2558
JO
YO
FE
NG
IN EE
RI NG
บริษัท ทีทีซีแอล จำกัด (มหาชน)
รายงานประจำป บริษัท ทีทีซีแอล จำกัด (มหาชน)
AN
DA CH
IEV EME NT
159/41-44 อาคารเสริมมิตรทาวเวอร ชั้น 27-30 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท : (66) 2 260 8505 โทรสาร : (66) 2 260 8525-6 www.ttcl.com
รายงานประจำป 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำกัด (มหาชน)
VISION TTCL is to be “First Class International Engineering Company” with “Challenging”….“Creative Thinking”.…“Strong Will”
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
TTCL aims to be a company where everybody works with joy of engineering and achievement รางวัลชนะเลิศ โดย นายปริญญา วิสิฐพงศ์พันธ์ วิศวกร
สารบัญ
074 ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท / กรรมการชุดย่อย / ผู้บริหาร 076 สรุปผลงานในปี 2558 002 ประวัติความเป็นมา 077 การตลาดและภาวะการแข่งขัน 004 ข้อมูลการเงินที่สำ�คัญ 080 โครงสร้างรายได้ 006 สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 081 แผนพัฒนาธุรกิจ 008 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ 010 รายงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 082 การบริหารและจัดการความเสี่ยง 012 รายงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 084 การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 014 รายงานของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล 106 การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง 016 ลักษณะการประกอบธุรกิจและการให้บริการ 108 การดำ�เนินงานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย 020 โครงสร้างองค์กร และสิง่ แวดล้อม 021 โครงสร้างบริษัทย่อย และบริษัทในเครือ 115 ความรับผิดชอบต่อสังคม 022 คณะกรรมการบริษัท 149 ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี 024 คณะกรรมการบริหาร 150 รายการระหว่างกัน 026 คณะกรรมการตรวจสอบ 026 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 156 นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท 027 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 156 นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย 027 คณะกรรมการบรรษัทภิบาล 157 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ 028 ประวัติคณะกรรมการบริษัทและกรรมการบริหาร ต่อรายงานทางการเงิน ประจำ�ปี 2558 054 ขอบเขต อำ�นาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 158 คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน 070 การประชุมคณะกรรมการบริษัท และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร 071 ผู้ถือหุ้น และการถือครองหุ้น 163 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 072 รายงานการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ (TTCL) 282 สรุปตำ�แหน่งรายการที่กำ�หนดตามแบบ 56-2 ของกรรมการและผูบ้ ริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 รางวัลที่ 2 โดย น.ส.ธัญนาถ สร้อยสมุทร วิศวกร
02
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ประวัติความเป็นมา
ภาพโดย นายธีรพันธ์ เตวุฒิพงศ์ วิศวกร
บริ ษั ท ที ที ซี แ อล จำ � กั ด (มหาชน) (“บริ ษั ท ฯ”) จดทะเบียนจัดตั้งเป็นบริษัทจำ�กัด เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2528 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มต้น 20 ล้านบาท เพื่อประกอบ ธุรกิจการให้บริการด้านการออกแบบวิศวกรรม การจัดหา เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ และการก่อสร้างโรงงานแบบครบวงจร (Integrated Engineering, Procurement and Construction, Integrated EPC) ภายใต้การร่วมทุน ของ Toyo Engineering Corporation (“TEC”) (ประเทศญี่ปุ่น) และบมจ. อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ (“ITD”) ในสัดส่วนร้อยละ 49.0 และร้อยละ 51.0 ตามลำ�ดับ โดยจัดเป็นบริษทั ฯ ผูใ้ ห้บริการ Integrated EPC รายแรกของ ประเทศไทยทีม่ คี วามสามารถในการให้บริการอย่างครบวงจร ด้วยตนเอง ทั้งนี้ บริษัทฯ มีประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ ในด้านการออกแบบวิศวกรรม (Engineering Design)
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
การจัดซื้อจัดหาเครื่องจักรและอุปกรณ์ (Procurement of Machinery and Equipment) และการรับเหมาก่อสร้าง โรงงานอุตสาหกรรม (Construction of Turn-key Projects for Industrial and Process Plants) ซึ่งครอบคลุมถึง ระบบการผลิต ระบบสาธารณูปโภคของโรงงาน และระบบ การจัดเก็บ ลำ�เลียง และขนส่งผลิตภัณฑ์ โดยกลุ่มลูกค้า ของบริษัทฯ ได้แก่ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมพลังงาน ปิโตรเคมี และ พลังงาน บริษทั ฯ ได้เล็งเห็นแนวโน้มการเติบโตของความต้องการ งานบริการ Integrated EPC ที่มีอยู่อย่างต่อเนื่อง ทั้งจาก ลูกค้าในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำ�หรับ ลูกค้าในอุตสาหกรรมพลังงาน ปิโตรเคมี และ โรงไฟฟ้า ด้ ว ยความพร้ อ มของที ม วิ ศ วกรบริ ษั ท ฯ ในการจั ด การ โครงการที่ มี มู ล ค่ า สู ง และงานที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี วิ ศ วกรรม ที่ซับซ้อน และความได้เปรียบในด้านต้นทุนค่าใช้จ่ายจัดการ โครงการที่ ต่ำ � กว่ า คู่ แ ข่ ง บริ ษั ท ฯ จึ ง มี น โยบายที่ จ ะเพิ่ ม การรับงานโครงการในต่างประเทศให้มากขึ้น โดยเฉพาะ ในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ประเทศจีน
ภาพโดย นายสุวิมล เหง้าพรหมมินทร์ วิศวกร
รายงานประจ�ำปี 2558
03
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประเทศกาตาร์ สหรัฐอเมริกา และ แอฟริกา และเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมด้านสถานะ ทางการเงิ น และเสริ ม สร้ า งความน่ า เชื่ อ ถื อ สำ � หรั บ ลู ก ค้ า ในต่างประเทศ บริษัทฯ จึงเสนอขายหุ้นต่อประชาชนและ นำ�หุ้นเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อเดือนมิถุนายน 2552 ปัจจุบนั ด้วยความเป็นผูน้ �ำ ในการให้บริการ Integrated EPC ตลอดระยะเวลากว่ า 30 ปี ที่ ผ่ า นมา บริ ษั ท ฯ ประสบความสำ�เร็จในการให้บริการออกแบบและก่อสร้าง โรงงานต่างๆ มากกว่า 200 โครงการ ทำ�ให้บริษัทฯ มีชื่อเสียง และได้รบั ความไว้วางใจอย่างสูงจากลูกค้า ไม่วา่ จะเป็นในเรือ่ ง คุณภาพของงาน การออกแบบและการก่อสร้าง การส่งมอบงาน ได้ทันตามกำ�หนดการ และความปลอดภัยในการดำ�เนินงาน และได้ทำ�การเพิ่มทุนจดทะเบียนเรียกชำ�ระแล้ว เป็น 560 ล้านบาท ในปลายปี 2556 โดยวัตถุประสงค์ ในการเพิม่ ทุนครัง้ นี้ เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และเป็นเงินลงทุนในโครงการ โรงไฟฟ้าของบริษัทต่อไปในอนาคต
ภาพโดย นายชัชวิชญ์ ฮายาชิ วิศวกร
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
04
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ข้อมูลการเงินที่สำ�คัญ ผลประกอบการ
2556
งบกำ�ไรขาดทุน (หน่วย : ล้านบาท) รายได้ค่าก่อสร้างและบริการ รายได้จากการก่อสร้างตามสัญญาสัมปทาน รายได้จากการบริหารงานโรงไฟฟ้า รายได้รวม กำ�ไรขั้นต้น กำ�ไรสุทธิ อัตราส่วนทางการเงิน อัตรากำ�ไรขั้นต้นต่อรายได้รวม (%) อัตรากำ�ไรสุทธิต่อรายได้รวม (%) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (%) อัตราผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้น (%) กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น (บาท/หุ้น)
1) รายไดรวม
73 2,457 15,336
15,000 10,000 5,000 0
5,259 2553
8,896 2554
239 1,781 17,555
675 83 20,766
11,358
2555
2556
2558
15,335.48 2,456.81 72.79 17,865.08 1,603.15 879.91
17,554.67 1,781.81 238.78 19,575.26 1,243.59 453.76
20,765.51 83.19 675.00 21,523.70 1,607.30 566.19
8.97 4.93 5.87 14.82 1.63
6.35 2.32 2.00 7.07 0.84
7.47 2.63 2.19 9.00 0.75
2) กำไรขั้นตน และกำไรสุทธิ
ลานบาท 25,000 20,000
2557
2557
2558
รายไดจากการกอสรางและใหบริการ รายไดจากการกอสรางตามสัญญาสัมปทาน รายไดจากการบริหารงานโรงไฟฟา
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
ลานบาท 1,800 1,607 1,603 1,600 1,400 1,275 1,244 1,200 1,043 1,000 880 800 856 600 574 566 454 404 400 338 200 0 2553 2554 2555 2556 2557 2558 กำไรขั้นตน
กำไรสุทธิ
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
05
3) ความสามารถในการทำกำไร 3) ความสามารถในการทำกำไร
20.00% 16.30%
15.00% 20.00% 10.00%
8.80% 16.30%
15.00% 5.00%
6.40%
10.00% 0.00% 2553
5.00%
8.80% 6.40%
11.70%
11.23%
6.30%
6.71%
11.70% 4.50%
5.05% 11.23%
25546.30%
25556.71%
อัตรากำไรสุทธิ
0.00%
2553
4.50%
8.97% 6.28%
2.62% 4.93% 2.32% 8.97% 25566.28% 25576.35%
5.05% 4.93% อัตรากำไรกอนภาษีเงินได
2554
2555
อัตรากำไรสุทธิ
สินทรัพยรวม 22,651 ลานบาท
หมุนเวียน 0.84
2554
0.84
รายงานประจ�ำปี 2558
2555
18,118
2556
2556
2557
2557
18,118
15,677
7,777 สินทรัพ6,974 ย สินทรั หมุพนยเวียน ไมหมุนเวียน 0.75 2558
2558
22,651 ลานบาท 13,129
11,632
สินทรัพยรวม 25,895 ลานบาท
0.75
1.19
2555
2558
สินทรัพยรวม รวมหนี้สินและสวนผูถือหุน 5)25,895 งบแสดงฐานะการเงิ ลานบาท รวมหนี้สิน 25,895นลานบาท และสวนผูถือหุน
15,677
1.19
2554
3.36% 2.63%
อัตรากำไรขั้นตน
สินทรัพยรวม สินทรัพย22,651 ลานบาท
0.83
2558 7.47%
5) งบแสดงฐานะการเงิน
1.63
1.63
3.36% 2.63%
2557
อัตรากำไรกอนภาษีเงินได
4) กำไรสุทธิตอหุน
0.83
7.47%
2.62% 2.32% อัตรากำไรขั้นตน
2556
4) กำไรสุทธิตอหุน
ลานบาท 1.80 1.60 1.40 1.20ลานบาท 1.001.80 1.60 0.80 0.70 1.40 0.60 1.20 0.40 0.201.00 0.000.80 0.70 0.602553 0.40 0.20 0.00 2553
6.35%
31 ธ.ค. 57 31 ธ.ค. 58
7,777 สินทรัพย 6,974 ไมหมุนเวียน 31 ธ.ค. 57 31 ธ.ค. 58
รวมหนี หนี้สิน้สและส ิน วนผูถือหุน รวมหนี้สิน 25,895 หมุลนานบาท เวียน และสวนผูถือหุน 22,651 ลานบาท 13,129
11,632 6,477 หนี้สหนี ิน ้สิน 4,604 นเวียนยน ไมหมุหมุนเวี 6,415 6,289 สวนของผูถือหุน 6,477 หนี้สิน 4,604 31 ธ.ค. 57 31 ธ.ค. 58 ไมหมุนเวียน 6,415 6,289
สวนของผูถือหุน
31 ธ.ค. 57 31 ธ.ค. 58
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
06
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น
ปี 2558 เป็นปีที่ TTCL ได้ฉลองครบรอบวาระ 30 ปี ของการก่อตั้งบริษัท ซึ่งตลอดระยะเวลาของการดำ�เนินงาน ที่ ผ่ า นมา TTCL ได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงหลายประการ และได้ ป รั บ ตั ว ให้ เ ข้ า กั บ สถานการณ์ ที่ มี ค วามผั น แปรอยู่ ตลอดเวลาด้วยเช่นเดียวกัน และในลำ�ดับต่อไป จึงได้ถงึ เวลาแล้ว ที่ TTCL จะได้ พั ฒ นาตั ว เองขึ้ น มาอี ก ขั้ น สู่ ก ารเป็ น First-class International Engineering Company. แม้ในภาวะเศรษฐกิจโลกทีช่ ะงักงันท่ามกลางราคาสินค้า อุปโภคบริโภคมีแนวโน้มตกต่�ำ ในปี 2558 แต่ TTCL ยังสามารถ ทำ�สถิติใหม่ในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านรายได้, มูลค่า งานก่ อ สร้ า งคงเหลื อ ตามสั ญ ญา, และสั ญ ญาก่ อ สร้ า ง โครงการใหม่ โดยมีรายได้รวม 21.5 พันล้านบาท คิดเป็นอัตรา การเติบโตสูงขึน้ ร้อยละ 10 และ มีก�ำ ไรสำ�หรับปี 566 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโตสูงขึ้นร้อยละ 25 กล่าวถึงธุรกิจ EPC businesses นั้น ในปี 2558 TTCL ได้รบั สัญญาก่อสร้างโครงการใหม่ มีมลู ค่ารวม 36,000 ล้านบาท ซึ่งส่งผลให้มูลค่างานก่อสร้างคงเหลือตามสัญญา ณ สิน้ ปี สูงถึง 42,000 ล้านบาท และในส่วนของธุรกิจโรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมกังหันก๊าซ ขนาด 120 เมกะวัตต์ ณ เมืองย่างกุ้ง ก็สามารถดำ�เนินการผลิตไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ ได้เป็นผลสำ�เร็จในเดือนเมษายน 2558 และต่อจากนี้ไป โรงไฟฟ้าแห่งนี้จะผลิตกระแสไฟฟ้าให้กับเมืองย่างกุ้งอีก เป็นระยะเวลา 27 ปีตามอายุสัมปทาน และสิ่ ง ที่ เ ป็ น พั ฒ นาการที่ สำ � คั ญ ที่ สุ ด ประการหนึ่ ง ในปี 2558 คือการที่บริษัทได้ร่วมลงนามในสัญญาร่วมกับ กระทรวงพลังงานไฟฟ้า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ในการพัฒนา, ดำ�เนินงาน และส่งมอบโรงไฟฟ้าถ่านหิน Ultra Super Critical Coal- Fired Thermal Power Plant
รายงานประจ�ำปี 2558
07
ขนาด 1,280 เมกะวัตต์ ในรัฐมอญ ซึง่ ผมรูส้ กึ ตืน่ เต้นและยินดี ที่จะได้เห็นประโยชน์ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นจากการลงทุนมูลค่า 3 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ในโครงการโรงไฟฟ้านี้ ซึ่งไม่เพียง แต่เฉพาะผู้มีส่วนได้เสียของ TTCL เท่านั้น แต่ยังรวมไปถึง ผลดีตา่ งๆทีจ่ ะเกิดขึน้ กับเศรษฐกิจของประเทศพม่าในระยะยาว อีกด้วย โดย TTCL ได้คดั สรรเทคโนโลยีในการผลิตกระแสไฟฟ้า ทีด่ ที ส่ี ดุ จากประเทศญีป่ นุ่ โดยมุง่ หวังให้การผลิตกระแสไฟฟ้า ขนาด 1,280 เมกะวัตต์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ยัง่ ยืน และเป็นโครงการสาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐานทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ โครงการหนึ่งต่อการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจเมียนมาร์ ในอนาคต
แนวโน้มปี 2559
เรายั ง คงเน้ น การทำ � ธุ ร กิ จ อยู่ ใ นภู มิ ภ าคประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ท่ามกลางแนวโน้มเศรษฐกิจของโลกทีย่ งั ซบเซา และราคาน้�ำ มันทีต่ กต่�ำ และมีอปุ สงค์ทอ่ี อ่ นตัวลง แม้กระนัน้ ก็ตาม เรายังมีมุมมองเป็นบวกต่ออนาคตของธุรกิจ EPC และ ธุรกิจ โรงไฟฟ้า ตามทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้น และพร้อมจะก้าวเข้าสู่ ปี 2559 ด้วยความมัน่ ใจว่าเราจะสามารถสร้างผลตอบแทนและ คุณค่าทีด่ ที สี่ ดุ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ได้อย่างต่อเนือ่ ง และขอขอบคุณ พนักงานและคณะกรรมการของบริษัททุกท่าน ที่ได้ทุ่มเท ในการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้กบั บริษทั และความเข้าใจของนักลงทุน ท่ามกลางภาวะความผันผวนของตลาด และขอให้ทุกท่าน วางใจว่า TTCL จะมุ่งมั่นสร้างผลตอบแทนและคุณค่าให้กับ ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทอย่างดีที่สุดต่อไป
(มร. ฮิโรโนบุ อิริยา) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
08
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบได้รับการแต่งตั้งขึ้น ตามมติ ของคณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน คือ ร.ต.ท.ศิวะรักษ์ พินิจารมณ์ เป็นประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์ และนายริวโซ นางาโอกะ เป็นกรรมการตรวจสอบ โดยมีนายจิตพล สิทธิศักดิ์ ผู้บริหาร กลุ่มงานบัญชีบริษัทในเครือเป็นเลขานุการคณะกรรมการ ตรวจสอบ ในปี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบจัดให้มกี ารประชุม ทั้งสิ้น 6 ครั้ง มีบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีการ พิจารณาเรื่องสำ�คัญๆ พร้อมความเห็น สรุปได้ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงิ น รายไตรมาสและประจำ � ปี ว่ า มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล เพี ย งพอ ถู ก ต้ อ งตาม หลั ก การบั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ ว ไป โดยมี ป ระธาน กรรมการบริหาร ผูบ้ ริหารและผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต ร่วมประชุมชี้แจงทุกครั้ง และได้มีการนัดประชุม ปรึ ก ษาหารื อ เป็ น การเฉพาะกั บ ผู้ ส อบบั ญ ชี รับอนุญาตอย่างเป็นทางการโดยไม่มีฝ่ายบริหาร เข้าร่วมในปี 2558 เป็นจำ�นวน 1 ครั้ง 2. สอบทานระบบควบคุ ม ภายในและการติ ด ตาม การแก้ไขข้อบกพร่อง โดยหน่วยงานตรวจสอบ ภายในเสนอแผนการตรวจสอบที่อยู่บนพื้นฐาน ความเสี่ ย งของบริ ษั ท ฯ เป็ น ราย 3 ปี เพื่ อ ให้ ครอบคลุมความเสี่ยงและทุกกิจกรรมของบริษัทฯ โดยกิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูงจะทำ�การตรวจสอบ ทุกปี รวมทั้งได้กำ�กับดูแลการตรวจสอบภายใน ว่าเป็นไปตามแผนที่ได้วางไว้ พร้อมกับได้ติดตาม ผลการตรวจสอบและให้มีการพัฒนางานบุคลากร และวิ ธี ก ารตรวจสอบให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลมากขึ้น 3. สอบทานรายงานผลการบริหารความเสี่ยงให้มี ความเพี ย งพอและเหมาะสม และเห็ น ว่ า กระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย งมี ก ารปรั บ ปรุ ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้ ง มี ก ารขยายขอบเขตให้ ครอบคลุมบริษัทย่อยที่เกิดขึ้นใหม่ด้วย
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
4. สอบทานการถื อ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้ อ กำ � หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ห รื อ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 5. สอบทานการเข้ า ทำ � รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ รวมทั้งรายการได้มาและจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ โดยผู้ บ ริ ห ารที่ รั บ ผิ ด ชอบเป็ น ผู้ เ สนอข้ อ มู ล รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลในเรื่องดังกล่าวอย่างถูกต้อง ครบถ้วน 6. ประเมินความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี พิจารณา คั ด เลื อ ก เสนอแต่ ง ตั้ ง และเสนอค่ า ตอบแทน ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ 7. ประชุ ม ปรึ ก ษาหารื อ กั บ หั ว หน้ า หน่ ว ยงาน ตรวจสอบภายในเป็ น ประจำ � รวมทั้ ง พิ จ ารณา ความดี ค วามชอบหั ว หน้ า หน่ ว ยงานตรวจสอบ ภายใน 8. คณะกรรมการตรวจสอบได้ มี ก ารประเมิ น ผล การดำ � เนิ น งานของตนเองตามกฎบั ต รของ คณะกรรมการตรวจสอบสำ�หรับปี 2558 ผลของ การประเมินอยู่ในระดับที่พอใจและได้รายงาน ให้คณะกรรมการบริษัททราบแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบสามารถขอข้ อ มู ล ได้ โดยไม่ จำ � กั ด และสามารถปรึ ก ษาหารื อ เป็ น การเฉพาะกั บ ฝ่ายบริหาร หน่วยงานตรวจสอบภายใน ผู้สอบบัญชี และ ที่ปรึกษาภายนอกได้อย่างเต็มที่ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้รับรายงานจากฝ่ายบริหารที่รับผิดชอบในส่วนเกี่ยวข้อง ประกอบกับรายงานของผู้ตรวจสอบภายในและผู้สอบบัญชี ผนวกกับบริษัทฯ ถือนโยบายการกำ�กับดูแลที่ดีเป็นสำ�คัญ จึงมีความเห็นว่า ในรอบปีบัญชี 2558 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธั น วาคม 2558 บริ ษั ท ฯ มี ร ายงานทางการเงิ น ที่ ถู ก ต้ อ ง ตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และมี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล อย่ า งเพี ย งพอ การบริ ห าร ความเสี่ ย งสอดคล้ อ งกั บ นโยบายของบริ ษั ท ฯ อย่ า งมี ประสิ ท ธิ ผ ล ระบบควบคุ ม ภายในมี ค วามเพี ย งพอ ไม่ มี
รายงานประจ�ำปี 2558
09
ข้ อ บกพร่ อ งหรื อ การทุ จ ริ ต ที่ เ ป็ น สาระสำ � คั ญ การปฏิ บั ติ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ข้ อ กำ � หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ห รื อ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กับธุรกิจของบริษัทเป็นไปโดยถูกต้อง รายการที่เกี่ยวโยงกัน ที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์เป็นรายการธุรกิจปกติ มีเงื่อนไขการค้าทั่วไป และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ บริษทั ฯ ยังได้จา้ งทีป่ รึกษาทางการเงินและทีป่ รึกษาทางกฎหมาย เพื่อให้ความเห็นรายการได้มาและจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ ที่มีสาระสำ�คัญ นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาด้านการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง สำ�หรับปี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบ พอใจกับ ผลการประเมินความเป็นอิสระและคุณสมบัตขิ องผูส้ อบบัญชี จึงได้เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทให้พิจารณานายวิเชียร กิ่งมนตรี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 4174 หรือ นายสมชาย จิณโณวาท ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 3271 หรือนางสาวอมรรัตน์ เพิ่มพูนวัฒนาสุข ผู้สอบบัญชี รับอนุญาตเลขทะเบียน 4599 จากบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์ คูเปอร์ เอบีเอเอส จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ต่อไป อีกหนึง่ ปี โดยมีคา่ สอบบัญชีทเี่ พิม่ ขึน้ 16 % จาก 2.75 ล้านบาท เป็ น 3.2 ล้ า นบาท เนื่ อ งจากความซั บ ซ้ อ นที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของ มาตรฐานการบัญชีและการลงทุนในประเทศต่างๆ เพื่อนำ� เสนอต่อที่ประชุมสามัญประจำ�ปีผู้ถือหุ้นอนุมัติต่อไป ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ
(ร.ต.ท.ศิวะรักษ์ พินิจารมณ์) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
010
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
รายงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน (“คณะกรรมการสรรหาฯ”) ได้รบั การเสนอชือ่ และแต่งตัง้ โดย ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เมือ่ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2553 คณะกรรมการสรรหาฯ จะประกอบด้วย กรรมการบริษทั อย่างน้อย 3 ท่าน และมีสมาชิกทีเ่ ป็นกรรมการ อิสระอย่างน้อย 2 ท่าน ขอบเขต อำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบได้ระบุไว้ ในกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ซึ่งสามารถเข้าไปดูข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ http://www.ttcl. com/sustainability/corporate_governance/charters การทำ�หน้าที่ในการพิจารณาหลักเกณฑ์และกระบวนการใน การสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสูง ตลอดจนการนำ�เสนอ โครงสร้ า งค่ า ตอบแทนและผลประโยชน์ ต อบแทนอื่ น ๆ ให้กับคณะกรรมการบริษัทและคณะอนุกรรมการ ในปี 2558 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่า ตอบแทนมีการประชุมทัง้ สิน้ 3 ครัง้ เพือ่ พิจารณาวาระทีส่ �ำ คัญ และรายงานผลการประชุม รวมถึงนำ�เสนอความคิดเห็นและ ข้อแนะนำ�ต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อรับทราบและพิจารณา อนุมัติ โดยสรุปสาระสำ�คัญ มีดังนี้ 1. พิ จ ารณากำ � หนดค่ า ตอบแทนปี 2558 ของ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร โดยใช้เกณฑ์การพิจารณา ค่าตอบแทนเช่นเดียวกับปีทผี่ า่ นมา และสอดคล้อง กับหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการ รวมถึง คำ�นึงถึงผลการดำ�เนินงานโดยรวมของบริษทั ฯ และ เทียบเคียงกับบริษทั จดทะเบียนทีอ่ ยูใ่ นอุตสาหกรรม และธุรกิจที่มีขนาดใกล้เคียงกัน 2. งดจ่ายโบนัสพิเศษของผลการดำ�เนินงานของบริษทั ปี 2557 ให้กบั คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการ ตรวจสอบ และคณะกรรมการบริหาร 3. ไม่พิจารณากำ�หนดค่าตอบแทนปี 2558 ให้กับ คณะอนุกรรมการ ยกเว้นคณะกรรมการตรวจสอบ 4. ประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการบริษัท สมาชิ ก คณะอนุ ก รรมการเป็ น รายบุ ค คล และ นำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
5. ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั คณะอนุกรรมการเป็นรายคณะ และนำ�เสนอต่อ คณะกรรมการบริษัท 6. กำ�หนดเกณฑ์และประเมินผลการปฏิบตั งิ านประจำ�ปี 2558 ของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ เพือ่ นำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั 7. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บริษทั ฯ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ เป็นผู้เสนอวาระและรายชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติ ครบถ้วนตามประกาศสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เข้ารับ การสรรหาเป็นกรรมการบริษัทฯ แทนกรรมการ ทีค่ รบวาระในปี 2559 อย่างน้อย 3 เดือนล่วงหน้า ก่อนวันประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี ผ่านช่องทาง เว็บไซต์ของบริษัท 8. เสนอแต่งตัง้ กรรมการ จำ�นวน 3 ท่าน คือ คุณฮิโรโนบุ อิริยา คุณพิริยะ ว่องพยาบาล และ คุณทิวา จารึก ที่ ค รบวาระการดำ � รงตำ � แหน่ ง ประจำ � ปี 2558 กลั บ เข้ า ดำ � รงตำ � แหน่ ง กรรมการอี ก หนึ่ ง วาระ ต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณา และเสนอ ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ 9. พิจารณา ทบทวน ปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ให้เหมาะสมและ มีความทันสมัยอยูเ่ สมอ เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพ ในการดำ�เนินงานซึ่งสอดคล้องตามหลักเกณฑ์ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี
รายงานประจ�ำปี 2558
011
10. พิจารณาและเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนที่ครบวาระการดำ�รง ตำ�แหน่งในวันที่ 31ธันวาคม 2558 กลับเข้าดำ�รง ตำ � แหน่ ง คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณา ค่าตอบแทนของบริษัท เป็นครั้งที่สอง โดยมีวาระ การดำ�รงตำ�แหน่งจนถึง 31 ธันวาคม 2561 11. พิ จ ารณาและเสนอแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง ทีค่ รบวาระการดำ�รงตำ�แหน่งใน วันที่ 31 ธันวาคม 2558 กลับเข้าดำ�รงตำ�แหน่ง คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษั ท เป็นครัง้ ทีส่ อง โดยมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งจนถึง 31 ธันวาคม 2561 ในนามของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
นายริวโซ นางาโอคะ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
012
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
รายงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ในปี พ.ศ. 2558 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้จัด ให้ มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งเพื่ อ ติ ด ตาม และทบทวนความเสี่ยงขององค์กรรวมทั้งหมด 4 ครั้ง การบริหาร ความเสี่ยงได้ดำ�เนินการอย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรมมีระบบ การบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอและครอบคลุมการปฏิบัติงาน ในทุกๆ ด้านมี “คณะทำ�งาน” ระดับบริหารและผู้จัดการติดตาม ประเมินปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งปัจจัยภายนอก และปัจจัยภายในอย่างต่อเนื่องสม่ำ�เสมอที่อาจส่งผลกระทบต่อ การดำ�เนินงานของบริษทั ฯ และมีการกำ�หนดมาตรการในการแก้ไข และป้องกัน โดยมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบในการดำ�เนินการ อย่างชัดเจน ตลอดจนมีการติดตาม และประเมินผล เพื่อให้ การบริหารความเสีย่ งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามนโยบาย และวัตถุประสงค์ของบริษัทฯ นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ฯ ได้ กำ � หนดมาตรการและแนวทาง อย่ า งชั ด เจนในการจั ด การความเสี่ ย งที่ ส่ ง ผลกระทบอย่ า งมี นั ย สำ � คั ญ ต่ อ การเจริ ญ เติ บ โตทางธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และ สอดคล้องกับกรอบการควบคุมภายในเพื่อพัฒนาการบริหาร ความเสี่ยงของบริษัทฯอย่างต่อเนื่อง การประเมินผลกระทบต่อองค์กร คณะทำ�งาน และคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ได้พจิ ารณา ถึ ง ปั จ จั ย เสี่ ย งต่ า งๆ ที่ อ าจส่ ง ผลกระทบต่ อ การดำ � เนิ น งาน ของบริษัทฯ โดยพิจารณาถึงโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ ระดับ ความรุ น แรงของผลกระทบที่ อ าจมี ต่ อ บริ ษั ท ฯ การประเมิ น ปัจจัยเสี่ยงครอบคลุมความเสี่ยงประเภทต่างๆ ที่สำ�คัญ ได้ แ ก่ ความเสี่ ย งด้ า นกลยุ ท ธ์ ความเสี่ ย งด้ า นการดำ � เนิ น งาน ความเสี่ยงด้านการเงิน และความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมทั้ ง ได้ ท บทวนปั จ จั ย เสี่ ย งเดิ ม ที่ มี การ เปลี่ย นแปลงและความเสี่ย งใหม่ โ ดยหาวิ ธีก ารลดความเสี่ย ง ดั ง กล่ า วให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ ย อมรั บ ได้ การประเมิ น ความเสี่ ย ง ทีค่ ณะกรรมการบริหารความเสีย่ งเสนอให้คณะกรรมการบริษทั ทราบ และพิจารณามีจำ�นวนทั้งสิ้น 37 รายการ ดังนี้ 1. ความเสี่ ย งด้ า นรายได้ จ ากวั ฏ จั ก รอุ ต สาหกรรม ปิโตรเลียม และ ปิโตรเคมี 2. ความเสี่ยงจากการรับงานโครงการที่มีขนาดใหญ่ข้นึ ทั้งในและต่างประเทศ 3. ความเสี่ ย งจากการเปลี่ ย นแปลงของต้ น ทุ น ราคา เครื่องจักร อุปกรณ์ และวัสดุก่อสร้าง 4. ความเสี่ ย งทางด้ า นอั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตรา ต่างประเทศ 5. ความเสี่ยงจากการส่งมอบโครงการให้ลูกค้าไม่ทัน ตามกำ�หนดเวลา 6. ความเสี่ยงจากการสูญเสียทรัพยากรบุคคล
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
7. ความเสี่ยงของการตัดสินใจของนักลงทุนจากปัญหา การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 8. ความเสีย่ งจากผลกระทบด้านเศรษฐกิจภาคพืน้ ยุโรป 9. ความเสี่ยงจากการขาดแคลนทรัพยากรบุคคล 10. ความเสี่ยงจากการเกิดมหาอุทกภัย 11. ความเสี่ ย งจากประเภทของโครงการที่ ไ ม่ มี ประสบการณ์มาก่อน 12. ความเสี่ยงจากการขาดแคลนแรงงาน 13. ความเสี่ยงจากระยะเวลาโครงการสั้น 14. ความเสี่ยงด้านรายได้จากการร่วมลงทุน 15. ความไม่แน่นอนทางการเมือง 16. ความเสี่ยงจากการรวมเศรษฐกิจอาเซียน 17. ความเสี่ยงจากการเกิดแผ่นดินไหวและสึนามิ 18. ความเสี่ยงจากโรคติดต่อร้ายแรง 19. ความเสี่ยงจากการเพิ่มจำ�นวนคู่แข่งทางการค้า 20. ความเสี่ยงจากผู้ผลิตที่ไม่สามารถส่งมอบเครื่องจักร และอุปกรณ์ตามข้อตกลงในสัญญา 21. ความเสี่ ย งจากผลกระทบด้ า นเศรษฐกิ จ ภาคพื้ น สหรัฐอเมริกา 22. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับภาพลักษณ์ของบริษัท 23. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับความพอเพียงของเงินทุน 24. ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดสรรทรัพยากรของบริษทั 25. ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารจัดการบริษทั ย่อย 26. ความเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อุ บั ติ เ หตุ การบาดเจ็ บ การเจ็บป่วยและสุขภาพจิต 27. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบสิ่งแวดล้อม 28. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับข้อร้องเรียนจากชุมชน 29. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับข้อพิพาทของการละเมิด ทรัพย์สินทางปัญญาและข้อมูลสำ�คัญ 30. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเปิดเผยข้อมูลบริษัท 31. ความเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ข้ อ มู ล รั่ ว ไหลผ่ า นระบบ สารสนเทศ 32. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับความเสียหายของระบบ สารสนเทศ 33. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับฉ้อโกง ทุจริต 34. ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับความไม่แน่นอนของเงินทุน 35. ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับปัญหาการขาดสภาพคล่อง 36. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำ�และนำ�เสนอข้อมูล ทางการเงินที่ไม่ถูกต้อง 37. ความเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความผั น ผวนของอั ต รา ดอกเบี้ยเงินกู้ของโครงการที่ลงทุน รายงานประจ�ำปี 2558
013
การพิ จ ารณาปรั บ ปรุ ง แผนการบริ ห ารความเสี่ ย ง (Risk Treatment Plan) คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งได้ พิ จ ารณาปรั บ ปรุ ง แผนการบริหารความเสี่ยง ที่สำ�คัญดังนี้ 1. ความเสี่ยงด้านการดำ�เนินงาน:-ความเสี่ยงจากการรับงาน โครงการทีม่ ขี นาดใหญ่ทง้ั ในและต่างประเทศ : - การดำ�เนินงานโครงการในต่างประเทศ : บริษัทฯ ยังคงใช้นโยบายการทำ�งานร่วมกับผู้รับเหมา รายอื่น ในประเทศนั้น ๆ เพื่อ ลดความเสี่ย งและผลกระทบใน ด้านสภาพแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรมพื้นเมืองที่ไม่คุ้นเคย ตลอดจนกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ - นโยบายการเงิ น :-การดำ � เนิ น งานโครงการที่ ใ ช้ เงินตราต่างประเทศ เนื่ อ งจากตั้ ง แต่ ก ลางปี 2558 ดั ช นี ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ ปรับลดลงในหลายประเทศทั่วโลกมีผลทำ�ให้ตลาดเงินและตลาด ทุนโลกมีความผันผวนมากขึ้น อัตราแลกเปลี่ยนเกือบทุกสกุลเงิน ผันผวนสูงขึน้ โดยเฉพาะในกลุม่ ประเทศกำ�ลังพัฒนา ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีมาตรการเกี่ยวกับนโยบายการเงินอย่างรัดกุมมีการวางแผน ในด้ า นการป้ อ งกั น ความเสี่ ย งจากอั ต ราแลกเปลี่ ย นที่ ชั ด เจน มีการระบุช่วงเวลาและปริมาณของการใช้เงินตราต่างประเทศ เพือ่ บริหารจัดการด้านการเงินอย่างเหมาะสม 2. ความเสี่ยงด้านการเงิน :-ความเสี่ยงด้านรายได้จากการ ร่วมลงทุน ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับความพอเพียงของเงินทุน ความเสี่ย งที่เ กี่ย วข้ อ งกั บ ความไม่ แ น่ น อนของเงิ น ทุ น และ ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการขาดสภาพคล่อง บริษัทฯ มีนโยบายการเงิน แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนและ การพิจารณาขั้นตอนๆ อย่างเป็นระบบ เช่น - การคัดเลือกโครงการที่จะร่วมลงทุน ความเป็นไปได้ ของโครงการ ผลตอบแทนโครงการ แหล่ ง เงิ น ทุ น สถานะ ทางการเงินของผู้ร่วมลงทุน เป็นต้น ผลการดำ�เนินงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ในปี พ .ศ. 2558 ได้ มี ก ารทบทวนกฎบั ต รของคณะกรรมการ บริหารความเสีย่ งเพือ่ พิจารณาว่าความรับผิดชอบที่ก�ำ หนดมีความ เหมาะสม นอกจากนี้มีการประเมินตนเองของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายและนโยบายของ คณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการดูแลและกำ�กับ กิ จ การองค์ ก รที่ ดี จึ ง ขอเสนอการรายงานต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ�ปี 2558 ( นายกำ�ธร อุทารวุฒพิ งศ์ ) ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
014
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
รายงานของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ได้ เ สนอชื่ อ บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมสำ � หรั บ การเป็ น คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าลผ่ า นคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนเพื่อนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัท พิจาณาอนุมัติ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 ซึ่งปัจจุบัน คณะกรรมการบรรษัทภิบาลมี 7 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้ 1 นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์ 2 นายทิวา จารึก 3 นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ 4 นายชำ�นาญ อัศนธรรม 5 นางสาวจารุวรรณ สุขทั่วญาติ 6 นางสาวนิสาชล ฤทธิ์ทยมัย 7 นายณัฐพล สินขจร
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ในปี 2558 คณะกรรมการบรรษัทภิบาลมีการประชุม ทั้งสิ้น 3 ครั้ง ซึ่งกรรมการส่วนใหญ่เข้าร่วมประชุม ผลของ การประชุมคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ได้น�ำ เสนอความเห็น ให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพื่อพิจารณาอนุมัติ และรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ โดยสรุปสาระสำ�คัญของการประชุม มีดังนี้ 1. กำ�หนดกฎบัตร คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และ นำ�เสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 2. กำ � หนดนโยบายการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และ นโยบายต่อต้านคอร์รัปชัน และนำ�เสนอให้คณะกรรมการ บริษัทพิจารณาอนุมัติ 3. พิจารณาทบทวนมาตรการรับเรื่องร้องเรียน และ การแจ้ ง เบาะแสการกระทำ � ผิ ด และนำ � เสนอให้ ป ระธาน เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่พิจารณาอนุมัติ 4. ทบทวน แก้ไข บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร และ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และนำ�เสนอ ให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 5. จัดทำ�แบบประเมิน เพื่อทบทวนผลการดำ�เนินงาน ของคณะกรรมการบรรษัทภิบาลทั้งคณะและรายบุคคล และ นำ�ส่งให้เลขานุการบริษัทสรุป และรายงานต่อคณะกรรมการ บริษัท
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
6. มีมติเห็นชอบ วิสัยทัศน์ใหม่ของบริษัท คือ TTCL is to be “First Class International Engineering Company” with “Challenging” “Creative Thinking” “Strong Will” ตามทีป่ ระธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่นำ�เสนอ และรายงานให้คณะกรรมการบริษัท รับทราบ
7. ทำ � แบบประเมิ น ตนเองของแนวร่ ว มปฏิ บั ติ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) เพื่อ แสดงให้เห็นถึงการนำ�ไปปฏิบัติในปัจจุบันอย่างครบถ้วน เพียงพอ และสอบทานโดยคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งมี รายละเอียดดังต่อไปนี้
ระดับ (Level)
โครงการประเมินการพัฒนาการต่อต้านการทุจริต (Anti-Corruption progress indicator)
Level 1 Committed
คำ�มัน่ จากประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ในเรือ่ งการดำ�เนินธุรกิจที่ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการคอร์รัปชัน มติที่ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 5/2557
Level 2 Declared
015
การดำ�เนินการ (Actions)
14 พ.ย. 2557
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ลงนามในคำ�ประกาศเจตนารมณ์ 22 ธ.ค. 2557 เข้าร่วมเป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) CAC ตอบรับคำ�ประกาศเจตนารมณ์
26 ธ.ค. 2557
Level 3 Established
จัดทำ�นโยบายเพือ่ แสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบตั เิ พือ่ ต่อต้าน เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ทีไ่ ม่สจุ ริต 1 ก.ย. 2557 และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการทุจริต ในหมู่ประธาน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ผู้ตรวจสอบ ภายใน และเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ
Level 4 Certified
อยู่ระหว่าง แบบประเมินตนเองจาก IOD • การนำ�ไปปฏิบัติในปัจจุบันโดยมีการสอบทานความครบถ้วนเพียงพอของกระบวนการ การดำ�เนินการ ทั้งหมด • จัดทำ�โดยเลขานุการบริษัท คณะกรรมการบรรษัทภิบาล โดยผ่านการตรวจสอบ จากผู้ตรวจสอบภายใน
Level 5 Extended
สอบทานโดยประธานกรรมการตรวจสอบ
-
ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติ (CAC) ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุจริต
-
แสดงให้เห็นถึงนโยบายการต่อต้านการทุจริต ซึ่งขยายไปถึงคู่ค้าทางธุรกิจ ที่ปรึกษาและ ตัวแทนธุรกิจ
-
ในนามคณะกรรมการบรรษัทภิบาล (นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์) ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
016
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ลักษณะการประกอบธุรกิจและการให้บริการ ธรุ กิจของบริษทั สามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1. ธุรกิจก่อสร้างและให้บริการ 2. ธุรกิจผลิตไฟฟ้าและพลังงาน
1. ธุรกิจก่อสร้างและให้บริการ
ภาพโดย น.ส.พักตรพิมล สุรวาทศิลป์ วิศวกร
ธุรกิจก่อสร้างและให้บริการสามารถแบ่ง ออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1.1 การให้ บ ริ ก ารด้ า นการออกแบบ วิศวกรรม การจัดหาเครื่องจักรและอุปกรณ์ และการก่ อ สร้ า งโรงงานแบบครบวงจร (Integrated Engineering, Procurement and Construction หรือ Integrated EPC) และ 1.2 การให้ บ ริ ก ารทางวิ ศ วกรรมและ บริหารจัดการโครงการก่อสร้าง (Engineering, Procurement and Construction Management หรือ EPCm) 1.1 การให้ บ ริ ก ารด้ า นการออกแบบ
วิศวกรรม การจัดหาเครื่องจักรและ อุปกรณ์ และการก่อสร้างโรงงาน แบบครบวงจร (Integrated Engineering, Procurement and Construction หรือ Integrated EPC)
ภาพโดย นายอภิวัฒน์ วิสูตรสกุลศักดิ์ วิศวกร
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
การให้ บ ริ ก ารงานการก่ อ สร้ า งแบบ ครบวงจร (Integrated EPC) เป็นการว่าจ้าง ให้ บ ริ ษั ท รั บ งานในลั ก ษณะแบบเบ็ ด เสร็ จ ในทุกส่วนงานของการก่อสร้างโครงการ โดยเริม่ ตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบ จัดหาเครื่องจักร และอุปกรณ์ ตลอดจนถึงการก่อสร้างโครงการ ให้ลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของเจ้าของโครงการ และส่วนใหญ่เจ้าของโครงการจะว่าจ้างบริษัท ให้ บ ริ ก าร Integrated EPC เนื่ อ งจาก จะสามารถควบคุ ม คุ ณ ภาพและต้ น ทุ น ของ การก่อสร้างโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริษัทเป็นผู้รับเหมางานด้านวิศวกรรม ของไทยรายแรกที่ ใ ห้ บ ริ ก าร Integrated EPC แบบครบวงจร โดยเน้นการให้บริการ แก่ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ ในอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และธุรกิจพลังงาน รวมถึง อุตสาหกรรมใกล้เคียง ทั้งในและต่างประเทศ รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
1
บริการด้าน การออกแบบวิศวกรรม
3
การก่อสร้างโรงงาน อุตสาหกรรม
บริการที่เสนอโดย
บริษัท ทีทีซีแอล จ�ำกัด (มหาชน)
017
2
การจัดซื้อจัดหา เครื่องจักรและอุปกรณ์
4
ธุรกิจไฟฟ้า และพลังงาน
โดยมีทั้งที่บริษัทเป็นผู้รับเหมาหลัก (Main Contractor) จุดแข็งที่สำ�คัญของบริษัทในการทำ�ธุรกิจ กล่าวคือ บริษัท และที่บริษัทเป็นผู้รับเหมาร่วมกับผู้รับเหมารายอื่น ซึ่งเป็น สามารถให้บริการแก่ลกู ค้าแบบครบวงจรอย่างแท้จริง สามารถ ผู้ รั บ เหมาไทยและ/หรื อ ผู้ รั บ เหมาต่ า งชาติ ร่ ว มกั น ประหยัดค่าใช้จ่ายในการออกแบบ และมีการประสานงาน (Consortium Member) กั น อย่ า งใกล้ ชิ ด ระหว่ า งผู้ อ อกแบบและที ม งานก่ อ สร้ า ง การก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ สามารถแบ่งงานได้เป็น ซึง่ ทำ�ให้บริษทั สามารถควบคุมต้นทุนการก่อสร้างโครงการได้ 3 ส่วนหลัก ได้แก่ งานออกแบบวิศวกรรม (Engineering) ขัน้ ตอนในการออกแบบวิศวกรรม จะเริม่ จากข้อกำ�หนด งานจัดหาเครื่องจักรและอุปกรณ์ (Procurement) และ ของลูกค้าก่อนที่จะทำ�การออกแบบในรายละเอียด ซึ่งในการ งานก่อสร้าง (Construction) จากการทีบ่ ริษทั มีความพร้อม ดำ�เนินการออกแบบ บริษัทคำ�นึงถึงปัจจัยที่สำ�คัญต่างๆ อาทิ ในการให้บริการ Integrated EPC จึงเป็นลักษณะเด่น - ความปลอดภัยของโรงงานทั้งโรงงาน และแต่ละ ของบริษัทอีกประการ เนื่องจากจะมีความต่อเนื่องของงาน หน่วยผลิต ใน 3 ส่วนหลักดังกล่าว ซึ่งมีรายละเอียดของงาน ดังนี้ - ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม - คุณภาพของผลิตภัณฑ์จากกระบวนการผลิต 1.1.1 การออกแบบวิศวกรรม (Engineering Design) - ข้ันตอนการผลิตในด้านของหลักสมดุลความร้อน บริษัทให้บริการงานออกแบบวิศวกรรม ซึ่งบริษัท (Heat Balance) หลักสมดุลมวลสาร (Material สามารถให้บริการออกแบบได้ตั้งแต่งานโครงสร้าง งานโยธา Balance) ระบบสาธารณูปโภคในโรงงาน เช่น ไฟฟ้า ระบบบำ�บัดน้ำ� - ระบบการผลิต เครื่องจักร และอุปกรณ์ เพือ่ ใช้ในโรงงาน ระบบบำ�บัดน้�ำ เสีย กระบวนการและขัน้ ตอน - ค่าใช้จ่ายในการบำ�รุงรักษาหรือการปรับเปลี่ยน การผลิ ต โดยเฉพาะสำ � หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นกลุ่ ม ปิ โ ตรเลี ย ม ในอนาคต ปิ โ ตรเคมี และเคมี ภั ณ ฑ์ อื่ น ๆ ตลอดจนระบบควบคุ ม - ปัญหาและอุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้นในขั้นตอนของ การก่อสร้าง และมาตรการรองรับ และตรวจวัดต่างๆ ที่จำ�เป็นต้องใช้ในโรงงาน - ความเหมาะสมของเทคโนโลยี ที่ ใ ช้ แ ละต้ น ทุ น บริษทั มีทมี วิศวกรทีจ่ �ำ เป็นสำ�หรับงานออกแบบ ได้แก่ วิศวกรโยธา วิศวกรเครื่องกล วิศวกรไฟฟ้า วิศวกรเคมี และ โครงการ อื่นๆ การมีทีมงานวิศวกรในหลายสาขาวิศวกรรมนับเป็น รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
018
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ภาพโดย นายเอกชัย ย้อยแก้ว วิศวกร
1.1.2 การจั ด ซื้ อ จั ด หาเครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ์ 1.1.3 การก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม (Construction) (Procurement of Machinery and Equipment) บริ ษั ท ให้ บ ริ ก ารเป็ น ผู้ จั ด ซื้ อ จั ด หาเครื่ อ งจั ก รและ อุปกรณ์ทั้งหมดที่จำ�เป็นต่อโครงการ โดยจัดซื้อและจัดหา จากผู้ผลิตหรือผู้จัดจำ�หน่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ บริษทั จะเป็นผูด้ �ำ เนินการเจรจาต่อรองราคา เงือ่ นไขการสัง่ ซือ้ และการส่ ง มอบ ตรวจสอบคุ ณ ภาพและคุ ณ สมบั ติ ข อง เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ให้เป็นไปตามข้อกำ�หนดที่ผู้ออกแบบ ได้ระบุไว้ รวมทั้งประสานงานให้มีการจัดส่งตามกำ�หนดการ ซึง่ สอดคล้องกับแผนงานรวมของโครงการ จากประสบการณ์ ข องบริ ษั ท ลู ก ค้ า ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผู้ ป ระกอบการในธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเลี ย มและปิ โ ตรเคมี ซึ่ ง ได้ รั บ สิทธิประโยชน์ส่งเสริมการลงทุนจากสำ�นักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment, BOI) ทำ�ให้ บริ ษั ท มี ค วามรู้ แ ละความเชี่ ย วชาญในกระบวนการนำ � เข้ า เครื่องจักรจากต่างประเทศให้แก่ลูกค้าตามเงื่อนไขของ BOI และจากเครือข่ายของบริษัทร่วมของ Toyo Engineering Corporation ซึ่งเป็นผูถ้ ือหุ้นรายใหญ่ของบริษทั ในประเทศ ต่างๆ ทั่วโลก บริษัทสามารถใช้เครือข่ายที่มีนี้ช่วยทำ�การ ตรวจสอบคุณภาพและติดตามความคืบหน้าของการผลิต เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ ณ โรงงานผลิตทีต่ ง้ั อยูใ่ นประเทศเดียว กับเครือข่ายของบริษัท
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
ในงานรับเหมาก่อสร้างโรงงาน บริษัทจะจัดทีมงาน ก่อสร้างที่เหมาะสมกับโครงการแต่ละประเภทเข้ารับผิดชอบ ดำ � เนิ น การ โดยแต่ ล ะที ม จะประกอบไปด้ ว ยวิ ศ วกร ผู้ ค วบคุ ม งานในแต่ ล ะระดั บ และวิ ศ วกรโครงการจาก สาขาวิศวกรรมต่างๆ ทีมงานที่ได้รับมอบหมายจะร่วมกัน รั บ ผิ ด ชอบในการดำ � เนิ น งานของโครงการนั้ น ๆ ตั้ ง แต่ ขั้นตอนการวางแผน ดำ�เนินงาน ประสานงานระหว่างลูกค้า หรือตัวแทนของลูกค้า ผูร้ บั เหมาช่วง ผูผ้ ลิตหรือผูจ้ ดั จำ�หน่าย เครื่องจักรและอุปกรณ์ และวิศวกรผู้ออกแบบ การควบคุม และตรวจสอบงานก่ อ สร้ า งให้ ไ ด้ คุ ณ ภาพและแล้ ว เสร็ จ ตามแผนที่ ไ ด้ ว างไว้ การบริ ห ารโครงการทั้ ง ในส่ ว นของ ต้นทุน การเบิกจ่ายเงิน และการดูแลในเรื่องความปลอดภัย ในการทำ�งาน ทัง้ นี้ ตลอดช่วงระยะเวลาการออกแบบ การจัดซือ้ จัดหา และการก่อสร้าง บริษัทฯ ได้จัดให้มีฝ่ายควบคุมคุณภาพ ซึ่งประกอบไปด้วยบุคลากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านของบริษัท คอยตรวจสอบและติดตามผลงานในทุกๆ ขั้นตอน เพื่อให้ มั่น ใจว่ า งานในทุ ก รายละเอี ย ดทำ � ได้ ต รงตามคุ ณ สมบั ติ ทีก่ �ำ หนดไว้ ซึ่งการตรวจสอบนี้ บริษัทฯ จะทำ�ไปพร้อมกับ ตัวแทนของลูกค้า
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
019
1.2 การให้บริการทางวิศวกรรมและบริหารจัดการ ความมัน่ คงของรายได้ในระยะยาวอย่างยัง่ ยืน โดย บริษทั ได้เริม่ โครงการก่อสร้าง (Engineering, Procurement ขยายการลงทุนในกิจการประเภทโรงไฟฟ้าและพลัง งาน and Construction Management หรือ EPCm) ต่างๆ ซึ่งบริษัทมีความเชื่อว่าเป็นธุรกิจที่มีความมั่นคงและ
สอดคล้องกับนโยบายของบริษัท โครงการโรงไฟฟ้าและพลังงานดังกล่าวข้างต้น มีทั้ง ในส่วนที่บริษัทเป็นผู้พัฒนาโครงการเองและในส่วนที่บริษัท เป็นผูร้ ว่ มลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจ ซึง่ ส่วนใหญ่ บริษทั ก็จะ ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับเหมาก่อสร้างของโครงการด้วย เช่นกัน ปัจจุบันโครงการต่างๆ มีข้อมูลโดยสังเขป ดังต่อไปนี้ • โรงไฟฟ้ า ก๊ า ซชี ว ภาพ กำ � ลั ง การผลิ ต 1.2 เมกะวัตต์ ดำ�เนินการโดยบริษทั ไบโอ แนชเชอรัล เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด (“BNE”) • โรงไฟฟ้าพลังงานก๊าซธรรมชาติ กำ�ลังการผลิต 110 เมกะวัตต์ ดำ�เนินการโดยบริษัท นวนคร การไฟฟ้า จำ�กัด (“NNE”) • โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ กำ�ลังการผลิต 8 เมกะวัตต์ ดำ�เนินการโดยบริษัท สยาม โซล่า เพาเวอร์ จำ�กัด (“SSP”) • โรงไฟฟ้าพลังงานก๊าซธรรมชาติ กำ�ลังการผลิต 120 เมกะวัตต์ ดำ�เนินการโดยบริษทั โตโย ไทย พาวเวอร์ เมียนมาร์ จำ�กัด (“TTPMC”) • โรงงานผลิ ต เอทานอล ขนาด 100,000 ลู ก บาศก์ เ มตรต่ อ ปี ดำ � เนิ น การโดยบริ ษั ท โอเรียนท์ ไบโอ-ฟูลเอลส์ (“OBF”) • โรงงานไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา 2. ธุรกิจผลิตไฟฟ้าและพลังงาน กำ�ลังการผลิต 743.4 กิโลวัตต์ ดำ � เนิ น การ บริ ษั ท ได้ ใ ช้ ศั ก ยภาพความรู้ ด้ า นวิ ศ วกรรมและ โดยบริษทั สยาม จีเอ็นอี โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ จำ�กัด ประสบการณ์ของบริษัทให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อที่จะสร้าง (“SGNE”) การให้ บ ริ ก ารทางวิ ศ วกรรมและบริ ห ารจั ด การ โครงการก่อสร้าง (EPCm) บริษัทฯ จะได้รับมอบหมาย ให้ทำ�หน้าที่เป็นผู้จัดการโครงการของลูกค้า ซึ่งบริษัทจะมี หน้าที่บริหารเพื่ อ ให้ โ ครงการเป็ น ไปตามตารางเวลาและ งบประมาณที่ เ หมาะสม โดยบริ ษั ท จะดำ � เนิ น การบริ ห าร อย่างเป็นองค์รวมซึ่งรวมถึงงานด้านการออกแบบวิศวกรรม การจัดหาอุปกรณ์ และการก่อสร้างโรงงาน บริษัทจะช่วย ลู ก ค้ า ซึ่ ง เป็ น เจ้ า ของโครงการในการคั ด เลื อ กผู้ รั บ เหมา และกำ�กับดูแลการทำ�งานของผู้รับเหมา ให้คำ�ปรึกษาใน การคั ด เลื อ กผู้ ผ ลิตและจัดส่งเครื่อ งจัก รและวัสดุอุปกรณ์ และควบคุม ประสานงานให้การจัดส่งเครื่องจักรและวัสดุ อุปกรณ์เป็นไปตามตารางเวลา นอกจากนั้นการให้บริการ ทางวิศวกรรมและบริหารจัดการโครงการก่อสร้างอาจรวม ไปถึ ง การให้ บ ริ ก ารการศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ เ บื้ อ งต้ น ทางเทคนิคด้วย ในการบริการโครงการตามสัญญา บริษัทจะกำ�หนด มอบหมายให้ มี ผู้ จั ด การและที ม งานสำ � หรั บ โครงการขึ้ น ที ม งานจะคั ด เลื อ กจากบุ ค คลากรที่ เ หมาะสมตามระดั บ และประเภทของโครงการ และปฏิ บั ติ ง านภายใต้ บั ง คั บ บั ญ ชาของผู้จัดการโครงการเพื่อให้เป็นไปตามตารางเวลา และงบประมาณ โดยสำ�นึกอยู่เสมอว่าการทำ�งานโดยรักษา ความปลอดภัยและคุณภาพของงานเป็นหลักการสำ�คัญที่สุด ของการบริหารโครงการ
ภาพโดย นายนภดล แซ่เตีย วิศวกร
รายงานประจ�ำปี 2558
ภาพโดย นายสิทธิโชค มะไฟหวาน วิศวกร
ภาพโดย น.ส.จิราพร เขียวแจ่ม วิศวกร
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
020
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
โครงสร้างองค์กร คณะกรรมการบริษัท --------------------------------------------
คณะกรรมการบริหาร
-------------------------------------------------------
--------------
สำ�นักตรวจสอบภายใน นางสาวทิพย์วัลย์ จันทร์สุวรรณ
นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์
--------------------------------------
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน
--------
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
--------
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ นายฮิโรโนบุ อิริยา รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายโครงการ/ประมูลงานและฝ่ายวิศวกรรม นายทิวา จารึก
--------
คณะกรรมการบรรษัทภิบาล
เลขานุการบริษัท
-----------------------
คณะกรรมการตรวจสอบ
ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
--------
นายพิริยะ ว่องพยาบาล
นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ -------------------
ที่ปรึกษาทั่วไป
ฝ่ายวิศวกรรม ฝึกอบรมและหน่วยงานเฉพาะกิจ นายเสน่ห์ ภูริสัตย์
-----------------------------------
นายคาซุนโดะ ฮายาชิ
--------
ที่ปรึกษาการตลาดต่างประเทศ
กลุ่มพัฒนาธุรกิจโรงไฟฟ้า และพลังงาน
ฝ่ายปฏิบัติการ ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ นางสุรัตนา ตฤณรตนะ
ฝ่ายบริหารงานส่วนกลาง
ฝ่ายการเงิน
นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ นายกอบชัย ธนสุกาญจน์
ฝ่ายบริหารงาน ส่วนกลาง รองประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ ทรัพยากรบุคคล บริหารสำ�นักงาน เลขานุการบริษัท
ฝ่ายการเงิน รองประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร นายกอบชัย ธนสุกาญจน์ การเงิน บัญชี นักลงทุนสัมพันธ์
ฝ่ายดำ�เนินงานโครงการ นายวันชัย รตินธร
ฝ่ายเทคนิค
ฝ่ายขาย
นายเสน่ห์ ภูริสัตย์ นายฮิเดโตะ โคยามา
TTPHD TTGP TTPMC TTSP GNE-J TTCP TTNE BNE
ฝ่ายวิศวกรรม
ฝ่ายดำ�เนินงานโครงการ
ฝ่ายขายและพัฒนาธุรกิจ
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร นายเสน่ห์ ภูริสัตย์
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร นายวันชัย รตินธร
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร นายฮิเดโตะ โคยามา
ผู้อำ�นวยการ นายยูคิโอ โกเบ นางสาวพรจันทร์ เกษจุฬาศรีโรจน์
ผู้อำ�นวยการ นายยูคิโอ โกเบ นางสาวพรจันทร์ เกษจุฬาศรีโรจน์
ผู้อำ�นวยการ นางสาวพรจันทร์ เกษจุฬาศรีโรจน์
ผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายธุรกิจพลังงาน นายซาบูโร โอบาร่า
ผู้อำ�นวยการฝ่ายธุรกิจพลังงาน นายซาบูโร โอบาร่า
GNE GNE-TSUNO GNE-TOGO HGE NNE SSP S-GNE OBF
บริษัทในเครือ EPC
TVC TTMC TTMEC
CONSTRUCTION
TTML TTUS TTPH TTQA
ฝ่ายควบคุม ตรวจสอบคุณภาพและอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
021
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
โครงสร้างบริษัทย่อย และบริษัทในเครือ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีดังนี้ บริษทั ฯ มีการลงทุนในบริษทั ย่อย โดยถือหุน้ ไว้ตง้ั แต่รอ้ ยละ 10 ขึน้ ไปของจำ�นวนหุน้ ทีอ่ อกจำ�หน่ายแล้วของบริษทั มีดงั นี้ ชื่อบริษัท 1. TTCL Vietnam Corporation Limited 2. บริษัท ไบโอ แนชเชอรัล เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด 3. TTCL Malaysia Sdn. Bhd. 4. ToyoThai–Myanmar Corporation Co.,Ltd. 5. ToyoThai-USA Corporation 6. TTCL Gas Power Pte. Ltd. 7. TTCL Power Holdings Pte. Ltd. 8. Toyo Thai Power Myanmar Co., Ltd. 9. บริษัท โกลบอล นิว เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด 10. TTCL Solar Power Pte. Ltd. 11. Global New Energy Japan Co., Ltd. 12. TTCL New Energy Pte. Ltd. 13. TTCL Coal Power Pte. Ltd. 14. TTCL Myanmar Engineering & Construction Co., Ltd. 15. Global New Energy Tsuno Co., Ltd. 16. Global New Energy Togo Co., Ltd.
ประเภทธุรกิจ
สถานที่ตั้ง สำ�นักงานใหญ่
รับเหมาก่อสร้างและ บริการด้านวิศวกรรม บริการด้านการพัฒนา พลังงานทดแทน รับเหมาก่อสร้างและ บริการด้านวิศวกรรม รับเหมาก่อสร้างและ บริการด้านวิศวกรรม รับเหมาก่อสร้างและ บริการด้านวิศวกรรม ลงทุนในธุรกิจพลังงาน
เวียดนาม ไทย
ทุนชำ�ระแล้ว
อัตราการ ถือหุน้ ร้อยละ คิดเป็น (ทางตรง+ ร้อยละ ทางอ้อม) 100.00 93.34
โทรสาร
ชนิดของ หุ้น
+84839977118
+84839977086
หุ้นสามัญ
+6622608505 +60321633142
+6622608525
1,500,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐฯ 5,000,000 บาท 100.00 หุ้นสามัญ
+60321623611
หุ้นสามัญ
+951371962 สหรัฐอเมริกา +13033620624
+951371963
หุ้นสามัญ
+13039842699
หุ้นสามัญ
สิงคโปร์
+6564380765
+6564380769
หุ้นสามัญ
ลงทุนในบริษัทอื่น
สิงคโปร์
+6564380765
+6564380769
หุ้นสามัญ
ผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อจำ�หน่าย พลังงานทดแทน
เมียร์มาร์
+951371962
+951371963
หุ้นสามัญ
ไทย
+6622608505
+6622608525
หุ้นสามัญ
ลงทุนในธุรกิจ พลังงาน ผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อจำ�หน่าย ลงทุนในธุรกิจ พลังงานทดแทน ลงทุนในธุรกิจ พลังงาน รับเหมาก่อสร้างและ บริการด้านวิศวกรรม
สิงคโปร์
+6564380765
+6564380769
หุ้นสามัญ
ผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อจำ�หน่าย ผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อจำ�หน่าย
มาเลเซีย
โทรศัพท์
เมียร์มาร์
ญี่ปุ่น
-
-
มูลค่าชำ�ระ
750,000 มาเลเซียนริงกิต 300,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐฯ 50,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐฯ 49,500,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐฯ 69,500,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐฯ 51,587,300 เหรียญดอลลาร์สหรัฐฯ 60,000,000 บาท
70.00
75.00
100.00
100.00
90.00
100.00
80.00
100.00
69.78
100.00
69.78
100.00
71.29
100.00
40.00
4,000,000 100.00 เหรียญดอลลาร์สหรัฐฯ หุ้นสามัญ 200,500,000 เยน 100.00
69.78
4,200,000 100.00 เหรียญดอลลาร์สหรัฐฯ 5,000,000 100.00 หุ้นสามัญ เหรียญดอลลาร์สหรัฐฯ 300,000 100.00 หุ้นสามัญ เหรียญดอลลาร์สหรัฐฯ
100.00
หุ้นสามัญ
69.78
สิงคโปร์
+6564380765
+6564380769
สิงคโปร์
+6564380765
+6564380769
เมียร์มาร์
+951371962
+951371963
ญี่ปุ่น
-
-
หุ้นสามัญ
100,000 เยน
100.00
69.78
ญี่ปุ่น
-
-
หุ้นสามัญ
100,000 เยน
100.00
69.78
69.78 99.00
บริษทั ฯ มีการลงทุนในบริษทั อืน่ โดยถือหุน้ ไว้ตง้ั แต่รอ้ ยละ 10 ขึน้ ไปของจำ�นวนหุน้ ทีอ่ อกจำ�หน่ายแล้วของบริษทั มีดงั นี้ ชื่อบริษัท 1. บริษัท นวนครการไฟฟ้า จำ�กัด
ประเภทธุรกิจ
ไทย
+6629092223
+6629097160
ไทย
+6622469988
+6622479944
หุ้นสามัญ
250,000,000 บาท
100.00
27.91
16,000,000 บาท
100.00
34.29
34,500,000 100.00 เหรียญดอลลาร์สหรัฐฯ 5,000,000 บาท 100.00 หุ้นสามัญ
49.00
โทรสาร
ชนิดของหุ้น
มูลค่าชำ�ระ
หุ้นบุริมสิทธิ์ 1,650,000,000 บาท 100.00
3. บริษัท สยามจีเอ็นอี โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ จำ�กัด 4. Orient Bio-Fuels Co.,Ltd.
ไทย
-
-
หุ้นสามัญ
เวียดนาม
-
-
หุ้นสามัญ
5. บริษทั ไฮเกรด เอ็นเนอร์ย่ี จำ�กัด
พลังงานทดแทน
ไทย
-
-
รายงานประจ�ำปี 2558
อัตราการ ถือหุน้ ร้อยละ คิดเป็น (ทางตรง+ ร้อยละ ทางอ้อม)
โทรศัพท์
ผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อจำ�หน่าย ผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อจำ�หน่าย ผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อจำ�หน่าย พลังงานทดแทน
2. บริษทั สยามโซล่า เพาเวอร์ จำ�กัด
ทุนชำ�ระแล้ว
สถานที่ตั้ง สำ�นักงานใหญ่
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
44.03
27.91
022
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริษัท
4 3
2 1
1. นายฮิโนบุ อิริยา
2. นายพิริยะ ว่องพยาบาล
3. นายมาโกโต ฟูซายาม่า
4. นางนิจพร จรณะจิตต์
ประธานกรรมการบริษัท กรรมการบริษัท
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รองประธานกรรมการบริษัท กรรมการบริษัท
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
8
6
5
5. นายทิวา จารึก
6. นายโนริมาซา มัตสึโอกะ
8. นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์
9. นายริวโซ นางาโอคะ
กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ
รายงานประจ�ำปี 2558
กรรมการบริษัท
023
9
7
7. นายศิวะรักษ์ พินิจารมณ์ กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
024
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริหาร
5 4
1
2
1. นายฮิโรโนบุ อิริยา ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
2. นายทิวา จารึก
4. นายเสน่ห์ ภูริสัตย์
5. นางสุรัตนา ตฤณรตนะ
และกรรมการผู้จัดการใหญ่
3
3. นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายโครงการและฝ่ายประมูลงาน และฝ่ายวิศวกรรม
ฝ่ายบริหารงานทั่วไป เลขานุการบริษัท
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ประธานเจ้าหน้าที่ีฝ่ายปฏิบัติการ ฝ่ายวิศวกรรม ฝึกอบรม และหน่วยงานเฉพาะกิจ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
10
9 8
7. นายฮิเดโตะ โคยาม่า
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายดำ�เนินงานโครงการ
ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายวิศวกรรมและฝ่ายดำ�เนินงานโครงการ รายงานประจ�ำปี 2558
7
6
6. นายวันชัย รตินธร
9. นายยูคิโอ โกเบ
025
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายขายและพัฒนาธุรกิจ
8. นายกอบชัย ธนสุกาญจน์
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายการเงินและบัญชี และนักลงทุนสัมพันธ์
10. นางสาวพรจันทร์ เกษจุฬาศรีโรจน์
ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายดำ�เนินงานโครงการ ฝ่ายขายและพัฒนาธุรกิจ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
026
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการตรวจสอบ
1. นายศิวะรักษ์ พินิจารมณ์ ประธานกรรมการ
2. นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์ กรรมการ
3. นายริวโซ นางาโอคะ กรรมการ
2
3
1
คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน 1. นายริวโซ นางาโอคะ ประธานกรรมการ
2. นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์ กรรมการ
3. นายทิวา จารึก กรรมการ
2 JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
1
3
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบรรษัทภิบาล
2
4
1. นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์ ประธานกรรมการ
4. นายวันชัย รตินธร กรรมการ
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
1
027
3
2. นายเสน่ห์ ภูริสัตย์ กรรมการ
5. นายกอบชัย ธนสุกาญจน์
5
3. นางสุรัตนา ตฤณรตนะ กรรมการ
กรรมการ
คณะกรรมการบรรษัทภิบาล
7
4
2
1
1. นายกำ�ธร อุทารวุฒพิ งศ์
2. นายทิวา จารึก
4. นายชำ�นาญ อัศนธรรม
5. นางสาวจารุวรรณ สุขทั่วญาติ
ประธานกรรมการ
กรรมการ 7. นายณัฐพล สินขจร กรรมการ รายงานประจ�ำปี 2558
กรรมการ
กรรมการ
3
5
6
3. นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ กรรมการ
6. นางสาวนิสาชล ฤทธิท์ ยมัย กรรมการ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
028
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ประวัติคณะกรรมการบริษัทและกรรมการบริหาร นายฮิโรโนบุ อิริยา
ประธานกรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู ้จัดการใหญ่
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นายฮิโรโนบุ อิริยา ประเภทกรรมการที่จะเสนอแต่งตั้ง : ประธานกรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตำ�แหน่งปัจจุบัน : ประธานกรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ (กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท) อายุ : 61 ปี สัญชาติ : ญี่ปุ่น คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยวาเซดะ ประเทศญี่ปุ่น การอบรมหลักสูตรกรรมการ : 20 สิงหาคม 2551 Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : 8 ปี (2551-ปัจจุบัน) ประสบการณ์การทำ�งาน : ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท TTCL Myanmar Engineering & Construction Co., Ltd. 2557-ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท TTCL New Energy Pte. Ltd. 2556-ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท TTCL Solar Power Pte. Ltd. ประธานกรรมการบริษัท TTCL Coal Power Pte. Ltd. 2555-ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท Toyo Thai Power Myanmar Co., Ltd. ประธานกรรมการบริษัท TTCL Gas Power Pte. Ltd. ประธานกรรมการบริษัท TTCL Power Holdings Pte. Ltd. ประธานกรรมการบริษัท Toyo Thai-Myanmar Corporation Co., Ltd. 2554-ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท Toyo Thai-USA Corporation ประธานกรรมการบริษัทและกรรมการผู้จัดการ TTCL Malaysia Sdn. Bhd. 2552-ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัทและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท โกลบอล นิว เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด 2550-ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัทและกรรมการผู้จัดการ บริษัท โกลบอล บิสซิเนส แมเนจเมนท์ จำ�กัด
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
2549-ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท TTCL Vietnam Corporation Ltd. 2548-ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท Bio Natural Energy Co., Ltd. ประธานกรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : 14 แห่ง (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : 34,161,134 หุ้น คิดเป็น 6.10% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 การประชุมคณะกรรมการ : 5 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง (100%) ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : ไม่ได้เข้าร่วมประชุมเนื่องจากติดภารกิจ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริษัทฯ ได้พิจารณาตามความเห็นของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนแล้ว เห็นว่า นายฮิโรโนบุ อิริยา มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับบริษัท พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานของบริษัทฯ และสามารถช่วยพัฒนาบริษัทฯ ได้ จึงเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งเป็นประธานกรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ของบริษัทฯ
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
029
030
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
กรรมการบริษัท นายพิริยะ ว่องพยาบาล
รองประธานกรรมการบริษัทและที่ปรึกษาทั่วไป
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นายพิริยะ ว่องพยาบาล ประเภทกรรมการที่จะเสนอแต่งตั้ง : รองประธานกรรมการบริษัทและที่ปรึกษาทั่วไป ตำ�แหน่งปัจจุบัน : รองประธานกรรมการบริษัทและที่ปรึกษาทั่วไป (กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท) อายุ : 65 ปี สัญชาติ : ไทย คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมาชิกสภาวิศวกรรมเลขที่ ก24300 การอบรมหลักสูตรกรรมการ : 25 กรกฎาคม 2551 Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : 8 ปี (2551-ปัจจุบัน) ประสบการณ์การทำ�งาน : 2554-ปัจจุบัน ที่ปรึกษาทั่วไป บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2552-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท TTCL Vietnam Corporation Ltd. 2548-ปัจจุบัน รองประธานกรรมการบริษัท บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : 1 แห่ง (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : 6,444,000 หุ้น คิดเป็น 1.15% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 การประชุมคณะกรรมการ : 4 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง (80%) ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : 1 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 1 ครั้ง (100%) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริ ษั ท ฯ ได้ พิ จ ารณาตามความเห็ น ของคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนแล้ ว เห็ น ว่ า นายพิ ริ ย ะ ว่ อ งพยาบาล มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว น ตามข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท พระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบั ญ ญั ติบ ริ ษั ท มหาชนจำ � กั ด พ.ศ. 2535 และมี ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ใ นธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และสามารถช่ ว ยพั ฒ นาบริ ษั ท ฯ ได้ จึ ง เหมาะสมในการดำ � รงตำ � แหน่ ง เป็ น รองประธานกรรมการบริษัท และที่ปรึกษาทั่วไปของบริษัทฯ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
031
กรรมการบริษัท นายมาโกโต ฟู ซายามา กรรมการบริษัท
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นายมาโกโต ฟูซายามา ประเภทกรรมการที่จะเสนอแต่งตั้ง : กรรมการบริษัท ตำ�แหน่งปัจจุบัน : กรรมการบริษัท (กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท) อายุ : 66 ปี สัญชาติ : ญี่ปุ่น คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรี คณะกฎหมาย มหาวิทยาลัยฮิโตะสึบะชิ ประเทศญี่ปุ่น การอบรมหลักสูตรกรรมการ : 20 สิงหาคม 2551 Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : 8 ปี (2551-ปัจจุบัน) ประสบการณ์การทำ�งาน : 2557-ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท Toyo Engineering Corporation 2556 รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายหน่วยการวางแผนขององค์กร หน่วยทางกฎหมาย ฝ่ายกิจการทัว่ ไปและการพัฒนาความมัน่ คงของมนุษย์ ฝ่ายการเงินและบัญชี Toyo Engineering Corporation 2551-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2547-2556 เจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายจัดการและวางแผน Toyo Engineering Corporation ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : 1 แห่ง ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : ไม่มี (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : 1 แห่ง / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : ไม่มี ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 การประชุมคณะกรรมการ : 5 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง (100%) ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : ไม่ได้เข้าร่วมประชุมเนื่องจากติดภารกิจ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริษัทฯ ได้พิจารณาตามความเห็นของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนแล้ว เห็นว่า นายมาโกโต ฟูซายามา มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับบริษัท พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และ พระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชนจำ � กั ด พ.ศ. 2535 และมี ค วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ใ นธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การดำ�เนินงานของบริษทั ฯ และสามารถช่วยพัฒนาบริษทั ฯ ได้ จึงเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการบริษทั ของบริษทั ฯ
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
032
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
กรรมการบริษัท นางนิจพร จรณะจิตต์ กรรมการบริษัท
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นางนิจพร จรณะจิตต์ ประเภทกรรมการที่จะเสนอแต่งตั้ง : กรรมการบริษัท ตำ�แหน่งปัจจุบัน : กรรมการบริษัท (กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท) อายุ : 65 ปี สัญชาติ : ไทย คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาโท คณะบริหารธุรกิจ (สาขาการเงิน) มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การอบรมหลักสูตรกรรมการ : 2-22 มีนาคม 2548 Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : 8 ปี (2551-ปัจจุบนั ) ประสบการณ์การทำ�งาน : 2550-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริษัท บริษัท OHTL จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริษัท บริษัท อมารี จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริษัท โรงแรมอมารีและรีสอร์ท จำ�กัด กรรมการบริษัท กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท จรุงไทย ไวร์ แอนด์ เคเบิ้ล จำ�กัด (มหาชน) 2537-ปัจจุบัน กรรมการรองประธานบริหารอาวุโส บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล็อปเมนต์ จำ�กัด (มหาชน) 2526-2537 รองประธานกรรมการบริษัท บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล็อปเมนต์ จำ�กัด (มหาชน) 2522-2526 ผู้จัดการแผนกการเงิน บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล็อปเมนต์ จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : 4 แห่ง ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : 1 แห่ง (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : 1 แห่ง / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : 5,297,207 หุ้น คิดเป็น 0.95% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 การประชุมคณะกรรมการ : 4 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง (80%)
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น
: 1 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 1 ครั้ง (100%)
หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริษทั ฯ ได้พจิ ารณาตามความเห็นของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนแล้ว เห็นว่า นางนิจพร จรณะจิตต์ มีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามข้อบังคับบริษทั พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานของบริษัทฯ และ สามารถช่วยพัฒนาบริษัทฯ ได้ จึงเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการบริษัทของบริษัทฯ
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
033
034
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
กรรมการบริษัท นายทิวา จารึก
กรรมการบริษทั รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุ โส ฝ่ ายโครงการ ฝ่ ายประมู ลงาน และฝ่ ายวิศวกรรม กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นายทิวา จารึก ประเภทกรรมการที่จะเสนอแต่งตั้ง : กรรมการบริษัทและรองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายโครงการ ฝ่ายประมูลงานและฝ่ายวิศวกรรม กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล ตำ�แหน่งปัจจุบัน : กรรมการบริษัทและรองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายโครงการ ฝ่ายประมูลงานและฝ่ายวิศวกรรม กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล (กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท) อายุ : 62 ปี สัญชาติ : ไทย คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การอบรมหลักสูตรกรรมการ : 22 กุมภาพันธ์ 2551 Director Accreditation Program (DAP) 24 กรกฎาคม 2550 Finance for Non - Finance Director (FND) 10 กรกฎาคม 2550 Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : 8 ปี (2551-ปัจจุบัน) ประสบการณ์การทำ�งาน : 2557-ปัจจุบัน กรรมการบริษทั และรองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอาวุโส ฝ่ายโครงการ ฝ่ายประมูลงานและฝ่ายวิศวกรรม กรรมการบรรษัทภิบาล บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2556-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท TTCL Power Holdings Pte. Ltd. 2556 กรรมการบริษทั และรองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอาวุโส ฝ่ายโครงการและฝ่ายประมูลงาน ธุรกิจปิโตรเคมี และโรงกลั่น และหน่วยงานเฉพาะกิจ บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2554-ปัจจุบัน กรรมการบริษัทและรองกรรมการผู้จัดการ TTCL Malaysia Sdn. Bhd. 2554-2555 กรรมการบริษทั และรองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอาวุโส ฝ่ายโครงการ ฝ่ายประมูลงานและฝ่ายวิศวกรรม บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2553-ปัจจุบัน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2552-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท บริษัท โกลบอล นิว เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด 2551-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท TTCL Vietnam Corporation Ltd.
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : 4 แห่ง (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : 6,924,300 หุ้น คิดเป็น 1.24% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 การประชุมคณะกรรมการ : 4 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง (80%) คณะกรรมการสรรหา : 2 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 3 ครั้ง (75%) และพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล : 3 ครั้ง จาการประชุมทั้งหมด 3 ครั้ง (100%) ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : ไม่ได้เข้าร่วมประชุมเนื่องจากติดภารกิจ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริษัทฯ ได้พิจารณาตามความเห็นของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนแล้ว เห็นว่า นายทิวา จารึก มีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามข้อบังคับบริษัท พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และมีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานของบริษัทฯ และสามารถช่ ว ยพั ฒ นาบริ ษั ท ฯ ได้ จึ ง เหมาะสมในการดำ � รงตำ � แหน่ ง เป็ น กรรมการบริ ษั ท และรองประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริ ห ารอาวุ โ ส ฝ่ า ยโครงการ ฝ่ า ยประมู ล งานและฝ่ า ยวิ ศ วกรรม กรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนและ กรรมการบรรษัทภิบาลของบริษัทฯ
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
035
036
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
กรรมการบริษัท นายโนริมาซา มัตสึโอกะ กรรมการบริษัท
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นายโนริมาซา มัตสึโอกะ ประเภทกรรมการที่จะเสนอแต่งตั้ง : กรรมการบริษัท ตำ�แหน่งปัจจุบัน : กรรมการบริษัท อายุ : 55 ปี สัญชาติ : ญี่ปุ่น คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรี คณะนิติศาสตร์ (สาขารัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเคโอ ประเทศญี่ปุ่น การอบรมหลักสูตรกรรมการ : 7 มีนาคม 2557 Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : 2 ปี 4 เดือน 17 วัน (14 สิงหาคม 2556-ปัจจุบัน) ประสบการณ์การทำ�งาน : 2556-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) รองหัวหน้า ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ Chiyoda Corporation 2555 ผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ 1 Chiyoda Corporation 2553 รองผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ ผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายพัฒนาธุรกิจตลาดเอเซีย Chiyoda Corporation 2545 ผูจ้ ดั การทัว่ ไป ฝ่ายพัฒนาธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี Chiyoda Corporation 2543 ผูจ้ ดั การ กลุม่ งานพัฒนาธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี Chiyoda Corporation ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : 1 แห่ง ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : ไม่มี (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : ไม่มี ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 การประชุมคณะกรรมการ : 5 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง (100%) ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : 1 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 1 ครั้ง (100%) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริษัทฯ ได้พิจารณาตามความเห็นของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนแล้ว เห็นว่า นายโนริมาซา มัตสึโอกะ มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับบริษัท พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และ พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการ ดำ � เนิ นงานของบริ ษัท ฯ และสามารถช่ ว ยพั ฒ นาบริ ษั ท ฯ ได้ จึ ง เหมาะสมในการดำ � รงตำ � แหน่ ง เป็ น กรรมการบริ ษั ท ของ บริษัทฯ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
037
กรรมการบริษัท นายศิวะรักษ์ พินิจารมณ์
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ
ชื่อและนามสกุล : นายศิวะรักษ์ พินิจารมณ์ ประเภทกรรมการที่จะเสนอแต่งตั้ง : กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ ตำ�แหน่งปัจจุบัน : กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ อายุ : 65 ปี สัญชาติ : ไทย คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาโท คณะบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยมินนิโซต้า ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประกาศนียบัตรด้านวิชาชีพบัญชี California Certified Public Accountant Internal Revenue Service Enrolled Agent Certified Internal Auditor Certified Fraud Examiner University of California, Los Angeles, U.S.A. ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษีอากร H&R Block Tax Training School, California, U.S.A. การอบรมหลักสูตรกรรมการ : 10-11 มิถุนายน 2558 Chartered Director Class (CDC) 24-25 เมษายน 2557 How to Measure the Success of Corporate Strategy (HMS) 3-4 มีนาคม 2557 Successful Formulation and Execution of Strategy (SFE) 14-15 ตุลาคม 2552 Role of the Chairman Program (RCP) 14-15 กุมภาพันธ์ 2550 Audit Committee Program (ACP) 21 พฤษภาคม-18 มิถนุ ายน 2547 Director Certificate Program (DCP) 17 พฤษภาคม 2547 Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : 8 ปี (2551-ปัจจุบัน) ประสบการณ์การทำ�งาน : 2556-ปัจจุบัน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท เอ พลัส เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำ�กัด (มหาชน) 2553-ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท Ini3 Digital จำ�กัด (มหาชน) 2552-ปัจจุบัน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท เอื้อวิทยา จำ�กัด (มหาชน) 2551-ปัจจุบัน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : 3 แห่ง ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : ไม่มี (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการทีแ่ ข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
038
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
การถือหุ้นในบริษัทฯ : 104,670 หุ้น คิดเป็น 0.02% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 การประชุมคณะกรรมการ : 5 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง (100%) คณะกรรมการตรวจสอบ : 5 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง (100%) ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : 1 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 1 ครั้ง (100%) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริ ษั ท ฯ ได้ พิ จ ารณาตามความเห็ น ของคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนแล้ ว เห็ น ว่ า นายศิ ว ะรั ก ษ์ พิ นิ จ ารมณ์ มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว นตามนิ ย ามกรรมการอิ ส ระ ข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท พระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชนจำ � กั ด พ.ศ. 2535 และมี ค วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ใ นธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และสามารถช่ ว ยพั ฒ นาบริ ษั ท ฯ ได้ จึ ง เหมาะสม ในการดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
039
กรรมการบริษัท นายก�ำธร อุ ทารวุ ฒิพงศ์
กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์ ประเภทกรรมการที่จะเสนอแต่งตั้ง : กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล ตำ�แหน่งปัจจุบัน : กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล อายุ : 75 ปี สัญชาติ : ไทย คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมโรงงาน) สถาบันดัมสตัดท์ ประเทศเยอรมนี ปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ (สาขาเคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การอบรมหลักสูตรกรรมการ : 27 พฤศจิกายน 2558 Ethical Leadership Program (ELP) 17, 24 กันยายน 2558 Risk Management Program for Coporate Leaders (RCL) 17-18 มีนาคม 2558 Director Certification Program Update (DCPU) 29 ตุลาคม 2557 Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) 13 มกราคม-10 มีนาคม 2557 Directors Certification Program (DCP) 13-14 มิถุนายน 2556 Role of the Compensation Committee (RCC) 25 มิถนุ ายน 2552 Monitoring of the Quality of Financial Reporting (MFR) 21 พฤศจิกายน 2551 Monitoring the Internal Audit Function (MIA) 27 ตุลาคม 2551 Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) 26 กันยายน 2551 Director Accreditation Program (DAP) 21-22 สิงหาคม 2551 Audit Committee Program (ACP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : 8 ปี (2551-ปัจจุบัน) ประสบการณ์การทำ�งาน : 2553-ปัจจุบัน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2551-ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : ไม่มี (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : 114,700 หุ้น คิดเป็น 0.02% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
040
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัตติ อ้ งห้ามตามพระราชบัญญัต ิ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 การประชุมคณะกรรมการ : 5 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง (100%) คณะกรรมการตรวจสอบ : 5 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง (100%) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน : 3 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 3 ครั้ง (100%) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง : 4 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 4 ครั้ง (100%) คณะกรรมการบรรษัทภิบาล : 3 ครั้ง จาการประชุมทั้งหมด 3 ครั้ง (100%) ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : 1 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 1 ครั้ง (100%) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริ ษั ท ฯ ได้ พิ จ ารณาตามความเห็ น ของคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนแล้ ว เห็ น ว่ า นายกำ � ธร อุ ท ารวุ ฒิ พ งศ์ มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว นตามนิ ย ามกรรมการอิ ส ระ ข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท พระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชนจำ � กั ด พ.ศ. 2535 และมี ค วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ และสามารถช่วยพัฒนาบริษทั ฯ ได้ จึงเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่ง เป็นกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการบรรษัทภิบาลของบริษัทฯ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
041
กรรมการบริษัท นายริวโซ นางาโอคะ
กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นายริวโซ นางาโอคะ ประเภทกรรมการที่จะเสนอแต่งตั้ง : ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ตำ�แหน่งปัจจุบัน : ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ อายุ : 80 ปี สัญชาติ : ญี่ปุ่น คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาเอก คณะวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเคโอ ประเทศญี่ปุ่น การอบรมหลักสูตรกรรมการ : 1-7 พฤศจิกายน 2558 Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) 20 สิงหาคม 2551 Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : 8 ปี (2551-ปัจจุบัน) ประสบการณ์การทำ�งาน : 2553-ปัจจุบัน ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2551-ปัจจุบนั กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2547-ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ Nagaoka & Associates Inc. ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : 1 แห่ง (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : 100,000 หุ้น คิดเป็น 0.02% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 การประชุมคณะกรรมการ : 5 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง (100%) คณะกรรมการตรวจสอบ : 5 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง (100%) คณะกรรมการสรรหา : 3 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 3 ครั้ง (100%) และพิจารณาค่าตอบแทน ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : 1 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 1 ครั้ง (100%) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริ ษั ท ฯ ได้ พิ จ ารณาตามความเห็ น ของคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนแล้ ว เห็ น ว่ า นายริ ว โซ นางาโอคะ มีคุณสมบัติครบถ้วนตามนิยามกรรมการอิสระ ข้อบังคับบริษัท พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบั ญญั ติบ ริ ษั ท มหาชนจำ � กั ด พ.ศ. 2535 และมี ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ใ นธุ ร กิ จ ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานของบริษัทฯ และสามารถช่วยพัฒนาบริษัทฯ ได้ จึงเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งเป็นประธานคณะ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
042
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
กรรมการบริหาร นางสาวกรรติกา ตันธุ วนิตย์
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุ โส ฝ่ ายบริหารงานทั่วไป คณะกรรมการบรรษัทภิบาล เลขานุการบริษัท
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ ตำ�แหน่งปัจจุบัน : รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายบริหารงานทั่วไป กรรมการบรรษัทภิบาล เลขานุการบริษัท อายุ : 61 ปี สัญชาติ : ไทย คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Postgraduate คณะบริหารธุรกิจ Center for Marketing and Management Studies, กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การอบรมหลักสูตรกรรมการ : 4-5 กันยายน 2551 Effective Minute Taking (EMT) 7-8 สิงหาคม 2551 Company Secretary Program (CSP) 22 กุมภาพันธ์ 2551 Director Accreditation Program (DAP) 24 กรกฎาคม 2550 Finance for Non - Finance Director (FND) 10 กรกฎาคม 2550 Understanding the Fundamental of Financial Statement (UFS) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : ไม่มี ประสบการณ์การทำ�งาน : 2557-ปัจจุบัน รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายบริหารงานทั่วไป กรรมการบรรษัทภิบาล บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) กรรมการบริษัท TTCL New Energy Pte. Ltd. 2556-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท TTCL Power Holdings Pte. Ltd. 2554-ปัจจุบัน กรรมการบริษัทและผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายบริหารงานส่วนกลาง TTCL Malaysia Sdn. Bhd. 2554-2556 รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายบริหารงานทั่วไป และฝ่ายการเงิน บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2551-ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2550-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท บริษัท โกลบอล บิสซิเนส แมเนจเมนท์ จำ�กัด 2549-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท TTCL Vietnam Corporation Ltd. ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : 5 แห่ง (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
การถือหุ้นในบริษัทฯ : 9,458,041 หุ้น คิดเป็น 1.69% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 การประชุมคณะกรรมการ : 5 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง (100%) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน : 3 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 3 ครั้ง (100%) คณะกรรมการบรรษัทภิบาล : 3 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 3 ครั้ง (100%) ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : 1 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 1 ครั้ง (100%) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริ ษั ท ฯ ได้ พิ จ ารณาตามความเห็ น ของคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนแล้ ว เห็ น ว่ า นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับบริษัท พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในธุรกิจ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และสามารถช่ ว ยพั ฒ นาบริ ษั ท ฯ ได้ จึ ง เหมาะสมในการดำ � รงตำ � แหน่ ง เป็ น รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายบริหารงานทั่วไป กรรมการบรรษัทภิบาลและเลขานุการบริษัทของบริษัทฯ
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
043
044
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
กรรมการบริหาร นายเสน่ห์ ภูริสัตย์
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุ โส ฝ่ ายวิศวกรรม ฝึ กอบรม และหน่วยงานเฉพาะกิจ กรรมการบริหารความเสี่ยง
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นายเสน่ห์ ภูริสัตย์ ตำ�แหน่งปัจจุบัน : รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายวิศวกรรม ฝึกอบรม และหน่วยงานเฉพาะกิจ กรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ : 62 ปี สัญชาติ : ไทย คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ การอบรมหลักสูตรกรรมการ : ไม่มี จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : ไม่มี ประสบการณ์การทำ�งาน : 2557-ปัจจุบัน รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายวิศวกรรม ฝึกอบรม และหน่วยงานเฉพาะกิจ บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2556 รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายวิศวกรรม ธุรกิจพลังงาน หน่วยงานฝึกอบรม และหน่วยงานเฉพาะกิจ บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2555 รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสำ�นักผูช้ �ำ นาญการด้าน เทคนิค ฝ่ายวิศวกรรม และฝ่ายประมูลงาน บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2554 รองประธานฝ่ายวิศวกรรม บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2553-ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : ไม่มี (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : 1,700,750 หุ้น คิดเป็น 0.31% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง : 4 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 4 ครั้ง (100%) ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : 1 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 1 ครั้ง (100%) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริษัทฯ ได้พิจารณาตามความเห็นของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนแล้ว เห็นว่า นายเสน่ห์ ภูริสัตย์ มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับบริษัท พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานของบริษัทฯ และสามารถช่วยพัฒนาบริษัทฯ ได้ จึงเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งเป็นรองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายวิศวกรรม ฝึกอบรม และหน่วยงานเฉพาะกิจ และกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
045
กรรมการบริหาร นางสุรัตนา ตฤณรตนะ
ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นางสุรัตนา ตฤณรตนะ ตำ�แหน่งปัจจุบัน : ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ : 51 ปี สัญชาติ : ไทย คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การอบรมหลักสูตรกรรมการ : 24 กันยายน 2558 Risk Management Program for Corporate Leaders (RCL) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : ไม่มี ประสบการณ์การทำ�งาน : ปัจจุบัน กรรมการบริษัทและกรรมการผู้จัดการ TTCL Myanmar Engineering & Construction Co., Ltd. 2557-ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) กรรมการบริษัท TTCL New Energy Pte. Ltd. 2556-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท TTCL Coal Power Pte. Ltd. กรรมการบริษัท TTCL Solar Power Pte. Ltd. กรรมการบริษัท TTCL Power Holdings Pte. Ltd. 2556 รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารและประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ ประธานธุรกิจพลังงาน บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2555-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท TTCL Gas Power Co., Ltd. กรรมการบริษัทและกรรมการผู้จัดการ Toyo Thai Power Myanmar Co., Ltd. กรรมการบริษัทและกรรมการผู้จัดการ Toyo Thai-Myanmar Corporation Co., Ltd. 2555 รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารสำ�นักผู้ชำ�นาญการด้านบริหารจัดการ ฝ่ายขายและฝ่ายจัดซื้อจัดหา บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) 2554-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท Toyo Thai-USA Corporation กรรมการบริษัทและผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายขายและฝ่ายจัดซื้อจัดหา TTCL Malaysia Sdn. Bhd. กรรมการบริษัท บริษัท โกลบอล นิว เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด 2553-ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
046
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : 11 แห่ง (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : 13,235,948 หุ้น คิดเป็น 3% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง : 4 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 4 ครั้ง (100%) ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : ไม่ได้เข้าร่วมประชุมเนื่องจากติดภารกิจ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริ ษั ท ฯ ได้ พิ จ ารณาตามความเห็ น ของคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนแล้ ว เห็ น ว่ า นางสุรัตนา ตฤณรตนะ มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับบริษัท พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และมีความรูค้ วามสามารถ ประสบการณ์ในธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงาน ของบริษัทฯ และสามารถช่วยพัฒนาบริษัทฯ ได้ จึงเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งเป็นประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
047
กรรมการบริหาร นายวันชั ย รตินธร
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ ายด�ำเนินการโครงการ กรรมการบริหารความเสี่ยง
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นายวันชัย รตินธร ตำ�แหน่งปัจจุบัน : รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายดำ�เนินงานโครงการ กรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ : 50 ปี สัญชาติ : ไทย คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การอบรมหลักสูตรกรรมการ : ไม่มี จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : ไม่มี ประสบการณ์การทำ�งาน : 2557-ปัจจุบัน รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายดำ�เนินการโครงการ บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2556 รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายก่อสร้างและการทดสอบระบบของเครื่องจักร ประธานธุรกิจปิโตรเคมีและโรงกลั่น บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2555 รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสำ�นักผูช้ �ำ นาญการด้านปฏิบตั กิ าร ฝ่ายก่อสร้างและการทดสอบระบบการทำ�งานของเครื่องจักร ฝ่ายโครงการก่อสร้าง บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2554-ปัจจุบัน กรรมการบริษัทและผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายโครงการ และฝ่ายประมูลงาน TTCL Malaysia Sdn. Bnd. 2554-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท TTCL Gas Power Pte. Ltd. 2554 รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ฝ่ายโครงการและฝ่ายประมูลงาน บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2553-ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : 2 แห่ง (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : 4,300,000 หุ้น คิดเป็น 0.77% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
048
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง : 4 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 4 ครั้ง (100%) ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : 1 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 1 ครั้ง (100%) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริ ษั ท ฯ ได้ พิ จ ารณาตามความเห็ น ของคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนแล้ ว เห็ น ว่ า นายวันชัย รตินธร มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับบริษัท พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงาน ของบริ ษั ท ฯ และสามารถช่ ว ยพั ฒ นาบริ ษั ท ฯ ได้ จึ ง เหมาะสมในการดำ � รงตำ � แหน่ ง เป็ น รองประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร ฝ่ายดำ�เนินการโครงการ และกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
049
กรรมการบริหาร นายฮิเดโตะ โคยาม่า รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ ายขาย และพัฒนาธุ รกิจ
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นายฮิเดโตะ โคยาม่า ตำ�แหน่งปัจจุบัน : รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายขาย และพัฒนาธุรกิจ อายุ : 50 ปี สัญชาติ : ญี่ปุ่น คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิศวกรรมสถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัย Tokyo University of Science ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย Tokyo University of Science การอบรมหลักสูตรกรรมการ : ไม่มี จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : ไม่มี ประสบการณ์การทำ�งาน : ปัจจุบัน กรรมการบริษัท Global New Energy Tsuno Co., Ltd. กรรมการบริษัท Global New Energy Togo Co., Ltd. กรรมการบริษัท บริษัท ไฮเกรด เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด 2557-ปัจจุบัน รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายขาย และพัฒนาธุรกิจ บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2556-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท TTCL Coal Power Pte. Ltd. กรรมการบริษัท TTCL Solar Power Pte. Ltd. กรรมการบริษัท Siam GNE Solar Energy Co., Ltd. กรรมการบริษัท Global New Energy Japan Co., Ltd. 2553-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท Global New Energy Co., Ltd. ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : 8 แห่ง (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : 4,337,360 หุ้น คิดเป็น 0.78% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : 1 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 1 ครั้ง (100%) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริษัทฯ ได้พิจารณาตามความเห็นของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนแล้ว เห็นว่า นายฮิเดโตะ โคยาม่า มีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามข้อบังคับบริษทั พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ และสามารถ ช่วยพัฒนา บริษทั ฯ ได้ จึงเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งเป็นรองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ฝ่ายขาย และพัฒนาธุรกิจของบริษทั ฯ
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
050
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
กรรมการบริหาร นายกอบชั ย ธนสุกาญจน์
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ ายการเงินและบัญชี และนักลงทุนสัมพันธ์ กรรมการบริหารความเสี่ยง
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นายกอบชัย ธนสุกาญจน์ ตำ�แหน่งปัจจุบัน : รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายการเงินและบัญชี และนักลงทุนสัมพันธ์ กรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ : 51 ปี สัญชาติ : ไทย คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาโท คณะบริหารธุรกิจ (การเงิน) Florida Public & Business Administration Academy ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ (การเงิน) Florida Public & Business Administration Academy ประเทศสหรัฐอเมริกา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร การอบรมหลักสูตรกรรมการ : 18-19 พฤศจิกายน 2558 Company Secretary Program (CSP) 27-28 พฤศจิกายน 2557 Anti Corruption : The Practical Guide(ACPG) 4 พฤศจิกายน 2557 Company Reporting Program(CRP) 24 กรกฎาคม 2557 Board Reporting Program(BRP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : ไม่มี ประสบการณ์การทำ�งาน : 2557-ปัจจุบัน รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายการเงินและบัญชี และนักลงทุนสัมพันธ์ บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) กรรมการบริษัท TTCL New Energy Pte. Ltd. 2556-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท TTCL Coal Power Pte. Ltd. กรรมการบริษัท TTCL Solar Power Pte. Ltd. 2555-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท TTCL Gas Power Pte Ltd. 2554-ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2554-2556 ผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายการเงินและฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : 4 แห่ง (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : 2,500,000 หุ้น คิดเป็น 0.45% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชน จำ�กัด พ.ศ. 2535
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 และพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง : 4 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 4 ครั้ง (100%) ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : 1 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 1 ครั้ง (100%) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริ ษั ท ฯ ได้ พิ จ ารณาตามความเห็ น ของคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนแล้ ว เห็ น ว่ า นายกอบชัย ธนสุกาญจน์ มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับบริษัท พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงาน ของบริษัทฯ และสามารถช่วยพัฒนาบริษัทฯ ได้ จึงเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งเป็นรองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายการเงิน และบัญชี และนักลงทุนสัมพันธ์ และกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
051
052
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
กรรมการบริหาร นายยู คิโอ โกเบ
ผู ้อ�ำนวยการ ฝ่ ายวิศวกรรม และฝ่ ายด�ำเนินการโครงการ
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นายยูคิโอ โกเบ ตำ�แหน่งปัจจุบัน : ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายวิศวกรรม และฝ่ายดำ�เนินการโครงการ อายุ : 56 ปี สัญชาติ : ญี่ปุ่น คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยคิวซู ประเทศญี่ปุ่น การอบรมหลักสูตรกรรมการ : ไม่มี จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : ไม่มี ประสบการณ์การทำ�งาน : 2557-ปัจจุบัน ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายวิศวกรรม และฝ่ายดำ�เนินการโครงการ บริษัท ทีีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2556 ผู้อำ�นวยการ ธุรกิจปิโตรเคมีและโรงกลั่น ธุรกิจพลังงาน หน่วยงานการขายและพัฒนาธุรกิจ บริษัท ทีีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2555 ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายประมูลงาน และฝ่ายขาย บริษัท ทีีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2554 ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายวิศวกรรม บริษัท ทีีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : ไม่มี (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : 1,139,389 หุ้น คิดเป็น 0.20% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : 1 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 1 ครั้ง (100%) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริษัทฯ ได้พิจารณาตามความเห็นของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนแล้ว เห็นว่า นายยูคิโอ โกเบ มีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามข้อบังคับบริษทั พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ และสามารถ ช่วยพัฒนาบริษทั ฯ ได้ จึงเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งเป็นผูอ้ �ำ นวยการ ฝ่ายวิศวกรรม และฝ่ายดำ�เนินการโครงการของบริษทั ฯ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
053
กรรมการบริหาร นางสาวพรจันทร์ เกษจุ ฬาศรีโรจน์
ผู ้อ�ำนวยการ ฝ่ ายวิศวกรรม ฝ่ ายด�ำเนินการโครงการ และฝ่ ายขายและพัฒนาธุ รกิจ
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อและนามสกุล : นางสาวพรจันทร์ เกษจุฬาศรีโรจน์ ตำ�แหน่งปัจจุบัน : ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายดำ�เนินการโครงการ และฝ่ายขายและพัฒนาธุรกิจ อายุ : 52 ปี สัญชาติ : ไทย คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การอบรมหลักสูตรกรรมการ : ไม่มี จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการ : ไม่มี ประสบการณ์การทำ�งาน : 2557-ปัจจุบัน ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายดำ�เนินการโครงการ และฝ่ายขายและพัฒนาธุรกิจ บริษัท ทีีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2556-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท Siam GNE Solar Energy Co., Ltd. 2556 ผู้อำ�นวยการ ธุรกิจปิโตรเคมีและโรงกลั่น ธุรกิจพลังงาน หน่วยงานการขายและพัฒนาธุรกิจ บริษัท ทีีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2555 ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายประมูลงาน และฝ่ายขาย บริษัท ทีีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) 2554 ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายวิศวกรรม บริษัท ทีีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น : ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการอื่น : 1 (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการที่แข่งขัน : ไม่มี / เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ การถือหุ้นในบริษัทฯ : 1,362,000 หุ้น คิดเป็น 0.25% ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ข้อพิพาททางกฎหมายที่เป็นคดีอาญา : ไม่มี ในศาลที่ไม่ใช่คดีลหุโทษ คุณสมบัติต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ : ไม่มี บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 การเข้าร่วมประชุมในรอบปี 2558 ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น : 1 ครั้ง จากการประชุมทั้งหมด 1 ครั้ง (100%) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา บริษัทฯ ได้พิจารณาตามความเห็นของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนแล้ว เห็นว่า นางสาวพรจันทร์ เกษจุฬาศรีโรจน์ มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับบริษัท พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และ พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงาน ของบริษทั ฯ และสามารถช่วยพัฒนาบริษทั ฯ ได้ จึงเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งเป็นผูอ้ �ำ นวยการ ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายดำ�เนินการ โครงการ และฝ่ายขายและพัฒนาธุรกิจของบริษัทฯ
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
054
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ขอบเขต อำ�นาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ คณะกรรมการบริษัท
รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการของบริษัทประกอบด้วย
รายชื่อ
ตำ�แหน่ง
1. นายฮิโรโนบุ อิริยา
ประธานกรรมการบริษัท
2. นายพิริยะ ว่องพยาบาล
รองประธานกรรมการบริษัท
3. นางนิจพร จรณะจิตต์
กรรมการบริษัท
4. นายมาโกโต ฟูซายามา
กรรมการบริษัท
5. นายทิวา จารึก
กรรมการบริษัท
6. นายโนริมาซา มัตสึโอกะ
กรรมการบริษัท
7. นายศิวะรักษ์ พินิจารมณ์
กรรมการอิสระ
8. นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์
กรรมการอิสระ
9. นายริวโซ นางาโอคะ
กรรมการอิสระ
นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ ทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการบริษัท กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท เป็นดังนี้ นายฮิโรโนบุ อิรยิ า, นางนิจพร จรณะจิตต์, นายมาโกโต ฟูซายามา, นายพิริยะ ว่องพยาบาล, นายทิวา จารึก กรรมการ สองในห้าคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำ�คัญ บริษัท ขอบเขต อำ � นาจหน้ า ที่ และความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการบริษัท 1. ดูแลและจัดการบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับและมติของที่ประชุม ผู้ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของบริษัท 2. กำ � หนดทิ ศ ทางและเป้ า หมายเชิ ง กลยุ ท ธ์ ในภาพรวมของบริษัท รวมทั้งพิจารณาอนุมัติ นโยบายและทิศทางการดำ�เนินงานของบริษัท ตามที่ฝ่ายจัดการเสนอ และกำ�กับควบคุมดูแล ให้ฝา่ ยจัดการดำ�เนินการให้เป็นไปตามนโยบาย ที่ได้รับการอนุมัติไว้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล เพื่อรักษาผลประโยชน์ของบริษัท และผู้ถือหุ้น
3. ติ ด ตามการดำ� เนิ น กิ จ การของบริ ษั ท ตลอดเวลา เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า กรรมการที่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห าร และ ฝ่ายจัดการดำ�เนินกิจการตามกฎหมายและนโยบาย ที่วางไว้ 4. ดำ�เนินการให้ ทีทีซีแอล มีระบบบัญชี การรายงาน ทางการเงินและการสอบบัญชี รวมทั้งดูแลให้มี ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 5. แต่งตัง้ กรรมการบริหาร กรรมการตรวจสอบ และ/ หรือกรรมการอื่นๆ เลขานุการบริษัทตามความ เหมาะสมและความจำ�เป็นเพือ่ ดูแลจัดการเฉพาะกิจ เพื่อประโยชน์ของบริษัท และดูแลระบบบริหาร ให้เป็นไปตามนโยบายที่กำ�หนดไว้้ 6. มอบหมายให้ ก รรมการคนหนึ่ ง หรื อ หลายคน ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งแทนคณะกรรมการ 7. พิจารณาอนุมัติบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ ชุ ด ย่ อ ยต่ า งๆ ตลอดจนการเปลี่ ย นแปลง ในองค์ ป ระกอบ รวมทั้ ง การเปลี่ ย นแปลงที่ มี
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
8.
