TTA : รายงานประจำปี 2553

Page 1

THORESEN THAI AGENCIES PLC.


ประวัติความเปนมา 2553

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เขาถือหุนรอยละ 38.83 ใน Petrolift Inc. ซึ่งเปน บริษัทเรือบรรทุกน้ำมันปโตรเลียมในประเทศฟลิปปนส เมอรเมด เขาถือหุนรอยละ 100 ใน Subtech Ltd. ในประเทศเซเชลส เพื่อขยายบริการงานวิศวกรรม โยธาใตน้ำไปยังตะวันออกกลางและอาวเปอรเซีย เมอรเมด ขายเงินลงทุนในโครงการเรือขุดเจาะ KM-1 ใหกับหุนสวนชาวมาเลเซีย และขายหุนใน บริษัท เวิลลคลาส อินสไปเรชั่น เอสดีเอ็น บีเอชดี บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ออกหุนกูในประเทศประเภทระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอย สิทธิ ไมมีประกันเปนจำนวนเงินรวม 4.0 พันลานบาท เพื่อใชชำระคืนหนี้เงินกูธนาคารพาณิชย และ เพิ่มเงินทุนหมุนเวียน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดดำเนินการไถถอนหุนกูแปลงสภาพครั้งที่ 1 จำนวน 34.30 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา จำนวนเงินตนคงคางภายใตหุนกูแปลงสภาพทั้งหมด ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 คิดเปนเงิน 68.60 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดซื้อเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองมือสอง 3 ลำ และ รับมอบเรือที่สั่งตอใหมอีก 1 ลำ สวนเมอรเมด ไดรับมอบเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำมือสอง 1 ลำ และรับมอบเรือที่สั่งตอใหมอีก 3 ลำ กองเรือโทรีเซน ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 ที่กลุมบริษัทโทรีเซนเปนเจาของ มีทั้งหมด 27 ลำ เปนเรือบรรทุกสินคาทั่วไปและเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง เรือสำหรับใหบริการนอกชายฝงจำนวน 8 ลำ และมีเรือขุดเจาะอีก 2 ลำ นอกจากนี้ ยังมีเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองอีกเปนจำนวนประมาณ 8.48 ลำ ที่กลุมบริษัทโทรีเซนไดเชามาเสริมเพิ่มเติมเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา

2552

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดกอตั้งบริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ประกอบ ธุรกิจโดยการถือหุน (holding company) เพื่อการลงทุนในโครงการตางๆ สินทรัพยหรือลงทุนใน บริษัทนอกประเทศไทย บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เขาถือหุนรอยละ 89.55 ในบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจโลจิสติคสถานหินในประเทศไทย บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เขาถือหุนรอยละ 100 ในบริษัท บาคองโค จำกัด ซึ่งเปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจปุยในประเทศเวียดนาม บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เขาถือหุนรอยละ 21.18 ในเมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี ซึ่งเปนหุนสวนในบริษัทที่ประกอบธุรกิจเหมืองถานหินในประเทศฟลิปปนส เมอรเมด ไดระดมเงินทุนโดยการออกหุนเพิ่มทุน (right issues) 156 ลานดอลลารสิงคโปร เพื่อรองรับการเติบโตของธุรกิจของบริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน)

2551

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ขยายการลงทุนสูประเทศอินโดนีเซีย โดยไดลงทุนรอยละ 49 ใน PT Perusahaan Pelayaran Equinox บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดรับรางวัล Thailand’s Best-Managed Medium-Cap Corporation จากนิตยสาร Asiamoney

2550

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดออกหุนกูแปลงสภาพจำนวน 169.80 ลานดอลลาร สหรัฐอเมริกา เพื่อนำมาใชในแผนการขยายและปรับปรุงกองเรือของบริษัทฯ เมอรเมดไดจัดหาเงินทุนจำนวน 246 ลานดอลลารสิงคโปร จากการออกและเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุน แกประชาชนทั่วไปเปนครั้งแรกและจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศสิงคโปร


2549

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เนนการกระจายธุรกิจใหมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น โดยลงทุนเพิ่มในบริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (“เมอรเมด”) เปนรอยละ 74.01 ณ วันที่ 30 กันยายน 2549 เพื่อรองรับการขยายตัวอยางรวดเร็วในดานอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาตินอกชายฝง บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ติดอันดับ 1 ใน 200 บริษัทจดทะเบียนที่ดีที่สุดในเอเชีย ซึ่งมีรายไดใกล 1 พันลานดอลลารสหรัฐอเมริกา โดยนิตยสาร Forbes Asia

2548

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดรับรางวัล Best Performance Award ในกลุมอุตสาหกรรมธุรกิจบริการจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

2538

หุนสามัญของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดรับการอนุมัติใหเปนหลักทรัพยที่ จดทะเบียนและซื้อขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

2537

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด ไดแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนจำกัด

2536

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด ไดเปลี่ยนมาประกอบธุรกิจโดยการถือหุน (holding company) โดยมีการวางนโยบายใหบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด ถือหุนในทุกบริษัทในเครือโทรีเซนที่จะ จัดตั้งขึ้นใหม รวมถึงในบริษัทยอยที่ประกอบธุรกิจเดินเรือที่ตั้งขึ้นใหมทุกบริษัท เนื่องจากเริ่มมีการขยาย กองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง

2529

เพื่อเปนการแยกธุรกิจที่ไมใชการเดินเรือทะเล อาทิ ตัวแทนเรือและนายหนาเชาเหมาเรือออกจากธุรกิจ เดินเรือทะเลของบริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จำกัด ธุรกิจที่ไมใชธุรกิจเดินเรือทะเลจึงถูกโอนไปยัง บริษัท โทรีเซนไทย ออฟชอร จำกัด และตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2529

2469

โทรีเซน แอนด โค ลิมิเต็ด (ฮองกง) ตั้งสำนักงานสาขาในประเทศไทย เพื่อดำเนินธุรกิจในดานตัวแทนเรือ และนายหนาเชาเหมาเรือ

รายงานประจำป 2553

1


สารบัญตาราง / แผนภูมิ ตาราง สาสนถึงผูถือหุน ตาราง 1 รายละเอียดสัดสวนแบงกำไรสุทธิจากธุรกิจหลักใหกับบริษัทฯ 10 ตาราง 2 รายไดรวม ผลกำไร (ขาดทุน) สุทธิ และผลตอบแทนจากทุน 15 ขอมูลและแนวโนมธุรกิจ ตาราง 3 ปริมาณการคาทางทะเลของโลกป 2543 ถึง 2553 ตาราง 4 อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ป 2546 ถึง 2552 ตาราง 5 ปริมาณการคาสินคาแหงเทกองทางทะเลตั้งแต ป 2547 ถึง 2553 ตาราง 6 อุปสงคของสินคาแหงเทกองป 2547 ถึง 2553 ตาราง 7 การผลิตเหล็กดิบของโลก ตาราง 8 กองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง เดือนพฤศจิกายน 2553 ตาราง 9 การสั่งซื้อเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองที่สั่งตอใหม เดือนพฤศจิกายน 2553 ตาราง 10 คุณลักษณะของเรือแตละประเภท ตาราง 11 โครงสรางกองเรือโทรีเซน ตาราง 12 รายชื่อกองเรือโทรีเซน ตาราง 13 ประเภทของการเชาเหมาเรือ ตาราง 14 โครงการนอกชายฝงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ของบริษัทน้ำมัน ตาราง 15 รายชื่อกองเรือที่ใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำของเมอรเมด ตาราง 16 ภาพรวมของกองเรือขุดเจาะทั่วโลก ตาราง 17 รายชื่อกองเรือขุดเจาะ ตาราง 18 ตลาดเรือขุดเจาะ ตาราง 19 อุปสงคของถานหินของ PLN ตาราง 20 อุปสงคและอุปทานของถานหินประเภทใหความรอน ตาราง 21 คุณสมบัติเฉพาะของถานหินแตละประเภท

37 38 38 39 39 42 42 46 46 47 49 57 58 61 63 65 72 73 82

คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ ตาราง 22 ผลการดำเนินงานของกลุม ตาราง 23 ผลกำไรจากการดำเนินงานของกลุมธุรกิจหลัก ตาราง 24 สรุปขอมูลกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ตาราง 25 ปริมาณสินคาตามประเภทของการใหบริการ ตาราง 26 ผลการดำเนินงานเฉลี่ย ตาราง 27 วิเคราะหผลประกอบการจากงบการเงินรวมของเมอรเมด ในรอบปบัญชี 2553 ตาราง 28 สรุปขอมูลกองเรือใหบริการนอกชายฝง ตาราง 29 อัตราการใชประโยชนจากเรือของกองเรือขุดเจาะ ตาราง 30 ผลการดำเนินงานตามงบการเงินรวมของ UMS ตาราง 31 ผลการดำเนินงานของบาคองโค ตาราง 32 ตารางการลงทุนฝายทุนที่มีภาระผูกพัน ตาราง 33 เรือที่จะอายุครบ 25 ป ตาราง 34 สรุปรายการกระแสเงินสด ตาราง 35 โครงสรางเงินทุนรวมของบริษัทฯ ตาราง 36 วิเคราะหแหลงเงินทุนของบริษัทฯ ตาราง 37 Credit Metrics และสภาพคลอง ตาราง 38 วันครบกำหนดอายุหนี้สินระยะยาว

94 95 95 97 98 32 99 100 101 101 102 102

การถือครองหุนโดยคณะกรรมการและผูบริหาร ตาราง 39 การถือครองหุนโดยคณะกรรมการ ตาราง 40 การถือครองหุนโดยผูบริหาร

193 193

ผูถือหุนและนโยบายการจายเงินปนผล ตาราง 41 ผูถือหุนรายใหญ

194

90 90 91 92 92

รายงานวาดวยการกำกับดูแลกิจการ ตาราง 42 รายนามคณะกรรมการ ตาราง 43 รายละเอียดการเขารวมประชุมของกรรมการ ตาราง 44 คาตอบแทนและเงินรางวัลประจำปของ คณะกรรมการและกรรมการชุดยอย

201 209 211

แผนภูมิ สาสนถึงผูถือหุน แผนภูมิ 1 สวนแบงผลกำไรจากธุรกิจตางๆ แผนภูมิ 2 รายไดรวม (2551-2553) แผนภูมิ 3 รายไดรวมป 2553 จำแนกตามสายงานธุรกิจ แผนภูมิ 4 ดัชนีคาระวางบอลติค (2551-2553) แผนภูมิ 5 กำไรตอหุน ผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน และผลผลิตจากการทำงานตอคน (2551-2553) ขอมูลและแนวโนมธุรกิจ แผนภูมิ 6 โครงสรางกลุมบริษัทโทรีเซนภายใตกลุมธุรกิจใหม แผนภูมิ 7 การพัฒนาของปริมาณการคาของสินคาแหงเทกอง แผนภูมิ 8 อุปสงคของสินคาแหงเทกอง แผนภูมิ 9 การผลิตเหล็กของโลกและสวนแบงการตลาดของจีน แผนภูมิ 10 การนำเขาแรเหล็กของจีน แผนภูมิ 11 การสั่งซื้อเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองที่สั่งตอใหม แผนภูมิ 12 อัตราคาเชาเหมาลำแบบเปนระยะเวลา 1 ป แผนภูมิ 13 ราคาของกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองสั่งตอใหม แผนภูมิ 14 ราคาของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองมือสอง แผนภูมิ 15 จำนวนเรือและระวางบรรทุกรวมในแตละป แผนภูมิ 16 การใหบริการของกองเรือโทรีเซนจำแนกตามวันเดินเรือ แผนภูมิ 17 สัดสวนการถือครองเรือประเภทบรรทุกสินคาทัว่ ไปและเรือบรรทุก สินคาแหงเทกอง (15,000-50,000 เดทเวทตัน) แผนภูมิ 18 ลูกคาจำแนกตามรายรับ แผนภูมิ 19 สินคาที่ขนสงจำแนกตามประเภทของสินคา แผนภูมิ 20 การเติบโตของการใชพลังงานน้ำมันและกาซธรรมชาติ แผนภูมิ 21 การเปลี่ยนแปลงของการใชจายในการสำรวจและผลิตตอราคา น้ำมันคิดเปนรอยละ แผนภูมิ 22 คำสั่งตอเรือใหม แผนภูมิ 23 แนวโนมของเรือขุดเจาะ แผนภูมิ 24 ทิศทางการคาถานหินประเภทใหความรอน แผนภูมิ 25 ราคาของถานหินประเภทใหความรอน แผนภูมิ 26 การนำเขาถานหินของสหราชอาณาจักรและเยอรมณี แผนภูมิ 27 ปริมาณสินคาของสหราชอาณาจักร แผนภูมิ 28 การนำเขาถานหินออสเตรเลีย แผนภูมิ 29 การตอบสนองดานอุปทานของอินโดนีเซีย แผนภูมิ 30 การคาถานหินของจีน แผนภูมิ 31 จีนกระจายไปยังแหลงนำเขาอื่นๆ แผนภูมิ 32 การผลิตไฟฟาพลังงานความรอนของอินเดีย แผนภูมิ 33 อุปสงคการนำเขาของอินเดีย แผนภูมิ 34 ตนทุนเปรียบเทียบกับจีน แผนภูมิ 35 ประสิทธิภาพของสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและ การสงออกของออสเตรเลีย แผนภูมิ 36 สัญญาฟวเจอรถานหิน ICE แผนภูมิ 37 ประมาณและมูลคาการนำเขาปุยของประเทศเวียดนาม แผนภูมิ 38 ความตองการปุย แผนภูมิ 39 กระบวนการผลิตปุยของบาคองโค แผนภูมิ 40 ประเภทของถานหิน การเก็บสำรอง คุณสมบัติทั่วไป และการนำมาใช แผนภูมิ 41 ปริมาณการนำเขาถานหิน แผนภูมิ 42 มูลคาการสงออกถานหิน แผนภูมิ 43 การเปรียบเทียบราคาระหวางเชื้อเพลิง 3 ประเภท

7 10 10 11 22

32 38 39 40 40 42 43 44 44 45 46 49 49 50 50 54 55 56 61 66 66 67 67 68 68 69 69 70 71 71 72 73 78 78 79 81 82 83 83


สารบัญ

ประวัติความเปนมา

1

จุดเดนทางการเงิน

4

สาสนถึงผูถือหุน

5

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

24

คณะกรรมการ

26

คณะผูบริหาร

28

ขอมูลและแนวโนมธุรกิจ

31

นโยบายวาดวยการรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทฯ

85

คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ

90

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน

105

งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัทฯ

106

โครงสรางรายได

183

คาตอบแทนของผูสอบบัญชี

183

ปจจัยความเสี่ยง

184

การถือครองหุนโดยคณะกรรมการและผูบริหาร

193

ผูถือหุนและนโยบายการจายเงินปนผล

194

รายงานวาดวยการกำกับดูแลกิจการ

195

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน

213

รายการระหวางกัน

214

การลงทุนในบริษัทตางๆ

218

ขอมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ

223


จุดเดนทางการเงิน รอบบัญชีสิ้นสุด 30 กันยายน

2553

2552

2551

(หนวย : ลานบาท ยกเวน หุน / ขอมูลตอหุนและอัตราสวนทางการเงิน งบกำไรขาดทุน : รายไดจากการเดินเรือ คาใชจายในการเดินเรือ คาใชจายในการดำเนินงานเกี่ยวกับเรือเดินทะเล - สวนของเจาของเรือ รายไดจากธุรกิจบริการนอกชายฝง คาใชจายจากธุรกิจบริการนอกชายฝง รายไดจากการขาย ตนทุนขาย รายไดจากกลุมบริษัทที่ใหบริการและแหลงอื่นๆ คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย คาใชจายทั่วไปและคาใชจายการบริหาร ดอกเบี้ยจาย ดอกเบี้ยรับ สวนแบงกำไร (ขาดทุน) จากการลงทุนในบริษัทรวมและกิจการรวมคา กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน กำไรสุทธิ ขอมูลตอหุน : กำไรสุทธิ-ขั้นพื้นฐาน เงินปนผลจาย มูลคาทางบัญชี งบดุล (ณ วันสิ้นรอบบัญชี) : เงินสดและมูลคาหลักทรัพยในความตองการของตลาด เรือเดินทะเล เรือขุดเจาะ เครื่องจักร และอุปกรณสุทธิ รวมสินทรัพย หนี้สินรวม ทุนเรือนหุน (บาท) รวมสวนของผูถือหุน ขอมูลทางการเงินอื่นๆ : กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงานสุทธิ กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนสุทธิ กระแสเงินสดจากกิจกรรมในจัดหาเงินสุทธิ คาใชจายฝายทุน : ยอดรวมการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณและสินทรัพยไมมีตัวตน อัตราสวนทางการเงิน : อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม (%) อัตรากำไรสุทธิตอรายไดรวม (%) ยอดหนี้สินทั้งหมดตอทุนของบริษัทฯ ยอดหนี้สิน (เงินสด) สุทธิตอทุนสุทธิ 4

รายงานประจำป 2553

9,272.55 4,921.29 2,029.22 3,476.37 2,641.82 4,640.74 3,827.51 1,521.12 1,962.03 1,939.76 510.62 94.65

13,842.17 8,115.66 2,890.82 5,209.87 3,310.88 365.80 320.26 1,704.28 1,778.93 1,950.66 378.05 125.43

28,453.61 15,107.66 2,798.01 5,285.44 3,593.82 1,128.18 2,050.62 1,765.76 535.68 204.71

80.31 24.34 795.57

29.88 (9.87) 1,813.71

74.21 236.32 8,776.44

1.12 0.26 44.54

2.56 0.54 43.91

12.40 2.25 45.39

10,414.49 21,907.37 48,873.46 17,341.32 708,004,413 31,532.14

11,822.56 13,471.96 41,640.83 10,549.39 708,004,413 31,091.44

11,990.56 15,089.70 42,143.11 12,928.02 643,684,422 29,215.10

1,550.23 (10,883.10) 7,305.19

5,000.69 (4,617.08) (1,111.25)

11,340.02 (6,281.04) 2,612.65

8,356.00

4,726.32

3,756.58

3.04% 1.76% 4.17% 0.31 0.11

7.06% 4.33% 8.52% 0.18 (0.18)

43.73% 24.97% 24.97% 0.22 (0.16)


สาสนถึงผูถือหุน 2553 – ปแหงการเสริมความแกรงกลาที่จะนำไปสูการเปลี่ยนแปลงโครงสรางธุรกิจอยางแทจริง สองปที่ผานมานี้นับเปนชวงเวลาที่ทาทายที่สุดชวงหนึ่งแตก็นาตื่นเตนสำหรับ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด(มหาชน) (“บริษัทฯ”) ราคาทรัพยสินและหุนในธุรกิจหลายแขนงไดดิ่งลงและทำใหหลายๆ ฝายมีขอกังขาเกี่ยวกับการดำเนินการธุรกิจในตลาดเปดเสรี อยางไรแลว ถึงแมตลาดไดแสดงใหเห็นวี่แววความกระเตื้องบาง เราก็ไมควรลืมบทเรียนที่ไดรับจากการตื่นตระหนกและผลกระทบที่ตามมา และสมควรที่ จะนำบทเรียนไปใชในการตัดสินใจอยางรอบคอบในภายภาคหนา ในขณะนี้ โลกธุรกิจไดมีโอกาสเริ่มตนใหมอีกครั้ง ความไมแนนอนก็ยังคงดำเนินตอไป และเราเชื่อวาการเติบโตทางธุรกิจนั้นเปนเรื่องที่จะทำให สำเร็จไดยากขึ้นกวาเดิม ความผันผวนยังคงมีอยู ซึ่งจะนำไปสูการควบคุมและตรวจตราการดำเนินการธุรกิจอยางเขมงวดมากขึ้น อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ถือวาเปนโอกาสที่ดีในการปรับเปลี่ยนตัวเองใหม ในชวงหาปที่ผานมานี้ บริษัทฯ ไดมีการตัดสินใจที่นำสูการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของธุรกิจของเราแตก็ยังคงไวอยูกับนโยบายการเงินที่ระมัดระวัง การที่เราไดเดินทางขนานทั้งสองเสนนี้ไดทำใหเราไดยืนหยัดอยางมั่นคงตอภาวะวิกฤตที่ผานมานี้ การตัดสินใจที่นำสูการเปลี่ยนแปลงลักษณะ ธุรกิจของเรารวมถึง l เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2550 บริษัทฯ ไดออกหุนกูแปลงสภาพ รวมมูลคา 169.8 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ในตลาดตางประเทศ l เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2550 บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) (“เมอรเมด”) ไดเขาจดทะเบียนหลักทรัพยในตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศสิงคโปร (“SGX-ST”) โดยระดมทุนไดเปนจำนวนเงิน 246.5 ลานดอลลารสิงคโปร

ในขณะนี้ โลกธุรกิจไดมีโอกาสเริ่มตนใหมอีกครั้ง “ความไม แนนอนก็ยังคงดำเนินตอไป และเราเชื่อวา การเติบโตทางธุรกิจนั้นเปนเรื่องที่จะทำใหสำเร็จไดยาก ขึ้นกวาเดิม ความผันผวนยังคงมีอยู ซึ่งจะนำไปสู การควบคุมและตรวจตราการดำเนินการธุรกิจอยาง เขมงวดมากขึ้น อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ถือวาเปน โอกาสที่ดีในการปรับเปลี่ยนตัวเองใหม

l l l l l l

ในชวงระหวาง พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 และ กรกฎาคม พ.ศ. 2553 บริษัทฯ ไดมีการซื้อคืนหุนกูแปลงสภาพในจำนวนเงิน 66.9 ลานดอลลาร สหรัฐอเมริกา ในชวงที่ตลาดเงินไดตกอยูในภาวะผันผวน ทั้งนี้ยังไดเพิ่มสภาพคลองใหแกตลาดเงินไปในตัว เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 บริษัทฯ ไดซื้อหุนทั้งหมด (รอยละ 100) ใน บริษัท บาคองโค จำกัด ดวยเงินจำนวน 374.1 ลานบาท ทั้งนี้ การลงทุนครั้งนี้ถือวาเปนการลงทุนในประเทศเวียดนามที่คอนขางใหญเปนครั้งแรกสำหรับบริษัทฯ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2552 บริษัทฯ ไดกาวเขาไปในธุรกิจพลังงานตนน้ำเปนครั้งแรกดวยการลงทุน 169.5 ลานบาท ใน บริษัท เมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี เทียบเทาสัดสวนการถือหุนรอยละ 21.18 เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ตามสัญญาเสนอซื้อขายหุน บริษัทฯ ไดซื้อ บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) (“UMS”) ดวย จำนวนเงิน 3,977.8 ลานบาท และเปนผูถือหุนใหญในสัดสวน รอยละ 89.55 เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ มีการลงทุนในธุรกิจเรือบรรทุกและขนสงน้ำมันขนาดเล็กดวยการซื้อหุนรอยละ 38.83 ใน Petrolift Inc. (“Petrolift”) ดวยจำนวนเงิน 904.5 ลานบาทและ เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ ไดมีการลงทุนขนาดใหญในประเทศเวียดนามเปนครั้งที่สองดวยการซื้อหุนใน บริษัท Baria Serece ดวยจำนวนเงิน 332.5 ลานบาท เทียบเทากับการถือหุนรอยละ 20 ในบริษัทดังกลาว

จุดหมายหลักๆ ในป 2553 ในการลองไปในน้ำเชี่ยวนั้นเราไดยึดมั่นในความสามารถที่เปนแกนหลักของเรามาชวยนำทาง โดยมีเปาหมายระยะยาวเปนที่ตั้ง การวิเคราะหการ ลงทุนอยางมีวินัยโดยคำนึงถึงเปาหมายนี้ การอาศัยความสัมพันธในวงการธุรกิจ และการบริหารการเงินอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อบรรลุจุดหมาย ระยะสั้นหลักๆ อยูสี่ประการดังนี้


รักษาบริษัทฯ ใหมีความมั่นคง ใน 12 เดือนที่ผานมานี้ เราไดลดจำนวนพนักงานไปโดยเฉลี่ยรอยละ 6 รวมทั้งไดขายธุรกิจและ/หรือทรัพยสินที่ คาดวาจะไมสามารถทำกำไรไดตามเกณฑ ดวยเหตุผลเดียวกันนี้เราจึงไดชะลอการขยายธุรกิจตามหลักการลงทุนที่จะเสริมสรางสิ่งที่เรามีอยูได ทั้งนี้ เราไดวางแผนรับมือความผันผวนในตลาดเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองและธุรกิจบริการนอกชายฝงและยืนพรอมที่จะรับกับความผันผวนที่ จะมีขึ้นอยูเรื่อยๆ เดินหนาตามกลยุทธที่จะทำใหบริษัทฯ เติบโตและจัดวางธุรกิจใหอยูในจุดที่จะทำใหดีขึ้น บริษัทฯ ไดตัดสินยกเลิกการขนสงประจำเสนทาง เพื่อที่จะลดความเสี่ยงตอความผันผวนพรอมทั้งเพิ่มศักยภาพในการปลอยเชาเรือโดยรับคาระวางเรือที่สูงกวาไดในเขตธุรกรรมอื่นๆ เชนใน มหาสมุทรแอตแลนติก การตัดสินใจครั้งนี้นั้น เปนเรื่องที่ลำบากใจมากเพราะธุรกรรมการขนสงประจำเสนทางนั้นเปนหนึ่งเดียวกันกับประวัติศาสตร ของบริษัทฯ ในการขนสงของเราเปนเวลา 25 ปทีเดียว ซึ่งผลที่ตามมาคือ คาระวางเรือ (time charter equivalent (“TCE”)) ของบริษัทฯ สูงขึ้น รอยละ 13.41 หรือคิดเปนจำนวนเงิน 12,619 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวัน กำไรขั้นตนลดลงเปนรอยละ 24.45 จากรอยละ 26.13 ในป 2552 สืบเนื่องมาจากผลประกอบการที่ออนแอของเมอรเมด บริษัทฯ ไดตัดคาใชจาย ทั่วไปและคาใชจายในการบริหารลงจำนวน 41.7 ลานบาท หรือรอยละ 2.61 จากคาใชจายในป 2552 ทั้งนี้ ก็เพื่อมาพยุงผลกระทบจากอุปสงค ของลูกคาที่ลดลง ในขณะเดียวกันเราก็ไดเพิ่มการลงทุนในตลาดที่มีศักยภาพสูงเชน ประเทศเวียดนามและ ประเทศฟลิปปนสซึ่งโดยรวมแลว นอกจากเมอรเมด ธุรกิจหลักๆ ของเรามีผลกำไรในป 2553 รวมทั้งปจจัยหลายปจจัยยังบงชี้ไดวาจะเห็นสวนผลกำไรที่สูงขึ้นจากบริษัทนองใหม ในเครือในปขางหนานี้ การเพิ่มศักยภาพทางการเงิน สวนของผูถือหุนเพิ่มขึ้น 440.7 ลานบาท ในป 2553 และมีกระแสเงินสดจากการดำเนินงานเปนจำนวน 1,550.2 ลานบาทโดยประมาณ บริษัทฯ ไดขายเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองรวมทั้งสิ้น 11 ลำ รวมทั้งเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำอีก 1 ลำ เพื่อที่จะ มามุงดำเนินการธุรกรรมที่มีกำไรมากขึ้นได การขายสินทรัพยดังกลาวนั้นทำใหเงินสดของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นจำนวน 1,397.7 ลานบาท โดยรวมแลว เงินสดในบัญชี ณ สิ้นรอบบัญชีมีจำนวน 8,458.2 ลานบาท บริษัทฯ ไดระดมทุน 51 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกาในตลาดเงินในตางประเทศเพื่อ ที่จะมาสำรองการซื้อเรือขุดเจาะสั่งตอใหมสำหรับบริษัทในเครือของเมอรเมด นอกจากนี้แลว เราก็ยังไดเซ็นสัญญาเงินกูกับธนาคารพาณิชย เพื่อใชในการลงทุนระยะยาวและการเสริมสภาพคลองของเงินทุนหมุนเวียน ในวงเงิน 12.4 พันลานบาท และไดออกหุนกูสกุลเงินบาทจำนวน 4 พันลานบาท ดวยอัตราดอกเบี้ยที่ดีมากเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 ทั้งนี้ บริษัทฯ มีวงเงินมากกวา 13,212.3 ลานบาท ที่เราจะนำมาใช ในการขยายธุรกิจได การปกปองชื่อเสียงและตราสัญลักษณของบริษัทฯ ในป 2554 นี้ บริษัทฯ จะฉลอง 107 ป ในการดำเนินธุรกิจ ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีความจำเปน เปนอยางยิ่งที่จะปกปองสิทธิและชื่อเสียงของเราในทุกๆ ดาน ในชวง 10 ปที่ผานมานี้ กำไรมากกวารอยละ 95.15 ของบริษัทฯ มาจากธุรกิจเดินเรือ บรรทุกสินคาแหงเทกอง การที่ธุรกิจนี้จำเปนที่จะตองมีการลงทุนสูงเมื่อซื้อเรือใหมเขากลุมไดสงผลกระทบตอการรายงานผลกำไรขาดทุนทำใหมี ความผันผวนในผลการดำเนินงานของบริษัทฯ จากนี้ไป บริษัทฯ จะมิใชเปนบริษัทขนสงสินคาแหงเทกองหากแตเปนผูลงทุนระยะยาวที่จะเดินหนา ไปสูธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐานและสินคาโภคภัณฑ (commodities) และจะตองดูขนาดของธุรกรรม รวมทั้งเงินลงทุนและผลกำไรในธุรกิจตางๆ กันอยางรอบคอบ ในป 2553 บริษัทฯ ไดมุงหาโอกาสในการลงทุนใหมๆ ที่จะกอใหเกิดรายได กำไร และ เงินหมุนเวียนที่มีความสม่ำเสมอมากขึ้น ทั้งนี้เราตั้งใจที่จะ เสริมใหโครงสรางมั่นคงเพื่อกอเกิดรายไดและกำไรใหเพียงพอตอคาใชจายที่เกิดจากการดำเนินงาน หนี้เงินกู และเงินทุนที่จะไปลงทุนในธุรกิจ ใหมๆ พรอมทั้งสามารถจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนได เมื่อโครงสรางนี้เขาที่อยางมั่นคงแลว บริษัทฯ ก็อาจจะมุงไปในการลงทุนที่มีความเสี่ยง มากขึ้นเพื่อที่จะไดผลตอบแทนจากการลงทุนที่สูงขึ้น ทั้งนี้ เพื่อที่จะสรางผลตอบแทนในการลงทุนตามเปาหมายที่วางไวรอยละ 15 ตอป ในระยะยาวการลงทุนใน Petrolift และ Baria Serece ก็เปนตัวอยางของการลงทุนประเภทนี้ อยางไรแลวก็ยังจะตองเรียนรูอีกมากและไดรับบทเรียนในการจัดการบริหารหลายๆ ขอที่จะชวยใหเราบริหารบริษัทฯ ไดอยางดีขึ้น บทเรียนหลักนั้น คือการเลือกบุคลากร ซึ่งจะตองเนนการคัดสรร การตัดสินใจเลือกและการวาจางผูบริหารสำหรับธุรกิจที่ขยายอยูและอยูในระดับสากลอยางเนืองนิจ เราไดมีการประเมินพนักงานทุกคนเพื่อทำความเขาใจขีดความสามารถและเพื่อที่จะพัฒนาทักษะที่เขาเหลานั้นขาดไป พรอมทั้งไดวาจางบุคคล ที่มีความสามารถสูงมาชวยในธุรกิจของเราในหลายแขนง บริษัทในเครือนั้นไดมีการเจาะจงพัฒนาวิธีการปฏิบัติงานและการบริหารสภาพคลองใน ชวงวิกฤตที่ผานมานี้ ทั้งนี้ เราก็ไดเริ่มวางระบบการทำงาน/ประสานงานที่เขมงวดมากขึ้นโดยยึดหลักการบริหารปองกันความเสี่ยงและการจัดเงิน ลงทุนใหเหมาะสม ระบบการทำงานเหลานี้ก็จะคงไวอยูและมีการตอยอด ถึงแมวาเศรษฐกิจจะดีขึ้นเปนลำดับ ธุรกิจขนสงสินคาแหงเทกองและการใหบริการนอกชายฝงมีความสามารถที่จะแขงขันในตลาดสากลแลว บริษัทฯ มีฐานการเงินที่มั่นคง และพรอม ที่จะพิจารณาโอกาสการลงทุนอยูหลายราย แตที่สำคัญที่สุดนั้นคือการหมั่นเรียนรูที่มีอยูตลอดเวลาและการใชการเรียนรูนั้นไปผลักดันใหบริษัทฯ พัฒนาตอไป ถึงแมไดมีการตัดสินใจที่ยากและลำบากเกิดขึ้น ในชวงที่เราตองเผชิญวิกฤตเศรษฐกิจอยู เราพรอมรับผิดชอบในการตัดสินใจเหลานั้นอยางเต็มที่ ทั้งนี้ เราไดรับการสนับสนุนอยางเต็มที่ในความตั้งใจปฏิบัติหนาที่ใหสัมฤทธิ์ผลของพนักงานทุกคน ความมุงมั่นของผูบริหาร และความสุขุม ของคณะกรรมการในการชี้แนะทาง ไดทำใหบริษัทฯ สามารถปรับเปลี่ยนโครงสรางมาเปนบริษัทเพื่อการลงทุนเชิงกลยุทธเฉพาะอยางมีขั้นตอน และมีระบบ การเปลี่ยนแปลงโครงสรางนี้ยังจำเปนที่จะตองดำเนินตอไปอีกในสองถึงสามปขา งหนานี้ 6

รายงานประจำป 2553


กระบวนการพัฒนาและปรับเปลี่ยน บริษัทฯ ยังเดินหนาตอไปในการปรับเปลี่ยนบริษัทฯ เปนบริษัทเพื่อการลงทุนเชิงกลยุทธที่สามารถบริหารธุรกิจหลักได และหาโอกาสใหมๆ ใน การลงทุน และมีเงินในมือมากเพียงพอ เพื่อการลงทุนเพิ่มเติมหรือในการจายคืนใหแกผูถือหุน และในที่สุด ทุกๆ ธุรกิจที่เราไดมีการลงทุนไปนั้นลวน มีขอไดเปรียบในเชิงรุกอยางจับตองได

2549 9.63%

การลงทุนเพื่อการเจริญเติบโต อยางมีกำไร

86.52%

มุงเนนลูกคา

3.85%

เสริมสรางผูนำในธุรกรรม แตละแขนง

ผลตอบแทนแก ผูถือหุนที่สูงขึ้น

อื่นๆ

แผนภูมิ 1 : สวนแบงผลกำไร จากธุรกิจตางๆ

กลุมธุรกิจเรืองบรรทุกสินคาแหงเทกอง การใหบริการเดินเรือ

การลงทุนเพื่อการเจริญเติบโตอยางมีกำไร บริษัทฯ จะไมกลายเปนบริษัทที่ลงทุนในธุรกิจหลายหลากจนเกินไป เพราะเราเนนการลงทุนในธุรกิจที่เปนไปในแนวเดียวกับธุรกิจเดิมที่มีอยูและ มีความแข็งแกรงมานาน ธุรกิจของบริษัทฯ สวนใหญตองใชเงินลงทุนสูงและการหาเงินมาเพื่อการลงทุนซึ่งบริษัทที่มั่นคงเทานั้นจะมีใหความ สัมพันธระหวางบริษัทในเครือที่มีกับลูกคา คูคา ผูสนับสนุนทางการเงิน และภาครัฐนั้นก็มีรากฐานที่มั่นคง ในกระบวนการนี้เรายังตอยอดทักษะ ความสามารถที่เรามีภายในกลุมดวยการพัฒนาการใหบริการรวมจากศูนยกลางในบริการและระบบที่มีความคลายคลึงกันในหมูบริษทั ในเครือ กลยุทธเชิงธุรกิจของเรานั้นเนนการเติบโตอยางตอเนื่องในระยะยาวโดยการลงทุนในแขนงธุรกิจหลักๆ ของกลุมรวมทั้งการลงทุนในธุรกิจที่มีความ เชื่อมโยงโดยตรงกับหรือตอยอดใหธุรกิจปจจุบัน ในชวงสองปที่ผานมานี้เราไดลงทุนในธุรกิจที่มีความเชื่อมโยงโดยตรง ในป 2548 เราไมไดมีธุรกิจ ในอุตสาหกรรมเหมืองถานหินหรือการผลิตปุย หากแตในป 2553 ธุรกิจทั้งสองนี้สรางรายไดใหกับบริษัทฯ เปนจำนวนเงิน 4,697.0 ลานบาท เรายัง คงจะศึกษาโอกาสในการลงทุนในธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐานหรือสินคาโภคภัณฑ (commodities) เพิ่มอีกในป 2554 เพราะเปาหมายปลายทางของ การลงทุนเหลานี้คือการผสมผสานธุรกิจปจจุบันและธุรกิจใหมๆ รวมทั้งการบริหารที่จะทำใหการลงทุนทั้งหลายในภาพรวมแลวมีคามากขึ้น นักลงทุนทั้งหลายมีความคาดหมายวาเราจะจัดสรรสัดสวนในการลงทุนอยางฉลาด ถึงแมในชวงสองปที่ผานมานี้ เราไดขายเรือบรรทุกสินคาแหง เทกอง 19 ลำ และบริษัทที่ใหบริการอีก 6 บริษัท อยางไรแลวสินทรัพยรวมของบริษัทฯ ไดเติบโตขึ้นรอยละ 16.0 เปน 48.9 พันลานบาท ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 การขายสินทรัพยและเงินลงทุนในบริษัทในเครือนั้นเปนสวนหนึ่งของการดำเนินธุรกิจปกติของบริษัทฯ รวมทั้งในการขายนั้น เราไดมีเงินกอนกลับมาเพื่อที่จะลงทุนเพื่อผลกำไรที่สงู กวา บริษัทฯ ไดขายหุนที่ถือใน บริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จำกัด ไปรอยละ 2 เมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 และกำลังขอใหผูถือหุนอนุมัติการขายหุนที่เราถืออยูในบริษัท ไอเอสเอส โทรีเซน เอเยนตซีส จำกัด (“ITA”) ในสัดสวน รอยละ 51 ของบริษัท ITA ถึงแมบริษัททั้งสองนี้ไดมีรายไดที่สม่ำเสมอในชวงหลายปนี้ โครงสรางปจจุบันยังไมอาจสามารถชวยใหบริษัททั้งสอง เติบโตไดอยางมีความชัดเจน การเปลี่ยนโครงสรางนี้จะชวยใหบริษัททั้งสองขยายกิจการไดในที่สุด ดังที่จะกลาวถึงในสาสนฉบับนี้กลุมธุรกิจหลากหลายที่เราไดมีการลงทุนนั้นพรอมที่จะขยายตัวได การลงทุนในชวงถัดไปนี้จะเนนบริษัทรวมลงทุน เพื่อที่จะเปดตลาดนอกประเทศไทย การลงทุนกับ Petrolift ทำใหเราไดเขามาอยูในตลาดเฉพาะของธุรกิจขนสงน้ำมันในประเทศฟลิปปนสที่เขาได ยากมาก ในกรณีเมอรตัน เราก็ไดเปนผูนำในการขุดเหมืองถานหินในเชิงพาณิชยบนเกาะเซบู สวนบาคองโคเราไดเปรียบเชิงธุรกิจดวยการเปน ผูใหบริการโลจิสติคสรายแรกในเวียดนามตอนใต นักลงทุนทั้งหลายจึงควรที่จะมองบริษัทฯ วา เปนหนทางที่จะนำไปสูตลาดที่กำลังจะเติบโตที่เชื่อมโยงกับธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐานและสินคา โภคภัณฑ ซึ่งบริษัทฯ จะยึดมั่นในการควบคุมตนทุนใหอยูในระดับที่สามารถแขงขันในระดับสากลได โดยรวมมือกับผูประกอบการในประเทศนั้นๆ

มุงเนนลูกคา บริษัททุกๆ บริษัทไดมีการจัดโครงสรางเพื่อที่จะสรางรายไดบนทรัพยสินและบุคลากรที่เหมาะสม ดังเชนในกรณี เมอรเมด จะเห็นไดชัดวาการ ลดคาใชจายทันทีทันใดใหสอดคลองกับการลดระดับในรายไดอยางมากนั้นมีความลำบากพอสมควร อนึ่ง ปจจัยสำคัญในการสรางรายไดคือการให ความสำคัญตอลูกคาสัมพันธและการใหบริการที่ดีเลิศ

รายงานประจำป 2553

7


บริษัทยอยตางๆ ก็มีกรอบการดูแลลูกคาที่ตางกันไปตามความเหมาะสมกับกลุมลูกคาเปาหมาย อยางเชน ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองนั้น อาศัยเครือขายของนายหนาผูแทนบริษัทเดินเรือในการหาลูกคาใหมและในการสรางรายไดเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกัน ฝายการตลาดของ UMS จะติดตอลูกคาโดยตรง เรามีหลักการทำงานที่จะรวมงานกับลูกคาโดยตรงเทาที่จะทำไดเพื่อสรางลูกคาสัมพันธที่แนนแฟน ในชวงที่เศษฐกิจ ไมคลองตัวเราจะไมทำใหลูกคาของเรามีเหตุที่จะทำใหเดินจากเราไป ปจจัยสำคัญ ในการมุงมั่นใหบริการลูกคานั้นจะตองอาศัยการสื่อสารที่ชัดเจน การบริการอันเปนเลิศ และการหาโอกาสที่จะขยายธุรกิจ การสื่อสาร กับลูกคานั้นสำคัญมาก และการที่เราจะทำไดอยางเปนเลิศนั้นยังจะชวยเปดโอกาสใหเราไดมากขึ้นในเชิงธุรกิจ ขั้นตอนงายๆ ที่บริษัทฯ ให พนักงานในกลุมนั้นปฏิบัติกัน เชน l การสนทนากับลูกคาทางโทรศัพทอยางสม่ำเสมอ l การเขาหาลูกคาถึงแมเรายังไมไดรับการวาจางก็ตาม l การยื่นเอกสารประมูลและเอกสารประกอบดวยตนเอง l การเชิญลูกคาไปชมเรือ เรือขุดเจาะ และสถานที่การดำเนินโครงการ ที่ขาดไมได คือ การนำเสนองานอันเปนเลิศนั้นเปนพื้นฐาน พรอมกับการนำมุมมองที่พรอมจะชวยและสรรหาคำตอบที่ตอบโจทยได ในการรับ งานแตละชิ้น แตละโครงการ เราพยายามจัดสรรบุคลากรที่เหมาะสมที่สุดสำหรับงานนั้นๆ เพื่อที่จะตอยอดอยางสรางสรรและสรางผลงานที่ดีที่สุด เทาที่จะเปนได พนักงานทุกๆ คนนั้นมีสวนในการสรรหาโอกาสลงทุนหรือขยายกิจการและธุรกรรมใหมๆ ที่เราจะพิจารณาตอได ไมไดหมายความวาเราจะไปอยู ในทุกหนแหง ทำทุกๆ อยาง และเปนทุกสิ่งทุกอยางที่ลูกคาตองการใหเราเปน ทางบริษัทฯ คาดหวังวาเมื่อพนักงานทุกคนมองเห็นโอกาส ก็จะสงตอ ใหฝายที่เกี่ยวของติดตามดวยความเหมาะสม และในขณะเดียวกันก็นำเสนอบริการในเครือที่นาจะตอบสนองความตองการของลูกคาได ซึ่งทาง บริษัทฯ ไดใหความสำคัญกับลูกคาที่พรอมจะสรางความสัมพันธระยะยาวดวยกัน

เสริมสรางผูนำในธุรกิจแตละแขนง พื้นฐานที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงของบริษัทฯ ไปสูการเปนบริษัทลงทุนในเชิงกลยุทธนั้นอยูที่การเสริมสรางผูนำเชิงธุรกิจโดยการเรียนรูจากความ สำเร็จและความลมเหลวทุกครั้งนั้นเปนสัจธรรมในการบริหารอยูเปนเนืองนิตย และก็ไมพนที่เราจะนำสิ่งที่เราไดเรียนรูมาสอนใหแกผูนำในขณะนี้ และในภายภาคหนา ในชวง 18 เดือนที่ผานมานี้เราก็ไดเรียนรูการบริหารความเสี่ยงอยางเปนระบบ การประเมินทักษะและความสามารถของ พนักงาน รวมทั้ผูบริหาร และความเปนผูนำ ทางบริษัทฯ เชื่อวาผูนำตอง l เปนผูฟงที่ดี l สามารถปรับสภาพใหเขากับความไมแนนอนได l มีวิสัยทัศนและการกระทำที่เปนแบบอยาง l ดำเนินการอยางคลองแคลวและมีประสิทธิภาพ l ใหความเคารพตอความคิดและสิทธิของผูอื่น และสามารถโยงตอไปสูสังคมภายนอก ในขณะเดียวกันนั้นผูนำของเราในแตละหนวยก็มีหนาที่นำใหลูกทีมดำเนินกิจการใหดีขึ้นตอไป พวกเขาจะตองเนนปฏิบัติการการดำเนินงาน การขยายกิจการที่มีอยูจากการเพิ่มยอดขาย ขยายฐานลูกคา กำหนดบทบาทใหเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง บริษัทฯ มีความตั้งมั่นที่จะเสริมสราง ศักยภาพในผูนำรุนใหมนี้ใหมาผลักดันบริษัทฯ ใหสามารถแขงขันในตลาดได ผลตอบแทนที่พวกเขาจะไดรับนั้นก็จะมีการวัดคาจากเกณฑเดียวกันที่ผูถือหุนใชในการประเมินบริษัทฯ ทั้งนี้ ในป 2553 บริษัทฯ ไดมีการเปดตัว โครงการสงเสริมจูงใจการปฏิบัติงานในระยะสั้นและในระยะกลางที่สอดคลองกับผลกำไรที่เรามุงจะกอเกิดในการสรางมูลคาบริษัทที่สูงขึ้น บริษัทฯ มีความพยายามอยางยิ่งยวดในการเตรียมผูนำและผูที่จะมาสืบทอดตำแหนงผูบริหารในภายภาคหนา ทั้งนี้ เราเนนทักษะในการมองภาพ กวางภาพใหญในการเขาใจธุรกิจ การตัดสินใจในสภาพที่ขอมูลไมพรอม และการที่จะตองมีผลประโยชนของผูถือหุนเปนที่ตั้ง ทั้งหมดนี้ อยูใน แผนการเสริมสรางผูนำในธุรกิจทุกแขนง และจะมีการขยายความใหละเอียดในหนา 20 ถึง 22

มูลคาของบริษัทที่สูงขึ้นเทียบเทากับผลตอบแทนแกผูถือหุนที่สูงขึ้น ถึงแมเรายังอยูในวัฏจักรการดำเนินธุรกิจในขาลงสำหรับธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ผลกำไรสุทธิของบริษัทฯ ในชวงสองสามปขางหนานี้ จะสูงขึ้นโดยมีรายไดจากการลงทุนในทุกแขนงมาหนุนกันตามอัตราการลงทุนที่เราไดปรับเปลี่ยนใหมีความสมดุลมากขึ้น การลงทุนในธุรกิจ เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและกาซเริ่มสงผลกำไรแลว ทั้งนี้ราคาน้ำมันโลกไดมีการทรงตัวในระดับที่กอใหมีการลงทุนโดยตรงโดยบริษัทน้ำมัน เกิดขึ้นอีกครั้ง และจะสงผลตอมาใหกับผลประกอบการของเมอรเมดในอนาคต ราคาและปริมาณถานหินก็คาดวาจะสูงขึ้นเพื่อตอบสนอง

8

รายงานประจำป 2553


ความตองการพลังงานของโรงไฟฟาและฝายอุตสาหกรรมโดยจะมีผลพลอยไดมาสู UMS และเมอรตัน ทายสุดแลว บริษัทฯ คาดวาจะถอนทุนคืน จากการลงทุนใน บาคองโค ในระยะเวลาต่ำกวาสองปจากการลงทุน โดยภาพรวมแลวกำไรสุทธิจะขยับขึ้นในปหนานี้ ประสิทธิภาพในการผลิตและการควบคุมตนทุนจะมีบทบาทสำคัญมากในป 2554 บริษัทฯ อยูในชวงสรางองคกรที่มีความคลองตัวโดยลด คาใชจายใหนอยลง และอยูในชวงที่พยายามจะลดเงินทุนหมุนเวียนในจำนวนมากกวา 500 ลานบาทในป 2554 บริษัทฯ ควรจะมีเงินสดและเทียบ เทาในจำนวนมากกวา 5,000 ลานบาท ซึ่งยอดนี้ก็จะเพิ่มขึ้นไปพรอมกับกำไรสุทธิในแตละปตอๆ ไปนี้ จากการรับเงินปนผลจากบริษัทในเครือเชน เมอรเมด UMS และ Petrolift บริษัทฯ ไดวางแผนจัดสรรเงินทุนเพื่อเสริมสรางศักยภาพของกลุมและการปนผลใหสอดคลองกับรายได ในการนี้เราจะใชวินัย ความอดทน และ ความตั้งมั่นตอการสรางผลตอบแทนผูถือหุนที่ดีขึ้นในระยะยาว เราไดปูพื้นฐานสำหรับอนาคตดวยความตั้งใจในชวงหาปที่ผานมานี้ และ ในชวงตอไปนี้เราก็จะดำเนินธุรกิจในฐานะบริษัทที่ไดรับการพัฒนาและมีความพรอมและความสามารถที่จะแขงขันเพื่อขยายธุรกิจไดในระยะยาว ดวยประวัติที่ยาวนานของบริษัทฯ การพัฒนานี้จะยังไมเสร็จสมบูรณอยางขามคืนเปนแน อยางไรแลวเราก็ยังไดรับผลสำเร็จในการลงทุนที่ไดเห็นชัด ในบางกรณี เรามีความเชื่อมั่นวาภายในสามปจากการเพิ่มแขนงสำหรับการลงทุนแลว บริษัทฯ จะบริหารรายการการลงทุนซึ่งมีบริษัทที่สามารถ เพิ่มความสมดุลใหแกกันและกันพรอมทั้งสรางผลกำไรที่สม่ำเสมอมากกวาการที่เราจะมีการลงทุนในธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองเพียงแต อยางเดียว ความมั่นคงที่ตามมานั้นจะเปดโอกาสใหเราผลักดันการขยายและการเติบโตของธุรกรรมของกลุมไดเปนอยางดี ในชวงถัดไปนี้เราจะมาดูผลประกอบการของบริษัทฯ ในป 2553 โดยจะลงลึกในสิ่งที่เราไดทำในการบริการลูกคาและการบริหารบุคลากร ซึ่งเปนสินทรัพยที่มีคาที่สุดของเรา

ผลประกอบการในป 2553 ภาพรวม - มีกำไรแตไมเลิศ รายไดทั้งหมดของบริษัทฯ ลดลงรอยละ 10.19 เปน 19.1 พันลานบาท ในป 2553 รวมรายไดจากธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ซึ่งลดลงรอยละ 31.37 เปน 9,604.3 ลานบาท สืบเนื่องจากการยกเลิกการใหบริการเรือแบบประจำเสนทางและจำนวนวันเดินเรือที่ลดลงไปโดยปริยาย รายได ของเมอรเมดลดลงรอยละ 31.15 เปน 3,626.5 ลานบาท อัตราการใชประโยชนของเรือขุดเจาะและเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำของ เมอรเมดลดลงเปนรอยละ 39.54 และรอยละ 56.71 รวมทั้งอัตราคาเชาเรือรายวันของธุรกิจงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำนั้นก็ลดลงรอยละ 21.73 ราย ไดของ UMS ไดลดลงเปน 2,541.2 ลานบาท แต บาคองโค มีรายไดเพิ่มขึ้นเปน 2,155.8 ลานบาท กำไรสุทธิจากธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองเพิ่มขึ้นรอยละ 5.68 เปน 973.1 ลานบาท ปจจัยหลักนั้นมาจากคาระวางเรือที่สูงขึ้นและกำไรจาก การขายเรือ สวนเมอรเมดขาดทุน 339.5 ลานบาท ซึ่งเปนที่ผิดคาดอยางมากและไดทำใหมีการเปลี่ยนแปลงที่จะกลาวถึงในอีกชวงหนึ่ง กำไรสุทธิจาก UMS คิดเปนจำนวน 90.2 ลานบาทนั้นต่ำกวาคาด เหลือแตบาคองโคที่ไดมีผลประกอบการที่ดีดวยกำไรสุทธิที่ 211.7 ลานบาท กำไรสุทธิในภาพรวมของบริษัทฯ โดยไมรวมกำไรจากรายการพิเศษนั้นลดลงจาก 850.2 ลานบาทในปที่แลวเปน 785.9 ลานบาท ผลประกอบการ เหลานี้ เทียบเทากับผลตอบแทนจากการลงทุนที่รอยละ 3.42 และผลตอบแทนของสวนของผูถือหุนรอยละ 3.04 ซึ่งไมเปนไปตามเปาหมาย อยางไร แลว บริษัทฯ ก็ยังมีผลประกอบการที่ดีกวาคูแขงบางรายอยูบาง หากแตถาวัดตามตัวเลขแลวผลประกอบการนี้นับไดวาปานกลาง งบการเงินที่แข็งแกรงและนโยบายเงินปนผล นโยบายของการมีวินัยทางการเงินของบริษัทฯ นั้น ยังคงอำนวยใหเรามีขอไดเปรียบในการดำเนินงาน ดวยการมุงเนนการบริหารความเสี่ยง การบริหารสัดสวนทุนจากการกูและทุนจากผูถือหุนใหเหมาะสม และการรายงานการดำเนินงานและผลการดำเนินงานอยางโปรงใสและชัดเจน สัดสวนของทุนตอสินทรัพยคิดเปนรอยละ 64.52 ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2553 นั้นยังบงบอกใหเห็นศักยภาพทางการเงินที่แข็งแกรง รวมทั้งได มีการสำรองหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มขึ้นจาก 91.2 ลานบาท เปน 271.3 ลานบาทเทียบเทากับรอยละ 43.37 ของลูกหนี้ที่เกินกำหนดชำระทั้งหมด การที่บริษัทฯ ใสใจตองบการเงินอยางสม่ำเสมอไดชวยใหเรารับมือกับผลดำเนินการขาดทุนของบริษัทหลักๆ ในเครือดังเชน เมอรเมดได ในขณะที่เรายังคงสามารถลงทุนตอในธุรกรรมอื่นๆ ตอไปได เมื่อตนป 2553 เราไดมีการจายเงินปนผลประจำปที่ 54 สตางค ตอหุน เทียบเทารอยละ 25.06 ของกำไรสุทธิรวมสำหรับป 2552 ในปนี้เราจะขอ ผูถือหุนอนุมัติการจายเงินปนผลจากกำไรสุทธิรวมสำหรับป 2553 ในอัตรารอยละ 25 เชนเดิม บริษัทฯ ตั้งเปาไวที่จะเพิ่มเงินปนผลในอนาคตอันใกลนี้ แตทั้งนี้ก็จะขึ้นอยูกับปจจัยสามอยางที่จะตองเกิดขึ้น เมอรเมดจะตองสามารถพลิก สถานการณของผลประกอบการกลับมาใหไดอยางมาก ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองและ UMS จะตองมีกำไรที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในไตรมาส ขางหนาอีกหลายไตรมาส และทายสุดคือความชัดเจนในความตองการของธุรกิจทั้งหมดที่จะตองมีมากขึ้น เนื่องจากผลประกอบการของเมอรเมด ที่ไมดีนัก ทำใหเมอรเมดไดละเมิดขอกำหนดของสัญญาเงินกูที่เกี่ยวของกับรายไดของเมอรเมด และสงผลกระทบตอขอกำหนดในสัญญาเงินกูของ บริษัทฯ ไปดวย ซึ่งทางบริษัทฯ ยังอยูในขั้นตอนการดำเนินการแกไข นอกเหนือจากนี้บริษัทฯ ก็ยังเตรียมรับกับความไมแนนอนที่อาจจะมากับ การเปลี่ยนแปลงของภาษีอากรซึ่งอาจจะมีผลกระทบตอการจัดเตรียมเงินเพื่อการดำเนินการและการลงทุนในภายภาคหนา รายงานประจำป 2553

9


ในชวงวิกฤตที่ผานมานี้ ในขณะที่บริษัทหลายบริษัทไดมีการลดสัดสวนของผูถือหุนลงนั้น บริษัทฯ สามารถที่จะคงสิทธิและผลประโยชนของ ผูถือหุนไดเต็มที่ การเพิ่มประสิทธิภาพ โดยรวมแลว การทำงานของเรานั้นมีประสิทธิภาพมากกวาที่เปนอยูเมื่อสองปกอนหนานี้ ดวยมีการนำระบบการดำเนินงานที่ไดรับการวิเคราะหและ ปรับปรุงมาบริหารระบบงาน รวมทั้งมีนโยบายของกลุมและกระบวนการขั้นตอนใหมๆ ที่เสริมสรางประสิทธิภาพในการดำเนินงานมารองรับ และ ไดขยายไปสูธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองเปนแหงแรก ในป 2553 เราเสร็จสิ้นการลงระบบการวางแผนทรัพยากรขององคกร (“ERP”) ในขั้นแรก และมีแผนการรวมฐานการดำเนินงาน การสื่อสาร และขอมูลใหเปนฐานเดียวกัน การลงทุนกับฮารดแวรและซอฟตแวรที่ทันสมัยเพื่อรองรับระบบธุรกรรมและศูนยขอมูล มีผลใหบริษัทฯ จัดการ ขอมูลไดสะดวกขึ้นพรอมทั้งมีการปองกันความปลอดภัยของขอมูลที่มากขึ้น กระบวนการนี้ก็ไดรวมถึงการจัดตั้งศูนยกูคืนขอมูลในกรณีฉุกเฉินและ เปนกระบวนการขั้นตอนที่สำคัญในการวางแผนเพื่อการดำเนินงานธุรกรรมอยางตอเนื่อง ในขณะเดียวกันนั้น เราไดมีการคัดสรรพนักงานที่มี ศักยภาพมากขึ้นในฝายกฎหมาย ฝายการเงิน ฝายจัดการความเสี่ยง และฝายทรัพยาบุคคล โดยทั้งหมดนี้ขอยกตัวอยางของการที่บริษัทฯ ไดประหยัดคาลงทุนในระบบเทคโนโลยีทั้งหมดนั้นในจำนวนเงิน 15 ลานบาท พรอมกับการประหยัดอีก 2 ลานบาทตอป โดยที่เราไดรวมฐาน การใหบริการระบบเทคโนโลยีของ บริษัทฯ UMS และ เมอรเมด การลงทุนอยางตอเนื่อง บริษัทฯ ไดมีการชะลอการลงทุนแตมิไดหยุดยั้งการลงทุนทั้งภายในและภายนอกซึ่งในสวนที่สองนั้นประกอบดวยการลงทุนใน Petrolift และ Baria Serece ในป 2553 และในสวนแรกนั้นการลงทุนภายในองคกรนั้นรวมการลงทุนในโครงสรางระบบและเทคโนโลยี และการเพิ่มศักยภาพ ของนักบริหาร โดยการลงทุนเหลานี้จะทำให บริษัทฯ เติบโตไดอยางตอเนื่อง ในชวงถัดไปนี้ เราจะมาดูวาบริษัทในเครือทำอะไรบางเพื่อที่จะทำความเขาใจธุรกรรมของแตละบริษัทฯ ใหถูกตอง ดวยหวังวาในความเขาใจนั้น ทุกๆ ทานจะมีความมั่นใจในอนาคตของทุกสายธุรกิจและเห็นภาพที่บริษัทฯ ไดมีความเจาะจงในการเลือกลงทุนในธุรกิจตางๆ เปนอยางมาก

"

! #&' ' ! $ %

!# !&

!# $ " ' &

! %%

#

'

แผนภูมิ 2 : รายได แผ ายไดร ไ ร วม ป 2551 – 2553 (หลังตัด รายการระหวางกันใน รายการระหว กลุ กลุมุ บริษัทฯ) และ รายได รายไดรวมป 2553 ตามสายงานธุ ต สายงานธุรกิจ

# ' '& '

# # ##

##

##!

ตาราง 1 : รายละเอียดสัดสวนการแบงกำไรสุทธิจากธุรกิจหลักใหกับบริษัทฯ ลานบาท 2553 กลุมธุรกิจขนสง 1,021.32 กลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน 301.94 กลุมธุรกิจพลังงาน -199.62 (1) -328.07 สวนของบริษัท รวม 795.57

2552 1,045.03 22.87 400.93 344.88 1,813.71

แผนภูมิ 3 : รายได รายได จำแนก รวมป 2553 จำแนก ตามสายงานธุรกิจ

ปตอป % -2.27% 1220.24% -149.79% -195.13% -56.14%

หมายเหตุ (1) : รายการพิเศษในปงบประมาณ 2553 รวมกำไรจากการซื้อคืนหุนกูแปลงสภาพจำนวน 9.63 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2552 มีกำไรจากการซื้อคืนหุนกูแปลงสภาพ จำนวน 676.33 ลานบาท และคาความนิยมติดลบจาก บาคองโคเปนจำนวนเงิน 287.21 ลานบาท

การกลาวถึงผลดำเนินการตอไปนี้จะแสดงถึงผลของสายงานหรือธุรกิจนั้นๆ โดยมิไดหักรายการระหวางกันของบริษัทในกลุม 10

รายงานประจำป 2553


กลุมธุรกิจขนสง มีกำไร 1,030.7 ลานบาท และ ผลตอบแทนผูถือหุนรอยละ 6.27 ภาพรวม กลุมธุรกิจขนสงมีผลประกอบการที่ใชไดโดยรวม ดวยกำไรสุทธิ 1,030.7 ลานบาท จากรายไดทั้งหมด 10,095.6 ลานบาท ซึ่งสวนใหญมาจากธุรกิจ เรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ดวยรายได 9,563.7 ลานบาท และกำไรสุทธิ 892.4 ลานบาท กลุมธุรกิจขนสงไดรับผลบวกที่มาจากคาระวางเรือที่สูง ขึ้นและการควบคุมตนทุนในการดำเนินธุรกิจ การที่จะกอใหเกิดผลประกอบการเชนนี้อีกนั้นอาจจะมีความยากลำบากมากขึ้นเมื่อคำนึงถึงอุปทาน ที่มากเกินความตองการในตลาดที่จะกดดันใหคาระวางเรือต่ำลง ธุรกรรมของธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ มีกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองเทียบเทา 36.50 ลำเรือที่วิ่งเต็มเวลา ทั้งนี้เรือในกองมีทั้งเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของและเรือที่ไดเชามาเพิ่มเติม บริษัทฯ ดำเนินงานดวยการรวมมือกับเครือขายนายหนาและผูใชบริการ ในการใหบริการแกลูกคามากกวา 100 รายทั่วโลก ซึ่งโดยสวนมากแลว ลูกคาจะเปนบริษัทคาขายและบริษัทเดินเรือ หนาที่ของเราคือการสงสินคาไปสูจุดหมายปลายทางอยางมี ประสิทธิภาพและปลอดภัย ในป 2553 ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองไดดำเนินงานดังนี้ l เซ็นสัญญาวาจางระยะยาวคิดเปนรอยละ 20.4 ของจำนวนวันเดินเรือและรอยละ 22.0 ของจำนวนวันเดินเรือเปนสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา (“Contract of Affreightments”) l ขนสงสินคา 10.1 ลานตันทั่วโลก l เดินทางไปสู 47 ประเทศ l ยกเลิกบริการเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองที่วิ่งประจำเสนทาง l ขายเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง 11 ลำ โดยมีขนาดระวางบรรทุกรวม 256,169 เดทเวทตัน และไดรับมอบเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง 2 ลำ โดยมีขนาดระวางบรรทุกรวม 111,138 เดทเวทตัน l รวมงานกับนายหนา และตัวแทนเรือ 98 รายในการปฎิบัติงานเกี่ยวกับสินคา คาระวางเรือเฉลี่ย Capesize Panamax Supramax Handysize BDI Index

2551 142,070 62,008 49,874 35,008 8,614

2552 29,453 12,255 10,517 7,782 2,072

2553 ดัชนีคาระวางบอลติค 14,000 35,057 25,628 12,000 20,799 10,000 15,354 3,011 8,000 6,000 4,000 2,000

ม.ค. 51 ก.พ. 51 มี.ค. 51 เม.ย. 51 พ.ค. 51 มิ.ย. 51 ก.ค. 51 ส.ค. 51 ก.ย. 51 ต.ค. 51 พ.ย. 51 ธ.ค. 51 ม.ค. 52 ก.พ. 52 มี.ค. 52 เม.ย. 52 พ.ค. 52 มิ.ย. 52 ก.ค. 52 ส.ค. 52 ก.ย. 52 ต.ค. 52 พ.ย. 52 ธ.ค. 52 ม.ค. 53 ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53

อัตราคาระวางเรือ (ดอลลารสหรัฐอเมริกา) $260,000 $240,000 $220,000 $200,000 $180,000 $160,000 $140,000 $120,000 $100,000 $80,000 $60,000 $40,000 $20,000 $0

แผนภูมิ 4 : ดัชนีคาระวางบอลติค 255 ป 2551 - 2553

BDI Index Supamax-Japan SK/Nopac rv

0

Capesize-Nopac round v Panamax-Japan SK/Nopac rv Handysize-SE Asia & S korea-Japan

ดัชนีคาระวางบอลติค (“BDI”) เพิ่มขึ้นรอยละ 45.32 ไปอยูที่ 3,011 จุด เมื่อเทียบกับป 2552 ดวยการยกเลิกบริการเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองแบบ ประจำเสนทาง บริษัทฯ จึงสามารถปลอยเรือใหแกลูกคาในเขตที่เรียกคาระวางเรือที่สูงขึ้นได ในป 2553 บริษัทฯ สามารถปลอยเชาเรือใน มหาสมุทรแอตแลนติกไดคิดเปนรอยละ 18 ของวันปลอยเชา ในป 2553 คาระวางเรือของกองเรือไดเพิ่มขึ้นรอยละ 13.41 เปน 12,619 ดอลลาร สหรัฐอเมริกาตอวันเมื่อเทียบกับป 2552 คาใชจายของเจาของเรือเพิ่มขึ้นรอยละ 8.10 เปน 4,806 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันเมื่อเทียบกับป 2552 มองไปขางหนาแลว บริษัทฯ มีนโยบายที่จะเพิ่มรายไดอยางสม่ำเสมอโดยตั้งเปาใหมีสัญญาปลอยเชาเรือระยะยาวหรือรับจางการขนสงเปน สัญญารายปขึ้นไปในแตละปนั้นในสัดสวนอยางนอยรอยละ 60 ของจำนวนวันเดินเรือ ดัชนีคาระวางบอลติคนั้นก็คงจะอยูในระดับ ณ ปจจุบันนี้อีก หลายปเนื่องจากอุปทานที่มีมากเกินความตองการของตลาด และคาดวาจะเพิ่มขึ้นอีกรอยละ 10 ในป 2554 ถึงแมระดับความตองการนั้นจะมีมาก ขึ้น อยางไรแลวก็ยังไมเทียบกับการเพิ่มระดับของอุปทาน

รายงานประจำป 2553

11


ปริมาณสินคาลดลงรอยะ 14.02 เปน 10.1 ลานตัน ในป 2553 บริษัทฯ ไดขายหรือขายเรือเปนเศษเหล็กจำนวน 11 ลำ โดยไดกำไร 495.2 ลานบาท และรับเงินจากการขายเรือ 1,320.6 ลานบาท ในการลดความเสี่ยงที่บริษัทฯ จะไดรับจากตลาด เราไดลดจำนวนวันเชาเรือมาเสริมกองเรือลงรอยละ 38.36 เปน 3,096 วัน ดวยคาระวางเรือที่สูงขึ้นและกองเรือที่มีขนาดเล็กลง ทำใหธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง นั้นสรางผลตอบแทนจากการ ลงทุนในระดับรอยละ 6.32 ในป 2553 เมื่อเทียบกับรอยละ 3.95 ในป 2552 เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 บริษัทฯ ไดรับเรือที่สั่งตอใหมหนึ่งลำและไดซื้อเรือมือสองในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 อีกลำหนึ่งในขณะนี้ บริษัทฯ ยังมีเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองที่สั่งตอใหมอีก 4 ลำซึ่งจะไดรับหนึ่งลำในป 2554 อยางแนนอน อยางไรแลวก็ยังมีขอกังขาอยูในความสามารถที่จะ รับเรือที่ไดสั่งตอจากอูตอเรือ Vinashin ประเทศเวียดนาม ในป 2554 บริษัทฯ คาดวาคาระวางเรือนั้นยังคงอยูในระดับปจจุบันซึ่งถือวา อยูในระดับต่ำ และจะเปนเชนนี้ไปอีกสองสามปจึงจำเปนที่จะตองมี วินัยและความรอบคอบในการตัดสินใจลงทุนใหมๆ ในขอมูลที่เรามีในมือจากการศึกษาตลาดการเดินเรือนั้น ผลตอบแทนทุนในธุรกิจเดินเรือโดย เฉลี่ยแลวอยูที่รอยละ 6 ยกเวนผลตอบแทนในชวงสิบปกอนหนานี้ดังนั้นจึงไมยากเลยที่จะมองออกวาธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองจะมีผล ตอบแทนทุนดังที่ไดเห็นใน ป 2548 นั้นยากมาก ทั้งนี้ยังไมตองคำนึงถึงเปาหมายผลตอบแทนระยะยาวโดยรวมของ บริษัทฯ ธุรกรรมของ Petrolift Petrolift มีสวนแบงผลกำไรสุทธิในแกบริษัทฯ เปนจำนวนเงิน 51.9 ลานบาท ในป 2553 รวมทั้ง บริษัทฯ ไดรับเงินปนผลในจำนวน 21.8 ลานบาท จาก Petrolit เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 ธุรกิจนี้เปนธุรกรรมใหมลาสุดในกลุมซึ่งยังคงจะตองไดรับการอธิบายใหชัดเจนมากขึ้น Petrolift มีพนักงานมืออาชีพ 230 คนซึ่งรวมลูกเรือ 174 คน บริษัทเปนเจาของกองเรือขนสงน้ำมันและกาซธรรมชาติและเรือลากจูง 8 ลำที่ใชขนสงน้ำมัน กาซ และผลิตภัณฑเคมี (อีธานอล) ในปริมาตรสูงสุด ที่ 180,000 บาเรล ดวยอายุเรือโดยเฉลี่ย 8 ป เทียบกับอายุเรือโดยเฉลี่ยในธุรกิจนั้นที่ 17 ป กองเรือของ Petrolift นั้นมีลำเรือสองชั้นและไดผานการ รับรองจากสถาบันการจัดชั้นเรือทั้งหมด สัญญาที่บริษัทฯ ไดเซ็นนั้นโดยมากจะมีอายุจากหนึ่งถึงสิบป ทั้งนี้บริษัทฯ สามารถเซ็นสัญญาทั้งหมด นี้ไดก็เพราะบริษัทน้ำมันขนาดใหญในประเทศฟลิปปนสมองวาเรือขนสงน้ำมันและกาซธรรมชาตินั้นเปนสวนสำคัญมากในระบบการสงตอสินคา ของเขา ในป 2553 Petrolift ไดดำเนินการดังนี้ l เดินเรือ 278 เที่ยวเรือ โดยไมมีบันทึกการสูญเสียเวลาจากการบาดเจ็บ l ขนสงน้ำมันและกาซธรรมชาติ และผลิตภัณฑเคมี 5.2 ลานบาเรล ภายในประเทศฟลิปปนส และภูมิภาคนี้ l ใหบริการกับคลังน้ำมันมากกวา 30 แหง l ขายเรือลากจูงจำนวน 2 ลำ ซึ่งเทียบเทา 11,500 บาเรล Petrolift เปนผูนำในตลาดขนสงน้ำมันและกาซธรรมชาติซึ่งมีลำเรือสองชั้น เมื่อคำนึงถึงกฎหมายบังคับเรือที่มีลำเรือสองชั้นที่จะออกมาในเร็ววันนี้ ภายในป 2554 นั้น บริษัทยอมจะอยูในฐานะการดำเนินการและการเงินที่เอื้ออำนวยตอการขยายสัดสวนที่มีในตลาดที่มีคูแขงนอยกวา 5 ราย Petrolift เปนบริษัทขนสงน้ำมันและกาซธรรมชาติที่ไดรับการขึ้นทะเบียนโดยบริษัทน้ำมันเพื่อดำเนินการขนสงน้ำมัน กาซ และผลิตภัณฑเคมีภายใน ประเทศฟลิปปนส และภูมิภาคเพียงนี้ผูเดียว บริษัทที่เทียบเทากับ Petrolift ในธุรกิจเดินเรือนั้นยังนับถือสถานภาพของบริษัทนี้อยางชื่นชม ทั้งนี้นาย คาโล ลีโอนิโอม ประธานบริษัท Petrolift เปน ทั้งประธานของสมาคมการขนสงน้ำมันทางน้ำแหงประเทศฟลิปปนส (“PHILPESTA”) และยังเปนประธานของสมาคมผูประกอบการเดินเรือ ระหวางหมูเกาะฟลิปปนส (“PISA”) ซึ่งเปนองคกรกลางของบริษัทเดินเรือและสมาคมตางๆ เกี่ยวกับการเดินเรือภายในประเทศฟลิปปนส ธุรกรรมของบริษัท ไอเอสเอส โทรีเซน เอเยนตซีส จำกัด ในป 2553 บริษัท ไอเอสเอส โทรีเซน เอเยนตซีส จำกัด(“ITA”) มีรายได 162.45 ลานบาท และกำไร 39.49 ลานบาท จากการที่บริษัทมีพนักงาน 76 คน และมีสินทรัพยนอย ดังนั้นผลตอบแทนทุนจึงยืนอยูสูงที่รอยละ 77.78 ITA ใหบริการรับหนาที่ตัวแทนเรือที่มาเทียบทาที่ประเทศไทย บริการ เหลานี้รวมถึงการอำนวยความสะดวกในการเปลี่ยนลูกเรือ เปนนายหนาจัดการสินคา การอำนวยความสะดวกผานกรมศุลกากร การออกใบตราสง สินคา การบริการเรือขามฟาก การบริการจัดสงโดยทั่วไป การประสานงานในการสำรวจสภาพสินคา และการประสานงานในการจัดการสงน้ำมัน ในป 2553 ITA ไดดำเนินการดังนี้ l ใหบริการเรือเทียบทาในประเทศไทย 1,100 ลำ โดยมี ลูกคา 165 ราย l เปลี่ยนคณะผูบริหารอาวุโส

12

รายงานประจำป 2553


ITA เปนหนึง่ ในบริษทั ตัวแทนเจาของเรือทีใ่ หญทสี่ ดุ ในประเทศไทยทีใ่ หบริการลูกคาเรือขนสงน้ำมัน ดวยการบริการรอยละ 74.3 เปนการใหบริการแก เรือขนสงน้ำมัน จำนวนการบริการเทียบทานั้นนอยลงจากเมื่อป 2552 ดวยการยกเลิกบริการขนสงสินคาแหงเทกองแบบประจำเสนทางในป 2553 ตามขอมูลจากสมาคมเจาของและตัวแทนเจาของเรือ ประเทศไทยมีบริษัทตัวแทนเรือมากกวา 180 ราย ซึ่งจะมีการใหบริการในลักษณะ คณะบุคคลหรือแมกระทัง่ เปนบริษทั ฯ ทีม่ คี วามนาเชือ่ ถือดังเชน ITA ในชวงสามปทผี่ า นมานี้ ผลรายไดและกำไรของ ITA เฉลีย่ อยูท ี่ 171.8 ลานบาท และ 23.31 ลานบาทตามลำดับโดยมีความผันผวนนอย โอกาสในการขยายธุรกิจตัวแทนเจาของเรือในประเทศไทยมีนอยมาก และดวยเหตุนี้ ITA จึงไดมีการรวมมือกับกลุม Naxco ซึ่งเปนกลุมบริษัท ตัวแทนเจาของเรือที่มีสำนักงานหลายแหงในทวีปยุโรปและแอฟริกาและมีพนักงานมากกวา 74 คน เครือขายธุรกิจของ Naxco นั้นมุงเนนไปสูการ ใหบริการเรือคอนเทนเนอร การใหบริการที่ทา การจัดสงของ และการลำเลียง ทั้งนี้ จุดเดนของกลุม Naxco นั้นก็จะเปนจุดเสริมใหกับ ITA นอกจากนี้ Naxco ก็ตองการที่จะขยายกิจการเขามาในเอเชียจึงจะอาศัย ITA เพื่อเปนฐานในการเขามาในเอเชีย บริษัทฯ จึงขอใหผูถือหุนอนุมัติการขายหุนใน ITA ในสัดสวนรอยละ 51 ใหแก Naxco ดวยราคาขายที่ 30.6 ลานบาทและรวมเงินปนผลที่ไดมา ผล ตอบแทนในการลงทุนจะเปนรอยละ 121.37 ธุรกรรมของบริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จำกัด (“FTL”) เปนบริษัทนายหนาเชาเหมาเรือที่มีพนักงาน 26 คนโดยธุรกรรมเนนลูกคาสินคาแหงเทกองเปน หลัก นายหนาเชาเหมาเรือเปนคนกลางที่มีความเชี่ยวชาญการติดตอเจาของเรือและผูตองการเชาเรือเพื่อขนสงสินคา หรือไมก็เปนตัวกลางใน การซื้อขายเรือ FTL มีฐานขอมูลที่ใหญมากและรวมถึงขอมูลเกี่ยวกับตำแหนงเรือ สินคา และคาระวาง ในการที่ FTL เอาใจใสในขอมูลเหลานี้ทำให FTL สามารถใหคำแนะนำใหแกลูกคาเปนอยางดี ใน 2553 FTL ไดดำเนินการดังนี้ เปนนายหนาในธุรกรรม 315 รายการ l ขยายกิจการใน ประเทศอินเดียและประเทศสิงคโปร l

จำนวนธุรกรรมในป 2553 นั้นยังทรงตัวอยูในระดับเดียวกับเมื่อป 2552 รายไดจากคานายหนาของ FTL คิดจากคาระวางเรือและกำหนดออกมา เปนรอยละ ดวยคาระวางเรือในระดับเดียวกันกับหรือนอยกวาเมื่อป 2552 นั้น FTL มีรายได 142.8 ลานบาทของรายไดรวมทั้งหมด หากแตผลกำไร นั้นไดลดลงรอยละ 39.27 มาอยูที่ 30.4 ลานบาทโดยสรางผลตอบแทนการลงทุนที่รอยละ 35.09 ในป 2553 บริษัทฯ ไดขายหุนเทียบเทากับหุนรอยละ 2 ของทุนจดทะเบียนชำระแลวใน FTL ใหกับผูรวมทุนของเรา คือ Fearnleys A/S เนื่องจาก Fearnleys A/S มีนโยบายที่จะตองควบคุมสำนักงานในตางประเทศได ในการขายหุนในสัดสวนรอยละ 2 นั้น บริษัทฯ ไดอำนวยความสะดวกในการ ขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจคนตางดาวซึ่งทำให FTL สามารถทำธุรกรรมกับบริษัทตางชาติไดเพิ่มขึ้น จากการกอตั้งเมื่อป 2539 จนถึงวันนี้ เมื่อ รวมเงินปนผลที่ไดรับพรอมกับเงินที่ไดจากการขายสวนลงทุนรอยละ 2 นั้น ผลตอบแทนในการลงทุนคิดเปนรอยละ 23.01 ธุรกรรมของ PT Perusahaan Pelayaran Equinox PT Perusahaan Pelayaran Equinox (“Equinox”) เปนบริษัทตัวแทนเจาของเรือที่ไดรับอนุญาตดำเนินกิจการในประเทศอินโดนีเซียโดยใหบริการ แกเรือที่ไปเทียบทาในหรือมีการดำเนินงานในเขตชายฝงประเทศอินโดนีเซีย รวมทั้งยังใหบริการจัดการเรือและลูกเรือใหแทนเจาของหรือผูจัดการ เรือนั้นๆ ในการบริการเปนตัวแทนนั้น Equinox ก็มีบริการที่คลายคลึงกับ ITA Equinox มีพนักงาน 64 คน ในการที่เราไดยกเลิกบริการเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองที่วิ่งประจำเสนทางนั้นก็ไดทำใหเหตุผลหลักในการลงทุนใน Equinox นั้นหายไปสวนหนึ่ง โดยการขาดธุรกรรมจากเรือที่วิ่งประจำเสนทางนั้นทำให Equinox มีรายไดเพียง 122.2 ลานบาท และผลขาดทุน อีก 6.6 ลานบาท อยางไรแลว ในป 2553 Equinox ไดมีการดำเนินการใหบริการเดินเรือหนึ่งลำ ซึ่งเรือลำนี้ก็ไดมีการขายไปแลว ดังนั้นในขณะนี้ Equinox จึงเปนบริษัทที่ใหบริการเกี่ยวของกับการเดินเรือในประเทศอินโดนีเซียและในภูมิภาค ในป 2553 Equinox ไดดำเนินการดังนี้ l ไดใหบริการเรือที่เทียบทาในประเทศอินโดนีเซีย 230 ลำจากลูกคา 33 ราย l จัดบุคคลากรและจัดการการลำเลียงใหกับเรือเก็บและขนถายน้ำมันกลางทะเล (“FSO”) 12 ลำ l ไดใหบริการจัดการเชิงเทคนิคใหแกเรือของประเทศอินโดนีเซียและอื่นๆ 3 ลำ l ไดจัดลูกเรือที่มีประสบการณใหแกเรือ 40 ลำโดยดึงจากแหลงลูกเรือกองกลางที่มีลูกเรือจากประเทศอินโดนีเซียและอื่นๆ ประมาณ 1,500 คน ภายใตมาตรฐานการรับรองคุณภาพของลูกเรือของ DNV ในขณะนี้ Equinox กำลังมองหาหนทางเพื่อการลงทุนในประเทศอินโดนีเซียใหแกบริษัท ฯ

รายงานประจำป 2553

13


ธุรกรรมของบริษัทโทรีเซน (อินโดไชนา) เอส.เอ รายไดและกำไรสุทธิของบริษัท โทรีเซน (อินโดไชนา) เอส.เอ (“TI”) คิดเปนเงินจำนวน 54.3 ลานบาท และ 39.1 ลานบาทตามลำดับเทียบเทา ผลตอบแทนการลงทุนที่รอยละ 40.36 ซึ่งนับเปนปที่สามติดตอกันที่รายไดนั้นอยูในระดับเกิน 1 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ทางบริษัทฯ ยังคงเชื่อมั่นในโอกาสที่ยังมีความเปนไปไดในประเทศเวียดนาม และเห็นไดชัดในการที่เราไดซื้อ Baria Serece เมื่อเร็วๆ นี้ ในชวงสามปที่ผานมานี้ TI ไดแตกแขนงธุรกิจในการใหบริการ การเปนตัวแทนเจาของเรือ การเปนนายหนาจัดหาเรือ การจัดการลำเลียง การจัดสงน้ำมัน และการจัดเก็บสินคาในคลังสินคาและขนสง ในความสามารถที่ใหบริการเหลานี้ TI ก็ไดเจริญไปพรอมกับความเจริญทาง เศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม ทั้งนี้ยังสามารถมีผลประกอบการที่สม่ำเสมอแมธุรกิจเดินเรือนั้นไมดีนัก TI เปนตัวแทนสำหรับเรือที่ไมใชเรือ คอนเทนเนอรที่ใหญที่สุดในเขต บาเรีย วุงทาว และนคร โฮจิมินห อยางไรแลว TI ก็กำลังจะกาวตอไปใหบริการนอกชายฝงเพิ่มอีกดวย TI ไดสรางความพิเศษจำเพาะตัวในการใหบริการเฉพาะกิจดังเชนการขนสงเสากังหันลม การขนสงสินคาเฉพาะโครงการ และการใหบริการลดโหลด แกเรือ ในป 2553 TI ไดดำเนินการดังนี้ l ใหบริการแกเรือ 500 ลำในประเทศเวียดนาม จากลูกคาหลัก 15 ราย l ไดใหบริการจัดการบริหารใหกับ บาคองโค l เจรจาการลงทุนใน Baria Serece l เปนนายหนาใหแกเรือ 60 ลำ และไดจัดการเชาเรืออีก 4 ลำ TI ยังอยูในขั้นวางแผนการขยายพื้นที่คลังสินคาและการลำเลียงเพิ่มจากเดิม 10,000 ตารางเมตรเปน 20,000 ตารางเมตรภายในหกเดือน ขางหนานี้ เพื่อรองรับความตองการของลูกคาของ Baria Serece ธุรกรรมของ โทรีเซน ชิปปง เอฟแซดอี โทรีเซน เอฟแซดอี (“TSF”) มีรายไดรวม 31.3 ลานบาท และกำไรสุทธิ 2.6 ลานบาท โดยเทียบเปนผลตอบแทนการลงทุนที่รอยละ 0.54 TSF มีพนักงาน10 คนและใหบริการเปนตัวแทนเรือใหกับเรือที่เขาเทียบทาที่เมืองชารจา สหรัฐอาหรับเอมิเร็ต นอกเหนือจากการใหบริการตัวแทนเรือ แลว TSF ยังใหบริการดานการตลาดสินคา การจัดสินคา การสำรวจสินคาและระดับน้ำมัน การจัดใสสินคาใหพรอมสง/ขาย และการจัดสงสินคา ระหวางเรือในทา ในป 2553 TSF ไดดำเนินการดังนี้ l ใหบริการเรือ 22 ลำ คิดเปนปริมาณ 205,000 ตัน l จัดการสงสินคา 700 รายการ ซึ่งรวมถึงการนำสินคาออกผานกรมศุลกากรเพื่อสงใหแก ลูกคาในสหรัฐอาหรับเอมิเร็ต ประเทศโอมาน และประเทศอื่นๆ ในตะวันออกกลาง ในขณะนี้ TSF อยูในขั้นเรงดำเนินการหาธุรกิจมาทดแทนรายไดที่แตเดิมมาจากการเรือประจำเสนทางและเปนลูกคาที่เคยผูสรางรายไดและ กำไรหลัก

กลุมธุรกิจพลังงานมีผลขาดทุนสุทธิ 345.3 ลานบาท และผลตอบแทนผูถือหุนติดลบรอยละ 3.06 ภาพรวม กลุมธุรกิจพลังงานเปน “นิยายแหงสองนคร” ซึ่งก็คือ เมอรเมดที่มีธุรกิจหลักสองอยางคือ สวนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำและสวนงานเรือขุดเจาะ กลุมธุรกิจพลังงานมีผลขาดทุนจำนวน 339.5 ลานบาท มีสาเหตุหลักมาจากสภาพตลาดที่มีการแขงขันสูง และสินทรัพยที่มีอายุมาก สงผลใหอัตรา การใชประโยชนของกองเรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำและเรือขุดเจาะลดลง ในทางกลับกัน เมอรตันประสบความสำเร็จในการสรางเหมืองถานหิน แหงแรกเสร็จสมบูรณตามกำหนดเวลาและตามงบประมาณที่ตั้งไว และไดเริ่มจำหนายถานหินประเภทใหความรอนที่มีคุณภาพ (thermal quality coal) แลว ธุรกรรมของเมอรเมด เมอรเมดเปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุน โดยมีบริษัทยอยหลัก 2 บริษัทที่ดำเนินธุรกิจ ไดแก บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด (“MOS”) และ บริษัท เมอรเมด ดริลลิ่งค จำกัด (“MDL”) เมอรเมดใหบริการลูกคารวมกันประมาณ 20 ราย โดยสวนใหญอยูในภาคพื้นเอเชีย แปซิฟก ในปนี้ เมอรเมดมีรายไดรวมจำนวน 3,626.5 ลานบาท และมีผลขาดทุนสุทธิจำนวน 339.5 ลานบาท ตามลำดับ

14

รายงานประจำป 2553


ในป 2553 เมอรเมดไดดำเนินการดังนี้ l ออกหุนสามัญเพิ่มทุนเพื่อขายใหผูถือหุน (rights issue) เสร็จสมบูรณเพื่อระดมเงินทุนจำนวน 3,591.17 ลานบาท หลังหักตนทุนตางๆ เกี่ยวกับ การออกหุนสามัญเพิ่มทุนแลว l รับทราบการลาออกของกรรมการผูจัดการคนกอน l เริ่มจัดตั้งการใชบริการตางๆ รวมกัน เพื่อสนับสนุน MOS และ MDL

ตาราง 2 : รายไดรวม ผลกำไร (ขาดทุน) สุทธิ และผลตอบแทนจากทุน ลานบาท 2551 รายไดรวม 5,612.2 ผลกำไร (ขาดทุน) สุทธิ 832.9 9.80% ผลตอบแทนจากทุน

2552 5,259.0 701.6 7.77%

2553 3,626.5 -339.5 -1.06%

หมายเหตุ : ตัวเลขในตารางขางตนเปนตัวเลขตามมาตรฐานบัญชีของสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีไทย (Thai GAAP)

สภาพตลาดที่ทาทายมีบทบาทสำคัญตอผลขาดทุนสุทธิของเมอรเมดในป 2553 โดยเฉพาะอยางยิ่งใน MOS ซึ่งบริษัทคูแขงหลายรายไดประกาศ ผลขาดทุน หรือบางรายถึงกับลมละลาย อยางไรก็ตาม ดวยผลประกอบการของเมอรเมดที่ลดลงตลอดชวงสามปที่ผานมา เปนที่ชัดเจนวาการ ลงทุนตางๆ ที่สำคัญโดย MOS และ MDL นั้น ตองอาศัยศักยภาพในการบริหารที่แตกตางไปจากเดิม รวมถึงการเนนย้ำการวางแผนเชิงกลยุทธที่ ครอบคลุม การพัฒนาธุรกิจและการพาณิชย โครงสรางทางการเงิน ตลอดจนการควบคุมภายใน และระบบการใชงานบริการรวมกัน กระบวนการ ตางๆ และศักยภาพตางๆ ในการที่จะรองรับธุรกิจที่มีขนาดใหญขึ้นและมีความหลากหลายมากขึ้น เมอรเมดกำลังทบทวนแผนการพัฒนาเชิงกลยุทธและแผนการพัฒนาภายใน เพื่อจัดลำดับความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงที่จำเปนที่จะตองทำ ในอีก 2-3 ปขางหนา การเนนหนักไปที่การปฏิบัติงานรายวัน โดยไมใสใจในสวนงานอื่นๆ อยางเพียงพอ กอใหเกิดความไมสมดุล ซึ่งจำเปนจะตอง ไดรับการแกไข ความไมสมดุลทั้งหลายเหลานี้ไดขยายเพิ่มมากขึ้นในชวงที่ธุรกิจอยูในขาลง และการรับสัญญาวาจางจากทางลูกคาที่ลาชา จากการลาออกของกรรมการผูจัดการคนกอนเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 ไดมีการแตงตั้งคณะผูบริหารขึ้นมาเพื่อทำหนาที่เปนผูนำและวาง แนวทางเชิงกลยุทธใหกับเมอรเมด และเพื่อริเริ่มการเปลี่ยนแปลงที่จำเปนบางประการเพื่อปรับปรุงผลประกอบการของเมอรเมดในระยะกลาง คณะกรรมการบริษัทฯ ไดใชเวลาสรรหาบุคคลที่เหมาะสมที่มีวิสัยทัศนและแนวคิดรวมกันมาบริหารจัดการเมอรเมด ซึ่งจะมีการประกาศแตงตั้ง กรรมการผูจัดการคนใหมในไมชา การขาดทุนของเมอรเมด ทำใหเมอรเมดละเมิดขอกำหนดในสัญญาเงินกูเกี่ยวกับรายไดและผลกำไรของเมอรเมด บริษัทฯ ไดทำงานรวมกันอยาง ใกลชิดกับธนาคารตางๆ เพื่อปรับโครงสรางเงินกูที่มีอยู และคาดวานาจะสามารถหาขอสรุปไดภายในตนป 2554 ธุรกรรมของ MOS ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 MOS มีพนักงาน 488 คน เปนเจาของเรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำจำนวน 8 ลำ ซึ่ง MOS ไดนำเรือเหลานี้ใหบริการงาน วิศวกรรมโยธาใตน้ำที่หลากหลาย รวมถึงการสำรวจ การซอมแซม และการบำรุงรักษาสถานที่ทำการนอกชายฝง การใหบริการงานกอสรางขนาด ยอม ตลอดจนการบริการงานซอมแซมฉุกเฉิน ในป 2553 MOS ไดดำเนินการดังนี้: l รับมอบเรือสั่งตอใหมจำนวน 3 ลำ ซึ่งเปนเรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำที่มีคุณลักษณะเฉพาะตัวสูงและมีความทันสมัย ไดแก เรือเมอรเมด แซฟไฟร เรือเมอรเมด เอเชียนา และเรือเมอรเมด เอ็นดัวเรอร l ซื้อเรือมือสองซึ่งเคยเชามาเสริมกองเรือจำนวน 1 ลำ ไดแก เรือเมอรเมด สยาม l ขายหุนในบริษัท เวิลดคลาส อินสไปเรชั่น เอสดีเอ็น บีเอชดี (“WCI”) l ขายเรือ 1 ลำ ไดแก เรือเมอรเมด เรสปอนเดอร l เปลี่ยนคณะผูบริหารระดับอาวุโส

รายงานประจำป 2553

15


ลูกคาหลักของบริษัทฯ ซึ่งทำรายไดรวมประมาณรอยละ 85 ของรายไดใหแกบริษัทฯ ไดแก CUEL Limited, Chevron Thailand Exploration and Production Limited, National Petroleum Construction Company, Mashhor DOF Subsea Sdn. Bhd., PTT Exploration and Production Public Co. Ltd., และ CJSC Romona MOS มีรายได 2,550.7 ลานบาทของรายไดรวม ลดลงรอยละ 14.57 จากป 2552 และมีผลขาดทุนสุทธิจำนวน 326.7 ลานบาท ลดลงจากป 2552 คิดเปนรอยละ 275.65 อัตราการใชประโยชนของกองเรือของ MOS อยูที่รอยละ 39.54 และอัตราคาเชาเรือรายวันลดลง สงผลใหกำไรขั้นตน โดยรวมลดลงจากรอยละ 25.28 ในป 2552 เปนรอยละ 18.05 ในป 2553 การรับมอบเรือใหม 3 ลำ มีผลทำใหดอกเบี้ยจายและคาเสื่อมเพิ่มขึ้น อยางมากเปน 71.2 ลานบาท และ 423.3 ลานบาทตามลำดับ จึงไมนาแปลกใจที่ MOS มีผลขาดทุนในป 2553 และ MOS ไดใชทุนจากผูถือ หุนและจากการกูเปนเงินจำนวน 11,136.7 ลานบาท จึงทำใหมีผลตอบแทนนอยมาก MOS ขายหุนรอยละ 25 ที่ถือในบริษัท WCI เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 สงผลใหมีกำไรจากการขายจำนวน 343.3 ลานบาท บริษัทฯ เห็น โอกาสในการสรางผลตอบแทนที่ดีมากจากการขายหุนสวนนอยภายใน 20 เดือน ผลตอบแทนการลงทุน (IRR) อยูที่รอยละ 38 การขายหุนในครั้ง นี้ไมไดหมายความวาบริษัทฯ จะออกจากตลาดของประเทศมาเลเซีย บริษัทฯ ยังคงใหความสนใจในตลาดนี้อยู และหากบริษัทฯ มีโอกาส จังหวะ และราคาที่เหมาะสม บริษัทฯ ก็จะกลับไปลงทุนในตลาดนี้อีกครั้ง ดวยจำนวนเรือที่มากขึ้น และคุณสมบัติทางเทคนิคของเรือที่สูงขึ้น MOS จึงตองนำตัวเองเขาไปสูในระดับภูมิภาคและทำงานรวมกับลูกคาในตลาด ที่แตกตางจากเดิมมากขึ้น ซึ่งการจะทำเชนนั้นได บริษัทฯ จำเปนตองมีการเปลี่ยนแปลงในหลายๆ ดาน เชน ผูนำและความคิดใหมๆ เปนเรื่อง จำเปน ซึ่งกรรมการบริหารคนใหมของ MOS มีประสบการณในธุรกิจนี้มากวา 30 ป รูจักผูคนที่อยูในแวดวงเปนจำนวนมาก และยังมีประสบการณ ทางการคาที่แข็งแกรงอีกดวย การเปลี่ยนแปลงของคณะผูบริหารเกิดขึ้นในเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 อันเนื่องมาจากผลการดำเนินงานที่ตกต่ำทามกลางสภาพตลาดงานบริการ วิศวกรรมโยธาใตน้ำที่ทาทาย ซึ่งคาดวาจะยังคงไมกระเตื้องขึ้นไปอีก 12 เดือนขางหนา กลยุทธของบริษัทฯ นั้นเรียบงาย บริษัทฯ คาดวาจะมีงาน มากขึ้นในป 2554 โดยบริษัทฯ จะรุกกิจกรรมเพื่อการพัฒนาธุรกิจของบริษัทฯ ใหมากขึ้น รวมถึงการตั้งราคาใหแขงขันไดมากขึ้น เปนการดีกวาที่เรือ วิศวกรรมโยธาใตน้ำและเรือสนับสนุนงานประดาน้ำ ROV จะไดรับงานที่มีผลกำไรบางแมวาจะไมมาก ก็ยังดีกวาที่จะไมไดมีงานเลย ดวยการที่ตลาดวิศวกรรมโยธาใตน้ำอยูในชวงขาลง อัตราคาเชาเรือรายวันของ MOS ก็ไดลดลงรอยละ 21.73 ในขณะที่คูแขงเขารวมประมูลใน ราคาเดียวหรือต่ำกวาตนทุนในการดำเนินงานเพื่อใหไดงานไป ตลอดชวงที่ผานมา MOS ไดควบคุมตนทุนอยางเครงครัด แตยังคงสามารถรักษา การปฏิบัติการไดอยางปลอดภัยดีเยี่ยม และแมวาผลประกอบการของ MOS ในป 2553 จะลดลง แตบริษัทฯ ยังคงอยูในตำแหนงที่ดีที่พรอมจะแขง ขันอยางเต็มที่ และควาโอกาสหรือจังหวะเมื่อตลาดกลับมาดีอีกครั้งได ซึ่งบริษัทฯ คาดวานาจะเปนชวงปลายป 2554 จุดแข็งของ MOS คือการมีสินทรัพยที่ทันสมัยและใหมที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ศักยภาพในการปฏิบัติงานที่ไดรับการยอมรับ ตลอดจน ประสบการณในการบริหารจัดการและบุคลากรที่มีคุณภาพ ธุรกรรมของ MDL ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 MDL มีพนักงานจำนวน 178 คน และใหบริการงานขุดเจาะนอกชายฝงตามสัญญาวาจางกับบริษัทผูประกอบการ น้ำมันและกาซธรรมชาติ ผานกองเรือขุดเจาะจำนวน 2 ลำ ในป 2553 MDL ไดดำเนินการดังนี้: l ปฏิบัติงานใหกับลูกคา 1 ราย คือ Chevron Indonesia Company l ขายตอโครงการเรือขุดเจาะ KM-1 ในประเทศมาเลเซีย เนื่องจากขอขัดแยงในการลงทุน MDL มีรายไดรวมจำนวน 1,123.3 ลานบาท ลดลงรอยละ 49.64 จากป 2552 และมีผลขาดทุนสุทธิจำนวน 107.3 ลานบาท ลดลงรอยละ 117.60 จากป 2552 ทุนจากผูถือหุนและจากการกูเปนเงินจำนวน 3,850.7 ลานบาท จึงไดรับผลตอบแทนจากธุรกิจนี้กลับมานอย เรือขุดเจาะ MTR-2 มีอัตราการใชประโยชนจากเรือสูงถึงรอยละ 99.48 ในป 2553 ในขณะที่เรือขุดเจาะ MTR-1 วางจากการปฎิบัติงานเกือบตลอดทั้งป อัตราคาเชาเรือ เฉลี่ยรายวันของเรือขุดเจาะ MTR-2 เทากับ 87,679 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวัน หลังจากที่เรือขุดเจาะ MTR-1 ไดเวนวางจากการปฏิบัติงานมาเปนระยะเวลาเกือบ 1 ป เรือขุดเจาะ MTR-1 ไดมีการเคลื่อนยาย เพื่อออกปฏิบัติงาน ใหกับ Cudd Pressure Control Inc. (“Cudd”) ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 และไดเริ่มตนสัญญาวาจางงานเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2553 โดยใหบริการเปนเรือที่พัก (accommodation work barge) ที่อัตราคาเชาเรือรายวัน 22,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวัน จากนั้น สัญญาวาจาง ดังกลาวไดเกิดปญหาขึ้นเมื่อสัญญาที่ Cudd ไดทำไวกับ Saudi Arabian Oil Company นั้นไดถูกเพิกถอน ทำใหเรือขุดเจาะ MTR-1 ยังคงอยูใน ตะวันออกกลาง ซึ่งเมอรเมดและ Cudd อยูในระหวางการเจรจาเกี่ยวกับเรื่องการยกเลิกสัญญาวาจางดังกลาว เรือขุดเจาะ MTR-2 ยังคงปฏิบัติงาน ตามสัญญาใหกับ Chevron ซึ่งจะสิ้นสุดในวันที่ 28 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554 บริษัทฯ กำลังศึกษากฎเกณฑของการคาชายฝงซึ่งออกประกาศโดย ทางการของประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งอาจจะมีผลกระทบกับการปฏิบัติงานของเรือขุดเจาะ MTR-2 ในนานน้ำของประเทศอินโดนีเซีย และจะมีการ เจรจาในเรื่องของการตออายุของสัญญาพรอมพิจารณาในเรื่องของการตีความของกฎเกณฑเหลานี้ 16

รายงานประจำป 2553


เรือขุดเจาะสั่งตอใหม KM-1 ที่มีขอขัดแยงในการลงทุนลำดังกลาว ไดถูกขายออกไปในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553 ดวยผลขาดทุนสุทธิจำนวน 180.9 ลานบาท MDL และ Kencana Petroleum Venture Sdn. Bhd. มีความเห็นที่ตางกันเกี่ยวกับรายละเอียดทางเทคนิคของเรือขุดเจาะ การตัดสินใจ ในการขายเงินลงทุนในเรือขุดเจาะนี้ เกิดขึ้นหลังจากที่เรือไดครบกำหนดการสราง และเกิดจากการพิจารณาอยางละเอียดถี่ถวนแลว รวมไปถึง ผลกระทบของประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และการทำตลาดของเรือนอกเหนือจากสัญญาที่มีอยู หลังจากที่ไดมีการพิจารณาอยางครอบคลุมถึง ความเปนไปไดที่จะเกิดขึ้นทั้งหมด ดูเหมือนวาไมวาจะดวยการกระทำใดๆ ก็ตาม มีความเปนไปไดที่จะนำพาผูถือหุนไปสูความเสี่ยงที่มากขึ้นและ มีความเปนไปไดที่จะเกิดผลขาดทุนที่มากขึ้นมากกวาการขายเรือขุดเจาะ KM-1 ออกไป มีกิจกรรมเกิดขึ้นในชวงครึ่งหลังของป 2553 เพิ่มมากขึ้น บริษัทผูประกอบการน้ำมันและกาซธรรมชาติบางราย ที่ไดยกเลิกหรือยืดระยะเวลา โครงการขุดเจาะนอกชายฝงไปกอนหนานี้ ไดมีการยื่นประมูลสำหรับเรือขุดเจาะ รวมถึง Chevron Thailand และ Petro’leos Mexianos (“Pemex”) บริษัทฯ ยังคงมองหาลูกคาที่มีความพอใจในอุปกรณที่ใหมกวา และไดสั่งตอเรือขุดเจาะแบบ jack-up ที่มีคุณลักษณะเฉพาะตัวสูงจาก Keppel FELS ในประเทศสิงคโปร จำนวน 2 ลำ ซึ่งจะมีการรับมอบในป 2555 และ 2556 ผานกิจการรวมคา (joint venture) ที่ชื่อ Asia Offshore Drilling Limited ซึ่งเมอรเมดไดถือหุนอยูในบริษัทนี้รอยละ 49 ปจจุบัน บริษัทฯ กำลังมีวางแผนการตลาดสำหรับเรือขุดเจาะ 2 ลำใหมนี้ และหากบ ริษัทฯ สามารถหางานใหกับเรือขุดเจาะ 2 ลำนี้ไดภายในระยะเวลาอันสมควร บริษัทฯ มีโอกาสที่จะใชสิทธิที่จะสั่งตอเรือขุดเจาะที่มีคุณลักษณะ เฉพาะตัวสูงเพิ่มอีก 2 ลำ MDL กำลังมองหาโอกาสที่จะเปนหนึ่งในบริษัทผูใหบริการเรือขุดเจาะจำนวนนอยรายในภาคพื้นเอเชีย ดวยการใหบริการเรือขุดเจาะที่มี คุณลักษณะเฉพาะตัวสูงที่ทันสมัย การเขาซื้อกิจการใดๆ ของบริษัทฯ จะเปนไปดวยความรอบคอบในทางการเงิน ดวยการมองภาพในระยะยาว ธุรกรรมของเมอรตัน เมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี เปนกลุมการลงทุนที่มีสำนักงานอยูในประเทศฮองกง และมุงเนนที่จะพัฒนาสินทรัพยที่เปนถานหินในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟค โดยการลงทุนแรกนั้น เมอรตันไดเขารวมเปนหุนสวนกับ SKI Construction Group, Inc. ประเทศฟลิปปนส ในกิจการรวมคาธุรกิจเหมือง ถานหิน ชื่อ SKI Energy Resources Inc. (“SERI”) บริษัทฯ ไดลงทุนในเมอรตันในเวลาเดียวกันกับที่ SERI ไดเริ่มดำเนินการในเหมืองถานหินเปน ครั้งแรก และธุรกิจนี้ไดมีการพัฒนาภายในตารางเวลาตามแผนงานที่บริษัทฯ ไดวางไวนับแตนั้นมา SERI มีพนักงานมากกวา 850 คน โดยพนักงาน จำนวนมากปฏิบัติงานอยูใตพื้นดินที่มีความลึก 100-200 เมตร เพื่อขุดเจาะถานหิน เงินจำนวนมากกวา 12 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกาไดนำไปใช ลงทุนในการสรางเหมืองถานหินใตดินที่แรกตามมาตรฐานสากลดวยความคำนึงถึงความปลอดภัยสูงสุด ทีมงานผูบริหารเหมืองถานหินไดรับการวา จางโดยตรงจากแอฟริกาใต และมีประสบการณการทำงานในเหมืองถานหินโดยสำคัญ ในป 2553 SERI ไดดำเนินการดังนี้: l ผลิตถานหินไดเปนครั้งแรกในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 l ขนสงถานหินจำนวน 8,000 ตัน ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 ไมนานหลังจากที่ไดลงนามในสัญญาการขายถานหินซึ่งจะสิ้นสุดตามอายุงาน ของเหมืองกับ Glencore AG บริษัทผูคาถานหินรายใหญของโลก ดวยวิสัยทัศนที่ดีในดานการผลิตและการลงนามในสัญญาในโอกาสที่เหมาะสม บริษัทฯ คาดวาเมอรตันจะมีสวนแบงกำไรใหกับบริษัทฯ ในป 2554 ในจุดนี้ของการพัฒนา บริษัทฯ คาดวาเมอรตันจะนำผลกำไรที่ไดไปลงทุนใหมใน SERI และในโครงการถานหินเพิ่มเติมในภูมิภาคมากกวาที่จะจาย เปนเงินปนผล SERI อยูในกระบวนการยื่นขอสัมปทานถานหินจำนวน 8,000 เฮกตารในประเทศฟลิปปนส และจะนำกระแสเงินสดสวนเกินไปใชใน การสำรวจและพัฒนาสัมปทานของเหมืองถานหินเหลานี้เพิ่มเติมตอไป บริษัทฯ คาดวา สวนแบงผลกำไรจากหนวยธุรกิจนี้จะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ในอีก 2-3 ปขางหนานี้

กลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐานมีกำไรสุทธิ 311.9 ลานบาทโดยมีผลตอบแทนจากสวนผูถือหุนรอยละ 18.18 กลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐานมีผลกำไรทั้งกลุม โดยมีตัวเลขกำไรสุทธิรวม 311.9 ลานบาทจากรายไดรวม 4,933.6 ลานบาท ผลตอบแทนทุนคิด เปนรอยละ 11.07 บาคองโคมีผลประกอบการแข็งแกรงในป 2553 ในขณะที่ UMS มีผลประกอบการไมดีนักในชวงเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน แตก็กระเตื้องขึ้นตั้งแตเดือนกรกฎาคม เปนตนมา ธุรกรรมของบาคองโค บริษัทฯ ถือหุนรอยละ 100 ใน EMC ซึ่งเปนเจาของบาคองโค ที่เปนบริษัท ผลิตและผูจัดจำหนายปุยในเวียดนาม บาคองโคผสมวัตถุดิบตางๆ เชน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแตส แรธาตุ และสารธาตุอาหารเสริม โดยมีขั้นตอนการผลิต 5 ขั้นตอน เพื่อผลิตปุย NPK ซึ่งบาคองโคขายปุยและ ผลิตภัณฑปองกันศัตรูพืชตางๆ เชน ยาฆาแมลง

รายงานประจำป 2553

17


บาคองโคมีผลประกอบการที่ดีเกินคาดหมาย กลยุทธหลักของบริษัทฯ คือ การทำใหผลผลิตปุยสามารถใหผลกำไรอยางสม่ำเสมอและสามารถ ทำใหรายไดและกำไรของบาคองโคดีขึ้นกวาเดิมดวยการทำธุรกิจโลจิสติคส กลยุทธนี้ก็ไดดำเนินการอยางดีมากในป 2553 ซึ่งบาคองโคไดผสมและ ผลิตจัดจำหนายปุยรวม 150,000 ตัน ในประเทศเวียดนามโดยมียอดขาย 2,146.4 ลานบาท บาคองโคมีการจัดการลำเลียงสินคาเปนจำนวน 150,933 ตัน และสรางรายไดจำนวน 3.3 ลานบาท จากการรปลอยเชาที่ในคลังสินคา ในป 2553 บาคองโคไดดำเนินการดังนี้ l ไดรวมมือกับเครือขายผูขายสง 150 ราย ผูขายปลีก 5,000 ราย และตัวแทนการจำหนาย ในการขายปุยและผลิตภัณฑปองกันศัตรูพืช l ไดเซ็นสัญญากับ บริษัท Dow Agroscience บริษัท FMC บริษัท UPL และบริษัทตางชาติอื่นๆ เพื่อเพิ่มการผลิตผลิตภัณฑปองกันศัตรูพืช l ไดเปลี่ยนตัวผูบริหารโรงงานและการจัดซื้อดวย การที่ Baria Serece นั้นตั้งอยูใกลหนึ่งในทาเรือสำหรับเรือเดินทะเลที่ลึกที่สุดของประเทศเวียดนามนั้นทำใหบาคองโคไดเปรียบในฐานะผูบุกเบิก ในการจัดการโลจิสติคสและบริการคลังสินคาอยางมืออาชีพในเขต Phu My ซึ่งกำลังเติบโตเปนเขตอุตสาหกรรมอยางรวดเร็ว บริษัทดังเชน บริษัท Holcim, บริษัท Formosa Plastics และบริษัท Bunge ไดมีการลงทุนคอนขางสูงที่บริเวณนี้ ในการซื้อ Baria Serece ทำให บาคองโค มีศักยภาพ ที่จะเปนผูที่ใหบริการการจัดการโลจิสติคสและบริการคลังสินคาที่ไมมีคูแขงในเขตอุตสาหกรรม Phu My ได บริษัทฯ ไดวางแผนที่จะเพิ่มพื้นที่บริเวณและคลังสินคาของบาคองโคเพื่อที่จะไดเตรียมรับบริมาณสินคาที่จะตองมาผาน Baria Serece ไดมากขึ้น ในป 2553 คาดวาจะมีสินคามากกวา 4.5 ลานที่จะตองมาผานทา Baria Serece ซึ่งหมายความวาตลาดโลจิสติคสนั้นยังจะเปดกวาง บริษัทฯ ไดซื้อ บาคองโค ดวยจำนวนเงิน 374.1 ลานบาทในป 2552 ในปแรกที่เราไดเขาไปดำเนินการบริหารนั้น บาคองโค มีผลกำไรสุทธิเปน จำนวนเงิน 211.7 ลานบาท ซึ่งตองพูดวาเปนผลตอบแทนการลงทุนที่ดีที่สุดของในประวัติของบริษัท ฯ ธุรกรรมของ UMS UMS เปนบริษัทโลจิสติคสถานหินตั้งแตแหลงเหมืองตนน้ำจนถึงลูกคาปลายทาง UMS มีเรือลากจูง 12 ลำ โรงผสมและผลิตถานหินพรอมคลัง สินคาเก็บถานหินสองแหง และรถบรรทุก26 คัน จุดเดนของ UMS อยูที่ความสามารถสงสินคาใหแกบริษัทลูกคาซึ่งเปนบริษัทอุตสาหกรรม การขนาดเล็กและกลางที่ใชเตาถานหิน ในป 2553 UMS ไดดำเนินการดังนี้ l ซื้อถานหินจากเหมือง 7 แหงในประเทศอินโดนีเซียและจัดสงกลับประเทศไทยโดยใชบริษัทเดินเรือ 7 แหง l คัดเลือกถานหินตามเกณฑขนาด โดยขายใหแกลูกคารายเล็กถึง 300 ราย l ผลิตเมล็ดถานหิน 58,000 ตัน ที่นำมาผานกระบวนการผสมกลับใหไดขนาดถานหินในเกณฑที่ลูกคาตองใชงาน l ปรับโครงสรางของบริษัทเพื่อที่จะผลักดันการเติบโตและไดแตงตั้งผูบริหารอาวุโสเขามาชวยทำใหประสิทธิภาพขององคกรมีมากขึ้น ผลประกอบการของ UMS ในป2553 นั้นไมดีนัก ซึ่งภายในระยะเวลา 11 เดือนนั้น UMS มีรายไดและกำไรสุทธิเปนเงิน 2,541.2 ลานบาท และ 90.2 ลานบาท ตามลำดับ ผลตอบแทนจากการลงทุนใน UMS เทียบเทารอยละ 5.42 ของการลงทุน ณ วันที่เราไดซื้อ UMS สินคาคงคลังที่เปน ถานหินในขนาด 0 - 5 มิลลิเมตร (“มม.”) มีอยูที่ 570,000 ตัน ซึ่งเปนผลมาจากการที่ UMS มีพันธะสัญญาในการซื้อถานหินหนึ่งลานตัน เมื่อป 2551 พรอมกับการเซ็นสัญญาระยะยาวสำหรับการขนสงถานหินในราคาเฉลี่ย 18 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตัน บริษัทฯ ไดซื้อ UMS เพราะไดมองเห็นศักยภาพที่ธุรกิจนี้มีอยูมาก รวมทั้งแบบแผนการดำเนินธุรกิจที่เรียบงาย ถานหินที่รับมาทุกครั้งนั้นลวนอยู ในขนาด 0 - 50 มม. UMS จะมีการคัดถานหิน ตามขนาด 10 - 50 มม.ใหเปนหมวดหมูและไดเก็บไวในคลังสินคาเพื่อนำไปขายใหแกบริษัทลูกคา ขนาดเล็กและขนาดกลาง (“SME”) ตามความตองการปจจุบันทันที การขายถานหินใหแก SME นั้นที่ใหกำไรมากกวาการขายถานหินใหแกลูกคา รายใหญ อยางไรแลวในการรับถานหินทุกครั้งนั้นจะมีถานหินขนาด 0 - 5 มม. โดยเฉลี่ยแลวรอยละ 35 คงเหลือแครอยละ 65 เพื่อนำไปขายดวย กำไรเบื้องตนที่สูงกวา ลูกคาหลักของถานหินในขนาด 0 - 5 มม. เปนบริษัทปูนซีเมนต ดังนั้นเมื่อการผลิตของบริษัทเหลานี้ไดมีการลดลงในชวงแรก ของป 2553 UMS จึงใมสามารถระบายถานหินขนาด 0 - 5 มม. ได ทำใหปริมาณสินคาคงคลังอยูในระดับที่สูง อยางไรแลว UMS สามารถเพิ่มรายไดและผลกำไรไดมากขึ้นโดยเพียงแคเพิ่มการนำเขาถานหินมาในประเทศไทยและขายถานหินขนาด 10 - 50 มม. ใหแก บริษัท SME ทั้งนี้ UMS ไดขายถานหินขนาด 10 - 50 มม. หมดคลังในป 2553 ซึ่งแสดงใหเห็นวาความตองการถานหิน ยังมีอยูมาก โดยเฉพาะในเดือนกรกฎาคมและเดือน สิงหาคม UMS มีถานหินในขนาด 10 - 50 มม. ไมเพียงพอกับความตองการของลูกคา ถึงกระนั้น UMS มิไดเลือกที่จะสั่งเพิ่มเพราะปริมาณถานหินคงคลังในขนาด 0 - 5 มม. และระดับเงินกูท่นี ำมาใชเปนทุนหมุนเวียนนั้นก็จะตองเพิ่ม ขึ้นตามไปดวยและจะเกินเกณฑระดับความเสี่ยงที่เราจะพรอมรับ ในป 2554 UMS ไดวางแผนการลดปริมาณถานหินคงคลังในขนาด 0 - 5 มม. โดยจัดการขายตรงใหแกบริษัทปูนซีเมนตและการเพิ่มผลผลิตถานหินปนเม็ด ในชวงหลังเดือนกรกฎาคมที่ผานมานี้ความตองการถานหินโดยบริษัท ปูนซีเมนตก็พรอมที่จะกระเตื้องขึ้นเมื่อการผลิตซีเมนตมีมากขึ้น ในชวงระหวางเดือนกรกฎาคม และเดือนกันยายนที่ผานมานี้นั้น UMS ไดขาย ถานหินขนาด 0 - 5 มม. ใหแกบริษัทผลิตปูนซีเมนต ในปริมาณ 111,000 ตัน เทียบกับปริมาณที่ไดขาย 5,700 ตัน ในชวงระหวางเดือนเมษายนและ เดือนมิถุนายน โดยภาพรวมแลวแนวโนมอยูในขาขึ้น 18

