย และกรรมการก�ำกับดูแลกิจการคนอื่นๆ จะได้รับเบี้ยประชุม จากการเข้าร่วมประชุม 15,000 บาทต่อครั้ง • ค่าตอบแทนรายเดือนและค่าเบี้ยประชุมส�ำหรับกรรมการที่ • กรรมการชาวต่างชาติจะได้รับเบี้ยเดินทาง เมื่อเดินทางเข้ามา มิใช่เป็นกรรมการบริหาร ในประเทศไทย เพื่อเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการหรือคณะ • ประธานกรรมการจะได้ รั บ ค่ า เบี้ ย ประชุ ม เป็ น เงิ น จ� ำ นวน กรรมการชุดย่อยดังนี้ 1.20 เท่า ของกรรมการทีม่ ใิ ช่เป็นผูบ้ ริหาร และคณะกรรมการ - จากเอเชี ยมายังประเทศไทย : 500 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกาต่อวัน ชุดย่อยอื่นๆ - จากยุโรป/สหรัฐอเมริกาและทวีปอื่นๆ มายังประเทศไทย : • กรรมการที่พ�ำนักนอกประเทศไทยจะได้รับเบี้ยเดินทาง เมื่อ เดิ น ทางเข้ า มาในประเทศไทย เพื่ อ เข้ า ร่ ว มประชุ ม คณะ 1,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกาต่อวัน • กรรมการที่เป็นผู้บริหารจะไม่ได้รับค่าตอบแทนรายเดือนหรือ กรรมการหรือคณะกรรมการชุดย่อย ค่าตอบแทนในรูปแบบอื่นๆ • กรรมการที่เป็นผู้บริหารจะไม่ได้รับค่าตอบแทนรายเดือนหรือ • จ่ายค่าตอบแทนเพิ่มเติมให้แก่กรรมการ ในรูปของเงินรางวัล ค่าตอบแทนในรูปแบบอื่นๆ ประจ�ำปี (โบนัส) เพื่อวางแนวทางในการจ่ายผลตอบแทนแก่ • ค่ า ตอบแทนในรู ป ของเงิ น รางวั ล ประจ� ำ ปี (โบนั ส ) จะจ่ า ย กรรมการให้สอดคล้องกับผู้ถือหุ้น โดยจะจ่ายค่าตอบแทน เพิ่มเติมให้แก่กรรมการต่อเมื่อผลการด�ำเนินงานบรรลุถึงตาม กรรมการในรูปของเงินรางวัลประจ�ำปี เมื่ออัตราผลตอบแทน เป้าหมาย ทัง้ นี้ ตามนโยบายการจ่ายเงินรางวัลประจ�ำปี (โบนัส) จากเงินลงทุนของผู้ถือหุ้น/2 (parent shareholders funds) ของกรรมการที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เกิ น ร้ อ ยละ 15 โดยกรรมการที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห ารจะได้ รั บ เงินรางวัลประจ�ำปีในอัตราร้อยละ 0.50 ของก�ำไรสุทธิของ ค่าตอบแทนของเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอาวุโสประกอบด้วย ค่าตอบแทน งบการเงินรวมส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 15 ของผลตอบแทนเงิน ที่เป็นเงินสด (เงินเดือน) โบนัส และค่าตอบแทนอื่นๆ ประกอบ ลงทุนของผู้ถือหุ้น และจะน�ำมาจัดสรรให้แก่กรรมการที่ไม่ได้ ด้วยค่าตอบแทนจูงใจในระยะยาว กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ และ เป็นผู้บริหารเท่าๆ กัน ค่าเบี้ยประกันสังคม
3. เลขานุการบริษัท
ค่าตอบแทนที่เป็นเงินสด ค่าตอบแทนของกรรมการและกรรมการชุดย่อย ตามมติที่ประชุมสามัญประจ�ำปีผู้ถือหุ้นปี 2557 ผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ รับทราบการจ่ายค่าตอบแทนส�ำหรับกรรมการและ กรรมการชุดย่อย /1 มีรายละเอียดดังนี้
• กรรมการที่ มิ ใ ช่ เ ป็ น กรรมการบริ ห ารทั้ ง
หมายเหตุ : /1 นโยบายค่าตอบแทนของกรรมการและกรรมการชุดย่อยได้รับการอนุมัติ จากที่ประชุมสามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2555 และ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่บริษัทฯ ยังคงน�ำเสนอให้ผู้ถือหุ้นรับทราบเพื่อ ให้ เ ป็ นไปตามหลั ก การก� ำ กั บดู แ ลกิ จ การที่ ดี ต ามหลั ก เกณฑ์ ข องตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย /2 ผลตอบแทนจากเงินลงทุนของผู้ถือหุ้น มาจาก ก�ำไรสุทธิของงบการเงินรวม TTA - ก�ำไรหรือขาดทุนจาก อัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ทุนช�ำระแล้ว + ส่วนเกินมูลค่าหุ้น + เงินส�ำรองตามกฎหมาย + ก�ำไรสะสม
280
โครงสร้างการจัดการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
อย่างไรก็ตาม นโยบายค่าตอบแทนกรรมการในรูปของเงินรางวัลประจ�ำปี (โบนัส) มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงตามมติที่ประชุมสามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้น ครัง้ ที่ 1/2558 เมือ่ วันที่ 28 มกราคม 2558 โดยค่าตอบแทนกรรมการในรูปของเงินรางวัลประจ�ำปี จะจ่ายให้แก่กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร ในอัตราไม่เกิน ร้อยละ 1 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินรวมของบริษทั ฯ (หลังหักก�ำไร/ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง) ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ฯ จะก�ำหนด เงินรางวัลประจ�ำปีให้แก่กรรมการตามทีเ่ หมาะสม (โดยเป็นไปตามนโยบายการจ่ายเงินรางวัลประจ�ำปีทไี่ ด้กล่าวไว้ขา้ งต้น) ทัง้ นีค้ า่ ตอบแทนในรูปของเงินรางวัล ประจ�ำปีจะเริม่ ค�ำนวณจากผลประกอบการของรอบปีบญ ั ชีซงึ่ สิน้ สุดเมือ่ วันที่ 30 กันยายน 2557
ค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการชุดย่อย ในรอบปีบัญชี 2557 คณะกรรมการ ประเภทค่าตอบแทนกรรมการ อัตราค่าตอบแทนกรรมการ กรรมการที่มิใช่เป็นกรรมการบริหาร ค่าตอบแทนรายเดือน 150,000 บาท ส�ำหรับประธานกรรมการ 35,000 บาท ส�ำหรับกรรมการที่มิใช่เป็นกรรมการบริหาร ค่าเบี้ยประชุมต่อครั้ง 54,000 บาท ส�ำหรับประธานกรรมการ 45,000 บาท ส�ำหรับกรรมการที่มิใช่เป็นกรรมการบริหาร ค่าเบี้ยเดินทางส�ำหรับกรรมการ จากเอเชีย: 500 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกาต่อวัน ที่พ�ำนักนอกประเทศไทย จากยุโรป/อเมริกา/ทวีปอื่นๆ : 1,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกาต่อวัน โบนัส /1 โบนัส เท่ากับ อัตราร้อยละ 0.50 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินรวมส่วน ที่เกินกว่าร้อยละ15 ของผลตอบแทนเงินลงทุนของผู้ถือหุ้น /2 คณะกรรมการตรวจสอบ ค่าเบี้ยประชุมต่อครั้ง 48,000 บาท ส�ำหรับประธานกรรมการ
