สารบัญ หน้า
ขอมูลทั่วไป ขอมูลทางการเงินที่สำคัญ สารจากประธานกรรมการ สารจากประธานอำนวยการ รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ โครงสรางกลุ่มบริษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสรางรายได้ วิเคราะหผลการดำเนินงานและฐานะการเงิน ปัจจัยความเสี่ยง โครงสร้างการถือหุ้น โครงสรางองคกร โครงสรางการจัดการ คณะกรรมการบริษัทและคณะผูบริหาร นโยบายการกำกับดูแลกิจการ ความรับผิดชอบต่อสังคม รายการระหว่างกัน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน รายงานผูสอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน รายชื่อบริษัทย่อยและบริษัทร่วม
2 3 4 5 7 8 9 14 15 17 22 23 24 34 49 62 63 65 66 67 138
1
ข้อมูลทั่วไป
2
บริษัท ยูนิเวนเจอร จำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) Univentures Public Company Limited หรือ “UV” ทะเบียนเลขที่ 0107537001030 (เลขทะเบียนเดิม คือ บมจ. 350) ลงทุนและพัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย อสังหาริมทรัพยและกอสราง 944,528,490 บาท 764,770,615 บาท 1 บาท 49%
ที่ตั้งสำนักงาน
เลขที่ 888/210-212 อาคารมหาทุนพลาซา ชั้น 2 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (2) 100 7100 โทรสาร: 66 (2) 255 9417 - 8 เว็บไซต: www.univentures.co.th
ที่ตั้งโรงงาน
เลขที่ 2 ซอยพหลโยธิน 90 ถนนพหลโยธิน ตำบลประชาธิปัตย อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12130 โทรศัพท: 66 (2) 100 7111 โทรสาร: 66 (2) 998 9144, 66 (2) 998 9840
บุคคลอางอิง: นักลงทุนสัมพันธ
ชื่อบริษัท ชื่อภาษาอังกฤษ เลขทะเบียนบริษัท ประเภทธุรกิจ หมวดธุรกิจ กลุมอุตสาหกรรม ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนชำระแลว ราคาพาร ขอจำกัดการถือหุนตางดาว
ผู้สอบบัญชี
นายกำพล ปุญโสณี บริษัท ยูนิเวนเจอร จำกัด(มหาชน) โทรศัพท: 66 (2) 100 7100 ต่อ 7109 โทรสาร: 66 (2) 255 9417 e-mail: investor_relations@univentures.co.th
นายนิรันดร ลีลาเมธวัฒน ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 2316 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด อาคารเอ็มไพรทาวเวอร ชั้น 48 – 51 195 ถนนสาทรใต กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท: 66 (2) 677 2000 โทรสาร: 66 (2) 677 2222
บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย(ประเทศไทย) จำกัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท: 66 (2) 229 2800 โทรสาร: 66 (2) 359 1259
นายทะเบียนหลักทรัพย
ข้อมูลทางการเงินที่สำคัญ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ผลการดำเนินงาน รายไดจากการขาย รายไดรวม ตนทุนขาย กำไรขั้นตน กำไรสุทธ ิ ฐานะการเงิน สินทรัพยรวม หนี้สินรวม ทุนที่ออกและเรียกชำระแลว ส่วนของผูถือหุน เงินสด ขอมูลตอหุน กำไรสุทธิตอหุน เงินปันผลตอหุน มูลคาตามบัญชีตอหุน มูลคาที่ตราไวตอหุน อัตราส่วนทางการเงิน อัตรากำไรขั้นตน อัตราหมุนเวียนของสินทรัพยรวม อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม อัตราผลตอบแทนผูถือหุน อัตราสวนหนี้สินรวมตอสวนของผูถือหุน ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย ระยะเวลาจายชำระหนี้เฉลี่ย อัตราการเติบโต สินทรัพยรวม หนี้สินรวม
2552
2551
2550
ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท
1,317.01 1,361.02 1,139.17 177.88 8.25
1,136.96 1,216.62 996.84 140.12 61.83
1,458.30 1,547.20 1,265.70 192.60 100.95
ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท
2,450.98 435.63 764.76 2,015.35 894.92
2,159.50 221.84 762.27 1,937.66 825.08
บาท บาท บาท บาท
0.08 0.05 2.64 1.00
0.16 0.10 2.54 1.00
% เท่า % % เทา วัน วัน วัน
12.32 0.54 2.68 3.13 0.22 29 55 11
13.21 0.83 5.43 6.05 0.11 30 55 8
% %
3,763.65 1,625.42 764.76 2,138.22 480.25 0.01 0.01 2.80 1.00 13.51 0.44 0.27 0.40 0.71 22 68 39 53.56 249.74
13.50 96.37
38.80 40.30
3
สารจากประธานกรรมการ
สืบเนื่องจากการชะลอตัวของภาวะเศรษฐกิจไทยโดยเฉพาะในช่วงไตรมาส 4 ปี 2551 ซึ่งมีปัจจัยลบมาจากปัญหาวิกฤติสถาบันการเงินของโลก และการขาดสภาพคล่องในต่างประเทศจากความผันผวนในด้านการเงินทำให้มเี งินทุนไหลออกจากตลาดหุน้ บางส่วน เพราะนักลงทุนต่างประเทศ นำเงินกลับประเทศ รวมทั้งความไม่สงบทางการเมืองที่รุนแรงมาตั้งแต่ในช่วงเดือนตุลาคม 2551 ต่อเนื่องมาในช่วง 10 เดือนแรก ของปี 2552 โดยเศรษฐกิจไทยได้หดตัวลงมาต่ำสุดในเดือนกุมภาพันธ์ ก่อนจะทยอยปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นในเดือนตุลาคมและต่อเนื่อง ทั้งนี้เม็ดเงินจาก มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของภาครัฐได้สง่ ผลดีตอ่ การผลิต ภาคอุตสาหกรรม การส่งออก และการใช้จา่ ย ทำให้ความเชือ่ มัน่ ในการใช้จา่ ยปรับตัว ดีขึ้น ประกอบกับมาตรการกระตุ้นภาคอสังหาริมทรัพย์เพื่อช่วยผู้บริโภคและผู้ประกอบการ อาทิ การโอนที่อยู่อาศัยภายใน 31 ธันวาคม 2552 ได้สิทธินำไปหักเป็นค่าลดหย่อนภาษีเงินได้ 300,000 บาท การลดภาษีธุรกิจเฉพาะจากร้อยละ 3.3 เหลือร้อยละ 0.1 และการลดค่าธรรมเนียม การโอนจากร้อยละ 2 เหลือร้อยละ 0.01 จนถึงวันที่ 28 มีนาคม 2553 มาตรการกระตุ้นดังกล่าวข้างต้นได้ส่งผลเชิงบวกต่อผู้ประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ผู้ที่ต้องการซื้อเพื่ออยู่อาศัยหรือเพื่อการลงทุน การจ้างงาน และธุรกิจที่เกี่ยวข้องในวงกว้าง โครงการ “ยู ดีไลท์ แอท บางซื่อ สเตชั่น” จำนวน 622 ยูนิต บนถนนประชาชื่น ซึ่งเป็นโครงการ ภายใต้การพัฒนาของบริษัทย่อย คือ แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ ก็ได้รับการตอบรับอย่างดีเกินคาด ทั้งรูปแบบ ทำเล ราคาที่เหมาะสม และสามารถเร่งโอนให้แก่ลูกค้าเพื่อใช้สิทธิลดหย่อนภาษีเงินได้ 300,000 บาท ได้ทันภายใน 31 ธันวาคม 2552 สำหรับการก่อสร้างโครงการ ปาร์ค เวนเชอร์ บนสี่แยกถนนเพลินจิต - วิทยุ ซึ่งเป็นโครงการอาคารสำนักงานและโรงแรม ได้มีความคืบหน้าเป็นอย่างมาก และนอกจาก ความก้าวหน้าของธุรกิจของบริษทั ฯ ซง่ึ มีแนวโน้มทีด่ แี ล้วดิฉนั ในฐานะประธานกรรมการบริษทั ฯได้รว่ มกับกรรมการและผูบ้ ริหารได้ผลักดันให้บริษทั ฯ มีการปรับปรุงในเรื่องการกำกับดูแลกิจการบริษัจดทะเบียนไทยต่อเนื่องจากในปี 2551 และเป็นที่น่ายินดีที่บริษัทฯ ได้รับผลสำรวจคะแนน ดีมากในปี 2552 คือ ร้อยละ 89 เมื่อเทียบกับร้อยละ 83 ในปี 2551 ดิฉันขอถือโอกาสนี้ขอบพระคุณลูกค้า และผู้ถือหุ้นทุกท่านที่ให้การสนับสนุนบริษัทฯ ด้วยดีเสมอมา และขอขอบคุณกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกท่านทีไ่ ด้มงุ่ มัน่ ทุม่ เทในการทำงานเพือ่ องค์กรอย่างเต็มที ่ และร่วมกันบริหารองค์กรแห่งนีใ้ ห้เป็นบริษทั จดทะเบียนทีม่ ธี รรมาภิบาลทีด่ ี
4
นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช ประธานกรรมการ
สารจากประธานอำนวยการ
ผลกระทบจากวิกฤติสถาบันการเงินที่ส่งผลให้สภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัวตั้งแต่ไตรมาส 4 ปี 2551 และต่อเนื่องในปี 2552 ที่ผ่านมานั้น ได้ส่ง ผลกระทบต่อการเคลือ่ นไหวของเงินทุน สภาพคล่อง ความเชือ่ มัน่ ในการลงทุนและการใช้จา่ ยของทัง้ ภาคสถาบัน และภาคครัวเรือนอุตสาหกรรม ที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤติการณ์ดังกล่าวและมีผลกระทบต่อรายได้และผลกำไรของ บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) คือ กลุ่มอุตสาหกรรม ยานยนต์ ซงึ่ ยอดการสัง่ ซือ้ ของรถยนต์และอุปกรณ์จากต่างประเทศลดลงอย่างรุนแรง ส่งผลให้กลุม่ ผูผ้ ลิตยางรถยนต์ ซงึ่ เป็นฐานลูกค้ารายใหญ่ ของธุรกิจผลิตสังกะสีอ๊อกไซด์ ของบริษัทย่อย คือบริษัท ไทย-ไลซาท จำกัด ได้รับผลกระทบด้วย กล่าวคือ ยอดการสั่งซื้อถูกยกเลิกส่งผลให้ โรงงานต้องลดกำลังการผลิตในไตรมาส 1 ลงเกือบร้อยละ 40 บริษทั ฯ จงึ จำเป็นต้องปรับกลยุทธ์โดยหาฐานลูกค้าในอุตสาหกรรมอืน่ เพือ่ ชดเชย รายได้ และสำหรับในไตรมาสที ่ 2 ถึง 4 ของปี 2552 แม้วา่ ยอดการสัง่ ซือ้ จะเริม่ กลับเข้ามา แต่ยงั ไม่สามารถทำกำไรขัน้ ต้นได้ตามทีป่ ระมาณการไว้ ทั้งนี้เนื่องจากราคาของวัตถุดิบคือสังกะสีแท่งปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจาก 1,379 ดอลล่าร์ในเดือนเมษายน ไปปิดที่ 2,376 ดอลล่าร์ในเดือน ธันวาคม 2552 ซึ่งหากพิจารณาถึงปัจจัยพื้นฐานแล้วราคาสังกะสีแท่งยังไม่ควรจะปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเศรษฐกิจโลกยังไม่ฟื้น ตัวอย่างชัดเจน และความต้องการใช้สังกะสีทั่วโลกไม่น่าจะสูงมากจนมีผลกระทบต่อราคาให้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็วเช่นนี้ จากสารประธานอำนวยการในปี 2551 ดิฉันได้เรียนให้ผู้ถือหุ้นทราบว่าบริษัทฯ ได้เริ่มการลงทุนในโครงการอสังหาริมทรัพย์ประเภทที่อยู่อาศัย กล่าวคือ จะมีการรับรู้รายได้ในปี 2552 จากโครงการ ยู สบาย พระราม 4 มูลค่า 450 ล้านบาท และในปี 2553 จากโครงการ ยู ดีไลท์ แอท บางซื่อ สเตชั่น มูลค่า 1,000 ล้านบาท และเนื่องจากผลประกอบการของธุรกิจสังกะสีอ๊อกไซด์ได้รับผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอ ตัวส่งผลให้ผลประกอบการต่ำกว่าที่ประมาณการไว้ และไม่สามารถช่วยฐานรายได้ของบริษัทฯ ตามที่ได้วางแผนไว้ บริษัทฯ จึงเร่งการก่อสร้าง และขายโครงการ ยู ดีไลท์ แอท บางซื่อ สเตชั่น เพื่อให้สามารถรับรู้รายได้ ในปี 2552 ได้บางส่วน ซึ่งเร็วกว่าแผนการที่ตั้งไว้ถึง 3 เดือน และ สามารถเอื้อประโยชน์ให้ลูกค้าสามารถนำไปหักเป็นค่าลดหย่อนภาษีเงินได้ 300,000 บาท ซึ่งหมดเขตในวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ได้ ในปี 2552 ที่ผ่านมา บริษัทย่อย คือบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ ได้เปิดตัวโครงการคอนโดมิเนียม ยู ดีไลท์ แอท ห้วยขวาง สเตชั่น จำนวน 597 ยูนิต มูลค่า 1,200 ล้านบาท ราคาขายเฉลี่ยที่ 53,000 บาทต่อตารางเมตร ขนาด 32- 64 ตารางเมตร และโครงการคอนโดมิเนียม ยู ดีไลท์ แอท จตุจักร สเตชั่น จำนวน 920 ยูนิต มูลค่า 1,800 ล้านบาท ราคาขายเฉลี่ย 57,000 บาทต่อตารางเมตร ขนาด 32- 64 ตรม. ซึ่งได้รับการ ตอบรับจากลูกค้าเกินความคาดหมาย โดยฟังค์ชั่นการออกแบบ รูปแบบ และราคาที่เหมาะสมของ “ยู ดีไลท์ คอนเซปต์” ตรงกับความต้องการ ของกลุม่ เป้าหมายซึง่ เป็นคนรุน่ ใหม่ทเี่ ริม่ ทำงาน หรือผูท้ ชี่ อบความสะดวกสบายในการเดินทางซึง่ ห่างจากรถไฟฟ้าหรือรถใต้ดนิ ไม่ไกลนัก สำหรับ โครงการอสังหาริมทรัพย์ประเภทอาคารสำนักงานคือ โครงการปารค์ เวนเชอร์ มูลค่า 5,000 ล้านบาท บนแยกถนน เพลินจิต – วิทยุ อยู่ระหว่าง การก่อสร้างชั้นที่ 4 และในส่วนโรงแรมชั้นที่ 23-33 ซึ่งปล่อยพื้นที่เช่าให้บริษัท ทีซีซี ลักซ์ชูรี โฮเทลส์ แอนด์ รีสอร์ท จำกัด อยู่ในระหว่าง การออกแบบตกแต่งภายในเพื่อเป็นโรงแรมระดับ 5 ดาว และสำหรับแผนงานในปี 2553 บริษัทฯ จะให้ความสำคัญกับการพัฒนาโครงการ ปาร์ค เวนเชอร์ โครงการคอนโดมิเนียม ยู ดีไลท์ แอท ห้วยขวาง สเตชั่น และ ยู ดีไลท์ แอท จตุจักร สเตชั่น ซึ่งทั้ง 3 โครงการคาดว่าจะทยอย แล้วเสร็จในปลายปี 2554 เป็นต้นไป สำหรับรายได้ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในปี 2553 คือการขายและโอนยูนิตที่เหลือของโครงการคอนโดมิเนียม ยู ดีไลท์ แอท บางซื่อ สเตชั่น มูลค่า 920 ล้านบาท และรายได้จากธุรกิจสังกะสีอ๊อกไซด์ ซึ่งประมาณการยอดขาย 15,000 ตัน หรือ ประมาณ 1,000 ล้านบาท
5
สารจากประธานอำนวยการ สุดท้ายนี้ ดิฉันและคณะผู้บริหารและพนักงานของบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทในเครือขอขอบพระคุณลูกค้า ผู้ถือหุ้นและ พันธมิตรทางธุรกิจทุกท่านที่กรุณาให้ความไว้วางใจและความร่วมมือด้วยดีตลอดมา คณะผู้บริหารและพนักงานทุกท่านจะมุ่งมั่นที่จะร่วมกัน ปฏิบัติหน้าที่ในการที่จะสร้างองค์กรแห่งนี้ให้มีความก้าวหน้า เจริญรุ่งเรือง โปร่งใส และสร้างผลตอบแทนที่ดีที่สุดสำหรับผู้ถือหุ้นทุกท่าน
6
นางอรฤดี ณ ระนอง ประธานอำนวยการ
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ
เรียน
ท่านผู้ถือหุ้น
คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด(มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำนวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์เฉพาะด้าน และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามกฏบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมี นายสุวิทย์ จินดาสงวน เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช และนายนรรัตน์ ลิ่มนรรรัตน์ เป็นกรรมการตรวจสอบ โดยที่กรรมการตรวจสอบแต่ละ ท่านไม่มีส่วนร่วมในการบริหาร รวมทั้งไม่ได้เป็นเจ้าหน้าที่บริหาร พนักงาน หรือเป็นผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทในเครือ และบริษัทร่วม คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขตหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทและสอดคล้องกับ แนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ขี องคณะกรรมการตรวจสอบทีต่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนดไว้ รวมถึงการสอบทานงบการเงินการสอบทาน ความ เหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน การสอบทาน การเปิดเผยข้อมูลกรณีทเี่ กิดรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจจะมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ให้มคี วามถูกต้องครบถ้วน รวมทัง้ พิจารณาคัดเลือก และเสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตของบริษทั ฯ และค่าตอบแทนการผูส้ อบ บัญชีประจำปี ในปี 2552 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง โดยมีกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมตัวแทนฝ่ายบริหาร ผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบภายใน ในจำนวนนี้ได้เข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายใน โดยไม่มีฝ่ายจัดการ 1 ครั้ง ซึ่งได้พิจารณาสอบทาน การจัดทำรายงานทางการเงินรายไตรมาสและประจำปีทผี่ า่ นการตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต โดยผูบ้ ริหารทีร่ บั ผิดชอบได้ชแี้ จงข้อซักถาม ก่อนทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบจะให้ความเห็นชอบงบการเงิน งบการเงินทีพ่ จิ ารณาในแต่ละครัง้ มีการจัดทำรายงานทางการเงินตามมาตรฐาน การบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป และมีการเปิดเผยข้อมูลทีค่ รบถ้วนและถูกต้องตามทีค่ วร ในสาระสำคัญตามความเห็นของผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตทีแ่ นบ ในงบการเงินแต่ละไตรมาสและประจำปีกอ่ นนำเสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารสอบทาน คุณสมบัติของผู้สอบบัญชีแล้วมีความถูกต้องครบถ้วนตามประกาศของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และได้พจิ ารณาความเหมาะสมของค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชีแล้วจึงมีมติให้เสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุม สามัญผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ พร้อมทั้งพิจารณาค่าตอบ แทนของผู้สอบบัญชี ประจำปี 2553 ต่อไป คณะกรรมการตรวจสอบได้แสดงความเห็นว่าบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและ เหมาะสมไม่พบข้อบกพร่องทีเ่ ป็นสาระสำคัญ มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศต่อบุคคลภายนอกทีเ่ พียงพอและมีการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ บริษัทฯ ให้เป็นไป อย่างถูกต้อง ตลอดจนได้มกี ารพิจารณาสอบทานรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจจะมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์เพือ่ ให้เกิดความโปร่งใส
นายสุวิทย์ จินดาสงวน ประธานกรรมการตรวจสอบ 7
8 หมายเหตุ: * ถือหุ้นทางอ้อมผ่านบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด คิดเป็นร้อยละ 59.99 ** ถือหุ้นทางอ้อมผ่านบริษัท เอสโก้ เวนเจอร ์จำกัด คิดเป็นร้อยละ 15.80 *** ทุนชำระแล้ว ณ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 (ส่วนที่ถือหุ้นทางตรงและทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 10 ขึ้นไป)
โครงสร้างกลุ่มบริษัท
ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2523 โดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อประกอบธุรกิจ ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผงสังกะสีอ๊อกไซด์ (Zinc Oxide) ภายใต้เครื่องหมายการค้ารูป “เตาเผา” บริษัทฯ เข้าจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปี 2531 และนับตัง้ แต่ป ี 2544 เป็นต้นมา บริษทั ฯ ได้ขยายการลงทุนในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์อย่างต่อเนือ่ ง พั ฒ นาโครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ที่ มี ศั ก ยภาพแต่ ป ระสบปั ญ หาการเงิ น ให้ ส ามารถดำเนิ น โครงการจนแล้ ว เสร็ จ โดยจั ด ตั้ ง บริ ษั ท ย่ อ ย หรือร่วมทุนกับบริษัทผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่มีประสบการณ์ จากการเปลี่ยนแปลงและการขยายการลงทุนในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในปี 2549 บริษทั ฯได้รบั การอนุมตั จิ ากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยให้ยา้ ยหมวดธุรกิจจากหมวดปิโตรเคมีและเคมีภณ ั ฑ์ (Petrochemicals & Chemicals Sector) เป็นหมวดพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Property Development Sector) การดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม จำแนกประเภทธุรกิจหลักได้ดังนี้ 1. การลงทุนและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัทฯได้ขยายการลงทุนในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทอาคารชุดพักอาศัยเพื่อขายโดยดำเนินการผ่านบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นทางตรงในสัดส่วนร้อยละ 60 และ บริษัท แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ( ถือหุ้น โดยบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ร้อยละ 99.98 ) มีโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทคอนโดมิเนียมที่อยู่ระหว่างการขายและก่อสร้าง จำนวน 3 โครงการได้แก่ โครงการพาร์ควิว วิภาวดี 4, โครงการ ยู สบาย (พระราม 4 - กล้วยน้ำไท) และโครงการ ยู ดีไลท์ แอท บางซื่อ สเตชั่น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ขยายการลงทุนโดยการซื้อที่ดินเพิ่มอีก 2 แปลง เพื่อนำมาพัฒนาเป็นโครงการคอนโดมิเนียม ยู ดีไลท์ แอท ห้วยขวาง สเตชัน่ และ ย ู ดไี ลท์ แอท จตุจกั ร สเตชัน่ โดยเริม่ เปิดขายในช่วงปลายไตรมาส 4 ป ี 2552 และมีแผนจะพัฒนา ให้แล้วเสร็จพร้อมทีจ่ ะโอนห้องชุด ให้แก่ลูกค้าในปี 2554 ในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์แนวราบ บริษัทฯ ได้ลงทุนใน บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำกัด ซึ่งบริษัทฯ เป็นผู้ถือหุ้นในสัดส่วน ร้อยละ 49 โดยมี โครงการทีไ่ ด้ดำเนินการพัฒนาและขายแล้ว 2 โครงการ คือ โครงการ ดิ ยโู รเปีย้ น ทาวน์ ตง้ั อยูบ่ ริเวณถนนอ่อนนุช - ลาดกระบัง และโครงการ ดิ นอร์ทเทิรน์ ทาวน์ รังสิต ในส่วนของสิทธิการเช่าที่ดินบริเวณสี่แยกถนนเพลินจิต - วิทยุ โดย บริษัท เลิศรัฐการ จำกัด ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ในสัดส่วนร้อยละ 100 ปัจจุบัน อยู่ระหว่างการพัฒนาเป็นโครงการอาคารสำนักงานและโรงแรมที่มีความสูง 33 ชั้น โดยคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จพร้อมเปิดดำเนินการ ประมาณปี พ.ศ. 2554 2. ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผงสังกะสีอ๊อกไซด์ ดำเนินการโดยบริษัทฯ และบริษัท ไทย - ไลซาท จำกัด (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100) 3. การลงทุนพลังงาน มีลักษณะการดำเนินธุรกิจทั้งในรูปแบบของการลงทุนในธุรกิจบริหารและจัดการพลังงานจากแหล่งเชื้อเพลิงที่เป็นวัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติ ร่วมกับเชื้อเพลิงที่ประหยัดและมีมลพิษต่ำ และการให้บริการปรึกษาด้านวิศวกรรมจัดการและอนุรักษ์พลังงาน โดยผ่านบริษัท เอสโก้ เวนเจอร์ จำกัด (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 79) และบริษัท เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์แนชั่นแนล จำกัด (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 31.81) 4. ธุรกิจอื่นๆ ได้แก่ ธุรกิจผู้แทนจำหน่ายอุปกรณ์ระบบควบคุมที่จอดรถอัตโนมัติ (Car Parking System) ภายใต้ชื่อระบบ “ONE SMART TOUCH” ที่ควบคุมการเข้าออกโครงการ อาคาร ลิฟท์ ดัวยบัตรใบเดียว และเป็นผู้แทนจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องบันทึกเวลา (Time Recording System) และ CCTV ผ่านบริษัท ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จำกัด (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100) นอกจากนี้ยังมีบริษทั ยนู เิ วนเจอร์ คอนซัลติง้ จำกัด และบริษทั ยนู เิ วนเจอร์ แอสเซท แมเนจเม้นท์ จำกัด(บริษทั ฯ ถอื หุน้ ร้อยละ100) ดำเนินธุรกิจ ในลักษณะการให้บริการที่ปรึกษาทางการเงินและการลงทุนอีกด้วย 9
