TICON : Annaul Report 2014 TH

Page 1

รายงานประจำป 2557

LEADING PROVIDER OF QUALITY FACTORIES AND WAREHOUSES FOR LEASE


สารจากประธานกรรมการ รายงานการกำ�กับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ โรงงานและคลังสินค้า

สารบัญ

4 6 8 9 10


ความรับผิดชอบต่อสังคม คณะกรรมการและผู้บริหาร ข้อมูลทั่วไป นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปัจจัยความเสี่ยง โครงสร้างการถือหุ้น โครงสร้างการจัดการ การกำ�กับดูแลกิจการ

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง รายการระหว่างกัน คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน งบการเงิน แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้แก่ผู้สอบบัญชี

73 77 80 94 95 178

12 14 20 24 30 42 45 46 58


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

สารจากประธานกรรมการ

โรงงาน และคลังสินค้า

ปี 2557 ถือเป็นปีทที่ า้ ทายส�ำหรับประเทศไทย ความไม่มเี สถียรภาพ ทางการเมืองและการเติบโตทีเ่ ชือ่ งช้าของเศรษฐกิจยังคงส่งผลกระทบทางลบ ต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง ธุรกิจคลังสินค้าให้เช่าของ บริ ษั ท ฯ ในปี 2557 ดู โ ดดเด่ น ขณะที่ ธุ ร กิ จ โรงงานให้ เ ช่ า อยู ่ ใ นระดั บ ดีพอใช้ ในปีนี้บริษัทฯ ยังคงโฟกัสไปที่การเพิ่มท�ำเลที่ตั้ง ซึ่งมีความ ส� ำ คั ญ ทางธุ ร กิ จ เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มส� ำ หรั บ ความต้ อ งการคลั ง สินค้าและโรงงานให้เช่าที่จะเพิ่มขึ้นอันเป็นผลสืบเนื่องจากการฟื้นตัว ของเศรษฐกิจโลก การเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในช่วงปลายปี 2558 และการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐบาลในโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ ของประเทศ ธุรกิจโรงงานให้เช่า ถึงแม้วา่ ในช่วงครึง่ ปีแรกของปี 2557 จะมีเหตุการณ์ปดิ กรุงเทพ (Bangkok Shutdown) ซึ่งส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการขยายตัว ทางเศรษฐกิจส่วนใหญ่ของประเทศแต่ธรุ กิจให้เช่าโรงงานของบริษทั ฯ ก็ยงั คง มีความคล่องตัวดี ในปี 2557 บริษทั ฯ มีพนื้ ทีโ่ รงงานให้เช่าใหม่เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 31,075 ตารางเมตร ลดลงร้อยละ 62.5 จากปีกอ่ นหน้า อย่างไรก็ดี เนือ่ งจากบริษทั ฯ มีผเู้ ช่ารายใหญ่รายหนึง่ ท�ำการยกเลิกสัญญาเช่าโรงงานในระหว่างปี จ�ำนวน พืน้ ทีใ่ ห้เช่าใหม่สทุ ธิจงึ เป็นลบ 2,200 ตารางเมตร เทียบกับปี 2557 มีจำ� นวน พืน้ ทีใ่ ห้เช่าใหม่สทุ ธิ 44,575 ตารางเมตร ประมาณกึง่ หนึง่ ของผูเ้ ช่าใหม่ทงั้ หมด เป็นผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิน้ ส่วนอุปกรณ์อเิ ล็คทรอนิกส์ จากประเทศญีป่ นุ่ บริษัทฯ สังเกตุเห็นว่าในปี 2557 มีผู้เช่าใหม่จ�ำนวนหลายราย จากหลากหลายอุตสาหกรรมเข้าท�ำการเช่าโรงงานในพืน้ ทีซ่ งึ่ เคยเกิดอุทกภัย ครัง้ ใหญ่ทงั้ ในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดปทุมธานี ตัวอย่าง อุตสาหกรรมของกลุม่ ผูเ้ ช่าเหล่านัน้ ประกอบด้วย ธุรกิจอาหารแปรรูป ธุรกิจ ผลิตสารเคมี และธุรกิจบรรจุภัณฑ์ และจากการที่มีความเคลื่อนไหวของ ผูเ้ ช่าใหม่เข้าไปยังพืน้ ทีซ่ งึ่ เคยเกิดอุทกภัยดังกล่าว ท�ำให้อตั ราการเช่าโรงงาน ของบริษทั ฯ ซึง่ ค่อนข้างจะต�ำ่ ในพืน้ ทีภ่ าคกลางของประเทศมีการปรับตัวดีขนึ้ นอกจากนัน้ ในปี 2557 ไม่พบว่ามีการเกิดอุทกภัยใหญ่ในประเทศไทย อัตราเช่าโรงงานเฉลีย่ ของบริษทั ฯ ในปี 2557 อยูท่ รี่ อ้ ยละ 62 โดยใน พืน้ ทีซ่ งึ่ เคยเกิดอุทกภัยครัง้ ใหญ่ยงั คงมีอตั ราเช่าโรงงานทีต่ ำ�่ อยูค่ อื ร้อยละ 40 ในขณะทีท่ างภาคตะวันออกของประเทศซึง่ ได้แก่บริเวณ Eastern Seaboard อัตราเช่าโรงงานจะอยูส่ งู กว่าคือร้อยละ 80

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ในภาคเหนือของประเทศ เมือ่ รวมกับท�ำเลทีต่ งั้ ในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ด้วยแล้ว ปัจจุบนั กลุม่ บริษทั ไทคอนมีทำ� เลทีต่ งั้ คลังสินค้าอยูท่ งั้ สิน้ จ�ำนวน 32 แห่งทัว่ ประเทศ เพิม่ ขึน้ จากเดิมในปี 2556 ทีม่ ี 29 แห่ง สืบเนื่องเพราะความต้องการคลังสินค้าขนาดใหญ่ของผู้เช่า ซึ่งเป็นไปตามการขยายตัวอย่างก้าวกระโดดของธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ ในประเทศไทย บริษัทฯ จึงได้มีการพัฒนาคลังสินค้าแบบ built to suit เพิม่ มากขึน้ ในปี 2557 บริษทั ฯ ให้เช่าคลังสินค้าแบบ built to suit ในสัดส่วน ทีเ่ ท่ากับร้อยละ 33 ของปริมาณคลังสินค้าให้เช่าใหม่ทงั้ หมด ซึง่ ในปี 2556 สัดส่วนดังกล่าวอยู่ที่ร้อยละ 24 ส�ำหรับจ�ำนวนพื้นที่ของคลังสินค้าให้เช่า แบบ built to suit ในปี 2557 เท่ากับ 62,177 ตารางเมตร เพิม่ ขึน้ จาก 50,219 ตารางเมตรในปีกอ่ นหน้า อัตราเช่าคลังสินค้าของบริษทั ฯ ในปี 2557 อยูท่ รี่ อ้ ยละ 63 ลดลง จากอัตราเช่าในปี 2556 ซึง่ อยูท่ รี่ อ้ ยละ 71 สาเหตุของการลดลงนัน้ เป็นเพราะ บริษทั ฯ มีการขยายท�ำเลทีต่ งั้ ของคลังสินค้าให้เช่าเพิม่ มากขึน้ ในปี 2557 การลงทุนของบริษทั ฯ บริษทั ฯ มีการลงทุนเป็นจ�ำนวนเงินราว 8 พันล้านบาทในปี 2557 โดยเงินลงทุนส่วนใหญ่เป็นเงินค่าก่อสร้างอาคารโรงงาน/คลังสินค้าให้เช่า และค่าซือ้ ทีด่ นิ ซึง่ ในปี 2556 บริษทั ฯ มีการลงทุนเป็นเงินจ�ำนวนมากกว่า 9 พันล้านบาท ในจ�ำนวนเงินลงทุนทั้งหมดราว 8 พันล้านบาทนี้ บริษัทฯ ใช้จ่ายเงินจ�ำนวน 5 พันล้านบาทในการก่อสร้างโรงงานและคลังสินค้าใหม่ บนทีด่ นิ ซึง่ มีอยูแ่ ล้ว และใช้จา่ ยเงินทีเ่ หลืออีกราว 3 พันล้านบาท ในการซือ้ ที่ดินเพื่อขยายท�ำเลที่ตั้งส�ำหรับธุรกิจ บริษัทฯ ยังคงมีมุมมองที่เป็นบวก ต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปลายปี 2558 และโครงการลงทุนขนาดใหญ่เพื่อโครงสร้างพื้นฐานระบบ คมนาคมขนส่งภายใต้การสนับสนุนของรัฐบาล ในไตรมาสทีส่ องของปี 2557 บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จ�ำกัด (“TPARK”) ซึง่ เป็นบริษทั ลูกทีถ่ อื หุน้ 100% โดยบริษทั ฯ ได้ลงทุนในกิจการ ร่วมค้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า บนหลังคาอาคาร จากพลังงานแสงอาทิตย์ โดยลงทุนร่วมกับ บมจ. เดมโก้ ด�ำเนินกิจการภายใต้ชอื่ บริษทั ไทคอน เดมโก้ พาวเวอร์ 6 จ�ำกัด และบริษทั ไทคอน เดมโก้ พาวเวอร์ 11 จ�ำกัด ซึง่ บริษทั ทัง้ สองแห่งดังกล่าวมีการถือหุน้ โดย TPARK ในสัดส่วนร้อยละ 51 ในไตรมาสทีส่ ามของปี 2557 บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด (“TMAN”) ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ลู ก ของบริ ษั ท ฯ ได้ รั บ อนุ มั ติ จ ากส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ให้เป็นผู้บริหาร กองทรัสต์ในประเทศไทย TMAN ได้รบั การจัดตัง้ ขึน้ เป็นครัง้ แรกในไตรมาสทีส่ อง ของปี 2556 ให้เป็นบริษทั ลูกทีม่ บี ริษทั ฯ ถือหุน้ เต็ม 100% ต่อมาในวันที่ 29 ตุลาคม 2557 บริษทั มิตซุย แอนด์ โก เอเซียแปซิฟกิ (“MAP”) ได้เข้า ร่วมลงทุนใน TMAN ด้วยการซือ้ หุน้ สามัญของ TMAN จากบริษทั ฯ จ�ำนวน 3 แสนหุน้ คิดเป็นร้อยละ 30 ของทุนจดทะเบียนของ TMAN MAP เป็นบริษทั ซึง่ จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร์และเป็นส่วนหนึง่ ในเครือกิจการของบริษทั มิตซุย แอนด์ โก ซึ่งเป็นเครือกิจการขนาดใหญ่จากประเทศญี่ปุ่นที่มี ประสบการณ์ยาวนานและมีความโชกโชนในการบริหารทรัสต์เพือ่ การลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์ (REIT) ในหลายพืน้ ทีท่ วั่ โลก การมีเครือข่ายระดับโลก ในหลากหลายธุรกิจของเครือมิตซุยท�ำให้บริษทั ฯ คาดหวังว่าจะได้รบั ประโยชน์ เป็นอันมากจากการเป็นหุน้ ส่วนกับเครือกิจการดังกล่าวทัง้ ในระดับโลกและ ในระดับภูมภิ าคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้

ธุรกิจคลังสินค้าให้เช่า ในปี 2557 พืน้ ทีค่ ลังสินค้าให้เช่าใหม่ของบริษทั ฯ มีจำ� นวนเพิม่ ขึน้ 189,142 ตารางเมตร โดยเป็นพืน้ ทีค่ ลังสินค้าให้เช่าใหม่สทุ ธิ 167,776 ตาราง เมตร ซึง่ ลดลงร้อยละ 14.5 จากปี 2556 ในจ�ำนวนผูเ้ ช่าคลังสินค้าใหม่ทงั้ หมด ของบริษัทฯ ปรากฏว่าเป็นกลุ่มผู้ให้บริการโลจิสติกส์เกินกว่ากึ่งหนึ่ง และ ผูเ้ ช่าจากประเทศญีป่ นุ่ มีจำ� นวนร้อยละ 28 ของผูเ้ ช่าคลังสินค้าใหม่ทงั้ หมด ของบริษทั ฯ การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปลายปี 2558 น�ำมาซึ่ง ความต้องการคลังสินค้าทีเ่ พิม่ มากขึน้ ในส่วนภูมภิ าค ในเดือนเมษายน 2557 บริษัทฯ ได้ซื้อที่ดินในท�ำเลที่ตั้งแห่งใหม่เพื่อพัฒนาเป็นคลังสินค้าให้เช่า ในจังหวั ดล� ำ พู นใกล้กันกับจังหวัดเชียงใหม่ซึ่งเป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุด

4

รายงานประจ�ำปี 2557


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ในไตรมาสที่ สี่ ของปีที่แ ล้ว บริษัทฯ และ TPARK ได้จ�ำหน่าย/ให้เ ช่าระยะยาวซึ่งพื้น ที่โ รงงาน และคลังสินค้าจ�ำนวน 214,523 ตารางเมตรคิดเป็นมูลค่า 4.2 พันล้านบาท ให้กับกองทรัสต์เพื่อการ ลงทุ น ในอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ ละสิ ท ธิ ก ารเช่ า ไทคอน (“TREIT”) TREIT ได้ รั บ การจั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ให้ เ ป็ น กองทรั ส ต์ แ ห่ ง แรกของบริ ษั ท ฯ ถื อ ครองสิ น ทรั พ ย์ ทั้ ง ที่ เ ป็ น กรรมสิ ท ธิ์ (freehold) และที่ เ ป็ น สิ ท ธิ การเช่า (leasehold) ณ สิน้ ปี 2557 บริษทั ฯ โดยผ่านการถือของ TPARK มีสดั ส่วนการถือครองหน่วยทรัสต์ ใน TREIT คิดเป็นร้อยละ 12 ของจ�ำนวนหน่วยทรัสต์ทจี่ ำ� หน่ายได้แล้วทัง้ หมด ผลการด�ำเนินงาน ในปี 2557 บริษทั ฯ มีกำ� ไรสุทธิจำ� นวน 761.6 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 46 จากก�ำไรสุทธิในปี 2556 รายรับค่าเช่า โรงงานและคลังสินค้าซึง่ เป็นรายรับจากธุรกิจหลักของบริษทั ฯ ได้ลดลงร้อยละ 13 จากรายรับในปี 2556 โดยมีรายรับ เท่ากับ 966.1 ล้านบาท ในส่วนของรายรับทีไ่ ด้จากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ให้กบั กองทรัสต์และกองทุนอสังหาริมทรัพย์ ในปี 2557 นัน้ มีจำ� นวน 4,561.3 ล้านบาท รายรับรวมของบริษทั ฯ มีจำ� นวน 5,856.5 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 7 จากรายรับรวมของบริษัทฯในปี 2556 ในสถานะผู้จัดการสินทรัพย์ของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (“TFUND”) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค (“TLOGIS”) กองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท (“TGROWTH”) บริษทั ฯ มีรายรับค่าจัดการจากกองทุนทัง้ สามแห่ง คิดเป็นเงินรวม 165.3 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 8 จากรายรับในปี 2556นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ยังมีรายรับจากการ ลงทุนในกองทุนอสังหาริมทรัพย์ทงั้ สามแห่งรวมกันแล้วเป็นเงิน 267.1 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 23 จากรายรับในปี ก่อนหน้า การเพิม่ ขึน้ นีเ้ ป็นผลพวงทีไ่ ด้มาจากผลประกอบการทีด่ ขี นึ้ ของกองทุนอสังหาริมทรัพย์และการเพิม่ จ�ำนวน ของปริมาณสินทรัพย์ทอี่ ยูภ่ ายใต้การจัดการของบริษทั ฯ การลงทุนซึง่ มีปริมาณสูงของบริษทั ฯ ได้สง่ ผลให้อตั ราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ อยูใ่ นระดับสูงทีค่ อื สองเท่า ณ สิน้ ปี 2556 บริษทั ฯ จึงได้ทำ� การเพิม่ ทุนจดทะเบียนในไตรมาสทีส่ องของปี 2557 ผ่านการออก Transferable Subscription Rights (“TSR”) ซึง่ ภายหลังการออก TSR บริษทั ฯ มีหน้ ุ สามัญจดทะเบียนเพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 157.67 ล้านหุน้ ณ สิน้ ไตรมาสทีส่ องของปีทแี่ ล้ว ในไตรมาสทีส่ าม บมจ.สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่รายหนึง่ ของ บริษทั ฯ ได้เข้าท�ำการซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ เพิม่ ขึน้ อีก 25.08 ล้านหุน้ ซึง่ เป็นหุน้ ทีเ่ หลือจากการเพิม่ ทุนโดยผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ บางส่วนทีม่ สี ทิ ธิจ์ องซือ้ หุน้ เพิม่ ทุนของบริษทั ฯ ในเดือนมิถนุ ายน 2557 ได้สละสิทธิท์ ำ� ให้มหี นุ้ เพิม่ ทุน เหลืออยู่ จากเหตุผลดังทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดท�ำให้บริษทั ฯ มีทนุ จดทะเบียนเพิม่ ขึน้ เป็น 1,099.14 ล้านบาท ณ สิน้ ปี 2557 แนวโน้มในอนาคต คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (“คสช”) ได้เข้ายึดอ�ำนาจบริหารประเทศจากรัฐบาลชุดก่อนและเริม่ ต้น บริหารประเทศตัง้ แต่ไตรมาสทีส่ องของปี 2557 โดยมุง่ ฟืน้ ฟูความสงบเรียบร้อยให้กบั ประเทศไทยด้วยวิธสี ร้าง ความปรองดองและความโปร่งใสให้เกิดขึน้ ในสังคม ความเชือ่ มัน่ ทัง้ จากภายในและภายนอกประเทศมีเพิม่ ขึน้ ต่อเนือ่ ง นับตัง้ แต่การเข้ามามีอำ� นาจของ คสช. การอนุมตั โิ ครงการลงทุนต่าง ๆ โดยคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนมีปริมาณ เพิม่ สูงขึน้ เป็นอย่างมากภายหลังจากทีห่ วั หน้า คสช. ได้เข้าร่วมประชุมพิจารณาอนุมตั โิ ครงการด้วย โดยท�ำหน้าที่ ประธานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ซึง่ มูลค่าของโครงการลงทุนใหม่ทไี่ ด้รบั การอนุมตั ดิ งั กล่าวมีจำ� นวนถึง 645,000 ล้านบาท และถึงแม้ว่ายอดจ�ำหน่ายรถยนต์ในประเทศไทยในปี 2557 จะลดลงจากปี 2556 ปริมาณ การผลิตรถยนต์ในปี 2558 ก็ยงั เป็นทีค่ าดหมายว่าจะเพิม่ มากขึน้ จากปีทแี่ ล้ว บริษทั ฯ มีความเชือ่ มัน่ ว่าธุรกิจของ บริษทั ฯ จะยังคงเติบโตอย่างมัน่ คงต่อไปได้ในปี 2558 จากการเติบโตของเศรษฐกิจโลก การเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน และมาตรการต่าง ๆ ของภาครัฐเพือ่ กระตุน้ เศรษฐกิจของประเทศ ในปี 2558 บริษทั ฯ มีแผนทีจ่ ะเพิม่ จ�ำนวนโรงงานส�ำเร็จรูปและคลังสินค้าต่อไปในท�ำเลทีต่ งั้ ซึง่ บริษทั ฯ ได้มกี ารลงทุนในช่วงทีผ่ า่ นมา ส่วนใหญ่ของเงินลงทุนในปี 2558 จะถูกใช้จา่ ยเป็นค่าก่อสร้างอาคาร ซึง่ ถ้าเทียบกับ จ�ำนวนเงินลงทุน ในปี 2557 จ�ำนวนเงินลงทุนในปี 2558 จะมีจำ� นวนลดลงเล็กน้อย ส�ำหรับการลงทุนในต่างประเทศ บริษทั ฯ ได้รบั โอกาสมากมายผ่านการชักชวนของลูกค้าและคูค่ า้ ของบริษทั ฯ ให้ไปลงทุนขยายกิจการในประเทศต่าง ๆ ซึง่ มีบางประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทีบ่ ริษทั ฯ ก�ำลังอยูร่ ะหว่างพิจารณาว่าจะไปลงทุนในอนาคตอันใกล้ สุดท้ายนี้ บริษทั ฯ ก�ำลังเฉลิมฉลองเนือ่ งในวาระทีบ่ ริษทั ฯ ได้กอ่ ตัง้ มาจนครบ 25 ปี ในปี 2558 ผมขอ ถือโอกาสนีข้ อบคุณท่านผูถ้ อื หุน้ หลักของบริษทั ฯ นักลงทุน พันธมิตรธุรกิจ ลูกค้า ผูบ้ ริหารและพนักงาน ตลอดจน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมกับความส�ำเร็จของบริษัทฯ ด้วยการสนับสนุนจากทุกท่าน อย่างต่อเนือ่ ง ผมเชือ่ ว่าปี 2558 นีจ้ ะเป็นปีแห่งความส�ำเร็จอีกปีหนึง่ ส�ำหรับบริษทั ฯ

นายชาลี โสภณพนิช ประธานกรรมการ


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

รายงานการกำ�กับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำ�ปี 2557

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ตามทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วย กรรมการอิสระจ�ำนวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ และมีประสบการณ์ทางด้านการบริหารธุรกิจและการเงิน มีความเป็นอิสระและมีคุณสมบัติเหมาะสม ตามข้อก�ำหนดและแนวทางการปฏิบตั ทิ ดี่ สี ำ� หรับคณะกรรมการตรวจสอบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปัจจุบนั สมาชิกของคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ เป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ และนายตรีขวัญ บุนนาค คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และ ตามระเบี ย บของบริ ษั ท ว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ แ ละแนวทางการปฏิ บั ติ ข องคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยเน้นการปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดี การมีระบบการตรวจสอบภายในที่ดี และส่งเสริมแนวทางการตรวจสอบเชิงป้องกัน โดยครอบคลุมถึงการบริหารความเสี่ยง และการปกป้องผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่าง เท่าเทียมกัน ในปี 2557 มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบรวม 4 ครัง้ กรรมการตรวจสอบทุกท่านเข้าร่วม ประชุมทัง้ 4 ครัง้ โดยมีการหารือร่วมกับฝ่ายจัดการ ผูต้ รวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชีในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้อง ซึ่งสรุปสาระส�ำคัญ ได้ดังนี้

1. การสอบทานรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี 2557 ของบริ ษั ท และงบการเงิ น รวม รวมถึ ง รายการระหว่ า งกั น และรายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ร่วมกับฝ่ายจัดการ ผู้ตรวจสอบภายใน โดยมีผู้สอบบัญชีร่วมประชุมทุกครั้งที่มี การพิจารณาสอบทานงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบถามผูส้ อบบัญชีเรือ่ งความถูกต้อง ครบถ้วนของงบการเงิน การปรับปรุงรายการบัญชีทสี่ ำ� คัญทีม่ ผี ลกระทบต่องบการเงิน ความเหมาะสม ของวิธกี ารบันทึกบัญชีและขอบเขตการตรวจสอบ และการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วนเพียงพอ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า การจัดท�ำงบการเงินเป็นไปตามข้อก�ำหนดของกฎเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง มีความครบถ้วน เป็นที่น่าเชื่อถือได้ สมเหตุสมผลตามที่ควรในสาระส� ำคัญตาม มาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการของบริษัท 1 ครั้ง เพื่อพิจารณาขอบเขตแนวทางและความเป็นอิสระในการ สอบบัญชีประจ�ำปีของผู้สอบบัญชี

(นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์, F.C.A.) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 6

รายงานประจ�ำปี 2557


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

2. การสอบทานประสิทธิผลของระบบควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและทบทวนระบบการควบคุมภายในร่วมกับผูต้ รวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชีทกุ ไตรมาส โดยพิจารณาเรือ่ ง การด�ำเนินงาน การดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกัน หรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย และระบบการควบคุมภายในส�ำหรับระบบงานที่ส�ำคัญ ของบริษัท ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้องกับผู้สอบบัญชีว่า บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่พอเพียง ไม่พบจุดอ่อนหรือ ข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ มีการดูแลรักษาทรัพย์สินที่เหมาะสม และมีระบบการติดตามควบคุมดูแลการด�ำเนินงานเหมาะสม เพียงพอ และมีประสิทธิผล

3. การสอบทานการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบัติงานตามระบบงานที่ก�ำหนดไว้ การปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบไม่พบประเด็น ที่เป็นสาระส�ำคัญในเรื่องการไม่ปฏิบัติตามระบบงาน กฎหมาย และข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินธุรกิจ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ร่วมกับผู้สอบบัญชีได้สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยมีความเห็นสอดคล้องกันว่า รายการค้า กับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันที่มีสาระส�ำคัญได้เปิดเผยและแสดงรายการในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้วอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และรายการดังกล่าวเป็นรายการทีส่ มเหตุสมผล และเป็นประโยชน์สงู สุดต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ทัง้ นี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารประเมินผล การปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยรวมทั้งคณะ ซึ่งผลสรุปอยู่ในเกณฑ์ดี

4. การก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานภารกิจ ขอบเขตการปฏิบัติงาน หน้าที่และความรับผิดชอบ อัตราก�ำลังคนและผลตอบแทนของพนักงาน ฝ่ายตรวจสอบภายใน และอนุมตั แิ ผนการตรวจสอบประจ�ำปี รวมทัง้ ติดตามการปฏิบตั งิ านของบริษทั ตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของฝ่ายตรวจสอบ ภายใน โดยฝ่ายตรวจสอบภายในจะรายงานการสอบทาน ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะในเรื่องที่ตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบตรงต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบทุกไตรมาส ในปี 2557 ฝ่ายตรวจสอบภายในมุ่งเน้นที่ระบบความปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบเงินสดย่อย รวมทั้งติดตาม ระบบจัดซื้อจัดจ้าง และระบบควบคุมทรัพย์สิน โดยได้สอบทานขั้นตอนการปฏิบัติงานและระบบงานให้เป็นไปตามกและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง และได้ให้ค�ำปรึกษาและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงขั้นตอนการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทมีระบบการตรวจสอบภายในที่พอเพียง เหมาะสม และมีประสิทธิผล และฝ่ายตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระในการปฏิบัติงาน

5. การคัดเลือกผู้สอบบัญชี ปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบได้คดั เลือก และเสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีจากผลการปฏิบตั งิ าน ความเป็นอิสระ และความเหมาะสมของค่าตอบแทน โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นชอบในการเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากบริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด ได้แก่ นายโสภณ เพิ่มศิริวัลลภ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3182 (ซึ่งเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทในปี 2547 ถึงปี 2551) และ/หรือ นางสาวพิมพ์ใจ มานิตขจรกิจ ผู้สอบบัญชี รับอนุญาตเลขที่ 4521 และ/หรือ นางสาวรสพร เดชอาคม ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 5659 และ/หรือ นางสุมนา พันธ์พงษ์สานนท์ ผู้สอบบัญชี รับอนุญาตเลขที่ 5872 เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทประจ�ำปี 2557 พร้อมด้วยค่าตอบแทนเป็นจ�ำนวนเงินรวม 790,000 บาท และน�ำเสนอต่อ คณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา และขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557

6. การเข้ า ร่ ว มโครงการแนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า นทุ จ ริ ต (Collective Anti-Corruption : CAC) บริษัทได้เข้าลงนามในค�ำประกาศเจตนารมณ์แนวร่วมปฏิบัติ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตแล้ว เมือ่ วันที่ 13 มีนาคม 2558 ปัจจุบนั อยูร่ ะหว่างการปรับปรุงนโยบายในเรือ่ งดังกล่าว เพือ่ รอการประเมินโดยฝ่ายตรวจสอบภายในและคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อขอรับการรับรองจากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตต่อไป โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติตามหน้าที่และความรับผิดชอบที่ระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้รับการอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษทั โดยใช้ความรูค้ วามสามารถ ความรอบคอบและระมัดระวัง มีความเป็นอิสระเพียงพอเพือ่ ปกป้องประโยชน์ตอ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายงานทางการเงินของบริษัทมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ สอดคล้อง ตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป บริษัทมีระบบควบคุมภายในที่เพียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิผล มีการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท 7

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

รายงานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ประจำ�ปี 2557 คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ตามที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการ บริษัท ปัจจุบันสมาชิกของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงประกอบด้วย นายตรี ข วั ญ บุ น นาค เป็ น ประธานคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง (กรรมการอิสระ) นายวีรพันธ์ พูลเกษ ดร.สมศักดิ์ ไชยพร นายปธาน สมบูรณสิน นางสาวลลิตพันธุ์ พิรยิ ะพันธุ์ นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ และ นายพีระพัฒน์ ศรีสคุ นธ์ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั และตามระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์และ แนวทางการปฏิบตั ขิ องคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ สอดคล้องกับ มาตรฐานสากล โดยบริษทั มุง่ เน้นการบริหารความเสีย่ งทีส่ ำ� คัญ ทัง้ 4 ด้าน คือ ความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ าร (Operational Risk) ความเสี่ยงด้านกฎระเบียบ (Compliance Risk) และความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) ในปี 2557 มีการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งรวม 4 ครัง้ ซึง่ สรุปสาระส�ำคัญได้ดงั นี้

3. ความเสี่ยงด้านกฎระเบียบ (Compliance Risk) ความเสีย่ งจากข้อจ�ำกัดทางกฎหมาย เนือ่ งจากบริษทั มีนโยบาย การเติบโตทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้มีแผนการขยายธุรกิจไปใน ต่างประเทศ ซึ่งบริษัทได้ตระหนักถึงความเสี่ยงนี้และเตรียมพร้อม โดยมีทีมผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมาย เพื่อศึกษาข้อจ�ำกัดทางกฎหมาย ต่าง ๆ ติดตามและวิเคราะห์ผลกระทบซึง่ อาจเป็นอุปสรรคต่อการขยายตัว ของบริษัททั้งในและต่างประเทศ

1. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสีย่ งด้านความพร้อมทางธุรกิจ (Business Readiness) เพื่อรองรับกับนโยบายการเติบโตทางธุรกิจ และรองรับการแข่งขัน บริษทั มีแผนการขยายธุรกิจในประเทศอย่างต่อเนือ่ ง โดยเชือ่ มโยงแผน กลยุทธ์กำ� ลังคน (Strategic Workforce Plan) เข้ากับแผนกลยุทธ์ ขององค์กร

4. ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk)

ความเสีย่ งด้านการลงทุนในต่างประเทศ (Foreign Investment Risk) บริษัทมีแผนการขยาย การลงทุนไปต่างประเทศเพื่อตอบสนอง นโยบายการเติบโตทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัทได้ตระหนัก ถึ งความส� ำ คั ญ ของบุ คลากร ปัจจุบันอยู่ระหว่า งการวางนโยบาย ด้านการบริหารบุคลากรส�ำหรับการปฏิบัติงานต่างประเทศ และมีการ บริหารจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นซึ่งส่งผลกระทบต่อความส�ำเร็จ ของโครงการลงทุน

ความเสี่ยงจากการหาแหล่งเงินทุนได้อย่างเพียงพอ เนื่องจาก ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เป็นธุรกิจที่ใช้เงินลงทุนสูง เพื่อให้บริษัทคง ศักยภาพในการด�ำเนินธุรกิจ จึงมีความจ�ำเป็นต้องจัดหาแหล่งเงินทุน ที่พอเพียง โดยมีต้นทุนที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้บริษัทมีสภาพคล่อง เพี ย งพอส� ำ หรั บ ใช้ ใ นการขยายธุ ร กิ จ ลดความเสี่ ย งด้ า นการเงิ น และแสดงสถานะการเงิ น ที่ แ ข็ ง แกร่ ง บริ ษั ท จึ ง บริ ห ารความเสี่ ย ง ด้านการเงินโดยจัดโครงสร้างเงินทุนที่มีอัตราหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อทุนในระดับทีเ่ หมาะสมร่วมกับใช้เครือ่ งมือทางการเงินในการระดมทุน ซึ่งจะช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นให้บริษัทในการจัดหาเงินทุนเพื่อใช้ขยาย ธุรกิจในอนาคตได้อย่างเพียงพอ

2. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ (Operational Risk)

จากการปฏิบัติงานในรอบปีที่ผ่านมา เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า ระบบการบริหารความเสีย่ งของบริษทั มีความเหมาะสม มีประสิทธิภาพ และได้ถูกน�ำไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บริษัทสามารถจัดการ ความเสี่ยงที่ส�ำคัญให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ คณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ งจึงมีการทบทวนกระบวนการบริหารความเสีย่ งอย่างต่อเนือ่ ง และสม�่ำเสมอ ซึ่งจะช่วยให้บริษัทสามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน

ความเสีย่ งด้านการประสบอันตรายจากการท�ำงาน อุบตั เิ หตุ รวมถึง ความเสีย่ งจากความไม่มเี สถียรภาพทางการเมือง การเกิดภัยธรรมชาติ ต่าง ๆ และภัยอืน่ ๆ ซึง่ บริษทั มีการจัดการความปลอดภัยในการท�ำงาน โดยก�ำหนดให้มีการตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (คปอ.) ส�ำหรับความเสี่ยงด้านอุทกภัยในพื้นที่เสี่ยงภัย เช่น จังหวัด พระนครศรีอยุธยา บริษัทมีการติดตั้งเครื่องสูบน�้ำ และจัดเตรียม กระสอบทรายให้พร้อม โดยทีมงานมีความพร้อมในการรับมือกับ อุทกภัยทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้

นายตรีขวัญ บุนนาค ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

8

รายงานประจ�ำปี 2557


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

การกำ�กับดูแล กิจการ

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ข้อมูลทางการเงินทีส่ �ำ คัญ หน่วย : ล้านบาท 2557

2556

4,561.28

4,663.04

4,364.45

ค่าเช่ารับและค่าบริการ

966.06

1,109.69

1,053.01

รายได้ค่าบริหารจัดการจาก property funds

165.34

152.59

105.07

ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนใน property funds/reit

267.13

216.57

169.22

41.37

154.45

35.29

ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์

3,192.14

2,886.28

2,691.07

ต้นทุนการให้เช่าและบริการ

243.45

261.52

392.29

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

769.45

715.60

432.00

ก�ำไรสุทธิ

761.57

1,414.23

1,296.57

สินทรัพย์

31,209.12

26,451.39

19,736.00

หนี้สิน

19,743.50

17,763.63

11,839.27

ส่วนของผู้ถือหุ้น

11,465.62

8,687.76

7,896.73

อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ร้อยละ)

7.59

17.05

19.02

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (ร้อยละ)

5.15

10.06

12.90

72.15

64.61

70.35

รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์

ก�ำไรที่รับรู้เพิ่มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ property funds/reit

อัตราการจ่ายเงินปันผล (ร้อยละ)

2555

2551

2552

2553

2554

2555

2556

ณ สิ�นป

2557

19,740

2551

2552

2553

2554

2555

หนี้สิน 9

รายงานประจ�ำปี 2557

17,764

7,897 11,843

5,000

9,549

500

6,888 5,597 12,485

436

10,000

6,115 4,994 11,109

762

15,000

6,885 4,849 11,734

20,000

5,740 15,289

1,414

1,297 821

1,000

653

1,500

25,000

11,466

30,000 2,000

8,688

26,452

35,000

2,500

31,209

สินทรัพย

ล านบาท

2556

19,743

กำไรสุทธิ

ล านบาท

725

ปัจจัย ความเสี่ยง

2557

ส วนของผู ถือหุ น


รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

โรงงานและคลังสินค้า TICON

ตารางเมตร 600,000

93% 81%

78%

77%

82%

76%

400,000

2554

2555

สร างเสร�จพร อมให เช า

2556

0%

2557

500,000

TICON

77%

71%

62%

65%

60%

100%

600,000

80%

500,000

60%

300,000

2553

2554

2555

2556

2551

มีสัญญาเช า

2552

2553

2554

2555

สร างเสร�จพร อมให เช า

2556

0%

2557

400,000

1,200,000 79%

73%

0

2550

2551

100%

78%

2552

2553

2554

117,664

55,230

70,731

100,000

2555

2556

2557

พ�้นที่ขายให FUNDs/REIT

ตารางเมตร 94%

82%

200,000

อัตราการเช า

TICON

ตารางเมตร

2557

พ�้นที่ขายให FUNDs/REIT

19,600

20%

100,000

2550

74,250

87,435 2552

300,000 40%

200,000

76%

65%

80%

60%

800,000

60%

600,000

1,200,000 1,000,000 800,000

มีสัญญาเช า

2553

2554

2555

สร างเสร�จพร อมให เช า

2556

0%

2557

0

2551

อัตราการเช า

10

รายงานประจ�ำปี 2557

223,764

2550

2552

2553

2554

2555

234,773

2552

55,230

2551

87,435

2550

200,000

70,731

200,000

400,000 118,018

20%

290,445

600,000 40%

400,000

0 ณ สิ�นป

2551

ตารางเมตร

82%

400,000

2550

อัตราการเช า

97% 88%

0

160,523

2553

108,350

2552

100,000

182,095

2551

200,000

106,100

2550

600,000

1,000,000

400,000

98,418

20%

ตารางเมตร

0 ณ สิ�นป

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

300,000 40%

มีสัญญาเช า

คลังสินค า

500,000

300,000

0 ณ สิ�นป

โรงงานและคลังสินค า

80% 60%

52%

100,000

คลังสินค้า

600,000

68%

200,000

โรงงานและคลังสินค้า

100%

ข้อมูลทั่วไป

พ�้นที่ขายให FUNDs/REIT

ตารางเมตร

102,475

โรงงาน

โรงงาน

500,000

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

102,475

สารจากประธาน กรรมการ

2556

2557


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

การกำ�กับดูแล กิจการ

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

Myanmar Laos

Cambodia

Vietnam

Malaysia Brunei Darussalam LAMPHUN

Philippines

Singapore BANGKOK

TPARK LAMPHUN

Ladkrabang Industrial Estate TPARK LADKRABANG TPARK RAMA II

Indonesia AYUDHYA

Rojana Industrial Park (Ayudhya) Hi-Tech Industrial Estate Bangpa-In Industrial Estate TPARK ROJANA (Ayudhya) TPARK WANGNOI (3 Locations)

CHACHOENGSAO TPARK BANGNA TPARK BANGPAKONG

SAMUTPRAKARN Bangpoo Industrial Estate Asia Industrial Estate TPARK BANGPLEE (5 Locations)

PRACHINBURI Kabinburi Industrial Zone Rojana Industrial Park (Prachinburi) TPARK ROJANA (PRACHINBURI)

PATHUMTHANI

Navanakorn Industrial Promotion Zone

KHONKAEN

RAYONG Amata City Industrial Estate Rojana Industrial Park (Rayong) TPARK EASTERN SEABOARD 1 (1 Location)

TPARK KHONKAEN

SURAT THANI

CHONBURI

TPARK SURAT THANI Amata Nakorn Industrial Estate Hemaraj Chonburi Industrial Estate Laemchabang Industrial Estate Pinthong Industrial Estate (2 Locations) TPARK AMATA NAKORN TPARK BOWIN TPARK SRIRACHA TPARK LAEMCHABANG (2 Locations) TPARK PHAN THONG (3 Locations) TPARK EASTERN SEABOARD 1 (2 Locations) TPARK EASTERN SEABOARD 2 (2 Locations) TPARK EASTERN SEABOARD 3 TPARK AMATA CITY 11

รายงานประจ�ำปี 2557

Factories Warehouses


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

ความรับผิดชอบต่อสังคม

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social R

ผู้บริหารและพนักงานของบริษัท เข้าร่วมกิจกรรมกีฬาสีประจ�ำปี 2557 เพือ่ ส่งเสริมความรักสามัคคีในหมูพ ่ นักงานและเพือ่ สุขภาพทีด่ ขี องพนักงาน ทุกคน ณ สนามกีฬาในร่ม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

SOCIAL RESPONSIBILITIES

บริ ษั ท ได้ จั ด โครงการ “ไทคอนกรี น ไลฟ์ ตอน ปลู ก ปะการั ง ” โดยคณะผู้บริหาร และพนักงาน ร่วมแรงร่วมใจกันไปปลูกปะการังน�้ำตื้น ในทะเลแสมสาร ณ ชายหาดสอ อ�ำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

12

รายงานประจ�ำปี 2557


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibilities Social Responsibili

ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั เข้าร่วมกิจกรรมทีมบิลดิง้ ประจ�ำปี 2557 เพื่อเสริมสร้างทักษะในการท�ำงานเป็นทีม ณ เดอะเลกาซี่ริเวอร์แควรีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี

บริษทั ได้บริจาคอุปกรณ์การแพทย์ฉกุ เฉินเพือ่ ใช้เฝ้าติดตามและดูแล อาการของผู้ป่วยวิกฤติที่พักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลน่าน จังหวัดน่าน

บริ ษั ท ได้ บ ริ จ าคอุ ป กรณ์ ค อมพิ ว เตอร์ แ ละเครื่ อ งใช้ ส� ำ นั ก งาน ให้กับมูลนิธิสวนแก้ว จังหวัดนนทบุรี ซึ่งเป็นกิจกรรมที่กระท�ำติดต่อกัน มาเป็นเวลาหลายปี

13

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

คณะกรรมการและผู้บริหาร 1

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

2

นายชาลี โสภณพนิช ประธานกรรมการ

นายจิระพงษ์ วินิชบุตร กรรมการ

อายุ: 54 ปี การศึกษา: • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ The University of Chicago • Director Accreditation Program ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: ร้อยละ 3.30 (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: - ไม่มี ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

อายุ: 64 ปี การศึกษา: • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ George Washington University • Director Accreditation Program ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Director Certification Program ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: - ไม่มี - (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: เป็นญาติกับนายชาย วินิชบุตร ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัท ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

2553 - ปัจจุบัน

กรรมการ Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริหารการลงทุน)

2555 - ปัจจุบัน

2540 - ปัจจุบัน

กรรมการผูจ้ ดั การ บจก. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี (อสังหาริมทรัพย์)

กรรมการผู้อำ� นวยการ บจก. นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย (อสังหาริมทรัพย์)

2555 - ปัจจุบัน

2530 - ปัจจุบัน

กรรมการผูจ้ ดั การ บจก. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 (อสังหาริมทรัพย์)

กรรมการผู้อำ� นวยการ บจก. ซิตี้เรียลตี้ (อสังหาริมทรัพย์)

2553 - ปัจจุบัน

กรรมการ Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริหารการลงทุน)

2548 - ปัจจุบัน

ประธานกรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค (สร้างคลังสินค้าให้เช่า)

2536 - ปัจจุบัน

กรรมการผูจ้ ดั การ บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ (อสังหาริมทรัพย์)

14

รายงานประจ�ำปี 2557


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

3

4

นายชาย วินิชบุตร กรรมการ

นายไว เชง ควน กรรมการและกรรมการผู้อ�ำนวยการ

อายุ: 41 ปี การศึกษา: • ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ Boston University • Director Accreditation Program ปี 2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: - ไม่มี - (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: เป็นญาติกับนายจิระพงษ์ วินิชบุตร ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัท ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

อายุ: 57 ปี การศึกษา: • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ The University of Chicago สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: - ไม่มี - (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: เป็นคู่สมรสของนางยุพดี ควน ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัท ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

2556 - ปัจจุบัน

2553 - ปัจจุบัน

2555 - ปัจจุบัน

กรรมการ TICON Property, Inc. (ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)

กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ (ผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)

กรรมการ Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริหารการลงทุน)

2555 - ปัจจุบัน

2548 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส (สร้างโรงงานให้เช่า)

กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค (สร้างคลังสินค้าให้เช่า)

2544 - 2554

2554 - ปัจจุบัน

กรรมการผูจ้ ดั การ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส (สร้างโรงงานให้เช่า)

กรรมการ บจก. บางกอก ออฟฟิศ 3 (อสังหาริมทรัพย์)

2554 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. บางกอก ออฟฟิศ 4 (อสังหาริมทรัพย์)

2550 - ปัจจุบัน

กรรมการ บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ (อสังหาริมทรัพย์)

2547 - ปัจจุบัน

กรรมการผูจ้ ดั การ บจก. โรจนะ พร็อพเพอร์ตี้ (อสังหาริมทรัพย์)

15

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

คณะกรรมการและผู้บริหาร 5

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

6

นางยุพดี ควน กรรมการ

นายวีรพันธ์ พูลเกษ กรรมการและกรรมการผู้จัดการ

อายุ: 53 ปี การศึกษา: • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ Michigan State University • Director Certification Program ปี 2556 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: ร้อยละ 2.84 (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: เป็นคู่สมรสของนายไว เชง ควน ซึ่งเป็นกรรมการและกรรมการผู้อ�ำนวยการของบริษัท ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

อายุ: 54 ปี การศึกษา: • ปริญญาโทวิศวกรรมศาสตร์ University of Colorado • Director Certification Program (สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิอาวุโส) ปี 2545 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • DCP Refresher Course ปี 2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Audit Committee Program ปี 2553 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 11 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • ประกาศนียบัตร National Association of Corporate Directors ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตร Master Class 18 - 19 สิงหาคม 2558 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: ร้อยละ 1.01 (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: - ไม่มี ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

2555 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส (สร้างโรงงานให้เช่า)

2556 - 2558

กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ (ผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)

2556 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ (ผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)

2553 - ปัจจุบัน

กรรมการ Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริหารการลงทุน)

2548 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค (สร้างคลังสินค้าให้เช่า)

2544 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส (สร้างโรงงานให้เช่า)

16

รายงานประจ�ำปี 2557


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

7

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

8

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

9

นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ

นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

นายตรีขวัญ บุนนาค กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

อายุ: 72 ปี การศึกษา: • Fellow of the Institute of Chartered Accountants in England & Wales • Director Accreditation Program ปี 2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: ร้อยละ 0.08 (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผูบ้ ริหาร: - ไม่มี ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

อายุ: 53 ปี การศึกษา: • ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ University of Southern California • Director Accreditation Program ปี 2551 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง รุน่ ที่ 9 สถาบันวิทยาการตลาดทุน สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : - ไม่มี - (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผูบ้ ริหาร: - ไม่มี ประสบการณ์ทเี่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั :

อายุ: 58 ปี การศึกษา: • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ University of North Texas • Director Certification Program ปี 2544 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Director Accreditation Program ปี 2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: ร้อยละ 0.15 (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผูบ้ ริหาร: - ไม่มี ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

2538 - ปัจจุบัน

กรรมการ Sakura Ventures Pte. Ltd. (อสังหาริมทรัพย์ ส�ำนักงาน และโรงแรม)

2551 - 2555

2547 - 2555

ประธานกรรมการ บมจ. เมโทรสตาร์ พร็อพเพอร์ตี้ กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ (อสังหาริมทรัพย์) และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ (อสังหาริมทรัพย์)

2551 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค (สร้างคลังสินค้าให้เช่า)

2555 - ปัจจุบนั

กรรมการ บจก. เอ็มเมอรัลด์ เบย์ รีสอร์ท (อสังหาริมทรัพย์)

2555 - ปัจจุบนั

กรรมการ บจก. เอ็มเมอรัลด์ เบย์ วิลล่า (อสังหาริมทรัพย์)

2552 - 2555

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ (อสังหาริมทรัพย์)

17

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

คณะกรรมการและผู้บริหาร ดร. สมศักดิ์ ไชยพร ผู้จัดการทั่วไป อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 63 ปี • ปริญญาเอกวิศวกรรมศาสตร์ Ecole Centrale de Lyon • ร้อยละ 0.01 (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) • - ไม่มี • 2544 - ปัจจุบัน ผู้จัดการทั่วไป บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส (สร้างโรงงานให้เช่า)

นางสาวลลิตพันธุ์ พิริยะพันธุ ์ ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายบัญชี การเงิน และสารสนเทศ และเลขานุการบริษัท อายุ • 49 ปี การศึกษา • ปริญญาโทเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • Company’s Secretary Program ปี 2546 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท • ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร • - ไม่มี ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท • 2556 - 2557 กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ (ผู้จัดการกองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์) นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 48 ปี • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ Notre Dame de Namur University • - ไม่มี - (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) • - ไม่มี • - ไม่มี -

นายสมศักดิ์ รัตนวิระกุล ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายการตลาด 1 อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 55 ปี • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) • - ไม่มี • 2539 - 2547 ผู้จัดการฝ่ายวางแผนและโครงการ บมจ. ไทยพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรม (อสังหาริมทรัพย์)

นางยูโกะ โฮชิ ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายการตลาด 2 อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 44 ปี • ปริญญาตรีสังคมศาสตร์ Chiba University • ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) • - ไม่มี • - ไม่มี 18

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์ ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายพัฒนาโครงการ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 46 ปี • ปริญญาโทวิศวกรรมศาสตร์ Texas A&M University, Kingsville • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล • - ไม่มี - (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) • - ไม่มี • - ไม่มี -

นางสาวศิริพร สมบัติวัฒนา ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายธุรการ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 52 ปี • ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • ร้อยละ 1.75 (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) • - ไม่มี • - ไม่มี -

นายสิทธิศักดิ์ ธารีรัชต์ ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายกฎหมาย อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 51 ปี • ปริญญาตรีนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • - ไม่มี - (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) • - ไม่มี • - ไม่มี -

นางสาวรุ่งทิพย์ ภิยโยดิลกชัย ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายบัญชี อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 44 ปี • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ Monash University • - ไม่มี - (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) • - ไม่มี • - ไม่มี -

นางสาวพรพิมล ศุภวิรัชบัญชา ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายการเงิน อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 39 ปี • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 16 มีนาคม 2558) • - ไม่มี • - ไม่มี -

19

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ข้อมูลทัว� ไป บริษัท ชื�อ ประเภทธุ รกิจ เลขทะเบียนบริษทั ที�ตงั� สํานักงานใหญ่

เว็บไซต์ อีเมล ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล ้ว มูลค่าที�ตราไว้

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ก่อสร้างโรงงานสําเร็จรู ปเพื�อวัตถุประสงค์ในการให้เช่า 0107544000051 (บมจ. 666) ห้อง 1308 ชัน� 13/1 อาคารสาธรซิต� ีทาวเวอร์ เลขที� 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 www.ticon.co.th ticon@ticon.co.th 1,115,941,811 บาท (ณ วันที� 6 มีนาคม 2558) 1,099,142,375 บาท (ณ วันที� 6 มีนาคม 2558) 1 บาทต่อหุน้

บริษัทย่อย บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด ประเภทธุ รกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่

ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล ้ว มูลค่าที�ตราไว้

ก่อสร้า งโรงงานสําเร็จรู ปเพื�อวัตถุประสงค์ในการให้เ ช่ าในนิค มอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ซึ�งได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100 49/32 หมู่ท�ี 5 นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ตําบลทุ่งสุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 50,000,000 บาท (ณ วันที� 6 มีนาคม 2558) 50,000,000 บาท (ณ วันที� 6 มีนาคม 2558) 10 บาทต่อหุน้

20

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ประเภทธุ รกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่

เว็บไซต์ อีเมล ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล ้ว มูลค่าที�ตราไว้

พัฒนาคลังสินค้าสําเร็จรู ปเพื�อวัตถุประสงค์ในการให้เช่า บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100 ห้อง 1308 ชัน� 13/1 อาคารสาธรซิต� ีทาวเวอร์ เลขที� 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 www.ticonlogistics.com logistics@ticon.co.th 14,500,000,000 บาท (ณ วันที� 6 มีนาคม 2558) 14,500,000,000 บาท (ณ วันที� 6 มีนาคม 2558) 10 บาทต่อหุน้

Shanghai TICON Investment Management Company Limited ประเภทธุ รกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่ ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล ้ว

บริหารการลงทุน บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100 Rm. A512, Building 4, No.3288, Jinhai Road, Pudong New Area, Shanghai, China 2,800,000 ดอลล่าร์สหรัฐฯ (ณ วันที� 6 มีนาคม 2558) 2,800,000 ดอลล่าร์สหรัฐฯ (ณ วันที� 6 มีน าคม 2558)

TICON Property, Inc. ประเภทธุ รกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่ ทุนชําระแล ้ว

ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100 2975 23RD ST San Francisco, CA 94110 6,000,000 ดอลล่าร์สหรัฐฯ (ณ วันที� 6 มีนาคม 2558)

21

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จํากัด ประเภทธุ รกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่

ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล ้ว มูลค่าที�ตราไว้

ผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 70 ห้อง 1308 ชัน� 13/1 อาคารสาธรซิต� ีทาวเวอร์ เลขที� 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 10,000,000 บาท (ณ วันที� 6 มีนาคม 2558) 10,000,000 บาท (ณ วันที� 6 มีนาคม 2558) 10 บาทต่อหุน้

บริษัทร่วมค้า บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด (ถือหุน้ โดยบริษัทย่อย) ประเภทธุ รกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่ ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล ้ว มูลค่าที�ตราไว้

ผลิตและจําหน่ายกระแสไฟฟ้ า บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ถือหุน้ ร้อยละ 51 59 หมู่ที� 1 ตําบลสวนพริกไทย อําเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ (662) 959-5811-5 โทรสาร (662) 959-5822 5,000,000 บาท (ณ วันที� 6 มีนาคม 2558) 5,000,000 บาท (ณ วันที� 6 มีนาคม 2558) 100 บาทต่อหุน้

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด (ถือหุน้ โดยบริษัทย่อย) ประเภทธุ รกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่ ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล ้ว มูลค่าที�ตราไว้

ผลิตและจําหน่ายกระแสไฟฟ้ า บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ถือหุน้ ร้อยละ 51 59 หมู่ที� 1 ตําบลสวนพริกไทย อําเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ (662) 959-5811-5 โทรสาร (662) 959-5822 4,000,000 บาท (ณ วันที� 6 มีนาคม 2558) 4,000,000 บาท (ณ วันที� 6 มีนาคม 2558) 100 บาทต่อหุน้

22

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

ผูเ้ กี�ยวข้องอื�น ๆ นายทะเบียนหลักทรัพย์

บริษทั ศู นย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ (662) 229-2800 โทรสาร (662) 359-1259

ผูส้ อบบัญชี

นายโสภณ เพิ�มศิริวลั ลภ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุ ญาตเลขที� 3182 บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด ชัน� 33 อาคารเลครัชดา เลขที� 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ (662) 264-9090 โทรสาร (662) 264-0789

23

รายงานประจ�ำปี 2557

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1. วิสยั ทัศน์และเป้ าหมายการดําเนิ นธุรกิจ 1.1 วิสยั ทัศน์ วิสยั ทัศน์ของบริษทั คื อ การเป็ นบริษทั ชัน� นําในการพัฒนาและให้บริการเช่าโรงงานและคลังสินค า้ ที�มี คุณภาพระดับสากล โดยคํานึงถึงสังคมและสภาพแวดล ้อมเป็ นสําคัญและให้ผลตอบแทนที�ดีท�สี ุดแก่ผูล้ งทุน 1.2 เป้ าหมายการดําเนิ นธุรกิจ เป้ าหมายการดําเนิ นธุ รกิจของบริษ ทั คื อการรักษาตําแหน่ งการเป็ น ผู น้ ํา ด้า นการก่อสร้า งโรงงานและ คลังสินค้าเพื�อให้เช่าที�มีคุณภาพระดับสากลควบคู่ไปกับการให้บริการครบวงจรโดยคํานึงถึงความต้องการของลู กค้าเป็ น สําคัญและบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลเพื�อประโยชน์ของผูท้ �มี สี ่วนเกี�ยวข้องทุกฝ่ าย

2. การเปลี�ยนแปลงและการพัฒนาการที�สาํ คัญ ในปี 2557 บริษทั ได้ขยายการลงทุนต่อเนื�องจากปี ท�ผี ่านมา รวมมูลค่ ากว่า 8,000 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เป็ นการ ลงทุนซื�อที�ดินและพัฒนาคลังสิน ค้า เพื�อรองรับความต้องการเช่ าคลังสิน ค้าที�ม ีการขยายตัวอย่างต่ อเนื�องโดยเฉพาะ ในพื�นที�รอบนอกของกรุงเทพมหานครฝัง� ตะวันออก ถนนบางนา-ตราด และถนนพระราม 2 อันจะเห็นได จ้ ากพื�น ที�เช่า คลังสินค้าสุทธิของบริษทั ที�เพิ�มขึ�น 167,776 ตารางเมตร แมว้ ่าจะเป็ นการเพิ�มขึ�น ที�นอ้ ยกว่าการเพิ�ม ขึ�นสุ ทธิในปี 2556 นอกจากนี� บริษทั ยังมีการลงทุนซื�อที�ดิน เพื�อพัฒนาคลังสินค้าเพิ�มเติม ในเขตภาคเหนื อ ที�จงั หวัด ลําพูน และในนิค ม อุตสาหกรรมเอเซีย-สุ วรรณภูมิ ซึ�งอยู่ไม่ ไกลจากท่ าอากาศยานนานาชาติ กรุ งเทพ-สุ วรรณภู มิ โดยบริษทั ได้ก่อสร้า ง โรงงานอุตสาหกรรมสําเร็จรู ปไว้แล ้วส่วนหนึ�งในที�ดินดังกล่าว พื�น ที�เ ช่ าคลังสิน ค า้ สุ ทธิ ท�เี พิ�ม ขึ�น ดังกล่า วข้า งต น้ เป็ น ไปตามความต้องการคลังสิน ค้า /ศู น ย์กระจายสิน ค้า ที�ขยายตัวจากการเติบโตอย่างต่อเนื�องของกิจกรรมผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ในประเทศ และธุรกิจค้าปลีก อย่างไรก็ตาม บริษทั มีพ� นื ที�เช่าโรงงานสุทธิลดลงจากปี ก่อนหน้า เนื�องจากการให้เช่าพื�นที�ใ หม่ของโรงงานลดลง กว่าร้อยละ 50 เมื�อเทียบกับพื�นที�เช่าใหม่ของปี ก่อนหน้า สาเหตุจากผลกระทบของความไม่สงบภายในประเทศในช่ วง ครึ�งปี แรกของปี 2557 และความล่าช้าในการแต่งตัง� คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ BOI ส่งผลให้นกั ลงทุ น ต่างชาติชะลอการลงทุนใหม่ ๆ ออกไป

24

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

3. โครงสร้างการถือหุน้ ของกลุม่ บริษทั ณ 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน)

บริษทั ย่อย บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด

บริษทั ร่วม กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน

100%

บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด 100% - บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด (51%) - บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด (51%) Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd.

100%

TICON Property, Inc.

100%

บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จํากัด

24%

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์ค โลจิสติคส์ 20% กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

27%

ทรัสต์เพือ� การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (ถือหุนโดยบริ ้ ษทั ย่อย)

12%

70%

บริษทั มีบริษทั ย่อย 5 แห่ง ได้แก่ บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited TICON Property, Inc. และบริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ จํากัด โดยบริษทั และบริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส จํากัด เป็ นผู จ้ ดั สร้างโรงงานให้เช่ า ส่ว นคลังสิน ค้า ให้เ ช่ าดํา เนิ น การโดยบริษทั ไทคอน โลจิสติ ค ส์ พาร์ค จํากัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited และ TICON Property, Inc. จัดตัง� ขึ�นเพื�อรองรับการขยายธุ รกิจในประเทศจีน และประเทศสหรัฐอเมริกา สําหรับ บริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ จํากัด จัดตัง� ขึ�นเพื�อวัตถุประสงค์ในการเป็ น ผู จ้ ดั การ ทรัสต์เ พื�อการลงทุ น ในอสังหาริ ม ทรัพ ย์และสิทธิ การเช่า อสังหาริม ทรัพ ย์ไทคอน ทัง� นี� รายละเอียดของบริษ ัทย่ อย มีดงั ต่อไปนี� 1. บริษัท อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด (Eco Industrial Services Company Limited: EISCO) ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน โดย EISCO ดําเนินธุ รกิจเช่ นเดียวกับบริษทั และถูกจัดตัง� ขึ�นเพื�อ ขอรับการส่ง เสริ ม การลงทุ น จากคณะกรรมการส่ งเสริม การลงทุน ในโครงการก่ อสร้า งโรงงานสํา เร็ จรู ป ในนิ ค ม อุตสาหกรรมแหลมฉบังซึ�งเป็ นโครงการที�มรี ู ปแบบเช่นเดียวกับโครงการของบริษทั โดยเริ�ม ดําเนินการในเดื อนเมษายน 2544 และได้รบั อนุ มตั ใิ ห้ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนเมื�อเดือนสิงหาคม 2544 ณ วันที� 31 ธัน วาคม 2557 EISCO มีทุน จดทะเบียนและทุน ชําระแล ว้ 50 ลา้ นบาท โดยในปี 2546 EISCO ได้รบั การรับรองคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 : 2000

25

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

2. บริษัท ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด (TICON Logistics Park Company Limited: TPARK) ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุน จดทะเบียน TPARK จัดตัง� ขึ�นในเดื อนสิงหาคม 2548 โดยมีว ตั ถุประสงค์เ พื�อ พัฒนาคลังสินค้าให้เช่า โดย TPARK ได้รบั การส่งเสริม การลงทุนในการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอนบางนา เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน วังน้อย เขตอุตสาหกรรมโลจิสติค ส์ไทคอน ศรีราชา เขตอุตสาหกรรมโลจิสติค ส์ ไทคอน แหลมฉบัง และการพัฒนาคลังสินค้าจํานวนหนึ�งในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี (บ่อวิน) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 TPARK มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแลว้ 14,500 ลา้ นบาท โดยในปี 2552 TPARK ได้รบั การรับรองคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 3. Shanghai TICON Investment Management Company Limited ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุน จดทะเบียน จัดตัง� ขึ�นในประเทศจีน ในเดือนกรกฎาคม 2553 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื�อรองรับการขยายธุ รกิจ เกี�ยวกับการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ในประเทศจีน ซึ�งปัจจุบนั อยูร่ ะหว่างศึกษาความเป็ นไปได้สาํ หรับการลงทุน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 Shanghai TICON Investment Management Company Limited มีทุน จดทะเบียน 2.8 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ และมีทุนชําระแล้ว 2.8 ล ้านดอลล่าร์สหรัฐฯ 4. TICON Property, Inc. ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 จัด ตัง� ขึ�นในประเทศสหรัฐอเมริกา ในเดือน มกราคม 2555 โดยมีว ตั ถุป ระสงค์เ พื� อรองรับการขยายธุ ร กิจเกี�ยวกับการลงทุนในอสังหาริ ม ทรัพ ย์ในประเทศ สหรัฐอเมริกาซึ�งปัจจุบนั อยู่ระหว่างการศึกษาความเป็ นไปได้สาํ หรับการลงทุน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 TICON Property, Inc. มีทุนชําระแล้ว 6 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ 5. บริษัท ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จํากัด (TICON Management Company Limited: TMAN) ถือหุน้ โดย บริษทั ร้อยละ 70 ของทุนจดทะเบียน TMAN จัดตัง� ขึ�นในเดือนพฤษภาคม 2556 โดยมีว ตั ถุประสงค์เพื�อเป็ นผู จ้ ดั การ กองทรัสต์ โดยได้รบั การอนุ ม ตั ิในการเป็ น ผู จ้ ดั การกองทรัสต์ จากสํา นักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ตงั� แต่ วันที� 6 สิงหาคม 2557 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 TMAN มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล ้ว 10 ล้านบาท นอกจากนี�บริษทั ย่อยดังกล่าวข้างต้น แล้ว บริษทั ยังมีการลงทุนในบริษ ัทร่ วมค้า ได้แก่ บริษทั ไทคอน เด็ม โก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด และ บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด เพื�อวัตถุประสงค์ในการเป็ นผูพ้ ฒั นาโครงการผลิตและ จําหน่วยกระแสไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ�งรายละเอียดของบริษัทร่วมค้ามีดงั ต่อไปนี� 1. บริษัท ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด (TICON DEMCO Power 6 Company Limited: TICON DEMCO 6) ถือหุน้ โดย TPARK ร้อยละ 51 ของทุน จดทะเบียน โดย TICON DEMCO 6 ดําเนิน ธุ รกิจพัฒนา โครงการผลิตและจําหน่ายกระแสไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ�งปัจจุบนั อยู่ระหว่างการพัฒนาโครงการ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 TICON DEEMCO 6 มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล ้ว 5 ล้านบาท 2. บริษัท ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด (TICON DEMCO Power 11 Company Limited: TICON DEMCO 11) ถือหุน้ โดย TPARK ร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน โดย TICON DEMCO 11 ดําเนินธุ รกิจเช่นเดียวกับ TICON DEMCO 6 ซึ�งปัจจุบนั อยูร่ ะหว่างการพัฒนาโครงการ

26

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 TICON DEMCO 11 มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแลว้ 4 ล้านบาท นอกจากนี� บริ ษ ัท มี การลงทุ น ในบริ ษั ท ร่ ว ม ได้แ ก่ กองทุ น รวมอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ไ ทคอน กองทุ น รวม อสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อิน ดัสเทรียล โกรท และทรัสต์เ พื�อ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน ซึ�งมีรายละเอียดดังนี� 

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (TICON Property Fund : TFUND)

TFUND จัดตัง� ขึ�นในเดือนเมษายน 2548 เพื�อวัตถุประสงค์ในการลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์ท�เี กีย� วเนื�องกับ กิจการอุตสาหกรรม (Industrial Properties) โดยอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นอสังหาริมทรัพย์ท�ี TICON หรือ TPARK เป็ นเจ้าของ TFUND เป็ นกองทุนที�เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมี บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม บัวหลวง จํากัด เป็ นผูจ้ ดั การกองทุน ปัจจุบนั TFUND มีจาํ นวนเงินทุน 11,825 ล ้านบาท TFUND มีการระดมทุนครัง� แรกในปี 2548 และได้ทาํ การเพิ�มทุนอีก 6 ครัง� ในปี 2549-2555 เพื�อซื�อโรงงานและคลังสินค้าจาก TICON และ TPARK ซึ�งปัจจุบนั มีโรงงาน จํานวนรวม 237 โรงงาน (พื�นที�รวม 563,950 ตารางเมตร) และคลังสินค้า 8 หลัง (พื�น ที�รวม 19,600 ตารางเมตร) ตามลําดับ ทัง� นี� TICON และ TPARK มิได้มขี อ้ ผูกพันในการซื�อโรงงานและคลังสินค้าคืนจาก TFUND TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจา้ งให้เป็ นผูบ้ ริหารโรงงาน และคลังสิน ค้าที�ขายให้แก่ TFUND และ ได้รบั ค่าจ้างบริหารจาก TFUND TFUND มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผูถ้ อื หน่วยอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง� ในอัตราไม่ตาํ � กว่าร้อยละ 90 ของ กําไรสุทธิของกองทุน ซึ�งกําไรสุทธิของกองทุนดังกล่าวเป็ นกําไรที�ได้รบั การยกเว้นภาษี ทัง� นี� ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 TFUND มีมูลค่าสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วยเท่ากับ 11.0021 บาท ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มีการลงทุนใน TFUND คิดเป็ นร้อยละ 24 ของจํานวนหน่วยลงทุนที�ออกทัง� หมด 

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์คโลจิสติคส์ (TPARK Logistics Property Fund : TLOGIS)

TLOGIS จัดตัง� ขึ�นในเดือนธันวาคม 2552 เพื�อวัตถุประสงค์ในการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ท�เี กีย� วเนื�องกับ กิจการอุตสาหกรรม โดยอสังหาริมทรัพ ย์ด งั กล่า วไม่ จาํ เป็ น ต้องเป็ น อสังหาริมทรัพย์ท�ี TICON หรือ TPARK เป็ น เจ้าของ TLOGIS เป็ นกองทุนที�เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีบริษทั หลักทรัพ ย์ จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จํากัดเป็ นผูจ้ ดั การกองทุน ปัจจุบนั TLOGIS มีจาํ นวนเงินทุน 4,469 ล้านบาท มีการระดมทุนครัง� แรกในปี 2552 และทําการเพิ�ม ทุน อีก 2 ครัง� ในปี 2554 -2555 เพื�อซื�อคลังสิน ค้าจาก TPARK ซึ�งปัจจุบนั มีคลังสินค้าจํา นวนรวม 63 หลัง (พื�นที�รวม 243,625 ตารางเมตร) โดยมี TICON เป็ น ผู ค้ ํา� ประกัน ค่ าเช่ า สําหรับ การเช่ า คลังสิน ค้า บางส่ว นให้แ ก่ TLOGIS เป็ นจํานวนเงินเท่ ากับปี ละ 187.5 ล้านบาท จนถึงวันที� 31 ธัน วาคม 2559 ทัง� นี� TPARK มิได้มีขอ้ ผู กพัน ในการซื�อ คลังสินค้าคืนจาก TLOGIS TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจ้างให้เป็ นผู บ้ ริหารคลังสิน ค้าที�ขายให้แก่ TLOGIS และได้รบั ค่ าจ้าง บริหารจาก TLOGIS