40,000 บาท ส�ำหรับกรรมการ
คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ
ค่าเบี้ยประชุมต่อครั้ง ค่าเบี้ยประชุมต่อครั้ง
36,000 บาท ส�ำหรับประธานกรรมการ 30,000 บาท ส�ำหรับกรรมการ 18,000 บาท ส�ำหรับประธานกรรมการ/3 15,000 บาท ส�ำหรับกรรมการ 18,000 บาท ส�ำหรับประธานกรรมการ/3 15,000 บาท ส�ำหรับกรรมการ
หมายเหตุ : /1 อย่างไรก็ตาม นโยบายค่าตอบแทนกรรมการในรูปของเงินรางวัลประจ�ำปี (โบนัส) มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงตามมติที่ประชุมสามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2558 โดยค่าตอบแทนกรรมการในรูปของเงินรางวัลประจ�ำปี จะจ่ายให้แก่กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร ในอัตราไม่ เกินร้อยละ 1 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินรวมของบริษัทฯ (หลังหักก�ำไร/ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง) ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ จะก�ำหนดเงินรางวัลประจ�ำปีให้แก่กรรมการตามที่เหมาะสม (โดยเป็นไปตามนโยบายการจ่ายเงินรางวัลประจ�ำปีที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น) ทั้งนี้ค่าตอบแทน ในรูปของเงินรางวัลประจ�ำปีจะเริ่มค�ำนวณจากผลประกอบการของรอบปีบัญชีซึ่งสิ้นสุดเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2557 /2 ผลตอบแทนจากเงินลงทุนของผู้ถือหุ้น มาจาก ก�ำไรสุทธิของงบการเงินรวม TTA - ก�ำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ทุนช�ำระแล้ว + ส่วนเกินมูลค่าหุ้น + เงินส�ำรองตามกฎหมาย + ก�ำไรสะสม /3
ตามมติที่ประชุมสามัญประจ�ำปีผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2558 อนุมัติให้เปลี่ยนแปลงแก้ไขค่าเบี้ยประชุมของ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ โดยประธานกรรมการบริหารความเสีย่ งและประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ จะได้รับเบี้ยประชุม 21,600 บาทต่อครั้ง ซึ่งเท่ากับ 1.20 เท่าของกรรมการบริหารความเสี่ยงและกรรมการก�ำกับดูแลกิจการคนอื่นๆ กรรมการ บริหารความเสี่ยงและกรรมการก�ำกับดูแลกิจการคนอื่นๆ จะได้รับเบี้ยประชุมจากการเข้าร่วมประชุม 18,000 บาทต่อครั้ง
โครงสร้างการจัดการ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
281
ค่ า ตอบแทนและเงิ น รางวั ล ประจ� ำ ปี (โบนั ส ) ของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยของ TTA ส� ำ หรั บ งวดสามเดื อ นสิ้ น สุ ด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 หน่วย : บาท เบี้ยเดินทาง คณะกรรมการ (ส�ำหรับ บริษัทฯ เบี้ยประชุม กรรมการ คณะกรรมการ รวม ชาวต่างชาติ สรรหา คณะกรรมการ คณะกรรมการ (ค่าตอบแทน เท่านั้น) ค่าตอบแทน คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ และก�ำหนด ก�ำกับดูแล บริหาร มาตรฐานและ (ดอลลาร์ มาตรฐาน โบนัส บริษัท ตรวจสอบ บริหาร ค่าตอบแทน กิจการ ความเสี่ยง เบี้ยประชุม) สหรัฐอเมริกา)
ชื่อ 1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 2. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ
450,000 -
-
162,000
-
-
-
300,000 -
-
-
-
-
-
-
912,000
-
-
-
3. นายฌ็อง ปอล เทเวอแน็ง
105,000
-
135,000
-
120,000
-
-
-
360,000
-
4. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ
105,000
-
135,000
-
120,000
-
-
-
360,000
-
105,000
-
90,000
240,000
-
-
-
-
435,000
-
6. นายสันติ บางอ้อ
105,000
-
135,000
200,000
-
72,000
18,000
-
530,000
-
7. นางสาวอุษณา มหากิจศิริ
105,000
-
90,000
-
-
60,000
15,000
-
270,000
-
8. นายโมฮัมหมัด ราเชด อาหมัด เอ็ม. อัลนัสซารี
105,000
-
90,000
-
-
60,000
-
-
255,000
8,000
9. นายอีฟ บาบิว
105,000
-
90,000
-
-
-
-
-
195,000
6,000
10. นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ /3
105,000
-
90,000
120,000
-
-
-
-
315,000
-
1,290,000
-
1,017,000
560,000
-
3,632,000
5. นายกฤช ฟอลเล็ต
รวม
/1
/2
540,000
192,000
33,000
14,000
หมายเหตุ : /1 นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2557 แทนนายกฤช ฟอลเล็ต /2 นายกฤช ฟอลเล็ต ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2557 แทนนายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ /3 นายเชิดพงษ์ สิริวชิ ช์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 แทนนายเฉลิมชัย มหากิจศิริ
ค่าตอบแทนของผู้บริหาร ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินของผู้บริหารของ TTA ในรูปของเงินเดือนและโบนัส และค่าตอบแทนอื่น มีดังนี้
หน่วย : ล้านบาท เงินเดือนและโบนัสรวม ค่าตอบแทนอื่น (รวมเงินประกันสังคมและ เงินสมทบกองทุนส�ำรอง เลี้ยงชีพ)
คณะกรรมการบริษัทฯ จ�ำนวนผู้บริหารใน ระหว่างปี/จ�ำนวน ผู้บริหารเฉลี่ย ส�ำหรับงวด (full time สามเดือนสิ้นสุด equivalent) วันที่ 31 ธันวาคม 2557 5 ราย 9.296 ล้านบาท 5 ราย 0.808 ล้านบาท