10
11
12
13
14
บมจ. ยูนิเวนเจอร์
*ถือหุ้นทางอ้อมผ่านบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวล็อปเมนท์ จำกัด
รวมรายได้จากธุรกิจอื่น รายได้รวม
4.41% 100%
59.96 1,358.34
0.09% 0.43% 0.84% 0.23% 35.67% 3.11% (0.20)% 0.96% 0.54%
1.17 5.81 11.44 3.07 484.58
35.57 22.75 37.06 10.04
17.23 94.15
2.14 5.57 4.45
105.42 1,239.37
-
-
64.76
34.09%
463.09 -
94.00% 38.88 6.00% 59.59% 1,039.26 0.32% 0.54 59.91% 1,039.80
918.62 81.76 1,000.38
760.94 48.53 809.47 4.33 813.80
-
42.21 (2.66) 13.05 7.36
-
-
-
-
-
1,032.24 105.76 1,138.00
2550 ล้านบาท
8.51% 100%
2.87% 1.84% 2.99% 0.81%
1.39% 7.60%
0.17% 0.45% 0.36%
5.23%
34.81
39.11 (9.89)
151.17
64.03 1,558.96
-
-
97.08 7.88 0.60 43.09 2.52
184.11 - 83.85% 1,322.11 0.04% 83.90% 1,322.11
3.74%
91.83% 8.17% 96.26%
ดำเนินการโดย 2552 2551 (% การถือหุ้น) ล้านบาท % ล้านบาท %
รายได้จากการขาย - ในประเทศ รายได้จากการขาย – ต่างประเทศ บจก. ไทย – ไลซาท(100%) รวม รายได้อื่นๆ รวมรายได้จากธุรกิจผงสังกะสีอ๊อกไซด์และเคมีภัณฑ์ ธุรกิจการลงทุน รายได้จากการขายห้องชุดพักอาศัย บจก.แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์(60%) / กำไรจากการขายหลักประกันของลูกหนี้เงินให้กู้ยืม บจก.แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง*(59.99%) / รายได้ค่าเช่าและกำไรจากการขายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ให้เช่า บจก.เลิศรัฐการ(100%) / ดอกเบี้ยรับ กองทุนรวม กินรีพร็อพเพอร์ตี้(98.88%) / เงินปันผลรับ บจก.ยูนิเวนเจอร์ แอสเซท แมเนจเม้นท์(100%) กำไร(ขาดทุน)จากการขายเงินลงทุนระยะยาว รายได้อื่น รวมรายได้จากธุรกิจการลงทุน ธุรกิจอื่น รายได้จากการขายเครื่องบันทึกเวลาและอุปกรณ์ควบคุมระบบจอดรถ บมจ. ยูนิเวนเจอร์/ ส่วนแบ่งกำไร(ขาดทุน) จากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย บจก. ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม(100%) / ดอกเบี้ยรับ บจก.ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง(100%) / รายได้อื่น บจก.เอสโก้ เวนเจอร์(79%)
ธุรกิจผงสังกะสีอ๊อกไซด์และเคมีภัณฑ์ รายได้จากการขาย - ในประเทศ รายได้จากการขาย - ต่างประเทศ รวม
กลุ่มธุรกิจ
-
-
-
-
4.17% 100%
2.26%
2.54% (0.64)%
9.83%
6.31% 0.51% 0.04% 2.80% 0.16%
86.00%
86.00%
13.93%
90.71% 6.88% 86.07%
%
โครงสร้างรายได้ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ตั้งแต่ปี 2550 จนถึงปี 2552 สามารถจำแนกตามกลุ่มธุรกิจได้ดังต่อไปนี้
โครงสร้างรายได้
วิเคราะห์ผลการดำเนินงานและฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน ในปี 2552 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีรายได้จากการขายและการให้บริการ 853.92 ลา้ นบาท คดิ เป็นสัดส่วนร้อยละ 62.86 ของรายได้รวมทัง้ หมด ลดลงจากปีก่อนร้อยละ 20.55 บริษทั ฯ มีรายได้ลดลงในธุรกิจสังกะสีออกไซด์อนั เนือ่ งจากวิกฤติเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาและการชะลอตัวทางเศรษฐกิจของทัว่ โลกตลอดจนการ ปรับตัวที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็วของราคาสังกะสี แม้ว่าจะมีปริมาณการขายเพิ่มขึ้น 860 ตันเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของ ปี 2551 โดยในปี 2552 บริษัทฯ มียอดขายเป็นจำนวน 14,086 ตัน รายได้จากธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เท่ากับ 463.09 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 34.08 ของรายได้รวมทั้งหมด เพิ่มขึ้น 398.3 ล้านบาท จากปี 2551 สำหรับปี 2552 บริษทั มีการรับรูร้ ายได้จากโครงการ พาร์ควิว วิภาวดี 4 โครงการ ย ู สบาย คอนโดมิเนียมและโครงการ ย ู ดไี ลท์ คอนโดมิเนียม แอท บางซื่อ สเตชั่น ซึ่งได้ก่อสร้างแล้วเสร็จ โดยเริ่มโอนห้องชุดให้แก่ลูกค้าได้ในระหว่างไตรมาสที่ 3 และ ไตรมาสที่ 4 ของปี 2552 จึงส่งผล ให้รายได้จากธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น อย่างมีสาระสำคัญ บริษัทฯ มีรายได้จากดอกเบี้ยรับจำนวน 14.5 ล้านบาท ลดลง 28.6 ล้านบาท จากดอกเบี้ยรับจำนวน 43.1 ล้านบาท ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ทั้งนี้เนื่องจากลูกหนี้เงินกู้ยืมระยะสั้นกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันลดลงอย่างมีสาระสำคัญ โดยลดลงจาก 154.9 ในปี 2551 เป็น 37.5 ล้านบาท บริษัทฯ มีกำไรขั้นต้นโดยรวมในอัตราส่วนร้อยละ 13.51 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่มีอัตราส่วนร้อยละ 12.53 โดยเฉพาะอัตรากำไรขั้นต้นจากการขาย ห้องในอาคารชุด เพิ่มขึ้นจากอัตราร้อยละ 23.05 ในปีก่อน เป็นอัตราร้อยละ 27.80 เนื่องจากบริษัทฯ มีการควบคุมต้นทุนการก่อสร้างได้ดีขึ้น และสร้างเสร็จเร็วกว่ากำหนด ในด้านค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร เพิ่มขึ้น 24.8 ล้านบาท จาก 164.46 ล้านบาท ในปี 2551 เป็น 189.33 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลมาจาก ค่าใช้จ่ายการตลาดเพื่อสนับสนุนการขายโครงการ ยู สบาย คอนโดมิเนียม โครงการ ยู ดีไลท์ คอนโดมิเนียม แอท บางซื่อ สเตชั่น และการเปิดตัว โครงการ ยู ดีไลท์ คอนโดมิเนียม แอท ห้วยขวาง สเตชั่น และโครงการ ยู ดีไลท์ คอนโดมิเนียม แอท จตุจักร สเตชั่น ซึ่งคาดว่าจะเริ่มรับรู้รายได้ ตั้งแต่ไตรมาส 3 ปี 2554 เป็นต้นไป กล่าวโดยสรุป ในปี 2552 บริษัทฯ มีกำไรสุทธิรวม 8.24 ล้านบาท ลดลงจากปี 2551 จำนวน 61.83 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 86.66
ฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม สินทรัพย์รวมตามงบการเงินรวม มีจำนวน 3,763.65 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 1,312.67 ล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 53.56 โดยมีรายการที่เพิ่มขึ้นอย่างมีสาระสำคัญ ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของมูลค่าโครงการอสังหาริมทรัพย์ซึ่งเป็นของโครงการโครงการ ยู สบาย คอนโดมิเนียม และโครงการ ยู ดีไลท์ คอนโดมิเนียม แอท บางซื่อ สเตชั่น จำนวน 562.87 ล้านบาท และอีกส่วนหนึ่งคือการเพิ่มขึ้นของมูลค่า โครงการในระหว่างการพัฒนาได้แก่โครงการ ปาร์ค เวนเชอร์ (โครงการพัฒนาที่ดินบริเวณสี่แยกถนนเพลินจิต - วิทยุ) จำนวน 624.18 ล้านบาท ซึ่งเป็นโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่จะสร้างรายได้ให้แก่บริษัทฯ ในอนาคต
15
วิเคราะห์ผลการดำเนินงานและฐานะการเงิน หนี้สินรวม หนีส้ นิ รวมตามงบการเงินรวม มีจำนวน 1,625.42 ลา้ นบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 1,189.79 ลา้ นบาท เนือ่ งจากในปี 2552 ได้มกี ารบันทึกค่าเช่ารับ ล่วงหน้าจากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันตามภาระผูกพันของสัญญาเช่าทีด่ นิ ระยะยาวบริเวณสีแ่ ยกถนนเพลินจิต – วทิ ยุ สำหรับโครงการ ปาร์ค เวนเชอร์ จำนวน 800 ล้านบาท และเงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้นจำนวน 128.02 ล้านบาท จากการกู้ยืมจากสถาบันการเงินเพื่อนำมาพัฒนาโครงการ ยู ดีไลท์ แอท บางซือ่ สเตชัน่ ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ส่วนของผู้ถือหุ้นตามงบการเงินรวม มีจำนวน 2,138.22 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 122.87 ล้านบาท หรือ คิดเป็นอัตราเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 6.10 การเพิม่ ขึน้ โดยส่วนใหญ่เกิดจากส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยเพิม่ ขึน้ จำนวน 96.15 ลา้ นบาท อนั เนือ่ งมาจากการ ทีบ่ ริษทั ฯ ได้เพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด จำนวน 220 ล้านบาท รวมเป็นทุนจดทะเบียนทีช่ ำระแล้ว 600 ล้านบาท เพื่อรองรับการขยายตัวของธุรกิจตามแผนการดำเนินงานของบริษัทฯ กระแสเงินสด ปี 2552 บริษัทฯ มีกระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมการดำเนินงานสุทธิ 373.18 ล้านบาท โดยนำไปใช้ในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ใน หลายโครงการตามทีก่ ล่าวไว้ขา้ งต้น ในส่วนของกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนสุทธิเพิม่ ขึน้ จำนวน 687.57 ลา้ นบาท เมือ่ เทียบกับปีกอ่ น โดยมี รายการที่สำคัญคือมูลค่าโครงการในระหว่างการพัฒนาเพื่อให้เช่าได้แก่ โครงการ ปาร์ค เวนเชอร์ (โครงการพัฒนาที่ดินบริเวณสี่แยกถนน เพลินจิต - วิทยุ) จำนวน 624.18 ล้านบาท ซึ่งเป็นโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่จะสร้างรายได้ให้แก่บริษัทฯ ในอนาคต บริษัทฯ มีกระแส เงินสดได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงินสุทธิจำนวน 576.64 ล้านบาท จากเงินค่าเช่ารับล่วงหน้าจำนวน 400 ล้านบาท และเงินกู้ยืมระยะยาวจาก สถาบันการเงินจำนวน 128.02 ล้านบาท ณ สิน้ ปี 2552 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีเงินสดคงเหลือสุทธิเท่ากับ 480.25 ล้านบาท อัตราส่วนสภาพคล่องที่สำคัญ อัตราส่วนสภาพคล่องอยู่ในระดับ 4.55 เท่า และอัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็วอยู่ในระดับ 2.35 เท่า มีสภาพคล่องลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน ทีอ่ ยูใ่ นระดับ 19.49 และ 13.14 เท่าตามลำดับ เนือ่ งจากบริษทั ฯ มหี นีส้ นิ หมุนเวียนทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ โดยมีการ เพิ่มขึ้นของรายการสำคัญ ได้แก่ เจ้าหนี้การค้า และเงินกู้ระยะยาวจากสถาบันการเงินที่กำหนดชำระภายใน 1 ปี
16
ปัจจัยความเสี่ยง ผลกระทบจากธุรกิจการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์: 1. ความเสี่ยงจากสภาพเศรษฐกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศ ปัจจัยทางการเมืองและภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศช่วงปี 2552 ยังคงส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุนและผู้บริโภครวมถึง ความผันผวนของราคาน้ำมันและปัญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั่วโลกมาตั้งแต่ปี 2551 ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องนอกจากนี้ในช่วงปลายปี 2552 ธุรกิจการลงทุนขนาดใหญ่ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดต้องหยุดชะลอ อันเนือ่ งมาจากกฎหมายด้านสิง่ แวดล้อม และนโยบายการลงทุน ภาครัฐยังไม่สามารถเบิกจ่ายได้ตามเป้าหมายที่กำหนดทำให้ความต้องการวัสดุก่อสร้างลดลง ปัจจัยทางมหภาคที่เกิดขึ้นข้างต้น ทำให้ธุรกิจการลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์มีการชะลอตัวลงบ้างในบางส่วน เช่น ความต้องการพื้นที่เช่า อาคารสำนักงานซึง่ มีกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายหลักเป็นบริษทั ต่างชาติ ยงั ไม่มแี นวโน้มการปรับตัวทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างไรก็ตามปัญหาดังกล่าวยังไม่สง่ ผล กระทบกับโครงการ ปาร์ค เวนเชอร์ ของบริษัทฯ เนื่องจากโครงการดังกล่าวจะก่อสร้างแล้วเสร็จพร้อมเปิดให้เช่าพื้นที่ได้ในช่วงปลายปี 2554 ในส่วนของการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ประเภทที่อยู่อาศัย ยังคงมีผู้ลงทุนพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ใหม่ๆ ในอัตราที่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2551 โดยได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐ เช่น การได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีหากเป็นการพัฒนาโครงการตามเกณฑ์ของคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment: BOI) หรือ การยกเว้นและลดหย่อนภาษีสำหรับลูกค้าที่โอนที่อยู่อาศัยภายในปี 2552 ซึ่งเป็นผลดี อย่างมากต่อยอดขายที่พักอาศัยที่สร้างเสร็จพร้อมโอนในช่วงระยะเวลาดังกล่าว อย่างไรก็ตามปัจจัยเสี่ยงทางการเมืองและเศรษฐกิจยังทำให้ สถาบันการเงิน เพิ่มความเข้มงวดมากขึ้นในการพิจารณาให้สินเชื่อแก่โครงการและผู้ซื้ออสังหาริมทรัพย์ ดังนั้นนโยบายการลงทุนของบริษัทฯ จึงยังคงเน้นความระมัดระวังในการลงทุน โดยเลือกพัฒนาโครงการในทำเลทีต่ งั้ และลักษณะของสินค้าทีต่ รงกับความต้องการและฐานของกลุม่ ลูกค้า และเน้นการพัฒนาโครงการให้แล้วเสร็จโดยเร็ว รวมถึงช่วยลูกค้าประสานงานกับสถาบันการเงินในการขออนุมัติสินเชื่อเพื่อป้องกันความเสี่ยง เมื่อถึงกำหนดการโอนห้องชุด 2. ความเสี่ยงจากสภาพการแข่งขัน ในปี 2552 ผูป้ ระกอบการอสังหาริมทรัพย์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในธุรกิจการพัฒนาทีอ่ ยูอ่ าศัยประเภทคอนโดมิเนียม ได้มกี ารลงทุนเปิดโครงการ ใหม่ๆมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทำเลที่อยู่บริเวณแนวรถไฟฟ้าส่วนต่อขยาย หรือโครงการรถไฟฟ้าสายใหม่ที่ได้รับการอนุมัติการลงทุน จากภาครัฐแล้ว จึงทำให้มกี ารแข่งขันสูงมากขึน้ สำหรับนโยบายการลงทุนของบริษทั ฯ ในธุรกิจดังกล่าว ได้พยายามเลือกทำเลทีต่ งั้ ของโครงการ ที่ไม่ไกลจากแหล่งชุมชนหรือแนวรถไฟฟ้ามากนัก ทำให้ต้นทุนที่ดินและค่าการตลาดในการแข่งขันไม่สูงเท่ากับคู่แข่งขันรายอื่นที่อยู่ติด แนวรถไฟฟ้า โดยมีราคาขายและจำนวนเงินทีผ่ อ่ นชำระค่างวดเหมาะสมกับฐานของกลุม่ ลูกค้าทีเ่ ป็นกลุม่ เป้าหมายทีม่ คี วามต้องการทีอ่ ยูอ่ าศัยสูง นอกจากนี้บริษัทฯ ยังคงเน้นการพัฒนาโครงการที่มีรูปแบบตามไลฟ์สไตล์ของลูกค้า และก่อสร้างให้แล้วเสร็จพร้อมโอนในระยะเวลาอันรวดเร็ว กว่าคู่แข่งขัน 3. ความเสี่ยงด้านต้นทุนการพัฒนาโครงการ ในขณะที่เศรษฐกิจปรับตัวลดลงอย่างมากในช่วงครึ่งปีแรก การแข่งขันด้านราคาของผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างเป็นไปอย่างรุนแรง ประกอบกับราคาวัสดุกอ่ สร้างหลักไม่วา่ จะเป็น เหล็ก ปนู ซิเมนต์ กระจกอลูมเิ นียม มกี ารปรับราคาลดลงอย่างมากเมือ่ เทียบกับภาวะการณ์ปกติ ผผู้ ลิตวัสดุกอ่ สร้างได้ปรับลดราคาสินค้าเพือ่ ให้สามารถอยูร่ อดในสภาวะการณ์ทคี่ วามต้องการในการใช้วสั ดุดงั กล่าว จึงเป็นโอกาสดีของบริษทั ฯ ในการคัดเลือกผูร้ บั เหมาและสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพในราคาทีเ่ หมาะสม ซง่ึ ทางบริษทั ฯ สามารถจัดซือ้ จัดจ้างได้ในราคาทีต่ ำ่ กว่าเป้าหมายมากกว่าร้อยละ 10 17
ปัจจัยความเสี่ยง 4. ความเสี่ยงจากผู้รับเหมาโครงการ ตามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น การแข่งขันด้านราคาของผู้รับเหมาก่อสร้างและผู้จำหน่ายวัสดุก่อสร้างเป็นไปอย่างรุนแรงในช่วงปี 2552 สถานการณ์ เช่นนี ้ ทำให้ผรู้ บั เหมาได้รบั ผลกระทบเป็นอย่างมากบริษทั ฯ จึงเน้นนโยบายในการคัดเลือกผูร้ บั เหมาก่อสร้างอย่างรอบคอบโดยมีการตรวจสอบ ความสามารถและศักยภาพด้านเทคนิคและการเงิน รวมถึงความน่าเชือ่ ถือในวงการธุรกิจ ซึง่ เป็นสิง่ ทีจ่ ำเป็นในการคัดเลือกผูร้ บั เหมาแต่ละราย 5. ความเสี่ยงจากการปล่อยสินเชื่อจากสถาบันการเงิน ภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงปี 2551 ถงึ 2552 ทำให้สถาบันการเงินเพิม่ ความเข้มงวดมากขึน้ ในการปล่อยสินเชือ่ ทัง้ ประเภทสินเชือ่ โครงการ (Pre-Finance) และสินเชื่อบุคคล (Post-Finance) โดยเฉพาะในส่วนของผู้กู้เพื่อซื้ออสังหาริมทรัพย์ทางสถาบันการเงินได้เพิ่ม ความระมัดระวังขึ้นเป็นอย่างมาก เนื่องจากที่ผ่านมามีการลงทุนซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อเก็งกำไรเป็นจำนวนมากโดยที่ผู้ลงทุนไม่ได้มีความ ประสงค์จะซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยจริงและไม่มคี วามพร้อมในการชำระคืนเงินสินเชือ่ ดังนัน้ เมือ่ ถึงกำหนดโอนห้องชุด จงึ มีความเสีย่ งทีส่ ถาบันการเงินจะไม่ ปล่อยเงินกู้ให้กับลูกค้าและผู้ประกอบการต้องนำห้องนั้นกลับมาขายใหม่ทำให้เสียโอกาสทางธุรกิจ ซึ่งทางบริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความเสี่ยงนี้ จึงได้มีมาตรการในการประสานงานกับสถาบันการเงินตั้งแต่เริ่มเปิดจองให้มีการตรวจสอบเครดิตของลูกค้าในเบื้องต้น เพื่อลดความเสี่ยงใน การถูกปฏิเสธวงเงินเมื่อถึงกำหนดโอนห้องชุด และมีการประสานงานกับลูกค้าและสถาบันการเงินอย่างใกล้ชิดในช่วงการโอนห้องชุดเพื่อ ให้ความช่วยเหลือด้านข้อมูลที่เกี่ยวข้องจนลูกค้าได้รับการอนุมัติสินเชื่อจากสถาบันการเงิน
ผลกระทบจากธุรกิจผลิตผงสังกะสีอ๊อกไซด์: 1. ความเสี่ยงจากราคาวัตถุดิบ เนื่องจากราคาวัตถุดิบหลักของการผลิตผงสังกะสีอ๊อกไซด์ คือ สังกะสีแท่ง (Zinc Ingot) ที่กำหนดราคาโดยอ้างอิงจากราคากลางของตลาดโลก ทีเ่ รียกว่าราคา LME (London Metal Exchange) ซึง่ ราคาดังกล่าวมีการเปลีย่ นแปลงขึน้ ลงตลอดเวลา และซือ้ ขายโดยใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ ทำให้มีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ผันผวน ณ วันที่ทำการซื้อขาย นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงจากการเก็งกำไรของนักลงทุนและปัจจัย ทางด้านเศรษฐกิจภาพรวมของโลกเข้ามาเกี่ยวข้อง จากปัจจัยดังกล่าวบริษัทฯ ได้ดำเนินธุรกิจด้วยความระมัดระวังและวางแผนบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น โดยบริษัทฯได้ ติดตามสถานการณ์ตา่ งๆอย่างใกล้ชดิ รวมถึงวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมอันเป็นปัจจัยภายนอกประเทศและภายในประเทศเพือ่ นำข้อมูลมากำหนด นโยบายการวางแผนให้เหมาะสมในการจัดซื้อวัตถุดิบให้สอดคล้องกับปริมาณความต้องการและราคาขายของลูกค้าแต่ละรายเพื่อรักษา อัตรากำไรให้เป็นไปตามที่บริษัทฯกำหนดไว้ อนึง่ บริษทั ฯ ได้มกี ารปรับราคาของวัตถุดบิ ตามงวดบัญชีเพือ่ ให้สะท้อนมูลค่าตลาด (Mark -to - Market) โดยใช้ราคาเฉลีย่ 30 วนั หลังจากปิดงวด บัญชี ซึ่งการบันทึกบัญชีนี้จะทำให้บริษัทฯ ลดความเสี่ยงในเรื่องราคาวัตถุดิบหากมีความผันผวน
18
ปัจจัยความเสี่ยง 2. ความเสี่ยงจากการแข่งขันด้านราคา จากสภาวะเศรษฐกิจภายนอกประเทศที่ถดถอยและชะลอตัว จากปี 2551 ซึ่งยังคงส่งผลกระทบต่อเนื่องต่อการผลิตในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิตยางรถยนต์ในปี 2552 ในช่วงไตรมาสที่ 1 และไตรมาสที่ 2 ทำให้ปริมาณความต้องการสั่งซื้อยังไม่ฟื้นตัว จากช่วงปี 2551เป็นผลให้เกิดสภาวะการแข่งขันการขายทีร่ นุ แรงมากยิง่ ขึน้ เพราะคูแ่ ข่งของบริษทั ฯ เน้นใช้กลยุทธ์ดา้ นราคาขายแทนกลยุทธ์ดา้ น คุณภาพสินค้า แต่อย่างไรก็ตามในไตรมาสที่ 3 ของปี 2552 เศรษฐกิจในประเทศโดยรวมเริ่มมีการปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นเป็นลำดับ ส่งผลให้ อุตสาหกรรมต่างๆ มีการเพิ่มปริมาณการสั่งซื้อมากขึ้นจากช่วงไตรมาสที่ 1 และ 2 จึงเป็นผลให้ทางบริษัทฯ มีส่วนแบ่งการตลาดสูงขึ้นมากกว่า ปีที่ผ่านมา หากเปรียบเทียบราคาของวัตถุดบิ สังกะสีแท่งทีใ่ ช้ในการผลิตผงสังกะสีออ๊ กไซด์ ในช่วงเดือนมกราคม ปี 2552 กับช่วงเดือนมกราคมของปี 2553 ซึง่ เป็นช่วงเวลาเดียวกัน ราคาเฉลีย่ ทีใ่ ช้อา้ งอิงในการซือ้ ขายในปี 2553 มีการปรับตัวเพิม่ ขึน้ ถึงร้อยละ 51 ดังนัน้ ทางบริษทั ฯ จึงมีนโยบายปรับลด ความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ โดยการบริหารต้นทุนของสินค้าและกลยุทธ์ราคาเพือ่ รักษาส่วนแบ่งทางการตลาดรวมถึงเพิม่ ฐานลูกค้ารายใหม่ๆ ทัง้ นี้ เพื่อให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่งในคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ไม่เปลี่ยนแปลง 3. ความเสี่ยงจากราคาน้ำมันในตลาดโลก จากภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอยปลายปี 2551 ส่งผลให้ราคาน้ำมันปรับลดลงในไตรมาสที่ 1 ซึ่งเป็นไปตามความต้องการใช้ที่ลดลง และเริ่ม ปรับราคาสูงขึน้ ในปลายไตรมาส 2 ตามความต้องการใช้ทเี่ พิม่ ขึน้ อันเนือ่ งมาจากสาเหตุเศรษฐกิจฝัง่ เอเชียยุโรป และสหรัฐอเมริกา เริม่ จะฟืน้ ตัว สำหรับการผลิตในป ี 2552 บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายน้ำมันคิดเป็นร้อยละ 47 ของค่าใช้จ่ายในการผลิตลดลงร้อยละ 8 เมื่อเทียบกับปี 2551 ที่ใช้น้ำมัน ในการผลิตคิดเป็นร้อยละ 55 ของค่าใช้จ่ายในการผลิต และแม้ว่าน้ำมันที่ใช้ในการผลิตจะลดลงในปี 2552 แต่เนื่องจากราคาน้ำมันยังคงเป็น ตัวแปรสำคัญในการผลิตและมีแนวโน้มทีป่ รับตัวสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ งตามความต้องการจากสภาวะเศรษฐกิจของโลกทีด่ ขี น้ึ สง่ ผลให้มคี วามต้องการ ใช้เพิม่ ขึน้ จงึ ทำให้นำ้ มันยังเป็นปัจจัยสำคัญทีส่ ง่ ผลกระทบต่อต้นทุนการผลิต แต่อย่างไรก็ตามในปี 2552 บริษทั ฯ สามารถประหยัดการใช้นำ้ มัน โดยลดได้รอ้ ยละ 0.8 ของเป้าหมายทีต่ ง้ั ไว้ เนือ่ งจากบริษทั ฯ ให้ความสำคัญในกระบวนการผลิต โดยการเพิม่ ประสิทธิภาพบำรุงรักษาอุปกรณ์ตา่ งๆ เพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่ง โดยจัดการวางแผนเส้นทางขนส่ง และ/หรือในการว่าจ้างผู้รับเหมาในการขนส่งที่มีประสิทธิภาพ และในราคา ที่เหมาะสม ทำให้ต้นทุนการผลิตรวมไม่เกินเป้าหมายที่บริษัทฯ ได้ตั้งเป้าหมายไว้ 4. ความเสี่ยงจากการจัดหาแหล่งวัตถุดิบ เนื่องจากการผลิตสังกะสีอ๊อกไซด์ ใช้วัตถุดิบสังกะสีแท่งบริสุทธิ์ ร้อยละ 99.995 (Special High Grade Zinc Ingot) คิดเป็นอัตราส่วนต่อการ ผลิตร้อยละ 80 ดังนั้นการจัดหาแหล่งวัตถุดิบจึงเป็นปัจจัยที่สำคัญ โดยกลยุทธ์ในการจัดหาแหล่งวัตถุดิบบริษัทฯ จะคำนึงถึงการจัดหาแหล่ง วัตถุดิบที่มีคุณภาพ รวมถึงวิธีการกำหนดราคาซื้อและการต่อรองราคา เพื่อให้ได้ต้นทุนที่สอดคล้องและมีความสัมพันธ์กับราคาขายภายใต้ ประมาณการของกำไรขัน้ ต้นทีก่ ำหนดไว้ นอกจากนีป้ ริมาณการเก็บสินค้าคงเหลือและการจัดส่งให้ทนั กับแผนการผลิตก็เป็นสิง่ สำคัญ และบริษทั ฯ ตระหนักถึงการพึง่ พาแหล่งวัตถุดบิ ในประเทศเพียงแหล่งเดียวอาจมีความเสีย่ ง บริษทั ฯ จงึ มีนโยบายจัดสรรการสัง่ ซือ้ วัตถุดบิ โดยการนำเข้าจาก ต่างประเทศเพิ่มเติมด้วย เพื่อบริหารความเสี่ยงให้บริษัทฯ มีทางเลือกในการจัดซื้อวัตถุดิบมากยิ่งขึ้น