9.
10. 11. 12. 13.
นัยสำ�คัญต่อการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ชุดย่อยทีไ่ ด้แต่งตัง้ ขึน้ จัดให้มีการถ่วงดุลอำ�นาจของฝ่ายจัดการ และ/ หรือ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ให้อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม โดยให้ความสำ�คัญต่อสัดส่วนหรือจำ�นวนของ กรรมการอิสระในคณะกรรมการของบริษทั ด้วย ดูแลให้มีกระบวนการในการจัดส่งข้อมูลเพื่อ ให้คณะกรรมการได้รับข้อมูลจากฝ่ายจัดการ อย่างเพียงพอทีจ่ ะทำ�ให้สามารถปฏิบตั ติ ามอำ�นาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบได้อย่างสมบูรณ์์ กำ � หนดให้ ก รรมการต้ อ งเข้ า ร่ ว มประชุ ม อย่ า งน้ อ ยที่ สุ ด กึ่ ง หนึ่ ง ของจำ � นวนครั้ ง ของ การประชุมที่จัดขึ้นในแต่ละปี พิ จ ารณากำ � หนดและแก้ ไ ขเปลี่ ย นแปลงชื่ อ กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการภายใต้กรอบ ที่ได้รับอนุมัติจากผู้ถือหุ้น กำ�หนดทิศทางในภาพรวมของบริษทั ฯ เกีย่ วกับ การต่อต้านคอร์รปั ชัน่ และพิจารณาอนุมตั นิ โยบาย การต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั่ น ตามที่ ค ณะกรรมการ บรรษัทภิบาลเสนอ รวมถึงกำ�กับดูแลให้มรี ะบบ การต่อต้านคอร์รัปชั่นที่มีประสิทธิภาพ เพื่อ
ให้ มั่ น ใจว่ า ฝ่ า ยจั ด การได้ ต ระหนั ก และ ให้ความสำ�คัญกับการต่อต้านคอร์รัปชั่นและ ปลูกฝังจนเป็นวัฒนธรรมองค์กร อำ � นาจในการดำ � เนิ น การดั ง ต่ อ ไปนี้ จะกระทำ � ได้ ก็ต่อเมื่อได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อน ทั้งนี้เรื่องที่ กรรมการมีส่วนได้เสีย หรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อืน่ ใดกับบริษทั หรือบริษทั ย่อย ให้กรรมการซึง่ มีสว่ นได้สว่ นเสีย หรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ดงั กล่าวไม่มสี ทิ ธิออกเสียง ลงคะแนนในเรื่องนั้น (ก) เรือ่ งทีก่ ฎหมายกำ�หนดให้ตอ้ งได้รบั มติอนุมตั ขิ อง ที่ประชุมผู้ถือหุ้น (ข) การทำ � รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น และการซื้ อ ขาย สิ น ทรั พ ย์ ที่ สำ � คั ญ ตามกฎเกณฑ์ ข องตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือตามที่หน่วย ราชการอื่นๆ กำ�หนด คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการบริหาร เพื่ อ ทำ � หน้ า ที่ แ บ่ ง เบาภาระ ของคณะกรรมการบริ ษั ท ในส่ ว นที่ เ ป็ น งานบริ ห ารจั ด การและงานประจำ � เพื่ อ ให้ คณะกรรมการบริษัทมีเวลามากขึ้นกับงานในเชิงนโยบาย และงานกำ�กับดูแลฝ่ายบริหาร
รายชื่อคณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริหารของบริษัทประกอบด้วย
รายชื่อ 1. นายฮิโรโนบุ อิริยา 2. นายทิวา จารึก 3. นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ 4. นายเสน่ห์ ภูริสัตย์ 5. นางสุรัตนา ตฤณรตนะ 6. นายวันชัย รตินธร 7. นายฮิเดโตะ โคยาม่า 8. นายกอบชัย ธนสุกาญจน์ 9. นายยูคิโอ โกเบ 10. นางสาวพรจันทร์ เกษจุฬาศรีโรจน์
รายงานประจ�ำปี 2558
055
ตำ�แหน่ง
ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
056
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กั จำ�กัด (มหาชน)
ขอบเขต อำ � นาจหน้ า ที่ และความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการบริหาร 1. กำ � หนดและประกาศใช้ น โยบาย แนวทาง กลยุ ท ธ์ โครงสร้ า งองค์ ก ร และโครงสร้ า งการบริ ห ารจั ด การ ที่ เ หมาะสมกั บ สภาพเศรษฐกิ จ ปั จ จุ บั น และปั จ จั ย ในการแข่งขันเพื่อขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 2. กำ�หนดกลยุทธ์และงบประมาณประจำ�ปีเพือ่ ขออนุมตั จิ าก คณะกรรมการบริษัท และดูแลการดำ�เนินงานของทุกฝ่าย ในบริษัทฯ รวมทั้งยังสามารถอนุมัติ แก้ไข เปลี่ยนแปลง และเพิ่ ม เติ ม รายการใดๆ ในงบประมาณประจำ � ปี ของบริษทั ฯ ได้ (ในกรณีทมี่ คี วามจำ�เป็นเร่งด่วน) ก่อนได้รบั อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 3. กำ � หนดให้ มี ร ะบบและให้ ก ารส่ ง เสริ ม นโยบายต่ อ ต้ า น คอร์ รั ป ชั่ น เพื่ อ สื่ อ สารไปยั ง พนั ก งานและผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง ทุกฝ่าย 4. ติดตามผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ตามนโยบายที่ กำ�หนดและดูแลให้บริษทั ฯ ดำ�เนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ สูงสุดภายใต้สถานการณ์และสภาพแวดล้อมต่างๆ 5. ดูแลให้ผลการดำ�เนินงานเป็นไปตามแนวทางทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ 6. พิ จ ารณาการลงทุ น ที่ มี นั ย สำ � คั ญ เพื่ อ ขออนุ มั ติ จ าก คณะกรรมการบริษัท 7. มีอำ�นาจในการแต่งตั้ง/ปลดพนักงานในตำ�แหน่งต่ำ�กว่า กรรมการผู้จัดการใหญ่ 8. อนุ มั ติ แ ละเข้ า ร่ ว มการประมู ล รวมทั้ ง ทำ � สั ญ ญากั บ บุคคลอื่น 9. ปฏิบัติหน้าที่อ่ืนๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย
คณะกรรมการบริหารอาจมอบอำ�นาจในการทำ�ธุรกรรม ทางการเงินให้แก่พนักงานของบริษทั ฯ ระดับบริหารอืน่ ตามที่ เห็นสมควร การมอบอำ � นาจให้ แ ก่ ค ณะกรรมการบริ ห ารตามที่ ระบุ ไ ว้ ข้ า งต้ น ไม่ ร วมถึ ง กรณี ที่ อ าจเกิ ด ความขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ (ตามข้อบังคับของสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) เว้นแต่จะเป็นการ ทำ�ธุรกรรมที่มีราคาและเงื่อนไขเสมือนทำ�กับบุคคลภายนอก (การทำ�ธุรกรรมที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ บริษัทแล้วและเป็นธุรกิจตามปกติของบริษัทฯ ด้วยราคาและ เงื่อนไขที่เป็นธรรม)
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
เป็ น กรณี ไ ป และมี อำ � นาจอนุ มั ติ ก ารทำ � ธุ ร กรรมทาง การเงินต่อไปนี้ ก.) ในกรณี ที่ แ ผนธุ ร กิ จ หรื อ งบประมาณประจำ � ปี ได้ รั บ อนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการบริ ษั ท แล้ ว คณะกรรมการบริหารอาจดำ�เนินการดังกล่าวได้ โดยไม่มีข้อจำ�กัดทางการเงิน ข.) ในกรณีที่มิได้เป็นไปตามข้อ ก) คณะกรรมการ บริหารสามารถทำ�ธุรกรรมทางการเงินได้ภายใน วงเงินไม่เกิน 20 ล้านบาท อำ�นาจในการทำ�ธุรกรรม ท า ง ก า ร เ งิ น จ ะ ค ร อ บ ค ลุ ม ถึ ง ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ในการดำ�เนินงานประจำ�วัน ค่าใช้จา่ ยในการลงทุน สินทรัพย์ถาวร เงินกู้ เครื่องมือทางการเงินอื่นๆ และการประกั น ภั ย (ยกเว้ น การประมู ล งาน และการทำ � สั ญ ญาก่ อ สร้ า งซึ่ ง จะไม่ มี ข้ อ จำ � กั ด วงเงิน)
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
057
คณะผู้บริหาร 4 ลำ�ดับแรก และผู้เกี่ยวข้องทางการเงินและบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทมีผู้บริหารจำ�นวน 9 ท่าน ดังนี้
รายชื่อ 1. นายฮิโรโนบุ อิริยา 2. นายทิวา จารึก 3. นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ 4. นายเสน่ห์ ภูริสัตย์ 5. นางสุรัตนา ตฤณรตนะ 6. นายวันชัย รตินธร 7. นายฮิเดโตะ โคยาม่า 8. นายกอบชัย ธนสุกาญจน์ 9. นายจิตพล สิทธิศกั ดิ ์
ตำ�แหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายโครงการ ฝ่ายประมูลงาน และฝ่ายวิศวกรรม รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายบริหารงานทั่วไป รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายวิศวกรรม ฝึกอบรม และหน่วยงานเฉพาะกิจ ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายดำ�เนินงานโครงการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายขายและพัฒนาธุรกิจ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายการเงินและบัญชี และนักลงทุนสัมพันธ์ ผูบ้ ริหารงาน กลุม่ งานบัญชีของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย
ขอบเขต อำ�นาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของประธาน เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ 1. เป็นผู้บริหารจัดการและควบคุมดูแลการดำ�เนิน กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การบริ ห ารงานทั่ ว ไปของ บริษัท 2. ดำ � เนิ น การตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท หรื อ คณะกรรมการบริหารได้มอบหมาย 3. มีอำ�นาจจ้าง แต่งตั้ง โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง กำ�หนดอัตราค่าจ้าง ให้บำ�เหน็จรางวัล ปรับขึ้น เงินเดือน ค่าตอบแทน เงินโบนัส ของพนักงาน ทั้งหมดของบริษัทตลอดจนแต่งตั้งตัวแทนฝ่าย นายจ้างในคณะกรรมการกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ของบริษัท 4. มี อำ � นาจอนุ มั ติ แ ละมอบอำ � นาจช่ ว งอนุ มั ติ การเบิกจ่ายเพือ่ การจัดซือ้ จัดจ้างในส่วนงานบริหาร สำ�นักงานเพื่อประโยชน์ของบริษัท รวมทั้งอนุมัติ รายงานประจ�ำปี 2558
การดำ�เนินการทางการเงินเพื่อธุรกรรมต่างๆ ของ บริษัท ภายในวงเงินที่คณะกรรมการบริษัท หรือ คณะกรรมการบริหารให้อำ�นาจไว้ และมีอำ�นาจ ในการอนุมัติในวงเงินไม่เกิน 5 ล้านบาท สำ�หรับ รายการทีค่ ณะกรรมการหรือคณะกรรมการบริหาร มิได้อนุมัติไว้เป็นการเฉพาะ 5. มี อำ � นาจออกคำ � สั่ ง ระเบี ย บ ประกาศ บั น ทึ ก เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ง านเป็ น ไปตามนโยบายและ ผลประโยชน์ของบริษัท และเพื่อรักษาระเบียบ วินัยการทำ�งานภายในองค์กร 6. มีอ�ำ นาจกระทำ�การและแสดงตนเป็นตัวแทนบริษทั ต่อบุคคลภายนอกในกิจการที่เกี่ยวข้องและเป็น ประโยชน์ต่อบริษัท 7. อนุมัติการแต่งตั้งที่ปรึกษาด้านต่าง ๆ ที่จำ�เป็นต่อ การดำ�เนินงาน
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
058
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริษัท บริษทั มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทนเพื่อคัดเลือกบุคคลที่จะดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ของบริษัท โดยจะพิจารณาคัดสรรบุคคลผู้มีคุณวุฒิ ความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์การทำ�งานที่เกี่ยวข้องและมี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ ก ฎหมายกำ � หนด ตามมาตรา 68 แห่ ง พระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศ คณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ ประโยชน์ ต่ อ การดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ให้มีประสิทธิภาพ บริษัทได้กำ�หนดหลักเกณฑ์ในการแต่งตั้ง และถอดถอนกรรมการดังนี้ี 1) คณะกรรมการบริษัทต้องประกอบด้วยกรรมการ ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 20 คน โดยกรรมการ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด ต้องมีถนิ่ ทีอ่ ยูใ่ นราชอาณาจักร และกรรมการทุกคน จะต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำ�หนด 2) การเลือกตั้งคณะกรรมการบริษัทจะกระทำ�โดยที่ ประชุมผูถ้ อื หุน้ ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารดังต่อไปนี้ี 2.1 ผูถ้ อื หุน้ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุน้ ต่อหนึ่งเสียงตามจำ�นวนหุ้นที่ตนถือ
2.2 ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสียงทีม่ อี ยู่ ทัง้ หมดตาม (ก) เลือกตัง้ บุคคลคนเดียวหรือ หลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนน เสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 2.3 บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำ�ดับ ลงมาเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ เท่ า จำ � นวนกรรมการที่ จ ะพึ ง มี ห รื อ จะพึ ง เลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับ การเลือกตั้งในลำ�ดับถัดลงมามีคะแนนเสียง เท่ากันเกินจำ�นวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะ พึงเลือกตั้งในครั้งนั้นให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ ออกเสียงชี้ขาด 3) ในการประชุมสามัญประจำ�ปีทุกครั้ง ให้กรรมการ ออกจากตำ�แหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจำ�นวนกรรมการที่ จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ให้ออกโดย จำ�นวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 โดยกรรมการที่จะ ต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรกและปีทสี่ องให้ใช้วธิ ี จับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไป ให้กรรมการคนทีอ่ ยูใ่ นตำ�แหน่งนานทีส่ ดุ นัน้ เป็นผู้ ออกจากตำ�แหน่งกรรมการ กรรมการทีจ่ ะออกตาม วาระนีอ้ าจได้รบั เลือกเข้ามาดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ ก็ได้ 4) ในกรณีที่ตำ�แหน่งกรรมการว่างลง เพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการ เลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มี ลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายเข้าเป็นกรรมการ แทนในการประชุ ม คณะกรรมการคราวถั ด ไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน บุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าว จะอยู่ใน ตำ�แหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ ของกรรมการที่ตนแทน มติของคณะกรรมการ ในการเลื อ กกรรมการที่ ดำ � รงตำ � แหน่ ง แทน ต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวนกรรมการที่ยังเหลืออยูู่ 5) ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น อาจลงมติ ใ ห้ ก รรมการคนใด ออกจากตำ � แหน่ ง ก่ อ นถึ ง คราวออกตามวาระ ได้ดว้ ยคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวน ผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง มาประชุ ม และมี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งและ มีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวน หุ้ น ที่ ถื อ โดยผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ม าประชุ ม และมี สิ ท ธิ ออกเสียงในการประชุมนั้น
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
8. ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อื่ นๆ ตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทหรือ คณะกรรมการบริหาร เป็นคราวๆ ไป 9. กำ � หนดให้ มี ร ะบบและให้ ส่ ง เสริ ม นโยบาย ต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั่ น เพื่ อ สื่ อ สารไปยั ง พนั ก งาน และผู้เกี่ยวข้อง ทัง้ นี้ การมอบหมายอำ�นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการ ใหญ่น้ัน จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบอำ�นาจที่ทำ�ให้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ สามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้สว่ นเสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อื่นใดกับบริษัท หรือบริษัทย่อยของบริษัท (ตามที่ นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์) ซึง่ การอนุมตั ริ ายการในลักษณะ ดังกล่าวจะต้องเสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการ และ/หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) เพื่อพิจารณาอนุมัติ รายการดังกล่าว ตามทีข่ อ้ บังคับของบริษทั หรือบริษทั ย่อย หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกำ�หนด ยกเว้นเป็นการอนุมตั ิ รายการที่มีเงื่อนไขปกติธุรกิจที่มีการกำ�หนดขอบเขต ที่ชัดเจน
การสรรหากรรมการและผู้บริหาร
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
059
คณะกรรมการตรวจสอบ
รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทประกอบด้วย
รายชื่อ 1. นายศิวะรักษ์ พินิจารมณ์ 2. นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์ 3. นายริวโซ นางาโอคะ
ตำ�แหน่ง
ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
นายจิตพล สิทธิศักดิ์ ทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขต อำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้ บ ริ ษั ท มี ร ายงานทางการเงิ น ถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้ บ ริ ษั ท มี ร ะบบการควบคุ ม ภายใน (Internal Control) และการ ตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผลและพิจารณา ความเป็ น อิ ส ระของหน่ ว ยงานตรวจสอบ ภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการ แต่งตั้งโยกย้าย ความดีความชอบ และการ เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้ บ ริ ษั ท ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ว่าด้ว ยหลัก ทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อ กำ � หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ หรื อ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 4. พิ จ ารณา คั ด เลื อ ก เสนอแต่ ง ตั้ ง บุ ค คล ที่ มี ค วามเป็ น อิ ส ระเพื่ อ ทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น ผู้สอบบัญชี และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบ บัญชีของบริษัท รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับ ผู้ ส อบบั ญ ชี โ ดยไม่ มี ฝ่ า ยจั ด การเข้ า ร่ ว ม ประชุมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการ ที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายและข้ อ กำ � หนด ของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้ม่นั ใจว่า รายงานประจ�ำปี 2558
รายการดั ง กล่ า วสมเหตุ ส มผลและเป็ น ประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 6. สอบทานให้ บ ริ ษั ท มี ร ะบบการบริ ห าร ความเสี่ ย ง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 7. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โ ด ย เ ปิ ด เ ผ ย ไ ว้ ใ น ร า ย ง า น ป ร ะ จำ � ปี ของบริษทั ซึง่ รายงานดังกล่าวต้องลงนามโดย ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้อง ประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 7.1 ความเห็ น เกี่ ย วกั บ ความถู ก ต้ อ ง ครบถ้วน เป็นทีเ่ ชือ่ ถือได้ของรายงาน ทางการเงินของบริษัท 7.2 ความเห็ น เกี่ ย วกั บ ความเพี ย งพอ ของระบบควบคุมภายในของบริษัท 7.3 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม กฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กำ � หนดของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ห รื อ กฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 7.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสม ของผู้สอบบัญชี 7.5 ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 7.6 จำ � นวนประชุ ม คณะกรรมการ ตรวจสอบและการเข้าร่วมประชุม ของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน 7.7 ความเห็ น หรื อ ข้ อ สั ง เกตโดยรวม
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
060
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ห า ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ข อ ง บ ริ ษั ท ห รื อ ทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบได้รบั จาก การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร ผู้ บ ริ ห ารไม่ ดำ � เนิ น การให้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข 7.8 รายงานอื่ น ที่ เ ห็ น ว่ า ผู้ ถื อ หุ้ น และ ในเวลาตามวรรคหนึ่ง กรรมการตรวจสอบรายใด ผู้ ล งทุ น ทั่ ว ไปควรทราบ ภายใต้ รายหนึง่ อาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระทำ�ตาม ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ วรรคหนึง่ ต่อสำ�นักคณะกรรมการการกำ�กับหลักทรัพย์ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายของคณะกรรมการ และตลาดหลักทรัพย์หรือ ตลาดหลักทรัพย์ บริษัท 14. ในกรณีทผี่ สู้ อบบัญชีพบพฤติการณ์อนั สงสัย 8. รายงานผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ ว่ากรรมการ ผูจ้ ดั การหรือบุคคลซึง่ รับผิดชอบ ตรวจสอบ ให้คณะกรรมการบริษัททราบ ในการดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ได้ ก ระทำ � อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง ความผิ ด ตามกฎหมายระบุ แ ละได้ แ จ้ ง 9. ให้ มี อำ � นาจว่ า จ้ า งที่ ป รึ ก ษา หรื อ บุ ค คล ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับพฤติการณ์ดังกล่าวให้ ภายนอกตามระเบี ย บของบริ ษั ท มาให้ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัททราบ ความเห็นหรือคำ�ปรึกษาในกรณีจำ�เป็น และดำ � เนิ น การตรวจสอบต่ อ ไปโดยไม่ 10. ให้มีอำ�นาจเชิญกรรมการ ผู้บริหาร หัวหน้า ชักช้า และให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงาน หน่ ว ยงานหรื อ พนั ก งานของบริ ษั ท หารื อ ผลการตรวจสอบเบือ้ งต้นให้แก่ส�ำ นักงาน กลต. หรือตอบคำ�ถามของคณะกรรมการตรวจสอบ และผู้ ส อบบั ญ ชี ท ราบภายในสามสิ บ วั น 11. พิ จ ารณาทบทวนขอบเขตอำ � นาจหน้ า ที่ นั บ แต่ วั น ที่ ไ ด้ รั บ แจ้ ง จากผู้ ส อบบั ญ ชี ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล พฤติการณ์อันควรสงสัยที่ต้องแจ้งดังกล่าว การปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบ และวิธีการเพื่อให้ได้ ซึ่งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ เป็นประจำ�ทุกปี พฤติการณ์นน้ั ให้เป็นไปตามทีค่ ณะกรรมการ 12. ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการ กำ�กับตลาดทุนประกาศกำ�หนด บริษัทมอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจาก องค์ประกอบและคุณสมบัติ คณะกรรมการตรวจสอบ 1. ให้คณะกรรมการตรวจสอบมีองค์ประกอบ 13. ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะกรรมการ ดังนี้ ตรวจสอบ หากพบหรือมีขอ้ สงสัยว่า มีรายการ หรือการกระทำ�ดังต่อไปนี้ ซึง่ อาจมีผลกระทบ กรรมการตรวจสอบต้ อ งมี อ ย่ า งน้ อ ย อย่ า งมี นั ย สำ � คั ญ ต่ อ ฐานะการเงิ น และ 1 ใน 3 นาย ทุกนายต้องเป็นกรรมการ การดำ�เนินงานของบริษทั ให้คณะกรรมการ อิ ส ระมี คุ ณ สมบั ติ ต ามข้ อ กำ � หนดของ ตรวจสอบรายงานต่ อ คณะกรรมการของ สำ�นักคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ บริษัทเพื่อดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขภายใน ตลาดหลักทรัพย์ หรือ ตลาดหลักทรัพย์ เวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร แห่ ง ประเทศไทย อย่ า งน้ อ ย 1 นาย 13.1 รายการที่ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทาง ต้องมีความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ ผลประโยชน์ เพี ย งพอที่ จ ะทำ � หน้ า ที่ ใ นการสอบทาน 13.2 การทุ จ ริ ต หรื อ มี สิ่ ง ผิ ด ปกติ ห รื อ ความน่าเชื่อถือของงบการเงิน มีความบกพร่องที่สำ�คัญในระบบ 2. ให้คณะกรรมการบริษัทเลือก และแต่งตั้ง ควบคุมภายใน กรรมการตรวจสอบคนหนึ่งเป็นประธาน 13.3 ก า ร ฝ่ า ฝื น ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย กรรมการ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ วาระดำ�รงตำ�แหน่ง ข้ อ กำ � หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ให้กรรมการตรวจสอบมีวาระอยู่ในตำ� แหน่ ง หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ คราวละ 3 ปี กรรมการตรวจสอบซึ่งพ้นจากตำ�แหน่ง ของบริษัท
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ตามวาระอาจได้รบั การแต่งตัง้ ใหม่อกี ได้ไม่เกิน 2 วาระ ติ ด ต่ อ กั น เว้ น แต่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท จะเห็ น เป็นอย่างอื่น นอกจากการพ้ น จากตำ � แหน่ ง ตามวาระดั ง กล่ า ว ข้างต้น กรรมการตรวจสอบพ้นจากตำ�แหน่งเมื่อ 1. ตาย 2. ลาออก 3. ขาดคุณสมบัติการเป็นกรรมการตรวจสอบ ตามข้อบังคับนี้ หรือตามหลักเกณฑ์ของ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ หรือ ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย 4. คณะกรรมการบริษทั มีมติให้พน้ จากตำ�แหน่ง ในการที่ีกรรมการตรวจสอบลาออกก่อน ครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการตรวจสอบ ควรแจ้งต่อบริษัทฯ ล่วงหน้า 1 เดือนพร้อมเหตุผล เพื่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท หรื อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น จะได้พจิ ารณาแต่งตัง้ กรรมการท่านอืน่ ทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ครบถ้วน ทดแทนบุคคลที่ลาออกและให้บริษัทฯ แจ้ ง การลาออกพร้ อ มส่ ง สำ � เนาหนั ง สื อ ลาออก ให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ ทราบด้วย ในกรณี ที่ ก รรมการตรวจสอบพ้ น จาก ตำ � แหน่ ง ทั้ ง คณะ ให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบ ที่พ้นจากตำ�แหน่งต้องอยู่รักษาการไปพลางก่อน จนกว่าคณะกรรมการตรวจสอบชุดใหม่จะเข้ารับ หน้าที่ ในกรณี ที่ ตำ � แหน่ ง กรรมการตรวจสอบ ว่างลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตาม วาระให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท แต่ ง ตั้ ง บุ ค คลที่ มี คุณสมบัตคิ รบถ้วนขึน้ เป็นกรรมการตรวจสอบแทน ภายใน 90 วัน เพือ่ ให้กรรมการตรวจสอบมีจ�ำ นวน ครบตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั กำ�หนด โดยบุคคล ที่เข้าเป็นกรรมการตรวจสอบแทนอยู่ในตำ�แหน่ง ได้เพียงเท่าวาระทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการตรวจสอบ ซึ่งตนแทน
การประชุม ให้ มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบ อย่างน้อยปีละ 5 ครัง้ ในการเรียกประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบ ให้ประธานคณะกรรมการตรวจสอบหรือ เลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบโดยคำ�สั่งของ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ส่งหนังสือนัดประชุม
รายงานประจ�ำปี 2558
061
ไปยังกรรมการตรวจสอบไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวัน ประชุม เว้นแต่ในกรณีจำ�เป็นรีบด่วนจะแจ้งการนัด ประชุมโดยวิธอี นื่ หรือกำ�หนดวันประชุมให้เร็วกว่านัน้ ก็ได้ องค์ประชุม ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ต้องมี คณะกรรมการตรวจสอบมาประชุ ม ไม่ น้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของจำ � นวนกรรมการตรวจสอบทั้ ง หมดที่ คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้ง จึงจะเป็นองค์ประชุม ในกรณีทปี่ ระธานกรรมการตรวจสอบไม่อยูใ่ นทีป่ ระชุม หรือไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้ ให้กรรมการตรวจสอบ ซึ่ ง มาประชุ ม เลื อ กกรรมการตรวจสอบคนหนึ่ ง เป็นประธานในที่ประชุม การวินจิ ฉัยชีข้ าดของทีป่ ระชุมให้ถอื เสียงข้างมาก กรรมการตรวจสอบคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการ ลงคะแนน เว้นแต่กรรมการตรวจสอบซึ่งมีส่วนได้ ส่ ว นเสี ย ในเรื่ อ งใดไม่ มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งลงคะแนน ในเรื่องนั้น ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด การลงมติ ข องคณะกรรมการตรวจสอบ อาจกระทำ�ได้โดยไม่ตอ้ งมีการประชุม และมีผลสมบูรณ์ เสมื อ นหนึ่ ง ว่ า ได้ มี ก ารประชุ ม ลงมติ แ ล้ ว เมื่ อ มติ นั้ น ๆ กรรมการตรวจสอบได้ ล งลายมื อ ชื่ อ รั บ รอง ไว้ทุกคน ค่าตอบแทน ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ เ สนอผ่ า นคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทนเพือ่ นำ�เสนอคณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมัติตามที่เห็นสมควร หน่วยงานที่รับผิดชอบ ให้หวั หน้าหน่วยงานหรือหน่วยงานและฝ่ายบริหาร ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานในหน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นผูร้ บั ผิดชอบโดยตรงในการจัดทำ�รวบรวมตรวจสอบ เอกสารข้อมูลและรายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบ เ พื่ อ ท ร า บ / พิ จ า ร ณ า ห รื อ ดำ � เ นิ น เ รื่ อ ง ต่ อ ไ ป แล้วแต่กรณีตามที่กำ�หนดไว้ในภาคผนวก ในกฎบัตร ของคณะกรรมการตรวจสอบ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
062
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 12 ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ พฤศจิกายน 2553 โดยแต่งตั้งจากกรรมการบริษัท 3 ท่าน เป็ น ผู้ มี อำ � นาจในการแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสรรหา ทั้ ง นี้ ณ วั น ที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการสรรหา และพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนและรายงานต่ อ คณะกรรมการ และพิจารณาค่าตอบแทน มี 3 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้ บริ ษั ท เพื่ อ ทราบและคณะกรรมการบริ ษั ท ได้ อ นุ มั ติ จั ด ตั้ ง
รายชื่อ
1. นายริวโซ นางาโอคะ 2. นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์ 3. นายทิวา จารึก
ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ ทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 6. เปิดเผยนโยบายเกีย่ วกับการกำ�หนดค่าตอบแทน ขอบเขต อำ � นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ และเปิดเผยค่าตอบแทนในรูปแบบต่างๆ และ ของคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณา จั ด ทำ � รายงานการกำ � หนดค่ า ตอบแทนไว้ ใ น ค่าตอบแทน รายงานประจำ�ปีของบริษัท 1. พิจารณาและนำ�เสนอโครงสร้าง องค์ประกอบ 7. กำ�หนดหลักเกณฑ์และจัดให้มีการประเมินผล รวมทั้ ง คุ ณ สมบั ติ ข องคณะกรรมการบริ ษั ท การปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการบริ ษั ท กรรมการอิ ส ระ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการชุดย่อย และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการบรรษัทภิบาลของบริษัท และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เป็นประจำ�ทุกปีและ 2. เสนอแนะรายชื่ อ ผู้ ที่ เ หมาะสมที่ จ ะดำ � รง รายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการบริษทั ตำ�แหน่งกรรมการบริษัทต่อคณะกรรมการ 8. รายงานความคืบหน้าและผลการปฏิบัติงานต่อ บริ ษั ท เพื่ อ นำ � เสนอขออนุ มั ติ ต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัททุกครั้ง หลังมีการประชุม ผู้ถือหุ้นในกรณี ที่ ตำ � แหน่ ง ว่ า งลงเนื่ อ งจาก คณะกรรมการสรรหาและพิ จารณาค่าตอบแทน ครบวาระ และในกรณีอื่นๆ 9. พิจารณา ทบทวน และเสนอแนะ หากมีการ 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บริษัท เปิดโอกาสให้ เปลี่ ย นแปลงใดๆ เกี่ ย วกั บ ข้ อ บั ง คั บ ของ ผูถ้ อื หุน้ เป็นผูเ้ สนอรายชือ่ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัติ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ครบถ้วนตามประกาศสำ�นักงานคณะกรรมการ ต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อขออนุมัติปรับปรุง กำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ให้เหมาะสมและมีความทันสมัยอยู่เสมอ เข้ า รั บ การสรรหาเป็ น กรรมการบริ ษั ท ก่ อ น 10. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี อย่างน้อย และกรรมการผู้จัดการใหญ่หรือคณะกรรมการ 3 เดือนล่วงหน้า บริษัทมอบหมายอันเกี่ยวเนื่องกับการสรรหา 4. พิจารณาเสนอโครงสร้างค่าตอบแทนกรรมการ และพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนของกรรมการและ บริ ษั ท และผู้ บ ริ ห าร ได้ แ ก่ โบนั ส และ ผู้บริหาร ผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆ ทั้งที่เป็นตัวเงิน องค์ ป ระกอบและคุณสมบัติ และมิใช่ตัวเงิน 5. พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการบริษัท และ 1. เป็นกรรมการบริษัท ผูบ้ ริหาร โดยคำ�นึงถึงความเหมาะสมเกีย่ วกับ 2. ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ประเภท ขนาด ผลการดำ�เนินงาน ซึง่ สอดคล้อง เป็ น ผู้ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสรรหา กับสภาวะโดยทัว่ ไปของตลาดและอุตสาหกรรม และพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนซึ่ ง ประกอบด้ ว ย เดียวกัน ทั้งในและนอกตลาดหลักทรัพย์ สมาชิก อย่างน้อย 3 คน
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
3. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีสมาชิกที่เป็นกรรมการอิสระเป็นส่วนใหญ่ อย่างน้อยจำ�นวน 2 คน 4. ให้คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เลือกกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ที่เป็นกรรมการอิสระขึ้นเป็นประธานคนหนึ่ง 5. กรรมการอิสระที่เป็นประธานคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนต้องมีคณ ุ สมบัติ ของกรรมการอิ ส ระครบถ้ ว นตามประกาศ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ให้กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มี ว าระอยู่ ใ นตำ � แหน่ ง คราวละ 3 ปี โดยให้ สิ้ น สุ ด ในวันที่ 31 ธันวาคม ของปีทคี่ รบวาระ กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนซึง่ พ้นจากตำ�แหน่งตามวาระ อาจได้รับการแต่งตั้งใหม่อีกได้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จะได้รับคัดเลือกให้ต่อวาระการดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ ได้ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน เว้นแต่ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่หรือคณะกรรมการบริษัท จะเห็นเป็นอย่างอื่น นอกจากการพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระดังกล่าว ข้างต้น กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน พ้นจากตำ�แหน่งเมื่อ 1. ตาย 2. ลาออก 3. ขาดคุณสมบัติการเป็นกรรมการสรรหาและ พิ จารณาค่าตอบแทนตามข้อ บังคับนี้ หรือ ตามหลั ก เกณฑ์ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย 4. ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่หรือคณะกรรมการบริษัทมีมติ ให้พ้นจากตำ�แหน่ง ในกรณี ที่ ก รรมการสรรหาและพิ จ ารณา ค่าตอบแทนลาออกก่อนครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ควรแจ้งต่อ บริษทั ฯ ล่วงหน้า 1 เดือน พร้อมเหตุผลเพือ่ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่จะได้ พิ จ ารณาแต่งตั้งกรรมการท่านอื่นที่มีคุณสมบัติ รายงานประจ�ำปี 2558
063
ครบถ้วน ทดแทนบุคคลที่ลาออกพร้อมทั้งรายงาน ต่อคณะกรรมการบริษัทต่อไป ในกรณี ที่ ก รรมการสรรหาและพิ จ ารณา ค่าตอบแทนพ้นจากตำ�แหน่งทัง้ คณะ ให้คณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนทีพ่ น้ จากตำ�แหน่ง ต้ อ ง อ ยู่ รั ก ษ า ก า ร ไ ป พ ล า ง ก่ อ น จ น ก ว่ า คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ชุดใหม่จะเข้ารับหน้าที่ ในกรณี ที่ ตำ � แหน่ ง กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทนว่างลง เพราะเหตุอนื่ นอกจาก ถึงคราวออกตามวาระให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ แ ต่ ง ตั้ ง บุ ค คลที่ มี คุณสมบัติครบถ้วนขึ้นเป็นกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน แทนภายใน 90 วัน เพื่อให้ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีจ�ำ นวน ครบตามที่กำ�หนด โดยบุคคลที่เข้าเป็นกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนอยู่ในตำ�แหน่ง ได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนซึ่งตนแทน การประชุม 1. ให้ มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทนอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 2. ในการเรียกประชุมคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน ให้ประธานคณะกรรมการ สรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน หรื อ เลขานุ ก าร คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทนโดยคำ�สั่งของประธาน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ส่งหนังสือนัดประชุมไปยังกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณีจำ�เป็นรีบด่วน จะแจ้งการนัดประชุมโดยวิธีอื่น หรือกำ�หนด วันประชุมให้เร็วกว่านั้นก็ได้ องค์ประชุม 1. ในการประชุ ม คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน ต้องมีคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมาประชุม ไม่ น้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของจำ � นวนกรรมการ สรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนทั้ ง หมดที่
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
064
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้ง จึงจะเป็นองค์ ประชุม ในกรณีทปี่ ระธานกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทนไม่อยู่ในที่ประชุม หรือ ไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้ให้กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนซึ่งมาประชุมเลือก กรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน คนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม 2. การวิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข าดของที่ ป ระชุ ม ให้ ถื อ เสี ย ง ข้างมาก 3. กรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน คนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน เว้นแต่ กรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน ซึ่งมีส่วนได้เสียในเรื่องใดไม่มีสิทธิออกเสียง ลงคะแนนในเรื่องนั้น ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีก เสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด 4. การลงมติ ข องคณะกรรมการสรรหาและ พิ จ ารณาค่ า ตอบแทน อาจกระทำ � ได้ โ ดย
ไม่ ต้ อ งมี ก ารประชุ ม และมี ผ ลสมบู ร ณ์ เสมื อ นหนึ่ ง ว่ า ได้ มี ก ารประชุ ม ลงมติ แ ล้ ว เมื่อมตินั้นๆ กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทนได้ลงลายมือชื่อรับรองไว้ทุกคน ค่าตอบแทน ให้ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การ ใหญ่หรือคณะกรรมการบริษัทเป็นผู้พิจารณากำ�หนด ค่าตอบแทนกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ตามที่เห็นสมควร หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรรมการบริหาร (Board of Management) ที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรง ในการจัดทำ�รวบรวม ตรวจสอบเอกสารข้อมูลและรายงาน ให้คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อทราบ/พิจารณา หรือดำ�เนินการเรื่องต่อไป
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริ ษัท ได้ อ นุ มัติ จั ด ตั้ง คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ย ง เป็นผู้มีอำ�นาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เมือ่ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2553 ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ทราบและคณะกรรมการ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมี 5 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้ี
รายชื่อ 1. นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์ 2. นายเสน่ห์ ภูริสัตย์ 3. นางสุรัตนา ตฤณรตนะ 4. นายวันชัย รตินธร 5. นายกอบชัย ธนสุกาญจน์
ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง
นางสาวทิพย์วัลย์ จันทร์สุวรรณ ทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ขอบเขต และอำ�นาจหน้าที่ความรับผิดชอบ 1. กำ�หนดทิศทางระบบทีช่ ดั เจน ระบุ วิเคราะห์ และ ตรวจสอบปัจจัยความเสี่ยงที่สำ�คัญพร้อมทั้ง กำ�หนดกลยุทธ์ในการบริหารความเสี่ยงนั้น
2. กำ � หนดมาตรฐานของการบริ ห ารจั ด การ ความเสีย่ งเพือ่ ใช้เป็นแนวทางปฏิบตั ใิ นส่วนงาน ต่างๆ ตามความรับผิดชอบ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
3. กำ�กับดูแลให้ม่ันใจว่ามาตรการดังกล่าวได้มี การสื่อสารอย่างทั่วถึง และพนักงานได้ปฏิบัติ ตามมาตรการเหล่านั้น 4. จดั ให้มกี ารประเมิน และวิเคราะห์ความเสียหาย ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น อย่ า งเป็ น ระบบและต่ อ เนื่อ ง เพื่ อ ให้ ม่ั น ใจว่ า การสำ � รวจความเสี่ ย งได้ ครอบคลุมทุกขั้นตอนของการดำ�เนินธุรกิจ 5. สนับสนุนและพัฒนาการบริหารความเสี่ยง ให้ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งทั่ ว ทั้ ง องค์ ก รและ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล องค์ประกอบและคุณสมบัติ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ ผู้ จั ด การใหญ่ เ ป็ น ผู้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการบริ ห าร ความเสีย่ งโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษทั โดยเลือกจากกรรมการ และผู้บริหารจำ�นวนหนึ่งของ บริษทั และ/หรือผูท้ รงคุณวุฒิ และกำ�หนดให้มปี ระธาน 1 คนทีไ่ ด้รบั จากการแต่งตัง้ วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีวาระอยู่ใน ตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี โดยให้สนิ้ สุดในวันที่ 31 ธันวาคม ของปีที่ครบวาระ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระสามารถได้รับการแต่งตั้ง ใหม่อีกได้ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน เว้นแต่ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ห รื อ คณะกรรมการบริษัทจะเห็นเป็นอย่างอื่น นอกจากการพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระดังกล่าว ข้ า งต้ น คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งพ้ น จาก ตำ�แหน่งเมื่อ 1. ตาย 2. ลาออก 3. ขาดคุ ณ สมบั ติ ก ารเป็ น คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงตามข้อบังคับนี้หรือตาม หลั ก เกณฑ์ ข องสำ � นั ก งานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4. ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่หรือคณะกรรมการบริษัทมีมติ ให้พ้นจากตำ�แหน่ง
รายงานประจ�ำปี 2558
065
ในกรณี ท่ีค ณะกรรมการบริ ห าความเสี่ย ง ลาออกก่อนครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ย งควรแจ้ ง ต่ อ บริ ษัท ฯ ล่วงหน้า 1 เดือนพร้อมเหตุผลเพือ่ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่จะได้พิจารณา แต่งตั้งกรรมการท่านอื่นที่มีคุณสมบัติครบถ้วน ทดแทนบุ ค คลที่ ล าออกพร้ อ มทั้ ง รายงานต่ อ คณะกรรมการบริษัทต่อไป ในกรณีที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง พ้นจากตำ�แหน่งทั้งคณะ ให้คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ ย งที่ พ้ น จากตำ � แหน่ ง ต้ อ งอยู่ รั ก ษาการ ไปพลางก่อน จนกว่าคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ชุดใหม่จะเข้ารับหน้าที่ ในกรณี ท่ีตำ� แหน่ ง คณะกรรมการบริ ห าร ความเสีย่ งว่างลง เพราะเหตุอน่ื นอกจากถึงคราวออก ตามวาระให้ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่แต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วน ขึ้นเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง แทนภายใน 90 วั น เพื่ อ ให้ ก รรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง มีจำ�นวนครบตามที่กำ�หนดโดยบุคคลที่เข้าเป็น กรรมการบริหารความเสี่ยงอยู่ในตำ�แหน่งได้เพียง เท่าวาระทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการบริหารความเสีย่ ง ซึ่งตนแทน การประชุม 1. ให้มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 4 ครั้งตาม ความจำ�เป็นและเหมาะสม 2. ในการเรี ย กประชุ ม คณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ ย งให้ เ ลขานุ ก ารคณะกรรมการ บริ ห ารความเสี่ ย ง โดยคำ � สั่ ง ของประธาน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ส่งหนังสือ นัดประชุมไปยังกรรมการบริหารความเสี่ยง ไม่ น้ อ ยกว่ า 7 วั น ก่ อ นการประชุ ม เว้ น แต่ ในกรณีจำ�เป็นรีบด่วนจะแจ้งการนัดประชุม โดยวิ ธี อื่ น หรื อ กำ � หนดการประชุ ม ให้ เ ร็ ว กว่านั้นก็ได้ องค์ประชุม 1. ในการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง จะต้องมีกรรมการเข้าร่วมประชุม ไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการบริหารความเสี่ยง ทั้ ง หมดจึ ง จะครบองค์ ป ระชุ ม ในกรณี ที่
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
066
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ประธานคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง ไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการบริหารความเสีย่ งซึง่ มาประชุมเลือก กรรมการบริหารความเสีย่ งคนหนึง่ เป็นประธาน ในที่ประชุม 2. การวินจิ ฉัยชีข้ าดของทีป่ ระชุมให้ถอื เสียงข้างมาก 3. กรรมการบริหารความเสี่ยงคนหนึ่งมีเสียงหนึ่ง ในการลงคะแนน เว้นแต่กรรมการบริหารความเสีย่ ง ซึ่งมีส่วนได้เสียในเรื่องใดไม่มีสิทธิออกเสียง ลงคะแนนในเรื่องนั้น ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในทีป่ ระชุมออกเสียงขึน้ อีกเสียงหนึง่ เป็นเสียงชี้ขาด 4. การลงมติของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง อาจกระทำ�ได้โดยไม่ต้องมีการประชุมและมีผล สมบูรณ์เสมือนหนึง่ ว่าได้มกี ารประชุมลงมติแล้ว
เมื่ อ มติ นั้ น ๆ กรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง ได้ลงลายมือชื่อรับรองไว้ทุกคน ค่าตอบแทน ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เป็นผู้พิจารณากำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการบริหาร ความเสี่ยงตามที่เห็นสมควร และรายงานให้ที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ให้หวั หน้าหน่วยงาน หรือหน่วยงานและฝ่ายบริหาร ที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ ย งเป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบโดยตรงในการจั ด ทำ � รวบรวม ตรวจสอบเอกสารข้ อ มู ล และรายงานให้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อทราบ พิจารณา หรือดำ�เนินการเรื่องต่อไป
คณะกรรมการบรรษัทภิบาล
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ พิจารณาอนุมัติ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 ทั้งนี้ ณ วันที่ ได้ มี ก ารเสนอชื่ อ บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมสำ � หรั บ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบรรษัทภิบาลมี 7 ท่าน การเป็นคณะกรรมการบรรษัทภิบาลผ่านคณะกรรมการสรรหา ดังรายชือ่ ต่อไปนี้ และพิจารณาค่าตอบแทนเพื่อนำ�เสนอคณะกรรมการบริ ษั ท
รายชื่อ 1. นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์ 2. นายทิวา จารึก 3. นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ 4. นายชำ�นาญ อัศนธรรม 5. นางสาวจารุวรรณ สุขทั่วญาติ 6. นางสาวนิสาชล ฤทธิ์ทยมัย 7. นายณัฐพล สินขจร
ตำ�แหน่ง
ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล
นางสาวมัลลิกา เจริญทรัพย์ ทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ขอบเขต และอำ�นาจหน้าที่ความรับผิดชอบ 1. กำ � กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายและ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2. ตรวจสอบแนวปฏิบัติการกำ�กับดูแลกิจการ ให้สอดคล้องตามหลักเกณฑ์ กฎหมาย และ
นโยบายของบริษัทฯ 3. เสนอแนะข้ อ กำ � หนดและแนวทางในการ ปฏิบัติเกี่ยวกับจริยธรรมต่อคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ 4. ให้คำ�แนะนำ�สำ�หรับการปรับปรุงนโยบาย การกำ�กับดูแลกิจการของบริษทั เพือ่ สามารถ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
นำ�ไปปฏิบตั ไิ ด้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 5. พิ จ ารณา ทบทวน และปรั บ ปรุ ง นโยบาย การกำ�กับดูแลกิจการอย่างสม่�ำ เสมออย่างน้อย ปี ล ะหนึ่ ง ครั้ ง เพื่ อ ให้ น โยบายการกำ � กั บ ดูแลกิจการของบริษัท มีความทันสมัย และ สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติตามมาตรฐาน สากล ตลอดจนกฎหมาย หลักเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ และข้อเสนอแนะขององค์กร ภายใน ที่ทำ�หน้าที่ในการกำ�กับดูแลกิจการ 6. ดำ�เนินการจัดทำ�แบบประเมินมาตรการต่อต้าน การคอร์รัปชั่น ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการ ต่อต้านทุจริต 7. รายงานผลการปฏิ บั ติ กำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การ ต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั และรายงาน ต่อผู้ถือหุ้นในรายงานประจำ�ปีเพื่อทราบ องค์ประกอบและคุณสมบัติ 1. เป็นกรรมการบริษัท หรือผู้บริหารของบริษัท 2. คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้พิจารณาแต่งตั้ง คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ซึง่ ประกอบด้วย กรรมการบริ ษั ท และผู้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท รวม 7 คน 3. คณะกรรมการบรรษัทภิบาลต้องมีสมาชิก ที่เป็นกรรมการอิสระอย่างน้อยจำ�นวน 1 คน 4. กรรมการอิสระที่เป็นประธานคณะกรรมการ บรรษั ท ภิ บ าลต้ อ งมี ป ระสบการณ์ และ คุ ณ สมบั ติ ข องกรรมการอิ ส ระครบถ้ ว น ตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ให้กรรมการบรรษัทภิบาลมีวาระอยูใ่ นตำ�แหน่ง คราวละ 3 ปี โดยให้สิ้นสุด ในวันที่ 31 ธันวาคม ของปี ทีค่ รบวาระ กรรมการบรรษัทภิบาลซึง่ พ้นจากตำ�แหน่ง ตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งใหม่อีกได้ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลจะดำ�รงตำ�แหน่ง ได้อกี ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน เว้นแต่ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ หรือคณะกรรมการ บริษัทจะเห็นเป็นอย่างอื่น นอกจากการพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระดังกล่าว ข้างต้น กรรมการบรรษัทภิบาลพ้นจากตำ�แหน่งเมื่อ 1. ตาย
รายงานประจ�ำปี 2558
067
2. ลาออก 3. ขาดคุ ณ สมบั ติ ต ามข้ อ บั ง คั บ นี้ หรื อ ตาม หลั ก เกณฑ์ ข องสำ � นั ก งานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4. ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ ผู้ จั ด การใหญ่ หรื อ คณะกรรมการบริ ษั ท มีมติให้พ้นจากตำ�แหน่ง ในกรณีทก่ี รรมการบรรษัทภิบาลลาออกก่อนครบ วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการบรรษัทภิบาลควร แจ้งต่อบริษัทฯ ล่วงหน้า 1 เดือน พร้อมเหตุผลเพื่อ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ จะได้พิจารณาแต่งตั้งกรรมการท่านอื่นที่มีคุณสมบัติ ครบถ้วน ทดแทนบุคคลที่ลาออก พร้ อ มทั้ ง รายงาน ต่อคณะกรรมการบริษัทต่อไป ในกรณี ที่ ตำ � แหน่ ง กรรมการบรรษั ท ภิ บ าล ว่างลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ แต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนขึ้นเป็นกรรมการ บรรษัทภิบาล แทนภายใน 90 วัน เพื่อให้กรรมการ บรรษัทภิบาลมีจำ�นวนครบตามที่กำ�หนด โดยบุคคลที่ เข้าเป็นกรรมการบรรษัทภิบาลอยู่ในตำ�แหน่งได้เพียง เท่าวาระที่ยังเหลืออยู่กรรมการบรรษัทภิบาลซึ่งตน แทน การประชุม 1. ให้มีการประชุมคณะกรรมการบรรษัทภิบาล อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 2. ในการเรียกประชุมคณะกรรมการบรรษัท ภิบาล ให้ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล หรือเลขานุการ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล โดยคำ � สั่ ง ของประธานคณะกรรมการ บรรษั ท ภิ บ าล ส่ ง หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ไปยั ง กรรมการบรรษัทภิบาล ไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณีจำ�เป็นรีบด่วน จะแจ้งการนัดประชุมโดยวิธีอื่น หรือกำ�หนด วันประชุมให้เร็วกว่านั้นก็ได้ องค์ประชุม 1. ในการประชุมคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ต้องมีคณะกรรมการบรรษัทภิบาลมาประชุม ไม่ น้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของจำ � นวนกรรมการ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
068
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บรรษัทภิบาลทั้งหมดที่คณะกรรมการบริษัท แต่ ง ตั้ ง จึ ง จะเป็ น องค์ ป ระชุ ม ในกรณี ที่ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาลไม่อยู่ในที่ ประชุม หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ กรรมการบรรษัทภิบาล ซึ่งมาประชุมเลือก กรรมการบรรษัทภิบาลคนหนึ่งเป็นประธาน ในที่ประชุม 2. การวิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข าดของที่ ป ระชุ ม ให้ ถื อ เสี ย ง ข้างมาก 3. กรรมการบรรษัทภิบาลคนหนึง่ มีเสียงหนึง่ ใน การลงคะแนน เว้นแต่กรรมการบรรษัทภิบาล ซึ่งมีส่วนได้เสียในเรื่องใดไม่มีสิทธิออกเสียง ลงคะแนนในเรื่องนั้น ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีก เสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด 4. การลงมติของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล อาจกระทำ�ได้โดยไม่ต้องมีการประชุม และ มีผลสมบูรณ์เสมือนหนึ่งว่าได้มีการประชุม ลงมติแล้ว เมื่อมีมตินั้นๆ กรรมการบรรษัท ภิบาลได้ลงลายมือชื่อรับรองไว้ทุกคน ค่าตอบแทน ให้ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การ ใหญ่ เ สนอผ่ า นคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณา ค่าตอบแทน เพือ่ นำ�เสนอคณะกรรมการบริษทั พิจารณา อนุมัติตามที่เห็นสมควร หน่วยงานที่รับผิดชอบ ให้หวั หน้าหน่วยงาน หรือหน่วยงานและฝ่ายบริหาร ที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่ของคณะกรรมการบรรษัท
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
ภิบาลเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในการจัดทำ�รวบรวม ตรวจสอบเอกสารข้อมูลและรายงานให้คณะกรรมการ บรรษัทภิบาล เพื่อทราบ/พิจารณา หรือดำ�เนินการ เรื่องต่อไป
เลขานุการบริษัทฯ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ แ ต่ ง ตั้ ง นางสาวกรรติ ก า ตันธุวนิตย์ ทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการบริษัท โดยให้มีอำ�นาจ หน้ า ที่ ต ามที่ กำ � หนดไว้ ใ นพระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 เพือ่ รับผิดชอบการจัดประชุมคณะกรรมการบริษทั และการประชุมผู้ถือหุ้น รวมถึงช่วยดูแลให้มีการปฏิบัติตาม มติดังกล่าว ดูแลและให้คำ�แนะนำ�แก่คณะกรรมการเกี่ยวกับ กฎเกณฑ์ ต่ า งๆ ที่ ต้ อ งปฏิ บั ติ การจั ด ทำ � และเก็ บ รั ก ษา ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงาน การประชุมคณะกรรมการและรายงานประจำ�ปีของบริษัท หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น รายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร และดำ�เนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ประกาศกำ�หนด นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ สำ�เร็จการศึกษาระดับ Postgraduate คณะบริหารธุรกิจ จาก Center for Marketing and Management Studies กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ และระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ ผ่านการฝึกอบรม หลักสูตรเลขานุการบริษัท และหลักสูตรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) โดยทำ�หน้าที่เลขานุการบริษัทตั้งแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบัน
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
069
ที่จะได้รับการเสนอชื่อเป็นผู้บริหารหรือผู้มีอำ�นาจ นิยามกรรมการอิสระ ควบคุมของบริษัทหรือบริษัทย่อย บริ ษั ท ได้ กำ � หนดนิ ย ามกรรมการอิ ส ระของบริ ษั ท ซึง่ เท่ากับข้อกำ�หนดขัน้ ต่�ำ ของ ก.ล.ต. หรือ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ในเรื่องการถือหุ้นในบริษัทคือ กรรมการอิสระของบริษัทต้อง ถือหุ้นในบริษัทไม่เกิน 1% ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทัง้ หมด
ลักษณะความสัมพันธ์ของกรรมการอิสระ
1. ถือหุ้นในบริษัทไม่เกินร้อยละ 1 ของจำ�นวนหุ้น ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทัง้ นี้ ให้นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย 2. ไม่ มีส่ว นร่ ว มในการบริ ห ารงาน รวมทั้ง ไม่ เ ป็ น พนักงาน ลูกจ้าง ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ� หรือเป็น ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรื อ นิ ติ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ในปั จ จุ บั น และช่วง 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง 3. ไม่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างสายโลหิ ต หรื อ โดยการ จดทะเบียนในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่สมรส พีน่ อ้ ง และบุตรรวมทัง้ คูส่ มรสของบุตรกับผูบ้ ริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือบุคคล
รายงานประจ�ำปี 2558
4. ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ในปัจจุบนั และ 2 ปีกอ่ นได้รบั การแต่งตัง้ ในลักษณะดังนี้ (1.) ไม่มคี วามสัมพันธ์ในลักษณะของการให้บริการ ทางวิชาชีพ เช่น ผู้สอบบัญชี ผู้ให้บริการ ทางวิชาชีพอื่น ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปี เช่น ทีป่ รึกษากฎหมาย ทีป่ รึกษา ทางการเงิน ผูป้ ระเมินราคาทรัพย์สนิ เป็นต้น (2.) ไม่มีความสัมพันธ์ทางการค้า / ทางธุ ร กิ จ ซึ่งมีมูลค่ารายการตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึน้ ไป หรื อ ตั้ ง แต่ ร้ อ ยละ 3 ของมู ล ค่ า ทรั พ ย์ สิ น ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัท แล้วแต่จำ�นวนใด จะต่�ำ กว่า ทัง้ นี้ ในการพิจารณามูลค่ารายการ ให้รวมรายการที่เกิดขึ้นในระหว่าง 6 เดือน ก่อนวันที่มีการทำ�รายการในครั้งนี้ด้วย 5. ไม่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนของกรรมการ ของบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็นผูท้ ี่ เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 6. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่สามารถให้ความเห็น อย่างอิสระได้
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
070
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
การประชุมคณะกรรมการบริษัท ในปี 2558 ที่ผ่านมา กรรมการได้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย และการประชุมผู้ถือหุ้นดังนี้
ประชุมผู้ถือหุ้น
คณะกรรมการบรรษัทภิบาล
คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการตรวจสอบ
ตำ�แหน่ง
คณะกรรมการบริหาร
รายชื่อกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบริษัท
การประชุมในปี 2558
5 ครั้ง 23 ครั้ง 5 ครั้ง 4 ครั้ง 3 ครั้ง 3 ครั้ง 1 ครั้ง 1. นายฮิโรโนบุ อิริยา
ประธานกรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่
5/5
23/23
-
-
-
-
-
2. นายพิริยะ ว่องพยาบาล
รองประธานกรรมการบริษัท
4/5
-
-
-
-
-
1/1
3. นางนิจพร จรณะจิตต์ 4. นายมาโกโตะ ฟูซายาม่า
กรรมการบริษัท
4/5
-
-
-
-
-
1/1
กรรมการบริษัท
5/5
-
-
-
-
-
-
5. นายทิวา จารึก
กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล
4/5
23/23
-
-
2/3
3/3
-
6. นายโนริมาซา มัตสึโอกะ
กรรมการบริษัท
5/5
-
-
-
-
-
1/1
7. นายศิวะรักษ์ พินิจารมณ์
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ
5/5
-
- 5/5
-
-
-
1/1
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล
5/5
-
5/5
4/4
1/1
3/3
3/3
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
5/5
-
5/5
-
3/3
8. นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์
9. นายริวโซ นางาโอคะ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
-
1/1
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ผู้ถือหุ้น และการถือครองหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ 20 รายแรก ณ วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุด (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2558) ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2558
รายชื่อผู้ถือหุ้น 1. TOYO ENGINEERING CORPORATION 2. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด 3. บริษัท โกลบอล บิสซิเนส แมเนจเมนท์ จำ�กัด 4. MR. HIRONOBU IRIYA 5. บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำ�กัด (มหาชน) 6. NORTRUST NOMINEES LTD-CL AC 7. CHIYODA CORPORATION 8. นายเจียรนัย เลิศรัชต์กุล 9. นางสุรัตนา ตฤณรตนะ 10. STATE STREET BANK EUROPE LIMITED 11. นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์ 12. นายศักดิ์ชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล 13. นายทิวา จารึก 14. นายพิริยะ ว่องพยาบาล 15. นางนิจพร จรณะจิตต์ 16. นายณัฐพงษ์ พันธ์รัตนมงคล 17. MR. HIDETO KOYAMA 18. นายวันชัย รตินธร 19. กองทุนเปิด กรุง ศรีอิควิตี้ปันผล 20. กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ เค มาสเตอร์ พูลฟันด์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว
รายงานประจ�ำปี 2558
จำ�นวนหุ้น
ร้อยละ
97,600,000 45,323,315 38,634,900 34,161,134 18,400,000 18,237,600 16,800,000 13,338,100 13,235,948 10,659,339 9,458,041 9,200,000 6,924,300 6,444,000 5,297,207 5,201,000 4,337,360 4,300,000 3,570,262 2,928,300
17.43 8.10 6.90 6.10 3.29 3.26 3.00 2.39 2.37 1.91 1.69 1.65 1.24 1.15 0.95 0.93 0.78 0.77 0.64 0.53
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
071
072
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ (TTCL) ของกรรมการและผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ (TTCL) ของกรรมการและผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ชื่อ-สกุล
1. 2. 3. 4. 5.
6. 7. 8.
9.
ตำ�แหน่ง
ประธานกรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง รองประธานกรรมการบริษัท นายพิรยิ ะ ว่องพยาบาล ที่ปรึกษาทั่วไป คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง กรรมการบริษัท นางนิจพร จรณะจิตต์ คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง กรรมการบริษัท นายมาโกโต ฟูซายามา คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง กรรมการบริษัท นายทิวา จารึก รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายโครงการ, ฝ่ายประมูลงาน และฝ่ายวิศวกรรม กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง กรรมการบริษัท นายโนริมาซา มัตสึโอกะ คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง กรรมการอิสระ นายศิวะรักษ์ พินจิ ารมณ์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง กรรมการอิสระ นายกำ�ธร อุทารวุฒพิ งศ์ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง กรรมการอิสระ นายริวโซ นางาโอคะ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ กรรมการตรวจสอบ นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง
นายฮิโรโนบุ อิริยา
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
สัดส่วน สัดส่วน จำ�นวนหุ้นที่ จำ�นวนหุ้น การถือหุ้น จำ�นวนหุ้น การถือหุ้น เปลี่ยนแปลง ณ 31 ธ.ค. 57 ในบริษัท ณ 31 ธ.ค. 58 ในบริษทั เพิม่ ขึน้ (ลดลง) (%) (%) ในปี 2558 15,761,134 5,194,000 4,897,207 6,624,300
2.81 0.93 0.87 1.18
1,170,000 0.21 104,670 0.02 114,700 0.02
100,000 0.02 -
34,161,134 6,444,000 5,297,207 6,924,300
6.10
18,400,000
1.15
1,250,000 400,000 300,000
0.95 1.24
1,170,000 0.21 104,670 0.02 114,700 0.02
100,000 0.02
-
-
-
-
-
-
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
073
รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ (TTCL) ของกรรมการและผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ชื่อ-สกุล
10. นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์
สัดส่วน สัดส่วน จำ�นวนหุ้นที่ จำ�นวนหุ้น การถือหุ้น จำ�นวนหุ้น การถือหุ้น เปลี่ยนแปลง ณ 31 ธ.ค. 57 ในบริษัท ณ 31 ธ.ค. 58 ในบริษทั เพิม่ ขึน้ (ลดลง) (%) (%) ในปี 2558
ตำ�แหน่ง
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส ฝ่ายบริหารงานทั่วไป กรรมการบรรษัทภิบาล คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ เลขานุการบริษัท นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง 11. นายเสน่ห์ ภูรสิ ตั ย์ รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอาวุโส ฝ่ายวิศวกรรม, ฝึกอบรม และหน่วยงานเฉพาะกิจ กรรมการบริหารความเสีย่ ง คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง 12. นางสุรตั นา ตฤณรตนะ ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ/รองประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง 13. นายวันชัย รตินธร รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายดำ�เนินงานโครงการ กรรมการบริหารความเสี่ยง คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง 14. นายฮิเดโตะ โคยาม่า รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ฝ่ายขายและพัฒนาธุรกิจ คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง 15. นายกอบชัย ธนสุกาญจน์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายการเงินและบัญชี/นักลงทุนสำ�พันธ์ กรรมการบริหารความเสี่ยง คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ นิตบิ คุ คลท่เี กีย่ วข้อง 16. นายจิตพล สิทธิศักดิ์ ผู้บริหารงาน กลุ่มงานบัญชีของบริษัทฯ และบริษัทย่อย คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ นิติบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง
5,708,041 1.02
9,458,041 1.69
3,750,000
1,900,750 0.34
1,700,750 0.30
(200,000)
5,735,948 1.02
13,235,948 2.36
7,500,000
2,800,000 0.50 1,800,000 0.32
2,800,000 0.50 4,300,000 0.77
2,500,000
837,360 0.15
4,337,360 0.77 2,500,000 0.45
3,500,000
-
-
-
-
-
2,500,000
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
-
074
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท / กรรมการชุดย่อย / ผู้บริหาร ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ค่าตอบแทนรวมที่เป็นตัวเงินของคณะกรรมการบริษัทในรูปแบบของค่าตอบแทนประจำ�ปี เป็นจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 6,300,000 บาท ค่าตอบแทนประจำ�ปี 2558 ชื่อกรรมการ
1. นายฮิโรโนบุ อิริยา
ตำ�แหน่ง
ประธานกรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่
คณะกรรมการ คณะกรรมการ ค่าตอบแทน คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ สรรหา คณะกรรมการ บริหาร บรรษัทภิบาล รวม บริษัท บริหาร ตรวจสอบ และพิจารณา ความเสี ่ยง ค่าตอบแทน 600,000.00 700,000.00
-
-
-
- 1,300,000.00
2. นายพิริยะ ว่องพยาบาล รองประธานกรรมการบริษัท
500,000.00
-
-
-
-
- 500,000.00
3. นายมาโกโตะ ฟูซายาม่า กรรมการบริษัท
500,000.00
-
-
-
-
- 500,000.00
4. นางนิจพร จรณะจิตต์
กรรมการบริษัท
500,000.00
-
-
-
-
- 500,000.00
5. นายทิวา จารึก
กรรมการบริษัท รองประธานเจ้าหน้าที่ บริหารอาวุโส กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล
500,000.00 600,000.00
-
-
-
- 1,100,000.00
6. นายโนริมาซา มัตสึโอกะ กรรมการบริษัท
500,000.00
-
-
-
-
- 500,000.00
7. นายศิวะรักษ์ พินิจารมณ์ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ
500,000.00
- 200,000.00
-
-
- 700,000.00
8. นายกำ�ธร อุทารวุฒิพงศ์ 9. นายริวโซ นางาโอคะ
กรรมการอิสระ 500,000.00 กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยง ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน
- 100,000.00
-
-
- 600,000.00
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน
- 100,000.00
-
-
- 600,000.00
4,600,000.00 1,300,000.00 400,000.00
-
-
- 6,300,000.00
รวม
500,000.00
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
075
ค่าตอบแทนผู้บริหาร ในรูปของเงินเดือน, โบนัส และผลประโยชน์หลังออกจากงาน ค่าตอบแทน
ปี 2558 จำ�นวนราย จำ�นวนเงิน (บาท)
เงินเดือน 9 โบนัส 9 ผลประโยชน์หลังออกจากงาน 9 รวม
ปี 2557 จำ�นวนราย จำ�นวนเงิน (บาท)
43,795,200.00 9 9,259,900.00 9 1,919,688.00 9 54,974,788.00
40,228,800.00 8,927,300.00 1,557,444.44 50,713,544.44
ค่าตอบแทนอื่น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ค่าตอบแทน
ปี 2558 จำ�นวนราย จำ�นวนเงิน (บาท)
เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ 9 รวม
ปี 2557 จำ�นวนราย จำ�นวนเงิน (บาท)
3,338,280.00 9 3,338,280.00
3,277,880.00 3,277,880.00
หมายเหตุ : - "ผู้บริหาร" หมายถึง ผู้บริหาร 4 ลำ�ดับแรก และผู้เกี่ยวข้องทางการเงินและบัญชี - ปี 2558 ผ้บู ริหาร 9 คน ได้แก่ นายฮิโรโนบุ อิรยิ า, นายทิวา จารึก, นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์, นายเสน่ห์ ภูรสิ ตั ย์, นางสุรตั นา ตฤณรตนะ, นายวันชัย รตินธร, นายฮิเดโตะ โคยาม่า, นายกอบชัย ธนสุกาญจน์ และนายจิตพล สิทธิศักดิ์ - ปี 2557 ผ้บู ริหาร 9 คน ได้แก่ นายฮิโรโนบุ อิรยิ า, นายทิวา จารึก, นางสาวกรรติกา ตันธุวนิตย์, นายเสน่ห์ ภูรสิ ตั ย์, นางสุรตั นา ตฤณรตนะ, นายวันชัย รตินธร, นายฮิเดโตะ โคยาม่า, นายกอบชัย ธนสุกาญจน์ และนายจิตพล สิทธิศักดิ์
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
076
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
สรุปผลงานในปี 2558 มีนาคม - บริษัท TTCL Malaysia Sdn. Bhd (บริษัทย่อย) และ Mitsubishi Corporation ร่วมดำ�เนินการภายใต้ชื่อ The consortium of TTCL Public Company Limited, TTCL Malaysia Sdn. Bhd. and Mitsubishi Corporation ได้รับหนังสือแจ้งความจำ�นง สำ�หรับโครงการ ก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม ขนาดเล็ก (110 MW) ในประเทศ มู ล ค่ า โครงการประมาณ 3,200 ล้ า นบาท เฉพาะส่วนของกลุ่ม TTCL - บริ ษั ท และ Mitsubishi Corporation ร่วมดำ�เนินการภายใต้ชอื่ The Consortium of Mitsubishi Corporation and TTCL Public Company Limited ได้ลงนามสัญญาก่อสร้างโรงงานแปลงน้ำ�ทะเลให้เป็นน้ำ�จืด ในประเทศกาตาร์ มูลค่าโครงการประมาณ 225 ล้านเหรียญ สรอ. เฉพาะส่วนของ TTCL
พฤษภาคม - บริ ษั ท และ TTCL Vietnam Corporation Limited (บริษัทย่อย) ได้รับหนังสือแจ้งความจำ�นง สำ�หรับ โครงการก่อสร้าง Rock Salt exploitation and processing plant ในสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว มูลค่า โครงการประมาณ 220 ล้านเหรียญ สรอ. เฉพาะส่วนของ กลุ่ม TTCL - บริษทั ได้รบั หนังสือแจ้งความจำ�นง สำ�หรับโครงการ ก่อสร้างโรงงานปิโตรเคมี ในประเทศ มูลค่าโครงการประมาณ 22 ล้านเหรียญ สรอ.
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
สิงหาคม - บริษัท และ Toyo Engineering Corporation ร่วมดำ�เนินการภายใต้ชื่อ The Consortium of TTCL Public Company Limited and Toyo Engineering เมษายน Corporation ได้ลงนามสัญญาก่อสร้างโรงงานปิโตรเคมี - บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ย ได้ ร่ ว มลงนามในบั น ทึ ก ในประเทศ มูลค่าโครงการประมาณ 190 ล้านเหรียญ สรอ. ข้อตกลงกับ Department of Hydropower Planning กระทรวงพลังงานไฟฟ้า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ เฉพาะส่วนของ TTCL ในการพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหิน ประเภท ธันวาคม Ultra Super Critical (USC) ขนาด 1,280 MW -บริ ษั ท ได้ รั บ หนั ง สื อ แจ้ ง ความจำ � นงจาก Asia ณ Ye Township รั ฐ มอญ สาธารณรั ฐ แห่ ง สหภาพ เมียนมาร์ มูลค่าการลงทุนประมาณ 3,000 ล้านเหรียญ สรอ. Silicones Monomer Limited/Shin-Etsu Chemical Co., Ltd. สำ�หรับโครงการก่อสร้างโรงงานเคมีในประเทศ อายุสัมปทาน 30 ปี
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
077
การตลาดและภาวะการแข่งขัน 1. กลยุทธ์การแข่งขัน บริ ษั ท ได้ กำ � หนดกลยุ ท ธ์ ก ารแข่ ง ขั น และนโยบาย การดำ�เนินธุรกิจ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน ในระยะยาว ดังนี้ เสริมสร้างสถานะเพื่อยกระดับให้บริษัท เป็นผู้ให้ บริการ Integrated EPC ในระดับภูมิภาค (Regional EPC Contractor) และเพิ่ ม สั ด ส่ ว นการให้ บ ริ ก าร ในต่างประเทศ ในการให้บริการแบบ Integrated EPC ผู้ให้บริการ จำ�เป็นต้องมีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากการลงทุนของลูกค้า ในแต่ละโครงการอาศัยเงินทุนเป็นจำ�นวนมาก ลูกค้ามักเลือก ผู้ รั บ เหมาที่ มี ป ระสบการณ์ แ ละมี ผ ลงานที่ ดี ใ นอดี ต เพื่ อ สร้างความมั่นใจว่าผู้รับเหมาดังกล่าวจะสามารถดำ�เนินการ ได้ตามเป้าหมายทั้งในเรื่องของระยะเวลาและราคา ดังนั้น ผูใ้ ห้บริการแต่ละรายจำ�เป็นต้องสะสมผลงานและความน่าเชือ่ ถือ โดยการส่งมอบงานที่มีคุณภาพตรงตามเวลาที่กำ�หนด ปั จ จุ บั น บริ ษั ท ขยายฐานการดำ � เนิ น งานไปยั ง ต่ า งประเทศเพื่ อ ให้ ค รอบคลุ ม งานในระดั บ ภู มิ ภ าค ซึ่ ง ยุทธศาสตร์ดงั กล่าวนอกจากจะเพิม่ ฐานลูกค้าให้กบั บริษทั แล้ว ยังช่วยลดความเสีย่ งจากการพึง่ พิงโครงการก่อสร้างในประเทศ เพี ย งอย่ า งเดี ย ว เพื่ อ สนั บ สนุ น กลยุ ท ธ์ ดั ง กล่ า ว บริ ษั ท ได้จัดตั้งบริษัทย่อยในประเทศเป้าหมายสำ�คัญ เช่น ประเทศ เวียดนาม ประเทศเมียนมาร์ ประเทศมาเลเซีย และประเทศ สหรัฐอเมริกา การยกระดับการให้บริการเข้าสู่การเป็น Regional EPC Contractor จึงเป็นการขยายฐานลูกค้าให้แก่บริษทั ทำ�ให้ บริษัทมีทางเลือกที่จะรับงานโครงการก่อสร้างได้หลากหลาย มากขึน้ นอกจากนี้ ยังส่งผลให้บริษทั มีความได้เปรียบในเรือ่ งของ ต้นทุนการดำ�เนินงาน สามารถบริหารโครงการด้วยต้นทุนที่มี ประสิทธิภาพสูงสุด (Economy of Scale) ผลงานโครงการอันเป็นที่ยอมรับในอดีต บริษัทใช้กลยุทธ์ในการรักษาฐานลูกค้าเดิม ด้ ว ยการ ส่งมอบที่มีคุณภาพและบริการด้านวิศวกรรมที่มีมาตรฐาน และให้บริการหลังการขายแก่คู่ค้าอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้าง ความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้า และลูกค้าให้ความไว้วางใจ ในการกลับมาใช้บริการกับบริษัทอีก โดยกลุ่มลูกค้าบริษัท ได้แก่ กลุ่มบริษัท ปตท. กลุ่มบริษัท SCG Chemical บจ.ไบเออร์ไทย บจ.ไทยอาซาฮีเคมีภณ ั ฑ์ บมจ.ไทยเซ็นทรัลเคมี Bayer Polyurethanes (Shanghai) Co., Ltd. (ประเทศจี น ) Shin Etsu Engineering Co., Ltd. (ประเทศญี่ปุ่น) และ กลุ่มบริษัท SOLVAY (ประเทศ เบลเยี่ยม) เป็นต้น
ความสัมพันธ์กับผู้ผลิต ผู้จัดจำ�หน่ายเครื่องจักร อุปกรณ์ และวัสดุก่อสร้าง และผู้รับเหมาช่วง บริ ษั ท มี ก ารรั ก ษาความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี กั บ ผู้ ผ ลิ ต ผู้จัดจำ�หน่ายเครื่องจักร อุปกรณ์ และวัสดุก่อสร้าง ตลอดจน ผู้รับเหมาช่วงที่มีคุณภาพ ความพร้อม ความเชี่ยวชาญ และ ความรั บ ผิ ด ชอบ เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท สามารถดำ � เนิ น การและ ส่งมอบงานที่มีคุณภาพให้แก่ลูกค้าในแต่ละโครงการภายใน กำ�หนดเวลาที่วางไว้ ซึ่งจะช่วยทำ�ให้บริษัทสามารถดำ�รงไว้ ซึ่งความสามารถในการแข่งขัน และลดความเสี่ยงอันอาจจะ เกิดจากการไม่สามารถจัดซื้อและจัดหาเครื่องจักร อุปกรณ์ วัสดุกอ่ สร้าง และผูร้ บั เหมาช่วงทีม่ คี ณ ุ ภาพสำ�หรับโครงการใหม่ ในอนาคตได้ การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการออกแบบ ในการก่อสร้างโรงงานปิโตรเคมี ปิโตรเลี ย ม และ โรงไฟฟ้ามีความสลับซับซ้อนในการออกแบบเป็นอย่างมาก บริษทั จึงนำ�โปรแกรมการออกแบบทางวิศวกรรมทีท่ นั สมัยมาใช้ ได้แก่ โปรแกรม PDS (Plant Design System) ทำ�ให้ บริษัท สามารถออกแบบได้อย่างถูกต้อง ลดความผิดพลาด และสามารถตรวจสอบการออกแบบจากภาพจำ�ลองโรงงาน ในรู ป แบบ 3 มิ ติ เ สมื อ นจริ ง ขณะที่ โ ปรแกรม PDS ยังสามารถช่วยให้พนักงานของลูกค้าปฏิบัติงานและซ่อมบำ�รุง (Operation and Maintenance) ในพื้ น ที่ โ รงงาน ได้อย่างสะดวก เหมาะสมและปลอดภัย ความปลอดภัยในการทำ�งาน บริษัทให้ความสำ�คัญต่อความปลอดภัยของบุคลากร รวมถึงผู้รับเหมาช่วง ที่ทำ�งานในบริเวณโครงการ โดยบริษัท ถื อ ว่ า การเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ เ ป็ น ความสู ญ เสี ย เพราะนอกจาก จะส่ ง ผลกระทบต่ อ ต้ น ทุ น และเวลาที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ยั ง บั่ น ทอน ขวัญกำ�ลังใจของบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้อง ดังนัน้ บริษทั จึงได้ปฏิบตั ิ ตามมาตรฐาน OHSAS 18001:2007 เพื่อความปลอดภัย ของทุ ก ฝ่ า ย และบริ ษั ท ได้ รั บ การรั บ รองมาตรฐาน ISO 9001:2008 ISO 14001:2004 และ TSI 18001:2011 จากบริษัท อินเตอร์เทค อินดัสทรี แอนด์ เซอร์ทิฟิเคชั่น เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จำ�กัด โดยแต่ละโครงการนัน้ บริษทั ได้จดั ให้มอี ปุ กรณ์ปอ้ งกันพร้อมสำ�หรับพนักงาน และยังมีการ วิเคราะห์หาความเป็นไปได้ของการเกิดอุบัติเหตุด้านต่างๆ เพื่อจะได้ออกแบบป้องกันความเสียหายมิให้ลุกลามไปยั ง บริ เ วณข้ า งเคี ย ง นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ยั ง มี ป ระวั ติ ท างด้ า น ความปลอดภั ย ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ จากคู่ ค้ า ซึ่ ง เห็ น ได้ จ าก ประกาศนียบัตรต่างๆ ที่ได้รับตลอดระยะเวลาเกือบ 30 ปี ที่บริษัท ประกอบกิจการมา
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
078
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
กลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย การจำ�หน่าย และช่องทางการจำ�หน่าย ลู ก ค้ า ของบริ ษั ท สามารถแบ่ ง ออกได้ เ ป็ น 3 กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมหลั ก คื อ กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี แ ละ เคมีภัณฑ์ กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงาน และกลุ่มอุตสาหกรรม อื่นๆ บริษัทมีความยืดหยุ่นในการรับงาน กล่าวคือ นอกจาก ทีท่ างบริษทั จะเป็นผูร้ บั เหมาอย่างครบวงจร คือ การออกแบบ วิ ศ วกรรม (Engineering Design) การจั ด ซื้ อ จั ด หา เครื่องจักรและอุปกรณ์ (Procurement of Machinery and Equipment) และการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม (Construction) แล้วบริษัทยังสามารถรับงานที่เป็นงาน บริหารจัดการเพียงอย่างเดียวในด้านของการให้บริการทาง วิศวกรรมและบริหารจัดการโครงการก่อสร้าง (EPCm) ซึ่ง บางโครงการ เจ้ า ของโครงการมี ค วามประสงค์ ใ ห้ บ ริ ษั ท รับงานเฉพาะการบริหารจัดการเพียงอย่างเดียว ซึ่งบริษัท ได้ คำ � นึ ง ถึ ง ความต้ อ งการและความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ของ เจ้าของโครงการเป็นหลักในการรับงาน
2. ภาวะและแนวโน้มการลงทุนของอุตสาหกรรมปิโตรเลียม และปิโตรเคมี เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มขยายตัวในอัตราที่ ช ะลอลง ตามเศรษฐกิ จ จี น และเอเชี ย เป็ น สำ � คั ญ ขณะที่ เ ศรษฐกิ จ กลุ่มประเทศพัฒนาแล้วยังขยายตัวได้ต่อเนื่อง โดยเศรษฐกิจ สหรั ฐ ฯ ยั ง มี ทิ ศ ทางขยายตั ว ในเกณฑ์ ดี แ ละเศรษฐกิ จ กลุม่ ประเทศยูโรมีสญ ั ญาณฟืน้ ตัวชัดเจนขึน้ สำ�หรับเศรษฐกิจ ญี่ปุ่นมีแนวโน้มขยายตัวได้อย่างค่อยเป็นค่อยไป อย่างไรก็ดี ความเสี่ ย งด้ า นการขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ โลกเพิ่ ม ขึ้ น จากการชะลอตั ว ของเศรษฐกิ จ จี น และเศรษฐกิ จ เอเชียซึ่ง อาจได้ รั บ ผลกระทบเพิ่ ม เติ ม จากความผั น ผวนในตลาด การเงินโลกและการอ่อนค่าของเงินหยวน (รายงานนโยบาย การเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย เดือนกันยายน 2558) อย่างไรก็ดี หากพิจารณาจากการคาดการณ์อตั ราการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ จะพบว่า เศรษฐกิจของจีนและเศรษฐกิจเอเชีย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น ยั ง เป็ น ภู มิ ภ าคที่ มี อั ต รา การเจริญเติบโตสูงกว่าในภูมภิ าคอืน่
รายการ
2558F
2559F
การขยายตัวของปริมาณการค้าโลก การขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลก -สหรัฐอเมริกา -สหภาพยุโรป -ญีป่ นุ่ -จีน -AEC
4.1 % 3.3 % 2.5 % 1.5 % 0.8 % 6.8 % 4.6 %
4.4 % 3.8 % 3.0 % 1.7 % 1.2 % 6.3 % 5.1 %
นอกจากนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทยยังได้ปรับลด ข้อสมมติราคาน้�ำ มันดิบดูไบลง โดยในปี 2558 และปี 2559 เฉลี่ย อยู่ท่ี 52.8 และ 51.3 ดอลลาร์ สรอ. ต่ อ บาร์ เ รล ตามราคาน้ำ�มันในตลาดโลกที่ปรับลดลงมากในไตรมาสที่ 3 ปี 2558 เนือ่ งจากอุปทานน้ำ�มันดิบในตลาดโลกเพิ่มขึ้นตาม การผลิ ต น้ำ � มั น ในสหรั ฐ ฯ ที่ เ ริ่ ม มี ผู้ ป ระกอบการบางส่ ว น กลับมาดำ�เนินการ รวมกับการผลิตน้ำ�มันของกลุ่มประเทศ ผู้ส่ง ออกน้ำ� มั น (OPEC) ยั ง อยู่ใ นระดั บ สู ง นอกจากนี้ ในระยะต่อไปการยกเลิกการคว่�ำ บาตรประเทศอิหร่านจะส่งผลให้
อุปทานน้�ำ มันในตลาดโลกเพิม่ ขึน้ ประกอบกับความต้องการ ใช้นำ้�มันยังอยู่ในระดับต่ำ�ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ทีย่ งั ไม่เข้มแข็งโดยเฉพาะเศรษฐกิจจีน เช่นเดียวกับแนวโน้มการขยายตัวของอุตสาหกรรม ปิโตรเคมีไทยทัง้ ปี 2558 ซึง่ คาดว่าอัตราการขยายตัวจะลดลง เมือ่ เทียบกับปี 2557 ทัง้ นีป้ ัจจัยสำ�คัญมาจากภาวะเศรษฐกิจ ในประเทศ และประเทศที่เป็นตลาดส่งออกหลักของไทย ได้แก่ ประเทศจีน และประเทศญีป่ นุ่ มีอตั ราการขยายตัวลดลง อย่างไรก็ตาม สภาวะทางเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปและ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
079
สหรัฐอเมริกา รวมทัง้ ภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศยังคงเป็น ปัจจัยสำ�คัญของการขยายตัวของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในปี 2559 3. ภาวะการแข่งขัน จากการที่บริษัทยกระดับการให้บริการเข้าสู่การเป็น Regional EPC Contractor ซึ่งมักจะเป็นโครงการที่มี มูลค่าสูงและอยู่ในต่างประเทศตามที่ได้กล่าวไว้แล้วข้างต้น สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและการแข่งขันของบริษัทจึงมีการ เปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยสำ�คัญ และประกอบกับในภาวะ ปั จ จุ บัน ซึ่ง เศรษฐกิจโลกยังอยู่ในช่วงฟื้นตัวและมี แ นวโน้ ม ชะลอตัวของการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมน้ำ�มัน จึงอาจเป็น ผลทำ�ให้ระดับการแข่งขันเพิม่ ขึน้
อย่ า งไรก็ ต าม บริ ษัท พบว่ า เจ้ า ของโครงการยั ง คง ให้ความสำ�คัญต่อคุณภาพของงาน ตลอดจนความน่าเชือ่ ถือและ ความสามารถของ EPC Contractors เป็นปัจจัยทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ และนอกจากนี้ บริษทั ยังพบว่าบริษทั คูแ่ ข่ง เป็นผูป้ ระกอบการ EPC Contractors จากต่างประเทศขนาดใหญ่รายเดิมที่ บริษทั มีความคุน้ เคยเป็นอย่างดี จึงทำ�ให้บริษทั ยังมีขอ้ ได้เปรียบ ในหลายประการ อาทิ เ ช่ น การเน้ น การทำ � ธุ ร กิ จ ในกลุ่ ม ประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึง่ บริษทั และบริษทั ย่อย มีประสบการณ์และความชำ�นาญในพืน้ ทีส่ งู หรือ การมีเครือข่าย ทางธุรกิจทีแ่ ข็งแกร่ง
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
080
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
โครงสร้างรายได้
โครงสร้างรายได้
โครงสร้างรายได้ของบริษทั และบริ ษทั ย่อย แบ่งตามกลุ่มอุตสาหกรรม ในงวดปี 2556 – 2558 เป็ นดังนี้ โครงสร้างรายได้ของบริษัทและบริษัทย่อย แบ่งตามกลุ่มอุตสาหกรรม ในงวดปี 2556 – 2558 เป็นดังนี้ หน่ หน่ววยย : ล้านบาท กลุม่ อุกลุตสาหกรรม ่มอุตสาหกรรม
�เนินนการโดย การโดย ดดำาเนิ
ปิ โตรเคมี
ปีปี2556 2556 อยละ มูมูลลค่ค่าา ร้อร้ยละ
ปี 2557 ปี 2557 อยละ มูมูลลค่ค่าา ร้อร้ยละ
ปี ปี2558 2558 ร้ร้ออยละ มูมูลลค่ค่าา ยละ
บมจ. ทีทซี แี อล
6,320.25
35.38
3,655.71
18.68
5,647.34
26.24
TTCL Vietnam Corporation Limited
1,638.63
9.17
1,638.94
8.37
575.53
2.67
497.88 1,581.66 4.14 10,042.56 1,498.86 257.89 1,756.75 3,536.16 3,536.16 2,456.81
2.79 8.85 0.02 56.21 8.39 1.44 9.83 19.79 19.79 -
1,428.35 2,051.52 8,774.52 4,031.48 1,309.07 5,340.55 3,438.76 3,438.76 1,781.81
7.30 10.48 44.82 20.59 6.69 27.28 17.57 17.57 9.10
1,395.51 236.62 7,855.00 5,273.65 2,502.40 7,776.05 5,134.46 5,134.46 83.19
6.48 1.10 36.49 24.50 11.63 36.13 23.85 23.85 0.39
2,456.81 72.80
13.75 0.41
1,781.81 238.78
9.10 1.22
83.19 674.99
0.39 3.14
72.80 17,865.08
0.41 100.00
238.78 19,575.26
1.22 100.00
674.99 21,523.70
3.14 100.00
TTCL M alaysia Sdn. Bhd. ToyoThai-USA Corporation
บจก.โกลบอล นิว เอ็นเนอร์ย ี รวมรายได้จากการก่อสร้างอุ ตสาหกรรมปิ โตรเคมี พลังงาน บมจ. ทีทซี แี อล TTCL M alaysia Sdn. Bhd.