27

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

TLOGIS มีน โยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผูถ้ อื หน่วยอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง� ในอัตราไม่ตาํ � กว่ารอ้ ยละ 90 ของ กําไรสุทธิของกองทุน ซึง� กําไรสุทธิของกองทุนดังกล่าวเป็ นกําไรที�ได้รบั การยกเว้นภาษี ทัง� นี� ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 TLOGIS มีมูลค่ าสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วยเท่ากับ 11.6221 บาท ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มีการลงทุนใน TLOGIS คิดเป็ นร้อยละ 20 ของจํานวนหน่วยลงทุนที�ออกทัง� หมด กองทุน รวมสิทธิ การเช่ าอสังหาริมทรัพย์ไทคอนอินดัสเทรียลโกรท (TICON Industrial Growth Leasehold Property Fund : TGROWTH) 

TGROWTH จัดตั�งขึ�นในเดื อนธัน วาคม 2556 เพื� อวัต ถุประสงค์ในการลงทุน ในอสังหาริม ทรัพย์ ที�เ กี�ยวเนื�องกับกิจการอุตสาหกรรม โดยอสังหาริม ทรัพย์ด งั กล่าวไม่จาํ เป็ นต้องเป็ น อสังหาริมทรัพ ย์ท�ี TICON หรือ TPARK เป็ น เจ้าของ TGROWTH เป็ นกองทุน รวมสิทธิการเช่ า ที�เ ป็ น หลักทรัพ ย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพ ย์ แห่งประเทศไทย โดยมีบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนไทยพาณิชย์ จํากัด เป็ นผูจ้ ดั การกองทุน ปัจจุบนั TGROWTH มีจาํ นวนเงิน ทุน 5,550 ล้านบาท มีการระดมทุนครัง� แรกในปี 2556 เพื�อลงทุน ในสิทธิการเช่าที�ดินกรรมสิทธิ� และสิทธิการเช่าอาคารจาก TICON และ TPARK ซึ�งปัจจุบนั มีโรงงานรวม 40 โรงงาน (พื�นที�รวม 121,175 ตารางเมตร) และคลังสินค้า 50 หลัง (พื�นที�รวม 182,095 ตารางเมตร) ตามลําดับ ทัง� นี� TICON และ TPARK มิได้มขี อ้ ผู กพันในการซื�อโรงงานและคลังสินค้าคืนจาก TGROWTH TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจ้างให้เป็ นผูบ้ ริหารโรงงานและคลังสินค้าที�ขาย/ให้เช่าแก่ TGROWTH และได้รบั ค่าจ้างบริหารจาก TGROWTH TGROWTH มีน โยบายจ่ายเงิน ปันผลให้แก่ผูถ้ อื หน่ วยลงทุนอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง� ในอัตราไม่ตาํ � กว่า ร้อยละ 90 ของกําไรสุทธิของกองทุน ซึ�งกําไรสุ ทธิของกองทุนดังกล่าวเป็ น กําไรที�ได้รบั การยกเว้นภาษี ทัง� นี� ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 TGROWTH มีมูลค่ าสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วยเท่ากับ 10.2633 บาท ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มีการลงทุนใน TGROWTH คิดเป็ น ร้อยละ 27 ของจํานวนหน่วยลงทุนที�ออกทัง� หมด ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (TICON Freehold and Leasehold Real Estate Investment Trust : TREIT) 

TREIT จัดตัง� ขึ�นในเดือนธันวาคม 2557 เพื�อวัตถุประสงค์ในการลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์ท�เี กี�ยวเนื�องกับ กิจการอุตสาหกรรม โดยอสัง หา ริ ม ทรัพ ย์ด ัง กล่ า ว ไม่จาํ เป็ น ต้องเป็ นอสังหาริม ทรัพ ย์ท�ี TICON หรือ TPARK เป็ นเจ้า ของ TREIT เป็ นทรัส ต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริม ทรัพย์และสิทธิการเช่ าอสังหาริมทรัพย์ท�เี ป็ นหลักทรัพย์ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีบริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ จํากัด (TICON Management Company Limited: TMAN) เป็ นผู จ้ ดั การกองทรัสต์ และบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุ นรวม บัวหลวง จํากัด เป็ นทรัสตี

28

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ปัจจุบนั TREIT มีจาํ นวนเงินทุน 3,425 ล้านบาท มีการระดมทุนครัง� แรกในปี 2557 เพื�อซื�อโรงงานและ คลังสิน ค้าจาก TICON และ TPARK และลงทุนในสิทธิการเช่ าที�ดิน กรรมสิทธิ� และสิทธิการเช่ าอาคารจาก TICON และ TPARK ซึ�งปัจจุบนั มีโรงงานจํานวน 20 หลัง (พื�น ที�รวม 54,000 ตารางเมตร) และคลังสินค้าจํานวน 14 หลัง แบ่งเป็ น 25 ยูนิต (พื�นที�รวม 160,523 ตารางเมตร) ตามลําดับ ทัง� นี� TICON และ TPARK มิได้มีขอ้ ผู กพัน ในการซื�อ โรงงานและคลังสินค้าคืนจาก TREIT TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจ้างให้เป็ นผูบ้ ริหารโรงงานและคลังสินค้าที�ขาย/ให้เ ช่าแก่ TREIT และ ได้รบั ค่าจ้างบริหารจาก TREIT TREIT มีนโยบายจ่ายเงินปันผลใหแ้ ก่ผถู ้ อื หน่วยทรัสต์อย่างน้อยปี ละ 2 ครัง� ในอัตราไม่ตาํ � กว่าร้อยละ 90 ของกําไรสุทธิหลังปรับปรุงแล ้วของกองทรัสต์ ซึง� กําไรสุทธิของกองทรัสต์ดงั กล่าวเป็ นกําไรที�ได้รบั การยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบคุ คล ทัง� นี� ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 TREIT มีมูลค่ าสินทรัพย์สุทธิเท่ากับ 10.0232 บาทต่อหน่ วย ณ สิ�นปี 2557 บริษทั โดยการถือหุน้ ของ TPARK มีการลงทุนใน TREIT คิดเป็ น ร้อยละ 12 ของจํานวน หน่ วยลงทุนที�ออกทัง� หมด การขายโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่ TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT ถือเป็ นช่องทางการระดมทุนของ บริษทั ทางหนึ�ง เพื�อนําเงินที�ได้มาใช้ขยายกิจการของบริษทั นอกเหนือจากแหล่งเงินทุนจากผลการดําเนินงานของบริษทั และแหล่งเงินทุนจากการกูย้ ืม การพิจารณาขายอสังหาริม ทรัพ ย์ให้แก่ TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT นัน� บริษทั จะคํานึงถึงความเหมาะสมของปัจจัยต่าง ๆ ที�เกีย� วข้องในแต่ละช่วงเวลา โดยคํานึงถึงผลตอบแทนสู งสุ ดต่ อ ผูถ้ อื หุน้ บริษทั มีเ งินลงทุน ในบริษัทที�เกี�ยวข้อง คือ บริษทั บางกอกคลับ จํากัด เป็ น จํานวนเงินทัง� สิ�น 256,500 บาท คิดเป็ นร้อยละ 0.11 ของทุนจดทะเบียนของบริษทั บางกอกคลับ จํากัด เพื�อวัตถุประสงค์ในการใช้บริการของบริษทั ดังกล่าว

29

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะการประกอบธุรกิจ 1. ภาพรวมของธุรกิจ บริ ษ ัท ประกอบธุ ร กิ จ เป็ นผู ก้ ่อ สร า้ งโรงงานอุต สาหกรรมและคลัง สิ น ค้า ให้เ ช่ า ในนิ ค มอุ ต สาหกรรม สวนอุตสาหกรรม เขตอุตสาหกรรม เขตส่งเสริม อุตสาหกรรม และทําเลอื�นที�มีศกั ยภาพในประเทศไทย โดยโรงงาน ของบริษทั ตัง� อยู่ในนิคม/สวน/เขต/เขตส่งเสริมอุตสาหกรรม 15 แห่ง ดังต่อไปนี� ที�ตง�ั

จังหวัด พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ระยอง สมุทรปราการ สมุทรปราการ ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร ระยอง ปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

นิคมอุต สาหกรรมบางปะอิน นิคมอุต สาหกรรมไฮเทค สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-อยุธยา นิคมอุต สาหกรรมอมตะนคร นิคมอุต สาหกรรมแหลมฉบัง นิคมอุต สาหกรรมเหมราชชลบุรี นิคมอุต สาหกรรมปิ� นทอง นิคมอุต สาหกรรมอมตะซิต� ี นิคมอุต สาหกรรมบางปู นิคมอุต สาหกรรมเอเซีย เขตส่งเสริม อุตสาหกรรมนวนคร นิคมอุต สาหกรรมลาดกระบัง สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ระยอง เขตอุตสาหกรรมกบินทร์บรุ ี สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ปราจีนบุรี

คลังสินค้าของบริษทั ตัง� อยู่ในพื�นที� 32 ทําเล ดังต่อไปนี� ที�ตง�ั เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน บางนา ศูนย์คลังสินค้าแหลมฉบัง เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน แหลมฉบัง เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน วังน้อย (3 แห่ง) สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-อยุธยา นิคมอุต สาหกรรมอมตะนคร เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน ลาดกระบัง ศูนย์คลังสินค้าอีสเทิร์นซีบ อร์ด ศูนย์คลังสินค้าอีสเทิร์นซีบ อร์ด (5 แห่ง ) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน ศรีราชา

จังหวัด ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี กรุงเทพมหานคร ระยอง ชลบุรี ชลบุรี

30

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

ที�ตง�ั นิคมอุต สาหกรรมเหมราชชลบุรี (บ่อวิน) ศูนย์คลังสินค้าพานทอง (3 แห่ง) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน บางปะกง ศูนย์คลังสินค้าบางพลี (5 แห่ง) สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ปราจีนบุรี ศูนย์คลังสินค้าขอนแก่น ศูนย์คลังสินค้าสุราษฎร์ธานี นิคมอุต สาหกรรมอมตะซิต� ี ศูนย์คลังสินค้าสมุทรสาคร ศูนย์คลังสินค้าลําพูน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

จังหวัด ชลบุรี ชลบุรี ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ ปราจีนบุรี ขอนแก่น สุราษฎร์ธานี ระยอง สมุทรสาคร ลําพูน

2. โครงสร้างรายได้ ปัจจุบนั รายได้จากการขายโรงงาน/คลังสิน ค้ามี สดั ส่ วนสู งที�สุด เมื� อเทียบกับรายได้ร วมของบริ ษทั เนื� องจาก หลายปี ท�ี ผ่ า นมาบริ ษ ทั มีก ารขายโรงงาน/คลังสิน ค้า ให้แ ก่ กองทุน รวมอสังหาริ ม ทรัพ ย์หรื อทรัส ต์เ พื�อการลงทุ น ในอสังหาริมทรัพ ย์และสิทธิการเช่ าอสังหาริม ทรัพย์ไทคอนเป็ นจํานวนมากเพื�อนําเงินที�ได้มาใช้ขยายธุ รกิจของบริษทั อย่างไรก็ตาม รายได้ค่าเช่ารับและบริการยังคงเป็ นรายได้หลักที�สาํ คัญของบริษทั เนื�องจากการให้เช่าโรงงาน/คลังสินค้า เป็ นธุ รกิจหลักของบริษทั รายได้ทงั� สองประเภทคิดเป็ นประมาณร้อยละ 80-90 ของรายได้รวมทัง� หมดของบริษทั บริษทั ยังมีรายได้อ�นื ๆ อีกหลายประเภท ซึ�งมีสดั ส่วนมากน้อยแตกต่างกันไปในแต่ละปี ทัง� นี� โปรดดู การวิเคราะห์โครงสร้างรายได้เ พิ�มเติมใน หัวข้อ “คําอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ ายจัดการ” โครงสร้างรายได้ รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้จากการให้เช่าและการบริการ รายได้ค่าบริหารจัดการจากบริษทั ร่วม ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมตามวิธีสว่ นได้เสีย กําไรที�รบั รูเ้ พิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม รายได้อื�นๆ รวม

2555 ล้านบาท 4,364.45 1,053.01 105.07 169.22 35.29 321.45 6,048.49

2556 ร้อยละ 72.16 17.41 1.74 2.80 0.58 5.31 100.00

ล้านบาท 4,663.04 1,109.69 152.59 216.57 154.45 384.70 6,681.04

31

รายงานประจ�ำปี 2557

2557 ร้อยละ 69.80 16.61 2.28 3.24 2.31 5.76 100.00

ล้านบาท 4,561.28 966.06 165.34 267.13 41.37 163.79 6,164.97

ร้อยละ 73.98 15.67 2.68 4.33 0.67 2.67 100.00


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

3. ผลิตภัณฑ์และบริการ 3.1 ผลิตภัณฑ์ ก. โรงงานสําเร็จรู ป บริ ษ ทั ได้จ ดั สร้า งโรงงานสํา เร็ จรู ป ที�ม ีคุ ณ ภาพระดับ สากลเพื� อตอบสนองความต้องการของ ผู ป้ ระกอบการที�เ ข้ามาตัง� ฐานการผลิตในประเทศไทยโดยไม่ ตอ้ งการถือกรรมสิท ธิ�ในโรงงาน เพื�อลดต้นทุน ในการ ดําเนินการ และลดความเสี�ยงจากความไม่ แน่ น อนต่ าง ๆ ที�อาจเกิดขึ�น บริษทั ได้เ ลือกสร้างโรงงานในทําเลที�ตงั� ที�มี ศักยภาพ และก่อสร้างโรงงานที�มีรูปแบบมาตรฐานเหมาะสมสําหรับผูป้ ระกอบการที�หลากหลายอุตสาหกรรม นอกจากนี� เนื� อ งจากกลุ่ ม ผู เ้ ช่ า โรงงานของบริ ษ ัท เกื อบร้อ ยละ 90 เป็ นผู ป้ ระกอบการชาวต่ า งชาติ บริ ษ ัท จึ ง ได้เ น้น การให้บริการให้ความช่วยเหลือในเรื�องต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้องกับการเริ�มต้นประกอบการผลิตในประเทศไทย บริษทั เลือกทําเลที�ตงั� สําหรับการพัฒนาโรงงานโดยพิจารณาจากความต้องการของลู กค้าในปัจจุบนั และการคาดการณ์ในอนาคต นอกจากนัน� ยังพิจารณาถึงเขตส่งเสริมการลงทุน ของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุ น ความสะดวกในการเดินทางไปยังท่าเรือ สนามบิน ระยะห่างจากกรุงเทพมหานคร ตลอดจนระบบโครงสร้างพื�นฐานที�ได้ มาตรฐานของทําเลที�ตงั� นัน� ๆ บริษทั มีการพัฒนาโรงงานทัง� ในเขตส่งออกและเขตทัว� ไปตามความต้องการของลูกค้า ซึ�งจะแตกต่าง กันในแต่ละทําเลที�ตงั� ตัวอย่างเช่น ความต้องการโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังซึ�งอยูต่ ิดกับท่าเรือนํา� ลึกที�สาํ คัญ ของประเทศไทย โดยส่วนใหญ่จะเป็ นความต้องการของโรงงานในเขตส่งออก โรงงานของบริ ษทั มีลกั ษณะเป็ น อาคารชัน� เดี ยวพร้อมชัน� ลอยเพื�อใช้เ ป็ น สํานักงาน ซึ�งก่ อสร้า ง ในบริเวณพื�นที�ดินที�มรี วั� กัน� เป็ นสัดส่วน พร้อมด้วยป้ อมยาม พื�นที�จอดรถ และพื�นที�สาํ หรับขนถ่ายสิน ค้า ทัง� นี� โรงงาน ที�บริษทั พัฒนาขึ�นเป็ นแบบมาตรฐาน แต่สามารถดัดแปลงให้เหมาะสมกับความต้องการของลู กค้าได้ ขนาดของโรงงาน มีตงั� แต่ 550 ถึง 12,000 ตารางเมตร ซึ�งโดยส่วนใหญ่มขี นาดประมาณ 1,500 ถึง 3,000 ตารางเมตร โรงงานของบริษทั ที�สร้างมีขนาดเล็กลง เนื�องจากปัจจุบนั แนวโน้มความต้องการโรงงานขนาดเล็กของลู กค้ามีสูงขึ�น นอกจากนี� พ�ืนโรงงาน สามารถรับนํา� หนักได้ตงั� แต่ 1 ถึง 3 ตันต่อตารางเมตร ตัวอาคารก่อสร้าง โดยใช้โครงสร้างหลังคาเหล็ก ซึ�งไม่ตอ้ งมีเสา รองรับหลังคาโรงงาน ทําให้ได้พ� นื ที�ใช้สอยสูงสุด นอกจากโรงงานสําเร็จรู ปแล้ว บริษทั ยังให้บริการสรา้ งโรงงานตามแบบที�ลูกค้าต้องการ ซึ�งโดยทัว� ไป จะมีขนาดใหญ่กว่าโรงงานสําเร็จรู ปของบริษทั สัญญาเช่าระหว่างลูกค้ากับบริษทั เกือบทัง� หมดมีอายุสญั ญา 3 ปี โดยเปิ ดโอกาสให้ลูกค้ามีทางเลือก ในการต่อสัญญาเช่าได้ นอกจากนัน� บริษทั ยังให้ทางเลือกแก่ลูกค้าในการเปลีย� นไปเช่าโรงงานอื�น ของบริษทั ในทําเลที�ตงั� หรือขนาดที�แตกต่างไป ตลอดจนให้ทางเลือกแก่ลูกค้าในการซื�อโรงงาน กัน

บริษทั กําหนดให้ลูกค้าชําระเงินมัดจํา จํานวน 3 - 6 เดือนของค่าเช่าและค่ า บริการตามแต่จะตกลง

32

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ณ สิ�นปี 2555 2556 และ 2557 บริษทั มีโรงงานให้เช่าแก่ลูกค้า โรงงานว่างพร้อมให้เช่า และโรงงาน ที�อยู่ระหว่างการพัฒนา ดังนี�

โรงงานให้เช่า โรงงานว่างพร้อมให้เช่า โรงงานทีอ� ยูร่ ะหว่างการพัฒนา โรงงานทีอ� ยูใ่ นแผนการพัฒนา รวม

สิ�นปี จํานวน โรงงาน 114 34 11 62 221

2555 พื�นที�เช่า (ตรม.) 312,865 101,225 24,625 173,775 612,490

สิ�นปี จํานวน โรงงาน 86 41 14 160 301

2556 พื�นที�เ ช่า (ตรม.) 252,190 119,475 39,300 421,975 832,940

สิ�นปี จํานวน โรงงาน 64 55 28 175 322

2557 พื�นที�เช่า (ตรม.) 175,080 160,200 67,325 431,350 833,955

ตารางข้างต้นแสดงข้อมูลของโรงงานภายหลังการขายโรงงานจํานวนหนึ�ง ซึ�งเกือบทัง� หมดมีผูเ้ ช่าแล ้ว ให้แ ก่ TFUND TGROWTH และ TREIT ทัง� นี� ในช่ วง 3 ปี ท�ผี ่ า นมา บริษทั มี การขายโรงงานให้แก่ TFUND TGROWTH และ TREIT ดังนี� ปี 2555 จํานวน พื�นที�เช่า โรงงาน (ตรม.) โรงงานทีข� ายให ้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ โรงงานทีข� ายให ้ทรัสต์เพือ� การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน

38 -

106,000 -

ปี 2556 จํานวน พื�นที�เ ช่า โรงงาน (ตรม.) 40 -

108,350 -

ปี 2557 จํานวน พื�นที�เช่า โรงงาน (ตรม.) 3 20

20,250 54,000

อัตราการเช่ า โรงงาน (Occupancy rate) ของบริษทั โดยเฉลี�ยในปี 2557 ลดลงจากปี 2556 เนื� องจากในปี ท�ีผ่านมาบริษทั มีพ� ืนที�เ ช่าสุ ทธิ ลดลง และยังคงมีโรงงานว่ างจํานวนหนึ�งในพื�น ที� ซ�งึ เคยประสบอุทกภัย ประกอบกับบริษทั มีการขายโรงงานที�ส่วนใหญ่มีผูเ้ ช่าแล ้วให้ TREIT คิดเป็ นพื�น ที� 54,000 ตารางเมตร และกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์และผูเ้ ช่า รวมเป็ นพื�นที� 24,400 ตารางเมตร โดยการลดลงของพื�น ที�เช่าใหม่สุทธิมีสาเหตุหลักมาจาก สถานการณ์ทางการเมืองภายในประเทศที�กอ่ ให้เกิดการชะลอการลงทุนของลูกค้าในกลุม่ อุตสาหกรรมต่าง ๆ รวมถึงกลุม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ซ�ึงยังคงได้ร บั ผลกระทบจากความต้องการในตลาดโลกที�ลดลงอย่างต่อ เนื� อง และกลุ่ม อุตสาหกรรมยานยนต์ท�ไี ด้รบั ผลกระทบจากการลดลงของยอดจําหน่ายรถยนต์ภายในประเทศ อัตราการเช่าโรงงานเฉลีย� ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมามีดงั นี� อัตราการเช่าโรงงานเฉลี�ย (ร้อยละ)

ปี 2555

ปี 2556

ปี 2557

81

73

62

33

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ประเภท ดังนี�

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ณ สิ�นปี 2557 ลู กค้าที�เ ช่ าโรงงานของบริษ ทั เป็ น ผู ผ้ ลิตจากประเทศต่าง ๆ ในอุตสาหกรรมหลาย อุตสาหกรรม

1. 2. 3. 4. 5. 6.

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ เครื�องใช้ไฟฟ้ า อาหาร บรรจุภณั ฑ์ พลาสติก อื�น ๆ รวม

ร้อยละ 31.7 29.0 5.4 4.3 4.0 25.6 100.0

ประเทศ/ภูมภิ าค 1. 2. 3. 4. 5.

ญีป� ่ นุ ยุโรป อเมริกาเหนือ สิงคโปร์ อื�น ๆ รวม

ร้อยละ 42.4 31.5 11.7 7.6 6.8 100.0

หมายเหตุ: สัดส่วนข้างต้นคํานวณจากรายได้ค่าเช่าและค่าบริการในเดือนธันวาคม ปี 2557

ข. คลังสินค้า บริษทั ไทคอน โลจิสติกส์ พาร์ค จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั เป็ นผูพ้ ฒั นาอาคารคลังสินค้า สําเร็จรู ปที�มคี ุณภาพระดับสากลเพื�อให้เช่า โลจิสติกส์นบั เป็ นกิจกรรมที�สาํ คัญในการกระจายวัตถุดิ บ ชิ� นส่วนอุปกรณ์ สินค้าสํา เร็จรู ป และ ผลผลิตอื�น ๆ ปัจจุบนั กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ถอื เป็ นกิจกรรมที�ผูป้ ระกอบการให้ความสําคัญเป็ นอย่างมาก อย่างไรก็ดี ผู ป้ ระกอบการตลอดจนผู ใ้ ห้บริการด้านโลจิสติกส์ส่ วนใหญ่ จาํ เป็ นต้องใช้เ งิน จํานวนมากสําหรับการลงทุนในระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ยานพาหนะและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที�สาํ คัญ รวมทัง� บุคคลากรที�เกี�ยวข้อง บริษทั จึงเล็งเห็นโอกาสของ การพัฒนาคลังสินค้าที�มีคุณภาพเพื�อให้ผูป้ ระกอบการเหล่านัน� เช่าแทนการลงทุนสร้างเพื�อเป็ นเจ้าของเอง คลังสินค้าของบริษทั ตัง� อยู่ในทําเลที�เป็ นยุทธศาสตร์ท�สี าํ คัญ เหมาะแก่การเป็ นศู นย์กระจายสินค้า ที�ดี อาคารคลังสินค้าสามารถรองรับการจัดการคลังสิน ค้าสมัยใหม่ การออกแบบตัวอาคารจะคํา นึ งถึงระยะห่ างของ ช่วงเสา การรับนํา� หนักของพื�นอาคาร ความสูงของอาคาร จํานวนประตูสาํ หรับขนถ่ายสินค้า และอุปกรณ์ช่วยปรับระดับ พื�นให้มีความลาดชันที�เหมาะสมกับความสูงของรถขนสินค้า นอกจากคลังสิน ค้าสําเร็ จรู ปที�บริษทั ได้พ ฒ ั นาขึ�น พร้อมให เ้ ช่า เช่ น เดี ยวกับโรงงานสํา เร็ จรู ป แล้ว (Ready-built warehouses) บริษทั ยังมีการสร้างคลังสินค้าตามรู ปแบบและในทําเลที�ลูกค้าตอ้ งการ (Custom-built warehouses) อีกทัง� มีบริการซื�อคลังสินค้าจากลูกค้าเพื�อให้เช่ากลับคืน (Sale and Leaseback) อีกด้วย สัญ ญาเช่ า ส่ ว นใหญ่ มี อายุ 3 ปี โดยมีการเปิ ด โอกาสให้ลูกค้า ต่ อสัญญาได้ และบริ ษทั มี การ กําหนดให้ลูกค้าชําระค่ ามัดจําเป็ นจํานวน 3-6 เดื อนของค่ าเช่า อย่างไรก็ดีสญั ญาเช่าที�มีอายุเกิน 3 ปี เริ�ม มีสดั ส่วน เพิ�มขึ�น สําหรับลูกค้าที�เช่าคลังสินค้าที�มรี ู ปแบบเฉพาะ

34

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ณ สิ�นปี 2555 2556 และ2557 บริษทั มีคลังสินค้าให้เช่าแก่ลูกค้า คลังสินค้าว่างพร้อมใหเ้ ช่า และ คลังสินค้าที�อยู่ระหว่างการพัฒนา ดังนี�

คลังสินค้าให้เช่า คลังสินค้าว่างพร้อมให้เช่า คลังสินค้าที�อยู่ระหว่างการพัฒนา คลังสินค้าที�อยู่ในแผนการพัฒนา รวม

สิ�นปี 2555 สิ�นปี จํานวน พื�นที�เช่า จํานวน คลังสินค้า (ตรม.) คลังสินค้า 73 295,778 47 34 86,713 62 19 159,082 31 94 838,904 207 220 1,380,477 347

2556 สิ�นปี พื�นที�เช่า จํานวน (ตรม.) คลังสินค้า 309,872 73 187,963 65 176,604 37 1,537,082 193 2,211,521 368

2557 พื�นที�เช่า (ตรม.) 324,927 173,923 151,797 1,865,281 2,515,928

ตารางข้างต้นแสดงข้อมูลภายหลังการขายคลังสินค้าจํานวนหนึ�ง ซึง� เกือบทัง� หมดมีผูเ้ ช่ าแล้ว ให้แก่ TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT โดยมีรายละเอียดของการขายคลังสินค้า ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมาดังนี�

คลังสินค้าที�ขายให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ คลังสินค้าที�ขายให้ทรัสต์เพือ� การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน

ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 จํานวน พื�นที�เช่า จํานวน พื�นที�เช่า จํานวน พื�นที�เช่า คลังสินค้า (ตรม.) คลังสินค้า (ตรม.) คลังสินค้า (ตรม.) 36 117,664 50 182,095 25 160,523

อัตราการเช่ าคลังสินค า้ (Occupancy rate) ของบริษทั โดยเฉลี�ยในปี 2557 ลดลงจากปี 2556 ส่วนหนึ�งเนื�องมาจากการซื�อที�ดินและมีทาํ เลที�ตงั� เพิ�มมากขึ�น จึงมีคลังสินค้าที�สร้างเสร็จพร้อมให้เช่าเพิ�มขึ�น ประกอบกับ บริ ษทั มีการขายคลังสินค้าที� มีผูเ้ ช่ าแล ้วให้กบั TREIT คิด เป็ น พื�น ที� 160,523 ตารางเมตร อย่างไรก็ต าม พื�น ที�เ ช่ า คลังสิน ค้าสุ ทธิข องปี 2557 ยังคงเพิ�ม ขึ�น แม จ้ ะเพิ�มขึ�น น้อยกว่ าในปี ก่อนหน้า อยู่ รอ้ ยละ 14.6 เนื� องจากตลาดยังมี ความต้องการใช้พ� นื ที�คลังสินค้าในปริมาณมาก โดยเฉพาะอย่างยิง� ในกลุม่ ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์และกลุม่ ธุ รกิจค้าปลีก อัตราการเช่าคลังสินค้าเฉลีย� ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา มีดงั นี� อัตราการเช่าคลังสินค้าเฉลีย� (ร้อยละ)

ปี 2555 89

ปี 2556 71

35

รายงานประจ�ำปี 2557

ปี 2557 63


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ณ สิ�น ปี 2557 ลู กค้าที� เ ช่ า คลัง สิน ค้า ของบริ ษ ัท เป็ น ผู ป้ ระกอบการจากประเทศต่ า ง ๆ ใน อุตสาหกรรมหลายประเภท ดังนี� 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

อุตสาหกรรม ผูใ้ ห ้บริการโลจิส ติกส์ ค้าปลีก ยานยนต์ ค้าส่งระหว่างประเทศ อิเล็กทรอนิกส์ เครื�องใช้ไฟฟ้ า อุปโภค บริโภค อาหาร อื�น ๆ รวม

หมายเหตุ :

ร้อยละ 34.9 20.9 15.8 9.6 5.9 5.1 4.3 3.5 100.0

ประเทศ/ภูมภิ าค 1. 2. 3. 4. 5.

ยุโรป ญีป� ่ นุ ไทย อเมริกาเหนือ ไต้หวัน

รวม

ร้อยละ 39.9 25.0 21.9 7.7 5.5

100.0

สัดส่วนข้างต้นคํานวณจากรายได้ค่าเช่าและค่าบริการของบริษทั ในเดือ นธันวาคม ปี 2557

3.2 บริการ บริการที�เสนอให้ลูกค้า ได้แก่ 

การดัดแปลงงานอาคารโรงงาน/คลังสินค้า

บริ ษทั มีที ม งานออกแบบ ก่ อสร้า ง ตลอดจนบริ หารโครงการด้วยตนเอง ทํา ให้บ ริ ษทั สามารถ ให้ความช่วยเหลือลูกค้าในการออกแบบ และดัด แปลงอาคารโรงงาน/คลังสิน ค้าให้ม ีความเหมาะสมกับความตอ้ งการ เฉพาะของลูกค้าได้ 

การจัดหาสาธารณู ปโภค บริษทั ให้ความช่วยเหลือในการจัดหาระบบสาธารณู ปโภคที�เพียงพอกับความต้องการของลูกค้า

การขออนุ ญาตกับหน่ วยงานราชการ

บริษทั ให้ความช่วยเหลือเพื�อให้ได้รบั ใบอนุ ญาติท�จี าํ เป็ นต่ อการเริ�มดําเนินการในเวลาอันรวดเร็ว เช่น ใบอนุ ญาตประกอบการ นอกจากนัน� บริษทั ยังมีบริการให้ความช่วยเหลือลู กค้าในการขอและต่อใบอนุ ญาตทํางาน ในราชอาณาจักรสําหรับพนักงานของลูกค้าซึง� เป็ นคนต่างด้าว 

บริการอืน� ๆ

นอกจากทีก� ล่าวข้างต้น บริษทั มีการให้ค วามช่ วยเหลือแก่ลูกค้าในเรื�องต่าง ๆ ตามความต้องการ เฉพาะของลูกค้าเท่าที�จะสามารถกระทําได้ เช่น การแนะนําผู จ้ าํ หน่ายสินค้า และแนะนําบุคคลากรที�สาํ คัญให้แก่ลูกค้า

36

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

4. ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน 4.1 แนวคิด อุปทาน/อุปสงค์ และสภาวะการแข่งขัน 4.1.1 โรงงานสําเร็จรู ปให้เช่า ก. แนวคิดของโรงงานสําเร็จรูปให้เช่า การพัฒนาอุตสาหกรรมโดยทัว� ไปจะเริ�มต้น จากการพัฒนาที�ดิ นอุตสาหกรรม การจัดสร้าง โครงสร้างพื�นฐานในที�ดินอุตสาหกรรม และการขายที�ดินให้แก่ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมเพื�อก่อสร้างโรงงานผลิตสินค้า ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมอาจจัดสรรเงินลงทุนเพื�อเป็ นเจ้าของโรงงานเอง หรืออาจเลือกเช่า โรงงานเพื�อลดต้นทุนในการดําเนินการ และลดความเสี�ยงจากความไม่แน่นอนต่าง ๆ ที�อาจเกิดขึ�น โดยเฉพาะอย่า งยิ�ง หากการให้เช่ า โรงงานมีบริการแบบครบวงจรเพื�ออํานวยความสะดวกในการประกอบการให้แ ก่ผูป้ ระกอบการ ทัง� นี� ในอดี ตที�ผ่ านมาจนถึงปัจจุบนั มีผูป้ ระกอบการชาวต่ างชาติจาํ นวนมากที� เข้า มาตัง� ฐานการผลิตในประเทศไทยโดย ไม่ตอ้ งการถือกรรมสิทธิ�ในโรงงาน ข. อุปทานของโรงงานสําเร็จรู ปให้เช่า ผูพ้ ฒั นาโรงงานอุตสาหกรรมเพื�อขาย/ให้เ ช่าแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทดังนี� 

อุตสาหกรรม

ผู พ้ ัฒ นาโรงงานบนที� ดิ น อุต สาหกรรมที� ต นเองพัฒ นาขึ� น ได้แ ก่ เจ้า ของนิ ค ม

ผู พ้ ัฒ นาโรงงานบนที� ดิ น อุ ต สาหกรรมที� ซ� ื อ /เช่ า จากเจ้า ของที� ดิ น อุต สาหกรรม เช่น บริษทั ซึ�งสร้างโรงงานสําเร็จรู ปเพื�อให้เช่าบนที�ดินที�ซ�อื จากเจ้าของที�ดินอุตสาหกรรมในทําเลที�ตงั� ที�หลากหลาย 

ค. อุปสงค์ของโรงงานสําเร็จรู ปให้เช่า การเลือกเช่ าโรงงานเป็ น ทางเลือกหนึ� งของผู ป้ ระกอบการที�ไม่ตอ้ งการเป็ นเจ้าของโรงงาน เพื�อลดต้นทุนของโครงการ และเพื�อเพิ�ม ความยืด หยุ่น ในการทําธุ รกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ�งในช่ วงที�มีความไม่แน่ น อน ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที�มีอทิ ธิพ ลต่ อบรรยากาศการลงทุน นอกจากนัน� วงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ท�ีมีแนวโน้มสัน� ลง ตลอดจนการให้ความสําคัญกับอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนล ้วนแต่เป็ นปัจจัยเสริมให้ผูป้ ระกอบการมีความตอ้ งการ เช่าโรงงานแทนการลงทุนเป็ นเจ้าของโรงงานเอง ประเทศไทยตัง� อยู่ในทําเลที�ตงั� ที�ดีสาํ หรับการลงทุน เนื�องจากตัง� อยู่ศู นย์กลางของภูมิภาค อาเซียนนอกจากนั�น ประเทศไทยยังมีแ รงงานที�มี ทกั ษะมีระบบโครงสร้า งพื�น ฐานที�ดี รวมทัง� มีกฎระเบียบต่า ง ๆ ที�เอื�ออํานวยต่อการลงทุนการเติบโตของการลงทุนจากต่างประเทศในประเทศไทย จะส่งผลให้มคี วามต้องการเช่ าโรงงาน มากขึ�น

37

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ง. สภาวะการแข่งขัน การสร้างโรงงานสํา เร็จรู ปให้เ ช่ าในปัจจุบนั ถือว่ ามีการแข่ งขัน ไม่สู งนัก ปัจจุบนั มี บริ ษทั ที�จดั สร้างโรงงานอุตสาหกรรมให้เช่าที�มีกลุ่มลู กค้าเป้ าหมายใกล้เคี ยงกันกับบริษทั ได้แก่ บริษทั เหมราชพัฒนาที�ดิน จํากัด (มหาชน) บริษทั ไทยพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรม จํากัด (มหาชน) บริษทั อมตะ ซัม มิท เรดดี� บิลด์ จํากัด และ บริษทั สวนอุตสาหกรรมปิ� นทอง จํากัด อย่างไรก็ต าม บริษทั เป็ น รายเดี ยวที�ทาํ ธุ รกิจพัฒนาโรงงานให้เช่ า เป็ นธุ รกิจหลัก บริษทั มี ความได้เปรียบคู่ แข่งขัน เนื�องจากบริษทั ให้ความสําคัญกับธุ รกิจการสร้างโรงงานเพื�อให้เช่าในทําเลที�ตงั� ที�หลากหลายและ มีบริการที�ช่วยอํานวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าแบบครบวงจร (One stop service) ทัง� การติดต่อขอใบอนุ ญาตต่าง ๆ กับ หน่ ว ยงานราชการที� ช่ว ยให้ลู กค้า ซึ�งส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ชาวต่ า งชาติส ามารถเริ� ม ดํา เนิ น งานได้ในระยะเวลาอัน สัน� การช่วยเหลือเพื�อขอรับการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน รวมทัง� บริการหลังการขายที�ให้การ ดูแลอย่างใกล้ชิดและรวดเร็ว นอกจากนัน� การที�บริษทั อยูใ่ นธุรกิจนี�มากว่า 20 ปี และมีส่วนแบ่งตลาดประมาณร้อยละ 47 บริษทั จึงมีความได้เปรียบจากการประหยัดต่อขนาด (Economies of scale) อีกด้วย 4.1.2 คลังสินค้าให้เช่า ก. แนวคิดของคลังสินค้าให้เช่า ปัจจุบนั ต น้ ทุ น จัด การด า้ นโลจิสติ กส์ของประเทศไทยคิ ด เป็ น สัด ส่ ว นที�สู งเมื�อเที ยบกับ ประเทศอื�น ๆ ในโลก ซึ�งส่งผลเสียต่ อความสามารถในการแข่งขันของผู ป้ ระกอบการในประเทศไทย การพัฒนาการ จัดการด้านโลจิสติกส์ให้มีประสิทธิภาพจะทําให้ตน้ ทุนสินค้าลดลงและยกระดับคุ ณภาพการบริการ อัน จะช่วยเพิ�ม ขีด ความสามารถในการแข่งขันด้านการส่งออกของประเทศไทยได ม้ ากขึ�น และยังช่วยให้สินค้าอุปโภคบริโภคของตลาด ภายในประเทศมีราคาลดลง นอกจากนี� ระบบการจัด การด้านโลจิสติ กส์ข องประเทศที�ม ีประสิทธิภ าพจะเป็ น ปัจจัย ที�ส่งเสริมให้มีการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศเพิ�มขึ�น คลังสินค้าถือเป็ นส่วนประกอบหนึ�งที�สาํ คัญของกิจกรรมโลจิสติกส์ คลังสินค้าที�มีคุ ณภาพ ได้มาตรฐานสากลจะช่วยทําให้ระบบโลจิสติกส์มีประสิทธิภาพมากยิง� ขึ�น บริษทั ผูป้ ระกอบธุ รกิจการจัดการด้านโลจิสติกส์จดั ว่าเป็ น ผู เ้ ชี�ยวชาญเฉพาะด้านที�มีจาํ นวน เพิ�มขึ�น และมีความสําคัญมากขึ�น เนื�องจากผู ผ้ ลิตสินค้า ผู ค้ า้ ส่ง ผูค้ า้ ปลีก และผู ป้ ระกอบการมีแนวโน้ม ที�จะใช้บริการ จากผู ใ้ ห้บริการด้านโลจิสติกส์เพิ�มมากขึ�นแทนการมีหน่ วยงานภายในเพื�อดําเนินการในเรื�องดังกล่าวเอง อย่ า งไรก็ดี ผู ป้ ระกอบการรวมทั�งบริ ษทั ที�เ ชี� ยวชาญด้า นโลจิ สติ กส์เ หล่า นี� ส่ วนใหญ่ มี น โยบายไม่ ต อ้ งการลงทุ น เพื� อเป็ นเจ้า ของในอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ เช่ น คลัง สิ น ค้า เนื� อ งจากเห็ น ว่ า การลงทุ น ในอสังหาริมทรัพย์มิใช่กจิ กรรมหลักของกิจการ บริษทั เหล่านี�ตอ้ งการจํากัดการลงทุนเฉพาะสําหรับยานพาหนะ อุปกรณ์ ระบบสารสนเทศต่ า ง ๆ รวมทัง� การพัฒนาบุค ลากรที�เ กี�ยวข้องในการดํา เนิน ธุ ร กิจ อันเป็ นสิน ทรัพ ย์หลักที� จาํ เป็ น ต่อกิจการ และการรักษาความสามารถในการแข่ งขัน ของกิจการเท่ านัน� นอกจากนี� การลงทุน ในอสังหาริม ทรัพ ย์ ก่อให้เกิดต้นทุน คงที�จาํ นวนมากเป็ นระยะเวลานาน เป็ นการเพิ�ม ความเสี�ยงของกิจการในกรณีท�ี ลูกค้ายกเลิกสัญญา

38

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

อีกทัง� บริษทั เหล่านี�ยงั ไม่ชาํ นาญในการลงทุนพัฒนาอสังหาริม ทรัพย์ด ว้ ยตนเองเนื�องจากมิใช่ธุรกิจหลัก เมื�อเป็ นเช่ นนี� ภาคอุตสาหกรรมด้านโลจิสติกส์โดยรวมจึงมุ่งหวังให้ภาคธุ รกิจการพัฒนาอสังหาริม ทรัพย์เป็ นผู พ้ ฒั นาพื�นที�สาํ หรับ กิจการขนส่งและคลังสินค้าเพื�อให้เช่า ข. อุปทานของคลังสินค้าให้เช่า ปัจจุบนั มีผูใ้ ห้บริการคลังสินค้าให้เช่ากระจายอยู่ในเขตกรุ งเทพฯ รอบนอก และปริม ณฑล โดยอาคารคลังสินค้าส่วนใหญ่จะตัง� อยูบ่ ริเวณถนนสายเอเซีย ถนนบางนา-ตราด และถนนพระราม 2 คลังสินค้าดังกล่าว ส่วนใหญ่มคี ุณภาพไม่ได้มาตรฐาน เช่น พื�นอาคารรับนํา� หนักได้นอ้ ย มีรูปแบบอาคารที�ไม่สะดวกต่ อการขนถ่ายสินค้า พื�นที�จดั เก็บไม่เหมาะสม ทําให้จดั เก็บสินค้าได้นอ้ ย หรือค้นหาสินค้าได้ยาก ซึ�งส่งผลให้เกิด การขนย้ายที�ไม่จาํ เป็ น มาก เกินไปคลังสินค้าดังกล่าวไม่มีระบบสาธารณู ปโภคที�สามารถตอบสนองความต้องการของธุ รกิจขนส่งและคลังสินค้าได้ เช่น ระบบระบายนํา� ที�ดี ระบบถนนที�สามารถรองรับรถบรรทุกขนาดใหญ่ นอกจากนี� อาคารคลังสินค้าส่วนใหญ่จะตัง� อยู่ ในเขตชุมชนและเขตที�อยู่อาศัยซึ�งไม่อยู่ในเขตผังเมืองสําหรับที�ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ทําให้เ กิดปัญหา ต่าง ๆ ตามมา เช่น ปัญหาจราจร อุบตั เิ หตุ ความเสียหายของผิวจราจร รวมทัง� มลภาวะทางอากาศและทางเสียง ค. อุปสงค์ของคลังสินค้าให้เช่า กลุม่ ผูต้ อ้ งการใช้อาคารคลังสินค้า ได้แก่ 1. ธุ รกิจขนส่งและบริหารคลังสิน ค้า (Logistics service providers) ซึ�งโดยส่วนใหญ่ จะเป็ นบริษ ทั ชัน� นําจากในประเทศและต่างประเทศ บริษทั เหล่า นี�จะมีความสามารถในการบริห ารและจัด การโดยใช้ ระบบ software และระบบจัด การที�ทนั สมัยและโดยทัว� ไปบริ ษทั ในธุ รกิจขนส่งและบริหารคลัง สิน ค้า จะไม่ ลงทุ น ในอสังหาริมทรัพย์ แต่มีความต้องการเช่าคลังสินค้า 2. ผู ป้ ระกอบการประเภทศู น ย์กระจายสิ น ค้า ระหว่ างประเทศด้วยระบบที� ทนั สมัย (International distribution center) กิจการศู นย์จดั หาจัดซื�อชิ�นส่วนและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ (International procurement office) และกิจการศู นย์กระจายสินค้าด้วยระบบที�ทนั สมัย (Distribution center) 3. ผู ผ้ ลิตและผู ค้ า้ ปลีกขนาดใหญ่ โดยกลุ่มนี�มีความต้องการที� จะจัดตัง� ศู นย์กระจาย สินค้า เพื�อจัดส่งสินค้าไปยังลูกค้าและผูบ้ ริโภคทัง� ในเขตกรุงเทพฯ และภูมภิ าคต่าง ๆ 4. กลุ่ม บริ ษ ทั นํา เข้า และส่ง ออก ซึ� ง มีค วามต้องการใช้อาคารคลัง สิน ค้าที�ต งั� อยู่ ใกล้ สนามบินและท่าเรือโดยเฉพาะอย่างยิ�งพื�นที�เขตปลอดอากร 5. ธุ รกิจโลจิสติกส์สนับสนุ นการกระจายสินค า้ และกิจการอื�น ๆ เช่ น ผู ใ้ ห้บริการขนส่ง สินค้าและบริการขนส่งผู ใ้ ห้บริการบรรจุสนิ ค้าและถ่ายบรรจุสนิ ค้า ผู ใ้ ห้บริการสร้างมูลค่ าเพิ�ม (การตรวจสอบคุณภาพ การติดฉลาก การซ่อมแซม และการประกอบ/บรรจุสนิ ค้า) รวมถึงผู ใ้ ห้บริการเช่าอุปกรณ์ขนถ่าย ผู ใ้ ห้บริการแรงงาน ชัว� คราวและยกขนสินค้า เป็ นต้น

39

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ง. สภาวะการแข่งขัน ปัจจุบนั ผู พ้ ฒั นาอาคารคลังสิน ค้า ที�ม ีคุณ ภาพซึ�งถือว่ าเป็ น คู่ แข่งกับบริษทั ได้แก่ บริษทั ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชัน� จํา กัด (มหาชน) และบริษทั เหมราชพัฒนาที�ดิน จํากัด (มหาชน) อย่างไรก็ดี บริษทั มี ความได้เ ปรียบคู่ แข่งขัน จากการที�บ ริษทั มี การพัฒนาคลังสิน ค้าในทําเลที� ตงั� ที�หลากหลายและมีศกั ยภาพ ในขณะที� คู่แข่งขันมีทาํ เลที�ตงั� ของคลังสินค้าเพียงไม่ก�แี ห่ง 4.2 กลยุทธ์การแข่งขัน 

ตําแหน่ งทางการตลาด

บริษทั มีส่วนแบ่งในตลาดการให้เช่าโรงงานอุตสาหกรรมสําเร็จรู ปร้อยละ 47.4 (รวมส่ว นที�บริษทั บริหารให้แก่ TFUND และ TGROWTH ร้อยละ 30.5) ตามการสํารวจของบริษทั ซีบี ริชาร์ด เอลลิส (ประเทศไทย) จํากัด ณ สิ�นไตรมาส 3/2557 บริษทั ได้กาํ หนดตําแหน่ งทางการตลาดในการเป็ นผู ส้ ร้างโรงงานให้เ ช่ ารายใหญ่ในประเทศไทย บริษทั มีความมุ่งมัน� ที�จะรักษาและพัฒนาตําแหน่ งทางการตลาดให้ดี ย�งิ ขึ�นด้วยการเพิ�มขนาดธุ รกิจโดยการขยายฐาน ลูกค้า และรักษาคุณภาพของการให้บริการที�ตอบสนองความต้องการของลูกค้าซึง� จะส่งผลให้บริษทั มีความได้เปรียบจาก การประหยัดต่อขนาด ได้ผลตอบแทนที�เพิ�มมากขึ�น และส่งเสริมตําแหน่งทางการตลาดของบริษทั ให้ดียง�ิ ขึ�นในที�สุด สําหรับอาคารคลังสินคา้ นัน� บริษทั มีความมุ่งมัน� ที�จะเป็ นผูส้ ร้างอาคารคลังสินค้าที�มีคุณภาพและ มาตรฐานสูงที�มสี ่วนแบ่งทางการตลาดมากที�สุดเช่นเดียวกับตําแหน่งทางการตลาดของโรงงานสําเร็จรู ปให้เช่า 

กลุม่ ลูกค้าเป้ าหมาย

ลู กค้าเป้ า หมายของโรงงานสํา เร็ จรู ปให้เช่ า คือ ผู ผ้ ลิตชิ�นส่ว นให้แก่ผู ป้ ระกอบการขนาดใหญ่ อย่า งไรก็ดี บริ ษทั สามารถสร้างโรงงานที�มี ล กั ษณะเฉพาะให้ตามความต้องการของลู กค้า ซึ� งส่ว นใหญ่ จะมี ขนาด กลาง-ใหญ่ สําหรับกลุม่ ลูกค้าเป้ าหมายที�เช่ าอาคารคลังสินค้าของบริษทั ได้แก่ ผู ผ้ ลิต ผู ค้ า้ ส่งและค้าปลีก และผูป้ ระกอบการรวมถึงผูใ้ ห้บริการขนส่ง และบริหารคลังสินค้า 

กลยุทธ์ดา้ นราคา

ค่าเช่าโรงงานและคลังสินค้าของบริษทั ถูกกําหนดจากต้นทุนการก่อสร้างและต้นทุนทางการเงินเป็ น หลัก อย่างไรก็ดี ในการกําหนดค่าเช่าบริษทั ยังได้คาํ นึงถึงราคาค่าเช่าโรงงานและคลังสินค้าของคู่แข่งขันด้วย โดยบริษทั ได้มีการตรวจสอบสภาวะตลาดอยู่เ สมอเพื�อให้แน่ ใจว่าค่ า เช่ าโรงงานและคลังสิน ค้าของบริษทั อยู่ในระดับที�สามารถ แข่งขันกับคู่ แข่งได้

40

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

กลยุทธ์ดา้ นการส่งเสริมการตลาด

กิจกรรมการส่งเสริมการตลาดที�สาํ คัญได้แก่การติดต่อลูกค้าเป้ าหมายเองโดยตรง และการติด ต่ อ ผ่านตัวกลางต่าง ๆ เช่ นติด ต่ อผู ผ้ ลิตรายใหญ่ เพื�อเสนอบริการให้เช่ าโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่คู่คา้ ของผู ผ้ ลิตเหล่านัน� การติดต่อผ่านหน่ วยงานรัฐบาล สถานทูต สํานักงานการค้า สมาคมหอการค้า เจ้าของนิคมอุตสาหกรรม ตัวแทนซื�อขาย อสังหาริมทรัพย์ และตัวกลางอื�น ๆ บริ ษทั มีการพัฒนาสื�อเพื�อส่งเสริม การตลาด อัน ได้แก่ สิ�งพิม พ์เ อกสารเชิ ญชวน การโฆษณา ในหนังสือต่าง ๆ อินเทอร์เน็ตเว็บไซต์ แผ่นป้ ายโฆษณาที�ติดตัง� บริเวณหน้าโครงการ แผ่นป้ ายโฆษณาขนาดใหญ่ขา้ งทาง ด่วน และการส่งจดหมายทางไปรษณีย์ นอกจากนี� ยังมี การใช้ส�อื ทางการตลาดประเภทอื�น ที�ม ีประสิทธิผ ลตามความเหมาะสมได้แ ก่ การเข้าร่วมงานสัมมนางานแสดงสินค้า และการประชุมต่าง ๆ ที�เกีย� วข้องทัง� ภายในและต่างประเทศ 4.3 แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมและสภาพการแข่งขันในอนาคต 4.3.1 แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรม ความต้องการเช่าทัง� โรงงานและคลังสินค้ามีแนวโน้มการเติบโตที�ดีจากการเติบโตของอุตสาหกรรม ยานยนต์เพื�อการส่งออกไปยังตลาดในประเทศภูมิภาคเอเซียแปซิฟิค การขยายการลงทุนของผู ค้ า้ ปลีกขนาดใหญ่ไปตาม ทํา เลที�ม ีศ ักยภาพในจังหวัดที�ส าํ คัญตามภาคต่า ง ๆ เพิ�มมากขึ�น รวมทัง� การขยายธุ ร กิจของผู ใ้ ห้บ ริการโลจิสติกส์ นอกจากนี� การย้ายฐานการผลิตเข้ามาในประเทศแถบเอเชียเพิ�มขึ�นโดยเฉพาะอย่างยิ�งอุตสาหกรรมยานยนต์ รวมทัง� การจัดตัง� ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึ�งจะทําให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที�หลากหลายในภูมภิ าค นอกจากนัน� แนวโน้มที�ผูป้ ระกอบการไม่ตอ้ งการลงทุน ในสินทรัพ ย์ถาวร แต่ตอ้ งการใช้เ งิน ทุนที�มีอยู่ให้เป็ น ประโยชน์ท�สี ุ ด จะเป็ น ปัจจัยสนับสนุ นให้มคี วามต้องการเช่าโรงงาน/คลังสินค้าเพิ�มมากขึ�น 4.3.2 การแข่งขัน ผูเ้ ข ้ามาแข่งขันรายใหม่จะต้องใช้เงินทุน สู ง และต้องใช้ระยะเวลานานในการพัฒนาโครงการที�มี ความหลากหลายทัง� ในด้านทําเลที�ตงั� รู ปแบบ และขนาด ที�มีลกั ษณะเช่ นเดี ยวกับของบริษทั ตลอดจนการให้บริการ ที�เกีย� วข้องดังเช่นที�บริษทั ดําเนินการอยู่ในปัจจุบนั

5. การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ บริษทั สร า้ งโรงงาน/คลังสิน ค้าบนที�ดิน ที�มีศกั ยภาพ ด้วยทีมงานออกแบบและทีม งานก่อสร้า งของบริษทั เอง ซึ�งช่วยให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารงานก่อสร้าง อีกทัง� ช่วยให้ตน้ ทุนการก่อสร้างของบริษทั อยูใ่ นระดับตํา� วัสดุกอ่ สร้างที�สาํ คัญในการก่อสร้างโรงงาน/คลังสิน ค้าของบริษทั ได้แก่เหล็ก และคอนกรีตทัง� นี�บริษทั สามารถ สัง� ซื�อวัสดุก่อสร้างได้จากผู ผ้ ลิตหลายรายด้วยคุณภาพและราคาที�ใกล ้เคียงกัน

41

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ปัจจัยความเสีย� ง 1.

ความเสีย� งจากสัญญาเช่าระยะสัน�

จากการที�สญั ญาเช่าโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ส่วนใหญ่ มีอายุ 3 ปี (โดยมีทางเลือกในการต่อสัญญา) จึงอาจ ทําให้นกั ลงทุนกังวลว่า บริษทั จะได้รบั ผลกระทบหากลูกค้าไม่ต่อสัญญาเช่า อย่างไรก็ดี โดยทัว� ไปเมื�อลูกค้าเริ�มทําการผลิตแล ้วมักจะไม่ย ้ายออกจากโรงงานของบริษทั นอกจากจะมีเหตุผล ที�สมควรอื�น ซึ�งโดยปกติการต่อสัญญาเช่ามีเกินกว่าร้อยละ 80 ของสัญญาเช่าที�ครบกําหนด การที�บริษทั มีโรงงาน/คลังสินค้าให้เช่ าในหลายทําเลที�ตงั� อีกทัง� ผู เ้ ช่าก็เป็ นผู ป้ ระกอบการในธุ รกิจที�หลากหลาย และมาจากหลายประเทศ จึงเป็ นการกระจายความเสีย� งของการยกเลิกสัญญาของผู เ้ ช่า นอกจากนัน� โรงงาน/คลังสินค้า ของบริษทั ยังถูกออกแบบมาเป็ นแบบมาตรฐานและอยู่ในพื�นที�ท�ไี ด้รบั ความนิยมจากผูเ้ ช่า ดังนัน� หากมีการยกเลิกสัญญา ของผู เ้ ช่า บริษทั จะสามารถหาผูเ้ ช่าใหม่ได้ไม่ยาก 2.

ความเสีย� งจากการที�โรงงาน/คลังสินค้าบางส่วนตัง� อยู่ในเขตที�มคี วามเสีย� งต่อการเกิดอุทกภัย

ในช่วงไตรมาสที� 4 ของปี 2554 บริษทั ได้รบั ผลกระทบจากการเกิดอุทกภัยในพื�นที�จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา และปทุมธานี โดยโรงงาน/คลังสินค้าในพื�นที�ดงั กล่าวได้รบั ความเสียหาย ส่งผลใหผ้ ู เ้ ช่ าต้องหยุดการดําเนินธุ รกิจ และ ไม่สามารถชําระค่าเช่าให้แก่บริษทั รวมทัง� ผู เ้ ช่าได้มกี ารยกเลิกสัญญาเช่าเป็ นจํานวนมาก ในขณะเดียวกันผู ป้ ระกอบการ รายใหม่ยงั คงชะลอการตัดสินใจเช่าโรงงานในพื�นที�ดงั กล่าวจนถึงปัจจุบนั ทัง� นี� เหตุอุทกภัยอาจทํา ให้นกั ลงทุนมีความ กังวลว่าบริษทั มีความเสี�ยงที�จะเผชิ ญกับ เหตุอุทกภัยได้อีกในอนาคตและมีค วามเสี�ยงที�จะไม่ มีผูเ้ ช่ าโรงงานที�ตงั� อยู่ ในพื�นที�บริเวณนี� อันจะส่งผลให้บริษทั มีโรงงานว่างเป็ นระยะเวลาหนึ�ง บริษทั ได้ม ีการทําประกันภัยคุม้ ครองความเสียหายที�เกิดกับทรัพย์สนิ รวมทัง� การประกันรายได้จากกรณีธุ รกิจ หยุดชะงัก (Business Interruption) เพื�อลดผลกระทบหากเกิดเหตุการณ์ด งั กล่าวขึ�นอีก ซึ�งแม้บริษทั จะต้องชําระ ค่าเบี�ยประกันภัยในอัตราที�สูงขึ�นจากเดิม แต่บริษทั สามารถเรียกเก็บค่าเบี�ยประกันภัยจากผู เ้ ช่ าที�เช่ าโรงงาน/คลังสินค้า ของบริษทั ได้ พร้อมกันนี� บริษทั ได้หยุด การพัฒนาโรงงานในพื�น ที�จงั หวัด พระนครศรีอยุธยาและปทุม ธานี เพื� อลด การเพิ�ม ขึ�น ของพื�น ที�ว่า ง นอกจากนัน� ผู พ้ ฒั นานิ ค มอุตสาหกรรมรวมทัง� เขตอุตสาหกรรมของบริษทั ในพื�น ที�จงั หวัด พระนครศรีอยุธยา และปทุมธานีมีการสร้างแนวคอนกรีตป้ องกันนํา� (Concrete Dike) ซึ�งสร้างเสร็จแล ้ว ในช่วงปลายปี 2555 ซึ�งแนวป้ องกันนํา� ดังกล่าวจะสามารถปกป้ องทรัพย์สนิ ที�อยู่ในพื�นที�ดงั กล่าวได้ จากการที�บริษทั มีโรงงาน/คลังสินคา้ ตัง� อยู่ในทําเลที�ตงั� ที�หลากหลาย โดยส่วนใหญ่ อยู่ทางภาคตะวันออก ทําให้ บริษทั สามารถรองรับ ความต้องการของลูก ค้าทัง� ที�เป็ น ลู กค้าใหม่ และลู กค้าที�ตอ้ งการย้ายการผลิตจากพื�นที� ท�ีได้ร บั ผลกระทบจากอุทกภัยในขณะนัน� ไปยังพื�นที�ท�ปี ลอดภัย ความเสียหายอย่างกว้างขวางจากเหตุการณ์นาํ � ท่ วมในปี 2554 ทําให้รฐั บาลให้ความสําคัญกับการบริหารจัดการนํา� อย่างจริงจัง บริษทั เชื�อมัน� ว่าปัจจัยต่าง ๆ ที�กล่าวมาจะช่วยสร้างความ เชื�อมัน� ให้แก่ผูป้ ระกอบการในการกลับมาให้ความสนใจเช่าโรงงาน/คลังสินค้าในพื�นที�ดงั กล่าวอีกครัง� ในระยะเวลาอันใกล ้ รวมทัง� ศักยภาพของพื�น ที�ดงั กล่าวในการเป็ นศู น ย์กลางของการผลิตในอุตสาหกรรมอิเ ล็กทรอนิกส์และอุตสาหกรรม

42

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

อาหาร ซึ�งเป็ น อุตสาหกรรมที� ตอ้ งใช้น ํ�าเป็ น จํา นวนมาก นอกจากนั�น พื�น ที�ด งั กล่า วยังเป็ น พื� น ที�เ หมาะสมสํา หรับ การกระจายสินค้าไปยังภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอีกด้วย ในช่วงไตรมาสที� 4 ของปี 2556 ได เ้ กิดเหตุอทุ กภัยในบางพื�นที�ทางภาคตะวันออกซึง� รวมทัง� จังหวัดระยอง ชลบุรี และปราจีนบุรี อย่างไรก็ตาม เหตุอทุ กภัยมิได้รุนแรงดังเช่นในปี 2554 โรงงานและคลังสินค้าของบริษทั ในพื�นที�ดงั กล่าว ไม่ได้รบั ความเสียหาย และผูเ้ ช่าสามารถดําเนินธุ รกิจได้ตามปกติ โดยในช่ วงเวลาดังกล่าว บริษทั ได้ให้ความช่วยเหลือ ผูเ้ ช่าในการป้ องกันความเสียหายอย่างเต็มกําลัง และร่วมติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชดิ ทัง� นี�ผูเ้ ช่ายังคงมีความเชื�อมัน� ในศักยภาพของพื�นที�ดงั กล่าว และไม่ได้มกี ารย้ายออกจากพื�นที� 3.

ความเสีย� งจากการกระจุกตัวของผูเ้ ช่า

ณ 31 ธันวาคม 2557 ลูกค้าที�เช่าโรงงานของบริษทั ร้อยละ 42 เป็ นผู ป้ ระกอบการจากประเทศญี�ป่ ุน และร้อยละ 31 เป็ นผูป้ ระกอบการจากภูมภิ าคยุโรป โดยมีสดั ส่วนร้อยละ 32 เป็ นผู ผ้ ลิตชิ�นส่วนยานยนต์ และร้อยละ 29 เป็ นผู ผ้ ลิต ชิ�นส่ วนในกลุ่ม อุตสาหกรรมอิเ ล็กทรอนิ คส์/เครื�องใช้ไฟฟ้ า นอกจากนี� ลูกค้า ที�เ ช่ าคลังสินค้าของบริษทั ร้อยละ 40 เป็ นผู ป้ ระกอบการจากภูมิภาคยุโรป และร้อยละ 25 เป็ น ผู ป้ ระกอบการจากประเทศญี�ป่ ุน โดยมีสดั ส่วนร้อยละ 35 เป็ น ผู ใ้ ห้บ ริการโลจิส ติกส์ และร้อยละ 16 เป็ นผู เ้ ช่ า คลังสิน ค้าที�เกี�ยวข้องกับยานยนต์ ดังนัน� หากมีการลดลงของ การลงทุนในอุตสาหกรรมดังกล่าว และมีการลดลงของการลงทุนจากประเทศญี�ป่ ุน และภูมิภาคยุโรป อาจส่งผลกระทบ ต่อรายได้ของบริษทั อย่างไรก็ตาม บริ ษทั เชื�อว่ าผลกระทบดังกล่า วจะมีไม่ ม ากนัก เนื�องจากลูกค้าของบริษทั ในกลุ่มอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิคส์/เครื�องใช้ไฟฟ้ า เป็ นผู ป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิคส์ท�หี ลากหลายซึ�งรวมถึงเครื�องใช้ไฟฟ้ า ซึ�งส่วนใหญ่เป็ นอุตสาหกรรมที�ไม่มีความเกี�ยวข้องกัน ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมรับจ้างผลิตชิ�นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ทวั � ไป (Electronic Manufacturing Services) อุตสาหกรรมผลิตชิ�นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ในเครื�องใช้ไฟฟ้ า อุตสาหกรรมผลิต Hard Disk Drive อุต สาหกรรมเครื�องใช้ไฟฟ้ าต่ า ง ๆ เป็ น ต้น นอกจากนี� กลุ่มอุต สาหกรรมยานยนต์ยงั เป็ น อุตสาหกรรมที�มแี นวโน้มการเติบโตที�ดี จากการฟื� นตัวของตลาดโลกและการย้ายฐานการผลิตของผู ผ้ ลิตรายใหญ่ มายัง ประเทศไทยในการผลิต รถยนต์เ พื�อการส่งออก ส่งผลให้ความต้องการชิ�น ส่ว นยานยนต์มีโอกาสเติ บโตได้อีกมาก นอกจากนี� การที�ผูเ้ ช่าในอุตสาหกรรมชิ�นส่วนยานยนต์มีสดั ส่วนอยู่ในระดับใกล้เ คียงกับผูผ้ ลิตชิ�น ส่วนในอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิคส์และเครื�องใช้ไฟฟ้ า มีส่วนช่วยลดความเสี�ยงจากการพึ�งพิงผู เ้ ช่าเพียงอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ�ง นอกจากความเสี�ยงจากการกระจุกตัวของกลุม่ อุตสาหกรรมที�เช่าโรงงานแล้ว ธุ รกิจผู ใ้ ห้บริการโลจิสติกส์เ ป็ น ธุ รกิจที�มีสดั ส่วนการเช่าคลังสินค้าของบริษทั สูงที�สุด อย่างไรก็ตาม บริษทั เชื�อว่าผลกระทบดังกล่าวจะมีไม่มากเช่ น กัน เนื�องจากบริษทั ในกลุม่ ผู ใ้ ห้บริการโลจิสติกส์มีการให้บริการจัด เก็บ และ/หรือขนส่งสิน ค้าที�หลากหลายและไม่ มีความ เกี�ยวข้องกัน ตัวอย่างเช่ น ชิ� นส่วนยานยนต์ เครื�องใช้ไฟฟ้ า ชิ�นส่วนอิเล็กทรอนิ คส์ สิน ค้าอุปโภค-บริโภค เอกสาร สินค้าเพื�อสุขภาพและความงาม สารเคมีต่าง ๆ เป็ นต้น

43

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

สําหรับการลงทุน จากประเทศญี�ป่ ุนนัน� ผูป้ ระกอบการจากประเทศญี�ป่ ุนเป็ นผู ล้ งทุนอันดับหนื� งในประเทศไทย จึงเป็ นเหตุให้บริษทั ซึ�งมีส่วนแบ่งการตลาดของโรงงานสําเร็จรู ปสูงที�สุดและเป็ นผูใ้ ห้เช่าคลังสินค้ารายใหญ่ของประเทศมี ลูกค้าเช่าโรงงานและคลังสินค้าจากประเทศญี�ป่ นุ มากเป็ นไปตามสัดส่วน บริษทั มีความเห็นว่าในภูมิภาคเอเชียโดยเฉพาะ อย่า งยิ�งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้เ มื�อมีการรวมกลุ่มกัน เป็ น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ ASEAN Economic Community (AEC) แล ้ว ประเทศไทยจะยังคงเป็ นประเทศที�อยู่ในลําดับต้น ๆ ที�น กั ลงทุนมีความสนใจเข้ามาลงทุน จากความได้เปรียบในด้านต้นทุนการผลิต ความเสีย� งจากการกระจุกตัวของผู เ้ ช่าที�มาจากประเทศญี�ป่ นุ จึงเป็ นความเสีย� ง ที�บริษทั ยอมรับได้ นอกจากนัน� จากการที�โรงงานและคลังสินค า้ ของบริษทั มีรูปแบบมาตรฐานจึงสามารถรองรับความต้องการของ ผูป้ ระกอบการจากทุก ๆ อุตสาหกรรม 4.