รายงานประจำป 2553


โครงการถานหินปนเม็ด มีผลออกมาที่ไมคอยสม่ำเสมอในป 2553 จึงทำใหเราตองมีการแกไขรูปแบบแผนการดำเนินงานนี้ โครงการผลิตถานหิน ปนเม็ดนี้เปนการจัดเตรียมการผสมผงถานในขนาด 0 - 5 มม. มาเปนกอนถานที่ใหญขึ้น แตเดิมนั้น UMS ไดตั้งใจที่จะทำการนี้ดวยวิธีการที่ถูกที่สุด ซึ่งเหมือนกันกับ เมอรเมด ในการที่ทั้งสองไดพึ่งกลยุทธที่ทำใหเสียนอยเสียยากเสียมากเสียงายในกรณีที่พูดถึงกันนี้ ขณะนี้เราไดตั้งงบเตรียมจาย และลงทุนในสิ่งที่จะตองทำเพื่อที่จะผลิตถานหินปนเม็ดไดอยางสม่ำเสมอในปริมาณ 40,000 ตันตอเดือนเปนอยางนอย ในป 2554 ตอไปในอนาคต รวมกันแลว การขายถานหินใหแกบริษัทผลิตปูนซีเมนตและการขายถานหินปนเม็ดจะลดปริมาณถานหินขนาด 0 - 5 มม. ที่คงคลังอยู และลดระดับ ทุนหมุนเวียนลงเปนครึ่งในป 2554 ทั้งหมดนี้จะทำให UMS อยูในสถานภาพที่ดีขึ้นพรอมที่จะเพิ่มปริมาณการนำเขาถานหิน และเพิ่มศักยภาพใน การขายถานหินในขนาด 10 - 50 มม. ดวยกำไรเบื้องตนที่สูงขึ้น ถึงแมธุรกิจนี้กำลังที่จะกลับไปมียอดขายเทียบเทาเมื่อสองปกอนหนานี้ เปาหมายหลักของเราคือการลดปริมาณถานหินขนาด 0 - 5 มม. ที่อยู ในคลัง เพื่อที่จะดึงมูลคาเทียบเทาเงินสดที่คงอยูในคลังออกมาในป 2554 เมื่อเราไดปลดปลอยพันธนาการนี้ไดแลวดวยการลดระดับปริมาณ ถานหินในคลังใหอยูในที่พอใจ บริษัทฯ ก็จะเบนเข็มไปเนนการหาลูกคาและเพิ่มยอดขายอยางธุรกิจโลจิสติคสถานหินในประเทศไทยเปนธุรกิจ ที่ดี และเปนปจจัยสำคัญในการดำเนินงานของอุตสาหกรรมหลายประเภท เราจึงมีความตั้งใจที่จะดำรงตำแหนงผูนำในธุรกิจนี้ ธุรกรรมของบริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด ซัพพลายส บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด ซัพพลายส จำกัด (“CMSS”) เปนบริษัทใหบริการที่มีพนักงาน 11 คน โดยใหบริการ จัดการขนถายสินคาขึ้น ลงเรือ จัดการหาอุปกรณที่ใชบนเรือ รวมทั้งวัสดุและอุปกรณที่ใชในการดูแลสินคาระหวางขนสง บริษัทเปนเจาของและบริหารจัดการคลังสินคาที่ ทันสมัยขนาด 16,121 ตารางเมตร ที่มีที่ตั้งอยูใกลทาเรือแหลมฉบัง ในป 2553 CMSS ไดดำเนินการดังนี้ l ดูแลสินคาในเปนจำนวน 1,362,646 ตัน จากการใหบริการจัดการขนถายสินคาขึ้นลงเรือ ซึ่งมีสินคาบรรจุถุง สินคานอกเหนือจากสินคาเทกอง เชน เครื่องจักร สิ่งกอสราง ผลิตภัณฑเหล็ก รถยกของ และสินคาเฉพาะโครงการ l ปลอยเชาพื้นที่คลังสินคา 2,838 ตารางเมตรใหแก DHL และอีก 13,283 ตารางเมตร ใหแก มิตซูบิชิ มอเตอรส ประเทศไทย โดยเปน การปลอย เชาพื้นที่ทั้งหมดที่มี การที่เราไดยกเลิกการเดินเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองแบบประจำเสนทาง เมื่อตนป 2553 นั้นไดมีผลกระทบในเชิงลบสำหรับ CMSS อยางไรแลว CMSS ก็ยังสามารถทำรายไดอ 116.0 ลานบาท และมีกำไรเพิ่มขึ้นจากปที่แลวรอยละ 28.4 รวมเปนยอด 10.8 ลานบาท ซึ่งเทียบเปนผลตอบแทน การลงทุนที่รอยละ 10.50 ธุรกรรมของบริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส จำกัด (“GTL”) เปนบริษัทใหบริการโลจิสติคสครบวงจร (“3PL”) ที่ใหบริการคลังสินคาพรอมการจัดสงใหแกลูกคา ทั่วโลก GTL มีพนักงาน 56 คนและบริหารคลังสินคาอยู 2 แหงเพื่อรองรับความตองการของ ลูกคา (คลังหนึ่งเปนกรรมสิทธิ์ของGTL และคลังที่ สองเปนคลังเชา) คลังของบริษัทเองนั้นตั้งอยูที่อมตะนครมีพื้นที่ทั้งหมด 10,000 ตารางเมตร พรอมที่จัดตั้งแผนวางสินคาทั้งหมด 15,000 ตำแหนง คลังเชานั้นตั้งอยูที่บางปะอินมีพื้นที่ 4,000 ตารางเมตร พรอมที่จัดตั้งแผนวางสินคาทั้งหมด 6,000 ตำแหนง ลูกคาหลักของบริษัท คือ Mead Johnson Nutrition, Mitsubishi Electric, DSM, Cognis, Sara Lee, Koehler, Biz Group, BIO Strong และกลุมเซ็นทรัล ในป 2553 GTLไดดำเนินการดังนี้ l จัดเขาคลังนมผงและสวนผสมอาหาร 200,000 ตัน เครื่องปรับอากาศ 70,000 ลูกบาศกเมตร และผลิตภัณฑกาแฟ อีก 60,000 ตัน l ไดจัดสงสินคาทางรถบรรทุกนับ 5,000 เที่ยวไปสู 200 สถานที่ l มีการใชพื้นที่เปนรอยละ 98 ที่อมตะนคร และรอยละ 90 ที่บางปะอินในแตละเดือน GTL สรางรายได 125.7 ลานบาท และมีกำไรสุทธิ 5.0 ลานบาท ซึ่งเปนผลตอบแทนการลงทุนเทียบเทารอยละ 7.09

บริษัทในกลุมที่ประกอบธุรกิจการถือหุนมีผลขาดทุนสุทธิ 328.1 ลานบาท บริษัทในกลุมที่ประกอบธุรกิจการถือหุนมีผลขาดทุนสุทธิ 328.1 ลานบาท เทียบกับกำไรสุทธิ 344.9 ลานบาทในป 2552 คาใชจายหลักๆ ของ กลุมบริษัทที่ประกอบธุรกิจการถือหุนมีอยูสองรายการใหญๆ ใน อันดับแรกคือ เงินเดือนและสิทธิประโยชนที่พึงใหแกพนักงานและคาใชจายใน การศึกษาวิเคราะหและการดำเนินการลงทุนตามโอกาส มูลคาของการลงทุนหลักทรัพยในภาพรวมเติบโตขึ้นเปน 1,530.0 ลานบาท ในป 2553 โดยที่บริษัทฯ ไดอาศัยเงินสดที่เหลือเกินความตองการ ในแตละขณะมาลงทุนเพื่อเพิ่มผลประโยชนจากการลงทุนใหมากที่สุด อยางไรแลวถึงแมบริษัทฯ ยังคงยอดเงินสดที่คอนขางสูงนั้น เราไมยึดหลัก การลงทุนระยะสั้นเพื่อที่จะสรางกำไร

รายงานประจำป 2553

19


รายไดจากการลงทุนไดมาจาก 33.5 ลานบาท ในการซื้อขายหุน และ 106.6 ลานบาท ที่ไดมาจากดอกเบี้ยและเงินปนผล รายไดจากการฝากเงิน ระยะสั้นนี้จะนอยลงพรอมกับยอดเงินสดที่จะมีการใชตามแผนการลงทุนในป 2554 คาใชจายในการวิเคราะหโอกาสในการลงทุนนั้นคาดวาจะ ลดลงจากระดับของป 2553 เมื่อมีการเสาะหาโอกาสการลงทุนนอยลงในป 2554 ในป 2553 ทีมงานวิเคราะหการลงทุนไดพิจารณาโอกาสมากกวา 30 รายการ วิเคราะห 17 รายการ และวิเคราะหสถานภาพบริษัทอยางละเอียด (due diligence) 9 กรณี และไดลงทุนใน 3 บริษัท ถึงแมเรายังมีจะ วิเคราะหโอกาสในการลงทุนอยูอีกสองรายการ ณ สิ้นป บริษัทฯ ยังคงที่จะใชความระมัดระวังในการวิเคราะหโอกาสและความเสี่ยงที่เกี่ยวของ

การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล เราตระหนักดีวา ธุรกิจของบริษัทฯ กำลังซับซอนมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งมีผลใหเราตองมีระบบขอมูลที่ซับซอนตาม รวมถึงตองมีทักษะในการวิเคราะห และการบริหารจัดการความเสี่ยงที่มากขึ้นดวย ความกดดันตองานในลักษณะเดียวกันเกิดขึ้นจากหลายดาน เชน จากการที่ฝายปลอยเชาเรือ ตองติดตอกับลูกคาในเรื่องสินคาที่จะบรรทุกในเรือ ไปจนถึงฝายขายที่ตองเจรจากับบริษัทน้ำมันและกาซในเรื่องสัญญาการใหบริการ เพราะฉะนั้น เราตองมีความรอบคอบ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการทำงานของเราดวย เราคาดวา การเติบโตในระยะยาวของบริษัทฯ จะขึ้นอยูกับความสามารถในการดึงดูดและรักษาพนักงานที่มีความสามารถและทุมเทใหกับบริษัทฯ ไวได ดังนั้น ในชวงที่เรากำลังจะเปลี่ยนผานไปเปนบริษัทเพื่อการลงทุนในเชิงกลยุทธ เราจึงไดจัดทำแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลในระยะ 5 ปไว ซึ่งประกอบดวย l การสรางใหเกิดวัฒนธรรมองคกรที่จายคาตอบแทนตามผลประกอบการของบริษัทฯ และตามผลการปฏิบัติงานของแตละบุคคล l การพัฒนาใหเกิดระบบการบริหารจัดการคาตอบแทนที่ทำใหบริษัทฯ สามารถที่จะดึงดูด รักษา และกระตุนบุคลากรที่มีความสามารถ l การจัดทำโครงการ “ผูนำในตัวคุณ หรือ Leader in You” ซึ่งเปนโครงการพัฒนาผูนำรุนใหมที่เริ่มตั้งแต การวางพื้นฐานทางอาชีพ การสราง โอกาสในการเจริญกาวหนาทางอาชีพใหกับบุคลากรที่มีความสามารถ และการสรางกลุมผูนำรุนใหมที่จะมารองรับการเจริญเติบโตของธุรกิจ ในทุกๆ ดาน ในป 2553 นี้ เราไดวางรากฐานสำหรับการบริหารผลการปฏิบัติงานใหดียิ่งขึ้น ดวยระบบ MAX วิเคราะหแบบบรรยายลักษณะของงาน จัดทำ ระดับชั้นของตำแหนงงาน และจัดทำกระบอกเงินเดือนสำหรับระดับชั้นของตำแหนงงานตางๆ นอกจากนี้เรายังไดจัดทำแผนการจายโบนัส ระยะสั้นและระยะกลางที่สอดคลองกับผลตอบแทนของนักลงทุนใหมากขึ้น การสรรหาวาจางและพัฒนาบุคลากร ธุรกิจของเรากำลังมีความหลากหลายมากขึ้น กลุมบริษัทฯ ไดวาจางพนักงานทั้งสิ้นกวา 2,700 คน เรามีฝายขายที่คอยติดตอดูแลลูกคาเปน ประจำทุกวัน และมีฝายเทคนิคที่คอยดูแลบริหารการปฏิบัติการและความปลอดภัยตางๆ ของธุรกิจหลักทุกแหง นอกจากนี้ เรายังมีมืออาชีพทาง ดาน กฎหมายและการกำกับดูแล การบริหารความเสี่ยง การตรวจสอบภายใน การทรัพยากรบุคคล ตลอดจนผูเชี่ยวชาญการเงินที่คอยวิเคราะห ขอมูลและตัวเลข และทบทวนนโยบายที่มีอยู และชี้ใหเห็นประเด็นตางๆ ที่เราอาจตองเผชิญกับคูคาในแตละบริษัท ซึ่งรายการเหลานี้ ยังไมรวมถึง กลุมลูกเรือ และวิศวกรที่ทำหนาที่คอยดูแลเรือและเรือขุดเจาะ เพื่อใหผลผลิตดียิ่งขึ้น เราจึงหันมาวาจางบุคลากรที่วุฒิการศึกษาในระดับสูงขึ้น รวมทั้งผูที่จบปริญญาโทดานบริหารธุรกิจ (M.B.A) เรายังไดเริ่ม จัดทำโครงการพัฒนาผูบริหาร (executive development program) สำหรับผูบริหารที่มีประสบการณพรอมที่จะนำมาใชในธุรกิจใหมๆ และวาจาง บุคลากร 3 คนเพื่อมาพัฒนาและเสริมสรางทักษะดานการบริหารใหอยางตอเนื่อง พนักงานของเราจะตองเขาฝกอบรมและพัฒนาทักษะตางๆ เพื่อใหตนเองสามารถปฏิบัติงานและบริหารความสัมพันธกับลูกคาใหดียิ่งขึ้น เราไดวาจางผูบริหารระดับสูงอีกสองทานเขามาในป 2553 ทำใหคณะผูบริหารระดับสูงชุดใหมมีสมาชิกครบครัน หากผูถือหุนลองเปรียบเทียบ รายงานประจำป 2550 กับรายงานประจำป 2553 จะพบวา โฉมหนาของคณะผูบริหารระดับสูงไดเปลี่ยนแปลงไปทั้งคณะ เนื่องจากเราตองการ บุคลากรที่สามารถดูแลและสรางความกาวหนาใหกับธุรกิจตางๆ ของเรานอกเหนือจากธุรกิจเดินเรือสินคาแหงเทกอง โดยคณะผูบริหารระดับสูงมี ความเชื่อในวิสัยทัศนรวมกันและมุงมั่นที่จะทำใหวิสัยทัศนนั้นเปนจริงขึ้นมา การประเมินผลงานและการพัฒนาอยางตอเนื่อง ในป 2554 เราวางแผนที่จะสรางความเติบโตจากรากฐานที่เรามีดวยการใหความสำคัญกับการวางแผนหาบุคลากรที่จะมาสืบทอดตำแหนง งานที่สำคัญ ซึ่งยังคงเปนสิ่งที่เรากังวล มีคำพูดที่วา “มีงานที่เหมาะกับทุกคน แตบางทีอาจจะไมใชงานที่คุณกำลังทำอยูในวันนี้” บริษัทฯ มีพันธะ กับพนักงาน ลูกคา และผูถือหุนในการสรางบรรยากาศที่บุคลากรของเราสามารถปฏิบัติงานไดอยางเต็มความสามารถ เรากำลังมุงหนาสูระบบการ ประเมินผลที่ชี้ใหเห็นขอดีขอดอย และสะทอนผลดังกลาวใหกับพนักงานอยางซื่อสัตยและรอบคอบ ซึ่งนี่เปนวัฒนธรรมใหมที่ตองใชเวลาในการ สรางใหเกิดขึ้นในองคกรของเรา

20

รายงานประจำป 2553


บริษัทฯ ใหความสำคัญกับการพัฒนาผูบริหารที่มีอยูใหมีความแข็งแกรง โดยตองเริ่มจากการทำความเขาใจอยางชัดเจนในคุณสมบัติที่ประกอบ ดวยความรู ทักษะและคุณลักษณะที่เราตองการในกลุมผูจัดการอาวุโส ซึ่งคุณสมบัติเหลานี้ตองมีการสื่อสารและตอกย้ำผานการบริหารผลการ ปฏิบัติการและขั้นตอนการประเมินความสามารถของบุคลากร ในป 2554 นี้ เราวางแผนที่จะเปดตัวโครงการบุคลากรที่มีความสามารถที่พรอมจะทำงานไดทุกแหง เนื่องจากพวกเขาคือกุญแจสำคัญสำหรับการ ประสบความสำเร็จในระยะยาว เราจำเปนตองสื่อสารกับพนักงานใหเขาใจวา พวกเขาตองปฏิบัติตัวอยางไรเพื่อจะไดเลื่อนไปยังอีกระดับในองคกร ของเรา ซึ่งสวนหนึ่งของการไดโอกาสนั้นมา คือการไปลองรับงานใหมที่แตกตางจากเดิม และมีมุมมองที่กวางขวางเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจและ บุคลากร ในขณะที่พนักงานแตละคนจะบริหารสายงานอาชีพของตนเองแลว หนาที่ของบริษัทฯ คือการคอยดูแลใหกระบวนการเหลานั้นเกิดขึ้นมา การวางแผนหาบุคลากรเพื่อสืบทอดตำแหนง บริษัทฯ ใหความสำคัญและใครครวญเปนอยางมากกับการสรรหาผูสืบทอดตำแหนง โดยเฉพาะในสวนงานของผูบริหารระดับสูง ซึ่งเห็นไดตั้งแต ระดับสูงสุดลงมา โดยในชวง 5 ปที่ผานมา คณะกรรมการของบริษัทฯ มีการเปลี่ยนแปลงอยางคอยเปนคอยไปจนครบทั้งคณะ เราใชความ พยายามมากขึ้นที่จะหาบุคลากรที่เหมาะสมและมีความสามารถในการดำรงตำแหนงระดับสูงในอีก 3-5 ปขางหนา หรือพรอมที่จะรับตำแหนงตางๆ ในบริษัทฯ ไดทันทีหากจำเปน เราตองการใหผูถือหุนมั่นใจวา เรามีบุคลากรที่มีความสามารถเปนจำนวนมากในบริษัทฯ เพียงแตพวกเขายังตองการเวลาสำหรับเรียนรูและเพิ่ม ประสบการณอีกสักระยะหนึ่ง เราวางแผนที่จะสับเปลี่ยนหมุนเวียนพนักงานที่มีความสามารถสูงไปยังกลุมธุรกิจตางๆ ของเรา เพื่อใหมั่นใจวา พวก เขาจะมีทักษะความสามารถในการขึ้นไปในตำแหนงที่สูงขึ้นในอนาคต ซึ่งรวมถึงการผูสืบทอดตำแหนงกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจา หนาที่บริหาร ซึ่งการขาดการวางแผนที่ดีในการหาผูสืบทอดตำแหนงกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารทำใหธุรกิจของหลาย บริษัทไมเดินหนา คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเชื่อวา เรื่องนี้เปนเรื่องที่สำคัญที่สุด คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนมีหนาที่รับผิดชอบในการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร รวมถึงคาตอบแทนของคณะผูบริหารระดับสูง (Management Committee) ทุก คน และคณะกรรมการจะคอยตรวจสอบแผนการสรรหาบุคลากรสืบทอดตำแหนง เนื่องจากบริษทั ฯ ตองการกระบวนการสรรหาผูสืบทอดตำแหนงที่ มีประสิทธิภาพในทุกตำแหนง ดังนั้น แผนการสรรหาผูสืบทอดตำแหนงและการพัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถจึงถูกบรรจุไวในตัวชี้วัดผลงาน หลักสำหรับผูผูจัดการอาวุโสทุกคนในป 2554 นี้ การจายคาตอบแทนที่เหมาะสม คาตอบแทนเปนเรื่องที่ซับซอนละเอียดออน เปาหมายของเราคือการออกแบบแผนคาตอบแทนที่สามารถดึงดูดและกระตุนบุคลากรที่มีความ สามารถ และใหรางวัลตอบแทนในพฤติกรรมที่ดีของพวกเขา เนื่องจากธุรกิจของเราบางตัวเปนธุรกิจที่มีการแขงขันสูงดังนั้น เราจึงตองมีโครงสราง การบริหารคาตอบแทนที่แขงขันไดหากเราตองการสรรหาและรักษาบุคลากรที่มีความสามารถไวกับเรา ในป 2553 เรามีคาใชจายทั่วไปและคาใชจายสำหรับการบริหารคิดเปนเงิน 1,826.5 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนรวม (เงินเดือน สวัสดิการ และโบนัส) มูลคา 874.3 ลานบาท เราจายเงินเดือนและสวัสดิการเฉลี่ยตอคนเปนมูลคา 821,541 บาท ตอป และโบนัสโดยเฉลี่ยตอคนเปนมูลคา 132,933 บาท ซึ่งรวมแลวคือประมาณ 954,474 บาทตอคนตอป ในป 2553 เราไดจัดทำแผนคาตอบแทนระยะสั้น (โบนัส) ซึ่งใชหลักการคำนวณมาจากสามสวนหลักคือ รายไดประจำป กำไรสุทธิประจำป และ ผลตอบแทนจากเงินทุนที่ใชทั้งหมด ในขณะที่แผนคาตอบแทนระยะกลาง ถูกจัดทำขึ้นมาในลักษณะของ โครงการรวมลงทุนระหวางนายจางและ ลูกจาง (Employee Joint Investment Program - EJIP) สำหรับพนักงานระดับบริหารของบริษัทฯ และของธุรกิจเดินเรือสินคาแหงเทกอง จำนวน 40 คน ซึ่งพนักงานจะจายเงินสมทบเขาโครงการจำนวนรอยละ 4 ในขณะที่บริษัทฯ จะจายรอยละ 7 ของจำนวนเงินเดือนของพนักงาน เพื่อนำมาซื้อ หุนของบริษัทฯ (TTA) ทุกเดือน หุนที่อยูภายใตโครงการ EJIP มีระยะเวลาสิ้นสุดโครงการเมื่อครบ 3 ป ซึ่งพนักงานไมมีสิทธิ์ขายหุนดังกลาวไดจนกวา หุนนั้นจะมีอายุครบ 1 ป หลังจากโครงการสิ้นสุดแลว และจะมีการจายเงินโบนัสปนผลระยะกลางใหกับพนักงาน หากบริษัทฯ สามารถบรรลุผลสำเร็จในตัวชี้วัดตอไปนี้ ผลกำไรตอบแทนใหกับผูถือหุน อัตราเติบโตเฉลี่ยสะสมตอป ผลกำไรสุทธิ และผลตอบแทนจากเงินทุนที่ใชทั้งหมด เมอรเมดก็มีการจัดทำโครงการ ESOP (Employee Stock Option Plan) ใหกับพนักงาน เมื่อสองปที่ผานมา และระยะเวลาสิ้นสุดโครงการคือ 3 ป เชนเดียวกัน ถาหากเรามองดูที่คาตอบแทนโดยรวมในลักษณะที่เปนสัดสวนรอยละตอรายได คาตอบแทนโดยรวมของบริษัทฯ (เงินเดือน สวัสดิการและโบนัส) เปนรอยละ 4.58 ตอรายไดรวม ซึ่งเปนตัวเลขที่สูงกวาปที่ผานมา เนื่องจากเราพยายามที่จะยกระดับบุคลากรที่มีความสามารถในงานดานตางๆ มากขึ้น ตัวเลขดังกลาวไมสูงเลยเมื่อเทียบกับบริษัทฯ ที่ทำธุรกิจการบริการ หรือสถาบันการเงิน บริษัทฯ เปนกลุมธุรกิจที่ใชเงินลงทุนคอนขางสูง และมีคาใชจายเปนจำนวนมาก เชน คาใชจายเที่ยวเรือ คาใชจายของเจาของเรือ ดอกเบี้ย และคาเสื่อมราคา

รายงานประจำป 2553

21


เปนเรื่องสำคัญที่จะตองชี้ใหเห็นวา หลายๆ บริษัท ไมไดจายคาตอบแทนที่มีมูลคาสูงตามผลการดำเนินงานที่ดีของบริษัท ซึ่งบริษัทฯ จะไม ดำเนินการในลักษณะนี้แนนอน หลักเกณฑในการจายคาตอบแทน เราเชื่อวา หลักเกณฑในการจายคาตอบแทนตอไปนี้ สอดคลองหลักเกณฑของบริษัทอื่นๆ ที่ทำธุรกิจเหมือนเรา โดยหลักเกณฑดังกลาวมีดังนี้ l เชื่อมโยงคาตอบแทนไวกับผลงานของบริษัทโดยรวม ผลการดำเนินงานของแตละบริษัท หรือ ผลงานของแตละแผนก l สรางความรูสึกเปนเจาของรวมกันใหกับพนักงานที่เปนกำลังสำคัญ และทำใหโครงสรางของการเปนเจาของรวมกันใชระยะเวลาหลายปกอน จะสิ้นสุดโครงการ l สรางตัวชี้วัดทางการเงินที่รวมผลตอบแทนจากเงินลงทุน ซึ่งหมายถึงวา ยิ่งบริษัทฯ ใชเงินลงทุนมากเทาใด ก็ควรไดผลกำไรมากขึ้นเทานั้น l จัดทำตัวชี้วัดผลการทำงานทั้งแบบปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งมีแบบประเมินทักษะ ความรูและคุณลักษณะของผูบริหารระดับสูง เนื่องจากผลการดำเนินงานที่ดีในปนั้นๆ ไมไดบงชี้วาผลงานสวนบุคคลนั้นดีไปดวย เราจายแตละบุคคลอยางไร จุดตั้งตนของการจายคาตอบแทนที่เหมาะสมคือ การจายตามผลประกอบการที่ปรับยอดเงินลงทุนแลว ผูบริหารระดับสูงสวนใหญของบริษัทฯ จะถูกวัดดวยตัววัดหลักหลายตัวในการประเมินผลงาน โดยทั่วไปแลว คาตอบแทนของพวกเขาจะขึ้นอยูกับผลการดำเนินงานโดยรวมของบริษัทฯ โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับผูบริหารระดับสูงของแตละบริษัท การจายใหกับรายบุคคล เราจะดูที่ผลการปฏิบัติงานของพวกเขา ผลการดำเนินงานของหนวยธุรกิจ และผลการดำเนินงานโดยรวมของบริษัทฯ เปนหลัก เนื่องจากเรารูจักบุคลากรแตละคนคอนขางดี ดังนั้นเราจะประเมินผลการปฏิบัติงานเปนเวลาหลายป เพราะวามันสำคัญมากที่เรา จะตองรูจักคนที่ดีที่สุดของเรา เนื่องจากกวาพวกเขาจะมาอยูในตำแหนงสูงได พวกเขาตองพิสูจนตัวเองมาเปนเวลาหลายป ในคณะผูบริหารระดับสูง คาตอบแทนของพวกเขาจะถูกเชื่อมโยงไวกับผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และพวกเขาจะถูกประเมินทักษะความเปน ผูนำ ผานโครงการประเมินแบบ 360 องศา ซึ่งเราวางแผนจะนำไปใชกับผูบริหารในระดับกลางตอไป แผนภูมิ 5 : กำไรตอหุน ผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน ผลผลิตจากการทำงานตอคน (2551-2553) กำไรตอหุน

ผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน

ผลผลิตจากการดำเนินงานตอคน

บทสรุป เมื่อปที่แลว เราบอกกับผูถือหุนวา บริษัทฯ ที่ประสบความสำเร็จจะแสวงหาโอกาสใหมๆ ในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง และนี่คือสิ่งที่บริษัทฯ ตองการ จะทำ ดวยความมุงมั่นที่ไมเปลี่ยนแปลงในกลยุทธระยะยาวของเรา เราหวังวา ผูถือหุนจะเขาใจในการเปลี่ยนแปลงตางๆ ที่กำลังเกิดขึ้นกับบริษัทฯ เราจะวิวัฒนาการตนเองไปเปนบริษัทเพื่อการลงทุนในเชิงกลยุทธ ที่มุงเนนในธุรกิจที่เปนสินคาโภคภัณฑ (commodities) และโครงสรางขั้นพื้นฐาน ดวยการขยายการลงทุนเพิ่มเติม ตลอดจนพัฒนาระบบและกระบวนการตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งในฝงของทรัพยากรบุคคล เพื่อใหเราสามารถรอง รับการเติบโตของธุรกิจได หลังจาก 106 ปที่ผานไป ผูถือหุนควรมั่นใจไดวา บริษัทฯ จะยังคงมีวิวัฒนาการและเปลี่ยนแปลงตัวเองใหมอยู ตลอดเวลา

22

รายงานประจำป 2553


เราทุมเทและทำงานอยางเต็มที่เทาที่เราจะสามารถทำไดเพื่อจะสรางใหบริษัทฯ เปนบริษัทที่นาภาคภูมิใจ มุมมองที่ไดรับความนิยมเปนอยางมาก มุมมองหนึ่งคือ ความเปนเจาของผูบุกเบิกและมีความคิดสรางสรรคจะปรากฎอยูเฉพาะในธุรกิจขนาดเล็ก ความรูสึกเปนเจาของจะมีรูปแบบที่ แตกตางไปในบริษัทที่มีขนาดใหญ ถาหากปราศจากความสามารถในการรังสรรคสิ่งใหมๆ ที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของตลาดแลว บริษัทฯ ก็คงจะตองสูญเสียสภาพการแขงขันเปนแน บริษัทฯ กำลังสรางตัวเองจากความแข็งแกรงเดิมที่เรามีอยู เพื่อเปลี่ยนแปลงตัวเองไปสูบริษัทฯ ที่มีองคประกอบทางการเงินที่นาสนใจมากกวาเดิม ในสายตาของนักลงทุน ในขณะเดียวกัน ก็เปนบริษัทที่เจริญเติบโตและมั่งคั่ง ถึงแมวา ระบบและกฎใหมของเศรษฐกิจโลกจะถูกกำหนดไว ธุรกิจตางๆ ของเรานาจะสรางผลกำไรสุทธิที่สูงกวานี้ในอีกสองสามปขางหนา แมวา ธุรกิจเดินเรือสินคาแหงเทกองจะยังคงอยูในชวงขาลง ธุรกิจของเรายังคงตองเผชิญกับความทาทายหลายประการ แตเราเชื่อวา ดวยความแข็งแกรงที่เรามี โดยเฉพาะอยางยิ่ง ความยืดหยุน ความสามารถในการเปลี่ยนแปลง และการทำงานบนพื้นฐานของจริยธรรมจะชวยใหเราสามารถตอยอดบนความสำเร็จเปนเนืองนิตย สุดทายนี้ เราขอขอบคุณผูถือหุนทุกทาน ลูกคา คูคา ธนาคาร โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อนพนักงานที่คอยใหการสนับสนุนบริษัทฯ ดวยดีตลอดมา เราซาบซึ้งในความสนับสนุนที่มอบใหกับเรา และจะทำงานอยางเต็มที่ที่จะพิสูจนตนเองใหสมกับความไววางใจที่ไดรับ เรายังคงตื่นเตนและ กระตือรือรนกับโอกาสในอนาคตที่จะเกิดขึ้นกับบริษัทฯ และเชื่อวา ความรูสึกนี้จะเกิดขึ้นและคงอยูตลอดไปจนกวา เราจะสามารถนำพาบริษัทฯ ทะยานขึ้นไปสูอีกระดับของการพัฒนา ขอแสดงความนับถือ

ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต

ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต

รายงานประจำป 2553

23


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบทุกทานเปนกรรมการบริษัท ซึ่งกรรมการตรวจสอบทุกทานมีคุณสมบัติตามขอกำหนดเรื่องความเปนอิสระที่กำหนด โดยคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวย นางปรารถนา มงคลกุล (ประธานกรรมการตรวจสอบ) ดร. ศิริ การเจริญดี และนายอัศวิน คงสิริ (จนถึงวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553) และ นับจาก วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เปน นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ คณะกรรมการตรวจสอบชวยสนับสนุนใหคณะกรรมการบริษัท สามารถปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบไดเปนผลสำเร็จ โดยการชวยกำกับดูแล ในเรื่องดังตอไปนี้ 1. ความถูกตองและครบถวนของขอมูลทางการเงิน 2. การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบขอบังคับวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ 3. คุณสมบัติและความเปนอิสระของผูตรวจสอบบัญชี 4. ผลการปฏิบัติงานของฝายตรวจสอบภายในและผูตรวจสอบบัญชีภายนอก นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังติดตามและสนับสนุนใหเกิดการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยเสริมสรางใหเกิดการรับรูและใหคำแนะนำแก ฝายบริหารเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการควบคุมภายใน เพื่อใหสอดคลองกับหลักการขางตน คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทและความรับผิดชอบหลัก ดังนี้ l

การรายงานทางการเงิน : คณะกรรมการตรวจสอบจะสอบทานงบการเงินระหวางกาล และงบการเงินประจำปเพื่อใหคำแนะนำแก คณะกรรมการบริษัทในการอนุมัติงบการเงินดังกลาว ทั้งนี้ ในการสอบทานงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบจะสอบทานโดยใหความสำคัญ ในประเด็นที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีและขั้นตอนการปฏิบัติงาน การตัดสินใจในเรื่องหลักๆ ที่สำคัญและมีความเสี่ยง รายการปรับปรุงทางบัญชีของผูตรวจสอบบัญชีที่มีสาระสำคัญ สมมติฐานเกี่ยวกับการดำเนินกิจการอยางตอเนื่อง การปฏิบัติตามมาตรฐาน การบัญชีรวมถึงกฎและระเบียบของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ

l

การตรวจสอบบัญชี : คณะกรรมการตรวจสอบจะหารือกับผูตรวจสอบบัญชีภายนอก เกี่ยวกับแผนการตรวจสอบ รายงานการตรวจสอบ งบการเงินประจำป สอบทานหนังสือแจงถึงฝายบริหารและผลการตอบกลับของฝายบริหาร รวมถึงสอบทานวัตถุประสงคในการตรวจสอบ และความเปนอิสระของผูตรวจสอบบัญชีจากฝายบริหารและบริษัทฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังเปนผูพิจารณาและใหคำแนะนำ แกคณะกรรมการบริษัทในการคัดเลือกและแตงตั้งผูตรวจสอบบัญชี รวมถึงการพิจารณาคาสอบบัญชีดวย

l

การตรวจสอบภายใน : คณะกรรมการตรวจสอบจะสอบทานขอบเขตการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน แนวการตรวจสอบ และประเด็นที่มี สาระสำคัญที่ตรวจพบในระหวางป รวมถึงการตอบสนองตอประเด็นที่ตรวจพบของฝายบริหาร เพื่อความเชื่อมั่นตอความเหมาะสมของ การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน และความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ

l

การบริหารความเสี่ยง : คณะกรรมการตรวจสอบจะสอบทานถึงประสิทธิภาพของการควบคุมที่มีสาระสำคัญ ซึ่งประกอบดวย การควบคุม ดานการเงิน การกำกับการปฏิบัติตามกฎระเบียบและขอบังคับตางๆ และการบริหารความเสี่ยง เพื่อรักษาผลประโยชนจากการลงทุนของ ผูถือหุน และทรัพยสินของบริษัทฯ

l

รายการคาระหวางบุคคลที่เกี่ยวของกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการตรวจสอบจะสอบทานรายการคา ระหวางบุคคลที่เกี่ยวของกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนที่เกิดขึ้นในป 2553 เพื่อใหมั่นใจวา บริษัทฯ ปฏิบัติตาม ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ

24

รายงานประจำป 2553


ในระหวางรอบปบัญชี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2553 คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 9 ครั้ง โดยกรรมการทุกทานเขารวม การประชุมทุกครั้ง เพื่อสอบทานระบบบัญชี และระบบการควบคุมภายใน ตลอดจนรายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาสและประจำปกอนนำเสนอ สูที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และเผยแพรสูสาธารณชน โดยการสอบทานประเด็นตางๆ คณะกรรมการตรวจสอบไดกระทำโดยอิสระ และไดรวม หารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูตรวจสอบบัญชี ผูบริหารที่เกี่ยวของ และผูตรวจสอบภายใน นอกจากนี้ รายงานการประชุมทั้งหมดของ คณะกรรมการตรวจสอบไดถูกนำเสนอใหแกที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนรายไตรมาสเพื่อรับทราบขอมูลและพิจารณา โดยสรุปคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแลวมีความเห็นวา การดำเนินงานของบริษัทฯ ในป 2553 l

มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสม

l

รายงานทางการเงินไดจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือได

l

บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบขอบังคับวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ

l

ผูตรวจสอบบัญชี ซึ่งไดแก บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอร เอบีเอเอส จำกัด ไดปฏิบัติหนาที่อยางเหมาะสม

l

รายการคาระหวางบุคคลที่เกี่ยวของกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนที่เกิดขึ้นในป 2553 มีความสมเหตุสมผลและเปน ไปเพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ

ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่โดยอิสระ และมีสิทธิและดุลพินิจเต็มที่ในการเชิญกรรมการหรือเจาหนาที่บริหารเขารวมประชุม รวมถึงไมมีขอจำกัดในการเขาถึงขอมูล สำหรับงบการเงินประจำปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554 คณะกรรมการตรวจสอบไดเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ ใหพิจารณาแตงตั้งบริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอร เอบีเอเอส จำกัด เปนผูตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ ตอเนื่องจากปที่ผานมา เนื่องจากบริษัทดังกลาวเปนบริษัทที่มีชื่อเสียง และมีมาตรฐานการตรวจสอบเปนที่ยอมรับอยางกวางขวาง การแตงตั้งผูตรวจสอบบัญชีจะไดนำเสนอตอที่ประชุมใหญสามัญประจำปของ ผูถือหุนที่จะมีขึ้นในเดือนมกราคม 2554 เพื่อใหความเห็นชอบตอไป

นางปรารถนา มงคลกุล ประธานกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจำป 2553

25


คณะกรรมการ 1. ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต (ถึงแกกรรม) ไดดำรงตำแหนงประธานกรรมการบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ในป 2537 ถึงป 2553 มีประสบการณการทำงานเปนรองผูจัดการใหญ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรในป 2525 ถึงป 2528 และเปนผูอำนวยการธนาคารออมสิน จำกัด ในป 2528 ถึงป 2533 นอกจากนี้ ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต ยังไดดำรงตำแหนงกรรมการผูจัดการบริษัท ซี.เอส. แคปปตอล ในป 2534 ถึงป 2553 ตำแหนงประธานกรรมการบริหาร บริษัท หลักทรัพยพัฒนสิน จำกัด (มหาชน) ในป 2533 ถึงป 2535 และตำแหนงกรรมการบริษัท สหอุตสาหกรรมน้ำมันปาลม จำกัด (มหาชน) ในป 2535 ถึงป 2547 ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีเศรษฐศาสตร (เกียรตินิยม) จาก University of Cambridge ประเทศอังกฤษ 2. นายอัศวิน คงสิริ ไดรับแตงตั้งเปนประธานกรรมการบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ในเดือนพฤศจิกายน 2553 และในปเดียวกัน นายอัศวิน คงสิริ ไดรับแตงตั้ง เปนกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และเปนประธานกรรมการบริษัท กรุงไทย-แอกซา ประกันชีวิต จำกัด ประธานกรรมการบริษัท ไทย โอริกซ ลีสซิ่ง จำกัด นอกจากนี้ นายอัศวิน คงสิริ ยังดำรงตำแหนงประธานกรรมการบริษัท ช. การชาง จำกัด (มหาชน) ดำรงตำแหนงประธานกรรมการกองทุน ตนโพธิ์ ดำรงตำแหนงรองประธานกรรมการบริษัท ผลิตไฟฟา จำกัด (มหาชน) ดำรงตำแหนงกรรมการบริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ดำรงตำแหนงกรรมการตรวจสอบบริษัท โอเอชทีแอล จำกัด (มหาชน) (โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล) ดำรงตำแหนงกรรมการ บริษัท ไทยรับประกันภัยตอ จำกัด (มหาชน) และดำรงตำแหนงกรรมการบริษทั ผาแดงอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) นายอัศวิน คงสิริ สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี (เกียรตินิยม) สาขา Philosophy, Politics and Economics จาก Oxford University ประเทศอังกฤษ และผานการอบรมหลักสูตร Chairman 2000 Program รุน 5/2001 และหลักสูตร Directors Certification Program รุน DCP 11/2001 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ในป 2544

1. ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต ประธานกรรมการ (ถึงแกกรรม) (อายุ 80 ป) สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.18

2. นายอัศวิน คงสิริ ประธานกรรมการ (อายุ 64 ป) (ไดรับแตงตั้งเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2553) สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.00

3. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต กรรมการผูจัดการใหญและประธาน เจาหนาที่บริหาร (อายุ 44 ป) สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.03

5. นางปรารถนา มงคลกุล 4. นายสตีเฟน ฟอรดแฮม กรรมการอิสระ/ กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการสรรหา ประธานกรรมการตรวจสอบ (อายุ 59 ป) (อายุ 46 ป) สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.00 สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.003

3. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต เขารวมงานกับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ตั้งแตป 2548 ในตำแหนงประธานเจาหนาที่บริหาร มีประสบการณการทำงานเริ่มที่ธนาคาร แหงอเมริกา ซานฟรานซิสโก (สหรัฐอเมริกา) ฮองกง และกรุงเทพมหานคร ในป 2532 ถึงป 2537 จากนั้น ในป 2537 ถึงป 2543 ไดรวมงานกับธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และเคยรวมงานกับกลุมบริษัท เจพี มอรแกน (ฮองกง) ในป 2543 ถึงป 2545 และเคยรวมงานกับ Morgan Stanley Dean Witter Asia (Singapore) Pte. Ltd. ในป 2545 ถึงป 2548 ปจจุบัน ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต ดำรงตำแหนงประธานกรรมการในบริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) และดำรงตำแหนงประธานกรรมการใน บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทบริหารธุรกิจ จาก University of California, Berkeley ประเทศสหรัฐอเมริกาในป 2532 และปริญญาตรีเศรษฐศาสตร (magna cum laude) จาก University of Minnesota ประเทศสหรัฐอเมริกา ในป 2530 ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต ไดผานการอบรมหลักสูตร Directors Certification Program รุน DCP 70/2006 จากสมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ในป 2549 4. นายสตีเฟน ฟอรดแฮม เคยรวมงานกับ Norton Rose Botterell & Roche ลอนดอน ในป 2517 ถึงป 2519 ที่ Baker & McKenzie ฮองกง ในป 2519 ถึงป 2520 Baker & McKenzie กรุงเทพมหานคร ในป 2521 Clifford Turner ในป 2522 ถึงป 2526 และดำรงตำแหนง Partner ที่ Sinclair Roche & Temperley ในป 2529 ถึงป 2541 ดำรงตำแหนงกรรมการผูจัดการ Argonaut Shipping Pte. Ltd. ในป 2541 ถึงป 2543 ดำรงตำแหนงเปนที่ปรึกษาของ Watson Farley & Williams ในป 2541 ถึงป 2546 ดำรงตำแหนงประธานกรรมการ Masterbulk Pte. Ltd. เปนหุนสวนของ Wikborg Rein และดำรงตำแหนงกรรมการอิสระที่ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) (DTAC) นายสตีเฟน ฟอรดแฮม สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขา Jurisprudence จาก Oxford University ประเทศอังกฤษ 5. นางปรารถนา มงคลกุล ดำรงตำแหนงประธานเจาหนาที่การเงินและกรรมการของกลุมบริษัท ไมเนอร อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย นอกจากนี้ ยังดำรงตำแหนง กรรมการของบริษัท เอส แอนด พี ซินดิเคท จำกัด (มหาชน) กรรมการสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย และกรรมการอำนวยการสมาคมการจัดการธุรกิจ แหงประทศไทย ทั้งนี้ ในชวงป 2535 ถึงป 2541 นางปรารถนาไดดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญและผูอำนวยการดานการเงินและบัญชีของ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) นางปรารถนา มงคลกุล สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาบัญชี และระดับปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทั้งยังผานการอบรมในหลักสูตรตางๆ อันไดแก หลักสูตร Director Accreditation Program และหลักสูตร Director Certification Program จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รวมถึงหลักสูตร Chief Financial Officer Certification Program และหลักสูตรผูบริหารระดับสูง จากสถาบันวิทยาการตลาดทุนรุน 6/2008 ในป 2551

26

รายงานประจำป 2553


6. ดร. พิชิต นิธิวาสิน ดำรงตำแหนงกรรมการผูจัดการบริษัท บี ไอ จี มารเก็ตติ้ง จำกัด และบริษัท บางกอก โคเจนเนอเรชั่น จำกัด นอกจากนี้ ดร. พิชิต นิธิวาสิน ยังดำรงตำแหนง กรรมการบริษัท ฮั่วกี่ เปเปอร จำกัด บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลิเมอส จำกัด บริษัท โปลิเมอส มารเก็ตติ้ง จำกัด บริษัท ระยองโอเลฟนส จำกัด บริษัท ไทย เอ็มเอ็มเอ จำกัด บริษัท บาเซล แอดวานซ โพลีโอลิฟนซ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท มาบตาพุด แทงก เทอรมินัล จำกัด นอกจากนี้ ดร. พิชิต นิธิวาสินดำรงตำแหนง ประธานเจาหนาที่บริหารบริษัท บางกอกอินดัสเทรียลแกส จำกัด บริษัท กรุงเทพ ซินธิติกส จำกัด บริษัท บีเอสที อิลาสโตเมอรส จำกัดและดำรงตำแหนง ประธานกรรมการบริษัท โฟมเทค อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด ดร. พิชิต นิธิวาสิน สำเร็จการศึกษาปริญญาดุษฎีบัณฑิตสาขา Operations Research วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิศวกรรมไฟฟา และคอมพิวเตอร วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ และวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมอุตสาหการจาก University of California, Berkeley ประเทศสหรัฐอเมริกา ดร. พิชิต นิธิวาสิน ไดผานการอบรมหลักสูตร Finance for Non-Finance Director Program (FN) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุน FN 4/2003 ในป 2546 7. นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ เคยรวมงานกับบริษัท คอนติเนนทัล อิลินอยส (ประเทศไทย) จำกัด ในป 2516 ถึงป 2517 กอนที่จะเขารวมงานกับธนาคาร เอเชีย จำกัด (มหาชน) ในป 2518 ถึงป 2541 ในตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ เคยดำรงตำแหนงผูจัดการสมาคมผูตรวจสอบภายในแหงประเทศไทย ในป 2546 ถึงป 2547 ดำรงตำแหนงผูควบคุมงานดานการตรวจสอบภายในบริษัท จีอี มันนี่ ไฟแนนซ จำกัด (มหาชน) (ประเทศไทย) ในป 2547 ถึง 2548 และไดเปน กรรมการ ธนาคาร จีอี มันนี่ เพื่อรายยอย จำกัด (มหาชน) ในป 2548 ถึงป 2549 ปจจุบัน นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ ดำรงตำแหนงกรรมการบริษัท เทเวศนประกันภัย จำกัด (มหาชน) ดำรงตำแหนงกรรมการ บริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ จำกัด (มหาชน) นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี Management Science จาก Colorado State University ประเทศสหรัฐอเมริกา

6. ดร. พิชิต นิธิวาสิน กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการ กำหนดคาตอบแทน/กรรมการสรรหา (อายุ 64 ป) สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.00

7. นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ กรรมการอิสระ/กรรมการกำหนด คาตอบแทน/กรรมการสรรหา/ กรรมการตรวจสอบ (อายุ 61 ป) สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.00

8. ดร. ศิริ การเจริญดี กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการกำหนดคาตอบแทน/ กรรมการสรรหา (อายุ 62 ป) สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.00

9. นางโจอี้ ฮอรน กรรมการอิสระ (อายุ 44 ป) สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.00

10. นายปเตอร สโตคส กรรมการอิสระ (อายุ 60 ป) สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.00

8. ดร. ศิริ การเจริญดี มีประสบการณการทำงานในการเปนผูชวยผูวาการธนาคารแหงประเทศไทยในป 2535 ถึงป 2540 และดำรงตำแหนงผูชวยผูวาการอาวุโสธนาคาร แหงประเทศไทยในป 2541 นอกจากนี้ ดร. ศิริ การเจริญดี ยังดำรงตำแหนงกรรมการ บริษัท อินโดรามา เวนเจอรส จำกัด (มหาชน) ดำรงตำแหนงประธานกรรมการบริหาร บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) ดำรงตำแหนงกรรมการและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท โพสต พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) และดำรงตำแหนงรองประธานกรรมการและกรรมการตรวจสอบบริษัท น้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ ดร. ศิริ การเจริญดี ดำรงตำแหนงเปนกรรมการ ในคณะกรรมการธนาคารแหงประเทศไทยรวมทั้งกรรมการในคณะกรรมการนโยบายการเงินธนาคาร แหงประเทศไทย ดร. ศิริ การเจริญดี สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาเอก สาขา Monetary Economics and Econometrics จาก Monash University ประเทศออสเตรเลีย ปริญญาโท เศรษฐศาสตร สาขา Economic Statistics and Monetary Economics และปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร เกียรตินิยม จาก University of Sydney ดร. ศิริ การเจริญดี ไดผานการอบรมหลักสูตร Directors Accrediation Program รุน DAP 4/2003 จากสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทยในป 2546 และหลักสูตร Directors Certification Program รุน DCP 60/2005 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทยในป 2548 9. นางโจอี้ ฮอรน ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการบริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) เมื่อเดือนมกราคม 2552 ดำรงตำแหนงกรรมการอิสระในบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ดำรงตำแหนงกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบใน Norse Energy Corp. ASA ในป 2548 ถึงป 2551 (ซึ่งเปนบริษัทที่ทำ ธุรกิจเกี่ยวกับการสำรวจและผลิตน้ำมันและกาซธรรมชาตินอกชายฝง) ดำรงตำแหนงกรรมการอิสระของ Petrojarl ASA ในป 2549 ซึ่งเปนบริษัทเจาของเรือ บรรทุกน้ำมันและกาซธรรมชาติ FPSO (Floating Production Storage and Offloading) ที่ใชในอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาตินอกชายฝง นอกจากนี้ นางโจอี้ ฮอรนยังเปนผูดูแล (Alumni Trustee) สมาคมนักศึกษาเกา Williams College (รัฐแมสซาชูเซตสประเทศสหรัฐอเมริกา) ซึ่งนางโจอี้ ฮอรนดำรงตำแหนงในคณะกรรมการชุดยอยชุดตางๆ ของสมาคมนี้ นางโจอี้ ฮอรนเคยดำรงตำแหนง Partner, Equity Research, HQ Norden Securities ในออสโล ประเทศนอรเวย และ Vice President, Mergers and Acquisitions, Credit Suisse First Boston ในนิวยอรก ประเทศสหรัฐอเมริกา นางโจอี้ ฮอรน สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจและการจัดการจาก Yale University ในป 2534 และระดับปริญญาตรีจาก Williams College ในป 2530 10. นายปเตอร สโตคส ดำรงตำแหนงกรรมการใน Euroceanica (UK) Limited และดำรงตำแหนงกรรมการใน Lazard & Co. Ltd. และปจจุบนั เปนทีป่ รึกษาอาวุโสและเปนหัวหนา ฝายการขนสงสินคาทางทะเล (Head of Shipping) นายปเตอร สโตคส มีประสบการณการทำงานเปนผูร ว มกอตัง้ และทีป่ รึกษาดานการลงทุนที่ Castalia Partners Ltd. ในป 2535 ถึงป 2541 ดำรงตำแหนงเปนผูก อ ตัง้ และกรรมการผูจ ดั การที่ Maritime Consultants Ltd. ในป 2528 ถึงป 2541 และดำรงตำแหนง เปนผูร ว มกอตัง้ และกรรมการที่ Bulk Transport Ltd. ในป 2526 ถึงป 2528 นอกจากนี้ นายปเตอร สโตคสยงั เคยดำรงตำแหนงหัวหนาฝายการขนสงสินคาทาง ทะเลและ Insurance Research ที่ Greig Middleton & Co. ในป 2522 ถึงป 2526 และดำรงตำแหนงเปนบรรณาธิการสวนธุรกิจใน Lloyd’s List ในป 2517 ถึงป 2522 รายงานประจำป 2553 27


ผูบริหาร 1. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต ดำรงตำแหนงกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ประวัติของ ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต ปรากฏอยูในหัวขอ “คณะกรรมการ” 2. นายเดวิด ลอรเรนซ เอเมส ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมธุรกิจขนสง บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) กอนที่นายเดวิด ลอรเรนซ เอเมส จะเขารวมงานกับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เคยดำรงตำแหนงประธานเจาหนาที่บริหารใน Zuellig Pharma ประเทศเกาหลี ตั้งแตป 2548 ถึงป 2550 เคยดำรงตำแหนงผูจัดการทั่วไปใน Metro Drug Inc. ประเทศฟลิปปนส ตั้งแตป 2546 ถึงป 2548 และเคยดำรงตำแหนง กรรมการผูจัดการใน American President Lines (“APL”) ประเทศอินโดนีเซีย ตั้งแตป 2544 ถึงป 2546 และเคยรับผิดชอบงานหลายตำแหนง ใน APL ในอเมริกาเหนือและเอเชีย นายเดวิด ลอรเรนซ เอเมส สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร จาก Northwestern University ประเทศสหรัฐอเมริกา และสำเร็จหลักสูตร Supply Chain Management Program จาก Stanford University ในป 2542 และหลักสูตร Advanced Management จาก INSEAD, Fontainebleau ประเทศฝรั่งเศส ในป 2548 3. นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์ ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์ เคยทำงานกับ United Parcel Services (หรือ UPS) เปนเวลา 18 ป โดยเริ่มจากการเปนกรรมการผูจัดการ บริษัท UPS ประจำประเทศไทย และ ตอมาไดเปนกรรมการผูจัดการประจำประเทศมาเลเซีย ไทย และภูมิภาคอินโดจีน ในป 2544 นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์ไดรับการเลื่อนตำแหนงเปน ผูชวยกรรมการผูจัดการดานพัฒนาธุรกิจประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟกใน UPS และตำแหนงสุดทายกอนเขารวมงานกับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) คือ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญดานกลยุทธและการคาปลีกระดับภูมภิ าค ซึ่งดูแลรับผิดชอบงานดานการเพิ่มชอง ทางการคาปลีก และใหคำแนะนำดานการพัฒนาเชิงกลยุทธสำหรับ UPS ในภูมิภาคเอเชีย นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตรี สาขาวิชาจิตวิทยา จากมหาวิทยาลัยควีนสแลนด ประเทศออสเตรเลียในป 2522 นอกจากนี้ นายวิชายไดผานการอบรมหลักสูตร International Executive Program ดานการบริหารจัดการ กลยุทธ และการปฏิบัติการจาก INSEAD ในป 2548

1. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต กรรมการผูจัดการใหญและ ประธานเจาหนาที่บริหาร อายุ 44 ป

2. นายเดวิด ลอรเรนซ เอเมส ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจขนสง อายุ 45 ป

3. นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน อายุ 53 ป

4. นายจอหน เครน ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กลุมกลยุทธ อายุ 50 ป

5. นายปรีธยุตม นิวาศะบุตร ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กลุมปฏิบัติการ อายุ 52 ป

4. นายจอหน เครน ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมกลยุทธ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) กอนที่นายจอหน เครน จะเขารวมงาน กับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เคยดำรงตำแหนงประธานเจาหนาที่การเงิน (Chief Financial Officer) ใหกับบริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ นายจอหน เครน มีประสบการณในการทำงานเปนกรรมการใน Aspire Pacific Ltd. ประเทศฮองกง ซึ่งเปนบริษัทที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญทางดานกลยุทธ การพัฒนาธุรกิจ และการลงทุนสวนบุคคล ตั้งแตป 2547 และเคยเปนผูบริหารใน เจพี มอรแกน ในนิวยอรก ฮองกง และไทย ตั้งแตป 2535 ถึงป 2547 กอนที่จะเขารวมงานกับ เจพี มอรแกน นายจอหน เครน เคยรับผิดชอบงานทางดาน การพัฒนาธุรกิจใหกับ United Technologies ประเทศสิงคโปร และ Unico (Japan) ในเซี่ยงไฮ นายจอหน เครน สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ของ Lauder Institute ที่ University of Pennsylvania และปริญญาโทบริหารธุรกิจสาขาการเงินจาก Wharton School และปริญญาโทดานการจัดการสาขา International Studies จาก University of Pennsylvania ในป 2533 และปริญญาตรี สาขา International Relations จาก Pomona College ในป 2526 5. นายปรีธยุตม นิวาศะบุตร ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมปฏิบัติการ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) กอนที่นายปรีธยุตม นิวาศะบุตร จะเขา รวมงานกับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เคยดำรงตำแหนงกรรมการผูจัดการ บริษัท แปซิฟก อินเตอรเน็ต (ประเทศไทย) จำกัด ตั้งแตป 2543 ถึงป 2550 และเคยดำรงตำแหนงผูอำนวยการประจำประเทศไทยของ บริษัท มาสเตอรคารด อินเตอรเนชั่นแนล ซึ่งเปนบริษัท ที่ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับบัตรเครดิต นายปรีธยุตม นิวาศะบุตร จบการศึกษาในระดับปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยแมรี่แลนด สหรัฐอเมริกา ในป 2530 และปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยจอรจ เมสัน สหรัฐอเมริกา ในป 2524 นายปรีธยุตม นิวาศะบุตร ไดผานการอบรมหลักสูตร Directors Certification Program รุน DCP 40/2004 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยในป 2547 28

รายงานประจำป 2553


6. นางอุไร ปลี้มสำราญ ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กลุมบริหารความเสี่ยง และการกำกับดูแล บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) นางอุไร ปลื้มสำราญ เคยรวมงานกับบริษัท Dow Chemical เปนเวลา 19 ป โดยเริ่มตนจากการเปน Country Controller และเลขานุการบริษัท (Corporate Secretary) ใหกับบริษัทรวมทุนระหวางปูนซีเมนตไทย-Dow ทั้งหมดในประเทศไทย ในป 2545 ไดรับการเลื่อนตำแหนงเปน Senior Corporate Audit Manager ซึ่งเปนผูนำทีมตรวจสอบโดยทำหนาที่ตรวจสอบภายใน (internal audit) ประจำสำนักงานใหญของ Dow ในรัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา โดยดูแลการตรวจสอบภายในของกลุมบริษัท Dow ทั่วโลก และตำแหนงลาสุดกอนเขารวมงานกับ TTA คือ Country Manager ประจำประเทศอินโดนีเซีย นางอุไร ปลื้มสำราญ จบการศึกษาในระดับปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในป 2520 และปริญญาตรี สาขาการบริหารจัดการและการบัญชี จาก มหาวิทยาลัย Woodbury ประเทศสหรัฐอเมริกาในป 2518 7. นางฐิติมา รุงขวัญศิริโรจน ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบัญชีและการเงิน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) และดำรงตำแหนงกรรมการ ในบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) ตั้งแตป 2552 กอนเขารวมงานกับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) นางฐิติมา รุงขวัญศิริโรจน เคยดำรงตำแหนงผูจัดการสายบริหารการลงทุนตราสารทุนในธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน) และไดรับแตงตั้ง ใหเปนตัวแทนของธนาคารในการเปนกรรมการในบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) และในบริษัทอื่นๆ นอกจากนี้ นางฐิติมา รุงขวัญศิริโรจน เคยดำรงตำแหนง Group Chief Financial Officer ในบริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) ตัง้ แตป 2546 ถึงป 2549 นางฐิตมิ า รุง ขวัญศิรโิ รจน เคยดำรงตำแหนงประธานเจาหนาที่การเงิน (Chief Financial Officer) หรือตำแหนงผูบริหารสายการเงินและบัญชีในบริษัทชั้นนำหลาย แหง อาทิ บริษัทหลักทรัพย เคจีไอ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท อีสต เอเชียติ๊ก (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย เอกเอเชีย จำกัด (มหาชน) นางฐิติมา รุงขวัญศิริโรจน สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาบัญชีและการเงิน จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และไดผานการอบรมหลักสูตร Directors Accreditation Program รุนที่ DAP 66/2007 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยในป 2550 และหลักสูตร Directors Certification Program รุน DCP 131/2010 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยในป 2553

6. นางอุไร ปลื้มสำราญ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กลุมบริหารความเสี่ยง และการกำกับดูแล อายุ 56 ป

7. นางฐิติมา รุงขวัญศิริโรจน ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กลุมบัญชีและการเงิน อายุ 49 ป

8. นายทอม สปริงกอล ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กลุมพลังงาน อายุ 45 ป

9. นางเพ็ญรุง สุวรรณกูฏ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กลุมทรัพยากรมนุษย อายุ 47 ป

8. นายทอม สปริงกอล ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมพลังงาน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) นายทอม สปริงกอล สั่งสมประสบการณ งานในดานอุตสาหกรรมพลังงานทั้งตนน้ำและปลายน้ำมามากกวา 20 ป และไดทำงานอยูในประเทศตางๆ ทั่วโลก รวมทั้งในภูมิภาคเอเชียมา มากกวา 10 ป นายทอม สปริงกอล เริ่มทำงานที่แรกที่ Shell ในประเทศอังกฤษ และหลังจากนั้นไดรวมงานกับ Hess Ltd. ในหลายตำแหนงหนาที่ อาทิ Country Manager ประจำอาเซอรไบจาน และดำรงตำแหนงผูจัดการสายการพาณิชยประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและออสเตรเลีย ในระหวางที่รวมงานกับ Hess Ltd. นายทอม สปริงกอล ไดดำรงตำแหนงกรรมการในหลายบริษัท รวมถึงเปนกรรมการใน CarigaliHess โดย ดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงานในสวนของระบบการผลิตกาซธรรมชาติหลักในพื้นที่พัฒนารวมไทย-มาเลเซีย นายทอม สปริงกอล สำเร็จการ ศึกษาระดับปริญญาตรี สาขา Industrial Economics จาก Nottingham University ประเทศอังกฤษ 9. นางเพ็ญรุง สุวรรณกูฏ ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมทรัพยากรมนุษย บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) และดำรงตำแหนงกรรมการใน บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) ตั้งแตป 2552 กอนที่นางเพ็ญรุง สุวรรณกูฏ จะเขารวมงานกับ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เคยดำรงตำแหนงผูอำนวยการอาวุโสฝายทรัพยากรมนุษย บุคคลธนกิจ ธนาคารสแตนดารดชารเตอรด (ไทย) จำกัด (มหาชน) ตั้งแตป 2546 ถึงป 2551 และดำรงตำแหนงผูอำนวยการฝายทรัพยากรมนุษย ธนาคารแหงอเมริกา ตั้งแตป 2536 ถึงป 2546 นางเพ็ญรุง สุวรรณกูฏ ไดรับประกาศนียบัตรสาขาการจัดการทรัพยากรมนุษยจากสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในป 2542 และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาสังคมสงเคราะห มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรในป 2528 และไดผานการอบรมหลักสูตร Directors Certification Program รุน DCP 132/2010 และหลักสูตร Role of the Compensation Committee Program รุน RCC 11/2010 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยในป 2553 รายงานประจำป 2553

29



ขอมูลและแนวโนมธุรกิจ โครงสรางองคกร บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) (“TTA หรือ บริษัทฯ”) เปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจ โดยการถือหุนเพื่อการลงทุนเชิงกลยุทธ (strategic investment holding company) บริษัทฯ มีธุรกิจหลัก 3 กลุม ไดแก กลุมธุรกิจขนสง กลุมธุรกิจพลังงาน และกลุมธุรกิจโครงสรางขั้น พื้นฐาน บริษัทฯ และบริษัทยอย (“กลุมบริษัทโทรีเซน” หรือ “กลุมบริษัทฯ”) ประกอบธุรกิจโดย การใหบริการที่เกี่ยวของกับการเดินเรือตั้งแตป 2447 ใหบริการเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ตั้งแตป 2528 และใหบริการขุดเจาะน้ำมันและกาซธรรมชาตินอกชายฝงตั้งแตป 2538 ในป 2552 กลุมบริษัทโทรีเซนไดเพิ่มธุรกิจปุยในเวียดนามและธุรกิจเหมืองถานหินในประเทศ ฟลิปปนสเขามาในกลุมธุรกิจ และในป 2553 บริษัทฯ ไดเพิ่มธุรกิจการใหบริการขนสงน้ำมัน และกาซดวยเรือบรรทุกน้ำมันและกาซในประเทศฟลิปปนสและธุรกิจบริหารทาเรือในประเทศ เวียดนาม ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ เปนเจาของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองทั้งสิ้น 27 ลำ บริษัทฯ มีแผนที่จะขายเรือเกาที่มีอยูเปนเศษซากหรือขายตอเพื่อการคา โดยเปนกลยุทธ สวนหนึ่งในการปรับปรุงกองเรือใหสามารถแขงขันในตลาดได ภายในชวงระยะเวลา 3 ป ขางหนานี้ บริษัทฯ มีแผนที่จะมีกองเรือจำนวน 40 ลำ ซึ่งรวมเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของและที่เชา มาเพื่อเสริมกองเรือ โดยบริษัทฯ ตองการที่จะเปนเจาของเรือเองเปนสวนใหญ แผนใน การปรับปรุงกองเรือรวมถึงการรับมอบเรือที่สั่งตอใหมจำนวน 1 ลำ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 ที่ผานมา นอกจากนี้ยังมีเรือที่สั่งตอใหมอีก 4 ลำที่จะมีกำหนดรับมอบภายในป 2554 และ 2555 กลุมบริษัทฯ (โดยเมอรเมด) เปนเจาของเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำจำนวน 8 ลำ และ เรือขุดเจาะอีกจำนวน 2 ลำ และในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 เมอรเมดไดลงทุนในบริษัท เอเชีย ออฟชอร ดริลลิ่งค จำกัด (“AOD”) รอยละ 49 ซึ่งเปนบริษัทรวมที่สั่งตอเรือขุดเจาะชนิด Jack-up แบบทันสมัยจำนวน 2 ลำ โดยมีกำหนดรับมอบภายในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2555 และมีนาคม พ.ศ. 2556 ทั้งนี้ เมอรเมดจะทำหนาที่ใหบริการใหดานการบริหารโครงการและการบริหารงาน ดานปฏิบัติการแก AOD ในเรือขุดเจาะที่ AOD เปนเจาของ นอกจากนี้ AOD มีสิทธิในการสั่ง ตอเรือขุดเจาะไดอีก 2 ลำกับอูตอเรือเดิม โดยจะตองใชสิทธิภายในเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2554 และเดือนกันยายน พ.ศ. 2554 ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 บริษัทฯ ประกอบธุรกิจการถือหุน โดยลงทุนในบริษัทยอยซึ่งรวม อยูในงบการเงินรวมจำนวน 67 บริษัท และบริษัทรวม 7 บริษัท บริษัทฯ จดทะเบียนอยู ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (“SET”) ตั้งแตป 2538 ภายใตสัญลักษณ “TTA”

รายงานประจำป 2553

31


โครงสรางบริษัท แผนภูมิตอไปนี้แสดงโครงสรางองคกรของบริษัทฯ แผนภูมิ 6 : โครงสรางกลุมบริษัท โทรีเซน ภายใตกลุมธุรกิจใหม

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) 100%

บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส จำกัด

โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี

กลุมขนสง

กลุมพลังงาน

บริษัท โทรีเซน ชิปปง เยอรมันนี จีเอ็มบีเอช 100% บริษัท โทรีเซน ชิปปง สิงคโปร พีทีอี แอลทีดี 100%

กลุมโครงสรางขั้นพื้นฐาน

บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน)(3) 57.14% บริษัท เมอรเมด ดริลลิ่งค จำกัด 95%

บริษัท บาคองโค จำกัด(1)

100%

บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด ซัพพลายส จำกัด

99.9%

บริษทั ทอร ฟอรจนู ชิปปง พีทอี ี แอลทีดี 100%

บริษัท เอ็มทีอาร-1 จำกัด 100%

บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส จำกัด

51%

บริษทั ทอร เฟรนชิป ชิปปง พีทอี ี แอลทีดี 100%

บริษัท เอ็มทีอาร-2 จำกัด 100%

โทรีเซน ชิปปง เอฟแซดอี

100%

บริษทั ทอร ฮอไรซัน ชิปปง พีทอี ี แอลทีดี 100%

บริษัท เมอรเมด ดริลลิ่งค 100% (มาเลเซีย) จำกัด

บริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จำกัด

99.9%

บริษัท โทรีเซน ชาเตอรริ่ง (เอชเค) แอลทีดี 99.9%

บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด

100%

บริษัท ซีสเคป เซอรเวยส 80% (ไทยแลนด) จำกัด

ชารจา พอรต เซอรวิสเซส แอลแอลซี 49% บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด(2)

88.68%

บริษัท ยูเอ็มเอส โคลบริคเครท จำกัด 99.9%

บริษัทยอย 27 บริษัท (4)

99.9%

บริษัท ซีสเคป เซอรเวย พีทีอี ลิมิเต็ด

80%

บริษัท ยูเอ็มเอส ไลเตอร จำกัด

99.9%

PT Perusahaan Pelayaran Equinox

49%

Nemo Subsea AS

100%

บริษัท ยูเอ็มเอส ขนสง จำกัด

99.9%

Subtech Ltd.

100%

บริษัท โทรีเซน ชาเตอรริ่ง (พีทีอี) แอลทีดี 100% โทรีเซน ชิปปง เอฟแซดอี

100%

บริษัท ไอเอสเอส โทรีเซน เอเยนตซีส จำกัด 99.9% บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด 51%

Subtech Diving & Marine Services LLC 49% Mermaid Offshore Servicess Pty. Ltd. Asia Offshore Drilling Ltd. (7)

100%

Thoresen-Vinama Agencies Co., Ltd. 49%

Asia Offshore Rig 2 Ltd.

100%

51%

บริษัท เฟรนเลย ชิปโบรคกิ้ง ไพรเวท จำกัด 99.9% บริษัท เฟรนเลย ดราย คารโก (สิงคโปร) 100% พีทีอี จำกัด Petrolift Inc.(6)

รายงานประจำป 2553

40%

เมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี (5)

Baria Serece(8)

20%

49%

Asia Offshore Rig 1 Ltd.

บริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จำกัด(9)

บริษัท ยูเอ็มเอส พอรต เซอรวิสเซส จำกัด 99.9%

100%

50%

โทรีเซน อินโดไชนา เอส.เอ.

32

100%

21.18%

หมายเหตุ : (1) โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ถือหุนทางออมรอยละ 100 ในบริษัท บาคองโค จำกัด ผานทาง EMC Gestion S.A.S (2) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส จำกัด ถือหุนรอยละ 88.68 ในบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) (3) บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนทางตรงรอยละ 35.40 และ โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ถือหุนรอยละ 21.74 ในบริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) (4) ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 บริษัทยอย 27 บริษัท เปนเจาของเรือบริษัทละ 1 ลำ (5) ในงบการเงินรวมจัดใหการลงทุนใน เมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี เปนการลงทุนในบริษัทรวม (6) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ถือหุนรอยละ 40 ใน Petrolift Inc. (7) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) ถือหุนรอยละ 49 ใน Asia Offshore Drilling Ltd. (8) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ถือหุนรอยละ 20 ใน Baria Serece (9) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนรอยละ 49 ในบริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จำกัด


จุดแข็งในการแขงขันของกลุมบริษัทฯ เปาหมายเชิงกลยุทธของกลุมบริษัทฯ ขึ้นอยูกับการบริหารกลุมธุรกิจ และการดำเนินการที่รอบคอบและมีประสิทธิภาพที่สามารถทำใหกลุมบริษัทฯ ขยายธุรกิจไดอยางตอเนื่อง ปรับปรุงการบริการที่เสนอใหกับลูกคาใหดียิ่งขึ้น และชำระหนี้คืนไดตามกำหนด สภาวะทางเศรษฐกิจและตลาดการเงินปจจุบันอาจมีผลกระทบตอชวงเวลาในการลงทุนตางๆ แตบริษัทฯ ก็ตั้งใจจะมุงสรางเม็ดเงินจากสินทรัพย ที่ไมใชสินทรัพยหลักบางตัวและการลงทุนบางอยาง รวมทั้งการจัดสรรกระแสเงินสดเพื่อที่จะใหถึงเปาหมายในเชิงกลยุทธระยะกลางของ กลุมบริษัทฯ กลุมบริษทั ฯ มีจุดแข็งในการแขงขันดังตอไปนี้ l สรางกลุมธุรกิจใหมีความหลากหลายมากขึ้น วัตถุประสงคหลักในการสรางความหลากหลายของธุรกิจคือเพื่อลดความผันผวนของวัฏจักร

ทางธุรกิจ และความไมแนนอนของกระแสเงินสดหมุนเวียนของกลุมบริษัทฯ เพื่อใหสามารถมุงเนนที่การมองหาการลงทุนใหมที่ถวงดุลกับธุรกิจที่มี อยู กลยุทธของกลุมบริษัทฯ คือการเพิ่มความหลากหลายในการดำเนินธุรกิจขึ้นอีกในอนาคต ตัวอยางเชน ในธุรกิจบริการขุดเจาะของกลุมบริษัทฯ จะใหบริการแกกลุมธุรกิจการผลิตขั้นตนน้ำ ในขณะที่ธุรกิจวิศวกรรมโยธาใตน้ำจะใหบริการแกกลุมธุรกิจการผลิตขั้นปลายน้ำ กลุมบริษัทฯ จึงสามารถลดความผันผวนของรายได นอกจากนี้ การมีทั้งสัญญาเชาระยะสั้น (spot rate) และสัญญาเชาระยะยาว (charter contracts) ผสมผสานกัน ชวยใหกลุมบริษัทฯ สามารถลดความผันผวนของรายได และไดผลดีเมื่ออัตราคาเชาเรือระยะสั้นเพิ่มขึ้น

“กลยุทธของกลุม บริษัทฯ คือการเพิ่ม ความหลากหลายใน การดำเนินธุรกิจขึ้น อีกในอนาคต”

l

การทำธุรกิจในตลาดเฉพาะที่เติบโตอยางตอเนื่อง ตั้งแตแรกเริ่ม กลุมบริษัทฯ ไดเลือกที่จะมุงเนนใหบริการลูกคาในตลาดเฉพาะ ตัวอยาง เชน กลุมบริษัทฯ ถือเปนบริษัทแรกบริษัทหนึ่งที่มุงเนนใหบริการลูกคาในตลาดเฉพาะของธุรกิจการขุดเจาะดวยเรือขุดเจาะแบบ Tender และ ดานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ ยังเปนหนึ่งในบริษัทแรกๆ ที่มุงเนนใหบริการโลจิสติคส อยาง มืออาชีพในประเทศเวียดนาม และมีความไดเปรียบจากการบุกเบิกตลาดในฐานะที่เปนหนึ่งในผูบุกเบิกธุรกิจการผลิตถานหินในเชิงพาณิชยใน เซบู ประเทศฟลิปปนส นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ เปนหนึ่งในบริษัทแรกๆ ที่มุงเนนใหบริการโลจิสติคสถานหินแบบ “ตรงตอเวลา” (“just-in-time”) ในประเทศไทย และไดลงทุนในโครงสรางขั้นพื้นฐานเพื่อที่จะทำธุรกิจนี้ กลุมบริษัทฯ เชื่อวาการมุงเนนที่ตลาดเฉพาะจะชวยใหกลุมบริษัทฯ สามารถคงความสามารถในการแขงขันไวได

l

กองเรือและบริการที่มีความหลากหลายและมีคุณภาพสูง กลุมบริษัทฯ เปนเจาของสินทรัพยสวนใหญ ซึ่งชวยใหกลุมบริษัทฯ สามารถ ใหบริการที่เปนเลิศแกลูกคา และสามารถควบคุมตนทุนการดำเนินงานใหดีขึ้น รวมทั้ง สามารถเสนอราคาที่แขงขันในตลาดได ซึ่งไดผลเปน อยางมากในการสรางชื่อของกลุมบริษัทฯ ใหเปนที่รูจักโดยทั่วไป และรักษาสัมพันธภาพในระยะยาวกับลูกคา กลุมบริษัทฯ ใชเงินจำนวนหนึ่ง ในการบำรุงรักษากองเรือใหอยูในสภาพที่ดีกวาที่สถาบันจัดชั้นเรือตองการ และการที่บริษัทฯ เชาเรือมาเสริมกองเรือเปนครั้งคราวชวยใหบริษัทฯ สามารถเพิ่มความสามารถในการขนสงสินคาไดโดยไมจำเปนตองใชเงินลงทุนเพิ่มเติม นอกจากนี้ ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองของบริษัทฯ ไดสั่งตอเรือใหมไปแลวจำนวน 4 ลำ และ AOD ไดสั่งตอเรือขุดเจาะ jack-up ไปแลว 2 ลำ

รายงานประจำป 2553

33


l

โครงสรางพื้นฐานและเครือขายการใหบริการที่เนนความสำคัญของลูกคา ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองไดพัฒนาความสัมพันธที่ แนนแฟนกับทาเรือนานาชาติหลายแหง ซึ่งทำใหกลุมบริษัทฯ ไดรับสิทธิพิเศษในการดำเนินธุรกิจ ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองยังมีความได เปรียบจากการมีเครือขายตัวแทนเดินเรือและสำนักงานตางๆ รวมทั้งความสัมพันธกับทาเรือ เพื่อใหบริการกับลูกคา ซึ่งสวนใหญเปนลูกคาระยะ ยาวที่ทำธุรกิจดวยกันหลายครั้ง เมอรเมดมีโรงงานมาตรฐานระดับโลกที่ชลบุรี ประเทศไทย และมีหนวยสนับสนุนงานชายฝงในกรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย และกรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย รวมทั้งในประเทศสิงคโปร และประเทศกาตารในตะวันออกกลาง เพื่อสนับสนุนการขยาย ธุรกิจของกลุมบริษัทฯ และยังไดแตงตั้งตัวแทนในทองถิ่นในตลาดลูกคาที่สำคัญ ซึ่งจะชวยใหกลุมบริษัทฯ สามารถพัฒนาความสัมพันธที่แข็งแกรง กับบริษัทน้ำมันในทองถิ่นและกาซธรรมชาติที่ดำเนินธุรกิจอยูในภูมิภาค

l

มีลูกคาที่มีความแข็งแกรงและมีความหลากหลาย ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองใหบริการลูกคาที่มีความหลากหลายจำนวนมากกวา 260 ราย รวมทั้งบริษัทการคาระหวางประเทศชั้นนำ เจาของเรือและผูประกอบการที่มีชื่อเสียง ผูผลิตสินคารายใหญ และบริษัทที่รัฐบาลเปน เจาของ เนื่องจากลูกคารายใหญสิบอันดับแรกมีสัดสวนรอยละ 49.25 ของรายไดจากการเดินเรือทั้งหมด ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 รายได จึงไมอิงกับลูกคากลุมใดกลุมหนึ่ง เมอรเมดไดสรางชื่อเสียงใหเปนที่ยอมรับกับฐานลูกคาที่อยูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในฐานะที่ เปนหนึ่งในผูใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำและการบริการขุดเจาะชั้นนำบริษัทหนึ่ง โดยมีการใหบริการที่มีคุณภาพสูง มีความปลอดภัย และ มีประสิทธิภาพใหกับคูคาระดับสูง อาทิ Amerada Hess, Chevron และ British Petroleum

l

รูปแบบการทำธุรกิจที่ขยายได กลุมบริษัทฯ เริ่มกอตั้งครั้งแรกในป 2447 นับจากนั้นมากลุมบริษัทฯ ไดแสดงใหเห็นความสามารถในการ ปรับตัว และการขยายรูปแบบธุรกิจ โดยขยายการบริการตางๆ ของกลุมบริษัทฯ และไดสรางฐานการดำเนินธุรกิจที่แข็งแรง ที่ทำใหกลุม บริษัทฯ สามารถขยายธุรกิจไปยังแขนงที่อาจสงเสริมหรือเกี่ยวของกับธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ที่มีอยูแลว

l

สถานภาพทางการเงินที่แข็งแกรง ถึงแมวารอบบัญชี 2553 เปนปที่มีความยากลำบากปหนึ่ง กลุมบริษัทฯ ยังคงสามารถสรางรายไดจาก ดำเนินงานจำนวน 18,386.5 ลานบาท และกำไรกอนดอกเบี้ย/ภาษี/คาเสื่อมและคาใชจายตัดจำหนาย (EBITDA) จำนวน 2,970.8 ลานบาท นอกจากนี้กลุมบริษัทฯ ไดดำเนินกลยุทธการทำธุรกิจอยางรอบคอบในการรักษาสภาพคลองที่สูง โดยมีรายการเงินสดและเทียบเทาเงินสดเทากับ 8,458.2 ลานบาท (ไมรวมการลงทุนระยะสั้นจำนวน 1,956.3 ลานบาท) และวงเงินสินเชื่อจำนวน 20,717.3 ลานบาท ดังนั้นกลุมบริษัทฯ เชื่อวาสถานภาพที่เขมแข็งทางการเงินของกลุมบริษัทฯ ทำใหกลุมบริษัทฯ มีความไดเปรียบตอเงื่อนไขทางธุรกิจตางๆ โดยสามารถซื้อสินทรัพย ในราคาที่ถูก

34

รายงานประจำป 2553


กลยุทธการทำธุรกิจของกลุมบริษัทฯ กลุมบริษัทฯ มีความตั้งใจที่จะสรางความเติบโตของธุรกิจอยางตอเนื่องโดยจะมุงไปที่ธุรกิจ โครงสรางขั้นพื้นฐานและสินคาโภคภัณฑ (commodities) องคประกอบสำคัญของกลยุทธ การสรางความเติบโตใหกับธุรกิจของกลุมบริษัทฯ คือ l

การตัดสินใจลงทุนดวยหลักของเหตุผล และการขยายประเภทธุรกิจ กลยุทธของ กลุมบริษัทฯ คือการสรางกลุมธุรกิจ เพื่อใหมีรายไดที่มั่นคงและมีกระแสเงินสดเขามาอยาง ตอเนื่องในอนาคตขางหนา กลุมบริษัทฯ จะทำการลงทุนเพิ่มเติมเพื่อทำใหกลุมธุรกิจในปจจุบัน เขมแข็งขึ้นและขยายไปยังตลาดเฉพาะใหมตางๆ ตัวอยางเชน จากการเขาซื้อหุนของเมอรตัน และ UMS เมื่อเร็วๆ นี้ จะทำใหกลุมบริษัทฯ มีความสามารถจัดหาและทำเหมืองถานหิน ดวยตนเอง รวมทั้งขนสงถานหินดวยเรือของกลุมบริษัทฯ และขายถานหินใหแกลูกคาของ กลุมบริษัทฯ กลุมบริษัทฯ อาจเลิกบริษัทที่มีอยูที่ไมสรางรายไดและกำไรที่ดีและหันมามุงเนน กับธุรกิจที่มีโอกาสเติบโตและใหผลลัพธที่ดีและเพิ่มมูลคาใหกับผูถือหุนในระยะยาวโดยจะตอง เปนธุรกิจที่จะเติบโตไดและใหอัตราผลตอบแทนคุมกับอัตราผลตอบแทนขั้นต่ำของ การลงทุน

l

ความหลากหลายของกองเรือ การใชประโยชนจากทรัพยากร และกลุมลูกคา ในรอบบัญชี 2553 ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองและเมอรเมดไดสรางรายไดเปนจำนวนรอยละ 50.26 และ รอยละ 18.98 ของรายไดรวมของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ในอีก 5 ป ขางหนา กลุมบริษัทฯ ตั้งใจที่จะสรางความสมดุลและความหลากหลายของธุรกิจ ผานกลุมธุรกิจ การขนสง ธุรกิจพลังงาน และธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน ความสมดุลและความหลากหลาย ในกลุมธุรกิจนี้จะมุงเนนไปยังระบบภายในหนวยธุรกิจแตละหนวยดวย ธุรกิจบรรทุกสินคา แหงเทกองมีความตั้งใจที่จะเพิ่มสัดสวนของสัญญาเชาระยะกลางชนิดคาระวางคงที่ (medium-term fixed rate contracts) ซึ่งกลุมบริษัทฯ เชื่อวาจะสามารถลดความผันผวนได สำหรับเมอรเมด นอกจากจะมีกลุมลูกคาที่หลากหลายโดยใหบริการทั้งในกลุมธุรกิจตนน้ำ และปลายน้ำแลว เมอรเมดยังมีจุดมุงหมายที่จะรักษาความผสมผสานของระยะเวลาในการทำ สัญญา ทั้งสัญญาการขุดเจาะระยะยาวและสัญญาวิศวกรรมโยธาใตน้ำระยะสั้น ซึ่งจะชวย ใหบริษัทฯ สามารถลดความผันผวนของรายได และตั้งใจที่จะเพิ่มจำนวนสัญญาระยะกลาง ในธุรกิจงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ เพื่อที่จะลดความผันผวนของรายไดของเมอรเมด

รายงานประจำป 2553

35


l

การใชประโยชนจากเทคโนโลยีใหมๆ และนำวิธิปฏิบัติงานแบบใหมมาใช ในป 2553 กลุมบริษัทฯ ไดปรับปรุงกระบวนการทำงาน ในเฟสแรกเสร็จสิ้นไปแลว เพื่อเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพการทำงานของบริษัทฯ และกลุมธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง และนำกระบวนการ เปลี่ยนแปลงนี้แปรสูระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology systems) ซึ่งบริษัทฯ มีแผนที่จะใหบริษัทยอยที่เปนแกนหลัก ดำเนินการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงานดวยวิธีการนี้เชนเดียวกัน

กลยุทธการทำธุรกิจของกลุมธุรกิจหลัก l

กลุมธุรกิจขนสง กลุมธุรกิจขนสงยังคงใชความไดเปรียบดานความสามารถในการแขงขันที่มีอยูเดิมจากธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง และธุรกิจบริการที่เกี่ยวของเพื่อเจาะตลาดหลักที่อยูใกลเคียง โดยจะไมจำกัดตัวเองอยูกับการขยายตัวดานสินทรัพยที่เกี่ยวกับเรือเดินทะเลเทานั้น แตจะมุงเนนการลดความผันผวนของวัฎจักรของธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ไมวาจะเปนการขยายไปในธุรกิจที่มีสินทรัพยเปนแกนหลัก หรือไมใชสินทรัพยเปนแกนหลักในการดำเนินธุรกิจ โดยจะยังคงเนนภูมิภาคเอเชียเปนสำคัญ

l

ธุรกิจพลังงาน กลุมธุรกิจพลังงานเนนกลยุทธสองดาน ดานแรกจะเกี่ยวกับธุรกิจขุดเจาะโดยจะหาโอกาสทางธุรกิจใหมๆ ใหแกธุรกิจขุดเจาะ และดานที่สองจะเกี่ยวกับธุรกิจวิศวกรรมโยธาใตน้ำโดยจะเนนการสรางเสริมคุณคาใหกับเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำที่มีอยู โดยเฉพาะ อยางยิ่งเรือทั้งสี่ลำที่มีความทันสมัย ซึ่งทั้งหมดนี้จะตองอาศัยการลงทุนอยางตอเนื่อง ทั้งในดานทรัพยากรมนุษย ระบบงานและกระบวนการ ที่จะสนับสนุนธุรกิจที่จะขยายตัวออกไปยังภูมิภาคอื่นๆ มากขึ้นและมีความซับซอนมากขึ้น

l ธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน กลุมธุรกิจนี้จะขยายขีดความสามารถในสินทรัพยและสิ่งอำนวยความสะดวกตางๆ และกระบวนการทำงาน ตางๆ ของกลุมบริษัทที่มีอยูแลว นอกจากนี้ยังวางแผนที่จะสรางแบบอยาง (model) ที่เปนผลสำเร็จและมีความยั่งยืนไปยังประเทศอื่นๆ โดยจะเนนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียใต และจะหาโอกาสการลงทุนในธุรกิจแบบเดียวกัน คือ ธุรกิจ โลจิสติคส ผลิตและจัดจำหนาย และคลังสินคา

36

รายงานประจำป 2553


กลุมธุรกิจขนสง กลุมธุรกิจขนสง กลุมธุรกิจขนสงดำเนินการโดยบริษัทยอยและบริษัทรวมของบริษัทฯ โดยใหบริการกับลูกคาของ บริษัทฯ ซึ่งประกอบไปดวยบริษัทผูคา บริษัทหลักๆ ในกลุมอุตสาหกรรมน้ำมัน บริษัทโลจิสติคส และบริษัทผูประกอบการเดินเรือรายใหญ รวมถึงบริษัทที่ใหการบริการบริหารกองเรือทุกชนิด ธุรกิจหลักของกลุมธุรกิจขนสง คือ ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง โดย ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 กองเรือของโทรีเซนประกอบดวย เรือขนาด Handysize จำนวน 14 ลำ เรือขนาด Handymax จำนวน 10 ลำ และเรือขนาด Supramax อีกจำนวน 3 ลำ นอกจากนี้ยังมีการเชาเรือ ระยะยาวถึงป 2554 และ 2555 เพื่อขยายขนาดบรรทุกของกองเรือใหตอบสนองความตองการ ของลูกคา โดยบริษัทฯ มีการเชาเรือขนาด Handymax จำนวน 2 ลำ และเรือขนาด Supramax จำนวน 3 ลำ เรือบรรทุกสินคาแหงเทกองของบริษัทฯ ใหบริการเรือเหมาลำขนสงสินคาไปทุก ภูมิภาคของโลก และเดินเรือแบบไมมีเสนทางประจำ ทั้งนี้เสนทางการขนสงสินคาจะขึ้นอยูกับ ความตองการของลูกคา โดยแบงลักษณะการใหบริการออกเปน การใหเชาเหมาลำแบบระยะยาว การเซ็นสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา และการใหเชาเหมาลำในตลาดใหเชาระยะสั้น บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนรอยละ 40 ในบริษัท ปโตรลิฟต จำกัดซึ่งเปน ผูประกอบการธุรกิจเรือบรรทุกน้ำมันในประเทศฟลิปปนส กองเรือของปโตรลิฟต ประกอบไป ดวยเรือบรรทุกและขนสงน้ำมันประเภทตัวเรือสองชั้นที่มีขนาดบรรทุกระหวาง 1,500-6,300 เดทเวทตัน สำหรับการขนสงภายในประเทศตามสัญญาระยะยาวกับบริษัทน้ำมันหลักๆ สวนธุรกิจที่เกี่ยวกับการเดินเรือจะประกอบไปดวย ธุรกิจการเปนตัวแทนเรือซึ่งมีอยูทั้งในประเทศ ไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย และสหรัฐอาหรับอามิเรต และธุรกิจการใหบริการดานนายหนาเชา เหมาเรือในภูมิภาคนั้นๆ

อุตสาหกรรมการขนสงสินคาแหงเทกอง ภาพรวมอุตสาหกรรมของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง การขนสงสินคาทางทะเลเปนปจจัยทีส่ ำคัญในการคาระหวางประเทศ เนือ่ งจากเปนวิธกี ารขนสงสินคาวัตถุดบิ และสินคาสำเร็จรูปไดในปริมาณมากๆ ในทีเดียวทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากทีส่ ดุ สินคาทีข่ นสงทางทะเลจำแนกออกเปน 2 ประเภท คือ สินคาแหง และวัสดุเหลว ทัง้ นีส้ นิ คาแหงรวมถึงสินคาแหง เทกอง สินคาบรรจุในตูค อนเทนเนอร และสินคาทีบ่ รรจุในตูค อนเทนเนอรไมได สวนสินคาแหงเทกองทีจ่ ะบรรจุในเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองไดนนั้ สามารถแบงออกไดเปนสินคาแหงเทกองทีข่ นสงเปนปริมาณมากในแตละเทีย่ ว (major bulks) 5 กลุม และสินคาแหงเทกองทีข่ นสงเปนปริมาณไม มากในแตละเทีย่ ว (minor bulks) สินคาแหงเทกองทีข่ นสงเปนปริมาณมากในแตละเทีย่ ว (major bulks) 5 ชนิด ประกอบดวยแรเหล็ก ถานหิน ธัญพืช แรฟอสเฟตและแรบอกไซต สวนสินคาแหงเทกองทีข่ นสงเปนปริมาณไมมากในแตละเทีย่ ว (minor bulks) ประกอบดวยสินคาประเภทอืน่ ๆ ซึง่ สินคาหลักๆ ไดแก ซีเมนต แรยบิ ซัม่ แรโลหะ ทีไ่ มใชแรเหล็ก น้ำตาล เกลือกำมะถัน ผลิตภัณฑจากปาไม ไมและเคมีภณ ั ฑ วัสดุเหลวจะบรรทุก ในเรือประเภทเรือบรรทุกน้ำมัน (tank ship) ซึง่ สินคาหลักคือน้ำมันดิบ ผลิตภัณฑจากน้ำมัน สินคาเหลวและเคมีภณ ั ฑ ตาราง 3 : ปริมาณการคาทางทะเลของโลกป 2543 ถึงป 2553

ป

แรสินเหล็ก 2543 454 2544 452 2545 484 2546 524 2547 589 2548 652 2549 734 2550 787 2551 845 2552 (ประมาณการ) 903 2553 (ประมาณการ) 930

ถานหิน 523 565 570 619 664 710 754 806 834 870 940

(ลานตัน) แรบอกไซต แร ผลิตภัณฑ สินคาอื่นๆ ปริมาณการคารวม ธัญพืช และอลูมินา ฟอสเฟต น้ำมันดิบ จากน้ำมัน (โดยประมาณ) (โดยประมาณ) 230 53 28 1,608 419 2,280 5,595 234 51 29 1,592 425 2,305 5,653 245 54 30 1,588 414 2,435 5,820 240 63 29 1,673 440 2,545 6,133 236 68 31 1,754 461 2,690 6,493 307 73 30 1,720 495 2,617 6,604 325 78 30 1,756 525 2,853 7,055 341 83 31 1,764 589 3,052 7,428 349 81 31 1,775 629 3,235 7,745 349 78 29 1,787 580 3,203 7,636 375 78 29 1,850 605 3,235 7,791

ที่มา : Fearnleys รายงานประจำป 2553

37


ในป 2552 ปริมาณสินคาทีข่ นสงทางทะเลมีประมาณ 7.64 พันลานตัน เมือ่ เทียบกับปริมาณ 5.60 พันลานตัน ในป 2543 ในชวงหลายปทผี่ า นมานี้ มีการเติบโตทางการคาในระดับสูงเนือ่ งมาจากการเติบโตของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะอยางยิง่ เศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชีย เชน ประเทศจีนและอินเดีย ดังจะเห็นไดจากตารางตอไปนี้ เฟรน เลยไ ดคาดการณวา ป 2553 เปนปทกี่ ารขนสงทางทะเลเพิม่ ขึน้ ตาราง 4 : อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ป 2546 ถึง 2552 ป

2546 3.6 2.5 0.8 1.4 10.0 6.9

เศรษฐกิจโลก สหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุน จีน อินเดีย

2547 4.9 3.6 2.2 2.7 10.1 7.9

2548 4.5 3.1 1.7 1.9 10.4 9.2

2549 5.1 2.7 2.9 2.0 11.6 9.8

(ความเปลีย่ นแปลงเปนรอยละเทียบกับปกอ น) 2550 2551 2552 5.2 2.8 -0.6 2.1 0.2 -3.2 2.7 0.5 -4.1 2.3 -1.2 -5.2 13.0 9.6 9.1 9.4 6.4 5.7

ที่มา : Fearnleys

การคาสินคาแหงเทกองทางทะเล ปริมาณการคาทางทะเลของสินคาแหงเทกองเติบโตอยูใ นระหวางรอยละ 4 ถึงรอยละ 12 ในชวง 6 ปทผี่ า นมา ซึง่ กอใหเกิดความตองการขนสงสินคา แหงเทกองทางทะเลเพิม่ มากขึน้ ตามไปดวย แผนภูมแิ ละตารางดังตอไปนีแ้ สดงถึงปริมาณการคาทางทะเลทัง้ หมดในสวนของสินคาแหงเทกองทีข่ นสงเปนปริมาณมากในแตละเทีย่ วในชวง ป 2547 ถึงป 2553 สินคาแหงเทกองทีข่ นสงเปนปริมาณมากในแตละเทีย่ วไดแบงออกเปนแรเหล็ก ถานหิน ธัญพืช (รวมถึงขาวสาลี ธัญพืชหยาบ และถัว่ เหลือง) ฟอสเฟต และแรบอกไซต/อะลูมนิ า

!-'."-/

! ' ()*+ ' , &

%! #&

!"# $

ที่มา : Fearnleys

แผนภูมิ 7 : การพัฒนาของปริมาณการคา ของสินคาแหงเทกอง

ตาราง 5 : ปริมาณการคาสินคาแหงเทกองทางทะเลตั้งแต ป 2547 ถึง 2553

ถานหิน แรเหล็ก ธัญพืช แรบอกไซต/อะลูมินา แรฟอสเฟต รวม เปลี่ยนแปลงตอป ที่มา : Fearnleys

38

รายงานประจำป 2553

2547

2548

2549

2550

2551

664 589 236 68 31 1,588 7.7%

710 652 307 73 30 1,772 11.6%

754 734 325 78 30 1,921 8.4%

806 787 341 83 31 2,048 6.6%

834 845 349 81 31 2,140 4.5%

(ลานตัน) 2552 2553 ประมาณการ ประมาณการ 870 940 903 930 349 375 78 78 29 29 2,229 2,352 4.2% 5.5%


ปริมาณการคาทางทะเลของสินคาแหงเทกองทีข่ นสงเปนปริมาณมากในแตละเทีย่ วคาดวาจะเพิม่ ขึน้ รอยละ 40 ในชวงระหวางป 2547 และป 2552 สินคาแหงเทกองทีข่ นสงเปนปริมาณมากในแตละเทีย่ ว ในจำนวนนีผ้ ลิตภัณฑจากแรเหล็กเติบโตเร็วทีส่ ดุ โดยมีอตั ราการเติบโตเทากับรอยละ 53 ในชวงระหวางป 2547 และป 2552 ปริมาณการคาทัง้ หมดในสินคาแหงเทกองทีข่ นสงเปนปริมาณมากในแตละเทีย่ วคาดวาจะเพิม่ ขึน้ รอยละ 5.5 ปนี้ การเติบโตของอุปสงค (วัดเปนตันไมล) ไดเพิม่ ในอัตราทีใ่ กลเคียงกันในชวงหลายปทผี่ า นมา ดังจะเห็นไดจากตารางดังตอไปนี้ $!0 $/ $ ( !+

-'. -/ ที่มา : Fearnleys

# $ %$ !"

&' ()*+ ' !, %$

แผนภูมิ 8 : อปสงค อุปสงคของสินคาแหงเทกอง ทกอง

ตาราง 6 : อุปสงคของสินคาแหงเทกองป 2547 ถึง 2553

ถานหิน แรเหล็ก ธัญพืช แรบอกไซต/อะลูมินา แรฟอสเฟต รวม เปลี่ยนแปลงตอป

2547

2548

2549

2550

2551

2,960 3,444 1,350 231 154 8,139 9.0%

3,113 3,918 1,686 248 154 9,119 12.0%

3,540 4,192 1,822 267 155 9,976 9.4%

3,778 4,544 1,927 268 159 10,676 7.0%

3,905 4,849 1,925 267 159 11,105 4.0%

(พันลานตัน-ไมล) 2552 2553 ประมาณการ ประมาณการ 3,518 3,750 5,510 5,650 1,925 2,150 265 265 150 150 11,368 11,965 2.4% 5.3%

ที่มา : Fearnleys

ในชวงหลายปทผี่ า นมา จีนและตามดวยอินเดียเปนตัวผลักดันทีส่ ำคัญทีท่ ำใหปริมาณการคาสินคาแหงเทกองเติบโตขึน้ อยางรวดเร็วการผลิตและ การใชเหล็กภายในประเทศจีนไดสรางอุปสงคในระดับสูงตอการคาแรเหล็ก การขาดแคลนวัตถุดบิ ภายในประเทศไดสง ผลใหมกี ารนำสินคาเขา จากประเทศออสเตรเลียและบราซิลมากขึน้ ซึง่ ทำใหตวั เลขอุปสงคทคี่ ดิ เปนตันไมลเพิม่ มากขึน้ ตาราง 7 : การผลิตเหล็กดิบของโลก

2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 (9 เดือน)

อียู-15

สหรัฐ

ญี่ปุน

จีน

เกาหลีใต

ไตหวัน

อินเดีย

อื่นๆ

184.5 194.2 187.2 198.5 209.7 198 139.1 129.9

90.9 98.6 93.8 98.5 97.2 91.5 58.1 60.9

110.5 112.7 112.5 116.2 120.2 118.7 87.5 81.9

219.3 269.3 349.3 421.5 487.3 500.5 567.8 474.5

46.3 47.5 47.7 48.4 51.2 53.5 48.6 42.1

19.1 19.5 18.5 20.2 20.6 20.2 15.7 14.3

31.8 32.6 38.1 42.8 49.5 55.1 56.6 49.5

260.9 279.7 282.1 272.9 281.3 292.2 246.3 193.4

(ลานตัน) รวม 963.3 1,054.1 1,129.2 1,219.0 1,317.0 1,329.7 1,219.7 1,046.5

ที่มา : Fearnleys

รายงานประจำป 2553

39


ในป 2546 ผลผลิตเหล็กดิบของจีนมีจำนวนประมาณ 219 ลานตัน และเพิม่ ขึน้ เปนตัวเลขสองหลักขึน้ ไปทุกปจนเปน 487 ลานตันในป 2550 ในป 2551 การผลิตเติบโตในอัตราทีล่ ดลงเหลือลดลงรอยละ 2.7 ในป 2552 การผลิตเหล็กดิบโลกลดลงเปน 1.220 พันลานตัน หรือลดลงรอยละ 8.3 ในขณะทีก่ ารผลิตเหล็กของจีนเพิม่ ขึน้ เปน 567 ลานตันหรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 13.5 ทำใหมกี ารขยายของตลาดขนสงสินคาแหงเทกอง โดยการผลิตเหล็ก ในจีนคาดวาจะเพิม่ ขึน้ เปน 630 ลานตันในปนี้ "

# "# " !# ! # # #

& $ "

#"$

#"%

#"&

#"'

##

ที่มา : Fearnleys

##

##

##! ' / ()* +) , -. *

แผนภู ผนภูมู ิ 9 : การผลิตเหล็กของโลกและ สวนแบ แบงทางการตลาดของจี ทางการ น

ในชวงหาปทผี่ า นมา การผลิตเหล็กของจีนเติบโตขึน้ ในอัตราเฉลีย่ ตอปทรี่ อ ยละ 16 เทียบกับการเติบโตของการผลิตของโลกซึง่ เพิม่ ขึน้ เฉลีย่ รอยละ 3 ตอป จากการทีก่ ารผลิตเหล็กเติบโตขึน้ สงผลใหการนำเขาแรเหล็กของจีนเติบโตอยางมากตามไปดวย

ที่มา : Fearnleys

แผนภูมิ 10 : การนำเขาแรเหล็กของจี กของจีน

การนำเขาแรเหล็กของจีนในป 2552 เพิม่ ขึน้ รอยละ 41.5 เมือ่ เทียบกับป 2551 โดยมีการนำเขา 628.2 ลานตัน การนำเขาแรเหล็กของจีนเพิม่ ขึน้ เปน 9 เทาจากป 2543 ถึงป 2552 โดยหลักๆ แลวจีนไดนำเขาแรเหล็กมาจากประเทศออสเตรเลีย บราซิล อินเดีย และแอฟริกาใต การนำเขาแรเหล็ก จากบราซิลนัน้ ก็ไดเพิม่ ขึน้ ในชวงหลายปทผี่ า นมา และไดสง ผลใหมกี ารเพิม่ ปริมาณตันไมลรวมทัง้ ความตองการเรือบรรทุกสินคาแบบเทกองทีม่ ี ขนาดใหญขนึ้ การนำเขาแรเหล็กของจีนในชวงเกาเดือนแรกของป 2553 จะมีจำนวน 457.8 ลานตัน และจากการทีร่ ะดับการนำเขายังมีอยางตอเนือ่ ง จะทำใหจำนวนไปแตะที่ 610 ลานตัน ซึง่ จะลดลงประมาณรอยละ 3 จากปกอ น

40

รายงานประจำป 2553


เสนทางการขนสงสินคาแหงแบบเทกองทางทะเลที่สำคัญ การขนสงสินคาเปนปริมาณมากในแตละเทีย่ ว จะมีเสนทางขนสงหลักๆ อยูบ างเสนทาง เชน โดยหลักแลวถานหินจะมีการสงจากประเทศออสเตรเลีย และแคนาดาไปสูภ มู ภิ าคตะวันออกไกลและยุโรป ในขณะเดียวกันแรเหล็กจะถูกสงจากประเทศออสเตรเลียและบราซิลไปสูป ระเทศจีน ญีป่ นุ และ ยุโรป สวนธัญพืชจะถูกขนสงจากอาวเม็กซิโก บราซิล หรือ อารเจนตินา ไปยังยุโรป และตะวันออกไกล ในขณะทีม่ เี สนทางการคาสินคาแหงเทกองหลักๆ อยู การคาทางทะเลก็ยงั มีการเปลีย่ นเสนทางและทิศทางไปตามกาลเวลาเชนกัน ดังเชนประเทศจีน ซึง่ เคยเปนประเทศผูน ำการสงออกหลักของถานหิน แตเมือ่ ไมนานมานีก้ ไ็ ดมกี ารเปลีย่ นแปลงกลายเปนผูน ำเขาถานหินอยูใ นอัตราทีส่ งู ขึน้ การเปลีย่ น เสนทางการเดินเรืออยางเนืองนิจและโอกาสทางการคาใหมๆ จึงกลายเปนสิง่ ทีอ่ าจพบเห็นไดบอ ยๆ ในตลาดประเภทนี้ เรือบรรทุกสินคาแหงเทกองเปนเรือประเภททีม่ กี ารใชงานไดหลายรูปแบบมากทีส่ ดุ ประเภทหนึง่ ในบรรดากองเรือทีม่ อี ยูใ นโลกในแงของการนำมา ใชงาน โดยสามารถจัดเสนทางไดตามความตองการ โดยทัว่ ไปแลวเรือแทบจะไมไดเดินเสนทางไปกลับอยางตายตัว และมักจะมีเสนทางเดินเรือ โดยการแวะเทียบทาระหวางทางกอนถึงปลายทางอีกอยางนอยแหงหนึง่ ดังนัน้ ระยะทางของเสนทางการคาจึงมีความสำคัญตอความสมดุลของ อุปสงคของการใชเรือ และการเพิม่ ระยะทางในการขนสงจะมีผลกระทบมากขึน้ ตออุปสงคของการใชเรือโดยรวม อุปสงคของการขนสงสินคาดวยเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองยังไดรบั ผลกระทบจากประสิทธิภาพในการดำเนินงานของกองเรือโลก ในไมกปี่ ท ผี่ า นมา การเจริญเติบโตทางการคานำไปสูภ าวะความแออัดของทาเรือ ทำใหเรือหลายลำตองจอดรอนอกทาเรือ เพือ่ ขนถายสินคาขึน้ หรือลงจากเรือเนือ่ งจาก อุปทานทีจ่ ำกัดของทาเทียบเรือในทาเรือทีส่ ำคัญหลายแหง สิง่ นีเ้ ปนปจจัยอีกประการหนึง่ ทีท่ ำใหเกิดภาวะตึงตัวในตลาด โดยเฉพาะกับเรือ ขนาดใหญ

อุปทานของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง แตเดิมนัน้ เรือบรรทุกสินคาเทกองไดรบั การพัฒนามาเพือ่ ขนสงสินคาแหงเทกองทีถ่ กู สงครัง้ ละจำนวนมากและไมจำเปนตองขนสงในรูปแบบทีม่ ี การบรรจุหบี หอ ขอไดเปรียบของการขนสงสินคาแบบเทกองคือสามารถลดตนทุนในการบรรจุหบี หอ และการขนสินคาขึน้ ลงเรือสามารถทำไดอยาง มีประสิทธิภาพมากขึน้ ณ ปจจุบนั กองเรือขนสงสินคาแหงเทกองสามารถจำแนกออกเปน 4 ประเภท ตามขนาดระวางบรรทุกสินคา ไดแก l

Capesize : เรือทีม่ รี ะวางบรรทุกมากกวา 100,000 เดทเวทตัน โดยปกติแลวเรือประเภทนีจ้ ะใชบรรทุกสินคาประเภทแรเหล็กและถานหินใน เสนทางระยะไกล โดยเรือ Capesize จะบรรทุกสินคาประเภท แรเหล็กและถานหินมากกวา รอยละ 95 ของสินคาทัง้ หมดของเรือขนาดนี้ และ การทีเ่ รือมีขนาดใหญทำใหมที า เรือไมกแี่ หงในโลกสามารถรองรับการเทียบทาได

l

Panamax : เรือทีม่ รี ะวางบรรทุกระหวาง 60,000 ถึง 100,000 เดทเวทตัน ไดรบั การออกแบบมาเพือ่ ใหสามารถแลนผานชองแคบปานามาได (ดังนัน้ จึงไดชอื่ วา “Panamax” เรือประเภททีใ่ หญทสี่ ดุ ทีส่ ามารถแลนผานคลองปานามา) ทำใหเรือมีความคลองแคลวมากกวาเรือประเภท Capesize เรือประเภทนีใ้ ชบรรทุกถานหิน ธัญพืช และสินแร เชน โบไซท/อลูมนิ า และหินฟอสเฟตเปนลำดับตอมา เมือ่ จำนวนเรือประเภท Capesize ใหบริการลดลง จึงมีการใชเรือ Panamax ในการขนสงสินคาเหล็กดวย โดยเรือ Panamax จะบรรทุกสินคาประเภทถานหิน แรเหล็ก และธัญพืชประมาณ รอยละ 75 ของสินคาทัง้ หมดในเรือ

l

Handymax/Supramax : เรือทีม่ รี ะวางบรรทุกระหวาง 40,000 ถึง 60,000 เดทเวทตัน ขนสงอยูใ นเสนทางกระจายทางภูมศิ าสตรทวั่ โลก โดยบรรทุกสินคาประเภทธัญพืช เหล็กกลา ทอนไม แผนไม เศษเหล็ก และสินคาแหงเทกองทีข่ นสงเปนปริมาณไมมากในแตละเทีย่ วอืน่ ๆ เปนหลักประเภทของเรือตามมาตรฐานมักจะตอขึน้ พรอมดวยปน จัน่ ทีใ่ ชยกสินคาขึน้ และลงเรือ ทีร่ องรับน้ำหนัก 25 ถึง 30 ตัน ซึง่ ทำใหเรือ สามารถขนถายสินคาในทีก่ รณีทตี่ อ งใชเครือ่ งกามปูชว ยในการขนถายสินคาแหงเทกอง (โดยเฉพาะแรทใี่ ชในอุตสาหกรรม) และเพือ่ ทำการขนสง สินคาในประเทศและทาเรือและทีม่ พี นื้ ฐานโครงสรางจำกัด เรือประเภทเหลานีท้ ำใหมคี วามคลองตัวทางการคา ดังนัน้ จึงสามารถนำมาใชในการ ขนสงสินคาแบบเทกองหลายประเภทและการคาสินคาเทกองประเภทใหมๆ

l

Handysize : เรือทีม่ รี ะวางบรรทุกระหวาง 10,000 ถึง 40,000 เดทเวทตัน ซึง่ สวนใหญจะขนสงสินคาแหงเทกองทีข่ นสงเปนปริมาณไมมากใน แตละเทีย่ วเปนหลัก เชน เหล็กกลา ทอนไม แผนไม และเศษเหล็ก เรือประเภทนีใ้ ชในเสนทางการคาระดับภูมภิ าคมากขึน้ เรือ่ ยๆ และสามารถ เปนเรือสงตอสินคาใหเรือทีใ่ หญกวาดวย เรือประเภท Handysize มีขนาดพอเหมาะกับทาเรือขนาดเล็กทีม่ พี นื้ ฐานโครงสรางจำกัด และการทีเ่ รือ ประเภทนีม้ กั มีอปุ กรณทใี่ ชยกสินคาขึน้ และลงเรืออยูใ นตัว ทำใหเรือประเภทนีส้ ามารถยกสินคาขึน้ ลงไดเมือ่ เทียบทาเรือทีม่ พี นื้ ฐานจำกัด

ในชวงตนเดือนพฤศจิกายน ป 2553 กองเรือสินคาบรรทุกสินคาแหงแบบเทกองทัว่ โลกมีเรือทัง้ หมด 7,945 ลำ ระวางบรรทุกรวมเทากับ 519.20 ลานเดทเวทตัน ตารางตอไปนีแ้ สดงกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองแยกประเภทตามขนาดระวางบรรทุก ณ ตนเดือนพฤศจิกายน 2553 อายุเฉลีย่ ของ เรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ณ เดือนพฤศจิกายน 2553 คือ 11.80 ป

รายงานประจำป 2553

41


ตาราง 8 : กองเรือบรรทุกสินคาแหงแบบเทกอง เดือนพฤศจิกายน 2553 ขนาดประเภท Capesize Panamax Supramax Handymax Handysize รวม

เดทเวทตัน 100,000+ 60,000 – 100,000 50,000 – 60,000 40,000 – 50,000 10,000 – 40,000

ระวางบรรทุกรวม (ลานเดทเวทตัน) 202.1 133.6 59.9 43.7 80.0 519.2

จำนวนเรือ 1,126 1,786 1.099 972 2,962 7,945

รอยละของกองเรือ (เดทเวทตัน) 38.9 25.7 11.5 8.4 15.4 100.0

ที่มา: Fearnleys

ถึงแมวา กองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองของโลกจะเติบโตขึน้ ตลอดชวงระยะเวลาทีผ่ า นมา เพือ่ ตอบสนองกับการขยายตัวของการคาทางทะเลและ อุปสงคในการขนสงทางเรือ แตอปุ ทานก็ยงั มีจำกัด ทำใหเกิดการสัง่ ตอเรือใหมในชวงป 2548-2551 ซึง่ สงผลใหเกิดภาวะจำนวนเรือลนตลาดใน ชวงเวลาถัดมา และคาดวาจะเปนเชนนีไ้ ปอีก 2-3 ป ณ ตนเดือนพฤศจิกายน 2553 รายการการสัง่ ซือ้ เรือบรรทุกสินคาแหงเทกองทัว่ โลกมีอยูท ปี่ ริมาณ 273.00 ลานเดทเวทตัน หรือรอยละ 52.6 ของ กองเรือสินคาแหงเทกองในปจจุบนั ในบางกรณีการสงมอบตามรายการสัง่ ซือ้ นีย้ ดื ไปถึงป พ.ศ. 2559

ตาราง 9 : การสั่งซื้อเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองที่สั่งตอใหม เดือนพฤศจิกายน 2553 ขนาดประเภท Capesize Panamax Supramax Handymax Handysize รวม

เดทเวทตัน 100,000+ 60,000 – 100,000 50,000 – 60,000 40,000 – 50,000 10,000 – 40,000

ระวางบรรทุกรวม (ลานเดทเวทตัน) 131.5 73.4 42.3 2.7 23.2 273.0

จำนวนเรือ 673 908 745 58 712 3,096

รอยละของกองเรือปจจุบัน (เดทเวทตัน) 65.1 55.0 70.6 6.2 29.0 52.6

ที่มา: Fearnleys

! %%$ # % %# ที่มา: Fearnleys

42

%% #%

รายงานประจำป 2553

%%% % #

%% #

%%& # %

%% % #

%%' "

แผนภูภมิมิ 11 : การสั่งซื้อเรือบรรทุ รทกสิ กสินคา แหงเทกองที่สั่งตอใหม เดือนตุลาคม 2553


ตลาดขนสงสินคาทางทะเลและอัตราคาเชาเรือ อัตราคาเชาเรือของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองจะถูกกำหนดโดยความสมดุลของอุปสงคและอุปทาน แมวา ความเชือ่ มัน่ ตลาดมีสว นในการกำหนด แนวโนมของอัตราคาเชาเรือในระยะสัน้ ๆ อัตราคาเชาเรือยังผันผวนตามขนาดของเรือ อยางเชนปริมาณและรูปแบบการคาของสินคาไมกชี่ นิดของสินคาแหงเทกองทีข่ นสงเปนปริมาณมากใน แตละเทีย่ ว (major bulks) จะมีผลกระทบตอความตองการของเรือบรรทุกสินคาทีม่ ขี นาดใหญกวาเพราะวาอุปสงคตอ เรือบรรทุกสินคาทีม่ ขี นาดใหญ กวาถูกกระทบโดยปริมาณและรูปแบบการคาของสินคาไมกชี่ นิด อัตราคาเชาเรือ (และมูลคาของเรือ) ของเรือบรรทุกสินคาทีม่ ขี นาดใหญกวาจึงมัก จะผันผวนไดมากกวา ในทางกลับกัน การคาสินคาหลายชนิดของสินคาแหงเทกองทีข่ นสงเปนปริมาณไมมากในแตละเทีย่ ว (minor bulks) ทีน่ ำมา รวมกันเปนจำนวนมากๆ จะเปนตัวผลักดันอุปสงคของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองขนาดทีเ่ ล็กกวา ดังนัน้ อัตราคาเชาเรือและมูลคาของเรือสำหรับเรือ ขนาดเล็กจึงมีความผันผวนนอยกวา ! "

ที่มา : Fearnleys

!