บจก.โกลบอล นิว เอ็นเนอร์ย ี รวมรายได้จากการก่อสร้างอุ ตสาหกรรมพลังงาน อื่นๆ บมจ. ทีทซี แี อล รวมรายได้จากการก่อสร้างอุ ตสาหกรรมอื่นๆ ก่อสร้างตามสัญญา Toyo Thai Power M yanmar Co.,Ltd. สัมปทาน รวมรายได้จากการก่อสร้างตามสัญญาสัมปทาน Thai Power M yanmar บริหารงานโรงไฟฟ้า Toyo Co.,Ltd. รวมรายได้จากการผลิตไฟฟ้า รวมรายได้
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
081
แผนพัฒนาธุรกิจ รูปแบบการดำ�เนินธุรกิจ: ยุทธศาสตร์การลงทุนคู่ขนาน ตั้งแต่ปี 2553 TTCL ได้วางกลยุทธ์การขยายธุรกิจ นอกเหนือจากการให้บริการด้านการออกแบบวิศวกรรม จัดหา เครื่องจักรและอุปกรณ์ และก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม แบบครบวงจร (Integrated EPC) อันเป็นธุรกิจหลัก ของบริษัท ซึ่งมีความเชี่ยวชาญมากว่า 30 ปี และด้วยสถานะ ทางการเงินที่แข็งแกร่งของบริษัท กอปรกับเป็นการสร้าง ความมั่นคงด้านรายได้ในระยะยาว บริษัทยังแสวงหาโอกาส
ทางธุ ร กิ จ ที่ น อกเหนื อ จากการเป็ น ผู้ รั บ เหมางานก่ อ สร้ า ง ประเภท EPC กล่ า วคื อ หากเจ้ า ของโครงการใดมี ความประสงค์ที่จะให้บริษัทร่วมทุน และโครงการนั้นสามารถ สร้างผลตอบแทนทีด่ จี ากการลงทุน บริษทั ก็มคี วามพร้อมทีจ่ ะ พิจารณาการลงทุนในโครงการเหล่านั้นด้วย ทั้งนี้ เพื่อเป็น การใช้ศกั ยภาพและสินทรัพย์ของบริษทั ให้เกิดประโยชน์สงู สุด สามารถแสดงได้ตามแผนผังต่อไปนี้
การเป็นผู้ร่วมลงทุนในโครงการ ผู้ร่วมทุน
ทีทีซีแอล
เงินปันผล
เงินลงทุน สัญญาก่อสร้าง EPC และบริหาร โครงการ
เงินลงทุน
เงินปันผล
บริษัทร่วมทุน (เจ้าของโครงการ)
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
082
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
การบริหารและจัดการความเสี่ยง บริ ษั ท ที ที ซี แ อล จำ � กั ด (มหาชน) ตระหนั ก ถึ ง ความสำ�คัญของการบริหารความเสี่ยงว่าเป็นปัจจัยที่จะช่วย ส่ ง เสริ ม ให้ บ ริ ษั ท ฯ บรรลุ ถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละเป้ า หมาย ที่กำ�หนดไว้ อันจะนำ�ไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับบริษัทฯ ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสีย คณะกรรมการบริษทั ฯ จึงได้ก�ำ หนดให้ นำ�กระบวนการบริหารความเสี่ยงมาใช้เป็นเครื่องมือ ในการ บริหารจัดการปัจจัยเสี่ยงให้เกิดประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง โดยคณะทำ�งานบริหารความเสี่ยง ภายใต้การกำ�กับดูแลของ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง จะประเมินปัจจัยเสีย่ งต่างๆ ทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกที่อาจส่งผลกระทบต่อ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของบริษัทฯ พร้อมทั้งพิจารณา ทบทวนความเพียงพอของนโยบาย มาตรการและแนวทาง ในการควบคุมความเสีย่ ง กำ�หนดวิธกี ารตอบสนองต่อความเสีย่ ง ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันเพื่อควบคุมความเสี่ยง ให้อยู่ในระดับที่บริษัทฯ ยอมรับได้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ติดตามพิจารณา ทบทวนผลการบริหารความเสี่ยงในภาพรวมของบริษัทฯ ซึ่ง ครอบคลุมความเสี่ยงประเภทต่าง ๆ ที่สำ�คัญ คือ ความเสี่ยง ด้านกลยุทธ์ ความเสีย่ งด้านการดำ�เนินงาน ความเสีย่ งด้านการเงิน และความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการประเมินความเสี่ยงได้พิจารณาถึงโอกาสที่เหตุการณ์ อันเกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยงนั้น ๆ จะเกิดขึ้น และความรุนแรง ของผลกระทบต่อบริษัทฯ ผลการพิจารณาทบทวนรายการความเสี่ยงในปี 2558 ที่ผ่านมา พบว่ามีความเสี่ยงระดับสูง และระดับปานกลาง ดังต่อไปนี้
สำ�หรับการดำ�เนินโครงการในต่างประเทศ บริษัทฯ มีนโยบายในการทำ�งานร่วมกับผูร้ บั เหมารายอืน่ ในประเทศนัน้ ๆ เพื่อลดความเสี่ยงจากการดำ�เนินโครงการในสภาพแวดล้อม สังคม วัฒนธรรมพื้นเมืองที่ไม่คุ้นเคย และบริษัทฯ ยังเน้นย้ำ� ให้ผรู้ บั ผิดชอบในการดำ�เนินโครงการ วางแผนงานให้รอบคอบ รั ด กุ ม และติ ด ตามควบคุ ม การปฏิ บั ติ ง านตามแผน อย่างใกล้ชดิ เพือ่ ป้องกันปัญหาต่างๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ นอกจากนี้ ผู้จัด การโครงการและผู้บ ริ ห ารระดั บ จั ด การที่รับ ผิ ด ชอบ จะต้องจัดทำ�นโยบายการดำ�เนินโครงการที่คำ�นึงถึงภาระทาง การเงินโดยระบุช่วงเวลา และปริมาณของเงินตราสกุลต่างๆ ทีต่ อ้ งการใช้ในการดำ�เนินโครงการ เพือ่ สือ่ สารให้ฝา่ ยการเงิน ได้รับทราบล่วงหน้าและสามารถบริหารจัดการด้านการเงิน ได้อย่างเหมาะสม
1. ความเสี่ ย งจากการรั บ งานโครงการที่ มี ข นาดใหญ่ ทั้งในและต่างประเทศ จากนโยบายของบริ ษั ท ฯ ที่ จ ะเข้ า รั บ งานโครงการ ที่ มี ข นาดใหญ่ ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ ซึ่ ง มี มู ล ค่ า สู ง โดย เฉพาะโครงการในต่างประเทศนั้นจะมีปัจจัยเสี่ยงเพิ่มขึ้น จากการดำ�เนินโครงการในสภาพแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม พื้น เมื อ ง รวมทั้งกฏหมายและระเบียบข้อบังคับของท้องถิ่น ทีแ่ ตกต่างออกไป ตลอดจนปัจจัยทางการเมืองในประเทศนัน้ ๆ ทัง้ นีก้ อ่ นทีบ่ ริษทั ฯ จะเข้าร่วมประมูล หรือลงทุนในโครงการใดๆ บริษัทฯ จะวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ โครงการในด้านต่างๆ และพิจารณากำ�หนดมาตรการเพื่อลด ความเสี่ยงให้เหลือน้อยที่สุด
2. ความเสี่ ย งจากการส่ ง มอบโครงการให้ ลู ก ค้ า ไม่ ทั น ตามกำ�หนด ในธุรกิจให้บริการออกแบบ จัดซื้อจัดหา และรับเหมา ก่อสร้าง สัญญาจ้างงานโดยทัว่ ไปจะมีการกำ�หนดเวลาแล้วเสร็จ และส่งมอบงานแก่ลกู ค้าไว้ลว่ งหน้า รวมทัง้ กำ�หนดความรับผิด ในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่สามารถส่งมอบงานได้ตามกำ�หนดเวลา ซึ่งตามปกติ คือ การชำ�ระค่าปรับเพื่อชดเชยความเสียหาย ทีเ่ กิดขึน้ จากความล่าช้าในการส่งมอบโครงการ ทัง้ นีค้ า่ ปรับในการ ส่งมอบงานล่าช้านั้นจะมีมูลค่าที่แตกต่างกันในแต่ละสัญญา และอาจจะส่งผลให้ตน้ ทุนโครงการเพิม่ สูงขึน้ จนผูร้ บั จ้างขาดทุนได้ นอกจากนี้ ความล่าช้าของโครงการยังอาจส่งผลกระทบถึง ชือ่ เสียงของผูใ้ ห้บริการรายนัน้ ๆ ทำ�ให้ไม่ได้รบั ความไว้วางใจ จากลู ก ค้ า รายอื่ น ๆ และเสี ย โอกาสทางธุ ร กิ จ ในอนาคต ความล่าช้าในการส่งมอบโครงการนั้น อาจจะเกิดขึ้นได้จาก สาเหตุหลายประการ อาทิ สภาพความซับซ้อนของโครงการ การบริหารจัดการโครงการที่ไม่มีประสิทธิภาพ ความล่าช้า ในการทำ�งานของผู้รับเหมาช่วง ความล่าช้าในการส่งมอบ เครื่องจักร อุปกรณ์ และวัสดุก่อสร้างของผู้ผลิต และปัญหา สภาพอากาศที่ ทำ � ให้ ไ ม่ ส ามารถดำ � เนิ น การก่ อ สร้ า งได้ ตามแผนงาน บริษัทฯ ตระหนักถึงความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น จากการส่งมอบโครงการไม่ทันตามกำ�หนด ทั้งในด้านตัวเงิน หรือชือ่ เสียง ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมอบหมายให้ฝา่ ยวางแผนและ บริหารงานโครงการ ตรวจสอบและควบคุมการดำ�เนินงาน ของแต่ละโครงการอย่างใกล้ชดิ และรายงานให้ผบู้ ริหารทราบ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
083
เพื่อให้สามารถติดตามความก้าวหน้าของโครงการ ตลอดจน 4. ความเสี่ยงด้านการเงิน เช่น ความเสี่ยงด้านรายได้จาก ช่วยอำ�นวยการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้อย่าง การร่วมลงทุน, ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับความพอเพียง ทันท่วงที ทำ�ให้การจัดการโครงการต่างๆ ของบริษัทฯ เป็นไป ของเงินทุน ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับความไม่แน่นอน ของเงิ น ทุ น และ ความเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ปั ญ หา อย่างมีประสิทธิภาพ การขาดสภาพคล่อง 3. ความเสีย่ งจากประเภทของโครงการทีไ่ ม่มปี ระสบการณ์ จากการที่ บ ริ ษั ท ฯได้ ดำ � เนิ น การตามแผนธุ ร กิ จ มาก่อน ในการให้บริการออกแบบ จัดซื้อจัดหา และรับเหมาก่อสร้าง การดำ�เนินธุรกิจให้บริการ ออกแบบ จัดซื้อจัดหา และ แบบครบวงจร ควบคูไ่ ปกับการร่วมลงทุนในโครงการต่างๆ นัน้ รับเหมาก่อสร้างแบบครบวงจร จะต้องอาศัยความรูค้ วามชำ�นาญ เนื่องจากโครงการที่บริษัทฯ ได้เข้าไปร่วมลงทุนเป็นโครงการ และประสบการณ์ในอุตสาหกรรมที่จะเข้าไปรับงานเป็นหลัก ที่ มี ข นาดใหญ่ และการดำ � เนิ น โครงการ EPC Project หากขาดซึง่ ความเข้าใจในลักษณะของอุตสาหกรรมและโครงการ บางโครงการจะไม่มีเงินรับล่วงหน้า ดังนั้นจำ�นวนเงินลงทุน รายได้และกำ�ไร จึงมีความสัมพันธ์โดยตรงกับขนาดของโครงการ ที่จ ะเข้ า ไปรั บ งานเป็ น อย่ า งดี แ ล้ ว อาจทำ � ให้ ก ารประเมิ น หากเกิดความผิดพลาดใดๆ ขึน้ ในการดำ�เนินโครงการ อาจจะ รายละเอี ย ดของโครงการคลาดเคลื่ อ นจากความเป็ น จริ ง ทำ�ให้เกิดผลกระทบต่อสภาพคล่องและทำ�ให้สถานะทางการเงิน ส่งผลกระทบต่อรายได้ ต้นทุน และกำ�ไรของโครงการ ของบริษัทฯ ได้รับผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญ อย่างไรก็ตาม ในการวางแผนการดำ�เนินโครงการ บริษัทฯ ได้ศึกษา ฝ่ า ยบริ ห ารได้ ทำ � การกลั่ น กรอง คั ด เลื อ กโครงการที่ จ ะ รายละเอียด ข้อกำ�หนดและสภาพแวดล้อมของโครงการ ร่วมลงทุน และผูท้ จ่ี ะร่วมลงทุนในโครงการต่างๆ อย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา โดยก่อนที่บริษัทฯ จะเข้าไปร่วมลงทุนในโครงการใดๆ นั้น หรืออุปสรรคต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อความสำ�เร็จของ บริษัทฯ จะศึกษาและพิจารณาถึงบรรยากาศในการลงทุน, โครงการ เช่น การออกแบบ หรือ ก่อสร้างผิดไปจากข้อกำ�หนด ความเป็นไปได้ของโครงการ, ศักยภาพของโครงการ รวมถึง การปฏิ บั ติ ไ ม่ ส อดคล้ อ งกั บ กฎระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ ต่ า งๆ ผลตอบแทนจากโครงการว่ า คุ้ ม ค่ า กั บ การลงทุ น หรื อ ไม่ การเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน โดยพิจารณา บริษัทฯ จะค้นหาและเปรียบเทียบเงื่อนไขของแหล่งเงินทุน ่ อ ที่ จ ะคั ด เลื อ กแหล่ ง เงิ น ทุ น ที่ มี เ งื่ อ นไขเหมาะสมกั บ กำ�หนดมาตรการควบคุมที่เหมาะสมเพื่อลดความเสี่ยงลง เพื ความต้องการของบริษทั ฯ มากทีส่ ดุ , และจะพิจารณาคุณสมบัต,ิ ให้มากที่สุด นอกจากนี้เพื่อเป็นการเสริมความแข็งแกร่ง ประสบการณ์ และสถานะทางการเงิ น ของผู้ ร่ ว มลงทุ น ให้กับทีมงานบริหารโครงการ บริษัทฯ มีนโยบายที่จะทำ�งาน ในโครงการดังกล่าวว่ามีความเหมาะสมทีบ่ ริษทั ฯ จะร่วมลงทุน ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้รับเหมารายอื่นที่มีความรู้ และ ด้วยหรือไม่เพียงใด และระหว่างดำ�เนินโครงการ ผู้จัดการ ประสบการณ์ ที่ เ หมาะสมอย่ า งใกล้ ชิ ด ซึ่ ง นอกจากจะได้ โครงการจะต้ อ งติ ด ตามความก้ า วหน้ า ของงานเที ย บกั บ พันธมิตรในการดำ�เนินงานแล้ว ยังช่วยให้บริษัทฯ ได้พัฒนา เป้าหมายทางการเงินอย่างใกล้ชิด เพื่อให้รายรับและรายจ่าย ของโครงการเป็นไปตามแผนงานที่กำ�หนดไว้ ซึ่งความรู้ และประสบการณ์ที่จำ�เป็นอีกด้วย
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
084
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี: นำ�หลักเกณฑ์ดังกล่าวไปปฏิบัติ หากหลักเกณฑ์ในเรื่องใด บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) มีเจตนารมณ์ที่จะ ที่ยังไม่ได้มีการกำ�หนดเป็นนโยบายหรือยังไม่ได้นำ�ไปปฏิบัติ ดำ�เนินธุรกิจภายใต้หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good ฝ่ายจัดการจะรายงานให้คณะกรรมการ บรรษัทภิบาลทบทวน Corporate Governance) ซึ่งแสดงถึงการมีระบบบริหาร เป็นประจำ�ทุกปี ทั้งนี้รายงานการดำ�เนินการตามหลักการ จัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ช่วยสร้างความ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ในปี 2558 สรุปได้ดังนี้ เชื่อมั่นและความมั่นใจต่อผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย สร้างความสามารถในการแข่งขัน บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสำ � คั ญ และส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น นำ�ไปสูค่ วามเจริญเติบโตและเพิม่ มูลค่าให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ในระยะ ได้ใช้สิทธิข้นั พื้นฐานทางกฎหมาย ได้แก่ สิทธิในการเข้าร่วม ยาวโดยหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีประกอบด้วยหลักการ ประชุม และออกเสียงลงคะแนนในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการ แบ่งเป็น 5 การเลือกตัง้ หรือถอดถอนกรรมการ การพิจารณาค่าตอบแทน หมวด ได้แก่ กรรมการ การพิจารณาส่วนแบ่งในผลกำ�ไร (เงินปันผล) 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น การได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างเพียงพอ เป็นต้น นอกจากสิทธิ 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ขั้นพื้นฐานดังกล่าวข้างต้น บริษัทฯ ได้ดูแลเอาใจใส่สิทธิของ 3. การคำ�นึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย ผูถ้ อื หุน้ มากกว่าทีก่ ฎหมายกำ�หนด เช่น การให้ขอ้ มูลทีส่ �ำ คัญ 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส ผ่านเว็บไซต์ของบริษทั ฯ การจัดให้นกั วิเคราะห์ และนักลงทุน 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ เยี่ยมชมกิจการ เป็นต้น บริษัทฯ จึงได้กำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ บริษัทฯ มีนโยบายส่งเสริมและอำ�นวยความสะดวกให้ ที่ดีและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องไว้อย่างชัดเจนและปฏิบัติตาม แก่ผถู้ อื หุน้ รวมถึงนักลงทุนสถาบัน ในการเข้าร่วมการประชุม โดยเคร่งครัด ทง้ั นี้ บริษทั ฯ ได้มกี ารสือ่ สาร และเผยแพร่นโยบาย ผูถ้ อื หุน้ โดยบริษทั ฯ คัดเลือกสถานทีจ่ ดั การประชุมซึง่ มีระบบ การกำ�กับดูแลกิจการและหลักในการปฏิบตั ดิ งั กล่าวแก่ กรรมการ ขนส่งมวลชนเข้าถึงและเพียงพอเพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถเดิน ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท ผ่านช่องทางต่างๆ รวมถึง ทางเข้าร่วมการประชุมได้อย่างสะดวก บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ (www.ttcl.com) ผู้ถือหุ้นจัดส่งเอกสารลงทะเบียนเข้าร่วมการประชุมล่วงหน้า การปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ: ก่อนวันประชุม เพื่อลดระยะเวลาในการตรวจสอบเอกสารใน บริ ษั ท ฯ ยึ ด มั่นและปฏิบัติตามหลัก การกำ�กับดูแล วันประชุม และบริษัทฯ จัดช่องทางการลงทะเบียน ณ สถาน กิจการทีด่ สี �ำ หรับบริษทั จดทะเบียน ปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์ ที่จัดการประชุมสำ�หรับผู้ถือหุ้นบุคคลธรรมดาและนักลงทุน แห่ ง ประเทศไทย และหลั ก เกณฑ์ ต ามโครงการสำ � รวจ สถาบัน โดยบริษัทฯ ได้นำ�ระบบบาร์โค้ด (Barcode) มาใช้ การกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียน (Corporate ในการลงทะเบียนและนับคะแนนเสียง เพื่อช่วยให้ขั้นตอน Governance Report of Thai Listed Companies– การลงทะเบียนและการประมวลผลการลงคะแนนเสียงเป็นไป CGR) ของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย อย่ า งรวดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น และได้ จั ด เตรี ย มอากรแสตมป์ ใ ห้ แ ก่ (IOD) รวมถึงหลักเกณฑ์ตาม ASEAN CG Scorecard และ ผู้ถือหุ้นในการมอบฉันทะ ทั้งนี้ เพื่ออำ�นวยความสะดวกให้ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ โดยคณะกรรมการ แก่ผู้ถือหุ้น บรรษัทภิบาลเป็นผู้พิจารณาและนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ กำ � หนดให้ มี ก ารประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น บริ ษั ท เพื่ อ อนุ มั ติ ใ ห้ บ ริ ษั ท มี ก ารกำ � หนดนโยบาย รวมถึ ง เป็นประจำ�ทุกปีภายใน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชีของ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
085
บริษทั ฯ และหากมีความจำ�เป็นเร่งด่วนทีจ่ ะต้องพิจารณาวาระ ในแต่ละวาระ รายงานการประชุมครัง้ ทีผ่ า่ นมา เงือ่ นไข พิเศษที่อาจเป็นเรื่องที่กระทบหรือเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ วิ ธี ก ารลงทะเบี ย นและการมอบฉั น ทะ พร้ อ มแนบ ของผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง จำ � เป็ น ต้ อ งได้ รั บ การอนุ มั ติ จ ากผู้ ถื อ หุ้ น หนังสือมอบฉันทะทุกแบบ ประกอบด้วยแบบ ก แบบ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะเรี ย กประชุ ม วิ ส ามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ข และ แบบ ค (สำ�หรับผู้ถือหุ้นต่างประเทศที่แต่งตั้ง ได้เป็นกรณีไป คัสโตเดียนในประเทศไทยเท่านั้น) ตามที่กระทรวง ในปี 2558 บริษัทฯ ได้จัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น พาณิชย์ก�ำ หนด แผนทีข่ องสถานทีจ่ ดั ประชุม ทัง้ ภาษาไทย ในวันที่ 9 เมษายน 2558 ณ สำ�นักงานบริษัทฯ ชั้น 27 อาคาร และภาษาอั ง กฤษ ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ เสริมมิตรทาวเวอร์ ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) กรุงเทพฯ และ ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน ในระหว่างปีไม่มีการเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น โดยในปี ก่อนที่จะจัดส่งเอกสารเชิญประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้น ที่ผ่านมามีจำ�นวนผู้ที่เข้าร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้นรวม 567 3) จัดส่งหนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี และ คน แบ่งเป็นผู้ถือหุ้นที่มาด้วยตนเอง จำ�นวน 147 คน และ เอกสารประกอบการประชุมต่างๆ ให้ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า ผ่านการมอบฉันทะจำ�นวน 420 คน โดยมีจ�ำ นวนหุน้ ทีถ่ อื รวมกัน อย่างน้อย 14 วันก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้ทั้งหมดจำ�นวน 363,173,970 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 64.85 ได้ รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารเพื่ อ การตั ด สิ น ใจในการลงมติ ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมดของบริษัทฯ ซึ่งในการประชุมสามัญ อย่างเพียงพอ ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และมีโอกาส ผู้ถือหุ้นทุกครั้ง บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามแนวทางของโครงการ ศึกษาวาระการประชุมล่วงหน้า พร้อมทัง้ ประกาศลงใน ประเมิ น คุ ณ ภาพการจั ด ประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น (AGM หนังสือพิมพ์ฉบับภาษาไทยติดต่อกันต่อเนื่อง 3 วัน Checklist) ซึง่ จัดทำ�ขึน้ โดยสมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทย ดังนี้ ก่อนวันประชุมอย่างน้อย 3 วัน เพื่อเป็นการบอกกล่าว การเรียกประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ เป็นการล่วงหน้าสำ�หรับ การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นก่อนวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น: ให้ผู้ถือหุ้นเตรียมตัวมาร่วมประชุม 1) เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยเสนอเรือ่ งเพือ่ พิจารณา กำ�หนดเป็นระเบียบวาระการประชุม และเสนอชือ่ บุคคล การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นในวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น: ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม เพือ่ เข้ารับการพิจารณาเลือกตัง้ 1) จัดให้มีสถานที่จัดการประชุมที่สะดวกต่อการเดินทาง เป็นกรรมการของบริษัทฯ เป็นรายบุคคล ล่วงหน้า มาเข้าร่วมการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีอยู่ใน ไม่น้อยกว่า 3 เดือนก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น กรุงเทพมหานคร และมีขนาดเพียงพอรองรับจำ�นวน ประจำ�ปี โดยกำ�หนดให้ผถู้ อื หุน้ ทีจ่ ะเสนอระเบียบวาระ ผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบฉันทะ การประชุมต้องเป็นผู้ถือหุ้นรายเดียวหรือหลายราย 2) บริษทั ฯ มีนโยบายอำ�นวยความสะดวกให้ผถู้ อื หุน้ ในวัน ที่ถือหุ้นและมีสิทธิออกเสียงนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่า ประชุมอย่างเท่าเทียมกัน ทัง้ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่และผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 5 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของ รายย่อย รวมถึงนักลงทุนสถาบัน โดยบริษทั ฯ จะเปิดให้ บริษัทฯ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ชี้แจงรายละเอียดและวิธีการ ผู้ถือหุ้นสามารถรับการลงทะเบียนก่อนเวลาประชุม 2 ผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทัง้ ชัว่ โมง และแม้จะพ้นเวลาลงทะเบียนแล้ว ก็ยงั เปิดโอกาส ได้เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.ttcl.com ให้ผถู้ อื หุน้ ทีป่ ระสงค์จะร่วมประชุม สามารถลงทะเบียน 2) เผยแพร่ ข้ อ มู ล หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ระเบี ย บวาระ เข้าร่วมประชุมได้โดยไม่เสียสิทธิ และจัดเจ้าหน้าทีต่ อ้ นรับ การประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ข้ อ มู ล ประกอบการพิ จ ารณา และให้ข้อมูลในการตรวจเอกสารและลงทะเบียนเพื่อ ระเบี ย บวาระ พร้ อ มความเห็ น ของคณะกรรมการ เข้าร่วมประชุมอย่างเพียงพอ รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
086
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
3) นำ � ระบบบาร์ โ ค้ ด ที่ แ สดงเลขทะเบี ย นของผู้ ถื อ หุ้ น แต่ละราย มาใช้ในการลงทะเบียน และนับคะแนนเสียง เพือ่ ความถูกต้อง สะดวกและรวดเร็ว 4) บริษทั ฯ ไม่กระทำ�การใดๆ ทีม่ ลี กั ษณะเป็นการจำ�กัดสิทธิ ในการเข้าร่วมประชุมของผูถ้ อื หุน้ ผูถ้ อื หุน้ ทุกคนย่อมมีสทิ ธิ เข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ ตลอดระยะเวลาการประชุม และ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ซักถาม ตลอดจนแสดงความคิดเห็น ได้อย่างอิสระภายในเวลาที่สมควร 5) เมือ่ ถึงเวลาเริม่ การประชุม กรรมการ คณะอนุกรรมการ ผู้บริหาร ตลอดจนผู้สอบบัญชี และที่ปรึกษากฎหมาย ได้เข้าร่วมประชุม โดยก่อนเริม่ ประชุมทุกครัง้ ประธาน ที่ ป ระชุ ม จะเป็ น ผู้ ชี้ แ จงหลั ก เกณฑ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การประชุมทั้งหมด อาทิเช่น การเปิดประชุม และ การออกเสียงลงคะแนน รวมทั้งวิธีการนับคะแนนเสียง ของผูถ้ อื หุน้ ทีจ่ ะต้องลงมติในแต่ละวาระตามข้อบังคับ ของบริษัทฯ 6) บริษทั ฯ ได้มอบหมายให้ ทีป่ รึกษากฎหมาย จากบริษทั ไอพีซที ี แอสโซซิเอท จำ�กัด ทำ�หน้าทีต่ รวจสอบความถูกต้อง ของการมอบฉันทะ การนับองค์ประชุม รวมถึงการนับ และรายงานคะแนนเสียง ส่งผลให้บริษัทฯ สามารถ รายงานผลคะแนนเสียงให้ทป่ี ระชุมรับทราบเป็นรายวาระ ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และโปร่งใส 7) บริษัทฯ จะระบุการมีส่วนได้เสียของกรรมการไว้ใน หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ฯ และในการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น หากกรรมการท่านใดมีสว่ นได้เสีย หรือมีสว่ นเกีย่ วข้อง ในการพิ จ ารณาวาระใด ประธานที่ ป ระชุ ม จะแจ้ ง ให้ผู้เข้าร่วมประชุมทราบก่อนการพิจารณาวาระ โดย กรรมการท่ า นที่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย นั้ น จะไม่ ร่ ว มประชุ ม ในวาระนั้นๆ 8) สนับสนุนให้ผเู้ ข้าร่วมประชุมสามารถใช้สทิ ธิในการดูแล รักษาผลประโยชน์ของตน โดยการซักถาม แสดงความเห็น ให้ขอ้ เสนอแนะและออกเสียงในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ รวมถึง การใช้สิทธิร่วมตัดสินใจในเรื่องที่สำ�คัญต่างๆ ที่อาจมี ผลกระทบต่อบริษัทฯ เช่น การแต่งตั้งหรือถอดถอน
การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นหลังวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น: 1) บริษัทฯ ได้เปิดเผยมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นพร้อม ผลการลงคะแนนเสียงทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ในวันทำ�การถัดไปหลังจากวันประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ โดย แจ้งข่าวไปยังตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และนำ�มติเผยแพร่บนเว็บไซต์บริษทั ฯ (www.ttcl.com) 2) บริษัทฯ ได้จัดทำ�รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นแจ้งต่อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ภายใน 14 วัน หลังวันประชุมตามข้อกำ�หนดของตลท. และเผยแพร่ บันทึกรายละเอียดการประชุมอย่างครบถ้วนเหมาะสม ประกอบด้วย การบันทึกรายงานการประชุม มติทปี่ ระชุม พร้อมคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่ออกเสียง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียง รวมทั้งข้อซักถามของ ผู้ถือหุ้นในแต่ละวาระอย่างละเอียด พร้อมทั้งเผยแพร่ รายงานการประชุม ให้ผู้ถือหุ้นรับทราบบนเว็ บไซต์ บริษัทฯ (www.ttcl.com) 3) บริษทั ฯ นำ�ข้อเสนอแนะ และความคิดเห็นทีไ่ ด้รบั จาก ผู้ถือหุ้นในการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นมาพิจารณา และหาแนวทางการปรับปรุง เพื่อ พัฒนาการจัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอย่างต่อเนื่อง 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทฯ มีนโยบายในการสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นทุกราย ได้รบั สิทธิและการปฏิบตั อิ ย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม ดังนี้ 2.1 บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอระเบียบวาระ การประชุ ม และเสนอชื่ อ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ พื่ อ เข้ า รั บ การพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการของบริษทั ฯล่วงหน้า อย่างน้อย 3 เดือน โดยบริษทั ฯ ได้เผยแพร่รายละเอียด เกี่ ย วกั บ หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารในการดำ � เนิ น การ ดังกล่าว เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมทัง้ ส่ง
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
กรรมการ การเสนอชื่อบุคคลเพื่อเป็นกรรมการอิสระ การอนุมตั ผิ สู้ อบบัญชี การจัดสรรเงินปันผล การลดทุน หรือเพิม่ ทุน การกำ�หนดหรือการแก้ไขข้อบังคับ หนังสือ บริคณห์สนธิ และการอนุมตั ริ ายการพิเศษ เป็นต้น
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หนังสือถึงตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ ทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ (www.ttcl.com) 2.2 บริษัทฯ อำ�นวยความสะดวกให้ผ้ถู ือหุ้นที่ไม่สามารถ เข้ า ร่ ว มประชุ ม ด้ ว ยตนเองมี สิ ท ธิ ม อบฉั น ทะ ให้ผอู้ นื่ มาประชุมและลงมติแทนผูถ้ อื หุน้ โดยบริษทั ฯ ได้จัดเตรียมหนังสือมอบฉันทะ ตามแบบที่กระทรวง พาณิชย์ประกาศกำ�หนด ได้แก่ หนังสือมอบฉันทะ แบบ ก. แบบ ข. และแบบ ค. ซึ่งผู้ถือหุ้นสามารถ กำ � หนดทิ ศ ทางการออกเสี ย งลงคะแนนได้ และ ได้จัดส่งหนังสือมอบฉันทะ (แบบ ก. และ แบบ ข.) ให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น พร้ อ มหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ผู้ถือ หุ้น นอกจากนี้ผ้ถู ือหุ้นสามารถดาวน์โหลดหนั ง สื อ มอบ ฉันทะ (แบบ ก. แบบ ข. และแบบ ค.) ได้ทางเว็บไซต์ ของบริษัทฯ 2.3 ดำ�เนินการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นตามลำ�ดับระเบียบ วาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุม แลมีนโยบาย ที่ จ ะไม่ เ พิ่ ม ระเบี ย บวาระในที่ ป ระชุ ม โดยไม่ แ จ้ ง ให้ผถู้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้า พร้อมทัง้ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีสิทธิอย่างเท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็น และตั้ ง คำ � ถามในที่ ป ระชุ ม และได้ ใ ช้ สิ ท ธิ ใ นการ แต่งตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล 2.4 ผู้ถือหุ้นสามารถออกเสียงในทุกวาระการประชุมผ่าน บัตรลงคะแนนเสียงทีบ่ ริษทั ฯ ได้แจกให้ในวันประชุม สำ�หรับวิธกี ารนับคะแนนเสียง จำ�นวน 1 หุน้ เท่ากับ 1 คะแนนเสียง บริษัทฯ จะนับคะแนนเสียงแต่ละวาระ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการหักคะแนนเสียง ทีไ่ ม่เห็นด้วย และงดออกเสียงของผูถ้ อื หุน้ หรือผูร้ บั มอบ ฉันทะออกจากจำ�นวนหุ้นทั้งหมดของผู้ถือหุ้น หรือ ผู้รับมอบฉันทะที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง 2.5 เปิดเผยข้อมูลที่เป็นปัจจุบันผ่านเว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่ อ ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ รั บ ทราบข้ อ มู ล ข่ า วสารสำ � คั ญ ของบริษัทฯ ที่มีการเปลี่ยนแปลง รวมถึงสารสนเทศ ที่ บ ริ ษั ท ฯ เปิ ด เผยตามข้ อ กำ � หนดต่ า งๆ โดย ภายหลั ง จากการเปิ ด เผยต่ อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
087
แห่งประเทศไทย (ตลท.) แล้ว ได้นำ�ข้อมูลเผยแพร่ ในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2.6 บริ ษั ท ฯ ได้ กำ � หนดนโยบายด้ า นการรั ก ษาข้ อ มู ล ความลับและการใช้ข้อมูลภายในไว้ในคู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งบริษัทฯ มีนโยบายเกี่ยวกับ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ฯ ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ในระเบียบ ปฏิบตั เิ กีย่ วกับจริยธรรมทางธุรกิจ (Code of Business Ethics) และจรรยาบรรณทางธุรกิจ (Code of Conduct) โดยทัว่ ไปแล้วนโยบายดังกล่าวกำ�หนดให้ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ฯ หลีกเลีย่ ง มิ ใ ห้ เ กิ ด การขั ด กั น ระหว่ า งผลประโยชน์ ส่ ว นตั ว ของบุ ค คลดั ง กล่ า วกั บ ผลประโยชน์ ข องบริ ษั ท ฯ โดยการขั ด กั น นี้ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ได้ เ มื่ อ กรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงานกระทำ�การอย่างใดๆ หรือ มีประโยชน์ส่วนตัวอันขัดหรือแย้งกับวัตถุประสงค์ และการปฏิบัติหน้าที่เพื่อบริษัทฯ 2.7 กรรมการ ผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้องทางการเงินและ บั ญ ชี ตั้ ง แต่ ร ะดั บ ผู้ จั ด การขึ้ น ไป รวมถึ ง พนั ก งาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ความลั บ ทางธุ ร กิ จ ยังถูกคาดหมายให้หลีกเลี่ยงการซื้อขายหลักทรัพย์ โดยการอาศัยข้อมูลภายในซึง่ มิได้เป็นข้อมูลสาธารณะ ทีก่ รรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงานดังกล่าวฯ ได้มาโดย การอาศัยตำ�แหน่งหน้าทีใ่ นบริษทั ฯ และห้ามทำ�การซือ้ และ/หรือขายหุ้นภายใน 45 วัน ก่อนการเปิดเผย งบการเงิน 2.8 บริษัทฯ กำ�หนดนโยบายให้ กรรมการ ผู้บริหาร 4 ลำ�ดับแรก และผูเ้ กีย่ วข้องทางการเงินและบัญชีตงั้ แต่ ระดั บ ผู้ จั ด การขึ้ น ไป รวมถึ ง คู่ ส มรสและบุ ต ร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าวที่ประสงค์ จะซือ้ หรือขายหุน้ ของบริษทั ฯ ต้องรายงานการถือครอง หลักทรัพย์ตลอดจนรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือ หลักทรัพย์ทุกครั้งที่มีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน หลักทรัพย์ ภายใน 3 วัน นับจากวันที่มีการซื้อขาย
088
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หลักทรัพย์ ต่อ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ พนักงานทุกคน ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์สจุ ริต ตลอดจน และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ตัดสินใจดำ�เนินการใดๆ ด้วยความบริสุทธิ์ใจและเป็นธรรม 2.9 ในกรณีการทำ�รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน บริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ิ ต่อผูถ้ อื หุน้ ทัง้ รายใหญ่และรายย่อย และเพือ่ ผลประโยชน์ของ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ประกาศ คำ�สัง่ หรือ กลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเต็มความสามารถ ไม่ดำ�เนินการใดๆ ข้ อ กำ � หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อ ตลอดจนการปฏิ บั ติ ต ามข้ อ กำ � หนดเกี่ ย วกั บ การ บริษทั ฯ ไม่แสวงหาประโยชน์ให้ตนเอง และไม่เปิดเผยข้อมูลลับ เปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการเกี่ยวโยง และการได้มา ต่อบุคคลภายนอก พร้อมทัง้ คำ�นึงถึงการเปิดเผยข้อมูลทีส่ �ำ คัญ หรือจำ�หน่ายทรัพย์สนิ ทีส่ �ำ คัญของบริษทั หรือบริษทั ย่อย ต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างถูกต้อง ครบถ้วนและทันเวลา เพื่อ รวมทัง้ ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานบัญชีทกี่ �ำ หนดโดยสมาคม ตอบแทนความเชื่อมั่นที่ผู้ถือหุ้นมีให้กับบริษัทฯ นักบัญชี (TAS) ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ได้เปิดเผยรายละเอียด ของรายการเกี่ยวโยงกันไว้ในรายงานประจำ�ปี โดย 3.2 ลูกค้า: รายการระหว่างกันได้กระทำ�อย่างยุติธรรม ตามราคา บริษัทฯ มีนโยบายคุณภาพและระบบบริหารจัดการ ตลาดและเป็นไปตามปกติธรุ กิจการค้า (Fair and at ด้านคุณภาพ ISO 9001:2008 ที่มุ่งดำ�เนินธุรกิจเพื่อสร้าง arm’s length) พร้อมทั้งระบุถึงความจำ�เป็นและ ความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าด้วยการส่งมอบสินค้าที่มีคุณภาพ ตามข้อตกลงกับลูกค้า เปิดเผยข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสินค้า เหตุผลด้วย และการบริการ อย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันต่อเหตุการณ์ ไม่บดิ เบือนข้อเท็จจริง รวมถึงจัดให้มชี อ่ งทางการสือ่ สารเพือ่ 3. การคำ�นึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ตระหนักถึงความสำ�คัญต่อสิทธิตามกฎหมาย ให้ลกู ค้าระบุขอ้ ร้องเรียน ไม่ก�ำ หนดเงือ่ นไขการค้าทีไ่ ม่เป็นธรรม ของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มทั้งภายในและภายนอกบริษัทฯ ต่อลูกค้า ปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง หรือเงื่อนไขต่างๆ เช่น พนักงานและผู้บริหารของบริษัทฯ และบริษัทฯ ในเครือ ที่มีต่อลูกค้าอย่างโปร่งใสและเท่าเทียมกัน โดยดำ�เนินการ ของบริษัท ตลอดจนผู้มีความสัมพันธ์เชิงพันธะสัญญากับ ตามสัญญา จรรยาบรรณทางธุรกิจ หลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ฯ ไว้ในคูม่ อื การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณ และกฎหมายอย่ า งเคร่ ง ครั ด รวมถึ ง การให้ ค วามสำ � คั ญ ทางธุรกิจของบริษัท ซึ่งบริษัทฯ จะปฏิบัติตามภาระหน้าที่ ในการรักษาข้อมูลที่เป็นความลับของลูกค้าอย่างสมํ่าเสมอ ที่ บ ริ ษั ท ฯ มี อ ยู่ ต ามข้ อ กำ � หนดในสั ญ ญานั้ น ๆ เพื่ อ สร้ า ง ไม่นำ�ข้อมูลดังกล่าวมาใช้เพื่อผลประโยชน์ของตนเอง และ/ ความเชือ่ มัน่ และความมัน่ คงให้แก่บริษทั ฯ และผูม้ สี ว่ นได้เสีย หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ รวมทั้ ง เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของบริ ษั ท ฯ 3.3 คู่ค้า: ในระยะยาว ดังรายละเอียดต่อไปนี้ บริษัทฯ มีหลักเกณฑ์ในการประเมินและคัดเลือกคู่ค้า 3.1 ผู้ถือหุ้น: บริ ษั ท ฯ มุ่ ง มั่ น ที่ จ ะเป็ น ตั ว แทนที่ ดี ข องผู้ ถื อ หุ้ น ในการดำ�เนินธุรกิจอย่างโปร่งใส มีระบบบัญชีและการเงิน ที่มีความเชื่อถือได้สร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับผู้ถือหุ้น ด้วยการดำ�เนินงานให้เกิดผลประโยชน์ในระยะยาวสูงสุดแก่ ผู้ถือหุ้น โดยมีผลประกอบการที่ดีอย่างสม่ำ�เสมอและยั่งยืน มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยคณะกรรมการ ผู้บริหารและ
ปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลงและเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อคู่ค้า อย่างเคร่งครัด ไม่เรียกร้อง ไม่รับ ไม่จ่ายผลประโยชน์ใดๆ ทางการค้ากับคูค่ า้ โดยไม่สจุ ริต ตลอดจนการเก็บรักษาความลับ ทางการค้าของคู่ค้า โดยไม่นำ�ไปเปิดเผยต่อบุคคลอื่น และ ในกรณีทไ่ี ม่สามารถปฎิบตั ติ ามเงือ่ นไขข้อใดข้อหนึง่ ต้องรีบแจ้ง ให้ค่คู ้าทราบล่วงหน้า เพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไข เพื่อให้การดำ�เนินการด้านการจัดซื้อ/จัดจ้างงานทั่วไป และ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
089
โครงการขนาดใหญ่ เ ป็ น ไปอย่ า งมี ร ะบบ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเป็นขวัญกำ�ลังใจให้แก่พนักงานในการปฏิบตั งิ าน เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบนั และเป็นไปตามหลัก กับบริษัทฯ การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยยึดหลักธรรมาภิบาลและโปร่งใส - จั ด สวั ส ดิ ก ารและสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ขั้ น พื้ น ฐานตามที่ ตรวจสอบได้ กฎหมายกำ�หนด รวมถึงการประกันสังคม กองทุน เงิ น ทดแทน กองทุ น สำ � รองเลี้ ย งชี พ โดยมี ก าร 3.4 คู่แข่งทางการค้า: ประชาสัมพันธ์สิทธิประโยชน์ต่างๆ ให้กับพนักงาน บริ ษั ท ฯ มี น โยบายในการดู แ ลและดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ อย่างต่อเนื่อง อย่างมีจริยธรรม โปร่งใส มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรมกับ - จัดให้มสี วัสดิการอืน่ ๆ นอกจากทีก่ ฎหมายกำ�หนด อาทิ คู่แข่งทางการค้าภายใต้กรอบของกฎหมาย และจรรยาบรรณ การประกันสุขภาพ ซึ่งครอบคลุมการรักษาพยาบาล ทางธุรกิจ ไม่แสวงหาข้อมูลทีเ่ ป็นความลับของคูแ่ ข่งทางการค้า ผูป้ ว่ ยนอกและผูป้ ว่ ยในและทันตกรรม การประกันชีวติ ด้วยวิธกี ารทีไ่ ม่เหมาะสม และไม่แสวงหาข้อมูลทีเ่ ป็นความลับ ของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริตหรือไม่เหมาะสม การประกันอุบัติเหตุ การตรวจสุขภาพประจำ�ปี และ รวมถึงไม่ท�ำ ลายชือ่ เสียงของคูแ่ ข่งทางการค้า ด้วยการกล่าวหา การรักษาพยาบาลภายในสำ�นักงาน โดยจัดให้มแี พทย์ และพยาบาลประจำ�สำ�นักงานในช่วงเวลาปฏิบัติงาน ในทางร้าย รวมถึงจัดให้มมี าตรการดูแลสุขภาพอนามัยของพนักงาน 3.5 เจ้าหนี้: นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังส่งเสริมให้พนักงานออกกำ�ลังกาย บริษัทฯ ปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อตกลง ที่มีต่อเจ้าหนี้ เพื่อสุขภาพที่ดี การจัดสถานที่ออกกำ�ลังกาย เพื่อให้ การค้า และเจ้าหนี้สถาบันการเงินทุกราย อย่างเคร่งครัด พนักงานได้ผ่อนคลายจากการทำ�งานและได้ใช้เวลา ตามเงื่อนไขข้อกำ�หนดของสัญญา โดยเฉพาะเรื่องเงื่อนไข ทำ�กิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน และส่งเสริมเรือ่ งความสัมพันธ์ ค้�ำ ประกันการบริหารเงินทุนและการชำ�ระหนี ้ มคี วามรับผิดชอบ ในครอบครัว โดยได้จดั สถานทีแ่ ละกิจกรรมต่างๆ อาทิ และโปร่งใส ไม่ปกปิดข้อมูล หรือข้อเท็จจริงอันจะทำ�ให้ ห้องเด็กเล่น ห้องให้นมบุตร และกิจกรรมในช่วงปิดเทอม เจ้าหนีเ้ กิดความเสียหาย กรณีทไี่ ม่สามารถปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไข เพื่ อ รองรั บ กรณี ที่ พ นั ก งานมี ค วามจำ � เป็ น ต้ อ งนำ � บริษัทฯ จะแจ้งให้เจ้าหนี้ทราบล่วงหน้า เพื่อร่วมกันพิจารณา บุตรหลานมาทีท่ �ำ งาน นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้จดั ให้มเี งิน หาแนวทางแก้ไข ช่ ว ยเหลื อ พนั ก งานในกรณี ต่ า งๆ เช่ น การสมรส การคลอดบุตร การอุปสมบท การเสียชีวิตของญาติ 3.6 พนักงาน: บริษทั ฯ ให้ความสำ�คัญกับพนักงานโดยถือว่าพนักงาน ใกล้ชิด การประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ เป็นต้น ั นาทักษะ ความรูค้ วามสามารถ เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นรากฐานของความสำ�เร็จ - ส่งเสริมให้พนักงานได้พฒ ดังนั้นบริษัทฯ จึงให้ความสำ�คัญในเรื่องสวัสดิการและความ โดยการส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมในหลักสูตรต่างๆ ปลอดภัยของพนักงาน สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพของ ทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว ทัง้ ในด้านวิชาการและเทคนิค พนักงาน เสริมสร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศการทำ�งานที่ดี เฉพาะทาง เพือ่ เพิม่ พูนทักษะและศักยภาพในการทำ�งาน ส่งเสริมการทำ�งานเป็นทีม รวมทั้งมอบโอกาสในการสร้าง ทัง้ นีใ้ นปี 2558 บริษทั มีจ�ำ นวนพนักงานทัง้ หมด 2,880 ความก้าวหน้าในการทำ�งานให้แก่พนักงานทุกคนโดยเท่าเทียม คน และมีจำ�นวนชั่วโมงเฉลี่ยของการฝึกอบรมของ พนักงานเท่ากับ 10.45 ชั่วโมงต่อคน กัน โดยมีแนวปฏิบัติ คือ - กำ�หนดนโยบายการจ่ายผลตอบแทนให้แก่พนักงาน - จัดให้มสี ภาพแวดล้อมและสุขอนามัยในสถานทีท่ �ำ งาน ในอัตราทีเ่ หมาะสมสอดคล้องกับผลการดำ�เนินงานของ ให้มีความปลอดภัยต่อชีวิตตลอดจนทรัพย์สินของ บริษทั ฯ ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว เพือ่ สร้างความมัน่ ใจ พนักงานและของบริษัทฯ คำ�นึงถึงความปลอดภัย รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
090
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ทั้งต่อการปฏิบัติงานของพนักงานด้วยการจัดให้มี และกรรมสิทธิข์ องบริษทั ฯ โดยเก็บรักษาข้อมูลดังกล่าว การฝึกอบรมให้ความรูก้ อ่ นเริม่ ปฏิบตั งิ าน และการอบรม ตามนโยบายการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เฉพาะทางทีส่ อดคล้องตามความเสีย่ งของงาน เพือ่ ให้ - ไม่เปิดเผยข้อมูลที่เป็นความลับและกรรมสิทธิ์ของ ผูป้ ฏิบตั งิ านสามารถบ่งชีอ้ นั ตรายและหาวิธกี ารป้องกัน บริษัทฯ แก่บุคคลภายนอก รวมถึงการไม่ใช้ข้อมูล ควบคุมอันตราย เป็นผลให้การทำ�งานเป็นไปอย่าง ดังกล่าวเพือ่ ประโยชน์สว่ นตนหรือเพือ่ วัตถุประสงค์ใดๆ ปลอดภัย ทั้งนี้ในปี 2558 บริษัทฯ มีจำ�นวนชั่วโมง ที่ขัดกับผลประโยชน์ของบริษัทฯ การทำ�งานทั้งสิ้น 17,041,787 ชั่วโมง มีอัตราความถี่ - ดูแลรักษาทรัพย์สินทางปัญญา รวมทั้งข้อมูลที่เป็น ของการเกิดอุบัติเหตุ เท่ากับ 0.08 ครั้ง ต่อ 200,000 ความลั บ และกรรมสิ ท ธิ์ ข องลู ก ค้ า คู่ ค้ า และผู้ ที่ ชั่วโมงการทำ�งาน (อ้างอิงตาม Bureau of labor เกีย่ วข้องอืน่ ๆ ของบริษทั ฯ ตามกฎหมายและกฎระเบียบ statistics: BLS) ที่มีใช้บังคับอยู่ 3.7 การเคารพหลักสิทธิมนุษยชน: บริษัทฯ มีนโยบายและแนวปฏิบัติที่จะไม่เกี่ยวข้องกับ การละเมิดสิทธิมนุษยชน โดยกำ�หนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษทั ฯ ทุกคน ปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณทาง ธุรกิจในเรื่องการเคารพหลักสิทธิมนุษยชน ดังนี้ - ตระหนัก และเคารพประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และ ขนบธรรมเนียมประเพณีของแต่ละประเทศทีบ่ ริษทั ฯ เข้าไปประกอบธุรกิจ - เคารพในสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติต่อทุกคนอย่าง เสมอภาคโดยไม่เลือกเชื้อชาติ ศาสนา ลัทธิ เพศ สถานภาพทางสังคม สัญชาติ อายุ ความทุพพลภาพ ไม่มีการใช้หรือสนับสนุนการใช้แรงงานเด็ก และ การค้ามนุษย์ - สร้ า งสภาพแวดล้ อ มในการทำ � งานที่ ไ ม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด การเลือกปฏิบตั แิ ละละเมิดสิทธิของผูอ้ นื่ รวมทัง้ ดูแล และป้องกันมิให้เกิดการกระทำ�ดังกล่าว ซึง่ ก่อให้เกิดผล ที่ต้องถูกดำ�เนินคดีทางกฎหมาย
3.9 ชุมชน และสังคม: บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญกับความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility - CSR) โดยได้ กำ�หนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งดำ�เนิน กิจกรรมเพื่อสนับสนุนการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชนหลายกิจกรรม ได้ แ ก่ การช่ ว ยเหลื อ ชุ ม ชนและสั ง คม การอนุ รั ก ษ์ ด้ า น สิ่งแวดล้อม การแบ่งปันความรู้ด้านการศึกษา เป็นต้น
3.8 การเคารพทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์: บริษทั ฯ ให้ความสำ�คัญต่อการเคารพทรัพย์สนิ ทางปัญญา สิทธิบัตร หรือสิทธิอื่นใดของลูกค้า คู่ค้า ผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ รวมถึงปกป้องในสิทธิดงั กล่าวของบริษทั ฯ โดยมีนโยบายและ แนวทางในการปฏิบัติ ดังนี้ - ตระหนั ก ถึ ง ความสำ � คั ญ ของข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ความลั บ
3.10 การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม และการใช้ทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ: บริษัทฯ มีนโยบายด้านอาชีวนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม ดำ�เนินธุรกิจโดยประยุกต์ใช้ข้อกำ�หนดของ มาตฐานระบบการจัดการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิง่ แวดล้อม (OHSAS 18001:2007, TIS 18001:2011 และ ISO 14001:2004) ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้และ ฝึ ก อบรมพนั ก งานในเรื่ อ งสิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง สนั บ สนุ น กิ จ กรรมในด้ า นการพั ฒ นา การอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มและ การใช้พลังงานอย่างคุม้ ค่า โดยจัดกิจกรรมรณรงค์เพือ่ ส่งเสริม ให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและชาญฉลาด เช่น การ รณรงค์เรื่องการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า และการจัดการขยะ และของเสียทัง้ จากส่วนสำ�นักงานและโครงการก่อสร้าง เพือ่ ให้ พนักงานตระหนักในหน้าที่และความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
3.11 นโยบายการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น: บริษทั ฯ ให้ความสำ�คัญต่อการกำ�กับดูแลกิจการ ภายใต้ กรอบการบริหารจัดการของการมีจริยธรรมทีด่ ี มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ โดยเฉพาะกระบวนการที่เกี่ยวข้องหรือ สุม่ เสีย่ งต่อการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ทุกรูปแบบ ไม่วา่ ทางตรงหรือ ทางอ้อม เพือ่ เพิม่ ความเชือ่ มัน่ ต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย ตลอด จนการปลูกจิตสำ�นึก สร้างค่านิยมที่ถูกต้อง ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับของบริษัทฯ ดังนั้น ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2557 วันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 ได้มมี ติให้บริษทั ฯ เข้าร่วม ประกาศเจตนารมณ์ที่จะไม่มีส่วนร่วมในการทุจริตคอร์รัปชั่น โดยประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ได้ลงนามคำ�ประกาศเจตนารมณ์เข้าเป็น “แนวร่วมปฏิบัติ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC)” เมือ่ วันที่ 22 ธันวาคม 2557 และได้รบั การตอบรับเป็นสมาชิก แนวร่วมปฏิบัติฯ (CAC) โดยมีวัตถุประสงค์ในการสร้าง พันธมิตรต่อต้านการทุจริตเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2557
บริษัทร่วม หรือบริษัทอื่น ที่บริษัทฯมีอำ�นาจในการควบคุม และตัวแทนธุรกิจของบริษทั ฯ ในทุกประเทศและทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ต้องปฏิบัติตามมาตรการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น อย่างเคร่งครัด และให้มีการสอบทานการปฏิบัติตามนโยบาย ต่อต้านคอร์รปั ชัน่ นีอ้ ย่างสม่�ำ เสมอ ตลอดจนทบทวนแนวทาง การปฏิบตั ิ และข้อกำ�หนดในการดำ�เนินการเพือ่ ให้สอดคล้อง กั บ การเปลี่ ย นแปลงของธุ ร กิ จ ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ และ ข้อกำ�หนดของกฎหมาย
บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 1) คณะกรรมการบริษทั ฯ มีบทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ในการกำ�หนดทิศทางในภาพรวมของบริษทั ฯ เกีย่ วกับ การต่อต้านคอร์รัปชั่น และพิจารณาอนุมัตินโยบาย การต่อต้านคอร์รปั ชัน่ ตามทีค่ ณะกรรมการบรรษัทภิบาล เสนอ รวมถึงกำ�กับดูแลให้มรี ะบบการต่อต้านคอร์รปั ชัน่ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่า ฝ่ายจัดการได้ตระหนัก และให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั่ น และ ปลูกฝังจนเป็นวัฒนธรรมองค์กร 2) คณะกรรมการตรวจสอบ มี บ ทบาทหน้ า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบในการสอบทานระบบรายงานทางการเงิน และบัญชี ระบบควบคุมภายใน ระบบตรวจสอบภายใน และระบบบริหารความเสี่ยงให้มั่นใจว่าเป็นไปตาม มาตรฐานสากล มีความรัดกุมเหมาะสม ทันสมัย และ มีประสิทธิภาพ 3) คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล มี บ ทบาทหน้ า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบในการทบทวนนโยบายตามความจำ�เป็น เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การเปลี่ ย นแปลงของธุ ร กิ จ ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ และกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และ ให้ ค วามเห็ น ชอบการแก้ ไ ขเพื่ อ เสนอขออนุ มั ติ ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ รวมถึ ง ให้ ค วามเห็ น และ ข้อแนะนำ�ที่เป็นประโยชน์ต่อฝ่ายจัดการในการจัดทำ� แผนงานและการนำ�มาตรการไปปฏิบัติ 4) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการบริหาร มีบทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ในการกำ�หนดให้มีระบบและให้การส่งเสริมนโยบาย
นโยบายต่อต้านคอร์รัปชั่น ห้ามกรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงานของบริษทั ฯ ดำ�เนินการ หรื อ ยอมรั บ การคอร์ รั ป ชั่ น ในทุ ก รู ป แบบทั้ ง ทางตรงหรื อ ทางอ้อม โดยครอบคลุมถึงการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทย่อย
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
คำ�นิยามตามนโยบายต่อต้านคอร์รัปชั่น คอร์รปั ชัน่ (Corruption) หมายถึง การกระทำ�การใดๆ ไม่วา่ จะเป็นการนำ�เสนอ การให้ค�ำ มัน่ สัญญา การขอการเรียกร้อง การให้หรือการรับ ทัง้ ทีเ่ ป็นเงิน ทรัพย์สนิ สิทธิหรือผลประโยชน์ อื่นใดกับเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือบุคคลอื่นใด ที่ดำ�เนินธุรกิจ กับบริษัทฯ ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม เพื่อให้บุคคล ดังกล่าวกระทำ�หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้ได้มาหรือ รักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์อื่นใดที่ไม่เหมาะสมทางธุรกิจ ทั้ง ต่อองค์กร ตนเอง และผู้ที่เกี่ยวข้อง ยกเว้นกรณีที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับ ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น หรือจารีตทางการค้า ให้กระทำ�ได้
091
092
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั่ น เพื่ อ สื่ อ สารไปยั ง พนั ก งานและ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 5) ผู้ จั ด การตรวจสอบภายใน มี บ ทบาทหน้ า ที่ แ ละ ความรั บ ผิ ด ชอบในการตรวจสอบและสอบทาน การปฏิบตั งิ านว่าเป็นไปอย่างถูกต้อง ตรงตามนโยบาย แนวปฏิบัติ อำ�นาจดำ�เนินการ ระเบียบปฏิบัติ และ กฎหมาย ข้อกำ�หนดของหน่วยงานกำ�กับดูแล เพื่อให้ มัน่ ใจว่ามีระบบควบคุมทีม่ คี วามเหมาะสมและเพียงพอ ต่อความเสี่ยงด้านคอร์รัปชั่นที่อาจเกิดขึ้นและรายงาน ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ
แนวทางการปฏิบัติ 1) บริ ษั ท ฯ จะดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับนโยบายทางการเงิน การกำ�หนดงบประมาณ และการประเมินผลงบประมาณ โครงการที่โปร่งใสและชัดเจน 2) กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับของบริษัทฯ จะต้องไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับการทุจริตและคอร์รัปชั่น ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม 3) กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับของบริษัทฯ จะต้องไม่ให้สินบนหรือสิ่งตอบแทนแก่ผู้จัดจำ�หน่าย หน่วยงานของรัฐ หรือผูท้ เี่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ ไม่รบั สินบน หรื อ สิ่ ง ตอบแทนจากบุ ค คลหรื อ ภาคส่ ว นดั ง กล่ า ว อย่างไรก็ตาม อนุญาตให้มีการให้หรือรับของที่ระลึก ได้ในการต้อนรับทักทายตามโอกาส หรือตามประเพณี 4) กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับของบริษัทฯ จะต้ อ งต่ อ ต้ า นการปฏิ บั ติ ที่ ผิ ด กฎหมายหรื อ ผิ ด จรรยาบรรณใดๆ เช่น การฉ้อโกงในองค์กร การเจรจา หรือทำ�ความตกลงทางการเงินอันไม่ชอบด้วยกฎหมาย ตลอดจนการกระทำ�อื่นๆที่เป็นไปในทางทุจริต 5) กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับของบริษัทฯ จะต้ อ งไม่ เ พิ ก เฉยเมื่ อ พบเห็ น การกระทำ � ที่ เ ข้ า ข่ า ย การทุจริตคอร์รปั ชัน่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ฯ โดยแจ้งให้ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาหรื อ บุ ค คลที่ รั บ ผิ ด ชอบทราบ และ ให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการตรวจสอบข้ อ เท็ จ จริ ง ต่ า งๆ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาหารือผู้บังคับบัญชา หรือ บุ ค คลที่ บ ริ ษั ท ฯ กำ � หนดให้ ทำ � หน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ เกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณทางธุรกิจผ่านทาง ช่องทางต่างๆ
มาตรการ/แนวทางดำ�เนินงาน 1) บริษัทฯ จะสนับสนุนและส่งเสริมให้บุคลากรทุกระดับ เห็นความสำ�คัญและมีจิตสำ�นึกในการต่อต้านทุจริต คอร์ รั ป ชั่ น รวมทั้ ง จั ด ให้ มี ก ารควบคุ ม ภายในเพื่ อ ป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่น การให้ หรือรับสินบน ในทุกรูปแบบ และทุกประเทศที่บริษัทฯ ได้เข้าไป ดำ�เนินการ 2) นโยบายต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั่ น นี้ ค รอบคลุ ม ไปถึ ง กระบวนการบริหารงานบุคคลตั้งแต่การสรรหาหรือ การคัดเลือกบุคลากร การเลือ่ นตำ�แหน่ง การฝึกอบรม การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน และการให้ผลตอบแทน แก่พนักงาน โดยกำ�หนดให้ผู้บังคับบัญชาทุกระดับ สื่อสารทำ�ความเข้าใจกับพนักงานผู้ใต้บังคับบัญชา เพือ่ นำ�ไปใช้ในกิจกรรมทางธุรกิจทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบ และควบคุมดูแลการปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3) บริษัทฯ จะให้ความเป็นธรรมและคุ้มครองพนักงาน หรื อ บุ ค คลอื่ น ใดที่ แ จ้ ง เบาะแสหรื อ หลั ก ฐานเรื่ อ ง การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ บริ ษั ท ฯ และ บริษัทย่อย รวมถึงพนักงานที่ปฏิเสธต่อการกระทำ� การทุจริต คอร์รัปชั่น โดยจะไม่ลดตำ�แหน่ง ลงโทษ หรือให้ผลทางลบ และบริษัทฯ จะดำ�เนินการตาม มาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรียน หรือผู้ให้ความร่วมมือ ในการรายงานการทุจริตคอร์รัปชั่น ตามที่กำ�หนดไว้ ในมาตรการรับเรื่องร้องเรียน และการแจ้งเบาะแส การกระทำ�ผิด 4) ผู้ที่กระทำ�การทุจริตคอร์รัปชั่น ถือเป็นการกระทำ�ผิด ตามข้อบังคับเกีย่ วกับการทำ�งานว่าด้วยการบริหารงาน บุคคลสำ�หรับพนักงาน จะต้องได้รับการพิจารณาโทษ ทางวินยั ตามระเบียบบริษทั ฯ ทีก่ �ำ หนดไว้ และอาจจะได้รบั โทษตามกฎหมาย หากการกระทำ�นั้นผิดกฎหมาย รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
5) บริษัทฯ สื่อสารนโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่น รวมทั้ง ช่องทางการแจ้งเบาะแส ข้อร้องเรียน หรือข้อเสนอแนะ ภายในบริษทั ฯ ได้แก่ การติดประกาศ การให้ขอ้ มูล เช่น ปฐมนิเทศพนักงานใหม่ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ในการนำ�นโยบายไปปฏิบตั ิ รวมถึงสือ่ สารแก่สาธารณชน ภายนอก และผู้มีส่วนได้เสีย ได้แก่ เว็บไซต์บริษัทฯ รายงานประจำ�ปี เป็นต้น นโยบายการต่อต้านคอร์รปั ชัน่ ฉบับนีผ้ า่ นการพิจารณา และสอบทานจากคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และได้รับ การอนุ มั ติ จ ากมติ ท่ี ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ครั้ ง ที่ 3/2558 เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2558 ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดกระบวนการประเมินความเสีย่ ง จากการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น และอยู่ ร ะหว่ า งการจั ด ทำ � แบบ ประเมินตนเอง ให้คณะกรรมการ CAC พิจารณา เพื่อเข้าสู่ กระบวนการรับรอง (Certification) เป็นสมาชิกแนวร่วม ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต 3.12 มาตรการ ขอบเขต และกลไกการคุ้ ม ครอง ผู้แจ้งเบาะแส: บริษทั ฯ จัดให้มชี อ่ งทางการร้องเรียนและการแจ้งเบาะแส เกี่ยวกับการกระทำ�ผิดกฎหมาย การกระทำ�ผิดจรรยาบรรณ หรือพฤติกรรมที่อาจส่อถึงการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ ของบคุ คลในองค์กร ทั้งจากพนักงานและผู้มีส่วนได้เสียอื่น รวมทง้ั ยังได้ก�ำ หนดมาตรการคุม้ ครองและรักษาความลับของ ผู้ร้องเรียน การตรวจสอบ การรายงานและการแจ้งผล ดังนี้
ขอบเขตการร้องเรียน 1) กรรมการ พนักงาน หรือบุคคลใดๆ มีข้อสงสัยหรือ พบเห็นการกระทำ�ที่ฝ่าฝืนตามหลักปฏิบัติที่ดีในเรื่อง ต่อไปนี้ - การฝ่าฝืนการปฏิบัติตามหลักการและแนวปฏิบัติ ของนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การฝ่าฝืนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของบริษัท - การได้รับความไม่เป็นธรรมในการปฏิบัติงาน - การกระทำ�ทุจริต เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้
รายงานประจ�ำปี 2558
093
โดยชอบด้ ว ยกฎหมายสำ � หรั บ ตนเองหรื อ ผู้ อื่ น ซึ่ ง รวมถึ ง การกระทำ � ดั ง นี้ การยั ก ยอกทรั พ ย์ การคอร์รัปชั่น และการฉ้อโกงหรือการตกแต่ ง งบการเงิน เป็นต้น 2) บริษัทฯ ส่งเสริมให้ผู้แจ้งเรื่องร้องเรียนเปิดเผยตัวตน และ/หรือ ให้ข้อมูลหลักฐานที่ชัดเจนเพียงพอต่อการ ตรวจสอบเรื่องร้องเรียน 3) บริ ษั ท ฯ จะไม่ รั บ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย นในกรณี ผู้ แ จ้ ง เรื่ อ ง ร้องเรียนไม่เปิดเผยตัวตน และ/หรือไม่มีหลักฐาน พยาน หรือพฤติกรรมการกระทำ�การทุจริตที่ชัดเจน เพียงพอ
มาตรการความคุม้ ครองผูแ้ จ้งเรือ่ งร้องเรียน หรือผูแ้ จ้ง เบาะแสการกระทำ�ผิด 1) ผู้ แ จ้ ง เรื่ อ งร้ อ งเรี ย นและบุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งจะได้ รั บ การคุ้มครองอย่างเหมาะสมจากบริษัทฯ เช่น ไม่มี การเปลี่ยนแปลงตำ�แหน่งงาน ลักษณะงาน สถานที่ ทำ�งาน พักงาน ข่มขู่ รบกวนการปฏิบัติงาน เลิกจ้าง หรือการอืน่ ใดทีม่ ลี กั ษณะเป็นการปฏิบตั อิ ย่างไม่เป็นธรรม ต่ อ ผู้ นั้ น รวมถึ ง ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ รั บ แจ้ ง จะถู ก เก็ บ รั ก ษา เป็นความลับ ไม่เปิดเผยต่อผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง เว้นแต่ จำ�เป็นต้องเปิดเผยตามข้อกำ�หนดของกฎหมาย 2) บุคคลใดๆ ที่ได้รับทราบเรื่องร้องเรียน หรือข้อมูล ทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งร้องเรียน จะต้องปกป้องข้อมูลเรือ่ ง ร้องเรียน หรือทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งร้องเรียน ให้เป็นความลับ และไม่เปิดเผยต่อบุคคลอืน่ เว้นแต่กรณีทมี่ คี วามจำ�เป็น ในขั้นตอนการดำ�เนินการตามระเบียบ หรื อตามที่ กฎหมายกำ�หนด หากมีการจงใจฝ่าฝืนนำ�ข้อมูลออกไป เปิดเผยบริษัทฯ จะดำ�เนินการลงโทษทางวินัย และ/ หรือดำ�เนินการทางกฎหมายกับผูท้ ี่ ฝ่าฝืนแล้วแต่กรณี 3) กรณีทมี่ หี ลักฐานปรากฏชัดเจน เพียงพอ ว่าผูแ้ จ้งเรือ่ ง ร้องเรียนมีพฤติกรรมทีแ่ จ้งหรือกล่าวหาผูถ้ กู ร้องเรียน โดยไม่สจุ ริต บริษทั ฯ จำ�เป็นต้องดำ�เนินการเพือ่ ปกป้อง ชื่อเสียงของผู้ถูกร้องเรียน ดังนี้
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
094
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
- -
ในกรณี ที่ ผู้ แ จ้ ง เรื่ อ งร้ อ งเรี ย นเป็ น พนั ก งาน ให้ดำ�เนินการสอบสวน เพื่อพิจารณาลงโทษตาม ระเบียบบริษทั ฯ ว่าด้วยการบริหารทรัพยากรบุคคล ในกรณีท่ีผู้แจ้งเรื่องร้องเรียนเป็นบุคคลภายนอก และบริษัทฯ ได้รับความเสียหาย บริษัทฯ อาจ พิจารณาดำ�เนินคดีกับผู้แจ้งเรื่องร้องเรียน
การดำ�เนินการเมื่อได้รับข้อร้องเรียน 1) การตรวจสอบเรื่องร้องเรียนก่อนนำ�เสนอตามลำ�ดับ สายงานบังคับบัญชา - กรณีการร้องเรียนเกี่ยวกับการประพฤติผิดกรณี ทุจริตทางการเงินและบัญชี ผู้จัดการตรวจสอบ ภายในของบริษัทฯ เป็นผู้ตรวจสอบเรื่องร้องเรียน - กรณีการร้องเรียนเกี่ยวกับการประพฤติผิด กรณี ฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หรือระเบียบ ของบริษทั ฯ ให้ผจู้ ดั การแผนกทรัพยากรบุคคลและ บริหารสำ�นักงาน เป็นผู้ตรวจสอบเรื่องร้องเรียน 2) การตรวจสอบเรือ่ งร้องเรียนตามลำ�ดับสายงานบังคับบัญชา (ทัง้ นีผ้ ตู้ รวจสอบเรือ่ งร้องเรียนจะต้องไม่มสี ว่ นได้เสีย กับเรื่องร้องเรียนดังกล่าว) - ในกรณีทพ่ี นักงาน (Staff) หัวหน้าส่วนงาน (Section Chief) เป็ น ผู้ ถู ก ร้ อ งเรี ย น ผู้ จั ด การแผนก (Department Manager) ผู้จัดการโครงการ (Project Manager) ผู้จัดการทั่วไป (General Manager) จะเป็นผูแ้ ต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ข้อเท็จจริง (Investigation Committee) เพื่อ ทำ�หน้าที่ตามความเหมาะสม - ในกรณีทพ่ี นักงานระดับบริหารในระดับผูจ้ ดั การแผนก (Department Manager), ผู้จัดการโครงการ (Project Manager) ผู้จัดการทั่วไป (General Manager) เป็นผูถ้ กู ร้องเรียน คณะกรรมการบริหาร (Board of Management) จะเป็นผู้แต่งตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง (Investigation Committee) เพื่อทำ�หน้าที่ตามความเหมาะสม - ในกรณี ที่ ค ณะกรรมการบริ ห าร (Board of
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
Management) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ (President & CEO) หรือ กรรมการของบริ ษั ท (Company Director) เป็นผู้ถูกร้องเรียน คณะกรรมการบริษัท (Board of Directors) จะเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบข้อเท็จจริง (Investigation Committee) เพื่อทำ�หน้าที่ตามความเหมาะสม - ในกรณี ที่ ผู้ จั ด การตรวจสอบภายในของบริ ษั ท (Internal Audit) เป็ น ผู้ ถู ก ร้ อ งเรี ย น คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) จะเป็นผูแ้ ต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง (Investigation Committee) เพื่อทำ�หน้าที่ ตามความเหมาะสม หากเรื่องร้องเรียนเป็นเรื่องที่ ซับซ้อนเกีย่ วพันกับหลายหน่วยงาน ให้คณะกรรมการ ตรวจสอบข้อเท็จจริงรายงานต่อคณะกรรมการบริหาร เพื่อรับทราบ 3) การรายงาน - คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง (Investigation Committee) มีหน้าที่รายงานข้อเท็จจริงโดยตรง ต่อผูจ้ ดั การแผนก ผูจ้ ดั การโครงการ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป และ/หรื อ คณะกรรมการบริ ห าร และ/หรื อ คณะกรรมการบริษัท และ/หรือคณะกรรมการ ตรวจสอบ ตามลำ�ดับสายงานบังคับบัญชา โดย กำ�หนดกรอบการพิจารณาไว้ดังต่อไปนี้ • เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานปกติทั่วไป ให้รายงานต่อ ผูจ้ ดั การแผนก หรือผูจ้ ดั การโครงการ หรือ ผู้จัดการทั่วไป • เรือ่ งทีม่ ผี ลกระทบค่อนข้างร้ายแรงและอยูภ่ ายใต้ การกำ�กับดูแลของประธานเจ้าหน้าที่บริหารฯ ให้ ร ายงานต่ อ คณะกรรมการบริ ห าร หรื อ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ หรือกรรมการของบริษัท • เรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับรายงานทางการเงินและบัญชี ระบบควบคุมภายใน ระบบตรวจสอบภายใน รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
และระบบบริ ห ารความเสี่ ย ง ให้ ร ายงานต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) • เรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับนโยบายการกำ�กับดูแล และ/ หรื อ เรื่ อ งที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง เป็นเรื่องที่คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณา แล้วเห็นว่าสมควรรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั (Board of Directors) เพื่อทราบ และ/หรือ เพื่อพิจารณาดำ�เนินการ 4) การลงโทษ และการแจ้งผลการดำ�เนินการ - การลงโทษ ให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บว่ า ด้ ว ยวิ นั ย พนักงานของบริษทั ฯ และ/หรือข้อกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง - หน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือ เลขานุการบริษัท ในฐานะผูป้ ระสานงานเรือ่ งร้องเรียน มีหน้าทีร่ ายงาน ผลสรุปเรื่องร้องเรียนให้แก่ ผู้แจ้งเรื่องร้องเรียน ผู้ถูกร้องเรียน ผู้ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบ เรือ่ งร้องเรียน หรือบุคคลอืน่ ตามความจำ�เป็นและ เหมาะสม
095
ในปี 2558 บริษทั ฯ ไม่ได้รบั ข้อร้องเรียนใดๆ เกีย่ วกับการ ไม่เคารพในสิทธิพื้นฐานของผู้ถือหุ้น และไม่พบการใช้ข้อมูล ภายในของบริษัทฯ เพื่อแสวงหาผลประโยชน์แต่อย่างใด 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริ ษั ท ฯ มี น โยบายในการเปิ ด เผยข้ อ มู ล สำ � คั ญ ที่ เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ ข้อมูลทางการเงิน อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ตรงเวลา โดยเผย แพร่ผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ ทางเว็บไซต์ของบริษทั ฯ (www.ttcl.com) ทัง้ ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ นักลงทุนสถาบัน และบุคคลใดๆ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างเท่าเทียมกัน และน่าเชื่อถือ โดย มีรายละเอียด ดังนี้
ช่องทางในการแจ้งเบาะแสและเรื่องร้องเรียน ผู้แจ้งเรื่องร้องเรียน สามารถแจ้งเบาะแสและเรื่อง ร้องเรียนผ่านช่องทาง ดังนี้ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์: ir@ttcl.com ถึ ง หน่ ว ยงานตรวจสอบภายใน หรือ เลขานุการบริษทั จดหมายธรรมดา: ถึ ง หน่ ว ยงานตรวจสอบภายใน หรือ เลขานุการบริษทั บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) เลขที่ 159/41-44 อาคาร เสริมมิตรทาวเวอร์ ชั้น 27-30 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวง คลองเตยเหนื อ เขตวั ฒ นา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : 0 2260 8505 โทรสาร : 0 2260 8525-6
4.1 การเปิดเผยข้อมูลบนเว็บไซต์: เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ นักลงทุน และผูท้ ส่ี นใจอืน่ ๆ สามารถสืบค้น ข้ อ มู ล ที่ เ ปิ ด เผยต่ อ สาธารณะได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและรวดเร็ ว บริษัทฯ ได้นำ�เสนอข้อมูลที่สำ�คัญต่างๆ ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษในเว็บไซต์ของบริษัทฯ (www.ttcl.com) ดังนี้ - ข้อมูลของบริษทั ฯ ประกอบด้วย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ โครงสร้ า งธุ ร กิ จ โครงสร้ า งองค์ ก ร ลั ก ษณะ การประกอบธุรกิจและภาวะการแข่งขัน ฐานะการเงิน และผลการดำ�เนินงาน ความเสีย่ งในการดำ�เนินธุรกิจ เป็นต้น - แนวทางการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การกำ � กั บ ดู แ ล กิจการทีด่ ี ประกอบด้วย จริยธรรมทางธุรกิจ (Code of Business Ethics) จรรยาบรรณทางธุรกิจ (Code of Conduct) บทบาทและหน้าที่ของ คณะกรรมการบริ ษั ท ผู้ บ ริ ห าร และคณะ อนุกรรมการ เป็นต้น - นักลงทุนสัมพันธ์ ประกอบด้วย ข้อมูลทางการเงิน ข้อมูลราคาหลักทรัพย์ ข้อมูลผู้ถือหุ้น เป็นต้น - ความรับผิดชอบต่อสังคม ประกอบด้วย การดำ�เนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม กิจกรรม โครงการต่างๆ
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
096
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
-
อาทิ โครงการเพื่ อ การศึ ก ษา เพื่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ช่วยเหลือสังคมตลอดจนการพัฒนา บุคลากร เป็นต้น ข่าวบริษัทฯ ประกอบด้วย ข่าวสัมภาษณ์ผู้บริหาร บทความจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เป็นต้น
ของบริษทั ฯ ซง่ึ มีความรูค้ วามชำ�นาญในวิชาชีพ มีความเป็นอิสระ และได้รบั ความเห็นชอบจากสำ�นักงาน ก.ล.ต. โดยงบการเงิน ของบริษัทฯ ได้รับการรับรองโดยไม่มีเงื่อนไข และถูกต้อง ตามทีค่ วรในสาระสำ�คัญตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองโดยทัว่ ไป และผ่ า นความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ/ คณะกรรมการบริษัทก่อนเปิดเผยต่อผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีมาตรการป้องกันการใช้ประโยชน์ จากข้อมูลภายใน โดยกำ�หนดให้พนักงานทุกระดับของบริษทั ฯ ต้องไม่นำ�ข้อมูลที่เป็นความลับไปใช้ เพื่อประโยชน์ส่วนตน หรือบุคคลอืน่ และรักษาข้อมูลภายในและเอกสารทีไ่ ม่สามารถ เปิดเผยต่อบุคคลภายนอก อันนำ�ไปสูก่ ารสวงหาผลประโยชน์ เพื่อตนเองหรือครอบครัว หรือพวกพ้องในทางมิชอบเช่น ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อราคาหุ้นความลับทางการค้า หรือ สูตรการประดิษฐ์คิดค้นต่างๆ เป็นต้น พนักงานที่เปิดเผย ข้อมูลและข่าวสารที่สำ�คัญของบริษัทฯ ออกสู่บุคคลภายนอก โดยมิ ไ ด้ รั บ ความเห็ น ชอบจากประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร จะได้รับพิจารณามาตรการทางวินัยตามระเบียบของบริษัทฯ และอาจถูกดำ�เนินคดีตามกฎหมายอีกด้วย
4.2 การรายงานข้อมูลค่าตอบแทนของกรรมการ และ การถือหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหาร: ข้อมูลค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารจะถูก เปิดเผยไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) รายงานประจำ�ปี (แบบ 56-2) และในเว็บไซต์ของบริษัทฯ กรรมการและผูบ้ ริหารมีหน้าทีร่ ายงานการถือครองหลักทรัพย์ ต่อ ก.ล.ต. ทุกครั้งที่มีการซื้อ ขาย หรือโอนหลักทรัพย์ ตาม มาตรา 59 แห่งพ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ บริษัทฯ กำ�หนดนโยบายการรายงานการมีส่วนได้เสีย ของกรรมการและผู้บริหาร โดยให้กรรมการและผู้บริหาร ต้องรายงานให้บริษัทฯ ทราบถึงการมีส่วนได้เสียของตนหรือ ของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่คณะกรรมการกำ�กับ 4.4 การรายงานข้อมูลสารสนเทศของบริษัทฯ: ตลาดทุนประกาศ บริษทั ฯ ให้ความสำ�คัญกับการเปิดเผยสารสนเทศทีเ่ ป็น 4.3 การจัดทำ�รายงานทางการเงิน: ข้อมูลสำ�คัญของบริษัทฯ รวมถึงรายงานทางการเงิน ข้อมูล บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ทำ � รายงานความรั บ ผิ ด ชอบของ ทีไ่ ม่ใช่ขอ้ มูลทางการเงิน และสารสนเทศเรือ่ งอืน่ ๆ ตามเกณฑ์ที่ คณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินแสดงควบคู่กับรายงาน ตลท. และ ก.ล.ต.กำ�หนดอย่างถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน โปร่งใส ของผู้ ส อบบั ญ ชี ในรายงานประจำ�ปี และใช้นโยบายบัญชี ด้วยภาษาทีก่ ระชับเข้าใจง่าย มีการเปิดเผยสารสนเทศทีส่ �ำ คัญ ที่เหมาะสม ซึ่งถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง ทั้ ง ด้ า นบวกและด้ า นลบและผ่ า นการพิ จ ารณากลั่ น กรอง โดยทั่วไป ตลอดจนมีการพิจารณาถึงความสมเหตุสมผลและ ตามขัน้ ตอนทีก่ �ำ หนด เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ และผูท้ มี่ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ความรอบคอบในการจัดทำ�งบการเงินของบริษัทฯ เพื่อให้ ได้ รั บ สารสนเทศอย่ า งเท่ า เที ย มกั น ตามที่ กำ � หนดโดย ผูม้ สี ว่ นได้เสียเกิดความเชือ่ มัน่ ต่อรายงานทางการเงินทีบ่ ริษทั ฯ กฎข้อบังคับของบริษัทฯ โดยมีการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ จัดทำ� คณะกรรมการบริษทั จึงแต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้ เป็นผูด้ แู ลรับผิดชอบเกีย่ วกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน - ระบบอิเล็กทรอนิกส์ของ ตลท. และ ก.ล.ต. เพื่อทำ�หน้าที่สอบทานให้บริษัทฯ มีรายงานทางการเงินและ - แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) การดำ�เนินงานอย่างถูกต้อง และรายงานประจำ�ปี (แบบ 56-2) ในปี 2558 บริ ษั ท ฯ ได้ ใ ห้ ผู้ ส อบบั ญ ชี จ ากบริ ษั ท - ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ที่ www.ttcl.com ซึ่งมี ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชี ทั้งสองภาษา ได้แก่ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
097
- - - -
การให้ขอ้ มูลต่อผูถ้ อื หุน้ นักวิเคราะห์ และนักลงทุน 2) การไม่ใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ ประโยชน์สว่ นตนและผูอ้ นื่ 3) การเปิดเผยข้อมูลอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม โดย ที่มาเยี่ยมชมกิจการ และพบปะกับผู้บริหาร การเดินทางเพือ่ ให้ขอ้ มูลแก่นกั ลงทุนทัง้ ในประเทศ เปิดโอกาสให้บคุ คลทีเ่ กีย่ วข้องทุกกลุม่ สามารถเข้าถึง ข้อมูล และสอบถามข้อมูลได้ และต่างประเทศ การจัดกิจกรรมดูแลนักลงทุนและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย 4) การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ในวิชาชีพ บนพื้ น ฐานของหลั ก การของความเท่ า เที ย มกั น ในตลาดทุน เช่น งาน SET in the City การจัดส่งหนังสือเชิญประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ผ่านทาง ไม่เลือกปฏิบัติบนอามิสสินจ้างใดๆ ที่เป็นเหตุจูงใจ ส่วนบุคคลและเอือ้ ประโยชน์สว่ นตนมากกว่าผลประโยชน์ ไปรษณีย์ ของบริษัทและผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง 4.5 นักลงทุนสัมพันธ์: โดยผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนสามารถสอบถามข้อมู ล บริ ษั ท ฯ ได้ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ อย่ า งสู ง ต่ อ การบริ ห าร มายังหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัทฯ โดยติดต่อ ความสัมพันธ์กบั นักลงทุน ได้จดั ตัง้ หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ผ่านช่องทาง ดังนี้ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเป็นศูนย์กลางในการดำ�เนินกิจกรรม นักลงทุนสัมพันธ์ในเชิงรุกตามแนวปฏิบัติขององค์กรสากล หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ชัน้ นำ� และเป็นช่องทางในการสือ่ สารกับนักลงทุน นักวิเคราะห์ นายกอบชัย ธนสุกาญจน์ และผู้ที่เกี่ยวข้องให้เป็นไปโดยมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้ง รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารฝ่ายการเงินและบัญชี และ เปิดโอกาสให้นักลงทุนได้ซักถามตลอดจนรับทราบข้อมูล นักลงทุนสัมพันธ์ สารสนเทศของบริษัทฯ ผ่านทางหลากหลายช่องทาง เช่น - บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) - เลขที่ 159/41-44 อาคารเสริมมิตรทาวเวอร์ ทางเว็บไซต์บริษัทฯ การจัด Road show กับนักลงทุนและ ชั้น 27-30 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) นักวิเคราะห์ทั้งในและต่างประเทศ รวมไปถึงการรายงานผล แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 การดำ�เนินงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์ให้คณะกรรมการบริษัท - โทรศัพท์ 0 2260 8505 รับทราบทุกสิน้ ไตรมาส การทำ�สรุปผลการดำ�เนินงานเผยแพร่ - โทรสาร 0 2260 8525-6 ในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ การจัดให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยและนักลงทุน - อีเมล์ ir@ttcl.com เข้าเยีย่ มชมกิจการของบริษทั ฯ พบปะผูบ้ ริหาร เพือ่ เสริมสร้าง ทัง้ นี้ ในปี 2558 ไม่มเี หตุการณ์ทบี่ ริษทั ฯ ถูกดำ�เนินการ ความรู้ความเข้าใจในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ โดยการดำ�เนินการดังกล่าวข้างต้น บริษัทฯ ได้ยึดถือ โดยหน่วยงานกำ�กับดูแลเนือ่ งจากการไม่ประกาศหรือไม่เปิดเผย หลักการและแนวทางปฏิบัติ ตาม “จรรยาบรรณนักลงทุน ข้อมูลที่มีสาระสำ�คัญภายในระยะเวลาที่กำ�หนด สัมพันธ์” จัดทำ�โดยฝ่ายพัฒนาธรรมาภิบาลเพื่อตลาดทุน 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปี 2557 เป็นกรอบในการ คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ปฏิบตั หิ น้าที่ กรณีมปี ระเด็นหรือปัญหาทีย่ ากต่อการพิจารณา และประสบการณ์ที่จะช่วยพัฒนาและกำ�หนด ทิศทางธุรกิจ ตัดสินใจ นักลงทุนสัมพันธ์ควรพิจารณาหาทางเลือกทีไ่ ม่ขดั ต่อ นโยบาย กลยุทธ์ของบริษทั ฯ โดยบริษทั ฯ ให้ความสำ�คัญกับ การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การบริหารความเสีย่ ง หลักการพื้นฐาน 4 ประการ อันได้แก่ 1) การเปิดเผยข้อมูลทีส่ �ำ คัญและจำ�เป็นต่อการตัดสินใจ และกระบวนการสอบทาน เพื่อให้มั่นใจว่าการดำ�เนินงาน เป็นไปตามกฎหมายทีใ่ ช้บงั คับ และการตัดสินใจทีส่ มเหตุสมผล ลงทุน อย่างถูกต้อง เพียงพอ และทันเวลา รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
098
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
5.1 คณะกรรมการบริษัท: และการตรวจสอบภายใน, พิ จ ารณา คั ด เลื อ ก คณะกรรมการบริ ษั ท ต้ อ งเป็ น บุ ค คลที่ มี ค วามรู้ หรือถอดถอนผูส้ อบบัญชี พร้อมเสนอค่าตอบแทน ความสามารถ และมีประสบการณ์ทั้งด้านวิศวกร ปิโตรเลียม ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ปิโตรเคมี พลังงาน บัญชีและการเงิน การบริหารจัดการ และ 2) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน: กฎหมาย ซึง่ สอดคล้องและเป็นประโยชน์ตอ่ การดำ�เนินธุรกิจ คณะกรรมการบริษทั ได้อนุมตั จิ ดั ตัง้ คณะกรรมการ ของบริษัทฯ นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทต้องเข้าใจถึง สรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน เมื่ อ วั น ที่ 12 บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบที่อยู่บนพื้นฐานของกฎหมาย พฤศจิกายน 2553 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ข้อกำ�หนด กฎเกณฑ์ ข้อบังคับบริษทั มติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ และ โดยมีกรรมการอิสระ 2 ท่าน และกรรมการบริหาร 1 หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ไม่กระทำ�การใดที่เป็นการขัด ท่าน ทำ�หน้าทีพ่ จิ ารณาหลักเกณฑ์และกระบวนการ, หรือแย้งกับผลประโยชน์ของบริษัทฯ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและ สรรหาและคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ในการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูง นักลงทุนเกิดความมั่นใจ คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้ ว ยกรรมการที่ เ ป็ น รวมทั้งพิจารณาหลักเกณฑ์การจ่ายและรูปแบบ ผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร และกรรมการอิสระ ค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงเพือ่ จำ�นวนไม่นอ้ ยกว่า 5 ท่าน แต่ไม่เกิน 20 ท่าน (โดยมีกรรมการ เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณา 3) คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง: คณะกรรมการ อิสระไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ และต้อง บริ ษัท ได้ อ นุ มั ติ จั ด ตั้ ง คณะกรรมการบริ ห าร ไม่ต่ำ�กว่า 3 ท่าน) และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง (1/2) ความเสี่ ย ง เมื่ อ วั น ที่ 12 พฤศจิ ก ายน 2553 ของจํานวนกรรมการทัง้ หมดนัน้ ต้องมีถน่ิ ทีอ่ ยูใ่ นราชอาณาจักร ประกอบด้วยกรรมการ 5 ท่าน โดยมีกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการของบริษัท อิ ส ระ 1 ท่ า น และกรรมการบริ ห าร 4 ท่ า น มีจำ�นวน 9 ท่าน ประกอบด้วย ทำ�หน้าที่กำ�หนดกรอบการบริหารความเสี่ยงและ - กรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร จำ�นวน 2 ท่าน (ร้อยละ 22) กำ � กั บ ดู แ ลให้ มี ก ารดำ � เนิ น งานด้ า นการบริ ห าร - กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร จำ�นวน 7 ท่าน (ร้อยละ 78) ความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (ซึ่งครอบคลุมบริษัทฯ (โดยมี ก รรมการที่ เ ป็ น กรรมการอิ ส ระ 3 ท่ า น และบริษัทฯ ในเครือ) ที่เหมาะสมกับการดำ�เนิน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 33.33 หรื อ เท่ า กั บ 1 ใน 3 ธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามมาตรฐาน ของกรรมการทั้งคณะ) สากล 5.2 คณะอนุกรรมการ: 4) คณะกรรมการบรรษัทภิบาล: คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะอนุ ก รรมการ ได้อนุมัติจัดตั้งกรรมการบรรษัทภิบาล เมื่อวันที่ ดังต่อไปนี้ 14 พฤศจิกายน 2557 ประกอบด้วยกรรมการ 7 1) คณะกรรมการตรวจสอบ: คณะกรรมการบริษัท ท่าน โดยมีกรรมการอิสระ 1 ท่าน กรรมการบริหาร ได้อนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 2 ท่าน และผู้บริหาร 4 ท่าน ทำ�หน้าที่พิจารณา 9 ธันวาคม 2551 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ทบทวนนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรม ท่าน และมีอย่างน้อย 1 ท่าน ทีม่ คี วามรูค้ วามเข้าใจ ทางธุรกิจของบริษัทฯ พร้อมทั้งดำ�เนินการจัดทำ� หรื อ มี ป ระสบการณ์ ท างด้ า นบั ญ ชี ห รื อ การเงิ น แบบประเมินมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชั่น ซึ่ง ทำ � หน้ า ที่ต รวจสอบการดำ � เนิ น งานของบริ ษัท ฯ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของโครงการแนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข อง สอบทานรายงานทางการเงิน ระบบควบคุมภายใน ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
5.3 ประธานกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่: ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กำ�หนดให้ประธาน กรรมการควรเป็นกรรมการอิสระ และไม่เป็นบุคคลคนเดียว กับประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่นั้น ถึงแม้ว่าปัจจุบันประธานกรรมการของบริษัทฯ ไม่ได้มาจาก กรรมการอิสระและดำ�รงตำ�แหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ดว้ ย แต่ในทางปฏิบตั แิ ล้วประธาน กรรมการเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ อั น เป็ น ที่ ย อมรั บ ทั้ ง ในระดั บ ประเทศและสากล รวมถึ ง ได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยความอิ ส ระ เป็ น กลาง นำ � ความรู้ ความเชีย่ วชาญและประสบการณ์มาช่วยส่งเสริมให้บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจได้อย่างมั่นคงและก้าวหน้า สำ � หรั บ รายละเอี ย ดขอบเขต อำ � นาจหน้ า ที่ และ ความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ได้กล่าวแล้วในหัวข้อ “ขอบเขต อำ�นาจหน้าที่” 5.4 วิธีสรรหากรรมการบริษัท: การคั ด เลื อ กบุ ค คลที่ เ หมาะสมเข้ า ดํ า รงตํ า แหน่ ง กรรมการบริษัทแทนกรรมการที่ออกตามวาระ กระทําโดย บริษทั ฯ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ เสนอรายชือ่ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และ ตามคุณสมบัติที่บริษัทฯ กําหนด เพื่อเข้ารับการคัดเลือกเป็น กรรมการบริษทั โดยจะประกาศเชิญชวนในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ให้ผู้ถือหุ้นเสนอรายชื่อและประวัติบุคคลเข้ามายังบริษัทฯ และคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะทําการ คั ด เลื อ กและเสนอชื่ อ บุ ค คลผู้ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมตาม กฎหมายและหลั ก เกณฑ์ ที่ กํ า หนด โดยพิ จ ารณาจาก ประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถที่ จ ะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ บริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณา ค่าตอบแทนดำ�เนินการตามระเบียบและขัน้ ตอน เพือ่ นำ�เสนอ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้พิจารณา เมื่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษทั มีมติเห็นชอบแล้ว บริษทั ฯ จะเสนอรายชือ่ บุคคลดังกล่าวเพื่อขออนุมัติเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท ต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น โดยขอมติ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ให้ ถื อ รายงานประจ�ำปี 2558
099
คะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม และมีสิทธิ ออกเสียงลงคะแนน สำ�หรับรายละเอียดการสรรหากรรมการ และผู้บริหารได้กล่าวแล้วในหัวข้อ “ขอบเขต อำ�นาจหน้าที่” 5.5 วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง: คณะกรรมการบริษทั มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งทีแ่ น่นอน ตามข้อบังคับของบริษัทฯ ซึ่งกำ�หนดไว้ว่า ในการประชุม สามัญประจำ�ปีทุกครั้ง ให้กรรมการจำ�นวน 1 ใน 3 ออก จากตำ�แหน่ง ถ้าจำ�นวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการบริษทั ทีจ่ ะต้องออกจากตำ�แหน่งนัน้ ให้พจิ ารณาจาก กรรมการที่อยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจากตำ�แหน่ง อย่างไรก็ตามกรรมการบริษัทที่ออกไปนั้น อาจได้รับเลือก เข้ามาดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ก็ได้ สำ�หรับกรรมการอิสระ คณะกรรมการบริษทั กำ�หนดให้ กรรมการอิสระมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี และจะ ดำ�รงตำ�แหน่งได้อีกไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน (9 ปี) หากครบ กำ�หนดการดำ�รงตำ�แหน่ง คณะกรรมการบริษัทอาจเสนอชื่อ กรรมการดังกล่าวให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นพิจารณาเลือก ตั้งกลับเข้าเป็นกรรมการต่อไปได้ตามที่คณะกรรมการบริษัท เห็นสมควร คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำ หนดจำ�นวนบริษทั ทีก่ รรมการ แต่ละคนจะไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ได้ ไม่ควรเกิน 5 บริษทั ทัง้ นีใ้ นกรณีประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่จะไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษทั จดทะเบียนอื่นนั้น จะมีการเสนอเรื่องเพื่อขอความเห็นชอบ ต่อคณะกรรมการบริษัท 5.6 การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทย่อยและ บริษัทร่วม: คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่รับผิดชอบการบริหาร จัดการธุรกิจและการดำ�เนินงานของบริษทั รวมถึงการบริหารงาน บริษทั ย่อยให้เป็นไปตามแผนธุรกิจหลักของบริษทั ด้วยความ ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต รั ก ษาผลประโยชน์ ข องบริ ษั ท และผู้ ถื อ หุ้ น อย่างสูงสุดเป็นสำ�คัญ ภายใต้กฎหมาย วัตถุประสงค์ และ ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท รวมถึ ง การกำ � กั บ ดู แ ลให้ บ ริ ษั ท และ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
100
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
เป็นการล่วงหน้าในแต่ละปี เพื่อให้กรรมการสามารถจัดเวลา และเข้าร่วมประชุมได้ โดยบริษัทฯ จะมีการกำ�หนดวาระ การประชุมที่ชัดเจนและจัดส่งเอกสารประกอบการประชุม ให้กรรมการพิจารณาล่วงหน้าอย่างน้อย 14 วันก่อนวันประชุม เพื่อให้กรรมการมีเวลาในการศึกษาพิจารณาและตัดสินใจ อย่างถูกต้องในเรื่องต่างๆ อย่างพอเพียง เว้นแต่กรณีจำ�เป็น รีบด่วนเพื่อรักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษัทจะแจ้งนัด ประชุมโดยวิธีอื่นและกำ�หนดวันประชุมให้เร็วกว่านั้นก็ได้ ทั้งนี้ข้อบังคับของบริษัทฯ กำ�หนดให้คณะกรรมการจะต้อง ประชุมกันอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง และการประชุมต้องมี กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง (1/2) ของจำ�นวน กรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม ในกรณีที่ประธาน กรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการซึง่ มาประชุมเลือกกรรมการหนึง่ คนเป็นประธาน ในที่ประชุม การลงมติในทีป่ ระชุม ให้ถอื เสียงข้างมาก โดยกรรมการ คนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน เว้นแต่กรรมการซึ่งมี ส่วนได้เสียในเรือ่ งใดไม่มสี ทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในเรือ่ งนัน้ ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในทีป่ ระชุมออกเสียงเพิม่ ขึน้ อีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด ในการประชุม กรรมการทุกคนสามารถอภิปรายและ แสดงความคิ ด เห็ น ได้ อ ย่ า งเปิ ด เผย และมี ก ารจดบั น ทึ ก การประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อใช้อ้างอิงรายละเอียด การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษัท บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ให้ มี เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท โดยมี ห น้ า ที่ ช่วยเหลือคณะกรรมการในการจัดการประชุมคณะกรรมการ การจัดส่งหนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ การจดบันทึก รายงานการประชุม และหน้าที่อื่นๆ ซึ่งเป็นหน้าที่ตามปกติ ของเลขานุการบริษัท รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลส่วนได้เสีย ของกรรมการและผูบ้ ริหารและผูเ้ กีย่ วข้องของบุคคลดังกล่าว ทั้ ง นี้ ข้ อ มู ล ประวั ติ ก ารศึ ก ษา ประสบการณ์ ทำ � งาน และ ประวัติการเข้ารับการฝึกอบรมของเลขานุการบริษัท ได้แสดง 5.7 การประชุมคณะกรรมการ: การประชุมคณะกรรมการบริษัท จะมีการกำ�หนดขึ้น ไว้ในหัวข้อเลขานุการบริษัท
บริ ษั ท ย่ อ ยปฏิ บั ติ ต ามกฎระเบี ย บของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษทั ย่อย และบริษัทร่วม มีดังต่อไปนี้ 1) คณะกรรมการบริษทั มอบหมายให้ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็นผูม้ อี �ำ นาจใน การพิจารณาเสนอแต่งตั้งบุคคลที่จะดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการและ/หรือผู้บริหารของบริษัทย่อยและ บริษทั ร่วม โดยดูจากความเหมาะสมด้านต่างๆ อาทิ คุ ณ วุ ฒิ ทั ก ษะและประสบการณ์ ข องกรรมการ แต่ละท่าน 2) คณะกรรมการบริษัท มีการพิจารณาโครงสร้าง องค์กรและการบริหารจัดการของบริษัทย่อยและ บริ ษั ท ร่ ว ม ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเหมาะสม ต่อสภาพการดำ�เนินธุรกิจ 3) คณะกรรมการบริษทั มีการควบคุมดูแลการดำ�เนินธุรกิจ ของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม ให้เป็นไปตามนโยบาย ทางธุรกิจ เป้าหมาย แผนการดำ�เนินงาน กลยุทธ์ และงบประมาณ ตามที่มีการพิจารณาอนุมัติไว้ 4) คณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั กิ ารใช้จา่ ยเงิน เพื่อการลงทุนหรือการดำ�เนินงานต่างๆ การทำ� รายการการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึง่ ทรัพย์สนิ การกูย้ มื หรือการขอสินเชื่อใดๆ จากสถาบันการเงิน การให้ กู้ยืมเงิน การเพิ่มทุน การลดทุน การเลิกบริษัท ที่ มี ผ ลต่ อ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี นั ย สำ � คั ญ ของ บริษัทย่อยและบริษัทร่วม 5) กรรมการและ/หรือผู้บริหารที่ได้รับการแต่งตั้ง ในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม จะต้องดำ�เนินการ บริหารงานให้เป็นไปตามนโยบายที่คณะกรรมการ บริษทั ได้มอบหมายไว้ และรายงานผลการดำ�เนินงาน จากบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมต่อคณะกรรมการบริหาร หรือคณะกรรมการบริษัทตามที่เห็นสมควร
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
101
ในปี 2558 มี ก ารจั ด ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริหาร: ค่าตอบแทน ทั้งหมด 5 ครั้ง และการประชุมกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร คณะกรรมการบริ ห ารเป็ น ไปตามหลั ก การและนโยบายที่ โดยไม่มีฝ่ายจัดการ 1 ครั้ง คณะกรรมการบริษทั กำ�หนด ซึง่ เชือ่ มโยงกับผลการประกอบการ ของบริษัทในแต่ละปี 5.8 อำ�นาจอนุมัติของคณะกรรมการบริษัท: คณะกรรมการบริษทั มีอ�ำ นาจอนุมตั กิ ารดำ�เนินการต่างๆ สำ�หรับรายละเอียดการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ ของบริษทั ฯ อาทิ ทิศทางและนโยบาย แผนธุรกิจ งบประมาณ และคณะกรรมการบริหารในปี 2558 ได้กล่าวแล้วในหัวข้อ ประจำ�ปี เป็นต้น ภายใต้ขอบเขตที่กำ�หนดตามกฎหมาย “ค่าตอบแทน” ข้อบังคับของบริษทั ฯ และมติของทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ รวมถึงมีการ 5.10 การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ กำ�หนดกรอบอำ�นาจการอนุมัติระหว่างคณะกรรมการบริษัท และคณะอนุกรรมการ: และฝ่ายจัดการในเรือ่ งต่างๆ อย่างชัดเจน เช่น ด้านการบริหาร บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน งานบุคคล การเงิน การบัญชี เป็นต้น ของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการทุกคณะ รวมถึง คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายให้คณะกรรมการ การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของกรรมการรายบุ ค คล บริหารมีอ�ำ นาจอนุมตั กิ ารทำ�ธุรกรรมเป็นกรณีไปและมีอ�ำ นาจ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้กรรมการได้พิจารณาทบทวน อนุมัติการทำ�ธุรกรรมการเงินดังต่อไปนี้ ก) ในกรณีที่แผนธุรกิจหรืองบประมาณประจำ�ปีได้รับ การปฏิบัติงานในระหว่างปีที่ผ่านมา เพื่อที่จะนำ�ไปปรับปรุง อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริหาร และพั ฒ นาการดำ � เนิ น งานของคณะกรรมการได้ อ ย่ า ง อาจดำ�เนินการดังกล่าวได้โดยไม่มขี อ้ จำ�กัดทางการเงิน มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยมีกระบวนการ และหลักเกณฑ์ ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ดังนี้ ข) ในกรณีที่ไม่ได้เป็นไปตามข้อ ก) • คณะกรรมการบริ ห ารสามารถทำ � ธุ ร กรรม 1) บริ ษั ท ฯ ได้ ใ ช้ แ บบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน ทางการเงินได้ภายในวงเงินไม่เกิน 20 ล้านบาท ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นแนวทาง • ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ในการประเมิ น ผล ผ่ า นการสอบทานโดย มีอ�ำ นาจในการอนุมตั ฯิ ในวงเงินไม่เกิน 5 ล้านบาท คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน รายละเอี ย ดอำ � นาจในการอนุ มั ติ ฯ ได้ ก ล่ า วแล้ ว และได้ ท บทวนแบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน ในหัวข้อ “ขอบเขต อำ�นาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของ เป็ น ประจำ � ทุ ก ปี เพื่ อ ให้ ค รอบคลุ ม การปฏิ บั ติ คณะกรรมการบริหาร” และ “ขอบเขต อำ�นาจหน้าที่ และ หน้ า ที่ ข องกรรมการทุ ก ด้ า นและสอดคล้ อ งกั บ ความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ลั ก ษณะและสภาพแวดล้ อ มการประกอบธุ ร กิ จ ผู้จัดการใหญ่” ของบริษัทฯ ซึ่งแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 5.9 ค่าตอบแทนกรรมการและคณะกรรมการบริหาร: แบ่งออกเป็น (1) แบบประเมินผลคณะกรรมการ ค่าตอบแทนกรรมการ: บริษัทฯ มีนโยบายกำ�หนด บริษทั ทัง้ คณะ (2) แบบประเมินผลคณะอนุกรรมการ ค่าตอบแทนของคณะกรรมการ ให้อยูใ่ นระดับทีส่ ามารถจูงใจและ (3) แบบประเมินผลกรรมการรายบุคคล อยูใ่ นระดับทีเ่ ทียบเคียงกับบริษทั ทีอ่ ยูใ่ นอุตสาหกรรมเดียวกัน 2) เลขานุการบริษัทจะเป็นผู้รวบรวมแบบประเมินผล โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะเป็น การปฏิบตั งิ านทัง้ หมด แล้วจะทำ�การสรุปผลคะแนน ผู้กำ�หนดค่าตอบแทนดังกล่าว นำ�เสนออนุมัติจากที่ประชุม และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน ผู้ถือหุ้น รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
102
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
3) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จะนำ�เสนอผลการประเมินทัง้ หมดต่อคณะกรรมการ บริ ษั ท เพื่ อ พิ จ ารณา และนำ � ไปใช้ เ ป็ น แนวทาง ในการพัฒนาการบริหารงานของคณะกรรมการ รวมทัง้ พัฒนาศักยภาพของกรรมการรายบุคคลต่อไป 4) เกณฑ์การประเมินผลคิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็ม ในแต่ละข้อ ดังนี้ คะแนนมากกว่าร้อยละ 85 = ดีเยี่ยม คะแนนมากกว่าร้อยละ 75 = ดีมาก คะแนนมากกว่าร้อยละ 65 = ดี คะแนนมากกว่าร้อยละ 50 = พอใช้ ต่ำ�กว่าร้อยละ 50 = ควรปรับปรุง การประเมินผลคณะกรรมการบริษัททั้งคณะ แบบประเมินผลคณะกรรมการบริษัททั้งคณะ แบ่ง การประเมินเป็น 4 หัวข้อหลัก ได้แก่ 1) โครงสร้างและ คุณสมบัติของคณะกรรมการ 2) การประชุมคณะกรรมการ 3) บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 4) เรื่องอื่นๆ ซึ่งผลประเมินคณะกรรมการบริษัททั้งคณะ ได้คะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม”
การประเมินผลกรรมการรายบุคคล แบบประเมินผลกรรมการรายบุคคล แบ่งการประเมิน เป็น 3 หัวข้อหลัก ได้แก่ 1) คุณสมบัติของกรรมการ 2) การประชุมของกรรมการ 3) บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของกรรมการ ซึ่งผลประเมินกรรมการรายบุคคล ได้คะแนน เฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม” 5.11 การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่: บริ ษั ท ฯ จั ด ทำ � การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ทุกสิน้ ปี โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผูป้ ระเมิน และนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่อขอความเห็นชอบ ซึ่ง การปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ มีเกณฑ์การประเมินในด้านต่างๆ ดังนี้ 1) ความเป็นผู้นำ� 2) การกำ�หนดกลยุทธ์ 3) การปฏิบัติตาม กลยุ ท ธ์ 4) การวางแผนและผลปฏิ บั ติ ท างการเงิ น 5) ความสั ม พั น ธ์ กั บ คณะกรรมการ 6) ความสั ม พั น ธ์ กั บ ภายนอก 7) การบริหารงานและความสัมพันธ์กับบุคลากร 8) การสืบทอดตำ�แหน่ง 9) ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ 10) คุณลักษณะส่วนตัว ทั้งนี้ สรุปผลการประเมินการปฏิบัติงานของประธาน เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่เป็นที่พึงพอใจ ของคณะกรรมการบริษัท และเห็นควรให้ดำ�รงตำ�แหน่งเพื่อ ปฏิบัติภารกิจให้สำ�เร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ในการดำ�เนิน ธุรกิจของบริษัทฯ ต่อไป
การประเมินผลคณะอนุกรรมการ แบบประเมินผลคณะอนุกรรมการ แบ่งการประเมิน เป็น 3 หัวข้อหลัก ได้แก่ 1) โครงสร้างและคุณสมบัติของ คณะอนุ ก รรมการ 2) การประชุ ม คณะอนุ ก รรมการ 3) บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะอนุกรรมการ 5.12 การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร: ซึ่งผลประเมินคณะอนุกรรมการ ดังนี้ บริ ษั ท ฯ มี น โยบายสนั บ สนุ น ให้ ก รรมการบริ ษั ท - คณะกรรมการตรวจสอบ ได้คะแนนเฉลีย่ อยูใ่ นเกณฑ์ คณะกรรมการชุดย่อย ผู้บริหาร เลขานุการบริษัท เข้ารับ “ดีเยี่ยม” การอบรมในหลักสูตรหรือร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นโดย - คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) สำ�นักงาน ได้คะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม” คณะกรรมการหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) หรือ - คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ได้คะแนนเฉลี่ย องค์กรอิสระต่างๆ เพือ่ เป็นการพัฒนา สนับสนุน และส่งเสริม อยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม” การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้กรรมการ - คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล ได้ ค ะแนนเฉลี่ ย ส่วนใหญ่มีประวัติเข้ารับการอบรมในหลักสูตรต่างๆ แล้ว อยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม” รายละเอียดอยูใ่ นประวัติกรรมการแต่ละท่าน
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
103
ในปี 2558 มีกรรมการและผู้บริหารเข้ารับการอบรม/สัมมนา ดังนี้ รายชื่อกรรมการ
ตำ�แหน่ง
นายศิวะรักษ์ พินจิ ารมณ์
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
นายกำ�ธร อุทารวุฒพิ งศ์
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล
นายริวโซ นางาโอคะ
นางสาวจารุวรรณ สุขทัว่ ญาติ
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล เลขานุการบริษทั กรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการบริหาร นักลงทุนสัมพันธ์ กรรมการบรรษัทภิบาล
นายณัฐพล สินขจร
กรรมการบรรษัทภิบาล
น.ส.กรรติกา ตันธุวนิย์ นางสุรตั นา ตฤณรตนะ นายกอบชัย ธนสุกาญจน์
หลักสูตรอบรม/หัวข้อสัมมนา - สัมมนา CG Forum 1/2015 "CG in Substance: วัฒนธรรมองค์กรกับหลักบรรษัทภิบาล" โดย SET - สัมมนา "บทบาทของผูบ้ ริหารระดับสูงในการผลักดันนโยบายเรือ่ งการต่อต้านทุจริตขององค์กร" โดย TLCA - อบรมหลักสูตร Chartered Director Class (CDC 9/2015) โดย IOD - สัมมนา "Channel NewsAsia Thailand Business lnsights 2015" โดย IOD - สัมมนา Tone at The Top Series 1/2015 "Ethical Leadership-Creating a Sustainable Culture" โดย IOD - สัมมนา "เรือ่ งต้องรูเกีย่ วกับ M&A: บทบาทของกรรมการ" โดย SET - สัมมนา CG Forum 3/2015 "Risk Oversight : High Priority Roles Of the Board" โดย SET - สัมมนา Director Forum 1/2015 "IT Governance: The Time is Now" โดย IOD - สัมมนา "Verifying the CAC Checklist : Experience Sharing from Auditors" โดย FAP - DCP Class 0-214 "DCP Alumni Party: 200 Class Endless Memories" โดย IOD - สัมมนา CG Forum 1/2015 "CG in Substance: วัฒนธรรมองค์กรกับหลักบรรษัทภิบาล" โดย SET - สัมมนา "บทบาทของผูบ้ ริหารระดับสูงในการผลักดันนโยบายเรือ่ งการต่อต้านทุจริตขององค์กร" โดย TLCA - สัมมนา "National Director Conference 2015 : Re-energizing Growth through Better Governance" โดย IOD - สัมมนา CG Forum 2/2015 "ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั กับฝ่ายจัดการในการควบคุมภายใน" โดย SET - สัมมนา CG Forum 3/2015 "Risk Oversight : High Priority Roles Of the Board" โดย SET - อบรมหลักสูตร Risk management Program for Corporate Leaders (RCL 2/2015) โดย IOD - สัมมนา "Anti-Corruption in Thailand: Sustaining the Momentum" โดย IOD - สัมมนา Director Forum 2/2015 "Building Better Board through Effective Independent Director" โดย IOD - สัมมนา "Thailand CG Forum: Governance as a driving force for business sustainability" โดย SET - สัมมนา "Audit Committee Seminar-Get Ready for the Year End" โดย FAP - DCP Class 0-214 "DCP Alumni Party: 200 Class Endless Memories" โดย IOD - อบรมหลักสูตร Ethical Leadership Program (ELP 2/2015) โดย IOD - อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP 214/2015) โดย IOD
- สัมมนา CG Forum 1/2015 "CG in Substance: วัฒนธรรมองค์กรกับหลักบรรษัทภิบาล" โดย SET - สัมมนา CS sharing 2/2558 "เลขานุการบริษทั มืออาชีพ: ผูช้ ว่ ยคนสำ�คัญในการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ "ี โดย SET - อบรมหลักสูตร Risk management Program for Corporate Leaders (RCL 2/2015) โดย IOD - สัมมนา "ผนึกเสียง 400 บริษทั เพือ่ สูป้ ญ ั หาคอร์รปั ชัน่ เชิงระบบ" โดย IOD - สัมมนา CG Forum 2/2015 "ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั กับฝ่ายจัดการในการควบคุมภายใน" โดย SET - อบรมหลักสูตร Company Secretary Program (CSP 67/2015) โดย IOD - สัมมนา "บทบาทของผูบ้ ริหารระดับสูงในการผลักดันนโยบายเรือ่ งการต่อต้านทุจริตขององค์กร" โดย TLCA - สัมมนา "Why Business Need Mediation" โดย THAC - สัมมนา CS Sharing 3/2558 "How to improve your CG Practices" โดย SET - สัมมนา Workshop "การเตรียมความพร้อมเข้าโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต" โดย TLCA - สัมมนา "Verifying the CAC Checklist : Experience Sharing from Auditors" โดย FAP - สัมมนา "Audit Committee Seminar-Get Ready for the Year End" โดย FAP - สัมมนา "ผนึกเสียง 400 บริษทั เพือ่ สูป้ ญ ั หาคอร์รปั ชัน่ เชิงระบบ" โดย IOD - อบรมหลักสูตร Ethical Audit โดย IIA - อบรมหลักสูตร Risk management Program for Corporate Leaders (RCL 2/2015) โดย IOD - สัมมนา "Verifying the CAC Checklist : Experience Sharing from Auditors" โดย FAP
FAP=สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ / IOD=สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย / IIA = สมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่งประเทศไทย / SET=ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย / THAC=สถาบันอนุญาโตตุลาการ / TLCA=สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
104
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารชี้ แ จงข้ อ มู ล สำ � คั ญ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กั บ บริ ษั ท ฯ ให้ กั บ กรรมการใหม่ โดยกรรมการผู้ จั ด การ ฝ่ายบริหารทีเ่ กีย่ วข้อง และเลขานุการบริษทั จะนำ�เสนอข้อมูล เกี่ยวกับโครงสร้างการถือหุ้น โครงสร้างองค์กร ลักษณะ การดำ�เนินธุรกิจ การดำ�เนินงานของบริษัทฯ ข้อมูลสำ�คัญ ทางการเงิน ข้อมูลบริษทั ฯ ในเครือ การประชุมคณะกรรมการ บริษัท และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดทำ� คู่มือการปฏิบัติงานของบริษัท (Company Operation Document) ให้แก่คณะกรรมการทุกท่าน บริษทั ฯ จัดให้มแี ผนสืบทอดตำ�แหน่ง สำ�หรับตำ�แหน่ง งานหลั ก โดยกำ � หนดเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในแผนกลยุ ท ธ์ เ พื่ อ ประโยชน์ในการสืบทอดงาน และเป็นแนวทางในการพัฒนา ผูบ้ ริหารตามแผนทีก่ �ำ หนดไว้ รวมทัง้ ปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทนกรณีที่ กรรมการผู้จัดการ หรือผู้บริหารไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ 5.13 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และการใช้ข้อมูล ภายใน: บริ ษั ท ฯ ถื อ เป็ น นโยบายสำ � คั ญ ที่ จ ะไม่ ใ ห้ บุ ค ลากร ของบริษัทฯ ใช้โอกาสจากการเป็นกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานของบริษทั ฯ แสวงหาผลประโยชน์สว่ นตน จึงกำ�หนด ไว้ ใ นคู่ มื อ การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ถึ ง แนวปฏิ บั ติ สำ � หรั บ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ให้หลีกเลี่ยง สถานการณ์ที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งในด้านผลประโยชน์ ส่ ว นตนกั บ ผลประโยชน์ ข องบริ ษั ท ฯ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาล ผู้จัดจำ�หน่าย คู่ค้า หรือคู่แข่ง ความขัดแย้งทางด้านผลประโยชน์รวมไปถึงความพยายาม ที่ จ ะเปิ ด เผยข้ อ มู ล อั น เป็ น ความลั บ ของบริ ษั ท ฯ ให้ แ ก่ บุคคลภายนอกในระหว่างหรือหลังจากที่เป็นพนักงานหรือ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท ไม่ว่าข้อมูลดังกล่าวจะเป็น ข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ข้อมูลทางการเงิน ข้อมูลทางธุรกิจ แผนการในอนาคตของบริษัทฯ ฯลฯ รวมทั้งต้องไม่ใช้ข้อมูล ภายในเพื่อประโยชน์ของตนเองหรือของผู้อื่น
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
5.14 ระบบควบคุมและการตรวจสอบภายใน: การควบคุมภายในเป็นกระบวนการทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฝ่ า ยบริ ห าร และบุ ค ลากรอื่ น ๆ ได้ กำ � หนดขึ้ น เพื่ อ สร้ า ง ความมัน่ ใจว่าบริษทั ฯ สามารถดำ�เนินงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ ทั้ง 4 ประการต่อไปนี้ 1) ดำ�เนินงานให้บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2) สร้างความน่าเชื่อถือของรายงานทางการเงินและ ข้ อ มู ล อื่ น ๆ ที่ ส่ ง ผลกระทบอย่ า งมี นั ย สำ � คั ญ ต่อความน่าเชื่อถือของรายงานทางการเงิน 3) ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและข้ อ บั ง คั บ ที่ ใ ช้ บั ง คั บ ทั้งภายในและต่างประเทศ รวมถึงมาตรฐานและ ข้อบังคับอื่นๆ เช่น ข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ มาตรฐานทางการบัญชี ข้อบังคับของบริษัทฯ 4) ควบคุมดูแลพื่อให้การได้มาหรือจำ�หน่ายไป ซึ่ง สินทรัพย์ของบริษัทฯ เป็นไปอย่างเหมาะสม ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้จดั ให้มกี ารควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และเหมาะสมกับลักษณะงานหรือสภาพแวดล้อมขอกิจการนัน้ ควบคู่กับการตรวจสอบภายใน ตามแนวทางของ “มาตรฐาน การปฏิบัติเพื่อการประเมินผลและตรวจสอบการควบคุม ภายในของรายงานทางการเงิน” ซึ่งออกโดยองค์กรบริการ ทางการเงินของรัฐบาลญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 21/11/2006 หรือ ทีเ่ รียกว่า J-SOX นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้น�ำ กรอบโครงสร้าง ของการควบคุมภายในตามแนวความคิดของ COSO หรือ The Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission ที่ได้ปรับปรุงใหม่เมื่อเดือน พฤษภาคม 2556 และแนวทางการประเมินความเพียงพอ ของระบบควบคุมภายในทีแ่ นะนำ�โดยสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือ ก.ล.ต. มาใช้ในทางปฏิบัติ
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
5.15 การบริหารความเสี่ยง: คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีก่ �ำ กับดูแลให้มกี ารบริหาร จัดการความเสี่ยงต่อสถานการณ์ ที่จะเป็นอุปสรรคต่อการ บรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ กำ�หนดนโยบายและกรอบ การบริหารความเสีย่ ง กำ�กับดูแล และสนับสนุนให้การบริหาร ความเสีย่ งของบริษทั ฯ มีประสิทธิภาพ พิจารณาความเสีย่ งทีม่ ี นัยสำ�คัญทั้งในระดับองค์กรและระดับโครงการ กำ�หนดแผน การดำ�เนินงาน ติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงแผนดังกล่าว อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ลดระดับความเสีย่ งให้ถงึ ระดับทีย่ อมรับได้ พร้อมทัง้ รายงานผลการบริหารความเสีย่ งต่อคณะกรรมการบริษทั อย่างสม่ำ�เสมอและทันท่วงที สำ�หรับรายละเอียดได้กล่าวถึง แล้วในหมวด “การบริหารและจัดการความเสี่ยง”
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
105
การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีในเรื่องอื่นๆ ที่อยู่ในระหว่าง การพิจารณา: 1) การกำ�หนดให้วาระการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระ ต่อเนื่องไม่เกิน 9 ปีนั้น คณะกรรมการพิจารณา แล้วเห็นว่า การแต่งตัง้ กรรมการอิสระให้ด�ำ รงตำ�แหน่ง ต่อไปอาจจะเป็นประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ 2) ในคณะกรรมการยังไม่มกี รรมการอิสระทีเ่ ป็นผูห้ ญิง อย่างน้อย 1 คน เนือ่ งจากในปัจจุบนั มีจ�ำ นวนกรรมการ อิสระที่ครอบคลุมการดำ�เนินงานในหลายด้านแล้ว 3) การปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ (Compliance) ให้เป็นไป ในแนวทางของการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี อยูภ่ ายใต้ การดูแลของเลขานุการบริษัท
106
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
การควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ กำ � หนดให้ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบทำ � หน้ า ที่ กำ � กั บ ดู แ ลระบบการควบคุ ม ภายใน กิจกรรมบริหารความเสี่ยงและหลักการกำ�กับดูแลกิจการ ของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ ให้มีความเหมาะสมและ มีประสิทธิภาพ มีการปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนด กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ดูแลมิให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การทำ�รายการ เกี่ ย วโยง โดยบริ ษั ท ฯ ได้ นำ � กรอบโครงสร้ า งของระบบ การควบคุ ม ภายในและกรอบการบริ ห ารความเสี่ ย ง ทั่ ว ทั้ ง องค์ ก ร (Enterprise Risk management) ตามแนวทางของ COSO (The Committee of Sponsoring Organization of the Tread way Commission) มาใช้ในทางปฏิบัติเพื่อให้การควบคุมภายในและการบริหาร ความเสีย่ งของบริษทั ฯ มีความเหมาะสม เป็นไปตามหลักการทีด่ ี และเป็นมาตรฐานสากล • สภาพแวดล้อมการควบคุมภายใน -บริษัทฯ ได้จัดให้มีโครงสร้างสายการบังคับบัญชา ที่ เ หมาะสม กำ � หนดหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบและอำ � นาจ ในการสั่ ง การ การรายงานที่ ชั ด เจนเพื่ อ ให้ ส ามารถกำ � กั บ ควบคุ ม ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านให้ บ รรลุ ถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละ เป้าหมาย รวมทัง้ จัดทำ�คูม่ อื การปฏิบตั งิ านไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน -บริษัทฯ ได้ปลูกจิตสำ�นึกให้ฝ่ายบริหาร พนักงาน ของบริษัทฯ และบริษัทในเครือตระหนักถึงการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีกำ�หนดให้มีจริยธรรมทางธุรกิจและจรรยาบรรณ ของกรรมการ มีข้อกำ�หนดซึ่งจัดทำ�เป็นลายลักษณ์อักษร ที่กำ�หนดให้ ฝ่ายบริหารและพนักงานรักษาจรรยาบรรณและ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อตรง มีความโปร่งใสและเป็นธรรม ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ในปี 2558 สำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ได้น�ำ แนวทางการควบคุมภายในของ COSO 2013 ที่มีการปรับปรุงกรอบโครงสร้าง (Framework) ใหม่ในเดือนพฤษภาคม 2556 มาปรับปรุงแบบประเมินระบบ ควบคุมภายในบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต) บริษัท ยังคงใช้แบบประเมินระบบควบคุมภายใน COSO 2013 ในการประเมินระบบการควบคุมภายในและการประเมิน ดังกล่าวประเมินโดยระดับผู้บริหารเพื่อให้การประเมินระบบ ควบคุมภายในตามแบบประเมินของ ก.ล.ต. มีประสิทธิผล ในปี 2558 บริษัทฯ อยู่ในระหว่างการประเมินตนเอง และจัดเตรียมรวบรวมเอกสารหลักฐานประกอบแบบประเมิน
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
ตนเองให้สมบูรณ์ เพื่อยื่นขอการรับรองต่อคณะกรรมการ แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต ต่อไป • การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งควบคุมดูแลให้บริษทั ฯ มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งอย่ า งเป็ น ระบบและเป็ น รู ป ธรรม โดยมี “คณะทำ�งาน” ระดับบริหารและผู้จัดการ ติดตาม ประเมินปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งปัจจัยภายนอก และปัจจัยภายใน อย่างต่อเนื่องและสม่ำ�เสมอซึ่งสามารถ จำ � แนกประเภทของปั จ จั ย เสี่ ย งออกเป็ น ปั จ จั ย เสี่ ย ง ด้านกลยุทธ์ ด้านการดำ�เนินงาน ด้านการเงินและด้านการปฏิบตั ิ ตามระเบียบข้อบังคับ การประเมินความเสี่ยงจะกระทำ�โดย พิจารณาถึงโอกาสและระดับความรุนแรง ของผลกระทบ ที่จะมีต่อบริษัทฯ หากปัจจัยเสี่ยงนั้นๆ เกิดขึ้น มีการกำ�หนด มาตรการในการป้องกันและแก้ไข รวมทัง้ กำ�หนดผูร้ บั ผิดชอบ ในการปฏิ บั ติ การรายงาน การติ ด ตามประเมิ น ผลไว้ อย่ า งชั ด เจน เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งดำ � เนิ น การได้ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สร้างความมั่นใจได้ว่า สามารถควบคุมปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวให้อยู่ในระดับที่บริษัทฯ ยอมรับได้ ในปี 2558 คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งได้ทบทวน นโยบาย และความเสี่ยงขององค์กรรวมทั้งได้รายงานให้ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริ ษั ท ทราบ เป็ น รายไตรมาสเกี่ ย วกั บ ความเสี่ ย งที่ มี ส าระสำ � คั ญ ทั้ ง ความเสี่ ย งเดิ ม ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงและความเสี่ ย ง ทีเ่ กิดขึน้ ใหม่ ตลอดจนวิธกี ารลดความเสีย่ งดังกล่าวให้อยูใ่ นระดับ ที่ยอมรับได้ นอกจากนี้บริษัทฯ ได้กำ�หนดมาตรการและแนวทาง อย่ า งชั ด เจนในการจั ด การความเสี่ ย ง ที่ ส่ ง ผลกระทบ อย่างมีนัยสำ�คัญต่อการเจริญเติบโตทางธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่ ง มาตรการและแนวทางดั ง กล่ า วมี ค วามสอดคล้ อ งกั บ กรอบการควบคุ ม ภายใน เพื่ อ ให้ มี ก ารพั ฒ นาการบริ ห าร ความเสี่ยงของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง • การควบคุมการปฏิบัติงาน -บริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดนโยบายและขัน้ ตอนการดำ�เนินงาน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ซึ่งรวมถึง การมอบอำ�นาจ การแบ่งหน้าที่ การพิจารณาทบทวน การ ดูแลป้องกันทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ และการตรวจสอบ เป็นต้น
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กั จำ�กัด (มหาชน)
107
-ข้อบกพร่องหรือความผิดพลาดใดๆ ทีพ่ บในกิจกรรม การทุจริต รวมทัง้ ช่องทางอืน่ ๆ สำ�หรับผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอก การควบคุมบริษัทฯ จะใช้มาตรการจัดการอย่างเหมาะสม องค์กรเพื่อแจ้งข้อมูลดังกล่าวด้วย ทัง้ ในเชิงของการแก้ไขป้องกันและปรับปรุง เพือ่ ไม่ให้ขอ้ บกพร่อง • ระบบการติดตามประเมินผล หรือความผิดพลาดดังกล่าวเกิดขึ้นอีกในอนาคต ในปี 2558 บริษัทฯ ได้ทบทวนนโยบายและระเบียบ -ฝ่ายบริหารเป็นผู้กำ�หนดขอบเขต ระยะเวลา และ วิธปี ฏิบตั งิ านรวมทัง้ ขยายการควบคุมของบริษทั ใหญ่ สูบ่ ริษทั ย่อย ผู้รับผิดชอบในการติดตามประเมินผลโดยให้มีการติดตาม ในต่างประเทศ นอกจากนีย้ งั ได้ปรับปรุงนโยบายและระเบียบ ประเมิ น ผลการดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ เป็ น ประจำ � วิธีปฏิบัติงานให้ครอบคลุมถึงการป้องกันและการตรวจจับ อย่ า งสม่ำ �เสมอ นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ฯ ยั ง จั ด ให้ มี ห น่ ว ยงาน การทุจริตด้วย ตรวจสอบภายใน ทำ�การตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบ ประจำ�ปีทจี่ ดั ทำ�ขึน้ โดยพิจารณาถึงผลการประเมินความเสีย่ ง • ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร ความบกพร่อง ของการควบคุมภายในทีพ่ บจากการตรวจสอบ -บริ ษั ท ฯ ได้ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ ต่ อ ข้ อ มู ล ข่ า วสารและ ซึ่ ง ต้ อ งรายงานต่ อ บุ ค คลที่ รั บ ผิ ด ชอบในเรื่ อ งดั ง กล่ า ว การสื่อสารเป็นอย่างยิ่งและสนับสนุนให้มีการพัฒนา ระบบ เพื่อพิจารณาหาสาเหตุและแนวทางในการแก้ไข ปรับปรุง สารสนเทศอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้ขอ้ มูลข่าวสารมีความถูกต้อง กรณี เ ป็ น ความบกพร่ อ งอย่ า งมี นั ย สำ � คั ญ ต้ อ งรายงาน และเป็ น ปั จ จุ บั น ตลอดจนให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การรั ก ษา ต่อฝ่ายบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั ความปลอดภัยของข้อมูล การจัดเก็บ การประมวลผล การนำ�ไปใช้ และการติดตามผลเพือ่ ให้การนำ�ข้อมูลไปใช้ ในการบริหารจัดการ และผู้สอบบัญชีเพื่อให้มีการแก้ไขปรับปรุงภายในระยะเวลา และการตัดสินใจของผูบ้ ริหารและผูป้ ฏิบตั งิ าน มีความสมบูรณ์ ที่เหมาะสม ในปี 2558 หน่วยงานตรวจสอบภายในปฏิบตั ไิ ด้ตามแผน ถูกต้องครบถ้วนและทันกาล -บริษัทฯ ใช้วิธีการสื่อสารภายในองค์กรผ่านระบบ ประจำ�ปีที่วางไว้ อย่างไรก็ดีคณะกรรมการตรวจสอบ ได้ตอบ Intranet ทำ � ให้ ส ามารถสื่ อ สารข้ อ มู ล ต่ า งๆ ที่ จำ � เป็ น แบบสอบถามความพึงพอใจของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ต่อการปฏิบัติงานภายในองค์กรได้อย่างทั่วถึง เช่น นโยบาย และได้ แ สดงความคิ ด เห็ น ว่ า ควรเพิ่ ม ทรั พ ยากรสำ � หรั บ กฎระเบียบ คำ�สั่ง คู่มือการปฏิบัติงาน การตรวจสอบภายใน โดยเฉพาะผู้ ต รวจสอบภายใน ในปี 2558 บริ ษั ท กำ � หนดให้ มี ช่ อ งทางสำ � หรั บ ทีไ่ ด้รบั การรับรองจากสถาบันวิชาชีพเพือ่ ให้การตรวจสอบภายใน เปิดโอกาสให้พนักงานสามารถรายงานสิง่ บอกเหตุทอ่ี าจนำ�ไปสู่ มีประสิทธิผลสูงสุด
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
108
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
การดำ�เนินงานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม บริษทั ฯ ให้ความสำ�คัญกับการจัดการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิง่ แวดล้อมโดยได้วางกรอบการดำ�เนินงาน เพือ่ ให้มน่ั ใจได้วา่ โครงการทีอ่ ยูภ่ ายใต้ความรับผิดชอบของบริษทั ฯ มีการป้องกันผลกระทบด้านอาชีวอนามัยความปลอดภัย และ สิง่ แวดล้อม ทัง้ ต่อทรัพยากรบุคคล, ทรัพย์สนิ , ผูเ้ กีย่ วข้อง และ ชุมชนใกล้เคียงอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เป็นไปตาม กฎหมาย ข้อกำ�หนดของโครงการ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล (OHSAS 18001: 2007, TIS 18001: 2011 และ ISO 14001: 2004) และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันผลกระทบ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ไ ด้ ร ะบุ ใ นรายงานการศึ ก ษาผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อมของโครงการ (Environmental Impact Assessment; EIA) นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังได้เข้าไปมีสว่ นร่วม กั บ กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมและสาธารณประโยชน์ ข องชุ ม ชน ตามโอกาส แนวทางการบริหารงานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม เพือ่ ให้การดำ�เนินงานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิง่ แวดล้อม ประสบผลสำ�เร็จตามนโยบาย และวัตถุประสงค์ บริษทั ฯ จึงได้ก�ำ หนดแนวทางการบริหารงานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม ดังนี้
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ข้อกำ�หนดของระบบการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ข้อกำ�หนดของระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม โครงการ
ความต้องการของลูกค้า ระเบียบปฏิบัติ การตรวจประเมิน การเลือกและควบคุมผู้รับเหมาช่วง การตรวจประเมิน ผู้รับเหมาช่วง การเตรียมการ ก่อนเริ่มงาน
กิจกรรมที่ดำ�เนินการเป็นประจำ�
การบริหารจัดการ ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การตรวจสอบ อุปกรณ์
การอนุญาตทำ�งาน และการวิเคราะห์
การตรวจ ความปลอดภัย
การสนทนา ความปลอดภัย
รายงานอุบัติเหตุ
การสอบสวน อุบัติเหตุ
การประชุม ประจำ�สัปดาห์
กิจกรรมส่งเสริม ความปลอดภัย
การรักษา ความปลอดภัย
การรายงาน ประจำ�สัปดาห์
การตอบสนองสถานการณ์ฉุกเฉิน
การบริหารจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อม การจัดการขยะและของเสีย การควบคุมการใช้สารเคมี การสุขาภิบาล
การฝึกอบรม
การอบรมความ ปลอดภัยเบื้องต้น การฝึกอบรม เฉพาะด้าน
การสร้างความตระหนักให้กับชุมชน การรายงานประจำ�สัปดาห์
ภาพที่ 1 : แนวทางการบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิง่ แวดล้อม สำ�หรับการดำ�เนินงานโครงการ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
1. การเลือกและควบคุมผู้รับเหมาช่วง 1.1 การตรวจประเมินผู้รับเหมาช่วง 1.2 การเตรียมการก่อนเริ่มงาน
109
2.3 ด้านการฝึกอบรม - การอบรมความปลอดภัยเบื้องต้นให้กับพนักงาน ก่อนเริม่ เข้าทำ�งานในโครงการ - การอบรมพิเศษเฉพาะด้าน เช่น การอบรมการทำ�งาน 2. กิจกรรมที่ดำ�เนินการเป็นประจำ� 2.1 การบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ในทีอ่ บั อากาศ การทำ�งานบนทีส่ งู - การตรวจสอบอุปกรณ์ 3. การตอบสนองสถานการณ์ฉุกเฉิน - การอนุญาตทำ�งานและการวิเคราะห์งาน การฝึกซ้อมแผนฉุกเฉิน - การตรวจความปลอดภัย บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) และทุกโครงการ - การสนทนาความปลอดภัย จัดซ้อมแผนการตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินอย่างน้อย - รายงานอุบัติเหตุ ปีละ 1 ครัง้ - การสอบสวนอุบัติเหตุ - การประชุมประจำ�สัปดาห์ - กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย - การรักษาความปลอดภัย - การรายงานประจำ�สัปดาห์ 2.2 การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม - การจัดการขยะและของเสีย - การควบคุมการใช้สารเคมี - การสุขาภิบาล - การสร้างความตระหนักให้กับชุมชน - การรายงานประจำ�สัปดาห์
ภาพที่ 4 : การฝึกซ้อมอพยพหนีไฟประจำ�ปี ณ สำ�นักงานใหญ่
ภาพที่ 2 : การอบรมการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม
ภาพที่ 3 : การสนทนาด้านความปลอดภัย
รายงานประจ�ำปี 2558
ภาพที่ 5 : การฝึกซ้อมแผนระงับสถานการณ์ฉกุ เฉิน และอพยพหนีไฟ ณ โครงการก่อสร้าง
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
110
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
จำ�นวนชัว่ โมงการทำ�งานด้วยความปลอดภัยของโครงการ ปี 2556-2558
แผนภูมทิ ่ี 1 : จำ�นวนชัว่ โมงการทำ�งานด้วยความปลอดภัยของโครงการ ปี 2556-2558 อัตราความถีข่ องการเกิดอุบตั เิ หตุ ปี 2556-2558
แผนภูมทิ ่ี 2 : อัตราความถีข่ องการเกิดอุบตั เิ หตุ ปี 2556-2558 (ค่ามาตรฐาน; STD = 3.7)
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
การบริหารจัดการผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม บริษทั ทีทซี แี อล จำ�กัด (มหาชน) ได้บริหารจัดการผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม โดยทำ�การชี้บ่งและประเมินประเด็นปัญหา ด้านสิ่งแวดล้อม สำ�หรับทุกขั้นตอนการดำ�เนินการก่อสร้าง โครงการอย่างเป็นระบบ ดังนี้ 1. ชีบ้ ง่ ประเด็นปัญหาและผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม จากกิจกรรมการก่อสร้างโครงการของบริษัทฯ 2. ประเมินระดับประเด็นปัญหาและผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำ�คัญ 3. ลำ�ดับความสำ�คัญของประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม 4. ระบุมาตรการควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จากกิจกรรม 5. ควบคุมการดำ�เนินงานให้สอดคล้องตามมาตรการ ควบคุมป้องกันและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ได้จัดทำ�แผนควบคุมและบริหารจัดการด้าน สิ่งแวดล้อม เพื่อใช้ป้องกันและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยแผนงานดังกล่าวจะต้องสอดคล้องกับรายงานการศึกษา ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของโครงการ (Environmental Impact Assessment; EIA) และกำ�หนดให้มีการติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบตั ติ ามมาตรการทีร่ ะบุในแผนฯ เป็นประจำ� พร้อมทัง้ รายงานผลการดำ�เนินงานให้ผทู้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วข้องทราบ อย่างต่อเนื่อง ลำ�ดับ
1 2
กิจกรรม
การตอกเสาเข็ม การทำ�ความสะอาดระบบท่อ ด้วยลมหรือไอน้�ำ
รายงานประจ�ำปี 2558
111
การจัดการมลภาวะทางอากาศ จากผลการประเมินประเด็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ของบริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ทางบริษัทฯ พบว่า มลภาวะทางอากาศของโครงการก่อสร้างของบริษทั ฯ มาจากฝุน่ (Particulate Dust) ทีเ่ กิดขึน้ จากกิจกรรมการขุดเปิดหน้าดิน เพื่อก่อสร้างฐานราก การขนหรือเคลื่อนย้ายดินจากบริเวณ พื้นที่ที่ทำ� ขุดไปยังพื้นที่กองเก็บดินภายในโครงการ บริษัท ได้กำ�หนดมาตรการควบคุมป้องกัน และลดผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อม โดยให้มกี ารฉีดพรมน้�ำ บริเวณทีม่ กี ารขุดเปิดหน้าดิน พร้อมทั้งกำ�หนดให้ผู้รับเหมาช่วง ที่ทำ�การเคลื่อนย้ายดิน ใช้ผ้าใบคลุมกระบะบรรทุกดินทุกครั้ง เพื่อป้องกันการฟุ้ง กระจายของฝุ่น และการร่วงหล่นของเศษดิน การจัดการมลภาวะทางเสียง จากผลการประเมินประเด็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ของบริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ทางบริษัทฯ พบว่า มลภาวะทางเสียงของโครงการก่อสร้างของบริษัทฯ เกิดจาก การตอกเสาเข็ม และงานทำ�ความสะอาดท่อด้วยแรงดันลม หรือด้วยไอน้ำ� ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้กำ�หนดมาตรการเพื่อควบคุม และป้องกันมลภาวะทางเสียงสำ�หรับสองกิจกรรมดังกล่าว เพื่อป้องกันผลกระทบต่อชุมชน ดังนี้ มาตรการควบคุมและป้องกัน
กำ�หนดให้มชี ว่ งเวลาการทำ�งานดังนี้ 1. ทำ�งานวันจันทร์ - เสาร์ 2. ช่วงเวลา 08:00 – 17:00 น. ให้พจิ ารณาเลือกใช้เครือ่ งตอกเสาเข็มแบบเจาะเป็นอันดับแรก กำ�หนดให้มชี ว่ งเวลาการทำ�งานดังนี้ 1. ทำ�งานวันจันทร์ - เสาร์ 2. ช่วงเวลา 08:00 – 17:00 น. ประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนใกล้เคียงทราบถึงกิจกรรมทีด่ �ำ เนินการ ช่วงเวลา และมาตรการป้องกัน ติดตัง้ อุปกรณ์ลดเสียงทีบ่ ริเวณปลายท่อลม หรือท่อไอน้�ำ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
112
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
การจัดการขยะและของเสียอันตราย จากการประเมินประเด็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมของ บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ทางบริษัทฯ พบว่าการ ดำ�เนินการก่อสร้างของโครงการ ก่อให้เกิดขยะและของเสีย อันตราย บริษัทฯ จึงได้จัดทำ�แผนการจัดการขยะและของ เสียอันตรายที่เกิดขึ้น โดยใช้หลักการ 3 R ได้แก่ ลดการใช้ (Reduce) การนำ�มาใช้ซ้ำ� (Reuse) และการแปรสภาพเพื่อ ลำ�ดับ 1
2 3
ขัน้ ตอน
ประมาณการปริมาณสิ่งปฏิกูลหรือ วั ส ดุ ไ ม่ ใ ช้ แ ล้ ว ที่จ ะเกิ ด ขึ้น ภายใน โครงการก่อสร้าง จัดเตรียมพื้นที่พักเก็บขยะชั่วคราว ของโครงการ คัดแยกประเภททีจ่ ดุ ก่อกำ�เนิดขยะ
4
ขนย้ายไปพักยังพื้นที่พักเก็บขยะ ของโครงการ
5
ส่งไปบำ�บัดหรือกำ�จัดโดยหน่วยงาน ภายนอกทีไ่ ด้รบั อนุญาต
กลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ในการคัดแยกขยะแต่ละประเภท เป็นการจัดการของเสียที่แหล่งกำ�เนิด ทำ�ให้สามารถคัดแยก และกำ�จัดขยะและของเสียได้อย่างถูกวิธี เพื่อป้องกันและ ลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นชุมชน และต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง เป็นการใช้ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้แบ่งการ จัดการออกเป็นขั้นตอน ดังนี้ วัตถุประสงค์การดำ�เนินการ
เพื่อใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นสำ�หรับจัดเตรียมสถานที่พักเก็บขยะชั่วคราว ของโครงการ เพื่อป้องกันการปนเปื้อนลงสู่ผิวดิน กรณีมีการหกรั่วไหลของของเสียอันตราย เพื่อลดปริมาณของเสียอันตราย อันเนื่องมาจากอาจเกิดการปนเปื้อนจาก สารเคมีหรือขยะอันตรายไปสู่ขยะมูลฝอยหรือขยะทั่วไป 1. เพือ่ จัดเก็บขยะไว้ในพืน้ ทีถ่ กู ต้องเหมาะสมตามประเภทชนิดของขยะ 2. ป้องกันผูร้ บั เหมาช่วงนำ�ขยะออกไปทิง้ นอกพืน้ ทีโ่ ครงการโดยไม่ถกู ต้อง ตามกฎหมาย เพือ่ ให้การดำ�เนินการกำ�จัดและบำ�บัดของเสียแต่ละประเภท เป็นไปอย่างถูกต้อง เหมาะสม และสอดคล้องตามกฎหมาย
กฎระเบียบและข้อบังคับด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยของโครงการ พนักงาน/ผู้มาติดต่อ • ต้องแสดงบัตรประจำ�โครงการฯ ให้ชดั เจน จึงจะอนุญาต ให้เข้าในโครงการฯ ได้ • ถ้าไม่มีบัตรของโครงการ ต้องแลกบัตรผู้มาติดต่อ หรือบัตรชั่วคราว โดยแจ้งวัตถุประสงค์ต่อพนักงาน รักษาความปลอดภัย • ถ้าผูม้ าติดต่อต้องการเข้าเขตก่อสร้าง ต้องได้รบั อนุญาต จากผูจ้ ดั การโครงการหรือผูจ้ ดั การก่อสร้างก่อนทุกครัง้ และต้องผ่านการอบรมหรือชีแ้ จงกฎระเบียบอาชีวอนามัย ความปลอดภั ย และสภาพแวดล้ อ มในการทำ � งาน พร้อมทั้งสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ตามกฎความปลอดภัยในแต่ละพื้นที่ อีกทั้งจะต้อง
อยู่ ใ นความดู แ ลของพนั ก งาน หรื อ เจ้ า หน้ า ที่ ความปลอดภัยประจำ�โครงการ • ทุกคนทีเ่ ข้ามาในโครงการ ต้องแต่งกายสุภาพ เรียบร้อย และปฏิบัติตามกฎความปลอดภัย ยานพาหนะ • ต้ อ งผ่ า นการตรวจสอบความปลอดภั ย และติ ด สติกเกอร์ทที่ างโครงการออกให้เท่านัน้ จึงจะอนุญาตให้ ขับเข้ามาในโครงการได้ • ทุกครั้งที่จอดยานพาหนะต้องจอดหันหน้าออก • ห้ามจอดยานพาหนะกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิงใดๆ กฎระเบียบทั่วไปของโครงการ • ห้ามพกพาอาวุธหรือสิ่งผิดกฎหมาย • ห้ามดื่ม พกพา สุราหรือสารเสพติด
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
113
• ห้ามทะเลาะวิวาท • ห้ามสูบบุหรี่ในเขตห้ามสูบบุหรี่ • ห้ามหยอกล้อเล่นกัน • ห้ามถ่ายภาพโดยไม่ได้รับอนุญาต • ห้ามใช้เครือ่ งมือสือ่ สารในเขตก่อสร้างโดยไม่ได้รบั อนุญาต • หญิงมีครรภ์ ห้ามทำ�งานหลัง 22:00 น.
