TU : Annual Report 2016 TH

Page 1

รายงานประจำป 2559

รายงาน ประจำป 2559 บร�ษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ ป จำกัด (มหาชน)

thaiunion.com


ANNUAL REPORT 2016

2

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

003

ข้อมูลทัว่ ไป บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำ�กัด (มห�ชน) ทะเบียนบริษัทเลขที่ 0107537000891

ประกอบธุรกิจ สำานักงานใหญ่

ผู้ผลิตและส่งออกอาหารทะเลแช่แข็งและบรรจุกระป๋อง 72/1 หมู่ที่ 7 ถนนเศรษฐกิจ 1 ตำ�บลท่�ทร�ย อำ�เภอเมืองสมุทรส�คร จังหวัดสมุทรส�คร 74000 โทรศัพท์ 66 (0) 3481-6500 (อัตโนมัติ 7 ส�ย) โทรส�ร 66 (0) 3481-6886

สำานักงานกรุงเทพ

979/12 ชั้นเอ็ม อ�ค�รเอสเอ็มท�วเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงส�มเสนใน เขตพญ�ไท กรุงเทพมห�นคร 10400 โทรศัพท์ 66 (0) 2298-0024, 2298-0537 – 41 โทรส�ร 66 (0) 2298-0548, 2298-0550

ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์

โทรศัพท์ 66 (0) 2298 – 0024 โทรส�ร 66 (0) 2298 – 0342 อีเมล์ ir@thaiunion.com

ฝ่ายสื่อสารองค์กร

โทรศัพท์ 66 (0) 2298 – 0024 โทรส�ร 66 (0) 2298 – 0024 ต่อ 4449 อีเมล์ tu_corporate@thaiunion.com

เว็บไซต์

thaiunion.com หลักทรัพย์จดทะเบียนในตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 พฤศจิก�ยน 2537 ณ วันที่ 31 ธันว�คม 2559 ทุนจดทะเบียนหุ้นส�มัญ จำ�นวน 1,492,953,874 บ�ท (5,971,815,496 หุ้น) ทุนชำ�ระแล้ว จำ�นวน 1,192,953,874 บ�ท (4,771,815,496 หุ้น) มูลค่�หุ้นที่ตร�ไว้หุ้นละ 0.25 บ�ท



THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

สารบัญ ข้อมูลทั่วไป สารจากประธานกรรมการ สารจากประธานกรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร วิสัยทัศน์ และพันธกิจ กลยุทธ์ของไทยยูเนี่ยน แบรนด์ของเรา ข้อมูลการเงินโดยสรุป สถิติผลการดำาเนินงานในรอบ 5 ปี ประวัติและพัฒนาการของบริษัท โครงสร้างองค์กร คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะอนุกรรมการ คณะผู้บริหารกลุ่มไทยยูเนี่ยน ทีมผู้บริหาร รางวัลแห่งความสำาเร็จ คุณภาพและมาตรฐานความปลอดภัยอาหาร ลักษณะธุรกิจหลักของกลุ่มบริษัท สัดส่วนรายได้จากการขาย และการจัดจำาหน่ายในปี 2559 โครงสร้างรายได้จากการขายของบริษัทและบริษัทย่อย โครงสร้างกลุ่มธุรกิจ การลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ภาพรวมอุตสาหกรรม มูลค่าส่วนแบ่งทางการตลาดของแบรนด์ในปี 2559 ความยั่งยืนที่ไทยยูเนี่ยน นวัตกรรมของไทยยูเนี่ยน รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานของคณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน รายงานกำากับดูแลกิจการ รายงานคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง 2559 ความเสี่ยงและกลยุทธ์ในการบริหารความเสี่ยง บทรายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ ยอดสรุปตามประเภทรายการที่เกี่ยวโยงกัน บุคคลอ้างอิง รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงิน

3 10 12 14 15 18 22 23 24 28 29 41 42 44 46 48 53 56 57 58 60 74 78 80 84 86 88 89 115 117 127 136 138 144 145 146 150




ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

010 ปี 2559 เป็นปีแห่งความท้าทาย ไม่มีเรื่องใดจะน่าเศร้าไปกว่าการสูญเสีย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ในการเสด็จ สวรรคตขององค์มหาราชา ยังความเศร้าโศกแก่ผองไทยทั้งปวง ไม่มีคำาพูดใด สามารถอธิบายความสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ในครั้งนี้ได้ ผม ในฐานะที่เป็นตัวแทนของบริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำากัด (มหาชน) ขอน้อมเกล้าถวายความอาลัย ส่งเสด็จสู่สวรรคาลัย ด้วยจิตรำาลึกใน พระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้

สารจากประธานกรรมการ สำ�หรับไทยยูเนี่ยน ปี 2559 สภ�วก�รณ์ท�งธุรกิจมีคว�ม ท้�ท�ยในหล�ยรูปแบบ ทั้งจ�กภ�วะตล�ด และปัจจัยอื่นๆ ที่ส่ง ผลกระทบ บริษัทส�ม�รถทำ�ยอดข�ยได้สูงสุดเป็นประวัติก�รณ์ ติดต่อกันเป็นปีที่ 7 เนื่องจ�กคว�มต้องก�รผลิตภัณฑ์ของเร� ยังคงอยู่ในระดับสูง ขณะเดียวกันเร�ก็เผชิญคว�มท้�ท�ย ไม่ ว่�จะเป็นเรื่องร�ค�ปล�แซลมอนที่ปรับสูงขึ้น และร�ค�ปล�ทูน่� ที่ปรับสูงเกินกว่�ประม�ณก�รณ์ซึ่งส่งผลกระทบต่ออัตร�กำ�ไร ขั้นต้น อย่�งไรก็ต�ม ก�รควบคุมต้นทุนอย่�งเข้มงวดช่วยลด ผลกระทบได้บ�งส่วนและทำ�ให้บริษัทส�ม�รถรักษ�กำ�ไรสุทธิให้ อยู่ในระดับทรงตัวได้ที่ 5.25 พันล้�นบ�ท โดยลดลงเพียง 0.9 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับปีก่อน แต่อย่�งไรก็ดี เร�ยังส�ม�รถ ประก�ศก�รจ่�ยปันผลทั้งปีที่อัตร� 0.63 บ�ทต่อหุ้น ทั้งนี้กำ�ไร ขั้นต้นของบริษัทเท่�กับ 14.8 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับ 15.6 เปอร์เซ็นต์ ในปี 2558 กำ�ไรก่อนหักดอกเบี้ย ภ�ษี และค่�เสื่อมร�ค�ลดลงเล็กน้อย ม�อยู่ที่ 11.1 พันล้�นบ�ท ลดลงจ�ก 11.5 พันล้�นบ�ทในปี 2558 ยอดข�ยทั้งปีสร้�งสถิติสูงที่สุดที่ 134.37 พันล้�นบ�ท เพิ่มขึ้น 7.3 เปอร์เซ็นต์ จ�กปีก่อน อย่�งไรก็ต�ม อัตร�ส่วนหนี้ สินต่อทุนเพิ่มขึ้นม�อยู่ที่ 1.37 เท่� จ�ก 0.75 เท่� เนื่องจ�ก ก�รลงทุนหล�ยโครงก�รที่เกิดขึ้นและคว�มต้องก�รใช้ทุนในก�ร ดำ�เนินง�นเพิ่มขึ้นจ�กร�ค�วัตถุดิบที่ปรับตัวสูงขึ้น ในระหว่�งปี 2559 สหรัฐอเมริก�ยังคงเป็นตล�ดสำ�คัญใน ธุรกิจของเร� ซึ่งมีสัดส่วน 39 เปอร์เซ็นต์ ของยอดข�ยทั้งหมด ยุโรปมีสัดส่วน 33 เปอร์เซ็นต์ ของยอดข�ย ในขณะที่ตล�ดใน ประเทศไทยและญี่ปุ่นมีสัดส่วน 8 เปอร์เซ็นต์ และ 6 เปอร์เซ็นต์ ต�มลำ�ดับ ยอดข�ยที่เพิ่มขึ้นเป็นผลจ�กก�รเติบโตของธุรกิจ หลักที่มีอยู่อย่�งต่อเนื่อง ยอดข�ยที่เพิ่มขึ้นจ�กรูเก้น ฟิช ใน

ประเทศเยอรมนี ก�รรวมกิจก�รกับเชซ์ นูส์ในประเทศแคน�ด� และก�รส่งออกกุ้งในประเทศที่ปรับตัวดีขึ้น นอกจ�กคว�มส�ม�รถในก�รรักษ�ผลประกอบก�รให้ส�ม�รถ ทรงตัวอยู่ได้ท่�มกล�งสภ�วก�รณ์ที่ท้�ท�ย บริษัทยังประสบ คว�มสำ�เร็จหล�ยประก�รในปี 2559 อ�ทิเช่น • ก�รได้รับเลือกให้ติดดัชนีคว�มยั่งยืน ด�วโจนส์ สำ�หรับ ตล�ดเกิดใหม่เป็นปีที่ 3 ติดต่อกัน ซึ่งให้น้ำ�หนักด้�น “จรรย�บรรณท�งธุรกิจ” ของเร�ในก�รคำ�นวณคะแนน ส่ง ผลให้เร�อยู่ในลำ�ดับเปอร์เซ็นไทล์ที่ 96 ในหัวข้อนี้ • ก�รได้รับร�งวัล Gold Standard Award ด้�นก�ร เป็นพลเมืองที่ดีต่อสังคมดีเด่น ประเภท Global-Asia Program • ก�รได้รับก�รจัดอันดับดีเด่นในเอเชียด้�นก�รร�ยง�นด้�น คว�มยั่งยืน ในร�ยง�น 100 บริษัทธุรกิจอ�ห�รทะเลที่มี ม�ตรฐ�นคว�มโปร่งใส โดย Seafood Intelligence • ก�รได้รับร�งวัลด้�นนักลงทุนสัมพันธ์ยอดเยี่ยมจ�กง�น SET Awards ประจำ�ปี 2559 ซึ่งจัดโดยตล�ดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย • ก�รได้รับร�งวัลหล�ยร�ยก�รของ FinanceAsia จ�กก�ร สำ�รวจบริษัทที่มีก�รบริห�รจัดก�รยอดเยี่ยมประจำ�ปี 2559 ได้แก่


ในฐ�นะที่เป็นประธ�นกรรมก�รของ ไทยยูเนี่ยน ผมรู้สึกภูมิใจเป็นอย่�งยิ่ง และรู้สึกขอบคุณคว�มทุ่มเทของฝ่�ยบริห�ร และพนักง�นทั้งหมดของเร�ในก�รผลักดัน ให้เร�มุ่งหน้�สู่ก�รเติบโตและคว�มสำ�เร็จใน อน�คต ผมขอขอบคุณผู้ถือหุ้น นักลงทุน และสถ�บันก�รเงินที่ให้คว�มไว้ว�งใจและ ให้ก�รสนับสนุนวิสัยทัศน์ของเร�เสมอม�

นายไกรสร จันศิริ ประธ�นกรรมก�ร

1. ร�งวัลบริษัทที่มีก�รบริห�รจัดก�รยอดเยี่ยมอันดับ 1 ในประเทศไทย 2. ร�งวัลซีอีโอยอดเยี่ยมอันดับ 1 ในประเทศไทย (น�ยธีรพงศ์ จันศิริ) 3. ร�งวัลนักลงทุนสัมพันธ์ยอดเยี่ยมอันดับ 1 ในประเทศไทย 4. ร�งวัลบริษัทที่มีคว�มมุ่งมั่นด้�นบรรษัทภิบ�ลยอดเยี่ยม อันดับ 1 ในประเทศไทย 5. ร�งวัลบริษัทที่มีคว�มรับผิดชอบต่อสังคมยอดเยี่ยม อันดับ 1 ในประเทศไทย

บริษัทของเร�มีวิสัยทัศน์อย่�งชัดเจนสำ�หรับอน�คตของเร� และ มีกลยุทธ์ที่ได้รับก�รออกแบบม�อย่�งดี รวมถึงแผนง�นจะช่วย ให้เร�บรรลุเป้�หม�ยปี 2563 เร�มีคว�มมุ่งมั่นอย่�งเต็มที่ใน ก�รปฏิบัติต�มพันธกิจผ่�นแผนง�นเชิงกลยุทธ์ของเร� ซึ่งรวม ประกอบด้วย 6 แกนหลัก อันได้แก่ นวัตกรรม ก�รพัฒน� ที่ยั่งยืน คว�มเป็นเลิศในก�รดำ�เนินง�น ก�รควบรวมและซื้อ กิจก�ร ก�รพัฒน�ทรัพย�กรบุคคลที่มีคว�มส�ม�รถ และ กลยุทธ์ก�รจัดห�วัตถุดิบ เร�ยังคงมีอีกหล�ยสิ่งรอคอยอยู่ข้�งหน้�ในปี 2560 โดยมี โอก�สในก�รสร้�งก�รเติบโตของธุรกิจอีกม�ก และในปี 2560 นี้ จะมีเหตุก�รณ์พิเศษ เนื่องจ�กมีก�รฉลองครบรอบ 40 ปีของ บริษัท ซึ่งผมหวังว่�จะได้ร่วมฉลองกับทุกคน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

012

สารจากประธานกรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ในปี 2559 ที่ผ่�นม� ไทยยูเนี่ยนได้เผชิญกับคว�มท้�ท�ยที่ หล�กหล�ย ไม่ว่�จะเป็นเรื่องของร�ค�วัตถุดิบที่ปรับตัวสูงขึ้น ผนวกกับคว�มไม่แน่นอนท�งเศรษฐกิจที่สร้�งแรงกดดันให้แก่ ธุรกิจของเร� อย่�งไรก็ต�ม คว�มก้�วหน้�อย่�งมีนัยสำ�คัญที่ เร�ได้ทมุ่ เทสร้�งในปีทผ่ี �่ นม� ทัง้ วิธกี �รดำ�เนินง�นและก�รกำ�กับดูแล รวมถึงวิธีก�รปฏิบัติต�มแผนที่ได้ว�งไว้ ทำ�ให้เร�มีโอก�สที่จะ สร้�งผลก�รดำ�เนินง�นในปี 2560 ให้เป็นไปต�มที่ค�ดก�รณ์ ไว้ได้ ต้นทุนปล�แซลมอนและต้นทุนปล�ทูน่�อยู่ในระดับที่สูงขึ้น ซึ่งส่ง ผลให้กำ�ไรสุทธิของเร�ลดลง 0.9 เปอร์เซ็นต์ จ�กปีก่อน อยู่ที่ 5.25 พันล้�นบ�ท อย่�งไรก็ต�ม แม้ว่�อัตร�กำ�ไรขั้นต้นจะลดลง เมื่อเทียบกับปีก่อน แต่คว�มต้องก�รผลิตภัณฑ์ของเร�ยังคงอยู่ ในระดับสูง โดยมียอดข�ยเพิ่มขึ้น 7.3 เปอร์เซ็นต์ จ�กปี 2559 อยู่ที่ 134.37 พันล้�นบ�ท (3.8 พันล้�นเหรียญสหรัฐ) สำ�หรับปี 2559 ยอดข�ยในสหรัฐอเมริก�ยังคงมีบทบ�ทสำ�คัญ ต่อร�ยได้ของบริษัท โดยคิดเป็น 39 เปอร์เซ็นต์ของยอดข�ย รวม โดยตล�ดในยุโรปคิดเป็น 33 เปอร์เซ็นต์ของยอดข�ยรวม ส่วนตล�ดในไทยและญี่ปุ่นยังคงมีคว�มต้องก�รอยู่ในระดับคงที่ อย่�งไรก็ต�มก�รเติบโตของธุรกิจหลัก ยังคงเป็นปัจจัยสำ�คัญใน ก�รขับเคลื่อนยอดข�ยของบริษัท อีกทั้งก�รเข้�ซื้อกิจก�รบริษัท รูเก้น ฟิช (Rugen Fisch) ซึ่งเป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์อ�ห�ร ทะเลแปรรูปและอ�ห�รแช่เย็นซึ่งเป็นที่รู้จักดีในประเทศเยอรมัน ก็ถือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมยอดข�ย ก�รควบรวมกิจก�ร ถือเป็นอีกหนึ่งในกลยุทธ์สำ�คัญเพื่อผลัก ดันก�รเติบโตของไทยยูเนี่ยน ในปี 2559 ไทยยูเนี่ยนได้เข้� ลงทุนเชิงกลยุทธ์ใน เรด ล็อบสเตอร์ ซึ่งเป็นบริษัทผู้ดำ�เนิน กิจก�รภัตต�ค�รอ�ห�รทะเลที่ใหญ่ที่สุดในโลก คิดเป็นมูลค่� ก�รลงทุนทั้งสิ้น 575 ล้�นเหรียญสหรัฐ โดยก�รลงทุนในครั้งนี้ นับเป็นอีกก้�วหนึ่งที่จะช่วยเพิ่มช่องท�งที่เข้�ถึงผู้บริโภคโดยตรง และคว�มเชี่ยวช�ญด้�นบริก�รอ�ห�ร นอกจ�กนี้แล้ว ไทยยูเนี่ยนยังได้เข้�ซื้อกิจก�ร บริษัท เชซ์ นูส์ (Chez Nous) ซึ่งทำ�ธุรกิจแปรรูปกุ้งล็อบสเตอร์ ในประเทศ แคน�ด� ซึ่งก�รเข้�ซื้อในครั้งนี้ยังช่วยเสริมสร้�งคว�มแข็งแกร่ง ให้แก่กลุ่มบริษัทไทยยูเนี่ยน ทั้งในด้�นก�รตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) ก�รควบคุมคุณภ�พ (Quality control) และก�รขย�ยประเภทผลิตภัณฑ์ให้มีคว�มหล�กหล�ยม�กขึ้น

นอกจ�กนี้ ไทยยูเนี่ยน ยังได้เข้�ถือหุ้น 40% ในบริษัทอะแวน ติ โฟรเซ่น ฟู้ดส์ ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บริษัท อะแวนติ ฟีดส์ ที่ทำ�ธุรกิจแปรรูปกุ้ง วัตถุประสงค์หลักของก�ร ลงทุนในครั้งนี้ เพื่อกระจ�ยแหล่งจัดห�วัตถุดิบกุ้งและฐ�นก�ร ผลิตของกลุ่มบริษัทไทยยูเนี่ยน รวมถึงก�รเพิ่มกำ�ลังก�รผลิต เพื่อตอบสนองต่อคว�มต้องก�รสินค้�ของบริษัทที่เพิ่มม�กขึ้น ไทยยูเนี่ยนได้ขย�ยธุรกิจในตล�ดสำ�คัญๆ ในทวีปเอเชีย โดยได้ เปิดบริษัท ไทยยูเนี่ยน ไชน่� ซึ่งดำ�เนินธุรกิจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ แช่เยือกแข็ง เช่น ปล�แซลมอน กุ้งล็อบสเตอร์ และกุ้ง ภ�ยใต้ แบรนด์คิง ออสก�ร์ ประเทศจีนถือเป็นหนึ่งในตล�ดเกิดใหม่ที่ ใหญ่ที่สุดในโลก อีกทั้งยังเป็นตล�ดที่มีคว�มสำ�คัญต่อคว�ม พย�ย�มของเร�ในก�รบรรลุเป้�หม�ยก�รเติบโตอย่�งยั่งยืนใน ปี 2563 ในระหว่�งปี 2559 ไทยยูเนี่ยนมุ่งมั่นที่จะรวมหน่วยธุรกิจ ใหม่ที่เร�ทำ�ก�รแนะนำ�ไปในช่วงปล�ยปี 2558 ได้แก่ หน่วย ธุรกิจตล�ดเกิดใหม่ หน่วยธุรกิจกลุ่มผลิตภัณฑ์ Marine Ingredients และคว�มก้�วหน้�ท�งเทคโนโลยีต่อหน่วย ธุรกิจ Food Service และเมื่อมองไปข้�งหน้� เร�หวังว่�ก�ร ลงทุนในด้�นนวัตกรรมของเร�จะเริ่มออกดอกผล โดยทั้งสอง หน่วยธุรกิจนี้ได้แตกออกม�จ�กศูนย์นวัตกรรม (Global Innovation Incubator :Gii) และเป็นองค์ประกอบสำ�คัญของ ง�นนวัตกรรมของเร� นอกจ�กนี้เร�ค�ดว่�จะเปิดตัวผลิตภัณฑ์ จ�ก Gii ออกสู่ตล�ดในปี 2560 เพื่อตอกย้ำ�พันธกิจของเร�ที่มีต่อด้�นนวัตกรรมในอุตส�หกรรม อ�ห�รทะเล ในปี 2559 เร�ได้เพิ่มเงินลงทุนมูลค่�กว่� 100 ล้�นบ�ทในก�รยกระดับและขย�ยพื้นที่ศูนย์นวัตกรรมเป็น 1,200 ต�ร�งเมตร


ขอบคุณสำ�หรับคว�มทุ่มเทและคว�ม มุ่งมั่นของพนักง�นของเร�ทั่วโลก เร� ดำ�เนินง�นต�มแผนเพื่อบรรลุเป้�หม�ย อันท้�ท�ย และด้วยแรงสนับสนุนของ ทั้งผู้ถือหุ้น คู่ค้� ลูกค้� และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทั้งหมดขององค์กร ทำ�ให้มั่นใจ ว่�เร�กำ�ลังมุ่งหน้�สู่คว�มสำ�เร็จต่อไป

นายธีรพงศ์ จันศิริ ประธานกรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ความยั่งยืนยังคงเป็นองค์ประกอบสำาคัญสู่ความสำาเร็จของเรา เนื่องจากเป็นรากฐานของการเป็นองค์กรที่มีความรับผิดชอบ ต่อสังคม เราเชื่อว่าความยั่งยืนมีความสำาคัญต่อทั้งอนาคตของ ธุรกิจและการเติบโตขององค์กร อีกทั้งช่วยให้เราประสบความ สำาเร็จตามวิสัยทัศน์ของการเป็นผู้นำาอาหารทะเลที่ได้รับความไว้ วางใจมากที่สุดในโลก เรามุ่งมั่นให้ความสำาคัญกับการจ้างแรงงาน อย่างปลอดภัยและถูกกฎหมาย รวมทั้งให้อิสระในการเลือก ทำางานแก่พนักงาน ในขณะเดียวกันก็สนับสนุนการขจัดการกดขี่ แรงงานในระบบห่วงโซ่อุปทาน เมื่อปีที่แล้ว ไทยยูเนี่ยน ได้ประกาศยกเลิกค่าธรรมเนียมในการ จัดหาแรงงานสำาหรับแรงงานข้ามชาติ ที่จะมาทำางานที่โรงงาน ซึ่ง รวมถึงแรงงานจากทั้งในประเทศและจากต่างประเทศ แนวทางนี้ เป็นไปตามการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของบริษัทในด้านนโยบาย การจัดหารแรงงานต่างด้าวอย่างมีจรรยาบรรณ เรามีความภาค ภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง ที่ความพยายามของเราได้รับการยอมรับ โดย ไทยยูเนี่ยนได้รับการเสนอชื่อให้ชิงรางวัล Stop Slavery Award

ซึ่งจัดขึ้นเป็นครั้งแรก โดยมูลนิธิ ธอมป์สัน รอยเตอร์ส ในฐานะผู้นำาอาหารทะเลระดับโลก ไทยยูเนี่ยนมุ่งมั่นในความรับ ผิดชอบในการดำาเนินงานด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจ ตลอดทั้งกระบวนการผลิตและห่วงโซ่อุปทานของเรา เราดำาเนิน งานโดยใช้ SeaChange® กลยุทธ์เพื่อความยั่งยืน ด้วย พันธกิจที่ว่าจะสร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นจริงและยั่งยืนใน วิธีการดำาเนินงานของเรา ด้วยเสาหลักเชิงกลยุทธ์เหล่านี้ จะเป็นแรงสนับสนุนให้ไทยยูเนี่ยน ประสบความสำาเร็จตามเป้าหมายการเติบโตอันท้าทาย และด้วย ความร่วมมือ เรากำาลังสร้างองค์กรที่เปี่ยมไปด้วยความสามารถ ที่หลากหลายของบุคลากร ความเป็นผู้นำาที่แข็งแกร่ง วิสัยทัศน์ และกลยุทธ์ที่ชัดเจน อีกทั้งตระหนักถึงวิสัยทัศน์ขององค์กรใน การเป็นแบรนด์ที่ได้รับความไว้วางใจมากที่สุดในอุตสาหกรรม อาหารทะเล ที่ส่งมอบผลิตภัณฑ์รสชาติดี และเปี่ยมไปด้วย โภชนาการที่ดีแก่ลูกค้าของเราทั่วโลก


วิสัยทัศน์องค์กร

มุ่งมั่นสู่คว�มเป็นผู้นำ�ท�งด้�นอ�ห�รทะเลที่น่�เชื่อถือที่สุด ของโลก ตลอดจนใส่ใจดูแลทรัพย�กรต่�งๆ เพื่อรักษ�ให้คง ไว้แก่คนรุ่นหลัง

พันธกิจองค์กร

ก�รเป็นผู้นำ�ก�รเปลี่ยนแปลงในอุตส�หกรรมอ�ห�รทะเล และสร้�งคว�มแตกต่�งเชิงสร้�งสรรค์ให้เกิดขึ้นจริงต่อผู้ บริโภค ลูกค้� และแนวท�งก�รบริห�รจัดก�รธุรกิจ

เป้าหมายองค์กร

บริษัทมีเป้�หม�ยทำ�ร�ยได้ถึง 8 พันล้�นเหรียญสหรัฐ ภ�ยในปี 2563 เพื่อให้บรรลุเป้�หม�ยนี้ เร�ได้พัฒน�แผน ง�นที่เหม�ะสมในก�รรองรับโอก�สและเผชิญกับคว�ม ท้�ท�ยในอน�คต ควบคู่ไปกับก�รเติมเต็มคว�มต้องก�รที่ จำ�เป็นของก�รเป็นองค์กรที่มีคว�มรับผิดชอบต่อสังคมใน ทุกแง่มุมของก�รดำ�เนินง�นของเร�

thaiunion.com


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

015

กลยุทธ์ของไทยยูเนีย่ น ในปี 2559 ก�รแข่งขันที่เข้มข้นขึ้นในอุตส�หกรรมอ�ห�รทะเล โลก ประกอบกับอัตร�ก�รเติบโตของตล�ดหลักที่ลดลง ยัง คงเป็นคว�มท้�ท�ยสำ�คัญของไทยยูเนี่ยน แต่ก็ถือเป็นโอก�ส สำ�หรับไทยยูเนี่ยนเช่นกันที่จะปรับตัวและเสริมสร้�งขีดคว�ม ส�ม�รถและคว�มได้เปรียบท�งก�รแข่งขัน ท่�มกล�งภ�วะก�รแข่งขันท�งก�รตล�ดที่ท้�ท�ย เร�ยังคงยึด มั่นในวิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนง�นเชิงกลยุทธ์อันประกอบไปด้วย เส�หลักทั้ง 6 ด้�น (นวัตกรรม ก�รพัฒน�ที่ยั่งยืน คว�มเป็น เลิศในก�รปฏิบัติง�น ก�รควบรวมและเข้�ซื้อกิจก�ร ก�รพัฒน� ทรัพย�กรบุคคล และก�รจัดห�วัตถุดิบเชิงกลยุทธ์) และเป้� หม�ยร�ยได้ในปี 2563 โดยไทยยูเนี่ยนมีก�รว�งแผนกลยุทธ์ ก�รเจริญเติบโตจ�กทั้งธุรกิจหลัก (Organic growth) และ จ�กก�รลงทุนและก�รเข้�ซื้อกิจก�ร เพื่อเสริมสร้�งคว�มแข็งแกร่ง และขย�ยฐ�นธุรกิจ รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภ�พของก�รจัดห�แหล่ง วัตถุดิบและก�รกระจ�ยสินค้� ในปี 2559 ไทยยูเนี่ยนได้ดำ�เนินก�รหล�ยโครงก�รครอบคลุม ทั้ง 6 เส�หลักเชิงกลยุทธ์ และดูแลหน่วยธุรกิจใหม่ที่เพิ่งเปิด ตัวในช่วงปล�ยปี 2558 อันได้แก่ หน่วยธุรกิจตล�ดเกิดใหม่ (Emerging Markets) หน่วยธุรกิจ Marine Ingredients และหน่วยธุรกิจ Food Services นวัตกรรม: พัฒนาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ทัน สมัยเพื่อตอบสนองความความพึงพอใจของผู้บริโภค สร้างค่านิยม และปูทางสู่ความยั่งยืนร่วมกัน

ต�ร�งเมตร ประกอบด้วยห้องปฏิบัติก�รด้�นเคมี ห้องปฏิบัติ ก�รด้�นโภชน�ก�ร และห้องปฏิบัติก�รด้�นนวัตกรรมและ ก�รพัฒน�ผลิตภัณฑ์ นอกจ�กนี้ ยังมีโรงง�นต้นแบบและสำ�นักง�น ซึ่งมีพื้นที่สำ�หรับจัดประชุมและง�นกิจกรรมต่�งๆ ทีมง�นประจำ� ศูนย์นวัตกรรมประกอบด้วยนักวิช�ก�รชั้นนำ� นักวิจัย และ นักวิทย�ศ�สตร์ที่มุ่งเน้นก�รพัฒน�คว�มก้�วหน้�ท�ง วิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยีเพื่อผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับอ�ห�ร ทะเล ไทยยูเนี่ยนยังมีทีมผู้เชี่ยวช�ญท�งก�รตล�ดซึ่งประจำ�ก�ร อยู่ทั่วโลก ที่จะส�ม�รถนำ�องค์คว�มรู้และคว�มเข้�ใจผู้บริโภค ของแต่ละประเทศรวมถึงทิศท�งท�งก�รตล�ดม�ปรับใช้กับ ผลิตภัณฑ์ กระบวนก�ร และเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งช่วยให้ ผลง�นจ�กศูนย์นวัตกรรมประสบคว�มสำ�เร็จได้ในตล�ดโลก จ�กคว�มร่วมมือเชิงกลยุทธ์กับมห�วิทย�ลัยและศูนย์วิจัยหล�ย แห่งในประเทศไทย ทำ�ให้ไทยยูเนี่ยนส�ม�รถต่อยอดก�รแลก เปลี่ยนองค์คว�มรู้ระหว่�งภ�คก�รศึกษ�กับภ�คอุตส�หกรรมได้ จ�กคว�มมุ่งมั่นของศูนย์นวัตกรรมในก�รพัฒน�ผลิตภัณฑ์ใหม่ และก�รปรับปรุงกระบวนก�รผลิต ทำ�ให้ไทยยูเนี่ยนตั้งเป้�หม�ย ที่จะนำ�ผลง�นเหล่�นี้ออกสู่ตล�ดโลก โดยหน่วยธุรกิจ Food Services และหน่วยธุรกิจ Marine Ingredients จะมีบทบ�ท อย่�งสำ�คัญในส่วนนี้ การพัฒนาที่ยั่งยืน: สร้างมาตรฐานความรับผิดชอบ ต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจ ตามเป้าหมาย การพัฒนาความยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ

นวัตกรรมคือกลยุทธ์หลักของไทยยูเนี่ยน เพื่อใช้ขับเคลื่อนก�ร พัฒน�เทคโนโลยีและรังสรรค์ผลง�นวิจัยท�งนวัตกรรม ซึ่งจะส่ง เสริมคว�มส�ม�รถในก�รแข่งขันและสนับสนุนคว�มยั่งยืนของ ธุรกิจอ�ห�รทะเล บริษัทมีคว�มมุ่งมั่นที่จะพัฒน�และสร้�งสรรค์ ผลิตภัณฑ์อ�ห�รออกสู่ตล�ด เพื่อช่วยส่งเสริมสุขภ�พและยก ระดับคุณภ�พชีวิตของผู้บริโภคทั่วโลก

ในก�รเป็นผู้นำ�ด้�นอ�ห�รทะเลที่ได้รับคว�มไว้ว�งใจม�กที่สุดใน โลก ก�รพัฒน�ที่ยั่งยืนถือเป็นหัวใจสำ�คัญในก�รดำ�เนินธุรกิจ และยังเป็นม�ตรฐ�นที่ส�ม�รถวัดได้สำ�หรับใช้เป็นกรอบในก�ร ตัดสินใจและก�รปฏิบัติง�นที่สำ�คัญ ท�งบริษัทตระหนักถึงคว�ม ซับซ้อนของอุตส�หกรรมอ�ห�รทะเล และกำ�ลังทำ�ง�นอย่�งหนัก ในก�รเผชิญกับคว�มท้�ท�ยที่มีอยู่และที่เกิดขึ้นใหม่เพื่อตอบ สนองคว�มค�ดหวังที่หล�กหล�ยของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่�งๆ

ในก�รนี้ ไทยยูเนี่ยนได้จัดตั้งศูนย์นวัตกรรม หรือที่เรียกว่� Global Innovation Incubator (Gii) ในปี 2558 เพื่อ เร่งกระบวนก�รสร้�งสรรค์นวัตกรรม เพิ่มเติมจ�กก�รพัฒน� ผลิตภัณฑ์ใหม่ในภูมิภ�ค (New Product Development :NPD) ปัจจุบัน ศูนย์นวัตกรรมได้ขย�ยพื้นที่ครอบคลุม 1,200

สำ�หรับเป้�หม�ยที่จะเป็นผู้นำ�ในก�รสร้�งคว�มยั่งยืนของ อุตส�หกรรมอ�ห�รทะเล ไทยยูเนี่ยนได้ริเริ่มโครงก�ร “SeaChange®” ซึง่ เป็นกลยุทธ์เพือ่ คว�มยัง่ ยืนของไทยยูเนีย่ น ทั่วโลก ประกอบด้วย 4 หัวข้อหลักและเป้�หม�ยสำ�คัญต่�งๆ ดัง ต่อไปนี้


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

016

1. การจัดหาวัตถุดิบอย่างมีความรับผิดชอบ

ระบบการตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) ถือเป็นกุญแจ สำาคัญในการปรับปรุงความโปร่งใสและแนวทางการดำาเนิน งานของธุรกิจในห่วงโซ่อุปทานอาหารทะเล ซึ่งจะทำาให้สามารถ ติดตามผลิตภัณฑ์ทุกชิ้นได้ถึงแหล่งที่มา ทำาให้สามารถติดตาม การปฏิบัติงาน ความเคลื่อนไหว และสภาพแรงงานของผู้จัดหา วัตถุดิบได้ ดังนั้น ไทยยูเนี่ยนจึงตั้งเป้าที่จะบรรลุการใช้ระบบ การตรวจสอบย้อนกลับอย่างเต็มรูปแบบภายในปี 2563 เพื่อ ลดความเสี่ยงเรื่องการประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU) และจะสร้างความมั่นใจว่าเรือประมง ทุกลำาต้องดำาเนินงานสอดคล้องกับข้อกำาหนดที่เข้มงวดด้าน แรงงานของบริษัท กล่าวคือ ปลาทูน่าทั้งหมดร้อยละ 100 ที่ใช้ ในผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์ของไทยยูเนี่ยน จะต้องมาจากแหล่ง ประมงที่ได้รับการรับรองจาก Marine Stewardship Council (MSC) หรือมาจากแหล่งที่มีโครงการพัฒนาการทำาประมง (FIP) ซึ่งตั้งเป้าหมายว่าจะทำาให้ได้อย่างน้อยร้อยละ 75 ภายใน ปี 2563

2. การปฎิบตั ต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม และถูกต้องตาม กฎหมาย

ไทยยูเนี่ยนมีความตั้งใจที่จะขจัดการจ้างแรงงานผิดกฎหมายและ การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างไม่เป็นธรรมในอุตสาหกรรมอาหาร ทะเลโลก ในการนี้ ไทยยูเนี่ยนจึงได้จัดทำาจรรยาบรรณธุรกิจ และแนวปฏิบัติด้านแรงงาน (Business Ethics and Code of Conduct) ที่เข้มงวดเพื่อป้องกันการกดขี่แรงงานหรือการ ละเมิดสิทธิมนุษยชนในห่วงโซ่อุปทาน โครงการนี้ทำาให้มั่นใจว่า แรงงานในห่วงโซ่อุปทานมีสภาพแวดล้อมการทำางานที่ปลอดภัย และมีเสรีภาพในการเลือกทำางานกับนายจ้าง รวมทั้งไม่เกี่ยวข้อง กับกระบวนการค้ามนุษย์

3. การดำาเนินงานด้วยความรับผิดชอบ

ไทยยูเนี่ยนริเริ่มโครงการต่างๆ ที่จะนำาไปสู่การปล่อยมลพิษ ให้เป็นศูนย์ (Net-zero emissions) และใช้แนวทางเชิง นวัตกรรมและวิธีการจัดการที่ดีในการลดการใช้น้ำาและไฟฟ้า อาทิเช่น การส่งเสริมความตระหนักรู้ด้านสิ่งแวดล้อม การ ปรับปรุงกระบวนการแช่แข็ง การปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ น้ำา การนำาน้ำาทิ้งกลับมาใช้ใหม่ การสร้างก๊าซชีวภาพจากน้ำาทิ้ง และการปรับปรุงอัตราการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงานจากการทำางาน (Lost-time injuries frequency rate: LTIFR)

4. การดูแลชุมชน

ไทยยูเนี่ยนทำางานร่วมกับพันธมิตรภาคเอกชน หน่วยงาน ท้องถิ่นของรัฐ องค์กรระหว่างประเทศ และภาคประชาสังคม เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ผ่านโครงการ ธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise Programs) หลาย โครงการ ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่ที่ไทยยูเนี่ยนมี การดำาเนินงานอยู่ ยกตัวอย่างเช่น การอนุรักษ์ทรัพยากรทาง

ทะเล การบริจาคอาหาร การให้การศึกษา และการให้ข้อมูลทาง โภชนาการ ฯลฯ ไทยยูเนี่ยนได้รับรางวัลและการยอมรับในระดับสากลมากมาย อาทิเช่น ดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Index) รางวัล Stop Slavery Award รางวัล 2016 Gold Standard Awards for Corporate Citizenship in the Global-Asia Program และอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งเป็นบท พิสูจน์ของการให้ความสำาคัญในเรื่องความยั่งยืน คุณภาพ และ ความปลอดภัย ของไทยยูเนี่ยน ความเป็นเลิศในการปฏิบัติงาน: ขับเคลื่อนสู่การเป็นธุรกิจ ระดับโลกอย่างบูรณาการตลอดห่วงโซ่คุณค่าอาหารทะเล ไทยยูเนี่ยนมีเครือข่ายการดำาเนินงานทั่วโลกซึ่งล้วนดำาเนินการ ผลิตด้วยมาตรฐานคุณภาพขั้นสูงสุด นับตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ ไปจนถึงกระบวนการแปรรูปและการผลิตผลิตภัณฑ์บรรจุเสร็จ ไทยยูเนี่ยนมีโรงงานผลิตและสำานักงานกว่า 17 แห่ง ในทวีป อเมริกาเหนือ ยุโรป แอฟริกา และเอเชีย ซึ่งได้รับมาตรฐานทั้ง ทางด้านเทคนิค และมาตรฐานคุณภาพ ได้แก่ มาตรฐาน ISO มาตรฐาน Good Manufacturing Practices (GMP) มาตรฐาน Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) มาตรฐาน BRC มาตรฐาน Marine Stewardship Council (MSC) มาตรฐาน Best Aquaculture Practices (BAP) มาตรฐาน International Food Standard (IFS) มาตรฐาน OHSAS Standard และมาตรฐาน Woolworths Quality Assurance Standard (WQA) อีกทั้ง ยังปฏิบัติ ตามมาตรฐานอาหารของศาสนาต่างๆ โดยได้รับการรับรองจาก มาตรฐานอาหารโคเชอร์และอาหารฮาลาล นอกจากนั้น เพื่อ คงขีดความสามารถทางด้านต้นทุนการผลิต ไทยยูเนี่ยนยังใช้ ระบบควบคุมเพื่อความเป็นเลิศในการปฏิบัติงาน เช่น ระบบ Kaizen ระบบ Six Sigma ระบบ Hoshin Kanri ระบบ Quality Control Circle (QCC) และระบบ Lean Daily Management System (DMS) ในโรงงาน ไทยยูเนี่ยนยังได้ริเริ่มโครงการบริหารจัดการโรงงานภายใต้เครือ ข่ายทั่วโลกแบบบูรณาการ เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตทาง ธุรกิจตามแผนที่วางไว้ ปรับปรุงต้นทุนการผลิต ความคล่องตัว ความยืดหยุ่นของการจัดหาวัตถุดิบ ความยั่งยืน การใช้ ประโยชน์จากทุน และการบริหารสินค้าคงคลัง โดยเริ่มต้นจาก กลุ่มธุรกิจอาหารทะเลกระป๋องทั่วโลก (Ambient) การดำาเนิน งาน ภายใต้โครงการนี้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง ของเครือข่ายการผลิตอาหารทะเลกระป๋องทั่วโลก และสร้าง มาตรฐานเพื่อวัดผลการดำาเนินงานและความสามารถในการผลิต ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งคาดว่าจะช่วยลดค่าใช้จ่ายต่อปีประมาณร้อยละ 4-5 ภายในปี 2563


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

017 การควบรวมและเข้าซื้อกิจการ: เพิ่มมูลค่าจากการลงทุนเพื่อ ประโยชน์ของผู้ถือหุ้นอย่างสูงสุด ปี 2559 ยังคงเป็นอีกปีหนึ่งของการควบรวมและเข้าซื้อกิจการ สำาหรับไทยยูเนี่ยน โดยมีการเข้าซื้อกิจการและการลงทุนที่สำาคัญ หลายรายการ ไทยยูเนี่ยนยังคงดำาเนินกลยุทธ์การแสวงหา โอกาสในการควบรวมและซื้อกิจการในแต่ละหน่วยธุรกิจ โดยมอง หาบริษัทที่สามารถช่วยขยายฐานทางการตลาดและฐานสำาหรับ การเติบโตอย่างเข้มแข็งในอนาคต ความสำาเร็จของกลยุทธ์นี้เห็น ได้จากการเข้าซื้อกิจการที่ผ่านมาที่มีประโยชน์ต่อไทยยูเนี่ยน ทั้งในแง่ของการบริหารจัดการต้นทุนร่วม (Cost synergies) ความมั่นคงของการจัดหาวัตถุดิบ การขยายตลาดใหม่ การ ขยายประเภทผลิตภัณฑ์ใหม่ การกระจายความเสี่ยง และการ ต่อยอดองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญในการบริหารจัดการ โดย การเข้าซื้อกิจการต่างๆ ในปี 2559 ที่ประสบความสำาเร็จ ได้แก่ การซื้อหุ้นส่วนมากในบริษัท Rugen Fisch และบริษัท Les Pecheries de Chez-Nous และการซื้อหุ้นส่วนน้อยในบริษัท Red Lobster และบริษัท Avanti Feeds นอกจากนี้ ไทยยูเนี่ยนยังได้ทำาการเข้าซื้อหุ้นส่วนที่เหลือทั้งหมดของบริษัท ในเครือ (Minority buyouts) อันเป็นส่วนหนึ่งของความ พยายามในการบูรณาการบริษัทในเครือของไทยยูเนี่ยนทั่วโลก นอกจากนั้น ไทยยูเนี่ยนยังให้ความสำาคัญกับการบูรณาการ ธุรกิจหลังการควบรวมกิจการ (Post-Merger Integration) และการรับรู้มูลค่าของธุรกิจที่ควบรวมหรือเข้าซื้อ (Deal Value Realization) โดยไทยยูเนี่ยนยังคงดำาเนินการสร้าง ประโยชน์สูงสุดจากการลงทุนเพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทั้งหมด ผ่านการบริหารจัดการและการติดตามผลการดำาเนินงานอย่าง ใกล้ชิด การพัฒนาทรัพยากรบุคคล: ยึดถือค่านิยมองค์กรเพื่อ นำาไปสู่ความยั่งยืนและความเจริญเติบโตในอนาคต การพัฒนาบุคลากรทุกระดับไม่เป็นเพียงแค่กลยุทธ์การทำางาน ของฝ่ายทรัพยากรบุคคลเท่านั้น แต่ยังเป็นความมุ่งมั่นอย่างต่อ เนื่องของผู้บริหารระดับสูงด้วย วัฒนธรรมของไทยยูเนี่ยนได้รับการถ่ายทอดผ่านค่านิยมของ องค์กร 6 ประการ ซึ่งหมายความว่าเราเป็นทีมงานที่มีความ มุ่งมั่น (Passionate) ความอ่อนน้อม (Humble) และ การให้เกียรติผู้อื่น (Respectful) โดยมีความรับผิดชอบ (Responsible) การให้ความร่วมมือ (Collaborative) และ การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ (Innovative) เป็นตัวขับเคลื่อนการ ทำางาน ในปี 2559 ไทยยูเนี่ยนได้รวมระบบทรัพยากรบุคคลให้ เป็นหนึ่งเดียวทั่วโลก ความสำาเร็จนี้แสดงให้เห็นว่า บุคลากรของ เราเป็นทรัพยากรที่สำาคัญที่สุด และการบรรลุเป้าหมายนั้นต้อง อาศัยการลงทุนในทรัพยากรบุคคลอย่างเหมาะสม ปัจจุบัน ไทยยูเนี่ยนมีโครงการพัฒนาบุคลากรที่หลากหลาย เช่น โครงการเรียนรู้งานข้ามสายงาน การมอบหมายงานที่ท้าทาย การสับเปลี่ยนหมุนเวียนสายงาน การได้รับมอบหมายงานด้าน ต่างประเทศ ระบบพี่เลี้ยง การสอนงาน และการให้ข้อเสนอแนะ และการฝึกอบรมต่างๆ

ในอนาคต ไทยยูเนี่ยนจะดำาเนินการติดตั้งระบบสารสนเทศในการ บริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resources Information System: HRIS) เพื่อให้เกิดการจัดการบุคลากรที่หลากหลาย อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะรวบรวมข้อมูลพนักงานทั้งหมดและ จัดเก็บเป็นฐานข้อมูลส่วนกลาง ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำางาน ทำาให้สามารถบริหารจัดการบุคลากรทั่วโลก และส่งเสริม ให้เกิดความร่วมมือระหว่างประเทศ อันเนื่องมาจากการเข้าถึง ข้อมูลที่ง่ายขึ้น การจัดหาวัตถุดิบเชิงกลยุทธ์: สร้างความมั่นคงอย่าง ต่อเนื่องในการเข้าถึงวัตถุดิบที่เพียงพอและยั่งยืนโดย อาศัยศักยภาพการดำาเนินงานที่มีอยู่ทั่วโลก ในฐานะที่ไทยยูเนี่ยนเป็นหนึ่งในผู้ผลิตอาหารทะเลรายใหญ่ที่สุด ในโลก กลยุทธ์การจัดหาวัตถุดิบจึงมีความสำาคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากวัตถุดิบเป็นต้นทุนที่มีสัดส่วนมากที่สุด และปริมาณ วัตถุดบิ ก็มคี วามสำาคัญต่อการดำาเนินงานในธุรกิจของไทยยูเนีย่ น เนื่องจากไทยยูเนี่ยนเป็นหนึ่งในผู้ผลิตปลาทูน่ากระป๋องราย ใหญ่ที่สุดในโลก กลยุทธ์การจัดหาวัถตุดิบจึงเป็นการสร้าง ความสมดุลระหว่างปริมาณปลาทูน่าและความผันผวนของราคา ปลาทูน่า และการสร้างความมั่นคงอย่างต่อเนื่องในการเข้าถึง วัตถุดิบอย่างยั่งยืนจากคู่ค้าที่น่าเชื่อถือ ทีมงานฝ่ายจัดซื้อระดับ ภูมิภาคได้ริเริ่มแผนการจัดตั้งศูนย์กลางการจัดซื้อปลาของโลก ในปี 2560 เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการจัดหาวัตถุดิบ เชิงกลยุทธ์และการจัดการห่วงโซ่อุปทานของวัตถุดิบปลาและ อาหารทะเล สำาหรับวัตถุดิบอื่นๆ อาทิเช่น บรรจุภัณฑ์ และส่วนผสมของ อาหาร ไทยยูเนี่ยนกำาลังศึกษาความเป็นไปได้ทั้งในเชิงพาณิชย์ และเชิงปฏิบัติการ โดยอาศัยศักยภาพการดำาเนินงานที่มีอยู่ ทั่วโลกและสร้างความสามารถในการจัดหาวัตถุดิบที่ดีที่สุด ความร่วมมือในการจัดหาวัตถุดิบร่วมกันในระดับโลกจะนำาไปสู่ การพัฒนาความสัมพันธ์ร่วมกันกับคู่ค้า รวมทั้งยังก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความร่วมมือกันระดับโลกในทุกแง่มุมที่เป็นไปได้ และส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมมากขึ้นในการจัดหาวัตถุดิบ อย่างมีความรับผิดชอบ


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

018

แบรนด์ของเรา ที่ไทยยูเนี่ยน เร�มีผลิตภัณฑ์แบรนด์ต่�งๆ ให้เลือกหล�กหล�ย ทัง้ ประเภทบรรจุกระป๋อง แช่เยือกแข็ง และแช่แข็ง รวมทัง้ ผลิต ภัณฑ์ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ว�งจำ�หน่�ยทั้งในอเมริก�เหนือ ยุโรป เอเชีย และแถบแปซิฟิค สร้�งเมนูอ�ห�รที่อร่อย ส�ม�รถนำ�ไปปรุงได้ อย่�งง่�ยด�ย และมีประโยชน์ต่อสุขภ�พให้กับผู้บริโภคหล�ยล้�น ครัวเรือนทั่วโลก

แบรนด์ที่เป็นที่นิยมของเร�มีจำ�หน่�ยทั่วโลก โดยพัฒน�ม�จ�ก คว�มเข้�ใจในคว�มต้องก�รของผู้บริโภคในแต่ละท้องถิ่น ด้วย กลยุทธ์ก�รเติบโตท�งธุรกิจโดยก�รเข้�ซื้อกิจก�รและก�รควบรวม กิจก�ร ทำ�ให้แบรนด์ผลิตภัณฑ์ของเร�มีส่วนแบ่งตล�ดเพิ่มขึ้นทั่ว โลก และคว�มมุ่งมั่นของเร�ที่มีต่อง�นด้�นนวัตกรรม ก�รเติบโต อย่�งยั่งยืน คุณภ�พที่แน่นอน ช่วยทำ�ให้แบรนด์ของเร�อยู่ใน ตำ�แหน่งได้เปรียบในเชิงก�รแข่งขัน

อเมริกาเหนือ CHICKEN OF THE SEA และ CHICKEN OF THE SEA FROZEN FOODS

Chicken of the Sea เริม่ ก่อตัง้ เป็นบริษทั อ�ห�รทะเลกระป๋องใน แคลิฟอร์เนียในปี 2457 ซึง่ ก่อนทีน่ �งเงือกซึง่ เป็นสัญลักษณ์และแบรนด์ จะมีชอ่ื เสียงในหมูผ่ บู้ ริโภค และในหนึง่ ศตวรรษต่อม� Chicken of the Sea ก็มคี ว�มเชือ่ มโยงอย่�งใกล้ชดิ กับสุขภ�พ โภชน�ก�ร และคว�ม สะดวกสบ�ย Chicken of the Sea มีผลิตภัณฑ์อ�ห�รทะลทีห่ ล�ก หล�ยประเภท เช่น กุง้ กุง้ ล็อบสเตอร์ ปล�แซลมอน ปู และปล�ทูน�่ และ ในปี 2558 Chicken of the Sea ได้ก�้ วเป็นบริษทั อ�ห�รทะเลที่ ใหญ่สดุ ในสหรัฐอเมริก� โดยพิจ�รณ�จ�กร�ยได้ อีกทัง้ ยังเป็นผูน้ �ำ เข้�กุง้ แช่เยือกแข็ง และเนือ้ ปูพ�สเจอร์ไรส์ อันดับหนึง่ ในสหรัฐอเมริก� ก�รผลิตอ�ห�รทะเลที่ดีต่อสุขภ�พสำ�หรับผู้บริโภครุ่นต่อๆ ไปเป็น สิ่งสำ�คัญอย่�งยิ่งต่อ Chicken of the Sea และกว่�ศตวรรษที่ผ่�น ม� Chicken of the Sea ได้รเิ ริม่ แผนในก�รห�วัตถุดิบอย่�งรับผิดชอบ รวมทั้งนโยบ�ย Dolphin-Safe Policy และ Shark Finning Ban อีกทั้งร่วมมือกับมูลนิธิเพื่อคว�มยั่งยืนของอ�ห�รทะเลส�กล (International Seafood Sustainability Foundation)

GENOVA

ผลิตภัณฑ์ปล�ทูน่�พรีเมี่ยมเป็นส่วนประกอบอ�ห�รจ�นเด็ดในหล�ย เมนู เนื่องจ�กรสช�ติและเนื้อสัมผัสที่มีลักษณะเฉพ�ะ เพียงแค่ได้ลิ้ม รสก็เกิดแรงบันด�ลใจ ปล�ทูน่�พรีเมี่ยมที่ม�พร้อมรสช�ติพิเศษ ทำ�ให้ Genova ช่วยเติมเต็มมื้ออ�ห�รได้อย่�งลงตัว


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

019

ยุโรป JOHN WEST

จอห์น เวสต์ เป็นแบรนด์อ�ห�รทะเลบรรจุกระป๋อง อันดับ 1 ใน สหร�ชอ�ณ�จักรและไอร์แลนด์ โดย John West เริ่มต้นผลิตปล� ที่มีคุณภ�พตั้งแต่ปี 2400 และด้วยคว�มมุ่งมั่นอย่�งต่อเนื่องสำ�หรับ ก�รเป็นผู้นำ�ด้�นก�รพัฒน�นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองคว�ม ต้องก�รของผู้บริโภคในเรื่องรสช�ติ คุณภ�พ และคว�มสะดวกสบ�ยใน ก�รรับประท�น

PETIT NAVIRE

นับตั้งแต่เปิดตัวในปี 2475 Petit Navire ได้กล�ยม�เป็นส่วนหนึ่ง ของชีวิตประจำ�วันของช�วฝรั่งเศส ซึ่งสัดส่วนของก�รจดจำ�แบรนด์นี้ใน ประเทศฝรั่งเศสมีถึงกว่�ร้อยละ 90 Petit Navire แบรนด์ปล�ทูน่�ชั้นนำ� และเป็นที่รู้จักในเรื่องม�ตรฐ�น ที่มีคุณภ�พสูงและก�รทุ่มเทในก�รสร้�งสรรค์นวัตกรรม พันธกิจของ แบรนด์คือ ก�รมอบผลิตภัณฑ์ปล�ที่หล�กหล�ยรสช�ติ และคุณภ�พที่ ดีในทุกๆ วันให้กับผู้บริโภคนับล้�น ซึ่งตอบสนองต่อคว�มต้องก�รของ ผู้บริโภคที่มีไลฟ์สไตล์เปลี่ยนไปในปัจจุบัน

PARMENTIER

แบรนด์ปล�ซ�ร์ดีนกระป๋องเกรดพรีเมี่ยมอันดับ 1 ในประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่ปี 2426 Parmentier ถูกว�งออกสู่ตล�ดด้วยรูปลักษณ์ภ�ย ใต้กระป๋องขน�ดเล็กสีเหลืองสวยง�ม และได้สร้�งแบรนด์ซึ่งถือเป็นร�ช� แห่งปล�ซ�ร์ดีน ถึงแม้ว่� Parmentier จะออกสู่ตล�ดเป็นเวล�น�น แต่ในขณะเดียวกันก็สร้�งสรรค์คว�มทันสมัยและคว�มแปลกใหม่ให้ ผลิตภัณฑ์อย่�งต่อเนื่องอยู่เสมอ ทำ�ให้ Parmentier ยังคงเป็นแบรนด์ ที่นิยมในหมู่ผู้บริโภคในประเทศฝรั่งเศส และได้รับก�รยอมรับว่�เป็นผู้ เชี่ยวช�ญท�งด้�นปล�ซ�ร์ดีน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

020

KING OSCAR

คิง ออสก�ร์ เป็นแบรนด์อับดับ 1 ในประเทศสหรัฐอเมริก� นอร์เวย์ และ ออสเตรเลีย สำ�หรับผลิตภัณฑ์ปล�ซ�ร์ดีน และเป็นอันดับ 1 ในประเทศ โปแลนด์ และเบลเยี่ยม สำ�หรับผลิตภัณฑ์ปล�แมคเคอเรล ในปี 2445 กษัตริย์ออสก�ร์ ที่สองแห่งประเทศนอร์เวย์ ได้พระร�ชท�น พระบรมร�ช�นุญ�ตพิเศษในก�รใช้พระน�มและพระบรมส�ทิศลักษณ์ ของพระองค์บนผลิตภัณฑ์คิง ออสก�ร์ และกว่� 110 ปีที่ผ่�นม� คิง ออสก�ร์ ได้มอบปล�ซ�ร์ดีนและอ�ห�รทะเลคุณภ�พด้วยระดับ พรีเมี่ยม จ�กทะเลนอร์เวย์ และทุกมุมโลกม�สู่ผู้บริโภค

MAREBLE

Mareblu ก่อตั้งขึ้นในต้นปี 2513 เป็นแบรนด์ประวัติศ�สตร์ของตล�ด ปล�ทูน่�ในประเทศอิต�ลี จ�กคว�มใส่ใจในคุณภ�พและนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ Mareblu เป็น ที่รู้จักในฐ�นะเป็นผลิตภัณฑ์ปล�ทูน่� แบรนด์เดียวในอิต�ลี โดยมีคำ� โฆษณ�ที่ว่� ผลิตโดยตรงจ�กแหล่งที่จับปล�ทูน่� (Il tonno lavorato sul luogo di pesca) ด้วยกระบวนก�รผลิตแบบเต็มรูปแบบ ทำ�ให้ ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภ�พชั้นเลิศ รสช�ติดี และเปี่ยมไปด้วยคุณค่�ท�ง โภชน�ก�ร Mareblu ถือเป็นผู้นำ�อันดับ 2 ในตล�ดปล�ทูน่�ทั้งในแง่ของ ปริม�ณและมูลค่� โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ปล�ทูน่�กระป๋อง (ในน้ำ�มัน น้ำ�เกลือ เนื้อล้วน “ไขมันต่ำ�* และ เวนเตรสก�) ปล�แมคเคอเรลกระป๋อง (ในน้ำ�มัน น้ำ�เกลือ ปรุงรส) สลัดทูน่� และปล�ซ�ร์ดีน

RUGEN FISCH

Rugen Fisch เติบโตท�งธุรกิจม�ตั้งแต่ปี 2492 จนกล�ยเป็นผู้ผลิต อ�ห�รทะเลชั้นนำ�ในประเทศเยอรมัน โดยมีแบรนด์อ�ห�รทะเลแปรรูป และอ�ห�รทะเลแช่แข็งยอดนิยมหล�ยแบรนด์ เช่น รูเก้น ฟิช และ ฮ�เวสต้� ซึ่งเป็นแบรนด์ดั้งเดิม ก่อตั้งในปี 2452 พร้อมด้วยผลิตภัณฑ์ ประเภทแช่แข็ง เช่น Ostsee Fisch (ปล�แซลมอนรมควัน) และ Lysell (อ�ห�รทะเลพรีเมี่ยมบรรจุกระป๋อง)


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

021

เอเชีย แปซิฟิค SEALECT

ผลิตภัณฑ์ภ�ยใต้แบรนด์ ซีเล็ค ในประเทศไทย ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ปล� ทูน่� ปล�ซ�ร์ดีน และปล�แม็คเคอเรล ซีเล็ค ได้เริ่มเข้�สู่ตล�ดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2535 และส�ม�รถครอง ตำ�แหน่งแบรนด์ทูน่�อันดับ 1 ในประเทศไทย โดยเทียบส่วนแบ่งตล�ด และจ�กก�รสำ�รวจผู้บริโภคเมื่อเร็วๆ นี้ โดย Superbrands ซีเล็ค เป็น แบรนด์ปล�ทูน่�กระป๋องที่นิยมในหมู่ผู้บริโภคม�กที่สุดในประเทศไทย ซีเล็คเป็นผลิตภัณฑ์ปล�ทูน่�กระป๋อง คุณภ�พระดับพรีเมี่ยม รสช�ติ อร่อย มีคุณค่�ท�งโภชน�ก�ร อีกทั้งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกหล�กหล�ย ด้วยเหตุนี้จึงทำ�ให้ ซีเล็ค เป็นแบรนด์ปล�ทูน่�ที่ได้รับคว�มน่�เชื่อถือ ม�กที่สุด เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์กลุ่มเดียวกัน สำ�หรับปล�ซ�ร์ดนี และแมคเคอเรล ซีเล็คได้คดั สรรปล�คุณภ�พดีปรุงรส ดัง้ เดิม และเป็นเมนูอ�ห�รประจำ�บ้�นของหล�ยครัวเรือนในประเทศไทย

FISHO

ฟิชโชเป็นแบรนด์อ�ห�รว่�งที่ทำ�จ�กปล� ที่มีทั้งในรูปแบบเส้น แผ่น และ ประเภทขบเคี้ยว อีกทั้งเป็นที่นิยมในกลุ่มเด็กและวัยรุ่นที่ชอบลิ้มลอง คว�มอร่อย และมีคว�มสุขไปกับก�รท�นอ�ห�รว่�งโดยไม่ต้องกังวล เรื่องสุขภ�พ

BELLOTTA และ MARVO

เบลลอตต้�และม�ร์โว่ เป็นแบรนด์เข้�ใจคนรักแมวและสุนัข ซึ่งต้องก�ร มอบสิ่งที่ดีที่สุดให้กับสัตว์เลี้ยง ในปี 2558 เบลลอตต้� ได้เปิดตัว ผลิตภัณฑ์อ�ห�รแมวระดับพรีเมี่ยม ในขณะที่แบรนด์ม�ร์โว่ เปิด ตัวอ�ห�รสุนัขที่สร้�งสรรค์เมนูระดับอินเตอร์ ซึ่งมีรสช�ติพิเศษเป็น เอกลักษณ์ นอกจ�กนี้ ในช่วงปี 2559 ม�ร์โว่ยังตอกย้ำ�ก�รรับรู้แบรนด์ ให้เพิ่มขึ้น ผ่�นโครงก�รคว�มร่วมมือกับภ�พยนตร์แอนิเมชั่น เรื่อง “The Secret Life of Pets” ซึ่งเป็นเรื่องร�วมิตรภ�พของ สม�ชิกครอบครัวสี่ข�


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

022

ข้อมูลการเงินโดยสรุป หน่วย: พันล้านบาท

ข้อมูลทางการเงิน

ปี 2559

2558

2557

รายได้จากการขาย

134.4

124.9

121.4

รายได้รวม

135.6

126.8

122.7

กำาไรขั้นต้น

19.9

20.0

19.0

กำาไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและ

11.1

12.7

11.0

142.4

110.9

114.0

หนี้สินรวม

94.9

62.9

67.3

ส่วนของผู้ถือหุ้น

47.4

48.0

46.7

7.8

15.7

9.4

64.9

36.4

40.6

3.0

3.0

2.6

กำาไรต่อหุ้นถัวเฉลี่ย

1.10

1.13

1.10

กำาไรต่อหุ้นปรับลด

1.10

1.13

1.08

เงินปันผลต่อหุ้น

0.63

0.63

0.54

มูลค่าที่ตราไว้

0.25

0.25

0.25

มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้นถัวเฉลี่ย ส่วนที่เป็นของผู้เป็น

9.06

9.48

9.02

ค่าตัดจำาหน่าย สินทรัพย์รวม

เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำาเนินงาน หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิจากเงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสด เงินปันผลประจำาปี

(บาท) ข้ข้ออมูมูลลต่ต่ออหุหุ้น้น (บาท)

เจ้าของของบริษัทใหญ่


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

023

สถิตผิ ลการดำาเนินงานในรอบ 5 ปี 114.3

122.7

126.8

12.7

135.6 11.0 9.8

107.7

5.4

5.1

11.1

5.3

4.7

7.9

2555 2556 2557 2558 2559

2555 2556 2557 2558 2559

2555 2556 2557 2558 2559

ร�ยได้รวม (พันล้�นบ�ท)

กำ�ไรสุทธิก่อนหักดอกเบี้ย ภ�ษีเงินได้ ค่�เสื่อมร�ค�และค่�ตัดจำ�หน่�ย (พันล้�นบ�ท)

กำ�ไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้เป็นเจ้�ของ ของบริษัทใหญ่ (พันล้�นบ�ท)

114.0 94.8

64.9

2.0

142.4 1.5

110.9

1.4

1.4

108.3

40.2 1.3

40.6 36.4

33.6

2555 2556 2557 2558 2559

2555 2556 2557 2558 2559

2555 2556 2557 2558 2559

สินทรัพย์รวม (พันล้�นบ�ท)

อัตร�ส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่�)

หนี้สินที่มีภ�ระดอกเบี้ยสุทธิจ�กเงินสดและ ร�ยก�รเทียบเท่�เงินสด (พันล้�นบ�ท)

15.2 13.5

12.5 9.3

13.5

2.10

10.5 12.2

12.1

11.9 1.49

7.4 0.51

0.36

0.54

0.63

0.63

2555 2556 2557 2558 2559

2555 2556 2557 2558 2559

2555 2556 2557 2558 2559

อัตร�ผลตอบแทนต่อเงินลงทุนเฉลี่ย (%)

อัตร�ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย (%)

เงินปันผลต่อหุ้น (บ�ท) เงินปันผลต่อหุ้น

เงินปันผลต่อหุ้นสุทธิ*

*เงินปันผลต่อหุ้นสุทธิ คำานวณจากหุ้นสุทธิ 4,771,815,496 เนื่องจากบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้จากเดิม 1 บาทต่อหุ้น เป็น 0.25 บาท ต่อหุ้น เมื่อเดือนธันวาคม 2557

2.9


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

024

ประวัตแิ ละพัฒนาการ ของบริษทั ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป เริ่มต้นก่อตั้งในปี 2520 ภายใต้ชื่อบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จำากัด ซึ่งเป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออกปลาทูน่ากระป๋อง จากนั้นในปี 2531 ได้ก่อตั้งบริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำากัด (มหาชน) ซึ่งเดิมชื่อ บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ เพื่อดำาเนินธุรกิจด้านผลิตภัณฑ์อาหาร ทะเลแช่แข็งและส่งออก ด้วยเงินทุนจดทะเบียนแรกเริ่มที่ 25 ล้านบาท และในปี 2535 บริษัท มิตซูบิชิ คอร์ปอเรชั่น จำากัด และ บริษัท ฮาโกโรโม่ ฟู้ดส์ คอร์ปอเรชั่น จำากัด ได้กลายมาเป็นพันธมิตรทางธุรกิจใน ประเทศญี่ปุ่น โดยบริษัท มิตซูบิชิ คอร์ปอเรชั่น เป็นผู้นำาในด้านการจัดจำาหน่ายอาหารในประเทศ ขณะที่ บริษัท ฮาโกโรโม่ ฟู้ดส์ คอร์ปอเรชั่น เป็นผู้ผลิตอาหารทะเล ซึ่งทั้งสองบริษัทมีบทบาทสำาคัญในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ของบริษัทเพื่อตอบสนองมาตรฐานสากลและให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก บริษัทได้เข้าจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 และเปลี่ยนเป็นบริษัท มหาชน ภายใต้ชื่อ บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จำากัด (มหาชน) หรือTUF


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

025

เหตุการณ์สำาคัญของการขยายธุรกิจทั่วโลก • ปี 2540 การเข้าลงทุนในต่างประเทศเป็นครั้งแรก ด้วย การลงทุนใน ชิกเก้นออฟเดอะซี ซึ่งมีส่วนแบ่งทางการ ตลาดเป็นอันดับสาม ในประเทศสหรัฐอเมริกา

• ปี 2553 ก่อตั้งบริษัท ยูเอส เพ็ท นูทรีชั่น จำากัด เพื่อผลิต และจำาหน่ายอาหารสัตว์เลี้ยงในประเทศสหรัฐอเมริกา

• ปี 2546 การเข้าลงทุนบริษัท เอ็มเพรส อินเตอร์เนชั่นแนล จำากัด ซึ่งเป็นผู้นำาเข้าและผู้จัดจำาหน่ายอาหารทะเลแช่แข็ง ใน ประเทศสหรัฐอเมริกา

• ปี 2557 การขยายไปยังภูมิภาคยุโรปเพิ่มเติมด้วยการ เข้าซื้อกิจการของบริษัท เมอร์อไลอันซ์ เอสเอเอส ซึ่งเป็น ผู้ผลิตแซลมอนรมควันอันดับสี่ของภูมิภาคยุโรป และเป็น ผู้ผลิตอันดับหนึ่งในประเทศฝรั่งเศส

• ปี 2549 ก่อตั้งบริษัท ไทร-ยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จำากัด (ชิกเก้นออฟเดอะซี โฟรเซ่น ฟู้ดส์) เพื่อดำาเนิน ธุรกิจอาหารทะเลแช่แข็ง ในประเทศสหรัฐอเมริกา ต่อมา บริษัท ชิกเก้นออฟเดอะซี โฟรเซ่น ฟู้ดส์ ได้ถูกควบรวม กับบริษัท เอ็มเพรส อินเตอร์เนชั่นแนล

• ปี 2557 การเข้าลงทุนในบริษัท คิง ออสการ์ เอเอส ของประเทศนอร์เวย์ ซึง่ เป็นแบรนด์ปลาซาร์ดนี กระป๋อง ระดับพรีเมียมอันดับหนึ่งในประเทศนอร์เวย์ ประเทศ สหรัฐอเมริกา และประเทศออสเตรเลีย ที่มีอายุกว่า 140 ปี

• ปี 2549 การได้มาซึ่งหุ้นส่วนใหญ่ในบริษัท พีที จุยฟา อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด จำากัด ซึ่งเป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออก ปลาทูน่ากระป๋อง ในประเทศอินโดนีเซีย

• ปี 2558 การซื้อกิจการบริษัท โอไรออน ซีฟู้ด อินเตอร์เรชั่นแนล ซึ่งเป็นผู้จัดหากุ้งล็อบสเตอร์ชั้นนำาระดับ โลกในประเทศสหรัฐอเมริกา ของบริษัท ชิกเก้นออฟเดอะ ซีโฟรเซ่น ฟู้ดส์ เสร็จสิ้นอย่างสมบูรณ์

• ปี 2551 การได้มาซึ่งหุ้นส่วนใหญ่ในบริษัท ยู่เฉียง แคนฟู้ด จำากัด ซึ่งเป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออกปลาทูน่ากระป๋อง ในประเทศเวียตนาม • ปี 2552 การเข้าลงทุนในบริษัท อะแวนติ ฟีดส์ จำากัด ซึ่งเป็นผู้ผลิตอาหารกุ้งและกุ้งแช่แข็งในประเทศอินเดีย • ปี 2553 บริษัทขยายการลงทุนไปยังภูมิภาคยุโรป ด้วย การเข้าซื้อกิจการของบริษัท เอ็มดับบลิว แบรนด์ส เอส เอเอส (ปัจจุบันคือ บริษัท ไทยยูเนี่ยน ยุโรป) ซึ่งเป็นผู้ ผลิตและผู้จัดจำาหน่ายปลาทูน่ากระป๋องและอาหารทะเลอื่นๆ ภายใต้แบรนด์ชั้นนำาของยุโรป เช่น John West, Petit Navire, Parmentier และ Mareblu

• ปี 2558 การเข้าร่วมทุนกับบริษัท ซาโวลา ฟู้ดส์ คอมพานี ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคที่ใหญ่ ที่สุดในตะวันออกกลาง


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

026

ความก้าวหน้าในปีพ.ศ. 2559 การควบรวมกิจการ • บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป เสร็จสิ้นการเข้าซื้อซึ่งหุ้นส่วน ใหญ่ในบริษัท รูเก้น ฟิช จำากัด อย่างสมบูรณ์ การทำางาน ร่วมกัน จะช่วยให้กลุ่มไทยยูเนี่ยนเข้าสู่ตลาดประเทศ เยอรมนี ซึ่งเป็นหนึ่งในตลาดที่ใหญ่ที่สุด เพื่อสร้างการ เติบโตของไทยยูเนี่ยนในภูมิภาคยุโรป • บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป ทำาข้อตกลงร่วมทุนเพื่อเข้าซื้อหุ้น 40 เปอร์เซนต์ ของบริษัท อะแวนติ โฟรเซ่น ฟู้ดส์ ไพรเวท ลิมิเต็ด อินเดีย ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ผลิตกุ้ง โดยบริษัท อะแวนติ ฟีดส์ จำากัด เป็นเจ้าของ การลงทุนนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อช่วยกระจายความหลากหลายของแหล่ง จัดหาวัตถุดิบกุ้งของกลุ่มบริษัทและความเสี่ยงจากการ ดำาเนินงาน รวมถึงการเพิ่มจำานวนผลผลิตเพื่อตอบสนอง ความต้องการที่เพิ่มขึ้นสำาหรับผลิตภัณฑ์ของบริษัท

• บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป เข้าซื้อหุ้นส่วนใหญ่ใน บริษัท เล เพ็ชเชอะรี เดอ เชซ์ นูส์ (เชซ์ นูส์) ผู้ผลิตกุ้งล็อบสเตอร์ ประเทศแคนาดา ซึ่งมีสถิติยอดขายประมาณ 50 ล้าน เหรียญแคนาดาในปี 2558 เชซ์ นูส์ อยู่ในเมืองนิวบรันสวิก ประเทศแคนาดา มีความสัมพันธ์โดยตรงกับชาวประมงทั้ง ในประเทศแคนาดาและมลรัฐเมน ทางตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศสหรัฐอเมริกา และมีโรงงานแปรรูปตั้งอยู่ในยุทธ์ ศาสตร์ที่ดีบนอ่าวเซนต์ลอว์เรนซ์ และกำาลังลงทุนในสถานที่ จัดเก็บกุ้งล็อบสเตอร์แบบมีชีวิตอีกด้วย • การประกาศ การเข้าลงทุนทางกลยุทธ์มูลค่า 575 ล้าน เหรียญสหรัฐ ในบริษัท เรด ล็อบสเตอร์ ซีฟู้ด ซึ่งเป็นบริษัท ผู้ดำาเนินกิจการร้านอาหารทะเลที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทั้งนี้ บริษัท โกลเดน เกท แคปิตอล ยังคงเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่และ ยังคงควบคุมการดำาเนินงานของบริษัทเรด ล็อบสเตอร์ ซึ่งบริษัทไทยยูเนี่ยนได้ทำางานอย่างใกล้ชิดมากกว่า 2 ทศวรรษ การลงทุนจะช่วยสร้างช่องทางในเข้าถึงผู้บริโภค โดยตรงของบริษัทไทยยูเนี่ยน


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

027

ความพยายามด้านความยั่งยืน • การได้รับคัดเลือกติดดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์ หรือ DJSI ในกลุ่มตลาดเกิดใหม่ เป็นปีที่สามติดต่อกัน กลยุทธ์ด้านความยั่งยืนของไทยยูเนี่ยน ที่เรียกว่า SeaChange® ประสบความสำาเร็จในการทำาคะแนนทาง ด้าน Materiality โดยอยู่ในลำาดับเปอร์เซ็นไทล์ที่ 100 ดี ที่สุดในระดับของอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ความพยายาม ในเรื่องจรรยาบรรณธุรกิจ และความพยายามทางด้านสิทธิ มนุษยชนและแรงงานอย่างทุ่มเทกับการปรับปรุงส่งผลให้ อยู่ในลำาดับเปอร์เซ็นไทล์ที่ 96 และ 91 ตามลำาดับ การเพิ่มขึ้นของคะแนนของบริษัทไทยยูเนี่ยนแสดงให้เห็นว่า ถึงความพยายามและการมีวินัยในการนำาแนวปฏิบัติด้าน ความยั่งยืนไปประยุกต์ใช้ รวมถึงการมีความรับผิดชอบ ต่อธุรกิจและห่วงโซ่อุปทานเพื่อให้บรรลุผลสำาเร็จ บริษัท ประกาศยกเลิกค่าธรรมเนียมในการสรรหาแรงงานเข้า ทำางานสำาหรับแรงงานทั้งหมดในส่วนโรงงานและโรงงาน แปรรูป ประกอบด้วย แรงงาน ทั้งจากในประเทศไทยและ จากต่างประเทศ แรงงานของไทยยูเนี่ยนประกอบด้วย แรงงานหลักจากประเทศไทย ประเทศเมียนม่าร์ และ ประเทศกัมพูชา ซึ่งมีทั้งที่สมัครเข้ามาทำางานด้วยตนเอง หรือโดยตรงผ่านช่องทางบริษัทนายหน้าที่ขึ้นทะเบียนอย่าง ถูกต้องในประเทศประเทศกัมพูชา และประเทศเมียนม่าร์ การขับเคลื่อนดังกล่าวเป็นไปตามการพัฒนาที่ต่อเนื่องของ ไทยยูเนี่ยนตามนโยบายการสรรหาแรงงานข้ามชาติตาม หลักจริยธรรม

• บริษัทไทยยูเนี่ยนได้รับการเสนอชื่อสำาหรับรางวัล Stop Slavery Award ของมูลนิธิ ธอมป์สัน รอยเตอร์ส (Thomson Reuters Foundation) สะท้อนถึงการที่ บริษัทให้ความสำาคัญกับการจัดการสภาพแวดล้อมการ ทำางานที่ปลอดภัย การจ้างงานที่ถูกต้องตามกฎหมาย และมีเสรีภาพในการเลือกงาน รวมทั้งไม่ทำาธุรกิจร่วมกับ ผู้ประกอบการที่มีการกดขี่แรงงานในห่วงโซ่อุปทาน นอกจาก โครงการสำาคัญสำาหรับพนักงานไทยยูเนี่ยนแล้ว ที่ไทยยูเนี่ยนกำาลังทำางานร่วมกับหลากหลายองค์กรเพื่อ ให้แน่ใจว่าการดำาเนินงานเหล่านั้นในอุตสาหกรรมล้วนได้รับ การปกป้องด้วยกัน • การประกาศกลยุทธ์ทีท้าทายเพื่อให้แน่ใจว่า 100 เปอร์เซ็นต์ของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่าที่เป็นแบรนด์ของบริษัท มาจากการจัดหาด้วยวิธีการเพื่อความยั่งยืน ด้วยความมุ่ง มั่นที่จะบรรลุผลให้ได้อย่างน้อย 75 เปอร์เซ็นต์ในปี 2563 ส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ใหม่ด้านปลาทูน่านี้ ไทยยูเนี่ยน กำาลัง ลงทุนเป็นจำานวนเงิน 90 ล้านเหรียญสหรัฐ ในช่วงเริ่ม ต้น เพื่อเพิ่มปริมาณปลาทูน่าอย่างยั่งยืนในระบบอุปทาน ซึ่งรวมถึงการตั้งโครงการพัฒนาการประมง (Fishery Improvement Projects: FIPs) 11 โครงการทั่วโลก


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

028

โครงสร้างองค์กร คณะกรรมการบร�ษทั

คณะกรรมการตรวจสอบ

ประธานกรรมการ

คณะอนุกรรมการ สรรหาและพิจารณาค าตอบแทน

ประธานคณะกรรมการบร�หาร

คณะอนุกรรมการ บร�หารความเสีย่ ง

ประธานกรรมการบร�หาร และประธานเจ าหน าทีบ่ ร�หาร

เลขานุการบร�ษทั

ทีมบร�หาร กลุม ธุรกิจปลาทูนา

ทีมบร�หาร กลุม ธุรกิจกุง

ทีมบร�หาร กลุม ธุรกิจอาหารแปรรูป (ambient) ในทว�ปอเมร�กา

ทีมบร�หาร กลุม ธุรกิจอาหารแช เยือกแข�ง และแช เย็นในทว�ปอเมร�กา

ทีมบร�หาร กลุม ธุรกิจในทว�ปยุโรป

ทีมบร�หาร กลุม การเง�น

ทีมบร�หาร กลุม ตลาดเกิดใหม

ทีมบร�หาร กลุม ทรัพยากรบุคคล

ทีมบร�หาร ด านกลยุทธ องค กร

การเง�นและการบัญช�

บร�หารความเสีย่ ง

ตรวจสอบภายใน

กลยุทธ องค กร

ว�จยั และนวัตกรรม (Gii)

การพัฒนาทีย่ ง�ั ยืน

นักลงทุนสัมพันธ

ความปลอดภัย อาช�วอนามัย และสิง� แวดล อม

ทรัพยากรบุคคล

เทคโนโลยีสารสนเทศ

สีอ่ สารองค กร

กฏหมาย

กลุม ผลิตภัณฑ หลัก แบรนด - การรับจ างผลิตสินค าให กบั แบรนด ตา งๆ - งานบร�การด านอาหาร Ambient Seafood กลุม ผลิตภัณฑ อาหารทะเลแปรรูป (ambient)

Frozen & Chilled กลุม ผลิ&ตภัRelated ณฑ อาหารทะเล Seafood แช เยือกแข�ง แช เย็Product น และอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข อง

Pet Care & Value Added กลุม ผลิตภัณฑ อาหารสัตว เลีย้ ง และผลิตภัณฑ เพิม� มูลค า

ปลาทูนา ปลาซาร ดนี และแมคเคอเรล ปลาแซลมอน ผลิตภัณฑ อน่ื ๆ

กุง ล็อบเตอร ปลาแซลมอน ผลิตภัณฑ อน่ื ๆ

อาหารสัตว เลีย้ ง ผลิตภัณฑ เพิม� มูลค า ผลิตภัณฑ พร อมรับประทาน ผลิตภัณฑ ประเภท Marine Ingredient ผลิตภัณฑ อน่ื ๆ


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

029

คณะกรรมการบริษทั การศึกษา • ปริญญ�ปรัชญ�ดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ส�ข�วิช�บริห�รธุรกิจ มห�วิทย�ลัยแม่ฟ้�หลวง • ปริญญ�วิทย�ศ�สตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ประเภททั่วไป) ส�ข�วิช� วิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยีก�รอ�ห�ร มห�วิทย�ลัยหอก�รค้�ไทย

วันเดือนปีที่เริ่มเป็นกรรมการ 17 มีน�คม 2531

จำานวนปีที่เป็นกรรมการ TU 29 ปี

จำานวนหุ้นที่ถือ

นายไกรสร จันศิริ ตำาแหน่ง: ประธ�นกรรมก�ร สัญชาติ: ไทย อายุ: 82 ปี

231,134,720 หุ้น* คิดเป็นร้อยละ 4.84 ของทุนชำ�ระแล้ว • กรรมก�ร 174,804,288 หุ้น • คู่สมรส 56,330,432 หุ้น • บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภ�วะ ไม่มี หุ้น

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน ไม่มี

ตำาแหน่งงานอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • 2554 - ปัจจุบัน • 2543 - ปัจจุบัน • 2516 - ปัจจุบัน • 2520 - ปัจจุบัน • 2524 - ปัจจุบัน • 2538 - ปัจจุบัน • 2539 - ปัจจุบัน • 2540 - ปัจจุบัน • 2543 - ปัจจุบัน • 2539 - ปัจจุบัน • 2536 - ปัจจุบัน • 2531 - ปัจจุบัน • 2531 - ปัจจุบัน • 2557 - ปัจจุบัน

ประธ�นกรรมก�ร บริษัทหลักทรัพย์จัดก�รกองทุน เมอร์ชั่น พ�ร์ทเนอร์ จำ�กัด ประธ�นกรรมก�ร บริษัทหลักทรัพย์ เมอร์ชั่น พ�ร์ทเนอร์ จำ�กัด (มห�ชน) ประธ�นกรรมก�ร บริษัท ไทยรวมสินพัฒน�อุตส�หกรรม จำ�กัด ประธ�นกรรมก�ร บริษัท รวมไทยอ�ห�รทะเล จำ�กัด กรรมก�รบริห�ร บริษัท สงขล�แคนนิ่ง จำ�กัด (มห�ชน) กรรมก�รบริห�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน กร�ฟฟิกส์ จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน นอร์ท อเมริก� จำ�กัด (USA) กรรมก�ร บริษัท ไทร-ยูเนี่ยน ซีฟู้ดส์ จำ�กัด (USA) กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ซีฟู้ด จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไวยไทย จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ปร็อปเปอร์ตี้ส์ จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท จันศิริเรียลเอสเตท จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ไฮเทค เพิร์ล คัลทิเวชั่น จำ�กัด

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่อาจทำาให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัท ไม่มี

หลักสูตรการฝึกอบรมหรือสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นกรรมการบริษัท • The Role of Chairman Program (RCP) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 15/2550 • หลักสูตร ผู้บริห�รระดับสูง สถ�บันวิทย�ก�รตล�ดทุน รุ่นที่ 12 (มีน�คม – กรกฏ�คม 2554)


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

030

การศึกษา • The second Middle School of Shantou, People’s Republic of China

วันเดือนปีที่เริ่มเป็นกรรมการ 8 เมษ�ยน 2542

จำานวนปีที่เป็นกรรมการ TU 18 ปี

จำานวนหุ้นที่ถือ

นายเชง นิรตุ ตินานนท์ ตำาแหน่ง: ประธ�นคณะกรรมก�รบริห�ร สัญชาติ: ไทย อายุ: 75 ปี

265,762,276 หุ้น* คิดเป็นร้อยละ 5.57 ของทุนชำ�ระแล้ว • กรรมก�ร 201,552,644 หุ้น • คู่สมรส 64,209,632 หุ้น • บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภ�วะ ไม่มี หุ้น

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน ไม่มี

ตำาแหน่งงานอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • 2530 - ปัจจุบัน • 2530 - ปัจจุบัน • 2533 - ปัจจุบัน • 2535 - ปัจจุบัน • 2516 - ปัจจุบัน • 2536 - ปัจจุบัน • 2540 - ปัจจุบัน • 2540 - ปัจจุบัน • 2542 - ปัจจุบัน • 2543 - ปัจจุบัน • 2550 - ปัจจุบัน • 2551 - ปัจจุบัน • 2553 - ปัจจุบัน • 2553 - ปัจจุบัน • 2553 - ปัจจุบัน • 2556 - ปัจจุบัน • 2557 - ปัจจุบัน

ประธ�นกรรมก�ร บริษัท เอเซียนแปซิฟิคแคน จำ�กัด ประธ�นกรรมก�ร บริษัท ที.ซี. ยูเนียน อโกรเทค จำ�กัด ประธ�นกรรมก�ร บริษัท ลัคกี้ ยูเนี่ยน ฟู้ดส์ จำ�กัด ประธ�นกรรมก�ร บริษัท จะนะอุตส�หกรรม จำ�กัด กรรมก�รบริห�รและกรรมก�รผู้จัดก�ร บริษัท ไทยรวมสินพัฒน�อุตส�หกรรม จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไวยไทย จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท นิวเซนจูรี่ พริ้นติ้ง แอนด์ แพคเกจจิ้ง จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทร-ยูเนี่ยน ซีฟู้ดส์ จำ�กัด (USA) กรรมก�ร บริษัท ลัคกี้ ซูริมิ โปรดักส์ จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ยู่เฉียงแคนฟู้ด จำ�กัด (VIETNAM) กรรมก�ร บริษัท ไทยพัฒน�สแตนเลสสตีล จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ยูเอสเพ็ท นูทรีชั่น จำ�กัด (USA) กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ยุโรป (FRANCE) กรรมก�ร บริษัท ไทร-ยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จำ�กัด (USA) กรรมก�ร บริษัท ฟิล-ยูเนี่ยน โฟรเซ่น ฟู้ดส์ จำ�กัด (PHILIPPINES) กรรมก�ร บริษัท คิง ออสก�ร์ เอเอส จำ�กัด (NORWAY)

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่อาจทำาให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัท ไม่มี

หลักสูตรการฝึกอบรมหรือสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นกรรมการบริษัท ไม่มี


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

031

การศึกษา • ปริญญ�ตรี South China Normal University, People’s Republic of China

วันเดือนปีที่เริ่มเป็นกรรมการ 17 มีน�คม 2531

จำานวนปีที่เป็นกรรมการ TU 29 ปี

จำานวนหุ้นที่ถือ

นายชวน ตัง้ จันสิร ิ ตำ�แหน่ง : กรรมก�รบริห�ร สัญช�ติ: ไทย อ�ยุ: 72 ปี

38,668,000 หุ้น* คิดเป็นร้อยละ 0.81 ของทุนชำ�ระแล้ว • กรรมก�ร 38,668,000 หุ้น • คู่สมรส ไม่มี หุ้น • บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภ�วะ ไม่มี หุ้น

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน ไม่มี

ตำาแหน่งงานอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • 2516 - ปัจจุบัน • 2524 - ปัจจุบัน • 2530 - ปัจจุบัน • 2539 - ปัจจุบัน • 2543 - ปัจจุบัน • 2538 - ปัจจุบัน • 2553 - ปัจจุบัน • 2531 - ปัจจุบัน • 2531 - ปัจจุบัน • 2536 - ปัจจุบัน • 2551 - ปัจจุบัน

กรรมก�รบริห�ร บริษัท ไทยรวมสินพัฒน�อุตส�หกรรม จำ�กัด กรรมก�รบริห�ร บริษัท สงขล�แคนนิ่ง จำ�กัด (มห�ชน) กรรมก�รบริห�ร บริษัท เอเชียนแปซิฟิคแคน จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ซีฟู้ด จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน กร�ฟฟิกส์ จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน อินเวสเม้นท์ โฮลดิ้ง (FRANCE) กรรมก�ร บริษัท จันศิริเรียลเอสเตท จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยนปร็อปเปอร์ตี้ จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไวยไทย จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทยพัฒน�สแตนเลสสตีล จำ�กัด

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่อาจทำาให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัท ไม่มี

หลักสูตรการฝึกอบรมหรือสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นกรรมการบริษัท • Director Accreditation Program (DAP) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 86/2553


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

032

การศึกษา • ปริญญ�โท มห�วิทย�ลัยซ�นฟร�นซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริก� • ปริญญ�ตรี มห�วิทย�ลัยอัสสัมชัญ

วันเดือนปีที่เริ่มเป็นกรรมการ 1 มกร�คม 2533

จำานวนปีที่เป็นกรรมการ TU 27 ปี

จำานวนหุ้นที่ถือ

นายธีรพงศ์ จันศิริ ตำาแหน่ง: ประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร สัญชาติ: ไทย อายุ: 52 ปี

493,855,472 หุ้น* คิดเป็นร้อยละ 10.35 ของทุนชำ�ระแล้ว • กรรมก�ร 384,526,424 หุ้น • คู่สมรส 109,329,048 หุ้น • บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภ�วะ ไม่มี หุ้น

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน • 2557 - ปัจจุบัน กรรมก�ร บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด (มห�ชน)

ตำาแหน่งงานอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • 2539 - ปัจจุบัน • 2536 - ปัจจุบัน • 2538 - ปัจจุบัน • 2539 - ปัจจุบัน • 2553 - ปัจจุบัน • 2553 - ปัจจุบัน • 2532 - ปัจจุบัน • 2542 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2531 - ปัจจุบัน • 2531 - ปัจจุบัน • 2536 - ปัจจุบัน • 2536 - ปัจจุบัน • 2536 - ปัจจุบัน • 2540 - ปัจจุบัน • 2543 - ปัจจุบัน • 2543 - ปัจจุบัน • 2552 - ปัจจุบัน • 2553 - ปัจจุบัน • 2553 - ปัจจุบัน • 2553 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2557 - ปัจจุบัน • 2559 - ปัจจุบัน

ประธ�นกรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ซีฟู้ด จำ�กัด ประธ�นกรรมก�รบริห�ร บริษัท ธีร์ โฮลดิ้ง จำ�กัด ประธ�นกรรมก�รบริห�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน กร�ฟฟิกส์ จำ�กัด ประธ�นกรรมก�รบริห�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน นอร์ท อเมริก� จำ�กัด (USA) ประธ�นกรรมก�รบริห�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ยุโรป (FRANCE) ประธ�นกรรมก�รบริห�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟร�นซ์ โฮลดิ้ง 2 เอสเอเอส (FRANCE) กรรมก�รบริห�ร บริษัท ไทยรวมสินพัฒน�อุตส�หกรรม จำ�กัด กรรมก�รบริห�ร บริษัท สงขล�แคนนิ่ง จำ�กัด (มห�ชน) กรรมก�รบริห�ร บริษัท แพ็คฟู้ด จำ�กัด (มห�ชน) กรรมก�รบริห�ร บริษัท โอคินอส จำ�กัด กรรมก�รบริห�ร บริษัท โอคินอสฟู้ด จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท จันศิริเรียลเอสเตท จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ปร็อปเปอร์ตี้ส์ จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท เอเซียนแปซิฟิคแคน จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ลัคกี้ ยูเนี่ยน ฟู้ดส์ จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไวยไทย จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทร-ยูเนี่ยน ซีฟู้ดส์ จำ�กัด (USA) กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท บีส ไดเมนชั่น จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ทีเอ็น ฟ�ยน์ เคมีคอลส์ จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทร-ยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จำ�กัด (USA) กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน อินเวสเม้นท์ โฮลดิ้ง จำ�กัด (FRANCE) กรรมก�ร บริษัท ยูเอส เพ็ท นูทรีชั่น จำ�กัด (USA) กรรมก�ร บริษัท เจ้�พระย�ห้องเย็น จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ทักษิณสมุทร จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ไฮเทค เพิร์ล คัลทิเวชั่น จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท เรดล็อบสเตอร์ม�สเตอร์ โฮลดิ้งส์ แอลพี จำ�กัด (Red Lobster) (USA)

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่อาจทำาให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัท ไม่มี

หลักสูตรการฝึกอบรมหรือสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นกรรมการบริษัท • Director Certification Program (DCP) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 10/2544


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

033

การศึกษา • ปริญญ�ตรี มห�วิทย�ลัยกรุงเทพ

วันเดือนปีที่เริ่มเป็นกรรมการ 5 มกร�คม 2541

จำานวนปีที่เป็นกรรมการ TU 19 ปี

จำานวนหุ้นที่ถือ

นายฤทธิรงค์ บุญมีโชติ ตำาแหน่ง: ประธ�นกรรมก�รบริห�ร กลุ่มธุรกิจอ�ห�รแช่แข็งและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง (มีน�คม 2560) สัญชาต: ไทย อายุ: 55 ปี

63,442,980 หุ้น* คิดเป็นร้อยละ 1.33 ของทุนชำ�ระแล้ว • กรรมก�ร 63,442,980 หุ้น • คู่สมรส ไม่มี หุ้น • บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภ�วะ ไม่มี หุ้น

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน ไม่มี

ตำาแหน่งงานอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • 2539 • 2543 • 2555 • 2555 • 2555 • 2555 • 2540 • 2555 • 2555 • 2559

- ปัจจุบัน - ปัจจุบัน - ปัจจุบัน - ปัจจุบัน - ปัจจุบัน - ปัจจุบัน - ปัจจุบัน - ปัจจุบัน - ปัจจุบัน - ปัจจุบัน

ประธ�นกรรมก�รบริห�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ซีฟู้ด จำ�กัด ประธ�นกรรมก�รบริห�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำ�กัด ประธ�นกรรมก�รบริห�ร บริษัท ทีเอ็มเอซี จำ�กัด กรรมก�รบริห�ร บริษัท แพ็คฟู้ด จำ�กัด (มห�ชน) กรรมก�รบริห�ร บริษัท โอคินอส จำ�กัด กรรมก�รบริห�ร บริษัท โอคินอสฟู้ด จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ไทร-ยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท เจ้�พระย�ห้องเย็น จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท ทักษิณสมุทร จำ�กัด กรรมก�ร บริษัท เรดล็อบสเตอร์ม�สเตอร์โฮลดิ้งส์ แอลพี จำ�กัด (Red Lobster) (USA)

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่อาจทำาให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัท ไม่มี

หลักสูตรการฝึกอบรมหรือสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นกรรมการบริษัท • TLCA Executive Development Program สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 2 ปี 2552 • Director Accreditation Program (DAP) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 84/2553


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

034

การศึกษา • ปริญญ�ตรี เศรษฐศ�สตร์ มห�วิทย�ลัยวะเซะดะ ประเทศญี่ปุ่น

วันเดือนปีที่เริ่มเป็นกรรมการ 7 พฤศจิก�ยน 2559

จำานวนปีที่เป็นกรรมการ TU 2 เดือน (ณ 31 ธันว�คม 2559)

จำานวนหุ้นที่ถือ ไม่มี หุ้น* คิดเป็นร้อยละ – ของทุนชำ�ระแล้ว • กรรมก�ร ไม่มี หุ้น • คู่สมรส ไม่มี หุ้น • บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภ�วะ ไม่มี หุ้น

นายคิโยทากะ คิคชู ิ

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

ตำาแหน่ง: กรรมก�ร สัญชาติ: ญี่ปุ่น อายุ: 50 ปี

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

ไม่มี

• 2550 - ปัจจุบัน ประธ�นเจ้�หน้�ที่ฝ่�ยปฏิบัติก�ร (Chief Operating Officer) กลุ่มบริษัท (สินค้�อุปโภคบริโภค) บริษัท มิตซูบิชิ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่อาจทำาให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัท ไม่มี

หลักสูตรการฝึกอบรมหรือสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นกรรมการบริษัท ไม่มี

การศึกษา

• ปริญญ�โท บริห�รธุรกิจ มห�วิทย�ลัยกรุงเทพ • ปริญญ�ตรี ก�รเงิน มห�วิทย�ลัยโอเรกอน ประเทศสหรัฐอเมริก�

วันเดือนปีที่เริ่มเป็นกรรมการ 30 เมษ�ยน 2544

จำานวนปีที่เป็นกรรมการ TUF 16 ปี

จำานวนหุ้นที่ถือ

นายชู ชง ชาน ตำาแหน่ง: กรรมก�รบริห�ร สัญชาติ: จีน อายุ: 42 ปี

12,295,272 หุ้น* คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของทุนชำ�ระแล้ว • กรรมก�ร 12,295,272 หุ้น • คู่สมรส ไม่มี หุ้น • บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภ�วะ ไม่มี หุ้น

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน ไม่มี

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• 2545 - ปัจจุบัน กรรมก�รบริห�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำ�กัด • 2557 - ปัจจุบัน กรรมก�รบริห�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน กร�ฟฟิกส์ จำ�กัด

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่อาจทำาให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัท ไม่มี

หลักสูตรการฝึกอบรมหรือสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นกรรมการบริษัท • Director Certification Program (DCP) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 10/2545 • TLCA Executive Development Program สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 1 ปี 2552


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

035

การศึกษา • ปริญญ�ตรี มห�วิทย�ลัยนิวเซ้�ท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย

วันเดือนปีที่เริ่มเป็นกรรมการ 15 พฤศจิก�ยน 2553

จำานวนปีที่เป็นกรรมการ TU 6 ปี

จำานวนหุ้นที่ถือ

นายราวินเดอร์ สิงห์ เกรวาล ซาบจิตต์ เอส ตำาแหน่ง: กรรมก�ร สัญชาติ: ม�เลเซีย อายุ: 48 ปี

ไม่มี หุ้น* คิดเป็นร้อยละ – ของทุนชำ�ระแล้ว • กรรมก�ร ไม่มี หุ้น • คู่สมรส ไม่มี หุ้น • บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภ�วะ ไม่มี หุ้น

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน ไม่มี

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • 2557 - ปัจจุบัน • 2557 - ปัจจุบัน • 2557 - ปัจจุบัน • 2557 - ปัจจุบัน • 2553 - ปัจจุบัน

กรรมก�ร Alpha Energy Holdings Limited (SINGAPORE) กรรมก�ร Scomi Energy Services Bhd (MALAYSIA) กรรมก�ร JK E&P Group Pte. Ltd. (SINGAPORE) กรรมก�ร Conquest Energy Pte. Ltd. (SINGAPORE) กรรมก�ร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ยุโรป จำ�กัด (FRANCE)

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่อาจทำาให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัท ไม่มี

ประวัติการทำางาน • 2554 - 2557 • 2553 - 2554 • 2553 - 2556 • 2552 - 2557 • 2550 - 2556 • 2550 - 2556 • 2550 - 2550 • 2548 - 2554

Director, Wellard Group Holdings Pty Ltd. (AUSTRALIA) Alt Director, Straits Metals Limited (AUSTRALIA) Alt Director, Otto Marine Limited (SINGAPORE) Alt Director, Straits Resources Limited (AUSTRALIA) Director, Scomi Oilfield Limited (BERMUDA) Director, Shangri-La Hotels (Malaysia) Berhad (MALAYSIA) Alt Director, Scomi Oilfields Ltd. (BVI) Director, Sei Woo Technologies Ltd. (SINGAPORE)

หลักสูตรการฝึกอบรมหรือสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นกรรมการบริษัท • วุฒิบัตรผู้สอบบัญชีรับอนุญ�ต (Certified Public Accounts, Australian Society)


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

036

การศึกษา

• ปริญญ�ตรี (บัญชีบัณฑิต) มห�วิทย�ลัยธรรมศ�สตร์ • ปริญญ�ตรี (พ�ณิชยศ�สตร์บัณฑิต) มห�วิทย�ลัยธรรมศ�สตร์ • ปริญญ�ตรี (นิติศ�สตร์บัณฑิต) มห�วิทย�ลัยธรรมศ�สตร์

วันเดือนปีที่เริ่มเป็นกรรมการ 22 สิงห�คม 2543

จำานวนปีที่เป็นกรรมการ TU 16 ปี

จำานวนหุ้นที่ถือ

นายศักดิ ์ เกีย่ วการค้า ตำาแหน่ง: กรรมก�รอิสระ สัญชาติ: ไทย อายุ: 82 ปี

ไม่มี หุ้น* คิดเป็นร้อยละ – ของทุนชำ�ระแล้ว • กรรมก�ร ไม่มี หุ้น • คู่สมรส ไม่มี หุ้น • บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภ�วะ ไม่มี หุ้น

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน • 2558 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษ�คณะกรรมก�รบริษัทและที่ปรึกษ�คณะ กรรมก�รตรวจสอบ บริษัท ดุสิตธ�นี จำ�กัด (มห�ชน)

ตำาแหน่งงานอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • 2528 - ปัจจุบัน รองประธ�นกรรมก�ร มูลนิธิแพทย์อ�ส�สมเด็จพระศรีนครินทร�บรมร�ชชนนี

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่อาจทำาให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัท ไม่มี

ประวัติการทำางาน • 2501 - 2516 • 2516 - 2539 • 2541 - 2544 • 2541 - 2544 • 2541 - 2544 • 2543 - 2546 • 2543 - 2558

ผู้ตรวจก�รธน�ค�รพ�ณิชย์ ธน�ค�รแห่งประเทศไทย ผู้ช่วยผู้จัดก�รใหญ่อ�วุโส บริษัท ธน�ค�รไทยพ�ณิชย์ จำ�กัด (มห�ชน) กรรมก�รบริห�ร บริษัท ธน�ค�รศรีนคร จำ�กัด (มห�ชน) กรรมก�รบริห�ร บริษัท ศรีนครประกันชีวิต จำ�กัด ที่ปรึกษ�คณะกรรมก�รบริห�ร บริษัท ธน�ค�รศรีนคร จำ�กัด (มห�ชน) ประธ�นกรรมก�รตรวจสอบ บริษัท เงินทุนบุคคลัภย์ จำ�กัด (มห�ชน) กรรมก�รอิสระและกรรมก�รตรวจสอบ บริษัท ดุสิตธ�นี จำ�กัด (มห�ชน)

หลักสูตรการฝึกอบรมหรือสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นกรรมการบริษัท • ผู้สอบบัญชีรับอนุญ�ต เลขที่ 0156 ตั้งแต่ปี 2505 / สภ�วิช�ชีพบัญชี • ใบอนุญ�ตทน�ยคว�มตลอดชีพ ตั้งแต่ปี 2529 เลขที่ 2913401 / สภ�ทน�ยคว�ม • The Role of the Chairman Program (RCP) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 4/2544 • Director Certification Program (DCP) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 13/2544 • Director Certification Program (DCP) Refresher สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�ร บริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 2/2549 • Handling Conflicts of Interest สม�คมส่งเสริมสถ�บัน กรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 4/2551 • Role of the Compensation Committee (RCC) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�ร บริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 9/2552 • Executive Program / Stanford University & University of Singapore • Senior Executive Program / สถ�บันบัณฑิตบริห�รธุรกิจศศินทร์ จุฬ�ลงกรณ์มห�วิทย�ลัย • How to Develop a Risk Management Plan (HRP) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 2/2555 • Audit World – Conference 25-26 June 2012 Resort World Convention Centre, Singapore


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

037

• Audit World – Post Conference 27 June 2012 Resort World Convention Centre, Singapore • ก�รประเมินระบบก�รควบคุมภ�ยใน แบบ COSO – ERM สภ�วิช�ชีพบัญชีในพระบรมร�ชูปถัมภ์ • กรอบแนวท�งระบบก�รควบคุมภ�ยใน COSO 2013 ตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • Audit Committee Financial Expert 22 May 2014 สภ�วิช�ชีพบัญชีในพระบรมร�ชูปถัมภ์ • Corporate Governance in the Perspective of Investors – CG Forum 4 June 2014 ตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • Management for CEO’s and Senior Executive สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) • Director Certification Program Update (DCPU) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 1/2557 • Advance Audit Committee Program (AACP) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 20/2558 • Thailand IFRS Conference 2016 สภ�วิช�ชีพบัญชีในพระบรมร�ชูปถัมภ์ • Driving Company Success with IT Governance (ITG) IT for Non-IT Director สม�คมส่งเสริมสถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) • National Director Conference 2016: Enhancing Growth Through Governance in Family Controlled Business สม�คมส่งเสริมสถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) • Audit Committee Forum “New Auditor’s Report : What’s in it for you?” สม�คมส่งเสริมสถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) • เตรียมคว�มพร้อมในก�รจัดทำ�งบกระแสเงินสด กรมพัฒน�ธุรกิจก�รค้� กระทรวงพ�ณิชย์ • A discussion on corporation’s preparedness for the cybersecurity threats in the digital transformation Era สม�คมส่งเสริมสถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD)


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

038

การศึกษา • ปริญญ�เอก ก�รจัดก�รระหว่�งประเทศ มห�วิทย�ลัยวอลเดน ประเทศสหรัฐอเมริก� • ปริญญ�โท บริห�รธุรกิจ มห�วิทย�ลัยซ�ร�โซต้� ประเทศสหรัฐอเมริก� • ปริญญ�ตรี บัญชีและก�รจัดก�ร วิทย�ลัยแอคเคิร์ส ประเทศสหรัฐอเมริก�

วันเดือนปีที่เริ่มเป็นกรรมการ 22 มีน�คม 2553

จำานวนปีที่เป็นกรรมการ TU 7 ปี

จำานวนหุ้นที่ถือ

ดร. ธรรมนูญ อานันโทไทย

ไม่มี หุ้น* คิดเป็นร้อยละ – ของทุนชำ�ระแล้ว • กรรมก�ร ไม่มี หุ้น • คู่สมรส ไม่มี หุ้น • บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภ�วะ ไม่มี หุ้น

ตำาแหน่ง: กรรมก�รอิสระ สัญชาติ: ไทย อายุ: 60 ปี

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน 2550 - ปัจจุบัน รองประธ�นและประธ�นกรรมก�รตรวจสอบ บมจ. ไอเอฟเอส แคปปิตอล (ประเทศไทย) 2550 - ปัจจุบัน รองประธ�นและประธ�นกรรมก�รตรวจสอบ บริษทั เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จำ�กัด (มห�ชน)

ตำาแหน่งงานอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • 2547 - ปัจจุบัน กรรมก�รบริห�ร บริษัทหลักทรัพย์ เมอร์ชั่น พ�ร์ทเนอร์ จำ�กัด (มห�ชน) • 2557 - ปัจจุบัน กรรมก�รบริห�ร บริษัทหลักทรัพย์จัดก�รกองทุน เมอร์ชั่น พ�ร์ทเนอร์ จำ�กัด • 2558 - ปัจจุบัน กรรมก�ร มูลนิธแิ พทย์อ�ส�สมเด็จพระศรีนครินทร�บรมร�ชชนนี

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่อาจทำาให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัท ไม่มี

ประวัติการทำางาน • 2533 - 2538 ผู้แทนสำ�นักง�นโนมูระ (บริษัทหลักทรัพย์จ�กประเทศญี่ปุ่น) ประจำ�ประเทศไทย • 2537 - 2540 รองประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร (ด้�นธุรกิจหลักทรัพย์) บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ศรีมิตร จำ�กัด (มห�ชน) • 2540 - 2545 ผู้พิพ�กษ�สมทบในศ�ลทรัพย์สินท�งปัญญ� และก�รค้�ระหว่�งประเทศกล�ง (รุ่นที่ 1) • 2541 - 2545 กรรมก�รผู้จัดก�รและประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร บริษัทหลักทรัพย์ ดีบีเอส ไทยทนุ จำ�กัด / ธุรกิจหลักทรัพย์ (ของรัฐบ�ลสิงคโปร์) • 2548 - 2558 กรรมก�รตรวจสอบ/ประธ�นคณะกรรมก�รสรรห�/กรรมก�ร พิจ�รณ�ค่�ตอบแทน บมจ. พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค • 2549 - 2557 ประธ�นกรรมก�รตรวจสอบ บริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำ�กัด (มห�ชน) • 2550 - 2557 ประธ�นกรรมก�ร บริษัท วินเทจ วิศวกรรม จำ�กัด (มห�ชน) • 2551 - 2557 กรรมก�ร/กรรมก�รตรวจสอบ มห�วิทย�ลัยกรุงเทพ • 2555 - 2556 กรรมก�รอิสระ บริษัท แพ็คฟู้ด จำ�กัด (มห�ชน)

หลักสูตรการฝึกอบรมหรือสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นกรรมการบริษัท • Audit Committee Program (ACP) สม�คมส่งเสริมสถ�บัน กรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 10/2547 • Director Accreditation Program (DAP) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 48/2548 • Director Certification Program (DCP) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 70/2549 • The Role of Chairman Program (RCP) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 14/2549 • Understanding the Fundamental of Financial Statement (UFS) สม�คมส่งเสริมสถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 7/2550 • A.C.A จ�ก American Accreditation Council for Accountancy ประเทศสหรัฐอเมริก�


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

039

การศึกษา • ปริญญ�โท วิศวกรรมเคมี มห�วิทย�ลัยเซ�ท์เทิร์น แคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริก� • ปริญญ�ตรี วิศวกรรมเคมี มห�วิทย�ลัยควีนส์ ประเทศแคน�ด�

วันเดือนปีที่เริ่มเป็นกรรมการ 22 มีน�คม 2553

จำานวนปีที่เป็นกรรมการ TU 7 ปี

จำานวนหุ้นที่ถือ

นายกีรติ อัสสกุล ตำาแหน่ง: กรรมก�รอิสระ สัญชาติ: ไทย อายุ: 59 ปี

53,248 หุ้น* คิดเป็นร้อยละ 0.00 ของทุนชำ�ระแล้ว • กรรมก�ร ไม่มี หุ้น • คู่สมรส 53,248 หุ้น • บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภ�วะ ไม่มี หุ้น

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน • 2536 - 2559 ประธ�นคณะกรรมก�ร บริษัท โอเชี่ยน กล�ส จำ�กัด (มห�ชน) • 2559 - ปัจจุบัน กรรมก�ร บริษัท โอเชียนกล�ส จำ�กัด (มห�ชน)

ตำาแหน่งงานอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • 2527 - ปัจจุบัน ประธ�นกรรมก�ร บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำ�กัด (มห�ชน)

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่อาจทำาให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัท ไม่มี

หลักสูตรการฝึกอบรมหรือสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นกรรมการบริษัท • Director Certification Program (DCP) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 27/2546 • Role of the Compensation Committee Program (RCC) สม�คมส่งเสริมสถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 5/2550


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

040

การศึกษา • ปริญญ�โท วิทย�ศ�สตร์ก�รจัดก�ร มห�วิทย�ลัยเซ�ท์เทิร์น แคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริก� • ปริญญ�โท ก�รจัดก�ร มห�วิทย�ลัยเซ�ท์เทิร์น แคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริก� • ปริญญ�ตรี วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬ�ลงกรณ์มห�วิทย�ลัย

วันเดือนปีที่เริ่มเป็นกรรมการ 3 เมษ�ยน 2558

จำานวนปีที่เป็นกรรมการ TU 2 ปี

จำานวนหุ้นที่ถือ

นายนาถ ลิว่ เจริญ ตำาแหน่ง: กรรมก�รอิสระ สัญชาติ: ไทย อายุ: 58 ปี

ไม่มี หุ้น* คิดเป็นร้อยละ - ของทุนชำ�ระแล้ว • กรรมก�ร ไม่มี หุ้น • คู่สมรส ไม่มี หุ้น • บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภ�วะ ไม่มี หุ้น

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน ไม่มี

ตำาแหน่งงานอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • 2535 - ปัจจุบัน กรรมก�รบริห�รและประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร CDG GROUP • 2543 - ปัจจุบัน กรรมก�รบริห�รและประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร G-ABLE GROUP

ตำาแหน่งในกิจการอื่นที่อาจทำาให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัท ไม่มี

ประวัติการทำางาน • 2528 - 2541 ผู้อำ�นวยก�รฝ่�ยก�รตล�ด บริษัท คอนโทรล ด�ต้� (ประเทศไทย) จำ�กัด

หลักสูตรการฝึกอบรมหรือสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นกรรมการบริษัท • หลักสูตรก�รป้องกันร�ชอ�ณ�จักรภ�ครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่น 2547 วิทย�ลัยป้องกันร�ชอ�ณ�จักร • หลักสูตรผู้บริห�รระดับสูง สถ�บันวิทย�ก�รตล�ดทุน (วตท. รุ่นที่ 12/2553) • Director Accreditation Program (DAP) สม�คมส่งเสริม สถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) ครั้งที่ 120/2558 • Audit Committee Forum “New Auditor’s Report : What’s in it for you?” สม�คมส่งเสริมสถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD)

หมายเหตุ: *การถือหุ้น TU และอัตราการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จากจำานวน หุ้นทั้งสิ้น 4,771,815,496 หุ้น และนับรวมหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

041

คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะอนุกรรมการ คณะกรรมก�รตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทประกอบด้วยกรรมการอิสระ ดังนี้

นายศักดิ ์ เกีย่ วการค้า

ประธานกรรมการตรวจสอบ

ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย กรรมก�รตรวจสอบ

นายนาถ ลิ่วเจริญ กรรมก�รตรวจสอบ

คณะอนุกรรมก�ร

คณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ดร.ธรรมนูญ อ�นันโทไทย น�ยศักดิ์ เกี่ยวก�รค้�

ประธ�นอนุกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทน อนุกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทน

คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง น�ยกีรติ อัสสกุล น�ยศักดิ์ เกี่ยวก�รค้� ดร.ธรรมนูญ อ�นันโทไทย น�ยธีรพงศ์ จันศิริ น�ยยอร์ก ไอร์เล น�ยช�น ชู ชง น�ยว�ย ยัท ป�โก้ ลี ดร.แดเรี่ยน แมคเบน ดร.สเวน แมสเซน

ประธ�นกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง กรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง กรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง กรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง กรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง กรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง กรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง กรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง กรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง


ANNUAL ANNUAL REPORT REPORT 2015 2016

THAI THAI UNION UNION GROUP GROUP PUBLIC PUBLIC COMPANY COMPANY LIMITED LIMITED

042 042

คณะผูบ้ ริหารกลุม่ ไทยยูเนีย่ น น�ยเชง นิรุตติน�นนท์

น�ยธีรพงศ์ จันศิริ

น�ยเชง นิรตุ ติน�นนท์

ประธานคณะกรรมการบริหาร

น�ยธีรพงศ์ จันศิริ

ประธานกรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

น�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ

ประธานกรรมการบริหารกลุ่มธุรกิจอาหารแช่แข็ง และธุรกิจที่เกี่ยวข้อง

น�ยยอร์ก ไอร์เล

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารด้านการเงินกลุ่มบริษัท

น�งอลิซ�เบธ ฟลูเรียต

ประธานกรรมการบริหารและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ยุโรป น�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ

น�ยชู ชง ช�น

กรรมการผู้จัดการกลุ่มทรัพยากรบุคคล

ดร. สเวน แมสเซน

ผู้อำานวยการกลุ่มพัฒนาธุรกิจเชิงกลยุทธ์

น�ยเฟซอล เชียคห์

กรรมการผู้จัดการบริหารกลุ่มตลาดเกิดใหม่

น�ยว�เลนติน ร�มิเรซ

ประธานกรรมการบริหารและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแปรรูปในทวีปอเมริกา

น�ยไบรอัน โรเซนเบิรก์

ประธานกรรมการบริหารและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจอาหารแช่แข็งในทวีปอเมริกา


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016 2015

043 043

น�ยยอร์ก ไอร์เล

น�ยชู ชง ช�น

น�งอลิซ�เบธ ฟลูเรียต

ดร. สเวน แมสเซน

น�ยว�เลนติน ร�มิเรซ

น�ยเฟซอล เชียคห์

น�ยไบรอัน โรเซนเบิร์ก


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

044

ทีมผูบ้ ริหาร ดร. ธัญญวัฒน์ เกษมสุวรรณ ผู้อำ�นวยก�รกลุ่มด้�นนวัตกรรม

นายคมกฤช ซอโฉม

ผู้อำ�นวยก�รกลุ่มคว�มปลอดภัย อ�ชีวอน�มัยและสิ่งแวดล้อม

ดร. แดเรี่ยน แมคเบน

ผู้อำ�นวยก�รกลุ่มก�รพัฒน�ที่ยั่งยืน

นายสก๊อต โซล่าร์

ผู้อำ�นวยก�รกลุ่มธุรกิจบริก�รด้�นอ�ห�ร

นางสาวสุภัทรา คูรัตน์

ผู้อำ�นวยก�รกลุ่มด้�นก�รตล�ดผลิตภัณฑ์นวัตกรรม


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

045

นายคอลิน ลู

ผู้อำ�นวยก�รกลุ่มเทคโนโลยีส�รสนเทศ

นายยงยุทธ เสฏฐวิวรรธน์

ผู้จัดก�รทั่วไปกลุ่มก�รเงินและภ�ษีองค์กร

นางสาววิทนีย์ ฟอร์ด สมอลล์

ผู้อำ�นวยก�รกลุ่มด้�นสื่อส�รองค์กร

นายวายยัท ปาโก้ ลี

ผู้จัดก�รทั่วไปด้�นนักลงทุนสัมพันธ์

นายลูโดวิค การ์นิเยร์

ผู้อำ�นวยก�รฝ่�ยบัญชีและควบคุมผลก�รดำ�เนินง�นกลุ่มบริษัท

นายเดวิด ซานโควิค

ผู้อำ�นวยก�รกลุ่มที่ปรึกษ�กฎหม�ย


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

046

รางวัลแห่งความสำาเร็จ รางวัลสำาหรับผู้บริหาร 1.

ร�งวัลบริษัทที่มีก�รบริห�รจัดก�รยอดเยี่ยมประจำ�ปี 2559 จ�ก นิตยส�รไฟแนนซ์ เอเชีย: ร�งวัลบริษัทที่มีก�รบริห�รจัดก�รยอดเยี่ยมในประเทศไทย อันดับ 1 ร�งวัลซีอีโอยอดเยี่ยม น�ยธีรพงศ์ จันศิริ

2.

ร�งวัลจ�กผลสำ�รวจผู้บริห�รในเอเชีย ประเภทบริษัทไทย ในหมวดสินค้�อุปโภคบริโภคพื้นฐ�น โดย Institutional Investor : ซีอีโอยอดเยี่ยม น�ยธีรพงศ์ จันศิริ*

3.

4.

ร�งวัลจ�กสม�คมนักวิเคร�ะห์ก�รลงทุนสำ�หรับบริษัทจด ทะเบียน ประจำ�ปี 2558/2559 ประเภทอุตส�หกรรมเกษตรและ อ�ห�ร: • ประธ�นเจ้�หน้�ทีบ่ ริห�ร (CEO)ยอดเยีย่ ม: น�ยธีรพงศ์ จันศิริ • ประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�รด้�นก�รเงิน (CFO)ยอดเยี่ยม: มร.ยอร์ก ไอร์เล น�ยธีรพงศ์ จันศิริ ได้รับร�งวัลประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร ยอดเยี่ยมจ�กสม�คมนักวิเคร�ะห์ก�รลงทุนเป็นปีที่ 7 ติดต่อกัน และไทยยูเนี่ยนได้รับร�งวัลจ�กสม�คมนักวิเคร�ะห์ก�รลงทุน ต่อเนื่องทุกปีตั้งแต่เริ่มมีก�รมอบร�งวัลในปี 2552 ร�งวัลประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�รด้�นก�รเงิน ยอดเยี่ยมแห่งเอเชีย ประจำ�ปี 2559 จ�กนิตยส�ร Corporate Treasurer มอบให้ กับมร.ยอร์ก ไอร์เล หลังจ�กที่นำ�ทีมก�รเงินของไทยยูเนี่ยนคว้� ร�งวัลกลยุทธ์ก�รเงินและก�รบริห�รเงินยอดเยี่ยมแห่งเอเชีย แปซิฟิคในปี 2558 โดยร�งวัลนี้มอบให้กับผู้บริห�รที่มีคว�ม ส�ม�รถในก�รปรับปรุงก�รดำ�เนินง�นด้�นก�รเงินและก�รบริห�ร เงินอย่�งยิ่งยวดท่�มกล�งภ�วะที่ท้�ท�ย

5.

ร�งวัลประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�รด้�นก�รเงิน ยอดเยี่ยมใน ประเทศไทย ประจำ�ปี 2559 โดยนิตยส�ร Finance Monthly ซึ่งมอบให้กับ มร.ยอร์ก ไอร์เล ซึ่งมีบทบ�ทสำ�คัญในก�รขับ เคลื่อนวัฒนธรรมก�รทำ�ง�นเชิงลึก โดยได้สร้�งศูนย์บริห�รเงิน (Treasury Center) ที่กรุงเทพฯ และช่วยดูแลธุรกรรมก�รเข้� ซื้อและควบรวมกิจก�ร 7 ร�ยก�รได้สำ�เร็จลุล่วงด้วยดี

รางวัลสำาหรับองค์กร 1.

ร�งวัลบริษัทที่มีก�รบริห�รจัดก�รยอดเยี่ยมประจำ�ปี 2559 จ�ก นิตยส�รไฟแนนซ์เอเชีย: 1) ร�งวัลด้�นนักลงทุนสัมพันธ์ยอดเยีย่ มในประเทศไทย อันดับ 1 2) ร�งวัลบริษัทที่มีธรรม�ภิบ�ลยอดเยี่ยม อันดับ 1 ใน ประเทศไทย

2.

ร�งวัลจ�กผลสำ�รวจผู้บริห�รในเอเชีย ประเภทบริษัทไทยใน หมวดสินค้�อุปโภค โดย Institutional Investor:* 1) ร�งวัลเว็บไซต์ยอดเยี่ยม บริษัทไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป 2) ร�งวัลด้�นนักลงทุนสัมพันธ์ยอดเยี่ยม จ�กผลสำ�รวจผู้ แนะนำ�ก�รลงทุนและนักวิเคร�ะห์บริษัทหลักทรัพย์

3.

ร�งวัลด้�นนักลงทุนสัมพันธ์ยอดเยี่ยม ประจำ�ปี 2559 จ�ก ตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทีมนักลงทุนสัมพันธ์ของ ไทยยูเนี่ยนให้บริก�รและข้อมูลด้�นนักลงทุนสัมพันธ์อย่�งมี ประสิทธิภ�พ ตอบสนองรวดเร็ว และให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้ เกี่ยวข้องในก�รลงทุน ด้วยเหตุนี้จึงทำ�ให้บริษัทได้รับร�งวัลนี้ใน กลุ่มบริษัทจดทะเบียนในตล�ดหลักทรัพย์ที่มีมูลค่�หลักทรัพย์ ต�มร�ค�ตล�ดระหว่�ง 3 หมื่นล้�นบ�ท ถึง 1 แสนล้�นบ�ท นอกจ�กนี้ เร�ยังได้รับร�งวัลนักลงทุนสัมพันธ์ดีเด่นเป็นปีที่ 3 ติดต่อกันอีกด้วย

*หมายเหตุ การจัดอันดับของ Institutional Investor รวบรวมเฉพาะบริษัทจากประเทศไทยในภาคสินค้าอุปโภคบริโภคพื้นฐาน


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

047

รางวัลด้านความยั่งยืน 1.

ร�งวัลบริษัทที่มีก�รบริห�รจัดก�รยอดเยี่ยม ประจำ�ปี 2559 จ�กนิตยส�รไฟแนนซ์เอเชีย: ด้�นคว�มรับผิดชอบต่อสังคมใน ประเทศไทย อันดับ 1

2.

ก�รได้รับเลือกให้เข้�ร่วมดัชนีเพื่อคว�มยั่งยืน ด�ว โจนส์ ตล�ดเกิดใหม่ เป็นปีที่ 3 ติดต่อกัน โดยกลยุทธ์คว�มยั่งยืน SeaChange® ขับเคลื่อนคะแนนด้�นก�รบริห�รจัดก�รประเด็น ที่มีนัยสำ�คัญต่อคว�มยั่งยืนของบริษัท โดยทำ�คะแนนได้สูง ที่สุดของกลุ่มในก�รประเมินหัวข้อนี้ที่ลำ�ดับเปอร์เซ็นไทล์ที่ 100 คะแนนที่เพิ่มขึ้นนี้สะท้อนให้เห็นถึงคว�มพย�ย�มและวินัยของ บริษัทในก�รใช้แนวท�งคว�มยั่งยืนและมีคว�มรับผิดชอบต่อ ธุรกิจทั้งหมดและระบบห่วงโซ่อุปท�นของบริษัท

3.

ก�รได้รับเลือกให้เข้�ร่วมดัชนี FTSE4Good Emerging Index ในครั้งแรกของก�รเปิดตัวดัชนีนี้ในเดือนธันว�คม พ.ศ.2559 ดัชนีสำ�หรับตล�ดเกิดใหม่นี้ แตกแขนงออกม�จ�ก ดัชนีซีรีย์ FTSE4Good Index ซึ่งได้รับก�รออกแบบม�เพื่อ วัดผลก�รดำ�เนินง�นของบริษัทที่มีดำ�เนินง�นด้�นสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรม�ภิบ�ลอย่�งแข็งขัน ซึ่งครอบคลุมประเทศเกิด ใหม่ม�กกว่� 20 ประเทศ

4.

ร�งวัลคว�มรับผิดชอบต่อสังคมดีเด่น จ�ก Public Affairs Asia ซึ่งพิจ�รณ�คว�มเป็นเลิศในก�รพัฒน�โครงก�รด้�นคว�ม รับผิดชอบต่อสังคม คว�มยั่งยืน หรือธรรม�ภิบ�ลที่เสริมสร้�ง ชื่อเสียงขององค์กรและแสดงถึงพันธกิจต่อแนวท�งก�รดำ�เนิน ธุรกิจอย่�งยั่งยืน ค่�นิยมด้�นธรรม�ภิบ�ล และคว�มรับผิดชอบ องค์กร

รางวัลด้านสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย 1.