19
ปัจจัยความเสี่ยง 5 . ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน วัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิตจะถูกกำหนดราคาซื้อขายโดยอ้างอิงกับราคา ณ ตลาดกลาง ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ London Metal Exchange (LME) ซงึ่ กำหนดราคาเป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐ และแปลงเป็นสกุลเงินบาทโดยคำนวณราคาจากอัตราแลกเปลีย่ น ณ วนั ทีท่ ำการซือ้ จึงทำให้บริษัทฯ อาจมีความเสี่ยงจากการกำหนดต้นทุนการผลิตหากค่าเงินบาทมีความผันผวนในทิศทางที่ค่าเงินบาทอ่อนตัวลง ซึ่งจะส่งผล ต่อต้นทุนการดำเนินธุรกิจ ดังนั้นบริษัทฯ จึงดำเนินการมาตรการป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว โดยจะทำสัญญาซื้อขายอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Contract) เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของค่าเงินบาท
ผลกระทบจากธุรกิจการลงทุนด้านพลังงาน: 1. ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี และการรับประกันผลการประหยัดพลังงาน ธุรกิจด้านการจัดการพลังงานดำเนินธุรกิจโดยใช้นวัตกรรมใหม่ๆ ทั้งภายในและต่างประเทศมาออกแบบระบบงาน เพื่อก่อให้เกิดการประหยัด พลังงานแก่ธรุ กิจต่างๆ โดยมีการรับประกันผลการประหยัดพลังงานขัน้ ต่ำให้กบั ผูป้ ระกอบการตลอดระยะเวลาของโครงการ หากโครงการนัน้ ๆ ไม่สามารถก่อให้เกิดการประหยัดพลังงานอันเนื่องมาจากความบกพร่องทางเทคโนโลยี บริษัทฯ จะเป็นผู้รับผิดชอบจ่ายค่าการประหยัดพลัง งานขั้นต่ำให้กับผู้ประกอบการ อย่างไรก็ดี บริษัท เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งมีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ ด้านวิศวกรรมและการพัฒนาโครงการประหยัดพลังงานมากว่า 10 ปี โดยให้ความสำคัญในการคัดสรรเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ มีความ เหมาะสมกับธุรกิจของผู้ประกอบการ และที่ผ่านมาก็ประสบความสำเร็จด้วยดี นอกจากนี้ในการจัดจ้างและจัดซื้อเครื่องจักรอุปกรณ์บริษัท เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ย่ี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด ได้ให้ความสำคัญด้านการพิจารณาผูข้ ายทีม่ คี วามน่าเชือ่ ถือมีเงือ่ นไขการรับประกันคุณภาพ เครือ่ งจักร และรวมถึงการซือ้ ประกันภัยกรณีเครือ่ งจักรชำรุดเสียหาย (Machinery Breakdown Insurance) ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ได้ผลการประหยัดตาม ที่ได้ออกแบบระบบไว้ 2. ความเสี่ยงจากธุรกิจของผู้ร่วมพัฒนาโครงการ การดำเนินโครงการประหยัดพลังงาน ในกรณีทบ่ี ริษทั ฯ เข้าลงทุนและร่วมพัฒนาโครงการ ผ่านบริษทั เอสโก้ เวนเจอร์ จำกัด นัน้ จำเป็นต้องพึง่ พา ผูป้ ระกอบการซึง่ เป็นผูร้ ว่ มพัฒนาโครงการ ดังนัน้ สถานะทางธุรกิจของผูร้ ว่ มพัฒนาโครงการ จึงเป็นปัจจัยสำคัญทีท่ ำให้โครงการประสบความสำเร็จ และให้ผลตอบแทนตามทีบ่ ริษทั ฯ คาดหวัง บริษทั ฯ จึงให้ความสำคัญเป็นอย่างยิง่ ในการคัดเลือกผูร้ ว่ มพัฒนาโครงการทีม่ คี วามมัน่ คงทางธุรกิจ โดยพิจารณาร่วมกับฝ่ายสินเชือ่ ธนาคารพาณิชย์ตา่ งๆ เพือ่ ให้ได้ผรู้ ว่ มพัฒนาโครงการทีม่ กี ระแสเงินสดจากการดำเนินงานสม่ำเสมอ และมีศกั ยภาพ ในการดำเนินการทางธุรกิจอย่างยั่งยืน ในปี 2550 บริษทั เอสโก้ เวนเจอร์ จำกัด ได้รว่ มลงทุนในบริษทั สหสินวัฒนา โคเจนเนอเรชัน่ จำกัด ในสัดส่วนร้อยละ 20 เพือ่ สร้างโรงไฟฟ้าขนาด 1.7 เมกกะวัตต์ เพื่อจ่ายไฟฟ้าและไอน้ำให้แก่โรงงานแป้งมันสำเร็จรูป มูลค่า 160 ล้านบาท โดยมีกองทุน FE Clean จากประเทศสิงค์โปร์เป็น ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ และธนาคารเพือ่ การส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (Export-Import Bank of Thailand : EXIM Bank) เป็นสถาบันการเงิน ให้สนิ เชือ่ แก่โครงการ โดยโครงการได้ผา่ นการวิเคราะห์ถงึ ความเป็นไปได้เชิงเทคนิคและการเงิน อย่างไรก็ตามโครงการดังกล่าวได้ประสบปัญหา เนื่องจากผู้ประกอบการมิได้ปฏิบัติตามข้อตกลงในสัญญา ซึ่งเป็นความเสี่ยงของบริษัทฯ ที่มิอาจสามารถประเมินได้ตั้งแต่ต้น 20
ปัจจัยความเสี่ยง อย่างไรก็ตาม ความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากธุรกิจการลงทุนด้านพลังงาน อยูใ่ นระดับต่ำ เนือ่ งจากเงินลงทุนในธุรกิจดังกล่าวเป็นเพียงส่วนน้อย ของเงินลงทุนของบริษัทฯ
ผลกระทบจากธุรกิจเครื่องบันทึกเวลาและอุปกรณ์ระบบควบคุมที่จอดรถ: 1 . ความเสี่ยงจากสภาพการแข่งขันด้านราคา เนือ่ งจากสินค้าเครือ่ งบันทึกเวลาและอุปกรณ์ระบบควบคุมทีจ่ อดรถ ทีบ่ ริษทั ฯ นำเข้ามาจากญีป่ นุ่ ยุโรป และสหรัฐอเมริกา เป็นสินค้าทีส่ ามารถ ผลิตได้ในแถบเอเชีย โดยเฉพาะจีนและไต้หวัน ซึ่งมีต้นทุนการผลิตที่ต่ำกว่า ทำให้ผู้ค้าในประเทศหลายรายนำเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทย เพือ่ ตอบสนองความต้องการของตลาดในระดับกลางและล่างทีอ่ อ่ นไหวต่อราคาสินค้า แต่มเี ทคโนโลยีใกล้เคียงกัน จึงส่งผลกระทบต่อการเติบโต ของรายได้ของบริษัทฯ ทำให้บริษัทฯ ต้องจัดหาสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาแข่งขันในตลาด ดังนั้นตั้งแต่ปี 2551 เป็นต้นมา บริษัทฯ จึง ได้ดำเนินการจัดหาสินค้าใหม่เข้ามาเปิดตลาด ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการหลีกเลีย่ งการแข่งขันทางด้านราคา และสร้างความแตกต่างในด้านการนำเสนอ สินค้าโดยเน้นคุณภาพของสินค้าและการให้บริการหลังการขาย 2. ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี สินค้าหลักในกลุ่มที่บริษัทฯ ทำตลาดอยู่ในปัจจุบันนี้มีการแข่งขันในด้านการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีอย่างมากและอย่างต่อเนื่องส่งผลให้ สินค้าล้าสมัยได้เร็ว ดงั นัน้ บริษทั ฯ จึงจำเป็นต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้ได้สนิ ค้าทีม่ คี วามทันสมัยตามเทคโนโลยีทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลง และตอบสนองต่อกลุ่มลูกค้าภายในประเทศได้อย่างต่อเนื่อง 3. ความเสี่ยงจากสภาพเศรษฐกิจและการเมือง เนือ่ งจากสินค้าทีบ่ ริษทั ฯ จัดจำหน่ายอยูใ่ นปัจจุบนั ยังคงอ้างอิงธุรกิจในกลุม่ อสังหาริมทรัพย์เป็นหลัก โดยเฉพาะสินค้าในกลุม่ อุปกรณ์ระบบควบคุม ที่จอดรถและระบบควบคุมการเข้าออกอาคารสถานที่ โดยในช่วงต้นปี 2552 ธุรกิจในกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ยังคงได้รับผลกระทบอย่างต่อเนื่อง และเริม่ มีแนวโน้มทีด่ ขี น้ึ ในช่วงปลายปีทำให้บริษทั ฯ ได้รบั ผลกระทบจากสภาพเศรษฐกิจและการเมืองบางส่วน บริษทั ฯ จึงต้องขยายฐานลูกค้า ออกไปยังธุรกิจในกลุ่มพันธมิตรและกลุ่มอื่น 4. ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน โดยที่บริษัทฯ ต้องนำเข้าเครื่องบันทึกเวลาและอุปกรณ์ระบบควบคุมที่จอดรถจากต่างประเทศ และมีต้นทุนเป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯและ เงินเยน บริษัทฯ จึงได้รับผลกระทบจากความผันผวนของค่าเงินบาท ในกรณีที่ค่าเงินบาทอ่อนตัวลงในช่วงต้นปี 2552 เพียงเล็กน้อย ซึ่งส่งผล โดยตรงต่อต้นทุนการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ แต่อย่างไรก็ตามบริษัทฯ ได้มีการดำเนินมาตรการป้องกันความเสี่ยงดังกล่าวโดยจะทำสัญญา ซื้อขายอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Contract) สำหรับสินค้าที่มีการนำเข้าจากต่างประเทศ เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของ ค่าเงินบาท
21
โครงสร้างการถือหุ้น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 อันดับแรก ณ วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นล่าสุด ณ วันที่ 31 มกราคม 2553 จำนวนหุ ้นที่ถือ ชื่อผู้ถือหุ้น บริษัท อเดลฟอส จำกัด* UOB KAY HIAN PRIVATE LIMITED บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด AMERICAN INTERNATIONAL ASSURANCE COMPANY, LIMITED-TIGER นายสรสรรค คูห์รัตนพิศาล นายจงรักษ์ ศรีพันธ์พร นายวิชิต ชินวงศ์วรกุล นางอรฤดี ณ ระนอง MELLON BANK, N.A. นางกอแก้ว เมตตรีย์ หมายเหต:
หุ้น
431,297,126 80,425,300 40,124,249 15,000,000 8,000,000 7,600,000 6,904,900 6,841,000 6,500,000 6,060,000
%
56.40 10.52 5.25 1.96 1.05 0.99 0.90 0.89 0.85 0.79
ข้อมูลจากบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด *บริษัท อเดลฟอส จำกัด ถือหุ้นโดย นายฐาปน สิริวัฒนภักดี ร้อยละ 50 และ นายปณต สิริวัฒนภักดี ร้อยละ 50
ข้อจำกัดการถือหุ้นของบุคคลต่างด้าว บริษัทฯ มีข้อจำกัดการถือหุ้นของบุคคลต่างด้าว (Foreign limit) ไว้ร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว โดย ณ วันที่ 31 มกราคม 2553 มีบุคคลต่างด้าวถือหุ้นของบริษัทฯ ร้อยละ 16.80 ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทฯ มีนโยบายที่จะเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษี และทุนสำรองต่างๆ ทั้งหมดของงบการเงินรวมในแต่ละปี ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับแผนการลงทุน ความจำเป็น และความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคต เมื่อ คณะกรรมการบริษัทมีมติเห็นชอบให้จ่ายเงินปันผลประจำปีแล้วจะต้องนำเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาล ให้คณะกรรมการบริษัทมีอำนาจอนุมัติให้จ่ายเงินปันผลได้และรายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวต่อไป นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย คณะกรรมการของบริษัทย่อยจะพิจารณาจากกำไรสะสมและกระแสเงินสดคงเหลือเปรียบเทียบกับ งบลงทุนของบริษัทย่อยหากกระแสเงินสดคงเหลือมีเพียงพอหลังการตั้งสำรองตามกฏหมายแล้วคณะกรรมการของบริษัทย่อยจะพิจารณา จ่ายเงินปันผลตามความเหมาะสมเป็นกรณีๆ ไป การจ่ายเงินปันผลย้อนหลัง 5 ปีที่ผ่านมา ของบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) ปี 2552 2551 2550 2549 2548 เงินปันผลประจำปี (บาทต่อหุ้น) 0.01 0.05 0.10 0.10 0.10 กำไรสุทธิ ตามงบการเงินรวม (ล้านบาท) 8.25 61.83 100.95 146.40 117.98 สัดส่วนการจ่ายเงินปันผลเทียบกับกำไรสุทธิ 92.73% 61.84% 75.61% 36.40% 44.95% 22
23
บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) ณ 15 กุมภาพันธ์ 2553
โครงสร้างองค์กร
โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการของบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษัท และมีคณะกรรมการชุดย่อย 3 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา และคณะกรรมการบริหาร โดยมีประธานอำนวยการ เป็นผู้บริหาร สูงสุดของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัท ตามข้อบังคับของบริษัทฯ กำหนดให้คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วย กรรมการจำนวนไม่น้อยกว่า 5 ท่าน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของกรรมการทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน ทั้งสิ้น 8 ท่าน กรรมการที่เป็นผู้บริหาร (Executive Directors) จำนวน 2 ท่าน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร (Non-Executive Directors) จำนวน 6 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้
ชื่อ-นามสกุล
1. นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช 2. นายสุวิทย์ จินดาสงวน 3. นายนรรัตน์ ลิ่มนรรัตน์ 4. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี 5. นายปณต สิริวัฒนภักดี 6. นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร 7. นางอรฤดี ณ ระนอง 8. นายธนพล ศิริธนชัย
ตำแหน่ง ประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ/ประธานอำนวยการ กรรมการ/กรรมการผู้จัดการ
วันที่ได้รับแต่งตั้ง
18 กรกฎาคม 2550 24 ตุลาคม 2546 16 ธันวาคม 2548 18 กรกฎาคม 2550 18 กรกฎาคม 2550 18 กรกฎาคม 2550 24 พฤษภาคม 2543 10 มิถุนายน 2546
หมายเหตุ: ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2552 เมือ่ วันที่ 23 เมษายน 2552 มีมติแต่งตัง้ นายนรรัตน์ ลิม่ นรรัตน์ นายฐาปน สิรวิ ฒ ั นภักดี และ นางอรฤดี ณ ระนอง ดำรงตำแหน่งกรรมการต่ออีกวาระหนึ่ง
ในปี 2552 มีการประชุมคณะกรรมการบริษัท จำนวน 6 ครั้ง คำนิยาม กรรมการที่เป็นผู้บริหาร หมายถึง กรรมการที่ดำรงตำแหน่งเป็นผู้บริหารและมีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารงานประจำของบริษัทฯ กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร หมายถึง กรรมการทีม่ ไิ ด้ดำรงตำแหน่งเป็นผูบ้ ริหารและไม่มสี ว่ นเกีย่ วข้องในการบริหารงานประจำของบริษทั ฯ อาจจะ เป็นหรือไม่เป็นกรรมการอิสระก็ได้ กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของกรรมการอิสระของบริษัทฯ ดังนี้ 24
โครงสร้างการจัดการ
1.
ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งนี้ นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้เกี่ยวข้องด้วย ได้แก่ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
2.
ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน ไม่เป็นลูกจ้าง พนักงาน หรือที่ปรึกษาซึ่งได้รับเงินเดือนประจำ หรือผู้มีอำนาจ ควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง
3.
ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือโดยการจดทะเบียน ในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง บุตรรวมทั้งคู่สมรส ของบุตรกับผูบ้ ริหารหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ผูม้ อี ำนาจควบคุมหรือบุคคลทีจ่ ะได้รบั การเสนอชือ่ เป็นผูบ้ ริหารหรือผูม้ อี ำนาจควบคุม ของบริษัทฯหรือบริษัทย่อย
4.
ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ในลักษณะที่ อาจเป็ น การขั ด ขวางการใช้ วิ จ ารณญาณอย่ า งอิ ส ระรวมทั้ ง ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ก รรมการซึ่ ง ไม่ ใ ช่ กรรมการอิสระ หรือผู้บริหาร ของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
5.
ไม่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง และไม่เป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริหาร หรือหุ้นส่วนผู้จัดการของสำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของ บริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งสังกัดอยู่
6.
ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้ รับค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจาก บริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ให้บริการ ทางวิชาชีพเป็นนิติบุคคล ให้รวมถึงการเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริหารหรือหุ้นส่วนผู้จัดการของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อย กว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นคำขออนุญาตต่อสำนักงาน
7.
ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็นผู้ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ
8.
ไม่มลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกีย่ วกับ การดำเนินงานของบริษทั ฯ ภายหลังรวมทัง้ สามารถ แสดงความเห็นหรือรายงานผลการปฏิบัติงานได้อย่างอิสระตามหน้าที่ที่ได้รับมอบจากคณะกรรมการบริษัทฯ โดยไม่อยู่ ภายใต้การควบคุมของผู้บริหาร หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว รวมถึงไม่มี สถานการณ์ใดๆ ที่จะมาบีบบังคับให้ไม่สามารถแสดงความเห็นได้ตามที่พึงจะเป็น
25
โครงสร้างการจัดการ ภายหลังรับการแต่งตัง้ ให้เป็นกรรมการอิสระทีม่ ลี กั ษณะเป็นไปตามข้อ 1 ถึง 8 กรรมการอิสระอาจได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการให้ตดั สินใจ ในการดำเนินกิจการของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยลำดับเดียวกัน หรือ นิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้งโดยมีการตัดสินใจ ในรูปแบบขององค์คณะ(collective decision) ได้ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ ตามหนังสือรับรองของบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) ที่ออกโดย กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ระบุให้ นายฐาปน สิริวัฒนภักดี หรือ นายปณต สิรวิ ฒ ั นภักดี หรือ นายสิทธิชยั ชัยเกรียงไกร หรือ นางอรฤดี ณ ระนอง หรือ นายธนพล ศิรธิ นชัย กรรมการสองในจำนวนห้าคน ลงลายชื่อร่วมกันพร้อมประทับตราสำคัญของบริษัทฯ ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความรับผิดชอบและระมัดระวังต่อผูถ้ อื หุน้ เกีย่ วกับการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และกำกับดูแลให้ฝา่ ยบริหารดำเนินการ ให้เป็นไปตามเป้าหมายและแนวทางทีก่ อ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ผถู้ อื หุน้ โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย รวมถึงการปฏิบตั ิ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัทฯ มติคณะกรรมการและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่ในเรื่องที่กฎหมายกำหนดให้ต้อง ได้รับมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น การปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และสำนักคณะ กรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯและรับผิดชอบ ต่อผู้ถือหุ้นทั้งในปัจจุบันและในระยะยาว คณะกรรมการบริษทั ฯ อาจมอบอำนาจให้กรรมการคนหนึง่ หรือหลายคนหรือบุคคลอืน่ ใดปฏิบตั กิ ารอย่างหนึง่ อย่างใดแทนคณะกรรมการบริษทั และอาจยกเลิกเพิกถอนเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขอำนาจนั้นๆได้ คณะกรรมการบริษัทฯ มีอำนาจกำหนดและแก้ไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการซึ่งมี อำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ ตลอดจนจัดตั้งคณะกรรมการชุดย่อย อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริษัทฯ อาจมอบอำนาจให้คณะกรรมการ บริหารมีอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติงานต่างๆ ตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร ทั้งนี้การมอบอำนาจดังกล่าวต้องไม่มีลักษณะเป็นการมอบอำนาจหรือมอบอำนาจช่วงที่ทำให้ผู้รับมอบอำนาจสามารถอนุมัติรายการที่ตน หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใด (ตามที่สำนักงาน ก.ล.ต. ประกาศกำหนด) ทำกับ บริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว้
26
โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ โดยแต่งตั้งจากกรรมการบริษัท ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์กำหนด มีจำนวนอย่างน้อย 3 คน และอย่างน้อย 1 คน ต้องมีความรู้ด้านบัญชีและการเงิน ปัจจุบันประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ซึ่งเป็นกรรมการที่เป็นอิสระ ดังรายชื่อต่อไปนี้ ชื่อ – นามสกุล 1. นายสุวิทย์ จินดาสงวน 2 . นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช 3 . นายนรรัตน์ ลิ่มนรรัตน์
ตำแหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
; กรรมการอิสระ และมีความรู้ด้านบัญชีการเงิน กรรมการอิสระ และมีความรู้ด้านบัญชีการเงิน กรรมการอิสระ และมีความรู้ด้านบัญชีการเงิน
กรรมการตรวจสอบมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปีนบั แต่วนั แต่งตัง้ หรือตามวาระการเป็นกรรมการ ในปี 2552 มีการประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบจำนวน 5 ครั้ง ในจำนวนนี้ได้เข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการ1 ครั้ง ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเปิดเผยอย่างเพียงพอ สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อกำหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนด ของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) และทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบ ในการพิจารณา แต่งตั้งโยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการประเมินความเสี่ยง และการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมเพียงพอ และมีประสิทธิภาพ พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอค่าตอบแทน ของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนาม โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ (ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ (ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ
27
โครงสร้างการจัดการ 8. 9. 10. 11.
(ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (ฉ) จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (ช) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร(charter) (ซ) การประเมินผลการกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ (ฌ) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท ให้ความเห็นชอบแผนงานการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบภายใน พิจารณาทบทวนเพือ่ ปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบให้สอดคล้องกับกฎข้อบังคับของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งภาวะการณ์และความเหมาะสม จัดหาความเห็นที่เป็นอิสระจากที่ปรึกษาภายนอกหรือผู้เชี่ยวชาญทางวิชาชีพในกรณีจำเป็น โดยบริษัทฯเป็นผู้รับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายดังกล่าว ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ
นอกจากนี้ เพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านตามขอบเขตอำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ให้คณะกรรมการตรวจสอบ มีอำนาจเชิญฝ่ายจัดการ ผูบ้ ริหาร หรือผูร้ บั ผิดชอบทีเ่ กีย่ วข้องเข้าร่วมประชุมเพือ่ ชีแ้ จงให้ความเห็นหรือส่งเอกสารตามทีเ่ ห็นว่าเกีย่ วข้องจำเป็น และให้มอี ำนาจว่าจ้างทีป่ รึกษาหรือผูเ้ ชีย่ วชาญทางวิชาชีพภายนอก ในกรณีจำเป็น หรือใช้จา่ ยอืน่ ใดทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั หิ น้าที่ โดยบริษทั ฯ เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายดังกล่าว คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา ซึ่งปัจจุบันประกอบด้วยกรรมการ 4 ท่านดังรายชื่อต่อไปนี้
ชื่อ – นามสกุล 1. นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช 2 . นายนรรัตน์ ลิ่มนรรัตน์ 3. นายสุวิทย์ จินดาสงวน 4. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี 5. นางอรฤดี ณ ระนอง*
ตำแหน่ง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารและเป็นกรรมการที่เป็นอิสระ กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารและเป็นกรรมการที่เป็นอิสระ กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารและเป็นกรรมการที่เป็นอิสระ กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
หมายเหตุ : * นางอรฤดี ณ ระนอง เป็นเลขานุการ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหามีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วนั แต่งตัง้ หรือตามวาระการเป็นกรรมการ โดยในปี 2552 มีการประชุมคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหาจำนวน 1 ครั้ง
28
โครงสร้างการจัดการ ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9)
กำหนดหลักเกณฑ์ และนโยบายในการสรรหากรรมการและกรรมการชุดย่อยของบริษัทฯ พิจารณาสรรหาและคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมที่จะมาดำรงตำแหน่งกรรมการ ในกรณีที่มีตำแหน่งว่างลงเพื่อเสนอคณะ กรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ และ/หรือเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น แล้วแต่กรณี พิจารณาสรรหาและคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมที่จะมาดำรงตำแหน่งตั้งแต่ระดับกรรมการผู้จัดการขึ้นไปในกรณีที่ตำแหน่ง ว่างลง พิจารณาเสนอรายชื่อกรรมการที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการชุดย่อยเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อแต่งตั้งเมื่อมี ตำแหน่งว่างลง พิจารณาเสนอแนะกำหนดค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นใดที่จำเป็นและเหมาะสมทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงิน เพื่อ จูงใจและรักษาคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย และ/หรือเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติ จัดทำหลักเกณฑ์และนโยบายในการกำหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทนและสรรหาเพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติและ/หรือเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น อนุมตั ติ ามแต่กรณ ี โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาจากผลประกอบการของบริษทั ฯขอบเขตหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของคณะกรรมการ แต่ละชุด ประสบการณ์ ความรู้ และความรับผิดชอบของกรรมการ โดยเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน พิจารณากำหนดค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นใดที่จำเป็นและเหมาะสม ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน เพื่อตอบแทน และจูงใจผู้บริหารระดับสูงตั้งแต่ตำแหน่งกรรมการผู้จัดการขึ้นไป โดยพิจารณาจากการประเมินผลงานความทุ่มเทและผล ประกอบการของบริษัทฯ ให้คำชี้แจงตอบคำถามเกี่ยวกับค่าตอบแทนของกรรมการในที่ประชุมผู้ถือหุ้น ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายและด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และสรรหา
คณะกรรมการบริหาร ชื่อ – นามสกุล
1. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี 2. นายปณต สิริวัฒนภักดี 3. นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร 4. นางอรฤดี ณ ระนอง 5. นายธนพล ศิริธนชัย 6. นางกันยารัตน์ โชคอุ่นกิจ*
ตำแหน่ง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
หมายเหตุ : *นางกันยารัตน์ โชคอุ่นกิจ ได้ลาออกจากการเป็นกรรมการบริหาร เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2552
คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการ 6 ท่าน ในปี 2552 มีการประชุมคณะกรรมการบริหาร จำนวน 13 ครั้ง
29
โครงสร้างการจัดการ ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร พิจารณาและกำหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจ งบประมาณ และอำนาจบริหารต่างๆของบริษัทฯและบริษัทย่อยร่วมกับ ฝ่ายบริหารระดับสูงเพือ่ เสนอคณะกรรมการบริษทั เห็นชอบ รวมทัง้ กำกับดูแลและติดตามผลการดำเนินงานของบริษทั ฯทีก่ ำหนดให้เป็นไปตาม แผนธุรกิจทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ อนุมตั กิ ารดำเนินงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยในเรือ่ งต่างๆตามขอบเขตอำนาจทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั กลั่นกรองในเรื่องที่ฝ่ายบริหารระดับสูงเสนอให้พิจารณาในส่วนที่นอกเหนือจากอำนาจของคณะกรรมการบริหารเพื่อนำเสนอคณะกรรมการ บริษัทอีกขั้นหนึ่ง ทั้งนี้การอนุมัติรายการจะต้องไม่มีลักษณะเป็นการอนุมัติที่ทำให้คณะกรรมการบริหารหรือผู้รับมอบอำนาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถ อนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้เสียหรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อน่ื ใด (ตามทีส่ ำนักงาน ก.ล.ต. ประกาศกำหนด) กับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว้ เลขานุการบริษัท เพื่อให้เป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน และข้อกำหนดของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 คณะกรรมการบริษัทจึงได้แต่งตั้งให้นายอลงกรณ์ ประธานราษฎร์นิกร ผู้อำนวยการอาวุโสฝ่ายกฎหมายและบริหาร ทรัพย์สิน เป็นเลขานุการบริษัท โดยมีภาระหน้าที่ในการให้คำแนะนำด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่คณะกรรมการต้องทราบและปฏิบตั ิ การจัดการประชุม รวมทั้งดูแลกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการ เพื่อให้กรรมการสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ รวมทั้งการจัดทำและเก็บรักษาเอกสาร อาทิ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจำปีของบริษัท หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และเก็บรักษารายงาน การมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร ประธานอำนวยการและผู้บริหาร ประธานอำนวยการและผู้บริหารของบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ประกอบด้วยรายนาม ดังต่อไปนี้ ประธานอำนวยการและผู้บริหาร* ของบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) 1. นางอรฤดี ณ ระนอง 2. นายธนพล ศิริธนชัย 3. นางกันยารัตน์ โชคอุ่นกิจ** 4. นายสุธี ลิมปนชัยพรกุล 5. นายอลงกรณ์ ประธานราษฎร์นิกร 6. นายกำพล ปุญโสณี 7. นายพรชัย เลิศชูมงคล 8. นางสาวปรารถนา อุดมสิน 9. นายรชฎ นันทขว้าง
กรรมการ และประธานอำนวยการ กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหารสายการเงินและอำนวยการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ฝ่ายพัฒนาโครงการ ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายกฎหมายและบริหารทรัพย์สิน ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้อำนวยการ ฝ่ายบัญชี ผู้อำนวยการ ฝ่ายการเงินและงบประมาณ
หมายเหตุ : * ผู้บริหาร หมายถึง ผู้ดำรงตำแหน่งระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อจาก ประธานอำนวยการลงมา และผู้ซึ่งดำรงตำแหน่งเทียบเท่า ผู้ดำรงตำแหน่งระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย และรวมถึงผู้ดำรงตำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงิน ** นางกันยารัตน์ โชคอุ่นกิจ ได้ลาออกจากการเป็นกรรมการบริหารสายการเงินและอำนวยการ เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2552
30
โครงสร้างการจัดการ
ผู้บริหาร ของบริษัทย่อย 1. นายกรธวัช กิ่งเงิน 2. นายเนรมิต สร้างเอี่ยม 3. นายนพดล ถีระศิลป์ 4. นายอลงกรณ์ ประธานราษฎร์นิกร 5. นายกำพล ปุญโสณี
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทย – ไลซาท จำกัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จำกัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิเวนเจอร์ แอสเซท แมเนจเม้นท์ จำกัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จำกัด
ทั้งนี้ กรรมการ และผู้บริหารของบริษัทฯ ทุกท่าน เป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กฎหมายกำหนด และไม่ปรากฏว่ามีประวัติการทำความผิด ตามกฎหมาย ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ในระยะเวลาที่ผ่านมาเกี่ยวกับ (1) การถูกพิพากษาว่ากระทำผิดตามกฎหมายทางอาญา (2) การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย หรือถูกพิทักษ์ทรัพย์ (3) การเป็นผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจควบคุมในบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนที่ถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย หรือถูกพิทักษ์ทรัพย์ การสรรหา แต่งตั้ง และวาระการดำรงตำแหน่ง คณะกรรมการบริษัท ตามข้อบังคับของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย กรรมการจำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน กรรมการทัง้ หมดนัน้ ต้องมีถน่ิ ทีอ่ ยูใ่ นราชอาณาจักร และกรรมการของบริษทั ฯ จะต้องเป็นผูม้ คี ณ ุ สมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามทีก่ ฎหมายกำหนด ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการโดยใช้เสียงข้างมากตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังนี้ (1) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง (2) ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสียงทีม่ อี ยูท่ งั้ หมดเลือกบุคคลเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้แต่จะแบ่งคะแนนเสียง ให้ผู้อื่นมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนสูงสุดตามลำดับลงมา จะได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้ง ในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำดับถัดลงมา มีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือ พึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้เลือกโดยวิธีจับสลากเพื่อให้ได้ตามจำนวนกรรมการที่จะพึงมี ในกรณีทต่ี ำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอน่ื นอกจากถึงคราวออกตามวาระ คณะกรรมการบริษทั จะเลือกบุคคลใดบุคคลหนึง่ ซึง่ มีคณ ุ สมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำนวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ เว้นแต่วาระการดำรงตำแหน่งของกรรมการจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอาจลงมติให้กรรมการคนใดออกจากตำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำนวน ผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง และมีหนุ้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจำนวนหุน้ ทีถ่ อื โดยผูถ้ อื หุน้ ทีม่ าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง ในการประชุมนั้น 31
โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา และคณะกรรมการบริหาร ได้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัท เจ้าหน้าที่ระดับบริหาร การแต่งตัง้ ผู้บริหารสูงสุดตัง้ แต่ระดับกรรมการผูจ้ ัดการขึน้ ไปนัน้ คณะกรรมการบริษัทจะแต่งตัง้ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา เพือ่ คัดเลือกผูม้ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามทีก่ ำหนด และเสนอชือ่ ผูผ้ า่ นการคัดเลือกทีส่ มควรได้รบั การแต่งตัง้ ต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ คัดเลือก ผู้ที่เหมาะสมจะดำรงตำแหน่งโดยวิธีลงคะแนนเสียงข้างมากต่อไป สำหรับเจ้าหน้าที่บริหารอื่นๆ คณะกรรมการบริษัทมอบหมายให้ประธานอำนวยการคัดเลือกผู้ที่เหมาะสมมาดำรงตำแหน่ง ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน • ค่าตอบแทนกรรมการ ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี ครัง้ ที่ 30/2552 เมือ่ วันที่ 23 เมษายน 2552 มีมติกำหนดค่าตอบแทนกรรมการ ตามทีค่ ณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทนและสรรหา และคณะกรรมการบริษัทเสนอ ดังนี้ ค่าตอบแทนคณะกรรมการ ประกอบด้วยค่าตอบแทนรายเดือนและค่าเบีย้ ประชุม ประธานกรรมการได้รบั ค่าตอบแทนรายเดือน 16,000 บาทต่อเดือน และค่าเบีย้ ประชุม 22,000 บาทต่อครั้ง กรรมการแต่ละท่านได้รับค่าตอบแทนรายเดือน 8,000 บาทต่อเดือน และค่าเบี้ยประชุม 18,000 บาทต่อครั้ง ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยค่าตอบแทนรายเดือน ประธานกรรมการตรวจสอบได้รบั ค่าตอบแทนรายเดือน 40,000 บาทต่อเดือน กรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน ได้รับค่าตอบแทนรายเดือน 30,000 บาทต่อเดือน ค่าตอบแทนคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา ประกอบด้วยค่าเบีย้ ประชุม ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหาได้รบั ค่าเบีย้ ประชุม 22,000 บาทต่อครัง้ กรรมการพิจารณา ค่าตอบแทนและสรรหาแต่ละท่านได้รับค่าเบี้ยประชุม 18,000 บาทต่อครั้ง ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริหาร* ประกอบด้วยค่าตอบแทนรายเดือน ประธานกรรมการบริหารได้รบั ค่าตอบแทนรายเดือน 25,000 บาทต่อเดือน กรรมการบริหารแต่ละท่านได้รบั ค่าตอบแทนรายเดือน 20,000 บาทต่อเดือน
32
โครงสร้างการจัดการ ในปี 2552 ค่าตอบแทนที่กรรมการได้รับ มีรายละเอียดดังนี้ คณะกรรมการ
คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา คณะกรรมการบริหาร *
ค่าตอบแทนรวม (บาท) 1,716,000 1,200,000 76,000 780,000
หมายเหตุ : * ยกเว้นกรรมการบริหารที่ดำรงตำแหน่งผู้บริหารบริษัทฯ
สรุปเปรียบเทียบค่าตอบแทนกรรมการ ปี 2551 และปี 2552
ค่าตอบแทน (บาท)
ค่าตอบแทน (รายเดือนและเบี้ยประชุม)
ปี 2552
ปี 2551
3,772,000
3,808,000
• ค่าตอบแทนผู้บริหาร ในปี 2552 ค่าตอบแทนของผู้บริหารรวม 8 ท่าน ที่ได้รับจากบริษัทฯในรูปเงินเดือน โบนัส รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 15,455,625 บาท ค่าตอบแทนอื่น - ไม่มี-
33
คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร
( แถวหน้าจากซ้าย) ประธานกรรมการ/กรรมการอิสระ: นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช , กรรมการ/ประธานอำนวยการ: นางอรฤดี ณ ระนอง ( แถวหลังจากซ้าย) กรรมการ: นายปณต สิริวัฒนภักดี , กรรมการ: นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร , กรรมการ: นายฐาปน สิริวัฒนภักดี กรรมการอิสระ: นายสุวิทย์ จินดาสงวน , กรรมการอิสระ: นายนรรัตน์ ลิ่มนรรัตน์ , กรรมการ/กรรมการผู้จัดการ: นายธนพล ศิริธนชัย
คณะกรรมการบริษัท 1. นางสาวพจนีย์ 2. นายสุวิทย์ 3. นายนรรัตน์ 4. นายฐาปน 5. นายปณต 6. นายสิทธิชัย 7. นางอรฤดี 8. นายธนพล
34
ธนวรานิช จินดาสงวน ลิ่มนรรัตน์ สิริวัฒนภักดี สิริวัฒนภักดี ชัยเกรียงไกร ณ ระนอง ศิริธนชัย
ประธานกรรมการ/กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ/ประธานอำนวยการ กรรมการ/กรรมการผู้จัดการ
(จากซ้าย) กรรมการตรวจสอบ: นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช , ประธานกรรมการตรวจสอบ: นายสุวิทย์ จินดาสงวน , กรรมการตรวจสอบ: นายนรรัตน์ ลิ่มนรรัตน์
คณะกรรมการตรวจสอบ 1. นายสุวิทย์ จินดาสงวน ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ 2. นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ 3. นายนรรัตน์ ลิ่มนรรัตน์ กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ
คณะกรรมการบริหาร 1. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี ประธานกรรมการบริหาร 2. นายปณต สิริวัฒนภักดี กรรมการบริหาร 3. นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร กรรมการบริหาร 4. นางอรฤดี ณ ระนอง กรรมการบริหาร 5. นายธนพล ศิริธนชัย กรรมการบริหาร (แถวหน้าจากซ้าย) ประธานกรรมการบริหาร: นายฐาปน สิริวัฒนภักดี , กรรมการบริหาร: นางอรฤดี ณ ระนอง (แถวหลังจากซ้าย) กรรมการบริหาร: นายปณต สิริวัฒนภักดี , กรรมการบริหาร: นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร, กรรมการบริหาร: นายธนพล ศิริธนชัย
35
คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช
ประเภทกรรมการ ตำแหน่งปัจจุบัน อายุ สัญชาติ คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การถือหุ้นในบริษัทฯ จำนวนปีที่เป็นกรรมการ ตำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ตำแหน่งในกิจการอื่น ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ตำแหน่งในกิจการที่แข่งขันเกี่ยวเนื่อง กับธุรกิจของบริษัทฯที่อาจทำให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ประสบการณ์ 2549 - 2551 2544 - 2551 2545 - 2550 2544 - 2549 ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา
36
กรรมการที่เป็นอิสระ ประธานกรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา 63 ปี ไทย ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Syracuse University, ประเทศสหรัฐอเมริกา (ด้วยทุน USAID) The Role of Compensation Committee Program (RCC4/2550) The Role of Chairman Program (RCP13/2549) Directors Certificate Program (DCP 17/2545) 0% (-0- หุ้น) 2 ปี 4 เดือน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน) กรรมการอิสระ บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน) กรรมการอิสระ บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท โออิชิ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ประจำกระทรวงพาณิชย์ กรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 3 - กฎหมายเกี่ยวกับการเงิน) สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการสภาธุรกิจประกันภัยไทย อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาองค์กรมหาชน และองค์กรรูปแบบอื่น ในกำกับของราชการฝ่ายบริหารที่มิใช่ส่วนราชการ - ไม่มี – รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์ ที่ปรึกษาคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติฝ่ายเศรษฐกิจ คณะความมั่นคงแห่งชาติฝ่ายเศรษฐกิจ กรรมการในคณะกรรมการนโยบายสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย ประธานกรรมการ สถาบันประกันภัยไทย อธิบดีกรมการประกันภัย กระทรวงพาณิชย์ - ไม่มี -
คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร
นายสุวิทย์ จินดาสงวน
ประเภทกรรมการ ตำแหน่งปัจจุบัน อายุ สัญชาติ คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การถือหุ้นในบริษัทฯ จำนวนปีที่เป็นกรรมการ ตำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ปัจจุบัน ตำแหน่งในกิจการอื่น ปัจจุบัน ตำแหน่งในกิจการที่แข่งขันเกี่ยวเนื่อง กับธุรกิจของบริษัทฯที่อาจทำให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ประสบการณ์ 2546 – 2550 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา
กรรมการที่เป็นอิสระ กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา 55 ปี ไทย วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์เกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ The Role of the Chairman Program (RCP 18/2551) The Role of Compensation Committee Program (RCC1/2549) Improving the Quality of Financial Reporting (QFR 2/2549) Audit Committee Program (ACP4/2548) Directors Certification Program (DCP44/2547) Directors Accreditation Program (DAP14/2547) 0.07% (500,000 หุ้น) 6 ปี 2 เดือน ประธานกรรมการ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท อินเตอร์เน็ท โซลูชั่น แอนด์ เซอร์วิส โพรวายเดอร์ จำกัด ประธานกรรมการ บริษัท วัน ทู ออล จำกัด ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร บริษัท ธนบุรีประกอบรถยนต์ จำกัด - ไม่มี –
กรรมการตรวจสอบ บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) - ไม่มี -
37
คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร นายนรรัตน์ ลิ่มนรรัตน์
38
ประเภทกรรมการ ตำแหน่งปัจจุบัน อายุ สัญชาติ คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การถือหุ้นในบริษัทฯ จำนวนปีที่เป็นกรรมการ ตำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ตำแหน่งในกิจการอื่น ปัจจุบัน ตำแหน่งในกิจการที่แข่งขันเกี่ยวเนื่อง กับธุรกิจของบริษัทฯที่อาจทำให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ประสบการณ์ ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา
กรรมการที่เป็นอิสระ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา 51 ปี ไทย ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยคอร์แนล, นิวยอร์ค, ประเทศสหรัฐอเมริกา Directors Certification Program (DCP initial) Finance for Non-Finance Director (FND-2547) 0% (-0- หุ้น) 3 ปี 11 เดือน - ไม่มี – กรรมการ / กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอเซียแอสเซทแมเนจเม้นท์ จำกัด - ไม่มี –
- ไม่มี – - ไม่มี -
คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร นายฐาปน สิริวัฒนภักดี
ประเภทกรรมการ กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม ตำแหน่งปัจจุบัน กรรมการ / ประธานกรรมการบริหาร / กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา อายุ 34 ปี สัญชาติ ไทย คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ การเงินการธนาคาร เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยบอสตัน, ประเทศสหรัฐอเมริกา การผ่านหลักสูตรอบรมของ Directors Accreditation Program (DAP10/2547) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การถือหุ้นในบริษัทฯ 28.20% (215,648,563 หุ้น) จำนวนปีที่เป็นกรรมการ 2 ปี 4 เดือน ตำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ปัจจุบัน กรรมการ / รองประธานกรรมการ บริษัท อาหารสยาม จำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ / รองประธานกรรมการบริหาร บริษัท โออิชิ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน กรรมการ/ กรรมการบริหาร บริษัท เบียร์ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน กรรมการ / กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ตำแหน่งในกิจการอื่น ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท อเดลฟอส จำกัด ตำแหน่งในกิจการที่แข่งขันเกี่ยวเนื่อง - ไม่มี – กับธุรกิจของบริษัทฯที่อาจทำให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ประสบการณ์ - ไม่มี – ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา - ไม่มี -
39
คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร นายปณต สิริวัฒนภักดี
ประเภทกรรมการ ตำแหน่งปัจจุบัน อายุ สัญชาติ คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การถือหุ้นในบริษัทฯ จำนวนปีที่เป็นกรรมการ ตำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ปัจจุบัน ปัจจุบัน ตำแหน่งในกิจการอื่น ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ตำแหน่งในกิจการที่แข่งขันเกี่ยวเนื่อง กับธุรกิจของบริษัทฯที่อาจทำให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ประสบการณ์ 2550 - 2552 2546 - 2552 2547 - 2551 2543 - 2547 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา
40
กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม กรรมการ / กรรมการบริหาร 32 ปี ไทย ปริญญาโท ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มหาวิทยาลัยลอนดอน, ประเทศอังกฤษ และหลักสูตรวิศวกรรม อุตสาหกรรมและเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยแมสซาชูเสทส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา Directors Certification Program (DCP46/2547) Finance for Non-Finance Director (FND10/2547 28.20% (215,648,563 หุ้น) 2 ปี 4 เดือน กรรมการ / กรรมการบริหาร บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท อาหารสยาม จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) กรรมการ / กรรมการบริหาร บริษัท เบียร์ทิพย์ บริเวอรี่ (1991) จำกัด กรรมการ / รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จำกัด กรรมการ บริษัท ที.ซี.ซี. แลนด์ เลเซอร์ (ชื่อปัจจุบัน-ทีซีซี โฮเทลส์กรุ๊ป) จำกัด บริษัท อเดลฟอส จำกัด บริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท (ระยอง) จำกัด บริษัท พรรณธิอร จำกัด บริษัท สิริวนา จำกัด บริษัท คริสตอลลา จำกัด บริษัท ที.ซี.ซี. โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท ที.ซี.ซี. แลนด์ จำกัด - ไม่มี – กรรมการ บริษัท ล้านช้าง ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด บริษัท เครืออาคเนย์ จำกัด บริษัท เทอราโกร จำกัด บริษัท เบียร์ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) - ไม่มี -
คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร
ประเภทกรรมการ ตำแหน่งปัจจุบัน อายุ สัญชาติ คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การถือหุ้นในบริษัทฯ จำนวนปีที่เป็นกรรมการ ตำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ปัจจุบัน ปัจจุบัน ตำแหน่งในกิจการอื่น ปัจจุบัน
ตำแหน่งในกิจการที่แข่งขันเกี่ยวเนื่อง กับธุรกิจของบริษัทฯที่อาจทำให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ประสบการณ์ 2540 – 2547 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา
กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม กรรมการ / กรรมการบริหาร 55 ปี ไทย Mini MBA มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Directors Certification Program (DCP26/2546) DCP Refresher Course (2/2548) 0% (-0- หุ้น) 2 ปี 4 เดือน กรรมการ / กรรมการบริหาร บริษัท อาหารสยาม จำกัด (มหาชน) บริษัท โออิชิ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) กรรมการ / กรรมการผู้ช่วยผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท อเดลฟอส จำกัด บริษัท อีสเทิร์น อินดัสเตรียลเอสเตท (ระยอง) จำกัด - ไม่มี –
กรรมการ / กรรมการรองผู้จัดการ บริษัท เบียร์ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) - ไม่มี -
41
คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร
นางอรฤดี ณ ระนอง
ประเภทกรรมการ ตำแหน่งปัจจุบัน อายุ สัญชาติ คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การถือหุ้นในบริษัทฯ จำนวนปีที่เป็นกรรมการ ตำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ตำแหน่งในกิจการอื่น ปัจจุบัน ประสบการณ์ 2545 – 2549 2543 - 2544 2541 - 2543 2537 - 2541 2529 - 2537 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา
42
กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม กรรมการ / กรรมการบริหาร / เลขานุการ คณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทนและสรรหา / ประธานอำนวยการ 49 ปี ไทย ปริญญาโท บริหารธุรกิจ San Diego State University, ประเทศสหรัฐอเมริกา Role of the Compensation Committee Program (RCC7/2551) DCP Refresher Course (3/2549) Diploma of Directors Certification Program (DCP17/2545) 0.89% (6,841,000 หุ้น) 9 ปี 7 เดือน - ไม่มี กรรมการ บริษัท เลิศรัฐการ จำกัด บริษัท เอสโก้ เวนเจอร์ จำกัด บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำกัด กองทุนรวม กินรีพร็อพเพอร์ตี้ บริษัท เอส.ยู.เอ็น. แมเนจเม้นท์ จำกัด บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด บริษัท แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง จำกัด บริษัท เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จำกัด บริษัท ยูนิเวนเจอร์ แอสเซท แมเนจเม้นท์ จำกัด บริษัท ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จำกัด บริษัท ไทย – ไลซาท จำกัด มูลนิธิมาแตร์เดอีวิทยาลัย กรรมการ บริษัท แสนสิริ เวนเจอร์ จำกัด กรรมการ / รองกรรมการผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บีโอเอ จำกัด กรรมการ / กรรมการบริหาร บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม มหานคร จำกัด กรรมการ / รองกรรมการ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำกัด ผู้จัดการส่วน บริษัท เอสโซ่ แสตนดาร์ด ประเทศไทย จำกัด - ไม่มี -
คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร นายธนพล ศิริธนชัย ประเภทกรรมการ ตำแหน่งปัจจุบัน อายุ สัญชาติ คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การถือหุ้นในบริษัทฯ จำนวนปีที่เป็นกรรมการ ตำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ตำแหน่งในกิจการอื่น ปัจจุบัน ประสบการณ์ 2546 – 2549 2544 – 2546 2541 – 2544 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา
กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการผู้จัดการ 42 ปี ไทย ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of Texas at Austin, ประเทศสหรัฐอเมริกา Directors Certification Program (DCP39/2547) Directors Accreditation Program (DAP10/2547) 0 % (-0- หุ้น) 6 ปี 6 เดือน - ไม่มี กรรมการ บริษัท เลิศรัฐการ จำกัด บริษัท เอสโก้ เวนเจอร์ จำกัด บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำกัด กองทุนรวม กินรีพร็อพเพอร์ตี้ บริษัท เอส.ยู.เอ็น. แมเนจเม้นท์ จำกัด บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด บริษัท แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง จำกัด บริษัท ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จำกัด บริษัท ยูนิเวนเจอร์ แอสเซท แมเนจเม้นท์ จำกัด บริษัท ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จำกัด บริษัท ไทย – ไลซาท จำกัด กรรมการ บริษัท แสนสิริ เวนเจอร์ จำกัด ผู้อำนวยการอาวุโส ธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน) กรรมการบริหาร / ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) - ไม่มี -
43
คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร นายสุธี สิมปนชัยพรกุล
ตำแหน่งปัจจุบัน อายุ การถือหุ้นในบริษัทฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ 2549 - 2551 2546 - 2549 2543 - 2545 2542 - 2543 2539 - 2540 2538 - 2539 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา
44
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ฝ่ายพัฒนาโครงการ 35 ปี 0.01% (100,000 หุ้น) - ไม่มี ปริญญาโท บริหารโครงการ CLEMSON University, USA - ไม่มี ผู้จัดการฝ่ายธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ บริษัท แคปปิตอล แอดไวเซอรี่ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด ผู้จัดการโครงการอาวุโส บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) วิศวกรโครงการ Beers Skanska, Inc แอตแลนตา ประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้ช่วยอาจารย์สาขาบริหารงานก่อสร้าง Clemson University มลรัฐเซาท์แคโรไลนา ประเทศสหรัฐอเมริกา วิศวกรออกแบบก่อสร้าง บริษัท คาจิมา ดีไซน์ เอเชีย จำกัด วิศวกรภาคสนาม บริษัท บีเคเค (1985) จำกัด (มหาชน) - ไม่มี -
นายกำพล ปุญโสณี ตำแหน่งปัจจุบัน อายุ สัดส่วนการถือหุ้น ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน 2546 - 2550 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา
ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ 38 ปี 0.18% (1,403,000 หุ้น) - ไม่มี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of Newcastle upon Tyne, ประเทศอังกฤษ - ไม่มี กรรมการ / กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จำกัด กรรมการการลงทุน กองทุนรวมกินรีพร็อพเพอร์ตี้ กรรมการ บริษัท คาเธ่ย์ แอสเซท แมเนจเม้นท์ จำกัด กรรมการ / รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จำกัด - ไม่มี -
คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร นายอลงกรณ์ ประธานราษฎร์นิกร
ตำแหน่งปัจจุบัน อายุ สัดส่วนการถือหุ้น ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ ปัจจุบัน ปัจจุบัน 2541 - 2550 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา
ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายกฎหมายและบริหารทรัพย์สิน 44 ปี 0% (-0- หุ้น) - ไม่มี ปริญญาโท กฎหมาย McGeorge School of Law, University of the Pacific, ประเทศสหรัฐอเมริกา Directors Certification Program (DCP 114/2552) Financial Statements for Directors (FSD 4/2552) กรรมการ / กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิเวนเจอร์ แอสเซท แมเนจเม้นท์ จำกัด กรรมการ บริษัท เลิศรัฐการ จำกัด ผู้จัดการกองทุนอาวุโส ฝ่ายจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำกัด - ไม่มี -
นายพรชัย เลิศชูมงคล ตำแหน่งปัจจุบัน ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ อายุ 40 ปี สัดส่วนการถือหุ้น 0% (-0- หุ้น) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การผ่านหลักสูตรอบรมของ - ไม่มี สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ 2549 - 2551 ผู้จัดการฝ่ายเทคโนโลยีประเทศ บริษัท สยามพิวรรธ์ จำกัด 2543 - 2547 ผู้จัดการฝ่ายเทคโนโลยีประเทศ บริษัทหลักทรัพย์ เครดิตสวิต (ประเทศไทย) จำกัด 2539 - 2542 ผู้จัดการฝ่ายเทคโนโลยีประเทศ บริษัท ไอเอ็นจี แบริ่ง จำกัด ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา - ไม่มี -
45
คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร นายรชฎ นันทขว้าง
ตำแหน่งปัจจุบัน อายุ สัดส่วนการถือหุ้น ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ 2549 - 2551 2545 – 2549 2543 – 2545 2540 – 2543 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา
ผู้อำนวยการ ฝ่ายการเงินและงบประมาณ 40 ปี 0% (-0- หุ้น) - ไม่มี ปริญาโท บริหารธุรกิจ สายการเงิน มหาวิทยาลัยโอกลาโฮม่า สหรัฐอเมริกา - ไม่มี ผู้จัดการฝ่ายการเงินและนักลงทุนสัมพันธ์ บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายการเงิน บริษัท ไทยซัมซุง อิเลคโทรนิคส์ จำกัด เจ้าหน้าที่อาวุโส ฝ่ายพัฒนาองค์กร บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) นักวิเคราะห์การเงิน บริษัท เจนเนอรัลมอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด - ไม่มี -
นางสาว ปรารถนา อุดมสิน
ตำแหน่งปัจจุบัน ผู้อำนวยการ ฝ่ายบัญชี อายุ 48 ปี สัดส่วนการถือหุ้น 0.06% (436,500 หุ้น) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การผ่านหลักสูตรอบรมของ - ไม่มี สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ 2549 - 2550 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการสายงานบัญชีและการเงิน บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) 2547 - 2550 กรรมการ บริษัท ไทย - ไลซาท จำกัด 2528 - 2548 ผู้จัดการ ฝ่ายบัญชีและการเงิน บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา - ไม่มี -
46
คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร นายกรธวัช กิ่งเงิน
ตำแหน่งปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทย – ไลซาท จำกัด อายุ 44 ปี สัดส่วนการถือหุ้น 0.00% (3,000 หุ้น) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย การผ่านหลักสูตรอบรมของ Directors Certification Program (DCP71/2549) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ - ไม่มี ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา - ไม่มี -
นายเนรมิต สร้างเอี่ยม
ตำแหน่งปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด อายุ 42 ปี สัดส่วนการถือหุ้น 0% (-0- หุ้น) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (โยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การผ่านหลักสูตรอบรมของ - ไม่มี สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ 2547 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทย เว็บ บิสซิเนส จำกัด กรรมการบริหาร บริษัท ก้านสมอง จำกัด กรรมการบริหาร บริษัท ก้านสมองส่วนหน้า จำกัด ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา - ไม่มี -
47
คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร นายนพดล ถีระศิลป์
ตำแหน่งปัจจุบัน อายุ สัดส่วนการถือหุ้น ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ 2546 - 2547 2544 - 2546 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา
48
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จำกัด 52 ปี 0.00 % (5,600 หุ้น) - ไม่มี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ Pacific States University California, ประเทศสหรัฐอเมริกา - ไม่มี - ผู้จัดการทั่วไป บริษัท โมเดอร์น ไดนามิค กอล์ฟ จำกัด ผู้จัดการโครงการ บริษัท สยามโปโลปาร์ค จำกัด - ไม่มี -
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) (บริษัทฯ) ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยเชื่อมั่นว่าการกำกับดูแลกิจการที่ดี จะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ สามารถเพิ่มมูลค่าและผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้นในระยะยาว ตลอดจนสร้างความเชื่อมั่นให้กับ ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และเพื่อให้การบริหารงานเป็นไปอย่างโปร่งใส เป็นธรรม สามารถตรวจสอบได้ คำนึงถึงสิทธิและความ เท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นและความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียคณะกรรมการบริษัทได้กำหนดให้มีนโยบายการกำกับดูแลกิจการของ บริษัทฯ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร สอดคล้องกับหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และระเบียบปฏิบัติของ คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์โดยจัดให้มีการทบทวนปรับปรุงอยู่เป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ เพื่อสื่อสารสร้างความรู้และ ความเข้าใจในเรื่องการกำกับดูแลกิจการที่ดีให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ได้รับทราบและถือปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง โดยครอบ คลุมหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ •
- - - - -
ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น และบทบาทต่อผู้มีส่วนได้เสีย การเปิดเผยสารสนเทศและความโปร่งใส การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน จรรยาบรรณทางธุรกิจ
ผู้ถือหุ้น : สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น
บริษัทฯ ให้ความสำคัญต่อสิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น โดยกำหนดเป็นนโยบายขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้น ได้แก่ สิทธิในการได้รับใบ หุ้นและสิทธิในการโอนหุ้น สิทธิในการมีส่วนแบ่งในผลกำไรของบริษัทฯ สิทธิในการได้รับสารสนเทศของบริษัทฯ อย่างเพียงพอ ทันเวลา และ ในรูปแบบทีเ่ หมาะสมต่อการตัดสินใจ นอกจากนีย้ งั ให้ความสำคัญต่อสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ในการเข้าร่วมประชุมและออกเสียงลงคะแนนในทีป่ ระชุม ผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ตัดสินใจในเรือ่ งสำคัญของบริษทั ฯ เช่น การเลือกตัง้ และถอดถอนกรรมการการอนุมตั ธิ รุ กรรมทีส่ ำคัญและมีผลต่อทิศทางการดำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ การแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อบังคับบริษัทฯ และการให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี บริษัทฯ ได้กำหนดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปีละครั้ง ภายในเวลาไม่เกิน 4 เดือนนับแต่สิ้นสุดรอบปีบัญชีของบริษัทฯ และหากมีความจำ เป็นเร่งด่วนต้องเสนอวาระเป็นกรณีพิเศษ ซึ่งกระทบหรือเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น หรือเกี่ยวข้องกับเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ กฎหมาย ที่ใช้บังคับที่ต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นแล้ว บริษัทฯ จะเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเป็นกรณีไป นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทตระหนัก ถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งหรือหลายคนซึ่งถือหุ้นและมีสิทธิออกเสียงนับรวมกันได้ไม่เกินกว่าร้อยละ 5 ของจำนวน สิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ เสนอระเบียบวาระการประชุมผู้ถือหุ้นและชื่อบุคคลเพื่อเป็นกรรมการล่วงหน้า เพื่อแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติ ต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกันโดยบริษทั ฯ ได้กำหนดหลักเกณฑ์การให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยเสนอระเบียบวาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ และชื่อบุคคลเพื่อเป็นกรรมการล่วงหน้า พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้มีการซักถามคณะกรรมการล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ มีนโยบายที่จะอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้น และปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน เป็นธรรม และเป็นไปตาม ข้อกำหนด กฎหมาย โดยกำหนดให้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมเป็นไปตามจำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นถืออยู่ โดยหนึ่งหุ้นมีสิทธิเท่ากับหนึ่งเสียง กำหนด ให้กรรมการอิสระเป็นผู้มีหน้าที่ดูแลผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำหนดมาตรการป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน เพื่อหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่นใน ทางมิชอบของกรรมการบริษัท ผู้บริหาร รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ โดยบริษัทฯ ได้ประกาศห้ามกรรมการ และผู้บริหารซื้อขาย หลักทรัพย์ของบริษัทฯ ก่อนประกาศงบการเงินเป็นเวลา 1 เดือน และภายหลังจากที่ประชาชนได้รับทราบข้อมูลแล้ว 48 ชั่วโมง และกำหนด ให้กรรมการและผูบ้ ริหารมีหน้าทีร่ ายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ และจัดส่งรายงานดังกล่าวให้บริษทั ฯรับทราบทัง้ นีเ้ พือ่ มิให้กรรมการ
49
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ และผู้บริหาร ซื้อขาย หลักทรัพย์ของบริษัทฯ ก่อนประกาศงบการเงินเป็นเวลา 1 เดือน และภายหลังจากที่ประชาชนได้รับทราบข้อมูลแล้ว 48 ชัว่ โมง และกำหนดให้กรรมการและผูบ้ ริหารมีหน้าทีร่ ายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ และจัดส่งรายงานดังกล่าวให้บริษทั ฯ รบั ทราบ ทั้งนี้เพื่อมิให้กรรมการและผู้บริหารนำข้อมูลภายในไปใช้ประโยชน์ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ถือหุ้นโดยรวม •
สิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย
บริษทั ฯ ให้ความสำคัญในการดูแลและคำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ทัง้ ภายในและภายนอกบริษทั ฯ ได้แก่ผูถ้ อื หุน้ กรรมการพนักงานของบริษทั ฯ ลูกค้า คูค่ า้ เจ้าหนี ้ คูแ่ ข่ง หน่วยงานอืน่ ๆทีบ่ ริษทั ฯ ได้ดำเนินกิจกรรมภายในและภายนอกบริษทั ฯ รวมทัง้ ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม โดยได้กำหนดแนวทางปฏิบัติไว้ในคู่มือจริยธรรมทางธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อให้กรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ถือปฏิบัติอย่าง เคร่งครัดในการปฏิบัติงาน และถือเป็นภาระหน้าที่และเป็นวินัยที่ทุกคนพึงปฏิบัติ ดังนี้ ผู้ถือหุ้น: บริษัทฯ จะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและเป็นธรรมโดยคำนึงถึงการเจริญเติบโตของมูลค่าบริษัทฯในระยะยาว และผลตอบแทนที่ดีแก่ผู้ถือหุ้น พนักงาน: บริษัทฯ ถือว่าพนักงานเป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายของบริษัทฯที่มีคุณค่าโดยเปิดโอกาสอย่างทั่ว ถึงและสม่ำเสมอในการเรียนรู้ และพัฒนาความรู้ ความสามารถของพนักงานอย่างเต็มศักยภาพการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม ในการทำงานให้มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของพนักงานรวมทั้งการให้ผลตอบแทนแก่พนักงานที่เป็นธรรมทั้งใน ด้านเงินเดือนสวัสดิการและผลตอบแทนในรูปอื่น ลูกค้า: บริษทั ฯตระหนักถึงความสำคัญในการสร้างความพึงพอใจและความมัน่ ใจให้ลกู ค้าทีจ่ ะได้รบั สินค้าและบริการทีด่ มี คี ณ ุ ภาพใน ราคาทีเ่ ป็นธรรม รักษาสัมพันธ์ภาพทีด่ ี ตลอดจนการจัดให้มกี ระบวนการทีใ่ ห้ลกู ค้าร้องเรียนเกีย่ วกับคุณภาพ ปริมาณความ ปลอดภัยของสินค้าและบริการ การให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยว กับสินค้าและบริการอย่างครบถ้วนถูกต้องเพียงพอและทันต่อ เหตุการณ์ รวมทั้งการรักษาความลับของลูกค้าซึ่งไม่ได้รับอนุญาตจากลูกค้าหรือผู้มีอำนาจของบริษัทฯ ก่อน และไม่นำ ไปใช้เพื่อประโยชน์โดยมิชอบเว้นแต่เป็นข้อมูลที่ต้องเปิดเผยต่อบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องตามบทบังคับของกฎหมาย คู่แข่ง: บริษัทฯ จะประพฤติปฏิบัติต่อคู่แข่งทางการค้าภายใต้กรอบแห่งกฎหมายของการแข่งขันที่ดี ไม่ละเมิดความลับหรือ ล่วงรู้ ความลับทางการค้าด้วยวิธกี ารทีไ่ ม่สจุ ริต หรือด้วยวิธกี ารอืน่ ทีไ่ ม่เหมาะสม และไม่ทำลายชือ่ เสียงของคูแ่ ข่งทางการค้าด้วย การกล่าวหาในทางร้ายและปราศจากซึ่งข้อมูลจริง คู่ค้าและ/: บริษัทฯ คำนึงถึงความเสมอภาคและเป็นธรรม คำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ และตั้งอยู่บนพื้นฐานของการได้รับ หรือเจ้าหนี ้ ผลตอบแทนที่เป็นธรรมต่อทั้งสองฝ่าย หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่ทำให้เกิดวามขัดแย้งทางผลประโยชน์รวมทั้งปฏิบัติตาม พันธะสัญญา ชุมชนและสังคม: บริษัทฯคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม และไม่กระทำการใดๆ ที่จะมีผลเสียหายต่อชื่อเสียงของประเทศสิ่งแวดล้อมและ ประโยชน์สาธารณะ โดยได้ดำเนินการส่งเสริมพนักงานให้มีความรับผิดชอบต่อสังคมให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน กิจกรรมอันเป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวมทีบ่ ริษทั ฯ ตัง้ อยู่ โดยเฉพาะโครงการพัฒนาการศึกษา รวมทัง้ ได้ตระหนักถึงการปฏิบตั ติ าม มาตรฐานที่เกี่ยวกับความปลอดภัย สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อม อย่างถูกต้อง เหมาะสม เพื่อป้องกันผลกระทบที่ก่อให้เกิด ความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของชุมชน และสิ่งแวดล้อม 50
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ • การประชุมผู้ถือหุ้น ในปี 2552 บริษัทฯ ได้จัดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยปฏิบัติตามแนวทางการจัด ประชุมผู้ถือหุ้นที่ดีของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปีของบริษัทฯดังนี้ ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น ในปี 2552 บริษัทฯ มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น 1 ครั้ง โดยได้เปิดเผยมติคณะกรรมการบริษัทกำหนดให้จัดการประชุมผู้ถือหุ้นในเว็บไซต์ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและของบริษทั ฯ บริษทั ฯ ได้นำข้อมูลหนังสือเชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ ทีม่ รี ายละเอียดครบถ้วนเปิดเผยในเว็บไซต์ บริษัทฯ ก่อนล่วงหน้า 30 วัน และได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุม ซึ่งมีวาระที่สำคัญอย่างครบถ้วนตามกฎหมาย ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและข้อบังคับของบริษทั ฯ ได้แก่ รายละเอียดวาระการประชุมซึง่ ได้ระบุอย่างชัดเจนในแต่ละวาระทีน่ ำเสนอว่าเป็นเรือ่ งทีน่ ำเสนอ เพื่อทราบ เพื่ออนุมัติ หรือเพื่อพิจารณา รวมทั้งนำเสนอความเห็นของคณะกรรมการบริษัทในแต่ละวาระอย่างชัดเจน รายงานการประชุมครั้งที่ ผ่านมา รายงานประจำปี พร้อมทั้งเอกสารประกอบการประชุม เอกสารที่ต้องใช้ในการมอบฉันทะและระบุวิธีการไว้ชัดเจนโดยจัดส่งให้ผู้ถือหุ้น ล่วงหน้าก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น 14 วัน และประกาศลงในหนังสือพิมพ์รายวันฉบับภาษาไทย เรื่อง คำบอกกล่าวเรียกประชุมผู้ถือหุ้นติดต่อกัน ไม่น้อยกว่า 3 วัน และก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน เพื่อบอกกล่าวผู้ถือหุ้นล่วงหน้าในเวลาที่เพียงพอสำหรับเตรียมตัวศึกษาข้อมูลในการ พิจารณาเกีย่ วกับวาระการประชุมก่อนมาเข้าร่วมประชุม พร้อมทัง้ มีชอ่ งทางให้ผถู้ อื หุน้ สามารถซักถามคณะกรรมกรรมการล่วงหน้าก่อนวันประชุม ผูถ้ อื หุน้ โดยจัดส่งให้ผถู้ อื หุน้ ทุกรายทีม่ รี ายชือ่ ปรากฏในสมุดทะเบียนผูถ้ อื หุน้ ณ วันปิดสมุดทะเบียนผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯรวมทัง้ ได้แต่งตัง้ กรรมการ อิสระเป็นผู้รับมอบฉันทะแทนผู้ถือหุ้น ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นประสงค์จะมอบฉันทะให้ผู้อื่นมาประชุมแทนสามารถเลือกมอบฉันทะให้บุคคลใด บุคคลหนึ่ง หรือกรรมการอิสระของบริษัทฯ เข้าประชุมแทนได้ วันประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้กำหนดสถานที่ วัน และเวลาการประชุม ที่อำนวยความสะดวกให้กับผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันทุกราย และให้ความมั่นใจด้านการ รักษาความปลอดภัยให้กบั ผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ ได้แจ้งในเอกสารประกอบการประชุมทีจ่ ดั ส่งพร้อมหนังสือเชิญประชุมเพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ทราบกระบวน การและขัน้ ตอนในการเข้าร่วมประชุมการตรวจสอบเอกสารหรือหลักฐานเพือ่ แสดงสิทธิในการเข้าร่วมประชุม จัดเจ้าหน้าทีล่ งทะเบียน กำหนดจุด บริการรับลงทะเบียนอย่างเหมาะสมและเพียงพอ โดยผูถ้ อื หุน้ สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้ลว่ งหน้าก่อนเวลาประชุม 1 ชัว่ โมง และต่อเนือ่ ง จนกว่าการประชุมผู้ถือหุ้นจะแล้วเสร็จรวมถึงการเลี้ยงรับรองที่เหมาะสมแก่ผู้ถือหุ้นที่มาประชุมด้วย ในการประชุมผู้ถือหุ้น ประธานกรรมการบริษัทได้ทำหน้าที่ประธานในที่ประชุม และก่อนดำเนินการประชุมได้แจ้งรายละเอียดขององค์ประชุม อธิบายวิธีการลงคะแนน การนับคะแนนการใช้บัตรลงคะแนน การเก็บบัตรลงคะแนน และเปิดเผยผลการนับคะแนนในแต่ละวาระอย่างชัดเจน โปร่งใส และเก็บบัตรลงคะแนนไว้เพื่อตรวจสอบภายหลัง รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถาม หรือแสดงความคิดเห็นอย่างเหมาะสมและ เพียงพอและให้กรรมการที่เกี่ยวข้องชี้แจงและให้ข้อมูลต่างๆ แก่ผู้ถือหุ้นอย่างชัดเจน สำหรับการลงคะแนนและนับคะแนนเสียงบริษัทฯ
51
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ ปฏิบัติตามข้อบังคับของบริษัทฯที่กำหนดให้ 1 หุ้น เป็น 1 เสียง และนับเสียงข้างมากเป็นมติ โดยใช้บัตรลงคะแนนเฉพาะกรณีที่ผู้ถือหุ้นคัดค้าน หรืองดออกเสียง และเก็บบัตรลงคะแนนไว้เพื่อตรวจสอบได้ในภายหลัง ทั้งนี้ในการประชุมผู้ถือหุ้นมีกรรมการเข้าร่วมประชุมรวม 8 ท่าน ประกอบด้วยประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ ประธานการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา ประธาน กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร รวมทัง้ มีผแู้ ทนหน่วยงานต่างๆและผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ เข้าร่วมประชุม หลังวันประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ แจ้งมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยภายในวันทำการถัดไป และผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ โดยได้ระบุผลของการลงคะแนนเสียง (เห็นด้วย / ไม่เห็นด้วย / งดออกเสียง) ในแต่ละวาระ และจัดส่งรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นซึ่งจดบันทึก รายชื่อกรรมการที่เข้าร่วมประชุม ผลของการลงคะแนนเสียง (เห็นด้วย / ไม่เห็นด้วย / งดออกเสียง) ในวาระที่ขอรับรอง / อนุมัติจากผู้ถือหุ้น รวมทัง้ ข้อซักถามของผูถ้ อื หุน้ ในแต่ละวาระและการชีแ้ จงของบริษทั ฯ ให้ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและหน่วยงานราชการ ภายในระยะเวลา 14 วันนับแต่วันประชุมผู้ถือหุ้น และเผยแพร่รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ • ภาวะผู้นำและวิสัยทัศน์ สืบเนื่องจากการที่บริษัทฯ ได้วางกลยุทธ์ และแผนธุรกิจ (UV Road Map) นับตั้งแต่ปี 2552 ถึงปี 2554 ที่จะเป็นบริษัทชั้นนำที่ลงทุนในธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพื่อสร้างรายได้จากการลงทุนอย่างต่อเนื่องบนพื้นฐานของการกระจายความเสี่ยงภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาวะ เศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว ดังนัน้ ในช่วงปี 2552 ถึง 2554 จึงเป็นช่วงของการลงทุนการก่อสร้างโครงการการพัฒนาบุคลากรและระบบ ต่างๆ โดยบริษัทฯ จะทยอยเริ่มรับรู้รายได้จากการขายโครงการพัฒนาที่อยู่อาศัย ตั้งแต่ปลาย ปี 2552 เป็นต้นไป และค่าเช่าจากการพัฒนา โครงการประเภทอาคารสำนักงานตั้งแต่ปลายปี 2554 ทั้งนี้บริษัทฯ จะขยายการลงทุนอย่างต่อเนื่องภายใต้บริษัทย่อยที่มีความเชี่ยวชาญใน แต่ละประเภทของโครงการอสังหาริมทรัพย์ โดยคำนึงถึงรูปแบบฟังค์ชั่นของโครงการ ประสิทธิภาพการบริหารต้นทุน ราคาขาย การบริหาร หลังการขาย ความสัมพันธ์ที่ดีต่อลูกค้า ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่จะผลักดันให้บริษัทฯก้าวขึ้นเป็น บริษัทที่ลงทุนในโครงการอสังหาริมทรัพย์ชั้นแนวหน้าได้อย่างยั่งยืน อนึ่ง การกำหนดวิสัยทัศน์ กลยุทธ์และแผนธุรกิจของบริษัทข้างต้น ประธานอำนวยการได้นำเสนอ และอภิปรายในที่ประชุมกรรมการบริหาร และอนุมัติโดยคณะกรรมการของบริษัทฯ ซึ่งคณะกรรมการบริหาร และกรรมการบริษัทฯ ได้มีการติดตามแผนงาน งบประมาณ และปัจจัยเสี่ยง ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจ และการแข่งขันการตลาด อย่างต่อเนื่อง • การเข้ารับการอบรมของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั ให้ความสำคัญต่อการเข้าร่วมสัมมนาหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ในการปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการ อย่างต่อเนือ่ ง โดยมีกรรมการบริษทั เข้ารับการอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย(IOD)เพือ่ นำความรูแ้ ละประสบการณ์ มาพัฒนาบริษัทฯและบริษัทย่อย ดังนี้
52
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ ชื่อ - นามสกุล
หลักสูตร
1. นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช
- The Role of Compensation Committee Program (RCC 4) - The Role of Chairman Program (RCP 13) - Directors Certification Program (DCP 17)
2. นายสุวิทย์ จินดาสงวน
- The Role of the Chairman Program (RCP 18) - The Role of Compensation Committee Program (RCC1) - Improving the Quality of Financial Reporting (QFR 2) - Audit Committee Program (ACP4) - Directors Certification Program (DCP44) - Directors Accreditation Program (DAP14)
3. นายนรรัตน์ ลิ่มนรรัตน์
- Directors Certification Program (DCP – initial) - Finance for Non-Finance Director (FND - 2547)
4. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี
- Directors Accreditation Program (DAP 10) Director
5. นายปณต สิริวัฒนภักดี
- Directors Certification Program (DCP 46) - Finance for Non-Finance Director (FND10) - Directors Certification Program (DCP 26) - DCP Refresher Course 2
6. นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร 7. นางอรฤดี ณ ระนอง
- Role of the Compensation Committee Program (RCC7) - DCP Refresher Course 3 - Diploma of Directors Certification Program (DCP17)
8. นายธนพล ศิริธนชัย
- Directors Certification Program (DCP 39) - Directors Accreditation Program (DAP 10)
53
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ • การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ (Directors Orientation) บริษทั ฯ จัดให้มกี ารปฐมนิเทศกรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ใหม่ เพือ่ ให้กรรมการใหม่ได้รบั ทราบนโยบายธุรกิจของบริษทั ฯ รวมทัง้ ข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง อาทิ โครงสร้างเงินทุน ผถู้ อื หุน้ ผลการดำเนินงาน รวมทัง้ กฎหมายกฎเกณฑ์ตา่ งๆ พร้อมทัง้ ข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์สำหรับการเป็นกรรมการบริษทั ประกอบด้วย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 ข้อพึงปฏิบัติที่ดีสำหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน หนังสือรับรองบริษัทของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ หนังสือบริคณห์สนธิ และข้อบังคับของบริษัท คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ คู่มือกรรมการบริษัทจดทะเบียนของ ก.ล.ต. ข้อแนะนำการให้สารสนเทศสำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2549 หนังสือรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2549 รายงานประจำปีของบริษัทฯ ฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และ Compact Disc.
• ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษทั ฯ ได้กำหนดนโยบายทีจ่ ะไม่ให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ฯ ใช้โอกาสจากการเป็นกรรมการผูบ้ ริหาร และพนักงานแสวงหา ประโยชน์ส่วนตน ซึ่งกำหนดไว้ในคู่มือจริยธรรมธุรกิจถึงข้อปฏิบัติสำหรับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ให้หลีกเลี่ยงการทำ รายการที่เกี่ยวโยงกับตนเองที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทฯ ในกรณีที่จำเป็นต้องทำรายการดังกล่าวเพื่อประโยชน์ ของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทกำหนดให้ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยมีราคาและเงื่อนไขเสมือนทำ รายการกับบุคคลภายนอก โดยกรรมการหรือพนักงานทีม่ สี ว่ นได้เสียในรายการนัน้ จะต้องไม่มสี ว่ นในการพิจารณาอนุมตั ิ และในกรณีทเ่ี ข้าข่าย เป็นรายการที่เกี่ยวโยงกันภายใต้ประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และการเปิดเผยข้อมูล รายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียนอย่างเคร่งครัด นอกจากนี้ คณะกรรมการได้กำหนดข้อห้ามไม่ให้มีการใช้โอกาสหรือข้อมูลที่ได้จากการเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงานในการหาประโยชน์ ส่วนตน หรือทำธุรกิจที่แข่งขันกับบริษัทฯ หรือธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง รวมทั้งไม่ใช้ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ของตนในการซื้อขายหุ้นของบริษัทฯ หรือให้ข้อมูลภายในแก่บุคคลอื่นเพื่อประโยชน์ในการซื้อขายหุ้นของบริษัทฯ
54
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ • จรรยาบรรณทางธุรกิจ บริษัทฯ มุ่งมั่นในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อย่างโปร่งใส ซื่อสัตย์ มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนสังคมและ สิ่งแวดล้อม โดยบริษัทฯ ได้กำหนดข้อพึงปฏิบัติไว้ในคู่มือจริยธรรมธุรกิจ เพื่อให้เกิดความชัดเจน สะดวกแก่กรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน ของบริษัท ที่จะได้รับทราบถึงแนวทางในการประพฤติปฏิบัติควบคู่กับไปกับข้อบังคับและระเบียบของบริษัทฯ รวมทั้งได้กำหนดให้เป็นหน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนที่จะต้องรับทราบ ทำความเข้าใจและปฏิบัติตามนโยบายและข้อปฏิบัติตามที่ กำหนดไว้ในคูม่ อื จริยธรรมทางธุรกิจ โดยให้ผบู้ งั คับบัญชาทุกระดับชัน้ ปฏิบตั ติ นเป็นตัวอย่างทีด่ แี ละมีหน้าทีส่ ง่ เสริมให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาปฏิบตั ิ ตามข้อประพฤติปฏิบัติที่กำหนดไว้ • การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร การแต่งตั้งกรรมการของบริษัทฯ เป็นไปตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น โดยผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและ สรรหา และคณะกรรมการบริษัท ตามลำดับ ตามข้อบังคับของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย กรรมการอย่างน้อย 5 ท่าน ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการบริษัท มีจำนวน 8 ท่าน ประกอบด้วย - กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 6 ท่าน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 75 ของจำนวนกรรมการทั้งหมด โดยมีกรรมการที่เป็นอิสระ 3 ท่าน คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 37.50 ของจำนวนกรรมการทั้งหมด ซึ่งเป็นจำนวนที่มากพอ ที่จะสามารถสร้างกลไกถ่วงดุลอำนาจภายในคณะ กรรมการบริษัท - กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 2 ท่าน คณะกรรมการบริษัท ถือเป็นนโยบายให้กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารมีการประชุมกันเองตามความจำเป็น เพื่ออภิปรายปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับ การจัดการ โดยไม่มีกรรมการที่เป็นผู้บริหาร หรือฝ่ายบริหารเข้าร่วมการประชุม รวมทั้งมีนโยบายให้คณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมกับ ผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้มั่นใจได้ว่ากรรมการบริษัทจะปฏิบัติหน้าที่ในฐานะตัวแทน ผู้ถือหุ้นได้อย่างเป็นอิสระ และมีการถ่วงดุลที่เหมาะสม • การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทมีมติเห็นชอบแบบประเมินผลคณะกรรมการบริษัททั้งคณะ เพื่อใช้ในการประเมินผลตนเองของคณะกรรมการบริษัท โดย ให้กรรมการบริษัทประเมินผลการปฏิบัติงานโดยตนเองทุกปี เพื่อคณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาทบทวนผลงาน ประเด็นและอุปสรรคต่างๆ ในรอบปีที่ผ่านมา พร้อมทั้งจัดทำสรุปผลการประเมินกรรมการบริษัท เพื่อคณะกรรมการบริษัทจะนำผลการประเมินมาปรับปรุงการปฏิบัติงาน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการประเมินผลการดำเนินงานของประธานอำนวยการและกรรมการผู้จัดการ
55
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ • การรวมหรือแยกตำแหน่ง คณะกรรมการบริษทั กำหนดให้ประธานกรรมการเป็นกรรมการทีไ่ ม่ได้เป็นผูบ้ ริหาร เป็นบุคคลคนละคนกับประธานอำนวยการ และไม่มคี วามสัมพันธ์ใดๆ กับฝ่ายบริหาร โดยมีบทบาท อำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบในการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั และฝ่ายบริหารออกจากกันอย่างชัดเจน และเป็นลายลักษณ์อักษร • ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการบริษทั กำหนดให้คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและสรรหา เป็นผูพ้ จิ ารณากำหนดค่าตอบแทนของกรรมการ กรรมการชุดย่อย และฝ่ายบริหารระดับสูงของบริษทั ฯ และเพือ่ เป็นการจูงใจและรักษากรรมการทีม่ คี ณ ุ ภาพตามทีบ่ ริษทั ฯต้องการ และอยูใ่ นลักษณะทีเ่ ปรียบเทียบ ได้กบั ระดับทีป่ ฏิบตั อิ ยูใ่ นอุตสาหกรรมเดียวกัน คณะกรรมการทีไ่ ด้รบั มอบหมายหน้าทีค่ วามรับผิดชอบเพิม่ ขึน้ ควรได้รบั ค่าตอบแทนเพิม่ ทีเ่ หมาะสม ส่วนกรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร และฝ่ายบริหารควรได้รบั ค่าตอบแทนทีเ่ ชือ่ มโยงกับผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ และผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการ หรือผูบ้ ริหารแต่ละคน เพือ่ ให้เกิดการกำกับดูแลทีด่ ตี ามหลักการทีต่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด รวมทัง้ หลักการปฏิบตั ทิ ด่ี ที ย่ี อมรับ ในระดับสากล โดยค่าตอบแทนกรรมการเป็นไปตามมติที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ รายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการและ ผู้บริหารในปี 2552 ได้เปิดเผยไว้ในหัวข้อค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารแล้ว • การประชุมคณะกรรมการบริษัท บริษัทฯ มีการกำหนดการประชุมคณะกรรมการบริษัทไว้อย่างเป็นทางการล่วงหน้าตลอดทั้งปี และแจ้งให้กรรมการทราบกำหนดการดังกล่าว โดยกำหนดการประชุมอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง้ ในกรณีจำเป็นเร่งด่วน อาจมีการประชุมคณะกรรมการเป็นการเพิม่ เติมตามความเหมาะสม และเพื่อให้คณะกรรมการบริษัทสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการจัดประชุมคณะกรรมการบริษัท บริษัทฯ จะจัดส่งหนังสือ เชิญประชุมซึ่งกำหนดวาระการประชุมที่ชัดเจนและเอกสารประกอบการประชุมที่ครบถ้วนเพียงพอให้คณะกรรมการบริษัทล่วงหน้า ก่อนการ ประชุมเป็นเวลาอย่างน้อย 7 วัน เพือ่ ให้กรรมการได้มเี วลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม การประชุมแต่ละครัง้ ใช้เวลาประมาณ 1 - 3 ชัว่ โมง และกรรมการทุกคนมีโอกาสอภิปรายและแสดงความเห็นอย่างเปิดเผย โดยมีประธานกรรมการบริษทั เป็นผูป้ ระมวลความเห็นและ ข้อสรุปที่ได้จากที่ประชุม ในกรณีที่กรรมการท่านใดเป็นผู้มีส่วนได้เสียอย่างมีนัยสำคัญในเรื่องที่กำลังพิจารณาจะต้องออกจากการประชุม ระหว่างการพิจารณาในเรื่องนั้นๆ ซึ่งในการประชุมแต่ละครั้งมีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษรและนำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัท พิจารณาร่างรายงานการประชุมดังกล่าว ก่อนทำการรับรองความถูกต้องของเอกสารในการประชุมครั้งต่อไป โดยประธานกรรมการ บริษทั ประธานอำนวยการ และเลขานุการบริษทั สำหรับเอกสารทีจ่ ดั เก็บจะมีทง้ั บันทึกการประชุมซึง่ จัดเก็บอยูใ่ นรูปแบบแฟ้มข้อมูลทีเ่ ป็นต้นฉบับ และแฟ้มอิเลคโทรนิคซึ่งรวมถึงเอกสารที่ประกอบวาระการประชุมด้วย เพื่อความสะดวกสำหรับกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถตรวจสอบ อ้างอิงได้ ในปี 2552 คณะกรรมการบริษัท มีการประชุมตามวาระปกติ จำนวน 4 ครั้ง และการประชุมนัดพิเศษ 2 ครั้ง
56
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ • คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ กรรมการทีม่ คี วามรู้ ความชำนาญทีเ่ หมาะสมเป็นคณะกรรมการชุดย่อย เพือ่ ช่วยปฏิบตั งิ านศึกษาและกลัน่ กรอง เรื่องสำคัญที่ต้องการดูแลอย่างใกล้ชิดในแต่ละด้าน และเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ มีองค์ประกอบสมาชิก ขอบเขตหน้าที่ และความรับผิดชอบ ตามรายละเอียดในหัวข้อการจัดการ • การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการบริษัท ได้จัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่ครอบคลุมทั้งด้านการเงิน การปฏิบัติงาน การดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับระเบียบที่เกี่ยวข้อง และมีกลไกการตรวจสอบและถ่วงดุลในการปกป้องรักษาและดูแลเงินทุนของผู้ถือหุ้นและสินทรัพย์ของบริษัทฯ มี ฝ่ายตรวจสอบภายในทำหน้าทีต่ รวจสอบการปฏิบตั งิ านของทุกหน่วยงานให้เป็นไปตามระเบียบทีว่ างไว้ รวมทัง้ ประเมินประสิทธิภาพและความ เพียงพอของการควบคุมภายใน ทัง้ นีค้ ณะกรรมการบริษทั ดูแลให้ฝา่ ยตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระสามารถทำหน้าทีต่ รวจสอบและถ่วงดุล ได้อย่างเต็มที่ และให้รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็นประจำตามเวลาที่กำหนดไว้ • การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทดูแลให้มีการประเมินปัจจัยความเสี่ยง กำหนดแผนการบริหารจัดการความเสี่ยง ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการ ปฏิบตั ติ ามแผน โดยคณะกรรมการตรวจสอบทำหน้าทีส่ อบทานกระบวนการและติดตามการบริหารความเสีย่ งทีส่ ำคัญต่อเนือ่ ง โดยตัง้ แต่ ปี 2551 บริษทั ฯ มีนโยบายทบทวนความเสีย่ งเป็นรายเดือน และร่วมประชุมกับอนุกรรมการประเมินความเสีย่ ง (Risk Assessment Sub – Committee) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยง ซึ่งหากเกิดขึ้นอาจส่งผลกระทบในทางลบทำให้เกิดความเสียหายหรือทำให้ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายขององค์กรได้ รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขให้ทันเวลา และสรุปผลรายงานต่อคณะกรรมการบริหารเป็นประจำทุกเดือน และรายงานผลการประเมิน ความเสีย่ งต่อคณะกรรมการบริษทั เป็นรายไตรมาส ตัง้ แต่ปี 2552 บริษทั ฯ ได้เพิม่ ระบบเตือนความเสีย่ ง (warning system) และการรายงานต่อ คณะกรรมการบริหาร และ/หรือ คณะกรรมการบริษัททันที เมื่อระดับความเสี่ยงอยู่ในเกณฑ์ที่มีนัยสำคัญ • รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่รับผิดชอบในรายงานการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงาน ประจำปี ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผูส้ อบทานรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยถูกต้อง เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไปในประเทศไทย มีการใช้นโยบายบัญชีทเ่ี หมาะสมและถือปฏิบตั โิ ดยสม่ำเสมอ รวมทัง้ คณะกรรมการ บริษทั ได้ให้ความเห็นไว้ในรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินคูก่ บั รายงานคณะกรรมการตรวจสอบและรายงาน ของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแล้ว
57
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ • ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน บริษัทฯ ให้ความสำคัญต่อการเปิดเผยสารสนเทศบริษัทฯ ตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่มีความถูกต้องครบถ้วน โปร่งใส สม่ำเสมอ ทันเวลาและทั่วถึง ผ่านช่องทางต่างๆ ทั้งในทางตรงและ ทางอ้อมมาโดยตลอด โดยมอบหมายให้ผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีความเข้าใจธุรกิจของบริษัทฯ เป็นอย่างดี ทำหน้าที่เป็นนักลงทุน สัมพันธ์ และนอกจากนี้ ประธานอำนวยการ และ/หรือ กรรมการผูจ้ ดั การ มีหน้าทีส่ อ่ื สารโดยตรงกับผูถ้ อื หุน้ นักลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ทั้งในและต่างประเทศ โดยจัดให้มีการนำเสนอข้อมูลความคืบหน้าการดำเนินกิจการและตอบข้อซักถามต่างๆ เกี่ยวกับบริษัทฯ ให้แก่นักลงทุน และนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ (Analyst Meeting) การร่วมกิจกรรมพบนักลงทุนรายย่อยกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Opportunity Day) จัดแถลงข่าวแก่สอ่ื มวลชน (Press Conference) เผยแพร่ขา่ วประชาสัมพันธ์ (Press Release) นอกเหนือจากการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับสารสนเทศ ต่างๆ แจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และผ่านทางเว็บไซต์บริษทั ฯ www.univentures.co.th ทีบ่ ริษทั ฯ ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบนั อยู่เสมอ เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมของบริษัทฯ ได้รับรู้ข้อมูลของบริษัทฯ ที่เป็นปัจจุบันอย่างเท่าเทียมกัน นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ได้จดั ให้มชี อ่ งทางติดต่อกับนักลงทุนสัมพันธ์ผา่ น i nvestor_relations@univentures.co.th เพือ่ เป็นตัวแทนในการสือ่ สารกับ ผู้ลงทุน ผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือสามารถติดต่อนักลงทุนสัมพันธ์ โดยตรงได้ที่: นายกำพล ปุญโสณี บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) เลขที่ 888/210-212 ชั้น 2 อาคารมหาทุน พลาซ่า ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์: 66 (2) 100 7100 ต่อ 7109 โทรสาร: 66 (2) 255 9417
58
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ • การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษทั ฯ มีนโยบายด้านการเปิดเผยข้อมูล ความโปร่งใส รายงานทางการเงิน และการดำเนินงาน โดยกำหนดข้อปฏิบตั ใิ นการเปิดเผยสารสนเทศ ทางการเงินและอื่นๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจและผลประกอบการของบริษัทฯ ที่ถูกต้องครบถ้วน เพียงพอเชื่อถือได้ และทันเวลาอย่างสม่ำเสมอให้กับ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และบุคคลทั่วไป คณะกรรมการบริษัทดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายข้อบังคับ และระเบียบที่ เกีย่ วข้องเกีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใสอย่างเคร่งครัด เมือ่ กรรมการหรือผูบ้ ริหารมีการเปลีย่ นแปลงการซือ้ ขายหุน้ ตามข้อกำหนด ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ได้มกี ารรายงานข้อมูลให้กบั ฝ่ายกำกับดูแลการปฏิบตั งิ านทราบตลอดเวลา โดยเคร่งครัด และตั้งแต่ปี 2552 กรรมการและผู้บริหารรายงานการถือครองหลักทรัพย์และเปิดเผยส่วนได้เสียของตนและผู้เกี่ยวข้องต่อ คณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ากรรมการ ผู้บริหารสามารถบริหารและดำเนินกิจการด้วยความซื่อ สัตย์สุจริต มีความชัดเจน โปร่งใส และมีสว่ นช่วยให้ผูถ้ อื หุน้ ตลอดจนผูล้ งทุนทัว่ ไปเกิดความเชือ่ มัน่ ในผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ในการดูแลเรือ่ งการใช้ขอ้ มูลภายในบริษทั ฯ ถอื ว่าเป็น ความรับผิดชอบของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานที่ต้องเก็บรักษาข้อมูลความลับของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะข้อมูลภายในที่ยัง ไม่เปิดเผยต่อสาธารณะหรือข้อมูลที่ผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจหรือราคาหุ้น โดยกำหนดที่จะไม่ใช้โอกาสหรือข้อมูลที่ได้จากการเป็น กรรมการผู้บริหาร หรือพนักงานของบริษัทฯ ในการหาประโยชน์ส่วนตน ไม่ใช้ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ของตนในการซื้อขายหุ้นบริษัทฯ หรือ ให้ข้อมูลภายในแก่บุคคลอื่นเพื่อประโยชน์ในการซื้อขายหุ้นของบริษัทฯ และในเรื่องการทำธุรกิจที่แข่งขันกับบริษัทฯหรือธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง ไม่เปิดเผยข้อมูลความลับทางธุรกิจของบริษทั ฯ ต่อบุคคลภายนอก โดยเฉพาะคูแ่ ข่ง แม้พน้ สภาพการเป็นกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงานของ บริษัทฯไปแล้ว และเพื่อป้องกันมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานที่มีส่วนใกล้ชิดกับข้อมูลของบริษัทฯนำข้อมูลภายในที่ตนรู้มาแสวงหา ประโยชน์อันเป็นการฝ่าฝืนหน้าที่ความรับผิดชอบของตนที่มีต่อบริษัทฯและผู้ถือหุ้น โดยจำกัดให้รับรู้ได้เฉพาะกรรมการและผู้บริหารระดับสูง ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น รวมถึงห้ามกรรมการและผู้บริหารซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ก่อนการประกาศงบการเงิน 1 เดือน และภายหลังจากที่ ประชาชนได้รับทราบข้อมูลแล้ว 48 ชั่วโมง โดยทุกๆ 3 เดือน บริษัทฯ จะแจ้งคณะกรรมการบริษัทและฝ่ายบริหารถึงช่วงระยะเวลาห้ามซื้อขาย หลักทรัพย์ของบริษัทฯดังกล่าว การกระทำฝ่าฝืนใดๆอันเป็นเหตุให้บริษัทฯ ได้รับความเสียหายหรือสูญเสียโอกาสทางธุรกิจ บริษัทฯ ถือเป็นการปฏิบัติขัดกับนโยบายและ จริยธรรมทางธุรกิจ ต้องได้รับโทษทางวินัยอย่างร้ายแรงและยังมีความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535
59
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ การเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่าน ประจำปี 2552
รายชื่อกรรมการ
1. นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช 2. นายสุวิทย์ จินดาสงวน 3. นายนรรัตน์ ลิ่มนรรรัตน์ 4. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี 5. นายปณต สิริวัฒนภักดี 6. นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร 7. นางอรฤดี ณ ระนอง 8. นายธนพล ศิริธนชัย
การเข้าร่วมประชุม/การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท ตรวจสอบ พิจารณาค่าตอบแทน บริหาร และสรรหา 6/6 5/5 1/1 6/6 5/5 1/1 6/6 5/5 1/1 6/6 - 1/1 11/13 4/6 - - 12/13 6/6 - - 13/13 6/6 - - 13/13 6/6 - - 13/13
การถือหลักทรัพย์ของกรรมการ ประจำปี 2552
ชื่อ - นามสกุล
1. นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช 2. นายสุวิทย์ จินดาสงวน 3. นายนรรัตน์ ลิ่มนรรัตน์ 4. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี 5. นายปณต สิริวัฒนภักดี 6. นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร 7. นางอรฤดี ณ ระนอง 8. นายธนพล ศิริธนชัย
จำนวนหุ้นที่ถือครอง (UV)** - 500,000 - 215,648,563* 215,648,563* - 6,841,000 -
จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิที่ถือครอง (UV-W1)** -
หมายเหตุ : *เป็นการถือหุ้นทางอ้อมผ่านบริษัท อเดลฟอส จำกัด ซึ่งถือหุ้นบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) จำนวน 431,297,126 หุ้น และนายฐาปน สิริวัฒนภักดี และนายปณต สิริวัฒนภักดี ถือหุ้นบริษัท อเดลฟอส จำกัด รวมกันร้อยละ100 ** ข้อมูลสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มกราคม 2553
60
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท ประจำปี 2552
ชื่อ – นามสกุล ตำแหน่ง
1. นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช 2. นายสุวิทย์ จินดาสงวน 3. นายนรรัตน์ ลิ่มนรรัตน์ 4. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี 5. นายปณต สิริวัฒนภักดี 6. นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร 7. นางอรฤดี ณ ระนอง 8. นายธนพล ศิริธนชัย
คณะกรรมการ บริษัท 324,000 204,000 204,000 204,000 168,000 204,000 204,000 204,000
ค่าตอบแทน (บาท) คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ พิจารณาค่าตอบแทน บริหาร และสรรหา 360,000 480,000 360,000 - - - - -
รวม
22,000 - 706,000 18,000 - 702,000 18,000 - 582,000 18,000 300,000 522,000 - 240,000 408,000 - 240,000 444,000 - - 204,000 - - 204,000
การแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและค่าธรรมเนียมในการสอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบรับผิดชอบคัดเลือกผู้สอบบัญชีในเบื้องต้น โดยพิจารณาถึงคุณสมบัติความเป็นอิสระ สามารถสอบทานงบการเงิน เสร็จตามกำหนดเวลา มีความรู้ ความเชี่ยวชาญของการให้บริการสอบบัญชี ตลอดจนเข้าใจในธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ และเสนอความเห็นให้ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาเพื่อนำเสนอขออนุมัติแต่งตั้งผู้สอบบัญชีในที่ประชุมผู้ถือหุ้น บริษทั ฯและบริษทั ย่อย จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้กบั บริษทั สำนักงาน เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จำกัด ทีผ่ สู้ อบบัญชีสงั กัด ในรอบปี บัญชีทผ่ี า่ นมามีจำนวนเงินรวม 2,877,000 บาท ประกอบด้วยค่าสอบบัญชีของบริษทั ฯ จำนวน 810,000 บาท และค่าสอบบัญชีของบริษทั ย่อย 2,067,000 บาท ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา บริษัทฯ และบริษัทย่อย มิได้จ่ายค่าตอบแทนของงานบริการอื่นให้กับผู้สอบบัญชี บุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้ สอบบัญชีและสำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด และไม่มีค่าใช้จ่ายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงที่ยังให้บริการไม่แล้วเสร็จในรอบปี บัญชีที่ผ่านมา ข้อพิพาททางกฎหมาย บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ไม่มคี ดีหรือข้อพิพาททางกฎหมายใดทีย่ งั ไม่สน้ิ สุด ซึง่ อาจมีผลกระทบด้านลบต่อสินทรัพย์ของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย ทีม่ จี ำนวนสูงกว่าร้อยละ 5 ของสัดส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ณ วันสิน้ ปีบญ ั ชีลา่ สุด รวมทัง้ ไม่มคี ดีทก่ี ระทบต่อการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ อย่างมีนัยสำคัญ และไม่มีคดีที่มิได้เกิดจากการประกอบธุรกิจโดยปกติของบริษัทฯ แต่อย่างใด
61
ความรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั ยูนเิ วนเจอร์ จำกัด(มหาชน) และบริษทั ในเครือ ได้ตระหนักถึงความรับผิดชอบทีม่ ตี อ่ สังคม โดยเชือ่ ว่าการดำเนินธุรกิจทีม่ คี วามรับผิดชอบ ต่อสังคมจะช่วยให้ธุรกิจมีความยั่งยืนในระยะยาว ในปี 2552 บริษัทฯ จึงได้ร่วมสนับสนุนส่งเสริมในกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพและ ยกระดับความสามารถของเด็กและเยาวชนในด้านการศึกษา และเพื่อสร้างโอกาสให้แก่ผู้ด้อยโอกาสในสังคม โดยมอบทุนการศึกษาบริจาค เงินและสิ่งของให้กับโรงเรียนและมูลนิธิ ดังนี้
62
- มอบสิ่งของให้กับวัดสวนแก้ว - มอบทุนการศึกษาให้โรงเรียนธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี - บริจาคเงินและสิ่งของให้แก่ มูลนิธิบ้านเด็กตาบอดและพิการซ้ำซ้อน รามอินทรา
รายการระหว่างกัน 1. รายการระหว่างกัน บริษัทฯ มีรายการระหว่างกันที่สำคัญกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นในปี 2551และ 2552 ดังต่อไปนี้
(1)
บริษัทฯ ให้เงินกู้ยืมระยะสั้นกับบริษัทร่วม
ลักษณะ อัตรา ความสัมพันธ์ ดอกเบี้ย ยอดยกมา ให้กู้เพิ่ม กับบริษัท MLR+2 149,165 -
ปี บริษัทร่วม บจก. ปริญเวนเจอร์ บจก. เอ็กซ์เซลเล้นท์ 2552 เอ็นเนอร์ย่ี อินเตอร์เนชัน่ แนล กรรมการร่วมกัน 9 บจก. สหสินวัฒนา โคเจน เนอเรชั่น 8
(2)
ชำระคืน ระหว่างงวด
ยอด คงเหลือ
117,315
31,850
5,000 -
-
5,000
-
740
740 -
บริษัทฯ ได้รับรายได้ดอกเบี้ยรับจากบริษัทร่วม
บริษัทร่วม
ลักษณะความสัมพันธ์กับบริษัทฯ
บจก. เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์เนชั่นแนล บจก. ปริญเวนเจอร์ บจก. สหสินวัฒนา โคเจนเนอเรชั่น
(3)
กรรมการร่ วมกั น
ดอกเบี้ยรับปี 2552
ดอกเบี้ยรับปี 2551
450 5,611 59
581 18,103 10
บริษัทฯ มีดอกเบี้ยค้างรับจากบริษัทร่วม
บริษัทร่วม
บจก. สหสินวัฒนา โคเจนเนอเรชั่น
ลักษณะความสัมพันธ์กับบริษัทฯ กรรมการร่วมกัน
ดอกเบี้ยค้างรับปี 2552 ดอกเบี้ยค้างรับปี 2551
68
10
การให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษทั ฯ ได้ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษทั ย่อยหรือบริษทั ร่วม ตามสัดส่วนทีต่ นมีสว่ นได้เสียในนิตบิ คุ คลนัน้ ตามเงือ่ นไขการค้าโดยทัว่ ไป ซึง่ เป็นการบริหารจัดการทางธุรกิจตามปกติ รวมทัง้ รายการดังกล่าวได้รบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั และบริษทั ฯ ได้เปิดเผยภาระผูกพัน
63
รายการระหว่างกัน 2. ความจำเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ รายการระหว่างกันข้างต้นเป็นรายการที่สมเหตุสมผลเนื่องจากเป็นรายการดำเนินการทางธุรกิจตามปกติและรายการสนับสนุนธุรกิจปกติซง่ึ ใช้ เงื่อนไขการค้าทั่วไป และสามารถคำนวณค่าตอบแทนได้จากทรัพย์สินหรือ มูลค่าอ้างอิง ซึ่งเป็นไปตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย โดยนอกจากจะกำหนดอำนาจของผูอ้ นุมตั ติ ามวงเงินทีก่ ำหนดแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการทำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ที่ต้องได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการบริษัทตามกฎระเบียบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และมีความเห็นว่ารายการระหว่างกัน ดังกล่าวเป็นไปตามเงือ่ นไขปกติของธุรกิจ ทัง้ นี้ ข้อมูลรายละเอียดรายการระหว่างกันได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินสำหรับปีสน้ิ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2552 3. มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำรายการระหว่างกัน บริษทั ฯ ได้กำหนดนโยบายและขัน้ ตอนการอนุมตั แิ ละดำเนินการรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ดังนี้ - การดำเนินธุรกรรมที่พิจารณาแล้วว่าเป็นรายการที่เกี่ยวโยงกัน ตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจะต้องมีการ ปฏิบัติตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ อย่างถูกต้องครบถ้วน รวมทัง้ ผ่านการตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจสอบในกรณีทต่ี อ้ งได้รบั การพิจารณาจากคณะกรรมการบริษทั - รายการความช่วยเหลือทางการเงินกับบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม เช่น เงินทุนหมุนเวียนในรูปเงินกู้ การให้กยู้ มื ค้ำประกัน จะต้องได้รับผลตอบ แทนตามอัตราตลาด - กรรมการซึ่งมีส่วนได้เสียในเรื่องใดไม่มีสิทธิออกเสียงและไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมประชุมในเรื่องนั้น - กรณีเป็นรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันประเภทรายการธุรกิจปกติหรือรายการสนับสนุนธุรกิจปกติ ซึง่ อยูใ่ นอำนาจอนุมตั ขิ องฝ่ายบริหารให้ใช้ราคา และเงื่อนไขเช่นเดียวกับการทำรายการกับบุคคลภายนอก และหากไม่มีราคาดังกล่าว บริษัทฯจะพิจารณาเปรียบเทียบราคาสินค้า หรือบริการกับบุคคลภายนอกภายใต้เงือ่ นไขทีเ่ หมือนหรือคล้ายคลึงกัน หรืออาจใช้ประโยชน์จากรายงานของผูป้ ระเมินอิสระซึง่ ว่าจ้าง โดยบริษทั ฯ มาทำการเปรียบเทียบราคาสำหรับรายการระหว่างกันทีส่ ำคัญ เพือ่ มัน่ ใจว่าราคาดังกล่าวสมเหตุสมผล และเพือ่ ประโยชน์ สูงสุดของบริษัทฯ โดยกำหนดอำนาจของผู้อนุมัติตามวงเงินและผู้บริหารที่มีส่วนได้เสียในรายการดังกล่าวจะต้องไม่เป็นผู้อนุมัติ - กรณีทร่ี ายการทีเ่ กีย่ วโยงกันมีมลู ค่าเข้าเกณฑ์ทต่ี อ้ งขออนุมตั จิ ากผูถ้ อื หุน้ โดยใช้คะแนนเสียง 3 ใน 4 ของผูม้ สี ทิ ธิออกเสียงลงคะแนน ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ที่มีส่วนได้เสียสามารถเข้าประชุมได้เพื่อนับเป็นองค์ประชุม แต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน (ซึ่งฐานในการคำนวณคะแนนเสียง เพื่ออนุมัติรายการที่เกี่ยวโยงกัน ไม่นับส่วนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกณฑ์ดังกล่าวจึงไม่เป็นปัญหากับองค์ประชุมและคะแนนเสียง) 4. นโยบายหรือแนวโน้มการทำรายการระหว่างกันในอนาคต รายการระหว่างกันของบริษทั ฯ ทีเ่ กิดขึน้ และอาจเกิดขึน้ ต่อไปในอนาคตจะเป็นรายการทีด่ ำเนินการทางธุรกิจตามปกติทว่ั ไป โดยไม่มกี ารถ่ายเท ผลประโยชน์ระหว่างบริษัทฯ บริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยบริษัทฯ จะให้คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาตรวจสอบให้ความ เห็นถึงความเหมาะสมของราคา และความสมเหตุสมผลของการทำรายการพร้อมทัง้ เปิดเผยชนิดมูลค่าและเหตุผลในการทำรายการต่อผูถ้ อื หุน้ ตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยเคร่งครัดเพื่อ ให้ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียได้รับการดูแลผลประโยชน์อย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกันตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี
64
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่รับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ตลอดจนข้อมูลสาร สนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำปีและในงบการเงินของบริษัทฯ ซึ่งรายงานทางการเงินดังกล่าวจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชี ทีร่ บั รองทัว่ ไป โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีทเ่ี หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ย่างสม่ำเสมอ รวมทัง้ มีการเปิดเผยข้อมูลสำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน เพือ่ ประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุนทัว่ ไป ทงั้ นีง้ บการเงินดังกล่าวได้ผา่ นการตรวจสอบและให้ความเห็นอย่างไม่มเี งือ่ นไข จากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่เป็นอิสระ งบการเงินของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ได้รบั การตรวจสอบโดยนายนิรนั ดร์ ลีลาเมธาวัฒน์ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 2316 แห่งบริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จำกัด ซึง่ เป็นผูส้ อบบัญชีทไ่ี ด้รบั ความเห็นชอบจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มรี ะบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ เพือ่ ให้มน่ั ใจได้วา่ มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีของบริษทั ฯ และบริษัทย่อยอย่างถูกต้อง ครบถ้วนเพียงพอ ทันเวลา และป้องกันช่องทางการทุจริตหรือการดำเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสำคัญ นอกจากนี้เพื่อให้มีการทบทวนระบบการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง และสอบทานระบบการทำงานอย่างสม่ำเสมอ คณะกรรมการบริษัท จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการที่เป็นอิสระเป็นผู้รับผิดชอบสอบทานรายงานทางการเงินของบริษัทฯ และ บริษัทย่อยให้นำเสนอข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วนเพียงพอ รวมถึงการมีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่เชื่อถือได้ ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้แสดงความเห็นต่อเรื่องดังกล่าวปรากฏในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้แสดงไว้ในรายงานประจำปีนี้แล้ว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ และบริษัทย่อยโดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจและสามารถสร้างความ เชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่ารายงานทางการเงินของบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ได้แสดงฐานะ การเงินและผลการดำเนินงานอย่างถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปแล้ว
นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช ประธานกรรมการ
65
รายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบกำไรขาดทุนรวมและงบกำไรขาดทุนเฉพาะ กิจการ งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมและงบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ เฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและ งบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยและของเฉพาะ บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงิน เหล่านี้ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความ เชือ่ มัน่ อย่างมีเหตุผลว่า งบการเงินแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่การตรวจสอบรวมถึงการใช้วธิ กี ารทดสอบ หลักฐาน ประกอบรายการทั้ ง ที่ เ ป็ น จำนวนเงิ น และการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ในงบการเงิ น การประเมิ น ความเหมาะสมของหลั ก การบั ญ ชี ที่ กิ จ การใช้ และประมาณการเกีย่ วกับรายการทางการเงินทีเ่ ป็นสาระสำคัญ ซึง่ ผูบ้ ริหารเป็นผูจ้ ดั ทำขึน้ ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดง รายการทีน่ ำเสนอในงบการเงินโดยรวมข้าพเจ้าเชือ่ ว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ขอ้ สรุปทีเ่ ป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วนั ที ่ 31 ธนั วาคม 2552 และ 2551 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะกิจการและกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสำหรับปีสนิ้ สุด วันเดียวกันของแต่ละปีของบริษทั ยนู เิ วนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และของเฉพาะบริษทั ยนู เิ วนเจอร์ จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป
บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด กรุงเทพมหานคร
66
(นิรันดร์ ลีลาเมธวัฒน์) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 2316
งบดุล บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่นและเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เงินมัดจำค่าที่ดิน สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย เงินล่วงหน้าค่าก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนาเพื่อให้เช่า ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
หมายเหตุ
งบการเงินรวม
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
2552 2551 2552 2551 5 480,245,630 894,920,634 282,240,008 595,463,090 7 189,655,461 127,698,035 - 118,016,223 4 442,489,497 155,041,269 765,202,399 287,749,227 8, 30 100,477,851 151,931,662 - 133,266,560 9 815,849,019 252,963,060 - 32 62,800,000 25,421,400 - 10 64,130,901 43,184,533 1,714,546 4,626,446 2,155,648,359 1,651,160,593 1,049,156,953 1,139,121,546 11 - - 634,925,948 511,624,735 12 71,423,450 74,080,573 51,591,543 53,282,843 6 - 33,306,266 - 320,802,600 95,620,660 - 4, 13 970,441,407 346,257,101 - 14 221,378,479 236,574,181 128,130,094 149,527,568 15 12,582,419 3,435,055 11,052,757 3,093,617 15 1,340,178 679,977 - 10,032,713 9,864,050 3,376,537 3,721,242 1,608,001,246 799,817,863 829,076,879 721,250,005 3,763,649,605 2,450,978,456 1,878,233,832 1,860,371,551
หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
67
งบดุล (ต่อ) บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เจ้าหนี้อื่นและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการอื่น หนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อ ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้ค้างจ่าย เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ค่าเช่ารับล่วงหน้าจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน
หมายเหตุ
4
16
4, 16 16
16
7
17
16 4
หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
68
งบการเงินรวม
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
2552 2551 2552 217,565,569 26,162,310 - 218,024,100 - - 3,930,721 10,727,228 683,878 8,850,000 - - - 57,114 - 3,072,359 5,400,629 316,974 69,887,457 19,928,090 - 31,983,860 2,479,828 - 22,111,513 24,881,031 3,114,528 575,425,579 89,636,230 4,115,380 - 90,000,000 - 1,050,000,000 250,000,000 - - 5,990,000 - 1,050,000,000 345,990,000 - 1,625,425,579 435,626,230 4,115,380
2551 8,367,078 3,599,477 57,114 5,045,572 6,640,347 23,709,588 - 23,709,588
งบดุล (ต่อ) บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชำระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ผลกำไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ผลต่างจากการตีราคาที่ดิน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน กำไรสะสม จัดสรรแล้ว สำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หมายเหตุ 18 19 19 14
19
งบการเงินรวม
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
2552 2551 2552 944,528,490 944,528,490 944,528,490 764,766,980 764,766,980 764,766,980 474,567,342 474,567,342 474,567,342 147,567,416 147,567,416 110,261,000 - (56,698,662) - 54,647,075 50,862,333 52,165,075 456,135,217 489,910,862 472,358,055 1,897,684,030 1,870,976,271 1,874,118,452 240,539,996 144,375,955 - 2,138,224,026 2,015,352,226 1,874,118,452 3,763,649,605 2,450,978,456 1,878,233,832
2551
944,528,490 764,766,980 474,567,342 110,261,000 48,380,333 438,686,308 1,836,661,963 1,836,661,963 1,860,371,551
หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
69
งบกำไรขาดทุน บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
รายได้ รายได้จากการขายและการให้บริการ รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุด ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการ ต้นทุนขายหน่วยในอาคารชุด ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร รวมค่าใช้จ่าย ส่วนแบ่งกำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม (สุทธิจากภาษีเงินได้) กำไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน กำไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำไรสำหรับปี ส่วนของกำไร (ขาดทุน) ที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นของบริษัท ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำไรสำหรับปี กำไรต่อหุ้น ขั้นพื้นฐาน ปรับลด หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
70
หมายเหตุ 4, 21
22 4 23 24 25
4, 26
28
งบการเงินรวม
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
2552 2551 2552 2551 853,926,385 1,074,832,348 184,656,107 1,033,266,006 463,093,245 64,756,139 - 14,451,542 43,063,855 35,559,618 43,482,593 5,807,700 4,457,883 74,026,281 48,113,338 23,736,460 29,513,874 6,156,873 10,583,746 1,361,015,332 1,216,624,099 300,398,879 1,135,445,683 776,777,808 944,216,411 133,266,760 893,972,513 362,363,909 52,626,031 - 44,351,976 21,467,614 - 14,035,819 128,619,704 125,028,364 73,316,614 70,312,385 16,376,121 17,959,389 16,376,121 17,959,389 1,328,489,518 1,161,297,809 222,959,495 996,280,106 (2,657,123) 22,750,407 - 29,868,691 78,076,697 77,439,384 139,165,577 (1,119,811) (780,781) (27,705) (21,596) 28,748,880 77,295,916 77,411,679 139,143,981 (11,823,594) (31,061,846) (1,716,841) (29,937,328) 16,925,286 46,234,070 75,694,838 109,206,653 8,247,446 61,829,795 75,694,838 109,206,653 8,677,840 (15,595,725) - 16,925,286 46,234,070 75,694,838 109,206,653 0.01 0.08 0.10 0.14 0.01 0.08 0.10 0.14
71
หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ผลกำไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ที่ดิน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมสุทธิที่รับรู้โดยตรง ในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนเผื่อขาย การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมสุทธิที่รับรู้โดยตรง ในส่วนของผู้ถือหุ้น รายได้ (ค่าใช้จ่าย) สุทธิของรายการที่รับรู้โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้น กำไร (ขาดทุน) สำหรับปี รวมส่วนของรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ที่รับรู้ เงินปันผล 29 จัดสรรเป็นทุนสำรองตามกฎหมาย 19 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเพิ่มขึ้นจากการออกหุ้นทุนในบริษัทย่อย ซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ 19 เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น 19 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551
มูลค่าหุ้น
ตีราคาที่ดิน
ของเงินลงทุน
ตามกฎหมาย
จัดสรร
ของบริษัท
ส่วนน้อย
ค่าหุ้น
ของผู้ถือหุ้น
- - - - - - 2,498,706 1,234,392 - - 764,766,980 474,567,342
- - - - - 147,567,416
- - 5,460,333 (5,460,333) - - - - - - - 132,000,000 132,000,000 - - - - - (91,835) (91,835) - (3,733,098) - - - - - 2,734,238 - - 2,734,238 - 2,734,238 (56,698,662) 50,862,333 489,910,862 1,870,976,271 144,375,955 2,015,352,226
762,268,274 473,332,950 138,033,416 (20,307,030) 998,860 45,402,000 509,868,090 1,909,596,560 28,063,515 1,937,660,075 - - 9,534,000 - - - - 9,534,000 - 9,534,000 - - - (36,391,632) - - - (36,391,632) - (36,391,632) - - 9,534,000 (36,391,632) - - - (26,857,632) - (26,857,632) - - - - - 61,829,795 61,829,795 (15,595,725) 46,234,070 - - 9,534,000 (36,391,632) - - 61,829,795 34,972,163 (15,595,725) 19,376,438 - - - - - - (76,326,690) (76,326,690) - (76,326,690)
และชำระแล้ว
( หน่วย : บาท) งบการเงินรวม ผลกำไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง กำไรสะสม หมายเหตุ ทุนเรือน การเปลี่ยนแปลง รวมส่วน ส่วนของ หุ้นที่ออก ส่วนเกิน ผลต่างจากการ ในมูลค่ายุติธรรม เงินรับล่วงหน้า ทุนสำรอง ยังไม่ได้ ของผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น รวมส่วน
บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผู้ถือหุ้น
72
หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ผลกำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง เงินลงทุนเผื่อขาย การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมสุทธิที่รับรู้โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้น การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมสุทธิที่โอนไปกำไร รายได้สุทธิของรายการที่รับรู้โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้น กำไรสำหรับปี รวมส่วนของรายได้ที่รับรู้ เงินปันผล จัดสรรเป็นทุนสำรองตามกฎหมาย ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเพิ่มขึ้นจากการออกหุ้นทุนในบริษัทย่อย ซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 29 19 11 11
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 764,766,980 474,567,342 147,567,416
- 54,661,406 54,661,406 - 2,037,256 2,037,256 - 56,698,662 56,698,662 8,247,446 8,247,446 56,698,662 8,247,446 64,946,108 (38,238,349) (38,238,349) 3,784,742 (3,784,742) - 54,647,075 456,135,217 1,897,684,030
- 54,661,406 - 2,037,256 - 56,698,662 8,677,840 16,925,286 8,677,840 73,623,948 (38,238,349) - - 88,000,000 88,000,000 (513,799) (513,799) 240,539,996 2,138,224,026
( หน่วย : บาท) งบการเงินรวม ผลกำไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง กำไรสะสม ทุนเรือน การเปลี่ยนแปลง รวมส่วน ส่วนของ หุ้นที่ออก ส่วนเกิน ผลต่างจากการ ในมูลค่ายุติธรรม ทุนสำรอง ยังไม่ได้ ของผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น รวมส่วนของ และชำระแล้ ว มู ล ค่ า หุ น ้ ตี ร าคาที ด ่ น ิ ของเงิ น ลงทุ น ตามกฎหมาย จั ด สรร ของบริ ษ ท ั ส่ ว นน้ อ ย ผู้ถือหุ้น หมายเหตุ 764,766,980 474,567,342 147,567,416 (56,698,662) 50,862,333 489,910,862 1,870,976,271 144,375,955 2,015,352,226
บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผู้ถือหุ้น (ต่อ)
73
หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ผลกำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ที่ดิน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมสุทธิที่รับรู้โดยตรง ในส่วนของผู้ถือหุ้น รายได้สุทธิของรายการที่รับรู้โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้น กำไรสำหรับปี รวมส่วนของรายได้ที่รับรู้ เงินปันผล จัดสรรเป็นทุนสำรองตามกฎหมาย หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 กำไรสำหรับปี รวมส่วนของรายได้ที่รับรู้ เงินปันผล จัดสรรเป็นทุนสำรองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 29 19
29 19 18 18
14
หมายเหตุ
- 7,170,000 - 7,170,000 - 7,170,000 - 7,170,000 109,206,653 109,206,653 - 7,170,000 109,206,653 116,376,653 (76,326,690) (76,326,690) 5,460,333 (5,460,333) 2,498,706 1,234,392 (3,733,098) - 2,734,238 - 2,734,238 764,766,980 474,567,342 110,261,000 48,380,333 438,686,308 1,836,661,963 764,766,980 474,567,342 110,261,000 48,380,333 438,686,308 1,836,661,963 75,694,838 75,694,838 75,694,838 75,694,838 (38,238,349) (38,238,349) 3,784,742 (3,784,742) 764,766,980 474,567,342 110,261,000 52,165,075 472,358,055 1,874,118,452
( หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ผลกำไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง กำไรสะสม ทุนเรือน รวมส่วน หุ้นที่ออก ส่วนเกิน ผลต่างจากการ เงินรับล่วงหน้า ทุนสำรองตาม ยังไม่ได้ ของผู้ถือหุ้น และชำระแล้ว มูลค่าหุ้น ตีราคาที่ดิน ค่าหุ้น กฎหมาย จัดสรร ของบริษัท 762,268,274 473,332,950 103,091,000 998,860 42,920,000 411,266,678 1,793,877,762
บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผู้ถือหุ้น (ต่อ)
งบกระแสเงินสด บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรสำหรับปี รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ ต้นทุนทางการเงิน ขาดทุน (กำไร) จากมูลค่าสินค้าลดลง กลับรายการหนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการลดมูลค่าเงินลงทุนใน บริษัทย่อยและบริษัทร่วม กำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุนในบริษัทร่วม กำไรจากการจำหน่ายตราสารทุน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง กำไรจากการลดหน่วยลงทุนในกองทุนรวม(บริษัทย่อย) กำไรจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขาดทุน (กำไร) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม (สุทธิจากภาษีเงินได้) ภาษีเงินได้ การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
74
งบการเงินรวม
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
2552 2551 2552 2551 16,925,286 46,234,070 75,694,838 109,206,653 13,661,842 13,011,473 5,114,865 6,217,596 (14,451,542) (43,063,855) (35,559,618) (43,482,593) (5,807,700) (4,457,883) (74,026,281) (48,113,338) 1,119,811 780,781 27,705 21,596 (841,731) 20,136,644 - 20,579,810 (42,000) - (30,000) - - - 4,064,147 7,995,414 (9,021,000) - - (2,418,468) - - 3,207,718 2,453,806 3,050,011 2,453,806 - - - (132,226) (3,660,172) (2,245,155) (3,333,119) (181,222) 2,657,123 (22,750,407) - 11,823,594 31,061,846 1,716,841 29,937,328 13,152,761 41,161,320 (23,280,611) 84,502,824 - 546,000 - (61,928,959) 88,297,615 118,016,223 83,347,310 (4,704,828) 8,866,080 (19,454,756) (1,583,427) 52,298,034 (30,661,375) 133,266,560 (35,555,729) (562,885,959) (190,552,015) - -
งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีที่สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
งบการเงินรวม
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงาน
2552 2551 2552 2551 (58,359,022) (55,490,228) 5,131,153 2,465,264 (168,663) (704,747) 344,705 (185,114) 191,403,259 (10,759,595) (8,367,078) (23,605,787) 1,504,476 1,744,478 (2,915,599) (3,259,579) 49,960,657 19,928,090 - - 20,698,144 (95,669,452) (5,621,023) 2,748,821 (14,151,864) (53,293,252) (6,445,439) (45,920,354) (373,181,964) (276,587,081) 190,674,135 62,954,229
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย รับเงินปันผล ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินล่วงหน้าค่าก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนาเพื่อให้เช่า เงินรับจากการจำหน่ายตราสารทุน เงินรับสุทธิจากการลงทุนในเงินลงทุนชั่วคราว เงินสดรับจากการลดทุนในบริษัทย่อย เงินสดรับจากการลดหน่วยลงทุนในกองทุนรวม(บริษัทย่อย) เงินจ่ายสุทธิจากการลงทุนในบริษัทย่อย เงินจ่ายสุทธิจากการลงทุนในบริษัทร่วม เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน
22,862,275 83,279,905 24,852,093 84,175,834 5,807,700 4,457,883 74,026,281 48,113,338 (19,362,215) (35,347,704) (3,518,014) (23,197,355) 15,640,158 2,923,518 15,304,142 569,921 (233,767) (3,162,240) (129,540) (3,162,240) - (5,590,000) (1,231,200,000) 44,334,200 117,315,800 100,684,200 783,815,000 - (225,181,940) (95,620,660) - (624,184,306) (174,900,420) - 92,423,396 - - - 101,183,966 - 100,000,000 - - 7,500,000 - - - 116,672,933 - - (133,174,000) (338,494,601) - (1,487,626) - (1,487,626) (614,912,899) (23,579,178) (462,524,038) 27,524,404
หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
75
งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวม 2552 2551 2552 หมายเหตุ
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารลดลง ชำระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน จ่ายชำระหนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อ เงินสดรับจากเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ชำระคืนเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ค่าเช่ารับล่วงหน้าจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเพิ่มขึ้น เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศ คงเหลือสิ้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี 5 หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
76
2551
(1,550,794) (648,031) (27,705) (21,596) (38,238,349) (76,326,713) (38,238,349) (76,326,713) - (1,210,148) - - (24,000,000) - 980,000 - - (57,114) (137,073) (57,114) (137,073) 431,053,500 90,000,000 - (303,029,400) - - 400,000,000 250,000,000 - - (998,860) - (998,860) - 3,733,098 - 87,486,201 132,000,000 - 3,733,098 576,644,044 372,412,273 (38,323,168) (73,751,144) (411,450,819) 72,246,014 (310,173,071) 16,727,489 894,920,634 825,081,679 595,463,090 581,142,660 (3,224,185) (2,407,059) (3,050,011) (2,407,059) 480,245,630 894,920,634 282,240,008 595,463,090
หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
หมายเหตุ
สารบัญ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37
ข้อมูลทั่วไป เกณฑ์การจัดทำงบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สำคัญ รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนอื่น ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม อสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนาเพื่อให้เช่า ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน / ค่าความนิยม หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินหมุนเวียนอื่น ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกินทุนและสำรองตามกฎหมาย ใบสำคัญแสดงสิทธิ ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ กำไรต่อหุ้น เงินปันผล การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุล มาตรฐานการบัญชีที่ยังไม่ได้ใช้ การบริหารจัดการส่วนทุน การจัดประเภทรายการใหม่
77
หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกงบการเงินจากกรรมการเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553 1. ข้อมูลทั่วไป บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) “บริษัท” เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีที่อยู่จดทะเบียนตั้งอยู่เลขที่ 888/210-212 อาคารมหาทุนพลาซ่า ชั้น 2 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2531 บริษัทใหญ่ในระหว่างปีได้แก่ บริษัท อเดลฟอส จำกัด ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2551 มีมติให้บริษัทดำเนินการโอนกิจการสังกะสีอ็อกไซด์ไปที่บริษัท ไทย-ไลซาท จำกัด ซึ่งบริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 บริษัทได้ดำเนินการดังกล่าวในเดือนมกราคม 2552 บริษัทดำเนินธุรกิจหลักในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ รายละเอียดของบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้
ชื่อกิจการ ลักษณะธุรกิจ ประเทศที่กิจการจัดตั้ง บริษัทย่อยทางตรง บริษัท ไทย-ไลซาท จำกัด ขายสังกะสีอ๊อกไซด์ และ เคมีภัณฑ์ ไทย บริษัท ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จำกัด ตัวแทนจำหน่ายเครื่อง บันทึกเวลา ไทย และอุปกรณ์ควบคุมระบบจอดรถยนต์ บริษัท ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จำกัด ที่ปรึกษาทางด้านการเงิน และการลงทุน ไทย
บริษัท ยูนิเวนเจอร์ แอสแซท แมเนจเม้นท์ จำกัด กองทุนรวมกินรีพร็อพเพอร์ตี้ (ถือหุ้นทางอ้อมโดยกองทุนส่วน บุคคลของบริษัทย่อยร้อยละ 1) บริษัท เอสโก้ เวนเจอร์ จำกัด บริษัท เลิศรัฐการ จำกัด บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด
บริษัทย่อยทางอ้อม บริษัท แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง จำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (คอนโดมิเนียม) (บริษัทถือหุ้นผ่าน บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ซึ่งบริษัทถือหุ้นทางตรงร้อยละ 99.98)
78
ที่ปรึกษาทางด้านการลงทุน และให้บริการการจัดการ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงทุนในธุรกิจการจัดการ พลังงาน พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (คอนโดมิเนียม)
บริษัทถือหุ้นร้อยละ 2552 2551 100.00 100.00 99.99 99.99 100.00 100.00
ไทย
100.00 100.00
ไทย
98.88 98.88
ไทย ไทย ไทย
79.00 75.00 100.00 100.00 60.00 60.00
ไทย
59.99 59.99
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 2.เกณฑ์การจัดทำงบการเงิน งบการเงินนี้นำเสนอเพื่อวัตถุประสงค์ของการรายงานเพื่อใช้ในประเทศไทย และจัดทำเป็นภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษได้จัดทำขึ้น เพื่อความสะดวกของผู้อ่านงบการเงินที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาไทย งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศ ใช้โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) และจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศฉบับที่ 12/2552 การจัดเลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีของไทยใหม่ ให้ตรง ตามมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ กลุม่ บริษทั ได้ใช้มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีป่ รับปรุงใหม่ตลอดจนแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีทอี่ อกโดยสภาวิชาชีพบัญชี ในระหว่างปี 2551 และ 2552 ต่อไปนี้ ซึ่งมีผลบังคับสำหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที ่ 5 (ปรับปรุง 2550) เรือ่ ง สนิ ทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถ่ อื ไว้เพือ่ ขายและการดำเนินงานทีย่ กเลิก(ฉบับ 54 เดิม) แม่บทการบัญชี เพื่อจัดทำและนำเสนองบการเงิน (ปรับปรุง 2550) (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน 2552) แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการบันทึกบัญชีสิทธิการเช่า (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน 2552) การใช้มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุงตลอดจนแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีเหล่านี้ ไม่มผี ลกระทบทีเ่ ป็นสาระ สำคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ในระหว่างปี 2552 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีหลายฉบับ ซึ่งยังไม่มีผลบังคับในปัจจุบันและไม่ได้มีการนำมาใช้ สำหรับการจัดทำงบการเงินนี้ มาตรฐานการบัญชีที่ได้ออกและปรับปรุงใหม่เหล่านี้ได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 35 งบการเงินนี้แสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาท ยกเว้นระบุไว้เป็นอย่างอื่น งบการเงินนี้ได้จัดทำขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นที่กล่าวไว้ในนโยบายการบัญชี ในการจัดทำงบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบ้ ริหาร ต้องใช้การประมาณและข้อสมมติฐาน หลายประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการกำหนดนโยบายและการรายงานจำนวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิดขึ้น จริงอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดทำงบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชีจะบันทึกในงวด บัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ได้รับผลกระทบ
