TICON : Annaul Report 2018 TH

Page 1

18-10-003 Cover Thai_TICON_J-Coatedpdf.pdf

2

14/12/2561 BE

09:41

210 x 297 mm

san 14.5 mm_THAI

210 x 297 mm

บริ ษ ั ท ไทคอน อิ นดั สเทรี ยล คอนเน็ คชั ่ น จำกั ด (มหาชน) 18-10-003_Cover Thai Ticon san 14.5 mm_J-CC2018-Coated


18-10-003 InCover Thai_TICON_J-Coated.pdf

3

14/12/2561 BE

09:42

210 x 297 mm

san 14.5 mm_THAI

210 x 297 mm

18-10-003_Cover Thai Ticon san 14.5 mm_J-CC2018-Coated


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จำ�กัด (มหาชน) www.ticon.co.th The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 1

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

1

15/12/2561 BE 11:16


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

2

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 2

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:16


รายงานประจำ�ปี 2561

สารบัญ สารจาก ประธานกรรมการ

04

ปัจจัยความเสี่ยง

68

รายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ

06

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

72

รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

09

การกำ�กับดูแลกิจการ

80

วิสัยทัศน์ และเป้าหมาย การดำ�เนินธุรกิจ

10

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการ ความเสี่ยง

96

การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำ�คัญ

12

โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท

15

โรงงานและคลังสินค้า

18

ภาพรวมผลการดำ�เนินงาน

21

คณะกรรมการบริษัท

24

คณะผู้บริหาร

32

โครงสร้างการจัดการ

36

ข้อมูลผู้ถือหุ้นและนโยบายการจ่าย เงินปันผล

50

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

52

รายการระหว่างกัน

100

การวิเคราะห์และคำ�อธิบาย ของฝ่ายจัดการ

108

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

115

รายงานทางการเงิน

116

แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วน ของค่าตอบแทนที่จ่ายให้แก่ ผู้ตรวจสอบบัญชี

263

ข้อมูลทั่วไปและ ข้อมูลสำ�คัญอื่น

264

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 3

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

3

15/12/2561 BE 11:16


รายงานประจำ�ปี 2561

สารจาก ประธานกรรมการ

ปี 2561 เป็ นปี แรกที่ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ เปลีย่ นรอบระยะเวลาบัญชี จากเริม่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ของทุกปี มาเป็ นเริม่ 1 ตุลาคม ถึง 30 กันยายน ของปี ถดั ไป ดังนัน้ รอบระยะเวลาบัญชีสำ� หรับปี 2561 จึงครอบคลุมช่วง เวลาการด�ำเนินงานเพียง 9 เดือน โดยเริม่ จาก 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561 เท่านัน้ อย่างไรก็ตาม ผลการด�ำเนิน งานของบริษทั ในปี 2561 นับว่าโดดเด่นมาก ทัง้ ทางด้าน การเจริญเติบโตของธุรกิจหลัก การลงทุนขยายขอบข่าย ธุรกิจของบริษทั ฯ และการปรับโครงสร้างองค์กร พร้อมกับ ปรับระบบการบริหารงานให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ การขับเคลือ่ นทุกมิติ เพือ่ ให้เกิดการเจริญเติบโตอย่างยังยื ่ น ในระยะยาว ในด้านการด�ำเนินงานของธรุกจิ หลัก บริษทั ฯ สามารถสร้าง คลังสินค้าแบบ Built-to-suit ให้ลกู ค้าใหม่เช่าได้กว่า 70,000 ตร.ม. และประสบความส�ำเร็จในการปรับรูปแบบอาคาร โรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้าเดิมเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การใช้งานให้เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้ามากขึน้ ท�ำให้อตั ราการปล่อยเช่าอาคารโดยรวมทัง้ ปี เพิม่ สูงขึน้ นอกจากนัน้ ในช่วงปลายปี บริษทั ฯ ยังสามารถขาย ทรัพย์สนิ เข้ากองทรัสต์ TREIT จ�ำนวน 1,693 ล้านบาท ซึง่ นอกจากท�ำให้รายได้ของบริษทั ฯ เพิม่ สูงขึน้ แล้วยังเป็ นการ ช่วยให้ผลตอบแทนของกองทรัสต์ TREIT ดีขน้ึ ด้วย ส�ำหรับ การลงทุนในประเทศกลุม่ ASEAN นัน้ ในปี 2561 บริษทั ฯ ร่วมทุนในประเทศอินโดนีเซีย ได้มกี ารลงทุนเพิม่ พืน้ ทีค่ ลัง สินค้าอีกเกือบ 10,000 ตร.ม. และสร้างอาคารคลังสินค้า แบบ Built-to-suit อีกประมาณ 40,000 ตร.ม. โดยสามารถ ปล่อยพืน้ ทีใ่ ห้เช่าได้สงู เกือบ 100% ของพืน้ ทีท่ ม่ี ที งั ้ หมดใน ปี 2561 ความส�ำเร็จในด้านการด�ำเนินธุรกิจหลักทัง้ ใน ประเทศและต่างประเทศดังกล่าว ส่งผลให้บริษทั ฯ และ บริษทั ย่อยมีรายได้รวมในปี 2561 (9 เดือน) ทัง้ สิน้ 3,817 ล้านบาท และมีกำ� ไรสุทธิ 668 ล้านบาท ซึง่ สูงกว่ารายได้

4

และก�ำไรสุทธิของปี 2560 (12 เดือน) ถึง 83% และ 38% ตามล�ำดับ ส�ำหรับการขยายขอบข่ายธุรกิจเพือ่ การเติบโตในระยะยาว บริษทั ฯ ได้รบั ความร่วมมืออย่างดีจากกลุม่ เฟรเซอร์ส ซึง่ เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ ในการประสานงานให้ บริษทั ฯ ร่วมลงทุนกับบริษทั ทีม่ ปี ระสบการณ์โดยตรงใน ธุรกิจสร้างศูนย์ขอ้ มูลเพือ่ ให้เช่าส�ำหรับเก็บข้อมูลทางธุรกิจ “Data Center” และธุรกิจให้เช่าพืน้ ทีส่ ำ� นักงานพร้อม อุปกรณ์และสิง่ อ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับการท�ำงาน ร่วมกัน “Co-working Space” ซึง่ ทัง้ 2 ธุรกิจใหม่น้ีจะต่อยอด ธุรกิจให้เช่าโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้าของบริษทั ฯ และตอบสนองความต้องการทางธุรกิจของลูกค้าอย่างครบ วงจร ธุรกิจ Data Centre เป็ นการลงทุนร่วมกันในสัดส่วน 51% : 49% ระหว่างกลุม่ บริษทั ฯ และกลุม่ ST Telemedia Global Data Centre (STT GDC) ซึง่ เป็ นผูใ้ ห้บริการ Data Center ชัน้ น�ำจากประเทศสิงคโปร์ โดยบริษทั ร่วมทุนทีต่ งั ้ ขึน้ ใหม่สำ� หรับธุรกิจนี้ มีแผนทีจ่ ะสร้างศูนย์เก็บข้อมูลขนาด ใหญ่ Data Center แห่งแรกบนพืน้ ทีย่ ทุ ธศาสตร์ในกลาง กรุงเทพฯ รองรับความต้องการใช้บริการ Data Center ของ ผูป้ ระกอบการขนาดใหญ่ทงั ้ ในประเทศและระหว่างประเทศ ส่วนธุรกิจ Co-working Space เป็ นการลงทุนร่วมกัน ในสัดส่วน 51% : 49% ระหว่างบริษทั ฯ กับบริษทั Justco (Thailand) จากประเทศสิงคโปร์ ซึง่ เป็ นผูใ้ ห้บริการ Co-working Space ทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ โดยบริษทั ร่วมทุนทีต่ งั ้ ขึน้ ส�ำหรับธุรกิจนี้ได้เริม่ เปิ ด สาขาแรกในกรุงเทพฯ ทีต่ กึ เอ ไอ เอ สาทร ทาวเวอร์ และ สาขาทีส่ องทีต่ กึ แคปปิ ตอล ทาวเวอร์ ออลซีซนส์ ั ่ เพลส และมี แผนทีจ่ ะขยายสาขาเพิม่ อีกหลายพืน้ ที่ การเติบโตของธุรกิจในปี 2561 ส่วนหนึ่งได้รบั แรงหนุนจาก ภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยทีป่ รับตัวดีขน้ึ ส่วนการลงทุน

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 4

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:16


รายงานประจำ�ปี 2561

ก้าวไปสู่ค วามเป็ น ผู ้ น� ำ ในธุรกิจให้บริการ

สมาร์ทแพลทฟอร์ม

ด้านอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรม

โครงสร้างพืน้ ฐานด้านการคมนาคมขนส่งจ�ำนวนมากทีม่ ี ความคืบหน้าและจะใช้เงินลงทุนมากขึน้ ในอีก 3-5 ปี ข้างหน้า การพัฒนาโครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor “EEC”) ของรัฐบาลทีม่ คี วามชัดเจนมาก ขึน้ และนโยบายส่งเสริมการลงทุนทีจ่ งู ใจให้มกี ารลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment “FDI”) และการลงทุนเพือ่ การขยายธุรกิจในประเทศมากขึน้ ควบคูก่ บั การผลักดันนโยบายเศรษฐกิจ 4.0 ของรัฐบาล จะเป็ นแรงกระตุน้ ให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโตต่อไป อย่างชัดเจนและจะส่งผลให้ความต้องการใช้โรงงาน อุตสาหกรรมและคลังสินค้าการใช้บริการ Data Center และ การใช้พน้ื ทีส่ ำ� นักงานแบบ Co-working space ปรับตัวสูง ขึน้ ควบคูก่ บั ระบบเศรษฐกิจดิจทิ ลั ทีจ่ ะเข้ามาผลักดันให้ภาค ธุรกิจและอุตสาหกรรมซึง่ เป็ นจุดแข็งของประเทศปรับตัวไป สูว่ ฏั จักรใหม่ของการเติบโตในอนาคตด้วยเช่นกัน เพือ่ เป็ นการเตรียมความพร้อมส�ำหรับโอกาสและความ เปลีย่ นแปลงจากกระแส Digital Disruption ทีก่ ำ� ลังเกิดขึน้ บริษท ั ฯ จึงได้วางแผนที่จะเสริมศักยภาพธุรกิจด้วย การลงทุนจัดหาสินค้า (ทีด่ นิ ในท�ำเลทีเ่ หมาะสม) เพิม่ ขึน้ และลงทุนด้านเทคโนโลยีทเ่ี ป็ นไปตามทิศทางตลาดโลก พร้อมกับก�ำหนดแผนกลยุทธ์ (Road Map) ทีจ่ ะก้าวไป สูค่ วามเป็ นผูน้ �ำในธุรกิจให้บริการ “สมาร์ทแพลทฟอร์มด้าน อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การอุตสาหกรรม” และประกาศยุทธศาสตร์ การขับเคลือ่ นองค์กรในทุกมิติ (Total Dimension) เพือ่ เพิม่ ศักยภาพการแข่งขันรอบด้าน รวมถึงการปรับปรุงศักยภาพ ของคลังสินค้าและบริการให้ครบวงจรเพื่อตอบโจทย์ ความต้องการของธุรกิจทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป การส่งเสริมและ น�ำนวัตกรรมใหม่ๆ มาปรับใช้กบั ธุรกิจ การปรับปรุงระบบ บริหารงานและการเงิน และบริหารจัดการโครงสร้างรายได้ ให้สมดุลระหว่างการขายทรัพย์สนิ เข้ากองทรัสต์ TREIT และรายได้ต่อเนื่องจากการให้เช่าพืน้ ทีแ่ ละให้บริการอืน่ ๆ

(Recurring income) ส่วนด้านการบริหารจัดการ บริษทั ฯ ยังคงให้ความส�ำคัญต่อเนื่องกับความเพียงพอของระบบ ควบคุมภายใน และการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี รวมถึง การอนุ รกั ษ์สงิ่ แวดล้อม และการดูแลสังคมและผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียทุกฝ่ ายอย่างเท่าเทียมกัน ผมและคณะกรรมการบริษทั ฯ ขอชืน่ ชมการท�ำงานอย่างมี ประสิทธิภาพและเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันของผูบ้ ริหารและ พนักงานทุกท่านในการบริหารจัดการให้บริษทั ฯ ประสบ ความส�ำเร็จอย่างสูงในปี 2561 จนสามารถเสนอจ่าย เงินปั นผลประจ�ำปี ให้ผถู้ อื หุน้ ได้ถงึ 0.27 บาทต่อหุน้ หรือ เท่ากับอัตราส่วนร้อยละ 74 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปี 2561 และสนับสนุ นความคิดริเริม่ ในการปรับเปลีย่ นกลยุทธ์ทาง ธุรกิจของบริษทั ฯ ได้เร็วทันกับภาวะ การเปลีย่ นแปลงของ โลกด้านเทคโนโลยี พร้อมกับก�ำหนดแนวทางและผลงาน ทีช่ ดั เจน ทีท่ ำ� ให้เชือ่ มือได้วา่ บริษทั จะสามารถเจริญเติบโต ต่อไปในอนาคตได้อย่างมีเสถียรภาพและยังยื ่ น สุดท้ายนี้ ผมและคณะกรรมการบริษทั ฯ ขอขอบคุณท่าน ผูถ้ อื หุน้ และพันธมิตรทางธุรกิจของบริษทั ฯ ทุกท่าน รวมถึง ผูถ้ อื หน่วยลงทุนและกองทรัสต์ TREIT ทีใ่ ห้ความไว้วางใจ และสนับสนุนการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ มาอย่างต่อเนื่อง

นายชายน้ อย เผือ่ นโกสุม ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 5

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

5

15/12/2561 BE 11:16


รายงานประจำ�ปี 2561

รายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ ประจำ�ปี 2561

เรียน ท่านผูถ้ อื หุน้ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั ่น จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ ได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะ กรรมการบริษทั ฯ ประกอบด้วย กรรมการอิสระทีเ่ ป็ นผูท้ รง คุณวุฒ ิ มีประสบการณ์ทางด้านการบัญชี การเงิน การ บริหารธุรกิจและด้านกฏหมาย มีความเป็ นอิสระและมี คุณสมบัตเิ หมาะสมในการปฏิบตั หิ น้าทีส่ อบทานความน่า เชื่อ ถือ ของรายงานทางการเงิน ตามข้อ ก� ำ หนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จ�ำนวน 4 ท่าน คือ นาย ตรีขวัญ บุนนาค เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ และ นายธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย เป็ นกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็ นไปตามกฎบัตร ของคณะกรรมการตรวจสอบซึง่ สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่างครบถ้วนและเป็ น อิสระ โดยเน้นการปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การมีระบบการตรวจสอบภายในทีด่ ี และส่งเสริมแนวทาง การตรวจสอบเชิงป้ องกัน ทีค่ รอบคลุมถึงการบริหารความ เสีย่ ง และการปกป้ องผลประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่ าย อย่างเท่าเทียมกัน ในปี 2561 ทางบริษทั ฯ ได้มกี ารเปลีย่ น รอบระยะเวลาบัญชีใหม่โดยสิน้ สุดปี 30 กันยายน เพือ่ ให้ สอดคล้องกับกลุม่ ของกิจการ ท�ำให้บริษทั ฯ มีรอบระยะเวลา บัญชีใหม่ในปี น้ีมรี ะยะเวลา 9 เดือนเป็ นครัง้ แรก เริม่ ตัง้ แต่ 1 มกราคม 2561 สิน้ สุด 30 กันยายน 2561 และในรอบปี น้ี บริษทั ฯ ได้มกี ารประชุมคณะกรรมการตรวจสอบรวมทัง้ สิน้ 6 ครัง้ ซึง่ มีคณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมดังนี้

6

การเข้าร่วม รายนาม

ต�ำแหน่ง

ประชุม/การ ประชุมทั้งหมด

นายตรีขวัญ บุนนาค

ประธานกรรมการ 6 ครัง้ / 6 ครัง้ ตรวจสอบ

นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม

กรรมการตรวจสอบ 6 ครัง้ / 6 ครัง้

นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

กรรมการตรวจสอบ 4 ครัง้ / 6 ครัง้

ร.ศ. ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย

กรรมการตรวจสอบ 6 ครัง้ / 6 ครัง้

ทัง้ นี้การประชุมดังกล่าวเป็ นการหารือร่วมกับฝ่ ายจัดการ ผูต้ รวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชี เพือ่ ร่วมเสนอข้อมูล รับฟั งความคิดเห็นและข้อเสนอแนะทีเ่ ป็ นประโยชน์ในการ สอบทานความเพียงพอและประสิทธิภาพของระบบควบคุม ภายใน ความน่าเชือ่ ถือของรายงานทางการเงิน การปฏิบตั ิ ตามกฏหมายและกฏระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินงาน ของบริษทั ฯ และสอบทานรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการ ทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยรวมถึงการประชุม ร่วมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มฝี ่ ายจัดการของบริษทั ฯ 1 ครัง้ เพือ่ สอบถามให้มนใจว่ ั ่ าผูส้ อบบัญชีมคี วามเป็ นอิสระในการ ก�ำหนดขอบเขตแนวทางในการสอบบัญชีประจ�ำปี โดย ปราศจากการชีน้ �ำของฝ่ ายบริหาร สรุปสาระส�ำคัญในการ ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นรอบปี 2561ได้ดงั นี้ 1) การสอบทานรายงานทางการเงิน

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานข้อมูลทีส่ ำ� คัญของ รายงานทางการเงินรายไตรมาส และประจ�ำปี 2561 สิน้ สุด

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 6

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:16


รายงานประจำ�ปี 2561

วันที่ 30 กันยายน 2561 ของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือซึง่ ได้รบั การสอบทาน และตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีของ บริษทั ฯ ร่วมกับผูบ้ ริหาร ผูต้ รวจสอบภายในและผูส้ อบบัญชี รวมถึงสอบทานประเด็นเกีย่ วกับนโยบายการบัญชีทส่ี ำ� คัญ การเปลีย่ นแปลงในรอบปี ทผ่ี า่ นมา ผลกระทบในอนาคตที่ อาจจะเกิดขึน้ และรายการทีไ่ ม่ใช่รายการปกติทม่ี นี ยั ส�ำคัญ ข้อสังเกตของผูส้ อบบัญชีและผูต้ รวจสอบภายใน และมีความ เห็นว่างบการเงินรวมประจ�ำปี 2561 ของบริษทั ฯ ได้แสดง ฐานะทางการเงินและผลการด�ำเนินงาน ครบถ้วน และเชือ่ ถือได้ สมเหตุสมผล โดยถือปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีท่ี รับรองโดยทั ่วไป มีการใช้นโยบายบัญชีทเ่ี หมาะสมและถือ ปฏิบตั อิ ย่างสม�่ำเสมอ เปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ และ ปฏิบตั ถิ กู ต้องตามหลักกฏหมายและกฏระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง 2) การสอบทานความเพียงพอของระบบการควบคุม ภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานผลการประเมินระบบ การควบคุมภายในของบริษทั ฯ เป็ นประจ�ำทุกไตรมาส รวม ถึงสอบทานผลการประเมินความเพียงพอของระบบการ ควบคุมภายในตามแบบประเมินฯ ของส�ำนักงานคณะ กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย (ก.ล.ต.) เพือ่ ใช้เป็ นแนวทางในการประเมิน ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษทั และมี ความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษทั มีความ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพียงพอกับการด�ำเนินธุรกิจ อย่างโปร่งใส 3) การสอบทานการปฏิบัติตามกฏหมาย

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและก�ำกับดูแลให้ บริษทั ฯ และบริษทั ในเครือปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย และด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ อย่างถูกต้องตาม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามข้อ ก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ โดยไม่ พบข้อบ่งชีท้ ท่ี ำ� ให้เชือ่ ว่า บริษทั ฯ มีขอ้ บกพร่องเกีย่ วกับการ ไม่ปฏิบตั ติ ามและ/หรือการปฏิบตั ทิ ข่ี ดั หรือแย้งกับข้อ ก�ำหนด ระเบียบ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง 4) การคัดเลือกผู้สอบบัญชีประจำ�ปี 2561

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาข้อเสนอบริการสอบ บัญชีจากส�ำนักงานสอบบัญชี จ�ำนวน 3 ราย โดยพิจารณา ความเหมาะสมจาก คุณสมบัติ ความเป็ นอิสระ ผลการ ปฏิบตั งิ าน และความสมเหตุสมผลของค่าตอบแทน โดย

คณะกรรมการตรวจสอบเสนอให้คณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาเสนอขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณา อนุมตั กิ ารแต่งตัง้ บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด เป็ นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ โดยมี นางสาวปั ทมวรรณ วัฒนกุล ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 9832 หรือ นางสาวนิตยา เชษฐโชติรส ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 4439 หรือ นางสาว สุรยี ร์ ตั น์ ทองอรุณแสง ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 4409 หรือ นางสาวกนกอร ภูรปิ ั ญญวานิช ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขที่ 10512 เป็ นผูต้ รวจสอบ และรับรองรายงานทางการ เงินประจ�ำปี 2561 ของบริษทั ฯ 5) การสอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ซง่ึ ต้อง ปฏิบ ัติใ ห้ เ ป็ นไปตามกฎหมายและข้อ ก� ำ หนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรือ่ งการเปิ ดเผยข้อมูล และการปฏิบตั ขิ องบริษทั จดทะเบียนในรายการทีเ่ กีย่ วโยง กันซึง่ อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ทัง้ นี้ คณะ กรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่ารายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน เป็ นการด�ำเนินการตามเงือ่ นไขทางการค้าปกติท ั ่วไป ไม่ม ี ความขัดแย้งกันทางผลประโยชน์ มีความเป็ นธรรม และ สมเหตุสมผล โดยไม่พบรายการใดทีผ่ ดิ ปกติ และมีการเปิ ด เผยข้อมูลสารสนเทศอย่างครบถ้วนเพียงพอ 6) การสอบทานและกำ�กับดูแลการปฏิบัติงานตรวจสอบ ภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีร่ ะบุไว้ใน กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบโดยสอบทานให้บริษทั ฯ มี ระบบการควบคุมภายในและก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ านตรวจ สอบภายในให้มคี วามเหมาะสมและมีประสิทธิผลตามวิธกี าร และมาตรฐานสากล คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูพ ้ จิ ารณาให้ความเห็นชอบ แผนงานการตรวจสอบของผูต้ รวจสอบภายในประจ�ำปี 2561 ซึง่ จัดท�ำตามผลการประเมินความเสีย่ งทัง้ องค์กร รวมถึง การพิจารณาความส�ำคัญของแต่ละระบบงาน เพือ่ ให้ สอดคล้องกับเป้ าหมายธุรกิจขององค์กร และสถานการณ์ท่ี เปลีย่ นแปลง รวมไปถึงการสอบทานระบบการควบคุม ภายใน ความเป็ นอิสระและขอบเขตการปฏิบตั งิ าน การ ปฏิบตั ติ ามข้อเสนอแนะในรายงานการประเมินระบบการ ควบคุมภายในเป็ นประจ�ำทุกไตรมาส ตลอดจนให้ขอ้ เสนอ แนะในการด�ำเนินงานแก่ฝ่ายตรวจสอบภายในเพือ่ ให้บรรลุ เป้ าหมายตามแผนงานการตรวจสอบทีค่ ณะกรรมการตรวจ สอบได้มอบหมาย

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 7

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

7

15/12/2561 BE 11:16


รายงานประจำ�ปี 2561

คณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบให้ฝ่ายตรวจสอบภายใน ด�ำเนินการจัดซือ้ และติดตัง้ โปรแกรมส�ำเร็จรูปด้านการตรวจ สอบชัน้ น�ำ เพือ่ ใช้ในการปฏิบตั งิ านด้านการตรวจสอบ ภายใน ทัง้ โปรแกรมการบริหารจัดการงานตรวจสอบภายใน (Audit Management) และ โปรแกรมส�ำหรับการวิเคราะห์ ข้อมูลเพือ่ การตรวจสอบ (Data Analytics) เพือ่ ยกระดับ ให้ก ารปฏิบ ัติง านตรวจสอบภายในของบริษัท ฯ+มี ประสิทธิภาพ เป็ นไปตามมาตรฐานสากล อีกทัง้ ยังสามารถ รองรับกับข้อมูลขนาดใหญ่ทม่ี คี วามซับซ้อนได้มากขึน้ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานผลการประเมินระบบ การควบคุมภายในตามแผนการตรวจสอบประจ�ำปี ได้แก่ ระบบงานจัดซือ้ จัดจ้าง ระบบการบริหารอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุน และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ ให้บริษทั มีกระบวนการท�ำงาน การควบคุม การก�ำกับดูแลด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ การรักษาความมั ่นคงปลอดภัยของ ข้อมูล+และระบบเครือข่ายสื่อสารให้มปี ระสิทธิผลและ สอดคล้องตามมาตรฐานสากล โดยให้ความเห็นชอบในการ ใช้ ผู้ ต รวจสอบที่ม ีเ ชี่ย วชาญเฉพาะทางด้ า นระบบ คอมพิวเตอร์จากต่างประเทศเข้าร่วมในการตรวจสอบระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั ฯ เพือ่ ปรับปรุงระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั ฯ ให้ได้มาตรฐานสากลมาก ยิง่ ขึน้

และบริษทั ในเครือได้รายงานทางการเงินในสาระส�ำคัญ อย่างถูกต้อง เชือ่ ถือได้ มีการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ สอดคล้องตามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองโดยทัวไป ่ มีระบบ การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสม เพียงพอ และมีประสิทธิผลตามวิธกี ารและมาตรฐานสากล และในการเข้าท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษทั ฯ ได้จดั ให้มกี ารปฏิบตั ิ ตามกฏหมายและข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์อย่าง เคร่งครัด รวมถึงมีกระบวนการควบคุมและติดตามการ ปฏิบ ตั ิง านและตามกฎหมายว่ า ด้ว ยหลัก ทรัพ ย์แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายอืน่ ๆ ที่ เกีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ ในนามของคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูป้ ระเมินผลการปฏิบตั งิ าน ของหัวหน้าฝ่ ายตรวจสอบภายในและฝ่ ายตรวจสอบภายใน ในภาพรวม ประจ�ำปี 2561 ให้ความเห็นชอบในการแต่งตัง้ โยกย้าย และจัดสรรอัตราก�ำลังของฝ่ ายตรวจสอบภายในให้ เหมาะสมและเพียงพอกับการปฏิบตั งิ านตามแผนงานการ ตรวจสอบ รวมทัง้ สนับสนุ นการพัฒนาศักยภาพและความ ก้าวหน้าทางวิชาชีพของผูต้ รวจสอบภายใน 7) การรายงานการปฏิบัติงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ

คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานการปฏิบตั งิ านของคณะ กรรมการตรวจสอบพร้อมกับผลการสอบทานงบการเงิน เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ อย่างน้อย ไตรมาสละ 1 ครัง้ และจัดท�ำรายงานคณะกรรมการตรวจสอบเพือ่ เปิ ดเผยไว้ใน รายงานประจ�ำปี 2561 ตามหลักเกณฑ์ทต่ี ลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยก�ำหนด ทัง้ นี้ หากพบหรือมีขอ้ สงสัยว่ามี รายการหรือการกระท�ำซึง่ อาจมีผลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญ ต่อฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ คณะ กรรมการตรวจสอบจะเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ ให้รบั ทราบ โดยในรอบปี ทผ่ี า่ นมาไม่มเี หตุการณ์หรือสถานการณ์ ใดทีเ่ ป็ นข้อบ่งชีว้ า่ มีเหตุการณ์ดงั กล่าว โดยสรุปในภาพรวมปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบได้ ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างเป็ นอิสระ ด้วยความรู้ ความสามารถ ความรอบคอบและความระมัดระวัง และปฏิบตั ติ ามขอบเขต และความรับผิดชอบทีร่ ะบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจ สอบ เพือ่ ปกป้ องประโยชน์ต่อผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียอย่างเท่า เทียมกัน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษทั ฯ

8

(นายตรีขวัญ บุนนาค) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 8

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:16


รายงานประจำ�ปี 2561

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง ประจำ�ปี 2561 คณะกรรมการบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั ่น จ�ำกัด (มหาชน) ตระหนักถึงความจ�ำเป็ นของการบริหาร ความเสีย่ ง ซึง่ เป็ นกระบวนการส�ำคัญทีจ่ ะช่วยให้บริษทั บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้ าหมาย ช่วยสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั กิจการ ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียอืน่ ๆ ทุกฝ่ าย รวมถึง ช่วยให้บริษทั เติบโตได้อย่างมันคงและยั ่ งยื ่ น จึงได้แต่งตัง้ ให้ มีคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ประกอบด้วยกรรมการ จ�ำนวน 5 ท่าน คือ นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์ เป็ นประธาน กรรมการบริหารความเสีย่ ง นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี นาย ตรีขวัญ บุนนาค นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์ และร.ศ. ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย เป็ นกรรมการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ ท�ำหน้าที่ ก�ำกับดูแลและสนับสนุนให้มกี ารด�ำเนินงานด้านการบริหาร ความเสีย่ งให้สอดคล้องกับกลยุทธ์และเป้ าหมายทางธุรกิจ ของบริษทั การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งเป็ น ไปตามกฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ อนุ มตั ิ โดยคณะกรรมการบริษทั ส�ำหรับปี 2561 มีการประชุมคณะ กรรมการบริหารความเสีย่ งรวมทัง้ สิน้ 2 ครัง้ มีเนื้อหาสาระ ส�ำคัญดังนี้ • พิ จารณาทบทวนนโยบายการบริ หารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งพิจารณาทบทวน ปรับปรุงนโยบายการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ให้เหมาะ สมกับสภาวะธุรกิจปั จจุบนั ของบริษทั และสอดคล้อง กับมาตรฐานสากล เป็ นกรอบแนวทางให้ฝ่ายบริหารน�ำ ไปใช้ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ต่อไป • พิ จารณาทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการบริ หาร ความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งพิจารณา ทบทวนปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการบริหารความ เสีย่ งเพือ่ ให้เหมาะสม และสอดคล้องกับหลักการก�ำกับ ดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ ช่วยสนับสนุ นการปฏิบตั หิ น้าที่ ก�ำกับดูแลของคณะกรรมการบริษทั เกีย่ วกับการ พิจารณาปั จจัยเสีย่ งส�ำคัญทีอ่ าจเกิดขึน้ และก�ำหนด แนวทางการบริหารจัดการความเสีย่ งอย่างครอบคลุม ดู แ ลให้ ผู้บ ริห ารมีร ะบบ หรือ กระบวนการที่ม ี ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการความเสีย่ ง รวมถึง การแสวงหาโอกาสทางธุรกิจทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากความ เสีย่ งดังกล่าว

• ให้ ความเห็นชอบขอบเขตความเสี่ ยงที่ บริ ษท ั ยอมรับได้ (Risk Tolerance Limit) คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ งพิจารณาให้ความเห็นชอบขอบเขต ความเสีย่ งทีบ่ ริษทั ยอมรับได้ พร้อมทัง้ ก�ำหนดให้การ บริหารจัดการความเสีย่ งของบริษทั อยูใ่ นความรับผิด ชอบของฝ่ ายบริหาร โดยคณะกรรมการบริหารความ เสีย่ งจะให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับแนวทางการบริหารจัดการ ความเสีย่ งอย่างครอบคลุม รวมถึงดูแลให้ฝ่ายบริหารมี ระบบ หรือกระบวนการปฏิบตั งิ านทีม่ ปี ระสิทธิภาพใน การบริหารจัดการความเสีย่ ง และติดตามผลการบริหาร จัดการความเสีย่ งจากฝ่ ายบริหารเป็ นประจ�ำอย่าง ต่อเนื่อง เพือ่ รายงานให้คณะกรรมการบริษทั ทราบ • ก�ำหนดให้จดั ฝึ กอบรมพนักงานเรื่องการบริ หาร ความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งก�ำหนดให้ บริษทั ต้องจัดฝึกอบรมให้ความรูเ้ รือ่ งความเสีย่ งและ การบริหารความเสีย่ งแก่พนักงานอย่างสม�่ำเสมอเพือ่ ให้พนักงานมีความเข้าใจและตระหนักรูถ้ งึ ความส�ำคัญ ของการบริหารความเสีย่ งทีจ่ ะต้องกระท�ำอย่างต่อเนื่อง ทัง้ นี้คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีความมุง่ มันในการท� ่ ำ หน้าทีต่ ดิ ตามการท�ำงานบริหารความเสีย่ งของบริษทั เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียอืน่ ๆทุกฝ่ ายมั ่นใจได้วา่ บริษทั มีกระบวนการบริหารความเสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพ สามารถจัดการกับความเสีย่ งทีส่ ำ� คัญของบริษทั อย่างได้ผล เพือ่ หลีกเลีย่ งการเกิดผลกระทบต่อการด�ำเนินงานและต่อ ผลประกอบการ การปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นรอบปี ทผ่ี า่ นมา คณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ งให้ความส�ำคัญอย่างมากในการก�ำกับดูแลบริษทั ให้มกี ระบวนการบริหารความเสีย่ งทีเ่ ป็ นระบบ พร้อมทัง้ สนับสนุ นให้มกี ารพัฒนากระบวนการบริหารจัดการความ เสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพโดยว่าจ้างผูเ้ ชีย่ วชาญจากภายนอก องค์กรทีม่ ปี ระสบการณ์ และมีชอ่ื เสียงเป็ นทีย่ อมรับของ นานาชาติ เข้ามาเป็ นทีป่ รึกษาให้กบั บริษทั

นายโชติ พฒ ั น์ พีชานนท์ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 9

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

9

15/12/2561 BE 11:16


รายงานประจำ�ปี 2561

เป็นผู้นำ�การให้บริการสมาร์ทแพลตฟอร์ม ด้านอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรม มุ่งมั่นพัฒนาและต่อยอดธุรกิจ ด้วยการทำ�งานโดยนำ�ลูกค้าเป็นศูนย์กลาง เพื่อสร้างสรรค์ความเป็นเลิศด้านการบริการ ที่เข้าถึงความต้องการของโลกอุตสาหกรรม ยุคใหม่อย่างครบวงจร ภายใต้การบริหารงาน ในกรอบธรรมาภิบาลที่ดี เพื่อประโยชน์สูงสุด ของผู้เกี่ยวข้องในทุกภาคส่วนเป็นสำ�คัญ

วิสัยทัศน์

10

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 10

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:16


รายงานประจำ�ปี 2561

เป้าหมาย การดำ�เนินธุรกิจ

เป็นผู้นำ�การให้บริการสมาร์ทแพลตฟอร์ม ด้านอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรม มุ่งเน้นการออกแบบและพัฒนาโรงงานและ คลังสินค้ามาตรฐานระดับสากล ที่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า และทิศทางธุรกิจอุตสาหกรรมในยุคดิจิทัล ควบคู่ไปกับการให้บริการที่ทันสมัยครบวงจร โดยคำ�นึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม และการพัฒนาอย่างยั่งยืน

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 11

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

11

15/12/2561 BE 11:16


รายงานประจำ�ปี 2561

การเปลี การเปลี่ย่ยนแปลงและพั นแปลงและพัฒ ฒนาการ นาการ ทีที่ส่สำคั ำคัญญในช ในชววงง33ปปทที่ผี่ผาานมา นมา 13,230 13,230 ม.ค. ม.ค. ต.ค. ต.ค. บริบริ ษัทษไทคอน ัท ไทคอน โลจิโลจิ สติสคติส์คพาร์ ส์ พาร์ ค จำกั ค จำกั ดด ได้เได้ ข้าเข้ ร่วาร่มลงทุ วมลงทุ นในกิ นในกิ จการ จการ ร่วร่มค้ วมค้ าร่วาร่มกั วมกั บ บริ บ บริ ษัทษพรอสเพค ัท พรอสเพค ดีเวลลอปเมนท์ ดีเวลลอปเมนท์ จำกั จำกั ดด ได้จได้ัดจตั​ัด้งตับริ ้งบริ ษัทษร่ัท วร่มลงทุ วมลงทุ นน ชื่อชืบริ ่อบริ ษัทษทีัทพทีาร์ พค าร์บีคเอฟที บีเอฟที แซด แซด จำกั จำกั ดด เพื่อ เพืการพั ่อการพั ฒนาคลั ฒนาคลั งสิงนสิค้นาค้ ให้าเให้ ช่าเช่า และ/หรื และ/หรื อขายในโครงการบางพลี อขายในโครงการบางพลี จังจัหวั งหวั ดสมุ ดสมุ ทรปราการ ทรปราการ

2559 2559

ล้าล้ นบาท านบาท

ถือถืหุอน ้ หุน ้

40.95% 40.95%

บริบริ ษัทษได้ ัทรได้ับรเงิับนเงิจากการเพิ นจากการเพิ ่มทุ่มนทุเป็นนเป็เงินนเงิน 13,230 13,230 ล้าล้นบาท านบาท ซึ่งซึหลั ่งหลั งจากการเพิ งจากการเพิ ่มทุ่มนทุน ดังดักล่ งกล่ าวาFPHT ว FPHT มีสมีัดสส่ัดวส่นการถื วนการถื อหุอ้นหุ้น รอรยละ อยละ 40.95 40.95 ของทุ ของทุ นจดทะเบี นจดทะเบี ยนของบริ ยนของบริ ษัทษัท

พ.ค. พ.ค.

“A” “A”Stable Stable

บริบริ ษัทษได้ ัทรได้ับรการปรั ับการปรั บอับนอัดันบดัเป็บนเป็“A” น “A” Stable Stable จากบริ จากบริ ษัทษTRIS ัท TRIS Rating Rating จากความแข็ จากความแข็ งแกร่ งแกร่ งง ทางการเงิ ทางการเงิ นจากการเพิ นจากการเพิ ่มทุ่มนทุและความมั น และความมั ่นคง ่นคง ของกระแสเงิ ของกระแสเงิ นสดจากการดำเนิ นสดจากการดำเนิ นธุนรธุกิรจกิจ

2560 2560 ส.ค. ส.ค.

ธ.ค. ธ.ค. บริบริ ษัทษทำการเพิ ัททำการเพิ ่มทุ่มนทุโดยการออกหุ นโดยการออกหุ ้นสามั ้นสามั ญญ จำนวน จำนวน 735 735 ลาล นหุ านหุ น เสนอขายให้ น เสนอขายให้ แก่แก่ บริบริ ษัทษเฟรเซอร์ ัท เฟรเซอร์ ส พร็ ส พร็ อพเพอร์ อพเพอร์ ตี้ โฮลดิ ตี้ โฮลดิ ้งส์้งส์ (ประเทศไทย) (ประเทศไทย) จำกั จำกั ด (FPHT) ด (FPHT) ซึ่งซึเป็่งนเป็การเสนอขายให้ นการเสนอขายให้ แก่แบกุ่คบคลในวงจำกั ุคคลในวงจำกั ดด

บริบริ ษัทษได้ ัทรได้ับรการรั ับการรั บรองเป็ บรองเป็ นสมาชิ นสมาชิ กก แนวร่ แนวร่ วมปฏิ วมปฏิ บัตบิ (Collective ัติ (Collective Action Action Coalition Coalition หรืหรื อ CAC) อ CAC) ของภาคเอกชนไทย ของภาคเอกชนไทย ในการต่ ในการต่ อต้อาต้นการทุ านการทุ จริจตริต

ต.ค. ต.ค. บริบริ ษัทษได้ ัทจได้ัดจตั​ัด้งตับริ ้งบริ ษัทษย่ัทอย่ยอชืย่อชืTICON ่อ TICON International International Pte. Pte. Ltd. Ltd. ในประเทศสิ ในประเทศสิ งคโปร์ งคโปร์ ซึ่งซึถื่งอถืหุอ้นหุโดยบริ ้นโดยบริ ษัทษร้ัทอร้ยละ อยละ 100 100 ของทุ ของทุ นจดทะเบี นจดทะเบี ยนยและมี น และมี วัตวถุัตปถุระสงค์ ประสงค์ เพื่อ เพืการลงทุ ่อการลงทุ นในกิ นในกิ จการ จการ ในต่ ในต่ างประเทศ างประเทศ

บริบริ ษัทษได้ บรองคุ ณภาพอาคาร คลัคลั งสิงนสิค้นาค้ทีา่เป็ ัทรได้ับรการรั ับการรั บรองคุ ณภาพอาคาร ทีน่เป็มินตมิรตร ต่อต่สิอ่งสิแวดล้ อมตามมาตรฐานของ LEED (Leadership in in ่งแวดล้ อมตามมาตรฐานของ LEED (Leadership Energy and Environmental Design) ในระดั บ Gold Certified Energy and Environmental Design) ในระดั บ Gold Certified โดย U.S. Green Building Council (USGBC) โดย U.S. Green Building Council (USGBC) ซึ่งซึเป็่งนเป็องค์ กรที ่เป็น่เป็ผูน้นผูำ้นในการกำหนดมาตรฐานอาคาร นองค์ กรที ำ ในการกำหนดมาตรฐานอาคาร สีเขีสียเขีวในประเทศสหรั ฐอเมริ กากทำให้ บริบษริัทษเป็ ยวในประเทศสหรั ฐอเมริ า ทำให้ ัทนเป็ผูน้นผูำ้นำ ด้าด้นการพั ฒฒ นาอาคารคลั งสิงนสิค้นาค้และศู นย์นย์ านการพั นาอาคารคลั าและศู กระจายสิ นค้นาค้ทีา่มที​ีค่มุณ บสากล กระจายสิ ีคภาพมาตรฐานระดั ุณภาพมาตรฐานระดั บสากล

12

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 12

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

พ.ค. พ.ค.

ธ.ค. ธ.ค. แปลงสภาพกองทุ แปลงสภาพกองทุ นรวมอสั นรวมอสั งหาริ งหาริ มทรั มทรั พย์พทั ย์้งทั3้ง กองได้ 3 กองได้ แก่แก่ TFUND TFUNDTLOGIS TLOGIS และและ TGROWTH TGROWTH เข้าเข้สูา่กสูองทรั ่กองทรั สต์สต์ เพื่อ เพืการลงทุ ่อการลงทุ นในอสั นในอสั งหาริ งหาริ มทรั มทรั พย์พแย์ ละสิ และสิ ทธิทกธิารเช่ การเช่ า า อสัอสั งหาริ งหาริ มทรั มทรั พย์พไทคอน ย์ไทคอน หรืหรื อ TREIT อ TREIT (TICON (TICON Freehold Freehold and and Leasehold Leasehold Real Real Estate Estate Investment Investment Trust) Trust) ที่อทียู่อ่ภยูายใต้ ่ภายใต้ การบริ การบริ หารจั หารจั ดการของบริ ดการของบริ ษัทษไทคอน ัท ไทคอน แมนเนจเม้ แมนเนจเม้ นท์นจำกั ท์ จำกั ดด หรืหรื อ TMAN อ TMAN แล้แล้ วเสร็ วเสร็ จ ทำให้ จ ทำให้ กองทรั กองทรั สต์สTREITเป็ ต์ TREITเป็ นกองทรั นกองทรั สต์สต์ ทางด้ ทางด้ านอสั านอสั งหาริ งหาริ มทรั มทรั พย์พเพื ย์่อ เพือุ่อตอุสาหกรรมที ตสาหกรรมที ่มีม่มูลีมคู่ลาค่ใหญ่ าใหญ่ ที่สทุดี่สุด ในประเทศ ในประเทศ กว่กว่ า 3.2 า 3.2 หมืหมื ่นล่นาลนบาท านบาท

2560 2560

บริบริ ษัทษัท เฟรเซอร์ เฟรเซอร์ ส แอสเซ็ ส แอสเซ็ ทส์ทจำกั ส์ จำกั ดด ได้ได้ เข้าเข้ซืา้อซืหลั ้อหลั กทรั กทรั พย์พขย์อง ของ บริบริ ษัทษไทคอน ัทไทคอน อินอิดันสดัเทรี สเทรี ยลยคอนเน็ ล คอนเน็ คชัค่นชั่น จำกั จำกั ดด (มหาชน) (มหาชน) ในสั ในสั ดส่ดวส่นร วนร อยละ อยละ 26.10 26.10 ซึ่งซึเดิ ่งเดิ มถืมอถืโดย อโดย

บริบริ ษท ั ษสวนอุ ท ั สวนอุ ตสาหกรรมโรจนะ ตสาหกรรมโรจนะ จำกั จำกั ด (มหาชน) ด (มหาชน)

พร้พร้ อมดำเนิ อมดำเนิ นการทำคำเสนอซื นการทำคำเสนอซื ้อหลั ้อหลั กทรั กทรั พย์พย์ ของกิ ของกิ จการ จการ (Tender (Tender Offer) Offer) ส่งส่ผลให้ งผลให้ บริบริ ษัทษัท เฟรเซอร์ เฟรเซอร์ ส พร็ ส พร็ อพเพอร์ อพเพอร์ ตี้ ต โฮลดิ ี้ โฮลดิ ้งส์้งส์ (ประเทศไทย) (ประเทศไทย) จำกั จำกั ดด และและ บริบริ ษัทษัท เฟรเซอร์ เฟรเซอร์ สส แอสเซ็ แอสเซ็ ทส์ทจำกั ส์ จำกั ดด มีสมีัดสส่ัดวส่นการถื วนการถื อหุอ้นหุ้น ในไทคอนรวมร ในไทคอนรวมร อยละ อยละ 67.05 67.05 บริบริ ษัทษัท เฟรเซอร์ เฟรเซอร์ ส แอสเซ็ ส แอสเซ็ ทส์ทจำกั ส์ จำกั ดด จึงจึได้ งได้ ทำคำเสนอซื ทำคำเสนอซื ้อหลั ้อหลั กทรั กทรั พย์พทย์ั้งทหมด ั้งหมด ของ ของ ไทคอน ไทคอน ภายหลั ภายหลั งจากการทำคำเสนอ งจากการทำคำเสนอ ซื้อซืกลุ ้อกลุ ่ม ่ม เฟรเซอร์ เฟรเซอร์ ส มี สสมีัดสส่ัดวส่นการถื วนการถื อหุอ้นหุ้น ในไทคอนรวมร ในไทคอนรวมร อยละ อยละ 89.46 89.46

2561 2561 เม.ย. เม.ย.

32,000 32,000 ล้าล้นบาท านบาท

ัทจได้ัดจตั​ัด้งตับริ ้งบริ ่อบริ ัท ไทคอน เทคโนโลยี จำกั บริบริ ษัทษได้ ษัทษย่ัทอย่ยอชืย่อชืบริ ษัทษไทคอน เทคโนโลยี จำกั ดด ้นโดยบริ อยละ 100 วยทุ นจดทะเบี านบาท ถือถืหุอ้นหุโดยบริ ษัทษร้ัทอร้ยละ 100 ด้วด้ยทุ นจดทะเบี ยนย1น ล้1าล้นบาท โดยบริ อยดั งกล่ าวจะเข้ อยละ วมกั โดยบริ ษัทษย่ัทอย่ยดั งกล่ าวจะเข้ าถืาอถืหุอ้นหุร้​้นอร้ยละ 5151 ร่วร่มกั บบ STTelemedia Global Data Centres STTelemedia Global Data Centres ัทในประเทศสิ งคโปร์ ึ่งประกอบธุ ่ยวกั บ Data (บริ(บริ ษัทษในประเทศสิ งคโปร์ ซึ่งซประกอบธุ รกิรจกิเกีจ่ยเกีวกั บ Data Centre) ้นในสั อยละ โดยมี ประสงค์ Centre) ที่ถทีือ่ถหุือ้นหุในสั ดส่ดวส่นวร้นอร้ยละ 4949 โดยมี วัตวถุัตปถุระสงค์ เพืลงทุ ่อลงทุ น และประกอบกิ จการด้ านศู ล และธุ เพื่อ น และประกอบกิ จการด้ านศู นย์นขย์้อขมู้อลมูและธุ รกิรจกิจ ที่ย่เกีวข้ ่ยวข้ องกั บเทคโนโลยี ๆ ในประเทศไทย ที่เกี องกั บเทคโนโลยี อื่นอๆื่นในประเทศไทย

ส.ค. ส.ค. ัทเได้ าทำสั ญญาร่ วมลงทุ บริบริ ษัทษได้ ข้าเข้ทำสั ญญาร่ วมลงทุ นกันบกับ JustCo (Thailand Pte. Ltd. ัทในประเทศสิ งคโปร์ JustCo (Thailand 2) 2) Pte. Ltd. (บริ(บริ ษัทษในประเทศสิ งคโปร์ ่งประกอบธุ ่ยวกั บ co-working office) ซึ่งซึประกอบธุ รกิรจกิเกีจ่ยเกีวกั บ co-working office) โดยจั ้งบริ วมทุ น บริ สโค (ประเทศไทย) จำกั โดยจั ดตัด้งตับริ ษัทษร่ัทวร่มทุ น บริ ษัทษจั​ัทสจัโค (ประเทศไทย) จำกั ดด วยทุ นจดทะเบี านบาท ประสงค์ เพื่อ ด้วด้ยทุ นจดทะเบี ยนย1น ล้1าล้นบาท วัตวัถุตปถุระสงค์ เพื่อ ประกอบธุ จ co-working office ในประเทศไทย ประกอบธุ รกิรจกิco-working office ในประเทศไทย ้นโดยบริ อยละ JustCo (Thailand ซึ่งซึถื่งอถืหุอ้นหุโดยบริ ษัทษรัทอรยละ 5151 และและ JustCo (Thailand 2) 2) Pte. Ltd. อยละ Pte. Ltd. ถือถืหุอ้นหุร้นอรยละ 4949

d

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 13

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

13

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

14

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 14

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทร่วม

บริษัทย่อย

บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จ�ำกัด Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd.

100% 100% 100%

บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด

70%

TICON (HK) Limited

100%

TICON International Pte. Ltd.

100%

บริษทั ไทคอน เทคโนโลยี จ�ำกัด

100%

บริษัทร่วมค้า

ทรัสต์เพือ่ การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน

23%

PT SLP Surya TICON Internusa

25%

บริษทั ทีอาร์เอ แลนด์ ดีเวลลอป เม้นต์ จ�ำกัด

50%

51%

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จ�ำกัด

51%

บริษทั ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด จ�ำกัด

60%

บริษทั จัสโค (ประเทศไทย) จ�ำกัด

51%

(ถือหุน้ โดย TPARK)

(ถือหุน้ โดยบริษทั และ TICON International Pte. Ltd.) (ถือหุน้ โดย TICON (HK) Limited)

(ถือหุน้ โดยบริษทั TICON )

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จ�ำกัด

(ถือหุน้ โดย TPARK)

(ถือหุน้ โดย TPARK) (ถือหุน้ โดย TICON)

รายละเอียดของบริษัทย่อยมีดังต่อไปนี้

(1) บริ ษทั อีโค อิ นดัสเทรียล เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (Eco Industrial Services Company Limited: EISCO) ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน โดย EISCO ด�ำเนินธุรกิจเช่นเดียวกับบริษทั และถูกจัดตัง้ ขึน้ เพือ่ ขอรับการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุนในโครงการก่อสร้างโรงงานส�ำเร็จรูปในนิคม อุตสาหกรรมแหลมฉบัง ซึง่ เป็ นโครงการทีม่ รี ปู แบบเช่น เดียวกับโครงการของบริษทั โดยปั จจุบนั ได้สน้ิ สุดระยะเวลา ส�ำหรับสิทธิประโยชน์ทางภาษีสำ� หรับโครงการดังกล่าวแล้ว ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 EISCO มีทนุ จดทะเบียนและทุน ช�ำระแล้ว 12.5 ล้านบาทโดยในปี 2546 EISCO ได้รบั การ รับรองคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 : 2000 (2) บริ ษท ั ไทคอน โลจิ สติ คส์ พาร์ค จ�ำกัด (TICON Logistics Park Company Limited: TPARK) ถือหุน้ โดย บริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน TPARK จัดตัง้ ขึน้ ใน เดือนสิงหาคม 2548 โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนาคลัง สินค้าให้เช่า โดยปั จจุบนั TPARK ได้รบั การส่งเสริมการ ลงทุนในการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน วังน้อย (1 แห่ง) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอนศรีราชา เขตอุตสาหกรรม โลจิสติคส์ไทคอนแหลมฉบัง ศูนย์คลัง

สินค้าอีสเทิรน์ ซีบอร์ด เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน บางปะกง ศูนย์คลังสินค้าขอนแก่น และการพัฒนาคลังสินค้า จ�ำนวนหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี ชลบุร ี นิคม อุตสาหกรรมเหมราชชลบุร ี (บ่อวิน) ศูนย์คลังสินค้าบางพลี นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี ระยอง และ สวนอุตสาหกรรม โรจนะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดปราจีนบุร ี ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 TPARK มีทนุ จดทะเบียนและทุน ช�ำระแล้ว 11,500 ล้านบาท โดยในปี 2552 TPARK ได้รบั การรับรองคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 (3) Shanghai TICON Investment Management Company Limited ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน จัด ตัง้ ขึน้ ในประเทศจีน ในเดือนกรกฎาคม 2553 โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ รองรับการขยายธุรกิจเกีย่ วกับการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ในประเทศจีน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 Shanghai TICON Investment Management Company Limited มีทนุ จดทะเบียน และ ทุนช�ำระแล้ว 2.8 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 15

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

(4) บริ ษท ั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด (TICON Management Company Limited: TMAN) ถือหุน้ โดย บริษทั ร้อยละ 70 และถือหุน้ โดย Mitsui & Co. (Asia Pacific) Pte. Ltd. ร้อยละ 30 ของทุนจดทะเบียน TMAN จัดตัง้ ขึน้ ใน เดือนพฤษภาคม 2556 โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เป็ นผูจ้ ดั การ กองทรัสต์ โดยได้รบั การอนุมตั ใิ นการเป็ นผูจ้ ดั การกองทรัสต์ จากส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กับ หลัก ทรัพ ย์แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ตงั ้ แต่วนั ที่ 6 สิงหาคม 2557 ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 TMAN มีทนุ จดทะเบียนและทุน ช�ำระแล้ว 10 ล้านบาท (5) TICON (HK) Limited ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของ ทุนจดทะเบียน จัดตัง้ ขึน้ ในประเทศฮ่องกง ในเดือนเมษายน 2558 โดยมีวตั ถุประสงค์ในการลงทุนในกิจการในต่าง ประเทศ ซึง่ ปั จจุบนั มีการลงทุนในประเทศอินโดนีเซีย ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 TICON (HK) Limited มีทนุ จด ทะเบียน และทุนช�ำระแล้ว 16.13 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ (6) TICON International Pte. Ltd. ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน จัดตัง้ ขึน้ ในประเทศสิงคโปร์ ในเดือนตุลาคม 2560 โดยมีวตั ถุประสงค์ในการลงทุนใน กิจการในต่างประเทศ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 TICON International Pte. Ltd. มีทนุ จดทะเบียน และทุนช�ำระแล้ว 238.45 ล้านดอลล่าร์ สิงคโปร์ (7) บริษทั ไทคอน เทคโนโลยี จ�ำกัด (TICON Technology Company Limited) ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุน จดทะเบียน จัดตังขึ ้ น้ ในเดือนเมษายน 2561 โดยมีวตั ถุประสงค์ ในการลงทุนและประกอบกิจการด้านศูนย์ขอ้ มูลและธุรกิจที่ เกีย่ วข้องกับเทคโนโลยีอน่ื ๆ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั ไทคอน เทคโนโลยี จ�ำกัด มีทนุ จดทะเบียนและทุนช�ำระแล้ว 1 ล้านบาท รายละเอียดของบริษัทร่วมมีดังต่อไปนี้

(1) ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์และสิ ทธิ การเช่ าอสังหาริ มทรัพย์ไทคอน (TICON Freehold and Leasehold Real Estate Investment Trust: TREIT) TREIT จัดตัง้ ขึน้ ในเดือนธันวาคม 2557 เพือ่ วัตถุประสงค์ใน การลงทุ น ในอสัง หาริม ทรัพ ย์ท่ีเ กี่ย วเนื่ อ งกับ กิจ การ อุตสาหกรรม โดยอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวไม่จำ� เป็ นต้องเป็ น อสังหาริมทรัพย์ท่ี TICON หรือ TPARK เป็ นเจ้าของ TREIT เป็ นทรัสต์เพือ่ การลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสัง หาริ ม ทรัพ ย์ ท่ี เ ป็ นหลั ก ทรัพ ย์ จ ดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีบริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด (TICON Management Company Limited: TMAN) เป็ นผูจ้ ดั การกองทรัสต์ และบริษทั หลัก ทรัพย์จดั การกองทุนรวม บัวหลวง จ�ำกัด เป็ นทรัสตี

16

TREIT มีการระดมทุนครัง้ แรกในปี 2557 และมีการเพิม่ ทุน รวมทัง้ ท�ำการกูย้ มื เงินกูร้ ะยะยาวในปี 2558 เพือ่ ซือ้ โรงงาน และคลังสินค้าจาก TICON และ TPARK และลงทุนในสิทธิ การเช่าทีด่ นิ กรรมสิทธิ ์ และสิทธิการเช่าอาคารจาก TICON และ TPARK นอกจากนี้ ในช่วงเดือนธันวาคม ของปี 2560 TREIT ได้ดำ� เนินการรับโอนทรัพย์สนิ จากการแปลงสภาพ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ทีพาร์คโลจิสติคส์ และกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท เป็ นทรัสต์เพือ่ การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ และในช่วงสิงหาคมของปี 2561 มีการกูย้ มื เงินเพือ่ ซือ้ คลังสินค้าจาก TPARK และแปลงสภาพสิทธิการ เช่าอสังหาริมทรัพย์ทล่ี งทุนโดยการเช่าจาก TICON และ TPARK เป็ นการลงทุนโดยรับโอนกรรมสิทธิ ์ ท�ำให้ปัจจุบนั TREIT มีโรงงานจ�ำนวน 299 หลัง (พืน้ ทีร่ วม 750,485 ตารางเมตร) และคลังสินค้าจ�ำนวน 217 ยูนิต (พืน้ ทีร่ วม 818,231 ตารางเมตร) ตามล�ำดับ ทัง้ นี้ TICON และ TPARK มิได้มขี อ้ ผูกพันในการซือ้ โรงงานและคลังสินค้าคืนจาก TREIT TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจ้างให้เป็ น ผูบ้ ริหาร โรงงาน และคลังสินค้าทีข่ าย/ให้เช่าแก่ TREIT และได้รบั ค่า จ้างบริหารจาก TREIT TREIT มีนโยบายจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู้ อื หน่วยทรัสต์อย่าง น้อยปี ละ 2 ครัง้ ในอัตราไม่ต่ำ� กว่าร้อยละ 90 ของก�ำไรสุทธิ หลังปรับปรุงแล้วของกองทรัสต์ ซึง่ ก�ำไรสุทธิของกองทรัสต์ ดังกล่าว เป็ นก�ำไรทีไ่ ด้รบั การยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ทัง้ นี้ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 TREIT มีมลู ค่าสินทรัพย์ สุทธิเท่ากับ 10.5108 บาทต่อหน่วย ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั และบริษทั ย่อยมีการ ลงทุนใน TREIT คิดเป็ นร้อยละ 23 ของจ�ำนวนหน่วยลงทุน ทีอ่ อกทัง้ หมด การขายโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่ TREIT ถือเป็ นช่องทางการ ระดมทุนของบริษทั ทางหนึ่ง เพือ่ น�ำเงินทีไ่ ด้มาใช้ขยาย กิจการของบริษทั นอกเหนือจากแหล่งเงินทุนจากผลการ ด�ำเนินงานของบริษทั และแหล่งเงินทุนจากการกูย้ มื การ พิจารณาขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT นัน้ บริษทั จะ ค�ำนึงถึงความเหมาะสมของปั จจัยต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในแต่ละ ช่วงเวลา โดยค�ำนึงถึงผลตอบแทนสูงสุดต่อผูถ้ อื หุน้ (2) PT SLP Surya TICON Internusa (“SLP”) SLP เป็ นบริษทั ร่วมทุนในประเทศอินโดนีเซีย ซึง่ บริษทั ได้ ลงนามในสัญญาร่วมลงทุนในวันที่ 7 เมษายน 2558 เพือ่ ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาโรงงาน และคลังสินค้าเพือ่ ให้เช่า และ/ หรือขายในประเทศอินโดนีเซีย ปั จจุบนั SLP มีทนุ จดทะเบียน 185.6 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ และทุนช�ำระแล้ว 46.4 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ โดย SLP ได้ ด�ำเนินการพัฒนาโรงงาน และคลังสินค้าเพือ่ ให้เช่า และ/ขาย ในโครงการ Suryacipta Technopark ซึง่ ปั จจุบนั มีคลังสินค้า ทีส่ ร้างเสร็จและมีผเู้ ช่าแล้วจ�ำนวน 34 ยูนิต พืน้ ทีใ่ ห้เช่ารวม 67,284 ตารางเมตร และอยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง 5 ยูนิต

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 16

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

พืน้ ทีป่ ระมาณ 9,648 ตารางเมตร โดยทัง้ นี้ มีการรับรูร้ ายได้ จากการด�ำเนินงานของ SLP แล้ว ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 TICON (HK) Limited และ Mitsui & Co., Ltd. แต่ละบริษทั ถือหุน้ ร้อยละ 25 และ PT Surya Semesta Internusa Tbk ถือหุน้ ร้อยละ 50 ของ ทุนจดทะเบียนทีอ่ อกและช�ำระแล้วของ SLP (3) บริ ษท ั ทีอาร์เอ แลนด์ ดีเวลลอปเม้นต์ จ�ำกัด (“ทีอาร์เอ”) ทีอาร์เอ เป็ นบริษทั ร่วมทุนบริษทั กับบริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั นิคม อุตสาหกรรมเอเซีย จ�ำกัด ซึง่ จดทะเบียนเมือ่ วันที่ 22 ธันวาคม 2560 เพือ่ ประกอบกิจการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ทีอาร์เอ มีทนุ จดทะเบียน และทุนช�ำระ แล้ว 1.0 ล้านบาท ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั ถือหุน้ ร้อยละ 50 และ บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จ�ำกัด แต่ละบริษทั ถือหุน้ ร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียนทีอ่ อกและช�ำระแล้วของ ทีอาร์เอ รายละเอียดของบริษัทร่วมค้า มีดังต่อไปนี้

(1) บริ ษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จ�ำกัด (TICON DEMCO Power 6 Company Limited: TICON DEMCO 6) ถือหุน้ โดยTPARK ร้อยละ 51 และถือหุน้ โดยบริษทั เด็มโก้ จ�ำกัด (มหาชน) ร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียน โดย TICON DEMCO 6 ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาโครงการผลิต และ จ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ซึง่ ปั จจุบนั ได้ ด�ำเนินการจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ แล้ว ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 TICON DEMCO 6 มีทนุ จด ทะเบียนและทุนช�ำระแล้ว 5 ล้านบาท (2) บริ ษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จ�ำกัด (TICON DEMCO+Power+11+Company+Limited:+TICON DEMCO11) ถือหุน้ โดย TPARK ร้อยละ 51 และถือหุน้ โดย บริษทั เด็มโก้ จ�ำกัด (มหาชน) ร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียน โดย TICON DEMCO 11 ด�ำเนินธุรกิจเช่นเดียวกับ TICON DEMCO 6 ซึง่ ปัจจุบนั ได้ดำ� เนินการจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้ าจาก พลังงานแสงอาทิตย์แล้ว

(4) บริษทั จัสโค (ประทศไทย) จ�ำกัด (JustCo (Thailand) Co., Ltd.: JustCo) ถือหุน้ โดยบริษทั 51 และถือหุน้ โดย บริษทั JustCo (Thailand 2) Pte. Ltd. ร้อยละ 49 JustCo จัด ตัง้ ขึน้ ในเดือนสิงหาคม 2561 เพือ่ ลงทุนและประกอบธุรกิจ co-working office และธุรกิจอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในประเทศไทย ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 JustCo มีทนุ จดทะเบียนและทุน ช�ำระแล้ว 213,500,000 ล้านบาท ทังนี ้ ้ บริษทั มีเงินลงทุนในบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง คือ บริษทั บางกอกคลับ จ�ำกัด เป็ นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 1.0 ล้านบาท คิด เป็ นร้อยละ 0.11 ของทุนจดทะเบียนของบริษทั บางกอกคลับ จ�ำกัด เพือ่ วัตถุประสงค์ในการใช้บริการของบริษทั ดังกล่าว

ความสัมพันธ์กับกลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นรายใหญ่

ปั จจุบนั กลุม่ เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ต้ี เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั ถือหุน้ รวมกันทัง้ ทางตรงและทางอ้อมเท่ากับร้อย ละ+89.46 ของจ�ำนวนหุน้ ทีอ่ อกและช�ำระแล้วทัง้ หมดของ บริษทั ซึง่ บริษทั และเฟรเซอร์ส พร๊อพเพอร์ต้ี มีกรรมการ ร่วมกันคือ นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์ และ นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์ ด้วยองค์ความรูจ้ ากประสบการณ์และความช�ำนาญในการ พัฒนาและบริหารอสังหาริมทรัพย์ครบวงจรของบริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ต้ี ลิมเิ ต็ด และ บริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ต้ี โฮลดิง้ ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั กอปรกับความช�ำนาญในธุรกิจให้เช่าโรงงาน อุตสาหกรรมและคลังสินค้าในประเทศทีบ่ ริษทั มีอยูน่ นั ้ จะน�ำ มาซึง่ โอกาสทางธุรกิจทีเ่ ปิ ดกว้าง ความหลากหลายของสินค้า และการให้บริการ และการเติบโตอย่างยั ่งยืนของกิจการ ในอนาคต

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 TICON DEMCO 11 มีทนุ จด ทะเบียนและทุนช�ำระแล้ว 4 ล้านบาท (3) บริษทั ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด จ�ำกัด (TPARK BFTZ Company Limited: TPARK BFTZ) ถือหุน้ โดย TPARK ร้อยละ 60 และถือหุน้ โดย บริษทั พรอสเพค ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด ร้อยละ 40 ของทุนจดทะเบียน TPARK BFTZ จัดตัง้ ขึน้ ในเดือนตุลาคม 2559 โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนาคลังสินค้า ให้เช่า และ/หรือขาย ในโครงการบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 TPARK BFTZ มีทนุ จดทะเบียน และทุนช�ำระแล้ว 350 ล้านบาท The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 17

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

17

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

โรงงาน

ของบริษัทและที่อยู่ภายใต้ การบริหารของบริษัท

พระนครศรีอยุธยา นิคมอุตสาหกรรม • บางปะอิน • ไฮเทค

2 8

13 36

สวนอุตสาหกรรม • โรจนะ-อยุธยา

23

50

เขตสงเสริมอุตสาหกรรม 8 • นวนคร

17

ปทุมธานี

ปราจีนบุรี

สวนอุตสาหกรรม • โรจนะ-ปราจีนบุรี เขตอุตสาหกรรม • กบินทร์บุรี

กรุงเทพมหานคร นิคมอุตสาหกรรม • ลาดกระบัง

1

2 28

นิคมอุตสาหกรรม • อมตะซิตี้ ชลบุรี • แหลมฉบัง • เหมราชชลบุรี • ปิ่นทอง (3 แห่ง)

11

ระยอง นิคมอุตสาหกรรม • อมตะซิตี้ ระยอง

7 16

จังหวัด

7

ชลบุรี

สมุทรปราการ

นิคมอุตสาหกรรม • บางปู • เอเชีย

8

19 30 4

94

13

30

3 42

สินทรัพยไทคอน

ทำเล*

สินทรัพยภายใตกองทรัสต

*ไม่รวมพื้นที่รอการพัฒนา จำนวนโรงงานของบริษัทและภายใตการบริหารของบริษัทแยกตามจังหวัด

132

โรง

พระนครศรีอยุธยา

18

192

43

โรง

ชลบุรี

ระยอง

โรง

41

โรง

สมุทรปราการ

25

โรง

ปทุมธานี

1

โรง

กรุงเทพมหานคร

15

โรง

ปราจีนบุรี

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 18

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

คลังสินคา

ของบริษัทและที่อยู่ภายใต้ การบริหารของบริษัท

ลำพูน

ศูนยคลังสินคา • ลำพูน

9

พระนครศรีอยุธยา

สวนอุตสาหกรรม 3 • โรจนะ-อยุธยา เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคสไทคอน • วังน้อย (2 แห่ง) 21 17

ขอนแกน

สมุทรสาคร

ศูนยคลังสินคา • สมุทรสาคร

เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคสไทคอน • ขอนแก่น 12

2

ปราจีนบุรี

สวนอุตสาหกรรม • โรจนะ-ปราจีนบุรี

สมุทรปราการ

ศูนยคลังสินคา • บางพลี (5 แห่ง)

18

38

8

1

ฉะเชิงเทรา

เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคสไทคอน • บางนา 21 82

ชลบุรี

นิคมอุตสาหกรรม • เหมราชชลบุรี (บ่อวิน) • อมตะซิตี้ ชลบุรี เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคสไทคอน • แหลมฉบัง (2 แห่ง) 29 17 • ศรีราชา 8 • อีสเทิร์นซีบอร์ด 3 ศูนยคลังสินคา • อีสเทิรน ์ ซีบอร์ด (1 และ 2) 9 • พานทอง 10

ระยอง

9 7

นิคมอุตสาหกรรม • อมตะซิตี้ ระยอง ศูนยคลังสินคา • อีสเทิร์นซีบอร์ด

36 5 11 5

11 12

4

9 24

สินทรัพยไทคอน

ทำเล*

จังหวัด

สินทรัพยภายใตกองทรัสต

*ไม่รวมพื้นที่รอการพัฒนา จำนวนคลังสินคาของบริษัทและภายใตการบริหารของบริษัทแยกตามจังหวัด

9

ยูนิต

ลำพูน

12

ยูนิต

ขอนแก่น

41

ยูนิต

พระนครศรีอยุธยา

2

ยูนิต

สมุทรสาคร

56

ยูนิต

สมุทรปราการ

103

ฉะเชิงเทรา

ยูนิต

146

ยูนิต

ชลบุรี

27

ระยอง

ยูนิต

9

ปราจีนบุรี

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 19

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

ยูนิต

19

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

20

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 20

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

ภาพรวมผลการดำ�เนินงาน ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ

หน่ วย : ล้านบาท 2559

รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ค่าเช่ารับและค่าบริการ รายได้คา่ บริหารจัดการ Property Fund/REIT ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุน ก�ำไรทีร่ บั รูเ้ พิม่ เติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ Property Fund/REIT ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนการให้เช่าและบริการ ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร ก�ำไรสุทธิ สินทรัพย์ หนี้สนิ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ อัตราผลตอบแทนผูถ้ อื หุน้ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (ร้อยละ) อัตราการจ่ายเงินปั นผล (ร้อยละ)

2560

ม.ค.-ก.ย. 2561

250.68 1,172.12 201.12 252.22 294.95

194.36 1,372.60 239.15 275.42 48.30

2,209.57 1,150.86 226.90 195.56 2.69

160.16 332.56 704.04 278.10 36,092.73 24,675.06 11,417.67 2.38 2.31 53.35

77.27 409.83 786.61 482.40 40,982.31 16,048.07 24,934.24 2.64 3.20 38.21

1,593.53 343.53 795.44 667.66 42,999.07 17,618.79 25,380.28 3.49 3.57 74.17

โครงสร้างรายได้

2559

2560

2561 รอบระยะเวลาบัญชี มกราคม- กันยายน 2561

10.4%

10.3%

11.6% 2.0%

12.2%

10.4%

2,411

ลานบาท

4,013

ลานบาท

ลานบาท

28.7%

9.9%

8.3%

5.6%

5.7%

11.4%

2,420

0.1% 4.9%

8.1%

48.4%

55%

57.0%

รายไดจากการขายอสังหาริมทรัพย

รายไดจากการใหเชาและบริการ

รายไดคาบริหารจัดการจากบริษัทยอย

สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวมตามวิธีสวนไดสวนเสีย

กำไรที่รับรูเพิ่มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย

รายไดอื่นๆ

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 21

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

21

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

ผลประกอบการ

83%

รายได เติบโต

กำไร

กำไรสุทธิ

(หน่วย : ล้านบาท) 800

668

700

เมือ ่ เทียบกับผลประกอบการ ในช่วง 12 เดือน ของป ในช ของปี 2560

482

เมื่อเทียบกับ ผลประกอบการ ในช่วง 12 เดือน ในช ของปี 2560 ของป

400

รายไดรวม (หน่วย : ล้านบาท) 4000

278

300

3,815

200

3500

แข็งแกร แกร่ง

38%

600 500

เติบโต

100

3000

0

2500

1,873

2000

2559

2,087

1500

ม.ค.- ก.ย. 2561

2560

สินทรัพยรวม (หน่วย : ล้านบาท)

1000

50000

500 0

2559

ม.ค.- ก.ย. 2561

2560

36,093

40000

40,982 40,800

42,999

30000 20000

ฐานะทางการเงิน

10000 0

2559

หนี้สินรวม และสวนของผูถือหุน

2560

ม.ค.- ก.ย. 2561

(หน่วย : ล้านบาท) 30000 25000

24,675

20000

17,619 36,093

16,048 15,866

15000

25,380

24,934

11,418

10000 5000 0

2559

2560 หนี้สินรวม

22

ม.ค.- ก.ย. 2561

ส่วนของผูถ ส ้ ือหุน ้

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 22

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

อัตราสวนทางการเงิน

โรงงานและคลังสินคา 46%

โรงงาน

(หน่วย : ตร.ม.)