ความเสีย� งจากการไม่มผี เู ้ ช่าโรงงาน/คลังสินค้าที�อยู่ในแผนการก่อสร้างในปัจจุบนั

ณ 31 ธันวาคม 2557 บริษทั มีโรงงาน 203 โรง และคลังสิน ค้า 230 หลัง ที�อยู่ในแผนการก่อสรา้ ง โดยบริษทั อาจมีความเสี�ยงจากการไม่มีผูเ้ ช่าโรงงาน/คลังสินค้าที�จะสร้างแลว้ เสร็จตามแผนการก่อสร้างในปัจจุบนั อัน จะส่งผลให้ บริษทั มีภาระต้นทุนการก่อสร้างในช่วงเวลาดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษทั เชื�อว่าจะสามารถควบคุมความเสี�ยงดังกล่าวได้ เนื� องจากบริษทั มิได้มีนโยบายในการสร้าง โรงงาน/คลังสินค้า เพื�อปล่อยทิ�งไว้ให้ว่างจํานวนมาก กล่าวอีกนัยหนึ�งก็คือ บริษทั จะสร้างโรงงาน/คลังสินค้าเตรียมไว้ พร้อมให้เช่าในแต่ละทําเลโดยเฉลีย� ประมาณ 3 - 4 โรง และจะชะลอการก่อสร้างหากมีโรงงาน/คลังสิน ค้าที�สร้างเสร็จ พร้อมให้เช่ามากกว่าจํานวนที�ตอ้ งการ ทัง� นี� การที�บริษทั มีทมี งานก่อสร้างของตนเอง ทําให้การบริหารการก่อสร้างทําได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความยืดหยุ่นในการเร่ง/ชะลอ/หยุดการก่อสร้าง หรือโยกย้ายคนงานไปก่อสร้างในทําเลที�มี ความต้องการเช่าโรงงาน/คลังสินค้าได้โดยง่าย

44

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

โครงสร้างการถือหุน้ รายชื�อผูถ้ อื หุน้

ณ วันที� 16 มี นาคม 2558 จํานวนหุน้ ร้อยละ 477,618,419 43.45

1. บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) 2. กลุ่มซิต� เี รียลตี�

บริษทั ซิต� ี วิลล่า จํากัด นายชาลี โสภณพนิช นางสิริญา โสภณพนิช บริษทั ซิต� เี รียลตี� จํากัด

3. กรรมการ/ผูบ้ ริหาร/ผูท้ เี� กี�ยวข้อง นางยุพดี ควน (กรรมการ) นางสาวศิริพร สมบัติวฒั นา (ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายธุ รการ) และคู่สมรส นายวีรพันธ์ พูลเกษ (กรรมการผูจั้ ดการ) และคู่สมรส นายตรีขวัญ บุนนาค (กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ) และคู่สมรส นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ (กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ) ดร. สมศักดิ� ไชยพร (ผูจ้ ดั การทัว� ไป) นางสาวพรพิมล ศุภวิรชั บัญชา (ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการเงิน) นายสมศักดิ� รัตนวิระกุล (ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการตลาด 1) นางสาวลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์ (ผูอ้ าํ นวยการอาวุโสฝ่ ายบัญชี การเงิน และสารสนเทศ และเลขานุ การบริษทั ) นางยูโกะ โฮชิ (ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการตลาด 2) 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

บริษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด นางสุชาดา ลีสวัสดิ�ตระกูล Chase Nominees Limited Group Nortrust Nominees Limited Group กองทุนรวมสาธรซิต� ที าวเวอร์ The Hongkong And Shanghai Banking Corporation Limited East Fourteen Limited Group อืน� ๆ รวม

38,568,150 24,773,910 11,458,725 2,582,684 77,383,469

3.51 2.26 1.04 0.23 7.04

31,236,904 19,287,500 11,073,823 1,599,362 844,135 101,746 40,890 12,011 79

2.84 1.75 1.01 0.15 0.08 0.01 0.00 0.00 0.00

78 64,196,528 46,198,663 41,492,970 24,769,810 23,394,932 19,503,194 18,817,200 15,817,044 289,950,146 1,099,142,375

0.00 5.84 4.20 3.78 2.25 2.13 1.78 1.71 1.44 26.38 100.00

บริษทั มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ ตาํ � กว่าร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี โดยบริษทั จะพิจารณา จ่ายเงินปันผลโดยคํานึงถึงผลการดําเนินงาน ฐานะการเงิน และปัจจัยอื�น ๆ ที�เกีย� วข้องในการบริหารงานของบริษทั ทัง� นี� ในปัจจุบนั ไม่มีสญั ญากูย้ มื เงินระหว่างบริษทั กับสถาบันการเงินใด ๆ ที�มขี อ้ จํากัดของอัตราการจ่ายเงินปันผลของบริษทั

45

รายงานประจ�ำปี 2557


46

รายงานประจ�ำปี 2557

(นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์)

(นายสมศักดิ� รัตนวิระกุล) (นางยู โกะ โฮชิ)

(น.ส.ศิริพร สมบัตวิ ฒั นา)

ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายธุรการ (นายสิทธิศกั ดิ� ธารีรชั ต์)

ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายกฎหมาย

(นายวีรพันธ์ พูลเกษ) (รักษาการ)

ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายการลงทุน

(น.ส.รุ่งทิพย์ ภิย โยดิลกชัย )

ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายบัญชี

(น.ส.พรพิมล ศุภวิร ชั บัญชา)

ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายการเงิน

(น.ส.วุฒินี พิทกั ษ์สงั ข์)

ผูจ้ ดั การ ฝ่ ายตรวจสอบภายใน

ข้อมูลทั่วไป

(นายอภิณฐั เมฆลอย)

ผูจ้ ดั การ ฝ่ ายเทคโนโลยี สารสนเทศ

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายพัฒนาโครงการ

ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ (นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์)

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายการตลาด

ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายบัญชี การเงิน และสารสนเทศ (น.ส.ลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ)์

โรงงาน และคลังสินค้า

(ดร. สมศักดิ� ไชยพร)

ผูจ้ ดั การทัว� ไป

กรรมการผูจ้ ดั การ (นายวีรพันธ์ พูลเกษ)

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

คณะกรรมการบริหารความเสีย� ง

คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน

กรรมการผูอ้ าํ นวยการ (นายไว เชง ควน)

คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการบริษทั

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริหาร

1. โครงสร้างการจัดการ ณ 31 ธันวาคม 2557

โครงสร้างการจัดการ

สารจากประธาน กรรมการ นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

บริษทั มีคณะกรรมการบริษทั 1 ชุด และคณะอนุกรรมการ 6 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการกํากับ ดู แ ลกิจการที�ดี คณะกรรมการกําหนดค่ า ตอบแทน คณะกรรมการสรรหา และ คณะกรรมการบริหารความเสี�ยง

2. คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบด้วยผู ท้ รงคุณวุฒิ 9 ท่าน ดังนี� 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

นายชาลี โสภณพนิช นายจิระพงษ์ วินิชบุตร นายชาย วินิชบุตร นายไว เชง ควน นางยุพดี ควน นายวีรพันธ์ พูลเกษ นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ นายตรีขวัญ บุนนาค

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผูอ้ าํ นวยการ กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการผู ม้ ีอาํ นาจลงลายมือชื� อผู กพัน บริ ษทั ประกอบด้ว ยนายชาลี โสภณพนิ ช นายจิร ะพงษ์ วินิ ช บุ ต ร นายชาย วินิช บุต ร นายไว เชง ควน และนายวีรพัน ธ์ พูล เกษ โดยกรรมการสองในห้าท่า นนี� ลงลายมือชื�อร่ วมกัน พร้อมประทับตราสําคัญของบริษทั ทัง� นี� นายชาลี โสภณพนิ ช เป็ น ตัวแทนของกลุม่ ซิต� ีเรียลตี� นายจิระพงษ์ วินิชบุตร และนายชาย วินิชบุต ร เป็ นตัวแทนของกลุม่ โรจนะ บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการเปรียบเสมือนตัวแทนของผูถ้ อื หุน้ เป็ นผู ก้ าํ หนดทิศทางการเจริญเติบโตและตัดสินใจเรื�องสําคัญ ของบริษทั คณะกรรมการจึงต้องทําหน้าที�ในการดู แลผลประโยชน์ของทุกฝ่ าย ดู แลการทํางานและผลประกอบการของ ฝ่ ายจัดการ การบริหารความเสี�ยง รวมทัง� การกําหนดค่ าตอบแทน 1. กรรมการใหม่ควรเข้ารับการปฐมนิเทศความรู เ้ กีย� วกับการประกอบธุรกิจของบริษทั 2. ปฏิบตั ิหน า้ ที�ให้เป็ น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษทั ตลอดจนมติท�ปี ระชุมของผูถ้ อื หุน้ ด้วยความซื�อสัตย์สุจริต ระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษทั และมีความรับผิดชอบเป็ นธรรมต่อผู ถ้ อื หุน้ ทุกราย 3. คณะกรรมการต้องทุ่ม เทเวลา และให้ความสําคัญในการกําหนดวิสยั ทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ของบริษทั โดยร่ วมกัน ทบทวนวิสยั ทัศ น์ ทิศทาง และกลยุท ธ์ของบริษ ทั ทุก ๆ 5 ปี มีการแสวงหาข้อมูล ที�เป็ นประโยชน์ต่อการ กําหนดทิศทางดังกล่าว รวมถึงมีการพิจารณาถึงประเด็นความเสี�ยงที�อาจจะเกิดขึ�น เพื�อให้มนั � ใจได้ว่าผูบ้ ริหารจะสามารถ นําวิสยั ทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ท�กี าํ หนดขึ�นไปปฏิบตั ใิ ห้เกิดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

47

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

4. กําหนดนโยบายและทิศทางการดําเนินงานของบริษทั และกํากับควบคุมดู แลให้ฝ่ายบริหารดําเนิ นการเป็ นไป ตามนโยบาย และระเบียบของบริษทั อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ภายใต้การกํากับดู แลกิจการที�ดี เพื�อเพิ�มมูลค่ า ทางเศรษฐกิจสู งสุดให้แก่กจิ การ และความมัง� คัง� สูงสุดให้แก่ผูถ้ อื หุน้ 5. เป็ นผูน้ าํ และเป็ นแบบอย่างในการปฏิบตั งิ านที�ดี ปฏิบตั ิตามกฎหมายและสอดคล ้องกับแนวทางการกํากับดูแล กิจการที�ดีของบริษทั 6. เป็ นแบบอย่างในการเพิ�มเติมความรู ค้ วามสามารถ เพื�อให้การปฏิบตั งิ านในฐานะกรรมการบริษทั มีศักยภาพ มากขึ�น โดยบริษทั มีการสนับสนุ นให้กรรมการเข้าร่วมอบรมหรือสัมมนาในหลักสูตรต่าง ๆ อย่างต่อเนื�อง 7. ดํา เนิ น การให้บ ริษ ทั มี ร ะบบบัญชี การรายงานทางการเงิน การสอบบัญ ชี การควบคุ ม ภายใน และการ ตรวจสอบภายในที�มปี ระสิทธิผลและเชื�อถือได้ 8. จัดให้มกี ารพิจารณาปัจจัยเสีย� งสําคัญที�อาจเกิดขึ�น และกําหนดแนวทางการบริหารจัดการความเสี�ยงดังกล่าว อย่างครอบคลุม ดูแลให้ผูบ้ ริหารมีระบบหรือกระบวนการที�มปี ระสิทธิภาพในการบริหารจัด การความเสี�ยง รวมถึงการ แสวงหาโอกาสทางธุ รกิจที�อาจจะเกิดขึ�นจากความเสีย� งดังกล่าว 9. จัดให้มกี ารปันผลกําไรเมื�อบริษทั มีกาํ ไรพอสมควรและไม่มขี าดทุนสะสม 10. สอดส่องดูแลและจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ท�อี าจจะเกิดขึ�น รวมถึงรายการที�เกี�ยวโยง กัน และให้ความสําคัญกับการพิจารณาธุรกรรมหลักที�มคี วามสําคัญ โดยมุ่งเน้นให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผูถ้ อื หุน้ และผู ้ มีส่วนได้เสียโดยรวม 11. กรรมการที�เป็ นอิสระและกรรมการจากภายนอกอืน� มีความพร้อมที�จะใช้ดุลยพินิจของตนอย่างเป็ น อิสระ ใน การพิจารณากําหนดกลยุทธ์ การบริหารงาน การใช้ทรัพยากร การแต่งตัง� กรรมการ และการกําหนดมาตรฐานการดําเนิน กิจการ ตลอดจนพร้อมที�จะคัดค้านการกระทําของกรรมการอื�น ๆ หรือฝ่ ายจัดการ ในกรณีท�มี ีความเห็นขัดแย้งในเรื�องที� มีผลกระทบต่อความเท่าเทียมกันของผู ถ้ อื หุน้ 12. รายงานข้อมูลตาม “แบบรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ/ผู บ้ ริหาร” ต่ อบริษทั ตามเกณฑ์ท�บี ริษทั กําหนด 13. หากกรรมการได้รบั ทราบข้อมูล ภายในที�เป็ นสาระสํา คัญอันจะมีผ ลต่ อการเปลี�ยนแปลงราคาหลักทรัพ ย์ กรรมการจะต้องระงับการซื�อขายหลักทรัพย์ของบริษทั ในช่วงระยะเวลาที�เหมาะสมก่อนที�ขอ้ มูลภายในนัน� จะเปิ ดเผยต่อ สาธารณชน และจะต้องไม่เปิ ดเผยข้อมูลที�เป็ นสาระสําคัญนัน� ต่อบุคคลอืน� โดยผูฝ้ ่ าฝื นอาจได้รบั โทษตามกฎหมาย 14. ควบคุม ดู แล ให้ฝ่ายบริหารมีการปฏิบตั ติ ่อผู ม้ ีส่วนได้เสียทุกฝ่ ายอย่างมีจริยธรรมและมีค วามเท่าเทียมกัน 15. ทบทวนนโยบายการกํากับดู แลกิจการที�ดีเป็ นประจําอย่างสมํา� เสมอ 16. กําหนดนโยบายและกํากับดู แลให้บริษทั มีระบบที�สนับสนุนการต่อต้านการคอร์รปั ชันที�มปี ระสิทธิภาพ เพื�อให้ มัน� ใจว่าฝ่ ายบริหารได้ตระหนักและให้ความสําคัญกับการต่อต้านการคอร์รปั ชัน และปลูกฝังจนเป็ นวัฒนธรรมองค์กร 17. ปฏิบตั ิตามมาตรการต่อต้านการคอร์รปั ชัน และมีบทลงโทษเมื�อไม่ปฏิบตั ติ าม

48

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

18. จัดให้มเี ลขานุ การบริษทั เพื�อช่วยดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะกรรมการและบริษทั อันได้แก่ การประชุม กรรมการและผูถ้ อื หุน้ ตลอดจนการให้ค ําแนะนําแก่กรรมการและบริษทั ในการปฏิบตั ิตนและดํา เนิน กิจการให้ถกู ต้อ ง ตามกฎหมายและระเบียบที�เ กี�ยวข้องต่าง ๆ อย่างสมํา� เสมอ อีกทัง� ดู แลให้กรรมการและบริษทั มีการเปิ ดเผยข อ้ มู ล สารสนเทศอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทันเวลา 19. รายงานให้ผูถ้ อื หุน้ ทราบถึงผลประกอบการของบริษทั ในที�ประชุมผูถ้ อื หุน้ และในรายงานประจําปี ของบริษทั 20. จัดให้มชี ่องทางในการสื�อสารกับผูถ้ อื หุน้ แต่ละกลุม่ อย่างเหมาะสม 21. คณะกรรมการบริษทั ต้องมีการประเมินผลงานประจําปี ของทัง� คณะ เพื�อใช้เป็ นกรอบในการตรวจสอบการ ปฏิบตั ิงานในหน้าที�ของคณะกรรมการบริษทั และให้เ ปิ ดเผยในรายงานประจําปี ดว้ ย และประเมิน ผลงานประจําปี ของ กรรมการผูอ้ าํ นวยการ และกรรมการผูจ้ ดั การ รวมทัง� กําหนดค่าตอบแทนกรรมการผูอ้ าํ นวยการ และกรรมการผูจ้ ดั การ ให้สอดคล ้องกับผลการดําเนินงาน 22. ในกรณีท�จี าํ เป็ น คณะกรรมการสามารถขอคําแนะนําหรือความเห็นทางวิชาชีพจากที�ปรึกษาภายนอกเกี�ยวกับ การดําเนินกิจการ โดยบริษทั เป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จ่าย การแต่งตัง� คณะกรรมการบริษัท การแต่ ง ตั�ง กรรมการบริ ษ ัท เป็ น ไปตามข้อบัง คับของบริ ษ ทั และพระราชบัญ ญัติ บ ริ ษ ทั มหาชนจํา กัด โดยคณะกรรมการสรรหาของบริษทั จะเป็ นผูเ้ สนอชื�อบุคคลเข้าเป็ นกรรมการต่อคณะกรรมการและผูถ้ อื หุน้ เพื�อพิจารณา ตามลําดับ ทัง� นี� ข้อบังคับของบริษ ทั กํา หนดให้การแต่ งตัง� กรรมการบริษทั เป็ น ไปโดยสอดคล อ้ งกับพระราชบัญญัติ บริษทั มหาชนจํากัด ดังนี� 1. ที�ประชุมผูถ้ อื หุน้ เป็ นผูแ้ ต่งตัง� กรรมการเพิ�มเติม หรือแทนกรรมการที�ตอ้ งออกตามวาระ ตามหลักเกณฑ์และ วิธกี าร ดังต่อไปนี� ก. ผูถ้ อื หุน้ หนึ�งคนมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ�งเสียงต่อหนึ�งหุน้ ข. ผู ถ้ ือหุน้ แต่ ละคนจะต้องใช้ค ะแนนเสียงที�มีอยู่ ทงั� หมดตาม (ก) เลือกบุค คลคนเดี ยวหรื อหลายคน เป็ นกรรมการก็ได้แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผูใ้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ ค. บุคคลซึง� ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเป็ นผู ไ้ ด้รบั เลือกตัง� เป็ นกรรมการเท่ากับจํานวนกรรมการ ที�จะมีในการเลือกตัง� ครัง� นัน� ในกรณี ท�ีบุค คลซึ�งได้รบั การเลือกตัง� ในลําดับถัดลงมามีค ะแนนเสียงเท่ ากันเกินจํานวน กรรมการที�จะมีได้ในการเลือกตัง� ครัง� นัน� ให้ประธานในที�ประชุมเป็ นผูอ้ อกเสียงชี�ขาด 2. คณะกรรมการเป็ นผูเ้ ลือกบุคคลเข้าเป็ นกรรมการแทนตําแหน่งกรรมการที�วา่ งลงเพราะสาเหตุอนื� ใด นอกจาก ถึงคราวออกตามวาระ

49

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

3. คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ณ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบด้วยสมาชิก 5 ท่าน ดังนี� 1. 2. 3. 4. 5.

นายไว เชง ควน นายวีรพันธ์ พูลเกษ นายชาลี โสภณพนิช นายจิระพงษ์ วินิชบุตร ดร. สมศักดิ� ไชยพร

ประธานกรรมการบริหาร รองประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหารและเลขานุ การคณะกรรมการบริหาร

บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร 1. ปฏิบตั ิหน า้ ที�ตามที�ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั 2. ปฏิบตั ิหน า้ ที�ให้เป็ น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ ตลอดจนระเบียบของบริษทั โดยเคร่งครัด

4. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ณ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี� 1. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 2. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ 3. นายตรีขวัญ บุนนาค

ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

ทัง� นี� กรรมการตรวจสอบทัง� สามท่านมีความรู แ้ ละประสบการณ์เพียงพอที�จะสามารถทําหน้าที�ในการสอบทาน ความน่ าเชื�อถือของงบการเงิน บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษทั มีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง และเปิ ดเผยอย่างเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษทั มีระบบควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน กระบวนการกํากับดู แลกิจการที�ดี และการ บริหารความเสี�ยงที�มคี วามเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพียงพอ 3. สอบทานความมีประสิทธิภ าพและประสิทธิผลของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที�เกี�ยวข อ้ งกับการควบคุ ม ภายในและการบริหารความเสีย� ง 4. สอบทานให้บริ ษ ทั ปฏิ บ ตั ิ ตามกฎหมายว่ าด้ว ยหลักทรัพ ย์แ ละตลาดหลักทรัพ ย์ ข้อกํา หนดของตลาด หลักทรัพย์ และกฎหมายที�เกีย� วข้องกับธุรกิจของบริษทั 5. พิจารณารายการระหว่างกันหรือรายการที�อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็ นไปตามกฎระเบียบและ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ รวมทัง� กฎหมายที�เกีย� วข้องกับธุรกิจของบริษทั 6. สอบทานการประเมินความเสี�ยงและให้คาํ แนะนําต่อคณะกรรมการบริษทั เกี�ยวกับการปฏิบตั ิท�คี วรมีเ พื�อ ลดความเสีย� งนัน� โดยผูบ้ ริหารต้องนําคําแนะนําไปปฏิบตั ิ

50

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

7. สอบทานและพิ จารณาร่ ว มกับ ฝ่ า ยจัดการในเรื� องข้อบกพร่ องสํา คัญ ที�ตรวจพบและการสนองตอบจาก ฝ่ ายจัดการ 8. มีอาํ นาจในการตรวจสอบและสอบสวนผู ท้ �ีเ กี�ยวข้อง ภายใต้ขอบเขตอํา นาจหน้า ที�ของคณะกรรมการ ตรวจสอบ และมีอาํ นาจในการว่าจ้างผูเ้ ชี�ยวชาญเฉพาะด้านมาช่วยงานตรวจสอบและสอบสวน โดยปฏิบตั ิตามระเบียบ ของบริษทั 9. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง� /เลิกจ้าง เสนอค่าตอบแทนของผู ส้ อบบัญชีของบริษทั รวมทัง� จัด ประชุม กับ ผูส้ อบบัญชีอย่างอิสระ โดยไม่มฝี ่ ายจัดการเข้าร่วมประชุม อย่างน้อยปี ละหนึ�งครัง� 10. พิจารณาขอบเขตการตรวจสอบและแผนการตรวจสอบของผู ส้ อบบัญชี และฝ่ ายตรวจสอบภายในให้ มีความสัมพันธ์และเกื�อกูลกัน และลดความซํา� ซ้อนในส่วนที�เกี�ยวกับการตรวจสอบด้านการเงิน 11. ประสานงานเกีย� วกับผลการตรวจสอบกับผูส้ อบบัญชีและอาจเสนอแนะให้สอบทานหรือตรวจสอบรายการใด ที�เห็นว่าจําเป็ น 12. ในการปฏิบตั หิ น้าที�ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีขอ้ สงสัยว่ามีรายการหรือการกระทําซึ�งอาจมี ผลกระทบอย่างมีน ัยสําคัญต่ อฐานะการเงิน และผลการดําเนิน งานของบริษทั ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อ คณะกรรมการบริษทั เพื�อดําเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที�คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร 13. กํากับดูแลกระบวนการและการปฏิบตั ิตามมาตรการต่อต้านการคอร์รปั ชัน 14. สอบทานมาตรการและการควบคุมภายในที�เกี�ยวข้อง เพื�อให้มนั � ใจว่ามาตรการต่อต า้ นการคอร์รปั ชันมีค วาม เพียงพอและมีประสิทธิผล 15. รายงานผลการตรวจสอบภายในเกีย� วกับมาตรการต่อต้านการคอร์รปั ชันของบริษทั ต่ อคณะกรรมการบริษทั อย่างสมํา� เสมอ และให้คาํ แนะนําข้อควรปฏิบตั ิแก่คณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร 16. ดําเนินการให้ฝ่ายบริหารจัดให้ม ีกระบวนการรับและกํากับดู แลการรับเรื�องร้องเรียน 17. ประธานกรรมการตรวจสอบหรือกรรมการตรวจสอบควรเข้าร่วมประชุมผู ถ้ อื หุน้ บริษทั เพื�อชี�แจงและ/หรือ ตอบข้อซักถามในเรื�องที�เกีย� วกับคณะกรรมการตรวจสอบ หรือการแต่งตัง� ผู ส้ อบบัญชีดว้ ย 18. ประเมิน ผลการดํา เนิน งานเกี�ยวกับการตรวจสอบภายในของคณะกรรมการตรวจสอบอย่ า งน้อยปี บญั ชี การเงินละ 1 ครัง� และรายงานให้คณะกรรมการบริษทั ทราบ 19. จัด ทํารายงานการกํา กับ ดู แ ลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยกํา หนดรายละเอียดขัน� ตํา� คื อ การปฏิบตั งิ าน จํานวนครัง� การประชุม ผู เ้ ข้าร่วมประชุม รวมถึงความเห็นโดยรวมโดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจํา ปี ของ บริษทั ซึ�งรายงานดังกล่าวมีการลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 20. ควบคุม ดู แล ให้มกี ารเปิ ดเผยค่าตอบแทนของผู ส้ อบบัญชีในรายงานประจําปี ของบริษทั 21. ให้ความเห็นชอบ กฎบัตร แผนงาน งบประมาณ และอัตรากําลังของฝ่ ายตรวจสอบภายใน

51

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

22. พิจารณา คัด เลือก เสนอแต่งตัง� และประเมิน ผลการปฏิบตั ิงานของหัวหน้าฝ่ ายตรวจสอบภายใน รวมทัง� ความเป็ นอิสระของฝ่ ายตรวจสอบภายใน 23. ปฏิบตั ิหน า้ ที�อ�นื ใดที�คณะกรรมการของบริษทั มอบหมายตามที�คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร องค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการอิสระของบริษทั อย่างน้อย 3 ท่านซึ�งไม่ เป็ น ผูบ้ ริหารบริษทั และได้รบั การแต่งตัง� จากคณะกรรมการบริษทั หรือผูถ้ อื หุน้ 2. คณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 ท่านต้องเป็ นผู ม้ ีความรู ค้ วามเข้าใจหรือมีประสบการณ์ดา้ นการบัญชี หรือการเงินอย่างเพียงพอที�จะทําหน้าที�ในการสอบทานความน่าเชื�อถือของงบการเงิน หลักเกณฑ์การเสนอชื�อและแต่งตัง� คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาเป็ นผู เ้ สนอชื�อสมาชิกคณะกรรมการตรวจสอบเพื�อให้ผู ถ้ อื หุน้ หรือคณะกรรมการบริษทั เป็ นผูค้ ดั เลือกและแต่งตัง� โดยคณะกรรมการตรวจสอบต้องมีคุณสมบัตดิ งั นี� 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจํานวนหุน้ ที�มสี ทิ ธิออกเสียงทัง� หมดของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือบริษทั ที�เกีย� วข้อง ทัง� นี�ให้นบั รวมหุน้ ที�ถอื โดยผู ท้ �เี กี�ยวข้องด้วย 2. ห้ามผูท้ �มี คี วามสัมพันธ์กบั บริษทั และบริษทั ที�เกีย� วข้องในลักษณะที�มสี ่วนได้เสีย หรือได้ผลประโยชน์ในด้าน การเงิน หรือการบริหารงาน ทัง� ในปัจจุบนั และช่ วง 2 ปี ก่อน เป็ น กรรมการอิสระ โดยลักษณะความสัมพันธ์ดงั กล่า ว มีตวั อย่างเช่น 

เป็ นกรรมการที�มีสว่ นร่วมในการบริหารงาน พนักงาน ลูกจ้าง ที�ปรึกษาที�รบั เงินเดือนประจําหรือผู ม้ อี าํ นาจ

เป็ นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพ เช่น เป็ น ผูส้ อบบัญชี ที�ปรึกษากฎหมาย ที�ปรึกษาทางการเงิน หรือผู ป้ ระเมิน

ควบคุม ราคาทรัพย์สนิ

เป็ นผูท้ �มี คี วามสัมพันธ์ทางธุ รกิจ เช่น ซื�อ/ขายสินค้าหรือบริการ ซื�อขายสินทรัพ ย์ ให้/รับความช่วยเหลือ ทางการเงิน เป็ นต้น 

3. หากดํา รงตําแหน่ งเป็ นกรรมการอิส ระของบริ ษ ทั อื� น ในกลุ่ม ด้ว ย จะต้องเปิ ดเผยข้อมู ล ดัง กล่า วและ ค่าตอบแทนที�ได้รบั จากบริษทั นัน� ด้วย 4. ห้ามกรรมการตรวจสอบเป็ นกรรมการใด ๆ ในบริษทั อื�นในกลุม่ ที�เป็ นบริษทั จดทะเบียน 5. เป็ นกรรมการที�ไม่ใช่เป็ นผูท้ �เี กีย� วข้องหรือญาติสนิทของผูบ้ ริหารหรือผู ถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั 6. เป็ นกรรมการที�ไม่ได้รบั การแต่งตัง� ขึ�นเป็ นตัวแทนเพื�อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึ�งเป็ นผูท้ �เี กี�ยวข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั

52

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

7. สามารถปฏิบ ตั ิหน้า ที� แสดงความเห็น หรื อรายงานผลการปฏิบ ตั ิ งานตามหน้า ที�ท�ี ได้ร บั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษทั โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผูบ้ ริหารหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั รวมทัง� ผูท้ �เี กีย� วข้องหรือ ญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว ผูท้ �เี กี�ยวข้อง หมายรวมถึง ผู ท้ �มี คี วามสัมพันธ์หรือเกี�ยวข้องกับบริษทั จนทําให้ไม่สามารถทําหน้าที�ได้อย่างอิสระ หรือคล่องตัว เช่น คู่คา้ ลูกค้า เจ้าหนี� ลูกหนี� หรือผู ท้ �มี คี วามเกี�ยวข้องทางธุรกิจ อย่างมีนยั สําคัญ เป็ นต้น

5. คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี คณะกรรมการบริษทั ได้มีม ติ ให้แต่งตัง� คณะกรรมการกํากับดู แลกิจการที�ดี เมื� อวัน ที� 26 กุมภาพัน ธ์ 2558 ประกอบด้วยกรรมการ 7 ท่าน โดยฝ่ ายบริหารของบริษทั สามารถเข้าร่วมเป็ นสมาชิกคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด� ี ได้ ดังนี� 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

นายวีรพันธ์ พูลเกษ ดร. สมศักดิ� ไชยพร นายปธาน สมบูรณสิน นางสาวลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์ นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์ นางสาวทัศนีย ์ คาดสนิท

ประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี กรรมการกํากับดู แลกิจการที�ดี กรรมการกํากับดู แลกิจการที�ดี กรรมการกํากับดู แลกิจการที�ดี กรรมการกํากับดู แลกิจการที�ดี กรรมการกํากับดู แลกิจการที�ดี กรรมการกํากับดู แลกิจการที�ดี

บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี 1. จัดทํานโยบายการกํากับดู แลกิจการที�ดี เพื�อเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั 2. ให้คาํ แนะนําแก่คณะกรรมการบริษทั ในเรื�องเกี�ยวกับการกํากับดู แลกิจการที�ดี 3. ดูแลการปฏิบตั ิงานของกรรมการ และฝ่ ายจัดการ เพื�อให้เป็ นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที�ดี 4. ทบทวนแนวทางของหลักการกํากับดู แลกิจการที�ดีของบริษทั โดยเปรียบเทียบกับแนวปฏิบตั ิของสากล และ เสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษทั 5. จัด ทํานโยบายและแนวปฏิ บตั ิ ใ นการดํา เนิ น งานด้า นการบริห ารจัด การความยัง� ยืน (Sustainability Management : SM) ซึ�งรวมถึงการดํา เนิน งานด้านการดู แลสังคม ชุม ชน และสิ�งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) เพื�อเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั 6. ติดตามการดําเนินงานด้านการบริหารจัดการความยัง� ยืน 7. จัดทําและทบทวนนโยบายการต่ อต้านคอร์รปั ชัน ให้ขอ้ เสนอแนะ แนวทาง ติ ดตามและประเมิน ผลการ ดําเนินงานที�เกี�ยวข้องกับการต่อต้านการคอร์รปั ชัน

53

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

6. คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี� 1. นายชาลี โสภณพนิช 2. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 3. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร

ประธานกรรมการกําหนดค่าตอบแทน กรรมการกําหนดค่าตอบแทน กรรมการกําหนดค่าตอบแทน

บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน 1. เสนอนโยบายและให้คําแนะนําแก่คณะกรรมการบริ ษทั เกี�ยวกับหลักเกณฑ์การจ่ ายค่ า ตอบแทน ค่ าเบี�ย ประชุม โบนัส สวัสดิการ และผลประโยชน์ตอบแทนอื�น ๆ ทัง� ที�เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงินที�จา่ ยให้แก่คณะกรรมการ และ คณะอนุ กรรมการของบริษทั โดยคํานึงถึงค่าตอบแทนที�ปฏิบตั อิ ยูใ่ นอุตสาหกรรม 2. พิจารณากําหนดค่ าตอบแทนให้แก่กรรมการผู อ้ าํ นวยการ และกรรมการผู จ้ ดั การ บริษทั

3. พิจารณากําหนดสวัสดิการและผลประโยชน์ตอบแทนอืน� ๆ ทัง� ที�เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงินให้แก่พนักงานของ 4. กํากับดูแลให้บริษทั มีการเปิ ดเผยนโยบายเรื�องค่ าตอบแทนกรรมการ รวมทัง� หลักการและเหตุผล

7. คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการสรรหาของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบด้วยกรรมการ 4 ท่าน ดังนี� 1. 2. 3. 4.

นายชาลี โสภณพนิช นายจิระพงษ์ วินิชบุตร นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ นายตรีขวัญ บุนนาค

ประธานกรรมการสรรหา รองประธานกรรมการสรรหา กรรมการสรรหา กรรมการสรรหา

บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา 1. กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหากรรมการบริษทั และอนุ กรรมการ รวมทัง� กรรมการผูอ้ าํ นวยการ และ กรรมการผูจ้ ดั การบริษทั เพื�อความโปร่งใสในการสรรหาผูท้ �จี ะมาดํารงตําแหน่งดังกล่าว 2. เสนอชื�อกรรมการ และ/หรือ อนุ กรรมการ เพื�อให้คณะกรรมการ และ/หรือ ผูถ้ อื หุน้ แต่งตัง� 3. คัดเลือกผูส้ มัครเพื�อแต่งตัง� เป็ นกรรมการผูอ้ าํ นวยการและกรรมการผูจ้ ดั การบริษทั

54

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

8. คณะกรรมการบริหารความเสี�ยง คณะกรรมการบริหารความเสี�ยงของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบดว้ ยสมาชิก 6 ท่าน ดังนี� 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

นายตรีขวัญ บุนนาค นายวีรพันธ์ พูลเกษ ดร. สมศักดิ� ไชยพร นายปธาน สมบูรณสิน นางสาวลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์ นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์* นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์

ประธานกรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กร รม การ บริ ห ารค วา มเสี� ย งและเลขา นุ กา ร คณะกรรมการบริหารความเสี�ยง

* นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ ได้รับแต่งตัง� เป็ นกรรมการบริหารความเสี�ยง เมือ� วันที� 11 พฤศจิกายน 2557

บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี�ยง 1. กํากับดูแลและสนับสนุ นให้มีการดําเนินงานด้านการบริหารความเสี�ยงให้สอดคล้องกับกลยุทธ์และเป้ าหมาย ทางธุ รกิจ รวมถึงสภาวการณ์ท�เี ปลีย� นแปลงไป 2. พิจารณานโยบายการบริหารความเสี�ยงของบริษทั ให้ครอบคลุมความเสี�ยงด้านเครดิต (Credit Risk) ความ เสี�ยงด้านตลาด (Market Risk) ความเสีย� งด้านการปฏิบตั ิการ (Operational Risk) ความเสีย� งด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสี�ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) และความเสี�ยงด้านอื�น ๆ อาทิ ความเสี�ยงด้า นกฎหมายและ กฎระเบียบ (Regulatory Risk) เป็ นต้น 3. พิจารณาประเมินความเสี�ยงของบริษทั ให้ครอบคลุมธุรกรรมตามข้อ 2. 4. พิจารณาและทบทวนแนวทางและเครื�องมือในการบริหารจัดการความเสี�ยงให้มีประสิทธิภาพ และเหมาะสม กับลักษณะและขนาดความเสี�ยงแต่ละด้านของธุรกรรมที�บริษทั ดําเนินการ 5. พิจารณาและทบทวนการกําหนดเพดานความเสี�ยง (Risk Limits) และมาตรการในการดําเนิน การกรณี ท�ี ไม่เป็ นไปตามเพดานความเสีย� งที�กาํ หนด (Corrective Measures) 6. ติดตามผลการประเมินความเสีย� งทัง� ในภาวะปกติและภาวะวิกฤต (Stress Testing) 7. ประเมินความเสีย� งที�อาจเกิดขึ�นจากผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือความเสีย� งที�อาจเกิด ขึ�นสําหรับธุรกรรมที�จะจัดตัง� ขึ�น ใหม่ รวมถึงกําหนดแนวทางการป้ องกันความเสี�ยงที�อาจจะเกิดขึ�นกับธุรกรรม 8. ทบทวนและปรับปรุงแก้ไขเปลีย� นแปลง (ถ้าจําเป็ น) กฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี�ยง โดยให้รายงาน การปรับปรุงดังกล่าวให้คณะกรรมการบริษทั ทราบ 9. รายงานผลการบริหารความเสี�ยงให้คณะกรรมการบริษทั รับทราบ และในกรณีท�มี ปี จั จัยหรือเหตุการณ์สาํ คัญ ซึ�งอาจมีผลกระทบต่อบริษทั อย่างมีนยั สําคัญ ต้องรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เพื�อทราบและพิจารณาโดยเร็วที�สุด

55

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

10. ประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี�ยง อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง� 11. กํากับดูแล และสนับสนุ นให้มีการบริหารความเสี�ยงด้านการต่อต้านคอร์รปั ชัน โดยการประเมินความเสี�ยง ด้านคอร์รปั ชันและทบทวนมาตรการต่อต้านคอร์รปั ชันให้เพียงพอเหมาะสม 12. ปฏิบตั ิหน า้ ที�อ�นื ใดตามที�คณะกรรมการบริษทั มอบหมาย

9. ผูบ้ ริหาร รายชื�อผูบ้ ริหารของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2557 มีดงั นี� 1. 2. 3. 4.

นายไว เชง ควน นายวีรพันธ์ พูลเกษ ดร. สมศักดิ� ไชยพร นางสาวลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์

กรรมการผูอ้ าํ นวยการ กรรมการผูจ้ ดั การ ผูจ้ ดั การทัว� ไป ผู อ้ าํ นวยการอาวุโสฝ่ ายบัญ ชี การเงิน และสารสนเทศ และเลขานุ การบริษทั ผูอ้ าํ นวยการอาวุโสฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการตลาด 1 ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการตลาด 2 ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายพัฒนาโครงการ ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายธุ รการ ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายกฎหมาย ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายบัญชี ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการเงิน

5. นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ 6. นายสมศักดิ� รัตนวิระกุล 7. นางยูโกะ โฮชิ 8. นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์ 9. นางสาวศิริพร สมบัติวฒั นา 10. นายสิทธิศกั ดิ� ธารีรชั ต์ 11. นางสาวรุ่งทิพย์ ภิยโยดิลกชัย 12. นางสาวพรพิมล ศุภวิรชั บัญชา ขอบเขตและอํานาจหน้าที�ของผู บ้ ริหาร

ผูบ้ ริหารมีอาํ นาจหน้าที�ดาํ เนินการตามที�คณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ภายใต้กฎ ระเบียบ ข้อบังคับของบริษทั ทัง� นี� การใช้อาํ นาจของผูบ้ ริหารดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถกระทําได้หากผูบ้ ริหารมีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะใด ๆ กับบริษทั หรือบริษทั ย่อยตามที�สาํ นักงาน ก.ล.ต. กําหนด

10. ค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหาร เกณฑ์การกําหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการ บริษทั กําหนดค่าตอบแทนกรรมการตามหน้าที�และความรับผิดชอบของกรรมการแต่ละท่าน โดยได้คํา นึงถึงผล ประกอบการของบริษ ัทรวมถึงค่ า ตอบแทนกรรมการของบริ ษทั จดทะเบียนที� อยู่ ใ นอุต สาหกรรมเดีย วกัน ทัง� นี� ค่าตอบแทนกรรมการจะต้องผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกําหนดค่ าตอบแทน และอนุ มตั โิ ดยผูถ้ อื หุน้

56

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

10.1 ค่าตอบแทนที�เป็ นตัวเงิน ดังนี�

ในปี 2557 บริษทั มีการจ่ายค่ าตอบแทนให้แก่กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ (ตามเกณฑ์คงค้าง) หน่ วย : บาท กรรมการ นายชาลี โสภณพนิช นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ นายจิระพงษ์ วินิชบุตร นายชาย วินิชบุตร นายไว เชง ควน นางยุพดี ควน นายวีรพันธ์ พูลเกษ นายตรีขวัญ บุนนาค นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ รวม

ดังนี�

เบี�ยประชุม คณะกรรมการ 160,000 60,000 80,000 60,000 50,000 80,000 80,000 80,000 650,000

เบี�ยประชุม โบนัสกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ 2,000,000 40,000 1,719,000 1,610,000 1,610,000 1,652,000 1,652,000 40,000 1,295,000 40,000 692,000 120,000 12,230,000

สําหรับผูบ้ ริหารของบริษทั นัน� ในปี 2557 บริษทั มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ผูบ้ ริหาร (ตามเกณฑ์คงค้าง)

เงินเดือน โบนัส กองทุนสํารองเลี�ยงชีพและกองทุนประกันสังคม รวม

จํานวนเงิน (บาท) 32,188,520 9,072,250 1,171,393 42,432,163

10.2 ค่าตอบแทนอืน� ๆ ในปี 2557 บริษทั มิได้มกี ารจ่ายค่าตอบแทนในรูปแบบอื�นให้แก่กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั

57

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

การกํากับดูแลกิจการ 1. การปฏิบตั ิต่อผูถ้ อื หุน้ บริษทั ได้ต ระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบ ตั ิต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่ าเทียมกัน โดยได้คาํ นึงถึงสิทธิข อง ผูถ้ อื หุน้ ในการได้รบั ข้อมูลข่าวสารของบริษทั อย่างเพียงพอและทันเวลา อันได้แก่ การส่งข้อมูลข่าวสารของบริษทั ผ่านทาง สื�อ อิ เ ล็กทรอนิ กส์ของตลาดหลักทรัพ ย์แ ห่ งประเทศไทย การลงข่ า วสารทางหนังสือพิ ม พ์ต ามพระราชบัญ ญัติ บริษทั มหาชนจํากัด และการลงประกาศในเว็บไซต์ของบริษทั www.ticon.co.th นอกจากข่าวสารข้อมูลที�ให้แก่ผู ถ้ อื หุน้ ดังกล่าวข้างต้น แล้ว บริษทั ยังได้ให้ความสําคัญกับการประชุม ผู ถ้ อื หุน้ โดยเฉพาะอย่างยิง� องค์ประกอบต่าง ๆ ของการประชุมเพื�อให้เกิดความเท่าเทียมกันในระหว่างผู ถ้ อื หุน้ อันได้แก่ การจัด ประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยกําหนดให้วนั เวลา และสถานที�ประชุมไม่เป็ นอุปสรรคในการเข า้ ร่วมประชุม พร้อมจัดส่งแผนที�ตงั� ของสถานที�ป ระชุ ม ให้แก่ ผู ถ้ อื หุ น้ การส่งหนังสือนัด ประชุมที�ม ีวตั ถุประสงค์แ ละเหตุผ ลของแต่ละวาระการประชุ ม ตลอดจนความเห็นของคณะกรรมการประกอบในแต่ละวาระเสนอให้แก่ผูถ้ อื หุน้ ก่อนการประชุมอย่างน้อย 7 วันสําหรับ วาระปกติและอย่างน้อย 14 วันสําหรับวาระพิเศษตามข้อบังคับของบริษทั หนังสือนัดประชุมของบริษทั มีขอ้ มูลสําคัญ ที�เกี�ยวข้องกับวาระการประชุม เพื�อให้ผู ถ้ อื หุน้ มีขอ้ มูลประกอบการ พิจารณาลงคะแนนเสียงในการประชุมได้ครบถ ้วนมากยิ�งขึ�น บริษทั ได้จดั ส่งรายงานประจําปี ซง�ึ รวบรวมข้อมูลสําคัญของ บริษทั ในปี ท�ผี ่านมาให้แก่ผูถ้ อื หุน้ พร้อมกับหนังสือนัดประชุม รวมถึงได้จดั ส่งหนังสือมอบฉัน ทะที�ให้ผู ถ้ อื หุน้ สามารถ กําหนดทิศทางการออกเสียงในแต่ละเรื�องได้โดยหนังสือมอบฉันทะดังกล่าวมีขอ้ มูลกรรมการตรวจสอบเพื�อให้ผู ถ้ อื หุน้ เลือกเป็ น ผู ร้ บั มอบฉัน ทะในการเข้าประชุ ม ในกรณี ท�ผี ู ถ้ ือหุน้ ไม่ส ามารถเข้า ร่ วมประชุมได้ นอกจากนี� บริษ ทั ได้แนบ ข้อบังคับบริ ษ ทั ส่ว นที� เ กี�ยวข้องกับ การประชุ ม ผู ถ้ ือหุ น้ ไปกับหนัง สือนัด ประชุ ม ด้ว ย พร้อ มทัง� การให้ข อ้ มู ล และ รายละเอียดเกีย� วกับเอกสารที�ตอ้ งใช้เพื�อเป็ นหลักฐานในการเข้าประชุมผู ถ้ อื หุน้ ในหนังสือนัดประชุม บริษทั ได้เ ปิ ดโอกาสให้ผูถ้ อื หุน้ มีสทิ ธิเสนอเพิ�มวาระการประชุมและเสนอชื�อผูท้ �มี คี ุณสมบัติเหมาะสมที�จะมาเป็ น กรรมการบริษทั ล่วงหน้า โดยบริษทั ได้ช� แี จงหลักเกณฑ์และวิธีการในการเสนอเรื�องดังกล่าวบนเว็บไซต์ของบริษ ทั โดย เริ�มในปี 2550 เป็ นปี แรก ในการประชุม ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั มีคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบรวมทัง� ผู บ้ ริหารของบริษทั และผูส้ อบบัญชีของบริษทั เข้าร่วมประชุมด้วย โดยประธานกรรมการของบริษทั หรือบุคคลที�ท�ีประชุมผู ถ้ อื หุน้ อนุ ม ตั ิให้ เป็ นประธานในที�ประชุม จะดําเนิ นการให้มีการพิ จารณาวาระการประชุม และลงคะแนนเสียงเป็ น ไปตามลําดับวาระ ที�กาํ หนดในหนังสือนัดประชุมอย่างโปร่งใส นอกจากนัน� บริษทั ได้แจ้งวิธกี ารลงคะแนนใหผ้ ู ถ้ อื หุน้ ทราบก่อนลงคะแนน และระหว่างประชุมได้เปิ ดโอกาสให้ผูถ้ อื หุน้ มีส่วนร่วมอย่างเต็มที�และบริษทั ได้ตอบคําถามอย่างครบถ ้วน คณะกรรมการบริษทั ได้ดูแ ลให้ม ีการบันทึกรายงานการประชุ มผู ถ้ อื หุน้ ให้มีส าระสําคัญ ครบถ ้วน อัน ได้แ ก่ คําชี�แจงที�เป็ นสาระสําคัญ คําถาม ข้อคิดเห็นต่าง ๆ รวมทัง� คะแนนเสียงที�ตอ้ งการในแต่ละวาระ นอกจากนัน� ในส่วนของ รายงานการประชุ มบริษทั มีการจัด ทํารายงานการประชุม ให้เ สร็จสมบู รณ์ในเวลาที�กฎหมายกําหนด รวมทัง� มีระบบ

58

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

การจัด เก็บรายงานการประชุมที�ดี สามารถตรวจสอบและอ้างอิงได้ ทัง� นี� เพื�อให้ร ายงานการประชุมมี ค วามครบถ ้วน สมบูรณ์มากยิ�งขึ�น บริษทั ได้จดั ให้มกี ารบันทึกผลการลงคะแนนเสียง เพิ�มเติมในรายงานการประชุมด้วย ทัง� นี� บริษทั ได้เผยแพร่ เ อกสารและข้อมู ลต่ าง ๆ ที�เกี�ยวข้องกับการประชุมผู ถ้ อื หุน้ บนเว็บไซต์ของบริษทั ทัง� ใน รู ปแบบภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ได้แก่ เอกสารเชิญประชุมซึ�งเผยแพร่ลว่ งหน้าก่อนวันประชุมเป็ นเวลา 1 เดือน และ รายงานการประชุมที�เผยแพร่ภายใน 14 วัน นับแต่วนั ประชุม รวมทัง� วีดีทศั น์ซ�งึ บันทึกภาพในวันประชุม เพื�อให้ผูถ้ อื หุน้ สามารถเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้สะดวกและรวดเร็ว ในการประชุม สามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี 2557 ของบริษทั บริษทั ได้จดั การประชุมขึ�น เมื�อวันที� 22 เมษายน 2557 เวลา 14:30 น. ณ โรงแรมตวันนา เลขที� 80 ถนนสุรวงศ์ แขวงสีพ� ระยา เขตบางรัก กรุ งเทพมหานคร โดยมีกรรมการ เข้าร่วมประชุม 6 ท่าน และลาประชุม 3 ท่าน

2. การปฏิบตั ติ ่อผูม้ ีสว่ นได้ส่วนเสีย บริ ษทั ตระหนักดี ว่า ความสํา เร็ จในการดําเนิ น ธุร กิจของบริ ษทั เกิด ขึ�น จากการสนับสนุ น จากผู ม้ ีส่ว นได้เ สีย กลุม่ ต่าง ๆ อันได้แก่ พนักงานบริษทั คู่คา้ ลูกค้า สถาบันการเงินผูใ้ ห้กยู ้ มื เงิน ชุมชนและสังคม ตลอดจนแรงผลักดัน จากคู่ แข่งของบริษทั บริษทั จึงได้ให้ความสําคัญต่อสิทธิของผูม้ ีสว่ นได้เสียทุกกลุม่ กล่าวคือ การปฏิบตั ิต่อพนักงานอย่าง เท่าเทียมและเป็ นธรรม การปฏิบตั ติ ่อคู่ คา้ ตามสัญญาและเงื�อนไขทางการค้า การจัดหาผลิตภัณฑ์ที�ได้มาตรฐานให้แก่ ลูกค้า มีความรับผิดชอบต่อลูกค้าทัง� ในด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์และการใหบ้ ริการหลังการขาย ตลอดจนการรักษา ความลับของลูกค้า การปฏิบตั ติ ามเงือ� นไขการกูย้ ืม เงินจากสถาบัน การเงินอย่างเคร่งครัด การปฏิบตั ิตามกรอบกติกา การแข่งขันที�ดี ไม่ทาํ ลายคู่ แข่งขันด้วยวิธกี ารไม่สุจริต และการรับผิดชอบต่อสภาพแวดล ้อมของชุมชนและสังคม บริษทั ให้ความสําคัญต่อพนักงาน เนื�องจากพนักงานเป็ นปัจจัยแห่งความสําเร็จที�มีคุ ณค่ า บริษทั ให้การปฏิบตั ิ อย่างเท่ า เทียมและเป็ น ธรรมต่ อพนักงาน ทัง� ในด้านโอกาส ผลตอบแทน สวัส ดิ การที�จาํ เป็ น การแต่ งตัง� โยกย้า ย การพัฒนาศักยภาพ การดู แลรักษาสภาพแวดล ้อม ในการทํางานให้มีความปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สินของพนักงาน อยู่เสมอ บริษทั ดํา เนินการตามมาตรการด้า นความปลอดภัย พร้อมทัง� จัดให้ม ีส�ิงอํานวยความสะดวกในการทํางาน อย่างเพียงพอและเหมาะสม เพื�อป้ องกันการสู ญเสียชีวิตจากอุบตั ิเหตุ ป้ องกันการบาดเจ็บและการเจ็บป่ วยอันเนื� องจาก การทํางาน นอกจากนี� บริษทั ได้จดั ให้มีกจิ กรรมสันทนาการ เพื�อความสามัคคีและเป็ นรางวัลสําหรับพนักงาน ในส่วนของลูกค้า บริษทั มีความมุ่งมัน� ที�จะแสวงหาวิธกี ารที�จะสนองความต้องการของลูกค้าให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลยิง� ขึ�นตลอดเวลา บริษทั ยึดมัน� ในการรักษาและปฏิบตั ิตามสัญญาที�ทาํ ไว้กบั ลู กค้าอย่างเคร่ งครัด โดยการ ส่งมอบผลิตภัณฑ์ และให้บริ การหลังการขายที� มีคุณ ภาพ ตรงตามความคาดหมายของลูกค้า ในราคาที�เ ป็ นธรรม นอกจากนี� ยังเน้นถึงการรักษาความลับของลูกค้าและไม่นาํ ไปใช้เ พื�อประโยชน์โดยมิชอบ รวมทัง� ผ่อนปรนและร่ว ม ช่วยเหลือลูกค้ายามที�เกิดความเดือดร้อน สําหรับคู่คา้ และ/หรือเจ้าหนี� บริษทั ปฏิบตั ติ ่อคู่คา้ และ/หรือเจ้าหนี�อย่างเสมอภาคและเป็ นธรรม คํานึงถึงประโยชน์ สู งสุดของบริษทั และตัง� อยูบ่ นพื�นฐานของการได้รบั ผลตอบแทนที�เป็ นธรรมต่อทัง� สองฝ่ าย หลีกเลีย� งสถานการณ์ท�ที าํ ให้ เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทัง� ปฏิบตั ติ ามพันธะสัญญาที�ตกลงกันไว้

59

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

สําหรับคู่แข่งทางการค้า บริษทั ปฏิบตั ิต่อคู่แข่งทางการค้าตามหลักสากล ไม่ละเมิด ความลับหรือล่วงรู ค้ วามลับ ทางการค้าของคู่ คา้ ด้วยวิธีฉอ้ ฉล บริษทั ยึด มัน� ในการดําเนิน ธุ รกิจด้วยความเป็ นธรรมโดยปฏิบตั ิตามแนวปฏิบ ตั ิทาง จริยธรรมในการดําเนินธุ รกิจอย่างเคร่งครัด ในปี ท�ผี ่านมา บริษทั ไม่มขี อ้ พิพาทใด ๆ ในเรื�องที�เกี�ยวกับคู่แข่งทางการค้า ส่วนชุม ชนและสังคมนัน� บริษ ัทมีน โยบายที�จ ะดําเนิน ธุ รกิจที� เป็ นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม มุ่งสร้างสมดุลระหว่างการเติบโตทางธุรกิจ และการพัฒนาของชุมชน สังคมและสิง� แวดล้อมไปพร้อมกัน อย่า งไรก็ต าม ผู ม้ ีส่ว นได้ส่วนเสียอาจร้องเรี ยนต่ อบริ ษ ทั ในกรณี ท�ไี ม่ ได้รบั ความเป็ น ธรรมจากการปฏิบตั ิ ของบริษทั กรรมการ ผู บ้ ริหาร หรือพนักงานของบริษทั โดยติดต่อผ่านทางโทรศัพท์ หรือเว็บไซต์ของบริษทั ได้

3. คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษทั มี 9 ท่าน โดย 3 ท่านเป็ นกรรมการอิสระและมีตาํ แหน่ งเป็ นกรรมการตรวจสอบของบริษทั ทัง� นี� บริษทั มีการแยกอํานาจหน้าที�ของประธานกรรมการบริษทั กรรมการผู อ้ าํ นวยการ และกรรมการผู จ้ ดั การออก จากกันอย่างชัดเจนเพื�อมิให้ผูใ้ ดผู ห้ นึ�งมีอาํ นาจโดยไม่จาํ กัด คณะกรรมการบริษทั มีการประชุมเพื�อพิจารณากิจการทัว� ไปของบริษทั อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง� โดยบริษทั กําหนดการจัดประชุม คณะกรรมการ และส่งหนังสือนัด ประชุมซึ�งระบุถงึ วาระการประชุมอย่า งชัด เจนรวมทัง� เอกสาร ประกอบการประชุม ให้แก่คณะกรรมการล่วงหน้าก่อนการประชุมโดยทัว� ไปไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ยกเว้น กรณี เร่ งด่ ว นตาม ข้อบังคับของบริษทั ในปี 2557 กรรมการบริษทั แต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี� จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมในปี 2557 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 8 ครัง� ) 8 6 8 6 5 5 8 8

1. นายชาลี โสภณพนิช 2. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 3. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร 4. นายชาย วินิชบุตร 5. นายไว เชง ควน 6. นางยุพดี ควน 7. นายวีรพันธ์ พูลเกษ 8. นายตรีขวัญ บุนนาค 9. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

60

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ในการประชุม คณะกรรมการบริษ ทั ทุกครัง� เลขานุ ก ารบริษทั จะเป็ นผู จ้ ดั การประชุม จัดเตรียมระเบียบวาระ การประชุ ม และเอกสารเพื�อส่ งให้แ ก่ค ณะกรรมการบริ ษทั ก่ อนการประชุ ม เป็ นผู บ้ นั ทึก รายงานการประชุมโดยมี รายละเอียดของสาระสําคัญและข้อคิดเห็นต่าง ๆ ครบถ้วน และเสร็จสมบูรณ์ภายใน 14 วัน ภายหลังการประชุม รวมทัง� มีหน้าที�จดั เก็บเอกสารเกี�ยวกับการประชุมให้ถกู ต้องครบถ ้วน นอกจากนั�น ยังมีหน้าที�ให้คาํ แนะนําแก่คณะกรรมการ บริษทั ในกฎระเบียบต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้องกับวาระการประชุม คณะกรรมการของบริษทั มีบทบาทสําคัญในเรื�องต่าง ๆ เพื�อทําให้บริษทั มีการกํากับดูแลกิจการที�ดีดงั ต่อไปนี� ในทุก ๆ ต้นปี คณะกรรมการบริษทั จะมีการประชุม เพื�อพิจารณากําหนดกลยุทธ์ และเป้ าหมายการดําเนิ น ธุ รกิจของบริษทั รวมทัง� มีการติดตามผลการดําเนินงานและทบทวนผลการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริหารในช่ วงปี ท�ีผ่านมา ว่าเป็ นไปตามเป้ าหมายที�วางไว้ในช่วงต้นปี หรือไม่ ผลงานที�ไม่ เป็ นไปตามเป้ าหมายจะถูกทบทวนเพื�อประโยชน์ใ นการ วางนโยบาย และการกําหนดเป้ าหมายที�เหมาะสมสําหรับปี ต่อ ๆ ไป 

เพื�อให้การทํางานเกิดประสิทธิผลมากยิ�งขึ�น คณะกรรมการบริษทั จะมีการทบทวนผลงาน รวมทัง� การวิเคราะห์ ปัญ หาและอุ ป สรรคต่ า ง ๆ ในระหว่ า งปี ที� ผ่ า นมา เพื� อ ให้มี ข อ้ มู ล ที� จ ะนํ า ไปปรับ ปรุ ง การกํา กับ ดู แ ลและ การดําเนินการในเรื�องต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภ าพ ทัง� นี� คณะกรรมการบริษทั ได้ทาํ การประเมินผลการดําเนิ นงาน ของตนเองประจําปี ดว้ ย 

คณะกรรมการบริษทั จะเสนอต่อผู ถ้ อื หุน้ เพื�อพิจารณากําหนดค่ าตอบแทนที�บริษทั จ่ายให้แก่คณะกรรมการ บริษทั (ซึ�งได้ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกําหนดค่ าตอบแทนแลว้ ) เพื�อเป็ นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเสนอ ให้แ ก่ ผู ถ้ ือหุ น้ ทั�งนี� ที�ผ่า นมาผู ถ้ อื หุ น้ ได พ้ ิจารณาอนุ ม ตั ิค่ าตอบแทนกรรมการตามหน้า ที�และความรับผิด ชอบของ กรรมการแต่ละท่ าน กล่าวคือ ประธานกรรมการจะได้รบั ค่ าตอบแทนมากกว่ากรรมการท่านอื�น ๆ และกรรมการที�มี หน้าที�และความรับผิดชอบมากขึ�นก็จะได้รบั ค่ าตอบแทนเพิ�มขึ�น เช่น กรรมการที�มีตาํ แหน่ งเป็ น กรรมการตรวจสอบ จะได้รบั ค่าตอบแทนสําหรับหน้าที�ตอ้ งรับผิดชอบเพิ�มเติมด้วย 

บริษทั ได้เ ปิ ดเผยข้อมูล ค่ าตอบแทนกรรมการที�บริ ษทั จ่ายให้แก่กรรมการและกรรมการตรวจสอบในปี 2557 ที�ผ่านมาไว้ในหัวข้อ “ค่าตอบแทนของกรรมการและผู บ้ ริหาร” เพื�อให้การบริหารงานเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภ าพและรอบคอบ คณะกรรมการบริษทั ได้ม ีการกําหนดหน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั และฝ่ ายบริหารในเรื�องของระดับอํานาจดําเนิน การทางการเงิน ที�สาํ คัญ ได้แก่ อํานาจอนุ มตั ใิ นการซื�อ/เช่าทรัพย์สนิ อํานาจอนุ มตั ิในการขาย/ให้เช่าทรัพย์สนิ อํานาจในการลงนามในสัญญาเงินกู ้ กับสถาบันการเงิน เป็ นต้น โดยได้กาํ หนดวงเงินที�กรรมการและผู บ้ ริหารในแต่ละระดับมีอาํ นาจในการอนุ ม ตั ิไว้อย่าง ชัดเจน และได้แ จ้งให้แ ก่ค ณะกรรมการบริษ ทั คณะกรรมการตรวจสอบ ผู บ้ ริห าร และพนักงานที�เ กี�ยวข้องทราบ ถึงอํานาจ หน้าที� และความรับผิดชอบดังกล่าวแล ้ว และทุกฝ่ ายได้มีการปฏิบตั ิตามอย่างเคร่งครัด 

คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบได้มีการติดตามดู แล และรับทราบถึงรายการระหว่า งกัน และรายการที�อ าจก่ อให้เ กิ ด ความขัด แย้งทางผลประโยชน์ โดยได้มีการพิ จารณาความเหมาะสมของรายการ อย่างรอบคอบ ควบคุมดูแลให้รายการดังกล่าวเกิดขึ�นตามราคาตลาด รวมทัง� ดูแลให้บริษทั มีการปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ 

61

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ที�เกีย� วข้องอย่างเคร่งครัด ทัง� นี� ในการพิจารณารายการระหว่างกัน กรรมการผูม้ สี ่วนไดเ้ สียจะไม่มีสทิ ธิออกเสียงในเรื�อง ดังกล่าว บริ ษทั ได้เ ปิ ด เผยรายละเอียดของรายการระหว่ างกัน ซึ�งมีค วามเห็น ของคณะกรรมการตรวจสอบต่อความ เหมาะสมของการทํารายการดังกล่าวไว้ในหัวข้อ “รายการระหว่างกัน” คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ทํารายงานความรับผิดชอบต่อการจัดทํา และการเปิ ด เผยรายงานทางการเงิน ของกิ จการ ดังที� แสดงไว้ก่อนรายงานของผู ส้ อบบัญ ชี ทัง� นี� เพื�อแสดงให้เ ห็น ว่ ารายงานทางการเงิน ของบริ ษ ทั ครบถ ้วน เชื�อถือได้ สมเหตุผล และปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีท�รี บั รองทัว� ไป และกฎระเบียบต่าง ๆ ที�เกีย� วข้อง โดย ใช้นโยบายบัญชีท�เี หมาะสมและถือปฏิบตั โิ ดยสมํา� เสมอ 

แมว้ ่าประธานกรรมการของบริษทั จะเป็ นตัวแทนจากผู ถ้ อื หุน้ รายใหญ่ แต่บริษทั ก็มีคณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นผูก้ าํ กับดูแลให้การตัดสินใจอนุ มตั ิการทํารายการใด ๆ ของคณะกรรมการเป็ นไปอย่างถูกต้อง โปร่งใส และเป็ นธรรม ต่อทุก ๆ ฝ่ ายที�เกี�ยวข้อง 

ในปี 2552 คณะกรรมการบริ ษทั ได้จดั ทํา นโยบายการกํา กับ ดู แลกิจการ ซึ�ง ได ป้ ระมวลนโยบายและ ข้อปฏิบ ตั ิห ลัก ๆ ที�กรรมการผู บ้ ริ หารและพนักงาน จะยึด ถือในการปฏิบตั ิ หน้า ที�ของตน ตามความรับ ผิด ชอบ ที�ได้รบั มอบหมาย รวมทัง� แนวทางการปฏิบตั ติ ่อผู ม้ สี ่วนได้ส่วนเสียฝ่ ายต่ าง ๆ โดยเผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริษทั ที� www.ticon.co.th 

4. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ประกอบด้วยกรรมการตรวจสอบ 3 ท่านที�มีความเป็ นอิสระ ถือหุน้ ในบริษทั น้อยกว่าร้อยละ 1 มิได้เป็ นผู บ้ ริหารของบริษทั และมีค วามรู ค้ วามเข้าใจ รวมทัง� มีประสบการณ์ด า้ นบัญชีและ/หรื อ การเงิน โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที�แบ่งเบาภาระหน้าที�ของคณะกรรมการบริษทั ในการดู แลให้บริษทั มีระบบ การกํากับดูแลกิจการที�ดี โดยเฉพาะอย่างยิง� หน้าที�ในการให้ว ิสยั ทัศน์ และให้ความเห็นที�ตรงไปตรงมาต่อรายงานทาง การเงิน และระบบการควบคุมภายในของบริษทั การปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎเกณฑ์และระเบียบที�เกี�ยวข้อง ตลอดจน ดูแลให้มกี ารเปิ ดเผยรายงานทางการเงินอย่างครบถ ้วน และเป็ นไปตามมาตรฐานและข อ้ กําหนดที�เ กี�ยวข้อง ซึ�งส่งผลให้ รายงานทางการเงินมีความน่าเชื�อถือ มีคุณภาพที�ดี และมีมูลค่ าเพิ�มต่อองค์กร คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั มีบทบาทสําคัญในเรื�องต่าง ๆ เพื�อทําให้บริษทั มีการกํากับดู แลกิจการที�ดี ดังต่อไปนี� คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั มีการประชุม อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง� เพื�อกํากับดู แล และติด ตาม เรื�องต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น โดยมีผู ส้ อบบัญชีของบริษ ทั เข้าร่วมประชุมด้วยทุกครัง� ในวาระที�ม ีการพิจารณารายงาน ทางการเงิน 

62

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ในปี 2557 กรรมการตรวจสอบแต่ละท่านมีการเขา้ ร่วมประชุม ดังนี� จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมในปี 2557 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 4 ครัง� ) 4 4 4

1. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 2. นายตรีขวัญ บุนนาค 3. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

ในปัจจุบนั ผู ต้ รวจสอบภายในของบริ ษทั เป็ น ผู ด้ ู แลกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นผู จ้ ดั ประชุ ม จัด เตรี ยมระเบียบวาระการประชุม จัด เตรี ยมเอกสารต่ า ง ๆ ที�เกี�ยวข้องในการประชุม ส่งวาระการประชุ ม ให้แ ก่ คณะกรรมการตรวจสอบ นอกจากนัน� ยังมีหน้าที�บนั ทึกรายงานการประชุม ตลอดจนเป็ นผู ด้ ูแลจัดเก็บเอกสารการประชุม ด้วย คณะกรรมการตรวจสอบจะรายงานกิจกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ตนรับผิดชอบทัง� หมดแก่คณะกรรมการ บริษทั ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ซึ�งจัดขึ�นอย่างน้อยทุกไตรมาส และมีนโยบายจะรายงานต่อคณะกรรมการทันที ที�มีเหตุการณ์สาํ คัญเกิดขึ�น นอกจากนี� คณะกรรมการตรวจสอบยังได จ้ ดั ทํารายงานเพื�อเสนอต่อผู ถ้ อื หุน้ ในรายงาน ประจําปี ดว้ ย 

บริษทั มีการกําหนดหลักเกณฑ์ของกรรมการตรวจสอบเป็ น ลายลักษณ์อกั ษร เพื�อให้เ กิดความชัด เจนในเรื�อง ต่าง ๆ ที�เกีย� วข ้อง โดยเฉพาะอย่างยิง� บทบาทหน้าที�และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ อันเป็ นประโยชน์ ในการเพิ�มประสิทธิภาพการปฏิบตั หิ น้าที�ของกรรมการตรวจสอบ 

5. คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารของบริษทั ประกอบด้วยสมาชิก 5 ท่ า น ซึ�งแต่ งตัง� โดยคณะกรรมการบริษทั เพื�อปฏิบ ตั ิ หน้าที�ตามที�ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั

6. คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการกํา หนดค่ า ตอบแทนของบริษทั ประกอบด้ว ยกรรมการ 3 ท่ า น ซึ�ง แต่ งตัง� โดยผู ถ้ ือหุน้ หรื อ คณะกรรมการบริ ษ ทั โดยคณะกรรมการกํา หนดค่ า ตอบแทนมีห น้า ที� ดู แ ลให้บริ ษทั มีการดํา เนิ น การที� โปร่ ง ใส และเป็ นธรรม ในการใหผ้ ลตอบแทนต่อกรรมการและผู บ้ ริหาร รวมทัง� การจัด หาสวัสดิการที�เหมาะสมและเป็ นธรรม ต่อพนักงานของบริษทั ในการพิจารณาค่ าตอบแทนนัน� คณะกรรมการกําหนดค่ าตอบแทนจะพิจารณาจากหลายองค์ประกอบ ได้แก่ การเปรียบเทียบกับระดับที�ปฏิบตั อิ ยูใ่ นอุตสาหกรรมเดียวกัน ผลประกอบการของบริษทั รวมทัง� หน้าที�ความรับผิดชอบ

63

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ในปี 2557 กรรมการกําหนดค่าตอบแทนแต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี� จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมในปี 2557 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 1 ครัง� ) 1 1 1