ความปลอดภั ย และสิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง สอดคล้ อ งกั บ ข้อกำ�หนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ บริษัทฯ จึงกำ�หนด ให้มีการตรวจประเมิน ดังนี้ 1. ประเมินความสอดคล้องกับกฏหมายและข้อกำ�หนด ทีเ่ กีย่ วข้อง ก่อนเริม่ การดำ�เนินการก่อสร้างโครงการ เพือ่ ให้มน่ั ใจว่าการดำ�เนินการของบริษทั ฯ สอดคล้อง กับกฎหมาย ข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้องและบังคับใช้ กับโครงการ การตรวจประเมิน เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการดำ�เนินงานโครงการของบริษัทฯ 2. เพือ่ ติดตามตรวจสอบผลการดำ�เนินงานอย่างต่อเนือ่ ง เป็ น ไปตามกฎหมาย และข้ อ กำ � หนดด้ า น อาชี ว อนามั ย และสม่ำ�เสมอ ความสำ�เร็จในการดำ�เนินงานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม ของบริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ได้รับใบประกาศนียบัตรแสดงผลความสำ�เร็จในการดำ�เนินงานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม ในปี 2558 ดังต่อไปนี้ โครงการ Latkrabang SPP Power Plant ผู้ว่าจ้าง: บริษัท พีพีทีซี จำ�กัด ที่ตั้งโครงการ: นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง จังหวัดกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ลักษณะโครงการ: โครงการก่ อ สร้ า งโรงไฟฟ้ า พลั ง งาน ความร้อนร่วม ความสำ�เร็จด้านความปลอดภัย: ปฏิบตั งิ าน 1,000,000 ชัว่ โมงการทำ�งาน โดยไม่มีอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน (LTI) วันที่ได้รางวัล: 10 กุมภาพันธ์ 2558 โครงการ DAP NO.2-VINACHEM ผู้ว่าจ้าง: บริษัท DAP No.2 Joint Stock ที่ตั้งโครงการ: เขตอุตสาหกรรม Tang Loong เมือง Lao Cai ประเทศเวียดนาม ลักษณะโครงการ: โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตปุ๋ย Diammonium Phosphate ความสำ�เร็จด้านความปลอดภัย: ปฏิบตั งิ าน 3,042,648 ชัว่ โมงการทำ�งาน โดยไม่มีอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน (LTI) วันที่ได้รางวัล: 30 พฤษภาคม 2558
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
114
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
โครงการ Bangpoo SPP Power Plant ผู้ว่าจ้าง: บริษัท เอสเอสยูที จำ�กัด ที่ตั้งโครงการ: นิคมอุตสาหกรรมบางปู จังหวัดสมุทรปราการ ประเทศไทย ลักษณะโครงการ: โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ขนาดกำ�ลังการผลิต 120 เมกะวัตต์ ความสำ�เร็จด้านความปลอดภัย: ปฏิบัติงาน 1,000,000 ชั่วโมงการทำ�งาน โดยไม่มีอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน (LTA) วันที่ได้รางวัล: มิถุนายน 2558 โครงการ CHP II ผู้ว่าจ้าง: บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด ที่ตั้งโครงการ: เขตประกอบการอุตสาหกรรม ไออาร์พีซี จังหวัดระยอง ประเทศไทย ลักษณะโครงการ: โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานร่วม ขนาดกำ�ลังการผลิต 240 เมกะวัตต์ ความสำ�เร็จด้านความปลอดภัย: ปฏิบัติงาน 7,000,000 ชั่วโมงการทำ�งาน โดยไม่มีอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน (LTA) วันที่ได้รางวัล: 21 กรกฎาคม 2558 โครงการ Ras Abu Fontas A2 Desalination ผู้ว่าจ้าง: บริษัท Qatar Electricity & Water ที่ตั้งโครงการ: Ras Abu Fontas ประเทศกาตาร์ ลักษณะโครงการ: โครงการก่อสร้างโรงงานแปลงน้ำ�ทะเล ให้เป็นน้ำ�จืด ความสำ�เร็จด้านความปลอดภัย: ปฏิบัติงาน 5,000,000 ชั่วโมงการทำ�งาน โดยไม่มีอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน (LTI) วันที่ได้รางวัล: กันยายน 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
115
ความรับผิดชอบต่อสังคม บริ ษัท ที ทีซีแ อล จำ � กั ด (มหาชน) โดยมติ ท่ีป ระชุ ม ได้มอบหมายให้คณะกรรมการบริหาร(Board of Management) คณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 4/2557 เมือ่ วันที่ 13 สิงหาคม 2557 ซึ่งประกอบด้วย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
นายฮิโรโนบุ นายทิวา นายเสน่ห ์ นางสาวกรรติกา นางสุรตั นา นายวันชัย นายกอบชัย นายฮิเดโตะ นายยูคโิ อ นางสาวพรจันทร์
อิรยิ า จารึก ภูรสิ ตั ย์ ตันธุวนิตย์ ตฤณรตนะ รตินธร ธนสุกาญจน์ โคยาม่า โกเบ เกษจุฬาศรีโรจน์
ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอาวุโส ฝ่ายโครงการ ฝ่ายประมูลงานและฝ่ายวิศวกรรม รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอาวุโส ฝ่ายวิศวกรรม ฝึกอบรม และหน่วยงานเฉพาะกิจ รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอาวุโส ฝ่ายบริหารงานทัว่ ไป ประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปฏิบตั กิ าร รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ฝ่ายดำ�เนินการโครงการ รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ฝ่ายการเงินและบัญชี และนักลงทุนสัมพันธ์ รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ฝ่ายขายและพัฒนาธุรกิจ ผูอ้ �ำ นวยการ ฝ่ายวิศวกรรมและฝ่ายดำ�เนินการโครงการ ผูอ้ �ำ นวยการ ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายดำ�เนินการโครงการและฝ่ายขายและพัฒนาธุรกิจ
เป็นผู้ดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ บริษทั ฯ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สงู สุด ต่อองค์กร คณะกรรมการบริหารมีหน้าทีด่ า้ นความรับผิดชอบ ต่อสังคม ดังนี้ 1. กำ�หนดนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม 2. เสนอรายชือ่ คณะทำ�งานเพือ่ ดำ�เนินการสือ่ สารให้พนักงาน ทุกระดับ คู่ค้า และผู้ท่ีเกี่ยวข้องทุกคนรู้ เข้าใจและ ตระหนักในด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) 3. กำ�หนดแผนงานที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับนโยบาย ในการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ฯ 4. จัดทำ�งบประมาณทีเ่ หมาะสม ติดตามและประเมินผลงาน พร้อมทบทวนแผนงานเพือ่ ให้เป็นไปตามนโยบายทีว่ างไว้ 5. สนับสนุนให้เกิดการแลกเปลีย่ น ความรู้ ความสำ�เร็จ และ ประสบการณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ระหว่างหน่วยงานของบริษทั และหน่วยงานภายนอก 6. รายงานผลการดำ�เนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ของบริษทั ฯ ต่อคณะกรรมการบริษทั อย่างต่อเนือ่ ง
เพือ่ ให้การดำ�เนินการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
บรรลุ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ จึ ง ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะทำ � งาน ด้ า น ความรับผิดชอบต่อสังคม ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
นางสาวจารุวรรณ สุขทัว่ ญาติ นายอนุชติ ปิยมานิต นายณัฐพล สินขจร นางสาววันทนี ผดุงทศ นางสาวมัลลิกา เจริญทรัพย์ นายอรรถพล โสภาพงศ์ นางสาวทัตติญา สืบสายสิงห์ นางสาวณัชชา วิวฒ ั นธีรกุล
หัวหน้าคณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งานและเลขานุการ
คณะทำ�งานมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. ดำ�เนินการตามนโยบายและแผนงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคม
116
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
1. การดำ�เนินธุรกิจโดยยึดถือจรรยาบรรณ (Code of Conduct) และจริ ย ธรรมทางธุ ร กิ จ (Code of Business Ethics) บริษัทดำ�เนินธุรกิจโดยยึดถือระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับ จรรยาบรรณ (Code of Conduct) และจริยธรรมทางธุรกิจ (Code of Business Ethics) เพื่อให้การดำ�เนินธุรกิจ เป็ น ไปอย่ า งถู ก ต้ อ งและโปร่ ง ใส รวมถึ ง การปลู ก ฝั ง ให้ พนั ก งานทั้ ง องค์ ก รตระหนั ก และมี จิ ต สำ � นึ ก ในจริ ย ธรรม ในการดำ�เนินธุรกิจ ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ได้ มี ก ารเผยแพร่ ร ายละเอี ย ดของ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางธุรกิจให้ผู้บริหาร พนักงาน รวมถึงผู้มีส่วนได้เสีย ทางเว็บไซต์บริษัทฯ http://www. นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม ttcl.com/sustainability/corporate_governance/ บริ ษั ท ที ที ซี แ อล จำ � กั ด (มหาชน) มี น โยบาย code_of_conduct_and_business_ethics ดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social 2. การเคารพสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและการปฏิ บั ติ ต่ อ แรงงาน Responsibility: CSR) ด้วยเจตนารมณ์ทจ่ี ะทำ�งานร่วมกับ อย่างเป็นธรรม ผูท้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วข้อง โดยมุง่ สร้างและสืบสานความสัมพันธ์อนั ดี ที่เ กิ ด จากการยอมรั บ และไว้ ว างใจซึ่ง กั น และกั น คำ � นึ ง ถึ ง บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญกับสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน เพื่อส่งเสริมการเคารพต่อสิทธิและเสรีภาพด้วยการไม่เลือก ผลกระทบที่ อ าจจะมี ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย เช่ น ผู้ ถื อ หุ้ น ปฏิบัติ ส่งเสริมความเสมอภาค ไม่แบ่งแยกเพศและชนชั้น พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า และหน่วยงานภาครัฐ ให้ความสำ�คัญ นอกจากนีย้ งั มีการกำ�กับดูแลให้คา่ จ้างอยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม ใส่ใจดูแลสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสนับสนุนการดำ�เนินกิจกรรม กับธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกันและต่อต้านการใช้แรงงานเด็ก เพื่อสังคมอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ การปรับปรุง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง และการ บริษัทฯ เห็นควรกำ�หนดแนวปฏิบัติซ่ึงประกอบด้วยหลัก จั ด ระเบี ย บองค์ ก รนั้ น จะดำ � เนิ น การอย่ า งรั บ ผิ ด ชอบโดย อยูภ่ ายใต้กรอบแห่งกฎหมายไทย รวมทัง้ ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย 6 ประการ ดังนี้ 1. การดำ�เนินธุรกิจโดยยึดถือจรรยาบรรณ (Code of และข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย Conduct) และจริยธรรมทางธุรกิจ (Code of Business อย่างเคร่งครัด ตลอดจนสร้างสภาพแวดล้อมการทำ � งาน ที่มีความปลอดภัยสำ�หรับพนักงาน ผู้รับเหมา โดยให้ทุกคน Ethics) 2. การเคารพสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติต่อแรงงาน ปลอดภัยจากอุบัติเหตุและอันตรายใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ บริษัทฯ ได้มีการดำ�เนินงานในด้านต่างๆ ที่สอดคล้อง อย่างเป็นธรรม กั บ การเคารพสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและการปฏิ บั ติ ต่ อ แรงงาน 3. ความรับผิดชอบต่อลูกค้า นักลงทุน คูค่ า้ พนักงาน และ อย่างเป็นธรรม ดังนี้ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ การดำ�เนินงานด้านบริหารทรัพยากรบุคคล 4. การดำ�เนินกิจกรรมเพื่อสังคมในด้านต่างๆ 5. ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและมาตรฐาน การสรรหาพนักงาน ความปลอดภัย การสรรหาภายใน 6. นวัตกรรมของบริษทั ทีค่ �ำ นึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม - ประชาสัมพันธ์ภายในบริษัทฯ
2. ร่วมกันเสนอแนวทางการดำ�เนินงานเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย ตามทีก่ �ำ หนดไว้ 3. รายงานผลความคืบหน้าในการดำ�เนินงานต่อคณะ กรรมการบริหาร รวมถึงประสานงานกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนงาน ทีก่ �ำ หนดไว้ 4. พิจารณากลั่นกรองกิจกรรม เพื่อสังคมชุมชน และ สิ่งแวดล้อมของบริษัทเพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ บริหาร 5. ดำ�เนินการอื่นใดที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริหาร (Board of Management)
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
- การจัดสรรและโอนย้ายพนักงานในสำ�นักงานใหญ่ ไปยังโครงการก่อสร้างต่างๆ การสรรหาภายนอก - รับสมัครบุคคลภายนอกทั่วไป ผู้สมัครงานที่สนใจ สามารถสมัครงานด้วยตนเองหรือสมัครทางเว็บไซต์ ออนไลน์ หรือเขียนจดหมายส่งมายังบริษัทฯ
- รับสมัครนักศึกษาทีใ่ กล้จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัย ต่างๆ ทัง้ ในกรุงเทพและต่างจังหวัด นักศึกษาจบการศึกษา ด้านวิศวกรรมเพื่อให้สอดคล้องกับธุรกิจของบริษัท โดยมีมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการดังนี้
1. บริษทั ฯ เข้าร่วมโครงการตลาดนัดวิศวกร มอดินแดง ประจำ�ปีการศึกษา 2557 โดยเปิดโอกาส ให้นักศึกษาที่กำ�ลังจะจบการศึกษาของคณะวิศวกรรมศาสตร์ทราบรายละเอียดการสมัครงานกับทาง บริษทั ฯ โครงการจัดขึน้ ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
2. บริษทั ฯ เข้าร่วมโครงการ “สัปดาห์งานของนายช่าง ประจำ�ปี การศึกษา 2557” โดยเปิดโอกาสให้นกั ศึกษาทีก่ �ำ ลังจะจบการศึกษา ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ทราบข้อมูลบริษทั ฯ และสามารถสมัครงาน โดยตรงกับทางบริษัทฯ โครงการจัดขึ้น ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 3. บริษทั ฯ เข้าร่วม “กิจกรรมตลาดนัดแรงงานบัณฑิต มทส. และตลาดนัดงานสหกิจศึกษา ประจำ�ปีการศึกษา 2557” โดยเปิดโอกาส ให้ นั ก ศึ ก ษาที่ กำ � ลั ง จะจบการศึ ก ษาของคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ทราบข้อมูลบริษัทฯ และสามารถสมัครงานโดยตรงกับทางบริษัทฯ กิจกรรมจัดขึน้ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี จังหวัดนครราชสีมา
รายงานประจ�ำปี 2558
117
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
118
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
4. บริษทั ฯ เข้าร่วมงาน “ปัจฉิมนิเทศและวันนัดพบแรงงาน มฟล. ประจำ�ปีการศึกษา 2558” เพื่อให้นักศึกษาทราบข้อมูลของบริษัทและสามารถสมัครงานโดยตรง งานจัดขึ้น ณ มหาวิทยาลัย แม่ฟา้ หลวง จังหวัดเชียงราย
• การคัดเลือกผูส้ มัครงาน บริษทั ฯ คัดสรรผูส้ มัครงาน ที่สนใจเข้าร่วมงานกับทางบริษัทอย่างเป็นธรรม โดยจัดการ ทดสอบ การสั ม ภาษณ์ ด้ า นทั ก ษะ ความรู้ ความคิ ด ความเชีย่ วชาญของตำ�แหน่งงานทีส่ มัคร เพือ่ ให้สอดคล้องกับ การปฏิบตั งิ านให้ตรงกับแผนกทีเ่ กีย่ วข้อง • การว่าจ้าง พนักงานทุกคนได้รับสิทธิประโยชน์ข้ันต่ำ� ตามกฎหมายไทยเป็นอย่างน้อย ไม่วา่ จะถือสัญชาติใดก็ตาม ใน การรับสมัครงาน ฝ่ายบุคคลจะทำ�การตรวจสอบอย่างเข้มงวด เพือ่ ป้องกันการใช้แรงงานทีผ่ ดิ กฎหมาย แรงงานบังคับ และ แรงงานเด็ก (เป็นไปตามนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม) โดยพนักงานบริษทั แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ - พนักงานประจำ� จะได้รบั สิทธิประโยชน์ตามกฎหมาย แรงงานเป็นอย่างน้อยและตามสวัสดิการต่างๆ ทีบ่ ริษทั กำ�หนด การรับเงินเดือน ทางบริษทั จ่ายตรงเข้าบัญชี เงินเดือนของพนักงานทุกๆ สิน้ เดือนในแต่ละเดือน - พนักงานสัญญาจ้าง ทำ�งานตามสัญญาจ้างที่บริษัท กำ�หนด 18 เดือน (โดยเริม่ นับการทำ�งานตัง้ แต่วนั ที่ เริม่ งานวันแรก) จะได้รบั สิทธิประโยชน์ตามกฎหมาย แรงงานเป็นอย่างน้อยและตามสวัสดิการต่างๆ ทีบ่ ริษทั กำ�หนด การรับเงินเดือน ทางบริษทั จ่ายตรงเข้าบัญชี เงินเดือนของพนักงานทุกๆ สิน้ เดือนในแต่ละเดือน - พนักงานรายวัน การทำ�งานจะระบุวนั ทีท่ �ำ งานตามสัญญา จะได้รบั สิทธิประโยชน์ตามกฎหมายแรงงานเป็นอย่างน้อย และตามสวัสดิการต่างๆ ทีบ่ ริษทั กำ�หนด เช่น เงินเดือน ค่าชดเชย ประกันสังคม และวันหยุดพักร้อน ฯลฯ
การรับเงินเดือน ทางบริษทั จ่ายตรงเข้าบัญชีเงินเดือน ของพนักงานทุกๆ 2 รอบต่อเดือน
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
การปฏิบัติตามข้อกำ�หนดและกฎมายด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิง่ แวดล้อม เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการดำ�เนินโครงการของบริ ษั ทฯ เป็ น ไปตามกฎมายและข้ อ กำ � หนดด้ า นอาชี ว อนามั ย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่บังคับใช้กับโครงการ บริ ษั ท ฯ จึ ง กำ � หนดให้ มี ก ารตรวจประเมิ น ระบบบริ ห าร จัดการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่ อ ประเมิ น ความสอดคล้ อ งกั บ กฎหมายและ ข้ อ กำ � หนดที่ เ กี่ ย วข้ อ งก่ อ นเริ่ ม การดำ � เนิ น การ ก่ อ สร้ า งโครงการ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า การดำ � เนิ น โครงการสอดคล้องกับกฎหมาย และข้อกำ�หนด อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่ อ ติ ด ตามตรวจสอบผลการดำ � เนิ น งานอย่ า ง ต่อเนื่องและสม่ำ�เสมอ แนวทางการบริหารจัดการด้านสิง่ แวดล้อม บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ได้กำ�หนดแนวทาง การบริ ห ารจั ด การด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มตามหลั ก การ PDCA (Plan-Do-Check-Action) เพื่อให้การบริหารจัดการ ด้านสิง่ แวดล้อมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและมีการปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง ดังนี้
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ลำ�ดับ
ขัน้ ตอน
1
การวางแผนงานเพือ่ ให้บรรลุ ถึงวัตปุ ระสงค์และเป้าหมาย ทีต่ อ้ งการ
2
การปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนในแผนงาน
3
การตรวจสอบผลการดำ�เนินงาน
4
การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขแผนงานตาม ความจำ�เป็น
119
วัตถุประสงค์การดำ�เนินการ
1. ประเมินความสอดคล้องของกฎมายด้านสิง่ แวดล้อมของโครงการ 2. ประเมินประเด็นปัญหาสิง่ แวดล้อมของโครงการ 3. จัดทำ�แผนการบริหารจัดการและการควบคุมด้านสิง่ แวดล้อม (Environmental Management & Control Plan) และแผนควบคุมป้องกันผลกระทบต่อชุมชน 1. ดำ�เนินการตามแผนงานด้านสิง่ แวดล้อม 2. ปฏิบตั ติ ามมาตรการควบคุมป้องกันและลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและชุมชน ตามที่ระบุในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment; EIA) 1. ติดตามตรวจสอบการดำ�เนินการตามมาตรการควบคุมป้องกัน และลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม 2. ตรวจประเมินระบบการบริหารจัดการด้านสิง่ แวดล้อมของโครงการ 1. นำ�ผลทีไ่ ด้จากการติดตามตรวจสอบมาทำ�การปรับปรุงแก้ไขแผนงาน ตามความจำ�เป็น
บริษทั ฯ เข้าตรวจเยีย่ มทีพ่ กั ของบริษทั ผูร้ บั เหมาก่อสร้าง อย่างสม่ำ�เสมอ อาทิ โครงการก่อสร้าง D-176 จังหวัดระยอง เพื่ อ ให้ ผู้ รั บ เหมาปฏิ บั ติ ต ามกฎระเบี ย บและเป็ น ไปตาม การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ไม่ให้ก่อเกิด ผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง
บริษัทฯ เชิญตัวแทนของผู้นำ�ชุมชน ในรัศมี 5 กม. รอบโครงการของบริษทั ฯ มารับฟังการประชุมชีแ้ จงรายละเอียด โครงการ รวมทั้งตอบข้อซักถามจากผู้นำ�ชุมชน เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ณ ห้องอาหารโคเซ่ อำ�เภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
120
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
3. ความรับผิดชอบต่อลูกค้า นักลงทุน คูค่ า้ พนักงาน และ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ บริษทั ฯ ให้ความสำ�คัญต่อลูกค้า นักลงทุน คูค่ า้ พนักงาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ โดยเสมอภาค โดยการเปิดเผย ข้อมูลอย่างถูกต้องโปร่งใสและทันเวลา รวมถึงสร้างมาตรฐาน การให้บริการเพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าเพือ่ สร้าง รายได้และก่อให้เกิดความยั่งยืนต่อธุรกิจ นอกจากนี้ บริษัทฯ ตระหนักว่าพนักงานทุกคนเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าที่สุด ของบริษทั จึงให้ความสำ�คัญ ในการพัฒนาศักยภาพ ผลตอบแทน
และโอกาสในความก้าวหน้าของพนักงาน โดยสนับสนุนการ พัฒนาความรู้ ความสามารถของพนักงานอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ยัง จัดให้มสี วัสดิการ และการให้ความช่วยเหลือด้านต่างๆ แก่พนักงาน และส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ ระหว่างพนักงานและผู้บริหาร
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย การสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย ทีทีซีแอล ได้จ�ำ แนกผูม้ สี ว่ นได้เสีย 8 กลุม่ คือ ผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า คูค่ า้ คูแ่ ข่ง ทางการค้า เจ้าหนี้ พนักงาน ชุมชนและสังคม นักลงทุนสัมพันธ์
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
121
ช่องทางการสื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสียหลัก ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ความสนใจ / ความคาดหวัง
การสือ่ สาร / ช่องทาง
ผลลัพธ์ - การดำ�เนินงานให้เกิดผลประโยชน์ ในระยะยาวสูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น - มีผลประกอบการที่ดีอย่างสม่ำ�เสมอ และยัง่ ยืน มีการเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง - ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ตลอดจนตั ด สิ น ใจดำ�เนินการใดๆ ด้วยความบริสุทธิ์ใจและเป็ น ธรรม ต่อผู้ถือหุ้นทั้งรายใหญ่และรายย่อย เพือ่ ผลประโยชน์ของกลุม่ ผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง อย่างเต็มความสามารถ - ไม่ดำ�เนินการใดๆ ในลักษณะที่อาจ ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ต่อบริษัทฯ - ไม่แสวงหาประโยชน์ให้ตนเอง และ ไม่เปิดเผยข้อมูลลับต่อบุคคลภายนอก - คำ�นึงถึงการเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญ ต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา - เพื่อตอบแทนความเชื่อมั่นที่ผู้ถือหุ้น มีให้กับบริษัทฯ - สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า - นโยบายคุ ณ ภาพและระบบบริ ห าร จัดการด้านคุณภาพ ISO 9001:2008 - ไม่ก�ำ หนดเงือ่ นไขการค้าทีไ่ ม่เป็นธรรม ต่อลูกค้า - ปฏิบตั ติ ามสัญญา ข้อตกลง หรือเงือ่ นไข ต่างๆ ที่มีต่อลูกค้าอย่างโปร่งใสและ เท่าเทียมกัน
ผูถ้ อื หุน้
- เป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้น - การดำ�เนินธุรกิจอย่างโปร่งใส - ระบบบั ญ ชี แ ละการเงิ น ที่ มีความเชื่อถือได้สร้างความ พึงพอใจสูงสุดให้กับผู้ถือหุ้น
- จัดประชุมผู้ถือหุ้น - รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นผ่าน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ลูกค้า
- ส่ ง มอบสิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพ ตามความต้องการของลูกค้า - ดำ�เนินการตามสัญญา จรรยาบรรณทางธุรกิจ หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และกฎหมายอย่างเคร่งครัด - ให้ ค วามสำ � คั ญ ในการรั ก ษา ข้อมูลทีเ่ ป็นความลับของลูกค้า อย่างสมํ่าเสมอ
- เปิ ด เผยข้ อ มู ล ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ สินค้าและการบริการ อย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันต่อเหตุการณ์ - ไม่บดิ เบือนข้อเท็จจริงให้มชี อ่ งทาง การสื่ อ สารเพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า ระบุ ข้อร้องเรียน
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
122
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ช่องทางการสื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสียหลัก ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ความสนใจ / ความคาดหวัง คูค่ า้
- มีหลักเกณฑ์ในการประเมิน และคัดเลือกคู่ค้า - ปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง และเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อคู่ค้า อย่ า งเคร่ ง ครั ด ตามเงื่ อ นไข ข้อกำ�หนดของสัญญา - เงื่อนไขค้ำ�ประกันการบริหาร เงินทุนและการชำ�ระหนี้ - ความรับผิดชอบและโปร่งใส ไม่ปกปิดข้อมูล หรือข้อเท็จจริง อันจะทำ�ให้เจ้าหนี้ เกิดความเสียหาย คูแ่ ข่งทางการค้า - มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม กับคูแ่ ข่งทางการค้าภายใต้กรอบ ของกฎหมายและจรรยาบรรณ ทางธุรกิจ - ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็น ความลับของคู่แข่งทางการค้า ด้วยวิธีการที่ไม่เหมาะสม - ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็น ความลับของคู่แข่งทางการค้า ด้ ว ยวิ ธี ก ารที่ ไ ม่ สุ จ ริ ต หรื อ ไม่เหมาะสม เจ้าหนี้ - ปฏิบัติต ามเงื่อนไขข้อตกลง ทีม่ ตี อ่ เจ้าหนีก้ ารค้า และเจ้าหนี้ สถาบันการเงินทุกราย อย่างเคร่งครัด ตามเงื่อนไข ข้อกำ�หนดของสัญญา
การสือ่ สาร / ช่องทาง
ผลลัพธ์
- เปิ ด เผยข้ อ มู ล ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ สินค้าและการบริการ อย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันต่อเหตุการณ์ - ไม่บดิ เบือนข้อเท็จจริงให้มชี อ่ งทาง การสื่ อ สารเพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า ระบุ ข้อร้องเรียน
- นโยบายในการดูแลและดำ�เนินธุรกิจ อย่างมีจริยธรรม โปร่งใส
- รายงานประจำ�ปีบน เว็บไซต์บริษทั ฯ - ข่าวสารตามสื่อต่างๆ
- นโยบายในการดูแล และดำ�เนินธุรกิจ อย่างมีจริยธรรม โปร่งใส
- จัดประชุมผู้ถือหุ้น - รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นผ่าน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
- ความรับผิดชอบและโปร่งใส ไม่ปกปิด ข้อมูล หรือข้อเท็จจริงอันจะทำ�ให้เจ้าหนี้ เกิดความเสียหาย - กรณี ที่ ไ ม่ ส ามารถปฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไข บริษัทฯ จะแจ้งให้เจ้าหนี้ทราบล่วงหน้า เพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไข
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
123
ช่องทางการสื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสียหลัก ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ความสนใจ / ความคาดหวัง พนักงาน
- ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ พนั ก งาน โดยถือว่าพนักงาน เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและ เป็นรากฐานของความสำ�เร็จ - ให้ความสำ�คัญในเรื่อง สวัสดิการและความปลอดภัย ของพนักงาน - สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพ ของพนักงาน - เสริมสร้างวัฒนธรรมและ บรรยากาศการทำ�งานที่ดี ส่งเสริมการทำ�งานเป็นทีม ชุมชนและสังคม - ดำ�เนินกิจกรรมเพื่อสนับสนุน การแสดงความรั บ ผิ ด ชอบ ต่อสังคม - กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาชุมชน หลายกิจกรรม นักลงทุนสัมพันธ์ - ให้ความสำ�คัญอย่างสูง ต่อการบริหารความสัมพันธ์ กับนักลงทุน - การเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญ และจำ � เป็ น ต่ อ การตั ด สิ น ใจ ลงทุนอย่างถูกต้อง เพียงพอ และทันเวลา - การไม่ใช้ข้อมูลภายใน เพือ่ ประโยชน์สว่ นตนและผูอ้ น่ื - การเปิดเผยข้อมูลอย่างเท่าเทียม และเป็นธรรม โดยเปิดโอกาส ให้บุคคลที่เกี่ยวข้องทุกกลุ่ม สามารถเข้าถึงข้อมูล และสอบถามข้อมูลได้
รายงานประจ�ำปี 2558
การสือ่ สาร / ช่องทาง
ผลลัพธ์
- ติดประกาศ - แจ้งทางอีเมล์ - แจ้งข้อมูลในระบบภายในบริษัท
- มอบโอกาสในการสร้างความก้าวหน้า ในการทำ�งานให้แก่พนักงานทุกคน โดยเท่าเทียมกัน
- การช่วยเหลือชุมชนและสังคม การอนุรักษ์ด้านสิ่งแวดล้อม การแบ่งปันความรู้ด้านการศึกษา
- ให้ความสำ�คัญกับความรับผิดชอบ ต่อสังคม - นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม
- ทางเว็บไซต์บริษัทฯ - การจัด Road show กับนักลงทุน และนักวิเคราะห์ทง้ั ในและต่างประเทศ - การทำ�สรุปผลการดำ�เนินงาน เผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ - การจัดให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยและนักลงทุน เข้าเยี่ยมชมกิจการของบริษัทฯ พบปะผู้บริหาร เพื่อเสริมสร้าง ความรูค้ วามเข้าใจในการดำ�เนินธุรกิจ ของบริษัทฯ
- ยึดถือหลักการและแนวทางปฏิบตั ติ าม “จรรยา บรรณนักลงทุนสัมพันธ์” จัดทำ� โดยฝ่ายพัฒนา ธรรมาภิบาลเพื่อ ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ปี 2557 เป็นกรอบในการปฏิบัติหน้าที่ - การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุ จ ริ ต ในวิ ช าชี พ บนพื้ น ฐานของ หลักการของความเท่าเทียมกัน - ไม่เลือกปฏิบัติบนอามิสสินจ้างใดๆ ที่เป็นเหตุจูงใจส่วนบุคคล และเอื้อประโยชน์ส่วนตนมากกว่า ผลประโยชน์ของบริษัท และผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
124
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
• การพัฒนาพนักงาน การฝึกอบรม - จั ด ฝึ ก อบรมสั ม มนาโดยวิ ท ยากรจากภายนอก ทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถมาให้ความรู้ สร้างความคิดเสริมทักษะ องค์กร บริษัทฯ เล็งเห็นว่า พนักงานมีความสำ�คัญในการ ด้านการสนทนา การสื่อสารและการติดต่องานทั้งภายในและ ปฏิบตั งิ านในบริษทั ทีต่ อ้ งควบคูก่ บั การดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ภายนอกบริษัทให้กับพนักงาน ดังนี้ ให้เจริญก้าวหน้าไปพร้อมกัน ดังนั้น บริษัทฯ จึงจัดวิทยากร 1. บริษัทฯ จัดฝึกอบรมหลักสูตร “High Impact Communication” เพื่อพัฒนาความรู้ เสริมทักษะให้กบั พนักงาน จัดฝึกอบรม ณ บริษทั ทีทซี แี อล (สำ�นักงานใหญ่)
2. บริษัทฯ จัดฝึกอบรมหลักสูตร “Proactive People” เพือ่ พัฒนาความรู้ เสริมทักษะให้กบั พนักงาน จัดฝึกอบรม ณ บริษทั ทีทซี แี อล (สำ�นักงานใหญ่) 3. บริษทั ฯ ร่วมกับสำ�นักงานประกันสังคม (เขต 12) และ โรงพยาบาลกล้วยน้ำ�ไท จัดฝึกอบรมในหัวข้อ “ความรู้ด้านสุขภาพ อนามัย และกฎหมายประกันสังคมใหม่” เพือ่ ต้องการให้พนักงานเพิม่ ความรูแ้ ละเข้าใจด้านสุขภาพและกฎหมายมากขึน้ ซึง่ เป็นประโยชน์ ในการนำ�ไปใช้ในชีวติ ประจำ�วันและการปฏิบตั งิ าน ฯลฯ การฝึกอบรม จัดขึน้ ณ บริษทั ทีทซี แี อล (สำ�นักงานใหญ่)
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
125
4. บริษทั ฯ ร่วมกับสำ�นักงานประกันสังคม จัดฝึกอบรมในหัวข้อ “กฎหมายประกันสังคมใหม่” เพือ่ ต้องการให้พนักงานรับทราบและเข้าใจ ด้านกฎหมาย ซึง่ เป็นประโยชน์ในการนำ�ไปใช้ในการปฏิบตั งิ าน ฯลฯ การฝึกอบรมจัดขึน้ ณ โครงการก่อสร้าง จังหวัดระยอง
5. บริษทั ฯ แผนกอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิง่ แวดล้อม โครงการก่อสร้าง D-176 เข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ในหัวข้อ “บทบาทหน้าที่ผ้นู ำ�ชุมชนด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย” ณ สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดระยอง
6. บริษัทฯ จัดอบรมหลักสูตร การบริหารความเสี่ยงระดับ โครงการขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ผ้จู ัดการโครงการ วิศวกรโครงการและ ผูเ้ กีย่ วข้อง มีความตระหนักในหลักการของการบริหารความเสีย่ งและ นำ�ไปประยุกต์ใช้กบั โครงการ โดยมีผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ วิบลู ย์ สุรสาคร เป็นวิทยากร
7. บริษัทฯ จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ระดับหัวหน้างานให้กับพนักงานเพื่อสร้าง ความตระหนักในความสำ�คัญของการจัดการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน โดยวิทยากรจากสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำ�งาน (ประเทศไทย)
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
126
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
8. จั ด ฝึ ก อบรมจากหั ว หน้ า งานตามสายงาน หรื อ การอบรมพนักงานใหม่ ปี 2556-2558 ผูม้ ปี ระสบการณ์ในองค์กร บริษทั ฯ เข้าร่วมการบรรยายพิเศษ จำ�นวน (คน) เพือ่ ให้ความรูเ้ กีย่ วกับบทบาทของวิศวกรเคมีในภาคอุตสาหกรรม ชือ่ เรือ่ ง 2558 2557 2556 กับนักศึกษา โดยมีนางสาวบุญญิสา วานิชวัฒนรำ�ลึก นิสิตเก่า และเป็นตัวแทนบริษทั เข้าร่วมเป็นวิทยากรในการบรรยายครัง้ นี้ ปฐมนิเทศพนักงานใหม่ 204 197 499 การบรรยายจัดขึ้น ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย - กฎระเบียบข้อบังคับบริษทั เกษตรศาสตร์ - ระบบการบริหารจัดการ
9. ส่งพนักงานเข้ารับการฝึกอบรมภายนอกองค์กร บางหลักสูตรมีเนือ้ หาสาระทีส่ �ำ คัญและมีเกร็ดความรูท้ จ่ี ะนำ�มา พัฒนาการทำ�งานและพัฒนาธุรกิจได้เป็นอย่างดี ทางบริษัทฯ จึ ง ส่ ง พนั ก งานที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมเข้ า ร่ ว มฝึ ก อบรม ในหลักสูตรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ด้านคุณภาพอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อม
1. จัดฝึกอบรมพนักงานใหม่ บริษทั ฯ จัดปฐมนิเทศ พนักงานใหม่ เพื่อต้องการให้พนักงานใหม่มีความเข้าใจ และรับทราบเกี่ยวกับกฎระเบียบพนักงาน ข้อมูลและ นโยบายบริษทั ฯลฯ การปฐมนิเทศจัดขึน้ ณ บริษทั ทีทซี แี อล (สำ�นักงานใหญ่)
การฝึ ก อบรมหลั ก สู ต รความปลอดภั ย เบื้ อ งต้ น สำ � หรั บ พนักงานใหม่ พนั ก งานใหม่ ทุ ก คนต้ อ งเข้ า รั บ การอบรมหลั ก สู ต ร ความปลอดภัยเบื้องต้นสำ�หรับพนักงานใหม่ ทั้งในระดับ ผู้ปฏิบัติงาน หัวหน้างาน และผู้บริหารก่อนเริ่มปฏิบัติงาน เพื่อสร้างความตระหนัก ในเรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม และหลังจากนั้นจะมีการอบรมในหลักสูตร เฉพาะด้านตามความจำ�เป็นต่อไป อาทิ การปฐมพยาบาล และช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน การทำ�งานในที่อับอากาศ การทำ�งาน ยกการทำ�งานบนที่สูง สถิ ติ ก ารเข้ า รั บ การฝึ ก อบรมของพนั ก งานจำ � แนกตาม ตำ�แหน่งประจำ�ปี 2558
ตำ�แหน่ง วิศวกร ช่างเทคนิค พนักงานทัว่ ไป
จำ�นวน (คน) 896 259 838
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
127
2. จัดฝึกอบรมนักศึกษาฝึกงาน บริษทั ฯ จัดปฐมนิเทศ นักศึกษาฝึกงาน เพือ่ ต้องการให้นกั ศึกษาฝึกงานมีความเข้าใจ และรั บ ทราบเกี่ยวกับกฎระเบียบ ข้อ มูล และนโยบาย บริษัท ฯลฯ การปฐมนิเทศ จัดขึ้น ณ บริษัท ทีทีซีแอล (สำ�นักงานใหญ่)
ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ บริ ษั ท ฯ จั ด กิ จ กรรมฉี ด วั ค ซี น ป้ อ งกั น ไข้ ห วั ด ใหญ่ สำ�หรับพนักงานบริษัท จากโรงพยาบาลกล้วยน้ำ�ไท ซึ่งจัดขึ้น ณ บริษัท ทีทีซีแอล (สำ�นักงานใหญ่ และโครงการก่อสร้าง) จังหวัดระยองและจังหวัดสมุทรปราการ • การเลื่อนตำ�แหน่ง - เลือ่ นตำ�แหน่งตามความสามารถในการปฏิบตั งิ าน - เลือ่ นตำ�แหน่งตามสายงาน หรือความสำ�คัญในหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย การรักษาพนักงาน
• ค่าจ้าง - ระบบบริหารค่าจ้าง เป็นไปตามมาตรฐานองค์กร กำ�หนด - ปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายแรงงานกำ�หนด
• สวัสดิการ บริษทั ฯ ได้จดั สวัสดิการต่างๆ ให้กบั พนักงาน เพื่อให้พนักงานได้รับสิทธิประโยชน์จากสวัสดิการของบริษัท ที่ กำ � หนดไว้ นั้ น ซึ่ ง สวั ส ดิ ก ารบางเรื่ อ งจะจั ด เป็ น กิ จ กรรม เพื่อต้องการให้พนักงานมีส่วนร่วมในกิจกรรมนั้นๆ กิจกรรม ประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้ การตรวจสุขภาพประจำ�ปี บริษัทฯ จัดกิจกรรมการตรวจสุขภาพประจำ�ปีสำ�หรับ พนักงานที่ประจำ�อยู่โครงการก่อสร้าง ได้รับการตรวจจาก โรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา กิจกรรมจัดขึ้น ณ จังหวัดระยอง รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
128
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
กิจกรรมบริษัท
กีฬาสี บริษทั ฯ จัดกิจกรรมกีฬาสีประจำ�ปี เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ และ ความสามัคคีในการทำ�งานร่วมกัน ระหว่างผูบ้ ริหารและพนักงาน โดย กิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้น ณ สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
งานปีใหม่ บริษัทฯ จัดงานปีใหม่สำ�หรับผู้บริหารและพนักงานเพื่อให้สนุกสนานและพักผ่อนจากการทำ�งานหนักมาโดย ตลอดทัง้ ปี กิจกรรมในงานมีทงั้ การแสดงของผูบ้ ริหารและพนักงาน รวมทัง้ การประกวดการถ่ายภาพปกรายงานประจำ�ปี การแสดงรากูโกะ การแสดงคอนเสิร์ตของพนักงานและศิลปิน ฯลฯ
ห้องเลี้ยงเด็ก บริษัทฯ จัดห้องเลี้ยงเด็กไว้สำ�หรับพนักงานทุกคนที่มีบุตรและมาปฏิบัติงานในบริษัท โดยพนักงานไม่มีเวลาว่าง ในการดูแลบุตร พนักงานสามารถนำ�บุตรมาฝากไว้ท่หี ้องเลี้ยงเด็ก ซึ่งบริษัทได้จัดหาพี่เลี้ยงที่ผ่านการเรียนหลักสูตร ผูช้ ว่ ยพยาบาลและการดูแลเด็กเบือ้ งต้นจากโรงพยาบาลกล้วยน้�ำ ไท เด็กจะต้องมีอายุตงั้ แต่ 1 ปีขนึ้ ไป หรือเด็กอายุต�่ำ กว่า 1 ปีหรือยังไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ต้องมีผดู้ แู ลมาด้วย ห้องเลีย้ งเด็กเปิดให้บริการในวันจันทร์–วันศุกร์ ตัง้ แต่เวลา 08.00–20.00 น. และวันเสาร์ ตั้งแต่เวลา 08.00–17.00 น. บริษัทฯ ได้จัดตารางกิจกรรมประจำ�วันเพื่อเสริมทักษะ การเรียนรู้ให้กับเด็ก โดยได้รับการสอนจากพี่เลี้ยงผู้ดูแล
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
129
ภาพประกอบ folder QC3
ตารางกิจกรรมประจำ�วัน
ตารางกิ จกรรมประจําวัน ว ัน/เวลา
08.00 - 09.00 09.00 - 10.00
10.00 - 11.30 11.30 - 13.00
13.00 - 14.00
14.00 - 15.00 15.00 - 16.00 16.00 - 17.30 17.30 - 20.00
เสริมทักษะ
เล่นอิสระ
อาหารกลางวัน
พักผ่อนกลางวัน
กิจกรรม
อาหารว่าง
เล่นอิสระ
เตรียมตัว กลับบ ้าน
ว ันอ ังคาร
รับเด็ก
เสริมทักษะ
เล่นอิสระ
อาหารกลางวัน
พักผ่อนกลางวัน
กิจกรรม
อาหารว่าง
เล่นอิสระ
เตรียมตัว กลับบ ้าน
ว ันพุธ
รับเด็ก
เสริมทักษะ
เล่นอิสระ
อาหารกลางวัน
พักผ่อนกลางวัน
กิจกรรม
อาหารว่าง
เล่นอิสระ
เตรียมตัว กลับบ ้าน
ร ับเด็ก
สวดมนต์
รับเด็ก
สวดมนต์
ว ันจ ันทร์
รับเด็ก
เสริมทักษะ
เล่นอิสระ
อาหารกลางวัน
ทําแบบฝึ กหัด
กิจกรรม
อาหารว่าง
เล่นอิสระ
เตรียมตัว กลับบ ้าน
ว ันศุกร์
รับเด็ก
เสริมทักษะ
เล่นอิสระ
อาหารกลางวัน
ทําแบบฝึ กหัด
กิจกรรม
อาหารว่าง
เล่นอิสระ
เตรียมตัว กลับบ ้าน
ว ันเสาร์
รับเด็ก
เสริมทักษะ
เล่นอิสระ
อาหารกลางวัน
ทําแบบฝึ กหัด
กิจกรรม
อาหารว่าง
เตรียมตัว กลับบ ้าน
-
ว ันพฤห ัสบดี
ว ันอาทิตย์
วันหยุด
ห้องพยาบาล บริ ษั ท ฯ จั ด แพทย์ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นอายุ ก รรมและ พยาบาลที่ ผ่ า นหลั ก สู ต รวิ ช าชี พ พยาบาลจากโรงพยาบาล กล้วยน้�ำ ไท มาให้การดูแลรักษาพนักงานทีเ่ จ็บป่วยเบือ้ งต้นใน การทำ�งานปฏิบตั งิ าน กรณีมกี ารเจ็บป่วยรุนแรงหรือขัน้ ฉุกเฉิน พยาบาลจะแจ้งมายังเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยสวัสดิการเพือ่ ทำ�การส่งตัว
ผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลที่อยู่ใกล้เคียง แพทย์จะมาประจำ� ห้องพยาบาลทุกวันพฤหัสบดี ตั้งแต่เวลา 13.00 – 17.30 น. ห้องพยาบาลเปิดให้บริการในวันจันทร์ – วันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 17.30 น.
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
130
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ห้องละหมาด บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ความเท่าเทียมกันของพนักงาน ทุกเชื้อชาติ ศาสนา ดังนั้น บริษัทได้จัดห้องละหมาดสำ�หรับ พนักงานที่นับถือศาสนาอิสลาม สามารถใช้บริการห้องตาม ความเหมาะสม ตั้งแต่เวลา 08.30 – 17.30 น.
การส่งเสริมให้พนักงานมีสุขภาพอนามัยที่ดี บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ได้ให้ความสำ�คัญ กับการมีสุขภาพอนามัยที่ดีของพนักงานอย่างต่อเนื่อง จึง ได้จัด “โครงการ Healthy TTCL phase II” ร่วมกับ โรงพยาบาลกล้วยน้�ำ ไท เพือ่ ให้ความรูค้ วามเข้าใจด้านสุขอนามัย การเลือกรับประทานอาหาร และการออกกำ�ลังกาย ก่อให้เกิด ความตระหนักและสร้างพฤติกรรมทีด่ ใี นการดูแลรักษาสุขภาพ ห่างไกลจากโรคภัย ซึ่งโครงการดังกล่าวจัดขึ้นตั้งแต่เดือน สิงหาคม – ตุลาคม พ.ศ. 2558 และนอกจากนี้ บริษัท ยังได้จดั เตรียมสถานทีไ่ ว้ส�ำ หรับพนักงานเพือ่ ทำ�กิจกรรมต่างๆ อาทิ ปิ ง ปอง แอโรบิ ค โยคะ พร้ อ มทั้ ง มี ค รู ผู้ ฝึ ก สอน ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญมาให้ ค วามรู้ เ พื่ อ ให้ อ อกกำ � ลั ง กาย ได้อย่างถูกต้อง
ห้องออกกำ�ลังกาย บริษัทฯ ส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดีให้กับพนักงานและ มีความห่วงใยพนักงานเป็นสำ�คัญ บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรม ด้านนันทนาการโดยมีครูผู้เชี่ยวชาญด้านกีฬามาทำ�การสอน ออกกำ�ลังกายให้กับพนักงานหลังเลิกงาน โดยมีกิจกรรรม ออกกำ�ลังกายประเภทต่างๆ เช่น โยคะ แอโรบิค และบอดีเ้ วท เปิดทำ�การสอนใน วันจันทร์ – วันพฤหัสบดี ตั้งแต่เวลา 17.45 – 18.45 น. ส่วนกีฬาปิงปอง บริษัทจัดเตรียมอุปกรณ์ ให้สำ�หรับพนักงานสามารถยืมเล่นระหว่างเวลาพักกลางวัน เปิดให้บริการในวันจันทร์ – วันศุกร์ ตัง้ แต่เวลา 12.00 – 13.00 น. และในวันพฤหัสบดี – วันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 17.45 – 22.00 น.
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
131
พนักงานประชาสัมพันธ์ การต้อนรับของพนักงานประชาสัมพันธ์เป็นสิง่ สำ�คัญมาก สร้างความประทับใจเพียงอย่างเดียว ยังดำ�เนินการจองห้องประชุม ที่ทำ�ให้บุคคลภายนอกหรือผู้มาติดต่องานทั้งทางโทรศัพท์ ต้อนรับแขกผูม้ าติดต่อ รับสมัครงานเบือ้ งต้นสำ�หรับผูม้ าสมัครงาน หรื อ ติ ด ต่ อ ด้ ว ยตนเองให้ เ กิ ด ความประทั บ ใจ การติ ด ต่ อ แบบ walk-in เป็นต้น ประสานงานของพนั ก งานประชาสั ม พั น ธ์ ไ ม่ เ พี ย งแต่
ฝึกซ้อมหนีไฟ บริษทั ฯ ได้เข้าร่วมการซ้อมหนีไฟเป็นประจำ�ทุกปี เพือ่ ให้พนักงานทุกคนและอุปกรณ์ดบั เพลิงมีความพร้อมและความ ปลอดภัยตลอดเวลา โดยมีเจ้าหน้าทีด่ บั เพลิงจากสำ�นักป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย สถานีดับเพลิงคลองเตย มาทำ�การ
ฝึกอบรมทฤษฎี หลักสูตรการดับเพลิงและฝึกซ้อมหนีไฟ ตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ งการป้องกันและระงับอัคคีภยั เพือ่ ความปลอดภัยในการทำ�งานของลูกจ้าง ซึง่ พนักงานทุกคน ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการเข้าร่วมกิจกรรม
4. การดำ�เนินกิจกรรมเพื่อสังคมในด้านต่างๆ บริษัทให้การสนับสนุนกิจกรรมและโครงการต่างๆ เพือ่ สังคมและชุมชนอย่างต่อเนือ่ ง ได้แก่ โครงการด้านการศึกษา ให้โอกาสในการเรียนรูด้ า้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ ขยายผล ไปสูค่ วามมัน่ คงและยัง่ ยืนให้กบั สังคม
งานบริการ Integrated EPC ทีม่ อี ยูอ่ ย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ จากลูกค้า ในประเทศและต่างประเทศ พร้อมทีมงานวิศวกรที่เชี่ยวชาญ ชำ�นาญงาน บริษัทฯ มิไม่ละเลยที่ให้ความห่วงใย เอาใจใส่ ด้ า นการช่ ว ยเหลื อ สั ง คมและชุ ม ชน ด้ า นการศึ ก ษา และ ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างจิตสำ�นึก ให้พนักงานบริษัทฯ ได้มีส่วนร่วมและร่วมมือประสานงาน ความรับผิดชอบต่อสังคม ในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร บริษทั ฯ ประกอบธุรกิจการให้บริการด้านการออกแบบ ด้วยดีเสมอมา กิจกรรมแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ตามแผนงาน วิศวกรรม ซึ่งเล็งเห็นแนวโน้มการเติบโตของความต้องการ โครงการดังนี้ รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
132
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
โครงการ กิจกรรมงานวันเด็กแห่ งชาติ โรงเรี ยนวัดชากผักกูด จังหวัดระยอง กิจกรรมงานวันเด็กแห่ งชาติ สวนสัตว์เปิ ดเขาเขียว จังหวัดชลบุรี กิจกรรมงานวันเด็กแห่ งชาติ โรงเรี ยนวัดโคกจันทร์ จังหวัดชัยนาท โครงการทีทีซีแอลรวมพลังบริ จาคโลหิ ต โรงพยาบาลราชวิถี (ณ บริ ษทั ทีทีซีแอล) สัมมนา "How to Strengthen Our Company" ศูนย์ Go Genius Learning Center เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสี มา โครงการทีทีซีแอลบริ จาคอุปกรณ์สานักงาน มูลนิธิสวนแก้ว (มารับสิ่ งของที่บริ ษทั ทีทีซีแอล) โครงการทีทีซีแอลรวมพลังบริ จาคโลหิ ต เหล่ากาชาดจังหวัดระยอง (ณ โครงการก่อสร้าง D-176) จังหวัดระยอง โครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ 50 โรงเรี ยน ในต่างจังหวัด ตรวจสุ ขภาพประจาปี โครงการก่อสร้าง จังหวัดระยอง กิจกรรมประเพณี สงกรานต์ สานักงานนิ คมอุตสาหกรรมบางปู จังหวัดสมุทรปราการ โครงการเดิน-วิ่งเทิดพระเกียรติวนั ฉัตรมงคล สนามไดรฟ์ กอล์ฟ นอร์ ธปาร์ค จังหวัดกรุ งเทพฯ โครงการชมรมเดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ TTCL บริ ษทั ฯ สานักงานใหญ่ โครงการทีทีซีแอลรวมพลังบริ จาคโลหิ ต โรงพยาบาลราชวิถี (ณ บริ ษทั ฯ สานักงานใหญ่) บริ จาคเงินช่ วยเหลือเนปาล สภากาชาดไทย จังหวัดกรุ งเทพฯ สนับสนุนเงินสมทบทุน มูลนิธิคณะนักบุญคามิลโลแห่ งประเทศไทย จังหวัดกรุ งเทพฯ สนับสนุนโครงการ “ ละครเวทีบุหลันลอยเลื่อน ” มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จังหวัดกรุ งเทพฯ กระทรวงแรงงานเยีย่ มชมโครงการก่อสร้าง โครงการก่อสร้าง F-043 ประเทศกาตาร์ รับมอบประกาศนี ยบัตร โรงพยาบาลราชวิถี จังหวัดกรุ งเทพฯ รับมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ โรงพยาบาลกล้วยน้ าไท จังหวัดกรุ งเทพฯ ฉี ดวัคซี นป้ องกันไข้หวัดใหญ่ บริ ษทั ทีทีซีแอล (สานักงานใหญ่) โครงการทีทีซีแอลรวมพลังบริ จาคโลหิ ต เหล่ากาชาดจังหวัดระยอง (ณ โครงการก่อสร้าง D-176) จังหวัดระยอง โครงการทีทีซีแอลบริ จาคอุปกรณ์สานักงาน มูลนิธิสวนแก้ว (มารับสิ่ งของที่บริ ษทั ทีทีซีแอล) ฉี ดวัคซี นป้ องกันไข้หวัดใหญ่ โครงการก่อสร้าง จังหวัดระยอง โครงการบริ จาคหนังสื อเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จังหวัดกรุ งเทพฯ
แผนการดาเนินงานโครงการ CSR ประจาปี 2558 ปี 2558 เดือน มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิ งหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม สั ปดาห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 แผน 9 มกราคม 2558 ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ 9 มกราคม 2558 แผน 10 มกราคม 2558 ดาเนิ นการ แผน 12 กุมภาพันธ์ 2558 ดาเนินการ แผน 13-15 กุมภาพันธ์ 2558 ดาเนิ นการ แผน 25 กุมภาพันธ์ 2558 ดาเนิ นการ แผน 19 มีนาคม 2558 ดาเนิ นการ แผน เมษายน 2558 - มีนาคม 2559 ดาเนิ นการ แผน 2 เมษายน 2558 ดาเนิ นการ แผน 9 เมษายน 2558 ดาเนิ นการ แผน 5 พฤษภาคม 2558 ดาเนิ นการ แผน 11 พฤษภาคม 2558 ดาเนิ นการ แผน 20 พฤษภาคม 2558 ดาเนิ นการ แผน 21 พฤษภาคม 2558 ดาเนิ นการ แผน 22 พฤษภาคม 2558 ดาเนิ นการ แผน 23 พฤษภาคม 2558 ดาเนิ นการ แผน 28 พฤษภาคม 2558 ดาเนินการ แผน 12 มิถุนายน 2558 ดาเนิ นการ แผน 22 มิถุนายน 2558 ดาเนิ นการ แผน 22 & 24 มิถุนายน 2558 ดาเนินการ แผน 23 มิถุนายน 2558 ดาเนิ นการ แผน 24 มิถุนายน 2558 ดาเนิ นการ แผน 25 มิถุนายน 2558 ดาเนิ นการ แผน 26 มิถุนายน 2558 ดาเนิ นการ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
หมายเหตุ
รายงานประจ�ำปี 2558
133
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ที่
โครงการ
ฉี ดวัคซีนป้ องกันไข้หวัดใหญ่ 251 โครงการก่อสร้าง จังหวัดสมุทรปราการ โครงการทีทีซีแอลจิตอาสาเพื่อผูป้ ่ วย 26 โรงพยาบาลราชวิถี จังหวัดกรุ งเทพฯ โครงการรณรงค์การใช้น้ าประปาอย่างคุม้ ค่า 27 บริ ษทั ทีทีซีแอล (สานักงานใหญ่) โครงการทีทีซีแอลรวมพลังบริ จาคโลหิ ต 28 สภากาชาดไทย (ณ โครงการก่อสร้าง D-174) จังหวัดสมุทรปราการ สนับสนุนงานแข่งขันฝี มือคนพิการแห่ งชาติ ครั้งที่ 7 29 อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดกรุ งเทพฯ สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์ 30 มูลนิ ธิเพื่อการอนุรักษ์-ฟื้ นฟูปะการังและชายหาด จังหวัดกรุ งเทพฯ โครงการทีทีซีแอล เพาะต้นกล้า รักษาป่ าใหญ่ 31 มูลนิ ธิสืบนาคะเสถียร จังหวัดกาญจนบุรี เดิน-วิ่ง การกุศล "12 สิ งหา ฮาล์ฟ มาราธอน กรุ งเทพฯ 2015" 32 ศูนย์สิริกิต์ บิ รมราชิ นีนาถ จังหวัดกรุ งเทพฯ มอบเงินช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยพิบตั ิน้ าท่วม 33 ประเทศสาธารณรัฐแห่ งสหภาพเมียนมาร์ โครงการทีทีซีแอลรวมพลังบริ จาคโลหิ ต 34 โรงพยาบาลราชวิถี (ณ บริ ษทั ฯ สานักงานใหญ่) มอบน้ าดื่มทีทีซีแอลและอาหาร 35 ศูนย์ให้ความช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย จังหวัดระยอง โครงการทีทีซีแอลบริ จาคอุปกรณ์สานักงาน 36 มูลนิ ธิสวนแก้ว (มารับสิ่ งของที่บริ ษทั ทีทีซีแอล) ร่ วมฝึ กอบรมเชิ งปฏิบตั ิการ 37 สานักงานป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดระยอง เก็บสิ่ งของหาย 38 บริ ษทั ฯ สานักงานใหญ่ โครงการทีทีซีแอลรวมพลังบริ จาคโลหิ ต 39 สภากาชาดไทย (ณ โครงการก่อสร้าง D-176) จังหวัดระยอง เก็บสิ่ งของหาย 40 บริ ษทั ฯ สานักงานใหญ่ โครงการทีทีซีแอลจิตอาสาเพื่อผูป้ ่ วย 41 โรงพยาบาลราชวิถี จังหวัดกรุ งเทพฯ สนับสนุนการแข่งขันกอล์ฟ 12/2558 42 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย ร่ วมทอดกฐินสามัคคี 43 วัดหนองแฟบ จังหวัดระยอง กีฬาสี ประจาปี 2558 44 สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จังหวัดกรุ งเทพฯ โครงการทีทีซีแอลรวมพลังบริ จาคโลหิ ต 45 โรงพยาบาลราชวิถี (ณ บริ ษทั ฯ สานักงานใหญ่) รับมอบเกียรติบตั รรางวัลดีเด่น 46 บริ ษทั ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน) จังหวัดระยอง งานนิทรรศการกิจกรรมคลีนิกช่างและการเสวนา 47 วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย จังหวัดกรุ งเทพฯ กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว 48 ประเทศกาตาร์ ที่ โครงการ กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว 49 ประเทศสาธารณรัฐแห่ งสหภาพเมียนมาร์ กิจกรรม "ปั่ นเพื่อพ่อ" 2558 501 ประเทศกาตาร์ รับงานก่อสร้าง 51 ประเทศเวียดนาม งานปี ใหม่ ประจาปี 2558 52 โครงการทีทีซีแอลบริ จาควัสดุอลูมิเนี ยมทาขาเทียมให้กบั ผูพ้ ิการ โรงพยาบาลดอนตูม จังหวัดนครปฐม สนับสนุนเพื่อสาธารณประโยชน์ 54 สมาคมผูส้ ูงอายุไวท์เฮ้าส์ จังหวัดปทุมธานี 53
ด้านสังคมและชุ มชน ด้านการศึกษา ด้านสิ่ งแวดล้อม
รายงานประจ�ำปี 2558
ปี เดือน มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน สั ปดาห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนินการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนินการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนินการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนินการ แผน ดาเนิ นการ แผน ปี ดาเนิ นการ เดืแผน อน มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน ดสัาเนิปดาห์ นการ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ แผน ดาเนิ นการ
2558 กรกฎาคม สิ งหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52
หมายเหตุ
29 มิถุนายน 2558
9
กรกฎาคม 2558
16
กรกฎาคม 2558
20 กรกฎาคม 2558
28 - 30
กรกฎาคม 2558
29 กรกฎาคม 2558
8 สิงหาคม 2558
12 สิงหาคม 2558
18 สิงหาคม 2558
20 สิงหาคม 2558
19 กันยายน 2558
22 กันยายน 2558
25 กันยายน 2558
29 กันยายน 2558
22 ตุลาคม 2558
29 ตุลาคม 2558
6 พฤศจิกายน 2558
11 พฤศจิกายน 2558
11 พฤศจิกายน 2558
15 พฤศจิกายน 2558
24 พฤศจิกายน 2558
27 พฤศจิกายน 2558
28 พฤศจิกายน 2558
2558
4 ธันวาคม 2558
หมายเหตุ กรกฎาคม สิ งหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 11 ธัน52 วาคม 2558 11 ธันวาคม 2558
12 ธันวาคม 2558
18 ธันวาคม 2558
23 ธันวาคม 2558
25 ธันวาคม 2558
ผูจ้ ดั ทาโครงการและรวบรวมข้อมูล นางสาวณัชชา วิวฒั นธี รกุล
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
134
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
การช่วยเหลือสังคมและชุมชน บริษทั ฯ ได้ท�ำ การช่วยเหลือสังคมมาโดยตลอด ไม่วา่ จะ เป็นการช่วยเหลือทัง้ ทีเ่ ป็นอุปกรณ์สง่ิ ของ อาหาร เงิน กำ�ลังกาย จากพนั ก งาน เป็ น ต้น ทั้งภายในกรุงเทพและต่างจังหวัด โดยบริษทั ได้ด�ำ เนินโครงการต่างๆ ไว้ดงั นี้ โครงการเดิน – วิง่ เพือ่ สุขภาพ บริษทั ฯ ร่วมสนับสนุนโครงการเดิน-วิง่ เทิดพระเกียรติ วันฉัตรมงคล “ราชพฤกษ์ แด่ในหลวง ด้วยดวงใจ 5 พฤษภาคม – 5 กม. ไมโครมาราธอน ณ สนามไดรฟ์กอล์ฟ นอร์ธปาร์ค กรุงเทพฯ
โครงการทีทซี แี อลบริจาคอุปกรณ์ส�ำ นักงาน ครัง้ ที่ 6 บริษัทฯ มอบเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์สำ�นักงานที่ ไม่ใช้แล้วให้แก่ มูลนิธสิ วนแก้ว เพือ่ นำ�ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ การส่งมอบอุปกรณ์ จัดขึน้ ณ บริษทั ทีทซี แี อล ฯ (สำ�นักงานใหญ่)
โครงการเดิน-วิง่ “12 สิงหา ฮาล์ฟ มาราธอน กรุงเทพฯ 2015” ครัง้ ที่ 2 บริษทั ฯ ร่วมสนับสนุนโครงการเดิน-วิง่ “12 สิงหา ฮาล์ฟ มาราธอน กรุงเทพฯ 2015” เพือ่ ส่งเสริมการมีสขุ ภาพทีด่ ใี ห้กบั พนักงาน กิจกรรมจัดขึน้ ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ์ิ และ สวนเบญจกิต กรุงเทพฯ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
135
โครงการทีทซี แี อลรวมพลังบริจาคโลหิต ณ จังหวัดกรุงเทพ ครัง้ ที่ 7 บริษทั ฯ ร่วมมือกับโรงพยาบาลราชวิถใี นการสนับสนุน โครงการบริจาคโลหิต เพื่อช่วยเหลือและดูแลรักษาผู้ป่วย ซึง่ จัดขึน้ ณ บริษทั ทีทซี แี อลฯ (สำ�นักงานใหญ่)
โครงการทีทซี แี อลรวมพลังบริจาคโลหิต ณ จังหวัดระยอง ครัง้ ที่ 4 บริษัทฯ ร่วมมือกับสภากาชาดไทยในการสนับสนุน โครงการบริจาคโลหิตเพื่อช่วยเหลือและดูแลรักษาผู้ป่วย ซึ่ง จัดขึน้ ณ โครงการก่อสร้าง D-176 จังหวัดระยอง
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
136
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
โครงการที ที ซี แ อลรวมพลั ง บริ จ าคโลหิ ต ณ จั ง หวั ด สมุทรปราการ ครัง้ ที่ 1 บริษัทฯ ร่วมมือกับสภากาชาดไทยในการสนับสนุน โครงการบริจาคโลหิต เพื่อช่วยเหลือและดูแลรักษาผู้ป่วย ซึง่ จัดขึน้ ณ โครงการก่อสร้าง D-174 จังหวัดสมุทรปราการ
โครงการสนับสนุนเงินสมทบ ผูบ้ ริหารและพนักงานบริษทั ทีทซี แี อล จำ�กัด (มหาชน) มอบเงินจำ�นวน 100,000 บาท ให้กับสภากาชาดไทย เพื่อ นำ�ไปช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยแผ่นดินไหวประเทศเนปาล โดยมี พลโท นายแพทย์อ�ำ นาจ บาลี ผูอ้ �ำ นวยการ สำ�นักงานบรรเทาทุกข์ และประชานามัยพิทกั ษ์ สภากาชาดไทย รับมอบ ณ ศูนย์ปฏิบตั กิ าร ภัยพิบตั ิ สภากาชาดไทย
นายฮิ โ รโนบุ อิ ริย า ประธานเจ้ า หน้ า ที่บ ริ ห ารและ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็นตัวแทนบริษทั และพนักงานมอบเงิน โครงการประเพณีสงกรานต์ จำ�นวน 300,000 บาท เพือ่ ช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยพิบตั นิ �ำ้ ท่วม บริษทั ฯ สนับสนุนเข้าร่วมกิจกรรมรดน้�ำ ขอพรผูส้ งู อายุ ณ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ โดยมี นางสุรตั นา ตฤณรตนะ ที่อยู่ในชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมบางปู เนื่องในประเพณี กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั โตโย ไทย เพาเวอร์ เมียนมาร์ จำ�กัด สงกรานต์ ประจำ�ปี 2558 ณ สำ�นักงานนิคมอุตสาหกรรมบางปู เป็นตัวแทนผูร้ บั มอบ เพือ่ นำ�ไปบริจาคให้กบั ผูป้ ระสบภัยต่อไป จังหวัดสมุทรปราการ
บริษทั ฯ สนับสนุนซือ้ ข้าวสาร จำ�นวนเงิน 10,035 บาท เพือ่ เด็กผูย้ ากไร้ของมูลนิธคิ ณะนักบุญคามิลโลแห่งประเทศไทย บริษทั ฯ สนับสนุนโครงการ “ละครเวทีบหุ ลันลอยเลือ่ น” จำ � นวนเงิ น 50,000 บาท กั บ ทางคณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
137
โครงการสนับสนุนอาหารและน้�ำ ดืม่ โครงการทีทซี แี อลจิตอาสาเพือ่ ผูป้ ว่ ย ครัง้ ที่ 2 บริษทั ฯ สนับสนุนน้�ำ ดืม่ และแก้วน้�ำ เพือ่ ใช้ในงานแข่งขัน บริษทั ฯ จัดกิจกรรมโครงการจิตอาสาเพือ่ ผูป้ ว่ ย ร่วมกับ ฝีมอื คนพิการแห่งชาติ ครัง้ ที่ 7 จัดโดยกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน โครงการราชวิถที �ำ ดี กิจกรรมจัดขึน้ ณ โรงพยาบาลราชวิถี การแข่งขันจัดขึน้ ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
บริษัทฯ มอบน้ำ�ดื่มทีทีซีแอล จำ�นวน 8 แพ็คและ อาหาร จำ�นวน 100 กล่อง ให้กับผู้ประสบภัยน้ำ�ท่วม ณ ศูนย์ให้ความช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย เทศบาลตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
138
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
โครงการรณรงค์การใช้น�ำ้ ประปาอย่างคุม้ ค่า บริษทั ฯ สนับสนุน “โครงการรณรงค์การใช้น�ำ้ ประปา อย่างคุม้ ค่า” กับทางการประปานครหลวง ซึง่ จัดขึน้ ณ บริษทั ทีทซี แี อล จำ�กัด (มหาชน) (สำ�นักงานใหญ่)
ร่วมงานนิทรรศการ กิจกรรมคลินกิ ช่าง และการเสวนา ผู้จัดการโครงการและพนักงานของโครงการก่อสร้าง D-174 เป็ น ตั ว แทนบริ ษัท ที ทีซีแ อล จำ � กั ด (มหาชน) ในการร่ ว มงานสั ม มนานิ ท รรศการ กิ จ กรรมคลิ นิ ก ช่ า ง และการเสวนา “ประเทศไทย VS ภั ย พิ บั ติ ปี 2559” ในครัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้สนับสนุนนิทรรศการ จำ�นวน 60,000 บาท ในวาระครบรอบ 72 ปี กับทางวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ งานนิทรรศการจัดขึน้ ณ โรงแรมเซนทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ
ร่วมทอดกฐินสามัคคี ผูจ้ ดั การโครงการและพนักงานของบริษทั ฯ เป็นตัวแทน โครงการก่อสร้าง D-184 แผนกความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมและแผนกส่วนกลาง ได้ร่วมเป็นเจ้าภาพ ในการทอดกฐินสามัคคีจ�ำ นวนทัง้ หมด 10 กอง ณ วัดหนองแฟบ ตำ�บลมาบตาพุด อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง
บริษทั ฯ สนับสนุนการแข่งขันกอล์ฟ ครัง้ ที่ 12/2558 เป็นจำ�นวนเงิน 30,000 บาท จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
โครงการทีทซี แี อลบริจาควัสดุอะลูมเิ นียมทำ�ขาเทียมให้กบั ผูพ้ กิ าร ครัง้ ที่ 1 บริษทั ฯ มอบวัสดุอะลูมเิ นียมและอุปกรณ์ให้กบั โรงงาน ทำ�ขาเทียมภายใต้ชอ่ื “โครงการทีทซี แี อลบริจาควัสดุอะลูมเิ นียม ทำ�ขาเทียมให้กบั ผูพ้ กิ าร” การส่งมอบจัดขึน้ ณ โรงพยาบาล ดอนตูม จังหวัดนครปฐม
139
สหภาพเมียนมาร์ เป็นประธานการจัดกิจกรรม เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่หัว เนื่อ งในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 88 พรรษา 5 ธันวา 2558 กำ�หนดจัดขึน้ เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ เข้าร่วมกิจกรรม โดยมีนางสุรัตนา ตฤณรตนะ กรรมการผูจ้ ดั การ และพนักงานบริษทั โตโย ไทย เพาเวอร์ เมียนมาร์ จำ�กัด เข้าร่วมกิจกรรมในงาน
บริษทั ฯ สนับสนุนเก้าอีพ้ ลาสติก จำ�นวน 50 ตัว เพือ่ สาธารณประโยชน์ให้กับชุมชน โดยมอบให้กับทางสมาคม ผูส้ งู อายุไวท์เฮ้าส์ ณ โครงการผลิตไฟฟ้าและไอน้�ำ โคเจนเนอเรชัน่ (D-182) จังหวัดปทุมธานี
กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ณ กรุงย่างกุง้ สาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมาร์ นายพิ ษ ณุ สุ ว รรณะชฎ เอกอั ค รราชทู ต วิ ส ามั ญ ผูม้ อี �ำ นาจเต็มสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงย่างกุง้ สาธารณรัฐแห่ง
กิจกรรม “ปัน่ เพือ่ พ่อ” 2558 ณ ประเทศกาตาร์ สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโดฮา ได้จัดกิจกรรม “ปัน่ เพือ่ พ่อ” ณ ศูนย์กฬี า Aspire Zone กรุงโดฮา ประเทศ กาตาร์ โดย นายพิรณ ุ ลายสมิต เอกอัครราชทูต ณ กรุงโดฮา ได้นำ�ชุมชนไทยในกาตาร์ร่วมกล่าวถวายพระพรชัยมงคลแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 88 พรรษา เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม 2558 จากนัน้ เวลา 11.00 น. (ซึ่งตรงกับเวลา 15.00 น. ที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร เริม่ นำ�คนไทยปัน่ จักรยานเพือ่ เทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ในโอกาสเดียวกันในประเทศไทย) เอกอัครราชทูต ณ กรุงโดฮา ได้น�ำ ชุมชนไทยในกาตาร์จ�ำ นวน 120 คน เริ่มปั่นจักรยานเป็นระยะทาง 7.5 กิโลเมตร เพื่อ
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
140
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
แสดงออกถึงความจงรักภักดี ความสามัคคี และความเป็น กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ อันหนึ่งอันเดียวกันที่คนไทยในกาตาร์ทุกคนร่วมใจกันถวาย ประเทศกาตาร์ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั โดยมีผจู้ ดั การและพนักงาน ของบริษทั ทีทซี แี อล จำ�กัด (มหาชน) – สาขากาตาร์ เข้าร่วม กิจกรรมในงาน
นายพิรุณ ลายสมิต เอกอัครราชทูต ณ กรุง โดฮา ได้จัดงานวันพ่อขึ้น ณ Futsal Hall บริเวณ Al Wakra Sports Complex เมือง Al Wakra เพือ่ ให้ชมุ ชนชาวไทย ในประเทศกาตาร์ ได้ ร่ ว มกั น แสดงความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสวันมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา และเปิดโอกาสให้ชุมชนไทยได้พบปะ สังสรรค์ ร่วมรับประทานอาหาร และร่วมกิจกรรมต่างๆ อาทิ การแข่งขันกีฬา กิจกรรมสันทนาการ และกิจกรรมบันเทิง โดย ในปีนม้ี คี นไทยในประเทศกาตาร์มาร่วมงานประมาณ 1,000 คน โดยมี ผู้ จั ด การและพนั ก งานของบริ ษั ท ที ที ซี แ อล จำ � กั ด (มหาชน) – สาขากาตาร์ เข้าร่วมกิจกรรมในงาน การแบ่งปันความรูด้ า้ นการศึกษา บริษทั ฯ ให้ความสำ�คัญด้านการศึกษา สนับสนุนอุปกรณ์ การเรียน รองเท้านักเรียน เครือ่ งคอมพิวเตอร์ หนังสือเรียน หรือ สิ่งของต่างๆ ฯลฯ ให้กับทุกระดับชั้นการศึกษาและสถาน ศึ ก ษาต่ า งๆ ที่ข าดแคลน โดยบริ ษัท ได้ ดำ� เนิ น โครงการ ด้านการศึกษาดังนี้
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
โครงการงานวันเด็กแห่งชาติ บริษทั ฯ จัดกิจกรรมงานวันเด็กแห่งชาติ และสนับสนุน มอบอุปกรณ์การเรียนของเล่น หนังสือและตูช้ น้ั วางหนังสือให้กบั โรงเรียนวัดชากผักกูด จังหวัดระยอง
141
โครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ ครัง้ ที่ 3 บริษัทฯ สนับสนุนหนังสือเรียนเพื่อเพิ่มความรู้ด้าน การศึกษาให้กับนักเรียน จำ�นวน 50 โรงเรียน โดยมีชื่อ “โครงการห้องสมุดอุปถัมภ์” โครงการแบ่งปันหนังสือเพือ่ การศึกษา ครัง้ ที่ 4 บริษทั ฯ สนับสนุนมอบหนังสือด้านวิศวกรรม ไอที นิตยสาร และหนังสืออืน่ ๆ เป็นต้น จำ�นวน 530 เล่ม ให้แก่ส�ำ นักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตบางเขน
บริษทั ฯ สนับสนุนมอบเครือ่ งเขียน สมุดบันทึก และปฏิทนิ เพือ่ เข้าร่วมกิจกรรมงานวันเด็กแห่งชาติ ณ สวนสัตว์เปิดเขาเขียว จังหวัดชลบุรี
บริษทั ฯ ร่วมจัดกิจกรรมงานวันเด็กแห่งชาติ และสนับสนุน มอบหนังสือและตู้ช้นั วางหนังสือให้กับโรงเรียนวัดโคกจันทร์ จังหวัดชัยนาท
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
142
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
5. ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและมาตรฐาน ความปลอดภัย บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจโดยประยุกต์ใช้ข้อกำ�หนดของ มาตฐานระบบการจัดการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และ สิง่ แวดล้อม (OHSAS 18001:2007 มอก. 18001: 2554 และ ISO 14001: 2004) รวมทัง้ สนับสนุนกิจกรรมในด้านการพัฒนา การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า โดย จั ด กิ จ กรรมรณรงค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การใช้ ท รั พ ยากร อย่ า งคุ้ ม ค่ า และชาญฉลาด เช่ น การรณรงค์ เ รื่ อ งการลด การใช้พลังงานไฟฟ้า การจัดการขยะและของเสียทั้งจากส่วน สำ�นักงานและโครงการก่อสร้าง เพื่อให้พนักงานตระหนักใน หน้าที่และความรับผิดชอบต่อสังคมสิ่งแวดล้อม นโยบายอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิง่ แวดล้อม บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) เป็นหนึ่งในผู้นำ� ด้านธุรกิจวิศวกรรมบริการและรับเหมาก่อสร้างแบบครบวงจร มีความเชีย่ วชาญในการให้บริการออกแบบ, วิศวกรรมบริการ, จัดซื้อ จัดหาวัสดุอุปกรณ์และรับเหมาก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จ สำ�หรับภาคอุตสาหกรรมและโรงงาน รวมถึงสิ่งสนับสนุน อำ�นวยความสะดวกต่างๆ ในการผลิต โดยลูกค้าส่วนใหญ่ เป็ น กลุ่ ม โรงงานเคมี ปิ โ ตรเคมี โรงกลั่ น น้ำ � มั น และก๊ า ซ โรงปุ๋ยและโรงไฟฟ้า เป็นต้น บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญอย่างสูงสุดต่อความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของพนักงาน, คู่ค้า, ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ต่างๆ รวมถึงการป้องกันผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม บริษทั ฯ จึง แสดงเจตนารมณ์ที่จะสร้างและรักษาไว้ซึ่งสภาพการทำ�งาน ที่ปลอดภัย ไม่มีการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยจากการทำ�งาน และป้องกันการเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยความตระหนักถึงความสำ�คัญของระบบการบริหาร จัดการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม บริษทั ฯ จึงได้น�ำ เอาระบบการบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการ ดำ�เนินงานของบริษทั ฯ และเพือ่ ให้บรรลุตามเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ของ บริษัทฯ จึงได้กำ�หนดนโยบายอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมไว้ดังนี้ 1. การดำ�เนินงานของบริษัทฯจะต้องสอดคล้องกับ กฎหมาย และข้อกำ�หนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในด้าน อาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อม ในการทำ � งานและการป้ อ งกั น ผลกระทบต่ อ สิ่งแวดล้อม
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
2. นโยบาย ข้ อ มู ล ข่ า วสาร ด้ า นอาชี ว อนามั ย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมจะต้องถูกสื่อสาร ไปยังพนักงาน คู่ค้า และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อให้ เข้าใจ บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและปฏิบัติ ได้อย่างถูกต้อง 3. วัตถุประสงค์ดา้ นอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและ สิ่ ง แวดล้ อ มของบริ ษั ท ฯและโครงการทุ ก แห่ ง รวมถึ ง ระบบการติ ด ตาม, วั ด ผลและควบคุ ม จะต้ อ งถู ก กำ � หนดขึ้ น เพื่ อ ติ ด ตามประสิ ท ธิ ผ ล ของการดำ�เนินงาน ด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม 4. ระเบี ย บปฏิ บั ติ แ ละเอกสารที่ เ กี่ ย วข้ อ งในด้ า น อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม ของบริษัทฯ และโครงการ จะต้องถูกจัดทำ�ขึ้นและ นำ�ไปปฏิบัติตาม เพื่อให้การดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ของบริ ษั ท ฯ เป็ น ไปด้ ว ยความปลอดภั ย และ คำ�นึงถึงสิ่งแวดล้อม 5. ทรัพยากรต่างๆ ที่จำ�เป็น จะได้รับการสนับสนุน ให้เพียงพอต่อการดำ�เนินงานตลอดจนการดูแล รักษาและปรับปรุงพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 6. นโยบาย และวั ต ถุ ป ระสงค์ ด้ า นอาชี ว อนามั ย ความปลอดภั ย และสิ่ ง แวดล้ อ มของบริ ษั ท ฯ จะต้องถูกทบทวนโดยผูบ้ ริหารระดับสูงเป็นประจำ� ทุกปี เพื่อทบทวนประสิทธิผลของการดำ�เนินงาน และความเหมาะสมกับสภาวการณ์ของนโยบาย และวัตถุประสงค์ ดังกล่าว รวมถึง มองหาโอกาส ในการปรับปรุงและพัฒนา ระบบการบริหารจัดการ ด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ของบริษัทฯ
คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำ�งาน บริ ษั ท ที ที ซี แ อล จำ � กั ด (มหาชน) ได้ จั ด ให้ มี คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำ�งาน เพือ่ ทำ�หน้าทีใ่ นการส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรม ด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมของบริษทั ฯ เพื่อให้การบริหารงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สิ่ ง แวดล้ อ มของบริ ษั ท ฯ เป็ น ไปด้ ว ยความเรี ย บร้ อ ยและ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยคณะกรรมการชุ ด ปั จ จุ บั น มี ว าระ การดำ�รงตำ�แหน่ง นับตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ 2558 ถึง 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 (2 ปี) รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
143
คณะกรรมการความปลอดภัยฯ ประกอบด้วยสมาชิกดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.