ร�งวัลสถ�นประกอบกิจก�รดีเด่นด้�นคว�มปลอดภัย อ�ชีว อน�มัย และสภ�พแวดล้อมในก�รทำ�ง�น (ระดับเพชร) เป็นปีท่ี 6 ติดต่อกันจ�กสำ�นักง�นสวัสดิก�รและคุ้มครองแรงง�น มอบให้ กับบริษัทสงขล� แคนนิ่ง ในเครือบริษัทไทยยูเนี่ยน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

048

คุณภาพและมาตรฐานความ ปลอดภัยอาหาร พันธกิจของเราทีม่ อบให้กบั ลูกค้า เรือ่ งคุณภ�พและม�ตรฐ�นคว�มปลอดภัยอ�ห�รสำ�หรับลูกค้�ของเร� เป็นเรือ่ งทีไ่ ทยยูเนีย่ นให้คว�มสำ�คัญเป็นอันดับหนึง่ เสมอม� ซึง่ เป็นร�กฐ�นของทุกสิง่ ทีเ่ ร�ทำ�

นโยบ�ยด้�นคุณภ�พของไทยยูเนีย่ น ก�รดำ�เนินง�นด้�นคุณภ�พและม�ตรฐ�นคว�มปลอดภัยอ�ห�ร เป็นไปต�มนโยบ�ยด้�นคุณภ�พของบริษัท: ไทยยูเนี่ยนทุ่มเทในการผลิตอาหารทะเลแปรรูปคุณภาพสูงที่มี ความปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ และตอบสนองความพึงพอใจ ของลูกค้า เรายังคงเดินหน้าพัฒนาผลิตภัณฑ์ของเราในด้านนี้ คุณภ�พของผลิตภัณฑ์ของเร�เป็นไปต�มนโยบ�ย และเป็นไป ต�มม�ตรฐ�นของหน่วยง�นกำ�กับดูแลจ�กภ�ยนอกทั้งในด้�น คุณภ�พและคว�มปลอดภัย


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

049


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

050

ระบบก�รจัดก�รคุณภ�พ: คว�มปลอดภัยอ�ห�รและสุขลักษณะ ระบบก�รจัดก�รคุณภ�พของเร�เป็นระบบที่เร�ใช้ทั่วโลกเพื่อให้ได้ คว�มปลอดภัยอ�ห�รและม�ตรฐ�นคุณภ�พต�มที่กำ�หนดไว้ทั่ว โลก รวมทั้งเพื่อสร้�งคุณค่�เพิ่มให้กับผู้บริโภค ระบบก�รจัดก�ร คุณภ�พภ�ยในได้รับก�รตรวจสอบและรับรองโดยหน่วยง�น อิสระเพื่อพิสูจน์ว่�ก�รดำ�เนินก�รเป็นไปต�มม�ตรฐ�นภ�ยในที่ กำ�หนด ตรงต�มข้อกำ�หนดของ ISO และเป็นไปต�มกฎระเบียบ ข้อบังคับและกฎหม�ย ระบบก�รจัดก�รคุณภ�พเริ่มต้นจ�กก�ร ควบคุมขั้นตอนก�รแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ได้รับจ�กภ�ยนอก เร� ทำ�ง�นร่วมกับซัพพล�ยเออร์ในก�รช่วยปรับปรุงคุณภ�พของ ผลิตภัณฑ์ของพวกเข� ระบบนี้ส�ม�รถตอบโจทย์คว�มต้องก�ร เรื่องคว�มปลอดภัยอ�ห�รในส่วนที่ทั่วโลกให้คว�มสำ�คัญ รวม ทั้งประเด็นที่เกี่ยวกับเรื่องคุณภ�พ สภ�พแวดล้อม และสังคม ไทยยูเนี่ยนตระหนักดีถึงคว�มต้องก�รของผู้บริโภคในด้�น คุณภ�พและคว�มปลอดภัย ดังนั้นเร�จึงทำ�ง�นร่วมกับซัพพล�ย เออร์เพื่อช่วยผลิตสินค้�ส่งมอบสู่ตล�ดโดยปร�ศจ�กก�ร ดัดแปลง หรือมีก�รปรับเพียงเล็กน้อย เพื่อให้มั่นใจว่�ผลิตภัณฑ์มีคว�มปลอดภัยและได้ม�ตรฐ�นตลอด ทุกขั้นตอนในระบบห่วงโซ่อุปท�น ไทยยูเนี่ยนส่งทีมง�นออก ตรวจสอบ ณ สถ�นที่จริง รวมทั้งวิเคร�ะห์วิธีก�รและม�ตรฐ�น ก�รผลิต ก�รตรวจสอบม�ตรฐ�นซัพพล�ยเออร์ของเร�รวมถึง ก�รส่งมอบร�ยง�นอย่�งสม่ำ�เสมอ ตลอดทั้งข้อตกลงก�รซื้อ ข�ย ซึ่งเป็นเครื่องมือก�รจัดก�รคว�มเสี่ยงและก�รตรวจสอบกับ ซัพพล�ยเออร์เพื่อให้มั่นใจได้ว่�มีก�รดำ�เนินก�รได้ต�มม�ตรฐ�น ของไทยยูเนี่ยน บนพื้นฐ�นเบื้องต้นด้�นคว�มปลอดภัยอ�ห�ร

บริษัทมีห้องปฏิบัติก�รทดสอบอ�ห�รของตนเองซึ่งได้รับก�ร รับรองม�ตรฐ�น ISO/IEC 17025 จ�กกรมวิทย�ศ�สตร์ก�ร แพทย์ กระทรวงส�ธ�รณสุข ซึ่งได้รับร�งวัลห้องปฏิบัติก�รดีเด่น ในปี 2553 จ�กสำ�นักง�นม�ตรฐ�นสินค้�เกษตรและอ�ห�รแห่ง ช�ติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เร�ยังคงเดินหน้�สู่คว�มเป็นเลิศในเรื่องคว�มปลอดภัยด้�น อ�ห�รและก�รอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่�งต่อเนื่อง ซึ่งสะท้อนให้ เห็นได้จ�กก�รได้รับก�รรับรองม�ตรฐ�นจ�กสถ�บันต่�งๆ ทั้ง ในและต่�งประเทศ อ�ทิเช่น ม�ตรฐ�นระบบก�รจัดก�รคุณภ�พ ISO 9001:2008, ม�ตรฐ�นระบบก�รจัดก�รสิ่งแวดล้อม ISO 14000, ม�ตรฐ�นระบบก�รจัดก�รพลังง�น ISO 50001, ระบบก�รจัดก�รชีวอน�มัยและคว�มปลอดภัย OHSAS 18001 แนวปฏิบัติก�รเพ�ะเลี้ยงสัตว์น้ำ�สำ�หรับห่วงโซ่อุปท�นกุ้ง ที่ได้รับก�รรับรอง และม�ตรฐ�น HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point หรือ ระบบก�รก�รวิเคร�ะห์ อันตร�ยและจุดควบคุมที่สำ�คัญในก�รผลิตอ�ห�ร), ม�ตรฐ�น GMP (Good Manufacturing Practice หรือ หลักเกณฑ์ และวิธีก�รที่ดีในก�รผลิต), ม�ตรฐ�น BRC (British Retail Consortium หรือ สม�คมผู้ประกอบธุรกิจค้�ปลีกแห่งสหร�ช อ�ณ�จักร), ม�ตรฐ�น IFS (International Food Standard หรือม�ตรฐ�นอ�ห�รระหว่�งประเทศเพื่อให้ก�รผลิตอ�ห�ร ปลอดภัย), ม�ตรฐ�นอ�ห�รโคเชอร์ และม�ตรฐ�นอ�ห�รฮ�ล�ล ผลิตภัณฑ์ของเร�ได้ให้ข้อมูลสำ�หรับผู้บริโภค เพื่อให้มั่นใจถึง คว�มปลอดภัยและคุณภ�พในระดับสูงสุด


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

051

ก�รรับรองจ�กสถ�บันต่�งๆ ในด้�นคุณภ�พอ�ห�รและคว�มปลอดภัยของไทยยูเนีย่ น: • ได้รับก�รรับรองม�ตรฐ�น ISO 9000 ด้�นระบบก�รจัดก�ร คุณภ�พ จ�กสถ�บัน United Kingdom Accreditation Service (UKAS) • ได้รับก�รรับรองม�ตรฐ�น ISO 14000 ด้�นระบบก�ร จัดก�รสิ่งแวดล้อม จ�กสถ�บัน United Kingdom Accreditation Service (UKAS) • ได้รับก�รรับรองม�ตรฐ�นระบบก�รจัดก�รชีวอน�มัยและ คว�มปลอดภัย OHSAS 18001 • ได้รับก�รรับรองม�ตรฐ�น ISO/IEC 17025 จ�กสำ�นัก ม�ตรฐ�นห้องปฏิบัติก�ร กรมวิทย�ศ�สตร์ก�รแพทย์ กระทรวงส�ธ�รณสุข และจ�กสำ�นักง�นม�ตรฐ�นสินค้� เกษตรและอ�ห�รแห่งช�ติ (ACFS) กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ • ได้รับก�รรับรอง BRC ม�ตรฐ�นโลกคว�มปลอดภัยด้�น อ�ห�ร จ�กสถ�บัน United Kingdom Accreditation Service (UKAS) • ได้รับก�รรับรองม�ตรฐ�นอ�ห�รโคเซอร์ จ�ก Union of Orthodox Jewish Congregations of America • ได้รับก�รรับรองม�ตรฐ�นจ�กองค์ก�รอ�ห�รและย�ของ สหรัฐอเมริก� ซึ่งเป็นหน่วยง�นที่ดูแลเรื่องก�รตรวจสอบ คุณภ�พของอ�ห�รและย�ที่นำ�เข้� • ได้รับก�รรับรองม�ตรฐ�นจ�กสำ�นักตรวจสอบอ�ห�รของ แคน�ด� ซึ่งเป็นหน่วยง�นทำ�หน้�ที่ในก�รตรวจสอบคุณภ�พ ของอ�ห�รและย�ที่นำ�เข้�

• ได้รับก�รรับรองม�ตรฐ�น ระบบก�รก�รวิเคร�ะห์อันตร�ย และจุดควบคุมที่สำ�คัญในก�รผลิตอ�ห�ร (Hazard Analysis and Critical Control Point, HACCP) จ�ก กรมประมงและกรมวิช�ก�รเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ประเทศไทย รวมถึงก�รรับรอง HACCP USFDA ประเทศไทย HACCP หรือระบบก�รก�รวิเคร�ะห์อันตร�ย และจุดควบคุมที่สำ�คัญในก�รผลิตอ�ห�ร คือ ระบบรับรอง คุณภ�พคว�มปลอดภัยของอ�ห�ร ซึ่งส�ม�รถป้องกัน อันตร�ยต่�งๆ ได้อย่�งมีประสิทธิภ�พเช่น ก�รปนเปื้อนของ สิ่งมีชีวิต ส�รเคมี และก�รสัมผัส โดยเน้นที่ก�รตรวจสอบ ขั้นตอนก�รผลิต โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่ง ณ จุดหรือขั้นตอนที่ เป็นจุดควบคุมที่สำ�คัญ (CCP) โดยยึดคว�มปลอดภัยต่อ ผู้บริโภคเป็นสำ�คัญ • ได้รับก�รรับร้อง GMP จ�กหล�ยสถ�บัน ได้แก่ คณะกรรมก�รอ�ห�รและย� และโดยสำ�นักง�นส�ธ�รณสุข จังหวัดสมุทรส�คร • ได้รับก�รรับรองม�ตรฐ�นอ�ห�รฮ�ล�ล จ�กคณะกรรมก�ร กล�งอิสล�มแห่งประเทศไทย • ได้รับก�รรับรองม�ตรฐ�นแนวปฏิบัติก�รเพ�ะเลี้ยงสัตว์น้ำ� ยอดเยี่ยม (BAP) จ�ก Aquaculture Certification Council (ACC) ด้�นแนวปฏิบัติม�ตรฐ�นในก�รเลี้ยงและ แปรรูปกุ้ง ครอบคลุมถึงก�รฟักไข่กุ้ง และฟ�ร์มกุ้งกับโรงง�น แปรรูปกุ้งของเร�เน้นในเรื่องคว�มรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ง แวดล้อม รวมทั้งใส่ใจในคว�มปลอดภัยของผลิตภัณฑ์และ ส�ม�รถตรวจสอบย้อนกลับไปยังแหล่งที่ม�ของสินค้�ได้ ซึ่งถือเป็นส่วนที่ได้รับก�รกล่�วถึงเป็นพิเศษ • ได้รับก�รรับรองม�ตรฐ�น Q Mark จ�กกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประเทศไทย



THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

053

ลักษณะธุรกิจหลัก ของกลุม่ บริษทั

เรามอบผลิตภัณฑ์คุณภาพดีที่สุดที่เปี่ยมไปด้วยรสชาติและคุณค่าทางโภชนาการให้ กับผู้บริโภคและลูกค้า กลุ่มผลิตภัณฑ์หลักของเราประกอบไปด้วย กลุ่มผลิตภัณฑ์ อาหารทะเลแปรรูป กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแช่เยือกแข็ง แช่เย็น และสินค้าที่ เกี่ยวข้อง และกลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ ผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่า และธุรกิจอื่น นอก เหนือจากที่ไทยยูเนี่ยนมีการผลิตและทำาตลาดผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์ของตัวเอง แล้ว เรายังรับจ้างผลิตสินค้าภายใต้แบรนด์ของลูกค้าอีกด้วย (private labels)

กลุม่ ผลิตภัณฑ์อ�ห�รทะเลแปรรูป กลุ่มผลิตภัณฑ์อ�ห�รทะเลแปรรูป (ambient seafood) นั้น ประกอบด้วยสินค้�หลักคือสินค้�บรรจุกระป๋องที่จำ�หน่�ยให้ ผู้บริโภคผ่�นช่องท�งค้�ปลีกและบ�งส่วนผ่�นช่องท�งค้�ส่ง โดย ผลิตภัณฑ์หลักในกลุม่ ผลิตภัณฑ์นร้ี วมสินค้�ปล�ทูน�่ ปล�ซ�ร์ดนี ปล�แซลมอน ปล�แมคเคอเรล และปล�เฮอร์ริ่ง โดยลักษณะ ก�รทำ�ธุรกิจและอัตร�ก�รทำ�กำ�ไรของสินค้�ต่�งๆ ในกลุ่มนี้มีแนว โน้มที่คล้�ยคลึงกัน โดยผู้บริโภคจะให้คว�มสนใจในแบรนด์สินค้� เป็นหลัก ซึ่งเป็นปัจจัยในก�รตัดสินใจซื้อสินค้�กลุ่มนี้ รวมถึง ผลิตภัณฑ์ที่มีแบรนด์ที่เป็นที่รู้จักแพร่หล�ยในกลุ่มผลิตภัณฑ์นี้ จะส�ม�รถตั้งร�ค�ที่สูงกว่�สินค้�รับจ้�งผลิตที่ติดตร�ของผูค้ ้�ปลีก ทั่วไปได้ โดยเป็นผลพวงจ�กคว�มภักดีของผู้บริโภคที่มีต่อแบรนด์ และส่วนต่�งท�งด้�นร�ค�นั้นจะม�กหรือน้อยขึ้นอยู่กับสถ�นะ ท�งก�รตล�ดของแบรนด์ ลักษณะก�รแข่งขันในกลุ่มผลิตภัณฑ์ คว�มเป็นเอกลักษณ์ของแบรนด์ และคว�มรู้สึกผูกพันของ ผู้บริโภคที่มีต่อแบรนด์ เป็นต้น ในปี 2559 ยอดข�ยของกลุ่มผลิตภัณฑ์นี้คิดเป็นเงิน 61.0 พันล้�นบ�ท ซึ่งคิดเป็น 45 เปอร์เซ็นต์ของยอดข�ยรวมทั้ง กลุ่มบริษัทฯ อันดับแรก ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ปล�ทูน่� อีกทั้งปล�ทูน่� ยังคงเป็นผลิตภัณฑ์ที่คิดเป็นสัดส่วนใหญ่ที่สุดของกลุ่มบริษัทฯ อีกด้วย และกว่� 59 เปอร์เซ็นต์ของยอดข�ยจ�กกลุ่มสินค้�นี้ ม�จ�กสินค้�ที่ข�ยภ�ยใต้แบรนด์ของบริษัทฯ โดยส่วนที่เหลือนั้น ม�จ�กยอดข�ยที่เกิดจ�กธุรกิจรับจ้�งผลิต ในด้�นลูกค้�หลักของ

กลุ่มสินค้�นี้ส่วนม�ก เป็นซูเปอร์ม�ร์เก็ต ร้�นรวมสินค้� ร�ค�พิเศษ ร้�นค้�สม�ชิก ร้�นสะดวกซื้อและร้�นข�ยย� รวมทั้งช่องท�งก�รข�ยโมเดิร์นเทรดต่�งๆ ผลิตภัณฑ์ส่วนม�ก จะเป็นสินค้�ที่บรรจุในรูปกระป๋องและส�ม�รถบริโภคได้ทันที


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

054

กลุม่ ผลิตภัณฑ์อ�ห�รทะเลแช่เยือกแข็ง แช่เย็น และสินค้�ทีเ่ กีย่ วข้อง กลุ่มผลิตภัณฑ์อ�ห�รทะเลแช่เย็น แช่แข็ง และสินค้�ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยสินค้�อ�ห�รทะเล ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วจะจำ�หน่�ย ตรงให้กับร้�นอ�ห�ร โรงแรม ผู้ประกอบก�รอ�ห�ร โดยจำ�หน่�ย เป็นวัตถุดิบในก�รปรุงอ�ห�รเพื่อจำ�หน่�ยให้แก่ผู้บริโภคปล�ยท�ง ต่อไป อย่�งไรก็ต�ม ยังมีผลิตภัณฑ์บ�งส่วนที่ถูกจำ�หน่�ยให้กับ ผู้บริโภคผ่�นช่องท�งค้�ปลีก โดยสินค้�เหล่�นี้มักถูกจัดเก็บอยู่ ในตู้เย็น หรือตู้แช่เพื่อทำ�ให้อ�ยุก�รจัดเก็บสินค้�ย�วขึ้น และเนื่องจ�กอ�ห�รสัตว์น้ำ�ทั้งกุ้งและปล� ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ ห่วงโซ่อุปท�นของธุรกิจกุ้ง ดังนั้นอ�ห�รสัตว์น้ำ�จึงถูกรวม เป็นส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์กลุ่มนี้ ในปี 2559 ยอดข�ยของกลุ่มผลิตภัณฑ์นี้คิดเป็นเงิน 55.8 พัน ล้�นบ�ท คิดเป็น 42 เปอร์เซ็นต์ของยอดข�ยรวมทั้งกลุ่ม

โดยกุ้งเป็นสินค้�ที่คิดเป็นสัดส่วนใหญ่ที่สุดของกลุ่มผลิตภัณฑ์ นี้ ต�มด้วยสินค้�กุ้งมังกร และปู โดยจ�กก�รประเมินของ บริษัท 33 เปอร์เซ็นต์ของยอดข�ยจ�กกลุ่มสินค้�นี้ม�จ�ก สินค้�ที่จำ�หน่�ยภ�ยใต้แบรนด์ของบริษัทฯ (รวมทั้งแบรนด์ อุตส�หกรรมและแบรนด์ที่ไม่ใช่สำ�หรับผู้อุปโภคบริโภค) ขณะที่ยอดข�ยส่วนที่เหลือนั้นม�จ�กยอดข�ยของธุรกิจ รับจ้�งผลิต อย่�งไรก็ต�มผลิตภัณฑ์กลุ่มนี้ส่วนม�กยังไม่เป็น ผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภคส�ม�รถรับประท�นได้ทันที และมีอ�ยุ ก�รเก็บสั้นกว่�ผลิตภัณฑ์อ�ห�รทะเลแปรรูป (ambient seafood) โดยมีอ�ยุในก�รจัดเก็บตั้งแต่เพียงไม่กี่วันจนถึง หนึ่งปี และสินค้�ส่วนม�กจะถูกบรรจุในรูปของถุงพล�สติก

กลุม่ ผลิตภัณฑ์อ�ห�รสัตว์ ผลิตภัณฑ์เพิม่ มูลค่� และธุรกิจอืน่ ผลิตภัณฑ์อ�ห�รสัตว์ ผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่� และธุรกิจอื่นนั้น ประกอบด้วยกลุ่มสินค้�หล�ยประเภท รวมถึงอ�ห�รสัตว์เลี้ยง อ�ห�รทะเลอืน่ อ�ห�รทีน่ อกเหนือจ�กอ�ห�รทะเล สินค้�บรรจุภณ ั ฑ์ และสินค้�พลอยได้ รวมถึงก�รข�ยเศษซ�ก โดยกลุ่มผลิตภัณฑ์ นี้ประกอบด้วยสินค้�จำ�พวกขนมปล�เส้น ตับปล�คอดบรรจุ กระป๋อง อ�ห�รสัตว์เลี้ยงแบบเปียกสำ�หรับแมว และอ�ห�รสุนัข อ�ห�รสำ�เร็จรูปพร้อมรับประท�น สินค้�ติ่มซำ� ซอสปรุงรส ผลิตภัณฑ์เศษซ�กจ�กก�รส�ยผลิตปล�และกุ้ง (ซึ่งส�ม�รถนำ� ไปผลิตอ�ห�รปล�หรือน้ำ�มันปล�ได้) ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ (เช่น พ�ย ขนมเค้ก รวมทั้งขนมปังต่�งๆ) ภ�ชนะบรรจุภัณฑ์ หรือกระป๋อง สินค้�สำ�หรับอ�ห�รแปรรูป สิ่งพิมพ์รวมทั้งสล�ก ผลิตภัณฑ์อื่นและสินค้�อื่นๆ จ�กก�รที่กลุ่มผลิตภัณฑ์นี้ ประกอบด้วยสินค้�ทีห่ ล�กหล�ย ทำ�ให้ไม่มแี นวโน้มทีช่ ดั เจนสำ�หรับ ผลิตภัณฑ์ทง้ั หมดในกลุม่ นี้ ทัง้ ในด้�นก�รจัดห�แหล่งวัตถุดบิ ก�รจัดจำ�หน่�ย และก�รบริโภค เพื่อตอบสนองต่อคว�มต้องก�รผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จ�ก อ�ห�รทะเลต�มธรรมช�ติซึ่งมีประโยชน์ต่อโภชน�ก�รของมนุษย์ (เช่น กรดไขมันโอเมก้�3) ไทยยูเนี่ยนได้จัดตั้งหน่วยธุรกิจใหม่ ที่มุ่งเน้นท�งด้�นผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม Marine Ingredients ธุรกิจกลุ่ม Marine Ingredients นี้จะทำ�ก�รตล�ดแบบธุรกิจ กับธุรกิจหรือเรียกว่� B2B โดยจะนำ�ผลิตภัณฑ์ซึ่งได้จ�กก�ร ค้นคว้�โดยศูนย์นวัตกรรม Global Innovation Incubator ของไทยยูเนี่ยน ม�เป็นหนึ่งในส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์มูลค่� สูง อีกทั้งเร�ยังควบคุมดูแลห่วงโซ่ก�รผลิตตลอดส�ย โดยใช้ ผลิตภัณฑ์พลอยได้คุณภ�พสูง เช่น หนังปล�และกระดูกปล�

จ�กโรงง�นผลิตอ�ห�รทะเลของเร�เอง ส�รอ�ห�รที่มีค่�ที่ได้ จ�กผลิตภัณฑ์พลอยได้นี้จะเป็นส่วนประกอบที่ใช้ในก�รผลิต สินค้�อุปโภคบรรจุส�รอ�ห�ร อ�ทิเช่น สูตรอ�ห�รสำ�หรับ เด็กท�รก เครื่องสำ�อ�ง อ�ห�รเสริม และโภชน�ก�รคลินิก ธุรกิจกลุ่ม Marine Ingredients ทำ�หน้�ที่วิจัยค้นคว้� เพิ่มประโยชน์สูงสุดจ�กผลิตภัณฑ์พลอยได้ซึ่งม�จ�ก กระบวนก�รผลิตของเร�เอง นอกจ�กนี้ธุรกิจกลุ่มนี้ถือเป็นหนึ่ง ในตัวแปรสำ�คัญในก�รขับเคลื่อนกลยุทธ์ก�รเติบโตของ กลุ่มบริษัทไทยยูเนี่ยน ในปี 2559 ยอดข�ยของกลุ่มผลิตภัณฑ์นี้คิดเป็น 17.5 พันล้�นบ�ท คิดเป็น 13 เปอร์เซ็นต์ของยอดข�ยรวมทั้งกลุ่ม โดยอ�ห�รสัตว์เลี้ยงเป็นสินค้�ที่คิดเป็นสัดส่วนใหญ่ที่สุด ของกลุ่มผลิตภัณฑ์นี้ และ 10 เปอร์เซ็นต์ของยอดข�ยจ�กกลุ่ม สินค้�นี้ม�จ�กสินค้�ที่จำ�หน่�ยภ�ยใต้แบรนด์ของบริษัทเอง ซึ่งกล่�วได้ว่�สินค้�เกือบทั้งหมดจ�กกลุ่มผลิตภัณฑ์นี้ ถูกจำ�หน่�ยในรูปแบบของสินค้�รับจ้�งผลิตโดยจัดจำ�หน่�ย ภ�ยใต้แบรนด์หรือข�ยผ่�นช่องท�งก�รจัดจำ�หน่�ยของ ลูกค้� แม้ว่�สินค้�ในกลุ่มผลิตภัณฑ์นี้จะไม่มีลักษณะที่ คล้�ยกัน แต่โดยรวมแล้วส�ม�รถทำ�กำ�ไรได้สูง เพร�ะมี กระบวนก�รในก�รผลิตหล�ยขั้นตอนที่เป็นไปต�มคว�ม ต้องก�รของลูกค้� และมีม�ตรฐ�นสูง นอกจ�กนี้สินค้�นี้ไม่มี บรรจุภัณฑ์ที่เฉพ�ะเจ�ะจงเนื่องจ�กมีคว�มหล�กหล�ย



ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

056

สัดส่วนรายได้จากการขาย และการจัดจำาหน่ายในปี 2559 สัดส่วนร�ยได้จ�กก�รข�ยแบ่งต�มกลุม่ ผลิตภัณฑ์ 13%

กลุ่มผลิตภัณฑ์อ�ห�รทะเลแปรรูป (Ambient)

45%

กลุ่มผลิตภัณฑ์อ�ห�รทะเลแช่เยือกแข็ง แช่เย็น และสินค้�ที่เกี่ยวข้อง

42%

กลุ่มผลิตภัณฑ์อ�ห�รสัตว์เลี้ยง ผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่�และธุรกิจอื่น

สัดส่วนร�ยได้จ�กก�รข�ยแบ่งต�มประเภทก�รจำ�หน่�ย 13%

ธุรกิจแบรนด์

37%

ธุรกิจรับจ้�งผลิตสินค้�ให้กับแบรนด์อื่น

50%

ธุรกิจให้บริก�รด้�นอ�ห�ร (Food Services)

สัดส่วนร�ยได้จ�กก�รจัดจำ�หน่�ยแบ่งต�มตล�ด สหรัฐอเมริก� ยุโรป ไทย ญี่ปุ่น อื่นๆ

13% 6% 39% 40%

8% 33%


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

057

โครงสร้างรายได้จากการขาย ของบริษทั และบริษทั ย่อย หน่วย: พันล้านบาท %

บริษทั

2559

ก�รถือหุ้น โดย TU ร�ยได้ ข�ย

2558 %

ร�ยได้ ข�ย

2557 %

ร�ยได้ ข�ย

%

1. ภูมิภาคเอเชีย

บมจ. ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป บจ. ไทยรวมสินพัฒน�อุตส�หกรรม บมจ. สงขล�แคนนิ่ง บจ. เอเซียนแปซิฟิคแคน บจ. ยู่เฉียงแคนฟู้ด บจ. ไทยยูเนี่ยน ซีฟู้ด บมจ. แพ็คฟู้ด บจ. ธีร์ โฮลดิ้ง บจ. ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ บจ. ไทยยูเนี่ยน กร�ฟฟิกส์ บจ. ซีฟู้ด อินเตอร์เนชั่นแนล วัน บจ. ไทยยูเนี่ยนออนไลน์ช็อป บจ. ไทยยูเนี่ยน ไชน่�

TU - 12.4 9.2 12.2 9.8 12.8 TUM 99.66 17.0 12.6 16.1 12.9 17.5 SC 99.55 5.9 4.4 5.4 4.4 6.3 APC 99.54* 0.6 0.5 0.5 0.4 0.7 YCC 82.93* 0.4 0.3 0.3 0.3 0.3 TUS 51.00 1.4 1.1 1.0 0.8 1.3 PPC 77.44 6.5 4.8 5.0 4.0 4.1 THD 90.00 1.1 0.8 1.4 1.1 1.1 TFM 51.00 4.1 3.0 3.6 2.9 3.0 TUG 98.00 0.1 0.1 0.2 0.1 0.1 SIC1 60.00 0.1 0.1 N/A N/A N/A TUO 100.00 0.0 0.0 N/A N/A N/A TUC 100.00 0.0 0.0 N/A N/A N/A

10.5 14.4 5.2 0.6 0.3 1.1 3.4 0.9 2.5 0.1 N/A N/A N/A

2. ภูมิภาคยุโรป และแอฟริกา

บจ. ไทยยูเนี่ยน ยุโรป เอสเอเอส บจ. เมอร์อไลอันซ์ เอสเอเอส บจ. คิง ออสก�ร์ เอเอส บจ. ไทยยูเนี่ยน เยอรมนี บจ. ไทยยูเนี่ยน แคน�ด�

TUE MA KO TUGe TUCa

100.00* 25.4 18.9 24.7 19.8 27.7 22.8 100.00* 6.7 5.0 6.0 4.8 1.5 1.2 100.00* 2.3 1.7 2.4 1.9 0.4 0.3 100.00* 5.3 4.0 N/A N/A N/A N/A 80.00* 0.0 0.0 N/A N/A N/A N/A

3. ภูมิภาคอเมริกา

บจ. ไทร-ยูเนี่ยน ซีฟู้ดส์ บจ. ไทร-ยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ บจ. ยูเอส เพ็ท นูทรีชั่น

TRI-U 100.00* 13.3 9.9 13.8 11.0 15.1 12.4 TUFP 100.00* 30.1 22.4 30.7 24.6 27.5 22.7 USPN 100.00* 1.7 1.2 1.6 1.2 2.0 1.6

รวมทั้งหมด

หมายเหตุ เป็นการแบ่งโครงสร้างรายได้จากการขาย หลังจากหักรายการระหว่างกันออกแล้ว * ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยของไทยยูเนี่ยน

134.4 100.0 124.9 100.0 121.4 100.0


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

058

โครงสร้างกลุม่ บริษทั บริษทั ย่อย1 99.66%

99.55%

90.00%

51.00%

บจ. ไทยรวมสินพัฒน� อุตส�หกรรม (TUM)

บมจ. สงขล�แคนนิ่ง (SC)

บจ. ธีร์ โฮลดิ้ง (THD)

บจ. ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ (TFM)

98.00%

51.00%

บจ. เอเซียนแปซิฟิคแคน (APC)

บจ. ไทยยูเนี่ยน กร�ฟฟิกส์ (TUG)

บจ. ไทยยูเนี่ยน ซีฟู้ด (TUS)

82.93%

77.44%

100.00%

บมจ. แพ็คฟู้ด (PPC)

บจ. ไทยยูเนี่ยน ออนไลน์ช็อป (TUO)

100.00%

100.00%

60.00%

ไทยยูเนี่ยน นอร์ทอเมริก� (TUNA)

บจ. ไทยยูเนี่ยน ไชน่� (TUC)

ซีฟู้ด อินเตอร์เนชั่นแนล วัน (SIC1)

99.54%

บจ. ยู่เฉียงแคนฟู้ด (YCC)

100.00%

100.00%

100.00%

100.00%

บจ. ไทร-ยูเนี่ยน ซีฟู้ดส์ (TRI-U)

ไทร-ยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ (TUFP)

ยูเอส เพ็ท นูทรีชั่น (USPN)

ไทยยูเนี่ยน อินเวสเม้นท์ นอร์ทอเมริก� (TUINA)

บริษทั ร่วม

25.00%

20.00%

25.12%

55.07%

บจ. ลัคกี้ ยูเนี่ยน ฟู้ดส์

บจ. บีส ไดเมนชั่น

อะแวนติ ฟีดส์

อะแวนติ โฟรเซ่น ฟู้ด ไพรเวท

48.97% 2

25.00% 3

40.00%

20.00% 4

บจ. ทีเอ็น ฟ�ยน์ เคมีคอลส์

เรด ล็อบสเตอร์ ม�สเตอร์ โฮลดิ้ง

ซีฟู้ด อินเตอร์เนชั่นแนล ทู

แอลดีเอช (ล� ดอเรีย) ลิมิเต็ด


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

059

หมายเหตุ 1. รายชื่อบริษัทย่อยทั้งหมดได้ถูกแสดงไว้ในหมายเหตุประกอบการเงิน 2. ลงทุนโดย บจ. ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม 3. ลงทุนโดย บจ. ไทยยูเนี่ยน อินเวสเม้นท์ นอร์ทอเมริกา 4. ลงทุนโดย บจ. จอห์นเวสต์ ฟู้ด 5. ลงทุนโดย บจ. ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์

บริษทั ย่อย1 100.00%

ไทยยูเนี่ยน อียู ซีฟู้ด 1 เอสเอ

100.00%

100.00%

100.00%

100.00%

ไทยยูเนี่ยน ยุโรป (TUE)

ม�รีบลู เอสอ�ร์แอล

ยูโรเปี้ยน ซีฟู้ด อิน เวสเม้นท์ โปรตุเกส

เอสต�บลิชเมนต์ พอล พอลเล็ตต์ เอสเอเอส

60.00%

100.00%

100.00%

50.00%

ไพโอเนียร์ ฟู้ด แคนเนอรี่ ลิมิเต็ด

ทีทีวี ลิมิเต็ด

100.00%

100.00%

ไทยยูเนี่ยน โปแลนด์ เอสพี

อินเดียน โอเชี่ยน ทูน่� ลิมิเต็ด

จอห์นเวสต์ ฟู้ด ลิมิเต็ด

ไทยยูเนี่ยน นอร์เวย์ เอเอส

51.00%

51.00%

รูเก้น ฟิช เอจี (RF)

ฮ�เวสต้�-เฟนคอส ฮ�นส์ เวสเพิล

100.00%

100.00%

100.00%

100.00%

เมอร์อไลอันซ์ เอสเอเอส จำ�กัด (MA)

เมอร์อไลอันซ์ อ�ร์โมลิค เอสเอเอส จำ�กัด

เมอร์อไลอันซ์ โปแลนด์

บ. เอดิบะระ แซลมอน

80.00%

ไทยยูเนี่ยน แคน�ด� (TUCa)

การร่วมค้า 51.00% 5

33.33% 2

บจ. ทีเอ็มเอซี

มอร์สบี้ อินเตอร์เนชั่นแนล โฮลดิ้งส์

100.00%

94.44%

75.00%

บจ. ไทยยูเนี่ยน แฮชเชอรี่

บจ. ทีเอ็มเค ฟ�ร์ม

บจ. ทีซีเอ็ม ฟ�ร์ม


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

060

การลงทุนในบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม บริษัทย่อย บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร โรงง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

979/13-16 ชั้นเอ็ม อ�ค�รเอสเอ็มท�วเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงส�มเสนใน เขตพญ�ไท กรุงเทพ 10400 (66) 2298-0025, 2298-0421 - 32 (66) 2298-0027 - 28 30/2 หมู่ 8 ถนนเศรษฐกิจ 1 ตำ�บลท่�ทร�ย อำ�เภอเมืองสมุทรส�คร จังหวัดสมุทรส�คร 74000 (66) 3441-2210, 3481-6441 - 4 (66) 3442-5459 ผู้ผลิตและส่งออกปล�ทูน่�บรรจุกระป๋อง และอ�ห�รแมวบรรจุกระป๋อง 300,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 10 บ�ท มีน�คม 2537 (ลงทุนเพิ่ม มิถุน�ยน 2542 และกันย�ยน 2558) หุ้นส�มัญ ร้อยละ 99.66 หรือ 29,897,830 หุ้น

บริษัท สงขลาแคนนิ่ง จำากัด (มหาชน) สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร โรงง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

979/9-10 ชั้น 12 อ�ค�รเอสเอ็มท�วเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงส�มเสนใน เขตพญ�ไท กรุงเทพ 10400 (66) 2298-0029 (66) 2298-0442 - 3 333 หมู่ 2 ถนนก�ญจนวนิช ตำ�บลพะวง อำ�เภอเมืองสงขล� จังหวัดสงขล� 90100 (66) 7433-4005 - 8 (66) 7433-4009 ผู้ผลิตและส่งออกอ�ห�รทะเลบรรจุกระป๋อง 360,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 10 บ�ท ตุล�คม 2538 (ลงทุนเพิ่ม มีน�คม 2542 กรกฎ�คม 2558 และ สิงห�คม 2559) หุ้นส�มัญ ร้อยละ 99.55 หรือ 35,839,169 หุ้น


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

061 บริษัท ธีร์ โฮลดิ้ง จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร สำ�นักง�น/คลังสินค้� โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ เว็บไซต์

98 ชั้น 17 ห้อง 1709-1712 อ�ค�รส�ทรสแควร์ ถนนส�ทรเหนือ แขวงสีลม เขตบ�งรัก กรุงเทพ 10500 (66) 2108-1980 (66) 2108-1844 88/111 หมู่ที่ 6 อำ�เภอเมืองสมุทรส�คร จังหวัดสมุทรส�คร 74000 (66) 3481-6500 (66) 3481-6603 ผู้จัดจำ�หน่�ยกลุ่มผลิตภัณฑ์ “ฟิชโช” กลุ่มผลิตภัณฑ์ “ซีเล็ค” และกลุ่มผลิตภัณฑ์อ�ห�ร สุนัขและแมว “ม�ร์โว” และ “เบลลอตต้�” 70,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 10 บ�ท พฤศจิก�ยน 2539 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 90.00 หรือ 6,300,000 หุ้น http://www.fisho.com

บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำากัด สำ�นักง�น/โรงง�น โทรศัพท์ โทรส�ร โรงง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ เว็บไซต์

89/1 หมู่ 2 ถนนพระร�ม 2 ตำ�บลก�หลง อำ�เภอเมืองสมุทรส�คร จังหวัดสมุทรส�คร 74000 (66) 3441-7222 (66) 3441-7255 103/1 หมู่ 2 ถนนสงขล�-ระโนด ตำ�บลป�กแตระ อำ�เภอระโนด จังหวัดสงขล� 90140 (66) 74536-260 - 2 (66) 74536-268 ผู้ผลิตและจำ�หน่�ยอ�ห�รสัตว์ 500,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 10 บ�ท มิถุน�ยน 2543 (ลงทุนเพิ่ม พฤษภ�คม 2544 ตุล�คม 2549 และกันย�ยน 2553) หุ้นส�มัญ ร้อยละ 51.00 หรือ 25,500,000 หุ้น http://www.thaiunionfeedmill.com

บริษัท ไทยยูเนี่ยน ซีฟู้ด จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร โรงง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

979/8 ชั้น 12 อ�ค�รเอสเอ็มท�วเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงส�มเสนใน เขตพญ�ไท กรุงเทพ 10400 (66) 2298-0024 (66) 2298-0550 77 หมู่ 5 ถนนสงขล�-ระโนด ตำ�บลวัดขนุน อำ�เภอสิงหนคร จังหวัดสงขล� 90330 (66) 7448-3482-7 (66) 7448-3480 - 1 ผู้ผลิตและส่งออกกุ้งแช่แข็ง 300,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 10 บ�ท ธันว�คม 2539 ลงทุนเพิ่ม มีน�คม 2548 และตุล�คม 2551 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 51.00 หรือ 15,300,000 หุ้น


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

062

บริษัท แพ็คฟู้ด จำากัด (มหาชน) สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร โรงง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ เว็บไซต์

103 ซอยร่วมมิตร ถนนนนทรี แขวงช่องนนทรี เขตย�นน�ว� กรุงเทพ 10120 (66) 2295-1991-9 (66) 2295-2012 47/29 หมู่ที่ 4 ตำ�บลโคกข�ม อำ�เภอเมืองสมุทรส�คร จังหวัดสมุทรส�คร 74000 (66) 3483-4483 (66) 3441-3174 ผู้ผลิตและส่งออกอ�ห�รทะเลและอ�ห�รพร้อมรับประท�น 329,999,790 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 10 บ�ท เมษ�ยน 2555 (ลงทุนเพิ่ม ธันว�คม 2555 กุมภ�พันธ์ 2556 มีน�คม 2556 และพฤศจิก�ยน 2556) หุ้นส�มัญ ร้อยละ 77.44 หรือ 25,554,169 หุ้น http://www.pakfood.co.th และ http://www.ttimefood.com

บริษัท เอเซียนแปซิฟิคแคน จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

38/70 หมู่ 8 ถนนเศรษฐกิจ 1 ตำ�บลท่�ทร�ย อำ�เภอเมืองสมุทรส�คร จังหวัดสมุทรส�คร 74000 (66) 3442-3401 - 6 (66) 3442-1493 ผู้ผลิตและจำ�หน่�ยกระป๋องเปล่�สำ�หรับบรรจุอ�ห�ร 80,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 400,000 บ�ท ธันว�คม 2536 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 99.54 หรือ 198 หุ้น (ลงทุนโดยบริษัท สงขล�แคนนิ่ง จำ�กัด (มห�ชน) หุ้นส�มัญ ร้อยละ 0.05 หรือ 1 หุ้น (ลงทุนโดยบริษัท ไทยรวมสินพัฒน�อุตส�หกรรม จำ�กัด) หุ้นส�มัญ ร้อยละ 0.05 หรือ 1 หุ้น (ลงทุนโดยบริษัท ไทยยูเนี่ยน กร�ฟฟิกส์ จำ�กัด)

บริษัท ไทยยูเนี่ยน กราฟฟิกส์ จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ เว็บไซต์

255 ถนนแสมดำ� แขวงแสมดำ� เขตบ�งขุนเทียน กรุงเทพ 10150 (66) 2415-5808 - 9, 2895-5865 - 6 (66) 2415-4371 ผู้ให้บริก�รด้�นง�นพิมพ์ ด้วยระบบออฟเซ็ทแบบครบวงจรที่มีคุณภ�พและม�ตรฐ�น 40,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 10 บ�ท กรกฎ�คม 2538 (ลงทุนเพิ่ม พฤษภ�คม 2544) หุ้นส�มัญ ร้อยละ 98.00 หรือ 3,920,000 หุ้น http://www.thaiuniongraphic.com


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

063

บริษัท ไทยยูเนี่ยนออนไลน์ช็อป จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

979/79 ชั้น 26 อ�ค�รเอสเอ็มท�วเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงส�มเสนใน เขตพญ�ไท กรุงเทพ10400 (66) 2298-0024 ข�ยสินค้� ผ่�นระบบเครือข่�ยอินเตอร์เน็ต 1,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 10 บ�ท มีน�คม 2559 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 100.00 หรือ 99,997 หุ้น

บริษัท ยู่เฉียงแคนฟู้ด จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

Nhut Chanh Village, ben Luc District, Long An Provice, People’s Republic of Vietnam (84) 072-387-2377 (84) 072-387-2388 ผู้ผลิตและส่งออกอ�ห�รทะเลบรรจุกระป๋อง 1,919,936 เหรียญสหรัฐ ธันว�คม 2550 ร้อยละ 82.93 (ลงทุนโดย บริษัท สงขล�แคนนิ่ง จำ�กัด (มห�ชน))

บริษัท ซีฟู้ด อินเตอร์เนชั่นแนล วัน จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

1317-1318 JAFZA One Building, Tower A,13th Floor, Office # 1318, Jebel Ali, United Arab Emirates (971) 4 8808318 ผู้จัดจำ�หน่�ยอ�ห�รกระป๋องสำ�เร็จรูป 100,000 เอมิเรตส์เดอร์แฮม มูลค่�หุ้นละ 1 เอมิเรตส์เดอร์แฮม มีน�คม 2559 ร้อยละ 60.00 หรือ 60,000 หุ้น

บริษัท ไทยยูเนี่ยน ไชน่า จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

Level 27 Kwah Centre.1010 Huaihai Middle Road, Shanghai 200031, P. R. China (86) 21-80177564 (86) 21-80177899 ผู้จัดจำ�หน่�ยอ�ห�รกระป๋องสำ�เร็จรูป 8,000,000 เหรียญสหรัฐ มิถุน�ยน 2559 ร้อยละ 100.00


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

064 บริษัท ไทยยูเนี่ยน นอร์ทอเมริกา จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ ทุนที่ชำ�ระเพิ่มเติม

Sorrento South Corporate Center 9330 Scranton Road, Suite 500, San Diego, California 92121, USA (1) 858 558-9662 (1) 858 597-4282 ผู้ลงทุนธุรกิจในประเทศสหรัฐอเมริก� หุ้นส�มัญ 12,000,000 หุ้น หุ้นที่ออก 10,050,000 หุ้น มูลค่�หุ้นละ 1 เหรียญสหรัฐ กุมภ�พันธ์ 2539 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 100.00 หรือ 10,050,000 หุ้น 319,018,225.18 เหริยญสหรัฐ

บริษัท ไทร-ยูเนี่ยน ซีฟู้ดส์ จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ส่วนของผู้ถือหุ้น ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ เว็บไซต์

Sorrento South Corporate Center 9330 Scranton Road, Suite 500, San Diego, California 92121, USA (1) 858 558-9662 (1) 858 597-4282 ผู้ผลิตและจำ�หน่�ยอ�ห�รทะเลบรรจุกระป๋อง ภ�ยใต้เครื่องหม�ยก�รค้� “ชิคเก้นออฟเดอะซี” แบรนด์ 54,738,978.81 เหรียญสหรัฐ กรกฎ�คม 2540 (ลงทุนเพิ่ม มกร�คม 2544) ร้อยละ 100.00 (ลงทุนโดย บริษัท ไทยยูเนี่ยน นอร์ทอเมริก� จำ�กัด) http://www.chickenofthesea.com

บริษัท ไทร- ยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จำากัด สำ�นักง�นฝั่งตะวันตก โทรศัพท์ โทรส�ร สำ�นักง�นฝั่งตะวันออก โทรศัพท์ โทรส�ร สำ�นักง�นฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือ โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ ทุนที่ชำ�ระเพิ่มเติม

222 North Sepulveda Boulevard, Suite 1550, El Segundo CA 90245 USA (1) 310 469-7030 (1) 310 469-7037 1981 ม�ร์คัส อเวนิว ห้อง 113อี เลคซัสเซส นิวยอร์ค 11042 สหรัฐอเมริก� (1) 516 740-4100 (1) 516 621-0199 20 ถนนแลดด์, พอร์ตสมัท 03801 สหรัฐอเมริก� (1) 603 433-2220 (1) 603 433-8535 ผู้นำ�เข้�และจัดจำ�หน่�ยอ�ห�รทะเลแช่แข็ง หุ้นส�มัญ 10,000 หุ้น มูลค่�หุ้นละ 0.001 เหรียญสหรัฐ รวม 10 เหรียญสหรัฐ มิถุน�ยน 2546 หุ้นส�มัญ 10,000 หุ้น หรือร้อยละ 100.00 (บริษัท ไทยยูเนี่ยน นอร์ทอเมริก� จำ�กัด) 29,097,888.10 เหริยญสหรัฐ


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

065 บริษัท ยูเอสเพ็ท นูทรีชั่น จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร โรงง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ส่วนของผู้ถือหุ้น ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

9330 Scranton Road, Suite 500, San Diego CA 92121 USA (1) 858 558-9662 (1) 858 597-4282 212 นอร์ทพ�ณิชย์ ลียง จอร์เจีย 30436 (1) 912 805-6136 (1) 912 526-3344 ผู้ผลิตและจำ�หน่�ยอ�ห�รสัตว์เลี้ยงชนิดเปียกและแห้งในประเทศสหรัฐอเมริก� 64,000,000 เหรียญสหรัฐ ตุล�คม 2553 ร้อยละ 100.00 (ลงทุนโดย บริษัท ไทยยูเนี่ยน นอร์ทอเมริก� จำ�กัด ร้อยละ 99 และ บริษัท ไทร-ยูเนี่ยน ซีฟู้ดส์ จำ�กัด ร้อยละ 1)

บริษัท ไทยยูเนี่ยน อินเวสเม้นท์ นอร์ทอเมริกา จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

Sorrento South Corporate Center 9330 Scranton Road, Suite 500, San Diego, California 92121, USA (1) 858 558-9662 (1) 858 597-4282 ผู้ลงทุนธุรกิจในประเทศสหรัฐอเมริก� 200,000,000 เหรียญสหรัฐ กันย�ยน 2559 ร้อยละ 100.00 (ลงทุนโดย บริษัท ไทยยูเนี่ยน นอร์ทอเมริก� จำ�กัด)

ไทยยูเนี่ยน อียู ซีฟู้ด 1 เอส เอ สำ�นักง�น ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

46A Avenue J.F. Kennedy, L-1855 Luxembourg, Luxembourg ผู้ลงทุน 210,250,690 หุ้น มูลค่�หุ้นละ 1 ยูโร ตุล�คม 2553 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 100.00 หรือ 210,250,690 หุ้น

บริษัท ไทยยูเนี่ยน ยุโรป จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

104 Avenue du President Kennedy 75016 Paris, France (33) 1-53-77-53-53 (33) 1-53-77-17-13 ผู้ลงทุน 31,367,000 หุ้น มูลค่�หุ้นละ 1 ยูโร ตุล�คม 2553 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 100.00 หรือ 31,367,000 หุ้น (ลงทุนโดย ไทยยูเนี่ยน ฟร�นซ์ โฮลดิ้ง 2 เอสเอเอส)


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

066 ยูโรเปี้ยน ซีฟู้ด อินเวสเมนท์ ปอร์ตูกอล สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

Av Monsenhor Manuel Bastos AP15 – 2520 206 Peniche, Portugal (351) 262 780 600 (351) 262 780 699 ผู้ผลิตอ�ห�รทะเล 10,000 หุ้น มูลค่�หุ้นละ 5 ยูโร ตุล�คม 2553 ร้อยละ 100.00 (ลงทุนโดย ไทยยูเนี่ยนยุโรป ร้อยละ 74.00 และ ไทยยูเนี่ยนฟร้�นซ์โฮลดิ้ง 2 ร้อยละ 26.00)

มารีบลู เอสอาร์แอล สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

Via dei Missaglia 97 ed. B2, Milano, 20142, Italia (39) 0 257 420 032 (39) 3 216 103 2 ซื้อข�ยอ�ห�รสำ�หรับก�รบริโภค 100,000 หุ้น มูลค่�หุ้นละ 1 ยูโร ตุล�คม 2553 ร้อยละ 100.00 (ลงทุนโดย ไทยยูเนี่ยนยุโรป ร้อยละ 74.00 และ ไทยยูเนี่ยนฟร้�นซ์โฮลดิ้ง 2 ร้อยละ 26.00)

อินเดียน โอเชียน ทูน่า ลิมิเต็ด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

Fishing Port, PO Box 676, Victoria, Mahe, Seychelles (248) 4282500 (248) 4324868 ผู้ผลิตอ�ห�รทะเล 7,192,589 ยูโร ตุล�คม 2553 ร้อยละ 60 (ลงทุนโดย ไทยยูเนี่ยนยุโรป)

เอสตาบลิชเมนต์ พอล พอลเล็ตต์ เอสเอเอส สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

ZI de Pouldavid 29177 Douarnenez, France (33) 2 98 74 40 00 (33) 2 98 74 40 40 ผู้ผลิตและส่งออกซีฟู้ดในยุโรป 636,811 หุ้น มูลค่�หุ้นละ 20 ยูโร ตุล�คม 2553 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 100.00 หรือ 636,811 หุ้น (ลงทุนโดย ไทยยูเนี่ยนยุโรป)


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

067 ไพโอเนียร์ ฟู้ด แคนเนอรี่ ลิมิเต็ด สำ�นักง�น โทรศัพท์: โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

Plot No. 10/11, Fishing Harbour, P.O. Box 40, Tema, Ghana (233) 303 205051 (233) 303 202982 ผู้ผลิตอ�ห�รทะเล 28,477,000 เหรียญสหรัฐ ตุล�คม 2553 ร้อยละ 100.00 (ลงทุนโดย เอสต�บลิชเมนต์ พอล พอลเล็ตต์ เอสเอเอส)

ทีทีวี ลิมิเต็ด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

Fishing Harbour TEMA, Ghana (233) 303 204 431 (233) 303 206 218 จับปล�ทูน่� ข�ยและส่งออกปล�ทูน่� 2,250,000 เหรียญสหรัฐ ตุล�คม 2553 ร้อยละ 50 (ลงทุนโดย เอสต�บลิชเมนต์ พอล พอลเล็ตต์ เอสเอเอส)

จอห์น เวสต์ ฟู้ด ลิมิเต็ด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

No.1 Mann Island, UK (44) 151 243 6200 (44) 151 236 7502 ซื้อข�ยอ�ห�รสำ�หรับก�รบริโภค 250,000 หุ้นส�มัญ มูลค่�หุ้นละ 1 ปอนด์ ตุล�คม 2553 ร้อยละ 100.00 (ลงทุนโดย ยูเค ซีฟู้ด อินเวสเมนท์ ลิมิเต็ด)

บริษัท เมอร์อไลอันซ์ เอสเอเอส จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ แฟกซ์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมก�รลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

55 Avenue de Keradennec 29556 Quimper, France (33) 2-98-64-72-72 (33) 2-98-64-72-70 ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ปล�แซลมอนรมควัน 50,000 หุ้น มูลค่�หุ้นละ 10 ยูโร ตุล�คม 2557 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 100.00 หรือ 50,000 หุ้น (ลงทุนโดย บริษัท ยูโรเปี้ยน เด ล� เมอ เอสเอเอส)


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

068

บริษัท เมอร์อไลอันซ์ อาร์โมลิค เอสเอเอส จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ แฟกซ์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมก�รลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

55 Avenue de Keradennec 29556 Quimper, France (33) 2-98-64-72-72 (33) 2-98-64-72-70 ผู้ผลิตปล�แซลมอนรมควัน 214,274 หุ้น มูลค่�หุ้นละ 15.25 ยูโร ตุล�คม 2557 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 100.00 หรือ 214,274 หุ้น (ลงทุนโดย บริษัท ยูโรเปี้ยน เด ล� เมอ เอสเอเอส)

บริษัท เมอร์อไลอันซ์ โปแลนด์ จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ แฟกซ์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมก�รลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

TARGOWA 34, 86-070 DABROWA CHELMINSKA, Poland (48) 52 381 69 58 (48) 52 381 60 64 ผู้ผลิตปล�แซลมอนรมควัน 45,000 หุ้น มูลค่�หุ้นละ 10 สล๊อตติโปแลนด์ ตุล�คม 2557 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 100.00 หรือ 45,000 หุ้น (ลงทุนโดย บริษัท ยูโรเปี้ยน เด ล� เมอ เอสเอเอส)

บริษัท เอดิบะระ แซลมอน จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ แฟกซ์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมก�รลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

1 Strathview, Dingwall Business Park, Dingwall IV15 9XD United Kingdom (44) 1349 860 600 (44) 1349 860 606 ผู้ผลิตและจัดจำ�หน่�ยปล�แซลมอนรมควัน 200,000 หุ้น มูลค่�หุ้นละ 1 ปอนด์สเตอร์ลิง ตุล�คม 2557 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 100.00 หรือ 200,000 หุ้น (ลงทุนโดย บริษัท ยูโรเปี้ยน เด ล� เมอ เอสเอเอส)

บริษัท ไทยยูเนี่ยน นอร์เวย์ เอเอส จำากัด สำ�นักง�น ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมก�รลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

Nostegaten 58, N5805 Bergen, Norway ผู้ลงทุน 30 หุ้น มูลค่�หุ้นละ 1,000 โครนนอร์เวย์ ตุล�คม 2557 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 100.00 หรือ 30 หุ้น (ลงทุนโดย บริษัท ไทยยูเนี่ยน อียู ซีฟู้ด 1 เอสเอ)


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

069

บริษัท ไทยยูเนี่ยน โปแลนด์ เอสพี จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมก�รลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

Strzebielinko 22, 84-250 Gniewino, Poland (48) 670-65-00 ผู้ผลิตและจำ�หน่�ยอ�ห�รทะเลบรรจุกระป๋อง 1,000,100 หุ้น มูลค่�หุ้นละ 50 สล๊อตติโปแลนด์ (50,005,000 สล๊อตติโปแลนด์) ตุล�คม 2557 หุ้นส�มัญ 100.00% หรือ 1,000,100 หุ้น (ลงทุนโดย บริษัท ไทยยูเนี่ยน อียู ซีฟู้ด 1 เอสเอ)

บริษัท รูเก้น ฟิซ เอจี สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

Straße der Jugend 10, 18546 Sassnitz, Germany (49) 0 38392 60-0 (49) 0 383392 32041 ผู้ผลิตและจำ�หน่�ยอ�ห�รทะเล 2,827,840 ยูโร มกร�คม 2559 ร้อยละ 51.00 (ลงทุนโดย บริษัท ไทยยูเนี่ยน เยอรมันนี จีเอ็มบีเอช)

บริษัท ฮาเวสต้า – เฟนตอส ฮานส์ เวสเพิล สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

Mecklenburger Str. 140-142, 23568 Lübeck, Germany (49) 0 45169 60-0 (49) 0 45169 35-115 ผู้ผลิตและจำ�หน่�ยอ�ห�รทะเล 4,000,000 ยูโร มกร�คม 2559 ร้อยละ 100.00 (ลงทุนโดย บริษัท รูเก้น ฟิซ เอจี จำ�กัด)

บริษัท ไทยยูเนี่ยน แคนนาดา สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

78 Rue du Quai, Val Comeau, NB Canada, E1X 4L1 (1) 506 395-3292 (1) 506 395-3849 ผู้ผลิตและแปรรูปกุ้งล็อบเตอร์ 16,394,536 ดอลล�ร์แคน�ด� มิถุน�ยน 2559 ร้อยละ 80.00% หรือ 91,726 หุ้น (ลงทุนโดย บริษัท ไทยยูเนี่ยน อียู ซีฟู้ด 1 เอสเอ)


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

070

บริษัทร่วม บริษัท ลัคกี้ ยูเนี่ยน ฟู้ดส์ จำากัด สำ�นักง�น/โรงง�น เมือง โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

1/74-75 หมู่ 2 นิคมอุตส�หกรรมสมุทรส�คร ถนนพระร�ม 2 ตำ�บลท่�ทร�ย อำ�เภอ สมุทรส�คร จังหวัดสมุทรส�คร 74000 (66) 3449-0330, 3449-0009 (66) 3449-0008 ผู้ผลิตและส่งออกปูอัด 150,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 100 บ�ท มิถุน�ยน 2533 ลงทุนเพิ่ม มีน�คม 2547 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 25.00 หรือ 375,000 หุ้น

บริษัท บีส ไดแมนชั่น จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

979/79-80 ชั้น 26 อ�ค�รเอสเอ็มท�วเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงส�มเสนใน เขตพญ�ไท กรุงเทพ 10400 (66) 2298-0345 (66) 2298-0331 ผู้ให้บริก�รบริห�รก�รจัดซื้อจัดจ้�งผ่�นระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Procurement) 25,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 5 บ�ท กันย�ยน 2546 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 20.00 หรือ 1,000,000 หุ้น

บริษัท อะแวนติ ฟีดส์ สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมก�รลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

G2, Concorde Apartments, 6-3-658, Somaji Guda, Hyderabad 500 082, Andhra Pradesh, India (91) 40-2331-0260, 2331-0261 (91) 40-2331-1604 ผู้ผลิตและส่งออกอ�ห�รกุ้ง และกุ้งแช่แข็ง 90,830,420 เหรียญรูปี มูลค่�หุ้นละ 10 เหรียญรูปี ตุล�คม 2551 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 25.12 หรือ 2,282,042 หุ้น


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

071

บริษัท อะแวนติ โฟรเซ่น ฟู้ด ไพรเวท สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมก�รลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

G2, Concorde Apartments, 6-3-658, Somajiguda, Hyderabad 500 082,Telangana, India (91) 040-23310260 - 261 (91) 040-23311604 ผู้ผลิตและส่งออกอ�ห�รกุ้ง และกุ้งแช่แข็ง 101,000,000 เหรียญรูปี มูลค่�หุ้นละ 10 เหรียญรูปี มิถุน�ยน 2559 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 55.07 หรือ 4,006,667 หุ้น

บริษัท ทีเอ็น ฟายน์ เคมีคอลส์ จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

30/2 หมู่ 8 ถนนเศรษฐกิจ 1 ตำ�บลท่�ทร�ย อำ�เภอเมืองสมุทรส�คร จังหวัดสมุทรส�คร 74000 (66) 3442-3686 (66) 3442-3688 ผู้ผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จ�กอ�ห�รทะเล 90,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 10,000 บ�ท มีน�คม 2552 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 48.97 หรือ 4,407 หุ้น (ลงทุนโดยบริษัท ไทยรวมสินพัฒน�อุตส�หกรรม จำ�กัด)

บริษัท ซีฟู้ด อินเตอร์เนชั่นแนล ทู จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

1317-1318 JAFZA One Building, Tower A,13th Floor, Office # 1318, Jebel Ali, United Arab Emirates (971) 4 8808318 ผู้จัดจำ�หน่�ยอ�ห�รกระป๋องสำ�เร็จรูป 100,000 เอมิเรตส์เดอร์แฮม มูลค่�หุ้นละ 1 เอมิเรตส์เดอร์แฮม มีน�คม 2559 ร้อยละ 40.00 หรือ 40,000 หุ้น

แอลดีเอช (ลา ดอเรีย) ลิมิเต็ด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

LDH House, Parsons Green, St.Ives, Cambridgeshire, PE27 4AA (44) 1480 308800 (44) 1480 308899 จัดจำ�หน่�ยผลิตภัณฑ์อ�ห�ร 1,000,000 หุ้น มูลค่�หุ้นละ 1 ปอนด์ 2549 ร้อยละ 20.00 หรือ 200,000 หุ้น (ลงทุนโดย จอน เวส ฟู้ด ลิมิเต็ด)


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

072

บริษัท เรด ล็อบเตอร์ มาสเตอร์ โฮลดิ้ง พีซี สำ�นักง�น โทรศัพท์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

450 S. Orange Ave., Suite 800 Orlando FL 32801-3383, USA (407) 734-9000 ผู้ลงทุน หุ้นส�มัญ 7,600,000 หุ้น หุ้นละ 92 เหรียญสหรัฐ หุ้มบุริมสิทธิ์ 2,400,000 หุ้น หุ้นละ 143.75 เหรียญสหรัฐ กันย�ยน 2559 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 25.00 หรือ 2,500,000 หุ้น หุ้นหุ้มบุริมสิทธิ์ ร้อยละ 24.00 หรือ 2,400,000 หุ้น (ลงทุนโดย บริษัท ไทยยูเนี่ยน อินเวสเม้นท์ นอร์ทอเมริก� จำ�กัด)

บริษัทร่วมค้า บริษัท มอร์สบี้ อินเตอร์เนชั่นแนล โฮลดิ้งส์ สำ�นักง�น ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมก�รลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

Morgan & Morgan Building Pasea Estate Road Town, Tortotal British Virgin Islands เพื่อจัดตั้งบริษัท ม�เจสติด ซีฟู้ด คอร์ปอเรชั่น ซึ่งจะดำ�เนินธุรกิจก�รจับปล�ทูน่�ใน น่�นน้ำ�ประเทศป�ปัวนิวกินีและบริเวณใกล้เคียง 9,327,699 เหรียญสหรัฐ ตุล�คม 2552 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 33.33 (ลงทุนโดยบริษัท ไทยรวมสินพัฒน�อุตส�หกรรม จำ�กัด)

บริษัท ทีเอ็มเอซี จำากัด (TMAC) สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมก�รลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

89/1 หมู่ 2 ถนนพระร�ม 2 ตำ�บลก�หลง อำ�เภอเมืองสมุทรส�คร จังหวัดสมุทรส�คร 74000 (66) 3441-7261-3 (66) 3441-7264 ฟ�ร์มกุ้ง 1,130,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 10 บ�ท ธันว�คม 2555 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 50.99 หรือ 57,629,997 หุ้น (ลงทุนโดย บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำ�กัด)


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

073

บริษัท ไทยยูเนี่ยน แฮชเชอรี่ จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร โรงง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

89/1 หมู่ 12 ถนนพระร�ม 2 ตำ�บลก�หลง อำ�เภอเมืองสมุทรส�คร จังหวัดสมุทรส�คร 74000 (66) 3441-7261 (66) 3441-7264 42 หมู่ 14 ตำ�บลโคกกลอย อำ�เภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังง� 82140 (66) 7658-4000-27 (66) 7658-4028-9 ประกอบกิจก�รพัฒน�ส�ยพันธุ์กุ้งข�วที่มีคุณภ�พ เพื่อผลิตและจำ�หน่�ยลูกกุ้ง 315,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 10 บ�ท เมษ�ยน 2549 (ลงทุนเพิ่ม พฤศจิก�ยน 2550 เมษ�ยน 2554 และมกร�คม 2556) หุ้นส�มัญร้อยละ 100.00 หรือ 23,999,950 หุ้น (ลงทุนโดย บริษัท ทีเอ็มเอซี จำ�กัด)

บริษัท ทีซีเอ็ม ฟิชเชอรี่ จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ฟ�ร์ม ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมก�รลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

89/1 หมู่ 12 ถนนพระร�ม 2 ตำ�บลก�หลง อำ�เภอเมืองสมุทรส�คร จังหวัดสมุทรส�คร 74000 (66) 3441-7261-3 (66) 3441-7264 147 หมู่ 11 ตำ�บลกำ�แพง อำ�เภอละงู จังหวัดสตูล 91110 ฟ�ร์มกุ้ง 70,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 10 บ�ท เมษ�ยน 2555 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 75.00 หรือ 5,250,000 หุ้น (ลงทุนโดย บริษัท ทีเอ็มเอซี จำ�กัด)

บริษัท ทีเอ็มเค ฟาร์ม จำากัด สำ�นักง�น โทรศัพท์ โทรส�ร ฟ�ร์ม ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้�ร่วมก�รลงทุน ชนิด/อัตร�ส่วน/จำ�นวนหุ้นที่ถือ

89/1 หมู่ 12 ถนนพระร�ม 2 ตำ�บลก�หลง อำ�เภอเมืองสมุทรส�คร จังหวัดสมุทรส�คร 74000 (66) 3441-7261-3 (66) 3441-7264 173 หมู่ 4 ตำ�บลบ�งสัก อำ�เภอกันตัน จังหวัดตรัง 92110 ฟ�ร์มกุ้ง 270,000,000 บ�ท มูลค่�หุ้นละ 10 บ�ท มิถุน�ยน 2555 หุ้นส�มัญ ร้อยละ 94.44 หรือ 25,499,999 หุ้น (ลงทุนโดย บริษัท ทีเอ็มเอซี จำ�กัด)


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

074

ภาพรวมอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมปลาและอาหารทะเลทั่ว โลกยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง ในช่วงส�มปีที่ผ่�นม� อุตส�หกรรมปล�และอ�ห�รทะเลทั่วโลกมี อัตร�ก�รเติบโตเฉลี่ยสะสมต่อปีอยู่ที่ร้อยละ 4.1 (2557-2559) มีมูลค่�คิดเป็น 216 พันล้�นเหรียญสหรัฐในปี 2559 และ ค�ดว่�จะมีอัตร�ก�รเติบโตเฉลี่ยสะสมต่อปี เพิ่มขึ้นเป็นร้อย ละ 4.5 ในช่วงระหว่�งปี 2559-2561 ซึ่งทำ�ให้มีมูลค่�เพิ่มขึ้น เป็น 236 พันล้�นเหรียญสหรัฐ จ�กปัจจัยทั้งท�งด้�นร�ค�ที่ ปรับตัวสูงขึ้นและก�รบริโภคปล�และอ�ห�รทะเลที่เพิ่มม�กขึ้น ปริม�ณก�รบริโภคปล�และอ�ห�รทะเลของโลกค�ดว่�จะ เพิ่มขึ้นประม�ณร้อยละ 7 จ�ก 20.3 กิโลกรัมต่อคนใน ปี 2558 เป็น 21.8 กิโลกรัมต่อคนในปี 2568 อันเนื่อง ม�จ�กก�รบริโภคปล�และอ�ห�รทะเลของภูมิภ�คเอเชีย แปซิฟิก เช่น อินโดนีเซีย ม�เลเซีย และจีน ที่มีอัตร�ก�ร บริโภคอ�ห�รทะเลสูงกว่�ค่�เฉลี่ยของโลกเป็นอย่�งม�ก

สถานการณ์ทางการตลาดจำาแนกตามภูมิภาค ภูมิภ�คเอเชียแปซิฟิก (APAC) เป็นภูมิภ�คที่มีสัดส่วน มูลค่�ของตล�ดปล�และอ�ห�รทะเลม�กที่สุด หรือคิด เป็นร้อยละ 40 ของมูลค่�ตล�ดปล�และอ�ห�รทะเลทั่ว โลก และค�ดว่�จะมีสัดส่วนไม่เปลี่ยนแปลงเนื่องจ�กคว�ม ต้องก�รบริโภคปล�และอ�ห�รทะเลที่เพิ่มขึ้น ร�ยได้ที่ใช้ จ่�ยได้จริง (Disposable income) เพิ่มขึ้น ก�รขย�ย ตัวของเมือง และก�รเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมก�รบริโภค ภูมิภ�คยุโรปเป็นภูมิภ�คที่มีสัดส่วนมูลค่�ของตล�ดปล�และ อ�ห�รทะเลใหญ่เป็นอันดับสอง หรือคิดเป็นร้อยละ 32 ของ มูลค่�ตล�ดโลกทั้งหมดในปี 2559 อย่�งไรก็ต�ม ตล�ดปล� และอ�ห�รทะเลในยุโรปกำ�ลังเข้�สู่ภ�วะเติบโตเต็มที่โดยมีอัตร� ก�รเติบโตน้อยกว่�ภูมิภ�คอื่นๆ เป็นอย่�งม�ก และค�ดว่� สัดส่วนของตล�ดในภูมิภ�คนี้จะลดลงเล็กน้อยภ�ยในปี 2561 สหรัฐอเมริก�เป็นภูมิภ�คที่มีสัดส่วนมูลค่�ของตล�ดปล�และ อ�ห�รทะเลใหญ่เป็นอันดับส�ม และเป็นผู้นำ�เข้�ปล�และอ�ห�ร ทะเลร�ยใหญ่ที่สุดของโลก ซึ่งส่วนใหญ่นำ�เข้�ม�จ�กเอเชีย แปซิฟิก แคน�ด� และเอกว�ดอร์ โดยค�ดว่�มูลค่�ตล�ดปล� และอ�ห�รทะเลของสหรัฐอเมริก�จะเพิ่มขึ้นเป็น 58.6 พันล้�น เหรียญสหรัฐ (อัตร�ก�รเติบโตเฉลี่ยสะสมต่อปีร้อยละ 5) หรือ มีสัดส่วนประม�ณร้อยละ 25 ของทั้งหมด ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผล ม�จ�กผู้บริโภคซื้อผลิตภัณฑ์อ�ห�รทะเลเกรดพรีเมี่ยมม�กขึ้น เพร�ะระดับร�ยได้สูงขึ้นและกระแสก�รดูแลสุขภ�พที่ม�กขึ้น มูลค่�ตล�ดปล�และอ�ห�รทะเลจำ�แนกต�มภูมิภ�ค (หน่วย: พันล้�นเหรียญสหรัฐ) 4.5%

235.8 1.8 58.6

EMEA US

215.9 1.6 53.2

EUROPE

73.9

APAC

87.2

97.1

2559

2561

78.3

ที่ม� : Technavio Global Fish & Seafood (ประม�ณก�ร)


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

075

สถานการณ์ทางการตลาดจำาแนกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ ในปี 2559 กลุ่มผลิตภัณฑ์ประเภทปล�และอ�ห�รทะเลสด และแช่เย็นมีสัดส่วนม�กที่สุดในโลก หรือคิดเป็นร้อยละ 67 และจะยังคงครองส่วนแบ่งท�งก�รตล�ดม�กที่สุด โดยมี อัตร�เพิ่มขึ้นกว่� 40 จุด (Basis point) ภ�ยในปี 2561 เนื่องจ�กประช�กรทั่วโลกมีคว�มใส่ใจสุขภ�พม�กขึ้น ทำ�ให้ คว�มต้องก�รอ�ห�รที่มีคุณภ�พเพิ่มสูงขึ้นต�มไปด้วย

มูลค่�ตล�ดปล�และอ�ห�รทะเลจำ�แนกต�มกลุ่มผลิตภัณฑ์ (หน่วย: พันล้�นเหรียญสหรัฐ) 4.5% 215.9 10.4 29.8 29.8

93.4 73.8

2557

อื่นๆ ผลิตภัณฑ์บรรจุกระป๋อง

81.4

93.6

ที่ม�

2559F

2558

Capture fisheries

: FAO Globefish Highlights 2016

235.7 11.3 32.2 33.0

ปริม�ณก�รบริโภคปล�ต่อคน

159.1 2561 ผลิตภัณฑ์แช่เยือกแข็ง ผลิตภัณฑ์อาหารสดและแช่เย็น

ที่ม� : Technavio Global Fish & Seafood (ประม�ณก�ร)

การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำากำาลังจะมีสัดส่วนที่มาก กว่าการจับปลาตามธรรมชาติเพื่อการบริโภค ในปี 2558 ก�รผลิตปล�และอ�ห�รทะเลทั้งโลกมีปริม�ณ ม�กกว่� 170 ล้�นตัน ประม�ณร้อยละ 55 ของผลผลิตม�จ�ก ก�รจับปล�ต�มธรรมช�ติเป็นหลัก อย่�งไรก็ต�ม ในแง่ของก�ร บริโภคนั้น ปล�และอ�ห�รทะเลส่วนใหญ่ม�จ�กก�รเพ�ะเลี้ยงเป็น หลัก หรือประม�ณร้อยละ 53 ของปริม�ณก�รบริโภคทั้งหมด ซึ่งจะมีแนวโน้มสูงขึ้นในอีกไม่กี่ปีข้�งหน้�ด้วยปัจจัยดังต่อไปนี้ ประก�รที่หนึ่ง ปร�กฏก�รณ์เอลนีโญ (El Nino) ที่ยังคง ทำ�ให้ปริม�ณปล�ที่จับได้ต�มแหล่งน้ำ�ธรรมช�ติลดลง ประก�รที่สอง ก�รเพิ่มขึ้นของประช�กรโลกโดยเฉพ�ะกลุ่ม ประเทศกำ�ลังพัฒน� ก�รเพิ่มขึ้นของร�ยได้ และกระแสก�ร ดูแลสุขภ�พที่เพิ่มขึ้น เป็นปัจจัยที่ทำ�ให้คว�มต้องก�รปล� และอ�ห�รทะเลสูงขึ้น เนื่องจ�กก�รจับปล�ต�มธรรมช�ติไม่ ส�ม�รถตอบสนองคว�มต้องก�รได้อย่�งเพียงพอ ทำ�ให้ ก�รเพ�ะเลี้ยงสัตว์น้ำ�จะมีบทบ�ทเพิ่มขึ้นเป็นอย่�งยิ่ง

10.5

10.9 9.8

9.7

กิโลกรัม/ปี

2559

93.5

Aquaculture

10.1 10.0 140.0

77.5

ล้านตัน

ในปี 2561 สัดส่วนของกลุ่มผลิตภัณฑ์แช่เยือกแข็งจะแซงหน้� สัดส่วนของกลุ่มผลิตภัณฑ์บรรจุกระป๋อง โดยจะมีมูลค่�เพิ่มขึ้นถึง 33 พันล้�นเหรียญสหรัฐ เนื่องจ�กมีก�รส่งออกปล�และอ�ห�ร ทะเลแช่เยือกแข็งไปประเทศสหรัฐอเมริก�และภูมิภ�คยุโรปเพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลม�จ�กอ�ยุก�รเก็บรักษ�ผลิตภัณฑ์ที่ย�วน�น

ปริม�ณก�รผลิตปล�และอ�ห�รทะเลของโลก

2557

2558

Aquaculture

2559F Capture fisheries

ที่ม� : FAO Globefish Highlights 2016

ทรัพยากรหลักและแนวโน้มราคา: ทูน่า กุ้ง และแซลมอน ข้อมูลขององค์ก�รอ�ห�รและเกษตรแห่งสหประช�ช�ติ (FAO) ระบุว่� ปล�ทูน่� กุ้ง และปล�แซลมอน เป็นอ�ห�ร ทะลที่นิยมค้�ข�ยกันม�กที่สุด คิดเป็นร้อยละ 42 ของมูลค่� อ�ห�รทะเลทั้งหมด ซึ่งผลิตภัณฑ์ทั้งส�มประเภทนี้ยังเป็น ร�ยได้หลักของบริษัทเช่นกัน หรือคิดเป็นร้อยละ 72 ของ ร�ยได้ของไทยยูเนี่ยนทั้งหมดในปี 2559 ดังนั้น ไทยยู เนี่ยนจึงต้องติดต�มแนวโน้มร�ค�ตล�ดโลกอย่�งใกล้ชิด


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

076 ปลาทูน่าพันธุ์ท้องแถบ (Skipjack) เป็นสายพันธุ์ ที่นิยมใช้ในการผลิตทูน่ากระป๋องมากที่สุด และก็ มีความผันผวนทางด้านราคาตลอดปี 2559 ปล�ทูน่�พันธุ์ท้องแถบเป็นส�ยพันธุ์ที่นิยมใช้ในก�รผลิตปล� ทูน่�กระป๋องและปล�ทูน่�แปรรูปม�กที่สุด จ�กข้อมูลของ FAO พบว่� ประม�ณร้อยละ 54 ของปล�ทูน่�ผลิตม�จ�กปล� ทูน่�พันธุ์ท้องแถบ รองลงม�ได้แก่ ปล�ทูน่�พันธุ์ครีบเหลือง (Yellowfin) ปล�ทูน่�พันธุ์ครีบน้ำ�เงิน (Bluefin) ปล�ทูน่� พันธุ์ต�โต (Bigeye) และปล�ทูน่�พันธุ์ครีบย�ว (Albacore)

ผลผลิตปลาทูน่าทั่วโลกที่ได้จากการจับตามธรรมชาติ และการเพาะเลี้ยงจำาแนกตามสายพันธุ์ในปี 2557 Albacore Bigeye 4% 7%

ราคาเฉลี่ยของปลาทูน่าจำาแนกตามสายพันธุ์ ระหว่างปี 2549-2559 (ท่าเรือกรุงเทพฯ จาก มหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันตก)

Bluefin 9%

3500

Skipjack 54%

เหรียญสหรัฐ/ตัน

Yellowfin 26%

ร�ค�ปล�ทูน่�ก็ยังไม่กลับสู่ภ�วะปกติ กล่�วคือ ร�ค�ลดลงม� ที่ 1,400-1,450 เหรียญสหรัฐต่อตันในช่วงไตรม�สที่ 3 ซึ่ง ปกติเป็นช่วงเวล�ที่ร�ค�สูงที่สุดในรอบปี และร�ค�ยังคงปรับ ตัวเพิ่มสูงขึ้นอย่�งต่อเนื่องเป็น 1,625 เหรียญสหรัฐต่อตันใน เดือนธันว�คม เพิ่มขึ้นจ�ก 1,500 เหรียญสหรัฐต่อตัน (+ ร้อย ละ 8) ในเดือนพฤศจิก�ยน และเพิ่มขึ้นจ�ก 1,000 เหรียญ สหรัฐต่อตันในปี 2558 (+ ร้อยละ 63) ถึงแม้ว่�โดยปกติร�ค� จะไม่สูงนักในช่วงปล�ยปี ซึ่งทำ�ให้ร�ค�ปล�ทูน่�พันธุ์ท้องแถบ ในเดือนธันว�คมปรับตัวสูงกว่�เดือนพฤศจิก�ยนเป็นครั้งแรก ตั้งแต่ปี 2553 ทั้งนี้ เนื่องจ�กปริม�ณก�รจับปล�ในมห�สมุทร แปซิฟิกฝั่งตะวันตกและมห�สมุทรอินเดียลดลงอย่�งม�ก

3000 2500 2000 1500 1000 500

2549

2550

2551

2552

Skipjack

2553

2554

2555

2556

2557

Albacore

2558

ที่ม�: Thai Union Group ที่ม�

: FAO Globefish Highlights 2016

แนวโน้มของร�ค�ปล�ทูน่�พันธุ์ท้องแถบและปล�ทูน่�พันธุ์ครีบ เหลืองค่อนข้�งมีคว�มสัมพันธ์กันในช่วง 10 ปีที่ผ่�นม� อุปสงค์ และอุปท�นของปล�ทั้งสองส�ยพันธุ์มีคว�มคล้�ยคลึงกัน กล่�ว คือ ปล�ทั้งสองพันธุ์ถูกจับด้วยเรือชนิดเดียวกันและถูกข�ยให้ กับโรงง�นแปรรูปเดียวกัน ทำ�ให้อุปสงค์และอุปท�นผันแปรอย่�ง สอดคล้องกัน อย่�งไรก็ต�ม เนื่องจ�กปล�ทูน่�พันธุ์ครีบเหลือง มีอ�ยุยืนกว่�และขน�ดตัวใหญ่กว่� จึงทำ�ให้มีร�ค�สูงกว่�พันธุ์ ท้องแถบ ในขณะที่ปล�ทูน่�พันธุ์ครีบย�วมีก�รกระจ�ยพันธุ์ ในวงกว้�งและมีก�รอพยพถิ่นฐ�นเสมอ ส่งผลให้ปริม�ณก�ร จับปล�ทูน่�พันธุ์นี้มีคว�มแตกต่�งกันสูงม�กตั้งแต่ 170 ถึง 255,000 ตันในช่วงระยะเวล� 25 ปีที่ผ่�นม� ซึ่งปล�ทูน่�พันธุ์ ครีบย�วนี้ก็เป็นที่นิยมม�กโดยเฉพ�ะในตล�ดสหรัฐอเมริก� เนื่องจ�กมีรูปลักษณะภ�ยนอกที่ดูดีทำ�ให้ส�ม�รถตั้งร�ค�สูงได้ ในช่วงต้นปี 2559 ปริม�ณก�รจับปล�ทูน่�พันธุ์ท้องแถบเริ่ม ปรับตัวเพิ่มขึ้น ขณะที่ร�ค�เฉลี่ยของปล�ทูน่�ยังคงเท่�กับ 1,085 เหรียญสหรัฐต่อตันระหว่�งเดือน ม.ค.-ก.พ. ซึ่งต่ำ�กว่� ร�ค�เฉลี่ยในปี 2558 อย่�งไรก็ต�ม ผู้ซื้อปล�ในขณะนั้น เชื่อ ว่�ร�ค�นี้เป็นร�ค�ที่ต่ำ�สุดแล้ว จึงดึงดูดให้มีผู้ซื้อปล�ม�กขึ้น ส่งผลให้ร�ค�เฉลี่ยในช่วงเดือน มี.ค.-พ.ค. ปรับตัวสูงขึ้นเป็น 1,570 เหรียญสหรัฐต่อตัน สำ�หรับช่วงครึ่งปีหลังของปี 2559

การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมกุ้งในประเทศไทย กุ้งข�ว (Whiteleg shrimp) เป็นกุ้งที่นิยมใช้ในก�รผลิต กุ้งม�กที่สุดในโลก (ร้อยละ 45) มีก�รเพ�ะเลี้ยงส่วนใหญ่ ในประเทศเอกว�ดอร์ อินเดีย ไทย จีน และอ�ร์เจนติน่�

ผลผลิตกุ้งทั่วโลกจากการจับตามธรรมชาติและการ เพาะเลี้ยงในปี 2557 จำาแนกตามชนิดของกุ้ง Akiami paste 7% Asian tiger 10%

Whiteleg 45% Other 38%

ที่ม�

: FAO Globefish Highlights 2016

2559

Yellowfin


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

077 ผลผลิตปลาแซลมอนทั่วโลกจากการเพาะเลี้ยงและการ จับตามธรรมชาติในปี 2557 จำาแนกตามสายพันธุ์

ในปี 2559 ร�ค�เฉลี่ยของกุ้งข�วอยู่ที่ 179 บ�ทต่อกิโลกรัม (ขน�ด 60 ตัวต่อกิโลกรัม) เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 จ�กปีก่อนหน้� ในขณะที่เกษตรกรผู้เพ�ะเลี้ยงกุ้งในประเทศจีน อินเดีย และ เวียดน�ม ต้องเผชิญกับสภ�พภูมิอ�ก�ศที่เลวร้�ยและโรคระบ�ด แต่ประเทศไทยเป็นเพียงประเทศเดียวที่ไม่ได้รับผลกระทบ ดังนั้น เนื่องจ�กปริม�ณผลผลิตกุ้งที่ยังต่ำ�แต่ยังมีคว�มต้องก�รสูง จึงส่ง ผลให้ร�ค�กุ้งปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย โดยปริม�ณผลผลิตกุ้งใน ประเทศไทยค่อยๆ ปรับตัวเพิม่ ขึน้ ม�อยูท่ ป่ี ระม�ณ 300,000 ตัน ในปี 2559 และผลผลิตกุ้งจะยังเพิ่มขึ้นอย่�งต่อเนื่อง จ�กก�รฟื้นตัวของก�รระบ�ดของโรคต�ยด่วนในกุ้ง (Early Mortality Syndrome) ที่เกิดขึ้นในปี 2556-2557 ดังนั้น ร�ค�กุ้งจะยังคงที่ในปีหน้�

Chum 6%

Coho 6%

Sockeye 5%

Pink 14% Atlantic 69%

ราคาเฉลี่ยของกุ้งขาวจำาแนกตามขนาดระหว่าง ปี 2549-2559 ในประเทศไทย 250 200

ที่ม�

: FAO Globefish Highlights 2016

100 50

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

60pcs/kg

70pcs/kg

80pcs/kg

100pcs/kg

2556

2557

2558

ที่ม�: Thai Union Group

ราคาปลาแซลมอนทั่วโลกสูงขึ้นเป็นปรากฏการณ์ ปริม�ณผลผลิตปล�แซลมอนยังคงม�จ�กก�รเพ�ะเลี้ยง เป็นหลักโดยปล�แซลมอนแอตแลนติกเป็นส�ยพันธุ์ที่มีก�ร เพ�ะเลี้ยงม�กที่สุด นอร์เวย์และชิลีเป็นสองประเทศผู้ผลิต ปล�แซลมอนที่ใหญ่สุดในโลก ในขณะที่สหภ�พยุโรป ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริก� และประเทศกำ�ลังพัฒน�อื่นๆ เป็นผู้นำ�เข้�หลัก ในปี 2559 ร�ค�ปล�แซลมอนเลี้ยงสูงขึ้นอย่�งไม่เคยเป็น ม�ก่อน โดยมีร�ค�เฉลี่ยที่ 63 โครนนอร์เวย์ (NOK) ต่อ กิโลกรัม ปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 50 จ�กร�ค�เฉลี่ยของปีก่อน หน้� อันเป็นผลม�จ�กปริม�ณอุปท�นที่มีอยู่อย่�งจำ�กัด ผลผลิตปล�แซลมอนทั่วโลกยังต้องเผชิญกับคว�มท้�ท�ย หล�ยประก�รทั้งจ�กปัญห�ด้�นสิ่งแวดล้อมและโรคระบ�ด

2559

- ปร�กฎก�รณ์ก�รขย�ยพันธุ์อย่�งรวดเร็วของส�หร่�ยในชิลี (Algae Bloom): ปร�กฏก�รณ์เอลนีโญส่งผลให้อณ ุ หภูมิ ในมห�สมุทรสูงขึ้นผิดปกติ ทำ�ให้ส�หร่�ยเหล่�นี้ แพร่พันธุ์อย่�งรวดเร็ว ก�รแพร่พันธุ์ของส�หร่�ยพิษนี้ ทำ�ให้ปริม�ณปล�แซลมอนลดลงถึง 123,000 ตัน (หรือ ร้อยละ 16 ของผลผลิตทั่วโลก) ทำ�ให้ร�ค�ข�ยส่งของ ปล�แซลมอนที่ประเทศชิลีปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 60 - ก�รระบ�ดของไร/หมัดทะเล (Sea lice) ในนอร์เวย์: สภ�พ อ�ก�ศที่เลวร้�ยและก�รระบ�ดของไร/หมัดทะเลในบ�ง พื้นที่ทำ�ให้ขน�ดของปล�แซลมอนลดลงกว่�ขน�ดเฉลี่ย ทำ�ให้ประสิทธิภ�พก�รเพ�ะเลี้ยงปล�แซลมอนต่ำ�ลง - ก�รจับปล�ต�มแหล่งน้ำ�ธรรมช�ติที่ลดลง ส่งผลให้ร�ค�เฉลี่ยของปล�แซลมอนปรับตัวขึ้น

ราคาเฉลี่ยของปลาแซลมอนระหว่าง ปี 2553-2559 ในประเทศนอร์เวย์

80 70

โครนนอร์เวย์/กิโลกรัม

บ�ท/กิโลกรัม

150

60 50 40 30 20 10 0 2553

2554

2555

2556

2557

ที่ม�: Fish Pool ASA

2558

2559


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

078

มูลค่าส่วนแบ่งทางการตลาด ของแบรนด์ในปี 2559 ประเทศไทย มูลค่าส่วนแบ่งตลาดของ “Sealect” ในประเทศไทย (ตลาดอาหารทะเลกระป๋อง)

มูลค่าส่วนแบ่งตลาดของ “Sealect Tuna” ในประเทศไทย (ตลาดปลาทูน่ากระป๋อง)

10% 51%

49%

90%

Sealect

Sealect Tuna

แบรนด์อื่น

แบรนด์อื่น

สหรัฐอเมริกา มูลค่าส่วนแบ่งตลาดของ “Chicken of the Sea” ในสหรัฐอเมริกา 15%

85%

Chicken of the Sea

แบรนด์อื่น

มูลค่าส่วนแบ่งตลาดของ “King Oscar” ในสหรัฐอเมริกา (ซาร์ดีนพรีเมี่ยม) 22%

78%

King Oscar

แบรนด์อื่น


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

079

ยุโรป มูลค่าส่วนแบ่งตลาดของ “Petit Navire” และ “Parmentier” ในฝรั่งเศส

มูลค่าส่วนแบ่งตลาดของ “John West” ในสหราชอาณาจักร

33%

39% 61%

67%

John West

Petit Navire and Parmentier

แบรนด์อื่น

มูลค่าส่วนแบ่งตลาดของ “King Oscar” ในนอร์เวย์

13%

87%

King Oscar

แบรนด์อื่น

แบรนด์อื่น

มูลค่าส่วนแบ่งตลาดของ “Mareblu” ในอิตาลี 6%

94%

Mareblu แบรนด์อื่น

มูลค่าส่วนแบ่งตลาดของ “Rugen Fisch” และ “Hawesta” ในเยอรมนี

11%

89%

Rügen Fisch and Hawesta

แบรนด์อื่น

ที่มา: AC Nielsen and IRI


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

080

ความยัง่ ยืนทีไ่ ทยยูเนีย่ น

ก�รพัฒน�เพื่อคว�มยั่งยืนมีคว�มสำ�คัญต่ออน�คตของธุรกิจ และก�รเติบโตของไทยยูเนี่ยน นับเป็นร�กฐ�นต่อก�รเป็นองค์กร ทีม่ คี ว�มรับผิดชอบต่อสังคม และต่อแนวท�งทีเ่ ร�จะบรรลุวสิ ยั ทัศน์ ของก�รเป็นผู้นำ�ด้�นอ�ห�รทะเลที่ได้รับคว�มไว้ว�งใจม�กที่สุด ในโลก บริษัทมีคว�มรับผิดชอบในก�รสร้�งม�ตรฐ�นให้กับก�รดำ�เนิน ง�นด้�นสังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจในทุกก�รดำ�เนินง�น ของเร�และรวมถึงห่วงโซ่อุปท�นของเร� เร�ตระหนักดีถึงคว�ม รับผิดชอบนี้ในก�รแสดงคว�มเป็นผู้นำ� เร�ตอบสนองคว�ม ต้องก�รของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของเร�ด้วยก�รผลักดัน SeaChange® ซึ่งเป็นกลยุทธ์คว�มยั่งยืนของไทยยูเนี่ยน โดย มีพันธกิจที่วัดผลได้ในก�รส่งมอบก�รเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจริง และยั่งยืน ในวิธีก�รดำ�เนินง�นของเร� SeaChange® มี เป้�หม�ยในก�รขับเคลื่อนก�รปฏิรูปเชิงสร้�งสรรค์ให้เกิดขึ้นกับ ทั้งอุตส�หกรรมอ�ห�รทะเลโลก บริษัทว�ง SeaChange® เป็นก�รเดินท�งที่ครอบคลุมทุกแง่มุม

ของธุรกิจอ�ห�รทะเล: ตั้งแต่แนวท�งที่เร�ดูแลท้องทะเลไปจนถึง วิธีก�รที่เร�บริห�รจัดก�รของเสีย; ตั้งแต่คว�มรับผิดชอบที่ เร�มีต่อพนักง�นของเร�ไปจนถึงก�รสร้�งอน�คตที่สดใสให้กับ ชุมชนโดยรอบที่เร�มีก�รดำ�เนินง�นอยู่ ในปี 2559 ไทยยูเนี่ยน ได้รับคัดเลือกให้ติดดัชนีคว�มยั่งยืน ด�วโจนส์ ตล�ดเกิดใหม่ โดยมี SeaChange® กลยุทธ์เพื่อคว�มยั่งยืนของเร�เป็น ตัวขับเคลื่อนคะแนนด้�น Materiality จนได้คะแนนสูงสุดใน อุตส�หกรรมในประเภทนี้ที่ลำ�ดับเปอร์เซ็นไทล์ที่ 100 หัวใจของกลยุทธ์คว�มยั่งยืนของเร�คือคว�มส�ม�รถในก�ร ตรวจสอบย้อนกลับถึงแหล่งที่ม�ของผลิตภัณฑ์อ�ห�รทะเลของ บริษัทได้อย่�งเต็มรูปแบบตั้งแต่ก�รจับจนถึงเป็นผลิตภัณฑ์พร้อม บริโภค เมื่อระบบนี้เดินหน้�อย่�งเต็มรูปแบบ เร�จะส�ม�รถ ระบุ ตรวจสอบ และปรับปรุงก�รดำ�เนินง�นในด้�นสำ�คัญๆ เช่น แรงง�น และก�รจัดห�แหล่งวัตถุดิบด้วยคว�มรับผิดชอบ ในขณะที่ก�รดำ�เนินง�นนี้ได้รับก�รออกแบบม�เพื่อสร้�งก�ร เปลี่ยนแปลงเชิงสร้�งสรรค์ต่ออุตส�หกรรมอ�ห�รทะเล คว�ม


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

081 สำ�เร็จที่เร�ทำ�ได้ภ�ยใต้โครงก�รนี้ยังสอดคล้องกับเป้�หม�ย ก�รพัฒน�เพื่อคว�มยั่งยืนขององค์ก�รสหประช�ช�ติอีกด้วย (United Nations Sustainable Development Goals

:SDGs) และเป็นไปต�มพันธกิจทบริษัทมีในฐ�นะที่เป็นภ�คีข้อ ตกลงโลกแห่งสหประช�ช�ติ (UN Global Compact)

ภาคีข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติและเป้าหมายการพัฒนา เพื่อความยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ ในฐ�นะที่เป็นภ�คีข้อตกลงโลกแห่งสหประช�ช�ติ ไทยยูเนี่ยนได้ ดำ�เนินก�รต�มพันธกิจที่ให้ไว้กับหลักก�ร 10 ประก�รต�ม ข้อตกลงตั้งแต่ปี 2556 โดยหลักก�รทั้งหมดได้รับก�รประมวล ไว้ในจรรย�บรรณธุรกิจและแนวปฏิบัติด้�นแรงง�นของเร� ซึ่ง ไม่เพียงกำ�กับดูแลวิธีก�รที่พนักง�นของบริษัทดำ�เนินง�น แต่ ยังรวมถึงแนวท�งที่บริษัทต้องก�รให้ห่วงโซ่อุปท�นของบริษัท ดำ�เนินต�มด้วย ด้วยวิธีนี้ เร�กำ�ลังขย�ยแนวท�งก�รทำ�ง�น ของเร�และใช้ธุรกิจของเร�เป็นพลังในก�รขับเคลื่อนคว�ม เปลี่ยนแปลง

ในปี 2559 ภ�ยใต้กลยุทธ์ SeaChange® ไทยยูเนี่ยนเน้นที่เป้� หม�ยหลัก 3 ด้�นขององค์ก�รสหประช�ช�ติ ซึ่งเป็นก�รสร้�ง ก�รเปลี่ยนแปลงท�งสังคมในวงกว้�งในส่วนที่บริษัทส�ม�รถ ดำ�เนินก�รได้ แม้ว่�ก�รทำ�ง�นของบริษัทมีส่วนตอบโจทย์เป้� หม�ย SDGs จำ�นวน 17 ประก�รในรูปแบบต่�งๆ แต่บริษัท เลือกที่จะมุ่งเน้นในด้�นสิ่งมีชีวิต สังคม และเศรษฐกิจ นอกจ�กนี้ ยังช่วยเร�สร้�งคว�มร่วมมือในระดับโลกในก�รมีส่วนสร้�งก�ร พัฒน�อย่�งยั่งยืนที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้เป้�หม�ยของเร�ต�มโครงก�ร หลักสี่โครงก�รภ�ยใต้ SeaChange® จะแสดงผลคว�ม ก้�วหน้�ภ�ยในปี 2563 และมีส่วนเติมเต็มเป้�หม�ย SDGs ภ�ยในปี 2573

กรณีศึกษา – ไทยยูเนี่ยนเดินหน้ายกระดับรูปแบบการจ่ายเงินดิจิตอลทั่วโลก ง�นวิจัยล่�สุดระบุว่� ก�รเข้�ถึงบริก�รท�งก�รเงินส�ม�รถช่วย ให้โลกบรรลุเป้�หม�ย SDGs ได้อย่�งมีประสิทธิภ�พและมี ประสิทธิผล ถึงกระนั้นประช�กรกว่� 2 พันล้�นคนทั่วโลกยังไม่ ส�ม�รถเข้�ถึงบริก�รท�งก�รเงินได้ ทำ�ให้อยู่ห่�งไกลระบบก�ร เงินที่เป็นรูปแบบท�งก�ร และถูกทิ้งไว้ข้�งหลังในสังคม มีบทพิสูจน์หล�ยเรื่องแสดงให้เห็นว่� นอกจ�กจะเพิ่ม ประสิทธิภ�พให้กับบริษัทและมีส่วนสร้�งง�นและก�รเติบโตท�ง เศรษฐกิจซึ่งสอดคล้องกับเป้�หม�ย SDG ข้อ 8 ระบบจ่�ยเงิน ดิจิตอลมีประโยชน์ที่สำ�คัญต่อปัจเจกบุคคลเช่นกัน ในปี 2559 ไทยยูเนี่ยนยังคงเดินหน้�ปรับระบบก�รจ่�ยเงินให้กับพนักง�น ทั่วโลกด้วยระบบอิเล็กทรอนิก ปัจจุบัน พนักง�นทั้งหมด 100 เปอร์เซนต์ ของไทยยูเนี่ยนในประเทศไทยได้รับค่�จ้�งผ่�นระบบ

อิเล็กทรอนิกทั้งหมด ซึ่งรวมถึงพนักง�นระดับแรงง�นที่โรงง�น ที่บ�งส่วนเป็นแรงง�นข้�มช�ติ เป็นก�รกระตุ้นให้พนักง�นเหล่� นั้นเปิดบัญชีธน�ค�รเป็นครั้งแรก ในอน�คต ไทยยูเนี่ยนมีพันธกิจที่จะขย�ยระบบก�รจ่�ยเงินแบบ ดิจิตอลในทุกที่ที่บริษัทมีก�รดำ�เนินง�น รวมทั้งทดสอบคว�มรู้ ท�งก�รเงิน และริเริ่มโครงก�รท�งก�รเงินเพื่อปรับปรุงคุณภ�พ ชีวิตของแรงง�น ยกตัวอย่�งเช่น ก�รตั้งโครงก�รให้คว�มรู้ ท�งก�รเงินอ�จช่วยสร้�งคว�มตระหนักในเรื่องประโยชน์ของก�ร ออมและคว�มส�ม�รถในก�รออมให้กับพนักง�นของเร�

แรงงานปลอดภัยและถูกกฎหมาย ก�รจ้�งง�นที่ปลอดภัย ถูกกฎหม�ย และมีเสรีภ�พในก�รเลือก ทำ�ง�นในโรงง�นของเร� และในห่วงโซ่อุปท�นของเร�เป็นเรื่อง สำ�คัญสำ�หรับไทยยูเนี่ยน นอกจ�กบริษัทจะดำ�เนินโครงก�รนี้ เพื่อพนักง�นของเร�แล้ว บริษัทยังร่วมมือกับหน่วยง�นและองค์กรไม่แสวงห�กำ�ไรเพื่อให้ แรงง�นที่ทำ�ง�นในอุตส�หกรรมได้รับคว�มคุ้มครอง ปล�ที่บริษัทใช้ทั่วโลกไม่ได้ม�จ�กก�รจับโดยเรือที่ไทยยูเนี่ยน เป็นเจ้�ของ แต่บริษัทใช้อำ�น�จต่อรองที่มีในตล�ดช่วยปรับปรุง สภ�พแรงง�นทั้งห่วงโซ่อุปท�นอ�ห�รทะเล บริษัทตระหนักดีว่� คว�มส�ม�รถในก�รตรวจสอบย้อนกลับของผลิตภัณฑ์อ�ห�ร ทะเลของเร�ทั้งหมด เริ่มต้นตั้งแต่ก�รจับจนกระทั่งสำ�เร็จเป็น ผลิตภัณฑ์พร้อมบริโภค จะช่วยพิสูจน์ในเรื่องแรงง�นปลอดภัย

และถูกกฎหม�ย และช่วยเป็นกระบอกเสียงให้แรงง�น บริษัทมีคว�มมุ่งมั่นต่อก�รทำ�ง�นนี้ เพื่อช่วยให้อุตส�หกรรม ปฏิบัติต�มเป้�หม�ยขององค์ก�รสหประช�ช�ติในก�รจัดห� สถ�นที่ทำ�ง�นที่เหม�ะสม และสร้�งคว�มเติบโตให้ชุมชนและ สม�ชิกชุมชนทั่วโลก


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

082

กรณีศึกษา – การขยายโครงการสิทธิทางการศึกษาให้กับลูกหลาน ของพนักงานไทยยูเนี่ยน อุตส�หกรรมก�รประมงยังคงเผชิญกับคว�มท้�ท�ยในก�รบรรลุ ผลสำ�เร็จในก�รดูแลแรงง�นข้�มช�ติในประเทศไทยอย่�งยุติธรรม และเท่�เทียม เริ่มจ�กก�รปฏิบัติต่อแรงง�นอย่�งผิดกฎหม�ย เช่น ก�รค้�มนุษย์ ก�รบังคับใช้แรงง�น แรงง�นเด็ก และแรงง�น ขัดหนี้ ไทยยูเนี่ยนมีโครงก�รที่กำ�ลังดำ�เนินก�รเพื่อปกป้องสิทธิ ของแรงง�นข้�มช�ติในประเทศไทย บริษัทมีคว�มมุ่งมั่นจะปกป้องแรงง�นเด็กและก�รค้�มนุษย์ โดย สร้�งคว�มเข้�ใจเรื่องสิทธิของแรงง�นให้กับแรงง�นข้�มช�ติของ ไทยยูเนี่ยน ในประเทศไทย เร�ตระหนักดีกว่�ก�รศึกษ�เป็น พื้นฐ�นสำ�คัญเพื่อชีวิตที่ดีขึ้น ดังนั้น เพื่อช่วยเพิ่มทักษะภ�ษ� อังกฤษให้กับบุตรหล�นของแรงง�นข้�มช�ติ ไทยยูเนี่ยนจึงได้ ริเริ่มโครงก�รสอนภ�ษ�อังกฤษที่โรงเรียนวัดศรีสุทธ�ร�ม ใน ประเทศไทย ซึ่งเป็นสถ�นที่ที่ศูนย์เตรียมคว�มพร้อมเด็กก่อน วัยเรียนของบริษัทตั้งอยู่

ในปี 2559 ไทยยูเนี่ยนและมูลนิธิเครือข่�ยส่งเสริมคุณภ�พชีวิต แรงง�น ได้เพิ่มโครงก�รให้คว�มรู้เรื่องสิทธิก�รศึกษ�ของเด็ก โดยครอบคลุมประเด็นต่�งๆ เพิ่มเติม ซึ่งรวมถึงสิทธิแรงง�น สำ�หรับชุมชนแรงง�นข้�มช�ติในจังหวัดสมุทรส�คร ประเทศไทย พร้อมกันนี้ บริษัทได้ผลิตคู่มือที่รวบรวมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ เกี่ยวกับสิทธิก�รศึกษ�ของเด็ก แรงง�นเด็ก อันตร�ยจ�กโลก ออนไลน์ ก�รค้�มนุษย์ และหม�ยเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินสำ�หรับ ร�ยง�นเหตุก�รณ์ก�รละเมิดสิทธิ โครงก�รนี้มุ่งให้แรงง�นข้�ม ช�ติเข้�ใจสิทธิของตนภ�ยใต้กฎหม�ยไทย คว�มเสี่ยงในเรื่อง ก�รค้�มนุษย์ และวิธีก�รป้องกันตนเอง เครือข่�ยฯ ได้แจกจ่�ย คู่มือจำ�นวน 5,000 เล่มให้กับแรงง�นข้�มช�ติในปี 2559 และใน ปี 2560 เครือข่�ยฯ จะจัดโครงก�รอบรมและแจกจ่�ยคู่มือให้กับ พนักง�นของไทยยูเนี่ยนทั้งหมด

การดำาเนินงานด้วยความรับผิดชอบ ก�รเปลี่ยนแปลงของสภ�พอ�ก�ศและคว�มเสี่ยงด้�นสิ่งแวดล้อม ของโลกต่�งๆ มีผลกระทบม�กขึ้นต่อท้องทะเลของเร�และเป็นภัย ต่อภ�วะก�รดำ�รงอยู่ของสัตว์ทะเลหล�ยส�ยพันธุ์ บริษัทริเริ่ม โครงก�รหล�ยโครงก�รที่สอดคล้องกับข้อตกลงป�รีสในก�รงด ก�รปล่อยของเสีย รวมทั้งใช้แนวท�งก�รบริห�รจัดก�รที่มี นวัตกรรมในก�รลดก�รใช้น้ำ�และไฟ และสนับสนุนให้พนักง�น

ทุกคนที่ไทยยูเนี่ยนมีบทบ�ทในก�รช่วยกันทำ�ให้บรรลุเป้�หม�ย ด้�นสิ่งแวดล้อม นอกจ�กนี้ บริษัทยังมุ่งพัฒน�ให้เกิดคว�มก้�วหน้�ในด้�น นโยบ�ยชีวอน�มัยและคว�มปลอดภัย เดินหน้�เพิ่มม�ตรฐ�น คว�มปลอดภัย ก�รปฎิบัติต�มขั้นตอน และกระบวนก�รต่�งๆ


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

083

กรณีศึกษา – ธนาคารขยะ เพื่อส่งเสริมก�รตระหนักในเรื่องสิ่งแวดล้อม ไทยยูเนี่ยนได้ตั้ง โครงก�รธน�ค�รขยะในปี 2557 ซึ่งบริษัทสนับสนุนให้พนักง�น มีส่วนร่วมในกิจกรรมด้�นสิ่งแวดล้อมและระดมทุนเพื่อสนับสนุน ชุมชนท้องถิ่น โครงก�รนี้ได้รับก�รออกแบบม�เพื่อ 1. เพิ่มก�รตระหนักและคว�มส�ม�รถของพนักง�น ไทยยูเนี่ยนในก�รจำ�แนกของเสียทั้งในที่ทำ�ง�นและที่บ้�น 2. ลดขยะพล�สติกในชุมชน 3. ใช้ร�ยได้จ�กโครงก�รนี้เพื่อสนับสนุนโครงก�รด้�นสังคม

การจัดหาแหล่งวัตถุดิบ อย่างมีความรับผิดชอบ คว�มส�ม�รถในก�รตรวจสอบย้อนกลับถึง แหล่งที่ม�ของวัตถุดิบเป็นหัวใจของโครงก�รก�ร จัดห�แหล่งวัตถุดิบอย่�งมีคว�มรับผิดชอบของ บริษัท และเป็นกุญแจสู่ก�รพัฒน�คว�มโปร่งใส และแนวท�งก�รดำ�เนินง�นของทั้งอุตส�หกรรม อ�ห�รทะเล เมื่อระบบนี้เดินหน้�เต็มรูปแบบ เร� จะส�ม�รถตรวจสอบย้อนกลับได้ทุกผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่ก�รจับไปจนถึงเป็นผลิตภัณฑ์พร้อมบริโภค และบริษัทยังสนับสนุนให้คู่ค้�ของเร�ปฏิบัติต�ม พันธกิจเพื่อคว�มยั่งยืนนี้อีกด้วย

4. ส่งเสริมคว�มร่วมมือในหมู่ผู้บริห�ร พนักง�น และ เจ้�หน้�ที่ในโรงง�น ในปี 2559 ธน�ค�รขยะสร้�งร�ยได้ 13,336 บ�ท โดย ก�รข�ยขยะพล�สติกที่เก็บได้ และนำ�ร�ยได้ดังกล่�วไปใช้ใน ก�รซื้ออุปกรณ์ก�รเรียนก�รสอนให้กับเด็กๆ ซึ่งเป็นบุตรหล�น ของพนักง�นไทยยูเนี่ยน โครงก�รนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของ คว�มพย�ย�มของไทยยูเนี่ยนในก�รลดปริม�ณพล�สติก สู่ท้องทะเล

กรณีศึกษา – เป้าหมายที่มุ่งมั่นสำาหรับ การจัดหาปลาทูน่าอย่างยั่งยืน ปีที่แล้ว ไทยยูเนี่ยนประก�ศกลยุทธ์ที่มีคว�มมุ่งมั่นเพื่อให้มั่นใจปล�ทูน่�ที่ใช้ ในผลิตภัณฑ์แบรนด์ของบริษัทถูกจัดห�ม�ด้วยวิธีก�รที่ยั่งยืน โดยบริษัทมี พันธกิจที่จะทำ�ให้ได้อย่�งน้อย 75 เปอร์เซ็นต์ ภ�ยในปี 2563 ในฐ�นะที่เป็น ส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ใหม่ด้�นปล�ทูน่� ไทยยูเนี่ยนได้ลงทุน 90 ล้�นเหรียญ สหรัฐ ในช่วงเริ่มต้น เพื่อช่วยเพิ่มปริม�ณปล�ทูน่�อย่�งยั่งยืน ซึ่งครอบคลุม ถึงโครงก�ร 11 โครงก�ร ภ�ยใต้โครงก�รพัฒน�ก�รประมง (Fishery Improvement Projects: FIPs) อันเป็นโครงก�รที่จะปฏิรูปก�รประมง เพื่อให้มั่นใจถึงก�รเพิ่มปริม�ณปล�อย่�งยั่งยืน ก�รลดผลกระทบต่อสิ่ง แวดล้อม และปรับปรุงก�รจัดก�รก�รประมง

ด้วยคว�มโปร่งใส ประกอบกับโครงก�รริเริ่ม ม�กม�ยของเร�ในก�รพัฒน�ก�รจัดห�แหล่ง วัตถุดิบอ�ห�รทะเล บริษัทจึงส�ม�รถปฏิบัติ ได้ต�มเป้�หม�ย SDGs ในก�รปกป้อง และดูแลชีวิตใต้ท้องทะเล และบริษัทกำ�ลัง พย�ย�มผลักดันให้เกิดคว�มสมบูรณ์ คว�มเติบโต และคว�มพร้อมของสภ�พ แวดล้อมโลกในปัจจุบัน และในอน�คตที่ จะม�ถึง

ผู้คนและชุมชน ที่ไทยยูเนี่ยน เร�มีคว�มรับผิดชอบต่อก�รพัฒน� ชีวติ ของทุกคนทีอ่ �ศัยและทำ�ง�นในพืน้ ทีท่ เ่ี ร�ดำ�เนินง�นอยู่ สิ่งเหล่�นี้รวมถึงกิจกรรมก�รทำ�คว�มสะอ�ดสิ่งแวดล้อมท�ง ทะเล และสนับสนุนคว�มพย�ย�มในก�รบรรเท�คว�มหิวโหย ผ่�นก�รบริจ�คอ�ห�ร รวมทั้งให้ก�รคว�มรู้เด็กๆ และให้ข้อมูล ท�งโภชน�ก�รกับชุมชนท้องถิ่น ขณะนี้มีคว�มท้�ท�ยในระดับโลกที่ทุกคนต้องร่วมกันตอบโจทย์ นั่นคือก�รมีอ�ห�รที่เพียงพอต่อประช�กร 9 พันล้�นคนทั่วโลก ภ�ยในปี 2573 ดังนั้น ห�กปร�ศจ�กก�รผลิตอ�ห�รทะเลอย่�ง ยั่งยืนแล้ว ทั้งโดยก�รเลี้ยงและจับ เร�ไม่ส�ม�รถจะบรรลุเป้� หม�ยก�รพัฒน�อย่�งยั่งยืนในเรื่องก�รขจัดคว�มหิวโหยได้

พันธกิจนี้มีผลกับผลิตภัณฑ์ปล�ทูน่�ทุก แบรนด์ของไทยยูเนี่ยนที่มีว�งจำ�หน่�ย ทั่วโลก ซึ่งประกอบไปด้วย Chicken of the Sea (อเมริก�เหนือ) Genova (อเมริก�เหนือ) John West (ยุโรปตอนเหนือและ ตะวันออกกล�ง) Mareblu (อิต�ลี) Petit Navire (ฝรั่งเศส) และซีเล็ค (ประเทศไทย) โดยใน แต่ละแบรนด์จะร�ยง�นต่อส�ธ�รณะ ถึงคว�มคืบหน้�และคว�มมุ่งมั่น สำ�หรับปี 2563 นี้อย่�งสม่ำ�เสมอ

กรณีศึกษา – ค่ายวิทยาศาสตร์ สำาหรับเด็ก ไทยยูเนี่ยนจัดค่�ยวิทย�ศ�สตร์ให้กับเด็ก จ�กโรงเรียน 3 แห่งใน ประเทศไทย ได้แก่ โรงเรียนบ้�นกอกโคกวิทย� โรงเรียนบ้�นโสก แต้ และโรงเรียนบ้�งโคกใหญ่ สำ�หรับค่�ยวิทย�ศ�สตร์นี้ จัดขึ้น ที่โรงเรียนบ้�นกอกโคกวิทย�ในจังหวัดบุรีรัมย์ ประเทศไทย นัก วิทย�ศ�สตร์จำ�นวน 64 คนจ�กศูนย์นวัตกรรมของไทยยูเนี่ยน ได้ร่วมกิจกรรมสอนเด็กๆ เกี่ยวกับวิทย�ศ�สตร์ขั้นพื้นฐ�นและ ทักษะก�รคิดแบบมีตรรกะ


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

084

นวัตกรรมของไทยยูเนีย่ น

แนวทางสู่นวัตกรรมของเรา ก�รขวนขว�ยที่ไม่เคยหยุดนิ่ง คว�มใส่ใจที่จะพัฒน�ผลิตภัณฑ์ เพื่อให้สอดคล้องกับคว�มต้องก�รของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลง อยู่เสมอ และคว�มมุ่งมั่นที่จะเป็นผู้นำ�ก�รเปลี่ยนแปลงใน อุตส�หกรรมอ�ห�รทะเล เพื่อเป้�หม�ยในก�รเติบโตท�งธุรกิจ อย่�งยั่งยืน ทั้งหมดนี้ คือ เหตุผลที่เร�หันม�ลงทุนในด้�นนวัตกรรม และส่ง เสริมให้เร�เป็นผู้นำ�ด้�นอ�ห�รทะเลที่น่�เชื่อถือที่สุดของโลก

เราท้าทายตัวเองให้กล้าคิด กล้าตั้ง คำาถามกับสิ่งเดิมๆ และกล้าเสี่ยงเพื่อนำาไป สู่การเปลี่ยนแปลงที่พลิกโฉมอุตสาหกรรม อาหารทะเล ไม่ว่าจะเป็นวิธีการจัดหา แหล่งวัตถุดิบอาหารทะเล การผลิต การ บรรจุ การบริโภค เพราะเรารู้ว่าจะมีวิธี การที่ดียิ่งขึ้นไปกว่าเดิมอยู่เสมอ


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

085

ศูนย์นวัตกรรม • ยกระดับคุณภ�พสินค้� โภชน�ก�รและคว�มพึงพอใจของ ผู้บริโภค • เร่งสร้�งคว�มยั่งยืนด้วยก�รใช้ทรัพย�กรประมงให้มี ประสิทธิภ�พม�กขึ้น ใช้วิธีก�รผลิตและเทคโนโลยีอย่�งมี ประสิทธิภ�พสูงสุด อีกทั้งสร้�งมูลค่�ของผลิตภัณฑ์พลอยได้ • สร้�งแหล่งร�ยได้ใหม่จ�กก�รวิจัยและพัฒน�ที่สร้�งขึ้นเพื่อ ก�รเจริญเติบโตของธุรกิจใหม่

พัฒนาเทคโนโลยี กระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ ที่ เปลี่ยนโฉมอุตสาหกรรม ด้วยก�รรวมตัวของนักวิช�ก�รชั้นนำ�และนักวิจัยของบริษัท ที่มีประสบก�รณ์ในระดับโลกม�ม�กม�ยหล�ยสิบปี ทั้งด้�น เทคโนโลยีชีวภ�พท�งทะเล วิศวกรรม โภชนเภสัช ศ�สตร์ท�ง ด้�นอ�ห�รและโภชน�ก�ร ทำ�ให้ศูนย์นวัตกรรมของไทยยูเนี่ยนมี ศักยภ�พและดำ�เนินก�รเพื่อเปลี่ยนแปลงอุตส�หกรรมอ�ห�ร ทะเลให้มีคว�มทันสมัย หลังจ�กที่เปิดตัวศูนย์นวัตกรรมไปในปี พ.ศ. 2558 ที่กรุงเทพฯ เร�ได้ใช้วิธีก�รค้นคว้�อ�ห�รทะเลที่แตกต่�งไป จ�กที่มีอยู่ทั่วไปเพื่อ

ทีมผู้เชี่ยวช�ญในอุตส�หกรรมของเร�ซึ่งประจำ�อยู่ทั่วโลกได้นำ� คว�มรู้ คว�มเข้�ใจผู้บริโภคภ�ยในประเทศและทิศท�งตล�ดม� ปรับใช้กับผลิตภัณฑ์ กระบวนก�ร และเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่ง ช่วยสร้�งคว�มลงตัวให้แก่ผลง�นจ�กศูนย์นวัตกรรมให้ประสบ คว�มสำ�เร็จได้ในตล�ดโลก

ความร่วมมือเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม จ�กคว�มร่วมมือกับ มห�วิทย�ลัยมหิดล มห�วิทย�ลัย เกษตรศ�สตร์ มห�วิทย�ลัยพระจอมเกล้�ธนบุรี มห�วิทย�ลัย นเรศวร และมห�วิทย�ลัยสงขล�นครินทร์ ศูนย์นวัตกรรม ไทยยูเนี่ยน ได้ต่อยอดก�รแลกเปลี่ยนองค์คว�มรู้ระหว่�ง ภ�คก�รศึกษ�กับภ�คอุตส�หกรรม โดยในก�รทำ�ง�นภ�ยใต้ ก�รดูแลของที่ปรึกษ�จ�กภ�คก�รศึกษ� โครงก�รนี้ช่วยส่งเสริม ให้บัณฑิตและนักวิทย�ศ�สตร์ของศูนย์นวัตกรรม ได้มีก�รเรียน รู้และพัฒน�ศักยภ�พร่วมกัน อีกทั้งมีโอก�สศึกษ�ต่อจนสำ�เร็จ

คุณรู้หรือไม่?