1. นายชาลี โสภณพนิช 2. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 3. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร

7. คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการสรรหาของบริ ษ ทั ประกอบด้ว ยกรรมการ 4 ท่ า น ซึ� งแต่ งตั�งโดยคณะกรรมการบริ ษ ัท โดยคณะกรรมการสรรหามีห น้าที�กาํ หนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการคัด เลือกกรรมการ อนุ กรรมการ กรรมการ ผูอ้ าํ นวยการ และกรรมการผูจ้ ดั การของบริษทั เพื�อให้เกิดความโปร่งใสในการสรรหาผูท้ �จี ะมาดํารงตําแหน่งดังกล่าว ในปี 2557 กรรมการสรรหาแต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี� จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมในปี 2557 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 1 ครัง� ) 1 1 1 1

1. นายชาลี โสภณพนิช 2. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร 3. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 4. นายตรีขวัญ บุนนาค

8. คณะกรรมการบริหารความเสี�ยง คณะกรรมการบริหารความเสี�ยงจัดตัง� ขึ�นเมื�อวันที� 13 พฤษภาคม 2556 ตามมติที�ป ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครั�งที� 2 ของปี 2556 คณะกรรมการบริ หารความเสี�ย งของบริ ษทั ประกอบด้วยสมาชิ ก 6 ท่ า น ซึ�งแต่ งตั�งโดย คณะกรรมการบริษทั โดยคณะกรรมการบริหารความเสี�ยงมีหน้าที�พจิ ารณาประเมินและติดตามความเสี�ยงในด้านต่าง ๆ และทบทวนแนวทางและเครื�องมืออย่างสมํา� เสมอเพื�อใช้ในการบริหารความเสี�ยงอย่า งเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ต่อการดําเนินธุรกรรมด้านต่าง ๆ ของบริษทั

64

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ในปี 2557 สมาชิกคณะกรรมการบริหารความเสี�ยงแต่ละท่านมีการเข้าประชุม ดังนี� จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมในปี 2557 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 4 ครัง� ) 4 4 4 2 4 4

1. นายตรีขวัญ บุนนาค 2. นายวีรพันธ์ พูลเกษ 3. ดร. สมศักดิ� ไชยพร 4. นายปธาน สมบูรณสิน 5. นางสาวลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์ 6. นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์* 7. นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์

หมายเหตุ * นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ ได้รบั แต่งตัง� เป็ นกรรมการบริหารความเสี�ยง เมื�อวันที� 11 พฤศจิกายน 2557

9. คณะอนุ กรรมการอื�น ๆ คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีม ติ ให้แต่ งตัง� คณะกรรมการกํา กับดู แลกิจการที�ดี เมื� อวัน ที� 26 กุม ภาพันธ์ 2558 ประกอบด้วยสมาชิก 7 ท่าน โดยคณะกรรมการกํากับดู แลกิจการที�ดี มีหน้าที�จดั ทํานโยบายการกํากับดู แลกิจการที�ดี และให้คาํ แนะนําแก่คณะกรรมการบริษทั ดู แล ทบทวน ติดตามแนวทางการปฏิบตั งิ าน เพื�อให้เ ป็ นไปตามของหลักการ กํากับดูแลกิจการที�ดี นอกจากนี� คณะกรรมการกํากับดู แลกิจการที�ดีมีหน้าที�ในการ จัดทํานโยบายและแนวปฏิบตั ิในการ ดําเนินงานด้านการบริหารจัดการความยัง� ยืน (Sustainability Management : SM) ซึ�งให้ความสําคัญในการดู แล สังคม ชุมชน และสิง� แวดล ้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) เพื�อเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั รวมทัง� จัดทํา ทบทวน ให้ข อ้ เสนอแนะ แนวทางปฏิบตั ิ ติด ตาม และประเมิน ผลการดําเนิ นงานที�เ กี�ยวข้องกับการต่ อต้า น การคอร์รปั ชัน รายละเอียดเกีย� วกับรายชื�อ หน้าที�ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ และคณะอนุ กรรมการชุดต่ าง ๆ ระบุไว้ ในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ”

10. จริยธรรมทางธุรกิจ บริ ษทั มีแนวทางเกี�ยวกับ จริ ยธรรมธุ ร กิจหรือจรรยาบรรณของบริ ษทั ที�ระบุอ ยู่ ในคู่ มื อบริษ ทั และนโยบาย การกํากับดู แลกิจการ ซึ�งแนวทางดังกล่าวได้รวมถึงแนวทางการเก็บรักษาและป้ องกันการใช้ขอ้ มู ลภายในของบริษทั เพื�อประโยชน์ส่วนตนด้วย

11. ความสัมพันธ์กบั ผูเ้ กี�ยวข้อง บริษทั ได้ให้ความสําคัญกับการเปิ ดเผยข้อมู ลของบริษทั ที�ถกู ต้อง ครบถ ้วน และในเวลาที�เหมาะสม เนื�องจาก บริษทั ตระหนักดีถงึ สถานภาพการเป็ นบริษทั มหาชนจํากัด และบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง� นี� ผูส้ นใจสามารถติดต่อบุคคลดังต่อไปนี� ซึ�งเป็ นผูด้ ูแลงานนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษทั เพื�อสอบถามข้อมูลของบริษทั

65

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ชื�อ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ตําแหน่ ง

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

อีเมล

ที�อยู่ ห้อง 1308 ชัน� 13/1 อาคารสาธรซิต� ีทาวเวอร์ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส samart.r@ticon.co.th นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 นอกเหนื อจากการเปิ ด โอกาสให น้ ักวิเ คราะห์หลักทรัพ ย์ นักลงทุน เข้า พบผู บ้ ริ หารของบริ ษทั เพื�อสอบถาม ผลการดําเนินงาน และเข้าเยี�ยมชมโรงงาน/คลังสิน ค้าของบริษทั รวมทัง� การจัด ประชุม นักวิเคราะห์หลักทรัพ ย์และจัด แถลงข่าวแก่ส�อื มวลชนเพื�อชี�แจงผลประกอบการและภาพรวมธุรกิจแล้ว บริษทั ได้เข้าร่วมกิจกรรมบริษทั จดทะเบียนพบ ผูล้ งทุน (Opportunity day) ซึ�งจัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย เป็ นประจําทุกไตรมาส และกิจกรรมพบปะ นักลงทุน/นักวิเคราะห์ท�จี ดั โดยบริษทั หลักทรัพย์ เพื�อเป็ นการส่งเสริมการให้ขอ้ มูล และสร้างความสัม พันธ์อนั ดีระหว่าง ผู บ้ ริห ารและนักลงทุน และเพื�อให้มีค วามเข้าใจในธุ รกิจของบริ ษทั มากขึ�น นอกจากนัน� บริ ษทั ยังมีการเดิ นทางไป ต่างประเทศเพื�อให้ขอ้ มูลแก่นกั ลงทุนที�มิได้อยูใ่ นประเทศไทยด้วย ในปี 2557 บริษทั ได้จดั ใหม้ ีการนําเสนอข้อมูลแก่นกั ลงทุนต่างประเทศ นักลงทุนสถาบัน นักลงทุนรายย่อย และ นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ดังนี� กิจกรรมการนํ าเสนอข้อมูล บริษทั จดทะเบียนพบผูล้ งทุน นักลงทุนพบผูบ้ ริหารของบริษทั ประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์และจัดแถลงข่าวแก่ส�อื มวลชน ให้ขอ้ มูลแก่นกั ลงทุนในประเทศ ให้ขอ้ มูลแก่นกั ลงทุนต่างประเทศ

จํานวนครัง� 4 38 3 5 9

12. การดูแลเรื�องการใช้ขอ้ มูลภายใน บริษทั มีนโยบายและวิธีการดู แลผู ้บริหารในการนําข้อมูลภายในของบริษทั ไปใช้เพื�อประโยชน์สว่ นตน ดังนี� ให้ความรู แ้ ก่กรรมการ และผูบ้ ริหาร เกี�ยวกับหน้าที�ท�ตี อ้ งรายงานการถือหลักทรัพย์และการเปลี�ยนแปลงการ ถือหลักทรัพย์ของบริษทั ตามมาตรา 59 แห่ง พรบ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และบทกําหนดโทษ ตาม พรบ. ดังกล่าว 

บริษทั ได้แ จ้งให้ผูบ้ ริ หารทราบว่า หากผู บ้ ริ หารได้รบั ทราบข้อมู ลภายในที�เป็ น สาระสํา คัญอัน จะมีผลต่ อ การเปลี�ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ ผู บ้ ริ หารจะต้องระงับการซื�อขายหลักทรัพย์ของบริษทั ในช่ วงระยะเวลาที�เหมาะสม ก่อนที�ขอ้ มู ลภายในนัน� จะเปิ ด เผยต่ อสาธารณชน และจะต้องไม่ เ ปิ ด เผยข้อมู ล ที�เ ป็ น สาระสํา คัญ นั�น ต่อบุค คลอื� น โดยผูฝ้ ่ าฝื นอาจได้รบั โทษตามกฎหมาย 

66

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

บริษทั จะชี�แจงต่อผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนผ่านทางตลาดหลักทรัพ ย์แห่ งประเทศไทยในทัน ทีในกรณี ท�ีมีข่าวสาร ใด ๆ ทัง� ที�เป็ นจริงและไม่เป็ นจริงรัว� ไหลออกสูส่ าธารณชน ทัง� นี� เพื�อไม่ให้เกิดความไม่เป็ นธรรมต่อผูถ้ อื หุน้ และผู ล้ งทุน ทัว� ไป 

13. การสนับสนุ นการต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชัน คณะกรรมการบริ ษ ัท ยึ ด มัน� ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จด้ว ยความโปร่ ง ใส โดยอยู่ ภ ายใต ก้ รอบของกฎหมาย หลักจริยธรรม และแนวทางการกํากับดู แลกิจการที�ดี รวมทัง� สนับสนุ นการต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชัน และตระหนัก ดีว่าการทุจริตและคอร์รปั ชันส่งผลกระทบต่ อการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมัน� คงของประเทศ โดยมี นโยบายในการสนับสนุ นการต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชัน ดังนี� 1. บริษทั ต้องสนับสนุ นการสร้างจิตสํานึก ค่านิยม ทัศนคติให้แก่บคุ ลากรในการปฏิบตั ิงานอย่างซื�อสัตย์ โปร่งใส เที�ยงตรง เคารพกฎหมาย กฎระเบียบต่าง ๆ สนับสนุ น การต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชันให้เป็ นวัฒนธรรมองค์กร รวมทัง� บริหารงานตามหลักการกํากับดู แลกิจการที�ดี 2. บุคลากรต้องไม่กระทําการใด ๆ อันเป็ นการเรียกร้อง หรือรับทรัพย์สนิ หรือผลประโยชน์อ�นื ใดจากบุค คลอื�น ที�มีหน้าที�หรือธุ รกิจที�เกี�ยวข้องกับบริษทั เว้นแต่ในโอกาสหรือเทศกาลอันเป็ น ประเพณีนิยม และทรัพย์สินนัน� ต้องไม่ ใช่ สิ�งผิดกฎหมาย รวมทัง� ไม่อาศัยตําแหน่ งหน้าที�หรือแสวงหาผลประโยชน์เพื�อตนเอง และ/หรือผูอ้ �นื โดยมิชอบ 3. บริษทั ต้องจัด ให้มีก ระบวนการตรวจสอบระบบขัน� ตอนการปฏิบตั ิงาน รวมถึงการประเมิน ความเสี�ยงต่ อ การเกิดคอร์รปั ชัน และบริหารจัดการให้มวี ธิ ีการแก้ไขที�เหมาะสม 4. บริษทั ต้องจัดให้ม ีระบบการควบคุ มภายในที�เ พียงพอและเหมาะสม รวมทัง� พัฒนาระบบและกลไกในการ ตรวจสอบ ควบคุม และถ่วงดุลการใช้อาํ นาจให้เหมาะสม ชัดเจน และมีประสิทธิภ าพ เพื�อป้ องกันและมิใหม้ ีการทุจริต หรือมีส่วนเกี�ยวข้องกับการทุจริต และคอร์รปั ชัน 5. บริษทั ต้องจัดให้มกี ารสื�อสารและผึกอบรมแก่บุคลากรของบริษทั เพื�อให้เกิดความรู ค้ วามเข้าใจอย่างแท้จริง เกี�ยวกับมาตรการต่อต้านการคอร์รปั ชัน 6. บริษทั ต้องจัดให้มชี ่องทางในการรับเรื�องร้องเรียนหรือแจ้งเบาะแสอันควรสงสัย โดยมีนโยบายในการคุม้ ครอง ผู ใ้ ห้ขอ้ มู ล หรือเบาะแส และจะเก็บรักษาข้อมูลของผู ใ้ ห้ขอ้ มูลเป็ น ความลับ รวมทัง� มีมาตรการในการตรวจสอบและ กําหนดบทลงโทษตามกฎระเบียบที�เกีย� วข้อง 7. บริษทั ควรสนับสนุ นกิจกรรมต่าง ๆ ที�จดั ขึ�น โดยหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ เพื�อประโยชน์ในการป้ องกัน และสนับสนุ นการต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชัน

67

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

14. นโยบายการแจ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียน วัตถุประสงค์ 1. เพื�อส่งเสริมให้บุค ลากรของบริษทั ดําเนินธุ รกิจอย่างถูกต้อง โปร่ งใส ยุติธรรม และสามารถตรวจสอบได้ โดยสอดคล้องกับหลักการกํากับดูแลกิจการที�ดี มาตรฐานทางจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุ รกิจของบริษทั โดยบริษทั คาดหวังให้ทุกคนรายงานโดยสุจริตถึงการปฏิบตั ิท�ขี ดั หรือสงสัยว่าจะขัด ต่ อเรื�องดังกล่าวให้บริษ ทั รับทราบ ซึ�งบริษทั จะได้ปรับปรุงแก้ไข หรือดําเนินการให้เกิดความถูกต้อง เหมาะสม โปร่งใส ยุตธิ รรม และเป็ น ไปตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ท�มี ีการให้ความคุม้ ครองผูใ้ ห้ขอ้ มูลโดยสุจริตแก่ฝ่ายงานกํากับดู แลด้วย 2. เพื�อให้มนั � ใจว่าผูบ้ งั คับบัญชา และฝ่ ายทรัพยากรมนุ ษย์ของบริษทั ทําหน้าที�ดูแล และให้คาํ แนะนํา ตลอดจน สอดส่องการกระทําต่าง ๆ ของบุคลากรของบริษทั ให้เป็ นไปโดยถูกต้อง และผู แ้ จ้งเรื�องดังกล่าวจะได้รบั ความคุม้ ครอง หากเป็ นการกระทําด้วยความสุจริตใจ ขอบเขตการแจ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียน 1. เมื�อมีขอ้ สงสัย หรือพบเห็นการกระทําที�ฝ่าฝื นหลักปฎิบตั ทิ �ดี ี ในเรื�องต่อไปนี� 1.1 1.2 1.3 1.4

การฝ่ าฝื นการปฏิบตั ิตามหลักการ และแนวปฏิบตั ิของนโยบายการกํากับดูแลกิจการที�ดี การฝ่ าฝื นกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของบริษทั การได้รบั ความไม่เป็ นธรรมในการปฏิบตั งิ าน การกระทําทุจริต

2. พบการกระทําที�ทาํ ให้เกิดความสงสัย และเกิดผลเสียต่อบริษทั ช่องทางในการแจ้งเบาะแส หรือร้องเรียน ของผู ม้ สี ่วนได้เสียทุกกลุ่ม นายวีรพันธ์ พูลเกษ กรรมการผูจ้ ดั การ โทรศัพท์: (662) 679-6565 ต่อ 205 อีเมลล์: virapan.p@ticon.co.th นางสาวลลิตพันธุ ์ พิรยิ ะพันธุ ์ เลขานุ การบริษทั โทรศัพท์: (662) 679-6565 ต่อ 204 อีเมลล์: lalitphant.p@ticon.co.th นางสาววุฒนิ ี พิทกั ษ์สงั ข์ ฝ่ ายตรวจสอบภายใน โทรศัพท์: (662) 679-6565 ต่อ 235 อีเมลล์: wutinee.p@ticon.co.th

68

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

นางสาวทัศนี ย ์ คาดสนิท ฝ่ ายทรัพยากรมนุ ษย์ โทรศัพท์: (662) 679-6565 ต่อ 250 อีเมลล์: tasanee.k@ticon.co.th กระบวนการในการจัดการกับเรื�องที�มกี ารร้องเรียน 1. การลงทะเบียน และส่งเรื�อง 1.1 ผูป้ ระสานงานเรื�องร้องเรียน ลงทะเบียนรับเรื�องร้องเรียน และกําหนดวันแจ้งความคืบหน้าของเรื�องที� ร้องเรียนแก่ผูร้ อ้ งเรียน ดังนี� • กรณีท�มี ผี ลกระทบต่อชื�อเสียงของบริษทั อย่างร้ายแรง ให้ดาํ เนินการโดยด่ วนที�สุด • กรณีอ�นื ให้ดาํ เนินการโดยเร็ว • กรณี ท�ีเ ป็ นการสอบถามทัว� ไป เช่น คํา ถามเกี�ยวกับราคาหุ น้ การจ่า ยเงิน ปัน ผล จะไม่มี การ ลงทะเบียนรับเรื�อง แต่จะส่งเรื�องให้กบั ฝ่ ายงานที�รบั ผิดชอบเรื�องนัน� ๆ โดยตรง เพื�อตอบข้อซักถามแก่ผูส้ อบถาม 1.2 ผูป้ ระสานงานเรื�องร้องเรียน ลงบันทึกข้อมูลจากผู ร้ อ้ งเรียน ดังนี� • • • •

ชื�อผู ร้ อ้ งเรียน ยกเว ้นกรณีท�ไี ม่ได้ระบุช�อื วันที�รอ้ งเรียน ชื�อบุคคล หรือเหตุการณ์ท�รี อ้ งเรียน ข้อมูลที�เกี�ยวข้องอื�น ๆ

1.3 เมื�อลงทะเบียนรับเรื�องร้องเรียนแล ้ว ให้กาํ หนดขัน� ความลับตามเนื�อหาของเรื�อง (ยกเว้น กรณี ท�เี ป็ น การสอบถามทัว� ไป) และดําเนินการดังนี� • ส่งให้ผู ้ดู แลเรื�องร้องเรียนดําเนินการหาข้อเท็จจริง และสัง� การตามอํานาจหน้าที�ทมี� ี • ส่งสําเนาเรื�องให้ฝ่ายทรัพยากรมนุ ษย์ทราบเบื�องต้น เพื�อเตรียมให้คาํ แนะนําการดําเนิน การด้าน ระเบียบวินยั หรืออื�น ๆ • ส่งสําเนาเรื�องให้กรรมการผูจ้ ดั การ และคณะกรรมการตรวจสอบทราบเรื�อง

69

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

2. การรวบรวมข้อเท็จจริง และสัง� การ 2.1 ผูด้ ู แลเรื�องร้องเรียน ดําเนินการหาข้อเท็จจริง และให้ข อ้ แนะนําผู ท้ �เี กี�ยวข้องให้ม ีการประพฤติ หรือ ปฏิบตั ิท�เี หมาะสมต่อไป หากต้องมีการลงโทษทางวินยั สังลงโทษโดยปรึ � กษากับฝ่ ายทรัพยากรมนุ ษย์เพื�อให้การลงโทษ เป็ นไปตามมาตรการลงโทษ และหากผูด้ ู แลเรื�องร้องเรียนไม่มีอาํ นาจสัง� ลงโทษให้เสนอเป็ น ลําดับชัน� ไปจนถึงผู ม้ ีอาํ นาจ แล ้วแต่ กรณี และให้ส่งผลการหาข้อเท็จจริ ง การดํา เนิ นการและการสัง� ลงโทษแล้วแต่ กรณี ไปให้กรรมการผู จ้ ดั การ โดยผ่านผูบ้ งั คับบัญชาตามลําดับชัน� เพื�อทราบ หรือพิจารณาสัง� การ 2.2 กรณีเป็ นเรื�องร้องเรียนจากผู ไ้ ม่ระบุช�ือ และไม่สามารถหาข้อมู ลเพิ�มเติมได้เ พียงพอ ให้ผู ด้ ู แลเรื�อง ร้องเรียนส่งรายงานผลการตรวจสอบข้อมู ล และความเห็น เกี�ยวกับเรื�องร้องเรียนนัน� ไปที�กรรมการผู จ้ ดั การ โดยผ่าน ผูบ้ งั คับบัญชาตามลําดับชัน� เพื�อขอแนวทางการดําเนิน การที�เ หมาะสมต่อไป หากกรรมการผู จ้ ดั การเห็น ว่าไม่ส ามารถ ดําเนินการตามข้อร้องเรียนได้ ข้อร้องเรียนนัน� จะถูกปิ ดเรื�องไป และให้ผูด้ ูแลเรื�องร้องเรียนส่งสําเนาให้ผู ป้ ระสานงาน เรื�องร้องเรียนทราบ เพื�อรายงานแก่คณะกรรมการตรวจสอบ 2.3 หากผูด้ ู แลเรื�องร้องเรียนตรวจสอบข้อเท็จจริงแล ้วพบว่า ผู ถ้ ูกร้องเรียนไม่ม ีความผิด หรือเป็ นเรื�อง ที�เ กิด จากความเข้าใจผิด หรื อได้ให้ข อ้ แนะนํา แก่ผู ถ้ ูกร้องเรี ยน หรือ ผู ท้ �ี เ กี�ยวข้องให้มีการประพฤติ หรื อปฏิ บ ตั ิ ที�เหมาะสมแล ้ว และพิจารณาเห็นว่า ควรให้ปิดเรื�องโดยไม่มีการลงโทษใด ๆ ให้ผูด้ ู แลเรื�องร้องเรียนเสนอเรื�องดังกล่าว แก่ผูบ้ งั คับบัญชาลําดับเหนือขึ�นไป เพื�อขออนุ มตั ิปิ ดเรื�อง และสําเนาเรื�องให้ผูป้ ระสานงานเรื�องร้องเรียน เพื�อแจ้งแก่ ผูร้ อ้ งเรียนทราบ จากนัน� รายงานแก่กรรมการผู จ้ ดั การ และคณะกรรมการตรวจสอบต่อไป 3. การสอบสวนข้อเท็จจริง 3.1 ในกรณีท�ผี ู ด้ ูแลเรื�องร้องเรียน และฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ เห็นว่าจะต้องมีการลงโทษทางวินยั ให้ฝ่าย ทรัพยากรมนุ ษย์เสนอเรื�องต่อกรรมการผูจ้ ดั การ สอบสวนข้อเท็จจริงต่อไป 3.2 เมื�อมีผลสังการของกรรมการผู � จ้ ดั การแล ้ว ให้แจ้งผลให้ผูด้ ูแลเรื�องร้องเรียนทราบ เพื�อดําเนินการ ตามขัน� ตอนต่อไป 4. การแจ้งผลสรุปต่อผู ร้ อ้ งเรียน และการปรับปรุงแก้ไข 4.1 ผูด้ ู แลเรื�องร้องเรียน ดําเนินการตามคําสัง� ของกรรมการผูจ้ ดั การ ให้ขอ้ แนะนําให้มกี ารประพฤติ หรือ ปฏิบตั ิท�เี หมาะสมต่อไป แล้วแจ้งผลการดําเนินการให้ผูป้ ระสานงานเรื�องร้องเรียนทราบด้วย 4.2 ผู ป้ ระสานงานเรื�องร้องเรี ยน แจ้งผลการดําเนินการใหก้ บั ผู ร้ อ้ งเรียนทราบ และบัน ทึกผลของการ ดําเนินการเกี�ยวกับเรื�องร้องเรียนไว้ โดยนําเสนอคณะกรรมการตรวจสอบทราบเป็ นรายไตรมาส 4.3 ผูป้ ระสานงานเรื�องร้องเรียน ติด ตามผลการปรับปรุ งแก้ไข (ถ้ามี) และรายงานให้กรรมการผู จ้ ดั การ และคณะกรรมการตรวจสอบทราบ

70

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

การร้องเรียนโดยไม่สจุ ริต หากการแจ้งเบาะแส ข้อรอ้ งเรียน ให้ถ ้อยคํา หรือให้ขอ้ มูลใด ๆ ที�พสิ ู จน์ได้ว่าเป็ นการกระทําโดยไม่สุจริต กรณี เป็ น บุ ค ลากรของบริ ษทั จะได้ร ับ การลงโทษทางวิ น ัย แต่ หากเป็ นบุค คลภายนอกที� เ ป็ น ผู ก้ ระทํา ให้บริ ษ ทั ได้ร ับ ความเสียหาย ทางบริษทั จะดําเนินคดีกบั บุคคลนัน� ต่อไป มาตรการคุม้ ครองผู แ้ จ้งเบาะแส หรือผูร้ อ้ งเรียน 1. บริษทั จะเก็บข้อมูลและตัวตนของผู แ้ จ้งเบาะแส ผูร้ อ้ งเรียน หรือผู ถ้ กู ร้องเรียน เป็ นความลับ 2. บริษทั จะเปิ ดเผยข้อมูลเท่าที�จาํ เป็ น โดยคํานึงถึงความปลอดภัย และความเสียหายของผู ร้ ายงานแหล่งที�ม า ของข้อมูล หรือบุคคลที�เกีย� วข้อง 3. ผูท้ �ไี ด้รบั ความเสียหายจะได้รบั การบรรเทาความเสียหายด้วยกระบวนการที�เหมาะสมและเป็ น ธรรม 4. กรณีท�ผี ูร้ อ้ งเรียน หรือผู ท้ �ใี ห้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง เห็นว่าตนอาจได้รบั ความไม่ ปลอดภัย หรืออาจเกิดความเดือดร้อนเสียหาย ผูร้ อ้ งเรียน หรือผู ใ้ ห้ความร่ วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง สามารถร้องขอให้ บริษทั กําหนดมาตรการคุม้ ครองที�เหมาะสมก็ได้ หรือบริษทั อาจกําหนดมาตรการคุม้ ครองโดยผูร้ อ้ งเรียนหรือผูท้ ใ�ี ห้ความ ร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริงไม่ตอ้ งร้องขอก็ได้ หากเห็นว่าเป็ นเรื�องที�มีแนวโน้มที�จะเกิดความเดือดร้อนเสียหาย หรือความไม่ปลอดภัย 5. บริษทั จะไม่กระทําการใดอัน ไม่ เป็ น ธรรมต่ อผู แ้ จ้งเบาะแส หรือผู ร้ อ้ งเรียน ไม่ว่าจะโดยการเปลี�ย นแปลง ตําแหน่ งงาน ลักษณะงาน สถานที�ทาํ งาน สัง� พักงาน ข่มขู่ รบกวนการปฏิบ ตั ิงาน เลิกจา้ ง หรือกระทําการอื�นใดที�มี ลักษณะเป็ นการปฏิบตั อิ ย่างไม่เป็ นธรรมต่อผูแ้ จ้งเบาะแส ผูร้ อ้ งเรียน หรือผูใ้ ห้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง

15. ความรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั ให้ความสําคัญเป็ นอย่างมากต่อการเป็ นธุ รกิจที�มธี รรมาภิบาล เป็ นที�ยอมรับนับถือของผู ม้ ีส่วนได้เสียของ บริษทั ในทุกภาคส่ว น ดังนัน� คณะกรรมการบริษทั จึงได้มีม ติให้สนับสนุ น การต่ อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชัน� โดยมี นโยบายที�ถกู กําหนดออกมาชัดเจนเพื�อสนับสนุ นการต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชันทัง� ภายในและภายนอกองค์กร นอกจากนัน� บริษทั ยังคํานึงถึงความรับผิดชอบต่อพนักงานของบริษทั จึงกําหนดนโยบายการแจ้งเบาะแสหรือข้อ ร้องเรียน เพื�อให้พนักงานตลอดจนผูม้ สี ่วนได้เสียอื�นๆของบริษทั ได้มีส่วนร่ วมในการทําให้การดําเนิน ธุ รกิจของบริษทั เป็ นไปด้วยความโปร่งใส สามารถที�จะตรวจสอบได้ อันจะนําไปสู ่ความเป็ นธุ รกิจที�มีความยัง� ยืนต่อไปในอนาคต บริษทั ไม่เ คยละเลยที�จะใส่ใจในความเป็ นอยู่ทงั� ของพนักงานบริษทั และของผู ม้ ีส่วนได้เสียซึ�งอาศัยอยู่ในชุมชน แวดล ้อมสถานประกอบการของบริษทั ตามพื�นที�ต่างๆทัว� ทัง� ประเทศ การก่อสร้างอาคารโรงงานหรือคลังสินค้าใดๆทุกครัง� ของบริษทั จะให้ความสําคัญต่อการรักษาสภาพแวดล ้อมเป็ นอันดับแรกๆเพื�อให้คนในชุมชนซึ�งอาศัยอยู่ใกล้เคี ยงกันกับ สถานที� ก่อสร า้ งสามารถที�จะใช้ชีวิตประจําวัน ต่อไปได้ตามปกติ ในส่วนของพนักงานบริ ษทั ที�พ กั อาศัยอยู่ใกล ้กัน กับ สถานที�ก่อสรา้ งนัน� บริษทั ยังมีบริการรับเลี�ยงบุตรหลาน (Day Care Nursery) ให้กบั พนักงานที�ตอ้ งการจะฝากบุตร หลานให้ช่วยดูแลในระหว่างที�ออกไปทํางานโดยไม่มีการคิดค่าใช้จ่ายอีกด้วย

71

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ในปี 2557 บริษทั ได้จดั กิจกรรมเพื�อสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื�องเพื�อมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือสังคมไทยให้ มีพฒั นาการที�ยงยื ั � น โดยมีรายละเอียดดังนี� วันที� 20 มีน าคม 2557 บริ ษทั บริจาคเครื�องมื อแพทย์เ ป็ น เครื�องตรวจคลื�น ไฟฟ้ าหัวใจ EKG ให้กบั โรงพยาบาลน่าน จังหวัดน่าน เพื�อให้ทางโรงพยาบาลนําไปใช้ตรวจรักษาโรคให้กบั ผูป้ ่ วยในพื�นที�จงั หวัดน่านและพื�นที� ใกล ้เคียงที�รอความช่วยเหลืออยู่ เนื�องจากโรงพยาบาลยังขาดแคลนอุปกรณ์การแพทย์อยู่อีกเป็ นจํานวนมาก และขาด งบประมาณที�จะนําไปใช้จดั ซื�ออุปกรณ์ดงั กล่าว 

วันที� 22-23 มีนาคม 2557 ที�กรมสรรพาวุธทหารเรือ หาดสอ อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี TICON มีโครงการ รักษาสิง� แวดล ้อมต่าง ๆ มากมายเพื�อแสดงออกถึงความมุ่งมัน� ของบริษทั ที�จะฟื� นฟูสภาพแวดล ้อมของโลกเราให้ดีข� นึ อย่างต่ อเนื� อง หนึ�งในโครงการเหล่า นัน� ก็คือโครงการ TICON Green Life ซึ�งบริษ ทั ได้ร่ วมกันกับพนักงานและ ครอบครัวทํากิจกรรม CSR โดยการปลูกปะการังเทียมเพื�อคื น บา้ นให้กบั สิ�งมีชีวิตในท้องทะเลอย่างยัง� ยืน ณ หาดสอ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี 

วันที� 3 เมษายน 2557 บริษทั ได้ทาํ การบริจาคคอมพิวเตอร์แบบตัง� โต๊ะพรอ้ มจอภาพจํานวนหนึ�ง ให้แก่ โรงเรียนมุสลิมพัฒนศาสตร์ จังหวัดปัตตานี เพื�อใช้พฒั นาเป็ นสื�อการเรียนการสอนให้แก่น กั เรียนในพื�นที�สามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ซง�ึ ประสบปัญหาภัยก่อการร้ายและยังขาดแคลนอุปกรณ์การเรียนอยูอ่ กี เป็ นจํานวนมาก 

วันที� 17-18 พฤษภาคม 2557 ที�โรงแรม The Legacy River Kwai Resort จังหวัดกาญจนบุรี TICON ได้จดั กิจกรรมฝึ กอบรมกลยุทธ์เพื�อปลูกฝังความสามัคคีและความผูกผันให้กบั บุคลากรในองค์กร เพื�อให้สอดคล้องกับ เป้ าหมายของบริษทั ที�ตอ้ งการจะสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที�เหมาะสมกับลักษณะงานต่าง ๆ ของแต่ละหน่วยงาน และ เพื�อให้เกิด การประสานงานที�ดีระหว่างหน่ วยงานของบริษทั ตลอดจนระหว่างหน่วยงานกับบุคคลหรือองค์กรทีอ� ยูภ่ ายนอก ด้วย 

เดือนกันยายน 2557 บริษทั ได้บริจาคอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครื�องใช้สาํ นักงาน อาทิเช่ น คอมพิวเตอร์ แบบตัง� โต๊ะ เครื� องสํารองไฟฟ้ า สํา หรับคอมพิวเตอร์ เครื�องพิมพ์เอกสาร และเครื�องโทรสาร เป็ นต้น ให้แก่ มูล นิ ธิ สวนแก้ว จังหวัดนนทบุรี 

วันที� 8 พฤศจิกายน 2557 ที�อาคาร Chula Sports Complex จังหวัด กรุ งเทพมหานคร TICON ได้จดั กิจกรรมกีฬาสีสมั พันธ์ภายในองค์กร ประจําปี 2557 ขึ�น โดยมีว ตั ถุประสงค์เ พื�อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพทางด้า น ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสร้างเสริมความสัมพันธ์ที�ดีระหว่างกันของเหล่าพนักงาน กิจกรรมเน้นให้พนักงานได้มีโอกาส แสดงความสามารถทางด้านกีฬ า และทํางานร่ วมกันเป็ นหมู่ คณะ เป็ น การเพิ�มปฏิสมั พันธ์ของพนักงานทัง� กับเพื�อน ร่วมงาน กับผู บ้ งั คับบัญชา ตลอดจนกับผูใ้ ต้บงั คับบัญชาด้วย ทัง� ที�อยู่ในแผนกเดียวกันและที�อยู่ต่างแผนกกันให้มีมาก ยิ�งขึ�น 

เดือนธันวาคม 2557 บริษทั ได้ทาํ การบริจาคอุปกรณ์คอมพิว เตอร์และเครื�องใช้สาํ นักงาน ซึ�งประกอบด้วย โต๊ะกับเก้าอี�สาํ นักงาน โต๊ะคอมพิวเตอร์ เครื�องถ่ายเอกสาร ให้แก่มูลนิธิสวนแก้ว จังหวัดนนทบุรี 

72

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสีย� ง บริ ษทั ให้ความสํา คัญต่อระบบควบคุ มภายในและการบริหารจัดการความเสี�ยงที�มีประสิทธิภ าพ เหมาะสม พอเพียง ทัง� ในระดับบริหารและระดับปฏิบตั ิงาน ซึ�งถือว่าเป็ นกระบวนการที�สาํ คัญของการดําเนินธุ รกิจของบริษทั ทําให้ การปฏิบตั ิงานมีป ระสิทธิภ าพ และเกิด ความมัน� ใจอย่า งสมเหตุส มผลว่าการดํา เนิ นงานของบริ ษทั สามารถบรรลุ วัตถุป ระสงค์ สร้างผลประโยชน์ตอบแทนในระยะยาว การรายงานข้อมู ลทางการเงิน และการดํา เนิน งานครบถ ้วน น่าเชื�อถือ การปฏิบตั งิ านเป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับต่ า ง ๆ และป้ องกันความเสี�ยงที�อาจเกิดขึ�น โดยที� ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง� ที� 1/2558 ได้มกี ารพิจารณาทบทวนการประเมินความเพียงพอและความเหมาะสมของ ระบบการควบคุมภายในของบริษทั โดยอ้างอิง “แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน” ของสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพ ย์และตลาดหลักทรัพ ย์ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบที�เข้าร่ว ม ประชุมมีความเห็นว่า บริษทั มีระบบการควบคุมภายในที�เ พียงพอและเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบนั และครอบคลุม ใน 5 เรื�อง คือ องค์กรและสภาพแวดล้อม การบริหารความเสี�ยง การควบคุมการปฏิบตั ิงาน ระบบสารสนเทศและการ สื�อสารข้อมูล และระบบการติดตาม โดยสรุปสาระสําคัญได้ดงั ต่อไปนี� 1.

องค์กรและสภาพแวดล้อม

บริษทั ส่ งเสริ ม และสนับสนุ น ให้เกิด สภาพแวดล ้อมของการควบคุ มภายในที�ดี โดยกําหนดเป้ าหมาย การดําเนินธุรกิจของบริษทั ที�ชดั เจนและวัด ผลได้ในรู ปของกํา ไรต่ อหุน้ ประจําปี นนั� ๆ รวมทัง� ได้มีการเปรีย บเทียบผล การดําเนินงานในปี ท�ผี ่านมากับเป้ าหมายที�กาํ หนด โดยหากไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย บริษทั จะทําการวิเ คราะห์หาสาเหตุ เพื�อประโยชน์ในการปรับปรุงการบริหารงานในปี ต่อไป ทัง� นี� โครงสรา้ งองค์กรของบริษทั มีสายการบังคับบัญชา มีการ กําหนดอํานาจอนุ มตั ขิ องฝ่ ายบริหารในการทํารายการต่าง ๆ อย่างชัดเจน โดยผู ม้ สี ่วนได้เสียในเรื�องใด จะไม่สามารถให้ การอนุ มตั ิในเรื�องนั�น ๆ ได้ นอกจากนัน� ยังมี การแบ่งแยกหน า้ ที�ค วามรับผิด ชอบอย่างเด็ด ขาดระหว่างการอนุ ม ตั ิ การบันทึกรายการทางบัญชี และการดูแลทรัพย์สนิ เพื�อเป็ นการตรวจสอบซึ�งกันและกัน บริ ษทั กําหนดโครงสร า้ งการบริหารประกอบด้วยคณะกรรมการ 7 ชุ ด ได้แก่ คณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการบริ ห าร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกํา หนดค่ า ตอบแทน คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริหารความเสี�ยง และคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี โดยคณะกรรมการแต่ละชุดมีความรับผิดชอบ ต่อผูถ้ อื หุน้ เกีย� วกับการดําเนินธุ รกิจของบริษทั และกํากับดูแลให้การบริหารจัดการเป็ นไปตามเป้ าหมายใหเ้ กิดประโยชน์ สู งสุดแก่ผูถ้ อื หุน้ อยูใ่ นกรอบของการมีจริยธรรมที�ดี และรับผิดชอบต่อผู ม้ สี ่วนได้เสีย ส่งเสริมและติดตามความคืบหน้า ของกระบวนการพัฒนาการกํากับดูแลกิจการที�ดีและความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่ อเนื�อง โดยการพิจารณาปรับปรุง คู่ มือการกํากับดู แลกิจการที�ดี และจรรยาบรรณในการดํา เนิ นธุ รกิจ รวมทัง� ให้แนวทางและข้อเสนอแนะอื�น ที�จําเป็ น เพื�อการพัฒนา

73

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

บริ ษทั ได้เ ข้า ลงนามในคํา ประกาศเจตนารมณ์ แนวร่ ว มปฏิ บตั ิ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต ปัจจุบนั อยู่ระหว่างการปรับปรุงนโยบายในเรื�องดังกล่าว เพื�อรอการประเมิน โดยฝ่ า ยตรวจสอบภายในและคณะกรรมการตรวจสอบ เพื�อขอรับการรับรองจากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ิของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตต่อไป 2.

การบริหารความเสี�ยง

บริษทั กําหนดนโยบายการบริหารความเสี�ยงเป็ นนโยบายสําคัญ โดยได้แต่งตัง� คณะกรรมการบริหารความ เสี�ยง ซึ�งประกอบด้วย กรรมการและผู บ้ ริหาร ทําหน า้ ที�ในการประเมินปัจจัยเสี�ยงทัง� จากปัจจัยภายนอก ได้แ ก่ สภาพ เศรษฐกิจ นโยบายภาครัฐ และความผัน ผวนของราคาวัตถุดิ บ และปัจจัยภายในที�มี ผ ลกระทบต่อเป้ าหมายและ การดําเนินธุรกิจของบริษทั และกําหนดผูร้ บั ผิดชอบความเสี�ยงในหน่ วยงานต่าง ๆ พร้อมทัง� มอบหมายให้การบริหาร ความเสีย� งเป็ นความรับผิดชอบของผู บ้ ริหารทุกคน มีการวางแผนและกําหนดมาตรการบริหารความเสีย� ง มีการประเมิน ปัจจัยความเสี�ยง ที�อาจส่งผลกระทบต่อการดําเนิ นธุ รกิจและเป้ าหมายของบริษทั จัด ให้มีการติดตามการบริหารความ เสี�ยงของหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์กร เป็ นประจําทุกไตรมาส และรายงานผลต่อคณะกรรมการบริษทั บริษทั มีการ จัดการให้ความรู ก้ บั พนักงานทุกระดับให้มคี วามเข้าใจและตระหนักถึงความสําคัญในการบริหารความเสี�ยงอย่างต่อเนื�อง 3.

การควบคุมการปฏิบตั ิงาน

บริ ษทั มีม าตรการควบคุม ภายในที�มีค วามเหมาะสมกับความเสี�ยง ลักษณะเฉพาะขององค์กร และ ครอบคลุมกระบวนการต่าง ๆ อย่างเหมาะสม เช่น มีนโยบายและระเบียบปฏิบตั ิงานเกี�ยวกับการจัดซื�อ การเงิน และการ บริหารทัว� ไป ตลอดจนกําหนดขอบเขตอํา นาจหน้าที�และอํานาจอนุ ม ตั ิข องฝ่ ายบริหารในการทํารายการต่าง ๆ อย่าง ชัดเจน โดยผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียในเรื�องใดจะไม่สามารถให้การอนุ มตั ิในเรื�องนัน� ๆ ได้ เพื�อให้สามารถป้ องกันการทุจริตได้ เช่ น มี การกําหนดวงเงิน และอํานาจอนุ ม ตั ิ ของผู บ้ ริหารแต่ ละระดับ ขัน� ตอนในการอนุ ม ตั ิโครงการลงทุน ขัน� ตอน การจัดซื�อและวิธีการคัดเลือกผู ข้ าย เป็ นต้น นอกจากนัน� ยังมีการแบ่งแยกหน้าที�ความรับผิดชอบอย่างเด็ ดขาดระหว่าง การอนุ มตั ิ การบันทึกรายการทางบัญชีและข้อมูลสารสนเทศ และการดู แลทรัพย์สนิ เพื�อเป็ นการตรวจสอบซึ�งกันและกัน รวมทัง� ควบคุมดูแลให้ทกุ หน่วยงานมีการปฏิบตั ติ ามนโยบาย ระเบียบปฏิบตั ิงาน ข้อกฎหมายและข้อบังคับที�เ กี�ย วข อ้ ง อย่างเคร่ งครัด โดยบริษทั มีการทบทวนนโยบาย และกระบวนการปฏิบตั ิให้มีความเหมาะสมอยู่เสมอ สําหรับระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการปฏิบตั ิงาน บริษทั มีการควบคุมดูแลด้านการพัฒนา การบํารุงรักษา และด้านความ ปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีให้มคี วามเหมาะสมอยู่เสมอ บริษทั มีการรวบรวมข อ้ มูลเกี�ยวกับผู ถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการ ผู บ้ ริหาร และผู ท้ �เี กี�ยวข้องกับบุ ค คล ดังกล่าว รวมทัง� บุคคลที�เกี�ยวโยงกัน เพื�อประโยชน์ในการติดตามและสอบทานการทํารายการระหว่างกัน หรือรายการ ที�อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทัง� มีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็ นปัจจุบนั เสมอ เมื�อมีการพิจารณาอนุ มตั ิธุรกรรม ระหว่างกันนัน� บริษทั มีนโยบายให้คาํ นึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษทั เป็ นสําคัญ และพิจารณาโดยถือเสมือนเป็ นรายการ ที�กระทํากับบุคคลภายนอก และต้องกระทําโดยผูท้ �ไี ม่มีสว่ นได้สว่ นเสียในธุ รกรรมนั�น เพื�อป้ องกันการหาโอกาสหรือนํา ผลประโยชน์ของบริษทั ไปใช้ส่วนตัว สําหรับบริษทั ในเครือ บริษทั มีกระบวนการติดตามดู แลการดําเนินการ รวมทัง�

74

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

กําหนดแนวทางให้บุค คลที�บริ ษทั แต่ งตัง� ให้เ ป็ นกรรมการหรือผู บ้ ริ หารในบริษทั ในเครือนัน� ถือปฏิบตั ิ เพื�อให้บรรลุ เป้ าหมายในการลงทุนของบริษทั 4.

ระบบสารสนเทศและการสื�อสารข้อมูล

บริษทั ให้ความสําคัญต่อระบบสารสนเทศและการสื�อสารข ้อมูลที�ได้ร บั ทัง� จากภายในและภายนอก ซึ�งถือ เป็ นเครื�องมือสําคัญในการดําเนิ นธุ รกิจของบริษทั โดยเฉพาะอย่างยิ�งข้อมูลเกี�ยวกับ ผลการปฏิบตั ิงาน และรายงาน ทางการเงิน เพื�อให้การตัด สิน ใจของคณะกรรมการฝ่ ายบริ หาร ผู ถ้ อื หุน้ และผู เ้ กี�ยวข้อง อยู่ บนพื�น ฐานของข อ้ มู ล ที�เพียงพอ ถูกต้องสมบูรณ์ เป็ นปัจจุบนั เชื�อถือได้ เข้าใจง่าย เพื�อเพิ�มศักยภาพในการดําเนินธุ รกิจและการแข่งขัน บริ ษทั ได้จดั ให ม้ ีข อ้ มูล ที�สาํ คัญ ต่า ง ๆ อย่า งเพี ยงพอเพื�อให้คณะกรรมการใช้ป ระกอบการตัด สิน ใจ โดยการจัด ทํารายงานเชิงวิเคราะห์เ ปรียบเทียบหลักการและเหตุผ ล พร้อมเอกสารประกอบข้อเท็จจริง จัดส่งข้อมู ล เพื�อศึ กษาประกอบการตัดสินใจเป็ นการล่วงหน้า 7 วัน โดยมีเลขานุ การบริษทั ซึ�งมีหน้าที�ให้คาํ แนะนําด้านข้อบังคับและ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษทั ตลอดจนประสานงานให้มีการปฏิบตั ิตามมติคณะกรรมการ บริษทั รวมทัง� เป็ นหน่วยงานที�เป็ นศู นย์กลางในการจัดทําและจัดเก็บเอกสารสําคัญ ได้แก่ ทะเบียนกรรมการ หนังสือ นัด ประชุม คณะกรรมการบริ ษทั รายงานการประชุ ม คณะกรรมการบริษ ทั หนังสือนัด ประชุม ผู ถ้ อื หุน้ และรายงาน การประชุมผู ถ้ อื หุน้ ไว้เป็ นระบบ เพื�อให้ผูถ้ อื หุน้ สามารถตรวจสอบความเหมาะสมในการปฏิบตั ิหน้าที�ของกรรมการได้ บริษทั มีการจัดทํารายงานทางการเงินอย่างเป็ นระบบ ซึ�งรวมถึงขัน� ตอนการจัดเก็บข้อมูลเพื�อจัดทํารายงาน ทางการเงิน การตรวจสอบ/สอบทานของผู ส้ อบบัญชี การพิจารณา ทบทวน รายงานทางการเงินของคณะกรรมการ ตรวจสอบร่วมกับผู ส้ อบบัญชีของบริษทั โดยให้ใช้นโยบายบัญชีตามหลักเกณฑ์ท�ีรบั รองทัว� ไปและเหมาะสมกับลักษณะ ธุ รกิจ และการพิจารณาทบทวนของคณะกรรมการบริ ษ ทั ก่ อนการเผยแพร่ ร ายงานทางการเงิน ต่ อสาธารณชน ทัง� นี� เพื�อเป็ นการตรวจสอบความถูกต้องของรายงานทางการเงิน ตลอดจนการดูแลใหม้ กี ารเปิ ดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน และโปร่งใส 5.

ระบบการติดตาม

บริษทั มีระบบการติดตามการดําเนินงานในระดับบริหารและในระดับปฏิบตั ิงาน ให้เป็ น ไปตามเป้ าหมาย ที�กาํ หนด คณะกรรมการบริษ ทั และฝ่ ายบริหารจะแก้ไขปัญ หาที�อาจเกิด ขึ�น และกําหนดแนวทางที�ชดั เจนในกรณี ท�ี ไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย กรณีมีประเด็น สําคัญ ที�อาจมีผลกระทบต่อองค์กร จะกําหนดให้ผูร้ บั ผิด ชอบนําเสนอรายงาน เพื� อ ทบทวนการปฏิ บ ตั ิ งานและการวิ เ คราะห์สาเหตุต ลอดจนร่ ว มพิ จารณาเพื� อ อนุ ม ตั ิ แ ก้ไ ขปัญ หาภายในเวลา ที�คณะกรรมการเห็นว่าเหมาะสม และให้รายงานการปฏิบตั แิ ละติดตามผลอย่างต่อเนื�อง บริษทั มีฝ่ายตรวจสอบภายในเป็ น หน่ วยงานอิสระซึ�งรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ทําหน้าที� สอบทานข้อมู ล การดําเนิ น งานและการควบคุ ม ภายในเพื�อประเมิ นความเพียงพอเหมาะสมและประสิทธิ ผ ลของ การควบคุม ภายในซึ�งครอบคลุม ระบบงานที�สาํ คัญ ของบริษทั และบริษทั ในเครือ โดยผู ต้ รวจสอบภายในได้ทาํ การ วิเ คราะห์ผ ลจากการตรวจสอบและสรุ ปประเด็ น ที� มีส าระสํา คัญ และนํา เสนอให้ค ณะกรรมการตรวจสอบทราบ โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะเป็ นผูพ้ ิจารณาประเด็ นที�ตรวจพบร่ วมกับฝ่ ายบริหาร เพื�อวางแนวทางในการปรับปรุง

75

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

อันเป็ นการสร้างแนวทางเชิงป้ องกัน คณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการบริษทั ทราบ เป็ นประจํา ผูด้ ํารงตําแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายในของบริษทั คือนางสาววุฒินี พิทกั ษ์สงั ข์ ซึ�งเป็ นผู ท้ �ีมีค วามรู ้ และประสบการณ์การทํางานด้านงานตรวจสอบภายในของบริษทั มาเป็ น ระยะเวลา 11 ปี ซึ�งได้รบั ความเห็น ชอบจาก คณะกรรมการตรวจสอบ ทัง� นี� ในการแต่ งตัง� โยกย้าย และเลิกจ้า ง หัวหน้างานตรวจสอบภายใน จะต้องได้รบั ความ เห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

76

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

รายการระหว่างกัน 1. รายละเอียดของรายการระหว่างกัน 1.1 การซื�อที�ดนิ จากบริษทั ที�เกี�ยวข้อง 1.1.1 บริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) ตลอดหลายปี ท�ีผ่ า นมา บริษทั มีการซื�อที�ดิ น เพื�อพัฒนาอาคารโรงงาน/คลังสิน ค า้ จากบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) ซึ�งถือว่าเป็ น บุคคลที�อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เนื�องจากบริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั และมีกรรมการดํารงตําแหน่ งกรรมการของ บริษทั คือ นายจิระพงษ์ วินิชบุตร และนายชาย วินิชบุตร ในปี 2557 บริษทั ไม่มีการซื�อที�ดินจากบริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) 1.1.2 บริษัท นิ คมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด บริ ษทั มีการซื�อที�ดิน จากบริ ษทั นิค มอุต สาหกรรมเอเซีย จํา กัด ซึ�งมีกรรมการดํารงตําแหน่ ง กรรมการของบริษทั คือ นายชาลี โสภณพนิช ในปี 2557 บริษทั ไม่ม ีการซื�อที�ดินจากบริษทั นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้พจิ ารณารายการระหว่างกันดังกล่าวข้างต้นแล้ว โดยมีการพิจารณา จากราคาตลาดของที�ดิน บริเ วณใกล ้เคียง คณะกรรมการตรวจสอบมีค วามเห็ น ว่า รายการดังกล่า วเป็ น รายการที� มี ความจําเป็ นและสมเหตุสมผล และเกิดขึ�นตามราคาตลาด บนเงือ� นไขที�ปฏิบตั ิกนั อยู่โดยทัว� ไป 1.2 การเช่าพื�นที�สาํ นักงานจากบุคคลเกีย� วข้อง บริษทั มีการเช่ าพื�นที� สาํ นักงานจากกองทุนรวมสาธรซิต� ีทาวเวอร์ ซึ�งกองทุนดังกล่าวมีผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ซึ�ง มีความสัมพันธ์กบั ผูถ้ อื หุน้ และกรรมการของบริษทั ดังนี� 1. กลุม่ ซิต� ีเรียลตี� ซึ�งเป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของกองทุนรวมสาธรซิต� ีทาวเวอร์ ถือหุน้ ในบริษทั ทัง� ทางตรง และทางอ้อม ร้อยละ 7.04 (ณ วันที� 16 มีนาคม 2558) ซิต� เี รียลตี�

2. นายชาลี โสภณพนิช เป็ นผู ถ้ อื หุน้ และเป็ น กรรมการผู ม้ ีอาํ นาจลงนามของบริษทั และบริษทั ในกลุ่ม ในปี 2557 บริษทั มีการชําระค่ าเช่าพื�นที�สาํ นักงานให้แก่กองทุน ดังกล่าวรวม 14.76 ล้านบาท ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ไม่มียอดคงค้างของรายการดังกล่าวข้างต้น

77

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้พจิ ารณารายการดังกล่าวแล้ว โดยมีการพิจารณาประกอบกับข้อมูล อัตราค่าเช่าอาคารสํานักงานที�อยูใ่ นบริเวณใกล ้เคียงกับอาคารสํานักงานของบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบมีค วามเห็น ว่า รายการระหว่ างกัน ดังกล่าวมี ค วามสมเหตุสมผลและเกิด ขึ�น ตามราคาตลาด โดยมีการให้บริการและมีเงื�อนไข เช่นเดียวกับผู เ้ ช่ารายอื�นทัว� ไป 1.3 การทําธุรกรรมทางการเงินกับบริษทั ที�เกี�ยวข้อง บริษทั มีการทําธุ รกรรมทางการเงินกับธนาคารกรุ งเทพ จํากัด (มหาชน) โดยธนาคารดังกล่าวมี กลุ่ม โสภณพนิ ชเป็ น ผู ถ้ อื หุน้ ใหญ่ และกลุม่ โสภณพนิชมีค วามสัมพัน ธ์กบั ผู ถ้ อื หุน้ และกรรมการของบริษทั คือ นายชาลี โสภณพนิช ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มียอดคงค้างของการใช้บริการทางการเงิน กับธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ดังนี� รายการ

อัตราดอกเบี�ย/ค่าธรรมเนี ยม (ร้อยละต่อปี )

จํานวนเงิน (ล้านบาท)

เงินกูระยะยาว ้ หนังสือคํา� ประกัน เงินฝากประจํา เงินฝากออมทรัพย์

อัตราดอกเบี�ยสําหรับลูกค้าชัน� ดี (MLR) ลบอัตราคงที� ตามประกาศของธนาคาร ตามประกาศของธนาคาร ตามประกาศของธนาคาร

748.38 197.22 1.49 95.85

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 บริษทั มียอดดอกเบี�ยเงินกูค้ า้ งจ่ายทางบัญชีจาํ นวน 0.09 ล้านบาท โดย ยอดค้างจ่ายดังกล่าวได้มกี ารชําระแล้วในต้นปี 2558 ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารพิจารณาความเหมาะสมของรายการดังกล่าวข้างต้น และมีความเห็น ว่า รายการดังกล่าวข้างต้น เป็ นรายการที�มคี วามสมเหตุสมผล และเกิดขึ�นตามราคาตลาด นอกจากนี�ขอ้ กําหนดและเงือ� นไข ต่าง ๆ ที�เกีย� วข้องมีความเหมาะสมและปฏิบตั กิ นั โดยทัว� ไป 1.4 การทําธุรกรรมด้านการซื�อขายหลักทรัพย์กบั บริษทั ที�เกี�ยวข้อง บริษทั มีการซื�อขายหน่วยลงทุนกองทุนรวมอสังหาริม ทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพ าร์ค โลจิสติคส์ และกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริม ทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ผ่านบริษทั ที�เกี�ยวข้อง คื อ บริษทั หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส กรุป๊ โฮลดิ�ง จํากัด (มหาชน) ซึ�งมีกรรมการดํารงตําแหน่ งกรรมการผูม้ อี าํ นาจลงนามของบริษทั คือ นายชาลี โสภณพนิช บริษทั มีการชําระค่าธรรมเนียมการซื�อขายหลักทรัพ ย์ให้แก่ บริษทั หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส กรุ๊ป โฮลดิ�ง จํากัด (มหาชน) ในปี 2557 เป็ นจํานวนรวมทัง� สิ�น 0.97 ล ้านบาท ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ไม่มียอดคงค้างของรายการดังกล่าวข้างต้น

78

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้มีการพิจารณาการซื�อหน่ วยลงทุน และค่ าธรรมเนียมการซื�อขาย หลักทรัพ ย์ด งั กล่า ว และมีค วามเห็น ว่ า รายการดัง กล่า วเป็ น รายการที� มีค วามจํา เป็ น และเกิดขึ�น ตามราคาตลาด บนเงือ� นไขที�ปฏิบตั ิกนั อยู่โดยทัว� ไป ทัง� นี� ที�ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง� ที� 4/2551 เมื�อวันที� 13 สิงหาคม 2551 ได้มมี ติอนุ มตั ใิ นหลักการ ให้ฝ่ายจัดการของบริษทั มีอาํ นาจทํารายการระหว่างกันซึง� เป็ นข้อตกลงทางการค้าที�มเี งือ� นไขทางการค้าโดยทัว� ไป

2. ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล การทํารายการระหว่างกัน ดังกล่า วข้างต้น เป็ น ความจําเป็ นเพื�อก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุ ด ต่ อบริษทั และบริษทั ได้จ่าย/รับค่ าตอบแทนในราคาตลาดที�ยตุ ิธรรมและสมเหตุสมผล ดังที�คณะกรรมการตรวจสอบไดใ้ ห้ความเห็นในการทํา รายการไว้แล้วข้างต้น

3. มาตรการหรือขัน� ตอนการอนุ มตั ิการทํารายการระหว่างกัน คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผู ร้ บั ผิดชอบในการตรวจสอบรายการระหว่างกัน ของบริษทั ให้เป็ น รายการที�เ กิดขึ�น ตามราคาและเงื�อนไขที�ยุติธรรม โดยคํานึ งถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริ ษทั อีกทัง� ดู แลการเปิ ดเผยขอ้ มูลให้ถูกต้อง ครบถ ้วนตามข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง� นี� บริษทั มีมาตรการเกีย� วกับการทํารายการระหว่างกัน ดังนี� ที�ประชุม คณะกรรมการบริษทั ครัง� ที� 4/2551 ในวัน ที� 13 สิงหาคม 2551 ได้มี มติอนุ ม ตั ิในหลักการให้ ฝ่ า ยจัด การของบริ ษทั มีอาํ นาจในการทํารายการระหว่างกัน ซึ�งเป็ น ข อ้ ตกลงทางการค้าที�มีเ งื�อนไขการค้าโดยทัว� ไป ทัง� รายการที�อยู่ระหว่างดําเนินการในขณะนัน� และรายการที�จะเกิดขึ�นในอนาคต โดยฝ่ ายจัดการจะมีการรายงานสรุ ป การทํารายการดังกล่าวต่อที�ประชุมคณะกรรมการบริษทั ภายหลังการทํารายการ 

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั จะดู แลให้รายการดังกล่าวเป็ นไปตามราคาตลาด หรือราคายุติธรรม โดยคณะกรรมการหรือผู ถ้ อื หุน้ ของบริษทั จะเป็ นผู อ้ นุ มตั ิการทํารายการระหว่างกัน ในกรณี ท�ีรายการดังกล่าวไม่ เป็ น เงือ� นไขทางการค้าโดยทัว� ไป ทัง� นี� กรรมการหรือผูถ้ อื หุน้ ซึ�งมีส่วนได้เสียในเรื�องใด ไม่มีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในเรื�อง นัน� 

เปิ ดเผยรายละเอียดของรายการระหว่ า งกัน ตามประกาศและข้อ กํา หนดของตลาดหลักทรัพ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย และ/หรือสํานักงาน ก.ล.ต. ดังที�ได้ระบุไว้ในข้อบังคับของบริษทั 

เปิ ดเผยรายละเอียดของรายการระหว่างกันตามมาตรฐานการบัญชีท�กี าํ หนดโดยสมาคมนักบัญชี

4. นโยบายหรือแนวโน้มการทํารายการระหว่างกันในอนาคต รายการระหว่างกันจะยังคงเกิดขึ�นอย่างต่อเนื�องในอนาคตตราบเท่าที�รายการนัน� ยังคงเป็ นประโยชน์ต่อบริษทั

79

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

คําอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ ายจัดการ 1. ผลการดําเนิ นงาน 1.1 รายได้ บริษทั มีธุรกิจหลักคือการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื�อการอุตสาหกรรมโดยการสร้างโรงงานและคลังสินค้า เพื�อให้เช่า และขายเมื�อมีโอกาสเหมาะสม ซึ�งในช่ วง 3 ปี ท�ีผ่านมา บริษทั มีรายได้จากการให้เช่าและค่ าบริการคิ ดเป็ น สัด ส่วนประมาณร้อยละ 18.0 ร้อยละ 17.6 และร้อยละ 16.5 เมื�อเทียบกับรายได้รวม ตามลําดับ ขณะที�รายได้จาก การขายโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT ยังคงมีสดั ส่วนที�สูงที�สุดเมื�อเทียบกับรายได้ รวม คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 74.1 ร้อยละ 73.9 และร้อยละ 76.2 ตามลําดับ การขายโรงงาน/คลังสิน ค้าให้แก่ กองทุนและทรัสต์ดงั กล่าว มีวตั ถุประสงค์เพื�อนําเงินมาใช้ในการขยายธุ รกิจของบริษทั ในแต่ละปี ในบางช่ ว งเวลาบริ ษ ทั มี ร ายได้จากการขายโรงงานให้แ ก่ลู กค้า ที� ส ามารถใช้สิ ท ธิ ในการซื�อโรงงาน ตามเงื�อนไขที�ได้ระบุ ไว ใ้ นสัญญาเช่ า อย่า งไรก็ตาม บริ ษทั ไม่ส ามารถคาดการณ์ร ายได้ด งั กล่า วได้ ทัง� นี� ขึ�น อยู่กบั การตัดสินใจของลูกค้าเป็ นหลัก สําหรับรายได้จากการลงทุนใน TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT ประกอบด้วย ส่วนแบ่งกําไร จากเงินลงทุน รายได้ค่าบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์ กําไรจากการขายหน่วยลงทุน และกําไรที�รบั รู เ้ พิ�มเติมจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ให้แก่กองทุน นอกจากนี� บริ ษทั มีร ายได้จากงานรับ เหมาก่อสร้าง และรายได้ค่ าสาธารณู ปโภค ซึ�งโดยปกติจะเป็ น สัดส่วนน้อยเมื�อเทียบกับรายได้รวม 1.1.1 รายได้จากการให้เช่าและค่าบริการ ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมารายได้ค่าเช่ารับและค่ าบริการมีจาํ นวน 1,053.0 ล้านบาท 1,109.7 ล้านบาท และ 966.1 ล ้านบาท ตามลําดับ คิดเป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 19.6 ร้อยละ 5.4 และลดลงร้อยละ 12.9 ตามลําดับ ขณะที� ต้นทุนจากการให้เช่าและบริการมีจาํ นวน 392.3 ล้านบาท 261.5 ล ้านบาท และ 243.5 ล้านบาท ตามลําดับ ซึ�งคิดเป็ น กําไรขัน� ต้นจากการให้เช่า และบริการเท่ากับ ร้อยละ 62.8 ร้อยละ 76.4 และร้อยละ 74.8 ตามลําดับ รายได้ค่าเช่าและค่าบริการในปี 2556 ยังคงเพิ�มขึ�น แม จ้ ะเป็ นอัตราการเพิ�มที�นอ้ ยกว่าปี ก่อนหน้า เนื�องจากความต้องการเช่าโรงงานเติบโตน้อยกว่าที�ค าดหมายไว้ อย่างไรก็ตาม ความต้องการคลังสินค้าของบริษ ทั ได้ เพิ�มขึ�นอย่างมากตามการขยายตัวของธุ รกิจโลจิสติกส์ และธุ รกิจค้าปลีก ในปี 2556 บริษทั สามารถให้เช่ าพื�นที�โรงงาน และคลังสินค้าได้เพิ�มขึ�นสุทธิรวม 240,932 ตารางเมตร รายได้ค่าเช่าและค่าบริการในปี 2557 ลดลง เนื�องจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TGROWTH เป็ นจํานวนมากในช่วงไตรมาส 4/2556 และการขายบางส่วนในไตรมาส 1/2557 นอกจากนี�ความต้องการเช่ าโรงงาน ลดลง และความต้องการเช่าคลังสินค้ามีการขยายตัวน อ้ ยลงเมื�อเทียบกับปี ก่อน เป็ นผลมาจากการปรับลดต้น ทุนของ ภาคการผลิต และสภาวะเศรษฐกิจที�ชะลอตัว

80

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

1.1.2 รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ในช่ ว ง 3 ปี ที� ผ่ า นมา บริ ษ ัท มี รายได้จ ากการขายอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ใ ห้ TFUND TLOGIS TGROWTH TREIT มูลค่า 4,332.9 ล้านบาท 4,663.0 ล้านบาท และ 4,460.1 ลา้ นบาท คิด เป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 359.2 เพิ�มขึ�นร้อยละ 7.6 และลดลงร้อยละ 4.4 ตามลําดับ ในปี 2556 บริ ษ ัท มี ก ารขายอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ สู ง กว่ า การขายในทุ ก ปี ที� ผ่ า นมา การขาย อสังหาริมทรัพย์ท�มี ากกว่าทุกปี ดงั กล่าวถูกใช้เป็ นแหล่งเงินทุน ในการขยายธุ รกิจที�มากกว่าทุกปี เช่ นกัน เพื�อรองรับความ ต้องการเช่าที�เพิ�ม ขึ�น อย่างมาก โดยเป็ นการขายให้แก่ TFUND จํานวน 2 โรงงาน มูลค่ า 104.8 ล้านบาท ในเดือน กันยายน และขาย/ให้เ ช่าโรงงานและคลังสินค้าให้แก่ TGROWTH ในเดือนธันวาคม ซึ�งบันทึกเป็ น รายได้จากการขาย จํานวน 4,558.2 ล้านบาท ในปี 2557 บริษทั มีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ลดลงจากปี 2556 เนื�องจากมีความต้องการ ใช้เงินทุนน้อยกว่าปี ก่อนหน้าจึงขายพื�นที�ลดลง โดยเป็ นการให้เช่ าอาคารโรงงานให้แก่ TGROWTH จํานวน 2 โรงงาน และขายโรงงานให้แก่ TFUND จํานวน 1 โรงงานในช่วงไตรมาส 1/2557 และเป็ นการขายอาคารโรงงาน และขาย/ให้เช่า คลังสินค้าให้แก่ TREIT ในช่วงไตรมาส 4/2557 การขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TFUND และ TLOGIS นัน� เป็ น การขายขาดในกรรมสิท ธิ�ของ ทัง� ที� ดิ น และอาคารโรงงาน/คลังสิน ค้า บริ ษทั จึ งบัน ทึ ก รายการขายสิน ทรัพ ย์ด ัง กล่า วเป็ นรายได้จ ากการขาย อสังหาริม ทรัพย์ในงบกํา ไรขาดทุน ได้ทงั� จํานวน ในขณะที�การขาย/ให้เ ช่ าอสัง หาริ มทรัพ ย์ให้แก่ TGROWTH และ TREIT ในปี 2556 และ 2557 เป็ นการให้เช่า/ให้เช่าช่วงที�ดินระยะยาว พรอ้ มการขาย/ให้เ ช่าอาคารโรงงาน/คลังสินค้า โดยบริษทั บันทึกการให้เช่าที�ดินเป็ นรายได้ค่าเช่าที�ดินรับล่วงหน้าในงบแสดงฐานะการเงินทัง� จํานวน ซึ�งจะทยอยรับรูเ้ ป็ น รายได้ค่ าเช่าตามอายุสญั ญาเช่า ที�ดิน และบันทึกการขายขาดในกรรมสิทธิ� และการให้เช่ า อาคารโรงงาน/คลังสินค้า เป็ นรายได้จากการขายในงบกําไรขาดทุนทัง� จํานวน ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 17 (ปรับปรุง 2552) ที�ถอื ว่าการให้เช่า อาคารระยะยาวเป็ นการขายตามสัญญาเช่าการเงิน อย่างไรก็ตาม การขายโรงงาน/คลังสิน ค้าให้กองทุนรวม/ทรัสต์เ พื�อการลงทุนในอสังหาริม ทรัพย์ ในแต่ละปี จะมากหรือน้อยยังขึ�นอยู่กบั ความต้องการใช้เงินเพื�อขยายธุรกิจของบริษทั 1.1.3 รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลหรือกิจการอื�น นอกจากรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แล ้ว บริษทั ยังมีรายได้ จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ลูกค้าที�เป็ นผู เ้ ช่า รวมถึงบุคคล/กิจการอืน� ตามโอกาสที�เหมาะสม ทัง� นี� ในปี 2557 บริษทั มีการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลหรือกิจการอืน� จํานวน 2 โรงงาน อย่า งไรก็ต าม รายได้จากการขายโรงงานให้แก่ ลูกค้า เป็ น รายได้ท�ี มิได้เ กิด ขึ�น อย่ างสมํา� เสมอ ทัง� นี� ขึ�นอยูก่ บั การตัดสินใจของลู กค้าในการใช้สิทธิซ� อื โรงงานตามเงื�อนไขที�ระบุในสัญญาเช่ าเป็ น สําคัญ นอกจากนัน� กําไรขัน� ต้น ของการขายโรงงานแต่ละโรงงานมีความแตกต่ างกัน ขึ�น อยู่กบั หลายปัจจัย เช่ น อายุ ขนาด ลักษณะของ โรงงาน รวมทัง� ทําเลที�ตงั� ของโรงงานที�ขาย