อัตราสวนหนี้สิน

เพิม ่ โอกาสสำหรับ

(หน่วย : เท่า)

การลงทุนจาก สัดส ส่วนหนี้สินที่ลดลง

2.5 2.16

2.0

เพียง

1.95

0.59

เท่า เท

400000

13,850

57%

51%

16,700

18,180

215,275

194,450

168,615

170,655

183,630

209,005

350000 300000 250000 200000 150000 100000

1.5

50000 0

1.0

ณ สิน้ ปี

0.53

0.5

2559 D/E

ม.ค.- ก.ย. 2561 IBD/E

หนี้สินรวม และสวนของผูถือหุน (หน่วย : ล้านบาท)

เงินสดและเงินลงทุนชัว่ คราว เติบโต 146% เมือ ่ เทียบกับป ปี 2560

8000 7000

6,448

6000

คลังสินคา

4000

1000000 800000

38,904

600000

194,230

200000

0

74%

68%

34,340

4,540

259,100

188,493 16,700

449,433

538,281

523,180

0

ณ สิน้ ปี

2559

โรงงาน และคลังสินคา (หน่วย : ตร.ม.)

1500000

62%

52,754 409,505

2560

2561

(รอบผลการดำเนินงาน 9 เดือน) 68%

63%

51,040

22,720

453,550

357,108

706,810

747,286

600000

2000 1000

2561

(รอบผลการดำเนินงาน 9 เดือน)

400000

900000

2,620

72%

(หน่วย : ตร.ม.)

1200000

5000

3000

2560

0.69 0.59

0.64

2560

2559

300000

620,083

306 2559

2560

ม.ค.- ก.ย. 2561

0

ณ สิน้ ปี

ช่า มีผูเ้ ช

2559

ว่างพร ว งพร้อมให มให้เช ช่า

2560

2561

(รอบผลการดำเนินงาน 9 เดือน)

มีสัญญาเช ญาเช่าใหม ใหม่

อัตราการเช ราการเช่า

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 23

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

23

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

คณะกรรมการบริษัท

1

2

4

1. นายชายน้อย เผื่อนโกสุม

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี

2. นายตรีขวัญ บุนนาค

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการสรรหา กรรมการบริหารความเสี่ยง และกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

3. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน และกรรมการสรรหา

4. ร.ศ.ธิติพันธุ์ เชื้อบุญชัย

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสี่ยง และกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

24

3

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 24

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

5

6

7

8

9

5. นายอุเทน โลหชิตพิทักษ์

กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง และกรรมการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

6. นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม และกรรมการสรรหา

7. นายปณต สิริวัฒนภักดี

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม กรรมการกำ�หนด ค่าตอบแทน และกรรมการบริหารความเสี่ยง

8. นายชาลี โสภณพนิช

กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม

9. นายชาย วินิชบุตร

กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม และกรรมการบริหาร

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 25

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

25

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

นายชายน้อย เผื่อนโกสุม อายุ 68

วันที่ได้รับการแต่งตั้งครั้งแรก

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

วันที่ 16 มกราคม 2560

• 2560 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ และประธานกรรมการ ตรวจสอบ บจก. ทรัพย์ทพิ ย์ • 2553 - ปัจจุบ ัน กรรมการ บมจ. เนชั ่นแนล เพาเวอร์ ซัพพลาย

วันที่ได้รับการแต่งตั้งล่าสุด

วันที่ 24 เมษายน 2560 การศึกษา

• ปริญญาโทการบริหาร สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Bachelor Degree in Higher Accounting California College of Commerce, USA ประวัติการอบรม

• The Role of Chairman in Leading Strategic Risk Oversight 2560 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • Directors Accreditation Program (DAP 63/2550) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • The Role of the Chairman Program (RCP 33/2557) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • Financial Institutions Governance Program (FGP 3/2554) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย สัดส่วนการถือหุ้นใน TICON (ร้อยละ)

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย. 2561)

การดำ�รงตำ�แหน่งในหน่วยงานอื่น

• 2559 - 2561 กรรมการในคณะกรรมการอ�ำนวยการ เงินทุนหมุนเวียน กรมบัญชีกลาง • 2556 - 2557 ประธานกรรมการ บมจ. ไออาร์พซี ี • 2554 - 2561 กรรมการ สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน • 2553 - 2559 กรรมการ คณะกรรมการประเมินผลงาน รัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง • 2553 - 2555 ประธานคณะกรรมการบริหาร สถาบันสิง่ แวดล้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย • 2559 - 2561 กรรมการ สถาบัน ปิ โตรเลีย มแห่ ง ประเทศไทย • 2551 - 2553 ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผู้ จัดการใหญ่ บมจ. อะโรเมติกส์และการกลัน่ • 2551 - 2553 รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บมจ. ปตท. • 2550 - 2551 กรรมการผูจ้ ดั การใหญ๋ บมจ. อะโรเมติกส์ และการกลัน่

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

ไม่ม ี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

• 2560 - ปัจจุบ ัน ประธานกรรมการ+กรรมการอิส ระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

• 2559 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการทรัพยากรบุคคลและ ก�ำหนดค่าตอบแทน บมจ. ดีมเี ตอร์ คอร์ปอเรชัน่ • 2559 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระและรองประธานกรรมการ บมจ. ทิปโก้แอสฟั ลท์ • 2559 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการสรรหา และก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี บมจ. พริมามารีน • 2555 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจ สอบ+กรรมการพิจ ารณาค่า ตอบแทน+และสรรหา และประธานกรรมการก�ำกับดูแลบรรษัทภิบาล บมจ. แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ต้ี ดีเวลลอปเม้นท์

26

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 26

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

นายตรีขวัญ บุนนาค

นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

อายุ 62

อายุ 57

วันที่ได้รับการแต่งตั้งครั้งแรก

วันที่ได้รับการแต่งตั้งครั้งแรก

วันที่ได้รับการแต่งตั้งล่าสุด

วันที่ได้รับการแต่งตั้งล่าสุด

การศึกษา

การศึกษา

วันที่ 2 เมษายน 2547

วันที่ 27 มีนาคม 2561

• ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of North Texas, USA ประวัติการอบรม

• Advance Audit Committee Program (AACP) 27/2560 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • Director Accreditation Program ปี 2549 สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • Director Certification Program ปี 2544 สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย สัดส่วนการถือหุ้นใน TICON (ร้อยละ)

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย. 2561)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

ไม่ม ี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

• 2547 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจ สอบ กรรมการสรรหา กรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ • 2551 - 2559 กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

• 2541 - ปัจจุบ ัน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และกรรมการสรรหา บมจ. เอสวีไอ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• 2555 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เอ็มเมอรัลด์ เบย์ รีสอร์ท • 2555 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เอ็มเมอรัลด์ เบย์ วิลล่า • 2549 - ปัจจุบ ัน กรรมการและประธานกรรมการตรวจ สอบ บมจ. สยามอุตสาหกรรมเกษตรอาหาร • 2538 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. โกลด์ มาสเตอร์

วันที่ 2 เมษายน 2547

วันที่ 27 มีนาคม 2561

• ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ University of Southern California, USA ประวัตก ิ ารอบรม

• Director Accreditation Program 2551 สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง รุน่ ที่ 9 สถาบัน วิทยาการตลาดทุน สัดส่วนการถือหุน ้ ใน TICON (ร้อยละ)

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย. 2561)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

ไม่ม ี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

• 2547 - ปัจจุบ ัน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน และกรรมการสรรหา บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

• 2557 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. ดับบลิวพี เอ็นเนอร์ย่ี • 2556 - ปัจจุบ ัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. เอสวีไอ • 2550 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บมจ. หลักทรัพย์ ฟินนั เซีย ไซรัส • 2543 - ปัจจุบ ัน กรรมการ บมจ. อิออน ธนสินทรัพย์ (ไทยแลนด์) • 2536 - ปัจจุบนั กรรมการ และผูอ้ ำ� นวยการบริหาร การ ลงทุนกลุม่ บมจ. ทรู คอร์ปอเรชัน่ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• 2549 - ปัจจุบ ัน ประธานกรรมการ บจก. ไทยโคโพลี อุตสาหกรรมพลาสติก • 2543 - ปัจจุบ ัน กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และประธาน คณะบริหาร บจก. เทเลคอมโฮลดิง้ • 2533 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เมโทรแมชีนเนอรี่

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 27

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

27

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

ร.ศ.ธิติพันธุ์ เชื้อบุญชัย อายุ 66

วันที่ได้รับการแต่งตั้งครั้งแรก

การดำ�รงตำ�แหน่งในหน่วยงานอื่น

• 2538 - 2561 ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์วจิ ยั กฎหมายและการ พัฒนา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • 2521 - 2556 อาจารย์ประจ�ำ คณะนิตศิ าสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

วันที่ 24 เมษายน 2560

วันที่ได้รับการแต่งตั้งล่าสุด

วันที่ 24 เมษายน 2560 การศึกษา

• พาณิชยศาสตร์มหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ • Master of Laws (LL.M.) Harvard Law School • เนติบ ัณ ฑิต ไทย ส�ำ นั ก อบรมศึก ษากฎหมายแห่ ง เนติบณ ั ฑิตยสภา • นิตศิ าสตร์บณ ั ฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม

• Financial Institutions Governance Program (FGP 3/2554) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • Director Certification Program (DCP ปี 2543) สมาคมส่ง เสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย สัดส่วนการถือหุ้นใน TICON (ร้อยละ)

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย. 2561)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

ไม่ม ี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

• 2560 - ปัจจุบ ัน กรรมการอิสระ+กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสีย่ ง และกรรมการก�ำกับดูแล กิจการ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

• 2561 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ และกรรมการบริหารความ เสีย่ ง บมจ.แอสเซ็ท เวิลด์ คอร์ป • 2559 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการก�ำกับดูแล บรรษัทภิบาล บมจ. ยูนเิ วนเจอร์ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• 2559 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ธนาคาร ยูโอบี (ไทย) • 2553 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ซี แอนด์ ซี อินเตอร์ เนชันแนลเวนเจอร์ ่ • 2552 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. หลักทรัพย์ เพือ่ ธุรกิจหลักทรัพย์ • 2553 - 2556 กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ธนาคารนครหลวงไทย

28

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 28

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

นายปณต สิริวัฒนภักดี อายุ 41

วันที่ได้รับการแต่งตั้งครั้งแรก

วันที่ 16 มกราคม 2560

วันที่ได้รับการแต่งตั้งล่าสุด

วันที่ 24 เมษายน 2560 การศึกษา

• ปริญญาโท ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ The London School of Economics and Political Science, UK • ปริญญาตรี วิศวกรรมการผลิต Boston University, USA • ประกาศนียบัตร หลักสูตรวิศวกรรม อุตสาหกรรม และ เศรษฐศาสตร์ Massachusetts University, USA ประวัตก ิ ารอบรม

• Director Certification Program (DCP 46/2547) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • Director Accreditation Program (DAP 10/2547) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • Finance for Non-Finance Directors (FND 10/2547) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย สัดส่วนการถือหุน ้ ใน TICON (ร้อยละ)

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย. 2561)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ ้ ริหาร

เป็ นญาติกบั นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์ ซึง่ เป็ นกรรมการของ บริษทั ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

• 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน และบริหารความเสีย่ ง บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

• 2555 - ปัจจุบนั รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการ บริหาร และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา บมจ. แผ่นดินทองพร็อพเพอร์ต้ี ดีเวลลอปเม้นท์ • 2550 - ปัจจุบนั รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการ บริหาร กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา กรรมการ ก�ำกับดูแลบรรษัทภิบาล บมจ. ยูนิเวนเจอร์ • 2548 - 2560 กรรมการ/กรรมการบริหาร บมจ. เบอร์ล่ี ยุค เกอร์ • 2550 - 2560 กรรมการ/กรรมการบริหาร บมจ. อาหารสยาม การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ Buriram Development Co., Ltd. • 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ Frasers Assets Co., Ltd. • 2561 - ปัจจุบ ัน กรรมการ NY Property Development Co., Ltd. • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ Bhakdivattana Co., Ltd.

• 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. สิรดิ ำ� รงธรรม • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ทรัพย์สมบูรณ์ พร็อพเพอร์ตส้ี ์ พลัส • 2559 - ปัจจุบนั กรรมการ Asian Capital Co., Ltd. • 2559 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เกษมทรัพย์ภกั ดี • 2559 - ปัจจุบ ัน Director Namjai Thaibev (Social Enterprise) Co., Ltd. • 2559 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. วัฒนภักดี • 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ยูนเิ วนเจอร์ รีท แมเนจเม้นท์ • 2558 - ปัจจุบ ัน กรรมการ บจก. ควอนตัม แคปปิ ตอล ดีเวลลอปเม้นท์ • 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ทีซซี ี โฮลดิง้ ส์ (2519) • 2557 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เกษมทรัพย์วฒ ั น • 2557 - ปัจจุบนั Director One Bangkok Co., Ltd. • 2557 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. โทนิค อินเตอร์เนชันแนล ่ • 2557 - ปัจจุบ ัน กรรมการ บจก. เลควิว กอล์ฟ แอนด์ ยอร์ช คลับ • 2556 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ ตี้ ลิมเิ ต็ด • 2556 - ปัจจุบ ัน กรรมการ บจก.ที ซี ซี แอสเซ็ ท ส์ (ประเทศไทย) • 2556 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เกษมทรัพย์สริ ิ • 2555 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เอส เอ็ม เจ ซี ดีเวลลอปเม้นท์ • 2554 - ปัจจุบ ัน กรรมการ บจก.ทีซซี ี เอ็กซิบชิ ั ่น แอนด์ คอนเวนชัน่ เซ็นเตอร์ • 2554 - ปัจจุบ ัน กรรมการ บจก.ทีซซี ี เทรด แอนด์ คอนเวน ชนั ่ เซ็นเตอร์ • 2554 - ปัจจุบ ัน กรรมการ บจก. เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบชิ ั ่น ออกาไนเซอร์ • 2554 - ปัจจุบ ัน กรรมการ บจก.เอ็น.ซี.ซี.แมนเนจเม้นท์ แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ • 2554 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เอ็น.ซี.ซี. อิมเมจ • 2554 - ปัจจุบ ัน กรรมการ บจก. เอฟ แอนด์ บี อินเตอร์ เนชันแนล ่ • 2553 - ปัจจุบ ัน กรรมการ Chiva-Som International Health Resort Co., Ltd. • 2553 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก.นอร์ธ ปาร์ค เรียลเอสเตท • 2553 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก.นอร์ธ ปาร์ค กอล์ฟแอนด์ สปอร์ตคลับ • 2552 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก.หนองคายคันทรี กอล์ฟคลับ • 2552 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เดอะชะอ�ำ ยอร์ช คลับ โฮเต็ล • 2551 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เทอราโกร เฟอร์ตไิ ลเซอร์ • 2550 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก.อเดลฟอส • 2550 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ.ไทยเบฟเวอเรจ • 2549 - ปัจจุบนั กรรมการ Cristalla Co., Ltd. • 2549 - ปัจจุบนั กรรมการ Plantheon Co., Ltd. • 2547 - ปัจจุบนั กรรมการ Beer Thip Brewery (1991) Co., Ltd. • 2545 - ปัจจุบนั กรรมการ Athimart Co., Ltd. • 2545 - ปัจจุบนั กรรมการ Kankwan Co., Ltd. • 2545 - ปัจจุบนั กรรมการ Sura Bangyikhan Co., Ltd. • 2545 - ปัจจุบนั กรรมการ S.S. Karnsura Co., Ltd. • 2545 - ปัจจุบนั กรรมการ Theparunothai Co., Ltd. • 2544 - ปัจจุบนั กรรมการ T.C.C. Technology Co. Ltd. • 2560 - 2561 กรรมการ Fah Prathan Pandinthong Co., Ltd. • 2560 - 2562 กรรมการ One Bangkok Holdings Co., Ltd. • 2554 - 2561 กรรมการ TCC Trade and Convention Center Co., Ltd. • 2551 - 2560 กรรมการ Norm Co., Ltd. • 2550 - 2560 กรรมการ Eastern Seaboard Industrial Estate (Rayong) Co., Ltd. The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 29

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

29

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

นายชาลี โสภณพนิช

นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

อายุ 58

อายุ 56

วันที่ได้รับการแต่งตั้งครั้งแรก

วันที่ได้รับการแต่งตั้งครั้งแรก

วันที่ได้รับการแต่งตั้งล่าสุด

วันที่ได้รับการแต่งตั้งล่าสุด

วันที่ 16 มกราคม 2560

วันที่ 30 มีนาคม 2548

วันที่ 27 มีนาคม 2561

วันที่ 26 เมษายน 2559

การศึกษา

การศึกษา

• ปริญญาโท บริหารธุรกิจ The University of Chicago, USA ประวัตก ิ ารอบรม

• Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI) รุน่ ที่ 7 ปี 2558 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทย • Director Accreditation Program ปี 2548 สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย สัดส่วนการถือหุน ้ ใน TICON (ร้อยละ)

ประวัตก ิ ารอบรม

• Director Certification Program (DCP 155/2555) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย สัดส่วนการถือหุน ้ ใน TICON (ร้อยละ)

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย. 2561)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย. 2561)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

ไม่ม ี

เป็ นญาติกบั นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี ซึง่ เป็ นกรรมการของ บริษทั ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

• 2548 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่

• 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ กรรมการสรรหา และประธาน กรรมการบริหารความเสีย่ ง บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• 2537 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ กรรมการบริหาร และ กรรมการสรรหา บมจ. หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส กรุป๊ โฮลดิง้ ล์ • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ทีอาร์เอ แลนด์ ดีเวลลอปเม้นต์ • 2557 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บล. เอเชียพลัส • 2540 - ปัจจุบ ัน กรรมการผู้อ�ำ นวยการ บจก. นิ ค ม อุ ต สาหกรรมเอเซีย • 2530 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เอเซียเสริมกิจ • 2530 - ปัจจุบนั กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ บจก. ซิตเ้ี รียลตี้

30

• ปริญญาโท บริหารธุรกิจ การเงินการธนาคาร University of Missouri, USA • ปริญญาตรีสาขานิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

• 2556 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ต้ี ดีเวลลอปเม้นท์ • 2554 - ปัจจุบนั รองประธานกรรมการ บมจ. เสริมสุข • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. บิก๊ ซี เซอร์วสิ เซส • 2559 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. บิก๊ ซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ • 2556 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ ตี้ ลิมเิ ต็ด • 2556 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั เฟรเซอร์ส แอนด์นฟ ี ลิมเิ ต็ด • 2551 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการบริหาร บจก. อาคเนย์ แคปปิ ตอล • 2551 - ปัจจุบนั กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บจก. เครืออาคเนย์ • 2551 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ทีซซี ี เทคโนโลยี • 2550 - ปัจจุบนั ทีป่ รึกษา บจก. ทีซซี ี โฮลดิง้

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 30

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561 รายงานประจำ�ปี 2561

นายชาย วินิชบุตร

นายอุเทน โลหชิตพิทักษ์

อายุ 45

อายุ 46

วันที่ได้รับการแต่งตั้งครั้งแรก

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2555 วันที่ได้รับการแต่งตั้งล่าสุด

วันที่ 24 เมษายน 2560

• ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ Boston University, USA ประวัตก ิ ารอบรม

• Director Accreditation Program (DAP 10/2547) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • Finance for Non-Finance Directors (FND 10/2547) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย สัดส่วนการถือหุน ้ ใน TICON (ร้อยละ)

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย. 2561)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

ไม่ม ี

2555 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ 2558 - 2559 กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค 2558 - 2559 กรรมการ TICON (HK) Limited 2556 - 2559 กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ 2555 - 2559 กรรมการ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส

การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

2550 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• • • • • • •

วันที่ได้รับการแต่งตั้งล่าสุด

วันที่ 27 มีนาคม 2561

• ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประวัตก ิ ารอบรม

Boardroom Success through Financing & Investment (“BFI”)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

สัดส่วนการถือหุน ้ ใน TICON (ร้อยละ)

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย. 2561)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

ไม่ม ี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

วันที่ 16 มกราคม 2560

การศึกษา

การศึกษา

• • • • •

วันที่ได้รับการแต่งตั้งครั้งแรก

2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ทีอาร์เอ แลนด์ ดีเวลลอปเม้นต์ 2554 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. บางกอก ออฟฟิ ศ 3 2554 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. บางกอก ออฟฟิ ศ 4 2554 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. บางกอก ออฟฟิ ศ 3 โฮลดิง้ ส์ 2554 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. บางกอก ออฟฟิ ศ 4 โฮลดิง้ ส์ 2550 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. โรจนะเพาเวอร์ 2547 - ปัจจุบนั กรรมการผูจ้ ดั การ บจก. โรจนะ พร็อพเพอร์ต้ี

• • • • •

2560 - ปัจจุบนั กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร ความเสีย่ ง และกรรมการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี บมจ.ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ TICON (HK) Limited 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ TICON Management Co., Ltd. 2561 - ปัจจุบนั Commissioner, PT SLP Surya TICON Internusa 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ TICON International Pte. Ltd.

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• • • • • • • • • • • • •

2561 - ปัจจุบนั กรรมการ Frasers Property Ventures I Pte. Ltd. (Singapore) 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ Frasers Property Ventures II Pte. Ltd. (Singapore) 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ไทคอน เทคโนโลยี 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ One Bangkok Holdings Co., Ltd. 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ One Bangkok Ventures Co., Ltd. 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ Farnborough Business Park Ltd. 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ Frasers Assets Co., Ltd 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ Frasers Property Holdings (Thailand) Co., Ltd. 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ Frasers Property Investments (Europe) SARL (Luxembourg) 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ Frasers Property International Pte. Ltd. (Singapore) 2559 - ปัจจุบนั กรรมการ Sinomax International Pte. Ltd. (Singapore) 2559 - ปัจจุบนั กรรมการ Frasers (Thailand) Pte. Ltd. 2556 - ปัจจุบนั ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารฝ่ ายการลงทุนกลุม่ บริษทั เฟรเซอร์ส พร๊อพเพอร์ต้ี ลิมเิ ต็ด The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 31

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

31

15/12/2561 BE 11:17


รายงานประจำ�ปี 2561

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร และเลขานุการบริษัท

3

32

5

1

4

2

6

1. นายโสภณ ราชรักษา

ผู้อำ�นวยการใหญ่ และรักษาการประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

2. ดร. สมศักดิ์ ไชยพร

ผู้จัดการทั่วไป

3. นางสาวลลิตพันธุ์ พิริยะพันธุ์

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายงานการเงิน และเลขานุการบริษัท

4. นายแฮรี่ ยาน เก็ก วี

ผู้อำ�นวยการอาวุโสฝ่ายบริหารรายได้

5. นางสาวรจนา อัศววิเชียรจินดา

ผู้อำ�นวยการฝ่ายการเงินและบัญชี

6. น.ส.กมลกาญจน์ คงคาทอง

ผู้อำ�นวยการฝ่ายกลยุทธ์และการลงทุน

7. นางสาวเธ่ห์ ชิว ฮาร์

ผู้อำ�นวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

8. นางสาวลก เชง ยี

ผู้อำ�นวยการฝ่ายบริหารการออกแบบ

5

7

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 32

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

นายโสภณ ราชรักษา

ผู้อำ�นวยการใหญ่ รักษาการประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

อายุ 47

* ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นรักษาการประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร เมือ่ วันที ่ 31 มีนาคม 2561 การศึกษา

• ปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์ National Graduate Institute for Policy Studies, Japan • ปริญญาโทสาขาเศรษฐศาสตร์ Michigan State University, USA • ปริญญาตรีสาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัตก ิ ารอบรม

• Board Success through Financing & Investment (BFI) (5/2018 : IOD Thai Institute of Director) • นักบริหารระดับสูงด้านการพัฒนาธุรกิจ อุตสาหกรรมและ การลงทุน (วธอ. รุน่ ที่ 2/2558) สัดส่วนการถือหุน ้ ใน TICON (ร้อยละ)

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย.2561)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ ้ ริหาร

- ไม่ม-ี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

• 2560 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่และรักษาการประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ TICON International Pte. Ltd. • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ PT SLP Surya TICON Internusa, Indonesia • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ TICON (HK) Limited, Hong Kong • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น

ไม่มี

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• • • •

2561 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. จัสท์โค (ประเทศไทย) 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ไทคอน เทคโนโลยี 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ทีอาร์เอ แลนด์ ดีเวลลอปเม้นต์ 2558 - 2559 กรรมการผูจ้ ดั การ บจก. ทีซซี ี แลนด์ ดีเวลลอปเม้นท์ • 2555 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เอ็น. ซี. ซี. แมนเนจเม้นท์ แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ • 2555 - 2558 ผูช้ ว่ ยรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงาน บริหารกลาง ทีซซี ี โฮเทล กรุป๊

ดร. สมศักดิ์ ไชยพร ผู้จัดการทั่วไป อายุ 67 การศึกษา

• ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตร์ Ecole Centrale de Lyon, France • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัตก ิ ารอบรม

• หลักสูตร Management Development Program 1 ปี 2561 สัดส่วนการถือหุน ้ ใน TICON (ร้อยละ)

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย.2561)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ ้ ริหาร

- ไม่ม-ี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

• 2544 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การทั ่วไป บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น

ไม่มี

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค นางสาวลลิตพันธุ์ พิริยะพันธุ์

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายงานการเงิน และเลขานุการบริษัท

อายุ 53

การศึกษา

• ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัตก ิ ารอบรม

• หลัก สูต ร การวางแผนภาษีแ ละจัด ท�ำ บัญ ชีธุร กิจ อสังหาริมทรัพย์ รุน่ ที่ 41 ปี 2561 • หลักสูตร Management Development Program 1 ปี 2561 • หลักสูตร Company Secretary ปี 2546 สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย สัดส่วนการถือหุน ้ ใน TICON (ร้อยละ)

0.01 (ณ วันที่ 30 พ.ย.2561)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ ้ ริหาร

- ไม่ม-ี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

• 2560 - ปัจจุบนั ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสายงานการเงิน และเลขานุการบริษทั บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ TICON International Pte. Ltd. • 2560 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค • 2559 - ปัจจุบนั กรรมการ ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด • 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ TICON (HK) Limited • 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส • 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd.

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 33

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

33

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

• 2556 - 2557 กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น

ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ ้ ริหาร

- ไม่ม-ี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ไทคอน เทคโนโลยี

• 2560 - ปัจจุบ ัน ผูอ้ ำ� นวยการการเงิน และบัญชี บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น

ไม่มี

นายแฮรี่ ยาน เก็ก วี

ผู้อำ�นวยการอาวุโสฝ่ายบริหารรายได้ อายุ 40

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

ไม่มี

น.ส.กมลกาญจน์ คงคาทอง ผู้อำ�นวยการฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร

*ได้รบั แต่งตัง้ เมือ่ วันที ่ 1 กันยายน 2561 การศึกษา

• Master of Science (Real Estate), National University of Singapore • Bachelor of Science in Estate Management, The University of Reading, UK

อายุ 37

*ได้รบั แต่งตัง้ เป็ น ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ ายกลยุทธ์และการลงทุน เมือ่ วันที ่ 1 มิถุนายน 2561 การศึกษา

ประวัตก ิ ารอบรม

• ปริญญาโท การเงินและการบัญชี London School of Economics and Political Science (LSE), UK

ไม่ม ี

สัดส่วนการถือหุน ้ ใน TICON (ร้อยละ)

ประวัตก ิ ารอบรม

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย.2561)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ ้ ริหาร

- ไม่ม-ี

• หลักสูตร Management Development Program 1 ปี 2561 สัดส่วนการถือหุน ้ ใน TICON (ร้อยละ)

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย.2561)

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

• 2561 - ปัจจุบ ัน ผูอ้ �ำนวยการอาวุโสฝ่ ายบริหารรายได้ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ • 2552 - 2561 ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ ายบริหารรายได้, Ascendas Funds Management Ltd., ผูจ้ ดั การ Ascendas-REIT, Singapore การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น

ไม่มี

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

ไม่มี

นางสาวรจนา อัศววิเชียรจินดา ผู้อำ�นวยการฝ่ายการเงิน และบัญชี อายุ 51

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ ้ ริหาร

- ไม่ม-ี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

• 2560 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ ายวางแผนกลยุทธ์และการ ลงทุน บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ • 2559 - 2560 ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส ฝ่ ายบริหารความ เสีย่ ง ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด จ�ำกัด (มหาชน), ประเทศไทย • 2557 - 2559 ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส ฝ่ ายบริหารความ เสีย่ ง ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด, สิงคโปร์ • 2554 - 2557 ผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ ายบริหารสินเชือ่ ระดับ ภูมภิ าค CIMB Bank Berhad, สิงคโปร์ • 2549 - 2554 ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการ DBS Bank, สิงคโปร์ การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น

ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นผูอ้ ำ� นวยการฝ่ ายการเงินและบัญชี เมือ่ วันที ่ 20 กุมภาพันธ์ 2560

ไม่มี

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

การศึกษา

• ปริญญาโท บัญชี (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์

• 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. จัสท์โค (ประเทศไทย) • 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ไทคอน เทคโนโลยี • 2560- ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ทีอาร์เอ แลนด์ ดีเวลลอปเม้นต์

ประวัตก ิ ารอบรม

• หลักสูตร Management Development Program 1 ปี 2561 • หลักสูตร เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการท�ำงานระดับ บริหาร สัดส่วนการถือหุน ้ ใน TICON (ร้อยละ)

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย.2561)

34

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 34

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

นางสาวเธ่ห์ ชิว ฮาร์

ผู้อำ�นวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ อายุ 38

*ได้รบั แต่งตัง้ เมือ่ วันที ่ 1 ตุลาคม 2561 การศึกษา

• Bachelor of Science in Mathematics, University Technology of Malaysia • Certificate of Commerce in International Business & Banking and Chinese Culture ประวัตก ิ ารอบรม

• Certified Financial Planner สัดส่วนการถือหุน ้ ใน TICON (ร้อยละ)

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย.2561)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ ้ ริหาร

- ไม่ม-ี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

• 2561 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ ายพัฒนาธุรกิจ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ • 2552 - 2561 ผูจ้ ดั การฝ่ ายการลงทุน, Ascendas Funds Management Ltd., ผูจ้ ดั การ Ascendas-REIT, Singapore การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น

ไม่มี

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

ไม่มี

นางสาวลก เชง ยี

ผู้อำ�นวยการฝ่ายบริหารการออกแบบ อายุ 51

* ได้รบั การแต่งตัง้ เมือ่ วันที ่ 1 ตุลาคม 2561 การศึกษา

• Master of Science (Real Estate), National University of Singapore • Bachelor of Building, The University of New South Wales, Australia ประวัตก ิ ารอบรม

-ไม่ม-ี

สัดส่วนการถือหุน ้ ใน TICON (ร้อยละ)

0.00 (ณ วันที่ 30 พ.ย.2561)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ ้ ริหาร

- ไม่ม-ี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี

• 2561 - ปัจจุบ ัน ผูอ้ �ำนวยการฝ่ ายบริหารการออกแบบ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ • 2559 - 2561 ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการฝ่ ายบริหารการพัฒนา, Ascendas-Singbridge Singapore Operations การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น

ไม่มี

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

ไม่มี

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 35

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

35

15/12/2561 BE 11:18


36

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 36

ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

ฝ่ายบริหารการ ออกแบบ ฝ่ายบริหาร อสังหาริมทรัพย์

ฝ่ายกลยุทธ์ ทางการเงิน

ฝ่ายบริหารรายได้

ฝ่ายการเงิน และบัญชี

สายงานอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

ผู้อ�ำนวยการใหญ่

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ฝ่ายบริหารการเงิน

ฝ่ายตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบ

ฝ่ายบริหารความเสี่ยง ก�ำกับ ดูแลกิจการ และความยั่งยืน

เลขานุการบริษัท

ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์ องค์กร และการลงทุน

สายงานบริหารองค์กร

คณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ

สายงานการเงิน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริหาร

ฝ่ายการก่อสร้าง

คณะกรรมการ ก�ำหนดค่าตอบแทน

สายงานพัฒนา

คณะกรรมการสรรหา

1. โครงสร้างภายในบริษัท ณ 30 กันยายน 2561

โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

บริษทั มีคณะกรรมการบริษทั 1 ชุด และคณะกรรมการชุด ย่อยจ�ำนวน 6 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะ กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และ คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ

ทังนี ้ ้ นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์ นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี และ นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์ เป็นตัวแทนของกลุม่ เฟรเซอร์ส พร็อพ เพอร์ต้ี และ นายชาลี โสภณพนิช เป็ นตัวแทนของ บริษทั ซิต้ี วิลล่า จ�ำกัด

2. คณะกรรมการบริษัท

1. ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ พือ่ ประโยชน์ทด่ี ที ส่ี ดุ แก่บริษทั และผูถ้ อื หุน้ (Fiduciary Duty) โดยยึดถือแนวปฏิบตั สิ ำ� คัญ 4 ประการคือ

คณะกรรมการบริษทั ณ 30 กันยายน 2561 ประกอบด้วย ผูท้ รงคุณวุฒ ิ 9 ท่าน ดังนี้

บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษท ั

1. นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม ประธานกรรมการ กรรมการ อิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ี

ก. การปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และรอบคอบ (Duty of Care)

ข. การปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซื่อสัตย์สจุ ริต (Duty of Loyalty)

2. นายตรีขวัญ บุนนาค

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการสรรหา กรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี

ค. การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของ บริษทั มติคณะกรรมการบริษทั และมติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ (Duty of Obedience)

3. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ กรรมการอิสระ กรรมการ ตรวจสอบ กรรมการก�ำหนด ค่าตอบแทน และกรรมการสรรหา

ง. การเปิ ดเผยข้อมูลต่อผูถ้ อื หุน้ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ตรวจสอบได้ และทันเวลา (Duty of Disclosure)

4. ร.ศ.ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย

กรรมการอิสระ กรรมการ ตรวจสอบ กรรมการบริหาร ความเสีย่ ง และกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี

5. นายชาลี โสภณพนิช

กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม

6. นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์ กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม กรรมการสรรหาและ ประธานกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง 7. นายชาย วินิชบุตร

กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม กรรมการบริหาร

8. นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี

กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการก�ำหนด ค่าตอบแทน

9. นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์ กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม กรรมการบริหาร กรรมการ บริหารความเสีย่ งและ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงลายมือชือ่ ผูกพันบริษทั คือ นายชาลี โสภณพนิช หรือ นายชาย วินชิ บุตร หรือ นายปณต สิรวิ ฒั นภักดี ลงลายมือชือ่ ร่วมกับ นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์ หรือ นาย อุเทน โลหชิตพิทกั ษ์ รวมเป็นสองคนพร้อมประทับตราส�ำคัญของ บริษทั

2. จัดให้มกี ารประชุมผูถ้ อื หุน้ เป็ นการประชุมสามัญประจ�ำ ปี ภายใน 4 เดือนนับแต่วนั สิน้ สุดรอบระยะเวลาบัญชี ของบริษทั โดยควรจัดส่งหนังสือนัดประชุมคณะ กรรมการบริษทั และหนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ วาระการประชุมและเอกสารประกอบการพิจารณา เป็ นการล่วงหน้าด้วยระยะเวลาพอสมควร และต้องไม่ น้อยไปกว่าระยะเวลาทีก่ �ำหนดตามกฎระเบียบที่ เกีย่ วข้อง 3. จัดให้มกี ารประชุมคณะกรรมการบริษทั อย่างน้อย 3 เดือน ต่อครัง้ 4. ด�ำเนินการให้บริษทั มีระบบบัญชี การรายงานทางการ เงิน การสอบบัญชี การควบคุมภายใน และการตรวจ สอบภายใน และการบริหารความเสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิผล และเชือ่ ถือได้ 5. จัดให้มกี ารท�ำงบการเงิน ณ วันสิน้ สุดรอบระยะเวลา บัญชีของบริษทั ให้มคี วามถูกต้อง เพือ่ แสดงฐานะการ เงินและผลการด�ำเนินงานในรอบปี ทผ่ี า่ นมาได้ตรงต่อ ความเป็ นจริง ครบถ้วน และถูกต้อง เป็ นไปตาม มาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองโดยทั ่วไป และตรวจสอบ โดยผูส้ อบบัญชีของบริษทั ก่อนทีจ่ ะน�ำเสนอต่อที่ ประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาและอนุมตั ิ 6. ก�ำหนดวิสยั ทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ของบริษทั ตลอด จนนโยบาย แผนงานการด�ำเนินธุรกิจ และงบประมาณ ของบริษทั ควบคุมก�ำกับดูแล (Monitoring and Supervision) การบริหารและการจัดการของฝ่ าย บริหารให้เป็ นไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณ ทีก่ ำ� หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 37

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

37

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

การแทนคณะกรรมการในเรือ่ งใด การมอบหมายดัง กล่าวต้องจัดท�ำเป็ นลายลักษณ์อกั ษร หรือบันทึกเป็ น มติคณะกรรมการในรายงานการประชุมคณะกรรมการ และระบุขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีข่ องผูร้ บั มอบอ�ำนาจไว้ อย่างชัดเจน

7. พิจารณาอนุมตั กิ ารจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลของบริษทั (ถ้ามี) 8. ด�ำเนินการให้บริษทั มีระบบ หรือกระบวนการในการ บริห ารจัด การความเสี่ย งที่ม ีป ระสิท ธิภ าพและ ครอบคลุม รวมทัง้ มีการติดตามและทบทวนการบริหาร จัดการความเสีย่ งอย่างสม�่ำเสมอ เพือ่ ให้ม ั ่นใจว่าฝ่ าย บริหารจะสามารถน�ำวิสยั ทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ท่ี ก�ำหนดขึน้ ไปปฏิบตั ใิ ห้เกิดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 9. ดูแลให้บริษทั และบริษทั ย่อยปฎิบตั ติ ามกฎหมายว่า ด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศคณะ กรรมการก� ำ กับ ตลาดทุ น ข้อ ก�ำ หนดของตลาด หลักทรัพย์ อาทิ การท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และการ ได้ ม าหรื อ จ� ำ หน่ ายไปซึ่ ง ทรั พ ย์ ส ิ น ที่ ส� ำ คั ญ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั 10. พิจารณาทบทวน ตรวจสอบ และอนุมตั แิ ผนการขยาย ธุรกิจ โครงการลงทุนขนาดใหญ่ ตลอดจนการเข้าร่วม ลงทุนกับผูป้ ระกอบการรายอืน่ ๆ ทีเ่ สนอโดยฝ่ าย จัดการ 11. พิจารณาและมีมติอนุ มตั กิ ารแต่งตัง้ เปลีย่ นแปลง บุคคลเข้าเป็ นกรรมการ และ/หรือผูบ้ ริหารในบริษทั ย่อย/บริษทั ร่วม ตามสัดส่วนการถือหุน้ รวมถึงก�ำหนด ใช้นโยบายการควบคุมและกลไกการก�ำกับดูแลกิจการ ทีบ่ ริษทั เข้าไปลงทุนในบริษทั ย่อย/บริษทั ร่วม เพือ่ แสดงว่าบริษทั มีกลไกการก�ำกับดูแลบริษทั ย่อย/บริษทั ร่วมตามทีก่ �ำหนดในประกาศคณะกรรมการก�ำกับ ตลาดทุน 12. พิจารณาก�ำหนดโครงสร้างการบริหารงาน มีอำ� นาจใน การแต่งตัง้ คณะกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร และคณะอนุ กรรมการอืน่ ตามความเหมาะสม เช่น คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ และคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง รวมถึงการก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ ตลอดจน ค่าตอบแทนของคณะกรรมการชุดย่อยดังกล่าว ทัง้ นี้ การมอบอ�ำนาจตามขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีท่ ่ี ก�ำหนดนัน้ ต้องไม่มลี กั ษณะเป็ นการมอบอ�ำนาจที่ ท�ำให้คณะกรรมการชุดย่อยดังกล่าวสามารถพิจารณา และอนุ มตั ริ ายการทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้สว่ น เสีย หรือความขัดแย้งทางผลประโยชน์อน่ื ใด (ถ้ามี) เว้นแต่เป็ นการอนุ มตั ริ ายการธุรกิจปกติ และเป็ นไป ตามเงือ่ นไขการค้าทัวไป ่ หรือเป็ นไปตามนโยบายและ หลักเกณฑ์ทค่ี ณะกรรมการพิจารณาและอนุมตั ไิ ว้แล้ว โดยอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ เงือ่ นไข และวิธกี ารตามที่ ก�ำหนดเกีย่ วกับรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และรายการได้ มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ ทรัพย์สนิ ทีส่ ำ� คัญของบริษทั จด ทะเบียน ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และ/หรือประกาศอื่นใดของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ในกรณีทค่ี ณะกรรมการมอบหมายให้บุคคลใดปฏิบตั ิ

38

13. คณะกรรมการอาจมอบอ�ำนาจให้กรรมการคนหนึ่ง หรือ หลายคน หรือบุคคลอืน่ ใดปฏิบตั กิ ารอย่างหนึ่งอย่างใด แทนคณะกรรมการได้ โดยอยูภ่ ายใต้การควบคุมและ ก�ำกับดูแลของคณะกรรมการ หรืออาจมอบอ�ำนาจเพือ่ ให้บุคคลดังกล่าวมีอำ� นาจ และภายในระยะเวลาตามที่ คณะกรรมการเห็นสมควร ซึง่ คณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอน เปลีย่ นแปลง หรือแก้ไขการมอบอ�ำนาจดัง กล่าวข้างต้นได้เมือ่ เห็นสมควร

ทัง้ นี้ การมอบอ�ำนาจนัน้ ต้องไม่มลี กั ษณะเป็ นการมอบ อ�ำนาจทีท่ ำ� ให้บุคคลดังกล่าวสามารถพิจารณาและ อนุ มตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มี ส่วนได้สว่ นเสีย หรือความขัดแย้งทางผลประโยชน์อน่ื ใด (ถ้ามี) เว้นแต่เป็ นการอนุมตั ริ ายการธุรกิจปกติ และ เป็ นไปตามเงือ่ นไขการค้าทั ่วไป หรือเป็ นไปตาม นโยบายและหลักเกณฑ์ทค่ี ณะกรรมการพิจารณาและ อนุมตั ไิ ว้แล้ว โดยอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ เงือ่ นไข และวิธี การตามทีก่ ำ� หนดเกีย่ วกับรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และ รายการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ ทรัพย์สนิ ทีส่ ำ� คัญของ บริษทั จดทะเบียน ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับ ตลาดทุน และ/หรือประกาศอืน่ ใดของหน่วยงานที่ เกีย่ วข้อง

14. กรรมการและผูบ้ ริหารต้องรายงานให้บริษทั ทราบถึง การมีสว่ นได้เสียของตน หรือของบุคคลทีม่ คี วาม เกีย่ วข้อง ตาม “แบบรายงานการมีสว่ นได้เสียของ กรรมการ/ผูบ้ ริหาร” ทีบ่ ริษทั ก�ำหนดขึน้ ซึง่ สอดคล้อง กับหลักเกณฑ์ เงือ่ นไข และวิธกี ารทีค่ ณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนด นอกจากนัน้ ยังมีหน้า ทีแ่ จ้งให้บริษทั ทราบถึงความสัมพันธ์ และการท�ำ ธุรกรรมกับบริษทั /บริษทั ย่อย/บริษทั ร่วม ในลักษณะที่ อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และ หลีกเลีย่ งการท�ำรายการทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์กบั บริษทั /บริษทั ย่อย/บริษทั ร่วม 15. กรรมการ ผูบ้ ริหาร รวมถึงคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุ นิตภิ าวะของกรรมการ หรือผูบ้ ริหาร ต้องไม่ใช้ขอ้ มูล ภายในของบริษทั /บริษทั ย่อย/บริษทั ร่วมซึง่ ยังไม่มกี าร เปิ ดเผยต่อสาธารณชน ทัง้ ทีไ่ ด้มาจากการกระท�ำตาม หน้าทีห่ รือในทางอืน่ ใดทีม่ หี รืออาจมีผลกระทบเป็ นนัย ส�ำคัญต่อบริษทั /บริษทั ย่อย/บริษทั ร่วม เพือ่ ประโยชน์ ต่อตนเอง หรือผูอ้ น่ื ไม่วา่ โดยทางตรงหรือทางอ้อม และไม่วา่ จะได้รบั ผลตอบแทนหรือไม่กต็ าม ทัง้ นี้ หาก กรรมการได้รบั ทราบข้อมูลภายในทีเ่ ป็ นสาระส�ำคัญ ซึง่ ยังไม่มกี ารเปิ ดเผยต่อสาธารณชนอันจะมีผลต่อการ เปลีย่ นแปลงราคาหลักทรัพย์ กรรมการจะต้องไม่เปิ ด เผยข้อมูลดังกล่าวแก่บุคคลใด ๆ และต้องระงับการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ตามระยะเวลาทีก่ ำ� หนด ก่อน ทีข่ อ้ มูลภายในนัน้ จะเปิ ดเผยต่อสาธารณชน

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 38

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

16. ด�ำเนินการให้บริษทั มีการจัดท�ำนโยบายการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ แี ละหลักจริยธรรมส�ำหรับกรรมการและ พนักงาน รวมทัง้ ติดตามให้มกี ารปฏิบตั แิ ละการ ทบทวนนโยบายดังกล่าวเป็ นประจ�ำอย่างสม�่ำเสมอ 17. ก�ำกับดูแลให้บริษทั มีการจัดท�ำนโยบายและแนวปฏิบตั ิ ในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชั ่น มีการน�ำนโยบาย และมาตรการการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันไปปฏิ ่ บตั ิ อย่างเคร่งครัด ซึง่ รวมถึงการสือ่ สารและเผยแพร่ให้กบั พนักงานและคูค่ า้ ทราบอย่างทัวถึ ่ งด้วย 18. ก�ำกับดูแลให้บริษทั มีนโยบาย กระบวนการ และช่อง ทางในการรับและจัดการข้อร้องเรียนทีโ่ ปร่งใสและ เหมาะสม มีกระบวนการคุม้ ครองผูร้ อ้ งเรียนและเก็บ ข้อมูลทัง้ หมดเป็ นความลับ 19. แต่งตัง้ เลขานุการบริษทั เพือ่ ช่วยด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะกรรมการและบริษทั อันได้แก่ การประชุม กรรมการและผูถ้ อื หุน้ ตลอดจนการให้คำ� แนะน�ำแก่ กรรมการ และบริษทั ในการปฏิบตั ติ น และด�ำเนิน กิจการให้ถกู ต้องตามกฎหมาย และระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง ต่าง ๆ อย่างสม�่ำเสมอ อีกทัง้ ดูแลให้กรรมการ และ บริษทั มีการเปิ ดเผยข้อมูลสารสนเทศอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทันเวลา บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของประธานกรรมการ

1. ดูแลการบริหารจัดการของฝ่ ายบริหาร ให้คำ� แนะน�ำ ช่วยเหลือ แต่ต้องไม่มสี ่วนร่วม และไม่ก้าวก่าย ในการบริหารงานปกติประจ�ำวัน โดยให้เป็ นหน้าที่ ของผูบ้ ริหารสูงสุด ภายใต้กรอบอ�ำนาจทีไ่ ด้รบั จาก คณะกรรมการ 2. เป็ นประธานอย่างเป็ นธรรมในทีป่ ระชุมทัง้ ในการ ประชุมคณะกรรมการและการประชุมผูถ้ อื หุน้ 3. สนับสนุ นและผลักดันให้ผเู้ ข้าร่วมประชุมใช้สทิ ธิออก เสียง และปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี อย่างเคร่งครัด การแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัท

การแต่งตัง้ กรรมการบริษทั เป็ นไปตามข้อบังคับของบริษทั และพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด โดยคณะกรรมการ สรรหาของบริษทั จะเป็ นผูเ้ สนอชื่อบุคคลทีม่ คี ุณสมบัติ เหมาะสมเพือ่ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการต่อคณะกรรมการ และ ผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาตามล�ำดับ ทัง้ นี้ ข้อบังคับของบริษทั ก�ำหนดให้การแต่งตัง้ กรรมการบริษทั เป็ นไปโดยสอดคล้อง กับพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด ดังนี้ 1. ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็ นผูแ้ ต่งตัง้ กรรมการเพิม่ เติม หรือ แทนกรรมการทีต่ อ้ งออกตามวาระ ตามหลักเกณฑ์และ วิธกี าร ดังต่อไปนี้ ก. ผูถ้ อื หุน้ หนึ่งคนมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งเสียงต่อ

หนึ่งหุน้ ข. ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสียงที่มอี ยู่ ทัง้ หมดตาม (ก) เลือกบุคคลคนเดียว หรือหลายคน เป็ นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผใู้ ด มากน้อยเพียงใดไม่ได้ ค. บุคคลซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมา เป็ นผูไ้ ด้รบั เลือกตัง้ เป็ นกรรมการ เท่ากับจ�ำนวน กรรมการทีจ่ ะมีในการเลือกตัง้ ครัง้ นัน้ ในกรณีท่ี บุคคลซึ่งได้รบั การเลือกตัง้ ในล�ำดับถัดลงมามี คะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนกรรมการทีจ่ ะมีได้ใน การเลือกตัง้ ครัง้ นัน้ ให้ประธานในทีป่ ระชุมเป็ นผู้ ออกเสียงชีข้ าด 2. คณะกรรมการเป็ นผูเ้ ลือกบุคคลเข้าเป็ นกรรมการแทน ต�ำแหน่งกรรมการทีว่ า่ งลงเพราะสาเหตุอน่ื ใด นอกจาก ถึงคราวออกตามวาระ คุณสมบัติของคณะกรรมการบริษัท

1. กรรมการต้องเป็ นบุคคลทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถ และ ประสบการณ์ทจ่ี ะเป็ นประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ มี ความซื่อสัตย์ สุจริต มีจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ และ มีเวลาเพียงพอทีจ่ ะอุทศิ ความสามารถและปฏิบตั หิ น้าที่ ให้แก่บริษทั อย่างเต็มที่ 2. กรรมการต้องมีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วน และไม่มลี กั ษณะ ต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษทั มหาชนจ�ำกัด และ กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวม ทัง้ ต้องไม่มสี ถานะขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กับ หลัก ทรัพ ย์แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ โดยจะต้องเป็ นบุคคลทีม่ ชี อ่ื อยูใ่ น ระบบข้อมูลรายชือ่ กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ที่ ออกหลักทรัพย์ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาด ทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์การแสดงชือ่ บุคคลในระบบข้อมูล รายชือ่ กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ทีอ่ อกหลัก ทรัพย์ 3. กรรมการไม่สามารถประกอบกิจการอันมีสภาพอย่าง เดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริษทั หรือ เข้าเป็ นหุน้ ส่วน หรือกรรมการในนิตบิ ุคคลอืน่ ทีม่ สี ภาพ อย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริษทั ไม่วา่ จะท�ำเพือ่ ประโยชน์ของตนหรือประโยชน์ของ บุคคลอืน่ เว้นแต่จะแจ้งให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบก่อนที่ จะมีมติแต่งตัง้ 4. กรรมการต้องแจ้งให้บริษทั ทราบโดยไม่ชกั ช้า หากมี ส่วนได้เสียในสัญญาทีบ่ ริษทั ท�ำขึน้ ไม่วา่ โดยตรง หรือ โดยอ้อม หรือถือหุน้ เพิม่ ขึน้ หรือลดลงในบริษทั หรือ บริษทั ในเครือ และต้องปฏิบตั ติ ามประกาศและข้อ บังคับของประกาศคณะกรรมการการก�ำกับตลาดทุน The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 39

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

39

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎระเบียบอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง 5. กรรมการควรทีจ่ ะสามารถแสดงความคิดเห็น และใช้ ดุลยพินิจอย่างเป็ นอิสระในการพิจารณาก�ำหนดกลยุทธ์ การบริหารงาน การใช้ทรัพยากร การแต่งตัง้ กรรมการ และการก�ำหนดมาตรการการด�ำเนินกิจการ ตลอดจนมี ความเป็ นอิสระทีจ่ ะคัดค้านการกระท�ำของกรรมการ ท่านอื่นหรือฝ่ ายจัดการ ในกรณีทม่ี คี วามเห็นขัดแย้งใน เรือ่ งทีม่ ผี ลกระทบต่อความทัดเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ 3. คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริหาร ณ 30 กันยายน 2561 ประกอบด้วย สมาชิก 4 ท่าน ดังนี้ 1. นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี 2. นายชาย วินิชบุตร 3. นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์ 4. นายโสภณ ราชรักษา

ประธานกรรมการ บริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร และเลขานุการ คณะกรรมการบริหาร

บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริหาร

คณะกรรมการบริหารจะก�ำหนดการพัฒนาเชิงกลยุทธ์ของ กลุม่ บริษทั ไทคอน อนุมตั ริ ายละเอียดด้านการลงทุน ทัง้ ใน เรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับทางการเงิน และทีไ่ ม่ใช่เรือ่ งทางการเงิน เพือ่ ให้บรรลุซง่ึ วัตถุประสงค์ของบริษทั เพิม่ มูลค่าให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในระยะยาว และก�ำกับดูแลการด�ำเนินการของกลุม่ บริษทั 1 คณะกรรมการบริหารมีอำ� นาจ และกระท�ำการสิง่ ต่าง ๆ หรือกระท�ำการแทนบริษทั ในเรือ่ งทีพ่ ง่ึ ปฏิบตั ิ และไม่ ขัดต่อข้อบังคับบริษทั หรือข้อบังคับทีร่ ะบุไว้อย่าง ชัดเจน โดยต้องปฏิบตั หิ รือกระท�ำการแทนบริษทั ในที่ ประชุมของบริษทั นอกเหนือจากประเด็นต่าง ๆ ดังต่อ ไปนี้ อันสงวนไว้เป็ นการเฉพาะ เพือ่ การตัดสินใจโดย คณะกรรมการบริษทั เท่านัน้ 1.1 การขายหรือการโอน ซึง่ ภาระหน้าทีห่ รือทรัพย์สนิ ของบริษทั ไม่วา่ จะทัง้ หมดหรือส่วนทีเ่ ป็ นสาระ ส�ำคัญ 1.2 การด�ำเนินธุรกรรมใด ๆ ส�ำหรับการได้มาหรือ จ� ำ หน่ า ยไปซึ่ง ทรัพ ย์ส ิน ของบริษัท อัน เป็ น ทรัพย์สนิ ทีส่ ำ� คัญของบริษทั 1.3 การแต่งตัง้ คณะกรรมการบริษทั หรือคณะ กรรมการชุดย่อย หรือการพิจารณาก�ำหนด การ แก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะ กรรมการบริษทั หรือกรรมการชุดย่อยใด ๆ

40

2. คณะกรรมการบริหารจะต้องก�ำหนดแนวทาง และ ก�ำกับการจัดการทั ่วไปของบริษทั และของกลุม่ บริษทั ไทคอน 2.1 ก�ำหนดการพัฒนาเชิงกลยุทธ์ของกลุ่มบริษทั ไทคอน 2.2 ด�ำเนินมาตรการต่าง ๆ ทีเ่ ป็ นไปได้ เพือ่ รักษาผล ประโยชน์ของกลุม่ บริษทั ไทคอน 2.3 ทบทวนและอนุมตั ิ ค่านิยม กลยุทธ์ วัตถุประสงค์ แผนงบประมาณ และแผนธุรกิจขององค์กร 2.4 ทบทวนและอนุ มตั กิ ารด�ำเนินธุรกรรมทีส่ ำ� คัญ (เช่น การลงทุน การได้มาและจ�ำหน่ายไป) ทีม่ ี มูลค่ารวมทัง้ สิน้ ไม่เกินทีก่ ำ� หนดเอาไว้ หรือตามที่ คณะกรรมการบริหารเสนอเป็ นการจ�ำเพาะเจาะจง หรือเป็ นการทัวไปโดยคณะกรรมบริ ่ ษทั 2.5 ทบทวนและอนุ มตั นิ โยบายส�ำหรับการจัดการ ทรัพยากรทางการเงิน และทรัพยากรมนุษย์ 2.6 ทบทวนผลการด�ำเนินงานทัง้ ทางด้านการเงิน และ ทีไ่ ม่ใช่ดา้ นการเงินของบริษทั และของกลุม่ บริษทั ไทคอน 2.7 ทบทวนและพิจารณาหนังสือให้การยินยอมและ หนังสือแสดงความจ�ำนงต่าง ๆ ทีไ่ ด้รบั การลงนาม 2.8 ติดตามและทบทวนระบบการด�ำเนินการทางบัญชี ของบริษทั ในประเทศจีนเป็ นระยะๆ อันรวมถึงการ ใช้ตราประทับการเงิน (Finance seal) และการตัง้ ผูม้ อี ำ� นาจลงนามร่วมกัน เพือ่ บริหารจัดการเกีย่ ว กับรายจ่าย 3. คณะกรรมการบริห ารจะก� ำ หนดเงื่อ นไขที่ร ะบุ คุณสมบัตขิ องผูส้ มัคร ทบทวนและอนุ มตั กิ ารแต่งตัง้ / การเสนอชือ่ ส�ำหรับต�ำแหน่ง ฝ่ ายบริหารอาวุโสของ กลุม่ บริษทั ไทคอน รวมถึง ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสายงาน การเงิน และผูบ้ ริหารอาวุโสของบริษทั 4. คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบ ณ 30 กันยายน 2561 ประกอบ ด้วยกรรมการ 4 ท่าน ดังนี้ 1. นายตรีขวัญ บุนนาค

ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

2. นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 40

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

3. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 4. ร.ศ.ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ ทัง้ นี้ กรรมการตรวจสอบทัง้ สีท่ า่ นมีความรู้ และประสบการณ์ เพียงพอ ทีจ่ ะสามารถท�ำหน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงิน โดยมีนางมารศรี โสภาเสถียรพงศ์ ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโสฝ่ ายตรวจสอบภายใน ปฏิบตั งิ านใน ต�ำแหน่ง เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตรวจสอบ

1. สอบทานให้บริษทั มีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง และเชือ่ ถือได้ รวมถึงการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ โดยการประสานงานกับผูส้ อบบัญชีรบั อนุ ญาต และผู้ บริหารทีร่ บั ผิดชอบในการจัดท�ำรายงานทางการเงิน ทัง้ รายไตรมาส และประจ�ำปี 2. พิจารณาให้ความเห็นรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือ รายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็ น ไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ รวมทัง้ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ทัง้ นี้ เพือ่ ให้ม ั ่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ น ประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั 3. สอบทานให้บริษทั มีระบบการควบคุมภายใน และการ ตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิผลตามวิธี การ และมาตรฐานสากล 4. สอบทานให้บริษทั มีกระบวนการควบคุมและติดตาม การปฏิบตั งิ าน ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั 5. สอบทานให้บริษทั มีกระบวนการบริหารความเสีย่ งที่ ครอบคลุมทุกด้าน มีประสิทธิผล และสอดคล้องตาม มาตรฐานสากล 6. สอบทานให้บริษทั มีกระบวนการท�ำงาน การควบคุม การก�ำกับดูแลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการรักษา ความมั ่นคงปลอดภัยของข้อมูล และระบบเครือข่าย สือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิผล สอดคล้องตามมาตรฐานสากล 7. สอบทานให้บริษทั มีกระบวนการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี กระบวนการต่อต้านคอร์รปั ชันทีส่ อดคล้องตามแนวทาง ของหน่วยงานก�ำกับดูแลต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิผล 8. ให้ความเห็นชอบกฎบัตร แผนงาน และความเหมาะสม เพียงพอในการจัดสรรทรัพยากร อัตราก�ำลังของฝ่ าย ตรวจสอบภายใน รวมทัง้ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ และความก้าวหน้าทางวิชาชีพของผูต้ รวจสอบภายใน

9. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ และประเมินผลการ ปฏิบตั งิ านของหัวหน้าฝ่ ายตรวจสอบภายใน หรือ หัวหน้าหน่วยงานภายนอกทีใ่ ห้บริการด้านการตรวจ สอบภายใน รวมทัง้ ความเป็ นอิสระของฝ่ ายตรวจสอบ ภายใน 10. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตัง้ และค่าตอบแทนบุคคล ซึง่ มีความเป็ นอิสระ เพือ่ ท�ำหน้าทีผ่ สู้ อบบัญชีของ บริษทั โดยพิจาณาความเหมาะสมและประเมิน ประสิทธิภาพการท�ำงานของผูส้ อบบัญชี เพือ่ น�ำเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณา และขออนุมตั ติ ่อ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ มีการประชุมร่วมกับผูส้ อบ บัญชีโดยไม่มฝี ่ ายจัดการเข้าประชุมอย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้ เพือ่ ขอความเห็นจากผูส้ อบบัญชีในเรือ่ งต่าง ๆ 11. พิจารณาขอบเขตการตรวจสอบและแผนการตรวจสอบ ของผูส้ อบบัญชี และผูต้ รวจสอบภายในให้มคี วาม สัมพันธ์กนั และลดความซ�้ำซ้อนในส่วนทีเ่ กีย่ วกับการ ตรวจสอบภายใน 12. จัด ให้ม ีก ารประเมิน ผลการปฏิบ ตั ิง านของคณะ กรรมการตรวจสอบทัง้ ในภาพรวม เป็ นรายคณะ และ รายบุคคล เป็ นประจ�ำทุกปี พร้อมทัง้ รายงานผลการ ประเมินต่อคณะกรรมการบริษทั 13. สอบทานให้บริษทั มีกระบวนการรับเรือ่ งร้องเรียน และ ก�ำกับดูแลในเรือ่ งดังกล่าว 14. เข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษทั เพือ่ ชีแ้ จงและ/หรือตอบ ข้อซักถามในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับคณะกรรมการตรวจสอบ หรือการแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีดว้ ย 15. รายงานผลการด�ำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ต่อคณะกรรมการบริษทั อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง้ เพือ่ คณะกรรมการบริษทั จะได้ทราบถึงกิจกรรมของ คณะกรรมการตรวจสอบอย่างทันเวลา และเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการด�ำเนินงานของคณะกรรมการตรวจ สอบ ยกเว้นผลการด�ำเนินงานในไตรมาสที่ 4 ให้จดั ท�ำ เป็ นรายงานผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี ของคณะ กรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปี ของบริษทั ซึง่ รายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ และมีความเห็นในเรือ่ งต่างๆ ตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ 16. ทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบโดยสอบทาน และประเมินความเพียงพอ และความเหมาะสมของ กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบตามเหตุการณ์ หรือ สถานการณ์ทอ่ี าจมีการเปลีย่ นแปลง และ น�ำเสนอต่อ คณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 17. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการของบริษทั มอบ หมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 41

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

41

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

ในการปฏิบตั งิ านตามขอบเขตหน้าที่ ให้คณะกรรมการตรวจ สอบมีอำ� นาจเรียก สั ่งการให้ฝ่ายจัดการ หัวหน้าหน่วยงาน หรือพนักงานของบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องมาให้ความเห็น ร่วม ประชุม หรือส่งเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ แสวงหาความเห็น ทีเ่ ป็ นอิสระจากทีป่ รึกษาทางวิชาชีพอืน่ ใดเมือ่ เห็นว่าจ�ำเป็ น ด้วยค่าใช้จา่ ยของบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบตั งิ านภายในขอบเขตหน้าที่ และความรับผิดชอบตามค�ำสังของคณะกรรมการบริ ่ ษทั ซึง่ คณะกรรมการบริษทั เป็ นผูร้ บั ผิดชอบการด�ำเนินงานของ บริษทั โดยตรงต่อผูถ้ อื หุน้ ผูม้ สี ว่ นได้เสียและบุคคลทัวไป ่ 5. คณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทนของบริษทั ณ 30 กันยายน 2561 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม ประธานกรรมการก�ำหนด ค่าตอบแทน 2. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ กรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน 3. นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี กรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ กำ�หนดค่าตอบแทน

1. ทบทวนและให้คำ� แนะน�ำต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ รับการอนุมตั โิ ดยคณะกรรมการส�ำหรับ • ขอบข่ายงานทั ่วไปส�ำหรับค่าตอบแทนของคณะ กรรมการบริษทั และบุคลากรฝ่ ายบริหารทีส่ ำ� คัญ (หมายความถึงประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ผูอ้ ำ� นวย การใหญ่ และบุคคลอืน่ ทีม่ อี ำ� นาจและหน้าทีร่ บั ผิด ชอบส�ำหรับการวางแผน การสั ่งการ และการ ควบคุมกิจการต่าง ๆ ของบริษทั ) ของกลุม่ บริษทั • ค่าตอบแทนส�ำหรับกรรมการแต่ละท่าน และ บุคลากรฝ่ ายบริหารทีส่ ำ� คัญแต่ละท่านของกลุม่ บริษทั • การวางแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง การทบทวนของคณะกรรมการก�ำ หนดค่า ตอบแทน จะครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ ทุกด้านทีเ่ กีย่ วกับค่าตอบแทน อันรวมถึง ค่าตอบแทนของกรรมการ ค่าตอบแทนพิเศษ แก่กรรมการผูท้ ป่ี ฏิบตั หิ น้าทีพ่ เิ ศษหรือปฏิบตั เิ พิม่ เป็ นพิเศษ ให้กบั ทางบริษทั หรือกลุม่ บริษทั เงินเดือน ค่าเบีย้ ประชุม โบนัส การให้สทิ ธิซอ้ื หลักทรัพย์ รางวัลจูงใจ รางวัลตอบแทน โดยใช้หนุ้ เป็ นเกณฑ์ และผลประโยชน์ตอบแทนอืน่ ๆ 2. วัตถุประสงค์หลัก • ก�ำหนดกระบวนการทีเ่ ป็ นมาตรฐานและโปร่งใส ส�ำหรับการพัฒนานโยบายเกีย่ วกับค่าตอบแทนผู้

42

บริหาร และส�ำหรับ การก�ำหนดค่าตอบแทน ส�ำหรับกรรมการแต่ละท่าน • ก�ำหนดระดับและโครงสร้างของค่าตอบแทน ให้ สอดคล้องกับ ผลประโยชน์ ใ นระยะยาวและ นโยบายการบริหารความเสีย่ งของกลุม่ บริษทั ให้ มีลกั ษณะทีเ่ หมาะสม ดึงดูด รักษา และจูงใจ กรรมการให้มกี ารดูแลทีด่ ตี ่อกลุม่ บริษทั และผู้ บริหารให้มกี ารดูแลจัดการกลุม่ บริษทั ให้ประสบ ซึง่ ผลส�ำเร็จ รวมถึงภาระความรับผิดชอบของทาง กลุม่ บริษทั และผลการด�ำเนินงานของบริษทั ข้อกำ�หนด

1. ด�ำเนิ นการเพื่อให้ม ั ่นใจว่านโยบายและระบบค่า ตอบแทนของกลุม่ บริษทั ตามทีไ่ ด้รบั การอนุ มตั โิ ดย คณะกรรมการบริษทั ตรงตามวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ ของกลุม่ บริษทั และถูกน�ำไปปฏิบตั ติ ามภายในกลุม่ บริษทั อย่างเหมาะสม 2. ทบทวนนโยบายและแนวปฏิบตั ทิ างด้านค่าตอบแทน และผลประโยชน์ของบริษทั เป็ นประจ�ำทุกปี รวมถึงแผน ประสิทธิภาพ/ข้อจ�ำกัด และ/หรือการให้รางวัลจูงใจ ระยะยาวอืน่ ๆ เพือ่ ทีจ่ ะ • สนับสนุนแผนการให้รางวัลจูงใจระยะยาวและการ ให้สทิ ธิ ร่วมกันกับการจัดสรรหุน้ หรือการให้สทิ ธิ ์ การซือ้ หุน้ หรือการให้ผลตอบแทนแบบมีกำ� หนด ระยะเวลาแบบอืน่ ๆ ซึง่ จะอนุญาตให้สามารถใช้ ผลประโยชน์ได้บางส่วนเท่านัน้ ในแต่ละปี • สนับสนุนกรรมการบริหารและผูบ้ ริหารให้ถอื ครอง หุน้ เอาไว้นานเกินกว่าระยะเวลาการให้สทิ ธิ โดย ขึน้ อยูก่ บั ความจ�ำเป็ น ในการจัดการด้านการเงิน ส�ำหรับต้นทุนในการได้หนุ้ มา และภาระภาษีท่ี เกีย่ วข้อง • ประเมินต้นทุนและผลประโยชน์ของแผนรางวัล จูงใจระยะยาว และกรรมการบริหารและผูบ้ ริหาร ควรจะได้รบั สิทธิผลประโยชน์ตามแผนรางวัลจูงใจ ระยะยาวดังกล่าว • ให้คำ� แนะน�ำต่อคณะกรรมการบริษทั ในการอนุมตั ิ การเปลีย่ นแปลง ปรับปรุง หรือแผนรางวัลจูงใจใดๆ ตามโอกาสอันเหมาะสม 3. ทบทวนการรับรองต่าง ๆ ของคณะกรรมการบริษทั โดยกระท�ำเป็ นประจ�ำทุกปี (และในส่วนของกรรมการที่ มิใช่ผบู้ ริหาร เพือ่ อนุ มตั ใิ นช่วงการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี ) ทบทวนผลการด�ำเนินงานและค่าตอบแทน ของกรรมการทีม่ ใิ ช่ผบู้ ริหาร กรรมการบริหาร และ ผูบ้ ริหาร ตามนโยบายและกระบวนการค่าตอบแทนที่ ได้รบั การอนุมตั ิ โดยพิจารณารวมถึงประเด็นต่าง ๆ ดัง ต่อไปนี้