• ด้วยเงินลงทุนกว่� 600 ล้�นบ�ท ศูนย์วิจัยนวัตกรรมมี เป้�หม�ยที่จะสร้�งผลตอบแทนจ�กก�รลงทุนคิดเป็น 10 เปอร์เซ็นต์ ของร�ยได้บริษัท ภ�ยในปี พ.ศ. 2563 • ศูนย์วิจัยนวัตกรรมได้ขย�ยพื้นที่เป็น 1,200 ต�ร�งเมตร หรือสองเท่�ของพื้นที่เดิม และใช้เงินลงทุนกว่� 100 ล้�นบ�ท ในก�รซื้ออุปกรณ์ด้�นวิจัยใหม่ • ในปีพ.ศ. 2558 ง�นวิจัยหลักของเร�ในเรื่องทูน่�ของเร�ได้รับ ก�รยกย่องในระดับประเทศจ�กรัฐบ�ลไทย • เร�สนับสนุนให้เกิดคว�มร่วมมือเชิงกลยุทธ์ด้�นนวัตกรรม กับสถ�บันต่�งๆ ทั้งจ�กภ�ครัฐและเอกชนทั่วโลก

เสาหลักเชิงกลยุทธ์ของไทยยูเนี่ยน

เพร�ะเร�เชื่อมั่นว่�นวัตกรรมเป็นร�กฐ�นของอน�คต ดังนั้น นวัตกรรมจึงเป็นหนึ่งในหกเส�หลักเชิงกลยุทธ์ขององค์กรที่เร� ยึดมั่น อีกทั้งเป็นเกณฑ์ที่ช่วยตัดสินใจท�งธุรกิจ ก�รส่งเสริม ก�รขวนขว�ยห�สิ่งใหม่ๆ และก�รกระตุ้นให้เกิดก�รตั้งคำ�ถ�ม เชิงวิทย�ศ�สตร์ เปรียบเสมือนแรงขับเคลื่อนสู่คว�มก้�วหน้�ที่ สำ�คัญในก�รเติบโตท�งธุรกิจอย่�งยั่งยืนของเร�

ก�รศึกษ�ในระดับปริญญ�โทและในขณะเดียวกันก็ได้ทำ�ง�นวิจัย ร่วมกับศูนย์นวัตกรรมไทยยูเนี่ยนอีกด้วย คว�มร่วมมือระหว่�งภ�ครัฐและเอกชนนี้สร้�งคว�มน่�เชื่อถือ ให้กับศูนย์นวัตกรรม เปิดโอก�สให้มห�วิทย�ลัยต่�งๆ ได้มี ประสบก�รณ์กับภ�คอุตส�หกรรมจริง อีกทั้งมีค่�ใช้จ่�ยน้อย เนื่องจ�กใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ร่วมกัน และนอกจ�กนี้ยังสร้�ง ทรัพย์สินท�งปัญญ�อันมีค่�ให้แก่ทุกฝ่�ยที่เกี่ยวข้องอีกด้วย

เร�เริ่มต้นก�รวิจัยของเร�ด้วยก�รตั้งคำ�ถ�มว่� ไทยยูเนี่ยน ส�ม�รถทำ�สิ่งเหล่�นี้ได้หรือไม่: • ส�ม�รถแก้ปัญห�คว�มต้องก�รขั้นพื้นฐ�นของผู้บริโภคทั่ว โลกได้ดีขึ้นหรือไม่ • ส�ม�รถที่จะสร้�งคว�มแตกต่�งท่�มกล�งก�รแข่งขันในระดับ โลกที่เข้มข้นได้หรือไม่ • ส�ม�รถพัฒน�ไปสู่อน�คตที่ยั่งยืนได้หรือไม่ นวัตกรรมเป็นก�รตอบโจทย์ปัญห�ใน 3 เรื่อง ได้แก่ เร�จะ ส�ม�รถพัฒน�คุณภ�พของผลิตภัณฑ์ โภชน�ก�รและคว�มพึง พอใจเพื่อตอบสนองคว�มต้องก�รของผู้บริโภคได้ดีขึ้นอย่�งไร และเร�จะส�ม�รถสร้�งมูลค่�ให้แก่นักลงทุนของเร�ได้อย่�งไร ใน ขณะเดียวกันก็ส�ม�รถสร้�งอุตส�หกรรมอ�ห�รทะเลที่ยั่งยืนได้ อีกด้วย ศูนย์นวัตกรรม หรือ Global Innovation Incubator เกิด จ�กก�รคิดนอกกรอบ และวัฒนธรรมของก�รตั้งสมมติฐ�น ที่ท้�ท�ย รวมทั้งก�รแก้ปัญห�อย่�งจริงจัง ศูนย์นวัตกรรม ได้รับก�รว�งโครงสร้�งครอบคลุมเส�หลัก 4 ประก�ร ได้แก่ วิทยาศาสตร์และการวิจัย เทคโนโลยีและการพัฒนา การสนับสนุนนวัตกรรม และการทำาให้เป็นอุตสาหกรรม


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

086

รายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ เรียน คณะกรรมการบริษัทและผู้ถือหุ้น คณะกรรมก�รตรวจสอบ บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำ�กัด (มห�ชน) ประกอบด้วยกรรมก�รอิสระ 3 คน เป็นผู้ทรง คุณวุฒิด้�นก�รบัญชีก�รเงิน ก�รบริห�รองค์กร กฎหม�ย ระบบเทคโนโลยีส�รสนเทศ ก�รควบคุมภ�ยในและก�รบริห�ร คว�มเสี่ยง คณะกรรมก�รตรวจสอบทุกคนมีคุณสมบัติ ต�มข้อกำ�หนดของคณะกรรมก�รกำ�กับหลักทรัพย์และ ตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและไม่ได้เป็นผู้บริห�ร พนักง�นหรือที่ปรึกษ�ใด ๆ ของบริษัท ในปี 2559 คณะกรรมก�รตรวจสอบมีก�รประชุม ทั้งสิ้น 23 ครั้ง ดังนี้ 1. นายศักดิ์ เกี่ยวการค้า กรรมก�รอิสระ ประธ�นกรรมก�รตรวจสอบ เข้�ร่วมประชุม 23 ครั้ง 2. ดร. ธรรมนูญ อานันโทไทย กรรมก�รอิสระ กรรมก�รตรวจสอบ เข้�ร่วมประชุม 23 ครั้ง 3.นายนาถ ลิ่วเจริญ กรรมก�รอิสระ กรรมก�รตรวจสอบ เข้�ร่วมประชุม 21 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขตที่คณะ กรรมการบริษัทได้มอบหมายให้กำากับดูแลตามกฎบัตรของคณะ กรรมการตรวจสอบ การปฏิบัติหน้าที่ในรอบปี 2559 มีดังนี้ 1. การสอบทานงบการเงิน คณะกรรมก�รตรวจสอบได้สอบท�นข้อมูลที่สำ�คัญของงบก�ร เงินร�ยไตรม�สและประจำ�ปี 2559 ของบริษทั ไทยยูเนีย่ น กรุป๊ จำ� กัด (มห�ชน) และงบก�รเงินรวมของบริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำ�กัด (มห�ชน) และบริษัทย่อย ซึ่งได้จัดทำ�ต�มม�ตรฐ�นก�ร ร�ยง�นท�งก�รเงินของไทย โดยได้สอบท�นประเด็นที่สำ�คัญ ร�ยก�รพิเศษ และได้รับคำ�ชี้แจงจ�กผู้สอบบัญชี ฝ่�ยจัดก�ร ผู้จัดก�ร - ส�ยง�นตรวจสอบ จนเป็นที่พอใจว่�ก�รจัดทำ�งบ ก�รเงิน รวมทั้งก�รเปิดเผยหม�ยเหตุประกอบงบก�รเงินเป็นไป ต�มข้อกำ�หนดของกฎหม�ยและม�ตรฐ�นก�รร�ยง�นท�งก�ร เงิน คณะกรรมก�รตรวจสอบพิจ�รณ�แล้วจึงได้ให้คว�มเห็น ชอบงบก�รเงินดังกล่�ว ซึ่งผู้สอบบัญชีได้สอบท�นและตรวจ สอบแล้วเป็นร�ยง�นคว�มเห็นอย่�งไม่มีเงื่อนไข นอกจ�กนี้คณะ กรรมก�รตรวจสอบได้ร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่�ย จัดก�ร ได้รับก�รยืนยันว่�ไม่มีปัญห�ในก�รปฏิบัติง�น มีคว�ม เป็นอิสระและได้รับคว�มร่วมมือจ�กผู้บริห�รและผู้ปฏิบัติง�นเป็น อย่�งดี

2. การสอบทานการกำากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมก�รตรวจสอบได้สอบท�นก�รปฏิบัติต�มจรรย� บรรณ พบว่�กรรมก�รบริษัทและพนักง�นได้ปฏิบัติต�มหลัก ก�รที่กำ�หนดไว้อย่�งเคร่งครัด บริษัทมีก�รนำ�นโยบ�ยต่อ ต้�นคอร์รัปชั่นไปปฏิบัติและขย�ยผลไปใช้กับบริษัทย่อยต�ม คว�มเหม�ะสมของธุรกิจ รวมทั้งก�รกำ�กับดูแลกิจก�รโดย คำ�นึงถึงสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่�งเป็นรูปธรรม นอกจ�กนี้ คณะกรรมก�รตรวจสอบได้สอบท�นก�รปฏิบัติต�มกฎหม�ย ว่�ด้วยหลักทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของ ตล�ดหลักทรัพย์และกฎหม�ยที่เกี่ยวข้องกับก�รดำ�เนินธุรกิจ อย่�งเคร่งครัด โดยเฉพ�ะร�ยก�รเกี่ยวโยงและร�ยก�รที่อ�จ มีคว�มขัดแย้งท�งผลประโยชน์ คณะกรรมก�รตรวจสอบได้ ประเมินผลก�รปฏิบัติหน้�ที่และก�รประเมินตนเอง เกี่ยวกับ คว�มพร้อมของกรรมก�ร ร�ยง�นท�งก�รเงิน ก�รประชุมกับ ผู้สอบบัญชี ก�รสอบท�นร�ยก�รที่เกี่ยวโยงกัน ก�รเปิดเผย ข้อมูลในร�ยง�น ก�รบริห�รคว�มเสี่ยง ก�รควบคุมภ�ยใน ก�รประชุมกรรมก�ร ก�รปฏิบัติหน้�ที่ของส�ยง�นตรวจสอบ และเลข�นุก�รคณะกรรมก�รตรวจสอบ ผลสรุปอยู่ในเกณฑ์ที่ น่�พึงพอใจ 3. การสอบทานระบบการประเมินการบริหารความเสี่ยง บริษัทได้ว่�จ้�งบริษัทผู้ชำ�น�ญก�รพัฒน�ระบบบริห�รคว�ม เสี่ยงของบริษัทระดับองค์กร มีผู้จัดก�รฝ่�ยบริห�รคว�มเสี่ยง เป็นผู้ประส�นง�นและรับผิดชอบง�นบริห�รคว�มเสี่ยงระดับ องค์กร บริษัทมีอนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง มีกรรมก�ร อิสระเป็นประธ�นอนุกรรมก�รทำ�หน้�ที่พิจ�รณ�โครงสร้�ง นโยบ�ย กรอบก�รบริห�รคว�มเสี่ยงและแผนก�รจัดก�รคว�ม เสี่ยง รวมทั้งทบทวนคว�มเสี่ยงและติดต�มก�รบริห�รคว�ม เสี่ยง ก�รพิจ�รณ�ปัจจัยเสี่ยงทั้งภ�ยในและภ�ยนอก โอก�ส ที่จะเกิดผลกระทบและก�รบริห�รจัดก�รคว�มเสี่ยงเพื่อให้อยู่ใน ระดับที่ยอมรับได้ รวมทั้งสอบท�นสัญญ�ณเตือนภัยต�มหลัก ก�รที่กำ�หนดไว้ 4. การสอบทานระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบ ภายใน คณะกรรมก�รตรวจสอบได้สอบท�นก�รประเมินผลระบบก�ร ควบคุมภ�ยใน โดยพิจ�รณ�จ�กแผนง�นและร�ยง�นของส�ย ง�นตรวจสอบอย่�งสม่ำ�เสมอ ไม่พบข้อบกพร่องที่เป็นส�ระ สำ�คัญ และส�ยง�นตรวจสอบได้ร�ยง�นโดยสรุปว่�ระบบก�ร ควบคุมภ�ยในของบริษัทและบริษัทย่อยมีประสิทธิภ�พเพียงพอ รวมทั้งผู้สอบบัญชีได้ร�ยง�นว่�ระบบก�รควบคุมภ�ยในด้�น ก�รบัญชีและก�รเงินมีคว�มเพียงพอและเหม�ะสม


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

087 ด้�นก�รตรวจสอบภ�ยใน คณะกรรมก�รตรวจสอบได้พิจ�รณ� ทบทวนกฎบัตรคณะกรรมก�รตรวจสอบและกฎบัตรของส�ย ง�นตรวจสอบเป็นประจำ�ทุกปี สำ�หรับก�รพัฒน�ง�นตรวจสอบ ส�ยง�นตรวจสอบได้ให้คว�มสำ�คัญทั้งก�รพัฒน�คนและเครื่อง มือในก�รตรวจสอบให้เป็นไปต�มหลักก�รของม�ตรฐ�นก�ร ปฏิบัติง�นต�มวิช�ชีพก�รตรวจสอบภ�ยใน 5. การสอบทานการเปิดเผยรายการเกี่ยวโยงกันและการปฏิบัติ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อ กำาหนดของตลาดหลักทรัพย์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของบริษัท ในปี 2559 คณะกรรมก�รตรวจสอบได้รับก�รยืนยันจ�ก ผู้บริห�รว่�บริษัทและผู้บริห�รได้ปฏิบัติต�มกฎหม�ยและข้อ กำ�หนดต่�ง ๆ มีก�รเปิดเผยร�ยก�รเกี่ยวโยงกันต�มประก�ศ คณะกรรมก�รกำ�กับหลักทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ จ�ก ร�ยง�นและคำ�ยืนยันของผู้บริห�รที่รับผิดชอบและผลก�รสอบ ท�นของคณะกรรมก�รตรวจสอบเห็นว่�บริษทั ได้ปฏิบตั ิและมีก�ร เปิดเผยร�ยก�รเกี่ยวโยงกันอย่�งถูกต้องเป็นไปต�มกฎหม�ย ข้อกำ�หนด และกฎระเบียบ 6. การตรวจเยี่ยมบริษัทและบริษัทย่อย คณะกรรมก�รตรวจสอบได้ไปตรวจเยี่ยมบริษัทและบริษัทย่อย ในประเทศรวม 7 บริษัท และบริษัทย่อยในต่�งประเทศรวม 3 บริษัท ได้ประชุมร่วมกับผู้บริห�รของแต่ละบริษัท สอบท�น ระบบก�รปฏิบัติง�น ระบบก�รควบคุมภ�ยใน ระบบก�รบริห�ร คว�มเสี่ยง ระบบก�รบริห�รสิ่งแวดล้อม ปัญห�เกี่ยวกับก�ร จัดทำ�งบก�รเงิน ปัญห�เกี่ยวกับผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบ ภ�ยใน รวมทั้งเข้�เยี่ยมชมโรงง�นเพื่อดูกระบวนก�รผลิต ก�ร บริห�รคลังสินค้�และสภ�พแวดล้อมทั่วไป

7. คณะกรรมการตรวจสอบสามารถปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร โดยไม่ถูกจำากัดขอบเขต สามารถขอข้อมูลได้โดยไม่จำากัด คณะกรรมก�รตรวจสอบได้มีก�รประเมินผลก�รปฏิบัติง�นด้วย ตนเองแล้ว ผลก�รประเมินอยู่ในระดับดี และเป็นผู้ให้คว�ม เห็นชอบในก�รพิจ�รณ�คว�มดีคว�มชอบ ก�รเสนอแต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้�ยผู้จัดก�รทั่วไป - ส�ยง�นตรวจสอบ ซึ่งเป็น ผู้รับผิดชอบง�นตรวจสอบภ�ยในของบริษัทและบริษัทย่อย 8. การพิจารณาเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีประจำาปี 2560 คณะกรรมก�รตรวจสอบได้ประเมินผลก�รปฏิบัติง�นของผู้สอบ บัญชีในปีที่ผ่�นม�เป็นที่น่�พอใจ และได้สอบท�นคุณสมบัติ รวมทั้งพิจ�รณ�คว�มเป็นอิสระของผู้สอบบัญชีแล้ว เห็นว่� ถูกต้องต�มหลักเกณฑ์ของคณะกรรมก�รกำ�กับหลักทรัพย์ และตล�ดหลักทรัพย์กำ�หนด คณะกรรมก�รตรวจสอบจึงได้ เสนอคณะกรรมก�รบริษัทเพื่อพิจ�รณ�เสนอให้ที่ประชุมผู้ถือ หุ้นแต่งตั้งน�ยสมช�ย จิณโณว�ท และ/หรือ น�ยวิเชียร กิ่ง มนตรี และ/หรือ น�ยประสิทธิ์ เยื่องศรีกุล และ/หรือ น�ยพง ทวี รัตนะโกเศศ จ�กบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮ�ส์คูเปอร์ส เอบี เอเอส จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทและบริษัทย่อย ประจำ� ปี 2560

นายศักดิ์ เกี่ยวการค้า

ประธ�นกรรมก�รตรวจสอบ


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

088

รายงานของคณะอนุกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะอนุกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทน ได้ปฏิบัติ หน้�ที่ต�มที่ได้รับมอบหม�ยจ�กคณะกรรมก�รบริษัท ภ�ย ใต้หน้�ที่และคว�มรับผิดชอบที่กำ�หนดไว้ในกฏบัตรของคณะ อนุกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทน ในก�รสรรห� คัดเลือก และนำ�เสนอบุคคลเข้�ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมก�รต่อ คณะกรรมก�รบริษัท โดยพิจ�รณ�คุณสมบัติ คว�มรู้และ คว�มส�ม�รถ ประสบก�รณ์และคว�มเชี่ยวช�ญ และก�รอุทิศ เวล�เพื่อบริษัทของกรรมก�รที่ต้องก�ร เพื่อให้คณะกรรมก�ร บริษัทมีองค์ประกอบที่เหม�ะสมกับก�รดำ�เนินธุรกิจ รวม ทั้งทำ�หน้�ที่นำ�เสนอแผนก�รกำ�หนดค่�ตอบแทนสำ�หรับ คณะกรรมก�รบริษัทและกรรมก�รชุดย่อยต่�งๆ โดยคณะ อนุกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทน ประกอบด้วย กรรมก�รจำ�นวน 2 ท่�น ซึ่งเป็นกรรมก�รอิสระทั้งคณะ ดังนี้ 1. ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย ประธ�นอนุกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทน 2. นายศักดิ์ เกี่ยวการค้า กรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทน

ระยะเวล�ก�รเสนอชื่อและว�ระจนถึงวันที่ 15 กุมภ�พันธ์ 2559 รวมเวล� 108 วัน พบว่� ไม่มีผู้ใดขอเสนอชื่อบุคคลหรือว�ระเพื่อบรรจุเป็น ว�ระในก�รประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นแต่อย่�งใด 2. เสนอชื่อกรรมก�รให้คณะกรรมก�รเพื่อพิจ�รณ�อนุมัติ ก่อนนำ�เสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้น 3. นำ�เสนอค่�ตอบแทนและผลประโยชน์ที่เหม�ะสม สำ�หรับคณะกรรมก�รบริษัทและคณะกรรมก�ร ชุดย่อย รวมถึงเปิดเผยค่�ตอบแทนของกรรมก�ร กรรมก�รชุดย่อย และผู้บริห�รไว้ในร�ยง�นประจำ�ปี ทั้งนี้ คณะอนุกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทนได้ ปฏิบัติหน้�ที่โดยก�รเสนอแนะ ให้คว�มเห็นในเรื่องที่สำ�คัญ ด้วยคว�มรอบคอบ โปร่งใส และมีคว�มเป็นอิสระต�ม หลักก�รกำ�กับดูแลกิจก�รที่ดี โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์ สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้นทุกร�ยอย่�งเท่�เทียมกัน

ในปี 2559 คณะอนุกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทน มีก�รประชุมรวม 3 ครั้ง ในแต่ละครั้ง มีกรรมก�รม�ร่วม ประชุมครบทั้งสองท่�น โดยมีข้อสรุปจ�กก�รประชุมดังนี้ 1. ติดต�มก�รให้สิทธิผู้ถือหุ้นเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้�รับก�ร เลือกตั้งเป็นกรรมก�รและก�รให้สิทธิผู้ถือหุ้นเสนอว�ระเพื่อ บรรจุเป็นว�ระในก�รประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 โดยผ่�นไปยังตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และใน เว็บไซต์ของบริษัทเมื่อวันที่ 30 ตุล�คม 2558 โดยให้

ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย

ประธ�นอนุกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทน


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

089

รายงานการกำากับดูแลกิจการ คณะกรรมก�รบริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำ�กัด (มห�ชน) ตระหนักถึงคว�มสำ�คัญของก�รกำ�กับดูแลกิจก�รที่ดี ซึ่งบริษัท ควรจัดให้มีขึ้น เพื่อช่วยส่งเสริมก�รดำ�เนินง�นของบริษัทให้มี ก�รเติบโตอย่�งยั่งยืนและเป็นที่ยอมรับจ�กทั้งภ�ยในประเทศและ ต่�งประเทศ ด้วยเหตุนี้คณะกรรมก�รจึงมีคว�มมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติ ต�มหลักก�รกำ�กับดูแลกิจก�รที่ดี อันประกอบด้วยกรรมก�ร และผู้บริห�รที่มีภ�วะผู้นำ� มีวิสัยทัศน์และคว�มรับผิดชอบ มี โครงสร้�งก�รบริห�รง�นที่มีก�รควบคุมและติดต�ม ตลอดจน ก�รถ่วงดุลอำ�น�จ เพื่อให้เกิดก�รบริห�รง�นที่มีคว�มเป็นธรรม มีจริยธรรมและคว�มโปร่งใส คำ�นึงถึงสิทธิคว�มเท่�เทียมกัน ของผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มขีดคว�มส�ม�รถ ในก�รแข่งขันของกิจก�รซึ่งจะส่งผลต่อคว�มเชื่อมั่นของผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุนและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่�ย เพื่อให้ก�รดำ�เนินธุรกิจของ บริษัทเป็นไปอย่�งมีประสิทธิภ�พ มีคว�มมั่นคงและเจริญเติบโต อย่�งยั่งยืน ตลอดจนเพิ่มมูลค่�ก�รลงทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นได้ใน ระยะย�ว

การปฏิบัติตามนโยบายการกำากับดูแลกิจการ

คณะกรรมก�รได้จัดทำ�นโยบ�ยก�รกำ�กับดูแลกิจก�รที่ดีสำ�หรับ บริษัทจดทะเบียน โดยยึดถือต�มหลักก�รกำ�กับดูแลกิจก�รที่ดี ของตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และนำ�ม�พิจ�รณ�ทบทวน ปรับปรุง และพัฒน�ให้มีคว�มเหม�ะสมอย่�งต่อเนื่อง เพื่อให้ มั่นใจว่�ก�รปฏิบัติหน้�ที่ของคณะกรรมก�รบริษัทเป็นไปอย่�งมี ประสิทธิผลและมีก�รกำ�กับดูแลกิจก�รที่ดีอย่�งสม่ำ�เสมอ คณะกรรมก�รได้สอบท�นก�รปฏิบตั ติ �มนโยบ�ยในปี 2559 ซึง่ พบว่�ได้ปฏิบตั ติ �มนโยบ�ยและขัน้ ตอนก�รปฏิบตั งิ �นทีก่ �ำ หนด ไว้อย่�งครบถ้วน เว้นแต่ในบ�งเรือ่ งทีย่ งั ไม่ส�ม�รถปฏิบตั ติ �มได้ ดังนี้

หลักการ/แนวปฏิบัติที่ดี ของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย

คำาชี้แจงของบริษัท

หมวด การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่าง เท่าเทียมกัน

สืบเนื่องจ�กก�รจัดทำ�ร�ยง�นประจำ�ปีจำ�เป็นต้องรอข้อมูลผลก�รดำ�เนินง�นประจำ�ปี 2558 ที่จะถูกจัดทำ�และตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญ�ตให้แล้วเสร็จภ�ยใน 60 วันนับจ�กวันสิ้นงวดบัญชีวันที่ 31 ธันว�คม 2558 ซึ่งบริษัทมีกำ�หนดก�รประชุม คณะกรรมก�รเพื่อพิจ�รณ�และอนุมัติผลก�รดำ�เนินง�นในวันที่ 23 กุมภ�พันธ์ 2559 จ�กนั้นต้องใช้เวล�ปิดสมุดทะเบียนไม่น้อยกว่� 14 วัน เพื่อรวบรวมร�ยชื่อ ผู้ถือหุ้น ซึ่งบริษัทกำ�หนดไว้ในวันที่ 10 มีน�คม 2559 หลังจ�กนั้นจะส�ม�รถส่งออก หนังสือเชิญประชุมได้หลังจ�กปิดสมุดทะเบียนประม�ณ 5 วันทำ�ก�ร เนื่องจ�กต้อง รอร�ยชื่อผู้ถือหุ้นจ�กก�รปิดสมุดทะเบียนและก�รบรรจุซองไปรษณีย์ ซึ่งก็คือวันที่ 18 มีน�คม 2559 ในขณะที่บริษัทได้กำ�หนดวันประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีในวันที่ 5 เมษ�ยน 2559 ทำ�ให้ไม่ส�ม�รถส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้นล่วงหน้�อย่�ง น้อย 21 วันก่อนวันประชุม

ก�รจัดส่งหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นให้ แก่ผู้ถือหุ้นล่วงหน้�อย่�งน้อย 21 วัน ก่อนวันประชุม

ทั้งนี้ บริษัทเข้�ใจดีว่� บริษัทอ�จเลื่อนเวล�จัดประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นออกไปเพื่อให้ผู้ถือ หุ้นมีเวล�ที่ม�กขึ้นในก�รอ่�นและศึกษ�ข้อมูลจ�กหนังสือเชิญประชุม แต่เพร�ะบริษัท เห็นว่�ในเดือนเมษ�ยนเป็นเดือนที่มีวันหยุดร�ชก�รค่อนข้�งม�ก ทำ�ให้จำ�นวนบริษัท จดทะเบียนในตล�ดหลักทรัพย์ฯ ที่มีก�รจัดประชุมผู้ถือหุ้นหลังช่วงวันสงกร�นต์มี จำ�นวนค่อนข้�งม�ก จึงเห็นว่�ก�รจัดประชุมที่เร็วขึ้นจะทำ�ให้ผู้ถือหุ้นมีโอก�สในก�รเข้� ร่วมประชุมม�กขึ้น


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

090

หมวด ความรับผิดชอบของคณะ กรรมการ

ประธ�นกรรมก�รของบริษัทคือ น�ยไกรสร จันศิริ ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งธุรกิจของบริษัท รวมถึงเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ จึงเป็นผลทำ�ให้ข�ดคุณสมบัติของก�รเป็นกรรมก�รอิสระ แต่ ด้วยระบบก�รทำ�ง�นของคณะกรรมก�ร ประกอบกับประสบก�รณ์อันย�วน�น และ วิสัยทัศน์ของท่�นประธ�นกรรมก�ร ทำ�ให้บริษัทมีคว�มมั่นคงและเจริญเติบโตม� จนถึงปัจจุบันนี้

กรรมก�รอิสระไม่ควรดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมก�รของบริษัทเกิน 9 ปี

แม้ว่�น�ยศักดิ์ เกี่ยวก�รค้� ซึ่งเป็นกรรมก�รอิสระของบริษัทม�น�นถึง 15 ปี แต่ ด้วยคว�มตั้งใจและทุ่มเทให้กับก�รทำ�ง�นอย่�งเต็มคว�มส�ม�รถ ดูได้จ�กร�ยง�น ของคณะกรรมก�รตรวจสอบนั้น ทำ�ให้คณะกรรมก�รมีคว�มเชื่อมั่นว่�จะไม่ก่อให้ เกิดคว�มไม่อิสระอย่�งแน่นอน ประกอบกับกรรมก�รอิสระอีก 3 ท่�นก็ไม่ได้ดำ�รง ตำ�แหน่งกับบริษัทน�นม�กนัก จึงทำ�ให้เกิดก�รถ่วงดุลได้อย่�งเหม�ะสม

กรรมก�รของบริษัทแต่ละคนควรเข้� ร่วมประชุมอย่�งสม่ำ�เสมอ (ม�กกว่� ร้อยละ 75 จ�กก�รประชุมทั้งหมด)

ด้วยเหตุที่คณะกรรมก�รบริษัท ประกอบด้วยกรรมก�รที่ม�จ�กพันธมิตรท�งธุรกิจ ย�วน�นกว่� 25 ปี คือ บริษทั มิตซูบชิ ิ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด ได้แก่ น�ยยูท�กะ เคียวยะ (สิ้นสุดจ�กก�รเป็นกรรมก�รเมื่อวันที่ 31 ตุล�คม 2559) และน�ยคิโยท�กะ คิคูชิ (รับตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 7 พฤศจิก�ยน 2559) มีถิ่นพำ�นักในประเทศญี่ปุ่น ทำ�ให้ไม่ ส�ม�รถเข้�ร่วมประชุมคณะกรรมก�รได้ต�มที่กำ�หนด แต่อย่�งไรก็ต�ม บริษัทได้จัด ส่งข้อมูลว�ระก�รประชุมและเอกส�รสนับสนุน ให้กับกรรมก�รทุกท่�น และเปิดโอก�ส ให้กรรมก�รสอบถ�มและให้คว�มเห็นโดยตรงกับประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�รด้�นก�รเงิน (GROUP CFO) ของบริษัท ก่อนวันประชุม

คณะกรรมก�รควรมีกรรมก�รอิสระที่ เป็นผู้หญิงอย่�งน้อย 1 คน

บริษัทมีนโยบ�ยคว�มหล�กหล�ยในโครงสร้�งของคณะกรรมก�ร ทั้งด้�นทักษะ วิช�ชีพ คว�มเชี่ยวช�ญเฉพ�ะด้�น เพศ แต่เพร�ะในปัจจุบัน บริษัทมีจำ�นวนกรรมก�ร เพียงพอและเหม�ะสม อย่�งไรก็ต�ม ห�กบริษัทมีโอก�สในก�รสรรห�กรรมก�รเพิ่ม บริษัทก็พร้อมและยินดีที่จะมีกรรมก�รอิสระที่เป็นผู้หญิงอยู่ในคณะกรรมก�รอย่�ง แน่นอน

คณะกรรมก�รควรพิจ�รณ�แต่งตั้ง คณะกรรมก�รกำ�กับดูแลกิจก�ร CG Committee

บริษัทอยู่ระหว่�งก�รศึกษ�ข้อมูลและพิจ�รณ�ต�มคว�มเหม�ะสม

บริษัทควรจัดให้มีโครงก�รให้สิทธิแก่ผู้ บริห�รในก�รซื้อหลักทรัพย์ของบริษัท โดยมีระยะเวล�ในก�รใช้สิทธิม�กกว่� 3 ปี กำ�หนดร�ค�ใช้สิทธิที่สูงกว่�ร�ค� ตล�ด ณ ช่วงเวล�ที่มีก�รจัดสรรสิทธิ รวมถึงไม่มีก�รกระจุกตัวเกิน 5%

บริษัทอยู่ระหว่�งก�รศึกษ�ข้อมูลและพิจ�รณ�ต�มคว�มเหม�ะสม

ประธ�นกรรมก�รของบริษัทควรเป็น กรรมก�รอิสระ

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมก�รบริษัทมีหน้�ที่กำ�กับดูแลง�นของบริษัทให้เป็นไป ต�มกฏหม�ย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท นโยบ�ย ก�รกำ�กับดูแลกิจก�รของบริษัทและมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ก�ร กำ�หนดวิสัยทัศน์ เป้�หม�ย นโยบ�ยท�งธุรกิจ และทิศท�งก�ร ดำ�เนินง�นของบริษัท และติดต�มก�รดำ�เนินง�นของฝ่�ยบริห�ร ให้ปฏิบัติง�นอย่�งมีจริยธรรม เป็นไปต�มนโยบ�ยที่กำ�หนดไว้ อย่�งมีประสิทธิภ�พ ตลอดจนดูแลไม่ให้เกิดปัญห�คว�มขัดแย้ง ท�งผลประโยชน์ระหว่�งผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท โดยมีก�รเปิด เผยข้อมูลของบริษัทอย่�งครบถ้วนและถูกต้องอย่�งสม่ำ�เสมอ

กรรมการผู้มีอำานาจลงนามผูกพันบริษัท

กรรมก�รบริษัทอย่�งน้อย 2 คน ลงล�ยมือชื่อร่วมกัน พร้อม ประทับตร�สำ�คัญของบริษัท หรือในบ�งกรณีคณะกรรมก�รอ�จ กำ�หนดชื่อกรรมก�รผู้มีอำ�น�จลงน�มผูกพันบริษัทก็ได้


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

091 องค์ประกอบของคณะกรรมการ

คณะกรรมก�รบริษัทประกอบด้วยกรรมก�รที่มีคว�มรู้ ประสบก�รณ์และคว�มส�ม�รถที่หล�กหล�ยในส�ข�ต่�งๆ ของธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันว�คม 2559 คณะกรรมก�รของบริษัทประกอบด้วยกรรมก�รจำ�นวน 12 ท่�น รายชื่อคณะกรรมการ

ตำาแหน่ง

วันที่ดำารงตำาแหน่ง

1. น�ยไกรสร จันศิริ

ประธ�นกรรมก�ร

17 มีน�คม 2531

2. น�ยเชง นิรุตติน�นนท์

ประธ�นคณะกรรมก�รบริห�ร

8 เมษ�ยน 2542

3. น�ยธีรพงศ์ จันศิริ

ประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร

1 มกร�คม 2533

4. น�ยชวน ตั้งจันสิริ

กรรมก�รบริห�ร

17 มีน�คม 2531

5. น�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ

ประธ�นกรรมก�รบริห�รกลุ่มธุรกิจกุ้ง

5 มกร�คม 2541

6. น�ยช�น ชู ชง

กรรมก�รบริห�ร

30 เมษ�ยน 2544

7. น�ยคิโยท�กะ คิคูชิ

กรรมก�รที่ไม่เป็นผู้บริห�ร

7 พฤศจิก�ยน 2559

8. น�ยร�วินเดอร์ สิงห์ เกรว�ล ซ�บจิตต์ เอส

กรรมก�รที่ไม่เป็นผู้บริห�ร

15 พฤศจิก�ยน 2553

9. น�ยศักดิ์ เกี่ยวก�รค้�

กรรมก�รอิสระ

22 สิงห�คม 2543

10. ดร.ธรรมนูญ อ�นันโทไทย

กรรมก�รอิสระ

22 มีน�คม 2553

11. น�ยกีรติ อัสสกุล

กรรมก�รอิสระ

22 มีน�คม 2553

12. น�ยน�ถ ลิ่วเจริญ

กรรมก�รอิสระ

3 เมษ�ยน 2558

โดยมี น�งปะร�ลี สุขะตุงคะ เป็นเลข�นุก�รบริษัท

สัดส่วนของกรรมการอิสระในคณะกรรมการบริษัท

ระยะเวลาการดำารงตำาแหน่งของกรรมการ

16.67% 50.00%

33.33%

58.33% 25.00%

16.67%

กรรมก�รอิสระ 4 คน กรรมก�รที่ไม่เป็นผู้บริห�ร 2 คน กรรมก�รที่เป็นผู้บริห�ร 6 คน

ระหว่�ง 0-5 ปี 2 คน ระหว่�ง 5-9 ปี 3 คน ม�กกว่� 9 ปี 7 คน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

092 วาระการดำารงตำาแหน่งของกรรมการ

ต�มข้อบังคับของบริษัท ในก�รประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีทุก ครั้ง กำ�หนดให้กรรมก�รคนที่อยู่ในตำ�แหน่งน�นที่สุดนั้นเป็นผู้ ออกจ�กตำ�แหน่ง จำ�นวน 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมก�รทั้งหมด ห�กจำ�นวนกรรมก�รที่จะแบ่งให้ตรงเป็นส�มส่วนไม่ได้ ก็ให้ ออกโดยจำ�นวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมก�ร ทั้งหมด ในกรณีที่ตำ�แหน่งกรรมก�รว่�งลงเพร�ะเหตุอื่นนอกจ�กถึง คร�วออกต�มว�ระ มติของคณะกรรมก�รต้องประกอบด้วย คะแนนเสียงไม่น้อยกว่�ส�มในสี่ของจำ�นวนกรรมก�รที่ยังเหลือ อยู่ เพื่อเลือกบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้�มต�ม กฎหม�ยว่�ด้วยบริษัทมห�ชนจำ�กัด เข้�เป็นกรรมก�รแทนใน ก�รประชุมคณะกรรมก�รคร�วถัดไป เว้นแต่ว�ระของกรรมก�ร จะเหลือน้อยกว่�สองเดือน บุคคลซึ่งเข้�เป็นกรรมก�รแทนดัง กล่�ว จะอยู่ในตำ�แหน่งกรรมก�รได้เพียงเท่�ว�ระที่ยังเหลืออยู่ ของกรรมก�รที่ตนแทน สำ�หรับข้อบังคับของบริษัทได้เปิดเผยอยู่ในเว็บไซด์ของบริษัท www.thaiunion.com ภ�ยใต้หัวข้อ นักลงทุนสัมพันธ์ -> ข้อบังคับบริษัท

ขอบเขตอำานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมก�รมีอำ�น�จและหน้�ที่จัดก�รบริษัทให้เป็นไปต�ม วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคว�ม ซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวังผลประโยชน์ของบริษัท นอกจ�กนี้ กรรมก�รยังมีหน้�ที่กำ�หนดนโยบ�ยและทิศท�งก�รดำ�เนินง�น ของบริษัท และกำ�กับควบคุมดูแลให้ฝ่�ยจัดก�รดำ�เนินก�รให้เป็น ไปต�มนโยบ�ยที่กำ�หนดไว้อย่�งมีประสิทธิภ�พและประสิทธิผล กรรมก�รมีหน้�ที่จะต้องแจ้งให้บริษัททร�บ ห�กมีส่วนได้ส่วนเสีย ในสัญญ�ที่ทำ�กับบริษัท หรือถือหุ้นเพิ่มขึ้นลดลงในบริษัทหรือ บริษัทในเครือในระหว่�งรอบปีบัญชี ทั้งนี้อำ�น�จก�รตัดสินใจและ ดูแลก�รดำ�เนินง�นของบริษัทดังกล่�ว เว้นแต่เรื่องดังต่อไปนี้ ซึ่ง คณะกรรมก�รต้องได้รับอนุมัติจ�กที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนดำ�เนิน ก�ร 1. เรื่องที่กฎหม�ยกำ�หนดให้ต้องได้มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น 2. ก�รเปลี่ยนแปลงร�ค�มูลค่�หุ้น หรือเพิ่ม / ลดทุน จดทะเบียน 3. เพิ่มจำ�นวนกรรมก�รบริษัท 4. ก�รทำ�ร�ยก�รที่กรรมก�รมีส่วนได้เสียหรืออยู่ในข่�ยที่ กฎหม�ย หรือข้อกำ�หนดของตล�ดหลักทรัพย์ฯ ระบุให้ ต้องได้รับก�รอนุมัติจ�กที่ประชุมผู้ถือหุ้น

บทบาทและความรับผิดชอบ

คณะกรรมก�รมีคว�มรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับก�รดำ�เนิน ธุรกิจของบริษัท และก�รกำ�กับดูแลให้ก�รบริห�รจัดก�รเป็น ไปต�มเป้�หม�ยและแนวท�งที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ ผู้ถือหุ้น ภ�ยใต้กรอบของก�รมีจริยธรรมที่ดี และคำ�นึงถึงผล ประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่�ยอย่�งเท่�เทียมกัน โดย มีหน้�ที่ดังนี้

1. จัดก�รบริษัทให้เป็นไปต�มวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติ ของที่ประชุมผู้ถือหุ้น และกำ�กับดูแลก�รดำ�เนินกิจก�รทั้ง หล�ยของบริษัท 2. กำ�หนดเป้�หม�ยและนโยบ�ยก�รดำ�เนินธุรกิจเพื่อให้ฝ่�ย บริห�รนำ�ไปปฏิบัติ 3. กำ�หนดกลยุทธ์ เป้�หม�ย นโยบ�ยของกลุ่มบริษัทและ นโยบ�ยก�รลงทุน 4. ควบคุมดูแลก�รปฏิบัติง�นของฝ่�ยบริห�รให้บริห�รง�น ได้อย่�งมีประสิทธิภ�พ 5. จัดให้มีก�รประชุมคณะกรรมก�รของบริษัทไม่น้อยกว่�ปี ละ 5 ครั้ง 6. จัดให้มีก�รประชุมผู้ถือหุ้นอย่�งน้อยปีละ 1 ครั้งเพื่อ ร�ยง�นผลก�รดำ�เนินง�นของบริษัทให้ผู้ถือหุ้นรับทร�บ และขออนุมัติสำ�หรับมติต่�งๆ ที่นอกเหนือจ�กอำ�น�จของ คณะกรรมก�ร 7. ติดต�มผลก�รดำ�เนินง�นและฐ�นะก�รเงินของบริษัทและ บริษัทย่อย 8. อนุมัติงบก�รเงินร�ยไตรม�สและประจำ�ปี แบบแสดง ร�ยก�รข้อมูล ( แบบ 56-1) และร�ยง�นประจำ� ปี (56-2) ต�มข้อกำ�หนดของตล�ดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยและสำ�นักง�นคณะกรรมก�รกำ�กับหลัก ทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ 9. จัดทำ�ร�ยง�นคว�มรับผิดชอบของคณะกรรมก�รต่อ ร�ยง�นท�งก�รเงิน โดยแสดงควบคู่กับร�ยง�นของผู้ สอบบัญชีไว้ในร�ยง�นประจำ�ปีของบริษัท เพื่อแสดงให้ เห็นว่�ร�ยง�นท�งก�รเงินถูกต้องเป็นจริงและสมเหตุสม ผล โดยปฏิบัติต�มม�ตรฐ�นก�รบัญชี และนโยบ�ยก�ร บัญชีที่เหม�ะสมโดยถือปฏิบัติอย่�งสม่ำ�เสมอ 10. กำ�หนดให้บริษัทมีระบบก�รควบคุมภ�ยใน ระบบ ก�รตรวจสอบภ�ยในและระบบบริห�รคว�มเสี่ยงที่มี ประสิทธิภ�พ 11. เสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและกำ�หนดค่�ตอบแทนต่อที่ ประชุมผู้ถือหุ้นต�มที่คณะกรรมก�รตรวจสอบเสนอ 12. เสนอกรรมก�รที่ออกต�มว�ระและกรรมก�รเข้�ใหม่ต่อที่ ประชุมผู้ถือหุ้น 13. เสนอก�รจ่�ยเบี้ยประชุม ค่�ตอบแทนกรรมก�รและ อนุกรรมก�รต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น 14. อนุมัติเรื่องที่คณะกรรมก�รบริห�รเสนอ 15. อนุมัติร�ยก�รเกี่ยวโยง ก�รขัดแย้งท�งผลประโยชน์ ก�ร ได้ม�หรือจำ�หน่�ยไปซึ่งสินทรัพย์และอื่นๆ ต�มที่กำ�หนด โดยหลักเกณฑ์และข้อบังคับของสำ�นักง�นคณะกรรมก�ร กำ�กับหลักทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ 16. อนุมัติก�รทำ�ธุรกรรมสัญญ�ใดๆ ในเรื่องภ�ระผูกพัน ก�รก่อหนี้และก�รค้ำ�ประกันของบริษัท 17. อนุมัติแต่งตั้ง กำ�หนดอำ�น�จหน้�ที่ และค่�ตอบแทนของ คณะกรรมก�รชุดย่อยต่�งๆ 18. อนุมัติแต่งตั้งเลข�นุก�รบริษัท 19. ปฏิบัติต�มข้อพึงปฏิบัติที่ดีสำ�หรับก�รเป็นกรรมก�ร บริษัทจดทะเบียนต�มหลักเกณฑ์ และข้อบังคับของ ตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักง�นคณะ กรรมก�รกำ�กับหลักทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

093 การสรรหากรรมการ

คณะกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทนมีหน้�ที่รับผิด ชอบในก�รพิจ�รณ�ทบทวนคุณสมบัติ คว�มรู้และคว�มส�ม�รถ ของกรรมก�รที่ต้องก�ร เพื่อให้คณะกรรมก�รบริษัทมีองค์ ประกอบที่เหม�ะสมกับก�รดำ�เนินธุรกิจ คณะกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทนพิจ�รณ�และนำ� เสนอบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติเหม�ะสม และไม่มีลักษณะต้องห้�ม ต�มกฎหม�ยว่�ด้วยบริษัทมห�ชนจำ�กัดต่อคณะกรรมก�รบริษัท เฉพ�ะในกรณีที่มีกรรมก�รพ้นตำ�แหน่งต�มว�ระ หรือด้วยส�เหตุ อื่นในระหว่�งปีเท่�นั้น ซึ่งต้องเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อ เลือกตั้งกรรมก�รใหม่อีกครั้ง และบุคคลซึ่งเข้�เป็นกรรมก�รดัง กล่�วจะอยู่ในตำ�แหน่งได้เพียงเท่�ว�ระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมก�ร ที่ตนแทนเท่�นั้น แต่เมื่อมีก�รประชุมส�มัญประจำ�ปีทุกครั้ง ให้ กรรมก�รออกจ�กตำ�แหน่ง 1 ใน 3 ต�มว�ระ และให้ที่ประชุม ผูถ้ อื หุน้ เลือกตัง้ กรรมก�รใหม่ต�มหลักเกณฑ์และวิธกี �รดังต่อไปนี้ 1. ผู้ถือหุ้นคนหนึ่ง มีคะแนนเสียงเท่�กับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง 2. ผูถ้ ือหุ้นแต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมด ต�ม ข้อ 1 เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือหล�ยคนเป็นกรรมก�รก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดม�กน้อยเพียงใดไม่ได้ 3. บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดต�มลำ�ดับลงม�เป็นผู้ได้ รับก�รเลือกตั้งเป็นกรรมก�รเท่�จำ�นวนกรรมก�รที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ทั้งนี้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอ�จลงมติให้กรรมก�รคนใดออกจ�ก ตำ�แหน่งก่อนถึงคร�วออกต�มว�ระได้ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อย กว่�ส�มในสี่ของจำ�นวนผู้ถือหุ้นซึ่งม�ประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่�กึ่งหนึ่ง ของจำ�นวนหุ้นที่ถือ โดยผู้ถือหุ้นที่ม�ประชุมและมีสิทธิออกเสียง โดยกรรมก�รและ ผู้บริห�รของบริษัททั้งหมดต้องมีคุณสมบัติครบต�มม�ตร� 68 แห่งพระร�ชบัญญัติบริษัทมห�ชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และต�ม ประก�ศคณะกรรมก�ร ก.ล.ต. เรื่องหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธี ก�รในก�รขออนุญ�ตเสนอข�ยหุ้นที่ออกใหม่และก�รอนุญ�ต ฉบับลงวันที่ 18 พฤษภ�คม 2535 ในส่วนของกรรมก�รอิสระ คณะกรรมก�รบริษัทจะเลือกผู้ทรง คุณวุฒิ ซึ่งมิได้เป็นลูกจ้�งหรือพนักง�นที่ได้รับเงินเดือนจ�ก บริษัท หรือบริษัทในเครือ และมีอิสระจ�กกลุ่มผู้ถือหุ้นร�ยใหญ่ โดยถือหุ้นในบริษัทไม่เกินร้อยละ 0.05 ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงทั้งหมด และส�ม�รถดูแลผลประโยชน์ของกลุ่มผู้ถือหุ้น ร�ยย่อยได้ ซึ่งจะเสนอให้ที่ประชุมคณะกรรมก�รเป็นผู้พิจ�รณ� ลงมติในก�รแต่งตั้ง และนำ�เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น ก�รจำ�กัดอ�ยุและระยะเวล�ก�รดำ�รงตำ�แหน่ง คณะกรรมก�รบริษัทเชื่อว่� ก�รมีกรรมก�รซึ่งมีประสบก�รณ์ ก�รทำ�ง�นต่อเนื่องกับบริษัทเป็นสิ่งที่มีค่�ต่อบริษัท ดังนั้นจึงไม่ได้ กำ�หนดคุณสมบัติเรื่องอ�ยุและระยะเวล�ก�รดำ�รงตำ�แหน่ง

กรรมการอิสระ

ต�มนโยบ�ยก�รกำ�กับดูแลกิจก�รของบริษัท กำ�หนดให้คณะ กรรมก�รบริษัทต้องมีจำ�นวนกรรมก�รอิสระไม่น้อยกว่� 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมก�รทั้งคณะและไม่น้อยกว่� 3 คน โดยมี ว�ระก�รดำ�รงตำ�แหน่งคร�วละ 3 ปี ทั้งนี้กรรมก�รอิสระต้อง เป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติเกี่ยวกับคว�มเป็นอิสระต�มแนวท�ง เดียวกันกับคุณสมบัติของกรรมก�รตรวจสอบต�มประก�ศ ตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง คุณสมบัติและขอบเขต ก�รดำ�เนินง�นของคณะกรรมก�รตรวจสอบและต้องส�ม�รถ ดูแลผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกร�ยได้เท่�เทียมกัน และไม่ให้เกิด คว�มขัดแย้งท�งผลประโยชน์ นอกจ�กนั้นยังต้องส�ม�รถเข้�ร่วม ประชุมคณะกรรมก�รบริษัทโดยให้คว�มเห็นอย่�งเป็นอิสระได้

คุณสมบัติของกรรมการอิสระ

1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.05 ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออก เสียงทั้งหมด ทั้งนี้ให้นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นร�ยใหญ่ในบริษัท 3. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมก�รของบริษัท รวมทั้งไม่เป็น หรือเคยเป็นกรรมก�รที่มีส่วนร่วมบริห�รง�น และไม่ได้มี ส่วนเกี่ยวข้องกับก�รบริห�รง�น พนักง�น ลูกจ้�ง หรือ ที่ปรึกษ�ที่ได้รับเงินเดือนประจำ�ของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง 4. ไม่เป็นผู้ให้บริก�รท�งวิช�ชีพ 5. ไม่มีคว�มสัมพันธ์ท�งธุรกิจที่มีนัยสำ�คัญอันอ�จมีผลทำ�ให้ ไม่ส�ม�รถทำ�หน้�ที่ได้อย่�งเป็นอิสระ 6. ไม่ได้รับก�รแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนเพื่อรักษ�ผล ประโยชน์ของกรรมก�รบริษัท ผู้ถือหุ้นร�ยใหญ่ หรือผู้ถือ หุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นร�ยใหญ่ของบริษัท 7. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่ส�ม�รถให้คว�มเห็นอย่�งเป็น อิสระเกี่ยวกับก�รดำ�เนินง�นของบริษัท

ทั้งนี้ นิย�มกรรมก�รอิสระดังกล่�ว เป็นไปต�มนโยบ�ยก�ร กำ�กับดูแลกิจก�รที่ดีของบริษัท และมีคว�มเข้มงวดกว่�ข้อ กำ�หนดคุณสมบัติของกรรมก�รอิสระของสำ�นักง�นคณะ กรรมก�รกำ�กับหลักทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ในส่วนของ อัตร�ก�รถือครองหุ้นของบริษัท

คณะอนุกรรมการ

คณะกรรมก�รบริษัทได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมก�รจำ�นวน 5 คณะ เพื่อทำ�หน้�ที่พิจ�รณ�กลั่นกรองก่อนนำ�ประเด็นสำ�คัญเข้�สู่ก�ร พิจ�รณ�ของคณะกรรมก�รบริษัท ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5.

คณะกรรมก�รตรวจสอบ คณะอนุกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทน คณะอนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง คณะกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยงท�งก�รเงิน คณะกรรมก�รเพื่อก�รพัฒน�ที่ยั่งยืน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

094 คณะกรรมการตรวจสอบ

ร�ยชื่อคณะกรรมก�รและจำ�นวนครั้งของก�รเข้�ร่วมประชุมในปี 2559

ชื่อ-นามสกุล

ตำาแหน่ง

สถานะ

การเข้าร่วมประชุม

1. น�ยศักดิ์ เกี่ยวก�รค้�

ประธ�น

กรรมก�รอิสระ

23/23(100%)

2. ดร.ธรรมนูญ อ�นันโทไทย

กรรมก�ร

กรรมก�รอิสระ

23/23(100%)

3. น�ยน�ถ ลิ่วเจริญ

กรรมก�ร

กรรมก�รอิสระ

21/23(91%)

คณะกรรมก�รตรวจสอบได้จัดตั้งขึ้นโดยก�รอนุมัติของคณะ กรรมก�รบริษัทเมื่อวันที่ 15 พฤศจิก�ยน 2542 เพื่อให้ก�ร สนับสนุนและปฏิบัติก�รในน�มของคณะกรรมก�รบริษัท เพื่อ สอบท�นข้อมูลท�งก�รเงินที่เสนอแก่ผู้ถือหุ้นและผู้เกี่ยวข้องอื่น สอบท�นระบบบริห�รคว�มเสี่ยง ระบบควบคุมภ�ยใน ระบบ ตรวจสอบภ�ยในและธรรม�ภิบ�ล และกำ�กับดูแลม�ตรก�รต่อ ต้�นคอร์รัปชั่น รวมทั้งสอบท�นก�รจัดทำ�ร�ยง�นท�งก�รเงิน เพื่อให้ก�รปฏิบัติง�นและก�รเปิดเผยข้อมูลของบริษัทเป็นไป อย่�งโปร่งใสและน่�เชื่อถือ คณะกรรมก�รตรวจสอบต้องเป็นกรรมก�รบริษัทที่มีคุณสมบัติ เป็นกรรมก�รอิสระไม่น้อยกว่� 3 คน มีว�ระก�รดำ�รงตำ�แหน่ง คร�วละ 3 ปี ประกอบด้วยประธ�นกรรมก�รตรวจสอบ 1 ท่�น และกรรมก�รตรวจสอบ 2 ท่�น ซึ่งต้องมีคุณสมบัติต�มที่ สำ�นักง�นคณะกรรมก�รกำ�กับหลักทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ กำ�หนด และเป็นผู้ที่มีคว�มรู้และประสบก�รณ์เพียงพอที่จะทำ� หน้�ที่ในก�รสอบท�นคว�มน่�เชื่อถือของงบก�รเงินได้ไม่น้อย กว่� 1 คน ทั้งนี้ กรรมก�รอิสระทุกท่�นไม่ได้เป็นผู้บริห�ร พนักง�น หรือที่ปรึกษ�ใดๆ ของบริษัท คณะกรรมก�รตรวจสอบมีก�รประชุมอย่�งน้อยปีละ 12 ครั้ง และให้ร�ยง�นผลก�รปฏิบัติง�นให้คณะกรรมก�รบริษัทรับทร�บ อย่�งน้อยปีละ 2 ครั้ง

หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมก�รตรวจสอบมีหน้�ที่และคว�มรับผิดชอบที่สำ�คัญ ดังนี้ 1. สอบท�นให้มีระบบร�ยง�นท�งก�รเงินและก�รเปิดเผย ข้อมูลในงบก�รเงินต�มม�ตรฐ�นก�รร�ยง�นท�งก�รเงิน และต�มที่กำ�หนดโดยกฎหม�ยอย่�งโปร่งใส ถูกต้อง และ เพียงพอ 2. ส่งเสริมให้มีก�รพัฒน�ระบบร�ยง�นท�งก�รเงินให้ ทัดเทียมกับม�ตรฐ�นก�รร�ยง�นท�งก�รเงินระหว่�ง ประเทศ 3. สอบท�นให้บริษัทมีระบบก�รควบคุมภ�ยใน ต�ม กรอบแนวท�งก�รควบคุมภ�ยใน (Internal Control Framework: COSO 2013) และก�รตรวจสอบ ภ�ยใน (Internal Audit) ที่เหม�ะสมและมีประสิทธิผล ต�มวิธีก�รและม�ตรฐ�นส�กลที่ยอมรับโดยทั่วไป 4. สอบท�น “แบบประเมินผลคว�มเพียงพอของระบบก�ร ควบคุมภ�ยใน” ซึ่งส�ยง�นตรวจสอบได้ตรวจสอบและ ประเมินผลแล้ว เพื่อให้มั่นใจว่�บริษัทมีระบบก�รควบคุม

ภ�ยในที่เพียงพอ 5. สอบท�นให้มีระบบง�นเชิงป้องกันและเป็นประโยชน์ให้ กับหน่วยง�นเพื่อเพิ่มประสิทธิภ�พและประสิทธิผลใน ก�รปฏิบัติง�นให้ดียิ่งขึ้น รวมทั้งสอบท�นกระบวนก�ร ภ�ยในของบริษัทเกี่ยวกับก�รแจ้งเบ�ะแสและก�รรับข้อ ร้องเรียน 6. สอบท�นกระบวนก�รตรวจสอบและระบบก�รบริห�ร คว�มเสี่ยงขององค์กร 7. สอบท�นให้บริษัทมีกระบวนก�รควบคุมและติดต�มก�ร ปฏิบัติง�น (Compliance) ต�มกฎหม�ยว่�ด้วยหลัก ทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ ระเบียบ ข้อบังคับและกฎ หม�ยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท รวมทั้งมติที่ ประชุมคณะกรรมก�รบริษัท 8. สอบท�นคว�มถูกต้องและประสิทธิผลของระบบ เทคโนโลยีส�รสนเทศที่เกี่ยวข้องกับก�รควบคุมภ�ยใน ร�ยง�นก�รเงิน ก�รบริห�รคว�มเสี่ยงและเสนอแนวท�ง ก�รปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ 9. พิจ�รณ�ร�ยก�รที่เกี่ยวโยงกัน หรือร�ยก�รที่อ�จมี คว�มขัดแย้งท�งผลประโยชน์ให้เป็นไปต�มกฎหม�ยและ ข้อกำ�หนดของตล�ดหลักทรัพย์ของประเทศไทย 10. สอบท�นให้กรรมก�รตรวจสอบมีก�รประเมินผลก�ร ปฏิบัติง�นของคณะกรรมก�รตรวจสอบโดยรวมและก�ร ประเมินผลก�รปฏิบัติง�นของตนเองเป็นประจำ�ทุกปี 11. สอบท�นและให้คว�มเห็นในก�รปฏิบัติง�นของส�ยง�น ตรวจสอบและประส�นง�นกับผู้สอบบัญชี 12. จัดทำ�ร�ยง�นของคณะกรรมก�รตรวจสอบ โดยเปิดเผย ไว้ในร�ยง�นประจำ�ปีของบริษัท ซึ่งร�ยง�นดังกล่�วต้อง ลงน�มโดยประธ�นกรรมก�รตรวจสอบและมีคว�มเห็นใน เรื่องต่�งๆ ต�มข้อกำ�หนดของตล�ดหลักทรัพย์ฯ 13. พิจ�รณ�คัดเลือก เสนอแต่งตั้งหรือเลิกจ้�งบุคคลซึ่งมี คว�มเป็นอิสระเพื่อทำ�หน้�ที่ผู้สอบบัญชีของบริษัท รวม ทั้งเสนอค่�ตอบแทนและประเมินประสิทธิภ�พก�รทำ�ง�น ของผู้สอบบัญชีบริษัท และจัดให้มีก�รประชุมร่วมกับผู้ สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่�ยจัดก�รเข้�ร่วมประชุมอย่�งน้อยปี ละ 1 ครั้ง 14. พิจ�รณ�อนุมัติแผนง�นตรวจสอบภ�ยใน งบประม�ณ และกำ�ลังพลของส�ยง�นตรวจสอบ 15. สอบท�นให้มีก�รประเมินผลก�รปฏิบัติง�นตรวจสอบของ ส�ยง�นตรวจสอบต�มม�ตรฐ�นส�กล 16. ให้คว�มเห็นชอบในก�รแต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้�ย หรือ เลิกจ้�งผู้จัดก�รทั่วไป – ส�ยง�นตรวจสอบ 17. พิจ�รณ�คว�มเป็นอิสระของส�ยง�นตรวจสอบโดย พิจ�รณ�จ�กก�รปฏิบัติหน้�ที่และร�ยง�นต่�งๆ รวมทั้ง


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

095 ส�ยก�รบังคับบัญช� 18. สอบท�นคว�มพอเพียงของระบบกำ�กับดูแลของบริษัท และบริษัทย่อยทั้งในประเทศและต่�งประเทศ 19. พิจ�รณ�จัดห�ที่ปรึกษ�ภ�ยนอก เพื่อให้คำ�แนะนำ�หรือ ช่วยเหลือในก�รตรวจสอบภ�ยใน 20. สอบท�นกฎบัตรของส�ยง�นตรวจสอบให้เหม�ะสมอย่�ง น้อยปีละ 1 ครั้ง 21. ออกไปตรวจเยี่ยมหน่วยง�นในบริษัท บริษัทย่อยใน ประเทศและต่�งประเทศ เพื่อสอบท�นระบบก�รปฏิบัติ ง�น ระบบบริห�รคว�มเสี่ยง ระบบก�รควบคุมภ�ยใน ระบบก�รบริห�รสิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัญห�เกี่ยว กับก�รจัดทำ�งบก�รเงิน ปัญห�เกี่ยวกับผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบภ�ยใน รวมทั้งเข้�เยี่ยมชมโรงง�นเพื่อ ดูกระบวนก�รผลิต ก�รบริห�รคลังสินค้�และสภ�พ แวดล้อมทั่วไป 22. สอบท�นแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับม�ตรก�รต่อต้�น คอร์รัปชั่นต�มที่ส�ยง�นตรวจสอบได้ตรวจสอบและ ประเมินแล้วเพื่อมั่นใจว่�บริษัทมีระบบต่�ง ๆ ในก�รต่อ ต้�นคอร์รัปชั่นต�มที่ได้ร�ยง�นไว้ในแบบประเมินตนเอง ของสม�คมส่งเสริมสถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) 23. ปฏิบัติก�รอื่นใดต�มที่กฎหม�ยกำ�หนดหรือคณะ กรรมก�รบริษัทมอบหม�ยด้วยคว�มเห็นชอบจ�กคณะ กรรมก�รตรวจสอบ ในก�รปฏิบัติง�นต�มขอบเขตหน้�ที่ ให้คณะกรรมก�รตรวจ สอบมีอำ�น�จเรียก สั่งก�รให้ฝ่�ยจัดก�รหัวหน้�หน่วยง�นหรือ พนักง�นของบริษัทที่เกี่ยวข้องม�ให้คว�มเห็น ร่วมประชุมหรือ ส่งเอกส�รต�มที่เห็นว่�เกี่ยวข้องจำ�เป็นรวมทั้งแสวงห�คว�มเห็น ที่เป็นอิสระจ�กที่ปรึกษ�ท�งวิช�ชีพอื่นใดเมื่อเห็นว่�จำ�เป็นด้วย ค่�ใช้จ่�ยของบริษัท คณะกรรมก�รตรวจสอบปฏิบัติง�นภ�ยในขอบเขตหน้�ที่และ คว�มรับผิดชอบต�มคำ�สั่งของคณะกรรมก�รบริษัท คณะ กรรมก�รบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบก�รดำ�เนินง�นของบริษัท โดยตรงต่อผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสียและบุคคลทั่วไป

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ

1. หลังจ�กคณะกรรมก�รตรวจสอบได้รับก�รรับทร�บกรณี ที่ผู้สอบบัญชีพบพฤติก�รณ์อันควรสงสัยว่�กรรมก�ร ผู้จัดก�ร หรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในก�รดำ�เนินก�รของ บริษัทกระทำ�คว�มผิดต�มพระร�ชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตล�ดหลักทรัพย์ ม�ตร� 281/2 วรรคสอง ม�ตร� 305 ม�ตร� 306 ม�ตร� 308 ม�ตร� 309 ม�ตร� 310 ม�ตร� 311 ม�ตร� 312 หรือม�ตร� 313 ให้คณะ กรรมก�รตรวจสอบดำ�เนินก�รตรวจสอบและร�ยง�นผล ก�รตรวจสอบในเบื้องต้นให้สำ�นักง�น กลต. และผู้สอบ บัญชีทร�บภ�ยใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจ�กผู้สอบ บัญชี 2. ในก�รปฏิบัติหน้�ที่ของคณะกรรมก�รตรวจสอบ ห�ก พบหรือมีข้อสงสัยว่�มีร�ยก�รหรือก�รกระทำ�ดังต่อไป นี้ ซึ่งอ�จมีผลกระทบอย่�งมีนัยสำ�คัญต่อฐ�นะก�รเงินและ ผลก�รดำ�เนินง�นของบริษัท ให้คณะกรรมก�รตรวจสอบ ร�ยง�นต่อคณะกรรมก�รบริษัทเพื่อดำ�เนินก�รปรับปรุง แก้ไขภ�ยในเวล�ที่คณะกรรมก�รตรวจสอบเห็นสมควร 2.1 ร�ยก�รที่เกิดคว�มขัดแย้งท�งผลประโยชน์ 2.2 ก�รทุจริตหรือสิ่งผิดปกติหรือมีคว�มบกพร่องที่ สำ�คัญในระบบควบคุมภ�ยใน 2.3 ก�รฝ่�ฝืนกฎหม�ยว่�ด้วยหลักทรัพย์และ ตล�ดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตล�ดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหม�ยที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท ห�กคณะกรรมก�รบริษัทหรือผู้บริห�รไม่ดำ�เนินก�รให้มีก�ร ปรับปรุงแก้ไขภ�ยในเวล�ที่คณะกรรมก�รตรวจสอบกำ�หนด กรรมก�รตรวจสอบร�ยใดร�ยหนึ่งอ�จร�ยง�นว่�มีร�ยก�รหรือ ก�รกระทำ�ดังกล่�วต่อสำ�นักง�น กลต. หรือตล�ดหลักทรัพย์ฯ ร�ยละเอียดก�รปฏิบัติง�นของคณะกรรมก�รตรวจสอบแสดงอยู่ ในร�ยง�นคณะกรรมก�รตรวจสอบในหน้� 86

คณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

ร�ยชื่อคณะกรรมก�รและจำ�นวนครั้งของก�รเข้�ร่วมประชุมในปี 2559

ชื่อ-นามสกุล

ตำาแหน่ง

สถานะ

การเข้าร่วมประชุม

1. ดร.ธรรมนูญ อ�นันโทไทย

ประธ�น

กรรมก�รอิสระ

3/3(100%)

2. น�ยศักดิ์ เกี่ยวก�รค้�

อนุกรรมก�ร

กรรมก�รอิสระ

3/3(100%)

คณะกรรมก�รบริษัท ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมก�รสรรห�และ พิจ�รณ�ค่�ตอบแทน ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิก�ยน 2553 มี ว�ระก�รดำ�รงตำ�แหน่งคร�วละ 3 ปี ประกอบด้วย ประธ�น อนุกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทน 1 ท่�น และ อนุกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทน 1 ท่�น โดย

อนุกรรมก�รทั้งสองท่�นเป็นกรรมก�รอิสระ ซึ่งมีคุณสมบัติ ต�มที่สำ�นักง�นคณะกรรมก�รกำ�กับหลักทรัพย์และ ตล�ดหลักทรัพย์กำ�หนด และมีคว�มรู้คว�มส�ม�รถและ ประสบก�รณ์ที่เหม�ะสม ตลอดจนมีคว�มรู้คว�มเข้�ใจถึงหน้�ที่ และคว�มรับผิดชอบของตน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

096 • นำ�เสนอค่�ตอบแทนและผลประโยชน์ที่เหม�ะสมสำ�หรับ ประธ�นกรรมก�รบริห�ร กรรมก�รผู้จัดก�ร และเสนอแนะต่อ คณะกรรมก�รบริษัทเพื่อขออนุมัติ • ทบทวนข้อเสนอของฝ่�ยจัดก�รเรื่องนโยบ�ยค่�ตอบแทน และ ผลประโยชน์อื่นนอกเหนือจ�กเงินค่�จ้�งสำ�หรับพนักง�น และ เสนอแนะต่อคณะกรรมก�รบริษัทเพื่อขออนุมัติ • ทบทวนข้อเสนอของฝ่�ยจัดก�รเกี่ยวกับค่�ตอบแทนและ ผลประโยชน์ของผู้บริห�รระดับสูง และเสนอแนะต่อคณะ กรรมก�รบริษัทเพื่อขออนุมัติ • จัดทำ�ร�ยง�นก�รปฏิบัติง�นเสนอต่อคณะกรรมก�รบริษัท อย่�งน้อยปีละ 2 ครั้ง • ปฏิบัติง�นอื่นใดต�มที่คณะกรรมก�รบริษัทมอบหม�ยอัน เกี่ยวเนื่องกับก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทน

บทบาทและความรับผิดชอบ

คณะอนุกรรมก�รสรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทนมีหน้�ที่และ คว�มรับผิดชอบที่สำ�คัญ ดังนี้ • กำ�หนดนโยบ�ย หลักเกณฑ์ และวิธีก�รในก�รสรรห� ตลอด จนพิจ�รณ�คัดเลือกและเสนอชื่อกรรมก�รของบริษัท และ กรรมก�รของคณะกรรมก�รชุดย่อยให้คณะกรรมก�รบริษัท อนุมัติ • พิจ�รณ�หลักเกณฑ์ในก�รสืบทอดตำ�แหน่งของผู้บริห�รระดับ สูง • พิจ�รณ�กลั่นกรองค่�ตอบแทนสำ�หรับคณะกรรมก�รและ คณะกรรมก�รชุดย่อยของบริษัททั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็น ตัวเงิน • นำ�เสนอแผนก�รกำ�หนดค่�ตอบแทนสำ�หรับคณะกรรมก�ร ต่อคณะกรรมก�รบริษัท เพื่อพิจ�รณ�และเสนอผู้ถือหุ้นเพื่อ อนุมัติ • เสนอแนะค่�ตอบแทนของคณะกรรมก�รชุดย่อยที่เหม�ะสม ต่อคณะกรรมก�รบริษัทเพื่ออนุมัติ

ร�ยละเอียดก�รปฏิบัติง�นของคณะอนุกรรมก�รสรรห�และ พิจ�รณ�ค่�ตอบแทนแสดงอยู่ในร�ยง�นคณะอนุกรรมก�ร สรรห�และพิจ�รณ�ค่�ตอบแทนในหน้� 88

คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง

ร�ยชื่อคณะกรรมก�รและจำ�นวนครั้งของก�รเข้�ร่วมประชุมในปี 2559

ชื่อ-นามสกุล

ตำาแหน่ง

สถานะ

การเข้าร่วมประชุม

1. น�ยกีรติ อัสสกุล

ประธ�น

กรรมก�รอิสระ

4/4(100%)

2. น�ยศักดิ์ เกี่ยวก�รค้�

อนุกรรมก�ร

กรรมก�รอิสระ

3/4(75%)

3. ดร.ธรรมนูญ อ�นันโทไทย

อนุกรรมก�ร

กรรมก�รอิสระ

3/4(75%)

4. น�ยธีรพงศ์ จันศิริ

อนุกรรมก�ร

กรรมก�รที่เป็นผู้บริห�ร

3/4(75%)

5. น�ยช�น ชู ชง

อนุกรรมก�ร

กรรมก�รที่เป็นผู้บริห�ร

4/4(100%)

คณะกรรมก�รบริษัท ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมก�รบริห�ร คว�มเสี่ยง ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิก�ยน 2553 มีว�ระก�รดำ�รง ตำ�แหน่งคร�วละ 3 ปี ประกอบด้วยกรรมก�รอิสระจำ�นวน 3 ท่�น กรรมก�รที่เป็นผู้บริห�รจำ�นวน 2 ท่�น และผู้บริห�รต�ม คว�มเหม�ะสม โดยกรรมก�รส่วนใหญ่เป็นกรรมก�รอิสระ ซึ่ง

มีคุณสมบัติต�มที่สำ�นักง�นคณะกรรมก�รกำ�กับหลักทรัพย์ และตล�ดหลักทรัพย์กำ�หนด และมีคว�มรู้คว�มส�ม�รถและ ประสบก�รณ์ที่เหม�ะสม ตลอดจนมีคว�มรู้คว�มเข้�ใจถึงหน้�ที่ และคว�มรับผิดชอบของตน


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

097 บทบาทและความรับผิดชอบ

คณะอนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยงมีหน้�ที่และคว�มรับผิดชอบ ที่สำ�คัญ ดังนี้ • กำ�หนดนโยบ�ย และแนวท�งก�รบริห�รคว�มเสี่ยง เพื่อเสนอ ต่อคณะกรรมก�รบริห�ร/คณะกรรมก�รบริษัท เพื่อพิจ�รณ� ในเรื่องของคว�มเสี่ยงโดยรวม ซึ่งต้องครอบคลุมถึงคว�ม เสี่ยงประเภทต่�งๆ ที่สำ�คัญ เช่น คว�มเสี่ยงในก�รประกอบ ธุรกิจ คว�มเสี่ยงเกี่ยวกับก�รผลิต คว�มเสี่ยงด้�นก�รบริห�ร และก�รจัดก�ร คว�มเสี่ยงด้�นก�รเงิน เป็นต้น • ว�งกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับนโยบ�ยก�รบริห�รคว�มเสี่ยง โดยส�ม�รถประเมิน ติดต�ม ตรวจสอบและดูแลคว�มเสี่ยง ของธุรกิจให้อยู่ในระดับที่เหม�ะสม • ทบทวนคว�มเพียงพอของนโยบ�ยและระบบก�รบริห�รคว�ม เสี่ยงและร�ยง�นต่อคณะกรรมก�รตรวจสอบอย่�งสม่ำ�เสมอ ในสิ่งที่ต้องดำ�เนินก�รปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้สอดคล้องกับ นโยบ�ยและกลยุทธ์ที่กำ�หนด • จัดทำ�ร�ยง�นก�รปฏิบัติง�นเสนอต่อกรรมก�รบริษัทและคณะ กรรมก�รตรวจสอบอย่�งน้อยไตรม�สละ 1 ครั้ง • จัดให้มีคณะทำ�ง�นบริห�รคว�มเสี่ยงต�มคว�มจำ�เป็น สนับสนุนคณะทำ�ง�นในด้�นต่�งๆ อย่�งเพียงพอเพื่อให้ สอดคล้องกับหน้�ที่และคว�มรับผิดชอบ • ปฏิบัติง�นอื่นใดต�มที่คณะกรรมก�รบริษัทมอบหม�ยอัน เกี่ยวเนื่องกับก�รบริห�รคว�มเสี่ยง ร�ยละเอียดก�รปฏิบัติง�นของคณะอนุกรรมก�รบริห�รคว�ม เสี่ยงอยู่ในร�ยง�นคณะอนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยงในหน้� 115 - 116

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน

เนื่องจ�กคว�มเสี่ยงท�งก�รเงินในด้�นอัตร�แลกเปลี่ยนและ อัตร�ดอกเบี้ยของกลุ่มบริษัทหลักในประเทศไทย มีจำ�นวน ม�กขึ้นจ�กก�รขย�ยตัวของธุรกิจทั้งในด้�นปริม�ณร�ยได้และ กำ�ไรของกลุ่มบริษัท ทำ�ให้ผลกระทบจ�กคว�มเคลื่อนไหวของ อัตร�แลกเปลี่ยนและอัตร�ดอกเบี้ยส่งผลกระทบอย่�งมีนัย สำ�คัญต่อผลก�รดำ�เนินง�นของบริษัท ดังนั้นคณะกรรมก�ร บริษัทจึงมีมติที่ประชุมคณะกรรมก�รครั้งที่ 1/2557 วันที่ 24 กุมภ�พันธ์ 2557 อนุมัติก�รจัดตั้งคณะกรรมก�รบริห�รคว�ม เสี่ยงท�งก�รเงิน ซึ่งประกอบด้วย ประธ�นกรรมก�ร ประธ�นเจ้� หน้�ที่บริห�ร ประธ�นกรรมก�รบริห�รกลุ่มธุรกิจกุ้ง ประธ�นเจ้� หน้�ที่บริห�รด้�นก�รเงินกลุ่ม เพื่อมีหน้�ที่กำ�หนดนโยบ�ยและ ขั้นตอนก�รบริห�รคว�มเสี่ยงของกลุ่มบริษัทหลักที่ดำ�เนินธุรกิจ ในประเทศไทย รวมทั้งให้คำ�แนะนำ�และอนุมัติก�รดำ�เนินง�นของ ฝ่�ยบริห�รเงิน (Treasury Execution Team) เพื่อลดคว�ม เสี่ยงท�งก�รเงินลงม�สู่ระดับที่บริษัทยอมรับได้

บทบาทและความรับผิดชอบ

คณะกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยงท�งก�รเงินรับผิดชอบก�ร กำ�หนดนโยบ�ยก�รบริห�รคว�มเสี่ยงท�งก�รเงินของกลุ่มบริษัท โดยมีหน้�ที่ดังนี้

• ระบุคว�มเสี่ยงท�งก�รเงินและตรวจสอบให้แน่ใจว่�มี กระบวนก�รป้องกันคว�มเสี่ยงเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อกลุ่มบริษัท • กำ�กับดูแลก�รบริห�รคว�มเสี่ยงของกลุ่มบริษัท • มอบหม�ยให้ทีมง�นนำ�ไปปฏิบัติ • สอบท�นก�รปฏิบัติง�นต�มเงื่อนไขของนโยบ�ย • ทบทวนข้อจำ�กัดของนโยบ�ยก�รบริห�รคว�มเสีย่ งในทุกปี

คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

คณะกรรมก�รบริษัทมีมติที่ประชุมคณะกรรมก�รครั้งที่ 4/2557 วันที่ 13 สิงห�คม 2557 อนุมัติก�รจัดตั้งคณะ กรรมก�รเพื่อก�รพัฒน�ที่ยั่งยืน ซึ่งประกอบด้วย คุณธีรพงศ์ จันศิริ เป็นประธ�นคณะกรรมก�ร คุณเชง นิรุตติน�นนท์ เป็น ที่ปรึกษ�คณะกรรมก�ร และผู้บริห�รระดับสูงของหน่วยธุรกิจ หลักเป็นคณะกรรมก�ร โดยจะมีหน้�ที่ว�งนโยบ�ยก�รดำ�เนิน ง�นด้�นคว�มยั่งยืนของบริษัท และมีหน้�ที่กำ�กับดูแลและผลัก ดันก�รดำ�เนินง�นของคณะทำ�ง�น 5 ชุด ซึ่งประกอบด้วย คณะ ทำ�ง�นด้�นกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม คณะทำ�ง�นด้�น จริยธรรมต่อแรงง�น คณะทำ�ง�นด้�นก�รพัฒน�บุคล�กรเพื่อ ก�รพัฒน�ที่ยั่งยืน คณะทำ�ง�นด้�นพลังง�น สิ่งแวดล้อม และ ก�รเปลี่ยนแปลงสภ�วะอ�ก�ศ และคณะทำ�ง�นด้�นคว�มยั่งยืน ในห่วงโซ่ธุรกิจ ขณะที่ทีมง�นฝ่�ยก�รพัฒน�ที่ยั่งยืนจะมีหน้�ที่ ประส�นง�นก�รทำ�ง�นของทั้งห้�คณะเหล่�นี้ พร้อมกับประส�น ง�นกับบริษัทในเครือต่�งๆ ทั้งในประเทศและต่�งประเทศ

การแยกตำาแหน่งประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร

ประธ�นกรรมก�รและประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�รของบริษัทไม่ได้เป็น บุคคลเดียวกัน เพื่อเป็นก�รแบ่งแยกหน้�ที่ด้�นนโยบ�ย และก�ร บริห�รง�นออกจ�กกันอย่�งชัดเจน โดยประธ�นกรรมก�รมีบทบ�ทหน้�ที่ ดังนี้ 1. ต�มข้อบังคับของบริษัท หมวดที่ 5 ข้อ 24 ประธ�น กรรมก�รต้องเป็นประธ�นในที่ประชุม ยกเว้นกรณีที่ ประธ�นกรรมก�รไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่ส�ม�รถปฏิบัติ หน้�ที่ได้ 2. ต�มข้อบังคับของบริษัท หมวดที่ 5 ข้อ 25 ในก�รเรียก ประชุมคณะกรรมก�รให้ประธ�นกรรมก�รหรือผู้ซึ่งได้รับ มอบหม�ยส่งหนังสือนัดประชุมไปยังกรรมก�รไม่น้อยกว่� เจ็ดวันก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณีจำ�เป็นเร่งด่วน เพื่อ รักษ�สิทธิหรือประโยชน์ของบริษัทจะแจ้งก�รนัดประชุม โดยวิธีอื่นและกำ�หนดวันประชุมให้เร็วกว่�นั้นก็ได้ 3. มีบทบ�ทหน้�ที่กำ�กับดูแลก�รใช้นโยบ�ย และแนวท�ง ปฏิบัติง�นเชิงกลยุทธ์ของฝ่�ยจัดก�ร แต่ไม่มีส่วนร่วมใน ก�รบริห�รง�นประจำ�ของบริษัท 4. มีบทบ�ทในก�รควบคุมก�รประชุมให้มีประสิทธิภ�พ เป็น ไปต�มระเบียบข้อบังคับบริษัท สนับสนุนและเปิดโอก�สให้ กรรมก�รแสดงคว�มเห็นอย่�งเป็นอิสระ 5. สนับสนุนและส่งเสริมให้คณะกรรมก�รบริษัทปฏิบัติหน้�ที่ อย่�งเต็มคว�มส�ม�รถ ต�มขอบเขตอำ�น�จหน้�ที่คว�ม รับผิดชอบและต�มหลักก�รกำ�กับดูแลกิจก�รที่ดี 6. ดูแล ติดต�ม ก�รบริห�รง�นของคณะกรรมก�รบริษัท และคณะกรรมก�รชุดย่อยอื่นๆ ให้บรรลุต�มวัตถุประสงค์ ที่กำ�หนดไว้ 7. เป็นผูล้ งคะแนนชีข้ �ดในกรณีทท่ี ป่ี ระชุมคณะกรรมก�รบริษทั มีก�รลงคะแนนเสียง และคะแนนเสียงทัง้ สองฝ่�ยเท่�กัน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

098 คณะกรรมการบริหาร

ขอบเขตอำ�น�จหน้�ที่ของคณะกรรมก�รบริห�ร 1. ให้กรรมก�รบริห�รมีอำ�น�จดำ�เนินก�รต�มนโยบ�ยของ คณะกรรมก�รบริษัท ซึ่งอยู่ภ�ยใต้กฎหม�ย เงื่อนไข กฎ ระเบียบและข้อบังคับของบริษัท เว้นแต่ร�ยก�รที่กฎหม�ย กำ�หนดให้ต้องได้มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น 2. มีอำ�น�จจัดทำ� เสนอแนะ และกำ�หนดนโยบ�ยแนวท�ง ธุรกิจและกลยุทธ์ท�งธุรกิจของบริษัทต่อคณะกรรมก�ร บริษัท 3. กำ�หนดแผนธุรกิจ อำ�น�จก�รบริห�รง�น กำ�หนดงบ ประม�ณสำ�หรับประกอบธุรกิจประจำ�ปี และงบประม�ณ ร�ยจ่�ยประจำ�ปี เพื่อเสนอต่อคณะกรรมก�รบริษัท พิจ�รณ�อนุมัติ และดำ�เนินก�รต�มแผนท�งธุรกิจและ กลยุทธ์ท�งธุรกิจโดยสอดคล้องกับนโยบ�ย และแนวท�ง ธุรกิจที่ได้แถลงต่อคณะกรรมก�รบริษัท 4. มีอำ�น�จดำ�เนินกิจก�รที่เกี่ยวข้องกับก�รบริห�รง�นทั่วไป ของบริษัท รวมทั้งจัดตั้งโครงสร้�งองค์กร และก�รบริห�ร โดยให้ครอบคลุมทุกร�ยละเอียดของก�รคัดเลือก ก�รฝึก อบรม ก�รว่�จ้�ง และก�รเลิกจ้�งของพนักง�นของบริษัท 5. มีอำ�น�จพิจ�รณ�อนุมัติก�รกู้หรือก�รขอสินเชื่อใดๆ จ�ก สถ�บันก�รเงิน รวมตลอดถึงก�รเข้�เป็นผู้ค้ำ�ประกัน หรือ ก�รชำ�ระเงินหรือใช้จ่�ยเงินเพื่อธุรกรรมต�มปกติธุรกิจ ของบริษัท เช่น ก�รจ่�ยเงินเพื่อก�รลงทุน เพื่อขย�ยส�ข� และเพื่อก�รดำ�เนินง�นต่�งๆ เป็นต้น ทั้งนี้มีก�รกำ�หนด วงเงินสำ�หรับแต่ละร�ยก�รไม่เกินกว่� 200 ล้�นบ�ท หรือจำ�นวนเทียบเท่� หรือเป็นไปต�มที่คณะกรรมก�ร บริษัทมอบหม�ย อย่�งไรก็ดี วงเงินดังกล่�วอ�จมีก�ร เปลี่ยนแปลงต�มคว�มเหม�ะสมโดยขึ้นอยู่กับดุลยพินิจ ของคณะกรรมก�รบริษัท 6. มีอำ�น�จแต่งตั้ง ถอดถอนเจ้�หน้�ที่ของบริษัทในตำ�แหน่งที่ ไม่สูงกว่�ตำ�แหน่งกรรมก�รผู้จัดก�ร

7. ปฏิบัติหน้�ที่อื่นๆ ต�มที่ได้รับมอบหม�ยในแต่ละช่วงเวล� จ�กคณะกรรมก�รบริษัท อนึ่ง ก�รอนุมัติร�ยก�รดังกล่�วข้�งต้น จะต้องไม่มีลักษณะ เป็นก�รอนุมัติก�รเข้�ทำ�ร�ยก�รที่ทำ�ให้คณะกรรมก�รบริห�ร หรือผู้รับมอบอำ�น�จจ�กคณะกรรมก�รบริห�ร ส�ม�รถ อนุมัติก�รเข้�ทำ�ร�ยก�รที่ตนหรือบุคคลที่อ�จมีคว�มขัดแย้ง หรือมีส่วนได้เสีย หรืออ�จมีคว�มขัดแย้งท�งผลประโยชน์อื่น ใด (ต�มข้อบังคับบริษัทฯ และต�มที่สำ�นักง�นคณะกรรมก�ร กำ�กับหลักทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ และตล�ดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ประก�ศกำ�หนด) กับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ยกเว้นเป็นก�รอนุมัติก�รเข้�ทำ�ร�ยก�รที่เป็นไปต�มนโยบ�ยและ หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมก�รบริษัทฯ ได้พิจ�รณ�อนุมัติไว้ ทั้งนี้ กรรมก�รบริห�รที่มีส่วนได้เสียในเรื่องดังกล่�วไม่มีสิทธิออก เสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น โดยคณะกรรมก�รมีอำ�น�จในก�รแก้ไข เปลี่ยนแปลงขอบเขตอำ�น�จหน้�ที่ของคณะกรรมก�รบริห�รได้ ต�มที่จำ�เป็นหรือเห็นสมควร

ผู้บริหาร

ณ 31 ธันว�คม บริษัทมีผู้บริห�ร 4 ร�ยแรก และผู้บริห�รสูงสุดท�งด้�นก�รเงินและด้�นบัญชี ต�มคำ�นิย�มของคณะกรรมก�รกำ�กับ ตล�ดทุน จำ�นวน 7 คน ดังนี้

ชื่อ-นามสกุล

ตำาแหน่ง

1. น�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ

ประธ�นกรรมก�รบริห�รกลุ่มธุรกิจกุ้ง(โกลโบล)

2. น�ยช�น ชู ชง

Head of Group Human Resource

3. น�ยสุทธิเดช อมรเกษมวงศ์

กรรมก�รผู้จัดก�รกลุ่มธุรกิจปล�

4. น�ยพีระศักดิ์ บุญมีโชติ

กรรมก�รผู้จัดก�รกลุ่มธุรกิจกุ้ง

5. น�ยยอร์ก ไอร์เล

ประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�รด้�นก�รเงินกลุ่มบริษัท

6. น�ยยงยุทธ เสฏฐวิวรรธน์

ผู้จัดก�รทั่วไป ส�ยก�รเงิน

7. น�ยลุดโดวิค รีกีส เฮนรี่ ก�ร์นิเยร์

ผู้จัดก�รทั่วไป ฝ่�ยบัญชีและควบคุมก�รดำ�เนินง�นกลุ่มบริษัท


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

099 แผนการสืบทอดตำาแหน่งผู้บริหารสูงสุดขององค์กร

คณะกรรมก�รบริษัทได้ตระหนักถึงคว�มสำ�คัญและเป็นสิ่งจำ�เป็น ของก�รสืบทอดตำ�แหน่งของผู้บริห�รระดับสูงขององค์กร โดย เฉพ�ะอย่�งยิ่งในตำ�แหน่งประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร และประธ�น กรรมก�รบริห�รกลุ่มธุรกิจกุ้ง(โกลโบล) โดยมอบหม�ยให้ ผู้บริห�รสูงสุดด้�นทรัพย�กรบุคคลร่วมกับประธ�นเจ้�หน้�ที่ บริห�ร ดำ�เนินก�รจัดทำ�แผนก�รสืบทอดตำ�แหน่งประธ�นเจ้� หน้�ที่บริห�ร ประธ�นกรรมก�รบริห�รกลุ่มธุรกิจกุ้ง(โกลโบล) เป็นต้น

แผนการสืบทอดตำาแหน่งผู้บริหาร

ในแต่ละปี บริษัทจะมีก�รทบทวนตำ�แหน่งง�นหลักขององค์กร โดยใช้กระบวนก�รพิจ�รณ�ตำ�แหน่งง�นอย่�งเป็นระบบ เพื่อให้ ทร�บถึงตำ�แหน่งง�นที่มีคว�มสำ�คัญในก�รขับเคลื่อนธุรกิจของ องค์กร (Critical Position) ทั้งในปัจจุบันและในอน�คต ฝ่�ยกลยุทธ์ทรัพย�กรบุคคลจะเป็นผู้ประส�นง�นในก�รว�งแผน สืบทอดตำ�แหน่ง (Succession Plan) โดยจัดให้มีก�รประชุม ร่วมกันระหว่�งผู้บริห�รในหน่วยง�นหลักขององค์กร และ ผู้บริห�รสูงสุดฝ่�ยทรัพย�กรบุคคล ทั้งนี้นอกจ�กก�รเสริมสร้�ง คว�มมีศักยภ�พในก�รดำ�เนินก�รของธุรกิจ ยังส�ม�รถช่วยลด คว�มเสี่ยงในก�รดำ�เนินธุรกิจอย่�งต่อเนื่องอีกด้วย แผนก�รสืบทอดตำ�แหน่งง�นของไทยยูเนี่ยน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. แผนก�รสืบทอดตำ�แหน่งง�นในตำ�แหน่งง�นที่มีคว�ม สำ�คัญ (Succession Plan for Critical Position) : เป็นก�รว�งแผนผู้สืบทอดตำ�แหน่งต�มระยะเวล�ที่ค�ดว่� ผู้สืบทอดตำ�แหน่งมีคว�มพร้อมในก�รดำ�รงตำ�แหน่งนั้นๆ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ a. พร้อมที่จะดำ�รงตำ�แหน่งทันที (Ready Now) b. พร้อมที่จะดำ�รงตำ�แหน่งในระยะเวล� 2-3 ปี ( Ready in 2-3 years) c. พร้อมที่จะดำ�รงตำ�แหน่งในระยะเวล� 3-5 ปี (Ready in 3-5 years) 2. แผนก�รสืบทอดตำ�แหน่งง�นในกรณีฉุกเฉิน (Succession for Emergency Plan) : เป็นก�ร ว�งตัวพนักง�นที่จะม�รับหน้�ที่แทนผู้บริห�รในตำ�แหน่ง ง�นสำ�คัญเป็นก�รชั่วคร�วเฉพ�ะในกรณีฉุกเฉิน โดย บริษัทได้สนับสนุนให้ผู้บริห�รแต่ละฝ่�ยกำ�หนดชื่อ ผู้สืบทอดตำ�แหน่งในกรณีฉุกเฉินไว้ โดยอ�จแบ่งง�นออก เป็นส่วนๆ และมีชื่อผู้รับผิดชอบแต่ละส่วนง�นอย่�งชัดเจน ก�รจัดทำ�แผนก�รสืบทอดตำ�แหน่งง�น จะทำ�ควบคู่ไปกับก�ร ประเมินศักยภ�พของพนักง�น (Talent Review Process) และแผนพัฒน�ศักยภ�พของพนักง�นร�ยบุคคล (Individual Development Plan) ฝ่�ยทรัพย�กรบุคคลร่วมกับผู้บริห�ร ของแต่ละหน่วยง�นจะร่วมกันประเมินศักยภ�พของพนักง�น

และกำ�หนดแผนพัฒน�พนักง�นร�ยบุคคล (Individual Development Plan) อย่�งชัดเจน โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่ง พนักง�นที่เป็นผู้สืบทอดตำ�แหน่ง จะมีก�รวิเคร�ะห์ขีดคว�ม ส�ม�รถ เพื่อใช้ในก�รทำ�แผนพัฒน�ขึ้นเป็นขั้นตอนและมีก�ร ติดต�ม ประเมินผลก�รพัฒน�อย่�งสม่ำ�เสมอ แผนง�นต่�งๆ จะถูกปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับคว�มต้องก�รขององค์กร ต�มคว�มจำ�เป็น เพื่อให้มั่นใจว่� พนักง�นและองค์กร จะได้รับ ประโยชน์อย่�งเต็มที่ ถูกต้องต�มวัตถุประสงค์ของก�รจัดทำ�แผน สืบทอดตำ�แหน่ง และนำ�ไปสู่ก�รว�งแผนกลยุทธ์ด้�นก�รสืบทอด ตำ�แหน่งง�นขององค์กรต่อไป

การประชุมของคณะกรรมการบริษัท กำาหนดการประชุม

คณะกรรมก�รบริษัทกำ�หนดให้มีก�รประชุมว�ระปกติอย่�งน้อย 5 ครั้งต่อปี และได้กำ�หนดวันประชุมล่วงหน้�ตลอดทั้งปีเพื่อให้ กรรมก�รส�ม�รถจัดเวล�เข้�ร่วมประชุมได้ทุกครั้ง และอ�จมีก�ร ประชุมว�ระพิเศษเพิ่มต�มคว�มจำ�เป็น

วาระการประชุม

ประธ�นคณะกรรมก�รของบริษัทและประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร ร่วมกันกำ�หนดว�ระก�รประชุม โดยกรรมก�รท่�นอื่นส�ม�รถ เสนอว�ระก�รประชุมเพื่อนำ�ม�พิจ�รณ�ได้ และเลข�นุก�รบริษัท อ�จนำ�เสนอว�ระที่เกี่ยวข้องกับระเบียบข้อบังคับต่�งๆ ให้ครบ ถ้วน

การจัดส่งหนังสือเชิญประชุม

เลข�นุก�รบริษัททำ�หน้�ที่จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อม ระเบียบว�ระก�รประชุมและเอกส�รประกอบก�รประชุมให้ กรรมก�รล่วงหน้�ไม่น้อยกว่� 7 วัน เว้นแต่เป็นเรื่องที่ต้อง พิจ�รณ�อย่�งเร่งด่วน

องค์ประชุมและการประชุม

คณะกรรมก�รบริษัทได้กำ�หนดให้มีองค์ประชุมขั้นต่ำ�ไม่น้อยกว่� สองในส�มของจำ�นวนกรรมก�รทั้งหมดจึงครบเป็นองค์ประชุม จ�กนั้นประธ�นคณะกรรมก�รจะทำ�หน้�ที่ดูแลและจัดสรรเวล� แต่ละว�ระให้เพียงพอสำ�หรับกรรมก�รที่จะเสนอคว�มเห็น โดยมี ฝ่�ยบริห�รที่เกี่ยวข้องกับว�ระนั้นๆ นำ�เสนอข้อมูลประกอบก�ร แลกเปลี่ยนคว�มคิดเห็น และในก�รประชุมแต่ละครั้งจะใช้เวล� ประม�ณ 2-3 ชั่วโมง

รายงานการประชุม

เลข�นุก�รบริษัททำ�หน้�ที่จัดทำ�ร�ยง�นก�รประชุมและเสนอ ให้ประธ�นคณะกรรมก�รสอบท�นและส่งให้กรรมก�รทุกท่�น ให้คว�มเห็น ซึ่งในร�ยง�นก�รประชุมจะมีก�รบันทึกมติของที่ ประชุมและข้อมูลไว้อย่�งเพียงพอและครบถ้วน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

100 การเข้าร่วมประชุม

คณะกรรมก�รบริษัททุกท่�นมีคว�มตั้งใจและพร้อมที่จะเข้�ร่วมประชุมอย่�งสม่ำ�เสมอ ทั้งก�รเข้�ร่วมประชุมคณะกรรมก�ร คณะ อนุกรรมก�ร ก�รประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี ยกเว้น กรรมก�รที่มีถิ่นพำ�นักในต่�งประเทศ ร�ยชื่อคณะกรรมก�ร 1. น�ยไกรสร จันศิริ

ก�รเข้�ประชุมส�มัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี (83%)

ก�รประชุมคณะกรรมก�ร 2558

%

2559

%

ม�

8/8

100.00

8/8

100.00

ไม่ม�

7/8

87.50

7/8

87.50

3. น�ยชวน ตั้งจันสิริ

ม�

8/8

100.00

8/8

100.00

4. น�ยธีรพงศ์ จันศิริ

ม�

8/8

100.00

8/8

100.00

5. น�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ

ม�

8/8

100.00

8/8

100.00

6. น�ยยูท�กะ เคียวยะ (สิ้นสุด 31 ต.ค.59) น�ยคิโยท�กะ คิคูชิ (เริ่ม 7 พ.ย.59)

ไม่ม�

0/3

0.00

2/5 1/3

40.00 33.33

7. น�ยร�วินเดอร์ สิงห์ เกรว�ล ซ�บจิตต์ เอส

ม�

8/8

100.00

8/8

100.00

8. น�ยช�น ชู ชง

ม�

8/8

100.00

8/8

100.00

9. น�ยศักดิ์ เกี่ยวก�รค้� *

ม�

8/8

100.00

8/8

100.00

10. ดร.ธรรมนูญ อ�นันโทไทย *

ม�

8/8

100.00

8/8

100.00

11. น�ยกีรติ อัสสกุล *

ม�

8/8

100.00

7/8

87.50

12. น�ยน�ถ ลิ่วเจริญ * (เริ่ม 3 เม.ย.58)

ม�

6/6

100.00

6/8

75.00

2. น�ยเชง นิรุตติน�นนท์

* กรรมการอิสระ หมายเหตุ : นายยูทากะ เคียวยะ และ นายคิโยทากะ คิคูชิ เป็นกรรมการที่มิได้มีถิ่นพำานักในประเทศไทย

การปฐมนิเทศและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

บริษัทจัดทำ�คู่มือสำ�หรับกรรมก�รเข้�ใหม่ เพื่อให้รับทร�บถึง ข้อมูลของบริษัท วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ นโยบ�ยต่�งๆ ที่สำ�คัญ เพียงพอ ซึ่งจำ�เป็นต่อก�รปฏิบัติหน้�ที่และก�รแสดงคว�มคิด เห็นในที่ประชุม นอกจ�กนี้คณะกรรมก�รทุกท่�นส�ม�รถเข้�รับ ก�รพัฒน�คว�มรู้อย่�งต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้กรรมก�รปฏิบัติ หน้�ที่กำ�กับดูแลกิจก�รของบริษัทได้อย่�งมีประสิทธิภ�พ สำ�หรับ ในปี 2559 กรรมก�รอิสระ คือ น�ยศักดิ์ เกี่ยวก�รค้�

ได้เข้�อบรม National Director Conference (NDC), Audit Committee Forum (ACF), A discussion on Corporation’s preparedness for the cybersecurity threats in the digital transformation Era และหลักสูตร เตรียมคว�มพร้อมในก�รจัดทำ�งบกระแสเงินสด กรมพัฒน� ธุรกิจก�รค้� กระทรวงพ�ณิชย์ และน�ยน�ถ ลิ่วเจริญ ได้เข้� อบรม Audit Committee Forum (ACF)


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

101 สำ�หรับกรรมก�รของบริษัทที่มีถิ่นพำ�นักในประเทศไทยได้ผ่�นหลักสูตรต่�งๆ ของสม�คมส่งเสริมสถ�บันกรรมก�รบริษัทไทย (IOD) และสถ�บันอื่นๆ ดังนี้ หลักสูตรเพื่อพัฒนากรรมการ

1

3

4

10/2544

Director Certification Program (DCP) Director Accreditation Program (DAP) The Role of Chairman Program (RCP) The Role of Compensation Committee (RCC)

2

86/2553

5

6

7

8

10/2545

13/2554 2/2549 1/2557

70/2549

27/2546

84/2553

48/2548

15/2550

4/2544

5/2550

10/2548 7/2550 2/2555

4/2551

Handling Conflict of Interest (HCI) TLCA Executive Development Program Advance Audit Committee Program (AACP)

รายชื่อคณะกรรมการบริษัท

120/2558

14/2549

9/2552

Audit Committee Program (ACP) Understanding the Fundamental of Financial Statement (UFS) How to Develop a Risk Management Plan (HRP)

National Director Conference (NDC) Audit Committee Forum (ACF) A discussion on Corporation’s preparedness for the cybersecurity threats in the digital transformation Era หลักสูตรเตรียมคว�มพร้อมในก�รจัดทำ�งบ กระแสเงินสด กระทรวงพ�ณิชย์ หลักสูตรผู้บริห�รระดับสูง : สถ�บัน วิทย�ก�รตล�ด

9

2/2552

1/2552 20/2558

2559 2559 2559

2559 12/2554

1. น�ยไกรสร จันศิริ ประธ�นกรรมก�ร 2. น�ยธีรพงศ์ จันศิริ ประธ�นกรรมก�รบริห�รและประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร 3. น�ยชวน ตั้งจันสิริ กรรมก�รบริห�ร 4. น�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ กรรมก�รบริห�ร 5. น�ยช�น ชู ชง กรรมก�รบริห�ร 6. น�ยศักดิ์ เกี่ยวก�รค้� กรรมก�รอิสระ 7. ดร.ธรรมนูญ อ�นันโทไทย กรรมก�รอิสระ 8. น�ยกีรติ อัสสกุล กรรมก�รอิสระ 9. น�ยน�ถ ลิ่วเจริญ กรรมก�รอิสระ

2559


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

102 การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท

บริษัทมีนโยบ�ยจัดให้คณะกรรมก�รบริษัทมีก�รประเมินผลก�ร ปฏิบัติง�นตนเองอย่�งน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยเริ่มจ�กปี 2556 เป็นต้นม� โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้คณะกรรมก�รได้มีก�ร พิจ�รณ�ทบทวนผลง�น ประเด็นและอุปสรรคต่�งๆ ในระหว่�ง ปีที่ผ่�นม� ซึ่งจะช่วยให้มีแนวท�งในก�รปรับปรุงง�นในก�รทำ� หน้�ที่ของคณะกรรมก�รบริษัทได้อย่�งมีประสิทธิผลม�กยิ่งขึ้น โดยก�รประเมินผลก�รปฏิบัติง�นของคณะกรรมก�รทั้งคณะ มี หัวข้อก�รประเมินดังนี้ 1) โครงสร้�งและคุณสมบัติของคณะกรรมก�ร 2) บทบ�ท หน้�ที่ และคว�มรับผิดชอบของคณะกรรมก�ร 3) ก�รประชุมคณะกรรมก�ร 4) ก�รทำ�หน้�ที่ของกรรมก�ร 5) คว�มสัมพันธ์กับฝ่�ยจัดก�ร 6) ก�รพัฒน�ตนเองของกรรมก�รและก�รพัฒน�ผู้บริห�ร ก�รประเมินผลก�รปฏิบัติง�นของคณะกรรมก�รร�ยบุคคล มี หัวข้อก�รประเมินดังนี้ 1) คว�มโดดเด่นในคว�มรู้คว�มส�ม�รถ 2) คว�มเป็นอิสระ 3) คว�มพร้อมในก�รปฏิบัติภ�รกิจ 4) ก�รเอ�ใจใส่ต่อหน้�ที่และคว�มรับผิดชอบ 5) ก�รปฏิบัติหน้�ที่ในคณะกรรมก�ร 6) คว�มมุ่งมั่นในก�รพัฒน�องค์กร ก�รประเมินผลก�รปฏิบัติง�นของคณะกรรมก�รชุดย่อยแบบ ร�ยคณะ มีหัวข้อก�รประเมินดังนี้ 1) โครงสร้�งและคุณสมบัติของคณะกรรมก�ร 2) ก�รดำ�เนินก�รในก�รประชุม 3) บทบ�ทหน้�ที่และคว�มรับผิดชอบของคณะกรรมก�รชุด ย่อย ก�รประเมินผลก�รปฏิบัติง�นของประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร (CEO) ซึ่งพิจ�รณ�จ�กเป้�หม�ยและสถ�นะของคว�มสำ�เร็จของ แต่ละเป้�หม�ย โดยมีหัวข้อก�รประเมินดังนี้ 1) คว�มเป็นผู้นำ� 2) ก�รกำ�หนดกลยุทธ์ 3) ก�รปฏิบัติต�มกลยุทธ์ 4) ก�รว�งแผนและผลปฏิบัติท�งก�รเงิน 5) คว�มสัมพันธ์กับคณะกรรมก�ร 6) คว�มสัมพันธ์กับภ�ยนอก 7) ก�รบริห�รและคว�มสัมพันธ์กับบุคล�กร 8) ก�รสืบทอดตำ�แหน่ง 9) คว�มรู้ด้�นผลิตภัณฑ์และบริก�ร 10) คุณลักษณะส่วนตัว

เลข�นุก�รบริษัทได้จัดส่งแบบประเมินผลก�รปฏิบัติง�นให้ แก่กรรมก�ร ซึ่งได้สรุปผลและเสนอผลก�รประเมินต่อคณะ กรรมก�รพิจ�รณ�เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กล่�วข้�งต้น โดย มีคะแนนประเมินเฉลี่ยดังนี้ • ก�รประเมินผลก�รปฏิบัติง�นของคณะกรรมก�รบริษัท คะแนนเฉลี่ย 89% • ก�รประเมินผลก�รปฏิบัติง�นของคณะกรรมก�รร�ยบุคคล คะแนนเฉลี่ย 89% • ก�รประเมินผลก�รปฏิบัติง�นของคณะกรรมก�รชุดย่อยแบบ ร�ยคณะ คะแนนเฉลี่ย 92% • ก�รประเมินผลก�รปฏิบัติง�นของประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร (CEO) คะแนนเฉลี่ย 91%

การดำารงตำาแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น

บริษัทมีนโยบ�ยจำ�กัดจำ�นวนบริษัทซึ่งกรรมก�รแต่ละคนจะ ไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมก�รในบริษัทจดทะเบียนอื่นได้ไม่เกิน 5 บริษัท แต่ทั้งนี้ ก�รดำ�รงตำ�แหน่งดังกล่�วจะต้องไม่กระทบต่อ ก�รปฏิบัติหน้�ที่ในก�รเป็นกรรมก�รของบริษัท

ความขัดแย้งทางผลประโยชน์

คณะกรรมก�รบริษัทได้กำ�หนดม�ตรก�รดูแลและติดต�ม ร�ยก�รที่อ�จมีคว�มขัดแย้งท�งผลประโยชน์ และร�ยก�รที่ เกี่ยวโยงกัน ซึ่งจะพิจ�รณ�อย่�งรอบคอบถึงคว�มเหม�ะสมของ ร�ยก�รอย่�งเป็นอิสระภ�ยในกรอบของก�รกำ�กับดูแลกิจก�ร ที่ดีซึ่งถือปฏิบัติม�โดยสม่ำ�เสมอ เพื่อประโยชน์ของบริษัทเป็น สำ�คัญ เสมือนเป็นก�รทำ�ร�ยก�รกับบุคคลภ�ยนอก และได้จัด ทำ�ร�ยง�นสรุปเป็นร�ยไตรม�ส และเผยแพร่ร�ยง�นสรุป ณ วันสิ้นปี ไว้ในร�ยง�นประจำ�ปีและแบบแสดงร�ยก�รข้อมูล ประจำ�ปี (แบบ 56-1) อย่�งสม่ำ�เสมอ นอกจ�กนี้ บริษัทยัง กำ�หนดให้คณะกรรมก�รและผู้บริห�รต้องร�ยง�นให้บริษัททร�บ ถึงก�รมีส่วนได้เสียของตนหรือของบุคคลที่มีคว�มเกี่ยวข้อง ซึ่ง เป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับก�รบริห�รจัดก�รกิจก�รของบริษัท และบริษัทย่อย ทั้งนี้ เพื่อให้บริษัทมีข้อมูลประกอบก�รดำ�เนิน ก�รต�มข้อกำ�หนดเกี่ยวกับก�รทำ�ร�ยก�รที่เกี่ยวโยงกัน ซึ่งเป็น ร�ยก�รที่อ�จก่อให้เกิดคว�มขัดแย้งท�งผลประโยชน์ และอ�จนำ� ไปสู่ก�รถ่�ยเทผลประโยชน์ของบริษัทและบริษัทย่อยได้


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

103 เลขานุการบริษัท

คณะกรรมก�รบริษัทได้มีมติให้แต่งตั้งเลข�นุก�รบริษัท เมื่อวัน ที่ 14 ธันว�คม 2550 ซึ่งได้แก่ น�งปะร�ลี สุขะตุงคะ อ�ยุ 50 ปี จบก�รศึกษ�ระดับปริญญ�โท คณะพ�ณิชยศ�สตร์และก�ร บัญชี จ�กมห�วิทย�ลัยธรรมศ�สตร์ รวมถึงได้อบรมหลักสูตร เลข�นุก�รบริษัท และหลักสูตร Anti-Corruption The Practical Guide 2559 ของสม�คมส่งเสริมสถ�บันกรรมก�ร บริษัทไทย(IOD) เพื่อช่วยดูแลกิจกรรมของคณะกรรมก�ร บริษัท ในก�รดูแลบริห�รกิจก�รให้ดำ�เนินไปในทิศท�งที่ถูกต้อง โปร่งใส และมีประสิทธิภ�พม�กยิ่งขึ้น โดยกำ�หนดให้เลข�นุก�ร บริษัทมีบทบ�ท หน้�ที่และคว�มรับผิดชอบดังต่อไปนี้ • ดูแลและจัดก�รเรื่องก�รประชุมผู้ถือหุ้น ก�รจัดทำ�ร�ยง�นก�ร ประชุม และจัดเก็บไว้ในที่ที่ปลอดภัย โดยจัดเรียงต�มลำ�ดับ เวล�อย่�งต่อเนื่อง • ดูแลและจัดก�รเรื่องก�รประชุมคณะกรรมก�รบริษัท และก�ร จัดทำ�ร�ยง�นก�รประชุมและเอกส�รที่เกี่ยวข้อง • ดูแลให้คณะกรรมก�รบริษัทปฏิบัติต�มกฏหม�ย กฏระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง • ดูแลและให้คำ�ปรึกษ�ในเรื่องที่เกี่ยวกับก�รกำ�กับดูแลกิจก�ร ของคณะกรรมก�รบริษัทและผู้บริห�ร • ก�รร�ยง�นและก�รเปิดเผยข้อมูลต่�งๆ ต�มที่กฎหม�ย กำ�หนด • ติดต�มให้มีก�รดำ�เนินก�รต�มมติที่ประชุมของคณะ กรรมก�รบริษัท และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น • ดำ�เนินก�รใดๆ ให้ครบถ้วนและถูกต้อง ต�มพระร�ช บัญญัติบริษัทมห�ชนจำ�กัด พระร�ชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตล�ดหลักทรัพย์ ประก�ศและข้อกำ�หนดของคณะกรรมก�ร กำ�กับตล�ดทุน รวมถึงกฏหม�ยและข้อบังคับอื่นที่เกี่ยวข้อง

การติดต่อคณะกรรมการ

ผู้มีส่วนได้เสียส�ม�รถแสดงคว�มคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ เสนอ ข้อร้องเรียนหรือก�รแจ้งเบ�ะแสที่พบเห็น อันจะนำ�ม�ซึ่งคว�ม เสียห�ยต่อบริษัท ก�รกระทำ�ใดที่ไม่ชอบด้วยกฏหม�ยหรือผิด จรรย�บรรณของบริษัท โดยส�ม�รถแจ้งเป็นล�ยลักษณ์อักษร และส่งม�ที่ คณะกรรมก�รตรวจสอบหรือคณะกรรมก�รบริษัท ต�มที่อยู่ด้�นล่�งนี้ บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำ�กัด(มห�ชน) เลข�นุก�รบริษัท – สำ�นักประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร 979/12 ชั้น M อ�ค�รเอสเอ็มท�วเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงส�มเสนใน เขตพญ�ไท กรุงเทพฯ 10400 หรือก�รส่งผ่�นอีเมล ดังนี้ คณะกรรมก�รตรวจสอบ ที่ complaint@thaiunion.com คณะกรรมก�รบริษัทผ่�นเลข�นุก�รบริษัท ที่ paralee.sukhatungka@thaiunion.com

สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้นโดยรวม ก�รดำ�เนินง�นเป็นไปด้วย คว�มโปร่งใส ส�ม�รถตรวจสอบได้ ก�รเปิดเผยข้อมูลอย่�งครบ ถ้วน ถูกต้อง ตรงเวล� และเท่�เทียมกันแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่�ย บริษัทมีก�รควบคุมและบริห�รคว�มเสี่ยงที่เหม�ะสมและเพียง พอต่อก�รตัดสินใจในก�รดำ�เนินธุรกิจ บริษัทยึดถือและปฏิบัติ หน้�ที่ด้วยคำ�นึงถึงจริยธรรมในก�รดำ�เนินธุรกิจเป็นสำ�คัญ เพื่อไม่ให้เกิดคว�มเสียห�ยต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่�งๆ คณะ กรรมก�รบริษัทจะกำ�กับดูแลเพื่อให้ผู้ลงทุนมั่นใจได้ว่� บริษัทได้ เปิดเผยข้อมูลส�รสนเทศที่สำ�คัญของบริษัทอย่�งถูกต้อง ครบ ถ้วน และทันเวล� บริษัทได้จัดให้มีก�รเปิดเผยข้อมูลและส�รสนเทศต่�งๆ ที่ทั่ว ถึงกันในผู้ถือหุ้นไม่ว่�จะถือหุ้นอยู่เท่�ใดก็ต�ม ทั้งผู้ถือหุ้นที่เป็น บุคคลหรือนิติบุคคลไทยและต่�งประเทศ โดยทุกครั้งที่มีก�รจัด ประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทได้ให้คว�มสำ�คัญและเค�รพสิทธิของผู้ถือ หุ้น โดยปฏิบัติต�มกฎหม�ยบริษัทมห�ชนจำ�กัดอย่�งเคร่งครัด และตระหนักว่�ผู้ถือหุ้นควรมีสิทธิในก�รตัดสินใจ โดยได้รับ ข้อมูลที่เพียงพอ ถูกต้อง ครบถ้วนและทันเวล� รวมถึงส่งเสริม ให้มีก�รใช้สิทธิและไม่ละเมิดสิทธิของผู้ถือหุ้น ดังนี้

การจัดประชุมผู้ถือหุ้น

กำ�หนดให้มีก�รจัดประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นเป็นประจำ�ทุกปีภ�ยใน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชีของบริษัท ซึ่งก็คือภ�ยในวันที่ 30 เมษ�ยน ของทุกปี และห�กมีคว�มจำ�เป็นที่จะต้องพิจ�รณ� ว�ระพิเศษ ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสิทธิและผลประโยชน์ของ ผู้ถือหุ้น คณะกรรมก�รบริษัทก็จะเรียกประชุมวิส�มัญผู้ถือหุ้น ต�มคว�มจำ�เป็นและเหม�ะสม สำ�หรับในปีนี้ บริษัทได้จัดให้มีก�ร ประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นในวันที่ 5 เมษ�ยน 2559 โดยบริษัทมี ก�รเตรียมก�รดังนี้

ก่อนการประชุมและการจัดส่งหนังสือเชิญประชุม

• คณะกรรมก�รได้เปิดโอก�สให้ผู้ถือหุ้น เสนอชื่อบุคคลเพื่อ เข้�รับก�รเลือกตั้งเป็นกรรมก�ร และก�รให้สิทธิผู้ถือหุ้นเสนอ ว�ระเพื่อบรรจุเป็นว�ระในก�รประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 รวมถึงคำ�ถ�มล่วงหน้� โดยมอบหม�ยให้เลข�นุก�ร บริษัทแจ้งข่�วส�รดังกล่�วท�งระบบอิเล็คโทรนิกส์ผ่�น ตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและเผยแพร่บนเว็บไซต์ของ บริษัท เป็นเวล� 108 วันก่อนวันส่งหนังสือเชิญประชุม เพื่อให้เวล�แก่ผู้ถือหุ้นเสนอเรื่องดังกล่�วได้ก่อนก�รจัด ประชุมส�มัญผู้ถือหุ้น

สิทธิของผู้ถือหุ้น

• บริษัทได้เผยแพร่หนังสือเชิญประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2559 พร้อมเอกส�รประกอบก�รประชุมที่มีร�ยละเอียด วัตถุประสงค์และเหตุผลอย่�งครบถ้วนและเพียงพอ รวม ถึงคว�มเห็นของคณะกรรมก�รในทุกว�ระ และหนังสือมอบ ฉันทะทุกแบบ ประกอบด้วยแบบ ก แบบ ข และแบบ ค ต�ม ที่กระทรวงพ�ณิชย์กำ�หนด ผ่�นท�งเว็บไซต์ของบริษัทที่ www.thaiunion.com ตั้งแต่วันที่ 2 มีน�คม 2559 ก่อน วันประชุมส�มัญผู้ถือหุ้น 34 วัน

บริษัทได้ปฏิบัติต�มหลักก�รกำ�กับดูแลกิจก�รที่ดี และมีแนวท�ง ในก�รดำ�เนินธุรกิจที่ชัดเจน โดยคำ�นึงถึงก�รปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียอย่�งเท่�เทียมกัน จะเห็นได้จ�กคณะกรรมก�ร และฝ่�ยบริห�รส�ม�รถทำ�ง�นร่วมกันได้อย่�งมีประสิทธิภ�พ มีก�รบริห�รง�นอย่�งรอบคอบและระมัดระวัง เพื่อประโยชน์

• บริษัทมอบให้บริษัท ศูนย์รับฝ�กหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ซึ่งเป็นน�ยทะเบียนของบริษัท เป็นผู้จัดส่งหนังสือเชิญ ประชุมพร้อมเอกส�รประกอบก�รประชุมที่มีร�ยละเอียดครบ ถ้วนและเพียงพอ มีคว�มเห็นของคณะกรรมก�รในทุกว�ระ หนังสือมอบฉันทะ เพื่อเปิดโอก�สให้ผู้ถือหุ้นแต่งตั้งตัวแทน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

104 หรือเลือกกรรมก�รอิสระท่�นใดท่�นหนึ่งเป็นผู้รับมอบอำ�น�จ ในก�รเข้�ประชุมและออกเสียงลงมติในที่ประชุมแทน รวมทั้ง ร�ยง�นประจำ�ปีในรูปแบบของ CD ROM ให้แก่ผู้ถือหุ้นก่อน วันประชุมส�มัญประจำ�ปี 2559 เป็นเวล� 14 วัน • บริษัทได้นำ�หนังสือเชิญประชุมลงประก�ศในหนังสือพิมพ์ โพสต์ทูเดย์สำ�หรับฉบับภ�ษ�ไทย และบ�งกอกโพสต์สำ�หรับ ฉบับภ�ษ�อังกฤษ เป็นเวล�ติดต่อกัน 3 วันก่อนวันประชุม 7 วัน เพื่อเป็นก�รบอกกล่�วก�รเรียกประชุมผู้ถือหุ้นเป็นก�ร ล่วงหน้� ทำ�ให้ผู้ถือหุ้นส�ม�รถเตรียมตัวเข้�ร่วมประชุมได้ ต�มวันและเวล�ดังกล่�ว

ในวันประชุมผู้ถือหุ้นและระหว่างการประชุม

• บริษัทส่งเสริมและอำ�นวยคว�มสะดวกให้ผู้ถือหุ้นทุกร�ย รวมถึงผู้ถือหุ้นประเภทนักลงทุนสถ�บันเข้�ร่วมประชุมอย่�ง เท่�เทียมกัน โดยจัดเจ้�หน้�ที่ต้อนรับอย่�งเพียงพอเพื่อให้ ข้อมูลรวมถึงตรวจเอกส�รก่อนก�รลงทะเบียน และได้นำ� ระบบ AGM Voting ซึ่งให้บริก�รโดยบริษัท ควิดแลป จำ�กัด ม�ใช้ในก�รจัดก�รประชุมส�มัญประจำ�ปี 2559 ตั้งแต่ก�ร จัดเตรียมข้อมูลผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเข้�ร่วมประชุม ลงทะเบียน ผู้ถือหุ้นที่ม�เข้�ร่วมประชุมโดยพิมพ์บัตรลงคะแนนเสียง จนถึงก�รนับคะแนนเสียงในที่ประชุม และเปิดให้ผู้ถือหุ้นได้ ลงทะเบียนตั้งแต่เวล� 12.00 น. - 14.00 น. ของวันที่ 5 เมษ�ยน 2559 ณ สถ�นที่อันเป็นที่รู้จักดีและสะดวกในก�ร เดินท�งม�ร่วมประชุม คือ สถ�นีโทรทัศน์กองทัพบก (ช่อง 5) ถนนพหลโยธิน กรุงเทพมห�นคร โดยในปีที่ผ่�นม� มี ผู้ถือหุ้นม�ร่วมประชุมและมอบฉันทะให้ผู้อื่นม�ประชุมแทน ในก�รประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 รวมเป็นจำ�นวน ทั้งสิ้น 1,407 ร�ย นับจำ�นวนหุ้นได้ 3,149,716,566 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 66.01 ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมดที่ออกและเรียก ชำ�ระแล้ว • ประธ�นกรรมก�รทำ�หน้�ที่เป็นประธ�นในก�รประชุมส�มัญ ประจำ�ปี 2559 ร่วมกับกรรมก�รท่�นอื่นรวมเป็น 10 ท่�น จ�ก 12 ท่�น ซึ่งประกอบด้วย ประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร (CEO) ประธ�นกรรมก�รบริห�รกลุ่มธุรกิจกุ้งโกลโบล กรรมก�รบริห�ร คณะกรรมก�รตรวจสอบซึ่งเป็นกรรมก�ร อิสระ สำ�หรับกรรมก�รที่ไม่ส�ม�รถม�ร่วมประชุมได้เนื่องจ�ก เป็นตัวแทนจ�กผู้ถือหุ้นในต่�งประเทศ ทำ�ให้ไม่สะดวกในก�ร เดินท�งม�ร่วมประชุม แต่อย่�งไรก็ต�ม แม้จะไม่ได้ม�ร่วม ประชุม ท่�นเหล่�นั้นก็ได้พิจ�รณ�ข้อมูลต่�งๆ พร้อมทั้งได้ แสดงคว�มคิดเห็นและข้อเสนอแนะจ�กว�ระก�รประชุมที่ได้ ส่งให้ไปก่อนแล้ว นอกจ�กนี้ ยังมีผู้บริห�ร ได้แก่ ประธ�นเจ้� หน้�ที่บริห�รด้�นก�รเงิน (Group CFO) ผู้จัดก�รทั่วไป ด้�นก�รเงินองค์กร ผู้จัดก�รทั่วไปด้�นนักลงทุนสัมพันธ์และ ก�รลงทุนกลุ่มบริษัท ผู้สอบบัญชีรับอนุญ�ตจ�กสำ�นักง�น อีว�ย จำ�กัด เข้�ร่วมในก�รประชุม เพื่อส�ม�รถตอบข้อซัก ถ�มต�มว�ระต่�งๆ ได้อย่�งครบถ้วน รวมถึงประธ�นในที่ ประชุมได้จัดสรรเวล�ให้อย่�งเหม�ะสม เพียงพอ และส่งเสริม ให้ผู้ถือหุ้นมีโอก�สแสดงคว�มเห็นและซักถ�มในที่ประชุม อย่�งเท่�เทียมกัน • ประธ�นในที่ประชุมได้มอบหม�ยให้พิธีกรในที่ประชุมชี้แจงถึง หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับก�รประชุมทั้งหมด ต�มข้อบังคับ ของบริษัทข้อ 35. ในก�รออกเสียงลงคะแนน ให้นับผู้ถือหุ้น

ทุกคนมีคะแนนเสียงเท่�กับหนึ่งหุ้นมีหนึ่งเสียง รวมถึง วิธี ลงคะแนนในบัตรลงคะแนน และก�รนับคะแนนเสียงของผู้ถือ หุ้นที่ต้องลงมติในแต่ละว�ระอย่�งชัดเจน โดยขอให้ผู้สอบ บัญชีจ�กสำ�นักง�น อีว�ย จำ�กัด และอ�ส�สมัครจ�กผู้ถือหุ้น จำ�นวน 2 ร�ยม�เป็นพย�นและผู้ตรวจสอบก�รนับคะแนน เสียง และในระหว่�งก�รประชุมได้เปิดโอก�สให้ผู้ถือหุ้นทุก ร�ยมีสิทธิถ�มคำ�ถ�ม แสดงคว�มคิดเห็น ให้คำ�แนะนำ� และ ซักถ�มอย่�งเต็มที่ตลอดเวล�ดำ�เนินก�รประชุม โดยมีคณะ กรรมก�รและผู้บริห�รของบริษัทตอบข้อซักถ�มของผู้ถือหุ้น ด้วยทุกครั้ง สำ�หรับก�รประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 มีผู้ถือหุ้นซักถ�มและเสนอคว�มเห็นรวม 5 ร�ย • บริษัทได้จัดให้มีบัตรลงคะแนนเสียงซึ่งมีแถบบ�ร์โค้ด สำ�หรับ ผู้ถือหุ้นใช้ในก�รลงคะแนนเสียงในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง โดยจะนำ�คะแนนเสียงดังกล่�วหักออกจ�ก จำ�นวนเสียงทั้งหมดที่เข้�ร่วมประชุม ส่วนที่เหลือจะถือว่�เป็น คะแนนเสียงที่เห็นด้วยในระเบียบว�ระนั้น ทั้งนี้ก็เพื่อให้ก�ร ประชุมดำ�เนินไปได้ภ�ยในเวล�ที่เหม�ะสม ตลอดจนแยกก�ร เลือกตั้งกรรมก�รเป็นร�ยบุคคลให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิในแต่ละ ท่�นได้อย่�งเป็นอิสระ และมีก�รประก�ศผลของคะแนนเสียง เมื่อจบแต่ละว�ระก�รประชุมอย่�งชัดเจนในห้องประชุม เพื่อ ให้ก�รลงคะแนนเสียงเป็นไปอย่�งโปร่งใส รวมถึงจัดให้มีก�ร บันทึกภ�พก�รประชุมในลักษณะสื่อวีดีทัศน์ เพื่อเผยแพร่ใน เว็บไซต์ของบริษัท และให้แก่ผู้ถือหุ้นที่สนใจขอรับจ�กบริษัท ได้ที่สำ�นักประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร

หลังการประชุมและรายงานการประชุม

• บริษัทนำ�ส่งมติของที่ประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 ทุกว�ระยกเว้นในส่วนของคำ�ถ�มจ�กผู้ถือหุ้นและคำ�ตอบไป เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทที่ www.thaiunion.com ในวันเดียวกันโดยทันที จ�กนั้นจึงค่อยนำ�ส่งร�ยง�น ก�รประชุมผู้ถือหุ้นฉบับเต็มให้กับตล�ดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และเผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทหลังก�ร ประชุมเมื่อวันที่ 18 เมษ�ยน 2559 หรือ 13 วันหลังจ�ก วันประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นหรือนัก ลงทุนทั่วไปส�ม�รถติดต่อสอบถ�มข้อมูล เสนอคว�มคิด เห็นหรือแจ้งคว�มต้องก�รของผู้ถือหุ้นม�ยังบริษัทได้ที่ เลข�นุก�รบริษัท สำ�นักประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร โทรศัพท์ 0-2298-0024 ต่อ 4390-2

และจ�กก�รจัดประชุมผู้ถือหุ้นที่ส่งเสริมก�รให้สิทธิของผู้ถือหุ้น ทุกร�ยอย่�งเท่�เทียมกัน เป็นผลให้ได้รับก�รประเมินคุณภ�พ ก�รจัดประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 ซึ่งประเมินโดย สม�คมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย ในระดับดีเยี่ยม


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

105 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทตระหนักถึงคว�มสำ�คัญในสิทธิของผู้ถือหุ้น และทร�บ ถึงหน้�ที่ในก�รดูแลให้มีก�รปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกร�ยอย่�งเท่� เทียมกันและเป็นธรรม โดยดำ�เนินก�รดังนี้ • คณะกรรมก�รบริษัทได้มอบหม�ยให้เลข�นุก�รบริษัท จัดทำ� ข้อมูลเพื่อแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทร�บเกี่ยวกับก�รให้สิทธิผู้ถือหุ้น เสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้�รับก�รเลือกตั้งเป็นกรรมก�ร และก�ร ให้สิทธิผู้ถือหุ้นเสนอว�ระเพื่อบรรจุเป็นว�ระในก�รประชุม ส�มัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 รวมถึงส่งคำ�ถ�มล่วงหน้� โดยช่องท�งระบบอิเล็คโทรนิกส์ผ่�นตล�ดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยและเผยแพร่บนเว็บไซต์นักลงทุนสัมพันธ์ของ บริษัท เป็นเวล� 108 วันก่อนวันส่งหนังสือเชิญประชุม เพื่อ ให้เวล�แก่ผู้ถือหุ้นเสนอเรื่องดังกล่�วได้ก่อนก�รจัดประชุม ส�มัญผู้ถือหุ้น สำ�หรับก�รให้สิทธิผู้ถือหุ้นส�ม�รถเสนอ ชื่อบุคคลเพื่อเข้�รับก�รเลือกตั้งเป็นกรรมก�รและก�รเสนอ ว�ระเพื่อบรรจุเป็นว�ระในก�รประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นเป็นก�ร ล่วงหน้�นั้น บริษัทปฏิบัติม�ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 โดยในปีที่ ผ่�นม� ปร�กฏว่�ไม่มีผู้ถือหุ้นเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้�รับก�ร พิจ�รณ�เลือกตั้งเป็นกรรมก�ร และรวมถึงไม่มีก�รเสนอว�ระ เพื่อบรรจุเป็นว�ระในก�รประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นแต่อย่�งใด นอกจ�กนี้ บริษัทไม่มีก�รเพิ่มว�ระก�รประชุมที่ไม่ได้แจ้ง • ก�รอำ�นวยคว�มสะดวก สำ�หรับผู้ถือหุ้นที่ไม่สะดวกเข้�ร่วม ประชุมด้วยตนเองส�ม�รถมอบฉันทะให้กรรมก�รอิสระคน ใดคนหนึ่งเข้�ประชุมและลงคะแนนเสียงแทน โดยก�ร เสนอ ร�ยชื่อของกรรมก�รอิสระอย่�งน้อย 2 ท่�น เพื่อเป็นท�ง เลือกในก�รรับมอบฉันทะจ�กผู้ถือหุ้นในก�รเข้�ร่วมประชุม และออกเสียงลงคะแนนในแต่ละว�ระ ซึ่งในก�รประชุมส�มัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 มีผู้ถือหุ้น 643 ร�ยมอบฉันทะ ให้ ดร.ธรรมนูญ อ�นันโทไทย กรรมก�รตรวจสอบ มีผู้ถือ หุ้น 104 ร�ยมอบฉันทะให้ น�ยกีรติ อัสสกุล ประธ�นคณะ อนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง ซึ่งทั้ง 2 ท่�นเป็นกรรมก�ร อิสระที่บริษัทเสนอเป็นผู้รับมอบฉันทะให้ออกเสียงแทน • ก�รจัดให้ผู้ถือหุ้นใช้บัตรลงคะแนนเสียงสำ�หรับทุกว�ระก�ร ประชุม โดยใช้ระบบ AGM Voting จัดทำ�บัตรลงคะแนนแยก ต�มว�ระ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นส�ม�รถลงคะแนนได้ต�มสมควร ใน กรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่เห็นด้วยหรืองดออกเสียง และนำ�คะแนน เสียงดังกล่�วหักออกจ�กจำ�นวนเสียงทั้งหมดที่เข้�ร่วม ประชุม ส่วนที่เหลือจะถือว่�เป็นคะแนนเสียงที่เห็นด้วยใน ระเบียบว�ระนั้น จ�กนั้นนำ�ผลคะแนนม�รวมกับคะแนนเสียงที่ ได้ลงไว้ล่วงหน้�ในหนังสือมอบฉันทะ และเก็บบัตรลงคะแนน ไว้เป็นหลักฐ�นตรวจสอบได้ในภ�ยหลัง • คณะกรรมก�รบริษัทได้มอบหม�ยให้เลข�นุก�รบริษัทบันทึก และจัดทำ�ร�ยง�นก�รประชุมอย่�งถูกต้อง ครบถ้วน และ เผยแพร่มติของทีป่ ระชุมส�มัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2559 ทุกว�ระ ยกเว้นในส่วนของคำ�ถ�มจ�กผูถ้ อื หุน้ และคำ�ตอบ ไว้บนเว็บไซต์ นักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัทที่ www.thaiunion.com ใน วันเดียวกันโดยทันที จ�กนั้นจึงค่อยนำ�ส่งร�ยง�นก�รประชุม ผู้ถือหุ้นฉบับเต็มให้กับตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทภ�ยใน 14 วันหลังจ�กวัน ประชุม เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้ถือหุ้นส�ม�รถตรวจสอบและอ้�งอิง ได้

• บริษัทได้กำ�หนดม�ตรก�รป้องกันก�รใช้ข้อมูลภ�ยในเพื่อ ห�ผลประโยชน์ของกรรมก�รและผู้บริห�รโดยก�รแจ้งให้ทุก ท่�นรับทร�บหน้�ที่ในก�รร�ยง�นก�รเปลี่ยนแปลงก�รถือ หลักทรัพย์ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภ�วะต่อ สำ�นักง�นกำ�กับหลักทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ต�มม�ตร� 59 แห่งพระร�ชบัญญัติหลักทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยทันทีไม่เกิน 3 วันทำ�ก�รหลังจ�กวันที่ ซื้อ ข�ย โอนหรือรับโอนหลักทรัพย์ของบริษัท และไม่ให้กรรมก�ร และผู้บริห�รหรือหน่วยง�นที่ได้รับทร�บข้อมูลภ�ยในเปิด เผยข้อมูลภ�ยในแก่บุคคลภ�ยนอก หรือบุคคลที่ไม่มีหน้�ที่ เกี่ยวข้อง และก�รไม่ซื้อข�ยหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วง 1 เดือน ก่อนที่งบก�รเงินหรือข้อมูลอื่นใดจะเผยแพร่ต่อ ส�ธ�รณชน เพื่อป้องกันก�รแสวงห�ผลประโยชน์จ�กก�ร ใช้ข้อมูลภ�ยในของบริษัท ซึ่งยังไม่ได้เปิดเผยต่อส�ธ�รณชน และส่งผลกระทบต่อก�รเคลื่อนไหวของร�ค�ซื้อข�ยหลัก ทรัพย์ของบริษัทในตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ยกเว้น ในกรณีที่ร�ค�หุ้นมีก�รเปลี่ยนแปลงติดต่อกันเป็นเวล� น�น อันเนื่องม�จ�กสถ�นก�รณ์ของตล�ดโดยรวม ซึ่งทำ�ให้ ร�ยก�รซื้อข�ยดังกล่�วของผู้บริห�รเกิดขึ้นต�มสถ�นก�รณ์ ของตล�ดเท่�นั้น นอกจ�กนี้ กรรมก�รและผู้บริห�รยัง ทร�บถึงบทกำ�หนดโทษต�มพระร�ชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตล�ดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 รวมถึงกฎเกณฑ์ต่�งๆ ที่ เกี่ยวข้อง • คณะกรรมก�รบริษัทได้มอบหม�ยให้เลข�นุก�รบริษัทดูแล และติดต�มร�ยก�รที่อ�จมีคว�มขัดแย้งท�งผลประโยชน์ และ ร�ยก�รที่เกี่ยวโยงกัน โดยจัดทำ�ร�ยง�นสรุปเป็นร�ยไตรม�ส และเผยแพร่ร�ยง�นสรุป ณ วันสิ้นปี ไว้ในร�ยง�นประจำ�ปีและ แบบแสดงร�ยก�รข้อมูลประจำ�ปีอย่�งสม่ำ�เสมอ นอกจ�กนี้ ในก�รประชุมคณะกรรมก�รบริษัท ห�กมีว�ระใดที่กรรมก�ร และผู้บริห�รมีส่วนได้เสีย จะต้องปฏิบัติต�มนโยบ�ยก�ร กำ�กับดูแลกิจก�รโดยก�รงดออกเสียงหรือแสดงคว�มเห็น ใดๆ ในว�ระนั้นๆ • คณะกรรมก�รบริษัทได้มอบหม�ยให้เลข�นุก�รบริษัทเป็น ผู้เก็บร�ยง�นก�รมีส่วนได้เสียที่ร�ยง�นโดยกรรมก�รและ ผู้บริห�รต�มประก�ศคณะกรรมก�รกำ�กับตล�ดทุนที่ ทจ. 2/2552 เรื่องก�รร�ยง�นก�รมีส่วนได้เสียของกรรมก�ร ผู้บริห�ร และบุคคลที่มีคว�มเกี่ยวข้อง โดยที่ม�ตร� 89/14 แห่งพระร�ชบัญญัติหลักทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระร�ชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตล�ดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551 กำ�หนดให้คณะ กรรมก�รและผู้บริห�รต้องร�ยง�นให้บริษัททร�บถึงก�รมี ส่วนได้เสียของตนหรือของบุคคลที่มีคว�มเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็น ส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับก�รบริห�รจัดก�รกิจก�รของบริษัท และบริษัทย่อย ทั้งนี้ เพื่อให้บริษัทมีข้อมูลประกอบก�รดำ�เนิน ก�รต�มข้อกำ�หนดเกี่ยวกับก�รทำ�ร�ยก�รที่เกี่ยวโยงกัน ซึ่ง เป็นร�ยก�รที่อ�จก่อให้เกิดคว�มขัดแย้งท�งผลประโยชน์ และ อ�จนำ�ไปสู่ก�รถ่�ยเทผลประโยชน์ของบริษัทและบริษัทย่อยได้


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

106 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทตระหนักถึงคว�มสำ�คัญในสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียในทุก กลุ่มให้ได้รับก�รปฏิบัติที่ดีอย่�งเท่�เทียมกัน เนื่องจ�กเห็นคว�ม สำ�คัญของก�รสนับสนุนจ�กผู้มีส่วนได้เสียตลอดจนก�รได้รับ คว�มร่วมมือระหว่�งกัน ซึ่งจะส่งผลต่อบริษัทให้ส�ม�รถสร้�ง คว�มมั่งคั่ง สร้�งง�น และสร้�งกิจก�รให้มีฐ�นะก�รเงินที่มั่นคง ในระยะย�วได้ ดังนั้น บริษัทจึงยึดถือแนวท�งในก�รปฏิบัติให้เกิด คว�มเสมอภ�คทุกฝ่�ย ตลอดจนกำ�หนดให้มีระบบก�รควบคุม ภ�ยในที่เหม�ะสมและตรวจสอบก�รปฏิบัติต�ม ซึ่งส�ม�รถสรุป แนวท�งได้ดังนี้

ผู้ถือหุ้น

บริษัทมุ่งมั่นที่จะเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้น ในก�รดำ�เนินธุรกิจ อย่�งโปร่งใส มีระบบบัญชีและก�รเงินที่มีคว�มเชื่อถือได้ สร้�ง คว�มพึงพอใจสูงสุดให้กับผู้ถือหุ้น ด้วยก�รดำ�เนินง�นให้เกิด ผลประโยชน์ในระยะย�วสูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น โดยมีผลประกอบก�ร ที่ดีอย่�งสม่ำ�เสมอและยั่งยืน มีก�รเติบโตอย่�งต่อเนื่อง โดย คณะกรรมก�ร ผู้บริห�รและพนักง�นทุกคน ปฏิบัติหน้�ที่ด้วย คว�มซื่อสัตย์สุจริต ตลอดจนตัดสินใจดำ�เนินก�รใดๆ ด้วยคว�ม บริสุทธิ์ใจและเป็นธรรมต่อผู้ถือหุ้นทั้งร�ยใหญ่และร�ยย่อย และ เพื่อผลประโยชน์ของกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องอย่�งเต็มคว�มส�ม�รถ ไม่ดำ�เนินก�รใดๆ ในลักษณะที่อ�จก่อให้เกิดคว�มขัดแย้งท�ง ผลประโยชน์ต่อบริษัท ไม่แสวงห�ประโยชน์ให้ตนเอง และไม่เปิด เผยข้อมูลลับต่อบุคคลภ�ยนอก พร้อมทั้งคำ�นึงถึงก�รเปิดเผย ข้อมูลที่สำ�คัญต่อผู้ถือหุ้นทุกร�ยอย่�งถูกต้อง ครบถ้วนและทัน เวล� เพื่อตอบแทนคว�มเชื่อมั่นที่ผู้ถือหุ้นมีให้กับบริษัท ตลอด จนสร้�งผลตอบแทนก�รลงทุนให้เป็นที่พอใจสูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น

พนักงาน

บริษัทปฏิบัติต่อพนักง�นอย่�งเท่�เทียมและเป็นธรรม ไม่มี ข้อยกเว้นในเรื่องถิ่นกำ�เนิด เชื้อช�ติ ศ�สน� เพศ สถ�นภ�พ ก�รสมรส ภ�ษ� หรือตำ�แหน่ง ไม่มีก�รใช้หรือสนับสนุนก�รใช้ แรงง�นเด็ก ก�รค้�มนุษย์ และไม่สนับสนุนแนวท�งก�รทุจริตและ คอรัปชั่นทุกรูปแบบ บริษัทมีนโยบ�ยในก�รบริห�รค่�ตอบแทนและสวัสดิก�รของ พนักง�นให้ส�ม�รถรักษ�พนักง�นที่มีคุณภ�พ ดึงดูดคนเก่ง จ�กภ�ยนอก และมุ่งเน้นก�รตอบแทนต�มผลก�รปฏิบัติง�น โดยคำ�นึงถึง คว�มเป็นธรรมภ�ยในองค์กร คว�มส�ม�รถในก�ร แข่งขันในตล�ดแรงง�น ตลอดจน ข้อกฎหม�ย วัฒนธรรม และ ระเบียบข้อบังคับต่�งๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สอดคล้องกับพันธกิจ และค่�นิยมขององค์กร ก�รจ่�ยค่�ตอบแทนของพนักง�นอย่�ง เหม�ะสมสอดคล้องกับก�รจ่�ยค่�ตอบแทนของอุตส�หกรรม เดียวกัน โดยพิจ�รณ�จ�ก คว�มรู้คว�มส�ม�รถ ประสบก�รณ์ และผลก�รปฏิบัติง�นของพนักง�นแต่ละบุคคล ประกอบกับ ก�รพิจ�รณ�ด้�นคว�มเท่�เทียมภ�ยในบริษัท ซึ่งประเมินจ�ก ขอบเขตคว�มรับผิดชอบ คว�มซับซ้อนของง�น ประสบก�รณ์ และทักษะที่ใช้ในก�รทำ�ง�นที่แตกต่�งกัน นอกจ�กนี้บริษัท ได้กำ�หนดนโยบ�ยก�รจ่�ยเงินร�งวัลต�มผลก�รปฏิบัติง�น ของพนักง�น และผลก�รดำ�เนินง�นของบริษัทเพื่อผลักดัน วัฒนธรรมก�รตอบแทนต�มผลก�รปฏิบัติง�น นโยบ�ยก�รจ่�ยเงินร�งวัลทั้งระยะสั้นและระยะย�ว สอดคล้อง กับผลก�รดำ�เนินง�นของบริษัท โดยกำ�หนดเป้�หม�ยและตัววัด

ในแต่ละปีให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ระยะย�วของบริษัท ซึ่ง เรียกว่� Enterprise Objective โดยมีก�รวัดผล 4 ด้�น ดังนี้ 1. Drive Superior Financial Performance - ผลักดัน คว�มเป็นเลิศในก�รบริห�รก�รเงินและประสิทธิภ�พก�ร ใช้เงินทุน 2. Accelerate Growth – มุ่งเน้นก�รเติบโตแบบก้�ว กระโดดทั้งจ�กก�รเติบโตของธุรกิจปัจจุบัน และก�รขย�ย ก�รลงทุนซื้อกิจก�ร 3. Drive Global Integration and Talent Development- ผนึกกำ�ลังเป็นองค์กรระดับโลกเพื่อ เพิ่มขีดคว�มส�ม�รถในก�รแข่งขันท�งธุรกิจ และเพื่อ พัฒน�บุคล�กรที่มีศักยภ�พสูง 4. Build Differentiated Capabilities – เพื่อเป็นผู้นำ� ของอุตส�หกรรม ด้�นก�รพัฒน�ที่ยั่งยืน นวัตกรรม และ คุณภ�พ บริษัทกำ�หนดรูปแบบก�รจ่�ยค่�ตอบแทนผู้บริห�รระดับสูง ดังนี้ • ค่�ตอบแทนโดยรวม สอดคล้องกับก�รจ่�ยผลตอบแทนของ อุตส�หกรรมเดียวกัน • อัตร�ก�รจ่�ยเงินร�งวัล (โบนัส) กรณีที่ผลง�นเป็นไปต�ม เป้�หม�ยทั้งในส่วนของพนักง�นและบริษัท ผู้บริห�รจะได้รับ เงินร�งวัลในอัตร�ร้อยละ 25 – 30 ของเงินเดือนรวมทั้งปี บริษัทได้จัดให้มีสวัสดิก�รต่�งๆ ซึ่งม�กกว่�ที่กฎหม�ยกำ�หนด เช่น ก�รจัดตั้งกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ก�รจัดก�รดูแลตรวจ สุขภ�พประจำ�ปี แผนก�รประกันสุขภ�พ ก�รประกันชีวิต ก�ร ประกันอุบัติเหตุ ก�รจัดสถ�นที่ออกกำ�ลังก�ย ก�รจัดกิจกรรม สันทน�ก�รต่�งๆ เพื่อให้พนักง�นได้ผ่อนคล�ยจ�กก�รทำ�ง�น และที่สำ�คัญบริษัทได้จัดสรรผลประโยชน์ระยะย�วที่ช่วยก�ร ยังชีพของพนักง�นและครอบครัวหลังก�รเกษียณจ�กหน้�ที่ ก�รง�นแล้ว ในรูปแบบของเงินบำ�เหน็จเกษียณอ�ยุ ซึ่งบริษัทจะ กันเงินสำ�รองไว้ทุกๆ ปี เพื่อให้มั่นใจว่�บริษัทส�ม�รถจ่�ยเงิน ทดแทนให้กับพนักง�นต�มสิทธิที่พึงมีได้ในอน�คต และเพื่อ เป็นก�รส่งเสริมให้พนักง�นได้มีก�รเตรียมคว�มพร้อมด้�นก�ร เงินก่อนเข้�สู่วัยเกษียณเป็นก�รล่วงหน้� จึงได้ร่วมกับสำ�นักง�น ประกันสังคมจัดหลักสูตรอบรมเกี่ยวกับหลักปรัชญ�เศรษฐกิจ พอเพียงและก�รออมเงินเพื่อก�รเกษียณให้แก่พนักง�นที่สนใจ นอกจ�กนี้ ยังมีก�รพิจ�รณ�ถึงก�รรักษ�ร�ยได้ของพนักง�น ในรูปของค่�จ้�งและผลประโยชน์ ห�กเกิดเหตุก�รณ์ที่ทำ�ให้ก�ร ดำ�เนินธุรกิจหยุดชะงักเป็นก�รชั่วคร�ว โดยขย�ยคว�มคุ้มครอง ในกรมธรรม์ประกันภัยผลกระทบท�งธุรกิจให้คลอบคลุมร�ยได้ ของพนักง�นที่ได้รับผลกระทบจ�กก�รหยุดชะงักของก�รดำ�เนิน ธุรกิจด้วย