เบี้ยประชุม จ�ำนวนผู้บริหารใน ระหว่างปี/จ�ำนวน ผู้บริหารเฉลี่ย (full time ส�ำหรับปีสิ้นสุด equivalent) วันที่ 30 กันยายน 2557 10 ราย/5.75 ราย 56.32 ล้านบาท 10 ราย/5.75 ราย 6.45 ล้านบาท
หมายเหตุ : จ�ำนวนผู้บริหาร ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 5 ราย
ค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ย่อยหลักทีเ่ ป็น ธุรกิจหลักได้แก่ บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงคโปร์ พีทีอี แอลทีดี บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท บาคองโค จ�ำกัด มีดังนี้
4.2 บริษทั โทรีเซน ชิปปิง้ สิงคโปร์ พีทอี ี แอลทีดี (1) ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ก) ไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการของบริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงคโปร์ พีทีอี แอลทีดี
282
โครงสร้างการจัดการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ข) ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหารจ�ำนวน 2 ราย ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ซึ่งประกอบด้วยเงินเดือน และโบนัส คิดเป็นเงินรวม 443,255 ดอลลาร์สิงคโปร์ (30 กันยายน 2557 : 995,605 ดอลลาร์สิงคโปร์) (2) ค่าตอบแทนอื่น ค่าตอบแทนอื่นของกรรมการ ไม่มี ค่าตอบแทนอื่นของผู้บริหาร ไม่มี
4.3 บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) (1) ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ก) ค่าตอบแทนกรรมการของบริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 7 ราย ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีดังนี้
ชื่อ 1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 2. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ 3. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ 4. นายฌ็อง ปอล เทเวอแน็ง 5. นายโต๊ะ เวินเคียง โจอะคิม 6. นายอึง เชอ ยาน 7. นายเจน โจเซฟ สโครูปา
ต�่ำกว่า 100,000 ดอลลาร์สิงคโปร์
100,000 ดอลลาร์สิงคโปร์ ถึง 200,000 ดอลลาร์สิงคโปร์
200,000 ดอลลาร์สิงคโปร์ ถึง 300,000 ดอลลาร์สิงคโปร์
-
-
-
-
-
ข) ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหารของบริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 6 ราย ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีดังนี้ ชื่อ 1. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ 2. นายพอล ไวลีย์ 3. นายนีล โฮวี 4. นายปีเตอร์ ริคเคิลไมเออร์ 5. นายคฑารัฐ สุขแสวง 6. นายเจฟฟรีย์ อัลเลน บรีล (2) ค่าตอบแทนอื่น ค่าตอบแทนอื่นของกรรมการ ไม่มี
ต�่ำกว่า 100,000 ดอลลาร์สิงคโปร์
100,000 ดอลลาร์สิงคโปร์ ถึง 200,000 ดอลลาร์สิงคโปร์ -
-
283
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ค่าตอบแทนอื่นของผู้บริหาร เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ บริษทั เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้จดั ให้มกี องทุนส�ำรอง เลี้ยงชีพโดยบริษัทได้สมทบในอัตราส่วนร้อยละ 7 ของเงินเดือน โดยบริษทั ได้จา่ ยเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพส�ำหรับผูบ้ ริหาร จ�ำนวน 1 ราย จ�ำนวน 42,000 บาท ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (30 กันยายน 2557 : 294,000 บาท)
4.4 บริษทั ยูนคิ ไมนิง่ เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด (มหาชน) (1) ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน (ก) ค่าตอบแทนคณะกรรมการ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 ของบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์ วิ ส เซส จ� ำกัด (มหาชน) ได้พิจารณาค่าตอบแทนของ
คณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย โดยค�ำนึงถึงความ เหมาะสมเกี่ยวกับประเภท ขนาด และความเกี่ยวโยงกับผลการ ด�ำเนินงาน รวมถึงความเหมาะสมกับการท�ำหน้าที่และความ รับผิดชอบ และได้อนุมัติค่าตอบแทนคณะกรรมการในปี 2558 ให้เหมือนกับ ปี 2557 เพือ่ ให้เหมาะสมกับผลการด�ำเนินงานของ บริษัทฯ โดยมีรายละเอียดดังนี้ • ค่าตอบแทนประธานกรรมการและกรรมการบริษัทที่ไม่เป็น
ผู้บริหาร เดือนละ 20,000 บาทต่อคน และค่าเบี้ยประชุม กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 15,000 บาทต่อครั้งต่อคน • ค่าเบี้ยประชุมกรรมการตรวจสอบ 15,000 บาทต่อครั้งต่อคน • ค่าเบี้ยประชุมกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 7,500 บาท ต่อครั้งต่อคน • ประธานของแต่ละคณะกรรมการจะได้รับค่าเบี้ยประชุม 1.2 เท่าของค่าเบี้ยประชุมแต่ละครั้ง • ค่าเบี้ยประชุมดังกล่าวจะจ่ายเฉพาะผู้เข้าร่วมประชุมเท่านั้น
ค่าตอบแทนกรรมการของบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 8 ราย ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีดังนี้ ชื่อ - นามสกุล คณะกรรมการบริษัท 1. พล.ต.อ. ดร. ชิดชัย วรรณสถิตย์ 2. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ 60,000 3. นายเอกวัจน์ อมรวิวัฒน์ 75,000 4. นายสุชาติ ธรรมาพิทักษ์กุล 75,000 5. พล.ต.ท. ค�ำรบ ปัญญาแก้ว 75,000 6. นายธราธร วงศ์ประศาสตร์ 75,000 7. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ 75,000 8. นายสมพร จิตเป็นธม