นางสุรตั นา นางสาวจารุวรรณ นายสรรค์ นายสมบูรณ์ นายอนุชติ นายสมชาย นางสาวยานา นายคเชนทร์ นายพิทกั ษ์ นายรณภูม ิ นายณัฐพล
ตฤณรตนะ สุขทัว่ ญาติ ใจสงฆ์ เตชะศรีวรกุล ปิยมานิต กล่อมรักษา เพชรอ้อม ทองปาน สุขวรรณ จันทร์มล สินขจร
ประธานกรรมการ กรรมการ (ผูแ้ ทนนายจ้าง) กรรมการ (ผูแ้ ทนนายจ้าง) กรรมการ (ผูแ้ ทนนายจ้าง) กรรมการ (ผูแ้ ทนนายจ้าง) กรรมการ (ผูแ้ ทนลูกจ้าง) กรรมการ (ผูแ้ ทนลูกจ้าง) กรรมการ (ผูแ้ ทนลูกจ้าง) กรรมการ (ผูแ้ ทนลูกจ้าง) กรรมการ (ผูแ้ ทนลูกจ้าง) กรรมการและเลขานุการ (เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทำ�งานระดับวิชาชีพ)
การอนุรักษ์ด้านสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรป่าไม้ โดยการเพาะกล้า จำ�นวน 2,500 ต้น รวมถึง นำ�ต้นกล้าไปปลูกยังพืน้ ทีป่ า่ เสือ่ มโทรม นำ�มาซึง่ ความตระหนัก โครงการสนับสนุนเงินสมทบ และสร้างจิตสำ�นึกร่วมในการดูแลรักษาผืนป่าและเห็นความสำ�คัญ บริษทั ฯ สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์ จำ�นวนเงิน ของการดูแลรักษาผืนป่าตะวันตก ซึ่งเป็นป่าใหญ่ผืนสุดท้าย 30,000 บาท ให้กับมูลนิธิเพื่อการอนุรักษ์-ฟื้นฟูปะการังและ ของประเทศร่วมกัน ณ อุทยานแห่งชาติเฉลิมรัตนโกสินทร์ ชายหาด จังหวัดกาญจนบุรี โครงการทีทีซีแอล เพาะต้นกล้า รักษาป่าใหญ่ โครงการกล่องกระดาษรักษ์โลก บริษั ท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ร่วมกับมูลนิธิ บริษัทฯ จัดทำ� “โครงการกล่องกระดาษรักษ์โลก” สืบ นาคะเสถียร จัดโครงการ “ทีทีซีแอล เพาะต้นกล้า รักษา รณรงค์ ใ ห้ ล ดการใช้ ก ระดาษ เพื่ อ เป็ น การใช้ ท รั พ ยากร ป่าใหญ่” โดยให้พนักงานเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
144
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
โครงการการลดปริมาณการใช้ไฟฟ้าในโครงการ บริ ษั ท ฯ จั ด ทำ � โครงการลดการใช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า ในโครงการก่ อ สร้ า ง (เฉพาะส่ ว นสำ � นั ก งาน) โดยจั ด ทำ � เอกสารประชาสัมพันธ์ให้ความรูเ้ กีย่ วกับการประหยัดพลังงาน โดยมีกำ�หนดระยะเวลาโครงการตั้งแต่ เดือนมิถุนายน 2557 ถึง เดือนพฤษภาคม 2558
โครงการรณรงค์การทำ�ความสะอาดถนนเขตโครงการ ก่อสร้าง โครงการก่อสร้าง D-176 ณ จังหวัดระยอง ได้รณรงค์ การทำ � ความสะอาดฝุ่ น และเศษดิ น ที่ เ กิ ด จากการทำ � งาน ในพื้นที่โครงการก่อสร้างออกไปบริเวณชุมชนที่อยู่ใกล้เคียง กิจกรรมจัดขึ้นอย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง
ผลงานที่น่าภาคภูมิใจ บริษทั ฯ เข้ารับมอบประกาศนียบัตร ในฐานะหน่วยงาน ที่ทำ�คุณประโยชน์ในด้านการประสานงานการจัดหาโลหิต ประจำ�ปี 2557 ในงานประชุมวิชาการ “The Donor Club of Rajavithi Hospital” ซึ่งจัดขึ้น ณ โรงพยาบาลราชวิถี
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
145
บริษทั ฯ เข้ารับมอบเกียรติบตั รรางวัลดีเด่นด้านการบริหาร จัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม ประเภท สะสมชัว่ โมงการทำ�งาน 7,944,745 ชัว่ โมง โดยไม่เกิดอุบตั เิ หตุ จากบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) การมอบรางวัลจัดขึ้น ณ หอประชุม ไออาร์พีซี จังหวัดระยอง
บริ ษั ท ฯ เข้ารับมอบโล่ประกาศเกียรติคุณในฐานะ สถานประกอบการต้นแบบด้านการชำ�ระเงินสมทบกองทุน ประกันสังคมดีเด่นจากสำ�นักงานประกันสังคม ในงานโครงการ ประชุ ม ชี้ แ จง “ความรู้ ง านประกั น สั ง คม” ซึ่ ง จั ด ขึ้ น ณ โรงพยาบาลกล้วยน้ำ�ไท 6. นวัตกรรมของบริษทั ทีค่ �ำ นึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั ฯ มีนโยบายด้านนวัตกรรมในระดับกระบวนการ ทำ�งานและในระดับองค์กรดังต่อไปนี้ นวัตกรรมในระดับการดำ�เนินงาน 1. ปรับปรุงค่านิยมองค์กร โดยรณรงค์และส่งเสริม ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มของ พนักงานเพื่อให้เกิดเป็นพฤติกรรมองค์กร 2. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของพนักงานในการทำ� กิจกรรมเพือ่ สังคม ทัง้ กิจกรรมทีบ่ ริษทั จัดขึน้ และ กิจกรรมที่พนักงานร่วมกันคิดร่วมกันทำ� 3. บริษทั ได้พฒ ั นาปรับปรุงระบบจัดการด้านสิง่ แวดล้อม ที่เกี่ยวข้องและมีผลกระทบจากการดำ�เนินงาน ของบริ ษั ท โดยนำ � มาตรฐานระบบจั ด การ ด้านสิง่ แวดล้อม ISO 14001 : 2004 มาประยุกต์ใช้ และได้รบั ใบรับรองมาตรฐานจากบริษทั อินเตอร์เทค อิ น ดั ส ตรี ส์ แอนด์ เซอร์ ติ ฟิ เ คชั่ น เซอร์ วิ ส (ประเทศไทย) จำ�กัด เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2557 รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
146
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
4. บริษัทฯ ร่วมกับ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ของจังหวัดต่างๆ อาทิ องค์การบริหารส่วนตำ�บล เทศบาลนคร ให้ความรูแ้ ละความเข้าใจกับประชาชน ในการทำ�ประชาคม เรื่องการให้เอกชนร่วมลงทุน กับภาครัฐในโครงการโรงงานกำ�จัดมูลฝอยชุมชน ด้ ว ยวิ ธี ท างความร้ อ นและผลิ ต กระแสไฟฟ้ า จนประชาชนให้การยอมรับในหลายพื้นที่
นวัตกรรมในระดับองค์กร 1. บริษัท ทีทีซีแอล โซล่าร์ เพาเวอร์ พีทีอี ลิมิเต็ด บริษัทในเครือของบริษัท ทีที เพาเวอร์ โฮลดิ้ง พีทอี ี ลิมเิ ต็ด ได้เข้าถือหุน้ สัดส่วน 40% ของจำ�นวนหุน้ ทั้งหมดในบริษัท สยาม โซล่า เพาเวอร์ จำ�กัด (บริษัทร่วมทุนเดิมระหว่าง กลุ่มบริษัท สยามสตีล
เกรตติ้งกรุ๊ป และ ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)) เพือ่ ขยายการพัฒนาและการลงทุนในธุรกิจเกีย่ วกับ พลังงานทดแทนจากแสงอาทิตย์ ทัง้ ในประเทศและ ต่างประเทศ อาทิ โครงการโรงไฟฟ้าพลั ง งาน แสงอาทิ ต ย์ สำ � หรั บ หน่ ว ยราชการและสหกรณ์ การเกษตร เพื่อขายให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ประเทศ ญี่ปุ่น และประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่ม AEC เพื่อ ขายให้กบั บริษทั ผูบ้ ริหารโครงข่าย และจัดจำ�หน่าย กระแสไฟฟ้า บริ ษั ท ฯ ยั ง ร่ ว มกั บ พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ หลายแห่ ง ในการพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ในรูปแบบ กริด พาริตี้ (Grid Parity) เพื่อผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ และใช้เองในโรงงาน ซึง่ จะเป็นแนวทางธุรกิจใหม่ทจี่ ะเกิดขึน้ ได้ โดยมิต้องอาศัยนโยบายการอุดหนุนค่าไฟฟ้าจากรัฐฯ การพัฒนาธุรกิจ และลงทุนดังกล่าว นอกจากจะสร้าง รายได้ทมี่ นั่ คงให้กบั บริษทั ฯ แล้วนัน้ ธุรกิจนีย้ งั สามารถช่วยลด ปริมาณมลภาวะทางด้านสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรงและทางอ้อม ตลอดจนลดการนำ�เข้าเชือ้ เพลิง สร้างความมัน่ คงทางพลังงาน ให้แก่ประเทศ อีกทั้งยังสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา ที่ยั่งยืนทั้งในด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม โดยสรุป ได้ดังนี้ • การผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งานทดแทน พลั ง งาน แสงอาทิตย์ เป็นพลังงานทดแทนที่ให้ประโยชน์ อย่ า งชั ด เจนในการรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มโดยรวม โดยไม่ต้องใช้เชื้อเพลิง ฟอสซิล จำ�พวกถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ และปิโตรเลียม • สร้างความมั่นคงทางพลังงานให้กับประเทศและ องค์กรภาคเอกชน • ลดการนำ �เข้ า เชื้ อ เพลิ ง ฟอสซิ ล อาทิ ถ่ า นหิ น ก๊าซธรรมชาติ และปิโตรเลียม • สามารถได้รบั คาร์บอนเครดิต ประเภททีล่ ดปริมาณ การปลดปล่อย (CERs: Certified Emission Reductions) ตามโครงการความร่วมมือ กลไก เครดิตร่วม (JCM: Japan’s Joint Crediting Mechanism) โดยจะได้การสนับสนุนทางการเงิน แบบให้เปล่า (Grant) จากรัฐบาลญีป่ นุ่ ซึง่ จะช่วย ลดภาระการลงทุน และสามารถชดเชยนโยบาย การอุดหนุนจากภาครัฐได้
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
5.
บริษทั ฯ ได้รบั เชิญจากสำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ มจั ง หวั ด อ่ า งทอง เข้ า ร่ ว มเป็ น วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีจัดการขยะ เพือ่ แปลงเป็นพลังงานแก่นกั เรียนโรงเรียนวัดสระแก้ว อำ�เภอป่าโมก วิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง อำ�เภอเมือง อ่างทอง และวิทยาลัยนาฏศิลป์อ่างทอง อำ�เภอ เมืองอ่างทอง เมือ่ วันที่ 27 พฤศจิกายน 1 ธันวาคม และ 9 ธันวาคม 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
147
• รายได้จากการขายไฟฟ้าส่วนหนึง่ จะถูกหักเข้ากองทุน พัฒนาไฟฟ้าตามระเบียบของคณะกรรมการกำ�กับ กิ จ การพลั ง งาน หรื อ กกพ. (กรณี ล งทุ น ใน ประเทศไทย) และกองทุนที่มีลักษณะเดียวกัน ของต่ า งประเทศ เพื่ อ ที่ กกพ.หรื อ หน่ ว ยงาน รั บ ผิ ด ชอบลั ก ษณะเดี ย วกั น ของต่ า งประเทศ จะได้บริหารเงินทุนเพื่อพัฒนา หรือฟื้นฟู ท้องถิ่น หากได้ รั บ ผลกระทำ � จากการดำ � เนิ น การของ โรงไฟฟ้า เพือ่ จะได้มสี ว่ นรับผิดชอบต่อการพัฒนา ของชุมชนในพื้นที่โดยรอบ และพัฒนาระบบผลิต และจำ�หน่ายไฟฟ้าโดยรวม 2. บริษทั ทีทซี แี อล จำ�กัด (มหาชน) ร่วมกับบริษทั ร่วมทุน สยาม โซล่า เพาเวอร์ จำ�กัด และบริษัทในเครือ พั ฒ นาโครงการ กำ � จั ด มู ล ฝอยชุ ม ชนโดยวิ ธี แปลงเป็นพลังงาน ในพื้นที่หลายจังหวัด โดย ใช้เทคโนโลยีหลากหลาย อาทิ กระบวนการทางกล และชีวภาพ (MBT : Mechanical Biological Treatment) กระบวนการคั ด แยก เพื่ อ ผลิ ต เชื้ อ เพลิ ง จากวั ส ดุ เ หลื อ ใช้ (RDF: Refuse Derived Fuel) กระบวนการทำ�เชื้อเพลิงแข็ง กลายเป็นก๊าซ (Gasification) หรือกระบวนการ เผาทำ�ลาย ขบวนการดักจับขีเ้ ถ้าลอย กระบวนการ ดักจับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และกระบวนการ ดักจับก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ เพือ่ ให้ได้โรงงาน กำ � จั ด มู ล ฝอยชุ ม ชนโดยวิ ธี แ ปลงเป็ น พลั ง งาน ที่ เ หมาะสมกั บ มู ล ฝอยชุ ม ชนในประเทศไทย โดยกระแสไฟฟ้ า ที่ ผ ลิ ต ได้ จ ะขายให้ ก ารไฟฟ้ า ส่วนภูมิภาคต่อไป หากโครงการดังกล่าวสามารถดำ�เนินการได้ นอกจากจะสร้างรายได้ทม่ี น่ั คงให้กบั บริษทั ฯ แล้วนัน้ ธุรกิจนีย้ งั สามารถช่วยลดปริมาณมลภาวะทางด้าน สิ่งแวดล้อมทั้งทางตรง และทางอ้อม ตลอดจน ลดการนำ�เข้าเชือ้ เพลิง สร้างความมัน่ คงทางพลังงาน ให้ แ ก่ ประเทศ อีก ทั้งยังสอดคล้อ งกับแนวทาง การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนทัง้ ในด้านสิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม โดยสรุปได้ดังนี้ • การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน โดยใช้มลู ฝอย ชุมชนเป็นเชือ้ เพลิง เป็นพลังงานทดแทนทีใ่ ห้ประโยชน์
อย่ า งชั ด เจนในการลดปั ญ หาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยรวม โดยการลดปริ ม าณมู ล ฝอยฝั ง กลบ ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง สะสมของเสี ย แหล่ ง กำ � เนิ ด และ แพร่กระจายเชื้อโรค • ลดมลพิษทางน้�ำ ทีร่ วั่ ไหลสูแ่ หล่งน้�ำ ธรรมชาติ และ รั่วซึมสู่แหล่งน้ำ�ใต้ดิน ทำ�ลายทัศนียภาพ • ลดมลพิษทางอากาศ การส่งกลิ่นเหม็นรบกวน การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก (ก๊าซมีเทน) • ก๊าซเชื้อเพลิงชีวภาพจากกระบวนการแปรสภาพ ขยะอินทรียท์ ไ่ี ด้จากกระบวนการคัดแยก ให้กลายเป็น ก๊าซเชือ้ เพลิงผลิตกระแสไฟฟ้า อีกทัง้ กากขยะอินทรีย์ ทีย่ อ่ ยสลายแล้วสามารถใช้เป็นปุย๋ อินทรียไ์ ด้อกี ด้วย • ขี้เถ้าจากกระบวนการเผาใหม่ สามารถนำ�ไปเป็น ส่วนผสมของปูนซีเมนส์ หรือปุ๋ยอินทรีย์ • โลหะและพลาสติคบางส่วนจากกระบวนการคัดแยก สามารถนำ�กลับไปใช้ใหม่ได้ • สร้างความมั่นคงทางพลังงานให้กับประเทศและ องค์กรภาคเอกชน • ลดการนำ �เข้ า เชื้ อ เพลิ ง ฟอสซิ ล อาทิ ถ่ า นหิ น ก๊าซธรรมชาติ และปิโตรเลียม • สามารถได้รบั คาร์บอนเครดิต ประเภททีล่ ดปริมาณ การปลดปล่อย (CERs: Certified Emission Reductions) ตามโครงการความร่วมมือ กลไก เครดิตร่วม (JCM: Japan’s Joint Crediting Mechanism) และการสนั บ สนุ น ทางการเงิ น แบบให้เปล่า (Grant) จากรัฐบาลญีป่ นุ่ ซึง่ จะช่วย ลดภาระการลงทุน และสามารถชดเชยนโยบาย การอุดหนุนจากภาครัฐได้ • รายได้ จ ากการขายไฟฟ้ า ส่ ว นหนึ่ ง จะถู ก หั ก เข้ า กองทุ น พั ฒ นาไฟฟ้ า ตามระเบี ย บของคณะ กรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน หรือ กกพ. (กรณี ลงทุนในประเทศไทย) และกองทุนทีม่ ลี กั ษณะเดียวกัน ของต่างประเทศ เพือ่ ที่ กกพ.หรือหน่วยงานรับผิดชอบ ลักษณะเดียวกันของต่างประเทศ จะได้บริหารเงินทุน เพือ่ พัฒนา หรือฟืน้ ฟู ถ้องถิน่ หากได้รบั ผลกระทำ� จากการดำ�เนินการของโรงไฟฟ้า เพื่อจะได้มีส่วน รับผิดชอบต่อการพัฒนาของชุมชนในพืน้ ทีโ่ ดยรอบ และพัฒนาระบบผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าโดยรวม
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
148
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
3. บริษทั ทีทซี แี อล จำ�กัด (มหาชน) ได้เข้าร่วมลงทุน กับบริษัทสกายโอนิค คอร์ปอเรชั่น แห่งสหรัฐ อเมริกา ในโครงการดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่ อ ผลิ ต โซดาไฟ โซเดียมไบคาร์บอเนต และ กรดเกลือ พร้อมทั้งเป็นผู้รับเหมา ออกแบบขั้น รายละเอียด และก่อสร้างโรงงานดังกล่าว โดย ใช้เทคโนโลยีของ สกายไมน์ ของบริษทั สกายโอนิค คอร์ปอเรชัน่ ในการดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และไนโตรเจนออกไซด์ การเข้ า ร่ ว มโครงการดั ง กล่ า วนอกจาก จะช่วยสร้างรายได้ทม่ี น่ั คงให้บริษทั ฯ จากการขาย ผลิตภัณฑ์ และ สัญญาก่อสร้างแล้ว การเข้าร่วม โครงการนีย้ ังช่วยสนับสนุนให้มีการนำ�เทคโนโลยี
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
ที่ ทั น สมั ย ระดั บ โลกไปใช้ ง านในเชิ ง พาณิ ช ย์ สอดคล้ อ งกั บ แนวทางพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น ในด้ า น สิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม โดยสามารถสรุป ได้ดังนี้ • เป็ น โครงการลดการปลดปล่ อ ยก๊ า ซคาร์ บ อน ไดออกไซด์เชิงพาณิชย์แห่งแรกที่ใช้เทคโนโลยี สกายไมน์ ของบริษัท สกายโอนิค คอร์ปอเรชั่น • สามารถดักจับก๊าซเรือนกระจก ประมาณ 300,000 ตั น /ปี (เที ย บเท่ า t-CO2) โดยเป็ น ก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ 83,000 ตัน/ปี โดยส่วนทีเ่ หลือ คือก๊าซเรือนกระจกอืน่ ๆ อาทิ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และไนโตรเจนออกไซด์
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
149
ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ค่าตอบแทนจากการบัญชี (Audit fee) ค่าบริการอื่น (Non Audit Fee) บริษัท และบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี บริษัท และบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนค่าบริการอื่นๆ ให้ แ ก่ สำ � นั ก งานสอบบั ญ ชี ใ นรอบปี ที่ ผ่ า นมาเป็ น จำ � นวน ซึง่ ได้แก่ การสอบทานการปันส่วนราคาซือ้ และการให้ค�ำ ปรึกษา 10,715,786.76 บาท ประกอบด้วย ทางด้านภาษีอากร ให้แก่สำ�นักงานสอบบัญชี เป็นจำ�นวน - ค่ า ตอบแทนผู้ ส อบบั ญ ชี บ ริ ษั ท และสาขา จำ � นวน 1,984,450.00 บาท 3,664,611.76 บาท - ค่ า ตอบแทนผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ย่ อ ย จำ � นวน 7,051,175.00 บาท
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
มูลค่ารายการ ยอดคงค้าง บุคคล/นิติบุคคลที่อาจมี ระหว่างกัน ณ วันที่ ลักษณะของรายการ ความสัมพันธ์ ระหว่างกัน ความขัดแย้ง 31 ธ.ค. ธ.ค. ปี 2557 ปี 2558 2557 312558 1. TEC เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั โดย - รายได้จากการก่อสร้างและ 10,907 3,826,387 ประกอบกิจการรับเหมา ถือหุน้ ร้อยละ 22.29 ในปี 2557 ให้บริการ ก่อสร้างทางวิศวกรรม และ ร้อยละ17.43 ในปี 2558 ตามลำ�ดับของทุนจดทะเบียน ชำ�ระแล้วของบริษัท ซึ่งมีนาย มาโกโต ฟูซายาม่า เป็นหนึง่ ใน - ลูกหนี้การค้า 9,758 231,818 คณะกรรมการ - ลูกหนี้ค่าก่อสร้างตาม - 1,507,982 สัญญาที่ยังไม่ได้เรียกเก็บ - เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า 130,136 ตามสัญญาค่าก่อสร้าง
มูลค่าและยอดคงค้างของรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ในปี 2558 และ 2557 บริษัทมีรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ดังนี้
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณารายการดังกล่าวแล้ว มีความเห็นว่า มีความสมเหตุ สมผล
เกิ ด จากการให้ บ ริ ก ารด้ า น วิ ศ วกรรม, ควบคุ ม และให้ บริ ก ารจั ด ซื้ อ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ โครงการ
ลู ก หนี้ ก ารค้ า และลู ก หนี้ ค่ า ก่อสร้างตามสัญญาที่ยังไม่ได้ เก็บเงินในปี 2557 และ 2558 จำ � นวน 9.76 ล้ า นบาท และ 1,739.80 ล้านบาท และ ราย ได้ค่าก่อสร้างรับล่วงหน้า ในปี 2558 จำ�นวน 130.1 ล้านบาท (ปี 2557 ไม่มี)
สำ�หรับงวดปี 2557 และ 2558 บริ ษั ท มี ร ายได้ จ าก TEC จำ�นวน 10.91 ล้านบาท และ 3,826.39 ล้านบาท
ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบเกี่ยวกับความสม เหตุสมผลของรายการ
หน่วย: พันบาท
150 บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กั จำ�กัด (มหาชน)
รายการระหว่างกัน
รายงานประจ�ำปี 2558
รายงานประจ�ำปี 2558
2. Toyo-Engineering & Construction. Sdn. Bhd. (Malaysia) (Subsidiaries of TEC-Japan)
บุคคล/นิติบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง
- ลูกหนีค้ า่ ก่อสร้างตามสัญญา ที่ยังไม่ได้เรียกเก็บ - รายได้คา่ ก่อสร้างรับล่วงหน้า
เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน - รายได้จากการก่อสร้างและ โดยเป็น บริษัทย่อยของ ให้บริการ บริษัท TEC ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ของบริษัท
ความสัมพันธ์
2,007
297,419
-
1,998
ลู ก หนี้ ค่ า ก่ อ สร้ า งตามสั ญ ญา ที่ยังไม่ได้เก็บเงินในปี 2557 365,422 จำ�นวน 2.0 ล้านบาท (ปี 2558 ไม่มี) รายได้ค่าก่อสร้างรับล่วงหน้า ปี 2558 จำ � นวน 365.42 ล้านบาท (ปี 2557 ไม่มี)
-
สำ�หรับงวด ปี 2557 และ ปี 2558 บริ ษั ท TTCL Malaysia SDN. BHD ซึ่งเป็นบริษัทฯ ย่อยของบริษัทฯ มีรายได้จาก Toyo-Engineering & Construction. Sdn.Bhd. (Malaysia) จำ � นวน 2.0 ล้านบาท และ 297.42 ล้าน บาท ซึ่งเกิดจากการให้บริการ การก่ อ สร้ า ง, การให้ บ ริ ก าร ด้านวิศวกรรม, ควบคุมและ ให้ บ ริ ก ารจั ด ซื้ อ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ โครงการ
คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณารายการดังกล่าวแล้ว มีความเห็นว่ามีความสมเหตุ สมผล
มูลค่ารายการ ยอดคงค้าง ความเห็นของคณะกรรมการ ระหว่างกัน ณ วันที่ ตรวจสอบเกี่ยวกับความสม 31 ธ.ค. 31 ธ.ค. เหตุสมผลของรายการ ปี 2557 ปี 2558 2557 2558 1,311 - ต้นทุนในการก่อสร้างและ ต้นทุนค่าดำ�เนินการในปี 2558 - ให้บริการ (2557 ไม่ม)ี จำ�นวนเงิน 1.31 ล้ า นบาท เป็ น ต้ น ทุ น ที่ ท าง TEC ให้บริการคำ�แนะนำ�ด้าน เทคนิควิศวกรรมแก่บริษัทฯ ลักษณะของรายการ ระหว่างกัน
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
151
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
3. บริษัท โกลบอล นิว เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด (GNE)
บุคคล/นิติบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง
เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน โดยเป็น บริษัทที่ TTCL ถือหุ้น 40% และบริษัทฯ ของกลุ่มผู้บริหาร TTCL ถือหุ้น 60%
ความสัมพันธ์
- รายได้ค่าบริการค้างรับ
- รายได้จากการให้เช่าและ บริการ
- เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ตามสัญญาค่าก่อสร้าง
ลักษณะของรายการ ระหว่างกัน
369 199
42
คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณารายการดังกล่าวแล้ว มีความเห็นว่ามีความสมเหตุ สมผล
90 รายได้ค่าบริการค้างรับ ในปี 2557 และ 2558 จำ�นวน 0.04 ล้านบาท และ 0.09 ล้านบาท เกิดจากการให้บริการด้าน การจัดการให้เช่าพื้นที่และค่า บริการจัดการงานบริหารทั่วไป
สำ�หรับงวด ปี 2557 และ 2558 บริษัทมีรายได้จาก บริษัท โกลบอล นิว เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด จำ�นวน 0.37 ล้านบาท และ 0.20 ล้านบาท
คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณารายการดังกล่าว แล้วมีความเห็นว่า มีความสมเหตุสมผล
มูลค่ารายการ ยอดคงค้าง ความเห็นของคณะกรรมการ ระหว่างกัน ณ วันที่ ตรวจสอบเกี่ยวกับความ 31 ธ.ค. 31 ธ.ค. สมเหตุ สมผลของรายการ ปี 2557 ปี 2558 2557 2558 310,634 177,402 เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ตามสัญญาค่าก่อสร้าง ในปี 2557 และ 2558 จำ�นวน 310.63 ล้านบาท และ 177.40 ล้านบาท เกิดจากการให้บริการ ก่ อ สร้ า ง, การให้ บ ริ ก ารด้ า น วิ ศ วกรรม, ควบคุ ม และให้ บริ ก ารจั ด ซื้ อ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ โครงการ
152 บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
11.2 มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติ การทำ�รายการระหว่างกัน บริษทั ได้จดั ให้มหี น่วยงานทีจ่ ะทำ�การตรวจสอบเกีย่ วกับ ความสมเหตุสมผลในการเข้าทำ�รายการ การตรวจสอบราคา และเงื่อนไขต่างๆ ของรายการว่าเป็นไปตามการดำ�เนินการ ทางธุรกิจปกติและตามเงื่อนไขทางการค้าทั่วไปหรือไม่ และ ต้องดำ�เนินการดังต่อไปนี้ 1) ในกรณีทเี่ ป็นการดำ�เนินการอันเป็นธุรกิจปกติและ ตามเงือ่ นไขทางการค้าทัว่ ไปซึง่ บริษทั หรือบริษทั ย่อย กระทำ�เป็นประจำ�อย่างต่อเนื่อง เช่น การให้หรือ รับบริการ การขายสินค้าและซือ้ วัตถุดบิ ทัว่ ไป เป็นต้น ให้คณะกรรมการหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมาย สามารถดำ � เนิ น การได้ โ ดยให้ ส่ ง เรื่ อ งดั ง กล่ า ว ให้คณะกรรมการตรวจสอบรับทราบทุกรายไตรมาส 2) ในกรณีที่ไม่ได้เป็นรายการที่เป็นธุรกิจปกติและ ตามเงือ่ นไขทางการค้าทัว่ ไป เช่น การซือ้ สินทรัพย์ถาวร ที่ มี นั ย สำ � คั ญ เป็ น ต้ น จะต้ อ งนำ � เรื่ อ งดั ง กล่ า ว เข้ า พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบก่อนทีจ่ ะนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ และ/ หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป ทั้ ง นี้ คณะกรรมการบริ ษั ท จะดู แ ลให้ บ ริ ษั ท ปฏิ บั ติ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คำ�สัง่ หรือข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบัติตามข้อกำ�หนด เกีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการเกีย่ วโยง และการได้มา หรื อ จำ � หน่ า ยทรั พ ย์ สิ น ที่ สำ � คั ญ ของบริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย รวมทั้ ง ปฏิ บั ติ ต ามมาตรฐานบั ญ ชี ที่ กำ � หนดโดยสมาคม นักบัญชีด้วย หากมีรายการระหว่างกันของบริษัทหรือบริษัทย่อย เกิ ด ขึ้ น กั บ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ มี ส่ ว นได้ เ สี ย หรื อ อาจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ในอนาคต ให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้ให้ความเห็น เกีย่ วกับความจำ�เป็นของการเข้าทำ�รายการและความเหมาะสม ด้ า นราคาของรายการนั้ น โดยพิ จ ารณาดู เ งื่ อ นไขต่ า งๆ ให้เป็นไปตามลักษณะการดำ�เนินการค้าปกติในตลาด และ มีการเปรียบเทียบราคาที่เกิดขึ้นกับบุคคลภายนอก ในกรณี ที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความชำ�นาญในการพิจารณา รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทจะได้ให้ผู้เชี่ยวชาญ รายงานประจ�ำปี 2558
153
อิสระหรือผู้สอบบัญชีของบริษัทเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับ รายการระหว่างกันดังกล่าว เพือ่ นำ�ไปใช้ประกอบการตัดสินใจ ของคณะกรรมการตรวจสอบและ/หรือ คณะกรรมการ และ/ หรือ ผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี เพื่อให้มีความมั่นใจว่าการเข้าทำ� รายการดังกล่าวจะไม่เป็นการโยกย้าย หรือถ่ายเทผลประโยชน์ ระหว่างบริษัท หรือผู้ถือหุ้นของบริษัท แต่เป็นการทำ�รายการ ที่บริษัทได้คำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นทุกราย ทั้งนี้ บริษัทจะเปิดเผยรายการระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทได้กำ�หนดกรอบของรายการทางการค้าที่บริษัท กระทำ�เป็นปกติเพือ่ การประกอบกิจการของบริษทั และบริษทั ย่ อ ย ซึ่ ง รายการดั ง กล่ า วจะมี ลั ก ษณะรายการที่ มี เ งื่ อ นไข ทางการค้าโดยทั่วไป ตามรายละเอียดดังนี้ รายการธุรกิจปกติ หมายถึง รายการให้บริการออกแบบวิศวกรรม จัดหาเครือ่ งจักร และอุปกรณ์ และก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมแบบครบวงจร ตลอดจนการให้ค�ำ ปรึกษาทีเ่ กีย่ วข้อง แก่ลกู ค้าผูป้ ระกอบการ อุตสาหกรรมหรือผู้รับเหมาอื่นของโครงการ ทั้งที่เป็นบุคคล และนิติบุคคลทั่วไป รายการซื้อสินค้า ประเภทวัตถุดิบ วัสดุก่อสร้าง วัสดุ สิน้ เปลือง เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ รวมไปถึงการว่าจ้างผูร้ บั เหมาช่วง ซึ่งจำ�เป็นต่อการประกอบธุรกิจของบริษัท รวมถึงรายจ่าย ที่เป็นปกติธุระในการประกอบธุรกิจ เช่น ค่าเช่าพื้นที่จัดเก็บ อุปกรณ์ การจ้างขนส่ง เป็นต้น จากบุคคลหรือนิติบุคคล ต่างๆ ทั่วไป ราคายุติธรรม จำ�นวนเงินทีผ่ ซู้ อื้ และผูข้ ายตกลงแลกเปลีย่ นสินทรัพย์ กัน หรือจำ�นวนเงินที่ผู้ให้และผู้รับบริการตกลงกัน ในขณะที่ ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยน และ สามารถต่ อ รองราคากั น ได้ อ ย่ า งเป็ น อิ ส ระ ซึ่ ง จะกำ � หนด โดยใช้ราคาตลาดผ่านขั้นตอนการต่อรองราคาที่เป็นอิสระ และอยู่บนพื้นฐานเดียวกันทุกราย 11.3 นโยบายหรื อ แนวโน้ ม การทำ � รายการระหว่ า งกั น ในอนาคต ในอนาคต บริษทั คงมีการเข้าทำ�รายการระหว่างกันตาม แต่เห็นสมควร โดยจะปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
154
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อบังคับ ประกาศ คำ�สัง่ หรือ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งเป็น ไปตามมาตรฐานบัญชี เรื่องการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกันซึง่ กำ�หนดโดยสมาคมนักบัญชีและ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย 11.4 มาตรการการกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานทีเ่ กีย่ วข้องกับ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ในลักษณะอื่น นอกจากการทำ�รายการทีแ่ สดงเป็นรายการระหว่างกันแล้ว บริ ษั ท ยั ง มี ก ารทำ � รายการที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ บุ ค คลที่ อ าจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่น เช่น การทำ�งาน ร่ ว มกั น ในลั ก ษณะ Consortium หรือ อาจมีก ารแข่งขัน กันในธุรกิจ ซึง่ บริษทั มีมาตรการในการกำ�กับดูแลการดำ�เนินงาน ดังนี้ การทำ�งานร่วมกันระหว่างบริษทั กับบุคคลทีอ่ าจมีความขัด แย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะของ Consortium ในการเข้าร่วมประมูลหรือรับงานร่วมกันในลักษณะ Consortium บริษัทและบริษัทที่จะทำ�งานร่วมกันจะร่วมกัน พิจารณาขอบเขตของงานและความรับผิดชอบของแต่ละฝ่ายใน โครงการนั้นๆ โดยพิจารณาจากความถนัดและประสบการณ์ ตลอดจนความสามารถในการแข่ ง ขั น ของแต่ ล ะฝ่ า ย ซึ่งการจัดสรรขอบเขตและความรับผิดชอบที่เหมาะสมจะ ทำ�ให้ Consortium มีโอกาสชนะการประมูลสูงขึ้น และ ภายหลังการแบ่งขอบเขตงานที่ชัดเจน บริษัทและบริษัทที่ ร่วมประมูลด้วยกันจะแยกกันจัดเตรียมข้อเสนอทางด้านราคา สำ�หรับงานในส่วนของตน และรวบรวมเป็นข้อเสนอร่วม ในการจั ด เตรี ย มข้ อ เสนอทางด้ า นราคา บริ ษั ท จะพิ จ ารณาถึ ง ผลประโยชน์ ข องตั ว บริ ษั ท เองเป็ น สำ � คั ญ โดยราคาข้ อ เสนอจะถู ก กำ � หนดจากการประเมิ น ต้ น ทุ น อย่างละเอียดและเคร่งครัดและบวกด้วยอัตรากำ�ไรทีเ่ หมาะสม โดยผ่านการอนุมัติจากทั้งคณะกรรมการบริษัท และคณะ กรรมการบริหารของบริษัท และคณะกรรมการตรวจสอบ จะพิจารณาขอบเขตของงานและผลประโยชน์ทจ่ี ดั สรรสำ�หรับ การร่วมงานในลักษณะ Consortium อย่างใกล้ชิดเพื่อให้ การจัดสรรดังกล่าวมีความสมเหตุสมผลและเป็นไปเพือ่ ประโยชน์ สูงสุดของบริษัท
ในการดำ � เนิ น งานสำ � หรั บ โครงการในลั ก ษณะ ของ Consortium นี้ บริษัทและบริษัทที่รับงานร่วมกัน จะรับผิดชอบทัง้ ในด้านรายรับและรายจ่ายในส่วนงานของตนเอง อย่างเป็นอิสระต่อกัน
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
การแข่งขันกันทางธุรกิจระหว่างบริษัทและบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ทีผ่ า่ นมาบริษทั ไม่เคยมีประวัตกิ ารแข่งขันกันทางธุรกิจ กับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์กนั เลย สำ�หรับ ITD ซึง่ มีธรุ กิจรับเหมางานก่อสร้างโยธา (Civil Engineering) อันเป็นธุรกิจที่แตกต่างจากธุรกิจการให้บริการทางวิศวกรรม แบบครบวงจร (Integrated EPC) ของบริษทั อย่างชัดเจน บริษทั และ ITD จึงไม่มกี ารแข่งขันกันโดยตรงในการประมูลงาน อย่างไรก็ดี ธุรกิจของบริษัทฯ อาจมีความเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ ของ ITD ในลักษณะของการว่าจ้าง ITD เป็นผู้รับเหมาช่วง (Subcontractor) ซึ่งในการว่าจ้างผู้รับเหมาช่วงที่สำ�คัญ บริษทั จะมีการเรียกให้ผรู้ บั เหมาช่วงต่างๆ ยืน่ ข้อเสนอแข่งขันกัน โดยบริ ษั ท มี ขั้ น ตอนและเกณฑ์ ใ นการคั ด เลื อ กที่ โ ปร่ ง ใส และเป็นธรรมต่อผู้ยื่นข้อเสนอทุกราย ทั้งนี้ ITD ก็ได้รับ การปฏิบัติไม่แตกต่างจากผู้รับเหมาช่วงรายอื่นๆ สำ�หรับ TEC ซึ่งมีธุรกิจลักษณะเหมือนกันกับบริษัท บริษัทพิจารณาว่าความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทและ TEC เป็นไปในลักษณะที่เกื้อหนุนกันมากกว่าการแข่งขันกัน ทั้งนี้ ในการเข้าประมูลงานในโครงการใดโครงการหนึ่งจะมีกลไก ตามธรรมชาติเป็นตัวกำ�หนดขอบเขตการดำ�เนินงานและ ป้องกันการแข่งขันกันระหว่างบริษัทและ TEC โดยเบื้องต้น กลไกดังกล่าวได้แก่ – มูลค่าหรือขนาดโครงการ โดย TEC จะมุ่งเน้น โครงการทีม่ มี ลู ค่ามากกว่า 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ในขณะที่ (ในอดีตมา) มีนโยบายขยายขอบเขต การให้บริการสำ�หรับโครงการทีม่ ขี นาดมูลค่า 300 – 500 ล้านเหรียญสหรัฐ – ความยากง่ายและความสลับซับซ้อนทางเทคโนโลยี ตลอดจนประสบการณ์ ห รื อ Track Record ของบริษทั ฯ หรือ TEC ในโครงการประเภทนัน้ ๆ – ความสัมพันธ์หรือความคุน้ เคยกับลูกค้าแต่ละราย – ความสามารถในการแข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในด้านต้นทุนการดำ�เนินงานเมือ่ เทียบกับคูแ่ ข่งอืน่
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
155
อาทิ ในบางโครงการซึง่ มีขนาดโครงการไม่ใหญ่มาก พนักงานปัจจุบันของบริษัทร้อยละ 3.47 และ (6) ผู้ลงทุน หรื อ โครงการที่ มี คู่ แ ข่ ง เป็ น บริ ษั ท ผู้ รั บ เหมา ทัว่ ไป ประมาณร้อยละ 49.63 ซึง่ มีการถ่วงดุลอำ�นาจระหว่าง จากประเทศกำ�ลังพัฒนาอื่น เช่น เกาหลี TEC ผู้ถือหุ้นกลุ่มต่างๆ ค่อนข้างดี อาจไม่สามารถเข้าแข่งขันประมูลงานได้เนื่องจาก นอกจากการถ่วงดุลในโครงสร้างการถือหุน้ ตามทีไ่ ด้กล่าว มีต้นทุนการดำ�เนินงานที่สูงกว่า ข้างต้น โครงสร้างการบริหารงานของบริษทั ยังมีความเป็นอิสระ สำ � หรั บ บริ ษั ท อื่ น ๆ ในกลุ่ ม TEC ส่ ว นใหญ่ เ น้ น จากการมีอิทธิพลของผู้ถือหุ้นกลุ่มหนึ่งกลุ่มใดค่อนข้างมาก การให้บริการด้าน Engineering and Design เท่านัน้ บริษทั ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัท ปัจจุบันประกอบไปด้วยกรรมการ ไม่ได้มองว่าบริษทั เหล่านีเ้ ป็นคูแ่ ข่งแต่เป็นเครือข่ายทีส่ ง่ เสริม ทั้งสิ้น 9 ท่าน โดยเป็นกรรมการอิสระ 3 ท่าน ตัวแทนของ ธุรกิจซึง่ กันและกันมากกว่า หากบริษทั เข้าไปรับงานหรือนำ�เข้า TEC 1 ท่าน ตัวแทนของ CHIYODA CORPORATION 1 อุปกรณ์จากประเทศเหล่านี้ การมีบริษทั ในท้องถิน่ ซึง่ เชือ่ ถือได้ ท่าน ตัวแทนของ ITD 1 ท่าน และกรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร 3 เป็นพันธมิตรจะช่วยให้บริษัทสามารถทำ�งานได้สะดวกและ ท่าน ในขณะทีค่ ณะกรรมการบริหารของบริษทั ประกอบไปด้วยผู้ ลดความเสี่ยงทางธุรกิจเนื่องจากเครือข่ายและความสัมพันธ์ บริหารของบริษทั ซึง่ ไม่ใช่ตวั แทนของ TEC หรือ CHIYODA ทีม่ กี บั ผูร้ บั เหมาช่วงหรือผูจ้ �ำ หน่ายวัสดุอปุ กรณ์ในท้องถิน่ ทีด่ กี ว่า CORPORATION หรือ ITD ดังนั้น การตัดสินใจใดๆ แต่ทั้งนี้ไม่ใช่ลักษณะของการพึ่งพากัน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การประกอบธุ ร กิ จ ปกติ ข องบริ ษั ท จึ ง สำ�หรับ บริษัท ชิโยดะ คอร์ปอเรชั่น (ญี่ปุ่น) ซึ่งเป็น เป็ น ไปโดยอิ ส ระภายใต้ ก ารพิ จ ารณาของคณะกรรมการ ผู้ถือหุ้นในบริษัท 3% และเป็นผู้ถือหุ้นใน บจ. ชิโยดะ (ไทย บริหารและปราศจากอิทธิพลของ TEC หรือ CHIYODA แลนด์) อีกด้วย บริษทั พิจารณาว่าความสัมพันธ์ระหว่างบริษทั CORPORATION หรือ ITD และ บจ. ชิโยดะ (ไทยแลนด์) เป็นไปในลักษณะที่เกื้อหนุน ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ตระหนักถึงขอบเขต กันมากกว่าการแข่งขันกัน นอกจากนี้ บริษัทยังมีการถ่วงดุลอำ�นาจในโครงสร้าง ในการพิ จ ารณารายการระหว่ า งกั น และจะดู แ ลให้ ก าร การถือหุ้นของบริษัทและโครงสร้างคณะกรรมการของบริษัท ดำ � เนิ น การดั ง กล่ า วเป็ น ไปด้ ว ยความสมเหตุ ส มผล เพื่ อ ปัจจุบันผู้ถือหุ้นของบริษัทประกอบไปด้วยผู้ถือหุ้นทั้งสิ้น 6 ประโยชน์สูงสุดของบริษัท ในส่วนของโครงสร้างการจัดการ กลุ่ม ได้แก่ (1) TEC ถือหุ้นร้อยละ 17.43 (2) CHIYODA ของบริษทั ซึง่ ในปัจจุบนั มีการถ่วงดุลทีค่ อ่ นข้างดี และเป็นอิสระ CORPORATION (ญีป่ นุ่ ) ถือหุน้ ร้อยละ 3.0 (3) ITD ถือหุน้ ปราศจากการมีอิทธิพลของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ คณะกรรมการ ร้อยละ 3.29 (4) กลุม่ ผูบ้ ริหารของบริษทั ซึง่ ถือหุน้ ทัง้ โดยตรง ตรวจสอบจะคอยดูแลและรายงานภาพโครงสร้างการถือหุ้น ร้อยละ 16.28 และผ่าน บจ.โกลบอล บิสซิเนส แมเนจเมนท์ ดังกล่าวในอนาคตว่ามีการเปลีย่ นแปลงไปหรือไม่ และจะกระทบ (“GBM”) ร้อยละ 6.90 (5) ผู้ถือหุ้นอื่นอันประกอบไปด้วย ต่อความเป็นอิสระในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทอย่างไร
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
156
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท บริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 50 ของกำ�ไรสุทธิหลังจากหักภาษีและเงินสำ�รองตามกฎหมาย ทั้งนี้คณะกรรมการของบริษัทมีอำ�นาจในการพิจารณายกเว้นไม่ดำ�เนินการตามนโยบายดังกล่าวหรือเปลี่ยนแปลงนโยบายดังกล่าว ได้เป็นครั้งคราว โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่การดำ�เนินการดังกล่าวจะต้องก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น เช่น ใช้เป็นทุนสำ�รอง สำ�หรับการชำ�ระคืนเงินกู้ ใช้เป็นเงินลงทุนเพื่อขยายธุรกิจของบริษัท หรือกรณีมีการเปลี่ยนแปลงสภาวะตลาดซึ่งอาจมีผลกระทบต่อ กระแสเงินสดของบริษัทในอนาคต
นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย สำ�หรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษทั ย่อย คณะกรรมการของบริษทั ย่อยจะพิจารณาจากกระแสเงินสดคงเหลือเทียบกับ งบลงทุนของบริษัทย่อย โดยมิได้กำ�หนดอัตราการจ่ายเงินปันผลที่แน่นอน หากกระแสเงินสดคงเหลือมีเพียงพอและได้ตั้งสำ�รอง ตามกฎหมายแล้ว คณะกรรมการของบริษัทย่อยจะพิจารณาจ่ายเงินปันผลเป็นกรณีไป
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
157
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ต่อรายงานทางการเงิน ประจ�ำปี 2558 งบการเงินของบริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ได้จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังและประมาณการที่สมเหตุสมผล ในการจั ด ทำ � รวมทั้ ง มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล สำ � คั ญ อย่ า งเพี ย งพอในหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น เพื่ อ ประโยชน์ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น และ นักลงทุนทั่วไป ในการนี้ คณะกรรมการบริษัท ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระ เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ เกี่ยวกับการสอบทานคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบได้ แสดงไว้ในรายงานประจำ�ปีแล้ว คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริษัท โดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจ และสามารถสร้าง ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ของงบการเงินเฉพาะบริษัท และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
(นายฮิโรโนบุ อิริยา) ประธานกรรมการบริษัท
รายงานประจ�ำปี 2558
(นายทิวา จารึก) กรรมการบริษัท
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
158
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร 1. ผลการดำ�เนินงานสำ�หรับ ปี 2558 บริษัทมีกำ�ไรขั้นต้น และกำ�ไรสุทธิสำ�หรับเป็นจำ�นวน 1.6 พันล้านบาท และ 566 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 29% และ 25% เมื่อเทียบกับปี 2557 ตามลำ�ดับ ผลการดำ�เนินงานที่ดีขึ้น สืบเนื่องมาจากบริษัทย่อยในประเทศเมียนมาร์ คือ TOYO THAI POWER MYANMAR COMPANY LIMITED (หรือ TTPMC) ซึ่งเป็นเจ้าของโครงการโรงไฟฟ้า 120 MW CCGT ในเขต Ahlone ณ เมืองย่างกุ้ง (หรือ Ahlone Project) ทีเ่ ริม่ ผลิตกระแสไฟฟ้าแบบ Combined-Cycle เมือ่ ช่วงกลางปี 2558 ซึง่ เป็นการดำ�เนินงานในปีที่ 3 ภายใต้สญ ั ญา สัมปทาน 30 ปี นอกจากนีก้ ารอ่อนค่าของค่าเงินบาทซึง่ หนุนให้ บริษัท มีกำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจำ�นวน 286 ล้านบาท อย่างไรก็ตามบริษัทได้รับผลกระทบจากส่วนแบ่งขาดทุน 2. รายงานวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานตามงบการเงินรวม
จากส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้าในประเทศเวียดนามจำ�นวน 155 ล้านบาท และการเพิ่มขึ้นของต้นทุนทางการเงินจำ�นวน 355 ล้านบาท บริ ษั ท มี ก ารบั น ทึ ก ผลต่ า งของอั ต ราแลกเปลี่ ย น จากการแปลงค่างบการเงินเป็นจำ�นวน 375 ล้านบาท ซึ่ง มีสาเหตุเดียวกันกับการเกิดกำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยน เป็น ผลทำ�ให้กำ�ไรเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับงวดเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า เป็นจำ�นวน 941 ล้านบาท เนื่องจาก TTPMC มีบทบาท ความสำ�คัญต่อกำ�ไรสุทธิในปี 2558 ซงึ่ บริษทั ถือหุน้ ใน TTPMC ในสัดส่วน 70% ของหุ้นทั้งหมด เมื่อปันส่วนกำ�ไรสำ�หรับงวด ให้ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม ทำ�ให้การแบ่งปันกำ�ไร สำ�หรับงวดส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนใหญ่และกำ�ไรต่อหุ้น ขัน้ พืน้ ฐานลดลง 10% จากปีทแี่ ล้ว ถูกบันทึกเป็นจำ�นวน 423 ล้านบาท และ 0.75 บาทต่อหุ้น ตามลำ�ดับ สำ�หรับปี 31 ธันวาคม 2558 ล้านบาท %
รายได้
รายได้จากการก่อสร้างและให้บริการ รายได้จากการก่อสร้างตามสัญญาสัมปทาน รายได้จากการบริหารงานโรงไฟฟ้า รวมรายได้ หัก ต้นทุนในการก่อสร้างและให้บริการ หัก ต้นทุนในการก่อสร้างตามสัญญาสัมปทาน หัก ต้นทุนจากการบริหารงานโรงไฟฟ้า รวมต้นทุน กำ�ไรขั้นต้น บวก รายได้อื่น หัก กำ�ไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน หัก ค่าใช้จ่ายในการบริหาร บวก ส่วนแบ่งผลกำ�ไร(ขาดทุน)จากบริษัทร่วม บวก ส่วนแบ่งผลกำ�ไร(ขาดทุน)จากส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า กำ�ไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ หัก ต้นทุนทางการเงิน กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้ หัก ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำ�ไรสำ�หรับงวด บวก(ขาดทุน) ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่างบการเงิน กำ�ไรเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับงวด การแบ่งปันกำ�ไรสำ�หรับงวด: ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม
กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท)
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
20,765.5 83.2 675.0 21,523.7 (19,684.1) (78.2) (154.1) (19,916.4) 1,607.3 184.7 286.0 (869.3) 25.4 (155.3) 1,078.8 (354.7) 724.1 (157.9) 566.2 375.2 941.4
422.6 143.6 566.2 0.75
31 ธันวาคม 2557 ล้านบาท %
เปลี่ยนแปลง %
96.48% 17,554.7 89.68% 18.29% 9.10% (95.33%) 0.39% 1,781.8 1.22% 182.69% 238.8 3.14% 9.95% 100.00% 19,575.3 100.00% 91.45% (16,709.8) 85.36% 17.80% 7.88% (94.93%) 0.36% (1,543.4) 0.40% 96.32% 0.72% (78.5) 8.64% 92.53% (18,331.7) 93.65% 6.35% 29.25% 7.47% 1,243.6 1.12% (15.57%) 218.8 0.86% 1.33% (36.1) (0.18%) 891.45% 5.03% (4.04%) (827.6) (4.23%) 0.25% (47.35%) 48.3 0.12% (0.72%) (28.2) (0.14%) 450.34% 3.16% 74.38% 618.7 5.01% 1.65% (106.0) (0.54%) 234.52% 2.62% 41.25% 512.6 3.36% 0.30% 168.04% 0.73% (58.9) 2.32% 24.79% 453.7 2.63% 1.2 (0.01%) 30654.10% 1.74% 2.32% 106.93% 454.9 4.37%
469.7 (16.0) 453.8 0.84
(10.04%) (1000.00%) 24.78% (10.04%)
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
2.1 การวิเคราะห์รายได้ ต้นทุนและค่าใช้จ่าย 2.1.1 รายได้ รายได้ ร วมเพิ่ ม ขึ้ น 10% และบั น ทึ ก เป็ น จำ � นวน 21.5 พั น ล้ า นบาท รายได้ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่ า งมี นั ย สำ � คั ญ นั้ น มาจากรายได้จากการก่อสร้างและรายได้จากการบริหารงาน โรงไฟฟ้า ในปี 2558 • ธุรกิจ EPC รายได้ จ ากการก่ อ สร้ า งและให้ บ ริ ก ารเพิ่ ม ขึ้ น 18% เป็ น จำ � นวน 21 พั น ล้ า นบาท ซึ่ ง เป็ น สั ด ส่ ว น มากกว่ า 95% ของรายได้ ทั้ ง หมด โดยมี 5 โครงการ ที่ รั บ รู้ ร ายได้ ม ากกว่ า 80% ของรายได้ ทั้ ง หมด มาจาก 5 โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าในประเทศ PPTC/SSUT และ IRPC (มูลค่า 7.5 พันล้านบาท หรือ 36%) โครงการ Qatar’s Desalination Plant Project Phase 2 (มูลค่า 5.0 พันล้านบาท หรือ 24%) และโครงการ Malaysia’s RAPID (มูลค่า 4.0 พันล้านบาท หรือ 20%) ณ สิ้นปี 2558 ความคืบหน้าโดยรวมของการก่อสร้าง โรงไฟฟ้าในประเทศ 5 โครงการนั้นมีความคืบหน้าเกินกว่า 90% และคาดการณ์ ว่ า จะแล้ ว เสร็ จ สมบู ร ณ์ ใ นปี 2559 โครงการ Qatar’s Desalination Plant Project Phase 2 เสร็ จ สิ้ น ไปแล้ ว เกื อ บครึ่ ง หนึ่ ง ของมู ล ค่ า สั ญ ญา ขณะที่ โครงการ Malaysia’s RAPID เสร็ จ สิ้ น แล้ ว ประมาณ หนึ่งในสี่ของมูลค่าสัญญา ทั้งสองโครงการยังคงมีบทบาท
และเป็ น โครงการที่ สำ � คั ญ ในปี 2559 ร่ ว มกั บ โครงการ the Rock Salt Exploitation ในประเทศ สปป.ลาว โครงการ ROC Debottlenecking และโครงการ PTTGC’s LLDPE ในประเทศไทย ซึ่ ง โครงการเหล่ า นี้ เ ป็ น โครงการใหม่ ในปี 2558 นี้ • ธุรกิจโรงไฟฟ้า โครงการ Ahlone สามารถผลิ ต กระแสไฟฟ้ า แบบ Combined-Cycle ด้วยกำ�ลังการผลิตจำ�นวน 120 MW ในเดื อ นพฤษภาคม 2558 เป็ น ผลทำ � ให้ ร ายได้ จ ากการ บริหารงานโรงไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 182% ถูกบันทึกเป็นจำ�นวน 675 ล้านบาท ภายใต้ข้อตกลงสัมปทานกับรัฐบาลประเทศ เมียนมาร์ TTPMC เป็นผูร้ บั สัมปทานของโครงการ Ahlone โดยมีสัญญาสัมปทานแบบ Build-Operate-Transfer (BOT) เป็นระยะเวลา 30 ปี และสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าเป็นแบบ “Take-or-Pay” โดยมีการกำ�หนดปริมาณการรับซื้อขั้นต่ำ� ตลอดระยะเวลาสัมปทาน 2.1.2 ต้นทุนและกำ�ไรขั้นต้น ต้นทุนรวมเพิ่มขึ้นเป็นสัดส่วนเดียวกันกับรายได้รวม และได้ลดลง จาก 93.7% ในปี 2557 เป็น 92.5% ซึง่ สาเหตุหลัก เกิ ด จากการดำ � เนิ น งานที่ ดี ข องการบริ ห ารโรงงานไฟฟ้ า ในปี 2558 ประกอบกับการปรับตัวขึน้ เล็กน้อยของอัตรากำ�ไร ขัน้ ต้นในงานการก่อสร้าง EPC ทำ�ให้ปี 2558 มีขนั้ ต้นเพิม่ ขึน้ จาก 6.4% เป็น 7.5% ดังที่แสดงในตารางด้านล่าง
เปรียบเทียบอัตรากำ�ไรขั้นต้น 31 ธันวาคม 2558
รายได้จากการก่อสร้างและให้บริการ รายได้จากการก่อสร้างสัญญาสัมปทาน รายได้จากการบริหารงานโรงไฟฟ้า รวม 31 ธันวาคม 2557
รายได้จากการก่อสร้างและให้บริการ รายได้จากการก่อสร้างสัญญาสัมปทาน รายได้จากการบริหารงานโรงไฟฟ้า รวม
รายงานประจ�ำปี 2558
รายได้
20,765.4 83.2 675.0 21,523.6 รายได้
17,554.7 1,781.8 238.8 19,575.3
159
ต้นทุน
(19,685.9) (78.2) (154.1) (19,918.2)
รวมรายได้
1,079.54 4.99 520.89 1,605.42
ต้นทุน
(16,709.8) (1,543.4) (78.5) (18,331.7)
รวมรายได้
844.86 238.41 160.28 1,243.55
%
5.2% 6.0% 77.2% 7.5% %
4.8% 13.4% 67.1% 6.4%
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
160
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
2.1.3 รายได้อื่นและกำ�ไร (ขาดทุน) จากอัตรา แลกเปลี่ยน รายได้ อ่ื น ลดลง 15% จากปี ท่ี แ ล้ ว ถู ก บั น ทึ ก เป็นจำ�นวน 185 ล้านบาท แหล่งที่มาหลักของรายได้อื่น มาจากรายได้ ด อกเบี้ ย และจากการคำ � นวณสิ น ทรั พ ย์ ทางการเงินในช่วงระยะเวลาสัมปทานของ TTPMC จำ�นวน 167 ล้านบาท สาเหตุที่ลดลงนั้นมาจากในปี 2557 มีการรับรู้ รายได้ อื่ น จากรายการซึ่ ง ไม่ ใ ช่ ร ายการที่ เ กิ ด ขึ้ น ประจำ � จากบริษัทย่อย GNE Japan จำ�นวน 44 ล้านบาท ซึ่งไม่มี รายการดังกล่าวในปี 2558 กำ � ไรจากอั ต ราแลกเปลี่ ย นเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งมาก เป็น 286 ล้านบาท ประกอบด้วยกำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ที่ รั บ รู้ แ ล้ ว 88 ล้ า นบาท และกำ � ไรจากอั ต ราแลกเปลี่ ย น ที่ ยั ง ไม่ รั บ รู้ 198 ล้ า นบาท อั น เนื่ อ งมาจากการอ่ อ นค่ า ของสกุลเงินบาทระหว่างงวด
ของ TTPMC จำ�นวน 28 ล้านบาท จากการเริ่มดำ�เนินงาน ของ Combined-Cycle stage ในครึ่งปีหลังของปี 2558 2.1.5 ส่วนแบ่งกำ�ไรจากบริษัทร่วมและส่วนได้เสีย ในกิจการร่วมค้า ส่ ว นแบ่ ง กำ � ไรจากบริ ษั ท ร่ ว มลดลงเป็ น จำ � นวน 25 ล้านบาท เนื่องมาจากปี 2557 บริษัทย่อยได้ทำ�การซื้อ เงินลงทุนและมีการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ จากการลงทุนในบริษัทร่วม (บริษัท สยาม โซล่า เพาเวอร์ จำ�กัด) ทำ�ให้เกิดกำ�ไรจากการต่อรองราคาซื้อเงินลงทุนเป็น จำ�นวน 22 ล้านบาท อีกทั้งบริษัทบันทึกส่วนแบ่งขาดทุนจาก ส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้าเป็นจำ�นวน 155 ล้านบาทจาก Orient Bio-Fuels Co., Ltd. (OBF) ในประเทศเวียดนาม ซึ่งสะท้อนถึงผลขาดทุนของ OBF ระหว่างงวด ซึ่งรวมถึง ภาระจากการลงทุนและผลกระทบจากผลการดำ�เนินงานของ บริษัท ภายใต้ตามวิธีส่วนได้เสีย
2.1.6 ต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ 2.1.4 ค่าใช้จ่ายการบริหาร ต้ น ทุ น ทางการเงิ น สำ � หรั บ งวดเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น จำ � นวน ค่ า ใช้ จ่ า ยการบริ ห ารเพิ่ ม ขึ้ น 5% ถู ก บั น ทึ ก 355 ล้านบาท สะท้อนให้เห็นถึงกิจกรรมการจัดหาเงินของ เป็ น จำ � นวน 869 ล้ า นบาท เกิ ด จากการเพิ่ ม ขึ้ น ของ บริ ษั ท เพื่ อ รองรั บ การลงทุ น ในโครงการ Ahlone และ ค่ า ใช้ จ่ า ยในบริ ษั ท ย่ อ ย อาทิ บริ ษั ท รั บ รู้ ข าดทุ น จากการ เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนในธุรกิจ EPC อีกทั้งภาษีเงินได้ ด้อยค่าใน Bio-Natural Energy Co., Ltd. (BNE) ถูกบันทึกเป็นจำ�นวน 158 ล้านบาท บริษัทบันทึกกำ�ไรสุทธิ จำ � นวน 37 ล้ า นบาท ของโรงไฟฟ้ า ขนาด 1.2 MW สำ�หรับงวดปี 2558 เป็นจำ�นวน 566 ล้านบาท หรือ 25% ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่าย เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว
3. รายงานวิเคราะห์ฐานะการเงิน 3.1 การวิเคราะห์สินทรัพย์ (หน่วย – ล้านบาท)
ส ินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557
18,118.07 7,776.63 25,894.70
15,677.35 6,974.24 22,651.59
เพิ่ม/(ลดลง)
2,440.72 802.39 3,243.11
% เปลี่ยนแปลง
15.57% 11.51% 14.32%
สำ � หรั บ ปี 2558 สิ น ทรั พ ย์ ร วมถู ก บั น ทึ ก เป็ น จำ � นวน 25.9 พั น ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 14.3% สะท้ อ นถึ ง ค ว า ม คื บ ห น้ า ข อ ง โ ค ร ง ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง E P C แ ล ะ การลงทุนในโรงงานไฟฟ้าระหว่างงวด สิ น ทรั พ ย์ ห มุ น เวี ย นรวมเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น จำ � นวน 18.1 พั น ล้ า นบาท โดยมาจากโครงการก่ อ สร้ า งที่ มี มู ล ค่ า สั ญ ญาสู ง เช่ น RAPID Project ในประเทศมาเลเซี ย และ Desalination Plant Phase 2 ในประเทศกาตาร์
ซึ่งทั้งสองโครงการได้รับสัญญาก่อสร้างในช่วงปลายปี 2557 และเริ่มการก่อสร้างต้นปี 2558 การเปลี่ยนแปลงมาจาก 1) ลู ก หนี้ ก ารค้ า และงานระหว่ า งก่ อ สร้ า ง– กิ จ การอื่ น เพิ่มขึ้น 700 ล้านบาท และ 2.26 พันล้านบาท ตามลำ�ดับ ทั้งนี้ ลูกหนี้การค้าจำ�นวน 600 ล้านบาท และ งานระหว่าง ก่อสร้างจำ�นวน 900 ล้านบาท มาจากโครงการในประเทศ กาตาร์ 2) ลูกหนี้ค่าก่อสร้างตามสัญญาที่ยังไม่ได้เรียกเก็บ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
– กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เพิ่มขึ้น 1.1 พันล้านบาท มาจาก RAPID Project สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเติบโตขึ้น 11% เป็นจำ�นวน 7.8 พันล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการลงทุนในสินทรัพย์
161
ทางการเงินภายใต้ข้อตกลงสัมปทานระยะยาวของโครงการ โรงไฟฟ้า Ahlone ทีป่ ระเทศเมียนมาร์ มูลค่า 5.8 พันล้านบาท
3.2 การวิเคราะห์หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น (หน่วย – ล้านบาท)
ห นี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557
13,129.32 6,476.52 19,605.83 6,288.86 25,894.70
การเปลี่ยนแปลงของหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้นที่มี สาระสำ�คัญมีดังนี้ หนี้สินรวม เพิ่มขึ้น 3.4 พันล้านบาท คิดเป็น 20.75% ซึ่ ง มี ส าเหตุ จ ากการเพิ่ ม ขึ้ น ของหนี้ ห มุ น เวี ย นและหนี้ สิ น ไม่หมุนเวียนจำ�นวน 1.5 พันล้านบาท และ 1.9 พันล้านบาท ตามลำ�ดับ สาเหตุ ห ลั ก ของการเคลื่อ นไหวในหนี้สิน หมุ น เวี ย น มาจากการเพิ่มขึ้นอย่างมากในต้นทุนงานก่อสร้างค้างจ่าย จำ � นวน 1.4 พั น ล้ า นบาท ซึ่ ง เกิ ด จากสาเหตุเดียวกันกับ การเพิม่ ขึน้ ของสินทรัพย์หมุนเวียนรวม อันได้แก่ความคืบหน้า ในโครงการก่อสร้าง Malaysia’s RAPID และ Qatar’s desalination plant
11,632.64 4,604.06 16,236.70 6,414.89 22,651.59
เพิ่ม/(ลดลง)
1,496.68 1,872.46 3,369.14 (126.03) 3,243.11
% เปลี่ยนแปลง
12.87% 40.67% 20.75% (-1.96%) 14.32%
หนี้ สิ น ไม่ ห มุ น เวี ย นเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น 6.5 พั น ล้ า นบาท จากการออกหุน้ กูร้ ะยะเวลา 3 ปีและ 5 ปี จำ�นวน 2 พันล้านบาท เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนระหว่างงวด ส่วนของผู้ถือหุ้น ลดลง 1.96% ส่วนของผู้ถือหุ้นยกมา ต้นงวดเป็นจำ�นวน 6.4 พันล้านบาท ในระหว่างงวดมีการ จ่ายปันผลระหว่างงวด จำ�นวน 297 ล้านบาท มีการลดลง ขององค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ จำ�นวน 763 ล้านบาท เป็นผลจากการเพิม่ สัดส่วนการลงทุนในบริษทั ย่อยในประเทศ สิงคโปร์ TTCL Power Holdings Pte. Ltd และกำ�ไร เบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับงวดจำ�นวน 941 ล้านบาท ทำ�ให้ส่วน ของผูถ้ อื หุน้ ณ 31 ธันวาคม 2558 เป็นจำ�นวน 6.3 พันล้านบาท
4. อัตราส่วนทางการเงินที่สำ�คัญ
อัตราส่วน
4.1. อัตรากำ�ไรขั้นต้น 4.2. อัตรากำ�ไรสุทธิต่อรายได้รวม 4.3. อัตราส่วนสภาพคล่อง 4.4. อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน 4.5. อัตราส่วนวัดความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย 4.6. มูลค่าหุ้นตามบัญชี 4.7. อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม 4.8. อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น 4.9. กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น
รายงานประจ�ำปี 2558
31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557
7.47% 2.63% 1.38 3.12 3.04 11.23 2.19% 9.00% 0.75
6.35% 2.32% 1.35 2.53 5.83 11.46 2.00% 7.07% 0.84
Favorable/Unfavorable
Favorable Favorable Neutral Unfavorable Unfavorable Unfavorable Favorable Favorable Unfavorable
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
162
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
5. รายการวิเคราะห์กระแสเงินสด (หน่วย – ล้านบาท)
31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557
กระแสเงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไปใน) จากกิจกรรมดำ�เนินงาน (953.79) กระแสเงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไปใน) จากกิจกรรมลงทุน (841.60) กระแสเงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไปใน) จากกิจกรรมจัดหาเงิน 1,680.41 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง)สุทธิ (114.98) บวก ยอดยกมาต้นงวด 1,611.31 กำ�ไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 75.26 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด-ยอดคงเหลือปลายงวด 1,571.59
(6,973.97) (164.21) 6,416.13 (722.05) 2,387.66 (54.30) 1,611.31
ณ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทมีเงินสดและรายการ - การเปลี่ ย นแปลงของงานระหว่ า งก่ อ สร้ า ง เทียบเท่าเงินสด-ยอดคงเหลือปลายงวดเป็น 1,572 ล้านบาท จำ�นวน 2,474 ล้านบาท ลดลงเล็กน้อย 115 ล้านบาท จากปีที่แล้ว การเปลี่ยนแปลง - การเปลี่ยนแปลงของเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ดังกล่าวเป็นผลมาจากกระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในจากกิจกรรม ตามสัญญาก่อสร้าง 1,153 ล้านบาท ดำ�เนินงานเป็น 954 ล้านบาท กระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในจาก กิจกรรมลงทุนเป็น 842 ล้านบาท และกระแสเงินสดสุทธิได้มา 5.2 เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมการลงทุนจำ�นวน จากกิจกรรมจัดหาเงินเป็น 1,680 ล้านบาท ซึง่ สามารถอธิบาย 842 ล้านบาท โดยรายการที่มีการเปลี่ยนแปลง รายละเอียดได้ดังนี้ อย่างมีสาระสำ�คัญคือ 5.1 เงิ น สดสุ ท ธิ ใ ช้ ไ ปในกิ จ กรรมการดำ � เนิ น งาน + เงินสดรับจากดอกเบีย้ รับจำ�นวน 171 ล้านบาท จำ � นวน 954 ล้ า นบาท โดยรายการที่ มี - เงิ น สดจ่ า ยซื้ อ เงิ น ลงทุ น ในส่ ว นได้ เ สี ย ที่ ไ ม่ มี อำ�นาจควบคุมจำ�นวน 763 ล้านบาท การเปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระสำ�คัญคือ + กระแสเงิ น สดก่ อ นการเปลี่ ย นแปลงของ - เงิ น สดจ่ า ยชำ � ระค่ า ซื้ อ หุ้ น ในกิ จ การร่ ว มค้ า จำ�นวน 136 ล้านบาท สินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงานจำ�นวน 1,709 ล้านบาท - เงินสดจ่ายซื้อเงินลงทุนในบริษัททั่วไปจำ�นวน + การเปลี่ ย นแปลงของเงิ น จ่ า ยล่ ว งหน้ า ให้ 84 ล้านบาท ผู้รับเหมาช่วงจำ�นวน 1,222 ล้านบาท 5.3 เงิ น สดได้ ม าจากกิ จ กรรมการจั ด หาเงิ น + การเปลีย่ นแปลงของต้นทุนงานก่อสร้างค้างจ่าย เป็ น จำ � นวน 1,680 ล้ า นบาท โดยรายการ จำ�นวน 1,409 ล้านบาท ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระสำ�คัญคือ - การเปลี่ ย นแปลงของลู ก หนี้ ก ารค้ า จำ � นวน + เงิ น สดรั บ จากการออกหุ้ น กู้ จำ � นวน 1,925 984 ล้านบาท ล้านบาท - การเปลี่ ย นแปลงในลู ก หนี้ ภ ายใต้ ข้ อ ตกลง - เงินปันผลจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น 297 ล้านบาท สัมปทานจำ�นวน 508 ล้านบาท 5.4 กำ � ไรจากอั ต ราแลกเปลี่ ย นของเงิ น สดและ รายการเทียบเท่าเงินสดจำ�นวน 75 ล้านบาท
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
วันที่ 31 ธันวาคม 2558
164
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
รายงานของผู ้สอบบัญชีรับอนุญาต รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ทีทีซีแอล จํากัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะบริ ษ ทั ของบริ ษัท ที ทีซี แอล จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่อย และ ของเฉพาะบริ ษทั ที ทีซีแอล จํากัด (มหาชน) ซึ� งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริ ษทั ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเฉพาะบริ ษ ทั งบแสดงการ เปลี�ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นรวมและงบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุ้นเฉพาะบริ ษทั และงบกระแสเงินสดรวมและ งบกระแสเงินสดเฉพาะบริ ษทั สําหรับปี สิ�นสุ ดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุ ปนโยบายการบัญชีท�ีสาํ คัญ และหมายเหตุเรื� องอื�น� ความรั บผิ ดชอบของผู้บริ หารต่ องบการเงิน ผูบ้ ริ หารเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการจัดทําและการนําเสนองบการเงินเหล่านี� โดยถูกต้องตามที�ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี�ยวกับการควบคุมภายในที�ผบู้ ริ หารพิจารณาว่าจําเป็ นเพื�อให้สามารถจัดทํางบการเงินที�ปราศจากการแสดงข้อมูล ที�ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจ ริ ตหรื อข้อผิดพลาด ความรั บผิ ดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการแสดงความเห็ นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ป ฏิ บ ตั ิ งาน ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญ ชี ซึ� งกํา หนดให้ขา้ พเจ้าปฏิบตั ิตามข้อกําหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและ ปฏิ บตั ิ งานตรวจสอบเพื� อ ให้ไ ด้ค วามเชื� อมัน� อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงิน ปราศจากการแสดงข้อมูลที�ข ัดต่อ ข้อ เท็ จ จริ ง อันเป็ นสาระสําคัญหรื อไม่ การตรวจสอบรวมถึ งการใช้วิธีการตรวจสอบเพื� อให้ได้มาซึ� งหลักฐานการสอบบัญชีเกี�ยวกับจํานวนเงินและการเปิ ดเผยข้อมูล ในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที� เลือกใช้ข�ึนอยู่กบั ดุลยพินิจของผูส้ อบบัญชี ซึ� งรวมถึงการประเมิ นความเสี� ยงจากการแสดงข้อมูล ที�ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญของงบการเงินไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี� ยงดังกล่าว ผูส้ อบบัญชีพิ จารณาการควบคุมภายในที�เกี�ยวข้องกับการจัดทําและการนําเสนองบการเงิน โดยถูกต้องตามที� ควรของกิจการ เพื�อออกแบบวิธีการตรวจสอบที�เหมาะสมกับสถานการณ� แต่ไม่ใช่เพื� อวัตถุประสงค�ในการแสดงความเห็ นต่อประสิ ท ธิผล ของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญ ชีที�ผ ูบ้ ริ หารใช้และ ความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีท�ีจดั ทําขึ�นโดยผูบ้ ริ หาร รวมทั�งการประเมินการนําเสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื�อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที�ขา้ พเจ้าได้รับเพี ยงพอและเหมาะสมเพื�อใช้เป็ น เกณ��ในการแสดงความเห็ นของข้าพเจ้า
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
165
166
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท ทีทีซบริ ีแอลษัทจำ�ทีกัดท(มหาชน) ีซีแอล จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน))
(เดิมช��อ บริษัท �ต�ย-�ทย คอร์ ปอเรชั�น จํากัด (มหาชน)) งบแสดงฐานะการเงิน ธันวาคม 2558 ณ วันที�่ 31วันธัทีน� 31วาคม พ.ศ.พ.ศ. 2558
งบแสดงฐานะการเงิน
สิ นทรัพย์
หมายเหตุ
งบการเงินรวม ปรับปรุงใหม่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บาท
สิ นทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว� คราว ลูกหนี�การค้า - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - กิจการอื�น ลูกหนี�จากการบริ หารงานโรงไฟฟ้ า ลูกหนี�ตามข้อตกลงสัมปทานบริ การ ทีถ� งึ กําหนดรับชําระในหนึ�งปี ลูกหนี�ค่าก่อสร้างตามสั��าทีย� งั ไม่ได้เรี ยกเก็บ - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - กิจการอื�น ลูกหนี�อื�น - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - กิจการอื�น งานระหว่างก่อสร้าง - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - กิจการอื�น เงินจ่ายล่วงหน้าให้ผูร้ บั เหมาช่วง - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - กิจการอื�น เงินจ่ายล่วงหน้าค่าหุ ้นให้แก่กิจการที�เกี�ยวข้องกัน เงินประกันผลงานที�ครบกําหนดภายใน 1 ปี - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน เงินให้กยู้ มื แก่กิจการที�เกี�ยวข้องกัน ทีถ� งึ กําหนดรับชําระในหนึ�งปี ดอกเบี�ยค้างรับจากเงิน ให้กยู้ มื แก่กิจการที�เกี�ยวข้องกัน ภาษีเงินได้หัก���ที�จ่าย ภาษีซ�ือรอเรี ยกคืน สิ นทรัพย�หมุนเวียนอื�น
8
1,571,593,289 -
1,611,307,931 4,320,000
242,604,630 -
283,185,927 -
9, 12 9
332,902,880 2,605,800,992 178,052,244
52,174,836 1,901,593,708 30,813,661
1,012,740,839 1,875,477,511 -
282,856,717 1,690,406,559 -
11
168,022,621
134,895,074
-
-
10.1, 12 10.2
1,514,942,439 4,470,972,116
400,827,596 5,387,533,660
2,139,398,816 3,483,251,968
1,381,562,251 3,286,936,631
12
43,206,991
56,496 93,814,151
21,263,372 39,088,605
9,551,688 47,815,137
12
298,957,302 6,260,601,909
92,476,844 3,992,910,217
120,287,945 4,559,476,608
92,476,844 3,005,280,412
12
305,925,153 -
1,528,603,235 -
25,569,822 188,819,572 -
80,092,854 77,465,620 -
12
25,000,000
46,285,200
25,000,000
46,285,200
12
1,526,316
34,489,316
1,306,530,421
590,630,400
12
361,894 186,088,655 94,849,606
674,568 69,297,387 218,707,703
46,438,228 184,150,218 70,866,934
7,101,633 67,951,901 202,491,307
รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน
61,852,757
76,568,475
14,290,774
18,642,531
18,120,657,164 15,677,350,058 15,355,256,263 11,170,733,612
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ในหน้า 14 ถึง 118 เป็ นส่ วนหนึ�งของงบการเงินนี� หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 177 ถึง 281 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
3
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
167
บริบริ ษษัทัท ทีทีททีซีซีแอล ีแอลจำ�จํกัดากั(มหาชน) ด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)) (เดิมช��อ บริษัท �ต�ย-ไทย คอร์ ปอเรชั�น จํากัด (มหาชน)) งบแสดงฐานะการเงิน �ณวันวัทีน� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
งบแสดงฐานะการเงิน
หมายเหตุ
งบการเงินรวม ปรับปรุงใหม่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บาท
144,376,615
131,858,922
63,018,988 -
74,272,243 -
584,350 11,447,368 5,834,582,842 189,251,036 11,052,259 757,159,890 196,602,989 308,994,976 29,889,888 125,151,293 125,037,039 42,497,017
12,973,684 5,356,820,835 158,902,444 12,547,700 673,439,990 152,669,505 288,317,912 24,199,958 4,065,561 106,367,410 52,076,660
584,350 28,977,368 2,324,770,831 757,159,890 82,862,527 28,344,625 27,852,623 29,500,118
35,000,000 1,410,586,285 62,499,900 673,439,990 77,714,384 23,211,749 21,901,958 26,145,555
7,776,627,562
6,974,240,581
3,343,071,320
2,404,772,064
สิ นทรัพย์ (ต่อ) สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน ลูกหนี�การค้า - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน เงิน�ากสถาบันการเงินที�ใช้เป็ นหลักคํ�าประกัน เงินประกันผลงาน - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - กิจการอื�น เงินลงทุนทีจ� ะถือไว้จนครบกําหนด เงินให้กยู้ มื แก่กิจการที�เกี�ยวข้องกัน ลูกหนี�ตามข้อตกลงสัมปทานระยะยาว เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย - สุทธิ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม - สุทธิ ส่วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้า เงินลงทุนทัว� ไป วัสดุสาํ รองคลัง ทีด� นิ �อาคารและอุปกร�์ - สุทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุทธิ ค่าความนิยม สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เงินจ่ายล่วงหน้าให้ผูร้ บั เหมาช่วง สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์
12 20
12 11 13 14 15 16 17 18 23
25,897,284,726 22,651,590,639 18,698,327,583 13,575,505,676
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ในหน้า 14 ถึง 118 เป็ นส่ วนหนึ�งของงบการเงินนี� หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 177 ถึง 281 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
4
168
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ัท ทีทีซคอร์ ีแอลปอเรชั จํากั่นดจำ(มหาชน) (เดิมชื่อ บริบริ ษัท ษโตโย-ไทย �กัด (มหาชน))
(เดิมชื�อ บริษัท �ต�ย-�ทย คอร� ปอเรชั�น จํากัด (มหาชน)) งบแสดงฐานะการเงิ น งบแสดงฐานะการเงิน ธันวาคม 2558 ณ วันที่�31วันธัทีน� 31วาคม พ.ศ.พ.ศ. 2558
หนีส� ิ นและส่ วน�อง�ู้ถอื หุ้น
หมายเหตุ
งบการเงินรวม ปรับปรุงใหม่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บาท
หนีส� ิ นหมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะสั�นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี�การค้า - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - กิจการอื�น เจ้าหนี�อื�น - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - กิจการอื - �น เงินกูย้ มื ระยะยาวทีถ� งึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี เงินกูย้ ืมระยะสั�นจากกิจการที�เกี�ยวข้องกัน ดอกเบี�ยค้างจ่ายแก่กิจการที�เกี�ยวข้องกัน เงินประกันผลงานผูร้ บั เหมาช่วง ต้นทุนงานก่อสร้างค้างจ่าย เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าตามสัญญาก่อสร้าง - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - กิจการอื�น รายได้ค่าก่อสร้างรับล่วงหน้า - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - กิจการอื�น ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หนี�สินภายใต้สญ ั ญาร่ วมทุน หนี�สินหมุนเวียนอื�น
19
3,187,715,104
3,138,995,567
3,187,715,104
3,138,995,510
12
193,088 2,646,462,022
2,169,182,505
16,790,755 1,897,403,359
32,735,157 1,580,643,746
12
48,630,062 398,611,654 268,729,359 3,961,054,952
45,319,855 243,969,257 2,551,443,812
888,218 45,668,352 163,142,100 552,870 255,779,415 3,217,433,397
43,552,626 314,575,400 1,885,428 167,987,693 1,431,817,216
12
307,537,548 1,588,273,079
310,634,312 2,738,407,230
130,135,879 1,135,035,049
63,259,457 399,311,111
10.3, 12 10.4
365,421,575 17,518,611 220,151,185 37,452,387 84,153,108
79,448,161 24,516,164 153,005,337 177,717,120
15,648,159 114,626,811 63,556,954
79,448,161 6,147,056 88,376,952 95,708,402
13,131,903,734 11,632,639,320 10,244,376,422
7,444,443,915
20 12 12
15
รวมหนีส� ิ นหมุนเวียน หนีส� ิ น�ม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู้ - สุทธิ รายได้รอการรับรู ้ หนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รวมหนีส� ิ น�ม่ หมุนเวียน รวมหนีส� ิ น
20 21 22 23 24
3,179,744,613 2,918,297,324 146,567,792 89,821,368 142,085,589
3,255,050,429 997,387,838 147,683,395 91,768,740 112,168,415
2,918,297,324 584,023 139,263,117
997,387,838 32,322 109,509,788
6,476,516,686
4,604,058,817
3,058,144,464
1,106,929,948
19,608,420,420 16,236,698,137 13,302,520,886
8,551,373,863
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ในหน้า 14 ถึง 118 เป็ นส่ วนหนึ�งของงบการเงินนี� หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 177 ถึง 281 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558 5
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
169
บริบริ ษษัทัท ทีทีททีซีซีแอล ีแอลจำ�จํกัดากั(มหาชน) ด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)) (เดิมชื�อ บริษัท �ต�ย-�ทย คอร� ปอเรชั�น จํากัด (มหาชน)) งบแสดงฐานะการเงิน �ณวันวัทีน� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
งบแสดงฐานะการเงิน
งบการเงินรวม ปรับปรุงใหม่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท
31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บาท
560,000,000
560,000,000
560,000,000
560,000,000
25 25
560,000,000 2,905,496,747
560,000,000 2,905,496,747
560,000,000 2,905,496,747
560,000,000 2,905,496,747
26
56,000,000 1,898,033,415 23,188,454
56,000,000 1,780,492,969 23,188,454
56,000,000 1,805,880,874 23,188,454
56,000,000 1,530,331,845 23,188,454
(462,876,761) 248,640,728
(44,548,774) 43,578,942
45,240,622
(50,885,233)
รวมส่วนของบริ ษทั ใหญ่ ส่วนได้เสี ยที�ไม่มอี าํ นาจควบคุม
5,228,482,583 1,060,381,723
5,324,208,338 1,090,684,164
5,395,806,697 -
5,024,131,813 -
รวมส่วนของผูถ้ อื หุ น้
6,288,864,306
6,414,892,502
5,395,806,697
5,024,131,813
หมายเหตุ
งบการเงินเฉพาะบริษัท
หนีส� ิ นและส่ วนของผู้ถอื หุ้น (ต่อ) ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ทุนเรื อนหุ น้ ทุนจดทะเบียน หุ ้นสามัญจํานวน 560,000,000 หุน้ มูลค่าที�ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ทุนทีอ� อกและ�ําระแล้ว หุ ้นสามัญจํานวน 560,000,000 หุน้ มูลค่าที��าํ ระไว้หุ้นละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ น้ สามัญ กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร ส่วนเกินทุนจากการให้หุ้นพนักงาน ส่วนตํ�าจากการเปลีย� นแปลงสัดส่วนการถือหุน้ ในบริ ษทั ย่อย องค�ประกอบอืน� ของส่วนของผูถ้ อื หุ น้
รวมหนีส� ิ นและส่ วนของผู้ถอื หุ้น
25
27 13
25,897,284,726 22,651,590,639 18,698,327,583 13,575,505,676
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ในหน้า 14 ถึง 118 เป็ นส่ วนหนึ�งของงบการเงินนี� หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 177 ถึง 281 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
6
170
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ัท ทีทีซีแคอร์ อล ปจํอเรชั ากัด่น(มหาชน) (เดิมชื่อ บริบริ ษัทษโตโย-ไทย จำ�กัด (มหาชน))
งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
(เดิมช��อ บริษทั �ต�ย-ไทย คอร� ปอเรชั�น จํากัด (มหาชน)) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ นที� ธั31นธัวาคม นวาคมพ.ศ. พ.ศ. 2558 สำ�หรับปีสําสหรัิ้นสุบดปี สิวั�นนสุทีด่ วั31 2558
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม ปรับปรุ งใหม่ พ.ศ. 2557 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2557 บาท
20,765,514,154 83,192,754 674,990,240
17,554,672,528 1,781,809,714 238,778,873
16,571,260,883 51,052,847
13,850,718,452 50,471,206
21,523,697,148
19,575,261,115
16,622,313,730
13,901,189,658
(19,684,104,859) (78,195,265) (154,125,723)
(16,709,812,081) (1,543,399,570) (78,459,344)
(15,427,357,221) (27,029,041)
(12,679,772,023) (24,400,101)
(19,916,425,847)
(18,331,670,995)
(15,454,386,262)
(12,704,172,124)
12, 32 14 15
1,607,271,301 184,685,432 285,950,914 (869,503,448) 25,438,324 (155,248,171)
1,243,590,120 218,753,320 (36,130,107) (827,612,002) 48,315,250 (28,212,045)
1,167,927,468 143,399,184 279,601,250 (674,395,540) -
1,197,017,534 67,309,644 39,842,916 (686,670,369) -
33
1,078,594,352 (354,501,631)
618,704,536 (106,039,625)
916,532,362 (185,394,273)
617,499,725 (72,443,724)
31
724,092,721 (157,899,553)
512,664,911 (58,907,236)
731,138,089 (150,579,717)
545,056,001 (115,373,774)
กําไรสํ าหรับปี
566,193,168
453,757,675
580,558,372
429,682,227
กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอ��น รายการทีจ� ะไม่จดั ประเภทรายการใหม่ไปยังกําไร หรื อขาดทุนในภายหลัง - สุทธิจากภาษี การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจากงาน ผลต่างของอัตราแลกเปลี�ยนจากการแปลงค่างบการเงิน
(8,215,399) 383,420,405
1,222,762
(8,215,399) 96,125,855
2,628,891
กําไรเบ็ดเสร็ จอืน� สําหรับปี - สุทธิจากภาษี
375,205,006
1,222,762
87,910,456
2,628,891
กําไรเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี
941,398,174
454,980,437
668,468,828
432,311,118
หมายเหตุ รายได้ รายได้จากการก่อสร้างและให้บริ การ รายได้จากการก่อสร้างตามสัญญาสัมปทาน รายได้จากการบริ หารงานโรงไฟฟ้ า
7, 12
รวมรายได้ ต้ นทุน ต้นทุนในการก่อสร้างและให้บริ การ ต้นทุนในการก่อสร้างตามสัญญาสัมปทาน ต้นทุนจากการบริ หารงานโรงไฟฟ้ า
12, 32
รวมต้ นทุน กําไรขั�นต้ น รายได้อื�น กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลีย� น - สุทธิ ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ส่ วนแบ่งกําไรจากบริ ษทั ร่ วม ส่ วนแบ่งขาดทุนจากส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้า กําไรก่ อนต้ นทุนทางการเงินและค่าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน กําไรก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
30
งบการเงินเฉพาะบริษัท
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ในหน้า 14 ถึง 118 เป็ นส่ วนหนึ�งของงบการเงินนี�
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 177 ถึง 281 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
7
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
171
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริ(เดิษมัทชื่อทีทบริีซษีแัทอลโตโย-ไทย จํากัด (มหาชน) คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)) (เดิมช��อ บริษทั �ต�ย-ไทย คอร� ปอเรชั�น จํากัด (มหาชน)) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สํ าสำหรั บปี บสิ�นปีสุสดิ้นวัสุนดที� วั31นธัทีน่ วาคม 2558 พ.ศ. 2558 �หรั 31 ธัพ.ศ. นวาคม
งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ หมายเหตุ
การแบ่ งปันกําไรสํ าหรับงวด ส่ วนที�เป็ นของ��ถ้ ือหุ ้นบริ ษทั ให�่ ส่ วนทีเ� ป็ นของส่ วนไ�้เสี ยที�ไม่มอี าํ นาจควบคุม
การแบ่ งปันกําไรเบ็ดเสร็จรวม ส่ วนที�เป็ นของ��ถ้ ือหุ ้นบริ ษทั ให�่ ส่ วนทีเ� ป็ นของส่ วนไ�้เสี ยที�ไม่มอี าํ นาจควบคุม
กําไรต่ อหุ�นส่ วนที�เป็ นของบริษัทให�่ กําไรต่อหุ น้ ขั�นพื�นฐาน
28
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม ปรับปรุ งใหม่ พ.ศ. 2557 บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2557 บาท
422,549,789 143,643,379
469,713,885 (15,956,210)
580,558,372 -
429,682,227 -
566,193,168
453,757,675
580,558,372
429,682,227
627,611,575 313,786,599
461,328,738 (6,348,301)
668,468,828 -
432,311,118 -
941,398,174
454,980,437
668,468,828
432,311,118
0.75
0.84
1.04
0.77
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ในหน้า 14 ถึง 118 เป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 177 ถึง 281 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
8
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
13
29
560,000,000
-
560,000,000
2,905,496,747
-
2,905,496,747
2,905,496,747 -
2,905,496,747
-
2,905,496,747
ส่ วนเกินมูลค่ า หุ้นสามัญ บาท
56,000,000
-
56,000,000
56,000,000 -
56,000,000
-
56,000,000
สํ ารอง ตามกฎหมาย บาท
1,898,033,415
(296,793,944) 422,549,789 (8,215,399) -
1,780,492,969
1,771,233,413 9,259,556
1,780,492,969
(391,987,098) 469,713,885 -
1,702,766,182
กําไรสะสม ทีย� งั ไม่ ได้จดั สรร บาท
23,188,454
-
23,188,454
23,188,454 -
23,188,454
23,188,454 -
-
(462,876,761)
(418,327,987) -
(44,548,774)
(44,548,774) -
(44,548,774)
(44,548,774) -
-
9,410,796
-
9,410,796
9,410,796 -
9,410,796
-
9,410,796
ส่ วนเกิน จากการลงทุน เพิ�มในบริษัทย่ อย บาท
239,229,932
205,061,786 -
34,168,146
34,168,146 -
34,168,146
(8,385,147) -
42,553,293
ผลต่ างจากการ แปลงค่ างบการเงิน บาท
248,640,728
205,061,786 -
43,578,942
43,578,942 -
43,578,942
(8,385,147) -
51,964,089
รวมองค� ประกอบอื�น ของส่ วนของผู้ถือหุ้น บาท
องค� ประกอบอื�นของส่ วนของผู้ถือหุ้น กําไรขาดทุนเบ�ดเสร�จอืน�
5,228,482,583
(296,793,944) 627,611,575 (418,327,987) (8,215,399) -
5,324,208,338
5,314,948,782 9,259,556
5,324,208,338
(391,987,098) 461,328,738 (44,548,774) 23,188,454 -
5,276,227,018
1,060,381,723
313,786,599 (344,194,263) 105,223
1,090,684,164
1,083,854,135 6,830,029
1,090,684,164
(6,348,301) 44,548,774 391,625,749
660,857,942
รวมส่ วนของ ส่ วนได้เสี ยทีไ� ม่ มี ผู้ถือหุ้นบริษทั ใหญ่ อํานาจควบคุม บาท บาท
6,288,864,306
(296,793,944) 941,398,174 (762,522,250) (8,215,399) 105,223
6,414,892,502
6,398,802,917 16,089,585
6,414,892,502
(391,987,098) 454,980,437 23,188,454 391,625,749
5,937,084,960
รวม ส่ วนของผู้ถือหุ้น บาท
งบการเงินรวม
9
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 177 ถึง 281 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ในหน้า 14 ถึง 118 เป็ นส่ วนหนึ�งของงบการเงินนี�
ยอดคงเหลือ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจากงาน การเพิ�มทุนของบริ ษทั ย่อย
ยอดคงเหลือ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ปรับปรุงใหม่ การเปลี�ยนแปลงในส่ วนของผู้ถือหุ้นสํ าหรับปี เงินปันผลจ่าย กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี ส่วนตํ�าจากการเปลีย� นแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในบริ ษทั ย่อย
560,000,000 -
3
ยอดคงเหลือ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ผลกระทบจากการตีมูลค่าเงินลงทุน
560,000,000
13 27
29
560,000,000
ยอดคงเหลือ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ปรับปรุงใหม่
ยอดคงเหลือ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 การเปลี�ยนแปลงในส่ วนของผู้ถือหุ้นสํ าหรับปี เงินปันผลจ่าย กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี ปรับปรุ งใหม่ ส่วนตํ�าจากการเปลีย� นแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในบริ ษทั ย่อย ส่วนเกินจากการให้หุน้ พนักงาน การเพิ�มทุนของบริ ษทั ย่อย
หมายเหตุ
ทุนที�ออกและ เรียกชําระแล้ ว บาท
ส่ วนตํา� จาก ส่ วนเกินทุน การเปลี�ยนแปลง จากการให้ หุ้น สั ดส่ วนการถือหุ้น พนักงาน ในบริษัทย่ อย บาท บาท
ส่ วนของผู้ถือหุ้นบริษทั ใหญ่
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
บริษัท ทีทีซีแอล จํากัด (มหาชน) (เดิมชื�อ บริษทั �ต�ย-ไทย คอร� ปอเรชั�น จํากัด (มหาชน)) งบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่ วนของผู้ถอื หุ้น สุดวัพ.ศ. นที2558 ่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 สํ าหรับปี สิ�นสุสำด�วัหรั นทีบ � 31ปีธัสนิ้นวาคม
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน))
172
รายงานประจ�ำปี 2558
รายงานประจ�ำปี 2558 560,000,000
2,905,496,747
-
2,905,496,747
2,905,496,747
-
2,905,496,747
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 177 ถึง 281 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
56,000,000
-
56,000,000
56,000,000
-
56,000,000
ส่ วนเกินมูลค่ า หุ้นสามัญ สํ ารองตามกฎหมาย บาท บาท
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ในหน้า 14 ถึง 118 เป็ นส่ วนหนึ�งของงบการเงินนี�
ยอดคงเหลือ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจากงาน
29
560,000,000
ยอดคงเหลือ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 การเปลี�ยนแปลงในส่ วนของผู้ถอื หุ้นสํ าหรับปี เงินปันผลจ่าย กําไรเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี
560,000,000
29
560,000,000
ยอดคงเหลือ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
ยอดคงเหลือ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 การเปลี�ยนแปลงในส่ วนของผู้ถอื หุ้นสํ าหรับปี เงินปันผลจ่าย กําไรเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี ส่ วนเกินจากการให้หุน้ พนักงาน
หมายเหตุ
ทุนทีอ� อกและ เรียกชําระแล้ว บาท
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
ษัท จํทีาทกัีซด ีแอล(มหาชน) จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ทีทซี บริีแอล (เดิมชื่อ บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)) (เดิมชื�อ บริษัท �ต�ย-ไทย คอร� ปอเรชั�น จํากัด (มหาชน)) งบแสดงการเปลีย� นแปลงส่ วนของผู้ถอื หุ้น สํ าหรับปี สิ�นสำสุ�ดหรั วันบทีปี� 31สิ้นธัสุนดวาคม วันทีพ.ศ. ่ 31 2558 ธันวาคม พ.ศ. 2558
1,805,880,874
(296,793,944) 580,558,372 (8,215,399)
1,530,331,845
1,530,331,845
(391,987,101) 429,682,227 -
1,492,636,719
กําไรสะสม ที�ยังไม่ ได้ จัดสรร บาท
23,188,454
-
23,188,454
23,188,454
23,188,454
-
ส่ วนเกินทุนจากการ ให้ ห้ ุนพนักงาน บาท
45,240,622
96,125,855 -
(50,885,233)
(50,885,233)
2,628,891 -
(53,514,124)
5,395,806,697
(296,793,944) 676,684,227 (8,215,399)
5,024,131,813
5,024,131,813
(391,987,101) 432,311,118 23,188,454
4,960,619,342
งบการเงินเฉพาะบริษทั องค� ประกอบอืน� ของ ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ผลต่ างจากการ แปลงค่ างบการเงิน รวม บาท บาท
10
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
173
174
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัทบริโตโย-ไทย ปอเรชั กัด (มหาชน)) ษัท ทีทีซคอร์ีแอล จํา่นกัดจำ�(มหาชน)
(เดิมช��อ บริษัท �ต�ย-ไทย คอร� ปอเรชั�น จํากัด (มหาชน)) งบกระแสเงิ นสด งบกระแสเงินสด
สำ�หรับปีสสําิ้นหรัสุดบวัปีนสิ�ทีนสุ่ 31 วาคม พ.ศ.พ.ศ. 2558 ดวันธัทีน� 31 ธันวาคม 2558
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับปรุ ง ส่ วนเกินทุนจากการให้หุ้นพนักงาน ค่าเสื� อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ตัดจําหน่ายอุปกรณ์ (กําไร)ขาดทุนจากการจําหน่ายอุปกรณ์ กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม หนี�สงสัยจะสูญ (กําไร)ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี�ยนที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจริ ง ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ ดอกเบี�ยรับ ส่ วนแบ่งผลกําไรจากบริ ษทั ร่ วม ส่ วนแบ่งผลขาดทุนจากส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้า ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน ตัดจําหน่ายค่าธรรมเนียมในการจัดหาเงินกู้ ตัดจําหน่ายรายได้เงินช่วยเหลือรัฐบาล ดอกเบี�ยจ่าย
หมายเหตุ
กระแสเงินสดก่อนการเปลีย� นแปลงของสิ นทรัพย์และหนี� สินดําเนินงาน การเปลีย� นแปลงของสิ นทรัพย์และหนี� สินดําเนินงาน - เงินลงทุนชัว� คราว - ลูกหนี� การค้า - ลูกหนี� จากการบริ การงานโรงไฟฟ้ า - ลูกหนี� ตามข้อตกลงสัญญาสัมปทาน - ลูกหนี� ค่าก่อสร้างตามสัญญาที�ยงั ไม่ได้เรี ยกเก็บ - ลูกหนี� อื�น - งานระหว่างก่อสร้าง - เงินจ่ายล่วงหน้าให้ผรู้ ับเหมาช่วง - ภาษีเงินได้หัก�ณ�ที�จ่าย - วัสดุสิ�นเปลือง - ภาษีซ�ื อรอเรี ยกคืน - สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื�น - เงินประกันผลงาน - สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น - เจ้าหนี�การค้า - เจ้าหนี�อื�น - เงินประกันผลงานผูร้ ับเหมาช่วง - ต้นทุนงานก่อสร้างค้างจ่าย - เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าตามสัญญาก่อสร้าง - รายได้ค่าก่อสร้างรับล่วงหน้า - ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย - หนี�สินหมุนเวียนอื�น - ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน เงินสดได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมดําเนินงาน - ดอกเบี�ยจ่ายที�ชาํ ระแล้ว - ภาษีเงินได้จ่าย เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมดําเนินงาน
17, 18 17, 18
14 15 24
24
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม ปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2557 บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2557 บาท
724,092,721
512,664,911
731,138,089
545,056,001
48,934,410 148,838 575,528,651 40,797,954 (174,206,290) (25,438,324) 155,248,172 20,359,327 16,093,374 (1,115,603) 329,377,934
-
23,188,454 43,439,860 5,994,990 (44,571,874) 170,195,595 (168,583,990) (48,315,250) 28,212,045 12,674,193 2,177,894 (1,116,198) 100,475,933
31,238,413 203,814 (92,669,892) 18,013,652 (44,100,489) (46,688,810) 20,195,482 2,146,752 183,247,521
23,188,454 27,786,212 1,288 (699) 15,214,483 (63,684,504) 12,548,895 661,838 71,781,886
1,709,821,164
636,436,563
802,724,532
632,553,854
4,320,000 (984,935,328) (147,238,583) (508,086,894) (197,553,299) 9,582,696 (2,474,172,150) 1,222,678,082 (116,791,268) (43,933,484) 123,858,097 14,715,285 21,285,200 (115,457,397) 473,407,044 1,571,551 24,760,102 1,409,611,140 (1,153,230,915) 285,973,414 57,196,119 (60,601,012) (711,400)
(4,320,000) 476,737,970 50,390,946 (1,833,887,866) (2,583,626,582) 213,362,185 (2,938,563,622) (1,262,799,067) (66,796,917) (43,539,736) (157,899,607) (16,933,427) 18,612,163 (4,433,543) 472,300,915 (29,541,085) 155,883,878 (1,459,002,707) 2,285,172,431 (822,528,036) 61,852,412 102,321,155 (1,087,752)
(938,679,345) (951,985,020) 153,427,433 (1,582,007,297) (76,483,964) (108,895,368) 131,624,373 (6,866,268) 21,285,200 (3,354,564) 324,704,520 (149,645,078) 87,791,722 1,785,616,181 776,217,280 (79,448,161) 17,976,098 (32,779,022) (711,400)
(266,636,241) 87,114,988 107,409,867 (1,971,692,091) 508,720,726 (67,406,273) (145,191,247) 11,342,178 18,612,163 5,160,608 375,116,027 2,974,275 80,174,504 (2,148,286,676) (939,994,479) (172,603,896) (2,796,131) 54,226,037 (1,087,752)
(443,931,836) (319,428,205) (190,425,793)
(6,751,889,329) (87,072,283) (135,006,198)
170,511,852 (175,573,139) (144,899,783)
(3,832,289,559) (62,234,318) (117,388,944)
(953,785,834)
(6,973,967,810)
(149,961,070)
(4,011,912,821)
ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ในหน้ 14 ถึงเป็118 นส่ว่งนหนึ � งของงบการเงิ หมายเหตุหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษัทในหน้ษาทั 177 ถึงา 281 นส่วเป็นหนึ ของงบการเงิ นนี้ นนี�
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 255811
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
175
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) บริมษชื่อัท บริทีทษัทีซีแโตโย-ไทย อล จํากัคอร์ ด (มหาชน) (เดิ ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน))
งบกระแสเงินสด
(เดิมช��อ บริษัท �ต�ย-ไทย คอร� ปอเรชั�น จํากัด (มหาชน)) งบกระแสเงินสด ธันวาคม พ.ศ. 2558 สำสํ�าหรั หรับบปีปีสิส�นิ้นสุสุดวัดนวัทีน� 31 ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
ปรับปรุงใหม่ หมายเหตุ
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
บาท
บาท
บาท
บาท 75,359
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนในตราสารหนี�ที�จะถือจนครบกําหนด เงินสดจ่ายซื� อเงินลงทุนในส่ วนได้เสี ยทีไ� ม่มีอาํ นาจควบคุม
(584,350)
75,359
(584,350)
(762,522,250)
-
(762,522,250)
-
-
-
-
เงินสดจ่ายชําระหุ ้นในกิจการร่ วมค้า
15
(135,570,123)
เงินสดจ่ายชําระหุ ้นเพิ�มในบริ ษทั ร่ วม
14
-
(43,321,225)
-
-
-
(131,858,922)
-
-
เงินสํารองเพื�อการจ่ายชําระคืนเงินกูแ้ ละดอกเบี�ย เงินสดรับจากการจําหน่ายบริ ษทั ย่อย
-
-
1,108,462
199,700
เงินสดจ่ายซื� อเงินลงทุนในบริ ษทั ทัว� ไป
10
(83,719,900)
-
(83,719,900)
-
เงินสดจ่ายจากการให้กูย้ ืมแก่บริ ษทั ย่อย
12
-
-
(838,560,800)
(653,020,000)
เงินสดรับจากเงินให้กูย้ ืมแก่บริ ษทั ย่อย
12
-
-
-
103,883,327
เงินสดจ่ายจากการให้กูย้ ืมแก่บริ ษทั ทีเ� กี�ยวข้องกัน
12
-
(46,955,000)
-
-
เงินสดรับจากเงินให้กูย้ ืมแก่บริ ษทั ทีเ� กี�ยวข้องกัน
12
35,302,732
-
300,210,595
-
171,716,738
118,420,719
9,194,530
62,285,791
(96,501,372)
(55,894,719)
(31,155,826)
(15,277,416)
41,633,567
3,173,315
281,920
700
(11,355,839)
(7,846,233)
(9,797,833)
(6,773,560)
(841,600,797)
(164,206,706)
(1,415,545,452)
(508,626,099)
8,626,334,455
12,524,251,941
8,626,334,455
12,524,251,941
เงินสดรับจากดอกเบี�ยรับ เงินสดจ่ายซื� ออาคารและอุปกรณ์
17
เงินสดรับจากการจําหน่ายอุปกรณ์ เงินจ่ายซื� อโปรแกรมคอมพิวเตอร์
18
เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากเงินกูย้ ืมจากสถาบันการเงินระยะสั�น เงินสดจ่ายเงินกูย้ ืมจากสถาบันการเงินระยะสั�น
(8,567,895,296)
(10,326,702,168)