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

107 ก�รจ่�ยค่�ตอบแทนพนักง�น แบ่งเป็น ดังนี้ 1. ค่�ตอบแทนที่สอดคล้องกับผลก�รดำ�เนินง�นของบริษัท ในระยะสั้น ได้แก่ เงินเดือน ซึ่งมีก�รปรับเพิ่มอัตร�เงิน เดือนปีละ 1 ครั้ง โบนัสประจำ�ปี กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพที่ มีให้กับพนักง�นในทุกระดับ โดยบริษัทสมทบตั้งแต่ร้อย ละ 2.5 ถึง ร้อยละ 10 ของเงินเดือน ขึ้นอยู่กับอ�ยุง�น ของพนักง�น ทั้งนี้ในปี 2559 บริษัทได้จ่�ยสมทบกองทุน สำ�รองเลี้ยงชีพสำ�หรับพนักง�นเป็นเงินรวมทั้งสิ้น 35.25 ล้�นบ�ท 2. ค่�ตอบแทนที่สอดคล้องกับผลก�รดำ�เนินง�นของบริษัท ในระยะย�ว ได้แก่ เงินเกษียณอ�ยุง�น จ่�ยให้ต�มเงื่อนไข ที่กำ�หนดไว้ในคู่มือสวัสดิก�รพนักง�น ซึ่งบริษัทได้ตั้ง สำ�รองเงินเกษียณสำ�หรับปี 2559 เท่�กับ 66.27 ล้�น บ�ท และในปี 2559 บริษัทได้จ่�ยเงินเกษียณสำ�หรับ พนักง�นเป็นเงินรวมทั้งสิ้น 7.64 ล้�นบ�ท

ด้านการพัฒนาบุคลากร

นโยบ�ยในก�รพัฒน�บุคล�กรของบริษัท คือ พนักง�นทุกคน คือคนเก่ง มีคุณค่�ต่อองค์กร และมีศักยภ�พที่แตกต่�งกันไป ทุกคนสร้�งคุณค่�ให้กับองค์กรในผลก�รปฏิบัติง�นที่แตกต่�ง กัน แต่มีคว�มหม�ย เร�มีคว�มเชื่อว่�บุคคล�กรทุกคนมีคว�ม ส�ม�รถหรือมีข้อเด่นของตัวเอง ซึ่งท�งบริษัทจะทำ�ให้พนักง�น ทุกๆ คนรู้และช่วยให้พวกเข�ส�ม�รถนำ�ข้อเด่นของตนเองออก ม�ใช้ให้เกิดประโยชน์กับองค์กรและตัวเองได้ม�กที่สุด ดังนั้น ทุก คนจะได้รับโอก�สในก�รพัฒน�ตนเองและคว�มก้�วหน้�ในส�ย อ�ชีพที่สอดคล้องกับคว�มต้องก�รในแต่ละคนที่แตกต่�งกันไป ก�รพัฒน�บุคล�กรในทุกๆ ระดับเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์หลัก ของบริษัทและเป็นพันธสัญญ�ของคณะผู้บริห�รระดับสูง เร� มุ่งเน้นก�รนำ�เสนอวิธีก�รฝึกอบรมและพัฒน�บุคล�กรอย่�ง มีประสิทธิภ�พ โดยเน้นที่ก�รปรับเปลี่ยนทัศนคติและวิธีก�ร ปฏิบัติง�นเพื่อให้ไปสู่องค์กรที่มีม�ตรฐ�นระดับส�กล โดยผสม ผส�นทั้งก�รอบรมในห้องเรียน (Classroom training) ก�ร สอนง�นและให้ข้อมูลย้อนกลับ (Coaching and giving feedback) และก�รประยุกต์ใช้ในง�นจริง (On-the-job training: OJT) โดยก�รอบรมและพัฒน�ประกอบไปด้วยรูป แบบต่�ง ๆ ดังนี้ • ก�รดูแลพนักง�นใหม่ เพื่อให้ก�รต้อนรับอย่�งอบอุ่น ทำ�ให้ ส�ม�รถปรับตัวเข้�กับองค์กรอย่�งร�บรื่น และเป็นร�กฐ�นสู่ คว�มสำ�เร็จในระยะย�ว • ก�รฝึกอบรมด้�นวิช�ชีพ ค่�นิยมองค์กร ก�รเรียนรู้ วัฒนธรรมที่แตกต่�ง และจรรย�บรรณธุรกิจ โดยผู้เชี่ยวช�ญ จ�กทั้งในและนอกองค์กรเพื่อให้พนักง�นเข้�ถึงข้อมูลและ ทรัพย�กรที่จำ�เป็น เพื่อนำ�ไปสู่คว�มเป็นเลิศ • ระบบพี่เลี้ยง ก�รสอนง�น และก�รให้ข้อเสนอแนะ เพื่อส่ง เสริมและสร้�งศักยภ�พคว�มเป็นผู้นำ� • โครงก�รเรียนรู้ง�นข้�มส�ยง�น เพื่อส่งเสริมคว�มรู้ ก�รแบ่ง ปัน และคว�มร่วมมือ • ก�รมอบหม�ยง�นที่ท้�ท�ย ด้วยทรัพย�กรสำ�หรับก�รเรียน รู้และก�รสอนง�นเพื่อส่งเสริมก�รเจริญเติบโต • ก�รสับเปลี่ยนหมุนเวียนส�ยง�น เพื่อส่งเสริมเพิ่มพูนทักษะ และกระตุ้นแรงบันด�ลใจ สร้�งเครือข่�ย รวมทั้งวิสัยทัศน์ใน ระยะย�วซึ่งเกิดจ�กก�รมองภ�พที่กว้�งขึ้น

• ก�รได้รับมอบหม�ยง�นด้�นต่�งประเทศ เพื่อส่งเสริม วัฒนธรรมองค์กรและพัฒน�ทักษะด้�นภ�ษ� รวมทั้งเพิ่ม คว�มก้�วหน้�ให้กับพนักง�นทั้งในปัจจุบันและอน�คต • กระบวนก�รติดต�มก�รพัฒน�บุคล�กรเพื่อประเมินผล กระทบของโครงก�รก�รพัฒน�บุคล�กรที่มีคว�มส�ม�รถทั่ว โลกและติดต�มคว�มคืบหน้�ก�รพัฒน�บุคล�กรเหล่�นี้ สำ�หรับร�ยละเอียดของก�รฝึกอบรมพนักง�นและผู้บริห�รใน ปี 2559 มีดังนี้ • จำ�นวนชั่วโมงรวมก�รฝึกอบรม 151,040 ชั่วโมง • จำ�นวนชั่วโมงเฉลี่ยต่อพนักง�นร�ยบุคคล 11.26 ชั่วโมง บริษัทได้ให้คว�มสำ�คัญกับก�รสื่อส�รข้อมูลต่�งๆ ที่เกี่ยวกับ บริษัทรวมถึงผลก�รดำ�เนินง�นอย่�งสม่ำ�เสมอและทั่วถึง โดย ก�รจัดประชุมผู้บริห�รพบพนักง�นทุก 6 เดือน เพื่อรับฟัง แนวท�งก�รดำ�เนินก�ร เป้�หม�ยประจำ�ปี ตลอดจนผลง�นที่เกิด ขึ้น เพื่อให้ก�รทำ�ง�นเป็นไปในแนวท�งเดียวกันและสอดคล้อง กัน รวมถึงเป็นก�รให้ขวัญและกำ�ลังใจในก�รปฎิบัติง�นใน สถ�นก�รณ์ต่�งๆ

ลูกค้า

บริษัทปฏิบัติต่อลูกค้�ด้วยคว�มรับผิดชอบดังนี้ • ผลิตสินค้�อ�ห�รที่มีคุณภ�พ มีคว�มปลอดภัย (Food Safety) และส�ม�รถตรวจสอบย้อนกลับได้ (Traceability) ภ�ยใต้กระบวนก�รผลิตที่ได้ม�ตรฐ�น และเทคโนโลยีที่เหม�ะสม รวมถึงก�รพัฒน�ผลิตภัณฑ์และ กระบวนก�รผลิตใหม่ๆ เพื่อให้ลูกค้�ได้รับประโยชน์และคว�ม พึงพอใจสูงสุด • กำ�หนดร�ค�สินค้�และบริก�รที่เหม�ะสมต�มระดับร�ย ละเอียด และคุณภ�พสินค้�และบริก�ร ที่ลูกค้�ต้องก�ร • ดำ�เนินก�รโดยให้มีต้นทุนที่เหม�ะสมเท่�ที่จะเป็นไปได้ โดยยัง รักษ�คุณภ�พของก�รบริก�รที่ได้ม�ตรฐ�นของบริษัทต�มที่ ลูกค้�ได้กำ�หนดไว้ • ส่งมอบสินค้�และบริก�รที่มีคุณภ�พ ตรงต�มคว�มค�ดหวัง ของลูกค้�หรือสูงกว่� และตรงต�มกำ�หนดระยะเวล�ส่งมอบ ต�มที่ได้ตกลงกับลูกค้� • ปฏิบัติต่อลูกค้�ด้วยคว�มสุภ�พอ่อนน้อม มีอัธย�ศัยไมตรี ที่ดีง�ม ต�มเหตุและผล ซื่อสัตย์สุจริต เอ�ใจใส่ลูกค้�ทุก คนด้วยคว�มเป็นธรรมเสมอภ�คเท่�เทียมกัน โดยไม่ใช้ วิจ�รณญ�ณส่วนตัวเข้�ม�ตัดสิน • ปฏิบัติต�มสัญญ� ข้อตกลง หรือเงื่อนไขต่�งๆ ที่มีต่อลูกค้� อย่�งเคร่งครัด ห�กไม่ส�ม�รถปฏิบัติได้ ต้องรีบแจ้งให้ลูกค้� ทร�บล่วงหน้� เพื่อป้องกันและร่วมห�แนวท�งแก้ไขไม่ให้เกิด คว�มเสียห�ยต่อผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ • จัดทำ�ข้อมูลเกี่ยวกับคำ�แนะนำ�เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ทั้ง คุณสมบัติและร�ยละเอียดของสินค้�และบริก�ร ตลอดจนวิธี ก�รใช้ วิธีก�รเก็บรักษ� ให้กับลูกค้� รวมถึง ข้อมูลข่�วส�ร


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

108 เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และบริก�รอื่นๆ ที่ถูกต้อง เพียงพอ และ ทันต่อเหตุก�รณ์ แก่ลูกค้� เพื่อให้ลูกค้�มีข้อมูลเพียงพอต่อ ก�รตัดสินใจ โดยไม่กล่�วเกินคว�มเป็นจริง อันเป็นเหตุให้ ลูกค้�เกิดคว�มเข้�ใจผิดเกี่ยวกับคุณภ�พ หรือเงื่อนไขใดๆ ของสินค้�หรือบริก�ร เพื่อเป็นก�รรักษ�คว�มสัมพันธ์ที่ดีกับ ลูกค้�แบบยั่งยืน • ให้คว�มสำ�คัญในก�รรักษ�ข้อมูลที่เป็นคว�มลับของลูกค้� ไม่นำ�คว�มลับของลูกค้�ไปเปิดเผยหรือใช้เพื่อประโยชน์ของ ตนเองและผู้ที่เกี่ยวข้องไม่ว่�ด้วยเหตุผลใดๆ ก็ต�ม • จัดให้มีช่องท�ง กระบวนก�ร และบุคล�กร สำ�หรับลูกค้�ที่ ต้องก�รร้องเรียนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และก�รให้บริก�ร โดย ดำ�เนินก�รตอบสนองคว�มต้องก�รได้อย่�งรวดเร็ว • ไม่เรียก ไม่รับ หรือไม่ให้ผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สุจริตกับลูกค้�

คู่ค้า

บริษัทปฏิบัติต่อคู่ค้�อย่�งเสมอภ�คและเป็นธรรม โดยเป็นไป ต�มเงื่อนไขท�งก�รค้� รวมทั้งเปิดโอก�สให้คู่ค้�ได้แสดงคว�ม คิดเห็นและยินดีรับฟังข้อเสนอแนะต่�งๆ ในก�รทำ�ง�นร่วมกัน ตลอดจนก�รเก็บรักษ�คว�มลับท�งก�รค้�ของคู่ค้� โดยไม่นำ� ไปเปิดเผยต่อบุคคลอื่น บริษัทมีนโยบ�ยก�รคัดเลือกคู่ค้� โดย มีก�รพิจ�รณ�เรื่องก�รใช้แรงง�นที่ถูกกฎหม�ยทุกครั้ง รวม ทั้งมีก�รสื่อส�รให้รับทร�บเพื่อตระหนักถึงก�รใช้แรงง�นที่ถูก ต้อง (Labor Code of Conduct) รวมถึงนโยบ�ยพิจ�รณ� ด้�นคว�มปลอดภัย อ�ชีวอน�มัย สิ่งแวดล้อม และก�รอนุรักษ์ พลังง�นในก�รคัดเลือกคู่ค้� และมีก�รเปรียบเทียบร�ค� หรือ ก�รประกวดร�ค� ซึ่งต้องอนุมัติโดยผู้มีอำ�น�จของบริษัท ทั้งนี้ เพื่อคว�มโปร่งใสในง�นด้�นจัดซื้อ และนอกจ�กก�รประส�นง�นผ่�นช่องท�งปกติ เช่น ฝ่�ยก�ร ตล�ดร่วมกับลูกค้� ฝ่�ยจัดซื้อร่วมกับคู่ค้�และผู้จัดห�วัตถุดิบ ฝ่�ยก�รบุคคลร่วมกับพนักง�น ฝ่�ยประส�นง�นร�ชก�รและ ฝ่�ยธุรก�รร่วมกับภ�ครัฐและชุมชนท้องถิ่น ฝ่�ยก�รเงินร่วม กับตล�ดเงินและสถ�บันก�รเงิน ฝ่�ยนักลงทุนสัมพันธ์ร่วมกับ ตล�ดทุนและนักลงทุน ฝ่�ยสื่อส�รองค์กรร่วมกับสื่อมวลชนและ ส�ธ�รณะ ฯลฯ เร�ยังได้ริเริ่มกิจกรรมใหม่ๆ ในระหว่�งปีจำ�นวน ม�ก อ�ทิเช่น ก�รสรรสร้�งประสบก�รณ์ใหม่ๆ ให้กับลูกค้�ด้วย มุมมองท�งด้�นคว�มยั่งยืน และศักยภ�พในด้�นนวัตกรรม ของผลิตภัณฑ์ ก�รจับมือเป็นพันธมิตรกับองค์กรในภ�คประช� สังคมระดับส�กล เพื่อก�รลงทุนด้�นทรัพย�กรที่ยั่งยืน คว�ม ร่วมมือด้�นก�รวิจัยและพัฒน�เชิงลึก ร่วมกับภ�คก�รศึกษ� และภ�ครัฐเพื่อสร้�งฐ�นองค์คว�มรู้และวิทย�ก�รท�งด้�นอ�ห�ร ทะเล ก�รเข้�ไปมีส่วนและร่วมขับเคลื่อนก�รแก้ไขปัญห�ด้�น ทรัพย�กรและแรงง�นในเวทีต่�งๆ ร่วมกับลูกค้� สม�คมและ องค์กรท�งธุรกิจ หน่วยง�นภ�ครัฐ ภ�คประช�สังคม และชุมชน ก�รเข้�ร่วมแลกเปลี่ยนคว�มรู้ประสบก�รณ์ในง�นด้�นก�ร พัฒน�ที่ยั่งยืนกับองค์กรภ�คเอกชน หน่วยง�นกำ�กับตล�ดเงิน และตล�ดทุน เป็นต้น

เจ้าหนี้

บริษัทยึดมั่นในก�รปฏิบัติต�มเงื่อนไขสัญญ�ที่ได้ตกลงไว้อย่�ง สุจริตและเคร่งครัด เพื่อให้เจ้�หนี้ก�รค้�และสถ�บันก�รเงินได้รับ ผลตอบแทนที่ถูกต้องและยุติธรรม โดยจะหลีกเลี่ยงสถ�นก�รณ์ ที่จะนำ�ไปสู่คว�มขัดแย้งท�งผลประโยชน์ ตลอดจนไม่ปกปิด ข้อมูลหรือข้อเท็จจริง ซึ่งจะทำ�ให้เกิดคว�มเสียห�ยต่อเจ้�หนี้ แต่ ห�กมีเหตุที่จะทำ�ให้ไม่ส�ม�รถปฏิบัติต�มข้อผูกพันในสัญญ� บริษัทก็จะแจ้งเจ้�หนี้และสถ�บันก�รเงินเพื่อห�แนวท�งแก้ไข ปัญห�ร่วมกัน

คู่แข่ง

บริษัทประพฤติต�มกรอบกติก�ก�รแข่งขันที่ดีอย่�งยุติธรรม มี จรรย�บรรณ และอยู่ในกรอบของกฎหม�ย ไม่แสวงห�ข้อมูล ที่เป็นคว�มลับของคู่แข่งท�งก�รค้�ด้วยวิธีที่ไม่สุจริต จึงทำ�ให้ บริษัทไม่มีข้อพิพ�ทใดๆ ในเรื่องที่เกี่ยวกับคู่แข่งท�งก�รค้�

ความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม

บริษัทตระหนักถึงคว�มรับผิดชอบต่อสภ�พแวดล้อมของ ชุมชน สังคม และก�รอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยมีนโยบ�ยให้ก�ร สนับสนุนกิจกรรมของชุมชนโดยรอบโรงง�นทั้งด้�นคว�ม ปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมอย่�งดีที่สุด ได้แก่ โครงก�รเตรียม คว�มพร้อมเด็กก่อนวัยเรียน ทียูเอฟ แคร์ เซ็นเตอร์ ซึ่งเป็นก�ร ทำ�ง�นร่วมกันระหว่�งบริษัท มูลนิธิเครือข่�ยส่งเสริมคุณภ�พ ชีวิตแรงง�น และสถ�นศึกษ�ในจังหวัดสมุทรส�คร เพื่อปรับ พื้นฐ�นและเตรียมคว�มพร้อมให้แก่เด็กเย�วชนทั้งคนไทยและ ลูกหล�นแรงง�นข้�มช�ติในเขตจังหวัดสมุทรส�ครเพื่อเข้�สู่ ระบบก�รศึกษ�พื้นฐ�นของไทย ซึ่งสอดคล้องกับพันธกิจของ กระทรวงศึกษ�ธิก�รในก�รให้โอก�สท�งก�รศึกษ�อย่�งเท่� เทียมและยกระดับคุณภ�พและม�ตรฐ�นก�รศึกษ�สู่ประช�คม อ�เซียน โครงก�รทียูปันน้ำ�ใจสู่บ้�นเกิด ซึ่งเป็นโครงก�รต่อเนื่อง ของบริษัท ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้พนักง�นมีส่วนใน ก�รพัฒน�ชุมชนบ้�นเกิดของตนเองให้เข้มแข็ง เพื่อเกิดคว�มรัก และคว�มภ�คภูมิใจในตนเองและท้องถิ่น โครงก�รบริจ�คโลหิต ร่วมกับสภ�ก�ช�ดไทย ซึง่ เป็นกิจกรรมทีท่ �ำ ต่อเนือ่ งม�ถึง 9 ปี สำ�หรับกิจกรรมที่ดำ�เนินก�รตลอดปี 2559 ส�ม�รถดูร�ย ละเอียดเพิ่มเติมได้ในหัวข้อ “คว�มยั่งยืนที่ไทยยูเนี่ยน” ใน หน้� 80 ถึงหน้� 83 ของร�ยง�นประจำ�ปี


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

109 นอกเหนือไปจ�กนโยบ�ยที่กลุ่มบริษัทไทยยูเนี่ยนจะต้องดำ�เนิน กิจก�รให้สอดคล้องกับข้อกำ�หนด กฎหม�ย และพันธะสัญญ� อื่นๆ ที่กลุ่มบริษัทเกี่ยวข้อง และเป้�หม�ยในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) ของกลุ่มบริษัทที่จะลดก�รปลดปล่อยก๊�ซเรือน กระจกลงร้อยละ 30 ลดก�รใช้น้ำ�ลงร้อยละ 20 และลดขยะไปสู่ ก�รฝังกลบร้อยละ 20 ก�รให้คว�มรู้และฝึกอบรมพนักง�นจึง เป็นสิ่งที่จำ�เป็นอย่�งยิ่ง โดยส�ม�รถสรุปแผนดำ�เนินก�รได้ดังนี้ 1. ก�รมีนโยบ�ยด้�นสิ่งแวดล้อม อ�ชีวอน�มัยและคว�ม ปลอดภัย ซึ่งมีก�รมุ่งเน้นก�รพัฒน�ศักยภ�พ ตลอดจน ก�รมีส่วนร่วมของพนักง�นในก�รป้องกันผลกระทบเชิง ลบต่อสิ่งแวดล้อม (http://www.thaiunion.com/ en/about/environment-health-and-safety) 2. ก�รจัดตั้ง ศูนย์คว�มเป็นเลิศด้�นสิ่งแวดล้อม อ�ชีว อน�มัย และคว�มปลอดภัย โดยใช้งบประม�ณก�รลงทุน จัดตั้งศูนย์กว่� 20 ล้�นบ�ท ซึ่งมีอุปกรณ์เทียบเคียงกับ ม�ตรฐ�นส�กลเพื่อเป็นศูนย์รวบรวมคว�มรู้ในเรื่องสิ่ง แวดล้อม อ�ชีวอน�มัย และคว�มปลอดภัย และเป็นศูนย์ ฝึกอบรมให้กับพนักง�น 3. ก�รอบรมพนักง�นทั้งก่อนเริ่มง�น และระหว่�งปฏิบัติง�น ก�รฝึกอบรมนี้จะถูกจัดขึ้นให้เหม�ะสมกับลักษณะง�นของ พนักง�นนั้นๆ เพื่อให้มั่นใจว่�พนักง�นจะมีคว�มรู้คว�ม เข้�ใจในวิธีป้องกันตัวเองจ�กอันตร�ยต่�งๆ และก�รลด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจ�กง�นที่ตนเองปฏิบัติอยู่ 4. ก�รประเมินคว�มสอดคล้องกับกฎหม�ยอย่�งต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจว่� พนักง�นได้รับก�รอบรมต�มกฎหม�ย หรือมีคุณสมบัติที่กฎหม�ยกำ�หนด ไม่ว่�จะเป็นด้�นสิ่ง แวดล้อม อ�ชีวอน�มัย หรือคว�มปลอดภัยในหน่วย ธุรกิจ และในปี 2560 เป็นต้นไป จะมีก�รเริ่มดำ�เนินก�รใน ก�รประเมินศักยภ�พพนักง�นในเรื่องสิ่งแวดล้อม อ�ชีว อน�มัย และคว�มปลอดภัยเพิ่มเติมจ�กที่กฎหม�ยท้อง ถิ่นกำ�หนด เพื่อให้มั่นใจว่�ก�รเพิ่มศักยภ�พของพนักง�น จะเป็นไปอย่�งเหม�ะสม มีประสิทธิภ�พ และส�ม�รถเทียบ เคียงในระดับส�กล

การเคารพสิทธิและทรัพย์สินทางปัญญา

บริษัทไม่อนุญ�ตให้พนักง�นใช้โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่ผิด กฎหม�ย โดยกำ�หนดระเบียบและส่งเสริมให้พนักง�นปฏิบัติ ต�มพระร�ชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 อย่�งเคร่งครัด

การต่อต้านการคอร์รัปชั่น

บริษัทได้ลงน�มประก�ศเจตน�รมณ์เป็นแนวร่วมปฏิบัติ (Collective Action Coalition) ของภ�คเอกชนไทยในก�ร ต่อต้�นก�รทุจริต เมื่อวันที่ 20 สิงห�คม 2558 สำ�หรับนโยบ�ย ต่อต้�นก�รคอร์รัปชั่น มีร�ยละเอียดกำ�หนดไว้ดังนี้ บริษัทจะไม่ยอมรับก�รคอร์รัปชั่นในทุกรูปแบบ โดยครอบคลุม ธุรกิจและร�ยก�รทั้งหมดในทุกประเทศและทุกหน่วยง�นที่ เกี่ยวข้อง พร้อมกันนี้ บริษัทได้จัดทำ�แนวปฏิบัติ และกำ�หนด ขั้นตอนก�รปฏิบัติเพื่อต่อต้�นก�รคอร์รัปชั่นซึ่งมีร�ยละเอียด ข้อปฎิบัติที่เคร่งครัด เพื่อป้องกัน และ/หรือจัดก�รกับก�ร คอร์รัปชั่นในทุกรูปแบบ เพื่อให้ก�รปฏิบัติเป็นไปต�มนโยบ�ย นี้ ทั้งนี้ บริษัทมีก�รสอบท�นแนวปฏิบัติและขั้นตอนก�รปฏิบัติ อย่�งสม่ำ�เสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับก�รเปลี่ยนแปลงของ กฎหม�ย ธุรกิจ และดำ�รงไว้ซึ่งก�รดำ�เนินธุรกิจบนฐ�นของคว�ม ถูกต้องและเป็นธรรม โดยกรรมก�ร ผู้บริห�ร และพนักง�นทุก

คนต้องปฏิบัติต�มนโยบ�ยนี้โดยทั่วกัน และสื่อส�รนโยบ�ยนี้ ไปยังผู้มีส่วนได้เสียภ�ยนอกทร�บ เพื่อป้องกันคว�มเสี่ยงต่อ ก�รคอร์รัปชั่น บริษัทจะให้คว�มคุ้มครองต่อกรรมก�ร ผู้บริห�ร หรือพนักง�น ที่ปฏิเสธก�รคอร์รัปชั่น เพื่อให้เป็นไปต�มนโยบ�ย ต่อต้�นคอร์รัปชั่น และแนวปฏิบัติเพื่อต่อต้�นก�รคอร์รัปชั่นนี้ ก�รกระทำ�ใดๆ ของบุคล�กรของบริษัท ที่เป็นก�รคอร์รัปชั่น ให้ ถือเป็นคว�มผิดขั้นร้�ยแรงต่อระเบียบวินัยเกี่ยวกับเรื่องทั่วไป และให้ได้รับก�รพิจ�รณ�โทษท�งวินัย ต�มระเบียบข้อบังคับใน ก�รทำ�ง�นของบริษัท

หน้าที่และความรับผิดชอบ

1) คณะกรรมก�รบริษัทมีหน้�ที่ตรวจสอบและกำ�กับ ให้ มั่นใจว่�ก�รดำ�เนินธุรกิจมีคว�มโปร่งใส ตรวจสอบได้ และเป็น ไปต�มนโยบ�ย แนวปฏิบัติ และขั้นตอนก�รปฏิบัติ ด้�นก�ร ต่อต้�นคอร์รัปชั่น โดยคณะกรรมก�รตรวจสอบทำ�หน้�ที่ กำ�กับดูแลก�รควบคุมภ�ยในที่ครอบคลุมทั้งด้�นก�รเงิน และก�รดำ�เนินก�ร ของกระบวนก�รท�งบัญชีและก�รเก็บ บันทึกข้อมูล รวมถึงกระบวนก�รอื่นๆในบริษัทที่เกี่ยวข้อง กับม�ตรก�รต่อต้�นก�รคอร์รัปชั่น จัดให้มีช่องท�งในก�ร ร้องเรียนหรือแจ้งเบ�ะแสก�รกระทำ�อันอ�จนำ�สู่ก�รคอร์รัปชั่น ก�รให้คำ�แนะนำ�เกี่ยวกับก�รปฏิบัติต�มม�ตรก�รต่อต้�นก�ร คอร์รัปชั่น และร�ยง�นผลก�รตรวจสอบต่อคณะกรรมก�ร บริษัทอย่�งสม่ำ�เสมอ 2) ผู้บริห�รมีหน้�ที่นำ�นโยบ�ยต่อต้�นคอร์รัปชั่นนี้ไปปฏิบัติ รวมทั้งสื่อส�รนโยบ�ยและสร้�งคว�มตระหนักแก่ผู้มีส่วนได้ เสียทั้งภ�ยในและภ�ยนอกองค์กร โดยกำ�หนดให้มีระบบก�ร บริห�รจัดก�รและม�ตรก�รที่เหม�ะสมในก�รกำ�กับและส่ง เสริมก�รดำ�เนินก�ร และทบทวนระบบและม�ตรก�รก�รต่อ ต้�นคอร์รัปชั่นอย่�งต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นไปต�มเจตน�รมณ์ และสอดคล้องกับก�รเปลี่ยนแปลงของกฎหม�ยและธุรกิจ 3) ผู้บริห�รและพนักง�นทุกระดับมีหน้�ที่เฝ้�ระวังและ ป้องกันคว�มเสี่ยงด้�นก�รคอร์รัปชั่น ในง�นที่รับมอบหม�ย รวมทั้งแจ้งเบ�ะแส ห�กพบก�รกระทำ�อันส่อทุจริตหรือเสี่ยง ต่อก�รคอร์รัปชั่น ข้อปฏิบัติทั่วไป 1) กรรมก�ร ผู้บริห�ร และพนักง�น ต้องปฏิบัติหน้�ที่ก�ร ง�น โดยไม่อ�ศัย หรือยินยอมให้ผู้อื่นอ�ศัยอำ�น�จหน้�ที่ ในตำ�แหน่งของตน ไม่ว่�โดยท�งตรงหรือท�งอ้อม รวมถึง ก�รเรียกร้อง หรือ ดำ�เนินก�ร เพื่อก�รคอร์รัปชั่น โดยยัง ประโยชน์อันมิชอบต่อตนเองหรือผู้อื่น 2) นอกเหนือจ�กก�รปฏิบัติง�นในหน้�ที่ที่ได้รับมอบหม�ย แล้ว ก�รกระทำ�ในข้อ 1 ให้หม�ยรวมถึง

• ก�รให้ หรือรับ ของขวัญ หรือบริก�ร • ก�รให้ หรือรับ เงินสด หรือสิ่งของแทนเงินสด • ก�รติดสินบนเจ้�หน้�ที่ของรัฐหรือบุคคลภ�ยนอก หรือก�ร รับสินบน • ก�รยักยอกทรัพย์สิน หรือเวล�ง�นของบริษัท • ก�รฟอกเงิน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

110 • ก�รยับยั้ง หรือขัดขว�ง กระบวนก�รยุติธรรม และ กระบวนก�รต�มกฎหม�ย • ก�รช่วยเหลือท�งก�รเมือง ไม่ว่�จะเป็นท�งด้�นก�รเงินหรือ รูปแบบอื่นๆ อ�ทิ ก�รให้สิ่งของและบริก�ร ก�รโฆษณ�ส่ง เสริม • ก�รบริจ�คเพื่อก�รกุศล • เงินสนับสนุน เพื่อก่อให้เกิดผลประโยชน์ อันไม่พึงจะมี หรืออันมิควรจะได้ ต่อตนเองหรือผู้อื่น

ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการให้และรับของขวัญ ค่าบริการ และค่า ใช้จ่ายอื่นๆ 1) ห้�มกรรมก�ร ผู้บริห�ร และพนักง�น เรียกร้อง รับ หรือ จ่�ยผลประโยชน์ใดๆ ในรูปเงินทดแทน ของขวัญ ของมีค่�ใดๆ รวมถึง บริก�รต่�งๆ จ�กคู่ค้� ตัวแทนซื้อข�ย เจ้�หนี้ บุคคล ภ�ยนอก หรือ คู่แข่งของบริษัท ไม่ว่�กรณีใดๆ ทั้งสิ้น ที่ไม่ สุจริต หรือเป็นก�รเอื้อประโยชน์ต่อคู่ค้� หรือ ตัวแทนซื้อข�ย เจ้�หนี้ บุคคลภ�ยนอกและตนเอง 2) ก�รเลี้ยงรับรอง รับ หรือให้ของขวัญต�มประเพณี ให้เป็น ไปต�มระเบียบข้อบังคับในก�รทำ�ง�นของบริษัท หรือในกรณี ที่ไม่มีระเบียบข้อบังคับกำ�หนดไว้ ให้ดำ�เนินก�รอย่�งเหม�ะสม รัดกุม โปร่งใส และปร�ศจ�กวัตถุประสงค์แอบแฝงดังกล่�ว ข้�งต้น

การแจ้งเบาะแสและข้อร้องเรียน

บริษัทได้จัดให้มีช่องท�งแจ้งเบ�ะแสหรือข้อร้องเรียนที่แสดงว่�ผู้ มีส่วนได้เสียได้รับผลกระทบอันจะก่อให้เกิดคว�มเสียห�ยจ�ก ก�รดำ�เนินง�นของบริษัท หรือก�รที่พนักง�นคนใดหรือกลุ่มใด กระทำ�ก�รใดที่ทุจริต ผิดกฏหม�ย โดยส�ม�รถยื่นเรื่องได้ที่ ประธ�นคณะกรรมก�รตรวจสอบ หรือ ผู้จัดก�รฝ่�ยตรวจสอบภ�ยใน บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำ�กัด(มห�ชน) ชั้น 23 อ�ค�รเอสเอ็มท�วเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงส�มเสนใน เขตพญ�ไท กรุงเทพมห�นคร 10400 โทรศัพท์ 0-2298-0024 ต่อ 4340 โทรส�ร 0-2298-0024 ต่อ 4369 โดยผู้แจ้งเบ�ะแสหรือข้อร้องเรียนทั้งที่เป็นพนักง�น ลูกค้� บุคคลที่รับจ้�งทำ�ง�นให้แก่บริษัท หรือผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่น ที่เป็นผู้แจ้งเบ�ะแส จะได้รับก�รปกป้องและคุ้มครองสิทธิต�ม กฎหม�ย หรือต�มแนวท�งที่บริษัทได้กำ�หนดไว้

การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส

คณะกรรมก�รบริษัทมีนโยบ�ยในก�รเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญที่ เกี่ยวข้องกับบริษัททั้งข้อมูลท�งก�รเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูล ท�งก�รเงินอย่�งถูกต้อง ครบถ้วน ตรงเวล� โดยเผยแพร่ผ่�น ช่องท�งของตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและท�งเว็บไซต์นัก ลงทุนสัมพันธ์ของบริษัททั้งภ�ษ�ไทยและภ�ษ�อังกฤษ เพื่อให้ ผู้ถือหุ้น นักลงทุนสถ�บัน และบุคคลใดๆ ส�ม�รถเข้�ถึงข้อมูลได้ อย่�งเท่�เทียมกัน และน่�เชื่อถือ คณะกรรมก�รบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบก�รเงินรวมของ บริษัทและบริษัทย่อย และส�รสนเทศท�งก�รเงินที่ปร�กฏใน ร�ยง�นประจำ�ปี งบก�รเงินดังกล่�วจัดทำ�ขึ้นต�มม�ตรฐ�นก�ร บัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือกนโยบ�ยบัญชีที่เหม�ะสมและถือ ปฏิบัติอย่�งสม่ำ�เสมอและใช้ดุลยพินิจอย่�งระมัดระวัง รวมทั้งมี ก�รเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญอย่�งเพียงพอในหม�ยเหตุประกอบงบ ก�รเงิน คณะกรรมก�รได้จัดทำ�ร�ยง�นคว�มรับผิดชอบของคณะ กรรมก�รต่อร�ยง�นท�งก�รเงิน โดยแสดงควบคู่กับร�ยง�นของ ผู้สอบบัญชีไว้ในร�ยง�นประจำ�ปีของบริษัท เพื่อแสดงให้เห็นว่� ร�ยง�นท�งก�รเงินถูกต้องเป็นจริงและสมเหตุสมผล โดยปฏิบัติ ต�มม�ตรฐ�นก�รบัญชี และนโยบ�ยก�รบัญชีที่เหม�ะสมโดยถือ ปฏิบัติอย่�งสม่ำ�เสมอ คณะกรรมก�รมีคว�มเห็นว่�ระบบก�รควบคุมภ�ยในของบริษัท โดยรวมอยู่ในระดับที่น่�พอใจและส�ม�รถให้คว�มมั่นใจอย่�ง มีเหตุผลต่อคว�มเชื่อถือได้ของงบก�รเงินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันว�คม 2559 ซึ่งผู้สอบบัญชีของบริษัทได้ตรวจสอบต�ม ม�ตรฐ�นก�รสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปแล้ว


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

111 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

• ค่�ตอบแทนของกรรมก�ร เป็นค่�ตอบแทนร�ยเดือน ค่�เบี้ย ประชุมกรรมก�ร และโบนัสประจำ�ปี ซึ่งถือว่�อยู่ในเกณฑ์เฉลี่ย เมื่อเทียบกับอุตส�หกรรมเดียวกัน และเพียงพอต่อหน้�ที่และ คว�มรับผิดชอบที่คณะกรรมก�รได้รับ ซึ่งได้ขออนุมัติจ�ก ผู้ถือหุ้นแล้ว นอกจ�กนี้กรรมก�รก็ไม่ได้รับค่�ตอบแทนจ�ก บริษัทย่อย • ค่�ตอบแทนกรรมก�รและกรรมก�รที่เป็นผู้บริห�ร เป็นค่� ตอบแทนร�ยเดือนและค่�เบี้ยประชุมกรรมก�ร เงินสมทบ กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ และโบนัสประจำ�ปี ซึ่งพิจ�รณ�จ�ก ผลก�รดำ�เนินง�นของบริษัท ผลก�รปฏิบัติง�นประจำ�ปีของผู้ บริห�รแต่ละท่�น

• ค่�ตอบแทนผู้บริห�ร เป็นเงินเดือน เงินสมทบกองทุนสำ�รอง เลี้ยงชีพ และโบนัสประจำ�ปี ซึ่งพิจ�รณ�จ�กผลก�รดำ�เนินง�น ของบริษัท ผลก�รปฏิบัติง�นประจำ�ปีของผู้บริห�รแต่ละท่�น ซึ่ง สอดคล้องกับก�รจ่�ยผลตอบแทนของอุตส�หกรรมเดียวกัน ส่วนอัตร�ก�รจ่�ยเงินโบนัส กรณีที่ผลง�นเป็นไปต�มเป้� หม�ยทั้งในส่วนของพนักง�นและบริษัท ผู้บริห�รจะได้รับเงิน ร�งวัลในอัตร�ร้อยละ 25 – 30 ของเงินเดือนรวมทั้งปี • ค่�ตอบแทนอื่นๆ นอกเหนือจ�กค่�ตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ได้แก่ วงเงินประกันคุ้มครองสุขภ�พไม่เกิน 700,000 บ�ท สำ�หรับกรรมก�รที่มีอ�ยุน้อยกว่� 70 ปี และมีถิ่นพำ�นักใน ประเทศไทย

รายชื่อคณะกรรมการ

ตำาแหน่ง

ค่าตอบแทนรายเดือน เบี้ยประชุม และโบนัสประจำาปี

1. น�ยไกรสร จันศิริ

ประธ�นกรรมก�ร

3,147,692.00

2. น�ยเชง นิรุตติน�นนท์

ประธ�นคณะกรรมก�รบริห�ร

1,558,846.00

3. น�ยธีรพงศ์ จันศิริ

ประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร

1,653,846.00

4. น�ยชวน ตั้งจันสิริ

กรรมก�รบริห�ร

1,573,846.00

5. น�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ

ประธ�นกรรมก�รบริห�รกลุ่มธุรกิจกุ้ง

1,573,846.00

6. น�ยช�น ชู ชง

กรรมก�รบริห�ร

1,653,846.00

7. น�ยคิโยท�กะ คิคูชิ (เริ่ม 7 พ.ย.59)

กรรมก�รที่ไม่เป็นผู้บริห�ร

65,000.00

8. น�ยร�วินเดอร์ สิงห์ เกรว�ล ซ�บจิตต์ เอส

กรรมก�รที่ไม่เป็นผู้บริห�ร

1,573,846.00

9. น�ยศักดิ์ เกี่ยวก�รค้�

กรรมก�รอิสระ

2,413,846.00

10. ดร.ธรรมนูญ อ�นันโทไทย

กรรมก�รอิสระ

2,233,846.00

11. น�ยกีรติ อัสสกุล

กรรมก�รอิสระ

1,798,846.00

12. น�ยน�ถ ลิ่วเจริญ

กรรมก�รอิสระ

1,843,846.00 21,091,152.00


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

112 ซึ่งบริษัทเห็นว่�ค่�ตอบแทนร�ยปีของคณะกรรมก�รและผู้บริห�ร รวมกันเป็นจำ�นวนไม่สูงเมื่อเทียบกับผลตอบแทนโดยเฉลี่ยของ บริษัทที่จดทะเบียนในตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เนื่องจ�ก

บริษัทคำ�นึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นเป็นหลัก สำ�หรับค่� ตอบแทนของกรรมก�รและผู้บริห�รในปี 2559 เทียบกับปีก่อน เป็นดังนี้

หน่วย:ล้�นบ�ท ปี 2558

ปี 2559

คณะกรรมก�ร

ผู้บริห�ร

คณะกรรมก�ร

ผู้บริห�ร

จำ�นวน (คน) ค่�ตอบแทน / เบี้ยประชุม โบนัสกรรมก�ร เงินเดือน / โบนัส เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ

12 7.35 -

10 102.85 4.95

12 7.52 15.00 -

10 99.79 5.44

รวม

7.35

107.80

22.52

105.23

คณะกรรมก�รเห็นคว�มสำ�คัญของก�รเปิดเผยข้อมูลที่มีคว�ม ถูกต้อง ครบถ้วน และโปร่งใส ให้กับผู้ถือหุ้นทุกท่�นตลอดจนผู้ ลงทุนและผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับทร�บอย่�งเท่�เทียมกัน บริษัทจึงได้ จัดให้มีก�รสื่อส�รข้อมูลของบริษัทในส่วนของก�รดำ�เนินง�นและ สถ�นะท�งก�รเงินภ�ยใต้กรอบของกฎหม�ย อย่�งชัดเจนทัน เวล� เพื่อทำ�ให้กลุ่มเป้�หม�ยมีคว�มเข้�ใจในบริษัทได้อย่�งถูก ต้อง ซึ่งจะทำ�ให้บริษัทได้รับก�รยอมรับและสนใจที่จะเข้�ม�ลงทุน อีกทั้งยังทำ�ให้บริษัทได้รับมุมมองของส�ธ�รณชนที่มีต่อบริษัท ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในก�รว�งเป้�หม�ยและกลยุทธ์ของบริษัทต่อไป โดยจัดตั้งขึ้นเป็นหน่วยง�นนักลงทุนสัมพันธ์ ที่มีผู้บริห�รและ ผู้ทำ�หน้�ที่รับผิดชอบง�นติดต่อสื่อส�รกับส�ธ�รณชนไว้อย่�ง ชัดเจน ดังนี้ 1. คุณธีรพงศ์ จันศิริ ประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร 2. คุณยอร์ค ไอร์เล ประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�รด้�นก�รเงิน กลุ่มบริษัท 3. คุณว�ย ยัท ป�โก้ ลี ผู้จัดก�รทั่วไปฝ่�ยนักลงทุนสัมพันธ์ และฝ่�ยก�รลงทุนของบริษัท 4. คุณบัลลังก์ ไวย�นนท์ ผู้จัดก�รฝ่�ยนักลงทุนสัมพันธ์ สำ�หรับในปี 2559 บริษัทมีก�รนำ�เสนอผลก�รดำ�เนินง�น ข้อมูล ท�งก�รเงิน ข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลท�งก�รเงินแก่นักวิเคร�ะห์ นักลงทุน ผู้ถือหุ้น อย่�งต่อเนื่อง สรุปดังนี้ • Company Visit จ�กนักลงทุนและนักวิเคร�ะห์ 55 ครั้ง • Conference Call 46 ครั้ง • Analysts Meeting กับนักวิเคร�ะห์ 5 ครั้ง คือ หลัง ประก�ศผลก�รดำ�เนินง�นและก�รเข้�ซื้อกิจก�ร • Opportunity Day by SET 4 ครั้ง • Plant Visit กับนักวิเคร�ะห์และนักลงทุน 6 ครั้ง • Plant Visit กับผู้ถือหุ้นร�ยย่อย 1 ครั้ง

• Oversea Roadshow 17 ครั้ง • Local Roadshow 7 ครั้ง นอกจ�กนี้ บริษัทยังได้จัดทำ�เอกส�รเพื่อก�รเปิดเผยข้อมูลให้กับ ส�ธ�รณชนรับทร�บ ตลอดจนเผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทที่ www.thaiunion.com ดังนี้ • เอกส�รอธิบ�ยผลก�รดำ�เนินง�น (Investor Note) ให้กับ ผู้ลงทุนและนักวิเคร�ะห์หลักทรัพย์ เป็นร�ยไตรม�ส • เอกส�รสรุปข้อมูลของบริษัท (Presentation) ให้กับ ผู้ลงทุนและนักวิเคร�ะห์หลักทรัพย์ เป็นร�ยไตรม�ส • ว�รส�ร TUF IR-Newsletters ให้กับผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน เพื่อ ร�ยง�นข่�วส�รและกิจกรรมต่�งๆ ของบริษัท ทุกไตรม�ส • ปฏิทิน IR/ ร�ค�วัตถุดิบ และร�ยละเอียดก�รจ่�ยชำ�ระหนี้ ระยะย�ว ไว้ในเว็บไซด์ของบริษัททุกครั้งที่มีก�รเปลี่ยนแปลง • ร�ยง�นประจำ�ปี ให้กับผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้ที่สนใจศึกษ� ข้อมูลของบริษัท เป็นร�ยปี • ก�รร�ยง�นหรือก�รแจ้งข้อมูลของบริษัทในกรณีที่มีก�ร เปลี่ยนแปลงใดๆ ที่ควรเปิดเผยต�มประก�ศที่สำ�นักง�นคณะ กรรมก�รกำ�กับหลักทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ รวมถึง ตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้กำ�หนดไว้


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

113 จ�กก�รที่บริษัทให้คว�มสำ�คัญกับก�รเปิดเผยข้อมูลด้วยคว�ม โปร่งใสม�โดยตลอด ทำ�ให้บริษัทได้รับร�งวัลต่�งๆ ดังนี้ • ร�งวัลบริษัทที่มีก�รบริห�รจัดก�รยอดเยี่ยมประจำ�ปี 2559 ของนิตยส�รไฟแนนซ์ เอเชีย • ร�งวัลจ�กผลสำ�รวจผู้บริห�รในเอเชีย ประเภทบริษัทไทยใน หมวดสินค้�อุปโภคบริโภค โดย Institutional Investor ซีอีโอยอดเยี่ยม น�ยธีรพงศ์ จันศิริ • ร�งวัลด้�นนักลงทุนสัมพันธ์ยอดเยี่ยมประจำ�ปี 2559 จ�ก ตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในกลุ่มบริษัทจดทะเบียนใน ตล�ดหลักทรัพย์ที่มีมูลค่�หลักทรัพย์ต�มร�ค�ตล�ดระหว่�ง 3 หมื่นล้�นบ�ท ถึง 1 แสนล้�นบ�ท โดยทีมนักลงทุน สัมพันธ์ของบริษัท ไทยยูเนี่ยนให้บริก�รและข้อมูลด้�นนัก ลงทุนสัมพันธ์อย่�งมีประสิทธิภ�พ ตอบสนองรวดเร็ว และให้ ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้เกี่ยวข้องในก�รลงทุน • ร�งวัลจ�กสม�คมนักวิเคร�ะห์ก�รลงทุนที่มอบให้กับบริษัท จดทะเบียนประจำ�ปี 2558/2559 ประเภทอุตส�หกรรม เกษตรและอ�ห�ร ได้แก่ 1. ซีอีโอยอดเยี่ยม ได้แก่ น�ยธีรพงศ์ จันศิริ 2. ซีเอฟโอยอดเยี่ยม ได้แก่ มร.ยอร์ก ไอร์เล น�ยธีรพงศ์ จันศิริ ได้รับร�งวัลซีอีโอยอดเยี่ยมจ�กสม�คมนัก วิเคร�ะห์ก�รลงทุนเป็นปีที่ 7 ติดต่อกัน และบริษัทก็ได้รับร�งวัล จ�กสม�คมนักวิเคร�ะห์ก�รลงทุนต่อเนื่องทุกปีตั้งแต่เริ่มมีก�ร มอบร�งวัลในปี 2552

จรรยาบรรณธุรกิจ

บริษัทได้จัดทำ�ข้อพึงปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับจรรย�บรรณของคณะ กรรมก�ร ฝ่�ยบริห�ร และพนักง�น เพื่อให้ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ ในก�รทำ�ง�นด้วยคว�มซื่อสัตย์ สุจริต และมีคว�มเป็นธรรม ซึ่ง แนวท�งดังกล่�วได้สื่อส�รให้กรรมก�ร ฝ่�ยบริห�รและพนักง�น ทุกคนรับทร�บและถือปฏิบัติ ซึ่งบริษัทเชื่อว่�ก�รให้คว�มสำ�คัญ กับข้อพึงปฏิบัติที่ดีเหล่�นี้ จะส�ม�รถยกม�ตรฐ�นก�รกำ�กับ ดูแลให้สูงขึ้น อีกทั้งส่งเสริมคว�มเชื่อมั่นให้กับผู้ลงทุนในก�ร จัดก�รของบริษัท สร้�งคว�มยุติธรรมและคว�มน่�เชื่อถือของ ตล�ดทุน จรรย�บรรณของบริษัท มีเนื้อห�ครอบคลุมในเรื่อง ดังนี้ 1) คว�มรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ 2) คว�มรับผิดชอบต่อลูกค้� 3) คว�มรับผิดชอบต่อพนักง�น 4) คว�มรับผิดชอบต่อคู่ค้�และเจ้�หนี้ 5) คว�มรับผิดชอบต่อก�รแข่งขันท�งก�รค้� 6) คว�มรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม 7) คว�มรับผิดชอบต่อบริษัท 8) ก�รปฏิบัติต�มกฏหม�ย ระเบียบและข้อบังคับ 9) ก�รต่อต้�นก�รคอร์รัปชั่น 10) ก�รปกป้องและดูแลทรัพย์สินของบริษัท 11) ทรัพย์สินท�งปัญญ� 12) คว�มขัดแย้งท�งผลประโยชน์ 13) ร�ยก�รระหว่�งกันของกลุ่มบริษัท 14) ก�รใช้ข้อมูลภ�ยในและก�รซื้อข�ยหลักทรัพย์ของบริษัท 15) ก�รให้ข้อมูลหรือให้สัมภ�ษณ์ต่อส�ธ�รณชน

ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน

บริษัทได้จัดตั้งส�ยง�นตรวจสอบเป็นหน่วยง�นอิสระหน่วยง�น หนึ่งในบริษัท ปัจจุบันมี น�ยปองพล ผลิพืช ตำ�แหน่ง ผู้จัดก�ร ส�ยง�นตรวจสอบ จบก�รศึกษ�ระดับปริญญ�ตรี ส�ข�ก�ร สอบบัญชี จ�กมห�วิทย�ลัยหอก�รค้�ไทย และเป็นผู้สอบบัญชี รับอนุญ�ตเลขทะเบียน 8549 ของสภ�วิช�ชีพบัญชี รวมถึงได้ อบรมหลักสูตร Anti-Corruption – The Practical Guide ปี 2556 และปี 2559 ส�ยง�นตรวจสอบภ�ยในทำ�หน้�ที่สอดส่องดูแลระบบก�ร ควบคุมภ�ยในและตรวจสอบร�ยก�รที่สำ�คัญอย่�งสม่ำ�เสมอ ซึ่งครอบคลุมทั้งก�รดำ�เนินง�น และก�รกำ�กับดูแลก�รปฏิบัติ ง�น (Compliance control) ก�รบริห�รคว�มเสี่ยง และก�ร ให้คว�มสำ�คัญต่อร�ยก�รผิดปกติทั้งหล�ย เพื่อให้คว�มมั่นใจ ว่�บริษัทมีระบบที่มีประสิทธิผลซึ่งจะส่งเสริมคว�มน่�เชื่อถือให้ กับงบก�รเงิน โดยร�ยง�นตรงต่อคณะกรรมก�รตรวจสอบ และ ร�ยง�นด้�นก�รบริห�รต่อประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร ทั้งนี้ ส�ย ง�นตรวจสอบภ�ยในได้จัดทำ�แผนก�รตรวจสอบประจำ�ปี ซึ่ง พิจ�รณ�ต�มปัจจัยเสี่ยงของบริษัทและบริษัทย่อย โดยจะเน้น คว�มเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อก�รบรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัทและ คว�มถูกต้องของร�ยง�นท�งก�รเงิน โดยมีคณะกรรมก�รตรวจ สอบพิจ�รณ�สอบท�นและอนุมัติแผนก�รตรวจสอบประจำ�ปีดัง กล่�ว และติดต�มผลก�รตรวจสอบและผลก�รปฏิบัติง�นของ สำ�นักง�นตรวจสอบอย่�งสม่ำ�เสมอ ซึ่งที่ผ่�นม�จ�กร�ยง�นก�รตรวจสอบภ�ยใน พบว่�ก�รปฏิบัติ ง�นยังเป็นไปต�มระบบที่ว�งไว้ ตลอดจนมีระบบก�รควบคุม ภ�ยในที่ดีและมีประสิทธิภ�พ มีก�รกำ�หนดและประเมินคว�ม เสี่ยงของกิจก�ร กำ�หนดม�ตรก�รป้องกันและจัดก�รคว�มเสี่ยง และมีก�รกำ�กับดูแลก�รปฏิบัติต�มกฎหม�ยและข้อกำ�หนดที่ เกี่ยวข้อง โดยยังไม่พบประเด็นคว�มผิดพล�ดที่สำ�คัญ

การบริหารความเสี่ยง

คณะอนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยงมอบหม�ยให้คณะผู้บริห�ร เป็นผู้รับผิดชอบในก�รประเมินปัจจัยเสี่ยงทั้งจ�กภ�ยในและ ภ�ยนอกองค์กรอย่�งสม่ำ�เสมอ ซึ่งคณะทำ�ง�นจะประกอบด้วย ฝ่�ยบริห�รและผู้บริห�รระดับสูงในส�ยง�นที่เกี่ยวข้องกับปัจจัย เสี่ยงนั้นๆ โดยจะทำ�ก�รวิเคร�ะห์ถึงส�เหตุที่ทำ�ให้เกิดคว�มเสี่ยง เพื่อกำ�หนดม�ตรก�รบริห�รคว�มเสี่ยงออกเป็นแนวท�งในก�ร ปฏิบัติง�น เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดคว�มเสี่ยงนั้น หรือลดผลกระ ทบจ�กคว�มเสี่ยงนั้น รวมถึงก�รติดต�มผลให้มีก�รปฏิบัติต�ม ม�ตรก�รที่กำ�หนดไว้ และประส�นง�นกับคณะกรรมก�รตรวจ สอบ เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมก�รต่อไป

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน

บริษัทได้กำ�หนดม�ตรก�รป้องกันก�รใช้ข้อมูลภ�ยในเพื่อห�ผล ประโยชน์ของกรรมก�รและผู้บริห�รโดยก�รแจ้งให้ทุกท่�นรับ ทร�บหน้�ที่ในก�รร�ยง�นก�รเปลี่ยนแปลงก�รถือหลักทรัพย์ ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภ�วะต่อสำ�นักง�น กำ�กับหลักทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ต�มม�ตร� 59 แห่งพระ ร�ชบัญญัติหลักทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดย ทันทีไม่เกิน 3 วันทำ�ก�รหลังจ�กวันที่ ซื้อ ข�ย โอนหรือรับ โอนหลักทรัพย์ของบริษัท และไม่ให้กรรมก�รและผู้บริห�รหรือ


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

114 หน่วยง�นที่ได้รับทร�บข้อมูลภ�ยในเปิดเผยข้อมูลภ�ยในแก่ บุคคลภ�ยนอก หรือบุคคลที่ไม่มีหน้�ที่เกี่ยวข้อง และก�รไม่ซื้อ ข�ยหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วง 1 เดือน ก่อนที่งบก�รเงินหรือ ข้อมูลอื่นใดจะเผยแพร่ต่อส�ธ�รณชน เพื่อป้องกันก�รแสวงห� ผลประโยชน์จ�กก�รใช้ข้อมูลภ�ยในของบริษัท ซึ่งยังไม่ได้เปิดเผย ต่อส�ธ�รณชนและส่งผลกระทบต่อก�รเคลื่อนไหวของร�ค�ซื้อ ข�ยหลักทรัพย์ของบริษัทในตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นอกจ�กนี้ เลข�นุก�รบริษัทยังได้ร�ยง�นสถ�นะก�รถือครอง และก�รเปลี่ยนแปลงในหลักทรัพย์ของบริษัท ของกรรมก�ร และผู้บริห�รให้ประธ�นคณะกรรมก�รบริษัทและประธ�นคณะ กรรมก�รตรวจสอบรับทร�บ และนำ�เสนอสรุปร�ยง�นก�รถือ ครองและก�รเปลี่ยนแปลงในหลักทรัพย์ของบริษัทประจำ�ปี ให้ คณะกรรมก�รบริษัทรับทร�บในก�รประชุมคณะกรรมก�ร

นโยบายการทำารายการระหว่างกัน

นโยบ�ยก�รเข้�ทำ�ร�ยก�รระหว่�งกันของบริษัทและบริษัท ย่อย กำ�หนดให้คณะกรรมก�รตรวจสอบเป็นผู้ตรวจสอบก�ร ทำ�ร�ยก�รที่เกี่ยวโยงกันที่ต้องได้รับก�รพิจ�รณ�จ�กคณะ กรรมก�รบริษัท โดยคณะกรรมก�รบริษัทจะต้องดูแลให้บริษัท ปฏิบัติให้เป็นไปต�มประก�ศของคณะกรรมก�รกำ�กับตล�ดทุน และข้อบังคับ ประก�ศ คำ�สั่งหรือข้อกำ�หนดของตล�ดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย รวมถึงก�รปฏิบัติต�มข้อกำ�หนดเกี่ยวกับก�ร เปิดเผยข้อมูลก�รทำ�ร�ยก�รเกี่ยวโยง และก�รได้ม�หรือจำ�หน่�ย ไปซึ่งสินทรัพย์ของบริษัทและบริษัทย่อย ตลอดจนปฏิบัติต�ม ม�ตรฐ�นบัญชีที่กำ�หนดโดยสภ�วิช�ชีพบัญชี ทั้งนี้ คณะ กรรมก�รตรวจสอบจะเป็นผู้ให้คว�มเห็นเกี่ยวกับคว�มจำ�เป็นใน ก�รเข้�ทำ�ร�ยก�รและคว�มเหม�ะสมท�งด้�นร�ค�ของร�ยก�ร ร�ยก�รระหว่�งกันได้กระทำ�อย่�งยุติธรรม โดยพิจ�รณ�จ�ก เงื่อนไขต่�งๆ ให้เป็นไปต�มลักษณะก�รดำ�เนินก�รค้�ต�ม ร�ค�ตล�ดและเป็นไปต�มปกติธุรกิจก�รค้� (Fair and at arm’s length) และมีก�รเปรียบเทียบร�ค�ที่เกิดขึ้นกับบุคคล ภ�ยนอก ในกรณีที่คณะกรรมก�รตรวจสอบไม่มีคว�มชำ�น�ญ ในร�ยก�รระหว่�งกันที่เกิดขึ้น บริษัทจะจัดให้มีผู้เชี่ยวช�ญอิสระ หรือผู้สอบบัญชีของบริษัทเป็นผู้ให้คว�มเห็นเกี่ยวกับร�ยก�ร ดังกล่�ว เพื่อนำ�ไปใช้ประกอบก�รตัดสินใจของคณะกรรมก�ร ตรวจสอบ คณะกรรมก�รบริษัท และผู้ถือหุ้น ต�มแต่กรณี ซึ่ง ผู้ที่อ�จมีคว�มขัดแย้งท�งผลประโยชน์หรือมีส่วนได้เสียในก�ร ทำ�ร�ยก�รระหว่�งกันจะไม่มีสิทธิออกเสียงในก�รอนุมัติก�รทำ� ร�ยก�รระหว่�งกันดังกล่�ว โดยบริษัทจะเปิดเผยร�ยก�รระหว่�ง กันไว้ในหม�ยเหตุประกอบงบก�รเงินที่ได้รับก�รตรวจสอบจ�ก ผู้สอบบัญชีรับอนุญ�ตของบริษัท และในร�ยง�นประจำ�ปี รวมถึง แบบแสดงร�ยก�รข้อมูล (แบบ 56-1)

นโยบายเกี่ยวกับรายการระหว่างกันในอนาคต

บริษัทยังคงมีก�รทำ�ร�ยก�รระหว่�งกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้อง กันต่อไปในอน�คต เนื่องจ�กก�รทำ�ธุรกิจดังกล่�วถือเป็นก�ร ดำ�เนินธุรกิจร่วมกันต�มปกติของผู้ประกอบก�รในอุตส�หกรรม เดียวกัน โดยกำ�หนดร�ค�ซื้อข�ยเป็นไปต�มร�ค�ตล�ดและเป็น ไปต�มปกติธุรกิจก�รค้� (Fair and at arm’s length) และ/ หรือต�มร�ยละเอียดที่ระบุในสัญญ�ท�งก�รค้� เพื่อให้มั่นใจ ว่�ร�ค�ดังกล่�วสมเหตุสมผลและคำ�นึงถึงผลประโยชน์สูงสุด ที่บริษัทจะได้รับเป็นสำ�คัญ รวมถึงคณะกรรมก�รตรวจสอบ และส�ยง�นตรวจสอบจะทำ�หน้�ที่เป็นผู้ดูแลและตรวจท�นก�ร ดำ�เนินง�นของบริษัทให้เป็นไปต�มกฏระเบียบ ข้อบังคับ และ ประก�ศของสำ�นักง�นคณะกรรมก�รกำ�กับหลักทรัพย์และ ตล�ดหลักทรัพย์ และตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยที่ กรรมก�รหรือผู้บริห�รซึ่งมีส่วนได้เสียในเรื่องใดๆ ไม่มีสิทธิออก เสียงในที่ประชุมและไม่อยู่ในที่ประชุมนั้น


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

115

รายงานคณะอนุกรรมการ บริหารความเสีย่ ง 2559 เรียน คณะกรรมการบริษัทและผู้ถือหุ้น คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบ หมายจากคณะกรรมการบริษัท และทำาหน้าที่ตามกฎบัตรคณะ อนุกรรมการบริหารความเสี่ยงในการกำากับดูแลกระบวนการ บริหารความเสี่ยงโดยรวมขององค์กรให้มีประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพ คณะอนุกรรมการสนับสนุนการปฏิบัติงานตาม กระบวนการดังกล่าวเพื่อให้เป็นไปตามแนวทางการปฏิบัติที่ดีของ ทั้งคณะกรรมการกำากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งมาตรฐานสากลต่างๆ คณะอนุกรรมการประกอบด้วย กรรมการอิสระ 3 ท่าน และผู้บริหารระดับสูงของบริษัท 6 ท่าน ซึ่งทุกท่านเป็น ผู้ทรงคุณวุฒิมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ จากหลากหลายสาขา โดยมีนายกีรติ อัสสกุล กรรมการ อิสระ เป็นประธานคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ในปี 2559 คณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้ง ดร.สเวน แมสเซน ผู้อำานวยการกลยุทธ์ของกลุ่มบริษัท เข้าร่วมเป็น อนุกรรมการบริหารความเสีย่ งแทน นายเฟซอล เชียคห์ ที่ขอลาออกจากตำาแหน่งก่อนครบกำาหนดวาระ ในปี 2559 คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ได้ปฏิบัติหน้าที่โดยสรุปสาระสำาคัญ ได้ดังนี้ • ตรวจสอบนโยบายการบริหารความเสี่ยง ความ เสี่ยงที่ยอมรับได้ และกรอบการดำาเนินงาน ของกลุ่มบริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป • พิจารณาวัตถุประสงค์การบริหารความเสี่ยงใน ปี 2559 ของบริษัท รวมถึงแผนการพัฒนาการ บริหารความเสี่ยงและกรอบกำาหนดเวลา • กำากับดูแลการดำาเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยง รวม ทั้งการดำาเนินแผนบริหารความเสี่ยงกับบริษัทย่อย • กำากับดูแลการประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการประเมิน ความเสี่ยงในระดับกลุ่มบริษัท และบริษัทย่อย 6 แห่ง

• รับทราบและให้ความเห็นเรื่องความเพียงพอและความเหมาะ สมของผลการประเมินความเสี่ยง และการจำากัดความเสี่ยง • ติดตามลักษณะความเสี่ยงในระดับกลุ่มบริษัท และใน บริษัทย่อย ใน 5 ด้าน ประกอบไปด้วย ความเสี่ยงด้าน กลยุทธ์ ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ด้านความ เสี่ยงภัย ด้านการดำาเนินงาน และด้านการเงิน และให้ คำาแนะนำาแนวทางการบริหารความเสี่ยงกับผู้บริหาร • ดูแลการวิเคราะห์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัย ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และกฎระเบียบ • รายงานต่อคณะกรรมการบริหารในเรื่องความเสี่ยงที่มีสาระ สำาคัญ ตัวชี้วัดความเสี่ยงสำาคัญ พัฒนาการในด้าน การจัดการความเสี่ยงและการปรับปรุง ที่มีต่อบริษัท และบริษัทย่อย • เห็นชอบและเสนอกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ ในเรื่องดังต่อไปนี้: • รายงานของคณะอนุกรรมการบริหาร ความเสี่ยงสำาหรับปี 2558 • นโยบายการบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยงที่ยอม รับได้ และกรอบการทำางาน ของไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป • ความเสี่ยงองค์กรและตัวชี้วัดความ เสี่ยงที่สำาคัญสำาหรับปี 2559 • การแต่งตั้งอนุกรรมการเพื่อทำาหน้าที่แทน อนุกรรมการที่ยุติการดำาเนินหน้าที่ก่อนหมดวาระ • สื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลความเสี่ยงและการ จัดการความเสี่ยงกับคณะกรรมการตรวจสอบ


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

116 ปี 2559 คณะอนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยงมีก�รประชุมทั้งสิ้น 4 ครั้ง ร�ยง�นก�รเข้�ร่วมประชุมของแต่ละท่�น สรุปได้ดังนี้

นายกีรติ อัสสกุล

ประธ�นคณะอนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง เข้�ร่วมประชุม 4/4 ครั้ง

นายศักดิ์ เกี่ยวการค้า

อนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง เข้�ร่วมประชุม 3/4 ครั้ง

ดร. ธรรมนูญ อานันโทไทย

อนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง เข้�ร่วมประชุม 3/4 ครั้ง

4.

นายธีรพงศ์ จันศิริ

อนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง เข้�ร่วมประชุม 3/4 ครั้ง

5.

นายยอร์ก ไอร์เล

อนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง เข้�ร่วมประชุม 3/4 ครั้ง

6.

นายชู ชง ชาน

อนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง เข้�ร่วมประชุม 4/4 ครั้ง

7.

นายวาย ยัท ปาโก้ ลี

อนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง เข้�ร่วมประชุม 4/4 ครั้ง

ดร. แดเรี่ยน แมคเบน

อนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง เข้�ร่วมประชุม 2/4 ครั้ง

1.

กรรมก�รอิสระ 2.

กรรมก�รอิสระ 3.

กรรมก�รอิสระ

ประธ�นกรรมก�รบริห�รและประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร ประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�รด้�นก�รเงินกลุ่มบริษัท ผู้บริห�รกลุ่มทรัพย�กรบุคคล ผู้จัดก�รทั่วไปด้�นนักลงทุนสัมพันธ์

8.

ผู้อำ�นวยก�รกลุ่มก�รพัฒน�ที่ยั่งยืน 9.

ดร. สเวน แมสเซน

ผู้อำ�นวยก�รกลุ่มพัฒน�ธุรกิจเชิงกลยุทธ์

อนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง เข้�ร่วมประชุม 4/4 ครั้ง

นายกีรติ อัสสกุล ประธ�นคณะอนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

117

ความเสีย่ งและกลยุทธ์ในการ บริหารความเสีย่ ง ความเสี่ยงและกลยุทธ์ในการบริหารความเสี่ยง

ร�ยง�นนี้ให้ข้อมูลเชิงลึกและคำ�อธิบ�ยคว�มเสี่ยงที่เป็นส�ระ สำ�คัญต่อคว�มสำ�เร็จต�มวัตถุประสงค์ของบริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป ในปีพ.ศ. 2559 และรวมถึงปัจจัยเสี่ยงที่อ�จส่งผลกระทบ ต่อบริษัทในอีกส�มปีข้�งหน้� คว�มเสี่ยงทั้งสองประเภทถูกรวม ในบทนี้ แม้ว่�คว�มเสี่ยงบ�งอย่�งที่ได้รับก�รประเมินในปัจจุบัน ว่�ไม่มีผลกระทบอย่�งมีนัยสำ�คัญต่อธุรกิจในขณะนี้ แต่ในระยะ

ต่อม�อ�จพัฒน�ไปสู่ผลกระทบอย่�งมีนัยสำ�คัญ ทั้งนี้ บริษัทมีคว�มมุ่งมั่นในก�รดำ�เนินก�รบริห�รคว�มเสี่ยง เพื่อให้มั่นใจว่�ก�รระบุคว�มเสี่ยงและก�รควบคุมคว�มเสี่ยงจะ กระทำ�ตอบสนองต่อแนวโน้มคว�มเสี่ยงได้อย่�งทันเวล� ต�ร�งด้�นล่�งสรุปปัจจัยเสี่ยงต่�งๆที่สำ�คัญ มีก�รใช้สัญลักษณ์ ต่�งๆในก�รประเมินเพื่อแสดงว่�คว�มเสี่ยงเหล่�นี้ถูกค�ดว่�จะมี ก�รพัฒน�เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้�อย่�งไร

ภาพรวมความเสี่ยงของบริษัท ปัจจัยความเสี่ยง

ระดับความเสี่ยง

ความเสี่ยงทางกลยุทธ์ ก�รแข่งขันในอุตส�หกรรมปล�และอ�ห�รทะเล

สูง

อุปสรรคท�งก�รค้�ที่มิใช่ภ�ษี

สูง

คว�มเสี่ยงภ�ยหลังก�รควบรวมกิจก�ร

ป�นกล�ง-สูง

นวัตกรรมก�รแข่งขัน

ป�นกล�ง-สูง

ความเสี่ยงจากการดำาเนินงาน ร�ค�วัตถุดิบ ก�รจัดก�รสินค้�คงคลัง

สูง ป�นกล�ง-สูง

ความเสี่ยงทางกฎหมายและการปฏิบัติตาม กฎหม�ยและกฎระเบียบต่�งประเทศ

สูง

ความเสี่ยงทางการเงิน ก�รเปลี่ยนแปลงของภ�ษีระหว่�งประเทศและภ�ษีภ�ยใน ประเทศต่�ง ๆ

ป�นกล�ง-สูง

อัตร�แลกเปลี่ยน

ป�นกล�ง-สูง

มีก�รประเมินว่�คว�มเสี่ยงสูงขึ้น มีก�รประเมินว่�คว�มเสี่ยงคงที่

การเปลี่ยนแปลง (เทียบกับปี พ.ศ. 2558)


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

118

ความเสี่ยงทางกลยุทธ์ ความเสี่ยง

การบริหารจัดการ

การแข่งขันในอุตสาหกรรมปลาและอาหารทะเล ก�รเปลี่ยนแปลงอย่�งรวดเร็วของอุตส�หกรรมปล�และ อ�ห�รทะเลทำ�ให้เกิดคว�มท้�ท�ยเชิงกลยุทธ์สำ�หรับ ไทย ยูเนี่ยน กรุ๊ป ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ผลิตอ�ห�รทะเลที่ใหญ่ที่สุด ในโลก

ภ�ยใต้ภ�วะก�รแข่งขันเช่นนี้ ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป ได้มีก�รปรับกลยุทธ์ให้ มีคว�มยืดหยุ่นเพื่อให้สอดคล้องกับก�รเปลี่ยนแปลงอย่�งรวดเร็วของ อุตส�หกรรมปล�และอ�ห�รทะเล

แม้ว่�อุตส�หกรรมปล�และอ�ห�รทะเลทั่วโลกจะเติบโต อย่�งต่อเนื่องในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่�นม� แต่ก็ยังมีบ�งตล�ด ที่เติบโตช้�ลง โดยเฉพ�ะยุโรปและสหรัฐอเมริก�ที่ก�ร บริโภคปล�และอ�ห�รทะเลต่อประช�กรค่อนข้�งคงที่ใน สองปีที่ผ่�นม�ซึ่งต่ำ�กว่�ค่�เฉลี่ยทั่วโลก นอกจ�กนี้ ห�ก พิจ�รณ�จ�กอัตร�ก�รเติบโตของกลุ่มผลิตภัณฑ์ ขน�ด ตล�ดของผลิตภัณฑ์ปล�กระป๋องยังเผชิญอัตร�ก�รเจริญ เติบโตที่ต่ำ�กว่�กลุ่มผลิตภัณฑ์อ�ห�รทะเลอื่นๆ ทั่วโลก

เพื่อให้เกิดก�รเจริญเติบโตอย่�งแท้จริง บริษัทได้ขย�ยกลุ่มผลิตภัณฑ์ ให้มีคว�มหล�กหล�ยม�กขึ้น โดยก�รตั้งหน่วยธุรกิจ Marine Ingredients เพื่อนำ�ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่�เพิ่มสูงออกสู่ตล�ด และตั้ง หน่วยธุรกิจ Emerging Markets เพื่อขย�ยตล�ดไปยังภูมิภ�คอื่นๆ โดยเฉพ�ะเอเชียแปซิฟิกซึ่งเป็นภูมิภ�คที่เติบโตเร็วที่สุด นอกจ�กนี้ ยังได้จัดตั้งหน่วยธุรกิจ Food Service เพื่อขย�ยช่องท�งก�รข�ย โดยตรงให้กับลูกค้�

ปัจจัยเหล่�นี้ทำ�ให้ ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป ต้องปรับตัวเข้�กับ ก�รเปลี่ยนแปลงต่�งๆ และสร้�งคว�มส�ม�รถท�งก�ร แข่งขันที่แตกต่�งเพื่อสร้�งคว�มได้เปรียบในก�รแข่งขันและ ลดคว�มเสี่ยงดังกล่�ว

กลยุทธ์และโครงก�รเหล่�นี้จะช่วยให้บริษัทเพิ่มยอดข�ยและกำ�ไรเพื่อ บรรลุเป้�หม�ยร�ยได้จำ�นวน 8 พันล้�นเหรียญสหรัฐภ�ยในปี พ.ศ. 2563


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

119

ความเสี่ยงทางกลยุทธ์ ความเสี่ยง

การบริหารจัดการ

อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี อุตส�หกรรมอ�ห�รทะเลทั่วโลกเผชิญ อุปสรรคท�งก�รค้�ที่มิใช่ภ�ษีจำ�นวน ม�กที่เกี่ยวข้องกับก�รพัฒน�อย่�ง ยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ ส�ม�รถส่งผลกระทบต่อเงื่อนไขท�งก�ร ค้�หรือคว�มส�ม�รถในก�รแข่งขันด้�น ต้นทุน อุปสรรคท�งก�รค้�ที่มิใช่ภ�ษีที่ส่งผล กระทบต่อ ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป ประกอบ ด้วย • สหภ�พยุโรป – ก�รที่ประเทศไทย ได้รับก�รประเมินจ�กสหภ�พยุโรป ภ�ยใต้กฎระเบียบว่�ด้วยก�รประมง ที่ผิดกฎหม�ย ข�ดก�รร�ยง�น และ ไร้ก�รควบคุม (IUU) ในระดับใบ เหลือง • สหรัฐอเมริก� – ก�รจัดระดับ สถ�นก�รณ์ก�รค้�มนุษย์ของ ประเทศไทยในร�ยง�นก�รค้� มนุษย์ (Trafficking in Persons Report) • กฎหม�ยที่กำ�หนดให้มีก�รเปิด เผยร�ยละเอียดของข้อมูลในห่วงโซ่ อุปท�นม�กขึ้น ตัวอย่�งเช่น • ก�รใช้พระร�ชบัญญัติ US Trade Facilitation and Enforcement Act 2016 • ก�รบังคับใช้ พระร�ชบัญญัติ UK Modern Slavery Act 2015 • ก�รพิจ�รณ�ของประเทศ สหรัฐอเมริก�ว่�ด้วยก�ร ประมงที่ผิดกฎหม�ย ข�ดก�ร ร�ยง�น และไร้ก�รควบคุม (IUU)

คว�มยั่งยืนไม่ได้เป็นเพียงแค่ “สิ่งที่ถูกต้องที่ควรต้องทำ� “ แต่เป็นสิ่งจำ�เป็นต่อกลยุทธ์ ธุรกิจของ ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป เนื่องจ�กคว�มยั่งยืนสร้�งคว�มได้เปรียบในก�รแข่งขันให้กับ เร�ในอุตส�หกรรมอ�ห�รทะเล ในปี 2559 เร�มีคว�มก้�วหน้�ในก�รมุ่งสู่เป้�หม�ยก�ร พัฒน�อย่�งยั่งยืน โดยก�รดำ�เนินก�รผ่�นกลยุทธ์ก�รพัฒน�อย่�งยั่งยืนทั่วโลกของ ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป ที่มีชื่อว่� SeaChange® ซึ่งครอบคลุมทุกแง่มุมของธุรกิจของบริษัท จ�กวิธีก�รที่บริษัทดูแลมห�สมุทรถึงวิธีก�รจัดก�รของเสีย จ�กคว�มรับผิดชอบที่บริษัท ให้กับคนง�นในก�รสร้�งอน�คตที่สดใสสำ�หรับชุมชนรอบพื้นที่สำ�คัญของบริษัท คว�ม คิดริเริ่มเหล่�นี้ถูกดำ�เนินก�รภ�ยใต้สี่โครงก�ร 1. ก�รจัดห�แหล่งวัตถุดิบอย่�งรับผิดชอบ 2. ก�รดำ�เนินง�นที่มีคว�มรับผิดชอบ 3. แรงง�นปลอดภัยและถูกกฎหม�ย 4. ผู้คนและชุมชน คว�มสำ�เร็จที่สำ�คัญในปี พ.ศ. 2559 ประกอบด้วย • ก�รได้รับคัดเลือกให้อยู่ในดัชนีคว�มยั่งยืนด�วโจนส์เป็นปีที่ 3 ติดต่อกัน โดยมี คะแนนเพิ่มขึ้นจ�กเดิมอย่�งต่อเนื่องและร่วมในดัชนี FTSE4Good Emerging Index และยังได้รับร�งวัลอื่นอีกหล�ยร�งวัลสำ�หรับโครงก�รคว�มยั่งยืนของเร�ต่�งๆ • จรรย�บรรณและแนวปฏิบัติด้�นคว�มยั่งยืนของบริษัท: ในปี พ.ศ.2558 บริษัทได้ ปรับปรุงจรรย�บรรณและแนวปฏิบัติด้�นแรงง�น และในปีที่ผ่�นม� บริษัทบังคับใช้กับ คู่ค้�ท�งธุรกิจของบริษัททั่วโลก ซึ่งรวมถึงบริษัททั้งหมดภ�ยในกลุ่มของเร�และคู่ค้� ท�งธุรกิจของแต่ละบริษัท โดยแนวปฏิบัติมุ่งเน้นก�รคุ้มครองสุขภ�พของคนง�นและ คว�มปลอดภัยในสถ�นที่ทำ�ง�น http://www.thaiunion.com/en/sustain/tu-sustainability/code-ofconduct.ashx • ก�รตรวจสอบกองเรือยุโรป: บริษัทเริ่มกระบวนก�รตรวจสอบโดยองค์กรภ�ยนอก สำ�หรับกองเรือจัดห�ปล�ทูน่�ที่ส่งไปยังตล�ดยุโรปของเร�ซึ่งจะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2560 ก�รตรวจสอบจะตรวจก�รปฏิบัติต�มกฎระเบียบของสหภ�พยุโรป (EU) และ มูลนิธิคว�มยั่งยืนอ�ห�รทะเลระหว่�งประเทศ (ISSF) โดยอ้�งอิงข้อกำ�หนดด้�นก�ร ประมงที่ผิดกฎหม�ย ข�ดก�รร�ยง�น และไร้ก�รควบคุม (IUU) ม�ตรฐ�นคุณภ�พ และคว�มปลอดภัยของอ�ห�รและนโยบ�ยก�รพัฒน�อย่�งยั่งยืนและหลักปฏิบัติของ บริษัทไทยยูเนี่ยนกรุ๊ปเอง • คุ้มครองคนง�นที่ทำ�ง�นในก�รแปรรูปอ�ห�รเบื้องต้น ในปี พ.ศ. 2559 บริษัทนำ�คน ง�นในก�รแปรรูปอ�ห�รเบื้องต้นที่อยู่ในห่วงโซ่อุปท�นเข้�ทำ�ง�นโดยมีก�รทำ�สัญญ� จ้�งง�นที่โรงง�นของ ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป ในจังหวัดสมุทรส�คร ประเทศไทย ซึ่งก�รทำ� สัญญ�จ้�งแรงง�นโดยตรงนั้นทำ�ให้เร�ส�ม�รถรับประกันก�รจ้�งง�นที่ปลอดภัยและ ถูกกฎหม�ยก�รมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งได้ถูกพัฒน�ม�เป็นโครงก�ร SeaChange® กลยุทธ์เพื่อคว�มยั่งยืนของบริษัท และก�รเปิดตัวเว็บไซต์ใหม่ของ กลยุทธ์ดังกล่�ว http://seachangesustainability.org/ • พัฒน�และประก�ศคำ�มั่นสัญญ�ในก�รจัดห�วัตถุดิบปล�ทูน่�ทั้งหมดของ ไทยยูเนียน กรุ๊ป ต้องม�จ�กก�รประมงที่ผ่�นก�รรับรองต�มม�ตรฐ�นสำ�นักง�นคณะกรรมก�ร รับรองม�ตรฐ�นสินค้�ประมง (Marine Stewardship Council :MSC) หรือม� จ�กโครงก�รพัฒน�ก�รประมง(Fishery Improvement Projects) ซึ่งจะพัฒน� ขึ้นสู่ก�รได้รับก�รรับรองต�มม�ตรฐ�น MSC โดยเร�ตั้งเป้�ที่จะทำ�ให้ได้อย่�งน้อย 75% ภ�ยในสิ้นปี 2563


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

120 ความเสี่ยงทางกลยุทธ์ ความเสี่ยง

การบริหารจัดการ

ความเสี่ยงภายหลังการควบรวมกิจการ ไทยยูเนีย่ น กรุป๊ ประสบคว�ม สำ�เร็จในก�รเข้�ซือ้ กิจก�รเชิงกล ยุทธ์ม�กม�ยในช่วงสองปีทผ่ี �่ น ม� ก�รควบรวมและเข้�ซือ้ กิจก�ร ทัง้ หมดช่วยให้บริษทั ส�ม�รถ ขย�ยก�รเติบโตท�งธุรกิจต�ม แนวดิง่ ขย�ยกลุม่ ผลิตภัณฑ์ใหม่ และ/หรือขย�ยตล�ด โดยคว�ม ท้�ท�ยทีเ่ กิดขึน้ คือก�รบริห�ร จัดก�รคว�มเสีย่ งจ�กก�รไม่ได้ รับผลประโยชน์และมูลค่�ของก�ร ควบรวมกิจก�รนัน้ ธุรกิจของ ไทยยูเนีย่ น กรุป๊ มีอยูท่ ว่ั โลก และ ในฐ�นะกลุม่ บริษทั ข้�มช�ติ ไทยยู เนีย่ น กรุป๊ จึงต้องบริห�รจัดก�ร และบูรณ�ก�รธุรกิจใหม่ทเ่ี พิง่ เข้� ซือ้ ให้มปี ระสิทธิภ�พ และสร้�ง คว�มมัน่ ใจว่�กลุม่ บริษทั ได้รบั ประโยชน์และมูลค่�เพิม่ ต�มทีไ่ ด้ ค�ดก�รณ์ไว้

ภ�ยหลังก�รเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้นของก�รควบรวมหรือเข้�ซื้อกิจก�รทุกครั้ง ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป ตั้งใจที่จะดำ�เนินก�รจัดตั้งนโยบ�ยก�รกำ�กับดูแลกิจก�รและนโยบ�ยอื่นๆ ให้แก่บริษัท ที่ถูกควบรวมในทันที มิเช่นนั้น ก�รดำ�เนินนโยบ�ยและก�รกำ�กับดูแลต่�งๆ จะไม่ต่อเนื่อง แนวท�งก�รบูรณ�ก�รกิจก�รที่ควบรวม “100 วันแรก” และกระบวนก�รติดต�มประโยชน์ และมูลค่�เพิ่มนั้น ได้ถูกนำ�ม�ใช้เพื่อจัดก�รคว�มเสี่ยงนี้ ทัง้ นี้ แนวท�งก�รบูรณ�ก�รกิจก�รทีค่ วบรวมไม่ได้มมี �ตรฐ�นทีต่ �ยตัว แต่ระดับคว�มสำ�เร็จ ของก�รควบรวมธุรกิจขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยทีแ่ ตกต่�งกันในก�รควบรวมหรือเข้�ซือ้ กิจก�รแต่ละครัง้ ซึง่ ต่�งก็มเี หตุผลเชิงกลยุทธ์และประเภทของผลประโยชน์ทไ่ี ด้จ�กก�รรวมกิจก�รแตกต่�งกัน ต�มขน�ดและวัฒนธรรมของธุรกิจนัน้ ๆ สำ�หรับก�รร่วมลงทุน ไทยยูเนีย่ น กรุป๊ ก็มกี ระบวนก� รบูรณ�ก�รเช่นเดียวกับก�รควบรวมกิจก�รทีส่ มบูรณ์ โดยไทยยูเนีย่ นกำ�หนดแนวท�งบูรณ� ก�รใหม่ทกุ ครัง้ และพย�ย�มทำ�ให้เกิดผลประโยชน์รว่ มและมูลค่�เพิม่ อย่�งดีทส่ี ดุ นอกจ�กนี้ แม้แนวท�งก�รบูรณ�ก�รกิจก�รที่ควบรวมไม่ได้มีม�ตรฐ�นที่ต�ยตัว แต่ระดับ คว�มสำ�เร็จของก�รควบรวมธุรกิจขึ้นอยู่กับปัจจัยที่แตกต่�งกันในก�รควบรวมหรือเข้�ซื้อ กิจก�รแต่ละครั้ง ซึ่งต่�งก็มีเหตุผลเชิงกลยุทธ์และประเภทของผลประโยชน์ที่ได้จ�กก�รรวม กิจก�รแตกต่�งกันต�มขน�ดและวัฒนธรรมของธุรกิจนั้นๆ สำ�หรับก�รร่วมลงทุน ไทยยู เนี่ยน กรุ๊ป ก็มีกระบวนก�รบูรณ�ก�รเช่นเดียวกับก�รควบรวมกิจก�รที่สมบูรณ์ โดยไทย ยูเนี่ยนกำ�หนดแนวท�งบูรณ�ก�รใหม่ทุกครั้ง และพย�ย�มทำ�ให้เกิดผลประโยชน์ร่วมและ มูลค่�เพิ่มอย่�งดีที่สุด

ความเสี่ยงทางกลยุทธ์ ความเสี่ยง

การบริหารจัดการ

นวัตกรรมการแข่งขัน ธุรกิจของ ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป อ�ศัยคว�ม ต้องก�รแบรนด์และผลิตภัณฑ์ของเร�ทั่วโลก อย่�งต่อเนื่อง ก�รบรรลุเป้�หม�ยท�งธุรกิจ ของบริษัทส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับคว�มสำ�เร็จใน ก�รพัฒน� ก�รแนะนำ�และก�รทำ�ก�รตล�ด ผลิตภัณฑ์ใหม่และปรับปรุงอุปกรณ์และ กระบวนก�รผลิตอย่�งมีนัยสำ�คัญกับของ บริษัท คว�มสำ�เร็จของนวัตกรรมดังกล่�ว ขึ้นอยู่กับคว�มส�ม�รถของบริษัทที่จะค�ด เด�คว�มต้องก�รของลูกค้� รวมทั้งรสนิยม คว�มชอบและพฤติกรรมของผู้บริโภคซึ่งมี ก�รเปลี่ยนแปลงตลอดเวล� บริษัทต้องมีคว�มส�ม�รถที่จะตอบสนอง ต่อคว�มก้�วหน้�ท�งเทคโนโลยีและสิทธิใน ทรัพย์สินท�งปัญญ�ที่คู่แข่งได้รับ คว�มล้ม เหลวในก�รสร้�งสรรค์สิ่งใหม่ๆ อย่�งต่อ เนื่อง รวมทั้งคว�มล้มเหลวในก�รปรับปรุง และตอบสนองต่อก�รเคลื่อนไหวในก�ร แข่งขันอ�จทำ�ให้บริษัทข�ดคว�มส�ม�รถใน ก�รแข่งขันและส่งผลกระทบต่อผลก�รดำ�เนิน ง�นของบริษัท

ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป ตระหนักถึงแนวโน้มของผู้บริโภคที่กำ�ลังมีก�รเปลี่ยนแปลง ลูกค้�มีคว�มสนใจในนวัตกรรมผลิตภัณฑ์และกระบวนก�รผลิตม�กขึ้นและค�ด ว่�ตล�ดจะมีก�รแข่งขันด้�นนวัตกรรมที่สูงขึ้นเช่นเดียวกัน ด้วยคว�มตระหนักว่�นวัตกรรมที่เป็นร�กฐ�นสำ�หรับอน�คตของเร� บริษัทได้ให้ คว�มสำ�คัญกับนวัตกรรมให้เป็นหนึ่งในหกค่�นิยมหลักขององค์กรที่เร�ใช้เป็น หลักในก�รตัดสินใจท�งธุรกิจทุกครั้ง บริษัทไม่เคยหยุดนิ่งในก�รพัฒน�นวัตกรรมท�งด้�นอ�ห�รโดยทีมพัฒน�ของ เร�ซึ่งประกอบด้วยนักวิทย�ศ�สตร์ด้�นอ�ห�ร ผู้เชี่ยวช�ญด้�นก�รปรุงอ�ห�ร นักพัฒน�สูตรอ�ห�ร และผู้เชี่ยวช�ญก�รแปรรูปอ�ห�รม�กกว่� 200 คนร่วม กันพัฒน�สูตรอ�ห�รม�กกว่� 4,000 สูตรและผลิตภัณฑ์ในแต่ละปีที่แตกต่�งกัน ไป บริษัทจัดทำ�ก�รสำ�รวจคว�มพึงพอใจของลูกค้�เพื่อเข้�ใจคว�มต้องก�รของผู้ บริโภคของเร�อย่�งต่อเนื่อง ผลก�รสำ�รวจจ�กกลุ่มตัวอย่�งผู้บริโภคทำ�ให้บริษัท มีข้อมูลเชิงลึกและท�งสถิติที่ทำ�ให้บริษัทเข้�ใจผู้บริโภคอย่�งถ่องแท้ และคว�มพึง พอใจของพวกเข�ทีมีต่อผลิตภัณฑ์หรือบริก�รของบริษัท บริษัทได้เปิดตัวศูนย์วิจัย Gii (Global Innovation Incubator) ซึ่งเป็น ศูนย์วิจัยและพัฒน�ระดับโลกในเดือนธันว�คมปี พ.ศ. 2557 และในปัจจุบัน บริษัทได้ลงทุนม�กกว่� 600 ล้�นบ�ทและว่�จ้�งนักวิทย�ศ�สตร์ประม�ณ 100 ท่�น ซึ่งล้วนแล้วแต่มีคว�มทุ่มเทอย่�งม�กในก�รวิจัย ก�รพัฒน�คว�มคิดใหม่ๆ รวมทั้งพัฒน�ผลิตภัณฑ์ใหม่และประเภทผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสู่อุตส�หกรรม บริษัทตั้งเป้�หม�ยร�ยได้จ�กนวัตกรรมผลิตภัณฑ์และก�รบริก�รที่ม�จ�ก Gii จำ�นวน 10% ของร�ยได้รวมของไทยยูเนี่ยนในปีพ.ศ. 2563


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

121 ความเสี่ยงจากการดำาเนินงาน ความเสี่ยง

การบริหารจัดการ

ราคาวัตถุดิบ ในปี พ.ศ. 2559 ก�รทำ�กำ�ไรของ ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป ได้รับแรง กดดันจ�กร�ค�วัตถุดิบปล�ทูน่�และปล�แซลมอนที่สูงขึ้น

ปลาทูน่า

ร�ค�วัตถุดิบปล�ทูน่�พันธุ์ท้องแถบ (Skipjack) สูงกว่�ที่ค�ด ไว้ในช่วง 6 เดือนสุดท้�ยของปี (ไตรม�สที่ 4 ของปี 2559 ร�ค� สูงขึ้น 23.4% เมื่อเทียบกับปีก่อน) ทำ�ให้เกิดคว�มท้�ท�ยต่อ ธุรกิจก�รส่งออกปล�ทูน่�ธุรกิจจ�กประเทศไทยรวมทั้งธุรกิจ ตร�สินค้�อ�ห�รทะเลของบริษัทในยุโรป

2,500 2,000 1,500 1,000 500 0

ร�ค�วัตถุดิบปล�ทูน่�พันธุ์ Skipjack (เหรียญสหรัฐ/ตัน)

ปลาทูน่า

เนื่องจ�กบริษัทเป็นผู้ซื้อปล�ทูน่�ร�ยใหญ่ของโลกร�ย หนึ่ง ทำ�ให้บริษัทมีอำ�น�จต่อรองร�ค�ปล�ทูน่� นอกจ�กนี้ แล้วบริษัทมีส่วนง�นจัดซื้อทั่วโลกที่มีคว�มพร้อมท�งด้�น ประสบก�รณ์ในธุรกิจอ�ห�รทะเลเป็นผู้รับผิดชอบในก�รจัด ซื้อวัตถุดิบหลักจ�กแหล่งต่�งๆทั่วโลก ตลอดระยะเวล�ของบริษัทที่ผ่�นม� บริษัทมีคว�มชัดเจนใน นโยบ�ยไม่จัดซื้อวัตถุดิบเพื่อเก็งกำ�ไร บริษัทบริห�รจัดก�ร สินค้�คงคลังวัตถุดิบอย่�งระมัดระวังและพิจ�รณ�ก�รปรับ ร�ค�ข�ยให้ทันต่อสถ�นก�รณ์ ซึ่งช่วยผลกระทบจ�กคว�ม ผันผวนดังกล่�ว พื้นฐ�นร�ค�ข�ยสินค้�ของบริษัทโดย เฉพ�ะสินค้�รับจ้�งผลิตจะถูกกำ�หนดต�มร�ค�วัตถุดิบทูน่� และค่�ดำ�เนินก�รแปรรูป ดังนั้น บริษัทจึงให้คว�มสนใจม�กขึ้นกับ:

ม.ค. 2556 ม.ค. 2557 ม.ค. 2558 ม.ค. 2559

ปลาแซลมอน

ธุรกิจอ�ก�รแช่แข็งและแช่เย็นกำ�ลังเผชิญหน้�กับก�รปรับตัวสูง ขึ้นของร�ค�วัตถุดิบปล�แซลมอนเลี้ยง (ร�ค�ปล�แซลมอนขึ้น + 50%) โดยบริษัทในเครือที่จัดซื้อแซลมอนด้วยเงื่อนไขร�ค� ซื้อข�ยปัจจุบันจะได้รับผลกระทบทันทีและม�กกว่�ในตล�ดก�ร แข่งขัน ร�ค�วัตถุดิบปล�แซลมอน (นอร์วีเจี้ยนโครน (NOK)/กิโลกรัม) 80 60 40 20

ม.ค. 2556 ม.ค. 2557 ม.ค. 2558

ม.ค. 2559

1. คว�มส�ม�รถในก�รปรับร�ค�ข�ย ก�รบริห�รต้นทุน และมุ่งเน้นสินค้�ที่มีมูลค่�เพิ่มเพื่อเป็นก�รบริห�ร ผลกระทบจ�กคว�มผันผวนร�ค�ปล�ทูน่� 2. คว�มยั่งยืนในก�รจัดห�วัตถุดิบปล�ทูน่�ในระดับร�ค� ที่เหม�ะสมเพื่อให้แน่ใจว่�ลูกค้�ที่บริษัทรับจ้�งผลิตให้ จะรักษ�ก�รซื้อต่อไป นอกจ�กนี้ ในก�รกำ�หนดร�ค� ข�ย บริษัทพิจ�รณ�อย่�งระมัดระวังโดยคำ�นึงถึงทั้ง ร�ค�วัตถุดิบทูน่�และค่�ดำ�เนินก�รแปรรูป ก�รป้องกันคว�มเสี่ยงร�ค�ปล�ทูน่� ในปัจจุบันนี้ยังไม่มี เครื่องมือหรือรูปแบบก�รป้องกันที่ได้รับก�รพิสูจน์ว่� ส�ม�รถป้องกันคว�มเสี่ยงของร�ค�ปล�ทูน่�โดยตรงและจ�ก ก�รศึกษ�ที่มีร�ยละเอียด บริษัทพบว่�มีปัจจัยหล�ยประก�ร ที่มีผลต่อร�ค�ปล�ทูน่�ทั้งท�งตรงและท�งอ้อม นอกจ�กนี้ บริษัทยังได้เตรียมพร้อมในก�รรับมือกับ สถ�นก�รณ์สมมุติที่อ�จเกิดขึ้นได้ที่อ�จส่งผลให้เกิดก�รข�ย ชะลอตัวและคว�มกดดันในก�รทำ�กำ�ไร

ปลาแซลมอน

ในบริบทที่ท้�ท�ยอย่�งม�กนี้ บริษัทเข้�ทำ�สัญญ�กลยุทธ์ (ไม่ว่�จะเป็นท�งก�ยภ�พหรือท�งก�รเงิน) ซึ่งส�ม�รถ คุ้มครองได้เกือบ 50% ระดับคว�มคุ้มครองนี้อ�จแตกต่�งกันต�ม: • ก�รประเมินคว�มเสี่ยงของลูกค้� • ก�รประเมินคว�มเสี่ยงตล�ด (เช่นคว�มเสี่ยงท�งด้�น ปริม�ตร) • คว�มเสี่ยงเฉพ�ะเหตุก�รณ์ในอุตส�หกรรม • คว�มเต็มใจของผู้จัดห�ที่จะทำ�สัญญ�


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

122

ความเสี่ยงจากการดำาเนินการ ความเสี่ยง

การบริหารจัดการ

ก�รจัดก�รสินค้�คงคลังของบริษัทเป็นองค์ประกอบสำ�คัญสำ�หรับ ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป ในปี พ.ศ. 2559 มูลค่�สินค้�คงคลังของบริษัทมีจำ�นวน 40,528 ล้�น บ�ทซึ่งคิดเป็นสัดส่วน 28.47% ของสินทรัพย์รวม จำ�นวนสินค้�คงคลัง ขน�ดใหญ่เช่นนั้นสร้�งคว�มท้�ท�ยในก�รจัดก�รเนื่องจ�กสินค้�คงคลังถูก เก็บไว้ในประเทศต่�งๆ ทั่วโลก ห�กไม่มีก�รจัดก�รที่เหม�ะสม อ�จมีคว�ม เสี่ยงเกิดขึ้นเช่นสินค้�คงคลังม�กเกินไปหรือไม่เพียงพอ ค่�ใช้จ่�ยในก�ร ดำ�เนินก�ร ร�ค�ในตล�ดมีคว�มผันผวนซึ่งอ�จกระทบต่อก�รลดลงของมูลค่� สินค้�คงคลัง สินค้�คงคลังล้�สมัยและก�รฉ้อโกง คว�มเสี่ยงเหล่�นี้ส�ม�รถ ส่งผลกระทบงบก�รเงินของบริษัทและมูลค่�สินทรัพย์

บริษัทจะดำ�เนินก�รตรวจสอบร�ยละเอียดของ สินค้�คงคลังของแต่ละไตรม�สโดยพิจ�รณ� ปัจจัยหล�ยอย่�งรวมทั้งก�รค�ดก�รณ์คว�ม ต้องก�ร สถ�นะวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ แผนก�ร พัฒน�ผลิตภัณฑ์ ระดับก�รข�ยในปัจจุบันและ แนวโน้มค่�ใช้จ่�ยของส่วนประกอบต่�งๆ เพื่อ ให้แน่ใจว่�บริษัทจะส�ม�รถปฏิบัติต�มคำ�สั่งของ ลูกค้�และส�ม�รถเพิ่มประสิทธิภ�พฐ�นะก�ร เงินของเร�

การจัดการสินค้าคงคลัง

นอกจ�กนี้วัตถุดิบหลักของบริษัทที่สำ�คัญเช่นปล�ทูน่� กุ้งและปล�แซลมอน ถือว่�เป็นสินค้�ที่ไม่มีเครื่องมือป้องกันคว�มเสี่ยงโดยตรง และร�ค�ในตล�ด ส�ม�รถลดหรือเพิ่มขึ้นอย่�งรวดเร็วและโดยไม่มีก�รควบคุม ทำ�ให้มีผลกระ ทบอย่�งมีนัยสำ�คัญต่อมูลค่�หุ้นของบริษัทดังที่ได้เกิดขึ้นในอดีตและอ�จเกิด ซ้ำ�อีกในอน�คต

ความเสี่ยงด้านกฎหมายและการปฏิบัติตามกฎหมาย ความเสี่ยง

การบริหารจัดการ

กฎหมายและกฎระเบียบในต่างประเทศ ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป ในฐ�นะผู้ผลิต อ�ห�รทะเลแปรรูปร�ยใหญ่แห่ง หนึ่งของโลกและมีก�รดำ�เนิน ง�นทั้งภ�ยในประเทศและต่�ง ประเทศ ทำ�ให้บริษัทต้องเผชิญ กับกฎหม�ยและกฎระเบียบใน หล�ยประเทศ รวมทั้งนโยบ�ย ภ�ยในบริษัทซึ่งทุกบริษัทภ�ยใน ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป ต้องปฏิบัติ ต�ม ดังนั้น ก�รไม่ปฏิบัติต�ม หรือปฏิบัติต�มกฎหม�ย และ กฎระเบียบ รวมทั้งนโยบ�ยของ แต่ละประเทศเพียงบ�งส่วน อ�จ ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงของ บริษัท และนำ�ม�ซึ่งก�รได้รับ ก�รบทลงโทษและถูกปรับ หรือ สูญเสียโอก�สท�งธุรกิจ โดย กระบวนก�รท�งกฎหม�ยอ�จ ต้องใช้เวล�ยืดเยื้อและมีค่�ใช้ จ่�ยสูง

ก�รปรับเปลี่ยนก�รดำ�เนินง�นเพื่อให้สอดคล้องกับคว�มเปลี่ยนแปลงของกฎหม�ยและ กฎระเบียบ เป็นขั้นตอนที่ต้องมีก�รติดต�มก�รเปลี่ยนแปลงกฎหม�ยและกฎระเบียบอย่�ง สม่ำ�เสมอ และจะบรรลุเป้�หม�ยได้โดยก�รวิเคร�ะห์และจัดอบรม และก�รจัดทำ�เอกส�รเชิง นโยบ�ย แผนกกฎหม�ยและก�รปฏิบัติต�มกฎหม�ยของบริษัท หน่วยง�นด้�นกฎหม�ยในแต่ละ ประเทศ และที่ปรึกษ�ภ�ยนอกติดต�มก�รเปลี่ยนแปลงของกฎหม�ยและกฎระเบียบ รวม ทั้งวิเคร�ะห์ผลกระทบและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับบริษัท และให้คว�มรู้ฝ่�ยบริห�รและพนักง�น ในประเด็นสำ�คัญ นอกจ�กนี้ บริษัทยังแจ้งหน่วยง�นกำ�กับดูแลเกี่ยวกับกฎหม�ยและกฎ ระเบียบใหม่ รวมทั้งแจ้งให้หน่วยง�นที่เป็นผู้บังคับใช้กฎหม�ยทร�บถึงก�รดำ�เนินง�นของ บริษัท เพื่อให้มั่นใจว่�บริษัทได้ดำ�เนินธุรกิจเป็นไปต�มกฎหม�ยและกฎระเบียบ บริษัทยึดมั่นและกำ�กับให้ก�รดำ�เนินง�นของบริษัทและก�รปฏิบัติง�นของกรรมก�ร ผู้บริห�ร และพนักง�น เป็นไปอย่�งถูกต้องต�มกฎหม�ยและจริยธรรมในเรื่อง • ปฏิบัติตนให้อยู่ในกรอบของกฎหม�ย ระเบียบ ข้อบังคับของท้องถิ่นที่ตั้ง รวมถึงประเทศที่ บริษัทฯ เข้�ไปดำ�เนินธุรกิจ • จะต้องไม่กระทำ�ก�รใด หรือมีส่วนรู้เห็น ช่วยเหลือ สนับสนุน ร่วมมือ เพื่อหลีกเลี่ยงก�ร ปฏิบัติต�มกฎหม�ย ระเบียบและข้อบังคับ • รับข้อร้องเรียนและแจ้งเบ�ะแสเพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและบุคคลภ�ยนอกส�ม�รถแจ้ง ร้องเรียนก�รกระทำ�ที่ไม่ถูกต้องที่เกิดจ�กไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป ประธ�นคณะกรรมก�รตรวจ สอบ ได้รับมอบหม�ยให้เป็นผู้รับผิดชอบรับเรื่องร้องเรียน โดยคณะกรรมก�รตรวจสอบ จะตรวจสอบและทำ�ร�ยง�นสรุปถึงคณะกรรมก�รบริษัท • จัดให้มีก�รฝึกอบรมภ�ยในสำ�หรับฝ่�ยบริห�รและผู้บริห�รในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ กฎหม�ย/ข้อกฎหม�ย ที่สำ�คัญ เช่น กฎหม�ยป้องกันก�รผูกข�ดท�งก�รค้� กฎหม�ย ก�รต่อต้�นก�รติดสินบน ทั้งในประเทศไทย ยุโรป และสหรัฐอเมริก�


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

123

ความเสี่ยงด้านการเงิน ความเสี่ยง

การบริหารจัดการ

การเปลี่ยนแปลงของภาษีระหว่างประเทศและภาษีภายในประเทศต่าง ๆ ก�รบริห�รจัดก�รก�รเสียภ�ษี เป็นภ�ระที่สำ�คัญสำ�หรับบริษัทข้�มช�ติที่ ประกอบธุรกิจในหล�ยประเทศ ในแต่ละปี หล�ยประเทศมีก�รปรับเปลีย่ นนโยบ�ยต่�งๆ ซึง่ อ�จส่งผล กระทบ ภ�ษีเงินได้ อัตร�ภ�ษีก�รข�ย ภ�ษีมลู ค่�เพิม่ หรือภ�ษีสนิ ค้�และ บริก�ร ภ�ษีเงินได้บคุ คลธรรมด� ภ�ษีศลุ ก�กร และภ�ษีธรุ กิจเฉพ�ะ ภ�ษี สิง่ แวดล้อม ภ�ษีทรัพย์สนิ และอืน่ ๆ นอกจ�กนี้ ยังมีก�รพัฒน�ก�รของหลักกฎหม�ยภ�ษีระหว่�งประเทศซึง่ กำ�หนดสิทธิข์ องแต่ละประเทศในก�รจัดเก็บภ�ษีจ�กก�รค้�ข้�มพรมแดน ซึง่ เป็นผลม�จ�กก�รศึกษ�เรือ่ ง ก�รกัดกร่อนฐ�นภ�ษีและก�รเคลือ่ นย้�ย ผลกำ�ไร หรือ BEPS (Base Erosion and Profit Shifting) ของกลุม่ ประเทศ G20 และองค์ก�รเพือ่ คว�มร่วมมือท�งเศรษฐกิจและก�รพัฒน� (Organization for Economic Cooperation and Development : OECD) ซึง่ ได้ตพ ี มิ พ์ร�ยง�นเรือ่ งเกีย่ วกับ BEPS เมือ่ เดือนตุล�คม พ.ศ. 2558 โดยมีประเทศต่�งๆ กว่� 100 ประเทศได้รว่ มมือกันในก�รดำ�เนินก�ร เพือ่ แก้ปญ ั ห�นี้ ก�รศึกษ�เรือ่ ง BEPS ให้คว�มสำ�คัญกับ 15 เรือ่ ง ซึง่ อ�จส่งผลกระทบ ท�งตรงหรือท�งอ้อมต่อไทยยูเนีย่ น กรุป๊ โดย หนึง่ ในเรือ่ งทีม่ ผี ลกระทบ ทีม่ นี ยั ยะสำ�คัญคือเรือ่ ง ก�รกำ�หนดร�ค�โอน หรือ“Transfer Pricing” สำ�หรับธุรกรรมทีเ่ กิดขึน้ ระหว่�งบริษทั ในเครือ สืบเนื่องจ�กเรื่อง BEPS หล�ยประเทศมีแผนจะออกกฎระเบียบ/ ม�ตรก�รภ�ษีใหม่ ซึ่งจะเป็นภ�ระต่อกลุ่มไทยยูเนี่ยน อย่�งไรก็ต�ม ม�ตรก�รกำ�กับใหม่ๆ เหล่�นี้ เป็นเรื่องที่ส�ม�รถบริห�รจัดก�รให้เป็นไป ต�มข้อกำ�หนดได้ นอกจ�กเรือ่ ง BEPS ก�รปฏิรปู กฎหม�ยภ�ษีของประเทศสหรัฐอเมริก� เป็น อีกปัจจัยสำ�คัญทีต่ อ้ งพิจ�รณ� เพร�ะอ�จส่งผลอย่�งมีนยั ยะสำ�คัญต่อผล ประกอบก�รและแผนธุรกิจของกลุม่ บริษทั เนือ่ งจ�กยังมีคว�มไม่แน่นอนในเรือ่ งดังกล่�วข้�งต้นและ จึงเป็นก�รย�กทีจ่ ะ ประเมินระดับคว�มเสีย่ งเป็นจำ�นวนเงิน อย่�งไรก็ต�ม ประเด็นนีเ้ ป็นประเด็น สำ�คัญทีบ่ ริษทั ต้องให้คว�มสำ�คัญและติดต�มอย่�งใกล้ชดิ

เพื่อเป็นก�รว�งแผนดำ�เนินก�รไว้ล่วงหน้� สำ�หรับ ก�รจัดก�รก�รเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นกับระบบภ�ษี บริษัทได้ปรึกษ�ขอคำ�แนะนำ�จ�กบริษัทที่ปรึกษ�ด้�น ภ�ษีหรือกฎหม�ยที่มีคว�มเชี่ยวช�ญเฉพ�ะอยู่เสมอ และติดต�มก�รเปลี่ยนแปลงอย่�งใกล้ชิดเพื่อให้ก�ร ดำ�เนินก�รต่�ง ๆ เป็นไปต�มกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ในด้�นศุลก�กรและภ�ษี นอกจ�กนี้ ฝ่�ยกฎหม�ย ฝ่�ยภ�ษี และฝ่�ยที่รับผิดชอบภ�ษีศุลก�กร ให้คำ� แนะนำ�กับฝ่�ยบริห�รจัดก�รอยู่เสมอเพื่อให้มั่นใจว่� เร�ได้ปฏิบัติต�มกฎระเบียบอย่�งเหม�ะสม ในปี 2559 บริษัทได้เริ่มทำ�โครงก�รเพื่อทำ�คว�ม เข้�ใจและเตรียมคว�มพร้อมเกี่ยวกับก�รดำ�เนินก�ร ต�มม�ตรก�ร BEPS ภ�ยใต้ก�รแนะนำ�จ�กบริษัท ที่ปรึกษ�ด้�นภ�ษี โดยได้มีก�รวิเคร�ะห์ผลกระทบที่ ค�ดว่�จะเกิดกับไทยยูเนี่ยนอันเนื่องม�จ�ก BEPS และบริษัทได้เตรียมแผนง�นเพื่อบริห�รคว�มเสี่ยงนี้ บริษัทกำ�ลังอยู่ในระหว่�งพิจ�รณ�เรื่องนโยบ�ย Transfer Pricing ของกลุ่ม และจัดทำ�เอกส�ร เพื่อสนับสนุนก�รดำ�เนินก�รในปัจจุบัน ยิ่งไปกว่� นั้น ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จะทำ�ก�รจัดเตรียมเอกส�ร เพื่อประกอบเรื่อง Transfer Pricing ในส�มระดับ ได้แก่ เอกส�รหลักของกลุ่มบริษัท เอกส�รสำ�หรับ แต่ละประเทศ และ ร�ยง�นภ�พรวมร�ยประเทศ เพื่อให้มั่นใจได้ว่�บริษัทได้ดำ�เนินก�รต�มกฎระเบียบ ใหม่ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับก�รปฏิรูปภ�ษีของประเทศ สหรัฐอเมริก�นั้น ยังมีคว�มไม่แน่นอนในหล�ยด้�น อย่�งไรก็ต�ม ฝ่�ยภ�ษีได้ติดต�มก�รเปลี่ยนแปลง อย่�งใกล้ชิดและจะแจ้งให้ทีมบริห�รด้�นก�รดำ�เนิน ง�นรับทร�บต่อไปเมื่อมีคว�มเคลื่อนไหวเพิ่มเติม

ความเสี่ยงด้านการเงิน ความเสี่ยง

การบริหารจัดการ

อัตราแลกเปลี่ยน ก�รที่ ไทยยูเนีย่ น กรุป๊ มีก�รดำ�เนินง�นในหล�ยประเทศทัว่ โลก ทัง้ ผลิตและจัดจำ�หน่�ย ประกอบกับบริษทั มีก�รกูย้ มื เงินสกุลต่�ง ประเทศ ช่วยลดผลกระทบด้�นอัตร�แลกเปลีย่ นได้ในระดับหนึง่ คว�มผันผวนหรือก�รเปลี่ยนแปลงของอัตร�แลกเปลี่ยนมีแนว โน้มจะส่งผลต่อธุรกรรมในก�รดำ�เนินธุรกิจ และก�รแปลงค่� เมื่อ มีก�รรวมสินทรัพย์ หนี้สิน และผลประกอบก�รของบริษัทย่อย เป็นเงินบ�ท

บริษัทตระหนักถึงคว�มผันผวนของอัตร�แลกเปลี่ยนซึ่งอ�จส่ง ผลกระทบทั้งด้�นบวกและด้�นลบต่อผลประกอบก�ร บริษัทได้ พย�ย�มอย่�งเต็มที่ในก�รลดคว�มเสี่ยงในด้�นนี้ โดย 1. Natural hedge บริษัทบริห�รอัตร�แลกเปลี่ยนโดยก�ร จัดสรรให้ร�ยได้จ�กก�รข�ยสินค้�ซึ่งส่วนม�กอยู่ในสกุลเงิน ดอลล�ร์สหรัฐ และร�ยจ่�ยเช่นต้นทุนวัตถุดิบหลัก ซึ่งคือ ปล�ทูน่� และค่�ใช้จ่�ยอื่นๆ ให้เป็นเงินสกุลเดียวกัน 2. ก�รพิจ�รณ�เครื่องมือประเภทอนุพันธ์ท�งก�รเงิน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

124

สืบเนื่องจ�กยอดข�ยในตล�ดต่�ง ประเทศ เร�จึงเกี่ยวข้องกับสกุลเงิน ดอลล�ร์สหรัฐ สกุลเงินยูโร สกุลเงินเยน และสกุลเงินปอนด์ ในปี 2559 มีคว�มไม่แน่นอนเพิ่มขึ้นจ�ก สถ�นก�รณ์เบร็กซิท (Brexit) และก�ร เลือกตั้งประธ�น�ธิบดีในสหรัฐอเมริก� ก�รลงประช�มติเบร็กซิทนำ�ไปสู่คว�ม ผันผวนของค่�เงินปอนด์กับค่�เงินยูโร และดอลล�ร์สหรัฐ ซึ่งส่งผลกระทบต่อ ต้นทุนก�รนำ�เข้�และก�รร�ค�สินค้�ของ จอห์น เวสต์ รวมทั้งผลจ�กก�รแปลง ค่�เงิน นโยบ�ยก�รเงินและก�รบริห�รจัดก� รอื่นๆ ของประธ�น�ธิบดีคนใหม่ของ สหรัฐอเมริก�ส่งผลต่ออัตร�แลกเปลี่ยน ของค่�เงินดอลล�ร์สหรัฐเมื่อเทียบกับ สกุลเงินอื่นที่บริษัทมีธุรกิจอยู่ อ�ทิเช่น สกุลเงินยูโร สกุลเงินเยน สกุลเงินปอนด์ และสกุลเงินบ�ท

อัตราแลกเปลี่ยน เงินสกุลเหรียญสหรัฐต่อสกุลเงินบ�ท

0

เงินสกุลยูโรต่อสกุลเงินบ�ท

60 ม.ค .

59 ม.ค .

58 ม.ค .

57

48 43 38 33 28

ม.ค .

เร�ส�ม�รถจำ�แนกนโยบ�ยด้�นก�รป้องกันคว�มเสี่ยงของอัตร�แลกเปลี่ยนเป็นสอง ด้�น 1. อัตร�แลกเปลี่ยนที่เกิดจ�กก�รค้� 1.1 สำ�หรับก�รดำ�เนินง�นในประเทศไทย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นธุรกิจรับจ้�งผลิต มี ยอดข�ยเป็นสกุลเงินต่�งประเทศ และก�รตกลงซื้อข�ยเป็นไปต�มร�ค�หรืออัตร� แลกเปลี่ยนปัจจุบัน ซึ่งคว�มเสี่ยงจะเกิดขึ้นเมื่อบริษัทชำ�ระค่�วัตถุดิบภ�ยใน 3-5 วันของก�รสั่งซื้อ ในขณะที่บริษัทต้องใช้เวล�ม�กขึ้นในกระบวนก�รผลิต ก�รจัดส่ง และก�รเรียกเก็บเงิน ดังนั้น บริษัทจึงกำ�หนดอัตร�ส่วนของก�รป้องกันคว�มเสี่ยง ไว้ที่ 25%-75% ของระดับสินค้�คงคลังให้เป็นระดับที่รับได้ 1.2 ก�รดำ�เนินง�นในยุโรป และสหรัฐอเมริก� สัดส่วนธุรกิจสินค้�แบรนด์คิด เป็นส่วนม�กของร�ยได้ บริษัทต้องตกลงร�ค�ข�ยคงที่ของสินค้�แบรนด์ให้กับ ลูกค้�ทั้งค้�ส่งหรือค้�ปลีกในกรอบระยะเวล�น�นกว่�สินค้�ที่บริษัทรับจ้�งผลิต ซึ่งมีสัดส่วนน้อยกว่� คว�มเสี่ยงอัตร�แลกเปลี่ยนอ�จเกิดขึ้นจ�กร�ยได้ที่ม�จ�ก ก�รข�ยไปยังลูกค้�ในต่�งประเทศ หรือต้นทุนและค่�ใช้จ่�ยจ�กก�รสั่งซื้อจ�กต่�ง ประเทศ หรือก�รตั้งร�ค�ที่เชื่อมโยงกับอัตร�แลกเปลี่ยนโดยตรง บริษัทได้แบ่งประเภทธุรกิจออกเป็น 3 ประเภท เพื่อดำ�เนินนโยบ�ยก�รบริห�ร อัตร�แลกเปลี่ยนให้เหม�ะสมสำ�หรับธุรกิจที่มีลักษณะต่�งกัน : 1.2.1 สำ�หรับธุรกิจรับจ้�งผลิต – กำ�หนดอัตร�ก�รป้องกันคว�มเสี่ยงไว้ ที่ 60% - 100% 1.2.2 สำ�หรับธุรกิจสินค้�แบรนด์ – กำ�หนดอัตร�ก�รป้องกันคว�มเสี่ยง ไว้ที่ 50% - 100% 1.2.3 สำ�หรับธุรกิจแบรนด์พรีเมี่ยม – กำ�หนดอัตร�ก�รป้องกัน คว�มเสี่ยงไว้ที่ 40% - 100% สัญญ�ซื้อข�ยเงินตร�ต่�งประเทศล่วงหน้�เป็นเครื่องมือท�งก�รเงินที่บริษัทพิจ�รณ� และใช้ในก�รป้องกันคว�มเสี่ยงจ�กอัตร�แลกเปลี่ยน เป็นส่วนใหญ่ นอกจ�กนี้ บริษัทอ�จจะพิจ�รณ�ใช้สิทธิที่จะซื้อหรือข�ยเงินตร�ต่�งประเทศในอน�คตต�มคว�ม เหม�ะสม

.6 ม.ค

9 .5 ม.ค

8 .5 ม.ค

ม.ค

.5

7

38 36 34 32 30 28

บริษัทได้กำ�หนดนโยบ�ยก�รบริห�รเงินและก�รบริห�รคว�มเสี่ยงท�งก�รเงินไว้ อย่�งชัดเจน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อก�รบริห�รคว�มเสี่ยงท�งก�รเงินทั้งหมด ซึ่ง ครอบคลุมถึงคว�มเสี่ยงของอัตร�แลกเปลี่ยน และก�รเลือกใช้เครื่องมือท�งก�รเงิน ประเภทอนุพันธ์เพื่อป้องกันคว�มเสี่ยงที่จะมีผลกระทบต่อธุรกิจ มิใช่เพื่อก�รเก็งกำ�ไร รวมทั้งเพื่อกำ�หนดและสร้�งเสถียรภ�พผลประกอบก�รในอน�คตของบริษัท

เงินสกุลปอนด์สเตอร์ลิงต่อสกุลเงินบ�ท 60

2. คว�มเสี่ยงจ�กอัตร�แลกเปลี่ยนที่เกิดจ�กธุรกรรมท�งก�รเงิน/ก�รลงทุน สำ�หรับก�รกู้ยืม หรือปล่อยกู้ หรือฝ�กเงินในสกุลเงินอื่น ซึ่งเป็นสกุลเงินที่ของ ก�รใช้เงินปล�ยท�ง บริษัทจะต้องทำ�ก�รป้องกันคว�มเสี่ยงอัตร�แลกเปลี่ยน 100% ทั้งที่ส่วนธุรกรรมกับองค์กรภ�ยนอกและธุรกรรมระหว่�งบริษัทในเครือ ของกลุ่มไทยยูเนี่ยน ซึ่งมีคว�มเสี่ยงด้�นอัตร�แลกเปลี่ยนในระดับหนึ่ง ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่�บริษัทจะไม่ได้รับผลกระทบจ�กอัตร�แลกเปลี่ยนในต้นทุนก�รกู้ ยืมเงินของกลุ่ม สำ�หรับก�รลงทุนต่�งประเทศในรูปของเงินทุน ที่มีผลตอบแทนอ�จม�ในรูปของก�ร จ่�ยปันผลหรือก�รลดทุน อ�จไม่ส�ม�รถประเมินคว�มไม่แน่นอนและระยะเวล�ได้ อย่�งแม่นยำ� และผลตอบแทนอ�จไม่คงที่ โดยส่วนม�กก�รระดมทุนเพื่อก�รเข้�ถือ หุ้นมักเป็นก�รระดมทุนตรงจ�กบริษัทแม่ ดังนั้น ก�รตัดสินใจป้องกันคว�มเสี่ยง อัตร�แลกเปลี่ยนในก�รลงทุนเพื่อเข้�ถือหุ้นของกิจก�รจะม�จ�กคณะกรรมก�รบริห�ร เงินของบริษัท (Group Treasury Committee)

50 40

60 ม.ค .

59 ม.ค .

58 ม.ค .

ม.ค .