!

แผนภูมิ 12 : อัตราคาเชาเหมาลำแบบ เปนระยะเวลา 1 ป

แผนภูมขิ า งตนแสดงใหเห็นถึงการเพิม่ ขึน้ เปนอยางมากของอัตราคาเชาเรือแบบระยะเวลา 1 ป ของเรือ Handymax จนถึงเรือ Capesize จนถึงป 2551 ในตลาดการเชาเรือเหมาลำแบบเปนระยะเวลา อัตราคาเชาเรือจะแตกตางกันตามระยะเวลาเชาเหมาและปจจัยเฉพาะตางๆ ของเรือทีใ่ ชบรรทุก เชน อายุ ความเร็ว และการเผาผลาญเชือ้ เพลิง ในตลาดเรือเชาเหมาลำแบบเปนเทีย่ ว อัตราคาเชาจะถูกกำหนดจากขนาดของสินคาทีบ่ รรทุก วัตถุดบิ เวลาทีถ่ งึ ทา และคาธรรมเนียมการผานคลอง รวมทัง้ ภูมภิ าคทีม่ กี ารสงมอบ ปจจัยหลักทีท่ ำใหอตั ราคาเชาเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองเพิม่ ขึน้ อยางรวดเร็วตัง้ แต ป 2547 คือ อุปสงคทเี่ พิม่ สูงขึน้ เนือ่ งจากการนำเขาวัตถุดบิ ของ ประเทศจีนและประเทศในเอเชียอืน่ ทีเ่ พิม่ มากขึน้ จะเห็นไดวา อัตราคาเชาเรือลดลงอยางรวดเร็วในชวงกลางป 2551 ซึง่ เปนผลมาจากวิกฤติการณ การเงินโลก ซึง่ เปนเวลาเดียวกันกับทีม่ เี รือใหมเขาสูต ลาดมากกวาเดิม อีกทัง้ อุปสงคกล็ ดลงดวย จะเห็นไดวา อัตราคาเชาเรือปรับตัวดีขนึ้ ขึน้ ในป 2552 และป 2553 แตกย็ งั ต่ำกวาชวงทีอ่ ตั ราคาเชาเรือขึน้ ไปสุจ ดุ สูงสุดในป 2550 และป 2551

ราคาเรือ ราคาเรือสัง่ ตอใหม ราคาเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองสัง่ ตอใหมสงู ขึน้ มากตัง้ แต ป 2546 เนือ่ งจากภาวะตึงตัวของความสามารถในการผลิตของอูต อ เรือ การสัง่ ซือ้ ที่ เพิม่ ขึน้ และอัตราคาเชาเรือทีส่ งู ขึน้ มีการประมาณการวาราคาของเรือบรรทุกแหงเทกองสัง่ ตอใหมเพิม่ ขึน้ มากกวาเทาตัวจากชวงแรกของป 2545 ถึงสิน้ ป 2551 ราคาเรือทีส่ งั่ ตอใหมปรับตัวลดลงนับตัง้ แตสนิ้ ป 2551 ตอเนือ่ งไปตลอดป 2552 และไดดดี ตัวขึน้ อีกเล็กนอยตลอดป 2553

รายงานประจำป 2553

43


#)%*&-%

"#(#'#+

!#($,'#+

ที่มา: Fearnleys

แผนภูมิ 13 : ราคาของเรือบรรทุกสินคา เทกอง สั่งตอใหม ป 2543 ถึง 2553

ราคาเรือมือสอง ในตลาดเรือมือสอง ราคาของเรือสัง่ ตอใหมทสี่ งู ขึน้ อยางรวดเร็ว และความแข็งแกรงของคาระวางเรือยังมีผลตอราคาเรือมือสองทำใหราคาของเรือมือ สองพุง ขึน้ อยางรวดเร็วในป 2547 กอนทีจ่ ะลดต่ำลงในชวงแรกของป 2549 และขึน้ ไปอีกครัง้ ในชวงปลายป ในป 2550 ราคาเรือมือสองเพิม่ สูงขึน้ ทุกเดือนในทิศทางเดียวกับความแข็งแกรงของตลาดคาระวางเรือ ราคาเรือมือสองยังคงเพิม่ ขึน้ ไปจนถึงเดือนสิงหาคม 2551 กอนทีร่ าคาเรือมือสอง จะลดลงมากเกือบสองในสามสวนในตอนสิน้ ป และในป 2552 ราคาเรือมือสองเพิม่ ขึน้ เล็กนอยตอเนือ่ งมาถึงป 2553 และขึน้ ไปจนถึงจุดสูงสุดในชวง ฤดูรอ นกอนทีจ่ ะปรับตัวลดลงอีก

ราคาของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองมือสอง อายุ 5 ป (ระยะเวลาโดยเฉลี่ย)

+ , + - + , + - + , + - + , + - + , + - + , + - + , + - + , + - + , + + + , + - + , + -

&"'#*" ที่มา: Fearnleys

44

รายงานประจำป 2553

%$(

%!)$ (

แผนภู ผนภูมิ 14 : ราคา ราคาของเรือบรรทุกสินคาแหง เทกองมือสอง ป 2543 ถึง 2552


ขอมูลธุรกิจ กลุมบริษัทฯ เปนบริษัทเดินเรือที่บริหารงานโดยคนไทยที่ใหญที่สุดบริษัทหนึ่ง โดยเปนเจาของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองประเภท Handysize ประเภท Handymax และประเภท Supramax โดยขนาดของเรือมีตั้งแต 16,223 เดทเวทตัน ไปจนถึง 57,015 เดทเวทตัน เรือของบริษัทฯ สามารถบรรทุกสินคาแหงเทกองทั้งแบบขนสงเปนปริมาณมากๆ ในครั้งเดียว หรือขนสงเปนปริมาณไมมากในแตละเที่ยว ไมวาจะเปน แรเหล็ก ถานหิน เมล็ดธัญพืช ซีเมนต ปุย ผลิตภัณฑเหล็กกลา และผลิตภัณฑที่ไดจากปาไม ในรอบบัญชี 2553 บริษัทฯ ไดขายเรือมือสอง 11 ลำ บริษัทฯ อยูในขณะรอรับเรือที่ไดสั่งตอใหม 4 ลำ ขนาดระวางบรรทุกเฉลี่ย 53,000 เดทเวทตัน กำหนดการสงมอบตั้งแตป 2554 ถึง 2555 ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 กองเรือโทรีเซนมีขนาดระวางบรรทุกสินคารวม 905,809 เดทเวทตัน ระวางบรรทุกเฉลี่ย 29,444 เดทเวทตัน และมีอายุเฉลี่ย 16.31 ป ขนาดของกองเรือของกลุมบริษัทฯ ไดลดลงจากจำนวน 48 ลำ ในป 2548 เปนจำนวน 27 ลำ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และมีขนาดระวางบรรทุกสินคารวมลดลงจาก 1,230,514 เดทเวทตัน เปน 905,809 เดทเวทตัน ในระยะเวลาเดียวกัน แผนภูมิตอไปนี้แสดงพัฒนาการของกองเรือโทรีเซนจากป 2551 ถึง 2553

ที่มา : TTA

แผนภูมิ 15 : จำนวนเรือและระวางบรรทุก รวมในแตละป

ในชวงตนป 2553 บริษัทฯ ไดยกเลิกการใหบริการเดินเรือขนสงสินคาแบบประจำเสนทาง เนื่องจากสินคาที่ขนสงโดยใชแบบประจำเสนทางมัก เปนสินคาที่ใชเรือคอนเทนเนอร จากการที่มีการแขงขันในตลาดสูงขึ้นและมีแรงกดดันดานคาระวางเรือจากตลาดเรือคอนเทนเนอร อีกทั้งตนทุน ในการปฏิบัติงานสำหรับเรือที่วิ่งแบบประจำเสนทางเพิ่มสูงขึ้น กลุมบริษัทฯ จึงเชื่อวา ถึงเวลาที่จะยกเลิกการใหบริการเดินเรือขนสงสินคาแบบ ประจำเสนทาง ซึ่งเมื่อยกเลิกการใหบริการขนสนสินคาแบบประจำเสนทางไปแลว ทำใหบริษัทฯ สามารถนำเรือมาใหบริการทั่วโลกไดมากขึ้น และไดรบั ผลประโยชนจากคาเชาเรือที่ดีขึ้น และจากการที่บริษัทฯ ปรับปรุงสภาพเรืออยูอยางสม่ำเสมอ จะทำใหบริษัทฯ มีรายไดที่ดีขึ้นตาม จำนวนวันเดินเรือ

การบริหารกองเรือ บริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จำกัด (“TCB”) มีหนาที่ดูแลจัดการการดำเนินงานในเชิงพาณิชยและเทคนิคของกองเรือในธุรกิจเรือบรรทุกสินคา แหงเทกอง กองเรือที่มีอยูประกอบดวย เรือที่มีระวางสองชั้น (tween-deckers) เรือที่มีระวางบรรทุกสินคาแหงเทกองโดยเฉพาะ (Open hatch/box-shaped vessels) และเรือบรรทุกสินคาเทกองแบบมาตรฐาน (conventional bulk vessels) ถึงแมวาเรือแตละประเภท ดังกลาวจะสามารถใชสลับสับเปลี่ยนกันในการขนสงสินคาได เรือแตละประเภทก็มีขอดีของตัวเอง ดังแสดงในตารางตอไปนี้

รายงานประจำป 2553

45


ตาราง 10 : คุณลักษณะของเรือแตละประเภท แบบเรือ

ลักษณะ

เรือที่มีระวางสองชั้น

เรือประเภทนี้มีระวางกั้นกลางหรือมีระวางเพิ่มมาอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งทำใหสะดวกมากขึ้นในการขนสงสินคาที่เปน กระสอบ เปนชิ้นๆ หรือที่ไมสามารถมัดรวมกันได นอกจากนี้เรือชนิดนี้ยังสามารถบรรทุกสินคาเทกองแบบ ทั่วไปไดเชนกัน การใชปนจั่นหรือรอกสองหัวเขาดวยกันยังชวยใหเรือสามารถยกสินคาที่มีน้ำหนักมากได

เรือที่มีระวางบรรทุกสินคา เทกองโดยเฉพาะ

เรือบรรทุกสินคาเทกองที่มีระวางบรรทุกสินคาโดยเฉพาะ มีฝาระวางที่เปดไดกวางกวาเรือบรรทุกสินคาเทกอง แบบทั่วไป ทำใหมีประสิทธิภาพมากกวาในการบรรทุกสินคาที่เปนชิ้นๆ เชน เหล็กเสน และผลิตภัณฑจากปาไม นอกจากนี้เรือชนิดนี้ยังสามารถบรรทุกสินคาเทกองแบบทั่วไปไดเชนกัน

เรือบรรทุกสินคาเทกองแบบ มาตรฐาน

เรือบรรทุกสินคาเทกองแบบมาตรฐาน เปนเรือที่ออกแบบมาใหเหมาะสมกับการบรรทุกสินคาเทกองทั่วๆ ไปมากที่สุด สมกับชื่อของเรือนั่นเอง

ตารางตอไปนี้แสดงขอมูลของกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองของโทรีเซน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ตาราง 11 ​: โครงสรางกองเรือโทรีเซน จำนวนเรือ จำนวนเรือที่บริษัทเปนเจาของ

เรือที่เชามา (ระยะกลาง)

เรือที่สั่งตอใหม

รวม

Handysize

14

-

-

14

Handymax

10

3

-

13

Supramax

3

4

4

11

รวม

27

7

4

38

เรือที่สั่งตอใหม

รวม

อายุเฉลี่ยของกองเรือโทรีเซน จำนวนเรือที่บริษัทเปนเจาของ

เรือที่เชามา (ระยะกลาง)

Handysize

24.15

-

-

24.15

Handymax

15.26

12.02

-

14.45

Supramax

3.35

3.52

-

3.44

รวม

16.31

8.46

-

13.64

ที่มา : TTA

46

รายงานประจำป 2553


ตาราง 12 : รายชื่อกองเรือโทรีเซน เรือที่มีระวางสองชั้น ชื่อเรือ

วันที่สงมอบเรือจากอูตอเรือ

เดทเวทตัน

อายุ

ชนิดของเรือ

การจัดชั้นเรือ

TD-15A

LR

1. ทอรซัน

4/7/2529

16,223

24.26

2. ทอร นาวิเกเตอร

29/3/2530

20,358

23.52

LR

3. ทอร นอติกา

9/12/2531

20,542

21.82

BV

4. ทอร เนปจูน

1/3/2532

20,377

21.60

GL

5. ทอร เน็กซัส

1/1/2532

20,377

21.76

6. ทอร นอติลุส

6/5/2531

20,457

22.42

BV

7. ทอร เนคตาร

1/1/2533

20,433

20.76

GL

8. ทอร เนรัส

1/1/2531

20,380

22.76

LR

GL

Passat

เรือบรรทุกสินคาเทกอง ชื่อเรือ

วันที่สงมอบเรือจากอูตอเรือ

เดทเวทตัน

อายุ

ชนิดของเรือ

การจัดชั้นเรือ

9. ทอร ไพล็อต

22/5/2529

33,400

24.38

LR

10. ทอร ออรคิด

27/9/2528

34,800

25.02

11. ทอร โลตัส

18/2/2528

35,458

25.63

12. ทอร ไดนามิค

30/4/2534

43,497

19.43

Standard

Bulk > 40,000 dwt

BV

13. ทอร จูปเตอร

18/8/2529

36,992

24.13

Box Shape

Bulk (Box)

ABS

14. ทอร เวฟ

30/7/2541

39,042

Standard

Bulk < 40,000 dwt

BV BV

15. ทอร วิน

18/11/2541

39,087

12.18 Open Hatch / 11.87 Box Shape

16. ทอร เอนเนอรยี

16/11/2537

42,529

15.88

17. ทอร เอนเดฟเวอร

11/4/2538

42,529

15.48 15.19 Open Hatch / Box Shape 8.53

ABS < 40,000 dwt ABS NKK NKK Bulk (Box) > 40,000 dwt

18. ทอร เอนเตอรไพรส

28/7/2538

42,529

DNV

19. ทอร ฮารโมนี่

21/3/2545

47,111

20. ทอร ฮอไรซัน

1/10/2545

47,111

8.00

BV

21. ทอร แชมเปยน

1/12/2525

25,150

27.85

GL GL

Wismar (Box)

BV

DNV

22. ทอร กัปตัน

1/5/2529

25,085

23. ทอร คอนฟเดนซ

24/6/2526

24,900

Hatch / 27.44 Open Box Shape Con-Bulkers (Box) 27.29

24. ทอร ทรานสปอรตเตอร

8/8/2529

23,930

Hatch / 24.16 Open Box Shape

25. ทอร อินทิกริตี้

2/4/2544

52,375

9.50

Standard

Bulk > 40,000 dwt

BV

26. ทอร เฟรนดชิป

13/1/2553

54,123

0.71

Semi-Open / Box Shape

Oshima - 53

NKK

27. ทอร แอ็คชีพเวอร

22/7/2553

57,015

0.19

Standard Bulker

Bulk > 40,000 dwt

BV

GL

รวมระวางบรรทุกของกองเรือโทรีเซน 905,809 เดทเวทตัน ABS : Amercian Bureau of Shipping BV : Bureau Veritas DNV : Det Norske Veritas GL : Germanischer Lloyd LR : Lloyd’s Register NKK : Nippon Kaiji Kyokai ที่มา : TTA

รายงานประจำป 2553

47


กองเรือของบริษัทฯ จดทะเบียนเปนเรือสัญชาติไทย หรือสิงคโปร บริษัทฯ เปนเจาของเรือแตละลำโดยผานบริษัทยอย กลยุทธในการบริหารกองเรือ ของบริษัทฯ ทำใหบริษัทฯ มีสินคาและลูกคาที่หลากหลาย บริษัทฯ มีเปาหมายที่จะรักษาความสมดุลของการใหเชาเหมาลำแบบระยะยาวและ การเซ็นสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา และการใหเชาเหมาลำในตลาดใหเชาระยะสั้น

36%

54%

10% ที่มา : TTA

แผนภู นภมิมิ 16 : การใ การใหบริการของกองเรื องกองเรือโทรีเซน ซ จำแนกตามวันเดินเรือ

การใหบริการของกองเรือบริษัทฯ การบริการแบบไมประจำเสนทาง รายไดจากการเดินเรือแบบไมประจำเสนทาง ของบริษัทฯ มาจาก l การใหเชาเหมาลำแบบเปนเที่ยว การใหเชาเหมาลำในตลาดใหเชาระยะสั้น ซึ่งคิดคาเชาตามอัตราของตลาด ณ ขณะนั้น l การใหเชาเหมาลำแบบเปนระยะเวลา เปนการใหเชาเรือโดยกำหนดระยะเวลาไว และโดยทั่วไปจะกำหนดอัตราคาเชาแบบคงที่ แตมัก จะมีปจจัยอื่นๆ เชน การปรับคาเงินเฟอ หรืออัตราคาเชาเรือของตลาดปจจุบัน มาเปนองคประกอบในการคิดอัตราคาเชาเรือ และ l การเซ็นสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา (contracts of affreightment) ซึ่งบริษัทฯ จะรับขนสงสินคาจำนวนหนึ่งใหแกลูกคาในเสนทางที่กำหนด ไวแลวในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง

48

รายงานประจำป 2553


ตารางขางลางนี้แสดงขอแตกตางที่สำคัญของการเชาและการทำสัญญาแตละแบบในธุรกิจการเดินเรือของบริษัทฯ ตารางที่ 13 : ประเภทของการเชาเหมาเรือ การเชาเหมาลำเปนเที่ยว ระยะเวลาของสัญญา

การเชาเหมาลำ เปนระยะเวลา

การเชาเรือเปลา

เปนระยะเวลาสำหรับการเดินทาง หนึ่งปหรือมากกวา หนึ่งปหรือมากกวา เที่ยวเรือเดียว แตกตางกันไปตามการเชาแตละเที่ยว คิดเปนรายวัน คิดเปนรายวัน

อัตราคาเชา

การเซ็นสัญญา รับขนสงสินคาลวงหนา หนึ่งปหรือมากกวา โดยทั่วไปคิดเปนรายวัน

คาใชจายของเรือ

เจาของเรือจาย

ลูกคาจาย

ลูกคาจาย

เจาของเรือจาย

คาใชจายในการดำเนินงาน เกี่ยวกับเรือ

เจาของเรือจาย

เจาของเรือจาย

ลูกคาจาย

เจาของเรือจาย

เมื่อเรืออยูในระยะเวลาที่ไมอาจ ใชประโยชนได (Off-hire)

ลูกคาไมตองจาย

แลวแตตกลง

โดยทั่วไปลูกคาจาย โดยทั่วไปลูกคาไมตองจาย

กลุมบริษัทฯ ไดทำสัญญาเชาเหมาลำแบบระยะเวลาสำหรับเรือสวนหนึ่ง ซึ่งมีตั้งแตหนึ่งปถึงสามปและมีการกำหนดการจายเงินคาเชาคงที่เดือนละ 2 ครั้งลวงหนา การเชาเหมาลำแบบเปนระยะเวลา คือการเชาเรือจากเจาของเรือเปนระยะเวลาตามที่กำหนดไวในสัญญา ซึ่งเจาของเรือจะตอง สงมอบเรือ (รวมลูกเรือและอุปกรณ) ที่พรอมใหบริการแกผูเชา และผูเชาจายคาเชาในอัตราคงที่ที่คิดเปนรายวันเดือนละ 2 ครั้ง และรับผิดชอบ คาใชจายเกี่ยวกับเที่ยวเรือทั้งหมด ไมวาจะเปนคาน้ำมันเชื้อเพลิงและคาธรรมเนียมการใชทาเรือและการผานคลอง ผูเชาเปนผูกำหนดประเภท และปริมาณของสินคาที่จะขนสงและทาเรือที่จะขนถายสินคา ในสวนของการดำเนินงานและการเดินเรือรวมถึงคาใชจายในการดำเนินงานเกี่ยวกับ เรือ เชนเงินเดือนลูกเรือ คาประกันภัย คาซอมบำรุงและดูแลรักษาเรือ และคาอะไหลและอุปกรณตางๆ เจาของเรือจะเปนผูรับผิดชอบ การใหเชา เหมาลำแบบเปนระยะเวลา ปกติระยะเวลาการใหเชาจะถูกจำกัดอยูที่ 12 ถึง 24 เดือน ในรอบบัญชี 2553 บริษัทฯ ไดมีสัญญารับขนสงสินคาแบบเชาเหมาลำระยะยาวคิดเปนรอยละ 23.13 ของระวางบรรทุกสินคาทั้งหมด และ ในป 2554 ไดมีการทำสัญญาลวงหนาแบบเชาเหมาลำระยะยาวไวแลวรอยละ 18.81 ของระวางบรรทุกสินคาทั้งหมด ทางเลือกหนึ่งที่จะทำใหเรือ ไดรับการวาจางก็คือการใหเชาผานตัวแทนนายหนาจัดหาสินคา ในตลาดใหเชาเรือระยะสั้นมีความเปนไปไดที่จะฉวยโอกาสจากการปรับตัวดีขึ้น ของตลาด แตก็มีความเสี่ยงในชวงขาลงเชนกัน จำนวนเรือที่ใหบริการในตลาดใหเชาเรือระยะสั้น มักจะมีจำนวนไมแนนอนขึ้นอยูกับจำนวนเรือ ที่เหลือมาจากการใหเชาเหมาลำแบบเปนระยะเวลา ในการใหเชาเหมาเรือ บริษัทฯ จะจายคานายหนาตั้งแตรอยละ 0.625 ถึง 6.25 ของอัตราเชารายวันทั้งหมดแกบริษัทนายหนาที่จัดหาผูเชาให การใหบริการแบบไมประจำเสนทางของกลุมบริษัทฯ มีความผันผวนไปตามอุปสงคและอุปทานของสินคาแหงเทกอง การเชาเรือมีปจจัยจากราคา เสนทางการเดินเรือ ขนาด อายุและสภาพของเรือ รวมไปถึงชื่อเสียงของกลุมบริษัทฯ ในการเปนทั้งผูประกอบการและเปนเจาของเรือ นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ ยังตองแขงขันกับผูประกอบการรายอื่นในตลาดของเรือขนาดกลาง (Handysize) และขนาดเล็ก (Handymax) อยางไรก็ดีผูประกอบ การที่เปนเจาของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ในโลกที่มีขนาดตั้งแต 15,000 เดทเวทตันถึง 50,000 เดทเวทตัน มีอยูคอนขางกระจัดกระจาย และ แบงออกเปนเจาของเรือรายยอยๆ ไดประมาณ 1,202 ราย ซึ่งเปนเจาของเรือ ประมาณ 4,732 ลำ

36% 21% 9% 6%

28% ที่มา : Fairplay World Shipping Encyclopedia

แผนภูมิ 17 : สัดสวนการถือครองเรื งเรือประเภท บรรทุกสินคาทั่วไปและเรือบรรทุกสินคา แหงเทกอง (15,000-50,000 เดทเวทตัน) รายงานประจำป 2553

49


ลูกคาของบริษัทฯ ลูกคาของบริษัทฯ ครอบคลุมบริษัทผูคาระหวางประเทศชั้นนำ และผูประกอบการเดินเรือตางๆ กลยุทธของบริษัทฯ คือการปลอยเรือแบบเชาเหมา ลำใหกับบริษัทการคาขนาดใหญ (trading house) (ซึ่งรวมถึงผูคาสินคาดวย) เจาของเรือและผูประกอบการดานเรือบรรทุกสินคาที่มีชื่อเสียง ผูผลิตสินคารายใหญ และหนวยงานราชการ มากกวาใหกับบริษัทที่มีฐานะทางการเงินไมมั่นคง

7% 8%

15%

12%

5% 4%

49%

แผนภูมิ 18 : ลูกคาจำแนกตามรายรับ

ที่มา : TTA

กลุมบริษัทฯ มีความมุงมั่นที่จะกระจายเรือใหบริการในหลายรูปแบบ ในรอบบัญชี 2553 ลูกคาหลัก 10 รายแรกของธุรกิจเรือบรรทุกสินคา แหงเทกอง คิดเปนรอยละ 49.25 ของรายไดคาระวางทั้งหมดของกลุมบริษัทฯ

, - ./&( 01. 2

!"

!" !"

"#$ % &' % " ()*+

แผนภูภมิมิ 19 : สินคาที่ขนสงจำแนก แนก ตามประเภทของสินคา

ที่มา : TTA

พนักงานของบริษัทฯ ในรอบปที่ผานมา บริษัทฯ ไดพยายามนำระบบบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลสมัยใหมมาใช บริษัทฯ ไดปรับเปลี่ยนระบบการประเมินผลงาน และการพัฒนาบุคคลากรใหม โดยไดทำการรวมแผนการพัฒนาและฝกอบรมรายบุคคลเขาไวเปนสวนหนึ่งของระบบประเมินผลงานประจำป ทั้งนี้ เพื่อมุงเนนการเพิ่มสมรรถภาพ ขีดความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และเพิ่มโอกาสในการพัฒนาสำหรับพนักงานเอง ซึ่งการดำเนินการดังกลาว เมื่อรวมกับการใหขอคิดเห็นในปรับปรุงการทำงานและการพัฒนาสมรรถภาพประจำป มีวัตถุประสงคหลักเพื่อที่จะใหพนักงานบรรลุศักยภาพสูงสุด ในการทำงาน สำหรับตัวพนักงานเองก็ไดรับประโยชนจากโอกาสในการไดรับผลตอบแทนที่สูงขึ้นรวมถึงโอกาสในการไดรับพิจารณาใหทำงาน ในตำแหนงงานใหมๆ ภายในองคกร

คูแขง ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง เปนธุรกิจที่มีการแขงขันสูง และกระจัดกระจาย กลุมบริษัทฯ มีการแขงขันกับบริษัทขนสงชั้นนำในเอเชียหลาย บริษัทและทั่วโลก ทั้งนี้มีการคาดการณวาการแขงขันจะรุนแรงขึ้นจากสถานการณเรือลนตลาดที่ยังคงมีอยูตอไป 50

รายงานประจำป 2553


เรือขนสงสินคาแบบไมประจำเสนทางก็มีการแขงขันกันรุนแรงดวยเชนกัน และอาจไดรับผล กระทบจากเรือขนาดอื่นที่เขามาในตลาด ซึ่งอาจเปนเรือในขนาดที่กลุมบริษัทฯ ไมมี จากการที่มี ความแตกตางมากในขนาดของเรือ ทำใหเรือขนสงสินคาแหงเทกองแบบ Capesize อาจเสีย เปรียบใน การแขงขันกับเรือขนสงสินคาแหงเทกองขนาด Handymax สำหรับสินคาบางประเภท กระนั้น ก็ตาม อัตราคาเชาเรือขนาด Capesize ก็อาจมีผลตอเรือที่มีขนาดเล็กกวาได ซึ่งหากพิจารณาถึง การคาดการณลวงหนาถึงอัตราการเพิ่มของระวางบรรทุกในอัตรา รอยละ 12-13 ในปหนานี้ อาจ กลาวไดวากลุมบริษัทฯ จะตองเผชิญกับความกดดันในดานอัตราคาเชาเรือ นอกจากธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองแลว กลุมธุรกิจขนสงยังประกอบดวยธุรกิจการให บริการเปนตัวแทนเรือ และการเปนนายหนาเชาเหมาเรือ

ปจจัยบวกและลบในป 2554-2555 ปจจัยลบที่สงผลตอธุรกิจของบริษัทฯ ในปหนา คือ ปริมาณเรือที่เขาสูตลาด จากการที่อัตราคา ระวางเรือกระเตื้องขึ้นในรอบ 12 เดือนที่ผานมาทำใหการขายเรือเกาลดลง เมื่อรวมกับการผลิต เรือใหมที่ยังคงมีอยูอยางตอเนื่อง ปริมาณเรือมีการเติบโตเร็วกวาความตองการใชเรือ ซึ่งตาม ที่ไดกลาวไวในหัวขอ ภาพรวมอุตสาหกรรม ปจจัยนี้จะเปนปจจัยลบที่สงผลตอคาระวางเรือมาก ที่สุดในปหนา ปจจัยที่สำคัญอีกประการคือปจจัยดานอุปสงคในประเทศจีน ซึ่งหากกำลังการผลิตในประเทศจีน ต่ำกวาที่คาดคะเนไวในปหนา ก็จะสงผลใหปริมาณเรือบรรทุกสินคามีมากเกินกวาความตองการ ซึ่งจะทำใหอัตราคาระวางเรือผันผวนอยางแนนอน อยางไรก็ดี บริษัทฯ ไดดำเนินการอยางรอบคอบมาอยางตอเนื่องโดยการขายเรือที่มีอายุมาก และมีความคลองตัวในการขนสงต่ำและมีขนาดระวางบรรทุกนอยออกไปจากกองเรือ ถึงแมวา ขั้นตอนเหลานี้ยังไมเสร็จสิ้นสมบูรณก็ตาม แตกลุมบริษัทฯ ก็ยังไดประโยชนจากการเพิ่ม ศักยภาพในการขนสงสินคาใหสูงขึ้นและไปไดทั่วภูมิภาคทั่วโลกมากขึ้น นอกเหนือจากนี้ บริษัทฯ ไดปรับโครงสรางกระบวนการจัดซื้อใหมทั้งระบบและไดเริ่มใชระบบ ERP อยางเต็มรูป แบบแลวซึ่งจะทำใหบริษัทฯ สามารถตรวจตราระบบการปฏิบัติงานสำคัญๆ ไดดียิ่งขึ้น

ธุรกิจตัวแทนเรือ กลุมบริษัทฯ เปนกลุมบริษัทตัวแทนเรือที่ใหญที่สุดในประเทศไทยโดยเปนตัวแทนเรือทุกประเภท ในประเทศไทย ธุรกิจตัวแทนเรือในกลุมบริษัทฯ ดำเนินการโดย 4 บริษัท ประกอบดวย 1) บริษัท ไอเอสเอส โทรีเซน เอเยนตซีส จำกัด (“ITA”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ ถือหุนรอยละ 100 2) บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประทศไทย) จำกัด (“GAC”) ซึ่งเปนบริษัทรวมของบริษัทฯ และเปนการรวมทุนระหวางบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนรอยละ 51 และ กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี จำกัด ในประเทศลิชเทนสไตน ถือหุนรอยละ 49 ITA มีจุดขายจากการเปนสวนหนึ่งของเครือขายในกลุมบริษัทอินชเคป ซึ่งเปนกลุมบริษัทตัวแทน เรือที่ใหญที่สุดในโลกกลุมหนึ่ง GAC เปนบริษัทชั้นนำแหงหนึ่งในโลกในดานการใหบริการ ที่เกี่ยวของกับการเดินเรือ ธุรกิจเดินเรือ และโลจิสติคส 3) โทรีเซน (อินโดไชนา) เอส.เอ. (“TI”) ซึ่งเปนกิจการรวมคาระหวาง บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนรอยละ 50 และอีกรอยละ 50 ถือโดยนักลงทุนทั่วไป TI เปนหนึ่งในบริษัทตัวแทนเรือที่ใหญที่สุดในเมืองโฮจิมินห และในเขตพื้นที่วัง เตา (Vung Tau) อีกทั้งยังมีความเชี่ยวชาญในการจัดการกับสินคา project cargo และกำลังพัฒนาธุรกิจ ที่เกี่ยวกับโลจิสติคสในประเทศเวียดนาม อีกดวย 4) PT Perusahaan Pelayaran Equinox (“Equinox”) ซึ่งเปนผูใหบริการในการจัดหาเสบียงให กับเรือขนสงสินคาแหงเทกองและบริการงานที่เกี่ยวของกับพาณิชยนาวีใหกับอุตสาหกรรม น้ำมันและกาซธรรมชาติภายในประเทศ รายงานประจำป 2553

51


ทั้งสี่บริษัทใหบริการดานธุรกิจตัวแทนเรือดังนี้ จัดหาทาเรือใหเรือเทียบทา ขนถายสินคาขึ้นลง จัดหาสินคาลงเรือ เตรียมเสบียง เชน น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำ ตลอดจนดูแลการซอมแซมเรือ สับเปลี่ยนลูกเรือ และอื่นๆ นอกจากนี้ บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด ยังมีความชำนาญใน การใหบริการโลจิสติคส ซึ่งครอบคลุมการกระจายสินคาทั้งทางบกและทางอากาศ การรับสงสินคาจากตนทางถึง ปลายทาง การเคลื่อนยายสินคา และพัสดุระหวางประเทศ

นายหนาเชาเหมาเรือ บริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จำกัด (“FTL”) ซึ่งเปนบริษัทรวมของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เปนการรวมทุนระหวางบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) และกลุมบริษัทเฟรนเลย ของประเทศนอรเวย (“เฟรนเลย”) โดยถือหุนรอยละ 49 และ รอยละ 51 ตามลำดับ (ณ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553) เฟรนเลยเปนหนึ่งในบริษัทนายหนา เชาเหมาเรือที่ใหญที่สุดในโลก ดำเนินธุรกิจในการเปนที่ปรึกษาเกี่ยวกับเรือบรรทุกสินคาแหง เรือ บรรทุกน้ำมัน เรือบรรทุกแกส การซื้อและขายเรือ FTL มีบริษัทยอยคือ บริษัท เฟรนเลย ชิป โบรกกิ้ง ไพรเวท ลิมิเต็ด โดย FTL ถือหุนอยูรอยละ 99.99 ซึ่งใหบริการในการเปนนายหนาเชา เหมาเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองในประเทศอินเดีย และบริษัท เฟรนเลย ดรายคารโก (สิงคโปร) พีทีอี ลิมิเต็ด โดย FTL ถือหุน อยูรอยละ 100 ซึ่งใหบริการในการเปนนายหนาเชาเหมาเรือบรรทุก สินคาแหงเทกองในประเทศสิงคโปร นอกเหนือจากจัดหาตลาดใหกับกองเรือโทรีเซนแลว เฟรนเลย ยังดำเนินธุรกิจเปนบริษัทนายหนา เชาเหมาเรือในตลาดที่มีการแขงขันกันอยางสูง โดยเปนตัวกลางระหวางเจาของเรือและผูเชาเรือ ทั้งประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตและทั่วโลก

การดำเนินธุรกิจในแถบประเทศตะวันออกกลาง โทรีเซน ชิปปง เอฟแซดอี (“TSF”) ซึ่งบริษัทยอยที่กลุมบริษัทโทรีเซนถือหุนอยูรอยละ 100 ไดถูกกอตั้งขึ้นเพื่อใชเปนสำนักงานภูมิภาคในแถบ ตะวันออกกลาง ซึ่งเปนการประหยัดตนทุนในการดำเนินการของเรือสินคาของบริษัทฯ ที่ขนสงสินคาไปยังสหรัฐอาหรับอิมิเรตสและทาเรืออื่นๆ ในตะวันออกกลาง TSF ใหบริการเรือที่เขาไปจอดเทียบทาในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตสมากกวา 20 ลำตอป และติดตอประสานงานในดานการปฏิบัติการเรือ กับทาเรืออื่นๆ โดยมีตัวเลขของเรือที่บริษัทฯ ใหบริการในทาเรืออื่นๆ ไมตางกัน บริษัทฯ มีความชำนาญทางดานพิธีศุลกากร และใหบริการ ขนสงสินคามากกวา 3,000 รายแกผูรับสินคาในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส โอมาน และจุดหมายปลายทางที่อยูใกลเคียง 52

รายงานประจำป 2553


กลุมธุรกิจพลังงาน กลุมธุรกิจพลังงานประกอบดวย บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) (“เมอรเมด”) ซึ่ง TTA ถือหุนคิดเปนรอยละ 57.14 ผูใหบริการที่เกี่ยวของ กับการขุดเจาะน้ำมันและกาซธรรมชาตินอกชายฝง โดยเฉพาะอยางยิ่ง บริการนักประดาน้ำและยานสำรวจใตทะเล (ROV) และบริการ ขุดเจาะนอกชายฝง นอกจากนี้ TTA ถือหุนรอยละ 21.18 ในเมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี ซึ่งเปนผูถือหุนรอยละ 40 ในกิจการรวมคากับ SKI ที่เปนผูรวมคาในทองถิ่นในโครงการเหมืองถานหินหลายแหงในประเทศฟลิปปนส โดยเหมืองแหงแรกในจำนวนเหมืองเหลานี้ไดเริ่มตนการผลิต ในเชิงพาณิชยตามกำหนดเมื่อปลายเดือนเมษายน พ.ศ. 2553 บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) (“เมอรเมด”) เริ่มประกอบธุรกิจตั้งแตป 2525 เมอรเมดเปนผูใหบริการในอุตสาหกรรมขุดเจาะ น้ำมันและกาซนอกชายฝงทั่วโลก โดยมีพื้นที่หลักอยูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต และตะวันออกกลาง เมอรเมดมีที่ทำการที่จังหวัดชลบุรี ประเทศ ไทย แตเมอรเมดและบริษัทยอยมีสำนักงานและฐานปฏิบัติงานสนับสนุนบนฝงในกรุงจากาตารและบาลิกปาปน ประเทศอินโดนีเซีย รวมทั้ง ในประเทศสิงคโปร และประเทศกาตารในตะวันออกกลาง เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2550 เมอรเมดไดเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศสิงคโปร (“SGX”) และไดเงินจากการซื้อขายหุนสามัญเพิ่มทุนดังกลาวเปนเงินจำนวน 246 ลานดอลลารสิงคโปร ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เมอรเมดไดเงินจากการออกหุนเพิ่มทุนเพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมเปนเงินจำนวน 156 ลานดอลลารสิงคโปร บริษทั ยอยทีส่ ำำคัญของเมอร องเมอรเมด l บริษัท เมอรเมด ด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด (“MOS (“MOS”) ”) ใหบริการงานวิศวกรรม โยธาใตน้ำโดยมี โดยมีเรือที่ใชสนับสนุนงาน ดังกลาว ที่พรอมดวยนักประดาน้ำ ล า และยานสำรวจใต น้ำ l บริษัท เมอ เมอรเมด ดริลลิ่งค จำกัด (“MDL”) ใหบริการเรือขุดเจาะเพื่อ ใชในการขุดเจ าะน้ำมันและกาซธรรมชาติ เจาะน้ นอกชายฝง

เมอรเมดไดกลายเปนหนึ่งในจำนวนไมกี่บริษัทที่เปนผูใหบริการนอกชายฝงซึ่งมีฐานที่ตั้งอยูใน เอเชียเมอรเมดดำเนินธุรกิจหลักสองประเภท คือการใหบริการขุดเจาะนอกชายฝง และบริการ นักประดาน้ำและยานสำรวจใตทะเล (ROV) บริษัท เมอรเมด ดริลลิ่งค จำกัด (“MDL”) เปนบริษัทยอยของเมอรเมด โดยเมอรเมดถือหุนอยู รอยละ 95 MDL ปฏิบัติการโดยใชเรือขุดเจาะแบบมีปนจั่น (self-erecting tender drilling rigs) จำนวน 2 ลำ ซึ่งถูกออกแบบใหใชในที่น้ำลึกถึง 100 เมตร (หรือ 180 เมตร กอนวางแทน) และมีความสามารถในการขุดเจาะ ไปถึงความลึกที่ 6,100 เมตร สำหรับเรือขุดเจาะเอ็มทีอาร-1 และ 5,943 เมตร สำหรับ เอ็มทีอาร-2 ดวยกานเจาะ (drill pipe) ขนาด 5 นิ้ว บริษัท เอเชีย ออฟชอร ดริลลิ่งค จำกัด (“AOD”) ในเดือนธันวาคม 2553 เมอรเมดไดยืนยันการ จองซื้อหุนรอยละ 49 ใน AOD และไดเขาลงนามโครงการสั่งตอเรือใหมกับ Keppel Fels Ltd. ในสิงคโปร เพื่อการสรางเรือขุดเจาะแบบ Jack-up จำนวน 2 ลำ ราคาลำละ 180 ลานดอลลาร สหรัฐอเมริกา โครงการสั่งตอเรือนี้ใหสิทธิที่จะวางคำสั่งตอเรือขุดเจาะแบบ Jack-up กับ Keppel Fels ไดอีก 2 ลำ โดยมีเงื่อนไขการชำระเงินคือ ชำระเงินดาวนรอยละ 20 เมื่อลงนามสัญญา และรอยละ 80 เมื่อสงมอบ นอกจากนี้ เมอรเมดไดลงนามสัญญาจัดการทางดานเทคนิคและการคา (Technical and Commercial Management Agreement) เพื่อการบริหารจัดการโครงการ ความพรอมใน การดำเนินงาน และการดำเนินงานเรือขุดเจาะแบบ Jack-up กับ AOD เมอรเมดเล็งเห็นแนวโนมที่สำคัญของการใชเรือขุดเจาะที่มีคุณภาพสูง โดยลูกคาจะตองการ การดำเนินงานที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพซึ่งเรือขุดเจาะใหมสามารถใหได เชน การทำงาน แบบออฟไลน (offline activities) การมีขนาดบรรทุกของดาดฟาเรือที่สูงขึ้น และความสามารถ ทางดาน combined jacking และ preload เอกสารประมูลสำหรับโครงการใหมสวนใหญจะกำหนดขีดจำกัดทางดานอายุของเรือขุดเจาะ ปจจัยนี้เปนแรงกระตุนที่สำคัญใหมีการลงทุนในเรือขุดเจาะแบบ Jack-up ที่มีคุณภาพสูง ในขณะที่อูตอเรือก็ไดเสนอราคาที่มีสวนลดสำหรับการจองเวลาตอเรือดวย

รายงานประจำป 2553

53


ธุรกิจบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ อุตสาหกรรมขุดเจาะ และอุตสาหกรรมนักประดาน้ำและยานสำรวจใตทะเล (ROV) เปนผูใหบริการที่สำคัญสำหรับการสำรวจ การพัฒนาและ การผลิตน้ำมันดิบและกาซธรรมชาติ ความตองการในการใชบริการเหลานี้มีแรงผลักดันหลักๆ จากปริมาณการสำรวจ การพัฒนาและการผลิต น้ำมันดิบและกาซธรรมชาติ โดยระดับการลงทุนขึ้นอยูกับกระแสเงินสดของบริษัทน้ำมัน รายไดและแหลงเงินทุน พื้นที่ใหมสำหรับการสำรวจ และการพัฒนา รวมทั้งราคาน้ำมันและกาซธรรมชาติ สภาวะเศรษฐกิจของโลกโดยรวมและอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมการประกอบการของผูประกอบการ ทุกรายในอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาติ การเติบโตทางเศรษฐกิจที่ปรับตัวขึ้นภายหลังจากการถดถอยซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ เปนปจจัย ที่ทำใหราคาน้ำมันและกาซธรรมชาติมีความมั่นคงขึ้นในชวงป 2553 ซึ่งสงผลใหมีระดับการลงทุนในอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาติสูงขึ้น อยางไรก็ตาม โดยปกติ การลงทุนเหลานี้จะกอใหเกิดความตองการบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำภายหลังจากระยะเวลา 18 เดือนขึ้นไปหลังจาก ที่มีการตัดสินใจลงทุนครั้งแรก ดังนั้น บริษัทฯ จึงคาดวาสภาวะตลาดในภาคอุตสาหกรรมนี้นาจะยังคงเปนที่ทาทายตอไปตลอดป 2554

การเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศของเอเชียเปนผลดีตออุตสาหกรรม อยางไรก็ตาม สิ่งที่กลาวมานี้เปนภาพโดยกวาง สำหรับในระดับภูมิภาค ภาพนี้จะแตกตางออกไป บริษัทดังเชนกลุมเมอรเมด มีการประกอบการ อยูในภูมิภาคที่มีอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศสูงสุดของโลกเปนหลัก ซึ่งไดแก เอเชียแปซิฟค และโดยเฉพาะอยางยิ่ง เอเชียตะวันออกเฉียงใตและตะวันออกกลาง องคการพลังงานระหวางประเทศ (International Energy Authority) (“IEA”) คาดหมายวา ความตองการน้ำมันของโลกจะเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 1 ตอป คือจาก 85 ลานบารเรลตอวันในป 2551 เปน 105 ลานบารเรลตอวันในป 2573 การเติบโตนี้จะถูกกระตุนโดยการเติบโตทางดานพลังงานในตลาดเกิดใหม เชน เอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึ่งมีอัตราการเติบโตรวมโดยเฉลี่ย ตอปทางดานพลังงานที่รอยละ 5.5 สำหรับระยะเวลา 29 ปที่ผานมา1 และยังคงเปนตลาดพลังงานที่มีการเติบโตเร็วที่สุดในโลก บริษัทฯ คาดวาความตองการที่ระดับนี้จะยังคงอยูตอไป เนื่องจากภูมิภาคนี้สามารถผานพนวิกฤตการณทางการเงินเมื่อเร็วๆ นี้ โดยที่ความตองการนั้น ไมไดออนตัวลงอยางมีนัยสำคัญ

Rebased to 1980 5 4 3 2 1 1980

1987

1994

2001

South East Asia

Middle East

Africa

America, Europe & Eurasia

ที่มา: Pare to Research, BP

2008

Other Asia Pacific countries

แผนภูมิ 20 : การเติบโตของการใชพลังงาน น้ำมันและกาซธรรมชาติ

เนื่องจากราคาน้ำมันมีความมั่นคงในชวงป 2553 และไดปรับตัวทะลุเพดาน 80 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอบารเรลในเดือนตุลาคม บริษัทน้ำมัน และกาซธรรมชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่ง บริษัทน้ำมันนานาชาติ (International Oil Companies) (“IOCs”) และบริษัทน้ำมันแหงชาติ (National Oil Companies) (“NOCs”) จึงไดเริ่มเพิ่มการใชจายดานการสำรวจและการพัฒนา นักวิเคราะหอุตสาหกรรมไดชี้วาการใชจายดานการสำรวจ และการผลิตนอกชายฝงจะเพิ่มขึ้นรอยละ 7 ในป 2553 และรอยละ 15 ในป 2554 2 การใชจายที่เติบโตขึ้นนี้ ประกอบกับอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำ ทำใหเกิดการประมูลงานใหมและการอนุมัติโครงการที่ไดระงับไป

1

OSV Market Report, Pareto Securities, มีนาคม ค.ศ. 2010 หนา 4 Ibid, หนา 5

2

54

รายงานประจำป 2553


Delta E&P Spending 40%

USD/bbl 100 90

30%

80

20%

70

10%

60 50

0%

40

-10%

30 20

-20%

10

-30% 1997

1999

2001

2003

2005

Nominal spending growht (lhs)

2007

2009e

2001e

Average Brent (rhs)

ที่มา: Pareto Research

0

แผนภูมิ 21 การเปลี่ยนแปลงของการใชจายในการ สำรวจและผลิตตอราคาน้ำมันคิดเปนรอยละ

การเติบโตดานการสำรวจและการผลิตเริ่มฟนตัว งบประมาณดานการสำรวจและการผลิตไดเติบโตขึ้นที่ระดับตัวเลขสองหลักในระหวางป 2546 ถึง 2551 ซึ่งทำใหเกิดโครงการพัฒนาแหลงใหมขึ้น จำนวนหนึ่ง และสงผลใหความตองการบริการขุดเจาะและบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำขยายตัว อยางไรก็ตาม เมื่อตนป 2552 อุตสาหกรรม ไดรับผลกระทบจากการชะลอตัวทางเศรษฐกิจของโลก รวมทั้งตนทุนการจัดหาเงินทุนที่สูงขึ้นมาก และราคาน้ำมันที่ลดลงอยางรุนแรง ดังนั้น การใชจายดานการสำรวจและการผลิตในป 2552 จึงชะลอลงอยางมากจากระดับที่เคยมีอยูกอนหนานั้น การเติบโตไดกลับคืนมาอีกครั้งใน ป 2553 ถึงแมวาจะชากวาในชวงระยะเวลาจนถึงป 2551 การเติบโตนี้ไมนาที่จะสูงกวาระดับ 450 พันลานดอลลารสหรัฐอเมริกาซึ่งใชจาย ในป 25513 บริษัทฯ คาดวาแนวโนมการปรับตัวขึ้นนี้จะยังคงดำเนินตอไปในป 2554 ขอมูลจากการศึกษาและวิเคราะหอุตสาหกรรมชี้วาราคาน้ำมันและกาซที่สูงขึ้นไมไดสงผลใหความตองการบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำเพิ่มขึ้น ในทันทีเสมอไป กระบวนการนี้อาจมีชวงระยะเวลานับจากจุดที่ราคาอยูในระดับสูงจนถึงจุดที่มีความตองการสูงขึ้น ซึ่งเปนการชี้วาการเติบโต ทางดานอุปสงคของบริการสำหรับปนี้อาจจะไมเร็วเทากับการปรับตัวขึ้นของราคาน้ำมัน อยางไรก็ตาม บริษัทฯ คาดวาแนวโนมของอุปสงคของ บริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำที่จะปรับตัวขึ้นเปนลำดับจะยังคงดำเนินตอไปในป 2554 การใชจายดานการสำรวจและการผลิตที่ออนตัวลงนี้กอใหเกิดผลกระทบที่ตอเนื่อง กลาวคือ ภาวะอุปทานสวนเกินไดขยายลุกลามไปยังบาง ภาคอุตสาหกรรม เชน การใหเชาเรือขนาดใหญ อัตราคาเชาตอวันมีการปรับลด และมีการยกเลิกคำสั่งตอเรือและเรือขุดเจาะลำใหม อยางไรก็ตาม ตลาดบางแหงไดรับผลกระทบหนักกวาตลาดอื่นๆ โดยไหลทวีปของสหราชอาณาจักรเปนตลาดที่ไดรับผลกระทบอยางรุนแรงที่สุด ในขณะที่ตลาดโลกกำลังฟนตัว บริษัทฯ เชื่อวาตลาดเอเชียโดยทั่วไปสำหรับบริการขุดเจาะและบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ ยังคงมีความเปน ไปไดในดานอัตราการใชประโยชนที่สูง และอัตราคาเชาตอวันที่ดี เนื่องจาก l อุปสงคของน้ำมันและกาซธรรมชาติที่แข็งแกรงกวาในภูมิภาคนี้ l เศรษฐกิจในภูมิภาคที่เติบโตอยางเขมแข็งตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งในจีน อินเดีย และกลุมประเทศอาเซียน และ l โครงการใหมๆ ที่วางแผนโดยบรรดาบริษัทสำรวจและผลิตในเอเชีย

ตลาดเรือสนับสนุนนอกชายฝงและบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำทั่วโลก ปญหาอุปทานสวนเกินที่ธุรกิจเรือสนับสนุนนอกชายฝงและงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำประสบอยูในขณะนี้ เปนผลมาจากการเพิ่มขึ้นของคำสั่งตอเรือ ใหมในชวงจุดสูงสุดของราคาน้ำมันในป 2551 เรือสนับสนุนนอกชายฝงตอใหมที่เขามาในตลาดในเวลานี้ ไดมีการสั่งตอในชวงระยะเวลาดังกลาว แตหลังจากนั้นเปนตนมา บริษัทตางๆ ไดขอชะลอหรือยกเลิกคำสั่ง ซึ่งนาจะเปนการชวยปรับสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทานได เมื่ออุปสงค (กิจกรรมตางๆ) ที่เกิดขึ้นเขาไปรองรับอุปทานสวนเกิน (เรือตอใหมและเรือที่ยังไมไดเขาทำสัญญา) ขอมูลการประมาณการณของอุตสาหกรรม ชี้วามีคำสั่งตอเรือใหมประมาณ 107 ลำซึ่งเกิดขึ้นภายหลังจากวิกฤตการณทางเศรษฐกิจเมื่อเร็วๆ นี้ เปรียบเทียบกับ 487 ลำซึ่งสั่งตอกอน ที่จะเกิดวิกฤตการณ4 3 4

The Global Subsea Market to 2013, Strategic Offshore Research, หนา 5 Sector Update: Offshore Supply, DnB Nor Markets, 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 2010, หนา 5

รายงานประจำป 2553

55


Fleet count

% of Asia to the world New orders post crisis 107 newbuilds

2,500

2,500

2,000

2,000

1,500

1,500

1,000

1,000

500

500 1965-2008 2009 Jan 2009 data Aggregate fleet count - Jan 2009 data

2010E

2011E 2012E Oct 2010 data Aggreagte fleet count - Oct 2010 data

แผนภูมิ 22 : คำสั่งตอเรือใหมภายหลั​ังจากที่เกิด วิกฤตการณไมไดสงสัญญาณเตือนภัย

ปจจัยบงชี้อีกอยางหนึ่งวาสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทานกำลังมีแนวโนมในเชิงบวกยิ่งขึ้นคือการเปลี่ยนแปลงในอัตราสวนของเรือสนับสนุน นอกชายฝง (แบบ Jack-up, Semi หรือ Drillship) ตอเรือขุดเจาะหนึ่งลำ ซึ่งมีการประมาณการณวาจะลดลงจากระดับ 3.0 ในระหวาง ป 2553-2554 เปน 2.9 ในป 2555 เนื่องจากการเติบโตของเรือสนับสนุนนอกชายฝงเริ่มที่จะชะลอตัวลง และมีเรือขุดเจาะลำใหมเขามา ในตลาด อุปสงคจึงนาจะปรับตัวขึ้นในป 2555 โดยไดรับแรงกระตุนจากกิจกรรมที่เพิ่มขึ้นจากการใชจายดานการสำรวจและการผลิตซึ่งสูงขึ้น นอกจากนี้ ราคาของเรือทั้งที่สั่งตอใหมและเรือมือสองอยูในระดับซึ่งคงที่ในชวงครึ่งหลังของปนี้ และมีผูประกอบการขามชาติรายใหญ หลายรายที่อยูในตลาดเรือสนับสนุนนอกชายฝงมือสอง ผูประกอบการรายใหมในตลาด เชน บราซิล ไหลทวีปของสหราชอาณาจักร และออสเตรเลียไดเขารองรับกำลังเรือสนับสนุนนอกชายฝงเพิ่มเติมและชวยพยุงอัตราคาบริการ ในขณะเดียวกัน NOCs เชน Petrobas ไดแสดงความพึงพอใจที่จะเลือกเรือซึ่งมีอายุนอยกวา อันเปนผลดีสำหรับกลุมซึ่งมีกองเรือที่อายุนอย

ตลาดเรือสนับสนุนนอกชายฝงและบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำมีการแขงขันสูงมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในขณะที่ตลาดในเอเชียโดยทั่วไปจะตามตลาดแหงอื่นๆ การหลั่งไหลของเงินทุนเขาสูภูมิภาคนี้เมื่อเร็วๆ นี้ทำใหเกิดสภาพคลองอยางสูง ในตลาดและแหลงเงินทุนตนทุนต่ำ สถานการณนี้อาจกระตุนการควบรวมกิจการในตลาด ดังที่เคยเห็นในสหรัฐอเมริกาและยุโรป เนื่องจาก บริษัทตางๆ จะมองหาโอกาสในการเพิ่มธุรกิจที่เปนการเกื้อกูลกันดวยการเขาควบรวมและซื้อกิจการ ในดานหนึ่ง ผูประกอบการขามชาติ เชน Tidewater ซึ่งมีฐานอยูในสหรัฐอเมริกากำลังเคลื่อนยายเขามาในภูมิภาคเอเชียแปซิฟค โดยจับตาดู ตลาดในประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม จีน อินเดีย และออสเตรเลีย อยางใกลชิด การเขาซื้อเรือเปนสัญญาณแรกที่บงชี้ถึง ความสนใจ แตนาจะติดตามมาดวยการเขาซื้อบริษัทและการเขารวมทุน ในอีกดานหนึ่ง บริษัทเอเชียหลายแหงกำลังยกระดับการใหบริการนอกชายฝง และเขาไปในกลุมตลาดระดับน้ำลึก (พื้นที่ที่มีการเติบโต) ซึ่งอาจ ทำใหเกิดความจำเปนที่จะตองสรางเครือขายขึ้นระหวางบริษัทเหลานี้กับบริษัทที่มีความมั่นคงอยูแลวในบางพื้นที่เหลานี้ เนื่องจากตลาดเอเชีย บางประเทศไดรับความคุมครอง (กฎระเบียบวาดวยการเดินเรือชายฝง) และมักจะถูกครองโดย NOCs บริษัทขามชาติจึงมีขอเสียเปรียบเมื่อ พยายามที่จะเขาไปในตลาดเหลานี้โดยลำพัง บริษัทซึ่งมีฐานอยูในเอเชียไดสรางความสัมพันธไวกับผูประกอบการในทองถิ่นและฐานปฏิบัติงาน บนฝงในภูมิภาคแลว ดังนั้น จึงอยูในสถานะที่จะเอื้ออำนวยตอการเขาตลาดได ในทางกลับกัน บริษัทขามชาติสามารถถายทอดเทคโนโลยี และความเชี่ยวชาญใหแกสวนตางๆ ของตลาดที่ยังไมพัฒนาได บริษัทฯ คาดวาจะมีกิจกรรมการควบรวมและเขาซื้อกิจการและการรวมทุน เพิ่มขึ้นเมื่อบริษัทฯ กาวตอไป ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตลาดเรือสนับสนุนนอกชายฝงมีการแขงขันสูงมาก ถึงแมวาจะมีผูประกอบการอยูเปนจำนวนมาก แตมีเพียงไมกี่รายซึ่งมีเรือ 10 ลำขึ้นไป อันเปนการจำกัดความสามารถของผูประกอบการรายเล็กที่จะขยับขยายไปยังภูมิภาคอื่นๆ

56

รายงานประจำป 2553


ตาราง 14 : โครงการนอกชายฝงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตของบริษัทน้ำมัน Project Terang Sirasun Pagerungan Utara Te Giac Trang

Country Indonesia Indonesia Vietnam

Block/Location

Kangean East Java Block 16-1 Cuu Long Basin South Mahakam Phase 1 Indonesia Kalimantan Malakai Malaysia Block G Pisagan Malaysia Block G Bongkot South Thailand Gulf of Thailand Gendalo-Gehem Indonesia Kutei Basin Malikai Malaysia Block G Voi Trang Vietnam Block 16-1 Sunrise Ph1 Timor/Australia Timor Leste island

Operator EMP Kangean PetroVietnam Total Shell Shell Total Chevron Shell PetroVietnam Woodside

Award First oil

2010e

2010e 2010e 2011e

2010e 2010e 2011e 2012e 2012e 2012e 2012e 2013e 2014e 2014e 2015e

Total reserves Water depth mboe (m) 463 200 300

45

200 108 56

480 1,000

1,100 108

1,000-1,800 480

32,268

180-400

ที่มา: Pareto Research

ขอมูลธุรกิจ บริษัทฯ ใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำผานบริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด (“MOS”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของเมอรเมด โดยเมอรเมด ถือหุนอยูรอยละ 100 MOS ใหบริการนักประดาน้ำและเครื่องตรวจสอบใตน้ำ กองเรือของ MOS ไดถูกออกแบบใหเหมาะสำหรับงานวิศวกรรมโยธา ใตน้ำ ซึ่งสามารถควบคุมการทำงานโดยนักประดาน้ำหรือควบคุมดวยยานสำรวจใตทะเล (ROV) และรวมทั้งเรือที่มีระบบการบังคับตำแหนง ของเรือแบบอัตโนมัติเชื่อมตอกับสัญญาณดาวเทียม (dynamically positioned vessels) เรือดังกลาวสามารถปฏิบัติงานประดาน้ำที่ความลึก กวา 300 เมตรไดโดยใชระบบควบคุมและอุปกรณสำหรับดำน้ำลึก (saturation diving system) สำหรับเรือบริการและสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธา ใตน้ำที่ควบคุมดวยยานสำรวจใตทะเล (ROV) สามารถทำงานในน้ำไดในความลึกกวา 2,000 เมตร การใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำของ บริษัทฯ มีหลากหลาย ซึ่งรวมถึงการตรวจสอบ การซอมและการบำรุงรักษา และงานกอสรางและติดตั้งและงานสานตอโครงการใหสมบูรณ (Commissioning Projects) ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 กองเรือของ MOS ประกอบดวยเรือที่ใหบริการและสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ 8 ลำ และระบบควบคุมยาน สำรวจใตน้ำ 14 เครื่อง รวมทั้งระบบสนับสนุนงานกอสรางหนักในน้ำลึกและน้ำลึกมาก (deepwater and ultra-deepwater heavy construction class systems) นอกจากนี้ Seascape เปนเจาของเรือสำรวจ/บริการ ซึ่งสามารถใชเพื่อสนับสนุนนักประดาน้ำ เรือสนับสนุนนักประดาน้ำเปนฐาน ปฏิบัติงานสำหรับนักประดาน้ำ ยานสำรวจใตน้ำ และอุปกรณพิเศษเฉพาะเรือ MOS จางผูเชี่ยวชาญโดยผานสัญญา sub-contract ประมาณ 400 คน นอกเหนือจากพนักงานประจำที่มีอยูแลว เพื่อทำงานเกี่ยวกับโครงการตางๆ ที่ใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ

ผลประกอบการในรอบป 2553 MOS มีรายได 2,550.7 ลานบาท ลดลงรอยละ 14.57 เทียบกับป 2552 และมีผลขาดทุนสุทธิ 362.7 ลานบาท ลดลงรอยละ 275.65 เทียบ กับป 2552 ดวยอัตราการใชประโยชนจากเรือของ MOS ที่รอยละ 39.54 และอัตราคาเชาตอวันที่ลดลง อัตรากำไรขั้นตนจึงลดลงจากรอยละ 25.28 ในป 2552 เปนรอยละ 18.05 ในป 2553 การรับมอบเรือใหมจำนวน 3 ลำ ทำใหดอกเบี้ยจายและคาเสื่อมราคาเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสำคัญ ถึง 71.2 ลานบาทและ 423.3 ลานบาท ตามลำดับ เงินทุนจากการกูเพื่อลงทุนและสวนของผูถือหุนของบริษัทมีจำนวน 11,136.7 ลานบาท

การบริหารจัดการกองเรือ ความปลอดภัย และการบำรุงรักษาเรือ กองเรือของ MOS เติบโตขึ้นอยางมากในป 2553 โดย MOS ไดรับมอบเรือตอใหม 3 ลำ ไดแก เมอรเมด เอเชียนา เมอรเมด เอนดัวเรอร และเมอรเมด แซฟไฟร อีกทั้งไดเขาซื้อเรือเมอรเมด สยาม ซึ่งเดิมใหเชาระยะยาวแกเมอรเมด MOS ไดรับการรับรองโดยสถาบันจัดชั้นเรือซึ่งเปนที่ยอมรับตามมาตรฐานสากลหลายสถาบัน และเปนสมาชิกขององคกรการคาที่มีชื่อวา International Marine Contractors Association (IMCA) ซึ่งเปนองคกรทางการคาทั่วโลก สำหรับบริษัทที่ประกอบการธุรกิจบริการนอกชายฝง

รายงานประจำป 2553

57


บริการของกองเรือ กองเรือของ MOS ไดรับการรับรองมาตรฐานจากสถาบัน DNV หรือ ABS ซึ่งทั้ง 2 สถาบันเปนสถาบันจัดชั้นเรือชั้นแนวหนา เรือของ MOS ตองเขารับการตรวจสภาพเรืออยางสม่ำเสมอจากสถาบันจัดชั้นเรือ นอกเหนือจากการเขาอูแหงและเขาซอมบำรุงตามตารางที่กำหนดไว MOS ใหบริการแกลูกคาในอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาตินอกชายฝงขั้นตนน้ำตลอดอายุการใชงานของสินทรัพย 1. การสำรวจ การสำรวจกอนการติดตั้ง ซึ่งไดแก การกำหนดตำแหนงและการใหความชวยเหลือในการติดตั้งแทนขุดเจาะ และการซอมบำรุงอุปกรณใตน้ำ 2. การพัฒนา การติดตั้งทอสงใตน้ำ ทอขนสง เชือกชวยชีวิต (control umbilicals) ทอและเสา การวางและฝงทอ การติดตั้งและยึดเสาและอุปกรณทอ การเดินเครื่อง การทดสอบและการตรวจสอบ และการวางและเชื่อมตอสายเคเบิ้ลและเชือกชวยชีวิต 3. การผลิต การตรวจสอบ การซอมบำรุงและการซอมแซมโครงสรางที่ใชในการผลิต เสา ทอสง และอุปกรณใตน้ำ 4. การรื้อถอน บริการรื้อถอนและแกไขฟนฟูสถานที่ บริการอุดหลุมและสละหลุมถาวร บริการกูซากและขนยายแทน บริการสละทอสงถาวร และการตรวจสอบ พื้นที่ กองเรือของเมอรเมดสำหรับใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ มีดังตารางตอไปนี้ ตารางที่ 15 : รายชื่อกองเรือที่ใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำของเมอรเมด ปที่สราง (พ.ศ.)

สัญชาติ

เรือใหบริการและสนับสนุนการตรวจสอบซอมแซม กอสราง ใตน้ำโดยระบบควบคุมการดำน้ำลึก (Saturation Systems)

2530

ไทย

90

96

เมอรเมดเพอรฟอรมเมอร เรือใหบริการดานการสำรวจ และตรวจสอบโครงสรางใตน้ำ ของแทนขุดเจาะน้ำมัน

2525

ไทย

49

30

บารราคูดา(1)

เรือใหบริการสำรวจและตรวจสอบ

2525

อินโดนีเซีย

39

26

เมอรเมด ชาเลนเจอร

เรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำชนิดอเนกประสงค

2551

ไทย

61

38

เมอรเมด สยาม

เรือใหบริการสนับสนุนโดยระบบควบคุมการดำน้ำลึก (Saturation Systems)

2545

จาไมกา

90

142

เมอรเมด แซฟไฟร

เรือซึ่งสนับสนุนระบบควบคุมยานสำรวจใตน้ำและนักประดาน้ำ

2553

ปานามา

63

60

เมอรเมด เอเชียนา

เรือใหบริการและสนับสนุนการตรวจสอบซอมแซม กอสราง ใตน้ำโดยระบบควบคุมการดำน้ำลึก (Saturation Systems)

2553

หมูเกาะ มาแชลล

99

100

เมอรเมด เอนดัวเรอร

เรือใหบริการและสนับสนุนการตรวจสอบซอมแซม กอสราง ใตน้ำโดยระบบควบคุมการดำน้ำลึก (Saturation Systems)

2553

ปานามา

95

86

ชื่อเรือ เมอรเมดคอมมานเดอร

คำอธิบาย

ความยาว หองพัก (เมตร) (จำนวนคน)

หมายเหตุ (1) เดิมคือ เมอรเมด ซัพพอรตเตอร ซึ่ง Seascape ขายใหกับ MOS ในเดือนตุลาคม 2553 และเปลี่ยนชื่อเปนบารราคูดา พรอมทั้งเปลี่ยนธงเปนอินโดนีเซีย

58

รายงานประจำป 2553


ลูกคา ลูกคาของ MOS ประกอบดวยผูผลิตและจัดหาน้ำมันและกาซธรรมชาติอิสระรายใหญ บริษัทขนสงทางทอ และบริษัทกอสรางและวิศวกรรม นอกชายฝง ระดับการบริการที่ลูกคาแตละรายตองการขึ้นอยูกับงบประมาณรายจายฝายทุนของลูกคารายนั้นในปนั้นๆ ดังนั้น ลูกคาที่สรางรายได เปนสัดสวนที่มีนัยสำคัญในปหนึ่งอาจสรางรายไดจากสัญญาเปนสัดสวนที่ไมมีนัยสำคัญในปตอๆ ไปก็ไดลูกคาอันดับแรกๆ ของธุรกิจงานวิศวกรรม โยธาใตน้ำของ MOS และสัดสวนรายไดที่ไดรับจากลูกคาดังกลาวตอรายไดรวมของธุรกิจงานวิศวกรรมโยธาใตนำ้ มีดังนี้ ป 2553 ไดแก CUEL Limited, Chevron Thailand Exploration and Production Limited, National Petroleum Construction Company, Mashhor DOF Subsea Sdn. Bhd., PTT Exploration and Production Public Co. Ltd. และ CJSC Romona ซึ่งคิดเปนรอยละ 85 ของรายได จากธุรกิจงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ MOS ประมาณวาในป 2553 MOS ไดใหบริการวิศวกรรมโยธาใตน้ำแกลูกคากวา 22 ราย โดยมีจำนวนสัญญา สัญญาที่เขาทำในตะวันออกกลาง เพิ่มขึ้นจากการที่ MOS เขาซื้อกิจการของ Subtech ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553

พนักงาน MOS จำเปนตองพึ่งพาบุคลากรที่มีคุณภาพสูง ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 MOS มีพนักงานประมาณ 488 คน (เพิ่มขึ้นจาก 337 คน ในป 2552) ซึ่งสะทอนถึงการขยายตัวของธุรกิจจากการที่ MOS ไดรับมอบเรือลำใหมซึ่งมีขนาดใหญขึ้นในป 2553

การแขงขัน การทำสัญญาในธุรกิจทางทะเลมีการแขงขันสูงมาก ในขณะที่ราคาเปนปจจัยอยางหนึ่ง แตความสามารถที่จะจัดหาเรือพิเศษ และวาจางและ รักษาบุคลากรที่มีทักษะความสามารถ รวมทั้งแสดงประวัติการมีความปลอดภัยที่ดี ก็เปนสวนที่สำคัญเชนกัน คูแขงของ MOS ไดแก Global GEO ASA, Hallin Marine Subsea International Plc. และ Sarku Engineering Services Sdn. Bhd. รวมถึงบริษัทขามชาติขนาดใหญที่เปนบริษัท ของยุโรปหรือสหรัฐอเมริกา เชน Subsea 7 Inc., Acergy S.A. และ Helix Energy Solutions Group Inc. บริษัทขามชาติเหลานี้สวนใหญเปน ผูประกอบธุรกิจทางดานงานวิศวกรรมโยธา งานจัดหา และนายหนารับเหมาโครงการ

ปจจัยบวกและลบสำหรับป 2554 - 2555 ป 2553 เปนปที่อุตสาหกรรมวิศวกรรมโยธาใตน้ำประสบความยากลำบาก เนื่องจากความผันผวนของราคาน้ำมัน ในป 2552 บริษัทน้ำมันและกาซ ธรรมชาติไดทบทวนและตัดแผนการลงทุนสำหรับป 2553 และ 2554 ในขณะเดียวกัน มีเรือตอใหมจำนวนมากที่ถูกเพิ่มเขาในกองเรือเนื่องจาก เรือที่สั่งตอในชวงป 2552 ไดสรางเสร็จ นอกจากนี้ ตลาดยังไดรับผลกระทบจากอุบัติเหตุที่บอน้ำมันมาคอนโดในอาวแม็กซิโก ซึ่งกอใหเกิดความ ไมแนนอนอยางสูงในดานขอกำหนดตามกฎระเบียบและความคาดหมายทั่วโลก สงผลโดยตรงใหสัญญางานวิศวกรรมโยธาใตน้ำจำนวนมาก ถูกชะลอหรือยกเลิก เมื่อบริษัทตางๆ ไดทำการประเมินขอบเขตและระดับของงานที่จำเปนตองปฏิบัติใหม เมื่อมองไปในอนาคต บริษัทฯ คาดวาป 2554 จะยังคงเปนปที่ยากลำบากเนื่องจากปริมาณกองเรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำยังคงมีจำนวนมากเกินไป อยางไรก็ตาม ในระยะกลางถึงระยะยาว บริษัทฯ คาดวาสถานการณสำหรับอุตสาหกรรมวิศวกรรมโยธาใตน้ำจะปรับตัวดีขึ้นเมื่อราคาน้ำมัน ที่ทรงตัวตลอดป 2553 ชวยสรางบรรยากาศการลงทุนที่ดีขึ้นสำหรับบริษัทน้ำมันและกาซธรรมชาติ สงผลใหบริษัทเหลานี้สามารถเขาลงทุน ในโครงการใหม และอนุมัติงานตรวจสอบ ซอมแซมและบำรุงรักษาสำหรับเครื่องมืออุปกรณที่มีอยู ซึ่งไดมีการยกเลิกหรือชะลอไปในระหวาง ป 2553 เปนการยากที่จะประเมินผลสืบเนื่องในระยะยาวจากเหตุการณที่บอน้ำมันมาคอนโด แตเปนที่คาดวาความตองการงานตรวจสอบ ซอมแซม และบำรุงรักษานาจะสูงขึ้น เนื่องจากหนวยงานกำกับดูแลของรัฐบาลจะกำหนดใหมีการตรวจสอบเครื่องมืออุปกรณที่มีอยูอยางละเอียดและ ถี่ขึ้น โดยรวมแลว อุตสาหกรรมกำลังเคลื่อนยายไปในพื้นที่ซึ่งแหลงน้ำมันและกาซธรรมชาติแหงใหมมีตนทุนสูงขึ้นและขุดเจาะไดยากขึ้น ในขณะ เดียวกัน เปนที่คาดวาแรงกดดันทางดานกฎระเบียบจะยังคงสูงขึ้นตอไป คาดไดวาปจจัยเหลานี้จะสงผลทั้งความตองการอยางตอเนื่องที่จะเคน เอามูลคาเชิงเศรษฐกิจ (economic value) จากเครื่องมืออุปกรณที่มีอยู และความจำเปนที่สูงขึ้นของบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำสำหรับงาน ตรวจสอบ ซอมแซมและบำรุงรักษา รวมทั้งจะชวยเพิ่มกิจกรรมการสำรวจและการผลิตในพื้นที่หางไกลของโลกซึ่งมีความทาทายยิ่งขึ้น และ มีความจำเปนตองใชบริการเพื่อชวยเหลือในงานกอสรางและวิศวกรรมโยธาใตน้ำเชนกัน จากสินทรัพยที่ไดรับมอบในป 2553 ทำใหในปจจุบันเมอรเมดมีเรือที่ทันสมัยซึ่งเปนไปตามขอกำหนดทางดานกฎระเบียบของโลกที่เครงครัดที่สุด และสามารถปฏิบัติงานไดอยางดีในสภาพแวดลอมที่มีความทาทายทางกายภาพ เชน ทะเลเหนือและซัคคาลิน เนื่องจากเมอรเมดยังคงเสริมสราง ความสามารถในเชิงเทคนิคของตนตอไปและขยับขยายออกจากพื้นที่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตไปสูตลาดใหมๆ ตลอดป 2553 บริษัทฯ จึงเชื่อวาเมอรเมดพรอมสำหรับความทาทายทั้งหลายในอนาคต

รายงานประจำป 2553

59


ธุรกิจบริการขุดเจาะ ถึงแมวาคาใชจายในการเคลื่อนยายเรือขุดเจาะ และความพรอมของเรือที่ใชในการเคลื่อนยาย เรือขุดเจาะอาจทำใหสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทานในภูมิภาคตางๆ มีความแตกตางกัน แตมีแนวโนมวาความแตกตางอยางมีนัยสำคัญนี้จะไมมีอยูตอไปในระยะยาวเนื่องจาก ความสามารถในการเคลื่อนยายไดของเรือขุดเจาะ ดังนั้นจึงนับไดวา MDL มีการดำเนินงาน อยูในตลาดเรือขุดเจาะนอกชายฝงทั่วโลกที่เสมือนเปนตลาดเดียว ในรอบหลายปที่ผานมา บริษัทน้ำมันไดใหความสำคัญกับการสำรวจไฮโดรคารบอนในเขตน้ำลึก มากยิ่งขึ้น ซึ่งเหตุผลหนึ่งในการนี้ก็คือการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีที่ทำใหการสำรวจนั้นมี ความเปนไปไดและคุมคามากยิ่งขึ้น ดวยเหตุนี้ ความสามารถในการทำงานที่ระดับน้ำลึกจึง เปนองคประกอบสำคัญในการพิจารณาวาเรือขุดเจาะมีความเหมาะสมสำหรับโครงการขุดเจาะ นั้น ๆ หรือไม โดยทั่วไป MDL จะถือวาสวนของตลาดระดับน้ำลึก (deepwater) คือสวนซึ่ง เริ่มตนที่ระดับน้ำลึกประมาณ 4,500 ฟุต และขยายไปจนถึงระดับน้ำลึกที่สุดเทาที่เรือขุดเจาะ จะสามารถทำการขุดเจาะได ซึ่งปจจุบันคือที่ระดับน้ำลึก 12,000 ฟุต และสวนของตลาด ระดับน้ำปานกลาง (midwater) คือสวนที่มีระดับน้ำลึกประมาณ 300 ฟุตถึง 4,500 ฟุต สวนของตลาดเรือขุดเจาะแบบ Tender และ Jack-up ทั่วโลกจะครอบคลุมถึงระดับน้ำลึก 400 ฟุต สวนนี้ไดรับการพัฒนามากกวาสวนของตลาดระดับน้ำลึกอยางมีนัยสำคัญ เนื่องจาก ระดับน้ำที่ตื้นกวาของสวนนี้ทำใหเรือสามารถเขาถึงไดมากกวาสวนของตลาดที่มีระดับน้ำลึกกวา ตลาดสำหรับบริการเรือขุดเจาะ (ทั้งแบบ Semis, Drillships และ JUs) ในเอเชียกำลังเปนที่ ทาทาย เนื่องจากเรือขุดเจาะจำนวนมากไดดำเนินงานตามสัญญาเสร็จสิ้นไปแลวในปนี้ มีเรือขุดเจาะจำนวน 11 ลำ ที่พรอมใหบริการ (hot stacked) และจำนวน 35 ลำที่ไมมีสัญญา อยางไรก็ตาม ภาพรวมสำหรับป 2554 และ 2555 ดีสำหรับเรือขุดเจาะแบบ JUs และ Drillships ที่มีคุณภาพสูง เนื่องจากอัตราคาเชาและอัตราการใชประโยชนไดฟนตัวแลวจากสาเหตุบาง ประการ กลาวคือ อัตราคาเชาตอวันทั่วโลกสำหรับตลาดเรือขุดเจาะระหวางประเทศในขณะนี้มี ความมั่นคงอยูที่ประมาณ 110,000 – 125,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันสำหรับเรือขุดเจาะ แบบ Jack-ups ที่ทันสมัยและมีสมรรถนะสูง อัตราการใชประโยชนสำหรับตลาดเดียวกันได เพิ่มขึ้นจากรอยละ 81 ในฤดูรอนที่ผานมา เปนรอยละเกิน 90 อยางไรก็ตาม ตัวเลขอัตราการใช ประโยชนที่สูงขึ้นนี้ไดรับแรงกระตุนจากอุปสงคที่เพิ่มขึ้น มิใชจากอุปทานที่ลดลง โดยมีสาเหตุ หลักมาจากการใชจายดานการสำรวจและการผลิตที่สูงขึ้น และการกลับเขาตลาดของบริษัท น้ำมันอิสระรายเล็กเนื่องจากการที่ตนทุนการจัดหาเงินทุนไดลดลง อีกทั้งการที่ ICOs และ NOCs มีกิจกรรมเพิ่มขึ้น ตลาดเรือขุดเจาะแบบ Jack-up ระหวางประเทศมีลักษณะแปลกคือ เรือขุดเจาะจำนวนมาก ไดสรางขึ้นในยุค 70 และ 80 ซึ่งเปนชวงรุงเรืองของการสั่งตอเรือ ดังนั้น เรือขุดเจาะจำนวนมาก จึงมีอายุมากกวา 25 ป ขอมูลอายุที่ลักลั่นกันนี้เปนผลดีตอเจาของเรือขุดเจาะตอใหม เนื่องจาก เรือขุดเจาะลำเกาที่จอดนิ่งและตองการการซอมแซมหรือบำรุงรักษา (cold stacked) หรือที่ อยูในอูเรือ อาจไมไดกลับเขามาในตลาดโดยไดรับอัตราคาเชาตอวัน ณ ปจจุบันอีก ซึ่งเปน การลดอุปทานสวนเกินในตลาดดวย

60

รายงานประจำป 2553


No. of units

‘10-’12

70 60 50 40 30 20 10 1969 JUs

1974

1979

Drillships

1984

1989

1994

Ultra deep>74500

1999

2004

7500>Deep>3000

2009 Semis

แผนภูมิ 23 : แนวโนมของกองเรือขุดเจาะ

ที่มา : Pareto Research, CDS-Petrodata

ตลาด “เรือขุดเจาะทองแบน” ระหวางประเทศ : เรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible และ Drillship ตลาดเรือขุดเจาะทองแบน (เรือทองแบน) ระหวางประเทศ สามารถแบงออกเปนเรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible และ Drillship เรือขุดเจาะ แบบ Semis และ Drillship ปฏิบัติงานอยูในสภาพระดับน้ำตื้น ระดับน้ำปานกลาง ระดับน้ำลึกและระดับน้ำลึกมาก (โปรดดูคำอธิบายสำหรับเรือ ขุดเจาะในทุกสภาพทางทะเลในสวน “แบบของเรือขุดเจาะ” ในหนาถัดๆ ไป) ณ เดือนกุมภาพันธ 2553 มีเรือขุดเจาะอยูประมาณ 233 ลำ ประกอบดวยเรือขุดเจาะแบบ Semis 186 ลำ และแบบ Drillship 48 ลำ ตารางดังตอไปนี้แสดงภาพรวมของกองเรือขุดเจาะทั่วโลก ตาราง 16 : ภาพรวมกองเรือขุดเจาะทั่วโลก กองเรือขุดเจาะ กองเรือขุดเจาะปจจุบัน Contracted free 2010 Contracted free 2011 Contracted free later En route / Yard Hot / Warm stacked Cold stacked รวมกองเรือขุดเจาะปจจุบัน เรือขุดเจาะสั่งตอใหม Contracted newbuilds Uncontracted newbuilds 2010 Uncontracted newbuilds later รวมเรือขุดเจาะสั่งตอใหม รวมกองเรือขุดเจาะ

ระดับน้ำปานกลาง

ระดับน้ำลึก

ระดับน้ำลึกมาก

34 20 37 0 10 12 113

11 16 28 2 1 1 59

1 12 42 6 0 0 61

5

3

38

1

0

6

1 7

0 3

24 68

120

62

129

ที่มา : Pareto Research, CDS-Petrodata

ในเอเชีย ตลาดถูกครองโดยเรือขุดเจาะระดับน้ำตื้นและระดับน้ำปานกลาง เรือขุดเจาะระดับน้ำปานกลางบางลำสามารถทำงานในบางพื้นที่เทานั้น เนื่องจากขนาดและคุณภาพของเรือ อยางไรก็ตาม กิจกรรมที่ระดับน้ำปานกลาง ระดับน้ำลึกและระดับน้ำลึกมากไดปรับตัวดีขึ้นตลอดป ตัวอยางเชน อัตราการใชประโยชนที่ระดับน้ำปานกลางในรอบหลายเดือนที่ผานมาอยูในระดับคงที่คือรอยละ 88 ราคาน้ำมันที่มีความแนนอน สูงขึ้น ปจจัยตางๆ กลาวคือ กิจกรรมของบริษัทน้ำมันที่ขยายตัวมากขึ้น และความพรอมของเรือขุดเจาะลำใหม ใหโอกาสที่ดีแกผูประกอบการ ของเอเชียในระยะกลาง ในสวนของเรือขุดเจาะแบบ JUs กองเรือขุดเจาะใหมที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัวสูงจะไดรับสัญญาเร็วกวากองเรือที่มี อายุมาก เมื่ออัตราการใชประโยชนปรับสูงขึ้น ตลาดจะเคลื่อนเขาสูวัฎจักรการตอเรืออีกครั้ง รายงานประจำป 2553

61


ตลาดบริการการขุดเจาะเปนตลาดวัฎจักรและมีความผันผวน เริ่มจากการสำรวจที่มีความผันผวนสูงสูตลาดการบริการผลิตน้ำมันและกาซ ธรรมชาติที่มีเสถียรภาพมากกวา Barge Plattorm Tender rig

Jack-up

Tender rig

Semisub moored

Semisub DP

Drilling DP

แบบของเรือขุดเจาะ เรือขุดเจาะแบบ Tender เรือขุดเจาะชนิดนี้มีรูปรางเปนเรือทองแบน สามารถผูกยึดกับแทนขุดเจาะได บนเรือประกอบดวยหองพักอาศัยสำหรับลูกเรือ ถังเก็บโคลน ปมสำหรับสูบถายโคลนที่ใชประกอบการปฏิบัติงานขณะขุดเจาะ และเครื่องผลิตกระแสไฟฟา อุปกรณที่ใชในการขุดเจาะพรอมอยูบนเรือ โดยมีปนจั่นที่สามารถยกแมแรงบนแทนขุดเจาะ จึงไมจำเปนตองอาศัยเรือแมแรงและอุปกรณอื่น เรือขุดเจาะแบบ Tender นี้ไดถูกพัฒนาสำหรับการผลิตจากกลางแทนขุดเจาะซึ่งใหบริการสำหรับบอขุดเจาะน้ำมันขนาดเล็ก เรือขุดเจาะชนิดนี้จะ เคลื่อนยายไปปฏิบัติงานตามแทนขุดเจาะไดโดยมีชุดอุปกรณขุดเจาะพรอมบนเรือ โดยปกติแลว เรือเจาะแบบทองแบนนั้น มีขนาดยาว 300 ฟุต กวาง 80 ฟุต มีระวางบรรทุกประมาณ 4,500 ตัน และสามารถใชไดในระดับความลึกที่บริเวณ 30 - 400 ฟุต เรือเจาะทองแบนนี้ยังสามารถผูกยึด ไดในที่ความลึกถึง 6,500 ฟุตโดยการใชที่ผูกยึดที่เตรียมไว มีที่พักใหลูกเรือไดมากกวา 100 คน นอกจากนี้ เรือขุดเจาะแบบ Tender มีอุปสงคในกลุมตลาดเฉพาะที่เรือขุดเจาะแบบ jack-up ไมสามารถเขาถึงได เชน ในพื้นที่ที่มีความหนาแนน ใตทะเลที่ขาตั้งของเรือขุดเจาะแบบ jack-up ไมสามารถหยั่งลงไปได พื้นที่ที่มีความลึกของชั้นดินที่ออนหรือโคลนซึ่งทำใหขาตั้งของเรือขุดเจาะชนิด jack-up ไมสามารถวางฐานที่มั่นคงได หรือยายออกเมื่อเสร็จงาน หรือพื้นที่ที่เปนน้ำลึกนอกเหนือจากความสามารถของการเจาะขาหยั่งของเรือขุด เจาะแบบ jack-up ในขณะที่เรือขุดเจาะแบบ tender สามารถทำไดดวยการผูกยึดกับแทนขุดเจาะไวกอน แมกระนั้นก็ตาม อัตราคาเชาเรือขุดเจาะ แบบ Tender มักจะตามตลาดขุดเจาะแบบ jack-up เนื่องจากทั้งสองตลาดนี้ถูกขับเคลื่อนดวยวัฎจักรในอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาติ

เรือขุดเจาะแบบ Jack-up เรือขุดเจาะแบบ Jack-up สามารถเคลื่อนยายไดตามพื้นที่ที่ตองปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานขุดเจาะไดจากตัวเรือโดยตรง ประกอบไปดวย ขา 3 ขา ที่ยืนอยูบนพื้นทองทะเลเพื่อใชยกตัวเรือใหลอยสูงจากระดับน้ำทะเลขณะปฏิบัติการขุดเจาะ และเมื่อตองการยายตำแหนงในการปฏิบัติงาน จะกระทำไดโดยลดระดับเรือใหลอยอยูบนน้ำทะเล แลวทำการเคลื่อนยายตัวเรือไปยังตำแหนงที่ตองการโดยอาศัยเรือที่ใชสงกำลังบำรุงลากไป เรือขุดเจาะแบบ Jack-up รุนใหมมีคานสำหรับไวเคลื่อนยายอุปกรณขุดเจาะตามตำแหนงทอตางๆ บนหลุมที่จะทำการขุดเจาะ โดยไมตองยายการ ติดตั้งอุปกรณขุดเจาะหรือตัวเรือ เรือขุดเจาะแบบ Ultra Premium Jack-up มีขีดความสามารถปฏิบัติงานไดในที่น้ำทะเลลึกมากกวา 300 ฟุต

เรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible เรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible เปนแทนขุดเจาะที่ลอยอยูเหนือน้ำมีระบบปรับระดับกินน้ำลึกของเรือเพื่อใชปฏิบัติการที่ระดับความลึกของ น้ำทะเลตางๆ ไดโดยใชถังถวงน้ำอับเฉาในการปรับแตง และเพื่อเปนการชวยลดผลกระทบจากสภาวะตางๆ ในทะเล (คลื่น ลม และกระแสน้ำ) และชวยการทรงตัวของเรือใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible สามารถติดตรึงอยูกับที่ขณะปฏิบัติงานขุดเจาะโดยใช การทิ้งสมอหลายๆ ตัวเพื่อยึดตัวเรือ หรือระบบคอมพิวเตอรปรับแตงตำแหนงเรือผานสัญญาณดาวเทียม (Dynamic Positioning) เรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible บางรุนมีเครื่องจักรที่ใชในการขับเคลื่อนตัวเองไปยังตำแหนงใหมได ถึงแมวาเรือขุดเจาะสวนใหญตองอาศัยเรือสงกำลัง บำรุงในการลากจูง 62

รายงานประจำป 2553


เรือขุดเจาะแบบ Drillships เรือขุดเจาะแบบ Drillships เปนเรือที่มีเครื่องจักรเคลื่อนตัวเอง รูปรางคลายเรือบรรทุกสินคาทั่วไป สามารถเคลื่อนยายไปปฏิบัติงานในพื้นที่ตางๆ ไดมากกวาเรือขุดเจาะชนิดอื่นๆ การปฏิบัติงานขุดเจาะจะดำเนินการโดยผานจากชองใตทองเรือที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ (“moon pools”) เรือแบบ Drillships จะมีขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและบรรทุกน้ำหนักไดมากกวาเรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible rigs และเหมาะ สำหรับการขุดเจาะนอกชายฝงในและพื้นที่หางไกล เนื่องจากความสามารถในการบรรทุกน้ำหนักไดมากกวาและความสามารถในการเคลื่อนยาย การตรึงตัวเรือขณะปฏิบัติงานขุดเจาะใชวิธีการทิ้งสมอหลายตัว หรือระบบคอมพิวเตอรปรับแตงตำบลที่เชื่อมอัตโนมัติผานสัญญาณดาวเทียม เฉกเชนเดียวกันกับเรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible นอกจากนี้ เรือขุดเจาะแบบ Tender มีอุปสงคเฉพาะกลุมในพื้นที่ที่เรือ Jack-up ไมสามารถทำได เชน พื้นที่ที่ถูกจำกัดโดยความหนาแนนใตน้ำ ซึ่งทำใหไมปลอดภัยที่จะหยั่งขาแทนเจาะลงไป พื้นที่ที่มีชั้นดินออนหรือชั้นโคลนหนา ทำใหเปนการยากที่เรือขุดเจาะจะสามารถหาฐานที่ตั้งซึ่ง มีความมั่นคง หรือถอนขาแทนเจาะเมื่อดำเนินงานเสร็จ หรือพื้นที่ที่มีระดับน้ำลึกเกินความสามารถที่ขาแทนเจาะของเรือจะหยั่งถึง แตเรือขุดเจาะ แบบ Tender สามารถเขาถึงไดโดยการใชที่ผูกยึดที่เตรียมไว อยางไรก็ตาม อัตราคาเชาตอวันในตลาดเรือขุดเจาะแบบ Tender โดยทั่วไป มักจะตามตลาดเรือขุดเจาะแบบ Jack-up เนื่องจากวัฎจักรของทั้งสองตลาดถูกผลักดันโดยวงจรของอุตสาหกรรมของน้ำมันและกาซธรรมชาติ

ขอมูลธุรกิจ MDL เปนผูใหบริการรับจางดำเนินงานขุดเจาะหลุมน้ำมันและกาซธรรมชาตินอกชายฝงระหวางประเทศ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 MDL เปนผูถือกรรมสิทธิ์สวนใหญในเรือขุดเจาะแบบ Tender (tender assist drilling units) จำนวน 2 ลำ ธุรกิจหลักของ MDL คือการรับจางใหบริการ เรือขุดเจาะและอุปกรณที่เกี่ยวของ รวมทั้งจัดหาแรงงานซึ่งคิดคาจางแบบรายวันเปนหลัก เพื่อการขุดเจาะหลุมน้ำมันและกาซธรรมชาติ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 กองเรือขุดเจาะของ MDL ปฏิบัติอยูในเอเชียตะวันออกเฉียงใตและตะวันออกกลาง

ผลประกอบการในรอบป 2553 ธุรกิจบริการการขุดเจาะมีรายได 1,123.3 ลานบาท ลดลงรอยละ 49.64 เทียบกับป 2552 และมีผลขาดทุนสุทธิ 107.3 ลานบาท ลดลงรอยละ 117.6 เทียบกับป 2552 ผลขาดทุนนี้รวมขาดทุนจำนวน 80.9 ลานบาทจากการขายเรือขุดเจาะ เคเอ็ม-1

การบริหารจัดการกองเรือ ความปลอดภัย และการบำรุงรักษาเรือ ปจจุบัน MDL ปฏิบัติการเรือขุดเจาะแบบ Tender (tender-assisted drilling rig) ซึ่งมีความเหมาะสมตองานขุดเจาะเพื่อการผลิตน้ำมันและกาซ ธรรมชาติ (production drilling) ที่ระดับน้ำตื้นและสภาวะที่สงบ เรือขุดเจาะของ MDL เปนแบบเคลื่อนยายได และสามารถยายไปยังพื้นที่ใหม ตามความตองการของลูกคา เรือขุดเจาะของ MDL ไดรับการออกแบบใหสามารถทำงานนอกทาเรือเปนระยะเวลานาน และสวนใหญจะมี หองพักอาศัยสำหรับลูกเรือ ลานจอดเฮลิคอปเตอร และพื้นที่จัดเก็บสำหรับทอและอุปกรณที่ใชในการขุดเจาะ ตาราง 17 : รายชื่อกองเรือขุดเจาะ ชื่อเรือ ปที่สราง/ปที่มี การปรับปรุงลาสุด เอ็มทีอาร-1 เอ็มทีอาร-2

2521/2541 2524/2540/2550

สมาคมจัดอันดับ ชั้นเรือ

ความลึกใตทะเล (เมตร)

ความลึกที่ขุดได (เมตร) กานเจาะ 5 นิ้ว

ขนาดบรรทุก

ABS BV

100 100

6,100 3,350

112 คน 115 คน

ที่มา : TTA

เรือขุดเจาะของ MDL เปนเรือขุดเจาะที่ซื้อมาจากตลาดมือสองในเดือนเมษายนและกรกฏาคม ป 2548 ตามลำดับ เรือขุดเจาะทั้ง 2 ลำ จดทะเบียน เปนเรือสัญชาติไทย โดยมีบริษัทยอยของ บริษัท เมอรเมด ดริลลิ่งค จำกัด คือ บริษัท เอ็มทีอาร-1 จำกัด (“เอ็มทีอาร-1”) และบริษัท เอ็มทีอาร-2 จำกัด (“เอ็มทีอาร-2”) เปนเจาของเรือ เรือขุดเจาะเอ็มทีอาร-1 สรางขึ้นในป 2521 และไดรับการซอมบำรุงในป 2541 และ 2549 สามารถอยู ในระดับน้ำลึกไดถึง 100 เมตร และสามารถเจาะลึกลงไปในความลึกถึง 6,100 เมตร ของผิวดิน และบรรทุกคนไดถึง 112 คน เรือขุดเจาะ เอ็มทีอาร-2 สรางขึ้นในป 2524 และไดรับการซอมบำรุงในป 2540 สามารถอยูในระดับน้ำลึกไดถึง 100 เมตร และสามารถเจาะลึกลงไปใน ความลึกถึง 3,350 เมตร ของผิวดิน และบรรทุกคนไดถึง 115 คน

รายงานประจำป 2553

63


เรือขุดเจาะทั้งสองลำไดรับการจัดอันดับชั้นจากสมาคมจัดอันดับชั้นเรือที่มีชื่อเสียง โดยจัดลำดับจากมาตรฐานของการปฏิบัติงานและความ ปลอดภัย เรือขุดเจาะทั้งสองลำดังกลาวไดถูกจัดลำดับโดยสมาคมจัดชั้นเรือนานาชาติ อาทิ Det Norske Veritas (“DNV”), American Bureau of Shipping (“ABS”) หรือ Bureau Veritas (“BV”) โดยเรือขุดเจาะเอ็มทีอาร-1 ถูกจัดลำดับชั้นโดย ABS และเรือขุดเจาะเอ็มทีอาร-2 ถูกจัดลำดับ ชั้นโดย BV สมาคมจัดชั้นเรือดังกลาวจะเขามาตรวจสภาพเรือทุกป เรือขุดเจาะทั้ง 2 ลำ เขาอูแหงทุกๆ 5 ป และไดรับการตรวจสภาพแบบพิเศษจาก สมาคมจัดอันดับชั้นเรือตางๆ ดังกลาว

บริการของกองเรือ สัญญาใหบริการขุดเจาะนอกชายฝงของ MDL จะมีการเจรจาตอรองเปนรายๆ ไป และมีเงื่อนไขและขอกำหนดที่แตกตางกัน MDL ไดรับสัญญา มาจากการประมูลแขงขันกับผูรับจางรายอื่นๆ เปนสวนใหญ สัญญาวาจางในการขุดเจาะจะกำหนดเงื่อนไขการชำระเงินเปนอัตรารายวัน โดยใชอัตราที่สูงกวาในชวงที่เรือขุดเจาะปฏิบัติงาน และอัตราที่ต่ำลงในชวงของการเตรียมการหรือเมื่อการปฏิบัติงานขุดเจาะหยุดชะงักหรือ ถูกจำกัดเนื่องจากความเสียหายของอุปกรณ สภาพอากาศที่รายแรง หรือสภาพอื่นๆ ซึ่งอยูนอกเหนือการควบคุมของ MDL สัญญาวาจางในการขุดเจาะไดรับมาจากการประมูลหรือจากการเจรจา ระยะเวลาของสัญญาก็แตกตางกันขึ้นอยูกับพื้นที่ทางภูมิศาสตร สภาพธรณีวิทยาที่จะตองขุดเจาะ อุปกรณและการบริการ สภาพพื้นที่ที่จะขุดเจาะ และระยะเวลาการทำงานที่คาดวาจะแลวเสร็จ สัญญาใหบริการขุดเจาะซึ่งใชอัตราคาบริการรายวันมักมีระยะเวลาที่ครอบคลุมชวงเวลาของงานขุดเจาะสำหรับหลุมเดี่ยวหรือหลุมที่เปนกลุม หรือมีระยะเวลาตามที่กำหนด สำหรับสัญญาบางฉบับที่ MDL เขาทำกับลูกคา ลูกคาสามารถขอใชสิทธิบอกเลิกไดโดยชำระคาปรับในการบอกเลิก สัญญากอนกำหนด อยางไรก็ตาม คาปรับในการบอกสัญญากอนกำหนดดังกลาวอาจจะไมสามารถชดเชยสำหรับการสูญเสียสัญญาใหแก MDL ไดทั้งหมด ตามธรรมเนียมปฏิบัติ สัญญาจะรวมขอกำหนดการบอกเลิกสัญญาโดยอัตโนมัติหรือการใชสทิ ธิบอกเลิกสัญญาโดยลูกคา โดยไมตองชำระคาปรับในการบอกเลิกสัญญากอนกำหนดในกรณีตางๆ อาทิ การไมปฏิบัติตามสัญญา การที่เครื่องจักรไมสามารถทำงานได หรือความบกพรองในการปฏิบัติงานอันเนื่องจากอุปกรณ หรือปญหาเกี่ยวกับการดำเนินงาน หรือเมื่อเครื่องจักรไมสามารถทำงานไดเปนระยะ เวลานานเนื่องจากเหตุสุดวิสัย ซึ่งกรณีตาง ๆ เหลานี้สวนใหญอยูนอกเหนือการควบคุมของ MDL นอกจากนี้ ในบางครั้งลูกคาอาจขอใชสิทธิขยาย ระยะเวลาของสัญญาออกไปเพื่อทำการขุดเจาะหลุมเพิ่มเติม หรืออาจขอขยายระยะเวลาของสัญญาออกไปอีกระยะหนึ่ง ในบางภูมิภาคของโลก มีธรรมเนียมและวิธีปฏิบัติในทองถิ่นหรือขอกำหนดของรัฐบาลซึ่งกำหนดใหตอ งจัดตั้งกิจการรวมคาขึ้นรวมกับผูประกอบ การในทองถิ่นซึ่ง MDL อาจมีอำนาจควบคุมไดหรือไมมีอำนาจควบคุม

ลูกคา MDL ดำเนินงานขุดเจาะนอกชายฝงใหแกบริษัทน้ำมันระหวางประเทศชั้นนำหลายบริษัท รวมทั้งบริษัทน้ำมันซึ่งอยูในความควบคุมของรัฐบาลและ บริษัทน้ำมันอิสระ ในรอบบัญชี 2553 ลูกคารายสำคัญเพียงรายเดียวของ MDL คือ Chevron Indonesia Company มีสวนแบงรายไดใหกับ MDL คิดเปนกวารอยละ 95 ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 เรือขุดเจาะเอ็มทีอาร-1 ไมไดอยูภายใตสัญญาแตมีความพรอมที่จะใหบริการ (warm stacked) เปนเรือชนิด Accommodation Work Barge ภายหลังจากที่หมดอายุสัญญาซึ่งทำไวกับ Cudd Pressure Control Inc. สวนเรือขุดเจาะ เอ็มทีอาร-2 จะยังคงปฏิบัติงานตามสัญญาที่ทำไวกับ Chevron Indonesia Company ตอไปจนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554

พนักงาน MDL ตองการบุคลากรซึ่งมีทักษะความสามารถสูงเพื่อการปฏิบัติงานเรือขุดเจาะ ดังนั้น MDL จึงไดดำเนินโครงการจัดหาและฝกอบรมบุคคลากร และโครงการเพื่อความปลอดภัยของบุคลากรอยางครอบคลุม ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 MDL มีพนักงาน 178 คน

คูแขง คูแขงรายสำคัญของ MDL คือบริษัทผูใหบริการขุดเจาะนอกชายฝงทั่วโลกหรือในภูมิภาค ซึ่งรวมถึง SeaDrill Limited และ Global Tender Barges ในการพิจารณาคัดเลือกผูรับจางซึ่งมีเรือขุดเจาะที่เหมาะสมเพื่อเขาปฏิบัติงาน ราคามักเปนปจจัยหลัก นอกจากนี้ ยังมีปจจัยในการแขงขันอื่นๆ อีก ไดแก ความพรอมของเรือขุดเจาะ ประวัติความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ชื่อเสียงทางดานคุณภาพ ประสบการณของลูกเรือ และสภาพของ อุปกรณและประสิทธิภาพ

64

รายงานประจำป 2553


ตารางดานลางนี้แสดงถึงบริษัทผูเปนเจาของเรือขุดเจาะ ตาราง 18 : ตลาดเรือขุดเจาะ ชื่อบริษัทที่เปนเจาของเรือ SeaDrill Ltd. KCA Deutag Mermaid Drilling Ltd.