(8,567,895,296)
(10,326,702,168)
เงินสดรับจากเงินกูย้ ืมจากสถาบันการเงินระยะยาว
20
-
3,251,310,000
-
-
เงินสดจ่ายค่าธรรมเนียมในการจัดหาเงินกูย้ มื
20
-
(42,765,627)
-
เงินสดรับจากการออกหุ ้นเพิ�มทุน
25
-
405,292,500
-
-
เงินสดรับจากการกูย้ มื ระยะสั�นจากบริ ษทั ที�เกี�ยวข้องกัน
12
-
-
328,048,000
363,742,070
เงินสดรับจากการออกหุ ้นกู้
21
1,925,000,000
1,000,000,000
1,925,000,000
1,000,000,000
เงินสดจ่ายค่าธรรมเนียมในการออกหุ ้นกู้
21
(6,237,266)
(3,274,000)
(6,237,266)
(3,274,000)
เงินปันผลจ่ายให้แก่ผถู้ อื หุน้
29
(296,793,944)
(391,987,098)
(296,793,944)
(391,987,098)
เงินสดจ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะสั�นจากบริ ษทั ที�เกี�ยวข้องกัน
12
-
-
(489,178,700)
-
เงินสดสุ ทธิได้ มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน
1,680,407,949
6,416,125,548
1,519,277,249
3,166,030,745
เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดลดลงสุ ทธิ
(114,978,682)
(722,048,968)
(46,229,273)
(1,354,508,175)
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี
1,611,307,931
2,387,667,171
283,185,927
1,636,656,399
75,264,040
(54,310,272)
5,647,976
1,037,703
1,571,593,289
1,611,307,931
242,604,630
283,185,927
กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี�ยนของเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดปลายปี
8
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ในหน้า 14 ถึง 118 เป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี� หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 177 ถึง 281 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
12
176
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท ทีทีซีแบริ อล ษจำ�ัทกัดที(มหาชน) ทีซีแอล จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน))
(เดิมช��อ บริษัท �ต�ย-�ทย คอร� ปอเรชั�น จํากัด (มหาชน)) งบกระแสเงินสด ดวันธัทีน� 31 ธันวาคม 2558 สำ�หรับปีสสํิ้นาหรั สุดบวัปีนสิที�นสุ่ 31 วาคม พ.ศ.พ.ศ. 2558
งบกระแสเงินสด
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
ปรับปรุงใหม่ หมายเหตุ
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
บาท
บาท
บาท
บาท 83,059,637
รายการที�มิใช่ เงินสด การแปลงลูกหนี�การค้ากิจการที�เกี�ยวข้องกันเป็ นทุน
13
-
-
-
1,238,656
112,500
1,093,800
112,500
เจ้าหนี�ค่าซื� อโปรแกรมคอมพิวเตอร์
-
225,000
-
225,000
โอนค่าหุ ้นล่วงหน้าจากกิจการที�เกี�ยวข้องกันเป็ นหุ ้นสามัญ
-
66,290,101
-
-
เงินให้กยู้ ืมแก่กิจการที�เกี�ยวข้องกันลดลงจากการหักกลบเจ้าหนี�กิจการที�เกี�ยวข้อง
-
-
-
58,626,573
-
-
18,300,517
58,657,210
เจ้าหนี�ค่าซื� ออุปกรณ์
เงินกูย้ ืมจากกิจการที�เกี�ยวข้องกันลดลงจากการหักกลบลูกหนี�กิจการที�เกี�ยวข้องกัน
12
ลูกหนี� กิจการที�เกี�ยวข้องกันลดลงจากการหักกลบเจ้าหนี�กิจการที�เกี�ยวข้อง
-
-
-
5,552,303
41,398,560
-
-
500,000
32,963,000
-
-
-
-
64,976,000
-
เจ้าหนี�ชาํ ระค่าซื� อหุ น้ ในบริ ษทั ย่อย
-
-
152,902,419
-
ลูกหนี� ชาํ ระค่าซื� อหุ น้ ในบริ ษทั ย่อย
-
-
155,000,000
-
37,452,387
-
-
-
ลูกหนี� จากการจําหน่ายที�ดิน�อาคารและอุปกรณ์ เจ้าหนี�ค่าซื� อหุ ้นในกิจการร่ วมค้า
15
เงินทดรองจ่ายให้แก่กิจการเกี�ยวข้องกันเพิ�มขึ�นจากการหักกลบลูกหนี� กิจการที�เกี�ยวข้องกัน
หนี�สินภายใต้สัญญาร่ วมทุน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ในหน้า 14 ถึง 118 เป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 177 ถึง 281 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
13
รายงานประจ�ำปี 2558
บริ ษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมมชืช�่อ �อบริบริ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
177
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
1
ข้ อมูลทั�วไป บริ ษทั ทีทีซีแอล จํากัด (มหาชน) (เดิมชือ� บริ ษทั โตโย-ไทย คอร์ปอเรชัน� จํา กัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) เป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัด ซึ� งจัดตั�งขึ�นในประเทศไทยและมีท�ีอยูต่ ามที�ได้จดทะเบี ยนดังนี� คือ 159 อาคารเสริ มมิตร ชั�น 27 - 30 ซอยสุขมุ วิท 21 ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร สํานักงานสาขาในประเทศฟิ ลิปปิ นส์ : Suite B, 5th Floor Builder’s Center, 170 Salcedo Street, Legaspi Village, Makati City สํานักงานสาขาในประเทศกาตาร์ : Al Emadi Building Area No.41, Street No.230 Building No.233 1st Floor, Office No.8 P.O.Box 55420 Doha ที�ประชุมสามัญ�ูถ้ ือหุ้นเมื�อวันที� 9 เมษายน พ.ศ. 2558 ได้มีมติอนุ มตั ิ ให้เปลี� ยนชื� อบริ ษทั จากเดิม“บริ ษทั โตโย-ไทย คอร์ ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน) เป็ น “บริ ษทั ที ที ซีแอล จํากัด (มหาชน)” และบริ ษทั ได้จดทะเบี ยนเปลี�ยนชื�อกับกระทรวงพาณิ ชย์เมื� อวัน ที� 17 เมษายน พ.ศ. 2558 บริ ษทั เป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื�อวัตถุประสงค์ในการรายงานข้อมูลจึงรวมเรี ยกบริ ษทั และ บริ ษทั ย่อยว่า “กลุม่ บริ ษทั ” การประกอบธุ รกิ จหลักของกลุ่ มบริ ษทั คือ การให้บริ การด้านวิศวกรรมซึ� งรวมถึ งการออกแบบการจัดหาและก่อสร้างสําหรั บ โรงงานอุตสาหกรรมแบบครบวงจร งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ได้รบั อนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั เมื�อวันที� 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีท�ีสาํ คัญที�ใช้ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั มีดงั ต่อไปนี�
2.1
เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั (รวมเรี ยกว่า “งบการเงิน”) ได้จดั ทํา ขึ�นตามหลักการบัญ ชี ท�ีรับ รองทัว� ไปภายใต้ พระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ� งหมายถึงมาตร�านการบัญชีที�ออกภายใต้พระราชบัญ ญัติวิชาชี พ บัญชี พ.ศ. 2547 และ ข้อกําหนดของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพ ย์วา่ ด้วยการนําเสนอรายงานทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพ ย์ งบการเงิ นรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ได้จดั ทําขึ� นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิ มในการวัดมู ล ค่าขององค์ป ระกอบของงบ การเงิน การจัดทํางบการเงินให้สอดคล้องกับหลักการบัญชีที�รับรองทัว� ไปในประเทศไทย กําหนดให้ใช้ประมาณการทางบัญชีที� สําคัญ และการใช้ดุลยพิ นิ จของ�ูบ้ ริ หารซึ� งจัดทําขึ�นตามกระบวนการในการนํานโยบายการบัญชีของกลุ่มบริ ษทั ไปถื อปฏิบ ัติ รวมทั�ง กําหนดให้ตอ้ งเปิ ดเ�ยข้อมูลเรื� องการใช้ดุลยพิ นิ จของ�ูบ้ ริ ห าร หรื อความซับ ซ้อน หรื อข้อสมมติ � านและประมาณการที� มี นัยสําคัญต่องบการเงินตามที� กล่าวไว้ในหมายเหตุ � ข้อ 5 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ฉบับภาษาอังกฤษจัดทําขึ�นจากงบการเงินตามกฎหมายที� เป็ นภาษาไทย ในกรณี ที� มี เนื�อความขัดแย้งกันหรื อมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกันให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเป็ นหลัก
รายงานประจ�ำปี 2558
14
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
178
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการบั ญชี แ ละมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที�มีการปรั บปรุ งและ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (รวมเรียกว่ า “มาตรฐานการบัญชี”) ซ��งมีผลบังคับใช้ สํา หรั บรอบระยะเวลาบัญ ชี ที�เริ� มต้นในหร� อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 และกลุ่มบริ ษทั ได้นํามาใช้ ป ฏิบัตแิ ล้ว
2.2.1 กลุม่ มาตรฐานการบัญชีทม�ี ีการเปลี�ยนแปลงอย่างมีสาร�สํา คัญ มีดงั ต่อไปนี� มาตรฐานการบัญชี�บับที� 1 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี�บับที� 16 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี�บับที� 19 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี�บับที� 27 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี�บับที� 28 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี�บับที� 34 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับที� 10 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับที� 11 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับที� 12 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับที� 13 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับที� 14 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับที� 20
เร�� องการนําเสนองบการเงิน เร�� องที�ดิน อาคารแล�อุปกร�� เร�� อง�ลปร�โยชน�ของพนักงาน เร�� องงบการเงินเ�พา�กิ�การ เร�� องเงินลงทุน�นบริ ษทั ร่ วม แล�การร่ วมค้า เร�� องงบการเงินร�หว่างกาล เร�� องงบการเงินรวม เร�� องการร่ วมการงาน เร�� องการเปิ ดเ�ยข้อม�ลเกี�ยวกับส่วนได้เสี ย�นกิ�การอ��น เร�� องการวัดม�ลค่ายุติ�รรม เร�� องข้อ �ํา กัด สิ น ทรั พ ย�ต ามโครงการ�ลร�โยชน� ข้อ กํ าหนด เงิ น ทุ น ขั�น ตํ�า แล�ปฏิ สัมพัน ��ข องรายการเหล่ านี� สํา หรั บ มาตรฐานการบัญชี�บับที� 19 เร�� อง�ลปร�โยชน�ของพนักงาน เร�� องต้นทุนการเปิ ดหน้าดิน�นช่วงการ�ลิตสําหรับเหม�อง�ิวดิน
กลุม่ บริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีดงั กล่าวข้างต้นแล้วตั�งแต่วนั ที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 โดยการปฏิบตั ิ ตามมาตรฐาน การบัญชีดงั กล่าวข้างต้นไม่มี�ลกร�ทบอย่างเป� น สาร�สําคัญต่องบการเงินที�นําเสนอ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
15
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
179
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการบั ญชี แ ละมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที�มีการปรั บปรุ งและ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (รวมเรียกว่ า “มาตรฐานการบัญชี”) ซ�ง� มี�ลบังคับใช้ �ํา หรั บรอบระยะเวลาบัญชี ที�เริ� มต้นในหร� อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 และกลุ่มบริ ษัทได้ นํามาใช้ ป ฏิบตั ิแล้ว (ต่อ)
2.2.2 กลุม่ มาตรฐานการบัญชีทเ�ี ปลี�ยนแปลงอย่างไม่มีสาระสําคัญและไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริ ษทั มีดงั ต่อไปนี� มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 2 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 7 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 8 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 10 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 11 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 12 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 17 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 18 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 20 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 21 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 23 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 24 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 26 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 29 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 33 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 36 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 37 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 38 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 40 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 2 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 3 (ปรับปรุ ง 2557)
รายงานประจ�ำปี 2558
เร��องสินค้าคงเหล�อ เร�� องงบกระแสเงินสด เร�� องน�ยบายการบัญชี การเปลี�ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชีและข้อผิดพลาด เร�� องเหตุการณ์�ายหลังรอบระยะเวลารายงาน เร�� องสัญญาก่อสร้าง เร�� อง�าษีเงินได้ เร�� องสัญญาเช่า เร�� องรายได้ เร�� องการบัญชีสาํ หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและ การเปิ ดเผยข้อม�ลเกี�ยวกับความช่วยเหล�อจากรัฐบาล เร�� องผลกระทบจากการเปลี�ยนแปลงของอัตราแลกเปลี�ยน เงินตราต่างประเทศ เร�� องต้นทุนการก�ย้ �ม เร�� องการเปิ ดเผยข้อม�ลเกี�ยวกับบุคคล หร� อกิจการ ที�เกี�ยวข้องกัน เร�� องการบัญชีและการรายงาน�ครงการผลประ�ยชน์ เม��อออกจากงาน เร�� องการรายงานทางการเงิน�นส�าพเศรษฐกิจที� เงินเฟ้ อรุ นแรง เร�� องกําไรต่อหุน้ เร�� องการด้อยค่าของสินทรัพย์ เร�� องประมาณการหนี�สิน หนี� สินที� อาจเกิดข��น และสินทรัพ ย์ ที�อาจเกิดข��น เร�� องสินทรัพ ย์ไม่มีตวั ตน เร�� องอสังหาริ มทรัพ ย์เพ��อการลงทุ น เร�� องการจ่าย�ดย�ช้หุ้นเป� นเกณ�์ เร�� องการรวมธุรกิจ 16
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
180
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัทมโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการบั ญชี แ ละมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที�มีการปรั บปรุ งและ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (รวมเรียกว่ า “มาตรฐานการบัญชี”) ซ�ง� มี�ลบังคับใช้ �ํา หรั บรอบระยะเวลาบัญชี ที�เริ� มต้นในหร� อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 และกลุ่มบริ ษัทได้ นํามาใช้ ป ฏิบตั ิแล้ว (ต่อ)
2.2.2 กลุม่ มาตรฐานการบัญชีที�เ ปลี�ยนแปลงอย่างไม่มีสาระสําคัญและไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริ �ทั มีดงั ต่อไปนี� (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 5 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 6 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 8 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 10 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 15 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญ ชีฉบับที� 25 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 27 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 29 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 31 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 32 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 1 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 4 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 5 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 7 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 10 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 12 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 13 (ปรับปรุ ง 2557)
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
เรื� องสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ถือไว้เพื�อขายและ การดําเนินงานที� ยกเลิก เรื� องการสํารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ เรื� องส่วนงานดําเนิ นงาน เรื� องความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณี ที�ไม่มีความเกี�ยวข้อง อย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนิ นงาน เรื� องสัญญาเช่าดําเนิ นงาน - สิ� งจูงใจที�ให้แก่ผเู ้ ช่า เรื� องภา�ีเงินได้ - การเปลี�ยนแปลงสถานภาพทางภา�ีของ กิจการหรื อผูถ้ ือหุ้น เรื� องการประเมินเนื� อหาสัญญาเช่าที� ทาํ ข��นตามรูปแบบ กฎหมาย เรื� องการเปิ ดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริ การ เรื� องรายได้ - รายการแลกเปลี�ยนเกี�ยวกับบริ การ���ณา เรื� องสินทรัพ ย์ไม่มีตวั ตน - ต้นทุนเว็บไซต์ เรื� องการเปลี�ยนแปลงในหนี�สินที�เกิดข��นจากการรื� อถอน การบูรณะ และหนี� สินที�มีลกั �ณะคล้ายคล�งกัน เรื� องการประเมินว่า ข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรื อไม่ เรื� องสิท�ิ ในส่วนได้เ สียจากกองทุนการรื� อถอน การบูรณะ และการปรับปรุ งสภาพแวดล้อม เรื� องการปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 29 (ปรับปรุง 2557) เรื� องการรายงานทางการเงิน ในสภาพเ�ร�ฐกิจที�เงินเ�้ อรุนแรง เรื� องงบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า เรื� องข้อตกลงสัมปทานบริ การ เรื� อง�ปรแกรมสิท�ิ พิเ��แก่ลูกค้า 17
รายงานประจ�ำปี 2558
181
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อชื�อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการบั ญชี แ ละมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที�มีการปรั บปรุ งและ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (รวมเรียกว่ า “มาตรฐานการบัญชี”) ซ�ง� มี�ลบังคับใช้ �ํา หรั บรอบระยะเวลาบัญชี ที�เริ� มต้นในหรื อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 และกลุ่มบริ ษัทได้ นํามาใช้ ป ฏิบตั ิแล้ว (ต่อ)
2.2.2 กลุม่ มาตรฐานการบั���ท�เปล��ยน�ปลงอย่าง�ม่ม��าร���า�ั��ล��ม่ม��ลกร�ทบต่อกลุม่ บริ �ทั �ม��งั ต่อ�ปน�� (ต่อ) การต���ามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับท�� 15 (ปรับปรุง 2557) การต���ามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับท�� 17 (ปรับปรุง 2557) การต���ามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับท�� 18 (ปรับปรุง 2557) 2.3
เร�� อง�ั��า��า�รับการก่อ�ร�างอ�ัง�าริ มทรั�ย� เร�� องการ�่าย�ิ นทรั�ย�ท�� ม่��่เงิน�����เ��า�อง เร�� องการ�อน�ิ นทรั�ย��ากล�ก��า
มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที�มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (รวมเรียกว่ า “มาตรฐานการบัญ ชี”) ซ��งมี�ลบังคับใช้ �ํา หรั บรอบระยะเวลาบัญชี ที�เ ริ� มต้ นในหรื อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 และกลุ่มบริ ษทั ยังมิได้นาํ มาใช้ กอ่ นวันถือปฏิบตั ิ
2.3.1 กลุม่ มาตรฐานการบั���ท�ม�การเปล��ยน�ปลงอย่างม��าร���า �ั��ม��งั ต่อ�ปน�� มาตรฐานการบั����บับท�� 16 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบั����บับท�� 19 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบั����บับท�� 24 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบั����บับท�� 27 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบั����บับท�� 36 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบั����บับท�� 38 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบั����บับท�� 40 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบั����บับท�� 41 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับท�� 2 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับท�� 3 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับท�� 4 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับท�� 8 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับท�� 10 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับท�� 12 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับท�� 13 (ปรับปรุง 2558) การต���ามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับท�� 21
รายงานประจ�ำปี 2558
เร�� องท���ิน�อา�าร��ล�อุปกร�� เร�� อง�ลปร��ย�น��อง�นักงาน เร�� องการเปิ �เ�ย��อม�ลเก��ย�กับบุ��ล��ร� อกิ�การท�� เก��ย���องกัน เร�� องงบการเงินเ��า�กิ�การ เร�� องการ��อย�่า�อง�ินทรั�ย� เร�� อง�ินทรั� ย��ม่ม�ต�ั ตน เร�� องอ�ัง�าริ มทรั� ย�เ���อการลงทุ น เร�� องเก�ตรกรรม เร�� องการ�่าย��ย����ุ�นเป� นเก��� เร�� องการร�ม�ุรกิ� เร�� อง�ั��าปร�กัน�ัย เร�� อง�่�นงาน��าเนิ นงาน เร�� องงบการเงินร�ม เร�� องเปิ �เ�ย��อม�ลเก��ย�กับ�่�น���เ��ย�นกิ�การอ��น เร�� องการ�ั�ม�ล�่ายุติ�รรม เร�� องเงินท��น �า�่งรัฐ 18
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
182
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ชื�อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.3
มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (รวมเรียกว่ า “มาตรฐานการบัญ ชี”) ซ��งมี�ลบังคับใช้ �ําหรั บรอบระยะเวลาบัญชี ที�เริ� มต้ นในหรื อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 และกลุ่มบริษัทยังมิได้นํามาใช้ก่อนวันถือปฏิบตั ิ (ต่อ)
2.3.1 กลุม่ มาตร�านการบั�ชีที�มีการเปลี�ยนแปลงอย่างมี�าระ�ํา คั� มีดงั ต่อไปนี� (ต่อ) ผูบ้ ริ หารของกลุ่มบริ �ทั อยูร่ ะหว่างการประเมินผลกระทบที�อาจมีจากการป�ิบตั ิตามมาตร�านเหล่านี� ทั�งนี� การเปลี�ยนแปลงที� �ําคั�ของมาตร�านการบั�ชีใหม่และมาตร�านการบั�ชีท�ีมีการปรับ ปรุ งดังกล่าว มีดงั ต่อไปนี� - มาตร�านการบั�ชี�บับที� 16 (ปรับ ปรุ ง 2558) เรื� องที�ดิน อาคาร และอุปกร�� ได้กาํ หนดให้มีความชัดเจนขึ� นเกี� ยวกับ การ ปรับ ราคาตามบั�ชีก่อนหักค่าเ�ื� อมราคา�ะ�ม และค่าเ�ื�อมราคา�ะ�ม ในกร�ี ท�ีกจิ การใช้วธิ ี การตีราคาใหม่ - มาตร�านการบั�ชี�บับที� 19 (ปรับ ปรุ ง 2558) เรื� องผลประ�ยชน�พนักงาน ได้มีการอธิ บายเกี�ยวกับวิธีการป�ิ บตั ิ ท างบั� ชี �ําหรับเงิน�มทบจากพนักงานหรื อบุคคลที��ามแก่�ครงการผลประ�ยชน�ที�กาํ หนดไว้ให้ชัดเจนขึ� น การปรับปรุ งดังกล่าว ให้ความแตกต่างระหว่าง เงิน�มทบที�เ กี�ยวข้องกับการบริ การที�เกิดขึ�นในรอบระยะเวลาบั�ชีที�เงิน�มทบนั�นเกิดขึ�นเท่านั�น และเงิน�มทบที�เ กี�ยวข้องกับการบริ การที� มากกว่าหนึ�งรอบระยะเวลาบั�ชี - มาตร�านการบั�ชี�บับ ที� 24 (ปรับปรุ ง 2558) เรื� องการเปิ ดเผยข้อมูลเกี� ย วกับ บุ คคลหรื อกิ จการที�เกี�ยวข้องกัน ได้รวม กิจการที� ให้บริ การด้านผูบ้ ริ หาร�ําคั�แก่กิจการที�รายงาน หรื อแก่บริ �ทั ให�่ของกิจการที� รายงาน �ึ� งกิ จการต้องเปิ ดเผย จํานวนเงินที�กิจการได้จ่ายให้แก่กิจการที�ให้บ ริ การด้านผูบ้ ริ หาร�ําคั� - มาตร�านการบั�ชี�บับที� 27 (ปรับ ปรุ ง 2558) เรื� องงบการเงินเ�พาะกิจการ ได้มีการกําหนดให้กิจการที� ดาํ เนิ นธุ รกิจด้าน การลงทุนที�ได้รับการยกเว้นไม่ตอ้ งรวมบริ �ทั ย่อยเข้ามาในการจัดทํางบการเงินรวม�ามารถแ�ดงงบการเงิ นเ�พาะกิ จการ เพี ยงงบเดียวได้ และได้กาํ หนดให้วดั มูลค่าเงินลงทุนในบริ �ทั ย่อยดังกล่าวด้วยมูลค่ายุติธรรมและรับ รู้การเปลี� ยนแปลงใน มูลค่ายุติธรรมดังกล่าวไปยังกําไรหรื อขาดทุน - มาตร�านการบั�ชี�บับที� 36 (ปรับปรุ ง 2558) เรื� องการด้อยค่าของ�ินทรัพย� ได้มกี ารกําหนดเพิ� มเติมเกี� ยวกับ การเปิ ดเผย ข้อมูลในกร�ี ที�มูลค่าที� คาดว่าจะได้รับคืนของ�ินทรัพย�วดั มูลค่า�ดยใช้วิธีมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการจําหน่า ย �ดยการ เปิ ดเผยดังกล่าวรวมถึง 1) ลําดับชั�นของมูลค่ายุติธรรม และ 2) กร�ี ที�การวัดมู ลค่ายุติธรรมอยูใ่ นลําดับชั�นที� 2 และ 3 จะต้องมีการเปิ ดเผย เทคนิ คที�ใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม และข้อ�มมติ�าน�ําคั�ที�ใช้ - มาตร�านการบั�ชี�บับที� 38 (ปรับ ปรุ ง 2558) เรื� อง�ิ นทรัพ ย�ไม่มีตวั ตนได้กาํ หนดให้ชดั เจนขึ� น เกี� ยวกับ การปรับ ราคา ตามบั�ชีกอ่ นหักค่าตัดจําหน่าย�ะ�ม และค่าตัดจําหน่าย�ะ�มในกร�ี ที�กิจการใช้วิธีการตีราคาใหม่
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
19
รายงานประจ�ำปี 2558
183
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อชื�อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.3
มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (รวมเรียกว่ า “มาตรฐานการบัญ ชี”) ซ��งมี�ลบังคับใช้ �ําหรั บรอบระยะเวลาบัญชี ที�เริ� มต้ นในหรื อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 และกลุ่มบริษทั ยังมิได้ นํามาใช้ ก่อนวันถือปฏิบัติ (ต่อ)
2.3.1 กลุม่ มาตรฐานการบัญชีท�ีมีการเปลี�ยนแปลงอย่างมีสาระสํา คัญ มีดงั ต่อไปนี� (ต่อ) - มาตรฐานการบัญชี�บับที� 40 (ปรับ ปรุ ง 2558) เรื� องอสังหาริ มทรั�ย์เ�ื� อการลงทุ น ได้กาํ หนดให้ชดั เจนขึ� น ว่ากิ จ การควร �ิ จารณามาตรฐานการรายงานทางการเงิน �บับที� 3 ในการ�ิ จารณาว่าการได้มา�ึ� งอสังหาริ มทรั� ย์เ �ื� อการลงทุนนั�น เข้าเงือ� นไขการรวมธุรกิจหรื อไม่ - มาตรฐานการบัญชี�บับที� 41 เรื� องเก�ตรกรรม ได้มีการกําหนดให้สินทรั� ย์ชีวภา� รวมถึ ง�ล�ลิตทางการเก�ตร ณ จุด เก�บเกี�ยวจากสินทรั�ย์ชีวภา�ของกิ จการต้องวัดม�ลค่าด้วยม�ลค่ายุติธรรมหักต้นทุ นในการขาย สภาวิชาชี�ได้มีการออก แนวปฏิบตั ิทางการบัญชีสาํ หรับ มาตรฐานการบัญชี�บับที� 41 เรื� องเก�ตรกรรม �ดยยกเว้น�ืชเ�ื�อการให้�ลิต�ล ออกจาก ขอบเขตของมาตรฐานการบัญชี�บับที� 41 แนวปฏิบตั ิน�ีกาํ หนดให้ �ืชเ�ื�อการให้�ลิต�ล จะต้องวัดม�ลค่าด้วย ราคาทุนหัก ค่าเสื�อมราคาสะสม หักค่าเ�ื�อการด้อยค่า (ถ้ามี) ตามมาตรฐานการบัญชี�บับที� 16 เรื� องที� ดิน อาคารและอุปกรณ์ - มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับที� 2 (ปรับปรุ ง 2558) เรื� องการจ่าย�ดยใช้หุ้นเป� นเกณ�์ ได้กาํ หนดคํานิ ยามให้ชดั เจน ขึ�น สําหรับ “เงื�อนไขการได้รับสิ ทธิ� ” และ กําหนดคํานิยามแยกกันระหว่าง “เงื�อนไข�ลงาน” และ “เงื�อนไขการบริ การ” - มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับที� 3 (ปรับปรุ ง 2558) เรื� องการรวมธุรกิ จ ได้กาํ หนดให้ชดั เจนขึ� นในเรื� อง ก) ภาระ ��ก�ันที�กิจการต้องจ่ายชําระสิ�งตอบแทนที�อาจจะเกิดขึ�นที� เข้าคํานิยามของเครื� องมือทางการเงิน ว่าเป� นหนี� สินทางการเงิ น หรื อส่วนของเจ้าของตามคํานิยามของมาตรฐานการบัญชี �บับที� 32 เรื� องการแสดงรายการสําหรับ เครื� องมื อทางการเงิ น (เมื�อมีการประกา�ใช้) หรื อตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินอื�นที� เกี�ยวข้อง และได้กาํ หนดให้ว ดั ม�ลค่าสิ� งตอบแทนที� อาจจะเกิดขึ�นทีไ� ม่ได้ถก� จัดประเภทเป� นส่วนของเจ้าของด้วยม�ลค่ายุตธิ รรมและรับร� ก้ ารเปลีย� นแปลงในม�ลค่ายุติธรรมใน กําไรหรื อขาดทุนทุกสิ�นรอบระยะเวลาการรายงาน และ ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับที� 3 ไม่ได้ถือปฏิ บ ตั ิ กบั การบัญชีสาํ หรับการจัดตั�งการร่ วมค้าที�อย�ภ่ ายใต้มาตรฐานการการรายงานทางการเงิน�บับที� 11 - มาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับที� 4 (ปรับปรุ ง 2558) เรื� องสัญ ญาประกันภัย ได้กาํ หนดให้ถื อปฏิ บ ตั ิกบั สัญญา ประกันภัยทั�งหมด (รวมถึงสัญญาประกันภัยต่อ) ที�กิจการเป� น��อ้ อกและสัญญาประกันภัยต่อที�กิจการถือไว้
รายงานประจ�ำปี 2558
20
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
184
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ชื�อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.3
มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (รวมเรียกว่ า “มาตรฐานการบัญ ชี”) ซ��งมี�ลบังคับใช้ �ําหรั บรอบระยะเวลาบัญชี ที�เริ� มต้ นในหรื อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 และกลุ่มบริษัทยังมิได้นํามาใช้ก่อนวันถือปฏิบตั ิ (ต่อ)
2.3.1 กลุม่ มาตรฐานการบัญชีที�มีการเปลี�ยนแปลงอย่างมีสาระสํา คัญ มีดงั ต่อไปนี� (ต่อ) - มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 8 (ปรับ ปรุ ง 2558) เรื� องส่วนงานดําเนิ นงาน ได้กาํ หนดให้มีการเปิ ดเผยข้อมูล เกี�ยวกับดุลยพินิจของผูบ้ ริ หารในการรวมส่วนงานเข้าด้วยกัน และกําหนดให้นําเสนอการกระทบยอดสิ นทรัพ ย์ของส่วน งานกับ สิ น ทรัพ ย์ของกิจ การเมื�อ กิ จการรายงานข้อมูลสิ นทรัพ ย์ของส่ว นงานให้กบั ผูม้ ี อาํ นาจตัดสิ นใจสู ง สุ ดด้านการ ดําเนิ นงานของกิจการ - มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 10 (ปรับปรุ ง 2558) เรื� องงบการเงินรวม การปรับปรุ งนี�ได้ให้คํานิ ยามของกิ จการ ที�ดาํ เนินธุรกิจด้านการลงทุนและได้กาํ หนดข้อยกเว้นในการจัดทํางบการเงินรวม �ึ� งการปรับปรุงดังกล่าวส่งผลให้กองทุ น หลายกองทุนและกิจการที� มีธุรกิจที�คล้ายคลึงกัน ได้รบั ข้อยกเว้นจากการนําบริ ษทั ย่อยเกือบทั�งหมดมารวมในการจัดทํางบ การเงินรวม แต่จะวัดมูลค่าเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยเหล่านั�นด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรื อขาดทุน - มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับ ที� 12 (ปรับ ปรุ ง 2558) เรื� องเปิ ดเผยข้อมูลเกี� ยวกับ ส่ว นได้เ สี ย ในกิ จการอื� น ได้ กําหนดให้กิจการที�ดาํ เนินธุรกิจด้านการลงทุนเปิ ดเผยข้อมูลที�กาํ หนดไว้สาํ หรับกิจการที�ดาํ เนินธุรกิจด้านการลงทุน - มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับ ที� 13 (ปรับ ปรุ ง 2558) เรื� อ งมูล ค่า ยุติ ธ รรม ได้ก าํ หนดให้ชดั เจนขึ� น เกี� ยวกับ ข้อยกเว้นในเรื� องของการวัดมูลค่ายุติธรรมเป� นกลุม่ ให้ป�ิบตั ิใช้กบั ทุกสัญญาที�อยูใ่ นขอบเขตของมาตรฐานการบัญชี ฉบับ ที� 39 เรื� องการรับรู ้และการวัดมูลค่าเครื� องมือทางการเงิน (เมื� อมีการประกาศใช้) หรื อมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที� 9 เรื� องเครื� องมือทางการเงิน (เมือ� มีการประกาศใช้) �ึ� งรวมถึงสัญญาที� ไม่เป� นสัญญาทางการเงิน - การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับ ที� 21 เรื� องเงิ นที� นําส่ งรัฐ การตี ความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับนี� กล่าวถึงการบัญชี สาํ หรับ หนี� สินการจ่ายเงินที� นําส่งรัฐ หากหนี� สินนั�นอยู่ภายใต้ขอบเขตของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 37 (ปรับปรุ ง 2558) เรื� องประมา�การหนี�สิน หนี� สินที�อาจเกิดขึ�น และสิ นทรัพย์ท�ีอาจเกิดขึ�น การตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับ นี�ยงั ได้กล่าวเกี�ยวกับการบัญชีสาํ หรับ หนี� สินการจ่ายเงิ นที� นําส่งรัฐที�จงั หวะเวลาและจํานวน เงินมีความแน่นอน
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
21
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อชื�อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
185
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญ ชี (ต่อ)
2.3
มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (รวมเรียกว่ า “มาตรฐานการบัญ ชี”) ซ��งมี�ลบังคับใช้ �ําหรั บรอบระยะเวลาบัญชี ที�เริ� มต้ นในหรื อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 และกลุม่ บริษทั ยังมิได้ นาํ มาใช้ กอ่ นวันถือปฏิบตั ิ (ต่อ)
2.3.2 มาตรฐานการบัญชีท�ี มกี ารเปลีย� นแปลงอย่าง�ม่มสี าระสํา�ัญและ�ม่มีผลกระทบต่อกลุม่ บริ �ทั มีดงั ต่อ�ปนี� มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 1 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 2 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 7 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 8 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 10 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 11 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 12 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 17 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 18 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 20 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 21 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 23 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 26 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 28 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 29 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 33 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 34 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 37 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 5 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 6 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 11 (ปรับปรุ ง 2558) การตี��ามมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 10 (ปรับปรุ ง 2558) การตี��ามมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 15 (ปรับปรุ ง 2558)
รายงานประจ�ำปี 2558
เร�� องการนําเสนองบการเงิน เร�� องสิน�้า�งเหล�อ เร�� องงบกระแสเงินสด เร�� องน�ยบายการบัญชี การเปลี�ยนแปลงประมา�การทาง บัญชีและข้อผิดพลาด เร�� องเหตุการ�์�ายหลังรอบระยะเ�ลารายงาน เร�� องสัญญาก่อสร้าง เร�� อง�า�ีเงิน�ด้ เร�� องสัญญาเช่า เร�� องราย�ด้ เร�� องการบัญชีสาํ หรับ เงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการ เปิ ดเผยข้อม�ลเกี�ย�กับ��ามช่�ยเหล�อจากรัฐบาล เร�� องผลกระทบจากการเปลี�ยนแปลงของอัตราแลกเปลี�ยน เงินตราต่างประเทศ เร�� องต้นทุนการก�ย้ �ม เร�� องการบัญชีและการรายงาน��รงการผลประ�ยชน์เม��อออก จากงาน เร�� องเงินลงทุน�นบริ �ทั ร่�ม และการร่ �ม�้า เร�� องการรายงานทางการเงิน�นส�าพเศร�ฐกิจที� เงินเ�้ อ รุ นแรง เร�� องกํา�รต่อหุน้ เร�� องงบการเงินระห�่างกาล เร�� องประมา�การหนี�สิน หนี�สินที� อาจเกิดข��นและสินทรัพย์ ที�อาจเกิดข��น เร�� องสินทรัพย์�ม่หมุนเ�ียนที���อ��้เพ��อขายและการดําเนิ นงานที� ยกเลิก เร�� องการสําร�จและประเมิน�่าแหล่งทรัพยากรแร่ เร�� องการร่ �มการงาน เร�� อง��ามช่�ยเหล�อจากรัฐบาล - กร�ี ที��ม่มี��ามเกี�ย�ข้อง อย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนิ นงาน เร�� องสัญญาเช่าดําเนิ นงาน-สิ� งจ�ง�จที��ห้แก่ผเ� ้ ช่า 22
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
186
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ชื�อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญ ชี (ต่อ)
2.3
มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (รวมเรียกว่ า “มาตรฐานการบัญ ชี”) ซ��งมี�ลบังคับใช้ �ําหรั บรอบระยะเวลาบัญชี ที�เริ� มต้ นในหรื อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 และกลุม่ บริษทั ยังมิได้ นาํ มาใช้ กอ่ นวันถือปฏิบตั ิ (ต่อ)
2.3.2 มาตรฐานการบัญชีท�ี มกี ารเปลีย� นแปลงอย่างไม่มสี าระสําคัญและไม่มีผลกระทบต่อกลุม่ บริ �ทั มีดงั ต่อไปนี� (ต่อ) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 25 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 27 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 29 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 31 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 32 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 1 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 4 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 5 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 7 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 10 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 12 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 13 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 14 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 15 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 17 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 18 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 20 (ปรับปรุ ง 2558)
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
เรื� องภา�ีเงินได้-การเปลี�ยนแปลงสถานภาพทางภา�ีของกิจการ หรื อของผูถ้ ือหุ ้น เรื� องการประเมินเนื� อหาสัญญาเช่าที� ทาํ ข��นตามรูปแบบกฎหมาย เรื� องการเปิ ดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริ การ เรื� องรายได้-รายการแลกเปลี�ยนเกี�ยวกับบริ การ���ณา เรื� องสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน - ต้นทุนเว็บไซต์ เรื� องการเปลี�ยนแปลงในหนี�สินที�เกิดข��นจากการรื� อถอน การบูรณะ และหนี�สินที� มีลกั �ณะคล้ายคล�งกัน เรื� องการประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่า หรื อไม่ เรื� องสิท�ิ ในส่วนได้เสียจากกองทุนการรื� อถอนการบูรณะและ การปรับปรุ งสภาพแวดล้อม เรื� องการปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 29 (ปรับปรุง 2558) เรื� องการรายงานทางการเงินในสภาพ เ�ร�ฐกิจที�เงินเ�้ อรุนแรง เรื� องงบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า เรื� องข้อตกลงสัมปทานบริ การ เรื� อง�ปรแกรมสิท�ิ พิเ��แก่ลูกค้า เรื� องข้อจํากัดสิ นทรัพย์ตาม�ครงการผลประ�ยชน์ขอ้ กําหนด เงินทุนขั�นตํ�าและป�ิสมั พัน�์ของรายการเหล่านี� สําหรับ มาตรฐานการบัญชี เรื� องสัญญาสําหรับการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ เรื� องการจ่ายสิ นทรัพย์ท�ไี ม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ เรื� องการ�อนสิ นทรัพย์จากลูกค้า เรื� องต้นทุนการเปิ ดหน้าดินในช่วงการผลิตสําหรับเหมืองผิวดิน 23
รายงานประจ�ำปี 2558
187
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.4
บัญชีกลุ่มบริษทั – เงินลงทุนในบริษทั ย่อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมการงาน 2.4.1 บริษทั ย่อย บริ ษทั ย่อยหมายถึงกิ จการ (ซึ� งรวมถึงกิ จการเ�พาะกิจ) ที� กลุ่มบริ ษทั ควบคุม กลุ่มบริ ษ ทั ควบคุมกิ จการเมื�อกลุ่มบริ ษ ทั เปิ ดรับ หรื อมี สิทธิ ในผลตอบแทนผันแปรจากการเกี� ยวข้องกับผูไ้ ด้รั บการลงทุ นและมี ความสามารถที� จะทําให้เกิ ด ผลกระทบต่อผลตอบแทนนั�นจากการมีอาํ นาจเหนื อผูไ้ ด้รับการลงทุน กลุ่มบริ ษทั รวมงบการเงินของบริ ษทั ย่อยไว้ใน งบการเงิ นรวมตั�งแต่วนั ที�กลุ่มบริ ษทั มี อาํ นาจในการควบคุมบริ ษทั ย่อย กลุ่มบริ ษทั จะไม่นํางบการเงินของบริ ษทั ย่อยมา รวมไว้ในงบการเงินรวมนับจากวันที�กลุม่ บริ ษทั สูญเสียอํานาจควบคุม กลุม่ บริ ษทั บันทึกบัญชีการรวมธุรกิจโดยถือปฏิบตั ติ ามวิธีซ�ื อ สิ� งตอบแทนที�โอนให้ สําหรับการซื� อบริ ษทั ย่อยต้องวัดด้วย มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที�กลุม่ บริ ษทั โอนให้และหนี� สินที� ก่อขึ� นเพื�อจ่ายชําระให้แก่เจ้าของเดิมของผูถ้ ูกซื� อและส่วน ได้เสียในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ที�ออกโดยกลุ่มบริ ษทั รวมถึงมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ หรื อหนี� สินที� คาดว่าจะต้องจ่ายชําระ ต้นทุ นที�เ กี�ยวข้องกับการซื� อจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื� อเกิ ดขึ� น และวัดมูลค่าเริ� มแรกของสิ นทรัพย์ที�ไ ด้มาที� ระบุได้และ หนี� สินที�ได้มาที�ระบุได้และหนี� สินที�อาจจะเกิดขึ�นในการรวมธุ รกิจด้วยมูลค่ายุติธรรม � วันที�ซ�ื อ ในการรวมธุ รกิจแต่ละ ครั�ง กลุม่ บริ ษทั วัดมูลค่า � วันที� ซ�ื อ ของส่ วนที� เ ป็ นส่วนได้เสี ยที� ไม่มีอาํ นาจควบคุมในผูถ้ ูกซื� อด้วยมูลค่าของสิ นทรัพย์ สุทธิ ที�ระบุได้ของผูถ้ กู ซื�อตามสัดส่วนของหุน้ ที�ถือ ในการรวมธุ รกิ จที� ดาํ เนิ นการสําเร็ จจากการทยอยซื� อ กลุ่มบริ ษทั ต้องวัดมูลค่าส่วนได้เสี ยที� กลุ่มบริ ษทั ถืออยูใ่ นผูถ้ ูกซื� อ ก่อนหน้าการรวมธุรกิจใหม่โดยใช้มลู ค่ายุติธรรม � วันที�ซ�ื อและรับรู ้ผลกําไรหรื อขาดทุนที�เกิดขึ�นจากการวัดมูลค่าใหม่ นั�นในกําไรหรื อขาดทุน กลุ่มบริ ษทั รั บรู ้สิ�งตอบแทนที� คาดว่าจะต้องจ่ายด้วยมู ลค่ายุติธรรม � วันที� ซื� อ การเปลี� ยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมของ สิ� งตอบแทนที�คาดว่าจะต้องจ่ายที�รบั รู ้ภายหลังวันที�ซ�ื อซึ� งจัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์หรื อหนี� สินให้รับรู ้ผลกําไรขาดทุนที� เกิดขึ�นในกําไรหรื อขาดทุน หรื อในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น สิ� งตอบแทนที� คาดว่าจะต้องจ่ายซึ� งจัดประเภทเป็ นส่ วนของ ผูถ้ อื หุ น้ ต้องไม่มกี ารวัดมูลค่าใหม่ และให้บนั ทึ กการจ่ายชําระในภายหลังไว้ในส่วนของผูถ้ ือหุ น้ กร�ี ที�มูลค่าสิ� งตอบแทนที�โอนให้ และมูลค่าส่วนได้เสี ยที� ไม่มีอาํ นาจควบคุมในผูถ้ กู ซื� อ และมูลค่ายุติธรรม � วันที� ซ�ื อ ธุรกิจของส่วนได้เสี ยในส่วนของผูถ้ ือหุน้ ของผูถ้ กู ซื� อที� กลุ่มบริ ษทั ถืออยู่ก่อนการรวมธุรกิ จมากกว่ามูลค่าสุทธิ � วัน ที� ซื� อของสิน ทรัพย์สุทธิ ที�ได้มาที� ระบุได้ที�รับมา กลุ่มบริ ษทั ต้องรับรู ้เป็ นค่าความนิ ยม หากมูลค่าสิ � งตอบแทนที�โอนให้ และมูลค่าส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอ ํานาจควบคุมในผูถ้ ูกซื� อ และมูลค่ายุติธรรม � วันที� ซ�ื อธุ รกิจของส่ วนได้เสี ยในส่วนของ ผูถ้ ือหุ้นของผูถ้ ูกซื� อที� กลุ่ มบริ ษทั ถื ออยู่ก่อ นการวมธุ รกิ จ น้อ ยกว่า มูล ค่ายุติธรรมของสิ น ทรัพ ย์สุท ธิ ของบริ ษทั ย่อ ย เนื� องจากการต่อรองราคาซื� อ กลุม่ บริ ษทั จะรับรู ้ส่วนต่างโดยตรงไปยังกําไรหรื อขาดทุน
รายงานประจ�ำปี 2558
24
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
188
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.4
บัญชีกลุ่มบริษทั – เงินลงทุนในบริษทั ย่อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมการงาน (ต่อ) 2.4.1 บริษทั ย่อย (ต่อ) กลุม่ บริ ษทั จะตัดรายการบัญชีระหว่างกันในกลุม่ บริ ษทั ยอดคงเหลื อ�และรายการกําไรหรื อขาดทุนที�ยงั ไม่ได้เกิ ดขึ�นจริ ง ระหว่างกันในกลุ่มบริ ษทั น�ยบายการบัญชี ของบริ ษทั ย่อยได้ถูกเปลี�ยนเพื�อให้สอดคล้องกับน�ยบายการบัญชี ของ กลุม่ บริ ษทั ในงบการเงินเ�พาะบริ ษทั �บริ ษทั บันทึ กบัญ ชี เ งินลงทุนในบริ ษทั ย่อยด้วยราคาทุนหักค่าเผื�อการด้อยค่า�ต้นทุ นจะมี การปรับ เพื�อสะท้อนการเปลี�ยนแปลงสิ� งตอบแทนที� เกิดขึ�นจากสิ�งตอบแทนที�คาดว่าจะได้รับ�ต้นทุ นนั�นจะรวมส่ วนแบ่ง ต้นทุนทางตรง และบริ ษทั รับรู ้เงินปั นผลจากบริ ษทั ย่อยในกําไรหรื อขาดทุนเมื�อบริ ษทั มีสิทธิ ในการได้รับเงินปั นผล กลุม่ บริ ษทั จะทดสอบการด้อยค่าของเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย�เมื�อมี ขอ้ บ่งชี� ว่าเงิ น ลงทุนนั�น อาจมี การด้อยค่าเกิ ดขึ� น หากว่าราคาตามบัญชีของเงินลงทุนสูงกว่ามูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคื น�กลุ่มบริ ษทั จะบันทึ กรายการขาดทุ นจากการด้อยค่า รวมไว้ในกําไรหรื อขาดทุน รายชื�อของบริ ษทั ย่อยของกลุ่มบริ ษทั ได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุขอ้ 13 2.4.2 �่ วนได� เ�ี ยที�ไม่มีอํานาจควบคุม กลุม่ บริ ษทั แสดงส่วนได้เสียที� ไม่มีอาํ นาจควบคุมในงบแสดง�านะการเงินรวมในส่วนของผูถ้ ือหุ ้น��ดยแยกแสดงจาก ส่วนของผูถ้ ือหุ้น�ที� เป็ นของกลุ่มบริ ษทั �และถือว่าการเปลี�ยนแปลงในส่วนได้เสียในความเป็ นเจ้าของของกลุม่ บริ ษทั ใน บริ ษทั ย่อยที�มิได้เป็ นผลมาจากการที�กลุ่มบริ ษทั สู ญเสี ยการควบคุมบริ ษทั ย่อยเป็ นรายการในส่วนของผูถ้ ื อหุ น้ �กลุม่ บริ ษทั บันทึ กผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมของสิ�งตอบแทนที�จ่ายให้และมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์สุทธิ ของหุ ้น ที���ื อ มาในบริ ษทั ย่อยในส่วนของเจ้า ของ และบันทึกกําไรหรื อขาดทุนจากการขายส่ ว นได้เ สี ยที� ไม่มีอาํ นาจควบคุมในส่ วน ของผูถ้ ือหุ ้น 2.4.3 การจําหน่ ายบริษัทย่อย เมื� อกลุม่ บริ ษทั สู ญเสี ยการควบคุมในบริ ษทั ย่อย�กลุ่มบริ ษทั วัดมูลค่าใหม่ ของส่วนได้เสี ยในหุ ้นที� เหลืออยู�่ ดยใช้มลู ค่า ยุติธรรม และรับรู ้การเปลี�ยนแปลงในมู ลค่าในกําไรหรื อขาดทุน�มูล ค่ายุติธ รรมนั�นจะถื อเป็ นมูลค่าตามบัญชีเ ริ� มแรก ของมูลค่าของเงินลงทุนที� เหลืออยู่ (�ึ� งอาจจัดประเภทเป็ นเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม�การร่ วมค้าหรื อสิ นทรัพย์ทางการเงิน ) สําหรับทุกจํานวนที�เคยรับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอันในส่วนที�เกี�ยวข้องกับบริ ษทั ย่อยนั�นจะถูกจัดประเภทใหม่ไปยัง กําไรหรื อขาดทุนเสมือนมีการขายสิ นทรัพย์หรื อหนี� สินที� เกี�ยวข้อง�ดยตรง
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
25
รายงานประจ�ำปี 2558
189
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.4
บัญชีกลุ่มบริษทั – เงินลงทุนในบริษทั ย่อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมการงาน (ต่อ) 2.4.4 บริษทั ร่ วม บริ ษทั ร่ วมเป็ นกิจการที�กลุ่มบริ ษทั มีอิทธิ พลอย่างมีนัยสําคัญแต่ไม่ถึงกับควบคุม �ึ� งโดยทัว� ไปคือการที�กลุม่ บริษทั ถือหุน้ ที� มีสิทธิออกเสียงอยูร่ ะหว่างร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 50 ของสิทธิออกเสียงทั�งหมด เงินลงทุนในบริ ษทั ร่วมรับรู โ้ ดยใช้วธิ ี สว่ นได้ เสี ยในการแสดงในงบการเงินรวม ภายใต้วิธีส่วนได้เสี ยกลุ่มบริ ษทั รับรู้เงินลงทุนเริ� มแรกด้วยราคาทุน มูลค่าตามบัญชี ของ เงินลงทุนนี� จะเพิ�มขึ�นหรื อลดลงในภายหลังวันที� ได้มาด้วยส่วนแบ่ งกําไรหรื อขาดทุ นของบริ ษ ทั ร่ วมตามสัดส่วนที� กลุ่ม บริ ษทั มีส่วนได้เสียอยู่ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมของกลุ่มบริ ษทั รวมถึงค่าความนิยมที�ระบุได้ ณ วันที���ื อเงิ นลงทุน หากกลุม่ บริ ษทั ลดสัดส่วนของส่วนได้เสียในความเป็ นเจ้าของในบริ ษทั ร่ วมแต่ยงั คงมีอิทธิ พลอย่างมีนยั สําคัญ กลุ่มบริ ษทั ต้องจัดประเภทรายการที�เคยรับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�นเ�พาะส่วนที�ลดลงในส่วนได้เสี ยในความเป็ นเจ้าของไปยังเป็ น กําไรหรื อขาดทุน ถ้ากําไรหรื อขาดทุนในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�นถูกกําหนดให้จดั ประเภทเป็ นกําไรหรื อขาดทุนเมื�อมี การ จําหน่ายสินทรัพย์หรื อหนี� สินที�เกี�ยวข้อง ส่วนแบ่งกําไรหรื อขาดทุนของกลุ่มบริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วมที� เกิ ดขึ� นภายหลังการได้มาจะรวมไว้ในกําไรหรื อขาดทุ น และ ส่ วนแบ่งในกําไรขาดทุน เบ็ ดเสร็ จอื� น ที� เกิ ด ขึ�นภายหลังการได้มาจะรวมไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ ดเสร็ จอื�น ผลสะสมของ การเปลี�ยนแปลงภายหลังการได้มาดังกล่าวข้างต้นจะปรับปรุงกับราคาตามบัญชีของเงินลงทุน เมื�อส่วนแบ่งขาดทุนของกลุม่ บริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วมมีมูลค่าเท่ากับหรื อเกิ นกว่ามูลค่าส่วนได้เสี ยของกลุ่มบริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วมนั�น กลุ่มบริ ษทั จะไม่รับรู้ ส่วนแบ่งขาดทุนอีกต่อไป เว้นแต่กลุม่ บริ ษทั มีภาระผูกพันในหนี� ของบริ ษทั ร่ วมหรื อรับว่าจะจ่ายหนี� แทนบริ ษทั ร่ วม กลุม่ บริ ษทั มีการพิ จารณาทุกสิ�นรอบระยะเวลาบัญชีวา่ มี ขอ้ บ่ งชี� ท�ี แสดงว่าเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมเกิ ดการด้อยค่าหรื อไม่ หากมีขอ้ บ่งชี�เกิดขึ�นกลุม่ บริ ษทั คํานวณผลขาดทุนจากการด้อยค่า โดยเปรี ยบเทียบมูลค่าที� คาดว่าจะได้รับคืนกับมูลค่าตาม บัญชีของเงินลงทุน และรับรู ้ผลต่างไปที� ส่วนแบ่งกําไรหรื อขาดทุนของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมในกําไรหรื อขาดทุน รายการกําไรที�ยงั ไม่ได้เกิดขึ�นจริ งระหว่างกลุ่มบริ ษทั กับบริ ษทั ร่ วมจะตัดบัญชีเท่าที� กลุม่ บริ ษทั มีส่วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วม นั�น รายการขาดทุนที�ยงั ไม่ได้เกิดขึ� นจริ งจะตัดบัญชีในทํานองเดียวกัน เว้นแต่รายการนั�นมีหลัก�านว่าสิ นทรัพ ย์ท�ีโอน ระหว่างกันเกิดการด้อยค่า นโยบายการบัญชีของบริ ษทั ร่ วมได้ถกู เปลี�ยนเพื�อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริ ษทั กําไรและขาดทุ นจาก การลดสัดส่วนในบริ ษทั ร่ วมรับรูใ้ นกําไรหรื อขาดทุน ในงบการเงินเ�พาะบริ ษทั เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมจะบันทึกบัญชีดว้ ยราคาทุนหักค่าเผื�อการด้อยค่า ต้นทุนจะมีการปรับเพื�อ สะท้อนการเปลี� ย นแปลงสิ� งตอบแทนที� เกิ ดขึ� น จากสิ� ง ตอบแทนที� คาดว่าต้อ งจ่ าย ต้นทุ นจะรวมต้นทุ นทางตรง ที�เกี�ยวข้องจากการได้มาของเงินลงทุนนี� รายชือ� ของบริ ษทั ร่วมของกลุม่ บริ ษทั ได้แสดงไว้ในหมายเหตุขอ้ 14
รายงานประจ�ำปี 2558
26
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
190
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.4
บัญชีกลุ่มบริษทั – เงินลงทุนในบริษทั ย่อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมการงาน (ต่อ) 2.4.5 การร่ วมการงาน สัญญาการร่วมการงานเป็ นสัญญาที�ผรู้ ่ วมทุนตั�งแต่สองรายขึ�นไปตกลงจะควบคุมร่วมในกิจกรรมที� จดั ตั�งขึ� น การตัดสิ นใจ ในกิจกรรมที�เกี�ยวข้องต้องได้รับความเห็นชอบโดยผูค้ วบคุมร่ วมอย่างเป็ นเอก�ันท์จึงจะถือว่าเป็ นไปตามข้อกําหนดของคํา นิยามว่าการควบคุมร่วม การร่ วมการงานสามารถอยูใ่ นรู ปแบบของการดําเนิ นงานร่ วมกันหรื อการร่ วมค้า การจัดประเภท ขึ�นอยู่กบั สิ ทธิ และภาระผูกพันของผูร้ ่ วมทุ น โดยพิจารณาจากโครงสร้างและรู ปแบบทางกฎหมายของการร่ วมการงาน ตลอดจนเงื�อนไขของข้อตกลงที�ผรู ้ ่ วมทุนตกลงกัน รวมทั�งข้อเท็จจริ งและสถานการณ์แวดล้อมอื�นที�มีความเกี�ยวข้อง หากใน ข้อกําหนดผูร้ ่ วมทุนมีสิทธิ ในสิ นทรัพย์สุทธิของการร่ วมงาน การร่ วมงานดังกล่าวถือเป็ นการร่ วมค้า ส่ วนการดําเนิ นงาน ร่ วมกันนั�นผูร้ ่ วมทุนจะมีสิทธิ ในสินทรัพย์และมีภาระผูกพันในหนี� สินที�เกี�ยวข้องกับการร่ วมงานนั�น การร่วมค้าบันทึกบัญชีโดยใช้วิธีส่วนได้เสี ย ตามวิธีส่วนได้เสี ยเงินลงทุนในการร่ วมค้าวัดมูลค่าเริ� มแรกด้วยราคาทุนและ ปรับ ปรุ งภายหลังโดยรับรู ้ ส่ วนแบ่ งกําไรหรื อขาดทุ นหลังการได้มาสําหรั บส่ วนที� เ ป็ นของกลุ่ มกิ จการและรายการ เคลื�อนไหวของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ เมื�อส่วนแบ่งขาดทุนของกลุ่มบริ ษทั ในการร่ วมค้ามี มูลค่าเท่ากับหรื อเกินกว่ามูลค่า เงินลงทุนของกลุม่ บริ ษทั ในการร่ วมค้า (รวมถึงส่วนได้เสียระยะยาวใด� �ึ�งโดยเนื�อหาแล้วถือเป็ นส่ วนหนึ� งของเงิ นลงทุน สุทธิ ของกิจการในการร่ วมค้า) กลุม่ บริ ษทั จะไม่รับรู ้ส่วนแบ่งขาดทุนอีกต่อไป เว้นแต่กลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันในหนี� ของ การร่วมค้าหรื อรับว่าจะจ่ายหนี� แทนการร่ วมค้า รายการกําไรที� ยงั ไม่ได้เกิดขึ� นจริ งระหว่างกลุ่มบริ ษทั กับการร่ วมค้าจะตัด บัญชีเท่าที� กลุ่มบริ ษทั มีส่วนได้เสี ยในการร่ วมค้านั�น รายการขาดทุนที� ยงั ไม่ได้เกิดขึ�นจริ งก็จะตัดบัญชีในทํานองเดียวกัน เว้นแต่รายการนั�นมีหลัก�านว่าสินทรัพย์ที�โอนระหว่างกันเกิ ดการด้อยค่า นโยบายการบัญชี ของการร่วมค้าจะถูกเปลี�ยน เพื� อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริ ษทั ในงบการเงินเ�พาะบริ ษทั เงินลงทุนในการร่ วมค้าจะบันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุนหักค่าเผื�อการด้อยค่า ต้นทุนจะมี การ ปรับเพื�อสะท้อนการเปลี�ยนแปลงสิ� งตอบแทนที�เกิดขึ�นจากสิ� งตอบแทนที�คาดว่าต้องจ่าย ต้นทุนจะรวมต้นทุ นทางตรงที� เกี�ยวข้องจากการได้มาของเงินลงทุนนี� ส่วนการดําเนินงานร่วมนั�น กลุ่มบริ ษทั รับ รู ้สินทรัพย์ หนี� สิน รายได้และค่าใช้จ่ายตามส่วนได้เสี ยที�กลุ่ มบริ ษทั มีในการ ดําเนิ นงานร่ วม และเป็ นไปนโยบายการบัญชีของกลุม่ บริ ษทั ที� เกี�ยวข้องกับสินทรัพย์ หนี� สิน รายได้ และค่าใช้จา่ ยนั�น กลุ่ม บริ ษทั ยังไม่รบั รู ้ส่วนแบ่งกําไรหรื อขาดทุนที� อยูใ่ นรายการ�ื� อสิ นทรัพย์จากการดําเนิ นงานร่ วมกันจนกว่าการดําเนิ นงาน ร่ วมกันจะขายสิ นทรัพ ย์น� ันให้แก่ บุคคลที� สามที� เป็ นอิ สระ อย่า งไรก็ตาม กลุ่มบริ ษทั รับรู ้ รายการขาดทุ นจากการ�ื� อ สิ นทรัพย์จากการดําเนินงานร่ วมกันทันที เมื�อมีหลัก�านแสดงว่ามูลค่าสุทธิ ของสินทรัพย์น� ันลดลงหรือด้อยค่า รายชือ� ของการดําเนิ นงานร่วมกันของกลุม่ บริ ษทั ได้แสดงไว้ในหมายเหตุข้อ 15
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
27
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีบริทษซี ัทีแทีอลทีซีแจํอล ากัจำด�กั(มหาชน) ด (มหาชน) ษัท โตโย-ไทยคอร� คอร์ปปอเรชั อเรชั่นน (เดิมช��อ (เดิบริมษชื่อทั บริโตโย-ไทย � จำจํ�กัาดกั(มหาชน)) ด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
191
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.5
การแปลงค่าเงินตราต่ างประเทศ (ก)
สกุลเงินที�ใช้ในการดําเนินงานและสกุลเงินที� ใช้นาํ เสนองบการเงิน รายการที� รวมในงบการเงินของแต่ละบริ ษทั ในกลุม่ บริ ษทั วัดมูลค่า�ดยใช้สกุลเงินของส�าพแวดล้อมทางเ�รษฐกิจหลัก ที�แต่ละบริ ษทั ดําเนินงานอยู่ (สกุลเงินที�ใช้ในการดําเนินงาน) งบการเงินแสดงในสกุลเงินบาท ��� งเป็ น สกุลเงิ นที� ใช้ใน การดําเนินงานของบริ ษทั และเป็ นสกุลเงินที�ใช้นาํ เสนองบการเงินของกลุ่มบริ ษทั
(ข)
รายการและยอดคงเหลือ รายการที� เป็ นสกุ ลเงิ น ตราต่ า งประเท�แปลงค่ า เป็ นสกุ ล เงิ น ที� ใ ช้ ใ นการดํา เนิ น งาน�ดยใช้ อ ตั ราแลกเปลี� ย น � วันที�เกิดรายการ รายการกําไรและรายการขาดทุนที� เกิดจากการรับหรื อจ่ายชําระที�เป็ นเงินตราต่างประเท� และที� เกิดจาก การแปลงค่าสินทรัพย์และหนี� สินที�เป็ นตัวเงิน���งเป็ นเงินตราต่างประเท� ได้บนั ท�กไว้ในกําไรหรื อขาดทุน เมื�อมีการรับรู ้รายการกําไรหรื อขาดทุนของรายการที�ไม่เป็ นตัวเงินไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น องค์ประกอบของอัตรา แลกเปลี�ยนทั�งหมดของกําไรหรื อขาดทุนนั�นจะรับรู ้ไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�นด้วย ในทางตรงข้ามการรับรู ้กาํ ไรหรื อ ขาดทุนของรายการที� ไม่ เป็ นตัวเงิน ไว้ในกําไรหรื อขาดทุน องค์ประกอบของอัตราแลกเปลี� ยนทั�งหมดของกําไรหรื อ ขาดทุนนั�นจะรับรู ้ไว้ในกําไรขาดทุนด้วย
(ค)
กลุม่ บริ ษทั การแปลงค่าผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของแต่ละบริ ษ ทั ในกลุม่ บริ ษทั (ที� มิใช่สกุลเงินของเ�รษฐกิจที� มี�าวะเงิน เฟ้ อรุ นแรง) ��� งมีสกุลเงินที�ใช้ในการดําเนินงานแตกต่างจากสกุลเงิ นที� ใช้นําเสนองบการเงินได้�ูกแปลงค่าเป็ นสกุลเงิ นที� ใช้นาํ เสนองบการเงินดังนี� - สิ นทรัพย์และหนี�สินที�แสดงอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงิ นแต่ละงวดแปลงค่าด้วยอัตราปิ ด � วันที� ของแต่ละงบแสดง ฐานะการเงิ นนั�น - รายได้และค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ แปลงค่าด้วยอัตรา�ัวเ�ลี�ย และ - ผลต่างของอัตราแลกเปลี�ยนทั�งหมดรับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�นในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
2.6
เงินสดและรายการเทียบเท่ า เงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย เงินสดในมือ เงิน�าก�นาคารประเ�ทจ่ายคืนเมื�อทวง�าม เงินลงทุนระยะสั�นอื� นที� มี ส�าพคล่องในการเปลี�ยนมือสูง���งมีอายุไม่เกินสามเดือนนับจากวันที�ได้มา
รายงานประจ�ำปี 2558
28
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
192
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญ ชี (ต่อ)
2.7
ลูกหนีก� ารค้า ลูกหนี�การค้ารับรู ้เริ� มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี� และจะวัดมูลค่าต่อมาด้วยจํานวนเงิ นที� เหลืออยู่หักด้วยค่าเผื�อหนี� สงสัยจะสูญ ซึ� งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลื อ ณ วันสิ� นปี ค่ าเผื�อหนี� ส งสัยจะสู ญ หมายถึงผลต่างระหว่างราคาตามบัญชี ของ ลูกหนี� การค้าเปรี ยบเทียบกับมูลค่าที�คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี� การค้า หนี� สูญที� เกิ ดขึ� นจะรับรู ้ในงบกําไรขาดทุนโดยถือเป็ น ส่วนหนึ� งของค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
2.8
ข้ อตกลงสั มปทานบริ การ ข้อตกลงสัมปทานบริ การระหว่างภาครัฐกับเอกชน คือ ข้อตกลงที� ผปู้ ระกอบการก่อสร้างโครงสร้างพื� นฐานและ/หรื อเข้ามามี ส่ ว นร่ ว มในการพัฒ นา การดํา เนิ น การ และการบํารุ งรั กษาโครงสร้า งพื� น ฐานที� จ ัดให้มีเพื� อให้บ ริ การแก่ สาธารณชนตาม ช่วงเวลาที�ระบุในสัญญากับหน่วยงานภาครัฐ โดยมีการกําหนดราคาเริ� มแรกที� ผปู ้ ระกอบการต้องเรี ยกเก็บ ตลอดระยะเวลาของ ข้อตกลงในการให้บริ การไว้ในสัญ ญา และหน่วยงานภาครัฐจะเป็ นผูก้ าํ กับดูแลมาตรฐานการให้บ ริ การและการปรับ ราคา ตลอดระยะเวลาของข้อตกลงในการให้บริ การ รวมทั�งเป็ นผูค้ วบคุมส่วนได้เสียคงเหลือที�สาํ คัญในโครงสร้างพื� นฐานเมื� อสิ� นสุด ระยะเวลาของข้อตกลง กลุ่มบริ ษทั (ในฐานะผูป้ ระกอบการก่อสร้า งและการดําเนิ นงานโครงสร้างพื� นฐาน) รับรู ้สิ�งตอบแทนที� ได้รับหรื อค้างรั บ สําหรับการให้บริ การก่อสร้างเป็ นลูกหนี�ภายใต้ขอ้ ตกลงสัมปทาน หากกลุม่ บริ ษทั มี สิทธิ อนั ปรา�จากเงื�อนไขตามสัญญาที� จะ ได้รับเงินสดหรื อสิ นทรัพย์ทางการเงิ นอื� นจากผูใ้ ห้สมั ปทาน (หน่ว ยงานภาครัฐ) โดยรั บ รู้มลู ค่าเริ� มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรม รวมทั�ง รับรู ้รายได้ของงานก่อสร้างโดยอ้างอิงกับขั�นความสําเร็จของงานโดยวัดจากการสํารวจอัตราส่วนของงานก่อสร้างที� ทํา เสร็ จกับงานก่อ สร้างทั�งหมดตามสัญญาโดยพิจารณาจากการรับรองทางกายภาพตามเงื�อนไขที� ได้ตกลงกับลูกค้า และรับ รู ้ รายได้สาํ หรับการดําเนิ นการให้บริ การเป็ นรายได้เมื�อได้ให้บริ การแล้วตามสัญญา ภาระผูกพัน ตามสัญญาในการบํา รุ งรักษาหรื อการปรับปรุ งซ่อมแซมโครงสร้า งนั�นส่ วนที�ไม่ใช่การปรับปรุ งเพื� อยกระดับ จะรับรู แ้ ละวัดมูลค่าด้วยจํานวนประมาณการที�ดีท�ีสุดของรายจ่ายที�ตอ้ งนําไปจ่ายชําระภาระผูกพันในปัจจุบนั ณ วันสิ � นงวดบัญชี
2.9
วัสดุสํารองคลัง วัสดุสาํ รองคลังแสดงด้วยราคาทุน หลังหัก ค่ าเผื�อวัสดุสาํ รองคลังล้าสมัย โดยราคาทุ นคํานวณตามวิธีถวั เฉลี�ยเคลื� อนที� วสั ดุ สํารองคลังแยกประเภทได้เป็ นวัสดุสาํ รองหลักและวัสดุสํา รองทั�วไป วัสดุสํารองหลักใช้สาํ หรับ อุป กรณ์เฉพาะในโรงไฟฟ้ า และวัส ดุสํารองทัว� ไปใช้ในงานซ่ อมทัว� ไป บริ ษ ทั ได้พิ จ ารณาตั�ง ค่า เผื�อ การล้าสมัยหรื อ เสื� อมคุณ ภาพเป็ นกรณี ตามเกณ�์ เฉพาะเจาะจง
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
29
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
193
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญ ชี (ต่อ)
2.10 สั ญญาก่อสร้ าง สัญญาก่อสร้างคือสัญญาที� เจรจาเ�พาะเจาะจงเพื�อก่อสร้างสินทรัพย์รายการเดียวหรื อหลายรายการ�ึ� งสัมพัน ธ์กนั อย่างใกล้�ิด หรื อต้องพึ�งพากันในด้านการออกแบบ เทคโนโลยีและหน้าที�หรื อเ�ื�อมโยงกันด้วยวัตถุประสงค์ในการใ�้ประโย�น์ข�นั สุดท้าย เมื�อผลการดําเนินงานตามสัญญาก่อสร้างไม่สามารถประมาณการได้อย่างน่าเ�ื�อถือ รายได้ตามสัญญาก่อสร้างจะรับรู ้ได้ไ ม่เกิน กว่า ต้นทุนตามสัญญา�ึ�งค่อนข้างแน่วา่ จะได้รับคืน ต้นทุนตามสัญญาจะรับรู้เมื�อเกิดขึ� น เมื�อผลการดําเนินงานตามสัญญาก่อสร้างสามารถประมาณการได้อย่างน่าเ�ื�อถือ รายได้ค่าก่อสร้างและต้นทุนค่าก่อสร้างรับรู ้ ด้วยวิธีอา้ งอิงกับขั�นความสําเร็ จของงาน โดยวัดจากการสํารวจอัตราส่วนของงานก่อสร้างที� ทําเสร็ จกับ งานก่อสร้างทั�งหมด ตามสัญญาโดยพิจารณาจากการสํารวจทางกายภาพตามเงื�อนไขที�ได้ตกลงกับลูกค้า รายการขาดทุนที� คาดว่าจะเกิ ดขึ� น จะรับรู ้ เป็ นค่าใ�้จา่ ยทันที เมื�อค่อนข้างแน่�ดั ว่าต้นทุนค่าก่อสร้างทั�งหมดจะมากกว่ารายได้จากการก่อสร้างทั�งหมดที� จะได้รับ ต้น ทุ น การก่อ สร้า งที� เ กิ ด ขึ�นในระหว่างปี �ึ� งเ�ื� อมโยงกับ การดําเนิ น งานการก่อสร้ างในอนาคตตามสัญ ญาจะไม่รวมอยูใ่ น ต้นทุนค่าก่อสร้างและจะแสดงเป็ นงานระหว่างก่อสร้าง ต้น ทุ น ที� เ กิ ดขึ� นทั�ง หมดจนถึ ง ปั จ จุ บ ัน และรายการกําไร (หัก ด้ว ยรายการขาดทุ น ที� รั บ รู ้ แ ล้ว ) ของแต่ละสัญ ญาจะนํา ไป เปรี ยบเทียบกับเงินงวดที� เรี ยกเก็บจากผูจ้ า้ งถึงวันสิ� นงวด หากผลรวมของต้น ทุนค่า ก่อสร้างและรายการกําไร (หักด้วยรายการ ขาดทุนที� รับรู ้แล้ว) สูงกว่าจํานวนเงินงวดที�เ รี ยกเก็บ ส่วนเกินที� เกิดขึ�นจะแสดงเป็ นลูกหนี� ค่าก่อสร้างตามสัญญาที� ยงั ไม่ได้เ รี ยก เก็บภายใต้สินทรัพย์หมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิน หากผลรวมของต้นทุนค่าก่อสร้างและรายการกําไร (หักด้วยรายการ ขาดทุนที� รับรู ้แล้ว) ตํ�ากว่าจํานวนเงินงวดที� เรี ยกเก็บ ส่วนเกิ นที� เกิ ดขึ� นจะแสดงเป็ นรายได้ค่าก่อสร้างรับล่วงหน้าภายใต้หนี� สิน หมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิน 2.11 เงินลงทุน กลุม่ บริ ษทั จัดประเภทเงินลงทุนที�นอกเหนือจากเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริษทั ร่วมและส่วนได้เสียในกิจการร่ วมค้าเป็ นสามประเภท คือ เงินลงทุนที�ถือไว้จนครบกําหนด เงิ นลงทุนเผื�อขายและเงินลงทุนทัว� ไป การจัดประเภทขึ�นอยูก่ บั จุดมุง่ หมายขณะลงทุน โดยฝ่ าย บริ หารจะเป็ นผูก้ าํ หนดการจัดประเภทที�เหมาะสมสําหรับเงินลงทุน ณ เวลาลงทุนและทบทวนการจัดประเภทอย่างสมํ�าเสมอ -
เงินลงทุนที� ถือไว้จนครบกําหนด คือ เงินลงทุนที�มีกาํ หนดเวลาและผูบ้ ริ หารตั�งใจแน่วแน่ พ ร้อมกับ มี ความสามารถถื อไว้ จนครบกําหนด ได้แสดงรวมไว้ใ นสิ นทรัพ ย์ไม่ ห มุ นเวีย น เว้น แต่ จ ะครบกํา หนดภายใน 12 เดื อ นนับ แต่ วนั สิ� นรอบ ระยะเวลารายงาน ก็จะแสดงไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน
รายงานประจ�ำปี 2558
30
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
194
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.11 เงินลงทุน (ต่อ) -
เงินลงทุนเ�ือ� ขาย คือ เงินลงทุนที�จะถือไว้โดยไม่ระบุช่วงเวลาและอาจขายเพื�อเสริ มสภาพคล่องหรื อ เมื� ออัตราดอกเบี� ยเปลี�ยนแปลง ได้แสดงรวมไว้ในสิ นทรัพ ย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่กรณี ที��่า ยบริ หารแสดงเจตจํานงที� จะถื อไว้ในช่วงเวลา น้อยกว่า 12 เดือนนับแต่วนั สิ� นรอบระยะเวลารายงาน ก็จะแสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวีย น หรื อเว้นแต่กรณี ที� �่าย บริ หารมีความจําเป็ นที� ตอ้ งขายเพื�อเพิ�มเงินทุนดําเนิ นงาน จึงจะแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน
-
เงินลงทุนทัว� ไป คือ เงินลงทุนในตราสารทุน ที�ไม่มีตลาดซื� อขายคล่องรองรับ
เงินลงทุนทั�งสามประเภทรับรู ้มลู ค่าเริ� มแรกด้วยราคาทุน ซึ� งหมายถึ งมูลค่ายุติธรรมของสิ� งตอบแทนที� ให้ไปเพื� อให้ได้มาซึ� ง เงินลงทุนนั�นรวมทั�งค่าใช้จ่ายในการทํารายการ เงินลงทุนที� จะถือไว้จนครบกําหนดวัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายตามอัตราดอกเบี� ยที�แท้จริ ง หักด้วยค่าเ�ื�อการลดลงของ มูลค่า
เงินลงทุนเ�ื�อขายวัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วยมูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนวัดตามราคาเสนอซื� อที�อ า้ งอิง จาก ตลาดหลักทรัพ ย์แห่ งประเทศไทย ณ วันทําการสุ ดท้ายของวัน สิ� นรอบระยะเวลารายงาน โดยอ้างอิงราคาเสนอซื� อล่าสุด จากตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย รายการกําไรและขาดทุนที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจริ งของเงิ นลงทุ นเ�ื� อ ขายรั บ รู ้ ในส่ วนของ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น เงินลงทุนทัว� ไปแสดงด้วยราคาทุนหักค่าเ�ือ� การลดลงของมูลค่า กลุ่มบริ �ทั จะทดสอบค่า เ�ื�อ การลดลงของมูลค่ าของเงิ นลงทุ นเมื� อ มี ข อ้ บ่ ง ชี� ว่าอาจมี การลดลงของมูลค่าของเงิ นลงทุนนั�น เกิ ดขึ� น หากว่า ราคาตามบัญ ชี ของเงิ น ลงทุ น สู ง กว่า มูล ค่ า ที� ค าดว่าจะได้รั บ คื น กลุ่ ม บริ � ทั จะบัน ทึ ก รายการขาดทุ น จาก ค่าเ�ื�อการลดลงของมูลค่ารวมไว้ในกําไรหรื อขาดทุน ในการจําหน่ายเงิ นลงทุน �ลต่างระหว่าง�ลตอบแทนสุท ธิ ท�ี ได้รบั จากการจําหน่ายเมื� อ เปรี ยบเที ยบกับ ราคาตามบัญชี ของ เงิ น ลงทุ นนั�นจะบันทึ กรวมอยู่ในกํา ไรหรื อ ขาดทุ น กรณี ที� จาํ หน่ ายเงิ น ลงทุ น ที� ถือ ไว้ในตราสารหนี� หรื อตราสารทุน ชนิ ด เดียวกันออกไปบางส่วน ราคาตามบัญชีของเงินลงทุน ที�จาํ หน่ ายจะกําหนดโดยใช้วิธีถวั เ�ลี� ยถ่วงนํ� าหนักของราคาตามบัญ ชี จากจํานวนทั�งหมดที�ถือไว้
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
31
รายงานประจ�ำปี 2558
บริ ษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
195
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.12 ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์รับรู้เมื�อเริ� มแรกตามราคาทุน หลังจากนั�นอาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุ นเดิมหักค่าเสื� อมราคา สะสมและผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) โดยราคาทุนของที� ดิน อาคารและอุป กรณ์ ประกอบด้วยราคา�ื� อและต้นทุน ทางตรงอื�นๆ ที�เกี�ยวข้องกับ การจัดหาสิ น ทรัพย์เพื� อให้ สิ น ทรัพย์น�ั นอยูใ่ นสถานที� และสภาพที� พร้อมจะใช้งานได้ตามความ ประสงค์ของฝ่ ายบริ หาร รวมทั�งต้นทุนที�ประมาณในเบื�องต้นสําหรับการรื� อ การขนย้า ย และการบูรณะสถานที�ต�งั ของสิน ทรัพย์ �ึ� งเป็ นภาระผู กพั น ที� เ กิ ด ขึ� น เมื� อ กลุ่ ม บริ ษัท ได้สิ น ทรั พ ย์น� ัน มาหรื อ เป็ นผลจากการใช้สิ น ทรั พ ย์น� ัน ในช่ ว งเวลาหนึ� ง เพื�อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ที�มิใช่วตั ถุประสงค์ในผลิตสิ นค้าคงเหลือในระหว่างรอบระยะเวลาบัญชีน� นั ต้น ทุ นที� เกิ ดขึ� นภายหลังจะรวมอยู่ในมูลค่ าตามบัญชีของสิ นทรัพ ย์หรื อรั บรู ้ แยกเป็ นอี กสิ นทรัพ ย์หนึ� งตามความเหมาะสม เมื�อต้นทุนนั�นเกิดขึ�นและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตแก่บริ ษทั และต้นทุนดังกล่าวสามารถวัดมูลค่าได้อ ย่าง น่าเชื�อถือ และจะตัดมูลค่าตามบัญชีของชิน� ส่วนที� ถกู เปลี�ยนแทนออก สําหรับค่า�่อมแ�มและบํารุ งรักษาอื� น ๆ บริ ษทั จะรับรู้ ต้นทุนดังกล่าวเป็ นค่าใช้จา่ ยในกําไรหรื อขาดทุนเมือ� เกิดขึ�น ค่าเสื�อมราคาคํานวณโดยวิธีเส้นตรงจากราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือโดยประมาณ เพื� อลดราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์แต่ละชนิด ตามอายุการใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์ ยกเว้นที�ดิน�ึ�งมีอายุการใช้งานไม่จาํ กัด โรงไฟฟ้ า อาคาร เครื� องตกแต่งและติ ดตั�ง อุปกรณ์สาํ นักงาน ยานพาหนะ
20 ปี 20 ปี 5 - 10 ปี 5 ปี 5 ปี
มูลค่าคงเหลือและอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ได้ทบทวนและปรับปรุ งตามความเหมาะสม ณ ทุกสิ�นรอบระยะเวลารายงาน กลุม่ บริ ษทั รับรูร้ ายการชิ�นส่วนอะไหล่ อุป กรณ์สาํ รองไว้ใช้งาน และอุปกรณ์ที� ใช้ในการ�่ อมบํา รุ งเป็ นรายการที�ดิน อาคารและ อุปกรณ์หากรายการนั�นเข้าคํานิ ยามของที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ แต่ถา้ ไม่เข้าเงื�อนไขดังกล่าวจะจัดประเภทเป็ นวัสดุคงคลังและ อะไหล่สาํ หรับค่า�่อมแ�มและบํารุงรักษาอื�น ๆ กลุ่มบริ ษทั จะรับรู ้ตน้ ทุนดังกล่าวเป็ นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนเมื�อเกิดขึ�น ในกรณี ที�ราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์สูงกว่ามูลค่าที�คาดว่าจะได้รบั คืน ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับ มูลค่าที� คาดว่าจะ ได้รบั คืน ผลกําไรหรื อขาดทุนที�เกิดจากการจําหน่ายสิ นทรัพย์คาํ นวณโดยเปรี ย บเที ยบจากสิ� งตอบแทนสุท ธิ ที� ได้รับจากการจําหน่าย สิ นทรัพย์กบั มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ และจะรับรู ้ผลกําไรหรื อขาดทุนสุทธิในกําไรหรื อขาดทุน ต้นทุนการกูย้ ืมที�เกี�ยวข้องโดยตรงกับการได้มาหรื อการก่อสร้างสิ นทรัพย์จะบันทึกเป็ นส่วนหนึ�งของต้นทุนของสินทรัพย์น� นั ตลอด ช่วงเวลาการก่อสร้างและเตรี ยมสินทรัพ ย์น� นั ให้อยูใ่ นสภาพพร้อมที� จะใช้ได้ตามประสงค์ ส่วนต้นทุนการกูย้ มื อื�น นอกเหนือจาก ที�กล่าวข้างต้นจะบันทึกเป็ นค่าใช้จา่ ยในกําไรหรื อขาดทุน
รายงานประจ�ำปี 2558
32
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
196
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร์ (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญ ชี (ต่อ)
2.13 สิ นทรัพย์ไม่ มีตวั ตน 2.13.1 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สิทธิ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยที���ือมามีลกั ษณะเฉพาะบันทึ กเป็ นสินทรัพย์โดยคํานวณจากต้น ทุน ในการได้มา และการดํา เนิ นการให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ น� นั สามารถนํา มาใช้งานได้ตามประสงค์ โดยจะตัดจําหน่ ายโดยวิธี เส้นตรงตลอดอายุประมาณการให้ประโยชน์ภายในระยะเวลา 10 ปี 2.13.2 ค่าสมาชิกสนามกอล์ฟ รายจ่ายเพื�อให้ได้รับสิ ทธิ ในการใช้สนามกอล์�ได้บันทึกเป็ นสิ นทรัพย์และตัดจําหน่ายโดยใช้วิธีเ ส้นตรงตลอดอายุการ ให้ประโยชน์ 10 ปี สินทรัพ ย์ไม่มตี วั ตนจะไม่มีการเปลีย� นแปลงมูลค่าใหม่ 2.14 ค่าความนิยม ค่าความนิยมคือต้นทุนของเงินลงทุนที� สูงกว่ามูลค่ายุติธรรมของเงิ นลงทุนที� กลุ่มบริ ษทั มี ส่วนแบ่งในสิ นทรัพย์สุทธิ ของบริ ษทั ย่อย ณ วันที�ได้มา�ึ�งบริ ษทั นั�น ค่าความนิ ยมที� เกิดจากการได้มา�ึ�งบริ ษทั ย่อยจะแสดงเป็ นรายการแยกต่างหากในงบแสดง�านะการเงินรวม ค่าความนิยมที�รับรู้จะต้องถูกทดสอบการด้อยค่าทุกปี และแสดงด้วยราคาทุนหักค่าเ�ื�อการด้อยค่าสะสม ค่าเ�ื�อการด้อยค่าของค่า ความนิยมที�รบั รู แ้ ล้วจะไม่มีการกลับรายการ ทั�งนี� มลู ค่าคงเหลื อตามบัญชี ของค่าความนิ ยมจะถูกรวมคํานวณในกํา ไรหรื อขาดทุน เมื�อมีการขายกิจการ ในการทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิ ยม ค่าความนิ ยมจะถูกปันส่วนไปยังหน่วยที�ก่อให้เกิดกระแสเงินสด โดยที� หน่วยนั�นอาจจะ เป็ นหน่วยเดียวหรื อหลายหน่วยรวมกัน�ึ� งคาดว่าจะได้รบั ประโยชน์จากการรวมธุรกิจ �ึ�งค่าความนิ ยมเกิดขึ�นจากส่วนงานปฏิบตั ิการ ที�ระบุได้ 2.15 การด้อยค่าของสินทรั พย์ ที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และสิ นทรัพ ย์ที�ไม่เป็ นสิ นทรัพย์ทางการเงิน รวมทั�งสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน�ึ�งมีการตัดจําหน่ายจะมีการ ทบทวนการด้อยค่าเมือ� มีเหตุการณ์หรื อสถานการณ์บ่งชี�ว่าราคาตามบัญชีอาจสูงกว่ามูลค่าที�คาดว่าจะได้รับ คืน รายการขาดทุ น จากการด้อยค่าจะรับรู ้เ มื� อ ราคาตามบัญชี ข องสิ นทรัพย์สูงกว่า มูลค่าที� คาดว่าจะได้รับ คืน �ึ� งมูลค่ าที� ค าดว่าจะได้รับคื นคื อ จํานวนที�สูงกว่าระหว่างมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายเที ยบกับมูลค่าจากการใช้สิน ทรัพย์จะถูกจัดเป็ นหน่ วยที� เล็กที� สุดที� สามารถแยกออกมาได้เพื�อวัตถุประสงค์ของการประเมินการด้อยค่า สิ นทรัพย์ท�ี ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินนอกเหนื อจากค่า ความนิ ยม�ึ� งรับรู ้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าไปแล้ว จะถูกประเมินความเป็ นไปได้ที� จะกลับ รายการขาดทุน จากการด้อยค่า ณ วันที�ในงบแสดง�านะการเงิน
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
33
รายงานประจ�ำปี 2558
บริ ษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
197
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
2
นโยบายการบัญ ชี (ต่อ)
2.16 สัญญาเช่ าระยะยาว - กร�ีที�กลุ่มบริ ษทั เป็ นผู้เช่ า สัญญาเช่าสิ นทรัพย��� ึงผูเ้ ช่าเป็ นผูร้ ับความเสี� ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเกือบทั�งหมดถือเป็ นสัญญาเช่า การเงิ น �ึ� งจะบันทึกเป็ นรายจ่าย�่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย�ที� เช่า หรื อมูลค่าปั จจุบนั สุท ธิ ของจํานวนเงินที� ตอ้ งจ่ายตามสัญญา เช่าแล้วแต่มลู ค่าใดจะตํ�ากว่า จํา นวนเงินที�ตอ้ งจ่ายดังกล่าวจะปันส่วนระหว่างหนี�สินและค่าใช้จ่า ยทางการเงินเพื�อให้ได้อ ตั รา ดอกเบี�ยคงที�ตอ่ หนี�สินคงค้างอยูโ่ ดยพิ จารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึ กเป็ น หนี� สินระยะยาว ส่วนดอกเบี�ยจ่ายจะบันทึ กในงบกําไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่าเพื� อทําให้อตั ราดอกเบี� ยแต่ละงวดเป็ น อัตราคงที�สําหรับยอดคงเหลือของหนี� สินทรัพย�ที�เหลืออยู่ สินทรัพย�ที�ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื� อมราคาตลอดอายุ การใช้งานของสิน ทรัพย�ที�เช่าหรื ออายุของสัญญาเช่าแล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า สัญญาระยะยาวเพื� อเช่าสินทรัพย���ึ งผูใ้ ห้เช่าเป็ นผูร้ บั ความเสี�ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเป็ นส่วนใหญ่ สัญญาเช่านั�นถือ เป็ นสั ญ ญาเช่ า ดํา เนิ น งาน เงิ น ที� ต้อ งจ่ า ยภายใต้สัญ ญาเช่ า ดัง กล่ า ว (สุ ท ธิ จ ากสิ� ง ตอบแทนจู ง ใจที� ไ ด้รั บ จากผู ใ้ ห้ เ ช่ า ) จะบันทึ กในงบกําไรขาดทุนโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั�น ค่าใช้จ่ายที�เกิดขึ�นจากการยกเลิกสัญญาเช่าดําเนิน งานก่อนหมดอายุการเช่า เช่น เงินเพิ� มที�ตอ้ งจ่ายให้แก่ผใู้ ห้เช่าจะบันทึ ก เป็ น ค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที�การยกเลิกนั�นเกิดขึ�น สั ญญาเช่ าระยะยาว - กร�ีที�กลุ่มบริ ษทั เป็ นผู้ให้ เช่ า สัญญาเช่าสิ นทรัพย��� ึงผูเ้ ช่าเป็ นผูร้ ับความเสี�ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเกือบทั�งหมดถือเป็ นสัญญาเช่าการเงิ น โดยกลุ่มบริ ษทั ในฐานะผูใ้ ห้เช่ารับรูล้ ูกหนี� สญั ญาเช่าการเงินด้วยมูลค่าปั จจุบ นั ของจํานวนเงินที�จะได้รบั ตามสัญญาเช่า ดังกล่าว ผลต่างระหว่างยอดรวมของลูกหนี�เบื� องต้นกับมูลค่าปั จจุบนั ของลูกหนี� บนั ทึกเป็ นรายได้ทางการเงินค้างรับ และรับ รูร้ ายได้จาก สัญญาเช่าการเงิน (ดอกเบี� ยรับจากลูกหนี�สญั ญาเช่าการเงิน) ตลอดอายุของสัญญาเช่าโดยใช้วิธีเงินลงทุน สุทธิ �� ึ งสะท้อนอัตรา ผลตอบแทนคงที�ทุกงวด การรับรู ้รายได้เป็ นไปตามนโยบายการบัญชีขอ้ 2.23 2.17 ประมา�การหนีส� ิ น กลุ่ ม บริ ษัท จะบัน ทึ ก ประมาณการหนี� สิ น อัน เป็ นภาระผู ก พัน ในปั จ จุ บ ัน ตามก�หมายหรื อตามข้อ ตกลงที� จ ัด ทํา ไว้ อัน เป็ นผลสื บ เนื� องมาจากเหตุก ารณ� ใ นอดี ต�ึ� งการชํา ระภาระผูกพัน นั�น มี ความเป็ นไปได้ค่อ นข้า งแน่ ว ่ าจะส่ ง ผลให้ กลุม่ บริ ษทั ต้องสูญเสียทรัพยากรออกไป และตามประมาณการที� น่าเชื� อถือของจํานวนที� ตอ้ งจ่า ย ในกรณี ท�ีกลุ่มบริ ษทั คาดว่า ประมาณการหนี�สินเป็ นรายจ่ายที� จะได้รับคืน กลุ่มบริ ษทั จะบันทึ กเป็ นสินทรัพย�แยกต่างหากเมื�อคาดว่าน่ าจะได้รับรายจ่ายนั�นคื น อย่างแน่นอน
รายงานประจ�ำปี 2558
34
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
198
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ชื�อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญ ชี (ต่อ)
2.18 เงินอุดหนุนจากรัฐบาล เงินอุดหนุนที�เกีย� ว�้องกับ�ิ นทรัพย� กลุ่มบริ � ทั รั บ รู ้เ งิ น อุ ด หนุ น จากรั � บาลที� เ กี� ยวข้อ งกับ สิ น ทรัพ ย์ เป็ นรายได้ร อการรั บ รู ้ แ ละทยอยรับ รู ้ รายได้เ ข้า ไปใน งบกําไรขาดทุนอย่างเป็ นระบบตามสัดส่วนของค่าเสื� อมราคาที�เกิดขึ�นในแต่ละรอบบัญชีของสินทรัพย์ที�เกี�ยวข้อง เงินอุดหนุนที�เกี�ยว�้องกับรายได้ กลุ่มบริ �ทั รับ รู ้เ งินอุดหนุ น จากรั�บาลที� เ กี� ยวข้องกับ รายได้ เ ป็ นรายได้รอการรับ รู ้และทยอยรับ รู ้ รายได้เข้าไปในงบกําไร ขาดทุนอย่างเป็ นระบบตามสัดส่วนของคาร์บอนเครดิตที�ได้ส่งมอบให้แก่รั�บาลในแต่ละรอบบัญ ชีเ ที ยบกับจํานวนคาร์บอน เครดิตที�ตอ้ งส่งมอบทั�งหมด 2.19 เงินกู้ยมื และหุ้นกู้ เงินกูย้ ืมและหุ้นกู้รับรู ้เมื�อเริ� มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ�งตอบแทนที�ได้รับหัก ด้วยต้นทุน การจัดทํารายการที� เ กิ ดขึ�น ในเวลา ต่อมาจะวัดมูลค่าเงินกูย้ มื ด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายตามวิธีอตั ราดอกเบี�ยที� แท้จริ ง ผลต่างระหว่างสิ�งตอบแทน (หักด้วยต้น ทุน การจัดทํารายการที�เกิดขึ�น) เมื�อเทียบกับมูลค่าที�จ่ายคืนเพื�อชําระหนี� น� นั จะรับรู ้ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จตลอดช่วงเวลาการกูย้ ืม ค่าธรรมเนี ยมที�จ่ายไปเพื�อให้ได้เงินกูย้ ืมและหุน้ กูม้ าจะรับรู ้เป็ นต้นทุนการจัดทํารายการเงินกูย้ ืมในกรณี ที� มีความเป็ นไปได้จะ ใช้วงเงินกูย้ มื บางส่วนหรื อทั�งหมด ในกรณี น�ีค่าธรรมเนียมจะรอการรับรู ้จนกระทัง� มี การ�อนเงิ น หากไม่มีห ลัก�านที� มีความ เป็ นไปได้ที�จะใช้วงเงินบางส่วนหรื อทั�งหมด ค่าธรรมเนียมจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายล่วงหน้าสําหรับ การให้บริ การสภาพคล่อง และ จะตัดจําหน่ายตามระยะเวลาของเงินกูย้ ืมและหุน้ กูท้ ี�เกี�ยวข้อง เงินกูย้ ืมและหุ้นกูจ้ ดั ประเภทเป็ นหนี� สินหมุนเวียนต่อเมือ� กลุม่ บริ �ทั ไม่มสี ิ ทธิ อนั ปรา�จากเงื�อนไขให้เลือ� นชําระหนี� ออกไปอีก เป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 12 เดือน นับจากวันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน ต้นทุนการกูย้ ืมที�เกี�ยวข้อง�ดยตรงกับการได้มา การก่อสร้าง หรื อการผลิ ตสิ น ทรัพย์ที�เ ข้าเงื�อ นไขต้องนํามารวมเป็ นส่ วนหนึ� ง ของราคาทุนของสิ นทรัพย์น� นั �ดยสิ นทรัพย์ที�เข้าเงื�อนไขคือสินทรัพย์ที�จาํ เป็ นต้องใช้ระยะเวลานานในการเตรี ยมสิ นทรัพ ย์น� ัน ให้อยูใ่ นสภาพพร้อมที�จะใช้ได้ตามประสงค์หรื อพร้อมที�จะขาย การรวมต้นทุนการกูย้ ืมเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์ตอ้ งสิ� นสุดลง เมื�อการดําเนิ นการส่วนใหญ่ ที�จาํ เป็ นในการเตรี ยมสิ น ทรัพย์ที�เ ข้าเงื�อนไขให้อยู่ในสภาพพร้อ มที� จะใช้ได้ตามประสงค์ห รื อ พร้อมที�จะขายได้เสร็จสิ� นลง รายได้จากการลงทุนที�เกิดจากการนําเงินกูย้ ืมและหุน้ กูท้ ี�กมู้ า�ดยเ�พาะ ที� ยงั ไม่ได้นาํ ไปเป็ นรายจ่ายของสิ นทรัพย์ที� เข้าเงื� อนไข ไปลงทุนเป็ นการชัว� คราวก่อน ต้องนํามาหักจากต้นทุนการกูย้ ืมที�สามาร�ตั�งขึ�นเป็ นต้นทุนของสินทรัพ ย์ ต้นทุนการกูย้ ืมอื�น� ต้อง�ือเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดที�เกิดขึ�น
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
35
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
199
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญ ชี (ต่อ)
2.20 ผลประโยชน์ พนักงาน ผลประโยชน์พนักงานของกลุ่มบริ ษทั ประกอบด้วยผลประโยชน์เ มื�อออกจากงานทั�งที� เป็ นโครงการสมทบเงิ น และโครงการ ผลประโยชน์ โครงการสมทบเงินเป็ นโครงการที�กลุม่ บริ ษทั จ่ายเงิ นสมทบให้กบั กองทุนที� แยกต่างหาก โดยกลุ่มบริ ษทั ไม่ มีภาระ ผูก พัน ตามก�หมาย หรื อ ภาระผูก พัน จากการอนุ มานที� จ ะต้อ งจ่ า ยชํา ระเพิ� ม เติ มจากที� ได้สมทบไว้แ ล้ว หากกองทุ น ไม่ มี สิ นทรัพย์เพียงพอที� จะจ่ายชําระภาระผูกพันจากการให้บ ริ การของพนักงานทั�งในงวดปั จจุบนั และงวดก่อน ส่วนโครงการ ผลประโยชน์เป็ นโครงการที� ไม่ใ ช่โครงการสมทบเงิ น โดยปกติ โครงการผลประโยชน์จะกํา หนดจํานวนผลประโยชน์ ท�ี พนักงานจะได้รับเมื�อเกษียณอายุ �ึ�งจะขึ�น อยูก่ บั หลายปัจจัย เช่น อายุพนักงาน อายุการทํางาน และค่าตอบแทน เป็ นต้น 2.20.1 โครงการผลประโยชน์ เม��อเกษีย�อายุ กลุม่ บริ ษทั จัดให้มีผลประโยชน์พนักงานเมื�อเลิกจ้างงานหรื อเกษียณอายุเพื� อจ่ายให้แก่พนักงานตามก�หมายแรงงานของ ประเทศไทยและของประเทศที� กลุ่มบริ ษทั มีการดําเนิ นงานอยู่ หนี�สินผลประโยชน์พนักงานคํานวณโดยผูเ้ ชี� ยวชา�ทาง คณิ ตศาสตร์ประกันภัยด้วยเทคนิ คการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ป ระกันภัย (Actuarial Technique) อันเป็ น ประมาณการจากมูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงินสดที�คาดว่าจะต้องจ่ายในอนาคตและคํานวณคิดลดโดยใช้อตั ราดอกเบี� ยของ พัน�บัตรรั�บาลที� มีกาํ หนดเวลาใกล้เคี ยงกับระยะเวลาของหนี� สินดังกล่าว โดยประมาณการกระแสเงิ นสดที� คาดว่า จะต้องจ่ายในอนาคตนั�นประมาณการจากเงิ นเดือนพนักงาน อัตราการลาออก อัตราการตาย อายุงาน และปั จจัยอื� น กําไรหรื อขาดทุนจากการเปลีย� นแปลงประมาณการจะรับ รู ้เป็ น ค่าใช้จ่ายในกําไรหรื อขาดทุ นสําหรับรอบระยะเวลา บั�ชีท�ีเกิดรายการนั�น ทั�งนี� ค่าใช้จ่ายที� เกี�ยวข้องกับผลประโยชน์พ นักงานจะบันทึ กในกําไรหรื อขาดทุนเพื� อกระจาย ต้นทุนดังกล่าวตลอดระยะเวลาของการจ้างงาน 2.20.2 กองทุน�ํ ารองเลีย� งชีพ บริ ษทั จัดให้มีกองทุนสํา รองเลี�ยงชีพ�ึ�งเป็ นแผนการจ่ายสมทบตามที� กาํ หนดไว้ สิน ทรัพ ย์ของกองทุนสํารองเลี� ยงชีพ ได้ แยกออกไปจากสิ นทรัพย์ของบริ ษทั และมี การบริ หารโดยผูจ้ ดั การกองทุนภายนอก กองทุน สํารองเลี� ยงชีพได้รับ เงิ น สะสมเข้ากองทุนจากพนักงานและเงิน สมทบจากบริ ษทั ที� เ กี�ยวข้อง เงินจ่ายสมทบกองทุนสํารองเลี� ยงชีพบันทึกเป็ น ค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนสําหรับรอบระยะเวลาบั�ชีท�ีเกิดรายการนั�น
รายงานประจ�ำปี 2558
36
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
200
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร์ (มหาชน)) ชื�อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญ ชี (ต่อ)
2.21 การจ่ายโดยใช้ ห้ นุ เป็ นเกณฑ์ กลุม่ บริ ษทั ดําเนินโครงการผลตอบแทนพนักงานโดยใช้หุ้นเป็ นเกณ��ที�ชาํ ระด้วยตราสารทุน โดยที� กิจการได้รับบริ การจาก พนัก งาน เป็ นสิ� งตอบแทนสําหรับ ตราสารทุน (สิ ทธิ ซ�ื อหุ ้น) ที� กิจการออกให้ มูล ค่ายุติธ รรมของบริ ก ารของพนัก งานเพื� อ แลกเปลี�ยนกับการให้สิทธิ ซ�ือหุน้ จะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่าย จํานวนรวมที�ตดั เป็ นค่าใช้จ่ายจะอ้างอิงจากมูลค่ายุติธรรมของสิ ทธิ ซ�ื อหุ ้น ทีอ� อกให้โดยไม่รวมผลกระทบของเงือ� นไขการได้รบั สิทธิ ทไ�ี ม่ใช่เงือ� นไขการบริ การหรื อผลงาน เงือ� นไขการได้รบั สิ ทธิ ท�ี ไม่ใช่เงือ� นไขทางตลาดจะรวมอยูใ่ นข้อสมมติ�านเกี�ยวกับจํานวนของสิทธิซื� อหุน้ ที�คาดว่าจะได้รับสิทธิ ค่าใช้จ่ายทั�งหมดจะรับรู ้ตลอดระยะเวลาได้รับสิทธิ ซึ�งเป็ นไปตามเงื�อนไขการได้รับสิทธิที�กาํ หนดไว้ กลุม่ บริ ษทั จะทบทวนการ ประเมินจํานวนของสิ ทธิ ซ�ื อหุ ้ นที� คาดว่าจะได้รับ สิ ทธิ ซึ� งขึ� นกับเงื�อนไขการได้รับสิท ธิที� ไม่ใช่เงื� อนไขการตลาด และจะรับรู ้ ผลกระทบของการปรับ ปรุ งประมาณการเริ� มแรกในกําไรหรื อขาดทุนพร้อมกับการปรับปรุ งรายการไปยังส่วนของผูถ้ ื อหุ ้น ณ วันสิ� นรอบระยะเวลาการรายงาน เมื�อมีการใช้สิทธิ บริ ษทั จะออกหุ น้ ใหม่ สิ�งตอบแทนที�ได้รับสุทธิ ของต้นทุนในการทํา รายการทางตรงจะเครดิ ตไปยังทุนเรื อนหุ ้น (มูลค่าตามบัญชี) และ ส่วนเกินมูลค่าหุ้นเมื�อมีการใช้สิทธิ กรณีที�บริ ษทั ให้สิทธิ ซ�ือตราสารทุนแก่พนักงานของบริ ษทั ย่อยในกลุ่มบริ ษทั จะปฏิบตั ิเหมือนการเพิ�มทุนอย่างหนึ�ง กลุม่ กิจการ ต้องวัดมูลค่ายุติธรรมของบริ การของพนักงาน โดยอ้างอิ งกับมูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนที�ออกให้ มูลค่าของตราสารทุน เหล่านั�นต้องวัด ณ วันที�ให้สิทธิ ซึ� งจะรับรู ้ตลอดระยะเวลาที� ได้รับสิ ทธิ เช่นเดียวกันกับการเพิ�มขึ�นของเงินลงทุนในบริษทั ย่อย 2.22 ทุนเรื อนหุ้น หุ้นสามัญและหุ ้นบุ ริมสิ ทธิ ชนิ ดไถ่ถอนไม่ได้ที�สามารถกําหนดเงินปั นผลได้อย่างอิสระจะจัดประเภทไว้เป็ นส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้ น หุน้ ประเภทอื�นซึ�งรวมถึงหุน้ บุริมสิทธิชนิดบังคับไถ่ถอนจะจัดประเภทไว้เป็ นหนี�สิน ต้นทุนที�เพิ�มขึ�นเกี�ยวกับการออกหุ้นใหม่หรื อสิ ทธิ ในการซื� อขายหุน้ ที�จ่ายออกไปโดยแสดงรายการดังกล่าวด้วยจํานวนเงิ น สุ ทธิ จากภาษีไว้เป็ นรายการหักในส่วนของผูถ้ ือหุน้ โดยนําไปหักจากสิ�งตอบแทนที�ได้รับจากการออกหุน้
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
37
รายงานประจ�ำปี 2558
201
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญ ชี (ต่อ)
2.23 การรับรู้รายได้ ก)
รายได้จากงานก่อสร้ าง รายได้จากการให้ บริ การตามสัญญาก่อสร้างระยะยาวจะ�ื อเป็ นรายได้ตามส่วนของงานที� แล้วเสร็ จ��� งประเมิ นโดย พิ จารณาจากการสํารวจทางกายภาพโดยวิศวกรผูบ้ ริ ห ารโครงการร่ วมกับเจ้า ของหรื อลูกค้า โดยจะตั�งสํารองค่าเผื�อ ผลขาดทุ น สํา หรั บ โครงการก่อ สร้ า งทั�ง จํา นวนเมื� อ ทราบแน่ ชัด ว่า โครงการก่ อ สร้ า งนั�น จะประสบผลขาดทุ น (ดูนโยบายบัญชีขอ้ 2.10 เรื� องสัญญาก่อสร้าง)
ข)
รายได้จากการบริ หารงานโรงไฟฟ้ า รายได้จากการให้บริ การภายใต้สญั ญาเช่าการเงินที�เกี�ยวเนื� องกับสัญญา�ื� อขายไ��้ าบางสัญญารับรู ้เป็ นรายได้เ มื� อได้ ให้บริ การแก่ลูกค้าแล้วตามสัญญา โดยรายได้ค่าบริ การประกอบด้วยรายได้ค่าบริ การอื� นที� ได้รับจากลูกหนี�สัญญาเช่า การเงินเกี�ยวเนื� องกับการใช้สินทรัพย์ภายใต้สญั ญาเช่าดังกล่าว
ค)
ดอกเบีย� รั บ ดอกเบี� ยรับ�ือเป็ นรายได้ตามเกณ�์คงค้างโดยคําน� ง��งอัตราผลตอบแทนที� แท้จริ ง
ง)
เงินปันผลรั บ เงินปั นผลรับ�ือเป็ นรายได้เมื�อมีสิท�ิในการรับเงินปั นผล
จ)
เงินอุดหนุนจากรั ฐบาล กลุ่ม บริ ษทั รั บ รู ้เ งิ น อุ ด หนุ น จากรั� บาลเพื� อ �ื� อ ที� ดิ น อาคารและอุ ป กรณ์ จ ะรั บ รู้ เ ป็ นหนี� สิ น อื� น รวมอยู่ในหนี� สิ น ไม่ห มุนเวีย นและจะบัน ท� ก เข้าไปยังงบกํา ไรขาดทุน เมื� อ ทํา ครบเงื�อนไขที� เ กี� ยวข้องโดยใช้วิ�ี เส้นตรงตลอดอายุที� คาดการณ์ไว้ของสิ นทรัพย์เหล่านั�น กลุ่ม บริ ษทั รับ รู ้เ งิน อุดหนุ นจากรั� บาลที� เกี� ยวข้อ งกับรายได้เ ป็ นรายได้ร อการรับ รู ้และทยอยรับ รู ้ร ายได้เข้าไปใน งบกําไรขาดทุนอย่างเป็ นระบบตามสัดส่วนของคาร์ บ อนเครดิ ต ที� ได้ส่งมอบให้แก่รั�บาลในแต่ละรอบบัญ ชี เ ที ยบกับ จํานวนคาร์บอนเครดิตที�ตอ้ งส่งมอบทั�งหมด
รายงานประจ�ำปี 2558
38
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
202
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.24 ต้ นทุนในการก่อสร้ าง ต้นทุนงานก่อสร้างประกอบด้วย ต้นทุนค่าแรง ค่ารับเหมาช่วงการก่อสร้าง ค่าบริ การและค่าใช้จ่ายอื�น��� งคํานวณตามส่ วนของงาน ที�แล้วเสร็จ สัญญาที�มีตน้ ทุนงานก่อสร้างที� จา่ ยจริ งมากกว่าจํานวนที�ควรถือเป็ นต้นทุนในการให้บริการตามส่ วนของงานที�แล้วเสร็ จแต่ยงั ไม่มี การเรี ย กชํา ระเงิ นและต้น ทุ น ของสัญ ญาที� ย งั ไม่เ ริ� มรับ รู ้ รายได้จ ะแสดงไว้เ ป็ น “งานระหว่า งก่ อสร้ าง” ภายใต้สิ นทรั พ ย์ หมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิน และสัญญาที�มีตน้ ทุนในการให้บริ การจากการคํานวณตามส่วนของงานที�แล้วเสร็ จมากกว่า ต้นทุนงานก่อสร้างที� จา่ ยจริ งจะแสดงไว้เป็ น “ต้นทุนงานก่อสร้างค้างจ่าย” ภายใต้หนี�สินหมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิน 2.25 การจ่ายเงินปันผล เงินปั นผลที�จ่ายบันท�กในงบการเงินรวมและงบการเงินเ�พาะบริ ษทั ในรอบระยะเวลาบัญชี�� งที�ป ระชุมผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั และ บริ ษทั ที� เกี� ยวข้องได้อนุมัติการจ่ ายเงิ นปั นผล เงิ นปั นผลระหว่างกาลบันท� กในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเ�พาะบริ ษ ทั เมื�อได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการของบริ ษทั 2.26 ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาํ หรับงวดประกอบด้วย ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และภาษีเ งินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเ งิ นได้จะรับรู ้ใน กําไรหรื อขาดทุน ยกเว้นส่วนที�รับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น หรื อรับรู้โดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ ือหุ ้น ในกรณี น� ี ภาษีเ งินได้ ต้องรับรูใ้ นกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น หรื อรับรู ้โดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ ือหุ ้นตามลําดับ ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบันคํานวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีอากรที� มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อที� คาดได้ค่อนข้างแน่ว ่าจะมี ผล บังคับใช้ภายในสิ� นรอบระยะเวลาที�รายงานในประเท�ที�บริ ษทั ย่อยของกลุ่มบริ ษทั ได้ดาํ เนิ นงานและเกิ ดรายได้ทางภาษี ผูบ้ ริ หาร จะประเมินสถานะของการยืน� แบบแสดงรายการภาษีเป็ นงวด � โดยคําน� งถ� งสถานการณ์ที�สามารถนํากฎหมายภาษีอากรไปป�ิบ ัติ ��� งข��นอยูก่ บั การตีความ และจะตั�งประมาณการค่าใช้จา่ ยภาษีอากร หากคาดว่าจะต้องจ่ายชําระเจ้าหน้าที�ภาษีอากร ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีต� งั เต็มจํานวนตามวิธีหนี�สิน เมื�อเกิดผลต่างชัว� คราวระหว่างฐานภาษีของสิ นทรัพย์ และหนี� สิน และ ราคาตามบัญชีท�ี แสดงอยูใ่ นงบการเงิน อย่างไรก็ตามกลุม่ บริ ษทั จะไม่รบั รูภ้ าษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที�เกิดจากการรับ รู้เ ริ� มแรก ของรายการสิ นทรั พย์หรื อรายการหนี� สินที� เ กิ ดจากรายการที� ไม่ใช่ การรวมธุร กิ จ และ ณ วันที� เ กิดรายการ รายการนั�นไม่มี ผลกระทบต่อกําไร (ขาดทุ น ) ทางบัญชี และกําไร (ขาดทุน) ทางภาษี ภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญ ชีคาํ นวณจากอัตราภาษีและ กฎหมายภาษีอากรที� มีผลบังคับ ใช้อยู่ หรื อที� คาดได้ค่อนข้างแน่ว ่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิ � นรอบระยะเวลาที� รายงาน และ คาดว่าอัตราภาษีดงั กล่าวจะนําไปใช้เมื�อสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที�เกี�ยวข้องได้รับประโยชน์ หรื อหนี� สิน ภาษีเ งิ นได้ รอการตัดบัญชีได้มีการจ่ายชําระ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะรับรู ้หากมีความเป็ น ไปได้ค่อนข้างแน่ว่ากลุ่มบริ ษทั จะมี กาํ ไรทางภาษีเ พียงพอที�จะนํา จํานวนผลต่างชัว� คราวนั�นมาใช้ประโยชน์