คณะกรรมการ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการ รวมเป็นเงิน ตรวจสอบ และก�ำหนดค่าตอบแทน บริหาร (บาท) ไม่ได้รับค่าตอบแทนเนื่องจากได้รับเงินเดือนประจ�ำ 60,000 36,000 111,000 30,000 18,000 123,000 30,000 105,000 75,000 15,000 90,000 เนื่องจากเป็นผู้บริหารของบริษัทแม่ จะไม่ได้รับค่าตอบแทนจากบริษัท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น
564,000
ข) ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินของผู้บริหารของบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) ในรูปของเงินเดือนและโบนัส มีดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท)
รายการ เงินเดือนรวม โบนัสรวม รวม
จ�ำนวนราย 2 2
ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557/1 จ�ำนวนราย 1.02 4 4 1.02
ส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 30 กันยายน 2557/2 6.81 6.81
หมายเหตุ : /1 ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ได้แก่ 1. นายสถาพร ตากด�ำรงค์กุล 2. นายตัน เต้า ซ้ง /2 ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 30 กันยายน 2557 ได้แก่ 1. นายกฤษฎา หลีอาภรณ์ 2. นายภัคณัฏฐ์ กีรติโกศลรักษ์ 3. นายตัน เต้า ซ้ง 4. นายวศิน พูลทวี
(2) ค่าตอบแทนอื่น ค่าตอบแทนอื่นของกรรมการ ไม่มี ค่าตอบแทนอื่นของผู้บริหาร เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ
284
โครงสร้างการจัดการ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) ได้สมทบเงินเข้ากองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพให้แก่ผู้บริหารของบริษัทดังนี้
(หน่วย : ล้านบาท)
รายการ
จ�ำนวนราย
ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557
เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ
3
0.027
จ�ำนวนราย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557
3
0.16
4.5 บริษัท บาคองโค จ�ำกัด (1) ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ก) ไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการของบริษัท บาคองโค จ�ำกัด ข) ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหาร ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ซึ่งประกอบด้วยเงินเดือนและโบนัส คิดเป็นเงินรวม 2,614,751 บาท (30 กันยายน 2557 : 11,918,206 บาท) (2) ค่าตอบแทนอื่น ค่าตอบแทนอื่นของกรรมการ ไม่มี ค่าตอบแทนอื่นของผู้บริหาร ไม่มี
5. บุคลากร ณ 31 ธันวาคม 2557 TTA มีพนักงานทั้งสิ้น 74 คน ประกอบด้วยกรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการใหญ่ 4 คน และพนักงานอีก 70 คน โดยมีพนักงานของแต่ละสายงานดังนี้ สายงานหลัก 1. สายงานบัญชีและการเงิน 2. สายงานทรัพยากรบุคคล 3. สายงานปฎิบัติการ (Group Operations) 4. สายงานกลยุทธ์ (Group Business Development) 5. สายงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน รวม จ�ำนวนพนักงานตามสายธุรกิจหลัก กลุ่มธุรกิจขนส่ง กลุ่มธุรกิจพลังงาน กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน
จ�ำนวนพนักงาน (เฉพาะสังกัด TTA) 21 4 21 17 11 74 จ�ำนวนพนักงาน 93 390 783
- รวมจ�ำนวนพนักงานของ TTA และบริษัทย่อย เท่ากับ 1,340 คน ทั้งนี้ไม่รวมคนประจ�ำเรือ - ผลตอบแทนรวมของพนักงานบริษัทและบริษัทย่อย ไม่รวมผู้บริหารและกรรมการบริหารของบริษัท เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส เป็นต้น ไม่รวมคนประจ�ำเรือ ส�ำหรับงวดสามเดือนสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 เป็นเงินจ�ำนวน 184,635,713 บาท (30 กันยายน 2557 : 1,031,240,864 บาท) - บริษทั ฯ ได้จา่ ยเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพแก่พนักงาน รวมเงินสมทบกองทุนประกันสังคม (ไม่รวมคนประจ�ำเรือ) ส�ำหรับงวด สามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 เป็นจ�ำนวน 17,727,381 บาท (30 กันยายน 2557 : 42,605,212 บาท) - แผนพัฒนาพนักงาน อยู่ในหัวข้อรายงานว่าด้วยการก�ำกับดูแลกิจการ
0 0 0 0 0 0 0
0 0 0 0 0 0 32,027,492
0 0 0 0 0 0 32,027,492
0 0 0 0 0 0 0
0 0 0 0 0 0 27,729,793
0 0 0 0 0 0 27,729,793
0 0 0 0 0 0 0
จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิ # TTA-W3 จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิ # TTA-W4 การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง ในช่วง 1 ตุลาคม ในช่วง 1 ตุลาคม ในช่วง 1 ตุลาคม 2557 ถึง 31 ณ 30 ณ 31 2557 ถึง 31 ณ 30 ณ 31 2557 ถึง 31 ธันวาคม 2557 กันยายน 2557 ธันวาคม 2557 ธันวาคม 2557 กันยายน 2557 ธันวาคม 2557 ธันวาคม 2557 0 4,742 4,742 0 10,000 10,000 0 0 0 0 0 0 0 0 0 25,539,330 25,539,330 0 23,490,645 23,490,645 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1,000 1,000 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 6,483,420 6,483,420 0 4,228,148 4,228,148 0 0 0 0 0 0 0 0
การถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการและผู้บริหาร
หมายเหตุ : 1/ รวมจ�ำนวนหุ้นที่ถือโดยบริษัทที่เกี่ยวข้อง