จำนวนเรือที่เปนเจาของ 14 7 2

Global Tender Barges PDVSA Others รวม

3 2 0 28

จำนวนเรือที่กำลังสราง 3 0 1 0 0 3 7

รวม 17 7 3 3 2 3 35

ที่มา : Fearnleys

ปจจัยบวกและลบสำหรับป 2554 - 2555 ในขณะที่ผูประกอบการจำนวนมากของโลกเนนที่ตลาดบริการการขุดเจาะที่ระดับน้ำลึก แตตลาดนี้ตองการใชเงินลงทุนจำนวนมาก และ ถูกครองโดยลูกคารายใหญเพียงไมกี่ราย ซึ่งลูกคารายสำคัญที่สุดคือ Petrobas ดวยขนาดของเมอรเมด ปจจุบัน จึงยังไมมีความเหมาะสม ที่บริษัทฯ จะเขาลงทุนในเรือขุดเจาะสำหรับตลาดนี้ อยางไรก็ตาม ยังมีโอกาสที่นาสนใจอื่นๆ อีกมากในตลาดบริการการขุดเจาะนอกชายฝงสำหรับเรือขุดเจาะที่ใหมและทันสมัย เนื่องจากลูกคา กำลังมองหาเรือขุดเจาะที่มีความเร็ว ความปลอดภัย ความคลองตัว และความสามารถสูงกวากันมากขึ้น เพื่อตอบสนองความตองการของตน ดังนั้น บริษัทฯ จึงพบบอยขึ้นวาลูกคาไดกำหนดขอจำกัดเกี่ยวกับอายุของเรือขุดเจาะซึ่งสามารถเขาประมูลได และถึงแมวาจะไมมีขอกำหนด ในเรื่องนี้ แตจะมีเพียงเรือขุดเจาะที่ทันสมัยเทานั้นซึ่งสามารถเปนไปตามขอกำหนดเฉพาะทางเทคนิคที่ลูกคากำหนดได เปนที่เห็นไดอยางชัดเจนในตลาดเรือขุดเจาะแบบ Jack-up วาอัตราคาเชาและอัตราการใชประโยชนของเรือขุดเจาะแบบ Jack-up ที่มีอายุมาก ไดลดลงและจะยังคงลดลงตอไปอีก ในขณะที่เรือขุดเจาะแบบ Jack-up ซึ่งใหมและทันสมัยจะมีอัตราคาเชาและอัตราการใชประโยชนที่สูง การลงทุนของเมอรเมดใน AOD และเรือขุดเจาะแบบ Jack-up ที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัวสูงและทันสมัยจึงเปนกาวที่สำคัญไปสูการตอบสนอง ความตองการที่สูงขึ้นของลูกคา และบริษัทฯ เชื่อมั่นวาบริษัทฯ จะประสบความสำเร็จในการจัดหาสัญญาระยะยาวซึ่งมีความนาสนใจสำหรับ เรือขุดเจาะเหลานี้กอนที่จะมีการสงมอบเรือ

ธุรกิจเหมืองถานหิน ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552 บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้ง พีทีอี แอลทีดี ไดเขาซื้อหุนรอยละ 21.18 ของเมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี (“เมอรตัน”) ซึ่งเปนกลุมการลงทุนที่มีฐานในประเทศฮองกง เพื่อพัฒนาสินทรัพยที่เปนถานหินในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟค เมอรตันไดรวมลงทุนกับ SKI Construction Group, Inc. ในประเทศฟลิปปนสเพื่อจัดตั้งกิจการรวมคาที่มีชื่อวา SKI Energy Resources Inc. (“SERI”) SERI มีพื้นที่สัมปทาน เหมืองมากกวา 12,500 เฮกตารในเซบู ประเทศฟลิปปนส เหมืองแหงแรกของ SERI อยูที่ดาเนา (Danao) ซึ่งอยูใน Cebu เชนกัน สามารถ ผลิตถานหินไดเปนครั้งแรกในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 และเริ่มทำการขายถานหินครั้งแรกในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 ที่เหมืองดาเนา SERI มีสัญญาซื้อขายถานหินใหกับ Glencore AG ตราบใดที่เหมืองมีถานหินที่ขุดได (offtake agreement) และ SERI ก็ยังคงสำรวจและขุดเจาะ เพื่อหาความเปนไปไดในเหมืองแหงใหมตอไป ในขณะเดียวกัน เมอรตันและ SERI กำลังขอสัมปทานทั้งในประเทศฟลิปปนสและที่อื่นๆ ในภูมิภาค เมื่อบริษัทฯ ไดดำเนินการลงทุนในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับถานหินผานการลงทุนในเมอรตันนั้น กลุมบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) มีการขนสงถานหินเปนจำนวนมากอยูแลว และเห็นวาตลาดถานหินจะไปสูระดับที่แข็งแกรง ตลอดชวง 12 ถึง 18 เดือนที่ผานมา ตลาดถานหินมี ความแข็งแกรงเปนไปตามความคาดหมาย ความตองการถานหินจึงนาจะสดใสตลอดหลายปขางหนานี้ ดังจะเห็นไดจากรายงานการวิเคราะห สถานการณตลาดถานหินทั่วโลกในมุมมองของอุปสงคและอุปทานที่จะไดกลาวถึงตอจากนี้

รายงานประจำป 2553

65


ภาพรวมของถานหินประเภทใหความรอน (Thermal Coal) การเปลี่ยนแปลงอยางมากในทิศทางของสินคากอใหเกิดรูปแบบการกำหนดราคาที่ไมปกติ ตลาดถานหินประเภทใหความรอนที่ขนสงโดยเรือเดินทะเลของโลกเผชิญการเปลี่ยนแปลงอยางมากในดานทิศทางของการนำเขาและการสงออก ในรอบ 18 เดือนที่ผานมา จีนซึ่งเคยอยูในระดับกลางๆ ในดานการนำเขาสุทธิในป 2551 ไดกลายเปนผูนำเขาสุทธิรายใหญในป 2552 กระบวนการ นี้ยังคงดำเนินอยูในตนป 2553 แอฟริกาใตซึ่งแตเดิมนั้น สินคาสงออกสวนใหญจะเคลื่อนยายเขาสูภูมิภาคแอตแลนติก ในปจจุบัน พบวามีสินคา สงออกเปนจำนวนถึงรอยละ 75 ที่มุงหนาสูอินเดียและภูมิภาคแปซิฟค แมกระทั่งโคลอมเบียยังไดเริ่มการนำเขาไปยังภูมิภาคแปซิฟค ซึ่งทำใหตลาดดั้งเดิมของตนออนแอ แผนภูมิ 24 ทิศทางการคาถานหินประเภทใหความรอนไดเคลื่อนเขาสูภูมิภาคแปซิฟคมากขึ้น

36mt

Russia 84mt

9mt

W Europe 106mt

USA USA 19mt

11mt

12mt

E Europe 33mt

27mt

8mt

China 18/102mt

32mt

India

15mt

75mt Colombia

15mt

55mt

255mt Vietnam 18mt

112mt

105mt

69mt

10mt

45mt

26mt

Indonesia 285mt

S Africa Major exporter

Japan, Korea, Taiwan

Australia

66mt

138mt

Major importer China imports/exports 10mt into North Asia

ที่มา: GTIS, Macquarie Research, มิถุนายน 2553

110

110

100

100

90

90

80

80

70

70

60

60

50 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar Apr May Jun 09 09 09 09 09 09 09 09 09 09 09 09 10 10 10 10 10 10 Thermal coal prices FOB Newcastle FOB South Africa Delivered Europe

50

ที่มา: McClosky, globalCOAL, Macquarie Research, มิถุนายน 2553

66

รายงานประจำป 2553

Month ahead forward price (USD/t)

Month ahead forward price (USD/t)

การปรับเปลี่ยนรูปรางของการคาโลกไดนำไปสูรูปแบบการกำหนดราคาที่ไมปกติบางอยาง ราคาสำหรับการสงมอบในยุโรป (API#2) ในตอน เริ่มตนของป ออนตัวลงเปนอยางมาก โดยสัมพันธกับที่อื่นๆ ราคาเหลานี้ไดออนตัวลงจนกระทั่งต่ำกวาราคาเอฟโอบี ริชารดส เบย ซึ่งแสดงถึง ปริมาณสินคาติดลบ ความแตกตางของราคาเหลานี้ไดเรงการผลักดันถานหินจากภูมิภาคแอตแลนติกไปยังภูมิภาคแปซิฟค

แผนภูภมิมิ 25 : จนก จนกระทั่งเมื่อเร็วๆ นี้ ราคาสงมอบ ยุโรปไดออนตัวลงคอนขางมาก


การตกลงสัญญาของญี่ปุนที่ 98 ดอลลารสหรัฐอเมริกา คือจุดเริ่มตนของความสมดุลของอุปสงค-อุปทานที่เขาใกลกัน ในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางมากในตลาดการขนสงทางทะเล แนวโนมนับตั้งแตเดือนมีนาคมมีการปรับตัวขึ้นโดยทั่วไป สัญญาที่ใชป การเงินของญี่ปุนซึ่งทำกับ JPUs มีการตกลงที่ราคาสูงกวาระดับที่คาดหมาย คือ 98 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตัน โดยราคา spot มีการเคลื่อนไหว โดยทั่วไปที่สอดคลองกับเหตุการณที่นาแปลกใจนี้ มีเหตุผลที่ดีที่จะเชื่อไดวาราคาถานหินประเภทใหความรอนจะยังคงสูงขึ้นตอไปเมื่อเคลื่อนเขาสูป 2554 และปตอๆ ไป นักวิเคราะหไดปรับราคา เงินเยนขึ้นเปน 105 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตันในป 2554 และ 100 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตันในป 2555 และที่เฉลี่ย 90 ดอลลารสหรัฐอเมริกา ตอตันเมื่อเคลื่อนเขาสูป 2558 นอกจากนี้ นักวิเคราะหไดปรับสมมุติฐานราคาระยะยาวจาก 75 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตัน เปน 80 ดอลลาร สหรัฐอเมริกาตอตัน ตามเงื่อนไขราคาดอลลารสหรัฐอเมริกาของป 2553 เปรียบเทียบกับ 95 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตัน ตามเงื่อนไขราคา ดอลารสหรัฐอเมริกา ณ ปจจุบัน

นักวิเคราะหคาดวายุโรปจะมีความมั่นคง มีปจจัยหลายอยางที่ทำใหนักวิเคราะหมั่นใจกับโอกาสในระยะใกล ถึงแมวาจะมีความกังวลทางดานเศรษฐกิจที่รบกวนตลาดอยูในขณะนี้ ปจจัย อยางแรกคือ เปนที่ปรากฏวาอุปสงคในยุโรปจะมีความมั่นคง โดยราคา API#2 ไดปรับตัวขึ้นอยางมากตลอดเดือนที่ผานมา ซึ่งอาจเปนการสะทอน ในบางสวนถึงการเก็งราคาถานหินของธนาคารเพื่อการลงทุนของสหรัฐอเมริกาที่ในเวลานี้ไดไปผิดทิศทางแลว แตขอมูลการนำเขาที่เร็วสำหรับ ยุโรปชี้ใหเห็นวาสภาวะของอุปสงคอาจจะไมเลวรายไปกวาที่เปนอยูในปจจุบัน เปนขอเท็จจริงที่ไมอาจโตแยงไดวาอุปสงคของถานหินมีความออนตัวมาก การนำเขาของสเปนและสหราชอาณาจักรไดถดถอยไปถึงรอยละ 50 เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมา ในชวงสองเดือนแรกของปนี้ และการนำเขาของเยอรมันไดลดลงไปรอยละ 28 เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมา สำหรับทั้งปโดยรวม นักวิเคราะหคาดวาการนำเขาของยุโรปตะวันตกจะลดลงไป 13 ลานตันจากระดับของปที่แลว mt annualised 90 80 70 60 50 40 30 20 10 Mar 08

Sep 08 Mar 09 Sep 09 UK Steam Coal Imports German steam coal imports ที่มา: Eurostat, Macquarie Research, มิถุนายน 2553

Mar 10

แผนภูมิ 26 : การนำเขาของสหราชอาณาจักรและ เยอรมนีไมปรากฏวาจะเลวรายลง

Utility stocks (mt hard coal) 24 22 20 18 16 14 12 8 6 Jan

Feb

Mar

Apr

May

Jun

2007 2008 ที่มา: McCloskey, Macquarie Research, มิถุนายน 2553

Jul

Aug 2009

Sep

Oct 2010

Nov

Dec

แผนภู นภูมิ 27 : ปริมาณสินคาของสหราชอาณาจั องสหราชอาณาจักร กำลังปรับตัวจากระดับที่สูงมากซึซึ่งเห็นไดในชวง กอนหนานี้ของป รายงานประจำป 2553

67


อยางไรก็ตาม จากมุมมองของไตรมาสตอไตรมาส นักวิเคราะหไมคิดวาอุปสงคของถานหินประเภทใหความรอนจะเลวรายมากจนเกินไป ในขณะ ที่สเปนกำลังพยายามออกกฎระเบียบภายในประเทศเพื่อบังคับใหผูผลิตไฟฟาอิสระใชถานหินภายในประเทศ สเปนจะยังคงตองนำเขาถานหิน บางสวนเพื่อที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกำเนิดของสหภาพยุโรป (EU emission standards) และในขณะที่การนำเขาของ สหราชอาณาจักรออนตัวลงมากเมื่อปริมาณสินคาไดลดลง การฟนตัวของกิจกรรมในเยอรมนีกำลังชวยบรรเทาดานลบนี้ไว นอกจากนี้ การปรับขึ้น ของราคากาซไดชวยกระตุนความนาสนใจของถานหินในภูมิภาคนี้ ปรากฏการณนี้มีความสำคัญถึงแมวาความมั่นคงของอุปสงคในยุโรปจะหยุดกระแสของการขนสงออกจากภูมภิ าคแอตแลนติกเขาสูภูมิภาค แปซิฟค ปรากฏการณนี้มีความสำคัญนับตั้งแตจุดเริ่มตนของป ตัวอยางเชน ในเดือนมกราคม สินคาสงออกถึงรอยละ 50 จากริชารดเบยเดินทาง เขาสูภูมิภาคแอตแลนติก ปจจุบัน ตัวเลขนั้นเหลือเพียงรอยละ 25 โดยสินคาสงออกรอยละ 50 มุงหนาไปยังอินเดีย กระแสการสงออกนี้ ชวยรักษา ระดับอุปสงคในตลาดที่แข็งแกรงกวามากในอินเดียและภูมิภาคแปซิฟค

อุปทานที่จำกัดภายนอกประเทศอินโดนีเซีย อุปทานจากผูสงออกรายใหญ ยกเวนอินโดนีเซีย มีความจำกัดมากกวาที่คาดไวในปนี้ การสงออกถานหินประเภทใหความรอนจากออสเตรเลียได ออนตัวลงในชวง 4 เดือนแรก และต่ำกวาระดับของปที่แลว 2.5 ลานตน สวนหนึ่งเนื่องมาจากปญหาของรถไฟและสภาพอากาศ แตก็ยังมีสาเหตุมา จากการใหความสำคัญกับการขนสงถานหินโคกมากกวาเมื่อเปรียบเทียบกับปที่แลว ที่จริงแลว การขนสงที่ริชารด เบย เริ่มตนขึ้นกอนหนาปที่แลว ถึงแมวาจะมีการนัดหยุดงานของสายการเดินเรือ มีคำถามวาสถานการณนี้จะยังคงดำเนินอยูในเดือนตอๆ ไปหรือไม การผลิตในโคลอมเบียมี ความซบเซาพอสมควร สวนการสงออกของรัสเซียที่มีความแข็งแกรงกวาสวนใหญมุงหนาไปที่ตลาดในภูมิภาคแอตแลนติก

mt 38 36

65%

34

60%

32 55%

30 28

50%

26 24

45%

22 20

1Q07 2Q07 3Q07 4Q07 1Q08 2Q08 3Q08 4Q08 1Q09 2Q09 3Q09 4Q09 1Q10 2Q10 3Q10E Australian Thermal exports (LHS)

40%

แผนภูภมิมิ 28 : มีกาารกลับไปใชถาานหิ นหินโคก เปนอยางมากในออสเตรเลีย

Thermal % of total (RHS)

ที่มา: Eurostate, Macquarie Research, มิถุนายน 2553

mt 400

45%

350 40%

300 250

35%

200 30%

150 100

25%

50 0 20% Jan 08 Apr 08 Jul 08 Oct 08 Jan 09 Apr 09 Jul 09 Oct 09 Jan 10 Apr 10 Jul 10 Sub-bitunimous (LHS)

Bituminous (LHS)

ที่มา: McCloskey, Macquarie Research, มิถุนายน 2553

68

รายงานประจำป 2553

Sub-bitunimous proportion (RHS)

แผนภูมิ 29 : การตอบสนองทางด การตอ องทางดานอุปทานของ ทานขอ อินโดนีเซียอยู อยในระดั นร บที่สูงมาก ถึงแมวาสวน ที่เพิ่มขึ้นนั้นคือซับบิทูมินัส


อุปทานของอินโดนีเซียมีความแข็งแกรงขึ้นมากในไตรมาสที่ 4 ของป 2552 และไตรมาสแรกของป 2553 โดยเมื่อคิดเปนรายป มีปริมาณใกลเคียง กับ 300 ลานตัน จึงเปนการยากที่จะดำรงการเติบโตยิ่งขึ้นตอไป เนื่องจากฝนในเดือนเมษายนจะทำใหการขนสงชะงักงัน และแผนการผลิตไฟฟาใน ประเทศจะไดรับการตอบสนองมากขึ้นในปลายป นอกจากนี้ สัดสวนที่เพิ่มขึ้นของการสงออกเมื่อเร็วๆ นี้ยังเปนสวนของถานหินซับบิทูมินัสดวย ซึ่งชี้วาจากพื้นฐานที่ไดมีการปรับปรุงทางดานพลังงาน ดานการสงออกถานหินไมไดเติบโตขึ้นเร็วเทากับระดับที่ขอมูลบงชี้

อุปสงคที่กำลังเพิ่มขึ้น - จับตาจีนและอินเดีย ในขณะที่อุปทานลดลงจากระดับซึ่งเห็นในไตรมาสที่ 4 ของป 2551 ปรากฏวาอุปสงคมีความแข็งแกรง การนำเขาถานหินไปในเกาหลี ญี่ปุน และไตหวันปรับตัวสูงขึ้น จีนและอินเดียซึ่งเปนตัวขับเคลื่อนที่สำคัญของอุปสงคของถานหินกำลังกาวตอไป การสงออกของอินเดียกำลังสูงขึ้น แตมีการเพิ่มขึ้นอยางมากในการนำเขาสุทธิของจีน ซึ่งเปนที่นาสนใจที่สุด คืออยูที่ระดับปละ 107 ลานตัน ในระยะสั้น อาจมีขอกังวลเกี่ยวกับการชะลอตัวในจีน ซึ่งอาจนำไปสูการออนตัวลงบางในตลาดถานหินที่ขนสงทางทะเล เปนที่ปรากฏวาตลาด ถานหินของจีนมีสมดุลที่ดีพอสมควร โดยปริมาณสินคาไดเพิ่มขึ้นถึงระดับที่นาสบายใจขึ้น ราคาในประเทศดูเหมือนวาไดหยุดการปรับขึ้นแลว และอาจลดลงบางในเดือนตอๆ ไป อยางไรก็ตาม ถานหินนำเขาจากบางทาเรือยังคงมีราคาคอนขางแพง และราคาในประเทศเมื่อเปรียบเทียบกับราคามาตรฐานนิวคาสเซิลยังคง หางกันพอสมควร มีขอสังเกตวาปจจัยนี้ไดสงผลใหเกิดการลดลงอยางมากของการสงออกจากออสเตรเลียไปยังจีนแลว แตราคายังคงทรงตัวอยู ถึงแมวาจีนไดกระจายการนำเขาถานหิน แตการนำเขาสุทธิของจีนจะมีการลดลงในปริมาณมากพอสมควร ซึ่งจะทำใหปริมาณรวมรายป อยูที่ 82 ลานตัน แตอยาคาดหวังวาปจจัยนี้จะกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตอราคา ดังตัวอยางที่ชัดเจนเมื่อ 3 เดือนที่แลว

2,500

140 130

2,000 110

1,500

100

‘000t

Price ($/t, delivered China)

120

1,000

90 80

500 70 60 Jan 09

0 Apr 09

Jul 09

Newcastle delivered (LHS)

Oct 09

Jan 10

China delivered (LHS)

Apr 10 Aus exports to China (RHS)

แผนภูมิ 30 : การคาถานหินของจีนปดในชวงหนึ่ง

ที่มา: Eurostat, Macquarie Research, มิถุนายน 2553

ที่มา: McCloskey, Macquarie Research, มิถุนายน 2553

แผนภูมิ 31 : จีนกระจายไปยังแหลงนำเขาอื่นๆ

รายงานประจำป 2553

69


ความสมดุลของอุปสงคและอุปทานที่เขาใกลกันขึ้นในระยะกลางขับเคลื่อนโดยจีนและอินเดีย เมื่อมองในระยะกลาง ความสมดุลของอุปสงคและอุปทานสำหรับถานหินประเภทใหความรอนที่ขนสงทางทะเลจะเขาใกลกัน และตลาด จะขาดแคลนในอีกสามปขางหนา ในดานของอุปสงคนั้น อุปสงคของถานหินในตลาดที่พัฒนาแลวในยุโรปตะวันตกและญี่ปุนจะเพิ่มขึ้นบาง แตก็นาจะยังคงต่ำกวาจุดที่สูงสุด เนื่องจากพื้นที่เหลานี้ของโลกไดเติบโตเต็มที่ไปแลว และมีการคาดการณวาจะมีการเติบโตของอุปสงค จากประเทศเล็กๆ ในเอเชีย โดยสอดคลองกับโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดีในภูมิภาคนี้ นักวิเคราะหมีความเห็นวาอินเดียและจีนเปนตัวขับเคลื่อนที่สำคัญ ทั้งสองประเทศเปนผูผลิตถานหินรายใหญซึ่งสรางรายไดสูงมาก แตก็ยังเปน ประเทศเกิดใหมซึ่งเปนที่คาดวาจะมีอุปสงคทางดานพลังงานเติบโตขึ้นถึงประมาณรอยละ 7 ตอป อยางไรก็ตาม มีขอแตกตางที่สำคัญบาง อยางเกี่ยวกับลักษณะที่ประเทศทั้งสองนี้จะเปนตัวขับเคลื่อนอุปสงคของถานหินไปขางหนา

อินเดียขาดแคลนพลังงาน...และพยายามใชประโยชนทรัพยากรของตน อินเดียมีความขาดแคลนพลังงาน ในขณะที่อินเดียมีปริมาณสำรองถานหินอยูมาก ประเทศนี้กำลังพยายามที่ใชประโยชนทรัพยากรในทองถิ่น ดวยกาวที่เร็วเพียงพอทามกลางปญหาตางๆ เริ่มตั้งแตกฎหมายสิ่งแวดลอม ขอจำกัดทางดานสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและความไมมั่นคงทาง พลเรือนจากขบวนการกอการรายของกลุมนิยมลัทธิเหมาซึ่งเปนอุปสรรคตอการผลิตถานหินในพื้นที่สำคัญ อินเดียมีแผนการใหญเกี่ยวกับถานหินนำเขาเพื่อเปนพลังงานสำหรับโรงไฟฟาขนาดใหญหลายแหงซึ่งสรางขึ้นโดยเฉพาะที่ใกลเคียงกับชายฝง และเมื่อเร็วๆ นี้ไดทำการขยายประสิทธิภาพของทาเรือออกไปอยางมาก แมจะไมเปนขาว ในขณะนี้แผนการเหลานี้กำลังอยูในขั้นสำคัญ มีตัวเลข ประมาณการแบบอนุรักษนิยมพอสมควรสำหรับการนำเขาซึ่งคำนวณจากโรงไฟฟาตามที่วางแผนไว โดยไดพิจารณาถึงความลาชาที่ผานมาใน อดีตของโครงการนี้ดวย อยางไรก็ตาม ยังไมอาจพิสูจนไดวาการนำเขาจะแข็งแกรงขึ้น เมื่อพิจารณาจากระดับซึ่งมีขนาดใหญอยางนาแปลกใจ ที่ 60 ลานตันในป 2552

จีนมีความแตกตาง - ไมขาดแคลนถานหินแตตนทุนกำลังสูงขึ้น อุปสงคของจีนเปนเรื่องที่แตกตาง เนื่องจากการนำเขาถูกมองวาเปนโอกาสเมื่อพิจารณาจากราคา มากกวาที่จะเปนการผลักดันการใชถานหินนำ เขาตามที่วางแผนไว เพื่อใหแนใจในเรื่องนี้ จีนมีถานหินอยูมากและไมมีอุปสรรคมากมายในการใชปริมาณสำรองเหลานี้ตามที่เห็นไดในอินเดีย แตตนทุนในการนำถานหินใหมเขาสูตลาดในจีนกำลังสูงขึ้นเรื่อยๆ นอกจากนี้ แนวโนมการแข็งคาของสกุลเงินเมื่อเปรียบเทียบกับสกุลเงิน สวนใหญหมายถึงการที่ถานหินนำเขาจะเปนที่แขงขันไดมากยิ่งขึ้น นักวิเคราะหประเมินวาตนทุนเปนเงินสดสำหรับเหมืองขนาดเล็กในเมืองชานซีอยูที่ประมาณ 75 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตัน เอฟโอบี ตามอัตรา แลกเปลี่ยนปจจุบัน นักเศรษฐศาสตรจีนพยากรณวาภาวะเงินเฟอในจีนจะอยูที่ประมาณรอยละ 5 ตอปในระยะกลาง ถึงแมวาจะมีเหตุผลที่ดีใน การเชื่อวานี่จะเปนการปรับขึ้นขั้นต่ำสุดสำหรับตนทุนการผลิตถานหิน โดยเฉพาะอยางยิ่ง คาขนสงนั้นกำลังกลายเปนคาใชจายที่สูงมาก โดยเฉพาะ ในสวนของปริมาณถานหินใหมที่ยังไมไดนำมาใช ตัวอยางเชน คาขนสงจากเขตมองโกเลียในมายังทาเรืออยูที่ประมาณ 300-350 หยวน ตอตัน หรือ 50 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตัน ซึ่งคิดคราวๆ เทากับตนทุนการผลิตโดยเฉลี่ยบนเสนกราฟแสดงตนทุนของทั่วโลก ในดานของการแข็งคาของอัตราแลกเปลี่ยน เงินหยวนนาจะสูงขึ้นรอยละ 7.7 เมื่อเปรียบเทียบกับเงินดอลลารสหรัฐอเมริกาในอีกสองสามป ขางหนา กลาวคือ เทากับ 1 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอ 6.30 หยวน เมื่อมองภาพนี้ การแข็งคาในระดับนี้จะเปนการกำจัดสวนตางในปจจุบัน ระหวางถานหินซึ่งสงมอบที่นิวคาสเซิลกับถานหินที่ขนสงภายในประเทศ การผลิตไฟฟาพลังงานความรอนของอินเดีย

! !# "

$

$ $

$

& % ที่มา: CEA, Macquarie Research, มิถุนายน 2553

70

รายงานประจำป 2553

& &

& '

แผนภูมิ 32 : การผลิตไฟฟาพลังงานความรอน ไดลดลงในระยะหลัง ....


อุปสงคการนำเขาของดินเดีย

Mt 140 120 100 80 60 40 20 0 2008

2009

2010F

UMPPs

2011F

2012F

2013F

Major Coasal IPPs

2014F

2015F

Non-specific imports

แผนภู นภูมิ 33 : แตประสิทธิภาพการผลิ พการผลิตไฟฟา พลังงานความร านความรอนที่สูงขึ้นจะขับเคลื คลื่อน ความตองการนำเขาไปขางหนา

ที่มา: GTIS, Macquarie Research, มิถุนายน 2553

90

Marginal cost of production in Northern China

80 Cost (USD/t, FOB)

70 60

Global seaborne thermal coal cost curve

50 40 30 20 10 50

100

United States China

150

200

South Africa Canada

ที่มา: Bloomberg, มิถุนายน 2553

250

300 350 Volume (mt) Russia Australia

400

450

500

550

600

Colombia Indonesia Marginal cost in Northern China

แผนภูมิ 344 กราฟ กราฟแสดงตนทุนเปรียยบเที บเทียบ กับจีน

เมื่อนำภาพเหลานี้มารวมกัน ดูเหมือนวาตนทุนสวนเพิ่มของถานหินที่ขนสงในประเทศในจีนนาจะสูงถึง 90 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตันหรือมาก กวาในอีกไมกี่ป ปจจัยนี้จะเปนการสนับสนุนในดานตนทุนสำหรับตลาดการขนสงทางทะเล เนื่องจากการขนสงถานหินในประเทศมีความสัมพันธ อยางมากกับตลาดการขนสงทางทะเล การขนสงถานหินในประเทศอยูที่ปละประมาณ 510 ลานตันในขณะที่เริ่มตนป 2553 เปรียบเทียบกับตลาด การขนสงทางทะเลทั้งสิ้นประมาณ 690 ลานตัน ในแงของความสมดุลของอุปสงคและอุปทาน การนำเขาถานหินของจีนภายหลังจากป 2553 อาจจะไมเพิ่มขึ้นเปนอยางมาก โดยถานหินนำเขาจะ เปนสัดสวนที่เล็กกวาการใชถานหินในประเทศ ที่เปนเชนนี้เนื่องจากราคาอาจจะสูงขึ้น ถึงแมวานักวิเคราะหจะไดประมาณการในเรื่องอุปสงคของ จีนแบบระมัดระวังแลว

การเติบโตในดานอุปทานของอินโดนีเซียจะชาลง สวนการเติบโตของออสเตรเลียจะเร็วขึ้น ในดานการเติบโตของอุปทาน มีการประมาณการวาอุปทานจากแอฟริกาใตและโคลอมเบียจะมีการเติบโตอยางมาก ถึงแมวาความเสี่ยงที่สำคัญ อยูที่ผูสงออกรายใหญสุดสองรายคือ อินโดนีเซียและออสเตรเลีย การผลิตถานหินในอินโดนีเซียมีการเติบโตอยางแข็งแกรงมากในหลายปที่ผานมา และไดสงผลใหการสงออกเติบโตขึ้นเปนอยางสูงโดยคิดเปนสามเทานับจากป 2546 แตก็มีอุปสรรคบางอยางที่นาจะทำใหการเติบโตของ การสงออกนี้ชะลอลงในอีกสองสามปขางหนา ปจจัยขอแรกคือมีการใชถานหินภายในประเทศเพิ่มขึ้น เนื่องจากแผนการผลิตไฟฟาเริ่มที่จะเขามามีบทบาท มีการคาดการณวาโครงการ “10,000 MW Crash Program” จะเริ่มยกระดับปริมาณการใชถานหินภายในประเทศเมื่อกาวเขาสูปลายป 2553 และป 2554 และจะเปนการเพิ่มปริมาณ การใชถานหินภายในประเทศอีกประมาณ 30 ลานตันในชวงสามปขางหนา

รายงานประจำป 2553

71


ตาราง 19 : การใชถานหินภายในประเทศของอินโดนีเซียนาจะเพิ่มขึ้น 22 ลานตันในป 2554 และ 17 ลานตันในป 2555 เนื่องจากมีการผลิต ไฟฟาเพิ่มขึ้น PLN

Existing 10,000MW phase I 10,000MW phase II Others

2010 E 22.5 3.6 0.1

2011 E 22.5 22.6 0.2

2012 E 22.5 30.5 0.6

2013 E 22.5 33.5 0.8 1.3

2014 E 22.5 36.0 5.1 1.5

2015 E 22.5 36.0 5.1 1.8

10.4 36.6 37.5

10.4 2.9 58.6 48.2

10.5 11.4 75.4 61.2

10.4 16.0 84.5 71.6

10.4 24.3 99.8 82.5

10.4 29.9 105.7 90.7

IPP

Existing New Total (Consultant forecase) Macquarie Forecast

ที่มา : Mining Strategic Consultant, Macquarie Research, ธันวาคม 2553

ปจจัยขอที่สอง คือ อินโดนีเซียกำลังเริ่มที่จะประสบขอจำกัดทางดานสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานในแงของการใชสัมปทานที่มีอยูเดิมในเขตพื้นที่ ชายฝง เพื่อที่จะกระตุนการเติบโตตอไป จำเปนตองมีการลงทุนจำนวนมากในสาธารณูปโภคเขาไปในพื้นที่ตอนกลางของกะลิมันตัน ในพื้นที่นั้น ไดมีการเขาซื้อที่ดินอยางมากเพื่อกอสรางทางรถไฟ อันจะเปนการกระตุนการผลิตเกินกวาที่มีการคาดการณไวในปจจุบันเมื่อเคลื่อนเขาสูป 2558 ซึ่งหมายความวา มีแนวโนมที่ถานหินนี้จะแพงขึ้น เมื่อพิจารณาจากตนทุนของสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่จำเปน สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานเปนปญหาสำหรับผูสงออกของออสเตรเลียในบางครั้ง ถึงแมวาการลงทุนจำนวนมากในสวนนี้ในรอบหลายปที่ผานมา นาจะชวยเพิ่มเงินปนผลไดในอีกสองสามปขางหนา กิจกรรมที่ทาเรือ NCIG แหงใหมในนิวคาลเซิลนาจะเพิ่มขึ้นถึงจุดเต็มประสิทธิภาพภายในป 2554 ในขณะที่การดำเนินงานในสวนของโครงการรถไฟเชื่อมตอ Northern Missing Link เพิ่งจะเริ่มตน และนาจะเริ่มสงเสริมการใชรถไฟไปยัง แอบบอตพอยตไดเมื่อเคลื่อนเขาสูป 2556 เทอรมินัลบนเกาะวิกกินสขนาด 25 ลานตันตอปนาจะแลวเสร็จภายในป 2556 โดยในขณะนี้ การทำสัญญารับซื้อ (take-or-pay agreements) กับเหมืองกำลังดำเนินอยู ประสิทธิภาพของสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและการสงออกของออสเตรเลีย

Newcastle Goonyella (DBCT, Hay Point)

Gladstone Total Australia Coal Exports

ที่มา: Port websites, Macquarie Research, มิถุนายน 2553

2015

2014

2013

2012

2011

2010

2009

2008

2007

2006

2005

2004

2003

2002

2001

'000t 550,000 500,000 450,000 400,000 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 2000

'000t 550,000 500,000 450,000 400,000 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 -

Other Abbot Point

แผนภูมิ 35 : ประสิทธิภาพของสาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐานและการสงออกของออสเตรเลีย

ขอคิดสุดทาย...สภาพคลองของตลาดภูมิภาคแปซิฟคจะดีขึ้นหรือไม ประเด็นที่สำคัญประเด็นสุดทายคือในขณะที่ทิศทางการคาถานหินประเภทใหความรอนซึ่งขนสงทางทะเลกำลังถูกขับเคลื่อนมากขึ้น จากการ พัฒนาในเขตมหาสมุทรแปซิฟคและอินเดีย แตกิจกรรมในตลาดยังคงอยูภายใตอิทธิพลของตลาดยุโรป การคาตามสัญญา API#2 ยังคงคิด เปนประมาณรอยละ 50 ของตลาดโดยรวม โดยราคาถานหินที่ทาเรือนิวคาสเซิลซึ่งใชเปนเกณฑสำหรับสินคาจากอินโดนีเซียดวย ยังคงขาด ความคลองตัวพอสมควร นี่คือบางสิ่งที่ตองเปลี่ยนแปลงในอีกหาปขางหนาเพื่อใหความชัดเจนยิ่งขึ้นกับการกำหนดราคาในภูมิภาคแปซิฟค และเขาไปในอินเดีย 72

รายงานประจำป 2553


140,000

60,000

120,000

50,000

100,000

40,000

80,000 30,000

60,000 40,000

20,000

20,000

10,000

0

Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar Apr

Volume (lots)

70,000

2008 Newcastle

2009 Richard’s Bay

0

2010 Rotterdam

ที่มา : Intercontinental Exchange, Macquarie Research, มิถุนายน 2553

ตาราง 20 : อุปสงคและอุปทานของถานหินประเภทใหความรอน อุปสงค (ลานตัน) 2007 2008 2009 Western Europe 135 136 127 Eastern Europe 36 35 31 USA 29 28 19 Other Atlantic 26 27 24 Total Atlantic 225 225 200 Atlantic growth -5.3% -0.1% -11% Asia, inc 366 371 430 Japan 120 121 103 Korea 66 72 80 Taiwan 57 56 53 China 40 35 80 Hong Kong 12 11 12 India 35 36 60 Malaysia 13 16 15 Thailand 15 15 16 Philippines 7 8 9 Vietnam 1 1 1 Other Pacific 16 16 19 Total Pacific 382 388 449 Pacific growth 9.2% 1.5% 15.8% อุปสงครวม 607 612 649 เปลี่ยนแปลงรอยละปตอป 3.3% 0.9% 6.0% อุปทาน (ลานตัน) 2007 2008 2009 Australia 112 126 139 Indonesia 195 200 233 China 45 36 18 Vietnam 25 17 24 Canada 4 5 7 South Africa 66 62 61 Russia 72 72 82 Poland 8 5 5 USA 11 18 12 Colombia 65 69 63 Venezuela 5 4 4 Mozambique อุปทานรวม 607 612 649 เปลี่ยนแปลงรอยละปตอป 3.3% 0.9% 6.0% ยอดคงเหลือ -

2010F 114 33 17 24 189 -5.7% 483 108 87 57 102 13 70 18 16 11 1 21 504 12.2% 693 6.7% 2010F 145 270 18 18 7 62 87 4 11 65 4 692 6.6% -1

Open Interest (lots)

160,000

2011F 118 39 20 26 203 7.4% 505 110 88 60 104 13 80 21 17 11 1 24 529 5.0% 732 5.7% 2011F 160 272 17 16 7 70 94 3 14 71 4 729 5.3% -3

แผนภู นภูมิ 36 : สัญญาฟวเจอรถถา นหิน ICE การคา อยูภายใต ยใตอิทธิพลของ ลขอ API#2 จำเป ำเปนตองมี คลองตัวมากขึ้นในภูมิภาคแปซิฟค

2012F 2013F 2014F 123 121 120 41 46 49 22 25 25 29 31 34 215 223 228 5.8% 3.8% 2.4% 534 559 581 111 111 111 88 90 96 62 66 68 106 109 105 13 13 13 100 110 120 24 26 26 18 20 25 12 13 13 1 2 4 28 32 33 563 591 614 6.4% 5.0% 3.9% 777 814 842 6.2% 4.7% 3.5% 2012F 2013F 2014F 175 189 199 279 292 301 16 15 15 16 16 16 8 9 9 75 80 86 98 100 100 3 3 3 16 18 22 78 85 88 4 4 4 1 1 4 769 813 847 8 : Vessel4.2% Owners 5.6% Chart 5.7% (15,000-59,999 dwt) -8 -1 5

2015F 120 51 25 36 232 1.4% 605 109 103 70 107 13 133 26 25 13 6 33 638 3.9% 870 3.3% 2015F 208 314 15 16 9 90 100 3 24 90 4 5 878 3.7% 8

ที่มา : GTIS, Macquarie Research, มิถุนายน 2553 รายงานประจำป 2553

73


กลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน กลุมธุรกิจโครงสรางพื้นฐานประกอบดวยกลุมบริษัทที่ใหบริการและโลจิสติคส ดังตอไปนี้ 1. บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด ซัพพลายส จำกัด - ใหบริการจัดหาอุปกรณที่ใชบนเรือ และบริการใหเชาพื้นที่จัดเก็บสินคา 2. บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส จำกัด - ใหบริการโลจิสติคสใหกับบุคคลภายนอก 3. บริษัท ชารจา พอรต เซอรวิสเซส แอลแอลซี - ใหบริการดูแลจัดการในทาเรือในเอเชียและตะวันออกกลาง 4. บริษัท Baria Serece - เปนบริษัทรวมที่ใหบริการทาเรือเอกชน ซึ่งตั้งอยูที่ Phu My ตอนใตของจังหวัด Vung Tau ประเทศเวียดนาม 5. บริษัท บาคองโค จำกัด - ผลิตและจัดสงปุยคุณภาพสูง พรอมทั้งมีคลังสินคาในประเทศเวียดนาม 6. บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) - ขายและใหบริการโลจิสติคสถานหินแบบครบวงจร

ธุรกิจจัดหาอุปกรณบนเรือ บริการโลจิสติกส และธุรกิจขนถายสินคา บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด ซัพพลายส จำกัด (CMSS) ซึ่งบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนอยูทั้งหมด ใหบริการ จัดหาอุปกรณที่ใชบนเรือและบริการเกี่ยวกับโลจิสติคส รวมถึงการจัดหาวัสดุที่ใชในการดูแลสินคาระหวางขนสง เชน ไมรองค้ำสินคา การจัดหา อุปกรณในการขนถายสินคา การใหบริการตรวจนับสินคา ใหบริการรถยกสินคา การใชเชาพื้นที่จัดเก็บสินคา รวมถึงการบริหารและการกระจาย การสงสินคา นอกจากนี้ CMSS ยังใหบริการดานการขนสงสินคาขึ้น/ลงเรือ บรรจุและขนสงสินคาไปยังเรือและผูรับปลายทางอีกดวย

ขอมูลธุรกิจ CMSS ใหบริการตางๆ (ยกเวนการใหเชาพื้นที่จัดเก็บสินคา) แกเรือของโทรีเซนมากกวาเรือของบริษัทอื่นๆ จนกระทั่งบริษัทฯ ยกเลิกการใหบริการ เดินเรือแบบประจำเสนทาง (กุมภาพันธ พ.ศ. 2553) จากการที่ CMSS อยูในอุตสาหรรมนี้มาตั้งแตป พ.ศ. 2544 ทำให CMSS ยังคงสามารถ มีงานเขามาอยางตอเนื่องจากฐานลูกคาที่มีอยางกวางขวางและทำให CMSS มีรายไดและกำไรที่มั่นคงตลอดปที่ผานมา

ผลประกอบการในรอบป 2553 CMSS ไดใหบริการขนถายสินคาจำนวน 1.4 ลานตัน และปลอยพื้นที่คลังสินคาใหลูกคาเชาจนเต็มพื้นที่ทั้งหมดที่มีขนาด 16,000 ตารางเมตร ในปที่ผานมา ทำให CMSS มีรายไดจากการขาย 116 ลานบาท ขณะที่ผลกำไรสุทธิเพิ่มมากกวารอยละ 28.4 เปน 10.8 ลานบาท

74

รายงานประจำป 2553


ลูกคา กลุมลูกคาของ CMSS มีหลากหลายและสินคาที่ขนถายมีทั้งสินคาเทกองและสินคาที่บรรจุ หีบหอ เชน เครื่องจักรกล วัสดุการกอสราง ผลิตภัณฑเหล็ก สินคาหนักที่ใชในโครงการ สินคา การเกษตรและแรตางๆ

พนักงาน CMSS มีพนักงานประจำเพียง 11 คน ซึ่งมีความเปนมืออาชีพ ในการทำงานรวมกับผูรับเหมา บุคคลภายนอก ผูใชแรงงานในการขนของขึ้นลงเรือ (ประมาณ 500 คน) คนขับรถ และคน ควบคุมอุปกรณการปฏิบัติงานตางๆ

คูแขง มีผูประกอบการในประเทศจำนวนมากที่ทำธุรกิจนี้ และแขงขันกับ CMSS ในดานราคา แต CMSS ไดพัฒนาชื่อเสียงของตนดวยเครื่องอุปกรณที่มีคุณภาพที่ไดมาตรฐานสากล และ เปนมืออาชีพในการจัดการเกี่ยวกับผูใชแรงงานในการขนของขึ้นลงเรือ สิ่งเหลานี้ชวยให CMSS สามารถเอาชนะอุปสรรคในดานราคาและสามารถหาลูกคาไดอยางตอเนื่อง

ปจจัยบวกและลบสำหรับป 2554-2555 CMSS คาดหวังวาจะมีรายไดและกำไรคงที่ตลอดป 2554 และยังคงมองหาสวนแบงดานอื่นๆ ในอุตสาหกรรมการเดินเรือ (นอกเหนือจากเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง) รวมถึงเรือบรรทุก ยานยนต (RORO) และเรือคอนเทนเนอร และเนื่องจากพื้นที่คลังสินคาของ CMSS มีลูกคา เต็มพื้นที่แลว ดังนั้น CMSS อาจหาโอกาสในการขยายพื้นที่คลังสินคา โดยเฉพาะอยางยิ่ง เพื่อลูกคาหลักรายหนึ่งของ CMSS อยางไรก็ตาม โอกาสที่จะซื้อที่ดินเพิ่มเติมในราคาที่ เหมาะสมตอการสรางคลังสินคาก็เปนเรื่องที่อาจจะไมสามารถเปนไปตามคาดการณได

ธุรกิจโลจิสติคสใหกับบุคคลภายนอก ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ไดมีการกอตั้ง บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส จำกัด (“GTL”) เพื่อใหบริการโลจิสติคสในประเทศ โดยบริษัทฯ ถือหุนรอยละ 51 ใน GTL และที่เหลือรอยละ 29 ถือโดย GACL (เพื่อใหเปนไปตามกฎระเบียบของธุรกิจคลังสินคา) และอีกรอยละ 20 ถือโดย นายลารส ชาเวสตอรม ซึ่งเปนประธานของกลุมบริษัทกัลฟ เอเจนซี่ GTL ไดดำเนินโครงการ สรางคลังเก็บสินคาขนาด 10,000 ตารางเมตร ในการนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ชลบุรี ประเทศไทย เพื่อใหบริการโลจิสติกส และใหเชาคลังเก็บสินคาขนาด 6,000 ตารางเมตร ในการนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ประเทศไทย

ขอมูลธุรกิจ GTL ใหบริการโลจิสติคสกับบุคคลภายนอก ซึ่งดูแลเกี่ยวกับคลังเก็บสินคา การจัดการคลังเก็บ สินคา และการกระจายสินคาใหแกลูกคาในประเทศและลูกคานานาชาติ ทั้งนี้ GTL มีตลาด กลุมลูกคาเฉพาะ และทำสัญญาทั้งระยะกลางถึงระยะยาวกับกลุมลูกคาที่คัดเลือกแลว โดยคลังสินคามีสินคาใหจัดเก็บจนเต็มพิกัดตลอดป 2553

ผลประกอบการในรอบป 2553 GTL มีรายไดทั้งหมด 125.7 ลานบาท และมีกำไรสุทธิ 5 ลานบาท

รายงานประจำป 2553

75


ลูกคา ลูกคาของ GTL สวนใหญเปนกลุมลูกคาที่มีสินคาจำพวกอุปโภคบริโภค (Fast Moving Customer Goods) และกลุมอิเล็กทรอนิกส รวมถึงกลุม Mead Johnson / ซาราลี / โคลเลอร / กลุม Central Retail / มิตซูบิชี อิเล็กทริค และ BIO Strong

พนักงาน GTL มีพนักงานจำนวนทั้งสิ้น 56 คน ซึ่งมีความรูเชิงลึกในดานบริการโลจิสติคส

คูแขง มีผูประกอบการชาวไทยและชาวตางชาติจำนวนมากที่ดำเนินธุรกิจแบบเดียวกันกับ GTL ใน ประเทศไทย ทำใหเกิดสภาพแวดลอมที่มีการแขงขันสูง อยางไรก็ตาม GTL เนนความเชี่ยวชาญ เฉพาะจุดและใหบริการที่เพิ่มมูลคาใหแกลูกคากลุมเล็กๆ ที่เปนลูกคาประจำ จึงเปนการชวย ลดความเสี่ยงจากการแขงขันดานราคาได

ปจจัยบวกและลบสำหรับป 2554 - 2555 ขณะที่พื้นที่คลังสินคามีลูกคาใชบริการเต็มพื้นที่แลว GTL ก็ยังคงมองหาโอกาสการลงทุน เพิ่มขึ้นอยูเสมอ โดยการขยายคลังสินคาของตนเองออกไป ซึ่งการขยายตัวดังกลาวจะตอง ไดสัญญาระยะกลางถึงระยะยาวจากลูกคาเปาหมายกอน ซึ่ง GTL กำลังประเมินลูกคาเฉพาะ กลุมเพื่อรองรับแผนการขยายตัว โดยจะเนนกลุมบริษัทสินคาอุปโภคบริโภค (FMCG) ขนาดเล็ก นอกจากนี้ GTL ยังคงมองหาโอกาสในการขยายหรือเพิ่มมูลคาโดยอาศัยฐานลูกคาปจจุบัน เชน ใหบริการงานบริหารทั่วไปสำหรับสำนักงาน/โรงงาน ใหบริการบรรจุหีบหอ

76

รายงานประจำป 2553


การบริหารทาเรือ บริษัท ชารจา พอรต เซอรวิสเซส แอลแอลซี (SPS) เปนบริษัทรวมของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เปนการรวมทุนระหวาง การทาเรือชารจา ในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส และโทรีเซน ชิปปง เอฟแซดอี (TSF) โดยถือหุนรอยละ 51 และรอยละ 49 ตามลำดับ ทั้งนี้ SPS ไดรับสัมปทานในการขนถายสินคา การจัดการและเก็บรักษาสินคา การสงสินคา การดูแลดานการตลาดใหกับผูประกอบการเรือสินคาทั่วไปทุกชนิด ผูประกอบการเรือ RoRo และเรือบรรทุกสินคาเทกองแชแข็ง ที่ทาเรือคาลิด ทาเรือฮัมริจาร และทาเรือชารจา ครีก เปนเวลา 10 ป โดยเมื่อครบ กำหนด 10 ป จะมีการตอสัญญาโดยอัตโนมัตเิ ปนเวลาอีก 5 ป SPS ไดกอตั้งขึ้นเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2545 โดยเปนสวนหนึ่งของโครงการแปรรูปทาเรือรัฐวิสาหกิจเปนทาเรือเอกชน ทั้งนี้ พนักงานทั้งหมดและ อุปกรณตาง ๆ ในเรือ ถูกโอนเขามายังบริษัทนี้ทั้งหมด ทาเรือคาลิดเปนทาเรือที่ใหญที่สุดในบรรดาทาเรือทั้งสามแหงที่อยูภายใตสัญญาสัมปทาน และตั้งอยูหางจากดูไบไปทางใตประมาณ 16 กิโลเมตร ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ทาเรือทั้งสามแหงใหบริการรับ-สงปริมาณสินคารวมกันได มากกวาปละ 1 ลานตัน

บริษัทรวมลงทุน Baria Serece ในเดือนพฤศจิกายน 2553 บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้ง พีทีอี แอลทีดี ซึ่งบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนอยูทั้งหมด ไดเขาซื้อหุน รอยละ 20 ของ Baria Serece จาก Yara Asia Pte. Ltd. ทั้งนี้ Baria Serece เปนเจาของและบริหารทาเรือ Phu My ทางเวียดนามตอนใต ทาเรือแหงนี้เปนทาเรือน้ำลึกที่ขนถายสินคาแหงที่ใหญที่สุดในประเทศเวียดนาม สามารถรองรับความจุไดถึง 6 ลานตันสำหรับสินคาการเกษตร ถานหิน และปุย ซึ่งทาเรือ Phy My ตั้งอยูที่แมน้ำ Thi Vai หางจากทะเลเปดประมาณ 17 ไมล และอยูติดกับนิคมอุตสาหกรรม Phu My นอกจากนี้ ทาเรือดังกลาวยังสามารถรองรับเรือบรรทุกสินคาที่กินน้ำลึก 12 เมตรและมีระวางขับน้ำ (displacement) 60,000 เดทเวทตัน ดังนั้น ทาเรือนี้จึง เหมาะกับเรือประเภท Handy max และ Panamax ดวย เนื่องจากไมตองใชเรือลำเลียงกอนเรือเขาทา มีการคาดการณวาทาเรือนี้จะทำการปรับปรุง ทาเทียบเรือที่สำคัญๆ ในป 2554 เพื่อที่จะสามารถรองรับเรือ Panamax ที่มีขนาดระวาง 80,000 เดทเวทตันไดดวย ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ปริมาณสินคาที่เขาทาเรือนี้มีจำนวน 4.88 ลานตัน โดยเปนสินคาเกษตรคิดเปนรอยละ 72 ของปริมาณสินคา ทั้งหมด

ธุรกิจปุย โรงงานปุยของบาคองโคมีพื้นที่ 56,000 ตารางเมตร และตั้งอยูใน Phu My ซึ่งอยูติดกับทาเรือ Baria Serece นอกจากการผลิตปุย บาคองโคมีใบ อนุญาตใหเชาคลังสินคาบางสวน ซึ่งจะทำใหสามารถพัฒนาไปสูธุรกิจ โลจิสติกสมืออาชีพในอนาคต บาคองโค ผลิตปุยเคมี NPK ในนิคมอุตสาหกรรม Phu My จำนวน 300,000 ตันตอป นอกจากการขายและเปนผูจัดจำหนายปุยของตนเองแลว บาคองโคยังสงออกและเปนผูจัดหา (supplier) ยาฆาแมลงและและเมล็ดพันธุพืชตางๆ จากการที่โรงงานของบาคองโคตั้งอยูขางทาเรือ Phu My ดังนั้นคลังสินคาของบาคองโคจึงอาจจะนำมาใชประโยชนในการเปนที่เก็บสินคาจากทาเรือ Phu My ที่ไมสามารถจัดเก็บได และการที่บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนรอยละ 20 (ผานบริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้ง พีทีอี แอลทีดี) ใน Baria Serece ทำใหบาคองโคจะกลาย เปนหุนสวนสำคัญของทาเรือ Phu My รายงานประจำป 2553

77


สถานการณตลาด ประเทศเวียดนามเปนผูสงออกพริกไทยรายใหญที่สุดในโลก เปนผูสงออกขาวและกาแฟใหญเปนลำดับที่สองของโลก และประชากรของเวียดนาม รอยละ 70 ทำงานดานเกษตรกรรม ประเทศเวียดนามนำเขาปุยจำนวนมากเพื่อตอบสนองความตองการของตลาด สำนักงานสถิติเวียดนาม (The Vietnam General Statistics Office หรือ GSO) กลาววา ในป 2552 ประเทศเวียดนามนำเขาปุย 4.31 ลานตันหรือคิดเปนมูลคา 1.35 พันลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้นรอยละ 41.88 แตมูลคาลดลงรอยละ 8.42 เมื่อเทียบกับป 2551 เนื่องจากบริษัทตางๆ นำเขาปุยมากขึ้นเมื่อราคาในตลาดโลกลดลงซึ่งเปนผลมาจากเศรษฐกิจตกต่ำ จากการคาดการณสำหรับป 2553 แสดงใหเห็นวา ปริมาณและมูลคาลดลงจากป 2552 แตอยางไรก็ตาม การนำเขาปุยยังคงดำเนินตอไป เนื่องจากผลผลิตปุยในประเทศตอบสนองความตองการไดเพียงครึ่งเดียวเทานั้น ทั้งนี้ ปุย เชน DAP (Diammonium Phosphate) และ โปแตชตองนำเขา เนื่องจากบริษัทในประเทศเวียดนามยังไมสามารถผลิตไดเอง ตารางขางลางแสดงถึงปริมาณและมูลคาการนำเขาปุยของประเทศเวียดนามตั้งแตป 2551 ถึงป 2553

แผนภูมิ 37 : ปริมาณและมูลคาการนำเขาปุย ของประเทศเวียดนาม

ที่มา : Vietnam General Statistics Office

จากการตรวจสอบของกระทรวงการพัฒนาทองถิ่นและเกษตรกรรมของประเทศเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development (MARD) พบวา ปุยที่ผลิตในประเทศจำนวนมากมีคุณภาพต่ำกวามาตรฐาน ซึ่งรอยละ 40 จาก 201 ตัวอยาง เปนปุยมีคุณภาพต่ำกวามาตรฐาน นอกจากนี้ ยังพบวา ผูผลิตในประเทศและผูผลิตที่เปนบริษัทระหวางประเทศมากกวา 500 รายมีปุยปลอมและปุยคุณภาพต่ำ ทั้งนี้ พบวาในป 2552 มีการละเมิดคุณภาพและทรัพยสินทางปญญา 600 กรณี ซึ่งรอยละ 25-30 จากกรณีดังกลาวตางเกี่ยวของกับปุย เมื่อดูจากแนวโนมความตองการปุยในประเทศเวียดนามแลว จะพบวาประเทศเวียดนามจะยังคงใชปุยสูงขึ้นไปเรื่อยๆ เนื่องจากราคาพืชผลทางการ เกษตรมีราคาดีและนโยบายการสนับสนุนจากรัฐบาลเวียดนาม ที่ใหผลตอบแทนเพิ่มเติมแกชาวนาเพื่อใหชาวนามีกำไรที่ดขี ึ้นจากผลผลิตที่เพิ่มขึ้น จากรายงานของสมาคมปุยแหงประเทศเวียดนาม (The Vietnam Fretiliser Association) ไดกลาวไววา ประเทศเวียดนามจะใชปุยประมาณ 8.9 ลานตันในป 2553 ซึ่งเทียบกับป 2552 ประเทศเวียดนามใชปุย 8.3 ลานตัน

ที่มา : Figure 2. Vietnam’s fertiliser consumption has risen sharply in recent years (VFA, 2010)

78

รายงานประจำป 2553

แผนภูมิ 38 : ความตองการปุย


การผลิตขาวมีการใชปุยมากที่สุด และจะเก็บเกี่ยว 3 ครั้งตอป ซึ่งในชวงฤดูหนาวและฤดูใบไมผลิจะมีการใชปุยมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับฤดูกาล อื่นๆ จากลักษณะภูมิประเทศ พบวา สามเหลี่ยมแมน้ำโขงและตะวันออกเฉียงใตของประเทศเวียดนามมีพื้นที่ใชสอยทางการเกษตรมากกวา รอยละ 65 ดังนั้น บริเวณนี้จึงเปนตลาดปุยที่ใหญที่สุดของประเทศเวียดนาม สวนใหญผลิตผลการเกษตรทางตอนใตผลิตเพื่อการสงออก ซึ่งชาวนาตางใหความสำคัญกับคุณภาพ และเลือกปุยที่มีตราที่มีชื่อเสียง และยอม จายเงินมากขึ้น เพื่อใหการผลิตและผลิตผลไดปริมาณเพิ่มขึ้น ในทางกลับกัน ชาวนาทางตอนเหนือกลับใหความสนใจเกี่ยวกับคุณภาพนอยกวา ทำใหราคาเปนปจจัยสำคัญ สงผลใหพบปุยที่ดอยคุณภาพและปุยปลอมทางตอนเหนือมากกวา กลาวโดยสรุป เปนที่คาดการณวาจะมีผูผลิตปุยประมาณ 5.6 ลานตันในป 2553 รวมถึงปุยยูเรียจำนวน 946,000 ตัน ปุยที่มีฟอสเฟตเปนสวน ผสมหลัก 1.7 ลานตัน / ปุย NPK จำนวน 2.7 ลานคัน และปุย DAP 260,000 ตัน และเพื่อใหตอบสนองความตองการดังกลาว ปริมาณการนำเขา ปุยจึงนาจะไปถึง 3.3 ลานตัน

ขอมูลธุรกิจ จากสถานการณดังกลาวขางตน จะเห็นไดวา บาคองโคจะไดประโยชนในหลายๆ ดาน บาคองโค ตั้งมานาน 15 ปและกระจายสินคาของตนเอง ในประเทศเวียดนามตอนใต โดยใชตราสินคา (The STORK) ซึ่งเปนสัญลักษณที่มีชื่อเสียงและมีความหมายในดานคุณภาพและความนาเชื่อถือ นอกจากนี้ บาคองโคยังมีกระบวนการผลิตปุยโดยใช 5 ขั้นตอนเมื่อเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นๆ ที่ผลิตปุย NPK ซึ่งบาคองโคยังคงคิดคนและ ขยายสินคาโดยใชกระบวนการผลิตปุยทั้งเคมี ฟสิกสและชีววิทยา

แผนภูมิ 39 กระบวนการผลิตปุยของบาคองโค ในป 2553 บาคองโคยังคงรักษาการผลิตไวที่ 151,000 ตันและนำนโยบายการชำระสินคาเปนเงินสดมาใชกับลูกคา ซึ่งการที่สามารถใชนโยบายนี้ ไดแสดงใหเห็นวาสินคาของบาคองโคมีชื่อเสียงในดานคุณภาพ ซึ่งบาคองโคจะยังคงตรวจสอบและประดิษฐสูตรที่ดีที่สุดและจะปรับผลิตภัณฑ ใหมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น ขณะเดียวกัน บาคองโคก็จะเนนการตลาดในทุกระดับไมวาจะเปน ชาวนา ผูคาปลีก และผูคาสง รายงานประจำป 2553

79


สวนในแงการผลิต บาคองโคใหความสำคัญตอการพัฒนาคุณภาพการผลิต ปรับปรุงตนทุนการผลิตใหมีความเหมาะสมมากที่สุดผานกระบวนการ ชั่งน้ำหนักดวยระบบใหมเพื่อกระบวนการผลิตในขั้นตอนตางๆ ปรับปรุงอุปกรณการบรรจุถุงใหเปนอัตโนมัติและอุปกรณขนถายอัตโนมัติเพื่อให ระบบโลจิสติคสมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ผลประกอบการในป 2553 บาคองโคมีรายไดจากการขาย 2,146.4 ลานบาท และมีกำไรสุทธิหลังหักภาษี 211.71 ลานบาท ขณะที่คลังเก็บสินคาสามารถเก็บสินคาไดจำนวน 150,000 ตัน หรือคิดเปนรอยละ 53 ของพื้นที่คลังสินคาทั้งหมด โดยมีกำไรสุทธิ 3.3 ลานบาท

ลูกคา บาคองโคมีเครือขายผูคาสงประมาณ 200 ราย และผูคาปลีกประมาณ 4,000 ราย ซึ่งขณะนี้อยูในกระบวนการรวมเครือขายใหมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น ทั้งนี้ ชาวนา ซึ่งเปนผูใชจริง (end user) มีประมาณ 2 ลานคน

พนักงาน บาคองโคมีพนักงานทั้งสิ้น 342 คน สวนใหญพนักงานเหลานี้ทำงานมากกวา 8 ป ซึ่งแบงเปน l ฝายโรงงาน : เปนคนงาน 240 คน ชางเทคนิค วิศวกรและผูจัดการตางๆ l ฝายธุรการ : 20 คน ไดแก ฝายการเงิน ฝายบุคคลและการบริหารงานทั่วไป l ฝายขายและการตลาด : 50 คน ไดแก วิศวกรฝายขาย และเจาหนาที่การตลาดและการบริหารงานทั่วไป l สาขาไฮฟอง : ผูแทนประจำสาขา-20 คน

คูแขง การแขงขันเปนสิ่งสำคัญในตลาดเวียดนาม ดังที่ไดกลาวไวแลวขางตน คือ มีผูผลิตมากกวา 500 ราย สวนใหญเปนบริษัทที่มีรัฐบาลเปนเจาของ ซึ่งรายใหญที่สุด คือ Petro Vietnam ทั้งนี้ Petro Vietnam อยูในระหวางการกอสรางโรงงานผลิตปุยยูเรียขนาดใหญในนิคมอุตสาหกรรม Phu My โดยมีกำลังการผลิตทั้งสิ้น 4.0 ลานตัน และวางแผนไววาจะสรางโรงงานผลิตปุย NPK เพื่อผลผลิต 400,000 ตันในป 2555 อยางไรก็ตาม โรงงาน ปุย NPK ยังไมไดรับการยืนยันและการกอสรางยังไมไดเริ่มขึ้น

ปจจัยบวกและลบสำหรับป 2554-2555 ราคาวัตถุดิบมีแนวโนมที่จะเพิ่มขึ้นทั้งในตลาดในและระหวางประเทศ ซึ่งสวนใหญเปนวัตถุดิบในการผลิตปุย DAP ยูเรียและโปแตช ซึ่งเปน ไปตามราคาพืชผลที่สูงขึ้นและสวนใหญมีการเก็บตุนไวนอย การเพิ่มขึ้นของราคาวัตถุดิบจะทำใหตนทุนการขายเพิ่มขึ้นในระยะสั้นและระยะกลาง อยางไรก็ตาม บาคองโคสามารถรักษานโยบายการขายดวยเงินสด และระดับสินคาคงคลังแบบ just in time ไวได ทำใหบาคองโคสามารถผลัก ภาระตนทุนที่สูงขึ้นนี้ดวยการขึ้นราคาสินคา บาคองโคคาดวาระดับการผลิตจะเพิ่มขึ้นเล็กนอยในป 2554 และยังคงรักษานโยบายการขายดวยเงินสดตอไป และจะยังคงปรับปรุงคุณภาพตอไป โดยถือเปนเปาหมายและทิศทางที่สำคัญอันหนึ่ง และหากผลผลิตมีมากขึ้นก็อาจจะมองหาตลาดเพื่อสงออก กลาวโดยสรุป จากการที่บาคองโคมีพื้นที่ติดกับทาเรือ Phu My ทำใหบาคองโคสามารถขยายขีดความสามารถในดานธุรกิจคลังสินคาและ โลจิสติคสโดยการซื้อที่ดินในนิคมอุตสาหกรรม Phu My และสรางคลังสินคาใหมเพื่อรองรับปริมาณสินคาจาก Baria Serece

80

รายงานประจำป 2553


ธุรกิจโลจิสติคสถานหิน ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส จำกัด (อะธีน) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนรอยละ 99.9 ไดเขาซื้อหุนรอยละ 48.46 ของ บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) (UMS) จากผูถือหุนรายใหญจำนวนสองรายของ UMS และไดเขาซื้อใบสำคัญแสดงสิทธิรอยละ 5.55 ของ UMS จากผูถือหุนรายใหญรายหนึ่งของ UMS ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 อะธีนทำคำเสนอซื้อหุนและใบสำคัญแสดงสิทธิของ UMS อีก รอยละ 41.09 และใบแสดงสิทธิของ UMS อีกรอยละ 91.64 ซึ่งทำใหอะธีน ถือหุนใน UMS คิดเปนจำนวนรวมทั้งสิ้นรอยละ 89.55 UMS ทำธุรกิจเกี่ยวกับการคาถานหินและบริการโลจิสติคสแบบ “จากตนทางถึงปลายทาง” (end-to-end) และ “ตรงตอเวลา” (just-in-time) ใน ประเทศไทย UMS เปนเจาของโรงผสมถานหิน และคลังสินคา 2 แหง เรือลำเลียง 12 ลำ และรถบรรทุก 26 คัน เพื่อตอบสนองความตองการถานหิน ในประเทศที่สูงขึ้นของลูกคากลุมอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม ซึ่งใชเครื่องกำเนิดไอน้ำเชื้อเพลิงจากถานหิน UMS นำเขาถานหินที่มีคุณภาพซึ่งมีคาความรอนระดับกลาง ซึ่งสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมต่ำ ถานหินมีการนำเขามาจากอินโดนีเซียเพื่อขายไปให แกอุตสาหกรรมตางๆ ในประเทศ รวมถึงอุตสาหกรรมกระดาษ สิ่งทอ อาหารสำเร็จรูปและซีเมนต ทั้งนี้ กลยุทธการนำเขาถานหินของ UMS มีการ ปรับเปลี่ยนเพื่อใหเขากับขอกำหนดทางวิศวกรรมของหมอไอน้ำที่ใชในอุตสาหกรรมแตละประเภท UMS วางเปาหมายที่จะเปนผูนำในการขายและ สงถานหินใหกับอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็กในประเทศ

สถานการณการตลาด แผนภูมิขางลางแสดงถึงประเภทของถานหิน การเก็บสำรอง คุณสมบัติทั่วไป และการนำมาใช แผนภูมิ 40 : ประเภทของถานหิน การเก็บสำรอง คุณสมบัติทั่วไป และการนำมาใช

ที่มา : World Coal Institute

รายงานประจำป 2553

81


ตารางขางลางแสดงถึงคุณสมบัติเฉพาะและรายละเอียดตางๆ ของถานหินแตละประเภท ตาราง 21 : คุณสมบัติเฉพาะและรายละเอียดตางๆ ของถานหินแตละประเภท ประเภท แอนทราไซท บิทูมินัส ซับบิทูมินัส ลิกไนต

ปริมาณความรอนที่ไดจากการเผาไหมถานหิน ตอหนึ่งหนวยน้ำหนัก (kcal/kg.)*** 6,500 – 8,000 5,500 – 6,500 4,500 – 5,500 3,000 – 4,000

คาความชื้น (%)* 5-8 8-15 24-30 30-38

ขี้เถา (%)* 5-12 1-12 1-10 15-20

กำมะถัน(%) 0.1-1.0 0.1-1.5** 0.1-1.5** 2.0-5.0

* Percentage by weight ** 1% of sulphur would produce approximately 500 ppm of sulphur dioxide *** Calorific value is the heating or energy value of the fuel per kilogram of weight.

จากตารางขางตน ถานหินที่มีคุณภาพสูงที่สุด (ความรอน ความชื้น และกำมะถัน) คือ แอนทราไซท บิทูมินัส ซับบิทูมินัส และลิกไนตตามลำดับ ในป 2552 ปริมาณการใชลิกไนตและถานหินทั้งหมดมีประมาณ 33.52 ลานตัน ลดลงจากป 2551 รอยละ 2.9 หรือประมาณ 34.51 ลานตัน ขณะที่การใชคลิกไนตในป 2552 มีจำนวน 15.82 ลานตัน ซึ่งผูใชที่สำคัญ คือ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ขณะที่ปริมาณสวนที่เหลือ 2.03 ลานตันใชกับอุตสาหกรรมประเภทตางๆ ไมวาจะเปน ซีเมนต กระดาษ และอาหาร ทั้งนี้การใชลิกไนตในอุตสาหกรรมในประเทศมีปริมาณ ลดลง เนื่องจากการลดลงของปริมาณการจัดหาถานหินลิกไนตในประเทศจากบริษัท ลานนารีซอรสเซส จำกัด (มหาชน) ซึ่งหยุดการผลิตไป การนำเขาถานหินในป 2552 มีปริมาณทั้งสิ้น 15.587 ลานตัน ลดลงจากปที่ผานมา รอยละ 1.9 ขณะที่ภาคอุตสาหกรรมมีปริมาณการใช 10.55 ลานตัน ที่เหลืออีก 5.12 ลานตันใชโดยบริษัทผลิตไฟฟาเอกชน (ผูผลิตไฟฟารายเล็ก และผูผลิตไฟฟาอิสระ) ทั้งนี้ กลาวโดยรวมวา ปริมาณการนำเขาและมูลคาถานหินในประเทศสูงขึ้นอยางสม่ำเสมอระหวางป 2548-2552

พันตัน 18,000 16,000

15,679

15,587

2551

2552

13,778

14,000 10,551

12,000 10,000

8,006

8,000 6,000 4,000 2,000 2548

2549

ที่มา : Energy Policy and Planning Office

82

รายงานประจำป 2553

2550

แผนภูมิ 41 : ปริมาณการนำเขาถานหิน


แผนภูมิ 42 : มูลคาการสงออกถานหิน

ที่มา : Energy Policy and Planning Office

เหตุผลสำคัญประการหนึ่งสำหรับแนวโนมขางตนนี้ คือ ขอไดเปรียบของถานหินในดานราคาเมื่อเปรียบเทียบกับน้ำมันเชื้อเพลิง แมวาราคา ตอหนวยของมูลคาความรอนสำหรับถานหินจะนอยกวาน้ำมันเชื้อเพลิงและกาซธรรมชาติ ถานหินก็ยังคงมีความไดเปรียบในเรื่องราคาถึง รอยละ 60-65 เมื่อเทียบกับน้ำมันเชื้อเพลิงในปจจุบัน ในความเปนจริงนั้น การใชถานหินในฐานะที่เปนแหลงพลังงานสามารถลดตนทุนการผลิตได และขอมูลทางสถิติแสดงใหเห็นวา ผูประกอบการ ที่ใชเครื่องจักรในการผลิตมีแนวโนมที่จะเปลี่ยนจากน้ำมันเชื้อเพลิงเปนถานหิน เพื่อที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันในระยะยาว แผนภูมิขางลางแสดงถึงการเปรียบเทียบราคาระหวางเชื้อเพลิง 3 ประเภท ราคา (บาทตอ 1 ลาน kcal)

ที่มา : www.eppo.go.th, www.dmf.go.th

แผนภูมิ 43 : การเปรียบเทียบราคาระหวาง เชื้อเพลิง 3 ประเภท

ขอมูลธุรกิจ จากตัวเลขขางตน แนวโนมและตลาดของถานหินในประเทศไทยเปนไปในทิศทางที่ดี มีโอกาสสำคัญที่จะทำให UMS สามารถขยายลูกคาและ ตลาด และในฐานะที่เปนหนึ่งในผูบุกเบิกธุรกิจโลจิสติคสถานหินในประเทศไทย UMS ยังคงรักษาชื่อเสียงในประเทศและตางประเทศไดเปน อยางดี UMS รายงานปริมาณการขายมากกวา 1.0 ลานตันในป 2553 และไดดำเนินการปรับปรุงกระบวนการคัดแยกถานหินและลงทุนในอุปกรณ เพิ่มเติมเพื่อสรางผลิตภัณฑตัวใหมออกมา

รายงานประจำป 2553

83


ผลประกอบการป 2553 UMS รายงานวา มีรายไดจากการขายทั้งสิ้น 2,719.1 ลานบาท และขาดทุนสุทธิ 49.3 ลานบาทสำหรับรอบปบัญชี 2553 (ตุลาคม 2552 กันยายน 2553) แตอยางไรก็ตาม UMS มีกำไรสุทธิใน 11 เดือนเปนจำนวน 79.1 ลานบาท (ไมรวมขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากการทำ สัญญาลวงหนา) โดยบริษัทฯ บันทึกกำไรของ UMS เขามาในงบการเงินรวมของบริษัทฯ ในสัดสวนรอยละ 48.46 จากชวงวันที่ 1 พฤศจิกายน 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และรอยละ 89.55 จากชวงวันที่ 1 มกราคม - 30 กันยายน พ.ศ. 2553

คูแขง ธุรกิจการขายถานหินในประเทศไทยมีประมาณ 20 ราย ซึ่งประมาณ 15 รายเปนคูแขงโดยตรงกับ UMS ในตลาดอุตสาหกรรมขนาดกลางและ ขนาดเล็ก ทั้งนี้ UMS เปนผูนำตลาดในพื้นที่ดังกลาว โดยมีสัดสวนทางการตลาดประมาณรอยละ 35

ปจจับบวกและลบสำหรับป 2554 - 2555 จากสิ่งที่กลาวมาแลว จะเห็นไดวา อุตสาหกรรมการผลิตมีแนวโนมที่จะเปลี่ยนการใชน้ำมันเชื้อเพลิงมาเปนถานหินเพิ่มมากขึ้น ซึ่ง UMS ยังคงสนับสนุนลูกคาใหหันมาใชถานหิน โดยใหคำแนะนำดานตางๆ ไมวาจะเปน การใหคำปรึกษาเกี่ยวกับการใชถานหิน การใหคำปรึกษา เกี่ยวกับขอกำหนดทางเทคนิคของหมอไอน้ำที่ใชถานหินและการจัดหาถานหินที่มีคุณภาพอยางสม่ำเสมอ ราคาถานหินมีแนวโนมที่ดีขึ้น และ UMS คาดหวังวาในป 2554 ราคาขายถานหินโดยเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นตามภาวะตลาด นอกจากนี้ UMS ไดเริ่มเขาไปในโรงานปูนซีเมนต และคาดหวังวาการผลิตซีเมนตจะมีเพิ่มขึ้นเนื่องจากโครงสรางขั้นพื้นฐานทั้งภาครัฐและเอกชนกำลังเริ่มฟนตัว

84

รายงานประจำป 2553


นโยบายวาดวยการรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทฯ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) มีความมุงมั่นที่จะดำรงตนใหเปนบริษัทฯ ที่เปนแบบอยางที่ดีของสังคม (Good Corporate Citizen) ในการดำเนินงานและการทำกิจกรรมทุกดาน บริษัทฯ ดำเนินกิจการดวยหลักจริยธรรมและหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีเพื่อใหสอดคลองกับ ผลประโยชนของสังคม และสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยใหความสำคัญกับผูมีสวนไดเสียของบริษัทฯ คุณภาพ ความปลอดภัย การเคารพสิทธิมนุษยชน การมีสวนรวมในชุมชนและการพัฒนาสังคม และการคุมครองสิ่งแวดลอม

การกำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ ไดกำหนดนโยบายวาดวยการกำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งระบุถึงนโยบายวาดวยสิทธิของผูมีสวนไดเสียของบริษัทฯ รวมถึงหลักจริยธรรม และจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ไวแลวอยางชัดเจน บริษัทฯ ยึดมั่นในคานิยมหลักของบริษัทฯ ไดแก คุณธรรม ความเปนเลิศ จิตสำนึกในการทำงานรวมกัน และการยึดมั่นในพันธะ ซึ่งคานิยมเหลานี้ ไดหลอหลอมรากฐานของการกำกับดูแลกิจการที่ดีที่สุดใหกับบริษัทฯ บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามนโยบายวาดวยการกำกับดูแลกิจการที่ดีรับฟง และ ดำเนินกิจการใหสอดคลองกับความตองการของผูถือหุน สำหรับขอมูลเพิ่มเติมอานไดที่หัวขอ “รายงานวาดวยการกำกับดูแลกิจการ” ในรายงานประจำปฉบับนี้ ไดที่หนา 195 ถึง 212

การดูแลพนักงานและเคารพสิทธิมนุษยชน บริษัทฯ ตระหนักถึงคุณคาของพนักงานและมุงรักษาพนักงานใหทำงานในระยะยาว เนื่องจากเปนสิ่งสำคัญตอการเติบโตของกลุมบริษัทฯ บริษัทฯ จึงจัดใหมีการดำเนินงาน สงเสริมดานแรงงานสัมพันธอยางตอเนื่องในแนวทางตอไปนี้

ก) การจางงานที่เปนธรรม บริษัทฯ มีความมุงหมายที่จะรับและรักษาพนักงานที่มีความสามารถไว ตลอดจนสรางสมดุลระหวางชีวิตและการทำงาน (life/work balance) ใหกับพนักงานมากขึ้น กลุมบริษัทฯ มีสวัสดิการใหกับพนักงานประจำ รวมถึงกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ประกันชีวิต ประกันสุขภาพสวนบุคคล วันหยุดลาคลอด และวันหยุดอื่นๆ นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ ยังจัดใหมีโครงการพัฒนาสำหรับบุคคลและโครงการฝกอบรมโดยทั่วไป เพื่อเพิ่มทักษะ ในการทำงานใหกับพนักงานอีกดวย โดยโครงการเหลานี้จะสอดคลองกับหนาที่ความรับผิดชอบงานของพนักงานแตละคนในกลุมบริษัทฯ และมี การเชื่อมโยงกับผลการประเมินการปฏิบัติงานประจำปของพนักงานแตละคนอีกดวย

ข) การดูแลพนักงานและสวัสดิการ กลุมบริษัทฯ ไดจัดตั้งคณะกรรมการสวัสดิการ (Welfare Committee) เพื่อที่จะใหคำปรึกษาและคำแนะนำเกี่ยวกับสวัสดิการตางๆ ใหกับพนักงาน โดยหนาที่และความรับผิดชอบหลักๆ ของคณะกรรมการสวัสดิการประกอบไปดวย การใหคำแนะนำเกี่ยวกับสวัสดิการตางๆ การตรวจเช็ค และตรวจสอบสวัสดิการที่มอบใหแกพนักงาน รวมทั้งใหความคิดเห็น และเสนอแนะแนวทางเพิ่มเติม หรือที่จำเปนเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการตางๆ

ค) การสื่อสารภายในองคกร กลุมบริษัทฯ ใหความสำคัญกับการสื่อสารภายในองคกรกับพนักงานทุกระดับ เพื่อใหพนักงานทราบขาวสาร กิจกรรม รวมถึงทิศทางการดำเนินงาน ของบริษัทฯ อยางทั่วถึง โดยมีชองทางและกิจกรรมการสื่อสารที่สำคัญ อาทิเชน l การประชุมทั้งบริษัทฯ (Company Town Hall) จัดขึ้นเปนประจำในชวงสิ้นไตรมาสของงบประมาณการเงิน เพื่อชี้แจงถึงผลการดำเนินงาน ปจจัยที่มีผลตอการดำเนินงานและทิศทางการดำเนินงานตอไปในอนาคต โดยจะมีการถายทอดไปยังพนักงานในกลุมบริษัทฯ ทั้งในและ ตางประเทศ เพื่อใหพนักงานไดรับทราบขาวสารและทิศทางการดำเนินงานของบริษัทฯ อยางทั่วถึงกัน l Intranet หรือเว็บไซต เปนศูนยกลางขอมูลขาวสารภายในองคกร โดยจะเผยแพรขอมูลหรือประกาศที่เกี่ยวของกับพนักงาน, ขอมูลกิจกรรมหรือ หลักสูตรอบรมภายในองคกร และเรื่องอื่นๆ รวมทั้งเกร็ดความรูตางๆ ที่เปนประโยชน ซึ่งเนื้อหาและ Design จะมีการ update ใหมีความใหม และนาสนใจอยูเสมอ l E - Newsletter หรือวารสารภายในองคกร บริษัทฯ ไดจัดใหมีวารสารภายในองคกรชื่อ “The Bridge Focus” เผยแพรรายไตรมาส โดยจะ เปนการรวบรวมขาวและกิจกรรมสำคัญของบริษัทในเครือ รวมทั้งมีบทสัมภาษณผูบริหารหรือพนักงานในกลุมบริษัทฯ ในแงมุมตางๆ และ คอลัมนอื่นๆ ที่เปนประโยชนตอพนักงาน โดยจะสงถึงพนักงานในเครือที่ทำงานในสำนักงานทาง E-mail รวมทั้งผลิตเปนเลมเพื่อสงไปที่เรือ สำหรับพนักงานที่ทำงานบนเรือดวย

รายงานประจำป 2553

85


l

l

l

CEO Message หรือสารจาก CEO ที่สงถึงพนักงานในเครือทาง Email และ poster ติดบอรดภายในองคกร เปนชองทางการสื่อสารระหวาง CEO ถึงพนักงานเปนประจำ ทุกเดือน กิจกรรมการดูงาน บริษัทฯ ไดจัดทริปดูงานบริษัทในเครือเพื่อเปนการถายทอดความรู และแลกเปลี่ยนประสบการณของธุรกิจตางๆ ในกลุมบริษัทฯ รวมถึงเปนการสรางโอกาส ในการทำความรูจักและสรางความสัมพันธระหวางพนักงาน โดยเปดโอกาสใหพนักงานทุกคน ที่สนใจไปรวมกิจกรรมได ชองทางสื่อสารดวน เชนการสง sms เปนการสงขอความถึงพนักงานเมื่อมีเหตุการณสำคัญ เรงดวน เปนตน

ง) การจัดกิจกรรมตางๆ งานกิจกรรม Maritime Awards เปนงานประจำปที่จัดขึ้น เพื่อประกาศเกียรติคุณใหกับ บุคลากรผูปฏิบัติงานบนกองเรือและบนฝงของบริษัทฯ ที่มีพฤติกรรมที่นายกยอง และมี ผลงานดีเดน ซึ่งบริษัทฯ มีการเชิญสมาชิกในครอบครัวของพนักงานที่ไดรับรางวัลมารวมงาน ดังกลาวดวย เพื่อยกยองเชิดชู ใหกำลังใจแกพนักงานเหลานั้นตอหนาบุคคลอันเปนที่รัก

กลุมบริษัทไดจัดกิจกรรม Happy TTA เปนกิจกรรม เพื่อใหพนักงานผอนคลาย

อีกทั้ง กลุมบริษัทฯ ยังไดจัดกิจกรรม Happy TTA เปนกิจกรรมเพื่อใหพนักงานผอนคลายและ มีความสุขมากขึ้น ตัวอยางกิจกรรมในโครงการนี้ เชน บริการนวดตัวผอนคลายใหที่โตะทำงาน กิจกรรมฟงธรรมสรางสุขกับพระอาจารยจากรายการธรรมะเดลิเวอรี่ โยคะ บอดี้คอมแบท เปนตน

จ) ความปลอดภัยและสุขอนามัยในสถานประกอบการ กลุมบริษัทฯ มีความมุงหมายที่จะใหพนักงานทุกคนทำงานในสถานที่ทำงานที่มีความปลอดภัย บริษัทฯ ไดกำหนดนโยบายความปลอดภัย และจัดตั้งคณะกรรมการอาชีวอนามัยความปลอดภัย และสิ่งแวดลอมในสถานประกอบการ (Occupational Health and Safe Working Environment Committee) เพื่อสรางอาชีวอนามัยและสิ่งแวดลอมในบริษัทฯ ที่ปลอดภัย พนักงานทุกคนจะตองรายงานสภาพแวดลอมของการทำงานที่ไมปลอดภัยตอผูบังคับบัญชาหรือ ผูที่ไดรับมอบอำนาจจากบริษัทฯ พนักงานตองเคารพและปฏิบัติตามนโยบายอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอมในสถานประกอบการของกลุมบริษัทฯ และใหขอเสนอแนะตางๆ (ถามี) ตอผูบังคับบัญชาหรือผูที่ไดรับมอบอำนาจจากบริษัทฯ

86

รายงานประจำป 2553


การมีสวนรวมในชุมชนและการพัฒนาสังคม การมีสวนรวมในชุมชนและการพัฒนาสังคมของบริษัทฯ มีสวนประกอบหลัก 2 สวน คือ การบริจาคเงิน และการสนับสนุนองคกรตางๆ ทั้งสวนทองถิ่นและระดับชาติ กลุมบริษัทฯ สนับสนุนหลายกลุมธุรกิจและหอการคาตางๆ รวมทั้งสมาคมเจาของเรือไทย ซึ่งมีผูบริหาร ระดับสูงของกลุมบริษัทฯ เปนกรรมการในสมาคมดังกลาว อีกทั้ง กลุมบริษัทฯ ไดมีนโยบาย สนับสนุนใหพนักงานสละเวลาเพื่อชุมชนและอนุญาตตอคำขอที่เหมาะสมของพนักงานที่จะ ลางานเพื่อไปประกอบกิจกรรมเพื่อชุมชน

ภาพร าพรวมกบ วมกับพนักงานจิ งานจตอา ตอาสา บริจาคเงินแล ะสิ่งของใหกับ และสิ สมาคมรวมปญญาคนพิ ญญาคนพิการ

ก. การบริจาคเงิน บริษัทฯ ไดสนับสนุนการใหทุนการศึกษาแกนักเรียนจากศูนยฝกพาณิชยนาวี นิสิตและนักศึกษา จากมหาวิทยาลัยบูรพาและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รวมทั้งบุตรธิดาของลูกเรือเสมอมา โครงการ “น้ำเอยน้ำใจ” เปนโครงการที่บริษัทฯ จัดตั้งขึ้น เพื่อนำเงินไปชวยเหลือและสนับสนุน องคกรการกุศลตางๆ ที่ขาดแคลน หรือเปนงบประมาณเพื่อชวยบรรเทาทุกขแกผูประสบ สาธารณภัยตางๆ

ภาพบริจาคเงินเพื่อสรางหองน้ำ และซื้ออุปกรณการเรียนใหกับเด็กนักเรียนวัดดอนมะกอก จังหวัดเพชรบุรี

ข. กิจกรรมเพื่อชุมชน บริษัทฯ เขารวมเปนสมาชิกของสมาคมเจาของเรือไทย สมาคมเจาของเรือและตัวแทนเรือ กรุงเทพฯ เพื่อรวมเปนสวนหนึ่งในการชวยพัฒนาใหอุตสาหกรรมเดินเรือมีความกาวหนา พัฒนาอยางตอเนื่อง บริษัทฯ ใหการสนับสนุนความรูในการปฏิบัติงานจริงแกสถาบันการเดินเรือ รวมทั้งมหาวิทยาลัย ตางๆ อาทิ ศูนยฝกพาณิชยนาวี มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพื่อสงเสริม ใหนักเรียน นิสิตและนักศึกษามีความเขาใจถึงความสำคัญของธุรกิจพาณิชยนาวี บริษัทฯ สนับสนุนใหพนักงานมีสวนรวมในกิจกรรมชวยเหลือสังคม อาทิ เปนผูบรรยายรับเชิญ ในชั้นเรียนใหแกมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยหลายแหงเกี่ยวกับความรูทางดานพาณิชยนาวี บริษัทฯ ไดจัดโครงการกระดาษหนาที่สาม (Sight In Hand) เพื่อรวบรวมกระดาษที่ใชแลวใน สำนักงานและนำไปบริจาคใหกับมูลนิธิชวยเหลือคนตาบอดในพระบรมราชินูปถัมภ ในการนำ ไปจัดทำหนังสือพิมพอักษรเบรลล ซึ่งโครงการนี้ จะเปนโครงการที่จัดทำอยางตอเนื่อง เพื่อชวย รณรงคในเรื่องของการลดโลกรอน และกระตุนใหเกิดจิตสำนึกในการใชทรัพยากรตางๆ อยาง เกิดประโยชนสูงสุด

ภาพบรรยากาศการไปบริจาค กระดาษและเลี้ยงอาหาร กลางวันแกเด็กตาบอด

รายงานประจำป 2553

87


4) การคุมครองสิ่งแวดลอม บริษัทฯ ตระหนักวาในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อาจมีกิจกรรมที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและชุมชนที่บริษัทฯ ดำเนินการอยู บริษัทฯ จึงไดมี ความรับผิดชอบที่จะจัดการกับผลกระทบเหลานี้และหาทางแกไขอยางมีประสิทธิผลเทาที่จะทำได บริษัทฯ จึงไดยึดมั่นที่จะพัฒนาบทบาท ทางดานสิ่งแวดลอมนี้และหาแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดในการพัฒนาองคกรอยางยั่งยืน

ก. นโยบายเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม บริษัทฯ มีความมุงหมายที่จะ l ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่เกิดจากการดำเนินงานของบริษัทฯ และประเมินผลกระทบตอสิ่งแวดลอม รวมทั้งหาทางที่จะลดผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมกอนที่จะเริ่มดำเนินงานใหมๆ l ลดปริมาณการใชวัตถุดิบในการปฏิบัติงานตางๆ การนำกลับมาใชใหมแทนการทิ้งวัตถุดิบถาทำได และสนับสนุนการนำวัสดุที่ใชแลว กลับมาใชอีก l หาทางที่จะปรับปรุงการใชพลังงานในอาคารอยางมีประสิทธิผลและใชพลังงานอยางชาญฉลาดในการปฏิบัติงานทั้งหมด l ลดระดับการปลอยมลพิษจากสถานที่ทำงานของบริษัทฯ ในจุดที่ทำได l ริเริ่มโครงการตางๆ ที่มุงที่จะลดปริมาณของเสีย l มีความรับผิดชอบตอการกำจัดสิ่งปฏิกูล l ประสานงานกับบริษัทผูนำสงวัตถุดิบใหบริษัทฯ โดยใชนโยบายการซื้อที่มีคุณภาพ เพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่เกิดจากการปฏิบัติการ ของบริษัทเหลานั้น

ข. การจัดการความเสี่ยงทางดานสิ่งแวดลอม ในการดำเนินงานของกลุมบริษัทฯ จะตองใชพลังงานอยางตอเนื่อง และการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกมาในบรรยากาศ นอกจากนี้ บริษัทฯ ใชกระดาษเปนปริมาณมากในการทำรายงาน และในกระบวนการจัดเก็บเอกสาร ทั้งกับองคกรเองและกับลูกคา พลังงานที่ใชเพื่อใหเกิดแสงสวาง ความรอนของอุปกรณและเครื่องใชสำนักงาน ระบบความเย็นในสำนักงาน และอุปกรณเครื่องใชสำนักงาน ลวนเปนอีกปจจัยสำคัญของกระบวนการ กลุมบริษัทฯ ใหความสนใจกับสิ่งตาง ๆ ตอไปนี้ เพื่อใหมั่นใจไดวามีระบบที่รองรับในการรักษาสิ่งแวดลอม 1) แสงสวาง บริษัทฯ สนับสนุนใหมีการใชหลอดไฟแบบประหยัดพลังงาน และมีการแบงพื้นที่ออกเปนสัดสวนเพื่อใหสามารถปดไฟไดหากไมจำเปน 2) เครื่องปรับอากาศ มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศทั่วทั้งอาคารสำนักงานของบริษัทฯ เพื่อใหแนใจวาระบบความเย็นจะทำงานอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด บริษัทฯ จัดตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมการทำงานที่ประมาณ 25 องศาเซลเซียส 3) กระดาษ กลุมโทรีเซนมองหาวิธีที่จะลดปริมาณการใชกระดาษและนำกระดาษที่ใชแลวกลับมาใชใหมใหมากขึ้น บริษัทฯ มุงมั่นที่จะลดยอดการสั่งซื้อ กระดาษ และสนับสนุนพนักงานใหนำกระดาษที่ใชแลวกลับมาใชใหม นอกจากนี้ พนักงานไดรับการสนับสนุนใหใชการสื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส ในรูปแบบของอีเมล และการสแกนเอกสารแลวเก็บในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส 4) ขยะ ขยะทั่วไปในสำนักงานจะถูกเก็บและกำจัดโดยพนักงานทำความสะอาดทุกวัน และนำไปที่เครื่องอัดขยะเพื่อทำการกำจัดขยะโดยบริษัทเก็บขยะ ที่ทำสัญญาวาจางไว หรือพนักงานของรัฐที่จะเขามาเก็บขยะทุกสัปดาห 5) กองเรือของบริษัทฯ จากความพยายามลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการขนสงทางเรือระหวางประเทศทั่วโลกนั้น คณะกรรมการองคกรทางทะเลระหวางประเทศ (IMO) ไดรวมกันทำงานอยางพิถีพิถันเปนเวลาหลายปในการพัฒนาระบอบการใชบังคับ ที่ประกอบดวยมาตรการทางดานเทคนิคและดานการ ปฏิบัติการที่ในปจจุบันอุตสาหกรรมการขนสงทางเรือระหวางประเทศนำมาตรการตางๆ มาบังคับใชโดยสมัครใจ

88

รายงานประจำป 2553


เมื่อกรอบขอบังคับที่จัดทำโดยองคกรทางทะเลระหวางประเทศ (IMO) ไดมีผลบังคับใช คาดวาจะสามารถชวยลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนได ออกไซคจากการขนสงทางเรือระหวางประเทศไดอยางมาก เมื่อมาตรการทางดานเทคนิคและดานการปฏิบัติการไดมีผลบังคับใชแลวในป 2563 จะชวยลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซคในชั้นบรรยากาศไดถึง 250 ลานตันตอปเมื่อเทียบกับเมื่อมีการทำธุรกิจโดยปรกติ และไดถึง 600 ลานตัน ในป 2573 บริษัทฯ ตระหนักถึงความรับผิดชอบที่ควรมีตอผลกระทบดังกลาว จึงมีมาตรการที่จะชวยลดผลกระทบสภาวะเรือนกระจกดังตอไปนี้ 1) การสรางจิตสำนึกของกองเรือในการลดปริมาณการปลอยกาซที่มีผลกระทบสูอากาศ 2) จัดทำแผนกลยุทธและปฏิบัติการลดปริมาณการปลอยกาซสำหรับกองเรือดังนี้ l การใชน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีสวนผสมของซัลเฟอรที่ต่ำกวาและทดลองใชน้ำยาพิเศษผสมในน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อชวยใหการเผาไหมสมบูรณ ยิ่งขึ้น และลดความสิ้นเปลืองของน้ำมันเชื้อเพลิงลง l ใชระบบการควบคุมการใชปริมาณน้ำมันหลอลื่น (Alpha Lubricator) เพื่อลดความสิ้นเปลืองของน้ำมันเชื้อเพลิงในกระบอกสูบ l บำรุงและดูแลรักษาอุปกรณตางๆ ใหอยูในสภาพที่เหมาะสม เพื่อสามารถปฏิบัติการไดเต็มประสิทธิภาพ l การซอมแซมบำรุงเรืออยางตอเนื่อง เพื่อใหมั่นใจไดวาอุปกรณทั้งหมดทำงานไดเต็มประสิทธิภาพ l ทดสอบกระบวนการขัดลางตัวเรือ 100% และใชสีที่ลดแรงเสียดทานของน้ำทะเล l นำ Green Passport Certification มาใชกับเรือ l สนับสนุนวิจัยคนควาตางๆ เพื่อการพัฒนาวิธีใหมๆ ในการลดสภาวะเรือนกระจกที่เกิดจากเรือ นอกจากนี้ ยังมีการคาดการณวา จะมีการเก็บภาษีเพิ่มเติมจากธุรกิจเรือจากการสรางมลภาวะดังกลาว เราจึงพยายามที่จะลงทุนในโครงการตางๆ ที่มีสวนชวยสนับสนุนการบำบัดภาวะโลกรอน ซึ่งไมเพียงแตสนับสนุนกลยุทธการลดปริมาณการปลอยกาซเสียของเรือเทานั้น แตยังเปนการลงทุนที่ คุมคากวาการที่ตองเสียคาใชจายที่ถูกเรียกเก็บดังกลาว

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) 2553

89


คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ ผลการดำเนินงานของกลุมบริษัทฯ ผลการดำเนินงานทางธุรกิจของบริษัทฯ ไดรับอิทธิพลจากปจจัยกระตุนหลักจำนวนหนึ่ง ในการประเมินผลการดำเนินงานทางธุรกิจระยะยาว ผูบริหารของบริษัทฯ ใหความสำคัญกับเปาหมายซึ่งประกอบดวย การเติบโตของรายไดอยางมั่นคง การควบคุมตนทุนโดยตรง การเติบโตของผล กำไรจากการดำเนินงาน การเพิ่มผลกำไรที่ไมไดเกิดจากการดำเนินงานอยางสูงสุด และการเติบโตอยางตอเนื่องของผลกำไรในสวนของผูถือหุน และอัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุนเฉลี่ย ตาราง 22 : ผลการดำเนินงานของกลุม 2553(2) 18,386.51 17,545.04 841.47 -45.90 795.57

2552(2) 19,795.00 18,336.22 1,458.78 354.93 1,813.71

อัตรากำไรสุทธิ(1)

4.33%

9.16%

-52.7%

อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุนโดยเฉลี่ย

3.04%

7.06%

-56.9%

ลานบาท รายไดจากการดำเนินงาน ตนทุนจากการดำเนินงาน กำไรจากการดำเนินงาน กำไร/ขาดทุนที่ไมไดเกิดจากการดำเนินงาน กำไรสุทธิ

หมายเหตุ

(1) (2)

เทียบปตอป (รอยละ) -7.1% -4.3% -42.3% -112.9% -56.1%

: กำไรสุทธิ/รายไดจากการดำเนินงาน : ผลประกอบการของบริษัทฯ ของป 2552 ไดรวมผลประกอบการ 2 เดือนจากบาคองโค ในขณะที่ของป 2553 ไดรวมผลประกอบการทั้งปจากบาคองโค และ 11 เดือน จาก UMS รวมถึงผลกำไรตามวิธีสวนไดเสียของ Petrolift ในระยะเวลา 6 เดือน

การที่ผลกำไรและรายไดของบริษัทฯ ลดลงนั้นมีสาเหตุหลักมาจากผลขาดทุนที่มีนัยสำคัญของเมอรเมด ซึ่งเกิดจากอัตราการใชประโยชนจาก สินทรัพยและคาเชาเรือที่ลดลงทั้งในสวนของงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำและในสวนของงานขุดเจาะ อยางไรก็ตาม ผลการขาดทุนดังกลาวไดถูกหัก กลบกับการเติบโตของผลกำไรของกลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน ซึ่งสวนใหญมาจากบาคองโค และกำไรจากกลุมธุรกิจขนสงที่คอนขางคงที่ ซึ่ง หลักๆ มาจากธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง

ผลกำไรของกลุมธุรกิจหลัก ตารางตอไปนี้แสดงผลการดำเนินงานของสายธุรกิจหลักโดยไมหักรายการระหวางกัน ซึ่งผลการดำเนินงานนี้ไมรวมรายการที่ไมเกิดจากการดำเนิน งาน เชน กำไรจากการขายเงินลงทุนและกำไรจากการทำ cross currency swap สรุปไดตามตารางดานลางนี้ ตาราง 23 : ผลกำไรจากการดำเนินงานของกลุมธุรกิจหลัก ลานบาท รายไดจากธุรกิจหลัก คาใชจายจากธุรกิจหลัก/ตนทุนขาย กำไรขั้นตน (2) คาเสื่อมราคาและการตัดจำหนาย คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร กำไรจากการขายเรือ กำไรจากการดำเนินงาน

กลุมธุรกิจขนสง 9,640.30 6,986.25 2,654.05 1,033.26 876.78 495.17 1,239.18

กลุมธุรกิจ พลังงาน 3,476.36 2,641.82 834.54 626.65 480.90 -273.01

2553 กลุมธุรกิจโครงสราง ขั้นพื้นฐาน สวนของบริษัทฯ (1) 4,897.25 -120.81 3,914.73 -24.95 982.52 -95.86 131.35 170.77 426.05 283.19 425.12 -549.82

หมายเหตุ (1) : สวนของบริษัทฯ หมายถึง TTA และบริษัทอื่นในกลุมซึ่งเปนบริษัทที่ถือหุนเพื่อการลงทุน และรวมการตัดรายการระหวางกัน (2) : กำไรขั้นตนที่แสดงตามตารางขางบนนี้ไมรวมคาเสื่อมราคาและการตัดจำหนาย ซึ่งจะทำใหตางกับตัวเลขที่ไดรายงานไวในงบการเงินของบริษัทฯ

90

รายงานประจำป 2553

รวม 17,893.10 13,517.85 4,375.25 1,962.03 2,066.92 495.17 841.47


ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองมีกำไรสุทธิ (ไมรวมผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน) เปนเงินจำนวน 1,113.34 ลานบาท สำหรับรอบปบัญชี 2553 เทียบกับกำไรสุทธิจำนวน 719.38 ลานบาท ในปที่แลว กลุมธุรกิจขนสงมีสวนแบงกำไรคิดเปนรอยละ 128.38 ใหกับกำไรสุทธิของกลุมบริษัทฯ ในชวงรอบปบัญชี 2553 เทียบกับรอยละ 57.62 ในชวงรอบปบัญชี 2552 ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ มีเรือทั้งสิ้น 27 ลำ และมีเรืออีก 5 ลำ ที่บริษัทฯ เชามาระยะยาว เพื่อเสริมกองเรือ โดยเรือ 4 ลำ ที่เชามา จะหมดสัญญาเชาในป 2554 และอีก 1 ลำจะหมดสัญญาเชาในป 2555 กองเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของมีระวางบรรทุกสินคารวมทั้งสิ้น 905,809 เดทเวทตัน และเรืออีก 5 ลำ ที่บริษัทฯ เชามาเพื่อเสริมกองเรือ มีระวางบรรทุกสินคารวม 255,994 เดทเวทตัน วันทำการ : เนื่องจากปริมาณการคาเติบโตขึ้น ทำใหตลาดตองการเรือที่มีขนาดใหญขึ้น ซึ่งถูกผลักดันดวยการเพิ่มขึ้นของปริมาณเรือในตลาด จากการที่บริษัทฯ ไดยกเลิกการใหบริการเรือขนบรรทุกสินคาแหงแบบเทกองแบบประจำเสนทางไปเมื่อเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2553 นั้น สงผลใหมี การขายเรือที่มีระวางสองชั้น (tween-decker) ไป 5 ลำ รวมระวางบรรทุกที่จำหนายไป 81,180 เดทเวทตัน เนื่องจากมีความยากลำบากที่จะหางาน ใหกับเรือเหลานี้ในตลาดที่ใหบริการเดินเรือแบบไมประจำเสนทาง นอกจากนี้ ยังไดขายเรือชนิด box-shape จำนวน 6 ลำ รวมระวางบรรทุกที่ จำหนายไป 174,989 เดทเวทตัน เนื่องจากเรือดังกลาวมีอายุมาก บริษัทฯ ไดรับมอบเรือที่สั่งตอใหมขนาด Supramax จำนวน 1 ลำ และซื้อเรือมือสองที่มีความทันสมัยขนาด Supramax จำนวน 1 ลำในป 2553 ทำใหเพิ่มระวางบรรทุกเขามาในกองเรืออีก 111,138 เดทเวทตัน ดังนั้นขนาดระวางบรรทุกเฉลี่ยของเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของเพิ่มขึ้นรอยละ 8.31 ในชวงรอบปบัญชี 2553 จำนวนวันเดินเรือทั้งหมดของกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองที่บริษัทฯ เปนเจาของลดลงรอยละ 23.19 จำนวนเรือที่ บริษัทฯ เปนเจาของที่ปฏิบัติการเต็มเวลาในป 2553 คิดเปนจำนวนเทากับ 28.02 ลำ เทียบกับ 37.66 ลำในป 2552 บริษัทฯ ไดเชาเรือมาเสริม กองเรือคิดเปน 3,096 วันเดินเรือ (หรือเทียบเทากับ 8.48 ลำที่ปฎิบัติการเต็มเวลา) ในป 2553 เทียบกับ 5,023 วันเดินเรือ (หรือเทียบเทากับ 13.76 ลำที่ปฎิบัติการเต็มเวลา) ในป 2552 โดยรวม ไดมีจำนวนเรือที่ปฏิบัติการเต็มเวลา คิดเปนจำนวนเทากับ 36.50 ลำ และ 51.42 ลำในป 2553 และป 2552 ตามลำดับ ตารางตอไปนี้สรุปการเปลี่ยนแปลงของขนาดกองเรือของบริษัทฯ ตามวันเดินเรือในรอบปปฏิทิน และวันทำการของเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของและ เรือที่เชามาเสริมกองเรือ ตาราง 24 : สรุปขอมูลกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง วัน เดทเวทตันเฉลี่ย จำนวนวันเดินเรือในรอบปปฏิทิน จำนวนวันเดินเรือที่มี จำนวนวันทำการ อัตราการใชประโยชนจากเรือที่เปนเจาของ จำนวนวันเดินเรือทำการของกองเรือที่เชามาเพิ่มเติม จำนวนวันเดินเรือทำการทั้งหมด จำนวนเฉลี่ยของเรือที่เปนเจาของ จำนวนเรือเทียบเทา

จำนวนวัน 29,444 11,113 10,430 10,227 98.05% 3,096 13,323 28.02 36.50

2553 เปลี่ยนแปลงรอยละ 8.31% -23.19% -25.89% -25.59% 0.39% -38.36% -29.01% -25.60% -29.02%

จำนวนวัน 27,185 14,468 14,073 13,745 97.67% 5,023 18,768 37.66 51.42

2552 เปลี่ยนแปลงรอยละ 0.38% -7.92% -6.62% -7.33% -0.75% -30.95% -15.10% -7.33% -15.09%

ปริมาณสินคาทั้งหมดที่บริษัทฯ ขนสงในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 14.02 เปน 10.08 ลานตัน แมวาจำนวนเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของจะลดลง อยางมากในชวงปนี้ และจำนวนวันเดินเรือที่เชามาเสริมกองเรือลดลง แตปริมาณสินคาที่บริษัทฯ ขนสงนั้นไมไดลดลงมากนัก เนื่องจากบริษัทฯ ไดบริหารเรือที่มีขนาดใหญขึ้นและมีอัตราการใชประโยชนของกองเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของที่เพิ่มขึ้น

รายงานประจำป 2553

91


ตาราง 25 : ปริมาณสินคาตามประเภทของการใหบริการ ชนิดของการใหบริการ คิดเปนตัน บริการแบบประจำเสนทาง บริการแบบไมประจำเสนทาง - สัญญารับ ขนสงสินคาลวงหนา บริการแบบไมประจำเสนทาง - เชาเหมาลำ เปนเที่ยว บริการแบบไมประจำเสนทาง - ชาเหมาลำ เปนระยะเวลา รวม

รอบปบัญชี 2553 ปริมาณที่ขนสง เทียบปตอป (รอยละ) 492,249 -70.89%

รอบปบัญชี 2552 ปริมาณที่ขนสง เทียบปตอป (รอยละ) 1,691,218 -53.68%

2,817,746

2.92%

2,737,919

-9.74%

1,459,385

-50.26%

2,934,011

0.84%

5,306,379 10,075,759

21.82% -14.02%

4,355,755 11,718,903

-42.70% -31.85%

รายไดจากการเดินเรือในแตละเที่ยว : รายไดจากการเดินเรือในแตละเที่ยวในป 2553 ลดลงรอยละ 33.01 เปน 9,272.55 ลานบาท เทียบกับ 13,842.17 ลานบาท ในป 2552 โดยมีสาเหตุจากจำนวนวันเดินเรือทำการโดยรวมที่ลดลง อยางไรก็ตาม จากสภาวะตลาดที่ดีขึ้น และการบริหาร กองเรือที่ดีข้นึ สงผลใหอัตราคาเชาเรือเฉลี่ยของกองเรือบริษัทฯ ในชวงป 2553 เปน 12,619 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวัน เทียบกับ 11,127 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวัน ในป 2552 หากบริษัทฯ หักผลขาดทุนจากการเชาเรือมาเสริมกองเรือ อัตราคาเชาของกองเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของ จะเทากับ 13,032 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันในปนี้ ซึ่งดีขึ้นกวาปที่ผานมาคิดเปนรอยละ 18.91 สำหรับป 2553 รายไดจากคาระวางประมาณ รอยละ 40.53 มาจากสัญญารับขนสงสินคาลวงหนาสัญญาแบบเชาเหมาลำเปนระยะเวลายาว (period time charters) และสัญญารับขนสง สินคาลวงหนา (“COA”) เทียบกับรอยละ 28.28 ของปที่ผานมา ดังนั้น อัตราคาเชาเรือเฉลี่ยของบริษัทฯ จึงมีความผันผวนนอยกวาตลาด สาเหตุหลักที่อัตราคาเชาเรือปรับตัวสูงขึ้นในปนี้ ไดแก ก) ผลทางบวกจากการที่บริษัทฯ ยกเลิกการใหบริการการเดินเรือแบบประจำเสนทาง ซึ่งทำใหบริษัทฯ สามารถใชเรือในภูมิภาคที่ไดคาจางสูงกวา ซึ่งรวมถึงแอตแลนติคดวย ข) การใหเชาเรือทั้งแบบเปนระยะเวลาและแบบระยะสั้น ปรับตัวดีขึ้น และ ค) สัดสวนรายรับที่มีความแนนอนมีเพิ่มขึ้น ทำใหอัตราคาระวางเรือของบริษัทฯ ไมผันผวนไดงายหากมีการเปลี่ยนแปลงของ อัตราคาระวางในตลาดระยะสั้น ตาราง 26 : ผลการดำเนินงานเฉลี่ย ดอลลารสหรัฐอเมริกา / วัน อัตราแลกเปลี่ยนดอลลารสหรัฐอเมริกาตอเงินบาท (เฉลี่ย) อัตราคาระวางเรือเฉลี่ย (1) - อัตราคาระวางเรือที่บริษัทเปนเจาของ - อัตราคาระวางเรือที่เชามาเสริมกองเรือ (2) สวนของเจาของเรือ (1) คาใชจายในการเขาอูแหง คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร ตนทุนทางการเงิน คาเสื่อมราคาและการตัดจำหนาย ภาษีเงินได กำไรจากการดำเนินงาน (1) หมายเหตุ :

(1) (2)

รอบปบัญชี 2553

รอบปบัญชี 2552

เทียบปตอป (รอยละ)

32.56 12,619 13,032 -413 4,806 1,378 1,520 48 2,977 213 1,677

34.72 11,127 10,960 167 4,446 1,210 1,307 428 2,434 69 1,233

-6.22% 13.41% 18.91% -347.31% 8.10% 13.88% 16.30% -88.79% 22.31% 208.70% 36.01%

ตัวเลขตอวันที่คำนวณไดนั้นคิดจากจำนวนวันเดินเรือที่มี (available service days) อัตราคาระวางเรือของเรือที่เชามาเสริมกองเรือเปนอัตราสุทธิที่หักคาใชจายของเที่ยวเรือแลว

คาใชจายของเจาของเรือ : คาใชจายของเจาของเรือลดลงรอยละ 30.41 เปน 1,999.41 ลานบาท เนื่องจากเรือที่ใชในการดำเนินงานมีจำนวน ลดลง อยางไรก็ตาม ถาคำนวณจากตัวเลขตอวันเดินเรือ คาใชจายในสวนของเจาของเรือเพิ่มขึ้นรอยละ 8.10 สาเหตุหลักเนื่องจากมีเหตุการณ ที่ไมทราบลวงหนาที่สงผลใหมีตนทุนในการซอมและบำรุงรักษาที่ราคาแพง นอกจากนี้ ตนทุนประกันภัยเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสำคัญ (เพิ่มขึ้นรอยละ 50.27) จากการเรียกเก็บคาเบี้ยประกันเพิ่มจากบริษัทฯ ประกันของบริษัทฯ 92

รายงานประจำป 2553


ในป 2553 มีเรือที่เขารับการตรวจสอบระดับพิเศษและเขาอูแหงจำนวน 6 ลำ ซึ่งเกือบครึ่งหนึ่งของจำนวนดังกลาวไดมีการรายงานไปแลวใน ป 2552 (12 ลำ ในป 2552) ในป 2553 ตนทุนในการเขาอูแหงอยูที่ประมาณ 31.37 ลานบาทตอลำ เทียบกับ 43.31 ลานบาทตอลำในป 2552 คาใชจายในการเชาเรือแบบเหมาลำเปนระยะเวลา : คาใชจายในการเชาเรือแบบเหมาลำเปนระยะเวลาในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 27.02 เปน 2,389.09 ลานบาท เทียบกับ 3,273.65 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 เนื่องจากจำนวนเรือที่บริษัทฯ เชามาเสริมกองเรือลดลง ในรอบป บัญชี 2553 บริษัทฯ เชาเรือมาเปนจำนวนเทียบเทากับ 8.48 ลำที่วิ่งเต็มเวลาหรือ 72 เที่ยวเรือ ทั้งที่เปนการเชามาเปนเที่ยวหรือแบบระยะสั้นเพื่อ นำมาใชบริการขนสงสินคาในเสนทางประจำ และที่มีสัญญารับขนสงสินคาไวลวงหนา ในรอบปบัญชี 2552 บริษัทฯ เชาเรือมาเพิ่มเติมเปนจำนวน เทียบเทากับ 13.76 ลำที่วิ่งเต็มเวลาหรือ 111 เที่ยวเรือ เพื่อใชในวัตถุประสงคเชนเดียวกันกับที่กลาวมาแลว นอกจากนี้ อัตราคาเชาเรือเฉลี่ยของ บริษัทฯ เพิ่มขึ้นรอยละ 29.29 เปน 23,703 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 18,333 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันใน รอบปบัญชี 2552 สัญญาเชาเรือที่มีอัตราคาเชาที่สูงจะหมดอายุสัญญาในป 2554 และนาจะทำใหผลการดำเนินงานของบริษัทฯ ดีขึ้น กำไรขั้นตน (margin) : กำไรขั้นตนระหวางรายไดจากคาระวางขั้นตนและคาใชจายจากการดำเนินงานของเรือไดปรับตัวดีขึ้น คิดเปนรอยละ 46.24 ในป 2553 เทียบกับรอยละ 40.37 ในป 2552 อัตรากำไรสุทธิ ซึ่งรวมคาใชจายของเจาของเรือก็ปรับตัวดีขึ้นเปนรอยละ 24.68 ในปนี้ เทียบ กับรอยละ 19.62 ในป 2552 คาเสื่อมราคาและการตัดจำหนาย : คาเสื่อมราคาและการตัดจำหนายในรอบปบัญชี 2553 ลดลง รอยละ 14.99 เปน 1,010.98 ลานบาทเทียบ กับ 1,189.32 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 คาเสื่อมราคาและการตัดจำหนายลดลงอยางมากเนื่องจากการขายเรือ 11 ลำ และมีเรือจำนวน 2 ลำ ที่ตัดคาเสื่อมราคาเต็มอายุการใชงานแลวในชวงรอบปบัญชี 2553 เทียบกับการขายเรือ 8 ลำ และมีเรือจำนวน 3 ลำที่ตัดคาเสื่อมราคาเต็ม อายุการใชงานแลวในชวงรอบปบัญชี 2552