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 42

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

• อัตราส่วนทีส่ ำ� คัญและเหมาะสมของค่าตอบแทน ส�ำหรับกรรมการบริหารและผูบ้ ริหารนัน้ ควรมี ลักษณะเป็ นโครงสร้างทีเ่ ชือ่ มโยงรางวัลตอบแทน เข้ากับผลการด�ำเนินงานของบริษทั และรายบุคคล รางวัลตอบแทนทีอ่ งิ ตามผลการด�ำเนินงานดัง กล่าวนัน้ ควรจะสอดคล้องกันกับผลประโยชน์ของ ผูถ้ อื หุน้ และต้องสนับสนุ นความส�ำเร็จในระยะ ยาวของกลุม่ บริษทั รวมถึงนโยบายการบริหาร ความเสีย่ งของกลุม่ บริษทั • ค่าตอบแทนส�ำหรับกรรมการทีม่ ใิ ช่ผบู้ ริหาร ต้อง อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสมกับระดับของผลงานทีม่ ี ส่วนช่วยสนับสนุ นบริษท ั ในด้านของความ พยายาม เวลาทีใ่ ช้ไป และหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ หรือแผนจัดสรรหุน้ ของบริษทั ให้กบั กรรมการที่ มิใช่ผบู้ ริหาร เพือ่ ทีผ่ ลประโยชน์ของกรรมการที่ มิใช่ผู้บริหารดังกล่าวจะได้สอดคล้องกับผล ประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ 4. เสนอวัตถุประสงค์ เกณฑ์การปฏิบตั หิ น้าทีท่ เ่ี หมาะสม เพื่อสนับสนุ นการประเมินผลการด�ำเนินงานของ ผูบ้ ริหาร กรรมการแต่ละท่าน และคณะกรรมการบริษทั ต่อคณะกรรมการบริษทั 5. ทบทวนภาระผูกพันของกลุม่ บริษทั อันเกิดขึน้ จากการ ยกเลิกสัญญาจ้างกรรมการบริหารและผูบ้ ริหาร เพือ่ ให้ มั ่นใจว่าสัญญาจ้างดังกล่าวนัน้ ประกอบเข้าไว้ดว้ ย ข้อก�ำหนดการเลิกจ้างทีย่ ตุ ธิ รรมและสมเหตุสมผล ซึง่ จะไม่เป็ นการเอือ้ เฟื้ อทีม่ ากเกินไป และพิจารณาการใช้ ข้อก�ำหนดในสัญญา เพือ่ ให้ทางกลุม่ บริษทั สามารถทวง คืนค่าตอบแทนบางส่วนจากกรรมการบริหารและ ผูบ้ ริหาร ในสถานการณ์พเิ ศษ อย่างการประกาศ ผลลัพธ์ขอ้ มูลทางการเงินทีผ่ ดิ พลาด หรือการด�ำเนิน งานทีไ่ ม่ถกู ต้องทีส่ ง่ ผลให้เกิดความเสียหายทางการ เงินต่อทางกลุม่ บริษทั 6. ด�ำเนินการและอนุมตั กิ ารให้ผลตอบแทน เช่น การให้ ผลตอบแทนพิเศษ โบนัส การจัดสรรหุน้ ของบริษทั หรือ แผนการให้รางวัลจูงใจระยะยาวอืน่ ๆ แก่ผบู้ ริหาร อาวุโสของกลุม่ บริษทั โดยพิจารณาจากผลการด�ำเนิน งานของกลุม่ บริษทั 7. ให้คำ� แนะน�ำตามทีจ่ ำ� เป็ นแก่ผบู้ ริหาร เกีย่ วกับนโยบาย ค่าตอบแทนและผลประโยชน์ ส�ำหรับลูกจ้างประเภท อืน่ ๆ นอกเหนือจากผูบ้ ริหาร 6. คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการสรรหาของบริษทั ณ 30 กันยายน 2561 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ ประธานกรรมการสรรหา 2. นายตรีขวัญ บุนนาค กรรมการสรรหา

3. นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์ กรรมการสรรหา บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ สรรหา

1. ก�ำหนดกระบวนการส�ำหรับการแต่งตัง้ กรรมการเข้า ด�ำรงต�ำแหน่งเป็ นสมาชิกคณะกรรมการบริษทั และ กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ อย่างเป็ นทางการและโปร่งใส 2. ด�ำเนินการประเมินรายปี ซึง่ ประสิทธิผลของคณะ กรรมการทัง้ คณะ และคณะกรรมการชุดย่อย รวมถึง ประเมิน ผลงานของกรรมการแต่ ล ะท่ า นที่ม ีต่ อ ประสิทธิผลของคณะกรรมการบริษทั ข้อกำ�หนด

1. คณะกรรมการสรรหานัน้ จะต้อง 1.1 ให้คำ� แนะน�ำแก่คณะกรรมการบริษทั เกีย่ วกับการ แต่งตัง้ คณะกรรมการบริษทั และองค์ประกอบของ คณะกรรมการบริษทั โดยพิจารณาถึงความสมดุล ระหว่างกรรมการบริหารและกรรมการทีม่ ใิ ช่ผบู้ ริหาร ระหว่างกรรมการอิสระและกรรมการทีม่ ใิ ช่กรรมการ อิสระ รวมถึงขอบเขตและลักษณะของการด�ำเนินการ ของกลุม่ บริษทั ความต้องการของธุรกิจ และความ จ�ำเป็ นทีจ่ ะหลีกเลีย่ งการเปลีย่ นแปลงทีไ่ ม่เหมาะสมใน องค์ป ระกอบของคณะกรรมการบริษัท และคณะ กรรมการชุดย่อย 1.2 ทบทวนโครงสร้าง ขนาด องค์ประกอบ และประเด็น ด้านความเป็ นอิสระของคณะกรรมการบริษทั และให้คำ� แนะน�ำแก่คณะกรรมการบริษทั เกีย่ วกับการปรับปรุงที่ จ�ำเป็ น คณะกรรมการสรรหาต้องด�ำเนินการเพือ่ ให้ มั ่นใจได้ตลอดเวลาว่ามีกรรมการอิสระทีเ่ ข้มแข็งและ เป็ นอิสระอยูใ่ นองค์ประกอบของคณะกรรมการบริษทั โดยคณะกรรมการบริษทั นัน้ ต้องประกอบขึน้ จาก กรรมการอิสระอย่างน้อยหนึ่งในสาม หรืออย่างน้อย ครึง่ หนึ่ง 1.3 พิจารณาว่ากรรมการบริษทั ท่านใดถึงก�ำหนดทีต่ อ้ งพ้น จากต�ำแหน่งในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี ใน แต่ละปี ตามแนวทางทีจ่ ะให้มกี ารพ้นต�ำแหน่งอย่าง น้อยหนึ่งครัง้ ทุก ๆ สามปี 1.4 ให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับประเด็นต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการ แต่งตัง้ กรรมการเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง หรือการแต่งตัง้ กรรมการกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ (รวมถึงกรรมการ แทน (ถ้ามี) และในฐานะทีเ่ ป็ นส่วนหนึ่งของกระบวน การในการสรรหา แต่งตัง้ กรรมการเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง และแต่งตัง้ กรรมการกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ คณะ กรรมการสรรหาต้องพิจารณาองค์ประกอบและการเข้า ด�ำรงต�ำแหน่งของคณะกรรมการบริษทั และพิจารณา ขีดความสามารถ การทุม่ เทอุทศิ ตน การมีสว่ นช่วย สนับสนุน และการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการแต่ละท่าน The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 43

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

43

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

(เช่น การเข้าร่วม ความพร้อม การเข้ามามีสว่ นร่วม และความเปิ ดเผย) รวมถึงบทบาทของกรรมการอิสระ คณะกรรมการสรรหาต้องด�ำเนินการเพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ าชือ่ ของกรรมการทีน่ �ำเสนอเพือ่ รับการแต่งตัง้ กรรมการ บริษทั และการแต่งตัง้ กรรมการกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง ใหม่ สูค่ ณะกรรมการบริษทั นัน้ จะถูกเปิ ดเผยในรายงาน ประจ�ำปี (รวมถึงการเปิ ดเผยซึง่ กระบวนการสรรหาและ กระบวนการเสนอชือ่ ) 1.5 ก�ำหนดแผนการสืบทอดต�ำแหน่งของคณะกรรมการ บริษทั เพือ่ รับการอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั และ ให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับประเด็นต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการ ทบทวนแผนการสืบทอดต�ำแหน่งของคณะกรรมการ บริษทั โดยเฉพาะอย่างยิง่ ส�ำหรับต�ำแหน่งประธาน กรรมการบริษทั และส�ำหรับต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร/ ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่/ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร สายงานการเงิน 1.6 ระบุผสู้ มัคร ทบทวน และอนุ มตั กิ ารเสนอชือ่ ส�ำหรับ ต�ำแหน่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ • กรรมการบริษทั หรือกรรมการแทน (ไม่วา่ จะ เป็ นการแต่งตัง้ หรือการแต่งตัง้ เพือ่ กลับเข้าด�ำรง ต�ำแหน่งใหม่) • สมาชิกของคณะกรรมการชุดย่อย (รวมถึง คณะ กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการก�ำหนดค่า ตอบแทน และคณะกรรมการสรรหา) รวมถึงการ ประเมินคุณสมบัตแิ ละประสบการณ์ของผูท้ ไ่ี ด้รบั การเสนอชื่อแต่งตัง้ รายใหม่คนใดเข้าสู่คณะ กรรมการบริษทั และการให้คำ� แนะน�ำแก่คณะ กรรมการบริษทั ว่าการเสนอชือ่ ดังกล่าวควรจะได้ รับการสนับสนุนหรือไม่

1.10 ทบทวนต�ำแหน่งกรรมการอืน่ ๆ ทีก่ รรมการแต่ละท่าน ด�ำรงต�ำแหน่งอยู่ และพิจารณาว่ากรรมการท่านนัน้ ๆ สามารถปฏิบตั ิ และพิจารณาว่าทีผ่ า่ นมาท่านได้ปฏิบตั ิ หน้าทีข่ องตนเองในฐานะกรรมการคนหนึ่งของบริษทั ได้อย่างพอเพียงหรือไม่ โดยพิจารณาจากจ�ำนวนการ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งคณะกรรมการในบริษทั อืน่ ๆ และ หน้าทีห่ ลักอืน่ ๆ ของกรรมการแต่ละท่าน คณะ กรรมการสรรหาจะได้ใช้ดลุ ยพินิจของตนเองในการ ก�ำหนดจ�ำนวนขัน้ สูงสุดของการเข้าด�ำรงต�ำแหน่งคณะ กรรมการในบริษทั อื่น ๆ ซึง่ กรรมการแต่ละท่านจะ สามารถด�ำรงต�ำแหน่งได้ 1.11 ทบทวนข้อมูลส�ำคัญทีเ่ กีย่ วข้องกับกรรมการบริษทั ที่ จะต้องรวบรวมไว้ในรายงานประจ�ำปี ข้อมูลส�ำคัญดัง กล่าวนัน้ จะประกอบไปด้วยข้อมูลของกรรมการแต่ละ ท่าน ในส่วนของคุณสมบัตทิ างด้านการศึกษาและด้าน ความเชีย่ วชาญ การถือครองหุน้ ในส่วนของบริษทั และ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง คณะกรรมการชุดย่อยทีก่ รรมการ ท่านนัน้ ด�ำรงต�ำแหน่งอยู่ (ไม่วา่ จะในฐานะสมาชิกหรือ ประธานกรรมการ) วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ เป็ นกรรมการ เป็ นครัง้ แรก วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ ล่าสุด และต�ำแหน่งกรรมการอืน่ ๆ ทีก่ รรมการแต่ละ ท่านด�ำรงต�ำแหน่งอยู่ หรือเคยด�ำรงต�ำแหน่งในช่วง ระยะเวลาสามปี ลา่ สุด ไม่วา่ จะเป็ นการแต่งตัง้ ใน ต�ำแหน่งกรรมการบริหาร มิใช่กรรมการบริหาร หรือ กรรมการอิสระ และหน้าทีห่ ลักอืน่ ๆ 7. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

1.7 ด�ำเนินการเพือ่ ให้ม ั ่นใจว่าในกรณีทจ่ี ะมีการแต่งตัง้ กรรมการแทน กรรมการแทนนัน้ ควรทีจ่ ะมีความคุน้ เคยกับกิจการของบริษทั และต้องมีคณ ุ สมบัตทิ เ่ี หมาะ สม หากว่ามีการเสนอชือ่ บุคคลหนึ่งบุคคลใดเข้ารับการ แต่งตัง้ เป็ นกรรมการแทน แทนกรรมการอิสระท่านใด ท่านหนึ่ง คณะกรรมการสรรหาต้องด�ำเนินการให้มนใจ ั่ ว่าบุคคลดังกล่าวนัน้ มีคณ ุ สมบัตทิ ค่ี ล้ายคลึงกับ กรรมการอิสระ ก่อนทีจ่ ะแต่งตัง้ บุคคลผูน้ นั ้ ขึน้ เป็ น กรรมการแทน

คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ณ 30 กันยายน 2561 ประกอบด้วยสมาชิก 5 ท่าน ดังนี้

1.8 ด�ำเนินการทบทวนเป็ นรายปี และตามแต่สถานการณ์ท่ี จ�ำเป็ น ไม่วา่ กรรมการนัน้ มีความเป็ นอิสระหรือไม่ และ พิจารณาถึงปั จจัยทีส่ ำ� คัญข้ออืน่ ๆ

5. ร.ศ.ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย* กรรมการบริหารความเสีย่ ง

1.9 หากคณะกรรมการสรรหาพิจารณาได้วา่ กรรมการท่าน ใดท่านหนึ่ง มีลกั ษณะทีอ่ าจไม่เข้าข่ายของการท�ำ หน้าทีไ่ ด้อย่างเป็ นอิสระ คณะกรรมการสรรหาจะได้น�ำ เสนอผลการทบทวนแก่คณะกรรมการบริษทั เพือ่ ให้

44

คณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาต่อไป และหากว่าคณะ กรรมการสรรหาพิจารณาว่ากรรมการท่านหนึ่งท่านใด นัน้ ไม่มคี วามเป็ นอิสระ คณะกรรมการสรรหาก็จะน�ำ เสนอผลการทบทวนแก่คณะกรรมการบริษทั เพือ่ ให้ คณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาต่อไปเช่นเดียวกัน

1. นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์ ประธานกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง 2. นายตรีขวัญ บุนนาค กรรมการบริหารความเสีย่ ง 3. นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี กรรมการบริหารความเสีย่ ง 4. นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์ กรรมการบริหารความเสีย่ ง หมายเหตุ : ร.ศ.ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการบริหารความเสียง ่ เมือวั ่ นที ่ 19 กุมภาพันธ์ 2561

บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 44

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

บริหารความเสี่ยง

1. พิจารณาและอนุ มตั นิ โยบาย วัตถุประสงค์ และกรอบ การบริหารความเสีย่ ง ส�ำหรับเป็ นกรอบการปฏิบตั งิ าน ในกระบวนการบริหารความเสีย่ งของพนักงานใน องค์กร ให้เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน และสอดคล้องกับ กลยุ ท ธ์แ ละเป้ าหมายของธุ ร กิจ +ทัง้ นี้ น โยบาย วัตถุประสงค์ และกรอบการบริหารความเสีย่ ง จะได้รบั การทบทวนเป็ นประจ�ำทุกปี และให้ความส�ำคัญกับ สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า 2. พิจารณานโยบายการบริหารความเสีย่ งของธุรกรรม ของบริษทั ให้ครอบคลุมความเสีย่ งทางธุรกิจและ กลยุทธ์ (Business & Strategic Risk) ความเสีย่ งด้าน ตลาด (Market Risk) ความเสีย่ งด้านเครดิต (Credit Risk) ความเสีย่ งด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) ความเสีย่ งด้านการปฏิบตั กิ าร (Operational Risk) ความเสีย่ งการรายงานทางการเงิน (Financial Report Risk) ความเสีย่ งด้านกฎหมายและการปฏิบตั ติ าม (Legal & Compliance Risk) และความเสีย่ งด้านชือ่ เสียง (Reputational Risk) 3. ก�ำกับดูแลให้มกี ารระบุความเสีย่ ง โดยพิจารณาปั จจัย ทัง้ ภายนอกและภายในองค์กร ทีอ่ าจส่งผลให้บริษทั ไม่ สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ทก่ี ำ� หนดไว้ และมีการ ประเมินผลกระทบและโอกาสทีเ่ กิดขึน้ ของความเสีย่ งที่ ได้ระบุไว้ เพือ่ จัดล�ำดับความเสีย่ งและเลือกใช้วธิ จี ดั การ ความเสีย่ งได้อย่างเหมาะสม 4. พิจารณาและทบทวนแนวทาง และเครือ่ งมือในการ บริหารจัดการความเสีย่ งให้มปี ระสิทธิภาพ และเหมาะ สมกับลักษณะและขนาดความเสีย่ งแต่ละด้านของ ธุรกรรมทีบ่ ริษทั ด�ำเนินการ 5. พิจารณาและทบทวนการก�ำหนดเพดานความเสีย่ ง (Risk Limits) และมาตรการในการด�ำเนินการกรณีทไ่ี ม่ เป็ นไปตามเพดานความเสีย่ งทีก่ ำ� หนด (Corrective Measures) 6. ติดตามผลการประเมินความเสีย่ งทัง้ ในภาวะปกติและ ภาวะวิกฤต (Stress Testing) 7. ประเมินความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ จากผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ส�ำหรับธุรกรรมทีจ่ ะจัดตัง้ ขึน้ ใหม่ รวมถึงก�ำหนดแนวทางการป้ องกันความเสีย่ งที่ อาจจะเกิดขึน้ กับธุรกรรม 8. ทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งเป็ น ประจ�ำทุกปี ถ้ามีการปรับปรุงแก้ไขจะน�ำเสนอคณะ กรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั ิ 9. รายงานผลการบริหารความเสีย่ งให้คณะกรรมการ บริษทั รับทราบ และในกรณีทม่ี ปี ั จจัยหรือเหตุการณ์ ส�ำคัญ ซึง่ อาจมีผลกระทบต่อบริษทั อย่างมีนยั ส�ำคัญ

ต้องรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ทราบและ พิจารณาโดยเร็วทีส่ ดุ 10. ก�ำกับดูแลและสนับสนุนให้มกี ารบริหารความเสีย่ งด้าน การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ โดยการประเมินความ เสีย่ งด้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ และทบทวนมาตรการต่อ ต้านการทุจริตคอร์รปั ชันให้ ่ เพียงพอเหมาะสม 11. ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ น่ื ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบ หมาย 8. คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการ

คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั ณ 30 กันยายน 2561 ประกอบด้วยสมาชิก 4 ท่าน ดังนี้ 1. นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม ประธานกรรมการก�ำกับดูแล กิจการ 2. นายตรีขวัญ บุนนาค กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ 3. นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ 4. ร.ศ. ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ

หมายเหตุ ร.ศ.ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ เมือวั ่ นที ่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการ

1. พิจารณาและทบทวนนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั 2. ให้คำ� แนะน�ำแก่คณะกรรมการบริษทั ในเรือ่ งเกีย่ วกับ การก�ำกับดูแลกิจการ 3 ทบทวนแนวทางของหลักการก�ำกับดูแลกิจการของ บริษทั โดยเปรียบเทียบกับแนวปฏิบตั ขิ องบริษทั จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเสนอ แนะต่อคณะกรรมการบริษทั 4. พิจารณาและทบทวนนโยบายและแนวปฏิบตั ใิ นการ ด� ำ เนิ น งานด้า นการบริห ารจัด การความยั ่งยืน (Sustainability Management: SM) ซึง่ รวมถึง การด�ำเนินกิจกรรม จัดท�ำโครงการ เพือ่ สังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม (Corporate Social Responsibility: CSR) เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั 5. พิจารณาและทบทวนนโยบายการต่อต้านการทุจริต คอร์รปั ชันเพื ่ อ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั 6. ให้ขอ้ เสนอแนะแนวทางการติดตาม และรายงานผลการ ด�ำ เนิ น งานที่เ กี่ย วข้อ งกับ การต่ อ ต้า นการทุ จ ริต คอร์รปั ชันต่ ่ อคณะกรรมการบริษทั อย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้ 7. พิจารณาและทบทวนนโยบายการแจ้งเบาะแสหรือข้อ ร้องเรียน เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 45

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

45

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

8. ท�ำการเปิ ดเผยหลักการก�ำกับดูแลกิจการ และแนว ปฏิบตั ทิ ด่ี ที เ่ี กีย่ วข้องต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ได้แก่ บริษทั ผูถ้ อื หุน้ เจ้าหนี้ พนักงาน ลูกค้า ลูกหนี้ คูค่ า้ คูแ่ ข่ง ชุมชน และสังคม 9. ให้คำ� ปรึกษาแก่คณะท�ำงานเพือ่ เตรียมความพร้อมของ เอกสารในการเข้ารับการจัดอันดับการก�ำกับดูแล กิจการ โดยหน่วยงานกลางภายนอกองค์กร 10. ให้คำ� ปรึกษาแก่ผบู้ ริหาร ตลอดจนพนักงาน ในการ ปฏิบตั ติ ามนโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ 11. ให้คำ� ปรึกษาแก่คณะท�ำงานเพือ่ เตรียมความพร้อมของ เอกสารในการขอต่ออายุใบรับรองการเป็ น CAC Certified Company โดยหน่วยงานกลางภายนอกองค์กร 12. ทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ี และเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ อนุมตั ิ 9.ผู้บริหาร

รายชือ่ ผูบ้ ริหารของบริษทั (ตามนิยาม ก.ล.ต.) ณ 3 ตุลาคม 2561 มีดงั นี้ 1. นายโสภณ ราชรักษา 2. ดร. สมศักดิ ์ ไชยพร 3. นางสาวลลิตพันธุ์ พิรยิ ะพันธุ ์ 4. นายแฮรี่ ยาน เก็ก วี 1 5. นางสาวรจนา อัศววิเชียรจินดา 6. นางสาวกมลกาญจน์ คงคาทอง 7. นางสาวเธ่ห์ ชิว ฮาร์ 2 8. นางสาวลก เชง ยี 3

46

ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ ผูจ้ ดั การทัวไป ่ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารสายงาน การเงิน ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส ฝ่ ายบริหารรายได้ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ าย การเงินและบัญชี ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ าย กลยุทธ์และการลงทุน ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ าย พัฒนาธุรกิจ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ าย บริหารการออกแบบ

บทบาท หน้าที่ของผู้บริหารสูงสุด

1. น�ำนโยบายทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั มาพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ และปฏิบตั ใิ ห้เกิดผล ส�ำเร็จ บรรลุวตั ถุประสงค์ ภายใต้การก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ ี และมีความรับผิดชอบทีเ่ ป็ นธรรมต่อผูถ้ อื หุน้ 2. วางแผนกลยุทธ์ทางด้านการเงิน การลงทุน การบริหาร และการพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ให้เหมาะสมกับ บริษทั 3. น�ำเสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั เิ รือ่ ง ส�ำคัญต่าง ๆ เช่น การจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของ บริษทั การจัดประชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั การคัดเลือก เสนอแต่งตัง้ และเสนอค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชีของ บริษทั 4. อนุมตั เิ รือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินงานทีส่ ำ� คัญต่าง ๆ ของบริษทั 5. รับทราบข้อร้องเรียนและรับแจ้งเบาะแสการทุจริต รวม ถึง ข้อข้องใจ เกีย่ วกับมาตรฐานทางจริยธรรมและ จรรยาบรรณธุรกิจของบริษทั จากผูม้ สี ว่ นได้เสีย โดย ด�ำเนินการตามขัน้ ตอนการจัดการเรือ่ งทีม่ กี ารร้องเรียน 6. เป็ นผูม้ อี ำ� นาจในการบังคับบัญชาพนักงานทุกระดับชัน้ 7. คัดเลือกบุคคลทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถ และประสบการณ์ ทีเ่ ป็ นประโยชน์ต่อการด�ำเนินงานของบริษทั ทีส่ มควร ได้รบั การเสนอชือ่ เป็ นผูบ้ ริหาร ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีและการเงิน ของบริษัท ณ วันที่ 3 ตุลาคม 2561 มีดังนี้

1. นางสาวลลิตพันธุ์ พิรยิ ะพันธุ ์

ประธานเจ้าหน้าที ่ บ ริ ห า ร ส า ย ง า น การเงิน

2. นางสาวรจนา อัศววิเชียรจินดา

ผู้อ� ำ นวยการฝ่ าย การเงินและบัญชี

หมายเหตุ : 1) ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูบ้ ริหารของบริษทั เมือวั ่ นที ่ 1 กันยายน 2561 2) ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูบ้ ริหารของบริษทั เมือวั ่ นที ่ 1 ตุลาคม 2561 3) ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูบ้ ริหารของบริษทั เมือวั ่ นที ่ 1 ตุลาคม 2561

3. นางสาวรุง่ ทิพย์ ภิยโยดิลกชัย

ผู้อ� ำ นวยการฝ่ าย กลยุทธ์ทางการเงิน

4. นางสาวนุสรา วงศ์สขุ ศิร ิ

ขอบเขต และอำ�นาจหน้าที่ของผู้บริหาร

เลขานุการบริษัท

รักษาการผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ ายบริหารการเงิน

ผูบ้ ริหารมีอำ� นาจหน้าทีด่ ำ� เนินการตามทีค่ ณะกรรมการ บริษทั มอบหมาย ภายใต้กฎ ระเบียบ ข้อบังคับของบริษทั ทัง้ นี้ การใช้อำ� นาจของผูบ้ ริหารดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถ กระท�ำได้ หากผูบ้ ริหารมีสว่ นได้เสียไม่วา่ โดยตรง หรือโดย อ้อม หรือความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะใด ๆ กับ บริษทั หรือบริษทั ย่อย ตามทีส่ ำ� นักงาน ก.ล.ต. ก�ำหนด

คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ นางสาวลลิตพันธุ์ พิรยิ ะพันธุ์ ซึง่ เป็ นผูม้ คี วามรู้ ความสามารถ คุณวุฒ ิ และประสบการณ์ท่ี เหมาะสม ให้ดำ� รงต�ำแหน่งเลขานุการบริษทั เพือ่ ท�ำหน้าที่ เกีย่ วกับการประชุมคณะกรรมการต่าง ๆ ของบริษทั การ ประชุมผูถ้ อื หุน้ และควบคุมดูแลกิจการให้เป็ นไปตามหลัก การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 46

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

ค่าตอบแทน

บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท

1. ให้ค�ำ แนะน� ำ แก่ ค ณะกรรมการบริษัท ในเรื่อ งข้อ กฎหมาย หลักเกณฑ์ ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ของ หน่วยงานก�ำกับดูแลทีบ่ ริษทั ต้องปฏิบตั ติ าม และ ติดตามให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามอย่างถูกต้องสม�่ำเสมอ รวม ทัง้ มีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ในกรณีทม่ี ี การเปลีย่ นแปลงอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อบริษทั 2. ดูแลเรือ่ งการประชุมคณะกรรมการบริษทั และการ ประชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ทัง้ การจัดเตรียม จัดส่ง หนังสือเชิญประชุม การจัดการประชุม และการบันทึก จัดท�ำและเผยแพร่มติทป่ี ระชุม 3. แจ้งมติและนโยบายของคณะกรรมการบริษทั ให้ผู้ บริหารระดับสูงของบริษทั ทราบ เพือ่ ให้ปฏิบตั ติ าม 4. จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสารต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการ ประชุมผูถ้ อื หุน้ และการประชุมคณะกรรมการบริษทั ทะเบียนกรรมการ และผูบ้ ริหารของบริษทั รายงานการ มีส่วนได้ส่วนเสียของคณะกรรมการและผูบ้ ริหาร เป็ นต้น 5. ดูแล และควบคุมให้มกี ารเผยแพร่สารสนเทศของบริษทั อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอ ส�ำหรับการตัดสิน ใจของนักลงทุน

ขึน้ อยูก่ บั ผลประกอบการของ บริษทั

2. โบนัส 3. สิทธิในการซือ้ หุน้ หรือหลักทรัพย์ แปลงสภาพจากโครงการ ESOP ที่ ก� ำ ห น ด ใ ห้ เ ป็ น ค่ า ต อ บ แ ท น กรรมการโดยเฉพาะ ค่าตอบแทนทัง้ หมด

คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทนจะพิจารณาค่าตอบแทน ของผูบ้ ริหารสูงสุด ให้สอดคล้องกับผลการด�ำเนินงานของ บริษทั ตามเกณฑ์ชว้ี ดั ระดับองค์กร (Corporate KPIs) และ ผลการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารสูงสุด 10.1 ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน

ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม - 30 กันยายน 2561 บริษทั มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ และกรรมการ ตรวจสอบ (ตามเกณฑ์คงค้าง) ดังนี้ หน่วย : บาท กรรมการ

เบี้ยประชุม คณะ กรรมการ

นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม

10. ค่าตอบแทนของกรรมการ และผู้บริหาร

ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2561 เมือ่ วันที่ 27 มีนาคม 2561 มีมติอนุมตั คิ า่ ตอบแทนกรรมการ ดังนี้ ค่าตอบแทน

1. เบีย้ ประชุม • คณะกรรมการบริษทั - ประธานกรรมการ - กรรมการ • คณะอนุกรรมการ - กรรมการตรวจสอบ

คณะ กรรมการ

160,000

60,000

1,530,000

นายตรีขวัญ บุนนาค

80,000

60,000

1,370,000

นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

40,000

40,000

1,200,000

ร.ศ. ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย

80,000

60,000

1,000,000

นายชาลี โสภณพนิช

40,000

-

1,100,000

นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี

50,000

-

1,000,000

นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์

70,000

-

1,000,000

นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์

40,000

-

1,200,000

นายชาย วินิชบุตร

70,000

-

1,000,000

630,000

220,000

10,400,000

รวม

ส�ำหรับผูบ้ ริหารของบริษทั นัน้ ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม - 30 กันยายน 2561 บริษทั มีการจ่ายค่าตอบแทน ให้แก่ผบู้ ริหาร จ�ำนวน 8 ท่าน (ตามเกณฑ์คงค้าง) ดังนี้ จ�ำนวนเงิน (บาท)

20,000 บาท/คน/ครัง้ การประชุม 10,000 บาท/คน/ครัง้ การประชุม 10,000 บาท/คน/ครัง้ การประชุม

โบนัส กรรมการร

ตรวจสอบ

7. ดูแลและรับผิดชอบหน้าทีอ่ น่ื ๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษทั

บริษทั ก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการตามหน้าที่ และความรับ ผิดชอบของกรรมการแต่ละท่าน โดยได้คำ� นึงถึงผลประกอบ การของบริษทั รวมถึงค่าตอบแทนกรรมการของบริษทั จด ทะเบียนทีอ่ ยูใ่ นอุตสาหกรรมเดียวกัน ทัง้ นี้ ค่าตอบแทน กรรมการจะต้องผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการ ก�ำหนดค่าตอบแทน และอนุมตั โิ ดยผูถ้ อื หุน้

จ�ำนวนไม่เกิน 15,000,000 บาท

การกำ�หนดค่าตอบแทนของผู้บริหารสูงสุด

6. เป็ นผูป้ ระสานงานและสือ่ กลางระหว่างผูถ้ อื หุน้ คณะ กรรมการ และผูบ้ ริหารของบริษทั

เกณฑ์การก�ำหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการ

ไม่ม ี

เงินเดือน

14,760,000

โบนัส

3,185,360

กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพและกองทุนประกันสังคม

รวม

600,262

18,545,622

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 47

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

47

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

10.2 ค่าตอบแทนอื่น ๆ

ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม - 30 กันยายน 2561 บริษทั มีการจ่ายค่าตอบแทนในรูปแบบอืน่ ให้แก่กรรมการ และผูบ้ ริหาร ดังนี้ 1. ประกันภัยความรับผิดของกรรมการและเจ้าหน้าที่ บริหารของบริษทั (Directors & Officers Liability Insurance) ด้วยวงเงินความรับผิดไม่เกิน 100,000,000 บาท 2. ประกันสุขภาพ (Health Insurance) ให้กบั กรรมการ บริษทั 9 ท่าน เป็ นเงินจ�ำนวน 207,324 บาท ผูบ้ ริหาร จ�ำนวน 8 ท่าน เป็ นจ�ำนวนเงิน 141,702 บาท นอกจากนี้ ผูบ้ ริหารยังได้รบั สิทธิผลประโยชน์อนั พึงได้รบั จากการเป็ นพนักงานบริษทั อาทิ เงินเดือน โบนัส และ กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ เป็ นต้น

11.2 นโยบายการพัฒนาบุคลากร

บริษทั จัดให้มกี ารอบรม และสัมมนาแก่พนักงานอย่าง สม�่ำเสมอ ซึง่ รวมถึงการชีแ้ จงให้พนักงานใหม่เข้าใจถึง ขัน้ ตอน การปฏิบตั งิ านในส่วนงานทีร่ บั ผิดชอบ นอกจากนี้ เพือ่ เป็ นการเพิม่ ประสิทธิภาพ และทักษะในการปฏิบตั งิ าน ของผูบ้ ริหาร และพนักงาน บริษทั เปิ ดโอกาสให้แก่พนักงาน ในการเข้ารับการอบรมจากสถาบันต่าง ๆ เป็ นการเพิม่ เติม อีกด้วย ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม - 30 กันยายน 2561 บริษทั มีคา่ ใช้จา่ ยในการพัฒนาบุคลากรทัง้ สิน้ 9.30 ล้าน บาท 11.3 ข้อพิพาทด้านแรงงานในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา

- ไม่ม ี -

11. บุคลากร ณ วันที่ 3 ตุลาคม 2561 บริษทั มีพนักงานรวมทังสิ ้ น้ 277 คน ดังนี้ แผนก

จ�ำนวนพนักงาน (คน)

ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่

1

ผูจ้ ดั การทัวไป ่

1

ประธานเจ้าหน้ าที่บริ หารสายงานการ เงิ น

1

รองผูจ้ ดั การทัวไป ่

1

ฝ่ ายบริ หารรายได้

28

ฝ่ ายสายงานบริ การองค์กร

50

ฝ่ ายบริ หารที่ดิน

3

ฝ่ ายบริ หารอสังหาริ มทรัพย์

61

ฝ่ ายการก่อสร้าง

52

ฝ่ ายพัฒนาธุรกิ จ

6

ฝ่ ายส�ำนักผูอ้ ำ� นวยการใหญ่/ ศูนย์ความ เป็ นเลิ ศ

4

ฝ่ ายการออกแบบ

7

ฝ่ ายสายงานการเงิ น

42

ฝ่ ายตรวจสอบภายใน

4

ฝ่ ายกลยุทธ์และการลงทุน

16

รวมทัง้ สิน้

277

11.1 ค่าตอบแทนรวมของพนักงาน

ค่าตอบแทนรวมทีเ่ ป็ นตัวเงินของพนักงานในรอบระยะเวลา บัญชี 1 มกราคม - 30 กันยายน 2561 เท่ากับ 255.87 ล้านบาท ซึง่ อยูใ่ นรูปของเงินเดือน โบนัส สวัสดิการอืน่ ๆ เงินสมทบ กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพทีบ่ ริษทั จ่ายสมทบให้แก่พนักงาน และการจัดอบรมสัมมนา

48

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 48

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 49

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

49

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

ข้อมูลผู้ถือหุ้น และนโยบายการจ่ายเงินปันผล จำ�นวนทุนจดทะเบียน และทุนชำ�ระแล้ว

ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2561 บริษทั มีทนุ จดทะเบียน 2,751,213,562 บาท ซึง่ เรียกช�ำระเต็มมูลค่าแล้ว 1,834,142,375 บาท ประกอบด้วยหุน้ สามัญ 1,834,142,375 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท โครงสร้างผู้ถือหุ้น

รายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ 10 รายแรก ตามทีป่ รากฏในรายงานการถือหุน้ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2561 มีดงั นี้

ชื่อบริษัท รายชื่อผู้ถือหุ้น

1. กลุ่มเฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ บริษทั เฟรเซอร์ส แอสเซ็ทส์ จ�ำกัด บริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ต้ี โฮลดิง้ ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

2. กลุ่มซิ ตี๊เรียลตี๊ บริษทั ซิต้ี วิลล่า จ�ำกัด

3. DBS Bank Ltd. 4. นายจตุพล เกรียงไชยกิ จกุล 5. นายวรพันธ์ เทพบัญชาพร 6. บริ ษทั กรุงเทพประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) 7. บริ ษทั อาคเนย์ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) 8. บริ ษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด 9. นางสาวพรเพ็ญ เดขวิ ไลศรี 10. อื่น ๆ รวม

รวบรวมรายชื่อ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2561 จ�ำนวนหุ้น

ร้อยละ

889,853,278 751,004,000

48.52 40.95

1,640,857,278

89.47

20,000,000

1.09

20,000,000

1.09

49,589,000 20,000,000 6,687,800 5,835,524 5,610,600 3,429,215 2,815,500 79,317,456

2.70 1.09 0.36 0.32 0.31 0.19 0.15 4.32

1,834,142,375

100.00

นโยบายการจ่ายเงินปันผล

บริษทั มีนโยบายจ่ายเงินปั นผลในอัตราไม่ต่ำ� กว่าร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิหลังหักภาษี โดยบริษทั จะพิจารณาจ่ายเงินปั นผลโดย ค�ำนึงถึงผลการด�ำเนินงาน ฐานะการเงิน และปั จจัยอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการบริหารงานของบริษทั ทัง้ นี้ ในปั จจุบนั ไม่มสี ญ ั ญากูย้ มื เงินระหว่างบริษทั กับสถาบันการเงินใด ๆ ทีม่ ขี อ้ จ�ำกัดของอัตราการจ่ายเงินปั นผลของบริษทั

50

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 50

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 51

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

51

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

ลักษณะการประกอบธุรกิจ ภาพรวมของธุรกิจ

บริษทั เป็ นผูพ้ ฒ ั นาและบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมให้เช่า (Ready-Built Factory) และ อาคารคลังสินค้าให้เช่า (Ready-Built Warehouse) รวมถึงการพัฒนาโรงงานและคลังสินค้าตามความต้องการเฉพาะของผูเ้ ช่า (Built-to-Suit) ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ ทรานส์ฟอร์มธุรกิจเพือ่ เสริมสร้างความแข็งแกร่งและความสามารถในการแข่งขันได้ในระยะยาว ซึง่ บริษทั ได้ประกาศยุทธศาสตร์ “การขับเคลือ่ นองค์กรในทุกมิต”ิ (Total Dimension) ด้วยจุดมุง่ หมายเพือ่ ก้าวสูก่ ารเป็ น “ผูน้ �ำการให้บริการสมาร์ทแพลตฟอร์ม ด้าน อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การอุตสาหกรรม” โดยบริษทั มีแผนพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์พร้อมน�ำเสนอโซลูชนแบบครบวงจร ั่ ภายใต้ แนวคิดการพัฒนาอย่างยังยื ่ น พร้อมเดินหน้าผสานความร่วมมือกับพันธมิตรเชิงกลยุทธ์ เพือ่ ผนึกศักยภาพผ่านเครือข่ายทีแ่ ข็งแกร่ง เพือ่ สร้างแหล่งรายได้ใหม่ซง่ึ จะเป็ นมูลค่าเพิม่ จากธุรกิจหลัก พร้อมมุง่ มันขั ่ บเคลือ่ นการเติบโตครัง้ ใหม่ ผ่านการต่อยอดสูก่ ารเปิ ดตัว ธุรกิจใหม่เข้ามาเสริมทัพเพือ่ ตอบความต้องการของลูกค้าในโลกอุตสาหกรรม 4.0 โดยภาพรวมการด�ำเนินงานของกลุม่ บริษทั ประกอบด้วยสายธุรกิจ 3 กลุม่ ดังต่อไปนี้

กลุม่ เทคโนโลยี

กลุม่ อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การอุตสาหกรรม

กลุม่ สมาร์ทโซลูชนั ่

โครงสร้างรายได้

ในรอบผลการด�ำเนินงาน 9 เดือน (มกราคม-กันยายน 2561) บริษทั มีรายได้มาจากการขายโรงงาน และ/หรือ คลังสินค้าให้แก่กอง ทรัสต์ รวมถึงการขายอาคารคลังสินค้าแบบ Built-to-Suit ให้กบั ลูกค้าซึง่ เป็ นผูป้ ระกอบการ ทัง้ นี้รายได้จากธุรกิจให้เช่า และบริหาร โรงงาน คลังสินค้า และการให้บริการต่างๆ ยังคงเติบโต เนื่องจากมีอตั ราการเช่า (Occupancy Rate) ทีส่ งู ขึน้ 2559

โครงสร้างรายได้ ล้านบาท

รอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม - 30 กันยายน 2561

2560 ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้จากการให้เช่าและการบริการ รายได้คา่ บริหารจัดการจากบริษทั ร่วม รายได้อน่ื ๆ รายได้ก่อนส่วนแบ่งก�ำไรฯและก�ำไรทีร่ บั รูเ้ พิม่ เติมฯ ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ตามวิธสี ว่ นได้เสีย ก�ำไรทีร่ บั รูเ้ พิม่ เติมจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม

250.68 1,172.12 201.12 248.59 1,872.51

10.36 48.44 8.31 10.28 77.39

194.36 1,372.60 239.15 280.73 2,086.84

8.07 56.96 9.92 11.65 86.60

2,209.57 1,150.86 226.90 227.24 3,814.56

55.06 28.69 5.65 5.66 95.06

252.22

10.42

275.42

11.40

195.56

4.87

294.95

12.19

48.30

2.00

2.69

0.07

รวม

2,419.68

100.00

2,410.56

100.00

4,012.82

100.00

กลุ่มอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรม ภาพรวมการประกอบธุรกิจ

บริษทั ด�ำเนินธุรกิจในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การอุตสาหกรรมแบบครบวงจร ปั จจุบนั มีพน้ื ทีโ่ รงงานและคลังสินค้าภายใต้การ บริหารจัดการรวมทัง้ สิน้ กว่า 2.7 ล้านตารางเมตร บนท�ำเลทีต่ งั ้ ยุทธศาสตร์ ซึง่ โรงงานและคลังสินค้าของกลุม่ บริษทั ไทคอนมีทงั ้ แบบ พร้อมใช้ (Ready-Built) และสร้างตามความต้องการของลูกค้า (Built-to-Suit) โดยตัง้ เป้ าทีจ่ ะเพิม่ การพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมและ คลังสินค้าตามความต้องการเฉพาะของผูเ้ ช่า (Built-to-Suit) ให้มากขึน้ ซึง่ โรงงานและคลังสินค้าของบริษทั ตัง้ อยูใ่ นท�ำเลนิคม อุตสาหกรรม สวนอุตสาหกรรม เขตอุตสาหกรรม เขตส่งเสริมอุตสาหกรรม และเขตอื่นๆ ทีม่ ศี กั ยภาพในประเทศไทย

52

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 52

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

โรงงานของบริษทั และโรงงานทีอ่ ยูภ่ ายใต้การบริหารของบริษทั ตัง้ อยูใ่ นนิคม/สวน/เขต/เขตส่งเสริมอุตสาหกรรม 16 ท�ำเล* ดังต่อไปนี้ จ�ำนวนโรงงาน ที่ตั้ง

นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-อยุธยา นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี ชลบุร ี นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุร ี นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี ระยอง นิคมอุตสาหกรรมบางปู นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมนวนคร นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง เขตอุตสาหกรรมกบินทร์บุร ี สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ปราจีนบุร ี นิคมอุตสาหกรรมปิ่ นทอง (3 แห่ง)

จังหวัด

สินทรัพย์ของไทคอน

สินทรัพย์ภายใต้กองทรัสต์

พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา ชลบุร ี ชลบุร ี ชลบุร ี ระยอง สมุทรปราการ สมุทรปราการ ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร ปราจีนบุร ี ปราจีนบุร ี ชลบุร ี

2 8 23 19 30 4 13 2 28 8 1 7 8 -

13 36 50 94 3 30 11 17 42

*หมายเหตุ ไม่รวมพืน้ ทีร่ อการพัฒนา

และมีคลังสินค้าของบริษทั และคลังสินค้าทีอ่ ยูภ่ ายใต้การบริหารของบริษทั ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ที่ 24 ท�ำเล* ดังต่อไปนี้

จ�ำนวนคลังสินค้า

ที่ตั้ง

จังหวัด

สินทรัพย์ของไทคอน

สินทรัพย์ภายใต้กองทรัสต์

เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน บางนา ศูนย์คลังสินค้าแหลมฉบัง 1 เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน แหลมฉบัง 2 เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน วังน้อย (2 แห่ง) ศูนย์คลังสินค้าอีสเทิรน์ ซีบอร์ด ศูนย์คลังสินค้าอีสเทิรน์ ซีบอร์ด (1 และ 2) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน อีสเทิรน์ ซีบอร์ด 3 เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน ศรีราชา นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุร ี (บ่อวิน) ศูนย์คลังสินค้าพานทอง ศูนย์คลังสินค้าบางพลี (5 แห่ง) สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ปราจีนบุร ี สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-อยุธยา นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี ชลบุร ี เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน ขอนแก่น นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี ระยอง ศูนย์คลังสินค้าสมุทรสาคร ศูนย์คลังสินค้าล�ำพูน

ฉะเชิงเทรา ชลบุร ี ชลบุร ี พระนครศรีอยุธยา ระยอง ชลบุร ี ชลบุร ี ชลบุร ี ชลบุร ี ชลบุร ี สมุทรปราการ ปราจีนบุร ี พระนครศรีอยุธยา ชลบุร ี ขอนแก่น ระยอง สมุทรสาคร ล�ำพูน

21 29 21 12 9 8 17 10 18 8 12 11 2 9

82 21 15 17 4 11 5 9 5 38 1 3 7 -

*หมายเหตุ ไม่รวมพืน้ ทีร่ อการพัฒนา The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 53

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

53

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ 1) ธุรกิจโรงงานพร้อมเช่า (Ready-Built Factory)

บริษทั ได้จดั สร้างโรงงานส�ำเร็จรูปพร้อมเช่าทีม่ คี ณ ุ ภาพ ระดับสากล เพือ่ ตอบสนองความต้องการของผูป้ ระกอบการ ทีเ่ ข้ามาตัง้ ฐานการผลิตในประเทศไทย โดยไม่ตอ้ งการถือ กรรมสิทธิ ์ในโรงงาน เพือ่ ลดต้นทุนในการด�ำเนินการ และลด ความเสีย่ งจากความไม่แน่นอน ต่าง ๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ บริษทั ได้เลือกสร้างโรงงานในท�ำเลทีต่ งั ้ ทีม่ ศี กั ยภาพ และพัฒนา โรงงานทีม่ รี ปู แบบมาตรฐานเหมาะสมส�ำหรับผูป้ ระกอบการ หลากหลายอุตสาหกรรม นอกจากนี้ เนื่องจากกลุม่ ผูเ้ ช่า โรงงานของบริษทั มากกว่าร้อยละ 90 เป็ นผูป้ ระกอบการชาว ต่างชาติ บริษทั จึงได้เน้นการให้บริการให้ความช่วยเหลือใน เรือ่ งต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเริม่ ต้นประกอบการผลิตใน ประเทศไทย บริ ษั ท เลื อ กท� ำ เลที่ ต ั ง้ ส� ำ หรับ การพัฒ นาโรงงาน โดยพิจารณาจากความต้องการของลูกค้าในปั จจุบนั และ การคาดการณ์ ในอนาคต นอกจากนัน้ ยังพิจารณาถึงเขต ส่งเสริมการลงทุน ความสะดวกในการเดินทางไปยังท่าเรือ สนามบิน ระยะห่างจากกรุงเทพมหานคร ตลอดจนระบบ โครงสร้างพืน้ ฐานทีไ่ ด้มาตรฐานของท�ำเลทีต่ งั ้ นัน้ ๆ

54

บริษทั มีการพัฒนาโรงงานทัง้ ในเขตประกอบการเสรี และ เขตทัวไปตามความต้ ่ องการของลูกค้า ซึง่ จะแตกต่างกันใน แต่ละท�ำเลทีต่ งั ้ ตัวอย่างเช่น ความต้องการโรงงานในนิคม อุตสาหกรรมแหลมฉบัง ซึง่ อยูต่ ดิ กับท่าเรือน�้ำลึกทีส่ ำ� คัญ ของประเทศไทย โดยส่วนใหญ่จะเป็ นความต้องการของ โรงงานในเขตประกอบการเสรี โรงงานของบริษทั มีลกั ษณะ เป็ นอาคารชัน้ เดียวพร้อมชัน้ ลอยเพือ่ ใช้เป็ นส�ำนักงาน ซึง่ พัฒนาในบริเวณพืน้ ทีด่ นิ ทีม่ รี วั ้ กัน้ เป็ นสัดส่วน พร้อมด้วย ป้ อมยาม พืน้ ทีจ่ อดรถ และพืน้ ทีส่ ำ� หรับขนถ่ายสินค้า ทัง้ นี้ โรงงานทีบ่ ริษทั พัฒนาขึน้ เป็ นแบบมาตรฐาน แต่สามารถ ดัดแปลงให้เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้าได้ ขนาด ของโรงงานมีตงั ้ แต่ 550 ถึง 12,000 ตารางเมตร โรงงานของ บริษทั ทีส่ ร้างในระยะหลังมีขนาดเล็กลง เนื่องจากปั จจุบนั แนวโน้มความต้องการโรงงานขนาดเล็กของลูกค้ามีสงู ขึน้ นอกจากนี้พน้ื โรงงานสามารถรับน�้ำหนักได้ตงั ้ แต่ 1 ถึง 3 ตันต่อตารางเมตร ตัวอาคารพัฒนา โดยใช้โครงสร้างหลังคา เหล็ก ซึง่ ไม่ตอ้ งมีเสารองรับหลังคาโรงงาน ท�ำให้ได้พน้ื ที่ ใช้สอยสูงสุด สัญญาเช่าระหว่างลูกค้ากับบริษทั เกือบทัง้ หมดมีอายุสญ ั ญา 3 ปี โดยเปิ ดโอกาสให้ลกู ค้ามีทางเลือกในการต่อสัญญาเช่า ได้ นอกจากนัน้ บริษทั ยังให้ทางเลือกแก่ลกู ค้าในการเปลีย่ น

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 54

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

ไปเช่าโรงงานอืน่ ของบริษทั ในท�ำเลทีต่ งั ้ หรือขนาดทีแ่ ตก ต่างไป ตลอดจนให้ทางเลือกแก่ลกู ค้าในการซือ้ โรงงาน

อัตราการเช่าโรงงาน (Occupancy rate) ของบริษทั ณ เดือน กันยายน 2561 อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 57 เพิม่ ขึน้ จากสิน้ ปี 2560 ซึง่ อยู่ ทีร่ อ้ ยละ 51 เนื่องจากความต้องการพืน้ ทีโ่ รงงานในเขตพืน้ ที่ ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) ทีเ่ พิม่ มากขึน้ โดย ลูกค้าส่วนใหญ่เป็ นนักลงทุนขนาดกลาง การเพิม่ ขึน้ ของ พืน้ ทีเ่ ช่ามาจากกลุม่ ลูกค้าอิเล็กทรอนิกส์ กลุม่ ลูกค้าทีเ่ ป็ นผู้ ผลิตชิน้ ส่วนรถยนต์ และสินค้าอุปโภคบริโภค

นอกจากนี้ บริษทั ยังให้บริการสร้างโรงงานตามความ ต้องการเฉพาะของผูเ้ ข่า (Built-to-Suit) ซึง่ สามารถตอบ สนองความต้องการของลูกค้าได้ดขี น้ึ และเป็ นผลดีต่อกับ บริษทั ในแง่การลงทุนกับผลตอบแทนระยะยาว เนื่องจาก อายุสญ ั ญาเช่าของโรงงานประเภทนี้จะยาวกว่าอายุสญ ั ญา เช่าของโรงงานทัวไปประมาณ ่ 5-10 ปี

ณ สิน้ ปี 2559 2560 และ ณ สิน้ เดือนกันยายน 2561 บริษทั มีโรงงานทีม่ สี ญ ั ญาเช่า โรงงานว่างพร้อมให้เช่า และอัตราการเช่า ดังนี้ 2559

2560

พื้นที่เชา 399,780 ตร.ม. จำนวน 155 โรงงาน

พื้นที่เชา 394,780 ตร.ม. จำนวน 153 โรงงาน

400000

พื้นที่เชา 395,800 ตร.ม. จำนวน 153 โรงงาน 57%

51%

46%

พื้นที่เชา(ตร.ม.)

กันยายน 2561

13,850

16,700

18,180

215,275

194,450

168,615

350000 300000 250000 200000

อัตราการเชา

150000

170,655

100000

183,630

209,005

มีสัญญาเชาใหม วางพรอมใหเชา มีผูเชา

50000 0

หมายเหตุ: อัตราการเช่ารวมโรงงานทีม่ สี ญ ั ญาเช่าใหม่

ณ สิน้ เดือนกันยายน 2561 ลูกค้าทีเ่ ช่าโรงงานของบริษทั เป็ นผูผ้ ลิตจากประเทศต่าง ๆ ในอุตสาหกรรมหลายประเภท ดังนี้ อื่นๆ 12.9%

ญี่ปุ่น 37.9%

ยานยนต์ 34.3%

สิ่งทอ 2.7%

เยอรมัน 5.8%

อุปกรณ์สำนักงาน 3.0% กระดาษและบรรจุภัณฑ์ 3.5% ยาและเวชภัณฑ์ 3.8%

จีน 9.2%

อุตสาหกรรม

ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ 5.2%

อาหารและเครื่องดื่ม 5.7%

อื่นๆ 9.1%

ไทย 3.7%

ประเทศ/ ภูมิภาค

สิงคโปร์ 11.7%

อิเล็กทรอนิกส์ 28.9%

ยุโรป 22.6%

หมายเหตุ : สัดส่วนข้างต้นค�ำนวณจากรายได้คา่ เช่าและค่าบริการ ณ เดือนกันยายน ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 55

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

55

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

2) ธุรกิจคลังสินค้าพร้อมเช่า (Ready-Built Warehouse)

บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จ�ำกัด ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อย ของบริษทั เป็ นผูพ ้ ฒ ั นาและบริหารอาคารคลังสินค้า ส�ำเร็จรูปทีม่ คี ณ ุ ภาพระดับสากลเพือ่ ให้เช่า ธุรกิจโลจิสติกส์นบั เป็ นกิจกรรมทีส่ ำ� คัญในการกระจายสินค้า วัตถุดบิ ชิน้ ส่วนอุปกรณ์ สินค้าส�ำเร็จรูป และผลิตภัณฑ์อน่ื ๆ สูภ่ มู ภิ าคต่าง ๆ ทัวประเทศ ่ และถือเป็ นธุรกิจทีส่ ำ� คัญต่อการ พัฒนาประเทศให้เป็ นศูนย์กลางประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยปั จจุบนั นัน้ ผูป้ ระกอบการตลอดจนผูใ้ ห้บริการด้าน โลจิสติกส์สว่ นใหญ่ ยังจ�ำเป็ นต้องใช้เงินจ�ำนวนมากส�ำหรับ การลงทุนในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบโลจิสติกส์ ยานพาหนะและอุปกรณ์ต่าง ๆ บริษทั จึงเล็งเห็นโอกาสของ การพัฒนาคลังสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพ เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการเหล่า นัน้ เช่า แทนการลงทุนสร้างเพือ่ เป็ นเจ้าของเอง

56

คลังสินค้าของบริษทั ตัง้ อยูใ่ นท�ำเลทีเ่ ป็ นยุทธศาสตร์ทส่ี ำ� คัญ เหมาะแก่การเป็ นศูนย์กระจายสินค้าทีด่ ี อาคารคลังสินค้า สามารถรองรับการจัดการคลังสินค้าสมัยใหม่ การออกแบบ ตัวอาคารจะค�ำนึงถึงระยะห่างของช่วงเสา การรับน�้ำหนัก ของพืน้ อาคาร ความสูงของอาคาร จ�ำนวนประตูสำ� หรับขน ถ่ายสินค้า และอุปกรณ์ชว่ ยปรับระดับพืน้ ให้มคี วามลาดชัน ทีเ่ หมาะสมกับความสูงของรถขนสินค้า สัญญาเช่าของบริษทั ส่วนใหญ่มอี ายุ 3 ปี โดยเปิ ดโอกาสให้ ลูกค้าต่อสัญญาได้ อย่างไรก็ตาม สัญญาเช่าทีม่ อี ายุเกิน 3 ปี มีสดั ส่วนเพิม่ ขึน้ จากลูกค้าทีเ่ ช่าคลังสินค้าทีม่ รี ปู แบบเฉพาะ (Built-To-Suit) ซึง่ มีอายุสญ ั ญาประมาณ 10 ปี และในอนาคต บริษทั จะน�ำเสนอสินค้ารูปแบบเฉพาะนี้มากขึน้ เพือ่ ตอบ สนองต่อความต้องการของลูกค้าให้ดมี ากยิง่ ขึน้ ซึง่ จะส่ง ผลดีต่อการลงทุนระยะยาวของบริษทั นอกจากนี้ บริษทั ยังมี บริการซือ้ คลังสินค้าจากลูกค้าเพือ่ ให้เช่ากลับคืน (Sale and Leaseback) อีกด้วย

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 56

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:18


รายงานประจำ�ปี 2561

อัตราการเช่าคลังสินค้า (Occupancy rate) ของบริษทั ณ เดือนกันยายน 2561 เท่ากับร้อยละ 74 เมือ่ เทียบกับ ณ สิน้ ปี 2560 ทีร่ อ้ ย ละ 68 เนื่องจากในปี ทผ่ี า่ นมามีผเู้ ช่าคลังสินค้าเพิม่ มากขึน้ ในเขตบางพลี และขอนแก่น ส�ำหรับในปี 2561 นัน้ บริษทั มีพน้ื ทีเ่ ช่าสุทธิ (net addition) เพิม่ ขึน้ จากปี 2560 เท่ากับ 80,419 ตรม. โดยมีปัจจัยหลักมาจากลูกค้ากลุม่ โลจิสติกส์ทม่ี กี ารขยายตัวของธุรกิจอย่าง มากในปี ทผ่ี า่ นมา รวมถึงกลุม่ ผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ กลุม่ ธุรกิจออนไลน์ และ กลุม่ อาหารและเครือ่ งดืม่ ณ สิน้ ปี 2559 2560 และ ณ สิน้ เดือนกันยายน 2561 บริษทั มีคลังสินค้าทีม่ สี ญ ั ญาเช่า คลังสินค้าว่างพร้อมให้เช่า และอัตราการเช่า ดังนี้ 2559

2560

พื้นที่เชา 682,567 ตร.ม. จำนวน 181 คลังสินคา

พื้นที่เชา 816,620 ตร.ม. จำนวน 216 คลังสินคา

พื้นที่เชา(ตร.ม.)

พื้นที่เชา 731,314 ตร.ม. จำนวน 187 คลังสินคา 74%

68%

72%

1000000

กันยายน 2561

34,340

800000

38,904

600000

194,230

4,540

259,100

188,493 อัตราการเชา

400000

449,433

200000

523,180

538,281

มีสัญญาเชาใหม วางพรอมใหเชา มีผูเชา

0

หมายเหตุ: อัตราการเช่ารวมคลังสินค้าทีม่ สี ญ ั ญาเช่าใหม่

ณ สิน้ เดือนกันยายน 2561 ลูกค้าทีเ่ ช่าคลังสินค้าของบริษทั เป็ นผูป้ ระกอบการจากประเทศต่าง ๆ ในอุตสาหกรรมหลายประเภท ดังนี้ พาณิชย์อิเล็กโทรนิคส์ 2.8%

ออสเตรเลีย 2.9%

ค้าปลีก 0.4%

อื่นๆ 1.5%

วัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ 4.9%

สิงคโปร์ 1.8%

อื่น ๆ 2.7%

ฝรั่งเศส 4.0%

เยอรมัน 29.9%

ยาและเวชภัณฑ์ 5.4%

อิตาลี 4.1%

อาหารและการเกษตร 6.1%

สวิตเซอร์แลนด์ 4.2% ยานยนต์ 10.2%

อุตสาหกรรม

จีน 6.0%

อเมริกา 7.4%

สินค้าอุปโภคบริโภค 14.3%

ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ 54.4%

ประเทศ/ ภูมิภาค

ญี่ปุ่น 9.9%

ไทย 27.1%

หมายเหตุ : สัดส่วนข้างต้นค�ำนวณจากรายได้คา่ เช่าและค่าบริการของบริษทั ณ เดือนกันยายน ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 57

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

57

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

3) ธุรกิจอาคารโรงงานและคลังสินค้าที่พัฒนาขึ้นตาม ความต้องการของลูกค้า (Built-to-Suit)

บริษทั ได้พฒ ั นาอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การอุตสาหกรรมทีม่ ี การออกแบบตามความต้องการของลูกค้า (Built-to-Suit) โดยมุง่ มันที ่ จ่ ะตอบสนองความต้องการใช้งานทีแ่ ตกต่างกัน ให้กบั ผูป้ ระกอบการในแต่ละประเภทกลุม่ อุตสาหกรรม ทัง้ ยังเป็ นการเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้งานอาคารโรงงานหรือ คลังสินค้าอย่างสูงสุด รวมถึงเป็ นการลดต้นทุน และท�ำให้ เกิดประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตและการจัดเก็บสินค้า แก่ผปู้ ระกอบการ โดยไทคอนมีพน้ื ทีใ่ นท�ำเลยุทธศาสตร์ทจ่ี ะ สามารถรองรับการพัฒนาอาคารแบบ Built-to-Suit ทัง้ ใน เขตนิคมอุตสาหกรรม สวนอุตสาหกรรม เขตอุตสาหกรรม เขตส่งเสริมอุตสาหกรรม และเขตอืน่ ๆ ทีม่ ศี กั ยภาพใน ประเทศไทย ทัง้ นี้อาคารแบบ Built-to-Suit จะเป็ นสัญญาเช่า ระยะยาวอายุสญ ั ญาอยูร่ ะหว่าง 10-15 ปี ซึง่ จะส่งผลบวกกับ อัตราการเช่า สามารถช่วยลดต้นทุนค่าใช้จา่ ยการตลาด ต่างๆได้ และท�ำให้บริษทั มีรายได้ทแ่ี น่นอนในระยะยาว ในปี ทผ่ี า่ นมาโครงการ Built-to-Suit ได้รบั ความสนใจเป็ น อย่างดี ซึง่ ไทคอนได้สง่ มอบอาคารรวมถึงให้เช่าอาคารแบบ Built-to-Suit ทีส่ ร้างตามความต้องการเฉพาะบนพืน้ ที่ ยุทธศาสตร์ให้กบั ลูกค้า นอกจากนี้ยงั มีโครงการส่วนทีย่ งั อยู่ ในแผนการพัฒนาอีกด้วย 4) ธุรกิจการลงทุนและการบริหารอสังหาริมทรัพย์

บริษท ั มีนโยบายลงทุนในกองทรัสต์เพื่อการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ ในสัดส่วนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 ของ หน่ วยลงทุนทัง้ หมด+เพื่อผลตอบแทนในรูปเงินปั นผล สม�่ำเสมอเป็ นประจ�ำทุกปี นอกจากนัน้ บริษทั ยังได้รบั แต่ง ตัง้ ให้เป็ นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์สำ� หรับทรัพย์สนิ ของกอง ทรัสต์ TREIT จึงท�ำให้บริษทั มีรายได้ประจ�ำจากค่าบริหาร อสังหาริมทรัพย์อกี ด้วย 5) ธุรกิจการบริหารและจัดการกองทรัสต์

บริษทั ด�ำเนินธุรกิจบริหารและจัดการกองทรัสต์ TREIT ผ่าน บริษทั ย่อยได้แก่ บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด หรือ TMAN+ซึ่งบริษท ั ถือหุ้นอยู่ร้อยละ+70+โดยเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2560 ไทคอนได้มกี ารแปลงสภาพกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ทงั ้ 3 กองได้แก่ TFUND TLOGIS และ TGROWTH+เข้าสูก่ องทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน หรือ TREIT นอกจากนี้ในเดือนตุลาคม 2561 TREIT ยังได้ซอ้ื ทรัพย์จาก ไทคอนอีก 79,106 ตารางเมตร ท�ำให้มลู ค่าสินทรัพย์รวมสูง ถึง 3.2 หมืน่ ล้านบาท ซึง่ ในปัจจุบนั เป็ นกองทรัสต์อตุ สาหกรรม และโลจิสติกส์ทใ่ี หญ่ทส่ี ดุ ในประเทศไทย โดย TMAN จะได้รบั ค่าธรรมเนียมในการบริหารจัดการกองทรัสต์เป็ น รายได้ประจ�ำทุกปี และจ่ายเป็ นเงินปั นผลกลับคืนมาให้กบั บริษทั

58

6) การบริการอื่นๆ

• การดัดแปลงงานอาคารโรงงาน/คลังสิ นค้า บริษทั มีทมี งานออกแบบ+พัฒนา+ตลอดจนรับบริหาร โครงการ ท�ำให้บริษทั สามารถให้ความช่วยเหลือลูกค้าใน การออกแบบ และดัดแปลงอาคารโรงงาน/คลังสินค้า เพือ่ ให้ มีความเหมาะสมกับความต้องการเฉพาะของลูกค้าได้ • การจัดหาสาธารณูปโภค บริษทั ให้ความช่วยเหลือในการจัดหาระบบสาธารณูปโภค รวมถึงให้บริการระบบสาธารณูปโภคเพือ่ ให้พอเพียงต่อ ความต้องการของลูกค้า รวมถึงแนะน�ำให้เหมาะสมต่อความ ต้องการของลูกค้า • การขออนุญาตกับหน่ วยงานราชการ บริษทั ให้ความช่วยเหลือลูกค้า ในเรือ่ งการขอใบอนุญาตที่ จ�ำเป็ นต่อการเริม่ ด�ำเนินการบริษทั เช่น ใบอนุญาตประกอบ การ นอกจากนัน้ บริษทั ยังมีบริการให้ความช่วยเหลือลูกค้า ในการขอ และต่อใบอนุญาตท�ำงานในราชอาณาจักรส�ำหรับ พนักงานของลูกค้า ซึง่ เป็ นคนต่างด้าว โดยบริการนี้ถอื เป็ นการบริการทีอ่ ำ� นวยความสะดวกครบวงจรให้กบั ลูกค้า ต่างชาติ (One-Stop-Service) • บริ การอื่น ๆ เนื่องจากบริษทั อยูใ่ นธุรกิจมานาน และมีสายสัมพันธ์อนั ดี กับกลุม่ คูค่ า้ หลาย ๆ รายในอุตสาหกรรม บริษทั จึงสามารถ ให้บริการและความช่วยเหลืออืน่ ๆ ตามความต้องการเฉพาะ ของลูกค้าเท่าทีจ่ ะสามารถกระท�ำได้ เช่น การแนะน�ำผู้ จ�ำหน่ายสินค้าและบุคคลากรทีส่ ำ� คัญให้แก่ลกู ค้า

สิทธิและประโยชน์ของบริษัทและ ผู้ประกอบการจากเขตส่งเสริม การลงทุน 1) สิทธิและประโยชน์จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สำ�หรับธุรกิจโรงงานให้เช่า

โครงการพัฒนาอาคารโรงงานอุตสาหกรรมให้เช่าบางส่วน ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรมปิ่ นทอง นิคมอุตสาหกรรม อมตะซิต้ี ชลบุร ี นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค นิคมอุตสาหกรรม เหมราชชลบุร ี นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย นิคมอุตสาหกรรม อมตะซิต้ี+ ระยอง+สวนอุ ต สาหกรรมโรจนะ-อยุ ธ ยา สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ปราจีนบุร ี และเขตอุตสาหกรรม กบินทร์บุร ี ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่ง เสริมการลงทุน โดยมีสทิ ธิประโยชน์สำ� หรับอาคารโรงงาน อุตสาหกรรมทีไ่ ด้รบั การอนุมตั กิ ารส่งเสริมดังนี้

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 58

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

• ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลมีกำ� หนดเวลาดังต่อ ไปนี้:

- 7 ปี ส�ำหรับคลังสินค้าในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี ชลบุร ี และนิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุร ี

- 8 ปี สำ� หรับโครงการในเขตอุตสาหกรรมกบินทร์บุร ี นิ คมอุ ตสาหกรรมอมตะซิต้+ี ระยอง+และสวน อุตสาหกรรมโรจนะ-ปราจีนบุร ี

- 3 ปี ส�ำหรับคลังสินค้าในโครงการบางกอกฟรีเทรดโซน

- 7 ปี สำ� หรับโครงการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี ชลบุร ี นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค นิคมอุตสาหกรรม ปิ่ นทอง สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-อยุธยา และนิคม อุตสาหกรรมเหมราชชลบุร ี - 3 ปี สำ� หรับโครงการในนิคมอุตสาหกรรมเอเซีย โดยในกรณีทก่ี จิ การมีการขาดทุนในระหว่างนัน้ จะสามารถ น�ำผลขาดทุนประจ�ำปี ทเ่ี กิดขึน้ ในระหว่างเวลานัน้ ไปหัก ออกจากก�ำไรสุทธิทเ่ี กิดขึน้ ภายหลังระยะเวลาได้รบั ยกเว้น ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล โดยมีกำ� หนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นบั แต่วนั พ้นก�ำหนดเวลานัน้ • ได้รบั ยกเว้น ไม่ตอ้ งน�ำเงินปั นผลจากกิจการทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ไปรวมค�ำนวณเพือ่ เสีย ภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลนัน้ • ได้รบั อนุญาต ให้น�ำคนต่างด้าวซึง่ เป็ นช่างฝีมอื หรือช่าง ช�ำนาญการ เข้ามาในราชอาณาจักรได้ตามจ�ำนวนและ ก�ำหนดระยะเวลาทีก่ ำ� หนดไว้ โดยให้ทำ� งานเฉพาะ ต�ำแหน่งหน้าทีต่ ามทีก่ ำ� หนดไว้ • ได้รบั อนุ ญาตให้น�ำหรือส่งเงินออกนอกราชอาณาจักร เป็ นเงินตราต่างประเทศได้ 2) สิทธิและประโยชน์จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สำ�หรับธุรกิจคลังสินค้าให้เช่า

เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ไทคอนวังน้อย 2 ศรีราชา แหลมฉบัง 2 อีสเทิรน์ ซีบอร์ด 3 บางปะกง และขอนแก่น และคลังสินค้าในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุร ี (บ่อวิน) อมตะซิต้ี ระยอง และอมตะซิต้ี ชลบุร ี และโครงการบางกอก ฟรีเทรดโซน ได้รบั การอนุมตั กิ ารส่งเสริมการลงทุนจากคณะ กรรมการส่งเสริมการลงทุน โดยมีสทิ ธิประโยชน์สำ� หรับเขต อุตสาหกรรมโลจิสติกส์และอาคารคลังสินค้าทีไ่ ด้รบั การ อนุมตั กิ ารส่งเสริมดังนี้ • ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลมีก�ำหนดเวลา ดังต่อไปนี้: - 8 ปี ส�ำหรับเขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน วังน้อย 2 ศรีราชา แหลมฉบัง 2 อีสเทิรน์ ซีบอร์ด บางปะกง และขอนแก่น และศูนย์คลังสินค้าแหลม ฉบัง อีสเทิรน์ ซีบอร์ด และขอนแก่น และคลังสินค้า ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี ระยอง

โดยในกรณีทก่ี จิ การมีการขาดทุนในระหว่างนัน้ จะสามารถ น�ำผลขาดทุนประจ�ำปี ทเ่ี กิดขึน้ ในระหว่างเวลานัน้ ไปหัก ออกจากก�ำไรสุทธิทเ่ี กิดขึน้ ภายหลังระยะเวลาได้รบั ยกเว้น ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล โดยมีกำ� หนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นบั แต่วนั พ้นก�ำหนดเวลานัน้ • ได้รบั ยกเว้น ไม่ตอ้ งน�ำเงินปั นผลจากกิจการทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ไปรวมค�ำนวณเพือ่ เสีย ภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลนัน้ • ได้รบั การยกเว้นอากรขาเข้า ส�ำหรับเครือ่ งจักรตามที่ คณะกรรมการอนุมตั ิ 3) สิทธิและประโยชน์แก่ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรม ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.)