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
39
รายงานประจ�ำปี 2558
203
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2
นโยบายการบัญชี (ต่อ)
2.26 ภาษีเงินได้ (ต่อ) สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และหนี� สิน ภาษีเ งินได้รอการตัดบัญชีจะแสดงหักกลบกันก็ต่อเมื�อกลุ่มบริ ษทั มีสิทธิ ตาม ก�หมายที� จะนํา สิ น ทรั พ ย์ภาษีเ งิน ได้ของงวดปั จจุ บัน มาหักกลบกับ หนี� สินภาษีเงิ น ได้ของงวดปั จ จุบ ัน และทั�ง สิ นทรัพ ย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี�สินภาษีเ งิ นได้รอการตัดบัญชี เกี�ยวข้องกับภาษีเ งิ นได้ที� ประเมิ น โดยหน่วยงานจัดเก็บภาษี หน่วยงานเดียวกันโดยการเรี ยกเก็บเป็ นหน่วยภาษีเดี ยวกันหรื อหน่ วยภาษีตา่ งกัน��� งตั�งใจจะจ่ายหนี� สินและสิ นทรัพย์ภาษีเงิ นได้ ของงวดปั จจุบนั ด้วยยอดสุทธิ 2.27 ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงาน ส่วนงานดําเนิ นงานได้ถกู รายงานในลักษณะเดียวกับรายงานภายในที�นาํ เสนอให้ผมู้ ี อาํ นาจตัดสิ นใจสูงสุ ดด้านการดําเนิ นงาน ผูม้ ีอาํ นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดําเนินงานหมายถ� งบุคคลที� มีห น้าที� ในการจัดสรรทรัพยากรและประเมิ นผลการป�ิบตั ิงาน ของส่วนงานดําเนินงาน ���งพิจารณาว่าคือ ประธานเจ้าหน้าที� บริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ที�ทาํ การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ 3
การปรับปรุ งงบการเงินย้ อนหลัง ในระหว่างไตรมาสที� 3 ของปี พ.ศ. 2558 กลุม่ บริ ษทั ได้ทาํ การวัดมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพ ย์ท�ีระบุได้และหนี� สินรับมาสุทธิ ของบริ ษทั สยามโ�ล่า เพาเวอร์ จํากัด ��� งเป็ น บริ ษทั ร่ วม และ บริ ษทั Orient Bio-Fuels Company Limited ��� งเป็ นกิจการร่ วมค้า ��� งเป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน�บับที� 3 (ปรับ ปรุ ง 2557) เรื� อง การรวมธุรกิจ โดยผู�้ �ือต้องปรับปรุ งงบการเงิน ย้อ นหลัง สําหรั บประมาณการที� เคยรับ รู ้ ไว้ ณ วัน ที� �ื� อ เพื�อ สะท้อนผลของข้อมูลเพิ� ม เติ มที� ได้รั บเกี�ย วกับข้อเท็จ จริ งและ สถานการณ์แวดล้อมที�มีอยู่ ณ วันที���ื อ ���งข้อมูลดังกล่าวมีผลต่อการวัดมูลค่าของจํานวนต่ าง � ที� เคยรับรู ้ไว้ ณ วัน ที��ื� อ และ ระยะเวลาในการวัดมูลค่าต้องไม่เกินกว่าหน��งปี นับจากวันที���ื อ การปรับปรุ งงบการเงินย้อนหลังไม่มีผลกระทบต่องบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 และเกิดจากการ เปลี�ยนแปลงที�เกิดข��น ระหว่างปี พ.ศ. 2557 ผลกระทบที�มีตอ่ งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 สรุปได้ ดังนี� (หน่ วย : บาท) งบการเงินรวม
งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม – สุ ทธิ ส่ วนได้เสียในกิจการร่วมค้า ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น กําไรสะสมยังไม่ได้จดั สรรณ วันที� 31 ธันวาคมพ.ศ.2557 ส่ วนได้เสี ยที�ไม่มอี าํ นาจควบคุม
รายงานประจ�ำปี 2558
ตามที� รายงานไว้เดิม
รายการปรับปรุง
ตามที� ปรับปรุงใหม่
136,832,458 18,528,101
22,069,986 (5,980,401)
158,902,444 12,547,700
1,771,233,413 1,083,854,135
9,259,556 6,830,029
1,780,492,969 1,090,684,164
40
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
204
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 3
การปรับปรุ งงบการเงินย้ อนหลัง (ต่อ) ��กระทบที�มีตอ่ งบกําไรขาดทุนเบ�ดเสร�จสําหรับปี สิ� นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 สรุปได้ ดัง นี� (หน่ วย : บาท) งบการเงินรวม
งบกําไร�าดทุนเบ�ดเ�ร�จ�ําหรับปี �ิ�น�ุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ส่ วนแบ่งกําไรจากบริ ษทั ร่ วม ส่ วนแบ่งขาดทุนจากส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า กําไรสําหรับปี กําไรส่วนที�เป� นส่วนของ���้ ือหุ ้นส่ วนใหญ่ กําไรส่วนที�เป� นส่วนได้เสียที�ไม่มีอาํ นาจควบคุ ม กําไรต่อหุ ้นขั�นพื� นฐาน
4
การจัดการความเ�ี� ยงทางการเงิน
4.1
ปัจจัยความเ�ี�ยงทางการเงิน
ตามที� รายงานไว้เดิม
รายการปรับปรุง
ตามที� ปรับปรุงใหม่
26,245,264 (22,231,644) 437,668,090 460,454,329 (22,786,239) 0.82
22,069,986 (5,980,401) 16,089,585 9,259,556 6,830,029 0.02
48,315,250 (28,212,045) 453,757,675 469,713,885 (15,956,210) 0.84
กิจกรรมของก�ุ่มบริ ษทั ย่อมมีความเสี� ยงทางการเงินที� ห�ากห�ายซ��งได้แก่ ��กระทบของการเป�ี�ยนแป�งของราคาต�าดตรา สารหนี�แ�ะราคาต�าดตราสารทุน การเป�ี�ยนแป�งอัตราแ�กเป�ี�ยนเงิ นตราต่างประเทศแ�ะการเป�ี� ยนแป�งอัตราดอกเบี�ย แ�นการจัดการความเสี� ยง�ดยรวมของก�ุ่มบริ ษทั จ�งมุ่งเน้นความ�ัน�วนของต�าดการเงินแ�ะแสวงหาวิธีการ�ด��กระทบที� ทําให้เ สี ยหายต่อ��การดําเนิ นงานทางการเงิ นของก�ุ่มบริ ษ ทั ให้เห�ื อน้อยที� สุดเท่าที�เป� นไปได้ ก�ุ่มบริ ษทั จ� งใช้เครื� องมื อ อนุพ นั ธ์ทางการเงิน ตัวอย่างเช่น สัญญาซื�อขายเงินตราต่างประเทศ�่วงหน้าเพื� อป้ องกันความเสี�ยงที�จะเกิดข��น การจัดการความเสี�ยงดําเนินงาน�ดย�่ ายบริ ห ารให้เป� นไปตามน�ยบายที� อนุ มตั ิ �ดยค�ะกรรมการบริ ษทั �ดยค�ะกรรมการ บริ ษทั จะกําหนดห�ักการ�ดย�าพรวมเพื�อจัดการความเสี� ยงแ�ะแนวน�ยบายที� เกี� ยวข้องไว้ เพื� อครอบค�ุมความเสี� ยงอัตรา แ�กเป�ี�ยนเงินตราต่างประเทศ ความเสี� ยงการให้สินเชื�ออย่างเจาะจง การใช้ตราสารอนุพนั ธ์ทางการเงิน แ�ะใช้การ�งทุ น�ดย ใช้ส�าพค�่องส่วนเกินในการจัดการความเสี� ยง
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
41
รายงานประจ�ำปี 2558
บริ ษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมมชืช�่อ �อบริบริ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
205
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
4
การจัดการความเ�ี� ยงทางการเงิน (ต่อ)
4.1
ปัจจัยความเ�ี�ยงทางการเงิน (ต่อ) 4.1.1 ความเ�ี� ยงจากอัตราแลกเปลีย� น เนื� องจากกลุม่ บริ ษทั ดําเนิ นงานระหว่า งประเทศจึงย่อมมีความเสี� ยงอัตราแลกเปลี�ยนเงินตราต่างประเทศซึ� งเกิดจากสกุล เงินที�หลากหลาย โดยฉพาะสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ กิจการในกลุม่ บริ ษทั ใช้สญั ญาซื�อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า เพื� อป้ องกันความเสี� ยงจากอัตราแลกเปลี�ยนเงินตราต่างประเทศ 4.1.2 ความเ�ี� ยงจากอัตราดอกเบีย� รายได้และกระแสเงินสดจากการดําเนิ นงานของกลุ่มบริ ษทั ส่วนใหญ่ไม่ข�ึ นกับการเปลี�ยนแปลงอัตราดอกเบี� ยในตลาด ธุรกรรมทั�งหมดที�ใช้อนุพนั ธ์ดา้ นอัตราดอกเบี� ยต้องได้รับ อนุ มตั ิ จากผูอ้ าํ นวยการ�่ ายการเงิ นก่อนเข้าทํารายการ กลุ่ม บริ ษทั ไม่มสี ิ นทรัพย์ทต�ี อ้ งอ้างอิงอัตราดอกเบี�ยอย่างมีนยั สําคัญ นโยบายของกลุ่มบริ ษทั คือต้องการคงจํานวนเงินกูย้ ืม โดยใช้เครื� องมือทางการเงินที�กาํ หนดอัตราดอกเบี�ยคงที�ให้อยูป่ ระมาณร้อยละ 70 ของเงินกูย้ ืมทั�งหมด ทั�งนี� ณ วัน สิ� น ปี บัญชี อัตราดอกเบี�ยคงที� อยู่ที�ร้อยละ 1.54 ถึงร้อยละ 4.65 ในบางกรณี กลุ่มบริ ษทั มีการกูย้ ืมแบบอัตราดอกเบี�ยผันแปร และใช้สญั ญาแลกเปลี�ยนอัตราดอกเบี�ยเพื�อเป็ นการป้ องกันความเสี�ยงกระแสเงินสดของจํานวนเงินดอกเบี�ยที�จะต้องจ่าย ในอนาคตโดยพิจารณาถึงผลกระทบเชิงเศรษฐกิ จของการเปลี� ยนเงิน กูย้ ืมจากอัตราดอกเบี� ยลอยตัวให้กลายเป็ นอัตรา ดอกเบี� ยคงที� สัญญาแลกเปลี�ยนอัตราดอกเบี�ยทําให้กลุ่มบริ ษทั สามารถระดมทุนโดยการกูย้ ืมระยะยาวด้วยอัตราดอกเบี� ย ลอยตัวและเปลี�ยนอัตราดอกเบี� ยให้กลายเป็ นอัตราคงที�ในระดับที�นอ้ ยกว่าอัตราดอกเบี�ยคงที�กรณี ที�กลุ่มบริ ษทั ต้องกูย้ ืม ระยะยาวโดยตรง การทําสัญ ญาแลกเปลี� ยนอัตราดอกเบี� ยทําให้กลุ่มบริ ษทั ตกลงกับ คู่สญ ั ญาที�จะแลกเปลี� ยนผลต่าง ระหว่างจํานวนเงินตามดอกเบี�ยคงที�กบั ตามอัตราดอกเบี� ยลอยตัวในช่วงเวลาที�กาํ หนดไว้ (โดยส่วนมากจะเป็ นรายเดือน) โดยอ้างอิงจากจํานวนฐานทีใ� ช้เป็ นเกณ�์คาํ นวณเงินต้นตามทีต� กลงกันไว้ และรับ รู ้ส่วนต่างที� จะต้องจ่ายหรื อจะได้รับ ตามสัญ ญาแลกเปลี� ยนอัตราดอกเบี� ยไว้เป็ นส่วนประกอบของรายได้ด อกเบี� ยหรื อดอกเบี� ยจ่ายตลอดระยะเวลาตาม ข้อตกลง พร้อมกับรับรู้รายการกํา ไรและรายการขาดทุนจากการยกเลิ กข้อตกลงก่อนถึ งเวลาที� กาํ หนดในสัญญา แลกเปลี�ยนอัตราดอกเบี�ยหรื อจากการจ่ายชําระเงินกูย้ ืมไว้ในกําไรหรื อขาดทุน 4.1.3 ความเ�ี� ยงด�านการ�ห� �ินเช��อ ความเสี�ยงด้านการให้สินเชื�อของกลุม่ บริ ษทั ไม่มีการกระจุกตัวอย่างมีนยั สําคัญ นโยบายของกลุ่มบริ ษทั คือทําให้เชื� อมัน� ได้วา่ ได้ขายสิ นค้าและให้บริ การแก่ลูกค้าที�มีประวัติสินเชื� ออยู่ในระดับที�เหมาะสม คู่สญ ั ญาในอนุพันธ์ท างการเงินและ รายการเงินสดได้เลือกที�จะทํารายการกับสถาบันการเงินที� มีคณ ุ �าพและมีความน่าเชื�อถือสูง กลุ่มบริ ษทั มี นโยบายจํากัด วงเงินธุรกรรมการทําสิ นเชื�อกับสถาบันการเงินแต่ละแห่งอย่างเหมาะสม
รายงานประจ�ำปี 2558
42
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
206
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 4
การจัดการความเสี� ยงทางการเงิน (ต่อ)
4.1
ปัจจัยความเสี�ยงทางการเงิน (ต่อ) 4.1.4 ความเสี� ยงด�านส�าพคล่อง จํานวนเงิ นสดที� มีอย่างเพี ยงพอและเงิน ลงทุ นในหลักทรัพ ย์ท�ีมีตลาดรองรับย่อมแสดง�ึ งการจัดการความเสี�ยงของ ส�าพคล่องอย่างรอบคอบ ความสามาร�ในการหาแหล่งเงินทุนแสดงให้เห�นได้จากการที� มีวงเงิน อํานวยความสะดวก ในการกู้ยืมที� ได้มีการตกลงไว้แล้วอย่างเพียงพอ
4.2
การบัญชีสําหรั บอนุพนั ธ� ที�เป� นเคร�� องม�อทางการเงินและกิจกรรมป�องกันความเสี� ยง กลุม่ บริ �ทั เป� นคูส่ ญ ั ญาในอนุพ นั ธ์ที�เป� นเครื� องมือทางการเงินซึ�งส่ วนมากจะประกอบด้วยสัญญาซื� อขายเงิ นตราต่างประเทศ ล่วงหน้า เครื� องมือดังกล่าวไม่รับรู ้ในงบการเงินในวันเริ� มแรก สัญญาซื� อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าช่วยป้ องกัน กลุ่มบริ �ทั จากความเคลื� อนไหวของอัตราแลกเปลี�ยนด้วยการกําหนด อัตราที� จะใช้รับสินทรัพย์หรื ออัตราที�จะจ่ายหนี� สินที�เป� นสกุลเงินต่างประเทศ จํานวนที� เพิ� มขึ� นหรื อลดลงจากจํานวนเงิ นที� จะ ได้รบั จากสิ นทรัพย์หรื อที�จะต้องจ่ายชําระหนี�สินจะนําไปหักกลบกับมูลค่าที�เปลี�ยนแปลงไปของสัญญาซื� อขายเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้าที� เกี�ยวข้อง รายการกําไรและขาดทุน จากเครื� องมื ออนุ พนั ธ์จะนํา มาหักลบกันในการนําเสนอรายงานทางการเงินและ ไม่รบั รูใ้ นงบการเงิน ค่าธรรมเนี ยมในการทําสัญญาแต่ละฉบับจะตัดจําหน่ายตามอายุของแต่ละสัญญา
4.3
การประมาณมูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรมของอนุพนั ธ์ที�มีตลาดซื�อขายคล่องรองรับกําหนดมูลค่า โดยขึ� นอยู่กบั ราคาตลาดที� มีการเปิ ดเ�ย ณ วันที�ในงบแสดง ฐานะการเงิน มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื� อขายเงิ นตราต่างประเทศล่วงหน้าประเมิน โดยใช้ราคาตลาดของอัตราแลกเปลี� ยน ณ วันที�ในงบแสดงฐานะการเงินของสัญญาซื�อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า มูลค่ายุติธรรมโดยประมาณของสินทรัพย์ทางการเงินและหนี� สินทางการเงินที�มีอายุคงเหลือตํ�ากว่าหนึ�งปี มีคา่ ใกล้เคียงกับมูลค่า ตามบัญชี
5
ประมาณการบัญชีที�สําคัญ �� อสมมติ�านและการ�ช� ดลุ ยพินิจ การประมาณการทางบัญชี ข้อสมมติ ฐานและการใช้ดุลยพิ นิ จได้มีการประเมิ นทบทวนอย่างต่ อเนื� องและอยู่บนพื� นฐานของ ประสบการณ์ ใ นอดี ต และปั จจั ย อื� น � ซึ� งรวม�ึ ง การคาดการณ์ ใ นอนาคตที� เ ชื� อว่ า มี เ หตุ � ลในส�านการณ์ ข ณะนั� น การประมาณการทางบัญชี ข้อสมมติฐาน และการใช้ดลุ ยพินิจที�สาํ คัญ ได้แก่
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
43
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริ ษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมมชืช�่อ �อบริบริ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
207
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
5
ประมา�การบัญชีที�สําคัญ �้ อสมมติ�านและการ�ช้ ดลุ ยพินิจ (ต่อ) 5.1
ต้นทุนการก่อสร้ างค้างจ่ าย ต้นทุนงานก่อสร้างค้างจ่าย ณ วันสิ� นปี เป็ นจํานวนที� ผูบ้ ริ หารประมาณการจากประสบการณ์ โดยคํานึ งถึงความก้าวหน้า ของงานและต้นทุนที�เกิดขึ�นของโครงการที�เป็ นปั จจุบนั
5.2
รายได้จากงานก่อสร้ าง รายได้ค่าก่อสร้างและต้นทุนค่าก่อสร้างรับ รู้ดว้ ยวิธี อา้ งอิ งกับ ขั�นความสําเร็ จของงานโดยวัดจากการสํารวจอัตราส่วน ของงานก่อสร้างที�ทาํ เสร็จกับงานก่อสร้างทั�งหมดตามสัญญาโดยพิ จารณาจากการสํารวจทางกายภาพโดยวิศวกรผูบ้ ริ หาร โครงการร่ วมกับเจ้าของหรื อลูกค้า
5.3
สั ญญาเช่ า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็ นสัญญาเช่า ดําเนินงานหรื อสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ ายบริ หารได้ใช้ดุลยพินิจ ในการประเมิน เงื�อนไขและรายละเอียดของสัญ ญาเพื� อ พิ จ ารณาว่า กลุ่ม บริ ษทั ได้โ อนหรื อรับ โอนความเสี� ยงและ ผลประโยชน์ในสินทรัพย์ท�ีเช่าดังกล่าวแล้วหรื อไม่
5.4
ผลประโยชน์ พนักงาน มูลค่าปั จจุบ นั ของภาระผูกพันจากโครงการผลประโยชน์และผลประโยชน์ระยะยาวอื�นขึ� นอยูก่ บั หลายปัจจัยที� ใช้ในการ คํานวณตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยโดยมีขอ้ สมมติฐานหลายตัว เช่น อัต ราเงินเฟ้ อ อัตราการเพิ � มขึ� น ของเงิ นเดื อน พนักงาน อัตราการเพิ�มขึ�นของราคาทอง รวมถึงข้อสมมติฐานเกี� ยวกับอัตราคิ ดลด การเปลี�ยนแปลงของข้อสมมติฐ าน เหล่านี�จะส่งผลกระทบต่อมูลค่าของภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์และผลประโยชน์ร ะยะยาวอื�น กลุ่มบริ ษทั ได้ พิ จ ารณาอัตราคิ ดลดที� เ หมาะสม ซึ� ง ได้แ ก่อ ัตราดอกเบี� ยที�ควรจะใช้ใ นการกํา หนดมู ลค่าปั จ จุบันของประมาณการ กระแสเงินสดที�คาดว่าจะต้องจ่ายภาระผูกพัน โดยใช้อตั ราดอกเบี� ยพันธบัตรรัฐบาลซึ� งเป็ น สกุลเงินเดี ยวกับสกุลเงิน ที� จะจ่ายภาระผูกพันให้แก่พนักงาน และวันครบกําหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาที�ตอ้ งชําระภาระผูกพัน ข้อสมมติฐานหลักสําหรับภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ และผลประโยชน์ระยะยาวอื�นซึ� งอ้างอิงกับ สถานการณ์ ปั จจุบนั ในตลาดได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 24
5.5
ประมา�การหนีส� ิ นและหนี�สินทีอ� าจจะเกิด��น� กลุม่ บริ ษทั มี ป ระมาณการหนี� สินสํา หรับภาระผูกพันตามสัญญาข้อตกลงสัมปทานในการบํารุ ง รักษาหรื อ ปรับปรุ ง ซ่อมแซมโครงสร้างพื� นฐาน โดยประมาณการจากแผนในการบํารุงรักษาตลอดอายุสัญญาสัมปทาน
รายงานประจ�ำปี 2558
44
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
208
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 5
ประมา�การบั�ชีที�สําคั� ข้ อสมมติ�านและการ�ช้ ดลุ ยพินิจ (ต่อ) 5.5
ประมา�การหนีส� ิ นและหนี�สินทีอ� าจจะเกิดข�น� (ต่อ) กลุม่ บริ ษทั มีหนี� สินที�อาจจะเกิดข��นจากการถูกฟ้ องร้องเรี ยกค่าเสียหาย ��� ง�่ ายบริ หารได้ใ�้ดุล ยพิ นิจในการประเมินผล ของคดี ที� ถูกฟ้ องร้อ งแล้ว และเ�ื� อมัน� ว่าจะไม่มีความเสี ยหายที� เ ป� นสาระสํา คั� เกิดข�� น นอกเหนื อจากประมาณการ หนี� สินทีไ� ด้บนั ท�กไว้แล้ว ณ วัน สิ�น รอบระยะเวลารายงาน
6
การจัดการความเสี� ยง�นส่ วนของทุน วัตถุประสงค์ของบริ ษทั ในการบริ หารทุนของบริ ษทั นั�น เพื� อดํารงไว้�� งความสามารถในการดําเนิ นงานอย่างต่อเนื� องของบริ ษทั เพื�อสร้างผลตอบแทนต่อผูถ้ ือหุน้ และเป� นประโย�น์ต่อผูท้ ี�มีส่วนได้เ สี ยอื�น และเพื�อดํารงไว้�� งโครงสร้างของทุน ที� เ หมาะสม เพื�อลดต้นทุนทางการเงินของทุน ในการดํารงไว้หรื อปรับโครงสร้างของทุน บริ ษทั อาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปั นผลให้ กบั ผูถ้ ือหุ ้น การคืนทุนให้แก่ผถู ้ ื อหุ ้น การออกหุน้ ใหม่ หรื อการขายสินทรัพย์เพื�อลดภาระหนี�สิน
7
ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงาน กลุม่ บริ ษทั มีส่วนงานที� รายงานสองส่วนงาน ��� งประกอบด้วยส่วนงานธุรกิจพลังงานและส่วนงานธุ รกิ จก่อสร้าง โดยส่ วนงาน ธุรกิจพลังงานให้บริ การผลิตกระแสไฟฟ้ าและจําหน่ายให้แก่หน่วยงานรัฐบาลทั�งในและต่างประเทศ ส่ วนงานธุ รกิจ ก่อสร้าง ให้บริ การก่อสร้างโรงผลิตปิ โตรเคมีและโรงไฟฟ้ าทั�งในประเทศและต่างประเทศ ส่วนงานดําเนินงานได้ถูกรายงานในลักษณะเดียวกับรายงานภายใน ที�นาํ เสนอให้ผมู ้ ีอานาจตัดสิ น ใจสูงสุ ด ด้านการดําเนิ นงาน ��� งพิ จารณาว่าคือประธานเจ้าหน้าที� บริ ห ารและกรรมการผูจ้ ดั การให�่ �� งเป� นผูม้ ี อาํ นาจตัดสิ นใจสูงสุ ดด้านการดําเนิ นงาน เพื�อการจัดสรรทรัพยากรและประเมินผลการป�ิบตั ิงานของส่วนงาน ผูม้ ีอาํ นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดําเนินงานได้พิจารณาแล้วว่าส่วนงานที�รายงานมีดงั นี�
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
45
รายงานประจ�ำปี 2558
209
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 7
ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงาน (ต่อ)
งบการเงินรวม ธุรกิจพลังงาน
สําหรับปี สิ�นสุ ด วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 รายได้จากการก่อสร้างและให้บริ การ ผลการดําเนิ นงานตามส่วนงาน รายการทีไ� ม่ส ามารถปันส่ วนได้
ธุรกิจก่อสร้ าง
โครงการที� ให้ บริการ ประเทศไทย บาท
โครงการที� ให้ บริการ ประเทศอ�น� บาท
โครงการที� ให้ บริการ ประเทศไทย บาท
โครงการที� ให้ บริการ ประเทศอ�น� บาท
-
674,990,240 520,864,519
9,473,723,328 479,098,367
11,374,983,581 607,308,417
21,523,697,149 1,607,271,303 (1,041,078,135) 566,193,168
124,823,116 249,281,851
97,104,438 5,148,587,051
72,715,772 7,056,209,320
14,351,650 13,443,206,504
308,994,976 25,897,284,726 งบการเงินรวม
โครงการที� ให้ บริการ ประเทศไทย บาท
ธุรกิจพลังงาน โครงการที� ให้ บริการ ประเทศอ�น� บาท
โครงการที� ให้ บริการ ประเทศไทย บาท
ธุรกิจก่อสร้ าง โครงการที� ให้ บริการ ประเทศอ�น� บาท
-
238,778,873 135,919,429
7,837,205,175 592,303,411
11,499,277,067 515,367,280
19,575,261,115 1,243,590,120 (789,832,445) 453,757,675
171,688,614 188,133,160
31,993,576 478,601,227
76,793,535 12,015,896,991
7,842,187 9,968,959,261
288,317,912 22,651,590,639
กําไรสําหรับปี � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 สินทรัพย์ถาวรของส่วนงาน สินทรัพย์ท�งั สิ� นในงบการเงินรวม
สําหรับปี สิ�นสุ ด วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 - ปรับปรุงใหม่ รายได้จากการก่อสร้างและให้บริ การ ผลการดําเนิ นงานตามส่วนงาน รายการทีไ� ม่ส ามารถปันส่ วนได้ กําไรสําหรับปี � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 - ปรับปรุงใหม่ สินทรัพย์ถาวรของส่วนงาน สินทรัพย์ท�งั สิ� นในงบการเงินรวม
รวม บาท
รวม บาท
ทั�งนี� ผมู ้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสูงสุดด้านการดําเนินงานใช้กาํ ไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงิ นได้ในการพิ จารณาผลการดําเนิ นงาน แต่ละเดือน
รายงานประจ�ำปี 2558
46
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
210
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 8
เงินสดและรายการเทียบเท่ า เงินสด
� วันที� 31 ธันวาคม เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารบัญชี ออมทรัพย์ เงินฝากธนาคารบัญชี กระแสรายวัน เงินฝากประจําอายุไม่เกิน 3 เดือน
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
3,632,404 660,897,112 769,542,754 137,521,019 1,571,593,289
4,468,816 744,939,693 739,172,922 122,726,500 1,611,307,931
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท 3,024,303 226,872,212 12,708,115 242,604,630
4,217,945 255,075,022 23,892,960 283,185,927
เงินฝากธนาคารบัญชีออมทรัพย์มีอตั ราดอกเบี� ยร้อยละ 0.01 - 4.60 ต่อปี (พ.ศ. 2557 ร้อยละ 0.02 - 7.00 ต่อปี ) 9
ลูกหนีก� ารค�า
� วันที� 31 ธันวาคม กิจการที�เกีย� ว�� องกัน ยังไม่ครบกําหนดชําระ ค้างชําระ - ไม่เกิน 3 เดือน - 3 - 6 เดือน - 6 - 12 เดือน - มากกว่า 12 เดือน รวม
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
231,915,540
10,168,797
244,947,418
200,794,623
97,595,869 3,391,471 332,902,880
42,006,039 52,174,836
143,779,052 397,917,976 226,096,393 1,012,740,839
3,423,636 70,022,430 4,087,507 4,528,521 282,856,717
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
47
รายงานประจ�ำปี 2558
211
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริ ษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
9
ลูกหนีก� ารค�า (ต่อ)
� วันที� 31 ธันวาคม กิจการอ�น� ยังไม่ครบกําหนดชําระ ค้างชําระ - ไม่เกิน 3 เดือน - 3 - 6 เดือน - 6 - 12 เดือน - มากกว่า 12 เดือน รวม 10
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
1,337,012,072
890,281,856
692,010,878
679,354,950
785,380,752 265,582,437 37,532,144 180,293,587 2,605,800,992
602,881,138 327,258,031 62,908,839 18,263,844 1,901,593,708
778,986,973 224,186,072 180,293,588 1,875,477,511
602,620,895 327,258,031 62,908,839 18,263,844 1,690,406,559
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
ลูกหนี�ค�าก�อ�ร� างตาม�ั��าที�ยงั ไม�ได�เรี ยกเก�บและรายได�ค�าก�อ�ร� างตาม�ั��ารั บล�วงหน� า
10.1 ลูกหนีค� �าก�อ�ร� างตาม�ั��าที�ยงั ไม�ได�เรี ยกเก�บ - กิจการที�เกีย� ว��องกัน
� วันที� 31 ธันวาคม ต้นทุนงานโครงการจนถึงปั จจุบนั กําไรท�� รับร� ้จนถึงปั จจุบนั ต้นทุนงานโครงการท��เกิด�ึ�นปรับปรุง ด้วยกําไรท��รับร� ้จนถึงปั จจุบนั หัก เงินงวดท��เร� ยกเก�บจาก��ว้ า่ จ้าง
รายงานประจ�ำปี 2558
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
งบการเงินเฉพาะบริษทั พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
14,241,203,165 1,473,489,116
3,113,796,652 385,598,690
14,241,203,165 1,481,598,799
10,251,573,684 1,140,071,356
15,714,692,281 (14,199,749,842) 1,514,942,439
3,499,395,342 (3,098,567,746) 400,827,596
15,722,801,964 (13,583,403,148) 2,139,398,816
11,391,645,040 (10,010,082,789) 1,381,562,251
48
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
212
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 10
ลูกหนีค� ่าก่อสร้ างตามสั��าที�ยงั ไม่ได้เรี ยกเก�บและรายได้ค่าก่อสร้ างตามสั ��ารั บล่วงหน้ า (ต่อ)
10.2 ลูกหนีค� ่าก่อสร้ างตามสั��าที�ยงั ไม่ได้เรี ยกเก�บ - กิจการอ�น�
� วันที� 31 ธันวาคม ต้นทุนงานโครงการจนถึงปั จจุบนั ก�า�รท�� รับร� ้จนถึงปั จจุบนั ต้นทุนงานโครงการท���ก���ึ�นปรับปรุง �้��ก�า�รท��รับร� ้จนถึงปั จจุบนั หัก �ง�นง��ท���ร� �ก�ก�บจาก���้ า่ จ้าง
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
48,474,852,788 3,738,416,821
35,113,593,538 3,196,977,901
34,110,074,812 2,950,705,162
22,591,417,285 2,262,109,808
52,213,269,609 38,310,571,439 (47,742,297,493) (32,923,037,779) 4,470,972,116 5,387,533,660
37,060,779,974 (33,577,528,006) 3,483,251,968
24,853,527,093 (21,566,590,462) 3,286,936,631
งบการเงินเฉพาะบริษทั พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
10.3 รายได้ค่าก่อสร้ างรั บล่วงหน้ า - กิจการที�เกีย� ว�้ องกัน งบการเงินรวม � วันที� 31 ธันวาคม ต้นทุนงานโครงการจนถึงปั จจุบนั ก�า�รท�� รับร� ้จนถึงปั จจุบนั ต้นทุนงานโครงการท���ก���ึ�นปรับปรุง �้��ก�า�รท��รับร� ้จนถึงปั จจุบนั หัก �ง�นง��ท���ร� �ก�ก�บจาก���้ า่ จ้าง
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2557 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2557 บาท
293,469,391 5,957,536
-
-
-
299,426,927 (664,848,502) (365,421,575)
-
-
-
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
49
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริ ษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
213
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
10
ลูกหนี�ค่าก่อสร้ างตามสั��าที�ยงั ไม่ได้เรี ยกเก�บและรายได้ค่าก่อสร้ างตามสั��ารั บล่วงหน้ า (ต่อ)
10.4 รายได้ค่าก่อสร้ างรั บล่วงหน้ า - กิจการอ�น�
� วันที� 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
-
2,563,026,650 208,921,238
ต้นทุนงานโครงการจนถึงปั จจุบนั กําไรที� รับรู ้จนถึงปั จจุบนั ต้นทุนงานโครงการที�เกิดขึ�นปรับปรุง ด้วยกําไรที�รับรู ้จนถึงปั จจุบนั หัก เงินงวดที�เรี ยกเก�บจาก�ูว้ า่ จ้าง
11
- 2,771,947,888 - (2,851,396,049) (79,448,161)
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท -
2,563,026,650 208,921,238
- 2,771,947,888 - (2,851,396,049) (79,448,161)
ลูกหนีต� าม�้อตกลงสั มปทานบริ การ งบการเงินรวม เงินลงทุน�ั�นต้ นตามสั��าเช่ า พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท ลูกหนี� ตามข้อตกลงสัมปทานบริ การ - ระยะเวลาไม่เ กินหนึ�งปี - ระยะเวลาที�เกินหนึ�งปี �ต่ไม่เกินห้าปี - ระยะเวลาที�เกินห้าปี หัก รายได้ทางการเงินรอการรับ รู้ มูลค่าปั จจุบ นั ของจํานวนเงินขั�นตํ�า
339,866,122 1,302,931,171 7,026,233,631 8,669,030,924 (2,666,425,461) 6,002,605,463
ลูกหนี� ตามข้อตกลงสัมปทานบริ การสามารถวิเคราะห์ได้ดงั นี� - ลูกหนี�ตามข้อตกลงสัมปทานบริ การที�จะ ได้รับภายใน 12 เดือน - ลูกหนี� ตามข้อตกลงสัมปทานบริ การที�จะ ได้รบั เกินกว่า 12 เดือน
รายงานประจ�ำปี 2558
295,755,892 1,179,199,088 6,704,253,016 8,179,207,996 (2,687,492,087) 5,491,715,909
มูลค่าปั จจุบัน�องจํานวนเงิน�ั�น ตํา� พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท 168,022,621 662,125,739 5,172,457,103 6,002,605,463 6,002,605,463
134,895,074 577,203,251 4,779,617,584 5,491,715,909 5,491,715,909
168,022,621
134,895,074
5,834,582,842 6,002,605,463
5,356,820,835 5,491,715,909 50
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
214
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 12
รายการกับบุคคลและกิจการทีเ� กีย� วข้องกัน บุคคลและกิจการที�ควบคุมบริ ษทั หรื อถูกควบคุมโดยบริ ษทั หรื ออยู�่ ายใต้การควบคุมเดียวกับบริ ษทั ทั�งทางตรงหรื อทางอ้อมไม่วา่ จะโดยทอดเดียวหรื อหลายทอด บุคคลและกิจการดังกล่าวเป็ นบุ คคลหรื อกิ จการที�เกี�ยวข้องกับบริ ษทั บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ย่อย ลําดับถัดไป บริ ษทั ร่ วมและบุคคลที� เป็ นเจ้าของส่ วนได้เสี ยในสิ ทธิ ออกเสี ยงของบริ ษทั ซึ� งมีอิทธิ พลอย่างเป็ นสาระสําคัญเหนื อ กิจการ ผูบ้ ริหารสําคัญรวมทั�งกรรมการและพนักงานของบริ ษทั ตลอดจนสมาชิ กในครอบครัวที� ใกล้ชิดกับบุคคลเหล่านั� น บุคคล และกิจการทั�งหมดถือเป็ นบุคคลหรื อกิจการที� เกี�ยวข้องกับบริ ษทั ในการพิ จารณาความสัมพันธ์ ระหว่า งบุค คลหรื อกิ จการที� เ กี� ยวข้องกันกับ บริ ษทั แต่ ละรายการ บริ ษทั คํานึ งถึ งเนื� อหาของ ความสัมพันธ์มากกว่ารู ปแบบทางกฎหมาย บุค คลหรื อกิ จ การที� เ กี� ย วข้องกัน ได้แ ก่ บุค คลหรื อ กิ จ การต่ า งๆ ที� มีค วามเกี� ยวข้องกับ กลุ่ ม บริ ษทั และบริ ษทั โดยการเป็ น ผูถ้ ือหุน้ หรื อมีผถู ้ ือหุ้นร่ วมกันหรื อมีกรรมการร่ วมกัน เงิ นลงทุ นในบริ ษทั ย่อ ย บริ ษทั ร่ วมและส่วนได้เ สี ยในกิจการร่ วมค้าที� สําคัญเปิ ดเผยในหมายเหตุขอ้ 13, 14 และ 15 ผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั สําหรับ ปี สิ� นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ได้แก่ อัตราร้ อยละของหุ้นที��อ� • • • • • •
บริ ษทั โตโย เอ็นจิเนี ยริ� ง คอร์ปอเรชัน� จํากัด (จัดตั�งขึ�นในประเทศญี�ปน) ุ่ บริ ษทั โกลบอล บิ สซิ เนส แมเนจเม้นท์ จํากัด นายฮิโรโนบุ อิริยา บริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) บริ ษทั ชิโยดะ คอร์ปอเรชัน� จํากัด (จัดตั�งขึ�นในประเทศญี�ปุ่น) บุคคลทัว� ไป
17.43 6.90 6.10 3.29 3.00 63.28
รายการต่อไปนี�เป็ นรายการค้าที�เป็ นสาระสําคัญกับบริ ษทั ย่อยและกิจการที� เกี�ยวข้องกัน รายการระหว่างกันเหล่านี� ที�เกิ ดขึ�นเป็ นไป ตามประเพณีและเงื�อนไขทางการค้าตามราคาที� กาํ หนดไว้ในสัญญาที�เกี�ยวข้อง
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
51
รายงานประจ�ำปี 2558
215
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 12
รายการกับบุคคลและกิจการทีเ� กีย� ว�้องกัน (ต่อ) �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม รายได้จากการให้ บริการ ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจการร่ วมค้า กิจการท�� �ก��ยว�้อ�กัน - ผูถ้ ือหุน้ กิจการท�� �ก��ยว�้อ�กันอื�น
รายได้ค่าบริ การซ่ อมบํารุ งรั กษา บริ ษทั ย่อย
ดอกเบีย� รั บ บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า
ดอกเบีย� จ่ าย บริ ษทั ย่อย
ต้ นทุนในการให้ บริ การ ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า
รายงานประจ�ำปี 2558
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
3,826,386,860 297,419,464 4,123,806,324
320,241,051 63,250 2,698 6,075,048 2,007,463 328,389,510
3,826,386,860 515,810,939 4,342,197,799
320,241,051 2,724,771,274 63,250 2,698 6,075,048 3,051,153,321
-
-
51,052,847 51,052,847
50,471,206 50,471,206
787,878 787,878
1,053,132 1,053,132
45,780,059 45,780,059
57,848,397 57,848,397
-
-
3,658,035 3,658,035
1,848,426 1,848,426
391,805 5,825,634 6,217,439
-
391,805 9,859,317 5,825,634 16,076,756
12,319,560 12,319,560
52
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
216
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 12
รายการกับบุคคลและกิจการทีเ� กีย� ว�้องกัน (ต่อ)
�ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม เงินปันผลจ่าย ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ กิจการที� เกี�ยวข้องกัน - ผูถ้ ือหุน้
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริ หาร ผลประโยชน์ระยะสั�นของพนักงาน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน
ณ วันที� 31 ธันวาคม ลูกหนีก� ารค้า - กิจการที�เกีย� ว�้องกัน สิ นทรัพย์หมุนเวียน ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า กิจการที� เกี�ยวข้องกัน - ผูถ้ ือหุน้
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
66,144,000 48,036,497 114,180,497
87,360,000 63,444,430 150,804,430
66,144,000 48,036,497 114,180,497
87,360,000 63,444,430 150,804,430
79,296,015 2,029,233 81,325,248
99,999,662 2,988,426 102,988,088
70,220,000 2,058,122 72,278,122
90,905,973 1,698,583 92,604,556
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
231,915,540 3,391,471 97,595,869 332,902,880
42,016,739 10,158,097 52,174,836
231,817,725 683,327,245 97,595,869 1,012,740,839
258,293,669 14,404,951 10,158,097 282,856,717
-
-
75,010,008 (11,991,020) 63,018,988
74,272,243 74,272,243
สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน บริ ษทั ย่อย หัก ค่าเผื�อหนี�สงสัยจะสูญ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
53
รายงานประจ�ำปี 2558
217
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อชื�อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 12
รายการกับบุคคลและกิจการทีเ� กีย� ว�้องกัน (ต่อ)
� วันที� 31 ธันวาคม ลูกหนีต� ามสั��าก่อสร้ างที�ยังไม่ ได้ เรียกเก็บ - กิจการที�เกีย� ว�้ องกัน ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า กิจการท�� �ก��ยว�้อ�กัน - ผูถ้ ือหุน้ ลูกหนีอ� น�ื - กิจการที�เกีย� ว�้องกัน บริ ษทั ย่อย กิจการท�� �ก��ยว�้อ�กัน - ผูถ้ ือหุน้ งานระหว่ างก่อสร้ าง - กิจการที�เกีย� ว�้องกัน กิจการท���ก��ยว�้อ�กัน - ผูถ้ ือหุ ้น กิจการท���ก��ยว�้อ�กันอื�น เงินจ่ ายล่วงหน้ าให้ ผ้ รู ั บเหมาช่ วง - กิจการที�เกีย� ว�้ องกัน บริ ษทั ย่อย ดอกเบีย� ค้างรั บจากเงินให้ ก้ยู ืม - กิจการที�เกีย� ว�้ องกัน บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า
รายงานประจ�ำปี 2558
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
1,507,981,766 6,960,673 1,514,942,439
309,333,884 282,620 91,211,092 400,827,596
1,507,981,766 631,134,430 282,620 2,139,398,816
309,333,884 980,734,655 282,620 91,211,092 1,381,562,251
-
56,496 56,496
21,263,372 21,263,372
9,495,192 56,496 9,551,688
120,287,945 178,669,357 298,957,302
92,476,844 92,476,844
120,287,945 120,287,945
92,476,844 92,476,844
-
-
25,569,822 25,569,822
80,092,854 80,092,854
361,894 361,894
674,568 674,568
46,438,228 46,438,228
7,101,633 7,101,633
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
54
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
218
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ชื�อ บริ ษคอร์ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 12
รายการกับบุคคลและกิจการทีเ� กีย� ว�้องกัน (ต่อ) � วันที� 31 ธันวาคม เงินประกันผลงาน - กิจการที�เกีย� ว�้องกัน บริ ษทั ร่ วม เงินให้ ก้ยู ืม - กิจการที�เกีย� ว�้ องกัน สิ นทรัพย์หมุนเวียน บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า รวม สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า หัก ค่าเ�ือ� หนี� สงสัยจะสูญ รวม รวมเงินให้กยู้ ืม
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
25,000,000 25,000,000
46,285,200 46,285,200
25,000,000 25,000,000
46,285,200 46,285,200
1,526,316 1,526,316
34,489,316 34,489,316
1,306,530,421 1,306,530,421
590,630,400 590,630,400
11,447,368 11,447,368 12,973,684
12,973,684 12,973,684 47,463,000
35,000,000 (6,022,632) 28,977,368 1,335,507,789
35,000,000 35,000,000 625,630,400
เงินให้ ก้ยู ืมแก�กจิ การที�เกีย� ว�้องกัน � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เงิ น ให้กยู้ มื แก่บ ริ ษทั ย่อ ยจํานวน 1,335.51 ล้านบาท (วันที� 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2557 จํานวน 625.63 ล้านบาท) เป็ นเงินให้กยู้ ืมระยะสั�นแก่บริ ษทั ToyoThai-USA Corporation (TTUS) จํานวน 36.37 ล้านเหรี ยญดอลลาร์ สหรั ฐฯ หรื อเที ยบเท่ ากับ 1,306.53 ล้านบาท (วัน ที� 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2557 จํานวน 18 ล้านเหรี ยญดอลลาร์ ส หรัฐ ฯ หรื อ เทียบเท่ากับ 590.63 ล้านบาท) มีอตั ราดอกเบี� ยร้อยละ BIBOR (3 เดือน) บวกร้อยละ 2.30 ต่อปี และเงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่ บริ ษทั ไบโอ แนชเชอรัล เอ็นเนอร์ยี จํากัด จํานวน 35 ล้านบาท (วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 จํานวน 35 ล้านบาท) มี อตั รา ดอกเบี�ยร้อยละ 2.75 ต่อปี � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เงิ นให้กยู้ ืมแก่กิจการร่ วมค้า จํานวน 12.97 ล้านบาท (วัน ที� 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2557 จํานวน 47.46 ล้านบาท) เป็ นเงินให้กยู้ ืมระยะยาวที�บริ ษทั โกลบอล นิวเอ็นเนอร์ยี จํากัด ��� งเป็ นบริ ษทั ย่อยให้แก่ บริ ษทั สยาม จี เ อ็น อี โ�ล่าร์ เอ็นเนอร์ ยี จํากัด ��� งเป็ นกิ จการร่ วมค้า�องกลุ่มบริ ษทั โดยมี อตั ราดอกเบี� ยร้อยละ 5.50 ต่อปี มี กาํ หนดการจ่ายชําระ ดอกเบี�ยทุก 6 เดือน และกําหนดจ่ายชําระเงินต้นตามจํานวนเงินที�ระบุไว้ในสัญญาเงินให้กยู้ ืม โดยเริ� มชําระคื นในปี พ.ศ. 2558 และจะครบกํา หนดในปี พ.ศ. 2567
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
55
รายงานประจ�ำปี 2558
219
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 12
รายการกับบุคคลและกิจการทีเ� กีย� ว��องกัน (ต่อ) การเปลีย� นแปลง�นเงิน�ห� ก�ยู �มแก�กจิ การที�เกี�ยว�� องกัน�ามาร�วิเคราะห� ได�ดังนี�
�ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ยอดคงเหลือต้นปี เพิ�มขึ�น ลดลง กําไรจากอัตราแลกเปลี�ยน ค่าเผื�อหนี�สงสัยจะสูญ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ยอดคงเหลือปลายปี
งบการเงินรวม
งบการเงิน เฉพาะบริษทั
บาท
บาท
47,463,000 (35,303,116) 813,800 12,973,684
625,630,400 903,536,800 (299,535,400) 111,898,621 (6,022,632) 1,335,507,789
ในระหว่างปี พ.ศ. 2558 บริ ษทั ให้เงินกูย้ ืมระยะสั�นแก่บริ ษทั ToyoThai-USA Corporation (TTUS) จํานวน 27.47 ล้านเหรี ยญ ดอลลาร์สหรัฐฯหรื อเที ยบเท่า 903.54 ล้านบาทโดยมีอตั ราดอกเบี�ยร้อยละ BIBOR (3 เดือ น) บวกร้อยละ 2.3 ต่อปี �ึ� งเงิ นกูย้ มื จํานวน 2 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯหรื อเทียบเท่า 66.08 ล้านบาทเป� นเงินกูย้ ืมที� เ กิ ดจากบริ ษทั ได้ทาํ สัญ ญาโอนลูกหนี� ค่า ศึกษาความเป� นไปได้ในโรงไ��้ า�่านหิ น ทีป� ระเทศพม่ากับบริษทั TTCL Coal Power Pte. Ltd (TTCP) จํานวนดัง กล่าวให้แก่ บริ ษทั TTUS งบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินรวม � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท บาท บาท เจ� าหนีก� ารค�า - กิจการที�เกีย� ว��องกัน บริ ษทั ย่อย กิจการที� เกี�ยวข้องกันอื�น
เจ� าหนีอ� น� - กิจการที�เกี�ยว��องกัน บริ ษทั ย่อย
รายงานประจ�ำปี 2558
193,088 193,088
-
16,597,667 193,088 16,790,755
32,735,157 32,735,157
-
-
888,218 888,218
-
56
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
220
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ชื�อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 12
รายการกับบุคคลและกิจการทีเ� กีย� ว�้องกัน (ต่อ)
� วันที� 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
-
-
เงินกู้ยมื ระยะ�ั� น - กิจการที�เกีย� ว�้องกัน บริ ษทั ย่อย
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท 163,142,100 163,142,100
314,575,400 314,575,400
เงินกู้ยมื ระยะ�ั� นจากกิจการทีเ� กีย� ว�้องกัน � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เงินกูย้ ื มระยะสั�นจากบริ ษทั ย่อยจํานวน 163.14 ล้านบาท (วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 จํานวน 314.58 ล้านบาท) เป็ นเงินกูย้ มื จากบริ ษทั TTCL Power Holdings Pte. Ltd. (TTPHD) จํานวน 4.5 ล้านเหรี ยญดอลลาร์ สหรั ฐฯ (วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 จํานวน 7 ล้านเหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ หรื อเทียบเท่ากับ 231.79 ล้านบาท) โดยมีอตั ราดอกเบี� ยร้อยละ 2 ต่อปี มี กาํ หนดการจ่ายชําระคืนเงินต้น ภายใน 1 เดือนเมื�อทวง�าม หรื อจ่ายชําระคืนเงินต้นภายใน 1 เดือนนับจากวันที� บริ ษทั แจ้งให้ TTPHD ทราบ และวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บริ ษทั มีเงินกูย้ ืมระยะสั�นจาก บริ ษทั TTCL Malaysia SDN. BHD (TTML) จํานวน 2.5 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯหรื อเทียบเท่า 82.79 ล้านบาท โดยไม่มีการคิดดอกเบี� ยและมีกาํ หนดการจ่ายชําระคื นเงินต้นภายใน 1 เดือนเมือ� ทวง�าม หรื อจ่ายชําระคืนเงินต้นภายใน 1 เดือนนับจากวันที�แจ้งให้ TTML ทราบ ในระหว่างปี พ.ศ. 2558 บริษทั ได้รับ เงินกูย้ ืมระยะสั�นจากบริ ษทั TTCL Malaysia SDN.BHD (TTML) จํานวน 10 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อเที ยบเท่า 328.05 ล้านบาท โดยไม่มีการคิดดอกเบี�ย การเปลีย� นแปลง�นเงินกู้ยืมจากกิจการที�เกีย� ว�้ องกัน�ามาร�วิเคราะห� ได้ดังนี�
�ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ยอดคงเหลือต้นปี เพิ�มขึ�น ลดลง ขาดท�นจากอัตราแลกเปลี�ยน ยอดคงเหลือปลายปี
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
งบการเงินรวม
งบการเงิน เฉพาะบริษทั
บาท
บาท
-
314,575,400 328,048,000 (489,178,700) 9,697,400 163,142,100
57
รายงานประจ�ำปี 2558
221
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อชื�อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 12
รายการกับบุคคลและกิจการทีเ� กีย� วข้องกัน (ต่อ)
� วันที� 31 ธันวาคม ดอกเบีย� ค้า งจ่ ายจากเงินกู้ยืม - กิจการที�เกีย� วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย
เงินรั บล่วงหน้ า จากลูก ค้าตามสั ญญาก่อสร้ าง - กิจการที�เกีย� วข้ องกัน ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ บริ ษทั ย่อย
รายได้ค่าก่ อสร้ างรั บล่วงหน้ า - กิจการที�เกีย� วข้ องกัน ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่
รายงานประจ�ำปี 2558
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
-
-
552,870 552,870
1,885,428 1,885,428
307,537,548 307,537,548
310,634,312 310,634,312
130,135,879 130,135,879
63,259,457 63,259,457
365,421,575 365,421,575
-
-
-
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
58
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
13
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
ToyoThai-USA Corporation
ToyoThai-Myanmar Corporation Co., Ltd.
สหรัฐอเมริ กา
พม่า
มาเลเซีย
ไทย
บริ ษทั ไบโอ แนชเชอรัล เอ็นเนอร์ ยี จํากัด
TTCL Malaysia SDN.BHD
เวียดนาม
ประเทศ
บริ ษทั ทีทีซีแอล เวียดนาม คอร์ ปอเรชัน�
� วันที� 31 ธันวาคม
เงินลงทุนในบริษัทย่ อย - สุทธิ
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
รับเหมาก่อสร้าง และบริ การด้านวิศวกรรม
รับเหมาก่อสร้าง และบริ การด้านวิศวกรรม
รับเหมาก่อสร้าง และบริ การด้านวิศวกรรม
บริ การด้านการพัฒนา พลังงานทดแทน
รับเหมาก่อสร้าง และบริ การด้านวิศวกรรม
ประเภทธุรกิจ
80
80
100
70
93.34
พ.ศ. 2558 ร้ อยละ
80
90
100
70
93.34
พ.ศ. 2557 ร้ อยละ
สั ดส่ วนความเป็ นเจ้าของ
50,000 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ
300,000 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ
750,000 มาเลเซียนริ งกิต
5,000,000 บาท
1,500,000 เหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
ทุนเรียกชําระแล้ว
50,000 เหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ
300,000 เหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ
750,000 มาเลเซียนริ งกิต
5,000,000 บาท
1,500,000 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั
อล จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีบริ แอลษัทจํทีาทกัีซดีแ(มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)) (เดิมช�อ� บริ ษทั โตโย-ไทย คอร� ป อเรชั�น จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
1,233,200
7,526,661
7,593,351
3,500,000
43,985,494
พ.ศ. 2558 บาท
59
1,233,200
8,465,331
7,593,351
3,500,000
43,985,494
พ.ศ. 2557 บาท
มูลค่าตามบัญชีตามวิธรี าคาทุน
งบการเงินเฉพาะบริษัท
222 บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2558
13
รายงานประจ�ำปี 2558 สิ งคโปร์
TTCL Power Holdings Pte. Ltd
TTCL Solar Power Pte. Ltd.
สิ งคโปร์
ไทย
พม่า
Toyo Thai-Power Myanmar Corporation Co., Ltd.
บริ ษทั โกลบอล นิว เอ็นเนอร์ ยี จํากัด
สิ งคโปร์
ประเทศ
TTCL Gas Power Pte. Ltd
� วันที� 31 ธันวาคม
เงินลงทุนในบริษัทย่อย - สุ ทธิ (ต่อ)
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
ลงทุนในธุ รกิจพลังงาน
บริ การด้านการพัฒนา พลังงาน
ลงทุนในธุ รกิจพลังงาน
ผลิตไฟฟ้ า
ลงทุนในธุ รกิจพลังงาน
ประเภทธุรกิจ
69.78
40
69.78
71.29
69.78
พ.ศ. 2558 ร้อยละ
57.55
40
57.55
59.67
57.55
พ.ศ. 2557 ร้ อยละ
สั ดส่ วนความเป็ นเจ้ าของ
4,000,000 เหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ
60,000,000 บาท
69,500,000 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ
51,587,300 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ
49,500,000 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
ทุนเรียกชําระแล้ว
83,793,909
-
พ.ศ. 2558 บาท
4,000,000 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ
60,000,000 บาท
-
24,000,000
60
-
24,000,000
1,238,015,000
83,793,909
-
พ.ศ. 2557 บาท
มูลค่าตามบัญชีตามวิธรี าคาทุน
งบการเงินเฉพาะบริษัท
69,500,000 2,000,537,250 เหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ
51,587,300 เหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ
49,500,000 เหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั
อล จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีบริ แอลษัทจํทีาทกัีซดีแ(มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)) (เดิมช�อ� บริ ษทั โตโย-ไทย คอร� ป อเรชั�น จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
223
13
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT ญี�ปนุ่ ญี�ปุ่น
Global New Energy Togo Co., Ltd.
Global New Energy Tsuno Co., Ltd.
ผลิตไฟฟ้ าจาก พลังงานแสงอาทิตย์ ผลิตไฟฟ้ า พลังงานแสงอาทิตย์
รับเหมาก่อสร้างและ บริ การด้านวิศวกรรม
ลงทุนในธุ รกิจพลังงาน
ลงทุนในธุ รกิจพลังงาน ทดแทน
รับบํา รุ ง รักษาโรงไฟฟ้ า พลังงานแสงอาทิตย์
ประเภทธุรกิจ
69.78
69.78
99
69.78
100
69.78
-
-
-
57.55
57.55
57.55
สั ดส่ วนความเป็ นเจ้าของ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ร้ อยละ ร้อยละ
100,000 เยน 100,000 เยน
50,000 เหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ
5,000,000 เหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ
4,200,000 เหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ
200,500,000 เยน
พ.ศ. 2558
-
-
-
5,000,000 เหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ
1,100,000 เหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ
200,500,000 เยน
ทุนเรียกชําระแล้ว พ.ศ. 2557
2,324,770,831 2,324,770,831
-
-
1,751,666
-
150,849,300
-
61
1,410,586,285 1,410,586,285
-
-
-
-
-
-
มูลค่าตามบัญชีตามวิธรี าคาทุน พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท
หมายเหตุ - บริ ษทั มีอาํ นาจควบคุมบริ ษทั �โกลบอล�นิว�เอ�นเนอร์ ยี�จํากดั ����ง เป� นบริ ษทั ย่อยที�บริ ษทั ��อหุน้ ในสัดส่ วนร้อยละ 40 เน��องด้วยผ�บ้ ริ หารและกรรมการ�องบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยดังกล่าวที�มีอาํ นาจตัดสิ นใจเป� นบุคคลกลุ่มเดียวกนั
เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย - สุ ทธิ
รวม หัก ค่าเผ�อ� การด้อยค่า�องเงินลงทุน
พม่า
สิงคโปร์
TTCL Coal Power Pte. Ltd.
TTCL Myanmar Engineering &. Construction Company Limited
สิ งคโปร์
ญี�ปนุ่
ประเทศ
TTCL New Energy Pte. Ltd.
Global New Energy Japan Co., Ltd.
ณ วันที� 31 ธันวาคม
เงินลงทุนในบริษัทย่อย - สุ ทธิ (ต่อ)
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั
อล จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซบริ ีแอลษัทจํทีาทกัีซดีแ(มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)) (เดิมช�อ� บริ ษทั โตโย-ไทย คอร� ป อเรชั�น จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
224 บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2558
225
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 13
เงินลงทุนในบริษัทย่ อย - สุ ทธิ (ต่อ) การเปลีย� นแปลงในเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยสามารถวิเ คราะห์ได้ดงั นี� งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท 1,410,586,285 1,327,726,349 915,123,216 83,059,636 (938,670) (199,700) 2,324,770,831 1,410,586,285
สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุทธิ ชําระค่าหุน้ ในบริ ษทั ย่อย จําหน่ายเงินลงทุน ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ การเพิม� ทุนในบริษัท TTCL New Energy Pte. Ltd.
เมื�อวันที� 30 มีนาคม พ.ศ. 2558 ที�ประชุ มค�ะกรรมการบริ ษทั TTCL New Energy Pte. Ltd. (TTNE) ได้มมี ติ อนุ มตั เิ พิ� มทุ นจดทะเบี ยน จากหุน้ สามัญจํานวน 1,100,000 หุ ้น ซ��งมีมูลค่าที�ตราไว้หุ้นละ 1 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ เป็ นหุน้ สามัญจํานวน 2,100,000 หุ ้ น โดยมีมูล ค่าทีต� ราไว้หุ้นละ 1 เหรี ยญดอลลาร์ สหรั ฐฯ ทั�งนี�เพื�อนําหุ ้นเพิ� มทุนดังกล่าวไปชําระหนี�ค่าหุ ้นของบริ ษทั ย่อยจากการลงทุนในบริ ษทั Orient Bio-Fuels Company Limited (OBF) ซ�� งเป็ นกิจการร่ วมค้าของกลุ่มบริ ษทั และ TTNE ได้รั บชําระค่าหุ ้ นดังกล่าวเมื�อวันที� 30 มีนาคม พ.ศ. 2558 แล้วทั�งจํานวน เมื�อวันที� 27 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 ที�ประชุ มค�ะกรรมการบริ ษทั TTCL New Energy Pte. Ltd. (TTNE) ได้มมี ติ อนุ มตั เิ พิ� มทุ นจดทะเบี ยน จากหุ ้นสามัญ จํา นวน 2,100,000 หุ ้ น ซ��งมี ม ลู ค่า ที� ตราไว้หุ้นละ 1 เหรี ยญดอลลาร์ สหรั ฐฯ เป็ นหุ ้ นสามัญ จํานวน 4,200,000 หุ ้ น โดยมี มูลค่าที� ตราไว้หุ้ นละ 1 เหรี ยญดอลลาร์ สหรั ฐฯ เพื� อเป็ นการชําระหนี�เงิ นกูใ้ ห้แก่ TTCL Power Holding Pte.Ltd. (TTPHD) โดยบริ ษทั TTNE ได้จดทะเบียนเพิ�มทุนกับ Accounting and Corporate Regulatory Authorithy (ACRA) เมื�อวันที� 1 กันยายน พ.ศ. 2558 การเปลีย� นแปลงสัดส่ วนการ��อหุ� นในบริษทั TTCL New Energy Pte. Ltd. เมื�อวันที� 13 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 ที�ประชุมค�ะกรรมการบริ ษทั มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั เข้าซื� อหุ ้ นสามัญของบริ ษทั TTCL New Energy Pte. Ltd. (TTNE) จากบริ ษทั TTCL Power Holding Pte. Ltd. (TTPHD) ซ�� งทั�งสองบริ ษัทเป็ นบริ ษัทย่อยที�ต� งั อยูใ่ นประเทศสิ งคโปร์ ในราคา 4.20 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อเทียบเท่า 150.85 ล้านบาท ดังนั�นจ� งทําให้ สัดส่ วนการถื อหุ้ นของบริ ษัทเปลี�ยนไปจากการถือหุ้น ทางอ้อมร้อยละ 57.55 เป็ นการถือหุ น้ ทางตรงร้อยละ 100 และบริ ษทั TTPHD ไม่มกี ารถือหุ น้ ในบริ ษทั TTNE เมื�อวันที� 30 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้ท าํ การขายหุ ้ นสามัญในบริ ษทั สยามโซล่า เพาเวอร์ จํากดั ซ�� งเป็ นบริ ษทั ร่ วม ให้แก่บริ ษ ัท TTCL Solar Power Pte. Ltd (TTSP) จํานวน 625,000 หุน้ โดยมีมลู ค่าหุน้ ละ 248 บาทต่อหุ ้นเป็ นจํานวน 155 ล้านบาทหรื อเที ยบเท่า 4.31 ล้านเหรี ยญดอลลาร์ สหรั ฐฯ โดยบริ ษทั ได้ทาํ สัญญาหั กกลบลบหนี�ในการซื� อหุ ้ นสามัญ ของบริ ษัท TTNE กับบริ ษทั TTPHD และ การขายหุ ้นสามัญในบริ ษทั สยามโซล่า เพาเวอร์ จํากัดกับบริ ษทั TTSP หลังจากการหักกลบหนี�กนั แล้วบริ ษทั TTSP มี�าระ�ูกพันที�ตอ้ ง ชําระให้แก่บริ ษทั จํานวน 3.82 ล้านบาทหรื อเที ยบเท่ากับ 0.1 ล้านเหรี ยญดอลลาร์ สหรั ฐฯซ��งบริ ษทั ได้บนั ท�กจํานวนดังกล่าวในลูกหนี� อื�นกิจการที�เกีย� วข้องกัน
รายงานประจ�ำปี 2558
62
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
226
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 13
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย - สุ ทธิ (ต่อ) การเปลีย� นแปลงสัดส่ วนการ��อหุ� นในบริษทั TTCL Power Holding Pte. Ltd. เมื�อวันที� 12 พฤศจิ กายน พ.ศ. 2558 ที� ประชุ มค�ะกรรมการบริ ษทั มีมติอนุมตั ิให้ บริ ษทั เข้า�ื � อหุ ้นสามัญของบริ ษทั TTCL Power Holding Pte. Ltd. (TTPHD) จาก�ู�้ ือหุ น้ รายหน��ง จํานวน 8,500,000 หุน้ ในราคา 21.25 ล้านเหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ หรื อเทียบเท่า 762.52 ล้านบาท ดังนั�นจ� งทําให้สัดส่ วนการ�ื อหุ ้ นของบริ ษทั เปลี� ยนไปจากการ�ื อหุ ้นทางตรงร้ อยละ 57.55 เป็ นร้อยละ 69.78 โดยบริ ษทั ได้ ชําระค่าหุ ้นดังกล่าวแล้วเต็มจํานวน การตัง� บริษทั ย่ อยและชําระค่ าหุ�นในบริษทั ย่ อย เมื�อวันที� 5 มกราคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั TTCL Solar Power Pte. Ltd. (TTSP) ได้จดั ตั�งบริ ษทั ย่อยสองแห่ง���งจดทะเบี ยนในประเทศญี� ปุ่น โดยใช้ช�ือว่า บริ ษทั Global New Energy Togo Co.,Ltd. โดยมีทุนจดทะเบียน 1 หุ ้นในราคามูลค่าที� ตราไว้หุ้นละ 100,000 เยน และบริ ษทั Global New Energy Tsuno Co.,Ltd. โดยมีทุนจดทะเบียน 1 หุ ้นในราคามูลค่าหุ ้ นละ 100,000 เยน � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 TTSP มีภาระ�ูกพันเกีย� วกับหุ น้ ทีย� งั ไม่ชาํ ระเป็ นจํานวนเงิน 200,000 เยน หรื อเทียบเท่า 59,896 บาท เมื� อวันที� 13 สิ ง หาคม พ.ศ. 2558 ที� ป ระชุ มค�ะกรรมการบริ ษัท ได้ มีมติ ให้ บริ ษ ทั จัด ตั�ง บริ ษ ทั ย่อ ยแห่ ง หน�� ง ��� ง จดทะเบี ยนใน ประเทศพม่า โดยใช้ชื�อบริ ษทั ว่า “TTCL Myanmar Engineering & Construction Co., Ltd.” (TTMEC) ��� งมีทุนจดทะเบียนจํานวน 3,000 หุ ้น ในราคามูลค่า ที� ตราไว้ หุ ้นละ 100 เหรี ยญดอลลาร์ สหรั ฐฯ โดยมีหุ้นที�เ รี ยกชําระเป็ นจํานวน 500 หุ้นหรื อเทียบเท่ากับ 1.75 ล้านบาท � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้ชาํ ระค่าหุ ้นจํานวน 495 หุ ้ น เป็ นจํานวนเงิ น 0.85 ล้านบาท และบริ ษทั มี ภาระ�ูกพันเกีย� วกับหุ ้นที�ยงั ไม่ชําระเป็ นจํานวนเงิน 0.25 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อเทียบเท่ากับ 0.85 ล้านบาท
การจําหน่ ายเงินลงทุนในบริษทั ย่ อย เมื�อวันที� 5 มกราคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้เข้าทําสัญ ญาขายเงิ นลงทุ นใน Toyo Thai-Myanmar Corporation Co., Ltd. (TTMC) ให้กบั บริ ษทั TTCL Malaysia SDN.BHD (TTML) ��� งทั�งสองบริ ษทั เป็ นบริ ษทั ย่อยของกลุ่มบริ ษทั จํานวน 100 หุน้ ราคาหุน้ ละ 337.38 เหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ เป็ นจํานวนทั�งสิ� น 33,737.80 เหรี ย ญดอลลาร์ สหรัฐฯ หรื อเที ยบเท่ ากับ 1.11 ล้านบาทและมี กําไรจากการจําหน่ายเงินลงทุน 0.17 ล้านบาท โดย TTML ได้ชาํ ระค่าหุน้ ดังกล่าวเมื�อวันที� 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 แล้วทั�งจํานวน
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
63
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริ ษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมมชืช�่อ �อบริบริ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
227
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
13
เงินลงทุนในบริษทั ย่อย - สุ ทธิ (ต่อ) รายการกับส่ วนได้ เสี ยที�ไม่ มอี าํ นาจควบคุม การได้มาในส่ วนได้ เสียในบริ ษัทย่ อยเพิ�ม เมื�อวันที� 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้เข้าซื� อหุ้นสามัญจํานวน 8,500,000 หุน้ ของ บริ ษทั TTCL Power Holdings Pte. Ltd ( TTPHD) จากบริ ษทั Pacific New Power Co.,Ltd ซึ� งเป็ นผูถ้ ื อหุ้นส่ วนน้อยของ TTPHD ในราคาหุ้น ละ 2.50 เหรี ย ญ ดอลลาร์สหรัฐฯ เป็ นจํานวนเงินทั�งสิ�น 21.50 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อเที ยบเท่ าประมาณ 762.5 ล้านบาท ดังนั�นจึ งทํา ให้สดั ส่วนการถือหุ น้ ของบริ ษทั ใน TTPHD เปลี� ยนไปจากร้อยละ 57.55 เป็ นร้อ ยละ 69.78 มูล ค่าตามบัญ ชี ของส่ วนได้เสี ยที� ไม่มีอาํ นาจควบคุมของ TTPHD ณ วันที� กิจการซื� อมีจ าํ นวน 344.19 ล้านบาท กลุม่ บริ ษทั ตัดรายการส่ วนได้เ สี ยที� ไม่มีอาํ นาจ ควบคุมจํานวน 344.19 ล้านบาทและบันทึ กการลดลงในส่วนของเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่จาํ นวน 418.33 ล้านบาท ผลกระทบจากการเปลี�ยนแปลงของส่วนได้เ สี ยในความเป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ในระหว่า งปี สรุ ปได้ดงั นี�
ราคาตามบัญชีของส่ วนได้เสี ยที�ไม่มอี าํ นาจควบคุมที�ได้มา สิ� งตอบแทนที�จ่า ยให้แก่ส่วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุม ส่ วนเกินของสิ� งตอบแทนที�จ่ายรั บร�้ ในส่ วนของเจ้าของของบริษัทใหญ่
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2557 บาท
344,194,263 (762,522,250) (418,327,987)
449,841,774 (405,293,000) (44,548,774)
ผลกระทบจากการเปลี�ยนแปลงของส่วนได้เ สี ยในความเป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่สาํ หรับ ปี มีดงั นี�
การเปลีย� นแปลงในส่ วนของเจ้าของของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั เกิดจาก: - การได้มาในส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ย่อยเพิ�ม ผลกระทบต่อของเจ้ าของของบริษทั ใหญ่ สุทธิ
รายงานประจ�ำปี 2558
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2557 บาท
(418,327,987) (418,327,987)
(44,548,774) (44,548,774)
64
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
228
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 13
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย - สุ ทธิ (ต่อ) บริษทั ย่ อยหลัก กลุ่มบริ ษทั มีบริ ษทั ย่อย ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ดังต่อไปนี�
ช��อ
ส�านทีห� ลักในการ ประกอบธุรกิจ/ ประเทศทีจ� ด ทะเบียนจัดตั�ง
บริษทั ทีทีซีแอล เวียดนาม คอร์ปอเรชัน� บริษทั ไบโอ แนชเชอรัล เอ็น เนอร์ ยี จํากัด TTCL Malaysia SDN. BHD
เวียดนาม
Toyo Thai -Myanmar Corporation Co.,Ltd. Toyo Thai-USA Corporation
พม่า
TTCL Gas Power Pte. Ltd. Toyo Thai-Power Myanmar Corporation Co.,Ltd. TTCL Power Holding Pte. Ltd. บริ ษทั โกลบอล นิว เอ็นเนอร์ยี จํากัด TTCL Solar Power Pte. Ltd. Global New Energy Japan Co.,Ltd. TTCL New Energy Pte. Ltd. TTCL Coal Power Pte. Ltd. TTCL Myanmar Engineering & Construction Company Limited Global New Energy Togo Co.,Ltd. Global New Energy Tsuno Co.,Ltd
ลักษณะของธุรกิจ
สัดส่ วนของหุ้น สามัญที�� �อโดย บริษทั ใหญ่ (ร้อยละ)
สัดส่ วนของหุ้น สามัญที�� �อโดย กลุ่มบริษัท (ร้ อยละ)
สัดส่ วนของ หุ้นสามัญที���อ โดยส่ วนได้เสียที� ไม่มอี าํ นาจ ควบคุม (ร้อยละ)
93.34
93.34
6.66
-
70
70
30
-
100
100
-
-
80
90
10
-
สัดส่ วนของหุ้น บุริมสิทธิที���อ โดยกลุ่มบริษัท (ร้ อยละ)
80
80
20
-
สิง คโปร์ พม่า
รับเหมาก่อสร้างและบริ การ ด้านวิศวกรรม บริการด้านการพัฒนาพลังงาน ทดแทน รับเหมาก่อสร้างและบริ การ ด้านวิศวกรรม รับเหมาก่อสร้างและบริ การ ด้านวิศวกรรม รับเหมาก่อสร้างและบริ การ ด้านวิศวกรรม ลงทุนในธุรกิจพลังงาน ผลิตไฟฟ้ า
69.78 71.29
69.78 71.29
30.22 28.71
-
สิง คโปร์
ลงทุนในธุรกิจพลังงาน
69.78
69.78
30.32
-
40
40
60
-
ลงทุนในธุรกิจพลังงาน รับบริการซ่อมบํารุงโรงไฟฟ้ า พลังงานแสงอาทิตย์ ลงทุนในธุรกิจพลังงานทดแทน ลงทุนในธุรกิจพลังงาน รับเหมาก่อสร้างและบริ การ ด้านวิศวกรรม
69.78 69.78
69.78 69.78
30.32 30.32
-
100 69.78 99
100 69.78 99
30.32 1
-
�ี�ปนุ่
ผลิตไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์
69.78
69.78
30.22
-
�ี�ปนุ่
ผลิตไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์
69.78
69.78
30.22
-
ไทย มาเลเซีย
สหรัฐอเมริกา
ไทย สิง คโปร์ �ี�ปนุ่ สิง คโปร์ สิง คโปร์ พม่า
บริการด้านพัฒนาพลังงาน
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
65
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
229
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 13
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย - สุ ทธิ (ต่อ) บริษทั ย่ อยหลัก (ต่อ)
บริ ษทั ย่อยดังกล่าวข้างต้นได้รวมอยู่ในการจัดทํางบการเงินรวมของกลุม่ บริ ษทั สัดส่วนของสิทธิ ในการออกเสี ยงในบริ ษทั ย่อย ที� �� อโดยบริ ษทั ใ��่ ไม่ �ตกต่างจากสัดส่ ว นที� ��อ �ุ ้นสามั� บริ ษทั ใ��่ ไม่ ได้��อ �ุ ้น บุ ริม สิ ท ธิ ข องบริ ษ ทั ย่อยที� รวมอยู่ใ น กลุม่ บริ ษทั ยอดรวมของส่วนได้เสียที�ไม่มีอ าํ นาจ�วบ�ุมในร��ว่างปี มีจาํ นวน 1,060 ล้านบาท โดยจํานวน 1,010 ล้านบาทป็ นของกลุ่ม บริ ษทั ที�อยู�่ ายใต้บริ ษทั TTCL Power Holdings Pte. Ltd. �ล�บริ ษทั อ��น�จํานวน 50 ล้านบาท��� งไม่มีสาร�สํา �ั�
รายงานประจ�ำปี 2558
66
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
ส่ วนที�ไม่ หมุนเวียน สินทรัพย์ หนี�สิน รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวี ยน สุทธิ สิ นทรัพย์สุทธิ
199,176,066 (260,457,799)
(61,281,733) (46,133,771)
(117,963,741) (104,329,198)
16,443,046 (1,295,084) 15,147,962
พ.ศ. 2557 บาท
145,175,292 (263,139,033)
16,772,441 (3,137,898) 13,634,543
พ.ศ. 2558 บาท
บริษัท ไบโอ แนชเชอรั ล เอ็นเนอร์ ยี จํากัด ณ วันที� 31 ธันวาคม
งบแสดงฐานะการเงินโดยสรุ ป
1,230,839 1,245,228
1,230,839 -
1,410,791,658 (1,410,777,269) 14,389
พ.ศ. 2558 บาท
(9,925,306) 22,685,627
(9,925,306) -
1,315,895,548 (1,283,284,615) 32,610,933
พ.ศ. 2557 บาท
Toyo Thai-USA Corporation ณ วันที� 31 ธันวาคม
1,768,626,500 1,771,026,904
1,768,626,500 -
2,645,825 (245,421) 2,400,404
พ.ศ. 2558 บาท
1,615,447,408 1,617,934,046
1,615,447,408 -
2,716,638 (230,000) 2,486,638
พ.ศ. 2557 บาท
TTCL Gas power Pte. Ltd. ณ วันที� 31 ธันวาคม
2,974,520,934 2,632,522,250
6,221,172,399 (3,246,651,465)
623,241,949 (965,240,633) (341,998,684)
พ.ศ. 2558 บาท
2,246,171,968 2,014,778,696
5,582,959,720 (3,336,787,752)
395,919,129 (627,312,401) (231,393,272)
พ.ศ. 2557 บาท
Toyo Thai Power Myanmar Corporation Co.,Ltd. ณ วันที� 31 ธันวาคม
2,276,530,514 2,430,378,487
2,276,617,379 (86,865)
157,714,875 (3,866,902) 153,847,973
พ.ศ. 2558 บาท
2,197,036,551 2,239,488,686
2,197,036,551 -
45,918,945 (3,466,810) 42,452,135
พ.ศ. 2557 บาท
TTCL Power Holding Pte. Ltd. ณ วันที� 31 ธันวาคม
ร�ย��เอีย����น�่���ส����อม��ท����รเ�ิน��ยสรุ ��อ��ริ ษทั ย่อย�ต่��ร�ยที�มีส่วนไ��เสียที�ไม่มีอ�� น���ว��ุมที�มีส�ร�ส���ั�ต่อ��ุ่ม�ริ ษทั
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริ ษทั ย่ อยทีม� สี ่ วนได้เสียทีไ� ม่ มอี าํ นาจควบคุมที�มีสาระสํ าคั�
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย - สุ ทธิ (ต่อ)
ส่ วนที�หมุนเวียน สินทรัพย์ หนี�สิน รวมสินทรัพย์หมุนเวียนสุทธิ
13
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
13,297,284 71,808,333
13,297,284 -
451,105,812 (392,594,763) 58,511,049
พ.ศ. 2558 บาท
21,015,314 36,797,736
21,015,314 -
2,189,103,968 (2,173,321,546) 15,782,422
พ.ศ. 2557 บาท
บริษัท โกลบอล นิว เอ็นเนอร์ ยี จํ ากัด ณ วันที� 31 ธันวาคม
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั
อล จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแบริอลษัทจําทีกัทดีซีแ(มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)) (เดิมช��อ บริ ษทั โตโย-ไทย คอร์ ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สําหรั บปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
6,916,242,330 6,802,652,004
10,426,119,693 (3,509,877,363)
2,662,272,560 (2,775,862,886) (113,590,326)
พ.ศ. 2558 บาท
67
6,008,464,202 5,885,551,020
9,605,709,753 (3,597,245,551)
3,965,997,274 (4,088,910,456) (122,913,182)
พ.ศ. 2557 บาท
รวม ณ วันที� 31 ธันวาคม
230 บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2558
รายงานประจ�ำปี 2558
กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จส่วน ทีเ� �็ น ของส่วนได้เสียที� ไม่มีอาํ นาจควบคุม เงิน�ัน�ลจ่ายให้กบั ส่วนที�ได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุม
กําไร(ขาดทุน)หลังภาษีจาก การดําเนินงานต่อเน��อง กําไร(ขาดทุน)หลังภาษีจาก การดําเนินงานทีย� กเลิก กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จอ�น� กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จ
(7,217,338)
-
-
(24,057,795)
(24,057,795)
1,959,561 3,620 (24,057,795) -
พ.ศ. 2557 บาท
(17,458,628)
(58,195,428)
(58,195,428)
1,116,804 (58,195,428) -
พ.ศ. 2558 บาท
บริษัท ไบโอ แนชเชอรั ล เอ็นเนอร์ ยี จํากัด สํ าหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสรุป
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย - สุ ทธิ (ต่อ)
รายได้ รายได้อน� กําไร(ขาดทุน)ก่อนภาษี รายได้(ค่าใช้จา่ ย)ภาษีเงินได้
13
-
(4,469,313)
(22,346,562)
(22,346,562)
236,618,500 25,179 (33,731,740) 11,385,178
พ.ศ. 2558 บาท
-
145,634
728,168
728,168
2,051,524,453 132 1,687,257 (959,089)
พ.ศ. 2557 บาท
Toyo Thai-USA Corporation สํ าหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
-
(127,313)
(308,710)
(308,710)
1,196 (308,710) -
พ.ศ. 2558 บาท
-
231,620
545,630
545,630
19,397 545,630 -
พ.ศ. 2557 บาท
TTCL Gas power Pte. Ltd. สํ าหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม
-
159,662,821
415,294,618
415,294,618
758,182,995 167,206,931 399,000,817 16,293,801
พ.ศ. 2558 บาท
-
68,591,757
170,076,263
170,076,263
2,020,588,587 156,185,061 192,245,811 (22,169,548)
พ.ศ. 2557 บาท
Toyo Thai-Power Myanmar Corporation Co.,Ltd. สํ าหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม
-
(8,421,668)
(20,582,850)
(20,582,850)
3,681,470 (20,582,850) -
พ.ศ. 2558 บาท
-
(9,975,344)
(23,499,044)
(23,499,044)
6,079,231 (23,499,044) -
พ.ศ. 2557 บาท
TTCL Power Holding Pte. Ltd. สํ าหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม
-
21,006,358
35,010,597
35,010,597
2,502,402,816 1,170,611 38,204,335 (3,193,738)
พ.ศ. 2558 บาท
-
(3,546,491)
(5,910,818)
(5,910,818)
1,309,067,222 927,562 (5,910,818) -
พ.ศ. 2557 บาท
บริษัท โกลบอล นิว เอ็นเนอร์ ยี จํ ากัด สํ าหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั
อล จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแบริอลษัทจํทีากัทดีซีแ(มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)) (เดิมช��อ บริ ษทั โตโย-ไทย คอร์ ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สําหรั บปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
-
150,192,257
348,871,665
348,871,665
3,497,204,311 173,202,191 324,386,424 24,485,241
พ.ศ. 2558 บาท
68
-
48,229,838
117,882,404
117,882,404
5,383,139,823 163,215,003 141,011,041 (23,128,637)
พ.ศ. 2557 บาท
รวม สํ าหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
231
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT 960,608
-
(1,767,707)
1,841,234
-
73,527
-
269,576
73,527
-
343,103
ข้อมูลข้างต้นแสดงด้วยจํา นวนก่อนการตัดรายการระหว่างกัน
16,426,178
(19,416)
1,201
9,586,868
(7,799,918)
128,438,000
91
(136,238,009)
(1,748,291)
268,375
(143,149,716) 6,911,707
พ.ศ. 2558 บาท
(1,748,291) -
พ.ศ. 2557 บาท
16,426,178
222,778
73,284,953
(57,081,553)
639,482,200
131
(696,563,884)
(685,333,964) (11,229,920)
พ.ศ. 2557 บาท
Toyo Thai-USA Corporation สํ าหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม
268,375 -
พ.ศ. 2558 บาท
บริษัท ไบโอ แนชเชอรั ล เอ็นเนอร์ ยี จํากัด สํ าหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม
งบกระแสเงินสดโดยสรุ ป
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย - สุ ทธิ (ต่อ)
กระแสเงินสดจากกิจกรรม ดําเนินงาน เงินสดได้มาจากกิจกรรม ดําเนินงาน จ่ายดอกเบี�ย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน เงินสดสุทธิได้มากจาก(ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิได้มากจาก(ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่ า เงินสดเพิม� ��น� (ลดลง)สุทธิ เงินสด รายการเทียบเท่า เงินสดและงินเบิกเกินบัญชี ต้นปี กําไร(ขาดทุน)จากอัตรา แลกเปลี�ยนของเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดปลายปี
13
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
2,645,825
129,875
2,716,637
(200,687)
-
1,196
(201,883)
(201,883) -
พ.ศ. 2558 บาท
2,716,637
25,210
16,703,666
(14,012,239)
15,257,485
(43,111,865)
13,842,141
13,842,141 -
พ.ศ. 2557 บาท
TTCL Gas power Pte. Ltd. สํ าหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม
199,358,479
341,071,623
48,265,360
(189,978,504)
-
142,363,346
(332,341,850)
(155,203,820) (171,761,041) (5,376,989)
พ.ศ. 2558 บาท
48,265,360
(129,411,482)
813,229
176,863,613
1,646,865,529
154,858,505
(1,624,860,421)
(1,594,317,949) (30,542,472) -
พ.ศ. 2557 บาท
Toyo Thai Power Myanmar Corporation Co.,Ltd. สํ าหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม
4,930,727
212,987
42,249,540
(37,531,800)
(56,154)
(41,944,998)
4,469,352
4,595,002 (125,650)
พ.ศ. 2558 บาท
42,249,541
471,589
137,353,847
(95,575,895)
405,292,500
(455,702,532)
(45,165,863)
(45,165,863) -
พ.ศ. 2557 บาท
TTCL Power Holding Pte. Ltd. สํ าหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม
230,977,821
70,921,824
446,895,651
(286,839,654)
-
9,957,362
(296,797,016)
(294,892,216) (26,054) (1,878,746)
พ.ศ. 2558 บาท
446,895,651
(60,024,021)
30,036,906
476,882,766
-
(13,961,862)
490,844,628
491,124,899 (280,271) -
พ.ศ. 2557 บาท
บริษัท โกลบอล นิว เอ็นเนอร์ ยี จํากัด สํ าหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั
อล จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแบริอลษัทจํทีากัทดีซีแ(มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)) (เดิมช��อ บริ ษทั โตโย-ไทย คอร์ ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สําหรั บปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
447,842,823
413,296,917
556,626,893
(522,080,987)
128,381,846
110,378,198
(760,841,031)
(588,584,258) (171,787,095) (469,678)
พ.ศ. 2558 บาท
69
556,626,894
(188,715,926)
260,033,835
485,308,985
2,706,897,714
(357,937,039)
(1,863,651,690)
(1,821,599,027) (30,822,743) (11,229,920)
พ.ศ. 2557 บาท
รวม สํ าหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม
232 บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2558
233
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14
เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม – สุ ทธิ � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุม่ บริ ษทั มีเงินลงทุนในบริ ษทั ร่วม 1 แห่ ง ซ��งได้แก่ บริษัท สยาม โซล่า เพาเวอร์ บริ ษทั มีเงินลงทุนในบริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัดซ�� งเป็ นบริ ษทั ร่ วม โดยบริ ษทั ร่ วมดังกล่าวประกอบธุรกิ จผลิ ตไฟฟ้ า โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ซ��งมีทุนจดทะเบียนจํานวน 2,500,000 หุ ้น ในราคามูลค่าที�ตราไว้หุ้นละ 100 บาท โดยบริ ษทั ถือหุ ้น เป็ นสัดส่วนร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียนเป็ นจํานวนเงิน 62.50 ล้านบาท และชําระค่าหุ ้นเต็มมูลค่าแล้ว มูลค่ายุตธิ รรมของสินทรั พย์ สุทธิของเงินลงทุนในบริษัทร่ วมที�เกิดข��นในระหว่ างปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 การเ�ล�ย� ���ล�เ�ิ �ล�ท���� บริ ษัท สยาม โซล่ า เพาเวอร์ จํากัด �รั� �ท�� 1 เมื�อวันที� 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ที�ประชุมค�ะกรรมการบริ ษทั มีมติอนุมตั ิ เรื� อง บริ ษทั TTCL Solar Power Pte Ltd. ซ�� งเป็ น บริ ษทั ย่อยของ TTCL Power Holdings Pte Ltd. ได้เข้าซื� อหุ้นสามัญบริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด จาก บริ ษทั โกลบอล บิสซิ เนส แมเนจเม้นท์ จํากัด ซ��งเป็ นหน��งในผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ทีทีซีแอล จํากัด (มหาชน) จํานวน 125,000 หุ ้น ในราคามูลค่า หุน้ ละ 105 บาท โดยคิดเป็ นร้อยละ 5 ของทุนจดทะเบี ยน เป็ นจํานวนเงิ น 404,224 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อเที ยบเท่ ากับ 13.12 ล้านบาท รายละเอียดของสิ� งตอบแทนที�จ่ายในการซื� อธุรกิจและมูลค่าของสิ นทรัพย์สุทธิที�ได้รับมา � วันที� ซ�ือ มีรายละเอียดดังนี� บาท ราคาที�ตกลงซื� อขายเงินลงทุน มูลค่ายุติธรรมของบริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด ตามส่วนได้เ สี ยทีไ� ด้มา กําไรจากการต่อรองราคาซื� อในการซื� อส่วนได้เสี ยร้อยละ 5
รายงานประจ�ำปี 2558
13,119,102 23,880,630 10,761,528
70
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
234
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14
เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม - สุ ทธิ (ต่อ) การเ�ล��ยน��ลงเงินลงทุนใน บริ ษัท สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด �รั� งท�� 1 (ต่อ) มูลค่ ายุติ ธรรมของสิ น ทรั พ ย์และหนี� สินที� ได้ม าจากการซื� อเงิ นลงทุ นในบริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด ตามส่วนได้เ สี ย ร้อยละ 5 � วันที�กลุ่มบริ ษทั ได้ลงทุนบริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํา กัด มีดงั นี� บาท เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี� การค้าและลูกหนี� อื�น ที�ดิน อาคารและอุปกร�์ - สุทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุทธิ สิ นทรัพย์อื�น เงินประกันผลงาน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี�สินอื�น มูลค่ายุติธรรมของสิน ทรัพย์สุทธิ สัดส่วนการลงทุน มูลค่ายุติธรรมของสิน ทรัพย์สุทธิ ที�ได้รับมาสุทธิ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
8,808,223 34,364,286 735,537,503 308,563,212 26,240 (56,285,200) (492,125,146) (61,276,526) 477,612,592 ร้อยละ 5 23,880,630
71
รายงานประจ�ำปี 2558
235
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14
เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม - สุ ทธิ (ต่อ) มูลค่ายุตธิ รรมของสินทรั พย์ สุทธิของเงินลงทุนในบริษทั ร่ วมที�เกิดข�น� ในระหว่ างปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 (ต่อ) การเ�ล�ย� ���ล�เ�ิ �ล�ท���� บริ ษัท สยาม โซล่ า เพาเวอร์ จํากัด �รั� �ท�� 2 เมื�อวันที� 29 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ที�ประ�ุมค�ะกรรมการบริ ษทั มี มติอ นุมตั ิ เ รื� อ ง บริ ษทั TTCL Solar Power Pte. Ltd. ซ�� งเป็ น บริ ษทั ย่อยของ TTCL Power Holdings Pte. Ltd. ได้เข้าซื� อหุน้ สามัญบริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด จากบริ ษทั Komipo Global Pte. Ltd. จํานวน 250,000 หุน้ ในราคามูลค่าหุ้นละ 120 บาท โดยคิดเป็ นร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบี ยน เป็ นจํานวนเงิน 916,243 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อเที ยบเท่ากับ 30.20 ล้านบาท รายละเอียดของสิ� งตอบแทนที�จ่ายในการซื�อธุรกิจและมูลค่าของสิ นทรัพย์สุทธิที�ได้รับมา � วันที� ซ�ือ มีรายละเอียดดังนี� บาท ราคาที�ตกลงซื� อขายเงินลงทุน มูลค่ายุติธรรมของบริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด ตามส่วนได้เ สี ยทีไ� ด้มา กําไรจากการต่อรองราคาซื� อในการซื� อส่วนได้เสี ยร้อยละ 10
30,202,123 50,002,983 19,800,860
มูลค่ายุติ ธรรมของสิ นทรัพย์และหนี� สินที� ได้มาจากการซื� อเงิ นลงทุนในบริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํา กัด ตามส่ วนได้เสี ย ร้อยละ 10 � วันที�กลุ่มบริ ษทั ได้ลงทุนบริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํา กัด มีดงั นี� บาท เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี� การค้าและลูกหนี� อื�น ที�ดิน อาคารและอุปกร�์ - สุทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุทธิ สิ นทรัพย์อื�น เงินประกันผลงาน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี�สินอื�น มูลค่ายุติธรรมของสิน ทรัพย์สุทธิ สัดส่วนการลงทุน มูลค่ายุติธรรมของสิน ทรัพย์สุทธิ ที�ได้รับมาสุทธิ
รายงานประจ�ำปี 2558
19,801,901 33,437,444 669,196,589 298,876,582 133,146 (46,285,200) (414,409,551) (60,721,081) 500,029,830 ร้อยละ 10 50,002,983
72
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
236
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ(เดิ มชื่อมบริ คอร์ปอเรชัคอร์ ่น จำ�ป กัดอเรชั (มหาชน)) ช��อษัทบริโตโย-ไทย ษทั โตโย-ไทย น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14
เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม - สุ ทธิ (ต่อ) มูลค่ายุติธรรมของสินทรั พย์ สุทธิของเงินลงทุนในบริ ษัทร่ วมที�เกิดข�น� ในระหว่างปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 (ต่อ) การเปลีย� นแปลงในส่วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วมสามารถวิเคราะห์ได้ดงั นี� สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - ตามที�รายงานไว้เดิม ปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์จากการลงทุนในบริ ษทั ร่ วม (หมายเหตุฯข้อ 3) ราคาตามบัญชีตน้ ปี - ตามที�ปรับปรุงใหม่ ส่วนแบ่งกําไรในบริ ษทั ร่วม จําหน่ายเงินลงทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ราคาตามบัญชีปลายปี
งบการเงินรวม บาท
งบการเงินเฉพาะบริษทั
136,832,458
62,499,900
22,069,986 158,902,444 25,438,324 4,910,268 189,251,036
62,499,900 (62,499,900) -
บาท
เมื�อวันที� 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ที� ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั มีมติอนุมตั ิ ให้บริ ษทั ขายเงิ นลงทุ นในบริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด ซึ�งเป็ นบริ ษทั ร่วมในสัดส่วนร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบี ยนของบริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด เป็ นจํานวน 625,000 หุน้ ให้แก่บริ ษทั TTCL Solar Power Pte.Ltd. (TTSP) ในราคาหุ น้ ละ 248 บาทต่อหุ ้น เป็ นจํานวนเงินทั�งสิ� น 155 ล้านบาท ดังนั�นจึงทําให้สดั ส่วนการถือหุน้ ของบริษทั TTSP ในบริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด เปลีย� นไปจากร้อยละ 15 เป็ นร้อยละ 40 ส่วนแบ่งกําไรในบริ ษทั ร่ วมคํานวณโดยใช้ส่วนได้เสี ยตามสัดส่วนการลงทุ นร้อยละ 40 ของงบกําไรขาดทุน ของบริ ษทั สยาม โซล่าเพาเวอร์ จํากัด สําหรับ ปี สิ� นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
73
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีบริทษซี ัทีแทีอล จํากัด (มหาชน) ทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ษัท โตโย-ไทยคอร์ คอร์ปปอเรชั อเรชั่นน (เดิมช��อ(เดิบริมชืษ่อทั บริโตโย-ไทย � จำ�จํกัาดกั(มหาชน)) ด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
237
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
14
เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม - สุ ทธิ (ต่อ) รายละเอียดของฐานะการเงินและผลประกอบการของบริ ษทั ร่ วมของกลุม่ บริ ษทั มีดงั ต่อไปนี� จัดตัง� ข�น� ในประเทศ บริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด
ไทย จัดตัง� ข�น� ในประเทศ
บริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด
ไทย
สินทรัพย์ บาท
หนีส� ิ น บาท
สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 รายได้ กําไร(ขาดทุน) อัตราร้ อยละ บาท บาท ของหุ้นที���อ
907,255,401 331,135,593 179,253,578 สินทรัพย์ บาท
หนีส� ิ น บาท
75,498,068
40
สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 รายได้ กําไร(ขาดทุน) อัตราร้ อยละ บาท บาท ของหุ้นที���อ
946,238,005 445,616,265 193,597,859
70,487,781
40
รายการข้างล่างนี� แสดงราย�ื�อบริ ษทั ร่ วม � วัน ที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ที�มีสาระสําคั�ต่อ กลุ่มบริ ษทั ตามความเห็ นของ กรรมการ บริ ษทั ร่ วมดังกล่าวมีทุนเรื อนหุ ้นทั�งหมดเป็ นหุ้นสามั� ซึ� งกลุ่มบริ ษทั ได้�ือหุน้ ทางตรง ประเทศที� จดทะเบียนจัดตั�ง เป็ นแห่งเดียวกับส�านที�หลักในการประกอบธุรกิจ สัดส่ วนของส่ วนได้ เสีย ช��อ บริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จําก ัด
ส�านทีป� ระกอบธุรกิจ/ ประเทศที�จดทะเบียนจัดตั�ง ไทย
พ.ศ.2558 ร้ อยละ
พ.ศ.2557 ร้ อยละ
40
40
ลักษณะความสัมพันธ์ หมายเหตุ 1
หมายเหตุ 1 : บริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด ประกอบธุ รกิจผลิตไ��้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ เพื�อขายหรื อจําหน่ายพลังไ��้ า ทั�งนี� บริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํา กัด เป็ นหุน้ ส่วนทางยุทธศาสตร์ของกลุ่มบริ ษทั ในการลงทุนในธุรกิจพลังงานทดแทน บริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํา กัด เป็ นบริ ษทั จํากัดและหุ้น ของบริ ษทั นี� ไม่มีราคาเสนอซื� อ ขายในตลาด ไม่มีห นี� สินที� อาจ เกิดขึ�นซึ�งเกี�ยวข้องกับส่วนได้เสียของกลุม่ บริ ษทั ในบริ ษทั ร่วม
รายงานประจ�ำปี 2558
74
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
238
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร์ (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14
เงินลงทุนในบริษัทร่ วม - สุ ทธิ (ต่อ) ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุปสําหรั บบริ ษัทร่ วม ข้อมูลทางการเงินสําหรับบริ ษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด ซ�� ง��ิบัติตามวิธีส่วนได้เสีย แสดงดังต่อไ�นี� งบแสดงฐานะการเงินโดยสรุ ป บริษัท สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท ส่ วนที�หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สิ นทรัพย์หมุนเวียนอ��น (ไม่รวมเงินสด) สิ นทรัพย์หมุนเวียนรวม หนี� สินทางการเงินหมุนเวียน(ไม่รวมเจ้าหนี� การค้า) หนี� สินหมุนเวียนอ�น� (รวมเจ้า หนี�การค้า) หนี� สินหมุนเวียนรวม ส่ วนที�ไม่ หมุนเวียน สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนรวม หนี� สินทางการเงิน หนี� สินไม่หมุนเวียนอ��น หนี� สินไม่หมุนเวียนรวม สิ นทรัพย์สุทธิ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
724,587 34,203,200 34,927,787 (101,267,369) (30,039,588) (131,306,957)
19,817,200 33,421,260 53,238,460 (98,785,350) (49,280,060) (148,065,410)
699,175,487 699,175,487 (196,970,000) (2,858,636) (199,828,636) 402,967,681
738,670,546 738,670,546 (295,490,000) (2,060,855) (297,550,855) 346,292,741
75
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
239
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14
เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม - สุ ทธิ (ต่อ) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จโดยสรุป บริษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท รายได้ ค่าเ���อมราคาและค่าตัดจ�า�น่าย ค่าใช้จ่ายดอกเบี�ย กําไรจากการดําเนินงานต่ อเน�อ� ง
179,253,578 (59,729,491) (18,045,530) 56,407,440 -
193,597,859 (60,869,559) (24,029,902) 70,435,311 -
กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอ�น�
56,407,440 47,042
70,435,311 (145,234)
กําไรเบ็ดเสร็ จรวม
56,454,482
70,290,077
-
-
ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ กําไรหลัง�าษีจากการดําเนินงานต่อเน��อง กําไรหลัง�าษีจากการดําเนินงานที�ยกเลิก
เงินปันผลรั บจากบริ ษัทร่ วม
�้อ ม�ล �้างต้น เ�� นจ�านวนที� รวมอย�่ใ นงบการเงิ น�องบริ ษ ทั ร่ วม (��� งไม่ใ ช่เ �ี ยงแค่ �ว่ นแบ่ ง �องกล�่มบริ ษทั ในบริ ษ ทั ร่ ว ม ดังกล่าว) และ�รับ�ร� งเกี�ยวกับความแตกต่าง�องน�ยบายการบั�ชี�องกล�ม่ บริ ษทั และบริ ษทั ร่วม
รายงานประจ�ำปี 2558
76
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
240
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร์ (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14
เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม - สุ ทธิ (ต่อ) การกระทบยอดรายการข้อมูลทางการเงินโดยสรุ ป การกระทบยอดรายการระหว่างข้อมูลทางการเงินโดยสรุปกับมูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียของกิจการในบริ ษทั ร่ วม บริษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันต้ นปี กําไรในระหว่างปี สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันสิ�นปี ส่วนได้เสียในบริ ษทั ร่วม มูลค่าตามบัญชี
338,730,272 56,454,455
268,242,491 70,487,781
395,184,727 ร้อยละ 25 98,796,182
338,730,272 ร้อยละ 25 84,682,568
บริษทั สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันที� 2 เมษายน 2557 สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันต้ นปี กําไรในระหว่างปี �ลต่างจากอัตรา�ลกเปลี�ยน สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันสิ�นปี ส่วนได้เสียในบริ ษทั ร่วม มูลค่าตามบัญชี
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
480,376,160 75,498,067 31,891,392 587,765,619 ร้อยละ 5 29,388,281
477,612,600 1,434,520 1,329,040 480,376,160 ร้อยละ 5 24,018,808
77
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
241
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14
เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม - สุ ทธิ (ต่อ) บริษัท สยาม โซล่า เพาเวอร์ จํากัด พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันที� 29 ธันวาคม 2557 สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันต้ นปี กําไรในระหว่างปี �ลต่าง�ากอัตรา�ลกเปลี�ยน สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันสิ�นปี ส่วนได้เสียในบริ ษทั ร่วม มูลค่าตามบัญชี
502,010,680 75,498,068 33,156,982
500,029,817 591,923 1,388,940
610,665,730 ร้อยละ 10 61,066,573
502,010,680 ร้อยละ 10 50,201,068
รวมมูลค่าตามบัญชี
189,251,036
158,902,444
รายงานประจ�ำปี 2558
78
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
242
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ(เดิ บริม ษัทช��อโตโย-ไทย ปอเรชั่น จำคอร� �กัด (มหาชน)) บริ ษทั คอร์ โตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 15
ส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้า � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ.2558 กลุม่ บริ ษทั มีสว่ นได้เสียในกิจการร่วมค้า 3 แห่ง ซ��งได้แก่ ก)
บริษทั สยาม จีเอ�นอี โซล่าร� เอ�นเนอร� ยี� จํากัด บริ ษทั สยาม จีเอ็นอี โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี� จํากัดซ�� งเป็ นกิจการร่ วมค้าของกลุ่มบริ ษทั โดยกิจการร่ วมค้าดังกล่าวประกอบ ธุ รกิ จ ด้า น “พลังงานทดแทน” ซ�� งมี ทุน จดทะเบีย นจํานวน 160,000 หุ้น ในราคามู ล ค่าที� ต ราไว้หุน้ ละ 100 บาท โดยบริ ษทั ถือหุน้ เป็ นสัดส่วนร้อยละ 50 ของทุนจดทะเบียนเป็ นจํานวนเงิน 8 ล้านบาทและชําระค่าหุ้นเต็มมูลค่าแล้ว เมื�อวันที� 13 มีนาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั TTCL Solar Power Pte. Ltd. (TTSP) ได้เข้าทําสัญญาซื� อขายหุ น้ ในสัดส่ วนร้อยละ 48 จากบริ ษทั โกลบอล นิว เอ็นเนอร์ยี จํากัด ซ�� งเป็ นทั�งสองบริ ษทั เป็ นบริ ษทั ย่อยของกลุม่ บริ ษทั คิดเป็ นจํานวนเงิน 0.25 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อเที ยบเท่า 8.06 ล้านบาท และ TTSP ได้รบั การโอนหุ ้นดังกล่าวในเดื อนมีน าคม และ ชําระค่าหุ้นเต็มมูลค่าแล้ว
ข)
Orient Bio-Fuels Company Limited เมื�อวันที� 26 มีนาคม พ.ศ. 2557 บริ ษทั TTCL New Energy Pte. Ltd. (TTNE) ซ��งเป็ นบริ ษทั ย่อยได้ลงนามในสัญญาซื� อ ขายหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 49 ของหุน้ ทั�งหมดในบริ ษทั Orient Bio-Fuels Company Limited (OBF) คิดเป็ นจํานวนเงิน 1 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อเทียบเท่า 32.96 ล้านบาท และบริ ษทั ย่อยได้รับการโอนหุ ้นดังกล่าวในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 โดยชํา ระค่าหุ ้นเต็มมูลค่าแล้ว และTTNE ได้ชาํ ระค่าหุ้นเพิ� มเป็ นจํานวนเงิ น 3.10 ล้านเหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ หรื อเที ยบเท่า 102.61 ล้านบาท ซ��งบริ ษทั ย่อยได้รบั การโอนหุ ้นดังกล่าวแล้ว � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ย่อย มี�าระ�ูกพันเกี�ยวกับหุน้ ที�ยงั ไม่เรี ยกชําระอีกจํานวน 1.03 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯหรื อเที ยบเท่า 37.57 ล้านบาท รายละเอียดของสิ� งตอบแทนที�จ่ายในการซื� อธุรกิจและมูลค่าของสิ นทรัพย์สุทธิท�ีได้รับมา � วันที� ซ�ือ มีรายละเอียดดังนี� บาท ราคาที�ตกลงซื� อขายเงินลงทุน มูลค่ายุติธรรมของ OBF ตามส่วนได้เสี ยทีไ� ด้มา กําไรจากการต่อรองราคาซื� อในการซื� อส่วนได้เสี ยร้อยละ 49