ผลการดำเนินงานดานอื่นๆ ของธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร : คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหารในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 32.32 เปน 571.90 ลานบาท เทียบกับ 844.99 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 คาใชจายที่ลดลงมีสาเหตุหลักๆ จากจำนวนเรือที่ใชดำเนินงานลดลงในป 2553 ถึงแมวา จำนวนเรือที่ใชในการดำเนินงานจะลดลง แตตนทุนคงที่บางรายการก็ไมสามารถลดลงตามไปดวย ดังนั้น คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการ บริหารตอวันเดินเรือที่มีอยูในป 2553 เทากับ 1,520 ดอลลารสหรัฐอเมริกา เพิ่มขึ้นรอยละ 16.30 จาก 1,307 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันเดินเรือที่ มีอยูในป 2552 การเพิ่มขึ้นของคาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหารเกิดจากการตั้งสำรองเผื่อหนี้จะสูญจำนวน 66.46 ลานบาท เพื่อเปนการจายคาชดเชย และคาบริหารจัดการอื่นๆ ในการยกเลิกการใหบริการเรือประจำเสนทาง ซึ่งสาเหตุที่บริษัทฯ ยกเลิกการใหบริการเรือประจำเสนทางในเดือน กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 เนื่องจากเสนทางนี้ใหผลกำไรต่ำกวาที่คาดไวเมื่อเทียบกับการใหบริการชนิดอื่นๆ ของกองเรือบริษัทฯ ดอกเบี้ยรับ/ดอกเบี้ยจาย : ดอกเบี้ยจายในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 38.39 เปน 60.34 ลานบาท จาก 97.94 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 สาเหตุหลักที่ดอกเบี้ยจายลดลงมาจากการชำระคืนเงินกูระหวางกันของบริษัทเดินเรือในกลุมกับบริษัทฯ ซึ่งทำใหเงินกูคงเหลือระหวางกันเฉลี่ยเปน 1,984.40 ลานบาท เทียบกับ 2,037.57 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 ดอกเบี้ยรับในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 47.51 เปน 45.83 ลานบาท เทียบกับ 87.32 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 สาเหตุหลักที่ดอกเบี้ยรับลดลงมาจากเงินสดคงเหลือลดลงจากการที่บริษัทฯ ซื้อเรือขนาด Supramax จำนวน 2 ลำ กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน : ในรอบปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 220.96 ลานบาท เทียบกับ 8.05 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2552 ผลขาดทุนนี้มีสาเหตุหลักมาจากการแปลงคารายการสินทรัพยและหนี้สินจากสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา เปนเงินบาท ณ วันสิ้นรอบบัญชี โดยที่เงินบาทแข็งคาขึ้นดวย ทั้งนี้ผลขาดทุนไมมีผลกระทบที่สำคัญตอกระแสเงินสด กำไรจากการขายเรือ : บริษัทฯ มีการขายเรือ 11 ลำ ในรอบปบัญชี 2553 คือ ทอร จัสมิน ทอร เซลเลอร ทอร คอมมานเดอร ทอร สปริต ทอร ทริบิวท ทอร ซี ทอรทรานสิท ทอร สกาย ทอร เวนเจอร ทอร ทราเวลเลอร และ ทอร สกิปเปอร จำนวนเงินสดที่ไดรับจากการขายเรือทั้ง 11 ลำเทากับ 1,320.58 ลานบาท กำไรทางบัญชีรวมจากการขายเรือเทากับ 495.17 ลานบาท หรือ 390.44 ลานบาทหลังหักภาษี กำไรทางบัญชีทั้งหมดจากการ ขายเรือ 8 ลำในปที่แลวเทากับ 33.51 ลานบาท ภาษีเงินได : บริษัทฯ มีภาษีเงินไดเพิ่มขึ้นรอยละ 115.31 เปน 72.22 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 33.54 ลานบาทในป 2552 อัตราภาษี ที่แทจริง (effective tax rate) ในรอบปบัญชี 2553 และในรอบปบัญชี 2552 เทากับรอยละ 7.49 และ 4.50 ตามลำดับ สาเหตุหลักที่ภาษีเงินไดนั้น เพิ่มสูงขึ้นมาจากภาษีกำไรจากการขายเรือ

รายงานประจำป 2553

93


ธุรกิจงานบริการที่เกี่ยวของกับการเดินเรือ ในป 2553 ธุรกิจงานบริการที่เกี่ยวของกับการเดินเรือมีสวนแบงกำไรใหกับกลุมบริษัทฯ เทากับ 86.47 ลานบาท เทียบกับ 229.38 ลานบาทในป 2552

ธุรกิจเรือบรรทุกน้ำมันและกาซธรรมชาติ ในป 2553 บริษัทฯ บันทึกเงินกำไรสุทธิจากบริษัท ปโตรลิฟท จำกัด จำนวน 51.86 ลานบาท จากเดือนเมษายน ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 ตาม สัดสวนการลงทุนรอยละ 38.83 ในบริษัทฯ นี้

สวนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำและสวนงานขุดเจาะ ในรอบปบัญชี 2553 เมอรเมดมีผลขาดทุนสุทธิตามงบการเงินรวมของเมอรเมด เทากับ 339.49 ลานบาท ดังนั้น บริษัทฯ จึงบันทึกผลขาดทุนสุทธิ ในงบการเงินรวมของ บริษัทฯ เทากับ 193.98 ลานบาท (หมายเหตุ: ตัวเลขสวนแบงกำไรสุทธิใหกับบริษัทฯ เปนตัวเลขตามมาตรฐานบัญชีของ สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีไทย (Thai GAAP) อยางไรก็ตาม ขอมูลที่จะแสดงในตารางขางลางนี้มาจากตัวเลขของเมอรเมดที่ใชมาตรฐาน บัญชีสากล IFRS)

ตาราง 27 : วิเคราะหผลประกอบการจากงบการเงินรวมของเมอรเมดในรอบปบัญชี 2553 ลานบาท รอบปบัญชี 2553

รอบปบัญชี 2552

เทียบปตอป (รอยละ)

3,476

5,210

-33.3%

231

1,439

-83.9%

กำไรจากการดำเนินงาน/ - ขาดทุน

- 187

964

-119.4%

คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร

- 556

- 486

14.4%

-80

-56

42.9%

- 456

747

-161.0%

กำไรขั้นตน

6.65%

27.62%

-75.9%

กำไรขั้นตนจากการดำเนินงาน

-5.38%

18.50%

-129.1%

รายไดจากการบริการ กำไรขั้นตน

กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน /- ขาดทุน กำไรสุทธิ (- ขาดทุน)

หมายเหตุ *: ขอมูลนี้คัดมาจากงบการเงินของเมอรเมดซึ่งสงใหกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศสิงคโปร

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 เมอรเมดเปนเจาของและบริหารเรือที่ใหบริการนอกชายฝงจำนวน 8 ลำ ซึ่ง 4 ลำ เปนเรือสนับสนุนงานประดาน้ำ ชนิด DP2 DSV นอกจากนี้ เมอรเมดยังเปนเจาของและบริหารเรือขุดเจาะอีกจำนวน 2 ลำ ณ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 เมอรเมดเขาถือหุนรอยละ 49 ใน Asia Offshore Drilling Limited (“AOD”) ซึ่งไดสั่งตอเรือขุดเจาะแบบ jack-up ใหมจำนวน 2 ลำ ชนิด Mod V – B Class ที่มีความสามารถ ในการปฏิบัติงานในน้ำลึกที่ระดับ 350 ฟุต กับ Keppel FELS ประเทศสิงคโปร

สวนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด (“MOS”) ขนาดเฉลี่ยของกองเรือในกลุมเรือบริการนอกชายฝงเพิ่มขึ้นรอยละ 26.68 ในป 2553 เนื่องจากมีการรับมอบเรือที่สั่งตอใหม ไดแก เรือเมอรเมด แซฟไฟร เรือเมอรเมด เอเชียนา และเรือเมอรเมด เอ็นดัวเรอร ในเดือนกุมภาพันธ มิถุนายน และกันยายน พ.ศ. 2553 ตามลำดับ และไดซื้อเรือมือ สอง ชื่อ เมอรเมด สยาม ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 รายไดจากคาบริการ : รายไดจากคาบริการในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 25.33 เปน 2,077.41 ลานบาท มีสาเหตุหลักมาจาก ประการแรก อัตราการใชประโยชนจากเรือเฉลี่ยที่ลดลงเปนรอยละ 39.54 เทียบกับรอยละ 52.64 ของปที่ผานมา อัตราการใชประโยชนที่ลดลงนี้เปนผลมา จากการที่เรือจำนวน 4 ลำที่เขามาเพิ่มเติมในกองเรือไมไดมีงานเขามาอยางสม่ำเสมอที่จะใหรายไดและกำไรสูงสุดเพิ่มเขามาในกองเรือ ซึ่งไดแก เรือเมอรเมด แซฟไฟร เรือเมอรเมด สยาม เรือเมอรเมด เอเชียนา และเรือเมอรเมด เอ็นดัวเรอร ในรอบปบัญชี 2553 จำนวนวันเดินเรือ ที่มี (available days) และจำนวนวันทำการ (operating days) ของเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำของ MOS มีทั้งสิ้นจำนวน 2,309 วัน และ 913 วัน ตามลำดับ ซึ่งนอยกวาของในรอบปบัญชี 2552 สาเหตุอีกประการหนึ่งคืออัตราคาเชาเรือรายวัน (day rate) ที่ลดลง อัตราคาเชาเรือ รายวันเฉลี่ยในรอบปบัญชี 2553 เทากับ 25,213 ดอลลารสหรัฐอเมริกา ลดลงประมาณรอยละ 21.73

94

รายงานประจำป 2553


ตาราง 28 : สรุปขอมูลกองเรือใหบริการนอกชายฝง รายการการปฏิบัติงานของกองเรือ

รอบปบัญชี 2553 จำนวนวัน เทียบปตอป (รอยละ)

เรือใหบริการนอกชายฝงที่บริษัทเปนเจาของ

รอบปบัญชี 2552 จำนวนวัน เทียบปตอป (รอยละ)

2,312

26.68%

1,825

15.29%

92

-87.40%

730

-0.27%

จำนวนวันเดินเรือในรอบปปฏิทิน

2,404

-5.91%

2,555

10.37%

จำนวนวันเดินเรือที่มี

2,309

-7.79%

2,504

14.39%

39.54%

-24.89%

52.64%

-38.84%

เรือใหบริการนอกชายฝงที่เชามาเพิ่มเติม

อัตราการใชประโยชนจากเรือ

ในรอบปบัญชีนี้ รายไดจากการบริการของ MOS ไดเพิ่มมาจาก Seascape Group (บริษัทที่ MOS ถือหุนรอยละ 80) จำนวน 300.22 ลานบาท และจาก Subtech Ltd. (บริษัทที่ MOS ถือหุนรอยละ 97) จำนวน 183.40 ลานบาท Seascape และ Subtech มีสวนแบงกำไรขั้นตนใหกับ MOS เทากับ 110.84 ลานบาท และ 65.62 ลานบาท ตามลำดับ คาใชจายในการใหบริการ : คาใชจายในการใหบริการของงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำประกอบดวย คาใชจายของเจาของเรือ คาใชจายในการเชา เรือ และคาเสื่อมราคา คาใชจายในการใหบริการในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 10.22 เปน 2,181.70 ลานบาท เทียบกับ 2,430.02 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2552 คาใชจายของเจาของเรือในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 17.56 เปน 1,747.35 ลานบาท หรือ 22,326 ดอลลาร สหรัฐอเมริกาตอวันเดินเรือในรอบปปฏิทิน (calendar-vessel-day) ในป 2553 เทียบกับ 2,119.62 ลานบาท หรือ 23,894 ดอลลารสหรัฐอเมริกา ตอวันเดินเรือในรอบปปฏิทินในป 2552 คาใชจายของเจาของเรือที่ลดลงสวนใหญเนื่องจากอัตราการใชประโยชนจากเรือลดลง คาเสื่อมราคาเพิ่ม ขึ้นรอยละ 44.61 เปน 448.87 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 310.40 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 คาเสื่อมราคาที่เพิ่มขึ้นจำนวน 138.47 ลานบาท เปนสวนหนึ่งของการตัดคาเสื่อมในปบัญชีนี้ของเรือที่ไดมาจากการสั่งตอใหม และเรือมือสอง กำไร/-ขาดทุนจากการขายสินทรัพย : ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 เมอรเมดไดขายหุนรอยละ 25 ที่ถืออยูใน บริษัท เวิลดคลาส อินสไปเรชั่น เอสดีเอ็น บีเอชดี (“WCI”) เมอรเมดไดรับเงินจากการขายประมาณ 743.37 ลานบาท และบันทึกกำไรจากการขายประมาณ 349.21 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2553 กำไรที่บันทึกในงบการเงินของบริษัทฯ คือ 343.30 ลานบาท

สวนของงานขุดเจาะ - บริษัท เมอรเมด ดริลลิ่งค จำกัด (“MDL”) รายไดจากคาบริการ : รายไดจากคาบริการในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 51.37 เปน 1,076.30 ลานบาท หรือ 45,288 ดอลลารสหรัฐอเมริกา ตอวันเดินเรือขุดเจาะในรอบปปฏิทินเทียบกับ 2,213.03 ลานบาท หรือ 87,315 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันเดินเรือขุดเจาะในรอบปปฏิทิน ในป 2552 อัตราการใชประโยชนเฉลี่ยของเรือขุดเจาะในรอบปบัญชี 2553 เทากับรอยละ 56.71 เทียบกับรอยละ 94.93 ในป 2552 เนื่องจากมี เพียงเรือขุดเจาะ MTR-2 ลำเดียวที่ทำงานขุดเจาะในรอบปบัญชี 2553 คาใชจายในการใหบริการ : คาใชจายในการใหบริการของงานขุดเจาะประกอบดวย คาใชจายของเจาของเรือและคาเสื่อมราคา คาใชจายใน การใหบริการในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 31.99 เปน 866.77 ลานบาท เทียบกับ 1,274.56 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 คาใชจายของ เจาของเรือในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 39.06 เปน 651.81 ลานบาท หรือ 27,427 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันเดินเรือขุดเจาะในรอบปปฎิทิน ในป 2553 เทียบกับ 1,069.63 ลานบาท หรือ 42,202 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันเดินเรือขุดเจาะในรอบปปฏิทินในป 2552 คาใชจายของเจาของ เรือที่ลดลงสวนใหญเนื่องจากมีเพียงเรือขุดเจาะ MTR-2 เพียง 1 ลำที่ปฏิบัติงานในป 2553 คาเสื่อมราคาเพิ่มขึ้นรอยละ 4.20 เปน 213.53 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 204.93 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 คาเสื่อมราคาที่เพิ่มขึ้นมีสาเหตุหลักมาจากมีอุปกรณสำหรับ ขุดเจาะที่เพิ่มขึ้น ตาราง 29 : อัตราการใชประโยชนจากเรือของกองเรือขุดเจาะ รายการปฏิบัติการของเรือขุดเจาะ จำนวนวันเดินเรือขุดเจาะในรอบปปฏิทิน จำนวนวันเดินเรือที่มีอยู จำนวนวันเดินเรือทำการ อัตราการใชประโยชนจากเรือ

รอบปบัญชี 2553 จำนวนวัน เทียบปตอป (รอยละ) 730 0.0% 730 0.0% 414 -40.3% 56.71% -40.6%

รอบปบัญชี 2552 จำนวนวัน เทียบปตอป (รอยละ) 730 -0.3% 730 -0.3% 693 37.0% 94.93% 37.3%

รายงานประจำป 2553

95


กำไร/-ขาดทุนจากการขายสินทรัพย : เมอรเมดไดขายการลงทุนใน Kencana Rig 1 Pte. Ltd., Mermaid Kencana Rigs (Labuan) Pte. Ltd. และ Kencana Mermaid Drilling Sdn. Bhd. ซึ่งเปนเจาของเรือขุดเจาะ KM-1 ในเดือนมิถุนายนในปนี้ ผลขาดทุนจากการขายการลงทุนนี้ คิดเปนเงินจำนวนรวม 178.55 ลานบาท ผลขาดทุนที่บันทึกในงบการเงินของบริษัทฯ คือ 180.94 ลานบาท

ผลการดำเนินงานอื่นๆ ของเมอรเมด คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร : เมอรเมดมีคาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหารเพิ่มขึ้นรอยละ 14.59 เปน 556.45 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 485.61 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 เกือบรอยละ 90 ของการเพิ่มขึ้นเปนเงินจำนวนรวม 63.23 ลานบาท มีสาเหตุหลักที่เกิดจากคาใชจายในการบริหารบริษัทยอยใหมตางๆ ซึ่งไดแก Subtech Ltd. ที่เมอรเมดไดเขาถือหุนในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2553 และ Nemo Subsea AS ที่เมอรเมดไดเขาถือหุนในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553 ตนทุนทางการเงิน : เมอรเมดมีตนทุนทางการเงินเพิ่มขึ้นรอยละ 14.28 เปน 95.89 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 83.91 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2552 โดยมีสาเหตุหลักจากเงินกูคงเหลือเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นจำนวน 3,435.72 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 2,247.87 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2552 ดอกเบี้ยรับ : เมอรเมดมีรายไดจากดอกเบี้ยรับในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 60.89 เปน 6.50 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 16.62 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 สาเหตุหลักที่ดอกเบี้ยรับลดลงเนื่องจากในรอบปบัญชี 2553 เมอรเมดไมมีดอกเบี้ยรับจากเงินกูระยะสั้นที่มาจาก บริษัทรวม เมื่อเทียบกับที่เคยไดรับจำนวน 8.29 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 และอัตราดอกเบี้ยในเงินฝากแบบประจำลดลงในรอบปบัญชี 2553 เมื่อเทียบกับในรอบปบัญชี 2552 เมอรเมดมีเงินสดคงเหลือเฉลี่ยรวมเงินฝากแบบประจำในรอบปบัญชี 2553 เปนเงินจำนวน 3,067.00 ลานบาท เทียบกับ 1,755.59 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน : เมอรเมดมีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้นรอยละ 43.99 เปน 79.93 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 55.51 ในรอบปบัญชี 2552 ผลขาดทุนที่เพิ่มขึ้นนี้มีสาเหตุหลักมาจากการแปลงคารายการสินทรัพยและหนี้สินจากสกุลเงินดอลลาร สหรัฐอเมริกาเปนเงินบาท ณ วันสิ้นรอบบัญชี ทั้งนี้ผลขาดทุนไมมีผลกระทบที่สำคัญตอกระแสเงินสด กำไรสุทธิจากการขายสินทรัพย อาคารและอุปกรณและสินทรัพยไมมีตัวตน : ในรอบปบัญชี 2553 เมอรเมดมีกำไรสุทธิจากการขายอุปกรณ เปนเงินจำนวน 11.80 ลานบาท เทียบกับ 21.25 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 รายไดอื่นๆ : เมอรเมดมีรายไดอื่นๆ เพิ่มขึ้นรอยละ 2.21 เปน 29.20 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 28.57 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2552 ภาษีเงินได : เมอรเมดมีภาษีเงินไดเพิ่มขึ้นรอยละ 67.07 เปน 193.32 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 115.71 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 สาเหตุหลักที่ภาษีเงินไดนั้นเพิ่มสูงขึ้นมาจากการลดลงของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (รับรูเปนคาใชจายภาษีเงินไดในงบกำไร ขาดทุน) เปนเงินจำนวน 130.00 ลานบาท หักกลบกับการลดลงของภาษีเงินไดปกติจำนวน 52.66 ลานบาท การลดลงของภาษีเงินไดปกติลดลง เนื่องจากมีเรือขุดเจาะ MTR-2 เพียงลำเดียวที่ปฏิบัติงานในประเทศอินโดนีเซียในป 2553 ในขณะที่มีเรือขุดเจาะ 2 ลำ ปฏิบัติงานในประเทศ อินโดนีเซียในปที่ผานมา ภาษีเงินไดที่ไมเกี่ยวของกับสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสวนใหญมาจากภาษีเงินไดนิติบุคคลและภาษีจากกำไร ของสาขา ที่เกิดจากการปฏิบัติงานของเรือขุดเจาะในประเทศอินโดนีเซีย

ธุรกิจโลจิสติคสถานหิน บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) (“UMS”) ในรอบปบัญชี 2553 (1 ตุลาคม 2552 - 30 กันยายน 2553) UMS มีผลขาดทุนสุทธิจำนวน 49.28 ลานบาท อยางไรก็ตาม UMS มีสวนแบงกำไรสุทธิใหกับบริษัทฯ (ไมรวมผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงที่มาจากสัญญา ลวงหนา) จำนวน 79.14 ลานบาท สำหรับชวงระยะเวลา 11 เดือนนับตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 - 30 กันยายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ บันทึกผลกำไรของ UMS เขามาในงบการเงินรวมของบริษัทฯ รอยละ 48.46 นับจากวันที่ 1 พฤศจิกายน ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ รอยละ 89.55 จากผลกำไรของ UMS ในชวงวันที่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2553 เพื่อใหตรงกับรอบบัญชีของบริษัทฯ

96

รายงานประจำป 2553


ตาราง 30 : ผลการดำเนินงานตามงบการเงินรวมของ UMS ลานบาท รายไดจากการขายถานหิน รวมรายได ตนทุนขาย กำไรขั้นตน คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร ตนทุนทางการเงิน กำไรสุทธิ / - ขาดทุนสุทธิ

2553(1) 2,719.09 2,761.48 2,250.27 468.82 335.95 68.22 -49.28

2552(1) 2,877.86 2,926.30 2,194.23 683.63 342.40 62.23 218.57

เทียบปตอป (รอยละ) -5.52% -5.63% 2.55% -31.42% -1.88% 9.63% -122.55%

หมายเหตุ (1) : ตัวเลขขางตนเปนชวงระยะเวลาจากวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 – 30 กันยายน พ.ศ. 2552 (รอบปบัญชี 2552) และ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 – 30 กันยายน พ.ศ. 2553 (รอบปบัญชี 2553)

รายไดจากการขายถานหิน : UMS มีรายไดจากการขายถายหินในรอบปบัญชี 2553 และในรอบปบัญชี 2552 เปน เงินจำนวน 2,719.09 ลาน บาทและ 2,877.86 ลานบาทตามลำดับ รายไดจากการขายถานหินลดลงรอยละ 5.52 เนื่องจากราคาขายเฉลี่ยลดลงแตปริมาณการขายถานหิน เพิ่มขึ้น ปริมาณการขายถานหินที่เพิ่มขึ้นรอยละ 8.94 สวนใหญเปนผลมาจากยอดขายถานหินที่ขายใหกับลูกคาขนาดใหญปรับตัวดีขึ้น โดยเฉพาะ ในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต ปริมาณการขายถานหินใหลูกคาขนาดใหญเพิ่มขึ้นรอยละ 39.28 เปน 210,877 เมตริกตัน จาก 151,406 เมตริกตันในป 2552 ซึ่งสอดคลองกับการเติบโตของเศรษฐกิจในปจจุบันจากการลงทุนที่เพิ่มขึ้นในภาคอสังหาริมทรัพย และในโครงการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ตางๆ ในขณะที่ยอดขายถานหินใหกับลูกคาขนาดกลางและขนาดเล็ก ประกอบดวยบริษัทที่อยูในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม และใน อุตสาหกรรมสิ่งทอ ไดปรับตัวเพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 3.94 อยางไรก็ตาม UMS ก็ยังคงเปนผูนำในสวนแบงทางการตลาดของลูกคากลุมนี้ และ เนื่องจากราคาขายถานหินกับลูกคาขนาดใหญโดยทั่วไปมีราคาไมสูงมาก ดังนั้นราคาขายเฉลี่ยในป 2553 จึงลดลงรอยละ 13.27 UMS มียอดขาย ถานหินเปนจำนวน 1.20 ลานตันในปนี้ ตนทุนขาย : ตนทุนขายเพิ่มขึ้นรอยละ 2.55 เปน 2,250.27 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 2,194.23 ลานบาทในรอบปบัญชีที่ผานมา องคประกอบหลักของตนทุนขาย ประกอบดวย ตนทุนถานหิน และคาระวาง ตนทุนที่เพิ่มขึ้นนี้หลักๆ มาจากคาระวางที่เพิ่มสูงขึ้น คิดเปนรอยละ 10.37 เทียบกับปที่ผานมา

ผลการดำเนินงานอื่นๆ ของ UMS คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร : UMS มีคาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหารลดลงรอยละ 1.88 เปน 335.95 ลานบาทใน รอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 342.40 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 แมวาคาใชจายดังกลาวจะลดลง แตคาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร เมื่อเทียบสัดสวนกับการขายถานหินกลับเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 12.36 ในป 2553 เทียบกับรอยละ 11.90 ในป 2552 เนื่องจากคาใชจายเกี่ยวกับ การขนสงทางบกสูงขึ้น เพราะราคาน้ำมันดีเซลสูงขึ้น และมีการขายถานหินในปริมาณเพิ่มขึ้น ตนทุนทางการเงิน : UMS มีดอกเบี้ยจายเพิ่มขึ้นรอยละ 9.63 เปน 68.22 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 62.23 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 เนื่องจาก UMS ตองการเงินทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ้นเพื่อใชในการบริหารสินคาคงคลังที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ภาษีเงินได : UMS มีภาษีเงินไดลดลงรอยละ 61.04 ในรอบปบัญชี 2553 เปน 25.90 ลานบาท เทียบกับ 66.49 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 อยางไรก็ตาม อัตราภาษีที่แทจริง (effective tax rate) ในรอบปบัญชี 2553 และในรอบปบัญชี 2552 เทากับรอยละ 28.19 และ 21.19 ตามลำดับ โดยมีเหตุผล 2 ประการ ประการแรก อัตราภาษีรอยละ 20 สำหรับการเปนบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย MAI ไดหมดลงในสิ้นป 2552 ประการที่สอง มีคาใชจายที่หักลดหยอนทางภาษีได (tax deductable expense) เกิดขึ้นในการลงทุนสินทรัพยถาวรบางรายการในรอบปที่ผานมา

ธุรกิจปุยและบริการคลังสินคา บริษัท บาคองโค จำกัด (“บาคองโค”) ในรอบปบัญชี 2553 บาคองโคไดมีสวนแบงยอดขายจำนวน 2,149.73 ลานบาท สวนแบงกำไรขั้นตน 360.66 ลานบาท และสวนแบงกำไรสุทธิ 211.71 ลานบาทใหกับกลุมบริษัทฯ

รายงานประจำป 2553

97


ตาราง 31 : ผลการดำเนินงานของบาคองโค ลานบาท ยอดขาย กำไรขั้นตน กำไร / - ขาดทุนสุทธิ

รอบปบัญชี 2553 2,149.73 360.66 211.71

ยอดขาย : บาคองโคมียอดขายปุย 151,973 เมตริกตันในรอบปบัญชี 2553 เนื่องจากฤดูกาลหลักของการขายปุยจะอยูในชวงเดือนกันยายนถึง ธันวาคม และมีนาคมถึงเดือนมิถุนายนหรือกรกฎาคมของทุกป อยางไรก็ตาม บาคองโครายงานวา ในปนี้มีการซื้อปุยมากขึ้นในชวง low season ในเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม พ.ศ. 2553 เนื่องจากปริมาณการผลิตปุยเขาสูทองตลาดลดนอยลงประกอบกับราคาพืชผลสูงขึ้น กำไรขั้นตน : ในรอบปบัญชี 2553 บาคองโคมีกำไรขั้นตน ปรับตัวดีขึ้นอยางมีนัยสำคัญเปนรอยละ 16.78 เทียบกับรอยละ 8.30 ในรอบป บัญชี 2552 ยอดขายอื่นๆ : บาคองโคไดเริ่มใหบริการคลังสินคาในเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 และในชวง 9 เดือนสิ้นสุด 30 กันยายน พ.ศ. 2553 มีอัตราการใช ประโยชนเฉลี่ยของพื้นที่ในคลังสินคาเฉลี่ยรอยละ 52.41 ของปริมาณพื้นที่คลังสินคาทั้งหมดที่จะสามารถรองรับได หรือคิดเปน 150,933 เมตริกตัน และมีสวนแบงกำไรสุทธิใหกับบริษัทฯ จำนวน 3.35 ลานบาท

ผลการดำเนินงานอื่นๆ ของบาคองโค คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร : บาคองโคมีคาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหารลดลงรอยละ 16.74 เปน 78.88 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 94.61 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 สาเหตุหลักที่คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหารลดลงมาจากมีการ ควบคุมตนทุนวัตถุดิบที่ดีขึ้น และมีประสิทธิภาพในการผลิตที่ดีขึ้น ตนทุนทางการเงิน : บาคองโค มีดอกเบี้ยรับจำนวน 8.23 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2553 และดอกเบี้ยจายจำนวน 1.69 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2552 ในป 2553 บางคองโคไดชำระคืนเงินกูทั้งหมดแลว

ผลการดำเนินงานอื่นๆ ดอกเบี้ยรับและเงินปนผลรับ : บริษัทฯ มีรายไดจากดอกเบี้ยรับและเงินปนผลลดลงรอยละ18.02 เปน 106.57 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 129.99 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 ดอกเบี้ยรับลดลงรอยละ 24.54 เปน 94.65 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 125.43 ลาน บาทในรอบปบัญชี 2552 กลุมบริษัทฯ มีเงินสดคงเหลือเฉลี่ยลดลงเปน 9,588.54 ลานบาทเทียบกับ 11,123.35 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 นอกจากนี้ ผลตอบแทนจากเงินสดลดลงจากป 2552 สวนเงินปนผลรับปรับตัวดีขึ้นเปน 11.91 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 4.56 ลาน บาทในรอบปบัญชี 2552 สวนแบงผลกำไร/ขาดทุนจากการลงทุนบริษัทรวมและกิจการรวมคา : สวนแบงกำไรจากการลงทุนในบริษัทรวม ปโตรลิฟท และกิจการรวมคา ในรอบปบัญชี 2553 เพิ่มขึ้นเปน 80.31 ลานบาท เทียบกับ 29.88 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 Petrolift มีสวนแบงผลกำไรใหกับกลุมบริษัทฯ เปนเงินจำนวน 51.86 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 บริษัท โทรีเซน (อินโดไชนา) เอส.เอ. มีสวนแบงผลกำไรใหกับกลุมบริษัทฯ เปนเงินจำนวน 19.53 ลานบาท และ 18.60 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 และในรอบปบัญชี 2552 ตามลำดับ ในขณะที่บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด มีสวนแบงขาดทุนใหกับกลุมบริษัทฯ เปนเงินจำนวน 5.08 ลานบาท และ 2.85 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 และในรอบป บัญชี 2552 ตามลำดับ เมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี มีสวนแบงขาดทุนใหกับกลุมบริษัทฯ เปนเงินจำนวน 5.78 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2553 กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน : ในรอบปบัญชี 2553 กำไรสุทธิจากอัตราแลกเปลี่ยนเปนเงินจำนวน 24.34 ลานบาท เทียบกับขาดทุน สุทธิจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 9.87 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 ซึ่งเกิดจากการแข็งคาของเงินบาทในป 2553 ตอสกุลเงินดอลลาร สหรัฐอเมริกา ซึ่งกำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสวนใหญของบริษัทฯ เกิดจากการแปลงคารายการหนี้สินและเงินสดและรายการเทียบเทา เงินสดจากสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกาเปนเงินบาทเมื่อสิ้นรอบบัญชีในแตละป ซึ่ง ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 เงินสดและรายการเทียบเทา เงินสดของกลุมบริษัทฯ ที่เปนสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 58.01 และในสวนที่เปนหนี้สินระยะยาวที่เปนสกุลเงินดอลลาร สหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 54.14 กำไร (ขาดทุน) จากการยกเลิกหุนกูแปลงสภาพ : ในรอบปบัญชี 2553 บริษัทฯ ไดดำเนินการซื้อคืนพรอมทั้งยกเลิกหุนกูแปลงสภาพบางสวน เพิ่มเติมคิดเปนจำนวนเงินตน 10,500,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือรอยละ 9.26 ของจำนวนเงินตนคงคางภายใตหุนกูแปลงสภาพทั้งหมด จำนวน 113,400,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา กำไรที่ไดจากการยกเลิกหุนกูแปลงสภาพคิดเปนเงิน 9.63 ลานบาท และ 673.33 ลานบาทในรอบป บัญชี 2553 และในรอบปบัญชี 2552 ตามลำดับ ในวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ ไดไถถอนหุนกูแปลงสภาพจำนวน 1 ใน 3 หรือจำนวน 34,300,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา ของจำนวนเงินตนคงคาง 102,900,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา ดวยเงินสด ในราคาไถถอน 109,640 ดอลลาร 98

รายงานประจำป 2553


สหรัฐอเมริกาตอหนึ่งหุนกู ทั้งนี้ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 จำนวนเงินตนคงคางภายใตหุนกูแปลงสภาพทั้งหมดหลังการไถถอนหุนกูแปลง สภาพครั้งที่ 1 คิดเปนเงินจำนวน 68,600,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา คาความนิยมติดลบ : บริษัทฯ ไมมีคาความนิยมติดลบ (negative goodwill) ในรอบปบัญชี 2553 แตในรอบปบัญชี 2552 บริษัทฯ มีคา ความนิยมติดลบจากการเขาซื้อ EMCG เปนเงิน 287.21 ลานบาท เนื่องจากราคาที่ซื้อมาต่ำกวามูลคาทางบัญชี เมื่อวันที่ 23 กรกฏาคม พ.ศ. 2552 บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ไดเขาซื้อ EMCG ซึ่งเปนผูถือหุนรอยละ 100 ในบาคองโค ในราคารวม 7.8 ลานยูโร หรือ 374.07 ลานบาท จากปจจัยที่ไดกลาวมาขางตนและการตัดรายการระหวางกันตางๆ เปนผลใหกำไรสุทธิของบริษัทฯ ลดลงเปน 795.57 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 1,813.71 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552

คาใชจายฝายทุน ตารางขางลางนี้แสดงคาใชจายฝายทุนของกลุมบริษัทฯ (capex) ในชวงที่ผานมาจนถึง ณ สิ้นกันยายน พ.ศ. 2553 และภาะระผูกพันฝายทุนที่ตอง จายในอนาคต ตาราง 32 : การลงทุนฝายทุนที่มีภาระผูกพัน ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา การปรับปรุงกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง เรือที่เชามาเสริมกองเรือ MOS – เรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำ AOD – เรือขุดเจาะ 2 ลำ รายจายฝายทุนของ UMS และ Baconco

ตนทุนโครงการ 142.97 49.57 256.76 360.00 1.54

คาใชจายถึงวันที่ 30 ภาระผูกพันฝายทุนที่ ภาระผูกพันฝายทุนที่ กันยายน 2553 ตองชำระในป 2554 ตองชำระในป 2555 31.61 22.88 256.76 0.08

90.57 25.29 70.80 0.52

20.79 1.40 0.37

ณ สิ้นกันยายน พ.ศ. 2553 กลุมบริษัทฯ มีกองเรือที่เปนเจาของทั้งหมด 27 ลำ โดยรอยละ 28.26 ของเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของอยูกำลังจะมีอายุ หรือมีอายุเกิน 25 ปเมื่อถึงสิ้นป 2554 ดังนั้น กลุมบริษัทฯ ยังคงจะขายเรือหรือขายเปนเศษซากตอไป แผนการปรับปรุงกองเรือของบริษัทฯ นั้นได รวมการรับมอบเรือทอร เฟรนดชิป ซึ่งเปนเรือที่สั่งตอใหมลำแรกจากอูตอเรือ Oshima เมื่อเดือนมกราคมในปนี้ นอกจากนี้ ยังมีเรือที่สั่งตอใหมอีก 4 ลำ ซึ่ง 3 ลำ จะมาจากอูตอเรือ Vinashin และอีก 1 ลำ จากอูตอเรือ Oshima ที่จะมีกำหนดรับมอบเรือในป 2554 และป 2555 เงินลงทุนรวมสำหรับ เรือ 4 ลำนี้ คิดเปนจำนวนเงินประมาณ 142.97 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา

ตาราง 33 : เรือที่จะอายุครบ 25 ป เรือที่จะอายุครบ 25 ป จำนวน (ลำ) เดทเวทตัน

รอบปบัญชี 2553 2 70,258

รอบปบัญชี 2554 3 77,144

รอบปบัญชี 2555 1 20,358

กลุมบริษัทฯ ยังคงมองหาเรือมือสองอยางตอเนื่อง เมื่อไมนานมานี้ บริษัทฯ ไดเขาซื้อเรือ ทอร แอ็คชีพเวอรที่ราคา 34.50 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 นอกจากนี้ ยังไดซื้อเรือ ทอร อินฟนิตี้ ที่ราคา 30.25 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา และเรือ ทอร อินดิเพนเดนซ ที่ราคา 30.75 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา เขามาเสริมกองเรือในเดือนธันวาคม 2553 เงินทุนที่ใชในแผนปรับปรุงกองเรือมาจากการผสมผสานระหวาง กระแสเงินสดจากการดำเนินงานและจากวงเงินกูรวมหลายสถาบัน (syndicated loan facility) จำนวน 360 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกาโดยมี ธนาคารนอรเดียเปนแกนนำ ในรอบปบัญชี 2553 กลุมบริษัทฯ ไดชำระคางวดสำหรับเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำและอุปกรณจำนวน 4 ลำ คิดเปนเงินรวม 4,829.00 ลานบาท ณ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ไมมีคาใชจายฝายทุนที่สำคัญที่เกี่ยวกับเรือขุดเจาะหรือเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำที่จะครบกำหนด ชำระในป 2554 นอกเหนือจากที่จะไดกลาวไวขางลางนี้

รายงานประจำป 2553

99


ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 บริษัท เอเชีย ออฟชอร ดริลลิงค จำกัด (“AOD”) ซึ่งเปนบริษัทรวมของเมอรเมด ไดลงนามในสัญญากับ Keppel Offshore & Marine Limited ซึ่งเปนบริษัทยอยของ Keppel FELS ในการสั่งตอเรือขุดเจาะชนิด jack-up ที่มีคุณภาพสูงจำนวน 2 ลำ โดยมีมูลคา สัญญารวม 360 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา หากรวมกับสิทธิที่จะสามารถสั่งตอเรือขุดเจาะ jack-up ชนิดเดียวกันไดอีก 2 ลำในอนาคต (และถา AOD ใชสิทธินี้) จะทำใหมูลคาของสัญญาคิดเปนเงินจำนวน 720 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ในการนี้ AOD ไดจัดหาเงินทุนดวยการขายหุนที่ออก ใหม (IPO) ใหกับบุคคลเฉพาะเจาะจง (private placement) ที่เปนนักลงทุนสถาบันในนอรเวยและนักลงทุนสถาบันระหวางประเทศ โดยไดรับเงิน จาก IPO เมื่อตนเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 และทำใหเมอรเมดถือหุนรอยละ 49 ในหุนที่ออกและเรียกชำระแลวของ AOD รวมเปนเงินที่ลงทุนใน AOD ทั้งสิ้น 49 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ในรอบปบัญชี 2553 เรือบรรทุกสินคาแหงเทกองเขาอูแหงจำนวน 6 ลำ คิดเปนเงิน 188.23 ลานบาท เทียบกับรอบปบัญชี 2552 มีเรือบรรทุกสินคา แหงเทกองเขาอูแหงจำนวน 12 ลำ คิดเปนเงิน 519.71 ลานบาท และเมอรเมดมีเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำที่เขาอูแหงจำนวน 3 ลำ คิดเปนเงิน 37.34 ลานบาท เทียบกับป 2552 มีเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำที่เขาอูแหงจำนวน 1 ลำ คิดเปนเงิน 0.23 ลานบาท ในระหวาง รอบปบัญชี 2553 เรือขุดเจาะ MTR-1 เขารับการตรวจสอบสภาพตามระยะเวลา คิดเปนเงิน 1.85 ลานบาท เทียบกับป 2552 เรือขุดเจาะ MTR-1 และ MTR-2 เขารับการตรวจสอบสภาพตามระยะเวลา คิดเปนเงิน 9.26 ลานบาท ธุรกิจอื่นๆ ลงทุนเปนเงินรวม 91.51 ลานบาทในระหวางป 2553 เทียบกับ 14.10 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 สวนใหญเกี่ยวกับการขยายสินทรัพยที่ใชในการปฏิบัติงาน UMS ใชเงินจำนวน 2.33 ลานบาทในป 2553 เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องจักรสำหรับธุรกิจหลักของ UMS และในโครงการถานหินปนเม็ด ปจจุบัน UMS กำลังปรับปรุงและขยายถนนและโรงงานของคลังสินคานครหลวง และคาดวาจะเสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 สวนบาคองโค นั้น คาใชจายฝายทุนสวนใหญเกิดจากการเชาซื้อคลังสินคา (warehousing leases)

กระแสเงินสด ตารางตอไปนี้แสดงรายการเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดที่ไดมาจาก (ใชไป) ในกิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมจัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุน ตาราง 34 : สรุปรายการกระแสเงินสด ลานบาท กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน

รอบปบัญชี 2553 1,550.23 -10,883.10 7,305.19

รอบปบัญชี 2552 5,000.69 - 4,617.08 - 1,111.25

กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน ในรอบปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงานลดลงเปน 1,550.23 ลานบาท เทียบกับ 5,000.69 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 โดยมีสาเหตุหลักจากการที่ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองมีกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน ลดลงและจากผลขาดทุนของเมอรเมด กระแสเงินสดจากการดำเนินงานที่ลดลงของธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองและเมอรเมด กระแสเงินสด สุทธิจากการดำเนินงานของเมอรเมดในป 2553 ลดลงรอยละ 75.59 เปน 453.71 ลานบาท กระแสเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน ในรอบปบัญชี 2553 เงินสดสุทธิที่ใชไปในกิจกรรมลงทุน เทากับ 10,883.10 ลานบาท และในรอบป บัญชี 2552 เทากับ 4,617.08 ลานบาท การไดมาซึ่งสินทรัพยและคาใชจายฝายทุนที่สำคัญของกลุมบริษัทฯ (capex) สำหรับในรอบปบัญชี 2553 คือ ก) การเขาซื้อหุนใน UMS จำนวน 3,977.81 ลานบาท ข) การชำระคางวดสุดทายสำหรับเรือ ทอร เฟรนดชิป จำนวน 1,073.22 ลานบาท ค) การชำระเงินคางวดสุดทายในการซื้อเรือเมอรเมด สยาม เรือเมอรเมด เอเชียนา เรือเมอรเมด แซฟไฟร และเรือ เมอรเมด เอ็นดัวเรอร จำนวนรวม 4,829.00 ลานบาท ง) การเขาซื้อหุนใน Subtech จำนวน 248.58 ลานบาท จ) การเขาซื้อหุนใน Petrolift Inc. จำนวน 904.52 ลานบาท ฉ) การซื้อเรือ ทอร แอ็คชีพเวอร เปนเงิน 1,112.63 ลานบาท และ ช) คาใชจายในการเขาอูแหงสะสมสำหรับธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองและ เมอรเมดจำนวน 255.32 ลานบาท กระแสเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน ในรอบปบัญชี 2553 บริษัทฯ ไดใชเงินสดไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (financing activities) เทากับ 7,305.19 ลานบาท และในรอบปบัญชี 2552 เทากับ 1,111.25 ลานบาท เงินที่ไดจากเงินกูระยะยาวเปนเงินจำนวน 10,684.97 ลานบาท ซึ่งเปน ผลมาจากการเบิกเงินกูเพื่อซื้อเรือ ซื้อกิจการ และการออกหุนกูเปนเงินบาท ในชวงรอบปบัญชี 2553 บริษัทฯ ไดมีการลงนามในสัญญาเงินกูรวม จากหลายสถาบันการเงิน (syndicated loan agreement) เปนจำนวน 200 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา และออกหุนกูในประเทศเปนเงินบาทจำนวน 4 พันลานบาท เพื่อใชเปนเงินทุนในการเขาซื้อและควบรวมกิจการ (merger and acquisitions) และชำระคืนหนี้เงินกูในไตรมาสที่ 1 ของรอบป บัญชี 2553 เมอรเมดระดมทุนโดยการออกหุนสามัญเพิ่มทุน และรับเงินจำนวน 3,591.17 ลานบาท และบริษัทฯ ลงทุนในหุนเพิ่มทุน เพื่อรักษา สัดสวนการถือหุนในเมอรเมดรอยละ 57.14 นอกจากนี้ ในชวงรอบปบัญชี 2553 บริษัทฯ ไดใชเงินจำนวน 1,418.54 ลานบาทเพื่อใชในการซื้อและ ไถถอนหุนกูแปลงสภาพ และบริษัทฯ จายเงินปนผลที่เปนเงินสดในชวงรอบปบัญชี 2553 เปนเงินจำนวน 379.42 ลานบาท 100

รายงานประจำป 2553


สภาพคลองและแหลงเงินทุน ตารางตอไปนี้แสดงโครงสรางเงินทุนของบริษัทฯ ตาราง 35 : โครงสรางเงินทุนรวมของบริษัทฯ ลานบาท หนี้สิน: เงินเบิกเกินบัญชี หนี้สินระยะสั้น สวนของหุนกูแปลงสภาพที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ป สวนของหนี้ระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ป หุนกู หนี้สินระยะยาวและหนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุน หุนสามัญ มูลคาหุนละ 1 บาท ที่ออกจำหนายและชำระแลวเต็มมูลคา จำนวน 708,004,413 หุน สวนเกินมูลคาหุนสามัญ กำไรสะสม อื่นๆ รวมสวนของผูถือหุน รวมเงินทุนทั้งหมด อัตราสวนหนี้สินตอทุนทั้งหมด อัตราสวนเงินสดสุทธิ / - หนี้สินสุทธิ / ทุนทั้งหมด

ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 2552 5.54 1,613.48 1,048.13 1,130.41 5,207.26 5,233.95 14,238.77

110.10 1,334.36 559.49 2,668.72 2,314.12 6,986.79

708.00 1,540.41 21,982.13 7,301.60 31,532.14 45,770.91 0.31 - 0.08

708.00 1,540.41 21,565.98 7,277.05 31,091.44 38,078.23 0.18 0.13

ตารางขางลางนี้แสดงถึงสัดสวนหนี้สินของบริษัทฯ ยังคงอยูในระดับต่ำ และความสามารถในการชำระหนี้ยังคงแข็งแกรง ตาราง 36 : วิเคราะหแหลงเงินทุนของบริษัท ลานบาท กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน เงินสดและเงินลงทุนระยะสั้น หนี้สินรวม เงินสดสุทธิ/-หนี้สิน สวนของผูถือหุน เงินสดสุทธิ / - หนี้สินสุทธิ / ทุน (เทา) หนี้สินรวม / ทุน (เทา)

ณ วันที่ 30 กันยายน 2553

2552

1,550.23 10,414.49 14,238.77 -3,824.28 31,532.14 -0.12

5,000.69 11,822.56 6,986.79 4,835.77 31,091.44 -

0.45

0.22

รายงานประจำป 2553

101


ตาราง 37 : Credit Metrics และสภาพคลอง ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 2552

ลานบาท มูลคาตามบัญชีตอหุน กำไรกอนหักดอกเบี้ย, ภาษี, คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย (EBITDA) อัตรากำไรกอนหักดอกเบี้ย, ภาษี, คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย EBITDA margin (%) หนี้สินรวม/EBITDA (เทา) เงินสดสุทธิ หรือ –หนี้สิน/EBITDA (เทา) เงินสดสุทธิ หรือ –หนี้สิน/ทุน (เทา) EBITDA/คาใชจายจากดอกเบี้ยสุทธิ (เทา) อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน (เทา) รอบการหมุนเงินสด (วัน) ลูกหนี้การคา เจาหนี้การคา เงินทุนหมุนเวียน/รายได

44.54 2,970.84 15.90% 4.79 -1.29 -0.12 7.14 2.27 10 33 23

43.91 3,455.32 17.29% 2.02 1.40 0.16 13.68 2.77 10 42 32

0.46

0.48

ระดับของเงินสดที่มีอยูของกลุมบริษัทฯ และวงเงินสินเชื่อ เพียงพอกับภาระผูกพันของคาใชจายฝายทุนของกลุมบริษัทฯ (capex) ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 กลุมบริษัทฯ มีวงเงินสินเชื่อที่มีสัญญาแลวเปนเงินจำนวน 857.97 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ซึ่งเงินจำนวน 677.97 ลาน ดอลลารสหรัฐอเมริกา เปนวงเงินพรอมใช หนี้สินระยะยาวมากกวารอยละ 80 ของกลุมบริษัทฯ มีวันครบกำหนดชำระยาวนานกวา 12 เดือน เมื่อ จำแนกหนี้สินของกลุมบริษัทฯ รอยละ 50.14 จะมาจากธนาคารพาณิชยและที่เหลืออีกรอยละ 49.57 จะมาจากตลาดตราสารหนี้ และที่เหลืออีก รอยละ 0.29 เปนสัญญาเชาทางการเงิน

ตาราง 38 : วันครบกำหนดอายุหนี้สินระยะยาว ลานบาท ภายใน 12 เดือน

12-24 เดือน

24 เดือน

รวม

1,048

1,207

4,000

6,255

TTA

1,048

1,207

4,000

6,255

UMS

-

-

-

-

เมอรเมด

-

-

-

-

หนี้สินจากธนาคาร

1,106

869

4,352

6,327

TTA

117

115

1,156

1,388

UMS

293

92

233

618

เมอรเมด

696

662

2,963

4,321

หนี้สินอื่นๆ

24

10

3

37

TTA

8

-

-

8

UMS

15

9

-

24

1

1

3

5

2,178

2,086

8,355

12,619

17.26%

16.53%

66.21%

100.00%

หุนกู

เมอรเมด รวม จำแนกเปน %

102

รายงานประจำป 2553


นิยามและแนวคิดตางๆ ทางการเงินและการดำเนินงาน คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการเกี่ยวกับผลการดำเนินงานของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ใชขอมูลจากงบการเงิน รวมของบริษัทฯ ซึ่งจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย ในการวิเคราะหผลการดำเนินงานดังกลาว บริษัทฯ ไดใชนิยามและ แนวคิดตางๆ ทั้งทางการเงินและการดำเนินการมาประกอบการวิเคราะหดังนี้ l วันเดินเรือ/วันเดินเรือขุดเจาะในรอบปปฏิทิน

(Calendar-Ship-Days/Calendar-Rig-Days) หมายถึง จำนวนวันทั้งหมดในปปฏิทินที่ บริษัทฯ เปนเจาของเรือ ซึ่งรวมถึงเรือขุดเจาะ เรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ และเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองในรอบปบัญชี รวมวันที่ไมไดใช ประโยชนจากเรือ (off hire days) กับการซอมแซมครั้งใหญ การเขาอูแหง หรือ การตรวจสอบระหวางระยะเวลา 5 ป (intermediate survey) หรือ การตรวจสอบระดับพิเศษ l วันเดินเรือที่มี (Available Service Days) หมายถึง จำนวนวันเดินเรือ/วันเดินเรือขุดเจาะในรอบปปฏิทิน หักดวยจำนวนวันที่ไมสามารถใช ประโยชนจากเรือที่ทราบลวงหนา (off-hire) เนื่องจากเรือเขาอูแหงหรือเขารับการปรับปรุงสภาพเรือตามกำหนด และหักดวยจำนวนวันที่ใชในการ เดินเรือใหอยูในตำแหนงที่ตองการ วันเดินเรือชนิดนี้จะเปนจำนวนวันซึ่งเรือสามารถสรางรายไดใหบริษัทฯ l วันทำการ (Operating Days) หมายถึง จำนวนวันเดินเรือที่มี (available service days) หักดวยจำนวนวันที่ไมสามารถใชประโยชนจากเรือ (off-hire) เนื่องจากสาเหตุใดๆ ก็ตาม และรวมถึงสถานการณที่ไมสามารถคาดเดาไดในการเดินเรือแตละเที่ยว วันเดินเรือชนิดนี้จะเปนวันที่กองเรือ สรางรายไดใหกับบริษัทฯ จริงๆ l อัตราการใชประโยชนจากเรือ

(Fleet Utilisation) เปนอัตราที่คำนวณการใชประโยชนจากเรือ โดยการนำวันทำการ (operating days) หารดวยวันเดินเรือที่มี (available service days) ในรอบปบัญชี อัตราการใชประโยชนจากเรือจะเปนตัวบงชี้ประสิทธิภาพของบริษัทฯในการจัดสรร เรือและเรือขุดเจาะ และเพื่อที่จะลดวันที่ไมสามารถใชประโยชนจากเรือและเรือขุดเจาะอันเนื่องมาจากเหตุผลอื่นๆ ที่ไมใชการเขาอูซอมตามปกติ หรือเพื่อการปรับปรุงและปรับสภาพเรือใหดีขึ้น หรือการใชเวลาเดินเรือเพื่อใหอยูในตำแหนงที่ตองการ l จำนวนเรือเฉลี่ย

(Average number of vessels) กำหนดใหจำนวนเรือเฉลี่ย คือจำนวนเรือที่อยูในกองเรือในรอบปบัญชี โดยวัดจากผลรวม ของจำนวนวันทำการเดินเรือทั้งหมดของเรือที่บริษัทเปนเจาของ และจำนวนวันเดินเรือของเรือที่เชามาเสริมกองเรือ หารดวยจำนวนวันในรอบ ปปฏิทิน (calendar days) จำนวนที่ไดจะแสดงถึงจำนวนเรือทั้งหมดที่ไดใชงานและทำรายไดในชวงรอบปบัญชี l รายไดจากคาบริการ (Revenues from Services) คือรายไดที่ไดจากกลุมธุรกิจขนสงซึ่งรวมถึงธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง (การใหบริการ แบบประจำเสนทาง แบบไมประจำเสนทางชนิดใหเชาเหมาลำเปนเที่ยว และแบบเปนระยะเวลา รวมทั้งแบบเซ็นสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา) และธุรกิจงานบริการที่เกี่ยวของกับการเดินเรือ (รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ และคานายหนา) จากธุรกิจพลังงานซึ่งรวมถึงธุรกิจ บริการนอกชายฝง (บริการขุดเจาะและบริการวิศวกรรมโยธาใตน้ำ) อัตราคาเชาเรือและจำนวนวันทำการของเรือและเรือขุดเจาะมีผลตอรายได การผสมผสานของการใหบริการประเภทตางๆ (เชน การใหบริการเรือประจำเสนทาง เชาเหมาลำเปนระยะเวลา การใหเชาเหมาลำเปนเที่ยว การให เชาเหมาลำชนิดเซ็นสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา การบริการขุดเจาะ และการบริการวิศวกรรมโยธาใตน้ำ) มีผลตอรายไดเชนกัน โดยอัตราคาเชา เรือแบบเหมาลำในระยะสั้นจะมีความผันผวนมากกวา เนื่องจากจะอิงกับอัตราตลาด ณ เวลาที่เกิดรายการในขณะนั้น l รายไดจากการขาย

(Revenues from Sales) คือรายไดที่ไดจากกลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐานซึ่งรวมถึงรายไดจากการขายถานหินที่มีขนาด ตางๆ กัน และรายไดจากการขายปุย ราคาตลาดของถานหินและปุย และปริมาณการหมุนเวียนของสินคา (turnover volume) มีผลกระทบโดยตรง ตอรายได l คาใชจายในการเดินเรือแตละเที่ยว

(Voyage Expenses) คือ คาใชจายทั้งหมดที่ใชในการเดินเรือในเที่ยวนั้นๆ ซึ่งรวมถึงคาน้ำมัน คาธรรมเนียมทาเรือ คาขนถายสินคาขึ้นลงเรือ คาธรรมเนียมการผานคลอง คาธรรมเนียมตัวแทนเรือ และคานายหนา โดยปกติแลวลูกคาจะเปน ผูจายคาใชจายในการเดินเรือในแตละเที่ยวกรณีที่เชาเหมาลำแบบเปนระยะเวลา สวนกรณีที่เปนแบบประจำเสนทาง และแบบเชาเหมาลำเปน เที่ยวและการเซ็นสัญญารับขนสงสินคาไวลวงหนา บริษัทฯ จะตองเปนผูรับภาระคาใชจายในการเดินเรือแตละเที่ยวเองทั้งหมด ซึ่งคาใชจายในการ เดินเรือแตละเที่ยวนั้นบริษัทฯ ไดรวมอยูในอัตราคาเชาแลวโดยใชวิธีประมาณการคาใชจาย บริษัทฯ คาดวาคาใชจายจากการขนถายสินคาขึ้นลง เรือ และคาน้ำมันจะเปนคาใชจายหลักของคาใชจายในการเดินเรือแตละเที่ยวทั้งหมดของบริษัทฯ เนื่องจากเรือสวนใหญของบริษัทฯ จะใชสำหรับ รับขนสงสินคาแบบประจำเสนทางและแบบเชาเหมาลำเปนเที่ยวและแบบที่มีการเซ็นสัญญารับขนสินคาไวลวงหนา l รายไดสุทธิจากการเดินเรือในแตละเที่ยว

(Net Voyage Revenues) รายไดสุทธิจากการเดินเรือในแตละเที่ยวคำนวณจากรายไดจากการ เดินเรือในแตละเที่ยว ลบดวยคาใชจายในการเดินเรือแตละเที่ยว เนื่องจากคาใชจายในการเดินเรือแตละเที่ยวที่เกิดขึ้นจะแตกตางกันไปตาม รูปแบบของการใหบริการ บริษัทฯ จึงใชรายไดสุทธิจากการเดินเรือในแตละเที่ยวมาใชเปรียบเทียบผลการดำเนินงานของการใหบริการในรูปแบบ ตางๆ

รายงานประจำป 2553

103


l อัตราคาเชาเรือ

(Time Charter Equivalent Rates) เปนการนำรายไดสุทธิจากการเดินเรือในแตละเที่ยว (Net Voyage Revenues) หารดวย จำนวนวันเดินเรือในรอบปปฏิทิน (Calendar-Ship-Days) อัตราคาเชาเรือจะเปนหนวยวัดผลงานหลักที่ใชเทียบกำไรตอวันที่ไดรับจากการใหเชา แบบเปนระยะเวลากับแบบใหเชาเปนเที่ยว หรือกำไรตอวันที่ไดจากเรือประจำเสนทางหรือสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา ทั้งนี้เปนเพราะวาโดย ปกติคาระวางเรือที่ไดรับไมวาจะเปนการใหบริการแบบใดก็ตาม ดังที่ไดกลาวมาแลวจะไมไดแสดงออกมาเปนรายวัน ในขณะที่คาเชาเรือชนิดให เชาเหมาลำเปนระยะเวลาจะแสดงออกมาเปนรายวัน l คาใชจายในการดำเนินงานเกี่ยวกับเรือเดินทะเล (Vessel Operating Expenses) คาใชจายในการดำเนินงานเกี่ยวกับเรือเดินทะเล โดย รวมเรือใหเชาเหมาลำทุกประเภทยกเวนการเชาเรือเปลา บริษัทฯ รับผิดชอบคาใชจายในการดำเนินงานซึ่งประกอบดวยเงินเดือนลูกเรือและคาใช จายที่เกี่ยวของ คาใชจายที่เกี่ยวกับการซอมและบำรุงรักษาเรือ คาใชจายดานประกันภัย คาอะไหลและวัสดุสิ้นเปลือง คารักษาสถานภาพทะเบียน เรือ และคาใชจายจิปาถะอื่นๆ คาใชจายในการดำเนินงานเกี่ยวกับเรือเดินทะเลของบริษัทฯ โดยทั่วไปถือวาเปนคาใชจายคงที่ ซึ่งจะเพิ่มขึ้นตาม ขนาดกองเรือ นอกจากนี้ยังมีปจจัยอื่นๆ ที่อยูนอกเหนือการควบคุมของบริษัทฯ ที่อาจจะสงผลใหคาใชจายประเภทนี้เพิ่มขึ้นได ตัวอยางเชน หาก จำนวนอุบัติเหตุทางทะเลทั่วโลกมีเพิ่มขึ้นมากกวาในอดีตมากอาจสงผลใหบริษัทฯ ตองชวยรวมจายเบี้ยประกันภัยสูงขึ้น หรือตนทุนน้ำมันเครื่องที่ อาจสูงขึ้นตามภาวะการขึ้นราคาน้ำมันดิบที่สูงขึ้นอยางรวดเร็ว l การนำเรือเขาอูแหง (Dry-Docking) โดยปกติบริษัทฯ จะตองนำเรือและเรือขุดเจาะของบริษัทฯ เขาอูแหงเพื่อการตรวจสอบ ซอมแซมและบำรุง รักษา รวมไปถึงการปรับปรุงเรือเพื่อใหเปนไปตามขอกำหนดตางๆ ของหนวยงานรัฐหรือขอกำหนดที่ตองปฏิบัติตามในการประกอบธุรกิจเดินเรือ ซึ่งโดยปกติ บริษัทฯ จะนำเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง และเรือขุดเจาะเขาอูแหงทุกๆ 2 ปครึ่ง ถึง 5 ปขึ้นอยูกับประเภทของเรือและอายุการใชงาน โดยในระหวางนั้นจะมีการตรวจสอบระดับพิเศษโดยสมาคมจัดชั้นเรือซึ่งจะทำในชวงปที่ 2 และ 3 กอนกำหนดการการเขาอูแหงในปที่ 5 โดยคาใช จายเกี่ยวกับการนำเรือเขาอูแหง จะบันทึกเปนคาใชจายรอตัดจำหนาย (capitalisation) โดยวิธีตัดจำหนายแบบเสนตรงโดยคำนวณใหพอกับระยะ เวลาที่จะตองเขาอูในปตอๆ ไป นับจากวันที่เรือออกจากอูแหง บริษัทฯ บันทึกคาใชจายที่เกี่ยวกับการซอมแซมและบำรุงรักษาเรือตามปกติเปนคา ใชจายประจำงวด ในกรณีที่เห็นวาการซอมแซมดังกลาวของเรือและเรือขุดเจาะมิใชเปนการปรับปรุง หรือเพื่อตออายุการใชงานออกไป l ตนทุนขาย

(Cost of Sales) สวนประกอบหลักของตนทุนขายของถานหิน คือ ตนทุนถานหินและคาระวางในการขนสงเพื่อนำเขาถานหินจาก ประเทศอินโดนีเซีย สวนประกอบหลักของตนทุนขายสำหรับการผลิตปุยรวมถึงตนทุนวัตถุดิบ แรงงาน และคาสาธารณูปโภค l คาเสื่อมราคาและการตัดจำหนาย (Depreciation and Amortisation) ประกอบดวย 2 สวน คาเสื่อมราคาจะใชวิธีเสนตรงในการคำนวณ ตลอดอายุการใชงานของสินทรัพย โดยคำนวณจากตนทุนการในการไดมาซึ่งสินทรัพยและสวนประกอบหลักของสินทรัพยแตละชิ้น (รวมถึงเรือ บรรทุกสินคาแหงเทกอง เรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำและเรือขุดเจาะ) หักดวยมูลคาซาก อายุการใชงานของสินทรัพยจะอยูระหวาง 3 ป ถึง 30 ป ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับสินทรัพยและสวนประกอบหลักของสินทรัพยนั้น คาเสื่อมราคาของแตละธุรกิจนั้นหลากหลาย ขึ้นอยูกับระดับของการลงทุนและการขาย การลงทุนที่เกิดขึ้น ณ ชวงเวลาใดๆ คาตัดจำหนายจะเชื่อมโยงกับการเขาอูแหงของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองและเรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำ และ เชื่อมโยงกับการเขารับการตรวจสภาพตามระยะเวลาของเรือขุดเจาะ คาตัดจำหนายไดถูกรายงานไวในคาใชจายในการดำเนินงานของเรือ และคา ใชจายที่เกี่ยวของกับงานบริการนอกชายฝง อยางไรก็ตาม คาตัดจำหนายยังรวมถึงการตัดจำหนายสินทรัพยที่ไมมีตัวตน ซึ่งรวมถึงเครื่องหมาย ทางการคาและผลประโยชนจากความสัมพันธกับลูกคาที่ไดมาจากการรวมธุรกิจ ซึ่งรับรูดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่ไดมา รวมถึงสิทธิในการใช โปรแกรมคอมพิวเตอรที่รับรูดวยตนทุนในการไดมา คาตัดจำหนายของสินทรัพยที่ไมมีตัวตน คำนวณโดยใชวิธีเสนตรงตลอดอายุการใหประโยชน ของสินทรัพยจาก 3 ป ถึง 20 ป l คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร (General and Administrative Expenses) ไดแก คาใชจายที่เกี่ยวของกับพนักงานที่อยูบนบก เชน เงินเดือน คาเชาสำนักงาน คาใชจายทางดานที่ปรึกษากฎหมายและคาบริการวิชาชีพ รวมทั้งคาใชจายทั่วไปอื่นๆ บริษัทฯ คาดวาคาใชจาย ทั่วไปและคาใชจายในการบริหารจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากการรวมบริษัทยอยที่บริษัทฯ ไดเขาไปซื้อกิจการเขามาในงบการเงินรวม

104

รายงานประจำป 2553


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2553 เรียน ผูถือหุน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัทฯ ไดใหความสำคัญตอหนาที่และความรับผิดชอบ ในการดูแลกิจการบริษัทใหมีการจัดการที่ดี ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุนดวยความซื่อสัตยสุจริต ระมัดระวัง รักษาผลประโยชนของบริษัท ผูถือหุนและ ผูลงทุนทั่วไป โดยกำกับดูแลใหรายงานทางการเงินของบริษัทฯ มีการบันทึกขอมูลทางบัญชีที่ถูกตอง ครบถวน สามารถสะทอนฐานะการเงินและ ผลดำเนินงานที่เปนจริงของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวย กรรมการอิสระที่เปนผูทรงคุณวุฒิมีคุณสมบัติครบถวนตามขอกำหนด ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใหเขามาทำหนาที่สอบทานใหบริษัทฯ มีการรายงานการเงินอยางถูกตองเพียงพอ สอบทานระบบควบคุม ภายใน รวมทั้งสอบทานการปฏิบัติของบริษัทฯ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบไดรายงานผลการปฏิบัติงานตอคณะกรรมการบริษัทฯ แลว คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นวา งบการเงินประจำป 2553 ของบริษัทฯ และบริษัทยอย ที่คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานรวมกับ ฝายบริหาร และผูสอบบัญชีของบริษัทฯ ไดตรวจสอบแลว ไดแสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานโดยถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

นายอัศวิน คงสิริ ประธานกรรมการ

ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร

รายงานประจำป 2553

105


รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต

! " " #$ $ %& ' ( ) * + % !' # ,% ' , ' -+ , . /0 " " +121 344/ +121 3443 & ! ' , & ! ' -+ ' 5 ." 5 6, , ' 5 ." 5 6, -+ ' , ' -+ & 57 8 ' , ' ", #6 57 . 8 ! " " #$ $ %& ' ( ) * "6 " -+ ! " " #$ $ %& ' ( ) * 9. % 5: ') #6 , # , ; 6 8 6, + % 5: ') ; ' , < #6 ' 6 ,% # ,% + % + % !' 5= # # ,% # # > ?) . .,!5 9. & '; + % # , 5= # + . ; !' , ) . . "6 # ,6 ' . '#6 <%% 5: & ? ! 6 # ,% , 9 ;) , @ ' > 5 " 8 . 5: %& , 5A' " ; 5 , ?) . % ;) 5 .", " . 5: & ? 9. 5: % ' & 98 # '% 5 9 , ' " . & ; '" , + % ) . ,6 # ,% ' 6 ,; 5 . 5: B$ "6 ; ' , < + % + % < ,6 , -+ # 8 ' > , > -+ , . /0 " " +121 344/ +121 3443 '& , '& -+ ' , ' -+ & 57 8 ', ' ", #6 57 ! " " #$ $ %& ' ( ) * "6 " -+ ! " " #$ $ %& ' ( ) * '" # # . , ; & ?# ?) . .,!5 % " # !+ % ?) ? # . /CC4 !+ , # $ D $ 5 $ %& ' + 3E +F2% " +121 344/

106

รายงานประจำป 2553


งบดุล บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 งบการเงินรวม หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 บาท

บาท

บาท

บาท

~ ~ ¤¥¦§¨©ª«¬­®¯°®­¤±²¯³¤±´®¤¥¦§¨©

5

8,458,186,441

10,718,892,581

1,737,995,202

5,094,123,584

¤¥¦§«¥±µ§­¬¯¬¨¶·§

6

1,956,302,332

1,103,667,980

892,051,504

316,817,533

«¸°¹§²·°®­º»®¼½¾§ - ¨µ±¿¦

7

1,652,583,734

1,783,838,080

-

-

«¸°¹§²·°¦À°®­±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶§

31.2

403,243

5,392,478

120,393,052

8,563,895

¤¥¦§Ã¹»°¸»­¬¯¬¨¶·§ª°´°¦À°®­±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶§

31.4

-

-

3,703,287,317

1,707,130,195

31.4

4,000,000

4,000,000

163,635,982

149,727,681

1,999,580,533

310,927,209

-

-

Á¶¨©µª«¬Â¼¥ÃÇ»¨¦·§¤É«½¼¥¨Æ®¹­¶³¤­½¼¤©¦§±¬¤«

634,896,460

702,127,414

-

-

º´®ÃÇ»À´®¯À´®¯«´Á¥¹§»®

177,507,593

167,242,415

4,838,301

4,535,740

538,523,903

347,942,501

16,427,133

8,514,854

15,421,984,239

15,144,030,658

6,638,628,491

7,289,413,482

¨´Á§Â¼¥¤¥¦§Ã¹»°¸»­¬¯¬¯®Áª°´°¦À°®­±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶§ ±²¾ÄÅ¥°Æ®¹§©ÇÆ®­¬È®¯Ã§¹§Å¾¥ÉÊ ¨¦§º»®º¥¤¹«½¼ - ¨µ±¿¦

¨¦§±­¶Ë¯Ì¹Íµ§¤Á²¯§¼½¾§ - ¨µ±¿¦

8

9

~ ~

~ ¤¥¦§Ã¹»°¸»­¬¯¬¯®Áª°´°¦À°®­±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶§

31.4

368,315,000

7,323,000

4,835,416,407

432,582,833

¤¥¦§«¥±µ§Ã§³­¦Î¶±¯´¼¯

10

-

-

15,863,624,005

14,529,626,502

¤¥¦§«¥±µ§Ã§³­¦Î¶±­´ÁÍ

11

1,182,453,051

656,181,924

11,213,000

11,213,000

¤¥¦§«¥±µ§Ã§°¦À°®­­´Áͺ»®

12

54,315,153

42,606,698

8,771,110

8,771,110

-

77,696,842

-

-

¤¥¦§«¥±µ§­¬¯¬¯®Á±¶¾ÁÏÉ ±²¾©¦§ ¼®º®­ª«¬¼µÉ°­ÐÌ - ¨µ±¿¦

14

26,042,041,447

22,969,337,348

255,706,903

270,007,235

º´®ºÁ®Í§¦¯Í

13

3,834,040,193

933,374,740

-

-

¨¦§±­¶Ë¯ÌÏʹͲѶÁѧ - ¨µ±¿¦

15

704,219,713

165,958,339

139,981,854

61,378,755

¨¦§±­¶Ë¯Ì¼¾§½ - ¨µ±¿¦

16

1,266,094,317

1,644,320,097

44,231,758

1,923,828

~ ~

33,451,478,874

26,496,798,988

21,158,945,037

15,315,503,263

~ ~

48,873,463,113

41,640,829,646

27,797,573,528

22,604,916,745

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

รายงานประจำป 2553

107


งบดุล บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 งบการเงินรวม หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 บาท

บาท

บาท

บาท

¢ £ ¤¥¦§¨ ¦ ¢ ¤¥¦§¤³¦°¤°¦§³¶ÒDz

17

5,544,249

-

-

-

¤¥¦§°¸»­¬¯¬¨¶·§

18

1,605,982,823

102,600,000

-

-

923,547,922

1,054,706,557

22,561,685

16,241,025

9,582,861

19,211,283

2,054,158

3,094,432

¤À»®¹§²·¼½¾§

143,840,557

901,269,395

8,330,058

187,843

¤¥¦§­¶³«´Á¥¹§»®À®°«¸°º»®

424,951,640

305,433,527

-

-

¤À»®¹§²·°®­º»® - ¼½¾§ ¤À»®¹§²·°¦À°®­±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶§

31.3

¤¥¦§°¸»­¬¯¬¨¶·§À®°°¦À°®­±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶§

31.4

7,500,000

7,500,000

3,384,762,234

3,007,220,588

¨´Á§Â¼¥¹µ»§°¸»±²¾ÄÅ¥°Æ®¹§©ÏĴļ§È®¯Ã§¹§Å¾¥ÉÊ

22

1,048,132,540

1,334,358,919

1,048,132,540

1,334,358,919

¨´Á§Â¼¥¤¥¦§°¸»­¬¯¬¯®Á±²¾ÄÅ¥°Æ®¹§©ÇÆ®­¬È®¯Ã§¹§Å¾¥ÉÊ

19

1,106,259,935

534,136,658

-

-

¹§²·¨¦§Ñ®Í¨¶ÒÒ®¤Ç´®°®­¤¥¦§±²¾ÄÅ¥°Æ®¹§©ÇÆ®­¬È®¯Ã§¹§Å¾¥ÉÊ

20

24,150,856

25,357,212

-

3,945,610

21

66,150,976

115,559,424

-

-

Ȯ⤥¦§Ï©»§¦Ñ¦³µºº«º»®¥À´®¯

132,389,433

106,025,455

-

-

º´®ÃÇ»À´®¯º»®¥À´®¯

929,472,864

743,951,342

50,779,298

31,505,149

¹§²·¨¦§¹Íµ§¤Á²¯§¼½¾§

373,207,154

215,543,017

14,361,794

15,163,178

6,800,713,810

5,465,652,789

4,530,981,767

4,411,716,744

È®­¬Õ¸°Ë¶§Õ«É­¬Ö¯Ç§Ì˧¶°¥®§±²¾ÄÅ¥°Æ®¹§© ÇÆ®­¬È®¯Ã§¹§Å¾¥ÉÊ

~ ¢

¢ ¹µ»§°¸» - ¨µ±¿¦

22

5,207,264,541

2,668,717,839

5,207,264,541

2,668,717,839

¤¥¦§°¸»­¬¯¬¯®Á

19

5,220,979,022

2,301,392,647

-

-

¹§²·¨¦§Ñ®Í¨¶ÒÒ®¤Ç´®°®­¤¥¦§

20

12,957,004

12,722,004

-

-

È®­¬Õ¸°Ë¶§Õ«É­¬Ö¯Ç§Ì˧¶°¥®§

21

99,406,889

100,904,254

11,692,726

1,744,722

~ ¢

10,540,607,456

5,083,736,744

5,218,957,267

2,670,462,561

~ ¢

17,341,321,266

10,549,389,533

9,749,939,034

7,082,179,305

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

108

รายงานประจำป 2553


งบดุล บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 บาท

บาท

บาท

บาท

±µ§À©±¬¤³²¯§ - ¹µ»§¨®Í¶Ò

933,004,413

933,052,865

933,004,413

933,052,865

±µ§±²¾¼¼°ª«¬ÇÆ®­¬ª«»Á - ¹µ»§¨®Í¶Ò

708,004,413

708,004,413

708,004,413

708,004,413

1,540,410,208

1,540,410,208

1,540,410,208

1,540,410,208

(50,029,892)

(50,029,892)

-

-

-

-

124,542,422

124,542,422

2,564,206,648

2,611,057,091

-

-

(901,356,705)

(38,150,433)

-

-

6

50,971,727

25,630,124

12,916,568

6,387,091

28

93,500,000

93,500,000

93,500,000

93,500,000

21,888,632,476

21,472,478,442

15,568,260,883

13,049,893,306

25,894,338,875

26,362,899,953

18,047,634,494

15,522,737,440

5,637,802,972

4,728,540,160

-

-

~ £ ¤¥¦§¨ ¦

31,532,141,847

31,091,440,113

18,047,634,494

15,522,737,440

~ ¢ £ ¤¥¦§¨ ¦

48,873,463,113

41,640,829,646

27,797,573,528

22,604,916,745

หมายเหตุ ¢ £ ¤¥¦§¨ ¦ (Ñ´¼) £ ¤¥¦§¨ ¦ ±µ§¤­½¼§¹µ»§

¨´Á§¤°¦§Í¸«º´®¹µ»§¨®Í¶Ò

23

23

¨Æ®­¼¥¨´Á§±µ§À®°°®­­Áͨ´Á§Ï©»¤¨²¯ ¨´Á§¤°¦§Â¼¥­®º®Ñ®Í³¶ÒDzÀ®°­®º®À´®¯×½·¼°­Ð² °®­×½·¼°¦À°®­È®¯ÃÑ»°®­ºÁ³ºµÍ¤©²¯Á°¶§ ¨´Á§¤°¦§Í¸«º´®¹µ»§¨®Í¶Òç³­¦Î¶±¯´¼¯

10

Õ«Ñ´®¥À®°°®­ªÉ«¥º´®¥³°®­¤¥¦§Â¼¥³­¦Î¶±¯´¼¯ çѴ®¥É­¬¤±Ø °®­É­¶³Í¸«º´®¯µÑ¦¿­­Í °Æ®Ï­¨¬¨Í À¶©¨­­ª«»Á - ¨Æ®­¼¥Ñ®Í°Ù¹Í®¯ ¯¶¥ÏÍ´Ï©»À¶©¨­­ ~ £ ¤¥¦§¨ ¦ }~ © ª ¨´Á§Â¼¥Õ¸»Ä½¼¹µ»§¨´Á§§»¼¯

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

รายงานประจำป 2553

109


งบกำไรขาดทุน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 บาท

บาท

บาท

บาท

9,272,551,048 3,476,365,397 503,454,116 4,640,737,178

13,842,172,684 5,209,869,112 542,081,782 365,800,359

-

-

17,893,107,739

19,959,923,937

-

-

7,932,525,157 3,230,503,176 126,244,833 3,918,587,536

12,138,959,454 3,745,320,816 126,435,109 330,683,674

-

-

15,207,860,702

16,341,399,053

-

-

2,685,247,037 1,136,659,702

3,618,524,884 1,287,628,692

3,611,426,495

3,708,174,099

~ ­ © ¦ º´®ÃÇ»À´®¯Ã§°®­Â®¯ º´®ÃÇ»À´®¯Ã§°®­³­¦¹®­ º´®Ñ¼³ª±§°­­Í°®­

3,821,906,739 228,500,998 2,108,677,657 131,862,961

4,906,153,576 9,429,931 1,985,394,062 175,843,035

3,611,426,495 278,132,277 82,825,000

3,708,174,099 214,750,053 59,564,707

~ ­ © ¦

2,469,041,616

2,170,667,028

360,957,277

274,314,760

1,352,865,123 80,305,584

2,735,486,548 29,877,456

3,250,469,218 -

3,433,859,339 -

1,433,170,707 (510,615,005)

2,765,364,004 (378,045,390)

3,250,469,218 (352,682,105)

3,433,859,339 (322,025,612)

922,555,702 (255,847,516)

2,387,318,614 (211,257,100)

2,897,787,113 -

3,111,833,727 -

666,708,186

2,176,061,514

2,897,787,113

3,111,833,727

795,573,570 (128,865,384)

1,813,706,088 362,355,426

2,897,787,113 -

3,111,833,727 -

666,708,186

2,176,061,514

2,897,787,113

3,111,833,727

}

}

}

}

1.12

2.56

4.09

4.40

หมายเหตุ ~ ¦ ­®¯Ï©»À®°°®­³­¦°®­ º´®­¬Á®¥ º´®³­¦°®­À®°¿µ­°¦À§¼°Ç®¯ÚÛÜ¥ º´®³­¦°®­¼½¾§ª«¬º´®§®¯¹§»® ­®¯Ï©»À®°°®­Â®¯ ~ ~ ¦ ¦ Ñ»§±µ§°®­³­¦°®­ º´®ÃÇ»À´®¯Ã§°®­©Æ®¤§¦§¥®§¤°²¾¯Á°¶³¤­½¼¤©¦§±¬¤« º´®ÃÇ»À´®¯³­¦°®­À®°¿µ­°¦À§¼°Ç®¯ÚÛÜ¥ º´®ÃÇ»À´®¯Ã§°®­Ã¹»³­¦°®­ ª«¬º´®§®¯¹§»® Ñ»§±µ§Â®¯ ~ ¦ ~£ ¢ ¦ ­®¯Ï©»¼¾§½ À®°°®­©Æ®¤§¦§¥®§

~ ~ ¨´Á§ª³´¥°Æ®Ï­Â¼¥³­¦Î¶±­´Áͪ«¬°¦À°®­­´Áͺ»®

30

25 11, 12

~ ¦ ~ ® ¦ Ñ»§±µ§±®¥°®­¤¥¦§ - ©¼°¤³²·¯À´®¯ ~ ® ¦ Ȯ⤥¦§Ï©»

26

~ ¯ ~ }«¬ ~«° ~ ¯ ~ }«¬ ¨´Á§±²¾¤Éӧ¼¥³­¦Î¶±Ã¹Ò´ ¨´Á§±²¾¤Éӧ¼¥Õ¸»Ä½¼¹µ»§¨´Á§§»¼¯ ~ ¦ ~ } ~ «± £ }~ © ª °Æ®Ï­Ñ´¼¹µ»§Â¶·§Ë½·§Ý®§

27

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 110

รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553

111

708,004,413

-

¦

~~

-

25,341,603

-

-

-

50,971,727

-

-

-

-

-

-

25,630,124

1,540,410,208 (50,029,892) 2,564,206,648 (901,356,705)

-

-

-

(46,850,443)

-

-

- (863,206,272)

(38,150,433)

-

-

-

-

-

-

-

-

~

93,500,000

-

-

-

-

-

-

-

93,500,000

¦

¤¥¦§¨ ¦

£

(108,012,507)

-

(128,865,384)

-

9,282,313

(564,664,802)

21,888,632,476 5,637,802,972

(379,419,536)

795,573,570

-

-

-

- 1,701,523,192

-

21,472,478,442 4,728,540,160

¦ ~~

~

© }~ © «~ ¥ ­ ¯~~ ²

-

-

-

-

-

-

-

-

} ~

~ « ­

~«~ }

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 ¤

¦ ª £ }~

¥ ­

~

1,540,410,208 (50,029,892) 2,611,057,091

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

­ ¨ ¢ «¬ 30 . . 2553

¤¥¦§ÉÛ§Õ«À´®¯

29

-

°®­É­¶³Í¸«º´®¯µÑ¦¿­­Í -

-

º´®ÃÇ»À´®¯±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶³°®­¼¼°¨¦±¿¦Â¼¥³­¦Î¶±¯´¼¯

°Æ®Ï­(®©±µ§)¨µ±¿¦¨Æ®¹­¶³ÉÊ

-

°®­Â®¯°¦À°®­Â¼¥³­¦Î¶±¯´¼¯

6

-

-

°®­×½·¼°¦À°®­Â¼¥³­¦Î¶±¯´¼¯

çѴ®¥É­¬¤±Ø

708,004,413

¥ ­ ¦ ª

~ ¦

Õ«Ñ´®¥À®°°®­ªÉ«¥º´®¥³°®­¤¥¦§Â¼¥³­¦Î¶±¯´¼¯

¦ «¬ 1 ­ . . 2552

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

31,532,141,847

(379,419,536)

666,708,186

25,341,603

(37,568,130)

(564,664,802)

1,701,523,192

(971,218,779)

31,091,440,113

~

บาท


112

รายงานประจำป 2553

708,004,413

-

-

-

-

-

-

-

-

1,540,410,208 (50,029,892)

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

­ ¨ ¢ «¬ 30 . . 2552

-

28

¨Æ®­¼¥Ñ®Í°Ù¹Í®¯

-

-

-

-

-

-

-

-

¦

~~

~«~ }

~

2,611,057,091

-

-

-

-

-

-

-

2,611,057,091

(38,150,433)

-

-

-

-

-

(53,623,523)

-

15,473,090

25,630,124

-

-

-

63,512,210

-

-

-

(37,882,086)

93,500,000

6,500,000

-

-

-

-

-

-

87,000,000

¦

¤¥¦§¨ ¦

£

บาท

~

-

(66,034,020)

362,355,426

-

241,730,465

(2,901,451)

-

-

(548,434,388)

2,176,061,514

63,512,210

241,730,465

(56,524,974)

-

21,472,478,442 4,728,540,160 31,091,440,113

(6,500,000)

(482,400,368)

1,813,706,088

-

-

-

(64,319,991)

20,211,992,713 4,193,389,740 29,215,095,286

¦ ~~

~

© }~ © «~ ¥ ­ ¯~~ ²

¦ ª £ }~

} ~

¥ ­

~ « ­

¤

งบการเงินรวม พ.ศ. 2552 ~

1,540,410,208 (50,029,892)

-

64,319,991

643,684,422

29

6

23, 29

~ ¦ ¥ ­ ¦ ª

¤¥¦§ÉÛ§Õ«À´®¯ - ¤¥¦§¨©ÉÛ§Õ«

°Æ®Ï­¨µ±¿¦¨Æ®¹­¶³ÉÊ

°®­É­¶³Í¸«º´®¯µÑ¦¿­­Í

¤¥¦§«¥±µ§¤Ë¦¾Íç³­¦Î¶±¯´¼¯

çѴ®¥É­¬¤±Ø

Õ«Ñ´®¥À®°°®­ªÉ«¥º´®¥³°®­¤¥¦§Â¼¥³­¦Î¶±¯´¼¯

°®­¼¼°¹µ»§ÉÛ§Õ«

¦ «¬ 1 ­ . . 2551

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน


รายงานประจำป 2553

113

28

¨Æ®­¼¥Ñ®Í°Ù¹Í®¯

1,540,410,208

708,004,413

-

-

-

-

-

-

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

­ ¨ ¢ «¬ 30 . . 2552

29

¤¥¦§ÉÛ§Õ«À´®¯ - ¤¥¦§¨©ÉÛ§Õ«

°Æ®Ï­¨µ±¿¦¨Æ®¹­¶³ÉÊ

6

-

64,319,991

°®­¼¼°¹µ»§ÉÛ§Õ«

°®­É­¶³Í¸«º´®¯µÑ¦¿­­Í

1,540,410,208

643,684,422

­ ¨ ¦ «¬ 1 ­ . . 2551 -

1,540,410,208

708,004,413

­ ¨ ¢ «¬ 30 . . 2553

23, 29

-

-

29

-

-

1,540,410,208

¤¥¦§ÉÛ§Õ«À´®¯ - ¤¥¦§¨©ÉÛ§Õ«

-

708,004,413

-

6

~ ­ ¨¢ ~ ~ ¨¢

£ ~ ­ } ª

124,542,422

-

-

-

-

-

124,542,422

124,542,422

-

-

-

124,542,422

6,387,091

-

-

-

44,269,177

-

(37,882,086)

12,916,568

-

-

6,529,477

6,387,091

¥ ­ ¯~~

~«~ }

งบการเงินเฉพาะบริษัท

~ ¦ ¥ ­ ¦ ª ~® © ¦ ~­ }­

°Æ®Ï­¨µ±¿¦¨Æ®¹­¶³ÉÊ

°®­É­¶³Í¸«º´®¯µÑ¦¿­­Í

­ ¨ ¦ «¬ 1 ­ . . 2552

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

93,500,000

6,500,000

-

-

-

-

87,000,000

93,500,000

-

-

-

93,500,000

²

~

13,049,893,306

(6,500,000)

(482,400,368)

3,111,833,727

-

(64,319,991)

10,491,279,938

15,568,260,883

(379,419,536)

2,897,787,113

-

13,049,893,306

¦ ~~

~

15,522,737,440

-

(482,400,368)

3,111,833,727

44,269,177

-

12,849,034,904

18,047,634,494

(379,419,536)

2,897,787,113

6,529,477

15,522,737,440

~

บาท


งบกระแสเงินสด บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 งบการเงินรวม หมายเหตุ ¯ ¦ (© ¦ «) ~~ ~ ~~ ¤¥¦§À´®¯×½·¼±²¾©¦§ ¼®º®­ª«¬¼µÉ°­ÐÌ ª«¬¨¦§±­¶Ë¯ÌÏʹͲѶÁѧ ¤¥¦§À´®¯¤Ë½¾¼×´¼Í¤­½¼º­¶·¥Ã¹Ò´ ¤¥¦§À´®¯×½·¼¤¥¦§«¥±µ§­¬¯¬¨¶·§ ¤¥¦§À´®¯Ã¹»°¸»­¬¯¬¨¶·§ª°´°¦À°®­±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶§ ¤¥¦§À´®¯Ã¹»°¸»­¬¯¬¯®Áª°´°¦À°®­±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶§ ¤¥¦§À´®¯«¥±µ§Ã§³­¦Î¶±¯´¼¯ ¤¥¦§À´®¯«¥±µ§Ã§³­¦Î¶±­´ÁÍ ¤¥¦§À´®¯¤Ë½¾¼¤¥¦§«¥±µ§­¬¯¬¯®Á±¶¾ÁÏÉ ¤¥¦§­¶³À®°°®­ÀÆ®¹§´®¯±²¾©¦§ ¼®º®­ª«¬¼µÉ°­ÐÌ ª«¬¨¦§±­¶Ë¯ÌÏʹͲѶÁѧ ¤¥¦§­¶³º½§À®°°®­ÀÆ®¹§´®¯¤¥¦§«¥±µ§­¬¯¬¨¶·§ ¤¥¦§­¶³º½§À®°°®­º½§±µ§À®°³­¦Î¶±¯´¼¯ª«¬ °®­ÀÆ®¹§´®¯¤¥¦§«¥±µ§Ã§³­¦Î¶±¯´¼¯ ¤¥¦§­¶³º½§À®°°®­ÀÆ®¹§´®¯¤¥¦§«¥±µ§Ã§³­¦Î¶±­´ÁÍ ¤¥¦§­¶³º½§À®°¤¥¦§Ã¹»°¸»­¬¯¬¨¶·§ª°´°¦À°®­±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶§ ¤¥¦§­¶³º½§À®°¤¥¦§Ã¹»°¸»­¬¯¬¯®Áª°´°¦À°®­±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶§ ¤¥¦§ÉÛ§Õ«­¶³À®°¤¥¦§«¥±µ§­¬¯¬¨¶·§ ¤¥¦§ÉÛ§Õ«­¶³À®°³­¦Î¶±¯´¼¯ ¤¥¦§ÉÛ§Õ«­¶³À®°³­¦Î¶±­´ÁÍ ¤¥¦§ÉÛ§Õ«­¶³À®°°¦À°®­­´Áͺ»®

24

31.4 31.4 10 11

10 11 31.4 31.4 10 11 12

¯ ¦ (© ¦ «) ~~ ~ ~~ ¤¥¦§­¶³À®°¤¥¦§°¸»­¬¯¬¨¶·§ ¤¥¦§­¶³À®°¤¥¦§°¸»­¬¯¬¨¶·§À®°°¦À°®­±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶§ ¤¥¦§­¶³À®°¤¥¦§°¸»­¬¯¬¯®ÁÀ®°¨Ä®³¶§°®­¤¥¦§ ¤¥¦§­¶³À®°°®­¼¼°¹µ»§°¸» ¤¥¦§­¶³À®°Õ¸»Ä½¼¹µ»§¨´Á§§»¼¯À®°°®­¼¼°¹µ»§Ã¹Í´ ç³­¦Î¶±¯´¼¯ ¤¥¦§À´®¯º½§¤¥¦§°¸»­¬¯¬¨¶·§ ¤¥¦§À´®¯º½§¤¥¦§°¸»­¬¯¬¨¶·§À®°°¦À°®­±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶§ ¤¥¦§À´®¯º½§¤¥¦§°¸»­¬¯¬¯®Áª«¬¹§²·¨¦§Ñ®Í¨¶ÒÒ®¤Ç´®°®­¤¥¦§ ¤¥¦§À´®¯°®­É­¶³«©¨´Á§¤°¦§Í¸«º´®¹µ»§Ã§³­¦Î¶±¯´¼¯ ¤¥¦§À´®¯º´®À¶©°®­°®­¼¼°¹µ»§°¸» ¤¥¦§À´®¯¤Ë½¾¼°®­ÏĴļ§¹µ»§°¸»ªÉ«¥¨È®Ë ¤¥¦§À´®¯¤Ë½¾¼¯°¤«¦°¹µ»§°¸»ªÉ«¥¨È®Ë ¤¥¦§ÉÛ§Õ«À´®¯À®°³­¦Î¶±¯´¼¯Ã¹»Õ¸»Ä½¼¹µ»§¨´Á§§»¼¯ ¤¥¦§ÉÛ§Õ«À´®¯Ã¹»Õ¸»Ä½¼¹µ»§ ¯ ¦ (© ¦ «) ~~

19 22

22 22 22 29

พ.ศ. 2553

พ.ศ. 2552

พ.ศ. 2553

พ.ศ. 2552

1,550,233,746

5,000,685,420

(516,627,917)

(72,614,655)

(8,356,001,501) (255,322,174) (9,420,422,070) (390,668,400) (4,396,706,205) (904,521,327) -

(4,726,323,664) (553,309,568) (4,275,955,045) (321,009,884) (169,455,500) (77,696,842)

(100,923,784) (6,618,317,603) (4,448,129,219) (5,045,796,970) (1,333,997,513) -

(28,398,807) (1,019,488,949) (5,671,079,787) (3,091,811,274) -

1,386,982,616 8,550,989,146

665,414,522 3,669,330,700

2,103 6,081,343,304

1,813,642 1,000,330,700

2,135,049,364 743,780,794 4,000,000 11,914,175 7,822,268

1,140,393,570 4,000,000 4,560,800 15,599,525 7,370,700

2,270,636,949 553,669,756 3,775,250 973,362,320 7,822,268

68,877,676 5,661,397,465 1,491,321,458 4,560,800 2,803,164,980 7,370,700

(10,883,103,314)

(4,617,080,686)

(7,656,553,139)

1,228,058,604

1,125,400,000 6,684,969,790 4,000,000,000

7,500,000 1,480,900,070 -

5,238,970,246 2,601,528,180 4,000,000,000

7,526,838,391 -

1,568,987,479 (978,148,655) (3,243,967,332) (46,850,443) (7,243,900) (1,060,247,300) (358,293,277) (379,419,536)

241,730,491 (138,400,000) (812,721,114) (1,341,827,581) (66,034,020) (482,400,367)

(2,541,340,860) (2,581,332,739) (7,243,900) (1,060,247,300) (358,293,277) (379,419,536)

(7,567,223,226) (4,950,789) (1,341,827,581) (482,400,368)

7,305,186,826

(1,111,252,521)

4,912,620,814

(1,869,563,573)

บาท

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

114

รายงานประจำป 2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท บาท

บาท

บาท


งบกระแสเงินสด บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2553

พ.ศ. 2552

พ.ศ. 2553

พ.ศ. 2552

(2,027,682,742) 10,718,892,581

(727,647,787) 11,527,798,624

(3,260,560,242) 5,094,123,584

(714,119,624) 5,829,519,739

Õ«°­¬±³Â¼¥¼¶Ñ­®ª«°¤É«²¾¯§±²¾¤É«²¾¯§ªÉ«¥

8,691,209,839 (238,567,647)

10,800,150,837 (81,258,256)

1,833,563,342 (95,568,140)

5,115,400,115 (21,276,531)

­ ¨ « «¬

8,452,642,192

10,718,892,581

1,737,995,202

5,094,123,584

8,458,186,441 (5,544,249)

10,718,892,581 -

1,737,995,202 -

5,094,123,584 -

8,452,642,192

10,718,892,581

1,737,995,202

5,094,123,584

หมายเหตุ ~ ~ } ¯ ¯¼©º¥¤¹«½¼Ñ»§ÉÊ

บาท

บาท

บาท

บาท

~ ~ } 30 «~ } ¦ ¤¥¦§¨©ª«¬­®¯°®­¤±²¯³¤±´®¤¥¦§¨© ¤¥¦§¤³¦°¤°¦§³¶ÒDz¿§®º®­

5

~ ~ © ­®¯°®­±²¾Í¦ÃÇ´¤¥¦§¨©±²¾¨Æ®º¶Òç¨Æ®¹­¶³Éʨ·§¦ ¨µ©Á¶§±²¾ 30 °¶§¯®¯§ Ë.Ø. 2553 ª«¬ Ë.Ø. 2552 Ͳ©¶¥Ñ´¼Ïɧ²·

งบการเงินรวม

พ.ศ. 2553

พ.ศ. 2552

พ.ศ. 2553

พ.ศ. 2552

26,716,899

44,406,676

-

-

37,506,361 1,835,461 21,818,442

183,136,212 6,820,628 64,319,991 -

11,221,558 2,193,897,549 -

5,475,463 64,319,991 -

บาท

¹§²·¨¦§º¥º»®¥À®°°®­×´¼Í¤­½¼º­¶·¥Ã¹Ò´ ¹§²·¨¦§º¥º»®¥À®°°®­×½·¼¨¦§±­¶Ë¯ÌÄ®Á­ ª«¬¨¦§±­¶Ë¯ÌÏʹͲѶÁѧ ¹§²·¨¦§º¥º»®¥À®°°®­±Æ®¨¶ÒÒ®¤Ç´®°®­¤¥¦§ °®­¼¼°¹µ»§ÉÛ§Õ« (¹Í®¯¤¹Ñµ 29) ¤¥¦§ÉÛ§Õ«¹¶°°«³°¶³¤¥¦§°¸»­¬¯¬¨¶·§À®°³­¦Î¶±¯´¼¯ ¤¥¦§ÉÛ§Õ«º»®¥­¶³À®°³­¦Î¶±­´ÁÍ (¹Í®¯¤¹Ñµ 11)

งบการเงินเฉพาะบริษัท บาท

บาท

บาท

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

รายงานประจำป 2553

115


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 5

3

315

116

" ) .' % ! " " #$ $ %& ' ( ) * (H I* 5: ) %& ' 9. % '# 8 %' " ; 5 2! " # . " 6 .!' %' " !, 3EJ3EK3L #$ ) 8 M ") ' + % # , + #5 , + G0//0

? 5 N + !' %' " ; # ' +"$ 6 5 2! " # ' +"$ 6 5 2 5 $ (OPQKOR* # & ' + . , # 5 $; " %9 , " "6 " 6, % 6, ,6 5: H 6 I 5 @ % "6 " (H 6 I* 5 @ % % ' 5 N @ % . .", ' @ % 8& S ) "TUV %& 6 "5 W" %& 6 " 6 6 9. @ % 6

6 5: C 5 N X @ % 6 @ % + 8 > @ %+ @ % + . , -+ !' # % . , . 3E +F2% " +121 344/ " " ?) . & ? .;) ; % ' & , -+ ' #6 !5 8 " " ?) 6 8 & ;) # ' 8 57 . ' % . !, 5: "6 . 67 , -+ !' % ' & 98 # ?) . .,!5; 5 2! "N ";# + ) ?? # ?) +121 34C/ 9. " , 9 # > ?) . N ";# + ) ?? # , ) ) + ?) +121 34CL & ' & +"$ # ' +"$,6 ' ," % ' & & " N ";# + ) ?? # +"$ # ' +"$ +121 34/4 , -+ !' % ' & 98 '";) B$ ' ; , ' 6 $5 " , ; .!' @ "; " " ?) ; & ' #6 !5 % ' & ; ' ?) . .,!5; 5 2! " 9. & '; TY " 5 & ' # . .", % #6 # , +"$ 8 , 8 5A' " .", +"$ 8 . % ' 98 , .; "!' 6 ;) %6 "; " , . ' 6 , # , . ' 98 % % # #6 % # , 5 9 ,6 TY " !' % ' & # , 5 98 % , ;%; # $ . .!' & !5; 5U%% "6 ' . ' , # 8 #657 8 ', . /0 " " +121 344/ ' & ! ' ; 5 %& 6 ;) %6 "# . " 8 !' " ' 6 # + . ; 5: !5# & ' 8 #.& .5 2 '" + Z @ % , . /0 +121 3443 5 2 .", & ' 5 +121 3443 9. ;) & 57 ?) . # ; , . G +121 3443 '" # , 5 " " !' 5 5 + . ; ' รายงานประจำป 2553


3 315

(#6 * 67 (#6 * % 8# , 5 " " !' 5 5 + . ; ' ' " ; 575U%% ' #6 !5 8 ) # -89 #" ( 8 6 ! ' 9. ' !' ' , " 6N ";# +"$ , " . !' % '5 N ; 6 '" ' , N ";# +"$ . 8 8 . % " 6 ! # 6 , # ,% '" 5 N " 9. 5 # , ;) , ; # ,% ,6 G 57 % % '5 N ; 6 ' 8 /0 +121 3443 +

+"$ , " . K @ ' (C/C[E4C* +"$ . K @ + . 98 C/C[E4C ) & ' .' % TY " 6 !' % '5 N ; 6 & " " , .,!5; ? \]^_`a P^`bc (dec^bf* g_h1 !5 5: ; 6, . % 6 @ + "6 & ? '" @ " ; .5 ) "6 ! <# 6 ! 6!' 5 5 & ! ' " . % ! 6 & ? % % '5 N ; 6 ' 8 /0 +121 3443 +

" " , .,!5 ' (GEi[C44* GEi[C44 ; 6, + . 98 , -+ - N F % ' & 98 % . 5: N ! " ; . , " ' " , # #6 ; # , ,6 N ; ;) # j "- N ! " 5:

รายงานประจำป 2553

117


3 313

118

(#6 * " : ;#"9 " : ;#"9 ()&" : ()&("9 ." % % * 6 ?) 6 ?) - 5 5 ;) # 8 #6, . 3E +F N +121 344/ * # > ?) ; 6 # > " ; 6 # > ?) . 5 5 # > ?) ; 6 # > " ; 6 # > ?) . 5 5 9. ;) & " , ?) . . # ; , . G +121 344C , . G +121 344E 6 " ! 6!' &

5= # 6 , . ;) ' #6 !5 8 ;) & " , ?) . . # ; , . G +121 344C # > ?) - . G (5 5 3443* . & # > ?) - . 3 (5 5 3443* . # > ?) - . L (5 5 3443* . ' # > ?) - . M (5 5 3443* . " " ?) 5 ." 5 5 ?) '+ ' # > ?) - . G0 (5 5 3443* . # $N " " , " # > ?) - . GG (5 5 3443* . ?? 6 # > ?) - . GL (5 5 3443* . ?? )6 # > ?) - . 3/ (5 5 3443* . # " # > ?) - . 3C (5 5 3443* . 5A' " .", % . .", # > ?) - . 3L (5 5 3443* . , -+ % # > ?) - . 3M (5 5 3443* . ; 6, # > ?) - . 3i . " ; N + 2 > % . kl # > ?) - . /G (5 5 3443* . 6, !' "; 6, # > ?) - . // (5 5 3443* . & ! #6 # > ?) - . /C (5 5 3443* . ,6 # > ?) - . /E (5 5 3443* . ' " 6 +"$ # > ?) - . /L (5 5 3443* . 5 8 8 . % ' 98 +"$ . % ' 98 # > ?) - . /M (5 5 3443* . +"$! 6 # ,# # > ?) - . C0 (5 5 3443* . +"$ + . # > " - . / . , @ % (5 5 3443* # > " - . 4 . +"$! 6 , " . !, + . " '& ." (5 5 3443* # > " - . E . & ,% 5 6 6 +" 6

รายงานประจำป 2553


3 313

(#6 * " : ;#"9 " : ;#"9 ()&" : ()&("9 ." % % (#6 *

*

# > ?) ; 6 # > " ; 6 # > ?) . 5 5 (#6 *

;) & " , ?) . . # ; , . G +121 344E # > ?) - . G3 . N !' # > ?) - . 30 (5 5 3443* . ? ) & ' % > 5A ' " . ", , )6," % >

6 !' 5 < ,6 # > ?) ; 6 # > " ; 6 # > ?) . 5 5 ' 6 ,! 6 . 5: & ?#6 . & " , # > ?) - . G3 . N !' 9. 6 " 6 ,6 5 # > ?) - 8

31/

) ; 9 9'"()& 9'"8

"6 " " 9 % . ; ?6; 6 & %; , " " '& "6 "' 6 ,!' & , ; % ' & , ; 5 ,6 6 , % . ;'!' ! 6 8 ; + % , 9 @ ; " . " 6 . ',6 % 5: !5!' ; 5U%% .% ;) @ 5 N + .% ;) @ " ' 6 , "6 " & , # 8 #6, . ; ?6 !' 9. & % , # ! 6 & , # 8 #6, . & % , '!5

6 ;) , @ 8 & 9 !' 9. "6 " # !' 9. "6 ", ' 6 ' ," 6 " # @ +"$ . 6 ; ; !' 6 . ; 8 .# ') , .!' " , 9 # . + @$ '"# !' 8 +"$ 8 . !' 9. !' % 8 "6 "% , ' 6 . ; , . !' "6 " 8 . 6 " # @ '" , 6 , . 5: 6, "' ,"

# !' 9. "6 " . ,6 6 " # @ 6, 6 +"$ @ "6 " . 6 % !' % 9 5: 6 , " #6 # !' "6 "#.& ,6 6 " # @ 6, 6 +"$ @ "6 " #6 % + % 5: 6 , " # ' % ; & ! ' ( " # 31G/ " " ?) . 6 , " *

& " ,6 ? ) " ' ,6 " & ! ." ! 6 ' 98 % 9. 5: % " ,6 % . " 6; 6 % # ' ?) !5 , #6 " ' ." ! 6!' ' 98 % 9. 6 % ! 6 !' ; . , %& 5: " " ?) "6 "% 5 ." ; ' " " .;) '" 6

; "6 " ' ; -+ '" ' ' ,", @

, @ % . " 6N ";# , ' ", % 9 ?) '";) 6 +"$ @ 8 #6 . ' 98 % , @ %N ";# , ' ", % ' !, N ";# 6, ; '

") . "6 " 6 !' %& 6 "!5 !' 5A' "!, ; " # 5 G0

รายงานประจำป 2553

119


3 31/

120

(#6 * ) ; 9 9'"()& 9'"8 (#6 * 6, " 9 % 9. 6 @ + "6 5: & ? #6! 6 9 & % , ; 6, ;) , @ 6, !' "; ' ; , '" 6 % 6, !' "; & ! , . ! ,; ?) . X ; 6, ; 6, % , .!' % 8 5: 6, % 9 , . % !' %& 6 " !5; , 6 , " . '% 8 6, % , " 6; 6 # ?) ; 6, % 5= # !5; ' ", " " ?) 6 . 6 , " 6, 6 & ! ?) . ; 6, ; 6, % & , % 5 %& 57 ,6 6, , #6 , 5U % 6, % & !5 % 6 # ?) . 6 6, 6 ; ' 6, ,6 6 # ?) ; 6, ; 6, % ' 6 6 2 "$ ' 6, + . % !' <#6 . 6 N + # %6 " + . )& N + 6, 9. 6 8& 5 ; " " !, ; 6, ' ; -+ '";) , @ ") . 6, 6 !' %& 6 "!5 !' 5A' "!, ; " # 5 GG 6 9 ; % 6, '";) , @ ,6 !' "; , ; % 6, ' ; -+ '" ' ' ," 6, # !' . ,6 6 " # @ . 6, 6 ; +"$ @ % . , 6, ' 9 6 , " 9. !' , 5: 6, 9. ; % 6, ") . % 6, 6 !' %& 6 "!5 !' 5A' "!, ; " # 5 G3

รายงานประจำป 2553


3

(#6 *

31<

% &" 6 . 8 "" : ()& ; ) +

5 # > ;) ' "+ %!' 5 , "6 #6 . " 6 + 8 > 5 $; ' # 5U%% " . X 9. , 9 ' $ 9 # $; # . ) . ,6 # ; $ 8

31<15 . 8 ()& % 6 ()& + "9" '

% & ' # ?) .' 5 $ +"$! 6 # ,# # 5 # > + % .", " ;) . 6 +"$ # 5 # > + % % & 9 % 5 $; ' # ' $; # .", '& ;) 5 ") $ 5 @ N + ;)

31<13 )% & +

6 '; ; 5 ") $ 6+ " " 6 5U%% 8 5 ") $+ !' " ; ' !' & , ' , ", @ # 2 # $ 5 N " % " # > # > .; ) ; 5 6 ;) %6 " 5 ") $+ @ 5 %& ,'!' , 9 # 6, ' # + . 98 ' + # 5 ." 5 ; %& , + 5 ." 5 ; # 6 8 #6 5 6 ;) %6 " . .", 5 ") $+ @ ; 57 6 % !' , # 6, ' . 9. 9 # ' 8" . , & ;) ; & , 6 5U%% @ '%6 "; # . ',6 % # %6 "; + ; 5 # 6, ' . 6 % + % % # ' 8" + @ # > 9. %6 "; .!' 5 ") $

31<1/ 89 89 8' " "

; #6 57 6 % ' 6 , " ,6 ' ' " 6 ! 6 # .!' 6 ,; " # 31G/ 6 . ',6 % !' 6," +"$ . 6 ; ' ' + % % & , 6 % ;) & , ' 6 , 2 " 5 '" 314

(%) 89 9 % & 2 " . , " 6; #6 % ; 6 , ' 6 '";) . " #6 % ; 5 2 8 X , & ; 6 5 6 " . 5: # #6 5 2 . ' 98 ; 5: . " #6 % '";) # 5 ." , . . ' " & ! ' % # 5 ." . ' 98 % !' 9 ; & ! ' 5 6 +"$ 8 . 5: # , . 5: # #6 5 2 , .; ' ; 5: '";) # 5 ." , .; ' & ! ' % # 5 ." ." ! 6 ' 98 % !' 9 ; & ! ' . ' 98

รายงานประจำป 2553

121


3

(#6 *

314

31=

31>

122

(%) 89 9 % & 2 (#6 * & ! ' ' 6," #6 5 2!' 5 6 5: . " 6 '";) # 5 ."

, - ."; ,6 57 " ; ' 5 6 5: '";) # 5 ." , .; ' #6 % 5 6 " ; ' 6 ,% ' N ";# 6, . 6 %& 6 " 6," #6 5 2 %9 % 9 #6 ' 6 , 5: 6, 9. & ! ' % %& 6 " 6," #6 5 2 8 6 , " 5 ." 5 6 " # @ . '% !' 9. 6," #6 5 2 5 6 '";) # 5A' ()& 9 ' " " 6 '5 ' ," '; T @ 5 N %6 " . , #6! 6 , 9 T @ . % & ' " 8 . . N + 6 ; 5 ." " #6, # 5: " , ' #.& ,6 ?) ( * ?) % ' !, ; 6, 8 , " ; ' ) & & - " 8 !' % '5 N 5: . " % '5 N ' 6 , 5: !5# 5l " .TY " # , . !' 9. 8 TY " & ' % '5 N . & , . , % '5 N 5: 5 # "6 .& . " 5: .! 6 )6, , .% !, 9. % " . # N + 6 ' , " 6; +"$! 6 , " , #6 % ' %#%& + . +"$!, " ,6 G3 ' % , .; ' , #6 # " + . + . ; 5 % 9. % % '5 N 5: +"$ , " TY " & ' % '5 N . & , . , % '5 N 5: 5 # "6 .& ; # . " 6; , # # '% '5 N 5: +"$ . " ' " '; ' ' ," 6 " # @ , .; ' & . " . # ' 8 " 6 % , ' 6 " # @ ' ," 8 # ' +"$ 6 5 2! " & . " . % , ' 6 " # @ ' ," # '5U%% # . " 9 " & ! ' ." ! 6 ' 98 % . " " 6; 6, . ; # ) ' ' ", %& 6 " + " 6, # ?) .%& 6 " & , '";) , @ , - ."

6, 8& % %& , . 8 ' ; # .! 6 # ' .% '5 N 5: .,!5 ' ; ' ' ," 6 % ' ' " 6 #6 . 6 ) 8,6 8 % ' " 6 ' 98 6 . ',6 % !' #.& ,6 # ? ) ' % ' " 6 . ' 98 % 9 ; & ! '

รายงานประจำป 2553


3 31?

(#6 *

) # - 8

8 . ' ," 6 # ; % 8 % , ' 6 #6 ' ,"%& , . " 6 ' ," 6 . 8 "% ? 9. 5 % " ' , 8 57 6 . 8 "% ? " 9 #6 ,6 # ?) 8 5 " " 6 . ',6 % !' % 8 8 ? . ' 98 % !, ; & ! ' '" 5: 6, 9. 6 ;) %6 "; ;

31@

8 8 #)A

6, ; ?65 ' ,", # ' , ' 8 5 . .", 5 W" " m6 6 9. ' ' ," 6 @ .% !' , #6 ;'% #.& ,6 & , '", @ , - ." 6, 8& # 8 5 ' , " 8 6 ;) %6 " . .", '"# 8 8 )6 6 6 6 ' ," 6, '% %6 " # . ! 6, '% 5 6, ' & # 6, '!5 98 5: ' (^]no_]* # & <% 5 ,6 & 5 ' ," 6 , # ' 6 # 6 ;) %6 " . # 6 "; # 9. 5U 6, # B$ '& # 5 # #6! 6 , # " 6 @ .% !' 5 % 5 # . ',6 % "!' @ % ' ," 6 ;) %6 " .%& 5: + . ; 8 & <% 5 , 9 6 ;) %6 "; " 6 9 ?) 6 . ' 6 6 " . N + 6 .%& 5:

3150 ' ()& ; - %)A # A & )

, ' ;) 8 5 & ' 6, ; ?65 ' ," 8& , ' ;) 8 5 5 %& 8& ' # '", @ 6 6 , ' ;) 8 5 5 %& ' # '";) , @ , - ." 6, 8& 6, , ' ;) 8 5 5 %& ' % ' # . '";) B$ -+ % % , ' ;) 8 5 5 %& ' % . 8 + . 5 ." , ' 8 5 . ;) !5; ,6 57 ' 5: 6 ;) %6 " % @ % ) "TUV ; & ! '

3155 ) & & '

" " , % '5 N 5: .,!5 9. ' ' ," ' " 6

TY " % & ' % '5 N . & , . , % '5 N "6 .&

6 % ' ' " 6 . 6 ) 8,6 8 % ' " 6 ' 98 # ?) #.& ,6 6 . ',6 % !' 6 % 9 " ' % ' " 6 , !, ; & ! '

; %& 6 " #6 ,6 # @ .!' % %& 6 " . 5 " " # ?) 8 % 9 , " 6; & ! '

.%& 6 " . !, ; # 8 # ) ' ' ", !5 6, # ?) .%& 6 "% & ' '";) , @ , - ." 6, 8& ' ," # ?) % %& , 8 ' . !,

. . 5 6 " # @ ; 6, !' " !5 ' " 6 5 6 " # @ . 9 !, ; 6, % 9 ; & ! '

รายงานประจำป 2553

123


3

(#6 *

3153 . 8 ()& % 6

" " 6 .", .' 5 $ 6 . 5!' ' 8

.' 5 $ 9 ' ," 9. & , % ' %& , " 6 ' ; & ; +"$ 8 " 6; . ; N + .+ % ;) !' # .5 $!, +"$ 5 N " , .' ' ; ' ' ," 6 . ' " 6 ( *

6 . & , ' ,", @ # # ' " ; 5 ") $ .!' 5 !, ' #6 !5 8

6, 5 5 ; 6 ' ( ; 6* ' ' % . % 5 $ . # #6 # '# 8 5 $ . ;) " #$ " #$ 6

30 57 / K 30 57 /0 57 4 K 34 57 4 K GE 57 G K 30 57 M K G4 57 / K G0 57 4 K E 57 4[ G0 57 M K 30 57

6 !' 5 " ;) ' ' ' % 6 % " ;) . " 6 , . 8 & , 6 . % # ' ' ' % 6 ' ," 6 '"5

6 9 6 . 5: 6 ;) %6 "5 %& ,' . %& 6 " +"$ % ?) % 9 # ' +"$ 6 . +"$ 8 % ?) + 9 & ! ' % %& 6 "; & ! '

+"$% 9 # 6 . ',6 % !' . + ,6 # ?) +"$ ,6 6 . ',6 % !'