ณ 30 ณ 31 รายชื่อกรรมการ กันยายน 2557 ธันวาคม 2557 130,000 130,000 1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ คู่สมรส 0 0 2. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ /1 283,231,202 283,231,202 0 0 3. นายฌ็อง ปอล เทเวอแน็ง คู่สมรส 8,000 8,000 4. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ 0 0 คู่สมรส 0 0 0 0 5. นายกฤช ฟอลเล็ต คู่สมรส 0 0 6. นายสันติ บางอ้อ 0 0 คู่สมรส 0 0 50,568,384 50,568,384 7. นางสาวอุษณา มหากิจศิริ คู่สมรส 0 0 8. นายโมฮัมหมัด ราเชด อาหมัด เอ็ม. อัลนัสซารี 0 0 คู่สมรส 0 0 9. นายอีฟ บาบิว 0 0 คู่สมรส 0 0 0 0 10. นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ คู่สมรส 0 0 รวม 333,937,586 333,937,586
จ�ำนวนหุ้น
การถือครองหลักทรัพย์ TTA โดยกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เป็นดังนี้
การถือครองหลักทรัพย์โดยคณะกรรมการ
รายงานการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการและผูบ้ ริหาร
รายงานประจ� ำ ปี 2557
285
หมายเหตุ
ณ 30 กันยายน 2557 283,231,202 0 0 0 0 0 0 156,076 0 283,387,278
รวมจ�ำนวนหุ้นที่ถือโดยบริษัทที่เกี่ยวข้อง นายสมพร จิตเป็นธม ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชีและการเงิน เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 แทนนายไกรลักขณ์ อัศวฉัตรโรจน์ ผู้บริหารที่ลาออก /3 นายชาตรี อัครจรัลญา ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2558 /4 นายคิท เหว่ย อึ้ง ได้รับการแต่งตั้งเป็นรักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกลยุทธ์ เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558
/2
/1
รายชื่อผู้บริหาร 1. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ /1 2. นายสมพร จิตเป็นธม /2 คู่สมรส 3. นายชาตรี อัครจรัลญา /3 คู่สมรส 4. นายคิท เหว่ย อึ้ง /4 คู่สมรส 5. นางสาวอุไร ปลื้มส�ำราญ คู่สมรส รวม
จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิ # TTA-W3 จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิ # TTA-W4 การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปล ในช่วง 1 ในช่วง 1 ในช่วง 1 ตุลาคม 2557 ตุลาคม 2557 ตุลาคม 2557 ณ 31 ธันวาคม ถึง 31 ธันวาคม ณ 30 กันยายน ณ 31 ธันวาคม ถึง 31 ธันวาคม ณ 30 กันยายน ณ 31 ธันวาคม ถึง 31 ธันวาคม 2557 2557 2557 2557 2557 2557 2557 2557 283,231,202 0 25,539,330 25,539,330 0 23,490,645 23,490,645 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 156,076 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 283,387,278 0 25,539,330 25,539,330 0 23,490,645 23,490,645 0
จ�ำนวนหุ้น
การถือครองหลักทรัพย์ TTA โดยผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เป็นดังนี้
การถือครองหลักทรัพย์โดยผู้บริหาร
286 การถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการและผู้บริหาร บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
โครงสร้างการถือหุ้น
รายงานประจ� ำ ปี 2557
287
โครงสร้างการถือหุ้น ผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรกของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรกของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ� ำกัด (มหาชน) ณ วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ครั้งล่าสุดของบริษัทฯ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 ล�ำดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
รายชื่อผู้ถือหุ้น
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ Raffles Resources 1 Ltd. นางสาวอุษณา มหากิจศิริ บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด นางสุวิมล มหากิจศิริ นายประทีป ตั้งมติธรรม East Fourteen Limited-Dimensional EMER MKTS Value FD State Street Bank Europe Limited Nortrust Nominees Ltd-CL AC บริษัทหลักทรัพย์ อาร์เอชบี โอเอสเค (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) รวมจ�ำนวนหุ้นของผู้ถือหุ้นใหญ่ 10 รายแรก ผู้ถือหุ้นอื่นๆ
จ�ำนวนหุ้น 213,428,893 69,802,309 50,568,384 35,928,747 19,889,445 12,570,648 10,463,770 9,376,039 8,464,339 7,940,654 438,433,228 862,742,920
รวมจ�ำนวนหุ้นที่ออกและช�ำระแล้วทั้งหมด ณ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 1,301,176,148
ร้อยละของ จ�ำนวนหุ้นทั้งหมด 16.40 5.36 3.89 2.76 1.53 0.97 0.80 0.72 0.65 0.61 33.70 66.30 100.00
หมายเหตุ: ทุนจดทะเบียนและทุนช�ำระแล้วของบริษัทฯ ณ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 เท่ากับ 2,276,847,250 บาท และ 1,301,176,148 บาท ตามล�ำดับ มูลค่าที่ตรา ไว้หุ้นละ 1 บาท
การกระจายการถือหุ้นของบริษัทฯ การกระจายการถือหุ้นของ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) ณ วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นครั้งล่าสุด ของบริษัทฯ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 ผู้ถือหุ้นแบ่งตามสัญชาติ ผู้ถือหุ้นสัญชาติไทย ผู้ถือหุ้นสัญชาติต่างด้าว รวมทั้งสิ้น
จ�ำนวนราย 30,064 116
จ�ำนวนหุ้น 1,156,434,964 144,741,184
ร้อยละของจ�ำนวนหุ้นทั้งหมด 88.88 11.12
30,180
1,301,176,148
100.00
288
การลงทุนในบริษัทต่างๆ
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