81

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

1.1.4 รายได้ท�เี กี�ยวเนื� องกับบริษัทร่วม (TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT) 1) ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนใน TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนใน TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT ขึ�นอยู่กบั สัดส่วนการลงทุนของบริษทั และกําไรของ TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT ในช่ ว ง 3 ปี ท�ี ผ่ า นมา บริษทั มี ส่ว นแบ่งกํา ไรจากเงิน ลงทุน ในบริษทั ร่ ว มจํา นวน 169.2 ล้านบาท 216.6 ล้านบาท และ 267.1 ล้านบาท ตามลําดับ คิดเป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 5.2 ร้อยละ 28.0 ต่อปี และร้อยละ 23.3 ต่อปี ตามลําดับ ในปี 2556 บริษทั มีส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมเท่ากับ 216.6 ล้านบาทเพิ�ม ขึ�น จากปี 2555 จํานวน 47.4 ล้านบาท เนื� องจาก TFUND และ TLOGIS มีผ ลประกอบการดี ข� นึ และบริษทั มีเงิน ลงทุน ใน TGROWTH ในระหว่างปี ในปี 2557 บริษทั มีส่วนแบ่งกําไรจากเงิน ลงทุนในบริษทั ร่ วมเพิ�มขึ�นจากปี 2556 จํานวน 50.5 ล้านบาท เนื� องจาก บริษทั ได้ร บั ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุน ใน TGROWTH จากผลการดําเนินงานทัง� ปี 2557 (TGROWTH จัดตัง� ขึ�นเมื�อปลายปี 2556) รวมทัง� จาก TREIT ซึ�งเป็ นทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริม ทรัพย์และ สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน ที�จดั ตัง� ขึ�นเมื�อปลายปี 2557 TGROWTH

2) รายได้จากการเป็ น ผู บ้ ริ ห ารอสังหาริ ม ทรัพ ย์ท�ี บ ริ ษ ัท ขายให้แ ก่ TFUND TLOGIS

ในช่ วง 3 ปี ท�ีผ่านมา บริษทั มีรายได้จากการเป็ น ผู บ้ ริห ารอสังหาริม ทรัพย์จาํ นวน 105.1 ล้านบาท 152.6 ล้านบาท และ 165.3 ล้านบาท ตามลําดับ ในปี 2556 บริษทั มีรายได้ด งั กล่าวเพิ�มขึ�น ร้อยละ 45.2 เนื� องจากกองทุน TFUND และ TLOGIS มีผลประกอบการดีข�นึ รวมทัง� กองทุน TLOGIS ได้รบั เงินชดเชยประกันความเสียหายจากนํา� ท่วม ในปี 2557 บริ ษทั มีรายได้จากการเป็ น ผู บ้ ริห ารอสังหาริม ทรัพ ย์จาํ นวน 165.3 ล้านบาท เพิ�ม ขึ�น จากปี ก่อนหน้าร้อยละ 8.3 เนื� องจากการเป็ น ผู บ้ ริห ารทรัพ ย์สนิ ให้แก่ TGROWTH ซึ�งจัดตัง� ขึ�น เมื�อไตรมาส 4/2556 ในการเป็ นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH นัน� บริษทั มีภาระ ผูกพันในเรื�องการคํา� ประกันรายได้ค่าเช่าคลังสินค้า บางส่วนให้แก่ TLOGIS จนถึงสิ�นปี 2559 และคํา� ประกันรายได้ ให้แก่ TGROWTH สําหรับโรงงานที�ไม่มีผูเ้ ช่า ณ วันโอนกรรมสิทธิ�ให้กองทุน โดยคํา� ประกันรายได้เ ป็ นระยะเวลา 1 ปี ส่วนการเป็ นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT บริษทั มีภาระผู กพัน ในการคํา� ประกันรายได้ รวมถึงรายการอื�น ๆ ให้แก่ TREIT (ดูเพิ�มเติมที�หวั ข้อ 1.2.1 ประมาณการหนี�สนิ ที�เกี�ยวข้องโดยตรงกับการขายอสังหาริมทรัพย์)

82

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

3) กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ในช่ วง 3 ปี ท�ีผ่านมา บริษทั มีการขายเงินลงทุนบางส่วนใน TFUND และ TLOGIS และ TGROWTH เพื�อการบริหารกระแสเงินสดของบริษทั ทําให้บริษทั มีกาํ ไรจากการขายเงินลงทุนดังกล่าว จํานวน 36.5 ล้านบาท 170.1 ล้านบาท และ 1.5 ล้านบาท ตามลําดับ ซึ�งบัน ทึกกําไรดังกล่าวเป็ นรายได้อื�น 4) กําไรที�รบั รู เ้ พิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT บริษทั จะสามารถรับรู ก้ าํ ไรเพิ�มเติมจากการขายอสังหาริม ทรัพย์ให้แก่ TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT เมื�อกองทุน มีการขายสิน ทรัพย์ท�ี ซ� อื จากบริษทั ให้แ ก่บุคคล/กิจการอื�น หรือเมื�อบริษทั ลดสัดส่วนการลงทุนในกองทุนดังกล่าว ในช่วง 3 ปี ท�ีผ่านมา บริษทั มีกาํ ไรที�รบั รู เ้ พิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให ้ TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT จํานวน 35.3 ล้านบาท 154.5 ลา้ นบาท และ 41.4 ล้านบาท ตามลําดับ บริษทั มีกาํ ไรที�รบั รู เ้ พิ�มเติม เพิ�มขึ�นเป็ นจํานวนมากในปี 2556 เนื�องจาก TFUND มีการขายโรงงานให้บคุ คลอื�น 3 โรงงาน และ บริษทั ลดสัดส่วนการลงทุนใน TFUND และ TLOGIS ร้อยละ 4.3 และร้อยละ 6.1 ตามลําดับ ในปี 2557 บริษทั มีกาํ ไร ที�รบั รูเ้ พิ�มเติมลดลง เนื�องจากบริษทั มีการลดสัดส่วนการลงทุนน้อยกว่าการลดลงของปี ก่อนหน้า โดยมี การลดสัดส่วน การลงทุนใน TGROWTH เพียงร้อยละ 1.2 และ TFUND มีการขายโรงงานให้บคุ คลอื�นเพียง 1 โรงงาน 1.1.5 รายได้อน�ื ๆ นอกจากรายได้ท�กี ล่าวข้างต้น บริษทั ยังมีรายได้ประเภทอื�นอีก ซึ�งประกอบด้วย 1) รายได้จากงานรับเหมาก่อสร้าง รายได้ดงั กล่าวเกิด จากการที�บริษทั ได้รบั ว่าจ้างจากลู กค้าที�เช่าโรงงานของบริษทั ให้ทาํ การ ต่อเติม/ดัด แปลงโรงงานที�เช่ าอยู่ ซึ�งปกติบริษทั มีรายได้จากงานรับ เหมาก่อสร้า งจํานวนน้อยเมื�อเทียบกับรายได้รวม อย่างไรก็ตาม การที�รายได้จากงานรับเหมาก่อสร้า งในปี 2555 มีจาํ นวนมากกว่าเมื�อเที ยบกับปี 2556 และปี 2557 เนื�องจากผู เ้ ช่าโรงงาน/คลังสินค้าว่าจ้างบริษทั ให้ทาํ การซ่อมแซมปรับปรุงอาคารที�ได้รบั ผลกระทบจากเหตุการณ์อุทกภัย ในขณะที�ปี 2556 และปี 2557 รายได้ดงั กล่าวเกิดจากการที�ผู เ้ ช่าจ้างบริษทั ให้ทาํ การซ่อมแซม ต่อเติมอาคาร ตามการใช้ งานปกติของผูเ้ ช่า จึงทําให้รายได้ดงั กล่าวมีจาํ นวนลดลงมากเมื�อเทียบกับปี 2555 2) รายได้ค่าสาธารณูปโภค รายได้ค่าสาธารณู ปโภคเกิดจากการที�บริษทั เป็ นผูจ้ ดั หาสาธารณู ปโภคเป็ นการชัว� คราวให้แก่ ลูกค้าที�เช่าโรงงานในระหว่างที�ลูกค้าอยูร่ ะหว่างดําเนินการขอสาธารณู ปโภคประเภทนัน� ๆ จากหน่ วยงานที�เกี�ยวข้อง ทัง� นี� โดยปกติบริษทั มิได้แสวงหากําไรจากการให้ บริการดังกล่าวจากลูกค้า

83

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

3) ค่าสินไหมทดแทนจากการประกันภัย ในปี 2555 และ 2556 บริษทั ได้รบั เงินค่ าสินไหมทดแทนจากการประกันภัย เพื�อชดเชย ความเสียหายในทรัพย์สิน และชดเชยการสู ญเสียรายได้กรณี ธุรกิจหยุ ด ชะงักของบริษทั ที� เ กิดจากเหตุการณ์อทุ กภัย เมื�อปลายปี 2554 จํานวน 82.7 ล้านบาท 69.7 ล้านบาท ในขณะที�ในปี 2557 บริษทั ได้รบั ค่าสินไหมทดแทนประกันภัยจากความเสียหายในทรัพย์สนิ จํานวน 2.4 ล้านบาท จากเหตุการณ์อทุ กภัยเมื�อปี 2556 1.2 ค่าใช้จ่าย 1.2.1 ประมาณการหนี� สนิ ที�เกีย� วข้องโดยตรงกับการขายอสังหาริมทรัพย์ ในปี 2557 บริษทั ตัง� ประมาณการหนี�สนิ ที�เ กี�ยวข้องโดยตรงกับการขายอสังหาริม ทรัพย์จาํ นวน 118.0 ล้านบาท ซึ�งเกิดจากการขาย/ให้เ ช่า อสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT เมื�อเดือนธันวาคม 2557 ทําให้บริษทั มีภาระ ผูกพันในการชดเชยรายได้ให้แก่ TREIT สําหรับอาคารที�ไม่มผี ู เ้ ช่า ณ วันโอนกรรมสิทธิ� และเกิดจากการที�บริษทั มีภาระ ผูกพันในการชดเชยส่วนต่างระหว่างราคายุติธรรมกับราคาใช้สิทธิส าํ หรับกรณีท�ีผูเ้ ช่าใช้สทิ ธิในการซื�ออสังหาริม ทรัพย์ (Option to buy) หากราคายุตธิ รรมของอสังหาริมทรัพย์นนั� ณ วันที�ผูเ้ ช่าใช้สทิ ธิซ� อื สู งกว่าราคาใช้สทิ ธิ รายการดังกล่าว ถูกบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุน และบันทึกเป็ นหนี�สนิ ในงบแสดงฐานะการเงิน โดยแสดงในประมาณการหนี�สนิ ระยะสัน� และระยะยาว รวมทัง� สิ�นจํานวน 133.2 ล้านบาท ทัง� นี� ส่วนต่ างจํานวน 15.24 ล้านบาท ถูกแสดงในกําไรที� ยังไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วมตามสัดส่วนการลงทุนใน TREIT (ร้อยละ 12.0) 1.2.2 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ในช่วง 3 ปี ท�ผี า่ นมา ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารมีจาํ นวน 432.0 ล้านบาท 715.6 ล้านบาท และ 769.5 ล ้านบาท ตามลําดับ เพิม� ขึ�นร้อยละ 32.5 ร้อยละ 65.6 และร้อยละ 7.53 ต่อปี ตามลําดับ ทัง� นี� องค์ประกอบหลักของค่ าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ได้แก่ ค่าใช้จา่ ยเกี�ยวกับพนักงาน และ ค่าเสือ� มราคาของโรงงาน/คลังสินค้าที�สร้างเสร็จแต่ยงั ไม่มีผูเ้ ช่า โดยคิดเป็ นสัดส่วนรวมกันประมาณร้อยละ 60.5 ในปี 2556 บริษทั มีค่า ใช้จ่ายในการขายและบริหารเพิ�ม ขึ�น มาก ส่ วนใหญ่ เ ป็ น การเพิ�ม ขึ�นของ ค่าเสือ� มราคา และค่ าใช้จา่ ยในการรักษาความปลอดภัยของทรัพย์สนิ ในโรงงาน/คลังสินค้าที�วา่ งพร้อมให้เช่า การเพิ�มขึ�น ของค่ าใช้จ่ายที�เกี�ยวข้องกับพนักงาน ตามการขยายธุรกิจของบริษทั รวมทัง� ค่ าใช้จ่ายที�เกี�ยวกับ การจัดตัง� TGROWTH ซึ�งส่วนใหญ่ บนั ทึ กเป็ น ค่ า ใช้จ่า ยในการขาย ค่ า ใช้จ่า ยดังกล่า วจะเกิด ขึ�นเฉพาะเมื�อมีการจัด ตัง� กองทุ น ใหม่เ ท่ า นัน� อย่างไรก็ตาม บริษทั ได้รบั การชดเชยอยูใ่ นส่วนของรายได้จากการขายและรายได้อน�ื ในปี 2557 บริษทั มีค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารเท่ากับ 769.5 ล ้านบาท เพิ�มขึ�นจากปี กอ่ น 53.9 ล้า นบาท หรื อคิ ด เป็ น การเพิ�ม ขึ�น ร้อยละ 7.53 ซึ� งส่ว นใหญ่ เ ป็ น การเพิ� ม ขึ� น ของค่ า เสื�อ มราคาของทรัพ ย์สิน ใน โรงงาน/คลังสินค้าที�วา่ งพร้อมให้เช่า และการเพิ�มขึ�นของค่ าใช้จ่ายที�เกี�ยวข้องกับพนักงาน ตามการขยายธุ รกิจของบริษทั

84

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

1.2.3 ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา ค่าใช้จ่ายทางการเงินมีจาํ นวน 410.8 ล้านบาท 546.4 ล้านบาท และ 642.6 ล้านบาท ตามลําดับ คิดเป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 53.7 ร้อยละ 33.0 และร้อยละ 17.6 ต่อปี ตามลําดับ องค์ประกอบหลักของค่ าใช้จ่ายทางการเงิน คือ ดอกเบี�ยจ่าย คิ ดเป็ น สัดส่วนประมาณร้อยละ 98.7 ส่วนที�เหลือเป็ นค่ าใช้จ่ายที�เกี�ยวข้องกับการจัดหาเงินกูย้ มื ของบริษทั ค่าใช้จ่ายทางการเงินเพิ�มขึ�นมากในช่วง 2 ปี หลัง เนื�องจากบริษทั มีการกูยื้ มเงินเพิ�มขึ�นเป็ น จํานวน มากเพื�อใช้ในการขยายธุ รกิจโรงงาน/คลังสินค้าให้เช่าของบริษทั 1.2.4 ค่าเผื�อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ในปี 2555 บริษทั มีการโอนกลับรายการค่ าเผื�อการด้อยค่ าของอสังหาริม ทรัพ ย์ เนื� องจากบริษทั มีการบัน ทึกค่ าเผื�อการด้อ ยค่ าของที�ดิน จํา นวน 2 แปลงในจังหวัด พระนครศรี อยุ ธยา รวมจํา นวน 15.4 ล้า นบาท ในปี 2554 แต่ต่อมาในปี 2555 ที�ดินดังกล่าวมีมูลค่ายุติธรรมสูงกว่ามูลค่ าตามบัญชี ในปี 2556 และ ปี 2557 ไม่มีรายการดังกล่าว 1.3 กําไร 1.3.1 กําไรขัน� ต้น บริษทั มีอตั รากําไรขัน� ตน้ จากการดําเนินธุรกิจ (จากการให้เช่าและจากการขายโรงงาน/คลังสินค้า) ในรอบ 3 ปี ท�ผี ่านมาเท่ากับร้อยละ 43.1 ร้อยละ 45.5 และร้อยละ 37.8 ตามลําดับ ในปี 2556 บริษทั มีอตั รากําไรขัน� ต้นจากการดําเนินธุรกิจเพิ�มขึ�นเล็กน้อยจากปี กอ่ นหน้า เนื�องจาก บริษทั มีรายได้จากการให้เ ช่าเพิ�ม ขึ�น การปรับขึ�น ราคาค่ าเช่ าและบริการ การลดลงของค่ าซ่อมแซมทรัพ ย์สินในส่วน ที�ได้รบั ผลกระทบจากเหตุการณ์อุทกภัยในช่วงปลายปี 2554 และการหยุดคิดค่ าเสื�อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื�อ การลงทุนให้เช่าที�จดั ประเภทเป็ นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ถอื ไว้เพื�อขายตัง� แต่ ไตรมาส 2 จนถึงเดือนธันวาคมที�บริษทั ได้ขายสินทรัพย์ดงั กล่าวเสร็จสิ�น ในปี 2557 บริษทั มีอตั รากําไรขัน� ตน้ จากการดําเนินธุรกิจลดลงจากปี 2556 เป็ นผลมาจากอัตรา กํา ไรขัน� ต้น จากการขายอสังหาริม ทรัพ ย์ลดลง เนื� องจากบริ ษทั มีการขาย/ให้เ ช่า อสังหาริม ทรัพย์ท�ี เ ป็ น คลังสิน ค้า ในสัด ส่ว นที�สู งกว่า อาคารโรงงานซึ�งคลังสิน ค้ามีอตั รากํา ไรขัน� ต้น จากการขายตํา� กว่า โรงงาน นอกจากนี� ค ลัง สิน ค้า ที�ขาย/ให้เ ช่า เป็ นคลังสินค้าที�สร้างตามความต้องการของลูกค้ามากขึ�น ซึง� มีอตั รากําไรขัน� ต้นตํา� กว่าคลังสินค้าสําเร็จรู ป นอกจากนี�มีอตั รากําไรขัน� ต้นจากรายได้ค่าเช่าลดลง

85

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

1.3.2 กําไรสุทธิ บริษทั มีกาํ ไรสุทธิซ�งึ คิดตามวิธีส่ วนได้เสียและแสดงอยู่ในงบการเงิน รวมในช่ วง 3 ปี ท�ีผ่านมา เท่ากับ 1,296.6 ล้านบาท 1,414.2 ล้านบาท และ 761.6 ล้านบาท ตามลําดับ กําไรสุทธิต่อหุน้ เท่ ากับ 1.62 บาท 1.56 บาท และ 0.76 บาท ตามลําดับ ในปี 2556 บริษทั มีกาํ ไรสุทธิเพิ�มขึ�นจากปี ก่อนหน้าจํานวน 117.6 ล้านบาท หรือเพิ�มขึ�นร อ้ ยละ 9.1 เนื�องจากบริษทั มีกาํ ไรขัน� ต้นจากการให้เช่าและบริการเพิ�มขึ�น ดังที�กล่าวข้างต้น รวมทัง� มีกาํ ไรจากขายอสังหาริมทรัพย์ เพิ� ม ขึ� น จากปี ก่ อ นหน้า นอกจากนี� บริ ษ ัท มี ร ายได ้ค่ า บริ ห ารจัด การ และส่ ว นแบ่ ง กํ า ไรจากเงิ น ลงทุ น ใน TFUND/TLOGIS/TGROWTH เพิ� มขึ�น เนื� องจากกองทุน TFUND/TLOGIS มีผ ลประกอบการดี ข� นึ อีกทัง� บริษทั มี ก ํา ไรที� ร ับ รู เ้ พิ� ม เติ ม จากการขายอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ใ ห้ TFUND/TLOGIS และกํา ไรจากการขายหน่ ว ยลงทุ น TFUND/TLOGIS เพิ�มขึ�นจากการลดสัดส่วนการลงทุนในกองทุนดังที�กล่าวข้างต้น นอกจากนี�บริษทั ยังได้รบั ประโยชน์ จากการปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบคุ คลจากร้อยละ 23 เป็ นร้อยละ 20 ในปี 2557 บริษทั มีกาํ ไรสุทธิลดลงจากปี กอ่ นหน้าจํานวน 652.7 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 46.2 เนื�องจากมีรายได้จากการให้เช่า และรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ลดลงจากปี ก่อนหน้า ดังที�กล่าวข้างต้น รายได้อ�นื ลดลงเนื�องจากบริษทั ไม่มีการขายเงินลงทุนใน TFUND/TLOGIS ในระหว่างปี ในขณะที�ปี 2556 มีการขายเงิน ลงทุน เป็ นจํานวนมาก และปี 2557 บริษทั มีการลดสัดส่วนการลงทุนในกองทุนน้อยกว่าปี 2556 ทําให้มกี าํ ไรที�รบั รู เ้ พิ�มเติมจาก การขายอสังหาริมทรัพย์ให้กองทุน ลดลง นอกจากนี�บริษทั มีค่าใช้จ่ายที�เกิดจากการตัง� ประมาณการหนี�สินที�เ กี�ยวขอ้ ง โดยตรงกับการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT ในช่ วงปลายปี 2557 เป็ นจํานวนมาก รวมทัง� มีค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร และค่าใช้จ่ายทางการเงินที�เพิ�มขึ�น ตามการขยายการพัฒนาโครงการของบริษทั 2.

ฐานะทางการเงิน 2.1 สินทรัพย์

ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มีสนิ ทรัพย์รวมทัง� สิ�น 31,209.1 ล้านบาท ซึ�งร้อยละ 76.6 ของสินทรัพย์รวมเป็ น อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน และร้อยละ 10.6 เป็ นเงินลงทุนใน TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT สินทรัพย์รวมของบริษทั เพิ�มขึ�นจากปี 2556 ประมาณ 4,757.7 ล้านบาท คิดเป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 18.0 สาเหตุหลักมาจากการเพิ�มขึ�นของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน ที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และค่าเช่าที�ดินจ่ายล่วงหน้า 2.1.1 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุน ประกอบด้วยอสังหาริมทรัพย์ท�อี ยูใ่ นระหว่างการพัฒนา/พร้อมให้ เช่ า /ให้เ ช่า ในช่ ว ง 3 ปี ท�ี ผ่ า นมา บริษทั มี อสังหาริ ม ทรัพ ย์เ พื�อการลงทุ น รวมจํานวน 13,688.3 ล้านบาท 17,261.3 ล้านบาท และ 23,914.3 ล้านบาท ตามลําดับ

86

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ก า ร เ พิ� ม ขึ� น ข อ ง อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ เ พื� อ ก า ร ล ง ทุ น ( สุ ท ธิ จ า ก ส่ ว น ที� ข า ย ใ ห้ แ ก่ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT) ในปี 2556 ประมาณร้อยละ 26.1 และในปี 2557 ร้อยละ 38.5 สะท้อนให้ เห็นถึงการขยายธุรกิจของบริษทั ผ่านการลงทุนในที�ดินและการพัฒนาโรงงาน/คลังสินค้า เพิ�มเป็ นจํานวนมาก 2.1.2 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ถอื ไว้เพื�อขาย สิน ทรัพ ย์ไม่ ห มุน เวียนที�ถือไว้เ พื� อขาย ประกอบด้วยอสังหาริ ม ทรัพ ย์เ พื�อการลงทุน ที� พ ร้อม ให้เช่า/ขาย และ/หรือ อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าที�คาดว่าจะขายในระยะเวลา 1 ปี ขา้ งหน้า ณ วัน ที� 31 ธันวาคม 2556 บริษ ัทมีสิน ทรัพย์ไม่ หมุนเวียนที�ถือไว้เ พื�อขาย จํานวน 2,684.0 ล้า นบาท ตามที�ไ ด้ม ี ม ติ อนุ ม ตั ิ จ ากที� ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั ในไตรมาส 1/2557 ให้ข ายและ/หรื อ ให้เ ช่ า โรงงาน/คลังสินค้าเพิ�มเติมให้แก่ TGROWTH รวมทัง� การขายและ/หรือใหเ้ ช่าอสังหาริมทรัพย์ให้แก่กองทรัสต์เพื�อการ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (REIT) ที�จะถูกจัดตัง� ขึ�นภายหลัง ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ไม่ม ีสนิ ทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ถอื ไว้เพื�อขาย 2.1.3 ที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ประมาณร้อยละ 85.3 ของที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์ คือที�ดินและส่วนปรับปรุ งที�ดิน ในปี 2556 และปี 2557 ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์เ พิ�ม ขึ�น ร้อยละ 26.4 และร้อยละ 45.5 โดยหลักเกิดจากการขยายการพัฒนา โครงการ ตามที�ได้กล่าวข้างต้น 2.1.4 เงินลงทุนชัว� คราว ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มีเงินลงทุนชัว� คราวจํานวน 257.7 ล ้านบาท ประกอบด้วย ตัวแลกเงิ � นที�ออก โดยธนาคารพาณิชย์ในประเทศจํานวน 133.0 ล้านบาท และการลงทุนในหน่ วยลงทุนจํานวน 124.7 ล้านบาท การลงทุน ดังกล่าวจัดว่ามีความเสี�ยงตํา� และถือเป็ นทางเลือกทางหนึ�งในการบริหารเงินของบริษทั ที�ให้ผลตอบแทนจากการลงทุน ในอัตราที�สูงกว่าการฝากเงินประเภทออมทรัพย์กบั ธนาคาร 2.1.5 ลูกหนี� การค้า-สุทธิ ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา บริษทั มียอดลูกหนี�การค้า-สุทธิ จํานวน 82.4 ล้านบาท 43.5 ล้านบาท และ 63.1 ล้านบาท ตามลําดับ ในปี 2556 ลูกหนี�การค้า-สุทธิลดลงจากปี กอ่ นหน้าจํานวน 38.9 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่ เ กิดจาก การลดลงของลู กหนี� ต ามสัญ ญาเช่ า ดํา เนิ น งานที�ยงั ไม่ เ รี ยกชํา ระ จํา นวน 31.3 ล้า นบาท อัน เนื� องมาจากการขาย อสังหาริมทรัพย์จาํ นวนหนึ�งให้แก่ TGROWTH ณ สิ�นปี 2557 ลูกหนี�การค้า-สุ ทธิ จํานวน 63.1 ล้านบาท ประกอบด้วย ลู กหนี�คา้ งชําระไม่เ กิน 3 เดื อน จํานวน 42.9 ล้านบาท หรือคิ ด เป็ น ร้อยละ 68.0 ของลู กหนี�การค้า-สุ ทธิ และเป็ น ลูกหนี� ตามสัญญาเช่ า ดําเนินงานที�ยงั ไม่เรียกชําระ จํานวน 11.0 ล ้านบาท หรือคิดเป็ นรอ้ ยละ 17.4 ของลูกหนี�การค้า-สุทธิ

87

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

อย่างไรก็ตาม บริษทั มีการเก็บค่ ามัดจําการเช่าโรงงาน/คลังสินค้า เป็ นจํานวน 3-6 เท่าของค่ าเช่า และค่าบริการรายเดือนที�บริษทั ได้รบั จากผู เ้ ช่า เพื�อบรรเทาความเสีย� งที�อาจเกิดขึ�นจากการผิดนัด/ผิดสัญญาของผู เ้ ช่า 2.1.6 เงินฝากสถาบันการเงินที�มีภาระคํ�าประกัน ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มียอดเงิน ฝากสถาบัน การเงินที�มีภาระคํา� ประกัน จํานวน 70.6 ล้านบาท เพิ�ม ขึ�น จากปี 2556 จํานวน 70.4 ล้านบาท เนื� องจากบริษทั ได้ว างเงินฝากประจําเพื�อเป็ นหลักประกัน สําหรับชดเชย ส่ว นต่ างระหว่ า งราคายุติธ รรมกับ ราคาใช้สิทธิ สุทธิ ให้แ ก่ TREIT กรณี ท�ี ผู เ้ ช่ า ใช้ส ิทธิในการซื�ออสังหาริม ทรัพ ย์ นอกจากนี�มีการวางเงินสดบางส่วนเพื�อเป็ นหลักประกันสําหรับวงเงินเลตเตอร์ออฟเครดิต และทรัสต์รีซีทส์พร้อมวงเงิน สําหรับจองอัตราแลกเปลีย� น และหนังสือคํา� ประกันที�ธนาคารออกให้แก่ หน่ วยงานรัฐ รัฐวิสาหกิจ และบริษทั เอกชน 2.1.7 เงินลงทุนในบริษทั ย่อย/ร่วม/ร่วมค้า ดังนี�

ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มีเงินลงทุนในบริษทั ย่อย บริษทั ร่ วม บริษทั ร่ วมค้า และบริษทั ที�เ กี�ยวขอ้ ง

1) บริษทั อีโค อิน ดัสเทรียล เซอร์วิสเซส จํากัด (บริษทั ย่อย) ในสัด ส่วนร้อยละ 100 ของ ทุนชําระแล ้วของบริษทั ย่อย ทัง� นี� เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 50.0 ลา้ นบาท คิด เป็ น ร้อยละ 0.2 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั 2) บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชําระ แล ้วของบริษทั ย่อย เงิน ลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 14,515.0 ล้านบาท คิดเป็ น ร้อยละ 49.7 ของ สินทรัพย์รวมของบริษทั 3) Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วน ร้อยละ 100 ของทุนชําระแล ้วของบริษทั ย่อย เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีราคาทุน เท่ ากับ 85.4 ลา้ นบาท คิด เป็ น ร้อยละ 0.3 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั 4) TICON Property, Inc. (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชําระแล ้วของบริษทั ย่อย เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธรี าคาทุนเท่ากับ 189.2 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.6 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั 5) บริษทั ไทคอน แมนเนจเม น้ ท์ จํากัด (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชําระ แล ้วของบริษทั ย่อย เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 7.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.02 ของสิน ทรัพย์ รวมของบริษทั 6) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (บริษทั ร่ วม) ในสัด ส่วนร้อยละ 23.63 ของทุนชําระ แล ้วของ TFUND เงิน ลงทุน ดังกล่าวคํานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ ากับ 1,446.0 ล้านบาท คิด เป็ น ร้อยละ 4.6 ของ สินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย และคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 2,807.9 ลา้ นบาท คิด เป็ นร้อยละ 9.6 ของ สินทรัพย์รวมของบริษทั

88

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

7) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ (บริษทั ร่วม) ในสัดส่วนร้อยละ 20.04 ของ ทุนชําระแล ้วของ TLOGIS เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีสว่ นได้เสียเท่ากับ 613.4 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 2.0 ของ สิน ทรัพ ย์รวมของบริษทั และบริษ ัทย่ อย คํานวณตามวิธี ราคาทุน เท่า กับ 916.1 ล้า นบาท คิ ดเป็ นร้อยละ 3.1 ของ สินทรัพย์รวมของบริษทั 8) กองทุ น รวมสิท ธิการเช่ า อสังหาริ ม ทรัพ ย์ไ ทคอน อิน ดัส เทรี ย ล โกรท (บริ ษ ัท ร่ ว ม) ในสัดส่วนร้อยละ 27.36 ของทุนชําระแล้วของ TGROWTH เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีสว่ นได้เสียเท่ากับ 944.2 ล้านบาท คิดเป็ น ร้อยละ 3.0 ของสินทรัพ ย์ร วมของบริ ษทั และบริษทั ย่อย คํานวณตามวิธีราคาทุน เท่ า กับ 1,516.5 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 5.2 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั 9) ทรัส ต์เ พื� อ การลงทุ น ในอสังหาริ ม ทรัพ ย์แ ละสิ ท ธิ ก ารเช่ า อสัง หาริ ม ทรัพ ย์ไ ทคอน (บริษทั ร่วม) ถือโดยบริษทั ย่อยในสัดส่วนร้อยละ 12.00 ของทุน ชําระแล้วของ TREIT เงิน ลงทุนดังกล่าวคํานวณตาม วิธีส่วนได้เสียเท่ ากับ 312.9 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 1.0 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คํานวณตาม วิธรี าคาทุนเท่ากับ 411.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 1.97 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั ย่อย 10) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด (บริษทั ร่วมคา้ ) ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อยในสัดส่วน ร้อยละ 51 ของทุนชําระแล้วของบริษทั ร่วมค้า เงินลงทุน ดังกล่าวคํานวณตามวิธีสว่ นได้เสียเท่ากับ 2.3 ล้านบาท คิดเป็ น ร้อยละ 0.01 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คํานวณตามวิธีราคาทุน เท่ ากับ 2.6 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.01 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั ย่อย 11) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด (บริษทั ร่วมค้า) ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อยในสัดส่วน ร้อยละ 51 ของทุนชําระแล้วของบริษทั ร่วมค้า เงินลงทุน ดังกล่าวคํานวณตามวิธีสว่ นได้เสียเท่ากับ 2.0 ล้านบาท คิดเป็ น ร้อยละ 0.01 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คํานวณตามวิธีราคาทุน เท่ ากับ 2.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.01 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั ย่อย 12) บริ ษ ัท บางกอกคลับ จํา กัด (บริ ษ ัท ที� เ กี�ย วข้อง) ในสัด ส่ ว นร้อ ยละ 0.11 ของทุ น จดทะเบียนของบริษทั ดังกล่าว คิดเป็ นเงินลงทุนหลังหักค่าเผื�อการด้อยค่ าของเงินลงทุน 0.26 ล้านบาท 2.1.8 สินทรัพย์ภาษี เงินได้รอตัดบัญชี ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มีภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจาํ นวน 91.0 ล้านบาท ซึ�งส่วนใหญ่เ ป็ นการรอตัด บัญ ชีของภาษีเ งิน ได้ท�ีเ กิด จากกํา ไรจากการขายอสังหาริม ทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT และ ส่วนหนึ�งเกิดจากประมาณการค่าใช้จา่ ยที�เกีย� วข้องกับการขายอสังหาริม ทรัพย์ สิน ทรัพ ย์ภ าษี เงินได้ร อตัดบัญชี เกิดขึ�น เนื�องจากการที�บ ริษทั ไม่ส ามารถรับรู ก้ าํ ไรจากการขาย อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ ใ ห้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/ TREIT ต า ม สั ด ส่ ว น ที� บ ริ ษั ท มี ก า ร ล ง ทุ น ใ น TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT การบันทึกภาษีในงบกําไรขาดทุนจึงมิได้บนั ทึกภาษีทงั� จํานวน แต่หกั ด้วยภาษี จํานวนหนึ�งตามสัดส่วนที�บริษทั มีการลงทุนใน TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT อย่างไรก็ดี ภาษีท�เี กิดจากกําไร จากการขายอสังหาริมทรัพ ย์ให้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT ทัง� จํานวนได้ถูกจ่ายชําระเป็ นเงิน สด ดังนัน�

89

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

จึงเกิด รายการสิน ทรัพ ย์ภาษีเ งิน ได้รอตัดบัญชี เท่ า กับผลต่ า งระหว่ า งภาษีท�ีช ํา ระแล ้วเป็ น เงิน สดกับภาษีท�ี บนั ทึก ใ น ง บ กํ า ไ ร ข า ด ทุ น ทั� ง นี� ห า ก บ ริ ษั ท มี ก า ร รั บ รู ้ ก ํ า ไ ร เ พิ� ม เ ติ ม จ า ก ก า ร ข า ย อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ ใ ห้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT ยอดภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจะถูกปรับลดลง ทัง� นี�สนิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีท�แี สดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน เป็ นยอดสุทธิจากหนี�สิน ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีแล ้ว 2.1.9 เงินมัดจําที�ดิน ณ สิ�น ปี 2557 บริษ ทั มีเ งิน มัด จํา ค่ า ที�ดิ น จํานวน 461.7 ล้า นบาท โดยเป็ น การมัดจําค่ าที� ดิ น ที�บริษทั ได้ลงนามในสัญญาจะซื�อจะขายที�ดิน 2.1.10 ค่าเช่าที�ดนิ จ่ายล่วงหน้า ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มีค่าเช่าที�ดินจ่ายล่วงหน้าจํานวน 758.3 ล้านบาท เพิ�มขึ�น 409.4 ล้านบาท จากสิ�นปี 2556 ค่าเช่าที�ดินจ่ายล่วงหน้าเป็ นรายการที�เกิด จากการเช่ าที�ดิน ระยะยาวเพื�อพัฒนาคลังสินค้า ทัง� นี�รายการ ดังกล่าวจะถูกทยอยรับรู เ้ ป็ นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนตลอดอายุสญั ญาเช่า 2.2 หนี� สนิ ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มีหนี� สินรวมทัง� สิ�น 19,743.5 ล้านบาท เพิ�มขึ�น จํา นวน 1,979.9 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ 11.1 จากสิ�นปี 2556 หนี�สนิ รวมของบริษ ทั มีเ งินกูย้ ืม และหุ น้ กูเ้ ป็ นส่วนประกอบหลัก คิดเป็ น ร้อยละ 87.2 ของหนี�สิน รวม การเพิ�มขึ�นของหนี�สนิ รวม เกิดจากรายการที�สาํ คัญดังต่อไปนี� 2.2.1 เงินกูย้ มื เงินกูย้ มื ทัง� หมดของบริษทั ณ สิ�นปี 2557 มีจาํ นวน 17,225.8 ล้านบาท เพิ�มขึ�น จํา นวน 1,546.6 ล้า นบาท หรือคิด เป็ นร อ้ ยละ 9.9 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการกูย้ ืมเพื�อใช้ลงทุน ซื�อที�ดิ นและการขยายงานก่อสร้า ง โรงงาน/คลังสินค้าเป็ นจํานวนมากในระหว่างปี เงินกูย้ มื ของบริษทั ประกอบด้วยเงินกูย้ มื ระยะสัน� ร้อยละ 3.8 เงินกูยื้ มระยะยาวร้อยละ 10.2 และ หุน้ กูร้​้ อยละ 86.0 ของเงินกูย้ มื ทัง� หมด ในการพัฒนาโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ซึ�งถือว่าเป็ นการลงทุนระยะยาวนัน� บริษทั จะใช้เงินจาก แหล่งเงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู ้ และเงิน สดจากการดําเนินงานของบริษทั ในส่วนของเงินกูร้ ะยะสัน� นัน� บริษ ทั จะใช้เป็ น เงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงานโดยเฉพาะอย่างยิง� สําหรับจ่ายชําระค่ าที�ดินในช่วงก่อนที�บริษทั จะได้รบั อนุ มตั ิวงเงินกู ้ ระยะยาวจากสถาบันการเงิน อย่างไรก็ตาม การกูย้ มื ระยะสัน� เป็ นจํานวนมากในบางช่วงเวลาเป็ นการบริหารกระแสเงินสด ของบริษทั ทัง� นี� คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั ได้มีการตรวจสอบอย่างสมํา� เสมอให้ส ดั ส่วนของเงินกูร้ ะยะสัน� ต่อเงินกูรวมของบริ ้ ษทั อยู่ในอัตราที�เหมาะสม

90

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

ระหว่าง 2 ถึง 10 ปี

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ณ สิ�นปี 2557 ยอดคงค้างของหุน้ กู ้ มีจาํ นวน 14,810.0 ล้านบาท ซึ�งหุน้ กูท้ งั� หมดที�ออกมีอายุ

บริษทั มีการตกลงในเงือ� นไขของการกูย้ มื เงินกับสถาบัน การเงินบางแห่งและผู ถ้ อื หุน้ กูท้ �ีสาํ คัญคือ การดํารงอัตราส่วนหนี�สนิ /หนี�สนิ ที�มีภ าระดอกเบี�ยต่ อส่วนของผู ถ้ อื หุน้ ในอัตราไม่เ กิน 2.5-3.0 เท่ า ซึ�งที�ผ่านมาบริษทั ไม่เคยผิดเงือ� นไขของการกูยื้ มที�สาํ คัญดังกล่าว 2.2.2 เจ้าหนี� การค้า ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มียอดเจ้าหนี� การค้าจํานวน 405.1 ล้านบาท ลดลงจากปี ก่อนหน้าจํานวน 149.0 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 26.9 ซึ�งเกือบทัง� จํานวนของเจ ้าหนี�การค้าเป็ นเจ้าหนี�ค่าก่อสร้าง 2.2.3 ภาษี เงินได้นิตบิ ุคคลค้างจ่าย ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มียอดภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่ายจํานวน 83.5 ล้านบาท เพิ�มขึ�น จํานวน 81.3 ล้านบาท ส่วนใหญ่เนื�องจากกําไรจากขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT 2.2.4 ประมาณการหนี� สนิ ณ สิ�นปี 2557 บริษ ทั มียอดประมาณการหนี� สิน ทัง� สิ�น จํานวน 133.2 ล้า นบาท ประกอบด้ว ย ประมาณการหนี�สนิ ระยะสัน� จํานวน 39.41 ล้านบาท และประมาณการหนี�สนิ ระยาวจํานวน 93.79 ล้านบาท จากการขาย อสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT ตามที�ได้กล่าวในข้อ 1.2.1 2.2.5 สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ณ สิ� น ปี 2557 บริ ษ ัท มี จ ํา นวนเงิน สํา รองผลประโยชน์ร ะยะยาวของพนักงานซึ�ง เป็ น การ ประมาณการภาระของบริษทั ในการจ่ายเงินชดเชยให้แก่พนักงานเมื�อออกจากงาน จํานวน 28.4 ล้านบาท บริษทั ได้ถอื ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 19 เรื�อง ผลประโยชน์ของพนักงาน ตัง� แต่ ปี 2554 เป็ นต้นมา โดยบันทึกส่วนที�เป็ นยอดสะสมที�คาํ นวณจนถึงสิ�น ปี 2553 รับรู เ้ ป็ น หนี�ส ิน และบัน ทึกส่วนที�เ ป็ นการ กันสํารองผลประโยชน์ของพนักงานในแต่ละปี เป็ นค่าใช้จา่ ย 2.2.6 รายได้ค่าเช่าที�ดินรับล่วงหน้า ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มีรายได้ค่าเช่ าที�ดิน รับล่วงหน้า จํานวน 1,185.8 ล้านบาท เกิดจากการที� ในปี 2556 บริษทั มีการให้เช่าที�ดินแก่ TGROWTH เป็ นระยะเวลา 30 ปี และในปี 2557 มีการให้เช่ า/เช่ าช่ วงที�ดินแก่ TREIT เป็ นระยะเวลา 28-30 ปี โดยบริษทั จะทยอยรับรู เ้ ป็ น รายได้จากการให้เ ช่าในงบกําไรขาดทุนตามวิธีเ ส้นตรง ตลอดอายุสญั ญาเช่า

91

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

2.3 ส่วนของผูถ้ ือหุน้ ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มีส่วนของผู ถ้ อื หุน้ รวมจํานวน 11,465.6 ล้านบาท เพิ�มขึ�นจากสิ�น ปี ก่อนจํานวน 2,777.9 ล้านบาท หรือเพิ�ม ขึ�น ร้อยละ 32.0 เนื� องจากการเพิ�มขึ�น ของทุ นที�ออกและชําระแล้ว และส่ วนเกิน มู ลค่ า หุน้ สามัญ จากการใช้สิทธิซ� อื หุน้ สามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W3 และ TICON-W6 ในไตรมาส 1/2557 รวมทัง� TICON-T2 และ TICON-W6 ในไตรมาส 2/2557 และ จากการใช้สทิ ธิซ� ือหุน้ สามัญที�ค งเหลือจากการใช้สทิ ธิ TICON-T2 ที�เสนอขายให้แก่ บมจ.สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ในไตรมาส 4/2557 นอกจากนี� ในช่ วงไตรมาส 4/2557 บริ ษทั มีการจํา หน่ า ยเงิน ลงทุน ในหุ น้ สามัญ ของบริ ษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ จํากัด (“TMAN’) ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั ให้แก่ Mitsui & Co. (Asia Pacific) Pte. Ltd. โดยการจําหน่ายดังกล่าวทําให้บริษทั มีสดั ส่วนการถือหุน้ ใน TMAN ลดลงเหลือร้อยละ 70 ของทุนที�ออกและชําระแล้ว ของ TMAN และมีการรับรู ก้ าํ ไรจากการขายเงินลงทุนดังกล่าวจํานวน 67 ล ้านบาท ซึ�งบันทึกอยูใ่ นองค์ประกอบอื�นของ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในงบการเงินรวม และแสดงอยู่ในรายได้อน�ื ในงบกําไรขาดทุนในงบการเงินเฉพาะกิจการ 2.4 ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที�สาํ คัญของบริษทั คือ การจัด ให้มีซึ�งโครงสร้างเงิน ทุนที�เหมาะสม เพื�อสนับสนุ นการดําเนินธุรกิจของบริษทั และเสริมสร้างมูลค่าการถือหุน้ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ในอดีตที�ผ่านมาบริษทั มีแหล่งเงินทุนหลักเพื�อใช้ในการขยายธุรกิจการจัดสร้างโรงงานและคลังสินค้า คือ เงินทุนจากการดําเนินงาน เงินเพิ�มทุนจากผู ถ้ อื หุน้ และเงินกูย้ มื จากสถาบัน การเงิน อย่างไรก็ดี ในช่ วง 8-9 ปี ท�ผี ่านมา ซึ�งธุ ร กิจโรงงานสําเร็ จรู ปและคลังสิน ค้า ให้เ ช่ า มีการขยายตัวอย่า งมาก บริ ษทั ได้ม ีส่ว นร่ วมในการจัด ตัง� TFUND ในปี 2548 TLOGIS ในปี 2552 TGROWTH ในปี 2556 และ TREIT ในปี 2557 เพื�อเป็ นการเพิ�ม ช่องทางระดมทุน ของบริษทั ซึ�งทําให้บริษทั ลดการพึ�งพาการจัดหาเงินทุนจากการกูย้ มื เงินจากสถาบันการเงินและการเพิ�มทุนซึง� มีค่ าใช้จ่าย ที�มากกว่า นอกจากแหล่งเงินทุนดังกล่า ว บริ ษทั ยัง มีการออกหุน้ กูอ้ ายุ 2-10 ปี ซึ�งถือเป็ น แหล่งเงินทุ นที� สาํ คัญ อีกแหล่งหนึ�งของบริษทั ที�มีตน้ ทุนตํา� กว่าการกูย้ มื เงินระยะยาวจากสถาบันการเงิน นอกจากนี� บริษทั มีใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W6 ที�ออกเมื�อปี 2555 และ ใบแสดงสิทธิ TICON-T2 ที�ออกเมื�อช่วงไตรมาส 2/2557 ซึ�งใบสําคัญแสดงสิทธิและใบแสดงสิทธิดงั กล่าวมีการใช้สทิ ธิและหมดอายุแลว้ ในปี 2557 2.5 สภาพคล่อง ในปี 2557 บริษทั มีกระแสเงินสดสุทธิท�ไี ด้มาจากกิจกรรมดําเนินงาน 4,098.3 ล้านบาท มีกระแสเงิน สด สุทธิใช้ไปในกิจกรรมการลงทุน 8,016.4 ล้านบาท และมีกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมการจัดหาเงิน 3,493.5 ล้านบาท

92

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

จากข้อ มู ล การได้ม าและใช้ไ ปของกระแสเงิน สดตามที�ก ล่า วข้า งต้น จะพบว่า บริ ษทั มี ส ภาพคล่อ ง ทางการเงิน เพียงพอสําหรับการดําเนิ นธุ รกิจ (การคํานวณอัตราส่วนสภาพคล่อง (Current ratio) ไม่สามารถอธิบาย สภาพคล่องของบริษทั ได้ เนื�องจากบริษทั ไม่มีการบันทึกรายการสินค้าคงเหลือในสินทรัพย์หมุนเวียน (เนื�องจากลักษณะ สินทรัพย์ของบริษทั ส่วนใหญ่เป็ นที�ดินและโรงงานซึง� จะไม่บนั ทึกเป็ น สิน ทรัพย์หมุนเวียนของบริษทั ) ในขณะที�รายการ เจ้าหนี�การค้าค่ าที�ดินและค่าก่อสร้างจะถูกบันทึกเป็ นหนี�สนิ หมุนเวียน จึงทําให้อตั ราส่วนสินทรัพย์หมุน เวียนต่อหนี�สิน หมุนเวียนมีค่าตํา� ) ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มีอตั ราส่วนหนี�สนิ ทีม� ีภาระดอกเบี�ยต่อส่วนของผู ถ้ อื หุน้ ซึ�งคํานวณจาก (เงินกูย้ มื +หนี�สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน) ส่วนของผูถ้ อื หุน้ เท่ากับ 1.50 เท่ า ลดลงจาก ณ สิ�นปี 2556 ซึ�งเท่ากับ 1.80 เท่ า เนื� องจากในปี 2557 บริษทั มีการจัด หาแหล่งเงิน ทุน จากออกใบแสดงสิทธิในการซื�อหุน้ เพิ�ม ทุนที�โอนสิทธิ (TICON-T2) เป็ น จํานวน 182.8 ล้านบาท ซึ�งทําให้ส่วนของ ผู ถ้ อื หุน้ เพิ�ม มากขึ�น และทําให้บริษทั สามารถบริหารโครงสร้างเงินทุน ของกิจการที�มีสดั ส่วนหนี� สิน ที�มีภ าระดอกเบี�ย เมื�อเทียบกับฐานเงินทุนของบริษทั ได้อย่างเหมาะสม ภายใต้เงือ� นไขการดํารงอัตราส่วนหนี�สิน /หนี� สนิ ที�มีภ าระดอกเบี�ย ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในปัจจุบนั อัตราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบี�ย คํานวณจาก (กําไรสุทธิ+ดอกเบี�ยจ่าย+ภาษีเงินได้นิติบคุ คล+กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บริษทั ร่วม) ดอกเบี�ยจ่าย บริษทั มีอตั ราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบี�ยเท่ากับ 2.74 เท่า แสดงได้ถงึ ความสามารถในการชําระดอกเบี�ยของ บริษทั ได้เป็ นอย่างดี ซึ�งบริษทั ไม่เคยประสบปัญหาในการชําระดอกเบี�ย อัตราส่วนความสามารถในการชําระภาระผู กพัน คํานวณจาก (เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน+ดอกเบี�ยจ่าย) (จ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวและหุน้ กู+้ เงินปันผล+ดอกเบี�ยจ่าย) บริษทั มีอตั ราส่วนความสามารถในการชําระภาระผูกพันเท่ากับ 1.30 เท่า แสดงถึงความสามารถในการชําระภาระผูกพัน ของบริษทั

3. แนวโน้มในอนาคต - โปรดดูใน “สารจากประธานกรรมการ” -

93

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มีการจัดทํางบการเงินเพื�อแสดงฐานะการเงิน และผลการดําเนินงานของบริษทั ประจําปี 2557 ภายใต้พระราชบัญญัติบริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงภาระหน้าที�และความรับผิด ชอบในฐานะกรรมการของบริษทั จดทะเบียน ในการกํากับดู แลให้รายงานทางการเงินของบริษทั มีขอ้ มู ลทางบัญชีท�ีถกู ต้อง ครบถ ้วน โปร่ งใส และเพียงพอที�จ ะดํารง รักษาไว ซ้ �งึ ทรัพ ย์สิน ของบริ ษทั ป้ องกัน การทุ จริต และการดํา เนิ นการที�ผิดปกติ รวมทั�งได้ถอื ปฏิบ ตั ิตามมาตรฐาน การบัญชีท�รี บั รองโดยทัว� ไป เพื�อเป็ นประโยชน์ต่อผู ถ้ อื หุน้ และผู ล้ งทุน ทัว� ไปที�จะได้รบั ทราบข้อมูลที�แสดงฐานะการเงิน และผลการดําเนินงานที�เป็ นจริงและสมเหตุสมผล คณะกรรมการบริ ษ ทั มีค วามเห็ น ว่ า งบการเงิน รวมประจํา ปี 2557 ของบริ ษทั ไทคอน อิน ดัสเทรี ย ล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ที�คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานร่วมกับฝ่ ายบริหารและผู ส้ อบบัญชี ของบริษทั คือ บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด (เดิมชื�อ บริษทั สํานักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จํากัด) ได้แสดงฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน ครบถ ้วน และเชื�อถือได้ สมเหตุสมผล โดยถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีท�รี บั รองโดยทัว� ไป มีการใช้นโยบายบัญชีท�เี หมาะสมและถือปฏิบตั ิสมํา� เสมอ เปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ และปฏิบตั ิถกู ต้องตามกฎหมาย และกฎระเบียบที�เกี�ยวข้อง

(นายชาลี โสภณพนิ ช) ประธานคณะกรรมการ

94

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย รายงาน และ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2557

95

รายงานประจ�ำปี 2557

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

รายงานของผู ส้ อบบัญชีรบั อนุ ญาต เสนอต่อผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได ต้ รวจสอบงบการเงินรวมของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ค ชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษ ทั ย่อย ซึ�ง ประกอบด ว้ ย งบแสดงฐานะการเงิน รวม ณ วัน ที� 31 ธัน วาคม 2557 งบกํา ไรขาดทุน รวม งบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลีย� นแปลงส่วนของผู ถ้ ือหุน้ รวมและงบกระแสเงิน สดรวมสําหรับปี ส� นิ สุ ดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีท�สี าํ คัญและหมายเหตุเรื�องอืน� ๆ และได้ตรวจสอบงบการเงิน เฉพาะกิจการของ บริษทั ไทคอน อิน ดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ความรับผิดชอบของผู บ้ ริหารต่องบการเงิน ผูบ้ ริหารเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการจัดทําและการนําเสนองบการเงินเหล่านี�โดยถูกต้องตามที�ควรตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน และรับผิ ดชอบเกี�ยวกับการควบคุม ภายในที�ผู บ้ ริหารพิจารณาว่า จํา เป็ น เพื�อให ส้ ามารถจัดทํา งบการเงิน ที�ปราศจากการแสดงข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู ส้ อบบัญชี ข้าพเจ้าเป็ นผู ร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดัง กล่าวจากผลการตรวจสอบของข้า พเจ้า ข้าพเจ้าได้ ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึง� กําหนดให้ขา้ พเจ้า ปฏิบตั ิตามข้อกําหนดด า้ นจรรยาบรรณ รวมถึง วางแผนและปฏิบตั ิงานตรวจสอบเพื�อให้ได้ความเชื�อมัน� อย่างสมเหตุสมผลว่า งบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลที� ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วธิ ีการตรวจสอบเพื�อให้ได้มาซึ�งหลักฐานการสอบบัญชีเ กี�ยวกับจํา นวนเงินและการเปิ ด เผย ข้อมูลในงบการเงิน วิธกี ารตรวจสอบที�เลือกใช้ข� นึ อยู่กบั ดุลยพินิจของผูส้ อบบัญชี ซึ�งรวมถึงการประเมินความเสี�ยงจาก การแสดงข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญของงบการเงินไม่ ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการ ประเมินความเสีย� งดังกล่าว ผูส้ อบบัญชีพจิ ารณาการควบคุมภายในที�เกี�ยวข้องกับการจัดทําและการนําเสนองบการเงิน โดยถูกต้องตามที�ควรของกิจการ เพื�อออกแบบวิธีการตรวจสอบที�เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื�อวัตถุประสงค์ใน การแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมิน ความเหมาะสม ของนโยบายการบัญชีท�ผี ูบ้ ริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีท�จี ดั ทําขึ�นโดยผู บ้ ริหาร รวมทัง� การ ประเมินการนําเสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื�อว่าหลักฐานการสอบบัญชีท�ขี า้ พเจ้าได้รบั เพียงพอและเหมาะสมเพื�อใช้เป็ น เกณฑ์ในการแสดงความเห็นของ ข้าพเจ้า

96

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ความเห็น ข้าพเจ้าเห็น ว่างบการเงินข้างต้นนี� แสดงฐานะการเงิน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 ผลการดําเนินงานและกระแสเงิน สด สําหรับปี ส�นิ สุดวันเดียวกันของบริษทั ไทคอน อิน ดัสเทรียล คอนเน็ ค ชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และเฉพาะ ของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที�ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน

โสภณ เพิ�มศิริวลั ลภ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 3182 บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด กรุงเทพฯ: 26 กุมภาพันธ์ 2558

97

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

2556

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 งบการเงินรวม หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว� คราว ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อื�น สินทรัพย์หมุนเวียนอื�น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ถือไวเ้ พื�อขาย สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากสถาบันการเงินที�มภี าระคํา� ประกัน ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงานทีย� งั ไม่เรียกชําระ เงินให้กยู ้ มื ระยะยาวแก่บริษทั ที�เกี�ยวข้องกัน เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินลงทุนในการร่วมค้า เงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินลงทุนในบริษทั ที�เกี�ยวข้องกัน อสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุนทีอ� ยู่ในระหว่างการพัฒนาและ พร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุนให้เช่า ที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เงินมัดจําค่าที�ดิน ค่าเช่าทีด� ินจ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

2557

6, 7 8 6, 9 6

202,079,981 257,684,596 87,093,174 313,260,236 860,117,987 860,117,987

347,864,631 420,658,704 90,671,676 185,704,039 1,044,899,050 2,683,965,029 3,728,864,079

77,842,107 130,000,000 45,465,470 39,350,570 292,658,147 292,658,147

93,287,464 410,000,000 128,123,998 59,305,291 690,716,753 750,965,029 1,441,681,782

6, 10

70,622,500 49,649,272 4,204,581 3,316,426,735 256,500

240,000 30,268,027 3,242,406,082 256,500

70,382,500 9,228,637 1,820,000,000 14,846,573,800 5,240,529,157 256,500

6,293,445 9,075,955,242 2,849,573,800 5,305,173,765 256,500

17,179,746,392 6,734,568,197 1,593,453,385 5,175,770 90,974,343 461,741,775 758,269,438 83,914,681 30,349,003,569 31,209,121,556

13,726,597,884 3,534,653,294 1,094,903,173 5,388,657 108,755,499 610,794,845 348,935,359 19,325,718 22,722,525,038 26,451,389,117

4,462,940,954 2,083,528,053 116,464,973 3,572,530 228,385,200 15,511,425 28,897,373,729 29,190,031,876

2,431,772,171 2,189,368,030 84,084,008 3,500,712 515,521,970 17,947,403 22,479,447,046 23,921,128,828

6 11 12 13

14.1 14.2 15 16 28 6 6

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

98

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 งบการเงินรวม หมายเหตุ หนี� สนิ และส่วนของผูถ้ ือหุน้ หนี� สนิ หมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะสัน� เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น หนี�สนิ ตามสัญญาเช่าการเงินทีถ� งึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี เงินกูย้ ืมระยะยาวที�ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี หุน้ กูท้ ี�ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย ประมาณการหนี�สนิ ระยะสัน� หนี�สนิ หมุนเวียนอื�น รวมหนี� สนิ หมุนเวียน หนี�สนิ ที�เกี�ยวข้องโดยตรงกับสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที�ถือไวเ้ พื�อการขาย หนี� สนิ ไม่หมุนเวียน หนี�สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน เงินกูย้ ืมระยะยาว หุน้ กู ้ สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ประมาณการหนี�สนิ ระยะยาว หนี�สนิ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เงินมัดจําจากลูกค้า รายได้ค่าเช่าที�ดินรับล่วงหน้า รวมหนี� สนิ ไม่หมุนเวียน รวมหนี� สนิ

6, 17 6, 18 19 20 21 26 6

19 6 20 21 22 26 28 6

2557

2556

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

660,000,000 660,753,670 685,676 55,000,000 2,170,000,000 83,498,409 39,406,040 139,188,168 3,808,531,963

2,108,000,000 765,622,145 45,000,000 1,080,000,000 2,224,369 62,517,447 4,063,363,961

660,000,000 329,307,500 55,000,000 2,170,000,000 83,430,230 5,562,097 38,844,639 3,342,144,466

2,108,000,000 311,154,002 45,000,000 1,080,000,000 2,224,369 32,846,446 3,579,224,817

3,808,531,963

112,742,000 4,176,105,961

3,342,144,466

60,942,000 3,640,166,817

2,531,583 748,380,000 952,383,116 12,640,000,000 28,404,540 93,785,312 283,718,574 1,185,761,781 15,934,964,906 19,743,496,869

707,300,000 1,208,866,487 10,530,000,000 25,344,785 193,261,702 922,750,806 13,587,523,780 17,763,629,741

451,501,941 12,640,000,000 24,581,796 65,228,113 138,730,407 119,271,715 355,203,635 13,794,517,607 17,136,662,073

306,245,312 10,530,000,000 22,351,025 105,231,151 107,085,577 328,094,445 11,399,007,510 15,039,174,327

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

99

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

2556

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 งบการเงินรวม หมายเหตุ ส่วนของผูถ้ ือหุน้ ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 1,115,941,811 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท (2556: หุน้ สามัญ 1,263,740,168 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท) ทุนที�ออกและชําระแล้ว หุน้ สามัญ 1,099,142,375 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท (2556: หุน้ สามัญ 912,376,439 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอื�นของส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนของผูม้ สี ่วนได้เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ย่อย รวมส่วนของผูถ้ ือหุน้ รวมหนี� สนิ และส่วนของผูถ้ ือหุน้

2557

23

1,115,941,811

1,263,740,168

1,115,941,811

1,263,740,168

23 23

1,099,142,375 7,343,380,077

912,376,439 4,669,471,944

1,099,142,375 7,343,380,077

912,376,439 4,669,471,944

25

126,374,017 2,831,850,724 63,613,940 11,464,361,133 1,263,554 11,465,624,687 31,209,121,556

126,374,017 2,983,901,837 (4,364,869) 8,687,759,368 8 8,687,759,376 26,451,389,117

126,374,017 3,484,473,334 12,053,369,803 12,053,369,803 29,190,031,876

126,374,017 3,173,732,101 8,881,954,501 8,881,954,501 23,921,128,828

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

กรรมการ

100

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกําไรขาดทุน สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557

รายได้ รายได้จากการให้เช่าและบริการที�เกี�ยวข้อง รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าสาธารณูปโภค เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อย เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วม รายได้ค่าบริหารจัดการจากบริษทั ร่วม ดอกเบี�ยรับ ค่าสินไหมทดแทนรับจากการประกันภัย รายได้อ�นื รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนการให้เช่าและบริการที�เกี�ยวข้อง ต้นทุนการรับเหมาก่อสร้าง ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนค่าสาธารณูปโภค ประมาณการหนี�สนิ ที�เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าเสือ� มราคา ค่าใช้จ่ายอื�น รวมค่าใช้จ่าย กําไรก่อนส่วนแบ่งกํา ไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม และการร่วมค้า กําไรที�รบั รูเ้ พิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ให้บริษทั ร่วม กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ให้บริษทั ร่วม ค่าใช้จ่ายทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า กําไรที�รบั รูเ้ พิม� เติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม กําไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กําไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กําไรสําหรับปี

หมายเหตุ

6, 26 6, 11 6, 13 6 6 11

26 26 6

13 12 13 13 6 28

การแบ่งปันกําไร ส่วนที�เป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนที�เป็ นของผูม้ สี ่วนได้เสียที�ไม่มอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ย่อย กําไรต่อหุน้ กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐาน กําไรส่วนทีเ� ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ

2557

งบการเงินรวม

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

2556

966,056,776 54,158,944 4,561,275,648 37,951,787 165,340,654 8,248,646 2,428,421 60,996,489 5,856,457,365

1,109,690,372 56,450,230 4,663,038,146 25,987,752 152,590,550 7,153,132 69,653,654 225,449,458 6,310,013,294

456,144,938 40,936,996 1,989,763,854 10,960,052 16,749,946 380,516,435 127,295,354 439,467,930 2,322,171 112,735,109 3,576,892,785

586,236,312 49,621,915 1,737,477,744 8,638,237 38,249,878 216,547,435 133,370,948 391,156,242 10,000,000 186,032,040 3,357,330,751

243,451,489 46,922,933 3,192,138,735 34,495,282 117,963,265 68,110,148 445,599,126 255,745,555 4,012,381 4,408,438,914

261,519,013 40,680,629 2,886,282,933 24,375,726 159,411,491 381,802,386 174,382,134 9,649,755 3,938,104,067

87,454,875 35,590,085 999,061,233 10,712,901 70,928,113 16,405,787 290,688,690 63,707,423 3,986,426 1,578,535,533

116,832,717 36,918,346 929,046,587 8,629,486 62,314,590 265,396,107 52,411,331 (36,142) 1,471,513,022

1,448,018,451 267,126,079 (385,419) 41,367,476 (213,420,009) 1,542,706,578 (642,612,985) 900,093,593 (138,523,135) 761,570,458

2,371,909,227 216,570,828 154,452,915 (505,069,153) 2,237,863,817 (546,426,733) 1,691,437,084 (277,202,089) 1,414,234,995

1,998,357,252 1,998,357,252 (621,190,504) 1,377,166,748 (152,639,352) 1,224,527,396

1,885,817,729 1,885,817,729 (514,575,342) 1,371,242,387 (227,175,599) 1,144,066,788

761,735,050 (164,592) 761,570,458

1,414,234,953 42 1,414,234,995

1,224,527,396

1,144,066,788

0.76

1.56

1.22

1.26

0.76

1.54

1.22

1.24

30

กําไรต่อหุน้ ปรับลด กําไรส่วนทีเ� ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

101

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

2556

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 งบการเงินรวม 2557 กําไรสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น: ผลต่างของอัตราแลกเปลีย� นจากการแปลงค่างบการเงิน ที�เป็ นเงินตราต่างประเทศ ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี การแบ่งปันกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนทีเ� ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนทีเ� ป็ นของผูม้ สี ่วนได้เสียที�ไม่มอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ย่อย

761,570,458

1,414,234,995

1,224,527,396

1,144,066,788

(592,999)

20,045,191

-

-

(592,999)

(451,634) 19,593,557

-

(1,309,247) (1,309,247)

760,977,459

1,433,828,552

1,224,527,396

1,142,757,541

761,142,051 (164,592) 760,977,459

1,433,828,510 42 1,433,828,552

1,224,527,396 1,224,527,396

1,142,757,541 1,142,757,541

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

102

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


103

รายงานประจ�ำปี 2557 -

186,765,936 -

1,099,142,375

7,343,380,077

2,673,908,133 -

4,669,471,944 -

126,374,017

-

126,374,017 -

126,374,017

2,831,850,724

(913,786,163)

2,983,901,837 761,735,050 761,735,050

(912,063,503) 2,983,901,837

-

15,092,132

-

15,685,131 (592,999) (592,999)

15,685,131

-

68,571,808 48,521,808

-

(20,050,000) -

(20,050,000)

-

68,571,808 63,613,940

-

(4,364,869) (592,999) (592,999)

(4,364,869)

-

68,571,808 11,464,361,133

2,860,674,069 (913,786,163)

8,687,759,368 761,735,050 (592,999) 761,142,051

(56,841,422) (912,063,503) 8,687,759,368

326,107,841

1,428,192 1,263,554

(54)

8 (164,592) (164,592)

40 (122) 8

-

70,000,000 11,465,624,687

2,860,674,069 (913,786,217)

8,687,759,376 761,570,458 (592,999) 760,977,459

(56,841,422) 40 (912,063,625) 8,687,759,376

326,107,841

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน งบการเงิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

-

4,669,471,944

-

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

912,376,439 -

(56,841,422) -

912,376,439

291,201,236

รายการ ระหว่างกัน

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 กําไรสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี เพิ�มทุนหุ ้นสามัญจากการแปลงสิทธิ ที�จะซื�อหุน้ สามัญ (หมายเหตุ 23) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 33) ส่วนเกินทุนจากการเปลีย� นแปลงสัดส่วน การถือหุ ้นในบริษทั ย่อย (หมายเหตุ 11) ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557

-

รวมส่วนของ ผู ้ถือหุ ้น 7,896,727,990 1,414,234,995 19,593,557 1,433,828,552

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

34,906,605

กําไรสะสม จัดสรรแล ้ว ยังไม่ได้จดั สรร 126,374,017 2,482,182,021 1,414,234,953 (451,634) 1,413,783,319