จากการทีบ่ ริษทั มีการประกอบธุรกิจการจัดสร้างโรงงาน มาตรฐานในเขตนิคมอุตสาหกรรม ภายใต้การก�ำกับดูแล ของกนอ. ผูป้ ระกอบการจึงพึงได้รบั สิทธิประโยชน์ในเขต อุตสาหกรรมจากกนอ. ดังนี้ • สิทธิประโยชน์ดา้ นภาษีอากร (เขตประกอบการเสรี) ได้แก่ การได้รบั การยกเว้นค่าธรรมเนียมพิเศษอากร ขาเข้า+ภาษีมลู ค่าเพิม่ และภาษีสรรพสามิต+ส�ำหรับ เครือ่ งจักรอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทัง้ วัตถุดบิ ทีใ่ ช้ในการ ผลิต และได้รบั การยกเว้นภาษีอากรส�ำหรับของส่งออก ไปนอกราชอาณาจักร • สิทธิประโยชน์ทไ่ี ม่เกีย่ วกับภาษีอากร ได้แก่ ผูป้ ระกอบ การจะได้รบั อนุ ญาตให้ถอื กรรมสิทธิ ์ในทีด่ นิ ในนิคม อุตสาหกรรมเพือ่ ประกอบกิจการ ได้รบั อนุ ญาตให้น�ำ คนต่างชาติซง่ึ เป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญ และช่างฝีมอื เข้ามาอยู่ ในราชอาณาจักรตลอดระยะเวลาทีไ่ ด้รบั อนุญาตพร้อม ให้บริการขอวีซ่าและ work permit และสามารถส่งเงิน ออกนอกราชอาณาจักรเป็ นเงินตราต่างประเทศได้ หาก เงินจ�ำนวนนัน้ เป็ นเงินทุนน�ำเข้าหรือเป็ นเงินทีม่ ขี อ้ ผูกพันกับต่างประเทศ • สิทธิประโยชน์อน่ื ๆ ได้แก่ การยืน่ ขอใบอนุ ญาตที่ จ�ำเป็ นส�ำหรับการประกอบการทัง้ หมดจากกนอ. (โดย ปกติตอ้ งได้รบั อนุมตั จิ ากหลายหน่วยงานราชการ) เช่น ใบอนุ ญาตให้ใช้ทด่ี นิ เพือ่ ประกอบกิจการ ใบอนุ ญาต ปลูกสร้างและ ใบอนุญาตประกอบกิจการอุตสาหกรรม รวมไปถึง การได้รบั บริการส�ำหรับผูล้ งทุนในเรือ่ งค�ำ แนะน�ำค�ำปรึกษาเอกสารต่าง ๆ

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 59

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

59

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

การตลาดและสภาวะการแข่งขัน 1) ธุรกิจโรงงานพร้อมเช่า

ธุรกิจโรงงานส�ำเร็จรูปพร้อมเช่าถือเป็ นธุรกิจทีส่ ำ� คัญต่อผู้ ประกอบการชาวต่างชาติท่เี ข้ามาตัง้ ฐานการผลิตใน ประเทศไทย โดยเฉพาะผูป้ ระกอบการขนาดกลางและเล็ก (SMEs) ซึง่ อาจเลือกเช่าโรงงานเพือ่ ลดต้นทุนในการด�ำเนิน การและเพือ่ เพิม่ ความรวดเร็วในการเริม่ การผลิต และลด ความเสีย่ งจากความไม่แน่นอนต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ หากการให้เช่าโรงงานนัน้ มีบริการแบบครบวงจรเพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผปู้ ระกอบการ การทีป่ ระเทศไทยตัง้ อยูใ่ นท�ำเลทีเ่ ชือ่ มต่อประเทศอืน่ ใน ภูมภิ าคซึง่ เปรียบเสมือนศูนย์กลางของ ภูมภิ าค CLMV มี แรงงานทีม่ ที กั ษะ และมีระบบโครงสร้างพืน้ ฐานทีด่ นี นั ้ ได้ ดึงดูดนักลงทุนจากต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศญีป่ ่ นุ ประเทศจีน และประเทศยุโรป ให้ใช้ประเทศไทยเป็ นฐานการ ผลิต โดยนโยบายส่งเสริมการลงทุนต่างๆของคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (BOI) และ โครงการระเบียงเศรษฐกิจ ภูมภิ าคตะวันออก (EEC) ของรัฐบาลได้มสี ว่ นสนับสนุนการ ขยายตัวของพืน้ ทีอ่ ุตสาหกรรม และความต้องการของผู้ ประกอบการต่างประเทศในประเทศไทยและพืน้ ทีเ่ ขต EEC มากยิง่ ขึน้ การตลาดและสภาวะการแข่งขัน

ผูพ้ ฒ ั นาโรงงานอุตสาหกรรมให้เช่าแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ • ผูพ้ ฒ ั นาโรงงานบนทีด่ นิ อุตสาหกรรมทีต่ นเองพัฒนาขึน้ ได้แก่ เจ้าของนิคมอุตสาหกรรม เช่น บริษทั เหมราช พัฒนาทีด่ นิ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลด์ จ�ำกัด และ บริษทั ปิ่ นทอง อินดัสเตรียล ปาร์ค จ�ำกัด (มหาชน) • ผูพ้ ฒ ั นาโรงงานบนทีด่ นิ อุตสาหกรรมทีซ่ อ้ื หรือเช่าจาก เจ้าของทีด่ นิ อุตสาหกรรมในท�ำเลทีต่ งั ้ ทีห่ ลากหลาย เช่น บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั ่น จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ไทยพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรม จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชั ่น จ�ำกัด (มหาชน) • ผูพ ้ ฒ ั นาโรงงานรายย่อยอืน่ ๆในตลาด ซึง่ บริษทั ไม่ ถือว่าเป็ นคูแ่ ข่งขันโดยตรงเนื่องจากผูเ้ ช่าส่วนใหญ่เป็ น ผูเ้ ช่าขนาดเล็ก ทีม่ คี วามต้องการเช่าโรงงานด้วยต้นทุน ทีไ่ ม่สงู นัก โดยถึงแม้วา่ การแข่งขันโดยรวมของธุรกิจโรงงานส�ำเร็จรูป พร้อมเช่านัน้ ค่อนข้างสูง แต่อย่างไรก็ตามบริษทั เป็ นผูพ้ ฒ ั นา โรงงานให้เช่าทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในประเทศไทย และมีความได้ เปรียบในด้านของท�ำเลทีม่ ศี กั ยภาพและหลากหลาย รวมถึง มีบริการทีค่ รบวงจรให้กบั ผูป้ ระกอบการซึง่ เป็ นลูกค้า ให้

60

ความช่วยเหลือในการติดต่อขอใบอนุญาตต่าง ๆ กับหน่วย งานราชการ และการขอรับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI ลูกค้าเป้ าหมายของบริษทั ส�ำหรับธุรกิจโรงงานส�ำเร็จรูป พร้อมเช่า คือ ผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนให้แก่ผปู้ ระกอบการขนาดใหญ่ ซึง่ ส่วนใหญ่อยูใ่ นอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ โดยความเสีย่ งในการเลิกเช่าเมือ่ หมดสัญญา ของลูกค้ากลุม่ โรงงานนัน้ ค่อนข้างต�่ำ เนื่องจากลูกค้ามีการ ลงทุน และติดตัง้ อุปกรณ์เครือ่ งจักร และสายการผลิตต่างๆ เข้ากับโรงงาน ท�ำให้ความสามารถในการโยกย้ายเป็ นไปได้ ยาก โดยลูกค้าส่วนมากจะท�ำการต่อสัญญาเช่ากับบริษทั เมือ่ สัญญาหมดอายุ เว้นเสียแต่จะเลิกการผลิตหรือมีความ ต้องการทีจ่ ะขยายพืน้ ทีก่ ารเช่า ซึง่ บริษทั จะเสนอท�ำเลและ ขนาดโรงงานอืน่ ๆ ตามความต้องการทีเ่ ปลีย่ นแปลงของ ลูกค้าได้ โดยบริษทั มีขนาดโรงงานและพืน้ ทีใ่ นการให้เช่าที่ หลากหลาย นอกจากนี้ บริษทั ยังมีบริการรับสร้างโรงงานแบบ Built-to-suit ซึง่ กลุม่ ลูกค้าเป้ าหมายจะเป็ นกลุม่ ลูกค้าในอุตสาหกรรม ขนาดกลางถึงใหญ่ และมีระยะเวลาสัญญาเช่าทีค่ อ่ นข้างยาว ท�ำให้บริษทั มีรายได้ทแ่ี น่นอนในระยะยาวมากขึน้ 2) ธุรกิจคลังสินค้าพร้อมเช่า

ธุรกิจคลังสินค้าให้เช่าเป็ นธุรกิจทีส่ ำ� คัญในการสนับสนุ น ธุรกิจโลจิสติกส์ เพือ่ การกระจายสินค้าของประเทศ โดย ระบบการจัดการ ด้านโลจิสติกส์ทม่ี ปี ระสิทธิภาพจะเป็ น ปั จ จัย ที่ส่ ง เสริม ให้ ม ีผู้ป ระกอบการต่ า งประเทศใช้ ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางการกระจายสินค้าระดับภูมภิ าค และท�ำให้เกิดการลงทุนจากต่างประเทศเพิม่ ขึน้ โดยใน ปั จจุบนั คลังสินค้าให้เช่าจะกระจายอยูใ่ นเขตกรุงเทพฯและ ปริมณฑล ศูนย์กระจายสินค้าในจังหวัดส�ำคัญของแต่ละภาค ของประเทศ และในเขตท่าเรือแหลมฉบังและท่าอากาศยาน สุวรรณภูม ิ การตลาดและสภาวะการแข่งขัน

ผูพ้ ฒ ั นาคลังสินค้าให้เช่าแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ • ผูพ้ ฒ ั นาคลังสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพเพือ่ ขายและเช่า ได้แก่ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 60

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

สินค้า ผูใ้ ห้บริการสร้างมูลค่าเพิม่ (การตรวจสอบ คุณภาพ การติดฉลาก การซ่อมแซม และการประกอบ/ บรรจุสนิ ค้า) รวมถึงผูใ้ ห้บริการเช่าอุปกรณ์ขนถ่าย ผูใ้ ห้ บริการแรงงานชัวคราวและยกขนสิ ่ นค้า เป็ นต้น

บริษทั ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษทั เหมราชพัฒนาทีด่ นิ จ�ำกัด (มหาชน) • ผูพ้ ฒ ั นาคลังสินค้ารายย่อยอื่นๆ ซึง่ บริษทั ไม่ถอื ว่าเป็ น คูแ่ ข่งขันโดยตรงเนื่องจากผูเ้ ช่าส่วนใหญ่เป็ นผูเ้ ช่า ขนาดเล็ก ทีม่ คี วามต้องการเช่าด้วยต้นทุนทีไ่ ม่สงู นัก และรูปแบบโครงสร้างของอาคารอาจไม่ได้มาตรฐาน การรับน�้ำหนักระดับสากล โดยส�ำหรับการแข่งขันกับคู่แข่งโดยตรงของบริษทั นัน้ บริษทั มีความได้เปรียบจากท�ำเลทีต่ งั ้ ทีห่ ลากหลายและมี ศักยภาพ และยังมีทด่ี นิ พร้อมสร้างเพือ่ น�ำมาต่อยอดส�ำหรับ ลูกค้ากลุม่ Built-to-suit โดยกลุม่ ลูกค้าหลักของบริษทั ได้แก่ • ผูป้ ระกอบการธุรกิจขนส่งและบริหารคลังสินค้า (Logistics service providers) ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็ นบริษทั ชัน้ น�ำจาก ในประเทศและต่างประเทศ โดยบริษทั เหล่านี้มคี วาม สามารถในการบริหารและจัดการโดยใช้ระบบ software และระบบจัดการทีท่ นั สมัยและโดยทัวไปจะไม่ ่ ลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ แต่มคี วามต้องการเช่าคลังสินค้า • ผูป้ ระกอบการประเภทศูนย์กระจายสินค้าด้วยระบบที่ ทันสมัย (Distribution Center) และผูป้ ระกอบการศูนย์ จัดหาจัดซือ้ ชิน้ ส่วนและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ (International procurement office)

ทัง้ นี้ บริษทั มีกลยุทธ์สง่ เสริมการตลาดทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ การ ติดต่อลูกค้ากลุม่ เป้ าหมายเองโดยตรง และการติดต่อผ่าน ตัวกลางต่าง ๆ เช่น ติดต่อผูผ้ ลิตรายใหญ่เพือ่ เสนอบริการให้ เช่าโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่คคู่ า้ ของผูผ้ ลิตเหล่านัน้ การ ติดต่อผ่านหน่วยงานรัฐบาล สถานทูตส�ำนักงานการค้า สมาคมหอการค้า เจ้าของนิคมอุตสาหกรรม ตัวแทนซือ้ ขาย อสังหาริมทรัพย์ และตัวกลางอืน่ ๆ นอกจากนี้ บริษทั ยังมี การใช้สอ่ื ทางการตลาดประเภทอืน่ ทีม่ ปี ระสิทธิผลตามความ เหมาะสม ได้แก่ การเข้าร่วมงานสัมมนา งานแสดงสินค้า และการประชุมต่างๆทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ภายใน และต่างประเทศ

ภาวะอุตสาหกรรมโดยรวม ธุรกิจโรงงานและคลังสินค้าให้เช่า เป็ นธุรกิจทีภ่ าครัฐให้ ความส�ำคัญและให้การสนับสนุ นอย่างต่อเนื่อง ทัง้ นี้ ประเทศไทยได้เผชิญการแข่งขันจากประเทศเพือ่ นบ้านใน หลายปี ทผ่ี า่ นมา โดยเฉพาะประเทศเวียดนามซึง่ มีแรงงาน จ�ำนวนมากทีอ่ ายุน้อยและค่าแรงต�่ำ ส่งผลให้ผปู้ ระกอบการ ต่ า งชาติม ีก ารพิจ ารณาย้ า ยฐานการผลิต ออกจาก ประเทศไทยไปยังประเทศเพือ่ นบ้าน ดังนัน้ เพือ่ เป็ นการ เพิม่ ขีดความสามารถของประเทศ ภาครัฐจึงเสนอนโยบาย โครงการระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) ซึง่ เป็ น แผนยุทธศาสตร์ประเทศภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 เพือ่ ยกระดับเขตเศรษฐกิจ EEC ให้เป็ นเขตพัฒนาอุตสาหกรรม ระดับโลก โดยคาดการณ์วา่ การลงทุนใน EEC จะกระตุน้ ให้ เศรษฐกิจขยายตัวเฉลีย่ ราว 5% ต่อปี สร้างการจ้างงานใน ภาคอุตสาหกรรมและบริการ 100,000 อัตราต่อปี และ สามารถดึงดูดการลงทุนได้มากกว่า 1.9 ล้านล้านบาท โดย เฉพาะจากอุตสาหกรรมเป้ าหมาย ได้แก่ ยานยนต์สมัยใหม่ อิเล็กทรอนิกส์ ดิจทิ ลั หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ รวมถึง การบินและอากาศยาน

• ผูป้ ระกอบการธุรกิจออนไลน์ และธุรกิจอีคอมเมิรซ์ ทัง้ ทีม่ าจากต่างประเทศและในประเทศ

ในปี 2561 ภาวะอุตสาหกรรมโดยรวมของธุรกิจโรงงานและ คลังสินค้าให้เช่าเริม่ มีแนวโน้มทีด่ ขี น้ึ จากการลงทุนใน โครงสร้างพืน้ ฐานของภาครัฐในเขต EEC ทีเ่ ป็ นรูปธรรม มากขึน้ โดยรัฐบาลได้มกี ารวางแผนพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานในระหว่างปี 2017 - 2021 มูลค่าการลงทุนรวมราว 7.13 แสนล้านบาท ซึง่ คาดการณ์วา่ เม็ดเงินลงทุนของเอกชนทัง้ ไทยและต่างประเทศจะมีความชัดเจนมากขึน้ ในช่วงปลายปี ทัง้ นี้การขยายตัวของเศรษฐกิจไทย โดยเฉพาะภาคการส่ง ออกไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา ยุโรป และจีน ปรับตัวดีขน้ึ ในขณะเดียวกันการลงทุนของภาคเอกชนมีการขยายตัวไป ในทิศทางเดียวกันกับภาคการส่งออกเพือ่ เพิม่ ก�ำลังการผลิต รองรับการส่งออกทีด่ ขี น้ึ อย่างต่อเนื่อง

• ผูป้ ระกอบการอืน่ ๆ ทีม่ ธี รุ กิจสนับสนุ นการกระจาย สินค้าและกิจการโลจิสติกส์ เช่น ผูใ้ ห้บริการขนส่งสินค้า และบริการขนส่ง ผูใ้ ห้บริการบรรจุสนิ ค้าและถ่ายบรรจุ

ธุรกิจโรงงานให้เช่านัน้ ในปี 2561 มีอุปทานลดลงเล็กน้อย ร้อยละ 0.2 ในขณะทีม่ อี ุปสงค์เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.9 เนื่องมา จากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่มกี ารขยายตัวเพิม่ ขึ้น

• ผูผ้ ลิตและผูค้ า้ ปลีกขนาดใหญ่ โดยลูกค้ากลุม่ นี้มคี วาม ต้องการทีจ่ ะจัดตัง้ ศูนย์กระจายสินค้าเพือ่ จัดส่งสินค้า ไปยังลูกค้า และผูบ้ ริโภคทัง้ ในเขตกรุงเทพฯ และ ภูมภิ าคต่าง ๆ • กลุม่ บริษทั น�ำเข้าและส่งออก ซึง่ มีความต้องการใช้ อาคารคลังสินค้าทีต่ งั ้ อยูใ่ กล้สนามบินและท่าเรือโดย เฉพาะอย่างยิง่ พืน้ ทีเ่ ขตปลอดอากร

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 61

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

61

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

โดยอุตสาหกรรมส�ำคัญที่ส่งผลบวกได้แก่ สินค้าในกลุ่ม อุตสาหกรรมยานยนต์ขยายตัวเพิม่ ขึ้นร้อยละ 12.9 ยอด ขายรถยนต์ภายในประเทศที่เพิม่ ขึ้นร้อยละ 16.2 เมื่อ เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ท่ผี ่านมา และ กลุ่มสินค้า อิเล็กทรอนิกส์ขยายตัวเพิม่ ขึ้นร้อยละ 4.3 โดยเฉพาะ อุปกรณ์ประกอบของเครือ่ งคอมพิวเตอร์และ Hard Disk Drive ตัวเลขสถิตกิ ารลงทุนจากต่างประเทศ (FDI) เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 76.7 จากในช่วงเดียวกันของปี ทแ่ี ล้ว ส�ำหรับธุรกิจคลังสินค้าให้เช่านัน้ อุปสงค์และอุปทานยังคง เติบโตอย่างต่อเนื่องในปี 2561 ทีร่ อ้ ยละ 16 และ ร้อยละ 15.3 ตามล�ำดับ สืบเนื่องมาจากความต้องการทีเ่ พิม่ ขึน้ ของ ผูป้ ระกอบการ Third Party Logistics Provider หรือ 3PL โดยศูนย์วจิ ยั กสิกรคาดว่าธุรกิจโลจิสติกส์จะเติบโตได้เป็ น อย่างดีเนื่องจากกระแสการปรับเปลีย่ นสูส่ งั คมเศรษฐกิจ แบบดิจทิ ลั และการขยายตัวของธุรกิจ E-Commerce ที่ ท�ำให้มคี วามต้องการใช้คลังสินค้าเพิม่ มากขึน้ โดยคาดว่า คลังสินค้าน่าจะขยายตัวร้อยละ 5.3 – 7.0 ในปี 2561 ทัง้ นี้ แม้วา่ อุปทานของคลังสินค้าให้เช่าจะเพิม่ มากขึน้ อุปสงค์ ของคลังสินค้าให้เช่ายังคงคาดว่าจะมีมาอย่างต่อเนื่อง เพราะผูป้ ระกอบการรวมทัง้ บริษทั ทีเ่ ชีย่ วชาญด้านโลจิสติกส์ เหล่านี้ มีนโยบายไม่ตอ้ งการลงทุนเพือ่ เป็ นเจ้าของคลัง สินค้า และจะมุง่ หวังให้ผใู้ ห้บริการทีม่ ปี ระสบการณ์และ ความเชีย่ วชาญด้านการพัฒนาโรงงานและคลังสินค้าให้เช่า เป็ นผูใ้ ห้บริการดังกล่าว

กลยุทธ์ทางธุรกิจโดยรวม 1) ตั้งเป้าเป็นผู้นำ�ในการให้บริการสมาร์ทแพลตฟอร์ม ด้านอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรมระดับสากล

บริษทั เป็ นผูน้ � ำในการพัฒนาโรงงาน/คลังสินค้าให้เช่า ประเภท Ready Built อันดับหนึ่งของประเทศไทย ซึง่ มีการ พัฒนาและบริหารโรงงาน และ คลังสินค้าแล้วเสร็จมากกว่า 2.7 ล้านตารางเมตร โดยในอนาคตบริษทั ยังจะคงการพัฒนา โครงการประเภท Ready-Built ในท�ำเลทีม่ ศี กั ยภาพสูงและมี ความต้องการของลูกค้า โดยบริษทั จะลดความเสีย่ งจากการ หาผูเ้ ช่าโดยมีมาตรการเปิ ดให้ลกู ค้าสามารถเช่าล่วงหน้า (Pre-lease) โครงการของบริษทั ทีก่ ำ� ลังจะพัฒนาได้ บริษทั ยังมีเป้ าหมายทีจ่ ะเพิม่ สัดส่วนการพัฒนาโรงงานและคลัง สินค้าประเภท Built-to-Suit โดยจะน�ำองค์ความรูแ้ ละ ประสบการณ์ของบริษทั ในเครือกลุม่ บริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ต้ี ลิมเิ ต็ด ซึง่ เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั มา ปรับใช้ โดยการพัฒนาโครงการ Built-to-Suit จะมีการ ท�ำงานร่วมกันกับลูกค้าตัง้ แต่ขนตอนการออกแบบเพื ั้ อ่ ให้ รองรับความต้องการเฉพาะของลูกค้า เทคโนโลยีและ นวัตกรรมใหม่ๆ รวมทัง้ การพัฒนาอาคารสีเขียวตาม มาตรฐานระดับโลก เช่น LEED และ EDGE โดยบริษทั ได้ม ี การลงทุนร่วมกับเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจ ทีจ่ ะน�ำเสนอ บริการครบวงจรทัง้ ในด้านการจัดเก็บข้อมูล รวมถึงพืน้ ที่ ส�ำนักงานให้เช่าทีอ่ ยูใ่ นท�ำเล CBD เพือ่ ให้บริการกับลูกค้าที่ อยูใ่ นกลุม่ อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การอุตสาหกรรม

62

2) บริหารสินทรัพย์อย่างเบ็ดเสร็จ (Asset Management Strategy)

บริษทั มีความร่วมมือกับเครือกลุ่มบริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ต้ี ลิมเิ ต็ด ซึง่ เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั จัดตัง้ ทีมงานในการบริหารสินทรัพย์ของบริษทั อย่างเบ็ดเสร็จ โดย ได้ทำ� การศึกษาโรงงานและคลังสินค้าทัง้ หมดของบริษทั เพือ่ พิจารณาการใช้ประโยชน์ของสินทรัพย์เหล่านัน้ โดย สินทรัพย์บางอย่างอาจสามารถน�ำมาดัดแปลง ปรับเปลีย่ น โครงสร้าง หรือปรับเปลีย่ นประโยชน์ใช้สอย เช่น การปรับ เปลีย่ นคลังสินค้าให้เป็ นโรงงานหรือเป็ นโครงการ Built-to-Suit การปรับเปลี่ยนขนาดของอาคารให้เป็ นไปตามความ ต้องการของตลาด หรือแม้แต่การร่วมมือกับพันธมิตรในการ ลงทุนและพัฒนาสินทรัพย์เหล่านัน้ ให้เป็ นอสังหาริมทรัพย์ ประเภทอืน่ รวมถึงการขายสินทรัพย์เหล่านัน้ ให้กบั ผูป้ ระกอบ การรายอืน่ หรือผูป้ ระกอบการนิคมอุตสสาหกรรม ทัง้ นี้ การบริหารสินทรัพย์ของบริษทั อย่างเบ็ดเสร็จ จะช่วย ให้บริษทั ใช้สนิ ทรัพย์ปัจจุบนั ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด และยังสามารถน�ำรายได้ทเ่ี พิม่ ขึน้ มาเสริมสภาพคล่อง และ น�ำมาลงทุนพัฒนาโครงการในธุรกิจของบริษทั อีกด้วย 3) เพิ่มศักยภาพให้กับโรงงานและคลังสินค้า

บริษทั มีแผนปรับปรุงและเพิม่ ศักยภาพให้กบั โรงงานและ คลังสินค้า โดยนอกเหนือจากการปรับปรุงเบือ้ งต้นและการ ปรับแบบให้เป็ นไปตามความต้องการของลูกค้า บริษทั ยังอยู่ ระหว่างการศึกษาการน�ำเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ มาปรับใช้ เช่น การน�ำระบบอัตโนมัตใิ นกระบวนการผลิต (Automation) หรือการพัฒนาโรงงานอัจฉริยะ (Smart Factory) เพือ่ เตรียมพร้อมและสนองนโยบายภาครัฐในการยกระดับ อุตสาหกรรมแห่งอนาคต หรือ Thailand 4.0 4) ต่อยอดสู่ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง

บริษทั ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการต่อยอดสูธ่ ุรกิจทีเ่ กีย่ ว ข้องอืน่ ๆ โดยอยูใ่ นระหว่างการศึกษาธุรกิจด้านหุน่ ยนต์และ ระบบอัตโนมัติ การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ครบวงจรหรือ โครงการมิกซ์ยสู โดยมีอสังหาริมทรัพย์อุตสาหกรรมเป็ น ตัวหลัก และการศึกษาเขตธุรกิจและเขตการค้าควบคูก่ บั ศูนย์โลจิสติกส์ โดยบริษทั คาดว่าธุรกิจเหล่านี้จะสร้าง แพลตฟอร์มในการต่อยอดและเพิม่ มูลค่าให้กบั ธุรกิจใน ปั จจุบนั 5) การขยายฐานลูกค้าสู่ประเทศในกลุ่มอาเซียน

บริษทั มีกลยุทธ์ทจ่ี ะขยายธุรกิจสูป่ ระเทศในกลุม่ อาเซียน นอกเหนือจากประเทศอินโดนีเซีย โดยเฉพาะในกลุม่ ประเทศซีแอลเอ็มวี (CLMV) ซึง่ ประเทศดังกล่าวนัน้ ยังมี ศักยภาพสูง มีการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงในขณะทีค่ า่ แรง ยังต�่ำกว่าประเทศไทย และยังมีความต้องการของ อสังหาริมทรัพย์ประเภทอุตสาหกรรมทัง้ ในด้านโรงงานและ คลังสินค้า โดยบริษทั สามารถให้บริการได้อย่างหลากหลาย และมีผลิตภัณฑ์ทค่ี รบวงจร

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 62

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ

ส�ำหรับการคัดเลือกผูร้ บั เหมาก่อสร้าง บริษทั มีการก�ำหนด นโยบายการเลือกคูค่ า้ ทีเ่ ป็ นรูปธรรม รวมถึงการก�ำหนดวิธี การปฎิบตั งิ าน การก�ำหนดคุณภาพของสินค้าและบริการ การสร้างความสัมพันธ์ทด่ี กี บั ผูค้ า้ และการปฏิบตั ติ ่อผูค้ า้ อย่างยุตธิ รรมและเท่าเทียม โปร่งใส และ สามารถตรวจสอบ ได้ นอกจากนี้บริษทั ยังมีการพิจารณาจากราคากลาง เพือ่ ให้ บริษทั ได้รบั สินค้าหรือบริการในราคาทีเ่ หมาะสมอีกด้วย

1) การจัดหาที่ดิน

บริษทั เป็ นผูพ้ ฒ ั นาโรงงานและคลังสินค้าให้เช่า และมีนโยบาย การจัดหาทีด่ นิ ทีเ่ หมาะสม อยูใ่ นท�ำเลทีม่ ศี กั ยภาพ สะดวก ต่อการคมนาคมและมีความเป็ นไปได้ท่จี ะได้รบั สิทธิ ประโยชน์จาก BOI ทัง้ นี้ราคาทีด่ นิ ของบริษทั จะต้องไม่สงู เกินไป และขนาดของทีด่ นิ จะต้องเหมาะสมเพือ่ ให้สามารถ พัฒนาโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นตอน/หลักเกณฑ์การคัดเลือกผู้รับเหมาก่อสร้าง

• จัดท�ำ Approved Vendor List โดยรวบรวมข้อมูลผูค้ า้ ที่ มีคณ ุ สมบัตติ รงตามความต้องการ แยกตามประเภท ของสินค้าและบริการ พร้อมทัง้ ปรับปรุงข้อมูลจากผูค้ า้ ทีเ่ ข้ามาติดต่อซือ้ ขายกับบริษทั

ขั้นตอน/หลักเกณฑ์การจัดหาที่ดิน

• ท�ำเลทีต่ งั ้ เหมาะสมอยูใ่ นท�ำเลยุทธศาสตร์ มีการ คมนาคมสะดวก ตอบโจทย์ความต้องการของผูเ้ ช่า และสามารถได้รบั สิทธิประโยชน์จาก BOI

• พิจารณาคูค่ า้ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม เช่น มีประวัตหิ รือ ชือ่ เสียงทีด่ ี ส่งมอบของทีม่ คี ณ ุ ภาพ ครบถ้วน ตรงเวลา และมีความรู้ ความเชีย่ วชาญในสินค้าหรือบริการนัน้ มี ความพร้อมทัง้ ด้านเครือ่ งมือ อุปกรณ์และก�ำลังคน มีผล งานในอดีตทีด่ เี ป็ นทีย่ อมรับ รวมถึงมีบริการหลังการ ขายทีด่ ี

• ราคาทีด่ นิ เหมาะสม ในการทีบ่ ริษทั จะสามารถสร้างผล ตอบแทนจากค่าเช่าได้ และสามารถแข่งขันกับผูเ้ ล่น รายอืน่ ๆในตลาดได้ • ค�ำนึงถึงการรองรับการขยายโครงการหรือการปรับ เปลีย่ นรูปแบบโครงการ ความสามารถในการตอบ สนองความต้องการของผูเ้ ช่ารายต่อไป

• จัดให้มคี ณะกรรมการประมูลเพือ่ ให้บริษทั ได้รบั ผล ประโยชน์ สูงสุด โดยบริษทั จะพิจารณาร่วมกับราคา กลางทีเ่ หมาะสม

2) ทีมงานพัฒนา/การออกแบบ และการคัดเลือกผู้รับ เหมาก่อสร้าง

• การจัดซือ้ จัดจ้างทุกครัง้ ต้องได้รบั การอนุ มตั จิ ากผูม้ ี อ�ำนาจทุกครัง้

บริษทั พัฒนาโรงงาน/คลังสินค้าบนทีด่ นิ ทีม่ ศี กั ยภาพ ด้วย ที ม งานออกแบบและที ม งานพัฒ นาโครงการที่ ม ี ประสบการณ์ โดยมีทงั ้ ส่วนทีด่ ำ� เนินการโดยทีมงานภายใน ของบริษทั เอง ซึง่ ช่วยให้เกิดความคล่องตัวในการบริหาร งานพัฒนาและลดต้นทุนการพัฒนาของบริษทั รวมถึงมีทมี งานผูอ้ อกแบบและทีป่ รึกษาโครงการทีว่ า่ จ้างมาโดยเฉพาะ ซึง่ ช่วยให้งานทีต่ อ้ งการความช�ำนาญและเชีย่ วชาญพิเศษมี ศักยภาพตรงกับวัตถุประสงค์ของบริษทั และลูกค้าได้ดยี งิ่ ขึน้ ในส่วนของวัสดุทส่ี ำ� คัญในการพัฒนาโรงงาน/คลังสินค้าของ บริษทั ได้แก่ เหล็ก และคอนกรีต บริษทั สามารถสังซื ่ อ้ วัสดุท่ี มีคณ ุ ภาพโดยตรงจากผูผ้ ลิตหลายราย ในคุณภาพและราคา ทีเ่ หมาะสมและใกล้เคียงกัน

• มีกระบวนการในการตรวจสอบและประเมินว่า สินค้าที่ จัดซือ้ จัดจ้างเป็ นไปตามเงือ่ นไขและข้อก�ำหนด • มีเกณฑ์ในการประเมิน และคัดเลือกผูค้ า้ ทีช่ ดั เจนและ โปร่งใส • มีการเปิ ดโอกาสให้ผคู้ า้ รายใหม่ๆ ได้เข้ามาเสนอสินค้า และบริการกับบริษทั

งานระหว่างการพัฒนา ณ เดือนกันยายน 2561 บริษทั มีงานทีย่ งั ไม่สง่ มอบซึง่ มีสญ ั ญาเช่าแล้วแต่ยงั อยูร่ ะหว่างการพัฒนา ดังนี้ นิคมอุตสาหกรรม / เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ / สวนอุตสาหกรรม / ศูนย์คลังสินค้า

นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี ระยอง นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี ชลบุร ี บางพลี 6 รวม

จ�ำนวนโรงงาน / อาคารคลังสินค้า

พื้นที่ดิน (ไร่)

พื้นที่เช่า (ตารางเมตร)

0 2 1 3

0 9.1 34.0 43.1

1,700 9,880 34,300 45,880 The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 63

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

63

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

กลุ่มธุรกิจ “เทคโนโลยี” ภาพรวมการประกอบธุรกิจ

ประเทศไทยเป็ นตลาดทีม่ ศี กั ยภาพและมีความต้องการใช้ งานบริการศูนย์ขอ้ มูล (ดาต้าเซ็นเตอร์) ซึง่ ถือเป็ นหนึ่งใน เทคโนโลยีสำ� คัญ ทีใ่ ช้ขบั เคลือ่ นเศรษฐกิจในยุคดิจทิ ลั ควบคู่ ไปกับบรอดแบนด์ คลาวด์ บิก๊ ดาต้า และอินเตอร์เน็ต ออฟ ธิงส์ ซึง่ เป็ นกลุม่ เทคโนโลยีชว้ี ดั ระดับความก้าวหน้าของประเทศ ต่าง ๆ ในการเปลีย่ นผ่านไปสูย่ คุ ดิจทิ ลั สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ของประเทศไทยทีม่ งุ่ สูด่ จิ ทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชั ่นและ นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ซึง่ ภาครัฐได้วางแผนการพัฒนาด้าน ดิจทิ ลั อย่างครอบคลุมตัง้ แต่ปี 2560-2564 โดยมีเป้ าหมาย เพือ่ พัฒนาขีดความสามารถทางด้านดิจทิ ลั ในภาคส่วนต่าง ๆ และการวางยุทธศาสตร์การลงทุนด้านไอซีที ซึง่ จะกลายเป็ น กลไกสร้างเสริมและเร่งอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจให้มาก ยิง่ ขึน้ อย่างไรก็ตาม แม้โครงสร้างพืน้ ฐานด้านบรอดแบนด์ของ ประเทศไทย จะมีศกั ยภาพในการแข่งขัน แต่ประเทศไทยยัง ต้องพัฒนาในแง่ของปั จจัยขับเคลือ่ นทางเทคโนโลยีอน่ื ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การใช้งาน บิก๊ ดาต้าซึง่ ได้มาจากการจัด เก็บข้อมูลจ�ำนวนมหาศาลจากแหล่งข้อมูลทีแ่ ตกต่างกัน พร้อมเข้าสูก่ ระบวนการวิเคราะห์ประมวลผล อย่างเป็ น ระบบและถูกต้อง และสามารถดึงข้อมูลทีม่ ปี ระโยชน์มาใช้ สนับสนุนการท�ำงานเพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ ได้จริง ถือเป็ นความ ท้าทายของผูป้ ระกอบการในการบริหารจัดการข้อมูลให้ม ี ประสิทธิภาพ จากปั จจัยดังกล่าว ส่งผลให้การพัฒนาในขัน้ ต่อไป มีแนวโน้มมุง่ เน้นไปทีก่ ารพัฒนาโครงการดาต้า เซ็นเตอร์มากขึน้ ซึง่ เป็ นการวางโครงสร้างพืน้ ฐานด้านไอที ทีม่ บี ทบาทส�ำคัญต่อความส�ำเร็จของอุตสาหกรรมยุค 4.0 เพือ่ ให้การเชือ่ มโยงการสือ่ สารสามารถบูรณาการข้อมูลแบบ เรียลไทม์และสร้างความโดดเด่นเหนือคูแ่ ข่งทางธุรกิจได้ โดยในปี 2561 บริษทั ฯได้รกุ ตลาดดาต้าเซ็นเตอร์ โดย ประกาศความร่วมมือกับ “กลุม่ เอสที เทเลมีเดีย โกลบอล ดาต้า เซ็นเตอร์ (STT GDC)” ผูใ้ ห้บริการดาต้าเซ็นเตอร์ชนั ้ น�ำจากสิงคโปร์ทม่ี คี วามเชีย่ วชาญและมีศกั ยภาพสูง พร้อม ด้วยองค์ความรูแ้ ละประสบการณ์ในการให้บริการดาต้า เซ็นเตอร์ดว้ ยมาตรฐานระดับโลก เพือ่ ตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าในอนาคต ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ

การให้บริการดาต้าเซ็นเตอร์แบบ Co-location คือการ บริก ารให้ เ ช่ า พื้น ที่ร ับ ฝากเซิ ร์ ฟ เวอร์ แ ละอุ ป กรณ์ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ เพือ่ ใช้เป็ นศูนย์หลัก (Main Site) และศูนย์สำ� รอง (Back Up Site) แก่ผมู้ าใช้บริการ เพือ่ บริหารจัดการศูนย์ขอ้ มูลขององค์กร หรือเพือ่ ให้บริการศูนย์ ข้อมูลแก่ลกู ค้าภายนอกทีเ่ ป็ นรายย่อย โดยมุง่ เน้นการให้ บริการทีม่ มี าตรฐาน และมีความปลอดภัยในระดับสูง ซึง่ รวมถึงระบบจ่ายไฟฟ้ าส�ำรองทีท่ ำ� ให้เซิรฟ ์ เวอร์ทำ� งานได้ อย่างมีเสถียรภาพต่อเนื่องตลอด 24 ชั ่วโมง ระบบควบคุม ความเย็นและความชืน้ ทีจ่ ะควบคุมอุณหภูมใิ ห้เหมาะสมกับ อุปกรณ์อเิ ล็คทรอนิคส์ต่างๆเพือ่ ให้อุปกรณ์ได้ทำ� งานอย่างมี

64

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 64

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

ประสิทธิภาพและยืดอายุการใช้งาน+และระบบความ ปลอดภัยเพือ่ ปกป้ องและดูแลความปลอดภัยของข้อมูลใน ระดับสูงสุด ทัง้ นี้ การลงทุนพัฒนาด้านดาต้าเซ็นเตอร์ ต้องมี ความเหมาะสมและสอดคล้องกันระหว่างท�ำเลทีต่ งั ้ และระบบ โครงสร้างพืน้ ฐานของโครงการ พร้อมทัง้ ทีมผูพ ้ ฒ ั นาที่ เชีย่ วชาญ และระบบรักษาความปลอดภัยของศูนย์ขอ้ มูลที่ เข้มงวด ในปั จจุบนั ดาต้าเซ็นเตอร์จะต้องสามารถรองรับ และตอบสนองความต้องการของลูกค้า เพิม่ ขีดความ สามารถในการขยายการให้บริการ และทีส่ ำ� คัญคือมีระบบ รักษาความปลอดภัยของข้อมูล เพือ่ ตอบสนองความต้องการ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ดาต้าเซ็นเตอร์ ถือว่ามีบทบาทและความส�ำคัญกับการ เปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีทงั ้ หมดในปั จจุบนั นอกจากจะ เป็ นศูนย์การจัดเก็บและขับเคลือ่ นการท�ำงานของข้อมูลแล้ว ดาต้าเซ็นเตอร์ยงั มีสว่ นส�ำคัญทีจ่ ะช่วยขับเคลือ่ นเสถียรภาพ และความมั ่นคงขององค์กร โดยในช่วงหลายปี ทผ่ี า่ นมา ความล�้ำหน้าของเทคโนโลยี ท�ำให้ดาต้าเซ็นเตอร์ได้รบั การ ปรับปรุงให้ทนั สมัยขึน้ โดยมีขนาดเล็กลง ประสิทธิภาพสูง และใช้งานได้จริง เพือ่ รองรับความต้องการของตลาดในยุค ดิจทิ ลั

การตลาดและสภาวะการแข่งขัน ภาวะอุตสาหกรรมโดยรวม

ปั จจุบนั ตลาดดาต้าเซ็นเตอร์ในประเทศไทยมีการใช้งาน เติบโตต่อเนื่องเฉลีย่ ปี ละ 15 - 20% ผูใ้ ห้บริการดาต้า เซ็นเตอร์ในประเทศไทยมีผใู้ ห้บริการรายใหญ่หลายราย จากกลุม่ เทเลคอมและ ISP โอเปอเรเตอร์ ไม่วา่ จะเป็ น บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ (เอไอเอส) บมจ. อินเตอร์ ลิง้ ค์ คอมมิวนิเคชัน่ (ILINK) บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ (CSL) บมจ. อินเตอร์เน็ตประเทศไทย (INET) บริษทั เอ็นทีทคี อม มิวนิเคชั ่นส์ จ�ำกัด (NTT) บริษทั ทีซซี ี เทคโนโลยี จ�ำกัด (TCC Tech) บมจ. ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชั ่น (WHA) บริษทั ทรูไอดีซี จ�ำกัด หรือจะเป็ นดาต้าเซ็นเตอร์ทเ่ี กิดจากที่ หลายบริษัท ร่ ว มลงทุ น เช่ น +บริษัท +ซุ ป เปอร์ แ นป (ประเทศไทย) จ�ำกัด (SUPERNAP) ทัง้ นี้จากพฤติกรรมการ เช่าใช้ดาต้าเซ็นเตอร์ทเ่ี ติบโตสูงในองค์กรภาคธุรกิจจะ สนับสนุนให้ผใู้ ห้บริการและโพรไวเดอร์เติบโตต่อเนื่อง โดย ฐานลูกค้ากลุม่ ไอซีทหี ลัก ๆ คือ ผูใ้ ห้บริการคลาวด์เซอร์วสิ อินเตอร์เน็ต มีเดีย สถาบันการเงิน โทรคมนาคม ภาครัฐ และกลุม่ ผูใ้ ห้บริการโซลูชนด้ ั ่ านระบบไอทีให้กบั องค์กรต่าง ๆ ทัง้ นี้โดยภาพรวม การทีม่ ผี ใู้ ห้บริการจ�ำนวนมากในตลาด ย่อมเป็ นเรื่องทีด่ ตี ่อผูใ้ ช้และอุตสาหกรรมในระยะยาว เนื่องจากจะเกิดการแข่งขันในด้านราคา ด้านการบริการ รวม ไปถึงด้านความรูค้ วามสามารถของบุคลากรในอุตสาหกรรม กลยุทธ์ทางธุรกิจโดยรวม

บริษทั วางเป้ าเป็ นผูน้ �ำในการพัฒนาและบริหารจัดการดาต้า เซ็นเตอร์ทท่ี นั สมัยและรองรับความต้องการของลูกค้าได้ สูงสุดในประเทศไทย โดยใช้เทคโนโลยีและความเชีย่ วชาญ ขัน้ สูงจากกลุม่ เอสที เทเลมีเดีย โกลบอล ดาต้า เซ็นเตอร์ ซึง่

มีเสถียรภาพและความปลอดภัยได้มาตรฐานระดับสากล เพือ่ รองรับความต้องการของผูป้ ระกอบการขนาดใหญ่ทงั ้ ใน ประเทศและต่างประเทศ ส่งผลให้ บริษทั วางระบบการ บริหารจัดการทีท่ นั สมัยได้มาตรฐาน มีพนั ธมิตรมืออาชีพ ดูแลพัฒนาระบบและโครงสร้างพืน้ ฐาน รวมถึงการใส่ใจกับ การประหยัดพลังงาน เพือ่ เสริมสร้างความมันใจต่ ่ อคุณภาพ การให้บริการ ทัง้ นี้บริษทั มีแนวทางการท�ำการตลาดล่วง หน้ากับพันธมิตรเพือ่ เจาะลูกค้ารายใหญ่ทงั ้ ในและต่าง ประเทศให้เข้ามาใช้บริการ ซึง่ ลูกค้าทีม่ องหาดาต้าเซ็นเตอร์ สเกลนี้ คือกลุม่ ทีม่ ฐี านข้อมูลจ�ำนวนมาก ใช้คลาวด์คอมพิว ติง้ เช่น มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล กลุม่ ธุรกิจมีเดีย และ สถาบันการเงินต่าง ๆ เป็ นต้น ทัง้ นี้ตลาดดาต้าเซ็นเตอร์ ถือ เป็ นธุรกิจทีน่ ่าจับตามอง จากแนวโน้มองค์กรหลายแห่งที่ ทรานส์ฟอร์มเริม่ แตกธุรกิจใหม่ทใ่ี ช้เทคโนโลยีขบั เคลือ่ น หันมาให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาระบบประมวลผล และ บริหารจัดการข้อมูลผ่านศูนย์ขอ้ มูล อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะองค์ ก รที่มุ่ ง เน้ น การพัฒ นาเพื่อ รองรับ อุตสาหกรรมทีต่ อ้ งใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ขันสู ้ งตามนโยบาย ของรัฐบาล การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ

ส�ำหรับการท�ำธุรกิจดาต้าเซ็นเตอร์ของบริษทั ร่วมทุนภายใต้ กลุม่ บริษทั ได้วางมาตรฐานรองรับการปฏิบตั กิ ารในระดับ สูงสุด ทีม่ เี สถียรภาพในการเก็บรักษาข้อมูล และอุปกรณ์ เซิรฟ ์ เวอร์ต่าง ๆ ภายใต้การจัดวางสภาวะแวดล้อมที่ ปลอดภัย มีความยืดหยุน่ สูง สอดคล้องกับแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี ทีส่ ดุ ตามมาตรฐานของกลุม่ อุตสาหกรรม จากความร่วมมือในการร่วมทุนระหว่าง บริษทั และกลุม่ เอสที เทเลมีเดีย โกลบอล ดาต้า เซ็นเตอร์ บริษทั ร่วมทุนจึงมี บุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถด้านการพัฒนาโครงการ ศูนย์ขอ้ มูล รวมถึงแหล่งเงินทุนและผูท้ ม่ี สี ว่ นร่วมในการ พัฒนาทัง้ หมด ส�ำหรับการสร้างอาคารดาต้าเซ็นเตอร์นนั ้ การติดตัง้ โครงข่ายใยแก้วน�ำแสง ระบบไฟฟ้ า ระบบรักษา ความปลอดภัยและระบบพลังงานส�ำรอง ถือเป็ นโครงสร้าง พืน้ ฐานหลักในการพัฒนาโครงการ โดยบริษทั วางแผนการ ลงทุนสร้างโครงสร้างพืน้ ฐานทีม่ คี วามยืดหยุน่ เพือ่ ให้ทนั กับ การเปลีย่ นแปลงเวิรก์ โหลดทีร่ วดเร็ว โดยโครงการดังกล่าว สามารถรองรับการให้บริการเอสเอ็มอีจนถึงองค์กรขนาด ใหญ่ในการจัดการทรัพยากรได้สะดวก ซึง่ ช่วยเพิม่ ขีดความ สามารถแข่งขันขององค์กรในการประมวลผล และเป็ นการ เพิม่ ทางเลือกให้กบั ผูใ้ ช้ในประเทศและต่างประเทศทีส่ นใจ การใช้บริการพืน้ ทีจ่ ดั เก็บข้อมูล ทีอ่ ำ� นวยความสะดวก ในการสือ่ สารเข้าถึงเจ้าหน้าทีไ่ ด้อย่างรวดเร็ว ซึง่ จะช่วยลด ต้นทุนค่าใช้จา่ ยในการบริหารจัดการข้อมูล และสามารถ ตอบโจทย์ความต้องการทีห่ ลากหลายได้ครบวงจร งานระหว่างการพัฒนา

ส�ำหรับโครงการพัฒนาดาต้าเซ็นเตอร์ บริษทั ร่วมทุนได้ ประมาณการงบลงทุนกว่า 7.3 พันล้านบาท บนพืน้ ที่ ยุทธศาสตร์ขนาด 16 ไร่ในกรุงเทพฯ คาดว่าจะสามารถเริม่ เปิ ดให้บริการได้ในปี 2563 โดยมีแผนทยอยเปิ ดให้บริการ The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 65

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

65

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

เป็ นเฟส ด้วยการวางระบบโครงสร้างพืน้ ฐานของดาต้า เซ็นเตอร์ทด่ี ี โครงการจึงสามารถขยายก�ำลังการให้บริการ ได้ตามความต้องการของตลาดทีเ่ ติบโตอย่างรวดเร็วใน ปั จจุบนั และในอนาคตคาดว่าจะมีการวางแผนลงทุนดาต้า เซ็นเตอร์แห่งใหม่เพิม่ เติมเพือ่ รองรับความต้องการของ ตลาดอีกด้วย นอกจากนี้ ทางบริษทั อยูร่ ะหว่างการด�ำเนินการขอรับสิทธิ ประโยชน์สง่ เสริมการลงทุน (BOI) จากคณะกรรมการส่ง เสริมการลงทุน เพือ่ ประกอบกิจการเขตดาต้าเซ็นเตอร์ เพือ่ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามมาตรา แห่งพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการลงทุน

กลุ่มธุรกิจ “สมาร์ทโซลูชั่น” ภาพรวมการประกอบธุรกิจ

ส�ำหรับกลุม่ สมาร์ทโซลูชนั ่ เป็ นการลงทุนในธุรกิจแนวใหม่ท่ี

ใช้เทคโนโลยีในการเชือ่ มโยงและผสมผสานบริการทีห่ ลาก หลาย ผ่านการพัฒนาร่วมกับพันธมิตรเชิงกลยุทธ์ เพือ่ สร้าง มูลค่าเพิม่ จากการแบ่งปั นทรัพยากร ความรูค้ วามเชีย่ วชาญ เทคโนโลยี และฐานลูกค้าร่วมกัน ทัง้ นี้บริษทั ได้เล็งเห็นการ ขยายตัวของโครงการอสังหาริมทรัพย์ทผ่ี ปู้ ระกอบการ พัฒนาโครงการแบบผสมผสาน มีฟังก์ชนและองค์ ั่ ประกอบที่ เป็ นเทคโนโลยีทนั สมัยตอบรับไลฟ์ สไตล์ผบู้ ริโภคยุคใหม่ มี แนวโน้มในการเติบโตทีด่ ี บริษทั จึงวางแผนต่อยอดและ พัฒนาโซลูช ั ่นให้เกิดประโยชน์ผา่ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั โดยรุก ตลาดเข้าจับมือร่วมทุนกับ “จัสท์โค” (JustCo) ผูใ้ ห้บริการ โคเวิรค์ กิง้ สเปซระดับพรีเมีย่ มทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ ซึง่ มีความเชีย่ วชาญเรือ่ งการวิเคราะห์ขอ้ มูล เทคโนโลยีทเ่ี กีย่ วกับสถานทีท่ ำ� งาน และการบริหารจัดการ กลุม่ ลูกค้าสมาชิก พร้อมฐานลูกค้าทีก่ ว้างขวางในระดับ ภูมภิ าค

มองหาโอกาสต่อยอดธุรกิจให้กา้ วไกลไปกว่าเดิม พร้อมกับ มีเครือข่ายหลายสาขาหลายท�ำเลเพื่อดึงดูดผูเ้ ช่าด้วย ออปชั ่นสามารถนั ่งท�ำงานได้หลายที่ ซึง่ ถือเป็ นความได้ เปรียบทีเ่ หนือกว่าการเช่าเซอร์วซิ ออฟฟิ ศแบบเดิม

ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ

จากกระแสการเติบโตอย่างสูงของธุรกิจขนาดเล็กและ สตาร์ทอัพใหม่ ๆ ท�ำให้เกิดความต้องการสถานทีท่ ำ� งานรูป แบบใหม่ทใ่ี ห้ความยืดหยุน่ สูง ส่งเสริมให้ทำ� งานร่วมกัน อย่างมีประสิทธิภาพผ่านการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ และ

การประกอบธุรกิจโคเวิรค์ กิง้ สเปซ หรือ การเปิ ดให้เช่าพืน้ ที่ ท�ำงานร่วม ถือเป็ นการต่อยอดจากการท�ำเซอร์วซิ ออฟฟิ ศ

66

แบบดัง้ เดิมซึง่ เป็ นธุรกิจทีจ่ บั กลุม่ ลูกค้ารายเล็ก โดยมีขอ้ แตกต่างคือการให้ความส�ำคัญกับฟั งก์ชนั ่ และเทคโนโลยีใน การออกแบบด้วยดีไซน์ทย่ี ดื หยุน่ คล่องตัว พร้อมจัดสรร สิง่ อ�ำนวยความสะดวกครบครัน รองรับขนาดองค์กรทีห่ ลาก หลาย ท�ำให้ลกู ค้าทีม่ าใช้บริการโคเวิรค์ กิง้ สเปซ ไม่ตอ้ งเช่า แบบกัน้ ห้องก็ได้ สามารถเลือกเช่าแบบ “Hot Desk” ซึง่ เป็ น โต๊ะท�ำงานกลางทีใ่ ครก็สามารถมาใช้ได้ ซึง่ เหมาะส�ำหรับ หน่วยงานทีไ่ ม่ได้เข้าใช้สถานทีต่ ลอดเวลาท�ำให้สามารถใช้ พืน้ ทีใ่ ห้เกิดประโยชน์สงู สุด หรือหากกรณีมนี ดั ประชุมก็ สามารถเช่าเป็ นห้องได้ อีกทัง้ จุดเด่นของโคเวิรค์ กิง้ สเปซคือ แนวคิดการสร้างสมดุลการท�ำงานกับการพักผ่อน ท�ำให้ม ี การจัดวางส่วนกลางทีร่ องรับการท�ำงานของคนรุน่ ใหม่ดว้ ย รีครีเอชั ่นเซอร์วสิ มุมกาแฟ การตกแต่งดีไซน์ให้มคี วาม ห่างไกลรูปแบบเดิมของออฟฟิ ศทั ่วไปอย่างชัดเจน โดย สร้างสภาพแวดล้อมทีเ่ กือ้ หนุนเสริมสร้างคอมมูนิตท้ี ส่ี มาชิก สามารถมาพูดคุยสร้างปฏิสมั พันธ์ สร้างเน็ตเวอร์คกิง้ ใหม่ ๆ เชือ่ มโยงธุรกิจทุกรูปแบบเข้าด้วยกัน จัดกิจกรรมสัมมนา เวิรค์ ช็อป แลกเปลีย่ นวิธกี ารท�ำงานและแนวความคิดเพือ่

ส�ำหรับความร่วมมือทางธุรกิจกับจัสท์โคนัน้ ปั จจุบนั บริษทั ได้เปิ ดให้บริการโคเวิรค์ กิง้ สเปซสาขาแรกในกรุงเทพอย่าง เป็ นทางการทีอ่ าคาร เอไอเอ สาทร ทาวเวอร์ โดยมีพน้ื ทีใ่ ห้ บริการสองชัน้ รวมขนาดพืน้ ทีท่ งั ้ หมด 3,200 ตารางเมตร และสาขาทีส่ องทีต่ กึ แคปปิ ตอล ทาวเวอร์ ออลซีซ ั ่นส์เพลส บนพืน้ ทีใ่ ห้บริการขนาด 3,636 ตารางเมตร

การตลาดและสภาวะการแข่งขัน ภาวะอุตสาหกรรมโดยรวม

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 66

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

สร้างคอมมูนิตใ้ี ห้ผปู้ ระกอบการขยายผลทางธุรกิจ ส่งผลให้ มีผใู้ ห้บริการโคเวิรค์ กิง้ สเปซหลายรายในตลาดปั จจุบนั อาทิ โกลว์ฟิช (GlowFish) เดอะไฮฟ์ (The Hive) ฮับบ้า (Hubba) สเปซ (Spaces) เดอะเกรทรูม (The Great Room) รีจสั (Regus) ทัง้ นี้พฒ ั นาการของตลาดยังอยูใ่ นระยะเริม่ ต้น โดย มีภาพรวมอยูท่ ข่ี นาด 35,000-40,000 ตารางเมตรในปี 2560 และจะเติบโตในอัตราก้าวกระโดดภายในปี 2563 โดยภาพรวมคาดว่า+ธุรกิจโคเวิรค์ กิง้ สเปซจะเป็ นองค์ ประกอบทีส่ ำ� คัญของตลาดอาคารส�ำนักงานในกรุงเทพ และ มีศกั ยภาพในการขยายตัวได้อกี มากจากแนวโน้มคนท�ำงาน ในกลุม่ ฟรีแลนซ์หรือท�ำงานอิสระทีม่ สี ดั ส่วนเพิม่ ขึน้ อย่างต่อ เนื่อง กลุม่ ธุรกิจสตาร์ทอัพ ทีต่ อ้ งการมุมคิดสร้างสรรค์งาน รวมถึงกลุม่ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เอสเอ็มอี) ซึง่ ภาครัฐได้กำ� หนดมาตรการส่งเสริมเพือ่ พัฒนาขีดความ สามารถในการแข่งขันให้เพิม่ ขึน้ พร้อมปรับตัวเข้าสูย่ คุ 4.0 ขณะทีอ่ งค์กรธุรกิจขนาดใหญ่หลายแห่งก็ให้ความสนใจกับ โคเวิรค์ กิง้ สเปซ เพือ่ สร้างพลังให้พนักงาน ด้วยบรรยากาศ การท�ำงานทีส่ ร้างสรรค์และร่วมมือกันมากขึน้ นอกจากนี้ยงั สามารถลดค่าใช้จา่ ยทางด้านอาคารส�ำนักงานจากการใช้ พืน้ ทีใ่ ห้เกิดประโยชน์สงู สุด คาดว่าภาพรวมการแข่งขัน ระหว่างผูใ้ ห้บริการโคเวิรค์ กิง้ สเปซจะทวีความเข้มข้น จาก การทีม่ กี ารเปิ ดพืน้ ทีบ่ ริการมากขึน้ และขยายพืน้ ทีใ่ ห้เช่าให้ มีขนาดใหญ่ขน้ึ พร้อมขยายธุรกิจเข้าไปในพืน้ ทีท่ เ่ี ป็ นท�ำเล ทองและย่านไลฟ์ สไตล์ทโ่ี ดดเด่นมากขึน้

สนับสนุนการท�ำงานและตอบโจทย์ผปู้ ระกอบการ เพือ่ เสริม สร้างเครือข่ายทางธุรกิจให้กว้างขวางขึน้ การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ

โคเวิรค์ กิง้ สเปซจัดเป็ นธุรกิจทีใ่ ช้เงินลงทุนสูง ต้องมีเครือข่าย หลายสาขา บนท�ำเลทีเ่ ป็ นไพรม์โลเคชันเดิ ่ นทางสะดวกเข้า ถึงง่าย ส�ำหรับสเกลพืน้ ทีใ่ นการพัฒนาแต่ละสาขานัน้ มีทงั ้ ขนาดกลาง 1,000-3,000 ตารางเมตร และขนาดใหญ่ตงั ้ แต่ 3,000-8,000 ตารางเมตร ทุก ๆ สิง่ ทีใ่ ช้ในออฟฟิ ศจ�ำเป็ น ต้องมีการบริหารจัดการทีด่ ี มีทมี งานซัพพอร์ตอยูเ่ บือ้ งหลัง ทัง้ การแก้ปัญหา การบ�ำรุงรักษา การอัพเกรดแอพพลิเคชัน่ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ ผูป้ ระกอบ การจะต้องวางแนวทางควบคุมค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินการที่ ดี ส�ำหรับรูปแบบการหารายได้ของโคเวิรค์ กิง้ สเปซนัน้ มา จากการเพิม่ จ�ำนวนสมาชิกทัง้ ในกลุม่ ลูกค้าองค์กร และกลุม่ ลูกค้ารายย่อยทั ่วไป ด้วยแพ็คเกจทีย่ ดื หยุน่ ตามความ ต้องการใช้งานทัง้ ในส่วนสตูดโิ อ หรือพืน้ ที่ Hot Desk พร้อม

กลยุทธ์ทางธุรกิจโดยรวม

จากกระแสวัฒนธรรมแห่งการแบ่งปั นภายใต้เทรนด์ใหม่ Sharing Economy เป็ นทีน่ ิยมอย่างแพร่หลาย ส่งผลให้เกิด ความเปลีย่ นแปลงและการพัฒนาสินค้าและบริการในหลาก หลายอุตสาหกรรมในปั จจุบนั บริษทั เชือ่ ว่ากลยุทธ์การ ลงทุนในโคเวิรค์ กิง้ สเปซนัน้ สอดคล้องกับเมกะเทรนด์ท่ี สามารถสร้างโอกาสในการเติบโตและต่อยอดธุรกิจให้กบั กลุม่ บริษทั ได้เป็ นอย่างดี ด้วยการน�ำเสนอประสบการณ์ ใหม่ให้กลุม่ คนท�ำงานรุน่ ใหม่ นักท่องเทีย่ วเชิงธุรกิจ และ องค์กรธุรกิจทุกขนาดในประเทศไทยได้สมั ผัสบรรยากาศ การท�ำงานแบบใช้พน้ื ทีร่ ว่ มกัน บนแนวคิดการออกแบบให้ ชีวติ และการท�ำงานให้ไปด้วยกันมากขึน้ โดยแฝงความ สนุกสนาน มีชวี ติ ชีวา มีปฏิสมั พันธ์กนั และกระตุน้ ความคิด สร้างสรรค์ใหม่ ๆ โดยบริษทั วางแผนเชิงรุกในการขยาย สาขาอย่างต่อเนื่องในพืน้ ทีไ่ พร์มโลเคชั ่น เพือ่ ก้าวสูค่ วาม เป็ นผูน้ �ำการให้บริการโคเวิรค์ กิง้ สเปซในประเทศไทยและ อาเซียน ทัง้ นี้ ความร่วมมือกับจัสท์โคนัน้ ถือเป็ นการเพิม่ เติม แพลตฟอร์มการให้บริการออฟฟิ ศแบบทันสมัยครบวงจร ส�ำหรับลูกค้าปั จจุบนั ในกลุ่มอสังหาริมทรัพย์เพื่อการ อุตสาหกรรม อีกทัง้ ยังถือเป็ นอีกก้าวหนึ่งทีส่ ำ� คัญในการ ต่อยอดธุรกิจของไทคอน เพือ่ มุง่ ไปสูแ่ นวทางการยึดลูกค้า เป็ นศูนย์กลาง (Customer-Centric) ในการวางระบบบริหาร จัดการทีต่ อบสนอง เข้าถึงและเสริมสร้างประสบการณ์ทด่ี ใี ห้ กับลูกค้า ผ่านการใช้เทคโนโลยีดา้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิง ลึก การพัฒนาแอพพลิเคชั ่น และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ี

ห้องประชุม พืน้ ทีจ่ ดั อีเวนต์ คาเฟ่ และมุมสันทนาการโดย สมาชิกมีความยืดหยุน่ สามารถท�ำสัญญาเช่ารายเดือน หรือ สัญญาเช่าระยะยาว 1-3 ปี งานระหว่างการพัฒนา

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 สาขาตึกแคปปิ ตอล ทาวเวอร์ ได้ เปิ ดให้บริการเฟส 1 พืน้ ทีโ่ ดยรวมประมาน 1,800 ตาราง เมตร ส่วนเฟส 2 ก�ำลังอยูใ่ นช่วงก่อสร้างและตกแต่งภายใน ซึง่ คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2562 นอกจากนี้ บริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างการด�ำเนินการเพือ่ เตรียม ลงทุนเปิ ดสาขาแห่งที่ 3 ในโครงการสามย่านมิตรทาวน์ บน พืน้ ทีจ่ ำ� นวน 4 ชัน้ รวม 8,000 ตารางเมตร ซึง่ ถือเป็ นสาขาที่ ใหญ่ทส่ี ดุ ในไทย มีกำ� หนดเปิ ดบริการพร้อมกันกับโครงการ สามย่านมิตรทาวน์ก่อสร้างเสร็จภายในปลายปี 2562

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 67

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

67

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

ปัจจัยความเสี่ยง 1. ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจโดยรวม

1.1 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิ จ การเมืองภายในประเทศ ในภาวะทีบ่ รรยากาศการลงทุนในประเทศไทยยังไม่มคี วาม ชัดเจนอันเนื่องมาจากความไม่แน่นอนทางการเมือง ความ ต้องการโรงงานหรือคลังสินค้าให้เช่าก็อาจจะไม่ขยายตัว หรือขยายตัวในอัตราทีต่ ่ำ� กว่าปกติ อย่างไรก็ด ี บริษทั ตระหนักรูใ้ นความเสีย่ งดังกล่าวและได้ดำ� เนินการเพือ่ ช่วย ลดทอนผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ กับบริษทั อาทิเช่น ติดตาม สถานการณ์ของลูกค้าอย่างใกล้ชดิ กระชับความสัมพันธ์กบั ลูกค้าปั จจุบนั อย่างต่อเนื่องและสม�่ำเสมอ และเร่งสร้างความ สัมพันธ์ทด่ี กี บั ลูกค้ารายใหม่ๆ นอกจากนี้บริษทั ยังมีนโยบาย ควบคุ ม ปริ ม าณการก่ อ สร้ า งอาคารโรงงานหรื อ คลังสินค้าใหม่ให้เป็ นไปตามความต้องการของตลาดใน แต่ละช่วงเวลา เพือ่ มิให้มจี ำ� นวนของอาคารและพืน้ ทีใ่ ห้เช่า คงเหลือมากจนเกินไป ทัง้ นี้ บริษทั คาดว่ามาตรการพืน้ ทีร่ ะเบียงเศรษฐกิจภาค ตะวันออก (EEC) ของภาครัฐจะช่วยส่งเสริมภาวะการลงทุน ทางตรงจากต่างประเทศในอนาคต รวมถึงช่วยเพิม่ ปริมาณ ความต้องการโรงงานและคลังสินค้าในประเทศโดยรวมอีก ด้วย 1.2 ความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราดอกเบีย้ บริษทั ประกอบธุรกิจเป็ นผูพ้ ฒ ั นาอสังหาริมทรัพย์เพือ่ ให้เช่า ในการอุตสาหกรรมซึง่ ต้องใช้เงินลงทุนปริมาณสูงในการซือ้ ทีด่ นิ และก่อสร้าง เงินลงทุนส่วนหนึ่งเป็ นเงินกูย้ มื มาจาก สถาบันการเงินและจากการออกหุน้ กูโ้ ดยบริษทั ต้นทุนของ เงินกูย้ มื เหล่านัน้ ก็คอื ดอกเบีย้ ซึง่ ผันผวนไปตามอัตรา ดอกเบีย้ ในตลาดเงิน อย่างไรก็ดี บริษทั มีเพียงหนี้สนิ และ หุน้ กูท้ อ่ี ยูใ่ นสกุลเงินบาทเท่านัน้

2. ความเสีย ่ งของธุรกิจพัฒนาและบริหารอสังหาริมทรัพย์

2.1 ความเสี่ยงจากสัญญาเช่าระยะสัน้ จากการทีส่ ญ ั ญาเช่าโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ส่วนใหญ่ มีอายุ 3 ปี (โดยมีทางเลือกในการต่อสัญญา) จึงอาจท�ำให้ นักลงทุนกังวลว่าบริษทั จะได้รบั ผลกระทบหากลูกค้าไม่ต่อ สัญญาเช่า อย่างไรก็ดี โดยทัวไปเมื ่ อ่ ลูกค้าเริม่ ท�ำการผลิตแล้วมักจะไม่ ย้ายออกจากโรงงานของบริษทั นอกจากนัน้ การทีบ่ ริษทั มี โรงงาน/คลังสินค้าให้เช่าในหลายท�ำเลทีต่ งั ้ อีกทัง้ ผูเ้ ช่าก็เป็ น ผูป้ ระกอบการในธุรกิจทีห่ ลากหลาย และมาจากหลาย ประเทศ จึงเป็ นการกระจายความเสีย่ งของการยกเลิก สัญญาของผูเ้ ช่า นอกจากนัน้ โรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ยังถูกออกแบบมาเป็ นแบบมาตรฐาน และอยูใ่ นพืน้ ทีท่ ไ่ี ด้รบั ความนิยมจากผูเ้ ช่า ดังนัน้ หากมีการยกเลิกสัญญาของ ผูเ้ ช่า บริษทั จะสามารถหาผูเ้ ช่าใหม่ได้ไม่ยาก การทีบ่ ริษทั มีนโยบายควบคุมปริมาณการก่อสร้างอาคารโรงงานหรือ คลังสินค้าใหม่ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ท�ำให้บริษทั สามารถเสนอผูเ้ ช่าเพือ่ ขยายอายุของสัญญาเช่า ให้เกินกว่า 3 ปี ได้อกี ด้วย

ความผันผวนของอัตราดอกเบีย้ จะส่งผลกระทบต่อบริษทั มากทีส่ ดุ หากบริษทั มีภาระหนี้ทต่ี อ้ งช�ำระดอกเบีย้ ในอัตรา ลอยตัว ในปี ทผ่ี า่ นๆมาบริษทั ใช้กลยุทธ์ชำ� ระคืนหนี้ทเ่ี ป็ น เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงินเพือ่ ช่วยลดภาระดอกเบีย้ ซึง่ ส่วนใหญ่มอี ตั ราดอกเบีย้ เป็ นแบบลอยตัว โดยมาใช้วธิ กี าร ออกหุน้ กู้ ซึง่ มีระยะเวลาครบก�ำหนดหลากหลายแตกต่างกัน หุน้ กูส้ ว่ นมากมีอตั ราดอกเบีย้ เป็ นแบบคงที่ เพือ่ บริหารภาระ ดอกเบีย้ ของบริษทั ให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด และเป็ นไปตาม กรอบนโยบายบริหารเงิน (Treasury Policy) ของบริษทั ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีภาระหนี้คงเหลืออยู่ ไม่มาก ซึง่ หมายถึงว่าความเสีย่ งของบริษทั จากการผันผวน ของอัตราดอกเบีย้ ได้ลดลงอย่างมีนยั ส�ำคัญ

2.2 ความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของผูเ้ ช่า

1.3 ความเสี่ยงจากการลงทุนในโครงการในอนาคต

อย่างไรก็ตาม บริษทั เชือ่ ว่าผลกระทบดังกล่าวมีไม่มาก ถึง แม้วา่ ลูกค้าของบริษทั ในกลุม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์/ เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้ า +จะย้า ยออกไปท�ำ การผลิต สิน ค้า ใน ประเทศอืน่ ๆทีม่ อี ตั ราค่าจ้างแรงงานต�่ำกว่าของประเทศไทย

บริษทั มีความเสีย่ งจากการลงทุนในโครงการในอนาคตทีไ่ ม่ ประสบผลส�ำเร็จ ซึง่ อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อรายได้หรือ