6 ;) %6 "; 6 & +"$ 5: 6 ;) %6 "; & ! ' ; ,' . ' 98 # 5 5 ; ' 98 . & ? % 9 , !, ; # ? ) +"$ , 5: !5!' 6 6 . 5 5 8 % & ; !' 5 ") $ ) 2 > % 6 6 ,6 ;) 5 ") $ '"! 6 5 5 +"$

" & ! ' % %& 6 " & ' '" 5 " " . # .!' % %& 6 " # ?) +"$ % , !, ; & ! '

' 8"% " ;) ; 6 .' 5 $ !' 9 5: 6, 9. # +"$ 8 # ')6, , 6 # " +"$ 8 ; " 6; N ++ .% ;) !' # 5 $

124

รายงานประจำป 2553


3

(#6 * 315/ 89 8' " " 6 , " # . ,6 6 " # @ . 6 6, 6 ; +"$ @ "6 " 6, , .!' 9. 8 6 , " . '% !' 9. "6 " ' 5: +"$! 6 # ,# ; ' , 6 , " . '% !' 9. 6, % , !, ; ?) ; 6, % ' ' " 6 '" , 5: 6, 9. ; 6, 6 , " . % # ' ' " 6 57 ' ' ," 6 . ' " 6 6 . ' " 6 6 , " . ,% ! 6 " 8 8 6 # ?) 6 , " % , & , ; & ! ' . " % ; ' ' " 6 6 , " 6 , " % 5U 6, !5" 6," . 6 ; ' ' '" . 6," 8 %% 5: 6," ' ",

" 6," , 9. ',6 % !' 5 ") $% 6 , " . '% , @ % 315< + "9" ' @ ;) 5 + , # $ . 8 '" -+ % 9 5: "%6 "TY " '" & , % # ; !' '& ; 5 + , # $ 8 & ;) !' # 5 $ 6 # '%& 6 " & , '", @ # # ' " ; 5 ") $ .5 !, (/[ 4 L 57* ! "# . " 5 ") $% , + @$ .!' % , @ % 9 5: +"$' ," 6 " # @ , .!' . " , + @$ " , ; 5 ") $ .%& ' ' ' ," 6 # '%& 6 " 6 . ' " 6 ( * 6 # '%& 6 " & , '";) , @ # # ' " ; 5 ") $ (4 9 30 57* 3154 + A. +"$ . 6, ; ?65 ' ," 6 ;) %6 "; 6 8 ; ?6 # ' ?) 8 6 ! ' 6 @ ;) .' " " , %6 " 6, & 6 ;) %6 "; 6 8 ; ?6 # ' ?) 6 @ ;) .' " " ,%6 " 6, % # '%& 6 " 5: 6 ;) %6 " ; & ! ' '", @ # N "; 3 9 4 57 N "; GG 9 30 57# & ' 6 ;) %6 "; 6 8 ; ?6 # ' ?) 6 ;) %6 " . ' 98 ,6 # ,% N + 6 ;) %6 "; 6 6 ;) %6 " ; 6 8 ; ?6% # '%& 6 " 5: 6 ;) %6 "# ' " ;) % . 6 8 ; ?6 8 #6 !5 9. " # '%& 6 " '! 6 4 57 ; . 6 8 ; ?6 6 , & ' # . " 6 6 8 ; ?6% # '%& 6 "

รายงานประจำป 2553

125


3

(#6 * 315= # 9 6 . ) 9" %B 9 ?? )6 +"$ . , ." # , 5: % 6, ; ?6!' !5; )6 5: ?? )6 ?? )6 % 9 5: "%6 "TY " # 6 " # @ +"$ . )6 6 5U%% @ %& , .# %6 "# ?? )6 , #6 ;'% #.& ,6 '"%& , .# %6 "% 5U 6, ,6 8 6 ;) %6 " + . ; !' # ' 8" .#6

8 N + # ?? )6 6 ;) %6 " % 9 5: 8 " " , 6, ' 8"%6 "% 9 ; & ! ' # ' " ?? )6 + . & ; # ' 8" #6 ,' 5: # . & " ' 8 . " 6 #6 ,' +"$ . '% ?? )6 % ' 6 . # ' " ;) +"$ 8 " ?? )6 , #6 " ;'% " ,6 ?? )6 +"$ 9. ; )6 5: , ." # , 5: % 5: 6, ; ?6 ?? )6 8 5: ?? )6 '& 6 ;) %6 " . .", ?? )6 9. 5 # 5: 6 )6 ' 8"%6 " ( @ % . # .!' % ; )6 * % 9 ; & ! ' '";) , @ # # ' " ?? )6 8 6 ;) %6 " . ' 98 % " ?? )6 '& 6 ' " )6 )6 + . .# %6 "; 6 ; )6 % 9 5: 6 ;) %6 "; " , ?) . " 8 ' 98 6 . ) 9" %B ;# 9 +"$ .; )6 # ?? )6 '& , ' " 6; ' ; 6, .' 5 $ # ' 6 . # ' " ; 5 ") $ +"$' ," B$ ' ", " .' 5 $ 6 9. " 9 "!' 6 )6 ( @ % . # .!' ; 6 ; )6 * '", @ # # " , ; )6 315> #

5 N +!' 9 . ' ," 6 .!' 6 ;) %6 "; 5 N + , ' 6 N " ' ,", @ # # '%& 6 " 5 N + 5: .; @ 6 ; , @ .% )& 5 N + 9. '" % '5 N !, 5: 8 8 ' 315? % &" 6 # - 6 % 9 5 8 (! 6 , 9 5 8 & # + * & N + ; 5U%% # j " # # .% ' & !, 5: . % # $; ' # 9. )& N + 8 , 5: !5!' 6 6,6 % 6 ; # ? " +" !5 # 5 . 6 ) . %& , .# %6 " ; . 6 ',6 5 8 5: "%6 " .% !' )6 6 ;) %6 "N ";# ?? 5 N " 6 % 9 5: +"$ " #6 . ',6 6 % !' "%6 " 8 "6 6

126

รายงานประจำป 2553


3

(#6 * 315@ A #

?% % '5 N 5: 6, # . + . 98 . .", ; 6 .%6 " !5 % , @ % % ' " ' 6 ,!, 5: " % ; ; 6, # . ' 98 '"# , @ %% , !, ; # !' . "6 " 8 ? .%6 " , 9 # + . # .%6 " !5N " 9. @ % N !' , % 5: 8 ' 5: " % " ' , 6, % ,6 8 ' 6 ,% " !5 . # ;' X .!' % " & 8 %& 6 "; 6% ' , !, ; 6, 3130 "!' 5 ' ," 6 " # @ .% !' % " .; 5: %& , @ % N " 6, ' ! 6 , " "N "; 6 & , 6 % "!' . , ' 6 " !' "6 6 ) . , 5: !5 !' 6 6 . % % !' 5 ") $ ) 2 > % 6 % 5: !5# & ' "!' # #6 5 N ' .!' @ "!, ' 8

$ %

6 6 , #6 .", 5: "!' . .", 8 ' 8 8 , #6 6 , .", ." " 6 ,6 ' , . ; ' '" % "!' # ' 6, " , . !' ' !5 , " " , .# ;) ; ' 8 ' .", 8 6 , . ' " 6; & ! ' 5: " ' @ 6 " . .",

6 "!' % ; ) "TUV 6 . !' ; '" # ( * # 6 ", # ?? %& , , .'& ; ,6 ,' ( * # 6 .# # ?? . ?? ; )6 +"$ ' ," "!' % ; % 6 # ' " ??

% . " " 5 $ .", ' % 5: . " " ' % % . 9. !5" . 9. N ";# ?? ?? ?? !' , 6 @ " . " " 5 $ .", ' % 9. % %6 " , . # ?? ; . 6 @ " . " " 5 $ ' % , 9 6 5 5 '" .,!5 % % & ' % 5 $ + . ; 5: !5# . # 6 @ " ' 6 ,% 5: "!' # ' " ?? ; . 6 @ " . " " 5 $ ' % , 6 ;) %6 "; . '& , . # ?? 6 @ " ' 6 ,% 5: "!' ; ,' ' ", . ' 6 ;) %6 "

6 6 " 6 #6 X 5: "!' . !' ; , <% " < %

$ &

"!' % " . 8 , ." # . 5: & ? , 5: %

รายงานประจำป 2553

127


3

(#6 *

3130 (#6 *

$ $ !'

"!' ' 8" # B$ ' 6, , '"+ % # ' 8" . % )6, , % 9 , " + % %& , # . 5: " ' ; ?) & 9 "!' 6

$ (

"!' 6 )6 # B$ # %& , . ; ?? )6

$ ) *

"!' 5U . @ .% !' 5U 8 ' 98

3135 9 %C )

5U .%6 "; 6 % 5: 8 ; , -+ ; ,' . # '" & 5U ,6 . # '" & 5U 5 %& 57

3133 )% & +

( *

& 8" ) +

6 !' % '# 8 & 8" ) + '";) & ' # %6 " '" . +"$ !' " % +"$ 6 '" % ' & 8" ) +' 6 ,!' % + 6

%6 " & 8" ) + 6 9 5: 6 ;) %6 "; & ! ' & " , ? ) . .",

( *

5 ") $ . " "

5 ") $ . " " 5 ") $ .+ % !' # j " ! " . " " 9. 98 " 6 " %& , 57 . &

8 5 ") $ . " " % ; ' , ' '" '% 6 5U%% N + , . ; ' # ; ' # 5 ") $ . " " & , 98 '" #2 # $5 N " '";) , @ ' ' #6

6," .5 !, 6 5U%% N + 5 ") $ . " " & , % ' ' ' .% %6 " !5 ; # '";) # ' 8"# + @ # > .;) ' ", N + " & ')& ; " " , .# %6 " 5 ") $ . " " & ! ' # . '% 5 5 % 5 $ 5 ." # > # 9 & ! '

128

รายงานประจำป 2553


3

(#6 *

3133 )% & + (#6 *

( *

# + . % ;%+ ; " " ,

"6 " .; & ,% ' % 6 # 5A # ) "TUV !' % ' ; # + . % ;% + ; " " , & + 6, + @ .% !' # ' 6 , . + !' p % % # " , 8 #.& .% !' @ # # ' 6 ,% 5 # ' " , 8 #.& .% !' @ '"! 6!' ' '; 5: 6 5U%% . % ! 6 "6 5: & ?% ;) , @ # ' '

313/ D

6 ! 6 N !' %6 " N !' .% ' 98 ; #% # #6 ) ., , ,6 > N +"$ 8 6 #

313< " ) ( " 9'

6, @ % . & .% ' #N B$ ; '" , ." # . # #6 !5% , ." # #N B$ 6, @ % .

3134 8 A. "A

+"$ 6 . ' ; ' 5 ' ," ' " " 6 ' " 8 8 ; 6 % . .", 8 6 . ' " 6; ' 5 ' ," ?) @ " 8 % 8 % % . .", " " , " " ?) -+ & " #6 " !' 5A' " " !, ; #6 , . .",

6 !' ;) . + . ' , ." % , # ' 8" # 5 ." # #6 5 2 8& ) 8 + . .;) ?? 5l , ." % # ' 8" ?? 5 ." ,6 ?? 5 ." # ' 8" (q^`ff qb^^]aqe oah ra_]^]f_ ^o_] Ostu q`a_^oq_f* ?? 8 " # #6 5 2 6, ?? v`^]rwa qb^^]aqe q`xxo^ ?? Ro^w]_ ^]h]yc_r`a fzoc # & ' 9. ! 6!' ; , . & ??

?? 5l , ." % # ' 8" !, + . 5l , ." % , , # ' 8" #6 .!' %6 "# ?? % 9 ; & ! ' . 9 , & '%6 ")& 6, 6 @ " % # '%6 " '", @ # # ' " ??

?? 5 ." ,6 ?? 5 ." # ' 8" (q^`ff qb^^]aqe oah ra_]^]f_ ^o_] Ostu q`a_^oq_f* 5: 5l , ." . '% , , # 5 ." ' 8" #6 .!' %6 "# ?? % 9 ; ' 8"

' 8"%6 "# ' " ?? & ! ' % " ?? 6 & ' %6 " " % 9 ; & ! '

? ? 8 " # #6 5 2 6, 5: 5l , ." . '% , , # 5 ." '" & ' # 5 ." ; # . +"$ 8 . 5: # #6 5 2% !' # %6 ")& & ! ' % ?? 8 " # #6 5 2 6, % 9 ; & ! ' . 9 , & '%6 ")&

?? v`^]rwa qb^^]aqe q`xxo^ . & !, + . %& ' , ." % , # 5 ." '" & ' # 5 ." 9. # )& & 8 . 5: # #6 5 2 #6 .!' # ?? % 9 ; & ! ' . !' )&

?? Ro^w]_ ^]h]yc_r`a fzoc . & !, + . %& ' , ." % , 8& '" & ' 8 . 9. & , % & ! ' ; # & ! ' % ?? ' 6 ,% 9 ; & ! ' . 9 , & '%6 ")&

รายงานประจำป 2553

129


/

<

8' " . ; 9' , # 5 $ 6 ; 8 + . '& !, 9. , ; '& "6 #6 . 6 + . # #6 5: 5 ") $#6 . 6, !' " . + . '& !, 9. . + . '# ; '& !, 5 6 %5 " " %6 " 5U ; ? ; 6 " ) . ' "% & D 9' E 6 @ % "5 N 9. " 5: 6, @ %#6 X !' ' #6 !5 8 ) 9" 9

+ '"

"!' % '& "!' ,6 6, @ %

G0[43C[i0L (i4M[C3E*

C[MiL[3CM (CE[iME*

/[CLE[/E4 K

4G4[iGM (4G4[iGM*

Gi[CGC[C/M (G[43G[//0*

"!' % N "

i[4EE[CMG

C[M40[3E3

/[CLE[/E4

K

GL[Mi/[G0M

& ! ( ' *% '&

G[3G4[4M0

C4/[/4C

(GM0[G3C*

(G/4[iC4*

G[/43[ME4 (4G0[EG4* (344[MCM* M0[/0E

EEE[L0M

GG[LLL[4/4

G[043[4/i

3E[LCE[3EG

# K ' 8"%6 " N !' 6, 6 & ! 6, % 6, & ! @ & 57

.' 5 $ +"$! 6 # ,# K @

G3[C0E[EEL

, +"$

) 9" 9

G[40i[430

'"

# %, - ' . /0 +121 3443 ) 9" 8 ) 9" FA # +A- : ) 9"+) +A. )

CM[ML/[CE/ + '"

"!' % '& "!' ,6 6, @ %

GL[LC3[3iM (/[4Gi[CMi*

4M0[/M3 (4/[G/E*

4[30i[MEi K

G[4Ci (G[4Ci*

3/[4/C[0iM (/[4LC[GLC*

"!' % N "

GC[333[M0i

43L[3CE

4[30i[MEi

K

Gi[i4i[i3C

& ! % '&

G[0C0[/G3

CG[3/M

iEC[/4E

EMi[4MG

3[L/4[CML (/LM[0C4* (3GG[34L* 3i[MLL

3[GLE[0E3

G0[040[LEM

4iL[LE4

3/[G/4[3iE

# K ' 8"%6 " N !' 6, 6 & ! 6, % 6, & ! @ & 57

.' 5 $ +"$! 6 # ,# K @ , +"$

130

'"

# %, - ' . /0 +121 344/ ) 9" 8 ) 9" FA # +A- : ) 9"+) +A. )

รายงานประจำป 2553

GG[i3M[4M4

44M[GLM

CG[EC0[M/0


4

()& 9

'" +121 344/ +121 3443 + +

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

'; T @

E[L/i M[C4G[CCL

i[0L3 G0[L0i[M3G

4M G[L/L[i/L

40 4[0iC[0LC

' " " 6 '

M[C4M[GME

G0[LGM[Mi/

G[L/L[ii4

4[0iC[G3C

=

, . /0 " " +121 344/ T @ 5 N %6 " . , # ' 8" ,6 " 01G0 9 E1ME #6 57 (+121 3443 { " 01G0 9 41M0 #6 57* ) & & - '" *+ & +121 344/ +121 3443 +121 344/ +121 3443 + + + + # # 8 T 5 %& .

/ME[MGL MMM[0iM EG/[G/4 GL[3M0

CCi[EG4 3L4[300 //C[3GL Gi[00E

M/[Mi/ LLL[iEG K GL[3MG

GGC[GMG GLL[3C/ K Gi[00L

, 5 ." 5 ; 6 " # @

G[i04[//0 40[iL3

G[0LM[0/M 34[E/0

MLi[G/4 G3[iGL

/G0[C/G E[/ML

" 8

G[i4E[/03

G[G0/[EEM

Mi3[043

/GE[MGM

รายงานประจำป 2553

131


>

) # - 8 G E

'" +121 344/ +121 3443 + +

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

& 6 . 8 "% ?

G[EiM[ECL 334[3LM G[i3/[i34 (3LG[/CG*

G[L4M[34i GGE[L4i G[ML4[0GM (iG[GM0*

K K K K

K K K K

8 K @

G[E43[4MC

G[LM/[M/M

K

K

8 K " ' , "!'

8 , . /0 " " , $# " 8 . )& !' ' 8 '" +121 344/ +121 3443 + +

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

,

& 6 . 8 "% ?

G[0L/[0GL 33/[G0i CC[04G C0[000 /GM[CL0 G[EiM[ECL (3LG[/CG*

LCG[Mi3 L4/[/i4 GGC[40E G0C[03i CC[C/L G[L4M[34i (iG[GM0*

K K K K K K K

K K K K K K K

G[C3L[/0E

G[EEL[0Li

K

K

! 6 & ' & '#.& ,6 / ' & ' / K E ' & ' E K G3 ' & ' ,6 G3 '

# 8 & 6 . 8 "% ?!, #< %& , & 8 .+ % ,6 ! 6 < !'

132

รายงานประจำป 2553


?

8 8 #)A G E

@

'" +121 344/ +121 3443 + +

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

, # ' & <% 5 9. & <% 5 9. & <% 5 ,6 . , ' 8 5

GE3[iM/ G[MMi[iM0 GM[4E0 //[0i4 3E[0iG

GMM[3/3 E/[G4L 3L[MC4 /[43i 3M[GEC

K K K K K

K K K K K

,

& 6 . . ! ,) " K @

3[G/0[L0i (G/G[G3M*

/G0[i3L K

K K

K K

G[iii[4MG

/G0[i3L

K

K

, . /0 " " +121 3443 "6 " 6 9. !' & 9. 5 ' ," , # ' & #5 W" & <% 5 ;) 5:

5 " % @ 6 G/C[GiC1L , "' ' # .!' @ "!, ; " # GM

+ #" ' A. G E '" *+ & +121 344/ +121 3443 +121 344/ +121 3443 + + + +

6 . ' " 6

3Ci[G/4 GG3[/00 3/[L3E CC[G3i Ci[E// G0/[iGG 4M3[M/C (CC[/G0*

G3M[L04 L0[4C/ K /E[/33 GG[GiM G4i[M0M C0E[4LE (4M[E/C*

K G0[E0M /[43E K EEL G[E3E GE[C3L K

K 4[L43 K /0 3[CGi /GC M[4G4 K

+"$ , " . K @

4/M[43C

/CL[iC3

GE[C3L

M[4G4

%6 " 6, & 6 ;) %6 " ; '& @ % N 6 + . N !' %6 " 6, ' %6 " 6+ ' 8" +"$ , " .

รายงานประจำป 2553

133


50

) ; 9 ; "6 " , . /0 " " 5 ' ," ; ' #6 !5 8

A. 9

) 9" FA # +A. FA # K O`x]oh` |`xhrawf u_]1 g_h1 9. "6 "' 8 K }\d P]f_r`a O1t1O1 K t_xoa_rf ~ f `^] d`af_^bq_r`a u_]1 g_h1 K @ D ' 8 $ %& ' ( ' ) . H D $ ) 55A %& 'I* ) 9" 9 K ( +* %& ' K $ $ ' ) 55A %& ' K $ $ , . ) 55A %& ' K $ $ ) 55A %& ' K $ $ ) $ ) 55A %& ' K $ , # $ ) 55A %& ' K $ 5# ) 55A %& ' K D $ ) 55A %& ' K $ !+ < # ) 55A %& ' K $ # $ ) 55A %& ' K $ ' $ ) 55A %& ' K $ 5 $# # $ ) 55A %& ' K $ ) 55A %& ' K D $ ) 55A %& ' K D ) 55A %& ' K $ # $ ) 55A %& ' K $ % ) 55A %& ' K $ ) 57 " ) 55A %& ' K $ # $ ) 55A %& ' K $ 5 5 $ ) 55A %& ' K $ $ ) 55A %& ' K $ ) 55A %& ' K $ " ) 55A %& ' K $ 5A # ) 55A %& ' K $ ) 55A %& ' K R ^`f]a d o^_]^raw (| * g_h1 K $ # ) 55A %& ' K $ ' ' $ ) 55A %& ' K $ , $ ) 55A %& ' K $ , % $ ) 55A %& ' K $ ! +$ ) 55A %& ' K $ $ ' " ) 55A %& ' K $ kA ' $ ) 55A %& ' K $ # ) 55A %& ' K $ 5% ) 55A %& ' K $ < ) 55A %& ' K $ , $ ) 55A %& ' K $ % 5A # $ ) 55A %& '

134

รายงานประจำป 2553

% & D

% & 2 . &

+ . I I I % ' ' 6 ,6 5 2 I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I

5 2 5 $ 5 2T . 2 5 2 5 $ 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2D6 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! "

)& # .FA /0 +121 344/ /0 +121 3443 G0010

G0010

ii1i

ii1i

ii1i

ii1i

ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i

ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i


50

) ; 9 (#6 *

A. 9

% & D

) 9" 9 (#6 * K $ " $ ) 55A %& '‚ K $ # ) 55A %& ' K $ , ) 55A %& ' K $ ,k ) 55A %& ' K $ !' ) 55A %& ' K $ # $!+ $ ) 55A %& ' K $ D $ . ) 55A %& ' K $ # 8 ) 55A %& ' K $ ) 55A %& '‚ K $ 'k , $ ) 55A %& ' K $ $" ) 55A %& ' K R€`^]f]a O€rccraw P]^yoae Pyn| K R€`^]f]a O€rccraw Orawoc`^] u_]1 g_h1

9. "6 "' 8 K R€`^ v^r]ahf€rc O€rccraw u_]1 g_h1 K R€`^ v`^_ba] O€rccraw u_]1 g_h1 K R€`^ |`^r„`a O€rccraw u_]1 g_h1 K uR u]^bfo€ooa u]xoeo^oa }…bra`†

9. 6, ' 8 K uR ‡fo€o ub_^o ˆ]^foyo

K ! " #$ $ %& ' K kA $ 6" $ (5 2! "* %& ' 9. "6 "' 8 K uR1 v]o^ax]ef ‰ah`a]fro‚ K v]o^ax]ef O€rcn^`Šraw u^r‹o_] gryr_]h K v]o^ax]ef Œ^e do^w` (Orawoc`^]* u_]1 g_h1 K R€`^]f]a d€o^_]^raw (uR}* g_h1 K 1 1 ! $ %& '‚ K ) " '# 8 $, %& '‚ K R€`^]f]a O€rccraw v�} 9. 6, ' 8 K O€o^Žo€ u`^_f O]^‹rq]f ggd

% & 2 . &

)& # .FA /0 +121 344/ /0 +121 3443

6 ,6 5 2 I I I I I I I I I I I I

5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2 " 5 2 5 $

I I I 6

5 2 5 $ 5 2 5 $ 5 2 5 $ 5 2 ' "

ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i G0010 G0010

6

5 2 ' "

5 2! " 5 2! " 5 2 ' " 5 2 ' " 5 2 5 $ 5 2 5 $ 5 2! " 5 2! " > # > #

I I I I 6 & 5 $ ! 6 ' # ,

6 .", 6 "

ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i ii1i G0010 G0010

Ci10

Ci10

# , " )6

ii1i 4G10 G0010 ii1i ii1i G0010

ii1i 4G10 G0010 ii1i ii1i G0010

รายงานประŕ¸ˆำŕ¸›ďœ‚ 2553

135


50

) ; 9 (#6 *

A. 9

) 9"+) K $ ' ! $ %& ' ( ) *

K $ ' . '$ $, %& ' K \R‘ K 3 (Orawoc`^]* g_h1 (3*

136

; @ % ; ) "TUV 9. "6 "' 8 K $ ' k) $ $, %& ' ; # ) "TUV ; 6, . .", + )"$ , , 2, "@ 9. "6 "' 8 K �]y` Obnf]o tO % K �]y` Obnf]o ‰O I K 5 $ ," $ (5 2! "* %& ' ; ' # ,% N + . ,' ; # 5A # " K O]ofqoc] Ob^‹]ef u_]1 g_h1 I 9. "6 "' 8 K uR O]ofqoc] Ob^‹]ef ‰ah`a]fro I K O]ofqoc] ‰afc]q_r`a O]^‹rq]f u_]1 g_h1‚‚‚ I K Obn_]q€ g_h1 ; # ,% ;# 8& . 9 "6 "' 8 K Obn_]q€ �o_o^ Œr‹raw oah \o^ra] O]^‹rq]f ; @ %;# 8& ggd K \]^yorh ~ f€`^] O]^‹rq] u_e1 g_h1 ; # ) "TUV ; 6, . .", + )"$ , , 2, "@ K $ ' ' . $ %& ' ; & ,% ' % 6 # 5A # ) "TUV 9. "6 "' 8 K < $ K G %& ' ; ' % 6 @ %5A # K < $ K 3 %& ' I K \]^yorh Œ^rxxraw (\oxoefro* Oha1 ˆ€h1 I K \R‘KG (Orawoc`^]* g_h1 (3* I K \]^yorh Œ^rxxraw (Orawoc`^]* u_]1 g_h1 ; & ,% ' % 6 # 5A # ) "TUV 9. "6 "' 8 K \]^yorh ƒ]aqoao ‘rw G u_]1 g_h1 (G* ; ' % 6 @ %5A # K \R‘K/ (Orawoc`^]* g_h1 ‚‚ I I K \]^yorh ƒ]aqoao ‘rwf (gonboa* u_]1 g_h1 (G*

% & D

รายงานประŕ¸ˆำŕ¸›ďœ‚ 2553

; # , 2, ;# 8& # ,% ; ' % 6 @ %5A #

% & 2 . &

5 2! " 5 2! " 5 2 $ ,"$ 5 2 $ ,"$ 5 2! "

)& # .FA /0 +121 344/ /0 +121 3443

4L1G

4L1G

5 2 5 $ 5 2 ' " 5 2 5 $ 5 2 ) $

5 2 # $

5 2 # "

5 2! " 5 2! " 5 2! " 5 2 " 5 2 5 $ 5 2 5 $ 5 2 5 $ 5 2 5 $ 5 2 "

5 2! " 5 2 5 $


50

) ; 9 (#6 * A. 9

) 9" 8 +A- : K ) ' $, '$ ++ " $ %& ' K % % # $ %& ' K " ! . $, %& ' ( ) * ( '" @ D ' 8 %& '* 9. "6 "' 8 K " < %& ' K " < ! $ # $ %& ' K " < 6 %& ' K " < + $# $, %& ' K ˆoq`aq` d`1[ g_h1 ( '" }\d P]f_r`a O1t1O1*

% & D

% & 2 . &

% ' 5 $ & % ', ; ' < %& 6 " 6

5 2! "

# %& 6 " 6 T Y ' 6 8& 6 6 " # %& 6 "5 W"

)& # .FA /0 +121 344/ /0 +121 3443

ii1i

ii1i

5 2! " 5 2! "

4G10 Mi14

4G10 K

5 2! "

5 2! " 5 2! " 5 2! " , "'

G0010

G0010

‚ , . /0 " " +121 344/ " ' '& @ % ‚‚ ' ) . \]^yorh ƒ]aqoao ‘rw 3 u_]1 g_h1 ‚‚‚ )& ?) <% 8 . , . GC j +121 344/

(G*

. , . 3G " +121 344/ \]^yorh Œ^rxxraw (Orawoc`^]* u_]1 g_h1 9. 5: "6 " $ ' ! $ %& ' ( ) * !' & ?? 8 " 8 ' (H]a nx`qI* ; 6 8

(3*

. , . G " +121 344/ \]^yorh Œ^rxxraw (Orawoc`^]* u_]1 g_h1 9. 5: "6 " $ ' ! $ %& ' ( ) * !' & ?? 8 " $ ' ! $ %& ' ( ) * + . " ?%& , G 6 8 . , . 33 " " +121 344/ $ ' ! $ %& ' ( ) * !' & ?? 8 " $ ' ' $ %& ' + . " \R‘KG (Orawoc`^]* g_h1

. ! , ; "6 "; ,6 57 8 ', . /0 " " ' #6 !5 8

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

" ' # 57 + . %& 6 "

GC[43i[E3E G[///[iiM K K

GG[CiE[E44 /[0iG[MGG (MLE* (4L[iEC*

" ' 8 57

G4[ME/[E3C

GC[43i[E3E

) + ." # %, - ' . /0 +121 344/ " 9 % -

x . , . G/ +F2% " +121 3443 "6 " (O`x]oh` |`xhrawf u_]1 g_h1* !' % 8 ? + . %& , ME[33G[30G 43[iCG[ML0 # & ' $ ' ! $ %& ' ( ) * (H\\ugdI* # .!' % ' '" "6 " (O`x]oh` |`xhrawf u_]1 g_h1* !' %6 ")& 6 ; G[//C M0/ # & ' ; , . Gi +F2% " +121 3443

รายงานประŕ¸ˆำŕ¸›ďœ‚ 2553

137


50

) ; 9 (#6 * ) + ." # %, - ' . /0 +121 344/ " 9 % - (#6 *

+ ,-! . $ ' / $ x . , . 3E # +121 3443 @ D ' 8 $ %& ' ( ' ) . H D $ ) 55A %& 'I* 9. 5: "6 " !' 8

?; " ! . $, %& ' ( ) * (H \OI* 9. 5: %' " ; # ' \t %& , L/[ECi[GEE % "; ?6 3 "; 3/ ' 5: " CM1CE .)& , \O % 8; , ' ", "6 " ' 6 ,!' 8 ; & ? ' @ \O %& , /[333[G00 6," ' 5: " 4144 ; & ? ' @ . ; GC1E4Li #6 6," ; & " ' 6 , @ D ' 8 $ %& ' # & & 8 (_]ah]^ ` ]^* \O % ; & ? ' @ . \O x % 8 +"$% 9 . , . GC @ , +121 3443 @ D ' 8 $ %& '!' 8 ? + . %& , E3[C//[ML4 ' 5: " CG10M .)& , \O ; & ? ' @ .% 8 ? \O %& , 4/[3/G[GGi 6," ' 5: " iG1E4 ; & ? ' @ . " 6 x " ! . $, %& ' ( ) * !' , " 6; , 6 # 8 #6, . @ D ' 8 $ %& ' & %; , . , . 3E # +121 3443 9 ,6 # 6, , .' 6 ,% " ,6 " 40 " "' 8 % ' #6 !5 8 +

138

%6 " 8 '%6 " # # . .", 8 %

/[iE3[04C G4[LEG

6 " # @ +"$ @ .!'

/[iLL[MG4 G[GC/[GGM

6 , "

3[M/C[EiL

รายงานประจำป 2553


50

) ; 9 (#6 * ) + ." # %, - ' . /0 +121 344/ " 9 % - (#6 *

+ ,-! . $ ' / $ (#6 * 6 # ?) 6 " # @ +"$ 8 . ' 98 % 8 % ; ‡\O , . /G # +121 3443 ' 8

' " " 6 ' 8 K @ K @ +"$ , " . +"$ . .' 5 $ K @ ( " # GC* +"$! 6 # ,# K @ ( " # G4* 6 , + @$ ( " # G4* ?) @ " " 8 ( " # GM* % 8

8 , " . N 8 . .", % " +"$ @

" )89 " F A- 6 ' . /5 ) 8" " )89 E " +121 3443H + +

L4[3L3 /E/[CGL G[43M[CGM LM[iCL iiG[ML/ /[/i0 4CM[Gi/ (G[MG4* (G[/L3[3L0* (GC[LMG* (3i4[LCE* (E[4Ei* (EG/[/i/* G[3MC[i/E

L4[3L3 /E/[CGL G[CLG[i3L LM[iCL iEE[GG4 /[/i0 K (G[MG4* (G[/L3[3L0* (GC[LMG* (4M[LEM* (E[G/0* (EGM[33L* MML[0LL

6, " ( " G01C4*‚‚ 6 , "

(GCG[MGM* 3[M/C[EiL

, %6 " 8 '

/[iLL[MG4

(L/[C4L*

/[i0C[/4M

' " " 6 ' "6 " . 8 '%6 "; !' % K @ % ' " " 6 ' .!'

‚ 6 # ?) +"$ 8 5: , . /G # +121 3443 9. 5: , . .; " . ' , . 8 % (3E # +121 3443* ‚‚ , . /0 " " +121 344/ ' 6, 6, " + . 98 % " G01C4 5: " G0143 . % ;) @ ; 8 ? % , .!'

รายงานประจำป 2553

139


50

) ; 9 (#6 *

) + ." # %, - ' . /0 +121 344/ " 9 % - (#6 *

+ $ / $ 0 % ( 1 023345671

x

. , . 3E # +121 3443 $ ' k) $ $, %& ' (H\~OI* 9. 5: "6 " 6 9. \\ugd !' & ?? 8 " ]y` Obnf]o O ]y` Obnf]o tO & 8 ?' #6 !5 8

K 8 %& , LE14 9. ' 5: " LE140 8 ' ]y` Obnf]o O '" 6 8 8 ' 5: %& , 8 8 /E31C ( G01M "? > * K 8 %& , G0[000 9. ' 5: " G00100 8 ' ]y` Obnf]o tO 9. ]y` Obnf]o tO 8 ]y` Obnf]o O 5: %& , / 9. ' 5: " /100 8 ' ]y` Obnf]o O '" 6 8 8 ' 5: %& , 8 8 GC13 ( 01C "? > *

]y` Obnf]o tO 5: %& ' .# 8 98 ; 5 2 $ ,"$ , # 5 $ ' ", 5: % # = " \]^yorh tfroao + . 5 ") $ ]y` Obnf]o O 9. 5: 6, ; 5 2 $ ,"$ \]^yorh tfroao <% !' 6 . , . 3i +121 344/ % ' ' 6 ,% 5 6 " )6 & 5: " , (_ry] q o^_]^* ; 6 \~O .!' '" % 5 6 " )6 5 6 (no^]n`o_* 6 ; 6 )6 " 9. 9. 5: ') ; #6 % 8 )6 " 8% 5 6 " )6 & 5: " , (_ry] q o^_]^* ; 6 \~O ' 9. ' 8 \~O !' % % )6 ' 6 , ]y` Obnf]o tO '"% " ?? )6 & 5: " , (_ry] q o^_]^* . & )6 " 8 + . . \~O % )6 5 6 '"# % ]y` Obnf]o tO 9. % )6,"; \~O !' '"#

" "' 8 % ' #6 !5 8

/5 ) 8" +121 3443H +

. # ; 8 6 " # @ +"$ @ 6 , "

' .%6 "!5; 8 %

% '5 N ; 6% " " , .,!5 ' " " 6 ' "6 " . 8 '%6 "; 8 % K @ % ' " " 6 ' .!'

C4G[0LE C4G[0LE K

C4G[0LE (LL[EiL* (L[LC3* /E4[E/L

6 # ?) +"$ 8 5: , . /G # +121 3443 9. 5: , 8 " , ?) .; " . ' , . 8 % (3E # +121 3443*

140

รายงานประจำป 2553


50

) ; 9 (#6 *

) + ." # %, - ' . /0 +121 344/ " 9 % - (#6 *

+ $ / $ 0 % ( 1 023345671 (#6 *

6 " # @ +"$ 8 .!' % 8 ]y` Obnf]o tO ]y` Obnf]o O ' 8

+

' " " 6 ' ,6 6 ( " # GC* +"$ , " . 6 ;) %6 " # '%6 " " " " ,% ( " # Gi*

8 . 6 " # @ +"$ @

L[LC3 E0i[i0/ 4/i 3/[E/3 (Gi0[C/M* (/03* C4G[0LE

x

' 6, 6 " # @ +"$ @ % 8

" G00 C4G[0LE

. , . G3 +121 344/ \~O 8 . %& 6 " 8 ' Obn_]q g_h1 ' ," 6 L14 "? > % Obn_]q (u^`c^r]_o^e* g_h1 8 '% #6 ,6 8 " '" & 9 9 $ # '; 5U%% " 6; 6 " # @ .5 '" \~O % N +@ % # .'& " 6 2 " # ,% # ,% j " > '" ) .",) ?N " '" 8 Obn_]q g_h1 Obn_]q o_o^ r raw oah \o^ra] O]^ rq]f ggd (HObn_]q o_o^I* 9. 5: "6 "

, . /0 " " +121 344/ \~O !' )& #< %& , ; "' ," 6 L14 "? >

Obn_]q g_h1 5: .% '# 8 98 ; 5 2 ) $ 9. ; " iL ; Obn_]q o_o^ '" Obn_]q o_o^ 5: ) $ \dt 5 @ % '" 5: ' 5 ' 8& , 2 , "@ ;# 8& 5: .% '# 8 98 ; 5 2 # $ '" 6, ; ?6; ; N N # , 6 , 5 $ "

" "' 8 % ' #6 !5 8 3? "D + E +121 344/H +

. # ; 8 6 " # @ +"$ @ 6 , "

3CM[4LM GM3[E0i E4[iEi

' .%6 "; 8 %

% 8% ; "6 " ' " " 6 ' "6 " . 8 '%6 "; 8 % K @ % ' " " 6 ' .!'

3CM[4LM (Gi[3G3* (G03[E44* G3E[LGG

รายงานประจำป 2553

141


50

) ; 9 (#6 *

) + ." # %, - ' . /0 +121 344/ " 9 % - (#6 *

+ $ / $ 0 % ( 1 023345671 (#6 *

6 " # @ +"$ 8 .!' % Obn_]q€ g_h1 Obn_]q€ �o_o^ Œr‹raw oah \o^ra] O]^‹rq]f ggd ' 8

+

' " " 6 ' 8 K @ 5 $ K @ ( " # GC* +"$! 6 # ,# K @ ( " # G4* +"$ , " . % 8

8 . 6 # ?) +"$ @

G03[E44 /Ci[iLM LM[/0L G[GG0 4[044 (/Gi[E/M* (/C[M4M* GM3[E0i

' 6, 6 " # @ +"$ @ % !'

" G00 GM3[E0i

‚ 6 # ?) +"$ 8 5: , . 3M N + @$ +121 344/ 9. 5: , 8 " , ?) .; " . ' , . 8 % (G3 +121 344/*

# 9 ) # %, - ' . /0 +121 344/ " 9 % -

+ $ / $ 0 % ( 1 023345671

x

; ,6 57 8 ', . /0 " " +121 344/ \ÂŒO !' %& 6 " ; "6 " 6, ' #6 !5 8

K ƒ]aqoao \]^yorh Œ^rxxraw Oha1 ˆ€h1 (Hƒ\ŒI*[ 6, K \]^yorh ƒ]aqoao ‘rw G u_] g_h1 (H\ƒ‘KGI* K \]^yorh ƒ]aqoao ‘rwf (gonboa* u_] g_h1 (H\ƒ‘gI*

. , . 3G " +121 344/ \ŒO 9. 5: "6 " \\ugd !' # ; ?? 8 " 8 ' ( , " ,6 H " "I* ; !' 6 \]^yorh ƒ]aqoao ‘rw G u_]1 g_h1[ \]^yorh ƒ]aqoao ‘rw (gonboa* u_]1 g_h1 ƒ]aqoao \]^yorh Œ^rxxraw Oha1 ˆ€h1 , " ,6 H 6 5l "I 9. %& 6 " 8 ' 6 5l " 8 5: %& 6 " ; ' % ƒ\ K G ' ,"

5U%% \ƒ‘ K G \ƒ‘g 5: "6 " . \ŒO " L4 ƒ\Œ 5: 6, . \ŒO " C0 9. % " %& 6 " <% 8 , \ƒ‘ K G[ \ƒ‘g % ! 6 5: "6 " \ŒO ƒ\Œ % ! 6 5: 6, \ŒO #6 !5

# % %& 6 " ; 6 5l " 5: C/1L "? >Â’

' % " %& 6 " 5: %& , 5 L1C "? >Â’

142

รายงานประŕ¸ˆำŕ¸›ďœ‚ 2553


50

) ; 9 (#6 * # 9 ) # %, - ' . /0 +121 344/ " 9 % - ! 9 $

+ $ / $ 0 % ( 1 023345671 (#6 *

" "'% %& 6 " ' #6 !5 8 35 " F +121 344/ +

. # ; " 8 % 8 . ,6 % . .", ' % # 5 ." # #6 5 2 ' " " 6 ' "6 " .%& 6 " ' ; %& 6 " % K @ % ' " " 6 '

G[CG4[LL4 LC/[/ML (33[i0M* (G[304* 3[G/4[0Ci

, . 3G " +121 344/ 6 ?) @ +"$ 8 .%& 6 "!5 " G00 ; # (\ K G \ g* ' #6 !5 8 IJK G 5 +

IJKL +

'" +

G[G/M 34M[0Li M[/iG C0[00i /[C3/[C4/ (iL[//3* (CG3[EMM* (43M[C/3* (4GL[CM3* (i[iG4* 3[GE4[33G

EL K 3E4 K K K (3GL* (ECG* K (GEG* (EML*

G[304 34M[0Li M[E4E C0[00i /[C3/[C4/ (iL[//3* (CG3[i04* (43i[0L/* (4GL[CM3* (G0[0LE* 3[GEC[4/C

' " " 6 ' %6 " 6, 6 +"$ , " . +"$ # '%& 6 " +"$ ,6 6 " " 8 % \ O % 8 . % 8 6 $ ' " " " ,% ( " # Gi*

8 . 6 ?) +"$ @

+

# , .!' % 5 6 # ; "6 " 6, 6 ' #6 % 5 6 ; "6 " 6 ?) @ , . 3G " +121 344/

G[L/E[LEC (M3[G30* (EG[00C* G[4i/[EC0

. # ; " 6 ?) ; "6 " @ #6 % 5 6 ' % %& 6 " ; "6 "

G[CG4[LL4 (G[4i/[EC0* (/[0LL* (GM0[iC3*

รายงานประจำป 2553

143


50

) ; 9 (#6 *

# 9 ) # %, - ' . /0 +121 344/ " 9 % - (#6 *

+ $ / $ 0 % ( 1 023345671 (#6 *

x

. , . G " +121 344/ $ ' ! $ %& ' ( ) * !' & ?? 8 " ? \]^yorh Œ^rxxraw (Orawoc`^]* u_]1 g_h1 (H\ŒOI* 9. 5: "6 " $ ' ! $ %& ' ( ) * & 8 ' #6 !5 8

8 %& , G '" 6 .# !, G "? >’ 9. ' 5: " G00 %& , . " )& , \R‘ K G (Orawoc`^]* g_h1 6 8 8 ' 6 G "? >’

8 %& , G '" 6 .# !, G "? >’ 9. ' 5: " G00 %& , . " )& , \R‘ K 3 (Orawoc`^]* g_h1 6 8 8 ' 6 G "? >’

x

. , . /0 +121 344/ \~O !' %' " "6 " \]^yorh ~ f€`^] O]^‹rq]f u_e1 g_h1[ ; 5 2 # " ' ," .)& , G[000 ' $ # " , . /0 " " +121 344/ "6 "' 6 ," !' . '&

%C )

; ,6 57 8 ', . /0 " " +121 344/ !' 5U % "6 " 5: %& , , /[GEL1/ (+121 3443 { EC41C * 55

) ; 9'"

; 6, , . /0 " " ; , -+ 5 ' ," ; ' #6 !5 8

A. 9'"

6 6

K k“ % . 5 (5 2! "* %& '

6 6 K uR ‡fo€o ub_^o ˆ]^foyo ( '" uR u]^bfo€ooa u]xoeo^oa }…bra`†* K O€o^Žo€ u`^_f O]^‹rq]f ggd ( '" ) 55A k ' * K u]_^`xr _ ‰aq1 ( '" O`x]oh` |`xhraw u_]1 g_h1* 6 + G s`^xhqxoff ‰afcr^o_r`a Oha1 ˆ€h1(G* ( '" $ ' ! $ %& ' ( ) ** K ƒ]aqoao \]^yorh Œ^rxxraw Oha1 ˆ€h1 ( '" $ ' ' . $ ( 5 $* + %& '* K txxr]h \o^ra] ” }…brcy]a_ Oha1 ˆ€h1 ( '" s`^xhqxoff ‰afcr^o_r`a Oha1 ˆ€h1* K \]^_`a P^`bc (dec^bf* g_h1 ( '" O`x]oh` |`xhrawf u_]1 g_h1*

144

รายงานประŕ¸ˆำŕ¸›ďœ‚ 2553

% & D

% & 2 . &

)& # .FA /0 +121 344/ /0 +121 3443

# ,

5 2! "

4G10‚

4G10‚

341E Ci10

341E Ci10

6 5 2 ' " 6 .", 5 2

6 " > # ; 6 5 2kA 55A $

/M1M

K

% ' ) "TUV ; ' % 6@ % 5A # , 2, ;# 8& 6

K K K 3G1GM

3410 C010 3314 3G1GM

5 2 " 5 2 " 5 2 " 5 2kA 55A $


55

) ; 9'" (#6 * ; 6, , . /0 " " ; , -+ 5 ' ," ; ' #6 !5 8 (#6 * ; k % . 5 (5 2! "* %& ' % '5 N 5: 6, . % ! 6 & %; , ' 6 , 9 ,6 ; ' 6 ,; # " 4G ;) , @ 6, !' "; 9 ; ' 6 ,; , (G* . , . G0 " +121 344/ $ ' ! $ %& ' ( ) * !' 8 ? s`^xhqxoff afcr^o_r`a Oha1 h1 % $ ' k) $ $, %& ' #6 . , . i j +121 344/ !' "!5; 6 . " . ! , ; 6, ; ,6 57 8 ', . /0 " " ' #6 !5 8 '" *+ & +121 344/ +121 3443 +121 344/ +121 3443 + + + +

" ' # 57 " 5 5 + . %& 6 " 6, 6 & ! % 6, 5U % '5 N ; 6 ( " # 31G*

E4E[GMG (i[C4i* i0C[43G (C0L[LCL* E0[LL4 (3G[MGM* K

CMG[4MM K i[CE/ K GG[3LC (G4[4ii* GEi[C44

GG[3G/ K K K K K K

GG[3G/ K K K K K K

" ' 8 57

G[GM3[C4/

E4E[GMG

GG[3G/

GG[3G/

+ ." ) ; &#'9 %, - ' . /0 +121 344/ " 9 % -

+ 89:;<=9 >9:=?@AB 4C;D 5C=D x . , . 3 " +121 344/ O`x]oh` |`xhraw u_]1 g_h1 9. 5: "6 "!' 8 ? u]_^`xr _[ aq1 9. %' " % '# 8 ; 5 2kA 55A $ %& , CMi[04E[G44 ' 5: " /M1M/ .)& , u]_^`xr _[ aq1 5: 8 8 3M10 "? > i001G '" . ! .% + . # %& , ! 6 L[LEE[M00 "? >

6 u]_^`xr _ + . 98 % . u]_^`xr _ 8 8& S %& , C & N "; ' @ , +121 344/ & ' 6 ,!55 6 " )6 & ' " , ' ," # . 6 + ;% # 8!' , # ; 8 %& , C1C

รายงานประจำป 2553

145


55

) ; 9'" (#6 * # 9 ) ; &#'9 %, - ' . /0 +121 344/ " 9 % -

+ $ / $ 0 % ( 1 023345671 x . , . G0 " +121 344/ $ ' ! $ %& ' ( ) * !' 8 ? s`^xhqxoff afcr^o_r`a Oha1 h1 (Hsd I* % $ ' k) $ $, %& ' 9. 5: "6 "%& , i[00L[C0L '" 6 .# !, G # " ; 8 C1E # " '" 6 8 8 ' 5: 8 8 CG1L # " 6 CG0 9. ' 5: " 34 )& , 8 ' sd #6 . , . i j +121 344/ $ ' ! $ %& ' ( ) * !' & " 8 '; sd ; 6 . " "' %& 6 " ' #6 !5 8 '" +

. # ; " , . i j +121 344/ 8 ,6 % . .", ' % # 5 ." # #6 5 2

L4L[/3C (/L0* (G/[4MC*

' % %& 6 " ; 6,

LC/[/L0

# , . 8 6, 6 & ! ; 6,

/LM[Ei/ /C[ii0

6 # ?) @ , . i j +121 344/

CG/[EM/

. # ; " 8 ,6 % . .", 6 # ?) @ ; 6, & ! % %& 6 " ; 6,

146

รายงานประจำป 2553

L4L[/3C (/L0* (CG/[EM/* /C/[3LG


55

) ; 9'" (#6 * # 9 ) ; &#'9 %, - ' . /0 +121 344/ " 9 % - (#6 *

+ $ / $ 0 % ( 1 023345671 (#6 * x . , . 3G " +121 344/ \]^yorh Œ^rxxraw (Orawoc`^]* u_]1 g_h1 9. 5: "6 " !' %& 6 " 8 ' ; ƒ]aqoao \]^yorh Œ^rxxraw Oha1 ˆ€h1 ; . 6 # ?) @ 6 2 "$ , .%& 6 " ' 6 , " "' %& 6 " ' #6 !5 8 '" +

. # ; " , . 3G " +121 344/ & ! % # 5 ." # #6 5 2

C0E 4

' % %& 6 " ; 6,

CGG

+

# ; % 5 6 # ; 6, 6, 6 ' % ; 6, 6 # ?) @ , . 3G " +121 344/ . # ; " 6 # ?) @ ; 6, #6 % 5 6

C0M (Gi* (/Mi* K C0E K 4

& ! % %& 6 " ; 6,

รายงานประŕ¸ˆำŕ¸›ďœ‚ 2553

CGG

147


55

) ; 9'" (#6 * 6, 6 6 ; 5 +"$ 9. , 9 6 , " 8 6, . & ? ' #6 !5 8

A. k % . 5 (5 2! "* %& ' u]_^`xr _ aq1 \]^_`a P^`bc (dec^bf* g_h1 , 6, "

+ +

# - +

+121 344/ ! $ + +

)& FA #

9' ( 9 ! $ +

GE3[3E4 /[34i[LE0 MGi[333

GC0[GG3 G[4/0[LEG /M0[M4L

iC/[G04 C4G[GiC K

(i[iE3* G//[4C3 (3L[/0L*

4G10 /M1M 3G13

(4[0MG* 4G[ME0 (4[LM/*

C0[iiE Gi[LLi

E0[LL4

+ +

# - +

+121 3443 ! $ + +

)& FA #

9' ( 9 ! $ +

A. k % . 5 (5 2! "* %& ' s`^xhqxoff afcr^o_r`a Oha1 h1 txxr]h \o^ra] } brcy]a_ Oha1 h1 , 6, "

6 # '%& 6 " +"$! 6 # ,#

53

( '!) 6 * 9. "6 "' 8 K R `^]f]a K raoyo tw]aqr]f d`1[ g_h1

GiL[L/L 3[/3/ G[CML[4/3

G[0G/[ECL M[GC4 4LE[L//

(4[4ME* (E4M* 4[0//

4G10 3410 ( * 3314 ( *

(3[MCi* (GE4* G[G//

(G[MMG* /G[C43 (GM[3iL*

GG[3LC

) ; 9'"8 " "' .", % 6, ' #6 !5 8 A. 9'"8 % & D

3//[34E E0/[4i4 3[G0C[3GL

% & 2 . &

)& # .FA /0 /0 +121 344/ +121 3443

# , # ,

5 25

4010

4010

. .",

5 2 , "'

% 6, # 5 % # , . .", ; 5 2 , "' 6 ! 6!' & + . 5A' " 6, 6 ; +"$ 8 "!' 5 % 6, . % " 8 '! 6 & ?#6

148

รายงานประจำป 2553


53

) ; 9'"8 (#6 * " . ! , ; % 6, ; ,6 57 8 ', . /0 " " ' #6 !5 8 '" +121 344/ +121 3443 + +

5/

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

" ' # 57 6, 6 & ! ; % 6, 5U

C3[E0E Gi[4/G (L[M33*

/G[/LC GM[E0/ (L[/LG*

M[LLG K K

M[LLG K K

" ' 8 57

4C[/G4

C3[E0E

M[LLG

M[LLG

; % 6, ; , -+ !' , 6 , " . '% ; % 6, %& , /1M (+121 3443 { /1M * 89 8' " " " . ! , 6 , " ; ,6 57 8 ', . /0 " " ' #6 !5 8 '" +121 344/ +121 3443 + +

# ?) # 57 K @ i//[/LC MCL[iE3 + . 98 3[i00[EEE ML[3iE # '%6 " K (G[MMC* # ?) 5 "57 K @ /[M/C[0C0 i//[/LC 6 , " . + . 98 ; 57 +121 344/ '% 8 ; Obn_]q g_h1 " ! . $, %& ' ( ) * ( " # G0* 6 , " . + . 98 ; 57 +121 3443 '% 8 ; O]ofqoc] Ob^ ]ef u_]1 g_h1 , . /0 " " +121 344/ +121 3443 ! 6 ' . 5: & ? . '% ' " 6 6 , "

รายงานประจำป 2553

149


150

รายงานประจำป 2553

5<

'" A & ) 8 A. ( 9 A - 8 9' % % A ) & ) 8 A. ()& &#'9 . ()& 8 ()& A & % 6 8 A . ; F A A F9 # 9 6 ' . /0 +121 3443 3C/[M0i iL/[C44 G30[0E/ Gi[4Li[iL3 3[EME[433 i4[L34 /[MEM K M[CC3[L/G K (3E/[i//* (E3[3LC* (L[M30[4Gi* (iLC[0G3* (43[EML* (/[/M/* K K

6 . 3C/[M0i L0i[433 4L[LMi GG[L4i[C4/ G[LG3[4G0 C/[0/M CM4 K M[CC3[L/G # ?) K @

# %, - ' . /0 +121 344/ # ?) # 57 K @ 3C/[M0i L0i[433 4L[LMi GG[L4i[C4/ G[LG3[4G0 C/[0/M CM4 K M[CC3[L/G 8 +"$ K /[CEM Gi[LM3 3[0iM[iMC G/3[4/C 33[0CE K C3 4[E/0[ELL + . 98 % ; "6 " K @ ( " # G0* /LL[4LL 3/4[GE/ G3[LCC EG0[E/4 3/M[iEM /C[Li4 K G30[i4i Ci[3C3 %& 6 " ; "6 " % , K K K K K K K K (/[C3/[C4/* +"$ ( * K 33[33E 3[4MM L[LGL[i4C CGE[GCL K K CL (M[G4M[iE3* %& 6 " +"$ K @ (4G0* K (LE* (EMi[33L* (C/[/3C* (3[/E3* K K (3[0CC* 6 . K (EG[03/* (3G[GE/* (G[/L4[/Ei* (/CL[444* (3L[EE0* (30i* (G0[/Li* K #6 % 5 6 # #6 5 2 K (/E[/4M* (33G* (3iC[i3C* (3i[C30* (3[//4* K K (//3[M/E* # ?) 8 57 K @ E30[MLE ML3[iiM LG[CC/ Gi[M3L[40E 3[0Li[ME0 EL[433 3LE GG0[EEi 3[304[/44 + . '%& % 8 ' 6 ' . /0 +121 344/ E33[MiG G[30M[M/0 GE3[00G 3L[GCC[CL0 /[/00[34M G44[CLM /[MEM G/M[4LC 3[304[/44

6 . K (//4[M/3* (i0[44M* (L[/GE[iEC* (G[330[/iM* (ML[i4E* (/[4i3* (3L[i04* K (3[0G4* K K K K K K K K 6 . ' " 6 +"$ # ?) K @ E30[MLE ML3[iiM LG[CC/ Gi[M3L[40E 3[0Li[ME0 EL[433 3LE GG0[EEi 3[304[/44 + . '%& % 8 '

. 8 ()& % 6 G E + '" /3[GCE[GC4 (i[GLE[M0M* 33[iEi[//L 33[iEi[//L L[i0L[4// G[EM0[0M/ (/[C3/[C4/* K (L/L[4C/* (G[MC/[/4M* (EiE[0iC* 34[M4E[404 GM4[4/E 3E[0C3[0CG /C[iCG[L34 (i[0M/[304* (3[0G4* 34[M4E[404 GM4[4/E 3E[0C3[0CG


รายงานประจำป 2553

151

5<

/G[iLi GG[300 4[i30 K (GG[4LE* /L[43/

GGG[3L4 K K K (G0[0i3* G0G[GM/

M3[MCL K K K K M3[MCL M3[MCL K M3[MCL

# %, - ' . /0 +121 344/ # ?) # 57 K @ 8 +"$ +"$ ( * %& 6 " +"$ K @ 6 .

# ?) 8 57 K @

6 ' . /0 +121 344/

6 .

# ?) K @ G0G[GM/

30G[MCE (G00[EE/*

GGG[3L4

M3[MCL

# ?) K @

/L[43/

i0[4CL (4/[03C*

/G[iLi

L/[C3L (CG[CCM*

30G[MCE (i0[4LG*

M3[MCL K

/3[/i3

E0[03C (3L[E/3*

/3[/i3

/E[0LE E[GEC K (C* (i[MCC*

/E[0LE

4C[ELG (GM[4i4*

G[LE3

/[/M0 (G[EGM*

G[LE3

G[iG0 CL/ K K (E3G*

G[iG0

3[i0E (iiE*

K

K K

K

4[i30 K (4[i30* K K

4[i30

4[i30 K

344[L0L

C/M[ECC (GM3[i/L*

344[L0L

3L0[00L GL[M/L K (C* (/3[G//*

3L0[00L

C3G[EGL (G4G[EG0*

*+ & +

9' % % 8 A. ( 9 -

+ &#'9 . 8 8 ()& % 6 8 A. ; F - '"

6 ' . /0 +121 3443

6 .

. 8 ()& % 6 G E (#6 *


5<

. 8 ()& % 6 G E (#6 * 6 . ,6 57 8 ', . /0 " " " 5 N # .!' ' 8 '" +121 344/ +121 3443 + +

6 . K # ; ; K '& .", ' K ) "TUV K ; K # " K 6 ;) %6 "; " K 6 ;) %6 ";

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

ii0[033 4MC[LMG 30[334 ML[MCM G[MiL G4M[4M4

G[G/3[CM3 C/C[C/i Gi[//G G0[CGi GLE GC4[C44

G[MC/[/4M

G[LC3[/03

K K K K K /3[G//

K K K K K 3L[CiL

/3[G//

3L[CiL

.' 5 $ , . /0 " " +121 344/ .;) 8& 5 , #6 X 5!' ' 8 x ' %& , / & !' %& !, " 6 + . 8& 5 , #6 X '" 6 %& 8 ' /4M1M "? > (+121 3443 { /M414 "? > * x , 2, "@ ;# 8& 3 & [ 5 $'& 8& 9 (Oo_b^o_r`a hr raw fef_]y* G . ' % 8& 3 & . # ,% ;# 8& 9. . .!' ' ," ( ~ * / . !' %& !, @ " 6 + . 8& 5 ?) , #6 X '" 6 %& 8 ' 3[4G41L GG414 "? > (+121 3443 { 3[/L41M G410 "? > * x 6 G0 & "6 "!' %& !, @ 6 9. + . 5: 5 ?) @ " " " , '" 6 %& , G3410 x 8 ' . % 6, !' %& !, @ 6 9. + . 8& 5 , & "6 " 6 9. 5: %& , G3L[iM01G , "' ' (+121 3443 { G3L[iL410 , "' ' * x .' 6, 6 !' %& !, @ " 6 + . 8& 5 , , ?) @

8& 5 '" 6 %& , i/41C (+121 3443 { 4/01C *

152

รายงานประจำป 2553


54

+ "9" ' G E

6 ' . /0 +121 3443

6 # '%& 6 " 6 . ' " 6 +"$ # ?) K @

'" 8' " "+ E ) 8 +

+ % ( " "9" ' A. 8 "+ ' + +

% ( " 8 "+ ' &#'9 - +

'" +

Gi[M/4 (EEG* K

/L[C0M (G/[003* K

GMi[GiG (4E[003* (G/[G0C*

3[3i/ K K

3CM[L3L (Ei[EE4* (G/[G0C*

Gi[GLC

3C[C0E

G30[0M4

3[3i/

GE4[i4M

# %, - ' . /0 +121 344/ # ?) # 57 K @ 8 +"$ + . 98 % ; "6 " ( " # G0* +"$ ( * %& 6 " +"$ K @ 6 # '%& 6 " " ' " 6 +"$ #6 % 5 6 # #6 5 2

Gi[GLC K

3C[C0E K

4CM[Gi3 K K (EC[M/G* K (3[MGi*

# ?) 8 57 K @

Cii[LGE

K K K (G4[CCE* K (G[4/i*

G30[0M4 GE[i/L C[400 4ii (G[0LC* (/M[/iG* L4/ (G44*

3[3i/ i3[G/4 K (4ii* K K K K

GE4[i4M G0i[0L3 443[Ei3 K (G[0LC* (GGM[EEM* L4/ (C[4G/*

L[C3G

G0/[34C

i/[M3i

L0C[330

6 ' . /0 +121 344/

6 # '%& 6 " 6 . ' " 6 +"$ # ?) K @

4EC[Mi4 (E4[GLi* K

/4[L4M (3M[//L* K

33L[E44 (GG3[0Ci* (G3[/43*

Cii[LGE

L[C3G

G0/[34C

i/[M3i K K

i33[G/L (304[4E4* (G3[/43*

i/[M3i

L0C[330

รายงานประจำป 2553

153


54

+ "9" ' G E (#6 *

% ( " 8 "+ '

6 ' . /0 +121 3443

6 # '%& 6 " 6 . ' " 6 +"$ # ?) K @

+ MM[0i0 (G4[/CE* (G/[G0C* 4i[EC0

# %, - ' . /0 +121 344/ # ?) # 57 K @ 8 +"$ %& 6 " +"$ K @ 6 # '%& 6 " " ' " 6 +"$ # ?) 8 57 K @

'" + Mi[M3i (G4[/CE* (G/[G0C* EG[/Li

G[L/i i3[0i0 K K K i/[M3i

4i[EC0 K (E0L* (G/[E//* L4/ CE[G4/

6 ' . /0 +121 344/

6 # '%& 6 " 6 . ' " 6 +"$ # ?) K @ 5=

*+ & % ( " 8 "+ ' &#'9 - + G[L/i K K G[L/i

EG[/Li i3[0i0 (E0L* (G/[E//* L4/ G/i[iM3

i/[M3i K K i/[M3i

MM[3MM (3i[LM/* (G3[/43* CE[G4/

GM3[GGL (3i[LM/* (G3[/43* G/i[iM3

+ A. G E

'" +121 344/ +121 3443 + +

6 ;) %6 "; 6 8 ; ?6 # ' ?)

6 # '%& 6 " 6 ;) %6 "; 6 8 ; ?6 # ' ?) K @ 6 )6 " " ,%6 " 6, @ K @ ;) .' 8 6 ! ' 6 @ " % ' # ' ?) +"$ . , +"$ .

G[44G[GGi (iMG[G3C* 4Ei[ii4 GL[E/M CCi[GL/ C3[443 GME[L/E G[3EE[0iC

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

G[ME4[0E0 (iGE[/EM*

K K

iCM[Ei3

K

34[CEM C/C[E4C K 3/4[40E G[ECC[/30

K K C3[443 G[EM0 CC[3/3

K K K K K K G[i3C G[i3C

, . /0 " " +121 3443 @ ;) .' !' %& !, @ 6 9. + . 8& 5 " "6 "# .!' 6 ,!, ;

" # GM

154

รายงานประจำป 2553


5>

E 8

6 , ?) @ %& , 34C (+121 3443 { /C0 * 9. 8& 5 '" "6 " '" %& .' 6 ( " # GC*

, . /0 " " +121 344/ 6 , ?) @ ." !' ;) %& , 3CM (+121 3443 { /C0 * 5?

& & -

'" +121 344/ +121 3443 + +

" 8 ?? #$ , " 8

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

40/[000 G[G03[iM/ G[E04[iM/

G03[E00 K G03[E00

K K K

K K K

, . /0 " " +121 344/ \O 9. 5: "6 "!' " 8 ; 5 # , ?? ;) # , .! 6 5 % ; 5 2 , # 5 $ + . ;) 5: , " '";) # ' 8" \g 9. , # , ?? ;) \O ." ! 6!' ;) %& , GL310 \O " ?? #$ ." ! 6 %& , G[44/14

, . /0 " " +121 3443 oq`aq` d`1[ g_h1 9. 5: "6 " !' " 8 % ; 5 2%& , 4C[000 , "' ' , # 5 $ + . ;) 5: , " ' 6 , # ' 8" . & ')& N "; G 57 !' 8& 5 '" %& @ ;) .' ( " # GE* . % ( " # GC* 8 oq`aq` d`1[ g_h1 % # ' 5 9. 5 ' ,", # ' & <% 5; ( " # M* '"" ' " 8 % # ! 6 ,6 " E0 6 " 8!' & )& #< %& , , ,6 57 +121 344/ 5@

& & ' G E

" . ! , " " ,; ,6 57 8 ', . /0 " " ' #6 !5 8

" '# 57 !' 9. "6 " ( " # G0* + . 98 ,6 57 ' % %& 6 " ; "6 " ( " # G0* )& ,6 57 ( & ! * ' % # 5 ." . ' 98 % & ! % # 5 ." ." ! 6 ' 9 8 % #6 % 5 6 # #6 5 2 " ' 8 57

'" +121 344/ +121 3443 + +

3[M/4[43i LL0[GML E[EMC[iL0 (4GL[CM3* (/[30C[44i* (//[GLG* (GEL[0i/* (CG[GC3* E[/3L[3/i

รายงานประจำป 2553

3[GC4[/30 K G[CM0[i00 K (LMC[LGL* G/[/MG (Gi[/44* K 3[M/4[43i

155


5@

& & ' G E (#6 *

" , & ' " " , ' #6 !5 8 '" +121 344/ +121 3443 + +

N "; G 57

,6 G 57 9 4 57 ,6 4 57

6, . 9 & ')& ,6 G 57

G[G0E[3E0

4/C[G/L

/[0EC[/EM 3[G4E[EGG

3[GM/[LM4 GGL[E0L

4[330[iLi

3[/0G[/i3

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

K

K

K K

K K

K

E[/3L[3/i

3[M/4[43i

K

K K

" " ,5 ' ,"

*

+ . 8 6 ' ' % 5 $ & 6

K

+ . 8 ' 5: % #6 5 2 '" ; "? > " ' , . /0 " " +121 344/ %& , C01L "? > (+121 3443{ /14 "? > * " , )& 8 N "; G3 9 GL 57 % , 6 , . /0 " " +121 344/ # ' 8" " +"$ 8& 5 ' 8

x x

%& , 3010 "? > (/0 " " +121 3443 { /14 "? > * { # ' 8" . # tKg ~ , 6, + . ' 6 ,!' 8& 5 '" %& 8& 5 '" %& , 301L "? > (/0 " " +121 3443 { ! 6 * { # ' 8" g ~ , 6, + . !' 8& 5 '" %& ' 6 3 & . ; 6 9. !' & ?? 8& 5 ' %& & 5 ." ?) @ 8& 5 '"

K

+ . 8 5 $ 5: % @ + )"$; 5 2 '" ; "? > " ' , . /0 " " +121 344/ %& , iC41E iG10 "? > (/0 " " +121 3443 { ML/14 3C1E "? > * " , )& 8 N "; 4 9 G0 57 , . /0 " " +121 344/ " . 5: "? > # ' 8"' 8

x x x

%& , iC41E (/0 " " +121 3443 { ME/14 * { # ' 8" \g # . , 6, + . %& , iG10 "? > (/0 " " +121 3443 { 3C1E " ? > * { # ' 8" O Kg ~ , 6, + . ! 6 (/0 " " +121 3443 { G0 * { # ' 8" \g

' 6 ,!' 8& 5 '" %& 5 $ & # . 6 ,!, ; " # GC , 9 8& 5 '" "6 " 6 9.

156

รายงานประจำป 2553


5@

& & ' G E (#6 * " " ,5 ' ," (#6 * * + . 8 6 ' ' % 5 $ & 6 (#6 * K + . 6 6 5: % @ + )"$; 5 2; " ' , . /0 " " +121 344/ %& , MC1/ (+121 3443 { ! 6 " '* " , )& N "; L 57 '" ' 8"; # \g

' ," 6, ' !' 8& 5 '" 6 # " # GC K + . 8 ' % 8& 5: % @ + )"$; 5 2; "? > " ' , . /0 " " +121 344/ %& , GM14 "? > (+121 3443 { 3/1G "? > * " , )& N "; i 57 '" ' 8"; # O Kg ~ , 6, + . !' 8& 5 '" %& ' % 8& # . 6 , !, ; " # GC 8& 5 '" "6 " 6 % 8 . ! ?? & ',6 "6 "# ! 6 & +"$ .# 'N 8& 5 !5 6 N + " " ; 6 N + . , #6% !' & " " % ; "6 5: 8 "6 "% # 5= # # . ! . !, ; ?? * + . 6 5: % @ + )"$; 5 2 6 9. '" ; " ' , . /0 " " +121 344/ %& , GCi1i (+121 3443 { GLM13 * " , )& 8 N "; E14 9 M 57 , . /0 " " +121 344/ # ' 8" " "' 8& 5 ' 8 x " %& , GG31C (+121 3443 { G3L1M * { # ' 8" \g ' ," 6, ' " ' 6 , 8& 5 '" %& .' "6 " 8& 5 '" x " %& , /L14 (+121 3443 { 401C * { # ' 8" T 5 %& 5 N 9. 57 , ' ," 6, + . " ' 6 , 8& 5 '" %& .' "6 " 8& 5 '" * + . 8 .' 6 5: % @ + )"$; 5 2 6 9. ; " ' , . /0 " " +121 344/ %& , /E10 (+121 3443 { E01M * " , )& 8 N "; E14 57 !' 8& 5 '" %& .' "6 "!, @ # . 6 ,!, ; " # GC ' 6 , # ' 8" . , 6 , + .

รายงานประจำป 2553

157


5@

& & ' G E (#6 * " " ,5 ' ," (#6 * * + . 6 . % , " 5: % @ + )"$; 5 2 6 9. ; " ' , . /0 " " +121 344/ %& , 4//1i (+121 3443 { ! 6 " '* " , )& 8 N "; 3 K L 57 ' 6 , # ' 8" \g ' ," 6, ' !' 8& 5 '" %& .' 6, .' "6 " , . /0 " " +121 344/ "6 " 6 9. ; > 8& 5 " . & '" "6 " "6 " 9. 5: ! 6 5= # # . ! . & '; ?? ' 6 , '" " 6; ,6 % % @ 9. , < ,6 % % % % ! 6 6 "6 & ? " ' " " ,# 5 N ' 8 '" *+ & +121 344/ +121 3443 +121 344/ +121 3443 + + + +

K "? > K

C[4LL[4/E G[LCi[L0/

G[//3[40E G[40/[03/

K K

K K

E[/3L[3/i

3[M/4[43i

K

K

, ." % # ' 8" " " , 6 ' #6 !5 8

'" +121 344/ +121 3443 + +

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

# . # "# ,

/0C[4Ci E[033[Ei0

4M[CCE 3[LLL[0M/

K K

K K

, "

E[/3L[3/i

3[M/4[43i

K

K

E " , . /0 " " +121 344/ 6 , ) . .!' % 9. " !' ;) 5: %& , 4L01C "? > , ) . 6, ; ?6 !, ;) & % ' ' (+121 3443 { 4EL13 "? > *

158

รายงานประจำป 2553


30

# - " 9 '" +121 344/ +121 3443 + +

8 # ?? )6

' 8"%6 " # ' ?) , 8 # ?? )6

C0[/3/ (/[3G4* /L[G0M

CG[3MC (/[304* /M[0Li

" , & ')& ?? )6 ' 8

6, . 9 & ')& N "; 9. 57 6, . 9 & ')& 9. 57

35

3C[G4G G3[i4L /L[G0M

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

K K K

C[/C4 (/ii* /[iCE

34[/4L G3[L33 /M[0Li

K K K

/[iCE K /[iCE

, . /0 " " +121 344/ 6 & ?? )6 + . 8 " #$ 5 $ + , # $ 5 $ .;) ; '"%6 " ' 8"; # . (+121 3443 { # ' 8" .* ?? )6 & ')& N "; / 9 4 57 '"! 6 N 8& 5 D & + )% & #) 6 N + 5 ") $+ " , %6 ")& ' #6 !5 8 '" *+ & +121 344/ +121 3443 +121 344/ +121 3443 + + + +

5 ") $+ . 9 & ')& N "; 9. 57 5 ") $+ . & ')& ,6 9. 57 N + 5 ") $ " "

EE[G4G ii[C0L GE4[44M G3/[CC/

6 . ; & ! '

GG4[44i G00[i0C 3GE[CE/ G3i[EiM

K

K

GG[Ei/ GG[Ei/

G[LC4 G[LC4

i[iCM

4GM

'" +121 344/ +121 3443 + +

N + ' { 5 ") $ " " # + . % ;%+ ; " " ,

Mi[CL4 LE[0M/ GE4[44M

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

LM[LEi G/L[EiC 3GE[CE/

GG[Ei/ K GG[Ei/

G[LC4 K G[LC4

รายงานประจำป 2553

159


35

D & + )% & #) 6 (#6 * 1 * , ( "# ! F " . ! , N + 5 ") $ . " " ; ,6 57 ' #6 !5 8 '" +121 344/ +121 3443 + +

" '" # 57 + . 98 % ; "6 "; 6 # 5U%% # ' 8" ' # #2 # $5 N " 5 ") $%6 " #6 % # 5 ." # #6 5 2 " ' 8 57 " . ; & ! ' ' 8

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

LM[LEi E[4Ei GL[43/ 3[MCi 3L[3L4 (CG[LCM* (G[LE3*

44[30G M[ME/ G3[G00 /[/3M 3[i4i (/[3M/* (/ii*

G[LC4 K CME M0 i[/M3 K K

G[340 K 34M M3 GLM (3/* K

Mi[CL4

LM[LEi

GG[Ei/

G[LC4

'" +121 344/ +121 3443 + +

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

# 5U%% # ' 8" # '%& 6 " ' # #2 # $ 5 N "

GL[43/ 3[MCi 3L[3L4

G3[G00 /[/3M 3[i4i

CME M0 i[/M3

34M M3 GLM

, ( ' " 6; 6 ;) %6 " .", + *

CL[ECL

GM[/ML

i[iCM

4GM

# > # . & ? 5!' ' 8

'" +121 344/ +121 3443

# ' ' # 98 ' ; # # # " #

160

รายงานประจำป 2553

*+ & +121 344/ +121 3443

" /14 K G/ " 414 K G/ " /14 " 414 " E K G4 " E K G4 " E " E " 010G K G1CM " 01GG K G1CM " 01GG K G1CM " 01GG K G1CM " 0 K 40 " 0 K /0 " 0 K 30 " 0 K G4


35

D & + )% & #) 6 (#6 * &1 * "# E , , " . ; ' 5 ' ,"

'" +121 344/ +121 3443 + +

6 5U%% N + LE[0M/ G/L[EiC " . ! , # + . % ;%+ ; " " ,; ,6 57 ' 8 '" +121 344/ +121 3443 + +

" '" # 57 # 5U%% 5: # 5 $ %6 " ,6 57 % %& 6 " ; "6 " & ! % # 5 ." ." ! 6 ' 9 8 % " ' 8 57

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

K

K

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

G/L[EiC L4[LiE K (G3G[4L3* (/[//4* (G3[400*

K GGG[/GG 3E[/M/ K K K

K K K K K K

K K K K K K

LE[0M/

G/L[EiC

K

K

" . ; & ! ' ' 8

'" +121 344/ +121 3443 + +

# 5U%% L4[LiE " ' 6 , , " 6; 6 ;) %6 " "

GGG[/GG

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

K

รายงานประจำป 2553

K

161


33

# G E 6 . 5 ' ," '"()& *+ & # (%) D + # ) + +

'" +

6 ;) %6 ";

4[M0M[M4M (GLi[/GC*

C[000[000 (L[3CC*

i[M0M[M4M (GME[44M*

K @

4[E3i[4CC

/[ii3[L4E

i[E33[/00

# (%) D + . , . 3C " " +121 3440 !' 5 N +) ' .! 6 5 5: %& , 8 8 GEi1M0 "? >’ 5 N +' 6 ,!' %' " ; # ' +"$5 2 5 $ . , . 34 " " +121 3440 5 N +' 6 , !' "#6 ; #6 5 2 #6! 6 "; 5 2 > # ?) # 9. 5: !5# j H‘]wbxo_r`a OI # + ) ?? # +"$5 2 5 $

5 N + . & " 8 # 6 /00[000 "? >’#6 5 N + 9. 6," '" & '%6 "' 8"57 3 8 ; # " 3140 #6 57 5 N + ;) @ —; 5 N + 5: ?!' % 9 , . & ' ! 6 ; # 6, GLG[4/41Mi/3 ?#6 G 5 N + ( # 5 ." . . /C134 #6 G "? >’ ; 5 N + 8 & '!, . 4i1i0 * 5 N +' 6 , & !' # 8 #6, . /0 # +121 3440 "6 ! <# .% %6 " 5: '; 6 5 N + 6 ? , . 9 & '! 6 6 5 N +!' & '!, ' 8 ' . " )89 F9F

& '! 6 8 . 9. 3C " " +121 344/ G0i[EC0 "? >Â’ & '! 6 8 . 3C " " +121 344C GG/[330 "? >Â’ & '! 6 8 . 3C " " +121 3444 GGL[000 "? >Â’ , . & '! 6 .% )& 6 ! 6 5: ? '

162

รายงานประจำป 2553


33

# G E (#6 * # (%) D + (#6 * " . ! , 5 N +; ,6 57 8 ', . /0 " " ' #6 !5 8

'"()& *+ & +121 344/ +121 3443 + +

" ' @ # 57 ! 6 " 5 N + " ' 8" %6 " 6 ;) %6 "; ' 8"%6 " %6 "' 8" N !' .%6 " %6 " ( & ! * ' % # 5 ." . ' 98 % & ! % # 5 ." ." ! 6 ' 98 % " ' @ 8 57

C[00/[0LL (G[0E0[3CL* (/CG[3CE* (3E[EMG* 3C/[CML (30i[0/G* G[CM3 (GG0[MEi* (3/L[EGE*

4[M4L[iE/ K (G[ii0[04/* (3M[G0G* 3LM[E/3 (G33[GL4* C[CMC E3[MGM (E0[CiG*

3[3E3[/4E

C[00/[0LL

5 N + & ' ! 6 ' 8 ! 6 N "; 9. 57 ! 6 % 9. 57

G[0CM[G// G[3GC[33/

G[//C[/4i 3[EEM[LGM

3[3E3[/4E

C[00/[0LL

' 8"%6 " 5 N + & , '";) , @ # ' 8" % 9. , 6 ;) %6 "; 5 N + ; # " E1/ #6 57 ; ' j +121 344/ !' '& 8 + 8 " 5 N + 6, ' 5: %& , # G014 "? >Â’ ' 5: " i13E 6 5 N + '" 6 5 N + N " 8 " 5 N + ' 6 , ' 5: 6 G031i "? >Â’ '" 5 N + . 4G1CG #6 ; ' " " +121 344/ !' '& ! 6 5 N +%& , 9. ; 6, " ' )& , 8 9. %& , G031i "? >Â’ 6 /C1/ "? >Â’ 5: '' ," 6 ! 6 . G0i[EC0 "? >Â’ #6 ' 8 # 6 . % ! 6 8 5: %& , 300[000 "? >Â’ #6 '" 6 5 N + % ! 6 8 ' 5: 6 EM1E "? >Â’ '" 5 N + . 4G1CG #6

รายงานประจำป 2553

163


33

# G E (#6 * # ) ; ' j +121 344/ !' " 5 N ! 6' " @ ! 6 5 %& , 3 ) ' ; # 6 , 5: %& , C[000 " "' ' 8 8 "" )89 M# - # ' # ! $ ! )& 9 %,$ ' .8 # F9F

) ' . G ) ' . 3

3[000[000 3[000[000

G[000 G[000

" /1E0 " /1M3

i j +121 344M 3i " +121 34E0

. & " 8 # 6 .# !, . G[000 #6 ) ' . 9. " 4 57 % , . ) ' . " E 57 GG ' 30 , % , . % %6 "' 8" X ' % ! 6 8 %& , , . & ' " . ! , ; ,6 57 8 ', . /0 " " ' #6 !5 8 '"()& *+ & +121 344/ +121 3443 + +

" ' @ # 57 + . 98 ,6 57 6 ;) %6 "; 6 ;) %6 "; # '%& 6 "

K C[000[000 (L[3CC* 3ME

K K K K

" ' @ 8 57

/[ii/[0C3

K

& '! 6 ; 57 +121 344M +121 34E0

164

รายงานประจำป 2553


3/

A # ()& 9' " )89 #

& . ()& &() ' 9' " )89 # ! ' # $ !+ $ !+ $

'" !+ $

, . /0 " " +121 3443 ' %' " + . %' "

MEM[EMC[C33 (40[000[000* GGC[/EM[CC/ K i//[043[ME4 (40[0CM[C43* 40[000[000

EC/[EMC K K EC[/30 L0M[00C K K

G[4C0[CG0 K K K G[4C0[CG0 K K

3[GMC[0i4 K K EC[/30 3[3CM[CG4 K K

, . /0 " " +121 344/

i//[00C[CG/

L0M[00C

G[4C0[CG0

3[3CM[CG4

, . G # +121 344G ' %' " + . %' "

A # ; 5 ) ?5 %& 57 . , . 3i +121 344/ # # . #6 !5 8 K ; ' %' " % i//[043[ME4 5: MM/[00C[CG/ '" " ." ! 6!' & !, & ; , %& '%& , 40[000[000 5U ." ! 6!' % ' %& , CM[C43 ! .", . ' 6 ,; $ @ C K ; + . %' " % MM/[00C[CG/ 5: i//[00C[CG/ '" + . %& , 40[000[000 + . & !, & ; , %& ' ! . ' 6 ,; $ @ C K ; % ' ? . ; 6 40[000[000 ; 6 ; , %& ' K ; ; & ? ' @ .% 8 ?%& , C[000[000 6," ; 6 + $ ' ! $ %& ' ( ) * (H\\ugdI* "6 " \\ugd N ";# " +"$; 6 + (}O~u 30G0* # . ! ; 5 2 . % /3J344G & +"$ # ' +"$ ' + . !' %' " , <% . , . i N + @$ +121 344/ , . G0 N + @$ +121 344/ # & ' , . /0 " " +121 344/ ?%' " %& , i//[00C[CG/ (+121 3443 { i//[043[ME4 * 9. 6 .# !,

G (+121 3443 { G * . %& 6 " )& , #< 6 %& , L0M[00C[CG/ (+121 3443 { L0M[00C[CG/ *

รายงานประจำป 2553

165


3<

&( "

" ' & ! @ ; 5: '% % '& ' #6 !5 8 #" #

E 9 D 5 5 ' ,"{ 6 . 6 # '%& 6 " +"$! 6 # ,# 6 # '%& 6 " 6 ;) %6 "; 6 8 ; ?6 # ' ?) 6 # '%& 6 " 6 ;) %6 "%6 " 6, 6 # '%& 6 " 6 @ " ; % ' " + . 98 6 . 8 "% ? & & N 6 + . . ',6 % ! 6!' ' " 6 ( " ' " 6 * +"$! 6 # ,# # '%& 6 " 6 , " ' 8"%6 " K 5 N + ' % 5 5 " ; 6, ' 8"%6 " ' % # '%& 6 " '. 5 $ ( & ! * ' @ % %& 6 " .' 5 $ +"$! 6 # ,# 5U % " 8 5U % "6 " % 6, "!' . K 6 , " # ' & ! % " 5 N + ( & ! * ' @ % " ; "6 " & ! % % "6 " & ! @ % " ; 6, ( & ! * ' @ % " " 8 6, 6 & ! 6, % 6, ( & ! * ' % # 5 ." ." ! 6 ' 9 8 % % ' " 8 5 N + ( & ! * ' . ' 98 % % 5 N + #6 % 5 6 #6 5 2

166

รายงานประจำป 2553

GC G4

GG /0 /0 GG[ G3

# %, - ' . /0 '" *+ & +121 344/ +121 3443 +121 344/ +121 3443 + + + +

i33[44E G[MC/[/4M GGM[EEM 4LL[000 L[0LE 3M[40C G4E[0MC (L4/* K 3C/[CML i[C4i 3EL[G3M C[MLG (Cii[M04* (GG[iGC* K K (i[E/C* GM0[iC3 (/C/[EM3* (//[C4E* (M0[/0E* (G0E[iiL* (G0E[Eii* (3L0[3/4*

3[/ML[/Gi G[LC3[/03 /E[E3L L0/[033 i[/EC K EG[Mi0 G/[G0C G[MMC 3LM[E/3 K ii[CGC i[0GM (43[CGM* (C[4EG* K (3ML[3GG* (ELE[/3E* K K 3G[iMG (3i[MLL* M[E3L M/[MCL /0[LLL

3[MiL[LML /3[G// G/[E// K K 3M[40C K (L4/* K 3C/[CML K G0i[Gi4 K 3 (/[LL4* (/[GL4[0M3* K (i[E/C* K K (//[C4E* K (G3[Gi/* (G/3[MG4* K

/[GGG[M/C 3L[CiL G/[ELM K K K K G/[G0C K 3LM[E/3 K C/[/iC K (40/* (C[4EG* (3[MG0[4/E* K (ELE[/3E* (G0[0/M* K 3G[iMG K (/C[GLM* CE[LL3 K


3<

&( " (#6 * " ' & ! @ ; 5: '% % '& ' #6 !5 8 (#6 *

# %, - ' . /0 '" *+ & +121 344/ +121 3443 +121 344/ +121 3443 + + + +

5 ." 5 +"$ 8 '& (! 6 , 8 %& 6 "* K 8 K 8 % . .", K K , ' ;) 8 5 & ' K 6 ;) %6 "%6 " 6, K +"$ , " . K +"$ . K % 8 K % 8 % . .", K % 8 . K 6, % K N !' %6 " K 6 ;) %6 " %6 " K 8 , " . K N + 5 ") $+ '% '& ' 8"%6 " .)& , N !' %6 "

ELC[3C/ C[iMi (GEC[iLE* (/3[M//* (3/[CL3* (//M[iCM* (40[4M3* (CE4[4LL* (i[E3M* (3ML[CGL* GGi[4GM LL[3GL G0G[i4C (G4C[0GG* (4L[CL4*

G[3CL[GE3 i[/3C 4C[i3/ 33E[M0E G3[CEC /04[34M (303[MME* (MGL[EMi* (//[4G3* E4M[0LG (GM/[LC/* GC[CCi (//G[G0G* (i4[4C/* G43[CCE

K (GGG[M3i* K K (/0/* (C[/ME* (L0[43E* E[/3G (G[0C0* (G4* K G (GC[0i4* EMG i[iCM

K iL[C4i K K G[L4G GM[0M/ (G4i* (C[/M0* (G[i43* E0i K G (C0[/4E* 4[40M Ci4

3[3MM[E4C (C3E[GEM* (/G3[343*

4[C4/[MCC (330[GL/* (3/3[iME*

(33M[3GG* (3MC[MiG* (/[43E*

iL[M0M (GEL[4EC* (3[M4i*

E " !; %$ "

G[440[3/C

4[000[EM4

(4GE[E3M*

(L3[EG4*

รายงานประจำป 2553

167


34

6 ;) %6 " . & ? . % '5 N # . % .!' 5A' "!, ; & ! ' 9. ' , !, ; & ! ( ' *% '& ' 8 '" *+ & +121 344/ +121 3443 +121 344/ +121 3443 + + + +

89 ; 9 N. '" 9; 89 ; 9 ; . ' A & ) 6 ;) %6 " .", , ' ;) 8 5 & ' 6 ;) %6 "; 6 6 ;) %6 " .", + 6 )6

89 ; 9 N. '" 9; 89 ; 9 E OCP 6 ;) %6 " .", , ' ;) 8 5 & 6 ;) %6 "; 6 6 ;) %6 " .", + 6 )6 6 )6 5 $

89 ; 9 N. '" 9; # , # ' # 6 ;) %6 " .", , ' ;) 8 5 & 6 ;) %6 "; 6 6 ;) %6 " .", +

89 ; 9 N. '" 9; 89 ; 9 ; ;# ()& # 6 ;) %6 " .", + 3=

G[0Mi[ELG E/L[L3G 3[//C[/LL LME[0E/ G[/i/[EMC GLL[ML4 /[LE3[ECi 3/[iM3 C0[MLL G[034[L3E

G[EG0[4EM iCM[LM3 /[3L/[E40

K K K

L40[CGi G[LCE[4/C Ci0[iEi

K K K

K K K

K K K

/00[//M

K

K

4[EL0 G3[L3M

K K

K K

M4G[LLG

GE/[L/3

iM[//3

D N !' 9. ' ; & ! ' , & ! ' -+ & , % & ! @ N % % 9. ! 6!' 6 ; # N .;) " 6; 5 2! " # -+ % % #6 5 2 & '& ; #6 5 2 % .! 6!' 6 !' 6 . .", ' )6 6, @ %# , 6, ' % ) "TUV . " 6 5 2! " . . .", ) "TUV @ % # %& 6 "5 W" 6

168

รายงานประจำป 2553


3>

9 #

& ! #6 8 + 8 > & , '" & ! @ . 5: ?' ,"%& , ? , - ." 6, 8& . ; ,6 57

'" +121 344/ +121 3443

& ! @ . 5: ? ( * %& , ? , - ." 6, 8& ( * & ! #6 8 + 8 > ( *

*+ & +121 344/ +121 3443

Li4[4L/[4L0 L0M[00C[CG/ G1G3

G[MG/[L0E[0MM L0M[00C[CG/ 314E

3[MiL[LML[GG/ L0M[00C[CG/ C10i

/[GGG[M//[L3L L0M[00C[CG/ C1C0

! 6 ? " 6 5 ' . '% 5 N + 8 8 . % , - ."; ,6 57#.& ,6 ;) @ ; 5 N + 3?

" Q#"

" ' # 57 % ' ,6 57 " ' 5 "57

'" +121 344/ +121 3443 + +

i/[400 K i/[400

ML[000 E[400 i/[400

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

i/[400 K i/[400

ML[000 E[400 i/[400

# + ) ?? # ) %& ' +121 34/4 # & # j " "6 " " & ! @ 5 %& 57 % 6, ' " ( * % ,6 & 8% %& , ! 6 " ,6 " %' " & # j "' 6 ,! 6

% ' !'

3@

%C ) 9

" " %6 " 5U ; 6 ; # ! 6 " ,6 " 34 & ! @ , N !' #6! 6 , & ! ' % # 5 . " . " ! 6 ' 98 % 8 8 98 " 6 5U % % " . . " , . X '" %% + % , ! " " %6 " 5U 5: 8 , + . ; 5: !5# # # @ % ; # , # ;) 5U%% "' . X # . < , 8 8 %6 " 5U ' 6 ,% ! 6 & ! .5 = " 6; -+

1 / % G ' $ !# HI DJD KLLH

. , . 3i +121 344/ .5 ) ; ?6 ?5 %& 57 # # 5 2%6 " 5U 5 %& 57% & ! @ & 57 8 ', . /0 " " +121 3443 ; # 014C !' %6 " 5U 5 %& 57; , . 3/ N + @$ +121 344/ "6 ! <# " !' %6 " 5U %& , 3[i03[MCM ; 6 " . % ' #

%6 " 5U . 5: '' 6 , % & ; 5 N + 5 N + 5 5: 4G1CG #6 ( ' 4G1C/ #6 * # 8 #6, . i N + @$ +121 344/ 5: # !5

รายงานประจำป 2553

169


3@

/0

%C ) 9 (#6 * &1 / % G ' $ !# HI DJD KLLK . , . /0 +121 3443 .5 ) ; ?6 ?5 %& 57 # # 5 2%6 " 5U 5 %& 57% & ! @ & 57 8 ', . /0 " " +121 344G '" 5U %6 "; 5 ' 5U ; # 31/4 9. " "'' 8 K %6 " 5: '; # 3134 8 8 . , . G/ " +121 344G !' %6 " 5U ,6 ; !5 ,%& , G140 #6 ' 8 '5U .%6 "; 6 %& , 01L4 ; , . 3C N + @$ +121 3443 "6 ! <# " !' %6 " 5U %& , CGG[C00 ; 6 " . % ' # 5U ; # G0 ' #6 G 5U '" 6 .# !, G 6 01G #6 %& , 2 . " ,6 G 5U % %6 " 5: '; # 01G %6 " 5U . 5: '' 6 , % & ; 5 N + 5 N + 5 5: 4E14L #6 ( ' 4L1iC #6 * # 8 #6, . E N + @$ +121 3443 5: # !5 !' 5 5 N +' 6 , 8 5: 4G1C/ #6 . % 5U ; 6 # 8 #6, . 3C N + @$ +121 3443 5: # !5 A.

# %, - ' . /0 '" *+ & +121 344/ +121 3443 +121 344/ +121 3443 + + + +

"!' % 5U & ! % " 5 N + 6 , " # ' & ! % ?? 5 ." # ' 8" & ! % " +"$ , +"$! 6 # ,# & ! @ % " ; "6 " 6, & ! % " +"$; , # # ' ' 8" & ! % # 5 ." "!' .

170

รายงานประจำป 2553

GG[iGC i[E/C K G4L[/34 Cii[M04 GE3[LC0 //[C4E iC[E4C 3C[//E GC3[LiE G[G/E[EE0

C[4EG ELE[/3E 3ML[3GG K 43[CGM K K G34[C// K GCG[EM0 G[3ML[E3i

/[GLM[M4L i[E/C K K K K //[C4E 3Ci[4EM iL[G3/ C3[LMM /[EGG[C3E

3[MG4[0iE ELE[/3E K K 40/ i[4Gi K GCE[/0i G4[E/3 CC[LMi /[L0M[GLC


/0

A. (#6 * $

6 !' 8 %& , " G00 }\dP 9. 5: 8 ' ˆoq`aq` d`1[ g_h1 6 6 , " # ' 5: "!' & 57 8 ', . /0 " " +121 3443 8 8 6 , " # ' ' 6 , '% 6, 6 " # @ +"$ @ .!' ,6 # ; !' 5: %& , 3ML13 6, . & ? ' 98 . % # ' #6 !5 8 ł " , # 8 ;% .% % @ % " .% !' # .#.& ,6 6 " # @ ł 6 " # @ # ; 6 . % . 5 '" ;) , @ . 6 # ; 5 ." ,6 # ?) ł " ;) .!' 5 9 8 ; 6 " ;) ,6 . !, ; " " ?) .!' 6 !' & 5 ) . ,6 6 " # @ +"$ 8 . !' , 9 8 . % ' 98 ( * .!' , #6 N + $ 5 @ % .!' ; 5U%% /5 88)# A . . ' % . , , '" " 6N ";# , ' ", 8 # ! 6,6 % '" ' ' ",

" ' % ' 6 , 5: % . .", "6 " "6 " & ' '!5 6, . 5: % 6, !' "; @ " 9. @ + "6 5: & ? % & ? , 8 + # '% ) ; , .; ) ' 6 8 % 8 ' 5: % . .", ; + % , + @$ ,6 % . .", 9. % 98 !' # & 9 9 " "' , + @$ ,6 5 , + @$# j " /515 8 88)# A . . ' " % . .", ,6 "6 " 6, 9. & ?5 ' ," * " "6 " ,6 57 8 ', . /0 " " ' #6 !5 8 *+ & +121 344/ +121 3443 + +

"!' 6 "!' 6 2 6 )6 & 5 $ & ' 8" ' 8"%6 "

3[i/G /M[G00 3C3[i3E /L[Ci3

รายงานประจำป 2553

G[4Ci C3[GG3 G0G[MiE C3[i/0

171


/5

88)# A . . ' (#6 *

/515 8 88)# A . . ' (#6 *

* " 6, ,6 57 8 ', . /0 " " ' #6 !5 8

'" +121 344/ +121 3443 + +

"!' 6 ' 8" 6 ;) %6 " % @ % ) "TUV 6 @ " % '

G[M/C 40[00G /i[0iL GL[E/L

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

L[i4C i[3M3 C/[/GG K

K E/E K K

K iiE K K

" " 6 . .", " % . .", 5 ' ," K "!' 6 '; 5 # .; N " K "!' 6 )6 & 5 $ & '; 5 # . '% N " K 6 ;) %6 " % @ % ) "TUV '; 5 # ; . N " K 6 @ " % ' '; # # , 6, + . K # ' 8" & " " 8 '; # " G134 #6 57 (+121 3443 { " G134 #6 57* # ' 8" ; " " " , ; " # " .;

/513 ) # - . . '

8 % . .", ; , -+ , . /0 " " ' #6 !5 8

6, % 6, "6 "

'" +121 344/ +121 3443 + +

C0/ K

C0/

4[/i3 K

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

Mi G30[/0C

4[/i3

G30[/i/

EM M[CiE M[4EC

/51/ # - . . '

% 8 % . .", ; , -+ , . /0 " " ' #6 !5 8

6, % 6, "6 "

'" +121 344/ +121 3443 + +

i[4M/ K i[4M/

172

รายงานประจำป 2553

Gi[3GG K Gi[3GG

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

K 3[04C 3[04C

K /[0iC /[0iC


31

} ­­ ~¨ ~ £¦ (Ñ´¼)

31.4 © ¦ ¥¦ / ¥¦ ~ £¦ °) ¤¥¦§Ã¹»°¸»ª°´°¦À°®­±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶§Ã§¥³°®­¤¥¦§­Áͪ«¬¥³°®­¤¥¦§¤ÔË®¬³­¦Î¶± Ð Á¶§±²¾ 30 °¶§¯®¯§ Ͳ©¶¥Ñ´¼Ïɧ²· } ~ ~ . . 2553 . . 2552 } } © ¦ ¥¦~ ¢ ³­¦Î¶±¯´¼¯ ³­¦Î¶±­´ÁÍ

} ~ ¡ }~ . . 2553 . . 2552 } }

-

-

3,703,287 -

1,707,130 -

-

-

3,703,287

1,707,130

¤¥¦§Ã¹»°¸»­¬¯¬¨¶·§ª°´³­¦Î¶±¯´¼¯Í²°Æ®¹§©¤Á«®ÇÆ®­¬º½§¤Í½¾¼±Á¥Ä®Íª«¬ÏʹͲ¹«¶°±­¶Ë¯Ìº·Æ®É­¬°¶§ Ö©¯º¦©¼¶Ñ­®©¼°¤³²·¯­»¼¯«¬ 1.25 Ñ´¼ÉÊ (Ë.Ø. 2552 : ­»¼¯«¬ 1.25 Ñ´¼ÉÊ) } ~ ~ . . 2553 . . 2552 } }

} ~ ¡ }~ . . 2553 . . 2552 } }

© ¦ ¥¦~ ³­¦Î¶±¯´¼¯ ³­¦Î¶±­´ÁÍ

372,315

11,323

4,991,729 7,323

570,988 11,323

372,315

11,323

4,999,052

582,311

4,000 368,315

4,000 7,323

163,636 4,835,416

149,728 432,583

372,315

11,323

4,999,052

582,311

¤¥¦§°¸»¯½Í­¬¯¬¯®Áª°´°¦À°®­±²¾¤°²¾¯Á»¼¥°¶§ ÄÅ¥°Æ®¹§©ÇÆ®­¬©¶¥§²· È®¯Ã§ 1 ÉÊ ­¬¹Á´®¥ 1 ÉÊ ÄÅ¥ 5 ÉÊ

} ~ ~ ¤Í½¾¼Á¶§±²¾ 14 ¨¦¥¹®ºÍ Ë.Ø. 2552 Soleado Holdings Pte., Ltd. (“Soleado”) מ¥¤ÉÓ§³­¦Î¶±¯´¼¯±²¾Ä½¼¹µ»§±¶·¥¹Í©Ö©¯³­¦Î¶± Ï©»¤Â»®±Æ® ¨¶ÒҮù»Á¥¤¥¦§°¸»ª°´ Merton Investments NL BV (“Merton”) çÀÆ®§Á§¤¥¦§°¸»ÏÍ´¤°¦§ 15 «»®§¤¹­²¯Ò¨¹­¶ÝÞ ª°´ Merton 缶ѭ® ©¼°¤³²·¯º¥±²¾ ¤¥¦§°¸»©¶¥°«´®ÁͲ­¬¯¬¤Á«®º­³°Æ®¹§©¹«¶¥À®° 3 ÉÊ §¶³À®°°®­¤³¦°Ä¼§¤¥¦§º­¶·¥ª­° מ¥¤ÉÓ§Á¶§±²¾ 23 ËßØÀ¦°®¯§ Ë.Ø. 2552 Merton À¬§Æ®¤¥¦§°¸»¯½Í©¶¥°«´®ÁÏÉÉ«´¼¯°¸»Ñ´¼Ã¹»ª°´ SKI Energy Resources Inc. (“SERI”) ¤¥¦§°¸»±¶·¥ 2 ¨´Á§À¬Ä¸°¤³¦°Ä¼§¤¥¦§Ñ®Í ºÁ®Í°»®Á¹§»®Â¼¥°®­°´¼¨­»®¥¤¹Í½¼¥Ä´®§¹¦§Â¼¥ SERI çɭ¬¤±Øà᫦ÉÉá§¨Ì Ð Á¶§±²¾ 30 °¶§¯®¯§ Ë.Ø. 2553 Ͳ¯¼©¤¥¦§Ã¹»°¸»ÀÆ®§Á§ 12 «»®§¤¹­²¯Ò¨¹­¶ÝÞ (Ë.Ø. 2552 : ÏʹͲ)

รายงานประจำป 2553

173


/5

88)# A . . ' (#6 *

/51< ;# ( 9M . . ' (#6 * * ; 6 % . .", ; , -+ , . /0 " " ' #6 !5 8 (#6 *

*+ &

, . /0 " " +121 344/ !' ; " .! 6 +"$ 8& 5 ; " ? >Â’ 6 "6 " , 5: %& , C[iiG1L (+121 3443 { 4LG10 * ' 6 , ' # ' 8" . (+121 3443 { # ' 8" .* & ')& ' 8" '

% 8 " !' ; " " " , .! 6 +"$ 8& 5 6 6, 6 9. 5: %& , L1/ (+121 3443 { GG1/ * ' 6 , # ' 8" . \~‘ , 6, + . (+121 3443 { \~‘ , 6, + . * " . ! , ; " " , 6 % . .", & 57 8 ', . /0 " " ' #6 !5 8 '" *+ & +121 344/ +121 3443 +121 344/ +121 3443 + + + + ;# A" & & ' " '# 57 GG[/3/ G4[/3/ 4M3[/GG 3[044[CME + . ,6 57 /i0[EEM K 4[0C4[LiL K )& ,6 57 (C[000* (C[000* (44/[EL0* (G[CiG[/3G* ' . ' 98 % % # 5 ". K K (CM3* (MM/* & ! ( ' *% # 5 ." ." ! 6 ' 98 % K K (LC[i0C* Gi[03i #6 % 5 6 (34[ELE* K K K " ' 8 57

/L3[/G4

GG[/3/

C[iii[043

4M3[/GG

* % % . .", ; , -+ , . /0 " " ' #6 !5 8 '" *+ & +121 344/ +121 3443 +121 344/ +121 3443 + + + + A" & & - "6 " 6,

174

รายงานประจำป 2553

K L[400

K L[400

/[/MC[LE3 K

/[00L[33G K

L[400

L[400

/[/MC[LE3

/[00L[33G


/5

88)# A . . ' (#6 * /51< ;# ( 9M . . ' (#6 * * % % . .", ; , -+ , . /0 " " ' #6 !5 8 (#6 * '" , . /0 " " +121 344/ "6 " 6 9. 5: % k % . 5 (5 2! "* %& ' 9. 5: 6, # ' 8" \g , 6, + . ' 6 ,! 6 +"$ 8& 5 & ')& . , *+ & " 8 % "6 " & ' , )& . , ! 6 +"$ 8& 5 '" ' # ' 8" " G134 #6 57 (+121 3443 { " G134 #6 57* /3 E + 2 . 9 " ) , . /0 " " +121 344/ 6 ' 8 ' /3 "6 " .; ) "TUV "6 " 3 .; 6 9. 5: "6 " !' @ + 2 % 6 & % 6 8 ; 5 2 ,6 5 2 % ; # ,% % ; 5 $;# 8& % ; # ,% N , , 9 % ; ' % ; 6 @ + 2 . & ? , 9 !' " , & & . % !' " , N !' # & % .!' 6 5: " , M 57 # 8 #6 , . . "!' % % .!' 6 , .!' # % 6 + . ; !' @ + 2 ' 6 , 6 % # 5= # # . ! . .", @ 5 ") $ .!' 8 # . !, ; # 6 // 8 A. "A 6 # ) ? , ." . & ?!' 6 , ." % # 5 ." , ." % # ' 8" , ." ' ; ) . 6 ;) . + . ' , ! 6 6 '; # . '% 5 . " 5 # 5 ." # ' 8" + . )6,"; N + 6 ' 8' " . () %) . ()& - , ." % # 5 ." # #6 5 2 5: , ." .# ) ? . % 6 " 8 ; 6, ; ?6 5: # #6 5 2 6, , ." % # ' 8" 5: , ." . '% , # ' 8"; # ' 9. , , ' 6 ,% 6 #6 '& ' 6 ; # '" 6 , ." ' 6 , ' #6 !5 8

รายงานประจำป 2553

175


//

8 A. "A (#6 *

$ () %) . 9 % & 2()& () %) . -

. , . 3i @ , +121 344G $ ' k) $ $, %& ' 9. 5: "6 " 6 9. $ ' ! $ %& ' ( ) * !' & ?? 8 " # #6 5 2 6, ?? 5 ." # ' 8" ; 5 2 6 9. & " " ,; 9. & ')& ; , . /G +121 3444 , . /0 " " +121 344/ " ' %& , GLC1L (+121 3443 { 3E31L * '" ' 6 , ' %& , 410 "? > (+121 3443 { L14 "? > * . , . E N + @$ +121 3443 $ ' k) $ $, %& ' !' & ?? 8 " # #6 5 2 6, ?? 5 ." # ' 8" - 9. ; 5 2 6 9. & , " " ,; %& , LME13 '" ' 6 , ' %& , 3314 "? > & ' , )& ; ' @ , +121 344i , . /0 " " +121 344/ ' 6 ,!' ;) #< , " ' %& , L4M13 (+121 3443 { 4G31E * ' 6 , ' %& , 3G1L "? > (+121 3443 { GC1L "? > * . , . 3i @ , +121 3443 ]y` Obnf]o tO 9. 5: "6 " $ ' k) $ $, %& ' & ?? ?? 5 ." # ' 8" 6 9. & , " " ,; "? > %& , C41i "? > 6 # ; #6 5 2 ?? 5 ." # ' 8" , . /0 " " +121 344/ 5: %& , 8 8 3G1C "? > %& , 3G1C "? > 9. % & ')& ; ' " " +121 3444 ' " " +121 34E0 # & ' . , . 3 +121 344/ !' & ?? 8 " # #6 5 2 6, ?? 5 ." # ' 8" 6 9. & " 4 57 ; ! " 5: "? > # ' 8" " /1E4 #6 57 , . /0 " " +121 344/ " ' %& , E31G4 "? > 8 " '# ' %& , 3[000 6 " # @ @ ?? ?? 8 " # #6 5 2 6, ?? 5 ." # ' 8" , .; ' ' #6 !5 8 '" *+ & +121 344/ +121 3443 +121 344/ +121 3443 + + + +

?? 5 ." # #6 5 2 ?? 5 ." # ' 8" . 5: +"$

3G3[i34

3G[MCL

M0[LEL

K

?? 5 ." # ' 8" . 5: 8

'" +121 344/ +121 3443 + # + #

# :R

# :R

*+ & +121 344/ +121 3443 + # + #

# :R

# :R

4[3/L

K

K

K

6 " # @ ?? ?? 8 " # #6 5 2 6, ?? 5 ." # ' 8"!' & , ( '";) # . & ' '"@ 6 ?? * ,6 !' " ?? 6 8 , .; '

176

รายงานประจำป 2553


//

8 A. "A (#6 * $ STUVWXY Z[UUVYZ\ ZT]]^U ZTY_U^Z_`

; ,6 57 +121 3440 "6 " 3 6 !' & ?? `^]rwa qb^^]aqe q`xxo^ + . %& ' , ." % , # 5 ." . .", ?? 6 ; " %& , 3 & 5: 6 8 8 L[/4/ " ?? ' 6 , & ' # 5 ." #.& ' ' " 6 ,6 G04 " 9 G30 " #6 G "? >Â’ ?? ' 6 , ;) # 8 #6, . G3 @ , +121 34Ci 9 , . G3 " " +121 344C & ?? - , . 3L @ , +121 34Ci 9 , . 3M @ , +121 3443 & ?? - .

6 " # @ @ ?? `^]rwa qb^^]aqe q`xxo^ , .; ' ' #6 !5 8

'" +121 344/ +121 3443 + +

+"$

3EE[0EC

/43[CC0

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

K

K

8$ a^UXV_ KVbVcd_WTY ef^d

. , . E # +121 344G "6 " 6 9. !' & ?? 5 ." - 9. 9. ;) # 8 #6, . / +F2% " +121 344G

9 , . /0 # +121 3443 N ";# ?? ' 6 , 8& % & '' ," . & 8 8& %& , G[000 # # #6 '

6 " # @ @ ?? _o^w]_ ^]h]yc_r`a fzoc , .; ' ' #6 !5 8

'" +121 344/ +121 3443 + +

8

K

4[3LM

*+ & +121 344/ +121 3443 + +

K

K

, . /0 " " +121 344/ ! 6 ?? ' 6 , ,

$ gY_VUV`_ U^_V Z^d ZTY_U^Z_`

6 " " , 5: "? >’ 9. # ' 8" "# , 8 ' "6 " 6 9. !' & ?? + . %& ' , ." % , , # ' 8" & %& , 300 "? >’ ? ? ' 6 , & ' # ' 8"%6 " ' (‰a_]^]f_ ‘o_] doc* . 6 % # %6 "; #6 )6, , . # 8 #6 ' N + @$ +121 34CM % 9 ' N + @$ +121 344/ 9. ?? ' 6 , & ; 6 & ' "%6 " ' ' 8"%6 "; #6 )6, , !' 6 , . /0 " " +121 3443 6 " ' ?? %& , 300 "? >’ , . /0 " " +121 344/ 6 !' #6 ?? 8

รายงานประจำป 2553

177


//

8 A. "A (#6 *

8' " . ;# A.

"!' 6, ; ?6 6 9. !' 6 6 , 8 % %6 "; 6, %6 "; 6 % 6 ' 8 %9 , < ,6 , ." ' ; ) . ! 6 5: & ? 6 ;) %6 "; , ." ! 6 5 ") $ .!' 6 ! 6!' & ?? + @$ ;' . .", , ." % ; 5: ) .