57

30

ผลิตภัณฑ์อนุพันธ์ท�งก�รเงินที่จะใช้เพื่อก�รป้องกันคว�มเสี่ยงอ�จเป็นก�รสวอป (SWOP) ข้�มเงินตร�ต่�งประเทศ หรือก�รตกลงแลกเปลี่ยนระหว่�งคู่สัญญ� หรือ ก�รทำ�สัญญ�ซื้อข�ยล่วงหน้�แบบไม่มีก�รส่งมอบ ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะของคว�ม เสี่ยงของอัตร�แลกเปลี่ยน และกระแสเงินสดในอน�คต อย่�งไรก็ดี บริษัทไม่อนุญ�ต ให้ใช้เครื่องมืออนุพันธ์ท�งก�รเงิน (Proxy) ซึ่งมีมูลค่�เชื่อมโยงกับตัวแทนซึ่งไม่ เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์อ้�งอิงนั้น


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

125

การบริหารความเสี่ยง บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำ�กัด (มห�ชน) (บริษัท) มีคว�ม ตระหนักถึงคว�มสำ�คัญของก�รบริห�รคว�มเสี่ยงและจจัดให้มี ก�รบริห�รคว�มเสี่ยงที่เป็นระบบและปฏิบัติอย่�งต่อเนื่องเป็นไป ในทิศท�งเดียวกันทั่วทั้งบริษัทและบริษัทย่อยในประเทศและต่�ง ประเทศ เพื่อสนับสนุนให้มีก�รกำ�กับดูแลที่ดี เสริมสร้�งคว�ม เชื่อมั่นแก่นักลงทุน ตลอดจนช่วยให้บริษัทบรรลุวัตถุประสงค์ และเป้�หม�ยที่ได้กำ�หนดไว้ บริษัทนิย�มคว�มเสี่ยงเป็นเหตุก�รณ์ของปัจจัยภ�ยนอกหรือ ภ�ยในที่อ�จเกิดขึ้นและส่งผลกระทบในเชิงลบต่อวัตถุประสงค์ ท�งธุรกิจหรือเป้�หม�ยท�งก�รเงินของกลุ่มบริษัท

โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง

บริษัทมีก�รกำ�หนดโครงสร้�งก�รบริห�รคว�มเสี่ยงไว้อย่�ง ชัดเจน โดยมีคณะกรรมก�รบริษัท เป็นผู้รับผิดชอบในก�รกำ�กับ ดูแลให้มีก�รดำ�เนินก�รบริห�รคว�มเสี่ยงโดยฝ่�ยบริห�รเป็นไป อย่�งเหม�ะสมและมีประสิทธิผลทั่วทั้งองค์กร คณะอนุกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยงได้รับมอบหม�ยจ�กคณะ กรรมก�รบริษัทให้กำ�กับดูแลก�รพัฒน�กระบวนก�รบริห�ร คว�มเสี่ยง เพื่อให้มั่นใจว่�กระบวนก�รดังกล่�วเป็นไปต�ม นโยบ�ย กรอบ และกระบวนก�รบริห�รคว�มเสี่ยงของบริษัท รวมทั้งมีหน้�ที่ร�ยง�นคว�มเสี่ยงสำ�คัญของกลุ่มบริษัทต่อคณะ กรรมก�รบริษัทอย่�งสม่ำ�เสมอ ฝ่�ยบริห�รคว�มเสี่ยงกลุ่มบริษัท มีหน้�ที่ประส�นง�นคว�ม เสี่ยงและพัฒน�กระบวนก�รบริห�รคว�มเสี่ยงในระดับกลุ่ม บริษัท รวมถึงสนับสนุนและให้แนวท�งในก�รพัฒน�กระบวนก�ร บริห�รคว�มเสี่ยงในระดับบริษัทย่อย ผู้ประส�นง�นคว�มเสี่ยง ในระดับบริษัทย่อย มีหน้�ที่ประส�นง�นคว�มเสี่ยงและพัฒน� กระบวนก�รบริห�รคว�มเสี่ยงในระดับบริษัทย่อยให้เป็นไปต�ม

นโยบ�ยของกลุ่มบริษัท ผู้บริห�รและพนักง�นทุกคน มีหน้�ที่ในก�รประเมินและบริห�ร คว�มเสี่ยงในส่วนง�นที่รับผิดชอบ เมื่อบริษัทพิจ�รณ�ว่�อ�จมีปัจจัยคว�มเสี่ยงเกิดขึ้นในระดับ สูงกว่�ระดับยอมรับได้ของบริษัทซึ่งกำ�หนดไว้อย่�งชัดเจนแล้ว บริษัทจะกำ�หนดให้มีผู้รับผิดชอบคว�มเสี่ยง (Risk Owner) ซึ่งเป็นผู้ที่มีคว�มรู้และประสบก�รณ์ท�งธุรกิจในเชิงลึกที่ เกี่ยวข้องกับคว�มเสี่ยงดังกล่�ว ติดต�มคว�มเสี่ยงและกำ�หนด กลยุทธ์ก�รบริห�รคว�มเสี่ยงที่เหม�ะสม รวมทั้งร�ยง�นสถ�นะ คว�มเสี่ยงและม�ตรก�รควบคุมคว�มเสี่ยงต่อคณะผู้บริห�ร นอกจ�กนี้ คณะกรรมก�รตรวจสอบมีหน้�ที่กำ�กับดูแลและ ติดต�มก�รบริห�รคว�มเสี่ยงโดยก�รสอบท�นที่เป็นอิสระ เพื่อ ให้มั่นใจว่�ก�รปฏิบัติง�นบริห�รคว�มเสี่ยงเป็นไปต�มนโยบ�ย บริห�รคว�มเสี่ยงอย่�งมีประสิทธิผลทั่วทั้งบริษัท

กรอบและกระบวนการบริหารความเสี่ยง

กรอบก�รบริห�รคว�มเสี่ยงของบริษัทในปัจจุบันอ้�งอิง ม�ตรฐ�นก�รบริห�รคว�มเสี่ยงต�มหลักส�กล COSO ERM (Enterprise Risk Management - Integrated Frame work, the Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) และ ISO 31000: Risk Management เพื่อใช้เป็นแนวท�งในก�รบริห�รคว�มเสี่ยง สำ�หรับผู้บริห�รและพนักง�นให้เป็นไปในแนวท�งเดียวกันทั้ง องค์กร กระบวนก�รบริห�รคว�มเสี่ยงของบริษัท ประกอบด้วย 6 ขั้น ตอนหลัก ดังสรุปในแผนภ�พต่อไปนี้

1. Risk identification

2. Risk assessment criteria 6. Communication and coordination

5. Monitor and reporting 3. Risk analysis and assessment

4. Risk treatment


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

126

1

การระบุความเสี่ยง

ก�รระบุคว�มเสี่ยงประกอบด้วยก�รระบุคว�มเสี่ยงของก�ร ดำ�เนินธุรกิจ (Inherent Risk) ทั้งคว�มเสี่ยงที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบันและคว�มเสี่ยงที่อ�จเกิดขึ้นในอน�คต และทั้งปัจจัยภ�ยใน และภ�ยนอกที่อ�จส่งผลกระทบต่อก�รบรรลุวัตถุประสงค์และ เป้�หม�ยของบริษัท บริษัทได้แบ่งประเภทคว�มเสี่ยงออกเป็นห้� ประเภทซึ่งคือ คว�มเสี่ยงด้�นกลยุทธ์ คว�มเสี่ยงด้�นก�ร ดำ�เนินง�น คว�มเสี่ยงด้�นก�รเงิน คว�มเสี่ยงด้�นกฎหม�ยและ ระเบียบข้อบังคับ และคว�มเสี่ยงด้�นอุบัติภัย 2

หลักเกณฑ์การประเมินความเสี่ยง

บริษัทมีหลักเกณฑ์ก�รประเมินคว�มเสี่ยงที่ชัดเจน โดยก�ร กำ�หนดระดับโอก�สที่จะเกิดคว�มเสี่ยง (Likelihood level) และระดับผลกระทบเมื่อเกิดคว�มเสี่ยง (Impact level) เพื่อวัด คว�มน่�จะเป็นของคว�มเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อบริษัท ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินเมื่อมีก�รรวบรวมและประเมิน คว�มเสี่ยงทั่วทั้งบริษัท หลักเกณฑ์ก�รประเมินคว�มเสี่ยงดัง กล่�วได้นำ�ม�ปฏิบัติอย่�งต่อเนื่อง ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ระดับคว�มเสี่ยงที่ยอมรับได้ เป็นระดับของเกณฑ์ก�รประเมิน คว�มเสี่ยงที่บริษัทยอมรับได้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และ เป้�หม�ยของบริษัท ซึ่งกำ�หนดขึ้นและได้รับก�รอนุมัติไว้อย่�ง ชัดเจนโดยคณะกรรมก�รบริษัท เพื่อใช้เป็นแนวท�งในก�รระบุ คว�มเสี่ยงและม�ตรก�รควบคุมคว�มเสี่ยงที่ใช้ในปัจจุบัน 3

การวิเคราะห์และการประเมินความเสี่ยง

ผู้บริห�รพิจ�รณ�ระดับคว�มเสี่ยงของก�รดำ�เนินธุรกิจ (Inherent Risk) และม�ตรก�รควบคุมคว�มเสี่ยงที่มีอยู่เพื่อ พิจ�รณ�ระดับคว�มเสี่ยงคงเหลือ (Residual Risk) ต�ม เกณฑ์ก�รประเมินคว�มเสี่ยง บริษัทได้จัดให้มีก�รประเมินคว�ม เสี่ยงอย่�งน้อยทุกไตรม�ส หรือเมื่อมีก�รเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญ ใด ๆ ในสภ�พแวดล้อมท�งธุรกิจทั้งภ�ยในและภ�ยนอก 4

การจัดการความเสี่ยง

เมื่อคว�มเสี่ยงคงเหลือสูงเกินกว่�ระดับคว�มเสี่ยงที่ยอมรับได้ ผู้ บริห�รจะพิจ�รณ�จัดตั้งผู้รับผิดชอบคว�มเสี่ยง เพื่อเฝ้�ติดต�ม และกำ�หนดม�ตรก�รบริห�รคว�มเสี่ยงเพิ่มเติม ม�ตรก�รดัง กล่�วจะถูกเสนอแก่ฝ่�ยบริห�รเพื่อพิจ�รณ�อนุมัติก�รดำ�เนิน ก�ร โดยมีเป้�หม�ยที่จะลดระดับคว�มเสี่ยงให้เหลือในระดับ คว�มเสี่ยงที่บริษัทยอมรับได้

5

การติดตามและการรายงาน

ผู้รับผิดชอบคว�มเสี่ยงจะเป็นผู้รับผิดชอบในก�รติดต�มคว�ม มีประสิทธิผลของม�ตรก�รควบคุมคว�มเสี่ยงเพิ่มเติมที่กำ�หนด ขึ้น ส่วนฝ่�ยบริห�รคว�มเสี่ยงกลุ่มของบริษัทเป็นผู้ติดต�ม คว�มคืบหน้�ของก�รดำ�เนินก�รต�มม�ตรก�รควบคุมคว�ม เสี่ยงในภ�พรวม สถ�นะของตัวชี้วัดคว�มเสี่ยง (Key risk indicator) ของคว�มเสี่ยงกลุ่มบริษัท และคว�มเสี่ยงของบริษัท ย่อย รวมถึงมีหน้�ที่ร�ยง�นผลก�รบริห�รคว�มเสี่ยงต่อคณะ กรรมก�รบริษัท ประธ�นบริษัท คณะกรรมก�รบริห�รคว�ม เสี่ยง และผู้บริห�รสูงสุดท�งด้�นก�รเงินของกลุ่มบริษัทอย่�ง น้อยร�ยไตรม�ส ตัวชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicators :KRIs) สำ�หรับคว�มเสี่ยงที่มีส�ระสำ�คัญ ตัวชี้วัดคว�มเสี่ยงจะถูก กำ�หนดขึ้นเพื่อแจ้งสัญญ�ณของก�รเพิ่มขึ้นหรือลดลงของปัจจัย เสี่ยงของบริษัทพร้อมกำ�หนดระดับคว�มเบี่ยงเบนจ�กเกณฑ์ และจะถูกติดต�มคว�มเคลื่อนไหวอย่�งใกล้ชิด ซึ่งตัวชี้วัดดัง กล่�วส�ม�รถเป็นได้ทั้ง ตัวชี้วัดนำ� (leading indicator) หรือ ตัวชี้วัดต�ม (lagging indicator) ตัวอย่�งเช่น บริษัท ใช้จำ�นวนของข่�วในเชิงลบที่เกี่ยวข้องกับก�รปฏิบัติด้�นแรงง�น เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดคว�มเสี่ยงเรื่องอุปสรรคท�งก�รค้�ที่ไม่ใช่ ม�ตรก�รท�งภ�ษี 6

การสื่อสารและการประสานงาน

ก�รสื่อส�รและก�รประส�นง�น ถือเป็นกระบวนก�รสำ�คัญที่จะ ทำ�ให้พนักง�นมีคว�มเข้�ใจคว�มเสี่ยงและคว�มสำ�คัญของก�ร บริห�รคว�มเสี่ยง รวมถึงมีคว�มตระหนักถึงคว�มรับผิดชอบ ของตนในก�รบริห�รคว�มเสี่ยง กิจกรรมหลักมีดังต่อไปนี้ • ก�รประชุมห�รือของผู้บริห�รและคณะกรรมก�รบริห�รคว�ม เสี่ยง และร�ยง�นสถ�นะคว�มเสี่ยงและผลก�รบริห�รคว�ม เสี่ยงต่อคณะกรรมก�รบริษัทอย่�งน้อยร�ยไตรม�ส • คณะกรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยง ร�ยง�นคว�มเสี่ยงหลักของ บริษัทต่อคณะกรรมก�รสอบ เพื่อแลกเปลี่ยนคว�มเข้�ใจและ บูรณ�ก�รคว�มเสี่ยงดังกล่�วในระบบควบคุมภ�ยในและก�ร ว�งแผนก�รตรวจสอบอย่�งน้อยร�ยไตรม�ส • แผนกบริห�รคว�มเสี่ยงกลุ่มบริษัท ร�ยง�น และนำ�เสนอ ข้อมูลคว�มเสี่ยงและม�ตรก�รควบคุมคว�มเสี่ยงต่อคณะ กรรมก�รบริห�รคว�มเสี่ยงอย่�งน้อยร�ยไตรม�ส โดยผู้ บริห�รและผู้รับผิดชอบคว�มเสี่ยงมีหน้�ที่รวบรวมข้อมูลดัง กล่�วให้กับแผนกบริห�รคว�มเสี่ยง • ผู้บริห�รและแผนกบริห�รคว�มเสี่ยง สื่อส�รถึงคว�มสำ�คัญ ของก�รบริห�รคว�มเสี่ยงต่อพนักง�นอย่�งน้อยสองครั้งต่อ ปี เพื่อให้พนักง�นเกิดคว�มตระหนักถึงคว�มสำ�คัญของก�ร บริห�รคว�มเสี่ยง


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

127

บทรายงานและการวิเคราะห์ ของฝ่ายบริหาร ภาพรวม ปี 2559 เป็นปีที่ท้�ท�ยของไทยยูเนี่ยน เนื่องจ�กร�ค�วัตถุดิบ ปรับตัวสูงขึ้นอย่�งมีนัยสำ�คัญ แม้ว่�สภ�วะก�รดำ�เนินธุรกิจไม่ เอื้ออำ�นวยก็ต�ม บริษัทฯ ยังส�ม�รถร�ยง�นยอดข�ยสูงสุดเป็น ประวัติก�รณ์ ในขณะที่ส�ม�รถควบคุมค่�ใช้จ่�ยในก�รดำ�เนิน ง�นได้อย่�งมีประสิทธิภ�พ

18 จ�กปี 2558 ม�เป็น 310,979 ตันในปี 2559 กลุ่มธุรกิจ อ�ห�รสัตว์ ผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่� และธุรกิจอื่น (PetCare, Valued-added and Other Business) ยังส�ม�รถร�ยง�น ยอดข�ยและคว�มส�ม�รถในก�รทำ�กำ�ไรที่ดีขึ้นอย่�งต่อเนื่อง แม้ว่�ร�ค�วัตถุดิบปล�ทูน่�ยังอยู่ในภ�วะข�ขึ้นก็ต�ม

ไทยยูเนี่ยนร�ยง�นยอดข�ยประจำ�ปีที่ 134.4 พันล้�นบ�ท (หรือ 3.8 พันล้�นเหรียญสหรัฐ) โดยยอดข�ยปรับเพิ่มขึ้นร้อย ละ 7.3 จ�กปีก่อนหน้� หรือคิดเป็นก�รปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3 ห�กคิดเป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐ ยอดข�ยมีก�รเติบโตขึ้นจ�ก ก�รเข้�ซื้อกิจก�รหล�ยบริษัทฯ ปริม�ณก�รข�ยโดยรวมยังเพิ่ม ขึ้นอย่�งต่อเนื่องในปี 2559 ทั้งจ�กก�รเติบโตของธุรกิจหลักขอ งบริษัทฯ และก�รเข้�ซื้อกิจก�รที่เกิดขึ้นระหว่�งปี

กลุ่มธุรกิจอ�ห�รทะเลแปรรูปยังคงเป็นธุรกิจที่มีสัดส่วนร�ยได้ สูงที่สุดของบริษัทฯ ที่ร้อยละ 45 ของยอดข�ยรวม โดยยอด ข�ยปี 2559 ยังเติบโตโดยส�เหตุหลักม�จ�กก�รเพิ่มขึ้นของ ปริม�ณก�รข�ยจ�กก�รเข้�ควบรวมกิจก�รของบริษัท รูเก้น ฟิช ในประเทศเยอรมนีในช่วงต้นปี 2559 ยอดข�ยกลุ่มธุรกิจ อ�ห�รทะเลแช่แข็ง แช่เย็น และสินค้�ที่เกี่ยวข้องนั้นคิดเป็นร้อยละ 42 ของยอดข�ยรวมของบริษัทฯ โดยก�รเติบโตของยอดข�ย นั้นม�จ�กก�รเพิ่มขึ้นของปริม�ณก�รข�ยทั้งจ�กผลผลิตกุ้งใน ประเทศไทยที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นและก�รควบรวมกิจก�รของบริษัท เล เพ็ชเชอะรี เดอ เชซ์ นูส์ในประเทศแคน�ด�ในระหว่�งปี 2559 โดยร�ค�ข�ยเฉลี่ยของทั้งสองกลุ่มธุรกิจนั้นโดยรวมทรงตัวจ�ก ปีก่อนหน้�

บริษัทฯ ร�ยง�นกำ�ไรสุทธิ 5.3 พันล้�นบ�ทในปี 2559 โดย ทรงตัวจ�กปีก่อนหน้� แม้ว่�สภ�วะร�ค�วัตถุดิบที่ปรับตัวสูง ขึ้นจะส่งผลต่อก�รดำ�เนินง�นของบริษัทฯ ในเชิงลบ บริษัทฯ ยังส�ม�รถรักษ�ระดับกำ�ไรได้จ�กก�รควบคุมต้นทุนที่มี ประสิทธิภ�พ และผลกำ�ไรจ�กก�รลงทุนเชิงกลยุทธ์ในธุรกิจร้�น อ�ห�รของบริษัท เรด ล็อบสเตอร์ ซีฟู้ด ซึ่งเป็นธุรกิจเครือข่�ย ร้�นอ�ห�รและภัตต�ค�รอ�ห�รทะเลที่ใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่ ไตรม�สที่ 4/2559 ห�กไม่รวมผลกำ�ไรจ�กก�รควบรวมกิจก�รระหว่�งปี กระแส เงินสดจ�กก�รดำ�เนินง�นในปี 2559 ยังคงเป็นบวกเนื่องจ�ก ยังคงคว�มส�ม�รถในก�รทำ�กำ�ไรได้อย่�งเป็นที่น่�พอใจ ก�ร ควบคุมค่�ใช้จ่�ยในก�รลงทุนที่เป็นไปอย่�งระมัดระวัง และก�ร จัดก�รเงินทุนหมุนเวียนที่มีประสิทธิภ�พแม้ว่�ร�ค�วัตถุดิบจะอยู่ ในภ�วะข�ขึ้นก็ต�ม ห�กรวมกิจกรรมก�รลงทุนและกิจกรรมก�ร จัดห�เงินแล้ว หนี้สินที่มีภ�ระดอกเบี้ยของบริษัทฯ ได้เพิ่มขึ้นเป็น 65.9 พันล้�นบ�ท และสัดส่วนหนี้สินต่อทุนสุทธิของบริษัทฯ ปรับขึ้นม�อยู่ที่ระดับ 1.37 เท่� ณ สิ้นปี 2559 กลุ่มธุรกิจอ�ห�รทะเลแปรรูป (Ambient Seafood) ได้ประสบ ภ�วะอัตร�กำ�ไรลดลงในปี 2559 เนื่องจ�กร�ค�ปล�ทูน่�ที่ปรับ ตัวขึ้นม�กกว่�ค�ดในช่วงครึ่งหลังของปี 2559 ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อคว�มส�ม�รถในก�รทำ�กำ�ไรของธุรกิจอ�ห�รทะเลแปรรูป ใน ขณะที่กลุ่มธุรกิจcแบรนด์อ�ห�รทะเลแช่แข็ง แช่เย็น และสินค้�ที่ เกี่ยวข้อง (Frozen and Chilled Seafood and Related Business) ยังส�ม�รถร�ยง�นก�รเติบโตของยอดข�ยได้แม้ว่� ร�ค�วัตถุดิบปล�แซลมอลจะปรับตัวสูงขึ้นม�กเช่นกัน เป็นเหตุ เนื่องจ�กก�รปรับร�ค�ข�ยผลิตภัณฑ์สินค้�แซลมอนอย่�งต่อ เนื่อง และก�รที่ปริม�ณก�รผลิตกุ้งในประเทศปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ

สำ�หรับยอดข�ยร�ยภูมิภ�คในปี 2559 ยอดข�ยจ�กภูมิภ�ค ยุโรปยังคิดเป็นส่วนแบ่งร�ยได้ร้อยละ 33 ของบริษัทฯ และยังคง เป็นตล�ดใหญ่ลำ�ดับที่ 2 โดยเพิ่มขึ้นจ�กร้อยละ 29 ในปีก่อน หน้�เนื่องจ�กธุรกิจแบรนด์ของ บริษัทฯ ได้ปรับเพิ่มขึ้นและยังได้ เข้�ควบรวมกิจก�รของบริษัท รูเก้น ฟิช ในประเทศเยอรมนีอีก ด้วย สหรัฐยังคงเป็นตล�ดที่มีขน�ดใหญ่ที่สุดของบริษัทฯโดยมี ส่วนแบ่งร�ยได้ร้อยละ 39 ของบริษัทฯ ส่วนตล�ดในประเทศและ ตล�ดญี่ปุ่นเป็นตล�ดที่ส่วนแบ่งร�ยได้ของบริษัทฯ คิดเป็นร้อย ละ 8 และ ร้อยละ 6 ต�มลำ�ดับ ส่วนตล�ดอื่นๆ เช่น ตล�ด แอฟริก� และตล�ดอื่นในเอเชียนั้นรวมแล้วคิดเป็นร้อยละ 13 ของร�ยได้รวมของบริษัทฯ ปัจจัยสำ�คัญที่ส่งผลกระทบก�รดำ�เนินง�นของบริษัทฯ ในปี 2559 ที่ผ่�นม�ได้แก่: 1. ร�ค�ปล�ทูน่�ที่ปรับตัวขึ้นอย่�งมีนัยสำ�คัญ ในปี 2559 ร�ค�วัตถุดิบปล�ทูน่�เฉลี่ยอยู่ที่ 1,425 เหรียญสหรัฐต่อตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 22 จ�กร�ค�เฉลี่ยใน ปี 2558 ร�ค�วัตถุดิบที่ปรับตัวสูงขึ้นได้ส่งผลกระทบต่อ อัตร�ก�รทำ�กำ�ไรโดยเฉพ�ะในธุรกิจแบรนด์ของบริษัทฯ ใน ตล�ดฝรั่งเศส อังกฤษ และอิต�ลี่ ซึ่งไม่ส�ม�รถปรับร�ค� ได้ในระยะสั้น และเนื่องจ�กผลิตภัณฑ์ปล�ทูน่�คิดเป็นยอด ข�ยหลักของกลุ่มธุรกิจอ�ห�รทะเลแปรรูป อัตร�กำ�ไรขั้น ต้นของธุรกิจจึงลดลงม�อยู่ที่ร้อยละ 17.0 ลดลงจ�ก


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

128 ร้อยละ 18.7 ในปีก่อนหน้� 2. ร�ค�ปล�แซลมอนปรับตัวสูงเป็นประวัติก�รณ์เนื่องจ�ก ก�รปัญห�ก�รผลิตในประเทศชิลี ในปี 2559 ร�ค�วัตถุดิบปล�แซลมอนเฉลี่ยอยู่ที่ 63 โค รนนอร์เวย์ (NOK) ต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้นร้อยละ 50 จ�ก ร�ค�เฉลี่ยในปีก่อนหน้� ก�รปรับขึ้นของร�ค�นั้นส่งผล กระทบต่อธุรกิจปล�แซลมอนโดยเฉพ�ะธุรกิจเมอร์อลิอนั ซ์ ในประเทศฝรั่งเศสและสหร�ชอ�น�จักร เนื่องจ�กติด สัญญ�ข�ยระยะย�วซึ่งเป็นลักษณะก�รดำ�เนินธุรกิจดัง กล่�ว โดยธุรกิจแซลมอนในยุโรปได้ร�ยง�นผลข�ดทุนจ�ก ก�รดำ�เนินง�นสูงถึง 13 ล้�นยูโรในปี 2559 ดังนั้นอัตร� กำ�ไรขึ้นต้นของกลุ่มธุรกิจอ�ห�รทะเลแช่แข็ง แช่เย็น และ สินค้�ที่เกี่ยวข้องจึงได้ปรับลดลงสู่ระดับร้อยละ 9.1 เมื่อ เทียบกับร้อยละ 10.7 ในปี 2558 3. ผลผลิตกุ้งในประเทศที่เพิ่มขึ้น ผลผลิตกุ้งในประเทศไทยฟื้นตัวต่อเนื่องในระหว่�งปี 2559 โดยมีผลผลิตทั้งประเทศอยู่ที่ 310,979 ตันหรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 18 จ�กปี 2558 เนื่องจ�กเกษตรกรผู้ เลี้ยงกุ้งส�ม�รถรับมือกับปัญห�ก�รแพร่ระบ�ดของโรค EMS ได้ดีขึ้น ขณะที่ร�ค�กุ้งเฉลี่ยในปี 2559 (กุ้งขน�ด 60 ตัวต่อกิโลกรัม) เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 จ�กปี 2558 เป็น 179 บ�ทต่อกิโลกรัม ซึ่งเป็นผลจ�กคว�มต้องก�ร บริโภคกุ้งทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง 4. ก�รควบรวมกิจก�รของธุรกิจใหม่ช่วยผลักดันก�รเติบโต ของบริษัทฯ ในปี 2559 ไทยยูเนี่ยนได้เข้�ซื้อหุ้นส่วนใหญ่ ร้อยละ 51 ของ บริษัท รูเก้น ฟิช (Rugen Fisch AG) ผู้นำ�ตล�ด อ�ห�รทะเลกระป๋องในประเทศเยอรมนี และร้อยละ 80 ของบริษัทเล เพ็ชเชอะรี เดอ เชซ์ นูส์ (Les Pecheries de Chez Nous) ธุรกิจแปรรูปกุ้งล็อบสเตอร์ในประเทศ แคน�ด� โดยก�รเข้�ซื้อกิจก�รดังกล่�วนั้นทำ�ให้ยอดข�ย ของกลุ่มธุรกิจอ�ห�รทะเลแปรรูป และกลุ่มธุรกิจอ�ห�ร ทะเลแช่แข็ง แช่เย็น และสินค้�ที่เกี่ยวข้องเติบโตขึ้น ก�รลงทุนเชิงกลยุทธ์ในบริษัท เรด ล็อบสเตอร์ ซีฟู้ด ซึ่ง เป็นธุรกิจเครือข่�ยร้�นอ�ห�รและภัตต�ค�รอ�ห�รทะเลที่ ใหญ่ที่สุดในโลกนั้นได้เริ่มสร้�งผลกำ�ไรให้กับบริษัทตั้งแต่ ไตรม�สที่ 4/2559 5. ปัจจัยค่�เงินที่มีคว�มผันผวน บริษัทฯ มียอดข�ยกว่�ร้อยละ 92 ที่ไม่ได้อยู่ในรูปสกุล เงินบ�ท โดยส่วนม�กนั้นเป็นเงินเหรียญสหรัฐ เงินยูโร และเงินปอนด์ แม้ว่�ค่�เงินจะมีคว�มผันผวนระหว่�งปีนั้น เนื่องม�จ�กปัจจัยคว�มไม่แน่นอนเรื่องก�รเมืองในแต่ละ ประเทศ บริษัทฯ ยังส�ม�รถลดผลกระทบจ�กค่�เงินที่ ผันผวนได้อย่�งมีประสิทธิภ�พซึ่งทำ�ให้บริษัทฯ ร�ยง�น ผลกำ�ไรจ�กอัตร�แลกเปลี่ยนมูลค่� 84 ล้�นบ�ทในปี 2559 6. ก�รควบคุมค่�ใช้จ่�ยในก�รบริห�รง�นอย่�งมี ประสิทธิภ�พ บริษัทฯ ส�ม�รถควบคุมค่�ใช้จ่�ยในก�รบริห�รง�นอย่�ง มีประสิทธิภ�พโดยมุ่งควบคุมค่�ใช้จ่�ยในก�รดำ�เนินง�น

และก�รเริ่มรับรู้สิทธิประโยชน์ท�งภ�ษีจ�กก�รลงทุนใน ศูนย์นวัตกรรม Global Innovation Incubator ค่�ใช้ จ่�ยในก�รข�ยและบริห�รในปี 2559 มีก�รเพิ่มขึ้นเพียง ร้อยละ 3.2 เมื่อเทียบกับยอดข�ยที่มีก�รปรับตัวเพิ่มขึ้น ถึงร้อยละ 7.3 ดังนั้นอัตร�ส่วนค่�ใช้จ่�ยในก�รข�ยและ บริห�รต่อยอดข�ยจึงปรับลดลงเหลือร้อยละ 9.8 ในปี 2559 ซึ่งต่ำ�กว่�ร้อยละ 10.2 ในปี 2558 และร้อยละ 10 ซึ่งเป็นเป้�หม�ยที่บริษัทตั้งไว้ 7. ระดับหนี้ที่ปรับสูงขึ้นจ�กกิจกรรมลงทุนของบริษัทฯ บริษัทฯ ได้มีก�รลงทุนในปี 2559 หล�ยร�ยก�ร และก�ร ลงทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นในปีส�ม�รถสร้�งกำ�ไรในปีแรกของ ก�รลงทุน จ�กก�รลงทุนดังกล่�วได้ทำ�ให้อัตร�ส่วนหนี้ สินต่อทุนสุทธิเพิ่มขึ้นเป็น 1.37 เท่� ณ สิ้นปี 2559 เมื่อ เทียบกับ ณ สิ้นปี 2558 ที่ 0.75 เท่� แต่ก็ยังต่ำ�กว่�ข้อ จำ�กัดต�มเงื่อนไขก�รกู้ยืมที่ 2.0 เท่�อยู่ม�ก มูลค่�หนี้ สินที่มีภ�ระดอกเบี้ยสุทธิเพิ่มขึ้นม�อยู่ที่ 64.9 พันล้�น ณ สิ้นปี 2559 สูงขึ้นเมื่อเทียบกับ 36.4 พันล้�นบ�ท ณ สื้นปี 2558

กลุ่มธุรกิจอาหารทะเลแปรรูป

กลุ่มธุรกิจอ�ห�รทะเลแปรรูปมียอดข�ยในปี 2559 ทั้งสิ้น 61,042 ล้�นบ�ท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 จ�ก 59,414 ล้�นบ�ท เมื่อปีก่อนหน้� โดยก�รเพิ่มขึ้นของยอดข�ยนั้นม�จ�กก�รควบ รวมกิจก�รของบริษัท รูเก้น ฟิช ในขณะที่ปริม�ณข�ยปรับเพิ่ม ขึ้นร้อยละ 2.9 ม�อยู่ที่ 375,916 ตันในปี 2559 ร�ค�ข�ย เฉลี่ยได้มีก�รปรับตัวขึ้นร้อยละ 0.3 ในปีเดียวกัน อัตร�กำ�ไรขั้น ต้นของกลุ่มธุรกิจอ�ห�รทะเลแปรรูปปรับลงม�อยู่ที่ร้อยละ 17.0 ลดลงจ�กร้อยละ 18.7 เมื่อปีก่อนหน้� อัตร�กำ�ไรที่ลดลงนั้น ม�จ�กร�ค�ปล�ทูน่�ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อคว�ม ส�ม�รถในก�รทำ�กำ�ไรของทั้งธุรกิจส่งออกในประเทศและธุรกิจ แบรนด์ในทวีปยุโรปของบริษัทเองด้วย ร�ค�เฉลี่ยปล�ทูน่�พันธุ์ Skipjack (จ�กมห�สมุทรแปซิฟิก ตะวันตก / ณ ท่�เรือกรุงเทพ) ในปี 2559 เพิ่มขึ้นร้อยละ 22 ม�อยู่ที่ 1,425 เหรียญสหรัฐต่อตัน เทียบกับ 1,170 เหรียญ สหรัฐต่อตันเมื่อปีที่แล้ว ซึ่งแม้ว่�จะทำ�ให้ยอดข�ยของกลุ่มธุรกิจ อ�ห�รทะเลแปรรูปปรับตัวสูงขึ้นจ�กก�รปรับร�ค� ร�ค�วัตถุดิบ ที่ปรับตัวสูงขึ้นได้ส่งผลกระทบอัตร�กำ�ไรขั้นต้นในปี 2559 ก�ร เจรจ�และปรับร�ค�อย่�งต่อเนื่องจะช่วยลดผลกระทบของร�ค� วัตถุดิบที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นและทำ�ให้อัตร�ก�รทำ�กำ�ไรฟื้นตัวในปี 2560

กลุ่มธุรกิจอาหารทะเลแช่แข็ง แช่เย็น และสินค้าที่เกี่ยวข้อง กลุ่มธุรกิจอ�ห�รทะเลแช่แข็ง แช่เย็น และสินค้�ที่เกี่ยวข้องมี ยอดข�ยในปี 2559 ทั้งสิ้น 55,832 ล้�นบ�ท เพิ่มขึ้นร้อย ละ 11 จ�ก 50,307 ล้�นบ�ทเมื่อปีก่อนหน้� โดยก�รเพิ่มขึ้น ของยอดข�ยนั้นม�จ�กก�รเพิ่มขึ้นของปริม�ณก�รข�ย ก�ร ปรับร�ค�สินค้�ขึ้นให้สอดคล้องกับทิศท�งของร�ค�วัตถุดิบที่ ปรับตัวขึ้น และก�รควบรวมกิจก�รของบริษัทเล เพ็ชเชอะรี เดอ เชซ์ นูส์ โดยปริม�ณก�รข�ยปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.8 ม�อยู่ ที่ 239,143 ตัน และร�ค�ข�ยเฉลี่ยปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1 ปริม�ณข�ยที่เพิ่มขึ้นนั้นเป็นผลโดยตรงม�จ�กผลผลิตกุ้งใน ประเทศไทยปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 18 โดยมีผลผลิตทั้งประเทศอยู่ ที่ 310,979 ตันในปี 2559 กรมประมงค�ดว่�ปริม�ณผลผลิต


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

129 กุ้งในประเทศจะเพิ่มขึ้นเป็น 330,000-340,000 ในปี 2560 ร�ค�วัตถุดิบกุ้งและปล�แซลมอนที่ปรับตัวสูงขึ้นได้ส่งผลกระ ทบต่อคว�มส�ม�รถในก�รทำ�กำ�ไรของกลุ่มธุรกิจอ�ห�รทะเลแช่ แข็ง แช่เย็น และสินค้�ที่เกี่ยวข้อง โดยอัตร�กำ�ไรขั้นต้นปรับลด ลงสู่ระดับร้อยละ 9.1 ลดลงจ�กร้อยละ 10.7 ในปีก่อนหน้� ใน ปี 2559 ร�ค�วัตถุดิบกุ้งข�วเฉลี่ยอยู่ที่ 179 บ�ทต่อกิโลกรัม (ขน�ดกุ้ง 60 ตัวต่อกิโลกรัม) เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 จ�กปีก่อน

หน้� ร�ค�ปล�แซลมอนได้ปรับเพิ่มสูงขึ้นเป็นประวัติก�รณ์กว่� ร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับปีที่แล้วเนื่องจ�กก�รผลิตปล�แซลมอน ในประเทศชิลีประสบปัญห�ก�รเติบโตผิดปกติของส�หร่�ย (Algae Bloom) แม้ว่�ร�ค�วัตถุดิบมีก�รปรับตัวสูงขึ้นม�ก ตลอดทั้งปี กลุ่มธุรกิจอ�ห�รทะเลแช่แข็ง แช่เย็น และสินค้�ที่ เกี่ยวข้องยังคงร�ยง�นอัตร�กำ�ไรขั้นต้นที่ ปรับตัวดีขึ้นอย่�งต่อ เนื่องในช่วงไตรม�ส 3/2559 และไตรม�ส 4/2559 เนื่องจ�กท� งบริษัทฯ ส�ม�รถเจรจ�ปรับร�ค�กับลูกค้�ได้อย่�งมีประสิทธิผล

การจัดการทางการเงินและการลงทุน ในปี 2559 บริษัทฯ ได้ดำ�เนินกิจกรรมท�งก�รเงินและก�รลงทุน ที่สำ�คัญ ดังนี้: 1. ไทยยูเนี่ยน เข้�ซื้อหุ้นส่วนใหญ่ของบริษัท รูเก้น ฟิช ใน ประเทศเยอรมนี บริษัทได้เข้�ซื้อหุ้นส่วนใหญ่เป็นจำ�นวน 51% ของบริษัท รูเก้น ฟิช (Rügen Fisch AG) ผู้นำ�ตล�ดอ�ห�รทะเล กระป๋องในประเทศเยอรมนีในปี 2559 บริษัท รูเก้น ฟิช มีสำ�นักง�นใหญ่อยู่ท�งภ�คตะวันออกเฉียงเหนือของ เยอรมนี และเป็นผู้ประกอบก�รอ�ห�รทะเลแปรรูป โดยมี ผลิตภัณฑ์หลักคือปล�เฮอร์ริ่ง ปล�แม็คเคอเรล และ ปล� แซลมอน จัดจำ�หน่�ยไปยังห้�งค้�ปลีกชั้นนำ�ทั่วประเทศ เยอรมนีภ�ยใต้แบรนด์หลักอย่�งรู เก้น ฟิช (Rügen Fisch) ฮ�เวสต้� (Hawesta) อ็อสต์เซย์ฟิช (Ostsee Fisch) ไลเซลล์ (Lysell) และก�รรับจ้�งผลิตอีกม�กม�ย โดยบริษัท รูเก้น พิช มีพนักง�นกว่� 850 คนในโรงง�น ที่ทันสมัยทั้งสี่แห่งทั้งในประเทศเยอรมนีและลิธัวเนีย โดย บริษัทมียอดข�ยสูงกว่� 140 ล้�นยูโรในปี 2558 หรือ ประม�ณกว่� 5,600 ล้�นบ�ท 2. ไทยยูเนี่ยน เข้�ซื้อหุ้นส่วนใหญ่ของบริษัท เล เพ็ชเชอะรี เดอ เชซ์ นูส์ ในประเทศแคน�ด� ไทยยูเนี่ยนเข้�ซื้อหุ้นส่วนใหญ่ของ เชซ์นูส์ฯ ธุรกิจแปรรูป กุ้งล็อบสเตอร์ในประเทศแคน�ด� โดยมีมร. ฟรังซัวร์ “แฟ รงกี้” เบนัวท์ (Francois “Frankie” Benoit) ซึ่งเป็น ผู้ก่อตั้งบริษัท และยังคงมีส่วนร่วมในกิจก�รดังกล่�วต่อ ไปในฐ�นะผู้บริห�รและผู้ถือหุ้นเสียงข้�งน้อย เชซ์นูส์ฯ ตั้ง อยู่ที่เมืองนิวบรันสวิก (New Brunswick) ประเทศ แคน�ด� และมีโรงง�นแปรรูปตั้งอยู่ในยุทธศ�สตร์ที่ดีบน อ่�วเซ็นต์ลอเรนซ์ บริษัทมีพนักง�นม�กถึง 200 คนใน ฤดูจับกุ้งล็อบสเตอร์ ยอดข�ยของกิจก�รในปี 2558 อยู่ ที่ประม�ณ 50 ล้�นเหรียญแคน�ด� (ประม�ณ 1,369 ล้�นบ�ท) รวมกับก�รเข้�ซื้อบริษัทโอไรออน ซีฟู้ด อินเตอร์ เนชั่นแนลเมื่อปี 2558 ส่งผลให้บริษัทฯ กล�ยเป็นผู้จัด จำ�หน่�ยกุ้งล็อบสเตอร์แอตแลนติกเหนือร�ยที่ใหญ่ที่สุด ร�ยหนึ่งในสหรัฐอเมริก� ก�รเข้�ซื้อ เชซ์นูส์ฯ ในครั้งนี้ ช่วยเสริมสร้�งคว�มแข็งแกร่งให้กลุ่มบริษัทไทยยูเนี่ยน ในด้�นก�รตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) ก�ร ควบคุมคุณภ�พ (Quality control) และก�รขย�ย ประเภทผลิตภัณฑ์ไปยังสินค้�พรีเมี่ยม รวมทั้งมีคว�ม หล�กหล�ยม�กขึ้น

3. ไทยยูเนี่ยน เข้�ลงทุนเชิงกลยุทธ์ใน เรด ล็อบสเตอร์ ภัตต�ค�รอ�ห�รทะเลที่ใหญ่ที่สุดในโลก ไทยยูเนี่ยนได้เข้�ลงทุนเชิงกลยุทธ์ใน เรด ล็อบสเตอร์ ซึ่ง เป็นบริษัทผู้ดำ�เนินกิจก�รภัตต�ค�รอ�ห�รทะเลที่ใหญ่ ที่สุดในโลก คิดเป็นมูลค่�ก�รลงทุนทั้งสิ้น 575 ล้�น เหรียญสหรัฐ โดยแบ่งเป็นก�รลงทุนในหุ้นร้อยละ 25 ของ เรด ล็อบสเตอร์ และหุ้นกู้แปลงสภ�พมูลค่� 345 ล้�น เหรียญสหรัฐที่ส�ม�รถแปลงเป็นหุ้นของเรด ล็อบสเตอร์ จำ�นวนร้อยละ 24 โดยโกลเดนเกท แคปิตอล จะยังคง เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่และมีอำ�น�จควบคุมก�รบริห�ร เรด ล็อบสเตอร์ เช่นเดิมต่อไป เรด ล็อบสเตอร์ เป็นร้�นอ�ห�รทะเลที่ใหญ่ที่สุดของโลก โดยสร้�งร�ยได้ต่อปีที่ 2.5 พันล้�นเหรียญสหรัฐ และมี ส�ข�ม�กกว่� 700 ส�ข�ในประเทศสหรัฐเมริก�และอีก 50 ภ�ยใต้ร้�นแฟรนไชส์นอกทวีปอเมริก� 4. ไทยยูเนี่ยนเข้�ซื้อหุ้นเสียงข้�งน้อยจ�กอะแวนติโฟรเซ่น ฟู้ดส์ ผู้ผลิตและแปรรูปกุ้งชั้นนำ�ในประเทศอินเดีย ไทยยูเนี่ยน เข้�ซื้อหุ้น 40% จ�กบริษัท อะแวนติโฟร เซ่น ฟู้ดส์ จำ�กัด (Avanti Frozen Foods Private Limited) ผู้ผลิตและแปรรูปกุ้ง ในประเทศอินเดีย ซึ่ง เป็นบริษัทย่อยของบริษัท อะแวนติฟีดส์ จำ�กัด (Avanti Feeds Limited) บริษัทดำ�เนินธุรกิจก�รแปรรูปกุ้งใน ประเทศอินเดียสำ�หรับส่งออกตล�ดต่�งประเทศและตล�ด ในประเทศ ซึ่งเงินลงทุนนี้จะถูกใช้เพื่อเพิ่มกำ�ลังก�รผลิต จ�กเดิม 35 ตันต่อวัน เป็น 110 ตันต่อวัน 5. ไทยยูเนี่ยนออกหุ้นกู้สกุลเหรียญสหรัฐมูลค่� 75 ล้�น เหรียญสหรัฐ ไทยยูเนี่ยน ออกหุ้นกู้สกุลเหรีญสหรัฐ หรือหุ้นกู้มวยไทย มูลค่� 75 ล้�นเหรียญสหรัฐ โดยมีอ�ยุ 10 ปี โดยกลุ่ม บริษัทไทยยูเนี่ยนได้รับก�รจัดอันดับคว�มน่�เชื่อถือใน ประเทศ จ�กบริษัท ทริส เรตติ้ง จำ�กัด ในระดับ AA- ก�ร ออกหุ้นกู้ครั้งนี้เป็นไปต�มกฎระเบียบว่�ด้วยพันธบัตร สกุลเงินต่�งประเทศที่กำ�หนดไว้โดยสำ�นักง�นคณะ กรรมก�รกำ�กับหลักทรัพย์และตล�ดหลัก ทรัพย์ (กลต.) และได้รับคว�มเห็นชอบจ�กธน�ค�รแห่งประเทศไทย (ธปท.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำ�เงินทุนที่ได้ไปใช้สำ�หรับ ก�รดำ�เนินกิจก�รทั่วไปของ บริษัท และสนับสนุนก�ร ดำ�เนินง�นของศูนย์บริห�รเงินในประเทศไทย (Global Treasury Center)


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

130

ก�รออกหุ้นกู้ในสกุลเงินต่�งประเทศนี้นับเป็นก้�วสำ�คัญ สำ�หรับบริษัทในก�รที่จะกู้ยืมเงินในตล�ดตร�ส�รหนี้ใน ตล�ดต่�งประเทศ หลังบริษัทได้รับใบอนุญ�ตศูนย์บริห�ร เงินในประเทศไทย 6. ไทยยูเนี่ยน ออกหุ้นกู้มูลค่� 10,000 ล้�นบ�ท ไทยยูเนี่ยน ออกหุ้นกู้มูลค่� 10,000 ล้�นบ�ทในเดือน กรกฎ�คม 2559 หุ้นกู้ดังกล่�วได้รับก�รจัดอันดับคว�ม น่�เชื่อถือที่ระดับ AA- โดยบริษัท ทริส เรตติ้ง จำ�กัด เงินที่ได้รับส่วนใหญ่จะถูกนำ�ไปใช้เพื่อชำ�ระคืนเงินกู้ที่มี สินทรัพย์ค้ำ�ประกัน (Asset Backed Loans - ABLs) ที่บริษัทลูกในสหรัฐอเมริก�ได้กู้ยืมม� ก�รดำ�เนินก�ร ดังกล่�วจึงช่วยบริษัทในก�รจัดตั้งศูนย์บริห�รเงินใน ประเทศไทย ช่วยทำ�ให้ต้นทุนก�รกู้ยืมเงินของทั้งกลุ่ม บริษัทลดลง และ ยังช่วยให้บริษัทส�ม�รถถอนก�รค้ำ� ประกันสินทรัพย์ที่มีอยู่ที่ได้ว�งเป็นหลักประกันไว้กับ ธน�ค�รซึ่งจะช่วยให้บริษัทมีคว�มคล่องตัวในก�รเข้�ถึง ตล�ดก�รเงินในอน�คต

แนวทางการดำาเนินงานในอนาคต

ในปี 2560 บริษัทฯ ค�ดว่�จะส�ม�รถเติบโตได้อย่�งต่อเนื่อง จ�ก 3 ปัจจัยหลัก ได้แก่ 1) ก�รขย�ยธุรกิจเดิมที่มีอยู่ 2) ก�ร จัดตั้งหน่วยธุรกิจใหม่จ�กก�รพัฒน�ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมและ ก�รรุกตล�ดใหม่ และ 3) ก�รปรับร�ค�สินค้�เพื่อสะท้อนร�ค� วัตถุดิบที่ปรับตัวสูงขึ้นในปี 2559 โดยปัจจัยทั้งหมดจะช่วยผลัก ดันให้ยอดข�ยของบริษัทฯ เติบโตได้ต�มเป้�หม�ยที่ 8 พันล้�น เหรียญสหรัฐภ�ยในปี 2563 บริษัทฯ ค�ดว่�อัตร�ก�รทำ�กำ�ไรจะฟื้นตัวในปี 2560 เนื่องจ�ก 1) ก�รฟื้นตัวของธุรกิจแซลมอนเมอร์อลิอันซ์ 2) ก�รฟื้นตัว ของธุรกิจรับจ้�งผลิตทูน่�ส่งออกในประเทศไทย และ 3) ผลกำ�ไร ที่เพิ่มขึ้นจ�กก�รลงทุนในธุรกิจร้�นอ�ห�รเรด ล็อบสเตอร์ และ บริษัทยังคงมุ่งมั่นที่จะควบคุมค่�ใช้จ่�ยอย่�งมีประสิทธิภ�พ ในปี 2560 บริษัทฯ มุ่งที่จะปรับปรุงง�นใน 5 ส่วนสำ�คัญของ ก�รดำ�เนินธุรกิจ ได้แก่: 1. ก�รปรับปรุงธุรกิจหลัก • มุ่งขย�ยส่วนแบ่งท�งก�รตล�ดของตล�ดธุรกิจอ�ห�ร ทะเลแปรรูปในภูมิภ�คยุโรป

• พลิกฟื้นอัตร�กำ�ไรในธุรกิจทูน่�และแซลมอน 2. ก�รควบรวมกิจก�รอย่�งมีประสิทธิผล • ติดต�มก�รลุงทุนของบริษัท เรด ล็อบสเตอร์ เพื่อส่ง ผลให้บริษัทฯ มีกำ�ไรม�กขึ้น • ปรับปรุงก�รทำ�ง�นร่วมกันระหว่�งบริษัทในเครือทั่ว โลกอย่�งมีประสิทธิภ�พ 3. ธุรกิจใหม่ • สร้�งแบรนด์ คิงออสก�ร์ (King Oscar) ให้เป็น แบรนด์ระดับโลก และสร้�งคว�มเติบโตในธุรกิจที่ เกี่ยวข้อง • ก�รเปิดตัวผลิตภัณฑ์ Marine Ingredients เพื่อ สร้�งมูลค่�เพิ่มให้กับวัตถุดิบของบริษัทฯ 4. นวัตกรรม • นำ�นวัตกรรมที่ค้นคว้�โดยศูนย์นวัตกรรม (Gii) ม� ใช้ให้เกิดประโยชน์ ไม่ว่�จะเป็นนวัตกรรมสินค้�หรือ นวัตกรรมกระบวนก�รผลิตใหม่ๆ 5. ก�รดำ�เนินธุรกิจอย่�งยั่งยืน • โปรแกรมเพื่อคว�มยั่งยืน ‘SeaChange’ และ ‘Tuna Commitment’ • แสดงถึงคว�มเป็นผู้นำ�ในก�รจัดห�วัตถุดิบอย่�งมี คว�มรับผิดชอบและก�รใช้แรงง�นอย่�งเป็นธรรม ในปี 2560 บริษัทมีแผนที่จะลงทุนจำ�นวน 4.8 พันล้�นบ�ท สำ�หรับก�รพัฒน�ธุรกิจใหม่และปรับปรุงก�รดำ�เนินง�นใน ปัจจุบันอย่�งต่อเนื่องเพื่อให้บริษัทฯ เติบโตอย่�งยั่งยืนในระยะ ย�ว โดยบริษัทฯ จะมุ่งเน้นก�รลงทุนในด้�นเครื่องจักรและ อุปกรณ์ รวมถึงก�รก่อสร้�งและปรับปรุงอ�ค�ร รวมทั้งก�ร ขย�ยธุรกิจอย่�งต่อเนื่องจะทำ�ให้สถ�นะท�งก�รเงินของบริษัทฯ เข้มแข็งจ�กก�รเพิ่มขึ้นของกระแสเงินสด บริษัทฯ มีนโยบ�ยก�รจ่�ยเงินปันผลปีละสองครั้งในอัตร�ไม่ต่ำ� กว่�ร้อยละ 50 ของกำ�ไรสุทธิ ด้วยก�รบริห�รง�นอย่�งรอบคอบและคว�มส�ม�รถในก�ร ปรับตัวให้เข้�กับก�รเปลี่ยนแปลงของสภ�พแวดล้อมท�งธุรกิจ บริษัทฯ จึงส�ม�รถรักษ�ระดับกำ�ไรสุทธิจ�กปีก่อนหน้�และ คงอัตร�ก�รจ่�ยเงินปันผลได้ที่ 0.63 บ�ทต่อหุ้นสำ�หรับผล ก�รดำ�เนินง�นในปี 2559 บริษัทฯ ส�ม�รถจ่�ยปันผลอย่�ง สม่ำ�เสมอนับตั้งแต่เข้�จดทะเบียนในตล�ดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยในปี 2537


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

131

อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง

2557

2558

2559

• อัตร�ส่วนสภ�พคล่อง (เท่�)

1.51

1.47

1.01

• อัตร�ส่วนสภ�พคล่องหมุนเร็ว (เท่�)

0.43

0.48

0.29

• อัตร�ส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่�)

1.43

1.29

2.00

• อัตร�ส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่�)*

0.98

0.81

1.39

• อัตร�ส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่�)*

0.85

0.75

1.37

• อัตร�ส่วนคว�มส�ม�รถในก�รชำ�ระดอกเบี้ย (เท่�)

5.07

5.55

5.66

• อัตร�ส่วนก�รหมุนเวียนของสินทรัพย์ (เท่�)

1.09

1.11

1.06

• อัตร�ส่วนก�รหมุนเวียนของสินค้�คงเหลือ (เท่�)

2.75

2.91

3.06

• อัตร�ส่วนก�รหมุนเวียนของลูกหนี้ก�รค้� (เท่�)

8.42

8.09

8.83

• อัตร�ส่วนก�รหมุนเวียนของเจ้�หนี้ก�รค้� (เท่�)

12.65

11.66

10.77

• จำ�นวนวันหมุนเวียนของสินค้�คงเหลือ (วัน)

131

124

118

• จำ�นวนวันหมุนเวียนของลูกหนี้ก�รค้� (วัน)

43

44

41

• จำ�นวนวันหมุนเวียนของเจ้�หนี้ก�รค้� (วัน)

28

31

33

15.7

15.6

14.8

• อัตร�กำ�ไร EBITDA (ร้อยละ)

9.1

9.2

8.3

• อัตร�กำ�ไรสุทธิ (ร้อยละ)

4.2

4.2

3.9

12.2

11.9

11.8

7.6

7.8

6.4

12.5

12.0

10.5

• กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น (บ�ท)

1.099***

1.11

1.10

• เงินปันผลต่อหุ้น (บ�ท)

0.54

0.63

0.63

• มูลค่�ต�มบัญชีต่อหุ้น (บ�ท)

9.42

9.60

9.06

1. อัตร�ส่วนสภ�พคล่อง

2. อัตร�ส่วนโครงสร้�งของทุน

3. อัตร�ส่วนแสดงประสิทธิภ�พในก�รดำ�เนินง�น

4. อัตร�ส่วนแสดงคว�มส�ม�รถในก�รทำ�กำ�ไร • อัตร�กำ�ไรขั้นต้น (ร้อยละ)

• อัตร�ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย (ร้อยละ) • อัตร�ผลตอบแทนจ�กสินทรัพย์ (ร้อยละ)** • อัตร�ผลตอบแทนต่อเงินลงทุนเฉลี่ย 5. ข้อมูลต่อหุ้น

หม�ยเหตุ: อัตร�ส่วนท�งก�รเงิน ปี 2558 คำ�นวณจ�กงบก�รเงินร�ยง�นเมื่อ 23 กุมภ�พันธ์ 2558 *เฉพาะหนี้สินที่ก่อให้เกิดดอกเบี้ยเท่านั้น **อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ก่อนภาษี = กำาไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้นิติบุคคลต่อสินทรัพย์รวมเฉลี่ย ***ปรับปรุงใหม่จากการเปลี่ยนแปลงราคาตามมูลค่าหุ้นจาก 1.00 บาท เป็น 0.25 บาท ในเดือนธันวาคม 2557


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

132

บทวิเคราะห์งบการเงิน ภาพรวม

ปี 2559 เป็นปีที่ TU ส�ม�รถทำ�ยอดข�ยสูงสุดเป็นประวัติก�รณ์ ได้อกี ปีหนึง่ แม้ว�่ บริษทั ฯ จะประสบคว�มท้�ท�ยจ�กร�ค�วัตถุดบิ ปล�ทูน�่ และปล�แซลมอนปรับตัวสูงขึน้ ก็ต�ม บริษทั ฯ ยังส�ม�รถ รักษ�ระดับกำ�ไรจ�กก�รดำ�เนินง�นและกำ�ไรสุทธิได้เมื่อเทียบกับ ปี 2558 ในปี 2559 ร�ค�วัตถุดิบปล�ทูน่�เฉลี่ยปรับตัวสูงขึ้น ร้อยละ 22 จ�กปีก่อนหน้� ม�อยู่ที่ 1,425 เหรียญสหรัฐต่อตัน ยิ่งไปกว่�นั้น ร�ค�วัตถุดิบปล�แซลมอนเฉลี่ยปรับตัวสูงขึ้นร้อย ละ 50 จ�กปี 2558 ม�อยู่ที่ 63 โครนนอร์เวย์ (NOK) ต่อ กิโลกรัม แม้ว่�บริษัทฯจะส�ม�รถปรับร�ค�ขึ้นเพื่อสะท้อนร�ค� วัตถุดิบที่ปรับตัวสูงขึ้นได้บ�งส่วน แต่ร�ค�วัตถุดิบที่ทรงตัวใน ระดับสูงได้ส่งผลกระทบต่อคว�มส�ม�รถในก�รทำ�กำ�ไร ผลผลิตกุ้งของประเทศไทยเพิ่มขึ้นเป็น 310,979 ตันในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 18 จ�กผลผลิตในปี 2558 เนื่องจ�ก เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งส�ม�รถรับมือกับปัญห�ก�รแพร่ระบ�ดของ โรค EMS ได้ดีขึ้น ขณะที่กลุ่มธุรกิจกุ้งของบริษัทฯ เติบโตอย่�ง ต่อเนื่องในด้�นร�ยได้ด้วยผลดีจ�กอุปท�นกุ้งในประเทศที่เพิ่มขึ้น ก�รเน้นผลิตผลิตภัณฑ์มูลค่�เพิ่มที่มีอัตร�กำ�ไรสูงกว่� รวมถึง ก�รเข้�ซื้อธุรกิจแปรรูปกุ้งล็อบสเตอร์ในประเทศแคน�ด� ในช่วงปล�ยปีที่ผ่�นม� บริษัทฯ ได้แสดงเจตน�รมณ์ที่จะยกเลิก ส่วนง�นเรือประมงในประเทศก�น่� โดยบริษัทย่อยที่ประกอบขึ้น เป็นส่วนง�นนี้ได้ถูกร�ยง�นไว้ในงบก�รเงินเป็นก�รดำ�เนินง�น ที่ยกเลิก บริษัทฯ ได้เข้�เซ็นสัญญ�ข�ยและสัญญ�ตกลงคว�ม เข้�ใจที่จะข�ยกองเรือที่เกี่ยวข้องในเดือนธันว�คม 2559 และค�ด ว่�จะข�ยสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดได้ภ�ยในปี 2560

ยอดขาย

บริษัทฯ ทำ�ยอดข�ยสูงสุดเป็นประวัติก�รณ์ถึง 134.4 พันล้�น บ�ท ในปี 2559 เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3 จ�กปี 2558 เทียบเท่�ยอด ข�ยในรูปสกุลเงินเหรียญสหรัฐที่ 3.80 พันล้�นเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3 จ�กปี 2558 โดยมีส�เหตุหลักก�รควบรวม กิจก�ร บริษัท รูเก้น ฟิช และบริษัทเชซ์นูส์ และก�รปรับร�ค� สินค้�ของกลุ่มธุรกิจอ�ห�รทะเลแช่แข็ง แช่เย็น เพื่อสะท้อนปัจจัย ร�ค�วัตถุดิบที่ปรับตัวสูงขึ้น กลุ่มธุรกิจอ�ห�รทะเลแปรรูปยังคงเป็นธุรกิจที่มีสัดส่วนยอดข�ย สูงสุดหรือร้อยละ 45.4 ลดลงจ�กร้อยละ 47.2 ในปี 2558 แต่ กลุ่มธุรกิจดังกล่�วจะยังมียอดข�ยที่เติบโตขึ้นจ�กก�รควบรวม กิจก�รของบริษัท รูเก้น ฟิช ขณะเดียวกันยอดข�ยกลุ่มธุรกิจ อ�ห�รทะเลแช่แข็ง แช่เย็น และสินค้�ที่เกี่ยวข้องร�ยง�นยอดข�ย คิดเป็นร้อยละ 41.6 เพิ่มขึ้นจ�กร้อยละ 40.2 ในปี 2558 เนื่อง ทั้งจ�กผลผลิตกุ้งในประเทศไทยที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นและก�รควบ รวมกิจก�รขอบบริษัท เชซ์นูส์ ในประเทศแคน�ด� ส่วนกลุ่ม ธุรกิจอ�ห�รสัตว์ ผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่� และธุรกิจอื่น นั้นร�ยง�น ยอดข�ยคิดเป็นร้อยละ 13.0 ของยอดข�ยรวมของบริษัทฯ เพิ่ม ขึ้นจ�กร้อยละ 12.6 ในปี 2558 ในปี 2559 ตล�ดสหรัฐอเมริก�ยังคงเป็นตล�ดใหญ่ที่สุดของ บริษัทฯ โดยมีสัดส่วนยอดข�ยร้อยละ 39 ของยอดข�ยรวม บริษัทฯ ขณะที่ยุโรปยังคงเป็นตล�ดใหญ่อันดับสองของบริษัทฯ

โดยมีสัดส่วนยอดข�ยร้อยละ 33 เพิ่มขึ้นจ�กร้อยละ 29 ในปี 2558 ส่วนยอดข�ยในประเทศและตล�ดญี่ปุ่นคิดเป็นสัดส่วน ยอดข�ยร้อยละ 8 และร้อยละ 6 ต�มลำ�ดับ ซึง่ ทรงตัวจ�กปีกอ่ นหน้� ในปี 2559 สัดส่วนยอดข�ยของธุรกิจแบรนด์และธุรกิจรับจ้�ง ผลิตต่อยอดข�ยรวม ทรงตัวเมื่อเทียบกับปี 2558 ที่ร้อยละ 42 และร้อยละ 58 ต�มลำ�ดับ เป็นผลจ�กบริษัทฯ ได้เข้�ซื้อกิจก�ร ทั้งของธุรกิจแบรนด์และธุรกิจรับจ้�งผลิตในระหว่�งปี

กำาไรขั้นต้น

บริษัทฯ ร�ยง�นกำ�ไรขั้นต้นในปี 2559 ที่ 19.9 พันล้�นบ�ท เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.2 จ�กปีก่อนหน้� แม้ว่�อัตร�กำ�ไรขั้นต้นปรับ ลดลงเหลือร้อยละ 14.8 จ�ก ร้อยละ 15.6 เมื่อปีก่อนหน้�เนื่อง ม�จ�กร�ค�ปล�ทูน่�และปล�แซลมอนที่ปรับเพิ่มขึ้น บริษัทฯ ยัง ส�ม�รถร�ยง�นกำ�ไรขั้นต้นที่เพิ่มสูงขึ้นได้เนื่องจ�กยอดข�ยที่ ปรับตัวสูงขึ้นในปี 2559 ธุรกิจอ�ห�รทะเลแปรรูปร�ยง�นอัตร�กำ�ไรขั้นต้นปรับลดลงม� อยู่ที่ ร้อยละ 17.0 จ�ก ร้อยละ 18.7 ในปี 2558 โดยมีส�เหตุ หลักจ�กร�ค�วัตถุดิบที่ปรับตัวสูงขึ้นส่งผลกระทบต่อคว�ม ส�ม�รถในก�รทำ�กำ�ไรของทั้งธุรกิจแบรนด์และธุรกิจรับจ้�งผลิต เนื่องจ�กเกิดปัญห�ในก�รเลี้ยงปล�แซลมอนในประเทศชิลีซึ่ง ส่งผลต่ออุปท�นของปล�แซลมอนทำ�ให้ร�ค�เฉลี่ยวัตถุดิบปล� แซลมอนปรับตัวขึ้นกว่�ร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้� ส่ง ผลกระทบต่ออัตร�กำ�ไรขั้นต้นของธุรกิจอ�ห�รทะเลแช่แข็ง แช่เย็น และสินค้�ที่เกี่ยวข้อง ปรับม�อยู่ที่ร้อยละ 9.1 ลดลงจ�ก ร้อยละ 10.7 ในปี 2558 แต่ในขณะเดียวกัน อัตร�กำ�ไรขั้นต้นของธุรกิจ อ�ห�รสัตว์ ผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่� และธุรกิจอื่นได้ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อ เทียบกับปีก่อนหน้�เนื่องจ�กมีก�รแยกธุรกิจกองเรือที่ประสบผล ข�ดทุนออกจ�กกลุ่มธุรกิจดังกล่�ว

ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร (SG&A)

ค่�ใช้จ่�ยในก�รข�ยและก�รบริห�รในปี 2559 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 จ�กปีก่อนหน้�ม�อยู่ที่ 13.1 พันล้�นบ�ท ซึ่งอัตร�ก�รเพิ่ม ขึ้นดังกล่�วนั้นน้อยกว่�ก�รเติบโตของยอดข�ยที่ร้อยละ 7.3 ดัง นั้นอัตร�ส่วนค่�ใช้จ่�ยในก�รข�ยและก�รบริห�รต่อยอดข�ยจึง ปรับลดลงเหลือร้อยละ 9.8 ซึ่งลดลงจ�กร้อยละ 10.2 ในปีก่อน หน้� แม้ว่�ในปี 2559 บริษัทฯ จะมีก�รลงทุนในก�รเข้�ซื้อกิจก�ร และขย�ยธุรกิจหล�ยโครงก�ร บริษัทฯ ยังคงส�ม�รถควบคุม อัตร�ค่�ใช้จ่�ยให้อยู่ในกรอบเป้�หม�ยของบริษัทฯ ที่ไม่เกินร้อย ละ 10

กำาไรจากการดำาเนินงาน

บริษัทฯ มีกำ�ไรจ�กก�รดำ�เนินง�นในปี 2559 ที่ 6,805 ล้�น บ�ท เพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 0.3 จ�กปีก่อนหน้� เนื่องจ�กร�ค� ปล�ทูน่�และปล�แซลมอนที่ปรับเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลให้ธุรกิจปล�แซ ลม่อนในยุโรปประสบผลข�ดทุนในปี 2559 แม้ว่�ก�รควบคุมค่� ใช้จ่�ยที่มีประสิทธิภ�พจะช่วยลดผลกระทบจ�กอัตร�กำ�ไรขั้นต้น ที่ปรับลดลงไปได้บ้�ง แต่อัตร�กำ�ไรจ�กก�รดำ�เนินง�นก็ยังปรับ ลดลงร้อยละ 0.36 ม�อยู่ที่ร้อยละ 5.1 ในปี 2559


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

133 รายได้อื่น (รวมส่วนแบ่งกำาไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม)

ร�ยได้อื่นในปี 2559 อยู่ที่ 1.3 พันล้�นบ�ท เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.8 จ�กปีก่อนหน้� โดยก�รเพิ่มขึ้นดังกล่�วส่วนใหญ่เกิดขึ้น จ�กร�ยรับเงินปันผลจ�กก�รลงทุนในบริษัท เรด ล็อบสเตอร์ ซึ่ง เริ่มขึ้นตั้งแต่ไตรม�สที่ 4/2559

กำาไร/ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน

บริษัทฯ มีกำ�ไรจ�กอัตร�แลกเปลี่ยนเล็กน้อยเพียง 84 ล้�น บ�ทในปี 2559 ลดลงเมื่อเทียบกับ กำ�ไรจ�กอัตร�แลกเปลี่ยน กว่� 1,012 ล้�นบ�ทในปี 2558 เนื่องจ�กบริษัทฯ มีก�รยกเลิก สัญญ�ป้องกันคว�มเสี่ยงของเงินลงทุนสกุลยูโรในไตรม�สที่ 1/2558 ซึ่งทำ�ให้เกิดก�รบันทึกกำ�ไรจ�กก�รแลกเปลี่ยนที่ไม่ได้ เกิดจ�กก�รดำ�เนินง�น ห�กมองในประเด็นของก�รป้องกันคว�ม เสี่ยงอัตร�แลกเปลี่ยนในภ�วะที่มีคว�มผันผวนม�กเช่นในปี 2559 ไทยยูเนี่ยนส�ม�รถป้องกันคว�มเสี่ยงและลดผลกระทบ ทั้งท�งบวกและลบจ�กอัตร�แลกเปลี่ยนได้อย่�งมีประสิทธิภ�พ

ค่าใช้จ่ายทางการเงิน

เนื่องจ�กก�รลงทุนในบริษัท เรด ล็อบสเตอร์ ทำ�ให้หนี้สินที่มี ภ�ระดอกเบี้ยปรับขึ้นม�อยู่ที่ 65.9 พันล้�นบ�ท ณ สิ้นปี 2559 เพิ่มขึ้นจ�ก 39.2 พันล้�นบ�ท ณ สิ้นปี 2558 แต่ค่�ใช้จ่�ย ท�งก�รเงินกลับลดลงเหลือ 1,440 ล้�นบ�ท จ�กกว่� 1,592 ล้�นบ�ทในปี 2558 ค่�ใช้จ่�ยท�งก�รเงินที่ลดลงนั้นเกิดขึ้นจ�ก ก�รรีไฟแนนซ์เงินกู้ของบริษัทระหว่�งปีซึ่งทำ�ให้อัตร�ดอกเบี้ยจ่�ย สุทธิปรับลดลงจ�กปีก่อนหน้�

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ภ�ษีเงินได้นิติบุคคลในปี 2559 ลดลงร้อยละ 56 จ�กปีก่อน หน้�ม�อยู่ที่ 583 ล้�นบ�ท อัตร�ภ�ษีสุทธิสำ�หรับปี 2559 ลด ลงเหลือเพียงร้อยละ 8.7 จ�ก ร้อยละ 18.4 ในปี 2558 ก�ร ปรับลดลงของอัตร�ภ�ษีสุทธินั้นเกิดขึ้นจ�กก�รลดลงของหนี้ สินภ�ษีเงินได้รอก�รตัดบัญชี (deferred tax liabilities) อัน สืบเนื่องม�จ�กก�รที่รัฐบ�ลฝรั่งเศสมีก�รปรับลดภ�ษีเงินได้ นิติบุคคลซึ่งมีผลต่อก�รคำ�นวนหนี้สินภ�ษีเงินได้รอก�รตัดบัญชี ดังกล่�ว ยิ่งไปกว่�นั้นธุรกิจปล�แซลมอนที่ประสบผลข�ดทุน ทำ�ให้ลดภ�ระก�รจ่�ยภ�ษีลง

กำาไรสุทธิ

กำ�ไรสุทธิในปี 2559 อยู่ที่ 5,245 ล้�นบ�ท ใกล้เคียงกับระดับ กำ�ไรสุทธิในปี 2558 ที่ 5,303 ล้�นบ�ท ร�ค�วัตถุดิบที่ปรับตัว สูงขึ้นและส่งผลกระทบต่ออัตร�กำ�ไรขั้นต้นนั้นได้ถูกชดเชยด้วย ยอดข�ยที่ปรับตัวสูงขึ้น ก�รควบคุมต้นทุนที่มีประสิทธิภ�พ ร�ยได้อื่นๆ ที่เพิ่มขึ้นจ�กก�รลงทุนในบริษัท เรด ล็อบสเตอร์ และภ�ษีเงินได้นิติบุคคลที่ปรับลดลง อัตร�กำ�ไรสุทธิลดลงเหลือ ร้อยละ 3.9 เมื่อเทียบกับร้อยละ 4.2 ในปีก่อนหน้�

สินทรัพย์

สินทรัพย์รวมในปี 2559 อยู่ที่ 142.4 พันล้�นบ�ท เพิ่มขึ้น 31.4 พันล้�นบ�ท จ�ก 111.5 พันล้�นบ�ทในปี 2558 • ลูกหนี้ก�รค้�สุทธิอยู่ที่ 14.8 พันล้�นบ�ท ลดลงร้อยละ 5.4 จ�ก 15.6 พันล้�นบ�ทในปี 2558 ซึ่งตรงกันข้�มกับอัตร� ก�รเติบโตของยอดข�ยของบริษัทฯ ดังนั้นอัตร�ส่วนก�ร หมุนเวียนของลูกหนี้จึงปรับเพิ่มขึ้นเป็น 8.83 เท่� จ�ก 8.09 เท่�ในปี 2558 เนื่องจ�กมูลค่�ลูกหนี้ก�รค้�เฉลี่ยลดลงใน ขณะที่ยอดข�ยมีก�รปรับเพิ่มขึ้น ขณะที่ระยะเวล�ก�รเก็บหนี้

เฉลี่ยในปี 2559 ลดลงเป็น 41 วันจ�ก 44 วันในปี 2558 • สินค้�คงเหลือสุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.6 เป็น 39.6 พันล้�น บ�ทจ�ก 35.2 พันล้�นบ�ทในปี 2558 มีส�เหตุหลักจ�ก ร�ค�วัตถุดิบปล�ทูน่�และปล�แซลมอนที่ปรับเพิ่มขึ้น แต่ อย่�งไรก็ดีจำ�นวนวันหมุนเวียนของสินค้�คงเหลือในปี 2559 ลดลงเล็กน้อยม�อยู่ที่ 118 วัน จ�ก 124 วันในปีก่อนหน้� เป็นผลหลักจ�กมูลค่�สินค้�คงเหลือเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเพียงร้อย ละ 2.9 ซึ่งเพิ่มขึ้นน้อยกว่�ต้นทุนข�ยเฉลี่ยที่ปรับเพิ่มขึ้นร้อย ละ 5.8 โดยอัตร�ก�รหมุนเวียนที่เพิ่มขึ้นเป็นผลม�จ�กก�ร บริห�รจัดก�รภ�ยในเพื่อเก็บรักษ�สินค้�คงเหลือให้อยู่ใน ระดับที่เหม�ะสม • อัตร�ส่วนก�รหมุนเวียนของสินทรัพย์ลดลงม�อยู่ที่ 1.06 เท่�ในปี 2559 จ�ก 1.11 เท่�ในปี 2558 เป็นผลจ�กอัตร� ก�รเติบโตของมูลค่�สินทรัพย์ที่อยู่ในระดับสูงอันเนื่องม�จ�ก ก�รลงทุนต่�งๆ รวมถึงก�รลงทุนในบริษัท เรด ล็อบสเตอร์ ที่เกิดขึ้นในปี 2559 ยิ่งไปกว่�นั้นบริษัทฯ มีก�รลงทุนในรูป ของบริษัทในเครือ (Affiliate Companies) ซึ่งไม่ได้มีก�ร ควบรวมยอดข�ยอีกด้วย • อัตร�ส่วนสภ�พคล่องในปี 2559 ลดลงเมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้�ม�อยู่ที่ 1.01 เท่� จ�ก 1.47 เท่�ในปี 2558 และ อัตร�ส่วนสภ�พคล่องหมุนเร็วลดลงเป็น 0.29 เท่� จ�ก 0.48 เท่� ซึ่งส�เหตุที่ทำ�ให้อัตร�ส่วนทั้งสองปรับตัวลดลง เป็นเพร�ะเงินกู้ระยะสั้นที่ใช้ในก�รเข้�ลงทุนในบริษัท เรด ล็อบสเตอร์ ในไตรม�ส 4/2559 เงินกู้ระยะสั้นดังกล่�ว ทั้งหมดได้ถูกรีไฟแนนซ์เป็นเงินกู้ระยะย�วเสร็จสิ้นแล้วใน ไตรม�ส 1/2560 • ในปี 2559 ที่ดิน อ�ค�รและอุปกรณ์มีมูลค่�รวม 23.3 พัน ล้�นบ�ท ซึ่งเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเมื่อเทียบกับ 23.1 พันล้�นบ�ท ในปี 2558 เนื่องจ�กบริษัทฯ มีก�รลงทุนในสินทรัพย์และมี ก�รควบรวมงบก�รเงินของบริษัทที่เข้�ควบรวมกิจก�รด้วย

หนี้สินรวม

หนี้สินรวม ณ สิ้นปี 2559 มีมูลค่� 94.9 พันล้�นบ�ท เพิ่มขึ้น 32.1 พันล้�นบ�ท จ�ก 62.9 พันล้�นบ�ท ณ สิ้นปี 2558 • เจ้�หนี้ก�รค้�ในปี 2559 มีมูลค่� 11.5 พันล้�นบ�ท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 17.8 จ�ก 9.8 พันล้�นบ�ท ในปี 2558 ขณะที่ระยะ เวล�ก�รชำ�ระหนี้เพิ่มขึ้นเป็น 33 วันจ�ก 31 วันในปี 2558 ซึ่งเป็นผลม�จ�กอัตร�ก�รหมุนเวียนของเจ้�หนี้ที่ลดลงม�อยู่ ที่ 10.8 เท่�เทียบกับ 11.7 เท่�ในปีก่อนหน้� • เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นเพิ่มขึ้นร้อยละ 90 เป็น 37.0 พันล้�นบ�ทจ�ก 19.4 พันล้�นบ�ท เนื่องจ�กเงินกู้ ระยะสั้นที่ใช้ในก�รเข้�ลงทุนในบริษัท เรด ล็อบสเตอร์ ใน ไตรม�ส 4/2559 • เงินกู้ยืมระยะย�วในปี 2559 เพิ่มขึ้นร้อยละ 59 ม�อยู่ที่ 25.4 พันล้�นบ�ท จ�ก 15.9 พันล้�นบ�ท เนื่องจ�ก บริษัทฯ รีไฟแนนซ์เงินกู้ระยะสั้นเพื่อก�รลงทุนที่เกิดขึ้น ระหว่�งปี 2559 • หนี้สินที่มีภ�ระดอกเบี้ยมีมูลค่�รวม 65.9 พันล้�นบ�ท เพิ่ม ขึ้นร้อยละ 68 จ�ก 39.2 พันล้�นบ�ทในปีก่อนหน้� โดย สัดส่วนหนี้สินระยะย�ว (รวมหนี้สินที่จะครบกำ�หนดชำ�ระ ภ�ยในหนึ่งปี) ลดลงจ�กร้อยละ 51 เป็นร้อยละ 44 ของหนี้ สินที่มีภ�ระดอกเบี้ยทั้งหมด เนื่องจ�กเงินกู้ระยะสั้นที่ใช้ในก�ร เข้�ลงทุนในบริษัท เรด ล็อบสเตอร์


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

134 ส่วนของผู้ถือหุ้น

ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ในปี 2559 มีมูลค่�รวม 43.2 พัน ล้�นบ�ท ลดลง 2.5 พันล้�นบ�ทจ�ก 45.8 พันล้�นบ�ทในปี 2558 มีส�เหตุหลักจ�กสภ�วะก�รดำ�เนินธุรกิจที่ท้�ท�ยในขณะ ที่บริษัทฯ ยังคงอัตร�ก�รจ่�ยเงินปันผลในระดับเดียวกันกับปี ก่อนหน้� • อัตร�ส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้นในปี 2559 เพิ่มขึ้น ม�อยู่ที่ 2.0 เท่�จ�ก 1.3 เท่�ในปี 2558 มีส�เหตุหลัก จ�กบริษัทฯ มีก�รกู้ยืมเงินม�เพื่อลงทุนในธุรกิจต่�งๆ ระหว่�งปี 2559 • เนื่องจ�กก�รลงทุนในหล�ยธุรกิจในปี 2559 อัตร�ส่วนหนี้ สินต่อทุนสุทธิจึงเพิ่มขึ้นม�อยู่ที่ 1.37 เท่� ณ สิ้นปี 2559 จ�ก 0.75 เท่� ณ สิ้นปี 2558 แต่อัตร�ส่วนหนี้สินดังกล่�ว ก็ยังอยู่ต่ำ�กว่�ข้อจำ�กั​ัดต�มเงื่อนไขก�รกู้ยืมเงินของบริษัทฯ ที่ 2.0 เท่� หนี้สินสุทธิ ณ สิ้นปี 2559 ปรับขึ้นม�อยู่ที่ 64.9 พันล้�นบ�ท เพิ่มขึ้นจ�ก 36.4 พันล้�นบ�ท ณ สิ้นปี 2558 • ในปี 2559 อัตร�ผลตอบแทนต่อเงินลงทุนเฉลี่ย (ROCE) อยู่ที่ร้อยละ 10.5 หรือลดลงจ�กร้อยละ 12.0 ในปี 2558 มีส�เหตุหลักจ�กเงินกู้ที่ใช้ในก�รลงทุนในบริษัท เรด ล็อบสเตอร์ ที่เกิดขึ้นในไตรม�ส 4/2559 ในขณะที่ผล ตอบแทนที่เกิดจ�กเงินลงทุนดังกล่�วนั้นเกิดขึ้นเพียงใน ไตรม�ส 4/2559 เท่�นั้น • อย่�งไรก็ต�มอัตร�ผลตอบแทนจ�กส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย ในปี 2559 ยังอยู่ในระดับสูงที่ร้อยละ 11.8 หรือคงที่จ�ก ร้อยละ 11.9 ในปี 2558 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงคว�มส�ม�รถใน ก�รรักษ�ระดับก�รทำ�กำ�ไรของบริษัทในภ�วะอุตส�หกรรมที่ ท้�ท�ยในปี 2559

กระแสเงินสด

ไทยยูเนี่ยนมีกระแสเงินสดสุทธิได้ม�จ�กกิจกรรมดำ�เนินง�นในปี 2559 คิดเป็น 7,770 ล้�นบ�ท เนื่องจ�กบริษัทฯ ส�ม�รถรักษ� คว�มส�ม�รถในก�รทำ�กำ�ไรได้ (กำ�ไร EBITDA ปี 2559 คิด เป็น 11,138 ล้�นบ�ท) แม้ว่�ภ�วะอุตส�หกรรมจะไม่เอื้ออำ�นวย ก็ต�ม โดยร�ค�ปล�ทูน่�และปล�แซลมอนที่ปรับตัวสูงขึ้นและ ก�รควบรวมกิจก�รนั้นทำ�ให้ระดับสินค้�คงคลังปรับเพิ่มสูงขึ้น และทำ�ให้เกิดเงินสดใช้ไปในกิจกรรมที่เกี่ยวกับเงินทุนหมุนเวียน มูลค่� 1,026 ล้�นบ�ทในปี 2559 ขณะเดียวกัน เงินสดสุทธิที่ใช้ไปในจ�กกิจกรรมลงทุนในปี 2559 มีจำ�นวนรวม 29,400 ล้�นบ�ท อันเนื่องม�จ�กกิจกรรม ก�รลงทุนต่�งๆ ของบริษทั อ�ทิเช่น ก�รลงทุนใน 1) เรด ล็อบสเตอร์ 2) รูเก้น ฟิช 3) เล เพ็ชเชอะรี เดอ เชซ์ นูส์ 4) อแวนติ โฟรเซ่น ฟู้ดส์ และ 5) ก�รเข้�ซื้อหุ้นที่เหลือ ในบริษัทลูก Tri-Union Frozen Products, Inc. บริษัทมีเงินสดสุทธิได้ม�จ�กกิจกรรมจัดห�เงินในปี 2559 มี มูลค่� 19,821 ล้�นบ�ท โดยส่วนม�กเกิดจ�กก�รกู้ยืมม� เพื่อลงทุนในธุรกิจต่�งๆ ในปี 2559 และบริษัทก็ยังมีก�รจ่�ย เงินปันผลมูลค่� 2,982 ล้�นบ�ทในปี 2559 อีกด้วย ณ สิ้นปี 2559 บริษัทฯ มีเงินสดและร�ยก�รเทียบเท่�เงินสด รวมผลข�ดทุนจ�กอัตร�แลกเปลี่ยนของเงินสดลดลงสุทธิ 1,840 ล้�นบ�ท เมื่อรวมกับเงินสดและร�ยก�รเทียบเท่�เงินสด ณ วันต้นปีมูลค่� 2,815 ล้�นบ�ท บริษัทฯ มีเงินสดและร�ยก�ร เทียบเท่�เงินสดสุทธิ ณ วันสิ้นปี 2559 มูลค่� 976 ล้�นบ�ท



ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

136

โครงสร้างการถือหุน้ และ การจัดการ ผู้ถือหุ้น ประกอบด้วยกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่สูงสุด 10 รายแรก ณ วันที่ปิดสมุดทะเบียน 31 มกราคม 2560 ดังนี้

จำานวนหุ้น

ลำาดับ 1. กลุ่มจันศิริ 2. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอ�ร์ จำ�กัด 3. บริษัท มิตซูบิชิ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด 4. กลุ่มนิรุตติน�นนท์ 5. สำ�นักง�นประกันสังคม 6. STATE STREET BANK EUROPE LIMITED 7. กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นระยะย�ว 8. กลุ่มบุญมีโชติ 9. MORGAN STANLEY & CO. INTERNATIONAL PLC. 10. CHASE NOMINEES LIMITED

% 20.5 12.5 7.3 6.8 4.8 2.9 2.5 1.8 1.7 1.6

978,004,352 598,366,550 347,745,120 326,497,812 227,338,408 136,305,270 120,047,100 87,932,980 82,437,140 76,908,902

โครงสร้างผู้ถือหุ้นของบริษัท ณ วันที่ปิดสมุดทะเบียน 31 มกราคม 2560

นิติบุคคล ผู้ถือหุ้นสัญช�ติไทย ผู้ถือหุ้นสัญช�ติต่�งด้�ว ยอดรวม

บุคคลธรรมดา

1,539,942,171

32.27%

1,624,335,251

34.04%

1,470,823,796

30.82%

136,714,278

2.87%

3,010,765,967

63.09%

1,761,049,529

36.91%

หมายเหตุ: ณ วันที่ปิดสมุดทะเบียน วันที่ 31 มกราคม 2560 จากจำานวนหุ้นที่ออกจำาหน่ายและชำาระแล้วทั้งสิ้น 4,771,815,496 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.25 บาท และนับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้ที่อยู่ภายใต้ผู้มีอำานาจควบคุมเดียวกันเป็นกลุ่มเดียวกัน ในส่วนของบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำากัด ผู้ถือหุ้นจะไม่มีสิทธิในการออกคะแนนเสียงในการประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่งจะมีผลให้คะแนนเสียง หายไปร้อยละ 12.5 ของจำานวนหุ้นทั้งหมด


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

137

เปรียบเทียบก�รถือหุน้ ของคณะกรรมก�รโดยนับรวมจำ�นวนหุน้ ของคูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ �วะ ณ วันที่ 30 ธันว�คม 2558 กับ ณ วันที่ 30 ธันว�คม 2559 รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 30 ธันว�คม 2558 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.

น�ยไกรสร จันศิริ น�ยเชง นิรุตติน�นนท์ น�ยชวน ตั้งจันสิริ น�ยธีรพงศ์ จันศิริ น�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ น�ยยูท�กะ เคียวยะ (ล�ออก 31 ตุล�คม 2559) น�ยคิโยท�กะ คิคูชิ (เริ่ม 7 พฤศจิก�ยน 2559) น�ยชู ชง ช�น น�ยร�วินเดอร์ สิงห์ เกรว�ล ซ�บจิตต์ เอส น�ยศักดิ์ เกี่ยวก�รค้� ดร.ธรรมนูญ อ�นันโทไทย น�ยกีรติ อัสสกุล น�ยน�ถ ลิ่วเจริญ

231,134,720 271,252,676 38,668,000 460,547,772 63,442,980 12,295,272 103,248 -

ณ วันที่ 30 ธันว�คม 2559 231,134,720 265,762,276 38,668,000 493,855,472 63,442,980 12,295,272 53,248 -


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

138

ยอดสรุปตามประเภทรายการ ทีเ่ กีย่ วโยงกัน บริษัทที่เกี่ยวโยงกัน 1. บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำากัด (บริษัทย่อย 51.00%)

ชื่อ-สกุล ผู้เกี่ยวข้อง

นายฤทธิรงค์ บุญมีโชติ นายประเสริฐ บุญมีโชติ (บิด�น�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ) นายวัฒนา บุญมีโชติ (น้องน�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ) น.ส.รุ่งทิวา บุญมีโชติ (น้องน�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ) นายพีระศักดิ์ บุญมีโชติ

ตำาแหน่งที่ TU

กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ ผู้บริหาร

จำานวนหุ้นที่ถือในบริษัทที่ นโยบายราคา เกี่ยวโยง 5,974,975 2,500,000

11.9% 5.0%

1,750,000

3.5%

1,750,000

3.5%

125,000

0.3%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

ลักษณะรายการ

รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: (ปล�ป่น) จ�ก TUE Group • ซื้อวัตถุดิบ (เปลือกกุ้งและน้ำ�ต้มปล�) จ�ก TU • ซื้อวัตถุดิบ (เปลือกกุ้ง) จ�ก PPC • ซื้อวัตถุดิบ (เปลือกกุ้ง) จ�ก TUS • ซื้อวิต�มิน จ�ก TUM • ข�ยวัตถุดิบกุ้ง+ปล�จ�กฟ�ร์มทดลอง และถังกุ้ง ให้ TU • ข�ยวัตถุดิบปล�จ�กฟ�ร์มทดลอง ให้ TUM • ข�ยวิต�มิน Red TVP ให้ TUM • ซื้อวัตถุดิบ

รายการสนับสนุนธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • จ่�ยค่�บริห�รจัดก�รให้ TU • จ่�ยค่�เช่�ที่ดินให้ TU • จ่�ยค่�กระเช้�ปีใหม่ให้ TU • จ่�ยค่�ประมูลก�รสั่งเสื้อพนักง�นให้ BZD • จ่�ยค่�สินค้� (สำ�เร็จรูป) ให้ THD • รับค่�ตรวจสอบย้อนกลับอ�ห�รกุ้งจ�ก TU • รับค่�ตรวจสอบย้อนกลับอ�ห�รกุ้ง จ�ก TUS รายการช่วยเหลือทางการเงิน ประกอบด้วย: • TFM จ่�ยดอกเบี้ย (เป็นเพียงก�รกู้ยืม ระยะสั้น ณ ปัจจุบัน ชำ�ระคืนหมดแล้ว) ให้ TU

กลุ่มบริษัท ทีเอ็มเอซี จำากัด (บริษัทย่อย 51.00% ของ TFM) ประกอบด้วย: 1. TMAC 2. TUH 3. TCM 4. TMK

บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำากัด ซึ่งเป็นบริษัทที่มีบุคคลเกี่ยวโยงเป็น ผู้ถือหุ้นใหญ่

57,629,997

51.0%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • ข�ยวัตถุดิบ (กุ้ง) ให้ TUS • ข�ยวัตถุดิบ (กุ้ง) ให้ TU • ข�ยวัตถุดิบ (กุ้ง) ให้ PPC


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

139

บริษัทที่เกี่ยวโยงกัน

ชื่อ-สกุล ผู้เกี่ยวข้อง

2. บริษัท ไทยยูเนี่ยน นายฤทธิรงค์ บุญมีโชติ ซีฟู้ด จำากัด นายประเสริฐ บุญมีโชติ (บริษัทย่อย 51.00%) (บิด�น�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ) นายวัฒนา บุญมีโชติ (น้องน�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ) น.ส.รุ่งทิวา บุญมีโชติ (น้องน�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ) นายธนโชติ บุญมีโชติ (บุตรน�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ) นายบุญปวีณ บุญมีโชติ (บุตรน�ยฤทธิรงค์ บุญมีโชติ)

ตำาแหน่งที่ TU กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ

จำานวนหุ้นที่ถือในบริษัทที่ นโยบายราคา เกี่ยวโยง 3,974,850 3,000,000

13.2% 10.0%

900,000

3.0%

900,000

3.0%

1,800,000

6.0%

1,800,000

6.0%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

ลักษณะรายการ รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • ซื้อวัตถุดิบจ�ก TMAC Group

ซื้อวัตถุดิบและสินค้�จ�ก TU (แป้งชุปกุ้ง+ฟิล์มห่ออ�ห�ร) จ�ก PPC • ข�ยสินค้�ให้ COSF • ข�ยสินค้�ให้ TU • ข�ยสินค้�ให้ PPC • ข�ยเศษซ�ก (เปลือกกุ้ง) ให้ TFM •

• ซื้อวัตถุดิบ

รายการสนับสนุนธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • จ่�ยค่�บริห�รจัดก�รให้ TU • จ่�ยค่�บริก�รท�งก�รตล�ดให้ TUM • จ่�ยค่�บริก�รจัดเก็บและขนส่งให้ COSF • จ่�ยค่�ตรวจสอบย้อนกลับอ�ห�รกุ้งให้ TFM •

จ่�ยค่�พิมพ์ง�นกับ TUG TU (ช่วยง�นที่ TUS) และกระเช้�ปีใหม่

• จ่�ยค่�เบี้ยเลี้ยงพนักง�น

รายการเกี่ยวกับทรัพย์สินหรือบริการ ประกอบด้วย: • ข�ยส�ยพ�นลำ�เลียงกุ้งและเครื่องล้�ง (มือสอง) ให้ TU • ข�ยส�ยพ�นสะเด็ดน้ำ� (มือสอง) ให้ PPC • ซื้อเครื่อง Generator (มือสอง) จ�ก TU

3. บริษัท ลัคกี้ ยูเนี่ยน ฟู้ดส์ จำากัด (บริษัทย่อย 25.00%)

นายเชง นิรุตตินานนท์

กรรมการ

102,000

11.3%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • ซื้อวัตถุดิบ (หัวปล�) จ�ก TU • ซื้อสินค้� (สำ�เร็จรูป) จ�ก TUM • ซื้อสินค้� (ติ่มซำ�) จ�ก PPC • ซื้อสินค้� (สำ�เร็จรูป) จ�ก THD • จ่�ยค่�บริก�รแพ็คปูอัดและห่อส�หร่�ย ให้ PPC • ข�ยสินค้� (ซูริมินำ�เข้�จ�กเวียดน�ม) ให้ TU • ข�ยวัตถุดิบ (Topping สำ�หรับ Petfood) ให้ TUM • ข�ยสินค้� (ปูเทียม ปูอัด และซูริมิ) ให้ PPC • ข�ยสินค้� (ปูอัด) ให้ SC รายการสนับสนุนธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • จ่�ยค่�ฝ�กเก็บสินค้� ให้ TU • รับค่�ฝ�กส่งสินค้�ให้ลูกค้� จ�ก TU • รับค่�ฝ�กส่งสินค้�ให้ลูกค้� จ�ก PPC


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

140

บริษัทที่เกี่ยวโยงกัน 4. บริษัท จันศิริ เรียล เอสเตท จำากัด

ชื่อ-สกุล ผู้เกี่ยวข้อง

ตำาแหน่งที่ TU

จำานวนหุ้นที่ถือในบริษัทที่ นโยบายราคา เกี่ยวโยง

ลักษณะรายการ

นายธีรพงศ์ จันศิริ นายเดชพล จันศิริ (บุตรน�ยไกรสร จันศิริ) นายดิสพล จันศิริ (บุตรน�ยไกรสร จันศิริ) นายไกรสร จันศิริ นางบุษกร จันศิริ (คู่สมรสน�ยไกรสร จันศิริ) นายชวน ตั้งจันสิริ

กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ กรรมการ

19,680,000 15,260,000

-0-

-

5. บริษัท จะนะ อุตสาหกรรมประมง จำากัด

นายเชง นิรุตตินานนท์

กรรมการ

50,000

25.0%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • ซื้อวัตถุดิบ (ก้�งปล� หัวปล�) จ�ก SC • ข�ยวัตถุดิบ (ปล�ป่น น้ำ�ต้มปล�) ให้ TFM

6. บริษัท ที.ซี. ยูเนี่ยน อโกรเทค จำากัด

นายเชง นิรุตตินานนท์

กรรมการ

496,000

49.6%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • ซื้อวัตถุดิบ (ไส้ปล� ก้�งปล� หัวปล� หนังปล� และเลือดปล�) จ�ก TU • ซื้อวัตถุดิบ (ไส้ปล� ก้�งปล� หัวปล� หนังปล� และเลือดปล�) จ�ก TUM • ข�ยวัตถุดิบ (ปล�และกระดูกปล�ป่น) ให้ TFM • ข�ยสินค้� (น้ำ�มันปล�) ให้ TUM

15,260,000 7,800,000 2,000,000

ค่�เช่� ส�ม�รถ เทียบกับ 25.4% อัตร�ค่�เช่� ในพื้นที่ใกล้ เคียงกัน และ 13.0% ผู้เช่�ร�ยอื่น 3.4% 32.8% 25.4%

รายการเช่าอสังหาริมทรัพย์ระยะสั้น ประกอบด้วย: TU, TUM, SC และ TUO จ่�ยค่�เช่�และค่�บริก�รอ�ค�รสำ�นักง�น กรุงเทพฯ เนื่องจ�กบริษัทจำ�เป็นต้องมี สำ�นักง�นในกรุงเทพฯ เพื่อใช้ในก�รประส�น ง�นต่�งๆ โดยทำ�สัญญ�เช่�กับบริษัท จันศิริ เรียล เอสเตท จำ�กัด ซึ่งประกอบธุรกิจหลัก คือ พัฒน�อสังห�ริมทรัพย์ ในอัตร�ค่�เช่� 270 บ�ทต่อต�ร�งเมตรต่อเดือน และ ค่�บริก�ร 180 บ�ทต่อต�ร�งเมตรต่อเดือน ทั้งนี้ เป็นค่�เช่�เฉพ�ะพื้นที่เช่�ที่กำ�หนด เท่�นั้น ไม่รวมส�ธ�รณูปโภคอื่นๆ โดยมี กำ�หนดระยะเวล�ต�มสัญญ�เช่� 3 ปี และ จะครบกำ�หนดในเดือนธันว�คม 2562 ซึ่ง ได้รับก�รอนุมัติจ�กที่ประชุมคณะกรรมก�ร เรียบร้อยแล้ว

รายการเกี่ยวกับทรัพย์สินหรือบริการ ประกอบด้วย: • จ่�ยค่�น้ำ�มันโซล่� ค่�บริก�รตักถังปล� และค่�กู้บ่อบำ�บัดให้ TU รายการเช่าอสังหาริมทรัพย์ระยะสั้น ประกอบด้วย: TU จ่�ยค่�เช่�และค่�บริก�ร สำ�หรับพื้นที่ สำ�นักง�นและโรงง�นพร้อมเครื่องจักร อุปกรณ์ต่�งๆ รวมทั้งค่�ส�ธ�รณูปโภคอื่นๆ เนื่องจ�กบริษัทจำ�เป็นต้องใช้พื้นที่ในก�รขย�ย กำ�ลังก�รผลิตในส่วนของไลน์ผลิตอ�ห�ร สำ�เร็จรูปแช่แข็ง โดยอัตร�ค่�เช่�และค่�บริก�ร 471,995 บ�ทต่อเดือน ค่�เช่�ระบบทำ�คว�ม เย็น 54,780 บ�ทต่อเดือน และเป็นค่�เช่� เฉพ�ะพื้นที่เช่�และอุปกรณ์บ�งส่วนที่กำ�หนด เท่�นั้น สำ�หรับค่�ส�ธ�รณูปโภคจะคิด ค่�ใช้จ่�ยต�มก�รใช้ง�นจริง โดยสัญญ�เช่� ดังกล่�วมีกำ�หนดระยะเวล�ต�มสัญญ�เช่� 3 ปี และจะครบกำ�หนดในเดือนธันว�คม 2562 ซึ่งได้รับก�รอนุมัติจ�กที่ประชุมคณะ กรรมก�รเรียบร้อยแล้ว


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

141

บริษัทที่เกี่ยวโยงกัน

ชื่อ-สกุล ผู้เกี่ยวข้อง

ตำาแหน่งที่ TU

จำานวนหุ้นที่ถือในบริษัทที่ นโยบายราคา เกี่ยวโยง

ลักษณะรายการ

7. บริษัท เจมิไนยแอนด์ แอสโซซิเอท จำากัด

นายเดชพล จันศิริ (บุตรน�ยไกรสร จันศิริ)

ญาติสนิท กรรมการ

459,870

92.0%

ร�ค�ตล�ด รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: เทียบเท่� • ซื้อสินค้� (สำ�เร็จรูป) จ�ก THD ลูกค้�ทั่วไป

8. บริษัท ไวยไทย จำากัด

นายเชง นิรุตตินานนท์ นายไกรสร จันศิริ นางจินตนา นิรุตตินานนท์ (คู่สมรสน�ยเชง นิรุตติน�นนท์) นายชวน ตั้งจันสิริ นายธีรพงศ์ จันศิริ นายนคร นิรุตตินานนท์ (บุตรน�ยเชง นิรุตติน�นนท์)

กรรมการ กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ กรรมการ กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ

100,000 59,200 36,800

31.3% 18.5% 11.5%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� Supplier ทั่วไป

20,000 20,000 20,000

6.3% 6.3% 6.3%

นายเชง นิรุตตินานนท์ นายชวน ตั้งจันสิริ

กรรมการ กรรมการ

20,000 5,000

40.0% 10.0%

9. บริษัท ไทยพัฒนา สแตนเลส สตีล จำากัด

รายการสนับสนุนธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • รับค่�หัวล�กตู้สินค้� จ�ก TUM • รับค่�หัวล�กตู้สินค้� จ�ก TU • รับค่�หัวล�กตู้สินค้� จ�ก APC • รับค่�หัวล�กตู้สินค้� จ�ก SC ซึ่งร�ยก�รดังกล่�วได้รับก�รอนุมัติวงเงิน ไม่เกิน 100 ล้�นบ�ทต่อปี สำ�หรับก�รทำ� ร�ยก�รเกี่ยวโยง จ�กที่ประชุมส�มัญผู้ถือ หุ้นประจำ�ปี 2554 เมื่อวันที่ 25 เมษ�ยน 2554 เรียบร้อยแล้ว

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

รายการเกี่ยวกับทรัพย์สินหรือบริการ ประกอบด้วย: • รับค่�ตู้ฆ่�เชื้อเพ้�ช์ ตู้รถบรรทุกท่�เรือ ทำ�ห้อง filler size ตู้อบปล�นึ่ง ตู้นึ่งไก่ และเครื่องมือต่�งๆ จ�ก TUM • รับค่�อุปกรณ์ ค่�อะไหล่ ในก�รซ่อมแซม โรงง�นและเครื่องจักร จ�ก TUM • รับค่�ตู้รีทอร์ต และเครื่องมือต่�งๆ จ�ก TU • รับค่�แรงง�นประกอบและติดตั้งถังละล�ย ปล� เครื่องลวกถุง และอุปกรณ์ต่�งๆ ภ�ยในโรงง�นซ่อมแซมเครื่องมือ จ�ก TU • รับค่�โต๊ะสแตนเลสจ�ก APC • รับค่�ซ่อมแซมเครื่องมือ จ�ก SC ร�ยก�รดังกล่�วได้รับก�รอนุมัติวงเงินไม่เกิน 150 ล้�นบ�ทต่อปี สำ�หรับก�รทำ�ร�ยก�ร เกี่ยวโยง จ�กที่ประชุมส�มัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2554 เมื่อวันที่ 25 เมษ�ยน 2554 เรียบร้อยแล้ว

10. บริษัท ยู่เฉียงแคน ฟู้ด จำากัด (บริษัทย่อย 51.00% ลงทุนเพิ่มเป็น 95.04% ในเดือนสิงหาคม 2559)

นายเชง นิรุตตินานนท์

กรรมการ

USD120,181

6.2%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • ซื้อบรรจุภัณฑ์จ�ก APC • ซื้อสินค้� (ทูน่�สุกแช่แข็ง) จ�ก TUM • ซื้อสินค้� (ทูน่�สุกแช่แข็ง) จ�ก SC • ข�ยสินค้�ให้ SC • ข�ยสินค้�ให้ COSI • ข�ยสินค้�ให้ COSF • ข�ยสินค้�ให้ TUM • ข�ยสินค้�ให้ TU รายการสนับสนุนธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • จ่�ยค่�น�ยหน้�ให้ SC

11. บริษัท ทีเอ็น ฟายน์ เคมีคอลส์ จำากัด (บริษัทร่วม 48.97%)

นายธีรพงศ์ จันศิริ

กรรมการ

1

0.0%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • ซื้อวัตถุดิบ (เศษซ�ก) จ�ก TUM • ซื้อวัตถุดิบ (เศษซ�ก) จ�ก TU


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

142

บริษัทที่เกี่ยวโยงกัน

ชื่อ-สกุล ผู้เกี่ยวข้อง

ตำาแหน่งที่ TU

จำานวนหุ้นที่ถือในบริษัทที่ นโยบายราคา เกี่ยวโยง

11. บริษัท ทีเอ็น ฟายน์ เคมีคอลส์ จำากัด (ต่อ)

ลักษณะรายการ รายการสนับสนุนธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • จ่�ยค่�บริก�รก�รข�ย ค่�น้ำ� ค่�ไฟฟ้� และ ค่�ใช้จ่�ยอื่นๆ ให้ TUM • จ่�ยค่�วิเคร�ะห์ห้องแลบให้ TU รายการช่วยเหลือทางการเงิน ประกอบด้วย: • TNFC รับดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะสั้น จ�ก TUM (ผู้ลงทุนใน TNFC)

12. บริษัท บีส ไดเมน ชั่น จำากัด (บริษัทร่วม 20.00%)

นายไกรสร จันศิริ นายเชง นิรุตตินานนท์ นายธีรพงศ์ จันศิริ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ

475,000 250,000 8,333

9.5% ร�ค�ตล�ด 5.0% เทียบเท่� 0.2% ลูกค้�ทั่วไป

รายการสนับสนุนธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • รับค่�บริก�รจัดซื้อจัดจ้�งและประมูลผ่�นเว็บไซต์จ�ก TU • รับค่�บริก�รจัดซื้อจัดจ้�งและประมูลผ่�นเว็บไซต์จ�ก TUM • รับค่�บริก�รจัดซื้อจัดจ้�งและประมูลผ่�นเว็บไซต์จ�ก SC • รับค่�บริก�รจัดซื้อจัดจ้�งและประมูลผ่�นเว็บไซต์จ�ก PPC • รับค่�บริก�รจัดซื้อจัดจ้�งและประมูลผ่�นเว็บไซต์จ�ก TFM • รับค่�บริก�รจัดซื้อจัดจ้�งและประมูลผ่�นเว็บไซต์จ�ก TUG • รับค่�บริก�รจัดซื้อจัดจ้�งและประมูลผ่�นเว็บไซต์จ�ก APC

รายการเกี่ยวกับทรัพย์สินหรือบริการ ประกอบด้วย: • ข�ยโต๊ะ-เก้�อี้สำ�นักง�นให้ TU

นายไกรสร จันศิริ นางบุษกร จันศิริ (คู่สมรสน�ยไกรสร จันศิริ) นายธีรพงศ์ จันศิริ นายเดชพล จันศิริ (บุตรน�ยไกรสร จันศิริ) นายดิสพล จันศิริ (บุตรน�ยไกรสร จันศิริ) นายชวน ตั้งจันสิริ

กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ กรรมการ

16,300 7,700

54.3% 25.7%

2,400 1,800

8.0% 6.0%

1,800

6.0%

-0-

-

14. บริษัท เจมิไนย วอเตอร์คร๊าฟท์ จำากัด

นายเดชพล จันศิริ (บุตรน�ยไกรสร จันศิริ)

ญาติสนิท กรรมการ

400,000

15. บริษัท แฟคตอรี่ สตอเรจ เซอร์วิส จำากัด

นายนคร นิรุตตินานนท์ (บุตรน�ยเชง นิรุตติน�นนท์)

ญาติสนิท กรรมการ

16. บริษัท ไมเนอร์ ฟู้ด กรุ๊ป จำากัด (มหาชน) (บริษทั ย่อย 99.73% ของ บมจ. ไมเนอร์อ ินเตอร์ เนชัน่ แนล ซึง่ มีนายธีรพงศ์ จันศิร ิ เป็นกรรมการร่วมกัน)

นายธีรพงศ์ จันศิริ นางพรนภา จันศิริ (คู่สมรสน�ยธีรพงศ์ จันศิริ)

กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ กรรมการ

13. บริษัท ไทยยูเนี่ยน ปร็อปเปอร์ตี้ส์ จำากัด

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

-ไม่มีร�ยก�ร-

80.0%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • จ่�ยค่�จ้�งพิมพ์ง�นให้ TUG

300,000

60.0%

ค่�เช่� ส�ม�รถ เทียบกับ อัตร�ค่�เช่� ในพื้นที่ใกล้ เคียงกัน และ ผู้เช่�ร�ยอื่น

รายการเช่าอสังหาริมทรัพย์ระยะสั้น ประกอบด้วย TUM จ่�ยค่�เช่�และค่�บริก�ร สำ�หรับ พื้นที่สำ�นักง�นและโรงง�น รวมทั้งค่� ส�ธ�รณูปโภค เนื่องจ�กบริษัทจำ�เป็นต้อง ใช้พื้นที่ในก�รขย�ยกำ�ลังก�รผลิต แต่อยู่ ระหว่�งก่อสร้�งอ�ค�รโรงง�น ซึ่งค�ดว่�จะ แล้วเสร็จในปี 2560 โดยสัญญ�เช่�ดังกล่�ว มีกำ�หนดระยะเวล�ต�มสัญญ�เช่� 1 ปี และ จะครบกำ�หนดในเดือนธันว�คม 2560 ซึ่ง ได้รับก�รอนุมัติจ�กที่ประชุมคณะกรรมก�ร เรียบร้อยแล้ว

-014,300

0.0%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • ซื้อสินค้�จ�ก TU • ซื้อสินค้�จ�ก PPC


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

143

บริษัทที่เกี่ยวโยงกัน

ชื่อ-สกุล ผู้เกี่ยวข้อง

ตำาแหน่งที่ TU

จำานวนหุ้นที่ถือในบริษัทที่ นโยบายราคา เกี่ยวโยง

ลักษณะรายการ

นายเชง นิรุตตินานนท์

กรรมการ

149,996 100.0%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • ซื้อสินค้�จ�ก APC • ข�ยสินค้�ให้ COSF

18. บริษัท นิวเซนจูรี่ นายเชง นิรุตตินานนท์ พริน้ ติง้ แอนด์ แพคเกจจิง้ จำากัด

กรรมการ

25,000

55.6%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • รับค่�จ้�งทำ�กล่องบรรจุภัณฑ์ให้ SC

19. แพรุ่งทิวา (บุคคลธรรมดา)

น.ส.รุ่งทิวา บุญมีโชติ (น้องนายฤทธิรงค์ บุญมีโชติ)

ญาติสนิท กรรมการ

เจ้าของ 100.0%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

20. บริษัท ไทยยูเนี่ยน ไฮเทค เพิรล์ คัลทิเวชัน่ จำากัด

นายไกรสร จันศิริ นายธีรพงศ์ จันศิริ นายเดชพล จันศิริ (บุตรนายไกรสร จันศิริ) นายดิสพล จันศิริ (บุตรนายไกรสร จันศิริ)

กรรมการ กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ

2,500,000 5,000,000 7,500,000

5.0% ร�ค�ตล�ด 10.0% เทียบเท่� 15.0% ลูกค้�ทั่วไป

7,500,000

15.0%

นายดิสพล จันศิริ (บุตรนายไกรสร จันศิริ) นายเดชพล จันศิริ (บุตรนายไกรสร จันศิริ) นางบุษกร จันศิริ (คู่สมรสนายไกรสร จันศิริ)

ญาติสนิท กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ ญาติสนิท กรรมการ

9,800

98.0%

นายเชง นิรุตตินานนท์

กรรมการ

17. บริษัท ฟิล-ยูเนี่ยน โฟรเซ่น ฟู้ดส์ จำากัด ประเทศฟิลิปปินส์

21. บริษัท ดี จันศิริ เอ จำากัด

22. Lucky Union Foods-Euro SP.ZO.O (บริษัทย่อย 100% ของ บริษัท ลัคกี้ ยูเนี่ยน ฟู้ดส์ จำากัด ซึ่งมีนาย เชง นิรุตตินานนท์ เป็น กรรมการร่วมกัน)

100

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� 1.0% ลูกค้�ทั่วไป

100

1.0%

102,000

11.3%

ร�ค�ตล�ด เทียบเท่� ลูกค้�ทั่วไป

รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: (กุ้ง) ให้ PPC

• ข�ยวัตถุดิบ

รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • ซื้ออ�ห�รกุ้งและปล�จ�กฟ�ร์มทดลอง ของ TFM

-ไม่มีร�ยก�ร-

รายการธุรกิจปกติ ประกอบด้วย: • ข�ยวัตถุดิบ (ซูริมิ) ให้ TUE Group

หมายเหตุ: • รายการธุรกิจปกติ เป็นการซื้อขายวัตถุดิบตามธุรกิจปกติ ซึ่งมีเงื่อนไขการค้าทั่วไป และได้รับอนุมัติหลักการจากที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท ครั้งที่ 5/2551 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2551 • รายการที่ 8, 10-13, 16 และ 20 กรรมการของบริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำากัด (มหาชน) ได้แก่ นายไกรสร จันศิริ นายเชง นิรุตตินานนท์ นายชวน ตั้งจันสิริ นายธีรพงศ์ จันศิริ ถือหุ้นในบริษัทที่เกี่ยวโยงกันไม่ถึง 10% ของทุนจดทะเบียน แต่เป็นกรรมการของบริษัทที่เกี่ยวโยงกัน • รายการที่ 10 เนื่องจากบริษัท ยู่เฉียงแคนฟู้ด จำากัด เป็นบริษัทที่ประเทศเวียดนาม ไม่สามารถระบุจำานวนหุ้นที่กรรมการเข้าไปถือได้ จึงระบุเป็นเงินลงทุนแทน นอกจากนี้ บริษัทและบริษัทย่อยมีการทำาประกันภัยทรัพย์สินกับบริษัท เอเซีย-แปซิฟิค ริสค์ คอนซัลแท้นส์ (ประเทศไทย) จำากัด และบริษัท เอเชีย-แปซิฟิค อินชัวรันส์ โบรคเกอร์ส จำากัด ซึ่งเป็นนายหน้ารับประกันภัย โดยมีลักษณะความสัมพันธ์กับบริษัทฯ เนื่องจากมีกรรมการและผู้ถือหุ้นร่วมกัน คือนายชวน ตั้งจันสิริ


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

144

บุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหุ้นสามัญ

บริษัท ศูนย์รับฝ�กหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ชั้น 14 อ�ค�รตล�ดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 93 ถนนรัชด�ภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมห�นคร 10400 โทรศัพท์ 66 (0) 2009-9000 โทรส�ร 66 (0) 2009-9992

นายทะเบียนหุ้นกู้

หุ้นกู้ปี 2554 ชุดที่ 1-3 : ธน�ค�รกสิกรไทย จำ�กัด (มห�ชน) หุ้นกู้ปี 2557 ครั้งที่ 1 ชุดที่ 1-4 : ธน�ค�รกสิกรไทย จำ�กัด (มห�ชน) หุ้นกู้ปี 2557 ครั้งที่ 2 ชุดที่ 1-2 : ธน�ค�รทห�รไทย จำ�กัด (มห�ชน) หุ้นกู้ปี 2559 ครั้งที่ 1 : ธน�ค�รกรุงศรีอยุธย� จำ�กัด (มห�ชน) หุ้นกู้ปี 2559 ครั้งที่ 2 ชุดที่ 1-3 : ธน�ค�รกรุงศรีอยุธย� จำ�กัด (มห�ชน)

ผู้สอบบัญชี

น�ยสมช�ย จิณโณว�ท น�ยวิเชียร กิ่งมนตรี น�ยพงทวี รัตนะโกเศศ น�ยประสิทธิ์ เยื่องศรีกุล

ผู้สอบบัญชีรับอนุญ�ตเลขทะเบียน 3271 หรือ ผู้สอบบัญชีรับอนุญ�ตเลขทะเบียน 3977 หรือ ผู้สอบบัญชีรับอนุญ�ตเลขทะเบียน 7795 หรือ ผู้สอบบัญชีรับอนุญ�ตเลขทะเบียน 4174

บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮ�ส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด เลขที่ 179/74-80 อ�ค�รบ�งกอกซิตี้ท�วเวอร์ ชั้น 15 ถนนส�ทรใต้ แขวงทุ่งมห�เมฆ เขตส�ทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 66 (0) 2344-1000 โทรส�ร 66 (0) 2286-5050 ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี สำาหรับปี 2559 1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) บริษัทและบริษัทย่อยจ่�ยค่�ตอบแทนก�รสอบบัญชี ให้แก่ 1. ผู้สอบบัญชีของบริษัทในรอบปีบัญชีที่ผ่�นม�มีจำ�นวนเงินรวม -0- บ�ท 2. สำ�นักง�นสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด บุคคลหรือกิจก�รที่เกี่ยวข้องกับผู้สอบบัญชีและสำ�นักง�นสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด ในรอบปีบัญชีที่ผ่�นม� รวม 71 บริษัท มีจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 76,350,000.00 บ�ท 2. ค่าบริการอื่น (Non-Audit Fee) บริษัทและบริษัทย่อยจ่�ยค่�ตอบแทนของง�นบริก�รอื่น ซึ่งได้แก่ • ค่�ใช้จ่�ยในก�รดำ�เนินก�รตรวจสอบบัญชี ให้แก่สำ�นักง�นสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด บุคคลหรือกิจก�รที่เกี่ยวข้องกับผู้สอบบัญชีและสำ�นักง�นสอบ บัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด ในรอบปีบัญชีที่ผ่�นม� มีจำ�นวนเงินรวม -0- บ�ท • ค่�ตรวจสอบกรณีพิเศษต�มประก�ศที่ ป 4/2544 ของสำ�นักง�นคณะกรรมก�รส่งเสริมก�รลงทุน ให้แก่สำ�นักง�นสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด บุคคล หรือกิจก�รที่เกี่ยวข้องกับผู้สอบบัญชีและสำ�นักง�นสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด ในรอบปีบัญชีที่ผ่�นม� รวม 6 บริษัท มีจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 850,000.00 บ�ท • ค่�บริก�รตรวจสอบเพื่อวัตถุประสงค์เฉพ�ะและค่�ปรึกษ�ด้�นภ�ษี มีจำ�นวนทั้งสิ้น 100,723,114.00 บ�ท


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

145

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมก�รเป็นผู้รับผิดชอบต่องบก�รเงินของบริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำ�กัด(มห�ชน) และงบก�รเงินรวมของ บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำ�กัด(มห�ชน) และบริษัทย่อย เพื่อให้ เกิดคว�มมั่นใจว่�เป็นร�ยง�นท�งก�รเงินที่แสดงฐ�นะก�รเงินและ ผลก�รดำ�เนินง�นที่เป็นจริงและสมเหตุผล โดยอยู่บนร�กฐ�น ของก�รจัดให้มีก�รบันทึกข้อมูลท�งบัญชีที่ถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ ซึ่งได้ใช้นโยบ�ยก�รบัญชีที่เหม�ะสมและถือปฏิบัติโดย สม่ำ�เสมอ จัดทำ�ขึ้นต�มม�ตรฐ�นก�รบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป ตลอดจนได้พิจ�รณ�ถึงคว�มสมเหตุสมผล และคว�มระมัดระวัง รอบคอบ รวมถึงก�รประม�ณก�รที่ดีที่สุดในก�รจัดทำ� และได้ มีก�รเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญอย่�งเพียงพอในหม�ยเหตุประกอบ งบก�รเงิน ต�มม�ตรฐ�นก�รบัญชีใหม่ที่มีผลบังคับใช้ ซึ่งผู้สอบ บัญชีได้แสดงคว�มเห็นต่องบก�รเงินของบริษัทในร�ยง�นของผู้ สอบบัญชีของบริษัทอย่�งไม่มีเงื่อนไข เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ ถือหุ้น และนักลงทุนทั่วไป คณะกรรมก�รบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมก�รตรวจสอบ ซึ่ง ประกอบด้วยกรรมก�รอิสระ เพื่อทำ�หน้�ที่กำ�กับดูแลสอบท�น ร�ยง�นท�งก�รเงิน คว�มเพียงพอของระบบก�รควบคุมภ�ยใน และก�รตรวจสอบภ�ยใน ระบบก�รบริห�รคว�มเสี่ยง รวมถึง พิจ�รณ�ก�รเปิดเผยข้อมูลร�ยก�รเกี่ยวโยงกันต�มประก�ศ คณะกรรมก�รกำ�กับหลักทรัพย์และตล�ดหลักทรัพย์ โดยคว�ม เห็นของคณะกรรมก�รตรวจสอบปร�กฏในร�ยง�นของคณะ กรรมก�รตรวจสอบ ซึ่งแสดงไว้ในร�ยง�นประจำ�ปีนี้แล้ว

( นายไกรสร จันศิริ ) ประธ�นกรรมก�ร

งบก�รเงินและงบก�รเงินรวมของบริษัทฯ ได้รับก�รตรวจสอบ โดยผูส้ อบบัญชีรบั อนุญ�ตของบริษทั คือ น�ยสมช�ย จิณโณว�ท ผู้สอบบัญชีรับอนุญ�ตเลขทะเบียน 3271 จ�ก บริษัท ไพร้ซ วอเตอร์เฮ�ส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด โดยในก�รตรวจสอบ นั้นมีคว�มเป็นอิสระและได้รับคว�มร่วมมือจ�กผู้บริห�รและผู้ ปฏิบัติง�นเป็นอย่�งดี เพื่อให้ผู้สอบบัญชีส�ม�รถตรวจสอบและ แสดงคว�มเห็นได้ต�มม�ตรฐ�นก�รสอบบัญชี โดยคว�มเห็น ของผู้สอบบัญชีปร�กฏในร�ยง�นของผู้สอบบัญชี ซึ่งแสดงไว้ใน ร�ยง�นประจำ�ปีนี้แล้ว คณะกรรมก�รมีคว�มเห็นว่�ระบบก�รควบคุมภ�ยในของ บริษัทฯ มีคว�มเพียงพอซึ่งทำ�ให้เชื่อมั่นได้ว่� งบก�รเงินของ บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำ�กัด(มห�ชน) และงบก�รเงินรวมของ บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำ�กัด(มห�ชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันว�คม 2559 แสดงฐ�นะก�รเงิน ผลก�ร ดำ�เนินง�น ก�รเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น และกระแสเงินสด โดยถูกต้องต�มที่ควรในส�ระสำ�คัญ มีคว�มเชื่อถือได้ โดยถือ ปฏิบัติต�มม�ตรฐ�นก�รบัญชีที่รับรองทั่วไป และปฏิบัติอย่�งถูก ต้องต�มกฏหม�ยและประก�ศที่เกี่ยวข้อง

( นายธีรพงศ์ จันศิริ )

ประธ�นกรรมก�รบริห�รและประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

146

รายงานของผูส้ อบบัญชี รับอนุญาต เสนอผู้ถือหุ้น และคณะกรรมก�ร ของบริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำ�กัด (มห�ชน)

ความเห็น

ข้�พเจ้�เห็นว่� งบก�รเงินรวมของบริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำ�กัด (มห�ชน) (บริษัท) และบริษัทย่อย (กลุ่มบริษัท) และงบก�รเงินเฉพ�ะ กิจก�รของบริษัทแสดงฐ�นะก�รเงินรวมของกลุ่มบริษัทและฐ�นะก�รเงินเฉพ�ะกิจก�รของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันว�คม พ.ศ. 2559 และ ผลก�รดำ�เนินง�นรวมและผลก�รดำ�เนินง�นเฉพ�ะกิจก�ร กระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพ�ะกิจก�รสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องต�มที่ควรในส�ระสำ�คัญต�มม�ตรฐ�นก�รร�ยง�นท�งก�รเงิน

งบการเงินที่ตรวจสอบ

ข้�พเจ้�ได้ตรวจสอบงบก�รเงินรวมของกลุ่มบริษัทและงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�รของบริษัทข้�งต้นนี้ ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐ�นะก�รเงิน รวมและงบแสดงฐ�นะก�รเงินเฉพ�ะกิจก�ร ณ วันที่ 31 ธันว�คม พ.ศ. 2559 งบกำ�ไรข�ดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกำ�ไรข�ดทุนเบ็ดเสร็จ เฉพ�ะกิจก�ร งบแสดงก�รเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้�ของรวมและงบแสดงก�รเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้�ของเฉพ�ะกิจก�ร และงบกระแส เงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพ�ะกิจก�รสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน และหม�ยเหตุประกอบงบก�รเงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะ กิจก�ร รวมถึงหม�ยเหตุสรุปนโยบ�ยก�รบัญชีที่สำ�คัญ

เกณฑ์ในการแสดงความเห็น

ข้�พเจ้�ได้ปฏิบัติง�นตรวจสอบต�มม�ตรฐ�นก�รสอบบัญชี คว�มรับผิดชอบของข้�พเจ้�ได้กล่�วไว้ในส่วนของคว�มรับผิดชอบของผู้ สอบบัญชีต่อก�รตรวจสอบงบก�รเงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�รในร�ยง�นของข้�พเจ้� ข้�พเจ้�มีคว�มเป็นอิสระจ�กกลุ่มบริษัทและ บริษัทต�มข้อกำ�หนด จรรย�บรรณของผู้ประกอบวิช�ชีพบัญชีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับก�รตรวจสอบงบก�รเงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะ กิจก�รที่กำ�หนดโดยสภ�วิช�ชีพบัญชีในพระบรมร�ชูปถัมภ์ และข้�พเจ้�ได้ปฏิบัติต�มคว�มรับผิดชอบด้�นจรรย�บรรณอื่น ๆ ซึ่งเป็นไป ต�มข้อกำ�หนดเหล่�นี้ ข้�พเจ้�เชื่อว่�หลักฐ�นก�รสอบบัญชีที่ข้�พเจ้�ได้รับเพียงพอและเหม�ะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในก�รแสดงคว�มเห็น ของข้�พเจ้�

เรื่องสำาคัญในการตรวจสอบ

เรื่องสำ�คัญในก�รตรวจสอบคือเรื่องต่�ง ๆ ที่มีนัยสำ�คัญที่สุดต�มดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิช�ชีพของข้�พเจ้�ในก�รตรวจสอบงบก�ร เงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�รสำ�หรับงวดปัจจุบัน ข้�พเจ้�ได้นำ�เรื่องเหล่�นี้ม�พิจ�รณ�ในบริบทของก�รตรวจสอบงบก�รเงินรวม และงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�รโดยรวมและในก�รแสดงคว�มเห็นของข้�พเจ้� ทั้งนี้ ข้�พเจ้�ไม่ได้แสดงคว�มเห็นแยกต่�งห�กสำ�หรับเรื่อง เหล่�นี้

เรื่องสำาคัญในการตรวจสอบ การประเมินการด้อยค่าของค่าความนิยมและสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน กลุ่มบริษัทมีรายการค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มีตัวตนในงบแสดง ฐานะการเงินในจำานวนเงินที่เป็นสาระสำาคัญ ภายใต้มาตรฐานการ รายงานทางการเงิน กลุ่มบริษัทจำาเป็นต้องทดสอบการด้อยค่าของค่า ความนิยมเป็นประจำาทุกปี หรือเมื่อมีข้อบ่งชี้ของการด้อยค่า รวมถึง การระบุหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่เกี่ยวข้องกับค่าความนิยม ข้าพเจ้าให้ความสำาคัญในเรื่องนี้ เนื่องจากความซับซ้อนในการ ประเมินมูลค่า และการใช้ดุลยพินิจที่สำาคัญที่เกี่ยวข้องกับ ข้อสมมติฐานต่าง ๆ ซึ่งอาจได้รับผลกระทบจากสภาวะของตลาด

วิธีการตรวจสอบ วิธีก�รตรวจสอบของข้�พเจ้�รวมถึงก�รประเมินคว�มเหม�ะสมของผู้ บริห�รในก�รระบุหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด และก�รใช้ผลง�น ของผู้เชี่ยวช�ญด้�นก�รประเมินมูลค่�ม�ช่วยในก�รตรวจสอบเพื่อ ประเมินคว�มเหม�ะสมของข้อสมมติฐ�นต่�ง ๆ และวิธีที่กลุ่มบริษัท นำ�ม�ใช้เมื่อเกี่ยวข้อง โดยเฉพ�ะก�รตรวจสอบข้อสมมติฐ�นที่ เกี่ยวข้องกับก�รประม�ณก�รอัตร�ก�รเติบโตของร�ยได้ อัตร�กำ�ไรขั้น ต้นของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดแต่ละหน่วย และอัตร�คิดลด ก่อนภ�ษีเงินได้นิติบุคคล ข้�พเจ้�ได้สอบถ�มผู้บริห�รในเชิงทดสอบ และประเมินคว�มเหม�ะสมของก�รประม�ณก�รกระแสเงินสดของ หน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด ซึ่งรวมถึงก�รประเมินคว�มแม่นยำ� ของผู้บริห�รในก�รประม�ณก�รข้อมูลต่�ง ๆ ที่เกี่ยวข้องที่เกิดขึ้นใน อดีต และก�รประเมินคว�มเป็นไปได้ของแผนธุรกิจในอน�คต


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

147

หรือสภาพเศรษฐกิจในอนาคต กลุ่มบริษัทประเมินมูลค่าจากการใช้ สินทรัพย์ (Value-in-use) ของค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มีตัวตน โดยใช้วิธีคิดลดกระแสเงินสด (Discounted Cash Flow Model) โดยพิจารณาจากข้อสมมติฐานต่าง ๆ ซึ่งต้องใช้ดุลยพินิจของผู้บริหาร ของกลุ่มบริษัท เช่น อัตราการเติบโตของรายได้ และอัตราคิดลดที่ใช้ใน การคำานวณประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตให้เป็นมูลค่าปัจจุบัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบแสดงฐานะการเงินของกลุ่ม บริษัทมีค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มีตัวตนจำานวน 13,647 ล้าน บาท และ 15,936 ล้านบาท ตามลำาดับ โดยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 9.59 และร้อยละ 11.19 ของสินทรัพย์รวม ตามลำาดับ ดังที่เปิดเผย ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15 และ 17 ตามลำาดับ กลุ่ม บริษัทไม่มีการรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์เหล่านี้

นอกจ�กนัน้ ข้�พเจ้�ได้ประเมินและทดสอบข้อสมมติฐ�นทีใ่ ช้ในก�ร ประม�ณก�ร วิธกี �รประม�ณก�ร ต้นทุนท�งก�รเงินเฉลีย่ (Weighted Average Cost of Capital: WACC) อัตร�ค่�ธรรมเนียมก�รใช้สิทธิ และข้อมูลต่�งๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยก�รเปรียบเทียบกับข้อมูล ภ�ยนอกและข้อมูลในอดีต เช่น ก�รค�ดก�รณ์อตั ร�ก�รเติบโตของ ตล�ด ข้�พเจ้�วิเคร�ะห์คว�มอ่อนไหวของส่วนต่�งจ�กก�รประเมิน มูลค่�ของหน่วยสินทรัพย์ทก่ี อ่ ให้เกิดเงินสด โดยประเมินว่�ห�กข้อ สมมติฐ�นเปลีย่ นแปลงไปจ�กทีก่ �ำ หนดไว้แล้วจะส่งผลให้มลู ค่�ต�ม บัญชี (Carrying amount) มีจ�ำ นวนสูงกว่�มูลค่�ที่ค�ดว่�จะได้รับ คืน (Recoverable amount) หรือไม่ และประเมินคว�มแม่นยำ�ของ ผูบ้ ริห�รในก�รประม�ณก�รข้อสมมติฐ�นและข้อมูลต่�ง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่เกิดขึ้นในอดีต นอกจ�กนั้น ข้�พเจ้�ประเมินคว�มเพียงพอของก�รเปิดเผยข้อมูล ของกลุ่มบริษัทเกี่ยวกับข้อสมมติฐ�นที่อ่อนไหวอันจะส่งผลกระทบ ที่มีส�ระสำ�คัญต่อมูลค่�ที่ค�ดว่�จะได้รับคืนของค่�คว�มนิยมและ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน จ�กวิธกี �รตรวจสอบทีข่ �้ พเจ้�ได้ปฏิบตั ิ ข้�พเจ้�พิจ�รณ�ว่�ข้อสมมติฐ�น ต่�ง ๆ ที่สำ�คัญของผู้บริห�รมีคว�มสมเหตุสมผลและได้เปิดเผยข้อมูล ไว้อย่�งเพียงพอ

การรวมธุรกิจ

ตามที่ได้อธิบายไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 13.1 กลุ่ม บริษัทได้ซื้อธุรกิจและสินทรัพย์จากบริษัท Rugen Fisch AG มูลค่าสิ่งตอบแทนที่จ่าย ณ วันซื้อธุรกิจและสินทรัพย์มีมูลค่า 1,760 ล้านบาท ผู้บริหารประเมินว่ารายการดังกล่าวถือเป็นการ รวมธุรกิจตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 ผู้บริหารประเมินว่ามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิที่ได้มาที่ ระบุได้มีมูลค่ารวม 2,640 ล้านบาท และมีค่าความนิยมที่เกิด ขึ้นจากการรวมธุรกิจจำานวนรวม 1,053 ล้านบาท การวัด มูลค่าของสินทรัพย์และหนี้สินที่ได้รับมา รวมถึงสินทรัพย์ไม่มี ตัวตนนั้นเป็นส่วนหนึ่งในขั้นตอนการปันส่วนราคาซื้อในการ รวมกิจการ (Purchase Price Allocation) และวิธีที่ใช้ใน การประเมินมูลค่าของค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มีตัวตนนั้น สอดคล้องกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 ข้าพเจ้าให้ความสำาคัญในเรื่องการรวมธุรกิจ และสินทรัพย์ไม่มีตัว ตนที่เกิดขึ้นจากการรวมธุรกิจเนื่องจากเป็นเรื่องที่มีการใช้ดุลยพินิจ ที่สำาคัญ วิธีการวัดมูลค่า รวมถึงข้อมูลและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการ คำานวณนั้นมีผลกระทบต่อมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ไม่มีตัว ตน ข้อสมมติฐานที่สำาคัญ เช่น ผลการดำาเนินงานของกลุ่มบริษัท ในอนาคต อัตราคิดลด และอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ไม่มี ตัวตนนั้นเกี่ยวข้องกับการใช้ดุลยพินิจที่สำาคัญของผู้บริหาร

ข้�พเจ้�ได้พิจ�รณ�ก�รประเมินร�ยก�รซื้อธุรกิจที่จัดทำ�โดยผู้บริห�ร ต�มที่ได้ระบุในหม�ยเหตุประกอบงบก�รเงินข้อ 13.1 ว่�ร�ยก�ร ดังกล่�วนั้นถือเป็นก�รรวมธุรกิจและมีก�รบันทึกอย่�งเหม�ะสมต�ม ม�ตรฐ�นก�รร�ยง�นท�งก�รเงินฉบับที่ 3 ส่วนหนึ่งของวิธีก�รตรวจสอบของข้�พเจ้�ได้แก่ ก�รอ่�นสัญญ�ซื้อ ธุรกิจและพิจ�รณ�ว่�กลุ่มบริษัทได้ปฏิบัติต�มวิธีก�รท�งบัญชีที่เหม�ะ สม มีก�รเปิดเผยข้อมูลอย่�งเพียงพอ รวมถึงก�รประเมินวิธีก�รวัด มูลค่�และวิธีปฏิบัติท�งก�รบัญชีสำ�หรับสิ่งตอบแทนที่จ่�ยซื้อธุรกิจ และตรวจสอบร�ยก�รจ่�ยซื้อดังกล่�วกับใบแจ้งยอดบัญชีธน�ค�ร ข้�พเจ้�ตรวจสอบก�รระบุและก�รวัดมูลค่�ยุติธรรมของสินทรัพย์และ หนี้สินที่ได้รับม�จ�กก�รซื้อธุรกิจ และประเมินคว�มเหม�ะสมของข้อ สมมติฐ�นที่ใช้ในก�รวัดมูลค่� เช่น อัตร�คิดลด และอัตร�ภ�ษี โดย ก�รสอบถ�มผู้บริห�รในเชิงทดสอบเกี่ยวกับข้อสมมติฐ�นต่�ง ๆ ที่ ใช้ในก�รคำ�นวณ โดยพิจ�รณ�จ�กข้อมูลในอดีต และข้อมูลจ�กแหล่ง ภ�ยนอกประกอบ ข้�พเจ้�ทดสอบก�รคำ�นวณค่�คว�มนิยมทีเ่ กิดขึน้ จ�กก�รซือ้ ธุรกิจ ซึง่ เป็นผลต่�งระหว่�งมูลค่�สิง่ ตอบแทนทีจ่ �่ ยซือ้ ทัง้ หมดกับมูลค่�ยุตธิ รรม ของสินทรัพย์สทุ ธิทไ่ี ด้ม�ทีร่ ะบุได้ และพบว่�ผูบ้ ริห�รได้ค�ำ นวณต�มวิธี ก�รทีส่ อดคล้องกับม�ตรฐ�นก�รร�ยง�นท�งก�รเงินฉบับที่ 3 ผู้บริห�รพิจ�รณ�ว่�ค่�คว�มนิยมที่เกิดขึ้นจ�กก�รซื้อธุรกิจนั้นเป็น ส่วนหนึง่ ของส่วนง�นผลิตภัณฑ์อ�ห�รทะเลแปรรูป ข้�พเจ้�ได้ประเมิน ก�รระบุสินทรัพย์ไม่มีตัวตนให้กับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่ จัดทำ�โดยผู้บริห�รและพบว่�มีคว�มสมเหตุสมผล ข้�พเจ้�พบว่�ก�รปันส่วนร�ค�ซื้อของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ณ วันที่ ในงบแสดงฐ�นะก�รเงิน และวิธีก�รปฏิบัติท�งก�รบัญชีสำ�หรับก�ร รวมธุรกิจมีก�รปันส่วนร�ค�และบันทึกอย่�งเหม�ะสม รวมถึงมีก�ร เปิดเผยข้อมูลไว้อย่�งเพียงพอ


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

148 ข้อมูลอื่น

กรรมก�รเป็นผู้รับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ข้อมูลอื่นประกอบด้วย ข้อมูลซึ่งรวมอยู่ในร�ยง�นประจำ�ปี แต่ไม่รวมถึงงบก�รเงินรวมและ งบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�ร และร�ยง�นของผู้สอบบัญชีที่อยู่ในร�ยง�นนั้น ข้�พเจ้�ค�ดว่�ข้�พเจ้�จะได้รับร�ยง�นประจำ�ปีภ�ยหลังวันที่ใน ร�ยง�นของผู้สอบบัญชีนี้ คว�มเห็นของข้�พเจ้�ต่องบก�รเงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�รไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอืน่ และข้�พเจ้�ไม่ได้ให้คว�มเชือ่ มัน่ ต่อข้อมูลอืน่ คว�มรับผิดชอบของข้�พเจ้�ที่เกี่ยวเนื่องกับก�รตรวจสอบงบก�รเงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�รคือ ก�รอ่�นและพิจ�รณ�ว่� ข้อมูลอื่นมีคว�มขัดแย้งที่มีส�ระสำ�คัญกับงบก�รเงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�ร หรือกับคว�มรู้ที่ได้รับจ�กก�รตรวจสอบของ ข้�พเจ้� หรือปร�กฏว่�ข้อมูลอื่นมีก�รแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นส�ระสำ�คัญหรือไม่ เมื่อข้�พเจ้�ได้อ่�นร�ยง�นประจำ�ปี ห�กข้�พเจ้�สรุปได้ว่�มีก�รแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นส�ระสำ�คัญ ข้�พเจ้�ต้องสื่อส�รเรื่อง ดังกล่�วกับคณะกรรมก�รตรวจสอบ

ความรับผิดชอบของกรรมการต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

กรรมก�รมีหน้�ทีร่ บั ผิดชอบในก�รจัดทำ�และนำ�เสนองบก�รเงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�รเหล่�นี้ โดยถูกต้องต�มทีค่ วรต�มม�ตรฐ�น ก�รร�ยง�นท�งก�รเงิน และรับผิดชอบเกีย่ วกับก�รควบคุมภ�ยในทีก่ รรมก�รพิจ�รณ�ว่�จำ�เป็น เพือ่ ให้ส�ม�รถจัดทำ�งบก�รเงินรวมและงบ ก�รเงินเฉพ�ะกิจก�รทีป่ ร�ศจ�กก�รแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นส�ระสำ�คัญไม่ว�่ จะเกิดจ�กก�รทุจริตหรือข้อผิดพล�ด ในก�รจัดทำ�งบก�รเงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�ร กรรมก�รรับผิดชอบในก�รประเมินคว�มส�ม�รถของกลุ่มบริษัทและบริษัทใน ก�รดำ�เนินง�นต่อเนื่อง เปิดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับก�รดำ�เนินง�นต่อเนื่อง (ต�มคว�มเหม�ะสม) และก�รใช้เกณฑ์ก�รบัญชีสำ�หรับก�ร ดำ�เนินง�นต่อเนื่อง เว้นแต่กรรมก�รมีคว�มตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มบริษัทและบริษัท หรือหยุดดำ�เนินง�น หรือไม่ส�ม�รถดำ�เนินง�นต่อเนื่อง ต่อไปได้ คณะกรรมก�รตรวจสอบมีหน้�ที่ช่วยกรรมก�รในก�รสอดส่องดูแลกระบวนก�รในก�รจัดทำ�ร�ยง�นท�งก�รเงินของ กลุ่มบริษัทและบริษัท

ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

ก�รตรวจสอบของข้�พเจ้�มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้คว�มเชื่อมั่นอย่�งสมเหตุสมผลว่�งบก�รเงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�รโดยรวม ปร�ศจ�กก�รแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นส�ระสำ�คัญหรือไม่ ไม่ว่�จะเกิดจ�กก�รทุจริตหรือข้อผิดพล�ด และเสนอร�ยง�นของ ผู้สอบบัญชีซึ่งรวมคว�มเห็นของข้�พเจ้�อยู่ด้วย คว�มเชื่อมั่นอย่�งสมเหตุสมผลคือคว�มเชื่อมั่นในระดับสูง แต่ไม่ได้เป็นก�รรับประกัน ว่�ก�รปฏิบัติง�นตรวจสอบต�มม�ตรฐ�นก�รสอบบัญชีจะส�ม�รถตรวจพบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นส�ระสำ�คัญที่มีอยู่ได้เสมอไป ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอ�จเกิดจ�กก�รทุจริตหรือข้อผิดพล�ด และถือว่�มีส�ระสำ�คัญเมื่อค�ดก�รณ์อย่�งสมเหตุสมผลได้ว่�ร�ยก�ร ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละร�ยก�ร หรือทุกร�ยก�รรวมกันจะมีผลต่อก�รตัดสินใจท�งเศรษฐกิจของผู้ใช้งบก�รเงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะ กิจก�รเหล่�นี้ ในก�รตรวจสอบของข้�พเจ้�ต�มม�ตรฐ�นก�รสอบบัญชี ข้�พเจ้�ได้ใช้ดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิช�ชีพและก�รสังเกต และสงสัย เยี่ยงผู้ประกอบวิช�ชีพตลอดก�รตรวจสอบ ก�รปฏิบัติง�นของข้�พเจ้�รวมถึง • ระบุและประเมินคว�มเสี่ยงจ�กก�รแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นส�ระสำ�คัญในงบก�รเงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�รไม่ ว่�จะเกิดจ�กก�รทุจริตหรือข้อผิดพล�ด ออกแบบและปฏิบัติง�นต�มวิธีก�รตรวจสอบเพื่อตอบสนองต่อคว�มเสี่ยงเหล่�นั้นและได้ หลักฐ�นก�รสอบบัญชีที่เพียงพอและเหม�ะสมเพื่อเป็นเกณฑ์ในก�รแสดงคว�มเห็นของข้�พเจ้� คว�มเสี่ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นส�ระสำ�คัญซึ่งเป็นผลม�จ�กก�รทุจริตจะสูงกว่�คว�มเสี่ยงที่เกิดจ�กข้อผิดพล�ด เนื่องจ�กก�รทุจริตอ�จเกี่ยวกับ ก�รสมรู้ร่วมคิด ก�รปลอมแปลงเอกส�รหลักฐ�น ก�รตั้งใจละเว้นก�รแสดงข้อมูล ก�รแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงต�มข้อเท็จจริงหรือก�ร แทรกแซงก�รควบคุมภ�ยใน • ทำ�คว�มเข้�ใจในระบบก�รควบคุมภ�ยในที่เกี่ยวข้องกับก�รตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีก�รตรวจสอบที่เหม�ะสมกับสถ�นก�รณ์ แต่ ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในก�รแสดงคว�มเห็นต่อคว�มมีประสิทธิผลของก�รควบคุมภ�ยในของกลุ่มบริษัทและบริษัท • ประเมินคว�มเหม�ะสมของนโยบ�ยก�รบัญชีที่กรรมก�รใช้และคว�มสมเหตุสมผลของประม�ณก�รท�งบัญชี และก�รเปิดเผยข้อมูล ที่เกี่ยวข้องซึ่งจัดทำ�ขึ้นโดยกรรมก�ร • สรุปเกี่ยวกับคว�มเหม�ะสมของก�รใช้เกณฑ์ก�รบัญชีสำ�หรับก�รดำ�เนินง�นต่อเนื่องของกรรมก�รและจ�กหลักฐ�นก�รสอบบัญชี ที่ได้รับ สรุปว่�มีคว�มไม่แน่นอนที่มีส�ระสำ�คัญที่เกี่ยวกับเหตุก�รณ์หรือสถ�นก�รณ์ที่อ�จเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่�งมีนัยสำ�คัญ ต่อคว�มส�ม�รถของกลุ่มบริษัทและบริษัทในก�รดำ�เนินง�นต่อเนื่องหรือไม่ ถ้�ข้�พเจ้�ได้ข้อสรุปว่�มีคว�มไม่แน่นอนที่มีส�ระสำ�คัญ


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

149 ข้�พเจ้�ต้องกล่�วไว้ในร�ยง�นของผู้สอบบัญชีของข้�พเจ้�ถึงก�รเปิดเผยที่เกี่ยวข้องในงบก�รเงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�ร หรือถ้�ก�รเปิดเผยดังกล่�วไม่เพียงพอ คว�มเห็นของข้�พเจ้�จะเปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุปของข้�พเจ้�ขึ้นอยู่กับหลักฐ�นก�รสอบบัญชี ที่ได้รับจนถึงวันที่ในร�ยง�นของผู้สอบบัญชีของข้�พเจ้� อย่�งไรก็ต�ม เหตุก�รณ์หรือสถ�นก�รณ์ในอน�คตอ�จเป็นเหตุให้กลุ่ม บริษัทและบริษัทต้องหยุดก�รดำ�เนินง�นต่อเนื่อง • ประเมินก�รนำ�เสนอ โครงสร้�งและเนื้อห�ของงบก�รเงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�รโดยรวม รวมถึงก�รเปิดเผยว่�งบก�รเงิน รวมและงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�รแสดงร�ยก�ร และเหตุก�รณ์ในรูปแบบที่ทำ�ให้มีก�รนำ�เสนอข้อมูลโดยถูกต้องต�มที่ควร • ได้รับหลักฐ�นก�รสอบบัญชีที่เหม�ะสมอย่�งเพียงพอเกี่ยวกับข้อมูลท�งก�รเงินของกิจก�รภ�ยในกลุ่มหรือกิจกรรมท�งธุรกิจ ภ�ยในกลุ่มบริษัทเพื่อแสดงคว�มเห็นต่องบก�รเงินรวม ข้�พเจ้�รับผิดชอบต่อก�รกำ�หนดแนวท�ง ก�รควบคุมดูแลและก�รปฏิบัติ ง�นตรวจสอบกลุ่มบริษัท ข้�พเจ้�เป็นผู้รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียวต่อคว�มเห็นของข้�พเจ้� ข้�พเจ้�ได้สื่อส�รกับคณะกรรมก�รตรวจสอบเกี่ยวกับขอบเขตและช่วงเวล�ของก�รตรวจสอบต�มที่ได้ว�งแผนไว้ ซึ่งรวมถึงประเด็นที่ มีนัยสำ�คัญที่พบจ�กก�รตรวจสอบ และข้อบกพร่องที่มีนัยสำ�คัญในระบบก�รควบคุมภ�ยใน ซึ่งข้�พเจ้�ได้พบในระหว่�งก�รตรวจสอบ ของข้�พเจ้� ข้�พเจ้�ได้ให้คำ�รับรองแก่คณะกรรมก�รตรวจสอบว่� ข้�พเจ้�ได้ปฏิบัติต�มข้อกำ�หนดจรรย�บรรณที่เกี่ยวข้องกับคว�มเป็นอิสระและได้ สื่อส�รกับคณะกรรมก�รตรวจสอบเกี่ยวกับคว�มสัมพันธ์ทั้งหมด ตลอดจนเรื่องอื่นซึ่งข้�พเจ้�เชื่อว่�มีเหตุผลที่บุคคลภ�ยนอกอ�จ พิจ�รณ�ว่�กระทบต่อคว�มเป็นอิสระของข้�พเจ้�และม�ตรก�รที่ข้�พเจ้�ใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ข้�พเจ้�ข�ดคว�มเป็นอิสระ จ�กเรื่องที่สื่อส�รกับคณะกรรมก�รตรวจสอบ ข้�พเจ้�ได้พิจ�รณ�เรื่องต่�ง ๆ ที่มีนัยสำ�คัญที่สุดในก�รตรวจสอบงบก�รเงินรวมและงบ ก�รเงินเฉพ�ะกิจก�รในงวดปัจจุบันและกำ�หนดเป็นเรื่องสำ�คัญในก�รตรวจสอบ ข้�พเจ้�ได้อธิบ�ยเรื่องเหล่�นี้ในร�ยง�นของผู้สอบบัญชี เว้นแต่กฎหม�ยหรือข้อบังคับไม่ให้เปิดเผยต่อส�ธ�รณะเกี่ยวกับเรื่องดังกล่�ว หรือในสถ�นก�รณ์ที่ย�กที่จะเกิดขึ้น ข้�พเจ้�พิจ�รณ�ว่� ไม่ควรสื่อส�รเรื่องดังกล่�วในร�ยง�นของข้�พเจ้�เพร�ะก�รกระทำ�ดังกล่�วส�ม�รถค�ดก�รณ์ได้อย่�งสมเหตุผลว่�จะมีผลกระทบในท�ง ลบม�กกว่�ผลประโยชน์ต่อส่วนได้เสียส�ธ�รณะจ�กก�รสื่อส�รดังกล่�ว บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮ�ส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด

สมชาย จิณโณวาท

ผู้สอบบัญชีรับอนุญ�ตเลขที่ 3271 กรุงเทพมห�นคร 21 กุมภ�พันธ์ พ.ศ. 2560

บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำ�กัด (มห�ชน) งบก�รเงินรวมและงบก�รเงินเฉพ�ะกิจก�ร

วันที่ 31 ธันว�คม พ.ศ. 2559


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

150 บริษทั ไทยยูเนยี- น กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วนั ที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

งบการเงินรวม 1 มกราคม พ.ศ. 2558 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

976,122 16,412,244 -

2,815,970 16,554,406 30,600 2,386

2,123,441 4,032,884 16,033,238 4,191

13,404 3,962,669 7,331,581 -

2,092,174 3,501,725 2,944,881 -

12,091 4,032,884 3,597,077 1,631,881 -

35

-

-

-

-

501,613

1,982,410

10

39,626,191

3,410 35,180,216

4,527 37,517,575

4,769,795

3,445,750

4,103,172

11 12

854,832 1,176,674 1,032,461

1,612,494 897,873 -

127,232 1,020,811 -

543,351 173,439 -

1,408,466 183,884 -

108,897 125,357 -

60,078,524

57,097,355

60,863,899

16,794,239

14,078,493

15,593,769

1,417 10,492,318 626,463 2,655,007 12,361,592 10,448 23,280,566 15,935,933 13,646,643 1,713,481 704,258 858,813

9,984 1,468,369 621,923 33,686 15,951 22,118,155 14,394,959 13,001,066 1,298,966 432,213 418,573

43,432 1,293,308 627,997 30,592 23,980 22,144,513 14,197,194 13,078,777 1,208,571 269,608 226,811

27,851,936 835,293 2,627,527 40,263,658 4,254,411 513,554 1,713,482 17,709 415,963

18,562,950 155,574 20,495,060 4,031,818 206,178 1,298,966 20,756 113,553

16,500,073 155,574 22,936,080 4,037,224 21,082 1,208,571 13,305 76,161

82,286,939

53,813,845

53,144,783

78,493,533

44,884,855

44,948,070

142,365,463

110,911,200

114,008,682

95,287,772

58,963,348

60,541,839

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 1 มกราคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวยี น เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินลงทุนระยะสั4น ลูกหนี4การค้าและลูกหนี4อื;น - สุทธิ เงินให้กู้ยมื ระยะสั4นแก่ กิ จ การที;เกี; ยวข้องกั น เงินให้กู้ยมื ระยะสั4นแก่ กิ จ การอื;น ส่ ว นของเงินให้ก้ ู ยืมระยะยาวแก่ กิ จ การ ที;เกี; ยวข้องกั นที;ถึงกํ าหนดชําระภายในหนึ;งปี ส่ ว นของเงินให้กู้ยมื ระยะยาวแก่ กิ จ การอื;น ที;ถึงกํ าหนดชําระภายในหนึ;งปี สินค้าคงเหลือ - สุทธิ ส่ ว นของลูกหนี4จ ากสัญญาอนุพันธ์ทางการเงิน ที;ถึงกํ าหนดชําระภายในหนึ;งปี สินทรัพย์หมุ นเวียนอื;น สินทรัพย์ของกลุ่มที;จํ าหน่ ายที;จั ดประเภทไว้เพื;อขาย

8 9, 35 35

รวมสินทรัพย์หมุนเวยี น สินทรัพย์ไม่หมุนเวยี น เงินฝากสถาบันการเงินที;มภี าระคํ4าประกั น เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่ ว ม เงินลงทุนในการร่ ว มค้า เงินลงทุนระยะยาวอื;น เงินให้กู้ยมื ระยะยาวแก่ กิ จ การที;เกี; ยวข้องกั น - สุทธิ เงินให้กู้ยมื ระยะยาวแก่ กิ จ การอื;น - สุทธิ ที;ดิน อาคาร และอุป กรณ์ - สุทธิ สิน ทรัพ ย์ไม่มตี วั ตน - สุทธิ ค่า ความนิยม - สุทธิ ลูกหนี4จ ากสัญญาอนุพันธ์ทางการเงิน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุ นเวียนอื;น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวยี น รวมสินทรัพย์

13 13 13 16 35 14 15 17 18 19

กรรมการ

กรรมการ

.