68

กระทบความมั ่นคงทางการเงินของบริษทั ในระยะยาว ปั จจุบนั บริษทั มีวธิ กี ารบริหารความเสีย่ งนี้โดยเพิม่ การ พัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้าตามความต้องการ เฉพาะของผูเ้ ช่า (Built-to-Suit) เพิม่ การพัฒนาโรงงาน อุ ต สาหกรรมและคลัง สิน ค้า ซึ่ง ได้ม ีก ารเช่ า ไว้ก่ อ น (Pre-lease) จ�ำกัดขนาดของเงินลงทุนในแต่ละโครงการของ บริษทั มิให้มากจนอาจสร้างความเสียหายให้กบั โครงสร้าง ทางการเงินของบริษท ั ได้ในกรณีท่โี ครงการไม่บรรลุ เป้ าหมาย นอกจากนี้บริษทั ยังควบคุมสัดส่วนของเงินลงทุน ทีใ่ ช้พฒ ั นาอาคารแต่ละประเภทให้เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน กับความต้องการของตลาด และควบคุมสัดส่วนของเงิน ลงทุนในแต่ละจังหวัดไม่ให้เกิดการกระจุกตัวในพืน้ ทีใ่ ดพืน้ ที่ หนึ่งอีกด้วย

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ลูกค้าทีเ่ ช่าโรงงานของบริษทั ร้อยละ 38 เป็ นผูป้ ระกอบการจากประเทศญีป่ นุ่ โดยมี สัดส่วนร้อยละ 34 เป็ นผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนยานยนต์ และร้อยละ 29 เป็ นผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนในกลุม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์/ เครือ่ งใช้ไฟฟ้ า ในขณะทีล่ กู ค้าทีเ่ ช่าคลังสินค้าของบริษทั ร้อยละ 30 เป็ นผูป้ ระกอบการจากประเทศเยอรมนี โดยมี สัดส่วนร้อยละ 54 เป็ นผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ ดังนัน้ หากมี การลดลงของการลงทุนในอุตสาหกรรมดังกล่าว และมีการ ลดลงของการลงทุนจากประเทศญีป่ ุ่ นและจากประเทศ เยอรมนี ก็อาจส่งผลกระทบต่อรายได้ของบริษทั

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 68

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

และมีส ิท ธิป ระโยชน์ ท างการค้ า ระหว่ า งประเทศที่ ประเทศไทยไม่ม ี แต่กไ็ ม่ได้ยา้ ยออกไปเสียทัง้ หมดโดยย้าย เฉพาะสายการผลิตชิน้ ส่วนทีม่ กี ารใช้แรงงานมากเท่านัน้ รัฐบาลไทยมีนโยบายส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศใน อุตสาหกรรมทีม่ กี ารใช้เทคโนโลยีขนสู ั ้ งในการผลิต ให้ผู้ ประกอบการ+ย้ายฐานเข้ามาผลิตสินค้าและบริการใน ประเทศไทย+ซึง่ อุตสาหกรรมเหล่านัน้ จะเข้ามาแทนที่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์/เครือ่ งใช้ไฟฟ้ าทีม่ กี ารใช้แรงงาน ในการผลิตมาก ท�ำให้มคี วามต้องการเช่าโรงงานต่อจาก ลูกค้าในกลุม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์/เครือ่ งใช้ไฟฟ้ า ทีย่ า้ ยออกไป นอกจากนี้ กลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์ยงั เป็ น อุตสาหกรรมทีม่ แี นวโน้มการเติบโตทีด่ ี จากการย้ายฐานการ ผลิตของผูผ้ ลิตรายใหญ่มายังประเทศไทย ส่งผลให้ความ ต้องการชิน้ ส่วนยานยนต์มโี อกาสเติบโตได้อกี นอกจากความเสีย่ งจากการกระจุกตัวของกลุม่ อุตสาหกรรม ทีเ่ ช่าโรงงานแล้ว ธุรกิจผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ เป็ นธุรกิจทีม่ ี สัดส่วนการเช่าคลังสินค้าของบริษทั สูงทีส่ ดุ อย่างไรก็ด ี บริษทั เชือ่ ว่าผลกระทบดังกล่าวจะมีไม่มากเช่นกัน เนื่องจาก บริษทั ในกลุม่ ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์มกี ารให้บริการจัดเก็บ และ/หรือขนส่งสินค้าทีห่ ลากหลายและไม่มคี วามเกีย่ วข้อง กัน ตัวอย่างเช่น ชิน้ ส่วนยานยนต์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้ า ชิน้ ส่วน อิเล็กทรอนิกส์ สินค้าอุปโภค-บริโภค เอกสาร สินค้าเพือ่ สุขภาพและความงาม สารเคมีตา่ งๆ เป็ นต้น ส�ำหรับการลงทุนจากประเทศญีป่ ่ นุ นัน้ ผูป้ ระกอบการจาก ประเทศญีป่ ่ นุ เป็ นผูล้ งทุนอันดับหนื่งในประเทศไทย จึงเป็ น เหตุให้บริษทั ซึง่ มีสว่ นแบ่งการตลาดของโรงงานส�ำเร็จรูปสูง ทีส่ ดุ และเป็ นผูใ้ ห้เช่าคลังสินค้ารายใหญ่ของประเทศ มีลกู ค้า เช่าโรงงานและคลังสินค้าจากประเทศญีป่ ่ นุ มากเป็ นไปตาม สัดส่วน บริษทั มีความเห็นว่าในภูมภิ าคเอเชีย ประเทศไทย ยังคงเป็ นประเทศในล�ำดับต้นๆทีน่ กั ลงทุนมีความสนใจเข้า มาลงทุนจากความได้เปรียบในด้านต้นทุนการผลิต ความ เสีย่ งจากการกระจุกตัวของผูเ้ ช่าทีม่ าจากประเทศญีป่ ่ นุ จึง เป็ นความเสีย่ งทีร่ บั ได้ นอกจากนัน้ การทีโ่ รงงานและคลังสินค้าของบริษทั มีลกั ษณะ ทีเ่ ป็ นมาตรฐานเดียวกัน จึงสามารถรองรับความต้องการใช้ ของผูป้ ระกอบการในทุกอุตสาหกรรมและทุกประเทศ 2.3 ความเสีย่ งจากการที่เรียกเก็บเงินตามสัญญาเช่าไม่ได้ บริษทั มีขนตอนป้ ั้ องกันความเสีย่ งและมาตรการติดตามเรียก เก็บเงินจากผูเ้ ช่า โดยก�ำหนดให้พนักงานในแผนกบัญชี มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบติดตามในเบือ้ งต้น หลังจากนัน้ หากไม่ สามารถติดตามเรียกเก็บเงินค่าเช่าจากลูกค้าได้ แผนกบัญชี จะด�ำเนินการส่งจดหมายทวงถามไปยังลูกค้าเพือ่ ให้ลกู ค้า ท�ำการช�ำระค่าเช่าทีค่ งค้างอยู่ หากลูกค้ายังไม่ชำ� ระค่าเช่าให้ กับบริษทั บริษทั จะมอบหมายให้แผนกกฎหมายด�ำเนินการ ทางคดีกบั ลูกค้าต่อไปโดยส่งจดหมายแจ้งให้ลกู ค้ารับทราบ ด้วย แต่อย่างไรก็ตามทีผ่ า่ นมาบริษทั มีการบริหารจัดการและ ค�ำนึงถึงความสัมพันธ์กบั ผูเ้ ช่าเป็ นอย่างดี กอปรกับมี นโยบายในการคัดเลือกผูเ้ ช่าทีม่ คี ณ ุ ภาพ 2.4 ความเสี่ยงจากการที่โรงงาน/คลังสิ นค้าบางส่วนที่

ว่างอยู่จะไม่มีผเู้ ช่า เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องตัง้ แต่ตน้ ปี 2561 โดยมีแรงขับเคลือ่ นจากอุปสงค์ทงั ้ ในและนอกประเทศ เป็ นผลจากการส่งออกสินค้าและการท่องเทีย่ วทีข่ ยายตัวดี ต่อเนื่องตามปริมาณการค้าโลกและเศรษฐกิจประเทศคูค่ า้ รวมทัง้ การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนทีข่ ยายตัวดีขน้ึ ด้านปริมาณการส่งออกก็มกี ารขยายตัวต่อเนื่องในหลาย หมวดสินค้า โดยเฉพาะ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ชิน้ ส่วน ยานยนต์ และสินค้าเกษตรแปรรูป ซึง่ สอดคล้องกับทิศทาง การเติบโตของปริมาณการค้าโลกและเศรษฐกิจประเทศคูค่ า้ การลงทุนภาคเอกชนมีแนวโน้มขยายตัวเพิม่ ขึน้ ตามการ ขยายตัวของการส่งออกสินค้าและการบริโภคในภาคเอกชน ซึง่ สะท้อนมาจาก (1) อัตราการใช้กำ� ลังการผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ ใน หลายอุตสาหกรรม อาทิ ยานยนต์ อาหารและเครือ่ งดืม่ (2) ปริมาณการน�ำเข้าสินค้าทุนและเครือ่ งจักรทีเ่ พิม่ มากขึน้ (3) ความต้องการสินเชือ่ ภาคธุรกิจทีส่ งู ขึน้ (4) แผนการ ลงทุนของบริษทั ขนาดใหญ่ทช่ี ดั เจนมากขึน้ (5) มาตรการ ช่วยเหลือผูม้ รี ายได้น้อยของภาครัฐ เช่น โครงการส่งเสริม วิสาหกิจชุมชนและโครงการปฏิรปู การเกษตร และ (6) มูลค่า การขอรับการส่งเสริมการลงทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ ต่อเนื่อง กอปรกับ โครงการลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานของภาครัฐ โครงการ EEC (Eastern Economic Corridor) และโครงการ+PPP (public-private partnership) ทีม่ คี วามชัดเจนมากขึน้ ซึง่ จะ ช่ ว ยเพิ่ม ความเชื่อ มั ่นให้ก ับ ภาคธุ ร กิจ และส่ ง เสริม บรรยากาศการลงทุน และอาจช่วยดึงดูดการลงทุนจากต่าง ประเทศเข้ามาทีป่ ระเทศไทยมากขึน้ จากการทีบ่ ริษทั มีโรงงาน/คลังสินค้าตัง้ อยูใ่ นท�ำเลทีต่ งั ้ ที่ หลากหลาย ท�ำให้บริษทั สามารถรองรับความต้องการของ ลูกค้าหลายประเภท ไม่วา่ จะเป็ นลูกค้าทีป่ ระกอบการใน อุตสาหกรรมใด ผลิตสินค้าเพือ่ ท�ำตลาดภายในหรือต่าง ประเทศ ทัง้ ทีเ่ ป็ นลูกค้าเดิมหรือทีเ่ ป็ นลูกค้าใหม่ ดังนัน้ บริษทั จะยังคงสามารถบริหารจัดการให้โรงงาน/คลังสินค้า บางส่วนทีว่ า่ งอยูข่ องบริษทั เป็ นทีส่ นใจของผูเ้ ช่าได้ต่อไป ซึง่ บริษทั มีพน้ื ทีโ่ รงงาน/คลังสินค้าให้เช่าตลอดจนทีด่ นิ เปล่า รอการพัฒนาในพืน้ ที่ EEC อยูจ่ ำ� นวนหนึ่ง 2.5 ความเสี่ยงจากการพึ่งพิ งผูร้ บั เหมาก่อสร้างน้ อยราย การว่าจ้างผูร้ บั เหมาก่อสร้างจ�ำนวนน้อยรายให้ทำ� การ ก่อสร้างอาคารโรงงานหรือคลังสินค้าให้กบั บริษทั มีความ เสีย่ ง เนื่องจากหากผูร้ บั เหมาก่อสร้างรายหนึ่งรายใดทีร่ บั งานเป็ นจ�ำนวนมากจากบริษทั เกิดประสบปั ญหาซึง่ อาจ ท�ำให้การก่อสร้างเป็ นไปโดยล่าช้ากว่าทีก่ ำ� หนดหรือท�ำให้ การก่อสร้างไม่แล้วเสร็จจะส่งผลกระทบทีร่ นุ แรงต่อบริษทั ได้ การก่อสร้างอาคารโรงงานหรือคลังสินค้าในหลายกรณี จ�ำเป็ นทีจ่ ะต้องว่าจ้างผูร้ บั เหมาทีม่ คี วามรู้ มีประสบการณ์ และมีเทคโนโลยีเฉพาะเพือ่ ใช้ในการก่อสร้างอาคารทีม่ ี คุณลักษณะพิเศษซึง่ แตกต่างไปจากอาคารหลังอืน่ ๆ ท�ำให้ ผูร้ บั เหมาก่อสร้างบางรายได้รบั การว่าจ้างให้ก่อสร้างอาคาร ในจ�ำนวนทีม่ ากกว่าผูร้ บั เหมาก่อสร้างรายอืน่ ๆ ซึง่ เป็ นเรือ่ ง ทีจ่ ำ� เป็ นส�ำหรับธุรกิจของบริษทั อย่างไรก็ตาม บริษทั The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 69

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

69

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

ตระหนักดีถงึ ความเสีย่ งจากการทีผ่ รู้ บั เหมาก่อสร้างอาจ ประสบปั ญหาอันจะมีผลกระทบต่อบริษทั ได้ จึงได้กำ� หนดให้ บริษทั ต้องไม่วา่ จ้างให้ผรู้ บั เหมาก่อสร้างรายหนึ่งรายใด รับงานก่อสร้างมูลค่าสูง (ตัง้ แต่ 200 ล้านบาทขึน้ ไป) จากบริษทั จนมีมลู ค่าของงานทีอ่ ยูใ่ นมือสูงเกินกว่าร้อยละ 50 ของมูลค่างานก่อสร้างทีย่ งั ไม่แล้วเสร็จ (Work to Complete) ทัง้ หมดของบริษทั

ในสัดส่วนร้อยละ 25 ของบริษทร่วม PT SLP Surya TICON Internusa ผ่านบริษทั ย่อยในฮ่องกงซึง่ ได้แก่ Ticon (HK) Limited เพือ่ พัฒนาโรงงานและคลังสินค้าให้เช่าในประเทศ อินโดนีเซีย การลงทุนดังกล่าวท�ำให้บริษทั มีสนิ ทรัพย์ใน สกุลเงินต่างประเทศ บริษทั ร่วมซึง่ จดทะเบียนในประเทศ อินโดนีเซียมีทนุ จดทะเบียน ณ วันที่ 18 มกราคม 2561 คิด เป็ นมูลค่า 2,412.8 ล้านรูเปี ยห์

2.6 ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ และอุบตั ิ ภยั

บริษทั ร่วมในประเทศอินโดนีเซียจะท�ำการก่อสร้างโรงงาน/ คลังสินค้าพร้อมให้เช่าโดยเฉลีย่ ปี ละ 50,000 - 51,000 ตารางเมตร และจะชะลอการก่อสร้างหากมีโรงงาน/ คลังสินค้าทีส่ ร้างเสร็จพร้อมให้เช่ามากกว่าจ�ำนวนทีล่ กู ค้า ต้องการ ทัง้ นี้เพือ่ ลดความเสีย่ งจากการไม่มผี เู้ ช่าโรงงาน/ คลังสินค้าทีอ่ ยูใ่ นประเทศอินโดนีเซียอันเนื่องมาจากการ ชะลอตัวทางเศรษฐกิจของประเทศนัน้

ในปี 2554 บริษทั ได้รบั ผลกระทบจากการเกิดอุทกภัยใน พืน้ ทีจ่ งั หวัดพระนครศรีอยุธยา และปทุมธานี โดยอาคาร โรงงานและคลังสินค้าเพือ่ ให้เช่าทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีด่ งั กล่าวได้รบั ความเสียหาย ส่งผลให้ผเู้ ช่าต้องหยุดการด�ำเนินธุรกิจ และ ไม่สามารถช�ำระค่าเช่าให้แก่บริษทั รวมทัง้ ผูเ้ ช่าได้มกี าร ยกเลิกสัญญาเช่าเป็ นจ�ำนวนมากและต่อเนื่องกันมาหลังจาก นัน้ หลายปี ทัง้ นี้เหตุอุทกภัยอาจท�ำให้นกั ลงทุนมีความกังวล ว่าบริษทั มีความเสีย่ งทีจ่ ะเผชิญกับเหตุอุทกภัยได้อกี ใน อนาคต อันจะส่งผลให้บริษทั มีอาคารโรงงานว่างเป็ นระยะ เวลาหนึ่ง บริษทั ได้มกี ารท�ำประกันภัยคุม้ ครองความเสียหายทีเ่ กิดกับ ทรัพย์สนิ รวมทัง้ การประกันรายได้จากกรณีธรุ กิจหยุดชะงัก (Business+Interruption)+เพือ่ ลดผลกระทบหากเกิดเหตุ การณ์ดงั กล่าวขึน้ อีก ซึง่ แม้บริษทั จะต้องช�ำระค่าเบีย้ ประกัน ภัยในอัตราทีส่ งู ขึน้ จากเดิม แต่บริษทั สามารถเรียกเก็บค่า เบีย้ ประกันภัยจากผูเ้ ช่าทีเ่ ช่าโรงงานหรือคลังสินค้าของ บริษทั ได้ ซึง่ ในปั จจุบนั ค่าเบีย้ ประกันภัยดังกล่าวได้ปรับลด มาอยู่ ใ นระดับ ปกติแ ล้ว +นอกจากนั น้ ผู้พ ฒ ั นานิ ค ม อุตสาหกรรมรวมทัง้ เขตอุตสาหกรรม (Logistics Park) ของ บริษทั ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดพระนครศรีอยุธยา และปทุมธานี ได้ สร้างแนวคอนกรีตป้ องกันน�้ำเพิม่ โดยแนวป้ องกันน�้ำดัง กล่าวจะสามารถช่วยปกป้ องทรัพย์สนิ ทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีไ่ ด้ 3. ความเสี่ยงของธุรกิจลงทุน พัฒนาและบริหาร อสังหาริมทรัพย์

3.1 ความเสี่ยงจากการลงทุนในต่างประเทศ ปั จจุบนั บริษทั มีการลงทุนในต่างประเทศ ดังนัน้ จึงมีความ เสีย่ งทีเ่ กิดจากการผันผวนของเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 เมือ่ เปรียบเทียบสัดส่วนของเงินลงทุนที่ เป็ นสกุลเงินต่างประเทศกับสินทรัพย์รวมของบริษทั แล้ว ถือว่าอยูใ่ นระดับต�่ำ คือประมาณ 1.3%

70

ส�ำหรับความเสีย่ งจากผูร้ ว่ มลงทุนในต่างประเทศ ปั จจุบนั บริษทั ควบคุมความเสีย่ งนี้โดยวิธคี ดั เลือกผูร้ ว่ มลงทุนทีม่ ี ประสบการณ์ ความพร้อม ความน่าเชือ่ ถือ และมีจริยธรรม ในการท�ำธุรกิจเป็ นทีย่ อมรับของตลาดทีบ่ ริษทั มีความสนใจ ต้องการจะเข้าไปลงทุน บริษทั ยังมีกระบวนการคัดเลือก ผูร้ ว่ มลงทุนในต่างประเทศทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับความสัมพันธ์ ระยะยาวด้วย ทัง้ นี้เพือ่ ท�ำความรูจ้ กั ตระหนัก และเข้าใจใน ผูร้ ว่ มลงทุนแต่ละรายก่อนทีจ่ ะตกลงท�ำการลงทุนร่วมกัน 3.2 ความเสี่ยงจากการท�ำธุรกิ จแข่งขันกับกองทรัสต์ นอกจากบริษัท แล้ว ยัง มีก องทรัส ต์เ พื่อ การลงทุ น ใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (หรือ TREIT) ทีป่ ระกอบธุรกิจให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ ประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้าเหมือนกันกับ บริษทั นักลงทุนอาจเกิดความรูส้ กึ กังวลว่าจะมีการแข่งขัน กันทางธุรกิจะหว่างบริษทั กับกองทรัสต์ฯเพือ่ ช่วงชิงผูเ้ ช่า และรายได้คา่ เช่า บริษทั ได้รบั การว่าจ้างจากกองทรัสต์ฯให้เป็ นผูบ้ ริหาร อสังหาริมทรัพย์ (Property Manager) โดยมีหน้าทีใ่ นการหา ผูเ้ ช่าใหม่ตลอดจนให้บริการต่างๆแก่ผเู้ ช่า ไม่ต่างจากที่ บริษทั ได้กระท�ำอยูแ่ ล้วกับอสังหาริมทรัพย์ของบริษทั เอง การที่บริษทั ได้รบั การว่าจ้างดังกล่าวจากกองทรัสต์ฯ เป็ นการขยายขีดความสามารถในการแข่งขันให้กบั บริษทั และกองทรัสต์ฯจากปริมาณทีเ่ พิม่ ขึน้ ของอสังหาริมทรัพย์ท่ี บริษทั เป็ นผูบ้ ริหาร ซึง่ ท�ำให้มโี อกาสเพิม่ ขึน้ ในทางธุรกิจ มากกว่าทีจ่ ะเป็ นการสร้างการแข่งขันระหว่างกัน

การลงทุนระยะยาวในต่างประเทศ บริษทั มีนโยบายการ ติดตามความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นอย่างต่อเนื่อง โดยประเมินเปรียบเทียบความคุม้ ค่าของต้นทุนของการใช้ เครือ่ งมือทางการเงินเพือ่ ป้ องกันความเสีย่ งของอัตราแลก เปลีย่ น กับ แนวโน้มและทิศทางของอัตราแลกเปลีย่ นอย่าง ต่อเนื่อง เพือ่ จะปิ ดความเสีย่ งจากความผันผวนของเงินตรา ต่างประเทศ

3.3 ความเสี่ยงจากการลงทุนในธุรกิ จใหม่

ในปี 2558 บริษทั ท�ำการลงทุนในต่างประเทศโดยเข้าถือหุน้

บริษทั ไทคอน เทคโนโลยี จ�ำกัด ได้รว่ มทุนกับ เอสที เทเล

ในปี 2561 บริษทั ได้จดั ตัง้ บริษทั ไทคอน เทคโนโลยี จ�ำกัด (TICON Technology) เพือ่ ประกอบธุรกิจ Data Centre ให้ บริการด้านการจัดเก็บข้อมูลทีท่ นั สมัย และปลอดภัย ใน มาตรฐานระดับสากล รองรับความต้องการของผูป้ ระกอบ การขนาดใหญ่ทงั ้ ในประเทศและต่างประเทศ

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 70

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

มีเดีย โกลบอล ดาต้าเซ็นเตอร์ หรือเอสทีที จีดซี ี (STTelemedia Global Data Centres - STT GDC) พันธมิตรระดับโลกทีม่ คี วาม เชีย่ วชาญในธุรกิจดาต้าเซ็นเตอร์จากประเทศสิงคโปร์ เพือ่ รุกธุรกิจดาต้าเซ็นเตอร์ในประเทศไทย บริษทั มีแผนการทีจ่ ะน�ำเอาเทคโนโลยี ความรู้ ความเชีย่ วชาญของทัง้ สองบริษทั มาใช้พฒ ั นาดาต้าเซ็นเตอร์ขนาดใหญ่แห่งแรกบนพืน้ ทีย่ ทุ ธศาสตร์ใจกลางกรุงเทพมหานคร โดยคาดว่าจะพัฒนาแล้วเสร็จพร้อมให้บริการได้ภายในปี 2563 นอกจากนี้บริษทั ยังได้ลงทุนร่วมกับบริษทั JustCo (Thailand 2) Pte. Ltd. พันธมิตรจากประเทศสิงคโปร์ ผูใ้ ห้บริการโคเวิรก์ กิง้ สเปซ (Co-working space) ระดับพรีเมีย่ มอันดับหนึ่งในภูมภิ าคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ซึง่ จัสท์โคมีความเชีย่ วชาญ ทัง้ ด้านการ วิเคราะห์ขอ้ มูล เทคโนโลยีเกีย่ วกับสถานทีท่ ำ� งาน และการบริหารจัดการกลุม่ ลูกค้าสมาชิก การจัดตัง้ บริษทั จัสท์โค (ประเทศไทย) จ�ำกัด เพือ่ ประกอบธุรกิจ Co-working office ซึง่ ปั จจุบนั เปิ ดด�ำเนินการแล้ว 2 สาขาในพืน้ ทีศ่ นู ย์กลางธุรกิจ โดยสาขาแรกตัง้ อยูท่ ่ี อาคาร เอไอเอ สาทร ทาวเวอร์ ถนนสาทรใต้ และสาขาทีส่ องอยูท่ ่ี อาคาร แคปปิ ตอลทาวเวอร์ ใน ออล ซีซนส์ ั ่ เพลส ถนนวิทยุ หลัง จากประสบความส�ำเร็จในการเปิ ดให้บริการทัง้ 2 สาขา บริษทั มีแผนจะเปิ ดสาขาเพิม่ โดยมีเป้ าหมายทีจ่ ะเปิ ดให้บริการในช่วง ไตรมาสที่ 4 ของปี 2562 ส�ำหรับความเสีย่ งจากการลงทุนในธุรกิจใหม่ ไม่วา่ จะเป็ นการเป็ นผูเ้ ล่นรายใหม่ การแข่งขันจากผูเ้ ล่นรายเดิมในตลาด ตลอดจนการ เข้าใจถึงความต้องการของลูกค้าในสินค้าและบริการ ปั จจุบนั บริษทั ควบคุมความเสีย่ งเหล่านี้โดยวิธวี เิ คราะห์อตั ราการเติบโตของ ธุรกิจใหม่ โอกาสในการขยายธุรกิจของบริษทั รวมถึงวิธคี ดั เลือกผูร้ ว่ มลงทุนทีม่ ปี ระสบการณ์ ความเชีย่ วชาญ ความพร้อม ความ น่าเชือ่ ถือ และมีจริยธรรมในการท�ำธุรกิจเป็ นทีย่ อมรับของตลาดในระดับภูมภิ าคเอเซีย หรือระดับโลก บริษทั ยังมีกระบวนการ คัดเลือกผูร้ ว่ มลงทุนจากต่างประเทศโดยให้ความส�ำคัญกับความสัมพันธ์ระยะยาวด้วย ทัง้ นี้เพือ่ ท�ำความรูจ้ กั ตระหนัก และเข้าใจใน ผูร้ ว่ มลงทุนแต่ละรายก่อนทีจ่ ะตกลงท�ำการลงทุนร่วมกัน

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 71

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

71

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) คณะกรรมการบริษทั มีความมุง่ มั ่นให้การด�ำเนินธุรกิจของ บริษทั และบริษทั ย่อยเติบโตอย่างยั ่งยืน จึงมีนโยบายให้ ด�ำเนินธุรกิจของบริษทั และบริษทั ย่อยควบคูไ่ ปกับความ รับผิดชอบต่อสังคม สิง่ แวดล้อม และกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียภาย ใต้หลักการส�ำคัญตามแนวทางทีต่ ลาดหลักทรัพย์มกี ารเผยแพร่ รวมถึงวัฒนธรรมองค์กรซึง่ ก�ำหนดสมรรถนะหลัก ทักษะ และคุณลักษณะทีท่ กุ คนในองค์กรจ�ำเป็ นต้องมีเป็ นพืน้ ฐานที่ จะน�ำองค์กรไปสูว่ สิ ยั ทัศน์ทก่ี ำ� หนดไว้ ประกอบไปด้วยผิด ชอบต่อสังคม สิง่ แวดล้อม และกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียภาย ใต้หลักการส�ำคัญตามแนวทางทีต่ ลาดหลักทรัพย์มกี ารเผย แพร่ รวมถึงวัฒนธรรมองค์กรซึง่ ก�ำหนดสมรรถนะหลัก ทักษะและคุณลักษณะทีท่ กุ คนในองค์กรจ�ำเป็ นต้องมีเป็ นพืน้ ฐานทีจ่ ะน�ำองค์กรไปสูว่ สิ ยั ทัศน์ทก่ี ำ� หนดไว้ ประกอบไป ด้วย Core Compretency

CO-CREATE (CO) การร่วมสร้างสรรค์ กล่าวคือ การ ท�ำงานร่วมกันอย่างมีเป้ าหมายในการสร้างคุณค่าให้แก่ ธุรกิจ ไม่วา่ จะเป็ นการท�ำงานร่วมกับลูกค้า คูค่ า้ และเพือ่ น

การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม

เพือ่ การด�ำเนินธุรกิจด้วยความเป็ นธรรม บริษทั จึงได้ ประมวลแบบแผนก�ำหนดขอบเขตมาตรฐานความประพฤติ ของบุคลากรทีพ่ งึ กระท�ำในการด�ำเนินธุรกิจและการปฏิบตั ิ งานในวิถที างภายใต้กรอบคุณธรรม ในวิถที ส่ี ร้างสรรค์ เสมอภาคและเท่าเทียมกัน เพือ่ สร้างรากฐานและรักษา ภาพพจน์ของบริษทั ให้เป็ นบริษทั ทีม่ กี ารเติบโตอย่างยั ่งยืน ไว้ในคูม่ อื มาตรฐานทางจริยธรรมและจรรยาบรรณในการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษทั (Code of Conduct) โดยค�ำนึงถึง ความรับผิดชอบต่อสังคมโดยรวมและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ตัง้ แต่ผถู้ อื หุน้ คูค่ า้ คูส่ ญ ั ญารับจ้าง ลูกค้า และคูแ่ ข่ง ให้ได้ เข้าร่วมเกีย่ วข้องในธุรกรรมอย่างเสรี สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ เหมาะสมไม่ปกปิ ดหรือบิดเบือนข้อมูล รวมทัง้ ปฏิบตั ติ ามข้อ กฎหมายและข้อก�ำหนดทีเ่ กีย่ วข้องอย่างเคร่งครัด แนวทางในการปฏิบัติ

• ด้านการปฏิบตั ติ ่อคูค่ า้ อย่างเสมอภาคบนพืน้ ฐานของการ แข่งขันทีเ่ ป็ นธรรม โปร่งใสและเท่าเทียม ทัง้ ระหว่างคูค่ า้ เอง และระหว่างคูค่ า้ กับบริษทั บริษทั ย่อย หรือบริษทั ร่วม การ ปฏิบตั ติ ามข้อสัญญาอย่างเคร่งครัด ไม่เรียกรับประโยชน์ จากคูค่ า้

72

ร่วมงาน โดยร่วมกันคิดสร้างสรรค์ แก้ปัญหา การพัฒนา ปรับปรุง เพิม่ ประสิทธิภาพหรือคิดค้นสิง่ ใหม่ๆ RESILIENT (RE) สามารถรับมือกับการเปลีย่ นแปลง กล่าว คือ มีความยืดหยุน่ ยอมรับการเปลีย่ นแปลง รูจ้ กั ปรับเปลีย่ น พฤติกรรมหรือวิธกี ารท�ำงาน เพือ่ ให้เกิดผลส�ำเร็จ รวมถึงมี ส่วนร่วมในการขับเคลือ่ นและกระตุน้ ตนเอง และคนรอบข้าง ให้เกิดการเปลีย่ นแปลง พร้อมทัง้ สามารถน�ำเทคโนโลยี ทันสมัยมาประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์ STRIVE FOR RESULTS (S®) กล่าวคือ มีเป้ าหมายที่ ชัดเจนในการท�ำงาน และมุง่ มั ่นผลักดันให้เกิดผลส�ำเร็จ รับผิดชอบต่อผลลัพธ์ทเ่ี กิดขึน้ ชอบท้าทายตนเองและ ไม่ยอมแพ้ต่อปั ญหาและอุปสรรค

• ด้านการจัดซือ้ จัดหา อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใสและ สามารถตรวจสอบได้ รวมถึงสามารถรักษาภาพพจน์ทด่ี ขี อง บริษทั ไว้อย่างต่อเนื่อง จึงก�ำหนดให้ปฏิบตั ติ ามนโยบาย จัดซือ้ จัดจ้าง ซึง่ ก�ำหนดแนวทางของการป้ องกันความไม่ ยุตธิ รรมทีอ่ าจเกิดขึน้ ในกระบวนการจัดซือ้ จัดหาและการ ปฏิบตั ติ นต่อผูค้ า้ รวมถึงการละเว้นการปฏิบตั ทิ จ่ี ะเป็ นการ ฝ่ าฝืนนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ • ด้านความเกีย่ วข้องทางการเมืองอย่างมีความรับผิดชอบ บริษทั เป็ นองค์กรทีเ่ ป็ นกลางทางการเมืองและยึดมั ่นใน ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข โดย บริษทั จะไม่อนุ ญาตให้น�ำตราหรือสัญลักษณ์ของบริษทั ไป สนับสนุ นกิจกรรมทางการเมืองไม่วา่ ทางตรงหรือทางอ้อม แต่บุคลากรยังสามารถใช้สทิ ธิทางการเมืองของตนได้ตาม ครรลองของกฎหมาย • ด้านการเคารพต่อสิทธิในทรัพย์สนิ หรือทรัพย์สนิ ทาง ปั ญญา เพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านเป็ นไปอย่างราบรืน่ ไม่กระทบ ต่ อ สิท ธิ ์ของบุ ค คลอื่น จึง ก�ำ กับ ให้ป ฏิบ ตั ิง านและใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างรอบคอบ ระมัดระวัง เคารพลิขสิทธิ ์ของเจ้าของทรัพย์สนิ ทางปั ญญา การรักษาความลับทางการค้า การไม่เผยแพร่ขอ้ มูลทีไ่ ม่ เหมาะสมในทางศีลธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณี หรือกฎหมาย

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 72

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

• การจัดให้มกี ารสือ่ สารและฝึกอบรมแก่บุคลากรของบริษทั เพือ่ ให้เกิดความรูค้ วามเข้าใจอย่างแท้จริงเกีย่ วกับมาตรการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ • การสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ทีจ่ ดั ขึน้ โดยหน่วยงานหรือ องค์กรต่าง ๆ เพือ่ ประโยชน์ในการป้ องกันและสนับสนุนการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

คณะกรรมการบริษทั ยึดมั ่นในการด�ำเนินธุรกิจด้วยความ โปร่งใส และตระหนักดีวา่ การทุจริตคอร์รปั ชั ่นเป็ นเรือ่ งใกล้ ตัวทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกรรมกับคูค่ า้ ความ สามารถในการแข่งขัน ศักยภาพในการพัฒนานวัตกรรม การพัฒนาระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั ่นคงของ ประเทศ จึงสนับสนุนการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชั ่น โดย บริษทั ได้รบั การรับรองเป็ นสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาค เอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Thailand’s Private Sector Collective Active Coalition Against Corruption Council : CAC) เมือ่ วันที่ 18 สิงหาคม 2560 และก�ำหนดไว้ เป็ นส่วนหนึ่งของจริยธรรมและจรรยาบรรณในการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษทั (Code of Conduct) และได้ก�ำหนดให้ม ี นโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ (Anti Corruption Policy) เพือ่ บุคลากรของบริษทั รวมถึงบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมได้ ถือปฏิบตั ิ ภายใต้การก�ำกับดูแลของคณะกรรมการของ บริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และฝ่ ายจัดการ หรือผูบ้ ริหาร

บริษทั ได้จดั ให้มกี ารปฐมนิเทศให้แก่พนักงานใหม่พร้อม คูม่ อื การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี มาตรฐานทางจริยธรรมและ จรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจ ซึง่ หมายรวมถึงมาตรการ และนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ เพือ่ ให้เข้าใจความ หมาย บทบาทหน้าที่ และยึดถือปฏิบตั ิ ทัง้ ยังได้จดั สัมมนา หัวข้อ+“บทบาทหน้าทีข่ องสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ อง ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต” ขึน้ เมือ่ วันจันทร์ท่ี 27 สิงหาคม พ.ศ.2561 โดยได้รบั เกียรติจากสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย(IOD) จัดส่งวิทยากรมาบรรยาย เพือ่ เป็ นการทบทวนความรูค้ วามเข้าใจบทบาทหน้าทีใ่ น ฐานะสมาชิก+“แนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยใน การต่อต้านทุจริต : Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC)” เสริมสร้าง ความตระหนักรูเ้ กีย่ วกับบทบาทหน้าทีข่ องบุคลกร รวมถึง ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกลุม่ ต่างๆ ระบุความเสีย่ งและโอกาสทีจ่ ะ เกิดการทุจริตคอร์รปั ชั ่นในขัน้ ตอนกระบวนการปฏิบตั งิ าน และช่วยวัดผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายและมาตรการต่อต้าน ทุจริตคอร์รปั ชั ่น รวมถึงนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี นอกจากนี้ บริษทั ยังได้เผยแพร่ภาพวีดทิ ศั น์เพือ่ ให้พนักงาน ทุกคนได้เข้าชมเพือ่ เป็ นส่วนหนึ่งของการสร้างวัฒนธรรม องค์กรทีป่ ราศจากคอร์รปั ชัน่

แนวทางในการปฏิบัติ

• การสนับสนุ นการสร้างจิตส�ำนึกและค่านิยม ทัศนคติให้ บุคลากรปฏิบตั งิ านอย่างซื่อสัตย์ โปร่งใส เทีย่ งตรง เคารพ กฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ การต่อต้านสนับสนุนคอร์รปั ชัน่ ให้เป็ นวัฒนธรรมองค์กร • ก�ำหนดให้บุคลากรต้องไม่กระท�ำการใด ๆ อันเป็ นการ เรียกร้อง หรือรับทรัพย์สนิ หรือผลประโยชน์อ่นื ใดจากบุคคล อืน่ ทีม่ หี น้าทีห่ รือธุรกิจเกีย่ วข้องกับบริษทั เว้นแต่ในโอกาส หรือเทศกาลอันเป็ นประเพณีนิยม และทรัพย์สนิ นัน้ ต้อง ไม่ใช่สงิ่ ผิดกฎหมาย รวมทัง้ ไม่อาศัยต�ำแหน่งหน้าทีห่ รือ แสวงหาผลประโยชน์เพือ่ ตนเอง และ/หรือผูอ้ น่ื โดยมิชอบ • การจัดให้มกี ระบวนการตรวจสอบระบบขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ งาน รวมถึงการประเมินความเสีย่ งต่อการเกิดคอร์รปั ชั ่น และบริหารจัดการให้มวี ธิ กี ารแก้ไขทีเ่ หมาะสม • การจัดให้มรี ะบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอและเหมาะสม รวมทัง้ พัฒนาระบบและกลไกในการตรวจสอบ ควบคุม และ ถ่วงดุลการใช้อำ� นาจให้เหมาะสม ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ เพือ่ ป้ องกันและมิให้มกี ารทุจริตหรือมีสว่ นเกีย่ วข้องกับการ ทุจริตคอร์รปั ชัน่

การเคารพสิทธิมนุษยชน

บริษทั ตระหนักถึงการเคารพต่อความเป็ นมนุษย์ของทุกคน เพราะทรัพยากรบุคคลเป็ นปั จจัยส�ำคัญทีส่ ามารถสร้างมูลค่า เพิม่ ผลผลิต การแข่งขัน ความน่าเชือ่ ถือและยกย่อง ซึง่ เป็ น รากฐานในการพัฒนาทรัพยากรด้านต่างๆ จึงมีแนวทางส่ง เสริมการปฏิบตั ติ ามหลักการด้านสิทธิมนุษยชนซึง่ เป็ นสิทธิ พืน้ ฐานทีม่ มี าแต่กำ� เนิด ไม่วา่ จะสัญชาติ เชือ้ ชาติเผ่าพันธุ์ สี ผิว ศาสนา ภาษา สถานะทางสังคม กฎหมาย ขนบธรรมเนียม ประเพณีทอ้ งถิน่ หรือประเทศใดทีเ่ ข้าไปลงทุนหรือข้องเกีย่ ว รวมถึงปฏิบตั ติ ามหลักสิทธิมนุษยชนสากล

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 73

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

73

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

แนวทางในการปฏิบัติ

• ให้บุคลากรของบริษทั ท�ำความเข้าใจกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง กับหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของตนโดยตรงให้ถถ่ี ว้ น และ ปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัดและในกรณีทต่ี อ้ งไปปฏิบตั งิ านใน ต่างประเทศ ควรศึกษากฎหมาย ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของประเทศปลายทางก่อน รวมถึงต้องปฏิบตั ิ ตามหลักสิทธิมนุ ษยชนสากล และไม่สนับสนุ นกิจการที่ ละเมิดหลักสิทธิมนุษยชน • ก�ำหนดให้มนี โยบายการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนการ ทุจริตคอร์รปั ชัน่ รวมถึงมาตรการคุม้ ครองผูแ้ จ้งเบาะแสหรือ ผูร้ อ้ งเรียน กรณีมขี อ้ สงสัยหรือข้อข้องใจเมือ่ พบพฤติกรรม ไม่เหมาะสมหรือขัดต่อกฎหมายหรือมาตรฐานทางจริยธรรม และจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจ เพือ่ ป้ องกันการปฏิบตั ิ โดยไม่เป็ นธรรม โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัย และความเสีย หายของผูร้ ายงาน แหล่งทีม่ าของข้อมูล หรือบุคคลที่ เกีย่ วข้อง อันเนื่องมาจากสาเหตุแห่งการแจ้งเบาะแสเกีย่ ว กับการท�ำผิดกฎหมายหรือการผิดจรรยาบรรณ

การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม

บริษทั ให้ความส�ำคัญในการปฏิบตั ติ ่อพนักงานอย่างเป็ น ธรรม เนื่องจากเป็ นทรัพยากรส�ำคัญซึง่ การปฏิบตั งิ านต่างๆ ต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ก�ำลังกาย และก�ำลังใจใน การท�ำงานให้บรรลุเป้ าหมาย จึงสนับสนุ นให้มกี ารบริหาร จัดการต่อพนักงานอย่างเป็ นธรรมควบคูไ่ ปกับการเติบโต ทางธุรกิจเพือ่ การพัฒนาไปสูค่ วามยั ่งยืน โดยการไม่ใช้ แรงงานเด็ก ไม่ใช้แรงงานบังคับ การให้ความคุม้ ครองทาง สังคมและสภาพการท�ำงาน การให้ความคุม้ ครองสุขภาพ และความปลอดภัยในการท�ำงาน การดูแลทัง้ ในเรือ่ งการให้ โอกาส ผลตอบแทนและสวัสดิการ การแต่งตัง้ โยกย้าย และ การพัฒนาศักยภาพของพนักงานอย่างทัวถึ ่ ง แนวทางในการปฏิบัติ

• การจัดให้มเี งือ่ นไขการจ้างทีเ่ ป็ นธรรม การให้คา่ ตอบแทน ทีเ่ หมาะสมตามศักยภาพ หรือตามข้อตกลงการจ้างและตาม มาตรฐานอุตสาหกรรมหรือมาตรฐานการครองชีพทีค่ วรจะ เป็ นทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว รวมถึงสวัสดิการค่ารักษา พยาบาล กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ โบนัสตามผลการปฏิบตั ิ งานของพนักงานและผลประกอบการของบริษทั เสือ้ ยูนิฟอร์ม เป็ นต้น

74

•+การพิจารณาจ้างหรือเลิกจ้างโดยผ่านกระบวนการ พิจารณาและตัดสินใจตามขัน้ ตอนทีก่ ำ� หนดไว้อย่างเหมาะ สมไม่ขน้ึ อยูก่ บั บุคคลใดบุคคลหนึ่งเพียงคนเดียวหรือการ เลือกปฏิบตั ิ • การพัฒนาพนักงานเพือ่ ฝึกฝนทักษะและเพิม่ พูนศักยภาพ เพือ่ สร้างโอกาสในการเรียนรูแ้ ละความก้าวหน้า การเลือ่ น ต�ำแหน่งเมือ่ มีโอกาสเหมาะสม • การสนับสนุ นสิง่ อ�ำนวยความสะดวกในการท�ำงานตาม ความเหมาะสม เพือ่ ให้พนักงานท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิผล • การให้โอกาสพนักงานในการเข้าถึงหรือรับทราบข้อมูลที่ ส�ำคัญเกีย่ วกับผลการด�ำเนินการ ทิศทางการด�ำเนินกิจการ รวมถึงจัดให้มสี อ่ื ช่องทางต่างๆ เพือ่ การมีสว่ นร่วมน�ำเสนอ ข้อคิดเห็นโดยปราศจากการแทรกแซง บริษทั ให้ความส�ำคัญในการมีสว่ นร่วมพัฒนาองค์กร ใส่ใจ ในความเป็ นอยูแ่ ละสภาพแวดล้อมในทีท่ ำ� งาน จึงจัดให้ม ี ช่องทางในการสือ่ สาร ประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลข่าวสารทีเ่ ป็ น ประโยชน์ต่อพนักงาน เช่น ป้ ายประชาสัมพันธ์ภาพ เคลือ่ นไหว หรือการเผยแพร่ขอ้ มูลผ่านทางแอพพลิเคชั ่น โทรศัพท์เคลือ่ นที่ และส่งเสริมการสรรค์สร้างกิจกรรมร่วม กันโดยเปิ ดโอกาสให้มกี ารจัดตัง้ ชมรม อาทิ แบดมินตัน ฟุตบอล และจิตอาสา เป็ นต้น และยังค�ำนึงถึงการส่งเสริม สุขภาพกายทีด่ ี โดยการจัดให้พนักงานสามารถใช้สทิ ธิใน การเข้าใช้สถานทีอ่ อกก�ำลังกาย ทีบ่ ริษทั จัดไว้ให้ได้ทกุ วัน ตามจ�ำนวนทีก่ ำ� หนด เพือ่ เป็ นการดูแลทีต่ น้ เหตุนอกเหนือ จากการจัดให้มกี ารตรวจสุขภาพเป็ นประจ�ำปี ทกุ ปี จัดให้ม ี กิจกรรมสันทนาการทัง้ ภายในและภายนอกสถานประกอบ การเพือ่ เสริมสร้างความสามัคคี ความร่วมแรงร่วมใจ และ เป็ นก�ำลังใจหรือรางวัลให้แก่พนักงานเพือ่ ให้สอดคล้องกับ กลยุทธ์ขององค์กร จัดให้พนักงานได้มโี อกาสร่วมใน กิจกรรมทีบ่ ริษทั จัดขึน้ เพือ่ สร้างความสามัคคี ช่วยเหลือ เกือ้ กูลกัน และกิจกรรมเพือ่ สังคมทีบ่ ริษทั จัดขึน้ รวมถึงมี การให้ความส�ำคัญกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัยใน การท�ำงาน โดยรวมเป็ นเนื้อหาส่วนหนึ่งในการปฐมนิเทศ พนักงานใหม่เพือ่ ให้พนักงานมีความรูค้ วามเข้าใจทัง้ ใน ระหว่างการปฏิบตั งิ านตามปกติและสามารถเอาตัวรอดได้ใน สถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น การท�ำงานในทีส่ งู การหนีไฟ การ ดับเพลิง การใช้อุปกรณ์เพือ่ ความปลอดภัยทีเ่ กีย่ วข้องกับ การปฏิบตั งิ านประจ�ำวัน เป็ นต้น การพัฒนาบุคคลากรภายในองค์กร – สร้าง องค์กรแห่งการเรียนรู้ให้กับพนักงานในปี 2561

บริษทั ให้ความส�ำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา ศักยภาพของบุคลากรของบริษทั โดยจัดให้มหี ลักสูตรการ อบรมภายในด้านต่างๆ อาทิ หลักสูตรภาษาอังกฤษเพือ่ สือ่ สารในประชาคมระดับอาเซียน เพือ่ การพัฒนาด้านทักษะ ในการใช้ภาษาต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยการจัดให้ม ี การเรียนการสอนภาษาอังกฤษกับอาจารย์ชาวต่างชาติแบบ

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 74

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

ไทยในการต่อต้านทุจริต • หลักสูตร Commercial Contracts for Drafting and Negotiating Summit 2018 • หลักสูตร ISO 9001:2015 • หลักสูตร Train The Trainer for TOpp SAP Success Factors และ Evaluation for SAP Success Factors • หลักสูตร Buzan Mind Mapping Workshop • หลักสูตร VENUE EXPENSES FOR TICON RETREAT 2018 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทำ�งาน

ไม่เก็บค่าใช้จา่ ย ซึง่ พนักงานทุกระดับมีสทิ ธิ ์เข้าทดสอบ ระดับทักษะเพือ่ จัดชัน้ เรียนทีเ่ หมาะสมรวมถึงการทดสอบ หลังจบหลักสูตรเพือ่ เประเมินผลการเรียนรู้ ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่ง ในการสร้างโอกาสทีจ่ ะก้าวหน้าในสายงานให้กบั พนักงานได้ การจัดให้มกี ารอบรมหลักสูตร “การปรับทัศนคติเพือ่ การ ท�ำงานแบบ WIN WIN” ให้กบั พนักงานเพือ่ เสริมสร้างความ เข้าใจในการปฏิบตั งิ านอย่างรับผิดชอบต่อองค์กร โดยมี เนื้อหาในการจัดระบบการท�ำงานเพือ่ ให้ได้มาซึง่ สินค้า/ บริการ ทีม่ คี ณ ุ ภาพ การท�ำความเข้าใจเกีย่ วกับจิตวิทยาทีม่ ี ความส�ำคัญต่อผูเ้ กีย่ วข้องทุกระดับในฐานะของผูบ้ ริการ การผสานแนวคิดวิชาจิตวิทยา การพัฒนาทักษะบริการที่ เน้นคุณภาพและประสิทธิภาพของการบริการแบบแท้จริง การสร้างมนุษย์สมั พันธ์ในการประสานงาน การพัฒนา EQ-AQ การเพิม่ พูนทัศนคติเชิงบวก ค่านิยม วัฒนธรรมทีด่ ใี นการ ท�ำงานเป็ นทีม เชาวน์อารมณ์ ประสิทธิภาพในการท�ำงาน รวมถึงกลยุทธ์ในการพัฒนาตนเองและพัฒนางาน สร้างแรง กระตุน้ เรือ่ งเป้ าหมายสูค่ วามส�ำเร็จ เป็ นต้น และให้โอกาส พนักงานเข้ารับการอบรมสัมมนาหลักสูตรอืน่ ๆ ทีห่ น่วยงาน ภายนอกจัดขึน้ ในปี ทผ่ี า่ นมา รวมจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 60 หลักสูตร คิดเป็ นจ�ำนวนชัวโมงเฉลี ่ ย่ ไม่น้อยกว่า 3 ชัวโมง/ ่ คน/ ปี คิดเป็ นค่าใช้จา่ ยทัง้ สิน้ กว่า 4.36 ล้านบาท ตัวอย่างรายชือ่ หลักสูตร การอบรมทีบ่ ริษทั ได้จดั ขึน้ ส�ำหรับ บุคลากรทุกระดับในปี ทผ่ี า่ นมา (ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม30 กันยายน 2561) ได้แก่ • หลักสูตรการบริหารงานเอกสารและจัดเก็บเอกสารเพือ่ การท�ำงาน อย่างมีประสิทธิภาพ • หลักสูตรเพือ่ การพัฒนาการบริหารจัดการ Management Development Program (MDP) • บทบาทหน้าทีข่ องสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชน

บริษทั ตระหนักถึงการด�ำเนินการตามมาตรการด้านความ ปลอดภัยและสุขอนามัยในการท�ำงานของพนักงาน จึงจัดให้ มีการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในการท�ำงานให้มคี วาม ปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของพนักงานอยูเ่ สมอ มีการ จัดอบรมปฐมนิเทศน์และเผยแพร่ความรูใ้ ห้พนักงานได้รบั ทราบและค�ำนึงถึงข้อก�ำหนดตามแนวปฏิบตั ดิ า้ นความ ปลอดภัย พร้อมทัง้ จัดให้มสี งิ่ อ�ำนวยความสะดวกในการ ท�ำงานอย่างเพียงพอและเหมาะสมสอดคล้องกับมาตรฐานที่ เกีย่ วข้อง เพือ่ ป้ องกันการบาดเจ็บ การเจ็บป่ วยอันเนื่องจาก การท�ำงานและการสูญเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุ แนวทางในการปฏิบัติ

• บริษทั ถือว่าการด�ำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน เป็ นความรับผิดชอบ โดยตรงของผูบ้ ริหารและพนักงานทุกระดับ โดยจัดสรร ทรัพยากรทัง้ บุคลากร เวลา และงบประมาณให้เพียงพอและ เหมาะสม เพือ่ ให้การด�ำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์และ เป้ าหมายทีว่ างไว้ • บริษทั จะด�ำเนินการให้ถกู ต้องตามกฎหมายและข้อตกลง ต่างๆ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานโดยยึดถือข้อก�ำหนดทีก่ ฎหมายระบุเป็ น มาตรฐานขัน้ ต�่ำในการด�ำเนินงาน • บริษทั จะด�ำเนินการในการค้นหาและก�ำหนดมาตรการ ควบคุมความเสีย่ งและป้ องกันอันตรายจากการด�ำเนินงาน ในทุกๆ กิจกรรมทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบของบริษทั เพือ่ ให้ เกิดความปลอดภัยสูงสุดต่อผูป้ ฏิบตั งิ าน ทัง้ ทีเ่ ป็ นพนักงาน ของบริษทั ผูร้ บั เหมา ทรัพย์สนิ สภาพแวดล้อม รวมทัง้ สาธารณชน โดยจะก�ำหนดเป็ นแผนการด�ำเนินงานประจ�ำปี • บริษทั จะพัฒนาระดับความสามารถ โดยสนับสนุนให้มกี าร ฝึกอบรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดล้อมในการท�ำงานให้แก่ผบู้ ริหารและพนักงานทุกระดับ อย่างต่อเนื่อง The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 75

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

75

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

• บริษทั พร้อมทีจ่ ะรับฟั งความคิดเห็นจากทุกๆ ฝ่ ายในการ จัดท�ำนโยบาย รวมทัง้ การด�ำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน และจัดให้ม ี การทบทวนในช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม เพือ่ น�ำมาปรับปรุงการ ด�ำเนินงาน

• นโยบายฉบับนี้จะสือ่ สารให้บุคลากรทุกระดับในองค์กร ทราบ และพร้อมทีจ่ ะเปิ ดเผยต่อสาธารณชน ในปี 2561 บริษทั ได้จดั ให้มกี ารสรุปข้อมูลการบาดเจ็บดังต่อ ไปนี้

สรุปสถิติการเกิดอุบัติเหตุประจำ�ปี 2561 เดือน

อุบัติเหตุ

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

รวม

อุบตั เิ หตุรา้ ยแรง (เสียชีวติ ) อุบตั เิ หตุถงึ ขัน้ หยุดงาน

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

อุบตั เิ หตุไม่ถงึ ขัน้ หยุดงาน

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

โรคทีเ่ กิดจากการท�ำงาน จ�ำนวนวันหยุดงาน รวมอุบตั เิ หตุ

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

3

0

14

0

0

17

0

0

0

0

1

1

1

0

0

3

ชัวโมงการท� ่ ำงาน

97480

93216

101744

82704

93216

95200

101744

99464

95200

859968

I.F.R*(%)

0.00

0.00

0.00

0.00

10.73

10.50

9.83

0.00

0.00

3.49

อัตราความถีก่ ารบาดเจ็บ I.F.R =

จ�ำนวนรายผูบ้ าดเจ็บทีเ่ กิดขึน้ X 1,000,000 ชัวโมง ่ จ�ำนวนชัวโมงการท� ่ ำงานทัง้ หมดของหน่วยงานนัน้ หน่วยเป็ นชัวโมง ่

ในปี 2561 อัตราความถีก่ ารบาดเจ็บของพนักงานคิดเป็ นหน่วย 1,000,000 ชม.มีคา่ เท่ากับ 5 ครัง้ อัตราความรุนแรงการบาดเจ็บ I.S.R =

จ�ำนวนวันหยุดงานทีเ่ สียไป X 1,000,000 ชัวโมง ่ จ�ำนวนชัวโมงการท� ่ ำงานทัง้ หมดของหน่วยงานนัน้ หน่วยเป็ นชัวโมง ่

ในปี 2561 อัตราความรุนแรงการบาดเจ็บของพนักงานคิดเป็ นหน่วย 1,000,000 ชม.มีคา่ เท่ากับ 26 วัน

ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค บริษทั ตระหนักถึงการรักษามาตรฐานของสินค้าและบริการ ทีด่ ี และมุง่ พัฒนาให้มคี ณ ุ ภาพอยูใ่ นระดับชัน้ น�ำของประเทศ จึงใส่ใจในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลพฤติกรรมการใช้งาน ลักษณะการให้บริการทีเ่ หมาะสม ความปลอดภัย ความ สะดวกสบาย การมีสขุ อนามัยทีด่ ี การบริการและการให้ ข้อมูลทีจ่ ำ� เป็ นทัง้ ก่อนและหลังตกลงเป็ นลูกค้า รวมถึงผล กระทบต่อผูบ้ ริโภค สังคม ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในระยะ ยาว เพือ่ จรรยาบรรณในการประกอบกิจการทีด่ แี ละก่อให้ เกิดการบริโภคอย่างยังยื ่ น โดยค�ำนึงถึงความพึงพอใจสูงสุด ของลูกค้า ความรับผิดชอบต่อลูกค้า

76

แนวทางในการปฏิบัติ

• การมุง่ มั ่นพัฒนาสินค้าและบริการทีม่ คี ณ ุ ภาพเพือ่ ตอบ สนองความต้องการของลูกค้าด้วยราคาทีส่ มเหตุสมผล และมีเงือ่ นไขทีเ่ ป็ นธรรม

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 76

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

• การให้บริการด้วยความรวดเร็ว มีอธั ยาศัยดีและไม่เลือก ปฏิบตั ิ • ในปี ทผ่ี า่ นมา บริษทั ยังคงเดินหน้ารักษาและพัฒนา คุณภาพการปฏิบตั งิ านรวมถึงการให้บริการอย่างต่อ เนื่อง โดยได้การรับรองระบบ บริหารงานคุณภาพ จาก เดิม ISO 9001:2008 เป็ น ISO 9001:2015 ในขอบเขต ของการให้บริการ “The development of logistics parks and the provision of warehouses on lease with related maintenance and property management services.” จากหน่วยงานรับรองมาตรฐานสถาบัน UKAS ส�ำหรับ คลังสินค้ารวมทัง้ สิน้ จ�ำนวน 9 แห่ง ในพืน้ ที่ วังน้อย บางนา บางพลี แหลมฉบัง เพือ่ เป็ นการรับรองมาตรฐาน การก� ำ กับ ดู แ ลทัง้ การออกแบบติด ตัง้ และการ พัฒนาการผลิต การติดตัง้ และการบริการรวมถึง กระบวนการวิเคราะห์ปัจจัยเสีย่ งและโอกาสทีจ่ ะกระทบ ต่อความสามารถในการให้บริการ เช่น มีการก�ำหนด ระยะเวลาในการให้บริการทีเ่ หมาะสม มีกระบวนการรับ ข้อร้องเรียนการใช้บริการ การเปิ ดโอกาสแสดงความคิด เห็น การสนับสนุนให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปั ญหา ข้อพิพาท การจัดให้มรี ะบบบ�ำรุงรักษาหรือซ่อมแซม ผลิตภัณฑ์ เป็ นต้น ซึง่ บ่งบอกได้ถงึ คุณภาพและ ประสิทธิภาพทีด่ ขี องการด�ำเนินงานภายในองค์กร ท�ำให้ สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดว้ ย บริการทีด่ แี ละมีคณ ุ ภาพ

กิจกรรมไทคอนมอบรัก ปีท่ี 6

กิจกรรมเพือ่ สังคมของไทคอนจัดขึน้ อย่างต่อเนื่องเป็ นปี ท่ี 6 ภายใต้ชอ่ื โครงการ “ไทคอนมอบรัก” เพือ่ แบ่งปั นรอยยิม้ และ ความสุขให้แก่ชมุ ชนและสังคมทัง้ ไกลและใกล้ เพือ่ เสริม สร้างโอกาสในการมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี น้ึ ในระยะยาว ซึง่ ในปี 2560 ต่อเนื่องปี 2561 บริษทั ได้ศกึ ษาค้นคว้า หาข้อมูลพบ ว่าในสังคมไทยยังคงต้องการการพัฒนาในหลายๆ พืน้ ทีท่ งั ้ คล้ายคลึงและแตกต่างกัน จึงก่อให้เกิดโครงการหลักๆ ในปี ทีผ่ า่ นมารวม 2 โครงการ ได้แก่ ไทคอนมอบรัก “สร้างรัก บ้านพักให้น้อง”

จากการพบว่าเด็กไทยในพืน้ ทีห่ า่ งไกลยังคงมีอุปสรรคใน การเดินทางไปศึกษาในโรงเรียนทีม่ ศี กั ยภาพเพียงพอต่อ การพัฒนาและส่งเสริมให้ได้รบั การศึกษาในระดับทีส่ งู ขึน้

การร่วมพัฒนาชุมชน สังคม และสิง ่ แวดล้อม

บริษทั ค�ำนึงถึงความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย ทุกกลุม่ และผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม จึงให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินกิจกรรมทัง้ ภายในและ ภายนอกองค์กร ทัง้ ชุมชน สังคม สิง่ แวดล้อม ท�ำนุ บำ� รุง ศาสนา อนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทัง้ สนับสนุ นการ ศึกษา และสาธารณประโยชน์แก่ชมุ ชน บริษทั จึงไม่ละเลยที่ จะใส่ใจในความเป็ นอยูท่ งั ้ ของพนักงานในบริษทั บุคคลซึง่ อาศัยอยูใ่ นชุมชนแวดล้อมสถานประกอบการของบริษทั และ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียอืน่ ๆ และให้ความส�ำคัญต่อการรักษา สภาพแวดล้อมรอบด้านทีต่ งั ้ อาคารโรงงานหรือคลังสินค้า เพือ่ ให้คนทีอ่ าศัยอยูใ่ นชุมชนบริเวณใกล้เคียงกับสถานทีต่ งั ้ อาคารเหล่านัน้ สามารถใช้ชวี ติ ประจ�ำวันต่อไปได้ตามปกติ และมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี รวมถึงได้รบั การยอมรับ เชือ่ ถือ เชือ่ มันในการด� ่ ำเนินธุรกิจ แนวทางในการปฏิบัติ

• การมีสว่ นร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคมเรือ่ งคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม การใช้ ทรัพยากรทีม่ อี ยูใ่ นองค์กรหรือน�ำทรัพยากรทีอ่ ยูน่ อกองค์กร มาใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุดทัง้ ต่อองค์กรและชุมชนส่วนรวม และสามารถอยูร่ ว่ มกันได้อย่างมีความสุขและยังยื ่ น • การปลูกฝั งจิตส�ำนึกเกีย่ วกับความรับผิดชอบต่อสังคม และสิง่ แวดล้อมแก่บุคลากรทุกระดับ

เนื่องจากการคมนาคมทีไ่ ม่เอือ้ อ�ำนวยด้วยทีอ่ ยูอ่ าศัยนัน้ ห่าง ไกลจากสถานศึกษา จึงมีการเข้าส�ำรวจพืน้ ทีจ่ งั หวัด เชียงรายซึง่ เป็ นจังหวัดทีม่ พี นักงานในบริษทั เป็ นคนพืน้ ที่ จังหวัดดังกล่าว บริษทั จึงได้พจิ ารณาจัดให้มโี ครงการ “สร้างรัก บ้านพักให้น้อง” จากการเข้าส�ำรวจพืน้ ทีจ่ งั หวัด เชียงรายโดยได้สมทบทุนเพือ่ สร้างอาคารหอพักส�ำหรับ นักเรียนโรงเรียนปอวิทยา อ.เวียงแก่ง จ.เชียงราย พร้อมส่ง เจ้าหน้าทีแ่ ละวิศวกรเข้าไปดูแลการก่อสร้างจนแล้วเสร็จและ ได้มพี ธิ กี ารการส่งมอบ พร้อมมอบอุปกรณ์กฬี า ของทีร่ ะลึก ด�ำเนินกิจกรรมสันทนาการร่วมกับเด็กนักเรียนกว่าสามร้อยคน The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 77

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

77

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

เมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม 2561 โดยคณะท�ำงานและพนักงาน จิตอาสาในเครือบริษทั ไทคอน น�ำโดย คุณโสภณ ราชรักษา ผูอ้ ำ� นวยการเป็ นประธาน สร้างความประทับใจให้แก่คณะครู และเด็กนักเรียนเป็ นอย่างมาก ไทคอนมอบรัก “ต่อยอดการศึกษา พัฒนาชุมชน”

จากการส�ำรวจพืน้ ทีใ่ กล้เคียงกับสถานทีโ่ รงงานและคลัง สินค้าตัง้ อยู่โดยการเข้าพบปะพูดคุยกับประชากรและ บุคลากรในพืน้ ที่ พบว่าในเขตจังหวัดอยุธยามีการขยายตัว ทางอุตสาหกรรมซึ่งส่งผลกระทบต่อการเพิม่ ปริมาณ ประชากรในพืน้ ทีร่ อบด้านจากแรงงานซึง่ เข้ามาท�ำงาน โรงงานย่านนี้ บริษทั จึงเล็งเห็นถึงการเข้าไปสนับสนุนการ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของคนในชุมชนรอบด้าน โดยจัด โครงการไทคอนมอบรัก EP.2 ขึน้ ภายใต้ชอ่ื “ต่อยอดการ ศึกษา พัฒนาชุมชน” ในพื้นที่ ต.อุทยั อ.อุทยั จ.พระนครศรีอยุธยา เมือ่ วันที่ 17 สิงหาคม 2561 ซึง่ แบ่ง ออกเป็ นสองส่วนดังนี้ 1) ร่วมสมทบทุนถวายผ้าป่ าเพือ่ สร้างอาคารหอประชุม (อเนกประสงค์) ให้แก่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล โดยจัดพิธสี งฆ์รว่ มกับประชากรในพืน้ ที่ ณ สถานทีต่ งั ้ โรง พยาบาล จากการรวบรวมเงินสมทบทุนจากกลุม่ บริษทั ไท คอนและพนักงาน ทัง้ นี้ เพือ่ รองรับการเข้าใช้บริการของ ประชากรในพืน้ ที่ จากเดิมทีเ่ ป็ นสถานีอนามัยขนาดเล็กและ มีพน้ื ทีอ่ าคารจ�ำกัดไม่สามารถรองรับกิจกรรมการให้บริการ ได้อย่างเพียงพอในโอกาสต่างๆ เช่น การตรวจสุขภาพ ประชากร การให้บริการฉีดวัคซีนคราวละมากๆ 2 การบริจาคชุดคอมพิวเตอร์พร้อมอุปกรณ์และเก้าอีใ้ ห้แก่ โรงเรียนวัดจ�ำปา เพือ่ ต่อยอดการศึกษาให้แก่เยาวชนใน โรงเรียนซึง่ พบว่าคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ชำ� รุดเสียหาย และไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน รวมถึงการให้ ความช่วยเหลือในการจัดการเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ตเพือ่ ให้ สามารถใช้เป็ นสือ่ ในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลทีม่ ปี ระโยชน์ได้

78

พร้อมกันนี้+ยังได้มอบของเล่นเสริมพัฒนาการให้แก่เด็ก นักเรียนทุกคน และท�ำกิจกรรมเสริมสร้างทักษะร่วมกันอีก ด้วย กิจกรรมอนุรักษ์ป่าชายเลน

เนื่องจากไทคอน+เป็ นหนึ่งในผูป้ ระกอบการทีม่ โี รงงาน อุตสาหกรรมให้บริการในพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมบางปู จึงได้ เข้าร่วมกิจกรรมอนุรกั ษ์/ฟื้ นฟูป่าชายเลนและล�ำคลองในพืน้ ที่ ณ ศูนย์ศกึ ษาธรรมชาติกองทัพบก(บางปู) เฉลิมพระเกียรติ สถานพักผ่อนกรมพลาธิการทหารบก ต�ำบลบางปูใหม่ อ�ำเภอ เมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โดยการเข้าร่วมรับ ฟั งการบรรยายหลักการและเหตุผลในการรณรงค์อนุรกั ษ์ ธรรมชาติ+ ภายใต้กจิ กรรมซึ่งจัดโดย+ส�ำนักงานนิคม อุตสาหกรรมบางปู ในการนี้ กลุม่ พนักงานจิตอาสาจึงได้ ส่งตัวแทนเข้าร่วมกิจกรรมลงพืน้ ทีป่ ลูกป่ าชายเลนพร้อมเก็บ ขยะซึง่ ตกค้างในบริเวณโดยรอบร่วมกับเครือข่ายระหว่าง นิคมอุตสาหกรรมบางปู ผูป้ ระกอบการ หน่วยงานท้องถิน่ ชุมชนรอบนิคมฯ และโรงเรียน ซึง่ ล้วนเป็ นผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย จากสังคมโดยรอบ อาคารสีเขียวช่วยลดโลกร้อน

ไทคอนยังคงเดินหน้าพัฒนาอาคารคลังสินค้าและศูนย์ กระจายสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพมาตรฐานระดับสากลอย่างต่อ เนื่อง โดยค�ำนึงถึงความส�ำคัญในการดูแลรักษาทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รวมถึงสังคมและชุมชนโดยรอบ โครงการทีม่ กี ารสร้างอาคารโรงงานและคลังสินค้า จึงเดิน หน้าพัฒนาอาคารคลังสินค้าสีเขียว ภายใต้นโยบายที่ ก�ำหนดให้การพัฒนาโครงการใหม่ตอ้ งผ่านมาตรฐาน LEED

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 78

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

ทุกโครงการ โดยเป็ นการรับรองคุณภาพอาคารคลังสินค้าที่ เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานของ LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) โดย U.S. Green Building Council (USGBC) ซึง่ เป็ นองค์กรทีเ่ ป็ นผูน้ �ำในการ ก�ำหนดมาตรฐานอาคารสีเขียวในประเทศสหรัฐอเมริกา โดย ใช้ระบบการประเมินคุณภาพอาคารแบบ LEED Scorecard Rating System (LEED CS) ส�ำหรับอาคารทีส่ ร้างเพือ่ ให้ เช่าโดยเฉพาะ โครงการล่าสุดทีบ่ ริษทั ได้พฒ ั นาให้กบั ลูกค้าเพือ่ ท�ำเป็ นศูนย์ กระจายสินค้าทัวประเทศ ่ มีขนาดพืน้ ทีก่ ว่า 35,000 ตาราง เมตร คาดว่าจะแล้วเสร็จพร้อมใช้งานได้ภายในต้นปี 2562 ซึง่ จะช่วยประหยัดพลังงานได้มากกว่า 53 เปอร์เซ็นต์ เมือ่ เทียบกับคลังสินค้าทั ่วไป ลดค่าใช้จา่ ยด้านพลังงานลงได้ กว่า 66,000 เหรียญสหรัฐต่อปี หรือประมาณ 2.2 ล้านบาท ต่อปี (เมือ่ เทียบกับค่ามาตรฐาน ASHRAE) และยังสามารถ ประหยัดการใช้น้�ำภายในอาคารลงได้ถงึ กว่า 400 ลูกบาศก์ เมตรต่อปี จากการการวางระบบไฟฟ้ าภายในอาคาร การ เลือกใช้อุปกรณ์ทท่ี นั สมัย การใช้หลอดไฟ LED ทีม่ ี ประสิทธิภาพสูงเพือ่ ช่วยให้ประหยัดพลังงานได้มากขึน้ รวม ถึงการน�ำเทคโนโลยีผลิตไฟฟ้ าจากแผงโซลาร์มาใช้เพือ่ เพิม่ สัดส่วนการใช้พลังงานบริสทุ ธิ ์ ทัง้ นี้ นอกเหนือจากจะช่วย ลดค่าใช้จา่ ยด้านพลังงานลงแล้วยังช่วยส่งเสริมคุณภาพ ชีวติ และสุขภาพของผูป้ ฏิบตั งิ านในโรงงานหรือคลังสินค้าให้ ดีขน้ึ อีกด้วย โครงการ Carbon Footprint for Organization

บริษทั ตะหนักถึงความส�ำคัญในการป้ องกันมลภาวะ การใช้ ทรัพยากรอย่างยั ่งยืน และการปรับตัวให้เข้ากับสภาวะ แวดล้อม จึงได้ทบทวนการด�ำเนินโครงการ Carbon Footprint for Organization : CFO เพือ่ รวบรวมข้อมูลการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกประเภทต่างๆ เช่น การเผาไหม้อยูก่ บั ที่ (Stationary Combustion) การเผาไหม้เคลือ่ นที่ (Mobile Combustion) การรัวซึ ่ ม (Fugitive Emission) ปริมาณการ ใช้ไฟฟ้ า กระดาษ และน�้ำ ซึง่ อยูใ่ นระหว่างการด�ำเนินการน�ำ ข้อมูลทีร่ วบรวมได้ยอ้ นหลังตัง้ แต่ปี 2558 เรือ่ ยมาจนถึงปี 2561 ไปวิเคราะห์และจัดท�ำรายงานเพือ่ น�ำเสนอในปี ถดั ไป