ส่วนของผู ้มี ส่วนได้เสียที�ไม่มี อํานาจควบคุม ของบริษทั ย่อย 48 42 42

การกำ�กับดูแล กิจการ

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 กําไรสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี เพิ�มทุนหุ ้นสามัญจากการแปลงสิทธิ ที�จะซื�อหุน้ สามัญ (หมายเหตุ 23) เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ จากการใช้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ เพิ�มทุนจัดตัง� บริษทั ย่อย เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 33) ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556

ส่วนเกินมูลค่า หุ ้นสามัญ 4,378,270,708 -

รวมส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ 7,896,727,942 1,414,234,953 19,593,557 1,433,828,510

(หน่วย: บาท)

โครงสร้าง การจัดการ

เงินรับล่วงหน้า ค่าหุ ้น 56,841,422 -

องค์ประกอบอื�นของส่วนของผูถ้ อื หุน้ กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื�น ผลต่าง ส่วนเกินทุน (ขาดทุน) จากการแปลงค่า จากการเปลีย� นแปลง งบการเงินทีเ� ป็ น สัดส่วนการถือหุน้ รวมองค์ประกอบอื�น เงินตราต่างประเทศ ในบริษทั ย่อย ของส่วนของผู ้ถือหุ ้น (4,360,060) (20,050,000) (24,410,060) 20,045,191 20,045,191 20,045,191 20,045,191

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ

งบการเงินรวม

โครงสร้าง การถือหุ้น

ทุนเรือนหุน้ ที�ออกและชําระแล ้ว 877,469,834 -

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2557

ปัจจัย ความเสี่ยง แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี


-

186,765,936 1,099,142,375

104

รายงานประจ�ำปี 2557

(913,786,163) 3,484,473,334

3,173,732,101 1,224,527,396 1,224,527,396

2,860,674,069 (913,786,163) 12,053,369,803

8,881,954,501 1,224,527,396 1,224,527,396

326,107,841 (56,841,422) (912,063,503) 8,881,954,501

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

126,374,017

126,374,017 -

(912,063,503) 3,173,732,101

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

2,673,908,133 7,343,380,077

4,669,471,944 -

126,374,017

โรงงาน และคลังสินค้า ข้อมูลทั่วไป

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

-

912,376,439 -

291,201,236 4,669,471,944

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 กําไรสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี เพิม� ทุนหุน้ สามัญจากการแปลงสิทธิที�จะซื�อหุน้ สามัญ (หมายเหตุ 23) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 33) ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557

(56,841,422) -

34,906,605 912,376,439

รวม ส่วนของผูถ้ อื หุน้ 8,381,994,044 1,144,066,788 (1,309,247) 1,142,757,541

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 กําไรสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี เพิม� ทุนหุน้ สามัญจากการแปลงสิทธิที�จะซื�อหุน้ สามัญ (หมายเหตุ 23) เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ จากการใช้ใบสําคัญแสดงสิทธิ เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 33) ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556

เงินรับล่วงหน้า ค่าหุน้ 56,841,422 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ กําไรสะสม ส่วนเกินมูลค่า หุน้ สามัญ จัดสรรแล ้ว ยังไม่ได้จดั สรร 4,378,270,708 126,374,017 2,943,038,063 1,144,066,788 (1,309,247) 1,142,757,541

(หน่วย: บาท)

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ทุนเรือนหุน้ ทีอ� อก และชําระแลว้ 877,469,834 -

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ (ต่อ) สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2557

สารจากประธาน กรรมการ นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนิ นงาน กําไรก่อนภาษี รายการปรับกระทบยอดกําไรก่อนภาษีเป็ นเงินสดรับ(จ่าย) จากการดําเนินงาน ค่าเสือ� มราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าเผื�อหนี�สงสัยจะสูญ (โอนกลับรายการ) เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อย เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วม ต้นทุนของอสังหาริมทรัพย์ส่วนทีข� าย ขาดทุน (กําไร) จากการขาย/ตัดจําหน่ายอุปกรณ์ และอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ย่อย กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ประมาณการหนี�สนิ ที�เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า กําไรที�รบั รูเ้ พิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม ดอกเบี�ยรับ ค่าใช้จ่ายดอกเบี�ย กําไรจากการดําเนินงานก่อนการเปลีย� นแปลง ในสินทรัพย์และหนี�สินดําเนินงาน สินทรัพย์ดาํ เนินงาน (เพิ�มขึ�น) ลดลง ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อื�น สินทรัพย์หมุนเวียนอื�น ค่าเช่าที�ดินจ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น หนี�สินดําเนินงานเพิม� ขึ�น (ลดลง) เจ้าหนี�อื�น หนี�สินหมุนเวียนอื�น ประมาณการหนี�สนิ เงินมัดจําจากลูกค้า รายได้ค่าเช่าที�ดินรับล่วงหน้า เงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน รับดอกเบี�ย จ่ายดอกเบี�ย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนิ นงาน

2557

งบการเงินรวม

2556

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

900,093,593

1,691,437,084

1,377,166,748

1,371,242,387

432,867,339 3,954,503 3,037,013,320

376,495,056 (663,089) 2,766,100,581

132,926,353 3,986,423 (16,749,946) (380,516,435) 929,985,556

146,708,312 (637,602) (38,249,878) (216,547,435) 912,270,854

(299,240) (1,495,500) 3,059,755 117,963,265 (267,126,079) 385,419 (41,367,476) 213,420,009 (8,248,645) 634,410,604

6,212,627 (170,095,589) 3,320,422 (216,570,828) (154,452,915) 505,069,153 (7,153,132) 537,221,635

(303,014) (67,000,000) (4,473,250) 2,230,771 70,928,113 (439,467,930) 612,988,124

(2,997,006) (143,900,862) 2,714,209 (391,156,242) 505,770,699

5,024,630,867

5,336,921,005

2,221,701,513

2,145,217,436

(19,881,793) (69,887,645) (409,334,079) (64,588,964)

52,571,121 (38,578,122) (348,935,359) (2,938,002)

75,695,067 1,032,393 2,435,979

(59,317,247) 4,196,803 (2,981,117)

(6,689,258) (57,412,398) 133,191,352 (22,285,128) 263,010,975 4,770,753,929 8,373,193 (563,679,674) (117,105,232) 4,098,342,216

(28,157,268) 17,951,120 (61,131,279) 922,750,806 5,850,454,022 7,382,413 (528,431,682) (263,072,448) 5,066,332,305

3,537,143 (64,963,873) 70,790,210 (48,755,862) 27,109,190 2,288,581,760 7,509,774 (541,984,336) (38,980,648) 1,715,126,550

(53,033,486) 5,138,670 (36,660,699) 328,094,445 2,330,654,805 6,017,198 (497,335,392) (242,811,032) 1,596,525,579

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

105

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 งบการเงินรวม 2557 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชัว� คราวเพิม� ขึ�น เงินลงทุนในบริษทั ร่วมเพิม� ขึ�น เงินลงทุนในบริษทั ย่อยเพิ�มขึ�น เงินลงทุนในการร่วมค้าเพิ�มขึ�น เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินฝากสถาบันการเงินที�มภี าระคํา� ประกันลดลง (เพิม� ขึ�น) รับคืนเงินให้กยู ้ มื ระยะยาวแก่บริษทั ย่อย เงินสดจ่ายให้กยู ้ ืมระยะยาวแก่บริษทั ย่อย เงินสดจ่ายซื�ออสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนทีอ� ยู่ในระหว่าง การพัฒนาสินทรัพย์พร้อมให้เช่า/ขาย เงินสดจ่ายซื�ออุปกรณ์ เงินสดจ่ายเงินมัดจําค่าที�ดิน เงินสดจ่ายซื�อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รับดอกเบี�ยจากบริษทั ย่อย รับเงินปันผลจากบริษทั ย่อย รับเงินปันผลจากบริษทั ร่วม เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูย้ ืมระยะสัน� (ลดลง) เพิม� ขึ�น เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาว เงินสดรับจากหุน้ กู ้ ชําระคืนเงินกูย้ ืมระยะยาว ชําระคืนหุน้ กู ้ เงินสดรับจากการเพิ�มทุน เงินสดรับจากการเพิ�มทุนจัดตัง� บริษทั ย่อย เงินปันผลจ่าย เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินเพิ�มขึ�น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี (หมายเหตุ 7)

2556

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

(115,525,892) (701,749,642) (4,590,000) 359,867,500 70,000,000 (70,382,500) -

(8,540,980) (1,630,933,858) 963,106,035 1,777,560 -

(290,749,642) (12,000,000,000) 359,867,500 70,000,000 (70,382,500) 14,182,955,242 (6,927,000,000)

(1,630,933,858) (33,719,960) 963,106,035 4,753,293,808 (8,439,500,000)

(7,038,526,606) (18,412,444) (876,368,665) (1,790,931) 380,516,435 582,907 (8,016,379,838)

(8,210,375,777) (22,400,444) (1,160,221,442) (4,930,941) 216,547,435 4,069,155 (9,851,903,257)

(1,788,187,992) (11,153,435) (218,230,620) (1,737,613) 432,000,000 16,749,946 380,516,435 582,569 (5,864,770,110)

(993,788,102) (14,419,912) (263,967,440) (3,091,636) 385,353,535 38,249,878 216,547,435 3,618,905 (5,019,251,312)

(1,448,000,000) 41,080,000 791,774,000 4,280,000,000 (1,038,257,371) (1,080,000,000) 2,860,674,069 (913,732,549) 3,493,538,149 214,823 (424,284,650) 758,864,631 334,579,981 333,579,981

1,362,915,703 707,300,000 1,028,556,675 4,460,000,000 (129,350,188) (2,350,000,000) 269,266,419 40 (912,050,090) 4,436,638,559 16,253,912 (332,678,481) 1,091,543,112 758,864,631

(1,448,000,000) 491,774,000 4,280,000,000 (336,517,371) (1,080,000,000) 2,860,674,069 (913,732,495) 3,854,198,203 (295,445,357) 503,287,464 207,842,107 207,842,107

1,362,915,703 374,755,500 4,460,000,000 (129,350,188) (2,350,000,000) 269,266,419 (912,049,968) 3,075,537,466 (347,188,267) 850,475,731 503,287,464

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

106

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) สําหรับปี ส� ินสุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 2557

2556

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

109,507,758

53,366,921

51,904,966

44,816,796

3,037,013,320

2,766,100,581

929,985,556

912,270,854

407,514,013 1,025,421,735

554,073,293 1,292,925,569

100,340,384 505,367,390

136,778,790 190,918,192

งบการเงินรวม ข้อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิ�มเติม เงินสดจ่ายระหว่างปี : ดอกเบี�ยจ่ายที�บนั ทึกเป็ นต้นทุนของสินทรัพย์ รายการที�ไม่ใช่เงินสด: โอนอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและสินทรัพย์ พร้อมให้เช่า/ขายและอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าเป็ น ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ รายการซื�ออสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน และที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที�ยงั ไม่ได้จ่ายชําระ เงินมัดจําค่าที�ดินที�บนั ทึกเป็ นต้นทุนของสินทรัพย์ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

107

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ข้อมูลทั่วไป

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 1. ข้อมูลทัว� ไป บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) เป็ นบริษทั มหาชนซึ�งจัดตัง� และมีภูมลิ าํ เนา ในประเทศไทย โดยบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีธุรกิจหลักคือการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื�อการอุตสาหกรรมโดยการสร้าง โรงงานและคลังสินค้าเพื�อให้เช่าและขายเมื�อมีโอกาสเหมาะสมและธุ รกิจรับเหมาก่อสร้าง ที�อ ยู่ ต ามที� จดทะเบีย นของบริ ษ ัท ฯ อยู่ ท�ี อาคารสาธรซิต� ี ท าวเวอร์ เลขที� 175 ชั�น 13/1 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพมหานคร

2. เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงิน 2.1 งบการเงิน นี� จดั ทํา ขึ�น ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที�กําหนดในพระราชบัญญัติ วชิ าชี พ บัญ ชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตามข้อกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุ รกิจการค้าลงวันที� 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงิน ฉบับภาษาไทยเป็ น งบการเงิน ฉบับที�บ ริษทั ฯ ใช้เ ป็ นทางการตามกฎหมาย งบการเงิน ฉบับ ภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี� งบการเงินนี�ไดจ้ ดั ทําขึ�นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว ้นแต่จะได้เปิ ดเผยเป็ นอย่างอื�นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี�ได้จดั ทําขึ�นโดยรวมงบการเงินของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย (“กลุม่ บริษทั ”) โดยการถือหุน้ ของบริษทั ฯ ในบริษทั ย่อยสรุปได้ดงั นี� บริษทั

จัดตัง� ขึ�น ในประเทศ

ลักษณะธุรกิจ

ร้อยละ ของการถือหุน้ 2557 2556 (ร้อยละ) (ร้อยละ) 99.99 99.99

บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส จํากัด

ไทย

ธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยการสร้างโรงงานเพือ� ให้เช่า/ขาย

บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด

ไทย

ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยการสร้างคลังสินค้าเพือ� ให้เช่า/ขาย

99.99

99.99

บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จํากัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited TICON Property, Inc.

ไทย

ผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพือ� การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจบริหารการลงทุน

69.99

99.99

100.00

100.00

ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ทวั � ไป

100.00

100.00

จีน สหรัฐอเมริกา

108

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ตามที�กล่าวในหมายเหตุ 11 ในระหว่างปี ปจั จุบนั บริษทั ฯ ได้จาํ หน่ ายเงินลงทุนในหุน้ สามัญของบริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ จํากัด (บริษทั ย่อย) ให้แก่บคุ คลภายนอกจํานวน 300,000 หุน้ คิดเป็ นสัดส่วนการถือหุน้ ร้อยละ 30 ในบริษทั ดังกล่าว ในราคาหุน้ ละ 233.33 บาท คิดเป็ นจํานวนเงินรวม 70 ล้านบาท การขายเงินลงทุนดังกล่าวไม่ได้ ทําให้สถานะบริษทั ย่อยของบริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ จํากัด เปลีย� นแปลงไป งบการเงิน สํา หรับปี ส� ินสุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ของ Shanghai TICON Investment Management Company Limited ซึ�งรวมในงบการเงินรวมของบริษทั ฯ ตรวจสอบโดยผู ส้ อบบัญชีภายนอก งบการเงิน สําหรับปี ส� นิ สุด วัน ที� 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ของ TICON Property, Inc. (“บริษทั ย่อย”) ซึ�งรวมอยู่ในงบการเงินรวมของบริษทั ฯ จัดทําขึ�นโดยฝ่ ายบริหารของบริษทั ย่อย และยังมิได้ตรวจสอบโดยผู ส้ อบ บัญชีภายนอก ทัง� นี� บริษทั ย่อยดังกล่าวยังมิได้เริ�มดําเนินงาน ข) บริษทั ฯ นํางบการเงินของบริษทั ย่อยมารวมในการจัดทํางบการเงินรวมตัง� แต่ วนั ที�บริษทั ฯ มีอาํ นาจ ในการควบคุมบริษทั ย่อย จนถึงวันที�บริษทั ฯ สิ�นสุดการควบคุมบริษทั ย่อยนัน� ค) งบการเงินของบริษทั ย่อยได้จดั ทําขึ�นโดยใช้นโยบายการบัญชีท�สี าํ คัญเช่นเดียวกันกับของบริษทั ฯ ง) สินทรัพย์และหนี�สนิ ตามงบการเงินของบริษทั ย่อยซึง� จัดตัง� ในต่างประเทศแปลงค่ าเป็ นเงิน บาทโดย ใช้อตั ราแลกเปลี�ยน ณ วัน สิ�น รอบระยะเวลารายงาน ส่วนรายได้และค่ า ใช้จ่ายแปลงค่ า เป็ น เงินบาทโดยใช้อตั รา แลกเปลีย� นถัวเฉลีย� รายเดือน ผลต่างซึ�งเกิดขึ�นจากการแปลงค่ าดังกล่าวได้แสดงไว้เป็ นรายการ “ผลต่างจากการแปลงค่า งบการเงินที�เป็ นเงินตราต่างประเทศ” ในงบแสดงการเปลีย� นแปลงในส่วนของผูถ้ อื หุน้ จ) ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย รายการคา้ ระหว่างกันที�มีสาระสําคัญได้ถกู ตัด ออกจาก งบการเงินรวมนี�แล้ว ฉ) ส่วนของผู ม้ ีส่วนได้เสียที�ไม่มีอาํ นาจควบคุม คื อ จํานวนกําไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิข อง บริษทั ย่อยส่วนที�ไม่ได้เป็ นของบริษทั ฯ และแสดงเป็ นรายการแยกต่างหากในส่วนของกําไรหรือขาดทุนรวมและส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ ในงบแสดงฐานะการเงินรวม 2.3 บริษทั ฯ จัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการเพื�อประโยชน์ต่อสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุน ในบริษทั ย่อย และ บริษทั ร่วมตามวิธรี าคาทุน

109

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

3. มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที�เริ�มมีผลบังคับในปี บญั ชีปจั จุบนั และที�จะมีผลบังคับในอนาคตมีรายละเอียด ดังนี� ก.

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที�เริ�มมีผลบังคับในปี บญั ชีปจั จุบนั กรอบแนวคิดสําหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 1 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 7 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 12 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 17 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 18 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 19 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 21 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 24 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 28 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 31 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 34 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 36 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 38 (ปรับปรุง 2555)

การนําเสนองบการเงิน งบกระแสเงินสด ภาษีเงินได้ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลกระทบจากการเปลี�ยนแปลงของอัต ราแลกเปลี�ยนเงิน ตรา ต่างประเทศ การเปิ ดเผยข้อมูลเกี�ยวกับบุคคลหรือกิจการที�เกี�ยวข้องกัน เงินลงทุนในบริษทั ร่วม ส่วนได้เสียในการร่วมค้า งบการเงินระหว่างกาล การด้อยค่าของสินทรัพย์ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 2 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 3 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 5 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที� 8 (ปรับปรุง 2555)

การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ การรวมธุ รกิจ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ถอื ไว้เพื�อขายและการดําเนินงานที�ยกเลิก ส่วนงานดําเนินงาน

การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 15 ฉบับที� 27 ฉบับที� 29 ฉบับที� 32

สัญญาเช่าดําเนินงาน - สิ�งจูงใจที�ให้แก่ผูเ้ ช่า การประเมินเนื�อหาสัญญาเช่าที�ทาํ ขึ�นตามรู ปแบบกฎหมาย การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน - ต้นทุนเว็บไซต์

110

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 1 ฉบับที� 4 ฉบับที� 5 ฉบับที� 7 ฉบับที� 10 ฉบับที� 12 ฉบับที� 13 ฉบับที� 17 ฉบับที� 18

การเปลีย� นแปลงในหนี�สนิ ที�เกิดขึ�นจากการรื�อถอน การบูรณะ และ หนี�สนิ ที�มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ สิ ท ธิ ใ นส่ ว นได้เ สี ย จากกองทุ น การรื� อถอน การบู ร ณะและ การปรับปรุงสภาพแวดล้อม การปรับปรุ งย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 29 เรื� อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที�มภี าวะเงินเฟ้ อรุนแรง งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า ข้อตกลงสัมปทานบริการ โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า การจ่ายสิน ทรัพย์ท�ไี ม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า

แนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีสาํ หรับการบันทึกบัญชีหนุ ้ ปันผล มาตรฐานการรายงานทางการเงินทัง� หมดตามที�กล่าวข้างต้นได้รบั การปรับปรุงและจัดให้ม ีข� นึ เพื�อให้มี เนื� อหาเท่า เทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ซึ�งโดยส่วนใหญ่ เ ป็ นการปรับปรุ งถ้อยคําและ คําศัพท์ การตีความและการให้แนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีกบั ผูใ้ ช้มาตรฐาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวไม่มี ผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงินนี� ข.

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที�จะมีผลบังคับในอนาคต

สภาวิช าชี พ บัญชี ได้ออกมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับปรับปรุ งและฉบับใหม่ เป็ น จํานวนมาก ซึ�งมีผลบังคับใช้สาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีท�ีเริ�มในหรือหลังวันที� 1 มกราคม 2558 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังกล่าวได้รบั การปรับปรุงหรือจัดให้มีข�นึ เพื�อให้มีเนื� อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยการเปลีย� นแปลงมาตรฐานการรายงานทางการเงินในครัง� นี�ส่วนใหญ่เป็ นการปรับปรุงถ้อยคําและคําศัพท์ การตีความและ การให้แนวปฏิบตั ิทางการบัญชีกบั ผู ใ้ ช้มาตรฐาน ฝ่ ายบริหารของบริษทั ฯ เชื�อว่าจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญ ต่องบการเงินนี�ในปี ท�นี าํ มาตรฐานดังกล่าวมาถือปฏิบตั ิ อย่างไรก็ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินตามที�กล่าวข้างต้น บางฉบับเป็ นมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มกี ารเปลีย� นแปลงหลักการสําคัญ ซึ�งประกอบด้วยมาตรฐานดังต่อไปนี�

111

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 19 (ปรับปรุง 2557) เรื�อง ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานฉบับปรับปรุ งนี� กาํ หนดให ก้ ิจการต้องรับรู ร้ ายการกําไรขาดทุน จากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัยทันทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น ในขณะที�มาตรฐานฉบับเดิมอนุ ญาตให้กิจการเลือกรับรู ร้ ายการ ดังกล่าวทันทีในกําไรขาดทุน หรือในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น หรือทยอยรับรู ใ้ นกําไรขาดทุนก็ได้ มาตรฐานฉบับปรับปรุ งดังกล่า วไม่ มี ผ ลกระทบต่ องบการเงิน นี� เนื� องจากบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่ อยรับ รู ้ รายการกําไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยทันทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� อยู่แต่เดิมแล ้ว มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 10 เรื�อง งบการเงินรวม มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 10 กําหนดหลักเกณฑ์เ กี�ยวกับการจัดทํางบการเงินรวม โดยใช้ แทนเนื�อหาเกี�ยวกับการบัญชีสาํ หรับงบการเงินรวมที�เดิมกําหนดอยู่ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 27 เรื�อง งบการเงิน รวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการ มาตรฐานฉบับนี� เ ปลี�ยนแปลงหลักการเกี�ยวกับการพิจารณาว่า ผู ล้ งทุ น มี อาํ นาจ การควบคุมหรือไม่ กล่าวคือ ภายใต้มาตรฐานฉบับนี�ผูล้ งทุนจะถือว่าตนควบคุมกิจการที�เข้าไปลงทุน ได้ หากตนมีสิทธิ ได้รบั หรือมีส่วนได้เสียในผลตอบแทนของกิจการที�เข้าไปลงทุน และตนสามารถใช้อาํ นาจในการสัง� การกิจกรรมที�ส่ง ผลกระทบต่อจํานวนเงินผลตอบแทนนัน� ได้ ถึงแมว้ ่าตนจะมีสดั ส่วนการถือหุน้ หรือสิทธิในการออกเสียงโดยรวมน้อยกว่า กึ�งหนึ�งก็ตาม การเปลีย� นแปลงที�สาํ คัญนี�ส่งผลให้ฝ่ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิ จอย่างมากในการทบทวนว่าบริษทั ฯ และ บริษทั ย่อยมีอาํ นาจควบคุมในกิจการที�เข้าไปลงทุนหรือไม่และจะต้องนําบริษทั ใดในกลุม่ กิจการมาจัด ทํางบการเงินรวม บ ้าง ฝ่ ายบริ ห ารของบริ ษ ทั ฯ และบริ ษ ัท ย่ อยเชื� อว่ า มาตรฐานฉบับดังกล่า วจะไม่ มี ผ ลกระทบอย่ า งเป็ น สาระสําคัญต่องบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 11 เรื�อง การร่วมการงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 11 ใช้แทนมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 31 เรื�อง ส่วนได้เสียในการ ร่วมค้า ซึ�งได้ถกู ยกเลิกไป มาตรฐานฉบับนี�กาํ หนดให้กจิ การบันทึกเงินลงทุนในกิจการที�ควบคุม ร่วมกัน ที�เ ข้านิยามของ การร่ วมค้าโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย ในขณะที�มาตรฐานฉบับที� 31 กําหนดให้กิจการสามารถเลือกนําเงิน ลงทุน ในกิจการ ที�ควบคุมร่วมกันมาจัดทํางบการเงินรวมโดยใช้วธิ ีรวมตามสัดส่วน หรือบันทึกเป็ นเงินลงทุนตามวิธสี ่วนได้เสียก็ได้ ฝ่ ายบริ ห ารของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่ อยเชื� อว่ า มาตรฐานดังกล่า วจะไม่ มีผ ลกระทบต่ องบการเงิน นี� เนื�องจากบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยเลือกใช้วธิ ีส่วนได้เสียในการบันทึกเงินลงทุนในกิจการที�ควบคุมร่วมกัน อยู่แต่เดิมแล้ว มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 12 เรื�อง การเปิ ดเผยข้อมูลเกี�ยวกับส่วนได้เสียในกิจการอื�น มาตรฐานฉบับนี�กาํ หนดเรื�องการเปิ ดเผยข้อมูลที�เกี�ยวข้องกับส่วนได้เสียของกิจการในบริษทั ย่อย การร่วม การงาน บริษทั ร่วม รวมถึงกิจการที�มโี ครงสร้างเฉพาะตัว มาตรฐานฉบับนี�จงึ ไม่มผี ลกระทบทางการเงินต่องบการเงินของ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย

112

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 13 เรื�อง การวัดมูลค่ายุตธิ รรม มาตรฐานฉบับนี�กาํ หนดแนวทางเกี�ยวกับการวัด มูลค่ ายุติธรรมและการเปิ ดเผยข้อมูลที�เ กี�ยวกับการวัด มูลค่ ายุติธรรม กล่าวคือ หากกิจการต้องวัด มูลค่ า ยุติธรรมของสิน ทรัพย์หรื อหนี�สิน ใดตามขอ้ กํา หนดของมาตรฐาน ที�เกีย� วข้องอืน� กิจการจะต้องวัด มูลค่ ายุติธรรมนัน� ตามหลักการของมาตรฐานฉบับนี� และใช้วธิ ีเ ปลีย� นทันทีเ ป็ นต้น ไป ในการรับรู ผ้ ลกระทบจากการเริ�มใช้มาตรฐานนี� จากการประเมินเบื�องต้น ฝ่ ายบริหารของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยเชื�อว่ามาตรฐานข้างต้นจะไม่มผี ลกระทบ อย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย

4. นโยบายการบัญชีท�สี าํ คัญ 4.1 การรับรูร้ ายได้ รายได้จากการขาย รายได้จากการขายรับรู เ้ ป็ น รายได ท้ งั� จํา นวนเมื� อบริ ษ ทั ฯ และบริษ ัทย่ อ ยได้โ อนความเสี� ยงและ ผลประโยชน์ท�มี ีนยั สําคัญในสินทรัพย์ให้แก่ผูซ้ �อื แล ้ว รายได้จากการให้เช่าและบริการที�เกี�ยวข้อง รายได้ค่าเช่าและค่าบริการที�เกีย� วข ้องรับรู เ้ ป็ นรายได้ในส่วนของกําไรหรือขาดทุนตามวิธเี ส ้นตรงตลอดอายุ สัญญาเช่า รายได้ท�ีร บั รู แ้ ล้วแต่ ยงั ไม่ ถงึ กํา หนดชํา ระตามสัญญาเช่ าดําเนิน งานแสดงไว้เ ป็ น “ลู กหนี�ตามสัญ ญาเช่ า ดําเนินงานที�ยงั ไม่เรียกชําระ” ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง รายได้จากการรับเหมาก่อสร้างรับรู เ้ ป็ น รายได้ตามวิธีอตั ราส่ วนของงานที�ทาํ เสร็ จ (percentage of completion method) อัตราส่วนของงานที�ทาํ เสร็จคํานวณโดยการเปรียบเทียบต้นทุนงานที�เกิดขึ�นจริงจนถึงวัน สิ�นงวด กับต้นทุนงานพัฒนาทัง� หมดที�คาดว่าจะใช้ในการก่อสร้างตามสัญญา เงินปันผลรับ เงินปันผลรับถือเป็ น รายได้เมื�อบริษทั ฯ มีสทิ ธิในการรับเงินปันผล ดอกเบี�ยรับ ดอกเบี�ยรับถือเป็ นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที�เเท้จริง 4.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสัน� ที�มสี ภาพ คล่องสู ง ซึ�งถึงกําหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที�ได้มาและไม่มีขอ้ จํากัดในการเบิกใช้

113

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

4.3 ลูกหนี� การค้า ลูกหนี�การค้าแสดงมูลค่าตามจํานวนมูลค่าสุทธิท�จี ะได้ร บั บริษทั ฯ บันทึกค่ าเผื�อหนี�สงสัยจะสู ญสําหรับ ผลขาดทุนโดยประมาณที�อาจเกิดขึ�นจากการเก็บเงินจากลูกหนี�ไม่ได้ โดยพิจารณาจากประสบการณ์ในการเก็บเงิน และ การวิเคราะห์อายุหนี� 4.4 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เ พื�อค้าแสดงตามมูลค่ ายุ ติธรรม การเปลีย� นแปลงในมู ล ค่ ายุติธรรมของ หลักทรัพย์บนั ทึกในส่วนของกําไรหรือขาดทุน ข) เงินลงทุนในตราสารหนี�ท�จี ะครบกําหนดชําระในหนึ�งปี รวมทัง� ที�จะถือจนครบกํา หนดแสดงมู ลค่ า ตามวิธีราคาทุนตัดจําหน่า ย บริษทั ฯ ตัด บัญชีส่วนเกิน/รับรู ส้ ่วนตํา� กว่ามู ลค่ าตราสารหนี�ตามอัตราดอกเบี�ยที�แท้จริง ซึ�งจํานวนที�ตดั จําหน่าย/รับรู น้ � จี ะแสดงเป็ นรายการปรับกับดอกเบี�ยรับ ค) เงินลงทุนในตราสารทุนที�ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดถือเป็ น เงินลงทุนทัว� ไป ซึ�งแสดงในราคา ทุนสุทธิจากค่าเผื�อการด้อยค่ า (ถ้ามี) ง) เงินลงทุนในการร่วมค้า และบริษทั ร่วมที�แสดงอยู่ในงบการเงินรวมแสดงมูลค่ าตามวิธีสว่ นได้เสีย ราคาทุน

จ) เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย และบริษทั ร่ วมที�แสดงอยู่ในงบการเงิน เฉพาะกิจการแสดงมูลค่ าตามวิธี บริษทั ฯ ใช้วธิ ีถวั เฉลีย� ถ่วงนํา� หนักในการคํานวณต้นทุนของเงินลงทุน

เมื�อมีการจําหน่ ายเงินลงทุ น ผลต่างระหว่างสิ�งตอบแทนสุ ทธิท�ี ได้รบั กับมู ลค่ า ตามบัญ ชีของเงินลงทุน จะถูกบันทึกในส่วนของกําไรหรือขาดทุน 4.5 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกมูลค่าเริ�มแรกของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนในราคาทุน ซึ�งรวมต้น ทุน การทํารายการ หลังจากนัน� บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะบันทึกอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนด้วยราคาทุนหักค่าเสือ� มราคา สะสมและค่ าเผื�อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่ า เสื�อมราคาของอสังหาริ มทรัพย์เพื�อการลงทุ น คํานวณจากราคาทุน โดยวิธีเส้น ตรงตามอายุ การให้ ประโยชน์โดยประมาณ 20 ปี ค่าเสื�อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนรวมอยู่ในการคํานวณผลการดําเนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสือ� มราคาสําหรับที�ดินและงานระหว่างก่อสร้าง บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรู ผ้ ลต่างระหว่างจํานวนเงินที�ได้รบั สุทธิจากการจําหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของ สินทรัพย์ในส่วนของกําไรหรือขาดทุนในงวดที�ตดั รายการอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนออกจากบัญชี

114

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

4.6 ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์และค่าเสื�อมราคา ที�ดิน แสดงมู ลค่ าตามราคาทุน อาคาร ส่ วนปรับปรุ งที�ดิน และอุปกรณ์แสดงมูลค่ าตามราคาทุน หัก ค่าเสือ� มราคาสะสมและค่าเผื�อการด้อยค่ าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสือ� มราคาของอาคาร ส่วนปรับปรุงที�ดินและอุปกรณ์คาํ นวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเ ส้นตรง ตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณของสินทรัพย์ดงั ต่อไปนี� อาคาร ส่วนปรับปรุงที�ดนิ สินทรัพย์ถาวรอื�น

20 ปี 20 ปี 3 และ 5 ปี

ค่าเสือ� มราคารวมอยูใ่ นการคํานวณผลการดําเนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสือ� มราคาสําหรับที�ดินและงานระหว่างก่อสร้าง บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยตัดรายการที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมื�อจําหน่ ายสินทรัพย์หรือ คาดว่าจะไม่ได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใช้หรือการจําหน่ ายสินทรัพย์ รายการผลกําไรหรือขาดทุ น จากการจําหน่ายสินทรัพย์จะรับรู ใ้ นส่วนของกําไรหรือขาดทุนเมื�อบริษทั ฯ ตัดรายการสินทรัพย์นนั� ออกจากบัญชี 4.7 ต้นทุนการกูย้ ืม ต้นทุนการกูย้ มื ของเงินกูท้ �ใี ช้ในการได้มาหรือการก่อสรา้ งสินทรัพย์ท�ตี อ้ งใช้ระยะเวลานานในการทําให้อยู่ ในสภาพพร้อมใช้หรือขาย ได้ถูกนําไปรวมเป็ นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นนั� จะอยู่ในสภาพพร้อมที�จะใช้ได้ ตามที�ม่งุ ประสงค์ ส่วนต้นทุนการกูย้ มื อืน� ถือเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดที�เกิด รายการ ต้นทุน การกูย้ มื ประกอบด้วยดอกเบี�ย และต้นทุนอืน� ที�เกิดขึ�นจากการกูยื้ มนัน� 4.8 สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน บริษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยบัน ทึกมูลค่ า เริ�มแรกของสิน ทรัพย์ไม่มีตวั ตนตามราคาทุน ภายหลังการรับ รู ้ รายการเริ�มแรก สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนแสดงมูลค่ าตามราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสมและค่าเผื�อการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ของสินทรัพย์นนั� บริษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยตัด จํา หน่ า ยสิน ทรัพย์ไม่มีตวั ตนที�มีอายุการให้ประโยชน์จาํ กัดอย่างมีร ะบบ ตลอดอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย์นนั� และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพ ย์ดงั กล่าวเมื�อมีขอ้ บ่งชี� ว่าสินทรัพย์นนั� เกิดการด้อยค่า บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะทบทวนระยะเวลาการตัดจําหน่ ายและวิธีการตัด จําหน่ ายของ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตนดังกล่าวทุกสิ�นปี เป็ นอย่างน้อย ค่าตัดจําหน่ ายรับรู เ้ ป็ นค่ าใช้จ่ายในส่วนของกําไรหรือขาดทุน

115

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

สินทรัพย์ไม่มีตวั ตนที�มีอายุการให้ประโยชน์จาํ กัดมีดงั นี� อายุการให้ประโยชน์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์

3, 5 และ 10 ปี

4.9 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที�เกี�ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที�เกีย� วข้องกันกับบริษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที�มีอาํ นาจควบคุมบริษทั ฯ หรือถูก บริษทั ฯ ควบคุมไม่วา่ จะเป็ นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษทั ฯ นอกจากนี� บุค คลหรื อกิจการที� เ กี�ยวข้อ งกัน ยังหมายรวมถึงบริ ษทั ร่ ว มและบุ ค คลที�มีสิทธิ ออกเสียง โดยทางตรงหรือทางอ้อมซึ�งทําให้มอี ทิ ธิพลอย่างเป็ นสาระสําคัญต่อบริษทั ฯ ผูบ้ ริหารสําคัญ กรรมการหรือพนักงานของ บริษทั ฯ ที�มีอาํ นาจในการวางแผนและควบคุมการดําเนินงานของบริษทั ฯ 4.10 สัญญาเช่าระยะยาว สัญญาเช่าที�ความเสี�ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้ผูเ้ ช่าถือเป็ นสัญญาเช่า การเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ท�เี ช่าหรือมูลค่าปัจจุบนั สุ ทธิของ จํานวนเงิน ที�ต อ้ งจ่า ยตามสัญ ญาเช่ า แล้วแต่มู ลค่ าใดจะตํา� กว่า ภาระผู กพันตามสัญญาเช่ าหักค่ าใช้จ่ายทางการเงิน จะบันทึกเป็ นหนี�สนิ ระยะยาว ส่วนดอกเบี�ยจ่ายจะบันทึกในส่วนของกําไรหรือขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สิน ทรัพย์ ที�ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่ าเสื�อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ท�เี ช่า สัญญาเช่าสินทรัพย์ท�คี วามเสี�ยงและผลตอบแทนของความเป็ น เจ้าของส่วนใหญ่ไม่ได้โอนไปให้กบั ผู เ้ ช่า ถือเป็ นสัญญาเช่าดําเนินงาน รายได้ค่าเช่าจากสัญญาเช่าดําเนินงานจะรับรู ใ้ นส่วนของกําไรหรือขาดทุนโดยใช้วิธีเ ส้นตรง ตลอดอายุสญั ญาเช่า 4.11 เงินตราต่างประเทศ บริษทั ฯ แสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นสกุลเงินบาท ซึ�งเป็ นสกุลเงินที�ใช้ในการ ดําเนินงานของบริษ ทั ฯ รายการต่ าง ๆ ของแต่ละกิจการที�รวมอยู่ในงบการเงิน รวมวัด มูลค่ าด ว้ ยสกุลเงินที�ใช้ในการ ดําเนินงานของแต่ละกิจการนัน� รายการที�เ ป็ น เงินตราต่ างประเทศแปลงค่ าเป็ น เงิน บาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี�ยน ณ วัน ที�เ กิด รายการ สิน ทรัพย์และหนี� สิน ที�เป็ น ตัวเงิน ซึ�งอยู่ในสกุลเงินตราต่า งประเทศได้แ ปลงค่ า เป็ นเงิน บาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี�ยน ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนที�เกิดจากการเปลี�ยนแปลงในอัตราแลกเปลีย� นรวมอยู่ในการคํานวณผลการดําเนินงาน

116

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

4.12 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะทําการประเมินการด้อยค่าของอสังหาริมทรัพย์ เพื�อการลงทุน ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ท�ไี ม่มตี วั ตนของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย หากมีขอ้ บ่งชี�วา่ สินทรัพ ย์ ดังกล่าวอาจด้อยค่ า บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรู ข้ าดทุน จากการด้อยค่ าเมื�อมู ลค่ าที�คาดว่าจะได้รบั คืน ของสินทรัพย์ มีมูลค่ าตํา� กว่ามูลค่ าตามบัญชีของสินทรัพย์นนั� ทัง� นี�มูลค่ าที�คาดว่าจะได้รบั คืนหมายถึงมูลค่ ายุติธรรมหักต้นทุน ในการ ขายของสิน ทรัพย์หรือมู ลค่ าจากการใช้สนิ ทรัพย์แลว้ แต่ ราคาใดจะสู งกว่ า ในการประเมินมูล ค่ าจากการใช้สิน ทรัพ ย์ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที�กิจการคาดว่าจะได้รบั จากสินทรัพย์และคํานวณคิดลด เป็ นมูล ค่ าปัจจุบนั โดยใช้อตั ราคิด ลดก่อนภาษีท�สี ะท้อนถึง การประเมินความเสี�ยงในสภาพตลาดปัจจุบนั ของเงิน สด ตามระยะเวลาและความเสี�ยงซึ�งเป็ นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ท�กี าํ ลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ ายุติธรรม หักต้นทุน ในการขาย บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่ อยใช้แบบจําลองการประเมิ น มู ลค่ าที�ดี ท�ี สุด ซึ�งเหมาะสมกับสิน ทรัพย์ ซึ�งสะท้อนถึงจํานวนเงินที�กิจการสามารถจะได้มาจากการจําหน่ ายสิน ทรัพ ย์หกั ด้วยต้น ทุน ในการจําหน่ าย โดยการ จําหน่ า ยนัน� ผูซ้ � ือกับผู ข้ ายมีความรอบรู แ้ ละเต็ม ใจในการแลกเปลีย� นและสามารถต่ อรองราคากันได้อย่า งเป็ นอิสระ ในลักษณะของผูท้ �ไี ม่มคี วามเกี�ยวข้องกัน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะรับรูร้ ายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่วนของกําไรหรือขาดทุน หากในการประเมิน การด้อยค่ าของสินทรัพ ย์ มีขอ้ บ่งชี�ท�ีแสดงให้เห็น ว่าผลขาดทุน จากการด้อยค่ าของ สิน ทรัพย์ท�รี บั รู ใ้ นงวดก่อนได้หมดไปหรือลดลง บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะประมาณมูลค่าที�คาดว่าจะได้รบั คืนของ สินทรัพย์นนั� และจะกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่ าที�รบั รู ใ้ นงวดก่อนก็ต่อเมื�อมีการเปลีย� นแปลงประมาณการ ที�ใช้กาํ หนดมูลค่าที�คาดว่าจะได้รบั คืนภายหลังจากการรับรูผ้ ลขาดทุนจากการด้อยค่ าครัง� ล่าสุด โดยมูลค่ าตามบัญชีของ สินทรัพย์ท�เี พิ�มขึ�นจากการกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าต้องไม่สูงกว่ามูลค่ าตามบัญชีท�คี วรจะเป็ นหากกิจการ ไม่เ คยรับรู ผ้ ลขาดทุนจากการด้อยค่ าของสิน ทรัพย์ในงวดก่อน ๆ บริษทั ฯ และบริ ษทั ย่ อยจะบัน ทึกกลับรายการ ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์โดยรับรู ไ้ ปยังส่วนของกําไรหรือขาดทุนทันที 4.13 ผลประโยชน์พนักงาน ผลประโยชน์ระยะสัน� ของพนักงาน เกิดรายการ

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรู เ้ งินเดือน ค่ าจ้าง โบนัสและเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็ นค่ าใช้จ่ายเมื�อ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน

บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่ อยและพนักงานได้ร่ว มกัน จัด ตัง� กองทุน สํา รองเลี�ยงชี พ ซึ�งประกอบด้ว ยเงิน ที�พนักงานจ่ายสะสมและเงินที�บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายสมทบให้เป็ นรายเดือน สินทรัพ ย์ของกองทุน สํารองเลี�ยงชีพ ได้แยกออกจากสิน ทรัพย์ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เงิน ที�บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายสมทบกองทุนสํารองเลี�ยงชีพ บันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในปี ท�เี กิดรายการ

117

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีภาระสําหรับเงินชดเชยที�ตอ้ งจ่ายให้แก่พนักงานเมื�อออกจากงานตามกฎหมาย แรงงาน ซึ�งบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็ นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานสําหรับพนักงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยคํานวณหนี�สนิ ตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานโดยใช้วิธี คิด ลดแต่ ละหน่ วยที�ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผู เ้ ชี�ยวชาญอิส ระได้ท าํ การประเมิน ภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ผลกําไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรูท้ นั ทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� 4.14 ประมาณการหนี� สนิ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะบันทึกประมาณการหนี�สนิ ไว้ในบัญชีเมื�อภาระผูกพันซึง� เป็ นผลมาจากเหตุการณ์ ในอดีตได้เกิดขึ�นแล้ว และมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย จะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไป เพื�อปลดเปลื�องภาระผู กพันนัน� และบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยสามารถประมาณมูลค่ าภาระผูกพันนัน� ไดอ้ ย่างน่ าเชื�อถือ 4.15 ภาษี เงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปจั จุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษี เงินได้ปจั จุบนั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินไดป้ จั จุบนั ตามจํานวนที�คาดว่าจะจ่ายใหก้ บั หน่ วยงานจัด เก็บภาษี ของรัฐ โดยคํานวณจากกําไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ท�กี าํ หนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินไดร้ อการตัดบัญชีของผลแตกต่างชัว� คราวระหว่างราคาตามบัญชี ของสินทรัพย์และหนี�สิน ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี�สนิ ที�เกีย� วข้องนัน� โดยใช้อตั รา ภาษีท�มี ีผลบังคับใช้ ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรู ห้ นี� สนิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญ ชีของผลแตกต่างชัว� คราวที�ตอ้ งเสียภาษี ทุกรายการ แต่รบั รู ส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสาํ หรับผลแตกต่างชัว� คราวที�ใช้หกั ภาษี รวมทัง� ผลขาดทุนทางภาษี ที�ยงั ไม่ได้ใช้ในจํานวนเท่าที�มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ท�บี ริษทั ฯ จะมีกาํ ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที�จะใช้ประโยชน์ จากผลแตกต่างชัว� คราวที�ใช้หกั ภาษีและผลขาดทุนทางภาษีท�ยี งั ไม่ได้ใช้นนั� บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ ทุกสิ�น รอบ ระยะเวลารายงานและจะทําการปรับลดมูลค่าตามบัญชีดงั กล่าวหากมีค วามเป็ น ไปได้ค่ อนข้างแน่ ว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะไม่มกี าํ ไรทางภาษีเพียงพอต่อการนําสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทงั� หมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะบัน ทึกภาษีเ งินได้รอการตัด บัญชีโดยตรงไปยังส่ว นของผู ถ้ อื หุน้ หากภาษี ที�เกิดขึ�นเกี�ยวข้องกับรายการที�ได้บนั ทึกโดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ อื หุน้

118

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

5. การใช้ดลุ ยพินิจและประมาณการทางบัญชีท�ีสาํ คัญ ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ ายบริหารจําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณ การในเรื�องที�มคี วามไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี�สง่ ผลกระทบต่อจํานวนเงิน ที�แ สดง ในงบการเงินและต่อข้อมูลที�แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที�เกิดขึ�นจริงอาจแตกต่างไปจากจํานวนที�ประมาณ การไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการที�สาํ คัญมีดงั นี� สัญญาเช่า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่ าว่าเป็ นสัญญาเช่ าดํา เนิน งานหรือสัญญาเช่ าทางการเงิน ฝ่ ายบริหารได ใ้ ช้ ดุลยพินิจในการประเมินเงือ� นไขและรายละเอียดของสัญญาเพื�อพิจารณาว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้โอนหรือรับโอน ความเสีย� งและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ท�ใี ห้เช่าหรือเช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่ ค่าเผื�อหนี� สงสัยจะสูญของลูกหนี� ในการประมาณค่ า เผื�อหนี� สงสัยจะสู ญ ของลู กหนี� ฝ่ ายบริห ารจํา เป็ น ต้องใช้ดุ ลยพินิ จในการประมาณการ ผลขาดทุนที�คาดว่าจะเกิดขึ�นจากลูกหนี�แต่ละราย โดยคํานึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี�ท�ีคงค้างและ สภาวะเศรษฐกิจที�เป็ นอยู่ในขณะนัน� เป็ นต้น มูลค่ายุตธิ รรมของเครื�องมือทางการเงิน ในการประเมินมูลค่ายุตธิ รรมของเครื�องมือทางการเงิน ที�ไม่ม ีการซื�อขายในตลาดและไม่ สามารถหาราคาได้ใน ตลาดซื�อขายคล่อง ฝ่ ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณมูลค่ ายุติธรรมของเครื�องมือทางการเงินดังกล่าว โดยใช้ เทคนิคและแบบจําลองการประเมินมูลค่ า ซึ�งตัวแปรที�ใช้ในแบบจําลองได้มาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที�มอี ยู่ในตลาด โดยคํานึงถึงสภาพคล่องข้อมูลความสัมพันธ์ และการเปลี�ยนแปลงของมูลค่ าของเครื�องมือทางการเงินในระยะยาว ค่าเผื�อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ บริษทั ฯ จะตัง� ค่าเผื�อการดอ้ ยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพ ย์เผื�อขายและเงินลงทุนทัว� ไปเมื�อมู ลค่ ายุติธ รรมของ เงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสําคัญและเป็ น ระยะเวลานานหรือเมื�อมีขอ้ บ่งชี�ข องการด้อยค่ า การที�จ ะสรุปว่า เงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสําคัญหรือเป็ นระยะเวลานานหรือไม่นนั� จําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ ายบริหาร ค่าเผื�อการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษทั ย่อย การร่วมค้า และบริษัทร่วม บริษทั ฯ จะตัง� ค่าเผื�อการดอ้ ยค่าของเงินลงทุนในบริษทั ย่อย การร่วมค้า และบริษทั ร่ วม เมื�อมู ลค่ ายุติธรรมของ เงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสําคัญและเป็ น ระยะเวลานานหรือเมื�อมีขอ้ บ่งชี�ข องการด้อยค่ า การที�จะสรุ ปว่า เงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสําคัญหรือเป็ นระยะเวลานานหรือไม่นนั� จําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ ายบริหาร

119

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่ า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า และที�ดิน อาคารและ อุปกรณ์และค่าเสือ� มราคา ในการคํานวณค่ าเสือ� มราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่ า /ขาย อสังหาริมทรัพ ย์เพื�อการลงทุน ให้เช่า อาคารและอุปกรณ์ ฝ่ ายบริหารจําเป็ นต้องทําการประมาณอายุการให้ประโยชน์และมูลค่ าคงเหลือเมื�อเลิก ใช้งาน ของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพ ย์เพื�อการลงทุนให้เช่า อาคารและอุปกรณ์ และต้อง ทบทวนอายุการให้ประโยชน์และมูลค่ าคงเหลือใหม่หากมีการเปลี�ยนแปลงเกิดขึ�น นอกจากนี� ฝ่ า ยบริ หารจําเป็ น ต้องสอบทานการด้อยค่ า ของอสังหาริมทรัพย์เ พื�อการลงทุน พร้อมให้เ ช่ า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า และที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่ วงเวลา และบันทึกขาดทุน จากการด้อยค่า หากคาดว่ามูลค่ าที�คาดว่าจะได้รบั คืนตํา� กว่ามูลค่ าตามบัญชีของสินทรัพย์นนั� ในการนี�ฝ่ายบริหารจําเป็ นตอ้ งใช้ดุลยพินิจ ที�เกีย� วข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ�งเกี�ยวเนื�องกับสินทรัพย์นนั� สินทรัพย์ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะรับรูส้ ิน ทรัพ ย์ภาษีเงิน ได้รอการตัดบัญชีสาํ หรับผลแตกต่างชัว� คราวที�ใช้หกั ภาษีและ ขาดทุน ทางภาษีท�ีไม่ ได ใ้ ช้เ มื�อมีค วามเป็ น ไปได้ค่ อนข้างแน่ ว่า บริ ษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะมี กาํ ไรทางภาษีในอนาคต เพียงพอที�จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว� คราวและขาดทุนนัน� ในการนี�ฝ่ายบริหารจําเป็ น ต้องประมาณการว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยควรรับรู จ้ าํ นวนสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเป็ นจํานวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจํานวนกําไรทางภาษี ที�คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี�สนิ ตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน ประมาณขึ�นตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกัน ภัย ซึ�งต้องอาศัยข้อสมมติฐานต่าง ๆ ในการประมาณการนัน� เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ�นเงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลีย� นแปลงในจํานวนพนักงาน เป็ นต้น ประมาณการหนี� สนิ ที�เกีย� วข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ ในการบันทึกประมาณการหนี� สิน ที�เ กี�ยวข้องกับ การขายอสังหาริม ทรัพย์ ฝ่ ายบริ หารได้ใช้ดุลยพินิ จในการ ประมาณผลประกอบการของอสังหาริ ม ทรัพ ย์ โดยพิจารณาจากข้อมู ล รายได้ค่ าเช่ าและค่ า ใช้จ่า ยที�เกี�ยวข้องกับ อสังหาริมทรัพย์ในอดีตประกอบกับข้อมูลที�มอี ยู่ในปัจจุบนั รวมถึงการประมาณเงินชดเชยส่วนต่างระหว่างราคายุติธรรม กับราคาใช้สทิ ธิสุทธิแก่ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่ าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (“กองทรัสต์ฯ”) สํา หรับ กรณีท�ี ผู เ้ ช่ า รายย่อยใช้สิทธิ เ ลือกซื�อทรัพย์สิน (Option to buy) ดังกล่า วโดยใช้ขอ้ มู ลการประเมิ น มู ลค่ า อสังหาริมทรัพย์ โดยผูป้ ระเมินอิสระ และบันทึกประมาณการหนี�สนิ ตามจํานวนเงินที�คาดว่าจะจ่ายให้แก่กองทรัสต์ฯ

120

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

6. รายการธุรกิจกับกิจการที�เกี�ยวข้องกัน 6.1 ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างบริษทั ฯ กับกิจการที�เกี�ยวข้องกันสามารถสรุปได้ดงั นี� ร้อยละ ของการถือหุน้ ของบริษทั ฯ 99.99% 99.99% 69.99% 100.00%

รายชื�อกิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํา กัด บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จํากัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited TICON Property, Inc. บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด (เดิมชื�อ บริษทั เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด)

ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย การร่วมค้า (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย)

100.00% 51.00%

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด (เดิมชื�อ บริษทั เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพือ� การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และ สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จํากัด (มหาชน) บริษทั นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด บริษทั เอสวีไอ จํากัด (มหาชน) กองทุนรวมสาธรซิต� ที าวเวอร์ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

การร่วมค้า (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย)

51.00%

บริษทั ร่วม บริษทั ร่วม บริษทั ร่วม

23.63% 20.04% 27.36%

บริษทั ร่วม (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย)

12.00%

ผูถ้ อื หุน้ /มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน ผูถ้ อื หุน้ ร่วมกัน มีกรรมการเป็ นสมาชิกในครอบครัว เดียวกัน

-

6.2 รายละเอียดของรายการธุ รกิจกับกิจการที�เกี�ยวข้องกันที�สาํ คัญ ในระหว่ า งปี บริ ษ ทั ฯ และบริ ษ ัทย่ อยมีร ายการธุ รกิจที�ส ํา คัญ กับ บุค คลหรื อกิ จการที� เ กี�ยวข้อ งกัน รายการธุ รกิจดังกล่าวเป็ น ไปตามเงื�อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที�ตกลงกันระหว่างบริษทั ฯ และบุค คลหรือกิจการ ที�เกีย� วข้องกันเหล่านัน� ซึ�งเป็ นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดงั นี�

121

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

(หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินรวม 2557 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

รายการธุร กิจระหว่างบริษทั ฯ กับบริษทั ย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้ค่าบริหารจัดการ

-

-

1

รายได้ค่าบริการก่อสร้าง

-

-

2

ดอกเบี�ยรับ

-

-

432

เงินปันผลรับ รายได้ค่าเช่าทีด� นิ

-

-

17 5

รายได้อื�น ค่าบริหารจัดการทัวไป �

-

-

3 7

ค่าบริหารส่วนกลาง

-

-

-

122

รายงานประจ�ำปี 2557

นโยบายการกํา หนดราคา

1 ร้อ ยละ 2 ของรายได้ค่าเช่ า และบริการ ของบริษทั ย่อ ย และร้อ ยละ 2.5 ของ รายได้ค่า เช่ า โรงงานและค่ า บริ การ ที�เ กี� ยวข้อ งของทรัสต์เ พื�อ การลงทุน ในอสัง หาริ มทรัพย์แ ละสิทธิ ก ารเช่ า อสัง หาริ ม ทรัพย์ไ ทคอน และอัตรา ผันแปรระหว่า งร้อ ยละ 0-19.5 ของ กํา ไรจากการดํา เนิ นงาน หัก ร้อ ยละ 8.3 ของอัตราผันแปร และค่านายหน้า รับจากการจัดหาผูเ้ ช่า รายย่อยในอัตรา 2-3 เดือนของค่าเช่าและค่าบริการและ ค่ า นายหน้า จากการขาย/โอนสิ ท ธิ การเช่า ร้อยละ 3 ของมูลค่าดังกล่าว 7 ร้อ ยละ 2 ของค่า ใช้จ่า ยทีเ� กี�ย วข้อ งกับ การก่ อ สร้า งที�เ กิ ด ขึ� นระหว่ างปี ข อง บริษทั ย่อย 385 ก่ อ นวัน ที� 1 มิถุ น ายน 2556 อัตรา ดอกเบี� ยถัว เฉลี� ย ของหุ น้ กู ้ที� อ อก ในไตรมาสสามปี 2553 บวกอัตราคงที� และตั�ง แต่ ว ันที� 1 มิถุน ายน 2556 อัตราดอกเบี�ยถัวเฉลี�ย ของหุ น้ กู แ้ ละ เงิ น กู ย้ ืม ระยะสั�นบวกอัต ราร้อ ยละ 0.15 38 ตามทีบ� ริษทั ย่อยประกาศจ่าย 5 ร้อ ยละ 4 ของราคาที�ดิน ที�บริ ษ ัท ฯ ซื�อ จากบริษทั ย่อย 1 มูลค่าตามสัญญา 7 ร้อยละ 3 ของรายได ้ค่าเช่าและค่ าบริการ ของบริษทั ร่วม 1 ราคาทีเ� ป็นปกติทางการค้า

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินรวม 2557 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

นโยบายการกํา หนดราคา

รายการธุร กิจระหว่างบริษทั ฯ กับบริษทั ร่วม 1,889

1,737

1,889

รายได้ค่าบริหารจัดการจาก กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน

86

107

86

รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ ทีพาร์ค โลจิสติคส์

13

25

13

รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

29

1

29

เงินปันผลรับ เงินประกันรายได้ค่าเช่าและค่าบริการ รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง รายได้ค่าเช่าทีด� นิ

8 5 13

2 5 1

381 8 5 13

ขายทีด� นิ และอาคารโรงงาน

123

รายงานประจ�ำปี 2557

1,737 ใกล ้เคียงราคาประเมิน (หมายเหตุ13.3) 107 ร้อ ยละ 4 ของรายได้ค่า เช่ า และบริ การ ของกองทุ น ฯ และอั ต ราผั น แปร ระหว่างร้อ ยละ 0-19.5 ของกําไรจาก การดํา เนิ น งานและค่ า นายหน้า รับ ในอั ต รา 2 เดื อ นของค่ าเช่ า และ ค่าบริการและค่ านายหน้าจากการขาย ในอัตราสู งสุ ดไม่เ กิน ร้อ ยละ 3 ของ ราคาขาย 25 ร้อยละ 55 ของรายได้ค่ า เช่ าและบริการ ของกองทุ น ฯ ที� เ กิ ด ขึ� น จริ ง หลัง หัก รายได้ขั�น ตํา� ตามสัญ ญารับ ประกัน รายได้ค่ าเช่า และบริการ ค่ าใช้จ่ายใน การบริ ห าร และเงิ น สํา รองต่ า ง ๆ สิ� นสุ ดวัน ที� 3 1 ธั น ว าคม 25 5 9 หลังจากนัน� คิด ร้อ ยละ 3 ของรายได้ ค่าเช่าและค่าบริการของกองทุนฯ และ อัตราผัน แปรระหว่ า งร้อ ยละ 0-10 ของกําไรขัน� ต้น 1 ร้อ ยละ 4 ของรายได้สุ ทธิ ที� ไ ด้จ าก กองทุ นฯ และอัตราผัน แปรระหว่ า ง ร้อ ยละ 0-19.5 ของกํา ไรจากการ ดําเนินงานและค่านายหน้า รับในอัตรา 2 เดือ นของค่ า เช่ าและค่ าบริ การและ ค่านายหน้าจากการซื�อ ขาย โอนสิทธิ กา รเ ช่ า แล ะรั บ โอนสิ ท ธิ กา รเ ช่ า อสังหาริมทรัพย์ในอัตราสู งสุ ดไม่เกิน ร้อยละ 3 ของมูลค่าดังกล่าว 217 ตามทีก� องทุนฯ ประกาศจ่าย 2 ราคาทีเ� ป็นปกติทางการค้า 5 มูลค่าตามสัญญารับเหมา 1 มูลค่าตามสัญญา


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ข้อมูลทั่วไป

(หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินรวม 2557 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

นโยบายการกํา หนดราคา

รายการธุร กิจระหว่างบริษทั ฯ กับกิจการที�เกี�ยวข้องกัน เงินมัดจําค่าทีด� ิน ซื�อเงินลงทุน ค่าเช่าสํานักงานและค่าบริการ ทีเ� กีย� วข้อง ดอกเบี�ยรับ ดอกเบี�ยจ่าย ค่านายหน้าซื�อหลักทรัพย์

56 15

124 450 15

56 15

124 ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า 450 ราคาทีต� กลงร่วมกัน 14 ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า

1 32 -

2 23 1

1 1 -

1 อัตราตลาด 7 MLR ลบอัตราคงที,� อัตราตลาด 1 ราคาตลาด

ขายทีด� นิ และอาคารคลังสินค้า รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ไทคอน

2,572 2

2,926 2

-

รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ทพี าร์ค โลจิสติคส์

14

16

-

รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

21

1

-

เงินประกันรายได้ค่าเช่าและค่าบริการ ค่าบริการส่วนกลาง รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง รายได้ค่าเช่าทีด� นิ

63 3 2 21

3 1 2 1

-

- ใกล ้เคียงราคาประเมิน (หมายเหตุ 13.3) - ร้อ ยละ 2 ของรายได้ค่าเช่ า และบริ การ ของกองทุ น ฯ และอั ต ราผั น แปร ระหว่า งร้อ ยละ 0.5-10.5 ของกําไร จากการดําเนินงาน และค่านายหน้ารับ ในอัต รา 2 เดื อ นของค่ าเช่ าและ ค่าบริการ และค่านายหน้าจากการขาย ในอัตราสู งสุ ดไม่ เ กินร้อ ยละ 3 ของ ราคาขาย - ร้อยละ 3 ของรายได ้ค่าเช่าและค่ าบริการ ของกองทุ น ฯ และอั ต ราผั น แป ร ระหว่างร้อ ยละ 0-10 ของกําไรขัน� ต้น และค่ า นายหน้า รับ ในอัตรา 2 เดือ น ของค่าเช่าและค่าบริการ - ไม่เกินร้อ ยละ 3 ของรายได้สุทธิทไี� ด้จาก กองทุ นฯ และอัตราผัน แปรระหว่ า ง ร้อ ยละ 0-10.0 ของกํา ไร จากการ ดําเนินงานและค่านายหน้า รับในอัตรา 2 เดือ นของค่ า เช่ าและค่ าบริ การและ ค่านายหน้าจากการซื�อ ขาย โอนสิทธิ กา รเ ช่ า แล ะรั บ โอนสิ ท ธิ กา รเ ช่ า อสังหาริมทรัพย์ในอัตราสู งสุ ดไม่เกิน ร้อ ยละ 3 ของมูล ค่ า ดัง กล่ า ว และ ค่ า ใช้จ่ า ยในการดํา เนิ น งานในอัตรา คงทีเ� ท่ากับ 1 ล้านบาทต่อปี - ราคาทีเ� ป็นปกติทางการค้า - ราคาทีเ� ป็นปกติทางการค้า - มูลค่าตามสัญญารับเหมา - มูลค่าตามสัญญา

รายการธุร กิจระหว่างบริษทั ย่อยกับบริษทั ร่วม

124

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

งบการเงิน

6.3 ยอดคงเหลือของรายการธุรกิจระหว่างบริษทั ฯ กับกิจการที�เกี�ยวข้องกัน (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

งบการเงินรวม 2557 2556 เงินฝากธนาคาร (แสดงภายใต้เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด) บริษทั ทีเ� กี�ยวขอ้ งกัน (มีกรรมการเป็ นสมาชิกใน ครอบครัวเดียวกัน) 97,340

124,963

62,757

86,495

ลูกหนี� อื�น - กิจการที�เกีย� วข้องกัน (แสดงภายใต้ลูกหนี� การค้าและลูกหนี� อื�น) (หมายเหตุ 9) บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม 17,498 44,173 รวม 44,173 17,498

521 10,317 10,838

73,522 30,161 103,683

-

1,152

1,101

ดอกเบี�ยค้างรับ (แสดงภายใต้ลูกหนี� การค้าและลูกหนี� อนื� ) (หมายเหตุ 9) บริษทั ย่อย ดอกเบี�ยจ่ายล่วงหน้า (แสดงภายใต้สินทรัพย์หมุนเวียนอื�น) บริษทั ทีเ� กี�ยวขอ้ งกัน (มีกรรมการร่วมกัน)

-

32

-

32

เงินทดรองจ่าย (แสดงภายใต้สินทรัพย์หมุนเวียนอื�น) บริษทั ร่วม

-

2,096

-

1,954

70,623

240

70,383

-

-

-

1,820,000

9,075,955

65,785 65,785

132,586 323,128 455,714

65,785 65,785

106,193 323,128 429,321

45 3,705

3,705

45 3,705

3,705

660 2,025 6,435

214 3,919

612 2,025 6,387

214 3,919

เงินฝากสถาบันการเงินที�มีภาระคํ�าประกัน บริษทั ทีเ� กี�ยวขอ้ งกัน (มีกรรมการเป็ นสมาชิกใน ครอบครัวเดียวกัน) เงินให้กยู ้ ืมระยะยาวแก่บริษทั ที�เกีย� วข้องกัน บริษทั ย่อย เงินมัดจําค่าทีด� ิน บริษทั ทีเ� กี�ยวขอ้ งกัน (ผูถ้ ือหุน้ /มีกรรมการ ร่วมกัน) บริษทั ทีเ� กี�ยวขอ้ งกัน (มีกรรมการร่วมกัน) รวม เงินมัดจํา (แสดงภายใต้สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น) บริษทั ร่วม บริษทั ทีเ� กี�ยวขอ้ งกัน (ผูถ้ ือหุน้ ร่วมกัน) บริษทั ทีเ� กี�ยวขอ้ งกัน (ผูถ้ ือหุน้ /มีกรรมการร่วมกัน) บริษทั ทีเ� กี�ยวขอ้ งกัน (มีกรรมการร่วมกัน) รวม

125

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2557 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

เจ้าหนี� อื�น - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน (แสดงภายใต้เจ้าหนี� การค้าและเจ้าหนี� อื�น) (หมายเหตุ 18) บริษทั ย่อย 3,288 บริษทั ร่วม 7,867 รวม 3,288 7,867

564 1,848 2,412

2,395 3,032 5,427

ดอกเบี�ยค้างจ่าย (แสดงภายใต้เจ้าหนี� การค้าและเจ้าหนี� อื�น) (หมายเหตุ 18) บริษทั ทีเ� กี�ยวขอ้ งกัน (มีกรรมการเป็ นสมาชิกใน ครอบครัวเดียวกัน) 87

85

-

-

ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย (แสดงภายใต้เจ้าหนี� การค้าและเจ้าหนี� อนื� ) (หมายเหตุ 18) บริษทั ที�เกี�ยวขอ้ งกัน (ผูถ้ ือหุน้ /มีกรรมการ ร่วมกัน) -

214

-

214 (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

งบการเงินรวม 2557 2556 ค่าเช่าที�ดินรับล่วงหน้า (แสดงภายใต้หนี�สินหมุนเวียนอืน� ) บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม รวม

42,639 42,639

31,875 31,875

3,281 12,699 15,980

3,281 11,334 14,615

ค่าเช่าอุปกรณ์รบั ล่วงหน้า (แสดงภายใต้หนี�สินหมุนเวียนอืน� ) บริษทั ย่อย

-

-

139

139

เงินกูย้ ืมระยะสัน� จากกิจการที�เกี�ยวข้องกัน บริษทั ทีเ� กี�ยวขอ้ งกัน (มีกรรมการร่วมกัน)

-

50,000

-

50,000

748,380

707,300

-

-

1,185,762

922,751

355,204

328,094

เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการที�เกีย� วข้องกัน บริษทั ทีเ� กี�ยวขอ้ งกัน (มีกรรมการเป็ นสมาชิกใน ครอบครัวเดียวกัน) รายได้ค่าเช่าที�ดินรับล่วงหน้า บริษทั ร่วม

126

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

การกำ�กับดูแล กิจการ

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

6.4 ยอดคงเหลือและการเปลีย� นแปลงของเงินใหก้ ยู ้ มื และเงินกูย้ มื ระหว่างบริษทั ฯ และกิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 เงินกูย้ ืมระยะสัน� ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จํากัด (มหาชน) รวม เงินกูย้ ืมระยะยาว ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557

เพิ�มขึ�น ระหว่างปี

ลดลง ระหว่างปี

50,000 50,000

13,100,000 13,100,000

(13,100,000) (50,000) (13,150,000)

-

707,300

41,080

-

748,380 (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 เงินให้กยู ้ ืมระยะยาว บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด เงินกูย้ ืมระยะสัน� บริษทั หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จํากัด(มหาชน)

เพิ�มขึ�น ระหว่างปี

ลดลง ระหว่างปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557

9,075,955

6,927,000

(14,182,955)

1,820,000

50,000

-

(50,000)