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จ การเป็ นส่ ว นหนึ;งของงบการเงินนี4

1


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

151 บริษทั ไทยยูเนยี- น กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วนั ที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

หมายเหตุ

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

งบการเงินรวม 1 มกราคม พ.ศ. 2558 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 1 มกราคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

20 21, 35 35

36,905,656 17,428,944 77,000

19,376,546 13,731,482 60,900

26,086,541 11,054,486 52,700

28,638,929 3,512,941 923,957

3,688,339 2,281,456 32,600

8,889,561 1,980,000 -

22 23

764,733 2,499,835

1,561,176 1,949,122

936,035 -

701,910 2,499,835

1,464,675 1,949,122

450,000 -

24

82,308 291,838

90,908 417,127

113,920 272,610

12,241 -

11,128 -

43,303 13,455

596,375 506,045 89,119

788,081 698,820 -

119,883 1,717,672 -

169,595 83,722 -

588,641 71,228 -

47,035 91,937 -

59,241,853

38,674,162

40,353,847

36,543,130

10,087,189

11,515,291

963,325 24,417,199 208,439 1,916,304 4,499,820 1,037,913 2,644,674

1,696,537 14,231,230 212,358 1,801,199 4,657,473 1,059,289 609,158

3,050,224 16,174,785 309,587 1,831,625 4,459,391 207,031 881,058

840,941 24,417,199 20,080 455,667 1,037,913 453,216

1,547,562 14,231,230 6,629 397,041 1,059,289 426,145

2,857,040 16,174,785 414,846 117,293 634,380

รวมหนสีE นิ ไม่หมุนเวยี น

35,687,674

24,267,244

26,913,701

27,225,016

17,667,896

20,198,344

รวมหนสีE นิ

94,929,527

62,941,406

67,267,548

63,768,146

27,755,085

31,713,635

หนสีE นิ และส่วนของเจ้าของ หนสีE นิ หมุนเวยี น เงินเบิกเกิ นบัญชีและเงินกู้ ยมื ระยะสั8น จากสถาบันการเงิน เจ้ าหนี8การค้าและเจ้ าหนี8อื>น เงินกู้ ยมื ระยะสั8นจากกิ จ การที>เกี> ยวข้องกั น ส่ ว นของเงินกู้ ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที>ถึงกํ าหนดชําระภายในหนึ>งปี - สุทธิ ส่ ว นของหุ้นกู้ ที>ถึงกํ าหนดชําระภายในหนึ>งปี - สุทธิ ส่ ว นของหนี8สินตามสัญญาเช่าการเงินที>ถึง กํ าหนดชําระภายในหนึ>งปี - สุทธิ ภาษีเงินได้คา้ งจ่ าย ส่ ว นของเจ้ าหนี8จากสัญญาอนุพันธ์ทางการเงิน ที>ถึงกํ าหนดชําระภายในหนึ>งปี หนี8สินหมุ นเวียนอื>น หนี8สินของกลุ่มที>จํ าหน่ ายที>จั ดประเภทไว้เพื>อขาย

25 12

รวมหนสีE นิ หมุนเวยี น หนสีE นิ ไม่หมุนเวยี น เงินกู้ ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน - สุทธิ หุ้นกู้ - สุทธิ หนี8สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี8สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เจ้ าหนี8จากสัญญาอนุพันธ์ทางการเงิน - สุทธิ หนี8สินไม่หมุ นเวียนอื>น

22 23 24 26 18

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จ การเป็ นส่ ว นหนึ>งของงบการเงินนี8

1


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

152 บริษทั ไทยยูเนยี- น กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วนั ที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

งบการเงินรวม 1 มกราคม พ.ศ. 2558 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

1,492,954

1,492,954

1,202,000

1,492,954

1,492,954

1,202,000

1,192,954 19,948,329

1,192,954 19,948,329

1,192,954 19,948,329

1,192,954 19,948,329

1,192,954 19,948,329

1,192,954 19,948,329

149,295 26,528,035 (4,575,938)

149,295 24,309,334 (383,690)

120,200 21,526,720 272,589

149,295 10,275,437 (46,389)

149,295 9,917,685 -

120,200 7,566,721 -

รวมส่วนของผู้เป็ นเจ้าของของบริษทั ใหญ่ ส่ ว นได้เสียที:ไม่มอี ํานาจควบคุ ม

43,242,675 4,193,261

45,216,222 2,753,572

43,060,792 3,680,342

31,519,626 -

31,208,263 -

28,828,204 -

รวมส่วนของเจ้าของ

47,435,936

47,969,794

46,741,134

31,519,626

31,208,263

28,828,204

142,365,463

110,911,200

114,008,682

95,287,772

58,963,348

60,541,839

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 1 มกราคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

หนสีE นิ และส่วนของเจ้าของ (ต่อ) ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 5,971,815,496 หุ้น มู ลค่าที:ตราไว้หุ้นละ 0.25 บาท (1 มกราคม พ.ศ. 2558 : หุ้นสามัญจํ านวน 4,808,000,000 หุ้น มู ลค่าที:ตราไว้หุ้นละ 0.25 บาท) ทุนที:ออกและเรียกชําระแล้ว หุ้นสามัญ 4,771,815,496 หุ้น มู ลค่าที:ตราไว้หุ้นละ 0.25 บาท ส่ ว นเกินมู ลค่าหุ้น กํ าไรสะสม จั ดสรรแล้ว - สํา รองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จั ดสรร องค์ประกอบอืน: ของส่ ว นของเจ้ าของ

รวมหนสีE นิ และส่วนของเจ้าของ

27

29

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจ การเป็ นส่ ว นหนึ:งของงบการเงินนีL

1


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

153 บริษทั ไทยยูเนยี- น กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุน สําหรับปี สนิ< สุดวนั ที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

35 35

134,375,112 (114,448,218)

124,904,264 (104,937,327)

20,520,535 (18,561,941)

19,343,117 (16,961,791)

35 30

19,926,894 84,346 10,327 1,115,396

19,966,937 1,173,044 8 701,781

1,958,594 414,174 3,117,994 1,778,182

2,381,326 928,821 4,146,527 1,024,108

กําไรก่อนค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายอื9น

21,136,963 (6,627,385) (6,494,247) (54,960)

21,841,770 (6,328,384) (5,848,138) (57,530)

7,268,944 (677,579) (1,489,662) (750,715)

8,480,782 (693,714) (1,708,314) -

กําไรจากการดําเนนิ งาน ต้นทุน ทางการเงิน

31

7,960,371 (1,440,044)

9,607,718 (1,589,093)

4,350,988 (995,693)

6,078,754 (954,637)

กําไรก่อนส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่ วมและการร่ วมค้า ส่ ว นแบ่ งกํ าไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่ ว มและการร่ ว มค้า

13

6,520,327 194,305

8,018,625 335,951

3,355,295 -

5,124,117 -

กําไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

33

6,714,632 (582,529)

8,354,576 (1,350,462)

3,355,295 8,701

5,124,117 (73,800)

กําไรสําหรับปี จากการดําเนนิ งานต่อเนื-อง ขาดทุนสําหรับปี จากการดําเนินงานที9ยกเลิก

12

6,132,103 (271,953)

7,004,114 (1,015,887)

3,363,996 -

5,050,317 -

5,860,150

5,988,227

3,363,996

5,050,317

ส่ ว นที 9 เป็นของผูเ้ ป็ นเจ้ าของของบริ ษัทใหญ่ จากการดําเนินงานต่อเนื9อง จากการดําเนินงานที9ยกเลิก

5,526,385 (271,953)

6,388,396 (1,015,887)

3,363,996 -

5,050,317 -

ส่ ว นที9เป็ นของส่ ว นได้เสียที9ไม่มอี ํานาจควบคุ ม

5,254,432 605,718

5,372,509 615,718

3,363,996 -

5,050,317 -

5,860,150

5,988,227

3,363,996

5,050,317

1.16 (0.06)

1.34 (0.21)

0.70 -

1.06 -

1.10

1.13

0.70

1.06

หมายเหตุ รายได้จากการขาย ต้นทุนขาย กําไรขัน< ต้น กํ าไรสุทธิจากอัตราแลกเปลี9ยน รายได้เงินปันผล รายได้อื9น

กําไรสําหรับปี การแบ่งปันกําไร:

กําไรสําหรับปี กําไรต่อหุ้นทีเ- ป็ นของส่วนทีเ- ป็ นของผู้เป็ นเจ้าของของบริษทั ใหญ่ กําไรต่อหุ้น (บาท) กํ าไรต่อหุ้นขัKนพืKนฐาน จากการดําเนินงานต่อเนื9อง จากการดําเนินงานที9ยกเลิก

34

กํ าไรต่อหุ้นขัKนพืKนฐาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการเป็ นส่ ว นหนึ9งของงบการเงินนีK 1


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

154 บริษทั ไทยยูเนยี- น กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ สําหรับปี สนิ= สุดวนั ที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

5,860,150

5,988,227

3,363,996

5,050,317

-

22,232

-

-

20,025 56,443

163,657 15,697

-

49,677 -

76,468

201,586

-

49,677

(923,709)

472,902

-

-

(46,770)

4,144

(46,389)

-

รวมรายการที.จะจั ดประเภทรายการใหม่ เข้าไปไว้ในกํ าไรหรือขาดทุนในภายหลัง

(970,479)

477,046

(46,389)

-

กําไร(ขาดทุน )เบ็ดเสร็จอื-นสําหรับปี - สุทธิจากภาษี

(894,011)

678,632

(46,389)

49,677

กําไรเบ็ดเสร็ จรวมสําหรั บปี

4,966,139

6,666,859

3,317,607

5,099,994

การแบ่ งปั นกําไรเบ็ดเสร็ จรวม: ส่ ว นที . เป็นของผูเ้ ป็ นเจ้ าของของบริ ษัทใหญ่ ส่ ว นที.เป็ นของส่ ว นได้เสียที.ไม่มอี ํานาจควบคุ ม

4,429,049 537,090

5,994,895 671,964

3,317,607 -

5,099,994 -

กําไรเบ็ดเสร็ จรวมสําหรั บปี

4,966,139

6,666,859

3,317,607

5,099,994

กํ าไรสํา หรับปี กําไร(ขาดทุน )เบ็ดเสร็จอนื- : รายการทีจ. ะไม่จั ดประเภทรายการใหม่เข้า ไปไว้ในกํ าไรหรือขาดทุนในภายหลัง ขาดทุนจากการเปลี.ยนแปลงมู ลค่าของกองทุนเงินบํานาญ ผลกํ าไรจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกั นภัยสุทธิภาษีเงินได้ สํารองอื.นเพิ.มขึNน รวมรายการที.จะไม่จั ดประเภทรายการใหม่ เข้าไปไว้ในกํ าไรหรือขาดทุนในภายหลัง รายการทีจ. ะจั ดประเภทรายการใหม่เข้า ไปไว้ในกํ าไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลต่างของอัตราแลกเปลี.ยนจากการแปลงค่า งบการเงินสุทธิจากภาษีเงินได้ การเปลีย. นแปลงในมู ลค่า ของเงินลงทุน เผือ. ขายสุทธิจากภาษีเงินได้

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จ การเป็ นส่ ว นหนึ.งของงบการเงินนีN 1


13 13 13 28

4

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จ การเป็ นส่ ว นหนึ/งของงบการเงินนีM

ยอดคงเหลือ ณ วนั ที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

ยอดคงเหลือ ณ วนั ที- 1 มกราคม พ.ศ. 2559 - ปรับปรุ งใหม่ ส่ ว นของผูม้ สี ่ ว นได้เสียที/ไม่มอี ํานาจควบคุ มของบริษัทย่อย ลดลงสุทธิจ ากการเปลี/ยนแปลงเงินลงทุนในบริษัทย่อย การได้มาในส่ ว นได้เสียที/ไม่มอี ํานาจควบคุ มจากการรวมธุรกิ จ สิทธิในการซือM ส่ ว นได้เสียที/ไม่มอี ํานาจควบคุ มจากการรวมธุรกิ จ การจ่ ายเงินปันผล กํ าไรเบ็ดเสร็จ รวมสําหรับปี

1,192,954

-

1,192,954

-

1,192,954

ยอดคงเหลือ ณ วนั ที- 1 มกราคม พ.ศ. 2559 - ตามทีแ- สดงไว้เดิม ผลกระทบของการเปลี/ยนแปลงนโยบายการบัญชี และการแก้ ไขรายการในงวดก่ อน

-

-

19,948,329

-

19,948,329

-

19,948,329

19,948,329

19,948,329

-

19,948,329

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น พันบาท

1,192,954

-

1,192,954

1,192,954

29

4

หมายเหตุ

ทุนทีอ- อกและ ชําระแล้ว พันบาท

ยอดคงเหลือ ณ วนั ที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ยอดคงเหลือ ณ วนั ที- 1 มกราคม พ.ศ. 2558 - ปรับปรุ งใหม่ ส่ ว นของผูม้ สี ่ ว นได้เสียที/ไม่มอี ํานาจควบคุ มของบริษัทย่อย ลดลงสุทธิจ ากการเปลี/ยนแปลงเงินลงทุนในบริษัทย่อย การจ่ ายเงินปันผล สํารองตามกฎหมาย กํ าไรเบ็ดเสร็จ รวมสําหรับปี

ยอดคงเหลือ ณ วนั ที- 1 มกราคม พ.ศ. 2558 - ตามทีแ- สดงไว้เดิม ผลกระทบของการเปลี/ยนแปลงนโยบายการบัญชี และการแก้ ไขรายการในงวดก่ อน

บริษทั ไทยยูเนยี- น กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลีย- นแปลงส่วนของเจ้าของ สําหรับปี สนิB สุดวนั ที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

149,295

-

149,295

-

149,295

149,295

29,095 -

120,200

-

120,200

จัดสรรแล้ว - สํารองตาม กฎหมาย พันบาท ยังไม่ได้ จัดสรร พันบาท

26,528,035

(69,759) (2,985,997) 5,274,457

24,309,334

70,041

24,239,293

24,309,334

(2,719,935) (29,095) 5,531,644

21,526,720

-

21,526,720

กําไรสะสม

(70,299)

(855,081)

784,782

-

784,782

784,782

421,178

363,604

-

363,604

(48,660)

(46,770)

(1,890)

-

(1,890)

(1,890)

4,144

(6,034)

-

(6,034)

-

-

-

-

-

-

22,232

(22,232)

-

(22,232)

-

-

-

(604,591)

604,591

-

-

-

(604,591)

604,591

(1,885,400)

(1,932,022) 56,443

(9,821)

-

(9,821)

(9,821)

15,697

(25,518)

-

(25,518)

งบการเงินรวม ส่วนของผู้เป็ นเจ้าของของบริษทั ใหญ่ องค์ประกอบอื-นของส่วนของเจ้าของ สํารองเพื-อ การเปลีย- น การเปลีย- น ส่วนเกินทุน แปลงในมูลค่า แปลงมูลค่า จากการ การแปลงค่า ของเงินลงทุน ของกองทุน ตีร าคา งบการเงิน เผื-อขาย บํานาญ สินทรัพย์ สํารองอื-น พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท

(2,571,579)

(1,414,818) -

(1,156,761)

(36,721)

(1,120,040)

(1,156,761)

(1,119,530) -

(37,231)

-

(37,231)

การเปลีย- น แปลงสัดส่วน เงินลงทุนใน บริษทั ย่อย พันบาท

(4,575,938)

(1,414,818) (1,932,022) (845,408)

(383,690)

(641,312)

257,622

(383,690)

(1,119,530) 463,251

272,589

(604,591)

877,180

รวม องค์ประกอบ อื-นของส่วน ของเจ้าของ พันบาท

43,242,675

(1,484,577) (1,932,022) (2,985,997) 4,429,049

45,216,222

(571,271)

45,787,493

45,216,222

(1,119,530) (2,719,935) 5,994,895

43,060,792

(604,591)

43,665,383

รวมส่วน ของเจ้าของ พันบาท

4,193,261

(545,767) 1,932,022 (483,656) 537,090

2,753,572

(84,461)

2,838,033

2,753,572

(943,347) (655,387) 671,964

3,680,342

(121,182)

3,801,524

ส่วนได้เสียทีไม่มอี าํ นาจ ควบคุม พันบาท

1

47,435,936

(2,030,344) 1,932,022 (1,932,022) (3,469,653) 4,966,139

47,969,794

(655,732)

48,625,526

47,969,794

(2,062,877) (3,375,322) 6,666,859

46,741,134

(725,773)

47,466,907

รวม พันบาท

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2016

155


28

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการเป็ นส่ ว นหนึ/งของงบการเงินนีH

ยอดคงเหลือ ณ วนั ที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

ยอดคงเหลือ ณ วนั ที- 1 มกราคม พ.ศ. 2559 - ปรับปรุ งใหม่ การจ่ ายเงินปันผล กํ าไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี 1,192,954

1,192,954 -

1,192,954 -

4

ยอดคงเหลือ ณ วนั ที- 1 มกราคม พ.ศ. 2559 - ตามทีแ- สดงไว้เดิม ผลกระทบของการเปลี/ยนแปลงนโยบายการบัญชี

1,192,954 -

1,192,954 -

1,192,954

29

4

หมายเหตุ

ทุนทีอ- อกและ ชําระแล้ว พันบาท

ยอดคงเหลือ ณ วนั ที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ยอดคงเหลือ ณ วนั ที- 1 มกราคม พ.ศ. 2558 - ปรับปรุ งใหม่ การจ่ ายเงินปันผล สํารองตามกฎหมาย กํ าไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

ยอดคงเหลือ ณ วนั ที- 1 มกราคม พ.ศ. 2558 - ตามทีแ- สดงไว้เดิม ผลกระทบของการเปลี/ยนแปลงนโยบายการบัญชี

บริษทั ไทยยูเนยี- น กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลีย- นแปลงส่วนของเจ้าของ สําหรับปี สนิB สุดวนั ที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

19,948,329

19,948,329 -

19,948,329 -

19,948,329

19,948,329 -

19,948,329 -

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น พันบาท

149,295

149,295 -

149,295 -

149,295

120,200 29,095 -

120,200 -

10,275,437

9,917,685 (3,006,244) 3,363,996

9,917,685 -

9,917,685

7,566,721 (2,719,935) (29,095) 5,099,994

7,566,721 -

กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํารองตาม กฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร พันบาท พันบาท

(46,389)

(46,389)

-

-

-

-

-

-

179,590 (179,590)

-

-

179,590 (179,590)

ส่วนเกินทุนจาก การตีร าคา สินทรัพย์ พันบาท

(46,389)

(46,389)

179,590 (179,590)

-

-

179,590 (179,590)

รวมองค์ประกอบ อื-นของส่วน ของผู้ถือหุ้น พันบาท

องค์ประกอบอื-นของส่วนของผู้ถือหุ้น การเปลีย- นแปลงใน มูคล่าของเงินลงทุน เผื-อขาย พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

1

31,519,626

31,208,263 (3,006,244) 3,317,607

31,387,853 (179,590)

31,208,263

28,828,204 (2,719,935) 5,099,994

29,007,794 (179,590)

รวม พันบาท

ANNUAL REPORT 2016 THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

156


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

157 บริษทั ไทยยูเนยี- น กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สําหรับปี สนิ= สุดวนั ที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม

หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนนิ งาน กํ าไรก่ อนค่าใช้จ่ ายภาษีเงินได้ จากการดําเนินงานต่อเนื8อง จากการดําเนินงานที8ยกเลิก รวม รายการปรับปรุงกํ าไรจากการดําเนินงาน ค่าเสื8อมราคา ค่าตัดจํ าหน่ าย ค่าตัดจํ าหน่ ายส่ ว นลด/ส่ ว นเกิ นจากสัญญาอนุพันธ์ทางการเงิน (กลับรายการ) ค่าเผือ8 หนีHสงสัยจะสูญ (กลับรายการ) ค่าเผือ8 การลดมู ลค่าของสินค้าคงเหลือ (กลับรายการ) ค่าเผือ8 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ค่าเผือ8 การด้อยค่าของสินทรัพย์ของกลุ่มที8จําหน่ าย ที8จั ดประเภทไว้เพื8อขาย ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ขาดทุนจากการจํ าหน่ ายเงินลงทุนในบริษัทย่อย ขาดทุนจากการจํ าหน่ ายเงินลงทุนในการร่ ว มค้า กํ าไรจากการจํ าหน่ ายเงินลงทุนระยะยาวอื8น ขาดทุนจากการลดทุนในบริษัทย่อย (กํ าไร) ขาดทุนจากการจํ าหน่ ายและตัดจํ าหน่ าย ที8ดิน อาคาร และอุป กรณ์ และ สิน ทรัพ ย์ไม่ม ตี วั ตน - สุทธิ ส่ ว นแบ่ งกํ าไรจากเงินลงทุ นในบริ ษัทร่ ว มและการร่ ว มค้า (กํ าไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี8ยน รายได้เงินปันผล ต้นทุน ทางการเงิน ดอกเบีHยรับ

14 15

14, 15 12 26

13

งบการเงินเฉพาะกิจการ

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

6,714,632 (271,943)

8,354,576 (1,016,192)

3,355,295 -

5,124,117 -

6,442,689

7,338,384

3,355,295

5,124,117

2,731,475 251,516 (225,152) (11,749) (257,872) (134,882)

2,528,124 198,043 35,965 82,193 (145,106) 533,100

386,639 12,875 (256,275) 1,291 (64,190) -

366,542 4,419 (879) 2,318 783 -

52,935 246,417 30,739 22,678 (4,768) -

232,474 -

66,270 49,244 676,105

48,074 -

17,237 (194,305) 916,445 (10,327) 1,440,044 (227,919)

127,383 (335,951) 242,960 (8) 1,589,093 (63,127)

(9,781) 275,362 (3,117,994) 995,693 (1,115,111)

10,744 (77,123) (4,146,527) 954,637 (797,766)

11,085,201

12,363,527

1,255,423

1,489,339

การเปลี8ยนแปลงในสินทรัพย์และหนีHสินดําเนินงาน - ลูกหนีHการค้าและลูกหนีHอื8น (เพิ8มขึHน) ลดลง - สินค้าคงเหลือ (เพิ8มขึHน) ลดลง - สินทรัพย์หมุ นเวียนอื8น (เพิ8มขึHน) ลดลง - สินทรัพย์ไม่หมุ นเวียนอื8นเพิ8มขึHน - เจ้ าหนีHการค้าและเจ้ าหนีHอื8นเพิ8มขึHน - หนีHสินหมุ นเวียนอื8นลดลง - หนีHสินไม่หมุ นเวียนอื8นเพิ8มขึHน (ลดลง) - จ่ ายภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน

195,235 (4,159,662) (108,827) (202,121) 2,938,483 (287,172) 106,282 (90,938)

(214,557) 3,397,535 155,842 (142,336) 1,649,632 (313,930) (18,606) (79,956)

(228,226) (1,259,204) (17,390) (38,754) 977,625 (34,533) (6,138) (7,643)

74,095 657,689 (12,274) (708) 303,229 (13,147) 31,418 (15,346)

เงินสดได้มาจากกิ จ กรรมดําเนินงาน - จ่ ายภาษีเงินได้

9,476,481 (1,706,592)

16,797,151 (1,070,650)

641,160 39,624

2,514,295 (116,991)

7,769,889

15,726,501

680,784

2,397,304

เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดําเนนิ งาน หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการเป็ นส่ ว นหนึ8งของงบการเงินนีH

1


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

158 บริษทั ไทยยูเนยี- น กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด (ต่อ) สําหรับปี สนิ= สุดวนั ที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม

หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากสถาบันการเงินที2มภี าระคํ8าประกั นลดลง เงินสดรับสุทธิจากเงินลงทุนระยะสั8น ซือ8 ที2ดิน อาคารและอุป กรณ์ เงินสดรับจากการจํ าหน่ ายที2ดิน อาคารและอุป กรณ์ ซื8อสิน ทรัพ ย์ไม่ม ตี วั ตน เงินสดรับ จากการจํ าหน่ ายสิน ทรัพ ย์ไม่มตี วั ตน เงินสดจ่ ายเพื2อการรวมธุรกิ จสุทธิจากเงินสดที2ได้มา เงินสดจ่ ายเพื2อซือ8 เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดจ่ ายเพื2อซือ8 เงินลงทุนในบริษัทร่ ว ม เงินสดจ่ ายเพื2อซือ8 เงินลงทุนในการร่ ว มค้า เงินสดจ่ ายเพื2อซือ8 เงินลงทุนระยะยาวอื2น เงินสดรับจากการลดทุนในบริษัทย่อย เงินสดรับจากการจํ าหน่ ายเงินลงทุนในบริษัทร่ ว มค้า เงินสดรับจากการจํ าหน่ ายเงินลงทุนระยะยาวอื2น เงินสดรับ (จ่ าย) สุทธิจากเงินให้กู้ยมื ระยะสั8นแก่ กิ จการที2เกี2 ยวข้องกั น เงินสดรับสุทธิจากเงินให้กู้ยมื ระยะสั8นแก่ กิ จการอื2น เงินสดรับ ชําระคืนจากเงินให้ก้ ู ยืมระยะยาวแก่ กิ จการทีเ2 กี2 ยวข้องกั น เงินสดจ่ ายเพื2อเงินให้กู้ยมื ระยะยาวแก่ กิ จการที2เกี2 ยวข้องกั น เงินสดรับ ชําระคืนจากเงินให้ก้ ู ยืมระยะยาวแก่ กิ จการอืน2 ดอกเบี8ยรับ เงินปันผลรับ

13 13 13

35 35

เงินสดสุท ธิได้มา (ใช้ไปใน) จากกิจกรรมลงทุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

8,481 (3,737,433) 187,946 (383,652) 211 (1,932,307) (8,787,895) (137,700) (2,674,164) 36,657 10,828 30,600 1,250 (12,174,947) 9,539 8,310 134,490

31,709 4,043,822 (2,935,889) 10,430 (255,872) 558 (322,434) (2,042) 4,188 (30,600) 1,799 9,095 94,953 91,999

(503,233) 13,156 (320,076) (18,246,920) (679,719) (2,673,918) 8,232,585 (4,550,184) 14,230,572 (34,043,181) 894,251 3,117,994

4,043,812 (360,109) 3,320 (189,515) (2,062,877) (1,287,895) 5,463,285 (1,551,424) 826,684 4,146,527

(29,399,786)

741,716

(34,528,673)

9,031,808

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการเป็ นส่ ว นหนึ2งของงบการเงินนี8 1


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

159 บริษทั ไทยยูเนยี- น กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด (ต่อ) สําหรับปี สนิ= สุดวนั ที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

17,443,896 16,100

(7,550,204) 8,200

24,969,047 1,307,423

-

-

-

23 23 22 22 23

12,642,843 (1,950,000) 14,883 (1,567,209) (20,554) (1,009,311) (258,936) (64,515)

(877,826) (1,234,160) (432,362) (176,125)

12,642,843 (1,950,000) (1,334,800) (20,554) (812,635) (14,762) (14,958)

(5,218,389) 32,600 (450,000) (780,775) (182,152) (30,325)

13

(2,050,013)

(2,062,877)

-

-

13

89,428 (2,982,062) (483,656)

(2,719,988) (655,387)

(3,002,479) -

(2,719,988) -

เงินสดสุท ธิได้ม า (ใช้ไ ป) ในกิจกรรมจัดหาเงิน

19,820,894

(15,700,729)

31,769,125

(9,349,029)

เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดเพิม- ขึน= (ลดลง) - สุท ธ ิ เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันต้นปี ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี@ยนของเงินสด และรายการเทียบเท่ าเงินสด

(1,809,003) 2,815,970

767,488 2,123,441

(2,078,764) 2,092,174

2,080,083 12,091

(30,845)

(74,959)

(6)

-

8

976,122

2,815,970

13,404

2,092,174

21

392,992

164,824

114,316

38,105

60,867

47,980

29,522

4,779

หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับ (จ่ าย)สุทธิจากเงินเบิกเกิ นบัญชีและเงินกู้ ยมื ระยะสั>น จากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ ยมื ระยะสั>นจากกิ จการที@เกี@ ยวข้องกั น เงินสดรับจากเงินกู้ ยมื ระยะสั>นจากกิ จการอื@น เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ เงินสดจ่ ายคืนหุ้นกู้ เงินสดรับจากเงินกู้ ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ ายคืนเงินกู้ ยืมระยะยาวจากสถาบัน การเงิน ค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้ จ่ ายดอกเบี>ย จ่ ายต้นทุนทางการเงินอื@น เงินสดจ่ ายเพื@อชําระหนี>สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดจ่ ายเพื@อส่ ว นของผูม้ สี ่ ว นได้เสียที@ไม่มอี ํานาจควบคุ มของบริษัทย่อย จากการเปลี@ยนแปลงเงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดรับจากการเรียกชําระค่าหุ้นของบริษัทย่อย ของส่ ว นได้เสียที@ไม่มอี ํานาจควบคุ ม เงินปันผลจ่ ายให้แก่ ผูเ้ ป็ นเจ้ าของของบริษัทใหญ่ เงินปันผลจ่ ายให้แก่ ส่ ว นได้เสียที@ไม่มอี ํานาจควบคุ ม

8

เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสด ณ วนั สิ=นปี รายการทีไ- ม่กระทบเงินสด เจ้ าหนี>ค่าซือ> ที@ดิน อาคารและอุป กรณ์ (รวมอยูใ่ นเจ้ าหนี>การค้าและเจ้ าหนี>อน@ ื ) การได้มาซึง@ ที@ดิน อาคารและอุปกรณ์ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการเป็ นส่ ว นหนึ@งของงบการเงินนี> 1


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

160 บริษทั ไทยยูเนี-ยน กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิCนสุ ดวันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 1

ข้ อมูลทัว- ไป บริ ษทั ไทยยูเนี- ยน กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) เป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัดและบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ซึ- งจัดตัHงและจดทะเบี ยนในประเทศไทย และมี ที-อยู่ตามที- ได้จดทะเบี ยนคื อ เลขที- 72/1 หมู่ที- 7 ถนนเศรษฐกิ จ 1 ตําบลท่ าทราย อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร บริ ษทั มีสาํ นักงานสาขา 11 แห่งในจังหวัดกรุ งเทพมหานครและสมุทรสาคร เพือ- วัตถุประสงค์ในการรายงานข้อมูล จึงรวมเรี ยกบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยว่า “กลุ่มบริ ษทั ” บริ ษทั ประกอบกิจการในประเทศไทย ส่ วนบริ ษทั ย่อยประกอบกิจการทัHงในประเทศไทยและต่างประเทศ ธุรกิจหลักของบริ ษทั และ บริ ษ ทั ย่อยในประเทศคื อเป็ นผูผ้ ลิ ต ผูจ้ าํ หน่ ายอาหารทะเลแช่ แข็ง แช่ เย็น และบรรจุ กระป๋ อง นอกจากนีH บริ ษ ทั ย่อยในประเทศ ยังประกอบธุรกิจบรรจุภณ ั ฑ์ สิ- งพิมพ์ และธุรกิจอาหารสัตว์ ส่ วนธุ รกิจหลักของบริ ษทั ย่อยในต่างประเทศประกอบด้วยบริ ษทั ย่อยในทวีปอเมริ กา ซึ- งเป็ นผูผ้ ลิตและจัดจําหน่ ายผลิตภัณฑ์จาก กุง้ มังกรและอาหารทะเลอื-น ๆ และเป็ นผูน้ าํ เข้ากุง้ และอาหารทะเลแช่แข็ง เพื-อจัดจําหน่ายให้ภตั ตาคาร ร้านค้าปลีก ร้านค้าส่ ง และ บริ ษทั ย่อยต่าง ๆ ในทวีปยุโรปซึ- งเป็ นผูผ้ ลิตและจําหน่ายอาหารทะเลบรรจุกระป๋ องแบบครบวงจรให้แก่ประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป ทวีปอเมริ กา และทวีปออสเตรเลีย ภายใต้เครื- องหมายการค้าของตนเอง รวมทัHงบริ ษทั ย่อยในทวีปเอเชี ยซึ- งเป็ นผูผ้ ลิตและจําหน่ าย อาหารทะเลในเวียดนามและจีน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั เมื-อวันที- 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

2

นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที-สาํ คัญซึ- งใช้ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการมีดงั ต่อไปนีH

2.1

เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการได้จดั ทําขึHนตามหลักการบัญชีที-รับรองทัว- ไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ- งหมายถึงมาตรฐานการรายงานทางการเงินที-ออกภายใต้พระราชบัญญัติวชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และข้อกําหนดของคณะกรรมการ กํากับ หลักทรั พ ย์และตลาดหลักทรั พ ย์ว่าด้วยการจัดทําและนําเสนอรายงานทางการเงิ น ภายใต้พ ระราชบัญ ญัติห ลักทรั พ ย์และ ตลาดหลักทรัพย์ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการได้จดั ทําขึHนโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน ยกเว้นเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ- ขายซึ- งได้อธิบายไว้ในนโยบายการบัญชีที-เกี-ยวข้อง การจัดทํางบการเงินให้สอดคล้องกับหลักการบัญชีที-รับรองทัว- ไปในประเทศไทยกําหนดให้ใช้ประมาณการทางบัญชีที-สาํ คัญและ การใช้ดุลยพินิจของผูบ้ ริ หารซึ- งจัดทําขึHนตามกระบวนการในการนํานโยบายการบัญชี ของกลุ่มบริ ษทั ไปถื อปฏิ บตั ิ การเปิ ดเผย ข้อ มู ล เกี- ยวกับ การใช้ดุ ล ยพิ นิ จของผูบ้ ริ ห าร หรื อ ความซับ ซ้อ น หรื อ เกี- ยวกับ ข้อ สมมติ ฐ านและประมาณการที- มี นัยสําคัญ ต่ อ งบการเงินรวมอยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

161 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.1

เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน (ต่อ) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการฉบับภาษาอังกฤษจัดทําขึHนจากงบการเงินตามกฎหมายที- เป็ นภาษาไทย ในกรณี ที-มี เนืHอความขัดแย้งกันหรื อมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกัน ให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเป็ นหลัก

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานทีเ- กีย- วข้ องทีม- กี ารปรับปรุง 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานที-เกี-ยวข้องที-มีการปรับปรุ งซึ- งมีการเปลี-ยนแปลงที-สาํ คัญ โดยมี ผลบังคับใช้ตH งั แต่วนั ที- 1 มกราคม พ.ศ. 2559 และเกี-ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั มาตรฐานการบัญชีฉบับที- 19 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที- 36 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชีฉบับที- 40 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 2 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 3 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 8 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 13 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 21 (ปรับปรุ ง 2558)

เรื- อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื- อง การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ เรื- อง อสังหาริ มทรัพย์เพือ- การลงทุน เรื- อง การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ เรื- อง การรวมธุรกิจ เรื- อง ส่ วนงานดําเนินงาน เรื- อง การวัดมูลค่ายุติธรรม เรื- อง เงินที-นาํ ส่ งรัฐ

มาตรฐานการบัญ ชี ฉ บับ ที - 19 (ป รั บ ป รุ ง 2558) เรื- องผลประโยชน์ ข องพนักงาน ได้มี การอธิ บ ายเกี- ยวกับ วิธีการปฏิ บ ัติ ทางบัญชีสาํ หรับเงินสมทบจากพนักงานหรื อบุคคลที-สามแก่โครงการผลประโยชน์ที-กาํ หนดไว้ให้ชดั เจนขึHน การปรับปรุ ง ดังกล่าวทําให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างเงินสมทบที-เกี-ยวข้องกับการบริ การที-เกิดขึHนในรอบระยะเวลาบัญชีที-เงินสมทบนัHน เกิ ด ขึH น เท่ านัHน และเงิ น สมทบที- เกี- ย วข้อ งกับ การบริ ก ารที- ม ากกว่าหนึ- งรอบระยะเวลาบัญ ชี มาตรฐานดังกล่ าวไม่ ส่ ง ผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริ ษทั มาตรฐานการบัญ ชี ฉบับ ที- 36 (ป รั บ ป รุ ง 2558) เรื- องการด้อยค่าของสิ น ทรั พ ย์ ได้มีการระบุ ขอ้ กําหนดเพิ- มเติ มเกี- ยวกับ การเปิดเผยข้อมูลเพิ-มเติ มในกรณี ที-มูลค่าที- คาดว่าจะได้รับคืนของสิ นทรัพย์วดั มูลค่าโดยใช้วิธีมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุน ในการขาย ซึ- งได้แก่ 1) ลําดับชัHนของมูลค่ายุติธรรม 2) กรณี ที-การวัดมูลค่ายุติธรรมอยู่ในลําดับชัHนที- 2 และ 3 จะต้องมี การเปิ ดเผยเทคนิ คที-ใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรมและข้อสมมติฐานสําคัญที-ใช้ มาตรฐานดังกล่าวส่ งผลกระทบต่องบการเงิน ของกลุ่มบริ ษทั เฉพาะเรื- องการเปิ ดเผยข้อมูลเท่านัHน มาตรฐานการบัญ ชี ฉ บับ ที- 40 (ปรั บ ปรุ ง 2558) เรื- อ งอสังหาริ ม ทรั พ ย์เพื- อ การลงทุ น ได้ก าํ หนดให้ชัด เจนขึH น ว่ากิ จการ ควรพิจารณามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 3 ในการประเมินว่าการได้มาซึ- งอสังหาริ มทรัพย์เพื-อการลงทุนนัHนเข้า เงื-อนไขการรวมธุรกิจหรื อไม่ มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริ ษทั


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

162 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานทีเ- กีย- วข้ องทีม- ีการปรับปรุง (ต่อ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานที-เกี-ยวข้องที-มีการปรับปรุ งซึ- งมีการเปลี-ยนแปลงที-สาํ คัญ โดยมี ผลบังคับใช้ตH งั แต่วนั ที- 1 มกราคม พ.ศ. 2559 และเกี-ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 2 (ปรับปรุ ง 2558) เรื- องการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ ได้ระบุคาํ นิ ยามของคําว่า “เงื-อนไขการได้รับสิ ทธิ ”ให้ชดั เจนขึHน และกําหนดคํานิยามของคําว่า “เงื-อนไขผลงาน” และ “เงื-อนไขการบริ การ” แยกออกจากกัน มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริ ษทั มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 3 (ปรับปรุ ง 2558) เรื- องการรวมธุ รกิ จ ได้กาํ หนดให้ชดั เจนขึHนเกี- ยวกับ ก) ภาระผูกพัน ที- กิ จ การต้อ งจ่ ายชําระสิ- งตอบแทนที- อ าจจะเกิ ด ขึH น ที- เข้าคํานิ ย ามของเครื- อ งมื อ ทางการเงิ น ว่าเป็ นหนีH สิ น ทางการเงิ น หรื อส่ วนของเจ้าของตามคํานิ ยามของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที- 32 เรื- องการแสดงรายการสําหรับเครื- องมื อทางการเงิน (เมื-อมีการประกาศใช้) หรื อตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินอื-นที- เกี- ยวข้อง และได้กาํ หนดให้วดั มูลค่าสิ- งตอบแทน ที-อาจจะเกิดขึHนที-ไม่ได้ถูกจัดประเภทเป็ นส่ วนของเจ้าของด้วยมูลค่ายุติธรรม และรับรู ้การเปลี-ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ในกําไรหรื อขาดทุนทุกสิH นรอบระยะเวลาการรายงาน และ ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 3 ไม่ได้ถือปฏิบตั ิกบั การบัญ ชี สําหรั บ การจัดตัHงการร่ วมค้าที- อยู่ภายใต้มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับ ที- 11 มาตรฐานดังกล่าวไม่ ส่ง ผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริ ษทั มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นฉบับที- 8 (ป รั บป รุ ง 2558) เรื- องส่ วนงานดําเนิ นงาน ได้กาํ หนดให้มีการเปิ ดเผยข้อมูล เกี-ยวกับดุลยพินิจของผูบ้ ริ หารในการรวมส่ วนงานเข้าด้วยกัน และการกระทบยอดสิ นทรัพย์ของส่ วนงานกับสิ นทรัพย์ของ กิ จการเมื- อกิ จการรายงานข้อมู ลสิ น ทรั พ ย์ของส่ วนงานให้กบั ผูม้ ี อาํ นาจตัดสิ น ใจสู ลสุ ดด้านการดําเนิ น งานของกิ จการ มาตรฐานดังกล่าวส่ งผลกระทบต่องบการเงินของกลุ่มบริ ษทั เฉพาะเรื- องการเปิ ดเผยข้อมูลเท่านัHน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 13 (ปรับปรุ ง 2558) เรื- องมูลค่ายุติธรรมได้กาํ หนดให้ชดั เจนขึHน เกี-ยวกับข้อยกเว้น ในเรื- องของการวัดมูลค่ายุติธรรมเป็ นกลุ่ม โดยให้ใช้ปฏิบตั ิกบั ทุกสัญญาที-อยูใ่ นขอบเขตของมาตรฐานการบัญชีฉบับที- 39 เรื- องการรับรู ้และการวัดมูลค่าเครื- องมือทางการเงิน (เมื-อมีการประกาศใช้) หรื อมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 9 เรื- องเครื- องมื อทางการเงิ น (เมื- อมี การประกาศใช้) ซึ- งรวมถึ งสัญญาที- ไม่เป็ นสัญญาทางการเงิน มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่ง ผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริ ษทั การตี ความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นฉบับที- 21 เรื- องเงิ นที- นาํ ส่ งรั ฐ การตี ความฉบับนีH กล่าวถึ งการบัญ ชี สําหรั บ หนีH สิน การจ่ายเงิ น ที- น ําส่ งรั ฐในกรณี ที-ห นีH สิน นัHน อยู่ภายใต้ขอบเขตของมาตรฐานการบัญ ชี ฉบับที- 37 (ป รั บป รุ ง 2558) เรื- องประมาณการหนีH สิน หนีH สินที- อาจเกิ ดขึHน และสิ นทรัพย์ที-อาจเกิ ดขึHน การตี ความฉบับนีH ยงั ได้ระบุเกี- ยวกับการบัญชี สําหรับหนีH สินการจ่ายเงินที-นาํ ส่ งรัฐที-จงั หวะเวลาและจํานวนเงินมีความแน่ นอน มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับ งบการเงินของกลุ่มบริ ษทั


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

163 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานทีเ- กีย- วข้ องทีม- กี ารปรับปรุง (ต่อ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที-มีการปรับปรุ งใหม่ ซึ- งจะมีผลบังคับใช้สาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที-เริ- มต้นในหรื อหลัง วันที- 1 มกราคม พ.ศ. 2560 และกลุ่มบริ ษทั ไม่ได้นาํ มาถือปฏิบตั ิก่อนวันที-มีผลบังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที-ปรับปรุ งใหม่ซ- ึงมีการเปลี-ยนแปลงอย่างมีสาระสําคัญและเกี-ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั มาตรฐานการบัญชีฉบับที- 1 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชีฉบับที- 16 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชีฉบับที- 19 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชีฉบับที- 27 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชีฉบับที- 28 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชีฉบับที- 34 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชีฉบับที- 38 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 5 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 11 (ปรับปรุ ง 2559)

เรื- อง การนําเสนองบการเงิน เรื- อง ที-ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เรื- อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื- อง งบการเงินเฉพาะกิจการ เรื- อง เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และการร่ วมค้า เรื- อง งบการเงินระหว่างกาล เรื- อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เรื- อง สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที-ถือไว้เพื-อขาย และการดําเนินงานที-ยกเลิก เรื- อง การร่ วมการงาน

มาตรฐานการบัญ ชี ฉบับที- 1 (ป รั บป รุ ง 2559) เรื- องการนําเสนองบการเงิ น ได้ให้ความชัดเจนในหลายประเด็น ที-สําคัญ ดังต่อไปนีH - ความมีสาระสําคัญ - กิจการไม่ควรรวมยอดหรื อแยกแสดงข้อมูลในรู ปแบบที-จะส่ งผลให้ผูใ้ ช้งบการเงินมีความเข้าใจ เกี- ยวกับรายการได้ลดลง หากเป็ นรายการที- มีสาระสําคัญ จะต้องเปิ ดเผยข้อมูลให้เพียงพอเพื-ออธิ บายผลกระทบที- มี ต่อฐานะการเงินหรื อผลการดําเนินงาน - การแยกแสดงรายการและการรวมยอด – กิจการอาจต้องแยกแสดงข้อมูลซึ- งรวมอยูใ่ นแต่ละรายการบรรทัดตามข้อกําหนด ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที- 1 หากข้อมูลดังกล่าวส่ งผลต่อความเข้าใจเกี- ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนิ นงาน ของกิจการ นอกจากนีHมาตรฐานฉบับดังกล่าวยังให้แนวปฏิบตั ิเกี-ยวกับการรวมยอดรายการ - หมายเหตุป ระกอบงบการเงิ น - ยืนยันว่าหมายเหตุประกอบงบการเงินไม่จาํ เป็ นต้องเรี ยงลําดับตามลําดับการแสดง รายการในงบการเงิน - รายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื-นที-เกิดจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ย - ส่ วนแบ่งกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื-นที-เกิดจาก เงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ยจะมีการจัดกลุ่มโดยพิจารณาว่าเป็ นรายการที-จะถูกจัดประเภทใหม่ไปยังกําไรหรื อขาดทุน ในภายหลังหรื อไม่ โดยแต่ละกลุ่มจะแยกแสดงเป็ นรายการบรรทัดแยกต่างหากในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื-น


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

164 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานทีเ- กีย- วข้ องทีม- กี ารปรับปรุง (ต่อ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที-มีการปรับปรุ งใหม่ ซึ- งจะมีผลบังคับใช้สาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที-เริ- มต้นในหรื อหลัง วันที- 1 มกราคม พ.ศ. 2560 และกลุ่มบริ ษทั ไม่ได้นาํ มาถือปฏิบตั ิก่อนวันที-มีผลบังคับใช้ (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินที-ปรับปรุ งใหม่ซ- ึงมีการเปลี-ยนแปลงอย่างมีสาระสําคัญและเกี-ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั (ต่อ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที- 16 (ปรับปรุ ง 2559) เรื- องที- ดิน อาคาร และอุปกรณ์ การเปลี-ยนแปลงที- สําคัญคือการระบุอย่าง ชัดเจนว่าไม่อนุ ญาตให้คาํ นวณค่าเสื- อมราคาที-ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยอ้างอิงกับรายได้ที-เกิ ดจากการใช้สินทรัพย์นH นั และการแก้ไขขอบเขตของมาตรฐานฉบับนีHให้รวมถึงพืชที-ให้ผลิตผลที-เกี-ยวข้องกับกิจกรรมทางการเกษตร มาตรฐานการบัญชี ฉบับที- 19 (ปรับปรุ ง 2559) เรื- องผลประโยชน์ของพนักงาน การเปลี-ยนแปลงที- สําคัญคือการกําหนด การเลือกใช้อตั ราคิดลดสําหรับการประมาณผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงานให้มีความชัดเจนขึHน โดยระบุให้ใช้ อัตราผลตอบแทนของหนีH สินที-มีสกุลเงินที-เดียวกับสกุลเงินของหนีH สินผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงานที-ตอ้ งจ่าย เป็ นสําคัญ ไม่ใช่พิจารณาจากประเทศที-หนีHสินนัHนเกิดขึHน มาตรฐานการบัญ ชี ฉ บับ ที - 27 (ป รั บ ป รุ ง 2559) เรื- อ งงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ ได้มี ก ารแก้ไ ขโดยให้ ท างเลื อ กเพิ- ม ใน การบันทึกเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย การร่ วมค้า และบริ ษทั ร่ วมในงบการเงินเฉพาะกิจการโดยใช้วธิ ี ส่วนได้เสี ยตามมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที- 28 (ปรับปรุ ง 2559) เพิ-มเติมจากเดิมที-ให้ใช้วิธีราคาทุนหรื อวิธีมูลค่ายุติธรรม (เมื-อมีการประกาศใช้) ทัHงนีH กิจการสามารถเลือกใช้นโยบายการบัญชีสาํ หรับเงินลงทุนแต่ละประเภท (บริ ษทั ย่อย การร่ วมค้า และบริ ษทั ร่ วม) แตกต่างกัน และในกรณี ที-กิจการเปลี-ยนมาใช้วธิ ีส่วนได้เสี ยจะต้องทําการปรับปรุ งงบการเงินย้อนหลัง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที- 28 (ปรับปรุ ง 2559) เรื- องเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า การเปลี-ยนแปลงที- สําคัญคือ 1) ให้ทางเลือกเพิ-มเติมสําหรับกิจการที-ไม่ใช่กิจการที-ดาํ เนิ นธุ รกิจเฉพาะด้านการลงทุนที-มีส่วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วมหรื อ การร่ วมค้าซึ- งเป็ นกิ จการที- ดาํ เนิ นธุ รกิ จเฉพาะด้านการลงทุน ในการบันทึ กบัญชี เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้า ที- เป็ นกิ จการที- ดาํ เนิ น ธุ รกิ จเฉพาะด้านการลงทุ น นัHน โดยใช้วิธีส่วนได้เสี ย โดยสามารถยังคงการวัดมู ลค่าเงิ น ลงทุ น ใน บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้านัHนๆด้วยวิธีมูลค่ายุติธรรมตามที- บริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้านัHนๆใช้อยู่ หรื อจะ ถอดการวัดมูลค่ายุติธรรมออกและจัดทํางบการเงินรวมที-ระดับของบริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้าที-เป็ นกิจการที-ดาํ เนิ นธุ รกิจ เฉพาะด้านการลงทุนแทน และ 2) เพิ-มทางเลือกในการใช้วิธีส่วนได้เสี ยสําหรับเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้า ในงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที- 34 (ปรับปรุ ง 2559) เรื- องงบการเงินระหว่างกาล การเปลี-ยนแปลงที-สาํ คัญคือได้กาํ หนดให้มีความ ชัดเจนว่าการเปิ ดเผยข้อมูลอื-น ๆ สามารถแสดงไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่างกาลหรื อที-อ-ืนในรายงานทางการเงิน ระหว่างกาลโดยการอ้างอิงจากงบการเงินระหว่างกาลซึ-งเผยแพร่ ให้กบั ผูใ้ ช้งบการเงินพร้อมกับงบการเงินระหว่างกาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที- 38 (ปรับปรุ ง 2559) เรื- องสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ได้มีการเปลี-ยนแปลงโดยให้มีขอ้ สันนิ ษฐานไว้ ก่อนว่าการตัดจําหน่ ายของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนโดยการอ้างอิงจากรายได้นH นั ไม่เหมาะสม ข้อสันนิ ษฐานนีH อาจหักล้างได้ หากสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนได้แสดงให้เห็ นถึงตัววัดของรายได้ (นั-นคือตัววัดของรายได้เป็ นปั จจัยของมูลค่าที-จะได้รับจาก สิ นทรัพย์) หรื อหากสามารถแสดงได้วา่ รายได้และการใช้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจที-ได้จากสิ นทรัพย์มีความสัมพันธ์กนั เป็ น อย่างมาก


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

165 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานทีเ- กีย- วข้ องทีม- กี ารปรับปรุง (ต่อ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที-มีการปรับปรุ งใหม่ ซึ- งจะมีผลบังคับใช้สาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที-เริ- มต้นในหรื อหลัง วันที- 1 มกราคม พ.ศ. 2560 และกลุ่มบริ ษทั ไม่ได้นาํ มาถือปฏิบตั ิก่อนวันที-มีผลบังคับใช้ (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินที-ปรับปรุ งใหม่ซ- ึงมีการเปลี-ยนแปลงอย่างมีสาระสําคัญและเกี-ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 5 (ปรับปรุ ง 2559) เรื- องสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที-ถือไว้เพื-อขายและการดําเนิ นงาน ที- ยกเลิ ก ได้มีการเปลี- ยนแปลงเพื-อให้ความชัดเจนเพิ-มเติ มในกรณี ที-สินทรัพย์ (หรื อกลุ่มสิ นทรัพย์ที-จะจําหน่ าย) ถูกจัด ประเภทใหม่จาก “ที-ถือไว้เพื-อขาย” เป็ น “ที-มีไว้เพื-อจ่ายให้แก่ผเู ้ ป็ นเจ้าของ” หรื อถูกจัดประเภทใหม่ในทางตรงกันข้ามนัHน ไม่ ถื อ ว่าเป็ นการเปลี- ย นแปลงแผนการขายหรื อ แผนการจ่ ายและไม่ ต ้อ งปฏิ บ ัติ ต ามแนวทางการบัน ทึ ก บัญ ชี สําหรั บ การเปลี-ยนแปลงดังกล่าว มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที- 11 (ปรับปรุ ง 2559) เรื- องการร่ วมการงาน ได้กาํ หนดให้มีความชัดเจนมากขึHนสําหรับ 1) การได้มาซึ- งเงิ น ลงทุ น ในการดําเนิ น งานร่ วมกัน ที- กิจกรรมของการดําเนิ น งานร่ วมกัน นัHน ประกอบกัน ขึH น เป็ นธุ รกิ จ ให้ผูล้ งทุนนําหลักการบัญชี ของการรวมธุ รกิจมาถือปฏิบตั ิ และ 2) ในกรณี ที-มีการลงทุนในการดําเนิ นงานร่ วมกันเพิ-มขึHน ส่ วนได้เสี ยเดิมที-มีอยูใ่ นการดําเนินงานร่ วมกันจะไม่มีการวัดมูลค่าใหม่หากยังคงมีการควบคุมร่ วมอยู่ ผูบ้ ริ หารของกลุ่มบริ ษทั ได้ประเมินและพิจารณาว่ามาตรฐานที-ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวข้างต้นจะไม่มีผลกระทบที-มีนยั สําคัญ ต่อกลุ่มบริ ษทั

2.3

บัญชีกลุ่มบริษทั - เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในการร่ วมค้ า (1)

บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อยหมายถึงกิ จการ (ซึ- งรวมถึงกิ จการเฉพาะกิ จ) ที- กลุ่มบริ ษทั ควบคุม กลุ่มบริ ษทั ควบคุมกิ จการเมื-อกลุ่มบริ ษทั มี ฐานะเปิ ดต่อหรื อมีสิทธิ ในผลตอบแทนผันแปรจากการเกี-ยวข้องกับผูไ้ ด้รับการลงทุน และมีความสามารถในการใช้อาํ นาจ เหนื อผูไ้ ด้รับการลงทุ นทําให้เกิ ดผลกระทบต่อจํานวนเงิ นผลตอบแทน กลุ่มบริ ษทั รวมงบการเงิ นของบริ ษทั ย่อยไว้ใน งบการเงินรวมตัHงแต่วนั ที-กลุ่มบริ ษทั มีอาํ นาจในการควบคุมบริ ษทั ย่อย กลุ่มบริ ษทั จะไม่นาํ งบการเงินของบริ ษทั ย่อยมารวม ไว้ในงบการเงินรวมนับจากวันที-กลุ่มบริ ษทั สู ญเสี ยอํานาจควบคุม กลุ่มบริ ษทั บันทึกบัญชีการรวมธุรกิจโดยถือปฏิบตั ิตามวิธีซHื อ สิ- งตอบแทนที-โอนให้สาํ หรับการซืH อบริ ษทั ย่อย ประกอบด้วย มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที-ผูซ้ Hื อโอนให้และหนีH สินที-ก่อขึHนเพื-อจ่ายชําระให้แก่เจ้าของเดิมของผูถ้ ูกซืH อและส่ วนได้เสี ย ในส่ วนของเจ้าของที-ออกโดยกลุ่มบริ ษทั สิ- งตอบแทนที-โอนให้รวมถึงมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์หรื อหนีHสินที-ผซู ้ Hื อคาดว่า จะต้องจ่ายชําระตามข้อตกลง ต้นทุนที-เกี-ยวข้องกับการซืH อจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื-อเกิดขึHน มูลค่าเริ- มแรกของสิ นทรัพย์ท-ีระบุ ได้ที-ได้มาและหนีHสินและหนีHสินที-อาจเกิดขึHนที-รับมาจากการรวมธุรกิจจะถูกวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที-ซHื อ ในการ รวมธุ รกิ จแต่ ละครัH ง กลุ่มบริ ษ ทั วัดมู ลค่าของส่ วนได้เสี ยที- ไม่ มีอาํ นาจควบคุ มในผูถ้ ู กซืH อด้วยมู ลค่ายุติธรรมหรื อมู ลค่า ของสิ นทรัพย์สุทธิ ที-ระบุได้ของผูถ้ ูกซืH อตามสัดส่ วนของหุน้ ที-ถือโดยส่ วนได้เสี ยที-ไม่มีอาํ นาจควบคุม


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

166 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.3

บัญชีกลุ่มบริษทั - เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในการร่ วมค้ า (ต่อ) (1)

บริ ษทั ย่อย (ต่อ) ในการรวมธุรกิจที-ดาํ เนิ นการสําเร็ จจากการทยอยซืH อ ผูซ้ Hื อต้องวัดมูลค่าส่ วนได้เสี ยที-ผซู ้ Hื อถืออยูใ่ นผูถ้ ูกซืH อก่อนหน้าการรวม ธุ รกิ จใหม่โดยใช้มูลค่ายุติธรรม ณ วันที- ซHื อและรับรู ้ผลกําไรหรื อขาดทุนที- เกิ ดขึHนจากการวัดมูลค่าใหม่นH ันในกําไรหรื อ ขาดทุน สิ- งตอบแทนที- คาดว่าจะต้องจ่ ายออกไปโดยกลุ่ ม บริ ษ ทั รั บ รู ้ ด้วยมู ลค่ ายุติธรรม ณ วัน ที- ซHื อ การเปลี- ยนแปลงในมู ลค่ า ยุติธรรมของสิ- งตอบแทนที-คาดว่าจะต้องจ่ายที-รับรู ้ภายหลังวันที-ซHื อซึ- งจัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์หรื อหนีH สินให้รับรู ้ในกําไร หรื อขาดทุน สิ- งตอบแทนที- คาดว่าจะต้องจ่ายซึ- งจัดประเภทเป็ นส่ วนของเจ้าของจะไม่มีการวัดมูลค่าใหม่ และให้บนั ทึก การจ่ายชําระในภายหลังไว้ในส่ วนของเจ้าของ ส่ วนเกิ นของมูลค่าสิ- งตอบแทนที-โอนให้ มูลค่าส่ วนได้เสี ยที-ไม่มีอาํ นาจควบคุมในผูถ้ ูกซืH อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซืH อ ธุ รกิจของส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของของผูถ้ ูกซืH อที-ผซู ้ Hื อถืออยูก่ ่อนการรวมธุ รกิจ ที-มากกว่ามูลค่ายุติธรรมสุ ทธิ ณ วันทีซืH อของสิ นทรัพย์สุทธิ ที-ระบุได้ที-ได้มา ต้องรับรู ้เป็ นค่าความนิ ยม หากมูลค่าของมูลค่าสิ- งตอบแทนที-โอนให้ มูลค่าส่ วนได้ เสี ยที-ไม่มีอาํ นาจควบคุมในผูถ้ ูกซืH อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซืH อธุรกิจของส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของของผูถ้ ูกซืH อที-ผซู ้ Hื อ ถืออยู่ก่อนการรวมธุ รกิจ น้อยกว่ามูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์สุทธิ ของบริ ษทั ย่อยที-ได้มาเนื- องจากการซืH อในราคาตํ-ากว่า มูลค่ายุติธรรม จะรับรู ้ส่วนต่างโดยตรงไปยังกําไรขาดทุน กลุ่มบริ ษทั จะตัดรายการบัญชีระหว่างกัน ยอดคงเหลือ และกําไรที-ยงั ไม่ได้เกิดขึHนจริ งระหว่างกันในกลุ่มบริ ษทั ขาดทุนทียังไม่เกิดขึHนจริ งก็จะตัดรายการในทํานองเดียวกันเว้นแต่รายการนัHนมีหลักฐานว่าสิ นทรัพย์ที-โอนระหว่างกันเกิดการด้อยค่า นโยบายการบัญชีของบริ ษทั ย่อยได้มีการปรับปรุ งเพื-อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริ ษทั ในงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ษทั แสดงเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยด้วยราคาทุนหักค่าเผือ- การด้อยค่า ราคาทุนจะมีการปรับปรุ ง เพื-อให้สะท้อนถึงการเปลี-ยนแปลงของสิ- งตอบแทนที- เกิ ดขึHนจากการเปลี-ยนแปลงมูลค่าสิ- งตอบแทนที- คาดว่าจะต้องจ่าย ราคาทุนดังกล่าวรวมถึงต้นทุนทางตรงที-เกี-ยวข้องกับการได้มาของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย รายชื-อของบริ ษทั ย่อยของกลุ่มบริ ษทั และผลจากการซืHอและจําหน่ายบริ ษทั ย่อยได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุฯ ข้อ 13


บริษทั ไทยยูเนี-ยน กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิCนสุ ดวันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.3

บัญชีกลุ่มบริษทั - เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในการร่ วมค้ า (ต่อ) (2)

ANNUAL REPORT 2016

167

รายการกับส่ วนได้เสี ยที-ไม่มีอาํ นาจควบคุม กลุ่มบริ ษทั บันทึกรายการกับส่ วนได้เสี ยที-ไม่มีอาํ นาจควบคุมเช่นเดียวกันกับส่ วนที-เป็ นของเจ้าของของกลุ่มบริ ษทั สําหรับ การซืH อส่ วนได้เสี ยที-ไม่มีอาํ นาจควบคุม กลุ่มบริ ษทั บันทึกผลแตกต่างระหว่างสิ- งตอบแทนที-จ่ายให้และมูลค่าตามบัญชีของ สิ นทรัพย์สุทธิ ของหุ น้ ที-ซHื อมาในบริ ษทั ย่อย และกําไรหรื อขาดทุนจากการจําหน่ายส่ วนได้เสี ยที-ไม่มีอาํ นาจควบคุมในส่ วน ของเจ้าของ

(3)

การจําหน่ายบริ ษทั ย่อย เมื-อกลุ่มบริ ษทั สู ญเสี ยอํานาจในการควบคุม ส่ วนได้เสี ยในกิ จการที- เหลืออยู่จะมีการวัดมูลค่าใหม่โดยใช้มูลค่ายุติธรรม และกล่มุบริ ษทั จะรับรู ้การเปลี-ยนแปลงในมูลค่านัHนในกําไรหรื อขาดทุน มูลค่ายุติธรรมดังกล่าวจะถือเป็ นมูลค่าตามบัญชี เริ- มแรกของมูลค่าของเงินลงทุนเพื-อวัตถุประสงค์ในการวัดมูลค่าในภายหลังของเงินลงทุนที-เหลืออยูใ่ นรู ปแบบของบริ ษทั ร่ วม การร่ วมค้า หรื อเงินลงทุนระยะยาวอื-น นอกจากนีH รายการที-เคยรับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื-นในส่ วนที-เกี-ยวข้องกับ กิจการนัHนจะมีการปฏิบตั ิเสมือนว่ากลุ่มบริ ษทั ได้มีการจําหน่ายสิ นทรัพย์หรื อหนีHสินที-เกี-ยวข้องนัHนออกไป

(4)

บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ร่ วมเป็ นกิจการที-กลุ่มบริ ษทั มีอิทธิ พลอย่างเป็ นสาระสําคัญแต่ไม่ถึงกับควบคุมซึ- งโดยทัว- ไปก็คือการที-กลุ่มบริ ษทั ถือ หุ น้ ที-มีสิทธิ ออกเสี ยงอยูร่ ะหว่างร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 50 ของสิ ทธิ ออกเสี ยงทัHงหมด เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมรับรู ้โดยใช้วิธี ส่ วนได้เสี ยในการแสดงในงบการเงินรวม ภายใต้วิธีส่วนได้เสี ย กลุ่มบริ ษทั รับรู ้เงินลงทุนเมื-อเริ- มแรกด้วยราคาทุน มูลค่า ตามบัญชีของเงินลงทุนนีH จะเพิ-มขึHนหรื อลดลงในภายหลังวันที-ได้มาด้วยส่ วนแบ่งกําไรหรื อขาดทุนของผูไ้ ด้รับการลงทุน ตามสัดส่ วนที-ผลู ้ งทุนมีส่วนได้เสี ยอยู่ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมของกลุ่มบริ ษทั รวมถึงค่าความนิ ยมที-ระบุได้ ณ วันที-ซHื อเงิน ลงทุน ถ้าส่ วนได้เสี ยของเจ้าของในบริ ษทั ร่ วมนัHนลดลงแต่ยงั คงมีอิทธิพลอย่างมีนยั สําคัญ กิจการต้องจัดประเภทรายการที-เคยรับรู ้ ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื-นเข้ากําไรหรื อขาดทุนเฉพาะสัดส่ วนในส่ วนได้เสี ยของเจ้าของที-ลดลง ส่ วนแบ่งกําไรหรื อขาดทุนของกลุ่มบริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วมที-เกิดขึHนภายหลังการได้มาจะรวมไว้ในกําไรหรื อขาดทุน และส่ วนแบ่ง ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื-นที-เกิดขึHนภายหลังการได้มาจะรวมไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื-น ผลสะสมของการเปลี-ยนแปลง ภายหลังการได้มาดังกล่าวข้างต้น จะมีการปรับปรุ งกับราคาตามบัญชี ของเงินลงทุน เมื-อส่ วนแบ่งขาดทุนของกลุ่มบริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วมมีมูลค่าเท่ากับหรื อเกินกว่ามูลค่าส่ วนได้เสี ยของกลุ่มบริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วมนัHน กลุ่มบริ ษทั จะไม่รับรู ้ส่วนแบ่ง ขาดทุนอีกต่อไป เว้นแต่กลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันในหนีHของบริ ษทั ร่ วมหรื อได้จ่ายชําระภาระผูกพันแทนบริ ษทั ร่ วมไปแล้ว

25


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

168 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.3

บัญชีกลุ่มบริษทั – เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในการร่ วมค้ า (ต่อ) (4)

บริ ษทั ร่ วม (ต่อ) กลุ่มบริ ษทั มีการพิจารณาทุกสิH นรอบระยะเวลาบัญชี ว่ามีขอ้ บ่งชีH ที-แสดงว่าเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมเกิดการด้อยค่าหรื อไม่ หากมีขอ้ บ่งชีH เกิดขึHนกลุ่มบริ ษทั จะคํานวณผลขาดทุนจากการด้อยค่า โดยเปรี ยบเทียบมูลค่าที-คาดว่าจะได้รับคืนกับมูลค่า ตามบัญชีของเงินลงทุน และรับรู ้ผลต่างไปที-ส่วนแบ่งกําไร(ขาดทุน)ของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมในงบกําไรขาดทุน รายการกําไรที-ยงั ไม่ได้เกิดขึHนจริ งระหว่างกลุ่มบริ ษทั กับบริ ษทั ร่ วมจะมีการตัดรายการตามสัดส่ วนที-กลุ่มบริ ษทั มีส่วนได้เสี ย ในบริ ษทั ร่ วมนัHน รายการขาดทุนที-ยงั ไม่ได้เกิดขึHนจริ งก็จะมีการตัดรายการในทํานองเดียวกัน เว้นแต่รายการนัHนมีหลักฐานว่า สิ นทรัพย์ที-โอนระหว่างกันเกิดการด้อยค่า นโยบายการบัญชี ของบริ ษทั ร่ วมจะมีการปรับปรุ งเพื-อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชี ของกลุ่มบริ ษทั กลุ่มบริ ษทั รับรู ้ กําไรและขาดทุนจากการลดสัดส่ วนการลงทุนในบริ ษทั ร่ วมในกําไรหรื อขาดทุน ในงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ษทั แสดงเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมด้วยราคาทุนหักค่าเผื-อการด้อยราคาทุนจะมีการปรับปรุ ง เพื-อให้สะท้อนถึงการเปลี-ยนแปลงของสิ- งตอบแทนที- เกิ ดขึHนจากการเปลี-ยนแปลงมูลค่าสิ- งตอบแทนที- คาดว่าจะต้องจ่าย ราคาทุนดังกล่าวรวมถึงต้นทุนทางตรงที-เกี-ยวข้องกับการได้มาของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม รายชื-อของบริ ษทั ร่ วมของกลุ่มบริ ษทั และผลจากการซืHอและจําหน่ายบริ ษทั ร่ วมได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุฯ ข้อ 13

(5)

การร่ วมค้า เงินลงทุนในการร่ วมการงานจะมีการจัดประเภทเป็ นการดําเนิ นงานร่ วมกันหรื อการร่ วมค้า โดยขึHนอยูก่ บั สิ ทธิ และภาระผูกพัน ตามสัญญาของผูล้ งทุนแต่ละราย กลุ่มบริ ษทั ได้ประเมิ นลักษณะของการร่ วมการงานทัHงหมดที- มีอยู่และพิจารณาว่าเป็ น การร่ วมค้า และรับรู ้เงินลงทุนดังกล่าวโดยใช้วธิ ีส่วนได้เสี ย ตามวิธีส่วนได้เสี ย เงินลงทุนในการร่ วมค้ารับรู ้เมื-อเริ- มแรกด้วยราคาทุนและปรับปรุ งมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนเพื-อรับรู ้ ส่ วนแบ่งกําไรหรื อขาดทุนและการเปลี-ยนแปลงในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื-นของผูไ้ ด้รับการลงทุนตามสัดส่ วนที-กลุ่มบริ ษทั มี ส่วนได้เสี ย หากส่ วนแบ่งขาดทุนของกลุ่มบริ ษทั ในการร่ วมค้ามี จาํ นวนเท่ากับหรื อสู งกว่าส่ วนได้เสี ยของกลุ่มบริ ษทั ในการร่ วมค้านัHน(ซึ- งรวมถึงส่ วนได้เสี ยระยะยาวใด ๆ ซึ- งโดยเนืHอหาแล้วถือเป็ นส่ วนหนึ-งของเงินลงทุนสุ ทธิของกลุ่มบริ ษทั ในการร่ วมค้านัHน) กลุ่มบริ ษทั จะไม่รับรู ้ ส่วนแบ่งในขาดทุ นที- เกิ นกว่าส่ วนได้เสี ยของตนในการร่ วมค้านัHน นอกจากว่า กลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันหรื อได้จ่ายเงินเพื-อชําระภาระผูกพันแทนการร่ วมค้าไปแล้ว รายการกําไรที-ยงั ไม่ได้เกิดขึHนจริ งระหว่างกลุ่มบริ ษทั กับการร่ วมค้าจะมีการตัดรายการตามสัดส่ วนที-กลุ่มบริ ษทั มีส่วนได้เสี ย ในการร่ วมค้านัHน รายการขาดทุนที-ยงั ไม่ได้เกิดขึHนจริ งก็จะมีการตัดรายการในทํานองเดียวกัน เว้นแต่รายการนัHนมีหลักฐานว่า สิ นทรัพย์ที-โอนระหว่างกันเกิดการด้อยค่า การร่ วมค้าจะเปลี-ยนนโยบายการบัญชีเท่าที-จาํ เป็ น เพื-อให้สอดคล้องกับนโยบาย การบัญชีของกลุ่มบริ ษทั


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

169 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.4

การแปลงค่ าเงินตราต่ างประเทศ (ก)

สกุลเงินที-ใช้ในการดําเนินงานและสกุลเงินที-ใช้นาํ เสนองบการเงิน รายการที-รวมในงบการเงินของแต่ละบริ ษทั ในกลุ่มบริ ษทั มีการวัดมูลค่าโดยใช้สกุลเงินของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจหลักทีบริ ษทั ดําเนินงานอยู่ (สกุลเงินที-ใช้ในการดําเนินงาน) งบการเงินแสดงในสกุลเงินบาทซึ- งเป็ นสกุลเงินที-ใช้ในการดําเนินงาน และสกุลเงินที-ใช้นาํ เสนองบการเงินของบริ ษทั

(ข)

รายการและยอดคงเหลือ รายการที- เป็ นสกุลเงิ นตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นสกุลเงิ นที- ใช้ในการดําเนิ นงานโดยใช้อตั ราแลกเปลี- ยน ณ วันที- เกิ ด รายการหรื อวัน ที- รายการถูกวัดมู ลค่าใหม่ รายการกําไรและรายการขาดทุ น จากอัตราแลกเปลี- ยนที- เกิ ดจากการรั บ หรื อ จ่ายชําระที-เป็ นเงินตราต่างประเทศ และที-เกิดจากการแปลงค่าสิ นทรัพย์และหนีH สินที-เป็ นตัวเงินซึ- งเป็ นเงินตราต่างประเทศ ด้วยอัตราแลกเปลี-ยน ณ วันสิH นปี ได้บนั ทึกไว้ในกําไรหรื อขาดทุน เมื-อมีการรับรู ้รายการกําไรหรื อขาดทุนของรายการที-ไม่เป็ นตัวเงินไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื-น องค์ประกอบของอัตรา แลกเปลี-ยนทัHงหมดของกําไรหรื อขาดทุนนัHนจะรับรู ้ไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื-นด้วย ในทางตรงข้ามการรับรู ้กาํ ไรหรื อขาดทุน ของรายการที-ไม่เป็ นตัวเงินไว้ในกําไรหรื อขาดทุน องค์ประกอบของอัตราแลกเปลี-ยนทัHงหมดของกําไรหรื อขาดทุนนัHน จะรับรู ้ไว้ในกําไรขาดทุนเช่นเดียวกัน

(ค)

กลุ่มบริ ษทั การแปลงค่าผลการดําเนิ นงานและฐานะการเงินของบริ ษทั ในกลุ่มบริ ษทั (ที-ไม่ใช่บริ ษทั ที-มีสกุลเงินของเศรษฐกิจที-มีภาวะ เงินเฟ้ อรุ นแรง) ซึ- งมีสกุลเงินที-ใช้ในการดําเนิ นงานแตกต่างจากสกุลเงินที-ใช้ในการนําเสนองบการเงินได้มีการแปลงค่า เป็ นสกุลเงินที-ใช้ในการนําเสนองบการเงินดังนีH ¥ สิ น ทรั พ ย์และหนีH สิ น ที- แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิ น แต่ ละงวดแปลงค่าด้วยอัตราปิ ด ณ วัน ที- ของแต่ ละ งบแสดงฐานะการเงินนัHน ¥ รายได้และค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จแปลงค่าด้วยอัตราถัวเฉลี-ย และ ¥ ผลต่างของอัตราแลกเปลี-ยนทัHงหมดรับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื-น ค่ าความนิ ยมและการปรั บ มู ล ค่ ายุติ ธ รรมที- เกิ ด จากการซืH อ หน่ ว ยงานในต่ างประเทศถื อ เป็ นสิ น ทรั พ ย์แ ละหนีH สิ น ของ หน่วยงานในต่างประเทศนัHน และแปลงค่าโดยใช้อตั ราปิ ด

2.5

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเที ยบเท่าเงินสดรวมถึงเงินสดในมื อ เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื- อทวงถาม เงินลงทุนระยะสัHนอื-นที- มี สภาพคล่องสู งซึ-งมีอายุไม่เกินสามเดือนนับจากวันที-ได้มา


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

170 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.6

ลูกหนีกC ารค้ า ลูกหนีH การค้ารับรู ้เริ- มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนีH และจะวัดมูลค่าต่อมาด้วยจํานวนเงินที-เหลืออยูห่ ักด้วยค่าเผื-อหนีH สงสัยจะสู ญ ซึ- งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิH นงวด ค่าเผื-อหนีH สงสัยจะสู ญหมายถึงผลต่างระหว่างราคาตามบัญชี ของลูกหนีH การค้าเปรี ยบเทียบกับมูลค่าที-คาดว่าจะได้รับจากลูกหนีH การค้า หนีH สูญที-เกิดขึHนจะรับรู ้ไว้ในกําไรหรื อขาดทุนโดยถือเป็ นส่ วนหนึ- ง ของค่าใช้จ่ายในการบริ หาร

2.7

สิ นค้ าคงเหลือ สิ นค้าคงเหลื อแสดงด้วยราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที-จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํ-ากว่า ราคาทุนของสิ นค้าคํานวณโดยวิธีถวั เฉลี-ย ถ่วงนํHาหนัก ต้นทุนของการซืH อประกอบด้วยราคาซืH อ และค่าใช้จ่ายที-เกี-ยวข้องโดยตรงกับการซืH อสิ นค้านัHน เช่นค่าอากรขาเข้าและ ค่ าขนส่ ง หัก ด้วยส่ วนลดที- เกี- ยวข้อ งทัHงหมด เงิ น ที- ได้รับ คื น และรายการอื- น ๆที- ค ล้ายคลึ งกัน ต้น ทุ น ของสิ น ค้าสําเร็ จรู ป และ งานระหว่างทําประกอบด้ว ยค่ าวัต ถุ ดิ บ ค่ าแรงทางตรง ค่ าใช้จ่ายอื- น ทางตรง และค่ าโสหุ ้ยในการผลิ ต ซึ- งปั น ส่ ว นตามเกณฑ์ การดําเนิ นงานตามปกติ แต่ไม่รวมต้นทุนการกูย้ ืม มูลค่าสุ ทธิ ที-จะได้รับประมาณจากราคาปกติที-คาดว่าจะขายได้ตามปกติธุรกิจ หักด้วยค่าใช้จ่ายที- จาํ เป็ นเพื-อให้สินค้านัHนสําเร็ จรู ปรวมถึ งค่าใช้จ่ายในการขาย กลุ่มบริ ษทั บันทึ กบัญชี ค่าเผื-อการลดมูลค่าของ สิ นค้าเก่า ล้าสมัย หรื อเสื- อมคุณภาพเท่าที-จาํ เป็ น

2.8

เงินลงทุน กลุ่มบริ ษทั จัดประเภทเงินลงทุนที-นอกเหนือจากเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และการร่ วมค้า เป็ น 4 ประเภท คือ 1. เงินลงทุนเพื-อค้า 2. เงินลงทุนที-ถือไว้จนครบกําหนด 3. เงินลงทุนเผื-อขาย และ 4. เงินลงทุนทัว- ไป การจัดประเภทขึHนอยูก่ บั วัตถุประสงค์ของการลงทุน ฝ่ ายบริ หารจะเป็ นผูก้ าํ หนดการจัดประเภทที-เหมาะสมสําหรับเงินลงทุน ณ เวลาที-ลงทุนและทบทวนการจัดประเภทอย่างสมํ-าเสมอ (1) เงินลงทุนเพื-อค้า คือ เงินลงทุนที-มีวตั ถุประสงค์หลักเพื-อหากําไรจากการเปลี-ยนแปลงของราคาในช่ วงระยะเวลาสัHนๆ และแสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน (2) เงิ นลงทุ น ที- ถือไว้จนครบกําหนด คื อ เงิ น ลงทุ น ที- มีวนั ครบกําหนดที- แน่ น อน ซึ- งผูบ้ ริ ห ารมี ความตัHงใจแน่ วแน่ และมี ความสามารถที-จะถือเงินลงทุนไว้จนครบกําหนด เงินลงทุนที-ถือไว้จนครบกําหนดแสดงไว้ในสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน ยกเว้นเงินลงทุนที-จะครบกําหนดภายใน 12 เดือนนับแต่วนั สิH นรอบระยะเวลารายงาน จะแสดงไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน (3) เงินลงทุนเผื-อขาย คือ เงินลงทุนที-จะถือไว้โดยไม่ระบุช่วงเวลาและอาจขายเพื-อเสริ มสภาพคล่องหรื อเมื-ออัตราดอกเบีHย เปลี-ยนแปลง และแสดงไว้ในสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่เงินลงทุนเผื-อขายที-ฝ่ายบริ หารแสดงเจตจํานงที-จะถือไว้ใน ช่วงเวลาน้อยกว่า 12 เดือนนับแต่วนั สิH นรอบระยะเวลารายงาน หรื อมีความจําเป็ นที-ตอ้ งขายเพื-อเพิ-มเงินทุนดําเนินงาน จึง จะแสดงไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน (4) เงินลงทุนทัว- ไป คือ เงินลงทุนในตราสารทุนที-ไม่มีตลาดซืHอขายคล่องรองรับ เงินลงทุนทัHง 4 ประเภทรับรู ้มูลค่าแรกเริ- มด้วยราคาทุน ซึ- งหมายถึงมูลค่ายุติธรรมของสิ- งตอบแทนที-ให้ไปเพื-อให้ได้มาซึ- งเงินลงทุนนัHน รวมทัHงค่าใช้จ่ายในการทํารายการ


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

171 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.8

เงินลงทุน (ต่อ) เงินลงทุนเพื-อค้าและเงินลงทุนเผื-อขายวัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วยมูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนดังกล่าววัดตามราคา เสนอซืH อโดยอ้างอิงจากราคาตลาด ณ วันทําการสุ ดท้ายของวันสิH นรอบระยะเวลารายงาน รายการกําไรและขาดทุนที-ยงั ไม่เกิดขึHนจริ ง ของเงินลงทุนเพื-อค้ารับรู ้ในงบกําไรขาดทุน รายการกําไรและขาดทุนที-ยงั ไม่เกิดขึHนจริ งของเงินลงทุนเผือ- ขายรับรู ้ในส่ วนของกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื-น เงินลงทุนที-จะถือไว้จนครบกําหนดวัดมูลค่าภายหลังการได้มาด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายตามอัตราดอกเบีHยที-แท้จริ ง หักด้วยค่าเผื-อ การด้อยค่า เงินลงทุนทัว- ไป แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผือ- การด้อยค่า กลุ่มบริ ษทั จะทดสอบการด้อยค่าของเงินลงทุนเมื-อมีขอ้ บ่งชีH ว่าเงินลงทุนนัHนอาจเกิดการด้อยค่า หากราคาตามบัญชี ของเงินลงทุน สู งกว่ามูลค่าที-คาดว่าจะได้รับคืน บริ ษทั จะบันทึกรายการขาดทุนจากค่าเผือ- การด้อยค่าในงบกําไรขาดทุน ในการจําหน่ ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมของผลตอบแทนสุ ทธิ ที-ได้รับจากการจําหน่ ายเมื- อเปรี ยบเที ยบกับราคา ตามบัญ ชี ข องเงิ น ลงทุ น นัHน จะบัน ทึ ก ในกําไรหรื อ ขาดทุ น กรณี ที- จ าํ หน่ ายเงิ น ลงทุ น ที- ถื อ ไว้ในตราสารหนีH หรื อ ตราสารทุ น ชนิ ดเดียวกันออกไปบางส่ วน ราคาตามบัญชี ของเงินลงทุนที-จาํ หน่ ายจะกําหนดโดยใช้วิธีถวั เฉลี-ยถ่วงนํHาหนักด้วยราคาตามบัญชี จากจํานวนทัHงหมดที-ถือไว้

2.9

ทีด- นิ อาคาร และอุปกรณ์ ที-ดินแสดงมูลค่าด้วยราคาทุนเดิมหักค่าเผื-อการด้อยค่า ส่ วนปรับปรุ งที-ดิน อาคาร และอุปกรณ์แสดงมูลค่าด้วยราคาทุนเดิมหักด้วย ค่าเสื- อมราคาสะสมและค่าเผือ- การด้อยค่า ต้นทุกเริ- มแรกรวมค่าใช้จ่ายทางตรงอื-น ๆ ที-เกี-ยวข้องกับการซืHอสิ นทรัพย์นH นั ต้นทุนที-เกิดขึHนภายหลังจะรวมอยูใ่ นมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์หรื อรับรู ้แยกเป็ นอีกสิ นทรัพย์หนึ- งตามความเหมาะสม เมื-อต้นทุนนัHน เกิ ดขึHนและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จในอนาคตแก่กลุ่มบริ ษทั และต้นทุนดังกล่าวสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่ าเชื- อถือ มูลค่าตามบัญชี ของชิH นส่ วนที- ถูกเปลี-ยนแทนจะถูกตัดรายการออก สําหรับค่าซ่ อมแซมและบํารุ งรักษาอื-น ๆ กลุ่มบริ ษทั จะรับรู ้ รายจ่ายดังกล่าวเป็ นค่าใช้จ่ายในกําไรหรื อขาดทุนเมื-อเกิดขึHน ที-ดินไม่มีการคิดค่าเสื- อมราคา ค่าเสื- อมราคาของสิ นทรัพย์อื-นคํานวณโดยใช้วิธีเส้นตรง เพื-อลดราคาทุนตลอดอายุการให้ประโยชน์ ที-ประมาณการไว้ของสิ นทรัพย์ดงั ต่อไปนีH ส่ วนปรับปรุ งที-ดิน อาคารและส่ วนปรับปรุ งอาคาร เครื- องจักรและอุปกรณ์โรงงาน เครื- องตกแต่ง ติดตัHง และอุปกรณ์สาํ นักงาน ยานพาหนะ

5 - 40 ปี 5 - 40 ปี 3 - 20 ปี 3 - 20 ปี 3 - 20 ปี


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

172 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.9

ทีด- นิ อาคาร และอุปกรณ์ (ต่อ) ทุกสิH นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริ ษทั ได้มีการทบทวนและปรับปรุ งมูลค่าคงเหลือและอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ให้ เหมาะสม ในกรณี ที-มูลค่าตามบัญชี สูงกว่ามูลค่าที-คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าตามบัญชี จะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่าที-คาดว่าจะได้รับคืนทันที (หมายเหตุฯ ข้อ 2.12) ผลกําไรหรื อขาดทุนที-เกิดจากการจําหน่ ายที-ดิน อาคารและอุปกรณ์ คํานวณโดยเปรี ยบเทียบจากสิ- งตอบแทนสุ ทธิ ที-ได้รับจากการ จําหน่ายสิ นทรัพย์กบั มูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ และจะรับรู ้ในรายการรายได้อื-นหรื อค่าใช้จ่ายอื-นในงบกําไรขาดทุน

2.10 ค่ าความนิยม ค่าความนิ ยมคือสิ- งตอบแทนที-โอนให้ที-สูงกว่ามูลค่ายุติธรรมของส่ วนแบ่งของกลุ่มบริ ษทั ในสิ นทรัพย์และหนีH สินที-ระบุได้ และ หนีH สินที- อาจเกิ ดขึH น รวมกับมู ลค่ายุติธรรมของส่ วนได้เสี ยที- ไม่ มีอาํ นาจควบคุ มของบริ ษทั ย่อย ณ วันที- ได้มาซึ- งบริ ษทั ย่อยนัHน ค่าความนิยมที-เกิดจากการได้มาซึ-งบริ ษทั ย่อยจะแสดงเป็ นรายการแยกต่างหากในงบแสดงฐานะการเงินรวม กลุ่มบริ ษทั ทดสอบการด้อยค่าของความนิ ยมทุกปี ซึ- งแสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผื-อการด้อยค่า ค่าเผื-อการด้อยค่าของค่าความนิ ยม ที-รับรู ้แล้วจะไม่มีการกลับรายการ ทัHงนีH เมื-อมีการจําหน่ายบริ ษทั ย่อย มูลค่าตามบัญชีคงเหลือของค่าความนิ ยมที-เกี-ยวข้องจะรวมอยู่ ในการคํานวณกําไรหรื อขาดทุนจากการจําหน่ายบริ ษทั ย่อย ในการทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยม ค่าความนิยมจะถูกปั นส่ วนไปยังหน่วยที-ก่อให้เกิดกระแสเงินสด ซึ- งอาจเป็ นหน่วยเดียว หรื อหลายหน่วยรวมกัน ที-กลุ่มบริ ษทั คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากการรวมธุ รกิจซึ- งก่อเกิดค่าความนิ ยมขึHนและระบุตามส่ วนงาน ดําเนินงานได้ 2.11 สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน 2.11.1 การวิจยั และพัฒนา รายจ่ายเพื-อการวิจยั รับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื-อเกิดขึHน กลุ่มบริ ษทั รับรู ้ตน้ ทุนของโครงการพัฒนา (ซึ- งเกี-ยวข้องกับการออกแบบ และการทดสอบผลิตภัณฑ์ใหม่หรื อการปรับปรุ งผลิตภัณฑ์) เป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนเมื-อประเมินแล้วว่าโครงการนัHนจะ ประสบความสําเร็ จค่อนข้างแน่ นอนทัHงในแง่การค้าและแง่เทคโนโลยีและต้นทุนของโครงการพัฒนาสามารถวัดมูลค่าได้ อย่างน่ าเชื- อถือ ส่ วนรายจ่ายอื-นเพื-อการพัฒนาอื-นๆรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื-อเกิดขึHน ต้นทุนการพัฒนาที-ได้รับรู ้เป็ นค่าใช้จ่าย ไปแล้วในงวดก่อนจะไม่มีการบันทึ กเป็ นสิ นทรัพย์ในระยะเวลาภายหลัง กลุ่มบริ ษทั ทยอยตัดจําหน่ ายรายจ่ายที- เกิ ดจาก การพัฒนาที-กลุ่มบริ ษทั บันทึกไว้เป็ นสิ นทรัพย์เมื-อเริ- มมีการผลิตผลิตภัณฑ์นH นั เพื-อการค้าด้วยวิธีเส้นตรงตลอดระยะเวลา การให้ประโยชน์ที-คาดว่าจะได้รับ ในระหว่างปี พ.ศ. 2559 ต้นทุนของโครงการพัฒนาของกลุ่มบริ ษทั ยังอยู่ในช่ วงของ การพัฒนาและยังไม่มีการตัดจําหน่าย


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

173 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.11 สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน (ต่อ) 2.11.2 เครื- องหมายการค้ าและสิ ทธิการใช้ เครื- องหมายการค้าและสิ ทธิ การใช้ที-ได้มาแยกต่างหากรับรู ้เมื- อเริ- มแรกด้วยราคาทุน เครื- องหมายการค้าและสิ ทธิ การใช้ ที- ได้มาจากการรวมธุ รกิ จจะรับรู ้ เมื- อเริ- มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันรวมธุ รกิ จ เครื- องหมายการค้าและสิ ทธิ การใช้ที-มี อายุการให้ประโยชน์ไม่จาํ กัดแสดงด้วยราคาทุ นหักค่าเผื-อการด้อยค่า ส่ วนเครื- องหมายการค้าและสิ ทธิ การใช้ซ- ึ งมี อายุ การให้ประโยชน์ที-ทราบได้แน่ นอนแสดงด้วยราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ ายสะสมและค่าเผื-อการด้อยค่า เครื- องหมายการค้า ที- แสดงอยู่ในงบการเงิ นมี อายุการให้ประโยชน์ไม่จาํ กัดและมี การทดสอบการด้อยค่าเป็ นประจําทุ กปี ใบอนุ ญ าตมี อายุ การให้ประโยชน์ที-ทราบได้แน่ นอนและตัดจําหน่ ายด้วยวิธีเส้นตรง เพื-อปั นส่ วนต้นทุนของสิ ทธิ การใช้ตามอายุประมาณ การให้ประโยชน์ภายในระยะเวลา 2 – 16 ปี สิ ท ธิ ก ารใช้ โ ปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ โ ดยที- ซHื อมาจะบัน ทึ ก เป็ นสิ น ทรั พ ย์โ ดยคํา นวณจากต้น ทุ น ในการได้ม าและ การดําเนิ น การให้โปรแกรมคอมพิ วเตอร์ นH ัน สามารถนํามาใช้งานได้ตามประสงค์ และจะมี การตัดจําหน่ ายตลอดอายุ ประมาณการให้ประโยชน์ภายในระยะเวลา 2 – 10 ปี 2.11.3 สั ญญาทีท- าํ กับลูกค้ า/ผู้ขายและความสั มพันธ์ กบั ลูกค้ า/ผู้ขายทีเ- กีย- วข้ อง สัญญาที- ทาํ กับลูกค้า/ผูข้ ายและความสัมพันธ์กบั ลูกค้า/ผูข้ ายที- เกี- ยวข้องที- ได้มาจากการรวมธุ รกิ จจะรับรู ้เมื-อเริ- มแรกด้วย มู ล ค่ ายุติ ธ รรม ณ วัน รวมธุ ร กิ จ สั ญ ญาที- ท าํ กับ ลู ก ค้า/ผูข้ ายและความสั ม พัน ธ์ ก ับ ลู ก ค้า/ผูข้ ายที- เกี- ย วข้อ งมี อ ายุก ารให้ ประโยชน์ที-ทราบได้แน่นอนและวัดมูลค่าที-ราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสมและค่าเผื-อการด้อยค่า การตัดจําหน่ายคํานวณ โดยใช้วธิ ีเส้นตรงตลอดอายุประมาณการให้ประโยชน์ภายในระยะเวลา 5 – 10 ปี 2.11.4 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ กลุ่มบริ ษทั รับรู ้ตน้ ทุนที-ใช้ในการบํารุ งรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นค่าใช้จ่ายเมื-อเกิดขึHน ค่าใช้จ่ายที-เกิดจากการพัฒนา ที- เกี- ยวข้อ งโดยตรงในการออกแบบและทดสอบโปรแกรมคอมพิ วเตอร์ ที- มี ล กั ษณะเฉพาะเจาะจง ซึ- งกลุ่ ม บริ ษ ทั เป็ น ผูค้ วบคุมจะรับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนเมื-อเป็ นไปตามข้อกําหนดทุกข้อดังนีH ¥ มีความเป็ นไปได้ทางเทคนิคที-กลุ่มบริ ษทั จะทําโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้เสร็ จสมบูรณ์เพื-อนํามาใช้ประโยชน์ได้ ¥ ผูบ้ ริ หารมีความตัHงใจที-จะทําโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้เสร็ จสมบูรณ์และนํามาใช้ประโยชน์หรื อขาย ¥ กลุ่มบริ ษทั มีความสามารถที-จะนําโปรแกรมคอมพิวเตอร์นH นั มาใช้ประโยชน์หรื อขาย ¥ สามารถแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์นH นั ให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตอย่างไร ¥ มี ความสามารถในการจัดหาทรัพยากรด้านเทคนิ ค ด้านการเงิน และทรัพยากรอื-น ๆ ได้เพียงพอที-จะนํามาใช้ เพื-อทําให้การพัฒนาเสร็ จสิH นสมบูรณ์ และนําโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์หรื อนํามาขายได้ ¥ กลุ่มบริ ษทั มีความสามารถที- จะวัดมูลค่าของรายจ่ายที- เกี- ยวข้องกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที-เกิ ดขึHนในระหว่าง การพัฒนาได้อย่างน่าเชื-อถือ


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

174 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.11 สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน (ต่อ) 2.11.4 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ต้นทุ นโดยตรงที- รับรู ้ เป็ นส่ วนหนึ- งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมถึ งต้นทุ นพนักงานที- ทาํ งานในที มพัฒ นาโปรแกรม คอมพิวเตอร์และค่าใช้จ่ายที-เกี-ยวข้องในจํานวนเงินที-เหมาะสม ต้นทุนการพัฒนาอื-นที-ไม่เข้าเงื-อนไขเหล่านีH จะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื-อเกิดขึHน ต้นทุนการพัฒนาที-ได้รับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายไปแล้ว ในงวดก่อนจะไม่มีการบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ในระยะเวลาภายหลัง ต้น ทุ น ในการพัฒ นาโปรแกรมคอมพิ วเตอร์ จะรั บ รู ้ เป็ นสิ น ทรั พ ย์แ ละตัด จําหน่ ายโดยใช้วิธี เส้ น ตรงตลอดอายุก ารให้ ประโยชน์ภายในระยะเวลา 3 - 10 ปี ต้นทุ นโดยตรงที- รับรู ้ เป็ นส่ วนหนึ- งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมถึ งต้นทุ นพนักงานที-ทาํ งานในที มพัฒ นาโปรแกรม คอมพิวเตอร์และค่าใช้จ่ายที-เกี-ยวข้องในจํานวนเงินที-เหมาะสม ต้นทุนการพัฒนาอื-นที-ไม่เข้าเงื-อนไขเหล่านีH จะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื-อเกิดขึHน ต้นทุนการพัฒนาที-ได้รับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายไปแล้ว ในงวดก่อนจะไม่มีการบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ในระยะเวลาภายหลัง ต้น ทุ น ในการพัฒ นาโปรแกรมคอมพิ วเตอร์ จะรั บ รู ้ เป็ นสิ น ทรั พ ย์แ ละตัด จําหน่ ายโดยใช้วิธี เส้ น ตรงตลอดอายุก ารให้ ประโยชน์ภายในระยะเวลา 3 - 10 ปี 2.12 การด้ อยค่ าของสิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ที-มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่ชดั (เช่น ค่าความนิ ยม) ซึ- งไม่มีการตัดจําหน่ายจะมีการทดสอบการด้อยค่าเป็ นประจําทุกปี สิ นทรัพย์อื-นที-มีการตัดจําหน่ายจะมีการทดสอบการด้อยค่า เมื-อมีเหตุการณ์หรื อสถานการณ์บ่งชีHวา่ ราคาตามบัญชีอาจสู งกว่ามูลค่า ที-คาดว่าจะได้รับคืน รายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู ้เมื-อราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์สูงกว่ามูลค่าสุ ทธิ ที-คาดว่าจะได้รับคืน ซึ- งหมายถึงจํานวนที-สูงกว่าระหว่างมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายเทียบกับมูลค่าจากการใช้ สิ นทรัพย์จะถูกจัดเป็ นหน่วยที-เล็ก ที-สุดที-ก่อให้เกิดเงินสดสามารถแยกออกมาได้ เพื-อวัตถุประสงค์ของการประเมินการด้อยค่า สิ นทรัพย์ที-ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน นอกเหนื อจากค่าความนิ ยมซึ- งรับรู ้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าไปแล้ว จะมีการประเมินความเป็ นไปได้ที-จะกลับรายการขาดทุน จากการด้อยค่า ณ วันสิH นรอบระยะเวลารายงาน


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

175 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.13 สั ญญาเช่ าระยะยาว - กรณีกลุ่มบริษทั เป็ นผู้เช่ า สัญญาเช่ าระยะยาวเพื-อเช่ าสิ นทรัพย์ซ- ึ งผูใ้ ห้เช่ าเป็ นผูร้ ับความเสี- ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเป็ นส่ วนใหญ่ จดั เป็ น สัญญาเช่าดําเนินงาน เงินที-ตอ้ งจ่ายภายใต้สญ ั ญาเช่าดังกล่าว (สุ ทธิจากสิ- งตอบแทนจูงใจที-ได้รับจากผูใ้ ห้เช่า) จะบันทึกในกําไรหรื อ ขาดทุนโดยใช้วธิ ีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านัHน สัญญาเช่าที-ดิน อาคาร และอุปกรณ์ซ- ึ งผูเ้ ช่าเป็ นผูร้ ับความเสี- ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเกือบทัHงหมดถือเป็ นสัญญาเช่า การเงิน ซึ- งจะบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที-เช่าหรื อมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ ของจํานวนเงินที-ตอ้ งจ่ายตาม สัญญาเช่ า แล้วแต่มูลค่าใดจะตํ-ากว่า จํานวนเงินที-ตอ้ งจ่ายดังกล่าวจะปั นส่ วนระหว่างหนีH สินและค่าใช้จ่ายทางการเงินเพื-อให้ได้ อัตราดอกเบีHยคงที-ต่อหนีH สินที-คงค้างอยูโ่ ดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึก เป็ นหนีH สินระยะยาว ส่ วนดอกเบีHยจ่ายจะบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่าเพื-อทําให้อตั ราดอกเบีHยแต่ละงวดเป็ น อัตราคงที-สาํ หรับยอดคงเหลือของหนีH สินที-เหลืออยู่ ที-ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที-ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคํานวณค่าเสื- อมราคา ตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ที-เช่าหรื ออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า 2.14 เงินกู้ยืมและหุ้นกู้ เงินกูย้ มื และหุน้ กูร้ ับรู ้เริ- มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ- งตอบแทนที-ได้รับหักด้วยต้นทุนการจัดทํารายการที-เกิดขึHน เงินกูย้ มื และหุน้ กู้ วัดมู ลค่าในเวลาต่ อมาด้วยวิธีราคาทุ น ตัดจําหน่ าย และผลต่ างระหว่างเงิ น ที- ได้รับ (หักด้วยต้น ทุ น การจัดทํารายการที- เกิ ดขึH น ) เมื-อเทียบกับมูลค่าที-จ่ายคืนเพื-อชําระหนีHนH นั จะรับรู ้ในงบกําไรขาดทุนตลอดช่วงเวลาการกูย้ มื ตามวิธีอตั ราดอกเบีHยที-แท้จริ ง ค่าธรรมเนียมที-จ่ายไปเพื-อให้ได้เงินกูม้ าจะรับรู ้เป็ นต้นทุนการจัดทํารายการเงินกูใ้ นกรณี ที-มีความเป็ นไปได้ที-จะใช้วงเงินกูบ้ างส่ วน หรื อทัHงหมด ในกรณี นH ี ค่าธรรมเนี ยมจะรอการรับรู ้จนกระทัง- มีการถอนเงิน หากไม่มีหลักฐานที- มีความเป็ นไปได้ที-จะใช้วงเงิน บางส่ ว นหรื อ ทัHง หมด โดยค่ าธรรมเนี ย มดัง กล่ าวจะมี ก ารรั บ รู ้ เป็ นค่ าใช้จ่ ายล่ ว งหน้าสําหรั บ การให้ บ ริ ก ารสภาพคล่ อ งและ ตัดจําหน่ายตามระยะเวลาของวงเงินกูท้ ี-เกี-ยวข้อง เงิ น กู้ยืมและหุ ้น กู้จดั ประเภทเป็ นหนีH สิ น หมุ น เวียนเมื- อกลุ่ มบริ ษ ทั ไม่ มีสิ ท ธิ อนั ปราศจากเงื- อนไขให้เลื- อนชําระหนีH ออกไปอี ก เป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 12 เดือน นับจากวันสิH นรอบระยะเวลารายงาน 2.15 ต้ นทุนการกู้ยืม ต้นทุ นการกูย้ ืมที- เกี- ยวข้องโดยตรงกับการได้มา การก่ อสร้ าง หรื อการผลิ ตสิ นทรัพย์ที-เข้าเงื-อนไข ต้องนํามารวมเป็ นส่ วนหนึ- ง ของราคาทุนของสิ นทรัพย์นH นั โดยสิ นทรัพย์ที-เข้าเงื-อนไข คือ สิ นทรัพย์ที-จาํ เป็ นต้องใช้ระยะเวลานานในการเตรี ยมสิ นทรัพย์นH นั ให้อยูใ่ นสภาพพร้อมที-จะใช้ได้ตามประสงค์หรื อพร้อมที-จะขาย การรวมต้นทุนการกูย้ ืมเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์ตอ้ งสิH นสุ ดลง เมื-อการดําเนิ นการส่ วนใหญ่ที-จาํ เป็ นในการเตรี ยมสิ นทรัพย์ที-เข้าเงื-อนไขให้อยูใ่ นสภาพพร้อมที-จะใช้ได้ตามประสงค์หรื อพร้อม ที-จะขายได้เสร็ จสิH นลง รายได้จากการลงทุนที-เกิดจากการนําเงินกูย้ ืมที-กูม้ าโดยเฉพาะซึ- งยังไม่ได้นาํ ไปชําระรายจ่ายของสิ นทรัพย์ที-เข้าเงื-อนไขไปลงทุน เป็ นการชัว- คราวก่อน ได้นาํ มาหักจากต้นทุนการกูย้ มื ที-สามารถตัHงขึHนเป็ นทุนของสิ นทรัพย์ ต้นทุนการกูย้ มื อื-น ๆ บันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดที-เกิดขึHน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

176 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.16 ภาษีเงินได้ งวดปัจจุบันและภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาํ หรับงวดประกอบด้วยภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้จะรับรู ้ในกําไร หรื อขาดทุ น ยกเว้น ส่ วนภาษี เงิ น ได้ที- เกี- ยวข้องกับ รายการที- รับ รู ้ ในกําไรขาดทุ น เบ็ดเสร็ จอื- น หรื อรายการที- รับ รู ้ โดยตรงไปยัง ส่ วนของเจ้าของ ในกรณี นH ี ภาษีเงินได้จะมีการรับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื-นหรื อโดยตรงไปยังส่ วนของเจ้าของตามลําดับ ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั คํานวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีที-มีผลบังคับใช้อยูห่ รื อที-คาดได้ค่อนข้างแน่ ว่าจะมีผลบังคับใช้ ภายในสิH นรอบระยะเวลาที-รายงานในประเทศที-บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยดําเนิ นงานอยูแ่ ละเกิดรายได้เพื-อเสี ยภาษี ผูบ้ ริ หารจะประเมิน สถานะของการยืน- แบบแสดงรายการภาษีเป็ นระยะในกรณี ที-มีสถานการณ์ที-การนํากฎหมายภาษีไปถือปฏิบตั ิขH ึนอยูก่ บั การตีความ และจะตัHงประมาณการค่าใช้จ่ายภาษีที-เหมาะสมจากจํานวนที-คาดว่าจะต้องจ่ายชําระภาษีแก่หน่วยงานจัดเก็บ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรับรู ้ตามวิธีหนีH สิน เมื-อเกิดผลต่างชัว- คราวระหว่างฐานภาษีของสิ นทรัพย์และหนีH สิน และราคาตามบัญชี ที-แสดงอยูใ่ นงบการเงิน อย่างไรก็ตามกลุ่มบริ ษทั จะไม่รับรู ้ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที-เกิดจากการรับรู ้เริ- มแรกของรายการสิ นทรัพย์ หรื อรายการหนีH สินที-เกิดจากรายการที-ไม่ใช่การรวมธุรกิจ และ ณ วันที-เกิดรายการ รายการนัHนไม่มีผลกระทบต่อกําไรหรื อขาดทุน ทัHงทางบัญชีหรื อทางภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีคาํ นวณจากอัตราภาษี (และกฎหมายภาษีอากร) ที-มีผลบังคับใช้อยูห่ รื อที-คาดได้ ค่อนข้างแน่วา่ จะมีผลบังคับใช้ภายในสิH นรอบระยะเวลาที-รายงาน และคาดว่าอัตราภาษีดงั กล่าวจะนําไปใช้เมื-อสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชีที-เกี-ยวข้องได้ใช้ประโยชน์ หรื อหนีHสินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีได้มีการจ่ายชําระ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี จะรับรู ้หากมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ว่ากลุ่มบริ ษทั จะมีกาํ ไรทางภาษีเพียงพอที-จะนําจํานวน ผลต่างชัว- คราวนัHนมาใช้ประโยชน์ กลุ่มบริ ษทั บันทึกภาษีเงินได้รอตัดบัญชีของผลต่างชัว- คราวของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อย และส่ วนได้เสี ยในการร่ วมค้า เว้นแต่กลุ่มบริ ษทั สามารถควบคุมจังหวะเวลาของการกลับรายการผลต่างชัว- คราวและการกลับรายการ ผลต่างชัว- คราวมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ จะไม่เกิดขึHนภายในระยะเวลาที-คาดการณ์ได้ในอนาคต สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนีH สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะแสดงหักกลบกันก็ต่อเมื-อกลุ่มบริ ษทั มีสิทธิ ตามกฎหมาย ที-จะนําสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั มาหักกลบกับหนีHสินภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และทัHงสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และหนีHสินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเกี-ยวข้องกับภาษีเงินได้ที-ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกันโดยการเรี ยกเก็บ เป็ นหน่วยภาษีเดียวกันหรื อหน่วยภาษีต่างกันซึ-งตัHงใจจะจ่ายหนีHสินและสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั ด้วยยอดสุ ทธิ 2.17 ผลประโยชน์ พนักงาน กลุ่มบริ ษทั ได้จดั ให้มีโครงการผลประโยชน์เมื-อเกษียณอายุในหลายรู ปแบบซึ- งมีทH งั โครงการสมทบเงินและโครงการผลประโยชน์ สําหรับโครงการสมทบเงิน กลุ่มบริ ษทั จะจ่ายเงินสมทบให้กองทุนในจํานวนเงินที-คงที- กลุ่มบริ ษทั ไม่มีภาระผูกพันทางกฎหมาย หรื อภาระผูกพันจากการอนุ มานที- จะต้องจ่ายเงิ นเพิ-ม ถึ งแม้กองทุ นไม่มีสินทรัพย์เพียงพอที- จะจ่ายให้พนักงานทัHงหมดสําหรับ การให้บริ การจากพนักงานทัHงในปั จจุบนั และในอดีต กลุ่มบริ ษทั ไม่มีภาระผูกพันที-ตอ้ งจ่ายเงินเพิ-มอีกเมื-อได้จ่ายเงินสมทบไปแล้ว เงินสมทบจะมีการรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานเมื-อถึงกําหนดชําระ สําหรับเงินสมทบจ่ายล่วงหน้าจะรับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ จนกว่าจะมีการได้รับเงินคืนหรื อหักออกเมื-อครบกําหนดจ่าย


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

177 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.17 ผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) โครงการผลประโยชน์คือโครงการผลประโยชน์เมื-อเกษียณอายุที-ไม่ใช่โครงการสมทบเงิน ซึ- งจะกําหนดจํานวนเงินผลประโยชน์ ที-พนักงานจะได้รับเมื-อเกษียณอายุ โดยส่ วนใหญ่จะขึHนอยูก่ บั หลายปั จจัย เช่น อายุ จํานวนปี ที-ให้บริ การ และค่าตอบแทน เป็ นต้น หนีH สินสําหรับโครงการผลประโยชน์เมื-อเกษียณอายุจะรับรู ้ในงบแสดงฐานะการเงินด้วยมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพัน ณ วันทีสิH นรอบระยะเวลารายงานหักด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์โครงการ ภาระผูกพันนีH คาํ นวณโดยนักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยอิสระ ด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่ วยที-ประมาณการไว้ ซึ- งมูลค่าปั จจุบนั ของโครงการผลประโยชน์จะประมาณโดยการคิดลดกระแสเงินสด ที- ตอ้ งจ่ายในอนาคต โดยใช้อตั ราผลตอบแทนในตลาดของหุ ้นกูภ้ าคเอกชนที- ได้รับการจัดอันดับอยู่ในระดับดี ซึ- งเป็ นสกุลเงิน เดี ยวกับ สกุลเงิ น ที- จะจ่ายภาระผูกพัน และวัน ครบกําหนดของหุ ้น กูซ้ - ึ งใกล้เคี ยงกับ ระยะเวลาที- ตอ้ งชําระภาระผูกพัน โครงการ ผลประโยชน์เมื-อเกษียณอายุ ในกรณี ของประเทศที-มีการซืHอขายหุน้ กูภ้ าคเอกชนน้อย จะใช้อตั ราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตร รัฐบาลแทน กําไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยที- เกิ ดขึHนจากการปรับปรุ งจากประสบการณ์ ในอดี ตหรื อ การเปลี-ยนแปลงในข้อสมมติฐานจะรับรู ้ในส่ วนของเจ้าของผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื-นในงวดที-เกิดขึHน และได้รวมอยูใ่ นกําไรสะสม ในงบแสดงการเปลี-ยนแปลงในส่ วนของเจ้าของ ต้นทุนบริ การในอดีตจะมีการรับรู ้ทนั ทีในกําไรหรื อขาดทุน 2.18 ประมาณการหนีสC ิ น ประมาณการหนีH สิน (ไม่รวมผลประโยชน์พนักงาน) จะรับรู ้ก็ต่อเมื-อ กลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันในปั จจุบนั ตามกฎหมายหรื อตาม ข้อตกลงที-จดั ทําไว้ อันเป็ นผลสื บเนื-องมาจากเหตุการณ์ในอดีต ซึ- งการชําระภาระผูกพันนัHนมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ จะส่ งผล ให้บริ ษทั ต้องสู ญเสี ยทรัพยากรออกไป และประมาณการจํานวนที-ตอ้ งจ่ายได้อย่างน่าเชื-อถือ ประมาณการหนีH สินจะไม่รับรู ้สาํ หรับ ขาดทุนจากการดําเนินงานในอนาคต ในกรณี ที-มีภาระผูกพันที-คล้ายคลึงกันหลายรายการ กลุ่มบริ ษทั กําหนดความน่ าจะเป็ นที-กลุ่มบริ ษทั จะสู ญเสี ยทรัพยากรเพื-อจ่ายชําระ ภาระผูกพันเหล่านัHน โดยพิจารณาจากความน่าจะเป็ นโดยรวมของภาระผูกพันทัHงประเภท แม้วา่ ความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที-กลุ่มบริ ษทั จะสู ญเสี ยทรัพยากรเพื-อชําระภาระผูกพันบางรายการที-จดั อยูใ่ นประเภทเดียวกันจะมีระดับตํ-า กลุ่มบริ ษทั จะวัดมูลค่าของจํานวนประมาณการหนีH สิน โดยใช้มูลค่าปั จจุบนั ของรายจ่ายที-คาดว่าจะต้องนํามาจ่ายชําระภาระผูกพัน โดยใช้อตั ราก่อนภาษีซ- ึ งสะท้อนถึงการประเมินสถานการณ์ตลาดในปั จจุบนั ของมูลค่าของเงินตามเวลาและความเสี- ยงเฉพาะของ หนีHสินที-กาํ ลังพิจารณาอยู่ การเพิ-มขึHนของประมาณการหนีHสินเนื-องจากมูลค่าของเงินตามเวลา จะรับรู ้เป็ นดอกเบีHยจ่าย


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

178 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.19 ทุนเรื อนหุ้น หุ ้นสามัญที-บริ ษทั สามารถกําหนดการจ่ายเงินปั นผลได้อย่างอิสระจะจัดประเภทไว้เป็ นส่ วนของเจ้าของ ต้นทุนส่ วนที-เพิ-มเกี-ยวกับ การออกหุน้ ใหม่ซ- ึงสุ ทธิจากภาษีจะแสดงไว้ในส่ วนของเจ้าของโดยนําไปหักจากสิ- งตอบแทนที-ได้รับจากการออกหุน้ ดังกล่าว 2.20 การรับรู้ รายได้ รายได้ประกอบด้วยมูลค่ายุติธรรมที-ได้รับและจะได้รับจากการขายสิ นค้าและบริ การซึ- งเกิดขึHนจากกิจกรรมตามปกติของกลุ่มบริ ษทั รายได้จะแสดงด้วยจํานวนเงินสุ ทธิ จากภาษีขาย การรับคืน เงินคืน และส่ วนลด โดยไม่รวมรายการขายภายในกลุ่มบริ ษทั สําหรับ งบการเงินรวม รายได้จากการขายสิ นค้ารับรู ้เมื-อผูซ้ Hื อรับโอนความเสี- ยงและผลตอบแทนที-เป็ นสาระสําคัญของความเป็ นเจ้าของสิ นค้า รายได้จากการให้บริ การแก่ลูกค้ารับรู ้โดยอ้างอิงตามขัHนของความสําเร็ จของงานที- ทาํ เสร็ จ โดยใช้วิธีอตั ราส่ วนของบริ การที- ให้ จนถึงปั จจุบนั เทียบกับบริ การทัHงสิH นที-ตอ้ งให้ รายได้ดอกเบีHยรับรู ้ตามเกณฑ์คงค้างและอัตราผลตอบแทนที-แท้จริ ง รายได้เกี-ยวกับค่าสิ ทธิรับรู ้ตามเกณฑ์คงค้างซึ-งเป็ นไปตามเนืHอหาของข้อตกลงที-เกี-ยวข้อง รายได้เงินปั นผลรับรู ้เมื-อสิ ทธิที-จะได้รับเงินปั นผลนัHนเกิดขึHน 2.21 การจ่ ายเงินปันผล เงินปั นผลที-จ่ายไปยังผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั จะรับรู ้เป็ นหนีH สินในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรอบระยะเวลาบัญชี ซึ-งผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ได้อนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผลประจําปี และคณะกรรมการบริ ษทั ได้อนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาล 2.22 ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงาน ส่ วนงานดําเนิ นงานได้มีการรายงานในลักษณะเดียวกับรายงานภายในที-นาํ เสนอให้ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ นงาน ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ นงานหมายถึงบุคคลที-มีหน้าที-ในการจัดสรรทรัพยากรและประเมินผลการปฏิบตั ิงานของ ส่ วนงานดําเนินงาน ซึ-งพิจารณาว่าคือ คณะผูบ้ ริ หารกลุ่มบริ ษทั ไทยยูเนี-ยน ที-ทาํ การตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