" )89 E "

+"$ . ' ; ' 5 ' ," ' " " 6 ' " 8 8 ; 6 % . .", 8 . ' ; ' 5 ' ," ?) @ " 8 % 8 " 8 % % . .", " " ,

# ?) +"$ 8 6 ; " 6 " # @ /<

) - ++

6 !' % '# 8 & 8" ) ++ # , ; + ) ?? # & 8" ) + +121 34/0 5: %' " '"!' # % ,

# " + # %6 " % 9 # " L ' 6 %6 " 8' ," )6 !' #6 # 8 % ' ? # 6 9. + . ; 5: !5# & ' j , - . 3 (+121 34/3* # , ; + ) ?? # & 8" ) + +121 34/0 /4

D & + ()&# - . N-

/415 D & + Oh

6 N + TY " % ?? 6 ' 5 $ & #6" ! 6!' 5: 8 , . /0 " " ' #6 !5 8

'" +121 344/ +121 3443 ) )

K "? >Â’ K " K " K "? 5 $ K $ ,"$

178

รายงานประจำป 2553

iG1i K /[EMM1C K K

G4i1E L1M E[4/E10 01i /G31L

*+ & +121 344/ +121 3443 ) )

K K K K K

K K K K K


/4 D & + ()&# - . N- (#6 * /413 D & + A. $ D & + " 9 G 6 . ) 9" %B 9 %& , 8 #.& . 6 # %6 "; ## ?? )6 '& !. 6 " !' ' #6 !5 8 '" *+ & +121 344/ +121 3443 +121 344/ +121 3443 + + + +

N "; G 57 LMC[4L4 G[303[3E3 K K 44[4CE i4[EC0 K K ,6 G 57 #6! 6 4 57 ,6 4 57 GE[0C3 K K K $ D & + " A- F9 # , . /0 " " +121 344/ " ! . $, %& ' ( ) * 9. 5: "6 " N + # ?? 8 "

6 # 6 ; #6 5 2%& , 9. 6 5 ." 5 !' 8 8 98 " 6 N + 6 # # & , . ; ?? 8$ D & + " 9 A , . /0 " " +121 344/ " ! . $, %& ' ( ) * 9. 5: "6 " N + # ?? )6 ; )6 ; # 6 , # . & '; ?? 9. %& , L .", /41/ . 8 $ 9 A & )()& A & - " '" /0 /0 +121 344/ +121 3443

?? ; )6 " " , %& , ' ' % 8& " , ( ' *

?? )6 " " , %& , ' " , ( ' *

C E K 3C

L 4 K 4L

E 3 K GC

*+ & /0 /0 +121 344/ +121 3443

4 M K GE

K K

K K

K K

รายงานประจำป 2553

K K

179


/4 D & + ()&# - . N- (#6 * /41/ . 8 (#6 * $ & & ' r* . , . i +F2% " +121 3440 ) 55A 5 $ + %& ' (HROOI* 9. 5: "6 " !' & ?? , ) . @ . 5 6 ; #6 5 2 + . 5: 6 ; ' & ; 6 8 ' , " ' 6 ,5 ' ," , ) . %& , /E "? > + . 5: & '& % ' .,!5 '" & ')& N "; " , E 57 K , . & ')& , 8& 5 %& , , /E0 "? > + . 8& 5 + . ;) 5: 6 ; 8 ' ; 6 ' '" & ')& N "; " , G0 57

, . /0 " " +121 344/ , ) . %& , /E "? > # (r* !' ' 5: %& , Gi14 "? > 9. , ' 6 ,% ' !# G14 "? > # ' " , 3C !#

, . /0 " " +121 344/ , ) . !' , 5: %& , 301L "? >

, 8 ' 8& 5 '" %& ' 6 %& , 3 & ' .% ; 6 ' .% 8 '";) .% !' % , ) . 8 '" ' 6 ,% # & ?? 5 N " & 8& 5 ' 6 , % 8, ' 6 , 8& 5 '" ?) @ 8& 5 '" # ' 8" g ~ , 6, + .

rr* . , . G0 +F2% " +121 3443 !' ; ?? " 6 (Oeahrqo_]h x`oa* ; , 300 "? > + . ;) & , % 8 % , ' 6 , # ' 8" . O Gg ~ , 6, + .

' 6 , 8& 5 '"

* 8& 5 6, " '" O`x]oh` |`xhrawf u_]1 g_h1 "6 " .5 @ % * %& & . ; O`x]oh` |`xhrawf u_]1 g_h1 * %& & 9. '% ;) , 8 + . !5 '" "6 " . '" 8 %& , * ! 6 6 5 ( ]wo_r ] ux]hw]f* ; +"$ "!' . " 6; 5U%% # 8& 5 " , )6 6 5 ; 6 ; # ?? . " 6; 5U%%

, . /0 " " +121 344/ ! 6 " ' ?? (Oeahrqo_]h x`oa* %& & # * !' 8 ' ' ,"

180

รายงานประจำป 2553


/4

D & + ()&# - . N- (#6 *

/41/ . 8 (#6 * 8$

8 9'") &#'9 ()&) !ijgk$

. , . 3G +121 344/ !' ; 9 # 6, ,6 "% % (}˜‰u*

"6 " , # 5 $ }˜‰u 8 + . + # 5= # ; ' " & ' / 57 % , . G +121 344/ 8 '; , . /G @ , +121 3444 ) }˜‰u % # %6 " 5: %& , " C ' ; , . .!' & '!, ; ' % !' % "6 " 6 5: %& , " L ' ) ; #6 ' % ) % 6 % & !5 8 RRt 9. " 6; # ' +"$ 6 5 2! "; , . . & '!, ) }˜‰u " RRt !' . & ' , 9. 57

% , . 8 ' , . /G @ , +121 344E

. 6 %6 "; 6 ) }˜‰u 9 5: 6 ;) %6 "; & ! ' & " , ?) . .",

/41< # - .8 '9 & N-

6 !' 8& 5 + . 5 ") $; 5 @ %# 5 # ' 8

8& 5 .@ ; ; 6

N 8& 5 '" 6 6 + . 8& 5 , ) . 8 , # '

/0 +121 344/ '" *+ & ) # ) #

# :R )

# :R ) ) ) ) ) CE14 01G K GC14 K K K

G[0M013

GEi1L

MGL10

GC14

GGi

E01G

MGL10

8& 5 .@ ; ; 6

/0 +121 3443 '" *+ & ) # ) # )

# :R ) )

# :R )

CC1/

N 8& 5 '" 6 6 + . 8& 5 , ) . 8 , # '

014

iM41i

K

K

K

EC14

G[33414

GG31C

K

GE1i

รายงานประจำป 2553

G[33414

181


/=

# 6 D #) ' .;

9

x

"6 " / !' & ?? " ' / & ' 5: 6 %& , 41M3 "? >Â’ L1/0 "? >Â’ C13G "? >Â’ # & ' '" ' 6 8% 6 , . 3M # +121 344/ , . M +F2% " +121 344/ ; ' +F2% " +121 344/

x

. , . 33 # +121 344/ $ ' ! $ %& ' ( ) * Orawoc`^] ƒ]cc]x v}gO gryr_]h (Hƒ]cc]xI* 9. 5: "6 " ƒ]cc]x ~ f€`^] ” \o^ra] gryr_]h !' & # 6, + . % €rw€Kfc]qr rqo_r`a ŽoqŠKbc ^rwf ; 6 %& , 3 & '" 6 , 5 /E0 "? >’ & tfro ~ f€`^] Œ^rxxraw gryr_]h (Ht~ŒI* '" 6 ŽoqŠKbc ^rwf 3 & 6 5 GM0 "? >’ #6 & 6 '"5 8 ' ŽoqŠKbc ^rwf 8 3 & , 9 @ & 3 & ;) ',6 % 6 '"5 ,6 L00 "? >’

t~Œ !' #6 # 8 ‘O uxo_`b \o^Š]_f 5: % ' " " + . 5 9 #6 " ; , %& ' & . ; 6; t~Œ . '"# ) , $ ,"$ ) # (Hu^r‹o_] uxoq]y]a_I*1

u^r‹o_] uxoq]y]a_ # 5= # # . ! 8 # ' 8{ ( * t~Œ # # ; " + . '" -+ % % <% 8 ( * ; ?? ƒ]cc]x + . ' %#%& (g]__]^ ` ‰a_]a_* .!' !, 6 8 + . 5: <' <%; ?? 6 & ' % ) ' ˜oqŠKbc 3 † /40 _1 \~Œ •Kˆ qxoff @ & #6 ' % 3 & ; # ( * ; ?? % ' d`^c`^o_] \oaow]y]a_ tw^]]y]a_ R]q€arqox oah d`yy]^qrox \oaow]y]a_f 6 $ ' ( * %' " t~Œ ; �`^z]wroa }x]q_^`arq O]qb^r_r]f ‘]wrf_]^ (_€] H•uOI* + . , ', ; 8 " ; 5 2 $ ,"$ (%* !' " , % ) 8), % ˆ]^ybho \rarf_^e ` vraoaq] (Hˆ\tI* (-* !' # % ˆ\t ; %' " ") . % 8 5:

u^r‹o_] uxoq]y]a_ ' .!' 6 , # !' <% 8 $ ' ! $ %& ' ( ) * !' %& , Ci "? >’ # . ! ; t~Œ . , . GL +F2% " +121 344/

x

. , . E +F2% " +121 344/ ; & ? ' @ " ! . $, %& ' ( ) * !' ' " "6 ! <# ?%& , G[3i/[GE3 ; , ' " ;) @ ' 8 ' 6, @ D ' 8 $ %& ' ; " ! . $, ' % " Mi1E0 5: " MM1L0

x

. , . Gi +F2% " +121 344/ O`x]oh` |`xhrawf u_]1 g_h1 (HO`x]oh`I* 9. 5: "6 " !' ; ?? 8 " ™o^o tfro u_]1 g_h1 (H™o^oI* + . 8 " 30 6 %& , C0L[MGE ; ˆo^ro O]^]q] 9. 6 , ; 8 %& , C0L[MGE ˆo^ro O]^]q] % ™o^o 6 5: 3 6, ' 8

* .# )& '" %& , GG[000[000 "? >’ '" O`x]oh` % # )& ; 6 ™o^o , . 8 " <% $ * %6 " + . ; # (}o^aK`b_ coey]a_* %& , ! 6 400[000 "? >’ '" O`x]oh` % # )& ; 6 ™o^o ; . & ! 8 # (w^`ff yo^wra* ˆo^ro O]^]q] 6 ,6 ' 6, .!' # !, O`x]oh` % # %6 " }o^aK`b_ coey]a_ ; 6 ™o^o N "; /0 , . " (yoaow]y]a_ ^]c`^_f* ˆo^ro O]^]q] & 57 344C ,

182

รายงานประŕ¸ˆำŕ¸›ďœ‚ 2553


โครงสรางรายได รายได 1. รายไดจากการเดินเรือ 2. รายไดจากธุรกิจบริการนอกชายฝง 3. รายไดจากการขาย 4. รายไดจากกลุมบริษัทที่ใหบริการ และแหลงอื่นๆ 5. ดอกเบี้ยรับ 6. สวนแบงกำไรจากบริษัทรวม และกิจการรวมคา รวม

2551 2552 รายได รอยละ รายได รอยละ ธุรกิจเดินเรือ 28,453.61 80.42 13,842.17 65.06 ธุรกิจบริการนอกชายฝง 5,285.44 14.94 5,209.87 24.48 ธุรกิจการผลิตและขายปุย 365.80 1.72 1,364.50 3.86 1,704.28 8.01 ประเภทธุรกิจ

207.71 74.21 35,382.47

0.57 0.21

125.43 29.88

100 21,277.43

0.59 0.14

(ลานบาท) 2553 รายได รอยละ 9,272.55 48.52 3,476.36 18.91 4,640.74 24.28 1,545.46 8.09 94.65 80.31

0.50 0.42

100 19,110.07

100

คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 1. คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) บริษัทฯ และบริษัทยอยจายคาตอบแทนการสอบบัญชีใหแกสำนักงานสอบบัญชีในรอบปบัญชีที่ผานมาเปนเงินรวม 19,614,531 บาท

2. คาบริการอื่น (Non-audit fee) บริษัทฯ และบริษัทยอยจายคาตอบแทนอื่นใหแกสำนักงานสอบบัญชีสำหรับรอบปบัญชีที่ผานมาเปนเงิน 2,833,888 บาท ซึ่งสวนใหญเปน คาตอบแทนเกี่ยวกับการสอบทานราคาซื้อกิจการใหมที่ลงทุน และการตรวจสอบบริษัทยอยเพื่อใหเปนไปตามเงื่อนไขของบัตรสงเสริมการลงทุน (BOI) และบัตรสงเสริมของประเทศสิงคโปร (AIS)

รายงานประจำป 2553

183


ปจจัยความเสี่ยง ความเสี่ยงมีอยูในทุกธุรกิจ นอกเหนือไปจากความเสี่ยงภายในและภายนอกองคกรซึ่งธุรกิจในปจจุบันของบริษัทฯ ประสบอยู บริษัทฯ ยังให ความระมัดระวังในดานความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับกิจกรรมการกระจายธุรกิจของบริษัทฯ ดวย ในป 2553 บริษัทฯ ไดใชแนวทางการบริหาร ความเสี่ยงสำหรับองคกร (Enterprise Risk Management (ERM)) เพื่อที่จะบงชี้ วัดคาและควบคุมความเสี่ยงตางๆ ที่พบอยูในการดำเนินงาน ของบริษัทฯ แผนระยะกลางของบริษัทฯ ไดรวมเอาการสงเสริมวัฒนธรรมที่มุงเนนการตระหนักถึงความเสี่ยงอยางสูงไวเปนสวนหนึ่งของแผนดวย เพื่อที่พนักงานในระดับตางๆ จะสามารถระบุ ตรวจตราและจัดการความเสี่ยงตางๆ ซึ่งอยูภายใตการควบคุมของตนได แนวทางการบริหารความเสี่ยงสำหรับองคกรชวยใหฝายตางๆ ที่เกี่ยวของสามารถประเมินความเสี่ยงที่สำคัญและการควบคุมทั้งหลายได กระบวนการบริหารความเสี่ยงจะถูกขับเคลื่อนโดยธุรกิจหลัก 3 ธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งอยูในสถานะดีที่สุดที่จะบงชี้ถึงความเสี่ยงที่ตอเนื่องและ ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหมอันมีนัยสำคัญในธุรกิจของตน ฝายบริหารจะพิจารณาทบทวนผลลัพธของกระบวนการประเมินความเสี่ยงเหลานี้ และ คณะกรรมการของบริษัทฯ จะพิจารณาทบทวนแผนภูมิความเสี่ยงรวม (consolidated risk map) ทุกไตรมาส นอกจากนี้ ความเสี่ยงที่ถูกระบุ และการควบคุมเพื่อลดความเสี่ยงจะถูกตรวจสอบโดยเปนสวนหนึ่งของแผนการตรวจสอบภายในเปนระยะของบริษัทฯ รายละเอียดดังตอไปนี้คือความเสี่ยงที่สำคัญและปจจัยที่ชวยความเสี่ยงแตละประเภทในจำนวนความเสี่ยงทั้ง 4 ประเภทซึ่งกลุมบริษัทฯ พิจารณา วามีความสำคัญที่สุด อันไดแก ความเสี่ยงดานกลยุทธ ความเสี่ยงดานการเงิน ความเสี่ยงดานปฏิบัติการ และความเสี่ยงดานการปฏิบัติตาม กฎระเบียบ โดยที่ความเสี่ยงดานชื่อเสียงเปนคุณลักษณะรวมกันของความเสี่ยงทั้งสี่ประเภท ถึงแมวาบริษัทฯ ไดระบุความเสี่ยงบางประการ ซึ่งอาจมีผลกระทบตอธุรกิจของบริษัทฯ ไวในสวนนี้ แตความเสี่ยงเหลานี้มิใชความเสี่ยงทั้งหมด ยังมีความเสี่ยงอื่นๆ อีกซึ่งไมเปนที่ทราบในขณะนี้ หรือความเสี่ยงอื่นๆ ซึ่งในเวลานี้ไมถือวามีนัยสำคัญเทากับความเสี่ยงทั้งหลายที่ระบุไวในสวนนี้ อาจมีผลกระทบตอธุรกิจของบริษัทฯ ในอนาคตได

ความเสี่ยงดานกลยุทธ ความเสี่ยงดานกลยุทธสะทอนถึงผลกระทบที่เกิดกับกำไรหรือเงินทุนของกลุมอันเนื่องมาจากการตัดสินใจทางธุรกิจที่เกิดผลในทางลบ การดำเนินการตามการตัดสินใจซึ่งไมประสบผลตามที่ตั้งใจไว หรือการไมตอบสนองตอแรงกดดันทางดานการแขงขัน หรือสภาพแวดลอม หรือกฎระเบียบอื่นๆ บริษัทฯ เชื่อวาความเสี่ยงดังตอไปนี้คือความเสี่ยงดานกลยุทธที่สำคัญซึ่งกลุมประสบอยูในขณะนี้ ความซับซอน เนื่องจากกลุมไดเติบโตขึ้นและไดเพิ่มกิจกรรมทั้งในประเทศและระหวางประเทศ ความซับซอนของการดำเนินงาน และทักษะ ความสามารถที่จำเปนสำหรับการบริหารจัดการการดำเนินงานดังกลาวอยางมีประสิทธิภาพจึงไดเพิ่มขึ้นดวยเชนกัน ในขณะนี้ กลุมบริษัทฯ มีทั้งบริษัทยอยซึ่งกลุมเปนผูถือหุนรายใหญ และบริษัทรวม โดยบริษัทเหลานี้จำนวนหนึ่งจดทะเบียนอยูในตลาดหลักทรัพยแหงตางๆ นอกเหนือ ไปจากความเสี่ยงดานกฎระเบียบและการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (ซึ่งกลาวถึงทายนี้) การเติบโตอยางตอเนื่องของกลุมทั้งในธุรกิจเดิมและโดยผาน การลงทุนใหม จะกอใหเกิดความทาทายที่ไมสิ้นสุดในการบริหารจัดการธุรกิจตางๆ และการจัดใหมีทรัพยากรบุคคลซึ่งมีคุณภาพสูงเพื่อการควบคุม ดูแล เพื่อที่จะลดความเสี่ยงนี้ บริษัทฯ ไดใชความพยายามเพิ่มขึ้นอยางมากในการสรรหา ฝกอบรมและพัฒนาบุคลากร และแผนการรักษาบุคลากร เพื่อตอบสนองความจำเปนทางดานบุคลากรตามที่คาดหมาย กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารจะปรึกษาหารือประเด็นปญหา เกี่ยวกับทรัพยากรบุคคลที่สำคัญกับทุกสายธุรกิจและฝายบริหารธุรกิจทุกไตรมาส การลงทุน เนื่องจากธุรกิจของบริษัทฯ จำนวนหนึ่งตองการเงินลงทุนสูงมาก เวลา ลักษณะ การกำหนดราคาและการจัดหาเงินลงทุนทั้งในธุรกิจ เดิมและกิจกรรมใหมจึงมีความสำคัญมาก บริษัทฯ ไดกำหนดหลักเกณฑการลงทุนที่เขมงวดและติดตามอยางใกลชิดเมื่อมีการปรึกษาหารือ เกี่ยวกับการลงทุนใหม บริษัทฯ ไดลดความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการตัดสินใจลงทุนใหเหลือนอยที่สุดดวยการใชแนวทางโดยละเอียด และการพิจารณา ทบทวนการลงทุนที่สำคัญทั้งหมดแบบหลายระดับ โดยเฉพาะอยางยิ่ง คณะกรรมการการลงทุนจะพิจารณาทบทวนการลงทุนเชิงกลยุทธที่สำคัญ รวมทั้งกิจกรรมการกระจายการลงทุนที่มีศักยภาพทั้งหมด กอนที่จะสามารถสงเรื่องไปยังคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา เนื่องจาก คณะกรรมการการลงทุนประกอบดวยกรรมการหลายคนในคณะกรรมการบริษัทฯ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบัญชีและการเงิน และ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมกลยุทธ องคประกอบที่สำคัญของการตัดสินใจลงทุนใดๆ จึงผานการพิจารณาทบทวนและเห็นชอบจากผูบริหาร อาวุโสกอนที่จะขอการอนุมัติ เศรษฐศาสตรมหภาค/สภาพแวดลอม บริษัทฯ บริหารจัดการความเสี่ยงดวยการพิจารณาทบทวนแผนกลยุทธซึ่งกำหนดขึ้นโดยแตละ หนวยธุรกิจเปนระยะ การพิจารณาทบทวนดังกลาวมุงเนนที่การรักษาหรือสงเสริมความสามารถในการแขงขัน การบงชี้โอกาสสำหรับการเติบโต เพิ่มเติม และการตอบสนองการเปลี่ยนแปลงหรือแนวโนมทางดานอุตสาหกรรม กฎระเบียบหรือเศรษฐกิจมหภาคซึ่งมีผลกระทบตอแตละธุรกิจ ในทุกๆ เดือน คณะผูบริหารจะประชุมเพื่อตรวจติดตามผลการดำเนินงานของกลุมและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงแผนธุรกิจ และกลยุทธระยะสั้น เพื่อความมั่นใจถึงการบรรลุเปาหมายที่กำหนด นอกจากการใชทักษะความสามารถภายในองคกรในกระบวนการตรวจ ติดตามและพิจารณาทบทวนนี้แลว ผูบริหารยังปรึกษาหารือกับผูเชี่ยวชาญทางดานอุตสาหกรรมและการเงิน และสื่อสารกับสถาบันและแหลง อื่นๆ ที่เชื่อถือไดอยางสม่ำเสมอ เพื่อตรวจสอบความเชื่อถือไดของขอมูล และวิเคราะหความแตกตางระหวางสมมุติฐานตางๆ การพิจารณาทบทวน อยางตอเนื่องนี้ทำใหสามารถดำเนินการแกไขไดลวงหนากอนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญซึ่งอาจมีผลกระทบตอผลการดำเนินงานของ กลุมบริษัทฯ 184

รายงานประจำป 2553


ความเสี่ยงดานการเงิน ความเสี่ยงทางดานการเงินหลักๆ ของกลุมบริษัทฯ ไดแก ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยง จากคูสัญญา กลุมบริษัทฯ ใชเครื่องมือทางการเงิน เชน สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ สัญญากำหนดอัตราแลกเปลี่ยนต่ำสุดและสูงสุด และสัญญาแลกเปลี่ยนที่ราคาจะถูกกำหนดดวยราคาคงที่ เพื่อจัดการกับความเสี่ยงทางการเงิน หลักๆ วัตถุประสงคของการใชเครื่องมือทางการเงินเหลานี้คือ เพื่อที่จะลดความไมแนนอนของกระแสเงินสดในอนาคตที่เกิดขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน และเพื่อการจัดการสภาพคลองของทรัพยากรเงินสด บริษัทฯ มีนโยบายที่จะไมเขาทำธุรกรรมตราสารอนุพันธ ทางการเงินที่เกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ยเพื่อจุดประสงคในการเก็งกำไร

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ธุรกิจขนสงสินคาระหวางประเทศทางทะเล ธุรกิจบริการนอกชายฝง ธุรกิจโลจิสติคสและคลังสินคา และธุรกิจปุยใชเงินสกุลดอลลารสหรัฐอเมริกา เปนสกุลเงินหลักสำหรับธุรกรรมการคาและการเขาซื้อสินทรัพย กลุมบริษัทฯ จัดการความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยนทั้งในระดับกลุมบริษัทฯ และระดับบริษัทโดยวิธีการปองกันความเสี่ยงโดยกลไกธรรมชาติ (natural hedging) บริษัทฯ จะสรางสมดุลระหวางรายไดที่เปนเงิน ตางประเทศกับรายจายดานการคาและเงินกูที่เปนเงินตางประเทศ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนสวนใหญไดรับการปองกันโดยกลไกธรรมชาติ เนื่องจากรายไดและคาใชจา ยการดำเนินงานสวนใหญอยูในสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดรับเงินกูในสกุลเงินดอลลาร สหรัฐอเมริกาเพื่อเปนเงินทุนสนับสนุนธุรกิจและการเขาซื้อกิจการที่กอรายไดในสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ที่เหลือไดรับการจัดการโดยตราสารการเงิน เชน สัญญาซื้อขายลวงหนา และการจัดการเงินฝากในสกุลเงินตราตางประเทศ บริษัทฯ ไดเขาทำสัญญาอนุพันธ เชน การแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ยเพื่อกำหนดตนทุนทางการเงินของบริษัทฯ สัญญาแลกเปลี่ยน สกุลเงินและสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยชวยปองกันกลุมบริษัทฯ จากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 เมอรเมดมีเงินกูจำนวน 932.84 ลานบาท หรือ 26.68 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ซึ่งไดรับการปองกันความเสี่ยงผาน สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศและสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับธนาคารในประเทศ ในปที่ผานมา เมอรเมดไดเขาทำสัญญา แลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับธนาคารพาณิชยสำหรับสินเชื่อเงินกูระยะยาวในสกุลดอลลารสหรัฐอเมริกาจำนวน 45.93 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดเขาทำสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ยกับธนาคารในประเทศแหงหนึ่งสำหรับหุนกูสกุลเงินบาท ระยะเวลา 5 ป เปนสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 มียอดหุนกูคงเหลือจำนวน 62.15 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา และหุนกูนี้มี ยอดตามสกุลเงินเดิมจำนวน 2,000 ลานบาท บริษัทฯ รับรูกำไรหรือขาดทุนจากการปองกันความเสี่ยงนี้ในวันที่มีการตกลงทำสัญญาลวงหนา แตละฉบับ บริษัทฯ ไดมีการเขาทำสัญญากำหนดอัตราแลกเปลี่ยนต่ำสุดและสูงสุดเพื่อปองกันกลุมบริษัทฯ จากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน ทั้งนี้ เพื่อการจำกัดอัตราที่จะใชในการชำระหนี้สินในสกุลเงินตราตางประเทศ ในชวงป 2550 บริษัทฯ ไดเขาทำสัญญากำหนดอัตราแลกเปลี่ยนต่ำสุด และสูงสุดเพื่อจำกัดความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนที่เกี่ยวของกับสัญญากอสรางเรือในสกุลเงินเยนจำนวน 2 ลำ เปนมูลคาทั้งสิ้น 7,353 ลาน เยน สัญญาดังกลาวกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนต่ำสุดและสูงสุดอยูระหวาง 105 เยน ถึง 120 เยน ตอ 1 ดอลลารสหรัฐอเมริกา สัญญาฉบับแรกครบ กำหนดแลวเมื่อมีการสงมอบเรือทอร เฟรนดชิป และสัญญาฉบับที่สองจะครบกำหนดในป 2554 เมื่อมีการสงมอบเรือตอใหมลำที่สอง

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย กลุมบริษัทฯ ไดพยายามที่จะจัดการกับความเสี่ยงตอความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยและลดตนทุนดอกเบี้ย โดยความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย สามารถลดลงไดดวยการบริหารการใชอัตราดอกเบี้ยทั้งแบบคงที่และลอยตัวสำหรับเงินกูยืม และการใชตราสารอนุพันธ เชน การแลกเปลี่ยนอัตรา ดอกเบี้ยสำหรับเงินกูยืมระยะยาว นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ ยังบริหารจัดการระยะเวลาโดยรวมของเงินกูยืมอยางตอเนื่อง กลุมบริษัทฯ มีความเสี่ยง ดานตลาดที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา เนื่องจากเงินกูยืมในสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกาเกือบ ทั้งหมดมีอัตราสวนตางคงที่ซึ่งผูกอยูกับอัตราดอกเบี้ย LIBOR แบบลอยตัว หุนกูแปลงสภาพไดใชอัตราดอกเบี้ยรายปแบบคงที่ที่รอยละ 2.50

ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ความผันผวนของราคาน้ำมันอาจจะมีผลกระทบตอคาใชจายในธุรกิจการขนสงสินคาแหงเทกองทางทะเลอยางมากและอาจสงผลกระทบตอรายได ของกลุมบริษัทฯ ที่ผานมากลุมบริษัทฯ ไดเขาทำสัญญากำหนดคาเงินลวงหนากับสถาบันการเงินที่ชวยปองกันกลุมบริษัทฯ จากการเคลื่อนไหวของ ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงไดบางสวน โดยมีการกำหนดราคาตายตัวที่ใชในการคำนวณผลกำไรหรือการขาดทุนในอนาคต วิธีการนี้มีความสำคัญและมี ประสิทธิภาพสำหรับการลดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคาน้ำมันเชื้อเพลิงในอนาคตในชวงระหวางวันที่ตกลงเขาทำสัญญาขนสงสินคา และวันที่ไดทำการขนสงสินคาจริง เนื่องจากธุรกิจขนสงสินคาแหงเทกองทางทะเลมีวันเดินเรือที่ราคาคาขนสงสินคาที่กำหนดตายตัวมากขึ้น ดังนั้น กลุมบริษัทฯ คาดวาจะทำการปองกันความเสี่ยงสำหรับความตองการน้ำมันเชื้อเพลิงที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตสำหรับสัญญาขนสงสินคาระยะ ยาวแตละฉบับ โดยการเขาทำสัญญาแลกเปลี่ยนน้ำมันเชื้อเพลิงและสัญญาซื้อขายน้ำมันเชื้อเพลิงลวงหนา ในเวลาที่เจรจาตอรองสัญญาขนสง สินคาระยะยาวแตละฉบับ

รายงานประจำป 2553

185


ความเสี่ยงจากคูสัญญา รายไดจากคาระวางทั้งที่เปนสินคาแหงเทกองและเรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำสวนใหญนั้นลูกคาจะจายเงินลวงหนา หรือจายกอนที่ลูกคาจะไดรับสินคา สำหรับการขายถายหิน ลูกคารายใหญเปนบริษัทมหาชนที่มีความมั่นคงในประเทศไทย สวนการขายถานหินใหกับลูกคาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดเล็กนั้นมีจำนวนไมมาก บริษัทฯ ขายปุยทั้งหมดในรูปแบบเงินสด บริษัทฯ ไมคิดวาความเสี่ยงจากคูสัญญามีนัยสำคัญ และตนทุนใน การปองกันความเสี่ยงดังกลาวจะมากเกินกวาผลประโยชนที่จะเปนไปได ดังนั้น บริษัทฯ จึงไมเขาทำสัญญาอนุพันธใดๆ สำหรับความเสี่ยงนี้

ความเสี่ยงจากการปฏิบัติการ บริษัทฯ เผชิญกับการแขงขันที่รุนแรงในตลาดหลายแหงที่บริษัทฯ ดำเนินงานอยู ซึ่งอาจกอใหเกิดผลกระทบในดานตอผลการดำเนินงาน ของบริษัทฯ

ความเสี่ยงจากความปลอดภัยและถูกตองของขอมูล บริษัทฯ ไดดำเนินการใหเปนที่มั่นใจวาระบบวิเคราะหธุรกิจที่จำเปนจะมีความพรอม และการเขาถึงขอมูลทางธุรกิจที่เกี่ยวของจะสามารถทำได แมในยามที่องคประกอบบางสวนไมสามารถทำงานได ทั้งนี้ โดยการจัดใหมีโครงสรางองคประกอบทางเทคนิค เครือขายและไซตแบบซ้ำซอน รวมทั้งมาตรการในกรณีฉุกเฉินที่ผานการทดสอบและมีความเหมาะสม บริษัทฯ มีแนวทางการรักษาความปลอดภัย ซึ่งรวมถึงมาตรการปองกันทางดานองคกร เทคนิคและซอฟตแวรเพื่อควบคุมการเขาถึงขอมูล สิทธิ ในการเขาถึงขอมูล การปองกันไวรัส และการปองกันขอมูล โดยมีการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการเหลานี้และประสิทธิภาพของมาตรการ เหลานี้อยางตอเนื่อง บริษัทฯ ทำการตรวจสอบทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางสม่ำเสมอ เพื่อใหมั่นใจวาความเสี่ยงทางดานเทคโนโลยี สารสนเทศไดรับการประเมิน และมีการใชมาตรการที่เหมาะสม

ความเสี่ยงทางธุรกิจ กลุมธุรกิจขนสง ความเสี่ยงทางธุรกิจที่เกี่ยวกับกลุมขนสงดวยเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง l ความผันผวนของอัตราคาเชาเรืออาจมีผลกระทบทางลบตอรายไดและรายรับของกลุม

อัตราคาเชาเรือของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองโดยหลักแลวเปนกระบวนการที่มาจากความสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทานของเรือ และ บริการตางๆ ของเรือ ปจจัยอื่นๆ รวมถึงอุปสงคและการผลิตสินคาแหงเทกอง ระยะทางการขนสงสินคาแหงเทกองทางทะเล ความเปลี่ยนแปลง ของการคาทางทะเล และรูปแบบการขนสงอื่นๆ จำนวนการรับมอบเรือที่สั่งตอใหม การปลดระวางเรือเกา สภาพเศรษฐกิจโลก การพัฒนาตางๆ ในการคาระหวางประเทศ การแขงขันจากการขนสงประเภทอื่น ความแออัดของทาเรือและคลอง และจำนวนของเรือที่ไมสามารถใหบริการได อาจมีอิทธิพลตออัตราคาเชาเรืออยางมีนัยสำคัญ ถาอัตราคาเชาเรือลดลง ผลประกอบการของกลุมบริษัทฯ และความสามารถในการทำกำไร ในอนาคตของกลุมบริษัทฯ อาจไดรับผลกระทบอยางมีนัยยะสำคัญใน การผันแปรของอัตราคาเชาเรืออาจทำใหเกิดความผันผวนในรายไดและ กำไรของกลุมบริษัทฯ เพื่อจำกัดความผันผวนนี้ จุดมุงหมายของกลุมบริษัทฯ คือการใหบริการกองเรือที่หลากหลายและมีความสมดุล กลุมบริษัทฯ แบงเรือจำนวน หนึ่งเพื่อใหเชาเหมาลำแบบระยะยาวโดยมีสัญญารับขนสงสินคาลวงหนาและใหบริการแบบไมประจำเสนทางเปนสวนประกอบ กลุมบริษัทฯ ยังไดกระจายชนิดของสินคาที่ขนสงโดยพยายามไมมุงเนนไปที่สินคาชนิดใดชนิดหนึ่ง l สถานการณโลกที่อาจสงผลกระทบตอผลการดำเนินงานและสภาวะทางการเงินของกลุมบริษัทฯ

ในอดีต การขัดแยงทางการเมืองไดสงผลใหเกิดการจูโจมเรือเดินทะเล การวางทุนระเบิดใตน้ำ และการจูโจมในรูปแบบอื่นๆ ที่เปนการขัดขวาง การเดินเรือระหวางประเทศ ทั้งนี้ พฤติกรรมการกอการรายและโจรสลัดไดสงผลกระทบตอเรือสินคาในนานน้ำทวีปตางๆ อาทิ ในบริเวณทะเล ตะวันออกกลางและทะเลจีนใต นอกจากนี้ การคว่ำบาตรทางการทูตก็ไดสงผลกระทบตอบริษัทขนสงทางทะเลที่มีสัญญากับประเทศที่ถูกคว่ำบาตร เหตุการณเหลานี้ลวนแลวแตจะสงผลกระทบตอผลการดำเนินงานของกลุมบริษัทฯ การจูโจมโดยโจรสลัดที่มีอยูอยางตอเนื่อง และจากการที่บริษทั ฯ ไดประสบกับเหตุการณเรือถูกโจรสลัดจับเรียกคาไถในโซมาเลียเมื่อสองปที่แลว ทำใหบริษัทฯ ไดจัดหามาตรการเพิ่มเติมที่สำคัญในเรื่องของการปองกัน การเตรียมความพรอม การฝกฝน กระบวนการ และการอบรมลูกเรือกอน ที่จะนำเรือเขาไปในเขตของโจรสลัด นอกจากนี้ ยังรวมถึงมาตรการการติดตั้งแนวรั้วลวดหนามที่พันรอบตลอดลำตัวเรือ การปองกันหองพักของ ลูกเรือและหองบังคับการเรือ เครื่องมือปองกันรางกายและศีรษะแบบทหาร และการใชเสนทางเชื่อมตอทางทะเลที่มีการตรวจตรา นอกจากนี้ ยังมีการแสวงหามาตราการปองกันและขัดขวางอื่นๆ กับที่ปรึกษาฝายพลเรือนและฝายทหารอีกดวย ยิ่งไปกวานั้น บริษัทฯ ไดซื้อประกันเพิ่มเติม เพื่อคุมครองภาระที่อาจเกิดขึ้นจากการที่เรือถูกโจรสลัดยึดหรือถูกจับเรียกคาไถ และบริษัทฯ อาจเพิ่มพื้นที่คุมครองความเสี่ยง หรือพิจารณา ทบทวนเสนทางการคาของเรือเนื่องจากการขยายตัวจากภัยของโจรสลัด

186

รายงานประจำป 2553


แมวากลุมบริษัทฯ จะพยายามอยางเต็มที่ในทุกๆ ดาน เพื่อที่ประเมินจุดแข็งทางดานการเงินของผูเชาเรือ แตวิกฤติการณทางการเงินอาจ สงผลกระทบตอผูเชาเรือที่ทำสัญญาไวกับกลุมบริษัทฯ สภาวะการลมละลายและปญหาทางการเงินของผูเชาเรือ อาจทำใหตองมีการเจรจา ตอรองกับผูเชาเรือใหมอีกครั้ง หรือแมกระทั่งตองยกเลิกสัญญาเชาเหมาลำที่ทำไวกอนครบกำหนด l ความเสี่ยงของกลุมบริษัทฯ

ความสามารถในการทำกำไร

จากการใหบริการเชาเหมาลำระยะสั้นในตลาดเชาเรือระยะสั้น อาจทำใหเกิดความผันผวนตอ

อัตราคาเชาเรือในตลาดเชาเรือระยะสั้นหลายตลาดที่กลุมบริษัทฯ ดำเนินธุรกิจอยูนั้นมีความหลากหลายอยางมากขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ไดแก จำนวนเรือในกองเรือโลก การกระจายกำลังเรือ การที่มีเรือใหมเขามาในตลาด การปลดระวางเรือเกา และอุปสงคของสินคาที่จะขนสง นอกจากนี้จุดที่เรือวิ่งรับขนสงสินคายังมีผลตอความสามารถของกลุมบริษัทฯ ในการใชเรืออยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อตอบสนอง ตอความผันผวนของความตองการในการเชาเรือในระยะสั้นและสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา สำหรับรอบบัญชีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 รอยละ 87.84 ของรายไดจากคาระวางรวม และรอยละ 83.20 ของรายไดสุทธิจากการเดินเรือ ในแตละเที่ยวไดมาจากการใหบริการแบบประจำเสนทาง การใหเชาเหมาลำและสัญญาอื่นๆ ที่มีการกำหนดราคาตามตลาดเชาเรือระยะสั้น จากการที่กลุมธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง มีรายไดบางสวนจากการใหเชาเรือที่อัตราตลาดเชาเรือระยะสั้น การลดลงของอัตราคาเชาเรือ ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งจึงมีผลกระทบตอผลประกอบการของกลุมบริษัทฯ ในชวงเวลานั้นๆ นโยบายของกลุมบริษัทฯ คือ การสรางรายไดที่สม่ำเสมอตลอดป โดยการทำสัญญากับลูกคาไวลวงหนาชนิดใหเชาเหมาลำเปนระยะเวลาและ จากสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา ดังนั้นจึงสามารถชวยลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราคาเชาเรือในตลาดเชาเรือระยะสั้นได อยางไรก็ตาม บริษัทฯ อาจเลือกที่จะหลีกเลี่ยงสัญญาเชาเรือระยะยาวในชวงที่ตลาด คาระวางเรือซบเซาเปนระยะเวลาตอเนื่อง l ความสำเร็จของกลุมบริษัทฯ

อนาคตขึ้นอยูกับความสามารถในการบริหารความเจริญเติบโตของกลุมธุรกิจ

ปจจุบันกลุมบริษัทฯ มีแผนงานในการขยายและปรับปรุงกองเรือใหม กลุมบริษัทฯ ไดลงนามในสัญญาสั่งตอเรือใหมเปนจำนวนหลายลำ และจะ มองหาโอกาสในการซื้อเรือใหม และ/หรือซื้อเรือมือสองตอไปอีก ซึ่งในการนี้จะตองอาศัยเจาหนาที่บนเรือ ลูกเรือ พนักงาน รวมทั้งเทคโนโลยีสาร สนเทศและระบบตางๆ ของกลุมบริษัทฯ ที่จะบริหารกองเรือและดำเนินการใหเปนไปตามแผนการขยายและปรับปรุงกองเรือใหม โดยไมลด คุณภาพการบริการใหกับบริษัทที่เปนลูกคา อยางไรก็ดีกลุมบริษัทฯ ไมสามารถยืนยันไดวาทรัพยากรบุคคลและเทคโนโลยีของกลุมบริษัทฯ จะประสบผลสำเร็จในการบริหารแผนการขยายและปรับปรุงกองเรือใหม นอกเหนือจากแผนงานในการขยายและปรับปรุงกองเรือใหม อีกสวนของกลยุทธของกลุมบริษัทฯ คือการหาโอกาสในการขยายธุรกิจไปยังภูมิภาค ใหมๆ และหาบริการใหมๆ (ตัวอยางเชน การขยายไปสูการใหบริการตางๆ นอกชายฝง) ซึ่งจะชวยทำใหกลุมบริษัทฯ สามารถเพิ่มความแข็งแกรง ทางการแขงขัน หรือตอยอดจากสายธุรกิจที่มีอยูในขณะนี้ กลุมบริษัทฯ อาจจะไมประสบความสำเร็จจากการปฏิบัติตามกลยุทธสวนใดสวนหนึ่ง หรือทั้งหมดของกลยุทธที่บริษัทฯ ไดวางไว นโยบายของกลุมบริษัทฯ คือการพัฒนาบุคลากรที่สำคัญ และพัฒนาระบบพื้นฐานอยางตอเนื่อง ในป 2553 กลุมบริษัทฯ ไดทำการทบทวน กระบวนการทางธุรกิจของตนอยางละเอียด และเลือกใชระบบ Enterprise Resource Planning (ERP) เพื่อที่จะเพิ่มผลผลิต ศักยภาพ และ เพิ่มประสิทธิภาพในการเขาถึงขอมูลตัวเลขทางการเงินทั้งในสวนของกลุมบริษัทฯและภายในกลุมบริษัทเรือขนสงสินคาแหงเทกอง l กลุมบริษัทฯ

อาจตองมีรายจายเพื่อการบำรุงรักษากองเรือขนสงสินคาแหงเทกองที่ไมไดคาดการณลวงหนา

ในกรณีที่เรือของกลุมบริษัทฯ ไดรับความเสียหาย (เชน จากสภาพอากาศหรืออุบัติเหตุ) เรือเหลานี้จะถูกนำไปซอมแซมที่อูแหง ซึ่งตนทุนและระยะ เวลาการซอมที่อูแหงนั้นไมสามารถคาดการณได จึงเปนไปไดที่คาซอมแซมนั้นอาจเปนเงินจำนวนที่สูงและไมอยูในความคุมครองของบริษัทประกัน การสูญเสียรายไดในระหวางที่เรือเหลานี้ถูกซอมแซมและปรับปรุงใหม รวมทั้งตนทุนที่เกิดขึ้นจริงจากการซอมแซมเหลานี้ จะทำใหกำไรของกลุม บริษัทฯ ลดลง นอกจากนี้ในบางครั้งพื้นที่สำหรับการนำเรือเขาอูแหงนั้นมีจำนวนจำกัด และไมไดอยูในสถานที่ที่สะดวกตอการนำเรือไปซอมแซม อีกดวย นอกจากนี้ ความเปลี่ยนแปลงตางๆ ที่ไมไดคาดการณมากอนในดานของกฏระเบียบตางๆ ของรัฐบาลและมาตรฐานดานความปลอดภัยหรือ ดานอุปกรณอื่นๆ อาจทำใหเกิดคาใชจายในการเปลี่ยนแปลง หรือการเพิ่มเติมอุปกรณใหมๆ ใหกับเรือที่มีสภาพเกาเพื่อใหเปนไปตามกฎระเบียบ และมาตรฐานเหลานั้น ดังนั้น กลุมบริษัทฯ อาจไมสามารถใชประโยชนจากเรือบางลำเปนเวลานาน หรือเปนเวลานานกวาที่คาดการณไว ดังนั้น จึงไมสามารถมั่นใจไดวาเรือของกลุมบริษัทฯ จะไมตองเขารับการซอมแซมเพิ่มเติม ซึ่งจะทำใหเกิดคาใชจายจำนวนมาก เรือของกลุมบริษัทฯ จะถูกหยุดการใชงานในชวงระยะเวลาหนึ่งเปนประจำ ทั้งนี้ เพื่อตรวจเช็คสภาพเรือและการดูแลรักษาเรือตามปกติ ในกรณี ที่เรือจำเปนตองถูกซอมแซมมากกวาที่คาดการณไว ก็จะทำใหเวลาที่จะนำเรือกลับมาใชประโยชนขยายออกไป ความลาชาดังกลาวอาจทำใหเกิด ผลกระทบตอธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ซึ่งก็จะมีผลตอการดำเนินงาน และสภาวะทางการเงิน

รายงานประจำป 2553

187


นโยบายของกลุมบริษัทฯ คือการลงทุนเปนจำนวนมากเพื่อรักษามาตรฐานของกองเรือขนสงสินคาแหงเทกองใหอยูในระดับสูง เพื่อจำกัดระยะเวลา การหยุดใชงาน อัตราการใชประโยชนของกองเรือในรอบบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 คิดเปนรอยละ 98.09 นอกจากนี้ กลุม บริษัทฯ ยังมีการกำหนดชวงเวลาการเขาอูแหงของกองเรือลวงหนาเปนเวลาหนึ่งถึงสองป และเจรจาขอพื้นที่ในอูแหงลวงหนา ในหลายๆ กรณี เราไดเจรจากับอูตอเรือที่เราตองการเพื่อกำหนดราคาการนำเรือเขาอูแหง และเพื่อใหแนใจวาเรือจะอยูใกลกับสถานที่เหลานี้ เมื่อถึงกำหนดเวลา ที่เรือตองเขาอูแหง l ความลาชาในการรับมอบเรือใหม

ทางลบตอรายไดของกลุมบริษัทฯ

การรับมอบเรือมือสองแบบทันที หรือการซอมแซมเรือที่มีอยูอาจทำใหเกิดผลกระทบ

แผนงานในการทยอยปรับปรุงกองเรือของกลุมบริษัทฯ มีจุดประสงคเพื่อลดอายุเฉลี่ยของกองเรือ โดยแผนที่จะสั่งซื้อเรือตอใหมที่จะไดรับใน อนาคตนั้น จะมีการรับมอบตรงเวลาและจะนำมาใชงานตามแบบอยางของเรือที่ระบุไว การเลื่อนเวลาในการสงมอบเรือจากอูตอเรือออกไปเปน ระยะเวลานาน หรือการมีขอบกพรองในการปฏิบัติงานอยางมีนัยสำคัญจะเกิดผลกระทบตอธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ผลกระทบตอผลการดำเนินงาน และสถานภาพการเงินของบริษัทฯ ความลาชาในการสงมอบเรืออาจเกิดขึ้นจากปญหาของอูตอเรือ การไมสามารถชำระหนี้ หรือเหตุสุดวิสัยที่ กลุมบริษัทฯ หรืออูตอเรือไมสามารถควบคุมไดหรือเหตุผลอื่นๆ ในกรณีที่เหตุการณเหลานี้ และความสูญเสียตางๆ ที่เกิดขึ้นไมไดรับการชดเชย ความเสียหายหรือมีการทำประกันไมเพียงพอ อาจมีผลกระทบตอผลประกอบการทางการเงินของกลุมบริษัทฯ นโยบายของกลุมบริษัทฯ คือการที่จะหาอูตอเรือที่มีคุณภาพ มีประสบการณการตอเรือที่เพียงพอ และมีทีมงานดูแลการตอเรือใหมที่แข็งขัน ซึ่งจะทำการตรวจสอบดูแลการตอเรือของกลุมบริษัทฯ สม่ำเสมอ ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจไดวากลุมบริษัทฯ จะไดรับเรือที่มคี ุณภาพ ไดรับการแจงเตือน ถามีความเสี่ยงที่อาจมีผลตอการสงมอบเรือลาชา นอกจากนี้ ทางกลุมบริษัทฯ จะพิจารณาการซื้อเรือมือสองโดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงที่ราคาเรือ ลดต่ำลง ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของแผนการปรับปรุงกองเรือ ระยะเวลาในการรับมอบเรือมือสองที่สั้นลงสามารถที่จะชดเชยการลาชาในการรับมอบ เรือที่สั่งตอใหมจากอูตอเรือ อยางไรก็ตาม ถาราคาเรือมือสองในตลาดไมไดอยูในระดับที่สามารถซื้อได อาจมีผลกระทบตอรายไดของกลุมบริษัทฯ

กลุมธุรกิจพลังงาน ความเสี่ยงทางธุรกิจที่เกี่ยวกับกลุมธุรกิจใหบริการนอกชายฝง (ผานเมอรเมด) l อุตสาหกรรมการใหบริการงานนอกชายฝงนั้นขึ้นอยูกับอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาติเปนสวนใหญ

จากความผันผวนของราคาน้ำมันและกาซธรรมชาติ

ซึ่งไดรับผลกระทบ

กลุมบริษัทฯ ใหบริการงานนอกชายฝง ใหกับอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาติโดยผานเมอรเมด และธุรกิจงานบริการนอกชายฝงของกลุม บริษัทฯ อาจไดรับผลกระทบจากความผันผวนราคาของน้ำมันและกาซธรรมชาติ ซึ่งมีผลกระทบตอกิจกรรมการสำรวจ การพัฒนา และการผลิต น้ำมันและกาซธรรมชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใตซึ่งเมอรเมดใหบริการอยู บริษัทตางๆ ที่สำรวจน้ำมันและกาซธรรมชาติอาจยกเลิกหรือลดกิจกรรมการสำรวจ ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับราคาตลาดของน้ำมันและกาซธรรมชาติ ซึ่งจะ ทำใหอุปสงคของงานบริการนอกชายฝงตางๆ ของกลุมบริษัทฯ ลดตามลงไปดวย ปริมาณกิจกรรมการผลิตและขุดเจาะที่ลดลงเปนระยะเวลานาน อาจจะมีผลกระทบตอการปฏิบัติงานและธุรกิจของกลุมบริษัทฯ กลุมบริษัทฯ มุงเนนไปที่ธุรกิจเฉพาะตางๆ เชน วิศวกรรมโยธาใตน้ำและการขุดเจาะน้ำมัน เพื่อชวยลดความผันผวนของกำไร ธุรกิจวิศวกรรมโยธา ใตน้ำของกลุมบริษัทฯ จะมุงเนนไปที่สวนงานธุรกิจปลายน้ำ (downstream) โดยเฉพาะการตรวจสอบ การซอมบำรุงรักษาอุปกรณโครงสรางที่มีอยู ซึ่งจำเปนจะตองผานมาตรฐานความปลอดภัย โดยไมตองคำนึงถึงราคาน้ำมันและกาซธรรมชาติวาจะเปนอยางไร เรือขุดเจาะจะนำไปใชในงาน ขุดเจาะในสวนของการผลิตเปนสวนใหญ ซึ่งเปนสวนที่มีความผันผวนนอยกวาสวนงานขุดเจาะดานอื่นๆ และยังชวยลดภาวะผลกระทบดาน ความเสี่ยงจากกา ผันผวนของราคาน้ำมันและกาซธรรมชาติในตลาดที่มีตอกลุมบริษัทฯ l อุปสงคของธุรกิจงานบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ มีการแขงขันสูง มีความผันผวน และผลของการดำเนินงานบริการนอก ชายฝงตางๆ อาจมีความผันผวน

อุปสงคของการบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ ในชวงเวลาที่มีอุปสงคสูงแตอุปทานมีอยูจำกัดจะมีอัตราคาเชาเรือสูง แตสวนใหญมักจะตาม ดวยชวงเวลาที่มีอุปสงคต่ำ ทำใหอุปทานลนตลาด และมีผลทำใหอัตราคาเชาเรือต่ำ การที่มีเรือสั่งตอใหม เรือที่มีการปรับปรุงสภาพ เรือขุดเจาะ หรือเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำที่นำกลับมาใชปฏิบัติงานอีก และเรือตางๆ เหลานี้เขามาในตลาดทำใหเกิดอุปทานในตลาดมากขึ้น ซึ่งจะทำใหยากตอการขึ้นอัตราคาเชาเรือ หรืออาจมีผลทำใหอัตราคาเชาเรือลดลงไป ชวงเวลาที่มีอุปสงคต่ำทำใหมีการแขงขันที่รุนแรงมากขึ้น และ ทำใหสินทรัพยตางๆ ไมไดถูกนำมาใชประโยชนในบางชวงเวลา ทรัพยสินที่ใหบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ อาจตองถูกปลอยทิ้งไวโดยไมได ใชงาน หรือไมเชนนั้นแลวกลุมบริษัทฯ ตองยอมทำสัญญาที่ไดรับคาตอบแทนต่ำตามสภาพตลาดในอนาคต นอกจากนี้ ความสามารถของกลุม บริษัทฯ ในการตอสัญญา หรือทำสัญญาใหม และเงื่อนไขของสัญญาเหลานี้ขึ้นอยูกับสภาวะตางๆ ของตลาดในเวลาที่มีการพิจารณาสัญญา ตางๆ ดังกลาว 188

รายงานประจำป 2553


นอกจากนี้ เนื่องดวยสัญญาการใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำสวนใหญมีลักษณะเปนสัญญาระยะสั้น การเปลี่ยนแปลงตางๆ ของสภาวะตลาด สามารถสงผลกระทบตอธุรกิจของกลุมธุรกิจนี้อยางรวดเร็ว นอกจากนี้ เนื่องดวยธุรกิจงานบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ เปนธุรกิจที่ทำสัญญา เปนโครงการ ดังนั้น กระแสเงินสดหมุนเวียนของกลุมธุรกิจงานบริการนอกชายฝงจึงไมอาจคาดเดาไดและอาจไมสม่ำเสมอ และจากความผันผวน ของอุปสงคของกลุมธุรกิจงานบริการนอกชายฝง อาจทำใหผลประกอบการของกลุมธุรกิจงานบริการนอกชายฝงผันผวนได กลยุทธของบริษัทฯ คือ การใหสินทรัพยของบริษัทฯ มีสัญญาระยะยาวซึ่งจะชวยใหมีรายไดที่จะไมไดรับผลกระทบจากสภาพตลาดระยะสั้น และยังเปนเกราะปองกันความเสี่ยงจากการผันผวนของตลาด l ธุรกิจงานบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ

มีความเสี่ยงจากการปฏิบัติงานหลายประการ

ธุรกิจงานบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ มีความเสี่ยงหลายอยางที่มาจากอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาติ อาทิ อัคคีภัย ภัยธรรมชาติ ระเบิด การทะลักของน้ำมันออกจากบอ การเผชิญกับความดันผิดปกติ การระเบิดของปลองภูเขาไฟ ทอน้ำมันแตกและน้ำมันรั่ว ความเสี่ยง ตางๆ เหลานี้อาจมีผลตามมาอยางรายแรง รวมทั้งการสูญเสียของชีวิตหรือบาดเจ็บอยางรุนแรง ความเสียหายตอทรัพยสิน และอุปกรณของ กลุมบริษัทฯ หรือของบริษัทลูกคา สรางมลภาวะตอสิ่งแวดลอม การฟองรองเรียกคาเสียหายตอการบาดเจ็บของบุคคล ผลกระทบตางๆ ทางการเมือง และความเสียหายตอชื่อเสียงกลุมบริษัทฯ ธุรกิจงานบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ ยังมีความเสี่ยงจากความขัดของของอุปกรณ ซึ่งอาจตองใชเวลาในการซอมแซมนานและทำใหรายได ของกลุมบริษัทฯ ตองสูญเสียไป กลุมบริษัทฯ อาจตองหยุดการดำเนินการบางสวนถามีอุปกรณสำคัญสวนใดชำรุดจนกวากลุมบริษัทฯ สามารถทดแทน และ/หรือ ซอมแซมสวนนั้นได ความลมเหลวในระบบการทำงานหลักอาจทำใหเกิดการสูญเสียชีวิต หรือการบาดเจ็บที่รายแรง ความเสียหายหรือความสูญเสียตอเรือ และอุปกรณและขอพิพาททางการเมืองหรือทางกฎหมายที่ยืดเยื้อและมีผลเสียตอชื่อเสียงของบริษัทฯ กรณีท่กี ลาวมามีผลกระทบทางลบตอชื่อเสียงกลุมบริษัทฯ สภาวะทางการเงิน และผลการดำเนินงาน และความสามารถของกลุมบริษัทฯ ในการดำเนินธุรกิจบริการนอกชายฝงตอไป กลุมบริษัทฯ ลงทุนอยางตอเนื่องในกองเรือ โดยเนนการบำรุงรักษาอยางเต็มที่ รวมไปถึงการเขาซอมแซมตามกำหนดระยะเวลา เพื่อที่จะลด ความเสี่ยงดานความบกพรองของอุปกรณ นอกจากนี้กลุมบริษัทฯ ยังคงเนนย้ำดานความปลอดภัยอยูเสมอ โดยมีระบบบริหารจัดการความ ปลอดภัยที่ครบถวนพรอมใชงาน ซึ่งจะประกอบไปดวยแนวทางความปลอดภัยที่ชัดเจน รวมไปถึงการจัดฝกอบรมดานความปลอดภัยอยางละเอียด และจัดโครงการเพื่อสรางความตระหนักถึงเรื่องความปลอดภัย ยิ่งไปกวานั้น ลูกคาก็มีการตรวจสอบกองเรืออยูเปนประจำ และไดใหขอมูลกับ บริษัทฯ เพื่อบันทึกในโครงการตรวจซอมและบำรุงรักษากองเรือ l ลูกคาในตลาดเฉพาะกลุมของธุรกิจงานบริการนอกชายฝงมีจำนวนจำกัด

สำคัญตอผลการดำเนินงานของกลุมบริษัทฯ

และการสูญเสียลูกคาที่สำคัญอาจทำใหเกิดผลกระทบที่

ลูกคาที่มีศักยภาพในธุรกิจนี้มีจำนวนจำกัด โดยเฉพาะในธุรกิจขุดเจาะ และจำนวนโครงการที่มีศักยภาพในธุรกิจบริการนอกชายฝงก็มีจำนวน จำกัดเชนกัน ในปหนึ่งๆ จำนวนสัญญา และโครงการไมกี่โครงการ มีสัดสวนที่สำคัญตอรายไดของธุรกิจบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ นอกจากนี้เนื่องดวยเมอรเมดมีเรือขุดเจาะทั้งสิ้น 2 ลำ การสูญเสียลูกคาของธุรกิจการขุดเจาะไปรายหนึ่งทำใหมีผลกระทบตอธุรกิจขุดเจาะ และ อาจสงผลถึงรายไดและผลกำไรของกลุมบริษัทฯ โดยรวม ถาเมอรเมดไมสามารถหาลูกคารายใหมมาทดแทนลูกคาที่สูญเสียไปได นอกจากนี้ รายไดและกำไรของเมอรเมด และผลประกอบการของกลุมบริษัทฯ อาจไดรับผลกระทบ ถาลูกคาสำคัญรายใดของเมอรเมดยกเลิกสัญญาหรือ ไมตอสัญญากับเมอรเมด และกลุมบริษัทฯ ไมสามารถหาลูกคารายใหมมาทดแทนลูกคาเหลานี้ได กลุมบริษัทฯ ตองทำงานอยางหนักเพื่อรักษาความสัมพันธและชื่อเสียงที่ดีของบริษัทกับลูกคารายใหญทุกราย และ ณ ปจจุบันนี้ ยังไมมีลูกคา รายใดเลยที่ยกเลิกสัญญาที่ทำไวกับบริษัทอันเนื่องมาจากผลการทำงานของเมอรเมด หรือแมแตเมอรเมดเองก็ไมเคยมีปญหาในการเขาไปประมูล สัญญาฉบับใหมๆ จากลูกคาที่เคยใหงานประมูล ในเรื่องของเทคนิคที่ดอยคุณภาพ

กลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับกลุมธุรกิจโลจิสติกสถานหิน (ผาน UMS) ความเสี่ยงจากการขนสง กลุมบริษัทฯ โดย UMS นำเขาถานหินมาจากประเทศอินโดนีเซียเปนประจำ ไมวาจะเปนจำนวนที่นำเขามาหรือความถี่ในการนำเขา โดยจะใชเรือ บรรทุกสินคาแหงเทกองหรือเรือลำเลียง ดังนั้น จึงมีความเสี่ยงที่เปนไปไดอยูสองประการ คือ ความพรอมของเรือที่จะใชขนสง และอัตราคาระวาง เรือที่อาจจะผันผวนในชวงระยะเวลาที่จะมีการขนสง

รายงานประจำป 2553

189


กลุมบริษัทฯ มีวิธีการจัดการความเสี่ยงนี้หลายวิธี ซึ่งรวมถึงการเขาทำสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา (contracts of affreightment) สำหรับ ความตองการในการขนสงสวนหนึ่ง การเขาทำสัญญาแบบมีกำหนดเวลา (term contracts) และสัญญาแบบทันที (spot contracts) สำหรับ การจัดหาถานหิน และการรับการสนับสนุนอยางตอเนื่องในการติดตามความเคลื่อนไหวของอัตราคาระวางจากหนวยงานที่มีความเชี่ยวชาญ ภายในกลุมบริษัทฯ

ความเสี่ยงจากตนทุนสินคาขายที่มีความผันผวน ปจจัยหลักที่มีผลกระทบตอราคาตนทุนขายสินคา ไดแก ราคาถานหิน คาระวางเรือ และอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ โดยทั่วไป ดัชนี ราคาของปจจัยเหลานี้จะอิงตามราคาตลาดโลก ดังนั้น ความผันผวนดานราคาของปจจัยเหลานี้จะมีผลกระทบโดยตรงกับตนทุนสินคาขายของ บริษัทฯ โดยหากราคาถานหิน และคาระวางเรือปรับตัวขึ้น และอัตราแลกเปลี่ยนออนคาลง จะสงผลใหตนทุนสินคาขายของบริษัทฯ สูงขึ้นดวย ราคาถานหินจะมีการปรับตัวขึ้นลงตามอุปสงคและอุปทานในตลาดโลก และเมื่อมีอัตราคาระวางเขามาเกี่ยวของดวย การปรับตัวของราคาก็จะ ขึ้นอยูกับอุปสงคและอุปทานของสินคาโภคภัณฑหลากชนิดมากยิ่งขึ้น รวมทั้งระวางบรรทุกที่รองรับดวย ทั้งนี้ กลุมบริษัทฯ มีการติดตามดัชนี ราคาถานหินและคาระวางเรืออยางใกลชิด เพื่อใหบริษัทฯ สามารถบริหารตนทุนสินคาขายไดอยางมีประสิทธิภาพ ตนทุนสินคาขายของบริษัทฯ ประมาณรอยละ 90 อยูในสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา ในขณะที่รายรับทั้งหมดเปนเงินบาท ทั้งนี้เนื่องมาจาก รูปแบบทางธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ที่มีการนำเขาถานหินมาจากประเทศอินโดนีเซียและจำหนายใหกับอุตสาหกรรมภายในประเทศ ทำให กลุมบริษัทฯ มีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน กลุมบริษัทฯ บริหารความเสี่ยงนี้ดวยการใชสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา (Forward Contract) สำหรับตนทุนการนำเขาทั้งหมด ดังนั้น กลุมบริษัทฯ จึงสามารถลดความเสี่ยงทางดานอัตราแลกเปลี่ยนไดมาก

ความเสี่ยงจากการคูแขงรายใหม ในหลายปที่ผานมา มีคูแขงรายใหมหลายรายที่ไดเขามาในตลาดจำหนายถานหินในประเทศไทย เนื่องจากธุรกิจการคาถานหินตองการเงินลงทุน นอยกวาอุตสาหกรรมอื่นๆ ปจจุบัน หมอไอน้ำที่ใชถานหินในอุตสาหกรรมมีอยูเปนจำนวนคงที่ ดังนั้น การแขงขันที่เพิ่มขึ้นไดสงผลใหอัตรากำไร ขั้นตนโดยรวมของผูคาถานหินแคบลง กลุมบริษัทฯ ยังคงใชกลยุทธหลักเพื่อที่จะสรางความแตกตางของผลิตภัณฑของกลุมออกจากผลิตภัณฑของคูแขง กลุมบริษัทฯ ไดใชประสบการณ และความรูอยางกวางขวาง โดยผานทางทรัพยากรการจัดการและการขายของกลุม เพื่อใหคำแนะนำแกลูกคาเกี่ยวกับคุณภาพของถานหินที่ เหมาะสมกับหมอไอน้ำแตละประเภท รวมทั้งใหคำแนะนำสำหรับการสอบถามทางดานเทคนิคและที่เกี่ยวกับบริการอื่นๆ ปจจุบัน กลุมบริษัทฯ เปนผูทำการคัดเลือกและปรับปรุงคุณภาพถานหินใหเหมาะสมกับหมอไอน้ำแตละประเภทที่ใชโดยโรงงานอุตสาหกรรม ขนาดกลางและเล็ก เพื่อใหมั่นใจถึงการมีประสิทธิภาพสูง และสามารถลดตนทุนการผลิตของลูกคาได วิธีการนี้ไดรับการตอนรับจากลูกคาเปน อยางดี กระบวนการเพิ่มมูลคาของกลุมบริษัทฯ ที่นอกเหนือไปจากการคาขายถานหินโดยทั่วไป ไดสรางอุปสรรคในการเขาตลาดสำหรับ ผูประกอบการรายใหมที่ตองการทั้งเงินทุนหมุนเวียนสำหรับที่ดิน อุปกรณคัดแยกและเครื่องจักร เพื่อการแขงขันในธุรกิจโลจิสติกสถานหินแบบ ครบวงจร

ความเสี่ยงดานผลิตภัณฑทดแทนและการขยายตลาด โดยทั่วไป ทรัพยากรพลังงานหลักที่ใชในอุตสาหกรรมของประเทศไทย ไดแก น้ำมันเตา กาซธรรมชาติ และถานหิน น้ำมันเตาเปนแหลงเชื้อเพลิง ที่บริษัทผูผลิตสวนใหญเลือกใช เนื่องจากการจัดหาทำไดสะดวก การใชงานไมยุงยากและงายตอการบำรุงรักษา สวนกาซธรรมชาติสวนใหญจะ ใชในโรงงานผลิตไฟฟา เนื่องจากมีราคาถูกกวาน้ำมันเตา สวนการใชถานหินเปนแหลงพลังงานยังไมเปนที่แพรหลาย แนวโนมราคาน้ำมันเตาที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง สงผลใหตนทุนในอุตสาหกรรมโดยรวมเพิ่มขึ้นตาม สงผลใหหลายอุตสาหกรรมเริ่มที่จะหาแหลง พลังงานทดแทนสำหรับการผลิตและการจัดการตนทุนการผลิต ในขณะที่ถานหินยังเปนแหลงตนทุนราคาถูกซึ่งมีความเปนไปได แตผูผลิต หลายรายก็กำลังมองหาแหลงพลังงานทดแทน อาทิ แกลบ เศษไม และพลังงานชีวภาพอื่นๆ อยางไรก็ตาม ถานหินมีขอไดเปรียบที่สำคัญเหนือกวาแหลงพลังงานอื่นๆ ในดานตนทุน และถานหินยังเปนเชื้อเพลิงที่มีปริมาณสำรองอยูมาก เมื่อเปรียบเทียบกับแหลงพลังงานธรรมชาติอื่นๆ และอาจพบไดในประเทศตางๆ มากกวา 100 ประเทศ บริษัทฯ คาดหวังวาความตองการถานหินจะเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกลนี้ ขณะที่ตนทุนการผลิตจะมีความสำคัญมากขึ้นในทุกอุตสาหกรรม หลายอุตสาหกรรมไดหันมาใหความสนใจในถานหินเปนแหลงพลังงานทดแทน สำหรับผูผลิตเดิม การพิจารณาเปลี่ยนจากการใชหมอไอน้ำ ซึ่งใชน้ำมันเตาเปนหมอไอน้ำที่ใชถานหินจะตองการเงินลงทุน กลุมบริษัทฯ มีแผนที่จะขยายตลาดดวยการใหความรูแกลูกคาเปาหมายเกี่ยวกับ ประสิทธิภาพของถานหิน และเสนอแนวทางที่สามารถปฏิบัติไดในการเปลี่ยนหมอไอน้ำซึ่งใชน้ำมันเตาเปนหมอไอน้ำที่ใชถานหิน 190

รายงานประจำป 2553


ความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอม ถานหินมีหลายประเภท ไดแก แอนทราไซต บิทูมินัส ซับบิทูมินัสและลิกไนต เมื่อนำถานหินมาเผาไหม ออกซิเจนในอากาศจะทำปฏิกิริยากับ ถานหิน และกอใหเกิดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ถามีการสูดดมกาซซัลเฟอรไดออกไซดหรือถากาซซัลเฟอรไดออกไซดสัมผัสกับผิวหนัง อาจทำให ปอดอักเสบ และเกิดโรคภูมิแพ ในขณะเดียวกันฝุนผงจากถานหินก็อาจทำใหเกิดอาการภูมิแพดวยเชนกัน ปจจุบัน กลุมบริษัทฯ นำเขาถานหินประเภทบิทูมินัสและซับบิทูมินัส โดยถานหินทั้ง 2 ประเภทเปนถานหินที่มีคุณภาพสูง และมีกำมะถันในระดับต่ำ (ปริมาณกำมะถันอยูในชวง 0.1-1.5 เปอรเซ็นต ในขณะที่น้ำมันเตามีกำมะถันอยูในชวง 0.1-3.0 เปอรเซ็นต) ทำใหมีผลกระทบกับสิ่งแวดลอม นอยกวาเมื่อนำมาใชงาน ซึ่งแตกตางไปจากที่สาธารณชนทั่วไปรับรูเกี่ยวกับถานหินและการใชถานหิน เพื่อที่จะลดการรับรูในเชิงลบเกี่ยวกับเรื่องดังกลาวและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับสิ่งแวดลอม กลุมบริษัทฯ จึงไดติดตามกระบวนการผลิตอยาง ใกลชิดโดยสอดคลองกับกฎขอบังคับของรัฐบาล นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ ไดพยายามที่จะบริหารจัดการการแพรกระจายของฝุนละอองดวยความระมัดระวัง เพื่อที่จะลดผลกระทบทางดาน สิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่ง กลุมบริษัทฯ ไดลดการแพรกระจายของฝุนละอองดวยการใชระบบการจัดเก็บแบบปด หรือการจัดใหมีผาใบ คลุมรอบกองถานหิน การฉีดน้ำดักฝุนไมใหฟุงกระจาย การสรางรั้วสูงรอบคลังสินคา และการปลูกตนไมโดยรอบบริเวณที่ดินเพื่อดักฝุนละออง รถที่บรรทุกถานหินจะมีผาใบปดคลุมมิดชิดไมใหเศษถานหินตกพื้น

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับกลุมธุรกิจปุย (ผานบาคองโค) ความเสี่ยงที่เกี่ยวกับความผันผวนของราคาวัตถุดิบ ราคาวัตถุดิบของปุยทั้งในประเทศและทั่วโลกสามารถผันผวนได ดังนั้น กลุมบริษัทฯ โดยบาคองโค จึงอาจตองปรับเปลี่ยนรายการสินคา โดยเฉพาะ อยางยิ่งเมื่อตลาดเผชิญกับแนวโนมที่ตกต่ำ หรือสวนตางที่ลดลงเมื่อตลาดมีแนวโนมสูงขึ้น สิ่งเหลานี้ยอมเกิดขึ้นไดหากบริษัทฯ ไมสามารถปรับ ราคาตามตลาดไดอยางรวดเร็ว ในขณะที่ความเสี่ยงนี้ไมสามารถกำจัดไปไดทั้งหมด แตอาจบรรเทาหรือลดลงไดดวยการจัดการโดยใชแนวทาง 2 อยางคือ ก) การดำรง สินคาคงคลังใหต่ำ เพื่อที่จะจำกัดความเสี่ยงในสถานการณที่ตลาดมีแนวโนมตกต่ำ และ ข) การใชนโยบายราคาที่แนนอนและสวนลด พรอมกับการบริหารจัดการลูกคาบนพื้นฐานของการมีคุณภาพที่เหนือกวา เพื่อใหกลุมบริษัทฯ สามารถรักษาสวนตางเมื่อราคาวัตถุดิบปรับตัวสูงขึ้น

ความเสี่ยงตอการขาดแคลนวัตถุดิบ กลุมบริษัทฯ จัดซื้อวัตถุดิบทั้งจากในประเทศและตางประเทศ ซึ่งโดยทั่วไปอุปทานจะสมดุลกันที่ 50/50 คือ ในประเทศรอยละ 50 และตางประเทศ รอยละ 50 ดวยนโยบายเชิงกลยุทธของบริษัทฯ ในการดำรงสินคาคงคลังที่ต่ำและการจัดซื้อวัตถุดิบแบบทันเวลาพอดี สงผลใหกลุมบริษัทฯ อาจมีความเสี่ยง ตอโอกาสที่จะขาดแคลนวัตถุดิบไดสูงขึ้นในเวลาที่อุปทานทั้งจากตางประเทศและในประเทศมีความฝดเคือง นอกจากนี้ การขาดแคลนยังอาจ เกิดขึ้นจากปญหาที่เกี่ยวของกับการขนสง (ความลาชาของเรือ) กลุมบริษัทฯ ไดสรางความสัมพันธที่ดีระยะเวลายาวกับจำนวนผูจัดหาสินคาขนาดกลางและขนาดใหญทั้งในและตางประเทศ ซึ่งผูจัดหาสินคา เหลานี้ตางใหการสนับสนุนบริษัทฯ อยางตอเนื่อง บนพื้นฐานของขอผูกพันทางดานคุณภาพ การยึดมั่นในขอผูกพันทางสัญญา และการชำระเงิน ทันทีของกลุมบริษัทฯ

คูแขงในประเทศที่เพิ่มขึ้น ประเทศเวียดนาม คือ ตลาดที่มีการแขงขันสูงสำหรับปุยและเคมีเกษตรกรรม (Agrochemical) ปจจุบัน การผลิตของปุย NPK ในเวียดนาม (การผสมและการอัดเม็ด) อยูในระดับเกินขีดความสามารถ และกำลังมีการวางแผนอีกหลายโครงการสำหรับปตอๆ ไป บริษัทฯ ไดเลือกกลยุทธการสรางความแตกตางและมุงเนนที่ผลิตภัณฑพิเศษ เพื่อจำกัดความเสี่ยงในการแขงขัน ในภาพรวมบริษัทฯ มีสูตรปุย มากกวา 50 สูตร ตั้งแตสูตรที่ใชในตลาดทั่วไปจนถึงสูตรพิเศษเฉพาะ ซึ่งทำใหมั่นใจไดวาบริษัทฯ ยังคงนำหนาในการแขงขัน เนื่องจากโดยทั่วไป แลวจะมีการผลิตผลิตภัณฑเพียง 10-15 ประเภท กลุมบริษัทฯ มีกระบวนการผลิตหลายระบบ อีกทั้งยังเพิ่มมูลคาใหกับผลิตภัณฑดวยกระบวนการผลิตเฉพาะ เชน การอัดแนน (Compaction) USP และการเคลือบปุยดวยสารชีวภาพ ดวยแนวทางนี้ กลุมบริษัทฯ สามารถรักษาชื่อเสียงของผลิตภัณฑและภาพลักษณในตลาดในฐานะ ผูใหบริการที่มีคุณภาพสูงและมีการสรางสรรคนวัตกรรมอยางสม่ำเสมอ

รายงานประจำป 2553

191


การสงมอบที่ตรงเวลา ดวยนโยบายการผลิตแบบทันเวลาพอดีของกลุมบริษัทฯ สินคาสำเร็จรูปคงคลังจึงมีปริมาณต่ำ ซึ่งอาจทำใหเกิดความเปนไปไดสูงขึ้นที่จะสงมอบ สินคาใหแกลูกคาลาชา บริษัทฯ จัดการความเสี่ยงนี้โดยใชแนวทางการจัดการโซอุปทานที่ดี ดวยการสื่อสารอยางสม่ำเสมอและมีประสิทธิภาพระหวางฝายปฏิบัติการ ขายกับฝายผลิต โรงงานจะทราบถึงคำสั่งที่เขามาลวงหนาหลายสัปดาห บริษัทฯ ดำรงกำลังการผลิตไวอยางสม่ำเสมอ รวมกับแผนการบำรุงรักษาอุปกรณและเครื่องจักรเพื่อปองกันความชำรุดบกพรอง ผลิตภัณฑ ซึ่งผานกระบวนการถุงแบบอัตโนมัติและการลำเลียงในขั้นสุดทาย จะถูกจัดสงใหกับลูกคาโดยเร็ว

ความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยน กลุมบริษัทฯ จัดซื้อวัตถุดิบมากกวาครึ่งจำนวนดวยสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา และขายสินคาสำเร็จรูปภายในประเทศเปนเงินเวียดนาม จากการที่รัฐบาลเวียดนามไดลดคาเงินเวียดนามอยางมากและตอเนื่อง ความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยนจึงยังคงมีอยู เนื่องจากเงินเวียดนามไมได เปนสกุลเงินที่สามารถแลกเปลี่ยนไดโดยทั่วไป ขอบเขตการใชจึงมีอยูจำกัด ความเสี่ยงทางดานอัตราแลกเปลี่ยนนี้อาจจัดการไดดวยการดำรง สินคาคงคลังใหต่ำ และการใชนโยบายการซื้อขาย/ชำระเงินดวยเงินสด เพื่อใหมีหนี้ลูกคาเปนศูนย แนวทางนี้ชวยใหบริษัทฯ สามารถชำระเงิน ใหแกผูจัดหาสินคาไดทันที และลดความเสี่ยงจากสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังสงออกสินคาบางประเภท ซึ่งกอใหเกิดรายไดที่เปนสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา รายไดนี้ใชในการชำระเงินใหแก ผูจัดหาวัตถุดิบ

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติตามกฎขอบังคับ รัฐบาลเวียดนามกำหนดมาตรฐานที่เจาะจงสำหรับสูตรปุยเพื่อคุมครองผูบริโภค และมีการบังคับใชบทลงโทษตางๆ ถาผลิตภัณฑไมได ผลิตขึ้นตามขอกำหนดเฉพาะที่ผานการทดสอบ กลุมบริษัทฯ นำเขาวัตถุดิบจากผูจัดหาสินคาในประเทศและตางประเทศที่เชื่อถือได อีกทั้งมีชื่อเสียงในฐานะเปนผูผลิตปุยที่มีคุณภาพสูง นอกจากนี้ แนวทางของกลุมบริษัทฯ ในการสรางสรรคสูตรการผลิต ทำใหมั่นใจไดวาบริษัทฯ จะปฏิบัติตามหรือเหนือกวามาตรฐาน ตางๆ ที่รัฐบาลกำหนดไวเสมอ

ความเสี่ยงดานการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของกฎระเบียบในประเทศที่บริษัทฯ มีการลงทุน บริษัทฯ ใชมาตรการที่เปนไปไดทั้งปวงเพื่อปองกันสถานภาพทางกฎหมายของบริษัทฯ และปองกันมิใหความเสี่ยงทางดานกฎหมายเกิดขึ้น โครงการปฏิบัติตามกฎระเบียบไดนำมาใชกำกับดูแลพนักงานของบริษัทฯ ทั่วโลก โครงการนี้กำหนดใหพนักงานปฏิบัติตามกฎหมายและแนวทาง ปฏิบัติ รวมทั้งใหการอบรมและการสนับสนุนที่เกี่ยวของแกพนักงาน ซึ่งหัวใจสำคัญของโครงการนี้คือจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งเปนการกำหนดแนวทางการประพฤติปฏิบัติอยางมีจรรยาบรรณ และเสริมดวยแผนการอบรมและทดสอบ รวมทั้งสายดวน (Whistle Blow Line) เพื่อการรายงานการละเมิดที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติตามกฎระเบียบ เพียงเทาที่เปนไปไดและสามารถปฏิบัติได กลุมบริษทั ฯ ไดทำการจำกัดความเสี่ยงที่เกี่ยวกับความรับผิดและความเสียหายดวยการประกันภัย โดยประเภทและขอบเขตของการประกันภัยนี้จะไดรับการปรับปรุงเปนระยะเพื่อใหเปนไปตามความตองการ ณ เวลาปจจุบัน

ความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย การที่บริษัทฯ ยึดถือมาตรฐานทางเทคนิคและหลักปฏิบัติขั้นสูง ทำใหสามารถปองกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น และลดผลกระทบที่อาจเปนไปไดของ ความเสียหายดังกลาวใหเหลือนอยที่สุด อีกทั้งทำใหมั่นใจถึงการดำเนินงานอยางตอเนื่องของเครื่องจักรและอุปกรณ บริษัทฯ ทำการปรับปรุง มาตรการปองกันเหลานี้เปนระยะ บริษัทฯ มีการตรวจสอบความปลอดภัยทางดานสุขอนามัยและสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบ ณ ที่ทำการทุกแหง บริษัทฯ ลดความเสี่ยงที่เกิดกับบุคคลและสิ่งแวดลอมดวยการตรวจสอบและใหคำปรึกษา

ความเสี่ยงจากผลกระทบทางดานสังคมและชุมชน เพื่อจัดการความเสี่ยงเหลานี้ บริษัทฯ มีการตรวจติดตามและวิเคราะหผลกระทบที่การเปลี่ยนแปลงในกฎหมายและกฎระเบียบทางดานสิ่งแวดลอม และความปลอดภัยที่มีตอการดำเนินงานของบริษัทฯ บริษัทฯ ประสานงานอยางใกลชิดกับหนวยงานของรัฐ และใชขอมูลที่มีอยูเพื่อการพัฒนา แผนงานและมาตรการตอบสนอง รวมทั้งจัดใหมีกิจกรรมชุมชนสัมพันธอยางตอเนื่องในพื้นที่การดำเนินงานตางๆ โดยมุงเนนที่การมีสวนรวม ของชุมชนอยางสม่ำเสมอ 192

รายงานประจำป 2553


การถือครองหุนโดยคณะกรรมการและผูบริหาร ตารางที่ 39 : การถือครองหุนโดยคณะกรรมการ ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 รายชื่อกรรมการ 1. ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต(1) คูสมรส 2. นายอัศวิน คงสิริ คูสมรส 3. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต(2) คูสมรส 4. นายสตีเฟน ฟอรดแฮม คูสมรส 5. นางปรารถนา มงคลกุล 6. ดร. พิชิต นิธิวาสิน 7. นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ คูสมรส 8. ดร. ศิริ การเจริญดี คูสมรส 9. นางโจอี้ ฮอรน คูสมรส 10. นายปเตอร สโตคส(3) คูสมรส รวม

ณ 30 กันยายน 2552

เปลี่ยนแปลง

ณ 30 กันยายน 2553

830,533 446,000 0 0 196,988 0 0 0 22,000 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1,495,521

0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

830,533 446,000 0 0 196,988 0 0 0 22,000 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1,495,521

หมายเหตุ : 1. ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต ถึงแกกรรมเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553 2. หุนของ ม.ล.จันทรจุฑา จันทรทัต ไมรวมหุนจากโครงการ EJIP 3. นายปเตอร สโตคส ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553

ตารางที่ 40 : การถือครองหุนโดยผูบริหาร(1) ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 (ไมรวม EJIP) รายชื่อผูบริหาร ณ 30 กันยายน 2552 1. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต คูสมรส 2. นายเดวิด ลอรเรนซ เอเมส คูสมรส 3. นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์(2) คูสมรส 4. นายจอหน เครน 5. นายปรีธยุตม นิวาศะบุตร 6. นางสาวอุไร ปลื้มสำราญ(3) คูสมรส 7. นางฐิติมา รุงขวัญศิริโรจน คูสมรส 8. นายแอนดรูว ทอม สปริงกอล คูสมรส 9. นางเพ็ญรุง สุวรรณกูฏ คูสมรส รวม

196,988 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1,100 0 198,088

เปลี่ยนแปลง

ณ 30 กันยายน 2553

0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

196,988 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1,100 0 198,088

หมายเหตุ : 1. ไมรวมถึงการถือครองหุนของผูบริหารในบริษัทยอย 2. นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์ ไดรับการแตงตั้งเปนผูบริหารของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 3. นางสาวอุไร ปลื้มสำราญ ไดรับการแตงตั้งเปนผูบริหารของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2553

รายงานประจำป 2553

193


ผูถือหุนและนโยบายการจายเงินปนผล ตารางที่ 41 : ผูถือหุนรายใหญ ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ 2553 (วันปดสมุดทะเบียนผูถือหุนครั้งหลังสุด) ลำดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ไทยเอ็นวีดีอาร จำกัด State Street Bank And Trust Company HSBC (Singapore) Nominees Pte Ltd. SCB Dividend Stock 70/30 Long Term Equity Fund Norbax INC., 13 State Street Bank And Trust Company For London

จำนวนหุน 92,469,925 39,131,309 15,757,890 12,810,800 11,077,800 10,940,650

% 13.06 5.53 2.23 1.81 1.56 1.55

7.

State Street Bank And Trust Company For Australia

9,750,600

1.38

8. 9.

Morgan Stanley & Co. International Plc. Nortrust Nominees Limited-Melbourne Branch Future Fund Clients

8,854,167 8,196,960

1.25 1.16

Mellon Bank, N.A.

6,840,580

0.97

215,830,681

30.50

10.

ผูถือหุน

รวม

นโยบายจายเงินปนผล ชวงเวลาและจำนวนเงินปนผล (ถามี) ขึ้นอยูกับผลการดำเนินงาน สถานะทางการเงิน ความตองการใชเงินสด และเงินสดที่มีอยู ขอจำกัดตางๆ ที่ระบุไวตามสัญญากูเงิน และปจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบธุรกิจโดยการเขาไปถือหุนและไมไดเปน เจาของทรัพยสินใดๆ นอกจากหุนที่ถืออยูในบริษัทยอยและบริษัทรวม ดังนั้น ความสามารถในการจายเงินปนผลใหกับผูถือหุนจะขึ้นอยูกับ ผลกำไรและกระแสเงินสดของบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัทฯ มีนโยบายการจายเงินปนผลในอัตราไมนอยกวารอยละ 25 ของกำไรสุทธิของงบการเงินรวมหลังหักภาษีเงินได แตไมรวมกำไรหรือขาดทุน จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับแผนการลงทุน และปจจัยที่เกี่ยวของอื่นๆ โดยคณะกรรมการของบริษัทฯ อาจจะพิจารณา ทบทวน และแกไขนโยบายการจายเงินปนผลเปนครั้งคราว เพื่อใหเปนไปตามแผนการเติบโตทางธุรกิจของบริษัทฯ ในอนาคต ความตองการ ใชเงินลงทุน และปจจัยดานอื่นๆ ที่เห็นสมควร ทั้งนี้ การจายเงินปนผลดังกลาวจะไมเกินกำไรสะสมที่ปรากฏอยูในงบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ การประกาศจายเงินปนผลจะเปนไปตามขอกำหนดทางกฎหมายไทย ตัวอยางเชน กฎหมายกำหนดไววาการประกาศและจายเงินปนผลประจำป จะขึ้นอยูกับดุลยพินิจของที่ประชุมผูถือหุน ซึ่งจะพิจารณาตามที่คณะกรรมการเสนอ และในกรณีการประกาศและจายเงินปนผลระหวางกาล จะขึ้นอยูกับดุลยพินิจของคณะกรรมการ นอกจากนี้ กฎหมายไทยยังหามจายเงินปนผลจากเงินประเภทอื่นนอกจากกำไร (กำไรสุทธิรวมกำไรสะสม และหักขาดทุนสะสมใดๆ) ทั้งนี้ บริษัทจะตองจัดสรรเงินไวเปนทุนสำรองจนกวาจะมีจำนวนถึงหนึ่งในสิบของทุนของบริษัท หรือมากกวานั้นตาม ขอบังคับของบริษัท อีกทั้งหามจายเงินปนผลหากบริษัทอยูในภาวะลมละลายหรืออาจเขาขายลมละลาย ถาทำการจายเงินปนผล บริษัทยอยของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) สวนใหญมีนโยบายจายเงินปนผลใหแก บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไมนอยกวารอยละ 70 ของกำไรสุทธิของบริษัทยอย ยกเวนบริษัทที่ใหบริการที่เกี่ยวของกับการเดินเรือที่มีขนาดเล็ก บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) (“เมอรเมด”) และบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) (“UMS”) ซึ่งจากการที่เมอรเมดและ UMS เปนบริษัท ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศสิงคโปร และตลาดหลักทรัพย MAI ตามลำดับ คณะกรรมการของเมอรเมดและ UMS จะใชดุลยพินิจ ในการจายเงินปนผลเชนเดียวกับคณะกรรมการบริษัทฯ การจายเงินปนผลของเมอรเมดและ UMS ในอนาคตขึ้นอยูกับปจจัยหลายๆ ประการ รวมถึง ผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน กำไรสะสม ผลประกอบการที่คาดไวในอนาคต ประมาณการคาใชจายฝายทุน และแผนการการลงทุนอื่นๆ รวมทั้งขอจำกัดในการจายเงินปนผลที่อาจเกิดขึ้นจากการจัดหาทุนเงินกูตางๆ เปนตน

194

รายงานประจำป 2553


รายงานวาดวยการกำกับดูแลกิจการ บทนำ หลักการวาดวยการกำกับดูแลกิจการที่ดีเปนสิ่งที่เนนย้ำในการดำเนินธุรกิจของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ทั้งนี้ บริษัทฯ เชื่อวาการกำกับดูแลกิจการที่ดีจะทำใหบริษัทฯ สามารถบรรลุพันธกิจของตนไดสำเร็จ การกำกับดูแลกิจการเปนตัวกำหนดโครงสรางและ กระบวนการของความสัมพันธระหวางผูถือหุนของบริษัทฯ คณะกรรมการและฝายบริหาร โดยมีเปาหมายเพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขัน และคุณคาใหกับผูถือหุนในระยะยาวพรอมกับการคำนึงถึงผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียรายอื่นดวย คณะกรรมการบริษัท (ตอไปนี้จะเรียกวา “คณะกรรมการ” และจะเรียกกรรมการแตละคนวา “กรรมการ”) มีบทบาทสำคัญหลายประการ หนึ่ง ในบทบาทดังกลาวคือการดูแลการกำกับดูแลกิจการ หนาที่ในการบริหารกิจการถูกมอบหมายใหแกกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่ บริหารและทีมบริหาร ซึ่งจะปฏิบัติตามนโยบายดานการกำกับดูแลกิจการตางๆ ที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ นโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ เปนไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกำหนด ทั้งนี้ บริษัทฯ ได ติดตามกฎระเบียบใหมๆ ที่ประกาศใชและปรับแนวปฏิบัติของบริษัทฯ ใหเขากับกฎระเบียบดังกลาว การกำกับดูแลกิจการที่ดีจำเปนตองไดรับการ สนับสนุนอยางดีจากคณะกรรมการและฝายบริหารเพื่อใหเกิดการปฏิบตั ิและตัวอยางที่เหมาะสมทั่วทั้งบริษัทฯ

1. นโยบายดานการกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการมีความรับผิดชอบตอผูถือหุนทุกคน และพยายามศึกษาทำความเขาใจความตองการของผูถือหุน ตลอดจนพิจารณาประเด็นทาง ดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และจริยธรรมที่อาจมีผลกระทบตอผลประโยชนของผูถือหุนอยางมีระบบ กรรมการแตละคนเปนผูมีความซื่อสัตย สุจริต ทุมเท และมีความเปนอิสระในเชิงความคิดและการตัดสินใจในระดับสูง อีกทั้งยังคำนึงถึงผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียอื่นๆ อีกดวย นโยบายการกำกับดูแลกิจการนี้ตระหนักถึงบทบาทพิเศษของคณะกรรมการ ในการเปนตัวเชื่อมในหวงโซอำนาจระหวางผูถือหุนและกรรมการ ผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารและทีมบริหาร นอกจากนี้ นโยบายยังมีเนื้อหาครอบคลุมอยางชัดเจนถึงบทบาทควบคูของกรรมการ ผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร ทั้งในฐานะที่เปนกรรมการและผูบริหารระดับอาวุโสของบริษัทฯ วัตถุประสงคอันสำคัญยิ่ง ของนโยบายการกำกับดูแลกิจการก็เพื่อใหธุรกิจของบริษัทฯ มีความโปรงใส มีจริยธรรม และเปนไปตามกฎหมาย ที่ใชบังคับทั้งหมด บริษัทฯ จัดการอบรมเรื่องการกำกับดูแลกิจการใหกับพนักงานทุกคน เพื่อใหมั่นใจวาทุกคนเขาใจแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง และมีการนำ การอบรมนี้เขาเปนสวนหนึ่งในการปฐมนิเทศพนักงานใหม บริษัทฯ มีแผนที่จะขยายการอบรมนี้ใหครอบคลุมไปยังบริษัทยอยทั้งหมดของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่ในการจัดทำแผนการดำเนินการและการตรวจสอบ เพื่อใหมั่นใจวาองคกรปฏิบัติตามนโยบายทั้งหมด ติดตามผล ทบทวนและปรับเปลี่ยนนโยบายการกำกับดูแลกิจการอยางสม่ำเสมอเพื่อใหนโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ทันสมัยและเหมาะสม กับสถานการณปจจุบัน โดยในปที่ผานมา แผนกตรวจสอบภายในไดดำเนินการเพื่อใหเปนไปตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการ ภายใตการกำหนด ทิศทางของคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ ความรับผิดชอบในการดูแลการปฏิบัติตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการโดยรวมเปนของประธาน กรรมการ นโยบายดานการกำกับดูแลกิจการกำหนดใหประธานกรรมการมีหนาที่รับผิดชอบดำเนินการใหความสัมพันธระหวางคณะกรรมการและฝายบริหาร เปนไปอยางซื่อสัตยสุจริตและมีประสิทธิภาพในระหวางการประชุมกรรมการนัดตางๆ ซึ่งหมายถึงประธานกรรมการจำเปนตองมีปฏิสัมพันธกับ กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารระหวางการประชุมคณะกรรมการ และตองติดตอกับกรรมการคนอื่นตลอดจนผูถือหุน นโยบายดานการกำกับดูแลกิจการมีแนวทางครอบคลุมเนื้อหาในหัวขอตอไปนี้ 1. สิทธิและการปฏิบัติอยางเทาเทียมกันตอผูถือหุนและการประชุมผูถือหุน 2. นโยบายดานผลประโยชนของผูมีสวนไดเสีย 3. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 4. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอย 5. จริยธรรมทางธุรกิจและจรรยาบรรณ

รายงานประจำป 2553

195


2. ผูถือหุน : สิทธิและการปฏิบัติอยางเทาเทียมกัน (ก) สิทธิทั่วไปและความเทาเทียมกัน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) มีความรับผิดชอบตอผูถือหุนทั้งในแงการเปดเผยขอมูล วิธีทำบัญชี การใชขอมูลภายใน และผล ประโยชนที่ขัดแยง ผูบริหารจะตองมีจริยธรรมและการตัดสินใจใดๆ จะตองทำดวยความซื่อสัตย ยุติธรรม และเพื่อผลประโยชนโดยรวมของผูถือหุน บริษัทฯ ตระหนักถึงหนาที่ในการปฏิบัติตอผูถือหุนทุกคนอยางเทาเทียมกัน บริษัทฯ มีหนาที่ปกปองผลประโยชนและสิทธิของผูถือหุน ซึ่งรวมถึงสิทธิ ในการไดรับเงินปนผลและรับทราบขอมูลที่เกี่ยวของและเพียงพอจากบริษัทฯ ในเวลาอันสมควรอยางสม่ำเสมอ บริษัทฯ ยังมีหนาที่เผยแพร ขอมูลอยางโปรงใสและแสดงความรับผิดชอบของฝายบริหารผานการจัดประชุมผูถือหุน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีธรรมเนียมปฏิบัติที่จะอำนวย ความสะดวกใหกับผูถือหุนอยางเต็มที่ในการประชุมผูถือหุนแตละครั้ง นโยบายของบริษัทฯ กำหนดวา กอนการประชุมผูถือหุนใดก็ตาม ผูถือหุนแตละรายจะไดรับขอมูลที่ครบถวนและเพียงพอเกี่ยวกับวาระการประชุม ที่มีการนำเสนอซึ่งจะแนบไปพรอมกับหนังสือบอกกลาวการประชุม โดยหนังสือบอกกลาวการประชุมดังกลาวจะสงไปใหกับผูถือหุนอยางนอย 14 วันกอนวันประชุม ระหวางการประชุม ผูถือหุนมีสิทธิถามคำถาม แสดงความคิดเห็น ใหคำแนะนำหรือขอเสนอแนะ และลงคะแนนเสียง นอกจากนี้ ผูถือหุนยังสามารถ ขอขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีที่สำคัญ โดยบริษัทฯ สนับสนุนการเปดเผยขอมูลและธุรกรรมทางธุรกิจ เพื่อใหผูถือหุนมีความเขาใจ ในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อยางชัดเจน ผูถือหุนรายใหญและผูถือหุนรายยอยตางไดรับขอมูลเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจ นโยบายดานบริหาร จัดการและรายงานการเงินอยางเทาเทียม อีกทั้งยังมีสิทธิไดรับการปฏิบัติอยางยุตธิ รรมในการจัดสรรเงินปนผลและเงินกำไรอีกดวย ผูถือหุนจะไดรับแบบฟอรมหนังสือมอบฉันทะ เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนแตงตั้งตัวแทนหรือเลือกกรรมการอิสระคนใดคนหนึ่งเปนผูรับมอบอำนาจ ในการเขารวมประชุมและออกเสียงลงมติในที่ประชุมแทนตน เพื่อเพิ่มชองทางการสื่อสารและการมีสวนรวมของผูถือหุน บริษัทฯ ไดกำหนดนโยบายใหผูถือหุนมีโอกาสในการเสนอวาระการประชุมผูถือหุนกอน การประชุมผูถือหุน โดยผูถือหุนสามารถสงคำถามมายังบริษัทฯ และเสนอวาระการประชุมผูถือหุนตอคณะกรรมการเพื่อพิจารณาผานทางเว็บไซต ของบริษัทฯ กอนการประชุมผูถือหุนครั้งใดๆ โดยบริษัทฯ พยายามตอบทุกคำถามของผูถอื หุน นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดจัดทำแนวปฏิบัติเพื่อเปด โอกาสใหผูถือหุนเสนอชื่อกรรมการผานทางเว็บไซตของบริษัทฯ เรียบรอยแลว

(ข) การประชุมผูถือหุน นโยบายของบริษัทฯ คือจะจัดประชุมผูถือหุนตามที่กฎหมายกำหนด และเปดโอกาสใหผูถือหุนใชสิทธิของตนอยางเต็มที่โดยไดรับขอมูลอยางดี กอนหนาที่จะใชสิทธิดังกลาว บริษัทฯ จะจัดการประชุมสามัญผูถือหุนประจำปภายใน 4 เดือนนับจากวันสิ้นสุดปงบการเงินของบริษัทฯ โดยเปนไป ตามกฎหมายที่ใชบังคับและขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย นับตั้งแตการเรียกประชุม การแจงวาระการประชุม การสงเอกสาร การประชุม การดำเนินการประชุม ไปจนถึงการนำสงรายงานการประชุม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดตีพิมพหนังสือบอกกลาวการประชุมในหนังสือพิมพรายวันฉบับภาษาไทยอยางนอย 1 ฉบับ และหนังสือพิมพรายวันฉบับ ภาษาอังกฤษอยางนอย 1 ฉบับ เปนเวลาติดตอกันอยางนอย 3 วันกอนการประชุมสามัญผูถือหุนประจำปแตละครั้ง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได เผยแพรหนังสือบอกกลาวการประชุมในเว็บไซตของบริษัทฯ อีกดวย บริษัทฯ มีนโยบายที่จะสงเสริมใหใชการสื่อสารทางอีเล็คโทรนิคในการรายงาน ดังนั้น เอกสารเกี่ยวกับการประชุมทั้งหมดไดถูกนำมาลงไวในเว็บไซตของบริษัทฯ ที่ http://www.thoresen.com รายละเอียดกระบวนการประชุมผูถือหุนแตละครั้ง มีดังนี้ (ข.1) วิธีการกอนการประชุม การประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2553 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2553 บริษัทฯ กำหนดวันปดสมุดทะเบียนรายชื่อผูถือหุนเพื่อเปนการ ใหเวลาในการพิจารณาหนังสือบอกกลาวการประชุม หรือ การขอขอมูลเพิ่มเติมกอนการประชุม โดยบริษัทฯ ไดสงหนังสือบอกกลาวการประชุม สามัญผูถือหุนประจำป 2553 นี้ใหกับผูถือหุนและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2553 ซึ่งเปนไปตามนโยบาย ของบริษัทฯ ที่กำหนดวาจะตองสงหนังสือบอกกลาวการประชุมลวงหนาอยางนอย 14 วันกอนการประชุมแตละครั้ง นอกจากนี้ หนังสือบอก กลาวการประชุมดังกลาวไดถูกนำมาลงไวในเว็บไซตของบริษัทฯ 30 วันลวงหนากอนการประชุม เพื่อใหผูถือหุนมีเวลาเพียงพอในการศึกษา ขอมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ ทั้งนี้ความเห็นของคณะกรรมการจะมีอยูในแตละวาระของการประชุม กอนการประชุมผูถือหุนครั้งใด ผูถือหุนจะไดรับรายละเอียดการประชุม เชน เวลา และสถานที่จัดการประชุม วาระการประชุม แบบฟอรมหนังสือ มอบฉันทะ และรายการเอกสารที่ตองใชในการเขารวมประชุม เพื่อชวยผูถือหุนในการใชสิทธิและลงคะแนนเสียงในแตละวาระการประชุม

196

รายงานประจำป 2553


ขอมูลที่สงใหกับผูถือหุน รวมถึง 1. รายละเอียดที่เปนขอเท็จจริง เหตุผล และความเห็นของคณะกรรมการในแตละวาระการประชุม 2. ขอมูล เชน รายชื่อและประวัติของผูไดรับการเสนอชื่อเพื่อแตงตั้งใหเปนกรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระในปดังกลาว ตลอดจน รายละเอียดคาตอบแทนของกรรมการและสมาชิกในคณะกรรมการชุดยอย 3. รายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการประชุมและการแตงตั้งผูรับมอบฉันทะ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดแนะนำใหผูถือหุนแตงตั้งกรรมการอิสระเปน ผูรับมอบฉันทะของตนดวย (ข.2) ณ ที่ประชุมผูถือหุน บริษัทฯ ไดอำนวยความสะดวกในการลงทะเบียนผูถือหุนโดยการจัดชองลงทะเบียนแยกระหวางผูถือหุนและผูรับมอบฉันทะ และไดนำระบบ บารโคดมาใชในการลงทะเบียนสำหรับผูเขารวมประชุม และใชในการนับคะแนน พรอมกันนี้บริษัทฯ ไดเตรียมดวงตราไปรษณียไวเพื่อใหผูถือหุน สงหนังสือมอบฉันทะมาทางไปรษณียอีกดวย นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดมีการนำระบบการลงคะแนนเสียงแบบอิเลคทรอนิกส (e-voting) ของบริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพยแหงประเทศไทย จำกัด มาใชในการลงทะเบียนผูถือหุนและการนับคะแนนเสียงเพื่อเปนการเพิ่มประสิทธิภาพและ ความโปรงใส สำหรับผูถือหุนที่ไมสามารถมาเขารวมประชุมดวยตนเอง ทางบริษัทฯ ไดมีการดาวนโหลดบันทึกการประชุมผูถือหุนลงในเว็บไซตของบริษัทฯ เพื่อใหผถู ือหุนดูการประชุมยอนหลังได (ข.3) ระหวางการประชุม ประธานกรรมการทำหนาที่เปนประธานการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2553 ซึ่งมีกรรมการเขารวมประชุม 9 คน จากกรรมการทั้งหมด 10 คน ซึ่งรวมทั้งประธานกรรมการชุดยอยตางๆ เขารวมประชุม ประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารทำหนาที่ตอบ ขอซักถามของผูถือหุน โดยกอนการประชุมจะเริ่มขึ้นอยางเปนทางการ ประธานกรรมการไดอธิบายถึงวิธีลงคะแนนเสียง และมีการประกาศผล การลงคะแนนเสียงเมื่อจบแตละวาระการประชุม เพื่ออำนวยความสะดวกใหกับผูถือหุนและเพื่อใหเกิดความชัดเจน มีการใชสื่อมัลติมีเดียในการนำเสนอระหวางการประชุมทั้งหมด บริษัทฯ จัดการ ประชุมตามวาระที่ไดกำหนดและเปดโอกาสใหผูถอื หุนทุกคนไดลงคะแนนเสียงของตนอยางเทาเทียมกัน ประธานกรรมการใหโอกาสแกผูถือหุน อยางเพียงพอในการตั้งคำถาม และใหคำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินการของบริษัทฯ ตลอดจนรายงานการเงิน โดยไมริดรอนสิทธิของผูถือหุน ประธานกรรมการหรือกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารใหความกระจางระหวางการประชุมและยังไดพบปะกับผูถือหุนอยางไม เปนทางการ หลังจากนั้น คะแนนเสียงทั้งหมดในที่ประชุมผูถือหุนไมวาที่ออกโดยผูถือหุนเองหรือโดยผูรับมอบฉันทะไดรับการนับอยางเปนทางการ บริษัทฯ ไดรับผลคะแนนขั้นดีเลิศ (ชวงคะแนนระหวาง 90-99) สำหรับคุณภาพของการจัดงานการประชุมสามัญผูถือหุนประจำปมาตั้งแตป 2550 ถึงปปจจุบัน โดยผลการประเมินมาจากแบบประเมินของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย รวมกับสมาคมบริษัท จดทะเบียนไทย และสมาคมสงเสริมผูลงทุนไทย (ข.4) วิธีการหลังการประชุม บริษัทฯ จัดเตรียมและนำสงรายงานการประชุมผูถือหุนแตละครั้งใหกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยภายในระยะเวลาที่กำหนด คือ ภายใน 14 วันหลังการประชุม รายงานการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2553 ไดรับการบันทึกและนำสงใหกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 หรือ 14 วันหลังจากวันประชุม นอกจากนี้ ยังมีการเผยแพรรายงานการประชุมในเว็บไซตของบริษัทฯ ที่ http://www.thoresen.com

3. นโยบายวาดวยสิทธิของผูมีสวนไดเสีย บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญของกลุมผูมีสวนไดเสียทุกกลุม และบริษัทฯ ตระหนักดีวา การสนับสนุนของกลุมผูมีสวนไดเสียจะชวยสรางความยั่งยืนใหกับความไดเปรียบในการแขงขัน และความสามารถในการทำกำไรของบริษัทฯ บริษัทฯ จึงคำนึงถึงผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ทั้งผูมีสวนไดเสียภายในองคกร กลาวคือ ผูถือหุน พนักงานและฝายบริหาร และ ผูมีสวนไดเสียภายนอกองคกร เชน เจาหนี้ คูคา ลูกคา ชุมชน หนวยงานราชการ และองคกรที่เกี่ยวของอื่นๆ และมีนโยบายเพื่อปกปองสิทธิ ของบุคคลดังกลาวดวยการปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับตางๆ ที่ใชบังคับอยางเครงครัด ตลอดจนกำหนดใหมีระบบการควบคุมภายในที่ เหมาะสมและตรวจสอบการปฏิบัติตามดวย นอกจากนี้ เพื่อใหผูมีสวนไดเสียทุกกลุมไดรับการปฏิบัติจากบริษัทฯ อยางเทาเทียมกัน และเพื่อเปดโอกาสใหผูมีสวนไดเสียไดมีสวนรวมในการ สรางเสริมผลการดำเนินงานของบริษัทฯ บริษัทฯ จึงไดจัดใหมีการเปดเผยขอมูลสำคัญที่เกี่ยวของทั้งหมดแกผูมีสวนเกี่ยวของอยางเปนธรรม โปรงใส และทันตอเวลา โดยบริษัทฯ ใชนโยบายเกี่ยวกับการรับแจงประเด็นขอสงสัยตางๆ ที่ผูมีสวนไดเสียตองการซักถามบริษัทฯ โดยผูมีสวน ไดเสียสามารถแจงขอซักถามมายังคณะกรรมการตรวจสอบผานทางเว็บไซตของบริษัทฯ ซึ่งประเด็นขอซักถามดังกลาวจะถูกนำมาหารือ และ รายงานประจำป 2553

197


ประเด็นที่มีความสำคัญจะถูกรายงานตอคณะกรรมการบริษัทฯ โดยที่คณะกรรมการบริษัทฯ อาจมีคำสั่งใหทำการสืบสวนประเด็นเหลานี้ เพิ่มเติมตอไป

(ก) ผูถือหุน บริษัทฯ มุงที่จะดำเนินการเพื่อใหเกิดผลประโยชนในระยะยาวสูงสุดแกผูถือหุนดวยการจัดการเพื่อสรางความเติบโต และความสามารถในการทำ กำไรของธุรกิจอยางยั่งยืน รวมทั้งรักษาความไดเปรียบในการแขงขันโดยคำนึงถึงความเสี่ยงทางธุรกิจในปจจุบันและอนาคตอยางรอบคอบ บริษัทฯ เนนการดำเนินการเพื่อสรางผลกำไรอยางสม่ำเสมอผานการพัฒนาธุรกิจอยางตอเนื่อง การบริหารจัดการอยางมีคุณภาพ การควบคุม ภายในที่มีประสิทธิภาพ ระบบตรวจสอบ และการบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ เปดเผยขอมูลทั้งหมดอยางยุติธรรมและโปรงใสในเวลาอันสมควร และพยายามอยางดีที่สุดที่จะปกปองทรัพยสิน และชื่อเสียงของบริษัทฯ

(ข) พนักงาน บริษัทฯ ถือวาพนักงานเปนสินทรัพยที่สำคัญของบริษัทฯ จึงไดวาจางพนักงานที่มีความสามารถและประสบการณอยางตอเนื่องตามแผนกลยุทธ และแผนปฏิบัติการของบริษัทฯ และดูแลใหพนักงานเหลานั้นยังคงอยูกับบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดจัดการฝกอบรมที่จำเปนเพื่อเพิ่มพูน ความสามารถของพนักงานอยางตอเนื่อง มีการสงเสริมวัฒนธรรมและบรรยากาศที่ดีในสถานประกอบการ ตลอดจนปฏิบัติตอพนักงานทุกคน อยางเทาเทียมและยุติธรรม บริษัทฯ ไดจัดสวัสดิการใหกับพนักงาน รวมทั้งสิทธิประโยชนตางๆ เชน ประกันชีวิต ประกันสุขภาพ ประกันทันตกรรม และกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังสนับสนุนใหพนักงานไดมีโอกาสเรียนรูและเพิ่มเติมทักษะใหมๆ ผานการฝกอบรมที่จัดโดย บุคคลภายนอก ตลอดจนใหทุนการศึกษาแกพนักงานเพื่อใหพนักงานไดศึกษาตอในระดับมหาวิทยาลัยอีกดวย บริษัทฯ ไดกอตั้งชมรมโทรีเซนคลับ (Thoresen Club) ขึ้นมาเพื่อจัดกิจกรรมตางๆ ใหกับพนักงาน เชน งานกีฬาสี งานทองเที่ยวนอกสถานที่ และงานปใหม เพื่อใหพนักงานไดผอน คลายจากการทำงานและไดใชเวลาอยูรวมกัน ในป 2552 บริษัทฯ ไดจัดใหมีโครงการ TTA Happy Everyday ซึ่งในโครงการนี้จะมีกิจกรรมที่ หลากหลาย ไดแก การนั่งวิปสนากรรมฐาน การเลนโยคะ และการนวดเพื่อผอนคลาย เพื่อใหกบั พนักงานทุกคนไดรวมทำหลังเวลาเลิกงาน ในป 2553 บริษัทฯ จัดโครงการใหพนักงานเขารวมหลังเวลาเลิกงานหลากหลายมากขึ้น เชน การเรียนแตงหนา การเรียนเทคนิคการถายรูป บริษัทฯ ยังคงสนับสนุนใหพนักงานเขารวมกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคม เชน กิจกรรมปลูกปาชายเลน การบริจาคใหกับเหตุการณแผนดินไหว ที่ประเทศเฮติ และบริจาคใหกับผูประสบภัยน้ำทวมในประเทศไทย

(ค) ฝายบริหาร บริษัทฯ ตระหนักดีวาฝายบริหารเปนปจจัยสูความสำเร็จที่สำคัญประการหนึ่งในการดำเนินธุรกิจ ดวยเหตุนี้ จึงไดมีการจัดทำโครงสรางคาตอบแทน ของผูบริหารอยางเหมาะสม ในระดับที่เปรียบเทียบไดกับผูอื่นในธุรกิจเรือเดินทะเลและบริษัทจดทะเบียนอื่นในประเทศไทย ในป 2553 บริษัทฯ ไดมีการทบทวนนโยบายการจายคาตอบแทนสำหรับผูบริหารระดับสูงเพื่อใหสอดคลองกับทิศทางกลยุทธใหมของ บริษัทฯ ซึ่งในเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 บริษัทฯ นำเอาโครงการรวมลงทุนระหวางนายจางและลูกจาง (Employee Joint Investment program หรือ EJIP) มาใชเปนเครื่องมือ ในการรักษาผูบริหารที่สำคัญโดยดูจากผลงาน นอกจากนี้ ฝายบริหารยังมีอิสระในการทำงานในหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการ โดยปราศจากการแทรกแซงอีกดวย

(ง) คูสัญญา บริษัทฯ ดำเนินธุรกิจกับลูกคา หุนสวน คูแขง เจาหนี้ และคูคา ตามขอกำหนดและเงื่อนไขการซื้อขายที่ไดทำเปนสัญญาอยางยุติธรรมและ มีจริยธรรม บริษัทฯ มีนโยบายหลีกเลี่ยงการกระทำใดก็ตามที่อาจสงผลใหเกิดความไมซื่อสัตยสุจริต หรือที่อาจละเมิดสิทธิของคูสัญญาของ บริษัทฯ ตามที่กฎหมายกำหนดหรือที่ไดตกลงรวมกัน สำหรับคูคาและเจาหนี้ของบริษัทฯ บริษัทฯ ไดดำเนินการพัฒนาระบบการรวมฐานขอมูล (centralised approach) ใหดียิ่งขึ้นเพื่อใหบริษัทฯ ได ดำเนินธุรกิจไดอยางมีประสิทธิภาพและยุติธรรม บริษัทฯ ไดปฏิบัติตอบุคคลเหลานี้ดวยความยุติธรรมและเทาเทียมกันเพื่อรักษาผลประโยชนของ บริษัทฯ และเพื่อใหคูคาและเจาหนี้จะไดรับผลตอบแทนที่ยุติธรรม บริษัทฯ จะหลีกเลี่ยงสถานการณที่จะนำไปสูความขัดแยงทาง ผลประโยชน และจะปฏิบัติตามพันธสัญญาใดๆ ที่บริษัทฯ ไดใหไว สำหรับคูแขง บริษัทฯ ไดปฏิบัติกับคูแขงอยางยุติธรรมและถูกตองตามกฎหมายเปนไปตามหลักสากลโดยจะไมมีการลวงละเมิดความลับของคูแขง หรือไดมาซึ่งขอมูลที่เปนความลับในทางที่ฉอโกง สำหรับเจาหนี้เงินกูยืม บริษัทฯ ไดปฏิบัติกับเจาหนี้เงินกูยืมอยางตรงไปตรงมาโดยบริษัทฯ ไมมีการปกปดขอมูลอันจะกอใหเกิดความเสียหายกับ เจาหนี้เงินกูยืม ถาหากบริษัทฯ ไมสามารถบรรลุขอตกลงขอใดขอหนึ่งหรือมากกวา รวมกันแลว บริษัทฯ จะแจงเจาหนี้เงินกูยืมรับทราบเพื่อหา ขอสรุปที่สามารถตกลงรวมกัน