-

ณ วัน ที� 31 ธันวาคม 2557 เงินให้กูย้ มื ระยะยาวจํา นวน 1,820 ลา้ นบาท (2556: 9,076 ล้านบาท) เป็ นเงินให้กูย้ มื ที�ไม่ มีหลักประกันแก่บริษทั ไทคอน โลจิสติค ส์ พาร์ค จํากัด ซึ�งเป็ น บริษทั ย่อย โดยมีอตั ราดอกเบี�ย เท่ากับร้อยละ 4.05 ถึง 4.23 ต่อปี (2556: ร้อยละ 3.94 ถึง 4.35 ต่อปี ) ยอดคงเหลือของเงิน กูย้ ืม ระยะยาวที� ได้ร บั จากสถาบัน การเงิน แห่ งหนึ� งซึ�งเป็ น กิจการที� เ กี�ยวข้องกัน มีรายละเอียดดังนี�

(หน่ว ย: ลา้ นบาท)

งบการเงินรวม ลําดับ ที� วันที�ทาํ สัญญา 1. 23 เมษายน 2556 2. 3 เมษายน 2557 3. 3 เมษายน 2557 เงินกูย้ ืมระยะยาว

2557 707 20 21 748

2556 707 707

ระยะเวลา เงินกู ้ 9 ปี 9 ปี 9 ปี

เงื�อนไขทีส� าํ คัญของสัญญาเงินกูย้ ืม งวดชําระคืน เงินต้น ระยะเวลาชําระคืนเงินต้น ทุก 6 เดือน พฤศจิกายน 2559 - พฤษภาคม 2565 ทุก 6 เดือน พฤศจิกายน 2560 - พฤษภาคม 2566 ทุก 6 เดือน พฤศจิกายน 2560 - พฤษภาคม 2566

127

รายงานประจ�ำปี 2557

อัตราดอกเบี�ย MLR ลบอัตราคงที� MLR ลบอัตราคงที� MLR ลบอัตราคงที�


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยูใ่ นระหว่างการพัฒนาและพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่ า ที�ดิน และอาคารของบริษทั ย่อยแห่งหนึ� งซึ�งมีราคาตามบัญชีรวม 3,201 ล้านบาท (2556: 944 ล้านบาท) ถูกจดจํานองเป็ นประกันการกูย้ มื ดังกล่าวข้างต้น ณ วัน ที� 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ย่อยคงเหลือจํานวนเงินที�ยงั มิได้เบิกใช้ของวงเงิน กูย้ ืมจากกิจการ ที�เกีย� วข้องกันดังกล่าวเป็ นจํานวนรวมประมาณ 4,605 ล้านบาท (2556: 152 ล้านบาท) 6.5 ค่าตอบแทนกรรมการและผู บ้ ริหาร ในระหว่างปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีค่ า ใช้จ่ายผลประโยชน์ พนักงานที�ให้แก่กรรมการและผู บ้ ริหาร ดังต่อไปนี�

ผลประโยชน์ระยะสัน� ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม

งบการเงินรวม 2557 2556 72,900 49,426 1,314 1,245 74,214 50,671

(หน่ วย:พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 55,432 41,538 941 1,095 56,373 42,633

6.6 ภาระคํา� ประกันกับบริษทั ย่อย บริษทั ฯ มีภาระจากการคํา� ประกันให้แก่บริษทั ย่อยตามที�กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 20 และ 34.3

7. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เพื�อวัตถุประสงค์ในการจัดทํางบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดหมายความรวมถึง เงินสดและ เงินฝากธนาคารและเงินลงทุนชัว� คราวซึ�งถึงกําหนดจ่ายคืนในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดตามที�แสดงอยู่ในงบกระแสเงินสด ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี�

เงินสด เงินฝากสถาบันการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว� คราว - ตัวแลกเงิ � น ซึ�งถึงกําหนดจ่ายคืน ในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ในงบกระแสเงินสด

งบการเงินรวม 2557 2556 637 569 201,443 347,296 202,080 347,865

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 365 285 77,477 93,002 77,842 93,287

132,500

411,000

130,000

410,000

334,580

758,865

207,842

503,287

128

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

งบการเงิน

ณ วัน ที� 31 ธันวาคม 2557 เงิน ฝากออมทรัพ ย์ เงิน ฝากประจําและเงินลงทุน ชัว� คราวซึ�งถึงกํา หนดจ่ายคื น ในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน มีอตั ราดอกเบี�ยร้อยละ 0.1 ถึง 2.5 ต่อปี (2556: ร้อยละ 0.1 ถึง 3.0 ต่อปี )

8. เงินลงทุนชัว� คราว

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

งบการเงินรวม 2557 2556 หลักทรัพย์เพื�อค้า หน่วยลงทุน ตราสารหนี� ที�จะถือจนครบกําหนด ภายใน 1 ปี ตัวแลกเงิ � น รวมเงินลงทุนชัว� คราว

124,685

1,593

-

-

133,000 257,685

419,066 420,659

130,000 130,000

410,000 410,000

9. ลูกหนี� การค้าและลูกหนี� อื�น 9.1 ยอดคงเหลือของลูกหนี�การค้าจําแนกตามอายุหนี�คงค้าง งบการเงินรวม 2557 2556 ลูกหนี�การค้า - กิจการที�ไม่เกี�ยวข ้องกัน อายุหนี�คงค้างนับจากวันทีถ� งึ กําหนดชําระ ค้างชําระ ไม่เกิน 3 เดือน ค้างชําระ 3 - 6 เดือน ค้างชําระ 6 - 12 เดือน ค้างชําระ มากกว่า 12 เดือน รวม ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงานทีย� งั ไม่เรียกชําระ หัก: ค่าเผื�อหนี�สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี�การค้า - กิจการทีไ� ม่เกี�ยวข้องกัน, สุทธิ ลู กหนี�อ�นื ลู กหนี�อ�นื แก่กิจการที�เกี�ยวข้องกัน ลู กหนี�อ�นื แก่กิจการที�ไม่เกี�ยวข ้องกัน ดอกเบีย� ค้างรับ จากกิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน ดอกเบีย� ค้างรับจากกิจการทีไ� ม่เกีย� วข ้องกัน รายได ้ค้างรับ รวมลูกหนี�อื�น รวมลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อ�นื - สุทธิ

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

42,909 2,132 7,074 4,050 56,165 11,026 (4,114) 63,077

13,380 2,476 15,773 590 32,219 11,844 (565) 43,498

21,845 1,560 7,072 4,050 34,527 1,540 (4,114) 31,953

10,753 2,154 1,327 590 14,824 7,549 (565) 21,808

17,498 1,683 47 4,788 24,016 87,093

44,173 238 171 2,592 47,174 90,672

10,838 967 1,152 40 515 13,512 45,465

103,683 72 1,101 132 1,328 106,316 128,124

129

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

9.2

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลูกหนี�การค้าจําแนกตามประเภทธุรกิจ (หน่วย: พันบาท) ประเภทลูกหนี�

งบการเงินรวม 2557 2556 49,143 21,256 22,242 13,934 63,077 43,498

ลู กหนี�ค่าเช่าและค่าบริการ ลู กหนี�จากการรับเหมาก่อสร้าง

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 21,464 14,159 10,489 7,649 31,953 21,808

10. เงินฝากสถาบันการเงินที�มีภาระคํ�าประกัน ณ วัน ที� 31 ธัน วาคม 2557 บริษทั ฯ และบริษ ทั ย่อยได้นําเงินฝากสถาบัน การเงินจํานวน 70.6 ล้า นบาท (2556: 0.2 ล ้านบาท) ไปวางไว้กบั ธนาคารเพื�อเป็ นหลักประกันเงินชดเชยส่วนต่างระหว่างราคายุติธรรมกับราคาใช้สทิ ธิ สุทธิแก่ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอนสําหรับกรณีท�ผี ูเ้ ช่ารายย่อยใช้สทิ ธิ เลือ กซื� อ ทรัพ ย์สิ น (Option to Buy) วงเงิ น เลตเตอร์ อ อฟเครดิ ต และทรัส ต์รี ซี ท ส์พ ร้อ มวงเงิน สํา หรับ จอง อัตราแลกเปลีย� นและหนังสือคํา� ประกันทีธ� นาคารออกให้แก่หน่วยงานรัฐ รัฐวิสาหกิจและบริษทั เอกชน

11. เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินลงทุนในบริษทั ย่อยตามที�แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี� (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ บริษทั

ลักษณะธุรกิจ

บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด

พัฒนาอสังหาริม ทรัพย์ โดยการสรา้ งโรงงานให ้ เช่า/ขาย บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พัฒนาอสังหาริม ทรัพย์ พาร์ค จํากัด โดยการสรา้ งคลังสินค้า ให ้เช่า/ขาย บริษทั ไทคอน แมนเนจเม ้นท์ ผู ้จัดการกองทรัสต์เพือ� การ จํากัด ลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์ Shanghai TICON Investment ธุร กิจบริหารการลงทุน Management Company Limited* TICON Property, Inc.** ลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์ ทัวไป � รวมเงิน ลงทุนในบริษทั ย่อย

จัดตัง� ขึ�น ในประเทศ

ไทย

ไทย

ทุนเรียกชําระแล ว้ 2557 2556

สัดส่วนเงินลงทุน 2557 2556 (ร ้อยละ) (ร ้อยละ) 50,000 99.99 99.99

50,000

14,500,000 2,500,000

เงินลงทุนตามราคาทุน 2557 2556

เงินปันผลทีบ� ริษทั ฯ รับระหว่างปี 2557 2556

50,000

50,000

16,750

38,250

99.99

99.99 14,515,000

2,515,000

-

-

ไทย

10,000

10,000

69.99

99.99

7,000

10,000

-

-

จีน

85,384

85,384

100.00

100.00

85,384

85,384

-

-

31

31

100.00

100.00

189,190

189,190

-

-

14,846,574

2,849,574

16,750

38,250

สหรัฐ อเมริกา

* ตรวจสอบแล้วโดยผูส้ อบบัญชีอื�น ** งบการเงินถูกจัดทําโดยฝ่ า ยบริหารของบริษทั ย่อย

130

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ในระหว่างปี 2557 มีการเปลีย� นแปลงเกีย� วกับเงินลงทุนในบริษทั ย่อย ดังนี� (ก) เมื� อวัน ที� 25 มี น าคม 2557 ที� ประชุ ม คณะกรรมการครัง� ที� 1/2557 ของบริ ษ ทั อีโ ค อิ น ดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อย ได้มมี ติอนุ มตั ิจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลกําไรประจําปี 2556 และผลกําไร สําหรับไตรมาสแรกปี 2557 ในส่วนที�ได้รบั ลดหย่อนภาษีเ งินได้ นิติบุค คลในอัตรากึ�งหนึ�งในจํานวนหุน้ ละ 1.10 บาท รวมเป็ นเงินทัง� สิ�น 5.5 ล้านบาท โดยมีการจ่ายเงินปันผลในวันที� 27 มีนาคม 2557 (ข) เมื� อวัน ที� 26 กัน ยายน 2557 ที� ป ระชุม คณะกรรมการครัง� ที� 2/2557 ของบริ ษทั อีโค อิน ดัสเทรียล เซอร์วิสเซส จํากัด ซึ�งเป็ น บริษทั ย่อย ได้มีม ติอนุ มตั ิจ่า ยเงินปันผลระหว่างกาลจากผลกําไรบางส่วนปี 2557 ในส่วน ที�ได้รบั ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบคุ คลในอัตรากึง� หนึ�งในจํานวนหุน้ ละ 1.25 บาท รวมเป็ นเงินทัง� สิ�น 6.3 ล้านบาท โดยมี การจ่ายเงินปันผลในวันที� 29 กันยายน 2557 (ค) เมื�อวันที� 29 กันยายน 2557 ที�ประชุมคณะกรรมการของบริษทั ฯ ครัง� ที� 6/2557 มีมติอนุ ม ตั ิการเพิ�ม ทุน จดทะเบียนในบริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ซึ�งเป็ น บริษทั ย่อย จํานวน 12,000 ล้านบาท บริษทั ฯ ได้มีการ ชําระเงินเพิ�มทุนดังกล่าวในวันที� 30 ตุลาคม 2557 และบริษทั ย่อยได้จดทะเบียนเพิ�ม ทุนกับกระทรวงพาณิ ชย์เมื�อวันที� 31 ตุลาคม 2557 (ง) เมื�อวันที� 29 กันยายน 2557 ที�ประชุมคณะกรรมการของบริษทั ฯ ครัง� ที� 6/2557 มีม ติอนุ มตั ิการจําหน่ าย เงินลงทุนในหุน้ สามัญของบริษทั ไทคอน แมนเนจเม้น ท์ จํากัด ให้แก่ Mitsui & Co. (Asia Pacific) Pte. Ltd. ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อยของ Mitsui & Co., Ltd. โดยจําหน่ ายหุน้ สามัญจํานวน 300,000 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 30 ของจํานวน หุน้ สามัญทัง� หมดในราคาหุน้ ละ 233.33 บาท คิดเป็ นเงิน 70 ล้านบาท ทําให้เกิดกําไรจากการจําหน่ายเงินลงทุนดังกล่าว เป็ นจํานวนเงิน 67 ล้านบาท ซึ�งแสดงไว้เป็ นรายได้อน�ื ในงบกําไรขาดทุนเฉพาะกิจการ ภายหลังจากการจําหน่ ายเงินลงทุน ดังกล่า ว บริษทั ฯ ถือหุน้ ในบริษทั ย่ อยจํา นวน 699,996 หุน้ คิด เป็ น ร้อยละ 69.99 ของจํานวนหุน้ สามัญทัง� หมด เนื�องจากการจําหน่ายเงินลงทุนดังกล่าวไม่ได้ทาํ ให้บริษทั ฯ สู ญเสียการควบคุม ในบริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ จํากัด บริ ษทั ฯ จึ งรับ รู ร้ ายการดังกล่า วในส่ว นของบริ ษทั ฯ เป็ น ส่ ว นเกิน ทุน จากการเปลี�ยนแปลงสัด ส่ ว นการถือหุ น้ ในบริษทั ย่อยโดยแสดงในส่วนของผู ถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (จ) เมื� อวัน ที� 25 ธัน วาคม 2557 ที�ประชุม คณะกรรมการครัง� ที� 3/2557 ของบริษทั อีโค อิน ดัสเทรียล เซอร์วิสเซส จํากัด ซึ�งเป็ น บริษทั ย่อย ได้มีม ติอนุ มตั ิจ่า ยเงินปันผลระหว่างกาลจากผลกําไรบางส่วนปี 2557 ในส่วน ที�ได้รบั ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบคุ คลในอัตรากึง� หนึ�งในจํานวนหุน้ ละ 1.00 บาท รวมเป็ นเงินทัง� สิ�น 5.0 ล้านบาท โดยมี การจ่ายเงินปันผลในวันที� 26 ธันวาคม 2557

131

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

12. เงินลงทุนในการร่วมค้า 12.1 รายละเอียดของการร่วมค้า ดังนี�

เงินลงทุนในการร่วมค้าซึ�งเป็ นเงินลงทุนในกิจการที�บริษทั ฯ และบริษทั อื�น ควบคุม ร่ วมกันมีรายละเอียด

กิจการที�ควบคุมร่วมกัน

ประเภทกิจการ

จัดตัง� ขึ�นในประเทศ ทุนจดทะเบียน 2557 (ล ้านบาท) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด ผลิตและจําหน่ายกระแสไฟฟ้ า ไทย 5.00 บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด ผลิตและจําหน่ายกระแสไฟฟ้ า ไทย 4.00

งบการเงินรวม ทุนเรียกชําระแลว้ 2557 (ล ้านบาท) 5.00 4.00

สัดส่วนเงินลงทุน 2557 (ร้อยละ) 51.00 51.00

12.2 รายละเอียดของเงินลงทุนในการร่วมค้า (ก) มูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนในการร่วมค้า (หน่ วย: พันบาท) งบการเงินรวม ราคาทุน ส่วนได้เสีย 2557 2557 2,550 2,282 2,040 1,923 4,205 4,590

กิจการที�ควบคุมร่วมกัน บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด รวม

เมื�อวันที� 22 พฤษภาคม 2557 บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อย ได้ซ� ือหุน้ สามัญของบริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด (เดิมชื�อบริษทั เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด) และบริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด (เดิมชื�อบริษทั เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด) ตามมูลค่าที�ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท จํานวน 0.03 ล้านหุน้ และ 0.02 ล้านหุน้ ตามลําดับคิ ดเป็ นร้อยละ 51.00 ของหุน้ ที�จาํ หน่ายแลว้ ทัง� หมดของบริษทั ทัง� สองแห่ ง โดยบริษทั ทัง� สองแห่ งได้เรียกชําระเงินค่ าหุน้ ครัง� แรกร้อยละ 25 จากหุน้ ที�บ ริษทั ย่อยถืออยู่เป็ นจํานวนเงิน 0.64 ล้านบาทและ 0.51 ล้านบาท ตามลําดับ บริษทั ย่อยได้จ่ายชําระเงิน ค่ าหุน้ ดังกล่าวแล้วในวัน ที� 5 มิถนุ ายน 2557 เงิน ลงทุนดังกล่าว ถือเป็ นเงินลงทุนในการร่วมค้า เนื� องจากบริษทั ย่อยและผู ถ้ อื หุน้ อีกฝ่ ายหนึ� งมีอาํ นาจในการควบคุม บริษทั ทัง� สองแห่ง ดังกล่าวร่ ว มกัน อย่างไรก็ดี บริษ ทั ทัง� สองแห่ งดังกล่า วคาดว่ าจะเริ� มผลิตและจําหน่ ายกระแสไฟฟ้ า ในไตรมาสที� 1 ของปี 2558 เมื� อวัน ที� 16 กรกฎาคม 2557 ที�ประชุม คณะกรรมการครัง� ที� 1/2557 ของบริษทั ไทคอน เด็ ม โก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด และบริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด มีมติอนุ มตั ิให้เรียกชําระค่ าหุน้ ส่วนที�เ หลือร้อยละ 75 จากหุน้ ที�บริษทั ย่อยถืออยู่เป็ นจํานวนเงิน 1.91 ล้านบาทและ 1.53 ล้านบาท ตามลําดับ โดยบริษทั ย่อยได้จ่ายชํา ระเงิน ค่าหุน้ ดังกล่าวแล ้วในวันที� 23 กรกฎาคม 2557

132

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(ข) ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า (หน่ วย: พันบาท) งบการเงินรวม สําหรับปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 (268) (117) (385)

กิจการที�ควบคุมร่วมกัน บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด รวม 12.3 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของกิจการที�ควบคุมร่วมกัน ก) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด

จํานวนรวมของส่วนได้เสียในสินทรัพย์ หนี�สนิ รายได้และค่าใช้จ่ายที�บริษทั ฯ มีอยู่ในบริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด คิดตามสัดส่วนของการร่วมทุนเป็ นดังนี�

สินทรัพย์สุทธิ

(หน่วย: พันบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 3,640 5,935 9,575 (1,338) (5,999) (7,337) 2,238

ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร ขาดทุนก่อนค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ขาดทุนสําหรับปี

(หน่วย: พันบาท) สําหรับปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 (168) (168) (100) (268)

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี�สินหมุนเวียน หนี�สินไม่หมุนเวียน

133

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ข) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด จํานวนรวมของส่วนได้เสียในสินทรัพย์ หนี�สนิ รายได้และค่าใช้จ่ายที�บริษทั ฯ มีอยู่ในบริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด คิดตามสัดส่วนของการร่วมทุนเป็ นดังนี�

สินทรัพย์สุทธิ

(หน่วย: พันบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 1,874 4,493 6,367 (1,024) (3,462) (4,486) 1,881

ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร ขาดทุนก่อนค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ขาดทุนสําหรับปี

(หน่วย: พันบาท) สําหรับปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 (59) (59) (58) (117)

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี�สินหมุนเวียน หนี�สินไม่หมุนเวียน

13. เงินลงทุนในบริษทั ร่วม 13.1 รายละเอียดของบริษทั ร่วม บริษทั

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ทีพาร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพือ� การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน

ลักษณะธุรกิจ

จัดตัง� ขึ�น ในประเทศ

ทุนเรียกชําระแล้ว 2557 2556 (พันบาท) (พันบาท)

สัดส่วนการลงทุน 2557 2556 (ร้อยละ) (ร้อยละ)

จํา นวนหน่วยลงทุนทีบ� ริษทั ฯ ถือ 2557 2556 (พันหน่วย) (พันหน่วย)

ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์

ไทย

11,824,790

11,824,790

271,583

271,583

23.63

23.63

ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และ/หรือสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และ/หรือสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์

ไทย

4,469,062

4,469,062

82,920

82,920

20.04

20.04

ไทย

5,550,000

5,550,000

151,834

158,301

27.36

28.52

ไทย

3,425,000

-

41,100

-

12.00

-

134

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

13.2 รายละเอียดของเงินลงทุนในบริษทั ร่วม (ก) มูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนในบริษทั ร่วม (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม บริษทั กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน เงินลงทุน หัก: กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ เงินลงทุน - สุทธิ

วิธสี ่วนได้เสีย

ราคาทุน

2557

2556

2557

2556

2,578,543

2,641,187

2,807,921

2,807,921

(1,132,590)

(1,128,400)

-

-

1,445,953

1,512,787

2,807,921

2,807,921

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์ค โลจิสติคส์ เงินลงทุน หัก: กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขาย อสังหาริมทรัพย์

869,897

897,498

916,129

916,129

(256,485)

(256,485)

-

-

เงินลงทุน - สุทธิ

613,412

641,013

916,129

916,129

1,494,324

1,585,647

1,516,479

1,581,124

(550,136)

(497,041)

-

-

944,188

1,088,606

1,516,479

1,581,124

411,555

-

-

-

(114,767)

-

-

-

16,086

-

-

-

312,874

-

-

-

3,316,427

3,242,406

5,240,529

5,305,174 (หน่วย: พันบาท)

กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท เงินลงทุน หัก: กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ เงินลงทุน - สุทธิ ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์แ ละ สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน เงินลงทุน หัก: กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ บวก: ค่าใช้จา่ ยทีย� งั ไม่เกิดขึน� จาก ประมาณการหนี�สินทีเ� กี�ยวขอ้ ง กับการขายอสังหาริม ทรัพย์ เงินลงทุน - สุทธิ รวมเงินลงทุนในบริษทั ร่วม-สุทธิ

135

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

บริษทั

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ข้อมูลทั่วไป

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

วิธสี ่วนได้เสีย

ราคาทุน

2557

2556

2557

2556

มูลค่าต่อหน่ วยของเงินลงทุน (บาท) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน

5.32

5.57

10.34

10.34

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์ค โลจิสติคส์

7.40

7.73

11.05

11.05

กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

6.22

6.88

9.99

9.99

ทรัสต์เพือ� การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิ การเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน

7.61

-

-

-

กําไรจากการขายที�ดิน อาคารโรงงานและคลังสินค้าให้แก่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่ าอสังหาริม ทรัพย์ไทคอน อิน ดัสเทรียล โกรท (“กองทุน ฯ”) และทรัสต์เ พื�อการลงทุน ในอสังหาริม ทรัพย์และสิทธิ การเช่ าอสังหาริม ทรัพ ย์ไทคอน (“กองทรัสต์ฯ”) ตามสัด ส่วนที� บริษทั ฯ ได้ถอื หุน้ ในกองทุน ฯ และกองทรัสต์ฯ เป็ น กําไรที�ยงั ไม่ เกิด ขึ�น จริง โดยแยกแสดงเป็ น รายการต่างหากในงบ กําไรขาดทุนภายใต้หวั ข้อ “กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม” (ข) ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม (หน่วย: พันบาท) บริษทั กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพือ� การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน รวม

136

รายงานประจ�ำปี 2557

งบการเงินรวม สําหรับปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 2556 131,538 157,653 42,549 54,396 92,484 4,522 555 267,126

216,571

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(ค) เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วม

บริษทั กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท รวม

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปีส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 2556 194,182 156,750 70,150 59,797 116,184 216,547

380,516

13.3 การเปลีย� นแปลงของบัญชีเงินลงทุนในบริษทั ร่วม งบการเงินรวม 2557 2556

เงินลงทุนในบริษัทร่วม ยอดยกมาต้นปี 5,124 4,286 ซื�อเงินลงทุน 702 1,631 ขายเงินลงทุน (358) (793) ส่วนแบ่ง กําไรในเงินลงทุน 267 217 (217) เงินปันผลรับ (381) ยอดคงเหลือปลายปี 5,354 5,124 กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ยอดยกมาต้นปี 1,882 1,531 เพิ�มขึ�นระหว่างปี 213 505 (154) ลดลงระหว่างปี (41) ยอดคงเหลือปลายปี 2,054 1,882 ค่าใช้จา่ ยที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากประมาณการหนี� สินที�เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ เพิ�มขึ�นระหว่างปี 16 ยอดคงเหลือปลายปี 16 เงินลงทุนในบริษัทร่วม - สุทธิ 3,316 3,242

(หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 5,305 291 (355) 5,241

4,493 1,631 (819) 5,305

กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ท�เี พิ�มขึ�นระหว่างปี เกิดจากการขายอสังหาริมทรัพ ย์ให้แ ก่ กองทุนฯ และกองทรัสต์ฯ ส่วนกําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ท�ลี ดลงระหว่างปี เกิด จากการที�กองทุนฯ และกองทรัสต์ฯ มีการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลภายนอก และจากการที�บริษทั ฯ มีสดั ส่วนการถือหน่ วยลงทุน ในกองทุนฯ และกองทรัสต์ฯ ลดลง

137

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ที�สาํ คัญมีดงั นี�

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ในระหว่ างปี 2557 การเปลี�ยนแปลงในกํา ไรที�ยงั ไม่เ กิดขึ�นจากการขายอสัง หาริ มทรัพย์ให้บริษทั ร่วม

วันที� 28 ก.พ. 57 27 มี.ค. 57 22-23 ธ.ค. 57

23 ธ.ค. 57

13 มี.ค. 57 7 พ.ค. 57 21, 24 พ.ย. 57

จํานวนที�ดนิ และอาคาร/จํานวน หน่วยลงทุน

รายการที�เกิดขึ�นระหว่างปี 2557 บริษทั ฯ ให้เช่าที�ดินและโรงงานให้แก่ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท บริษทั ฯ ขายที�ดินและโรงงานให้แก่ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน บริษทั ย่อยให้เ ช่าและเช่าช่วงที�ดินและเช่า คลังสินค้า ให้เช่าที�ดินและขายคลังสินค้า และขายที�ดินและคลังสินค้าให้แก่ ทรัสต์ เพือ� การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และ สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน บริษทั ฯ ขายที�ดินและโรงงานให้แก่ทรัสต์ เพือ� การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และ สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน จําหน่ายเงินลงทุนในกองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอนขายที�ดิน และโรงงานทีซ� �อื จากบริษทั ฯ ให้ บุคคลภายนอก จําหน่ายเงินลงทุนในกองทุนรวมสิทธิการ เช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจาก ราคาขาย/ การขายอสังหาริมทรัพย์ ให้เช่า เพิม� ขึ�น (ลดลง) (ล ้านบาท) (ล้านบาท)

2 โรงงาน

455

88

*

1 โรงงาน

84

10

**

25 คลังสินค้า

2,838

42

***

20 โรงงาน

1,390

73 213

****

31 ล้านหน่ว ย

310

(34)

1 โรงงาน

78

(5)

5 ล้านหน่ว ย

47

(2) (41)

*

มูลค่า ยุติธรรมของการให้เช่ า ที�ดินและโรงงานประเมินตามวิธี พิจารณาจากรายได้โดยผูป้ ระเมิน ราคาอิส ระ 2 ราย เป็ นจํา นวน 378 ล้านบาท และ 393 ล ้านบาท ** มูลค่ายุตธิ รรมของที�ดินและโรงงานประเมินตามวิธีพิจารณาจากรายได้โดยผูป้ ระเมินราคาอิสระ 2 ราย เป็ นจํานวน 82 ลา้ นบาท และ 83 ล้านบาท *** มูลค่ายุตธิ รรมของการให้เช่าและเช่าช่วงที�ดนิ และเช่าคลังสินค้า เช่าที�ดิน และขายคลังสินค้า และขายที�ดินและคลังสินค้า ประเมินตามวิธี พิจารณาจากรายได้โดยผู ้ประเมินราคาอิสระ 2 ราย เป็ นจํานวน 2,439 ล้านบาท และ 2,612 ล้านบาท **** มูลค่ายุติธรรมของที�ดินและโรงงานประเมินตามวิธีพจิ ารณาจากรายได้โดยผูประเมิ ้ นราคาอิสระ 2 ราย เป็ นจํานวน 1,270 ลา้ นบาท และ 1,289 ล ้านบาท

138

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

13.4 มูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนในบริษทั ร่วมที�เป็ นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชื�อบริษทั

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท รวม

มูลค่ายุติธรรม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 2556 (ล้านบาท) (ล้านบาท) 2,824 2,906 978 912 1,655 5,457

1,393 5,211

มูลค่ายุติธรรมต่อหน่ วย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 2556 (บาท) (บาท) 10.4 10.7 11.8 11.0 10.9

8.8

13.5 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 หน่ วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริม ทรัพย์ไทคอน 66 ล้านหน่ วย (2556: 66 ลา้ นหน่ วย) ซึ�งมีมูลค่ าตามวิธีส่วนได้เสีย 355 ลา้ นบาท (2556: 370 ล้านบาท) และมีมูลค่ าตามราคาตลาด 692 ล้านบาท (2556: 712 ล้านบาท) ถูกจํานําไว้กบั ธนาคารเพื�อคํา� ประกันเงินกูย้ มื ระยะสัน� และเงิน กูย้ ืมระยะยาว และ หน่ วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์คโลจิสติคส์จาํ นวน 22 ล้านหน่ วย (2556: 22 ล้านหน่ วย) ซึ�งมีมูลค่ า ตามวิธีส่ว นได้เสีย 165 ล้านบาท (2556: 172 ลา้ นบาท) และมีมู ลค่ าตามราคาตลาด 263 ลา้ นบาท (2556: 245 ล้านบาท) ถูกจํานําไว้กบั ธนาคารเพื�อคํา� ประกันรายได้ค่าเช่าและบริการตามที�กล่าวไว้ในหมายเหตุ 34.5 13.6 ในระหว่างปี 2557 มีการเปลีย� นแปลงเกีย� วกับเงินลงทุนในบริษทั ร่วมที�สาํ คัญดังนี� (ก) เมื�อวันที� 11 ธันวาคม 2557 บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ซึ�งเป็ น บริษทั ย่อยได้ลงทุน ในทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริม ทรัพย์และสิทธิการเช่ าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (“กองทรัสต์ฯ”) เป็ นจํานวน 41 ล้านหน่ วย ในราคา 411 ลา้ นบาท โดยเป็ น สัด ส่วนการถือหน่ วยทรัสต์รอ้ ยละ 12 ของหน่ วยทรัสต์ของกองทรัสต์ฯ บริษทั ฯ ถือว่ากองทรัสต์ฯ เป็ นบริษทั ร่ วม เนื� องจากบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีอิทธิพลอย่างมีนยั สําคัญต่อกองทรัสต์ฯ โดยมีผูจ้ ดั การกองทรัสต์เป็ นบริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ จํากัด ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ (ข) เมื�อวัน ที� 9 มกราคม 2558 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้รบั หน่ วยทรัสต์ของกองทรัสต์ฯ เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียน โดยมีทุนจํานวน 343 ล้านหน่ วย คิดเป็ นทุนทัง� สิ�นจํานวน 3,425 ล ้านบาท

139

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ข้อมูลทั่วไป

13.7 ข้อมูลทางการเงินของบริษทั ร่วม ข้อมูลทางการเงินตามที�แสดงอยูใ่ นงบการเงินของบริษทั ร่วมโดยสรุปมีดงั นี� (หน่วย: ล ้านบาท) สินทรัพย์รวม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 2556 12,997 12,990 4,922 4,805

บริษทั กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์ค โลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เ พือ� การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และ สิทธิการเช่าอสัง หาริมทรัพย์ไทคอน

หนี�สินรวม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 2556 350 375 112 121

รายได้รวมสําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 2556 951 1,041 414 469

กําไรสําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 2556 855 1,136 475 399

6,370

5,838

674

260

609

31

531

27

4,507

-

1,074

-

12

-

8

-

14. อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน 14.1 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยูใ่ นระหว่างการพัฒนาและพร้อมให้เช่า/ขาย 14.1.1 การเปลีย� นแปลงของมูลค่าสุทธิตามบัญชี (หน่วย: พันบาท) อสังหาริมทรัพย์เ พือ� การลงทุน ที�อยู่ในระหว่างการพัฒนา ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง ที�ดิน ราคาทุน 1 มกราคม 2556 ซื�อเพิม� จําหน่าย โอนเข้า/โอนออก โอนออกเป็ นสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียนที�ถือไว้เ พือ� ขาย ดอกเบี�ยจ่ายที�ถอื เป็นต้นทุน 31 ธันวาคม 2556 ซื�อเพิม� จําหน่าย โอนเข้า/โอนออก ดอกเบี�ยจ่ายที�ถอื เป็นต้นทุน 31 ธันวาคม 2557

งานระหว่าง ก่อสร้าง

รวม

งบการเงินรวม อสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุน พร้อมให้เช่า/ขาย ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง อาคารโรงงาน ที�ดิน และคลังสินค้า รวม

ยอดรวม

4,087,706 5,195,551 (900,796)

1,308,584 4,359,116 (2,990,928)

5,396,290 9,554,667 (3,891,724)

782,182 148,387

1,868,408 (57,462) 1,269,805

2,650,590 (57,462) 1,418,192

8,046,880 9,554,667 (57,462) (2,473,532)

(154,712) 16,023 8,243,772 3,040,560 (1,183,404) 7,648 10,108,576

(840,310) 37,344 1,873,806 4,782,607 (4,149,045) 101,860 2,609,228

(995,022) 53,367 10,117,578 7,823,167 (5,332,449) 109,508 12,717,804

(15,000) 915,569 (15,552) 252,263 1,152,280

(45,000) 3,035,751 (327,097) 1,128,549 3,837,203

(60,000) 3,951,320 (342,649) 1,380,812 4,989,483

(1,055,022) 53,367 14,068,898 7,823,167 (342,649) (3,951,637) 109,508 17,707,287

140

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

การกำ�กับดูแล กิจการ

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม อสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุน พร้อมให้เ ช่า/ขาย ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง อาคารโรงงาน ที�ดิน และคลังสินค้า รวม

อสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุน ที�อยู่ในระหว่างการพัฒนา ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง ที�ดิน ค่าเสือ� มราคาสะสม 1 มกราคม 2556 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับ ส่ว นที�จาํ หน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2556 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับ ส่ว นที�จาํ หน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2557 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2556

งานระหว่าง ก่อสร้าง

รวม

ยอดรวม

-

-

-

-

241,603 125,221

241,603 125,221

241,603 125,221

-

-

-

-

(3,624) (20,900) 342,300 192,436

(3,624) (20,900) 342,300 192,436

(3,624) (20,900) 342,300 192,436

-

-

-

-

(13,124) 5,929 527,541

(13,124) 5,929 527,541

(13,124) 5,929 527,541

4,087,706

1,308,584

5,396,290

782,182

1,626,805

2,408,987

7,805,277

31 ธันวาคม 2556

8,243,772

1,873,806

10,117,578

915,569

2,693,451

3,609,020

13,726,598

31 ธันวาคม 2557

10,108,576

2,609,228

12,717,804

1,152,280

3,309,662

4,461,942

17,179,746

ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในค่าใช้จา่ ยในการบริหาร) 2556

125,221

2557

192,436 (หน่วย: พันบาท)

ราคาทุน 1 มกราคม 2556 ซื�อเพิม� จําหน่าย โอนเข้า/โอนออก โอนออกเป็ นสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียนที�ถือไว้เ พือ� ขาย ดอกเบี�ยจ่ายที�ถอื เป็นต้นทุน 31 ธันวาคม 2556 ซื�อเพิม� จําหน่าย

อสังหาริมทรัพย์เ พือ� การลงทุน ที�อยู่ในระหว่างการพัฒนา ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง งานระหว่าง ที�ดิน ก่อสร้าง รวม 1,129,964 344,769 (374,191)

(118,712) 16,023 997,853 1,362,197 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ อสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุน พร้อมให้เ ช่า/ขาย ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง อาคาร ที�ดิน โรงงาน รวม

438,380

1,568,344

823,346 -

1,168,115 -

(785,197)

(1,159,388)

(229,310) 28,794 276,013 843,015 -

(348,022) 44,817 1,273,866 2,205,212 -

ยอดรวม

483,739 -

881,392 -

1,365,131 -

2,933,475 1,168,115

(17,685)

(57,462) 104,301

(57,462) 86,616

(57,462) (1,072,772)

466,054 (9,414)

928,231 (10,820)

1,394,285 (20,234)

(348,022) 44,817 2,668,151 2,205,212 (20,234)

141

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

(หน่วย: พันบาท)

โอนเข้า/โอนออก ดอกเบี�ยจ่ายที�ถอื เป็นต้นทุน 31 ธันวาคม 2557 ค่าเสือ� มราคาสะสม 1 มกราคม 2556 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับ ส่ว นที�จาํ หน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2556 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับ ส่ว นที�จาํ หน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2557 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ อสังหาริมทรัพย์เ พือ� การลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุน ที�อยู่ในระหว่างการพัฒนา พร้อมให้เ ช่า/ขาย ที�ดินและ ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง งานระหว่าง ส่วนปรับปรุง อาคาร ที�ดิน ก่อสร้าง รวม ที�ดิน โรงงาน รวม (209,792) (536,287) (746,079) 184,917 439,928 624,845 7,648 44,257 51,905 2,157,906 626,998 2,784,904 641,557 1,357,339 1,998,896

ยอดรวม (121,234) 51,905 4,783,800

-

-

-

-

216,243 46,417

216,243 46,417

216,243 46,417

-

-

-

-

(3,624) (22,657) 236,379 55,798 (6,700)

(3,624) (22,657) 236,379 55,798 (6,700)

(3,624) (22,657) 236,379 55,798 (6,700)

-

-

-

-

35,382 320,859

35,382 320,859

35,382 320,859

1,129,964

438,380

1,568,344

483,739

665,149

1,148,888

2,717,232

31 ธันวาคม 2556

997,853

276,013

1,273,866

466,054

691,852

1,157,906

2,431,772

31 ธันวาคม 2557

2,157,906

626,998

2,784,904

641,557

1,036,480

1,678,037

4,462,941

ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในค่าใช้จา่ ยในการบริหาร) 2556 2557

46,417 55,798

14.1.2 มูลค่ายุตธิ รรมของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน

ทีด� นิ และส่วนปรับปรุงที�ดนิ ที�อยูใ่ นระหว่างการ พัฒนา ทีด� นิ และส่วนปรับปรุงที�ดนิ พร้อมอาคาร โรงงานและคลังสินค้าพร้อมให้เช่า

งบการเงินรวม 2557 2556

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

10,326,387

8,924,067

2,332,795

1,165,993

6,916,978

6,111,801

5,383,922

2,845,628

ในปี 2557 และ 2556 มูลค่ายุตธิ รรมใช้ราคาประเมินโดยผู ป้ ระเมิน ราคาอิสระของบริษทั ฯ และ บริษทั ย่อย 2 แห่ง ทัง� นี�การประเมินมูลค่ ายุติธรรมดังกล่าวจะใช้เกณฑ์ร าคาตลาดสํา หรับที�ดินรอการพัฒนาและ/หรือ ที�ดิ นอยู่ร ะหว่า งการพัฒนา และใช้เ กณฑ์ว ิธีพ ิจารณาจากรายได้ (Income Approach) สําหรับ อาคารโรงงานและ คลังสินค้าพร้อมให้เช่า/ขาย ข้อสมมติฐานหลักที�ใช้ในการประเมินราคาอาคารโรงงานและคลังสินค้าดังกล่าวประกอบด้วย อัตราผลตอบแทน อัตราพื�นที�ว่าง และอัตราการเติบโตระยะยาวของค่าเช่า อย่างไรก็ตาม มูลค่ ายุติธรรมดังกล่าวไม่รวม

142

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

งานระหว่างก่อสร้างซึ�งมีมู ลค่ าตามบัญชีจาํ นวน 2,609 ล้านบาท (2556: 1,873 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 627 ล้านบาท 2556: 276 ล้านบาท) 14.1.3 รายจ่ายทางการเงินที�บนั ทึกเป็ นอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยูใ่ นระหว่างการพัฒนา (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

งบการเงินรวม 2557 2556 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนทีอ� ยูใ่ นระหว่างการ พัฒนา ดอกเบีย� จ่ายจากเงินกูย้ มื สถาบัน การเงินและหุน้ กูท้ ถ�ี อื เป็ นต้นทุนสินทรัพย์ อัตราการตัง� ขึ�นเป็ นทุน (ร้อยละ)

12,717,804

10,117,578

2,784,904

1,273,866

109,508 4.28

53,367 4.21

51,905 4.26

44,817 4.18

14.1.4 ภาระคํา� ประกันของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและอสังหาริม ทรัพย์ เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขาย ณ วัน ที� 31 ธัน วาคม 2557 อสัง หาริ ม ทรัพ ย์เ พื� อ การลงทุ น ในระหว่ า งการพัฒ นาและ อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขายของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยซึ�งมีร าคาตามบัญชีจาํ นวน 5,520 ล้านบาท (2556: 4,676 ล้า นบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 1,092 ล้านบาท 2556: 1,682 ล้านบาท) ใช้เ ป็ น หลักประกัน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูยื้ มระยะสัน� และเงินกูยื้ มระยะยาวจากสถาบัน การเงิน 14.2 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให ้เช่า 14.2.1 การเปลีย� นแปลงของมูลค่าสุทธิตามบัญชี (หน่วย: พันบาท) ทีด� นิ และ ส่วนปรับปรุงที�ดนิ ราคาทุน 1 มกราคม 2556 จําหน่าย โอนเข ้า/โอนออก โอนออกเป็ นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ทีถ� อื ไว้เพือ� ขาย 31 ธันวาคม 2556 จําหน่าย โอนเข ้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2557

งบการเงินรวม อาคารโรงงาน และคลังสินค้า

รวม

1,753,529 (20,007) 698,045

4,924,948 (3,012,401) 1,508,231

6,678,477 (3,032,408) 2,206,276

(327,288) 2,104,279 (90,223) 817,627 2,831,683

(1,464,655) 1,956,123 (897,401) 3,610,166 4,668,888

(1,791,943) 4,060,402 (987,624) 4,427,793 7,500,571

143

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ทีด� นิ และ ส่วนปรับปรุงที�ดนิ ค่าเสื�อมราคาสะสม 1 มกราคม 2556 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับส่วนทีจ� าํ หน่าย โอนเข ้า/โอนออก โอนออกเป็ นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถ� อื ไว้ เพื�อขาย 31 ธันวาคม 2556 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี โอนเข ้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2557 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2556 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2557

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

งบการเงินรวม อาคารโรงงาน และคลังสินค้า

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

(หน่วย: พันบาท)

รวม

-

795,426 196,939 (320,146) 16,530

795,426 196,939 (320,146) 16,530

-

(163,000) 525,749 175,129 65,125 766,003

(163,000) 525,749 175,129 65,125 766,003

1,753,529 2,104,278

4,129,522 1,403,375

5,883,051 3,534,653

2,831,683

3,902,885

6,734,568

ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในต้นทุนเช่าและบริการที�เกี�ยวข้อง) 2556 2557

196,939 175,129 (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

ทีด� นิ และ ส่วนปรับปรุงที�ดนิ ราคาทุน 1 มกราคม 2556 จําหน่าย โอนเข ้า/โอนออก โอนออกเป็ นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ทีถ� อื ไว้เพือ� ขาย 31 ธันวาคม 2556 จําหน่าย โอนเข ้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2557

อาคารโรงงาน

รวม

1,079,617 (20,007) 366,751

1,939,547 (946,962) 660,846

3,019,164 (966,969) 1,027,597

(137,288) 1,289,073 (17,279) 8,227 1,280,021

(318,655) 1,334,776 (106,302) 31,731 1,260,205

(455,943) 2,623,849 (123,581) 39,958 2,540,226

144

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

งบการเงินรวม อาคารโรงงาน และคลังสินค้า

ทีด� นิ และ ส่วนปรับปรุงที�ดนิ ค่าเสื�อมราคาสะสม 1 มกราคม 2556 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับส่วนทีจ� าํ หน่าย โอนเข ้า/โอนออก โอนออกเป็ นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ทีถ� อื ไว้เพือ� ขาย 31 ธันวาคม 2556 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับส่วนทีจ� าํ หน่าย โอนเข ้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2557 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2556 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2557

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(หน่วย: พันบาท)

รวม

-

483,555 89,806 (108,537) 22,657

483,555 89,806 (108,537) 22,657

-

(53,000) 434,481 67,564 (9,966) (35,381) 456,698

(53,000) 434,481 67,564 (9,966) (35,381) 456,698

1,079,617

1,455,992

2,535,609

1,289,073 1,280,021

900,295 803,507

2,189,368 2,083,528

ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในต้นทุนเช่าและบริการที�เกี�ยวข้อง) 2556

89,806

2557

67,564

14.2.2 มูลค่ายุตธิ รรมของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ทีด� นิ และส่วนปรับปรุงทีด� นิ พร้อม อาคารโรงงานและคลังสินค้าให้เช่า

2557

2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

8,348,743

9,210,799

3,405,696

5,302,713

ในปี 2557 และ 2556 มูลค่ายุตธิ รรมใช้ราคาประเมินโดยผู ป้ ระเมิน ราคาอิสระของบริษทั ฯ และ บริษทั ย่อย 2 แห่ง ทัง� นี�การประเมินมูลค่ ายุติธรรมดังกล่าวจะใช้เ กณฑ์ร าคาตลาดสําหรับที�ดินรอการพัฒนาและ/หรือ ที�ดิ นอยู่ร ะหว่ างการพัฒนา และใช้เ กณฑ์ว ิธีพิจารณาจากรายได้ (Income Approach) สํา หรับอาคารโรงงานและ คลังสินค้าพร้อมให้เช่า/ขาย ข้อสมมติฐานหลักที�ใช้ในการประเมินราคาอาคารโรงงานและคลังสินค้าดังกล่าวประกอบด้วย อัตราผลตอบแทน อัตราพื�นที�ว่าง และอัตราการเติบโตระยะยาวของค่าเช่า

145

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

14.2.3 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าตามสัญญาเช่าดําเนินงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีสญั ญาเช่าดําเนิน งานที�เกี�ยวข้องกับการให้เช่าที�ดิ น อาคารโรงงานและ คลังสินค้า อายุของสัญญามีระยะเวลาตัง� แต่ 6 เดือนถึง 12 ปี โดยอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�ให้เช่า ตามสัญญาเช่ า ดําเนินงานดังกล่าว ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 จะก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าขัน� ตํา� ในอนาคตดังนี� งบการเงินรวม 2557 2556 361 407

ภายใน 1 ปี

(หน่ วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 178 237

14.2.4 ภาระคํา� ประกันของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยซึ�งมี ราคาตามบัญชี จาํ นวน 2,297 ล้านบาท (2556: 2,302 ล้า นบาท) (งบการเงิน เฉพาะกิจการ: 626 ล้า นบาท 2556: 979 ล้านบาท) ได้ใช้เป็ นหลักประกันเงินเบิกเกินบัญชี เงินกูยื้ มระยะสัน� และเงินกูยื้ มระยะยาวจากสถาบัน การเงิน

15. ที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์

ราคาทุน 1 มกราคม 2556 ซื�อเพิ�ม จําหน่ าย โอนเขา้ /โอนออก ผลต่างจากการ แปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2556 ซื�อเพิ�ม จําหน่ าย โอนเขา้ /โอนออก ผลต่างจากการ แปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2557

ที�ดนิ และส่วน ปรับปรุงที�ดิน

งบการเงินรวม เครื�องตกแต่ง เครื�องมือ ติดตัง� และ และเครื�องใช้ อุปกรณ์

อาคาร

(หน่วย: พันบาท)

ยานพาหนะ

รวม

776,652 203,278

88,757 64,851

89,158 10,858 (15,511) 1,603

48,985 9,141 (1,465) 588

22,046 2,401 (3,185) -

1,025,598 22,400 (20,161) 270,320

979,930 503,204

3,791 157,399 191 30,581

86,108 5,037 (682) 13,976

128 57,377 5,015 (1,081) -

252 21,514 8,169 -

4,171 1,302,328 18,412 (1,763) 547,761

1,483,134

(839) 187,332

104,439

(31) 61,280

(17) 29,666

(887) 1,865,851

146

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

ค่าเสื�อมราคาสะสม 1 มกราคม 2556 ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี ค่าเสือ� มราคาสําหรับ ส่วนทีจ� าํ หน่ าย โอนเขา้ /โอนออก ผลต่างจากการ แปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2556 ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี ค่าเสือ� มราคาสําหรับ ส่วนทีจ� าํ หน่ าย โอนเขา้ /โอนออก ผลต่างจากการ แปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2557 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2556 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2557

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

การกำ�กับดูแล กิจการ

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงินรวม เครื�องตกแต่ง เครื�องมือ ติดตัง� และ และเครื�องใช้ อุปกรณ์

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(หน่วย: พันบาท)

ที�ดนิ และส่วน ปรับปรุงที�ดิน

อาคาร

56,542 28,368

9,815 5,958

46,569 6,084

33,560 6,220

13,096 2,531

159,582 49,161

2,603

520

(5,824) 5,058

(1,380) -

(2,675) -

(9,879) 8,181

87,513 36,708

252 16,545 8,775

51,887 7,313

42 38,442 7,596

86 13,038 2,918

380 207,425 63,310

(664)

(14)

(565) 3,910

(925) -

-

(1,490) 3,232

123,557

(55) 25,251

62,545

(12) 45,101

(12) 15,944

(79) 272,398

720,110 892,417 1,359,577

78,942 140,854 162,081

42,589 34,221 41,894

15,425 18,935 16,179

8,950 8,476 13,722

866,016 1,094,903 1,593,453

ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในค่าใช้จา่ ยในการบริหาร) 2556 2557

ยานพาหนะ

รวม

49,161 63,310

147

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

(หน่วย: พันบาท) ที�ดินและส่วน ปรับปรุงที�ดิน ราคาทุน 1 มกราคม 2556 ซื�อเพิ�ม จําหน่ าย/ตัดจําหน่ าย โอนเขา้ /โอนออก 31 ธันวาคม 2556 ซื�อเพิ�ม จําหน่ าย/ตัดจําหน่ าย โอนเขา้ /โอนออก 31 ธันวาคม 2557 ค่าเสื�อมราคาสะสม 1 มกราคม 2556 ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี ค่าเสือ� มราคาสําหรับส่วน ที�จาํ หน่าย/ตัดจําหน่ าย โอนเขา้ /โอนออก 31 ธันวาคม 2556 ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี ค่าเสือ� มราคาสําหรับส่วน ที�จาํ หน่ าย/ตัดจําหน่าย โอนเขา้ /โอนออก 31 ธันวาคม 2557 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื�องตกแต่ง เครื�องมือ ติดตัง� และ และเครื�องใช้ อุปกรณ์

ยานพาหนะ

รวม

12,950 47,290 60,240 31,939 92,179

25,611 6,618 (1,763) 30,466 3,853 (486) 33,833

29,908 5,400 (783) 34,525 2,888 (1,027) 504 36,890

17,580 2,401 (1,970) 18,011 4,413 22,424

86,049 14,419 (4,516) 47,290 143,242 11,154 (1,513) 32,443 185,326

174 1,026

20,043 -

23,441 2,869

11,285 2,100

54,943 5,995

1,200 1,684

(1,723) 2,115 20,435 -

(712) 25,598 4,196

(1,460) 11,925 2,029

(3,895) 2,115 59,158 7,909

2,884

(369) 3,038 23,104

(875) 28,919

13,954

(1,244) 3,038 68,861

12,776

5,568

6,467

6,295

31,106

31 ธันวาคม 2556

59,040

10,031

8,927

6,086

84,084

31 ธันวาคม 2557

89,295

10,729

7,971

8,470

116,465

ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในค่าใช้จา่ ยในการบริหาร) 2556

5,995

2557

7,909

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ย่อยมียอดคงเหลือของยานพาหนะซึ�งได้มาภายใต้สญั ญาเช่าทางการเงิน โดยมี มูลค่าสุทธิตามบัญชีเป็ นจํานวนเงิน 3 ล้านบาท

148

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีอุปกรณ์จาํ นวนหนึ�งซึ�งตัด ค่ าเสื�อมราคาหมดแล ้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ มูลค่ าตามบัญชีก่อนหักค่าเสือ� มราคาสะสมของทรัพย์สนิ ดังกล่าวมีจาํ นวน 74 ล้านบาท (2556: 67 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 46 ล้านบาท 2556: 45 ล้านบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 ที�ดิน ส่วนปรับปรุงที�ดินและอาคารของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ซึ�งมีราคาตามบัญชี จํานวน 575 ล้านบาท (2556: 462 ลา้ นบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 46 ล้านบาท 2556: 23 ล้านบาท) ได้ใช้เป็ น หลักประกันเงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ มื ระยะสัน� และเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

16. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ งบการเงินรวม ราคาทุน ณ วันที� 1 มกราคม 2556 ซื�อเพิ�มระหว่างปี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 ซื�อเพิ�มระหว่างปี จําหน่าย/ตัดจําหน่ายระหว่างปี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 ค่าตัดจําหน่ ายสะสม ณ วันที� 1 มกราคม 2556 ค่าตัดจําหน่ ายระหว่างปี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 ค่าตัดจําหน่ ายระหว่างปี จําหน่าย/ตัดจําหน่ายระหว่างปี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที� 1 มกราคม 2556 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557

(หน่ วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

23,761 4,931 28,692 1,791 (15) 30,468

19,903 3,092 22,995 1,737 (15) 24,717

18,130 5,173 23,303 1,994 (5) 25,292

15,003 4,491 19,494 1,655 (5) 21,144

5,631 5,389 5,176

4,900 3,501 3,573

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์จาํ นวนหนึ�งซึ�งตัดค่ าตัดจําหน่ าย หมดแล ้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ มู ลค่ าตามบัญ ชี ก่อนหักค่ า ตัด จํา หน่ า ยสะสมของทรัพย์สิน ดังกล่าวมีจาํ นวน 22 ล้านบาท (2556: 20 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 19 ล้านบาท 2556: 18 ล้านบาท)

149

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

17. เงินกูย้ ืมระยะสัน�

เงินกูย้ ืมระยะสัน�

อัตราดอกเบี�ย (ร้อยละต่อปี ) 2.47 - 3.06

งบการเงินรวม 2557 2556 2,108,000 660,000

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 660,000 2,108,000

ณ วัน ที� 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ฯ มีวงเงิน เบิกเกิน บัญชีและเงิน กูย้ ืมระยะสัน� ที�ยงั มิได้เบิกใช้เป็ น จํานวน 755 ล้านบาท (2556: 1,055 ล้านบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและพร้อมให้เช่ า/ขายและ อสังหาริมทรัพ ย์เพื�อการลงทุนให้เช่าของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยซึ�งมีร าคาตามบัญชีรวม 187 ลา้ นบาท (2556: 746 ล้านบาท) และหน่ วยลงทุนในกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอนบางส่วน ซึ�งมีมูลค่ าตามวิธีส่วนได้เสีย 354 ล้านบาท (2556: 370 ล้านบาท) และมีมูลค่ า ตามราคาตลาด 692 ลา้ นบาท (2556: 712 ล้านบาท) ถูกจดจํานองหรือจํานํา เป็ นประกันหนี�สนิ ภายใต้สญั ญา ทรัสต์รีซที ส์ วงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน� จากสถาบันการเงิน

18. เจ้าหนี� การค้าและเจ้าหนี� อื�น

เจ้าหนี�การค้า - กิจการทีไ� ม่เกี�ยวข้องกัน เจ้าหนี�อ�นื - กิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน ดอกเบี�ยค้างจ่ายแก่กจิ การทีเ� กี�ยวขอ้ งกัน ดอกเบี�ยค้างจ่ายแก่กจิ การทีไ� ม่เกี�ยวข้องกัน ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย - กิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย - กิจการทีไ� ม่เกี�ยวขอ้ งกัน รวมเจ ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อ�นื

งบการเงินรวม 2557 2556 405,112 554,073 7,867 3,288 87 85 171,409 120,649 214 76,279 87,313 660,754 765,622

150

รายงานประจ�ำปี 2557

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 100,340 136,779 2,412 5,427 171,281 120,246 214 55,274 48,488 329,307 311,154

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

การกำ�กับดูแล กิจการ

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

19. หนี� สินตามสัญญาเช่าการเงิน (หน่ วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2557 3,850 (632) 3,218 (686)

หนี�สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน หัก : ดอกเบี�ยรอตัดจําหน่าย รวม หัก : ส่วนที�ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี หนี�สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน-สุทธิจากส่วนที�ถงึ กําหนดชําระ ภายในหนึ�งปี

2,532

บริษทั ย่ อยได้ทาํ สัญญาเช่ าการเงินกับบริษทั ลีส ซิ�งเพื�อเช่ ายานพาหนะใช้ในการดําเนินงานของกิจการ โดยมี กําหนดการชําระค่ าเช่าเป็ นรายเดือน อายุของสัญญามีระยะเวลา 4 ปี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ฯ มีภาระผู กพันที�จะตอ้ งจ่ายค่าเช่าขัน� ตํา� ตามสัญญาเช่าการเงินดังนี� (หน่วย: พันบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 ไม่เกิน 1 ปี มากกว่า 1 ถึง 5 ปี รวม

ผลรวมของจํา นวนเงินขัน� ตํา� ที�ตอ้ งจ่ายทัง� สิ�นตาม สัญญาเช่าการเงิน ดอกเบี�ยตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี มูลค่าปัจจุบนั ของจํานวนเงินขัน� ตํา� ทีต� อ้ งจ่ายทัง� สิ�นตาม สัญญาเช่าการเงิน

871 (185)

2,979 (447)

3,850 (632)

686

2,532

3,218

20. เงินกูย้ ืมระยะยาว 20.1 ยอดคงเหลือของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

(หน่วย: ล ้านบาท)

เงินกูย้ มื คงเหลือ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ลําดับที� วันทีท� าํ สัญญา 1. 2 กรกฎาคม 2555 2. 29 สิง หาคม 2555 3. 5 กันยายน 2555 4. 30 ตุลาคม 2555 5. 22 พฤศจิกายน 2555 6. 29 พฤศจิกายน 2556 รวมเงินกูย้ มื หัก ส่วนทีถ� ึงกําหนดชําระ ภายในหนึ�งปี รวมเงินกูย้ มื ระยะยาว – สุทธิ

2557 182 500 319 6 1,007 (55) 952

2556 74 108 300 603 164 5 1,254

2557 182 319 6 507

(45) 1,209

(55) 452

2556 74 108 164 5 351

เงือ� นไขทีส� าํ คัญของสัญญาเงินกูย้ มื ระยะเวลา เงินกู ้ 8 ปี 7 ปี 9 ปี 10 ปี 8 ปี 9 ปี

งวดชําระคืน เงินต้น ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน

(45) 306

151

รายงานประจ�ำปี 2557

ระยะเวลาชําระคืนเงินต้น ธันวาคม 2556 - ธันวาคม 2562 มิถนุ ายน 2558 - ธันวาคม 2562 กันยายน 2558 - กันยายน 2564 มกราคม 2559 - กรกฎาคม 2565 มิถนุ ายน 2559 - ธันวาคม 2563 มิถนุ ายน 2560 - ธันวาคม 2565

อัตราดอกเบี�ย MLR ต่อ ปีลบอัตราคงที� MLR ต่อ ปีลบอัตราคงที� MLR ต่อ ปีลบอัตราคงที� MLR ต่อ ปีลบอัตราคงที� MLR ต่อ ปีลบอัตราคงที� MLR ต่อ ปีลบอัตราคงที�


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

20.2 การเปลีย� นแปลงของเงินกูยื้ มระยะยาวจากสถาบันการเงิน (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 1,253,867 791,774 (1,038,257) 1,007,384

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 บวก: กูเ้ พิ�มระหว่างปี หัก: จ่ายคืนระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557

งบการเงินเฉพาะกิจการ 351,245 491,774 (336,517) 506,502

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยแห่งหนึ� งมีวงเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที�ยงั มิได้เบิกใช้เป็ นจํานวนรวมประมาณ 4,074 ล้านบาท (2556: 4,866 ล้านบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยูใ่ นระหว่างการพัฒนาและพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และที�ดินและอาคารของบริษทั ย่อยแห่ งหนึ� ง ซึ�งมีราคา ตามบัญชีรวม 5,004 ล้านบาท (2556: 5,750 ล้านบาท) ถูกจดจํานองเป็ นประกันเงินกูย้ มื ระยะยาว นอกจากนี� ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ฯ มีภาระคํา� ประกันวงเงินสินเชื�อจากสถาบันการเงิน ของบริษทั ย่อยในวงเงิน 4,067 ล้านบาท (2556: 4,067 ล้านบาท) ภายใต้สญั ญาเงินกู ้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยต้องปฏิบตั ติ ามเงือ� นไขทางการเงินบางประการ เช่น การดํารง อัตราส่วนหนี�สนิ ต่อส่วนของผู ถ้ อื หุน้ ในอัตราที�กาํ หนดไว้ในสัญญา เป็ นต้น

21. หุน้ กู ้ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ฯ มียอดคงเหลือของหุน้ กูร้ วม 14,810 ล้านบาท (2556: 11,610 ล้านบาท) โดยหุน้ กูท้ งั� จํานวนเป็ นหุน้ กูช้ นิดระบุช�อื ผู ถ้ อื ประเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ และไม่มีหลักประกัน มีมูลค่ าที�ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท และมีราคาเสนอขายหน่ วยละ 1,000 บาท ทัง� นี� หุน้ กูด้ งั กล่าวมีข อ้ กํา หนดที�สาํ คัญบางประการ เช่ น การดํารง อัตราส่วนหนี�สนิ ต่อส่วนของผู ถ้ อื หุน้ เป็ นต้น โดยรายละเอียดที�สาํ คัญของหุน้ กูมี้ ดงั นี�

152

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

วันครบกําหนด ครัง� ที�

วันที�ออก

จํานวนหน่วย

1/2553 3/2553 4/2553 4/2553 1/2554 2/2554 3/2554 4/2554 1/2555 2/2555 3/2555 4/2555 5/2555 5/2555 6/2555 1/2556 2/2556 2/2556 2/2556 3/2556 3/2556 4/2556

12 กุมภาพันธ์ 2553 3 กันยายน 2553 29 กันยายน 2553 29 กันยายน 2553 20 พฤษภาคม 2554 8 กรกฎาคม 2554 28 ธันวาคม 2554 30 ธันวาคม 2554 10 มกราคม 2555 20 มกราคม 2555 18 พฤษภาคม 2555 5 กรกฎาคม 2555 17 สิงหาคม 2555 17 สิงหาคม 2555 26 กันยายน 2555 11กุมภาพันธ์ 2556 15 พฤษภาคม 2556 15 พฤษภาคม 2556 15 พฤษภาคม 2556 12 กันยายน 2556 12 กันยายน 2556 8 ตุลาคม 2556

2557 2556 (ล ้านหน่วย) (ล ้านหน่วย) 0.25 0.25 0.20 0.20 0.28 0.22 0.22 0.65 0.65 0.35 0.35 0.65 0.65 0.35 0.35 0.10 0.10 0.80 0.80 0.80 0.50 0.50 0.70 0.70 0.30 0.30 1.00 1.00 0.50 0.50 0.30 0.30 1.20 1.20 0.50 0.50 0.60 0.60 0.30 0.30 0.44 0.44

5/2556 1/2557 1/2557 2/2557 2/2557 3/2557 4/2557

18 ตุลาคม 2556 17 มกราคม 2557 17 มกราคม 2557 18 กรกฎาคม 2557 18 กรกฎาคม 2557 21 กรกฎาคม 2557 3 ธันวาคม 2557

0.62 1.00 0.60 1.15 0.80 0.53 0.20 14.81

จํานวน

อัตราดอกเบี�ย

2557 (ล ้านบาท) 250 200 220 650 350 650 350 100 800 500 700 300 1,000 500 300 1,200 500 600 300 440

2556 (ล ้านบาท) 250 200 280 220 650 350 650 350 100 800 800 500 700 300 1,000 500 300 1,200 500 600 300 440

620 1,000 600 1,150 800 530 200 14,810

620 11,610

0.62 11.61

อายุหนุ ้ กู ้

(ร้อยละต่อปี) 4.280% 5 ปี 3.730% 5 ปี 3.400% 4 ปี 3.520% 5 ปี 4.230% 5 ปี 4.780% 7 ปี 4.500% 5 ปี 4.500% 5 ปี 4.500% 5 ปี 4.000% 2 ปี 4.280% 3 ปี 4.490% 5 ปี 4.050% 3 ปี 4.170% 5 ปี 4.800% 10 ปี 3.620% 3 ปี 3.600% 3 ปี 4.000% 5 ปี 4.300% 7 ปี 4.130% 3 ปี 4.730% 5 ปี 4.490% 3 ปี 11 เดือน 12 วัน 4.850% 6 ปี 3.890% 3 ปี 4.710% 5 ปี 3.820% 3 ปี 4.800% 7 ปี 3.820% 3 ปี 4 วัน 2.900% 2 ปี 4 วัน

ไถ่ถอน

12 กุมภาพันธ์ 2558 3 กันยายน 2558 29 กันยายน 2557 29 กันยายน 2558 20 พฤษภาคม 2559 8 กรกฎาคม 2561 28 ธันวาคม 2559 30 ธันวาคม 2559 10 มกราคม 2560 20 มกราคม 2557 18 พฤษภาคม 2558 5 กรกฎาคม 2560 17 สิงหาคม 2558 17 สิงหาคม 2560 26 กันยายน 2565 11 กุมภาพันธ์ 2559 15 พฤษภาคม 2559 15 พฤษภาคม 2561 15 พฤษภาคม 2563 12 กันยายน 2559 12 กันยายน 2561 20 กันยายน 2560 18 ตุลาคม 2562 17 มกราคม 2560 17 มกราคม 2562 18 กรกฎาคม 2560 18 กรกฎาคม 2564 25 กรกฎาคม 2560 7 ธันวาคม 2559

21.1 ยอดคงเหลือของหุน้ กู ้ (หน่ วย:พันบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 14,810,000 11,610,000 (2,170,000) (1,080,000) 12,640,000 10,530,000

หุน้ กู ้ หัก: หุน้ กูท้ �ถี งึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี หุน้ กู ้ - สุทธิจากส่วนที�ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี

153

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

21.2 การเปลีย� นแปลงของหุน้ กู ้ (หน่ วย: พันบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 11,610,000 9,500,000 4,280,000 4,460,000 (1,080,000) (2,350,000) 14,810,000 11,610,000

ยอดคงเหลือต้นปี บวก: ออกเพิ�มระหว่างปี หัก: ไถ่ถอนระหว่างปี ยอดคงเหลือปลายปี

22. สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ดังนี�

จํานวนเงินสํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึ�งเป็ น เงินชดเชยให้แก่พนักงานเมื�อออกจากงานแสดงได้

ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ตน้ ปี ต้นทุนบริการในปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี�ย ผลประโยชน์ท�จี ่ายในระหว่างปี ขาดทุน จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ปลายปี

งบการเงินรวม 2557 2556 25,345 21,573 2,365 2,541 775 859 (80) (80)

(หน่ วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 22,351 18,328 1,649 2,028 662 766 (80) (80)

28,405

24,582

452 25,345

1,309 22,351

ค่าใช้จ่ายเกีย� วกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรวมอยูใ่ นส่วนของกําไรหรือขาดทุนแสดงได้ดงั นี�

ต้นทุนบริการในปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี�ย รวมค่าใช้จ่ายที�รบั รูใ้ นส่วนของกําไรหรือขาดทุน ค่าใช้จ่ายดังกล่าวรับรู ้ในรายการต่อไปนี�ในส่วนของกําไร หรือขาดทุน ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

(หน่ วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 2,365 2,541 1,649 2,028 775 859 662 766 3,140 3,400 2,311 2,794 3,140

154

รายงานประจ�ำปี 2557

3,400

2,311

2,794

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 จํานวนสะสมของผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยซึ�งรับรูใ้ นกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� มีจาํ นวน 0.5 ล้านบาท (เฉพาะบริษทั ฯ: 1.3 ล้านบาท) สมมติฐานที�สาํ คัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันประเมินสรุปได้ดงั นี� งบการเงินรวม

อัตราคิดลด อัตราการขึ�นเงินเดือนในอนาคต อัตราการเปลีย� นแปลงในจํานวน พนักงาน (ขึ�นกับช่วงอายุ) - สํานักงานใหญ่ - หน่วยงานก่อสร้าง