179 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.23 รายการกับบุคคลหรื อกิจการทีเ- กีย- วข้ องกัน กิจการและบุคคลที-มีความสัมพันธ์กบั บริ ษทั ไม่วา่ ทางตรงหรื อทางอ้อม โดยผ่านกิจการอื-นแห่งหนึ-งหรื อมากกว่าหนึ-งแห่ง โดยที-บุคคล หรื อกิจการนัHนมีอาํ นาจควบคุมบริ ษทั หรื อถูกควบคุมโดยบริ ษทั หรื ออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริ ษทั รวมถึงบริ ษทั ที-ดาํ เนินธุรกิจ การลงทุ น บริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ย่อยในเครื อเดี ยวกัน ถื อเป็ นกิ จการที- เกี- ยวข้องกับบริ ษทั บริ ษทั ร่ วมและบุ คคลที- เป็ นเจ้าของ ส่ วนได้เสี ยในสิ ทธิออกเสี ยงของบริ ษทั ซึ- งมีอิทธิพลอย่างเป็ นสาระสําคัญเหนือกิจการ ผูบ้ ริ หารสําคัญรวมทัHงกรรมการและพนักงาน ของบริ ษทั ตลอดจนสมาชิกในครอบครัวที-ใกล้ชิดกับบุคคลเหล่านัHน กิจการที-เกี-ยวข้องกับบุคคลเหล่านัHนถือเป็ นบุคคลหรื อกิจการ ที-เกี-ยวข้องกับบริ ษทั ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรื อกิ จการที-เกี- ยวข้องกันซึ- งอาจมีขH ึนได้ตอ้ งคํานึ งถึงรายละเอียดของความสัมพันธ์ มากกว่ารู ปแบบความสัมพันธ์ตามกฎหมาย 2.24 สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน(หรื อกลุ่มสิ นทรัพย์ ทจี- าํ หน่ าย)ทีถ- ือไว้ เพื-อขาย สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน(หรื อกลุ่มสิ นทรัพย์ที-จาํ หน่าย)จะมีการจัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที-ถือไว้เพื-อขายเมื-อมูลค่าตามบัญชีที-จะได้รับคืน ส่ วนใหญ่มาจากการขาย และการขายนัHนต้องมีความเป็ นไปได้สูงมาก สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน (หรื อกลุ่มสิ นทรัพย์ที-จาํ หน่ าย) นัHน จะวัดมูลค่าด้วยจํานวนที-ต-าํ กว่าระหว่างมูลค่าตามบัญชีกบั มูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย 3

การจัดการความเสี- ยงทางการเงิน

3.1

ปัจจัยความเสี- ยงทางการเงิน กิจกรรมของกลุ่มบริ ษทั มีความเสี- ยงทางการเงิน ซึ- งได้แก่ ความเสี- ยงจากตลาด (รวมถึงความเสี- ยงจากอัตราแลกเปลี-ยนและความเสี- ยงจาก อัตราดอกเบีHย) ความเสี- ยงด้านการให้สินเชื- อ และความเสี- ยงด้านสภาพคล่อง แผนการจัดการความเสี- ยงของกลุ่มบริ ษทั จึงมุ่งเน้น ความผันผวนของตลาดการเงินและแสวงหาวิธีการลดผลกระทบที-ทาํ ให้เสี ยหายต่อผลการดําเนิ นงานทางการเงินของกลุ่มบริ ษทั ให้เหลือน้อยที-สุดเท่าที-เป็ นไปได้ กลุ่มบริ ษทั จึงใช้เครื- องมือทางอนุพนั ธ์ทางการเงินเพื-อป้องกันความเสี- ยงบางประการที-จะเกิดขึHน การจัดการความเสี- ยงดําเนิ นงานโดยส่ วนงานบริ หารเงินของกลุ่มบริ ษทั โดยนโยบายของกลุ่มบริ ษทั ได้รวมนโยบายความเสี- ยง ในด้านต่างๆ ได้แก่ ความเสี- ยงจากอัตราแลกเปลี- ยนเงินตราต่างประเทศ ความเสี- ยงจากอัตราดอกเบีH ย ความเสี- ยงการให้สินเชื- อ และความเสี- ยงด้านสภาพคล่อง โดยหลักการในการป้ องกันความเสี- ยงเป็ นไปตามนโยบายที-อนุ มตั ิโดยกรรมการบริ ษทั และยังใช้ เป็ นเครื- องมือหลักในการสื- อสารและควบคุมโดยส่ วนงานบริ หารเงินของกลุ่มบริ ษทั (1)

ความเสี- ยงจากอัตราแลกเปลีย- น เนื- องจากกลุ่มบริ ษทั ดําเนิ นงานระหว่างประเทศย่อมมีความเสี- ยงจากอัตราแลกเปลี-ยนเงินตราต่างประเทศอันเกี-ยวเนื- องจาก การซืH อขายสิ นค้าและกูย้ ืมเงินที- เป็ นเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริ ษทั มี แนวทางบริ หารความเสี- ยงโดยพิจารณาการเข้าทํา สัญญาแลกเปลี-ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าตามความเหมาะสม กลุ่มบริ ษทั ใช้สัญญาแลกเปลี-ยนเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้าที-เข้าทํากับสถาบันการเงินเพื-อป้องการความเสี- ยงจากอัตราแลกเปลี-ยนที-เกี-ยวเนื-องกับสกุลเงินที-ใช้วดั มูลค่า


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

180 3

การจัดการความเสี- ยงทางการเงิน (ต่อ)

3.1

ปัจจัยความเสี- ยงทางการเงิน (ต่อ) (2)

ความเสี- ยงจากอัตราดอกเบียC รายได้และกระแสเงินสดจากการดําเนิ นงานของกลุ่มบริ ษทั ส่ วนใหญ่ ไม่ขH ึนกับการเปลี- ยนแปลงอัตราดอกเบีH ยในตลาด กลุ่มบริ ษทั มีความเสี- ยงจากอัตราดอกเบีHยที-สําคัญอันเกี- ยวเนื- องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินให้กูย้ ืมระยะยาวแก่กิจการ ที-เกี-ยวข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะสัHน เงินกูย้ มื ระยาว และหุ น้ กู้ สิ นทรัพย์และหนีH สินทางการเงินส่ วนใหญ่ของกลุ่มบริ ษทั มีอตั รา ดอกเบีHยลอยตัวหรื ออัตราดอกเบีHยคงที-ซ- ึ งใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปั จจุบนั รวมทัHงกลุ่มบริ ษทั ได้เข้าทําสัญญาแลกเปลี-ยน อัตราดอกเบีHยเพื-อบริ หารความเสี- ยงที-เกี-ยวข้อง ในบางกรณี กลุ่มบริ ษทั มีการกูย้ ืมแบบอัตราดอกเบีHยลอยตัวและใช้สัญญาแลกเปลี-ยนอัตราดอกเบีHยเพื-อป้ องกันความเสี- ยง ของจํานวนเงินดอกเบีHยที-จะต้องจ่ายในอนาคต โดยพิจารณาถึงผลกระทบเชิ งเศรษฐกิ จของการเปลี-ยนเงินกูย้ ืมจากอัตรา ดอกเบีHยลอยตัวให้กลายเป็ นอัตราดอกเบีHยคงที- สัญญาแลกเปลี-ยนอัตราดอกเบีHยทําให้กลุ่มบริ ษทั สามารถระดมทุนโดยการ กูย้ มื ระยะยาวด้วยอัตราดอกเบีHยลอยตัวและเปลี-ยนอัตราดอกเบีHยให้กลายเป็ นอัตราคงที-ในระดับที-นอ้ ยกว่าอัตราดอกเบีHยคงทีกรณี กลุ่มบริ ษทั ต้องกูย้ มื ระยะยาวโดยตรง ในการทําสัญ ญาแลกเปลี- ยนอัตราดอกเบีH ย กลุ่มบริ ษทั ตกลงกับคู่สัญ ญาที- จะแลกเปลี- ยนผลต่างระหว่างจํานวนเงิ นตาม ดอกเบีHยคงที-กบั ตามอัตราดอกเบีHยลอยตัวในช่วงเวลาที-กาํ หนดไว้ โดยอ้างอิงจากจํานวนฐานที-ใช้เป็ นเกณฑ์คาํ นวณเงินต้น ตามที-ตกลงกันไว้ และรับรู ้ส่วนต่างที-จะต้องจ่ายหรื อจะได้รับตามสัญญาแลกเปลี-ยนอัตราดอกเบีHยไว้เป็ นส่ วนประกอบของ รายได้ดอกเบีHยหรื อดอกเบีHยจ่ายตลอดระยะเวลาตามข้อตกลง สิ นทรัพย์และหนีHสินทางการเงินที-สาํ คัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบีHย และสําหรับสิ นทรัพย์และหนีHสินทางการเงิน ที-มีอตั ราดอกเบีHยคงที-สามารถแยกตามวันที-ครบกําหนด หรื อวันที-มีการกําหนดอัตราดอกเบีHยใหม่ (หากวันที-มีการกําหนด อัตราดอกเบีHยใหม่ถึงก่อน) ได้ดงั นีH ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

สิ นทรัพย์ ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีHการค้าและลูกหนีHอื-น เงินฝากสถาบันการเงินที-มี ภาระคํHาประกัน เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการทีเกี-ยวข้องกันและบริ ษทั อื-น หนีสC ิ นทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัHนจากสถาบันการเงิน เจ้าหนีHการค้าและเจ้าหนีHอื-น เงินกูย้ มื ระยะสัHนจากบริ ษทั ร่ วม เงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู้ หนีHสินตามสัญญาเช่าการเงิน

งบการเงินรวม อัตราดอกเบียC คงทีอัตราดอกเบียC ลอยตัว ภายใน 1 ปี 1 - 5 ปี มากกว่ า 5 ปี ภายใน 1 ปี 1 - 5 ปี มากกว่ า 5 ปี ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท

ไม่ มอี ตั รา ดอกเบียC ล้ านบาท

รวม ล้ านบาท

ดอกเบียC (ร้ อยละ ต่ อปี )

66 -

-

-

181 -

-

-

729 15,827

976 0.05 - 4.00 15,827 -

-

-

-

-

1

-

-

1 0.85 - 1.15

66

-

12,365 12,365

181

1

-

7 16,564

12,372 3.66 - 8.00 29,176

14,070 77 62 2,500 82 16,791

54 15,183 144 15,381

9,234 57 9,291

22,836 702 23,538

877 877

-

15,534 33 8 15,573

36,906 15,534 77 1,728 26,917 291 81,453

0.55 - 4.25 1.30 - 1.30 1.15 - 5.75 2.03 - 5.18 0.81 - 6.00


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

181 3

การจัดการความเสี- ยงทางการเงิน (ต่อ)

3.1

ปัจจัยความเสี- ยงทางการเงิน (ต่อ) (2)

ความเสี- ยงจากอัตราดอกเบียC (ต่อ) สิ นทรัพย์และหนีHสินทางการเงินที-สาํ คัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบีHย และสําหรับสิ นทรัพย์และหนีHสินทางการเงิน ที-มีอตั ราดอกเบีHยคงที-สามารถแยกตามวันที-ครบกําหนด หรื อวันที-มีการกําหนดอัตราดอกเบีHยใหม่ (หากวันที-มีการกําหนด อัตราดอกเบีHยใหม่ถึงก่อน) ได้ดงั นีH (ต่อ) ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

สิ นทรัพย์ ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีHการค้าและลูกหนีHอื-น เงินให้กยู้ มื ระยะสัHนแก่บริ ษทั ร่ วม เงินให้กยู้ มื ระยะสัHนแก่กิจการอื-น เงินฝากสถาบันการเงินที-มี ภาระคํHาประกัน เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการอื-น

หนีสC ิ นทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัHนจากสถาบันการเงิน เจ้าหนีHการค้าและเจ้าหนีHอื-น เงินกูย้ มื ระยะสัHนจากบริ ษทั ร่ วม เงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู้ หนีHสินตามสัญญาเช่าการเงิน

งบการเงินรวม อัตราดอกเบียC คงทีอัตราดอกเบียC ลอยตัว ภายใน 1 ปี 1 - 5 ปี มากกว่ า 5 ปี ภายใน 1 ปี 1 - 5 ปี มากกว่ า 5 ปี ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท

ไม่ มอี ตั รา ดอกเบียC ล้ านบาท

รวม ล้ านบาท

ดอกเบียC (ร้ อยละ ต่ อปี )

7 31 -

-

-

2,181 1

-

-

628 15,776 1

2,816 0.10 - 1.75 15,776 31 2.40 2 0.30 - 3.70

3

9

-

-

1 -

-

9 7

41

9

-

2,182

1

-

16,421

10 0.80 19 0.96 - 6.16 18,654

9,790 61 27 1,949 91

26 5,646 146

8,585 66

9,512 1,534 -

1,641 -

-

75 12,262 30 -

19,377 12,262 61 3,258 16,180 303

11,918

5,818

8,651

11,046

1,641

-

12,367

51,441

1.25 - 5.50 1.45 0.96 - 6.16 3.58 - 5.18 1.23 - 4.26


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

182 3

การจัดการความเสี- ยงทางการเงิน (ต่อ)

3.1

ปัจจัยความเสี- ยงทางการเงิน (ต่อ) (2)

ความเสี- ยงจากอัตราดอกเบียC (ต่อ) สิ นทรัพย์และหนีHสินทางการเงินที-สาํ คัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบีHย และสําหรับสิ นทรัพย์และหนีHสินทางการเงิน ที-มีอตั ราดอกเบีHยคงที-สามารถแยกตามวันที-ครบกําหนด หรื อวันที-มีการกําหนดอัตราดอกเบีHยใหม่ (หากวันที-มีการกําหนด อัตราดอกเบีHยใหม่ถึงก่อน) ได้ดงั นีH (ต่อ) ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

สิ นทรัพย์ ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีHการค้าและลูกหนีHอื-น เงินให้กยู้ มื ระยะสัHนแก่บริ ษทั ย่อย เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่บริ ษทั ย่อย หนีสC ิ นทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัHนจากสถาบันการเงิน เจ้าหนีHการค้าและเจ้าหนีHอื-น เงินกูย้ มื ระยะสัHนจากบริ ษทั ย่อย เงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู้ หนีHสินตามสัญญาเช่าการเงิน

ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

สิ นทรัพย์ ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีHการค้าและลูกหนีHอื-น เงินให้กยู้ มื ระยะสัHนแก่บริ ษทั ย่อย เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่บริ ษทั ย่อย หนีสC ิ นทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัHนจากสถาบันการเงิน เจ้าหนีHการค้าและเจ้าหนีHอื-น เงินกูย้ มื ระยะสัHนจากบริ ษทั ย่อย เงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู้ หนีHสินตามสัญญาเช่าการเงิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบียC คงทีอัตราดอกเบียC ลอยตัว ภายใน 1 ปี 1 - 5 ปี มากกว่ า 5 ปี ภายใน 1 ปี 1 - 5 ปี มากกว่ า 5 ปี ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท

ไม่ มอี ตั รา ดอกเบียC ล้ านบาท

รวม ล้ านบาท

ดอกเบียC (ร้ อยละ ต่ อปี ) 0.10 - 0.40 0.63 - 6.00 0.63 - 2.10 1.33 - 6.16

230 84 -

24,078

-

13 3 7,248 -

12,715

3,471

3,599 -

13 3,832 7,332 40,264

314

24,078

-

7,264

12,715

3,471

3,599

51,441

8,566 2 905 2,500 12

15,183 20

9,234 -

20,073 702 -

841 -

-

3,480 19 -

28,639 3,482 924 1,543 26,917 32

11,985

15,203

9,234

20,775

841

-

3,499

61,537

งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบียC คงทีอัตราดอกเบียC ลอยตัว ภายใน 1 ปี 1 - 5 ปี มากกว่ า 5 ปี ภายใน 1 ปี 1 - 5 ปี มากกว่ า 5 ปี ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท

ไม่ มอี ตั รา ดอกเบียC ล้ านบาท

รวม ล้ านบาท

0.55 - 2.18 1.30 - 1.65 1.30 - 1.50 1.34 - 2.60 2.03 - 5.18 2.12 - 2.81

ดอกเบียC (ร้ อยละ ต่ อปี )

2,887 -

12,623

-

2,089 58 502

3,897

3,975

3 3,386 -

2,887

12,623

-

2,649

3,897

3,975

3,389

2,092 0.50 - 1.75 3,386 2,945 0.80 - 3.70 20,997 0.96 - 5.40 29,420

3,688 33 1,949 11

5,646 7

8,585 -

1,464 -

1,548 -

-

2,248 -

3,688 2,248 33 3,012 16,180 18

5,681

5,653

8,585

1,464

1,548

-

2,248

25,179

1.63 - 1.70 1.45 1.34 - 2.60 3.58 - 5.18 2.19 - 3.62


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

183 3

การจัดการความเสี- ยงทางการเงิน (ต่อ)

3.1

ปัจจัยความเสี- ยงทางการเงิน (ต่อ) (3)

ความเสี- ยงด้ านการให้ สินเชื- อ กลุ่มบริ ษทั ไม่มีการกระจุกตัวอย่างมีนยั สําคัญของความเสี- ยงทางด้านสิ นเชื- อ กลุ่มบริ ษทั มีนโยบายที-เหมาะสมเพื-อทําให้ เชื- อ มั-น ได้ว่ า ได้ข ายสิ น ค้า ให้ แ ก่ ลู ก ค้า ที- มี ป ระวัติ สิ น เชื- อ อยู่ ใ นระดับ ที- เหมาะสม กลุ่ ม บริ ษัท บริ หารความเสี- ย งนีH โดยกําหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสิ นเชื-อที-เหมาะสม กลุ่มบริ ษทั จึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสี ยหายที-เป็ น สาระสําคัญจากการให้สินเชื-อ จํานวนเงินสู งสุ ดที-กลุ่มบริ ษทั อาจต้องสู ญเสี ยจากการให้สินเชื-อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนีH และเงินให้กยู้ มื ที-แสดงอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน

(4)

ความเสี- ยงด้ านสภาพคล่ อง จํานวนเงินสดที-มีอย่างเพียงพอและความสามารถในการหาแหล่งเงินทุนผ่านวงเงินในการกูย้ มื ที-ได้มีการตกลงไว้แล้วอย่าง เพี ย งพอย่อ มแสดงถึ ง การจัด การความเสี- ย งของสภาพคล่ อ งอย่า งรอบคอบ ส่ ว นงานบริ ห ารเงิ น ของกลุ่ ม บริ ษ ัท ได้ ตัHงเป้ าหมายว่าจะใช้ความยืดหยุน่ ในการระดมเงินทุนโดยการรักษาวงเงินสิ นเชื-อที-ตกลงไว้อย่างเพียงพอเนื-องจากลักษณะ ของธุรกิจที-เป็ นฐานของกลุ่มบริ ษทั สามารถเปลี-ยนแปลงได้

3.2

การบัญชีสําหรับอนุพนั ธ์ ทเี- ป็ นเครื- องมือทางการเงินและกิจกรรมป้ องกันความเสี- ยง กลุ่มบริ ษทั เป็ นคู่สัญญาในเครื- องมือทางการเงินเพื-อป้ องการความเสี- ยงในความผันผวนของอัตราแลกเปลี-ยนเงินตราต่างประเทศ และอัตราดอกเบีHย โดยใช้สัญญาอนุ พนั ธ์เพื-อป้ องกันความเสี- ยงจากการเปลี-ยนแปลงในอัตราแลกเปลี-ยนเงินตราต่างประเทศและ อัตราดอกเบีH ย ณ วันที- ในงบแสดงฐานะทางการเงิน ลูกหนีH และเจ้าหนีH ตามสัญญาแลกเปลี-ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าจะถูก แปลงค่าตามอัตราแลกเปลี-ยน ณ วันสิH นรอบระยะเวลารายงาน กําไรขาดทุนที- ยงั ไม่เกิ ดขึHนจากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ ดังกล่าวจะถูกบันทึกในส่ วนของกําไรหรื อขาดทุน ส่ วนเกินหรื อส่ วนลดที-เกิดขึHนจากการทําสัญญาจะถูกตัดจําหน่ายด้วยวิธีเส้นตรง ตามอายุของสัญญา ลูกหนีH และเจ้าหนีH ตามสัญญาแลกเปลี-ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าแสดงด้วยยอดสุ ทธิ ในงบแสดงฐานะทาง การเงิน สัญญาแลกเปลี-ยนอัตราดอกเบีHยช่วยป้ องกันกลุ่มบริ ษทั จากความเคลื-อนไหวของอัตราดอกเบีHย ส่ วนต่างที-จะต้องจ่ายหรื อทีจะได้รับจากสัญญาแลกเปลี-ยนอัตราดอกเบีHยรับรู ้เป็ นส่ วนประกอบของรายได้ดอกเบีHยหรื อดอกเบีHยจ่ายตลอดอายุของสัญญา รายละเอียดของอนุพนั ธ์ที-เป็ นเครื- องมือทางการเงินที-กลุ่มบริ ษทั เป็ นคู่สญ ั ญาได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 37


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

184 3

การจัดการความเสี- ยงทางการเงิน (ต่อ)

3.3

การประมาณมูลค่ ายุตธิ รรม ตารางต่อไปนีHแสดงการวิเคราะห์เครื- องมือทางการเงินที-วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมจําแนกตามวิธีการประมาณมูลค่า ความแตกต่าง ของระดับข้อมูลสามารถแสดงได้ดงั นีH ¥ ข้อ มู ล ระดับ ที - 1 ได้แ ก่ ราคาเสนอซืH อ ขาย (ไม่ ต ้อ งปรั บ ปรุ ง) ในตลาดที- มี ส ภาพคล่ อ งสําหรั บ สิ น ทรั พ ย์ห รื อ หนีH สิ น อย่างเดียวกัน ¥ ข้อ มู ล ระดับ ที - 2 ได้แ ก่ ข้อ มู ล อื- น นอกเหนื อ จากราคาเสนอซืH อ ขายซึ- งรวมอยู่ในข้อ มู ล ระดับ 1 ทัHงที- ส ามารถสั งเกต ได้โดยตรง (ได้แก่ ข้อมูลราคา) หรื อโดยอ้อม (ได้แก่ ข้อมูลที-คาํ นวณมาจากราคา) สําหรับสิ นทรัพย์นH นั หรื อหนีHสินนัHน ¥ ข้อมูลระดับที- 3 ได้แก่ ข้อมูลสําหรับสิ นทรัพย์หรื อหนีH สินซึ- งไม่ได้มาจากข้อมูลที-สามารถสังเกตได้จากตลาด (ข้อมูลทีไม่สามารถสังเกตได้) ตารางต่อไปนีHแสดงสิ นทรัพย์และหนีHสินทางการเงินที-วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558

ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สิ นทรัพย์ ทางการเงินทีร- ับรู้ มูลค่ ายุตธิ รรม สิ นทรัพย์ทางการเงินเผือ- ขาย ตราสารทุน สิ นทรัพย์ ทางการเงินทีเ- ปิ ดเผยมูลค่ ายุตธิ รรม เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ตราสารอนุพนั ธ์ที-ใช้สาํ หรับป้องกันความเสี- ยง สัญญาแลกเปลี-ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า สัญญาสิ ทธิ สัญญาแลกเปลี-ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบีHย หนีสC ิ นทางการเงินทีเ- ปิ ดเผยมูลค่ ายุตธิ รรม หุน้ กู้ ตราสารอนุพนั ธ์ที-ใช้สาํ หรับป้องกันความเสี- ยง สัญญาแลกเปลี-ยนอัตราดอกเบีHย

ข้ อมูลระดับที- 1 พันบาท

ข้ อมูลระดับที- 2 พันบาท

ข้ อมูลระดับที- 3 พันบาท

งบการเงินรวม รวม พันบาท

2,650,641

-

-

2,650,641

2,772,861

-

-

2,772,861

-

614,774 2,277 327,603

-

614,774 2,277 327,603

-

27,346,473

-

27,346,473

-

180,992

-

180,992


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

185 3

การจัดการความเสี- ยงทางการเงิน (ต่อ)

3.3

การประมาณมูลค่ ายุตธิ รรม (ต่อ) ตารางต่อไปนีHแสดงสิ นทรัพย์และหนีHสินทางการเงินที-วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 (ต่อ)

ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 สิ นทรัพย์ ทางการเงินทีร- ับรู้ มูลค่ ายุตธิ รรม สิ นทรัพย์ทางการเงินเผือ- ขาย ตราสารทุน สิ นทรัพย์ ทางการเงินทีเ- ปิ ดเผยมูลค่ ายุตธิ รรม เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ตราสารอนุพนั ธ์ที-ใช้สาํ หรับป้องกันความเสี- ยง สัญญาแลกเปลี-ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า สัญญาสิ ทธิ สัญญาแลกเปลี-ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบีHย หนีสC ิ นทางการเงินทีเ- ปิ ดเผยมูลค่ ายุตธิ รรม หุน้ กู้ ตราสารอนุพนั ธ์ที-ใช้สาํ หรับป้องกันความเสี- ยง สัญญาแลกเปลี-ยนอัตราดอกเบีHย

ข้ อมูลระดับที- 1 พันบาท

ข้ อมูลระดับที- 2 พันบาท

ข้ อมูลระดับที- 3 พันบาท

งบการเงินรวม รวม พันบาท

30,776

-

-

30,776

2,550,834

-

-

2,550,834

-

706,278 54,843 281,465

-

706,278 54,843 281,465

-

17,138,067

-

17,138,067

-

368,291

-

368,291


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

186 3

การจัดการความเสี- ยงทางการเงิน (ต่อ)

3.3

การประมาณมูลค่ ายุตธิ รรม (ต่อ) ตารางต่อไปนีHแสดงสิ นทรัพย์และหนีHสินทางการเงินที-วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 (ต่อ)

ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สิ นทรัพย์ ทางการเงินทีร- ับรู้ มูลค่ ายุตธิ รรม สิ นทรัพย์ทางการเงินเผือ- ขาย ตราสารทุน สิ นทรัพย์ ทางการเงินทีเ- ปิ ดเผยมูลค่ ายุตธิ รรม เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ตราสารอนุพนั ธ์ที-ใช้สาํ หรับป้องกันความเสี- ยง สัญญาแลกเปลี-ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า สัญญาสิ ทธิ สัญญาแลกเปลี-ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบีHย หนีสC ิ นทางการเงินทีเ- ปิ ดเผยมูลค่ ายุตธิ รรม หุน้ กู้

งบการเงินเฉพาะกิจการ ข้ อมูลระดับที- 3 รวม พันบาท พันบาท

ข้ อมูลระดับที- 1 พันบาท

ข้ อมูลระดับที- 2 พันบาท

2,626,527

-

-

2,626,527

2,772,861

-

-

2,772,861

-

675,241 1,152 327,603

-

675,241 1,152 327,603

-

27,346,473

-

27,346,473

2,550,834

-

-

2,550,834

-

698,381 54,843 281,465

-

698,381 54,843 281,465

-

17,138,067

-

17,138,067

-

6,226

-

6,226

ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 สิ นทรัพย์ ทางการเงินทีเ- ปิ ดเผยมูลค่ ายุตธิ รรม เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ตราสารอนุพนั ธ์ที-ใช้สาํ หรับป้องกันความเสี- ยง สัญญาแลกเปลี-ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า สัญญาสิ ทธิ สัญญาแลกเปลี-ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบีHย หนีสC ิ นทางการเงินทีเ- ปิ ดเผยมูลค่ ายุตธิ รรม หุน้ กู้ ตราสารอนุพนั ธ์ที-ใช้สาํ หรับป้องกันความเสี- ยง สัญญาแลกเปลี-ยนอัตราดอกเบีHย

ไม่มีรายการโอนระหว่างระดับ 1 และระดับ 2 ของลําดับชัHนมูลค่ายุติธรรมในระหว่างปี


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

187 3

การจัดการความเสี- ยงทางการเงิน (ต่อ)

3.3

การประมาณมูลค่ ายุตธิ รรม (ต่อ) (ก)

เครื- องมือทางการเงินในระดับ 1 มูลค่ายุติธรรมของเครื- องมือทางการเงินที-ซHื อขายในตลาดที-มีสภาพคล่องอ้างอิงจากราคาเสนอซืH อขาย ณ วันที-ในงบแสดง ฐานะการเงิน ตลาดจะถือเป็ นตลาดที-มีสภาพคล่องเมื-อราคาเสนอซืH อขายมีพร้อมและสมํ-าเสมอ จากการแลกเปลี-ยน จากตัวแทน นายหน้า กลุ่มอุตสาหกรรม ผูใ้ ห้บริ การด้านราคา หรื อหน่วยงานกํากับดูแล และราคานัHนแสดงถึงรายการในตลาดที-เกิดขึHน จริ งอย่างสมํ-าเสมอ ในราคาซึ- งคู่สญ ั ญาซึ- งเป็ นอิสระจากกันพึงกําหนดในการซืH อขาย (Arm’s length basis) ราคาเสนอซืHอขาย ที-ใช้สาํ หรับสําหรับสิ นทรัพย์ทางการเงินที-ถือโดยกลุ่มบริ ษทั ได้แก่ ราคาเสนอซืH อปั จจุบนั เครื- องมือทางการเงินนีH รวมอยู่ ในระดับ 1

(ข)

เครื- องมือทางการเงินในระดับ 2 มูลค่ายุติธรรมของเครื- องมือทางการเงินที-ไม่ได้มีการซืH อขายในตลาดที-มีสภาพคล่อง (ตัวอย่างเช่น ตราสารอนุพนั ธ์ที-มีการซืH อขาย ในตลาดรองที-ไม่ได้มีการจัดตัHงอย่างเป็ นทางการ (Over-The-Counter) วัดมูลค่าโดยใช้เทคนิคการประเมินมูลค่า โดยเทคนิค การประเมินมูลค่านีHใช้ประโยชน์สูงสุ ดจากข้อมูลในตลาดที-สงั เกตได้ที-มีอยูแ่ ละอ้างอิงจากประมาณการของกิจการเองมาใช้ น้อยที-สุดเท่าที-เป็ นไปได้ ถ้าข้อมูลที-เป็ นสาระสําคัญทัHงหมดในการวัดมูลค่ายุติธรรมได้มาจากข้อมูลที-สังเกตได้ เครื- องมือนัHน จะรวมอยูใ่ นระดับ 2 ถ้าข้อมูลที-เป็ นสาระสําคัญข้อใดข้อหนึ-งหรื อมากกว่าไม่ได้มาจากข้อมูลที-สงั เกตได้ในตลาด เครื- องมือนัHนจะรวมอยูใ่ นระดับ 3 เทคนิคเฉพาะในการประเมินมูลค่าที-ใช้ในการวัดมูลค่าเครื- องมือทางการเงินรวมถึงรายการดังต่อไปนีH ¥ ราคาเสนอซืHอขายของตลาด หรื อราคาเสนอซืHอขายของตัวแทนสําหรับเครื- องมือที-คล้ายคลึงกัน ¥ มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี- ยนอัตราดอกเบีH ยคํานวณจากมูลค่าปั จจุบนั ของประมาณการกระแสเงินสด ในอนาคตโดยอ้างอิงจากเส้นอัตราผลตอบแทน (Yield Curve) ที-สงั เกตได้ ¥ มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซืH อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ากําหนดโดยอ้างอิงจากอัตราแลกเปลี-ยนเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที-ในงบแสดงฐานะการเงิน และคิดลดมูลค่าที-ได้กลับมาเป็ นมูลค่าปั จจุบนั ¥ เทคนิ คอื-น เช่น การวิเคราะห์การคิดลดกระแสเงินสด ใช้ในการกําหนดมูลค่ายุติธรรมของเครื- องมือทางการเงิน ที-เหลือ


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

188 4

การเปลีย- นแปลงนโยบายการบัญชี การจัดประเภทรายการใหม่ และการแก้ ไขรายการในงวดก่ อน การเปลีย- นแปลงนโยบายการบัญชี กลุ่มบริ ษทั ได้มีการเปลี-ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี-ยวกับการวัดมูลค่าที-ดินจากวิธีราคาทุน/การตีราคาใหม่เป็ นวิธีราคาทุนตัHงแต่ วันที- 1 มกราคม พ.ศ. 2559 เพื-อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชี ของกลุ่มบริ ษทั กลุ่มบริ ษทั ได้มีการปรับงบการเงินย้อนหลัง สําหรับการเปลี-ยนแปลงนโยบายการบัญชีดงั กล่าว โดยผลกระทบของการเปลี-ยนแปลงได้แสดงในส่ วนถัดไป การจัดประเภทรายการใหม่ กลุ่มบริ ษทั ได้มีการจัดประเภทรายการใหม่สาํ หรับลูกหนีH อื-นและเจ้าหนีH อื-นในงบแสดงฐานะการเงินรวมที-เดิมแสดงไว้ท-ีสินทรัพย์ หมุนเวียนอื-นและหนีHสินหมุนเวียนอื-นไปเป็ นลูกหนีHการค้าและลูกหนีHอื-น และเจ้าหนีHการค้าและเจ้าหนีHอื-นตามลําดับ กลุ่มบริ ษทั ยังมี การจัดประเภทใหม่สําหรับเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมแห่ งหนึ- งเป็ นเงินลงทุนในการร่ วมค้า ตัวเลขเปรี ยบเทียบจึงมีการจัดประเภท รายการใหม่เพื-อให้สอดคล้องกับการแสดงรายการในปีปั จจุบนั การแก้ ไขรายการในงวดก่ อน กลุ่มบริ ษทั ได้มีการปรับปรุ งงบการเงินย้อนหลังเนื-องจากการคํานวณค่าเสื- อมราคา การรับรู ้รายการภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของ กําไรระหว่างบริ ษทั ในสิ นค้าคงเหลือและส่ วนแบ่งกําไรขาดทุนจากบริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า และการแก้ไขรายการการวัดมูลค่า อนุ พนั ธ์ทางการเงินของบริ ษทั ย่อยในต่างประเทศ กลุ่มบริ ษทั คํานวณรายการภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และรับรู ้ สินทรัพย์และ หนีH สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที-เกิดจากกําไรระหว่างบริ ษทั ในสิ นค้าคงเหลือ และส่ วนแบ่งกําไรขาดทุนจากบริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า ลูกหนีH และเจ้าหนีH ตามสัญญาแลกเปลี-ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าจะถูกแปลงค่าตามอัตราแลกเปลี-ยน ณ วันสิH นรอบระยะเวลา รายงาน กําไรขาดทุนที-ยงั ไม่เกิดขึHนจากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศดังกล่าวจะถูกบันทึกในส่ วนของกําไรหรื อขาดทุน ส่ วนเกิน หรื อส่ วนลดที-เกิดขึHนจากการทําสัญญาจะถูกตัดจําหน่ายด้วยวิธีเส้นตรงตามอายุของสัญญา


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

189 4

การเปลีย- นแปลงนโยบายการบัญชี การจัดประเภทรายการใหม่ และการแก้ ไขรายการในงวดก่ อน (ต่อ) ผลกระทบของการเปลี-ยนแปลงนโยบายการบัญชี การจัดประเภทรายการใหม่ และการแก้ไขรายการในงวดก่อน ตามที-กล่าวข้างต้น ที-มีต่องบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และงบกําไรขาดทุนรวมและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม สําหรับปี สิH นสุ ดวันเดียวกันเป็ นดังนีH

งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ลูกหนีHการค้าและลูกหนีHอื-น - สุ ทธิ ส่ วนของลูกหนีHจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงินที-ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ-งปี สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื-น เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนในการร่ วมค้า ที-ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เจ้าหนีHการค้าและเจ้าหนีHอื-น ส่ วนของเจ้าหนีHจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงินที-ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ-งปี หนีHสินหมุนเวียนอื-น หนีHสินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กําไรสะสม - ยังไม่ได้จดั สรร ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 องค์ประกอบอื-นของส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ณ วันที- 1 มกราคม พ.ศ. 2558 องค์ประกอบอื-นของส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ส่ วนได้เสี ยที-ไม่มีอาํ นาจควบคุม ณ วันที- 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ส่ วนได้เสี ยที-ไม่มีอาํ นาจควบคุม ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ตามทีแ- สดงไว้ เดิม พันบาท

รายการปรับปรุง พันบาท

ปรับปรุงใหม่ พันบาท

15,775,582

778,824

16,554,406

1,421,699 1,624,922 1,620,403 469,889 23,072,327 286,422 12,262,008

190,795 (727,049) (152,034) 152,034 (954,172) 145,791 1,469,474

1,612,494 897,873 1,468,369 621,923 22,118,155 432,213 13,731,482

694,015 2,154,923 4,674,989 24,239,293 877,180 257,622 3,801,524 2,838,033

94,066 (1,456,103) (17,516) 70,041 (604,591) (641,312) (121,182) (84,461)

788,081 698,820 4,657,473 24,309,334 272,589 (383,690) 3,680,342 2,753,572


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

190 4

การเปลีย- นแปลงนโยบายการบัญชี การจัดประเภทรายการใหม่ และการแก้ ไขรายการในงวดก่ อน (ต่อ) ผลกระทบของการเปลี-ยนแปลงนโยบายการบัญชี การจัดประเภทรายการใหม่ และการแก้ไขรายการในงวดก่อน ตามที-กล่าวข้างต้น ที-มีต่องบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และงบกําไรขาดทุนรวมและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม สําหรับปี สิH นสุ ดวันเดียวกันเป็ นดังนีH (ต่อ)

ตามทีแ- สดงไว้ เดิม พันบาท งบกําไรขาดทุนรวม และงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สํ าหรับปี สิCนสุ ดวันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 รายได้จากการขาย ต้นทุนขาย รายได้อื-น กําไรสุ ทธิจากอัตราแลกเปลี-ยน ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าใช้จ่ายอื-น ต้นทุนทางการเงิน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กําไรสําหรับปี จากการดําเนินงานต่อเนื-อง ขาดทุนสําหรับปีจากการดําเนินงานที-ยกเลิก กําไรสําหรับปี - ส่ วนที-เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ กําไรเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี - ส่ วนที-เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ กําไรต่อหุน้ ขัHนพืHนฐานและปรับลด (บาท)

การดําเนินงาน ทีย- กเลิก รายการปรับปรุง (หมายเหตุฯ ข้ อ 12) พันบาท พันบาท

ปรับปรุงใหม่ พันบาท

125,182,812 (105,681,841) 709,125 1,011,972 (6,387,402) (1,592,034) (1,332,021) 5,918,186 5,918,186 5,302,468 6,596,818 5,924,854

(46,955) 161,072 31,590 (57,530) (18,136) 70,041 70,041 70,041 70,041 70,041

(278,548) 791,469 (7,344) 507,674 2,941 (305) 1,015,887 (1,015,887) -

124,904,264 (104,937,327) 701,781 1,173,044 (5,848,138) (57,530) (1,589,093) (1,350,462) 7,004,114 (1,015,887) 5,988,227 5,372,509 6,666,859 5,994,895

1.11

0.02

-

1.13


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

191 4

การเปลีย- นแปลงนโยบายการบัญชี การจัดประเภทรายการใหม่ และการแก้ ไขรายการในงวดก่ อน (ต่อ) ผลกระทบของการเปลี-ยนแปลงนโยบายการบัญชีและการจัดประเภทรายการใหม่ตามที-กล่าวข้างต้นต่องบแสดงฐานะการเงินเฉพาะ บริ ษทั ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เป็ นดังนีH

งบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ลูกหนีHการค้าและลูกหนีHอื-น - สุ ทธิ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื-น ที-ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนีHสินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี องค์ประกอบอื-นของส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ณ วันที- 1 มกราคม พ.ศ. 2558 องค์ประกอบอื-นของส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ตามทีแ- สดงไว้ เดิม พันบาท

รายการปรับปรุง พันบาท

ปรับปรุงใหม่ พันบาท

3,385,609 300,000 4,256,305 24,141 179,590 179,590

116,116 (116,116) (224,487) 20,756 (24,141) (179,590) (179,590)

3,501,725 183,884 4,031,818 20,756 -

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที- 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ได้ถูกนํามาแสดงให้เป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชีไทยฉบับที- 1 เรื- องการนําเสนอ งบการเงิน ย่อหน้าที- 40ก 5

ประมาณการทางบัญชีทสี- ํ าคัญ ข้ อสมมติฐานและการใช้ ดุลพินิจ การประมาณการ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจ ได้มีการประเมินทบทวนอย่างต่อเนื- อง และอยูบ่ นพืHนฐานของประสบการณ์ ในอดีตและปั จจัยอื-น ๆ ซึ-งรวมถึงการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ในอนาคตที-เชื-อว่ามีเหตุผลในสถานการณ์ขณะนัHน กลุ่มบริ ษทั มี การประมาณการทางบัญชี และใช้ขอ้ สมมติ ฐานที- เกี- ยวข้องกับเหตุการณ์ ในอนาคต ผลของประมาณการทางบัญชี อาจไม่ตรงกับผลที-เกิดขึHนจริ ง ประมาณทางการบัญชี ที-สาํ คัญและข้อสมมติฐานที-มีความเสี- ยงอย่างเป็ นสาระสําคัญที-อาจเป็ นเหตุ ให้เกิดการปรับปรุ งยอดคงเหลือของสิ นทรัพย์และหนีHสินในรอบระยะเวลาบัญชีหน้า มีดงั นีH (ก)

ประมาณการด้อยค่าของค่าความนิยม และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที-มีอายุการใช้งานไม่จาํ กัด กลุ่มบริ ษทั ทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิ ยมและสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที- มีอายุการใช้งานไม่จาํ กัดทุกปี ตามที- ได้กล่าว ในหมายเหตุฯ ข้อ 2.10 และข้อ 2.11 ตามลําดับ มูลค่าที-คาดว่าจะได้รับคืนของหน่ วยสิ นทรัพย์ที-ก่อให้เกิดเงินสด พิจารณา จากการคํานวณมูลค่าจากการใช้ และมูลค่าที-คาดว่าจะได้รับคืนของเครื- องหมายการค้าพิจารณาจากมูลค่ายุติธรรม ซึ- งคํานวณ จากวิธีการแบบไม่รวมค่าสิ ทธิ (Relief-from-royalty method) การคํานวณดังกล่าวอาศัยการประมาณการ (หมายเหตุฯ ข้อ 15 และข้อ 17)


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

192 5

ประมาณการทางบัญชีทสี- ํ าคัญ ข้ อสมมติฐานและการใช้ ดุลพินิจ (ต่อ) (ข)

ภาระผูกพันผลประโยชน์เมื-อเกษียณอายุ มูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์เมื-อเกษียณอายุขH ึนอยูก่ บั หลายปั จจัยที-ใช้ในการคํานวณตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยโดยมีขอ้ สมมติฐานหลายตัว รวมถึงข้อสมมติฐานเกี-ยวกับอัตราคิดลด การเปลี-ยนแปลงของข้อสมมติฐานเหล่านีH จะส่ งผลกระทบต่อมูลค่าของภาระผูกพันผลประโยชน์เมื-อเกษียณอายุ กลุ่มบริ ษทั ได้พิจารณาอัตราคิดลดที-เหมาะสมในแต่ละปี ซึ- งได้แก่อตั ราดอกเบีHยที-ควรจะใช้ในการกําหนดมูลค่าปั จจุบนั ของประมาณการกระแสเงินสดที- คาดว่าจะต้องจ่ายภาระผูกพันผลประโยชน์เมื-อเกษียณอายุ ในการพิจารณาอัตราคิดลด ที-เหมาะสมกลุ่มบริ ษทั พิจารณาใช้อตั ราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล ซึ- งเป็ นสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินที-ตอ้ ง จ่ายชําระผลประโยชน์เมื-อเกษียณอายุ และมีอายุครบกําหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาที-ตอ้ งจ่ายชําระภาระผูกพันผลประโยชน์ เมื-อเกษียณอายุที-เกี-ยวข้อง ข้อสมมติฐานหลักอื-น ๆ สําหรับภาระผูกพันผลประโยชน์เมื-อเกษียณอายุพิจารณาจากข้อมูลปั จจุบนั ของตลาด กลุ่มบริ ษทั ได้ เปิดเผยข้อมูลเพิ-มเติมอยูใ่ นหมายเหตุฯ ข้อ 26

6

การจัดการความเสี- ยงในส่ วนของทุน วัตถุประสงค์ของกลุ่มบริ ษทั ในการบริ หารทุนของบริ ษทั นัHนเพื-อดํารงไว้ซ- ึ งความสามารถในการดําเนินงานอย่างต่อเนื-องของกลุ่มบริ ษทั เพื-อสร้างผลตอบแทนต่อผูถ้ ือหุน้ และเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ี-มีส่วนได้เสี ยอื-น และเพือ- ดํารงไว้ซ- ึ งโครงสร้างของทุนที-เหมาะสมเพือ- ลด ต้นทุนของเงินทุน ในการดํารงไว้หรื อปรับโครงสร้างของทุน กลุ่มบริ ษทั อาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปั นผลให้กบั ผูถ้ ือหุ ้น การคืนทุนให้แก่ผถู ้ ือหุ ้น การออกหุน้ ใหม่ หรื อการขายทรัพย์สินเพื-อลดภาระหนีHสิน

7

ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงาน คณะผูบ้ ริ หารกลุ่มไทยยูเนี- ยน คือ ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ นงานของกลุ่มบริ ษทั ผูบ้ ริ หารกําหนดส่ วนงานดําเนิ นงาน จากข้อมูลที-จะถูกสอบทานโดยคณะผูบ้ ริ หารกลุ่มไทยยูเนี- ยน โดยมีจุดประสงค์เพื-อจัดสรรทรัพยากรและประเมินผลการดําเนิ นงาน ของส่ วนงาน เพื- อ วัต ถุ ป ระสงค์ในการบริ ห ารงาน กลุ่ ม บริ ษ ัท จัด โครงสร้ างองค์ก รเป็ นหน่ วยธุ รกิ จตามประเภทของผลิ ต ภัณ ฑ์ และบริ ก าร กลุ่มบริ ษทั มีส่วนงานที-รายงานทัHงสิH น 3 ส่ วนงาน ดังนีH ¥ ผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแปรรู ป ¥ ผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแช่แข็ง แช่เย็น และธุรกิจที-เกี-ยวข้อง ¥ ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ ผลิตภัณฑ์เพิ-มมูลค่า และธุรกิจอื-น กลุ่มบริ ษทั ไม่มีการรวมส่ วนงานดําเนินงานเป็ นส่ วนงานที-รายงานข้างต้น


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

193 7

ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงาน (ต่อ) ผูม้ ี อาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ นงานสอบทานผลการดําเนิ นงานของแต่ละส่ วนงานแยกจากกันเพื-อวัตถุประสงค์ในการ ตัดสิ น ใจเกี- ยวกับ การจัดสรรทรั พ ยากรและการประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ งาน กลุ่ มบริ ษ ทั ประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ งานของส่ วนงาน โดยพิจารณาจากกําไรขัHนต้น ซึ- งวัดมูลค่าโดยใช้เกณฑ์เดียวกับที-ใช้ในการวัดกําไรขัHนต้นในงบการเงิน การบันทึ กบัญ ชี สําหรั บรายการระหว่างส่ วนงานที- รายงานเป็ นไปในลักษณะเดี ยวกับการบันทึ กบัญ ชี สําหรั บรายการธุ รกิ จกับ บุคคลภายนอก งบการเงินรวมได้ตดั รายการระหว่างกันออกแล้ว ข้อมูลเกี-ยวกับรายได้และกําไรขัHนต้นของข้อมูลจําแนกตามส่ วนงานของกลุ่มบริ ษทั สําหรับปี สิH นสุ ดวันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีดงั ต่อไปนีH งบการเงินรวม

สํ าหรับปี สิCนสุ ดวันที31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 รายได้จากลูกค้าภายนอก รายได้ระหว่างส่ วนงาน รายได้ รวม ผลการดําเนินงาน กําไรขัCนต้ นของส่ วนงาน ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ค่าใช้จ่ายอื-น กําไรจากการดําเนินงาน (ไม่รวมรายได้อื-น) ต้นทุนทางการเงิน ส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุน ในบริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า รายได้อื-น กําไรก่ อนค่ าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กําไรสํ าหรับปี จากการดําเนินงานต่ อเนื-อง ขาดทุนสําหรับปีจากการดําเนินงานที-ยกเลิก กําไรสํ าหรับปี

ผลิตภัณฑ์ อาหารทะเล แปรรู ป พันบาท

ผลิตภัณฑ์ อาหารทะเล แช่ แข็ง แช่ เย็น และธุรกิจ ทีเ- กีย- วข้ อง พันบาท

ผลิตภัณฑ์ อาหารสั ตว์ ผลิตภัณฑ์ เพิมมูลค่ า และ ธุรกิจอื-น พันบาท

รวมส่ วนงานทีรายงาน พันบาท

ตัดรายการ ระหว่ างกัน พันบาท

งบการเงินรวม พันบาท

61,041,805 9,326,006

55,832,912 7,523,462

17,500,395 4,752,024

134,375,112 21,601,492

(21,601,492)

134,375,112 -

70,367,811

63,356,374

22,252,419

155,976,604

(21,601,492)

134,375,112

10,425,570

5,026,152

4,464,313

19,916,035

10,859

19,926,894 (13,121,632) (54,960) 6,750,302 (1,440,044) 194,305 1,210,069 6,714,632 (582,529) 6,132,103 (271,953) 5,860,150


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

194 7

ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงาน (ต่อ) ข้อมูลเกี-ยวกับรายได้และกําไรขัHนต้นของข้อมูลจําแนกตามส่ วนงานของกลุ่มบริ ษทั สําหรับปี สิH นสุ ดวันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีดงั ต่อไปนีH (ต่อ) งบการเงินรวม

สํ าหรับปี สิCนสุ ดวันที31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 รายได้จากลูกค้าภายนอก รายได้ระหว่างส่ วนงาน รายได้ รวม ผลการดําเนินงาน กําไรขัCนต้ นของส่ วนงาน ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ค่าใช้จ่ายอื-น ๆ กําไรจากการดําเนินงาน (ไม่รวมรายได้อื-น) ต้นทุนทางการเงิน ส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุน ในบริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า รายได้อื-น กําไรก่ อนค่ าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กําไรสํ าหรับปี จากกาดําเนินงานต่ อเนื-อง ขาดทุนสําหรับปีจากการดําเนินงานที-ยกเลิก กําไรสํ าหรับปี

ผลิตภัณฑ์ อาหารทะเล แปรรู ป พันบาท

ผลิตภัณฑ์ อาหารทะเล แช่ แข็ง แช่ เย็น และธุรกิจ ทีเ- กีย- วข้ อง พันบาท

ผลิตภัณฑ์ อาหารสั ตว์ ผลิตภัณฑ์ เพิมมูลค่ า และ ธุรกิจอื-น พันบาท

รวมส่ วนงานทีรายงาน พันบาท

ตัดรายการ ระหว่ างกัน พันบาท

งบการเงินรวม พันบาท

59,141,931 7,652,189

50,306,850 6,494,062

15,455,483 4,688,161

124,904,264 18,834,412

(18,834,412)

124,904,264 -

66,794,120

56,800,912

20,143,644

143,738,676

(18,834,412)

124,904,264

11,114,623

5,554,969

3,554,936

20,224,528

(257,591)

19,966,937 (12,176,522) (57,530) 7,732,885 (1,589,093) 335,951 1,874,833 8,354,576 (1,350,462) 7,004,114 (1,015,887) 5,988,227


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

195 7

ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงาน (ต่อ) ข้ อมูลเกีย- วกับเขตภูมศิ าสตร์ รายได้จากลูกค้าภายนอกกําหนดขึHนตามสถานที-ตH งั ของลูกค้า

สํ าหรับปี สิCนสุ ดวันที- 31 ธันวาคม รายได้ จากลูกค้ าภายนอก ประเทศไทย ประเทศสหรัฐอเมริ กา ประเทศญี-ปุ่น ประเทศในทวีปยุโรป ประเทศอื-น ๆ รวมรายได้จากลูกค้าภายนอก

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

11,088,194 53,009,905 8,544,810 43,722,243 18,009,960 134,375,112

10,038,548 52,828,575 7,839,005 36,532,300 17,665,836 124,904,264

ข้ อมูลเกีย- วกับลูกค้ ารายใหญ่ ในระหว่างปี สิH นสุ ดวันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 กลุ่มบริ ษทั ไม่มีรายได้จากลูกค้ารายใดที-มีมูลค่าเท่ากับหรื อมากกว่า ร้อยละ 10 ของรายได้ของกลุ่มบริ ษทั 8

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด

ณ วันที- 31 ธันวาคม เงินสดในมือ เงินฝากกระแสรายวันและออมทรัพย์ เงินฝากประจําไม่เกิน 3 เดือน รวมเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

6,443 933,127 36,552 976,122

15,540 2,800,430 2,815,970

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท 887 12,517 13,404

768 2,091,406 2,092,174

เงินฝากประจําไม่เกิ น 3 เดื อน มีอตั ราดอกเบีH ยที- แท้จริ งอยู่ระหว่างร้อยละ 0.20 ต่อปี และร้อยละ 0.80 ต่อปี (พ.ศ. 2558 : ระหว่าง ร้อยละ 0.05 ต่อปี และร้อยละ 1.75 ต่อปี )


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

196 9

ลูกหนีกC ารค้ าและลูกหนีอC ื-น - สุ ทธิ

ณ วันที- 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

ลูกหนีHการค้า หัก ค่าเผือ- หนีHสงสัยจะสู ญ ลูกหนีHการค้า - สุ ทธิ ดอกเบีHยค้างรับ - กิจการที-เกี-ยวข้องกัน (หมายเหตุฯ ข้อ 35) ดอกเบีHยค้างรับ - กิจการอื-น ลูกหนีHอื-น - กิจการที-เกี-ยวข้องกัน ลูกหนีHอื-น - กิจการอื-น ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า บัตรภาษี รายได้คา้ งรับ เงินจ่ายล่วงหน้า รวมลูกหนีHการค้าและลูกหนีHอื-น - สุ ทธิ

15,231,996 (433,857) 14,798,139 225,256 53,905 439,130 496,223 89,312 75,334 234,945 16,412,244

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

16,097,014 (448,392) 15,648,622

3,417,501 (30,237)

62 795 689,342 89,482 29,556 96,547 16,554,406

233,514 116,992 52,508 78,196 16,670 77,525

3,387,264

3,962,669

3,393,769 (28,946) 3,364,823 10,461 783 36,471 79,645 8,354 1,188 3,501,725

ลูกหนีHการค้าสามารถวิเคราะห์ตามอายุหนีHที-คา้ งชําระได้ดงั นีH งบการเงินรวม ณ วันที- 31 ธันวาคม ลูกหนีHการค้า - กิจการอื-น ยังไม่ครบกําหนดชําระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน เกินกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผือ- หนีHสงสัยจะสู ญ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

11,298,894 2,978,323 336,541 61,011 418,399 15,093,168 (433,857) 14,659,311

12,927,287 2,357,439 132,257 130,289 448,035 15,995,307 (448,392) 15,546,915

880,214 488,172 64,208 2,794 27,576 1,462,964 (30,237) 1,432,727

1,202,453 249,388 3,792 28,946 1,484,579 (28,946) 1,455,633


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

197 9

ลูกหนีกC ารค้ าและลูกหนีอC ื-น - สุ ทธิ (ต่อ) ลูกหนีHการค้าสามารถวิเคราะห์ตามอายุหนีHที-คา้ งชําระได้ดงั นีH (ต่อ)

ณ วันที- 31 ธันวาคม ลูกหนีHการค้า - กิจการที-เกี-ยวข้องกัน (หมายเหตุฯ ข้อ 35) ยังไม่ครบกําหนดชําระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน เกินกว่า 12 เดือน

ลูกหนีHการค้า - สุ ทธิ

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

43,152 95,676 138,828

70,037 29,758 1,738 92 82 101,707

1,610,120 339,709 4,708 1,954,537

1,463,732 427,816 17,642 1,909,190

14,798,139

15,648,622

3,387,264

3,364,823

ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มบริ ษทั ไม่มีลูกหนีH การค้าที-ติดภาระคํHาประกันวงเงินสิ นเชื-อ (พ.ศ. 2558: จํานวน 3,582.52 ล้านบาท) ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มบริ ษทั ไม่มีลูกหนีH การค้าสกุลเงินต่างประเทศของบริ ษทั ย่อยในต่างประเทศที-ได้นาํ ไปขายลดแก่ สถาบันการเงิน (พ.ศ. 2558: จํานวน 74 ล้านบาท) 10

สิ นค้ าคงเหลือ - สุ ทธิ

ณ วันที- 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

สิ นค้าสําเร็ จรู ป - สุ ทธิ งานระหว่างทํา - สุ ทธิ วัตถุดิบ - สุ ทธิ วัสดุประกอบและภาชนะบรรจุ - สุ ทธิ สิ นค้าระหว่างทาง อะไหล่และของใช้สิHนเปลือง - สุ ทธิ รวมสิ นค้าคงเหลือ - สุ ทธิ

23,806,750 320,393 9,633,381 1,534,831 3,594,584 736,252 39,626,191

19,152,984 433,398 9,202,903 1,388,156 4,091,478 911,297 35,180,216

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท 1,867,952 1,979,711 146,802 752,629 22,701 4,769,795

1,322,941 9,402 1,493,744 145,727 455,960 17,976 3,445,750


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

198 10

สิ นค้ าคงเหลือ - สุ ทธิ (ต่อ) ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั ตัHงรายการค่าเผื-อมูลค่าสุ ทธิ ที-คาดว่าจะได้รับในงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิ จ การจํา นวน 901.59 ล้านบาท และ 57.43 ล้านบาท ตามลําดับ (พ.ศ. 2558: 1,273.28 ล้านบาท และ 121.62 ล้านบาท ตามลําดับ) ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มบริ ษทั ไม่มีสินค้าคงเหลือที- ได้นาํ ไปจํานําไว้กบั สถาบันการเงินเพื-อคํHาประกันวงเงินสิ นเชื- อ ของบริ ษทั ย่อย (พ.ศ. 2558: จํานวน 7,606.40 ล้านบาท)

11

สิ นทรัพย์ หมุนเวียนอื-น

ณ วันที- 31 ธันวาคม ภาษีเงินได้จ่ายล่วงหน้า ส่ วนลดรอตัดจําหน่าย จากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน ภาษีมูลค่าเพิ-มรอรับคืน สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื-น รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียนอื-น 12

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

277,519

200,488

67,611

95,486

124,995 522,852 251,308 1,176,674

43,202 387,619 266,564 897,873

40,180 31,135 34,513 173,439

37,021 45,450 5,927 183,884

สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนทีถ- ือไว้ เพื-อขายและการดําเนินงานทีย- กเลิก ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มบริ ษทั ได้แสดงเจตนารมณ์ที-จะยกเลิกส่ วนงานประมงในประเทศกาน่า โดยบริ ษทั ย่อยที-ประกอบขึHน เป็ นส่ วนงานนีHได้ถูกรายงานไว้ในงบการเงินเป็ นการดําเนินงานที-ยกเลิก กลุ่มบริ ษทั ได้เข้าเซ็นสัญญาขายและสัญญาตกลงความเข้าใจ ที-จะขายเรื อที-เกี-ยวข้องในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มบริ ษทั คาดว่าจะขายสิ นทรัพย์ที-เกี-ยวข้องทัHงหมดได้ในปี พ.ศ. 2560 สิ นทรัพย์และหนีH สินที-ถูกจัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์และหนีH สินที-ถือไว้เพื-อขาย ณ วันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ส่ วนใหญ่ได้แก่ เรื อ อุปกรณ์ สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์อื-น และหนีHสินอื-น


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

199 12

สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนทีถ- ือไว้ เพื-อขายและการดําเนินงานทีย- กเลิก (ต่อ) กระแสเงินสดสําหรับปี สิH นสุ ดวันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 แสดงได้ดงั นีH งบกระแสเงินสดของการดําเนินงานทีย- กเลิก

สํ าหรับปี สิCนสุ ดวันที- 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน กระแสเงินสดสุ ทธิ

(265,007) 211,667 59,119 5,779

(252,956) (261,532) 515,406 918

ณ วันที- 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

ที-ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สิ นค้าคงเหลือ อื-น ๆ รวมสิ นทรัพย์ของกลุ่มที-จาํ หน่ายที-จดั ประเภทไว้เพื-อขาย

931,910 59,216 41,335 1,032,461

-

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

73,658 14,745 716 89,119

-

12.1 สิ นทรัพย์ ของกลุ่มทีจ- าํ หน่ ายทีจ- ดั ประเภทไว้ เพื-อขาย

12.2 หนีสC ิ นของกลุ่มทีจ- าํ หน่ ายทีจ- ดั ประเภทไว้ เพื-อขาย

ณ วันที- 31 ธันวาคม เจ้าหนีHการค้าและเจ้าหนีHอื-น ประมาณการหนีHสิน อื-น ๆ รวมหนีHสินของกลุ่มที-จาํ หน่ายที-จดั ประเภทไว้เพื-อขาย

ตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน ฉบับที- 5 สิ นทรัพย์และหนีH สินที-ถือไว้เพื-อขายได้ถูกปรับมูลค่าลดลงให้เป็ นมูลค่ายุติธรรมหัก ค่าใช้จ่ายในการขายจํานวน 52.93 ล้านบาท มูลค่ายุติธรรมวัดมูลค่าโดยการใช้ราคาที-คาดว่าจะขายได้ของเรื อและอะไหล่ที-เกี-ยวข้อง


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

200 12

สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนทีถ- ือไว้ เพื-อขายและการดําเนินงานทีย- กเลิก (ต่อ)

12.3 ผลสะสมของรายได้ หรื อค่ าใช้ จ่ายทีร- ับรู้ ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื-นทีเ- กีย- วข้ องกับกลุ่มทีจ- าํ หน่ ายทีจ- ดั ประเภทไว้ เพื-อขาย

ณ วันที- 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

การแปลงค่างบการเงิน

(103,613)

(111,686)

รายละเอี ยดของผลการดําเนิ น งานของการดําเนิ น งานที- ยกเลิ กและการรั บ รู ้ การประเมิ น มู ลค่าใหม่ ของสิ น ทรั พ ย์ห รื อกลุ่มของ สิ นทรัพย์ที-จาํ หน่าย มีดงั นีH

สํ าหรับปี สิCนสุ ดวันที- 31 ธันวาคม รายได้ กําไรขัHนต้น ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริ หาร การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ ขาดทุนจากการดําเนินงาน ต้นทุนทางการเงิน รายได้อ-ืน ขาดทุนก่อนหักภาษี ค่าใชจ่ายภาษีเงินได้ ขาดทุนหลังหักภาษีเงินได้

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

210,142

278,548

(213,315) (6,687) (52,934) (272,936) (672) 1,665 (271,943) (10) (271,953)

(512,921) (507,674) (1,020,595) (2,941) 7,344 (1,016,192) 305 (1,015,887)


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

201 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า จํานวนของเงินลงทุนรับรู ้ในงบแสดฐานะการเงินมีดงั นีH งบการเงินเฉพาะกิจการ

ณ วันที- 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม การร่ วมค้า รวมเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และการร่ วมค้า

10,492,318 626,463

1,468,369 621,923

27,851,936 835,293 -

18,562,950 155,574 -

11,118,781

2,090,292

28,687,229

18,718,524

สํ าหรับปี สิCนสุ ดวันที- 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

บริ ษทั ร่ วม การร่ วมค้า รวมส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนใน บริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า

287,396 (93,091)

342,025 (6,074)

-

-

194,305

335,951

-

-

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

จํานวนที-รับรู ้ในงบกําไรขาดทุนมีดงั นีH ห

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท


เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย

13.1

Thai Union China Co., Ltd. บริ ษทั ไทยยูเนีHยนออนไลน์ช็อป จํากัด Thai Union European Seafood 1 SA

รวม

ผูจ้ ดั จําหน่าย ธุรกิจพาณิ ชย์อิเล็คทรอนิกส์ ผูล้ งทุน

Seafood International One FZCO

ผูล้ งทุน

ผูผ้ ลิตและจําหน่ายอาหาร และสัตว์น9 าํ แช่แข็ง ผูจ้ ดั จําหน่าย

Thai Union Investment Holding Co., Ltd. (TUIH) บริ ษทั แพ็คฟู้ด จํากัด (มหาชน)

สหรัฐ อาหรับเอมิเรตส์ จีน ไทย ลักเซมเบิร์ก

ไทย

มอริ เชียส

0.1 ล้านสหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์เดอร์แฮม 8 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ 1 ล้านบาท 212 ล้านยูโร

330 ล้านบาท

300 ล้านบาท 70 ล้านบาท 500 ล้านบาท 40 ล้านบาท 343.5 ล้านเหรี ยญ สหรัฐฯ 0.5 ล้านยูโร

ไทย

ไทย ไทย ไทย ไทย สหรัฐอเมริ กา

360 ล้านบาท

ไทย

ผูผ้ ลิตและส่ งออกปลาทูน่า กระป๋ องและอาหารแมว ผูผ้ ลิตและส่ งออกอาหาร ทะเลกระป๋ อง ผูผ้ ลิตและส่ งออกกุง้ แช่แข็ง ผูจ้ ดั จําหน่าย ผูผ้ ลิตและจําหน่ายอาหารสัตว์ ผูผ้ ลิตสิH งพิมพ์ทวัH ไป ผูล้ งทุน

บริ ษทั ไทยรวมสิ นพัฒนา อุตสาหกรรม จํากัด บริ ษทั สงขลาแคนนิHง จํากัด (มหาชน)

บริ ษทั ไทยยูเนีHยน ซี ฟ้ดู จํากัด บริ ษทั ธีร์ โฮลดิ9ง จํากัด บริ ษทั ไทยยูเนีHยน ฟี ดมิลล์ จํากัด บริ ษทั ไทยยูเนีHยน กราฟฟิ กส์ จํากัด Thai Union North America, Inc. (TUNA)

300 ล้านบาท

จัดตัCงขึนC ในประเทศ

ลักษณะธุรกิจ

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

360 ล้านบาท

300 ล้านบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

-

-

330 ล้านบาท

300 ล้านบาท 70 ล้านบาท 500 ล้านบาท 40 ล้านบาท 98.6 ล้านเหรี ยญ สหรัฐฯ 222 ล้านยูโร

ทุนเรียกชําระแล้ ว

ชื- อบริษทั

รายละเอียดเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั มีดงั ต่อไปนี9

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13

บริษทั ไทยยูเนี-ยน กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิCนสุ ดวันที- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

100.00 100.00 100.00

60.00

77.44

100.00

51.00 90.00 51.00 98.00 100.00

99.55

99.66

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ร้ อยละ

-

60.00

77.44

100.00

51.00 90.00 51.00 98.00 100.00

99.55

99.66

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ร้ อยละ

สั ดส่ วนเงินลงทุนทืถือโดยกลุ่มบริษทั

-

40.00

22.56

-

49.00 10.00 49.00 2.00 -

0.45

0.34

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ร้ อยละ

-

40.00

22.56

-

49.00 10.00 49.00 2.00 -

0.45

0.34

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ร้ อยละ

สั ดส่ วนของส่ วนได้ เสี ยทีไ- ม่ มอี าํ นาจควบคุม

ราคาทุน

27,851,936

36,433 1,000 9,504,991

575

1,331,470

20,046

189,316 20,699 255,000 96,019 11,741,316

2,006,664

2,648,407

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

18,562,950

-

-

1,331,470

8,900,256

189,316 20,699 255,000 96,019 3,115,350

2,006,433

2,648,407

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

3,035,005

-

-

255,542

1,308,989

18,360 107,100 -

358,386

986,628

60

4,060,405

-

-

214,655

-

53,805 -

386,749

3,405,196

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

เงินปันผลรับระหว่ างปี 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

ANNUAL REPORT 2016 THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

202


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

203 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ) การเปลี+ยนแปลงของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยระหว่างปี มีดงั ต่อไปนี>

สํ าหรับปี สิ@นสุ ดวันทีB 31 ธันวาคม ราคาตามบัญชีตน้ ปี เพิ+มขึ>น - สุ ทธิ จําหน่ายเงินลงทุน การลดทุนในบริ ษทั ย่อย ราคาตามบัญชีปลายปี

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท 18,562,950 19,808,674 (1,610,998) (8,908,690) 27,851,936

16,500,073 2,062,877 18,562,950

เมื+อวันที+ 21 มีนาคม พ.ศ. 2559 Seafood International One FZCO ได้มีการเรี ยกชําระค่าหุ ้นจํานวน 100,000 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เดอร์ แฮม หรื อเทียบเท่าจํานวน 0.96 ล้านบาท บริ ษทั ชําระค่าหุ น้ แล้วจํานวน 0.58 ล้านบาท ส่ วนได้เสี ยที+ไม่มีอาํ นาจควบคุมจํานวน 0.38 ล้านบาท ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้จดั ตั>ง บริ ษทั ไทยยูเนี+ยนออนไลน์ช็อป จํากัด ซึ+ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั มีสดั ส่ วนการถือหุน้ ร้ อ ยละ 100 โดยมี จ าํ นวนหุ ้ น ทั>งหมด 100,000 หุ ้ น มี มู ล ค่ าที+ ต ราไว้ที+ 10 บาทต่ อ หุ ้ น โดยบริ ษ ทั ย่อ ยได้มี ก ารเรี ย กชําระค่ าหุ ้น เต็มจํานวนจํานวน 1 ล้านบาท ในเดื อนพฤษภาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้เพิ+มสัดส่ วนเงินลงทุนในบริ ษทั สงขลา แคนนิ+ ง จํากัด (มหาชน) เป็ นจํานวน 1,500 หุ ้น ที+ราคาจ่ายซื>อเท่ากับ 154 บาทต่อหุน้ รวมเป็ นเงินจํานวนทั>งสิ> น 0.23 ล้านบาท ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้จดั ตั>ง Thai Union China Company Limited ซึ+ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั มีสัดส่ วนการถือหุ ้น ร้อยละ 100 โดยมีทุนจดทะเบียนจํานวน 8 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ บริ ษทั ย่อยได้มีการเรี ยกชําระค่าหุน้ แล้วจํานวน 1 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ หรื อเทียบเท่าจํานวน 36.43 ล้านบาท ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้จดั ตั>งบริ ษทั Tri-Invest LLC ซึ+ งเป็ นบริ ษทั ย่อย มีสัดส่ วนการถือหุ ้นร้อยละ 100 บริ ษทั ได้มี การจ่ายทุนที+ เรี ยกชําระเป็ นจํานวน 45.35 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ หรื อเที ยบเท่า 1,593.18 ล้านบาท และในเดื อนสิ งหาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ย่อยดังกล่าวได้มีการลดทุ น จํานวน 0.77 ล้านเหรี ยญสหรั ฐฯ หรื อเที ยบเท่ า 26.55 ล้านบาท ในเดื อนกัน ยายน พ.ศ. 2559 บริ ษทั เพิ+มเงินลงทุนในบริ ษทั Thai Union North America, Inc. จํานวน 1,900,000 หุ ้น คิดเป็ นเงิน 43.66 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ หรื อ เทียบเท่าจํานวน 1,518.48 ล้านบาท ซึ+งชําระโดยการโอนหุน้ ทั>งหมดในบริ ษทั Tri-Invest LLC เป็ นการตอบแทน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

204 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ) ในเดื อนกันยายน พ.ศ. 2559 บริ ษทั จัดตั>งบริ ษทั Tri-Invest II LLC ซึ+ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั มีสัดส่ วนการถือหุ ้นร้อยละ 100 ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้มีการจ่ายทุนที+เรี ยกชําระเป็ นจํานวน 1.3 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ หรื อเทียบเท่า 46.30 ล้านบาท ต่ อ มาบริ ษ ทั ย่อ ยดังกล่ าวได้มี ก ารลดทุ น จํานวน 0.01 ล้านเหรี ยญสหรั ฐ ฯ หรื อ เที ยบเท่ า 1.93 ล้านบาท และในเดื อ นธัน วาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั เพิ+มเงินลงทุนในบริ ษทํ Thai Union North America, Inc. อีกจํานวน 1.21 ล้านเหรี ยญสหรัฐ หรื อเทียบเท่าจํานวน 43.27 ล้านบาท ซึ+งชําระโดยการโอนหุน้ ทั>งหมดในบริ ษทั Tri-Invest II LLC เป็ นการตอบแทน ในเดื อ นตุ ล าคม พ.ศ. 2559 บริ ษ ัท เพิ+ ม เงิ น ลงทุ น ในบริ ษ ัท Thai Union North America, Inc คิ ด เป็ นเงิ น 200 ล้านเหรี ย ญสหรั ฐ หรื อเทียบเท่าจํานวน 7,064.21 ล้านบาท ในเดื อนธันวาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ซื> อเงิ นลงทุ นทั>งหมดของ Thai Union EU Seafood 1 S.A. ซึ+ งถื อโดย Thai Union Investment Holding Co., Ltd. เป็ นเงินจํานวน 245.80 ล้านยูโร หรื อเทียบเท่าจํานวน 9,504.99 ล้านบาท ในเดื อ นธัน วาคม พ.ศ. 2559 Thai Union Investment Holding Co., Ltd. ได้มี ก ารลดทุ น จดทะเบี ยนเป็ นจํานวน 221.50 ล้านยูโร หรื อเทียบเท่าจํานวน 8,880.21 ล้านบาท บริ ษทั ย่อยดังกล่าวข้างต้นได้รวมอยูใ่ นการจัดทํางบการเงินรวมของกลุ่มบริ ษทั สัดส่ วนของสิ ทธิ ในการออกเสี ยงในบริ ษทั ย่อยที+ถือ โดยบริ ษทั ใหญ่ไม่แตกต่างจากสัดส่ วนที+ถือหุน้ สามัญ ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษทั ย่ อยทีมB สี ่ วนได้ เสี ยทีไB ม่ มอี าํ นาจควบคุมทีมB สี าระสํ าคัญ ยอดรวมของส่ วนได้เสี ยที+ไม่มีอาํ นาจควบคุมในระหว่างปี สิ> นสุ ดวันที+ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มีดงั นี> บริษทั ไทยยูเนีBยน ฟี ดมิลล์ จํากัด พันบาท

Rugen Fisch AG พันบาท

รวม พันบาท

ยอดรวมของส่ วนได้เสี ยที+ไม่มีอาํ นาจควบคุม

859,202

1,890,917

2,750,119

กําไรสําหรับปี ส่ วนที+เป็ นของส่ วนได้เสี ยที+ไม่มีอาํ นาจควบคุม

244,889

69,823

314,712

เงินปั นผลจ่ายให้ส่วนได้เสี ยที+ไม่มีอาํ นาจควบคุมในระหว่างปี

102,900

110,928

213,828


เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

948,265 (902,766) 45,499 1,791,018 (83,044) 1,707,974 1,753,473

ส่ วนทีไ? ม่ หมุนเวียน สิ นทรัพย์ หนีHสิน รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนสุ ทธิ

สิ นทรัพย์สุทธิ

1,616,550

1,818,254 (103,132) 1,715,122

788,889 (887,461) (98,572)

บริษทั ไทยยูเนี?ยน ฟี ดมิลล์ จํากัด พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

ส่ วนทีห? มุนเวียน สิ นทรัพย์ หนีHสิน รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียนสุ ทธิ

ณ วันที? 31 ธันวาคม

งบแสดงฐานะการเงินโดยสรุป

1,147,446

827,069 (20,830) 806,239

1,565,229 (1,224,022) 341,207

พ.ศ. 2559 พันบาท

Rugen Fisch AG

-

-

-

พ.ศ. 2558 พันบาท

2,900,919

2,618,087 (103,874) 2,514,213

2,513,494 (2,126,788) 386,706

พ.ศ. 2559 พันบาท

รวม

1,616,550

1,818,254 (103,132) 1,715,122

788,889 (887,461) (98,572)

พ.ศ. 2558 พันบาท

รายละเอียดด้านล่างแสดงข้อมูลทางการเงินโดยสรุ ปของบริ ษทั ย่อยแต่ละรายที=มีส่วนได้เสี ยที=ไม่มีอาํ นาจควบคุมที=มีสาระสําคัญต่อกลุ่มบริ ษทั ข้อมูลดังกล่าวเป็ นข้อมูลก่อนการตัดรายการระหว่างกัน

ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษทั ย่ อยทีม? สี ่ วนได้ เสี ยทีไ? ม่ มอี าํ นาจควบคุมทีม? สี าระสํ าคัญ (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ)

13

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2016

205


เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

พ.ศ. 2559 พันบาท 4,080,483 516,566 (16,792) 499,774 499,774 244,889 102,900

รายได้ กําไรก่อนภาษี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กําไรหลังภาษีจากการดําเนินงานต่อเนื=อง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื=น กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ

กําไรส่ วนที=เป็ นของส่ วนได้เสี ยที=ไม่มีอาํ นาจควบคุม

เงินปันผลจ่ายให้กบั ส่ วนได้เสี ยที=ไม่มีอาํ นาจควบคุม

51,695

117,201

3,604,850 257,367 (18,182) 239,185 5,932 245,117

พ.ศ. 2558 พันบาท

บริษทั ไทยยูเนี?ยน ฟี ดมิลล์ จํากัด

สํ าหรับปี สิMนสุ ดวันที? 31 ธันวาคม

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสรุป

110,928

69,823

5,311,259 204,689 (62,193) 142,496 (45,919) 96,577

พ.ศ. 2559 พันบาท

Rugen Fisch AG

-

-

-

พ.ศ. 2558 พันบาท

213,828

314,712

9,391,742 721,255 (78,985) 642,270 (45,919) 596,351

พ.ศ. 2559 พันบาท

รวม

51,695

117,201

3,604,850 257,367 (18,182) 239,185 5,932 245,117

พ.ศ. 2558 พันบาท

รายละเอียดด้านล่างแสดงข้อมูลทางการเงินโดยสรุ ปของบริ ษทั ย่อยแต่ละรายที=มีส่วนได้เสี ยที=ไม่มีอาํ นาจควบคุมที=มีสาระสําคัญต่อกลุ่มบริ ษทั ข้อมูลดังกล่าวเป็ นข้อมูลก่อนการตัดรายการระหว่างกัน (ต่อ)

ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษทั ย่ อยทีม? สี ่ วนได้ เสี ยทีไ? ม่ มอี าํ นาจควบคุมทีม? สี าระสํ าคัญ (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ)

13

ANNUAL REPORT 2016 THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

206


เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน จ่ายดอกเบีHย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิได้มาจากกิจกรรมดําเนินงาน เงินสดสุ ทธิได้มา(ใช้ไป)ในกิจกรรมลงทุน เงินสดสุ ทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดที=เพิ=มขึHน(ลดลง) - สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี=ยน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี

สํ าหรับปี สิMนสุ ดวันที? 31 ธันวาคม

งบกระแสเงินสดโดยสรุป

564,215 (20,841) 543,374 (301,246) (230,097) 12,031 15,784 14 27,829

376,470 (18,465) 358,005 (78,356) (280,727) (1,078) 16,862 15,784

บริษทั ไทยยูเนี?ยน ฟี ดมิลล์ จํากัด พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

76,071 (52,947) 23,124 239,880 (191,348) 71,656 (2,344) 69,312

-

Rugen Fisch AG พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

640,286 (73,788) 566,498 (61,366) (421,445) 83,687 15,784 (2,330) 97,141

รวม พ.ศ. 2559 พันบาท

376,470 (18,465) 358,005 (78,356) (280,727) (1,078) 16,862 15,784

พ.ศ. 2558 พันบาท

รายละเอียดด้านล่างแสดงข้อมูลทางการเงินโดยสรุ ปของบริ ษทั ย่อยแต่ละรายที=มีส่วนได้เสี ยที=ไม่มีอาํ นาจควบคุมที=มีสาระสําคัญต่อกลุ่มบริ ษทั ข้อมูลดังกล่าวเป็ นข้อมูลก่อนการตัดรายการระหว่างกัน (ต่อ)

ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษทํ ย่ อยทีม? สี ่ วนได้ เสี ยทีไ? ม่ มอี าํ นาจควบคุมทีม? สี าระสํ าคัญ (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ)

13

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2016

207


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

208 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ) บริ ษทั ที+อยูภ่ ายใต้บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ที+รวมอยูใ่ นการจัดทํางบการเงินรวม มีดงั นี< สั ดส่ วนเงินลงทุน

ชืD อบริษทั ถือหุน้ โดยบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั Thai Union Investment North America LLC (ถือหุน้ โดย TUNA ร้อยละ 100) Tri-Union Seafoods, LLC (ถือหุน้ โดย TUNA ร้อยละ 100) Tri-Union Frozen Products, Inc. (TUFP) (ถือหุน้ โดย TUNA ร้อยละ 100) US Pet Nutrition, LLC (USPN) (ถือหุน้ ร้อยละ 99 โดย TUNA และ ร้อยละ 1 โดย Tri-Union Seafoods, LLC) Canadian Pet Nutrition, ULC (ถือหุน้ โดย USPN ร้อยละ 100) บริ ษทั เอเซี ยนแปซิ ฟิคแคน จํากัด (ถือหุน้ โดย บริ ษทั สงขลาแคนนิ+ง จํากัด (มหาชน) ร้อยละ 99) Yueh Chyang Canned Food Co., Ltd. (ถือหุน้ โดย บริ ษทั สงขลาแคนนิ+ง จํากัด (มหาชน) ร้อยละ 83.30) Thai Union France Holding 2 SAS (TUFH) (ถือหุน้ โดย Thai Union EU Seafood 1 S.A. ร้อยละ 100) Thai Union Europe (เดิมชื+อ “MW Brands SAS”) (ถือหุน้ โดย Thai Union France Holding 2 SAS ร้อยละ 100) MW Brands Seychelles Limited (ถือหุน้ โดย Thai Union Europe ร้อยละ 100) Etablissements Paul Paulet SAS (ถือหุน้ โดย Thai Union Europe ร้อยละ 100)

ลักษณะธุรกิจ ผูผ้ ลิตและจําหน่ายปลาทูน่าและ อาหารทะเลบรรจุกระป๋ อง ผูผ้ ลิตและจําหน่ายปลาทูน่าและ อาหารทะเลบรรจุกระป๋ อง ผูน้ าํ เข้าและจัดจําหน่าย อาหารทะเลแช่แข็ง ผูผ้ ลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ อาหารสัตว์

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ร้ อยละ

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ร้ อยละ

สหรัฐอเมริ กา

100.00

-

สหรัฐอเมริ กา

100.00

100.00

สหรัฐอเมริ กา

100.00

82.00

สหรัฐอเมริ กา

100.00

100.00

-

100.00

จัดตั<งขึน< ในประเทศ

ผูจ้ ดั จําหน่ายอาหารสัตว์ (จดทะเบียนนเลิกกิจการในปี พ.ศ. 2559) ผูผ้ ลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ สําหรับบรรจุอาหาร

แคนาดา

ไทย

99.54

90.09

ผูผ้ ลิตและจําหน่ายปลาทูน่า และอาหารทะเลบรรจุกระป๋ อง

เวียดนาม

82.93

50.77

ผูล้ งทุน

ฝรั+งเศส

100.00

100.00

สํานักงานใหญ่

ฝรั+งเศส

100.00

100.00

ผูส้ ่ งออกปลาทูน่ากระป๋ อง

เซเชลส์

100.00

100.00

ผูผ้ ลิต นําเข้า จัดจําหน่ายและ ส่ งออกอาหารทะเลกระป๋ อง

ฝรั+งเศส

100.00

100.00


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

209 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ) บริ ษทั ที+อยูภ่ ายใต้บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ที+รวมอยูใ่ นการจัดทํางบการเงินรวม มีดงั นี< (ต่อ) สั ดส่ วนเงินลงทุน

ชืD อบริษทั ถือหุน้ โดยบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั (ต่อ) European Seafood Investment Portugal (ถือหุน้ โดย Thai Union Europe ร้อยละ 74 และโดย Thai Union France Holding 2 SAS ร้อยละ 26) Pioneer Food Cannery Limited (ถือหุน้ โดย Etablissements Paul Paulet SAS ร้อยละ 100) Mareblu SRL (ถือหุน้ โดย Thai Union Europe ร้อยละ 74 และโดย Thai Union France Holding 2 SAS ร้อยละ 26) UK Seafood Investments Limited (ถือหุน้ โดย Thai Union Europe ร้อยละ 100) Indian Ocean Tuna Limited (ถือหุน้ โดย Thai Union Europe ร้อยละ 60) John West Foods Limited (ถือหุน้ โดย UK Seafood Investments Limited ร้อยละ 100) Irish Seafood Investments Limited (ถือหุน้ โดย Thai Union Europe ร้อยละ 100) John West Holland BV (ถือหุน้ โดย Irish Seafood Investments Limited ร้อยละ 100) TTV Limited (ถือหุน้ โดย Etablissements Paul Paulet SAS ร้อยละ 50) บริ ษทั เจ้าพระยาห้องเย็น จํากัด (ถือหุน้ โดย แพ็คฟู้ด จํากัด (มหาชน) ร้อยละ 100)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ร้ อยละ

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ร้ อยละ

โปรตุเกส

100.00

100.00

ผูผ้ ลิตปลาทูน่ากระป๋ อง

กานา

100.00

100.00

ผูน้ าํ เข้าและจัดจําหน่ายอาหาร ทะเลกระป๋ อง

อิตาลี

100.00

100.00

สหราช อาณาจักร เซเชลส์

100.00

100.00

60.00

60.00

สหราช อาณาจักร

100.00

100.00

ไอร์แลนด์

100.00

100.00

เนเธอร์แลนด์

100.00

100.00

ประกอบกิจการประมง

กานา

50.00

50.00

ให้เช่าทรัพย์สิน

ไทย

77.44

77.44

ลักษณะธุรกิจ ผูผ้ ลิตและส่ งออกปลาซาร์ดีน และปลาแมคคาเรลกระป๋ อง

ผูล้ งทุน ผูผ้ ลิตและส่ งออกปลาทูน่า กระป๋ อง ผูน้ าํ เข้าและจัดจําหน่าย อาหารทะเลกระป๋ อง ผูน้ าํ เข้าและจัดจําหน่าย อาหารทะเลกระป๋ อง ผูน้ าํ เข้าและจัดจําหน่าย อาหารทะเลกระป๋ อง

จัดตั<งขึน< ในประเทศ


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

210 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ) บริ ษทั ที+อยูภ่ ายใต้บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ที+รวมอยูใ่ นการจัดทํางบการเงินรวม มีดงั นี< (ต่อ)

ชืD อบริษทั ถือหุน้ โดยบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั (ต่อ) บริ ษทั โอคินอสฟู้ด จํากัด (ถือหุน้ โดย แพ็คฟู้ด จํากัด (มหาชน) ร้อยละ 100) บริ ษทั โอคินอส จํากัด (ถือหุน้ โดย แพ็คฟู้ด จํากัด (มหาชน) ร้อยละ 100) บริ ษทั ทักษิณสมุทร จํากัด (ถือหุน้ โดย แพ็คฟู้ด จํากัด (มหาชน) ร้อยละ 100) EUROPEENNE DE LA MER SAS (ถือหุน้ โดย Thai Union France Holding 2 SAS ร้อยละ 100) MERALLIANCE ARMORIC SAS (ถือหุน้ โดย EUROPEENNE DE LA MER SAS ร้อยละ 100) IMSAUM SCI (ถือหุน้ โดย EUROPEENNE DE LA MER SAS ร้อยละ 100) MERALLIANCE SAS (ถือหุน้ โดย EUROPEENNE DE LA MER SAS ร้อยละ 100) MERALLIANCE LOGISTIC (ถือหุน้ โดย EUROPEENNE DE LA MER SAS ร้อยละ 100) MERALLIANCE POLAND (ถือหุน้ โดย EUROPEENNE DE LA MER SAS ร้อยละ 100) ARMOARIC NORWAY (ถือหุน้ โดย EUROPEENNE DE LA MER SAS ร้อยละ 100)

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั<งขึน< ในประเทศ

สั ดส่ วนเงินลงทุน 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ร้ อยละ ร้ อยละ

ผูผ้ ลิตและจําหน่ายอาหาร และสัตว์น< าํ แช่แข็ง

ไทย

77.44

77.44

หยุดดําเนินกิจการ (จดทะเบียนเลิกกิจการ ในปี พ.ศ. 2559) หยุดดําเนินกิจการ

ไทย

-

77.44

ไทย

77.44

77.44

ผูล้ งทุน

ฝรั+งเศส

100.00

100.00

ผูผ้ ลิตปลาแซลมอนรมควัน

ฝรั+งเศส

100.00

100.00

ให้เช่าทรัพย์สิน

ฝรั+งเศส

100.00

100.00

ผูจ้ ดั จําหน่าย ปลาแซลมอนรมควัน

ฝรั+งเศส

100.00

100.00

ประกอบกิจการขนส่ ง

ฝรั+งเศส

100.00

100.00

ผูผ้ ลิตปลาแซลมอนรมควัน

โปแลนด์

100.00

100.00

ผูล้ งทุน

นอร์เวย์

100.00

100.00


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

211 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ) บริ ษทั ที+อยูภ่ ายใต้บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ที+รวมอยูใ่ นการจัดทํางบการเงินรวม มีดงั นี< (ต่อ)

ชืD อบริษทั ถือหุน้ โดยบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั (ต่อ) NACO TRADING (ถือหุน้ โดย ARMORIC NORWAY ร้อยละ 100) ESCO (ถือหุน้ โดย EUROPEENNE DE LA MER SAS ร้อยละ 100) ARMORIC USA (ถือหุน้ โดย EUROPEENNE DE LA MER SAS ร้อยละ 100) Thai Union Norway AS (ถือหุน้ โดย Thai Union EU Seafood 1 S.A. ร้อยละ 100) King Oscar AS (ถือหุน้ โดย Thai Union Norway AS ร้อยละ 100) King Oscar Inc. (ถือหุน้ โดย King Oscar AS ร้อยละ 100) Norway Foods Europe b.v. (ถือหุน้ โดย King Oscar AS ร้อยละ 100) Norway Foods AS (ถือหุน้ โดย King Oscar AS ร้อยละ 100) Thai Union Poland Sp. Z.o.o. (ถือหุน้ โดย Thai Union EU Seafood 1 S.A. ร้อยละ 100) Tri-Union Frozen Products North America, LLC (TUFPNA) (ถือหุน้ โดย TUFP ร้อยละ100) Tri-Union Frozen Products Canada, ULC (ถือหุน้ โดย TUFPNA ร้อยละ 100)

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั<งขึน< ในประเทศ

สั ดส่ วนเงินลงทุน 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ร้ อยละ ร้ อยละ

ผูจ้ ดั จําหน่ายแซลมอน

นอร์เวย์

100.00

100.00

ผูผ้ ลิตและจัดจําหน่าย ปลาแซลมอนรมควัน

สก๊อตแลนด์

100.00

100.00

หยุดดําเนินกิจการ (จดทะเบียนเลิกกิจการ ในปี พ.ศ. 2559) ผูล้ งทุน

สหรัฐอเมริ กา

-

100.00

นอร์เวย์

100.00

100.00

ผูผ้ ลิตและจําหน่ายอาหาร ทะเลกระป๋ อง ผูน้ าํ เข้าและจัดจําหน่าย อาหารทะเลกระป๋ อง ผูน้ าํ เข้าและจัดจําหน่าย อาหารทะเลกระป๋ อง หยุดดําเนินกิจการ (จดทะเบียนเลิกกิจการ ในปี พ.ศ. 2559) ผูผ้ ลิตและจําหน่ายอาหาร ทะเลกระป๋ อง

นอร์เวย์

100.00

100.00

สหรัฐอเมริ กา

100.00

100.00

เบลเยีย+ ม

100.00

100.00

นอร์เวย์

-

100.00

โปแลนด์

100.00

100.00

สหรัฐอเมริ กา

100.00

82.00

แคนาดา

100.00

82.00

ผูล้ งทุน ผูใ้ ห้บริ การด้านเทคนิค


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

212 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ) บริ ษทั ที+อยูภ่ ายใต้บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ที+รวมอยูใ่ นการจัดทํางบการเงินรวม มีดงั นี< (ต่อ) สั ดส่ วนเงินลงทุน

ชืD อบริษทั ถือหุน้ โดยบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั (ต่อ) Thai Union Germany GmbH (TUGe) (ถือหุน้ โดย Thai Union EU Seafood 1 S.A. ร้อยละ 100) Thai Union Marine Nutrients GmbH (ถือหุน้ โดย TUGe ร้อยละ 100) Rugen Fisch AG (ถือหุน้ โดย TUGe ร้อยละ 51) Sassnitz Fisch GmbH (ถือหุน้ โดย Rugen Fisch AG ร้อยละ100) Hawesta-Feinkost Hans Westphal GmbH & Co. KG (ถือหุน้ โดย Rugen Fisch AG ร้อยละ 100) Seafood Beteiligungs - und Verwaltungs GmbH (ถือหุน้ โดย Hawesta-Feinkost Hans Westphal GmbH ร้อยละ 100) Artur Heymann GmbH & Co.KG (ถือหุน้ โดย Hawesta-Feinkost Hans Westphal GmbH ร้อยละ 100) Wefina Feinkost Gunther Wehowsky GmbH (ถือหุน้ โดย Artur Heymann GmbH & Co.KG ร้อยละ 100) Meekrone Fisch-Feinkost GmbH (ถือหุน้ โดย Rugen Fisch AG ร้อยละ 100) Rugener Fischspezialitalen GmbH (ถือหุน้ โดย Rugen Fisch AG ร้อยละ 100) F&M Fish & Meat Vertiebs GmbH (ถือหุน้ โดย Rugen Fisch AG ร้อยละ 100) Ostsee Fisch Verwaltungs GmbH (ถือหุน้ โดย Rugen Fisch AG ร้อยละ 100)

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั<งขึน< ในประเทศ

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ร้ อยละ

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ร้ อยละ

ผูล้ งทุน

เยอรมนี

100.00

-

ผูผ้ ลิตการกลัน+ นํ<ามันปลาทูน่า

เยอรมนี

100.00

-

ผูผ้ ลิตและจําหน่ายอาหารทะเล

เยอรมนี

51.00

-

ผูผ้ ลิตและจําหน่ายอาหารทะเล

เยอรมนี

51.00

-

ผูผ้ ลิตและจําหน่ายอาหารทะเล

เยอรมนี

51.00

-

หยุดดําเนินกิจการ

เยอรมนี

51.00

-

ผูจ้ าํ หน่ายอาหารทะเล

เยอรมนี

51.00

-

ผูจ้ าํ หน่ายอาหารทะเล

เยอรมนี

51.00

-

ให้บริ การเช่าสิ นทรัพย์

เยอรมนี

51.00

-

หยุดดําเนินกิจการ

เยอรมนี

51.00

-

หยุดดําเนินกิจการ

เยอรมนี

51.00

-

หยุดดําเนินกิจการ

เยอรมนี

51.00

-


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

213 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ) บริ ษทั ที+อยูภ่ ายใต้บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ที+รวมอยูใ่ นการจัดทํางบการเงินรวม มีดงั นี< (ต่อ)

ชืD อบริษทั ถือหุน้ โดยบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั (ต่อ) Ostsee Fisch GmbH & Co.Produktions-und Vertriebs KG (ถือหุน้ โดย Rugen Fisch AG ร้อยละ 100) Lysell GmbH & Co.KG (ถือหุน้ โดย Rugen Fisch AG ร้อยละ 100) Lysell Verwaltungs GmbH (ถือหุน้ โดย Lysell GmbH & Co.KG ร้อยละ 100) Lysell Marken GmbH & Co.KG (ถือหุน้ โดย Rugen Fisch AG ร้อยละ 100) Rugen Fisch Verwaltungs GmbH (ถือหุน้ โดย Rugen Fisch AG ร้อยละ 100) Ostsee Fisch Kretinga UAB (gAG) (ถือหุน้ โดย Rugen Fisch AG ร้อยละ 100) Thai Union Canada Inc. (ถือหุน้ โดย Thai Union EU Seafood 1 S.A. ร้อยละ 80) C.H. Rich, Inc. (ถือหุน้ โดย Thai Union Canada Inc.ร้อยละ 100)

สั ดส่ วนเงินลงทุน 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ร้ อยละ ร้ อยละ

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั<งขึน< ในประเทศ

ผูผ้ ลิตและจําหน่ายอาหารทะเล

เยอรมนี

51.00

-

ผูจ้ าํ หน่ายอาหารทะเล

เยอรมนี

51.00

-

หยุดดําเนินกิจการ

เยอรมนี

51.00

-

หยุดดําเนินกิจการ

เยอรมนี

51.00

-

หยุดดําเนินกิจการ

เยอรมนี

51.00

-

ผูผ้ ลิตและจําหน่ายอาหารทะเล

ลิทูเนีย

51.00

-

ผูผ้ ลิตและจําหน่ายอาหารทะเล

แคนาดา

80.00

-

ผูล้ งทุน

แคนาดา

80.00

-

ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2559 Armoric USA, Inc. ซึ+งเป็ นบริ ษทั ย่อยของ Europeenne De la Mer SAS จดทะเบียนเลิกกิจการ ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559 Thai Union Canada ได้ออกหุ ้นสามัญให้แก่ผูถ้ ือหุ ้นรายหนึ+ ง ซึ+ งทําให้สัดส่ วนเงินลงทุนของกลุ่มบริ ษทั ลดลงจากร้อยละ 100 ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2559 เป็ นร้อยละ 80 ในเดือนกรกฏาคม พ.ศ. 2559 เนื+ องจากส่ วนได้เสี ยที+ไม่มีอาํ นาจ ควบคุมดังกล่าวได้ชาํ ระเงินค่าหุน้ จํานวน 2.28 ล้านยูโร คิดเป็ นจํานวนเงิน 89.05 ล้านบาท ในเดื อนสิ งหาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั สงขลาแคนนิ+ ง จํากัด (มหาชน) ซึ+ งเป็ นบริ ษทั ย่อยในกลุ่มบริ ษทั ได้เพิ+ มสัดส่ วนเงิ น ลงทุ น ในบริ ษทั เอเซี ยนแปซิ ฟิคแคน จํากัด โดยทําให้สัดส่ วนเงินลงทุนสําหรับกลุ่มบริ ษทั เพิ+มขึ<นจากร้อยละ 90.09 เป็ นจํานวนร้อยละ 99.54 ที+ราคาจ่ายซื<อจํานวน 142.60 ล้านบาท


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

214 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ) ในเดื อนสิ งหาคม พ.ศ. 2559 Tri-Invest LLC ได้ตกลงในการแลกเปลี+ยนหุ ้น จํานวน 72,390,500 หุ ้น ในบริ ษทั ใหญ่ (TU Shares) ซึ+ งมีการซื< อจากตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2559 บริ ษทั ย่อยดังกล่าวได้โอนหุ ้นในบริ ษทั ใหญ่ (TU Shares) ทั<งหมดให้แก่ Diversified Food Products LLC (“DFP”) ซึ+ งเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยที+ไม่มีอาํ นาจควบคุมใน TUFP เพื+อแลกกับ ส่ วนได้เสี ยคงเหลือทั<งหมดร้อยละ 18 ใน TUFP ที+ถือโดย DFP นอกจากนี< DFP อาจต้องมีการปรับปรุ งราคาจ่ายซื< อให้แก่ Tri-Invest LLC ด้วยเงินสด ในกรณี ท+ ีมีการเกิ ดเหตุการณ์ ที+ก่อให้เกิ ดการปรับปรุ งราคาดังกล่าว ตามที+ระบุในสัญญาแลกเปลี+ยนหุ ้นลงวันที+ 27กันยายน พ.ศ. 2559 ที+ราคาตามสู ตรการคํานวณที+กาํ หนดไว้โดยพิจารณาถึงผลการดําเนินงานในอนาคต ในเดื อนกัน ยายน พ.ศ. 2559 Thai Union North America, Inc. (TUNA) ได้รับ โอนส่ วนได้เสี ยทั<งหมดร้ อยละ 100 ใน Tri-Invest LLC ให้แก่ บริ ษทั โดยแลกเปลี+ ยนกับการออกหุ ้นจํานวน 1,900,000 ล้านหุ ้น ต่อมาในเดื อนธันวาคม พ.ศ. 2559 Tri-Invest LLC ได้จดทะเบียนเลิกบริ ษทั และได้โอนสิ นทรัพย์คงเหลือ ได้แก่ ส่ วนได้เสี ยร้อยละ 18 ใน TUFP ให้แก่ TUNA ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 Canadian Pet Nutrition, ULC ซึ+งเป็ นบริ ษทั ย่อยของ US Pet Nutrition, LLC จดทะเบียนเลิกกิจการ ในเดื อ นพฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2559 ได้มี การจัด ตั<ง C.H. Rich, Inc. ซึ+ งเป็ นบริ ษ ทั ย่อยของ Thai Union Canada มี สัด ส่ วนการถื อหุ ้น ร้อยละ 100 นอกจากนี< Norway Foods AS ซึ+งเป็ นบริ ษทั ย่อยของ King Oscar AS จดทะเบียนเลิกกิจการ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั โอคินอส จํากัด ซึ+งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั แพ็คฟู้ด จํากัด (มหาชน) จดทะเบียนเลิกกิจการ ในเดื อนธัน วาคม พ.ศ. 2559 บริ ษ ทั สงขลาแคนนิ+ ง จํากัด (มหาชน) ซึ+ งเป็ นบริ ษ ทั ย่อยในกลุ่ มบริ ษ ทั ได้เพิ+ มสัดส่ วนเงิ น ลงทุ น ใน Yueh Chyang Canned Food Co., Ltd โดยทําให้สัดส่ วนเงินลงทุนสําหรับกลุ่มบริ ษทั เพิ+มขึ<นจากร้อยละ 50.77 เป็ นจํานวนร้อยละ 82.93 ที+ราคาจ่ายซื< อจํานวน 308.46 ล้านบาท การซื<อธุรกิจ - Rugen Fisch เมื+อวันที+ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 กลุ่มบริ ษทั ได้เสร็ จสิ< นการเข้าซื< อส่ วนได้เสี ยร้อยละ 51 ของหุ ้นใน Rugen Fisch AG ด้วยจํานวน เงิน 44.84 ล้านยูโร หรื อเทียบเท่ากับ 1,760 ล้านบาท กลุ่มบริ ษทั ยังมีสิทธิ ที+จะซื< อและผูถ้ ือหุ น้ รายอื+นที+ถือส่ วนที+ไม่มีอาํ นาจควบคุม มีสิทธิ ท+ีจะขายสําหรับส่ วนได้เสี ยคงเหลือจํานวนร้อยละ 49 ซึ+ งสามารถใช้สิทธิ ได้ต< งั แต่ พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ. 2564 ซึ+ งทําให้กลุ่มบริ ษทั มี ภาระที+จะต้องรับซื< อส่ วนได้เสี ยในส่ วนที+ไม่มีอาํ นาจควบคุมที+เหลือจํานวนร้อยละ 49 กลุ่มบริ ษทั ได้บนั ทึกหนี< สินดังกล่าวไว้เป็ น ส่ วนหนึ+ งของหนี< สินไม่หมุนเวียนอื+น คู่กบั ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ภายใต้รายการสิ ทธิ ในการซื< อส่ วนได้เสี ยที+ไม่มีอาํ นาจควบคุมซึ+ งแสดง อยูใ่ นสํารองอื+นในงบแสดงการเปลี+ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุน้ จํานวน 1,932 ล้านบาท ผลจากการรวมธุรกิจทําให้กลุ่มบริ ษทั คาดว่าจะมีส่วนแบ่งการตลาดในประเทศเยอรมนีเพิ+มขึ<น ค่าความนิยมที+รับรู ้ไม่สามารถนําไป หักเพือ+ ใช้ประโยชน์ทางภาษีได้


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

215 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ) การซื<อธุรกิจ - Rugen Fisch (ต่อ) ค่าความนิ ยมจํานวน 1,053 ล้านบาทจากการรวมธุ รกิ จเกิ ดขึ<นเนื+ องจากหลายปั จจัย เช่ น ประโยชน์ที+จะได้จากการทํางานร่ วมกัน จากแรงงานที+มีทกั ษะ และการประหยัดจากขนาด (Economies of scale) รวมถึงประโยชน์อื+น ๆ ที+ไม่ได้รับรู ้ เช่น แรงงาน เป็ นต้น สิ+ งตอบแทนที+จ่ายเพื+อซื<อเงินลงทุนใน Rugen Fisch AG รวมถึงจํานวนของสิ นทรัพย์และหนี<สินที+ได้รับมาซึ+งรับรู ้ ณ วันรวมธุรกิจ สิD งตอบแทนทีจD ่ าย ณ วันทีซD ื<อกิจการ พันบาท เงินสด สิD งตอบแทนทั<งหมด

1,760,436 1,760,436

ประมาณการมูลค่ าของรายการทีรD ับรู้ ณ วันทีซD ื<อสํ าหรับสิ นทรัพย์ และหนีส< ิ นทีไD ด้ รับมา พันบาท เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี<การค้าและลูกหนี<อื+น สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื+น ที+ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุ ทธิ เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั<นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี<การค้าและเจ้าหนี<อื+น หนี<สินหมุนเวียนอื+น เงินกูย้ มื ระยะยาว หนี<สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รวมสิ นทรัพย์ สุทธิทสีD ามารถระบุได้ มูลค่ายุติธรรมของส่ วนได้เสี ยที+ไม่มีอาํ นาจควบคุม ค่าความนิยม รวม

272,505 369,991 1,096,855 27,725 891,099 2,022,429 (314,078) (882,828) (68,184) (163,044) (612,748) 2,639,722 (1,932,022) 1,052,736 1,760,436


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

216 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ) การซื<อธุรกิจ - Rugen Fisch (ต่อ) กลุ่มบริ ษทั บันทึกสิ นทรัพย์สุทธิ ที+ได้มา ณ วันที+รวมธุรกิจ ส่ วนเกินของสิ+ งตอบแทนทั<งหมดที+โอนกับสิ นทรัพย์สุทธิ ท+ีได้รับมาบันทึก เป็ นค่าความนิยม กลุ่มบริ ษทั ได้รับผลการประเมินมูลค่ายุติธรรมและการจัดสรรราคาซื< อเสร็ จสิ< นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มบริ ษทั วัดมู ลค่าส่ วนได้เสี ยที+ ไม่ มีอาํ นาจควบคุ มด้วยมู ลค่ายุติธรรม ซึ+ งถู กประมาณโดยใช้วิธีคิดลด โดยมู ลค่ายุติธรรมมา จากสมมติ ฐานเกี+ ยวกับวันที+ สามารถใช้สิ ทธิ รวมถึ งใช้อตั ราคิ ดลดที+ อตั ราร้ อยละ 4.52 ต่ อปี โดยมูลค่ายุติธรรมเบื< องต้น ณ วันที+ มี การรวมธุรกิจมีจาํ นวน 1,932 ล้านบาท รายได้ที+รวมอยูใ่ นงบกําไรขาดทุนรวมสําหรับปี สิ< นสุ ดวันที+ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ของ Rugen Fisch AG มีจาํ นวน 5,311 ล้านบาท และมีกาํ ไรจํานวน 143 ล้านบาทสําหรับรอบระยะเวลาเดียวกัน รายได้และกําไรได้ตดั รายการระหว่างกันออกไปแล้ว การซื<อธุรกิจ - Chez Nous เมื+ อ วัน ที+ 30 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2559 กลุ่ ม บริ ษ ทั ได้เข้าทําสั ญ ญาซื< อ สิ น ทรั พ ย์แ ละเสร็ จสิ< น การเข้าซื< อ กลุ่ ม สิ น ทรั พ ย์ด ังกล่ าวของ Les Pecheries de Chez Nous ซึ+ งเป็ นผูแ้ ปรรู ป ล็อ บสเตอร์ ในประเทศแคนาดา เป็ นจํานวนเงิ น 16.36 ล้านเหรี ยญแคนาดา หรื อ เที ยบเท่ ากับ 444 ล้านบาท โดย Thai Union Canada Inc. ซึ+ งเป็ นบริ ษ ทั ย่อ ยของ Thai Union EU Seafood 1 S.A. ได้ถู ก จัด ตั<งขึ< น เพื+อเข้าทํารายการดังกล่าว โดยกลุ่มสิ นทรัพย์น< ี เข้านิ ยามการประกอบกันเป็ นธุรกิจ ผลจากการรวมธุรกิจทําให้กลุ่มบริ ษทั คาดว่าจะช่วย ส่ งเสริ มความเชี+ยวชาญและสร้างความโปร่ งใสให้กบั ลูกค้าของกลุ่มบริ ษทั และเสริ มสร้างความแข็งแกร่ งของบริ ษทั ในอุตสาหกรรม ล็อบสเตอร์แอตแลนติกเหนื อ ค่าความนิ ยมจํานวน 206 ล้านบาทจากการซื< อธุ รกิจ เกิดขึ<นเนื+ องจากหลายปั จจัย เช่น ประโยชน์ที+จะได้จากการทํางานร่ วมกันจากการ แปรรู ปล็อบสเตอร์ และการประหยัดจากขนาด (Economies of scale) ค่าความนิยมที+รับรู ้คาดว่าจะสามารถนําไปใช้ประโยชน์ทางภาษีได้ สิ+ งตอบแทนที+จ่าย และจํานวนของสิ นทรัพย์ที+ได้รับมาซึ+งรับรู ้ ณ วันรวมธุรกิจ มีดงั นี< สิD งตอบแทนทีจD ่ าย ณ วันทีซD ื<อกิจการ พันบาท เงินสด สิD งตอบแทนทั<งหมด

444,376 444,376


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

217 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.1 เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ) การซื< อธุรกิจ - Chez Nous (ต่อ) ประมาณการมูลค่ าของรายการทีรD ับรู้ ณ วันทีซD ื<อสํ าหรับสิ นทรัพย์ ทไีD ด้ มา

พันบาท

สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื+น ที+ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุ ทธิ รวมสิ นทรัพย์ สุทธิทสีD ามารถระบุได้ ค่าความนิยม

1,268 196,727 40,735 238,730 205,646 444,376

รวม

กลุ่มบริ ษทั บันทึ กสิ นทรัพย์สุทธิ ที+ได้มา ณ วันที+ รวมธุ รกิ จ ส่ วนเกิ นของสิ+ งตอบแทนทั<งหมดที+ โอนกับสิ นทรัพย์สุทธิ ที+ได้รับมา บันทึกเป็ นค่าความนิยม กลุ่มบริ ษทั ได้รับผลการประเมินมูลค่ายุติธรรมและการจัดสรรราคาซื< อเสร็ จสิ< นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 รายได้ที+รวมอยูใ่ นงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมได้รวมรายได้เป็ นของ Chez Nous ตั<งแต่วนั ที+ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2559 เป็ นจํานวน 1,138.97 ล้านบาท หากมี ก ารซื< อ กลุ่ ม สิ น ทรั พ ย์ข อง Chez Nous ตั<งแต่ วนั ที+ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ถึ งวัน ที+ 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2559 รายได้เสมื อ นที+ รวมอยูใ่ นงบกําไรขาดทุนรวมมีจาํ นวน 67.88 ล้านเหรี ยญแคนาดา หรื อเทียบเท่ากับ 1,818.97 ล้านบาท 13.2 เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม การเปลี+ยนแปลงของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมระหว่างปี มีดงั ต่อไปนี< สํ าหรับปี สิ<นสุ ดวันทีD 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

ราคาตามบัญชีตน้ ปี เพิ+มขึ<น ส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ภาษีเงินปันผลรับ เงินปั นผลรับ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ราคาตามบัญชีปลายปี

1,468,369 8,787,895 287,396 (8,393) (124,163) 81,214 10,492,318

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

1,293,308 342,025 (91,991) (74,973) 1,468,369

155,574 679,719 835,293

155,574 155,574


เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

ผูผ้ ลิตและส่ งออก ผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากอาหารทะเล ผูจ้ ดั จําหน่ายผลิตภัณฑ์อาหาร ผูล้ งทุน

เงินลงทุนในบริษทั ร่ วมทีถB ือหุ้นโดยบริษทั ย่ อย บริ ษทั ทีเอ็น ฟายน์ เคมีคอลส์ จํากัด (ถือหุน้ โดยบริ ษ ทั ไทยรวมสิ นพัฒนาอุตสาหกรรม จํากัด ร้อยละ 49) LDH (La Doria) Limited (ถือหุน้ โดย John West Foods Limited ร้อยละ 20) Red Lobster Master Holdings. L.P. และ GGCOF RL Blocker, LLC

(1)

48.83 20.00 25.00

สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริ กา

40.00 55.07

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อินเดีย

ไทย

25.00 20.00 25.12

ไทย ไทย อินเดีย

จัดตัEงขึนE ในประเทศ

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ร้ อยละ

20.00 -

48.83

40.00 -

25.00 20.00 25.12

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ร้ อยละ

สั ดส่ วนเงินลงทุน

140,010 295,584

9,083,479

95,940 8,248,186

95,940 8,108,176

44,070

155,574

835,293 44,070

-

37,500 1,010 117,064 384 679,335

37,500 1,010 117,064

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

ราคาทุน 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

บริ ษทั จัดประเภทเงินลงทุนในบริ ษทั ดังกล่าวเป็ นเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เนื=องจากบริ ษทั มีสิทธิออกเสี ยงในบริ ษทั ร่ วมไม่เกินกึ=งหนึ=งของจํานวนสิ ทธิออกเสี ยงทั9งหมด

(ถือหุน้ โดยบริ ษ ทั Thai Union Investments North America LLC ร้อยละ 25)

ผูผ้ ลิตและส่ งออกปูอดั ธุรกิจพาณิ ชย์อิเล็คทรอนิกส์ภายใต้เว็บไซต์ ผูผ้ ลิตและส่ งออกอาหารสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากกุง้ ผูจ้ ดั จําหน่ายผลิตภัณฑ์อาหาร ผูผ้ ลิตและส่ งออกผลิตภัณฑ์จากกุง้

ลักษณะธุรกิจ

เงินลงทุนในบริษทั ร่ วมทีถB ือหุ้นโดยบริษทั ฯ บริ ษทั ลัคกี9 ยูเนี=ยน ฟู้ดส์ จํากัด บริ ษทั บีส ไดเมนชัน= จํากัด Avanti Feeds Limited (บริ ษ ทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์อินเดีย) Seafood International Two FZCO Avanti Frozen Foods Private Limited (1) (ถือหุน้ โดย Avanti Feeds Limited ร้อยละ 60)

ชืB อบริษัท

รายละเอียดเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมมีดงั ต่อไปนี9

13.2 เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม (ต่อ)

13

10,492,318

8,732,239

466,694 8,194,635

70,910

1,760,079

(25,714) 719,147

378,690 22,152 665,804

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

1,468,369

578,951

517,095 -

61,856

889,418

-

342,440 20,133 526,845

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

มูลค่ าตามบัญชี ตามวิธีส่วนได้ เสี ย

ANNUAL REPORT 2016 THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

218


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

219 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.2

เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม (ต่อ) เมื'อวันที' 21 มีนาคม พ.ศ. 2559 Seafood International Two FZCO ได้มีการเรี ยกชําระค่าหุ ้นจํานวน 40,000 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เดอร์แฮมหรื อเทียบเท่าจํานวน 0.38 ล้านบาท ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้เข้าทําสัญญาเพื'อซืJ อหุ น้ จํานวนร้อยละ 40 ของ Avanti Frozen Foods Private Limited (AFFPL) จาก Avanti Feeds Limited ซึ' งมี การดําเนิ น งานในประเทศอิ น เดี ยเป็ นจํานวนเงิ น 1,254.10 ล้านรู ปี วัตถุ ป ระสงค์ของการลงทุ น เพื'อกระจายแหล่งจัดหาวัตถุดิบกุง้ และเพิ'มกําลังการผลิตของกลุ่มบริ ษทั เพื'อตอบสนองความต้องการสิ นค้ากุง้ ที' เพิ'มมากขึJน การซืJ อ กิจการจะเสร็ จสมบูรณ์เมื'อบรรลุขอ้ ตกลงตามที'กาํ หนดไว้ในสัญญาซืJ อขายหุน้ โดยการซืJ อกิจการนีJเสร็ จสิJ นในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559 เมื'อวันที' 10 ตุลาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มบริ ษทั ได้ประกาศการเข้าลงทุนดังต่อไปนีJ (ก) หน่วยลงทุนสามัญจํานวน 2,500,000 หน่วย โดยเป็ นหน่วยลงทุนสามัญจํานวน 1,687,245 หน่วยใน Red Lobster Master Holdings, L.P. (Red Lobster) และหุ ้นกลุ่ ม H ที' จาํ หน่ ายได้แล้วทัJงหมดของ GGCOF RL Blocker, LLC (RL LLC) โดยการซืJ อหุ ้นกลุ่ ม H ดังกล่าวเที ยบได้กบั การเข้าลงทุนในหน่ วยลงทุนสามัญของ Red Lobster เพิ'มเติมอีกจํานวน 812,755 หน่ วย โดยมีผลทําให้ การเข้าลงทุ นทัJงหมดคิ ดเป็ นสัดส่ วนที' ปรั บลดแล้วเที ยบเท่ ากับร้ อยละ 25 ของหน่ วยลงทุ นที' จาํ หน่ ายได้แล้วทัJงหมดของ Red Lobster ที'ราคาทัJงหมดจํานวน 230 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ และ (ข) หน่ วยลงทุ น บุ ริม สิ ท ธิ ที' แปลงสภาพได้จาํ นวน 2,400,000 หน่ วย โดยเป็ นหน่ วยลงทุ น บุ ริม สิ ท ธิ ที'แปลงสภาพได้จาํ นวน 1,619,755 หน่วย ใน Red Lobster และหุ น้ กลุ่ม G ที'จาํ หน่ายได้แล้วทัJงหมดของ RL LLC โดยการซืJ อหุ น้ กลุ่ม G ดังกล่าวเทียบ ได้กบั การเข้าลงทุนในหน่วยลงทุนบุริมสิ ทธิ ที'แปลงสภาพได้ของ Red Lobster เพิ'มเติมอีกจํานวน 780,245 หน่วย โดยมีผลทํา ให้การเข้าลงทุนทัJงหมดคิดเป็ นสัดส่ วนที'ปรับลดแล้วเทียบเท่ากับร้อยละ 24 ของหน่ วยลงทุนที'จาํ หน่ ายได้แล้วทัJงหมดของ Red Lobster ที'ราคาทัJงหมดจํานวน 345 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ และเมื'อครบกําหนด 10 ปี นับจากวันที'ซJื อหน่ วยลงทุนดังกล่าว กลุ่มบริ ษทั ในฐานะผูถ้ ือหน่วยลงทุนสามารถ (ก) ไถ่ถอนหน่วยลงทุนบุริมสิ ทธิ ที'แปลงสภาพได้ หรื อ (ข) หากไม่มีการไถ่ถอน หน่วยลงทุนบุริมสิ ทธิที'แปลงสภาพดังกล่าว ให้การแปลงสภาพดังกล่าวเกิดขึJนโดยอัตโนมัติ ณ วันสิJ นสุ ดระยะเวลาไถ่ถอน ทัJงนีJ ราคาจ่ายซืJ อทัJงหมดเพื'อการได้มาซึ' งตราสารที'ระบุในข้อ (ก) และ (ข) ข้างต้น มีจาํ นวนรวมทัJงสิJ น 575 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ นอกจากนีJ กลุ่มบริ ษทั ยังได้รับสิ ทธิ บางประการในการลงทุนเพิ'มเติ มใน Reb Lobster และ RL LLC ภายในระยะเวลาที' กาํ หนด ที' ราคาตามสู ต รการคํานวณที' กาํ หนดไว้โดยพิ จารณาถึ งผลการดําเนิ น งานในอนาคต โดยสิ ท ธิ ดงั กล่ าวไม่ มี ล กั ษณะบังคับ ให้ กลุ่มบริ ษทั ต้องใช้สิทธิลงทุนเพิ'มเติมดังกล่าวแต่อย่างใด โดยการเข้าลงทุนในตราสารดังกล่าวได้สาํ เร็ จเรี ยบร้อยแล้วในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

220 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.2

เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม (ต่อ) เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมบางบริ ษทั บันทึกโดยอาศัยข้อมูลทางการเงินที'จดั ทําโดยฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั เหล่านัJน ซึ' งข้อมูลทางการเงิน ดังกล่าวยังไม่มีการสอบทานโดยผูส้ อบบัญชี ภายนอก เนื' องจากข้อจํากัดทางด้านเวลาทําให้ฝ่ายบริ หารของบริ ษทั ร่ วมดังกล่าว ไม่สามารถจัดเตรี ยมงบการเงินให้มีการสอบทานได้ รายการข้างล่างนีJ แสดงรายชื'อบริ ษทั ร่ วม ณ วันที' 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ที'มีสาระสําคัญต่อกลุ่มบริ ษทั ตามความเห็นของกรรมการ บริ ษทั ลักษณะของเงินลงทุนในบริษทั ร่ วม ในปี พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558

ชืG อบริษทั Avanti Feeds Limited Red Lobster

จัดตัAงขึนA ใน สั ดส่ วนของส่ วนได้ เสีย (ร้ อยละ) ประเทศ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 อินเดีย สหรัฐอเมริ กา

25.12 25.00

25.12 -

ลักษณะ ความสั มพันธ์

วิธีการวัดมูลค่ า

หมายเหตุ 1 หมายเหตุ 2

วิธีส่วนได้เสี ย วิธีส่วนได้เสี ย

หมายเหตุ 1: Avanti Feeds Limited เป็ นผูผ้ ลิตและส่ งออกอาหารกุง้ ผลิตภัณฑ์แปรรู ปกุง้ ไปทัว' โลก ทัJงนีJ Avanti Feeds Limited เป็ นหุน้ ส่ วนทางยุทธศาสตร์ของกลุ่มบริ ษทั ในส่ วนของการผลิตอาหารกุง้ และแปรรู ปผลิตภัณฑ์กงุ้ ณ ว นั ที' 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มูลค่ายุติธรรมของส่ วนได้เสี ยของกลุ่มบริ ษทั ใน Avanti Feeds Limited ซึ' งเป็ นบริ ษทั จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศอินเดียมีจาํ นวน 2,772.86 ล้านบาท (พ.ศ. 2558: จํานวน 2,550.83 ล้านบาท) และมูลค่าตามบัญชี ของส่ วนได้เสี ยของกลุ่มบริ ษทั มีจาํ นวน 665.80 ล้านบาท (พ.ศ. 2558: จํานวน 526.85 ล้านบาท) หมายเหตุ 2 : Red Lobster ซึ' งเป็ นร้านอาหารทะเลที'มีสาขาอยูใ่ นประเทศสหรัฐอเมริ กาและมีการดําเนิ นงานอยูใ่ นหลายประเทศ เช่น แคนาดา มาเลเซีย และญี'ปุ่น ทัJงนีJ Red Lobster เป็ นหุน้ ส่ วนทางยุทธศาสตร์เพื'อการเติบโตของกลุ่มบริ ษทั ในธุรกิจบริ การด้านอาหาร ไม่มีหนีJสินที'อาจเกิดขึJนซึ'งเกี'ยวข้องกับส่ วนได้เสี ยของกลุ่มบริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วม


เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม (ต่อ)

13.2

(1,259,048) (172,266) (1,431,314) 3,397,407 (500,472) (246,442) 2,650,493

สิ นทรัพย์ สุทธิ หัก ส่ วนได้เสี ยที9ไม่มีอาํ นาจควบคุมในบริ ษทั ร่ วม ตัดรายการระหว่างกัน สิ นทรัพย์สุทธิ

3,381,855 1,446,866 4,828,721

พ.ศ. 2559 พันบาท

2,097,313 2,097,313

(1,269,297) (82,947) (1,352,244)

2,314,351 1,135,206 3,449,557

พ.ศ. 2558 พันบาท

Avanti Feeds Limited

หนีสH ิ น หนีCสินหมุนเวียน หนีCสินไม่หมุนเวียน รวมหนีสH ิ น

รวมสิ นทรัพย์

สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน

ณ วันทีC 31 ธันวาคม

งบแสดงฐานะการเงินโดยสรุป

ข้อมูลทางการเงินสําหรับบริ ษทั ซึ9งปฏิบตั ิตามวิธีส่วนได้เสี ย แสดงดังต่อไปนีC

ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุปสํ าหรับบริษทั ร่ วม

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13

1,837,676 1,837,676

(9,939,480) (16,863,863) (26,803,343)

15,707,319 12,933,700 28,641,019

พ.ศ. 2559 พันบาท

-

-

-

พ.ศ. 2558 พันบาท

Red Lobster

5,235,083 (500,472) (246,442) 4,488,169

(11,198,528) (17,036,129) (28,234,657)

19,089,174 14,380,566 33,469,740

พ.ศ. 2559 พันบาท

2,097,313 2,097,313

(1,269,297) (82,947) (1,352,244)

2,314,351 1,135,206 3,449,557

พ.ศ. 2558 พันบาท

รวม

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2016

221


เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม (ต่อ)

13.2

31,522

-

18,926,043 (475,078) 1,482 (473,596) (473,596)

พ.ศ. 2559 พันบาท

-

-

พ.ศ. 2558 พันบาท

Red Lobster

41,244

32,018,138 800,756 (436,863) 363,893 363,893

พ.ศ. 2559 พันบาท

31,522

10,299,455 1,199,767 (406,953) 792,814 792,814

พ.ศ. 2558 พันบาท

Total

ข้อมูลข้างต้นเป็ นจํานวนที9รวมอยูใ่ นงบการเงินของบริ ษทั ร่ วม (ซึ9 งไม่ใช่เพียงแค่ส่วนแบ่งของกลุ่มบริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วมดังกล่าว) และปรับปรุ งเกี9ยวกับความแตกต่างของนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริ ษทั และ บริ ษทั ร่ วม

41,244

รายได้ กําไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กําไร(ขาดทุน)หลังภาษีจากการดําเนินงานต่อเนื9อง กําไรเบ็ดเสร็ จอื9น กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวม

เงินปันผลรับจากบริ ษทั ร่ วม

13,092,095 1,275,834 (438,345) 837,489 837,489

สํ าหรับปี สิHนสุ ดวันทีC 31 ธันวาคม 10,299,455 1,199,767 (406,953) 792,814 792,814

Avanti Feeds Limited พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสรุป

ข้อมูลทางการเงินสําหรับบริ ษทั ซึ9งปฏิบตั ิตามวิธีส่วนได้เสี ย แสดงดังต่อไปนีC (ต่อ)

ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุปสํ าหรับบริษทั ร่ วม (ต่อ)

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13

ANNUAL REPORT 2016 THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

222


เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม (ต่อ)

13.2

665,804 665,804

สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันที9 1 มกราคม ซืC อระหว่างปี กําไร(ขาดทุน)ในระหว่างปี เงินปันผล ผลต่างจากอัตราแลกเปลี9ยน สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันที9 31 ธันวาคม สัดส่ วนเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม

ส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วม ค่าความนิยม มูลค่าตามบัญชี

(2)

(1)

2,097,313 837,489 (197,601) (86,708) 2,650,493 25.12%

สํ าหรับปี สิHนสุ ดวันทีC 31 ธันวาคม

635,882 7,558,753 8,194,635

2,265,641 (473,595) 751,482 2,543,528 25.00%

-

(2)

(1)

พ.ศ. 2559 พันบาท

ข้อมูลทางการเงินข้างต้นเป็ นข้อมูลสําหรับงวดตัCงแต่วนั ที9 10 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (วันที9ลงทุนในบริ ษทั ร่ วม) ถึงวันที9 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิของ Rad Lobster ณ วันที9ซCือเงินลงทุน

526,845 526,845

1,368,551 792,814 (125,486) 61,434 2,097,313 25.12%

Avanti Feeds Limited พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

การกระทบยอดรายการระหว่างข้อมูลทางการเงินโดยสรุ ปกับมูลค่าตามบัญชีของส่ วนได้เสี ยของกิจการในบริ ษทั ร่ วม

การกระทบยอดรายการข้ อมูลทางการเงินโดยสรุป

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13

-

-

Red Lobster พ.ศ. 2558 พันบาท

1,301,686 7,558,753 8,860,439

2,097,313 2,265,641 363,894 (197,601) 664,774 5,194,021

พ.ศ. 2559 พันบาท

526,845 526,845

1,368,551 792,814 (125,486) 61,434 2,097,313

Total พ.ศ. 2558 พันบาท

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2016

223


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

224 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.2

เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม (ต่อ) บริษทั ร่ วมทีแ9 ต่ ละรายไม่ มสี าระสาคัญ นอกเหนื อจากส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วมดังกล่าวข้างต้น กลุ่มบริ ษทั ยังมีส่วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วมที> แต่ละรายไม่มีสาระสําคัญอีก จํานวนหนึ>ง ซึ>งได้บนั ทึกเงินลงทุนโดยใช้วธิ ีส่วนได้เสี ย ณ วันที9 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

มูลค่าตามบัญชีโดยรวมของส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วมซึ>งแต่ละรายที>ไม่มีสาระสําคัญ

1,631,879

941,524

195,417 195,417

142,870 142,870

จํานวนรวมของส่ วนแบ่งของกลุ่มบริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วม; กําไรสําหรับปี จากการดําเนินงานต่อเนื>อง กําไรเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี 13.3

เงินลงทุนในการร่ วมค้ า การเปลี>ยนแปลงของเงินลงทุนในการร่ วมค้าระหว่างปี มีดงั ต่อไปนีL ข้ อมูลทางการเงินรวม สํ าหรับปี สิGนสุ ดวันที9 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

ราคาตามบัญชีตน้ ปี เพิ>มขึLน ส่ วนแบ่งขาดทุน จําหน่ายเงินลงทุนในการร่ วมค้า ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ราคาตามบัญชีปลายปี

621,923 137,700 (93,091) (59,335) 19,266 626,463

627,997 (6,074) 621,923

เมื>อวันที> 15 มกราคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ทีเอ็มเอซี จํากัด ได้มีการเพิ>มจํานวนทุนจดทะเบียน และเรี ยกชําระค่าหุ ้นเพิ>มเต็มจํานวน จํานวน 137.70 ล้านบาท ในเดื อ นธัน วาคม พ.ศ. 2559 กลุ่ ม บริ ษ ัท ได้จ ํา หน่ า ยเงิ น ลงทุ น ในบริ ษ ัท Century (Shanghai) Trading Co., Ltd และ Cindena Resources Limited มูลค่าจํานวน 0.62 ล้านเหรี ยญสหรัฐ หรื อเทียบเท่าจํานวน 59.33 ล้านบาท


เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

Century (Shanghai) Trading Co., Ltd. (การร่ วมค้าของบริ ษทั ไทย รวมสิ นพัฒนาอุตสาหกรรม จํากัด และบริ ษทั อื=นในสัดส่ วน 50 :50) รวม