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 79

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

79

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

การกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษทั และฝ่ ายจัดการมีความมุ่งมั ่นและ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ ให้ องค์กรมีการเติบโตอย่างยั ่งยืน ภายใต้หลักธรรมาภิบาล ด้วยการประกอบธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียทุกกลุม่ สร้างความเชือ่ มันและความสั ่ มพันธ์ทด่ี ตี ่อ บุคลรอบด้าน เสริมสร้างความเข้าใจของคณะกรรมการใน บริบทธุรกิจ ความคาดหวังของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย โอกาส ความเสีย่ ง ทีม่ ผี ลกระทบต่อการด�ำเนินกิจการตามหลัก ธรรมาภิบาลขององค์กรด้วยความโปร่งใส ภายใต้ “มาตรฐาน ทางจริยธรรมและจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจ” โดยที่ คณะกรรมการบริษทั มีแผนการทบทวนนโยบายการก�ำกับ ดูแลกิจการอย่างสม�่ำเสมอ และติดตามดูแลให้มกี ารเผยแพร่ คูม่ อื “นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ” ผ่านช่องทางเว็บไซต์ http://www.ticon.co.th ของบริษทั เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ นักลงทุน และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุม่ ได้มโี อกาสรับทราบแนวทาง ปฏิบตั แิ ละการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั นอกจากนี้ บริษทั ยังถือเป็ นส่วนหนึ่งของการอบรมพนักงาน ใหม่ และการสือ่ สารเผยแพร่ไปยังบุคลากรของบริษทั ทุก ระดับเพือ่ ให้รบั ทราบและยึดถือปฏิบตั เิ ป็ นค่านิยมควบคูไ่ ป กับการบริหารและการปฏิบตั งิ านอย่างเคร่งครัดสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และเป้ าหมายเพือ่ ความยั ่งยืนใน การด�ำเนินธุรกิจ รวมถึงความรับผิดชอบต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม ทัง้ นี้ บริษทั ยังคงยึดหลักปฏิบตั คิ รอบคลุม เนื้อหา 5 หมวด กล่าวคือ สิทธิของผูถ้ อื หุน้ การปฏิบตั ติ ่อผู้ ถือหุน้ อย่างเท่าเทียมกัน บทบาทของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย การเปิ ดเผยข้อมูลและความโปร่งใส และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการควบคูไ่ ปกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ส�ำหรับบริษทั จดทะเบียน ปี 2560 โดยมีการด�ำเนินการในปี 2561 ดังนี้ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการตระหนักและให้ความส�ำคัญต่อสิทธิขนั ้ พืน้ ฐานของผูถ้ อื หุน้ โดยบริษทั สนับสนุ นให้ผถู้ อื หุน้ มีสว่ น ร่วมใช้สทิ ธิของตนอย่างเต็มทีผ่ า่ นการประชุมผูถ้ อื หุน้ รวม ถึงมีการสือ่ สารกับผูถ้ อื หุน้ ในการด�ำเนินการทีเ่ กีย่ วข้องกับ การประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ เปิ ดโอกาสให้มสี ว่ นร่วมตัดสินใจ เรือ่ งส�ำคัญของบริษทั เช่น การเข้าร่วมประชุมเพือ่ ใช้สทิ ธิ ออกเสียงในการประชุมผูถ้ อื หุน้ อย่างเป็ นอิสระและเท่าเทียม กัน การลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ การก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการ การแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีและก�ำหนดค่าตอบแทนผู้ สอบบัญชี การน�ำเสนอวาระการประชุมหรือค�ำถามที่ ต้องการให้ตอบในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ได้ลว่ งหน้า และการได้ รับข้อมูลข่าวสารของบริษทั อย่างรวดเร็ว ครบถ้วน และเพียง พอผ่านช่องทางทีเ่ ข้าถึงได้งา่ ย ทัง้ นี้ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ มีสว่ น ร่วมในการตัดสินใจในเรือ่ งทีก่ ระทบหรือเกีย่ วข้องกับสิทธิ และผลประโยชน์ของตน อีกทัง้ ยังมีนโยบายส่งเสริมและ

80

อ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผถู้ อื หุน้ รวมถึงนักลงทุนสถาบันใน การเข้าร่วมการประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษทั ให้ความส�ำคัญกับการประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยเฉพาะขัน้ ตอนทีส่ ำ� คัญของการประชุม เพือ่ ให้เกิดความเท่าเทียมกัน ในระหว่างผูถ้ อื หุน้ สามารถด�ำเนินการประชุมไปได้ดว้ ย ความเรียบร้อย โปร่งใส มีประสิทธิภาพ อันได้แก่ การคัด เลือกสถานทีจ่ ดั การประชุมซึง่ มีระบบขนส่งมวลชนเข้าถึง และเพียงพอเพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเดินทางเข้าร่วมการ ประชุมได้อย่างสะดวก และก�ำหนดเวลาจัดประชุมในช่วง บ่ายเพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ มีเวลาในการเดินทาง การเปิ ดโอกาสให้ผู้ ถือหุน้ ได้รบั ข้อมูลและศึกษาเอกสารการประชุมโดยจัดส่ง เอกสารการลงทะเบียนเข้าร่วมการประชุมให้ลว่ งหน้าก่อน วันประชุมเพือ่ ลดระยะเวลาในการตรวจสอบเอกสารในวัน ประชุม การก�ำหนดช่องทางการลงทะเบียน ณ สถานที่ จัดการประชุมส�ำหรับผูถ้ อื หุน้ แต่ละประเภท ทัง้ บุคคล ธรรมดา นิตบิ ุคคล และนักลงทุนสถาบัน โดยได้น�ำระบบ บาร์โคด (Barcode) มาใช้ในการลงทะเบียนและนับคะแนน เสียงเพือ่ ช่วยให้ขนั ้ ตอนการลงทะเบียนและการประมวลผล การลงคะแนนเสียงเป็ นไปอย่างรวดเร็วถูกต้องและแม่นย�ำ ยิง่ ขึน้ อนึ่ง หนังสือนัดประชุมของบริษทั มีขอ้ มูลส�ำคัญทีเ่ กีย่ วข้อง กับวาระการประชุม เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ มีขอ้ มูลประกอบการ พิจารณาลงคะแนนเสียงได้อย่างครบถ้วน รวมถึงได้จดั ส่ง หนังสือมอบฉันทะทีใ่ ห้ผถู้ อื หุน้ เพือ่ สามารถก�ำหนดทิศทาง การออกเสียงในแต่ละเรือ่ งได้ โดยหนังสือมอบฉันทะดัง กล่าว มีขอ้ มูลกรรมการตรวจสอบ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ เลือกเป็ น ผูร้ บั มอบฉันทะในการเข้าประชุม ในกรณีทผ่ี ถู้ อื หุน้ ไม่ สามารถเข้าร่วมประชุมได้ นอกจากนี้ บริษทั ได้แนบ ข้อบังคับบริษทั ส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการประชุมผูถ้ อื หุน้ ไปกับ หนังสือนัดประชุมด้วย พร้อมทัง้ การให้ขอ้ มูลและรายละเอียด เกีย่ วกับเอกสารทีต่ อ้ งใช้เพือ่ เป็ นหลักฐานในการเข้าประชุม ผูถ้ อื หุน้ ในหนังสือนัดประชุม บริษทั ได้เปิ ดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีสทิ ธิเสนอเพิม่ วาระการประชุม และเสนอชือ่ ผูท้ ม่ี คี ณ ุ สมบัติ เหมาะสมทีจ่ ะมาเป็ นกรรมการบริษทั ล่วงหน้าโดยบริษทั ได้ ชีแ้ จงหลักเกณฑ์ และเปิ ดเผยวิธกี ารในการเสนอเรือ่ งดัง กล่าวบนเว็บไซต์ของบริษทั ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั มีคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทัง้ ผูบ้ ริหาร และผูส้ อบ บัญชีของบริษทั เข้าร่วมประชุมด้วย โดยประธานกรรมการ ของบริษทั หรือบุคคลทีท่ ป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ อนุ มตั ใิ ห้เป็ น ประธานในทีป่ ระชุม จะด�ำเนินการให้มกี ารพิจารณาวาระ การประชุม และลงคะแนนเสียงเป็ นไปตามล�ำดับวาระที่ ก�ำหนดในหนังสือนัดประชุมอย่างโปร่งใส นอกจากนัน้ บริษทั ได้แจ้งจ�ำนวนและสัดส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ข้าร่วม ประชุมทัง้ ด้วยตนเองและของผูถ้ อื หุน้ ทีม่ อบฉันทะ วิธกี ารลง

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 80

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

คะแนนให้ผถู้ อื หุน้ ทราบก่อนลงคะแนน คณะกรรมการบริษทั ได้ดแู ลให้มกี ารบันทึกรายงานการ ประชุมผูถ้ อื หุน้ ให้มสี าระส�ำคัญครบถ้วน อันได้แก่ ค�ำชีแ้ จงที่ เป็ นสาระส�ำคัญ ค�ำถามข้อคิดเห็นต่าง ๆ รวมทัง้ คะแนน เสียงทีต่ อ้ งการในแต่ละวาระ นอกจากนัน้ ในส่วนของรายงาน การประชุมบริษทั มีการจัดท�ำรายงานการประชุมให้เสร็จ สมบูรณ์ในเวลาทีก่ ฎหมายก�ำหนด รวมทัง้ มีระบบการจัด เก็บรายงานการประชุมทีด่ สี ามารถตรวจสอบและอ้างอิงได้ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้รายงานการประชุมมีความครบถ้วนสมบูรณ์มาก ยิง่ ขึน้ บริษทั ได้จดั ให้มกี ารบันทึกผลการลงคะแนนเสียงเพิม่ เติมในรายงานการประชุมด้วย ทัง้ นี้ บริษทั ได้เผยแพร่เอกสารและข้อมูลต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับการประชุมผูถ้ อื หุน้ บนเว็บไซต์ของบริษทั ทัง้ ในรูปแบบ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ได้แก่ เอกสารเชิญประชุมซึง่ เผยแพร่ลว่ งหน้าก่อนวันประชุมเป็ นเวลา 1 เดือน และ รายงานการประชุมทีเ่ ผยแพร่ภายใน 14 วันนับแต่วนั ประชุม รวมทัง้ วีดที ศั น์ ซึง่ บันทึกภาพในวันประชุม เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้สะดวกและรวดเร็ว บริษทั ได้จดั การประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2561 เมือ่ วัน ที่ 27 มีนาคม 2561 เวลา 14.00 น. ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรม ดิ โอกุระ เพรสทีจ เลขที่ 57 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร และมีกรรมการและผูบ้ ริหาร เข้าร่วมประชุม 14 ท่าน 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียม

คณะกรรมการบริษทั ให้ความส�ำคัญและดูแลให้มกี ารปฏิบตั ิ ต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน เป็ นธรรมและยังยื ่ น ไม่ ว่าจะเป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูถ้ อื หุน้ รายย่อย นักลงทุน สถาบัน หรือผูถ้ อื หุน้ ต่างชาติ โดยได้ดำ� เนินการต่าง ๆ ดังนี้ บริษทั มีนโยบายทีจ่ ะรักษาสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ทุกราย โดยใน การประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2561 ประธานในที่ ประชุมได้ดำ� เนินการประชุมตามระเบียบวาระการประชุมที่ ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ และไม่มกี ารเพิม่ วาระการประชุมโดยไม่แจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้าแต่ อย่างใด ทัง้ นี้ ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ทุกรายมีสทิ ธิเสนอบุคคล เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ มีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนตาม จ�ำนวนหุน้ ทีต่ นถืออยู่ โดยหนึ่งหุน้ มีสทิ ธิออกเสียงเท่ากับ หนึ่งเสียง บริษทั เปิ ดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ทีไ่ ม่สามารถเข้าร่วม ประชุมด้วยตนเองได้สามารถมอบฉันทะให้กรรมการอิสระ ของบริษทั หรือบุคคลอืน่ เข้าร่วมประชุมและออกเสียงลง คะแนนแทนตนได้ โดยบริษทั ได้จดั เตรียมหนังสือมอบฉันทะ ตามแบบทีก่ ระทรวงพาณิชย์ประกาศก�ำหนด ซึง่ ผูถ้ อื หุน้ สามารถก�ำหนดทิศทางการออกเสียงลงคะแนนได้ และได้จดั ส่งหนังสือมอบฉันทะให้แก่ผถู้ อื หุน้ พร้อมหนังสือเชิญประชุม ผูถ้ อื หุน้ ทัง้ นี้ บริษทั ได้จดั ท�ำรายงานการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2561 และจัดให้มกี ารเผยแพร่วดี ทิ ศั น์บนั ทึกภาพ

การประชุมผูถ้ อื หุน้ ทางเว็บไซต์ของบริษทั ที่ www.ticon.co.th ภายใน 14 วันภายหลังการประชุม เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถ เข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้สะดวกและรวดเร็ว นอกจากนี้ บริษทั ได้ตดิ ตามดูแลและจัดการความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ทอ่ี าจเกิดขึน้ ได้ระหว่างบริษทั กับฝ่ าย จัดการ คณะกรรมการ หรือผูถ้ อื หุน้ รวมถึงการป้ องกันการ ใช้ประโยชน์อนั มิควรในทรัพย์สนิ ข้อมูลและโอกาสรวมถึง การท�ำธุรกรรมในลักษณะทีไ่ ม่สมควร เช่น การก�ำหนดให้ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคนงดการซือ้ ขายหลัก ทรัพย์ของบริษทั ในช่วง 1 เดือนก่อนทีบ่ ริษทั จะเปิ ดเผย ข้อมูลผลการด�ำเนินงานของบริษทั ต่อสาธารณะเพือ่ เป็ นการ ป้ องกันการน�ำข้อมูลภายในทีอ่ าจมีกระทบต่อราคาหลัก ทรัพย์ไปใช้เพือ่ ประโยชน์ทงั ้ ต่อตนเองหรือต่อผูอ้ น่ื ไม่วา่ จะ โดยทางตรงหรือทางอ้อมและไม่วา่ จะโดยวิธใี ดก็ตาม ทัง้ นี้ ยังมีแนวทางในการพิจารณาถึงวิธกี ารติดตามและควบคุมไม่ ให้เกิดการฝืนนโยบายการใช้ขอ้ มูลภายใน การรักษาความ ปลอดภัยของข้อมูล การรักษาความลับ การรักษาความ น่าเชือ่ ถือ และความพร้อมใช้ของข้อมูล 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

คณะกรรมการบริษทั ตระหนักดีวา่ ความส�ำเร็จในการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษทั จะบรรลุวตั ถุประสงค์ เป้ าหมาย และยั ่งยืน ได้ดว้ ยการสนับสนุนจากผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกลุม่ ต่าง ๆ อัน ได้แก่ พนักงานบริษทั ลูกค้า คูค่ า้ คูแ่ ข่งทางการค้า สถาบัน การเงิน เจ้าหนี้ ผูใ้ ห้กยู้ มื เงิน ชุมชนและสังคม เพือ่ ความ ยังยื ่ นยิง่ ขึน้ จึงให้ฝ่ายจัดการให้ความส�ำคัญต่อการไม่ละเมิด สิทธิและมีความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุม่ กล่าวคือ การปฏิบตั ติ ่อพนักงานอย่างเท่าเทียมและเป็ น ธรรม ให้ความส�ำคัญเรือ่ งการดูแลเรือ่ งความปลอดภัย และ สุขอนามัย การปฏิบตั ติ ่อคูค่ า้ ตามสัญญา และเงือ่ นไข ทางการค้า การจัดหาผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้มาตรฐานให้แก่ลกู ค้า มี ความรับผิดชอบต่อลูกค้าทัง้ ในด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และการให้บริการหลังการขาย ตลอดจนการรักษาความลับ ของลูกค้า การปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขการกูย้ มื เงินจากสถาบัน การเงิน การปฏิบตั ติ ามกรอบกติกาการแข่งขันทีด่ ี ไม่ทำ� ลาย คูแ่ ข่งขันด้วยวิธกี ารไม่สจุ ริต และการรับผิดชอบต่อสังคม และสิง่ แวดล้อม โดยบริษทั ได้มกี ารพิจารณาปรับปรุงกระบวน การปฏิบตั ทิ เ่ี กีย่ วข้องกับผูม้ สี ว่ นได้เสียกลุม่ ต่างๆ ภายใต้ นโยบายต่อไปนี้ 3.1 นโยบายการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่ม

(1) ผูถ้ ือหุ้น ให้จดั ให้มกี ารเปิ ดเผยข้อมูลส�ำคัญต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น สือ่ ทีเ่ ผยแพร่ผา่ นช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ทางเว็ปไซต์ของบริษทั ฯ การประกาศทาง หนังสือพิมพ์ การจัดท�ำข่าวประชาสัมพันธ์ หรือการจัดส่ง จดหมายเป็ นลายลักษณ์อกั ษร เป็ นต้น (2) พนักงาน เนื่องจากพนักงานคือทรัพยากรทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

81


รายงานประจำ�ปี 2561

ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั จึงให้ความส�ำคัญกับพนักงาน ทุกคนโดยปราศจากการเลือกปฏิบตั ิ มีการปฏิบตั อิ ย่าง เท่าเทียม เป็ นธรรมและเคารพสิทธิมนุษยชนตามกฎหมาย และมาตรฐานทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ ในด้านโอกาส ผลตอบแทน และค่าประโยชน์อน่ื ๆ สวัสดิการทีจ่ ำ� เป็ น การแต่งตัง้ โยก ย้าย ความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพ ทักษะการท�ำงาน ในด้านอืน่ ๆ รวมถึงความปลอดภัย อาชีวอนามัยในการ ท�ำงานและสภาพแวดล้อม (3) ลูกค้า บริษทั มีความมุง่ มั ่นทีจ่ ะแสวงหาวิธกี าร ทีจ่ ะ สนองความต้องการของลูกค้าให้มปี ระสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลยิง่ ขึน้ ตลอดเวลา บริษทั ยึดมันในการรั ่ กษา และ ปฏิบตั ติ ามสัญญาทีท่ ำ� ไว้กบั ลูกค้าอย่างเคร่งครัด โดยการส่ง มอบผลิตภัณฑ์ และให้บริการหลังการขายทีม่ คี ณ ุ ภาพ ตรง ตามความคาดหมายของลูกค้าในราคาทีเ่ ป็ นธรรม นอกจาก นี้ ยังเน้นถึงการรักษาความลับของลูกค้า และไม่น�ำไปใช้ เพือ่ ประโยชน์โดยมิชอบ รวมทัง้ ผ่อนปรน และร่วมช่วยเหลือ ลูกค้ายามทีเ่ กิดความเดือดร้อน (4) คู่ค้า เจ้าหนี้และ/หรือลูกหนี้ บริษทั ปฏิบตั ติ ่อคูค่ า้ เจ้าหนี้ และ/หรือลูกหนี้อย่างเสมอภาคและเป็ นธรรม ค�ำนึงถึง ประโยชน์สงู สุดของบริษทั และตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของการได้ รับผลตอบแทนทีเ่ ป็ นธรรมต่อทัง้ สองฝ่ าย หลีกเลีย่ ง สถานการณ์ทท่ี ำ� ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวม ทัง้ ปฏิบตั ติ ามพันธสัญญาทีต่ กลงกันไว้ (5) คู่แข่งทางการค้า บริษทั ปฏิบตั ติ ่อคูแ่ ข่งทางการค้าตาม หลักสากลไม่ละเมิดความลับ หรือล่วงรูค้ วามลับทางการค้า ของคูแ่ ข่ง บริษทั ยึดมั ่นในการด�ำนินธุรกิจด้วยความเป็ น ธรรมโดยปฏิบตั ติ ามแนวปฏิบตั ทิ างจริยธรรมในการด�ำเนิน ธุรกิจอย่างเคร่งครัด ในปี ทผ่ี า่ นมาบริษทั ไม่มขี อ้ พิพาทใด ๆ ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับคูแ่ ข่งทางการค้า (6) กลุ่มห่วงโซ่อป ุ ทาน บริษทั ด�ำเนินธุรกิจต่อห่วงโซ่ อุปทานตามมาตรฐานสากล ระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001 อย่างเคร่งครัดด้วยการให้ความรูค้ วามเข้าใจและมีการ ควบคุมตรวจสอบอย่างใกล้ชดิ ท�ำให้ม ั ่นใจได้ว่าห่วงโซ่ อุปทานของคูค่ า้ ทีด่ ำ� เนินธุรกิจกับบริษทั ด�ำเนินงานด้วยการ ค�ำนึงถึงผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม เพือ่ ความยังยื ่ นในการท�ำ ธุรกิจร่วมกัน (7) ชุมชนและสังคม บริษทั มีนโยบายทีจ่ ะด�ำเนินธุรกิจที่ เป็ นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม มุง่ สร้างสมดุล ระหว่างการเติบโตทางธุรกิจ และการพัฒนาของชุมชน สังคมและสิง่ แวดล้อมไปพร้อมกัน 3.2 นโยบายในการต่อต้านการทุจริตและการคอร์รัปชั่น

คณะกรรมการบริษทั ยึดมั ่นในการด�ำเนินธุรกิจด้วยความ โปร่งใส โดยอยูภ่ ายใต้กรอบของกฎหมาย หลักจริยธรรม และแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี รวมทัง้ สนับสนุนการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชั ่น และตระหนักดีวา่ การทุจริต คอร์รปั ชันส่ ่ งผลกระทบต่อการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ สังคม

82

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

และความมันคงของประเทศ ่ โดยมีนโยบายในการสนับสนุน การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ดังนี้ (1) บริษทั ต้องสนับสนุนการสร้างจิตส�ำนึก ค่านิยม ทัศนคติ ให้แก่บุคลากรในการปฏิบตั งิ านอย่างซื่อสัตย์ โปร่งใส เทีย่ ง ตรง เคารพกฎหมาย กฎระเบียบต่าง ๆ สนับสนุ นการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันให้ ่ เป็ นวัฒนธรรมองค์กร รวมทัง้ บริหารงานตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี (2) บุคลากรต้องไม่กระท�ำการใด ๆ อันเป็ นการเรียกร้อง หรือรับทรัพย์สนิ หรือผลประโยชน์อ่นื ใดจากบุคคลอื่นที่ มีหน้าที่ หรือธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั เว้นแต่ในโอกาส หรือเทศกาลอันเป็ นประเพณีนิยม และทรัพย์สนิ นัน้ ต้อง ไม่ใช่สงิ่ ผิดกฎหมาย รวมทัง้ ไม่อาศัยต�ำแหน่งหน้าทีห่ รือ แสวงหาผลประโยชน์เพือ่ ตนเอง และ/หรือผูอ้ น่ื โดยมิชอบ (3) บริษทั ต้องจัดให้มกี ระบวนการตรวจสอบระบบขัน้ ตอน การปฏิบตั งิ าน รวมถึงการประเมินความเสีย่ งต่อการเกิด คอร์รปั ชัน่ และบริหารจัดการให้มวี ธิ กี ารแก้ไขทีเ่ หมาะสม (4) บริษทั ต้องจัดให้มรี ะบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอ และเหมาะสม รวมทัง้ พัฒนาระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และถ่วงดุลการใช้อำ� นาจให้เหมาะสม ชัดเจน และ มีประสิทธิภาพ เพือ่ ป้ องกันและมิให้มกี ารทุจริตหรือมีสว่ น เกีย่ วข้องกับการทุจริตคอร์รปั ชัน่ (5) บริษทั ต้องจัดให้มกี ารสือ่ สาร และฝึกอบรมแก่บุคลากร ของบริษทั เพือ่ ให้เกิดความรูค้ วามเข้าใจอย่างแท้จริง เกีย่ ว กับมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ (6) บริษทั ต้องจัดให้มชี อ่ งทางในการรับเรือ่ งร้องเรียน หรือ แจ้งเบาะแสอันควรสงสัย โดยมีนโยบายในการคุม้ ครองผูใ้ ห้ ข้อมูล หรือผูแ้ จ้งเบาะแส และจะเก็บรักษาข้อมูลของผูใ้ ห้ ข้อมูลเป็ นความลับ รวมทัง้ มีมาตรการในการตรวจสอบ และ ก�ำหนดบทลงโทษตามกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง (7) บริษทั ควรสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ทีจ่ ดั ขึน้ โดยหน่วย งานหรือองค์กรต่าง ๆ เพือ่ ประโยชน์ในการป้ องกันและ สนับสนุนการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ทัง้ นี้ บริษทั ได้รบั การรับรองเป็ นสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ิ (Collective Active Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการ ต่อต้านการทุจริตแล้ว เมือ่ วันที่ 18 สิงหาคม 2560 3.3 นโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการไม่ละเมิดทรัพย์สิน ทางปัญญา

บริษทั เคารพและปฏิบตั ติ ามกฎหมายเกีย่ วกับทรัพย์สนิ ทาง ปั ญญาและมีนโยบายห้ามการด�ำเนินการที่มลี กั ษณะ เป็ นการละเมิดทรัพย์สนิ ทางปั ญญาทุกประเภท โดยได้ ก�ำหนดเป็ นแนวปฏิบตั ไิ ว้ในจรรยาบรรณของบริษทั ดังนี้ (1) พนักงานทุกคน มีหน้าทีป่ กป้ องและรักษาความลับอัน เกีย่ วกับทรัพย์สนิ ทางปั ญญาของบริษทั เพือ่ มิให้ขอ้ มูลเหล่า นัน้ รัวไหล ่ และต้องไม่น�ำทรัพย์สนิ ทางปั ญญาประเภทต่าง ๆ


รายงานประจำ�ปี 2561

ของบริษทั ไปใช้เพือ่ ประโยชน์สว่ นตัวหรือเพือ่ บุคคลอืน่ โดย มิได้รบั อนุญาต (2) พนักงานทุกคนต้องเคารพและให้เกียรติต่อทรัพย์สนิ ทาง ปั ญญาของผูอ้ ่นื และไม่น�ำผลงานอันเป็ นทรัพย์สนิ ทาง ปั ญญาของผูอ้ น่ื ไม่วา่ ทัง้ หมดหรือบางส่วนของผลงานไปใช้ โดยทีไ่ ม่ได้รบั อนุญาตจากเจ้าของผลงาน 3.4 นโยบายการเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน

บริษทั ก�ำหนดให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน มีหน้าที่ ต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน หรือศักดิศรี ์ ความเป็ นมนุษย์ โดยไม่แบ่งแยกเชือ้ ชาติ สีผวิ เพศ ภาษา ศาสนา สังคม ทรัพย์สนิ ถิน่ ก�ำเนิด ความคิดเห็นทางการ เมือง หรือสถานะอืน่ ๆ รวมถึงตระหนักในสิทธิหน้าทีแ่ ละ ความรับผิดชอบของตนทีม่ ตี ่อสังคมและบุคคลอืน่ โดยได้ ก�ำหนดเป็ นแนวปฏิบตั ไิ ว้ในจรรยาบรรณของบริษทั ดังนี้ (1) บริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและหลักสิทธิมนุ ษยชน อย่างเคร่งครัดและไม่สนับสนุ นกิจการทีล่ ะเมิดหลักสิทธิ มนุษยชน (2) บริษทั ปฏิบตั ติ ่อพนักงานทุกระดับอย่างเท่าเทียม โดยไม่ เลือกปฏิบตั ใิ นการจ้างงาน การจ่ายค่าตอบแทน การเข้ารับ การอบรม การเลือ่ นต�ำแหน่ง การเลิกจ้างหรือการให้ออก จากงานอันเนื่องมาจากการแบ่งแยกเพศ เชือ้ ชาติ สีผวิ ศาสนา อายุ สถานภาพการสมรส ผูม้ คี รรภ์ความคิดเห็น ทางการเมือง หรือผูพ้ กิ าร เป็ นต้น (3) บริษทั เปิ ดโอกาสให้พนักงานทุกคนมีสทิ ธิเท่าเทียมกัน ในการท�ำงานภายใต้กฎระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และ ค�ำสังต่ ่ าง ๆ ของบริษทั 3.5 นโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และการ พัฒนาอย่างยั่งยืน

บริษทั มีความมุง่ มั ่นในการด�ำเนินธุรกิจ โดยค�ำนึงถึงสังคม และสิง่ แวดล้อมเป็ นส�ำคัญ เพือ่ การเจริญเติบโตทางธุรกิจ อย่างยั ่งยืนของบริษทั โดยเน้นการปฏิบตั งิ านทีม่ คี วาม โปร่งใส เป็ นธรรม พร้อมมุง่ ให้เกิดประโยชน์และการเติบโต ไปพร้อมกันของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุม่ อย่างเหมาะสม ดังนัน้ บริษทั จึงได้กำ� หนดนโยบายในการปฏิบตั งิ านเพือ่ การ พัฒนาอย่างยังยื ่ น ดังนี้ (1) การน�ำพาองค์กรด้วยแนวคิดด้านการพัฒนาอย่างยังยื ่ น ผ่านการสือ่ สารและการแลกเปลีย่ นวิธปี ฏิบตั ทิ เ่ี ป็ นเลิศ (Best Practice) ร่วมกับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุม่ ของบริษทั (2) ด�ำเนินการให้แนวคิดด้านการพัฒนาอย่างยั ่งยืน เป็ น หนึง่ เดียวกับทุกกระบวนการท�ำงาน และกระบวนการตัดสินใจ ของบริษทั (3) ส่งเสริมการฝึกอบรม การให้ความรู้ และการให้คำ� แนะน�ำ ทีม่ งุ่ เน้นวิธปี ฏิบตั ติ ามแนวทางด้านการพัฒนาอย่างยังยื ่ น

(4) สนับสนุนการด�ำเนินงาน และสร้างความร่วมมือในระดับ ภูมภิ าคเพือ่ ให้เกิดการพัฒนาทีย่ งยื ั่ น 3.6 นโยบายสิ่งแวดล้อม

บริษทั ด�ำเนินธุรกิจให้บริการ โดยยึดมั ่นในความรับผิดชอบ ต่อสิง่ แวดล้อม ดังนัน้ บริษทั จึงมีความมุง่ มั ่นในการบริหาร จัดการสิง่ แวดล้อม ด้วยแนวทางการด�ำเนินการดังต่อไปนี้ (1)+ให้ความส�ำคัญในการป้ องกันและควบคุมมลพิษ ให้เป็ น ไปตามมาตรฐานสากล และค�ำนึงถึงผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมของผูใ้ ช้บริการพนักงาน และชุมชน (2)+สร้า งจิต ส� ำ นึ ก แก่ พ นั ก งานและส่ ง เสริม การใช้ พลัง งาน ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ (3)+ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้สอดคล้องกับกฎหมาย และข้อก�ำหนด อืน่ ๆ ด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ กีย่ วข้อง (4)+ทบทวนวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย เพือ่ ปรับปรุงระบบ การจัดการสิง่ แวดล้อมอย่างต่อเนื่อง (5)+เผยแพร่นโยบายสิง่ แวดล้อมต่อสาธารณชน และผูท้ ่ี เกีย่ วข้อง 3.7 นโยบายการแจ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียนการทุจริต คอร์รัปชั่น

วัตถุประสงค์ (1) เพือ่ ส่งเสริม ให้บุคลากรของบริษทั ด�ำเนินธุรกิจอย่างถูก ต้อง โปร่งใสยุตธิ รรม และสามารถตรวจสอบได้ โดย สอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี มาตรฐานทาง จริยธรรมและจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั โดยบริษทั คาดหวังให้ทกุ คนรายงานโดยสุจริตถึงการปฏิบตั ิ ทีข่ ดั หรือสงสัยว่าจะขัดต่อเรือ่ งดังกล่าวให้บริษทั รับทราบ ซึง่ บริษทั จะได้ปรับปรุงแก้ไข หรือด�ำเนินการให้เกิดความ ถูกต้อง เหมาะสม โปร่งใส ยุตธิ รรม และเป็ นไปตามกฎหมาย ทีม่ กี ารให้ความคุม้ ครองผูใ้ ห้ขอ้ มูลโดยสุจริตแก่คณะกรรมการ ตรวจสอบ (2) เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ าผูบ้ งั คับบัญชา และฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ ของบริษทั ท�ำหน้าทีด่ แู ล และให้คำ� แนะน�ำ ตลอดจนสอดส่อง การกระท�ำต่าง ๆ ของบุคลากรของบริษทั ให้เป็ นไปโดย ถูกต้อง และผูแ้ จ้งเรือ่ งดังกล่าวจะได้รบั ความคุม้ ครอง หาก เป็ นการกระท�ำด้วยความสุจริตใจ ขอบเขตการแจ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียนการทุจริต คอร์รป ั ชัน ่

(1) เมือ่ มีขอ้ สงสัย หรือพบเห็นการกระท�ำทีฝ่ ่ าฝืนหลัก ปฎิบตั ทิ ด่ี ี ในเรือ่ งต่อไปนี้ 1.1 การฝ่ าฝืนการปฏิบตั ติ ามหลักการ และแนว ปฏิบตั ขิ องนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี The Leading Provider of Smart Industrial Platform

83


รายงานประจำ�ปี 2561

1.2 การฝ่ าฝืนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของบริษทั 1.3 การได้รบั ความไม่เป็ นธรรมในการปฏิบตั งิ าน 1.4 การกระท�ำทุจริต (2) พบการกระท�ำทีท่ ำ� ให้เกิดความสงสัย และเกิดผลเสียต่อ บริษทั ช่องทางในการแจ้งเบาะแส หรือร้องเรียนการทุจริ ต คอร์รปั ชัน่ ของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม 1. ไปรษณี ย์ น�ำส่งที่ คณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ห้อง 1308 ชัน้ 13/1 อาคารสาธรซิตท้ี าวเวอร์ เลขที่ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 2. อีเมล คณะกรรมการตรวจสอบ : audit_committee@ticon.co.th กระบวนการในการจัดการกับเรื่องที่มีการร้องเรียน

1.

การลงทะเบียน และส่งเรือ่ ง 1.1 ผูป้ ระสานงานเรือ่ งร้องเรียน ลงทะเบียนรับเรือ่ งร้อง เรียน และก�ำหนดวันแจ้งความคืบหน้าของเรือ่ งที่ ร้องเรียนแก่ผรู้ อ้ งเรียน ดังนี้ • กรณีทม่ี ผี ลกระทบต่อชือ่ เสียงของบริษทั อย่างร้ายแรง ให้ดำ� เนินการโดยด่วนทีส่ ดุ • กรณีอน่ื ให้ดำ� เนินการโดยเร็ว • กรณทีเ่ ป็ นการสอบถามทัวไป ่ เช่นค�ำถามเกีย่ วกับราคา หุน้ การจ่ายเงินปั นผล จะไม่มกี ารลงทะเบียนรับเรือ่ ง แต่ จะส่งเรือ่ งให้กบั ฝ่ ายงานทีร่ บั ผิดชอบเรือ่ งนัน้ ๆ โดยตรง เพือ่ ตอบข้อซักถามแก่ผสู้ อบถาม 1.2 ผูป้ ระสานงานเรือ่ งร้องเรียน ลงบันทึกข้อมูลจากผู้ ร้องเรียน ดังนี้ • ชือ่ - นามสกุล และเบอร์โทรศัพท์ทต่ี ดิ ต่อได้ • วันทีร่ อ้ งเรียน • ชือ่ บุคคล หรือเหตุการณ์ทร่ี อ้ งเรียน • ข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ ๆ 1.3 เมือ่ ลงทะเบียนรับเรือ่ งร้องเรียนแล้ว ให้กำ� หนดชัน้ ความลับตามเนื้อหาของเรือ่ ง (ยกเว้นกรณีทเ่ี ป็ นการ สอบถามทัวไป) ่ และด�ำเนินการดังนี้ • สัง่ ให้ ผู้ ดู แ ลเรื่อ งร้ อ งเรีย นด� ำ เนิ น การหา ข้อเท็จจริงสังการตามอ� ่ ำนาจหน้าที่ • ผูด้ แู ลเรือ่ งร้องเรียนจะต้องสรุปผลและรายงาน ให้คณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ • คณะกรรมการตรวจสอบจะรายงานผลการ จัดการกับเรือ่ งร้องเรียนต่อคณะกรรมการบริษทั ให้รบั ทราบต่อไป 2. การรวบรวมข้อมูล การสอบสวนข้อเท็จจริง และการสังการ ่

84

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

2.1 ผูด้ แู ลเรือ่ งร้องเรียน จะต้องรวบรวมและตรวจสอบ ข้อมูลหลักฐานหากการสอบสวนข้อเท็จจริงแล้วพบ ว่า ผูถ้ กู ร้องเรียนกระท�ำผิด จริง หรือ มีความผิดจริง และเห็นว่าจะต้องมีการลงโทษทางวินยั ให้หารือกับ ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ เพือ่ ให้การลงโทษเป็ นไปตาม ระเบียบข้อบังคับของบริษทั และ/หรือกฎหมายที่ เกีย่ วข้องทัง้ นี้ ผูด้ แู ลเรือ่ งร้องเรียนจะต้องรายงานผล การสอบสวนและบทลงโทษต่อคณะกรรมการตรวจ สอบเพือ่ ทราบ พร้อมทัง้ ส�ำเนาเรือ่ งดังกล่าวให้ผู้ ประสานงานเรือ่ งร้องเรียน เพือ่ แจ้งแก่ผรู้ อ้ งเรียน ทราบ 2.2 หากผูด้ แู ลเรือ่ งร้องเรียนตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้ว พบว่าผูถ้ กู ร้องเรียนไม่มคี วามผิด หรือเป็ นเรือ่ งที่ เกิดจากความเข้าใจผิด หรือได้ให้ขอ้ แนะน�ำแก่ผถู้ กู ร้องเรียน หรือผูท้ เ่ี กีย่ วข้องให้มกี ารประพฤติ หรือ ปฏิบตั ทิ เ่ี หมาะสมแล้ว และพิจารณาเห็นว่า ควรให้ ปิ ดเรือ่ งโดยไม่มกี ารลงโทษใด ๆ ให้ผดู้ แู ลเรือ่ งร้อง เรียนเสนอเรือ่ งดังกล่าวแก่ผบู้ งั คับบัญชาล�ำดับเหนือ ขึน้ ไป เพือ่ ขออนุ มตั ิ และส�ำเนาเรือ่ งให้ผปู้ ระสาน งานเรือ่ งร้องเรียน เพือ่ แจ้งแก่ผรู้ อ้ งเรียนทราบ จาก นัน้ รายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบต่อไป 3. การแจ้งผลสรุปต่อผูร้ อ้ งเรียน และการปรับปรุงแก้ไข 3.1 ผูด้ แู ลเรือ่ งร้องเรียนต้องแจ้งผลการด�ำเนินการให้ผู้ ประสานงานเรือ่ งร้องเรียนทราบ 3.2 ผูป้ ระสานงานเรือ่ งร้องเรียน แจ้งผลการด�ำเนินการ ให้กบั ผูร้ อ้ งเรียนทราบ และบันทึกผลของการด�ำเนิน การเกีย่ วกับเรือ่ งร้องเรียนไว้ โดยน�ำเสนอคณะ กรรมการตรวจสอบทราบเป็ นรายไตรมาส 3.3 ผูป้ ระสานงานเรือ่ งร้องเรียน ติดตามผลการปรับปรุง แก้ไข (ถ้ามี) และรายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบ ทราบ การร้องเรียนโดยไม่สุจริต

หากการแจ้งเบาะแส ข้อร้องเรียน ให้ถอ้ ยค�ำ หรือให้ขอ้ มูล ใด ๆ ทีพ ่ สิ จู น์ได้วา่ เป็ นการกระท�ำโดยไม่สจุ ริต กรณีเป็ น บุคลากรของบริษทั จะได้รบั การลงโทษทางวินยั แต่หากเป็ น บุคคลภายนอกทีเ่ ป็ นผูก้ ระท�ำให้บริษทั ได้รบั ความเสียหาย ทางบริษทั จะด�ำเนินคดีกบั บุคคลนัน้ ต่อไป มาตรการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส หรือผู้ร้องเรียน

1. บริษทั จะเก็บข้อมูล และตัวตนของผูแ้ จ้งเบาะแส ผูร้ อ้ งเรียน หรือผูถ้ กู ร้องเรียน เป็ นความลับ 2. บริษทั จะเปิ ดเผยข้อมูลเท่าทีจ่ ำ� เป็ น โดยค�ำนึงถึงความ ปลอดภัยและความเสียหายของผูร้ ายงานแหล่งทีม่ า ของข้อมูล หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง 3. ผูท้ ไ่ี ด้รบั ความเสียหายจะได้รบั การบรรเทาความ


รายงานประจำ�ปี 2561

เสียหายด้วยกระบวนการทีเ่ หมาะสม และเป็ นธรรม 4. กรณีทผ่ี รู้ อ้ งเรียน หรือผูท้ ใ่ี ห้ความร่วมมือในการตรวจ สอบข้อเท็จจริงเห็นว่าตนอาจได้รบั ความไม่ปลอดภัย หรืออาจเกิดความเดือดร้อนเสียหาย ผูร้ อ้ งเรียน หรือผู้ ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง สามารถ ร้องขอให้บริษทั ก�ำหนดมาตรการคุม้ ครองทีเ่ หมาะสม ก็ได้ หรือบริษทั อาจก�ำหนดมาตรการคุม้ ครองโดยผูร้ อ้ ง เรียน หรือผูท้ ใ่ี ห้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จ จริงไม่ตอ้ งร้องขอก็ได้ หากเห็นว่าเป็ นเรือ่ งทีม่ แี นวโน้ม ทีจ่ ะเกิดความเดือดร้อนเสียหาย หรือความไม่ปลอดภัย 5. บริษทั จะไม่กระท�ำการใดอันไม่เป็ นธรรมต่อผูแ้ จ้ง เบาะแส หรือผูร้ อ้ งเรียน ไม่วา่ จะโดยการเปลีย่ นแปลง ต�ำแหน่งงาน ลักษณะงาน สถานทีท่ ำ� งาน สั ่งพักงาน ข่มขู่ รบกวนการปฏิบตั งิ าน เลิกจ้าง หรือกระท�ำการอืน่ ใดทีม่ ลี กั ษณะเป็ นการปฏิบตั อิ ย่างไม่เป็ นธรรมต่อผูแ้ จ้ง เบาะแส ผูร้ อ้ งเรียน หรือผูใ้ ห้ความร่วมมือในการตรวจ สอบข้อเท็จจริง บทลงโทษเมื่อไม่ปฏิบัติตามมาตรการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น

นโยบาย และมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ถือเป็ น ส่วนหนึ่งของวินยั ในการปฏิบตั งิ าน กรรมการ ผูบ้ ริหาร และ พนักงาน ทีไ่ ม่ปฏิบตั ติ ามย่อมถูกสอบสวน และพิจารณา โทษทางวินยั ตามระเบียบข้อบังคับของบริษทั พระราชบัญญัติ บริษท ั มหาชนจ�ำกัด พระราชบัญญัตห ิ ลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องต่อไป

3.8 นโยบายการใช้ข้อมูลภายใน

บริษทั มีนโยบาย และวิธกี ารดูแลผูบ้ ริหารในการน�ำข้อมูล ภายในของบริษทั ไปใช้เพือ่ ประโยชน์สว่ นตน ดังนี้ (1) ให้ความรูแ้ ก่กรรมการ และผูบ้ ริหาร เกีย่ วกับหน้าทีท่ ่ี ต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ และการเปลีย่ นแปลงการถือ หลักทรัพย์ของบริษทั ตามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ. หลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และบทก�ำหนดโทษตาม กฎหมายดังกล่าว (2) บริษทั ได้แจ้งให้ผบู้ ริหารทราบว่าหากบุคลากรทีไ่ ด้รบั ทราบข้อมูลภายในทีเ่ ป็ นสาระส�ำคัญอันจะมีผลต่อการ เปลีย่ นแปลงราคาหลักทรัพย์ ต้องระงับการซือ้ ขายหลัก ทรัพย์ของบริษทั ทันทีตงั ้ แต่วนั ทีไ่ ด้รบั ทราบข้อมูล และจะ ต้องไม่เปิ ดเผยข้อมูลทีเ่ ป็ นสาระส�ำคัญนัน้ ต่อบุคคลอืน่ โดย ผูฝ้ ่ าฝืนอาจได้รบั โทษตามกฎหมาย (3) บริษทั จะชีแ้ จงต่อผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนผ่านทางตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในทันที ในกรณีทม่ี ขี า่ วสารใด ๆ ทัง้ ทีเ่ ป็ นจริงและไม่เป็ นจริงรั ่วไหลออกสูส่ าธารณชน ทัง้ นี้ เพือ่ ไม่ให้เกิดความไม่เป็ นธรรมต่อผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุน ทัวไป ่ (4) กรรมการ ผูบ้ ริหารต้องงดการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของ บริษทั ในช่วงเวลา 30 วัน ก่อนการเผยแพร่งบการเงินแก่ สาธารณชน

รายงานการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการ และผู้บริหาร ณ วันทีื่ 30 พฤศจิกายน 2561 กรรมการ/ผู้บริหาร นับรวมคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

จ�ำนวนหุ้นสามัญ (หุ้น) 10 มีนาคม 2560

เปลี่ยนแปลง

30 พฤศจิกายน 2561

เพิ่มขึ้น/ลดลง (หุ้น)

กรรมการ 1. นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม

-

-

-

1,349,362

-

(1,349,362)*

3. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

-

-

-

4. ร.ศ. ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย

-

-

-

5. นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี

-

-

-

6. นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์

-

-

-

36,232,635

-

(36,232,635)*

8. นายชาย วินิชบุตร

-

-

-

9. นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์

-

-

-

2. นายตรีขวัญ บุนนาค

7. นายชาลี โสภณพนิช

หมายเหตุ: * เป็ นการขายหลักทรัพย์ตามค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทงั ้ หมดของกิจการ (Tender Offer) จากบริษทั เฟรเซอร์ส แอสเซ็ทส์ จ�ำกัด

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

18-10-003_001-268 Thai new19-12 TICON_J-Coated.indd 85

85

19/12/2561 BE 08:37


รายงานประจำ�ปี 2561

จ�ำนวนหุ้นสามัญ (หุ้น)

กรรมการ/ผู้บริหาร นับรวมคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

10 มีนาคม 2560

เปลี่ยนแปลง

30 พศจิกายน 2561

เพิ่มขึ้น/ลดลง (หุ้น)

ผูบ้ ริ หาร 1. นายโสภณ ราชรักษา

-

-

-

2. ดร.สมศักดิ ์ ไชยพร

-

-

-

79

176,158

176,079

4. นายแฮรี่ ยาน เก็ก วี

-

-

-

5. นางสาวรจนา อัศววิเชียรจินดา

-

-

-

6. นางสาวกมลกาญจน์ คงคาทอง

-

-

-

7. นางสาวลก เชง ยี

-

-

-

8. นางสาวเธ่ห์ ชิว ฮาร์

-

-

-

3. นางสาวลลิตพันธุ์ พิรยิ ะพันธุ์

หมายเหตุ: * เป็ นการขายหลักทรัพย์ตามค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทงั ้ หมดของกิจการ (Tender Offer) จากบริษทั เฟรเซอร์ส แอสเซ็ทส์ จ�ำกัด

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส

เพือ่ ให้การเปิ ดเผยข้อมูลเป็ นไปอย่างโปร่งใสและเท่าเทียม กัน บริษทั ได้จดั ให้มกี ารเปิ ดเผยข้อมูลทางการเงิน รายงาน ประจ�ำปี นโยบายและกิจกรรมเพือ่ สังคมทัง้ ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ และแบบแสดงรายงานข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั ที่ www.ticon.co.th โดย บริษทั ได้ดำ� เนินการปรับปรุงข้อมูลดังกล่าวให้เป็ นปั จจุบนั อย่างสม�่ำเสมอ นอกจากนี้ บริษทั ได้จดั ประชุมแถลงข้อมูล ผลการด�ำเนินงานในแต่ละไตรมาสให้แก่ผถู้ อื หุน้ นักลงทุน นักวิเคราะห์ ผูจ้ ดั การกองทุน และผูท้ ส่ี นใจ โดยมีผบู้ ริหาร ของบริษทั เข้าร่วมประชุมชีแ้ จงและตอบข้อซักถาม ทัง้ นี้ ผูส้ นใจสามารถติดต่อบุคคลดังต่อไปนี้ ซึง่ เป็ นผูด้ แู ล งานนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษทั เพือ่ สอบถามข้อมูลของ บริษทั ชื่อ - ต�ำแหน่ง

ที่อยู่

นางสาวอัญชลี เจียรธรรม ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

ห้อง 1308 ชัน้ 13/1 อาคารสาธร ซิตท้ี าวเวอร์ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ (662) 679 6565 โทรสาร (662) 287 3153 อีเมล์

anchalee.j@ticon.co.th;

นอกเหนือจากการเปิ ดโอกาสให้นกั วิเคราะห์หลักทรัพย์ นักลงทุน เข้าพบผูบ้ ริหารของบริษทั เพือ่ สอบถามผลการ ด�ำเนินงาน และเข้าเยีย่ มชมโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั รวมทัง้ การจัดประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ พร้อมกับการ จัดแถลงข่าวแก่สอ่ื มวลชน เพือ่ ชีแ้ จงผลประกอบการและ ภาพรวมธุรกิจแล้ว บริษท ั ได้เข้าร่วมกิจกรรมบริษท ั จดทะเบียนพบผูล้ งทุน (Opportunity day) ซึง่ จัดโดย

86

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็ นประจ�ำทุกไตรมาส และกิจกรรมพบปะนักลงทุน/นักวิเคราะห์ทจ่ี ดั โดยบริษทั หลักทรัพย์ เพือ่ เป็ นการส่งเสริมการให้ขอ้ มูล และสร้างความ สัมพันธ์อนั ดีระหว่างผูบ้ ริหารและนักลงทุน และเพือ่ ให้ม ี ความเข้าใจในธุรกิจของบริษทั มากขึน้ นอกจากนัน้ บริษทั ยังมีการเดินทางไปต่างประเทศเพือ่ ให้ขอ้ มูลแก่นกั ลงทุนที่ มิได้อยูใ่ นประเทศไทยด้วย ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2561 บริษทั ได้จดั ให้มกี ารน�ำเสนอ ข้อมูลแก่นกั ลงทุนต่างประเทศ นักลงทุนสถาบัน นักลงทุน รายย่อย และนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ดังนี้ กิจกรรมการน�ำเสนอข้อมูล

จ�ำนวนครั้ง

บริษทั จดทะเบียนพบผูล้ งทุน

3

นักลงทุนพบผูบ้ ริหารของบริษทั

13

ประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และจัดแถลงข่าวแก่ สือ่ มวลชน

2

ให้ขอ้ มูลแก่นกั ลงทุนในประเทศ

41

ให้ขอ้ มูลแก่นกั ลงทุนต่างประเทศ

3

อนึ่ง คณะกรรมการบริษทั เป็ นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินของ บริษทั และข้อมูลทางการเงินทีป่ รากฏในรายงานประจ�ำปี ซึง่ งบการเงินดังกล่ า วจัด ท� ำ ขึ้น ตามมาตรฐานการบัญ ชีท่ี รับ รองทัว่ ไปในประเทศไทย โดยบริษทั ได้เลือกใช้นโยบาย ทางบัญชีทเ่ี หมาะสมและใช้นโยบายทางบัญชีเดียวกันใน แต่ละรอบปี บญ ั ชี ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะ กรรมการตรวจสอบเป็ นผูด้ แู ลรับผิดชอบเกีย่ วกับคุณภาพ ของรายงานทางการเงิน และระบบควบคุมภายในของบริษทั รวมทัง้ การเปิ ดเผยข้อมูลทีส่ ำ� คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน เพือ่ ให้ม ั ่นใจว่าการบันทึกข้อมูลทาง บัญชีมคี วามถูกต้อง ครบถ้วนและเพียงพอ เพือ่ ประโยชน์ ของผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทั ่วไป นอกจากนี้ คณะกรรมการ บริษทั ยังได้จดั ท�ำรายงานคณะกรรมการบริษทั เพือ่ น�ำเสนอ

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

18-10-003_001-268 Thai new19-12 TICON_J-Coated.indd 86

19/12/2561 BE 08:37


รายงานประจำ�ปี 2561

ในรายงานประจ�ำปี ต่อผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้ทราบถึงผลการด�ำเนิน งานและประเด็นส�ำคัญต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในรอบปี ดว้ ย ทัง้ นี้ ในปี 2561 ไม่มเี หตุการณ์ทบ่ี ริษทั ถูกด�ำเนินการโดย หน่วยงานก�ำกับดูแลเนื่องจากการไม่ประกาศหรือไม่เปิ ด เผยข้อมูลทีม่ สี าระส�ำคัญภายในระยะเวลาทีก่ ำ� หนด 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริษัท 5.1 โครงสร้างคณะกรรมการ

(1) โครงสร้างคณะกรรมการของบริษทั ประกอบด้วยบุคคล ผูท้ รงคุณวุฒมิ คี ณ ุ สมบัติ ทักษะ ความรู้ และมีประสบการณ์ ทีเ่ ป็ นประโยชน์กบั บริษทั สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้อย่างมี ประสิทธิภาพจ�ำนวน 9 คน ประกอบด้วย กรรมการทีเ่ ป็ นผูม้ ี อ�ำนาจจัดการ 5 คน กรรมการทีเ่ ป็ นอิสระ 4 คน (2) ประธานกรรมการ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และ ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่มหี น้าทีค่ วามรับผิดชอบแยกต่างหากจาก กันและไม่ใช่บุคคลเดียวกัน โดยประธานกรรมการมาจาก การเลือกตัง้ ของกรรมการบริษทั ท�ำหน้าทีเ่ ป็ นประธานในที่ ประชุม โดยควบคุมการประชุมของคณะกรรมการบริษทั ให้ เป็ นไปตามระเบียบวาระการประชุม และสนับสนุ นให้ กรรมการทุกท่านมีสว่ นร่วมในการประชุม เช่น ตัง้ ค�ำถาม หรือข้อสังเกตให้คำ� ปรึกษาและให้ขอ้ เสนอแนะต่อผูบ้ ริหาร และสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั แต่จะไม่กา้ วก่าย ในการบริหารจัดการกิจการของบริษทั ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ทำ� หน้าทีบ่ ริหารจัดการกิจการ ของบริษทั และก�ำกับดูแลให้การด�ำเนินงานของบริษทั เป็ น ไปตามข้อบังคับ มติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ มติคณะกรรมการ บริษทั นโยบายและแผนการประกอบธุรกิจของบริษทั และ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง (3) คณะกรรมการมีก รรมการที่เ ป็ น อิส ระจ�ำ นวน 4 คน สอดคล้องกับสัดส่วนทีส่ ำ� นักงาน ก.ล.ต. ก�ำหนด ซึง่ สามารถ ให้ความเห็น เกีย่ วกับการท�ำงานของฝ่ ายบริหารได้อย่าง อิสระ โดยบริษทั ได้กำ� หนดคุณสมบัตขิ อง “กรรมการอิสระ” ให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดขัน้ ต�่ำของส�ำนักงาน ก.ล.ต.และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (4) กรรมการมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการ ซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งอาจได้รบั เลือกตัง้ ใหม่ โดยในการประชุม สามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี ทกุ ครัง้ ก�ำหนดให้กรรมการออกจาก ต�ำแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจ�ำนวนกรรมการทีจ่ ะแบ่งออกให้ตรง เป็ นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ทส่ี ดุ กับส่วน 1 ใน 3 5.2 คุณสมบัติของคณะกรรมการบริษัท

(1) กรรมการต้องเป็ นบุคคลที่มคี วามรูค้ วามสามารถ และ ประสบการณ์ทจ่ี ะเป็ นประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ มีความ ซื่อสัตย์ สุจริต มีจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ และมีเวลา เพียงพอทีจ่ ะอุทศิ ความสามารถและปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้แก่

บริษทั อย่างเต็มที่ (2) กรรมการต้องมีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วน และไม่มลี กั ษณะต้อง ห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษทั มหาชนจ�ำกัด และกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทัง้ ต้องไม่ม ี สถานะขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศส�ำนักงานคณะ กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยจะต้อง เป็ นบุคคลทีม่ ชี อ่ื อยูใ่ นระบบข้อมูลรายชือ่ กรรมการและผู้ บริหารของบริษท ั ที่ออกหลักทรัพย์ตามประกาศคณะ กรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์การแสดงชือ่ บุคคลในระบบข้อมูลรายชือ่ กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย์ (3) กรรมการไม่สามารถประกอบกิจการอันมีสภาพอย่าง เดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริษทั หรือเข้า เป็ นหุน้ ส่วน หรือกรรมการในนิตบิ ุคคลอืน่ ทีม่ สี ภาพอย่าง เดียวกันและเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริษทั ไม่วา่ จะท�ำ เพือ่ ประโยชน์ของตนหรือประโยชน์ของบุคคลอืน่ เว้นแต่ จะแจ้งให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบก่อนทีจ่ ะมีมติแต่งตัง้ (4) กรรมการต้องแจ้งให้บริษทั ทราบโดยไม่ชกั ช้า หากมีสว่ น ได้เสียในสัญญาทีบ่ ริษทั ท�ำขึน้ ไม่วา่ โดยตรง หรือโดยอ้อม หรือถือหุน้ เพิม่ ขึน้ หรือลดลงในบริษทั หรือบริษทั ในเครือ (5) กรรมการต้องแสดงความคิดเห็น และใช้ดลุ ยพินิจอย่าง เป็ นอิสระในการพิจารณาก�ำหนดกลยุทธ์ การบริหารงาน การใช้ทรัพยากร การแต่งตัง้ กรรมการ และการก�ำหนด มาตรการการด�ำเนินกิจการ ตลอดจนมีความเป็ นอิสระทีจ่ ะ คัดค้านการกระท�ำของกรรมการท่านอืน่ หรือฝ่ ายจัดการ ใน กรณีทม่ี คี วามเห็นขัดแย้งในเรือ่ งทีม่ ผี ลกระทบต่อความ ทัดเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ 5.3 คุณสมบัติกรรมการอิสระ (นิยามตามประกาศคณะ กรรมการกำ�กับตลาดทุนที่ ทจ.39/2559)

บริษทั ได้กำ� หนดคุณสมบัตกิ รรมการอิสระตามประกาศของ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ ดังนี้ (1) ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง ทัง้ หมดของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ทัง้ นี้ ให้ นับรวมการถือหุน้ ของผูท้ เ่ี กีย่ วข้องของกรรมการอิสระราย นัน้ ๆ ด้วย (2) ไม่เป็ นหรือเคยเป็ นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจ�ำหรือผูม้ ี อ�ำนาจควบคุมของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือของผูม้ ี อ�ำนาจควบคุมของบริษทั เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ทัง้ นี้ ลักษณะต้องห้าม ดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีทก่ี รรมการอิสระเคยเป็ นข้าราชการ หรือทีป่ รึกษาของส่วนราชการซึง่ เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือ ผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั The Leading Provider of Smart Industrial Platform

87


รายงานประจำ�ปี 2561

(3) ไม่เป็ นบุคคลทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดย การจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะทีเ่ ป็ นบิดา มารดา คูส่ มรส พีน่ ้อง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตร ของ กรรมการรายอื่น ผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุม หรือบุคคลทีจ่ ะได้รบั การเสนอให้เป็ นกรรมการ ผู้ บริหาร หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั หรือบริษทั ย่อย (4) ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของบริษทั ในลักษณะทีอ่ าจเป็ นการขัดขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทัง้ ไม่เป็ นหรือเคยเป็ น ผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของผูท้ ม่ี คี วามสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั เว้นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ความ สัมพันธ์ทางธุรกิจรวมถึงการท�ำรายการทางการค้าทีก่ ระท� ำ เป็ นปกติเ พื่อ ประกอบกิจ การ การเช่ า หรือ ให้เ ช่ า อสังหาริมทรัพย์ รายการเกีย่ วกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือ การให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือ ให้กยู้ มื ค�ำ้ ประกัน การให้สนิ ทรัพย์เป็ นหลักประกันหนี้สนิ รวมถึงพฤติการณ์อน่ื ท�ำนองเดียวกัน ซึง่ เป็ นผลให้บริษทั หรือคูส่ ญ ั ญามีภาระหนี้ทต่ี อ้ งช�ำระต่ออีกฝ่ ายหนึ่ง ตัง้ แต่ ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ทม่ี ตี วั ตนสุทธิของบริษทั หรือตัง้ แต่ 20 ล้านบาทขึน้ ไป แล้วแต่จำ� นวนใดจะต�่ำกว่า ทัง้ นี้ การ ค�ำนวณภาระหนี้ดงั กล่าวให้เป็ นไปตามวิธกี ารค�ำนวณมูลค่า ของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับ ตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ดงั กล่าว ให้นบั รวม ภาระหนี้ทเ่ี กิดขึน้ ในระหว่าง 1 ปี ก่อนวันทีม่ คี วามสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน (5) ไม่เป็ นหรือเคยเป็ นผูส้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของบริษทั และไม่เป็ นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุม หรือหุน้ ส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบ บัญชีของผูข้ ออนุญาต บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผู้ ถือหุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของผูข้ ออนุ ญาต สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี (6) ไม่เป็ นหรือเคยเป็ นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึง่ รวม ถึงการให้บริการเป็ นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษา ทางการเงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปี จาก บริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั และไม่เป็ นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพ นัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่ น้อยกว่า 2 ปี (7) ไม่เป็ นกรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็ นตัวแทน ของกรรมการของบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็ นผูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ (8) ไม่ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการ

88

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

แข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั หรือบริษทั ย่อย หรือไม่ เป็ นหุน้ ส่วนทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็ นกรรมการทีม่ สี ว่ น ร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือน ประจ�ำ หรือถือหุน้ เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออก เสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพ อย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของ บริษทั หรือบริษทั ย่อย (9) ไม่มลี กั ษณะอื่นใดทีท่ ำ� ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่าง เป็ นอิสระเกีย่ วกับการด�ำเนินงานของบริษทั ภายหลังได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็ นกรรมการอิสระทีม่ ลี กั ษณะ เป็ นไปตามข้อ 1 ถึง 9 แล้ว กรรมการอิสระอาจได้รบั มอบ หมายจากคณะกรรมการ ให้ตดั สินใจในการด�ำเนินกิจการ ของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อย ล�ำดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของ บริษทั โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (collective decision) ได้ 5.4 วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง

(1) ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี กรรมการต้องพ้น จากต�ำแหน่งจ�ำนวนหนึ่งในสาม ถ้าจ�ำนวนกรรมการไม่อาจ แบ่งได้พอดีจำ� นวนหนึ่งในสาม ให้ใช้จำ� นวนทีใ่ กล้ทส่ี ดุ กับ หนึ่ ง ในสาม+กรรมการที่จ ะต้อ งพ้น จากต� ำ แหน่ ง นัน้ ให้พจิ ารณาจากกรรมการทีอ่ ยูใ่ นต�ำแหน่งนานทีส่ ดุ เป็ นผูพ้ น้ จากต�ำแหน่ง และกรรมการซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งอาจได้รบั การ เลือกตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งใหม่ได้ (2) นอกจากการพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระข้างต้นแล้ว กรรมการจะพ้นจากต�ำแหน่งในกรณีดงั ต่อไปนี้ ก. ตาย ข. ลาออก ค. ขาดคุณสมบัตหิ รือมีลกั ษณะต้องห้ามตามพระราช บัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด หรือตามหลักเกณฑ์ กําหนดในประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ง. ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ลงมติให้ออกด้วยคะแนนเสียง ไม่น้อย กว่าสามในสีข่ องจ�ำนวนผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มา ประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง และมีหนุ้ นับรวมกันได้ ไม่น้อยกว่ากึง่ หนึ่งของจ�ำนวนหุน้ ทีถ่ อื โดยผูถ้ อื หุน้ ทีม่ าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง จ. ศาลมีคำ� สังให้ ่ ออกจากต�ำแหน่ง (3) กรรมการคนใดจะลาออกจากต�ำแหน่ง ให้ยน่ื ใบลาออก ต่อบริษทั การลาออกให้มผี ลตัง้ แต่วนั ทีใ่ บลาออกไปถึง บริษทั ในกรณีทต่ี ำ� แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอ่นื นอกจากถึง คราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษทั เลือกตัง้ บุคคลที่ มีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนขึน้ เป็ นกรรมการแทนในการประชุม คณะกรรมการบริษทั คราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการ นัน้ จะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดยบุคคลทีเ่ ข้าด�ำรงต�ำแหน่ง เป็ นกรรมการแทนจะอยูใ่ นต�ำแหน่งได้เพียงเท่าวาระทีย่ งั


รายงานประจำ�ปี 2561

เหลืออยูข่ องกรรมการซึง่ ตนเข้าด�ำรงต�ำแหน่งแทน 5.5 บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

(1) คณะกรรมการประกอบด้วยบุคคลในวงการธุรกิจ และ จากหลายสาขาอาชีพ ซึง่ มีภาวะผูน้ �ำมีวสิ ยั ทัศน์ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในด้านต่างๆ และมีความ เป็ นอิสระในการตัดสินใจเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั และ ผูถ้ อื หุน้ โดยรวม คณะกรรมการได้มสี ว่ นร่วมในการก�ำหนด ให้ความเห็นชอบ วิสยั ทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้ าหมาย แผน ธุรกิจ และงบประมาณของบริษทั ตลอดจนก�ำกับดูแลให้ฝ่าย บริหารด�ำเนินการให้เป็ นไปตามแผนธุรกิจและงบประมาณที่ ก�ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพือ่ เพิม่ มูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กจิ การ และความมันคงสู ่ งสุด ให้แก่ผถู้ อื หุน้ (2) คณะกรรมการได้จดั ให้มนี โยบายการก�ำกับดูแลกิจการ และก�ำหนดให้มกี ารทบทวนอย่างน้อย ปี ละ 1 ครัง้ (3) บริษทั ได้มกี ารจัดท�ำจรรยาบรรณของบริษทั โดยคณะ กรรมการได้เห็นชอบในการน�ำไปปฏิบตั ิ ซึง่ จรรยาบรรณ ของบริษทั ประกอบด้วยข้อพึงประพฤติพงึ ปฏิบตั ขิ อง กรรมการและผูบ้ ริหาร และของพนักงานทีก่ ำ� หนดแนวทาง ในการประพฤติปฏิบตั ติ นต่อบริษทั ผูร้ ว่ มงาน บุคคล ภายนอก และสังคมตามหลักจริยธรรมทีด่ ี ซึง่ ตลอดระยะ เวลาทีผ่ า่ นมากรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคนได้รบั ทราบและเข้าใจอย่างดีถงึ ข้อพึงประพฤติปฏิบตั ติ นทีเ่ หมาะ สม และถูกต้องทางจริยธรรม และยึดถือเป็ นแนวทางในการ ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามภารกิจของบริษทั ด้วยความซื่อสัตย์สจุ ริต และเทีย่ งธรรมเพือ่ สร้างความเชือ่ มั ่นให้แก่ผถู้ อื หุน้ และผูม้ ี ส่วนได้สว่ นเสียทุกกลุม่ รวมทัง้ สาธารณชนและสังคม (4) ในการพิจารณาการท�ำรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งของ ผลประโยชน์ กรรมการทีม่ สี ว่ นได้เสียจะไม่เข้าร่วมประชุม และงดออกเสียงในวาระนัน้ (5) ในด้านการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการติดตามและ รับทราบแผนการจัดการความเสีย่ งของบริษทั จากการ รายงานของฝ่ ายบริหารในรายงานผลการด�ำเนินงานในการ ประชุมคณะกรรมการทุกครัง้ และรับทราบจากรายงานของ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง (6) คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั ิ งานของคณะกรรมการบริษทั ทัง้ คณะ (Evaluation on the Performance of the Board of Directors) การประเมินผล การปฏิบตั งิ านของกรรมการเป็ นรายบุคคล (Director Self-Assessment) รวมถึงการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ของคณะกรรมการชุดย่อย (Sub-Committee Self-Assessment) เป็ นประจ�ำทุกปี เพือ่ เปิ ดโอกาสให้กรรมการแต่ละท่านแสดง ความคิดเห็นต่อผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ และ เพือ่ ช่วยในการพิจารณาทบทวนผลงาน ปั ญหาและอุปสรรค ต่างๆ ในการปฏิบตั งิ านในปี ทผ่ี า่ นมา 5.6 การประชุมคณะกรรมการ

การประชุมคณะกรรมการบริษทั จัดขึน้ อย่างน้อยทุกไตรมาส โดยบริษทั จะแจ้งก�ำหนดการประชุมคณะกรรมการบริษทั ให้ กรรมการทราบล่วงหน้าทุกปี เพือ่ ให้กรรมการสามารถจัด เวลาและเข้าร่วมประชุมได้อย่างพร้อมเพรียงกัน ในการ ประชุมคณะกรรมการบริษทั มีการก�ำหนดวาระการประชุมที่ ชัดเจน โดยบริษทั จะจัดส่งหนังสือเชิญประชุมและเอกสาร ประกอบการประชุมให้แก่กรรมการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน เพือ่ ให้กรรมการได้มเี วลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอ ก่อนเข้าร่วมการประชุม โดยมีผบู้ ริหารระดับสูงเข้าร่วมการ ประชุมเพือ่ ชีแ้ จงรายละเอียดและตอบข้อซักถามของคณะ กรรมการบริษทั ทัง้ นี้ ประธานกรรมการเปิ ดโอกาสให้ กรรมการทุกท่านได้แสดงความคิดเห็นอย่างเปิ ดเผยก่อน การลงคะแนน และสรุปมติของทีป่ ระชุมในแต่ละวาระการ ประชุม กรรมการทีม่ สี ว่ นได้เสียไม่วา่ โดยทางตรงหรือทาง อ้อมไม่มสี ทิ ธิออกเสียงลงคะแนนและจะต้องออกจากการ ประชุมในระหว่างการพิจารณาวาระนัน้ ๆ ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม - 30 กันยายน 2561 กรรมการบริษทั แต่ละท่านมีเข้าร่วมประชุม ดังนี้

จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 (มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 8 ครั้ง)

8/8 2. นายตรีขวัญ บุนนาค 8/8 3. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ 4/8 4. ร.ศ. ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย 8/8 5. นายชาลี โสภณพนิช 4/8 6. นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์ 4/8 7. นายชาย วินิชบุตร 61/8 หมายเหตุ : หมายถึ นวนครั 8. นายปณต สิรวิ งฒ ั จ�ำนภั กดี ง้ ทีก่ รรมการท่านนัน้ ไม่อาจร่วมเข้ 41า/8ร่วมประชุมในสถานที ่ เดียวกันกับกรรมการท่านอืน่ ได้ แต่รว่ มประชุมผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ (ทางโทรศัพท์) 9. นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์ 7/8 ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ เลขานุการบริษทั จะเป็ นผูจ้ ดั การประชุม จัดเตรียมระเบียบวาระการประชุม และเอกสารเพือ่ ส่งให้แก่คณะกรรมการบริษทั ก่อนการ ประชุม เป็ นผูบ้ นั ทึกรายงานการประชุมโดยมีรายละเอียด สาระส�ำคัญ และข้อคิดเห็นต่าง ๆ ครบถ้วนและเสร็จสมบูรณ์ ภายใน 14 วัน ภายหลังการประชุม รวมทัง้ มีหน้าทีจ่ ดั เก็บ เอกสารเกีย่ วกับการประชุมให้ถกู ต้องครบถ้วน นอกจากนัน้ ยังมีหน้าทีใ่ ห้ค�ำแนะน� ำแก่คณะกรรมการบริษทั ในกฎ ระเบียบต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับวาระการประชุม 1. นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม

1

5.7. การประเมินผลการปฏิบัติงาน

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

89


รายงานประจำ�ปี 2561

5.7.1 การประเมิ นผลการบฏิ บตั ิ งานของคณะกรรมการ บริ ษทั และคณะกรรมการตรวจสอบ (ทัง้ รายคณะ และ รายบุคคล) บริษทั จัดให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านและทบทวนผล การปฏิบตั หิ น้ าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั +และคณะ กรรมการตรวจสอบ (ทัง้ รายคณะ และรายบุคคล) เป็ นประจ�ำ ทุกปี ซึง่ แบบประเมินฯทีใ่ ช้นนั ้ บริษทั ได้น�ำแนวทางจาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมาปรับให้เหมาะสมกับ ลักษณะและโครงสร้างของคณะกรรมการของบริษทั รวมถึง คณะกรรมการตรวจสอบ โดยผลการประเมินจะถูกน�ำมาใช้ ในการพัฒนาการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละการด�ำเนินงานของคณะ กรรมการให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป แบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ ประกอบ ด้วย 6 หัวข้อดังนี้ (1) โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ (2) บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะ กรรมการ (3) การประชุมคณะกรรมการ (4) การท�ำหน้าทีข่ องกรรมการ (5) ความสัมพันธ์กบั ฝ่ ายจัดการ (6) การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนา ผูบ้ ริหาร โดยมีระดับคะแนนตัง้ แต่ 0 – 4 จากไม่เห็นด้วยอย่างมาก จนถึงเห็นด้วยอย่างมาก ซึง่ ผลการประเมินการปฏิบตั งิ าน ของกรรมการบริษทั และคณะกรรมการการตรวจสอบทัง้ รายคณะ และรายบุคคล ส�ำหรับการปฏิบตั งิ านในระหว่างปี บัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 กรรมการเห็นด้วย กับการด�ำเนินการทีผ่ า่ นมาอย่างมาก รวมทัง้ เห็นว่าคณะ กรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบมีการด�ำเนิน การและปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการได้อย่างดีเยีย่ ม 5.7.2 การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับสูง

คณะกรรมการบริษทั เป็ นผูป้ ระเมินผลการปฏิบตั งิ านของผู้ บริหารระดับสูงของบริษทั โดยพิจารณาจากผลการด�ำเนิน งานทางธุรกิจของบริษทั การด�ำเนินงานตามนโยบายทีไ่ ด้ รับจากคณะกรรมการบริษทั ประกอบกับสภาวการณ์ เศรษฐกิจและสังคมโดยรวม โดยคณะกรรมการจะน�ำข้อมูล ทีไ่ ด้ไปใช้ในการพิจารณาค่าตอบแทนของผูบ้ ริหารระดับสูง ต่อไป 5.7.2 แผนการสืบทอดตำ�แหน่ง

คณะกรรมการได้กำ� หนดให้มกี ารจัดท�ำและรายงานเกีย่ วกับ แผนการทดแทนต�ำแหน่งงาน (Succession Plan) ส�ำหรับ ต�ำแหน่งผูบ้ ริหารระดับสูง และต�ำแหน่งงานในสายงานหลัก โดยพิจารณาจากผลการปฏิบตั งิ าน ศักยภาพและความ พร้อมของแต่ละบุคคลเป็ นหลัก ทัง้ นี้บริษทั ได้จดั ให้มกี าร เตรียมความพร้อมส�ำหรับบุคคลทีเ่ ป็ น Successor ใน การพัฒนาความรู้ ความสามารถ และทักษะทีจ่ ำ� เป็ นตาม ต�ำแหน่งงาน เพือ่ สืบทอดงานในกรณีทผ่ี บู้ ริหารระดับสูงใน

90

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

ต�ำแหน่งส�ำคัญไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้ บริษทั ได้กำ� หนดให้มแี ผนการสืบทอดต�ำแหน่งผูบ้ ริหารในระดับ ต่าง ๆ โดยเฉพาะผูบ้ ริหารและต�ำแหน่งในสายงานหลัก ซึง่ เน้น การสรรหาจากบุคลากรภายในองค์กร โดยแต่ละปี จะก�ำหนดให้ มีการพิจารณาเลือ่ นต�ำแหน่งตามหลักเกณฑ์ทก่ี ำ� หนด เพือ่ พัฒนาบุคลากรทีม่ ผี ลการปฏิบตั งิ านทีด่ แี ละมีศกั ยภาพได้ เติบโตในต�ำแหน่งทีส่ งู ขึน้ ตามล�ำดับขัน้ ในส่วนของการด�ำเนิน กลยุทธ์และการวางแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง (Succession Plan) ของผูบ้ ริหารระดับสูงทีอ่ าจจะมีการเปลีย่ นแปลง หรือ หมดวาระการด�ำรงต�ำแหน่งหรือเกษียณอายุ ทีป่ ระชุมคณะ กรรมการสรรหาเป็ นผูท้ บทวนหลักการ ตลอดจนคัดเลือกผูม้ ี ความรูค้ วามสามารถและมีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสม ส�ำหรับผูบ้ ริหารทีไ่ ด้รบั การก�ำหนดให้เป็ นบุคลากรทีจ่ ะ สืบทอดต�ำแหน่ ง+นอกจากจะต้องเป็ นผู้ท่พ ี ร้อมด้วย คุณสมบัตแิ ละประสบการณ์การท�ำงานในสายงานทีเ่ หมาะ สมแล้ว ยังต้องได้รบั การถ่ายทอดความรูป้ ระสบการณ์ดว้ ย การหมุนเวียนปฏิบตั งิ านในหน่วยงานอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง และ เข้ารับอบรมตามหลักสูตรการฝึกอบรมทีจ่ ำ� เป็ นเพิม่ เติม เพือ่ เตรียมความพร้อมส�ำหรับการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นต�ำแหน่งที่ สูงขึน้ ไปในอนาคต และเพือ่ ให้มกี ารส่งมอบงานเป็ นไปอย่าง ราบรืน่ และการบริหารงานอย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับการบริหาร ทรัพยากรบุคคลของบริษทั มีการวางระบบด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคลโดยมีการจัดสรร ควบคุม ติดตามประเมิน ผลอย่างเพียงพอ ทัง้ ในด้านกระบวนการสรรหาเพือ่ ให้ได้ บุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถตามทีก่ ำ� หนด มีระบบค่า ตอบแทนทีเ่ หมาะสมและเป็ นธรรม มีการก�ำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบ การปฏิบตั งิ านของบุคลากร มาตรฐานการ ปฏิบตั งิ าน การพัฒนาบุคลากร และการสือ่ สารทีม่ ี ประสิทธิภาพ เพือ่ ให้พนักงานมีความรูค้ วามสามารถ และ การบริหารทรัพยากรบุคคลของบริษทั มีประสิทธิภาพและ เหมาะสม เน้นทีป่ ระโยชน์ในการพัฒนาสมรรถนะของ พนักงาน และความชัดเจนในการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ส�ำหรับประกอบในการพิจารณาค่าตอบแทนทีเ่ หมาะสมกับ ความสามารถและผลการปฏิบตั งิ าน 5.9. การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร

(1) การอบรมส�ำหรับกรรมการและผูบ้ ริหาร คณะกรรมการมีนโยบายในการส่งเสริมและอ�ำนวยความ สะดวกให้มกี ารฝึกอบรมและการให้ความรูแ้ ก่กรรมการและผู้ บริหารของบริษทั เพือ่ ให้มกี ารปรับปรุงและการปฏิบตั งิ าน อย่างต่อเนื่อง ทังหลั ้ กสูตรการอบรมภายในและภายนอก บริษทั โดยคณะกรรมการทุกท่านต้องได้รบั การฝึกอบรม เพือ่ ให้เข้าใจการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นฐานะกรรมการ โดยคณะ กรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั ให้ความส�ำคัญใน การเข้าร่วมอบรมหรือสัมมนาในหลักสูตรต่างๆ หรือพัฒนา ความรูค้ วามสามารถ โดยกรรมการบริษทั ได้ผา่ นการอบรม หลักสูตรกับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ได้แก่ หลักสูตร Director Certification Program (DCP) หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) หลักสูตร Board Performance Evaluation หลักสูตร The Role of


รายงานประจำ�ปี 2561

การเข้าร่วมอบรมหลักสูตรของกรรมการที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) กรรมการ

นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม

นายตรีขวัญ บุนนาค

นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ ร.ศ. ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี

นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์ นายชาลี โสภณพนิช

นายชาย วินิชบุตร นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์

หลักสูตร

• • • • • • • • • • • • • • • • • • •

The Role of Chairman in Leading Strategic Risk Oversight 2560 The Role of the Chairman Program (RCP 33/2557) Financial Institutions Governance Program (FGP 3/2554) Directors Accreditation Program (DAP 63/2550) Advance Audit Committee Program (AACP) 27/2560 Director Accreditation Program ปี 2549 Director Certification Program 2544 Director Accreditation Program 2551 Financial Institutions Governance Program (FGP 3/2554) Director Certification Program (DCP ปี 2543) Director Certification Program (DCP 46/2547) Director Accreditation Program (DAP 10/2547) Finance for Non-Finance Directors (FND 10/2547) Director Certification Program (DCP 155/2555) Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI) รุน่ ที่ 7 ปี 2558 Director Accreditation Program ปี 2548 Director Accreditation Program (DAP 10/2547) Finance for Non-Finance Directors (FND 10/2547) Boardroom Success through Financing & Investment (“BFT”), by Thai Institute of Directors

การเข้ารับการพัฒนาและฝึกอบรมของกรรมการแต่ละคนในระหว่างปีบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 กรรมการ

ร.ศ. ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย

รายละเอียด

สัมมนาหัวข้อ “บทบาทหน้าทีข่ องสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการ ต่อต้านการทุจริต” จัดโดยบริษทั

Chairman (RCP) หลักสูตร Audit Committee Program หลักสูตร Role of Compensation Committee (RCC)

ร่วมอบรมหลักสูตรตามข้อเสนอแนะของส�ำนักงาน ก.ล.ต. ซึง่ จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD)

(2) การปฐมนิ เทศกรรมการใหม่

5.10 คณะกรรมการชุดย่อย

คณะกรรมการก�ำหนดแนวปฏิบตั เิ พือ่ ให้มกี ารปฐมนิเทศ กรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ใหม่ โดยบริษทั จัดเอกสารหรือ จัดบรรยายสรุป (Briefing) เพือ่ ให้กรรมการใหม่เข้าใจธุรกิจ และการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการและคณะกรรมการ ซึง่ คณะกรรมการได้มอบหมายให้เลขานุการบริษทั มีหน้าทีใ่ น การปฐมนิเทศกรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ใหม่ โดยจัดให้ม ี การประชุมร่วมกันกับกรรมการ และ/หรือผูบ้ ริหาร และ/หรือ เจ้าหน้าทีท่ เ่ี กีย่ วข้องเพือ่ ชีแ้ จงและตอบข้อซักถาม ซึง่ บริษทั ได้ดำ� เนินการตามแนวปฏิบตั ิ โดยบรรยายสรุปข้อมูลบริษทั พร้อมทัง้ จัดเตรียมเอกสารข้อมูลสรุปให้กรรมการใหม่ได้รบั ทราบ เช่น ข้อมูลเกีย่ วกับบริษทั คูม่ อื กรรมการบริษทั จด ทะเบียน หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี จรรยาบรรณของ บริษทั อ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการ ก�ำหนดการประชุม คณะกรรมการทัง้ ปี พร้อมกันนี้บริษทั จัดให้กรรมการได้เข้า

บริษทั ได้จดั ตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย 6 คณะ เพือ่ ติดตาม และก� ำ กั บ ดู แ ลการด� ำ เนิ น งานอย่ า งใกล้ ช ิ ด และ รายงานต่อคณะกรรมการบริษทั อย่างสม�ำ่ เสมอ ซึง่ ประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการ ก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และคณะกรรมการบริหาร (1) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ประกอบด้วย กรรมการ อิสระจ�ำนวน 4 ท่าน ซึง่ เป็ นคณะกรรมการชุดย่อยของคณะ กรรมการบริษทั ตามหลักบริหารจัดการและการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ี เป็ นผูท้ รงคุณวุฒ ิ มีประสบการณ์ทางด้านการ The Leading Provider of Smart Industrial Platform

91


รายงานประจำ�ปี 2561

บัญชี การเงิน การบริหารธุรกิจและด้านกฎหมาย มีความ เป็ นอิสระและมีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสมในการปฏิบตั หิ น้าทีส่ อบ ทานความน่าเชือ่ ถือของรายงานทางการเงินตามข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั ไม่เป็ น หรือเคยเป็ นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจ�ำ หรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของบริษทั รวมถึงบริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั โดยคณะ กรรมการตรวจสอบมีหน้าทีป่ ฏิบตั ติ ามกฎบัตรของคณะ กรรมการตรวจสอบ+ซึ่งสอดคล้องกับข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่างครบถ้วนและเป็ น อิสระ โดยเน้นการปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การมีระบบการตรวจสอบภายในทีด่ ี และส่งเสริมแนวทาง การตรวจสอบเชิงป้ องกัน ทีค่ รอบคลุมถึงการบริหารความ เสีย่ ง และการปกป้ องผลประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุก กลุม่ อย่างเท่าเทียมกัน ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 กรรมการตรวจสอบแต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี้ จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 (มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 6 ครั้ง)

1. นายตรีขวัญ บุนนาค 2. นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม 3. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ 4. ร.ศ. ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย*

6/6 6/6 4/6 6/6

ปั จจุบนั ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโสฝ่ ายตรวจสอบภายใน เป็ น เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั และเป็ นผูด้ แู ล กิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นผูจ้ ดั ประชุม จัด เตรียมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารต่าง ๆ ที่ เกีย่ วข้องในการประชุม ส่งวาระการประชุมให้แก่คณะ กรรมการตรวจสอบ นอกจากนัน้ ยังมีหน้าทีบ่ นั ทึกรายงาน การประชุม และจัดเก็บเอกสารการประชุม (2) คณะกรรมการบริ หาร คณะกรรมการบริหารของบริษทั ประกอบด้วยกรรมการ 4 ท่าน ซึง่ แต่งตัง้ โดยคณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีก่ ำ� หนด กลยุทธ์ของแผนการด�ำเนินงานของบริษทั แผนการลงทุนทัง้ ในเรือ่ งทางการเงินและทีม่ ใิ ช่เรือ่ งทางการเงิน และปฏิบตั ิ หน้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ผลประโยชน์ของกลุม่ บริษทั ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 กรรมการบริหารแต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี้ จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 (มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 1 ครั้ง)

1. นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี

92

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

01/1

จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 (มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 1 ครั้ง)

2. นายชาย วินิชบุตร

01/1

3. นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์

1/1 1/1

4. นายโสภณ ราชรักษา

หมายเหตุ : 1 หมายถึงจ�ำนวนครัง้ ทีก่ รรมการท่านนัน้ ไม่อาจร่วมเข้าร่วมประชุมในสถานที ่ เดียวกันกับกรรมการท่านอืน่ ได้ แต่รว่ มประชุมผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ (ทางโทรศัพท์)

(3) คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทนของบริษทั ประกอบด้วย กรรมการ 3 ท่าน ซึง่ แต่งตัง้ โดยคณะกรรมการบริษทั โดย คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน มีหน้าทีด่ แู ลให้บริษทั มี การด�ำเนินการทีโ่ ปร่งใสและเป็ นธรรม ในการให้ผลตอบแทน ต่อกรรมการ และผูบ้ ริหาร รวมทัง้ การจัดหาสวัสดิการที่ เหมาะสม และเป็ นธรรมต่อพนักงานของบริษทั ในการพิจารณาค่าตอบแทนนัน้ คณะกรรมการก�ำหนดค่า ตอบแทนจะพิจารณาจากหลายองค์ประกอบ ได้แก่ การ เปรียบเทียบกับระดับทีป่ ฏิบตั อิ ยูใ่ นอุตสาหกรรมเดียวกัน ผลประกอบการของบริษทั รวมทัง้ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 กรรมการก�ำหนดค่าตอบแทนแต่ละท่านมีการเข้าร่วม ประชุม ดังนี้ จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 (มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 3 ครั้ง)

1. นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม

3/3

2. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

2/3

3. นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี

2/3

(4) คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการสรรหาของบริษทั ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ซึง่ แต่งตัง้ โดยคณะกรรมการบริษทั โดยคณะกรรมการ สรรหา มีหน้าทีก่ ำ� หนดหลักเกณฑ์ และวิธกี ารในการคัด เลือกกรรมการ กรรมการชุดย่อย ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ของบริษทั เพือ่ ให้เกิดความโปร่งใสใน การสรรหาผูท้ จ่ี ะมาด�ำรงต�ำแหน่งดังกล่าว ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 กรรมการสรรหาแต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี้ จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 (มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 1 ครั้ง)

1. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

1/1

2. นายตรีขวัญ บุนนาค

1/1

3. นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์

01/1

หมายเหตุ : 1 หมายถึงจ�ำนวนครัง้ ทีก่ รรมการท่านนัน้ ไม่อาจร่วมเข้าร่วมประชุมในสถานที ่ เดียวกันกับกรรมการท่านอืน่ ได้ แต่รว่ มประชุมผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ (ทางโทรศัพท์)


รายงานประจำ�ปี 2561

(5) คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ประกอบด้วย สมาชิก 4 ท่านซึง่ แต่งตัง้ โดยคณะกรรมการบริษทั โดยคณะ กรรมการบริหารความเสีย่ งมีหน้าทีพ ่ จิ ารณาประเมินและ ติดตามความเสีย่ งในด้านต่าง ๆ และทบทวนแนวทางและ เครือ่ งมืออย่างสม�่ำเสมอ เพือ่ ใช้ในการบริหารความเสีย่ ง อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อการด�ำเนินธุรกรรม ด้านต่าง ๆ ของบริษทั ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 สมาชิกคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งแต่ละท่านมีการเข้า ประชุม ดังนี้ จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม - 30 กันยายน 2561 (มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 2 ครั้ง)

2/2 2/2 0 2/2 2/2 2/2

1. นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์ 2. นายตรีขวัญ บุนนาค 3. นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี 4. นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์ 5. ร.ศ. ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย

หมายเหตุ : 2หมายถึงจ�ำนวนครัง้ ทีก่ รรมการท่านนัน้ ไม่อาจร่วมเข้าร่วมประชุมในสถานที ่ เดียวกันกับกรรมการท่านอืน่ ได้ แต่รว่ มประชุมผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ (ทางโทรศัพท์)

(6) คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิ จการ คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั ประกอบด้วย สมาชิก 4 ท่าน ซึง่ แต่งตัง้ โดยคณะกรรมการบริษทั โดยคณะ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ มีหน้าทีจ่ ดั ท�ำนโยบายการก�ำกับ ดูแลกิจการทีด่ ี และให้คำ� แนะน�ำแก่คณะกรรมการบริษทั ดูแล ทบทวน ติดตามแนวทางการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ให้เป็ นไป ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ นอกจากนี้ คณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ มีหน้าทีใ่ นการจัดท�ำนโยบาย และแนว ปฏิบตั ใิ นการด�ำเนินงานด้านการบริหารจัดการความยั ่งยืน (Sustainability Management : SM) ซึง่ ให้ความส�ำคัญใน การดูแลสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม (Corporate Social Responsibility: CSR) เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั รวมทัง้ จัดท�ำทบทวน ให้ขอ้ เสนอแนะ แนวทางปฏิบตั ิ ติดตาม และประเมินผลการด�ำเนินงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการต่อ ต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 สมาชิกคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ แี ต่ละท่านมีการ เข้าประชุม ดังนี้ จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 (มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 1 ครั้ง)

1. นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม

1/1

2. นายตรีขวัญ บุนนาค

1/1

จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม ในรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561 (มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 1 ครั้ง)

3. นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์

1/1

4. ร.ศ. ธิตพิ นั ธุ์ เชือ้ บุญชัย

1/1

5.11 การสรรหาและแต่งตัง ้ กรรมการและผูบ ้ ริหารระดับสูง

1. กรรมการอิ สระ บริษทั ก�ำหนดสัดส่วนของกรรมการทีม่ คี ุณสมบัตเิ ป็ น กรรมการอิสระให้มไี ม่ต่�ำกว่าหนึ่งในสามของจ�ำนวน กรรมการทีม่ อี ยูแ่ ละต้องไม่น้อยกว่า 3 คน โดยคุณสมบัติ กรรมการอิสระของบริษทั เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ของ ส�ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กับ ดู แ ลหลัก ทรัพ ย์แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย 2. การสรรหากรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสูง การสรรหากรรมการ คณะกรรมการสรรหาจะพิจารณาสรรหาบุคคลเพือ่ แต่งตัง้ เป็ นกรรมการแทนกรรมการทีพ่ น้ ต�ำแหน่ง ทัง้ กรณีทล่ี าออก ก่อนครบวาระและทีก่ ำ� หนดออกก่อนตามวาระ โดยพิจารณา ในด้านต่าง ๆ กล่าวคือ คุณสมบัตกิ รรมการทีส่ อดคล้องตาม กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง โครงสร้างคณะกรรมการ ความ จ�ำเป็ นขององค์กร ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ท่ี หลากหลายทีเ่ ป็ นประโยชน์ต่อบริษทั ความเป็ นอิสระ และ สามารถอุทศิ เวลาและท�ำประโยชน์ให้กบั บริษทั ได้ ส�ำหรับโครงสร้างกรรมการ บริษทั ก�ำหนดสัดส่วนของ กรรมการอิสระไว้ไม่ต่ำ� กว่าหนึ่งในสามของจ�ำนวนกรรมการ ทีม่ อี ยู่ และต้องไม่น้อยกว่า 3 คน ในขณะที่ จ�ำนวนตัวแทน ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่จะเป็ นไปตามสัดส่วนการถือหุน้ เพือ่ การถ่วงดุลอ�ำนาจอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ คณะกรรมการ จะรับฟั งข้อเสนอแนะของผูถ้ อื หุน้ รายย่อย ซึง่ เสนอชือ่ บุคคล ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมเพือ่ รับการเลือกตัง้ เป็ นกรรมการหรือ กรรมการอิสระของบริษทั ด้วย โดยเปิ ดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ เสนอชือ่ บุคคลเพือ่ รับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็ นกรรมการใน การประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ได้ตามหลักเกณฑ์ทบ่ี ริษทั ก�ำหนด ดังรายละเอียดปรากฏในข้อ 1.สิทธิของผูถ้ อื หุน้ โดยหลักเกณฑ์และวิธกี ารในการเลือกตัง้ กรรมการโดยผูถ้ อื หุน้ เป็ นดังต่อไปนี้ (1) ในการลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ กรรมการให้ถอื ว่าผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุน้ ต่อหนึ่งเสียง (2) ในการลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ กรรมการ ผูถ้ อื หุน้ แต่ละ คนจะต้องใช้คะแนนเสียงทีม่ อี ยูท่ งั ้ หมดตามข้อ 1. เลือกตัง้ บุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็ นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่ง คะแนนเสียงให้แก่ผใู้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ The Leading Provider of Smart Industrial Platform

93


รายงานประจำ�ปี 2561

(3) บุคคลทีไ่ ด้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมา เป็ นผูไ้ ด้ รับเลือกตัง้ เป็ นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือ จะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบ่ี ุคคลซึง่ ได้รบั เลือกตัง้ ใน ล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนกรรมการที่ จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ให้ประธานทีป่ ระชุมออก เสียงได้เพิม่ ขึน้ อีกหนึ่งเสียงเป็ นเสียงชีข้ าด กรณีทต่ี ำ� แหน่งกรรมการว่างลงเนื่องจากเหตุอน่ื นอกจาก การครบวาระออกจากต�ำแหน่งกรรมการ ให้คณะกรรมการ พิจารณาแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีคณ ุ สมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้อง ห้ามตามกฎหมายเข้าเป็ นกรรมการแทนในการประชุมคณะ กรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการทีพ ่ น้ จาก ต�ำแหน่งจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดยบุคคลซึง่ เข้าเป็ น กรรมการแทนจะอยูใ่ นต�ำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ ยังเหลืออยูข่ องกรรมการซึง่ ตนแทน ทัง้ นี้ มติการแต่งตัง้ บุคคลเข้าเป็ นกรรมการแทนดังกล่าวต้องได้รบั คะแนนเสียง ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนกรรมการทีย่ งั เหลืออยู่ 2.1 การสรรหาผูบ้ ริ หาร ในการสรรหาผูม้ าด�ำรงต�ำแหน่งผูบ้ ริหารระดับสูง (เช่น ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่) คณะกรรมการ สรรหาจะเป็ นผูพ ้ จิ ารณาเบือ้ งต้นในการกลั ่นกรองสรรหา บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วน เหมาะสม มีความรูค้ วาม สามารถ ทักษะ และประสบการณ์ทเ่ี ป็ นประโยชน์ต่อการ ด�ำเนินงานของบริษทั และเข้าใจในธุรกิจของบริษทั เป็ น อย่างดี รวมถึงสามารถบริหารงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ เป้ า หมายทีค่ ณะกรรมการบริษทั ก�ำหนดไว้ได้ และน�ำเสนอต่อ คณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ติ ่อไป 6. การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษท ั ย่อยและบริษท ั ร่วม

บริษทั มีการส่งบุคคลเพือ่ เป็ นตัวแทนของบริษทั ไปด�ำรง ต�ำแหน่งเป็ นกรรมการ ผูบ้ ริหาร ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม ในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมตามสัดส่วนการถือหุน้ เพือ่ ก�ำกับดูแล การด�ำเนินงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม ทัง้ นี้ กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ทีจ่ ะเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการ ผูบ้ ริหาร ผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ย่อยและ บริษทั ร่วมได้ จะต้องมีคุณสมบัตติ ามข้อก�ำหนดของ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ฯ และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง และจะต้องได้รบั อนุ มตั ิจากที่ประชุมคณะ กรรมการบริษทั บุคคลผูไ้ ด้รบั การแต่งตัง้ เป็ นกรรมการ ผูบ้ ริหาร ผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุม ในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมดังกล่าว มีหน้าทีด่ ำ� เนิน การเพือ่ ประโยชน์ทด่ี ที ส่ี ดุ ของบริษทั ย่อยหรือบริษทั ร่วมนัน้ ๆ นอกจากนี้ ในการลงมติหรือใช้สทิ ธิออกเสียงในเรือ่ งส�ำคัญ ของบริษทั ย่อยหรือบริษทั ร่วม ซึง่ อยูใ่ นระดับเดียวกับทีต่ อ้ ง ได้รบั อนุ มตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั หากเป็ นการด�ำเนิน การโดยบริษทั เอง บุคคลทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ นัน้ ต้องได้รบั

94

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

อนุ มตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ก่อนทีจ่ ะไปลงมติหรือใช้ สิทธิในเรือ่ งส�ำคัญนัน้ ๆ ในกรณีเป็ นบริษทั ย่อย บุคคลทีไ่ ด้ รับแต่งตัง้ จากบริษทั ดังกล่าว ต้องดูแลให้บริษทั ย่อยมีการจัด เก็บข้อมูล และการบันทึกบัญชีให้บริษทั สามารถตรวจสอบ และรวบรวมมาจัดท�ำงบการเงินรวมได้ทนั ก�ำหนด รวมทัง้ ต้องดูแลให้บริษทั ย่อยมีขอ้ บังคับในการท�ำรายการเกีย่ วโยง กันทีส่ อดคล้องกับบริษทั อีกด้วย 7. ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี

(1) ค่าตอบแทนการสอบบัญชี (Audit Fee) ค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่ บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด ในรอบปี บญ ั ชีงวดวันที่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561 เป็ นจ�ำนวนเงินไม่เกิน 1,300,000 บาท (2) ค่าบริการอืน่ (Non-audit Fee) ค่างานบริการปรึกษาทางด้านกฎหมายให้แก่ บริษทั เคพี เอ็มจี ภูมไิ ชย ทีป่ รึกษาธุรกิจ จ�ำกัด เป็ นจ�ำนวนเงิน 1,660,173 บาท และค่างานบริการปรึกษาทางด้านภาษีให้ แก่ บริษทั ส�ำนักภาษี เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย จ�ำกัด เป็ นจ�ำนวน เงิน 160,500 บาท การปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดีในเรื่องอื่นๆ

บริษทั ได้มกี ารปฎิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ส�ำหรับบริษทั จดทะเบียนตามแนวทางทีต่ ลาดหลักทรัพย์ฯ ก�ำหนดไว้ ในเรือ่ งอืน่ ๆ อาทิเช่น การเข้าร่วมประชุมของ กรรมการในคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย โดยจะยึดแนวทางปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ต่อไป ทัง้ นี้ ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารของ บริษทั ฯ มิได้เป็ นบุคคลเดียวกันและมีการแบ่งแยกหน้าที่ ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการและฝ่ ายจัดการอย่าง ชัดเจน โดยประธานกรรมการท�ำหน้ าที่บริหารคณะ กรรมการซึ่งสามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้โดยอิสระภายใต้ บทบาท หน้าทีค่ วามรับผิดชอบทีก่ ำ� หนด และคณะกรรมการ มีหน้าทีก่ ำ� กับดูแลการบริหารงานของฝ่ ายจัดการ ส่วน ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารเป็ นหัวหน้าฝ่ ายจัดการซึง่ ท�ำหน้าที่ บริหารจัดการให้เป็ นไปตามนโยบายและเป้ าหมาย ตาม วัตถุประสงค์ของบริษทั


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 95

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

95

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง บริษทั ให้ความส�ำคัญต่อระบบควบคุมภายในและการบริหาร จัดการความเสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เหมาะสมพอเพียง ทัง้ ใน ระดับบริหารและระดับปฏิบตั งิ าน ซึง่ ถือว่าเป็ นกระบวนการ ทีส่ ำ� คัญของการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ท�ำให้การปฏิบตั งิ าน มีประสิทธิภาพ และเกิดความมั ่นใจอย่างสมเหตุสมผล ว่าการด�ำเนินงานของบริษทั สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ สร้างผลประโยชน์ตอบแทนในระยะยาว การรายงานข้อมูล ทางการเงิน และการด�ำเนินงานครบถ้วนน่าเชือ่ ถือ การ ปฏิบตั งิ านเป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ และป้ องกันความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยทีป่ ระชุมคณะ กรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2561 ได้มกี าร พิจารณาผลการประเมินความเพียงพอและความเหมาะสม ของระบบการควบคุมภายในของบริษทั ตามทีค่ ณะ กรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาทบทวนและน�ำเสนอต่อคณะ กรรมการบริษทั โดยอ้างอิง “แบบประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายใน” ของส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริษทั มีความเห็นว่า บริษทั มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอ และเหมาะสมกับสถานการณ์ในปั จจุบนั และครอบคลุมใน 5 เรือ่ ง คือ องค์กรและสภาพแวดล้อม การบริหารความเสีย่ ง การควบคุมการปฏิบตั งิ าน ระบบสารสนเทศและการสือ่ สาร ข้อมูล และระบบการติดตาม โดยสรุปสาระส�ำคัญได้ดงั ต่อไปนี้ 1. องค์กรและสภาพแวดล้อม

บริษทั ส่งเสริมและสนับสนุ นให้เกิดสภาพแวดล้อมของการ ควบคุมภายในทีด่ ี โดยก�ำหนดเป้ าหมายการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษทั ทีช่ ดั เจนและวัดผลได้ในรูปของก�ำไรต่อหุน้ ประจ�ำ ปี นนั ้ ๆ รวมทัง้ ได้มกี ารเปรียบเทียบผลการด�ำเนินงานในปี ท่ี ผ่านมากับเป้ าหมายทีก่ ำ� หนด โดยหากไม่เป็ นไปตามเป้ า หมาย บริษทั จะท�ำการวิเคราะห์หาสาเหตุเพือ่ ประโยชน์ใน การปรับปรุงการบริหารงานในปี ต่อไป ทัง้ นี้โครงสร้างองค์กร ของบริษทั มีสายการบังคับบัญชา มีการก�ำหนดอ�ำนาจอนุมตั ิ ของฝ่ ายบริหารในการท�ำรายการต่างๆ อย่างชัดเจน โดยผูม้ ี ส่วนได้เสียในเรือ่ งใดจะไม่สามารถให้การอนุมตั ใิ นเรือ่ งนัน้ ๆ ได้ นอกจากนัน้ ยังมีการแบ่งแยกหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ อย่างเด็ดขาดระหว่างการอนุมตั กิ ารบันทึกรายการทางบัญชี และการดูแลทรัพย์สนิ เพือ่ เป็ นการตรวจสอบซึง่ กันและกัน บริษทั ก�ำหนดโครงสร้างการบริหารประกอบด้วยคณะ กรรมการ 7 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการก�ำหนดค่า ตอบแทน คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริหารความ เสีย่ ง และคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยคณะ กรรมการแต่ละชุดมีความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ เกีย่ วกับการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษทั และก�ำกับดูแลให้การบริหารจัดการ เป็ นไปตามเป้ าหมายให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ผถู้ อื หุน้ อยูใ่ น กรอบของการมีจริยธรรมทีด่ ี และรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้ เสีย ส่งเสริมและติดตามความคืบหน้าของกระบวนการ

96

พัฒนาการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละความรับผิดชอบต่อ สังคมอย่างต่อเนื่อง โดยการพิจารณาปรับปรุงคูม่ อื การ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจ รวมทัง้ ให้แนวทางและข้อเสนอแนะอืน่ ทีจ่ ำ� เป็ นเพือ่ การ พัฒนา บริษทั เป็ นสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการ ต่อต้านการทุจริต (Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption or CAC) ซึง่ บริษทั ได้ จัดท�ำนโยบายและวางระบบควบคุมภายในให้สอดคล้องกับ ความเสีย่ งเรือ่ งคอร์รปั ชันของธุ ่ รกิจ เพือ่ ให้เป็ นไปตามหลัก การในการด�ำเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส เป็ นธรรม โดยอยูภ ่ ายใต้กรอบของกฎหมาย หลักจริยธรรม และ แนวทางการก�ำกับกิจการทีด่ ี 2. การบริหารความเสี่ยง

บริษทั ก�ำหนดให้นโยบายการบริหารความเสีย่ งเป็ นนโยบาย ส�ำคัญของบริษทั และได้แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารความ เสีย่ งซึง่ ประกอบด้วยกรรมการบริษทั จ�ำนวน 5 ท่าน ท�ำ หน้าทีก่ ำ� กับและติดตามการบริหารจัดการความเสีย่ งของ บริษทั ภายในหน่วยงานต่างๆทีไ่ ด้รบั การประเมินว่ามีความ เสีย่ งจากการปฏิบตั งิ าน ซึง่ ความเสีย่ งเหล่านัน้ อาจเกิดขึน้ จากปั จจัยภายนอกหรือปั จจัยภายในบริษทั ปั จจัยภายนอก ทีท่ ำ� ให้เกิดความเสีย่ งมีหลายประการ เช่น สภาวะเศรษฐกิจ และการเมือง ภัยธรรมชาติ ราคาวัสดุก่อสร้าง อัตราดอกเบีย้ ภายในประเทศ อัตราแลกเปลีย่ น กฎระเบียบ ข้อบังคับ และ กฎหมาย ส่วนปั จจัยภายในทีก่ ่อให้เกิดความเสีย่ ง ได้แก่ การบริหารโครงการลงทุนของบริษทั อายุของสัญญาเช่า การกระจุกตัวของผูเ้ ช่า และการลงทุนในธุรกิจใหม่ เป็ นต้น บริษทั ท�ำการประเมินหาความเสีย่ งทีส่ ำ� คัญจากขนาดของ ผลกระทบทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ กับเป้ าหมายและการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษทั และก�ำหนดผูร้ บั ผิดชอบความเสีย่ งนัน้ ๆ ใน หน่วยงานทีเ่ ป็ นเจ้าของความเสีย่ ง พร้อมทัง้ มอบหมาย ให้การบริหารความเสีย่ งเป็ นความรับผิดชอบของผูบ้ ริหาร ทุกคน มีการวางแผน ก�ำหนดมาตรการบริหารความเสีย่ ง จัดให้มกี ารติดตามการบริหารความเสีย่ งของหน่วยงาน ต่างๆ ภายในองค์กรเป็ นประจ�ำและรายงานผลการติดตาม ต่อคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ รายงานให้คณะ กรรมการบริษทั ทราบ นอกจากนัน้ บริษทั ยังจัดให้มกี ารฝึก อบรมความรูใ้ ห้กบั พนักงานอย่างสม�่ำเสมอเพือ่ ให้พนักงาน มีความเข้าใจและตระหนักถึงความส�ำคัญของการบริหาร ความเสีย่ งทีต่ อ้ งกระท�ำอย่างต่อเนื่อง 3. การควบคุมการปฏิบัติงาน

บริษทั มีมาตรการควบคุมภายในทีม่ คี วามเหมาะสมกับความ เสีย่ งขององค์กร และครอบคลุมกระบวนการส�ำคัญต่าง ๆ

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 96

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

อย่างเหมาะสม เช่น มีการก�ำหนดนโยบายบริหารเงิน นโยบายเกีย่ วกับการบริหารจัดการงบประมาณ ระเบียบวิธี ปฏิบตั เิ กีย่ วกับกระบวนการจัดซือ้ จัดจ้าง ตลอดจนการ ทบทวนเอกสารก�ำหนดอ�ำนาจอนุมตั ขิ องฝ่ ายบริหารในการ ท�ำรายการต่างๆ ให้สอดคล้องกับโครงสร้างองค์กร รวมถึง การแบ่งแยกหน้าทีค่ วามรับผิดชอบระหว่างการอนุมตั ิ การ บันทึกรายการทางบัญชีและข้อมูลสารสนเทศ และการดูแล ทรัพย์สนิ เพือ่ เป็ นการตรวจสอบซึง่ กันและกัน นอกจากนี้ ใน ปี 2561 บริษทั ยังได้มกี ารว่าจ้างผูเ้ ชีย่ วชาญจากภายนอก คือ บริษทั อีวาย คอร์ปอเรท เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด เข้ามาให้คำ� แนะน�ำในการปรับปรุงกระบวนการปฏิบตั งิ านของบริษทั รวมทัง้ ระบบการควบคุมภายในให้เป็ นไปตามมาตรฐาน และบริษทั ได้กำ� หนดให้ฝ่ายส�ำนักผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ และ ศูนย์ความเป็ นเลิศเป็ นผูค้ วบคุมดูแลให้ทกุ หน่วยงานมีการ ปฏิบตั ติ ามนโยบาย ระเบียบการปฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้องอย่าง เคร่งครัด บริษทั ได้กำ� หนดให้มกี ระบวนการปฏิบตั งิ านและการควบคุม ดูแลด้านการพัฒนา การบ�ำรุงรักษา และด้านความปลอดภัย ของระบบเทคโนโลยีทเ่ี ป็ นไปตามหลักมาตรฐานสากล โดย ในปี 2561 บริษทั ฯ ได้น�ำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามา ใช้เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านและส่งเสริมให้ม ี การควบคุมผ่านระบบสารสนเทศทีร่ ดั กุมมากขึน้ เช่น ระบบ Salesforce ทีใ่ ช้สำ� หรับกระบวนการขายและการส่งเสริม การตลาด ระบบ SAP Success Factor ส�ำหรับบริหาร จัดการทรัพยากรบุคคล และระบบ K2 ส�ำหรับสนับสนุนการ ด�ำเนินการจัดซือ้ จัดจ้าง รวมทัง้ ใช้ตดิ ตามการใช้จา่ ยตามงบ ประมาณของบริษทั บริษัทมีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริหารและผูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับบุคคลดังกล่าว รวม ทัง้ บุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน เพือ่ ประโยชน์ในการติดตามและ สอบทานการท�ำรายการระหว่างกัน หรือรายการทีอ่ าจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทัง้ มีการปรับปรุงข้อมูล ให้เป็ นปั จจุบนั อยูเ่ สมอ เมือ่ มีการพิจารณาอนุ มตั ธิ รุ กรรม ระหว่างกันนัน้ บริษทั มีนโยบายให้คำ� นึงถึงประโยชน์สงู สุด ของบริษทั เป็ นส�ำคัญและพิจารณาโดยถือเสมือนเป็ น รายการทีก่ ระท�ำกับบุคคลภายนอกและต้องกระท�ำโดยผูท้ ่ี ไม่มสี ว่ นได้สว่ นเสียในธุรกรรมนัน้ เพือ่ ป้ องกันการหาโอกาส หรือน�ำผลประโยชน์ของบริษทั ไปใช้สว่ นตัว ทัง้ นี้ บริษทั ได้ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อก�ำหนดของ ตลท. เรือ่ งการเปิ ด เผยข้อมูลและการปฏิบตั ขิ องบริษทั จดทะเบียนในรายการที่ เกีย่ วโยงกันซึง่ อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และมี การเปิ ดเผยข้อมูลสารสนเทศอย่างครบถ้วนเพียงพอ ส�ำหรับ บริษทั ในเครือ บริษทั มีกระบวนการติดตามดูแลการด�ำเนิน การรวมทัง้ ก�ำหนดแนวทางให้บุคคลทีบ่ ริษทั แต่งตัง้ ให้เป็ น กรรมการหรือผูบ้ ริหารในบริษทั ในเครือนัน้ ถือปฏิบตั แิ ละ รายงานให้คณะกรรมการบริษทั ทราบเป็ นระยะ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้ บรรลุเป้ าหมายในการลงทุนของบริษทั 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล

บริษทั ให้ความส�ำคัญต่อระบบสารสนเทศและการสือ่ สาร

ข้อมูลทีไ่ ด้รบั ทัง้ จากภายในและภายนอก ซึง่ ถือเป็ นเครือ่ งมือ ส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั โดยเฉพาะอย่างยิง่ ข้อมูลเกีย่ วกับผลการปฏิบตั งิ านและรายงานทางการเงิน เพือ่ ให้การตัดสินใจของคณะกรรมการ ฝ่ ายบริหาร ผูถ้ อื หุน้ และผูเ้ กีย่ วข้อง อยูบ่ นพืน้ ฐานของข้อมูลทีถ่ กู ต้องครบถ้วน เพียงพอ เป็ นปั จจุบนั เชือ่ ถือได้ เข้าใจง่าย เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการด�ำเนินธุรกิจและการแข่งขัน บริษทั ได้จดั ให้มขี อ้ มูลทีส่ ำ� คัญต่างๆอย่างเพียงพอ เพือ่ ให้ คณะกรรมการใช้ประกอบการตัดสินใจ โดยการจัดท�ำ รายงานเชิงวิเคราะห์เปรียบเทียบหลักการและเหตุผล พร้อม เอกสารประกอบข้อเท็จจริง จัดส่งข้อมูลเพือ่ ศึกษาประกอบ การตัดสินใจเป็ นการล่วงหน้า 7 วัน โดยมีเลขานุการบริษทั ซึง่ มีหน้าทีใ่ ห้คำ� แนะน�ำด้านข้อบังคับและกฎเกณฑ์ต่างๆ ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษทั ตลอดจนประสาน งานให้มกี ารปฏิบตั ติ ามมติคณะกรรมการบริษทั รวมทัง้ เป็ น หน่วยงานทีเ่ ป็ นศูนย์กลางในการจัดท�ำและจัดเก็บเอกสาร ส�ำคัญ ได้แก่ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะ กรรมการบริษทั รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษทั หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ และรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ไว้ เป็ นระบบ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถตรวจสอบความเหมาะสมใน การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการได้ บริษทั มีการจัดท�ำรายงานทางการเงินอย่างเป็ นระบบ รวม ถึงขันตอนการจั ้ ดเก็บข้อมูลเพือ่ จัดท�ำรายงานทางการเงิน ซึง่ มีการตรวจสอบ/สอบทานของผูส้ อบบัญชีของบริษทั รวม ทัง้ การพิจารณา ทบทวน รายงานทางการเงินของคณะ กรรมการตรวจสอบ โดยให้ใช้นโยบายบัญชีตามหลักเกณฑ์ ทีร่ บั รองทั ่วไป และเหมาะสมกับลักษณะธุรกิจ ทัง้ นี้การ พิจารณาทบทวนของคณะกรรมการบริษทั ก่อนการเผยแพร่ รายงานทางการเงินต่อสาธารณชน เพือ่ เป็ นการตรวจสอบ ความถูกต้องของรายงานทางการเงิน ตลอดจนการดูแลให้ม ี การเปิ ดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วนและโปร่งใส 5. ระบบการติดตาม

บริษทั มีระบบการติดตามการด�ำเนินงานในระดับบริหาร และในระดับปฏิบตั งิ านให้เป็ นไปตามเป้ าหมายทีก่ ำ� หนด คณะกรรมการบริษทั และฝ่ ายบริหารจะแก้ไขปั ญหาทีอ่ าจ เกิดขึน้ และก�ำหนดแนวทางทีช่ ดั เจน ในกรณีทไ่ี ม่เป็ นไป ตามเป้ าหมาย กรณีมปี ระเด็นส�ำคัญทีอ่ าจมีผลกระทบต่อ องค์กร จะก�ำหนดให้ผรู้ บั ผิดชอบน�ำเสนอรายงาน เพือ่ ทบทวนการปฏิบตั งิ านและการวิเคราะห์สาเหตุตลอดจนร่วม พิจารณาเพื่ออนุ มตั ิ แก้ไขปั ญหาภายในเวลาที่คณะ กรรมการเห็นว่าเหมาะสมและให้รายงาน การปฏิบตั แิ ละ ติดตามผลอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ บริษทั ยังก�ำหนดให้ฝ่ายตรวจสอบภายในท�ำ หน้าทีต่ รวจสอบการปฏิบตั ติ ามระบบการควบคุมภายในที่ วางไว้ เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ าบริษทั มีระบบการควบคุมภายในทาง ด้านการปฏิบตั งิ านทีเ่ หมาะสมและเพียงพอในการลดความ เสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ในกระบวนการปฏิบตั งิ านทางธุรกิจหลัก ในปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบให้ฝ่ายตรวจสอบ The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 97

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

97

15/12/2561 BE 11:19


รายงานประจำ�ปี 2561

ภายในด�ำเนินการจัดซือ้ และติดตัง้ โปรแกรมส�ำเร็จรูปด้าน การตรวจสอบชัน้ น�ำ เพือ่ ใช้ในการปฏิบตั งิ านด้านการตรวจ สอบภายใน ทัง้ โปรแกรมการบริหารจัดการงานตรวจสอบ ภายใน (Audit Management) และโปรแกรมส�ำหรับการ วิเคราะห์ขอ้ มูลเพือ่ การตรวจสอบ (Data Analytics) เพือ่ ยก ระดับให้การปฏิบตั งิ านตรวจสอบภายในของบริษทั ฯ มี ประสิทธิภาพ เป็ นไปตามมาตรฐานสากล อีกทัง้ ยังสามารถ รองรับกับข้อมูลขนาดใหญ่ทม่ี คี วามซับซ้อนได้มากขึน้ ฝ่ ายตรวจสอบภายในได้ทำ� การประเมินความเสีย่ งในภาพ รวมขององค์กรเพือ่ จัดท�ำแผนการตรวจสอบประจ�ำปี 2561 และได้ดำ� เนินการตรวจสอบตามแผนงาน ซึง่ ในปี 2561 นี้ ฝ่ ายตรวจสอบภายในได้ดำ� เนินการตรวจสอบระบบงานจัด ซือ้ จัดจ้าง ระบบการบริหารอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ Cybersecurity เพือ่ สอบทานการรักษาความมั ่นคงปลอดภัยของข้อมูล และ ระบบเครือข่ายสือ่ สารให้มปี ระสิทธิผล โดยได้สอบทาน ขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ านและระบบงานให้เป็ นไปตามแนว ปฏิบตั ดิ า้ นการควบคุมภายในทีด่ ี และสอดคล้องกับกฎและ ระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง รวมถึงให้คำ� ปรึกษาพร้อมทัง้ ข้อเสนอแนะเพือ่ ปรับปรุงขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ านแก่หน่วยงาน ต่างๆ ให้มคี วามเหมาะสม และมีประสิทธิผลตามวิธกี ารและ มาตรฐานสากล รวมทัง้ ติดตามการปฏิบตั งิ านของบริษทั ตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะทีใ่ ห้ไว้ โดยฝ่ ายตรวจสอบ ภายในรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ถึงผลการ สอบทาน ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะในเรือ่ งทีต่ รวจสอบรวม ทัง้ ผลการติดตามตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะทีใ่ ห้ไว้ใน ไตรมาสก่อนๆ หัวหน้างานตรวจสอบภายในและหัวหน้างานกำ�กับดูแล การปฏิบัติงานของบริษัท

คณะกรรมการตรวจสอบได้แต่งตัง้ นางมารศรี โสภาเสถียร พงศ์ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายในของ บริษทั ตัง้ แต่ปี 2560 เนื่องจากมีประสบการณ์ในการปฏิบตั ิ งานด้านบัญชี การเงิน และการตรวจสอบภายในธุรกิจ/ อุตสาหกรรมทีม่ ลี กั ษณะเดียวกับบริษทั มาเป็ นระยะกว่า 20 ปี เคยเข้ารับการอบรมในหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั ิ งานด้านตรวจสอบภายใน และมีความเข้าใจในกิจกรรมและ การด�ำเนินงานของบริษทั จึงเห็นว่า มีความเหมาะสมทีจ่ ะ ปฏิบตั หิ น้าทีด่ งั กล่าวได้อย่างเหมาะสมเพียงพอ ทัง้ นี้ การ พิจารณาและอนุ มตั ิ แต่งตัง้ ถอดถอน โยกย้ายผูด้ ำ� รง ต�ำแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายในของบริษทั จะต้องผ่าน การอนุมตั ิ หรือได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจ สอบ บริษทั มอบหมายให้ นายพีรดนย์ พูลพิพฒ ั น์ ด�ำรงต�ำแหน่ง เป็ นหัวหน้างานก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ท�ำหน้าที่ ก�ำกับดูแลหน่วยงานต่างๆ ภายในบริษทั ให้ปฏิบตั ติ ามกฏ เกณฑ์ของหน่วยงานทางการทีเ่ กีย่ วกับการประกอบธุรกิจ ของบริษทั

98

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 98

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 99

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

99

15/12/2561 BE 11:20


100

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 100

3.61

บริษทั นิคมอุตสาหกรรม มีกรรมการด�ำรงต�ำแหน่ง 2.1 ค่าบริการติดตัง้ เอเซีย จ�ำกัด กรรมการของบริษทั ป้ ายโฆษณาและ ค่า ซ่อมแซม

2.

บริษัท มีก ารใช้ ส่ือ โฆษณาประชา สัมพันธ์ทางการตลาดโดยติดตัง้ ป้ าย โฆษณาหน้านิคมอุตสาหกรรมเอเซีย และช�ำระค่าซ่อมแซม บ�ำรุงรักษา ส�ำหรับการใช้พน้ื ทีส่ ว่ นกลาง

2. นายชาลี โสภณพนิช เป็ นกรรมการผู้ มีอำ� นาจลงนามของบริษทั และบริษทั ในกลุม่ ซิตเ้ี รียลตี้ บริษทั มีการซือ้ ทีด่ นิ จากบริษทั นิคม อุ ต สาหกรรมเอเซีย จ� ำ กัด ซึ่ง มี กรรมการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของ บริษทั คือ นายชาลี โสภณพนิช

1. กลุม่ ซิตเ้ี รียลตี้ ซึง่ เป็ นผูถ้ อื หุน้ ราย ใหญ่ของกองทุนรวมสาธรซิตท้ี าวเวอร์ ถือหุน้ ในบริษทั ทัง้ ทางตรง และทาง อ้อม ร้อยละ 1.09 (ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2561)

บริษทั มีการเช่าพืน้ ทีส่ �ำนักงานจาก กองทุนรวมสาธรซิตท้ี าวเวอร์ ซึง่ กองทุนดังกล่าวมีผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ซ่งึ มี ความสัมพันธ์กบั ผูถ้ อื หุน้ และกรรมการ ของบริษทั ดังนี้

ของรายการ

คงค้าง (ล้านบาท)

15.77

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล

มูลค่ารายการ/มูลค่า

กองทุนรวมสาธรซิต้ี มี ผู้ ถื อ หุ้ น ใหญ่ ซ่ึ ง มี 1.1 ค่าเช่าและบริการ ทาวเวอร์ ความสัมพันธ์กบั ผูถ้ อื อาคารส�ำนักงาน และ หุน้ และกรรมการของ ค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ บริษทั

ลักษณะรายการ

1.

ความสัมพันธ์

บุคคลทีอ ่ าจมีความขัดแย้ง

ล�ำดับที่

1.1 รายการระหว่างกันทีส่ ำ� คัญ

1. รายละเอียดของรายการระหว่างกัน

รายการระหว่างกัน

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้ พิจารณารายการระหว่างกันดังกล่าว ข้างต้นแล้ว โดยมีการพิจารณาจากค่า บริการ ค่าซ่อมแซมและค่าบ�ำรุงรักษา เป็ นอัตราทีเ่ ทียบเท่ากับผูร้ บั บริการ รายอื่ น ที่ อ ยู่ ใ นบริ เ วณเดี ย วกัน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็น ว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการทีม่ ี ความจ�ำเป็ น และสมเหตุสมผล และ เกิดขึน้ ตามราคาตลาดบนเงือ่ นไขที่ ปฏิบตั กิ นั อยูโ่ ดยทัวไป ่

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้ พิจารณารายการดังกล่าวแล้ว โดยมี การพิจารณาประกอบกับข้อมูลอัตรา ค่าเช่าอาคารส�ำนักงาน และค่าใช้ จ่ายอืน่ ๆ ทีอ่ ยูใ่ นบริเวณใกล้เคียงกับ อาคารส�ำนักงานของบริษทั คณะกรรมการ ตรวจสอบมีค วามเห็น ว่า รายการ ระหว่างกันดังกล่าวมีความสมเหตุสม ผล และเกิดขึน้ ตามราคาตลาด โดยมี การให้บริการ และมีเงือ่ นไขเช่นเดียว กับผูเ้ ช่ารายอืน่ ทัวไป ่

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:20


18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 101

137.25 0.01

4.3 ตั ๋วสัญญาใช้เงิน 4.4 เงินฝากออมทรัพย์ 4.5 ค่าธรรมเนียม ธนาคาร 4.6 รายได้คา่ กระแส ไฟฟ้ า 0.13

9.72

ธนาคาร กรุงเทพ จ�ำกัด มี ผู้ ถื อ หุ้ น ใหญ่ ซ่ึ ง มี 4.1 หนังสือค�ำ้ ประกัน (มหาชน) ความสัมพันธ์กบั ผูถ้ อื หุน้ และกรรมการของ บริษทั 4.2 เงินกูย้ มื ระยะยาว

4.

บริษัท มีก ารเรีย กช� ำ ระค่ า กระแส ไฟฟ้ า จากธนาคารกรุง เทพ จ�ำ กัด (มหาชน) ซึ่ง ได้ติด ตัง้ เครื่อ งให้ บริก ารทางการเงิน อัต โนมัติ (ตู้ เอทีเ อ็ม ) เพื่อ อ�ำ นวยความสะดวก ด้า นธุร กรรมทางการเงิน ตามที่ผู้เ ช่า อาคารคลัง สิน ค้า ในบางโครงการของ บริษัท ขอให้ด�ำเนิ น การติดตัง้

บริษทั มีการท�ำธุรกรรมทางการเงินกับ ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) โดย ธนาคารดังกล่าวมีกลุม่ โสภณพนิชเป็ น ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ณ สิน้ เดือนกันยายน 2561 ซึง่ ธุรกรรมทางการเงินดังกล่าว เป็ นไปตามราคาตลาด และเป็ น ประโยชน์กบั บริษทั

บริษั ท มีก ารใช้ บ ริก ารติ ด ตัง้ ป้ าย โฆษณาและค่าไฟฟ้ าส่องป้ ายโฆษณา เพือ่ ประชาสัมพันธ์บริษทั กับบริษทั ริ เวอร์ไซด์ การ์เด้น มารีน่า จ�ำกัด ซึง่ มี กรรมการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของ บริษทั คือนายชาลี โสภณพนิช

ของรายการ

คงค้าง (ล้านบาท)

0.51

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล

มูลค่ารายการ/มูลค่า

บริษทั ริเวอร์ไซด์ การ์ มี ก ร ร ม ก า ร ด� ำ ร ง 3.1 ค่าบริการติดตัง้ เด้น มารีน่า จ�ำกัด ต�ำแหน่งกรรมการของ ป้ ายโฆษณา และค่า บริษทั ไฟฟ้ าส่องป้ ายโฆษณา

ลักษณะรายการ

3.

ความสัมพันธ์

บุคคลทีอ ่ าจมีความขัดแย้ง

ล�ำดับที่

คณะกรรมการตรวจสอบได้มกี าร พิจารณาความเหมาะสมของรายการ ดังกล่าวข้างต้น และมีความเห็นว่า รายการดังกล่าวข้างต้น เป็ นรายการที่ มีความสมเหตุสมผล และเกิดขึน้ ตาม ราคาตลาด นอกจากนี้ขอ้ ก�ำหนด และ เงือ่ นไขต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องมีความ เหมาะสม และปฏิบตั กิ นั โดยทัวไป ่

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้ พิจารณารายการระหว่างกันดังกล่าว ข้างต้นแล้ว โดยมีการพิจารณาจาก อัตราค่าบริการทีอ่ ยู่ในบริเวณใกล้ เคียง คณะกรรมการตรวจสอบมีความ เห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที่ มีความจ�ำเป็ น และสมเหตุสมผล และ เกิดขึน้ ตามราคาตลาดบนเงือ่ นไขที่ ปฏิบตั กิ นั อยูโ่ ดยทัวไป ่

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

101

15/12/2561 BE 11:20


102

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 102

บริษทั เบอร์ล่ี ยุคเกอร์ มีกรรมการที่มคี วาม 6.1 รายได้คา่ งาน โลจิสติกส์ จ�ำกัด เกีย่ วโยงกับกลุม่ ของผู้ ซ่อมแซม ถือ หุ้น รายใหญ่ ข อง บริษทั

6.

6.2 ค่าภาษีโรงเรือน

บริษทั สวนอุตสาหกรรม มี ก ร ร ม ก า ร ด� ำ ร ง 5.1 ค่าใช้จา่ ย โรจนะ จ�ำกัด (มหาชน) ต�ำแหน่งกรรมการของ สาธารณูปโภค บริษทั ส่วนกลาง 5.2 ค่านายหน้า ส�ำหรับผูเ้ ช่ารายย่อย

ลักษณะรายการ

5.

ความสัมพันธ์

บุคคลทีอ ่ าจมีความขัดแย้ง

ล�ำดับที่

0.16

4.32

0.71

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้ พิจารณารายการระหว่างกันดังกล่าว ข้างต้นแล้ว โดยมีการพิจารณาประกอบ กับข้อมูลอัตราค่าเช่า และบริการของ คลังสินค้า กับผูเ้ ช่ารายอืน่ ๆ คณะ กรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษทั เบอร์ล่ี ยุคเกอร์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด รายการดังกล่าวเป็ นรายการทีม่ คี วาม ได้ชำ� ระค่าภาษีโรงเรือนให้แก่บริษทั สมเหตุสมผล และเกิดขึน้ ตามราคา ตลาดบนเงือ่ นไขทีป่ ฏิบตั กิ นั อยูโ่ ดย ทัวไป ่

บริษทั มีรายได้คา่ เช่า และบริการของ คลังสินค้า ทีไ่ ด้รบั จากบริษทั เบอร์ล่ี ยุคเกอร์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด ซึง่ มีกรรมการ ทีม่ คี วามเกีย่ วโยงกับกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้ พิจารณารายการระหว่างกันดังกล่าว ข้างต้นแล้ว โดยมีการพิจารณาจากค่า ใช้จ่ายสาธารณู ปโภคส่วนกลางที่ ช�ำระเป็ นไปตามเงื่อนไขปกติเช่น เดียวกับผูถ้ อื กรรมสิทธิ ์ทีด่ นิ รายอีน่ ใน บริเวณดังกล่าว คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ น รายการทีม่ คี วามจ�ำเป็ น และสมเหตุ บริษทั ได้มกี ารช�ำระค่านายหน้า ส�ำหรับ สมผล ผูเ้ ช่ารายย่อย ให้แก่ บมจ. สวน อุตสาหกรรมโรจนะ

บริษทั มีการถือกรรมสิทธิ ์ทีด่ นิ ในสวน อุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดพระนคร ศรีอยุธยา และปราจีนบุร ี จึงต้องมีการ ช�ำระค่าใช้จา่ ยสาธารณูปโภคส่วนกลาง ให้แก่ บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ที่ เป็ นผูใ้ ห้บริการสาธารณูปโภค ซึง่ มี กรรมการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของ บริษทั คือ นายชาย วินิชบุตร

ของรายการ

คงค้าง (ล้านบาท)

1.65

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล

มูลค่ารายการ/มูลค่า

รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:20


18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 103

0.83

มีกรรมการที่มคี วาม 8.1 รายได้คา่ งาน เกีย่ วโยงกับกลุม่ ของผู้ ซ่อมแซม ถือ หุ้น รายใหญ่ ข อง บริษทั

บริษทั เบอร์ล่ี ไดน่าพลาส จ�ำกัด

8.

บริษทั มีรายได้คา่ งานซ่อมแซมของคลัง สินค้า ทีไ่ ด้รบั จากบริษทั เบอร์ล่ี ไดน่า พลาส จ�ำกัด ซึง่ มีกรรมการทีม่ คี วาม เกีย่ วโยงกับกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั

บริษทั มีรายได้คา่ เช่า และบริการของ คลังสินค้า ทีไ่ ด้รบั จากบริษทั ไทยเบฟเวอเรจ โลจิสติก จ�ำกัด ซึง่ มีกรรมการทีม่ คี วาม เกี่ยวโยงกับกลุ่มของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั

ของรายการ

คงค้าง (ล้านบาท)

8.65

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล

มูลค่ารายการ/มูลค่า

บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ มีกรรมการที่มคี วาม 7.1 รายได้คา่ เช่า โลจิสติก จ�ำกัด เกีย่ วโยงกับกลุม่ ของผู้ และค่าบริการ ถือ หุ้น รายใหญ่ ข อง บริษทั

ลักษณะรายการ

7.

ความสัมพันธ์

บุคคลทีอ ่ าจมีความขัดแย้ง

ล�ำดับที่

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้ พิจารณารายการระหว่างกันดังกล่าว ข้า งต้น แล้ว โดยมีก ารพิจ ารณา ประกอบกับข้อมูลรายได้คา่ ซ่อมแซม ของคลังสินค้า กับผูใ้ ห้บริการรายอืน่ ๆ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็น ว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการทีม่ ี ความสมเหตุสมผล และเกิดขึน้ ตาม ราคาตลาดบนเงือ่ นไขทีป่ ฏิบตั กิ นั อยู่ โดยทัวไป ่

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้ พิจารณารายการระหว่างกันดังกล่าว ข้างต้นแล้ว โดยมีการพิจารณาประกอบ กับข้อมูลอัตราค่าเช่า และบริการของ คลังสินค้า กับผูเ้ ช่ารายอืน่ ๆ คณะ กรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการทีม่ คี วาม สมเหตุสมผล และเกิดขึน้ ตามราคา ตลาดบนเงือ่ นไขทีป่ ฏิบตั กิ นั อยูโ่ ดย ทัวไป ่

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

103

15/12/2561 BE 11:20


104

10.

บริษทั อาคเนย์ประกัน มี ก ร ร ม ก า ร ด� ำ ร ง 10.1 ค่าเบีย้ ประกัน ชีวติ จ�ำกัด (มหาชน) ต�ำแหน่งกรรมการของ สุขภาพ และอุบตั เิ หตุ บริษทั ในกลุม่ พนักงาน

บริษทั อาคเนย์ประกัน มี ก ร ร ม ก า ร ด� ำ ร ง 9.1 ค่าเบีย้ ประกันภัย ภัย จ�ำกัด (มหาชน) ต�ำแหน่งกรรมการของ ทรัพย์สนิ บริษทั

ลักษณะรายการ

9.

ความสัมพันธ์

บุคคลทีอ ่ าจมีความขัดแย้ง

ล�ำดับที่

1.69

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 104

บริษทั มีการท�ำประกันสุขภาพ และ อุ บ ัติเ หตุ ข องพนั ก งาน กับ บริษัท อาคเนย์ประกันชีวติ จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ มีกรรมการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ของบริ ษั ท คื อ นายโชติ พ ั ฒ น์ พีชานนท์

บริษทั มีการท�ำประกันภัยของอาคาร โรงงาน และคลังสินค้า กับบริษท ั อาคเนย์ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ มีกรรมการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของ บริษทั คือ นายโชติพฒ ั น์ พีชานนท์

ของรายการ

คงค้าง (ล้านบาท)

4.81

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล

มูลค่ารายการ/มูลค่า

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้ พิจารณารายการระหว่างกันดังกล่าว ข้างต้นแล้ว โดยมีการพิจารณา ประกอบกับข้อมูลอัตราค่าบริการ กับ ผูใ้ ห้บริการรายอืน่ ๆ คณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นว่า รายการดัง กล่าวเป็ นรายการทีม่ คี วามจ�ำเป็ น และสมเหตุสมผล และเกิดขึน้ ตาม ราคาตลาดบนเงือ่ นไขทีป่ ฏิบตั กิ นั อยู่ โดยทัวไป ่

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้ พิจารณารายการระหว่างกันดังกล่าว ข้างต้นแล้ว โดยมีการพิจารณา ประกอบกับข้อมูลอัตราค่าบริการ กับ ผูใ้ ห้บริการรายอืน่ ๆ คณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นว่า รายการดัง กล่าวเป็ นรายการทีม่ คี วามจ�ำเป็ น และสมเหตุสมผล และเกิดขึน้ ตาม ราคาตลาดบนเงือ่ นไขทีป่ ฏิบตั กิ นั อยู่ โดยทัวไป ่

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

1.2 รายการระหว่างกันที่มีเงื่อนไขปกติ และปฏิบัติกันอยู่โดยทั่วไป ล�ำดับที่

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

ความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการ

1.

บริษทั บางกอก คลับ จ�ำกัด

มีกรรมการด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการของบริษทั

ค่าอาหาร และเครือ่ งดืม่

0.57

2.

บริษทั ทีซซี ี โฮเทล แอสเสท แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด

1.38

3.

บริษทั ทีซซี ี ลักซ์ชรู ี โฮเทลส์ และรีสอร์ท จ�ำกัด

มีกรรมการทีม่ คี วามเกีย่ วโยง ค่าบริการห้องประชุม กับกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ค่าอาหาร และเครือ่ งดืม่ ของบริษทั มีกรรมการทีม่ คี วามเกีย่ วโยง ค่าบริการห้องประชุม กับกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั

4.

บริษทั ทีซซี ี โฮเทล คอลเล็คชัน่ จ�ำกัด

มีผถู้ อื หุน้ ทีม่ คี วามเกีย่ วโยง ค่าบริการห้องประชุม กับกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั

0.05

5.

บริษทั โฮเรก้า แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด

มีกรรมการทีม่ คี วามเกีย่ วโยง ค่าอาหาร และเครือ่ งดืม่ กับกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั

0.11

6.

บริษทั โทนิค อินเตอร์เนชันแนล ่ จ�ำกัด

มีกรรมการด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการของบริษทั

ค่าบริการห้องประชุม ค่าอาหาร และเครือ่ งดืม่

0.11

7.

บริษทั ฟู้ด ออฟ เอเชีย จ�ำกัด

มีกรรมการทีม่ คี วามเกีย่ วโยง ค่าอาหาร และเครือ่ งดืม่ กับกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั

0.11

8.

บริษทั ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จ�ำกัด

มีกรรมการด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการของบริษทั

5.16

9.

บมจ. แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ต้ี มีกรรมการด�ำรงต�ำแหน่ง ดีเวลลอปเม้นท์ กรรมการของบริษทั

ค่าเช่าเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ค่าโปรแกรม ระบบ คอมพิวเตอร์ และค่าบริการอินเทอร์เน็ต ค่าทีพ่ กั ส�ำหรับพนักงาน

10.

บริษทั อาคเนย์แคปปิ ตอล จ�ำกัด

มีกรรมการด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการของบริษทั

ค่าเช่ารถยนต์

1.11

11.

บมจ. บิก๊ ซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์

มีกรรมการทีม่ คี วามเกีย่ วโยง ค่าสินค้าเบ็ดเตล็ด กับกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั

12.

บริษทั . เอ็น.ซี.ซี. แมนเนจเม้นท์ มีกรรมการด�ำรงต�ำแหน่ง แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด กรรมการของบริษทั

เงินสนับสนุนกิจกรรม

0.10

13.

บริษทั ทีซซี ี แอสเซ็ทส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ค่าทีป่ รึกษาด้านออกแบบ สถาปั ตยกรรม

0.60

มีกรรมการด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการของบริษทั

0.58

0.03

0.57

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 105

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

105

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

ล�ำดับที่

14.

บริษทั นอร์ท สาธร โฮเต็ล จ�ำกัด

15.

บริษทั เฟรเซอร์ สวีท ริเวอร์ วัลเล่ย์ สิงคโปร์

ความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

มีผบู้ ริหารด�ำรง ค่าห้องพัก ค่าอาหาร ต�ำแหน่งกรรมการของบริษทั และเครือ่ งดืม่

มูลค่ารายการ

0.17

มีกรรมการทีม่ คี วามเกีย่ วโยง ค่าห้องพัก กับกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั บริษทั เฟรเซอร์ พร็อพเพอร์ต้ี มีกรรมการด�ำรง ค่าตั ๋วเครือ่ งบิน คอร์ปปอเรท เซอร์วสิ พีทอี ี ต�ำแหน่งกรรมการของบริษทั และห้องพัก แอลทีดี สิงคโปร์

0.17

17.

บริษทั แปซิฟิก เลเซอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

มีกรรมการทีม่ คี วามเกีย่ วโยง ค่าตั ๋วเครือ่ งบิน กับกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ และห้องพัก ของบริษทั

1.12

18.

บริษทั สาธรทรัพย์สนิ จ�ำกัด

มีกรรมการทีม่ คี วามเกีย่ วโยง ค่าห้องพัก กับกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั

0.78

19.

บมจ. อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์ พับลิซซิง่

ค่าสือ่ และสิง่ พิมพ์

0.18

20.

บริษทั เอฟ แอนด์ บี อินเตอร์ เนชันแนล ่ จ�ำกัด

มีกรรมการทีม่ คี วามเกีย่ วโยง กับกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั มีกรรมการด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการของบริษทั

ค่าอาหาร และเครือ่ งดืม่

0.35

21.

บมจ. โออิชิ กรุป๊

16.