198

รายงานประจำป 2553


(จ) ลูกคา บริษัทฯ ตระหนักดีวาลูกคามีความสำคัญอยางยิ่งยวดตอความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ จึงมุงที่จะสรางความพอใจใหแก ลูกคาดวยการใหบริการที่มีคุณภาพสูง ซึ่งตอบสนองความตองการและความคาดหวังของลูกคาอยางยุติธรรมและอยางมืออาชีพ ดวยความ ตระหนักถึงความสำคัญของลูกคา บริษัทฯ จึงทุมเททั้งฝมือและประสบการณ และใหความเอาใจใสแกลูกคาเปนอยางดี ปกปองความลับของ ลูกคา และสรางความไววางใจใหกับลูกคา ขอมูลที่เปนความลับของลูกคาจะไดรับการเก็บรักษาเปนอยางดี การเปดเผยขอมูลดังกลาวจะกระทำ ตอเมื่อเปนไปตามขอบังคับตามกฎหมายหรือไดรับความยินยอมจากผูที่เกี่ยวของกอนเทานั้น

(ฉ) ความรับผิดชอบตอชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม บริษัทฯ มุงที่จะปฏิบัติตอสังคมและสิ่งแวดลอมดวยมาตรฐานที่สูงอยางตอเนื่อง บริษัทฯ ยึดมั่นในการรักษามาตรฐานดานความปลอดภัยและการ ควบคุมมลภาวะในการดำเนินธุรกิจ บริษัทฯ ใหความใสใจ กับประเด็นตางๆ ที่กระทบตอประโยชนของประชาชนสวนรวม และเขารวมในกิจกรรมที่ เปนประโยชนตอชุมชนและสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังใหการสนับสนุนกิจกรรมการกุศล ตลอดจนสนับสนุนใหพนักงานมี ความหวงใยตอสิ่งแวดลอม รายละเอียดเกี่ยวกับการรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทฯ ดูไดในรายงานประจำป หนา 85 ถึงหนา 89

4. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดกำหนดนโยบายที่จะเปดเผยขอมูลทางการเงินของบริษัทฯ ขอมูลที่เปนสาระสำคัญ ตลอดจน ขอมูลอื่นๆ ที่อาจสงผลกระทบตอสวนไดเสียของผูถือหุนหรือการตัดสินใจที่จะลงทุนหรือราคาหุนและหลักทรัพยใดที่บริษัทฯ ออกอยางถูกตอง แมนยำ เพียงพอและครบถวน ขอมูลนี้จะเผยแพรในเวลาอันเหมาะสมดวยวิธีที่โปรงใสผานชองทางที่เปนธรรมและเชื่อถือได โดยมีเปาหมาย หลักคือเพื่อใหการตัดสินใจลงทุนในหลักทรัพยของบริษัทฯ เปนไปบนพื้นฐานของการไดรับขอมูลที่ถูกตองเพียงพอ ผูที่ไดรับมอบหมายใหเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ คือ ประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร ผูชวยกรรมการ ผูจัดการใหญกลุมบัญชีและการเงิน และผูจัดการฝายนักลงทุนสัมพันธ ผูทำหนาที่เปดเผยขอมูลเหลานี้ไดประชุมและใหขอมูลแกผูสนใจในหลาย โอกาส ดังนี้ 1. การประชุมตัวตอตัวกับผูถือหุน เจาหนี้และนักวิเคราะห (มากกวา 90 ครั้งในป 2553) 2. การประชุมรายไตรมาสกับนักวิเคราะหเพื่อพูดคุยถึงผลการดำเนินงานทางการเงินครั้งลาสุดของบริษัทฯ (4 ครั้งในป 2553) 3. การประชุมนักลงทุน (12 ครั้ง ในป 2553) 4. โรดโชว (5 ครั้ง ในป 2553) นอกจากโอกาสขางตนแลว บริษัทฯ ไดใชชองทางการสื่อสารอีกหลายชองทางซึ่งรวมถึงรายงานประจำป รายงานการเงินประจำป เว็บไซตของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป บริษัทฯ สงเสริมการใชเว็บไซตของบริษัทฯ ใหเปนอีกชองทางหนึ่งใน การสื่อสารเพื่อเปดเผยขอมูลของบริษัทฯ นอกจากนี้ บนเว็บไซตของบริษัทฯ ยังมีขาวที่บริษัทฯ นำสงตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย การนำเสนอ ขอมูลตางๆ รวมทั้งบทสัมภาษณทางโทรทัศน และบทสัมภาษณในนิตยสารอีกดวย ทานใดที่ตองการติดตอฝายนักลงทุนสัมพันธสามารถติดตอไดที่เบอรโทรศัพท 0-2250-0569 ตอ 363 หรืออีเมล charmaine_u@thoresen.com นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการพัฒนาเครื่องมือใหกับผูมีสวนไดเสียเขามามีสวนรวมกับธุรกิจของบริษัทฯ โดยการทำใหขอมูลตางๆ ของบริษัทฯ เขาถึงได และ โปรงใส บริษัทฯ มีชองทางหลากหลายเพื่อใหขอเสนอแนะ หรือรองเรียนเรื่องพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม และไมมีคุณธรรมในดาน การเงิน หรือ การควบคุมภายใน โดยสามารถยื่นขอรองเรียน หรือ ขอซักถามไดทางเว็บไซตของบริษัทฯ ภายใตหัวขอ “การกำกับดูแลกิจการ”

5. คณะกรรมการ (ก) โครงสรางคณะกรรมการ จำนวนของคณะกรรมการเปนไปตามที่ระบุไวในขอบังคับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ซึ่งกำหนดวาคณะกรรมการจะตอง ประกอบดวยกรรมการไมนอยกวา 5 คน ณ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 คณะกรรมการประกอบดวยกรรมการจำนวน 10 คน และกรรมการสวนใหญ (จำนวน 8 คนจากทั้งหมด 10 คน) เปนกรรมการอิสระ คณะกรรมการที่มาจากฝายบริหารของบริษัทฯ จะมีจำนวนไมเกิน 1 ใน 3 ของจำนวน คณะกรรมการทั้งหมด กรรมการทุกคนมีหนาที่และความรับผิดชอบหลายประการ ซึ่งรวมถึงเรื่องตอไปนี้ 1. การเขาถึงขอมูลการเงินและขอมูลธุรกิจอื่นอยางเพียงพอ เพื่อทำงานของตนอยางมีประสิทธิภาพ 2. กรรมการควรเขาประชุมคณะกรรมการทุกครั้ง รวมทั้งการประชุมคณะกรรมการชุดยอย และควรตั้งคำถามที่สำคัญ เพื่อปกปองและรักษาสิทธิ และผลประโยชนของผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียของบริษัทฯ ตลอดจนกำกับดูแลใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติที่ดี 3. กรรมการควรมีความสามารถและยินดีที่จะเรียนรูธุรกิจของบริษัทฯ ตลอดจนสามารถแสดงความคิดเห็นของตนอยางอิสระ โดยจะตองสละ เวลาและใหความใสใจอยางเพียงพอใหกับเรื่องที่มีความสำคัญทุกเรื่อง รายงานประจำป 2553

199


4. กรรมการควรจัดประชุมโดยไมมีกรรมการที่เปนผูบริหารรวมประชุมอยูดวยอยางสม่ำเสมอและพยายามทุกวิถีทางเพื่อหาโอกาสที่จะพูดคุย ประเด็นธุรกิจกับฝายบริหาร 5. กรรมการอิสระควรสงหนังสือยืนยันใหกับบริษัทฯ เพื่อรับรองความเปนอิสระของตนตามคำจำกัดความของบริษัทฯ ในวันที่กรรมการอิสระ ยอมรับการแตงตั้งใหดำรงตำแหนง และทุกๆ ปหลังจากนั้นหากไดมีการกำหนดไว 6. โดยหลักแลว กรรมการที่ไมเปนผูบริหารไมควรดำรงตำแหนงเกินกวาเวลาที่กำหนด อยางไรก็ดี ระยะเวลาในการดำรงตำแหนงอาจขึ้นอยู กับปจจัยอื่นดวย ซึ่งรวมไปถึงการที่บริษัทฯ ไมสามารถสรรหาผูที่เหมาะสมใหเขามาดำรงตำแหนงแทนได รวมทั้งประโยชนที่ไดรับจาก ประสบการณและสัมพันธภาพในการทำงานในคณะกรรมการที่บุคคลนั้นๆ ไดสั่งสมมาเปนระยะเวลาหลายป ตลอดจนความเขาใจในธุรกิจ ของบริษัทฯ ทั้งนี้ แมวาบริษัทฯ จะยังมิไดกำหนดระยะเวลาในการดำรงตำแหนงของกรรมการอยางเปนทางการ แตบริษัทฯ ก็มีนโยบาย ในเรื่องดังกลาวซึ่งกำหนดวาโดยทั่วไปกรรมการที่ไมเปนผูบริหารไมควรดำรงตำแหนงเกิน 10 ปหรือ 4 วาระไมวาจะตอเนื่องหรือไมเวนแต จะมีเหตุผลอันสมควรในการดำรงตำแหนงตอไปของกรรมการเหลานั้น ซึ่งควรจะพิจารณาจากความรับผิดชอบของกรรมการดังกลาว ตลอดจน การมีสวนทำประโยชนของบุคคลดังกลาวตอบริษัทฯ ทั้งในอดีต ปจจุบัน และอนาคต นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดจำกัดจำนวนบริษัทที่กรรมการสามารถดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทอื่น เพื่อใหกรรมการสามารถอุทิศตนใหกับธุรกิจ ของบริษัทฯ อยางเพียงพอ (ก.1) กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหารคือกรรมการที่ทำหนาที่ในการบริหารจัดการเต็มเวลา และไดรับคาตอบแทนเปนประจำทุกเดือนจากบริษัทฯ ในรูปของ เงินเดือนหรือคาตอบแทนอื่นๆ ที่เทียบเทา (ก.2) กรรมการอิสระ กรรมการอิสระคือกรรมการที่ไมไดบริหารจัดการบริษัทฯ หรือบริษัทยอยของบริษัทฯ มีความอิสระจากคณะผูบริหารและผูถือหุนรายใหญ และ ไมมีธุรกิจกับบริษัทฯ ซึ่งอาจสงผลกระทบในทางลบตอผลประโยชนของบริษัทฯ และ/หรือผลประโยชน ของผูถือหุน คุณสมบัติประการสำคัญของกรรมการอิสระ รวมถึง 1. กรรมการอิสระจะตองไมถือหุนมากกวารอยละ 1 ของหุนที่ออกโดยบริษัทฯ หรือบริษัทยอย บริษัทรวม หรือบริษัทที่เกี่ยวของ ในกรณีที่ เปนกรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบ การถือหุนดังกลาวจะจำกัดไมใหเกินรอยละ 0.5 2. กรรมการอิสระตองไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ผูถือหุนรายใหญ หรือเปนที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือน ประจำ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ หรือบริษัทยอยลำดับเดียวกัน เวนแตจะไดพนจากการ มีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันไดที่รับการแตงตั้ง ทั้งนี้ ลักษณะตองหามดังกลาวไมรวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเปน ขาราชการหรือที่ปรึกษาของสวนราชการซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ 3. กรรมการอิสระจะตองไมมีสวนไดเสียทางการเงินหรือผลประโยชนอื่นๆ ในการบริหารจัดการและธุรกิจทั้งในทางตรงหรือทางออมของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใช วิจารณญาณอยางอิสระของตน รวมทั้งไมเปนหรือเคยเปนผูถือหุนที่มีนัย หรือผูมีอำนาจควบคุมของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ หรือผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองป กอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง 4. กรรมการอิสระจะตองไมมีความสัมพันธกับกรรมการที่เปนผูบริหาร เจาหนาที่บริหาร ผูมีอำนาจควบคุม หรือผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ไมวา จะเปนความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เปน บิดามารดา คูสมรส พี่นองและบุตร รวมทั้งคูสมรส ของบุตร เจาหนาที่บริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย 5. กรรมการอิสระจะตองไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผูถือหุนรายใหญหรือผูถือหุนซึ่งเปน ผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ 6. กรรมการอิสระจะตองไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษทั ยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจ ควบคุมของบริษัทฯ รวมทั้งไมไดเปนหรือเคยเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอำนาจควบคุม หรือหุนสวนของสำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของ บริษัทฯ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู เวนแตจะไดพนจากการมี ลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง 7. กรรมการอิสระจะตองไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งไดรับคาบริการเกินกวาสองลานบาทตอปจากบริษัทฯ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุม ของบริษัทฯ เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง 8. กรรมการอิสระจะตองไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย หรือไมเปนหุน สวนที่มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน หรือที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจำ หรือถือหุนเกินรอยละ 1 ของจำนวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดกับบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกัน และเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของ บริษัทฯ หรือบริษัทยอย 200

รายงานประจำป 2553


9. กรรมการอิสระจะตองไมมีลักษณะอื่นใด ที่ทำใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัทฯ (ก.3) คณะกรรมการ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 คณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการ 10 คน โดยเปนกรรมการที่เปนผูบริหาร 1 คน (รอยละ 10 จาก จำนวนกรรมการทั้งหมด) กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร 1 คน (รอยละ 10 จากจำนวนกรรมการทั้งหมด) ซึ่งถึงแกกรรมในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 และจะมีกรรมการอิสระใหมเขาดำรงตำแหนงกรรมการแทนตำแหนงที่วางลง ในวันประชุมใหญสามัญประจำปผูถือหุนที่จะจัดขึ้นในเดือนมกราคม พ.ศ. 2554 ที่จะถึงนี้ และกรรมการอิสระ 8 คน (รอยละ 80 จากจำนวนกรรมการทั้งหมด) ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 คณะกรรมการประกอบ ไปดวยกรรมการดังตอไปนี้

ตารางที่ 42 : รายนามคณะกรรมการ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ชื่อ 1. ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต (ถึงแกกรรม) 2. นายอัศวิน คงสิริ 3. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต 4. นายสตีเฟน ฟอรดแฮม 5. นางปรารถนา มงคลกุล 6. ดร. พิชิต นิธิวาสิน 7. นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ 8. ดร. ศิริ การเจริญดี 9. นางโจอี้ ฮอรน 10. นายปเตอร สโตคส

ตำแหนง

ประธานกรรมการ/กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร ประธานกรรมการ (ไดรับแตงตั้งเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553) กรรมการอิสระ กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร/กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

(ก.4) การแยกตำแหนง คณะกรรมการแตงตั้งกรรมการที่ไมเปนผูบริหารหนึ่งคนใหเปนประธานกรรมการ ประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการใหญและประธาน เจาหนาที่บริหารจะไมเปนบุคคลคนเดียวกัน ประธานกรรมการทำหนาที่ดูแลการใชนโยบาย และแนวทางการปฏิบัติงานเชิงกลยุทธตามที่ คณะกรรมการและฝายบริหารไดพิจารณาและจัดทำขึ้น ตลอดจนดูแลใหการประชุมคณะกรรมการดำเนินไปจนสำเร็จลุลวง กรรมการทุกคนควรมี สวนรวมในการประชุมและตั้งคำถามสำคัญๆ ระหวางการประชุมแตละครั้ง อำนาจของคณะกรรมการและฝายบริหาร ไดรับการจำกัดความและแยกออกจากกันอยางชัดเจน กรรมการจะประชุมกันเปนครั้งคราวเพื่อให คำแนะนำและสนับสนุนฝายบริหารผานกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร ในขณะเดียวกัน คณะกรรมการจะไมยุงเกี่ยวกับงาน ประจำ หรือกิจกรรมทางธุรกิจภายใตความรับผิดชอบของฝายบริหาร กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารเทานั้นที่ไดรับมอบ อำนาจจากคณะกรรมการใหทำงานเหลานี้ ดังนั้น อำนาจและความรับผิดชอบของกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารจึงสอดรับ กับฝายบริหารอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดมีการระบุขอบเขตหนาที่และอำนาจของฝายบริหารทุกระดับไวอยางเปนลายลักษณ อักษรเพื่อความชัดเจน

(ข) บทบาทและความรับผิดชอบของโครงสรางการจัดการ (ข.1) คณะกรรมการ คณะกรรมการจะตองประพฤติตนตามมาตรฐานพฤติกรรมที่มีจริยธรรมสูงสุด และปฏิบัติตามกฎหมาย กฎและระเบียบทั้งหมด คณะกรรมการ มีหนาที่หลักในการกำกับและกำหนดทิศทางการบริหารจัดการเพื่อประโยชนของบริษัทฯ ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการดำเนินการโดยตรงหรือผาน คณะกรรมการชุดยอยอื่น คณะกรรมการพึงมีหนาที่ดังตอไปนี้ 1. ดูแลการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อประเมินวามีการบริหารจัดการอยางเหมาะสมหรือไม และเพื่อใหการดำเนินกิจกรรมทั้งหมดเปนไปตาม กฎหมายและมาตรฐานดานจริยธรรมที่เกี่ยวของ 2. บริหารการดำเนินงานของบริษัทฯ ใหเปนไปตามขอกำหนดทางกฎหมาย วัตถุประสงคและกฎขอบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติของที่ประชุม ผูถือหุน 3. จัดทำและใหความเห็นชอบ แผนงาน การดำเนินการตางๆ ตลอดจนแผนงานทางการเงินที่สำคัญ 4. ทบทวนและใหความเห็นชอบการเปลี่ยนแปลงสำคัญๆ ในหลักการและแนวปฏิบัติดานการตรวจสอบบัญชีและการบัญชีที่ใชในการจัด ทำงบการเงินของบริษัทฯ

รายงานประจำป 2553

201


5. ประเมินปจจัยความเสี่ยงสำคัญที่เกี่ยวของกับผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และทบทวนมาตรการเพื่อนำมาแกไขและบรรเทาความเสี่ยง ดังกลาว 6. ประเมินผลการทำงานและความสามารถของตน และการปรับปรุงวิธีการทำงานตามความจำเปน 7. ใหความเห็นชอบคาตอบแทนของพนักงาน 8. แตงตั้งคณะกรรมการชุดยอยที่เหมาะสมเพื่อบริหารธุรกิจของบริษัทฯ ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย คณะกรรมการไดมอบหมายอำนาจและความรับผิดชอบใหกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร ซึ่งจะทำงานรวมกับเจาหนาที่ บริหารอื่นๆ ในการบริหารจัดการธุรกิจเพื่อใหสอดคลองกับมาตรฐานของบริษัทฯ และเพื่อใหเปนไปตามแผน คำสั่งหรือทิศทางอยางหนึ่งอยางใด ของคณะกรรมการ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังใหความสำคัญตอระบบควบคุมภายใน และระบบการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมกับกิจการที่บริษัทฯ ดำเนินอยูในปจจุบัน โดยคณะกรรมการจะทำงานรวมกับฝายบริหารอยางใกลชิดในลักษณะที่สอดคลองกับกรอบคานิยมหลัก พันธกิจ และวิสัยทัศน (Core Value, Mission, and Vision (VMV) Framework) ของบริษัทฯ รวมทั้งจรรยาบรรณทางธุรกิจ และนโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ (ข.2) กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร อำนาจและหนาที่ของกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารที่คณะกรรมการเห็นสมควร รวมถึงเรื่องดังตอไปนี้ 1. ดูแลใหการปฏิบัติการของบริษัทฯ เปนไปตามนโยบาย กลยุทธ เปาหมาย งบประมาณ และแผนที่คณะกรรมการใหความเห็นชอบ โดยใหเปน ไปตามขอกำหนดทางกฎหมาย ระเบียบ และประกาศของหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ 2. ติดตามและจัดทำรายงานที่เกี่ยวกับสภาพธุรกิจ และฐานะทางการเงินของบริษัทฯ รวมทั้งการใหคำแนะนำวาดวยทางเลือกและกลยุทธที่ สอดคลองกับนโยบายและสภาพตลาด 3. พิจารณาและการใหความเห็นชอบธุรกรรมทางธุรกิจตามคำสั่งของคณะกรรมการ และภายใตขอบเขตที่คณะกรรมการกำหนด 4. จัดการและดูแลหนวยงานภายในองคกรทั้งหมด ทั้งฝายธุรกิจและฝายสนับสนุน ซึ่งรวมไปถึงฝายการเงิน การบริหารความเสี่ยง การควบคุม ภายใน การปฏิบัติการ การบริหารทรัพยากรมนุษย และธุรการ 5. เปนตัวแทนบริษัทฯ รวมทั้งมีอำนาจในการติดตอประสานงานกับหนวยงานรัฐ และผูมีอำนาจในการควบคุม 6. ดูแลการติดตอสื่อสารกับผูมีสวนไดเสียทุกราย และดำเนินการในดานการสงเสริมชื่อเสียงและภาพลักษณของบริษัทฯ 7. ทำงานที่คณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอยตางๆ มอบหมาย 8. ดูแลใหมีการดำเนินการตามแนวปฏิบัติวาดวยการกำกับดูแลกิจการที่ดี 9. กลั่นกรองเรื่องราวตางๆ กอนนำสงคณะกรรมการ (ข.3) ประธานกรรมการ ประธานกรรมการทำหนาที่ในการดำเนินการเปนประธานในที่ประชุมคณะกรรมการ และในการประชุมผูถือหุน หากประธานกรรมการไมสามารถ เขารวมประชุม คณะกรรมการจะเลือกกรรมการที่เขารวมประชุมหนึ่งคนใหเปนประธานในที่ประชุมนั้น ประธานกรรมการรับผิดชอบดูแลให การประชุมเปนไปตามขอกำหนดของกฎหมายและขอบังคับของบริษัทฯ ที่เกี่ยวกับการประชุม (ถามี) ตลอดจนจัดการใหการประชุมเปนไปตาม วาระแหงการประชุมนั้น

(ค) เลขานุการบริษัทและคณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการสงวนสิทธิในการตัดสินใจนโยบายเชิงกลยุทธเปนของตน คณะกรรมการจะมอบหมายการพิจารณาเรื่องในรายละเอียดใหกับ คณะกรรมการชุดยอยและเจาหนาที่ (ในกรณีที่เปนกระบวนการของตน) หรือกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร (ในกรณีที่ เปนการบริหารจัดการกิจกรรมทางธุรกิจของบริษัทฯ) คณะกรรมการไดแตงตั้งเลขานุการบริษัทและคณะกรรมการชุดยอย 5 คณะ ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) คณะกรรมการ สรรหา (Nomination Committee) และคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน (Remuneration Committee) คณะกรรมการการลงทุน (Investment Committee) และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) รายละเอียดเกี่ยวกับองคประกอบ หนาที่ และความรับ ผิดชอบของคณะกรรมการทั้งหาคณะนี้ปรากฏอยูดานลางนี้ และในเว็บไซตของบริษัทฯ ที่ http://www.thoresen.com ภายใตหัวขอ “การกำกับ ดูแลกิจการ” (ค.1) เลขานุการบริษัท คณะกรรมการแตงตั้งนางสาวมัณฑนี สุรกาญจนกุล ใหเปนเลขานุการบริษัทเพื่อรับผิดชอบเรื่องที่เกี่ยวกับการประชุมคณะกรรมการและผูถือหุน และเพื่อชวยเหลืองานที่เกี่ยวกับแนวปฏิบัติดานการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยหนาที่เลขานุการบริษัทจะรายงานตอประธานกรรมการ และโดยโครงสรางองคกรจะรายงานตอผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมการบัญชีและ การเงิน รายละเอียดหนาที่ของเลขานุการบริษัทอยูในเว็บไซตของบริษัทฯ (http://www.thoresen.com) 202

รายงานประจำป 2553


(ค.2) คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบไปดวยกรรมการตอไปนี้ นางปรารถนา มงคลกุล (ประธานกรรมการตรวจสอบ) ดร. ศิริ การเจริญดี และนายอัศวิน คงสิริ กรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบเปนกรรมการอิสระทั้งสิ้น ในระหวางรอบปบัญชี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 9 ครั้ง โดยกรรมการทุกคนเขารวมการประชุมทุกครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบเปนผูมีความรอบรูและมีประสบการณที่เกี่ยวของกับทางการเงิน ซึ่งจำเปนตอการทำงานในหนาที่ของตน หัวหนาทีม ผูสอบบัญชีภายนอก ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบัญชีและการเงิน ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบริหารความเสี่ยงและการกำกับดูแล และผูจัดการอาวุโสแผนกตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ตางเขารวมการประชุมสำคัญทุกครั้งกอนการเปดเผยรายงานการเงินรายไตรมาสของ บริษัทฯ ในระหวางป คณะกรรมการตรวจสอบจะประชุมรวมกับผูสอบบัญชี ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบริหารความเสี่ยงและการกำกับ ดูแล และผูจัดการอาวุโสแผนกตรวจสอบภายในโดยไมมีฝายบริหารเขารวมดวย คณะกรรมการตรวจสอบไดรับอำนาจอยางเต็มที่จากคณะกรรมการบริษัทฯ ในการปฏิบัติงานในหนาที่ของตน ซึ่งรวมถึงการติดตามการปฏิบัติงาน อยางเปนระบบ และการดำเนินการใหมั่นใจวามาตรฐานในการเปดเผยขอมูลและการจำกัดอำนาจทางดานการเงินของผูบริหารเปนไปตามที่ กฎหมายกำหนด ในแตละปจะมีการกำหนดวาระลวงหนา เพื่อใหคณะกรรมการตรวจสอบสามารถเฝาติดตามการบริหารจัดการความเสี่ยงทางการ เงินที่ระบุในแผนธุรกิจประจำปของบริษัทฯ ประธานกรรมการตรวจสอบจะรายงานกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบตอที่ประชุมคณะกรรมการ ทันทีหลังการประชุมทุกครั้ง ระหวางการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการตรวจสอบจะพิจารณาประเด็นที่เกิดขึ้นรวมกับผูชวย กรรมการผูจัดการใหญกลุมบัญชีและการเงิน ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบริหารความเสี่ยงและการกำกับดูแล และผูจัดการอาวุโสแผนก ตรวจสอบภายใน รวมทั้งผูสอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่หลัก ดังตอไปนี้ 1. สอบทานความถูกตอง ความเพียงพอ และความเชื่อถือได ของกระบวนการรายงานขอมูลทางการเงิน โดยการประสานงานรวมกับผูสอบบัญชี และผูบริหารที่รับผิดชอบในการจัดทำรายงานขอมูลทางการเงินรายไตรมาส และรายป 2. สอบทานความเหมาะสมและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในเพื่อใหมั่นใจในความเพียงพอของระบบ การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน โดยประสานงานรวมกับผูสอบบัญชีและผูตรวจสอบภายใน เพื่อพิจารณาในประเด็นดังตอไปนี้ l สอบทานกิจกรรมการดำเนินงานและการจัดโครงสรางองคกรของหนวยงานตรวจสอบภายในเพื่อใหมั่นใจวาไมมีการจำกัดขอบเขต การปฏิบัติงาน l ประเมินความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน l พิจารณาและอนุมัติการแตงตั้ง ถอดถอน โอนยาย หรือเลิกจางผูจัดการอาวุโสแผนกตรวจสอบภายใน l พิจารณารายงานการตรวจสอบและขอเสนอแนะที่นำเสนอโดยแผนกตรวจสอบภายใน และกำกับดูแลการปฏิบัติตามขอเสนอแนะ l สอบทานความเพียงพอในการบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัทฯ อีกทั้งเพื่อใหมั่นใจวา การบริหารจัดการความเสี่ยงดังกลาวเปนไปตาม แนวปฏิบัติของหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของและสอดคลองกับนโยบายภายในของบริษัทฯ 3. สอบทานการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อใหมั่นใจวา การดำเนินธุรกิจดังกลาวเปนไปตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก และเสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทำหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ รวมถึงพิจารณาคาสอบบัญชีและ ดำเนินกิจกรรมหลักดังตอไปนี้ l สอบทานผลการปฏิบัติงานของผูสอบบัญชี โดยพิจารณาถึงความเชื่อถือได ความเพียงพอของทรัพยากร ขอบเขตการปฏิบัติงาน และ ประสบการณของผูชวยผูสอบบัญชีที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ l สอบทานขอบเขตและแนวทางการตรวจสอบของผูสอบบัญชี เพื่อใหมั่นใจในความเหมาะสมและมิไดมีการจำกัดขอบเขตการตรวจสอบ l ใหคำแนะนำแกคณะกรรมการบริษัทฯ ในการแตงตั้งผูสอบบัญชี l พิจารณารายงานการตรวจสอบและขอเสนอแนะที่เสนอโดยผูสอบบัญชีและกำกับดูแลการปฏิบัติตามขอเสนอแนะดังกลาว 5. สอบทานการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงรายการที่เกี่ยวโยงกัน เพื่อใหมั่นใจวาไมมีความขัดแยงทางผลประโยชนเกิดขึ้น อีกทั้ง พิจารณา รายการระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอย หรือผูมีสวนเกี่ยวของอื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจในประสิทธิภาพของระบบการกำกับดูแล การปฏิบัติ ตามกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ ตลอดจนความสมเหตุสมผลของรายการเพื่อคงไวซึ่งผลประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ 6. จัดทำและเปดเผยรายงานคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบในรายงานประจำปของบริษัทฯ โดยรายงาน คณะกรรมการตรวจสอบดังกลาวตองประกอบไปดวยขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้ l ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวนและความเชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ l ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ l ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของ กับธุรกิจของบริษัทฯ l ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี บริษัทฯ มีนโยบายในการรักษาความเปนอิสระของผูสอบบัญชีโดยจำกัดมิใหผูสอบบัญชี ใหบริการอื่นที่เกี่ยวของกับงานสอบบัญชีและงานบริการดานภาษี นอกจากนี้ ในทุกๆ 5 ป จะมีการพิจารณาแตงตั้งหัวหนาทีมผูสอบบัญชี ใหม รายงานประจำป 2553

203


l

ความเห็นตอรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน l จำนวนการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบและจำนวนการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละคน l ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร l รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและนักลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ ตามความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ 8. สอบทานและปรับปรุงกฎบัตร โดยขออนุมัติแกไขเปลี่ยนแปลงกฎบัตรตอคณะกรรมการบริษัทฯ งานที่คณะกรรมการตรวจสอบไดทำจนสำเร็จลุลวงในป 2553 นี้ รวมถึง 1. คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณารายงานการเงินรายปและรายไตรมาสทั้งหมด กอนแนะนำใหคณะกรรมการตีพิมพรายงานดังกลาว คณะกรรมการตรวจสอบไดอภิปรายและทำการตัดสินใจอยางใชวิจารณญานเต็มที่และสรางสรรคในเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบายการบัญชี และประมาณการสำคัญๆ โดยใชขอมูลจากรายงานที่ไดจัดเตรียม การนำเสนอขอมูล รวมทั้งคำแนะนำอิสระที่ไดจากผูสอบบัญชี 2. คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณารายงานเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน ในฝายปฏิบัติการเรือ ฝาย ปฏิบัติการดานสินคา แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานการตรวจสอบบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) และรายงานการ ตรวจสอบการเชื่อมตอและโอนถายขอมูลระหวางระบบ SAP และ ระบบรับชำระเงิน/ระบบลูกหนี้เจาหนี้ 3. แผนกตรวจสอบภายในไดใหคำแนะนำอยางสม่ำเสมอซึ่งรวมถึงการประเมินประสิทธิภาพในการควบคุมของบริษัทฯ ประจำป มีการพิจารณา รายงานที่ไดจากการตรวจสอบภายในและการสนองตอบของฝายบริหารอยางละเอียด การอภิปรายรายงานเหลานี้มีสวนตอความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบที่เกี่ยวกับประสิทธิภาพของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ การแตงตั้งผูสอบบัญชีและการกำหนดคาธรรมเนียมการสอบบัญชี คณะกรรมการมอบหมายใหคณะกรรมการตรวจสอบเปนผูพิจารณาและเสนอการแตงตั้งผูสอบบัญชีและคาธรรมเนียมการสอบบัญชีแกผูถือหุน เพื่อขอความเห็นชอบในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำปทุกครั้ง ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2553 ผูถือหุนใหความเห็นชอบดังตอไปนี้ 1. แตงตั้ง นายขจรเกียรติ อรุณไพโรจนกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3445 หรือนายชาญชัย ชัยประสิทธิ์ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3760 หรือ นางณฐพร พันธุอุดม ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3430 แหงไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส ใหเปนผูสอบบัญชีประจำปการเงิน 2553 2. คาธรรมเนียมการสอบบัญชีจำนวน 3.160 ลานบาท เพื่อสอบทานและตรวจสอบงบการเงินของบริษัทฯ และงบการเงินรวม หลังพิจารณาขอกำหนด และคาธรรมเนียมในการวาจางการสอบบัญชีตามที่มีการเสนอแลว คณะกรรมการตรวจสอบไดชี้แจงให คณะกรรมการทราบถึงผลการประเมินของตน และแนะนำคณะกรรมการใหแตงตั้ง ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรสเปนผูสอบบัญชีอีกครั้ง โดยจะนำเสนอผูถือหุนในที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำปครั้งตอไปที่กำหนดจะจัดขึ้นในวันที่ 28 มกราคม 2554 (ค.3) คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนประกอบไปดวยกรรมการตอไปนี้ ดร. พิชิต นิธิวาสิน (ประธานกรรมการกำหนดคาตอบแทน) ดร. ศิริ การเจริญดี และนายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ กรรมการในคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนเปนกรรมการอิสระทั้งสิ้น คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนประชุมกัน 5 ครั้งในป 2553 หนาที่หลักของคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน รวมถึง 1. แนะนำและเสนอคณะกรรมการเพื่ออนุมัติกรอบกำหนดในการจายคาตอบแทนและกำหนดรูปแบบการจายคาตอบแทน รวมถึง เงินรางวัล ประจำป/พิเศษ (โบนัส) คาเบี้ยตางๆ และคาตอบแทนในรูปแบบอื่นๆ ที่ใหแก l กรรมการซึ่งจะตองไดรับการอนุมัติจากผูถือหุนตอไป l กรรมการชุดยอยตางๆ ที่จัดตั้งโดยคณะกรรมการ 2. แนะนำและเสนอคณะกรรมการเพื่อขออนุมัติกรอบกำหนดในการจายคาตอบแทนและกำหนดรูปแบบการจายคาตอบแทน ซึ่งประกอบดวย เงินรางวัลประจำป/พิเศษ (โบนัส) เงินเดือน และคาตอบแทนในรูปแบบอื่นๆ ที่ใหแก l กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร l ผูบริหารที่อยูในลำดับรองลงมาจากกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร 3. ประเมินผลการปฏิบัติงานรายปและรายงานผลการประเมินของบุคคลดังตอไปนี้แกคณะกรรมการ l กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร l ผูบริหารที่อยูในลำดับรองลงมาจากกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร 4. พิจารณางบประมาณประจำปของบริษัทฯ เกี่ยวกับคาตอบแทน และเสนอตอคณะกรรมการเพื่ออนุมัติ 5. ติดตามและประเมินคาตอบแทนสำหรับกรรมการและผูบริหารโดยคำนึงถึงปจจัยตางๆ ตามที่จะกลาวตอไปดานลางนี้ อีกทั้งรายงานกิจกรรม ตางๆ ของคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน ใหคณะกรรมการรับทราบในการประชุมคณะกรรมการในครั้งถัดไป l ระดับคาตอบแทนควรมีความเหมาะสมที่จะดึงดูด รักษา และจูงใจกรรมการและผูบริหารในการผลักดันและบริหารบริษัทฯ ใหประสบผล สำเร็จ 204

รายงานประจำป 2553


l

เงื่อนไขในการจายผลตอบแทนและการวาจางควรอยูในระดับที่สามารถแขงขันไดกับบริษัทที่มีขนาดใกลเคียงกันในอุตสาหกรรมเดียวกัน

ในป 2552 Mercer (Thailand) Ltd. และ Development Dimension International, Inc (DDI) ไดรับการวาจางใหจัดทำนโยบายคาตอบแทนของ บริษัทฯ ใหม โดยขอบเขตในการทำงานดังกลาวนั้นประกอบดวย การพัฒนาการจัดลำดับชั้นงาน (job grade) สำหรับทุกตำแหนงงาน การเปรียบ เทียบโครงสรางเงินเดือนปจจุบัน และการพัฒนาเครื่องมือในการวัดผลการปฏิบัติงาน ซึ่งจากขอมูลเหลานี้ กลุมทรัพยากรบุคคลจะไดนำมาใชจัดทำ แผนการใหผลตอบแทนเงินเดือนของพนักงานในลำดับชั้นงานทั้งหมด และเครื่องมือประเมินผลการทำงานทั้งในระยะสั้นและระยะกลางเพื่อเสนอ อนุมัติตอคณะกรรมการตอไป หลักการสำคัญดังตอไปนี้ไดถกู นำมาปฏิบัติ 1. โครงสรางคาตอบแทนควรจะสะทอนระบบการใหรางวัลที่ยุติธรรม 2. องคประกอบสำคัญๆ ในการพิจารณาคาตอบแทนจะนำมาเชื่อมโยงกับความสำเร็จในการบรรลุเปาหมายของการปฏิบัติงาน ซึ่งรวมถึงการนำ ผลตอบแทนในสวนของผูถือหุนเชื่อมโยงกับผลประโยชนตอบแทนของผูบริหารและผูถือหุน 3. การประเมินผลการปฏิบัติงานจะทำทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ตามดัชนีวัดผลการปฏิบัติงาน และความสามารถที่กำหนด 4. นโยบายและแนวทางการใหคาตอบแทนจะโปรงใสมากที่สุดเทาที่ทำไดทั้งกับผูที่มีสวนเกี่ยวของและผูถือหุน ทั้งนี้ นโยบายคาตอบแทนใหมของบริษัทฯ เริ่มมีผลบังคับใชตั้งแตรอบปบัญชี 2553 เปนตนไป คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนไดศึกษาวิเคราะหขอมูลในตลาด เพื่อประกอบการพิจารณากำหนดระดับการปรับเงินเดือนและผลประโยชน ตอบแทนปะจำป ในการพิจารณาการจายเงินรางวัลประจำป (โบนัส) ใหกับบุคคลากรเปนรายบุคคลในแตละป คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน จะทบทวนความสำเร็จของบริษัทฯ และผลการดำเนินงานของคูแขงธุรกิจอยางรอบคอบ คาตอบแทนของผูบริหารจะประกอบไปดวยเงินเดือน เงินรางวัลประจำป (โบนัส) และผลตอบแทนจูงใจในระยะยาว (เชน โครงการรวมลงทุน ระหวางนายจางและลูกจาง (Employee Joint Investment program หรือ EJIP)) กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และผลประโยชนอื่นๆ คณะกรรมการกำหนดระดับเงินคาตอบแทนของกรรมการที่ไมเปนผูบริหารทั้งหมด ใหอยูภายใตขีดจำกัดที่ผูถือหุนใหความเห็นชอบ จาก แนวทางของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีในการกำหนดคาตอบแทนกรรมการ ฉบับเดือนกันยายน 2549 คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนไดปรับปรุงแผนการใหผลตอบแทนใหกับกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร โดยประกอบดวย คาตอบแทนรายเดือน คาเบี้ยประชุม และเงินรางวัลประจำป (โบนัส) เมื่ออัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนของผูถือหุนเกินรอยละ 15 ซึ่งขอเสนอนี้ไดรับการอนุมัติจาก ผูถือหุนแลว ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2554 คณะกรรมการเสนอใหมีการแกไขเปลี่ยนแปลงนโยบายการจายคาตอบแทนใหกับ กรรมการฉบับปจจุบัน โดยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงสามารถดูไดจากหัวขอ (ซ) คาตอบแทน (ค.4) คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการสรรหา ประกอบดวย นายสตีเฟน ฟอรดแฮม (ประธานกรรมการสรรหา) ดร. พิชิต นิธิวาสิน ดร. ศิริ การเจริญดี และนายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ ซึ่งคณะกรรมการสรรหาเปนกรรมการอิสระทั้งสิ้น คณะกรรมการสรรหามีการประชุมทั้งสิ้น 5 ครั้ง ในป 2553 หนาที่หลักของคณะกรรมการสรรหา ไดแก 1. กำหนดกระบวนการและเกณฑในการสรรหาและคุณสมบัติของผูที่ไดรับการเสนอชื่อรับการคัดเลือกตามโครงสราง ขนาด และองคประกอบ ของคณะกรรมการตามที่ไดกำหนดไว 2. ทบทวนและเสนอคำแนะนำตอคณะกรรมการเกี่ยวกับผูที่ไดรับการเสนอชื่อเขารับเลือก (ไมวาจะโดยคณะกรรมการ ผูถือหุน หรืออื่นๆ) เพื่อการแตงตั้งเปนคณะกรรมการ โดยพิจารณาถึงประวัติ อายุ ความรู ประสบการณ ศักยภาพ จำนวนครั้งที่ไดเคยดำรงตำแหนงใน คณะกรรมการ และปจจัยอื่นที่เกี่ยวของ 3. เสนอและใหคำแนะนำตอคณะกรรมการในการแตงตั้งกรรมการใหมเมื่อมีกรรมการครบวาระ หรือเสนอใหแตงตั้งกรรมการคนเดิมใหกลับมา ดำรงตำแหนงอีกครั้งในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำปของบริษัทฯ โดยคำนึงถึงการมีสวนรวมในการทำงานและผลการทำงานของ กรรมการ เชน การเขาประชุม ความพรอม และความรวมมือ 4. ประเมินรายปวากรรมการอิสระยังคงมีความเปนอิสระหรือไม หรือกรรมการอิสระคนใหมไดมีคุณสมบัติเปนไปตามกฎหมายและกฏเกณฑ ตางๆ ที่เกี่ยวของหรือไม 5. เสนอขอมูลเพื่อใหผูถือหุนไดรับขอมูลเพียงพอเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวการเสนอกรรมการที่ครบวาระใหกลับมาดำรงตำแหนงกรรมการ อีกวาระหนึ่ง 6. ระบุและเสนอชื่อผูเขารับคัดเลือกเพื่อรับการอนุมัติจากคณะกรรมการ เพื่อเขารับหนาที่แทนตำแหนงที่วางในคณะกรรมการและคณะกรรมการ ชุดยอย 7. ทบทวนผูที่เขารับการคัดเลือกดำรงตำแหนงประธานกรรมการหรือกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารของบริษัทฯ 8. ทบทวน และใหคำเสนอแนะตอคณะกรรมการเกี่ยวกับโครงสราง ขนาด องคประกอบและความสามารถหลักของคณะกรรมการ โดยคำนึงถึง ความสมดุลระหวางกรรมการที่เปนผูบริหารและกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร และระหวางกรรมการอิสระและกรรมการที่ไมเปนอิสระ โดยคำนึงถึงหลักการการกำกับดูแลกิจการตลอดเวลา โดยทบทวนอยางนอย 1 ครั้งทุกๆ รอบปบัญชี รายงานประจำป 2553

205


9. จัดหากรรมการใหไดอยางนอยหนึ่งในสามของคณะกรรมการใหเปนกรรมการอิสระ หรือมีจำนวนขั้นต่ำตามสัดสวนหรือเกณฑอื่นๆ ตามที่กฎ หมายหรือกฏเกณฑที่เกี่ยวของกำหนดไว 10. ประธานกรรมการเปนผูรายงานผลจากการประเมินผลงานของคณะกรรมการ โดยการรวมปรึกษาหารือกับคณะกรรมการสรรหา รวมทั้งในกรณี เสนอชื่อสมาชิกใหมที่สมควรเขารับการดำรงตำแหนงในคณะกรรมการ 11. สนับสนุนชองทางสำหรับผูถือหุนรายยอยในการเสนอชื่อผูเขารับคัดเลือกเปนกรรมการของบริษัทฯ คณะกรรมการไดทำแผนการสืบทอดงาน (succession planning) อยางเปนระบบ เพื่อใหโครงสรางของคณะกรรมการที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม ไมกระทบตอประสิทธิภาพในการดำเนินงาน จากการสรรหากรรมการที่จะมาเขามามีสวนรวมในกลยุทธการเติบโตทางธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ ไดพิจารณาเสนอชื่อ นายอัศวิน คงสิริ เปนกรรมการอิสระตอที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2552 และไดรับความเห็นชอบจากผูถือหุน นายปเตอร สโตคส ไดเขามารวมงานกับคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 สำหรับในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2554 คณะกรรมการสรรหาไดเสนอให ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต ดร. พิชิต นิธิวาสิน และนายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ กลับเขาดำรงตำแหนงกรรมการของ บริษัทฯ อีกวาระหนึ่ง และเสนอใหแตงตั้งนายออรัล ดับบลิว ดอว เขาดำรงตำแหนงเปนกรรมการแทนตำแหนงกรรมการที่วางลงจากการ ถึงแกกรรมของ ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เนื่องดวยคณะกรรมการมีการอนุมัติใหคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและคณะกรรมการสรรหารวมกัน เปนหนึง่ คณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการจึงเสนอใหมกี ารรวมคาตอบแทนของคณะกรรมการชุดยอยสองชุดนีเ้ ขาดวยกัน ทัง้ นี้ การเปลีย่ นแปลง คาตอบแทนกรรมการชุดยอยนี้ขึ้นอยูกับการอนุมัติในที่ประชุมสามัญประจำปผูถือหุนป 2554 โดยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงสามารถดูไดจาก หัวขอ (ซ) คาตอบแทน (ค.5) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ในที่ประชุมคณะกรรมการวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 และ ในการประชุมคณะกรรมการ ในวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553 คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติกฎบัตรของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง จะประกอบดวยสมาชิกอยางนอย 4 คนที่มาจากคณะกรรมการและคณะผูบริหารของบริษัทฯ โดยจะมาจาก กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร 1 คน และสมาชิกที่เหลือจะประกอบไปดวยกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร ผูชวยกรรมการ ผูจัดการใหญกลุมบัญชีและการเงิน และ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบริหารความเสี่ยงและการกำกับดูแล หนาที่หลักของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. ทบทวนประสิทธิภาพของระบบการจัดการความเสี่ยงขององคกรภายในกลุมบริษัทฯ เพื่อใหมั่นใจไดวาสามารถระบุปจจัยความเสี่ยงที่สำคัญได อยางครบถวน และมีกระบวนการจัดการความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการกำหนดและปรับปรุงนโยบายของกลุมบริษัทฯ อยางเหมาะสม 2. ประเมินประสิทธิภาพและความเพียงพอของการบริหารจัดการ การดำเนินงาน และการควบคุมบัญชีที่ใชในกลุมบริษัทฯ 3. ทบทวนความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดขึ้นจริงและอาจเกิดขึ้นในอนาคต 4. สงเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติตามแผนงานความเสี่ยงของกลุมบริษัทฯ 5. ติดตามการดำเนินงานตามแผนงานบริหารความเสี่ยงของหนวยงานตางๆ 6. ทบทวนกระบวนการวางแผนสำรองฉุกเฉินภายในกลุมบริษัทฯ เพื่อใหมั่นใจวามีการกำหนดปจจัยความเสี่ยงที่สำคัญ พรอมทั้งแผนบรรเทา ความเสี่ยงอยางเหมาะสม 7. ทำงานรวมกันกับคณะกรรมการตรวจสอบ โดยจะมีการใหขอมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่อาจจะมีผลกระทบกับธุรกิจของ บริษัทฯ 8. ตัดสินใจและใหขอเสนอแนะในประเด็นสำคัญที่ไดรับจากกระบวนการบริหารความเสี่ยง เนื่องจากเพิ่งมีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง จึงยังไมมีการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในป 2553 (ค.6) คณะกรรมการการลงทุน ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 คณะกรรมการอนุมัติใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการการลงทุน โดยคณะ กรรมการการลงทุน จะประกอบดวยสมาชิกอยางนอย 5 คนที่มาจากคณะกรรมการและคณะผูบริหารของบริษัทฯ ซึ่งกรรมการ 2 คน จะมาจาก คณะกรรมการผูที่มีความรูและประสบการณในโครงการลงทุนที่มีการเสนอ โดยจะไดรับการแตงตั้งจากประธานกรรมการในแตละโครงการที่เสนอ สมาชิกที่เหลือจะประกอบไปดวย กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบัญชีและการเงิน และ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมกลยุทธ หนาที่หลักของคณะกรรมการการลงทุน ไดแก 1. ทบทวนและประเมินเกี่ยวกับการลงทุนที่จะนำเสนอตอคณะกรรมการ 2. ใหคำแนะนำแกคณะผูบริหารในการวิเคราะหและจัดโครงสรางของโครงการลงทุนที่จะนำเสนอ กอนสงใหคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติ ในป 2553 มีการประชุมคณะกรรมการการลงทุนเกี่ยวกับการลงทุนตางๆ จำนวน 3 ครั้ง 206

รายงานประจำป 2553


(ง) ผลประโยชนที่ขัดแยง (ง.1) ธุรกรรมที่อาจทำใหเกิดผลประโยชนที่ขัดแยงและธุรกรรมระหวางบริษัทฯ คณะกรรมการเขาใจวาธุรกรรมที่อาจนำไปสูการขัดแยงทางผลประโยชน และ/หรือธุรกรรมกับคูสัญญาที่เกี่ยวของ จะตองไดรับการพิจารณา อยางรอบคอบเพื่อใหเปนไปตามกฎและระเบียบที่เกี่ยวของของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและนโยบายตลอดจนแนวทางภายในของ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ ธุรกรรมดังกลาวจะตองทำในลักษณะเสมือนทำรายการกับบุคคลภายนอกที่ไมมี ความสัมพันธกับบริษัทฯ อยางเครงครัด และดำเนินการโดยใหเกิดประโยชนอยางเต็มที่กับบริษัทฯ และผูถือหุนทั้งหมด ขอกำหนดและเงื่อนไขของ ธุรกรรมดังกลาวจะตองเปนไปตามขอกำหนดและเงื่อนไขตามมาตรฐานทางการคาที่ยอมรับกันทั่วไปเสมอ บันทึกที่เกี่ยวกับธุรกรรมดังกลาวทั้งหมด จะตองนำสงคณะกรรมการเพื่อพิจารณาระหวางการประชุม ซึ่งจะมีกรรมการอิสระและสมาชิกคณะกรรมการตรวจสอบเขารวมประชุมอยูดวย ในป 2552 บริษัทฯ ไดกำหนดใหกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ สงรายงานการมีสวนไดเสียซึ่งมีเนื้อหาสรุปเกี่ยวกับการถือครองหุนและการเปน กรรมการในบริษัทอื่นของกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ และของบุคคลที่เกี่ยวของกับกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ ซึ่งขอมูลนี้จะถูกเก็บไว กับบริษัทฯ เพื่อติดตามรายการเกี่ยวโยงหรือรายการกับบุคคลที่เกี่ยวของที่อาจเกิดขึ้น กรรมการและผูบริหารอาวุโสที่เขาใหมของบริษัทฯ จะสง รายงานนี้ภายใน 30 วันหลังจากวันที่ไดรับการแตงตั้ง ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงของบุคคลเกี่ยวโยงและญาติสนิท กรรมการและผูบริหารจะสงรายงานที่แกไขใหมใหบริษัทฯ ภายใน 14 วันหลังจาก วันที่มีการเปลี่ยนแปลง คณะกรรมการยังคอยดูแลติดตามการปฏิบัติตามระเบียบวาดวยเกณฑ วิธีการ และการเปดเผยธุรกรรมดังกลาวดวย บริษัทฯ มีนโยบายที่จะ เปดเผยขอมูลของธุรกรรมดังกลาวอยางละเอียด ซึ่งรวมถึงจำนวนเงิน คูสัญญาในธุรกรรม เหตุผลของการทำธุรกรรม และความจำเปนของ ธุรกรรมในรายงานประจำปของบริษัทฯ และในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่เกี่ยวของ บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปองกันไมใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานใชสถานภาพของตนเพื่อหาผลประโยชนสวนตัว ดังนั้น กรรมการ ผูบริหาร และ พนักงานจะตองละเวนจากการทำธุรกรรมที่เกี่ยวเนื่องใดๆ ที่อาจนำไปสูการขัดแยงทางผลประโยชนกับบริษัทฯ นอกจากนี้ กรรมการ ผูบริหาร และ พนักงานใดที่มีสวนไดเสียจะไมไดรับอนุญาตใหเขารวมในกระบวนการตัดสินใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งกรรมการจะถูกหามไมใหพิจารณาหรือลง คะแนนเสียงในเรื่องที่อาจมีการขัดกันระหวางผลประโยชนของกรรมการเหลานั้นกับบริษัทฯ คณะกรรมการและฝายบริหารยังไดเนนย้ำการพิจารณาธุรกรรมระหวางบริษัท ซึ่งหมายถึงธุรกรรมระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอย อยางรอบคอบ และไมมีอคติ (ง.2) การกำกับดูแลการใชขอมูลภายใน คณะกรรมการหามกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานไมใหใชโอกาสหรือขอมูลที่ไดรับขณะทำงานในตำแหนงของตนเพื่อหาผลประโยชนสวนตัว หรือเพื่อจัดตั้งธุรกิจที่แขงหรือเกี่ยวของกับธุรกิจของ บริษัทฯ ซึ่งรวมถึงการหามใชขอมูลภายในที่สำคัญเพื่อซื้อหรือขายหุนและหลักทรัพยของ บริษัทฯ เพื่อผลประโยชนของบุคคลเหลานั้นอยางเด็ดขาด และหามการใหขอมูลภายในแกบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นเพื่อซื้อหรือขายหุนและ หลักทรัพยของบริษัทฯ กรรมการและผูบริหารจะตองรายงานธุรกรรมการซื้อขายหุนและหลักทรัพยของบริษัทฯ และฐานะการถือครองหุนของตนทุกครั้งเมื่อมีการ เปลี่ยนแปลง คณะกรรมการมีนโยบายหามมิใหกรรมการและผูบริหารอาวุโสทุกคนซื้อขายหุนและหลักทรัพยของบริษัทฯ ในชวง 3 สัปดาหกอน การเปดเผยผลการดำเนินงานทางการเงินรายไตรมาสและรายปของบริษัทฯ ขอหามนี้ใชบังคับกับนิติบุคคลที่กรรมการของบริษัทฯ มีสวนไดเสียที่ เปนประโยชน นิติบุคคลที่วาจางกรรมการของบริษัทฯ หรือที่กรรมการของบริษัทฯ ทำการเปนตัวแทน

(จ) การควบคุมภายใน บริษัทฯ ใหความสำคัญอยางยิ่งตอระบบการควบคุมภายใน เพื่อสรางความมั่นใจตอประสิทธิภาพในการบริหารและการปฏิบัติงานในทุกระดับ บริษัทฯ ไดกำหนดและแบงแยกหนาที่ ความรับผิดชอบ รวมถึงอำนาจบริหารไวเปนลายลักษณอักษร นอกจากนี้ แผนกตรวจสอบภายใน ซึ่งเปน หนวยงานอิสระที่รายงานตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ ยังชวยคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทฯ ในการประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายใน ประเด็นทางดานการบัญชีการเงิน การปฏิบัติตามระบบและระเบียบขอบังคับตางๆ รวมถึงนโยบายและขั้นตอน การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจและความเสี่ยงทางการเงินอีกดวย ทั้งนี้สำหรับการควบคุมภายใน บริษัทฯ ใหความสำคัญใน 5 องคประกอบหลักเกี่ยวกับการควบคุมภายใน ดังตอไปนี้ 1. องคกรและสภาพแวดลอม บริษัทฯ ไดจัดโครงสรางองคกรอยางเหมาะสม เพื่อเอื้ออำนวยใหฝายบริหารสามารถดำเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และบริษัทฯ ไดมีการ กำหนดเปาหมายการดำเนินธุรกิจเพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของพนักงาน และใชในการติดตามผล เนื่องจากบริษัทฯ ตระหนักเปน อยางดีวาการทำงานภายใตสภาพแวดลอมการควบคุมที่เหมาะสมนั้นจะสงใหการปฏิบัติงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

รายงานประจำป 2553

207


2. การบริหารความเสี่ยง คณะผูบริหารของบริษัทฯ ทบทวนนโยบายและแผนทางดานความเสี่ยง คณะผูบริหารและพนักงานทุกคนไดรับการสนับสนุนใหตระหนักถึง ความสำคัญของความเสี่ยง และความสำคัญในการบริหารความเสี่ยง ซึ่งจะทำใหทุกคนมีการเตรียมตัวที่จะลด หรือ แกไขความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ไดอยางเหมาะสมและทันเวลา บริษัทฯ สงเสริมใหทุกคนมีพฤติกรรมที่ตระหนักตอความเสี่ยง ซึ่งหมายความวาการบริหารความเสี่ยงนั้น เปนความรับผิดชอบของทุกคน โครงสรางการบริหารความเสี่ยงไดสรางขึ้นอยางมีแบบแผน มาตรการและแผนการบริหารความเสี่ยงกำหนด จากปจจัยความเสี่ยงทั้งภายในและภายนอกที่อาจจะสงผลกระทบตอธุรกิจ เปาหมาย และการดำเนินงานของบริษัทฯ ที่ไดประเมินไว ยิ่งไป กวานั้น บริษัทฯ กำหนดรายงานและการติดตามการบริหารความเสี่ยงเพื่อใหมีการตอบรับที่รวดเร็วและเหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้น แผนการติดตามการบริหารความเสี่ยงสำหรับกลุมธุรกิจหลายๆ กลุมภายใตบริษัทฯ มีการทบทวนอยางรอบคอบกอนจะเสนอ รายงานใหกับคณะกรรมการทุกไตรมาส 3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร บริษัทฯ ไดกำหนดอำนาจและระดับการอนุมัติในแตละแผนกไว และไดทำการติดตามตรวจสอบอยางสม่ำเสมอ กรณีที่บริษัทฯ มีการทำ ธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหารหรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว บริษัทฯ จะปฏิบัติตามประกาศของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยเรื่องหลักเกณฑ วิธีการ และการเปดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดใหความสำคัญ ตอระบบควบคุมภายในระดับปฏิบัติงานเพื่อใหการดำเนินงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงไดดำเนินการเพื่อกำหนดอำนาจ หนาที่ใน การดำเนินงานของผูปฏิบัติงาน ผูบริหาร ไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน มีการกำหนดระดับการควบคุมและบำรุงดูแลรักษาการใชทรัพย สินของบริษัทฯ อยางเหมาะสม และขณะนี้ บริษัทฯ อยูในระหวางการกำหนดและแบงแยกหนาที่ระหวางฝายปฏิบัติการ ฝายควบคุมและ ฝายประเมินผลออกจากกันใหชัดเจน เพื่อรักษาไวซึ่งการถวงดุลและตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสม นอกจากนี้ ยังมีการควบคุมภายในที่ เกี่ยวของกับทางการเงินและบัญชี โดยบริษัทฯ ไดจดั ใหมีระบบรายงานที่ชัดเจนและเพียงพอเสนอตอฝายบริหารที่เกี่ยวของ 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล ระบบสารสนเทศไดรับการพัฒนา เพื่อประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ และตอบสนองความตองการของฝายบริหาร บริษัทฯ ยังใหความสำคัญ เกี่ยวกับความถูกตอง เชื่อถือไดและทันเวลาของขอมูลสารสนเทศ รวมถึงการสื่อสารขอมูล ทั้งนี้วัตถุประสงคเบื้องตนก็เพื่อความถูกตอง และทันเวลาของขอมูลที่จะนำมาใชประกอบการตัดสินใจโดยบริษัทฯ ไดลงทุนเพื่อสรางระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพทั้งจากภายในและ ภายนอกบริษัทฯ การบันทึกบัญชีเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป และมีการบันทึกขอมูลใหเปนปจจุบันอยางสม่ำเสมอ เอกสาร ซึ่งประกอบดวยขอมูลที่เพียงพอตอการตัดสินใจสำหรับการประชุมผูถือหุนและการประชุมคณะกรรมการไดถูกจัดสงแกผูถือหุนและ คณะกรรมการลวงหนากอนการประชุม 5. ระบบการติดตาม จากระบบขอมูลในปจจุบันที่สามารถใหขอมูลที่เชื่อถือไดและทันเวลา ทำใหฝายบริหารและคณะกรรมการบริษัทฯ สามารถควบคุมและติดตาม ผลการดำเนินงาน ผานรายงานทางการเงินไดอยางมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันก็สามารถสอบทาน ประเมิน และใหคำแนะนำเพื่อปรับปรุง แผนธุรกิจผานกระบวนการกำกับดูแลที่แผนกตรวจสอบภายในทำการตรวจสอบการปฏิบัติการอยางตอเนื่องตลอดทั้งป ทั้งนี้แผนกตรวจสอบภายในไดดำเนินการตรวจสอบระบบควบคุมภายในอยางสม่ำเสมอ ตามแผนงานการตรวจสอบประจำป และรายงานผล การตรวจสอบแกคณะกรรมการตรวจสอบ ณ ปจจุบัน ยังไมพบขอบกพรองที่เปนสาระสำคัญ แตไดใหความเห็นในการปรับปรุงระบบการ ควบคุมภายในบางจุดที่ไดตรวจพบ โดยแผนกตรวจสอบภายในของบริษัทฯ มีหนาที่สอบทานเพื่อใหมั่นใจวาการปฏิบัติงานหลักและกิจกรรม ทางการเงินที่สำคัญของบริษัทฯ ไดดำเนินการอยางมีประสิทธิภาพและเปนไปตามกฎหมายภายใตแนวทางที่กำหนด

(ฉ) ที่ประชุมคณะกรรมการ โดยทั่วไป คณะกรรมการจะตองประชุมกันอยางนอย 4 ครั้งตอป การประชุมพิเศษจะจัดขึ้นตามความจำเปนเพื่อแกไขปญหาเฉพาะอยาง ในป 2553 คณะกรรมการประชุมทั้งหมด 7 ครั้ง วาระการประชุมหลัก ไดแก พิจารณาทิศทางเชิงกลยุทธของบริษัทฯ แผนธุรกิจและงบประจำป รายงานการเงินรายไตรมาส และการเขาซื้อและจำหนายสินทรัพยที่สำคัญ โดยปกติเลขานุการบริษัทจะเปนผูจัดเตรียมและสงวาระการประชุม อยางนอย 7 วันกอนการประชุมแตละครั้งและจัดสงเอกสารที่เกี่ยวของอยางนอย 7 วันกอนการประชุมแตละครั้ง เพื่อใหกรรมการมีเวลาพิจารณา ประเด็นการประชุม เลขานุการบริษัทจะจดบันทึกการประชุม ซึ่งจะสงใหกับกรรมการภายใน 14 วันหลังวันประชุม รายงานการประชุมจะไดรับการลงมติในการประชุม ครั้งตอไป และเก็บใหกรรมการและบุคคลที่เกี่ยวของอื่นๆ ตรวจสอบตอไป คณะกรรมการกำหนดใหสมาชิกทุกคนอุทิศเวลาอยางเพียงพอใหกับงานของคณะกรรมการ รับผิดชอบตอหนาที่ของกรรมการ และพยายาม อยางสุดความสามารถที่จะเขาประชุมคณะกรรมการทุกครั้ง รายละเอียดการเขาประชุมคณะกรรมการในป 2553 มีดังนี้

208

รายงานประจำป 2553


ตารางที่ 43 : รายละเอียดการเขารวมประชุมของกรรมการในป 2553

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ที่ประชุมคณะกรรมการ ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ที่ประชุม ที่ประชุม ที่ประชุม ที่ประชุม ทีป่ ระชุม ที่ประชุม คณะกรรมการ คณะกรรมการ ชื่อ ปกติ เฉพาะกิจ รวม ปกติ เฉพาะกิจ รวม กำหนดคาตอบแทน สรรหา ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต (ถึงแกกรรม) 4/4 1/3 5/7 นายอัศวิน คงสิริ 3/4 3/3 6/7 5/5 4/4 9/9 ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต 4/4 3/3 7/7 นายสตีเฟน ฟอรดแฮม 3/4 3/3 6/7 5/5 นางปรารถนา มงคลกุล 4/4 2/3 6/7 5/5 4/4 9/9 ดร. พิชิต นิธิวาสิน 3/4 3/3 6/7 5/5 5/5 นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ 3/4 3/3 6/7 5/5 5/5 ดร. ศิริ การเจริญดี 4/4 3/3 7/7 5/5 4/4 9/9 5/5 5/5 นางโจอี้ ฮอรน 4/4 2/3 6/7 นายปเตอร สโตคส* 2/2 1/1 3/3 -

หมายเหตุ : *นายปเตอร สโตคส เขาดำรงตำแหนงกรรมการของบริษัทฯ เมื่อเดือนพฤษภาคม 2553

(ช) การประเมินของคณะกรรมการและการลาออกตามวาระ คณะกรรมการประกอบไปดวยกรรมการ 10 คน กรรมการอาจไดรับการเลือกตั้งซ้ำทุกๆ 3 ป กรรมการที่เปนผูบริหารมีสัญญาจางงานกับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) คณะกรรมการมีการปรับเปลี่ยนสมาชิกภายในคณะกรรมการอยางตอเนื่องและคอยเปนคอยไป โดยไมทำใหประสิทธิภาพในการทำงานดอยลง แตประการใด สมาชิกคณะกรรมการชุดใหมไดรับเชิญใหมาเขารวมเปนสมาชิกคณะกรรมการโดยคำนึงถึงองคประกอบหลายอยาง โดยสิ่งหนึ่งที่ สำคัญคือความสามารถที่จะมีสวนรวมผลักดันกลยุทธการเติบโตทางธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ ไดกำหนดนโยบายวาดวยระยะเวลาในการดำรงตำแหนงของกรรมการ โดยกำหนดวากรรมการที่ไมเปนผูบริหารโดยทั่วไปไมควรดำรง ตำแหนงเกินกวา 10 ป หรือ 4 วาระ ไมวาจะตอเนื่องหรือไม เวนแตจะมีเหตุผลที่สมควรหลังพิจารณาความรับผิดชอบของบุคคลนั้น ตลอดจน การที่บุคคลดังกลาวมีสวนทำประโยชนตอใหบริษัทฯ ทั้งในอดีต ปจจุบัน และที่คาดการณในอนาคต คณะกรรมการไดมีการประเมินผลการทำงานของคณะกรรมการอยางเปนทางการสำหรับรอบปสิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 โดยประธานกรรมการสรรหาเปนผูดำเนินการสงแบบประเมินผลงานของคณะกรรมการใหแกกรรมการแตละคนโดยแบบฟอรมที่ตอบกลับ มาจะเก็บไวที่เลขานุการบริษัท ทั้งนี้ การประเมินแบงเปนเรื่องหลักๆ 6 ประเด็น ดังนี้ 1. โครงสรางและคุณลักษณะของคณะกรรมการ 2. บทบาทและหนาที่ของคณะกรรมการ 3. การประชุมคณะกรรมการ 4. ผลงานของคณะกรรมการ 5. ความสัมพันธกับฝายบริหาร 6. การพัฒนาสวนบุคคลของกรรมการ ผลการประเมินในภาพรวมในเรื่องขางตนดังกลาวนั้น สรุปไดวา มีการดำเนินการอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีบางเรื่องที่ควรมีการปรับปรุง เชน ระยะเวลาที่ใชในการติดตามการปฏิบัติตามจริยธรรมทางธุรกิจของบริษัทฯ และการจัดตั้งแผนการสืบทอดงาน (succession plan) สำหรับผูบริหาร ระดับสูง

(ซ) คาตอบแทน (ซ.1) คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร นโยบายของคณะกรรมการคือคาตอบแทนของกรรมการควรสะทอนหนาที่และความรับผิดชอบในการบรรลุเปาหมายที่คาดหวังของผูมีสวนไดเสีย ทั้งหมด นอกจากนี้ กรรมการยังตองมีประสบการณและคุณสมบัติที่เหมาะสมในการทำหนาที่ดังกลาว

รายงานประจำป 2553

209


คาตอบแทนของคณะกรรมการปจจุบัน ไดรับการเห็นชอบจากที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2552 คณะกรรมการยังไดกำหนดคาตอบแทนให กับผูบริหารอาวุโสจากคำแนะนำของคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน ซึ่งจำนวนเงินคาตอบแทนนี้จะพิจารณาจากความรับผิดชอบของผูบริหาร ดังกลาว ตลอดจนการมีสวนทำประโยชนของบุคคลดังกลาวตอบริษัทฯ ทั้งในอดีต ปจจุบัน และที่คาดการณในอนาคต และหากเปนไปได คาตอบแทนดังกลาวจะสะทอนระดับคาตอบแทนที่ใหกับผูบริหารอาวุโสในตลาดธุรกิจอยางเดียวกันกับบริษัทฯ (ซ.2) คาตอบแทนคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดยอย และเจาหนาที่บริหารอาวุโสในป 2553 (ซ.2.1) คาตอบแทนที่เปนเงินสด คาตอบแทนของคณะกรรมการ ตามมติที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2552 ผูถือหุนของบริษัทฯ อนุมัติการจายคาตอบแทนสำหรับคณะกรรมการ มีรายละเอียดดังนี้ l กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร จะไดรับคาตอบแทนรายเดือนในอัตราเดียวกับคาตอบแทนที่กำหนดในปปฏิทิน 2551 กรรมการจะไดรับเบี้ย ประชุมเปนเงินจำนวน 45,000 บาทตอครั้ง ประธานกรรมการจะไดรับเบี้ยประชุมเปนเงินจำนวน 54,000 บาทตอครั้ง (เทากับ 1.20 เทา ของเบี้ยประชุมของกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหารคนอื่นๆ) l ประธานกรรมการตรวจสอบ จะไดรับเบี้ยประชุม 48,000 บาทตอครั้ง (เทากับ 1.20 เทาของเบี้ยประชุมของกรรมการตรวจสอบคนอื่นๆ) ขณะที่กรรมการตรวจสอบคนอื่นๆ จะไดรับเบี้ยประชุม 40,000 บาทตอครั้ง l ประธานกรรมการกำหนดคาตอบแทน และประธานกรรมการสรรหาจะไดรับเบี้ยประชุม 18,000 บาทตอครั้ง (เทากับ 1.20 เทาของเบี้ยประชุม ของกรรมการกำหนดคาตอบแทนและกรรมการสรรหาคนอื่นๆ) ขณะที่กรรมการกำหนดคาตอบแทนและกรรมการสรรหาคนอื่นๆ จะไดรับเบี้ย ประชุม 15,000 บาทตอครั้ง l กรรมการที่เปนผูบริหารจะไมไดรับคาตอบแทนรายเดือนหรือคาตอบแทนในรูปแบบอื่นๆ l จายคาตอบแทนเพิ่มเติมใหแกกรรมการ ในรูปของเงินรางวัลประจำป (โบนัส) เพื่อวางแนวทางในการจายผลตอบแทนแกกรรมการให สอดคลองกับผูถือหุน โดยจะจายคาตอบแทนกรรมการในรูปของเงินรางวัลประจำป เมื่ออัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนของผูถือหุน* (parent shareholders funds) เกินรอยละ 15 โดยกรรมการที่ไมเปนผูบริหารจะไดรับเงินรางวัลประจำปในอัตรารอยละ 0.50 ของกำไรสุทธิของงบ การเงินรวมสวนที่เกินกวารอยละ15 ของผลตอบแทนเงินลงทุนของผูถือหุน และจะนำมาจัดสรรใหแกกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหารเทาๆ กัน หมายเหตุ : * ผลตอบแทนจากเงินลงทุนของผูถือหุน มาจาก กำไรสุทธิของงบการเงินรวม TTA - กำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ทุนชำระแลว + สวนเกินมูลคาหุน + เงินสำรองตามกฎหมาย + กำไรสะสม

ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2554 จะมีการเสนอแกไขคาตอบแทนของคณะกรรมการบางรายการดังนี้ l กรรมการที่มิใชเปนกรรมการบริหารทั้ง 9 คน จะไดรับคาตอบแทนรายเดือนรวมทั้งสิ้น 430,000 บาท หากมีกรรมการที่มิใชเปนกรรมการบริหาร ไดรับแตงตั้งเพิ่มเติมเขามาใหม จะไดรับคาตอบแทนรายเดือนคนละ 35,000 บาท กรรมการที่มิใชเปนผูบริหารจะไดรับเบี้ยประชุมเปนเงิน จำนวน 45,000 บาทตอครั้ง ประธานกรรมการจะไดรับเบี้ยประชุมเปนเงินจำนวน 54,000 บาทตอครั้ง (เทากับ 1.20 เทา ของกรรมการ ที่มิใชเปนผูบริหารคนอื่นๆ) l กรรมการที่เปนชาวตางชาติจะไดรับเบี้ยเดินทางเมื่อเดินทางเขามาในประเทศไทยเพื่อเขารวมประชุมคณะกรรมการหรือคณะกรรมการชุดยอย ดังนี้ - จากเอเชียมายังประเทศไทย : 500 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวัน - จากยุโรป/สหรัฐอเมริกาและทวีปอื่นๆ มายังประเทศไทย : 1,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวัน l เนื่องดวย กรรมการสรรหาและกรรมการกำหนดคาตอบแทน รวมกันเปนหนึ่งกรรมการชุดยอย โดยมีผลนับตั้งแตวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 คณะกรรมการจึงเสนอใหมีการรวมคาตอบแทนกรรมการชุดนี้เปนดังนี้ - ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน จะไดรับเบี้ยประชุม 36,000 บาทตอครั้ง ซึ่งเทากับ 1.20 เทาของกรรมการสรรหาและ กำหนดคาตอบแทนคนอื่นๆ) กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทนคนอื่นๆ จะไดรับเบี้ยประชุมจากการเขารวมประชุม 30,000 บาท ตอครั้ง - ประธานกรรมการการลงทุน และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง จะไดรับเบี้ยประชุม 18,000 บาทตอครั้ง ซึ่งเทากับ 1.20 เทาของ กรรมการการลงทุน และกรรมการบริหารความเสี่ยงคนอื่นๆ) กรรมการการลงทุน และกรรมการบริหารความเสี่ยงคนอื่นๆ จะไดรับเบี้ย ประชุมจากการเขารวมประชุม 15,000 บาทตอครั้ง นโยบายคาตอบแทนในรูปแบบเงินรางวัลประจำป (โบนัส) สำหรับคณะกรรมการยังไมมีการเปลี่ยนแปลง

210

รายงานประจำป 2553


รายละเอียดคาตอบแทนและเงินรางวัลประจำป (โบนัส) ทั้งหมดปรากฏตามตารางดานลางนี้ ตารางที่ 44 : คาตอบแทนและเงินรางวัลประจำป (โบนัส) ของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอยในรอบปบัญชี 2553 หนวย : บาท คณะกรรมการ

ชื่อ 1. ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต (ถึงแกกรรม) 2. นายอัศวิน คงสิริ 3. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต 4. นายสตีเฟน ฟอรดแฮม 5. นางปรารถนา มงคลกุล 6. ดร. พิชิต นิธิวาสิน 7. นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ 8. ดร. ศิริ การเจริญดี 9. นางโจอี้ ฮอรน 10. นายปเตอร สโตคส** รวม

คาตอบแทน มาตรฐาน*

เบี้ยประชุม

รวม คณะกรรมการ (คาตอบแทน คณะกรรมการ กำหนด คณะกรรมการ มาตรฐาน สรรหา และเบี้ยประชุม) โบนัส คณะกรรมการ ตรวจสอบ คาตอบแทน

3,360,000

-

270,000

-

-

-

3,630,000

420,000 420,000 420,000 420,000 420,000 420,000 420,000 159,833 6,459,833

-

270,000 270,000 270,000 270,000 270,000 315,000 270,000 135,000 2,340,000

360,000 432,000 360,000 1,152,000

90,000 75,000 75,000 240,000

90,000 75,000 75,000 75,000 315,000

1,050,000 780,000 1,122,000 855,000 840,000 1,245,000 690,000 294,833 10,506,833

หมายเหตุ : *คาตอบแทนมาตรฐานสำหรับกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหารเปนอัตราเดียวกันกับคาตอบแทนที่กำหนดในปปฏิทิน 2552 ** นายปเตอร สโตคส เขาดำรงตำแหนงกรรมการของบริษัทฯ เมื่อเดือนพฤษภาคม 2553

l

คาตอบแทนกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารและผูบริหารที่รายงานตรงตอกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่ บริหาร รวมทั้งสิ้น 8 คน เปนเงินรวมทั้งสิ้น 71.94 ลานบาท ซึ่งคาตอบแทนนี้ไดรวมเงินเดือน เงินรางวัลประจำป (โบนัส) และเบี้ยเลี้ยงไวแลว

(ซ.2.2) คาตอบแทนอื่น เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่บริษัทฯ จายใหกับกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารและผูบริหารที่รายงานตรงตอกรรมการ ผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร รวม 8 คน มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 4.74 ลานบาท นอกจากนี้ คณะผูบริหารของบริษัทฯ ไดรับสิทธิ์ในการเขารวมโครงการรวมลงทุนระหวางนายจางและลูกจาง (Employee Joint Investment program หรือ EJIP) ตามที่คณะกรรมการไดอนุมัติในการประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 2/2553 เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ในชวง ระหวางวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 บริษัทฯ จะหักเงินเดือนของผูที่มีสิทธิ์เขารวมโครงการและผูที่อาสาสมัครเขารวม โครงการในอัตรารอยละ 4 จากเงินเดือน ทุกๆ เดือน บริษัทฯ จะสมทบรอยละ 7 ของเงินเดือน ยอดรวมของเงินสะสมจะนำไปซื้อหุนของบริษัทฯ ทุกๆ สิ้นเดือน ในรอบปบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ จายเงิน 2.56 ลานบาทใหกับผูบริหารที่ไดสิทธิ์เขารวมโครงการและ ซื้อหุนบริษัทฯ จำนวน 167,624 หุนภายใตโครงการ EJIP

(ฌ) การปฐมนิเทศและการพัฒนากรรมการ กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารจะเปนผูจัดการปฐมนิเทศใหกับสมาชิกใหมของคณะกรรมการ ในการประชุมดังกลาว จะมีการ ชี้แจงนโยบายของบริษัทฯ และธุรกิจหลักๆ รวมทั้งขอบังคับบริษัทฯ การนำเสนอขอมูลของบริษัทฯ (presentations) ลาสุด ตลอดจนรายงาน ประจำปปลาสุดในคูมือกรรมการ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังสนับสนุนใหกรรมการเขารวมหลักสูตรหรือกิจกรรมที่มุงปรับปรุงการทำงานของกรรมการในคณะกรรมการและคณะกรรมการ ชุดยอย กรรมการ 5 คนไดเขาอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors Association (“IOD”)) ซึ่งรวมถึงหลักสูตร Director Certification Program (“DCP”) หลักสูตร Director Accreditation Program (“DAP”) หลักสูตร Finance for Non-Finance Director Program (“FN”) และหลักสูตร Role of Chairman Program (“RCP’) บริษัทฯ สนับสนุนใหกรรมการที่ยังมิไดเขารับการอบรมในหลักสูตรดังกลาวขางตน เขารับการอบรมในหลักสูตรดังกลาวโดยบริษัทฯ จะเปน ผูรับผิดชอบคาใชจายในการอบรม

รายงานประจำป 2553

211


6. จริยธรรมทางธุรกิจและจรรยาบรรณของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) (ก) แนวทางดานจริยธรรมและการปฏิบัติการของบริษัทฯ บริษัทฯ มีแนวทางดานจริยธรรมและการปฏิบัติการ ดังนี้ 1. ความยุติธรรม บริษัทฯ เชื่อในความยุติธรรมตอคูสัญญาทุกรายที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ และหลีกเลี่ยงการปฏิบัติตอบุคคลใดบุคคลหนึ่งดีกวาบุคคล อื่นหรือสถานการณที่จะนำไปสูการขัดแยงทางผลประโยชน 2. ความเปนมืออาชีพ บริษัทฯ รับผิดชอบงานของบริษัทฯ อยางมืออาชีพ และมุงมั่นที่จะดำเนินการอยางเปนเลิศดวยการทำงานใหไดผลในระดับที่ดีขึ้นอยางตอเนื่องดวย การใชวิธีการและเทคโนโลยีใหมๆ 3. การทำงานเชิงรุก บริษัทฯ ตอบสนองตอความตองการของลูกคาและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เทคนิค และเศรษฐกิจ และปรับเปลี่ยนใหเขากับสถานการณ 4. วินัยและการปฏิบัติตามกฎระเบียบ บริษัทฯ ดำเนินธุรกิจดวยวินัยและหลักการดานจริยธรรม และทำการทุกอยางใหมั่นใจวาธุรกิจของบริษัทฯ เปนไปตามกฎหมาย กฎและระเบียบ ตางๆ

(ข) จรรยาบรรณ คณะกรรมการไดใหความเห็นชอบกรอบคานิยมขององคกร พันธกิจ และวิสัยทัศน (VMV Framework) เพื่อเปนแนวทางในการดำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ ขณะนี้ บริษัทฯ ไดจัดทำคูมือจรรยาบรรณธุรกิจเพื่อนำกรอบคานิยม พันธกิจ และวิสัยทัศนดังกลาวมาใช โดยเนนคานิยมหลัก 4 ประการของบริษัทฯ คานิยมหลัก 4 ประการไดแก 1. คุณธรรม : เราจะเปนบุคคลที่เปดเผย และซื่อสัตยตอกันและกันในการทำงานรวมกัน จะปฏิบัติตามที่ใหสัญญาไวตลอดเวลา และจะสราง และรักษาความไววางใจในการทำงานรวมกัน 2. ความเปนเลิศ : เราจะทำงานดวยมาตรฐานระดับสูงในดานคุณภาพ ความปลอดภัย การรักษาสภาพแวดลอม ความมั่นคง การบริการ เรา พรอมรับมือกับงานทาทายเสมอ และจะดำเนินธุรกิจของเราอยางมืออาชีพ 3. จิตสำนึกของการรวมกันเปนทีม : เราใสใจในลูกคา พนักงาน และคูคาของเรา และจะปฏิบัติตนในอันที่จะสงเสริม และสรางสรรคการรวม มือกันทำงานเปนทีม และเคารพตอกันและกัน 4. การยึดมั่นในพันธะ : เราจะคำนึงถึงอนาคตของบริษัทฯ ตลอดเวลา และจะเปนผูรับผิดชอบตอผลและความสำเร็จทางธุรกิจของบริษัทฯ นโยบายของคณะกรรมการ คือ กรรมการจะดำรงจริยธรรมในระดับสูงสุดเพื่อผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียทั้งหมด คณะกรรมการยินยอมให กรรมการที่เปนผูบริหารสามารถดำรงตำแหนงกรรมการของบริษัทอื่นนอกกลุมบริษัทฯ ทั้งนี้ โดยใหเปนไปตามขอตกลงและความเห็นชอบของ คณะกรรมการ กรรมการที่เปนผูบริหารเมื่อไดดำรงตำแหนงกรรมการของบริษัทอื่นๆ นั้นจะรับคาตอบแทนจากบริษัทอื่นๆ นั้นเปนรายไดสวนตัว ก็ได โดยทั่วไป การแตงตั้งใหดำรงตำแหนงกรรมการของบริษัทนอกกลุมบริษัทฯ จะจำกัดใหเปนกรรมการไมเกิน 2 บริษัทเทานั้น ปจจุบัน กรรมการ ผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารไมไดเปนกรรมการในคณะกรรมการนอกกลุมบริษัทฯ กรรมการที่ไมเปนผูบริหารสามารถทำงาน เปนกรรมการในคณะกรรมการนอกกลุมบริษัทฯ ได โดยมีขอแมวาจะตองแสดงใหเห็นถึงความทุมเทในการทำหนาที่ของตนตอบริษัทฯ อยางเต็มที่

212

รายงานประจำป 2553


การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษัทฯ ไดกำหนดใหกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ รายงานการซื้อขายหลักทรัพยใหแกบริษัทฯ ในวันเดียวกับที่สงรายงานตอสำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยฯ ตามขอกำหนดของสำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยฯ เกี่ยวกับการรายงานการถือครองหลักทรัพย และใหปฏิบัติตาม แนวทางของตลาดหลักทรัพยฯ เรื่องการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทจดทะเบียน โดยใชขอมูลภายในโดยกรรมการและผูบริหารจะละเวนการซื้อขาย หลักทรัพยในชวงเวลากอนที่จะเผยแพรงบการเงิน หรือสารสนเทศที่สำคัญที่อาจมีผลกระทบตอราคาหลักทรัพย รายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาดูใน หัวขอรายงานวาดวยการกำกับดูแลกิจการ

รายงานประจำป 2553

213


214

รายงานประจำป 2553

บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ TTA ถือหุนรอยละ 57.14 ในบริษัท คัมปะนี (ประเทศไทย) เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) จำกัด และถือหุนรอยละ 51 ในบริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด ทั้งสองบริษัทมีกรรมการรวมกัน

บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ TTA ถือหุนรอยละ 57.14 ในบริษัท คัมปะนี (ประเทศไทย) เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) จำกัด ถือหุนรอยละ 51 ในบริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด ทั้งสองบริษัทมีกรรมการรวมกัน

2. บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) และ บริษัทยอย

3. บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) และ บริษัทยอย

ความสัมพันธ

บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ TTA ถือหุนรอยละ 99.9 ใน คัมปะนี (ประเทศไทย) บริษทั ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส จำกัด แอนด ซัพพลายส จำกัด และ ถือหุนรอยละ 51 ในบริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด ทั้งสองบริษัทมีกรรมการรวมกัน

บริษัทที่เกี่ยวของ

1. บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด ซัพพลายส จำกัด

บริษัท

39,096,568.00 ราคาปกติที่ใหกับบุคคล 43,310,898.90 (บันทึกเปนคาใชจาย (บันทึกเปนคาใชจายบริการจากธุรกิจ ภายนอก บริการจากธุรกิจ นอกชายฝง) นอกชายฝง)

ราคาปกติที่ใหกับบุคคล ภายนอก

ราคาปกติที่ใหกับบุคคล ภายนอก

บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด ใหบริการเกี่ยวกับการนำของออกจาก ทาเรือ/ทาอากาศยานตามพิธีการศุลกากร การขนสงสินคา และมีคาระวางขนสงสินคาที่ คิดกับ บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอยดวย

1,673,760.00 (บันทึกเปนรายไดอื่นๆ)

0.00 (ไมมีรายการเกิดขึ้น ระหวางป 2553)

30 กันยายน 2553

นโยบายการ คิดราคา

1,673,760.00 (บันทึกเปนรายได อื่นๆ)

1,230,733.53 (บันทึกเปนรายได คาบริการ)

30 กันยายน 2552

มูลคารายการ (บาท)

บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) แบง พื้นที่สวนหนึ่งของสำนักงาน (ประมาณ 317 ตรม.) ณ ชั้น 9 อาคารอรกานต ใหบริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด เชาพื้นที่

บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด ซัพพลายส จำกัด ใหเชาโกดังสินคาและ บริการสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ ใหกับ บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด

ลักษณะรายการ

รายการระหวางกันของบริษัทฯ กับบริษัทยอย หรือระหวางบริษัทยอยกับบริษัทยอย ไดแสดงไวในหมายเหตุประกอบงบของงบการเงินรวมของบริษัทฯ แลว ทั้งนี้รายการระหวางกันของบริษทั ฯ และบริษัทยอย กับบริษัทรวม หรือ กิจการรวมคามีดังตอไปนี้

รายการระหวางกัน


รายงานประจำป 2553

215

30 กันยายน 2552

TTA ถือหุนรอยละ 51 ในบริษัท บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด จำกัด ทั้งสองบริษัทมีกรรมการ รวมกัน

6. บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)

อัตราดอกเบี้ยอางอิง ใกลเคียงกับตนทุน การกูยืมของบริษัท ที่ใหกู

5,050,069.26 0.00 ราคาปกติที่ใหกับบุคคล (บันทึกเปนรายไดคา (ไมมีรายการเกิดขึ้น) ภายนอก บริการจากธุรกิจนอก ระหวางป 2553 นอกจากนี้ระหวาง ชายฝง) ป 2553 บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด ไดขายหุนของ บริษัท เวิลดคลาส อินสไปเรชั่น เอสดีเอ็น บีเอชดี ทั้งหมดไปแลว)

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) 996,309.00 636,130.25 ใหเงินกูยืมจำนวน 27,323,000 บาท กับ (บันทึกเปนรายไดจาก (บันทึกเปนรายไดจากดอกเบี้ย) บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) ดอกเบี้ย) จำกัด โดย ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 มูลคา เงินตนของเงินกูคงเหลือเทากับ 7,323,000 บาท โดย TTA เรียกเก็บอัตราดอกเบี้ยเงินกู MOR + รอยละ 1 ตอปสำหรับวงเงินกูดังกลาว

บริษัท อัลลายด มารีน บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด บริษัท อัลลายด มารีน แอนด อิควิปเมนท (มหาชน) ถือหุนรอยละ 100 ใน แอนด อิควิปเมนท เอสดีเอ็น บีเอชดี เชาเรือจากบริษัท เมอรเมด เอสดีเอ็น บีเอชดี บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด จำกัด และถือหุนทางออมรอยละ 22.5 ในบริษัท อัลลายด มารีน แอนด อิควิปเมนท เอสดีเอ็น บีเอชดี ผานบริษัท เวิลดคลาส อินสไปเรชั่น เอสดีเอ็น บีเอชดี โดย TTA ถือหุน ทางออมในทั้งสองบริษัท

นโยบายการ คิดราคา

0.00 ราคาปกติที่ใหกับบุคคล (ไมมีรายการเกิดขึ้น ภายนอก ระหวางป 2553 นอกจากนี้ระหวาง ป 2553 บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด ไดขายหุนของ บริษัท เวิลดคลาส อินสไปเรชั่น เอสดีเอ็น บีเอชดี ทั้งหมดไปแลว)

30 กันยายน 2553

มูลคารายการ (บาท)

8,285,470.52 บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด (บันทึกเปนรายได ใหเงินกูยมื จำนวน 1,147,988,712.23 บาท จากดอกเบี้ย) แก บริษัท เวิลดคลาส อินสไปเรชั่น เอสดีเอ็น บีเอชดี เพื่อการชำระคางวดในการซื้อเรือ วิศวกรรมโยธาใตน้ำลำใหม โดย ณ วันที่ 30 กันยายน 2552 บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด ไดรับคืนเงินกูเต็มจำนวนแลว โดยมีการเรียกเก็บอัตราดอกเบี้ย LIBOR + รอยละ 3.5 สำหรับสวนที่เปนเงินกูดอลลาร สหรัฐอเมริกา และรอยละ 8.5 สำหรับ สวนที่เปนเงินกูริงกิตมาเลเซีย

ลักษณะรายการ

5. บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด

ความสัมพันธ

บริษัท เวิลดคลาส บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด อินสไปเรชั่น เอสดีเอ็น (มหาชน) ถือหุนรอยละ 100 บีเอชดี ในบริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด และถือหุน ทางออมรอยละ 25 ในบริษัท เวิลดคลาส อินสไปเรชั่น เอสดีเอ็น บีเอชดี โดย TTA ถือหุนทางออมใน ทั้งสองบริษัท

บริษัทที่เกี่ยวของ

4. บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด

บริษัท


216

รายงานประจำป 2553

บริษัท โรงแรมราชดำริ TTA ไมไดถือหุนในบริษัท โรงแรม จำกัด (มหาชน) ราชดำริ จำกัด (มหาชน) อยางไร ก็ตาม ทั้งสองบริษัทมีกรรมการ รวมกัน

9. บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)

TTA ถือหุนรอยละ 100 ในโซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี และถือหุน รอยละ 50 ในโทรีเซน (อินโดไชนา) เอส.เอ. TTA ถือหุนโดยทางตรง และทางออมในทั้งสองบริษัท

โทรีเซน (อินโดไชนา) เอส.เอ.

8. โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี

ความสัมพันธ

เมอรตัน กรุป (ไซปรัส) TTA ถือหุนรอยละ 100 ในโซลี อาโด แอลทีดี โฮลดิง้ ส พีทีอี แอลทีดี และ โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ถือหุนรอยละ 21.18 ในเมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี TTA ถือหุนโดยทางตรงและทางออมใน ทั้งสองบริษัท

บริษัทที่เกี่ยวของ

7. โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี

บริษัท

บริษัท โรงแรมราชดำริ จำกัด (มหาชน) เรียกเก็บคาบริการหองพักจาก TTA

โทรีเซน (อินโดไชนา) เอส.เอ. เรียกเก็บ คาบริหารจัดการกับบริษัท บาคองโค จำกัด ประเทศเวียดนาม จำนวน 24,000 ดอลลาร สหรัฐอเมริกาตอเดือนนับจากวันที่ 1 ตุลาคม 2552 ถึง 31 มกราคม 2553 และ 20,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอเดือนตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ 2553 เปนตนไป และคิดผล ประโยชนจากสวนแบงกำไรรอยละ 4 ของกำไร สุทธิหลังจากหักภาษีของผลประกอบการ ประจำปของบริษัท บาคองโค จำกัด

โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ใหเงินกูยืม จำนวน 12 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา กับเมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี โดย ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 มูลคาเงินตนของเงินกู คงเหลือเทากับ 12 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือคิดเปน 365 ลานบาท โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดีเรียกเก็บอัตราดอกเบี้ยเงินกู รอยละ 25 ตอปสำหรับวงเงินกูดังกลาว

ลักษณะรายการ

17,636,562.14 (บันทึกเปนคาใชจายการจัดการ)

0.00

336,302.37 (บันทึกเปนคาใชจายการบริหาร)

49,364,841.00 (บันทึกเปนรายไดจากดอกเบี้ย)

0.00

122,678.66

30 กันยายน 2553

30 กันยายน 2552

มูลคารายการ (บาท)

ราคาปกติที่ใหกับบุคคล ภายนอก

ตนทุนบวกกับกำไรตาม ที่ระบุในสัญญา

อัตราดอกเบี้ยอางอิง ตามขอตกลงระหวาง กันและสอดคลองกับ ความเสี่ยงในเชิง พาณิชยของธุรกิจ กอนเริ่มดำเนินกิจการ ในประเทศฟลิปปนส

นโยบายการ คิดราคา


รายงานประจำป 2553

217

ราคาปกติที่ใหกับบุคคล ภายนอก

ราคาปกติที่ใหกับบุคคล ภายนอก

นโยบายการ คิดราคา

กรรมการตรวจสอบและบริษัทฯ จะรวมกันดูแลรายการระหวางกันดังกลาวที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตวาจะเปนรายการที่มีความจำเปนและใหเปนไปในราคาที่ยุติธรรม

นโยบายการทำรายการระหวางกันในอนาคต

ในกรณีที่บริษัทฯ เขาทำสัญญาใดๆ ก็ตาม หรือมีการทำรายการระหวางกันกับบริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ บุคคลภายนอก และหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง เพื่อประโยชนของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทกำหนดให ตองปฏิบัติตามหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย เรื่องการเปดเผยขอมูลและการปฎิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน และใหมีราคา และเงื่อนไขเสมือนการทำรายการกับบุคคลภายนอก โดยกรรมการ ผูบริหารหรือพนักงานที่มีสวนไดเสียในรายการนั้นจะตองไมมีสวนในการพิจารณาอนุมัติ

มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำรายการระหวางกัน

ในกรณีที่บริษัทฯ เขาทำสัญญาใดๆ ก็ตาม หรือมีการทำรายการระหวางกันกับบริษัทยอย บริษัทรวม และ/หรือบุคคลภายนอก บริษัทฯ จะพิจารณาถึงความจำเปนและความเหมาะสมในการเขาทำสัญญานั้นๆ โดยคำนึงถึงผล ประโยชนของบริษัทฯ เปนหลัก

ความจำเปนและความสมเหตุสมผลของรายการระหวางกัน

41,637.80 (บันทึกเปนคาใชจายการบริหาร)

17,213.50

บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) เรียกเก็บคาบริการทางการแพทยจาก TTA

บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา TTA ไมไดถือหุนในบริษัท ประสิทธิ์ จำกัด (มหาชน) พัฒนา จำกัด (มหาชน) อยางไร ก็ตาม ทั้งสองบริษัทมีกรรมการ รวมกัน

11. บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)

30 กันยายน 2553 254,476.00 (บันทึกเปนคาใชจายการบริหาร)

30 กันยายน 2552

มูลคารายการ (บาท)

260,376.00

ลักษณะรายการ

บริษัท โพสต พับลิชชิง จำกัด (มหาชน) เรียกเก็บคาบริการสมาชิกสิ่งพิมพ และ โฆษณาจาก TTA

ความสัมพันธ

บริษัท โพสต พับลิชชิง TTA ไมไดถือหุนในบริษัท โพสต จำกัด (มหาชน) พับลิชชิง จำกัด (มหาชน) อยางไร ก็ตาม ทั้งสองบริษัทมีกรรมการ รวมกัน

บริษัทที่เกี่ยวของ

10. บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)

บริษัท


การลงทุนในบริษัทตางๆ การลงทุนของบริษัทฯ ในบริษัทอื่น ตั้งแตรอยละ 10 ขึ้นไป ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 ดังตอไปนี้ ลำดับที่

ชื่อบริษัท

ชนิดของหุน

จำนวนหุนที่ ชำระแลว

จำนวน หุนที่ถือ

สัดสวน การถือหุน%

มูลคา หุนที่ตราไว

กลุมขนสง ประเภทธุรกิจ : ขนสงสินคาระหวางประเทศทางทะเล

218

1

บริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จำกัด 26/26-27 อาคารอรกานต ชั้น 8 ถนนชิดลม แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท (0) 2250-0569 โทรสาร (0) 2254-9417

หุนสามัญ หุนบุริมสิทธิ์

9,470,000 3,030,000

9,470,000 3,029,994

99.9

10

2

บริษัท เฮอรมิส ชิปปง จำกัด

หุนสามัญ

270,000

269,994

99.9

100

3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

บริษัท ทอรสตาร ชิปปง จำกัด บริษัท ทอรสกิปเปอร ชิปปง จำกัด บริษัท ทอรเซลเลอร ชิปปง จำกัด บริษัท ทอรซัน ชิปปง จำกัด บริษัท ทอรสปริต ชิปปง จำกัด บริษัท ทอรสกาย ชิปปง จำกัด บริษัท ทอรซี ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร มาสเตอร ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร เมอรแชนท ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร มารีเนอร ชิปปง จำกัด บริษทั ทอร เมอรคิวรี่ ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร กัปตัน ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร ไพล็อต ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร จัสมิน ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร แชมเปยน ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร ออรคิด ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร นาวิเกเตอร ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร คอมมานเดอร ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร ทรานสปอรตเตอร ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร โลตัส ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร เทรดเดอร ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร แทรเวลเลอร ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร เวนเจอร ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร นอติกา ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร คอนฟเดนซ ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร การเดียน ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร ไทรอัมพ ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร เน็กซัส ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร เนปจูน ชิปปง จำกัด

หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ

300,000 300,000 300,000 400,000 400,000 400,000 400,000 1,880,000 200,000 350,000 600,000 1,530,000 800,000 700,000 750,000 472,500 990,000 1,150,000 2,000,000 630,000 450,000 450,000 750,000 753,000 500,000 750,000 600,000 1,857,000 1,380,000

299,993 299,993 299,993 399,993 399,993 399,993 399,993 1,879,993 199,994 349,994 599,994 1,529,994 799,993 699,993 749,993 472,493 989,993 1,149,993 1,999,993 629,993 449,993 449,993 749,993 752,993 499,993 749,993 599,993 1,856,993 1,379,993

99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100

รายงานประจำป 2553


ลำดับที่ 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46

ชื่อบริษัท บริษัท ทอร ทริบิวท ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร จูปเตอร ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร อลายอันซ ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร นอติลุส ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร วิน ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร เวฟ ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร ไดนามิค ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร เอนเตอรไพรส ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร ฮารโมนี่ ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร อินทิกริตี้ ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร เนคตาร ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร เนรัส ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร ทรานสิท ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร เอนเดฟเวอร ชิปปง จำกัด บริษัท ทอร เอนเนอรยี ชิปปง จำกัด

จำนวนหุนที่ ชนิดของหุน ชำระแลว หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ

1,170,000 974,000 1,060,000 500,000 2,000,000 2,000,000 3,600,000 6,300,000 3,500,000 3,850,000 2,541,000 2,128,000 1,000,000 11,000,000 10,000,000

จำนวน หุนที่ถือ 1,169,993 973,993 1,059,993 499,993 1,999,993 1,999,993 3,599,993 6,299,993 3,499,993 3,849,993 2,540,993 2,127,993 999,993 10,999,993 9,999,993

สัดสวน การถือหุน%

มูลคา หุนที่ตราไว

99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9 99.9

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100

หมายเหตุ : ที่อยูของบริษัทในลำดับที่ 2-46 คือ 26/32 อาคารอรกานต ชั้น 10 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท (0) 2250-0569 โทรสาร (0) 2254-8437 ประเภทธุรกิจ : ขนสงสินคาระหวางประเทศทางทะเล 47

บริษัท โทรีเซน ชาเตอรริ่ง (เอชเค) แอลทีดี Suite B 12/F Two Chinachem Plaza 135 Des Voeux Road Central, Hong Kong

หุนสามัญ

500,000

499,999

99.99

1 ดอลลาร ฮองกง

48

บริษัท โทรีเซน ชิปปง สิงคโปร พีทีอี แอลทีดี หุนสามัญ 25 International Business Park #02-65/67 German Centre Singapore 609916 โทรศัพท +65 6578-7000 โทรสาร +65 6578-7007

111,300,000

111,300,000

100.0

1 ดอลลาร สิงคโปร

49

บริษัท โทรีเซน ชิปปง เยอรมันนี จีเอ็มบีเอช Stavendamm 4a, 28195 Breman, Germany Tel. : 421 336 52 22

หุนสามัญ

25,000

25,000

100.0

1 ยูโร

50

PT Perusahaan Pelayaran Equinox Globe Building 4th & 5th floor, Jalan Bancit Raya Kav. 31-33, Jakarta, Indonesia 12740 Tel: +6221 7918 7006 Fax: +6221 7918 7097

หุนสามัญ

24,510

12,010

49.0

1,000,000 รูเปยห

หุนสามัญ

500,000

499,993

99.9

100

ประเภทธุรกิจ : ตัวแทนเรือ 51

บริษัท ไอเอสเอส โทรีเซน เอเยนตซีส จำกัด 26/26-27 อาคารอรกานต ชั้น 8 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท (0) 2254-0266 โทรสาร (0) 2254-0628

รายงานประจำป 2553

219


ลำดับที่

ชื่อบริษัท

ชนิดของหุน

จำนวนหุนที่ ชำระแลว

จำนวน หุนที่ถือ

สัดสวน การถือหุน%

มูลคา หุนที่ตราไว

52

บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด 26/30-31 อาคารอรกานต ชั้น 9 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท (0) 2650-7400 โทรสาร (0) 2650-7401

หุนสามัญ

22,000

11,215

51.0

1,000

53

โทรีเซน ชิปปง เอฟแซดอี 1901-19th Floor, Golden Tower Opp. Marbella Resort, Al Buhairah Corniche Road, Sharjah, UAE. Tel. : 971-6-574 2244 Fax : 971-6-574 4244

หุนสามัญ

1

1

100.0

550,550 เดอรแฮม

54

โทรีเซน อินโดไชนา เอสเอ 12A Floor, Bitexco Building 19-25 Nguyen Hue Boulevard District 1 Ho Chi Min City, Vietnam Tel. : +84 8 821 5423 Fax : +84 8 821 5424

หุนสามัญ

2,500

1,250

50.0

100 ดอลลาร สหรัฐอเมริกา

55

Thoresen-Vinama Agencies Co., Ltd. 12A Floor, 19-25 Nguyen Hue District 1, Ho Chiminh City, Vietnam

หุนสามัญ

500,000

245,000

49.0 (ถือหุนทางออม)

1 ดอลลาร สหรัฐอเมริกา

ประเภทธุรกิจ : นายหนาเชาเหมาเรือ 56

บริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จำกัด 26/55 อาคารอรกานต ชั้น 15 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท (0) 2253-6160 โทรสาร (0) 2655-2761

หุนสามัญ

20,000

10,194

51.0

100

57

บริษัท โทรีเซน ชาเตอรริ่ง (พีทีอี) แอลทีดี 8 Cross Street # 11-00, PWC Building Singapore 048424

หุนสามัญ

100,000

100,000

100.0

1 ดอลลาร สิงคโปร

หุนสามัญ

1,259,350,452

489,056,155

38.834 (ถือหุนทางออม)

1 ฟลิปปนส เปโซ

หุนสามัญ

784,747,743

277,823,871 (ถือหุนทางตรง) 170,590,470 (ถือหุนทางออม)

57.14

1

ประเภทธุรกิจ : ธุรกิจเรือบรรทุกน้ำมันและกาซธรรมชาติ 58

Petrolift Inc. 6th Floor, Mapfre Insular Corporate Center Madrigal Business Park I, 1220 Acacia Avenue, Ayala Alabang Muntinlupa City, Philippines

กลุมพลังงาน ประเภทธุรกิจ : ธุรกิจบริการนอกชายฝง 59

220

บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) 26/28-29 อาคารอรกานต ชั้น 9 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท (0) 2255-3115-6 โทรสาร (0) 2255-1079

รายงานประจำป 2553


ลำดับที่

ชื่อบริษัท

ชนิดของหุน

จำนวนหุนที่ ชำระแลว

จำนวน หุนที่ถือ

สัดสวน การถือหุน%

มูลคา หุนที่ตราไว

ประเภทธุรกิจ : เหมืองถานหิน 60

เมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี Nikou Kranidioti 7D, Tower 4, 3rd Floor Flat/Office 302, Egkomi, PC 2411 Nicosia, Cyprus

หุนสามัญ

15,733

3,333

21.18 1 ดอลลาร (ถือหุนทางออม) สหรัฐอเมริกา

กลุมโครงสรางขั้นพื้นฐาน ประเภทธุรกิจ : บริการวัสดุจัดเรียงสินคาบนเรือ โลจิสติคส ขนถายสินคา 61

บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด ซัพพลายส จำกัด 26/22-23 อาคารอรกานต ชั้น 7 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท (0) 2250-0569 โทรสาร (0) 2655-7746

หุนสามัญ

700,000

699,993

99.9

100

62

บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส จำกัด 26/30-31 อาคารอรกานต ชั้น 9 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท (0) 3818-5090-2 โทรสาร (0) 3818-5093

หุนสามัญ

750,000

382,496

51.0

100

หุนสามัญ

26,000

12,740

49.0 (ถือหุนทางออม)

100 เดอรแฮม

64

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด หุนสามัญ (มหาชน) 36/83 อาคารพี.เอส. ทาวเวอร ชั้น 24 ซอยสุขุมวิท 21 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท (0) 2664-1701-8 โทรสาร (0) 2259-2467

152,078,328

136,083,041

89.5 (ถือหุนทางออม)

1

65

บริษัท ยูเอ็มเอส โคลบริคเคท จำกัด 36/83 อาคารพี.เอส. ทาวเวอร ชั้น 24 ซอยสุขุมวิท 21 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท 034-403-977 โทรสาร 034-403-989

2,000,000

1,999,993

100 (ถือหุนทางออม)

10

ประเภทธุรกิจ : บริหารทาเรือ 63

ชารจา พอรต เซอรวิสเซส แอลแอลซี P.O.Box 510, Port Khalid Sharjah, United Arab Emirates Tel. : 971-6-528 1327 Fax : 971-6-528 1425

ประเภทธุรกิจ : โลจิสติคสถานหิน

หุนสามัญ

รายงานประจำป 2553

221


ลำดับที่

ชื่อบริษัท

ชนิดของหุน

จำนวนหุนที่ ชำระแลว

จำนวน หุนที่ถือ

สัดสวน การถือหุน%

มูลคา หุนที่ตราไว

66

บริษัท ยูเอ็มเอส ไลทเตอร จำกัด 36/83 อาคารพี.เอส. ทาวเวอร ชั้น 24 ซอยสุขุมวิท 21 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท (0) 2664-1701-8 ตอ 201 โทรสาร (0) 2664-1700

หุนสามัญ

7,000,000

6,999,994

100 (ถือหุนทางออม)

10

67

บริษัท ยูเอ็มเอส ขนสง จำกัด หุนสามัญ 36/83 อาคารพี.เอส. ทาวเวอร ชั้น 24 ซอยสุขุมวิท 21 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท 034-403-980 โทรสาร 034-403-981

1,800,000

1,799,994

100 (ถือหุนทางออม)

10

68

บริษัท ยูเอ็มเอส พอรต เซอรวิสเซส จำกัด 36/83 อาคารพี.เอส. ทาวเวอร ชั้น 24 ซอยสุขุมวิท 21 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท 035-724-204 โทรสาร 034-403-981

1,800,000

1,799,993

100 (ถือหุนทางออม)

10

ทุนชำระแลว 377,072,638,790 เวียดนามดอง หรือ 100.0 25,833,128.40 ดอลลารสหรัฐอเมริกา (ถือหุนทางออม)

-

หุนสามัญ

ประเภทธุรกิจ : ขายปุยเคมี 69

บริษัท บาคองโค จำกัด Phu My I Industrial Park, Tan Thanh Town Baria Vung Tau Province, Vietnam Tel. : 064.893 400 Fax : 064.876 030

กลุมการลงทุน ประเภทธุรกิจ : ลงทุนโดยการถือหุน

222

70

โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี 25 International Business Park #02-65/67 German Centre Singapore 609916 โทรศัพท +65 6578-7000 โทรสาร +65 6578-7007

หุนสามัญ

130,000,000

130,000,000

100.0

1 ดอลลาร สิงคโปร

71

บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส จำกัด 26/32 อาคารอรกานต ชั้น 10 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท (0) 2254-8437 โทรสาร (0) 2655-5631

หุนสามัญ

1,000,000

999,993

99.9

100

รายงานประจำป 2553


ขอมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 ชื่อบริษัท

: บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)

เลขทะเบียน

: 0107537002737

วันกอตั้งบริษัท

: 16 สิงหาคม 2526

วันจดทะเบียนเปนบริษัทมหาชนจำกัด

: 15 ธันวาคม 2537

วันที่หุนสามัญของบริษัทฯ เริ่มทำการซื้อขาย ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

: 25 กันยายน 2538

ที่ตั้ง

: 26/26-27 อาคารอรกานต ชั้น 8 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย โทรศัพท + 66 (0) 2254-8437 เว็บไซด : http://www.thoresen.com

ประเภทของธุรกิจ

: ธุรกิจขนสง ธุรกิจพลังงาน ธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน

ทุนจดทะเบียน

: 933,004,413 บาท

ทุนชำระแลว

: 708,004,413 บาท

จำนวนหุนที่ออกจำหนาย

: 708,004,413 หุน

มูลคาที่ตราไวหุนละ

: 1 บาท

มูลคาหุนกูแปลงสภาพที่ออกจำหนาย

: 169,800,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา

มูลคาเงินตนคงคางของหุนกูแปลงสภาพ

: 68,600,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา

ตลาดรองของหุนกูแปลงสภาพ

: ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศสิงคโปร

วันที่หุนกูแปลงสภาพของบริษัทฯ เริ่มทำการซื้อขาย : 25 กันยายน 2550 ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศสิงคโปร มูลคารวมของหุนกูในประเทศที่ออกจำหนาย

: หุนกูชุดที่ 1 มีมูลคารวมทั้งสิ้น 2,000,000,000 บาท หุนกูชุดที่ 2 มีมูลคารวมทั้งสิ้น 2,000,000,000 บาท

รายงานประจำป 2553

223


วันที่หุนกูในประเทศขึ้นทะเบียน กับสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย

: 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

นายทะเบียนหุนสามัญ

: บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด อาคารสถาบันวิทยาการตลาดทุน 2/7 หมูที่ 4 (โครงการนอรธปารค) ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 ประเทศไทย โทรศัพท + 66 (0) 2596-9000

ผูสอบบัญชี​ี

: นายขจรเกียรติ อรุณไพโรจนกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3445 บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จำกัด ชั้น 15 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร 179/74-80 ถนนสาธรใต กรุงเทพฯ 10120 ประเทศไทย โทรศัพท + 66 (0) 2344-1000

ที่ปรึกษากฎหมาย

: บริษัท สำนักกฎหมายประมวลชัย จำกัด 2038-2042 ถนนพระราม 6 (บรรทัดทอง) เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย โทรศัพท +66 (0) 2219-2031-2 : บริษัท อัลเลน แอนด โอเวอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด อาคารสินธร 3 ชั้น 22 130-132 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10500 ประเทศไทย โทรศัพท +66 (0) 2263-7600 : บริษัท วัตสันฟารลี แอนด วิลเลี่ยมส (ไทยแลนด) จำกัด ยูนิต 902 ชั้น 9 จีพีเอฟ วิทยุ ทาวเวอร บี 93/1 ถนนวิทยุ ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท : +66 (0) 2655-7800-78 : บริษัท เบเคอร แอนด แมคเคนซี่ จำกัด 990 อาคารอับดุลราฮิม ชั้น 5, 22-25 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท: +66(0) 2636-2000

224

รายงานประจำป 2553


THORESEN THAI AGENCIES PLC.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.