การลงทุนในบริษัทต่างๆ การลงทุนของบริษัทฯ ในบริษัทอื่น ตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ดังต่อไปนี้ ชนิด จ�ำนวนหุ้น จ�ำนวนหุ้น สัดส่วน มูลค่าหุ้น ล�ำดับที่ ชื่อบริษัท ของหุ้น ที่ช�ำระแล้ว ที่ถือ การถือหุ้น % ทีต่ ราไว้
ธุรกิจขนส่ง
ประเภทธุรกิจ : รับจัดการเรือเดินทะเล หุ้นสามัญ 9,470,000 9,470,000 99.9/1 1 บริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จ�ำกัด 3,030,000 3,029,994 26/26-27 อาคารอรกานต์ ชั้น 8 ถนนชิดลม หุ้นบุริมสิทธิ์ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : +66 (0) 2250-0569 หุ้นสามัญ 22,200,000 22,199,907 99.9 2 บริษัท พรีโม ชิปปิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) 26/32-34 อาคารอรกานต์ ชั้น 10 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : +66 (0) 2250-0569 ประเภทธุรกิจ : ขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางทะเล 500,000 499,999 99.9 3 บริษัท โทรีเซน ชาเตอร์ริ่ง (เอชเค) แอลทีดี หุ้นสามัญ Suite B 12/F Two Chinachem Plaza 135 Des Voeux Road Central, Hong Kong 4 บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงคโปร์ พีทีอี แอลทีดี หุ้นสามัญ 464,337,671 464,337,671 100.0 78 Shenton Way, #04-02 Singapore 079120 โทรศัพท์ : +65 6578-7000 25,000 25,000 100.0 5 บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง เยอรมันนี จีเอ็มบีเอช หุ้นสามัญ Stavendamm 4a, 28195 Breman, Germany โทรศัพท์ : 421 336 52 22 ประเภทธุรกิจ : ให้บริการเช่าเรือและรับขนส่งสินค้าแห้งเทกอง หุ้นสามัญ 80,000 80,000 100.0/1 6 บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง เดนมาร์ก เอพีเอส Tuborg Boulevard 12, 3. 2900 Hellerup, Denmark 3,000 3,000 100.0/1 7 บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง แอฟริกาใต้ (พีทีวาย) หุ้นสามัญ แอลทีดี 2401 ABSA Centre, Heerengracht Cape Town Western Cape 8001 South Africa โทรศัพท์ : +27 21 680 5025
10 บาท 100 บาท
1 ดอลลาร์ ฮ่องกง 1 ดอลลาร์ สิงคโปร์ 1 ยูโร
1 โครน เดนมาร์ก -
การลงทุนในบริษัทต่างๆ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ล�ำดับที่ ชื่อบริษัท ประเภทธุรกิจ : ตัวแทนเรือ 8 บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง แอนด์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด 26/26-27 อาคารอรกานต์ ชั้น 8 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : +66 (0) 2254-0266 9 บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จ�ำกัด 26/30-31 อาคารอรกานต์ ชั้น 9 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : +66 (0) 2650-7400 10 โทรีเซน ชิปปิ้ง เอฟแซดอี 1901-19th Floor, Golden Tower Opp. Marbella Resort, Al Buhairah Corniche Road, Sharjah, UAE โทรศัพท์ : 971-6-574 2244 11 โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส.เอ. 17th Floor, Petroland Tower 12 Tan Trao Street, Tan Phu Ward, District 7 Ho Chi Min City, Vietnam โทรศัพท์ : +84 8 5411 1919
ชนิด ของหุ้น
จ�ำนวนหุ้น ที่ช�ำระแล้ว
289
จ�ำนวนหุ้น สัดส่วน มูลค่าหุ้น ที่ถือ การถือหุ้น % ทีต่ ราไว้
หุ้นสามัญ
500,000
245,000
49.0
100 บาท
หุ้นสามัญ
22,000
11,215
51.0
1,000 บาท
หุ้นสามัญ
1
1
100.0
550,550 เดอร์แฮม
หุ้นสามัญ
2,500
1,250
50.0
100 ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา
49.0
100 บาท
100.0
1 ดอลลาร์ สิงคโปร์
40.0/4
1 ฟิลิปปินส์เปโซ
ประเภทธุรกิจ : นายหน้าเช่าเหมาเรือ หุ้นสามัญ 135,000 66,144 12 บริษัท เฟิร์นเล่ย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 26/55 อาคารอรกานต์ ชั้น 15 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : +66 (0) 2253-6160 100,000 100,000 13 บริษัท โทรีเซน ชาเตอร์ริ่ง (พีทีอี) แอลทีดี หุน้ สามัญ 78 Shenton Way, #04-02 Singapore 079120 โทรศัพท์ : +65 6578-7000 ประเภทธุรกิจ : เรือบรรทุกน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติ 14 บริษัท ปิโตรลิฟต์ จ�ำกัด หุน้ สามัญ 1,259,350,452 503,740,176 6th Floor, Mapfre Insular Corporate Center Madrigal Business Park I, 1220 Acacia Avenue, Ayala Alabang Muntinlupa City, Philippines
290
ล�ำดับที่
การลงทุนในบริษัทต่างๆ
ธุรกิจพลังงาน
ชื่อบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ชนิด ของหุ้น
จ�ำนวนหุ้น ที่ช�ำระแล้ว
จ�ำนวนหุ้น สัดส่วน มูลค่าหุ้น ที่ถือ การถือหุ้น % ทีต่ ราไว้
ประเภทธุรกิจ : บริการนอกชายฝั่ง 15 บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) หุ้นสามัญ 1,413,328,857 700,000,000 20,398,420/3 26/28-29 อาคารอรกานต์ ชั้น 9 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน 96,309,393/4 กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : +66 (0) 2255-3115-6
57.8
1 บาท
ธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน ประเภทธุรกิจ : บริการวัสดุจัดเรียงสินค้าบนเรือ โลจิสติกส์ ขนถ่ายสินค้า หุ้นสามัญ 700,000 699,993 99.9 16 บริษัท ชิดลม มารีน เซอร์วิสเซส แอนด์ ซัพพลายส์ จ�ำกัด 26/22-23 อาคารอรกานต์ ชั้น 7 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : +66 (0) 2250-0569 หุ้นสามัญ 750,000 382,496 51.0 17 บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส์ จ�ำกัด 26/30-31 อาคารอรกานต์ ชั้น 9 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : +66 (0) 3818-5090-2 ประเภทธุรกิจ : บริหารท่าเรือ หุ้นสามัญ 150,000 73,500 49.0/2 18 ชาร์จา พอร์ต เซอร์วิสเซส แอลแอลซี P.O.Box 510, Port Khalid Sharjah, United Arab Emirates โทรศัพท์ : 971-6-528 1327 หุ้นสามัญ 2,039,080 407,816 20.0/4 19 บาเรีย เซเรส Phu My borough, Tan Thanh district Ba Ria-Vung Tau province, Vietnam โทรศัพท์ : +84 64 3876 603 ประเภทธุรกิจ : โลจิสติกส์ถา่ นหิน 20 บริษทั ยูนคิ ไมนิง่ เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด (มหาชน) หุ้นสามัญ 153,454,064 136,083,041 88.7/3 26/54-55 อาคารอรกานต์ ชั้น 15 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : +66 (0) 2655-7501-2 ประเภทธุรกิจ : ขายปุ๋ยเคมี ทุนจดทะเบียนที่ออกและช�ำระแล้ว 100.0/5 21 บริษัท บาคองโค จ�ำกัด 377,072,638,790 เวียดนามดอง Phu My I Industrial Park, Tan Thanh Town Baria Vung Tau Province, Vietnam โทรศัพท์ : +84 64 3893 400
100 บาท
100 บาท
100 เดอร์แฮม 100,000 เวียดนามดอง
0.50 บาท
-
การลงทุนในบริษัทต่างๆ
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ล�ำดับที่ ชื่อบริษัท ธุรกิจอืน่ ประเภทธุรกิจ : การถือหุ้นเพื่อการลงทุน 22 โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี แอลทีดี 25 International Business Park #02-65/67 German Centre Singapore 609916 โทรศัพท์ : +65 6578-7000 23 บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด 26/32 อาคารอรกานต์ ชั้น 10 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : +66 (0) 2254-8437 24 บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) 26/22-23 อาคารอรกานต์ ชั้น 7 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : +66 (0) 2254-8437 25 Merton Investments NL B.V. Hemonystraat 11, 1074 BK Amsterdam, The Netherlands โทรศัพท์ : +31206853083 ประเภทธุรกิจ : ให้บริการด้านการบริหารงาน 26 บริษัท โทรีเซน เซอร์วิส เซ็นเตอร์ จ�ำกัด 26/22-23 อาคารอรกานต์ ชั้น 7 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : +66 (0) 2254-8437 หมายเหตุ:
ชนิด ของหุ้น
จ�ำนวนหุ้น ที่ช�ำระแล้ว
หุ้นสามัญ
130,000,000 130,000,000
/2
จ�ำนวนหุ้น สัดส่วน มูลค่าหุ้น ที่ถือ การถือหุ้น % ทีต่ ราไว้
100.0
1 ดอลลาร์ สิงคโปร์
หุ้นสามัญ
1,000,000
999,993
99.9
100 บาท
หุ้นสามัญ
93,100,000
93,099,998
99.9
10 บาท
หุ้นสามัญ
18,000
18,000
100/4
ยูโร 1
หุ้นสามัญ
60,000,000
599,993
99.9
100 บาท
ถือหุ้นโดยอ้อมผ่านบริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงคโปร์ พีทีอี แอลทีดี ถือหุ้นโดยอ้อมผ่านบริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง เอฟแซดอี /3 ถือหุ้นโดยอ้อมผ่านบริษัท อะธีน โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด /4 ถือหุ้นโดยอ้อมผ่านบริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี แอลทีดี /5 ถือหุ้นโดยอ้อมผ่านบริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) /1
291
292
ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ชื่อบริษัท ชื่อย่อ เลขทะเบียนบริษัท วันก่อตั้งบริษัท วันจดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชนจ�ำกัด วันที่หุ้นสามัญของบริษัทฯ เริ่มท�ำการซื้อขายใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประเภทธุรกิจ ที่ตั้งส�ำนักงาน
แผนกนักลงทุนสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการบริษัท และแผนกทะเบียนหุ้น แผนกตรวจสอบภายใน หุ้นสามัญ ทุนจดทะเบียน ทุนช�ำระแล้ว จ�ำนวนหุ้นที่ออกจ�ำหน่าย มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ
: บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) TTA : 0107537002737 : 16 สิงหาคม 2526 : 15 ธันวาคม 2537 : 25 กันยายน 2538 : ธุรกิจลงทุนโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น โดยลงทุนในธุรกิจหลัก 3 กลุ่ม ได้แก่ ธุรกิจขนส่ง ธุรกิจพลังงาน และธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน : 26/26-27 อาคารอรกานต์ ชั้น 8 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย โทรศัพท์: +66 (0) 2254-8437 โทรสาร: +66 (0) 2655-5631 อีเมล: tta@thoresen.com เว็บไซต์: http://www.thoresen.com : โทรศัพท์: +66 (0) 2254-8437 ต่อ 292 โทรสาร: +66 (0) 2655-5631 อีเมล: Investors@thoresen.com : โทรศัพท์: +66 (0) 2254-8437 ต่อ 144 โทรสาร: +66 (0) 2655-5631 อีเมล: COR@thoresen.com : โทรศัพท์: +66 (0) 2254-8437 ต่อ 515 โทรสาร: +66 (0) 2655-5635 : : : :
1,544,105,835 บาท 1,301,174,740 บาท 1,301,174,740 หุ้น 1 บาท
ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท
รายงานประจ� ำ ปี 2557
ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ TTA-W3 จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ออก จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิคงเหลือ ราคาใช้สิทธิ