Moresby International Holdings Inc. (การร่ วมค้าของบริ ษทั ไทยรวมสิ นพัฒนาอุตสาหกรรม จํากัด และบริ ษทั อื=นใน สัดส่ วน 33:67) Cindena Resources Limited (การร่ วมค้าของบริ ษทั ไทยรวมสิ น พัฒนาอุตสาหกรรม จํากัด และบริ ษทั อื=นในสัดส่ วน 50:50)

บริ ษทั ทีเอ็มเอซี จํากัด (การร่ วมค้าของบริ ษทั ไทยยูเนี=ยน ฟี ดมิลล์ จํากัด และบริ ษทั อื=นในสัดส่ วน 51:49)

ชืB อบริษทั

13.3 เงินลงทุนในการร่ วมค้ า (ต่อ)

13

49.83

-

หมู่เกาะ บริ ติชเวอร์จิNน จีน

49.83

-

หมู่เกาะ บริ ติชเวอร์จิNน

เจ้าของเครื= องหมายการค้า "Century" ซึ=ง เป็ นเครื= องหมายการค้าสําหรับปลาทูน่า กระป๋ องที=จดั จําหน่ายในต่างประเทศ ผูน้ าํ เข้าและส่ งออกอาหาร

33.22

ไทย

จําหน่ายอาหารกุง้ และวัสดุในการ เพาะพันธุ์กงุ้ และลงทุนในบริ ษทั ที= ประกอบธุรกิจเพาะพันธุ์และจําหน่ายกุง้ ผูล้ งทุนในธุรกิจการจับปลา

33.22

26.01

26.01

จัดตัEงขึนE ในประเทศ

ลักษณะธุรกิจ

สั ดส่ วนเงินลงทุน 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ร้ อยละ ร้ อยละ

75,900 659,110

712,835

8,075

136,535

438,600

-

-

136,535

576,300

ราคาทุน 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

626,463

-

-

126,481

499,982

621,923

33,043

8,075

152,034

428,771

มูลค่ าตามบัญชี ตามวิธีส่วนได้ เสีย 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

งบการเงินรวม

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2016

225


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

226 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.3 เงินลงทุนในการร่ วมค้ า (ต่อ) รายการข้างล่างนี. แสดงชื4 อการร่ วมค้า ณ วันที4 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ที4มีสาระสําคัญต่อกลุ่มบริ ษทั ตามความเห็ นของกรรมการ บริ ษทั ลักษณะของเงินลงทุนในการร่ วมค้ าในปี พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558

ชื> อ บริ ษทั ทีเอ็มเอซี จํากัด

ประเทศที> จดทะเบียนจัดตัFง ไทย

สั ดส่ วนของส่ วนได้ เสี ย พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 51.00

51.00

ลักษณะ ความสั มพันธ์

วิธีการวัดมูลค่ า

หมายเหตุ 1

วิธีส่วนได้สีย

หมายเหตุ 1: บริ ษทั ที เอ็มเอซี จํากัด เป็ นผูจ้ าํ หน่ ายอาหารกุง้ และวัสดุ ในการเพาะพันธุ์กุง้ และลงทุ นในบริ ษทั ที4 ประกอบธุ รกิ จ เพาะพันธุ์และจําหน่ายกุง้ ทั.งนี. บริ ษทั ทีเอ็มเอซี จํากัด เป็ นหุ น้ ส่ วนทางยุทธศาสตร์ ของกลุ่มบริ ษทั ในการจัดหากุง้ และเข้าถึงธุ รกิจ การเพาะพันธุ์กงุ้ กลุ่มบริ ษทั ไม่มีภาระผูกพันและหนี.สินที4อาจเกิดขึ.นซึ4งเกี4ยวข้องกับส่ วนได้เสี ยของกลุ่มบริ ษทั ในการร่ วมค้า


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

227 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.3 เงินลงทุนในการร่ วมค้ า (ต่อ) ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุปสํ าหรับการร่ วมค้ า ข้อมูลทางการเงินสําหรับบริ ษทั ทีเอ็มเอซี จํากัด ซึ4งปฏิบตั ิตามวิธีส่วนได้เสี ย แสดงดังต่อไปนี. งบแสดงฐานะการเงินโดยสรุป

ณ วันที> 31 ธันวาคม สิ นทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื4น (ไม่รวมเงินสด) รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน

บริษทั ทีเอ็มเอซี จํากัด พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท 25,527 31,104 56,631

46,947 27,902 74,849

สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน

650,463

666,624

รวมสิ นทรัพย์

707,094

741,473

หนีสF ิ นหมุนเวียน หนี.สินหมุนเวียนอื4น (รวมเจ้าหนี.การค้า) รวมหนี.สินหมุนเวียน

(23,532) (23,532)

(193,086) (193,086)

(5,198) (5,198)

(4,185) (4,185)

รวมหนีสF ิ น

(28,730)

(197,271)

สิ นทรัพย์ สุทธิ หัก ส่ วนได้เสี ยที4ไม่มีอาํ นาจควบคุมในการร่ วมค้า สิ นทรัพย์ สุทธิ

678,364 (13,061) 665,303

544,202 (18,529) 525,673

หนีสF ิ นไม่ หมุนเวียน หนี.สินไม่หมุนเวียนอื4น รวมหนี.สินไม่หมุนเวียน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

228 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.3 เงินลงทุนในการร่ วมค้ า (ต่อ) ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุปสํ าหรับการร่ วมค้ า (ต่อ) ข้อมูลทางการเงินสําหรับบริ ษทั ทีเอ็มเอซี จํากัด ซึ4งปฏิบตั ิตามวิธีส่วนได้เสี ย แสดงดังต่อไปนี. (ต่อ) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสรุป

สํ าหรับปี สิFนสุ ดวันที> 31 ธันวาคม

บริษทั ทีเอ็มเอซี จํากัด พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

รายได้

195,516

164,110

ค่าเสื4 อมราคาและค่าตัดจําหน่าย รายได้ดอกเบี.ยรับ ค่าใช้จ่ายดอกเบี.ยจ่าย

(41,897) 1,348 (613)

(36,810) 310 (2,504)

(127,706) (2,664) (130,370) (130,370)

(148,834) (22,627) (171,461) (171,461)

ขาดทุนสําหรับปี จากการดําเนินงานต่อเนื4อง ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ขาดทุนหลังภาษีเงินได้ ขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื4นสําหรับปี ขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี

ข้อมูลข้างต้นเป็ นจํานวนที4รวมอยูใ่ นงบการเงินของการร่ วมค้า (ซึ4 งไม่ใช่เพียงแค่ส่วนแบ่งของกลุ่มบริ ษทั ในการร่ วมค้าดังกล่าว) และปรับปรุ งเกี4ยวกับความแตกต่างของนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริ ษทั และการร่ วมค้า


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

229 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า (ต่อ)

13.3 เงินลงทุนในการร่ วมค้ า (ต่อ) การกระทบยอดรายการข้ อมูลทางการเงินโดยสรุป การกระทบยอดรายการระหว่างข้อมูลทางการเงินโดยสรุ ปกับมูลค่าตามบัญชีของส่ วนได้เสี ยของกิจการในการร่ วมค้า

สํ าหรับปี สิFนสุ ดวันที> 31 ธันวาคม

บริษทั ทีเอ็มเอซี จํากัด พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันที4 1 มกราคม เพิ4มทุนจดทะเบียน ขาดทุนสําหรับปี สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันที4 31 ธันวาคม ส่ วนได้เสี ยในการร่ วมค้า (ร้อยละ 51.00) ค่าความนิยม มูลค่าตามบัญชี

525,673 270,000 (130,370) 665,303 339,304 160,678 499,982

697,134 (171,461) 525,673 268,093 160,678 428,771

การร่ วมค้ าทีแ> ต่ ละรายไม่ มสี าระสาคัญ นอกเหนื อจากส่ วนได้เสี ยในการร่ วมค้าดังกล่าวข้างต้น กลุ่มบริ ษทั ยังมีส่วนได้เสี ยในการร่ วมค้าที4แต่ละรายไม่มีสาระสําคัญอีก จํานวนหนึ4ง ซึ4งได้บนั ทึกเงินลงทุนโดยใช้วธิ ีส่วนได้เสี ย พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

มูลค่าตามบัญชีโดยรวมส่ วนได้เสี ยในการร่ วมค้าแต่ละรายซึ4งไม่มีสาระสําคัญ

126,481

193,152

จํานวนรวมของส่ วนแบ่งของกลุ่มบริ ษทั ในการร่ วมค้า กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานต่อเนื4อง กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี

(26,602) (26,602)

79,920 79,920

ณ วันที> 31 ธันวาคม


14

2,505,743 (91,288) (4,535) 2,409,920 2,409,920 24,887 (143,179) 9,293 (5,252) (1,568) 2,294,101 2,330,415 (31,779) (4,535) 2,294,101

สํ าหรับปี สิAนสุ ดวันที# 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ งวด - สุ ทธิ การได้มาซึ3 งบริ ษทั ย่อย ซืEอเพิ3มขึEน จําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ การจัดประเภทใหม่ โอนเข้า (ออก) ค่าเสื3 อมราคา การด้อยค่า ผลต่างจากอัตราแลกเปลี3ยน ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุ ทธิ

ณ วันที# 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน (ปรับปรุ งใหม่) หัก ค่าเสื3 อมราคาสะสม ค่าเผือ3 การด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ 11,752,835 (4,682,172) (54,687) 7,015,976

7,048,975 19,259 11,784 (2,859) (4,271) 58,212 366,612 (518,780) (17,782) 54,826 7,015,976

11,430,873 (4,345,637) (36,261) 7,048,975

ทีด# นิ และ ส่ วนปรับปรุ งทีด# นิ อาคารและสิ# งปลูกสร้ าง พันบาท พันบาท

ณ วันที# 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน (ปรับปรุ งใหม่) หัก ค่าเสื3 อมราคาสะสม ค่าเผือ3 การด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

ทีด# นิ อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ

25,106,650 (15,873,325) (550,888) 8,682,437

8,806,140 5,515 237,551 (9,560) (34,738) 4,381 1,803,122 (1,793,305) (515,318) 178,649 8,682,437

22,343,641 (13,521,473) (16,028) 8,806,140

เครื# องจักรและอุปกรณ์ พันบาท

1,059,511 (745,307) 314,204

341,206 6,685 81,954 (2,385) (2,899) (53,276) 70,210 (130,514) 3,223 314,204

977,441 (636,235) 341,206

เครื# องตกแต่ ง ติดตัAง และอุปกรณ์ สํานักงาน พันบาท

868,723 (519,510) 349,213

325,969 16,212 (7,125) (11,854) 1,045 103,786 (80,273) 1,453 349,213

795,239 (469,270) 325,969

ยานพาหนะ พันบาท

3,462,224 3,462,224

3,212,303 2,607,278 (10,065) (51,367) 27,945 (2,353,023) 29,153 3,462,224

3,213,023 (720) 3,212,303

สินทรัพย์ ระหว่ าง ติดตัAงและก่ อสร้ าง พันบาท

44,580,358 (21,852,093) (610,110) 22,118,155

22,144,513 31,459 2,979,666 (31,994) (105,129) (104,872) (2,528,124) (533,100) 265,736 22,118,155

41,265,960 (19,064,623) (56,824) 22,144,513

รวม พันบาท

งบการเงินรวม

ANNUAL REPORT 2016 THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

230


14

2,330,415 (31,779) (4,535) 2,294,101 2,294,101 89,404 19,431 (2,075) 4,871 (5,897) 4,276 (7,999) 2,396,112 2,435,551 (39,180) (259) 2,396,112

สํ าหรับปี สิAนสุ ดวันที# 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีตน้ งวด - สุ ทธิ การได้มาซึ3 งบริ ษทั ย่อย ซืE อเพิ3มขึEน จําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ การจัดประเภทใหม่ โอนเข้า (ออก) ค่าเสื3 อมราคา การด้อยค่า การกลับรายการการด้อยค่า ผลต่างจากอัตราแลกเปลี3ยน ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุ ทธิ

ณ วันที# 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื3 อมราคาสะสม ค่าเผือ3 การด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ 13,609,428 (5,966,724) 7,642,704

7,015,976 604,030 103,371 (837) (12,852) 155,737 502,390 (587,321) (84) (137,706) 7,642,704

11,752,835 (4,682,172) (54,687) 7,015,976

ทีด# นิ และ ส่ วนปรับปรุ งทีด# นิ อาคารและสิ# งปลูกสร้ าง พันบาท พันบาท

ณ วันที# 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื3 อมราคาสะสม ค่าเผือ3 การด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

ทีด# นิ อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)

24,230,992 (16,140,108) (17,232) 8,073,652

8,682,437 354,942 332,724 (153,795) (4,060) (457,018) 1,204,311 (1,884,832) (663) 102,945 (103,339) 8,073,652

25,106,650 (15,873,325) (550,888) 8,682,437

เครื# องจักรและอุปกรณ์ พันบาท

1,235,780 (856,552) 379,228

314,204 22,252 110,038 (240) (430) 10,356 78,192 (149,431) (5,713) 379,228

1,059,511 (745,307) 314,204

เครื# องตกแต่ ง ติดตัAง และอุปกรณ์ สํานักงาน พันบาท

898,570 (572,157) 326,413

349,213 10,074 25,473 (2,792) 2 4,170 47,106 (103,994) (2,839) 326,413

868,723 (519,510) 349,213

ยานพาหนะ พันบาท

4,462,457 4,462,457

3,462,224 7,124 3,454,420 (26,134) (3,572) (575,166) (1,836,870) (19,569) 4,462,457

3,462,224 3,462,224

สินทรัพย์ ระหว่ าง ติดตัAงและก่ อสร้ าง พันบาท

46,872,778 (23,574,721) (17,491) 23,280,566

22,118,155 1,087,826 4,045,457 (183,798) (20,912) (863,996) (2,731,475) (747) 107,221 (277,165) 23,280,566

44,580,358 (21,852,093) (610,110) 22,118,155

รวม พันบาท

งบการเงินรวม

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2016

231


14

791,245 791,245

791,245 791,245

791,245 791,245

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

สํ าหรับปี สิAนสุ ดวันที# 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ งวด - สุ ทธิ ซืE อเพิ3มขึEน จําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ โอนเข้า (ออก) ค่าเสื3 อมราคา

ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุ ทธิ

ณ วันที# 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน (ปรับปรุ งใหม่) หัก ค่าเสื3 อมราคาสะสม ค่าเผือ3 การด้อยค่า

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

1,728,291

2,677,676 (913,124) (36,261)

1,728,291

1,794,274 3,284 36,771 (106,038)

1,794,274

2,637,621 (807,086) (36,261)

ทีด# นิ และ ส่ วนปรับปรุ งทีด# นิ อาคารและสิ# งปลูกสร้ าง พันบาท พันบาท

ณ วันที# 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน (ปรับปรุ งใหม่) หัก ค่าเสื3 อมราคาสะสม ค่าเผือ3 การด้อยค่า

ทีด# นิ อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)

1,039,536

3,251,304 (2,211,768) -

1,039,536

1,072,956 51,543 (2,267) 149,656 (232,352)

1,072,956

3,090,439 (2,017,483) -

เครื# องจักรและอุปกรณ์ พันบาท

34,391

137,558 (103,167) -

34,391

32,363 10,195 (6) (17) 10,979 (19,123)

32,363

116,945 (84,582) -

เครื# องตกแต่ ง ติดตัAง และอุปกรณ์ สํานักงาน พันบาท

70,323

160,128 (89,805) -

70,323

66,407 3,736 (37) (11,737) 20,983 (9,029)

66,407

152,900 (86,493) -

ยานพาหนะ พันบาท

368,032

368,032 -

368,032

279,979 306,442 (218,389) -

279,979

279,979 -

สินทรัพย์ ระหว่ าง ติดตัAงและก่ อสร้ าง พันบาท

4,031,818

7,385,943 (3,317,864) (36,261)

4,031,818

4,037,224 375,200 (2,310) (11,754) (366,542)

4,037,224

7,069,129 (2,995,644) (36,261)

รวม พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ANNUAL REPORT 2016 THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

232


14

791,245 791,245

791,245 791,245

791,245 791,245

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

สํ าหรับปี สิAนสุ ดวันที# 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีตน้ งวด - สุ ทธิ ซืEอเพิ3มขึEน จําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ การจัดประเภทใหม่ โอนเข้า (ออก) ค่าเสื3 อมราคา

ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุ ทธิ

ณ วันที# 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื3 อมราคาสะสม

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

1,733,125

2,757,281 (1,024,156)

1,733,125

1,728,291 690 1,693 809 113,483 (111,841)

1,728,291

2,677,676 (913,124) (36,261)

ทีด# นิ และ ส่ วนปรับปรุงทีด# นิ อาคารและสิ# งปลูกสร้ าง พันบาท พันบาท

ณ วันที# 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื3 อมราคาสะสม ค่าเผือ3 การด้อยค่า

ทีด# นิ อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)

951,547

3,347,875 (2,396,328)

951,547

1,039,536 41,939 (4,495) (4) 114,765 (240,194)

1,039,536

3,251,304 (2,211,768) -

เครื# องจักรและอุปกรณ์ พันบาท

97,376

200,676 (103,300)

97,376

34,391 36,167 (13) 2,485 45,676 (21,330)

34,391

137,558 (103,167) -

เครื# องตกแต่ ง ติดตัAง และอุปกรณ์ สํานักงาน พันบาท

70,509

160,627 (90,118)

70,509

70,323 3,023 (556) 10,993 (13,274)

70,323

160,128 (89,805) -

ยานพาหนะ พันบาท

610,609

610,609 -

610,609

368,032 527,494 (284,917) -

368,032

368,032 -

สินทรัพย์ ระหว่ าง ติดตัAงและก่ อสร้ าง พันบาท

4,254,411

7,868,313 (3,613,902)

4,254,411

4,031,818 609,313 (3,358) (17) 3,294 (386,639)

4,031,818

7,385,943 (3,317,864) (36,261)

รวม พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2016

233


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

234 14

ทีด# นิ อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ) ค่าเสื) อมราคาจํานวนเงิน 2,731 ล้านบาท (พ.ศ. 2558 : จํานวน 2,528 ล้านบาท) จะถูกบันทึกอยูใ่ นต้นทุนขายจํานวน 2,529 ล้านบาท (พ.ศ. 2558: จํานวน 2,338 ล้านบาท) ในค่าใช้จ่ายในการขายจํานวน 8 ล้านบาท (พ.ศ. 2558: จํานวน 10 ล้านบาท) และบันทึกเป็ น ค่าใช้จ่ายในการบริ หารจํานวนเงิน 194 ล้านบาท (พ.ศ. 2558: จํานวนเงิน 180 ล้านบาท) สิ นทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงินที)กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั เป็ นผูเ้ ช่าซึ) งรวมแสดงในรายการข้างต้นส่ วนใหญ่ประกอบด้วยโรงงานและ เครื) องจักร มีรายละเอียดดังนีO งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ณ วันที# 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

ราคาทุนของสิ นทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน หัก ค่าเสื) อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

734,120 (294,960) 439,160

431,015 (313,488) 117,527

70,894 (19,478) 51,416

78,996 (33,074) 45,922

ณ วันที) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ที)ดิน อาคาร และอุปกรณ์ของบริ ษทั ย่อยในต่างประเทศจํานวนรวม 381.87 ล้านบาท (พ.ศ. 2558 : จํานวน 1,119.30 ล้านบาท) ได้นาํ ไปจดจํานองไว้กบั สถาบันการเงินเพื)อคํOาประกันเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ต้นทุนการกูย้ มื จํานวน 44.94 ล้านบาท เกิดจากเงินกูย้ มื ที)ยมื มาเฉพาะเพื)อสร้างโรงงานใหม่ และได้บนั ทึกเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์ รวมและอยูใ่ นรายการซืO อสิ นทรัพย์ กลุ่มบริ ษทั ใช้อตั ราการตัOงขึOนเป็ นทุนร้อยละ 1.92 ในการคํานวณต้นทุนที)รวมเป็ นราคาทุนของ สิ น ทรั พ ย์ อัตราการตัOงขึO น เป็ นทุ น ดังกล่าวเป็ นอัตราต้นทุ นการกูย้ ืมที) เกิ ดจริ งจากเงิ นกูย้ ืมที) นํามาใช้เป็ นเงิ นทุ นในการก่ อสร้ าง โครงการ


15

275,200 (60,212) 214,988 214,988 207 11,792 (8,838) 9,723 227,872 298,712 (70,840) 227,872

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

สํ าหรับปี สิMนสุ ดวันที< 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ งวด - สุ ทธิ การได้มาซึ6งบริ ษทั ย่อย ซืEอเพิ6มขึEน จําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ การจัดประเภทใหม่ โอนเข้า (ออก) ค่าตัดจําหน่าย ผลต่างจากอัตราแลกเปลี6ยน

ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุ ทธิ

ณ วันที< 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ค่าเผือ6 การด้อยค่า

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

ลิขสิ ทธิ9 พันบาท

ณ วันที< 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ค่าเผือ6 การด้อยค่า

สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน - สุ ทธิ

13,053,738

13,596,970 (333,053) (210,179)

13,053,738

13,112,853 82,972 403 (8,673) (133,817)

13,112,853

13,622,039 (296,503) (212,683)

เครื< องหมายการค้ า พันบาท

391,248

600,501 (209,253) -

391,248

73,029 350,934 (47,435) 14,720

-

139,477 (139,477) -

ความสั มพันธ์ กบั ลูกค้ า พันบาท

544,331

1,315,492 (771,161) -

544,331

315,924 345 252,501 (558) (501) 87,801 (120,425) 9,244

315,924

896,590 (580,666) -

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ พันบาท

165,114

222,829 (57,715) -

165,114

178,772 (10,723) (2,935)

178,772

226,010 (47,238) -

ความสั มพันธ์ กับผู้จดั จําหน่ าย พันบาท

12,656

41,302 (28,646) -

12,656

374,657 2,760 (345,665) (1,949) (17,147)

374,657

405,717 (31,060) -

อื<น ๆ พันบาท

14,394,959

16,075,806 (1,470,668) (210,179)

14,394,959

14,197,194 156,346 255,871 (558) (501) 104,862 (198,043) (120,212)

14,197,194

15,565,033 (1,155,156) (212,683)

รวม พันบาท

งบการเงินรวม

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2016

235


15

298,712 (70,840) 227,872 227,872 2,169 26 (10,140) (36,129) 183,798 303,584 (119,786) 183,798

สํ าหรับปี สิMนสุ ดวันที< 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีตน้ งวด - สุ ทธิ การได้มาซึ6 งบริ ษทั ย่อย ซืE อเพิ6มขึEน จําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ การจัดประเภทใหม่ โอนเข้า (ออก) ค่าตัดจําหน่าย ค่าเผือ6 การด้อยค่า กลับรายการค่าเผือ6 การด้อยค่า ผลต่างจากอัตราแลกเปลี6ยน ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุ ทธิ

ณ วันที< 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ค่าเผือ6 การด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

ลิขสิ ทธิ9 พันบาท

ณ วันที< 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ค่าเผือ6 การด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน - สุ ทธิ (ต่อ)

14,467,109 (331,558) (167,435) 13,968,116

13,053,738 1,476,165 275 (1,067) 35,290 (596,285) 13,968,116

13,596,970 (333,053) (210,179) 13,053,738

เครื< องหมายการค้ า พันบาท

1,316,775 (346,205) 970,570

391,248 541,785 14,230 163,423 (90,666) (49,450) 970,570

600,501 (209,253) 391,248

ความสั มพันธ์ กับลูกค้ า พันบาท

1,386,909 (940,416) (6,882) 439,611

544,331 2,311 37,943 (211) (474) 11,892 88 (142,639) (6,882) (6,748) 439,611

1,315,492 (771,161) 544,331

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ พันบาท

39,878 (3,988) 35,890

165,114 40,734 (163,423) (3,992) (2,543) 35,890

222,829 (57,715) 165,114

ความสั มพันธ์ กับผู้จดั จําหน่ าย พันบาท

39,775 (33,089) 6,686

12,656 (2,461) (3,012) (497) 6,686

41,302 (28,646) 12,656

อื<น ๆ พันบาท

331,262 331,262

331,179 (88) 171 331,262

-

ค่ าพัฒนาผลิตภัณฑ์ ระหว่ างทํา พันบาท

17,885,292 (1,775,042) (174,317) 15,935,933

14,394,959 2,063,164 383,653 (211) (474) 9,431 (251,516) (6,882) 35,290 (691,481) 15,935,933

16,075,806 (1,470,668) (210,179) 14,394,959

รวม พันบาท

งบการเงินรวม

ANNUAL REPORT 2016 THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

236


15

-

-

-

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

สํ าหรับปี สิMนสุ ดวันที< 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ งวด - สุ ทธิ ซืEอเพิ6มขึEน ค่าตัดจําหน่าย

ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุ ทธิ

ณ วันที< 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

ลิขสิ ทธิ9 พันบาท

ณ วันที< 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม

สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน - สุ ทธิ (ต่อ)

-

-

-

-

-

-

เครื< องหมายการค้ า พันบาท

-

-

-

-

-

-

ความสั มพันธ์ กับลูกค้ า พันบาท

206,178

220,617 (14,439)

206,178

21,082 189,515 (4,419)

21,082

31,101 (10,019)

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ พันบาท

-

-

-

-

-

-

ความสั มพันธ์ กับผู้จดั จําหน่ าย พันบาท

-

-

-

-

-

-

ค่ าพัฒนาผลิตภัณฑ์ ระหว่ างทํา พันบาท

206,178

220,617 (14,439)

206,178

21,082 189,515 (4,419)

21,082

31,101 (10,019)

รวม พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2016

237


15

-

-

-

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

สํ าหรับปี สิMนสุ ดวันที< 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีตน้ งวด - สุ ทธิ ซืEอเพิ6มขึEน การจัดประเภทใหม่ ค่าตัดจําหน่าย

ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุ ทธิ

ณ วันที< 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

ลิขสิ ทธิ9 พันบาท

ณ วันที< 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม

สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน - สุ ทธิ (ต่อ)

-

-

-

-

-

-

เครื< องหมายการค้ า พันบาท

-

-

-

-

-

-

ความสั มพันธ์ กับลูกค้ า พันบาท

193,858

220,997 (27,139)

193,858

206,178 380 175 (12,875)

206,178

220,617 (14,439)

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ พันบาท

-

-

-

-

-

-

ความสั มพันธ์ กับผู้จดั จําหน่ าย พันบาท

-

-

-

-

-

-

อื<น ๆ พันบาท

319,696

319,696 -

319,696

319,696 -

-

-

ค่ าพัฒนาผลิตภัณฑ์ ระหว่ างทํา พันบาท

513,554

540,693 (27,139)

513,554

206,178 320,076 175 (12,875)

206,178

220,617 (14,439)

รวม พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ANNUAL REPORT 2016 THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

238


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

239 15

สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน - สุ ทธิ (ต่อ) ค่าพัฒนาผลิตภัณฑ์ระหว่างทําได้รวมต้นทุนในการพัฒนาและต้นทุนอืAน ๆ ซึAงเกิดจากการพัฒนาภายในกลุ่มบริ ษทั เอง ค่าตัดจําหน่ ายจํานวน 252 ล้านบาท (ปี 2558 : 198 ล้านบาท) ได้รวมอยูใ่ นต้นทุนขายจํานวน 13 ล้านบาท (ปี 2558: 13 ล้านบาท) รวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการขายจํานวน 52 ล้านบาท (ปี 2558: 1 ล้านบาท) และได้รวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หารจํานวน 187 ล้านบาท (ปี 2558 : 184 ล้านบาท) ณ วันทีA 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มบริ ษทั ไม่มีสินทรัพย์ไม่มีตวั ตนทีAติดภาระคํRาประกันวงเงินสิ นเชืAอของบริ ษทั ย่อย (พ.ศ. 2558 : เครืA องหมายการค้า “Chicken of the Sea” ของบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึA งในต่างประเทศจํานวน 195.48 ล้านบาทติดภาระคํRาประกันวงเงิน สิ นเชืAอของบริ ษทั ย่อย) การทดสอบการด้ อยค่ าของเครื= องหมายการค้ า เครืA องหมายการค้าของกลุ่มบริ ษทั ได้มาจากการรวมธุรกิจ โดยกลุ่มบริ ษทั ได้พิจารณาถึงความเสถียรของผลการดําเนิ นงาน ความแข็งแกร่ ง ของเครืA องหมายการค้า และความตัRงใจของผูบ้ ริ หาร เครืA องหมายการค้ามีอายุการให้ประโยชน์ไม่จาํ กัดจึงไม่มีการคิดการตัดจําหน่าย มู ล ค่ าทีA ค าดว่าจะได้รับ คื น พิ จารณาจากมู ล ค่ ายุติ ธ รรมซึA งคํานวณจากวิธี ก ารแบบไม่ รวมค่ าสิ ท ธิ (Relief-from-royalty method) โดยคํานวณจากรายได้ทีAได้จากเครืA องหมายการค้า และอัตราค่าธรรมเนี ยมการใช้สิทธิ ซA ึ งพิจารณาจากการวิเคราะห์เชิงปริ มาณและ คุณภาพของเครืA องหมายการค้าในตลาด ข้อสมมติฐานทีAใช้ในการคํานวณ ได้แก่ อัตราค่าธรรมเนี ยมการใช้สิทธิ และอัตราคิดลดสําหรับเครืA องหมายการค้าทีAมูลค่าตามบัญชี ทีAมีสาระสําคัญ แสดงดังต่อไปนีR เครื= องหมายการค้ า อัตราค่าธรรมเนียมการใช้สิทธิ อัตราคิดลด

Chicken of the Sea

John West

Petit Navire

King Oscar

ร้อยละ 2.0 ร้อยละ 14.2

ร้อยละ 3.3 ร้อยละ 9.7

ร้อยละ 12.0 ร้อยละ 8.2

ร้อยละ 2.6 ร้อยละ 9.2

ในระหว่างปี พ.ศ. 2559 กลุ่มบริ ษทั ได้มีการกลับรายการการด้อยค่าของเครืA องหมายการค้าจํานวน 1 ล้านเหรี ยญสหรัฐ หรื อเทียบเท่า 35.29 ล้านบาท เนืAองจากข้อบ่งชีRการด้อยค่าได้ทีAเคยพิจารณาไว้ในงวดก่อนได้สิRนสุ ดลง


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

240 16

เงินลงทุนระยะยาวอื=น

ณ วันที= 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

เงินลงทุนเผือA ขาย - สุ ทธิ เงินลงทุนทัวA ไป ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ

2,650,641 4,366 2,655,007

30,766 2,920 33,686

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท 2,626,527 1,000 2,627,527

-

การเปลีAยนแปลงของเงินลงทุนเผือA ขายระหว่างปี มีดงั ต่อไปนีR สํ าหรับปี สิGนสุ ดวันที= 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซืR อเพิAม การจัดประเภทใหม่ จําหน่ายเงินลงทุน - สุ ทธิ การเปลีAยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พันบาท

พันบาท

30,766 2,672,918 (268) (6,059) (46,716) 2,650,641

2,672,918 (46,391) 2,626,527


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

241 17

ค่ าความนิยม งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พันบาท ณ วันที= 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเผือA การด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

13,078,777 13,078,777

สํ าหรับปี สิGนสุ ดวันที= 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ การได้มาซึAงบริ ษทั ย่อย ผลต่างจากอัตราแลกเปลีAยน ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุ ทธิ

13,078,777 114,403 (192,114) 13,001,066

ณ วันที= 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเผือA การด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

13,001,066 13,001,066

สํ าหรับปี สิGนสุ ดวันที= 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ การได้มาซึAงบริ ษทั ย่อย (หมายเหตุฯ ข้อ 13) การจัดประเภทใหม่ ผลต่างจากอัตราแลกเปลีAยน ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุ ทธิ

13,001,066 1,258,382 (2,803) (610,002) 13,646,643

ณ วันที= 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเผือA การด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

13,646,643 13,646,643


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

242 17

ค่ าความนิยม (ต่อ) การทดสอบการด้ อยค่ าของค่ าความนิยม ค่าความนิยมได้ถูกปั นส่ วนให้แก่หน่วยสิ นทรัพย์ทีAก่อให้เกิดเงินสด (CGU) ทีAถูกกําหนดตามส่ วนงานธุรกิจ ผูบ้ ริ หารของกลุ่มบริ ษทั มีการทบทวนผลดําเนินงานของกลุ่มธุรกิจโดยแยกตามภูมิศาสตร์และลักษณะของธุรกิจ ณ วันทีA 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 การปั นส่ วนของค่าความนิยมให้แก่หน่วยสิ นทรัพย์ทีAก่อให้เกิดเงินสดสามารถแสดงได้ดงั นีR ผลิตภัณฑ์ อาหารทะเล ผลิตภัณฑ์ อาหารสั ตว์ ผลิตภัณฑ์ อาหาร แช่ แข็ง แช่ เย็น ผลิตภัณฑ์ เพิม= มูลค่ า ทะเลแปรรู ป และธุรกิจทีเ= กีย= วข้ อง และธุรกิจอื=น พันบาท พันบาท พันบาท ทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป ทวีปอเมริ กา การปั นส่ วนค่าความนิยม

42,358 12,235,726 35,904 12,313,988

798,833 533,822 1,332,655

-

รวม พันบาท 42,358 13,034,559 569,726 13,646,643

การปั น ส่ วนดังกล่ าวคํานวนจากประมาณการกระแสเงิ น สดก่ อ นภาษี เงิ น ได้ซA ึ งอ้างอิ งจากงบประมาณทางการเงิ น ครอบคลุ ม ระยะเวลา 5 ปี ซึAงได้รับอนุมตั ิจากผูบ้ ริ หาร กระแสเงินสดหลังจากปี ทีA 5 ใช้ประมาณการของอัตราการเติบโตในตารางด้านล่าง ข้อสมมติฐานทีAใช้ในการคํานวณมูลค่าจากการใช้สาํ หรับหน่ วยสิ นทรัพย์ทีAก่อให้เกิดเงินสดทีAมีมูลค่าค่าความนิ ยมทีAมีสาระสําคัญ แสดงดังต่อไปนีR ทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป ผลิตภัณฑ์ อาหารทะเล ผลิตภัณฑ์ อาหารทะเล ผลิตภัณฑ์ อาหาร แช่ แข็ง แช่ เย็น แช่ แข็ง แช่ เย็น ทะเลแปรรู ป และธุรกิจทีเ= กีย= วข้ อง และธุรกิจทีเ= กีย= วข้ อง อัตราการเติบโต อัตราคิดลด

ร้อยละ 1.5 ร้อยละ 7.6

ร้อยละ 1.5 ร้อยละ 7.4

ร้อยละ 2.5 ร้อยละ 16.0

ข้อสมมติ ฐานเหล่ านีR ได้ถูกใช้เพืA อการวิเคราะห์ ห น่ วนสิ น ทรั พ ย์ทีA ก่อให้เกิ ดเงิ น สดภายในส่ วนงานธุ รกิ จ อัตราการเติ บ โตทีA ใช้ จะสอดคล้องกับการคาดการณ์อตั ราการเติบโตของอุตสาหกรรม ส่ วนอัตราคิดลดทีAใช้เป็ นอัตราก่อนหักภาษีทAีสะท้อนถึงความเสีA ยง ซึAงเป็ นลักษณะเฉพาะทีAเกีAยวข้องกับส่ วนงานนัRน ๆ


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

243 18

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์และหนีRสินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถวิเคราะห์ได้ดงั นีR งบการเงินรวม ณ วันที= 31 ธันวาคม สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทีAจะ ใช้ประโยชน์ภายใน 12 เดือน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทีAจะ ใช้ประโยชน์เกินกว่า 12 เดือน

หนีสG ิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี หนีRสินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทีAจะ ใช้ประโยชน์ภายใน 12 เดือน หนีRสินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทีAจะ ใช้ประโยชน์เกินกว่า 12 เดือน สิ นทรัพย์ (หนีสG ิ น)ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

431,641

375,254

8,928

-

980,329 1,411,970

545,661 920,915

11,794 20,722

23,712 23,712

(26,426)

(41,284)

-

-

(5,181,095) (5,207,521)

(5,104,891) (5,146,175)

(3,013) (3,013)

(2,956) (2,956)

(3,795,551)

(4,225,260)

17,709

20,756


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

244 18

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี (ต่อ) การกระทบยอดสิ นทรัพย์และหนีRสินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินแสดงได้ดงั นีR

ณ วันที= 31 ธันวาคม สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสุทธิ ทีAรวมอยูใ่ นสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีAถือไว้ เพือA ขาย สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ หนีRสินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ (หนีสG ิ น)ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

11 704,258 (4,499,820)

432,213 (4,657,473)

17,709 -

20,756 -

(3,795,551)

(4,225,260)

17,709

20,756

รายการเคลืAอนไหวของภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดงั นีR งบการเงินรวม

ณ วันที= 1 มกราคม ซืRอบริ ษทั ย่อย (หมายเหตุฯ ข้อ 13) เพิAม(ลด)ในกําไรหรื อขาดทุน ภาษีเพิAม(ลด)ในกําไรหรื อขาดทุนเบ็ดเสร็ จอืAน ขายบริ ษทั ย่อย ผลต่างจากอัตราแลกเปลีAยน ณ วันที= 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

(4,225,260) (612,748) 878,522 (6,528) (354) 170,817 (3,795,551)

(4,189,783) (62,073) (5,035) 31,631 (4,225,260)

20,756 (3,047) 17,709

13,305 8,306 (855) 20,756


18

สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าเผือ, หนี<สงสัยจะสู ญ ค่าเผือ, มูลค่าสุ ทธิที,คาดว่าจะได้รับของสิ นค้าคงเหลือ และต้นทุนของสิ นค้าคงเหลือ ค่าเผือ, การด้อยค่าและค่าเสื, อมราคาของที,ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ค่าตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ประมาณการหนี<สินและหนี<สินต่าง ๆ ขาดทุนทางภาษี อื,น ๆ รวม

รายการเคลื,อนไหวของสิ นทรัพย์และหนี<สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดงั นี<

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี (ต่อ)

44,553 406,473 8,159 21,798 59,055 102,548 137,361 16,432 796,379

ณ วันที8 1 มกราคม พ.ศ. 2558 พันบาท 378 29,428 100 18,366 5,709 19,232 1,219 21,530 95,962

(3,996) (1,039) (5,035)

1,570 18,977 2 918 1,037 10,692 (1,874) 2,287 33,609

บันทึกเป็ นรายได้ (รายจ่ าย)ใน กําไรขาดทุน ผลต่ างจากการ กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื8น แปลงค่ างบการเงิน พันบาท พันบาท พันบาท

46,501 454,878 8,261 41,082 61,805 132,472 136,706 39,210 920,915

ณ วันที8 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

งบการเงินรวม

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2016

245


18

(346,433) (4,412,680) (156,913) (70,136) (4,986,162) (4,189,783)

สิ นทรัพย์ (หนีสN ิ น)ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ

ณ วันที8 1 มกราคม พ.ศ. 2558 พันบาท

หนีสN ิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าเสื, อมราคาของที,ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ค่าตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม หนี<สินตามสัญญาเช่าการเงิน ต้นทุนของสิ นค้าคงเหลือ อื,น ๆ รวม

รายการเคลื,อนไหวของสิ นทรัพย์และหนี<สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดงั นี< (ต่อ)

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี (ต่อ)

(5,035)

(54,970) (14,934) (31,430) (81,980) (6,211) 19,279 12,211 (158,035) (62,073)

บันทึกเป็ นรายจ่ าย(รายได้ )ใน กําไรขาดทุน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื8น พันบาท พันบาท

31,631

(1,978)

(11,703) 30,935 (25) (225) (15,603) (5,357)

ผลต่ างจาก การแปลงค่ า งบการเงิน พันบาท

(4,225,260)

(5,146,175)

(413,106) (4,396,679) (31,455) (81,980) (6,436) (153,237) (63,282)

ณ วันที8 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

งบการเงินรวม

ANNUAL REPORT 2016 THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

246


18

สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าเผือ, หนี<สงสัยจะสู ญ ค่าเผือ, มูลค่าสุ ทธิที,คาดว่าจะได้รับและต้นทุนของสิ นค้าคงเหลือ ค่าเผือ, การด้อยค่าและค่าเสื, อมราคาของที,ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ค่าตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ประมาณการหนี<สินและหนี<สินต่าง ๆ ขาดทุนทางภาษี อื,น ๆ รวม 46,501 454,878 8,261 41,082 61,805 132,472 136,706 39,210 920,915

-

ณ วันที8 1 มกราคม ซืNอบริษทั ย่ อย พ.ศ. 2559 (หมายเหตุฯ ข้ อ 13) พันบาท พันบาท

รายการเคลื,อนไหวของสิ นทรัพย์และหนี<สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดงั นี< (ต่อ)

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี (ต่อ)

13,552 103,320 2,627 150,237 3,363 139,517 41,223 29,853 2,063 28,780 514,535

(5,146) (54) (5,200)

บันทึกเป็ นรายได้ (รายจ่ าย)ใน กําไรขาดทุน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื8น พันบาท พันบาท (354) (354)

(139) (10,236) 153 (8,207) (110) 2,139 (295) (984) (1,401) 1,154 (17,926)

ตัดจําหน่ าย บริษทั ย่ อย แปลงค่ างบการเงิน พันบาท พันบาท

ผลต่ างจากการ

59,914 547,962 10,687 183,112 3,253 141,656 97,587 161,341 137,368 69,090 1,411,970

ณ วันที8 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2016

247


18

(413,106) (4,396,679) (31,455) (81,980) (6,436) (153,237) (63,282) (5,146,175) (4,225,260)

หนีสN ิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าเสื, อมราคาของที,ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ค่าตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม หนี<สินตามสัญญาเช่าการเงิน ต้นทุนของสิ นค้าคงเหลือ อื,น ๆ หนีสN ิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี

สิ นทรัพย์ (หนีสN ิ น)ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ

(612,748)

(27,113) (580,665) (4,970) (612,748)

ณ วันที8 1 มกราคม ซืNอบริษทั ย่ อย พ.ศ. 2559 (หมายเหตุฯ ข้ อ 13) พันบาท พันบาท

รายการเคลื,อนไหวของสิ นทรัพย์และหนี<สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดงั นี< (ต่อ)

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี (ต่อ)

878,522

4,409 336,166 30,184 (34,028) (2,807) 26,041 4,022 363,987 (6,528)

(1,328) (1,328)

บันทึกเป็ นรายได้ (รายจ่ าย)ใน กําไรขาดทุน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื8น พันบาท พันบาท

(354)

-

170,817

4,350 184,599 (1,709) 366 5,686 (4,549) 188,743

ตัดจําหน่ าย บริษทั ย่ อย แปลงค่ างบการเงิน พันบาท พันบาท

ผลต่ างจากการ

(3,795,551)

(431,460) (4,456,579) (2,980) (117,336) (8,877) (121,510) (68,779) (5,207,521)

ณ วันที8 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม

ANNUAL REPORT 2016 THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

248


18

5,217 3,338 7,252 6,704 2,745 25,256

(3,024) (8,927) (11,951) 13,305

สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าเผือ, หนี<สงสัยจะสู ญ ค่าเผือ, มูลค่าสุ ทธิที,คาดว่าจะได้รับของสิ นค้าคงเหลือ ค่าเผือ, การด้อยค่าของที,ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน อื,น ๆ รวม

หนีสN ิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าเสื, อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ อื,น ๆ รวม สิ นทรัพย์ (หนีสN ิ น)ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ

ณ วันที8 1 มกราคม พ.ศ. 2558 พันบาท

รายการเคลื,อนไหวของสิ นทรัพย์และหนี<สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดงั นี< (ต่อ)

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี (ต่อ)

115 8,880 8,995 8,306

572 547 937 (2,745) (689)

(855)

(855) (855)

บันทึกเป็ นรายจ่ าย/รายได้ ใน กําไรขาดทุน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื8น พันบาท พันบาท

(2,909) (47) (2,956) 20,756

5,789 3,885 7,252 6,786 23,712

ณ วันที8 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พันบาท

(88) 31 (57) (3,047)

(115) (871) (7,252) 4,918 330 (2,990)

-

-

บันทึกเป็ นรายจ่ าย/รายได้ ใน กําไรขาดทุน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื8น พันบาท พันบาท

(2,997) (16) (3,013) 17,709

5,674 3,014 11,704 330 20,722

ณ วันที8 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2016

249


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

250 18

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี (ต่อ) สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีสาํ หรับรายการขาดทุนทางภาษีที>ยงั ไม่ได้ใช้ยกไปจะรับรู ้ไม่เกินจํานวนที>เป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ จะ มีกาํ ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที>จะใช้ประโยชน์ทางภาษีนJ นั กลุ่มบริ ษทั ไม่ได้รับรู ้สินทรัพย์ภาษีเงินได้จาํ นวน 337 ล้านบาท (พ.ศ. 2558 : 17 ล้านบาท) ที>เกิดจากรายการขาดทุนจํานวน 1,162 ล้านบาท (พ.ศ. 2558: 83 ล้านบาท) ที>สามารถยกไปเพื>อหักกลบ กับกําไรทางภาษีในอนาคต โดยรายการขาดทุนจํานวนเงิน 67 ล้านบาท (พ.ศ. 2558: 83 ล้านบาท) จะหมดอายุในปี พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ. 2564 (พ.ศ. 2558 : ปี พ.ศ. 2561 ถึง พ.ศ. 2563)

19

สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนอื?น

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

364,592 115,957 308,826 69,438 858,813

100,936 134,947 107,857 74,833 418,573

ณ วันที? 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ มื ระยะสัJน ทรัสต์รีซีทและสิ นเชื>อเพื>อการส่ งออก ขายลดลูกหนีJที>ผซู ้ Jื อมีสิทธิไล่เบีJย รวมเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัJน จากสถาบันการเงิน

245,263 29,570,611 7,089,782 -

225,664 15,107,430 3,969,395 74,057

26,523,983 2,114,946 -

3,323,732 364,607 -

36,905,656

19,376,546

28,638,929

3,688,339

ณ วันที? 31 ธันวาคม ส่ วนลดรอตัดจําหน่ายจาก สัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าอุปกรณ์และก่อสร้าง เงินมัดจําและเงินคํJาประกัน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื>น รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื>น 20

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท 364,592 31,238 20,133 415,963

100,936 12,617 113,553

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสัJ นจากสถาบันการเงิน งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

ณ วันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั มีเงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ ืมระยะสัJน ทรัสต์รีซีท และสิ นเชื> อเพื>อการส่ งออก ซึ>งมีอตั ราดอกเบีJยอยูร่ ะหว่างร้อยละ 0.55 ต่อปี ถึงร้อยละ 7.68 ต่อปี (พ.ศ. 2558 : ร้อยละ 0.55 ต่อปี ถึง ร้อยละ 5.50 ต่อปี ) บริ ษทั ได้เข้าทําสัญญากูย้ มื เงินระยะสัJนกับสถาบันการเงินในประเทศเป็ นจํานวนเงินรวมไม่เกิน 20,100 ล้านบาท เพือ> นําเงินที>ได้ไป ใช้ในการลงทุนทางธุ รกิ จ ทัJงนีJ เงินกูย้ ืมระยะสัJนดังกล่าวมีกาํ หนดระยะเวลาชําระคืนภายใน 6 เดื อนและมีอตั ราดอกเบีJ ยร้อยละ THBFIX บวกอัตราส่ วนเพิม> คงที>ต่อปี


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

251 21

เจ้ าหนีกJ ารค้ าและเจ้ าหนีอJ ื?น

ณ วันที? 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

เจ้าหนีJการค้า - กิจการอื>น เจ้าหนีJการค้า - กิจการที>เกี>ยวข้องกัน (หมายเหตุฯ ข้อ 35) ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายและเจ้าหนีJอื>น - กิจการอื>น ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายและเจ้าหนีJอื>น - กิจการที>เกี>ยวข้องกัน เงินปั นผลค้างจ่าย เงินมัดจําและรายได้รับล่วงหน้า เจ้าหนีJค่าซืJ ออุปกรณ์และก่อสร้าง - กิจการอื>น เจ้าหนีJค่าซืJออุปกรณ์และก่อสร้าง - กิจการที>เกี>ยวข้องกัน

11,424,731

8,241,729

2,243,223

1,483,403

73,501 5,106,143

180,967 4,835,316

569,182 524,962

378,988 319,619

58,860 14,549 358,168 387,092

58,335 10,668 239,643 155,337

24,566 5,171 31,173 114,316

26,735 1,407 33,199 32,397

5,900 17,428,944

9,487 13,731,482

348 3,512,941

5,708 2,281,456

รวมเจ้าหนีJการค้าและเจ้าหนีJอื>น 22

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - สุ ทธิ งบการเงินรวม ณ วันที? 31 ธันวาคม ส่ วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที>ถึงกําหนดชําระภายในหนึ>งปี - สุ ทธิ ส่ วนที>ไม่หมุนเวียนของเงินกูย้ มื ระยะยาว จากสถาบันการเงิน - สุ ทธิ รวมเงิ นกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ น - สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

764,733

1,561,176

701,910

1,464,675

963,325

1,696,537

840,941

1,547,562

1,728,058

3,257,713

1,542,851

3,012,237


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

252 22

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - สุ ทธิ การเปลี>ยนแปลงของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินในระหว่างปี สามารถวิเคราะห์ได้ดงั นีJ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิJนสุ ดวัน ที? 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีตน้ ปี การซืJ อบริ ษทั ย่อย (หมายเหตุฯ ข้อ 13.1) เพิ>มขึJนระหว่างงวด ตัดจําหน่ายค่าธรรมเนียมทางการเงิน การจ่ายคืนเงินกูย้ มื ระหว่างงวด กําไรจากอัตราแลกเปลี>ยน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ราคาตามบัญชีปลายปี

พันบาท

พันบาท

3,257,713 163,044 14,883 997 (1,567,209) (135,782) (5,588) 1,728,058

3,012,237 997 (1,334,800) (135,583) 1,542,851

ณ วันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเป็ นสัญญากูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินหลายแห่ งเพื>อใช้ใน การดําเนิ นงาน ซืJ อเครื> องจักร ลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และการร่ วมค้า และก่อสร้างอาคารและโรงงาน เงินกูย้ ืมระยะยาวจาก สถาบันการเงินจํานวน 103.50 ล้านบาท คํJาประกันโดยที> ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ของกลุ่มบริ ษทั โดยกลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั จะต้อง ปฏิบตั ิตามเงื>อนไขต่าง ๆ ที>ระบุไว้ในสัญญาวงเงินสิ นเชื>อ รวมทัJงรักษาอัตราส่ วนทางการเงินบางประการ และรวมถึงการจํากัดการ ก่อหนีJ การทําสัญญาเช่าเพื>อการลงทุน รายจ่ายฝ่ ายทุน รายการเกี>ยวกับกิจการในกลุ่มบริ ษทั การจัดสรรและจ่ายเงินปั นผล มูลค่ายุติธรรมของเงินกูย้ มื ส่ วนที>หมุนเวียนมีมูลค่าเท่ากับราคาตามบัญชี เนื>องจากผลกระทบของการคิดลดไม่มีสาระสําคัญ กลุ่มบริ ษทั มีวงเงินสิ นเชื>อประเภทเงินเบิกเกินบัญชี และวงเงินกูย้ มื กับสถาบันการเงินหลายแห่งที>ยงั ไม่ได้ใช้ดงั นีJ งบการเงินรวม ณ วันที? 31 ธันวาคม สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐฯ สกุลเงินยูโร สกุลเงินสล็อตติโปแลนด์

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

33,185 ล้านบาท 286 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ 27 ล้านยูโร -

36,121 ล้านบาท 265 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ 10 ล้านยูโร 1 ล้านสล็อตติโปแลนด์


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

253 23

หุ้นกู้ - สุ ทธิ เมื> อวันที> 26 ตุลาคม พ.ศ. 2548 ที> ประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั ได้มีมติอนุ มตั ิให้ออกและเสนอขายหุ ้นกูข้ องกลุ่มบริ ษทั และ บริ ษทั ในวงเงินจํานวนไม่เกิ น 8,500 ล้านบาท หรื อเงินสกุลอื>นในวงเงินเทียบเท่าเพื>อใช้ชาํ ระหนีJ เดิมและเพื>อรองรับการขยายตัว ในอนาคต โดยเสนอขายแก่ผลู ้ งทุนทัว> ไปและ/หรื อผูล้ งทุนสถาบันทัJงในประเทศและ/หรื อต่างประเทศ เมื>อวันที> 25 เมษายน พ.ศ. 2554 ที>ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี ของบริ ษทั ได้มีมติอนุมตั ิเพิ>มวงเงินการออกและเสนอขายหุ น้ กูข้ อง กลุ่ ม บริ ษ ัท และบริ ษ ัท ในวงเงิ น จํานวนไม่ เกิ น 15,000 ล้านบาท หรื อ เงิ น สกุ ล อื> น ในวงเงิ น เที ย บเท่ าเพื> อ ใช้ช ําระหนีJ เดิ ม และ เพื>อรองรับการขยายตัวในอนาคต โดยเสนอขายแก่ผลู ้ งทุนทัว> ไปและ/หรื อผูล้ งทุนสถาบันทัJงในประเทศและ/หรื อต่างประเทศ เมื>อวันที> 3 เมษายน พ.ศ. 2557 ที>ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจําปี ของบริ ษทั ได้มีมติอนุมตั ิเพิ>มวงเงินการออกและเสนอขายหุ น้ กูข้ อง กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั จากปั จจุบนั ภายในวงเงินจํานวนไม่เกิ น 15,000 ล้านบาท เป็ นภายในวงเงินจํานวนไม่เกิ น 25,000 ล้านบาท หรื อ เงินสกุลอืน> ในวงเงินเทียบเท่า โดยเสนอขายแก่ผลู ้ งทุนทัว> ไป และ/หรื อผูล้ งทุนสถาบันทัJงในประเทศและ/หรื อต่างประเทศ เมื>อวันที> 3 เมษายน พ.ศ. 2558 ที>ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจําปี ของบริ ษทั ได้มีมติอนุมตั ิเพิ>มวงเงินการออกและเสนอขายหุ น้ กูข้ อง กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั จากปั จจุบนั ภายในวงเงินจํานวนไม่เกิน 25,000 ล้านบาท เป็ นภายในวงเงินจํานวนไม่เกิ น 40,000 ล้านบาท หรื อ เงินสกุลอื>นในวงเงินเทียบเท่า โดยเสนอขายแก่ผลู ้ งทุนทัว> ไป และ/หรื อผูล้ งทุนสถาบันทัJงในประเทศและ/หรื อต่างประเทศ เมื> อวันที> 11 เมษายน พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้มีการออกหุ ้นกูใ้ นสกุลเงิ นเหรี ยญสหรัฐฯ เป็ นจํานวน 75 ล้านเหรี ยญสหรั ฐฯ เพื>อใช้ สําหรับการขยายธุ รกิจในอนาคต หุ ้นกูด้ งั กล่าวมีระยะเวลาครบกําหนด 10 ปี และมีอตั ราดอกเบีJยร้อยละ 3.66 ต่อปี โดยมีการจ่าย ดอกเบีJยทุกหกเดือน หุน้ กูด้ งั กล่าวเสนอขายแก่ผลู ้ งทุนสถาบันและผูล้ งทุนขนาดใหญ่ ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้มีการออกหุ ้นกูป้ ระเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ และไม่มีหลักประกันในสกุลเงินบาท เป็ นจํานวนรวม ทัJงสิJ น 10,000 ล้านบาท โดยหุน้ กูด้ งั กล่าวจะเสนอขายแก่ผลู ้ งทุนสถาบันและผูล้ งทุนขนาดใหญ่


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

254 23

หุ้นกู้ - สุ ทธิ (ต่อ) บริ ษทั ได้ออกหุน้ กูช้ นิดไม่มีหลักประกัน ระบุชื>อผูถ้ ือ ไม่มีผแู ้ ทนถือหุน้ กูแ้ ละไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ซึ>งมีรายละเอียดดังนีJ งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ

หุ้นกู้

อัตราดอกเบียJ (ร้ อยละต่ อปี )

ครัJงที> 1/2554 ชุดที> 2 4.70 ครัJงที> 1/2554 ชุดที> 3 5.02 ครัJงที> 1/2557 ชุดที> 1 3.58 4.21 ครัJงที> 1/2557 ชุดที> 2 ครัJงที> 1/2557 ชุดที> 3 4.69 ครัJงที> 1/2557 ชุดที> 4 5.18 ครัJงที> 2/2557 ชุดที> 1 4.21 ครัJงที> 2/2557 ชุดที> 2 4.58 ครัJงที> 1/2559 (เงินเหรี ยญสหรัฐฯ) 3.66 ครัJงที> 2/2559 ชุดที> 1 2.03 ครัJงที> 2/2559 ชุดที> 2 2.32 ครัJงที> 2/2559 ชุดที> 3 2.79 รวมหุน้ กู้ - ราคาตามมูลค่า หัก ค่าใช้จ่ายทางตรงในการออกหุน้ กูร้ อตัดจ่าย รวมหุน้ กู้ - สุ ทธิ หัก ส่ วนของหุน้ กูท้ ี>ถึงกําหนดชําระภายในหนึ>งปี หุน้ กูร้ ะยะยาว - สุ ทธิ

อายุ

ครบกําหนด

จํานวนหน่ วย พันหน่ วย

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ล้ านบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ล้ านบาท

5 ปี 10 ปี 3 ปี 5 ปี 7 ปี 10 ปี 7 ปี 10 ปี

27 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567 9 ตุลาคม พ.ศ. 2564 9 ตุลาคม พ.ศ. 2567

1,950 1,500 2,500 3,150 1,550 1,050 1,000 3,500

1,500 2,500 3,150 1,550 1,050 1,000 3,500

1,950 1,500 2,500 3,150 1,550 1,050 1,000 3,500

10 ปี 3 ปี 5 ปี 7 ปี

11 เมษายน พ.ศ. 2569 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

75 6,000 2,000 2,000

2,700 6,000 2,000 2,000 26,950 (33) 26,917 (2,500) 24,417

16,200 (20) 16,180 (1,949) 14,231

หุ ้นกูด้ งั กล่าวข้างต้นระบุให้บริ ษทั ต้องปฏิบตั ิตามข้อกําหนดต่าง ๆ เช่น การรักษาอัตราส่ วนหนีJ สินสุ ทธิ ต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นและ อัตราส่ วนของความสามารถในการชําระดอกเบีJยและเงื>อนไขต่าง ๆ ที>ระบุไว้ในข้อกําหนดการออกหุ น้ กู้ เช่น ต้องไม่จ่ายเงินปั นผล ในรู ปของเงินสดในแต่ละปี บัญชีเป็ นจํานวนเกินกว่าร้อยละ 60 ของกําไรสุ ทธิประจําปี เป็ นต้น


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

255 23

หุ้นกู้ - สุ ทธิ (ต่อ) การเปลี>ยนแปลงของเงินกูใ้ นระหว่างปี สามารถวิเคราะห์ได้ดงั นีJ งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิJนสุ ดวันที? 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

พันบาท

ราคาตามบัญชีตน้ ปี ออกหุน้ กู้ จ่ายชําระคืน ค่าใช้จ่ายในการออกหุน้ กู้ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี>ยนที>ยงั ไม่เกิดขึJนจริ ง ตัดจําหน่ายค่าใช้จ่ายในการออกหุน้ กูร้ อตัดจ่าย ราคาตามบัญชีปลายปี

16,180,352 12,642,843 (1,950,000) (20,554) 57,343 7,050 26,917,034

ราคาตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของเงินกูย้ มื ระยะยาว มีดงั ต่อไปนีJ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาตามบัญชี มูลค่ ายุตธิ รรม ณ วันที? 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

หุน้ กู้ - สุ ทธิ

26,917,034

16,180,352

27,346,473

17,138,067

มูลค่ายุติธรรมคํานวณจากกระแสเงินสดในอนาคตซึ> งคิดลดด้วยอัตราดอกเบีJยเงินกูย้ มื ที>อตั ราร้อยละ 1.71 ต่อปี ถึงร้อยละ 3.82 ต่อปี (พ.ศ. 2558 : อัตราร้อยละ 1.71 ต่อปี ถึงร้อยละ 3.64 ต่อปี ) และอยูใ่ นข้อมูลระดับ 2 ของลําดับชัJนมูลค่ายุติธรรม (หมายเหตุฯ ข้อ 3.3) 24

หนีสJ ิ นตามสั ญญาเช่ าการเงิน - สุ ทธิ งบการเงินรวม ณ วันที? 31 ธันวาคม ส่ วนของหนีJสินตามสัญญาเช่าการเงินที>ถึง กําหนดชําระภายในหนึ>งปี - สุ ทธิ ส่ วนที>ไม่หมุนเวียนของหนีJสิน ตามสัญญาเช่าการเงิน - สุ ทธิ รวมหนีJสินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

82,308

90,908

12,241

11,128

208,439 290,747

212,358 303,266

20,080 32,321

6,629 17,757


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

256 24

หนีสJ ิ นตามสั ญญาเช่ าการเงิน - สุ ทธิ (ต่อ) จํานวนเงินขัJนตํ>าที>ตอ้ งจ่ายซึ>งบันทึกเป็ นหนีJสินตามสัญญาเช่าการเงิน มีดงั ต่อไปนีJ

ณ วันที? 31 ธันวาคม ครบกําหนดภายในไม่เกิน 1 ปี ครบกําหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ครบกําหนดหลังจาก 5 ปี หัก ค่าใช้จ่ายทางการเงินในอนาคตของ สัญญาเช่าการเงิน มูลค่าปัจจุบนั ของหนีJสินตาม สัญญาเช่าการเงิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

90,485 169,378 57,108 316,971

99,695 164,692 71,325 335,712

13,310 21,353 34,663

11,535 6,744 18,279

(26,224)

(32,446)

(2,342)

(522)

290,747

303,266

32,321

17,757

มูลค่าปัจจุบนั ของหนีJสินตามสัญญาเช่าการเงินมีรายละเอียดดังนีJ

ณ วันที? 31 ธันวาคม ครบกําหนดภายในไม่เกิน 1 ปี ครบกําหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ครบกําหนดหลังจาก 5 ปี

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

82,308 153,902 54,537 290,747

90,908 145,697 66,661 303,266

12,241 20,080 32,321

11,128 6,629 17,757


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

257 25

หนีสJ ิ นหมุนเวียนอื?น

ณ วันที? 31 ธันวาคม ส่ วนเกินมูลค่ารอตัดจําหน่ายจาก สัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน เจ้าหนีJสรรพากร หนีJสินหมุนเวียนอื>น รวมหนีJสินหมุนเวียนอื>น 26

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

85,326 116,019 304,700 506,045

17,613 80,469 600,738 698,820

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท 51,357 23,339 9,026 83,722

4,330 30,893 36,005 71,228

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน งบการเงินรวม ณ วันที? 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

1,916,304

1,801,199

455,667

397,041

กําไรหรื อขาดทุนที>รวมอยูใ่ นงบกําไรขาดทุน ผลประโยชน์เมื>อเกษียณอายุ

246,417

232,474

66,270

48,074

การวัดมูลค่าใหม่สาํ หรับ ผลประโยชน์เมื>อเกษียณอายุ

(24,436)

(194,788)

-

(50,533)

หนีJสินในงบแสดงฐานะการเงิน ผลประโยชน์เมื>อเกษียณอายุ


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

258 26

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) โครงการผลประโยชน์ เมื?อเกษียณอายุ โครงการผลประโยชน์เมื>อเกษี ยณอายุ เป็ นโครงการจ่ ายผลตอบแทนงวดสุ ดท้ายให้แก่ พ นักงาน โดยผลประโยชน์ที>พ นักงาน จะได้รับขึJนอยูก่ บั ระยะเวลาการทํางานและเงินเดือนในปี สุ ดท้ายก่อนที>จะเกษียณอายุ การเคลื>อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานในระหว่างปี มีดงั นีJ งบการเงินรวม

ณ วันที> 1 มกราคม ต้นทุนบริ การปัจจุบนั ค่าใช้จ่ายดอกเบีJย การวัดมูลค่าใหม่ (กําไร) ขาดทุนที>เกิดจากการเปลี>ยนแปลง ข้อสมมติดา้ นประชากรศาสตร์ (กําไร) ขาดทุนที>เกิดจากการเปลี>ยนแปลง ข้อสมมติทางการเงิน กําไรที>เกิดจากประสบการณ์ การชําระเงินจากโครงการ จัดประเภทเป็ นหนีJสินที>เกี>ยวข้องโดยตรงกับ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที>ถือไว้เพื>อขาย การจัดประเภทรายการใหม่ ผลต่างจากอัตราแลกเปลี>ยน ณ วันที> 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

1,801,199 167,895 78,522 246,417

1,831,625 149,193 83,281 232,474

397,041 54,720 11,550 66,270

414,846 34,401 13,673 48,074

(11,289)

6,205

-

-

(4,783) (8,364) (24,436)

6,406 (207,399) (194,788)

-

12,429 (62,962) (50,533)

(90,938)

(79,956)

(7,644)

(15,346)

(14,745) 9,204 (10,397) 1,916,304

11,844 1,801,199

455,667

397,041

กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั คาดว่าจะจ่ายชําระผลประโยชน์เมื>อเกษียณอายุของพนักงานภายใน 1 ปี ข้างหน้าเป็ นจํานวนประมาณ 46.08 ล้านบาท และจํานวน 4.25 ล้านบาท ตามลําดับ (พ.ศ. 2558 : จํานวน 210.52 ล้านบาท และจํานวน 26 ล้านบาท ตามลําดับ) ณ วันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ระยะเวลาเฉลี>ยถ่วงนํJาหนักในการจ่ายชําระผลประโยชน์เมื>อเกษียณอายุของพนักงานของกลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั ประมาณ 16 ปี และ 16 ปี ตามลําดับ (พ.ศ. 2558 : 11-17 ปี และ 17 ปี ตามลําดับ)


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

259 26

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) ข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยที>ใช้เป็ นดังนีJ งบการเงินรวม

อัตราคิดลด (ร้อยละ) อัตราการเพิม> ขึJนของเงินเดือน (ร้อยละ)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

1.0 - 24.0 1.5 - 15.0

2.0 - 23.0 2.0 - 15.0

3.1 3.5 - 7.0

3.1 3.5 - 7.0

งบการเงินรวม ผลกระทบต่ อภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ ทกี? าํ หนดไว้

อัตราคิดลด อัตราการเพิ>มขึJนของเงินเดือน

พ.ศ. 2559 พันบาท

เพิ?มขึนJ ร้ อยละ 1 พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

ลดลงร้ อยละ 1 พ.ศ. 2558 พันบาท

(162,948) 185,946

(156,262) 178,312

192,012 (161,443)

184,250 (154,747)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ผลกระทบต่ อภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ ทกี? าํ หนดไว้ เพิ?มขึนJ ร้ อยละ 1

อัตราคิดลด อัตราการเพิ>มขึJนของเงินเดือน

ลดลงร้ อยละ 1

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

(46,659) 53,216

(42,362) 48,316

55,230 (46,011)

50,145 (41,774)

การวิเคราะห์ความอ่อนไหวข้างต้นนีJ อา้ งอิงจากการเปลี>ยนแปลงข้อสมมติ ใดข้อสมมติ หนึ> ง ขณะที> ให้ขอ้ สมมติอ>ืนคงที> ในทาง ปฏิบตั ิสถานการณ์ดงั กล่าวยากที>จะเกิดขึJน และการเปลี>ยนแปลงในข้อสมมติบางเรื> องอาจมีความสัมพันธ์กนั ในการคํานวณการ วิเคราะห์ความอ่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์ที>กาํ หนดไว้ที>มีต่อการเปลี>ยนแปลงในข้อสมมติหลัก ณ วันสิJ นปี ได้ใช้วิธี เดียวกันกับการคํานวณภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานที>รับรู ้ในงบแสดงฐานะการเงิน วิธีการและประเภทของข้อสมมติที>ใช้ในการจัดทําการวิเคราะห์ความอ่อนไหวไม่ได้เปลี>ยนแปลงจากปี ก่อน


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

260 26

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) โครงการผลประโยชน์ เมื?อเกษียณอายุ (ต่อ) การวิเคราะห์การครบกําหนดของการจ่ายชําระผลประโยชน์เมื>อเกษียณอายุที>ไม่มีการคิดลด แสดงได้ดงั นีJ ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ พันบาท พันบาท ณ วันที? 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 น้อยกว่า 1 ปี ระหว่าง 1 - 3 ปี

27

46,143 271,581

4,250 64,142

ทุนเรื อนหุ้นและส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น จํานวนหุ้น ทีอ? อกและเรียกชําระ หุ้น ณ วันที> 1 มกราคม พ.ศ. 2558 การออกหุน้ ณ วันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 การออกหุน้ ณ วันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

4,771,815,496 4,771,815,496 4,771,815,496

หุ้นสามัญ ส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น พันบาท พันบาท 1,192,954 1,192,954 1,192,954

19,948,329 19,948,329 19,948,329

รวม พันบาท 21,141,283 21,141,283 21,141,283

หุ ้นสามัญจดทะเบียนทัJงหมดมีจาํ นวน 5,971,815,496 หุ ้น (พ.ศ. 2558: จํานวน 5,971,815,496 หุ ้น) ราคามูลค่าที>ตราไว้หุ้นละ 0.25 บาท (พ.ศ. 2558: จํานวน 0.25 บาท) มีหุน้ จํานวน 4,771,815,496 หุน้ (พ.ศ. 2558: จํานวน 4,771,815,496 หุน้ ) ที>ได้ออกและชําระเต็มมูลค่าแล้ว ตามบทบัญญัติแห่ งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณี ท>ีบริ ษทั เสนอขายหุ น้ สู งกว่ามูลค่าที>จดทะเบียนไว้ บริ ษทั ต้องนําค่าหุน้ ส่ วนเกินนีJตJ งั เป็ นทุนสํารอง (“ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ ”) และส่ วนเกินมูลค่าหุน้ นีJจะนําไปจ่ายเงินปันผลไม่ได้


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

261 28

เงินปันผล บริษทั เมื> อวันที> 5 เมษายน พ.ศ. 2559 ที>ประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้นประจําปี ของบริ ษทั ได้มีมติ อนุ มตั ิ การจ่ายเงินปั นผลจากกําไรสุ ทธิ สําหรับ ผลการดําเนินงานประจําปี พ.ศ. 2558 ให้แก่ผถู ้ ือหุน้ รวมเป็ นเงินจํานวน 3,006 ล้านบาท แต่เนื>องจากมติที>ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เมื> อ วัน ที> 13 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 ได้อ นุ ม ัติ ก ารจ่ ายเงิ น ปั น ผลระหว่างกาลสํ าหรั บ ผลการดําเนิ น งานรอบหกเดื อ นสิJ น สุ ด วัน ที> 30 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ในอัตราหุ น้ ละ 0.32 บาท รวมเป็ นเงินจํานวน 1,527 ล้านบาท ซึ> งได้จ่ายแล้วเมื>อวันที> 9 กันยายน พ.ศ. 2558 จึง คงเหลือเงินปันผลจ่ายในอัตราหุน้ ละ 0.31 บาท รวมเป็ นเงินจํานวน 1,479 ล้านบาท ซึ>งได้มีการจ่ายในวันที> 21 เมษายน พ.ศ. 2559 เมื>อวันที> 8 สิ งหาคม พ.ศ. 2559 ที>ประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ได้มีมติอนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลในอัตราหุ น้ ละ 0.32 บาท รวมเป็ นเงินจํานวน 1,527 ล้านบาท บริ ษทั จ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลในวันที> 2 กันยายน พ.ศ. 2559 บริษทั ย่ อย เมื>อวันที> 26 มกราคม พ.ศ. 2559 ที>ประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยในต่างประเทศแห่ งหนึ> งได้มีมติอนุ มตั ิการจ่ายเงินปั นผล ทัJงสิJ นจํานวน 11.36 ล้านยูโร หรื อเทียบเท่ากับ 445.87 ล้านบาท ซึ>งจ่ายให้บริ ษทั เต็มจํานวนแล้วในเดือนเมษายน พ.ศ. 2559 เมื> อ วัน ที> 29 มี น าคม พ.ศ. 2559 ที> ป ระชุ ม ผูถ้ ื อ หุ ้น ของบริ ษ ทั ย่อ ยในประเทศแห่ งหนึ> งได้มี ม ติ อ นุ ม ตั ิ ก ารจ่ ายเงิ น ปั น ผลจากผล การดําเนิ นงานสําหรับปี สิJ นสุ ดวันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ในอัตราหุ ้นละ 11.50 บาท รวมเป็ นเงินทัJงสิJ นจํานวน 379 ล้านบาท โดยรวมเงิ น ปั น ผลระหว่างกาลในอัต ราหุ ้น ละ 3 บาท รวมเป็ นเงิ น ทัJงสิJ น จํานวน 99 ล้านบาทที >ได้รับ การอนุ ม ตั ิ จากที >ป ระชุ ม คณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยเมื> อวันที> 19 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 ซึ> งมี การจ่ายแล้วในเดื อนสิ งหาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ย่อยจ่ายเงิน ปั นผลจ่ายคงเหลือในอัตราหุ ้นละ 8.50 บาท รวมเป็ นเงินจํานวน 280 ล้านบาทแล้วในวันที> 4 เมษายน พ.ศ. 2559 เงินปั นผลส่ วน ที>เป็ นของกลุ่มบริ ษทั มีจาํ นวน 217.21 ล้านบาท เมื>อวันที> 11 เมษายน พ.ศ. 2559 ที>ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี ของบริ ษทั ย่อยในประเทศแห่งหนึ>งได้มีมติอนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผล จากกําไรสุ ทธิ สาํ หรับผลการดําเนิ นงานประจําปี พ.ศ. 2558 ให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ รวมเป็ นเงิน 36 ล้านบาท เงินปั นผลส่ วนที>เป็ นของบริ ษทั มีจาํ นวน 18.36 ล้านบาท บริ ษทั ย่อยจ่ายเงินปั นผลแล้วในวันที> 18 เมษายน พ.ศ. 2559 เมื>อวันที> 11 เมษายน พ.ศ. 2559 ที>ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี ของบริ ษทั ย่อยในประเทศแห่งหนึ>งได้มีมติอนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผล จากกําไรสุ ทธิ สําหรับผลการดําเนิ น งานประจําปี พ.ศ. 2558 ให้แก่ ผูถ้ ื อหุ ้น รวมเป็ นเงิ น 125 ล้านบาท แต่ เนื> องจากมติ ที>ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั ย่อยเมื> อวันที> 21 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 ได้อนุ มตั ิ การจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลเป็ นจํานวนรวม 20 ล้านบาท บริ ษทั ย่อยจ่ายเงินปั นผลคงเหลือจํานวน 105 ล้านบาทแล้วในวันที> 18 เมษายน พ.ศ. 2559 เงินปั นผลส่ วนที>เป็ นของบริ ษทั มีจาํ นวน 53.55 ล้านบาท


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

262 28

เงินปันผล (ต่อ) บริษทั ย่ อย (ต่อ) เมื>อวันที> 18 เมษายน พ.ศ. 2559 ที>ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี ของบริ ษทั ย่อยในประเทศแห่งหนึ>งได้มีมติอนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผล จากกําไรสุ ทธิ สําหรั บผลการดําเนิ นงานประจําปี พ.ศ. 2558 ให้แก่ ผูถ้ ื อหุ ้น รวมเป็ นเงิ น 870 ล้านบาท แต่ เนื> องจากมติ ที>ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั ย่อยเมื>อวันที> 26 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 ได้อนุ มตั ิการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลเป็ นจํานวนรวม 420 ล้านบาท บริ ษทั ย่อยจ่ายเงินปั นผลคงเหลือจํานวน 450 ล้านบาทแล้วในวันที> 19 เมษายน พ.ศ. 2559 เงินปั นผลส่ วนที>เป็ นของบริ ษทั มีจาํ นวน 448 ล้านบาท เมื>อวันที> 25 เมษายน พ.ศ. 2559 ที>ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี ของบริ ษทั ย่อยในประเทศแห่งหนึ>งได้มีมติอนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผล จากกําไรสุ ทธิ สําหรั บผลการดําเนิ นงานประจําปี พ.ศ. 2558 ให้แก่ ผูถ้ ื อหุ ้น รวมเป็ นเงิ น 369 ล้านบาท แต่เนื> องจากมติ ที>ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั ย่อยเมื>อวันที> 20 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 ได้อนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลจํานวน 225 ล้านบาท ซึ> งจ่ายแล้ว เมื>อวันที> 7 กันยายน พ.ศ. 2558 บริ ษทั ย่อยจ่ายเงินปั นผลคงเหลือจํานวน 144 ล้านบาทแล้วในวันที> 29 เมษายน พ.ศ. 2559 เงินปั นผล ส่ วนที>เป็ นของบริ ษทั มีจาํ นวน 143 ล้านบาท

ในวันที> 9 สิ งหาคม พ.ศ. 2559 ที>ประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยในประเทศแห่ งหนึ> งได้มีมติอนุ มตั ิการจ่ายเงินปั นผล ระหว่างกาลในอัตราหุ ้นละ 18 บาท สําหรับผลการดําเนิ นงานสุ ทธิ สาํ หรับรอบระยะเวลาหกเดือนแรกของปี พ.ศ. 2559 เงินปั นผล ส่ วนที>เป็ นของบริ ษทั มีจาํ นวน 538.16 ล้านบาท บริ ษทั ย่อยจ่ายเงินปั นผลแล้วในวันที> 31 สิ งหาคม พ.ศ. 2559 ในวันที> 9 สิ งหาคม พ.ศ. 2559 ที> ประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยในประเทศแห่ งหนึ> งได้มีมติอนุ มตั ิการจ่ายเงินปั นผล ระหว่างกาลในอัตราหุ ้นละ 6 บาท สําหรับผลการดําเนิ นงานสุ ทธิ สําหรับรอบระยะเวลาหกเดือนแรกของปี พ.ศ. 2559 เงินปั นผล ส่ วนที>เป็ นของบริ ษทั มีจาํ นวน 215.03 ล้านบาท บริ ษทั ย่อยจ่ายเงินปั นผลแล้วในวันที> 31 สิ งหาคม พ.ศ. 2559 ในวันที> 15 สิ งหาคม พ.ศ. 2559 ที>ประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยในประเทศแห่ งหนึ> งได้มีมติอนุ มตั ิการจ่ายเงินปั นผล ระหว่างกาลในอัตราหุ ้น ละ 1.50 บาท สําหรั บผลการดําเนิ นงานสุ ทธิ สําหรั บรอบระยะเวลาหกเดื อนแรกของปี พ.ศ. 2559 เงินปันผลส่ วนที>เป็ นของบริ ษทั มีจาํ นวน 38.33 ล้านบาท บริ ษทั ย่อยจ่ายเงินปั นผลแล้วในวันที> 30 สิ งหาคม พ.ศ. 2559 ในวันที> 17 สิ งหาคม พ.ศ. 2559 ที>ประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยในประเทศแห่ งหนึ> งได้มีมติอนุ มตั ิการจ่ายเงินปั นผล ระหว่างกาลในอัตราหุ ้น ละ 2.10 บาท สําหรั บผลการดําเนิ นงานสุ ทธิ สําหรั บรอบระยะเวลาหกเดื อนแรกของปี พ.ศ. 2559 เงินปันผลส่ วนที>เป็ นของบริ ษทั มีจาํ นวน 53.55 ล้านบาท บริ ษทั ย่อยจ่ายเงินปั นผลแล้วในวันที> 31 สิ งหาคม พ.ศ. 2559 ในวันที> 21 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ที>ประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยต่างประเทศแห่ งหนึ> งได้มีมติอนุ มตั ิจ่ายเงินปั นให้แก่ บริ ษทั เป็ นจํานวนเงิน 23.30 ล้านยูโร เงินปั นผลดังกล่าวได้มีการจ่ายชําระในวันเดียวกัน


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

263 29

สํ ารองตามกฎหมาย งบการเงินรวม

ณ วันที> 1 มกราคม จัดสรรระหว่างปี ณ วันที> 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

149,295 149,295

120,200 29,095 149,295

149,295 149,295

120,200 29,095 149,295

ตามพระราชบัญ ญัติบ ริ ษ ทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริ ษ ทั ต้องสํารองตามกฎหมายอย่างน้อยร้ อยละ 5 ของกําไรสุ ท ธิ ห ลังจาก หักส่ วนของขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสํารองนีJ จะมีมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองนีJ ไม่สามารถ นําไปจ่ายเงินปั นผลได้ 30

รายได้ อื?น งบการเงินรวม สํ าหรับปี สิJนสุ ดวันที? 31 ธันวาคม รายได้ดอกเบีJย เงินชดเชยค่าสิ นค้า บัตรภาษีรับ รายได้ค่าบริ หาร ตัดจําหน่ายส่ วนเกิน/ส่ วนลดมูลค่าจาก สัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน รายได้อื>น ๆ รวมรายได้อื>น

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

227,919 44,067 138,359 23,292

63,127 56,737 161,044 5,710

1,115,111 12,749 13,485 267,859

797,766 40,625 19,532 33,407

225,152 456,607 1,115,396

415,163 701,781

256,275 112,703 1,778,182

879 131,899 1,024,108


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

264

31

32

ต้ นทุนทางการเงิน

สํ าหรับปี สิJนสุ ดวันที? 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

ตัดจําหน่ายต้นทุนในการจัดหาเงิน ดอกเบีJยจ่าย ต้นทุนทางการเงินอื>น รวมต้นทุนทางการเงิน

11,354 1,173,060 255,630 1,440,044

6,873 1,149,857 432,363 1,589,093

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท 11,354 972,883 11,456 995,693

6,873 765,612 182,152 954,637

ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ งบการเงินรวม สํ าหรับปี สิJนสุ ดวันที? 31 ธันวาคม การเปลี>ยนแปลงในสิ นค้าสําเร็ จรู ปและ งานระหว่างทํา วัตถุดิบและวัสดุสิJนเปลืองใช้ไป ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน ค่าเสื> อมราคา (หมายเหตุฯ ข้อ 14) (กลับรายการ)ขาดทุนจากการด้อยค่า ของสิ นทรัพย์ ค่าตัดจําหน่าย (หมายเหตุฯ ข้อ 15) ค่าเช่าตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการวิจยั และพัฒนา

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

(4,650,113) 102,326,599 12,664,722 2,731,475

(605,028) 95,101,994 12,802,266 2,528,124

(520,095) 13,925,500 2,796,262 386,639

371,953 12,203,037 2,613,001 366,542

(134,822) 251,516 723,630 83,089

533,100 198,043 1,023,046 18,428

12,875 141,187 32,796

4,419 318,777 11,684


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

265 33

ภาษีเงินได้

สํ าหรับปี สิJนสุ ดวันที? 31 ธันวาคม ภาษีเงินได้ ปีปัจจุบัน ภาษีเงินได้ปีปัจจุบนั สําหรับกําไรทางภาษี สําหรับปี การปรับปรุ งจากปี ก่อน รวมภาษีเงินได้ ปีปัจจุบัน ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีลดลง (เพิ>มขึJน) (หมายเหตุฯ ข้อ 18) หนีJสินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิ>มขึJน (ลดลง) (หมายเหตุฯ ข้อ 18) รวมภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี รวมค่ าใช้ จ่าย(รายได้ )ภาษีเงินได้

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

1,554,028 (92,967) 1,461,061

1,262,294 25,790 1,288,084

527 (12,275) (11,748)

56,132 25,974 82,106

(514,535)

(95,962)

2,990

689

(363,987) (878,522)

158,035 62,073

57 3,047

(8,995) (8,306)

582,539

1,350,157

(8,701)

73,800

งบการเงินรวม สํ าหรับปี สิJนสุ ดวันที? 31 ธันวาคม ค่ าใช้ จ่าย(รายได้ )ภาษีเงินได้ กําไรจากการดําเนินงานต่อเนื>อง ขาดทุนจากการดําเนินงานที>ยกเลิก (หมายเหตุฯ ข้อ 12.3) รวมค่ าใช้ จ่าย(รายได้ )ภาษีเงินได้

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

582,529

1,350,462

(8,701)

73,800

10 582,539

(305) 1,350,157

(8,701)

73,800


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

266 33

ภาษีเงินได้ (ต่อ) ภาษีเงินได้สําหรับกําไรก่อนหักภาษีของกลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั มียอดจํานวนเงินที>แตกต่างจากการคํานวณกําไรทางบัญชี คูณกับ อัตราภาษีของกลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั โดยมีรายละเอียดดังนีJ สํ าหรับปี สิJนสุ ดวันที? 31 ธันวาคม กําไรก่อนภาษีเงินได้จากการดําเนินงาน ต่อเนื>อง ขาดทุนก่อนภาษีเงินได้จากการดําเนินงาน ที>ยกเลิก (หมายเหตุฯ ข้อ 12.3) รวมกําไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีคาํ นวณจากอัตราภาษี ร้อยละ 10 ถึง ร้อยละ 38 (พ.ศ. 2558: ร้อยละ 10 ถึง ร้อยละ 38) ผลกระทบ: รายได้ที>ไม่ตอ้ งเสี ยภาษี ค่าใช้จ่ายที>สามารถหักภาษีเพิ>มเติม ค่าใช้จ่ายที>ไม่สามารถหักภาษี การใช้ขาดทุนทางภาษีที>ผา่ นมา ซึ>งยังไม่เคยมีการรับรู ้ การรับรู ้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี จากขาดทุนทางภาษีที>ยงั ไม่เคยมีการรับรู ้ ขาดทุนทางภาษีและผลแตกต่างชัว> คราว ที>ไม่ได้บนั ทึกเป็ นสิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี การปรับปรุ งจากปี ก่อน ผลกระทบจากการเปลี>ยนแปลงอัตราภาษี อื>น ๆ ค่าใช้จ่าย(รายได้)ภาษีเงินได้

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

6,714,632

8,354,576

3,355,295

5,124,117

(271,943) 6,442,689

(1,016,192) 7,338,384

3,355,295

5,124,117

1,279,319

1,761,333

671,059

1,024,823

(767,111) (130,611) 478,555

(703,970) (659) 234,321

(801,411) (555) 456

(994,753) 17,756

(44,514)

(2,982)

-

-

(2,080)

-

-

-

304,381 (92,967) (466,512) 24,079 582,539

13,992 25,790 (7,112) 29,444 1,350,157

135,002 (12,275) (977) (8,701)

25,974 73,800

อัตราภาษี เงิ นได้ถวั เฉลี> ยของกลุ่มบริ ษทั เท่ ากับร้ อยละ 9.04 (พ.ศ. 2558 : ร้ อยละ 18.40) การลดลงของอัตราภาษี เงิ นได้ถวั เฉลี>ย เกิดจากการเปลี>ยนแปลงอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริ ษทั ในต่างประเทศจากร้อยละ 34.43 เป็ นร้อยละ 28.92 ซึ> งมีการประกาศ เมื>อวันที> 22 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และมีผลบังคับใช้ตJ งั แต่วนั ที> 1 มกราคม พ.ศ. 2560 เป็ นต้นไป ทัJงนีJ กลุ่มบริ ษทั ได้วดั มูลค่ารายการ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที>เกี>ยวข้องโดยใช้อตั ราภาษีใหม่ดงั กล่าว อัตราภาษีเงินได้ถวั เฉลี>ยของบริ ษทั เท่ากับร้อยละ - 0.26 (พ.ศ. 2558 : ร้อยละ 1.44)


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

267 33

ภาษีเงินได้ (ต่อ) ภาษีเงินได้ที>เกี>ยวข้องกับองค์ประกอบในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื>นมีดงั นีJ งบการเงินรวม สํ าหรับปี สิJนสุ ด วันที? 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 ก่ อนภาษี ภาษีเพิม? /(ลด) พันบาท พันบาท

กําไรขาดทุนจากการประมาณ การตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย สํารองอื>น กําไรจากมูลค่ายุติธรรมของ เงินลงทุนเผือ> ขาย การแปลงค่างบการเงิน กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื?น

หลังภาษี พันบาท

พ.ศ. 2558 ก่ อนภาษี ภาษีเพิม? /(ลด) พันบาท พันบาท

หลังภาษี พันบาท

25,171 56,443

(5,146) -

20,025 56,443

189,885 15,697

(3,996) -

185,889 15,697

(46,716) (922,381) (887,483)

(54) (1,328) (6,528)

(46,770) (923,709) (894,011)

5,183 472,902 683,667

(1,039) (5,035)

4,144 472,902 678,632

งบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิJนสุ ด วันที? 31 ธันวาคม ก่ อนภาษี ภาษีเพิม? /(ลด) พันบาท พันบาท กําไรขาดทุนจากการประมาณ การตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย กําไรจากมูลค่ายุติธรรมของ เงินลงทุนเผือ> ขาย กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื?น

พ.ศ. 2559 หลังภาษี พันบาท

ก่ อนภาษี ภาษีเพิม? /(ลด) พันบาท พันบาท

พ.ศ. 2558 หลังภาษี พันบาท

-

-

-

50,532

(855)

49,677

(46,389) (46,389)

-

(46,389) (46,389)

50,532

(855)

49,677


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

268 34

กําไรต่ อหุ้น กําไรต่อหุ น้ ขัJนพืJนฐานคํานวณโดยการหารกําไรสําหรับปี ที>เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ (ไม่รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื>น) ด้วยจํานวนถัวเฉลี>ยถ่วงนํJาหนักของหุน้ สามัญที>ออกอยูใ่ นระหว่างปี

สํ าหรับปี สิJนสุ ดวันที? 31 ธันวาคม กําไรสุ ทธิ สาํ หรับปี ที>เป็ นของ ผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ (พันบาท) จํานวนหุน้ สามัญถัวเฉลี>ยถ่วงนํJาหนักที>ถือ โดยผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ (พันหุน้ ) กําไรต่ อหุ้นขัJนพืนJ ฐาน (บาทต่ อหุ้น)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

5,254,432

5,372,509

3,363,996

5,050,317

4,771,815

4,771,815

4,771,815

4,771,815

1.10

1.13

0.70

1.06

บริ ษทั ไม่มีการออกหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลดในระหว่างปี ที>นาํ เสนอรายงาน ดังนัJน จึงไม่มีการนําเสนอกําไรต่อหุน้ ปรับลด


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

269 35

รายการกับบุคคลหรื อกิจการทีเ? กีย? วข้ องกัน บริ ษทั เป็ นบริ ษทั ใหญ่ในลําดับสู งสุ ด ผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ของบริ ษทั ได้แก่ กลุ่มของครอบครัวจันศิริ โดยถือหุ ้นในบริ ษทั คิดเป็ นจํานวน ร้อยละ 20.15 ของหุน้ ทัJงหมดของบริ ษทั จํานวนหุน้ ที>เหลือถือโดยบุคคลทัว> ไป เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และการร่ วมค้าที>สาํ คัญได้เปิ ดเผยในหมายเหตุฯ ข้อ 13 รายการต่อไปนีJเป็ นรายการที>มีสาระสําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที>เกี>ยวข้องกัน ก)

รายได้ จากการขาย สํ าหรับปี สิJนสุ ดวันที? 31 ธันวาคม รายได้ จากการขายสิ นค้ า บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า บริ ษทั ที>เกี>ยวข้องกันอื>น

รายได้ เงินปันผล บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า

รายได้ อื?น บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า บริ ษทั ที>เกี>ยวข้องกันอื>น

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

553,447 888,784 1,442,231

208,661 884,296 1,092,957

8,096,542 8,611 503,302 8,608,455

7,160,773 27,208 447,277 7,635,258

-

-

3,035,005 72,694 3,107,699

4,060,405 86,122 4,146,527

270,199 502 270,701

31,759 495 32,254

1,437,939 399 502 1,438,840

815,512 849 487 816,848


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

270 35

รายการกับบุคคลหรื อกิจการทีเ? กีย? วข้ องกัน (ต่อ) รายการต่อไปนีJเป็ นรายการที>มีสาระสําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที>เกี>ยวข้องกัน (ต่อ) ข)

การซืJอสิ นค้ าและบริการ

สํ าหรับปี สิJนสุ ดวันที? 31 ธันวาคม ซืJอสิ นค้ า บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า บริ ษทั ที>เกี>ยวข้องกันอื>น

ซืJอสิ นทรัพย์ ถาวร บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า บริ ษทั ที>เกี>ยวข้องกันอื>น

ซืJอบริการ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า บริ ษทั ที>เกี>ยวข้องกันอื>น

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

1,025,827 1,060,224 2,086,051

1,539,995 1,142,028 2,682,023

1,820,680 211,106 2,031,786

1,254,424 221,609 1,476,033

26 96,660 96,686

17 75,361 75,378

1,975 26 17,874 19,875

21,523 17 9,141 30,681

8,039 262,451 270,490

2,759 233,297 236,056

289,806 3,019 103,594 396,419

232,369 1,650 89,927 323,946


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

271 35

รายการกับบุคคลหรื อกิจการทีเ? กีย? วข้ องกัน (ต่อ) รายการต่อไปนีJเป็ นรายการที>มีสาระสําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที>เกี>ยวข้องกัน (ต่อ) ค)

ยอดค้ างชําระทีเ? กิดจากการขายและซืJอสิ นค้ า ซืJอสิ นทรัพย์ ถาวร และซืJอบริการ งบการเงินรวม ณ วันที? 31 ธันวาคม ลูกหนีกJ ารค้ า - กิจการทีเ? กีย? วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า บริ ษทั ที>เกี>ยวข้องกันอื>น

ดอกเบียJ ค้ างรับ - กิจการทีเ? กีย? วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า

เจ้ าหนีกJ ารค้ า - กิจการทีเ? กีย? วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า บริ ษทั ที>เกี>ยวข้องกันอื>น

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

94,734 44,094 138,828

50,024 51,683 101,707

1,912,119 1,279 41,139 1,954,537

1,868,750 6,336 34,104 1,909,190

225,256 225,256

62 62

233,514 233,514

10,461 10,461

26,713 46,788 73,501

116,335 64,632 180,967

561,951 5,900 1,331 569,182

375,202 1,938 1,848 378,988


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

272 35

รายการกับบุคคลหรื อกิจการทีเ? กีย? วข้ องกัน (ต่อ) รายการต่อไปนีJเป็ นรายการที>มีสาระสําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที>เกี>ยวข้องกัน (ต่อ) ง)

เงินให้ ก้ ยู ืมแก่ /เงินกู้ยืมจากกิจการทีเ? กีย? วข้ องกัน

ณ วันที? 31 ธันวาคม เงินให้ ก้ ยู ืมระยะสัJ นแก่ กิจการทีเ? กีย? วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า

เงินให้ ก้ ยู ืมระยะยาวแก่ กิจการทีเ? กีย? วข้ องกัน เงินกูย้ มื ระยะยาวที>ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ>งปี บริ ษทั ย่อย เงินกูย้ มื ระยะยาว บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

-

30,600 30,600

7,331,581 7,331,581

2,944,881 2,944,881

-

-

-

501,613

12,361,592 12,361,592

-

40,263,658 40,263,658

20,495,060 20,996,673

การเปลี>ยนแปลงในเงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการที>เกี>ยวข้องกันระหว่างปี สามารถวิเคราะห์ได้ดงั นีJ

ราคาตามบัญชีตน้ ปี เงินให้กยู้ มื เพิ>มขึJน รับคืนเงินให้กยู้ มื ระยะสัJน กําไร(ขาดทุน)จากอัตรา แลกเปลี>ยนที>ยงั ไม่เกิดขึJนจริ ง ราคาตามบัญชีปลายปี

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

12,174,947 -

-

20,996,673 34,043,181 (14,230,572)

24,918,490 1,551,424 (5,463,285)

186,645 12,361,592

-

(545,624) 40,263,658

(9,956) 20,996,673


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

273 35

รายการกับบุคคลหรื อกิจการทีเ? กีย? วข้ องกัน (ต่อ) รายการต่อไปนีJเป็ นรายการที>มีสาระสําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที>เกี>ยวข้องกัน (ต่อ) ง)

เงินให้ ก้ ยู ืมแก่ /เงินกู้ยืมจากกิจการทีเ? กีย? วข้ องกัน (ต่อ) งบการเงินรวม ณ วันที? 31 ธันวาคม เงินกู้ยืมระยะสัJ นจาก กิจการทีเ? กีย? วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า

จ)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

77,000 77,000

60,900 60,900

923,957 923,957

32,600 32,600

ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารสํ าคัญของกลุ่มบริษทั และบริษทั ค่าตอบแทนที>จ่ายหรื อค้างจ่ายสําหรับผูบ้ ริ หารสําคัญมีดงั นีJ งบการเงินรวม สํ าหรับปี สิJนสุ ดวันที? 31 ธันวาคม ผลประโยชน์ระยะสัJน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ผลประโยชน์ระยะยาวอื>น

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

864,020 22,270 16,553 902,843

929,099 35,055 54,573 1,018,727

109,359 9,396 5,610 124,365

100,619 7,972 6,737 115,328


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

274 36

ภาระผูกพันและหนีสJ ิ นทีอ? าจจะเกิดขึนJ

36.1 ภาระผูกพันทีเ? ป็ นรายจ่ ายฝ่ ายทุน กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั มีภาระผูกพันที>เป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุน ณ วันที>ในงบแสดงฐานะการเงินแต่ไม่ได้รับรู ้ในงบการเงิน มีดงั นีJ งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

สัญญาสร้างอาคารโรงงาน และคลังสิ นค้า

517 ล้านบาท 1 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ 4 ล้านยูโร

257 ล้านบาท 1 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ -

-

-

สัญญาซืJอเครื> องจักรและอุปกรณ์

77 ล้านบาท 1 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ 3 ล้านยูโร 7 ล้านเยน

77 ล้านบาท 4 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ 2 ล้านยูโร 34 ล้านเยน

16 ล้านบาท -

21 ล้านบาท -

ณ วันที? 31 ธันวาคม

36.2 การคําJ ประกัน ก) ณ วันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั มีหนังสื อคํJาประกันที>ออกโดยธนาคารในนามของบริ ษทั จํานวน 41 ล้านบาท (พ.ศ. 2558 : จํานวน 31 ล้านบาท) ซึ>งเกี>ยวกับการดําเนินงานตามปกติของบริ ษทั ข) ณ วันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ย่อยมีหนังสื อคํJาประกันที>ออกโดยธนาคารในนามของบริ ษทั ย่อยจํานวน 95 ล้านบาท 5 ล้านเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ 2 ล้านยูโ ร 10 ล้านโครนนอร์ เวย์ และ 1 ล้านสล็อ ตติ โ ปแลนด์ (พ.ศ. 2558 : จํานวน 81 ล้านบาท 2 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ 4 ล้านยูโร และ 7 ล้านโครนนอร์เวย์) ซึ>งเกี>ยวกับการดําเนินงานตามปกติของบริ ษทั ย่อย ค) ณ วันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ> งมีหนังสื อคํJาประกันจํานวน 13 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ (พ.ศ. 2558 : จํานวน 13 ล้านเหรี ยญสหรัฐ) ซึ> งออกให้แก่สถาบันการเงินแห่ งหนึ> งเพื>อคํJาประกันวงเงินสิ นเชื>อให้แก่บริ ษทั ย่อยของการร่ วมค้าของ กลุ่มบริ ษทั ง) ณ วัน ที> 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2559 บริ ษ ทั มี ห นังสื อคํJาประกัน ที> ออกโดยธนาคารในนามของบริ ษ ทั จํานวน 12 ล้านยูโร และ 6 ล้านเหรี ยญแคนาดา (พ.ศ. 2558 : จํานวน 10 ล้านยูโร) เพื>อคํJาประกันวงเงินสิ นเชื>อให้กบั บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั จ) ณ วัน ที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ> งมี ห นังสื อคํJาประกันที> ออกโดยธนาคารในนามของบริ ษทั ย่อยจํานวน 61 ล้านบาท (พ.ศ. 2558 : จํานวน 61 ล้านบาท) เพื>อคํJาประกันวงเงินสิ นเชื>อให้แก่การร่ วมค้าของกลุ่มบริ ษทั


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

275 36

ภาระผูกพันและหนีสJ ิ นทีอ? าจจะเกิดขึนJ (ต่อ)

36.3 ภาระผูกพันทีเ? ป็ นข้ อผูกมัดตามสั ญญาเช่ าดําเนินงาน กลุ่มบริ ษทั ทําสัญญาเช่ าดําเนิ นงานสําหรับที>ดิน เครื> องจักร ยานพาหนะ คอมพิวเตอร์ พืJนที>และอุปกรณ์ สํานักงาน ยอดรวมของ จํานวนเงินขัJนตํ>าที>ตอ้ งจ่ายในอนาคตตามสัญญาเช่าดําเนินงานที>ไม่สามารถยกเลิกได้ มีดงั นีJ

ณ วันที? 31 ธันวาคม ภายใน 1 ปี บาท เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา ยูโร เกินกว่ า 1 ปี แต่ ไม่ เกิน 5 ปี บาท เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา ยูโร เกินกว่ า 5 ปี บาท เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา ยูโร

พ.ศ. 2559 พันบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

204,225 2,573 4,131

177,762 2,894 3,948

93,850 130 -

79,932 228 -

363,531 3,854 7,597

331,066 4,455 10,069

292,285 -

271,640 127 -

130,923 275 87 717,196

113,800 266 585 644,845

123,666 509,931

102,338 454,265


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

276 36

ภาระผูกพันและหนีสJ ิ นทีอ? าจจะเกิดขึนJ (ต่อ)

36.4 คดีฟ้องร้ อง Tri-Union Seafoods LLC (Tri-U) เมื>อวันที> 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 Tri-U ได้รับหมายเรี ยกจากหน่วยงานป้ องกันการผูกขาดทางการค้า กระทรวงยุติธรรมของประเทศ สหรัฐอเมริ กา (Antitrust Division of the United States Department of Justice) (the “DOJ”) โดยเป็ นส่ วนหนึ> งของการสอบสวน ในความเป็ นไปได้เกี>ยวกับการกระทําความผิดเกี>ยวกับการฝ่ าฝื นกฎหมายการแข่งขันทางการค้า โดย Tri-U มีเจตนาที>มุ่งมัน> ในการ ให้ความร่ วมมืออย่างเต็มที>สาํ หรับการสอบสวนในครัJงนีJ เมื>อวันที> 3 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 Tri-U ได้ถูกฟ้องเป็ นจําเลยร่ วมกับผูผ้ ลิตอาหารทะเลบรรจุภาชนะผนึ กอื>นอีกสองรายที>ศาลชัJนต้น มลรัฐแคลิฟอร์เนีย และต่อมามีโจทก์รายอื>นได้ยนื> ฟ้อง Tri-U และจําเลยร่ วมในคดีคล้ายคลึงกัน ศาลจึงได้มีการรวมคดีฟ้องร้องเดิม กับคําฟ้ องที> ยื>น เข้ามาเพิ>มเติ มเพื>อให้เป็ นการดําเนิ น การฟ้ องร้ องหมู่ ในชัJน เดี ยว โดยโจทก์ได้กล่าวหาว่า Tri-U ฝ่ าฝื นกฎหมาย การแข่งขันทางการค้า Sections 1 และ 3 ภายใต้กฎหมายป้ องกันการผูกขาด (Sherman Antitrust Act) ขณะนีJ Tri-U ยังไม่สามารถ คาดการณ์ความเป็ นไปได้ในผลของคดีดงั กล่าว 37

เครื? องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมของอนุพนั ธ์ทางการเงิน แสดงได้ดงั นีJ งบการเงินรวม ณ วันที? 31 ธันวาคม สิ นทรัพย์ (หนีJสิน) - สุ ทธิ สัญญาแลกเปลี>ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า สัญญาสิ ทธิ สัญญาแลกเปลี>ยนอัตราดอกเบีJย สัญญาแลกเปลี>ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบีJย

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

614,774 2,277 (180,992) 327,603 763,662

706,278 54,843 (368,291) 281,465 674,295

675,241 1,152 327,603 1,003,996

698,381 54,843 (6,226) 281,465 1,028,463


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

277 37

เครื? องมือทางการเงิน (ต่อ)

37.1 สั ญญาแลกเปลีย? นเงินตราต่ างประเทศล่ วงหน้ าและสั ญญาสิ ทธิ ความเสี? ยงจากอัตราแลกเปลีย? น กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั มีความเสี> ยงจากอัตราแลกเปลี>ยนที>สาํ คัญอันเกี>ยวเนื>องจากการซืJ อหรื อขายสิ นค้า และการกูย้ มื หรื อให้กยู้ มื เงิน เป็ นเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั ได้ตกลงทําสัญญาแลกเปลี>ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าและสัญญาสิ ทธิ เพื>อใช้ เป็ นเครื> องมือในการบริ หารความเสี> ยง กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั มีสินทรัพย์ทางการเงินและหนีJสินทางการเงินที>เป็ นเงินตราต่างประเทศคงเหลือ ดังนีJ สกุลเงิน

ยูโร เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา เยน โครนนอร์เวย์ ปอนด์องั กฤษ โครนสวีเดน ปอนด์โปแลนด์ โคลูนาเช็ก เซดีกานา

สิ นทรัพย์ ทางการเงิน ณ วันที? 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

572,277 998,354 23,615 38,595 10,571 2,032 268,552 2,218 13,853

517,031 370,290 44,049 52,508 36,746 3,773 1,402 8,478 -

หนีสJ ิ นทางการเงิน ณ วันที? 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พันบาท พันบาท 92,514 306,612 64,084 84,928 3,568 3,161 134,087 2,365 -

38,994 132,880 115,499 56,082 20,749 3,482 1,158 -

อัตราแลกเปลีย? นถัวเฉลีย? ณ วันที? 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท 37.76 35.83 0.31 4.16 44.04 3.94 8.53 1.39 4.53

39.39 36.04 0.30 4.13 53.43 4.30 9.31 1.46 4.14


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

278 37

เครื? องมือทางการเงิน (ต่อ)

37.1 สั ญญาแลกเปลีย? นเงินตราต่ างประเทศล่ วงหน้ าและสั ญญาสิ ทธิ (ต่อ) กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั มีสญ ั ญาซืJอขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลือดังนีJ ณ วันที? 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

สกุลเงิน

จํานวน ที?ซืJอ (ล้ าน)

จํานวน ที?ขาย (ล้ าน)

บริษทั เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา

9

358

เยน ยูโร

-

176 224

บริษทั ย่ อย เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา

14

239

เยน ดอลลาร์ออสเตรเลีย

-

315 3

เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา

38

50

เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา

61

-

เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา

-

21

เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา

1

2

74 347 12 2 2 -

1 120

ยูโร ยูโร โครนนอร์เวย์ โครนนอร์เวย์ ปอนด์องั กฤษ ปอนด์โปแลนด์ เยน

อัตราแลกเปลีย? นตามสั ญญาของ จํานวนทีซ? ืJอ

จํานวนทีข? าย

35.80 - 36.49 บาท ต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา -

33.58 - 36.05 บาท ต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 0.32 - 0.35 บาทต่อเยน 37.82 - 48.45 บาทต่อยูโร

มกราคม พ.ศ. 2560 - ตุลาคม พ.ศ. 2563

35.12 - 35.99 บาท ต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา -

34.64 - 36.22 บาท ต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 0.31 - 0.35 บาทต่อเยน 26.32 - 26.59 บาท ต่อดอลลาร์ออสเตรเลีย 0.88 ยูโรต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา

มกราคม พ.ศ. 2560 - กรกฎาคม พ.ศ. 2560

0.87 - 0.90 ยูโร ต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 0.75 - 0.81 ปอนด์องั กฤษ ต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 1.31 ดอลลาร์แคนาดา ต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 0.73 - 0.91 ปอนด์องั กฤษต่อยูโร 0.11 ยูโรต่อโครนนอร์เวย์ 0.09 ปอนด์องั กฤษต่อโครนนอร์เวย์ 1.30 ยูโรต่อปอนด์องั กฤษ 0.23 ยูโรต่อปอนด์โปแลนด์ -

วันครบกําหนดตามสั ญญา

มิถุนายน พ.ศ. 2560 - พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 มีนาคม พ.ศ. 2560 - มกราคม พ.ศ. 2564

มิถุนายน พ.ศ. 2560 - ธันวาคม พ.ศ. 2560 มกราคม พ.ศ. 2560 - สิ งหาคม พ.ศ. 2560 มกราคม พ.ศ. 2560 - ธันวาคม พ.ศ. 2560

-

มกราคม พ.ศ. 2560 - ธันวาคม พ.ศ. 2560

3.56 - 4.14 ปอนด์โปแลนด์ ต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 1.33 - 1.35 ดอลลาร์แคนาดา ต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 8.72 - 9.83 โครนนอร์เวย์ต่อยูโร 3.82 - 3.89 ปอนด์โปแลนด์ต่อ 100 เยน

มกราคม พ.ศ. 2560 - ธันวาคม พ.ศ. 2560 มกราคม พ.ศ. 2560 – พฤษภาคม พ.ศ. 2560 มกราคม พ.ศ. 2560 - ธันวาคม พ.ศ. 2560 มกราคม พ.ศ. 2560 - ธันวาคม พ.ศ. 2560 มกราคม พ.ศ. 2560 - มกราคม พ.ศ. 2561 มกราคม พ.ศ. 2560 - มกราคม พ.ศ. 2561 มกราคม พ.ศ. 2560 - มิถุนายน พ.ศ. 2560 มกราคม พ.ศ. 2560 - ธันวาคม พ.ศ. 2560 มกราคม พ.ศ. 2560 - ธันวาคม พ.ศ. 2560


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

279 37

เครื? องมือทางการเงิน (ต่อ)

37.1 สั ญญาแลกเปลีย? นเงินตราต่ างประเทศล่ วงหน้ าและสั ญญาสิ ทธิ (ต่อ) กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั มีสญ ั ญาซืJอขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลือดังนีJ (ต่อ) ณ วันที? 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 จํานวน ที?ซืJอ (ล้ าน)

จํานวน ที?ขาย (ล้ าน)

270

242

เยน ยูโร

-

638 211

บริษทั ย่ อย เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา

1

240

เยน ยูโร

1

442 -

ดอลลาร์ออสเตรเลีย

-

เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา

สกุลเงิน

อัตราแลกเปลีย? นตามสั ญญาของ วันครบกําหนดตามสั ญญา

จํานวนทีซ? ืJอ

จํานวนทีข? าย

32.75 - 33.80 บาท ต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา -

32.76 - 36.86 บาท ต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 0.28 - 0.31 บาทต่อเยน 38.72 - 48.45 บาทต่อยูโร

มกราคม พ.ศ. 2559 - สิ งหาคม พ.ศ. 2559

35.98 - 36.15 บาท ต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 38.37 - 41.06 บาทต่อยูโร

33.86 - 36.82 บาท ต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 0.30 บาทต่อเยน -

มกราคม พ.ศ. 2559 - กันยายน พ.ศ. 2559

1

-

-

24

-

ยูโร

23

37

ยูโร ยูโร ยูโร ปอนด์องั กฤษ

98 -

2 1 32 36

1.10 - 1.13 เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา ต่อยูโร 0.70 - 0.76 ปอนด์องั กฤษต่อยูโร -

ปอนด์องั กฤษ

-

3

-

25.20 - 25.37 บาท ต่อดอลลาร์ออสเตรเลีย 3.11 - 3.99 ปอนด์โปแลนด์ ต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 1.08 - 1.17 เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา ต่อยูโร 0.71 - 0.74 ปอนด์องั กฤษต่อยูโร 4.28 - 4.34 ปอนด์โปแลนด์ต่อยูโร 8.48 - 9.83 โครนนอร์เวย์ต่อยูโร 1.49 - 1.56 เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา ต่อปอนด์องั กฤษ 13.15 โครนนอร์เวย์ ต่อปอนด์องั กฤษ

บริษทั เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 - มิถุนายน พ.ศ. 2559 มกราคม พ.ศ. 2559 - ตุลาคม พ.ศ. 2563

สิ งหาคม พ.ศ. 2559 - ธันวาคม พ.ศ. 2559 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 - กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เมษายน พ.ศ. 2559 มกราคม พ.ศ. 2559 - ธันวาคม พ.ศ. 2560 มกราคม พ.ศ. 2559 - ธันวาคม พ.ศ. 2559 มกราคม พ.ศ. 2559 - ธันวาคม พ.ศ. 2560 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - ธันวาคม พ.ศ. 2559 มกราคม พ.ศ. 2559 - ธันวาคม พ.ศ. 2560 มกราคม พ.ศ. 2559 - ธันวาคม พ.ศ. 2559 มกราคม พ.ศ. 2559 - ธันวาคม พ.ศ. 2559

ณ วันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มบริ ษทั มียอดคงเหลือของสัญญาสิ ทธิ ที>จะขายเงินตราต่างประเทศในอนาคต ที>มีเงื>อนไขพิเศษ กับสถาบันการเงินหลายแห่ งจํานวน 12 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ (พ.ศ. 2558 : 25 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ) ทัJงนีJ จาํ นวนเงินตราต่างประเทศที> ตกลงจะขายนัJนขึJนอยู่กบั เงื>อนไขที> ระบุไว้ในสัญญา โดยมีอตั ราแลกเปลี>ยน 35.04 - 35.72 บาทต่อ 1 เหรี ยญสหรัฐฯ (พ.ศ. 2558 : อัตราแลกเปลี>ยน 33.80 บาทต่อ 1 เหรี ยญสหรัฐฯ) สัญญาดังกล่าวจะครบกําหนดภายในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

280 37

เครื? องมือทางการเงิน (ต่อ)

37.2 สั ญญาแลกเปลีย? นอัตราดอกเบียJ รายละเอียดของสัญญาแลกเปลี>ยนอัตราดอกเบีJย ณ วันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีดงั นีJ บริ ษทั บริ ษทั ไม่มีสญ ั ญาแลกเปลี>ยนอัตราดอกเบีJย ณ วันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

จํานวนเงินต้ น 1

2,040 ล้านบาท (2 ปี แรก) 170 - 1,700 ล้านบาท (4 ปี หลัง)

2

510 ล้านบาท (2 ปี แรก) 42.5 - 425 ล้านบาท (4 ปี หลัง)

ณ วันที? 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 อัตราดอกเบียJ รับตาม อัตราดอกเบียJ จ่ ายตาม สั ญญาแลกเปลีย? น สั ญญาแลกเปลีย? น อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 3 เดือนบวก อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 4.52 ร้อยละ 1.50 (2 ปี แรก) อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 3เดือน บวก ร้อยละ 1.75 (4 ปี หลัง) อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 3 เดือนบวก อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 4.48 ร้อยละ 1.50 (2 ปี แรก) อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 3 เดือนบวก ร้อยละ 1.75 (4 ปี หลัง)

วันสิJนสุ ดสั ญญา ตุลาคม พ.ศ. 2559

ตุลาคม พ.ศ. 2559

บริ ษทั ย่อย

จํานวนเงินต้ น 1 2 3

68 ล้านยูโร 100 ล้านยูโร 22 ล้านยูโร

จํานวนเงินต้ น 1 2 3 4

68 ล้านยูโร 100 ล้านยูโร 22 ล้านยูโร 80 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ

ณ วันที? 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 อัตราดอกเบียJ รับตาม อัตราดอกเบียJ จ่ ายตาม สั ญญาแลกเปลีย? น สั ญญาแลกเปลีย? น อัตราดอกเบีJยลอยตัว EURIBOR 3 เดือน อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 2.70 อัตราดอกเบีJยลอยตัว EURIBOR 3 เดือน อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 2.73 อัตราดอกเบีJยลอยตัว EURIBOR 3 เดือน อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 0.37 ณ วันที? 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 อัตราดอกเบียJ รับตาม อัตราดอกเบียJ จ่ ายตาม สั ญญาแลกเปลีย? น สั ญญาแลกเปลีย? น อัตราดอกเบีJยลอยตัว EURIBOR 3 เดือน อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 2.70 อัตราดอกเบีJยลอยตัว EURIBOR 3 เดือน อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 2.73 อัตราดอกเบีJยลอยตัว EURIBOR 3 เดือน อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 0.37 อัตราดอกเบีJยลอยตัว LIBOR อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 1.85 - 2.55

วันสิJนสุ ดสั ญญา ตุลาคม พ.ศ. 2560 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ตุลาคม พ.ศ. 2564

วันสิJนสุ ดสั ญญา ตุลาคม พ.ศ. 2560 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ตุลาคม พ.ศ. 2564 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

281 37

เครื? องมือทางการเงิน (ต่อ)

37.3 สั ญญาแลกเปลีย? นสกุลเงินและอัตราดอกเบียJ รายละเอียดของสัญญาแลกเปลี>ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบีJย ณ วันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีดงั นีJ บริ ษทั

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

สกุลเงินและอัตราดอกเบียJ รับตามสั ญญา จํานวนเงินต้ น อัตราดอกเบียJ 1,145 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 3 เดือนบวกร้อยละ 4.75 1,997 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 6 เดือนลบร้อยละ 1.75 7 ล้านเหรี ยญ อัตราดอกเบีJยลอยตัว LIBOR สหรัฐฯ บวกร้อยละ 0.92 326 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 3 เดือนบวกร้อยละ 0.70 1,899 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 1.65 614 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 3 เดือนลบร้อยละ 0.06 14 ล้านเหรี ยญ อัตราดอกเบีJยลอยตัว LIBOR สหรัฐฯ บวกร้อยละ 0.92 4,106 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 2.32 3,475 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 6 เดือนบวกร้อยละ 3.50 1,911 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 6 เดือนบวกร้อยละ 3.49 2,428 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 3 เดือนบวกร้อยละ 3.56 2,433 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 3 เดือน 2,780 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 3 เดือนบวกร้อยละ 3.50

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สกุลเงินและอัตราดอกเบียJ จ่ ายตามสั ญญา จํานวนเงินต้ น อัตราดอกเบียJ 32 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 5.65

มีนาคม พ.ศ. 2560

50 ล้านยูโร

-

มิถุนายน พ.ศ. 2560

221 ล้านบาท

อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.62

กรกฎาคม พ.ศ. 2560

10 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ

อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 1.92

ธันวาคม พ.ศ. 2560

50 ล้านยูโร 20 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ

อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 1.54

ธันวาคม พ.ศ. 2560 มิถุนายน พ.ศ. 2561

442 ล้านบาท

อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 4.00

กรกฎาคม พ.ศ. 2561

97 ล้านยูโร 100 ล้านเหรี ยญ สหรัฐฯ 55 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ

อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 5.10

ธันวาคม พ.ศ. 2562 ตุลาคม พ.ศ. 2563

อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 5.10

ตุลาคม พ.ศ. 2563

70 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ

อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 5.10

ตุลาคม พ.ศ. 2563

70 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ

อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 5.10

ตุลาคม พ.ศ. 2563

80 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ

อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 5.10

ตุลาคม พ.ศ. 2563

วันสิJนสุ ดสั ญญา


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

282 37

เครื? องมือทางการเงิน (ต่อ)

37.3 สั ญญาแลกเปลีย? นสกุลเงินและอัตราดอกเบียJ (ต่อ) รายละเอียดของสัญญาแลกเปลี>ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบีJย ณ วันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีดงั นีJ (ต่อ) บริ ษทั (ต่อ) ณ วันที? 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สกุลเงินและอัตราดอกเบียJ จ่ ายตามสั ญญา จํานวนเงินต้ น อัตราดอกเบียJ 50 ล้านยูโร อัตราดอกเบีJยลอยตัว EURIBOR 3 เดือนบวกร้อยละ 1.38 อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 40 ล้านยูโร อัตราดอกเบีJยลอยตัว 6 เดือนบวกร้อยละ 1.26 EURIBOR 3 เดือนบวกร้อยละ 1.38 อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 2 ล้านยูโร อัตราดอกเบีJยลอยตัว 6 เดือนบวกร้อยละ 1.33 EURIBOR 3 เดือนบวกร้อยละ 1.38 อัตราดอกเบีJยลอยตัว 130 ล้านสล็อตติ อัตราดอกเบีJยลอยตัว WIBOR 3 EURIBOR 3 เดือนบวกร้อยละ โปแลนด์ เดือนบวกร้อยละ 3.38 2.10 อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 0.70 30 ล้านยูโร อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 0.73 อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 30 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.70 6 เดือนบวกร้อยละ 1.80 อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 2.88 23 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.30 อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 2.88 18 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.30 อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 27 ล้านยูโร อัตราดอกเบีJยลอยตัว 6 เดือนบวกร้อยละ 2.15 EURIBOR 3 เดือนบวกร้อยละ 3.15 อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 4.53 17 ล้านยูโร อัตราดอกเบีJยลอยตัว EURIBOR 3 เดือนบวกร้อยละ 3.15 อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.69 6 ล้านยูโร อัตราดอกเบีJยลอยตัว EURIBOR 3 เดือนบวกร้อยละ 3.15 อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.68 13 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.96 อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.30 14 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.96 อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.05 40 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.98 อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.73 17 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.96 อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.66 2,529 ล้านบาท -

สกุลเงินและอัตราดอกเบียJ รับตามสั ญญา จํานวนเงินต้ น อัตราดอกเบียJ 14 2,050 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 6 เดือนบวกร้อยละ 1.26 15 1,647 ล้านบาท

16 80 ล้านบาท

17 30 ล้านยูโร

18 1,179 ล้านบาท 19 976 ล้านบาท 20 737 ล้านบาท 21 573 ล้านบาท 22 1,089 ล้านบาท

23 656 ล้านบาท

24 233 ล้านบาท

25 26 27 28 29

426 ล้านบาท 505 ล้านบาท 1,452 ล้านบาท 550 ล้านบาท 75 ล้านเหรี ยญ สหรัฐฯ

วันสิJนสุ ดสั ญญา ตุลาคม พ.ศ. 2564

ตุลาคม พ.ศ. 2564

ตุลาคม พ.ศ. 2564

ตุลาคม พ.ศ. 2564

ตุลาคม พ.ศ. 2564 มิถุนายน พ.ศ. 2565 มิถุนายน พ.ศ. 2565 มิถุนายน พ.ศ. 2565 มกราคม พ.ศ. 2566

มกราคม พ.ศ. 2566

มกราคม พ.ศ. 2566

มิถุนายน พ.ศ. 2568 มิถุนายน พ.ศ. 2568 มิถุนายน พ.ศ. 2568 มกราคม พ.ศ. 2569 เมษายน พ.ศ. 2569


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

283 37

เครื? องมือทางการเงิน (ต่อ)

37.3 สั ญญาแลกเปลีย? นสกุลเงินและอัตราดอกเบียJ (ต่อ) รายละเอียดของสัญญาแลกเปลี>ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบีJย ณ วันที> 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีดงั นีJ (ต่อ) บริ ษทั (ต่อ)

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

ณ วันที? 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 สกุลเงินและอัตราดอกเบียJ รับตามสั ญญา สกุลเงินและอัตราดอกเบียJ จ่ ายตามสั ญญา จํานวนเงินต้ น อัตราดอกเบียJ จํานวนเงินต้ น อัตราดอกเบียJ 430 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 14 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยลอยตัว LIBOR 3 เดือน 3 เดือนบวกร้อยละ 0.20 1,145 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 32 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 5.65 3 เดือนบวกร้อยละ 4.75 1,997 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 50 ล้านยูโร 6 เดือนลบร้อยละ 1.75 35 ล้านเหรี ยญ อัตราดอกเบีJยลอยตัว LIBOR 1,106 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.62 สหรัฐฯ บวกร้อยละ 0.92 1,899 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 1.65 50 ล้านยูโร 326 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 10 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 1.92 3 เดือนบวกร้อยละ 0.75 614 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 20 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 1.54 3 เดือน 14 ล้านเหรี ยญ อัตราดอกเบีJยลอยตัว LIBOR 442 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 4.00 สหรัฐฯ บวกร้อยละ 0.92 4,106 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 2.32 97 ล้านยูโร 2,050 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 50 ล้านยูโร อัตราดอกเบีJยลอยตัว LIBOR 6 เดือนบวกร้อยละ 1.26 3 เดือนบวกร้อยละ 1.38 1,647 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 40 ล้านยูโร อัตราดอกเบีJยลอยตัว LIBOR 6 เดือนบวกร้อยละ 1.26 3 เดือนบวกร้อยละ 1.38 80 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 2 ล้านยูโร อัตราดอกเบีJยลอยตัว LIBOR 6 เดือนบวกร้อยละ 1.33 3 เดือนบวกร้อยละ 1.38 1,951 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยลอยตัว THBFIX 60 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.70 6 เดือนบวกร้อยละ 0.98 655 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 2.91 20 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.30 1,310 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 2.95 40 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.30 1,951 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.95 60 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.96 1,310 ล้านบาท อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.59 40 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ อัตราดอกเบีJยคงที>ร้อยละ 3.98

วันสิJนสุ ดสั ญญา มิถุนายน พ.ศ. 2559 มีนาคม พ.ศ. 2560 มิถุนายน พ.ศ. 2560 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ธันวาคม พ.ศ. 2560 มกราคม พ.ศ. 2561 มิถุนายน พ.ศ. 2561 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ตุลาคม พ.ศ. 2564 ตุลาคม พ.ศ. 2564 ตุลาคม พ.ศ. 2564 มกราคม พ.ศ. 2566 มกราคม พ.ศ. 2566 มกราคม พ.ศ. 2566 มกราคม พ.ศ. 2569 มกราคม พ.ศ. 2569


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

284 38

การส่ งเสริมการลงทุน บริ ษ ทั ได้รับ บัต รส่ งเสริ ม การลงทุ น จากสํานัก งานคณะกรรมการส่ งเสริ ม การลงทุ น สําหรั บ กิ จ การผลิ ต อาหารสําเร็ จ รู ป หรื อ กึ>งสําเร็ จรู ปบรรจุภาชนะผนึก อาหารพร้อมรับประทานแช่แข็ง สัตว์นJ าํ แช่แข็ง อาหารสัตว์บรรจุภาชนะผนึก ภายใต้สิทธิ ประโยชน์นJ ี บริ ษทั ได้รับการยกเว้นภาษีและอากรตามรายละเอียดที>ระบุในบัตรส่ งเสริ มรวมถึงการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นระยะเวลา 8 ปี นับตัJงแต่วนั ที>เริ> มมีรายได้จากการประกอบกิจการที>ได้รับการส่ งเสริ ม และได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับกําไรสุ ทธิ ที>ได้รับจากการลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติต่ออีก 5 ปี นับจากวันที>พน้ กําหนดได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยบริ ษทั ต้องปฏิบตั ิตามข้อกําหนดและเงื>อนไขที>ระบุในบัตรส่ งเสริ ม รายได้แยกตามกิจการที>ได้รับและไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนสามารถแสดงได้ดงั นีJ โดยรายได้จากกิจการที>ไม่ได้รับการส่ งเสริ ม การลงทุนรวมรายได้ทJ งั ที>ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลและรายได้ที>ครบกําหนดสิ ทธิการยกเว้น

รายได้จากการขายในประเทศ รายได้จากการส่ งออก รวมรายได้จากการขาย 39

กิจการทีไ? ด้ รับ การส่ งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

กิจการที?ไม่ ได้ รับ การส่ งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบาท พันบาท

พ.ศ. 2559 พันบาท

รวม พ.ศ. 2558 พันบาท

2,972,150 15,168,879 18,141,029

1,912,212 467,294 2,379,506

4,884,362 15,636,173 20,520,535

4,072,035 15,271,082 19,343,117

2,799,488 14,907,207 17,706,695

1,272,547 363,875 1,636,422

เหตุการณ์ ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน หุ้นกู้ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 บริ ษทั ได้มีการออกหุ ้นกูป้ ระเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ และไม่มีหลักประกันในสกุลเงินบาท เป็ นจํานวนรวม ทัJงสิJ น 12,000 ล้านบาท โดยหุ ้นกูด้ งั กล่าวจะเสนอขายแก่ผูล้ งทุนสถาบันและผูล้ งทุนขนาดใหญ่ การออกหุ ้นกูด้ งั กล่าวมีเงื>อนไข เกี>ยวกับอัตราส่ วนทางการเงินบางประการที>บริ ษทั ต้องปฏิบตั ิตาม รายละเอียดของหุน้ กูม้ ีดงั นีJ

หุ้นกู้ ครัJงที> 1/2560 ชุดที> 1 ครัJงที> 1/2560 ชุดที> 2 ครัJงที> 1/2560 ชุดที> 3 ครัJงที> 1/2560 ชุดที> 4 รวม

อัตราดอกเบียJ (ร้ อยละต่ อปี )

อายุ

ครบกําหนด

2.49 2.91 3.58 3.94

3 ปี 5 ปี 7 ปี 10 ปี

19 มกราคม พ.ศ. 2563 19 มกราคม พ.ศ. 2565 19 มกราคม พ.ศ. 2567 19 มกราคม พ.ศ. 2570

จํานวนหน่ วย พันหน่ วย

จํานวน ล้ านบาท

3,500 2,000 2,500 4,000

3,500 2,000 2,500 4,000 12,000


THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

ANNUAL REPORT 2016

285 39

เหตุการณ์ ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน (ต่อ) เงินกู้ยืมระยะยาว ในเดื อนมกราคม พ.ศ. 2560 บริ ษทั ได้เข้าทําสัญญาวงกูย้ ืมเงินระยะยาวกับสถาบันการเงินในประเทศเป็ นจํานวนเงินรวมไม่เกิ น 12,500 ล้านบาท เพื>อนําเงินที> ได้ไปใช้ในการทดแทนเงินกูย้ ืมเดิ ม ทัJงนีJ เงินกูย้ ืมดังกล่าวมีกาํ หนดระยะเวลาชําระคืนภายใน 5 ปี นับตัJงแต่วนั เบิกเงินกูค้ รัJงแรกและมีอตั ราดอกเบีJยร้อยละ THBFIX บวกอัตราส่ วนเพิ>มคงที>ต่อปี เงินปันผล เมื>อวันที> 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ได้มีมติอนุ มตั ิเพื>อนําเสนอต่อที>ประชุมผูถ้ ือหุ ้นสามัญประจําปี ซึ> งจะจัดขึJนในเดือนเมษายน พ.ศ. 2560 เพื>อพิจารณาอนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผลจากกําไรสุ ทธิจากผลการดําเนินงานประจําปี พ.ศ. 2559 ให้แก่ผูถ้ ือหุ ้นรวมเป็ นจํานวนเงิน 3,006 ล้านบาท แต่เนื> องจากมติที>ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั เมื>อวันที> 8 สิ งหาคม พ.ศ. 2559 ได้อนุ มตั ิการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลสําหรับผลการดําเนิ นงานรอบหกเดือนสิJ นสุ ดวันที> 30 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ในอัตราหุ ้นละ 0.32 บาท รวมเป็ นเงินจํานวน 1,527 ล้านบาท ซึ> งได้จ่ายแล้วเมื>อวันที> 2 กันยายน พ.ศ. 2559 จึงคงเหลือเงินปั นผลจ่ายในอัตราหุ น้ ละ 0.31 บาท รวมเป็ นเงินจํานวน 1,479 ล้านบาท โดยกําหนดจ่ายในวันที> 20 เมษายน พ.ศ. 2560


ANNUAL REPORT 2016

THAI UNION GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

286

NOTE



บร�ษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ ป จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ 72/1 หมู ที่ 7 ถนนเศรษฐกิจ 1 ตำบลท าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000 โทรศัพท 66 (0) 3481-6500 (อัตโนมัติ 7 สาย) โทรสาร 66 (0) 3481-6886

สำนักงานกรุงเทพ 979/12 ชั�นเอ็ม อาคารเอสเอ็มทาวเวอร ถนนพหลโยธ�น แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 66 (0) 2298-0024, 2298-0537 - 41 โทรสาร 66 (0) 2298-0548, 2298-0550 thaiunion.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.