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
32,963,000 51,520,102 18,557,102
79
รายงานประจ�ำปี 2558
บริ ษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
243
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
15
ส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้า (ต่อ) ข)
Orient Bio-Fuels Company Limited (ต่อ) มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี� สินที�ได้มาจากการ�ื� อเงินลงทุนใน OBF ตามส่วนได้เสี ยร้อยละ 49 ��วันที�กลุ่มบริ �ทั ได้ลงทุนใน OBF มีดงั นี� บาท เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี�การค้าและลูกหนี� อื�น สินค้าคงเหลือ ที�ดิน�อาคารและอุ�กร�์ - สุทธิ สินทรัพย์อื�น เงินกูย้ ืมระยะสั�น เจ้าหนี�การค้า เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายและหนี�สินอื�น มูลค่ายุติธรรมของสิน ทรัพ ย์สุทธิ สัดส่วนการลงทุน มูลค่ายุติธรรมของสิน ทรัพย์สุทธิ ท�ีได้รับมาสุทธิ
รายงานประจ�ำปี 2558
10,340,078 1,188,653 4,449,997 1,209,395,887 11,592,395 (17,011,044) (29,912,168) (8,613,105) (1,042,486,346) (33,801,281) 105,143,066 ร้อยละ 49 51,520,102
80
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
244
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 15
ส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้า (ต่อ) ค)
บริษทั ไฮเกรด เอ�นเนอร� ยี� จํากัด เมื�อวันที� 19 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 ที�ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั TTCL Solar Power Pte. Ltd. (TTSP) ได้มมี ติอนุมตั ิเข้าลงทุน ในสัดส่วนร้อยละ 40 ของหุ ้นทั�งหมดในบริ ษทั ไ�เกรด เอ็นเนอร์ย�ี จํากัด (HGE) �ึ� งเป็ นบริ ษทั ที� จดั ตั�งในประเทศไทย เพื� อลงทุนในธุรกิจพลังงานทดแทน �ึ� งมีทุนจดทะเบี ยนจํานวน 50,000 หุน้ ในราคาหุ ้น ที� ตรามูลค่าไว้หุ้นละ 100 บาท ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั HGE ได้เรี ยกชําระค่าหุ ้นจากบริ ษทั TTSP ร้อยละ 25 เป็ นจํานวนเงิ น 500,000 บาท หรื อเที ยบเท่ากับ 13,855 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ และบริ ษทั TTSPยังมิได้จา่ ยชําระค่าหุน้ ดังกล่าว โดยเบื� องต้นกลุ่มบริ ษทั ได้ จัดประเภทเงินลงทุนดังกล่าวเป็ นส่ วนได้เ สี ย ในกิ จการร่ วมค้าและจะพิจารณาความเหมาะสมของประเภทเงิ นลงทุน อีกครั�งเมื�อได้ลงนามในสัญญา�ื� อขายหุน้ การเปลี�ยนแปลงในส่วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้าสามาร�วิเคราะห์ได้ดงั นี� งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - ตามที�รายงานไว้เดิม ปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์จากการลงทุนในกิจการร่ วมค้า (หมายเหตุฯข้อ 3) ราคาตามบัญชีตน้ ปี - ตามที�ปรับปรุ งใหม่ เงินลงทุนในส่วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้าเพิ�มขึ�น ส่วนแบ่งขาดทุนในกิจการร่ วมค้า ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ราคาตามบัญชีปลายปี
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
บาท
บาท
18,528,102
-
(5,980,401) 12,547,701 103,107,123 (117,795,785) 13,193,220 11,052,259
-
81
รายงานประจ�ำปี 2558
245
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 15
ส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้า (ต่อ) การเปลี�ยนแปลงของเงินลงทุนในกิจการร่ วมค้าที�เกิดข�น� ในระหว่ างปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (ต่อ) รายละเอียดของฐานะการเงินและผลประกอบการของกิจการร่ วมค้าตามสัดส่วนการถือหุ น้ ของกลุม่ บริ ษทั มีดงั ต่อไปนี� สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2558
บริ ษทั Orient Bio-Fuels Company Limited บริ ษทั สยาม จีเอ็นอี โซล่าร์ เอ็นเนอร์ ยี� จ�ากัด บริ ษทั ไ�เกรด เอ็นเนอร์ ย�ี จ�ากดั
จัดตั�งข�น� ในประเทศ
สินทรัพย์ บาท
หนีส� ิน บาท
รายได้ บาท
กําไร(ขาดทุน) บาท
อัตราร้ อยละ ของหุ้นที�� �อ
เวียดนาม
2,288,807,620
2,430,335,009
2,400,972
(360,078,373)
49
47,535,139 1,250,000
27,910,047 76,000
6,384,175 -
1,653,714 (76,000)
50 40
ไทย ไทย
สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2557
บริ ษทั สยาม จีเอ็นอี โซล่าร์ เอ็นเนอร์ ยี� จ�ากัด บริ ษทั Orient Bio-Fuels Company Limited
จัดตั�งข�น� ในประเทศ
สินทรัพย์ บาท
หนีส� ิน บาท
รายได้ บาท
กําไร(ขาดทุน) บาท
อัตราร้ อยละ ของหุ้นที�� �อ
ไทย
46,599,115
30,286,804
5,556,975
718,819
50
2,275,237,941
2,164,056,431
6,358,328
(97,507,931)
49
เวียดนาม
กิจการร่ วมค้าดังราย�ื�อต่อไปนี� มีทนุ เรื อนหุ น้ ทั�งหมดเป็ นหุน้ สามั� ซ��งกลุม่ บริ ษทั ได้ถือหุ น้ ทางตรง
รายงานประจ�ำปี 2558
82
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
246
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร์ (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 15
ส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้า (ต่อ) ลักษณะของเงินลงทุนในการร่ วมค้า ในปี พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557
ช��อ บริ ษทั สยาม จีเอ็นอี ��ล่าร์ เอ็นเนอร์ ยี� จ�ากัด บริ ษทั Orient Bio-Fuels Company Limited บริ ษทั ไฮเกรด เอ็นเนอร์ยี� จ�ากัด
ส�านทีป� ระกอบ
สั ดส่ วนของส่ วนได้เสีย
ธุรกิจ/ประเทศที� จดทะเบียนจัดตั�ง
พ.ศ.2558 ร้ อยละ
พ.ศ.2557 ร้อยละ
ลักษณะ ความสั มพันธ์
50 49 40
50 49 -
หมายเหตุ 1 หมายเหตุ 2 หมายเหตุ 3
ไทย เวียดนาม ไทย
หมายเหตุ 1 : บริ ษทั สยาม จีเอ็นอี ��ล่าร์ เอ็นเนอร์ยี� จ�ากัด ด�าเนินธุร กิ จหลักเกี� ย วกับการผลิตและจ�าหน่ ายกระแสไ��้ าจาก พลังงานทดแทน ทั�งนี� บริ ษทั สยาม จีเอ็นอี ��ล่าร์ เอ็นเนอร์ยี� จ�ากัด เป็ นหุน้ ส่วนทางยุทธศาสตร์ของกลุ่มบริ ษทั ในการลงทุน ในธุรกิจพลังงานทดแทน หมายเหตุ 2 : บริ ษทั Orient Bio-Fuels Company Limited ด�าเนิ นธุรกิจหลักเกี�ยวกับพลังงานทดแทนในประเทศเวียดนาม ทั�งนี� บริ ษทั Orient Bio-Fuels Company Limited เป็ นหุ ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ของกลุ่มบริ ษทั ในการลงทุนในธุรกิจพลังงานทดแทน หมายเหตุ 3 : บริ ษทั ไฮเกรด เอ็นเนอร์ยี� จ�ากัด เป็ นบริ ษทั ที�จดั ตั�งในประเทศไทย เพ�� อลงทุนในธุรกิจพลังงานทดแทน ทั�งนี� บริ ษทั ไฮเกรด เอ็นเนอร์ยี� จ�ากัด เป็ นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ของกลุ่มบริ ษทั ในการลงทุนในธุรกิจพลังงานทดแทน ภาระผูกพันและหนี� สินที�อาจเกิดข��น��� งเกี�ยวข้องกับการร่วมค้า กลุม่ บริ ษทั มีภาระผูกพัน��� งเกี�ยวข้องกับการร่วมค้าดังต่อไปนี�
ภาระผูกพันเกี�ยวกับส่วนของเงินลงทุนที�ยงั ไม่เรี ยก��าระ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
พ.ศ. 2558 บาท 37,452,387
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท 136,211,192
83
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษทั ทีบริทษซี ัทีแทีอล จํากัด (มหาชน) ทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) ษัท โตโย-ไทยคอร์ คอร์ปปอเรชั อเรชั่นน (เดิมช��อ(เดิบริมชืษ่อทั บริโตโย-ไทย � จำ�จํกัาดกั(มหาชน)) ด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
247
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
15
ส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้า (ต่อ) ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุปสําหรั บการร่ วมค้า �้อม�ลทางการเงินส�าหรับกิจการร่ วมค้า���� งป�ิบตั ิตามวิ�ีสว่ นได้เสี ย�แสดงดังต่อไปนี� งบแสดงฐานะการเงินโดยสรุ ป Orient Bio-Fuels Company Limited � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท ส่ วนที�หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สิ นทรัพย์หมุนเวียนอ��น (ไม่รวมเงินสด) สิ นทรัพย์หมุนเวียนรวม หนี� สินทางการเงินหมุนเวียน(ไม่รวมเจ้าหนี� การค้า) หนี� สินหมุนเวียนอ�น� (รวมเจ้า หนี�การค้า) หนี� สินหมุนเวียนรวม ส่ วนที�ไม่ หมุนเวียน สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนรวม หนี� สินทางการเงิน หนี� สินไม่หมุนเวียนอ��น หนี� สินไม่หมุนเวียนรวม สิ นทรัพย์สุทธิ
รายงานประจ�ำปี 2558
18,518,037 16,722,208 35,240,245 (108,827,124) (108,827,124)
7,161,680 22,969,726 30,131,406 (169,856,214) (169,856,214)
2,253,567,375 2,253,567,375 (2,321,507,885) (2,321,507,885) (141,527,389)
2,245,106,535 2,245,106,535 (1,994,200,217) (1,994,200,217) 111,181,510
84
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
248
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 15
ส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้า (ต่อ) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จโดยสรุป Orient Bio-Fuels Company Limited สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท รายได้ ค่าเ���อมราคา���ค่าต�ดจ�า�น่าย รายได้ดอกเบี�ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี�ย ขาดทุนจากการดําเนินงานต่อเน�อ� ง ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ ขาดทุนจากการดําเนินงานต่อเน�อ� ง ขาดทุนจากการดําเนินงานทีย� กเลิก ขาดทุนเบ็ดเสร็ จอ��น ขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม เงินปันผลรั บจากการร่ วมค้า
2,400,972 (137,446,120) 3,938,523 (195,059,469) (360,078,373) (360,078,373) (360,078,373) -
6,358,328 (107,076) 131,487 (53,161,080) (97,507,931) (97,507,931) (97,507,931) -
ข้อม��ข้างต้นเ�� นจ�านวน�ี� รวมอย�ใ่ นงบการเงิ นของการร่ วมค้า (��� งไม่ใช่เ�ี ยง�ค่�่วน�บ่ งของก��่มบริ ษ�� ในการร่ วมค้าด�งก�่าว) ����ร�บ�ร� งเกี�ยวก�บความ�ตกต่างของน�ยบายการบ��ชีของก��่มบริ ษ�� ���การร่วมค้า
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
85
รายงานประจ�ำปี 2558
249
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 15
ส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้า (ต่อ) การกระทบยอดรายการข้อมูลทางการเงินโดยสรุ ป การกระทบยอดรายการระหว่างข้อมูลทางการเงินโดยสรุปกับมูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียของกิจการในการร่ วมค้า Orient Bio-Fuels Company Limited สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันที� 1 มกราคม สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันต้ นปี ขาดทุนในระหว่างปี
8,206,526 (8,206,526) ร้อยละ 49 -
สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันสิ�นปี ส่วนได้เสียในการร่ วมค้า มูลค่าตามบัญชี
105,143,066 (96,936,540) 8,206,526 ร้อยละ 49 4,021,198
การร่ วมค้าที�แต่ละรายไม่ มีสาระสํา คัญ นอกเหนือจากส่วนได้เสี ยในการร่ วมค้าดังกล่าวข้างต้น�กลุ่มบริ �ทั ยังมีส่วนได้เสียในการร่ วมค้าที� แต่ละรายไม่มีสาระสําคัญอี ก จํานวนหน�� ง����งได้บนั ท�กเงินลงทุน โดยใช้ว�ิ ี สว่ นได้เสีย พ.ศ. 2558 บาท มูลค่าตามบัญชีโดยรวมของส่วนได้เสี ยในการร่ วมค้า���งกิจการบันท� กบัญชีตามวิ�ี ส่วนได้เสียแต่ละรายที�ไม่มีสาระสําคัญ จํานวนรวมของส่วนแบ่งในการร่วมค้า; กําไรจากการดําเนินงานต่อเนื�อง กําไรเบ็ดเสร็จอื�น กําไรเบ็ดเสร็จรวม
รายงานประจ�ำปี 2558
11,052,260 2,316,451 2,316,451
86
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
250
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 16
เงินลงทุนทั�วไป � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุม่ บริ ษทั มีเงินลงทุนในบริ ษทั ทัว� ไป 2 แห่ง ซ��งได้แก่ บริษัท นวนครการไฟฟ้ า จํากัด บริ ษทั มีเงินลงทุนในหุน้ บุริมสิทธิของบริ ษทั นวนครการไฟฟ้ า จํากัด ซ�� งมี ทุนจดทะเบี ยนจํานวน 15,320,000 หุ ้น โดยมี มูลค่าที� ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท โดยบริษทั ถือหุน้ เป็ นสัดส่วนร้อยละ 41.95 ของทุนจดทะเบียนเป็ นจํานวน 6,426,600 หุ น้ โดยเป็ นจํานวนเงิ น ทั�งสิ� น 642.66 ล้านบาท บริ ษทั ได้ชาํ ระค่าหุน้ เต็มมูลค่าแล้วและบริ ษทั มีสิทธิออกเสียงไม่เกินร้อยละ 1 ของสิทธิออกเสียงทั�งหมด เมื�อวันที� 13 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 ที�ประชุ มค�ะกรรมการบริ ษทั มีมติอนุมตั ใิ ห้ ชาํ ระค่า หุ ้ นเพิ� มทุนในบริ ษทั นวนครการไฟฟ้ า จํากัด จํานวน 83.70 ล้านบาทสําหรั บหุ ้ นบุ ริมสิ ทธิ จาํ นวน 837,199 หุ้นมูลค่าที� ตราไว้หุ้นละ 100 บาท โดยบริ ษทั ได้ใช้ สิทธิ ซ�ือหุ ้ นดังกล่าว จ�งทําให้สดั ส่วนการถือหุ ้นของบริ ษทั ทีถ� ือในบริ ษทั นวนครการไฟฟ้ า จํากัด เปลีย� นไปจากร้อยละ 41.95 เป็ นร้อยละ44
ในการลงทุนในหุน้ บุริมสิ ทธิ ดงั กล่าวมี การจํากัดการออกเสี ยงของหุ้ นบุริ มสิ ทธิ โดยที�บริ ษทั จะมีสิทธิ ออกเสี ยงไม่เกิ นร้อยละ 1 ของจํานวนสิทธิ ในการออกเสี ยงทั�งหมด ในข�ะที�บริ ษทั ได้รับ�ลตอบแทนจากการลงทุนเป็ นเงินปัน�ลประเ�ทสะสมในอัตราคงที� วัตถุประสงค์โดยทัว� ไปของการลงทุนเพื�อเป็ นการลงทุน ในโครงการที�มีอนาคตเท่านั�น โดยบริ ษทั ไม่ได้เข้าไปร่ วมบริ หารจัดการ ในการดําเนิ นการตามปกติเป็ นประจําตามเงื�อนไขต่าง�ที� ระบุไว้ในสัญญาระหว่าง�ูถ้ อื หุน้ ลงวันที� 26 มกราคม พ.ศ. 2554 Skyonic Corporation บริ ษทั มีเงินลงทุนในหุ น้ บุริมสิ ทธิ ของบริษทั Skyonic Corporation ซ�� งจดทะเบียนในประเทศสหรัฐอเมริ ก า บริ ษทั ได้ชาํ ระเงิน ค่าหุน้ เต็มจํานวนสําหรับหุ ้นจํานวน 610,948 หุ ้นโดยมีมูลค่าหุ้นละ 1.6368 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯเป็ นจํานวนเงินทั�งสิ�น 999,999.69 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อเทียบเท่า 30.78 ล้านบาท ในการลงทุนในหุ้นบุริมสิทธิดงั กล่าวมีการจํากัดการออกเสี ยงของหุ ้นบุริมสิ ทธิ โดยที� บริ ษทั จะมี สิทธิ ออกเสี ยงไม่เกินร้อยละ 1.1 ของจํานวนสิทธิ ในการออกเสี ยงทั�งหมด ในข�ะที�บริ ษทั ได้รบั �ลตอบแทนจากการลงทุนเป็ นเงิ นปั น�ลประเ�ทไม่สะสมในอัตราคงที� วัตถุประสงค์โดยทัว� ไปของการลงทุนเพื�อเป็ นการลงทุนในโครงการที�มีอนาคตเท่านั�น โดยบริ ษทั ไม่ได้เข้าไปร่ วมบริ หารจัดการในการ ดําเนิ นงานตามปกติเป็ นประจําตามเงือ� นไขต่าง�ที� ระบุไว้ในสัญญาซื�อขายหุน้ บุริมสิ ทธิ Series Cลงวันที� 7มิถนุ ายน พ.ศ. 2556 กลุม่ บริ ษทั ไม่ได้เปิ ดเ�ยข้อมูลเกี�ยวกับมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนทัว� ไปเนื� องจากข้อมูลไม่เพี ยงพอ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
87
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
251
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 16
เงินลงทุนทั�วไป (ต่อ) �ารเปลีย� น�ปลง�นเงินลงทุนทัว� ไปสามารถวิเคราะห์ได้ดงั นี� งบการเงินรวม และงบการเงิน เฉพาะบริษทั บาท �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี ชําระค่าหุน้ เพิ� มทุน ราคาตามบัญชีปลายปี
รายงานประจ�ำปี 2558
673,439,990 83,719,900 757,159,890
88
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
17
6,750,000 6,750,000 6,750,000 12,952,933 (1,894,260) 17,808,673 17,808,673 17,808,673
สําหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญ ชีตน้ ปี - สุ ทธิ การซื� อเพิ�มขึ�น การจําหน่ายสิ นทรั พย์-สุ ทธิ การตัดสินทรัพย์ - สุ ทธิ การโอนสิ นทรัพย์เข้า(ออก) ค่าเสื�อมราคา �ลต่า�จากอัตรา�ลกเปลี�ยน ราคาตามบัญชีปลายปี – สุ ทธิ
� วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื�อมราคาสะสม ราคาตามบัญ ชี - สุ ทธิ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT 160,421,250 (88,847,315) 71,573,935
74,940,280 18,235,199 (1) (417,598) 1,772,120 (22,968,825) 12,760 71,573,935
145,554,281 (70,614,001) 74,940,280
เคร��องตกแต�งติดตั�ง ที�ดนิ และอุปกรณ์ บาท บาท
� วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื�อมราคาสะสม ราคาตามบัญ ชี – สุ ทธิ
ทีด� นิ อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
36,887,862 (23,838,953) 13,048,909
17,499,965 1,102,709 (5,516,101) (37,664) 13,048,909
36,012,053 (18,512,088) 17,499,965
ยานพาหนะ บาท
โรงไฟฟ้ า บาท
185,247,110 (13,679,485) 171,567,625
181,905,124 (10,337,499) 171,567,625
185,247,109 (3,341,985) 181,905,124
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั
บริษัท ทีทีซบริีแอล ษัท จํทีาทกัีซีแดอล(มหาชน) จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)) (เดิมช�อ� บริ ษทั โตโย-ไทย คอร์ ปอเรชั�น จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
14,318,770 14,318,770
1,069,062 23,716,378 (5,577,392) (1,772,120) (3,117,158) 14,318,770
1,069,062 1,069,062
สิ นทรัพย์ ระหว� างติดตั�ง บาท
89
414,683,665 (126,365,753) 288,317,912
282,164,431 56,007,219 (1) (5,994,990) (38,822,425) (5,036,322) 288,317,912
374,632,505 (92,468,074) 282,164,431
รวม บาท
งบการเงินรวม
252 บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2558
17
รายงานประจ�ำปี 2558 24,917,751 (128,821) 24,788,930
ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื�อมราคาสะสม หัก ค่าเผื�อการด้อยค่าสิ นทรัพย์ ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ 4,735,255 (221,110) 4,514,145
4,735,255 (221,110) 4,514,145
อาคาร บาท
178,970,333 (114,641,467) 64,328,866
71,573,935 17,797,561 (63,485) (10) (25,534,817) 555,682 64,328,866
เคร��อ งตกแต�งติดตั�ง และอุ ปกรณ์ บาท
57,285,320 (29,978,743) 27,306,577
13,048,909 21,443,872 (421,650) (171,668) (7,205,183) 612,297 27,306,577
ยานพาหนะ บาท
185,247,110 (23,780,218) (36,732,393) 124,734,499
171,567,625 (10,100,733) (36,732,393) 124,734,499
โรงไฟฟ้า บาท
63,367,720 (45,761) 63,321,959
14,318,770 47,696,314 (44,630) 1,351,505 63,321,959
สินทรัพย์ ระหว�างติดตั�ง บาท
514,523,489 (168,796,120) (36,732,393) 308,994,976
288,317,912 97,740,028 (485,135) (216,308) (43,190,664) 3,561,536 (36,732,393) 308,994,976
รวม บาท
งบการเงินรวม
90
ในระหว่างปี พ.ศ. 2558 กลุม่ บริ ษทั รับรูผ้ ลขาดทุนจากการด้อยค่าของโรงไฟฟ้ าขนาด 1.2 เมกกะวัตต์ ซึ� งตั�งอยู่ในจังหวัดพระนครศรี อยุธยา เป็ นจํานวนเงิ น 36.73 ล้านบาท เนื� อ งจากมีขอ้ บ่งชี�จากการที� �ผนการเดินเครื� องผลิตไฟฟ้ าไม่เป็ นไปตาม�ผนที� คาดไว้โดยโรงงานผลิตเอทานอลซึ�งนํามาเป็ นเชื�อเพลิงที�ใช้ผลิตไฟฟ้ าได้ห ยุดการผลิตเอทานอลมาเป็ นระยะเวลานาน ทั�งนี� มูลค่าจากการใช้คาํ นวณ โดยใช้ป ระมาณกระ�สเงินสดซึ�งอ้างอิงจากประมาณการทางการเงิน ซึ�งครอบคลุม�ผนการผลิตปริ มาณนํ�าเสี ยที� ผลิตได้จากโรงงานเอทานอล�ละระยะเวลาของสัญ ญาซื� อขายไฟฟ้ า โดยประมาณการ ของปริ มาณไฟฟ้ าที�จะขาย�ละประมาณการราคาขายไฟฟ้ าเป็ นไปตามกําลังการผลิตของโรงไฟฟ้ า�ละเงื�อนไขที�ระบุในสัญญาซื� อขายไฟฟ้ าโดยใช้อตั ราคิดลดที� ร้อยละ 3.40 ต่อปี
17,808,673 6,067,026 (128,821) 1,042,052 24,788,930
ที�ดิน บาท
สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ การซื�อเพิ�มขึ�น การจําหน่ายสิ นทรัพย์-สุ ทธิ การตัดสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ค่าเสื� อมราคา ผลต่างจากอัตรา�ลกเปลีย� น ค่าเผื�อการด้อยค่าสิ นทรัพย์ ราคาตามบัญชีปลายปี – สุ ทธิ
ทีด� นิ อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั
บริษัท ทีทีซบริีแอล ษัท จํทีาทกัีซีแดอล(มหาชน) จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)) (เดิมช�อ� บริ ษทั โตโย-ไทย คอร์ ป อเรชั�น จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
253
254
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร์ (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 17
ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ) งบการเงินเฉพาะบริษัท เคร��องตกแต่ง
สินทรัพย์
ติดตั�งและ
ระหว่าง
ที�ดิน
อุปกรณ์
ยานพาหนะ
ติดตั�ง
รวม
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
6,750,000
128,267,823
31,092,691
1,069,060
167,179,574
-
(64,888,117)
(16,387,169)
-
(81,275,286)
6,750,000
63,379,706
14,705,522
1,069,060
85,904,288
6,750,000
63,379,706
14,705,522
1,069,060
85,904,288
การซื�อเพิ�มขึ�น
-
14,686,856
-
703,060
15,389,916
การตัดสินทรัพย์ - สุ ทธิ
-
(1)
-
-
(1)
การตจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ
-
(1,240)
-
-
(1,240)
โอนสิ นทรัพย์เข้า (ออก)
-
1,772,120
-
(1,772,120)
-
ค่าเสื� อมราคา
-
(18,857,061)
(4,723,093)
-
(23,580,154)
ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน
-
228
1,347
-
1,575
6,750,000
60,980,608
9,983,776
-
77,714,384
6,750,000
140,934,310
31,098,025
-
178,782,335
-
(79,953,702)
(21,114,249)
-
(101,067,951)
6,750,000
60,980,608
9,983,776
-
77,714,384
6,750,000
60,980,608
9,983,776
-
77,714,384
การซื�อเพิ�มขึ�น
-
15,301,000
16,338,102
-
31,639,102
การตัดสินทรัพย์ - สุ ทธิ
-
(10)
-
-
(10)
การจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ
-
(63,485)
(421,650)
-
(485,135)
ค่าเสื� อมราคา
-
(20,664,694)
(5,908,763)
-
(26,573,457)
ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน
-
12,503
555,140
-
567,643
6,750,000
55,565,922
20,546,605
-
82,862,527
6,750,000
155,990,813
47,334,820
-
210,075,633
-
(100,424,891)
(26,788,215)
-
(127,213,106)
6,750,000
55,565,922
20,546,605
-
82,862,527
วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื�อมราคาส�สม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ
ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื�อมราคาส�สม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สําหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ
ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื�อมราคาส�สม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
91
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน)
255
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน))
หมายเหตุประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษท หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ ั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 18
สิ นทรัพย์ไม่ มีตวั ตน - สุ ทธิ งบการเงินรวม
วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุทธิ การซื�อเพิ� มขึ�น การตัดสิ นทรัพย์ - สุทธิ ค่าตัดจําหน่าย �ลต่า�จากอัตรา�ลกเปลี�ยน ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุทธิ การซื�อเพิ� มขึ�น ค่าตัดจําหน่าย �ลต่า�จากอัตรา�ลกเปลี�ยน ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ
รายงานประจ�ำปี 2558
โปรแกรม คอมพิวเตอร์ บาท
ค่าสมาชิ ก สนามกอล์ฟ บาท
รวม บาท
42,256,619 (22,197,736) 20,058,883
2,082,000 (1,443,720) 638,280
44,338,619 (23,641,456) 20,697,163
20,058,883 6,033,369 (2) (4,284,208) 48,999 21,857,041
638,280 2,037,864 (333,227) 2,342,917
20,697,163 8,071,233 (2) (4,617,435) 48,999 24,199,958
45,637,481 (23,780,440) 21,857,041
4,119,865 (1,776,948) 2,342,917
49,757,346 (25,557,388) 24,199,958
21,857,041 11,355,839 (5,409,960) 77,837 27,880,757
2,342,917 (333,786) 2,009,131
24,199,958 11,355,839 (5,743,746) 77,837 29,889,888
57,105,737 (29,224,980) 27,880,757
4,119,865 (2,110,734) 2,009,131
61,225,602 (31,335,714) 29,889,888
92
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
256
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร์ (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 18
สิ นทรัพย์ไม่ มีตวั ตน - สุ ทธิ (ต่อ) งบการเงินเฉพาะกิจการ
วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุทธิ การซื�อเพิ� มขึ�น การจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุทธิ ค่าตัดจําหน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุทธิ การซื�อเพิ� มขึ�น ค่าตัดจําหน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
โปรแกรม คอมพิวเตอร์ บาท
ค่าสมาชิ ก สนามกอล์ฟ บาท
รวม บาท
39,149,349 (19,368,378) 19,780,971
2,082,000 (1,443,720) 638,280
41,231,349 (20,812,098) 20,419,251
19,780,971 4,960,695 (2) (3,872,833) 20,868,831
638,280 2,037,865 (333,227) 2,342,918
20,419,251 6,998,560 (2) (4,206,060) 23,211,749
43,977,744 (23,108,913) 20,868,831
4,119,865 (1,776,947) 2,342,918
48,097,609 (24,885,860) 23,211,749
20,868,831 9,797,832 (4,331,170) 26,335,493
2,342,918 (333,786) 2,009,132
23,211,749 9,797,832 (4,664,956) 28,344,625
53,775,576 (27,440,083) 26,335,493
4,119,866 (2,110,734) 2,009,132
57,895,442 (29,550,817) 28,344,625
93
รายงานประจ�ำปี 2558
257
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน)
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อชื�อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน))
หมายเหตุประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั นรวมและงบการเงินเฉพาะบริษท หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ ั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 19
เงินกู้ยมื ระยะสั� นจากสถาบันการเงิน � วันที� 31 ธันวาคม ส่วนของหมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะสั�นจากสถาบันการเงิน - เงินกูย้ ืมระยะสั�นในรู ปตัว� สัญญาใช้เงิน - ตัว� แลกเงิน - เจ้าหนี�ทรัสต์รีซีท รวม
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
827,915,660 2,359,799,444 3,187,715,104
1,548,349,057 1,497,688,600 92,957,910 3,138,995,567
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
827,915,660 2,359,799,444 3,187,715,104
1,548,349,000 1,497,688,600 92,957,910 3,138,995,510
ณ วันที� 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2558 บริ ษ ทั มีเ งิ นกูย้ ืม ระยะสั�นในรู ปแบบของสิ นเชื�อเพื� อการนําเข้าในรู ป ของตัว� สัญญาใช้เงิ น อายุไม่เกิน 1 เดือน และตัว� แลกเงินอายุ 3 เดือน จากธนาคารพาณิ ชย์และบริ ษทั หลักทรัพย์ในประเทศเพื�อใช้ในการซื� อเครื� องจักร และอุปกรณ์ โดยคิดอัตราดอกเบี� ยร้อยละ 1.83 - 2.72 และ 1.54 - 2.95 ตามลําดับ (ณ วันที� 31ธันวาคม พ.ศ. 2557 อัตราดอกเบี� ยร้อยละ 1.13 - 3.65 และ 3.36 - 3.38 ตามลําดับ) วงเงินกู้ยืม ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มบริ ษทั มีวงเงินสินเชื� อจากสถาบันการเงินที� ยงั ไม่ได้ใช้ จํานวน 8,593 ล้านบาท ซ�� งเป� นวงเงิน ของบริ ษทั จํานวน 8,593 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 จํานวน 8,439 ล้านบาท ซ�� งเป� นวงเงินของบริ ษทั จํานวน 8,439 ล้านบาท) 20
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - สุ ทธิ
20.1 เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินประกอบด้วยเงินกูย้ ืมดังต่อไปนี� งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท เงินกู้ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน สุ ทธิ เงินกูย้ ืมสกุลเงินเหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ หัก ค่าธรรมเนี ยมในการจัดหาเงินกูร้ อตัดบัญชี สุทธิ รวมเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สุทธิ
รายงานประจ�ำปี 2558
3,608,860,000 (30,503,733) 3,578,356,267
3,296,300,000 (41,249,571) 3,255,050,429
94
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
258
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ชื�อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 20
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สุทธิ (ต่อ)
20.1 เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินประกอบด้วยเงินกูย้ ืมดังต่อไปนี� (ต่อ) เงิ นกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ นของบริ ษัทย่อย เมื� อวันที� 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 บริ ษทั Toyo Thai-Power Myanmar Co.,Ltd (TTPMC) ��� งเป็ นบริ ษทั ย่อยได้เข้าทําสัญญาเงิ นกู้ (Facility Agreement) กับธนาคารเพื�อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย (EXIM Bank) วงเงิ น 100 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อเที ยบเท่ากับ 3,045 ล้านบาท โดยมีอตั ราดอกเบี�ย LIBOR บวกอัตราส่วนเพิ�มคงที�ต่อปี สัญญากูย้ มื เงินดังกล่าวมีกาํ หนดชําระคืน เงินต้นทั�งหมด 36 งวด โดยจ่ายคืนเงินต้นเป็ นรายไตรมาสในจํานวนที�เท่ากันจํานวน 35 งวด และส่วนที�เหลือชําระคืนงวดสุดท้ายทั�ง จํานวนของวันที�เบิกเงินกูก้ อ้ นแรก���งวันที�เบิ กเงินกูก้ อ้ นแรก คือ วันที� 17 ตุลาคม พ.ศ. 2557 เงินกูย้ ืมดังกล่าวมีวตั ถุประสงค์เพื� อใช้ในการก่อสร้างโรงไ��้ าที�ประเทศพม่าและเพื� อการบริ หารงานของบริ ษทั ย่อยโดยเงินกู้ ดังกล่าวใช้หลักทรัพย์ค�าํ ประกันโดยการโอนสิทธิการรับเงิ นค่าสิ นไหมทดแทนจากกรมธรรม์ประกันการลงทุน, การจํานําใบหุ ้น และการคํ�า ประกันเงิ นกูโ้ ดยบริ ษทั TTCL Gas Power Pte. Ltd. (TTGP) นอกจากนี� บริ ษทั ย่อยต้องปฏิ บตั ิ ตามข้อกําหนดและ เงื�อนไขบางประการที�ได้ระบุไว้ เช่น การดํารงอัตราส่วนหนี�สินต่อส่วนของผูถ้ ือหุ้น การสํารองเงินฝากไว้ในบัญ ชี เ งิน ฝากของ สถาบันของการเงินเพื� อการชําระเงินคืนเงินกูแ้ ละการชําระดอกเบี� ย และการดํา รงอัตราส่วนความสามารถในการชําระหนี� เงิ นกู้ และดอกเบี�ย เป็ นต้น � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุม่ บริ ษทั ได้สาํ รองเงิ นฝากไว้ในบัญ ชีเ งิน ฝากของสถาบันของการเงิ น เพื�อการชําระเงินคืนเงินกูแ้ ละการชําระดอกเบี�ยเป็ นจํานวน 4 ล้านเหรี ยญดอลลาร์ส หรัฐฯหรื อเทียบเท่ า 144.38 ล้านบาท และ การดํารงอัตราส่วนความสามารถในการชําระหนี� เงินกูแ้ ละดอกเบี�ยเป็ นไปตามข้อกําหนดและเงื� อนไขบางประการที� ได้ระบุไว้ ในสัญญาเงินกูย้ ืม 20.2 การเปลี�ยนแปลงของเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินของกลุ่มบริ ษทั การเปลี�ยนแปลงของเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินของกลุ่มบริ ษทั สามารถวิเคราะห์ได้ดงั นี� งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุทธิ เงินสดรับจากเงินกูย้ ืมระยะยาว ค่าธรรมเนี ยมในการจัดหาเงินกูย้ ืมรอตัดบัญชี การตัดจําหน่ายค่าธรรมเนียมในการจัดหาเงินกูย้ ืม ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
3,255,050,429 - 3,251,310,000 - (42,765,627) 13,861,989 1,516,056 309,443,849 44,990,000 3,578,356,267 3,255,050,429 95
รายงานประจ�ำปี 2558
259
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัท ษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อชื�อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 20
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สุทธิ (ต่อ)
20.3 ระยะเวลาการครบกํา หนดของเงินกูย้ ืมระยะยาวมีดงั ต่อไปนี� งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท ครบกําหนดภายใน 1 ปี ครบกําหนดเกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ครบกําหนดเกินกว่า 5 ปี รวมเงินกูย้ ืมระยะยาว สุทธิ
398,611,654 1,599,595,069 1,580,149,544 3,578,356,267
1,448,003,003 1,807,047,426 3,255,050,429
ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุม่ บริ ษทั และบริ ษทั ได้เบิกวงเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเต็มจํานวนแล้ว มูลค่ายุติธรรมของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินได้แสดงในหมายเหตุฯข้อ 34 ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุม่ บริ ษทั มีอตั ราดอกเบี� ยที� แท้จริ งสําหรับ เงิ นกูย้ ืมระยะยาวร้อยละ 4.70 ต่อปี ( 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ร้อยละ 4.48 ต่อปี ) 21
หุ้นกู้ - สุ ทธิ หุน้ กูเ้ ป็ นหุ น้ กูส้ กุลเงินบาทดังต่อไปนี�
� วันที� 31 ธันวาคม หุ้นกู้ หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน หัก ค่าธรรมเนี ยมในการจัดหาเงินกูร้ อตัดบัญชี เกินกว่าหน��งปี หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน - สุทธิ
รายงานประจ�ำปี 2558
งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
2,925,000,000 1,000,000,000 2,925,000,000 1,000,000,000 (6,702,676) 2,918,297,324
(2,612,162) (6,702,676) 997,387,838 2,918,297,324
(2,612,162) 997,387,838
96
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
260
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 21
หุ้นกู้ - สุ ทธิ (ต่อ) การเปลี�ยนแปลงของหุ้นกูม้ ีรายละเอียดดังนี� งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุทธิ จําหน่ายหุน้ กู้ ค่าธรรมเนี ยมในการจัดหาหุน้ กู้ ตัดจําหน่ายค่าธรรมเนี ยมในการจัดหาหุน้ กู้ ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
997,387,838 - 997,387,838 1,925,000,000 1,000,000,000 1,925,000,000 1,000,000,000 (6,237,266) (3,274,000) (6,237,266) (3,274,000) 2,146,752 661,838 2,146,752 661,838 2,918,297,324 997,387,838 2,918,297,324 997,387,838
ตามมติท�ีประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั�งที� 2/2557 วันที� 9 เมษายน พ.ศ. 2557 มี มติ อนุมตั ิให้บริ ษทั ดําเนิ นการออกหุ้นกูช้ นิด ระบุชื�อ ผูถ้ ื อ ประเภทไม่ดอ้ ยสิ ท ธิ แ ละไม่มีป ระกัน และมี ผแู ้ ทนผูถ้ ือ หุ ้น กู้ วงเงิ นรวมทั�งสิ� นไม่ เกิ น 1,000 ล้านบาท และใน ระหว่างวันที� 28 เมษายนถ�งวันที� 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 บริ ษทั ได้ดาํ เนินการออกหุ ้นกูด้ งั กล่าวแล้ว ��� งมีวงเงินรวมทั�งสิ� นรวม 1,000 ล้านบาท จํานวน 1,000,000 หุน้ มูลค่าที�ตราไว้หุน้ ละ 1,000 บาท ราคาเสนอขายหุน้ ละ 1,000 บาท โดยหุน้ กูม้ ีอายุ 3 ปี อัตราดอกเบี�ยคงที� ร้อยละ 4.65 ต่อปี โดยมีการจ่ายชําระดอกเบี� ยทุก 3 เดือนและจะครบกําหนดในปี พ .ศ. 2560 ตามมติท�ีประชุมสามัญ ผูถ้ ื อหุ ้นประจํา ปี 2558 วันที� 9 เมษายน พ.ศ. 2558 มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั ดําเนิ นการออกหุ ้ นกูช้ นิดระบุช�ื อ ผูถ้ ือ ประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ แ ละไม่มีประกัน และมีผูแ้ ทนผูถ้ ือ หุ้นกู ้ วงเงิ นรวมทั�ง สิ� นไม่เ กิน 4,000 ล้า นบาท และในระหว่างวัน ที� 11 - 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้ดาํ เนินการออกหุ น้ กูด้ งั กล่าวแล้ว ���งมีวงเงินรวมทั�งสิ� นรวม 2,000 ล้านบาท จํานวน 2,000,000 หุ ้ น มูลค่าที�ตราไว้หุ้นละ 1,000 บาท ราคาเสนอขายหุ้นละ 1,000 บาท โดยหุ้นกูม้ ีอายุ 3 และ 5 ปี อัตราดอกเบี�ยคงที� ร้อยละ 3.90 - 4.55 ต่อปี โดยมีการจ่ายชําระดอกเบี� ยทุ ก 3 เดื อน หุ ้นกูจ้ าํ นวน 1,425 ล้านบาทจะครบกําหนดในปี พ.ศ. 2561 และจํานวน 500 ล้านบาท จะครบกําหนดในปี พ.ศ. 2563 ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั มีหุ้ นกูช้ นิดระบุช�ื อผูถ้ ือ ประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิและไม่มีประกัน และมีผูแ้ ทนผูถ้ ือหุ ้นกูว้ งเงิ น รวมทั�งสิ� นไม่เกิน 2,925 ล้านบาท และบริ ษัทได้ดาํ เนินการออกหุ้นกูด้ งั กล่าวแล้วทั�งจํานวน โดยหุ ้นกูม้ ีอายุ 3-5 ปี อัตราดอกเบี� ยคงที� ร้อยละ 3.90-4.65 ต่อปี โดยมีการจ่ายชําระดอกเบี�ยทุก 3 เดือน ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มูลค่ายุตธิ รรมของหุ ้นกูไ้ ด้แสดงในหมายเหตุฯข้อ 34
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
97
รายงานประจ�ำปี 2558
261
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริ ษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมมชืช�่อ �อบริบริ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
21
หุ้นกู้ - สุ ทธิ (ต่อ) ระยะเวลาการครบกํา หนดของหุ ้นกูม้ ีดงั ต่อไปนี�
� วันที� 31 ธันวาคม - ครบกําหนดไม่เกิน 1 ปี หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน - ครบกําหนดเกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน รวมหุ น้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มหี ลักประกัน
งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท 2,918,297,324 2,918,297,324
-
งบการเงินเฉพาะบริษทั พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท -
-
997,387,838 2,918,297,324 997,387,838 2,918,297,324
997,387,838 997,387,838
กลุม่ บริ ษทั และบริ ษทั มีวงเงินหุน้ กูท้ ี�ยงั ไม่ได้เบิกออกมาใ�้ดงั ต่อไปนี� งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท อัตราดอกเบี�ยคงที� - ครบกําหนดภายใน 1 ปี - ครบกําหนดเกิน 1 ปี
1,075,000,000 1,075,000,000
-
งบการเงินเฉพาะบริษทั พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท 1,075,000,000 1,075,000,000
-
วงเงินหุ ้นกูท้ ี��ะครบกําหนดภายในหน��งปี เป� นวงเงินหุน้ กูท้ ี�ได้รับมาเพ�� อใ�้ในการขยายการดําเนินงานของกลุม่ บริ ษทั และบริ ษทั � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุม่ บริ ษทั มีอตั ราดอกเบี�ยที�แท้�ริ งสําหรับหุ ้นกูร้ ้อยละ 3.997 - 4.764 ต่อปี (31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ร้อยละ 4.764 ต่อปี )
รายงานประจ�ำปี 2558
98
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
262
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 22
เงินอุดหนุนจากรั ฐ บาล ในระหว่างปี พ.ศ. 2553 บริ ษทั ไบโอ แนชเชอรัล เอ็นเนอร์ยี จํากัด ซ��งเป็ นบริ ษทั ย่อยแห่งหน��งเข้าทําสั��ารับเงินช่วยเหลือจาก สํา นัก งานนโยบายและแผนพลัง งาน (สนพ.) ซ�� ง เป็ นหน่ วยงาน�าครั ฐของไทยตามสั� �ารับ เงิ น สนับ สนุ น จากกองทุ น เพื� อส่งเสริ มการอนุรักษ์พลังงานโครงการส่งเสริ มเทคโนโลยีกา๊ ซชีว�าพสําหรับโรงงานอุตสาหกรรมในวงเงินไม่เกิน 20 ล้านบาท เพื�อใช้ในการดําเนิ นโครงการผลิตกระแสไ��้ าจากก๊าซชีว�าพที�ได้จากของเสียของโรงงานผลิตเอทานอล โดยบริ ษทั ย่อยจะต้องนํา ก๊าซชีว�าพที�ผลิตได้ไปใช้ประโยชน์ไม่นอ้ ยกว่าปริ มาณทีร� ะบุในสั��า นอกจากนี� บริ ษทั ย่อยดังกล่าวยังได้รับเงิ นสนับ สนุ นจากกระทรวงทรัพ ยากรธรรมชาติ และสิ� งแวดล้อมของประเทศ�ี�ปุ่ น (Ministry of Environment or “MOE”) เพื�อใช้ในการสร้างโรงงานผลิตกระแสไ��้ าจากก๊าซชีว�าพ และให้นาํ คาร์บอนเครดิตที� ได้จากกระบวนการผลิตขายคืนกลับ ไปให้กบั MOE ตามปริ มาณขั�น ตํ�าที� กาํ หนดไว้เ ป็ นจํานวนรวมไม่เกิน 350 ล้านเยนหรื อ ประมาณ 129.16 ล้านบาท ในระหว่างปี พ.ศ. 2558 กลุ่มบริ ษ ทั ได้รับรู้ เ งิน อุดหนุน ที� เ กี� ยวข้องกับสิ น ทรัพ ย์จาํ นวน 20 ล้านบาทเป็ นรายได้เ ข้าไปใน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเป็ นจํานวนเงิ น 1.12 ล้านบาท กลุ่มบริ ษทั ยังไม่ได้รับ รู้เ งิ นอุดหนุ นจากรัฐบาลที� เกี�ยวข้องกับรายได้ จํานวน 129.16 ล้านบาทเนื�องจากกลุม่ บริ ษทั ยังไม่ได้เริ� มส่งมอบคาร์บอนเครดิตให้แก่หน่วยงานดังกล่าว ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เงินอุดหนุนจากรัฐบาลจํานวน 146.57 ล้านบาท ได้รับรู ้เป็ นรายได้รับล่วงหน้ารวมอยู่ในหนี�สิน ไม่ห มุน เวียน (วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 จํานวน 147.68 ล้านบาท)
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
99
รายงานประจ�ำปี 2558
263
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 23
สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สุ ทธิ กลุม่ บริ ษทั คํานวณภาษีเงินได้สาํ หรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 จากกําไรสุทธิทางภาษีซ� งไม่รวมส่วน ได้เสี ยในกิจการร่ วมค้า โดยมีอตั ราดังนี�
ประเทศไทย ประเทศสิงคโปร์ ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ประเทศกาตาร์ ประเทศญี�ปนุ่ ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศสหรัฐอเมริ กา สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า งบการเงินรวม
สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที�จะใช้ ประโยชน์ภายใน 12 เดือน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที�จะใช้ ประโยชน์เกินกว่า 12 เดือน รวมสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี� สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที�จะใช้ ประโยชน์ภายใน 12 เดือน หนี� ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที�จะใช้ ประโยชน์เกินกว่า 12 เดือน รวมหนี�สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี
รายงานประจ�ำปี 2558
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
ร้อยละ 20 ร้อยละ 17 ร้อยละ 30 ร้อยละ 10 ร้อยละ 25.5 ร้อยละ 22 ร้อยละ 25 ร้อยละ 34 ร้อยละ 25
ร้อยละ 20 ร้อยละ 17 ร้อยละ 30 ร้อยละ 10 ร้อยละ 25.5 ร้อยละ 25 ร้อยละ 25 ร้อยละ 34 ร้อยละ 25 งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2557 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2557 บาท
-
-
-
-
125,151,293 125,151,293
106,367,410 106,367,410
27,852,623 27,852,623
21,901,958 21,901,958
(8,456,737)
(32,322)
(584,023)
(32,322)
(81,364,631) (89,821,368)
(91,736,418) (91,768,740)
(584,023)
(32,322)
100
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
264
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร์ (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 23
สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สุ ทธิ (ต่อ) รา�การเคลื�อนไหวของ�า��เงินได�รอการตัดบั��� งบการเงินรวม ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน บาท
สิ นทรัพย์ถาวร บาท
รวม บาท
22,486,856 3,896,817 2,053,849 28,437,522
83,880,554 12,810,417 22,800 96,713,771
106,367,410 16,707,234 2,053,849 22,800 125,151,293
20,236,603 2,250,253 22,486,856
105,375,855 (8,606,384) (12,888,917) 83,880,554
125,612,458 (6,356,131) (12,888,917) 106,367,410
สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี � วันท�� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 (เพิ� ม)ลดในกําไรหรื อขาดทุน (เพิ� ม)ลดในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน � วันท�� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 � วันท�� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 (เพิ� ม)ลดในกําไรหรื อขาดทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน � วันท�� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
งบการเงินรวม
หนีส� ิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี � วันท�� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิ�ม(ลด)ในกําไรหรื อขาดทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน � วันท�� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 หนีส� ิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี � วันท�� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 เพิ�ม(ลด)ในกําไรหรื อขาดทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน � วันท�� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
สินทรัพย์ถาวร บาท
งานระหว่ างก่อสร้ าง บาท
รวม บาท
81,737,323 (14,621,467) 67,115,856
10,031,417 (2,126,382) 14,800,477 22,705,512
91,768,740 (16,747,849) 14,800,477 89,821,368
103,906,871 (22,169,548) 81,737,323
2,382,447 7,616,648 32,322 10,031,417
106,289,318 (14,552,900) 32,322 91,768,740 101
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษทั ทีบริทษซี ัทีแทีอลทีซจํีแอล ากัดจำ�(มหาชน) กัด (มหาชน) ษัท โตโย-ไทย อเรชั่นน (เดิมช��อ (เดิ บริมษชื่อทั บริโตโย-ไทย คอร์คอร์ปปอเรชั � จำจํ�กัาดกัด(มหาชน)) (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
265
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
23
สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ ร อการตัดบัญชี สุ ทธิ (ต่อ) รายการเคลื�อนไหวของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี งบการเงินเฉพาะกิจการ
สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี � วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 (เพิ� ม)ลดในกําไรหรื อขาดทุน (เพิ� ม)ลดในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 � วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 (เพิ� ม)ลดในกําไรหรื อขาดทุน � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
ภาระผูกพัน ผลประโยชน์ พนักงาน บาท
รวม บาท
21,901,958 3,896,816 2,053,849 27,852,623
21,901,958 3,896,816 2,053,849 27,852,623
19,605,359 2,296,599 21,901,958
19,605,359 2,296,599 21,901,958 งบการเงินเฉพาะกิจการ
หนีส� ิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี � วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพิ�ม(ลด)ในกําไรหรื อขาดทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 � วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 เพิ�ม(ลด)ในกําไรหรื อขาดทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
รายงานประจ�ำปี 2558
ขาดทุนจากอัตรา แลกเปลีย� น บาท
รวม บาท
32,322 551,701 584,023
32,322 551,701 584,023
32,322 32,322
32,322 32,322
102
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
266
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร์ (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 24
ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน
งบแสดงฐานะทางการเงิน ค่าใช้จา่ ยผลประโยชน์พนักงาน การวัดมูลค่าใหม่สาํ หรับ : ผลประโยชน์เม��อเกษียณอายุ
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2557 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2557 บาท
142,085,589 19,647,927
112,168,415 12,817,214
139,263,117 19,484,082
109,509,788 12,548,895
10,269,247
2,919,160
10,269,247
2,919,160
โครงการเป� นโครงการเกษียณอายุ�ตามอัตราเงินเด�อนเด�อนสุดท้าย��� งให้ผลประโยชน์แก่สมาชิ ก ในรู ปการประกันระดับ เงิ น เกษียณอายุที�จะ�ด้รับ�โดยผลประโยชน์ที�ให้จะข��นอยุก่ บั ระยะเวลาการทํางานและเงิ นเด�อนในปี สุ ดท้ายของสมาชิ กก่อนที� จะ เกษียณอายุ รายการเคล��อน�หวของ�าระผูกพันผลประโยชน์ที�กาํ หนด�ว้ระหว่างปี มีดงั นี� งบการเงินรวม
ณ�วันที� 1 มกราคม ต้นทุนบริ การปั จจุบนั ค่าใช้จ่ายดอกเบี�ย การวัดมูลค่าใหม่ ผลกํา�รที�เกิดจากการเปลี� ยนแปลง ข้อสมมติดา้ นประชากรศาสตร์ ผลขาดทุนที�เกิดข��นจากการเปลี�ยนแปลง ข้อสมมติทางการเงิน จ่ายชําระเงินจากโครงการ จ่ายชําระผลประโยชน์ ณ�วันที� 31 ธันวาคม
งบการเงินเฉพาะบริษัท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2557 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2557 บาท
112,168,415 14,880,922 5,478,405 132,527,742
100,573,621 5,172,518 4,725,536 110,471,675
109,509,788 14,717,077 5,478,405 129,705,270
98,048,645 4,904,199 4,725,536 107,678,380
(2,952,899)
(5,467,119)
(2,952,899)
(5,467,119)
13,222,146 142,796,989
8,386,279 113,390,835
13,222,146 139,974,517
8,386,279 110,597,540
(711,400) 142,085,589
(1,222,420) 112,168,415
(711,400) 139,263,117
(1,087,752) 109,509,788
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
103
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริ ษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
267
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
24
ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) ข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยที� ใช้เป็ นดังนี�
อัตราคิ ดลด อัตราเงินเฟ้ อ
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
ร้อยละ 3.88 ร้อยละ 7.55
ร้อยละ 4.41 ร้อยละ 8.39
ผลกระทบต่ อภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ ที�กาํ หนดไว้
อัตราคิดลด อัตราการเพิ�มขึ�นของเงินเดือน อัตราการเพิ�มขึ�นของเงินบําเหน็จบํานาญ
การเปลีย� นแปลง ในข้อสมมติ
การเพิ�มข�น� ของข้อสมมติ
การลดลง ของข้อสมมติ
ร้อยละ 0.5 ร้อยละ 0.5 ร้อยละ 0.5
ลดลง ร้อยละ 5.92 เพิ�มขึ�น ร้อยละ 5.75 ลดลง ร้อยละ 6.32
เพิ�มขึ�น ร้อยละ 6.57 ลดลง ร้อยละ 5.23 เพิ�มขึ�น ร้อยละ 7.01
การวิเ คราะห์ ความอ่ อ นไหวข้า งต้น นี� อ้างอิ ง จากการเปลี� ย น�ปลงข้อสมมติ ขณะที� ใ ห้ข ้อ สมมติ อื� น คงที� ในทางป�ิ บ ัติ สถานการณ์ดงั กล่าวยากที�จะเกิดขึ�น �ละการเปลี�ยน�ปลงในข้อสมมติอาจมีความสัมพันธ์กนั ในการคํานวณการวิเ คราะห์ความ อ่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์ที�กาํ หนดไว้ที� มีต่อการเปลี� ยน�ปลงในข้อสมมติหลักได้ใช้วิธีเดี ยวกับ (มูลค่าปั จจุบ ัน ของภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ที�กาํ หนดไว้คาํ นวณด้วยวิธีคิดลด�ต่ล ะหน่ วยที� ป ระมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) ณวันสิ� นรอบระยะเวลารายงาน)ในการคํานวณหนี� สินบําเหน็ จบํานาญที� รับรู ้ในงบ�สดง�านะการเงิ น วิธี การ�ละ ประมาณการของข้อสมมติท�ีใช้ในการจัดทําการวิเ คราะห์ความอ่อนไหวไม่ได้เปลี�ยน�ปลงจากปี ก่อน ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ระยะเวลาค่าเ�ลี� ยถ่วงนํ�าหนักของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ของกลุ่ มบริ ษทั อยู่ ระหว่าง 3 ปี ถึง 26 ปี โดยส่วนของบริ ษทั คือ 26 ปี
การวิเคราะห์การครบกําหนดของการจ่ายชําระผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ ที�ไม่มีการคิดลด:
น้ อยกว่า 1 ปี ระหว่ าง 1-2 ปี ระหว่ าง 2-5 ปี บาท บาท บาท ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ รวม
รายงานประจ�ำปี 2558
-
35,637,690 35,637,690
21,450,974 21,450,974
งบการเงินรวม เกินกว่ า 5 ปี รวม บาท บาท
127,731,411 184,820,075 127,731,411 184,820,075
104
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
268
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร์ (มหาชน)) ชื�อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 24
ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) น้ อยกว่า 1 ปี ระหว่ าง 1-2 ปี ระหว่ าง 2-5 ปี บาท บาท บาท ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ผลประโยชน์เม��อเกษียณอายุ รวม
25
ทุนเรื อนหุ้นและส่ วนเกิน มูล ค่าหุ้น
วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 การออกหุน้ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 การออกหุน้ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
-
35,637,690 35,637,690
หุ้นสามัญ จดทะเบียน หุ้น
หุ้นที�ออกและ เรี ยกชําระแล้ว หุ้น
560,000,000 560,000,000 560,000,000
560,000,000 560,000,000 560,000,000
18,628,502 18,628,502
หุ้นทีอ� อกและ เรี ยกชําระแล้ว บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท เกินกว่ า 5 ปี รวม บาท บาท
127,731,411 181,997,603 127,731,411 181,997,603
ส่ วนเกิน มูลค่าหุ้น บาท
รวม บาท
560,000,000 2,905,496,747 3,465,496,747 560,000,000 2,905,496,747 3,465,496,747 560,000,000 2,905,496,747 3,465,496,747
ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 หุ ้นสามัญจดทะเบียนทั�งหมดมีจาํ นวน 560 ล้านหุ ้น ���งมีมูลค่าที�ตราไว้หุ ้นละ 1 บาท (พ.ศ. 2557 จํานวน 560 ล้านหุน้ ���งมีมลู ค่าที�ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท) 26
สํ ารองตามกฎหมาย
ยอดต้นปี จัดสรรระหว่างปี ยอดปลายปี
งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
56,000,000 56,000,000
56,000,000 56,000,000
56,000,000 56,000,000
56,000,000 56,000,000
ตามพระราชบัญญัติบ ริ ษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริ ษทั ต้องสํารองตามกฎหมายอย่างน้อยร้อยละ 5 ของกําไรสุ ทธิ หลังจาก หักส่วนของขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสํารองตามกฎหมายนี� จะมีมูลค่าไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
105
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
269
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 27
การจ่ายโดยใช้ ห้ นุ เป็ นเกณฑ์ กลุม่ บริ ษทั ให้สิทธิซ�ื อหุ น้ สามัญที�ออกใหม่โดยบริ ษทั TTCL Power Holdings Pte. Ltd. (TTPHD) ซ�� งเป็ น บริ ษทั ย่อยตั�งอยู่ใน ประเทศสิ งคโปร์ ให้แก่ กรรมการและพนักงานของบริ ษทั จํานวน 8,388,000 หุ ้น มูล ค่า ของการใช้สิท ธิ ซ�ือ หุ ้น คื อ หุ ้น ละ 1 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐหรื อเที ยบเท่า 30 บาทต่อหุ้น วันที�ให้สิทธิคือวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ระยะเวลาใช้สิทธิ คือภายในไตร มาสหน��งของปี พ.ศ. 2557 โดยมีเงื�อนไขว่าพนักงานสามารถซื�อหุน้ และลาออกจากบริ ษทั ได้โดยไม่มีเงื� อนไขว่าพนักงานต้อง ทํางานอยูก่ บั บริ ษทั เป็ นระยะเวลากี�ปี ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 พนักงานได้ใช้สิทธิซ�ือหุน้ สามัญทั�งหมดภายในไตรมาสหน��งของปี พ.ศ. 2557 ต้นทุนในการทํา รายการที�เกี�ยวข้องจํานวน 1.41 ล้านบาทได้ถกู รับรู ้เป็ นยอดสุทธิกบั สิ�งตอบแทนที� ได้รบั มูลค่ายุติธรรมถัวเ�ลี�ยถ่วงนํ�าหนักของสิทธิ การซื�อหุน้ ที�ให้สิทธิ ระหว่างงวดประมาณโดยใช้วธิ ี การคํานวณแบบ Black-Scholes ซ�� งมี มูลค่า 1.084 เหรี ย ญดอลลาร์สหรั ฐหรื อเที ยบเท่ า 32.75 บาทต่อสิ ท ธิ ข้อมูลสําคัญที� ใช้ในสู ตรการคํานวณคือราคาหุ ้น ถัวเ�ลี�ยถ่วงนํ�าหนัก ณ วันให้สิทธิ มูลค่า 1.084 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐหรื อเที ยบเท่า 32.75 บาทต่อหุ ้น ค่าความผันผวนร้อ ยละ 10 อัตราผลตอบแทนของเงินปันผลร้อยละ 2 และอัตราดอกเบี�ยปราศจากความเสี� ยงร้อยละ 2.85
28
กําไรต่อหุ้น กําไรต่อหุน้ ขั�นพื�นฐานที�เป็ นของบริ ษทั ใหญ่คาํ นวณโดยการหารกําไรส่วนที� เป็ นของบริ ษทั ใหญ่ดว้ ยจํานวนหุ ้นสามัญถัวเ�ลี� ย ถ่วงนํ�าหนักตามจํานวนหุ ้นที� ออกจําหน่ายในระหว่างปี งบการเงินเฉพาะบริษทั งบการเงินรวม ปรั บปรุ งใหม่ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 กําไรส่วนที� เป็ นของบริ ษทั ใหญ่ (บาท) จํานวนหุน้ สามัญถัวเ�ลี�ยที�ถือโดยบุคคลภายนอก ระหว่างปี (หุน้ ) กําไรต่อหุน้ ขั�นพื�นฐานที�เป็ น ของบริ ษทั ใหญ่ (บาท)
422,549,789 469,713,885 580,558,372 429,682,227 560,000,000 560,000,000 560,000,000 560,000,000 0.75 0.84 1.04 0.77
บริ ษทั ไม่มีการออกหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลดในระหว่างปี ที�น าํ เสนอข้างต้น
รายงานประจ�ำปี 2558
106
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
270
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัทมโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 29
เงินปันผล ที�ป ระ�ุ มคณะกรรมการบริ ษทั เมื�อวันที� 13 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 มี มติอนุ มตั ใิ ห้ จ่ายเงิ นปั นผลระหว่างกาลจากผลการดําเนินงาน สําหรั บคร�� งปี พ.ศ. 2558 ในอัตรา 0.23 บาทต่อหุ ้ น เป็ นจํานวน 560 ล้านหุ ้น เป็ นจํา นวนเงิ น 128.80 ล้านบาท ��� ง บริ ษทั ได้จ่า ย เงินปั นผลดังกล่าวให้ผ��้ ือหุ ้นในวันที� 11 กันยายน พ.ศ. 2558 ที�ประ�ุ มสามั�ผ��้ ือหุ ้นประจําปี ของบริ ษทั เมื�อวันที� 9 เมษายน พ.ศ. 2558 มีมติอนุมตั ิการจ่ายเงิ นปั นผลจากจากผลการดําเนิ นงาน ปี พ.ศ. 2557 จํานวน 0.60 บาทต่อหุ้ น คิดเป็ นจํานวนเงิน 336 ล้านบาท ทั�งนี� บริ ษทั ได้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจํานวน 0.30 บาท ต่อหุ ้นสําหรับหุ ้นจํานวน 560 ล้านหุ น้ คิดเป็ นจํานวนเงิ น 168 ล้า นบาทในเดื อนกันยายน พ.ศ. 2557 และคงเหลื อเงินปั นผลจ่ายอีก หุ ้นละ 0.30 บาท สําหรับหุ ้นจํานวน 560 ล้านหุ ้น เป็ นจํานวนเงิ น 168 ล้านบาท ���งบริ ษทั ได้จ่ายเงินปั นผลดังกล่าวให้ผ��้ ื อหุ ้นแล้ว ในวันที� 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ทั�งจํานวน ที� ประ�ุ มคณะกรรมการบริ ษทั เมื�อวันที� 13 สิ งหาคม พ.ศ. 2557 มีมติ อนุ มตั ิให้ จ่า ยเงิ นปั นผลระหว่างกาลจากผลการดําเนินงาน สํา หรั บ คร�� งปี พ.ศ. 2557 ในอัตรา 0.30 บาทต่อ หุ้ น เป็ นจํา นวน 560 ล้ านหุ ้ น เป็ นจํา นวนเงิ น 168 ล้า นบาท ��� ง บริ ษทั ได้จ่า ย เงินปั นผลดังกล่าวให้ผ��้ ือหุ ้นในวันที� 12 กันยายน พ.ศ. 2557 ที� ประ�ุ มสามั�ผ��้ ื อหุ ้ นประจําปี ของบริ ษทั เมื�อวันที� 9 เมษายน พ.ศ. 2557 มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปั นผลจากผลการดําเนิ นงาน ปี พ.ศ. 2556 จํานวน 0.70 บาทต่อหุน้ คิดเป็ นจํานวนเงิน 368 ล้านบาท ทั�งนี�บริ ษทั ได้จ่ายเงิ นปั นผลระหว่างกาลจํานวน 0.30 บาทต่อหุ ้น สําหรับหุ ้นจํานวน 480 ล้านหุ ้น คิดเป็ นจํานวนเงิ น 144 ล้านบาทในเดือนกันยายน พ.ศ. 2556 และคงเหลื อเงิ นปั นผลจ่า ยอี กหุ ้ นละ 0.40 บาท สําหรับหุ ้นจํานวน 560 ล้านหุ ้น เป็ นจํานวนเงิน 224 ล้านบาท ��� งบริ ษทั ได้จ่ ายเงิ นปั นผลดังกล่าวให้ ผ��้ ื อหุ ้นแล้วในวันที� 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ทั�งจํานวน
30
รายได�อน�
ดอกเบี�ยรับ กําไร(ขาดทุน)จากการจําหน่ายอุปกรณ์ กําไรจากการจําหน่ายเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย รายได้อื�น รวม
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
174,098,495 (96,018) 10,682,955 184,685,432
168,583,990 44,571,874 5,597,456 218,753,320
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท 46,688,810 92,669,892 4,040,482 143,399,184
63,684,504 699 3,624,441 67,309,644
107
รายงานประจ�ำปี 2558
271
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริ ษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมมชืช�่อ �อบริบริ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
31
ค่าใช้ จ่ายภาษีเงินได้
ภาษีเงินได้ในปี ปั จจุบนั ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (หมายเหตุฯ ข้อ 23) รวมค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้
งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท 191,354,636 (33,455,083) 157,899,553
67,104,005 (8,196,769) 58,907,236
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท 155,028,234 (4,448,517) 150,579,717
117,638,051 (2,264,277) 115,373,774
ภาษีเงินได้สาํ หรับกํา ไรก่อนภาษีเงินได้ของกลุ่มบริ ษทั มียอดจํานวนที�แตกต่างจากการคํานวณกําไรทางบัญชี คูณกับอัตราภาษี ของประเทศที�บริ ษทั ใหญ่ต� งั อยู่ โดยมีรายละเอียดดังนี� งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
กําไรก่อนภาษี
724,092,721
512,664,910
731,138,089
545,056,001
ภาษีคาํ นวณจากอัตราภาษีร้อยละ ผลคูณของกําไรทางบัญชีกบั อัตราภาษีที�ใช้ ผลกระทบ: รายได้ที�ไม่ตอ้ งเสียภาษี ค่าใช้จ่ายที�ไม่สามารถหักภาษี ขาดทุนทางภาษีสาํ หรับปี ที�ไม่ได้บ นั ทึกเป� น สิ นทรัพย์ภาษีเงิน ได้รอการตัดบัญชี ส่วนแบ่งกําไรจากบริ ษทั ร่วม ส่วนแบ่งขาดทุนจากส่วนได้เสียใน กิจการร่ วมค้า ภาระผูกพัน ผลประโยชน์พนักงาน (กําไร)ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี�ยน สิ นทรัพย์ถาวรและงานระหว่างก่อสร้าง อื�นๆ ภาษีเงินได้
20 144,818,544
20 102,532,982
20 146,227,618
20 109,011,200
(26,819,206) 44,583,764
(38,894,184) 13,463,972
(639,119) 8,007,118
(48,242) 8,790,574
(5,353,255) (5,087,665)
(74,261,312) (5,249,053)
-
-
31,049,634 (3,876,413) 14,581,141 (43,135,244) 7,138,253 157,899,553
4,446,329 (2,250,253) 12,921,240 31,862,668 14,334,847 58,907,236
(3,896,816) 551,701 329,215 150,579,717
(2,296,599) 32,322 (115,481) 115,373,774
อัตราภาษีเงินได้ที�แท้จริ งถัวเ�ลี�ยที�ใช้สาํ หรับกลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั คือ อัตราร้อยละ 20 ถึ งร้อยละ 22 (พ.ศ. 2557 : อัตราร้อยละ 12 ถึงร้อยละ 21 )
รายงานประจ�ำปี 2558
108
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
272
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 32
ค่าใช้ จ่ายตามลักษณะ
ค่าวัสดุกอ่ สร้างและค่ารับเหมาก่อสร้างช่วง เงินเด�อนและค่าแรงและ�ล�ระ�ยชน�อ�น ของพนักงาน ค่าที��ร� ก�า ค่าเช่าจ่าย ค่าเส�� อมราคาและค่าตัดจ�าหน่าย 33
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท
17,085,748,657
13,449,652,636
11,048,450,229
9,775,251,388
2,544,419,900 37,060,976 630,035,846 48,934,410
2,444,406,688 62,881,980 599,031,500 43,439,860
2,449,129,327 30,620,688 585,592,733 31,238,413
2,678,085,723 49,142,787 591,366,955 27,786,214
พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท
354,501,631 354,501,631
101,137,770 4,901,855 106,039,625
ต้ นทุนทางการเงิน
ดอกเบี� ยจ่าย อ��น�� รวมต้นทุนทางการเงิน
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท 185,394,273 185,394,273
72,443,724 72,443,724
109
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร์่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
273
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 34
เคร�� องม�อทางการเงิน (ก) สิ นทรัพย์และหนี� สินทางการเงิน � วันที� 31 ธันวาคม บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมียอดคงเหลือของสิ นทรัพย์ทางการเงินและหนี�สินทางการเงินที�เป� นสก�ลเงินตรา ต่างประเทศ ดังนี� งบการเงินรวม
สกุลเงิน ดอลลาร์ สหรั ฐฯ เยน�ี�ปน�่ ยูโร ปอนด์ อังกฤษ ดอลลาร์สิงคโปร์ เปโซ ฟิ ลิปปิ นส์ โครนา สวีเดน ริ งกิต มาเลเซีย จ๊าด เมียนมาร์ ไรยัล การ์ ตาร์ ริ กีบ ลาว บาท ไทย
สิ นทรัพย์ ทางการเงิน
หนีส� ิ น ทางการเงิน
893,947,685 1,531,151,097 2,833,957,865 1,710,099,561 188,835 161,749,191 20,240 161,749,191 9,571,969 353,064,835 13,128,343 353,231,770 1,051,298 1,051,298 4,243,574 2,234,456 2,2234,456 1,356,605 230,893 1,356,605 230,893 636,298,365 403,139,293 14,021,739 9,280,498 227,259 192,994 8,759,471 10,302,111 12,696,905 57,188,765 12,696,905 57,188,765 36,577,040 34,505,043 30,698,436 34,505,043 464,192 1,088,649 345,082 งบการเงินรวม
สกุลเงิน ดอลลาร์ สหรั ฐฯ เยน�ี�ปน�่ ยูโร ปอนด์ อังกฤษ ดอลลาร์สิงคโปร์ ดอลลาร์ออสเตรเลีย เปโซ ฟิ ลิปปิ นส์ โครนา สวีเดน ริ งกิต มาเลเซีย เมียนมาร์ จ๊าด ตากา บังคลาเทศ ไรยัล การ์ ตาร์ ริ บาท ไทย
รายงานประจ�ำปี 2558
(หน่วย : บาท/เงินตราต่างประเทศ) งบการเงินเฉพาะบริษัท อัตราแลกเปลีย� น � วันที� 31 ธันวาคม สิ นทรัพย์ หนีส� ิ น พ.ศ. 2558 ทางการเงิน ทางการเงิน อัตราซ�อ� อัตราขาย
สิ นทรัพย์ ทางการเงิน
หนีส� ิ น ทางการเงิน
35.9233 0.2965 39.0780 53.0726 25.2484 0.7555 4.2624 8.2898 0.0274 9.8677 0.0044 1
36.2538 0.3028 39.7995 53.9343 25.7905 0.7827 4.3535 8.5661 0.0276 9.9585 0.0044 1
(หน่วย : บาท/เงินตราต่างประเทศ) งบการเงินเฉพาะบริษัท อัตราแลกเปลีย� น � วันที� 31 ธันวาคม สิ นทรัพย์ หนีส� ิ น พ.ศ. 2557 ทางการเงิน ทางการเงิน อัตราซ�อ� อัตราขาย
1,041,140,078 1,133,341,237 1,901,234,917 1,529,912,981 866,247 3,944,664 756,022 3,944,664 278,255 60,389,763 3,902,620 60,389,763 9,035,249 9,035,249 4,299,435 362,170 362,170 1,052,757 1,052,757 837,364 837,364 1,863,643,149 1,505,664,098 409,640 409,640 16,657,646 11,297,693 441 441 18,563,523 1,907,734 18,563,523 1,907,734 803,591 11,703,315 -
32.8128 0.2712 39.7507 50.7959 24.6644 26.5348 0.7243 4.1572 9.2880 0.0318 0.4211 9.0100 1
33.1132 0.2765 40.3552 51.5035 25.1274 27.0788 0.7512 4.2413 9.5621 0.0321 0.4249 9.0925 1
110
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
274
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 34
เคร�� องม�อทางการเงิน (ต่อ) (ข) ความเสี�ยงจากอัตราแลกเปลี�ยน � วันที� 31 ธันวาคม กลุ่มบริ ษทั ได้ทาํ สัญญาซื� อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าจํานวน 21.96 ล้านเหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ วันครบกําหนดชําระเงินของสัญญาซื�อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าที�เปิ ดสถานะไว้มีอายุระหว่าง 4 เดือนถึง 18 เดือน จํานวนเงินในสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯที� จะต้องชําระและอัตราแลกเปลี�ยนตามสัญญาเป็ นดังนี�
� วันที� 31 ธันวาคม สกุลเงินเยน: - อัตราแลกเปลี�ยนเ�ลี�ย (เยน/เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ) - จํานวนเงินในสกุลเงิน ต่างประเทศ (เยน) - จํานวนเงิ นในสกุลเงินท้องถิ�น (บาท) สกุลเงินยูโร: - อัตราแลกเปลี�ยนเ�ลี�ย (ยูโร/เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ) - จํานวนเงินในสกุลเงิน ต่างประเทศ (ยูโร) - จํานวนเงิ นในสกุลเงินท้องถิ�น (บาท)
พ.ศ. 2558
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557
งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557
115.19 - 120.52
116.40 - 120.35
115.19 - 120.52
-
2,585,092,000
1,509,880,500
1,534,000,000
-
796,140,136
427,160,280
468,768,322
-
0.867-0.882
-
-
-
2,700,000
-
-
-
111,989,257
-
-
-
(ค) มูลค่ายุติธรรมสุทธิ มูลค่าคงเหลือของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากสถาบันการเงินที�ใช้ค�าํ เป็ นหลักประกัน ลูกหนี�การค้า ลูกหนี� การค้ากิจการที� เกี�ยวข้องกัน เจ้าหนี�การค้า เจ้าหนี� การค้ากิ จการที�เ กีย� วข้องกัน เงิ นกูย้ ืมระยะสั�นจากสถาบันการเงิ นและ กิจการที� เกี�ยวข้องกัน และค่าใช้จา่ ยค้างจ่ายมีมูลค่าที�ใกล้เ คียงกับมูลค่ายุติธรรมเนื� องจากระยะเวลาสั�น
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
111
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อชื�อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
275
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 34
เครื� องมือทางการเงิน (ต่อ) เงินให้ ก้ยู ืมระยะยาวและลูกหนี�กจิ การทีเ� กีย� ว�้ องกัน มูลค่ายุติธรรมของเงินให้กยู้ มื ระยะยาวและลูกหนี� กิจการที�เ กี�ยวข้องกัน��� งมีอตั ราดอกเบี� ยคงที�คา� นว�จากมูลค่าปั จจุบ ันของ กระแสเงินสดในอนาคตคิดลดด้วยอัตราดอกเบี�ยเงินให้กยู้ ืมของตลาด � วันที�ในงบการเงิน มูลค่ายุติธรรมสุทธิของเงินกูใ้ ห้กยู้ ืมระยะยาวและลูกหนี� กิจการที� เกี�ยวข้องกัน � วัน ที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มีดงั นี� งบการเงินรวม
เงิ นให้กยู ้ ืมระยะยาวและลูกหนี� กจิ การที�เกีย� วข้องกัน
งบการเงินเฉพาะบริษัท
มูลค่าตามสั ญญา บาท
มูลค่ายุติธรรม บาท
มูลค่าตามสั ญญา บาท
มูลค่า ยุติธรรม บาท
-
-
97,410,000
91,706,664
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้ไม่ด้อยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน มูลค่ายุติธรรมของเงิ นกูร้ ะยะยาวจากสถาบันการเงิ นและหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ท ธิ ไม่มีหลักประกัน��� งมีอตั ราดอกเบี�ยคงที�ค า� นว� จากมูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดในอนาคตคิดลดด้วยอัตราดอกเบี� ยเงินกูย้ ืมของตลาด � วันที�ในงบการเงิน มูลค่ายุติธรรมสุทธิของเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินและหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน อัตราดอกเบี� ยคงที� � วัน ที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มีดงั นี� งบการเงินรวม
เงิ นกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ น้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มหี ลักประกัน
รายงานประจ�ำปี 2558
งบการเงินเฉพาะบริษัท
มูลค่าตามสั ญญา บาท
มูลค่ายุติธรรม บาท
มูลค่าตามสั ญญา บาท
มูลค่า ยุติธรรม บาท
3,608,860,000 2,925,000,000
3,783,331,493 3,012,842,319
2,925,000,000
3,012,842,319
112
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
276
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 34
เคร�� องม�อทางการเงิน (ต่อ) สัญญาซื� อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื�อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคํานวณ�ดยใ�้อตั ราที�กาํ หนด�ดยธนาคารของบริ ษทั เสมื อนว่าได้ ยกเลิกสัญญาเหล่านั�น ณ วัน ที�ในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุพนั ธ์ ณ วันที�ในงบแสดงฐานะการเงินมีดงั ต่อไปนี� บาท สัญญาซื� อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าที�เป็ นทรัพย์สิน
106,726,814
สัญญาซื� อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าที�เป็ นหนี�สิน
791,337,213
สัญญาแลกเปลี�ยนอัตราดอกเบี�ย มูลค่ายุติธรรมของสัญ ญาแลกเปลี� ยนอัตราดอกเบี� ยคํานวณ�ดยใ�้อตั ราที� กาํ หนด�ดยธนาคารของบริ ษทั เสมือนว่าได้ยกเลิก สัญญาเหล่านั�น ณ วันที�ในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุพนั ธ์ ณ วันที�ในงบแสดงฐานะการเงินมีดงั ต่อไปนี� บาท
35
สัญญาแลกเปลี�ยนอัตราดอกเบี� ยที�เป็ นทรัพย์สิน
359,541,708
สัญญาแลกเปลี�ยนอัตราดอกเบี�ยที�เป็ นหนี�สิน
364,954,046
ภาระผูกพันและหนี��ินที�อาจเกิด��น� ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันและหนี� สินที�อาจเกิดข��นในภายหน้ารวมทั�งสัญญาต่างๆ ดังต่อไปนี� 1)
ภาระผูกพันที�เป� น��อผูกมัดเพ��อ�ช� เป� นรายจ� าย�� ายทุน บริ ษทั มี ภาระผูกพันเกี� ยวกับส่ วนของเงิ นลงทุนที� ยงั ไม่เรี ยก�ําระใน Orient Bio-Fuels Company Limited (OBF). ซ�� งเป็ น บริ ษทั ร่ วมค้าในประเทศเวียดนามเป็ นจํานวนเงิน 1.03 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อเทียบเท่าประมาณ 38.07 ล้านบาท
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
113
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัท ษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
277
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 35
ภาระผูกพันและหนี��ินที�อาจเกิด��น� (ต่อ) 2)
ภาระผูกพันที�เป� น�้ อผูกมัดตาม�ั ��าเช่ าดําเนินงานและ�ั ��ารั บบริการ กลุม่ บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาที�เกี�ยวกับการเช่าและบริ การพื� นที� สาํ นักงานและค่าเช่ายานพาหนะ ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 กลุม่ บริ ษทั มีภาระผูกพันในการจ่ายค่าเช่าตามสัญญาเช่าดําเนินงานทีบ� อกเลิกไม่ได้ดงั ต่อไปนี� พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
จ่ ายชําระภายใน
ล้านบาท
ล้านบาท
1 ปี 2 - 5 ปี มากกว่า 5 ปี
87.98 49.40 16.16 153.54
108.64 43.55 15.68 167.87
รวม 3)
การคํา� ประกัน 3.1) ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั คํ�าประกันวงเงินกูย้ ืมและวงเงิ นสิ นเชื� อให้แก่บริ ษทั ย่อยในวงเงิน 39.50 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐ ฯหรื อเที ยบเท่ าประมาณ 1,425.50 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : วงเงิ น 38.50 ล้านเหรี ยญ ดอลลาร์สหรัฐฯหรื อเที ยบเท่าประมาณ1,274 ล้านบาท) และจํานวน 148 ล้านริ งกิ ตมาเลเซี ย หรื อเที ยบเท่า ประมาณ 1,247 ล้านบาท 3.2) ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันจากการที� ธนาคารออกหนังสื อคํ�าประกันในเรื� องต่าง � ดังต่อไปนี� 3.2.1 หนังสือคํ�าประกันเพื� อคํ�าประกันการปฏิบ ตั ิ ตามสัญญาซ�� งเกี� ยวเนื�องกับภาระผูกพันตามการปฏิ บตั ิ บาง ประการตามปกติธุรกิจของกลุม่ บริ ษทั จํานวนรวม 245.70 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ (พ.ศ. 2557 : 199.90 ล้าน เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐ) และ 3,177.14 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 2,422.85 ล้านบาท) และ 249.85 ล้านโครนาสวีเดน 3.2.2 หนังสือคํ�าประกันการใช้ไฟฟ้ าและอื�น� จํานวน 9.80 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 13.53 ล้านบาท) และหนังสื อ คํ�าประกันศาลกรณี คดีฟ้องร้อง จํานวน 10.48 ล้านบาท 3.3) ณ วัน ที� 31 ธั น วาคม พ.ศ. 2558 บริ ษัท ย่ อ ยมี ภ าระผู ก พั น จากการที� ธ นาคารออกหนัง สื อคํ�า ประกั น การปฏิบตั ิงานตามสัญญา ซ��งเกี�ยวเนื� องกับภาระผูกพันทางปฏิบตั ิบางประการตามปกติ ธุรกิ จของบริ ษทั ย่อยใน วงเงิน 36.24 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อเที ยบเท่าประมาณ 1,311.95 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 682.16 ล้านบาท) และ 0.42 ล้านไรยัลการ์ตาร์ริหรื อเทียบเท่าประมาณ 4.18 ล้านบาท
รายงานประจ�ำปี 2558
114
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
278
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 35
ภาระผูกพันและหนี�� ินทีอ� าจเกิด��น� (ต่อ) 4)
คดีฟ้องร้ อง ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุม่ บริ ษทั มีคดีฟ้องร้องดังต่อไปนี� 1) บริ ษทั รับเหมาช่วงแห่ งหนึ�งได้ยื�นฟ้ องบริ ษทั ในเรื� องการผิดสัญญาไม่จ่ายค่าใช้จ่ายเพิ� มเติมตามข้อตกลงโดยบริ ษทั ดังกล่าวเรี ยกร้องค่าเสี ยหายในโครงการก่อสร้าง 2 โครงการ โครงการแรกจํานวน 18.79 ล้านบาท โดยศาลชั�น ต้น พิพ ากษาให้บริ ษทั ชํา ระเงิ นจํา นวน 8.88 ล้านบาท พร้อมดอกเบี� ยในอัต ราร้อ ยละ 7.5 ต่อปี นับ จากวัน ที� 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จนกว่าชําระเสร็ จ ซึ�งบริ ษทั ได้ยื�นอุท ธรณ์ ต่อศาลแล้ว เมื� อวันที� 12 พฤศจิ กายน พ.ศ.2558 คดีอยูร่ ะหว่างรวบรวมถ้อยสํานวนส่งศาลอุท ธรณ์ คาดว่าจะใช้เวลาในการพิ พากษาประมาณ 1-4 ปี และอี ก โครงการจํานวน 66.18 ล้านบาทซึ� งบริ ษทั ได้ยื�นคําให้การต่อสูค้ ดีป �ิ เ สธทุ กข้อกล่าวหาแล้ว และบริ ษทั ได้ฟ้ อง แย้งเรี ยกร้องค่าเสียหายจํานวน 65.05 ล้านบาท โดยเบื�องต้นศาลกําหนดนัดวันพิจารณาต่อไปในวันที� 11 และ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 2) บริ ษทั ผูร้ ับเหมาแห่ งหนึ� งในต่างประเทศได้ยื�นฟ้ องบริ ษทั ในเรื� องที�บริ ษทั ไม่อนุมตั ิจ่ายชําระราคาในช่วงท้ายเนื� อง จากบริ ษทั ผูร้ ับเหมาดังกล่าวผิดสัญญาการส่งมอบอาคารให้ถูกต้องตรงตามสัญญา ซึ� งผูร้ ับเหมาได้ฟ้องร้องต่อศาล ให้บริ ษทั ชําระเงินจํานวน 0.33 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อเที ยบเท่ ากับ 12.08 ล้านบาท พร้อมทั�งดอกเบี� ย ผิดนัดชําระร้อยละ 4 ต่อปี แต่อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ได้ยื�นคําให้การต่อ สู ้คดี ป �ิเสธข้อกล่าวหาดังกล่าวแล้ว และ บริษทั ได้ฟ้องแย้งเรี ยกร้องค่าเสียหายจํานวน 1.16 ล้านมาเลเซียนริ งกิต หรื อเทียบเท่ากับ 9.90 ล้านบาท พร้อมทั�ง ดอกเบี� ยผิดนัดชําระร้อยละ 4 ต่อปี คดีฟ้องร้องนี� อยูร่ ะหว่างกระบวนการที� แต่ละฝ่ ายทําการตรวจสอบพยาน เอกสารของอีกฝ่ ายระหว่างวันที� 7 ถึง 11 มีนาคม พ.ศ. 2559 3) บริ ษทั ผูร้ บั เหมาแห่ งหนึ� งได้ยื�นฟ้ องบริ ษทั ในเรื� องที�บริ ษทั ไม่จ่ายค่างานบางส่ วนตามใบแจ้งหนี� บริ ษทั ผูร้ ับเหมา ดัง กล่ าวได้ยื� น ข้อ เรี ย กร้ อ งต่อ อนุ ญ าโตตุล าการตามข้อสัญ ญาที� ก ํา หนดให้นํา ข้อ พิ พ าทเข้า สู่ ก ระบวนการ อนุญาโตตุลาการของหอการค้านานาชาติ เพื� อเรี ยกเงินจํานวน 12.53 ล้านบาท แต่อย่างไรก็ตามบริ ษ ทั ได้ยื�นคํา คัดค้าน และฟ้ องแย้งเรี ยกค่าเสี ยหายจํานวน 172.73 ล้านบาท พร้อมทั�งดอกเบี� ยผิดนัดชําระดอกเบี� ย ร้อยละ 7.50 ต่อปี ซึ� งขณะนี� อยูร่ ะหว่างอนุญาโตตุลาการจัดทําร่ างกรอบการดําเนิ นการกระบวนพิ จารณาให้ค่คู วามทุกฝ่ ายลงนาม เห็ นชอบ
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
115
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
279
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 35
ภาระผูกพันและหนี��ินทีอ� าจเกิด��น� (ต่อ) 4)
คดีฟ้องร้ อง (ต่อ) 4) บริ ษทั ผูจ้ ัดจํา หน่ ายสิ นค้าแห่ งหน�� ง ได้ยื� น�้ องต่อบริ ษ ทั ในเรื� องที� บ ริ ษ ทั ใช้สิ ท ธิ โดยไม่สุ จริ ตเรี ยกบริ ษ ทั ผูจ้ ดั จําหน่ายสินค้ามาเป็ นคู่ความร่ วมทําให้ได้รับความเสียหายจํานวน 1,275 ล้านบาท ��� งบริ ษทั ได้รับคํา�้ องร้องและ ได้ยน�ื คําให้การต่อสูค้ ดีตอ่ ศาลแล้วในวันที� 18 มกราคม พ.ศ. 2559 โดยเบื�องต้นศาลนัดพิจ าร�านัดแรกในวันที� 4 เมษายน พ.ศ. 2559 5) บริ ษทั ผูว้ า่ จ้างก่อสร้างโครงการหน��งได้ยนื� เรี ยกร้องให้บริ ษทั รับผิดชอบชําระค่าเสี ยหายและเบี� ยปรับที� กาํ หนดไว้ ล่วงหน้าสําหรับ ความล่าช้าในการก่อสร้างเป็ นจํานวน 6.11 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ จากการสั�งเปลี�ยนแปลง งานที� ผิดพลาด เป็ นจํานวนเงิน 67.47 ล้านบาท และค่าอุปกร�์ที�เสียหาย 18.25 ล้านบาท พร้อมดอกเบี� ยผิดนัดใน อัตราร้อยละ 7.50 ต่อ ปี และ จํานวน 198.50 ล้านบาท ตามหนังสื อคํ�าประกันธนาคารที� ไม่อาจเพิ ก�อนได้ โดย เบื� องต้นบริ ษทั ได้ยื�นคําร้องขอคุม้ ครองชัว� คราวฉุกเฉิ นต่อศาลแพ่งแล้ว โดยบริ ษทั ชี�แจงว่า บริ ษทั ได้รับผิดชอบ การก่อสร้างและดําเนินการงานสําหรับ บางรายการภายใต้สญั ญาก่อสร้างและมีสิทธิ ได้รบั ค่าจ้างจากผูว้ า่ จ้างอี ก จํานวน 461.87 ล้านบาท และจํานวน 0.08 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐฯ แต่บริ ษทั ผูว้ า่ จ้างยังไม่ได้ชาํ ระจํานวนเงิน ดัง กล่า วให้แก่บ ริ ษทั และศาลมีคํา สัง� ห้ ามไม่ใ ห้บริ ษทั ผูว้ ่าจ้างเรี ยกเงิ นจากหนัง สื อคํ�า ประกัน ของธนาคาร ตามที�บริ ษทั ได้รอ้ งขอเมือ� วันที� 28 เมษายน พ.ศ. 2558 โดยเบื�องต้นศาลได้นดั คู่ความทั�งสองฝ่ ายในวันที� 4 มีนาคม พ.ศ. 2559 เพื� อดําเนินกระบวนการคัดเลือกค�ะอนุญาโตตุลาการเพื� อตัดสิ นข้อพิพาทต่อไป 6) บริ ษทั ผูร้ ับเหมาช่วงแห่งหน��งได้ยื�น�้ องบริ ษทั ในเรื� องที� บริ ษทั ได้บอกเลิกสัญญาโดยมิชอบ ทําให้เ กิ ดค่าเสี ยหาย เกี�ยวกับค่าจ้างบุคลากร ค่าใช้จ่ายในการดําเนิ นงานด้านวิศวกรรม ด้านจัดหาเครื� องจักรและอุปกร�์ และค่าเสี ยหาย จากการขาดรายได้เป็ นจํานวน 376.24 ล้านบาท โดยเบื�องต้นบริ ษทั ได้ย�นื คําคัดค้านและข้อเรี ยกร้องแย้งแล้วในวันที� 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
36
�ั ��าที��ําคั� �ั ��าแลกเปลีย� นอัตราดอกเบีย� เมื�อวันที� 30 ธันวาคม พ.ศ. 2557 กลุ่มบริ ษทั ได้ทําสัญญาแลกเปลี�ยนอัตราดอกเบี� ย เพื� อเปลีย� นจากอัตราดอกเบี� ยลอยตัวเป็ นอัตรา ดอกเบี� ยคงที� ทั�งนี� เพื�อบริ หารความเสี�ยงของอัตราดอกเบี�ยที�เกิดจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจํานวน 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ภายใต้สญ ั ญา แลกเปลี�ยนอัตราดอกเบี�ยดังกล่าว บริ ษทั ตกลงที� จะจ่ายอัตราดอกเบี�ยคงที�ร้อยละ 1.99 ต่อปี และบริ ษทั จะได้รับอัตราดอกเบี� ยลอยตัว 3 เดือน LIBOR บวกอัตราส่วนเพิ�มคงที�ต่อปี สัญญาดังกล่า วมีผลบังคับตั�งแต่วนั ที� 5 มกราคม พ.ศ. 2558 �� งวันที� 17 ธันวาคม พ.ศ. 2564
รายงานประจ�ำปี 2558
116
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
280
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ(เดิ ษัท มโตโย-ไทย อเรชั่น จำ�กัดคอร� (มหาชน)) ช��อ บริ ษคอร์ ทั ปโตโย-ไทย ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั สํ าหรั บปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 36
สั ญญาที�สําคัญ (ต่อ) สั ญญาแลกเปลีย� นอัตราดอกเบีย� (ต่อ) เมื�อวันที� 21 มกราคม พ.ศ. 2558 กลุ่มบริ ษทั ได้ทําสัญญาแลกเปลี� ยนอัตราดอกเบี� ย เพื� อเปลีย� นจากอัตราดอกเบี� ยลอยตัวเป็ นอัตรา ดอกเบี� ยคงที� ทั�งนี� เพื�อบริ หารความเสี�ยงของอัตราดอกเบี�ยที�เกิดจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจํานวน 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ภายใต้สญ ั ญา แลกเปลี�ยนอัตราดอกเบี�ยดังกล่าว บริ ษทั ตกลงที� จะจ่ายอัตราดอกเบี�ยคงที�ร้อยละ 1.40 ต่อปี และบริ ษทั จะได้รับอัตราดอกเบี�ยลอยตัว 3 เดือน LIBOR บวกอัตราส่วนเพิ�มคงที� ต่อปี สัญญาดังกล่าวมีผลบังคับตั�งแต่วนั ที� 23 มกราคม พ.ศ. 2558 �ึ งวันที� 17 มกราคม พ.ศ. 2563 สั ญญาซ�อ� ขายไ� บริ ษทั ไบโอ แนชเชอรัล เอ็นเนอร์ยี จํากัด ซึ�งเป็ นบริ ษทั ย่อยได้ลงนามในสัญญาซื� อขายไฟฟ้ าเมื�อวันที� 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 กับการไฟฟ้ าส่วนภูมิภาคโดยข้อกําหนดในสัญญาจะมีผลบังคับตั�งแต่วนั ที� ลงนามในสัญญาโดยมี ระยะเวลา 5 ปี และต่อเนื� อง ครั�งละ 5 ปี โดยอัตโนมัติและให้มีผลบังคับใช้จนกว่าจะมีการเลิกสัญญา ข้ อตกลงตามสัญญาสัมปทาน บริ ษทั Toyo Thai-Power Myanmar Corporation Ltd. ซึ� งเป็ นบริ ษทั ย่อยได้ตกลงในสัญญาซื� อขายไฟฟ้ าเมื�อวันที� 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 กับกระทรวงไฟฟ้ าแห่งสาธารณรัฐ แห่ งสหภาพเมียนมาร์ โดยข้อกําหนดในสัญ ญาจะมีผลบังคับใช้ต� งั แต่วนั ที� ทาํ สัญญาและมีผลต่อเนื�องเป็ นระยะเวลา 30 ปี นับจากวันเริ� มเดินเครื� องเชิงพาณิ ชย์ อัตราค่าขายไฟฟ้ าจะขึ�นอยูก่ บั อัตราและสูตรที� ระบุไว้ในสัญญา และกลุ่มบริ ษทั มีภาระต้องส่งมอบกระแสไฟฟ้ าตามปริ มาณขั�นตํ�าให้แก่ลูกค้าตามสัญญาการซื� อขายในแต่ละ ปี สัญญา หากในปี สัญญาใดที�ลูกค้าไม่สามาร�รับกระแสไฟฟ้ าขั�นตํ�าได้ตามสัญ ญาที�กาํ หนดสําหรับปี สัญญานั�นลูกค้าต้อง ชําระค่ากระแสไฟฟ้ าในปริ มาณที�ไม่ได้รับ (Take-or-Pay) โดยมีสิทธิ ที�จะรับกระแสไฟฟ้ าสําหรับปริ มาณที� ได้ชาํ ระแล้วในปี ต่อๆ ไป (Make-up) โดยไม่ตอ้ งชําระค่ากระแสไฟฟ้ า ตามเงื�อนไขของข้อตกลงสัมปทานดังกล่าวกลุ่มบริ ษทั ต้องส่งมอบ สิ นทรัพ ย์ใ ห้แ ก่ผใู ้ ห้สัมปทานเมื� อสัญญาสิ� นสุดลง (Built-Operate-Transfer) นอกจากนั�นกลุ่ม บริ ษ ทั มี ภาระผูก พัน ในการ ปรับปรุ งยกเครื� องครั�งใหญ่ทุกสามปี กลุม่ บริ ษทั ได้รบั รูร้ ายได้จาํ นวน 83,192,754 บาท และกําไรจํานวน 4,997,489 บาท ในรอบระยะเวลาที� มีการแลกเปลี� ยนการ ให้บริ การก่อสร้างกับสิ นทรัพย์ทางการเงิน สั ญญาเช� าที�ดนิ บริ ษทั Toyo Thai-Power Myanmar Corporation Ltd. ซึ� งเป็ นบริ ษ ทั ย่อยได้ท าํ สัญญาเช่ าที� ดินกับกระทรวงไฟฟ้ าแห่ ง สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์โดยข้อกําหนดในสัญญาจะมีผลบังคับใช้ต� งั แต่วนั ที� ทาํ สัญญาและมีผลต่อเนื� องเป็ นระยะเวลา 30 ปี โดยมีผลบังคับใช้ต�งั แต่วนั ที� 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 เป็ นต้นไป
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
117
รายงานประจ�ำปี 2558
บริษทั ทีทซี ีแอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) (เดิ ษัทษโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั กัด (มหาชน)) (เดิมมชื่อช��อบริบริ ทั โตโย-ไทย คอร�่น ปจำ�อเรชั น� จํากัด (มหาชน)) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั �ํ าหรั บปี �ิ�น�ุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
281
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 37
เหตุการ�� �ายหลังวันที�� นงบแ�ดง�านะการเงิน 1) เงินปั นผล ตามมติที�ป ระ�ุมค�ะกรรมการบริ ษทั ครั�งที� 1/2559 วันที� 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ได้อนุมตั ิเสนอให้จา่ ยเงินปั นผลจากผล การดําเนินงานปี พ.ศ. 2558 จํานวน 0.53 บาทต่อหุ น้ คิดเป็ นจํานวนเงิน 296.80 ล้านบาท ทั�งนี� การอนุมตั ิเสนอให้จ่ายเงิน ปันผลดังกล่าวจะได้นาํ เสนอต่อที� ประ�ุมให�่ผถู ้ ือหุน้ ประจําปี พ.ศ. 2559 เพื�อพิจาร�าอนุมตั ติ อ่ ไป โดยบริ ษทั ได้จ่ายเงิน ปันผลระหว่างกาลจํานวน 0.23 บาท ต่อหุ ้น สําหรับหุ ้นจํานวน 560 ล้านหุ ้น คิดเป็ นจํานวนเงิน 128.80 ล้านบาท ในเดื อน กันยายน พ.ศ. 2558 (ดูหมายเหตุขอ้ 29 เงินปันผล) คงเหลื อเงินปันผลจ่ายอีกหุน้ ละ 0.30 บาท ��� งเป็ นจํานวนเงิน 168 ล้านบาท 2) การออกและเสนอขายตราสารหนี� ตามมติท�ีป ระ�ุมค�ะกรรมการเมื� อวันที� 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559ได้มีมติอนุ มตั ิ การออกและเสนอขายตราสารหนี� ใน วงเงินไม่เกิน 2,000 ล้านบาท เพื� อนําไปใ�้ในการขยายกิ จการของบริ ษทั และเพื� อการบริ ห ารจัดการด้านการเงิ น ทั�งนี� การอนุ มตั ิ ให้ออกและเสนอขายตราสารหนี� จะได้นาํ เสนอต่อที� ประ�ุมให�่ ผ ถู ้ ือหุน้ ประจําปี พ.ศ. 2559 เพื� อพิ จาร�า อนุมตั ติ อ่ ไป 3) การออกตราสารหนี� เมื�อวันที� 15 มกราคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้ดาํ เนินการออกหุ ้นกูจ้ าํ นวน 1,075 ล้านบาทสําหรับ หุ ้นจํานวน 1,075,000 หุ น้ มูลค่าที�ตราไว้หุน้ ละ 1,000 บาท ราคาเสนอขายหุ ้นละ 1,000 บาทโดยหุ้นกูม้ ีอายุ 5 ปี ครบกําหนดไถ่ถอนในปี พ.ศ. 2564 อัตราดอกเบี�ยคงที�ร้อยละ 4.40 ต่อปี โดยมีการจ่าย�ําระดอกเบี�ยทุก 3 เดือนเพื�อนําไปใ�้ในการขยายกิจการของบริ ษทั และ เพื�อการบริ หารจัดการด้านการเงิน ��� งเป็ นไปตามมติที� ประ�ุมสามั�ผูถ้ ือหุ ้นประจําปี พ.ศ. 2558 วันที� 9 เมษายน พ.ศ. 2558 ที�อนุ มตั ิ ให้บริ ษทั ดํา เนิ นการออกหุ ้นกู�้ นิ ดระบุ �ื�อผูถ้ ื อประเภทไม่ด อ้ ยสิ ทธิ และไม่มีป ระกัน และมี ผ ูแ้ ทนผูถ้ ื อ หุ ้น กู้ วงเงินรวมทั�งสิ� นไม่เกิน 4,000 ล้านบาท บริ ษทั ได้ออกหุน้ กูจ้ าํ นวน 2,925 ล้านบาทแล้ว
รายงานประจ�ำปี 2558 รายงานประจ�ำปี
118
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
282
บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน)
สรุปต�ำแหน่งรายการที่ก�ำหนดตามแบบ 56-2 ในรายงานประจ�ำปี 2558 บมจ. ทีทีซีแอล
รายการที่ปรากฏในหนังสือรายงานประจำ�ปีเล่มนี้ เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2556 เรื่องหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและ ผลการดำ�เนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ โดยใช้ข้อบังคับตั้งแต่ 1 มกราคม 2557 เป็นต้นไป ดังนี้
หน้า 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. ปัจจัยความเสี่ยง 4. ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำ�คัญอื่น 5. ผูถ้ อื หุน้ 6. นโยบายการจ่ายเงินปันผล 7. โครงสร้างการจัดการ 8. การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี 9. การดำ�เนินงานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อม 10. ความรับผิดชอบต่อสังคม 11. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสีย่ ง 12. รายการระหว่างกัน 13. ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ 14. การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
2-3 16-19 82-83 ปกหลังด้านใน 71 156 20 84-105 108-114 115-148 106-107 150-155 4-5 158-162
ผูล้ งทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย์เพิม่ เติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) ของบริษทั ทีแ่ สดงไว้ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษทั www.ttcl.com
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT
รายงานประจ�ำปี 2558
ข้อมูลบริษัท ชื่อบริษัท ชื่อภาษาอังกฤษ ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่
: บริษัท ทีทีซีแอล จำ�กัด (มหาชน) : TTCL Public Company Limited : 159/41-44 อาคารเสริมมิตรทาวเวอร์ ชั้น 27-30 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : (66) 2260 8505 โทรสาร : (66) 2260 8525-6 Home Page : www.ttcl.com ประเภทธุรกิจ : วิศวกรรมบริการ และรับเหมาก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม แบบครบวงจร (Integrated EPC) เลขทะเบียนบริษัท : 0107551000185 ทุนจดทะเบียนบริษัท : 560,000,000.00 บาท ทุนชำ�ระแล้ว : 560,000,000.00 บาท มูลค่าหุ้น : มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท นายทะเบียนบริษัทหลักทรัพย์ : บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : (66) 2229 2800 โทรสาร : (66) 2359 1259 บริษัทผู้สอบบัญชี : บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด 179/74-80 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ ชั้น 15 ถนนสาธรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (66) 2344 1000 โทรสาร : (66) 2286 5050 ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต : นายวิเชียร กิ่งมนตรี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3977 นายสมชาย จิณโณวาท ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3271 นางสาวอมรรัตน์ เพิ่มพูนวัฒนาสุข ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4599 รายงานประจ�ำปี 2558
JOY OF ENGINEERING AND ACHIEVEMENT