อัตราใช้สิทธิ
วันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ อายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ วันใช้สิทธิครั้งสุดท้าย ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ TTA-W4 จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ออก จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิคงเหลือ ราคาใช้สิทธิ อัตราใช้สิทธิ วันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ อายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ วันใช้สิทธิครั้งสุดท้าย หุ้นกู้ในประเทศ มูลค่ารวมของหุ้นกู้ในประเทศที่ออกจ�ำหน่าย
วันที่หุ้นกู้ในประเทศขึ้นทะเบียน กับสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย
หมายเหตุ
293
: 141,600,255 หน่วย : 131,342,815 หน่วย : 16.1655 บาท ต่อ 1 หุ้นสามัญ/1 (หลังการปรับราคาใช้สิทธิในเดือนกุมภาพันธ์ 2557) : 1 หน่วยใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ต่อ 1.0516 หุ้นสามัญ/1 (หลังการปรับอัตราใช้สิทธิในเดือนกุมภาพันธ์ 2557) : 11 มีนาคม 2556 : 30 เดือน หรือ 2.5 ปี นับแต่วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ : 11 กันยายน 2558 : : : : : : :
99,369,017 หน่วย 98,167,548 หน่วย 18.50 บาท ต่อ 1 หุน้ สามัญ/2 1 หน่วยใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ต่อ 1 หุน้ สามัญ/2 14 มีนาคม 2557 36 เดือน หรือ 3.0 ปี นับแต่วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ 28 กุมภาพันธ์ 2560
: หุ้นกู้ชุดที่ 1 มีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 2,000 ล้านบาท ระยะเวลา 5 ปี : หุน้ กู้ชุดที่ 2 มีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 2,000 ล้านบาท ระยะเวลา 7 ปี : 9 กรกฎาคม 2553
/1 มีการปรับราคาและอัตราใช้สิทธิของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ TTA-W3 เป็น 15.2628 บาท ต่อ 1 หุ้นสามัญ และ 1 หน่วยใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ต่อ 1.1138 หุ้นสามัญ ตามล�ำดับ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2558 /2 มีการปรับราคาและอัตราการใช้สิทธิของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ TTA-W4 เป็น 17.4669 บาท ต่อ 1 หุ้นสามัญ และ 1 หน่วยใบส� ำคัญแสดงสิทธิ ต่อ 1.0591 หุ้นสามัญ ตามล�ำดับ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2558
บุคคลอ้างอิง หน่วยงานก�ำกับบริษัทที่ออกหลักทรัพย์
หน่วยงานก�ำกับบริษัทจดทะเบียน
: ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) 333/3 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ประเทศไทย โทรศัพท์: +66 (0) 2695-9999 โทรสาร: +66 (0) 2695-9660 อีเมล: info@sec.or.th เว็บไซต์: http://www.sec.or.th : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 62 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์: +66 (0) 2229-2000, +66 (0) 2654-5656 โทรสาร: +66 (0) 2229-2030, +66 (0) 2654-5649 ศูนย์บริการข้อมูล: +66 (0) 2229-2222 อีเมล: SETCallCenter@set.or.th เว็บไซต์: http://www.set.or.th
294
ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท
นายทะเบียนหุ้นสามัญและใบส�ำคัญแสดงสิทธิ
นายทะเบียนหุ้นกู้
ผู้สอบบัญชี
ที่ปรึกษากฎหมาย
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส ์ จ�ำกัด (มหาชน)
: บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 62 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์: +66 (0) 229-2800 TSD Call Center: +66 (0) 2229-2888 โทรสาร: +66 (0) 2359-1259 อีเมล: TSDCAllCenter@set.or.th เว็บไซต์: http://www.tsd.co.th : ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ประเทศไทย โทรศัพท์: +66 (0) 2544-1000 โทรสาร: +66 (0) 2544-2658 : นายวีระชัย รัตนจรัสกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4323 ส�ำนักงานบัญชี เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด 195 ถนนสาธรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาธร กรุงเทพฯ 10120 ประเทศไทย โทรศัพท์: +66 (0) 2677-2000 โทรสาร: +66 (0) 2677-2222 : บริษัท เบเคอร์ แอนด์ แมคเคนซี่ จ�ำกัด 990 อาคารอับดุลราฮิม ชั้น 5, 22-25 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 ประเทศไทย โทรศัพท์: +66 (0) 2636-2000 โทรสาร: +66 (0) 2636-2111
หมายเหตุ ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์เพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ของบริษัทฯ ที่แสดงไว้ในเว็บไซต์ของ คณะก�ำกับหลักทรัพย์และดูแลหลักทรัพย์ที่ http://www.sec.co.th. หรือในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ที่ http://www.thoresen.com
THORESEN THAI AGENCIES PLC.
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำ�กัด (มหาชน) 26/26-27 อาคารอรกานต์ ชั้น 8 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย โทรศัพท์ : +66 (0) 2250 0569-74, +66 (0) 2254-8437 โทรสาร : +66 (0) 2655-5631 เว็บไซต์ : http://www.thoresen.com