2557 (ร้อยละต่อปี ) 3.9 4.0 - 5.0

2556 (ร้อยละต่อปี ) 3.9 4.0 - 14.0

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ร้อยละต่อปี ) (ร้อยละต่อปี ) 3.9 3.9 4.0 - 5.0 4.0 - 14.0

0.0 - 18.0 35.0 - 50.0

0.0 - 18.0 36.0 - 50.0

0.0 - 18.0 35.0 - 50.0

0.0 - 18.0 35.0 - 50.0

จํานวนเงินภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์และจํานวนภาระผูกพันที�ถกู ปรับปรุ งจากผลของประสบการณ์ สําหรับปี ปจั จุบนั และสี�ปียอ้ นหลังแสดงได้ดงั นี�

ปี 2557 ปี 2556 ปี 2555 ปี 2554 ปี 2553

จํานวนภาระผู กพันตามโครงการ ผลประโยชน์ งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ 28,405 24,582 25,345 22,351 21,573 18,328 18,934 16,167 16,400 14,081

(หน่ วย: พันบาท) จํานวนภาระผูกพันที�ถกู ปรับปรุงจาก ผลของประสบการณ์ งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ (553) 516 -

23. ทุนเรือนหุน้ 23.1 ทุนจดทะเบียน การเปลีย� นแปลงในทุนจดทะเบียนระหว่างปี 2557 สรุปได้ดงั นี� เมื�อวันที� 22 เมษายน 2557 ที�ประชุมสามัญผู ถ้ อื หุน้ ประจําปี 2557 ได้มีมติดงั ต่อไปนี� ก) อนุ ม ตั ิการลดทุน จดทะเบียนจาก 1,263.7 ล้านบาท เป็ น 932.7 ล้านบาท โดยยกเลิกหุน้ สามัญ ที�ยงั มิได้ออกจํานวน 331 ล้านหุน้ มูลค่าที�ตราไว้หนุ ้ ละ 1 บาท รวม 331 ล้านบาท

155

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ข) อนุมตั ิการเพิ�มทุนจดทะเบียนจาก 932.7 ล้านบาท เป็ น 1,115.9 ล้านบาท โดยการออกหุน้ สามัญ จํานวนรวม 183.2 ล้านหุน้ มูลค่าที�ตราไว้หนุ ้ ละ 1 บาท ทัง� นี�เพื�อจัดสรรไว้สาํ หรับการใช้สทิ ธิของ TSRs 23.2 รายการกระทบยอดทุนที�ออกและชําระแล้ว รายการ หุน้ สามัญทีอ� อกและชําระแล้ว ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 การใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิซ� อื หุน้ สามัญ ครัง� ที� 4/2555 TICON-W6 ครัง� ที� 1/2556 TICON-W3 ครัง� ที� 1/2556 TICON-W6 ครัง� ที� 2/2556 TICON-W6 ครัง� ที� 3/2556 TICON-W3 ครัง� ที� 3/2556 TICON-W6 ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 ครัง� ที� 1/2557 TICON-W3 TICON-W6 ครัง� ที� 2/2557 TICON-T2 TICON-W6 ครัง� ที� 3/2557 TICON-W6 การเสนอขายหุน้ ให้บุคคลในวงจํากัด (Private placement) ยอดคงเหลือ ณวันที� 31 ธันวาคม 2557

ส่วนเกิน มูลค่าหุน้ (พันบาท)

วันทีจ� ดทะเบียนกับ กระทรวงพาณิชย์

จํานวนหุน้ (พันหุน้ )

ทุนชําระแล้ว (พันบาท)

877,470

877,470

7,316

7,316

49,525 4 มกราคม 2556

4,958

4,958

88,473 4 เมษายน 2556

22,366

22,366

151,392 4 เมษายน 2556

170

170

1,152 5 กรกฎาคม 2556

1

1

8 4 ตุลาคม 2556

95 912,376

95 912,376

651 4 ตุลาคม 2556 4,669,472

20 1,393

20 1,393

350 4 กุมภาพันธ์ 2557 9,427 4 เมษายน 2557

157,670 1,344

157,670 1,344

2,207,383 2 กรกฎาคม 2557 8,786 7 กรกฎาคม 2557

1,252

1,252

25,087 1,099,142

25,087 1,099,142

4,378,271

8,190 8 ตุลาคม 2557 439,772 15 ตุลาคม 2557 7,343,380

เมื� อวัน ที� 7 ตุ ลาคม 2557 บริษ ัทฯ ได้ข ายหุน้ สามัญ คงเหลือจากการออกเพื�อรองรับ การใช้สิท ธิ แปลงสภาพของใบสําคัญแสดงสิทธิในการซื�อหุน้ เพิ�ม ทุนที�โอนสิทธิได้ (TICON-T2) จํานวน 25,086,812 หุน้ มูลค่า ที� ต ราไว้หุ น้ ละ 1 บาท โดยขายในราคาหุน้ ละ 18.53 บาท เป็ นจํา นวนเงิน 464.86 ล้า นบาทให้แ ก่ บ ริ ษ ัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) ทัง� นี� บริษทั ฯ ได้จดทะเบียนเพิ�มทุนชําระแล้วเป็ นจํานวนเงิน 1,099,142,375

156

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

บาทกับกระทรวงพาณิชย์เมื�อวันที� 15 ตุลาคม 2557 และตลาดหลักทรัพ ย์แห่งประเทศไทยได้รบั หุน้ สามัญข้างต้นของ บริษทั ฯ เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนตัง� แต่วนั ที� 21 ตุลาคม 2557 เป็ นต้นไป

24. ใบสําคัญแสดงสิทธิและใบแสดงสิทธิ 24.1 รายละเอียดที�สาํ คัญของใบสําคัญแสดงสิทธิ มีดงั นี� ใบสําคัญ แสดงสิทธิ ออกให้แก่ TICON-W3 ผูถ้ อื หุน้ เดิม

วันที�ออก 3 กุมภาพันธ์ 2552

TICON-W6 กรรมการและ 4 ตุลาคม 2555 พนักงาน TICON-T2 ผูถ้ อื หุน้ เดิม

7 พฤษภาคม 2557 รวม

ราคาใช้สิทธิ ที�มผี ลบังคับใช้ ล่าสุด ต่อ 1 หุน้ สามัญ 18.841

จํานวนหน่วย ที�ออก 219,353,636

อายุ 5 ปี

อัตราใช้สทิ ธิ ที�มผี ลบังคับใช้ ล่าสุดต่อ 1 หน่วย 1.06150

32,883,000

2 ปี

1.06113

7.539*

182,757,024 434,993,660

52 วัน

1.00000

15.000

วันที�ใช้สิทธิ วันทําการสุดท้ายของแต่ละไตรมาส ตัง� แต่ว นั ที� 31 มีนาคม 2553 เป็ นต้นไป วันทําการสุดท้ายของแต่ละไตรมาส ตัง� แต่วนั ที� 28 ธันวาคม 2555 เป็ นต้นไป 27 มิถนุ ายน 2557

* อัตราและราคาใช้สทิ ธิถกู ปรับ จาก “ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย ใช้สิทธิซ�อื หุนสามั ้ ญได้ 1 หุน้ ทีร� าคา 7.769 บาทต่อหุน”้ ณ วันทีท� อี� อกใบสําคัญแสดงสิทธิ

เมื�อวันที� 22 เมษายน 2557 ที�ประชุมสามัญผู ถ้ อื หุน้ ประจําปี 2557 มีมติอนุ มตั ิให้บริษทั ฯ ออกใบแสดง สิทธิในการซื�อหุน้ เพิ�มทุนที�โอนสิทธิได้ (Transferable Subscription Rights “TSRs”) หรือ TICON-T2 จํานวน ไม่เกิน 183,262,047 หน่ วย เพื�อจัดสรรให้แก่ผูถ้ อื หุน้ เดิม โดยมีรายละเอียดดังนี� จํานวนใบแสดงสิทธิท�อี อก: จํานวนหุน้ ที�รองรับการใช้สทิ ธิ: อายุใบแสดงสิทธิ: วันที�ออกใบแสดงสิทธิ: วันสิ�นสุดอายุของใบแสดงสิทธิ: ราคาเสนอขายต่อหน่วย: ราคาการใช้สิทธิ: อัตราการใช้สทิ ธิ: ลักษณะการเสนอขาย:

ไม่เกิน 183,262,047 หน่ วย ไม่เกิน 183,262,047 หุน้ 52 วัน นับจากวันที�ออกใบแสดงสิทธิ 7 พฤษภาคม 2557 27 มิถนุ ายน 2557 0 บาท 15 บาทต่อหุน้ ใบแสดงสิทธิ 1 หน่ วยมีสทิ ธิซ� อื หุน้ สามัญได้ 1 หุน้ จัดสรรให้แก่ผูถ้ อื หุน้ เดิม

157

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

24.2 การเปลีย� นแปลงใบสําคัญแสดงสิทธิท�จี ะซื�อหุน้ สามัญของบริษทั ฯ ในระหว่างปี

ใบสําคัญแสดงสิทธิ/ ใบแสดงสิทธิ TICON-W3 TICON-W6 TICON-T2 รวม

จํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิ/ ใบแสดงสิทธิ คงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 214,677,769 3,800,310 218,478,079

จํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิ / ใบแสดงสิทธิ ที�มกี ารออก ในระหว่างปี 182,757,024 182,757,024

จํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิ / ใบแสดงสิทธิ ที�มกี ารใช้สทิ ธิ ในระหว่างปี (18,461) (3,799,243) (157,670,212) (161,487,916)

จํานวนใบสําคัญ จํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิ / แสดงสิทธิ/ ใบแสดงสิทธิ ใบแสดงสิทธิ ที�มกี ารยกเลิก คงเหลือ ณ วันที� ในระหว่างปี 31 ธันวาคม 2557 (214,659,308)* (1,067)*** (25,086,812)** (239,747,187) -

* พ้นสภาพจากการเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนตัง� แต่วนั ที� 1 กุมภาพันธ์ 2557 ** พ้นสภาพจากการเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนตัง� แต่ว นั ที� 28 มิถนุ ายน 2557 *** พ้นสภาพจากการเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนตัง� แต่ว นั ที� 4 ตุลาคม 2557

ในเดือนมีนาคม 2557 ผูถ้ อื ใบสําคัญแสดงสิทธิท�ีจะซื�อหุน้ สามัญ TICON-W6 ได ใ้ ช้สิทธิตามใบสําคัญ แสดงสิทธิจาํ นวน 1,352,600 หน่ วย แปลงเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 1,393,131 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 7.767 บาท ทัง� นี� บริษทั ฯ ได้จดทะเบียนเพิ�มทุนชําระแล้ว เป็ น จํานวนเงิน 913,789,163 บาทกับกระทรวงพาณิชย์เมื�อวัน ที� 4 เมษายน 2557 และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้รบั หุน้ สามัญ ข้างต้นของบริษทั ฯ เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนตัง� แต่วนั ที� 10 เมษายน 2557 เป็ นต้นไป ในเดือนมิถนุ ายน 2557 ผูถ้ อื ใบสําคัญแสดงสิทธิท�จี ะซื�อหุน้ สามัญ TICON-T2 ได้ใช้สิทธิตามใบสําคัญ แสดงสิทธิจาํ นวน 157,670,212 หน่วย แปลงเป็ นหุน้ สามัญจํานวน 157,670,212 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 15 บาทและผู ถ้ อื ใบแสดงสิทธิท�จี ะซื�อหุน้ สามัญ TICON-W6 ไดใ้ ช้สทิ ธิตามใบแสดงสิทธิจาํ นวน 1,266,200 หน่ วย แปลงเป็ น หุน้ สามัญ จํานวน 1,343,598 หุ น้ ในราคาหุน้ ละ 7.539 บาท ทัง� นี� บริษ ทั ฯ ได้จดทะเบียนเพิ�ม ทุน ชําระแล้ว เป็ น จํา นวนเงิน 1,071,459,375 บาทและ 1,072,802,973 บาท กับกระทรวงพาณิชย์เมื�อวันที� 2 และ 7 กรกฎาคม 2557 ตามลําดับ และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้รบั หุน้ สามัญข้างต้น ของบริษทั ฯ เป็ นหลักทรัพ ย์จดทะเบียนตัง� แต่วนั ที� 8 และ 14 กรกฎาคม 2557 ตามลําดับเป็ นต้นไป ในเดือนตุลาคม 2557 ผูถ้ อื ใบสําคัญแสดงสิทธิท�ีจะซื�อหุน้ สามัญ TICON-W6 ได้ใช้สิทธิตามใบสําคัญ แสดงสิทธิจาํ นวน 1,180,443 หน่ วย แปลงเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 1,252,590 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 7.539 บาท ทัง� นี� บริษทั ฯ ได้จดทะเบียนเพิ�มทุน ชําระแล้วเป็ นจํานวนเงิน 1,074,055,563 บาทกับกระทรวงพาณิชย์เมื�อวัน ที� 8 ตุลาคม 2557 และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้รบั หุน้ สามัญ ข้างต้น ของบริษทั ฯ เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนตัง� แต่วนั ที� 13 ตุลาคม 2557 เป็ นต้นไป

158

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

25. สํารองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัตขิ องมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษทั ฯ ต้องจัดสรรกําไร สุทธิประจําปี สว่ นหนึ�งไว้เป็ นทุนสํารองไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปี หกั ด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสํารองนี�จะมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกล่าวไม่ สามารถนําไป จ่ายเงินปันผลได้

26. รายได้และต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ 26.1 รายได้และต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ มีรายละเอียดดังต่อไปนี�

รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ขายอาคารและที�ดนิ ขายอาคารตามสัญญาเช่าการเงิน ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ขายอาคารและที�ดนิ ขายอาคารตามสัญญาเช่าการเงิน

งบการเงินรวม 2557 2556

(หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

3,159 1,402 4,561

3,037 1,626 4,663

1,576 414 1,990

481 1,256 1,737

2,017 1,175 3,192

1,993 893 2,886

853 146 999

223 706 929

26.2 ประมาณการหนี�สนิ ที�เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ (หน่วย: พันบาท)

เพิ�มขึ�นในระหว่างปี ลดลงจากรายจ่ายทีเ� กิดขึ�นจริง ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557

ประกันรายได้ ค่าเช่าและค่าบริการ 68,821 (858) 67,963

ปี 2557 หมุนเวียน ไม่ห มุนเวียน

งบการเงินรวม ประกันราคาซื�อ จาก การใช้สทิ ธิเลือกซื�อ จากผู ้เช่ารายย่อย ด้วยราคาตลาด 65,228 65,228

39,406 28,557 67,963

159

รายงานประจ�ำปี 2557

65,228 65,228

รวม 134,049 (858) 133,191 39,406 93,785 133,191


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

(หน่วย: พันบาท)

เพิ�มขึ�นในระหว่างปี ลดลงจากรายจ่ายทีเ� กิดขึ�นจริง ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557

งบการเงินเฉพาะกิจการ ประกันราคาซื�อ จาก การใช้สทิ ธิเลือกซื�อ ประกันรายได้ จากผู ้เช่ารายย่อย ค่าเช่าและค่าบริการ ด้วยราคาตลาด 5,700 65,228 (138) 5,562 65,228

ปี 2557 หมุนเวียน ไม่ห มุนเวียน

5,562 5,562

65,228 65,228

รวม 70,928 (138) 70,790 5,562 65,228 70,790

ยอดประมาณการหนี�สนิ ดังกล่าวได้รวมส่วนที�บริษทั ย่อยลงทุนในทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริม ทรัพ ย์ และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (“กองทรัสต์ฯ”) จํานวน 16 ล้านบาท ซึ�งเป็ น ค่าใช้จา่ ยที�ยงั ไม่เกิดขึ�นในงบการเงิน รวม ประกันรายได้ค่าเช่าและค่าบริการ บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยรับรู ป้ ระมาณการหนี�สินสํา หรับ ทรัพ ย์สิน เฉพาะรายการที�ว่างจากการมี ผู เ้ ช่า โดยใช้สมมติฐานในการคํานวณประมาณการหนี�สินสําหรับการประกัน รายได้ค่าเช่ าและค่ าบริการนี�โดยอิงจากจํานวน ทรัพ ย์สิน ที�ว่า งและอัตราค่ า เช่ า และค่ า บริ การปัจจุบ นั ทัง� นี� บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่ อยรับ ประกัน รายได้ด งั กล่า วแก่ กองทรัสต์ฯ เป็ น เวลาหนึ� งปี สองปี และห า้ ปี เป็ น จํา นวนเงิน 22.2 ล้า นบาท 22.5 ล้า นบาท และ 24.1 ล้า นบาท ตามลําดับ ประกันราคาซื�อจากการใช้สิทธิเลือกซื�อจากผูเ้ ช่ารายย่อยด้วยราคาตลาด บริษทั ฯ รับรู ป้ ระมาณการหนี�สนิ สําหรับการประกันราคาซื�อจากการใช้สทิ ธิเลือกซื�อจากผู เ้ ช่ ารายย่อยด้วย ราคาตลาด โดยประมาณเงินชดเชยส่วนต่ างระหว่างราคายุติธรรมกับราคาใช้สทิ ธิสุทธิแก่กองทรัสต์ฯ สําหรับผู เ้ ช่ า รายย่อยใช้สทิ ธิเ ลือกซื�อทรัพย์สนิ (Option to buy) ดังกล่าวโดยใช้ขอ้ มู ลการประเมินมูลค่าอสังหาริ ม ทรัพย์โดย ผูป้ ระเมินอิสระ และบันทึกประมาณการหนี�สนิ ตามจํานวนเงินที�คาดว่าจะจ่ายให้แก่กองทรัสต์ฯ ทัง� นี�บริษทั ฯ รับประกัน ราคาซื�อดังกล่าวสําหรับผู เ้ ช่ารายย่อยจํานวนสามรายแก่กองทรัสต์ฯ โดยผู เ้ ช่ารายย่อยสองรายจะต้องใช้สิทธิเ ลือกซื�อ ภายในไตรมาสที� 1 ของปี 2559 และผูเ้ ช่ารายย่อยอีกรายจะต้องใช้สทิ ธิเลือกซื�อภายในไตรมาสที� 2 ของปี 2562

160

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

27. ค่าใช้จา่ ยตามลักษณะ รายการค่าใช้จา่ ยแบ่งตามลักษณะประกอบดว้ ยรายการค่าใช้จ่ายที�สาํ คัญดังต่อไปนี� งบการเงินรวม 2557 2556

เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อน�ื ของพนักงาน ค่าเสือ� มราคาและค่ าตัดจําหน่าย ค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา ค่าเช่าจ่ายตามสัญญาเช่าดําเนินงาน

196,897 432,867 56,252 60,739

169,986 376,495 62,283 43,712

(หน่ วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 137,345 132,926 21,713 37,886

126,834 146,708 27,579 33,988

28. ภาษี เงินได้ 28.1 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินไดส้ าํ หรับปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 สรุปได้ดงั นี� งบการเงินรวม ภาษีเงินได้ปจั จุบนั : ภาษีเงินได ้นิติบคุ คลสําหรับปี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี: ภาษีเงินได ้รอการตัดบัญชีจากการเกิดผล แตกต่างชัว� คราวและการกลับรายการผล แตกต่างชัว� คราว ค่าใช้จา่ ยภาษีเ งินได้ท�แี สดงอยู่ในงบกําไร ขาดทุน

2557

2556

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

120,742

118,987

119,140

116,834

17,781

158,215

33,499

110,342

138,523

277,202

152,639

227,176

161

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

รายการกระทบยอดจํานวนเงินระหว่างกําไรทางบัญชีกบั ค่ าใช้จา่ ยภาษีเ งินได้ม ีดงั นี� งบการเงินรวม 2557 900,094

กําไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล: กําไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลคูณ อัตราภาษี ผลกระทบทางภาษีสาํ หรับ: การส่งเสริมการลงทุน (หมายเหตุ 29) เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม ค่าใช้จ่ายและรายได้ทไี� ม่สามารถนํามา (หัก) บวกทางภาษีได้ รวม ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที�แสดงอยู่ในงบกําไรขาดทุน

2556 1,691,437

0%-20%

(หน่วย:พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 1,377,167 1,371,242

0%-20%

20%

20%

180,019

338,287

275,433

274,248

(82,435) -

(173,895) -

(41,879) (79,022)

(3,986) (49,834)

40,939 (41,496) 138,523

112,810 (61,085) 277,202

(1,893) (122,794) 152,639

6,748 (47,072) 227,176

28.2 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี�สนิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ส่ว นประกอบของสิน ทรัพ ย์ภ าษีเงินได ร้ อการตัด บัญชีแ ละหนี� สิน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วัน ที� 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี� งบการเงินรวม สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ใ ห้บริษทั ร่วม สํารองผลประโยชน์ของพนักงาน หนี�สงสัยจะสู ญ ประมาณการหนี�สนิ เงินมัดจําจากลูกค้า รวม หนี�สินภาษีเงินได ้รอการตัดบัญชี ลู กหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน รายได ้จากการขายอาคารตามสัญญาเช่า การเงิน รวม

2557

2556

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

250,966 5,638 903 31,907 12,137 301,551

247,537 5,069 106 9,682 262,394

4,917 903 16,777 6,614 29,211

4,470 106 6,703 11,279

3,352

2,390

1,689

2,107

207,225 210,577 90,974

151,248 153,638 108,756

166,252 167,941 (139,730)

114,403 116,510 (105,231)

162

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

29. การส่งเสริมการลงทุน บริ ษ ัท ฯ และบริ ษ ัท ย่ อ ยสองแห่ ง ได้ร ับ สิท ธิ ป ระโยชน์ ท างภาษี จากคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ตามพระราชบัญญัติสง่ เสริมการลงทุนภายใต้เงื�อนไขต่าง ๆ ที�กาํ หนดไว้ ดังนี� บริษทั บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน)

เลขทีบ� ตั ร ส่งเสริม 2321(2)/2555

วันทีเ� ริ�มได้ รับการส่งเสริม 24 พฤษภาคม 2555

ระยะเวลาได้รับ ยกเว้นภาษี เงินได้นิตบิ คุ คล 7 ปี

ระยะเวลาได้รับ ลดหย่อนภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คลกึ�งหนึ�ง -

2320(2)/2555

24 พฤษภาคม 2555

7 ปี

-

2322(2)/2555

29 มิถุนายน 2555

7 ปี

-

2324(2)/2555

29 มิถุนายน 2555

7 ปี

-

2325(2)/2555

29 มิถุนายน 2555

7 ปี

-

2323(2)/2555

29 มิถุนายน 2555

7 ปี

-

2326(2)/2555

29 มิถุนายน 2555

7 ปี

-

2327(2)/2555

29 มิถุนายน 2555

7 ปี

-

2407(2)/2555

31 กรกฎาคม 2555

7 ปี

-

2408(2)/2555

31 กรกฎาคม 2555

7 ปี

-

2760(2)/2555

16 ตุลาคม 2555

7 ปี

-

2931(2)/2555

29 ตุลาคม 2555

7 ปี

-

1129(2)/2556

18 ธันวาคม 2555

7 ปี

-

1128(2)/2556

20 ธันวาคม 2555

7 ปี

-

1282(2)/2556

10 มกราคม 2556

7 ปี

-

1283(2)/2556

10 มกราคม 2556

8 ปี

5 ปี

1363(2)/2556

25 มกราคม 2556

7 ปี

-

1676(2)/2556

7 มีนาคม 2556

7 ปี

-

1814(2)/2556

30 เมษายน 2556

7 ปี

-

2482(2)/2556

6 สิงหาคม 2556

8 ปี

5 ปี

2616(2)/2556

13 กันยายน 2556

8 ปี

5 ปี

1412(2)/2557

13 กุมภาพันธ์ 2557

8 ปี

5 ปี

163

รายงานประจ�ำปี 2557

ประเภทสิทธิประโยชน์ทางภาษี จากคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (โรจนะ) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (โรจนะ) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (ปิ� นทอง) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (ไฮเทค) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (ปิ� นทอง) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (ปิ� นทอง) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (เหมราช) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (กบินทร์บรุ ี) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (ปิ� นทอง) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (ปิ� นทอง) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (กบินทร์บรุ ี) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะซิต�)ี การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะซิต�)ี


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

บริษทั

บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

เลขทีบ� ตั ร ส่งเสริม 1411(2)/2557

วันทีเ� ริ�มได้ รับการส่งเสริม 21 กุมภาพันธ์ 2557

ระยะเวลาได้รับ ยกเว้นภาษี เงินได้นิตบิ คุ คล 7 ปี

ระยะเวลาได้รับ ลดหย่อนภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คลกึ�งหนึ�ง -

1413(2)/2557

24 กุมภาพันธ์ 2557

8 ปี

5 ปี

1417(2)/2557

25 พฤศจิกายน 2556

7 ปี

-

1775(2)/2557

22 พฤษภาคม 2557

8 ปี

5 ปี

1776(2)/2557

29 พฤษภาคม 2557

8 ปี

5 ปี

2196(2)/2557

8 กรกฎาคม 2557

7 ปี

-

2195(2)/2557

15 กรกฎาคม 2557

8 ปี

5 ปี

2165(2)/2557

25 กรกฎาคม 2557

8 ปี

5 ปี

2504(2)/2557

8 ตุลาคม 2557

7 ปี

-

2542(2)/2557

11 พฤศจิกายน 2557

8 ปี

5 ปี

1082(2)/2558

3 ธันวาคม 2557

8 ปี

5 ปี

1083(2)/2558

8 ธันวาคม 2557

3 ปี

-

1084(2)/2558

11 ธันวาคม 2557

3 ปี

-

1720(1)/2544

20 ธันวาคม 2544

8 ปี

5 ปี

2142(2)/2550 1766(2)/2551 1648(2)/2553

1 กรกฎาคม 2550 1 กรกฎาคม 2551 1 สิงหาคม 2553

8 ปี 8 ปี 7 ปี

-

2529(2)/2554

26 ตุลาคม 2554

7 ปี

-

2480(2)/2556 2481(2)/2556 2677(2)/2556

16 กรกฎาคม 2556 30 กรกฎาคม 2556 17 ตุลาคม 2556

8 ปี 8 ปี 7 ปี

-

1418(2)/2557

26 ธันวาคม 2556

8 ปี

5 ปี

2497(2)/2557

29 กันยายน 2557

3 ปี

-

1081(2)/2558

9 ธันวาคม 2557

8 ปี

-

164

รายงานประจ�ำปี 2557

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ประเภทสิทธิประโยชน์ทางภาษี จากคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (ปิ� นทอง) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะซิต�)ี การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (เหมราช) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะซิต�)ี การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะซิต�)ี การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (เหมราช) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (โรจนะ ปราจีนบุรี) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะซิต�)ี การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะซิต�)ี การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะซิต�)ี การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (เอเซีย) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (เอเซีย) การพฒั นาอาคารโรงงานอุตสาหกรรม เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (บางนา-ตราด) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (วังน้อย) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (โรจนะ) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (ศรีราชา) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (แหลมฉบัง 2) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (เหมราช) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (โรจนะ ปราจีนบุรี) การพฒั นาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (บางพลี 2) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (วังน้อย 2)

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

รายได้ข องบริษทั ฯ และบริษ ทั ย่อยจําแนกตามกิจการที�ได้รบั การส่งเสริ มการลงทุนและไม่ได้รบั การส่งเสริม การลงทุนสําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 สามารถสรุปได้ดงั นี� (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ส่วนที�ได้รบั การส่งเสริม รายได้จากการให้เช่า และบริการที� เกี�ยวข้อง รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าสาธารณูปโภค รายได้ค่าบริหารจัดการ จากบริษทั ร่วม กําไรจากการขายเงินลงทุน ในบริษทั ร่วม ดอกเบี�ยรับ ค่าสินไหมทดแทนรับจาก การประกันภัย รายได้อนื� รวม

ส่วนที�ไม่ไ ด้รบั การส่งเสริม

2557

2556

2557

466,336 2,766,569 1,128

613,661 3,732,764 1,222

-

รวม

2556

2557

2556

499,721 54,159 1,794,706 36,824

496,029 56,450 930,274 24,766

966,057 54,159 4,561,275 37,952

1,109,690 56,450 4,663,038 25,988

-

165,341

152,591

165,341

152,591

191

2,470

1,496 8,058

170,096 4,683

1,496 8,249

170,096 7,153

700 3,234,924

12,074 4,362,191

2,428 58,800 2,621,533

69,654 43,279 1,947,822

2,428 59,500 5,856,457

69,654 55,353 6,310,013 (หน่วย: พันบาท)

รายได้จากการให้เช่า และบริการที� เกี�ยวข้อง รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าสาธารณูปโภค เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อย เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วม รายได้ค่าบริหารจัดการ จากบริษทั ร่วม กําไรจากการขายเงินลงทุน ในบริษทั ร่วม กําไรจากการขายเงินลงทุน ในบริษทั ย่อย ดอกเบี�ยรับ ค่าสินไหมทดแทนรับจาก การประกันภัย รายได้อนื� รวม

ส่วนที�ได้รบั การส่งเสริม 2557 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ ส่วนที�ไม่ไ ด้รบั การส่งเสริม 2557 2556

2557

2556

133,416 1,481,349 -

146,373 807,203 -

322,729 40,937 508,415 10,960 16,750 380,516

439,864 49,622 930,274 8,638 38,250 216,548

456,145 40,937 1,989,764 10,960 16,750 380,516

586,237 49,622 1,737,477 8,638 38,250 216,548

-

-

127,295

133,371

127,295

133,371

-

-

4,473

143,901

4,473

143,901

-

1,644

67,000 439,468

389,512

67,000 439,468

391,156

1,614,765

955,220

2,322 41,263 1,962,128

10,000 42,131 2,402,111

2,322 41,263 3,576,893

10,000 42,131 3,357,331

165

รายงานประจ�ำปี 2557

รวม


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

30. กําไรต่อหุน้ กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐานคํานวณโดยหารกําไรสําหรับปี ท�เี ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (ไม่รวมกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ อื�น) ด้วยจํานวนถัวเฉลีย� ถ่วงนํา� หนักของหุน้ สามัญที�ออกอยูใ่ นระหว่างปี กําไรต่อหุน้ ปรับลดคํานวณโดยหารกําไรสําหรับปี ท�เี ป็ นของผู ถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (ไม่รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� ) ด้วยผลรวมของจํานวนถัว เฉลี�ยถ่วงนํา� หนักของหุน้ สามัญที�ออกอยู่ในระหว่า งปี กบั จํานวนถัวเฉลี�ยถ่วงนํา� หนักของ หุน้ สามัญที�บริษทั ฯ อาจต้องออกเพื�อแปลงหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลดทัง� สิ�นให้เป็ นหุน้ สามัญ โดยสมมติว่าได้มกี ารแปลง เป็ นหุน้ สามัญ ณ วันต้นปี หรือ ณ วันออกหุน้ สามัญเทียบเท่า กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐานและกําไรต่อหุน้ ปรับลด แสดงการคํานวณได้ดงั นี� งบการเงินรวม

กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐาน กําไรส่วนทีเ� ป็ นของผูถ้ อื หุนของบริ ้ ษทั ฯ ผลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลด ใบสําคัญแสดงสิทธิ/ใบแสดงสิทธิ ทีจ� ะซื�อหุนสามั ้ ญ TICON-W3 TICON-T2 TICON-W6 กําไรต่อหุน้ ปรับลด กําไรทีเ� ป็ นของผู ถ้ อื หุน้ สามัญสมมติ ว่ามีการใช้สทิ ธิซ� อื หุน้ สามัญจาก ใบสําคัญแสดงสิทธิ/ใบแสดงสิท ธิ

จํานวนหุน้ สามัญ ถัวเฉลีย� ถ่วงนํา� หนัก 2557 2556 (พันหุน)้ (พันหุน)้

กําไรสําหรับปี 2557 2556 (พันบาท) (พันบาท) 761,735

-

761,735

1,414,235 1,001,560

-

905,709

2,830 1,089

9,504 5,792

1,414,235 1,005,479

921,005

166

รายงานประจ�ำปี 2557

กําไรต่อหุน้ 2557 2556 (บาท) (บาท) 0.76

1.56

0.76

1.54

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐาน กําไรส่วนทีเ� ป็ นของผูถ้ อื หุนของบริ ้ ษทั ฯ ผลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลด ใบสําคัญแสดงสิทธิ/ใบแสดงสิทธิ ทีจ� ะซื�อหุน้ สามัญ TICON-W3 TICON-T2 TICON-W6 กําไรต่อหุน้ ปรับลด กําไรทีเ� ป็ นของผู ถ้ อื หุน้ สามัญสมมติ ว่ามีการใช้สทิ ธิซ� ือหุน้ สามัญจาก ใบสําคัญแสดงสิทธิ/ใบแสดงสิทธิ

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

งบการเงินเฉพาะกิจการ จํานวนหุนสามั ้ ญ กําไรสําหรับปี ถัวเฉลีย� ถ่วงนํา� หนัก 2557 2556 2557 2556 (พันบาท) (พันบาท) (พันหุน้ ) (พันหุน)้

กําไรต่อหุน้ 2557 2556 (บาท) (บาท)

1,224,527

1,144,067

1,001,560

905,709

1.22

1.26

-

-

2,830 1,089

9,504 5,792

1,224,527

1,144,067

1,005,479

921,005

1.22

1.24

31. ข้อมูลทางการเงินจําแนกตามส่วนงาน ข้อมู ล ส่ วนงานดํา เนิ น งานที�น ําเสนอนี�ส อดคล ้องกับรายงานภายในของบริษทั ฯ ที�ผูม้ ีอาํ นาจตัดสินใจสู งสุ ด ด้านการดําเนินงานได้รบั และสอบทานอย่างสมํา� เสมอเพื�อใช้ในการตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากรให้กบั ส่วนงานและ ประเมิ น ผลการดําเนินงานของส่วนงาน ทัง� นี� ผู ม้ ีอาํ นาจตัด สินใจสู งสุ ด ด้านการดําเนิ น งานของบริ ษทั คือ กรรมการ ผูจ้ ดั การ เพื�อวัตถุประสงค์ในการบริหารงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจัดโครงสร้างองค์กรเป็ นหน่ วยธุ รกิจตามประเภทของ ผลิตภัณฑ์และบริการ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีส่วนงานที�รายงานทัง� สิ�น 4 ส่วนงาน ดังนี�    

ส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยการสร้างโรงงาน ส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยการสร้างคลังสินค้า ส่วนงานธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ส่วนงานบริหารจัดการทัว� ไป

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยไม่มีการรวมส่วนงานดําเนินงานเป็ นส่วนงานที�รายงานข ้างต้น ผูม้ ีอาํ นาจตัดสินใจสูงสุ ดสอบทานผลการดําเนินงานของแต่ล ะหน่ วยธุ รกิจแยกจากกันเพื�อวัตถุประสงค์ในการ ตัดสินใจเกีย� วกับการจัดสรรทรัพยากรและการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน บริษทั ฯ ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของส่วนงาน โดยพิจารณาจากกําไรหรือขาดทุนจากการดําเนิ นงานและสิน ทรัพย์รวมซึ�งวัด มูลค่ าโดยใช้เกณฑ์เดี ยวกับที�ใช้ในการวัด กําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงานและสินทรัพย์รวมในงบการเงิน

167

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ข้อมูลทั่วไป

การบันทึกบัญชีสาํ หรับรายการระหว่างส่วนงานที�รายงานเป็ นไปในลักษณะเดียวกับการบันทึกบัญชีสาํ หรับรายการ ธุ รกิจกับบุคคลภายนอก ข้อมูลรายได ้ กําไร และสินทรัพย์รวมของส่วนงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยสําหรับปี ส� นิ สุ ด วัน ที� 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดงั ต่อไปนี� (หน่ว ย: ล้านบาท) รายการ สําหรับปี สิ�นสุด วันที� 31 ธันวาคม 2557 รายได้จากลูกค้าภายนอก

พัฒนาอสังหาพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยการ ริมทรัพย์โดยการ สร้างโรงงาน

สร้างคลังสินค้า

ธุรกิจรับเหมา

บริหาร จัดการ

ปรับปรุงและ รวมส่วนงาน ตัดรายการ งบการเงิน

ก่อสร้าง

ทัว� ไป

อืน� ๆ

ที�รายงาน

ระหว่างกัน

รวม

2,492

3,079

54

165

63

5,853

(5)

5,848

ดอกเบี�ยรับ

439

-

-

-

1

440

(432)

8

ดอกเบี�ยจ่าย

(613)

(354)

-

-

-

(967)

333

(634)

(72)

(107)

-

-

-

(179)

4

(175)

43

68

-

-

-

111

-

111

ค่าใช้จ่ายภาษีเ งินได้

(137)

11

(13)

-

-

(139)

-

(139)

กําไรของส่วนงาน

732

(1)

(15)

81

46

843

(81)

762

9,422 1,976

21,781 1,345

-

-

-

31,203 3,321

6 -

31,209 3,321

2,020

6,408

-

-

-

8,428

-

8,428

ค่าเสื�อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ส่วนแบ่งผลกําไรหรือขาดทุนจากบริษทั ร่วม และการร่วมค้าที�บนั ทึกตามวิธสี ่ว นได้เสีย

สินทรัพย์รวมของส่วนงาน เงินลงทุนในบริษทั ร่วม และ การร่วมค้าที�บนั ทึกตามวิธีส่วนได้เ สีย การเพิม� ขึ�นของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ไม่ รวมเครื�องมือทางการเงิน และสินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอตัดบัญ ชี

168

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

งบการเงิน

(หน่วย: ล ้านบาท) รายการ สําหรับปี ส� นิ สุด วันที� 31 ธันวาคม 2556

พัฒนาอสังหา- พัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยการ ริมทรัพย์โดยการ

ธุรกิจรับเหมา

บริหาร จัดการ ทัว� ไป

อืน� ๆ

ที�รายงาน

153

295

6,309

(6)

6,303

-

-

392 (825)

(385) 288

7 (537)

-

-

-

(199) (134)

2 -

(197) (134)

(38)

-

(17)

(30)

(277)

-

(277)

734

458

(3)

84

225

1,498

(84)

1,414

8,769

17,673

-

-

-

26,442

9

26,451

1,919

1,323

-

-

-

3,242

-

3,242

1,272

8,452

-

-

-

9,724

-

9,724

สร้างโรงงาน

สร้างคลังสินค้า

ก่อสร้าง

รายได้จากลูกค้าภายนอก

2,375

3,430

56

ดอกเบี�ยรับ

391 (506)

1 (319)

-

(96) 48

(103) (182)

ที�บนั ทึกตามวิธีส่ว นได้เสีย ค่าใช้จ่ายภาษีเ งินได้

(192)

กําไรของส่วนงาน

ดอกเบี�ยจ่าย ค่าเสื�อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ส่วนแบ่งผลกําไรหรือขาดทุนจากบริษทั ร่วม

สินทรัพย์รวมของส่วนงาน เงินลงทุนในบริษทั ร่วม และ กิจการร่ วมค้าทีบ� นั ทึกตามวิธีส่วนได้เสีย การเพิม� ขึ�นของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ไม่ รวมเครื�องมือทางการเงิน และสินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอตัดบัญ ชี

ปรับปรุงและ รวมส่วนงาน ตัดรายการ งบการเงิน ระหว่างกัน

รวม

ข้อมูลเกี�ยวกับเขตภูมศิ าสตร์ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยดําเนินธุ รกิจในเขตภูมศิ าสตร์เดียว คือประเทศไทย ดังนัน� รายได้และสินทรัพย์ท�แี สดงอยู่ ในงบการเงิน จึงถือเป็ นการรายงานตามเขตภูมิศาสตร์แล้ว ข้อมูลเกีย� วกับลูกค้ารายใหญ่ ในปี 2557 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่จาํ นวนหนึ�งราย เป็ นจํานวนเงินประมาณ 4,228 ล้านบาท ซึ�งมาจากส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยการสร้างโรงงาน และส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยการสร้าง คลังสินค้า (ในปี 2556 มีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่จาํ นวนหนึ�งราย เป็ นจํานวนเงิน 4,560 ล้านบาท ซึ�งมาจากส่วนงาน พัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยการสร้างโรงงาน และส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยการสร้างคลังสินค้า)

32. กองทุนสํารองเลี�ยงชีพ บริษทั ฯ บริษทั ย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตัง� กองทุนสํารองเลี�ยงชีพ ซึ�งประกอบด้วยเงินที�พนักงานจ่ายสะสม และเงิน ที�บ ริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่ อยจ่า ยสมทบให้ในอัตราร้อยละ 2 - 4 ของค่ า จ้างกองทุ น สํา รองเลี�ยงชี พ นี� บริ หาร โดยธนาคารกรุ งศรี อยุ ธ ยา จํา กัด (มหาชน) ในระหว่ างปี 2557 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่า ยเงินสมทบเข้า กองทุ น เป็ นจํานวน 4 ล้านบาท (2556: 4 ล้านบาท)

169

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

33. เงินปันผล เงินปันผลสําหรับปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย เงินปันผล เงินปันผลจากผลการดําเนินงาน ของปี 2556 รวมเงินปันผลสําหรับปี 2557 เงินปันผลจากผลการดําเนินงาน ของปี 2555 รวมเงินปันผลสําหรับปี 2556

อนุม ตั โิ ดย ทีป� ระชุมสามัญผู ้ถือหุนประจํ ้ าปี เมือ� วันที� 22 เมษายน 2557 ทีป� ระชุมสามัญผู ้ถือหุนประจํ ้ าปี เมือ� วันที� 19 เมษายน 2556

เงินปันผลจ่าย (พันบาท)

เงินปันผลต่อหุน้ (บาท)

913,786 913,786

1.0 1.0

912,064 912,064

1.0 1.0

34. ภาระผูกพันและหนี� สินที�อาจจะเกิดขึ�น 34.1 สัญญาเช่าระยะยาว ก) บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้ทาํ สัญญาเช่าทีด� ินกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยรวม 6 ฉบับ เพื�อประกอบกิจการสร้างโรงงานมาตรฐานให้เช่า สัญญาดังกล่าวสรุปได้ดงั นี� สัญญาเลขที� 21/2538 -นฉ 14/2540-นฉ 8/2542-นฉ 9/2544-นฉ นฉ.ค 002/2548 นฉ. 005/2549

ระยะเวลาเช่า 13 ธันวาคม 2538 - 12 ธันวาคม 2568 14 พฤศจิกายน 2540 - 13 พฤศจิกายน 2570 18 สิงหาคม 2542 - 17 สิงหาคม 2572 6 มิถุนายน 2544 - 31 ธันวาคม 2561 25 มกราคม 2548 - 31 ธันวาคม 2561 25 เมษายน 2549 - 31 ธันวาคม 2561

อัตราค่าเช่า 4.70 ล้านบาทต่อปี 0.66 ล้านบาทต่อปี 2.21 ล้านบาทต่อปี 5.59 ล้านบาทต่อปี 0.75 ล้านบาทต่อปี 2.08 ล้านบาทต่อปี

(ก) (ก) (ก) (ข) (ข) (ข)

(ก) ค่าเช่าจะถูกปรับเพิม� ทุกๆ 10 ปี ในอัตราไม่เกินร้อยละ 10 ของค่าเช่าเดิม (ข) ค่าเช่าจะถูกปรับเพิม� ทุกๆ 5 ปี ในอัตราไม่เกินร้อยละ 10 ของค่าเช่าเดิม

ข) บริษทั ฯ ได้ทําสัญญาเช่ า พื�น ที�สาํ นักงานและบริการที�เกี�ยวข้องกับบริษทั ที� เกี�ยวข้องกันแห่งหนึ�ง โดยมีค่าเช่าและค่าบริการคิดเป็ นจํานวนเงินรวม 14-15 ล ้านบาทต่อปี สัญญาดังกล่าวมีกาํ หนดระยะเวลา 3 ปี โดยเริ�ม ตัง� แต่เดือนกรกฎาคม 2555 ถึงเดือนมิถนุ ายน 2558

170

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

งบการเงิน

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีจาํ นวนเงินขัน� ตํา� ที�ตอ้ งจ่ายในอนาคตภายใต้สญั ญาเช่าดําเนินงานดังนี� (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

งบการเงินรวม 2557 2556

จ่ายชําระ ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี มากกว่า 5 ปี

101 69 58

498 86 67

19 46 58

25 56 67

34.2 ภาระผูกพันเกี�ยวกับรายจ่ายฝ่ ายทุน (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

งบการเงินรวม 2557 2556

สัญญาซื�อที�ดนิ เพื�อสร้างโรงงานและ คลังสินค้าในอนาคต สัญญาจ้างผู ้รับเหมาก่อสร้าง สัญญาถมที�ดนิ สัญญาจ้างซ่อมโรงงานและคลังสินค้า รวม

1,215 1,576 33 2,824

1,168 1,625 16 3 2,812

671 74 745

850 42 3 895

34.3 หนังสือคํ�าประกันธนาคาร (ก) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ฯ มีการคํา� ประกันวงเงินหนังสือคํา� ประกัน ที�ออกโดยธนาคาร ให้แก่บริษทั ย่อยในวงเงิน 111 ล ้านบาท (2556: 111 ล้านบาท) (ข) ยอดคงเหลือ ของหนังสือคํ�า ประกัน ที� ออกโดยธนาคารในนามของบริษ ัท ฯ และบริ ษ ัท ย่ อ ย ซึ�งเกีย� วเนื�องกับภาระผูกพันในการดําเนินงานมีดงั นี� วัตถุประสงค์เพือ� คํา� ประกัน

งบการเงินรวม 2557 2556 35 19 50 12 116

สัญญาเช่าทีด� นิ ระยะยาว สาธารณู ปโภคในโครงการ เงินประกันการก่อสร้าง การดําเนินงานในการก่อสร้างอาคารโรงงาน รวม

171

รายงานประจ�ำปี 2557

35 16 12 63

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 23 24 6 5 6 8 35 37


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

34.4 สินทรัพย์ท�ตี ิดภาระจํายอม ณ วัน ที� 31 ธัน วาคม 2557 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีท�ี ดิ นที�ติด ภาระจํายอมรวมจํานวนประมาณ 227 ไร่ (2556: 108ไร่ ) (งบการเงิน เฉพาะกิจการ: 68 ไร่ 2556: 68 ไร่ ) ซึ�งที�ดิน ที�ติด ภาระจํายอมดังกล่าวมีมูลค่ า ตามบัญชี เ ป็ น จํานวน 430 ล้านบาท (2556: 245 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 152 ล้านบาท 2556: 152 ล้านบาท) และแสดงภายใต้หวั ข้อ อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า และที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ 34.5 การคํ�าประกันรายได้ค่าเช่าและค่าบริการ บริษทั ฯ ในฐานะผู บ้ ริหารอสังหาริม ทรัพย์รายหนึ�งของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพ าร์ค โลจิสติคส์ (“กองทุนฯ”) เป็ นจํานวน 27 คลังสินค้า ได้รบั ประกันค่าเช่าและบริการขัน� ตํา� หลังหักค่ า บริการส่วนกลางของคลังสินค้า จํานวนหนึ�งที�ไม่ มีผู เ้ ช่า ให้แก่กองทุน ฯ ในช่ ว งระยะเวลาตัง� แต่ วนั ที� 1 มกราคม 2555 ถึงวัน ที� 31 ธัน วาคม 2559 เป็ นจํานวนเงิน 188 ล้านบาทต่อปี กล่าวคือ ในกรณีท�รี ายได้ค่าเช่าและบริการของกองทุนฯ หลังหักค่ าบริการส่วนกลาง ของคลังสินค้าที�ไม่มีผูเ้ ช่ามีจาํ นวนตํา� กว่าจํานวนเงินรับประกันข้างต้น บริษทั ฯ จะเป็ นผู ร้ บั ผิดชอบจ่ายชดเชยส่วนต่ าง ดังกล่าวให้แก่กองทุนฯ บริษทั ฯ และบริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อย ในฐานะผู บ้ ริหารอสังหาริม ทรัพย์ ของกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท (“กองทุนฯ”) ได้รบั ประกันค่าเช่ าและบริการของ โรงงานจํานวน 38 หลัง และคลังสินค้าจํานวน 50 หลังเป็ นระยะเวลาไม่เ กิน 1 ปี โดยเริ�ม ตัง� แต่ 12 และ 13 ธัน วาคม 2556 ถึงวันที� 11 และ 12 ธันวาคม 2557 ในอัตราเดียวกับค่ าเช่ า ของผู เ้ ช่ ารายสุ ดท้ายก่อนหน้าที�กองทุน ฯ จะลงทุน ในโรงงานและคลังสินค้าดังกล่าว หากไม่มีผูเ้ ช่าโรงงานและคลังสินค้า บริษทั ฯ และบริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ซึง� เป็ นบริษทั ย่อย ในฐานะผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ ของทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริม ทรัพย์ไทคอน (“กองทรัสต์ฯ”) ได้ตกลงรับประกัน การมีผูเ้ ช่า สําหรับทรัพย์สนิ เฉพาะรายการที�ว่างจากการมีผูเ้ ช่า ณ วันที�ทรัสต์ได้จดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิหรือการเช่ า อสังหาริมทรัพย์ดงั กล่า ว หรื อ ผู เ้ ช่ ารายย่อยได้ใช้สทิ ธิตามสัญญาเช่ าในการย้า ยออกจากอสังหาริม ทรัพ ย์ท�ีเช่ าโดย จะชดเชยรายได้ให้แก่กองทรัสต์ฯ ตามอัตราค่าเช่าและค่าบริการเท่ากับค่าเช่าและบริการของผูเ้ ช่ารายย่อยรายล่าสุด ที�เ ช่า ทรัพย์สนิ ดังกล่าว จนกว่าผูบ้ ริหารอสังหาริม ทรัพย์จะสามารถหาผู เ้ ช่ ารายย่อยได้และผู เ้ ช่า รายย่อยเริ�มชําระค่ าเช่ าและ บริการแล้ว หรือจนกว่าจะสิ�นสุดระยะเวลา 12 เดือนนับจากวันที�กองทรัสต์ฯ เข้าลงทุนครัง� แรกในทรัพย์สนิ ดังกล่าว ณ วัน ที� 31 ธัน วาคม 2557 บริษ ัท ฯ จํา นํา หน่ ว ยลงทุ น ของกองทุ น รวมอสังหาริ ม ทรัพ ย์ที พ าร์ค โลจิส ติค ส์จาํ นวน 22 ล้า นหน่ ว ย (2556: 22 ล้านหน่ วย) ซึ�งมีมู ลค่ าตามวิธีส่ว นได้เ สีย 165 ล้านบาท (2556: 172 ล้านบาท) และมีมูลค่ าตามราคาตลาด 263 ล้านบาท (2556: 245 ล้านบาท)ไว้กบั ธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ�งเพื�อเป็ น หลักประกันสําหรับการรับประกันค่ าเช่าและบริการดังกล่าว

172

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

35. เครื�องมือทางการเงิน 35.1 นโยบายการบริหารความเสี�ยง เครื�องมือทางการเงินที�สาํ คัญของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยตามที�นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 107 “การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้อมูลสําหรับเครื�องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงิน สด เงินลงทุนชัว� คราว ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อ�นื ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงานที�ยงั ไม่เรียกชําระ เงินให้กยู ้ ืม เงินลงทุน เงินกูยื้ มระยะสัน� เงินกูยื้ มระยะยาว และหุน้ กู ้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสี�ยงที�เกี�ยวข้องกับเครื�องมือทางการเงิน ดังกล่าว และมีนโยบายในการบริหารความเสีย� งดังนี� ความเสีย� งด้านการให้สนิ เชื�อ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสีย� งด้านการให้สนิ เชื�อที�เ กี�ยวเนื�องกับการให้เช่ า /ขายโรงงาน คลังสินค้า และการรับเหมาก่อสร้าง ฝ่ ายบริหารควบคุมความเสีย� งนี�โดยการกําหนดให้ม ีนโยบายและวิธีการในการควบคุ มสินเชื�อ ที�เ หมาะสม ดังนัน� บริษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยจึงไม่ คาดว่าจะได้ร บั ความเสียหายที� เป็ น สาระสําคัญ จากการให้สนิ เชื� อ นอกจากนี� การให้สนิ เชื�อของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยไม่มีการกระจุกตัว เนื�องจากบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีฐานของลูกค้า ที�หลากหลายและมีอยู่จํานวนมากราย จํานวนเงิน สู งสุด ที�บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยอาจต้องสู ญ เสียจากการให้ส ินเชื� อ คือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี�ท�แี สดงอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน ความเสีย� งจากอัตราดอกเบี�ย บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสีย� งจากอัตราดอกเบี�ยที�สาํ คัญอันเกี�ยวเนื�องกับเงิน ฝากสถาบันการเงิน เงินให้กยู ้ มื เงินกูย้ มื ระยะยาว และหุน้ กูที้ �มดี อกเบี�ย สินทรัพย์และหนี�สนิ ทางการเงินส่วนใหญ่มอี ตั ราดอกเบี�ยที�ปรับขึ�น ลงตามอัตราตลาด หรือมีอตั ราดอกเบี�ยคงที�ซ�งึ ใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบนั สินทรัพย์และหนี�สนิ ทางการเงินที�สาํ คัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี�ย และสําหรับสินทรัพย์และ หนี� สนิ ทางการเงินที�มีอตั ราดอกเบี�ยคงที�สามารถแยกตามวัน ที�ครบกําหนดหรือวัน ที�มีการกําหนดอัต ราดอกเบี�ยใหม่ (หากวันที�มกี ารกําหนดอัตราดอกเบี�ยใหม่ถงึ ก่อน) ได้ดงั นี�

173

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว� คราว ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อื�น เงินฝากสถาบันการเงินทีม� ภี าระคํา� ประกัน ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ที�ยงั ไม่เรียกชําระ หนี� ส ินทางการเงิน เงินกูย้ ืมระยะสัน� เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น หุน้ กู ้ เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน เงินกูย้ ืมระยะยาว

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว� คราว ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อื�น ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ที�ยงั ไม่เรียกชําระ หนี� ส ินทางการเงิน เงินกูย้ ืมระยะสัน� เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น หุน้ กู ้ เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน เงินกูย้ ืมระยะยาว

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

งบการเงินรวม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 อัตราดอกเบี�ยคงที� อัตราดอกเบี�ย ไม่มี ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า ปรับขึ�นลง อัตรา 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคาตลาด ดอกเบี�ย (ล้านบาท)

รวม

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

อัตรา ดอกเบี�ย ถัวเฉลี�ย (ร้อยละต่อปี )

1 258 71

-

-

200 -

1 77 -

202 258 77 71

0.21 2.08 2.80

330

-

-

200

60 138

60 668

-

660 2,170 55 2,885

10,340 542 953 11,835

2,300 206 2,506

-

661 661

660 661 14,810 748 1,008 17,887

2.86 4.26 4.28 4.78

งบการเงินรวม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 อัตราดอกเบี�ยคงที� อัตราดอกเบี�ย ไม่มี ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า ปรับขึ�นลง อัตรา 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคาตลาด ดอกเบี�ย (ล ้านบาท)

รวม

อัตรา ดอกเบี�ย ถัวเฉลีย� (ร้อยละต่อปี )

1 421 -

-

-

345 -

1 79

347 421 79

0.30 2.43 -

422

-

-

345

42 122

42 889

-

2,108 1,080 45 3,233

8,410 358 1,209 9,977

2,120 349 2,469

-

766 766

2,108 766 11,610 707 1,254 16,445

3.03 4.18 4.50 4.95

174

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

การกำ�กับดูแล กิจการ

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 อัตราดอกเบี�ยคงที� ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว� คราว ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อื�น เงินฝากสถาบันการเงินทีม� ภี าระคํา� ประกัน ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ทีย� งั ไม่เรียกชําระ เงินให ้กูย้ มื ระยะยาวแก่ บริษทั ทีเ� กี�ยวข้องกัน หนี� ส ินทางการเงิน เงินกูย้ ืมระยะสัน� เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น หุน้ กู ้ เงินกูย้ ืมระยะยาว

อัตราดอกเบี�ย ปรับขึ�นลง ตามราคาตลาด (ล ้านบาท)

ไม่มี อัตรา ดอกเบี�ย

รวม

อัตรา ดอกเบี�ย ถัวเฉลีย� (ร้อยละต่อปี )

1 130 71

-

-

76 -

44 -

77 130 44 71

0.41 2.08 2.80

-

-

-

-

11

11

-

202

-

-

1,820 1,896

55

1,820 2,153

4.19

660 2,170 55 2,885

10,340 452 10,792

2,300 2,300

-

329 329

660 329 14,810 507 16,306

2.86 4.26 4.61

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 ภายใน 1 ปี สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว� คราว ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อื�น ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ที�ยงั ไม่เรียกชําระ เงินให ้กูย้ มื ระยะยาวแก่ บริษทั ที�เกี�ยวข้องกัน หนี� ส ินทางการเงิน เงินกูย้ ืมระยะสัน� เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น หุน้ กู ้ เงินกูย้ ืมระยะยาว

อัตราดอกเบี�ยคงที� มากกว่า 1 มากกว่า ถึง 5 ปี 5 ปี

อัตราดอกเบี�ย ปรับขึ�นลง ตามราคาตลาด (ล ้านบาท)

ไม่มี อัตรา ดอกเบี�ย

รวม

อัตรา ดอกเบี�ย ถัวเฉลีย� (ร้อยละต่อปี )

1 410 -

-

-

92 -

121

93 410 121

0.60 2.43 -

-

-

-

-

14

14

-

411

-

-

9,076 9,168

135

9,076 9,714

4.12

2,108 1,080 45 3,233

8,410 306 8,716

-

311 311

2,108 311 11,610 351 14,380

3.03 4.18 4.93

2,120 2,120

175

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ความเสีย� งจากอัตราแลกเปลี�ยน บริ ษทั ฯ และบริ ษ ทั ย่ อยมีค วามเสี�ยงจากอัตราแลกเปลี�ยนที� สาํ คัญ อัน เกี�ยวเนื� องจากการซื�อสิน ค้า เป็ นเงินตราต่างประเทศ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้ตกลงทําสัญญาซื�อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน า้ ซึ�งมีอายุสญั ญา ไม่เกินหนึ�งปี เพื�อใช้เป็ นเครื�องมือในการบริหารความเสีย� ง ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษทั ฯ ไม่มียอดคงเหลือของสิน ทรัพย์และหนี� สนิ ทางการเงิน ที�เป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศ 35.2 มูลค่ายุตธิ รรมของเครื�องมือทางการเงิน เนื�องจากสินทรัพย์และหนี�สนิ ทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจัดอยู่ในประเภทระยะสัน� เงินให้กยู ้ มื และเงินกูย้ มื มีอตั ราดอกเบี�ยใกล ้เคียงกับอัตราดอกเบี�ยในตลาด บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจึงประมาณมูลค่ า ยุตธิ รรมของสินทรัพย์และหนี�สนิ ทางการเงินใกล ้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีท�แี สดงในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่ายุตธิ รรม หมายถึง จํานวนเงินที�ผูซ้ �อื และผูข้ ายตกลงแลกเปลี�ยนสิน ทรัพย์กนั หรือจ่ายชําระหนี�สนิ ในขณะที�ทงั� สองฝ่ ายมีความรอบรู ้ และเต็มใจในการแลกเปลีย� นและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็ นอิสระในลักษณะ ที�ไม่มคี วามเกี�ยวข้องกัน วิธีการกําหนดมูลค่ายุติธรรมขึ�น อยู่กบั ลักษณะของเครื�องมือทางการเงิน มูลค่ า ยุติธรรมจะ กําหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือกําหนดขึ�นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที�เหมาะสม

36. การบริหารจัดการทุน วัต ถุป ระสงค์ในการบริ หารจัด การทุน ที� สาํ คัญ ของกลุ่ม บริษ ัท คื อ การจัด ให้มีซ�ึงโครงสร า้ งทุ น ที� เ หมาะสม เพื�อสนับสนุ นการดําเนินธุรกิจของกลุ่ม บริษทั และเสริมสร้างมู ลค่ าการถือหุน้ ให้กบั ผู ถ้ อื หุน้ โดย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 กลุม่ บริษทั มีอตั ราส่วนหนี�สนิ ต่อทุนเท่ากับ 1.7:1 (2556: 2.0:1) และเฉพาะบริษทั มีอตั ราส่วนหนี�สนิ ต่อทุนเท่ากับ 1.4:1 (2556: 1.7:1)

37. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน 37.1 เมื� อวัน ที� 19 มกราคม 2558 บริ ษ ัทฯ ได้ออกหุ น้ กู ร้ วม 1.55 ล้า นหน่ วย หรือเป็ น จํานวนเงิน รวม 1,550 ล้านบาท โดยหุน้ กูท้ งั� จํานวนเป็ นหุน้ กูช้ นิด ระบุช�ือผู ถ้ อื ประเภทไม่ด อ้ ยสิท ธิ ไม่มีหลักประกัน ไม่ ม ีสิทธิแปลง สภาพ และไม่มผี แู ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู ้ หุน้ กูดั้ งกล่าวมีมูลค่าที�ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท และมีราคาเสนอขายหน่วยละ 1,000 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี� ครัง� ที�

วันทีอ� อก

1/2558

19 มกราคม 2558

จํานวนหน่ วย จํานวน อัตราดอกเบี�ย (ล้านหน่วย) (ล้านบาท) (ร้อยละต่อปี ) 1.55 1,550 3.080%

176

รายงานประจ�ำปี 2557

อายุหนุ ้ กู ้

วันครบกําหนดไถ่ถอน

3 ปี

19 มกราคม 2561

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

37.2 เมื�อวันที� 13 กุมภาพันธ์ 2558 บริษทั ฯ ได้จาํ หน่ายเงินลงทุนในกองทุนรวมสิทธิการเช่ าอสังหาริม ทรัพ ย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท (“กองทุนฯ”) ให้แก่บริษทั เอสวีไอ จํากัด (มหาชน) ซึ�งเป็ น บริษทั ที�เกี�ยวข้องกัน เป็ นจํานวน 7 ล้านหน่ วย มูลค่ าหน่วยละ 11.35 บาท รวมเป็ นเงิน 79.45 ล้านบาท ภายหลังจากการจําหน่ ายหน่ วยลงทุน ดังกล่าว บริษทั ฯ มีสดั ส่วนการถือหน่วยลงทุนในกองทุนฯคิดเป็ นร้อยละ 25.30 ของหน่วยลงทุนทัง� หมด 37.3 เมื�อวันที� 26 กุมภาพันธ์ 2558 ทีป� ระชุมคณะกรรมการของบริษทั ฯ ครัง� ที� 1/2558 ได้มมี ติดังนี� (ก) ให้เสนอต่อที�ประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี 2558 ซึ�งจะจัดขึ�นในวันที� 22 เมษายน 2558 เพื�ออนุ มตั ิ จ่ายเงินปันผลจากกําไรสุทธิประจําปี 2557 ให้แ ก่ผู ถ้ อื หุน้ ในอัต ราหุน้ ละ 0.50 บาท โดยกําหนดจ่า ยเงินปันผลในวันที� 19 พฤษภาคม 2558 (ข) อนุมตั ิการเสนอขายและ/หรือการให้เช่าทรัพย์สนิ ใหแ้ ก่ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริม ทรัพย์และ สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน ทัง� นี� บริษทั ฯ คาดว่าจะขาย และ/หรือให้เช่าทรัพย์สนิ ดังกล่าวในไตรมาส 2 ปี 2558 ประมาณ 12 หลัง ซึ�งมีพ� นื ที�ใช้สอยประมาณ 23,700 ตารางเมตร โดยมีมูลค่ารวมประมาณ 400 ถึง 500 ล้านบาท และ ในไตรมาส 3 ปี 2558 ประมาณ 51 หลัง ซึ�งมีพ� ืนที�ใช้สอยประมาณ 182,909 ตารางเมตร โดยมีมูลค่ ารวมประมาณ 3,000 ถึง 3,500 ล้านบาท

38. การอนุ มตั ิงบการเงิน งบการเงินนี�ได้รบั อนุ มตั ใิ ห้ออกโดยคณะกรรมการบริษทั ฯ เมื�อวันที� 26 กุมภาพันธ์ 2558

177

รายงานประจ�ำปี 2557


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทนที�จา่ ยให้แก่ผูส้ อบบัญชี รอบปี บัญชี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) รายการที�

ชื�อบริษทั ผูจ้ ่าย ชื�อผูส้ อบบัญชี บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย (โดยนายโสภณ เพิม� ศิร ิวลั ลภ) รวมค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี

1

ค่าสอบบัญชี (บาท) 1,659,000 1,659,000

ค่าบริการอื�น (Non-audit fee)

รายการที�

ชื�อบริษทั ผูจ้ ่าย

ประเภทของงานบริการอื�น (Non-audit service)

ผูใ้ ห้บริการ

รวมค่าตอบแทนสําหรับงานบริการอื�น (Non-audit fee)

ค่าตอบแทนของงานบริการอื�น (บาท) ส่วนที�จะจ่ายไป ส่วนที�จะต้อง ในระหว่างปี จ่ายในอนาคต บัญชี -

ข ้อมูลข ้างต้น   ถูกต้องครบถ้วนแล ว้ ทัง� นี� ขา้ พเจ้า ขอยืนยันว่า ไม่มีขอ้ มูลการใหบ้ ริการอื�นทีบ� ริษทั จ่า ยให้ขา้ พเจ้า สํา นักงานสอบบัญชีท�ี

ข้าพเจ้าสังกัด และบุคคลหรือกิจการที�เกี�ยวขอ้ งกับข้าพเจา้ และสํานักงานสอบบัญชีท�ขี า้ พเจา้ สังกัด ที�ขา้ พเจ ้าทราบและ ไม่มกี ารเปิดเผยไว้ข ้างต้น  ไม่ถกู ต้อง ไม่ครบถ้วน กล่า วคือ………………………………………………………………………………………..……………………… เมื�อปรับปรุงข้อมูลข้างต้น (ถ้ามี) แล้ว ข้าพเจา้ ขอยืนยันว่าขอ้ มูลทัง� หมดในแบบฟอร์มนี�แสดงค่าตอบแทนสอบบัญชี และค่าบริการอื�นที�บริษทั จ่ายให ้ข ้าพเจ้าและสํานักงานสอบบัญชีดงั กล่าว ทีถ� กู ต้องครบถ้วน

(นายโสภณ เพิ�มศิรวิ ลั ลภ) บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน)

180

รายงานประจ�ำปี 2557

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ


ปัจจัย ความเสี่ยง

โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทนที�จา่ ยให้แก่ผูส้ อบบัญชี รอบปี บัญชีส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 ค่าบริการอื�น (Non-audit fee)

รายการที�

1

ชื�อบริษทั ผูจ้ า่ ย

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

ประเภทของงานบริการอื�น (Non-audit service) การตรวจสอบข้อมูลเพือ� ประกอบการยืน� แบบกับ สํานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (BOI)

ผูใ้ ห้บริการ

ค่าตอบแทนของงานบริการอื�น (บาท) ส่วนที�จา่ ยไป ส่วนที�จะต้อง ในระหว่างปี จ่ายในอนาคต บัญชี

บริษทั บาลานซ์ ฟิ กเกอร์ ออดิท จํากัด

รวมค่าตอบแทนสําหรับงานบริการอื�น (Non-audit fee)

476,000

-

476,000

-

ข ้อมูลข ้างต้น  ถูกต้องครบถว้ นแล ว้ ทัง� นี� ข้า พเจ้า ขอยืนยันว่า ไม่มีขอ้ มูลการใหบ้ ริการอื�นทีบ� ริษทั จ่า ยใหข้ า้ พเจ้า สํา นักงานสอบบัญชีท�ี 

ข ้าพเจ ้าสังกัด และบุคคลหรือกิจการทีเ� กี�ยวข อ้ งกับขา้ พเจ้า และสํานักงานสอบบัญชีทข�ี า้ พเจ้าสังกัด ที�ขา้ พเจ ้าทราบและไม่ม ี การเปิ ดเผยไว้ข้างต้น  ไม่ถกู ต้อง ไม่ครบถ้วน กล่า วคือ ....................................................................................................................................... เมือ� ปรับปรุงข ้อมูลข ้างต้น (ถ้ามี) แล้ว ข ้าพเจ้าขอยืนยันว่าข ้อมูลทัง� หมดในแบบฟอร์มนี�แสดงค่าตอบแทนสอบบัญชี และ ค่าบริการอื�นทีบ� ริษทั จ่ายให้ข ้าพเจ ้าและสํานักงานสอบบัญชีดงั กล่าว ทีถ� กู ต้องครบถ ้วน

(นางสาวศิรณ ิ ี ภวเรืองจํารูญ) สังกัดสํานักงาน บริษทั บาลานซ์ ฟิ กเกอร์ ออดิท จํากัด ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน)

181

รายงานประจ�ำปี 2557


ห อง 1308 ชั้น 13/1 อาคารสาธรซ�ตี้ทาวเวอร เลขที่ 175 ถนนสาทรใต แขวงทุ งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 www.ticon.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.