106

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

มีกรรมการทีม่ คี วามเกีย่ วโยง ค่าอาหาร กับกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ และเครือ่ งดืม่ ของบริษทั

0.24

0.0002

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 106

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

2. ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล

บริษทั ท�ำรายการระหว่างกันด้วยความระมัดระวังโดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั และผูถ้ อื หุน้ เป็ นส�ำคัญ การท�ำรายการ ระหว่างกันของบริษทั กับกิจการทีเ่ กีย่ วข้องทุกรายการเป็ นรายการตามธุรกิจปกติ หรือเป็ นรายการทีม่ คี วามจ�ำเป็ นและมีความ สมเหตุสมผลเพือ่ สนับสนุนธุรกิจปกติของบริษทั โดยเงือ่ นไขต่างๆ ของรายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ จะถูกก�ำหนดให้เป็ นไปตาม เงือ่ นไขการค้าปกติและเป็ นไปตามราคาตลาดและด�ำเนินการเช่นเดียวกับทีป่ ฏิบตั กิ บั ลูกค้าทัวไปที ่ ม่ ลี กั ษณะเดียวกันหรือใกล้เคียง กัน 3. มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน

บริษทั ได้กำ� หนดหลักการเกีย่ วกับข้อตกลงทางการค้าทีม่ เี งือ่ นไขการค้าโดยทั ่วไปในการท�ำธุรกรรมระหว่างบริษทั และบริษทั ย่อย กับกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง ดังนี้ บริษทั อาจมีรายการระหว่างกันในอนาคต บริษทั จึงขออนุมตั ใิ นหลักการ จากคณะกรรมการบริษทั ให้ฝ่ายจัดการสามารถอนุมตั กิ ารท�ำธุรกรรมดังกล่าวหากธุรกรรมเหล่านัน้ มีขอ้ ตกลงทางการค้าในลักษณะ เดียวกับทีว่ ญ ิ ญูชนพึงกระท�ำกับคูส่ ญ ั ญาทัวไปในสถานการณ์ ่ เดียวกัน ด้วยอ�ำนาจต่อรองทางการค้าทีป่ ราศจากอิทธิพลในการทีต่ นมี สถานะเป็ นกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง และปฏิบตั ติ ามกฏเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ ว่าด้วยรายการทีเ่ กีย่ ว โยงกัน ในกรณีท่ี กรรมการบริษทั กรรมการบริหาร ผูบ้ ริหาร มีสว่ นได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการบริษทั กรรมการ บริหาร ผูบ้ ริหาร ผูม้ สี ว่ นได้เสียผูน้ นั ้ ไม่มอี ำ� นาจในการอนุมตั ริ ายการดังกล่าวกับบริษทั บริษทั จะจัดให้มผี เู้ ชีย่ วชาญอิสระเป็ นผูใ้ ห้ ความเห็นเกีย่ วกับรายการระหว่างกันดังกล่าวเพือ่ น�ำไปใช้ประกอบการตัดสินใจของ คณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ หรือ ผูถ้ อื หุน้ ตามแต่กรณี ทัง้ นี้ บริษทั จะเปิ ดเผยรายการระหว่างกันทีส่ ำ� คัญไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินทีไ่ ด้รบั การตรวจสอบจาก ผูส้ อบบัญชีของบริษทั 4. นโยบายหรือแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต

บริษทั มีนโยบายการท�ำรายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ ในปั จจุบนั และอนาคตทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ กับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง โดย ถือปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับลูกค้าทั ่วไป ด้วยนโยบายการก�ำหนดราคาทีเ่ ป็ นธรรมและเป็ นไปตามเงือ่ นไขการค้าทั ่วไป โดยผ่าน กระบวนการพิจารณาอนุมตั ทิ ช่ี ดั เจน โปร่งใส ยุตธิ รรม เป็ นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของบริษทั และต้องเป็ นไปตามอ�ำนาจอนุมตั กิ ารท�ำรายการระหว่างกัน

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 107

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

107

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ กลุม่ บริษทั ได้เปลีย่ นรอบระยะเวลาบัญชีของกลุม่ บริษทั จาก เดิมคือวันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคมของทุกปี เป็ น วันที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 30 กันยายนของปี ถดั ไป โดยเริม่ ตัง้ แต่งวดบัญชีสน้ิ สุดวันที่ 30 กันยายน 2561 เป็ นต้นไป ดัง นัน้ งบการเงินส�ำหรับงวดบัญชีสน้ิ สุดวันที่ 30 กันยายน 2561 จึงได้จดั ท�ำขึน้ ตามวันสิน้ สุดของรอบระยะเวลาบัญชี ใหม่เป็ นครัง้ แรก โดยเป็ นงบการเงินส�ำหรับรอบระยะเวลา ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 เพือ่ ประโยชน์ต่อผูใ้ ช้งบการเงินในการวิเคราะห์เปรียบเทียบ ข้อมูลทางการเงิน รวมถึงการอธิบายสาเหตุของการ เปลีย่ นแปลงเพิม่ ขึน้ หรือลดลงได้อย่างเหมาะสม จึงได้ เปรียบเทียบผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสดส�ำหรับงวด 9 เดือนสิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน 2561 กับงวดเดียวกันของปี ก่อน โดยผูใ้ ช้งบการเงินสามารถดูรายละเอียดได้ใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 41 เรือ่ งข้อมูลเพิม่ เติม

การขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TREIT ด้วยวิธขี ายขาดใน กรรมสิทธิ ์ของทัง้ ทีด่ นิ และอาคารโรงงาน/คลังสินค้า บริษทั บันทึกรายการขายทรัพย์สนิ ดังกล่าวเป็ นรายได้จากการขาย อสังหาริมทรัพย์ในงบก�ำไรขาดทุนได้ทงั ้ จ�ำนวน ในขณะที่ การให้เช่าทีด่ นิ พร้อมการขาย/ให้เช่าอาคารโรงงาน/คลัง สินค้า บริษทั บันทึกการให้เช่าทีด่ นิ เป็ นค่าเช่าทีด่ นิ รับล่วง หน้าในงบแสดงฐานะการเงินทัง้ จ�ำนวน ซึง่ จะทยอยรับรูร้ าย ได้คา่ เช่าตามอายุสญ ั ญาเช่าทีด่ นิ และบันทึกการขายขาดใน กรรมสิทธิ ์และการให้เช่าอาคารโรงงาน/คลังสินค้า เป็ นราย ได้จากการขายในงบก�ำไรขาดทุนทัง้ จ�ำนวน ตามมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) ทีถ่ อื ว่าการให้เช่า อาคารระยะยาวเป็ นการขายตามสัญญาเช่าการเงิน 1.1.3 รายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์ให้แก่บคุ คล หรือกิ จการอื่น

1. ผลการดำ�เนินงาน 1.1 รายได้

1.1.1 รายได้จากการให้เช่าและค่าบริ การ ในรอบระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายนของปี 2560 และ 2561 รายได้คา่ เช่าและค่าบริการ มีจำ� นวน 1,043.3 ล้านบาท และ 1,150.9 ล้านบาทตามล�ำดับ คิด เป็ นการเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 10.3 ขณะทีต่ น้ ทุนจากการให้เช่าและ บริการ มีจำ� นวน 317.4 ล้านบาท และ 343.5 ล้านบาท ตาม ล�ำดับ ซึง่ คิดเป็ นก�ำไรขันต้ ้ นจากการให้เช่าและบริการ เท่ากับ ร้อยละ 69.6 และร้อยละ 70.1 ตามล�ำดับ รายได้คา่ เช่าและค่าบริการในรอบ 9 เดือนของปี 2561 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 10.3 เมือ่ เทียบกับรอบระยะเวลาเดียวกันของปี ก่อน เนื่องจากการเพิม่ ขึน้ ของพืน้ ทีใ่ ห้เช่าใหม่สทุ ธิของผูเ้ ช่า อาคารโรงงานและคลังสินค้า โดยพืน้ ทีท่ เ่ี ช่าใหม่สทุ ธิของผู้ เช่าอาคารโรงงานและคลังสินค้าเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 16.9 1.1.2 รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้กองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์/ทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ในปี 2560 บริษทั ไม่มรี ายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT เนื่องจากบริษทั ได้รบั เงินทุนจากการเพิม่ ทุนเมือ่ ต้นปี 2560 เป็ นจ�ำนวน เพียงพอส�ำหรับรองรับการขยายธุรกิจ อย่างไรก็ดสี ำ� หรับ รอบเวลา 9 เดือนของปี 2561 บริษทั มีการขาย อสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT มูลค่ารวม 1,693 ล้านบาท โดยสามารถรับรูเ้ ป็ นรายได้ในงบก�ำไรขาดทุน จ�ำนวน 1,569.2 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 41.1 เมือ่ เทียบกับรายได้ รวมทัง้ หมด และส่วนทีเ่ หลือบันทึกอยูใ่ นรายได้คา่ เช่าทีด่ นิ รับล่วงหน้า ในงบแสดงฐานะทางการเงิน ทัง้ นี้การขาย

108

อสังหาริมทรัพย์ให้ TREIT ในปี 2561 นี้ เป็ นไปตามเงือ่ นไข การแปลงสภาพกองทุนรวม (TFUND, TLOGIS, และ TGROWTH) เป็ น TREIT

นอกจากรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้กองทุนรวม/ ทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์แล้ว บริษทั ยังมีราย ได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ลกู ค้าทีเ่ ป็ นผูเ้ ช่า รวม ถึงบุคคล/กิจการอืน่ ตามโอกาสทีเ่ หมาะสม โดยในรอบระยะ เวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายนของปี 2560 และ 2561 บริษทั มีการขายทีด่ นิ และอาคารโรงงานให้แก่บุคคล หรือกิจการอืน่ เท่ากับ 148.6 ล้านบาท และ 640.4 ล้านบาท ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ ลูกค้าเป็ นรายได้ทม่ี ไิ ด้เกิดขึน้ อย่างสม�่ำเสมอ ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั การตัดสินใจของลูกค้าในการใช้สทิ ธิซอ้ื อสังหาริมทรัพย์ตาม เงือ่ นไขทีร่ ะบุในสัญญาเช่าเป็ นส�ำคัญ นอกจากนัน้ ก�ำไรขัน้ ต้นของการขายอสังหาริมทรัพย์แต่ละอสังหาริมทรัพย์ม ี ความแตกต่างกัน ขึน้ อยูก่ บั หลายปั จจัย เช่น อายุ ขนาด ลักษณะของอสังหาริมทรัพย์ รวมทัง้ ท�ำเลทีต่ งั ้ ของ อสังหาริมทรัพย์ทข่ี าย ขณะทีก่ ารขายทีด่ นิ เปล่า มิได้เกิดขึน้ อย่างสม�่ำเสมอ โดยขึน้ อยูก่ บั โอกาสทีเ่ หมาะสม และก�ำไร ขัน้ ต้นของการขาย 1.1.4 รายได้ที่เกี่ยวเนื่ องกับบริษทั ร่วม (TREIT SLP และ ทีอาร์เอ) และบริษทั ร่วมค้า (TPARK BFTZ และ JustCo) 1) ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงิ นลงทุนใน TREIT SLP ทีอาร์เอ TPARK BFTZ และ JustCo ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนใน TREIT SLP ทีอาร์เอ TPARK BFTZ และ JustCo ขึน้ อยูก่ บั สัดส่วนการลงทุนของบริษทั และก�ำไรของบริษทั ร่วม และบริษทั ร่วมค้า ในรอบระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายนของปี

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 108

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

2560 และ 2561 บริษทั มีสว่ นแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนใน บริษทั ร่วมและบริษทั ร่วมค้าจ�ำนวน 173.6 ล้านบาท และ 195.6 ล้านบาทตามล�ำดับ คิดเป็ นการเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 12.7 หรือเพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 22.0 ล้านบาท ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นผลจาก การที่ TREIT มีผลการด�ำเนินงานทีด่ ขี น้ึ จากการทีม่ อี ตั รา การให้เช่าของโรงงาน/คลังสินค้าทีส่ งู ขึน้ และบริษทั มี สัดส่วนการถือหน่วยใน TREIT ทีเ่ พิม่ มากขึน้

2560 และ 2561 บริษทั มีรายได้คา่ สาธารณูปโภคจ�ำนวน 28.8 ล้านบาท และ 16.0 ล้านบาท ตามล�ำดับ ซึง่ ลดลง 12.8 ล้านบาท หรือคิดเป็ นการลดลงร้อยละ 44.5 โดยมีสาเหตุ หลักมาจากการทีบ่ ริษทั มีการโอนมิเตอร์น้�ำ และไฟฟ้ า บาง ส่วนให้ผเู้ ช่าเป็ นผูจ้ า่ ยช�ำระเอง

2) รายได้ค่าบริ หารจัดการจากบริ ษทั ร่วม

รายได้อน่ื ส่วนใหญ่เกิดจากรายได้คา่ ภาษีโรงเรือนและทีด่ นิ ทีเ่ ก็บจากผูเ้ ช่ารายย่อยจ�ำนวน 51.8 ล้านบาท และก�ำไรจาก การขายส�ำนักงานของบริษทั ย่อยในเซีย่ งไฮ้จำ� นวน 21.0 ล้านบาท

ในรอบระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายนของปี 2560 และ 2561 ทีผ่ า่ นมา บริษทั มีรายได้จากการเป็ นผู้ บริหารอสังหาริมทรัพย์และผูจ้ ดั การกองทรัสต์จำ� นวน 146.3 ล้านบาทและ 226.9 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิม่ ขึน้ 80.6 ล้าน บาท หรือคิดเป็ นการเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 55.1 โดยมีสาเหตุหลัก จากการเพิม่ ขึน้ ของค่าบริหารจัดการ TREIT (REIT Management Income) จากการแปลงสภาพกองทุน TFUND TLOGIS และ TGROWTH เป็ น TREIT ในช่วง เดือนธันวาคม 2560 ท�ำให้บริษทั รับรูร้ ายได้คา่ บริหาร จัดการเพิม่ ขึน้ จากทรัพย์สนิ ทีบ่ ริหารทีเ่ พิม่ ขึน้ และค่านาย หน้าจากการจัดหาผูเ้ ช่าให้แก่ TREIT 3) ก�ำไรที่รบั รู้เพิ่ มเติ มจากการจ�ำหน่ ายอสังหาริ มทรัพย์ ให้แก่กองทุนรวม/ทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ บริ ษั ท จะสามารถรับ รู้ ก� ำ ไรเพิ่ ม เติ ม จากการขาย อสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT เมือ่ TREIT มีการขาย สินทรัพย์ทซ่ี อ้ื จากบริษทั ให้แก่บุคคล/กิจการอืน่ หรือเมือ่ บริษทั ลดสัดส่วนการลงทุนใน TREIT ในรอบระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน 2561 บริษทั มีกำ� ไรทีร่ บั รูเ้ พิม่ เติมดังกล่าวจ�ำนวน 2.7 ล้านบาท ซึง่ เกิดขึน้ จากการที่ TREIT มีการขายทีด่ นิ และโรงงานให้แก่ บุคคลอืน่ ในขณะทีร่ อบระยะเวลาเดียวกันของปี ก่อนไม่ม ี การขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT และไม่มกี ารลด สัดส่วนการลงทุน บริษทั จึงไม่มกี ารรับรูก้ ำ� ไรเพิม่ เติมจาก การขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TREIT 1.1.5 รายได้อื่นๆ นอกจากรายได้ทก่ี ล่าวข้างต้น บริษทั ยังมีรายได้ประเภทอืน่ อีก ซึง่ ประกอบด้วย 1) รายได้จากการให้บริ การ รายได้ดงั กล่าวเกิดจากการทีบ่ ริษทั ได้รบั ว่าจ้างจากลูกค้าที่ เช่าโรงงานและคลังสินค้าของบริษทั ให้ท�ำการต่อเติม/ ดัดแปลงโรงงานและคลังสินค้าทีเ่ ช่าอยู่ ซึง่ ปกติบริษทั มีราย ได้จากงานรับเหมาก่อสร้างจ�ำนวนน้อยเมือ่ เทียบกับรายได้ รวม 2) รายได้ค่าสาธารณูปโภค รายได้คา่ สาธารณูปโภคเกิดจากการทีบ่ ริษทั เป็ นผูจ้ ดั หา สาธารณูปโภคให้แก่ลกู ค้าทีเ่ ช่าโรงงานและคลังสินค้า ในรอบระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายนของปี

3) รายได้อื่น

ในรอบระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายนของปี 2560 และ 2561 บริษทั มีรายได้อน่ื จ�ำนวน 37.6 ล้านบาท และ 95.4 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิม่ ขึน้ 57.8 ล้านบาท โดยมี สาเหตุหลักจากการเปลีย่ นวิธกี ารบันทึกบัญชีของรายได้คา่ ภาษีโรงเรือนและทีด่ นิ และจากการทีบ่ ริษทั มีกำ� ไรจากการ ขายส�ำนักงานของบริษทั ย่อยในเซีย่ งไฮ้ 1.2 ค่าใช้จ่าย

1.2.1 ค่าใช้จ่ายในการจัดจ�ำหน่ ายและบริ หาร ในรอบระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน ของปี 2560 และ 2561 บริษทั มีคา่ ใช้จา่ ยในการจัดจ�ำหน่ายและ บริหารจ�ำนวน 550.2 ล้านบาท และ 795.4 ล้านบาท ตาม ล�ำดับ คิดเป็ นการเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 44.6 ทัง้ นี้ องค์ประกอบหลักของค่าใช้จา่ ยในการจัดจ�ำหน่ายและ บริหาร ได้แก่ ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับพนักงาน ค่าเสือ่ มราคาของ โรงงาน/คลังสินค้าทีส่ ร้างเสร็จแต่ยงั ไม่มผี เู้ ช่า โดยค่าใช้จา่ ย ดังกล่าวคิดเป็ นสัดส่วนรวมกันประมาณร้อยละ 61.3 และ ร้อยละ 53.4 ของค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร ส�ำหรับปี 2560 และ 2561 ตามล�ำดับ ในรอบ 9 เดือนของปี 2561 บริษทั มีคา่ ใช้จา่ ยในการจัด จ�ำหน่ายและบริหารเท่ากับ 795.4 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากช่วง เวลาเดียวกันปี ก่อนหน้าจ�ำนวน 245.3 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 44.6 เนื่องจากการเติบโตทีม่ ากขึน้ ของบริษทั ท�ำให้คา่ ใช้จา่ ยเกีย่ วกับพนักงานเพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 98.6 ล้าน บาท จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้า นอกจากนัน้ ยังมีคา่ ใช้ จ่ายภาษีโรงเรือนและทีด่ นิ เพิม่ ขึน้ จากการเปลีย่ นวิธกี าร บันทึกบัญชี อย่างไรก็ตามค่าเสือ่ มราคาของโรงงาน/คลัง สินค้าทีส่ ร้างเสร็จแต่ไม่มผี เู้ ช่ามีจำ� นวนลดลงเนื่องจาก บริษทั มีผเู้ ช่าเพิม่ มากขึน้ 1.2.2 ต้นทุนทางการเงิ น ในรอบระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน ของปี 2560 และ 2561 ต้นทุนทางการเงินมีจำ� นวน 445.5 ล้าน บาท และ 415.0 ล้านบาทตามล�ำดับ คิดเป็ นการลดลงร้อย

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 109

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

109

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

ละ 6.9 เนื่องจากในรอบ 9 เดือนของปี 2561 บริษทั ได้ชำ� ระ คืนหุน้ กูท้ ถ่ี งึ ก�ำหนดช�ำระคืน โดยใช้เงินทีไ่ ด้รบั จากการเพิม่ ทุนในช่วงต้นปี 2560 1.2.3 ก�ำไรที่ยงั ไม่เกิ ดจากการขายอสังหาริ มทรัพย์ให้ บริ ษทั ร่วม ในรอบระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน ของปี 2561 บริษทั มีกำ� ไรทีย่ งั ไม่เกิดจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ให้บริษทั ร่วม โดยค�ำนวณตามสัดส่วนทีบ่ ริษทั ถือหน่วยใน TREIT จ�ำนวน 102.0 ล้านบาทซึง่ แสดงเป็ นส่วนหักจาก ก�ำไรจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TREIT ในงบก�ำไร ขาดทุน ในขณะทีไ่ ม่มรี ายการดังกล่าวในช่วงเวลาเดียวกัน ของรอบปี กอ่ นหน้าเนื่องจากไม่มกี ารขายทรัพย์สนิ ให้ TREIT 1.3 กำ�ไร

1.3.1 ก�ำไรขัน้ ต้น ในรอบระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน ของปี 2560 และ 2561 บริษทั มีอตั ราก�ำไรขันต้ ้ นจากการให้เช่า โรงงาน/คลังสินค้า เท่ากับร้อยละ 69.6 และร้อยละ 70.2 ตามล�ำดับ ซึง่ ใกล้เคียงกับปี ก่อนหน้า

สินทรัพย์รวมของบริษทั เพิม่ ขึน้ จากปี 2560 ประมาณ 2,016.8 ล้านบาท คิดเป็ นการเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.9 สาเหตุหลัก มาจากการเพิม่ ขึน้ ของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 2.1.1 อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ประกอบด้วย อสังหาริมทรัพย์ ทีอ่ ยูใ่ นระหว่างการพัฒนา/พร้อมให้เช่า/ให้เช่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มี อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนรวมจ�ำนวน 31,526.2 ล้าน บาท และ 29,038.4 ล้านบาท ตามล�ำดับ ณ สิน้ งวดบัญชี 2561 อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนลดลง จาก 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวน 2,487.7 ล้านบาท หรือลดลง ร้อยละ 7.9 สาเหตุหลักเนื่องจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ แก่ TREIT และบุคคลหรือกิจการอืน่ ในรอบ 9 เดือนของปี 2561 และการบันทึกรายการสินทรัพย์ทร่ี อการขายอีก จ�ำนวนหนึ่งไว้ในหมวดสินทรัพย์หมุนเวียน

ในขณะทีร่ อบระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน ของปี 2560 และ 2561 บริษทั มีอตั ราก�ำไรขัน้ ต้นจากการ ขายอสังหาริมทรัพย์เท่ากับร้อยละ 60.0 และร้อยละ 27.9 ตามล�ำดับ คิดเป็ นการลดลงร้อยละ 32.1 ซึง่ มีสาเหตุหลัก เนื่องจากในปี 2561 ส่วนหนึ่งของการขายอสังหาริมทรัพย์ ให้แก่ TREIT เป็ นรายการขายทรัพย์สนิ แบบสิทธิการเช่า ไม่ใช่การขายกรรมสิทธิ ์สมบูรณ์ นอกจากนี้การขาย อสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลหรือกิจการอืน่ ในรอบ 9 เดือน ของปี 2561 ส่วนหนึ่งเป็ นการขายทีด่ นิ เปล่า

2.1.2 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

1.3.2 ก�ำไรสุทธิ

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีเงินสดและรายการเทียบ เท่าเงินสด และเงินลงทุนชัวคราวจ� ่ ำนวน 6,447.9 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากสิน้ ปี 2560 จ�ำนวน 3,828.2 ล้านบาท โดยเงิน ลงทุนชั ่วคราวประกอบด้วย เงินฝากประจ�ำกับธนาคาร พาณิชย์ และใบรับฝากเงินทีม่ อี ายุระหว่าง 3 ถึง 12 เดือน ซึง่ เป็ นการลงทุนทีม่ คี วามเสีย่ งต�่ำ และถือเป็ นทางเลือกทาง หนึ่งในการบริหารเงินของบริษทั ทีใ่ ห้ผลตอบแทนจากการ ลงทุนในอัตราทีส่ งู กว่าการฝากเงินประเภทออมทรัพย์กบั ธนาคารพาณิชย์ ทัง้ นี้เงินสด และเงินลงทุนชัวคราวดั ่ งกล่าว คาดว่าจะถูกน�ำมาใช้ในการลงทุนในต้นปี 2562

ในรอบระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน ของปี 2560 และ 2561 บริษทั มีกำ� ไรสุทธิสว่ นทีเ่ ป็ นของบริษทั ใหญ่ ซึง่ คิดตามวิธสี ว่ นได้เสีย และแสดงอยูใ่ นงบการเงินรวม เท่ากับ 244.9 ล้านบาท และ 657.3 ล้านบาทตามล�ำดับ และ ก�ำไรสุทธิต่อหุน้ เท่ากับ 0.14 และ 0.36 บาทตามล�ำดับ การเพิม่ ขึน้ ของก�ำไรสุทธิดงั กล่าวมีสาเหตุหลักมาจากการที่ บริษทั มีกำ� ไรจากการขายอสังหาริมทรัพย์เพิม่ ขึน้ มีรายได้ จากการให้เช่าและบริการเพิม่ มากขึน้ นอกจากนัน้ บริษทั ยัง มีรายได้คา่ บริหารจัดการจากบริษทั ร่วมเพิม่ ขึน้ จากการ แปลงสภาพกองทุน TFUND TLOGIS และ TGROWTH เป็ น TREIT ในช่วงเดือนธันวาคม 2560 ดังทีไ่ ด้กล่าวมาแล้ว 2. ฐานะทางการเงิน 2.1 สินทรัพย์

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีสนิ ทรัพย์รวมทัง้ สิน้

110

42,999.1 ล้านบาท ซึง่ ร้อยละ 67.5 ของสินทรัพย์รวมเป็ น อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ร้อยละ 20.4 ของสินทรัพย์ รวมคือเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด และร้อยละ 9.8 ของ สินทรัพย์รวมเป็ นเงินลงทุนในบริษทั ร่วม และบริษทั ร่วมค้า

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีทด่ี นิ อาคาร และอุปกรณ์ จ�ำนวน 119.3 ล้านบาท ลดลงจากสิน้ ปี 2560 จ�ำนวน 30.5 ล้านบาท หรือลดลงเป็ นร้อยละ 20.4 โดยมีสาเหตุหลักมา จากการจ�ำหน่ายอาคารส�ำนักงานทีเ่ ซีย่ งไฮ้ 2.1.3 เงิ นสดและรายการเทียบเท่าเงิ นสด และเงิ นลงทุน ชัวคราว ่

2.1.4 ลูกหนี้ การค้า-สุทธิ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ลูกหนี้การค้า-สุทธิ จ�ำนวน 72.8 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากสิน้ ปี 2560 จ�ำนวน 11.2 ล้านบาท ส่วน ใหญ่เพิม่ ขึน้ จากลูกหนี้ตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานทีย่ งั ไม่ เรียกช�ำระ จ�ำนวน 8.8 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม บริษทั มีการเก็บค่ามัดจ�ำการเช่าโรงงาน/คลัง สินค้า เป็ นจ�ำนวน 3-6 เท่าของค่าเช่าและค่าบริการราย

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 110

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

เดือนทีบ่ ริษทั ได้รบั จากผูเ้ ช่า เพือ่ บรรเทาความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการผิดนัด/ผิดสัญญาของผูเ้ ช่า 2.1.5 ลูกหนี้ อื่น ณ สิน้ งวดปี 2560 บริษทั มีการบันทึกรายการเงินลดทุนค้างรับจากการแปลงสภาพกองทุน TFUND TLOGIS และ TGROWTH เป็ น TREIT ในช่วงเดือนธันวาคม 2560 จ�ำนวน 544 ล้านบาท ซึง่ รายการดังกล่าวถูกบันทึกบัญชีในรายการลูกหนี้อน่ื เงินจ�ำนวนดังกล่าว นี้บริษทั ได้รบั จริงในเดือนมกราคม 2561 ในขณะทีร่ อบสิน้ งวดบัญชี 2561 ไม่มรี ายการเงินลดทุนจากการแปลงสภาพกองทุน 2.1.6 เงิ นปันผลค้างรับ ณ สิน้ งวดปี 2560 บริษทั มีการบันทึกรายการเงินปั นผลค้างรับจากการแปลงสภาพกองทุน TFUND TLOGIS และ TGROWTH เป็ น TREIT ในช่วงเดือนธันวาคม 2560 จ�ำนวน 328.1 ล้านบาท ซึง่ เงินปั นผลดังกล่าวบริษทั ได้รบั จริงในเดือนมกราคม 2561 ในขณะที่ รอบสิน้ งวดบัญชี 2561 ไม่มรี ายการดังกล่าว 2.1.7 กลุ่มสิ นทรัพย์ที่จะจ�ำหน่ ายที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีการบันทึกบัญชีอสังหาริมทรัพย์สว่ นทีจ่ ะขายแก่ TREIT ภายในเดือนธันวาคม 2561 จ�ำนวน 1,000.7 ล้านบาท ไว้ในหมวดของสินทรัพย์หมุนเวียน ในขณะทีไ่ ม่มรี ายการดังกล่าวในช่วงเวลาเดียวกันของปี ก่อนหน้า 2.1.8 เงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย/ร่วม/ร่วมค้า ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีเงินลงทุนในบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ร่วมค้า และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

บริษัท

ความ สัมพันธ์กับ บริษัท

สัดส่วน ร้อยละ (ของทุน ช�ำระแล้ว)

1. กลุ่มอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรม 99.99% 1.1 บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย 99.99% 1.2 บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จ�ำกัด 1.3 Shanghai TICON Investment บริษทั ย่อย 100.00% Management Co., Ltd บริษทั ย่อย 69.99% 1.4 บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด บริษทั ย่อย 100.00% 1.5 TICON (HK) Ltd. บริษทั ย่อย 100.00% 1.6 TICON International Pte. Ltd. บริษทั ร่วม 23.43% 1.7 ทรัสต์เพือ่ การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน บริษทั ร่วม 25.00% 1.8 PT SLP Surya TICON Internusa บริ ษ ท ั ร่ ว ม 50.00% 1.9 ทีอาร์เอ ดีเวลลอปเม้นต์ จ�ำกัด บริษทั ร่วมค้า 51.00% 1.10 บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จ�ำกัด 51.00% 1.11 บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จ�ำกัด บริษทั ร่วมค้า บริษทั ร่วมค้า 59.99% 1.12 บริษทั ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด จ�ำกัด

เงินลงทุน (ค�ำนวณ ตาม วิธีราคาทุน)

12.50 11,515.00

สัดส่วน ร้อยละ (ของ สินทรัพย์ รวมของ บริษัท)

เงินลงทุน (ค�ำนวณ ตาม วิธีส่วนได้ เสีย)

สัดส่วน ร้อยละ (ของ สินทรัพย์ รวมของ บริษัทและ บริษัท ย่อย)

0.03% 27.15%

-

65.39 7.00 575.08 5740.49 6,033.61

0.15% 0.02% 1.36% 13.53% 14.23%

414.16 0.50 2.55 2.04 210.00

เงินลงทุน (หลังหัก ค่าเผื่อการ ด้อยค่า ของเงิน ลงทุน)

-

-

3,524.90

8.20%

-

0.98% 0.001% 0.01% 0.005% 0.50%

354.65 0.32 2.90 2.37 211.18

0.82% 0.0007% 0.01% 0.01% 0.49%

-

2. กลุ่มดาต้า เซ็นเตอร์ 2.1 บริษทั ไทคอน เทคโนโลยี จ�ำกัด

บริษทั ย่อย

99.99%

1.00

0.002%

-

-

-

3. กลุ่มสมาร์ทโซลูชนั ่ 3.1 บริษทั จัสโค (ประเทศไทย) จ�ำกัด

บริษทั ร่วมค้า

51.00%

108.89

0.26%

110.87

0.26%

-

บริษทั ที่ เกีย่ วข้อง

0.11%

-

-

-

-

0.26

4. กลุ่มอื่นๆ 4.1 บริษทั บางกอกคลับ จ�ำกัด

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 111

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

111

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

2.1.9 ค่าเช่าที่ดินจ่ายล่วงหน้ า ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีคา่ เช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้า จ�ำนวน 629.0 ล้านบาท ลดลง 24.5 ล้านบาท จากสิน้ ปี 2560 ค่าเช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้าเป็ นรายการทีเ่ กิดจากการเช่า ทีด่ นิ ระยะยาว เพือ่ พัฒนาคลังสินค้า ทัง้ นี้รายการดังกล่าวจะ ถูกทยอยรับรูเ้ ป็ นค่าใช้จา่ ยในงบก�ำไรขาดทุนตลอดอายุ สัญญาเช่า 2.1.10 สิ นทรัพย์ภาษี เงิ นได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีทรัพย์สนิ ภาษีเงินได้รอ ตัดบัญชีจำ� นวน 197.4 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 15.0 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิดจากภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของก�ำไรทีย่ งั ไม่ เกิดจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT ในเดือน สิงหาคม 2561 2.2 หนี้สิน

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีหนี้สนิ รวมทัง้ สิน้ 17,618.8 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 1,570.7 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 9.8 จากสิน้ ปี 2560 หนี้สนิ รวมของบริษทั มีเงินกูย้ มื เป็ นส่วนประกอบหลัก คิด เป็ นร้อยละ 85.0 ของหนี้สนิ รวม การเพิม่ ขึน้ ของหนี้สนิ รวม เกิดจากรายการทีส่ ำ� คัญ ดังต่อไปนี้ 2.2.1 เงิ นกู้ยืม เงินกูย้ มื ทัง้ หมดของบริษทั ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 มี จ�ำนวน 14,980.5 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 1,660.5 ล้าน บาท หรือคิดเป็ นการเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 12.5 เมือ่ เปรียบเทียบ กับ ณ สิน้ งวดบัญชี 2560 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการเพิม่ ขึน้ ของหุน้ กูใ้ นต้นปี 2561 เนื่องจากบริษทั มีแผนการลงทุน เพิม่ เติมในอนาคตอย่างมาก และอัตราดอกเบีย้ ในช่วงเวลา ดังกล่าวเหมาะสมในการออกหุน้ กู้ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ยอดคงค้างของหุน้ กู้ มีจำ� นวน 14,220 ล้านบาท ซึง่ หุน้ กูท้ งั ้ หมดทีอ่ อกมีอายุระหว่าง 3 ถึง 10 ปี

112

2.2.3 ภาษี เงิ นได้นิติบคุ คลค้างจ่าย ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มียอดภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ค้างจ่ายจ�ำนวน 3.6 ล้านบาท ลดลงจากสิน้ ปี 2560 จ�ำนวน 0.8 ล้านบาท เนื่องจากบริษทั ย่อยมีกำ� ไรสุทธิลดลงเมือ่ เทียบกับปี ทผ่ี า่ นมา จึงท�ำให้มภี าษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีต่ อ้ ง ช�ำระลดลง 2.2.4ประมาณการหนี้ สินที่เกี่ยวข้องกับการขาย อสังหาริ มทรัพย์ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มียอดประมาณการหนี้สนิ จ�ำนวน 24.2 ล้านบาท เนื่องจากบริษทั มีการประกันรายได้ จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TREIT ในดือนสิงหาคม 2561 2.2.5 ประมาณการหนี้ สินไม่หมุนเวียนส�ำหรับผล ประโยชน์ พนักงาน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีประมาณการหนี้สนิ ไม่ หมุนเวียนส�ำหรับส�ำหรับผลประโยชน์พนักงาน ซึง่ เป็ นการ ประมาณการภาระของบริษทั ในการจ่ายเงินชดเชยให้แก่ พนักงานเมือ่ ออกจากงาน จ�ำนวน 40.0 ล้านบาท บริษทั ได้ถอื ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรือ่ ง ผลประโยชน์ของพนักงาน ตัง้ แต่ปี 2554 เป็ นต้นมา โดย บันทึกส่วนทีเ่ ป็ นยอดสะสมทีค่ ำ� นวณจนถึงสิน้ ปี 2553 รับรู้ เป็ นหนี้สนิ และบันทึกส่วนทีเ่ ป็ นการกันส�ำรองผลประโยชน์ ของพนักงานในแต่ละปี เป็ นค่าใช้จา่ ย 2.2.6 รายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้ า ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีรายได้คา่ เช่าทีด่ นิ รับล่วง หน้า จ�ำนวน 1,400.9 ล้านบาท จากการให้เช่าทีด่ นิ แก่ TGROWTH และ TREIT ในปี 2556 และ 2561 เป็ นระยะ เวลา 28-30 ปี โดยบริษทั จะทยอยรับรูร้ ายได้ในงบก�ำไร ขาดทุน ตามวิธเี ส้นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า 2.2.7 หนี้ สินภาษี เงิ นได้รอการตัดบัญชี

บริษทั มีการตกลงในเงือ่ นไขของการกูย้ มื เงินกับสถาบันการ เงินบางแห่งและผูถ้ อื หุน้ กูท้ ส่ี ำ� คัญคือ การด�ำรงอัตราส่วนหนี้ สิน/หนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในอัตราไม่ เกิน 2.5-3.0 เท่า ซึง่ ทีผ่ า่ นมาบริษทั ไม่เคยผิดเงือ่ นไขของ การกูย้ มื ทีส่ ำ� คัญดังกล่าว

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีหนี้สนิ ภาษีเงินได้รอการ ตัดบัญชีจำ� นวน 264.2 ล้านบาท ซึง่ เพิม่ ขึน้ จากสิน้ ปี 2560 จ�ำนวน 35.0 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิดจากผลต่างในการ ค�ำนวณภาษีเงินได้ของการรับรูร้ ายการทีแ่ ตกต่างกัน ระหว่างทางบัญชีและทางภาษี ส�ำหรับการให้เช่าอาคารแก่ TREIT ในเดือนสิงหาคม 2561

2.2.2 เจ้าหนี้ การค้า

2.3 ส่วนของผูถ้ ือหุ้น

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มียอดเจ้าหนี้การค้า จ�ำนวน 99.0 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี ก่อนหน้าจ�ำนวน 5.4 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 5.8 ซึง่ เกือบทัง้ จ�ำนวนของเจ้า หนี้การค้าเป็ นเจ้าหนี้คา่ ก่อสร้าง

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีสว่ นของผูถ้ อื หุน้ รวม จ�ำนวน 25,380.3 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากสิน้ ปี 2560 จ�ำนวน 446.0 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.8 เนื่องจากการเพิม่ ขึน้ ของก�ำไรสะสมของบริษทั

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 112

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

2.4 ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน

วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนทีส่ ำ� คัญของบริษทั คือ การจัดให้มซี ง่ึ โครงสร้างเงินทุนทีเ่ หมาะสม เพือ่ สนับสนุ น การด�ำเนินธุรกิจของบริษทั และเพิม่ มูลค่าหุน้ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในอดีตทีผ่ า่ นมา บริษทั มีแหล่งเงินทุนหลักเพือ่ ใช้ในการ ขยายธุรกิจการสร้างโรงงาน และคลังสินค้า คือ เงินทุนจาก การด�ำเนินงาน เงินเพิม่ ทุนจากผูถ้ อื หุน้ และเงินกูย้ มื จาก สถาบันการเงิน อย่างไรก็ดี ในช่วง 10 ปี ทผ่ี า่ นมา ธุรกิจ โรงงานส�ำเร็จรูปและคลังสินค้า ให้เช่ามีการขยายตัวอย่าง มาก บริษทั ได้มสี ว่ นร่วมในการจัดตัง้ TFUND ในปี 2548 TLOGIS ในปี 2552 TGROWTH ในปี 2556 และ TREIT ใน ปี 2557 เพือ่ เป็ นการเพิม่ ช่องทางระดมทุนของบริษทั ซึง่ ท�ำให้บริษทั ลดการพึง่ พาการจัดหาเงินทุน จากการกูย้ มื เงิน จากสถาบันการเงิน และ การเพิม่ ทุนซึง่ มีคา่ ใช้จา่ ยทีม่ ากก ว่า ทัง้ นี้ในเดือนธันวาคม 2560 TFUND TLOGIS และ TGROWTH ได้ถกู แปลงสภาพเป็ น TREIT แล้ว นอกจากแหล่งเงินทุนดังกล่าว บริษทั ยังมีการออกหุน้ กูอ้ ายุ 3-10 ปี ซึง่ ถือเป็ นแหล่งเงินทุนทีส่ ำ� คัญอีกแหล่งหนึ่งของ บริษทั ทีม่ ตี น้ ทุนต�่ำกว่าการกูย้ มื เงินระยะยาวจากสถาบัน การเงิน 2.5 สภาพคล่อง

ในรอบระยะเวลาตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน 2561 บริษทั มีกระแสเงินสดสุทธิทไ่ี ด้มาจากกิจกรรมด�ำเนิน งาน 3,107.6 ล้านบาท มีกระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรม การลงทุน 282.2 ล้านบาท และมีกระแสเงินสดสุทธิได้มา จากกิจกรรมการจัดหาเงิน 1,024.9 ล้านบาท จากข้อมูลการได้มาและใช้ไปของกระแสเงินสดตามทีก่ ล่าว ข้างต้น จะพบว่าบริษทั มีสภาพคล่องทางการเงินส�ำหรับการ ด�ำเนินธุรกิจเพิม่ ขึน้ เมือ่ เปรียบเทียบกับรอบระยะเวลา เดียวกันของปี 2560 (ปรับปรุงใหม่) (การค�ำนวณอัตราส่วน สภาพคล่อง (Current ratio) ไม่สามารถอธิบายสภาพคล่อง ของบริษทั ได้ เนื่องจากบริษทั ไม่มกี ารบันทึกรายการสินค้า คงเหลือในสินทรัพย์หมุนเวียน ทัง้ นี้ ลักษณะสินทรัพย์ของ บริษทั ส่วนใหญ่เป็ นทีด่ นิ และโรงงาน ซึง่ จะไม่บนั ทึกเป็ น สินทรัพย์หมุนเวียนของบริษทั ในขณะทีร่ ายการเจ้าหนี้การ ค้าค่าทีด่ นิ และค่าก่อสร้างจะถูกบันทึกเป็ นหนี้สนิ หมุนเวียน จึงท�ำให้อตั ราส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี้สนิ หมุนเวียนมี ค่าต�่ำ) ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีอตั ราส่วนหนี้สนิ ทีม่ ี ภาระดอกเบีย้ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ซึง่ ค�ำนวณจาก (เงินกูย้ มื +หนี้สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน) ส่วนของผูถ้ อื หุน้ เท่ากับ 0.59 เท่า เพิม่ ขึน้ จาก ณ สิน้ ปี 2560 ซึง่ เท่ากับ 0.53 เท่า และมีอตั ราหนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้

สุทธิ เท่ากับ 0.34 เท่า ลดลงจาก ณ สิน้ ปี 2560 ซึง่ เท่ากับ 0.43 เท่า เนื่องจากในช่วงต้นปี 2561 บริษทั ออกหุน้ กูเ้ พิม่ เติมในช่วงต้นปี 2561 เนื่องอัตราดอกเบีย้ มีความเหมาะ สมในการออกหุน้ กูเ้ วลาดังกล่าว ในขณะเดียวกันบริษทั มี การช�ำระหุน้ กูท้ ค่ี รบก�ำหนดไถ่ถอน โดยเงินกูย้ มื ทัง้ หมดได้ ถูกน�ำมาใช้ประโยชน์ในการขยายกิจการ อย่างไรก็ดปี ั จจุบนั อัตราส่วนหนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ อยูย่ งั อยูใ่ นระดับต�่ำ ซึง่ ถือเป็ นโอกาสในการด�ำเนินธุรกิจส�ำหรับ การเติบโตได้ในอนาคต ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีอตั ราส่วนความสามารถ ในการช�ำระดอกเบีย้ ซึง่ ค�ำนวณจาก (ก�ำไรสุทธิ+ดอกเบีย้ จ่าย+ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล+ก�ำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บริษทั ร่วม) ดอกเบีย้ จ่าย เท่ากับ 2.93 เท่า เพิม่ ขึน้ จาก ณ สิน้ ปี 2560 ซึง่ เท่ากับ 1.83 เท่า เนื่องจากบริษทั มีกำ� ไรจากการขายอสังหาริมทรัพย์เพิม่ ขึน้ จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT ในปี 2561 ซึง่ แสดงได้ถงึ ความสามารถในการช�ำระดอกเบีย้ ของบริษทั ทีด่ ี ขึน้ ซึง่ ทีผ่ า่ นมาบริษทั ไม่เคยประสบปั ญหาในการช�ำระ ดอกเบีย้ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั มีอตั ราส่วนความสามารถ ในการช�ำระภาระผูกพัน ซึง่ ค�ำนวณจาก (เงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงาน+ดอกเบีย้ จ่าย) (จ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวและหุน้ กู+้ เงินปันผล+ดอกเบีย้ จ่าย) เท่ากับ 0.75 เท่า เพิม่ ขึน้ จาก ณ สิน้ ปี 2560 ซึง่ เท่ากับ 0.2 เท่า เนื่องจากบริษทั มีกำ� ไรจากการขายอสังหาริมทรัพย์เพิม่ ขึน้ จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT.ในปี 2561 แสดงถึงความสามารถในการช�ำระภาระผูกพันของบริษทั ทีด่ ี ขึน้   3. แนวโน้มในอนาคต

ทิศ ทางการขยายตัว ของธุ ร กิจ อสัง หาริม ทรัพ ย์ ใ น ประเทศไทย สอดคล้องกับอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศ ซึง่ ภาพรวมในปี น้ี จีดพี มี แี นวโน้มเติบโตได้ดี โดยมีปัจจัยการฟื้ นตัวจากตลาดโลก ขณะทีก่ ารลงทุนใน ภูม ภ ิ าคเอเชีย มีป ริม าณที่ม ากขึ้น ส่ง ผลต่ อ เนื่ อ งถึง ประเทศไทยทีค่ าดว่าทัง้ ปี จะขยายตัวได้ตามคาดการณ์ เนื่องจากดอกเบีย้ ยังทรงตัวอยูใ่ นระดับต�่ำ และการส่งออก เติบโตดีขน้ึ ขณะทีแ่ นวโน้มในปี หน้ามีปัจจัยบวกจากภาครัฐ ในด้านความคืบหน้าการลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐาน ซึง่ เป็ นแรง ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจภายในประเทศทีด่ อี ย่างต่อเนื่อง โดย เฉพาะอย่างยิง่ ความชัดเจนในโครงการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจภาคตะวันออก (อีอซี )ี ภายหลังพ.ร.บ. เขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 มีผลบังคับใช้ ร่วมกับ นโยบายภาครัฐทีผ่ ลักดันส่งเสริมการลงทุนโดยตรงจาก The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 113

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

113

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

ต่างประเทศ (Foreign Direct Investment, FDI) จะเป็ นสิง่ ที่ ช่วยเพิม่ ความเชือ่ มั ่นและดึงดูดการลงทุนให้เพิม่ มากขึน้ บริษทั ฯ คาดว่า ปั จจัยบวกทางเศรษฐกิจเหล่านี้จะส่งผลให้ ความต้องการใช้โรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้าปรับตัว สูงขึน้ ควบคูก่ บั ระบบเศรษฐกิจดิจทิ ลั ทีจ่ ะเข้ามาผลักดันให้ ภาคอุตสาหกรรมซึง่ เป็ นจุดแข็งของประเทศ ปรับตัวไปสู่ วัฏจักรใหม่ของการเติบโตในอนาคตด้วยเช่นกัน ในปี ทผ่ี า่ นมา บริษทั ฯ ได้เตรียมความพร้อมรองรับการ เปลีย่ นผ่านเข้าสูภ ่ มู ทิ ศั น์อุตสาหกรรมยุค 4.0 ผ่านการ วางแผนลงทุนเสริมศักยภาพธุรกิจใหม่ดว้ ยเทคโนโลยีทเ่ี ป็ น ไปตามทิศทางตลาดโลก พร้อมก�ำหนดแผนกลยุทธ์ (Road Map) เพือ่ ก้าวไปสูค่ วามเป็ นผูน้ �ำในธุรกิจให้บริการ “สมาร์ท แพลทฟอร์มด้านอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การอุตสาหกรรม” ร่วมกับยุทธศาสตร์การขับเคลือ่ นองค์กรในทุกมิติ (Total Dimension) เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการแข่งขันรอบด้าน อาทิ มุง่ เน้นการให้ความส�ำคัญกับลูกค้า การปรับปรุงสินค้าและ บริการให้ครบวงจรตอบโจทย์ความต้องการทีเ่ ปลีย่ นแปลง ไป การส่งเสริมและน�ำนวัตกรรมใหม่ๆ มาปรับใช้กบั ธุรกิจ การน�ำมาตรฐานและกระบวนการท�ำงานตามหลักสากลมา ปรับใช้ เพือ่ ให้การด�ำเนินธุรกิจเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สูงสุด ทัง้ นี้ บริษทั คาดการณ์วา่ การเติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศไทยปี 2562 จะมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง และบริษทั ฯ พร้อมลงทุนเพือ่ ขยายงานในโครงการต่าง ๆ ทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศในกลุ่มอาเซียนและ CLMV โดยบริษทั ฯ มีสถานะทางการเงินทีด่ แี ละมีชอ่ ง ทางการบริหารการเงินครบวงจร จากการทีม่ กี องทรัสต์ TREIT เป็ นหนึ่งในกลยุทธ์ในการสร้างเครือ่ งมือทางการเงิน ส�ำหรับระดมทุนเพือ่ การขยายงานและลงทุนต่าง ๆ ในระยะ ยาว โดยบริษทั ฯ มีความมุง่ มั ่นทีจ่ ะส่งเสริมให้กองทรัสต์ TREIT สามารถจัดหาและลงทุนในสินทรัพย์ทม่ี คี ณ ุ ภาพ เพือ่ สร้างผลตอบแทนทีด่ ใี ห้กบั ผูถ้ อื หน่วยอย่างต่อเนื่อง สามารถดึงดูดความสนใจจากนักลงทุน ทัง้ ในประเทศและ จากต่างประเทศ

ต้อ งการของลูก ค้า มากขึ้น (Asset Enhancement Initiatives: AEIs) พร้อมน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่ อาทิ ระบบ ออโตเมชั ่น (Automation) ระบบคลังสินค้าและโรงงาน อัจฉริยะ (Smart Logistics and Smart Factory) มาประยุกต์ ใช้เพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ลูกค้า ภายใต้แนวคิดการพัฒนา อย่างยังยื ่ นเพือ่ มุง่ สูก่ ารเป็ นอุตสาหกรรมสีเขียว • กลุม่ ดาต้าเซ็นเตอร์ (Data Centre) ภายใต้ความร่วมมือกับ “กลุม่ เอสที เทเลมีเดีย โกลบอล ดาต้า เซ็นเตอร์ (STT GDC)” ผูใ้ ห้บริการดาต้าเซ็นเตอร์ชนั ้ น�ำจากสิงคโปร์ทม่ี ี ศักยภาพสูงด้วยองค์ความรู้ และประสบการณ์ในการให้ บริการด้วยมาตรฐานระดับโลก บริษทั วางแผนสร้างดาต้า เซ็นเตอร์ขนาดใหญ่แห่งแรกบนพืน้ ทีย่ ทุ ธศาสตร์ใจกลาง กรุงเทพ ด้วยการให้บริการทีม่ เี สถียรภาพความปลอดภัยใช้ เทคโนโลยีขนสู ั ้ งตามมาตรฐานสากล เพือ่ รองรับความ ต้องการของผูป้ ระกอบการขนาดใหญ่ทงั ้ ในประเทศและ ต่างประเทศ • กลุม่ สมาร์ทโซลูชนั ่ (Smart Solution) เป็ นการสร้างโมเดล ธุรกิจใหม่ตามแนวโน้มการปรับเปลีย่ นจากกระแส Digital Disruption ซึง่ จะช่วยสนับสนุ นเป้ าหมายของไทคอนใน การน�ำเสนอโซลูชนที ั ่ ค่ รบวงจรมากยิง่ ขึน้ ภายใต้ความร่วม มือกับ “จัสท์โค (JustCo)” ผูใ้ ห้บริการโคเวิรค์ กิง้ สเปซระดับ พรีเมียมทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้เริม่ เปิ ดสาขาแรกในกรุงเทพฯ ทีต่ กึ เอไอเอ สาทร ทาวเวอร์ และ สาขาทีส่ องทีต่ กึ แคปปิ ตอล ทาวเวอร์ ออล ซีซนส์ ั ่ เพลส และ ยังมีแผนในการขยายสาขาเพิม่ เติมในอีกหลายพืน้ ที่

ส�ำหรับทิศทางการด�ำเนินงานต่อจากนี้ บริษทั ฯ จะมุง่ เน้น การต่ อ ยอดธุ ร กิ จ บนแพลตฟอร์ ม แบบผสมผสาน (Integrated Platform) ผ่านความร่วมมือกับพันธมิตรเชิงกล ยุทธ์ เพือ่ ผนึกศักยภาพผ่านเครือข่ายทีแ่ ข็งแกร่ง เพือ่ สร้าง แหล่งรายได้ใหม่ซง่ึ จะเป็ นมูลค่าเพิม่ จากธุรกิจหลัก คือ “อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การอุตสาหกรรม (Industrial Property)” ทีไ่ ด้วางแนวทางส�ำคัญในการบูรณาการเทคโนโลยีสมัยใหม่ มาพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและพืน้ ทีใ่ ห้บริการในท�ำเล ยุทธศาสตร์ ให้สามารถรองรับกลุม่ อุตสาหกรรม New S-Curve และมุง่ เน้นการปรับสินค้าและบริการให้มคี วาม หลากหลายขึน้ มีฟังก์ชนและองค์ ั่ ประกอบทีเ่ ป็ นเทคโนโลยี ทันสมัย ผ่านการลงทุนขยายขอบข่ายธุรกิจใน “กลุม่ ดาต้า เซ็นเตอร์” (Data Centre) และ ”กลุม่ สมาร์ทโซลูชน” ั ่ (Smart Solution) เพือ่ สร้างการเติบโตอย่างยังยื ่ น โดยมีแนวทางใน การเสริมศักยภาพทัง้ 3 กลุม่ ธุรกิจดังนี้ • กลุม่ อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การอุตสาหกรรม (Industrial Property) ใช้กลยุทธ์เพือ่ ปรับรูปแบบอาคารเดิมเพิม่ ประสิท ธิภาพการใช้งานของอาคารทีม่ อี ยูใ่ ห้เหมาะสมกับความ

114

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 114

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มกี ารจัดท�ำงบการเงินเพือ่ แสดงฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษทั ประจ�ำปี 2561 ภายใต้พระ ราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงภาระหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในฐานะกรรมการของบริษทั จดทะเบียนในการก�ำกับดูแล ให้รายงาน ทางการเงินของบริษทั มีขอ้ มูลทางบัญชีทถ่ี ูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และเพียงพอทีจ่ ะด�ำรงรักษาไว้ซง่ึ ทรัพย์สนิ ของบริษทั ป้ องกันการ ทุจริตและการด�ำเนินการทีผ่ ดิ ปกติ รวมทัง้ ได้ถอื ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองโดยทั ่วไป เพือ่ เป็ นประโยชน์ต่อผูถ้ อื หุน้ และ ผูล้ งทุนทัวไปที ่ จ่ ะได้รบั ทราบข้อมูลทีแ่ สดงฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานทีเ่ ป็ นจริงและสมเหตุสมผล คณะกรรมการบริษทั มีความเห็นว่า งบการเงินรวมประจ�ำปี 2561 ของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษทั ย่อย ทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานร่วมกับฝ่ ายบริหารและผูส้ อบบัญชีของบริษทั คือ บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัดได้แสดงฐานะทางการเงินและผลการด�ำเนินงาน ครบถ้วน และเชื่อถือได้ สมเหตุสมผล โดยถือปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีท่ี รับรองโดยทัวไป ่ มีการใช้นโยบายบัญชีทเ่ี หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ย่างสม�่ำเสมอ เปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ และปฏิบตั ถิ ูกต้องตาม กฎหมายและกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง

(นายชายน้ อย เผื่อนโกสุม) ประธานกรรมการ

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 115

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

115

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

รายงานทางการเงิน และงบการเงิน สำ�หรับรอบรายระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม - 30 กันยายน 2561

116

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 116

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

117


รายงานประจำ�ปี 2561

118

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

119


รายงานประจำ�ปี 2561

120

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

121


รายงานประจำ�ปี 2561

122

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

123


รายงานประจำ�ปี 2561

124

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

125


รายงานประจำ�ปี 2561

126

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

127


รายงานประจำ�ปี 2561

128

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

129


รายงานประจำ�ปี 2561

130

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

131


รายงานประจำ�ปี 2561

132

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

133


รายงานประจำ�ปี 2561

134

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

135


รายงานประจำ�ปี 2561

136

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

137


รายงานประจำ�ปี 2561

138

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

139


รายงานประจำ�ปี 2561

140

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

141


รายงานประจำ�ปี 2561

142

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

143


รายงานประจำ�ปี 2561

144

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

145


รายงานประจำ�ปี 2561

146

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

147


รายงานประจำ�ปี 2561

148

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

149


รายงานประจำ�ปี 2561

150

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

151


รายงานประจำ�ปี 2561

152

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

153


รายงานประจำ�ปี 2561

154

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

155


รายงานประจำ�ปี 2561

156

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

157


รายงานประจำ�ปี 2561

158

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

159


รายงานประจำ�ปี 2561

160

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

161


รายงานประจำ�ปี 2561

162

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

163


รายงานประจำ�ปี 2561

164

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

165


รายงานประจำ�ปี 2561

166

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

167


รายงานประจำ�ปี 2561

168

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

169


รายงานประจำ�ปี 2561

170

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

171


รายงานประจำ�ปี 2561

172

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

173


รายงานประจำ�ปี 2561

174

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

175


รายงานประจำ�ปี 2561

176

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

177


รายงานประจำ�ปี 2561

178

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

179


รายงานประจำ�ปี 2561

180

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

181


รายงานประจำ�ปี 2561

182

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

183


รายงานประจำ�ปี 2561

184

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

185


รายงานประจำ�ปี 2561

186

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

187


รายงานประจำ�ปี 2561

188

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

189


รายงานประจำ�ปี 2561

190

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

191


รายงานประจำ�ปี 2561

192

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

193


รายงานประจำ�ปี 2561

194

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

195


รายงานประจำ�ปี 2561

196

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

197


รายงานประจำ�ปี 2561

198

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

199


รายงานประจำ�ปี 2561

200

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

201


รายงานประจำ�ปี 2561

202

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

203


รายงานประจำ�ปี 2561

204

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

205


รายงานประจำ�ปี 2561

206

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

207


รายงานประจำ�ปี 2561

208

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

209


รายงานประจำ�ปี 2561

210

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

211


รายงานประจำ�ปี 2561

212

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

213


รายงานประจำ�ปี 2561

214

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

215


รายงานประจำ�ปี 2561

216

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

217


รายงานประจำ�ปี 2561

218

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

219


รายงานประจำ�ปี 2561

220

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

221


รายงานประจำ�ปี 2561

222

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

223


รายงานประจำ�ปี 2561

224

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

225


รายงานประจำ�ปี 2561

226

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

227


รายงานประจำ�ปี 2561

228

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

229


รายงานประจำ�ปี 2561

230

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

231


รายงานประจำ�ปี 2561

232

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

233


รายงานประจำ�ปี 2561

234

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

235


รายงานประจำ�ปี 2561

236

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

237


รายงานประจำ�ปี 2561

238

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

239


รายงานประจำ�ปี 2561

240

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

241


รายงานประจำ�ปี 2561

242

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

243


รายงานประจำ�ปี 2561

244

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

245


รายงานประจำ�ปี 2561

246

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

247


รายงานประจำ�ปี 2561

248

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

249


รายงานประจำ�ปี 2561

250

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

251


รายงานประจำ�ปี 2561

252

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

253


รายงานประจำ�ปี 2561

254

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

255


รายงานประจำ�ปี 2561

256

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

257


รายงานประจำ�ปี 2561

258

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

259


รายงานประจำ�ปี 2561

260

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

261


รายงานประจำ�ปี 2561

262

The Leading Provider of Smart Industrial Platform


รายงานประจำ�ปี 2561

แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทน ที่จ่ายให้แก่ผู้สอบบัญชี รอบปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 30 กันยายน 2561 ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) รายการที่

ชื่อบริษัทผู้จ่าย

1

ชื่อผู้สอบบัญชี

ค่าสอบบัญชี (บาท)

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด นางสาวปั ทมวรรณ วัฒนกุล (มหาชน) บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จ�ำกัด นางสาวปั ทมวรรณ วัฒนกุล บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด นางสาวปั ทมวรรณ วัฒนกุล บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด นางสาวกนกอร ภูรปิ ั ญญวนิช รวมค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี

2 3 4

ค่าบริการอื่น (Non-audit fee) รายการที่

ชื่อบริษัทผู้จ่าย

ประเภทของ งานบริการอื่น

ผู้ให้บริการ

บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย ทีป่ รึกษา ธุรกิจ จ�ำกัด บริษทั ส�ำนักภาษี เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย จ�ำกัด

1

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

Project Terra

2

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

TAX Assistance

รวมค่าตอบแทนส�ำหรับงานบริการอืน่

1,300,000 1,550,000 500,000 600,000 3,950,000

ค่าตอบแทนของงานบริการอืน ่ (บาท) ส่วนที่จ่ายไป ในระหว่างปีบัญชี

ส่วนที่จะต้องจ่ายใน อนาคต

1,660,173

-

160,500

-

1,820,673

ข้อมูลข้างต้น

ถูกต้องครบถ้วนแล้ว ทัง้ นี้ ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าไม่มขี อ้ มูลการให้บริการอืน่ ทีบ่ ริษทั จ่ายให้ขา้ พเจ้า ส�ำนักงานสอบ บัญชีทข่ี า้ พเจ้าสังกัด และบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกับข้าพเจ้า และส�ำนักงานสอบบัญชีทข่ี า้ พเจ้าสังกัด ทีข่ า้ พเจ้าทราบและไม่มกี ารเปิ ดเผยไว้ขา้ งต้น

ไม่ถกู ต้อง ไม่ครบถ้วน กล่าวคือ …………………………………………………………………………………… เมือ่ ปรับปรุงข้อมูลข้างต้น (ถ้ามี) แล้ว ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าข้อมูลทัง้ หมดในแบบฟอร์มนี้แสดงค่าตอบแทน สอบบัญชี และค่าบริการอืน่ ทีบ่ ริษทั จ่ายให้ขา้ พเจ้าและส�ำนักงานสอบบัญชีดงั กล่าว ทีถ่ กู ต้องครบถ้วน

(นางสาวปั ทมวรรณ วัฒนกุล) บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 263

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

263

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561 รายงานประจำ�ปี 2561

ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำ�คัญอื่น

ข้อมูลทั่วไป

บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จำ�กัด (มหาชน) ประเภทธุรกิจบริษัท

พีฒนาโรงงานสำ�เร็จรูปเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้เช่า

เลขทะเบียนบริษัท

0107544000051 (บมจ. 666)

ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่

ห้อง 1308 ชั้น 13/1 อาคารสาธรซิตี้ทาวเวอร์ เลขที่ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ

เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

โทรศัพท ์

(662) 679-6565

โทรสาร

(662) 287-3153

เว็บไซต์

www.ticon.co.th

อีเมล

ticon@ticon.co.th

ทุนจดทะเบียน

2,751,213,562 บาท (ณ วันที่ 30 กันยายน 2561)

ทุนชำ�ระแล้ว

1,834,142,375 บาท (ณ วันที่ 30 กันยายน 2561)

มูลค่าที่ตราไว้

1 บาทต่อหุ้น

264 264

The Leading Provider of Smart Industrial Platform The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 264

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

บริษัทย่อย ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

ผู้ถือหุ้น

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100

ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

49/32 หมูท่ ่ี 5 นิคม อุตสาหกรรมแหลมฉบัง ต�ำบลทุง่ สุขลา อ�ำเภอ ศรีราชา จังหวัดชลบุร ี 20230 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153

(ณ วันที ่ 30 กันยายน 2561)

(ณ วันที ่ 30 กันยายน 2561)

12,500,000 บาท

12,500,000 บาท

10 บาท / หุน้

100

11,500,000,000 บาท

10 บาท / หุน้

100

พัฒนาโรงงาน ส�ำเร็จรูปเพือ่ วัตถุประสงค์ในการให้ เช่าในนิคม อุตสาหกรรมแหลม ฉบัง

บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จ�ำกัด

พัฒนาคลังสินค้าเพือ่ บริษทั ไทคอน วัตถุประสงค์ในการให้ อินดัสเทรียล เช่า คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100

ห้อง 1308 ชัน้ 13/1 11,500,000,000 อาคารสาธรซิตท้ี าวเวอร์ บาท เลขที่ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขต สาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 679-6567

Shanghai TICON Investment Management Company Limited

บริหารการลงทุน

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100

Rm. A512, Building 4, No.3288, Jinhai Road, Pudong New Area, Shanghai, China

บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด

ผูจ้ ดั การกองทรัสต์ เพือ่ การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 70

TICON (HK) Limited

ลงทุนในกิจการในต่าง บริษทั ไทคอน ประเทศ อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100

ที่ตราไว้

ถือหุ้น

2,800,000 ดอลลาร์สหรัฐ

-

100

ห้อง 1308 ชัน้ 13/1 อาคารสาธรซิตท้ี าวเวอร์ เลขที่ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขต สาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153

10,000,000 บาท

10,000,000 บาท

10 บาท / หุน้

70

Room 337, 3/F South China C.S. Building, 13-17 Wah Sing Street, Kwai Chung, N.T. Hong Kong

16,130,000 ดอลลาร์สหรัฐ

16,130,000 1 ดอลลาร์ ดอลลาร์สหรัฐ สหรัฐ / หุน้

100

238,453,999 ดอลลาร์สงิ คโปร์

238,453,999 1 ดอลลาร์ ดอลลาร์สงิ คโปร์ สิงคโปร์ / หุน้

100

10 บาท / หุน้

100

ห้อง 1308 ชัน้ 13/1 อาคารสาธรซิตท้ี าวเวอร์ เลขที่ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขต สาทร กรุงเทพมหานคร 10120

1,000,000 บาท

1,000,000 บาท

)

(ร้อยละ

2,800,000 ดอลลาร์สหรัฐ

TICON International ลงทุนในกิจการในต่าง บริษทั ไทคอน 80 Robinson Road Pte. Ltd. ประเทศ อินดัสเทรียล #02-00, Singapore คอนเน็คชัน่ 068898 จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100 ลงทุนและประกอบ กิจการด้านศูนย์ขอ้ มูล และธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้อง กับเทคโนโลยีอน่ื ๆ

สัดส่วนการ

ทุนช�ำระแล้ว

บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด

บริษทั ไทคอน เทคโนโลยี จ�ำกัด

มูลค่า

ทุนจดทะเบียน

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 265

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

265

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

บริษัทร่วม

ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

ผู้ถือหุ้น

ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

ทุนจดทะเบียน

ทุนช�ำระแล้ว

(ณ วันที ่ 30 กันยายน 2561)

(ณ วันที ่ 30 กันยายน 2561)

สัดส่วน มูลค่า

การถือ หุ้น

ที่ตราไว้

(ร้อยละ)

ทรัสต์เพือ่ การลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์ และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ ไทคอน

ลงทุนในกรรมสิทธิ ์ และสิทธิการเช่า ในอสังหาริมทรัพย์ ประเภททีด่ นิ และสิง่ ปลูกสร้างทีเ่ ป็ นคลัง สินค้า โรงงาน และ/ หรือ ส�ำนักงาน

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) และ TICON International Pte. Ltd.

ห้อง 1308 ชัน้ 13/1 อาคารสาธรซิตท้ี าวเวอร์ เลขที่ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขต สาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153

25,173,622,620 บาท

25,173,622,620 9.5363 บาท (จ�ำนวนเงินที ่ บาท / ได้รบั จากผูถ้ อื หุน้ หน่วยทรัสต์)

23

PT SLP Surya Ticon Internusa

พัฒนาโรงงานและคลัง TICON ( HK ) สินค้า เพือ่ Limited วัตถุประสงค์ ในการให้เช่า

Setiabudi Atrium Unit 201 Lantai 2, J1. H.R. Rasuna Said, Kav. 62, Jakarta 12920, Indonesia

2,412,800,000,000 รูเปี ยะห์

603,200,000,000 13,000 รูเปี ยะห์ รูเปี ยะห์ / หุน้

25

ห้อง 1308 ชัน้ 13/1 อาคารสาธรซิตท้ี าวเวอร์ เลขที่ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขต สาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153

1,000,000 บาท

1,000,000 10 บาท บาท / หุน้

50

บริษทั ทีอาร์เอ แลนด์ พัฒนา ดีเวลลอปเม้นต์ จ�ำกัด อสังหาริมทรัพย์

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัทร่วมค้า

ชื่อบริษัท

266

ประเภทธุรกิจ

ผู้ถือหุ้น

ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

ทุนจดทะเบียน

ทุนช�ำระแล้ว

(ณ วันที ่ 30 กันยายน 2561)

(ณ วันที ่ 30 กันยายน 2561)

สัดส่วน มูลค่า ที่ตราไว้

การถือ หุ้น (ร้อยละ)

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ ผลิตและจ�ำหน่าย เพาเวอร์ 6 จ�ำกัด กระแสไฟฟ้ าจาก พลังงานแสงอาทิตย์

บริษทั ไทคอน 59 หมูท่ ่ี 1 ต�ำบลสวนพริก โลจิสติคส์ พาร์ค ไทย อ�ำเภอเมืองปทุมธานี จ�ำกัด จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ (662) 959-5811-5 โทรสาร (662) 959-5822

5,000,000 บาท

5,000,000 100 บาท บาท / หุน้

51

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ ผลิตและจ�ำหน่าย เพาเวอร์ 11 จ�ำกัด กระแสไฟฟ้ าจาก พลังงานแสงอาทิตย์

บริษทั ไทคอน 59 หมูท่ ่ี 1 ต�ำบลสวนพริก โลจิสติคส์ พาร์ค ไทย อ�ำเภอเมืองปทุมธานี จ�ำกัด จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ (662) 959-5811-5 โทรสาร (662) 959-5822

4,000,000 บาท

4,000,000 100 บาท บาท / หุน้

51

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 266

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

15/12/2561 BE 11:20


รายงานประจำ�ปี 2561

บริษัทร่วมค้า

ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

ผู้ถือหุ้น

ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

ทุนจดทะเบียน

ทุนช�ำระแล้ว

(ณ วันที ่ 30 กันยายน 2561)

(ณ วันที ่ 30 กันยายน 2561)

สัดส่วน มูลค่า ที่ตราไว้

การถือ หุ้น (ร้อยละ)

บริษทั ทีพาร์ค บีเอฟ พัฒนาโรงงานและคลัง บริษทั ไทคอน ทีแซด จ�ำกัด สินค้า เพือ่ โลจิสติคส์ พาร์ค วัตถุประสงค์ จ�ำกัด ในการให้เช่า

ห้อง 1308 ชัน้ 13/1 อาคารสาธรซิตท้ี าวเวอร์ เลขที่ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขต สาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153

350,000,000 บาท

350,000,000 10 บาท / หุน้ บาท

60

บริษทั จัสท์โค (ประเทศไทย) จ�ำกัด

11/1 อาคารเอ ไอ เอ สาทรทาวเวอร์ ชัน้ ที่ 9 ถนนสาทรใต้ แขวง ยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 055-8600 โทรสาร (662) 055-8601

213,500,000 บาท

213,500,000 100 บาท บาท / หุน้

51

ลงทุนและประกอบ ธุรกิจ co-working office และธุรกิจอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องใน ประเทศไทย

นายทะเบียนหลักทรัพย์

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ (662) 229-2800 โทรสาร (662) 359-1259

ผู้สอบบัญชี

นางสาวปั ทมวรรณ วัฒนกุล ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 9832 บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด 1 ถนน สาทร ใต้ ชัน้ 50-51 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 677-2000 โทรสาร (662) 677-2222

The Leading Provider of Smart Industrial Platform

18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 267

18-10-004 Eng 001-080 , 095-116 , 263-268 = 4 สี 081-094 ,117-262 = BW

267

15/12/2561 BE 11:20


18-10-003_001-268 Thai new15-12 TICON_J-Coated.indd 268

15/12/2561 BE 11:20


18-10-003 InCover Thai_TICON_J-Coated.pdf

3

14/12/2561 BE

09:42

210 x 297 mm

san 14.5 mm_THAI

210 x 297 mm

18-10-003_Cover Thai Ticon san 14.5 mm_J-CC2018-Coated


18-10-003 Cover Thai_TICON_J-Coatedpdf.pdf

2

14/12/2561 BE

09:41

210 x 297 mm

san 14.5 mm_THAI

210 x 297 mm

บริ ษ ั ท ไทคอน อิ นดั สเทรี ยล คอนเน็ คชั ่ น จำกั ด (มหาชน) 18-10-003_Cover Thai Ticon san 14.5 mm_J-CC2018-Coated


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.