79
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 3. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ (ก) เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) และส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วม บริษัทย่อย บริษทั ย่อยเป็นกิจการทีอ่ ยูภ่ ายใต้การควบคุมของกลุม่ บริษทั ก ารควบคุมเกิดขึน้ เมือ่ กลุม่ บริษทั มีอำนาจควบคุมทัง้ ทางตรงหรือทางอ้อมในการ กำหนดนโยบายทางการเงินและการดำเนินงานของกิจการนัน้ เพือ่ ได้มาซึง่ ประโยชน์จากกิจกรรมของบริษทั ย่อยงบการเงินของบริษทั ย่อยได้รวม อยูใ่ นงบการเงินรวม นับแต่วนั ทีม่ กี ารควบคุมจนถึงวันทีก่ ารควบคุมสิน้ สุดลง นโยบายการบัญชีของบริษทั ย่อยได้ถกู เปลีย่ นตามความจำเป็นเพือ่ ให้เป็นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัท บริษัทร่วม บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญโดยมีอำนาจเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินและ การดำเนินงานแต่ไม่ถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกล่าว การมีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญถูกสันนิษฐานว่ามีอยู่เมื่อกลุ่มบริษัทมีอํานาจในการ ออกเสียงในกิจการอื่นตั้งแต่ร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 50 งบการเงินรวมของกลุ่มบริษัทได้รวมส่วนแบ่งรายได้ ค่าใช้จ่าย และ การเคลื่อนไหวของ ส่วนของเจ้าของของบริษัทร่วม นับจากวันที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญจนถึงวันที่การมีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญสิ้นสุดลง เมื่อผลขาดทุนที่กลุ่ม บริษัทได้รับปันส่วนจากบริษัทร่วมมีจำนวนเกินกว่าเงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนจะถูกทอนลงจนเป็นศูนย์และหยุดรับรู้ส่วนผลขาดทุน เว้น แต่กรณีที่กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรืออนุมานหรือยินยอมที่จะชำระภาระผูกพันของบริษัทร่วม การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุม่ รวมถึงรายไดหรือค่าใช้จา่ ยทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริงซึง่ เป็นผลมาจากรายการระหว่างกิจการในกลุม่ ถูกตัดรายการในการจัดทำงบการเงินรวม กำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นผลมาจากรายการกับบริษัทร่วมถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเท่าที่กลุ่ม บริษัทมีส่วนได้เสียในกิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับกำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง แต่เท่าทีเ่ มือ่ ไม่มี หลักฐานการด้อยค่าเกิดขึ้น (ข) เงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กำไรหรือ ขาดทุนจากการแปลงค่าบันทึกในงบกำไรขาดทุน สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีไ่ ม่เป็นตัวเงินซึง่ เกิดจากรายการบัญชีทเี่ ป็นเงินตราต่างประเทศ ซึง่ บันทึกตามเกณฑ์ราคาทุนเดิมแปลงค่าเป็นเงินบาทโดย ใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ 80
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ค) เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นตราสารอนุพนั ธ์ได้ถกู นำมาใช้เพือ่ จัดการความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงในอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ที่เกิดจากกิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมจัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุน เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ไม่ได้มีไว้เพื่อค้า อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพันธ์ที่ไม่เข้าเงื่อนไข การกำหนดให้เป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงถือเป็นรายการเพื่อค้า เครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นตราสารอนุพนั ธ์จะถูกบันทึกบัญชีในขัน้ แรกด้วยมูลค่ายุตธิ รรม คา่ ใช้จา่ ยทีเ่ กิดจากการทำรายการดังกล่าวบันทึกใน งบกำไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ้นการวัดมูลค่าใหม่ภายหลังการบันทึกครั้งแรกใช้มูลค่ายุติธรรมกำไรหรือขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ให้เป็นมูลค่า ยุติธรรมบันทึกในงบกำไรขาดทุน มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าถือตามราคาตลาดของสัญญาล่วงหน้า ณ วันที่รายงาน ถ้ามีราคาตลาด ในกรณี ที่ไม่มีราคาตลาด ให้ประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยการคิดลดจากผลต่างระหว่างราคาล่วงหน้าตามสัญญา กับราคาล่วงหน้าของสัญญาปัจจุบัน ณ วันที่รายงานที่ครบกำหนดในวันเดียวกัน โดยใช้อัตราดอกเบี้ยประเภทที่ใช้กับธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ยง เช่น พันธบัตรรัฐบาล (ง) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง (จ) ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการชำระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการชำระหนี้ในอนาคตของลูกค้า ลูกหนี้จะถูก ตัดจำหน่ายบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ (ฉ) สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า วัตถุดิบ วัสดุสิ้นเปลืองโรงงานและวัตถุประกอบการผลิตคำนวณโดยใช้วิธีต้นทุนเจาะจงและวิธีเข้าก่อน-ออกก่อน ตามลำดับ สินค้าสำเร็จรูป และสินค้าระหว่างผลิตคำนวณโดยใช้วิธีต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ต้นทุนสินค้าประกอบด้วยต้นทุนที่ซื้อ ต้นทุนในการดัดแปลงหรือต้นทุนอื่น เพือ่ ให้สนิ ค้าอยูใ่ นสถานทีแ่ ละสภาพปัจจุบนั ในกรณีของสินค้าสำเร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตทีผ่ ลิตเอง ต้นทุนสินค้าคำนวณโดยการใช้ตน้ ทุน มาตรฐานซึง่ ได้รบั การปรับปรุงให้ใกล้เคียงกับราคาทุนถัวเฉลีย่ ซึ่งได้พิจารณารวมการปันส่วนของค่าโสหุ้ยการผลิตอย่างเหมาะสมโดยคำนึง ถึงระดับกำลังการผลิตตามปกติ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการดำเนินธุรกิจปกติหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการขาย (ช) ต้นทุนโครงการอสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนาเพื่อให้เช่า ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์คืออสังหาริมทรัพย์ที่ถือไว้ด้วยความตั้งใจในการพัฒนาและการขายในการดำเนินธุรกิจปกติ 81
หมายเหตุประกอบงบการเงิน อสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนาเพือ่ ให้เช่าคืออสังหาริมทรัพย์ทถี่ อื ครองเพือ่ หาประโยชน์จากรายได้คา่ เช่า ทัง้ นีไ้ ม่ได้มไี ว้เพือ่ ขายตามปกติธรุ กิจ หรือใช้ในการผลิตหรือจัดหาสินค้าหรือให้บริการหรือใช้ในการบริหารงาน ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนา เพือ่ ให้เช่าประกอบด้วย ต้นทุนของแต่ละโครงการรวมต้นทุนในการ ได้มาค่าใช้จ่ายในการพัฒนา ต้นทุนการกู้ยืม และ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ต้นทุนการกู้ยืมซึ่งกู้มาโดยเฉพาะเพื่อใช้ในอสังหาริมทรัพย์ระหว่าง การพัฒนารวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ จนกระทัง่ การพัฒนาสำเร็จ ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์แสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่ จะได้รบั โดยประมาณ (สุทธิจากจำนวนทีเ่ รียกเก็บ) แล้วแต่ราคาใดต่ำกว่า มูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั คือราคาขายโดยประมาณหักด้วยต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ ในการขาย มูลค่างานเสร็จทีย่ งั ไม่ได้เรียกเก็บจากลูกค้าแสดงภายใต้สนิ ทรัพย์หมุนเวียนในงบดุล ผลต่างของจำนวนทีเ่ รียกเก็บจากลูกค้าทีส่ งู กว่ารายได้จาก การขายหน่วยในอาคารชุดที่รับรู้แสดงภายใต้หนี้สินหมุนเวียนในงบดุล (ซ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั บันทึกบัญช โี ดยใช้วธิ รี าคาทุน ส่วนการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษทั ร่วมในงบการเงินรวมใช้วิธีส่วนได้เสีย เงินลงทุนในตราสารทุนอื่น ตราสารทุนซึ่งเป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไว้เพื่อค้าหรือตั้งใจถือไว้จนครบกำหนด จัดประเภทเป็นเงินลงทุน เผือ่ ขาย ภายหลังการรับรูม้ ลู ค่าในครัง้ แรก เงินลงทุนเผือ่ ขายแสดงในมูลค่ายุตธิ รรมและการเปลีย่ นแปลงทีไ่ ม่ใช่ผลขาดทุนจากการด้อยค่าและผล ต่างจากสกุลเงินตราต่างประเทศของรายการทีเ่ ป็นตัวเงิน บนั ทึกโดยตรง ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนผลขาดทุนจากการด้อยค่าและผลต่างจากการ แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศรับรู้ในงบกำไรขาดทุน เมื่อมีการจำหน่ายเงินลงทุน จะรับรู้ผลกำไรหรือขาดทุนที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น โดยตรงเข้าในงบกำไรขาดทุน การจำหน่ายเงินลงทุน เมื่อมีการจำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างจำนวนเงินสุทธิที่ได้รับและมูลค่าตามบัญชีและรวมถึงกำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพย์ที่ เกี่ยวข้องที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น จะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน (ฌ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกิจการ ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสือ่ มราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ยกเว้นทีด่ นิ แสดงด้วยราคาทีต่ ใี หม่ ราคาทีต่ ใี หม่ หมายถึง มูลค่ายุติธรรม ซึ่งกำหนดจากเกณฑ์การใช้งานของสินทรัพย์ที่มีอยู่จริง ณ วันที่มีการตีราคาใหม่หักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสมที่คำนวณ จากมูลค่ายุติธรรมนั้นและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ 82
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สินทรัพย์ที่เช่า การเช่าซึ่งกลุ่มบริษัทได้รับส่วนใหญ่ของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สินที่เช่านั้นๆ ให้จัดประเภทเป็นสัญญาเช่าการ เงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ได้มาโดยทำสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็นสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุติธรรมหรือมูลค่าปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่าหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าเช่าที่ชำระจะแยกเป็นส่วนที่เป็น ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน และส่วนทีจ่ ะหักจากหนีต้ ามสัญญา เพือ่ ทำให้อตั ราดอกเบีย้ แต่ละงวดเป็นอัตราคงทีส่ ำหรับยอดคงเหลือของหนีส้ นิ ค่าใช้ จ่ายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในงบกำไรขาดทุน สินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่ การตีราคาใหม่ดำเนินการโดยผู้ประเมินราคาอิสระอย่างสม่ำเสมอพอ เพือ่ ให้มน่ั ใจว่าราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ทไ่ี ด้รบั การประเมินไม่แตกต่าง อย่างเป็นสาระสำคัญจากมูลค่ายุตธิ รรม ณ วันทีร่ ายงาน มูลค่าของสินทรัพย์สว่ นทีต่ เี พิม่ ขึน้ จะบันทึกไปยังส่วนของผูถ้ อื หุน้ ภายใต้ “ ผลกำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงของผลต่างจากการตีราคาที่ดิน ” ยกเว้น กรณีทเี่ คยประเมินมูลค่าของสินทรัพย์ลดลงและรับรูข้ าดทุนในงบกำไรขาดทุนแล้ว จะบันทึกเฉพาะส่วนทีต่ มี ลู ค่าเพิม่ ในครัง้ หลังเกินกว่าส่วนที่ เคยบันทึกมูลค่าลดลงของสินทรัพย์ชนิ้ เดียวกัน ในกรณีทมี่ ลู ค่าของสินทรัพย์ลดลงจากการตีราคาใหม่จะบันทึกในงบกำไรขาดทุนสำหรับมูลค่า ที่ลดลงเฉพาะจำนวนที่ลดลงมากกว่าส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ที่เคยบันทึกไว้ครั้งก่อน ในส่วนของผู้ถือหุ้นของสินทรัพย์ชิ้นเดียวกัน นัน้ ในกรณีทมี่ กี ารจำหน่ายสินทรัพย์ทเี่ คยตีราคาใหม่ ส่วนเกินทุนจากการตีราคาของสินทรัพย์ทจี่ ำหน่ายจะโอนจากส่วนของผูถ้ อื หุน้ ไปยังกำไร สะสมและไม่รวมในการคำนวณกำไรหรือขาดทุนจากการจำหน่ายสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคา ค่าเสือ่ มราคาบันทึกเป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำไรขาดทุน คำนวณโดยวิธเี ส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์แสดงได้ ดังนี้
อาคารและสิ่งปลูกสร้างอื่น เครื่องจักรและอุปกรณ์ ยานพาหนะ เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและเครื่องใช้สำนักงาน
20 5, 10 5 3-10
ปี ปี ปี ปี
กลุ่มบริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง (ญ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม ค่าความนิยมจากการรวมธุรกิจ ได้แก่ ต้นทุนการได้มาของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ส่วนที่เกินกว่ามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธินั้น กลุ่มบริษัท ได้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีสำหรับค่าความนิยม ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2551 ดังนี้ 83
หมายเหตุประกอบงบการเงิน ค่าความนิยมที่ได้มาก่อนวันที่ 1 มกราคม 2551 ค่าความนิยมแสดงในราคาทุน ณ วันที่เริ่มรับรู้รายการและตัดจำหน่ายตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเป็นเวลา 10 ปี ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 กลุ่มบริษัทหยุดตัดจำหน่ายค่าความนิยม ยอดคงเหลือของค่าความนิยมได้ถูกทดสอบการด้อยค่าตามที่อธิบายใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 (ฎ) ค่าความนิยมที่ได้มาในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 ค่าความนิยมวัดมูลค่าด้วยราคาทุนหักค่าเผือ่ การด้อยค่าสะสม ค่าความนิยมได้ถูกทดสอบการด้อยค่า ตามที่อธิบายในหมายเหตุประกอบงบ การเงินข้อ 3 (ฎ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น ๆ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นๆ ที่กลุ่มบริษัทซื้อมาและมีอายุการใช้งานจำกัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนอืน่ ถูกตัดจำหน่ายและบันทึกในงบกำไรขาดทุน โดยวิธเี ส้นตรงตามเกณฑ์ระยะเวลาทีค่ าดว่าจะได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ นับจากวันที่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจแสดงได้ดังนี้
ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์
5
ปี
(ฎ) การด้อยค่า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุ่มบริษัทได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่า มีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีที่มีข้อบ่งชี้จะทำการ ประมาณมูลค่าสินทรัพย์ทคี่ าดว่าจะได้รบั คืน มลู ค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของค่าความนิยมจะถูกประมาณ ณ ทกุ วันทีร่ ายงานก็ตอ่ เมือ่ มีขอ้ บ่งชี้ เรื่อง การด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดสูงกว่ามูลค่าที่จะได้รับ คืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในงบกำไรขาดทุน การคำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ทางการเงินสำหรับหลักทรัพย์เผื่อขาย คำนวณโดยอ้างอิงถึงมูลค่ายุติธรรม มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์หรือมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ หักต้นทุนในการขายแล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคต จะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบัน โดยใช้อัตราคิดลดก่อนคำนึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลา และความเสี่ยงที่มีต่อสินทรัพย์ สำหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่น จะพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับ คืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์นั้นเกี่ยวข้องด้วย
84
หมายเหตุประกอบงบการเงิน การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมือ่ มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนเพิม่ ขึน้ ในภายหลัง และการเพิม่ ขึน้ นัน้ สัมพันธ์ โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู้ สำหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจำหน่ายและตราสารหนี้ที่จัดประเภทเป็น หลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน ส่วนสินทรัพย์ทางการเงินที่เป็นตราสารทุนที่จัดประเภทเป็นหลักทรัพย์เผื่อ ขายการกลับรายการจะถูกรับรู้โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้น ขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยมจะไม่มกี ารปรับปรุงกลับรายการ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทไี่ ม่ใช่สนิ ทรัพย์ทางการเงินอืน่ ๆ ที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการหาก มีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการคำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเท่าที่มูลค่าตาม บัญชีของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสือ่ มราคาหรือค่าตัดจำหน่าย เสมือนหนึง่ ไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้อย ค่ามาก่อน (ฏ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ บันทึกเริม่ แรกในมูลค่ายุตธิ รรมหักค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วกับการเกิดหนีส้ นิ ภายหลังจากการบันทึกหนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ จะ บันทึกต่อมา โดยวิธรี าคาทุนตัดจำหน่าย ผลต่างระหว่างยอดหนีเ้ ริม่ แรกและยอดหนีเ้ มือ่ ครบกำหนดไถ่ถอน จะบันทึกในงบกำไรขาดทุนตลอด อายุการกู้ยืมโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ฐ) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ฑ) ผลประโยชน์พนักงาน โครงการสมทบเงิน ภาระหนี้สินตามโครงการสมทบเงินจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น (ฒ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนีส้ นิ จะรับรูใ้ นงบดุลก็ตอ่ เมือ่ กลุม่ บริษทั มีภาระหนีส้ นิ ตามกฎหมายทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั หรือทีก่ อ่ ตัวขึน้ อันเป็นผลมาจากเหตุการณ์ ในอดีตและมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อชำระภาระหนี้สินดังกล่าว และสามารถประมาณ จำนวนภาระหนี้สินได้อย่างน่าเชื่อถือ ถ้าผลกระทบดังกล่าวมีจำนวนที่เป็นสาระสำคัญ ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงิน สดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อัตราคิดลดในตลาดปัจจุบันก่อนคำนึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนจำนวนที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบันซึ่ง แปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน (ณ) รายได้ รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มและแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้า 85
หมายเหตุประกอบงบการเงิน การขายสินค้าและให้บริการ รายได้รบั รูใ้ นงบกำไรขาดทุนเมือ่ ได้โอนความเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของสินค้าทีม่ นี ยั สำคัญไปให้กบั ผูซ้ อื้ แล้ว และจะไม่รบั รูร้ ายได้ ถ้าฝ่ายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าทีข่ ายไปแล้วนัน้ หรือมีความไม่แน่นอนทีม่ นี ยั สำคัญในการได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากการ ขายสินค้าหรือให้บริการนั้นไม่อาจวัดมูลค่าของจำนวนรายได้และต้นทุนที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าเชื่อถือหรือมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอน ที่จะต้องรับคืนสินค้ารายได้จากการให้บริการรับรู้เมื่อมีการให้บริการ โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อผลงานการก่อสร้างตามสัญญาสามารถประมาณได้อย่างน่าเชื่อถือ รายได้ตามสัญญาและต้นทุนที่เกิดขึ้นจะถูกรับรู้ในงบกำไรขาดทุน โดย คำนวณจากความสำเร็จของโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ณ วั น ที ่ ใ นรายงาน ขั้นความสำเร็จของโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์คำนวณ โดยวิธีการสำรวจงานที่ทำ โดยมีเงื่อนไขที่สำคัญคือ
• เมือ่ ทำสัญญาขายแล้ว หรือในกรณีของการขายอาคารชุด จะต้องมีการทำสัญญาขายแล้วไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 ของพืน้ ทีโ่ ครงการ อาคารชุดที่มีเพื่อขาย • แต่ละสัญญาที่จะรับรู้รายได้ จะต้องได้รับเงินล่วงหน้าประเภทไม่ต้องชำระคืนให้แก่ลูกค้าอย่างน้อยร้อยละ 20 ของราคาขายตาม สัญญา และ • โครงการที่พัฒนาต้องมีงานพัฒนาและงานก่อสร้างเสร็จแล้วอย่างน้อยร้อยละ 10 ของงานก่อสร้างทั้งหมด
ในกรณีที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าต้นทุนทั้งสิ้นของโครงการเกินกว่ามูลค่ารายได้ตามสัญญา บริษัทจะรับรู้ประมาณการขาดทุนดัง กล่าวเป็นค่าใช้จ่ายทันทีในงบกำไรขาดทุน รายได้ค่าเช่า รายได้ค่าเช่ารับรู้ในงบกำไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ดอกเบี้ยรับและเงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกำไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง เงินปันผลรับบันทึกในงบกำไรขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล รายได้อื่น รายได้อื่นบันทึกในงบกำไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง (ด) ค่าใช้จ่าย สัญญาเช่าดำเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดำเนินงานบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า 86
หมายเหตุประกอบงบการเงิน ต้นทุนทางการเงิน ดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยในทำนองเดียวกันบันทึกในงบกำไรขาดทุนในงวดทีค่ า่ ใช้จา่ ยดังกล่าวเกิดขึน้ ยกเว้น ในกรณีทมี่ กี ารบันทึกเป็นต้นทุน ส่วนหนึง่ ของสินทรัพย์ อันเป็นผลมาจากการใช้เวลายาวนานในการจัดหาก่อสร้างหรือการผลิตสินทรัพย์ดงั กล่าวก่อนทีจ่ ะนำมาใช้เองหรือเพือ่ ขาย ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายอื่นบันทึกในงบกำไรขาดทุนเมื่อค่าใช้จ่ายดังกล่าวเกิดขึ้น (ต) ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้จากกำไรหรือขาดทุนสำหรับปีประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบัน ซึ่งได้แก่ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายชำระโดยคำนวณจากกำไรประจำปีที่ ต้องเสียภาษี โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ 4. รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ได้แก่ บุคคลหรือกิจการต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทและบริษัท โดยการมีผู้ถือหุ้นร่วมกันหรือมี กรรมการร่วมกัน รายการบัญชีระหว่างบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ได้กำหนดขึน้ โดยใช้ราคาตลาดหรือในราคาทีต่ กลงกันตามสัญญาหากไม่มี ราคาตลาดรองรับ ความสัมพันธ์ที่บริษัท/กลุ่มบริษัทมีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันซึ่งมีการควบคุม หรือควบคุมร่วมกันในบริษัท หรือเป็นกิจการที่บริษัท ควบคุม หรือควบคุมร่วมกัน หรือเป็นบุคคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับกลุ่มบริษัท มีดังนี้
ชื่อกิจการ
บจ. อเดลฟอส บจ. ไทย-ไลซาท บจ. ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม บจ. ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง บจ. ยูนิเวนเจอร์ แอสแซท แมเนจเม้นท์ กองทุนรวมกินรี พร็อพเพอร์ตี้ บจ. เอสโก้ เวนเจอร์ บจ. เลิศรัฐการ
ประเทศที่จัดตั้ง
ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
ลักษณะความสัมพันธ์
เป็นบริษัทใหญ่ของบริษัท และมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 และมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.99 และมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 และมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 และมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 98.88 และมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 79 และมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 และมีกรรมการร่วมกัน 87
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
88
ชื่อกิจการ
บจ. แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ บจ. แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง บจ. เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์ เนชั่นแนล บจ. เอส.ยู.เอ็น.แมเนจเม้นท ์ บจ. ปริญเวนเจอร์ บจ. สหสินวัฒนาโคเจนเนอเรชั่น บจ. สหสินวัฒนาไบโอเอ็นเนอร์ยี่ บมจ. แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์ บจ. บลูไชน่า บจ. ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ บจ. ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส บจ. เยาววงศ์ โฮลดิ้ง บจ. อาคเนย์แคปปิตอล บจ. อาคเนย์ประกันชีวิต บจ. อาคเนย์ประกันภัย บจ. ทีซีซี ลักซ์ชูรีโฮเทลส์ แอนด์ รีสอร์ท บจ. ทีซีซี เทคโนโลยี่ บมจ.ปริญสิริ
ประเทศที่จัดตั้ง
ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
ลักษณะความสัมพันธ์ เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 60 และมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุน้ ทางอ้อมร้อยละ 59.99 โดย บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ซึ่งถือหุ้นทางตรงร้อยละ 99.98 และมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทร่วม บริษัทถือหุ้นร้อยละ 31.81 และมี กรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทร่วมของบริษัทย่อยทางอ้อม บริษัทย่อยถือหุ้นร้อยละ 29.50 และมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทร่วม บริษัทถือหุ้นร้อยละ 49 และมีกรรมการร่วมกัน เป็นบริษัทร่วมของบริษัทย่อยทางอ้อม บริษัทย่อยถือหุ้นร้อยละ 20 เป็นบริษัทร่วมของบริษัทย่อยทางอ้อม บริษัทย่อยถือหุ้นร้อยละ 20 เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน กรรมการมีความเกี่ยวโยงเป็นญาติพี่น้อง กับกรรมการของบริษัท กรรมการมีความเกี่ยวโยงเป็นญาติพี่น้อง กับกรรมการของบริษัท กรรมการมีความเกี่ยวโยงเป็นญาติพี่น้อง กับกรรมการของบริษัท กรรมการมีความเกี่ยวโยงเป็นญาติพี่น้อง กับกรรมการของบริษัท บริษัทที่เป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทร่วมร่วมกัน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน นโยบายการกำหนดราคาสำหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ ดังต่อไปนี้
รายการ
รายได้จากการขายสินค้าและรายได้จากการขาย เครื่องจักรและอุปกรณ์จากการโอนกิจการสังกะสีอ็อกไซด์ (ดูหมายเหตุ 1) ซื้อสินค้า ขายสินค้า รายได้จากการให้บริการ รายได้ค่าเช่า รายได้ค่าที่ปรึกษา ดอกเบี้ยรับ ค่าเช่าจ่าย ค่านายหน้าจ่าย ค่าบริการระบบอิเล็กโทรนิกส์เมล ค่าตอบแทนผู้บริหาร ดอกเบี้ยจ่าย ซื้อเงินลงทุน ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
นโยบายการกำหนดราคา
ราคาตามบัญชี ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา อัตราร้อยละ 5 - 9 และ MLR , MLR + 2 ต่อปี ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา อัตราร้อยละ 1.5 - 2.0 ของรายได้ ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา ตามที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น อัตราร้อยละ 1.5 และ 5 ต่อปี ราคาทุนและราคาที่ตกลงร่วมกัน ราคาที่ตกลงร่วมกัน
89
หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายการที่สำคัญกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552 2551 - - 133,267 420 - - - 14,564 - - 11,723 - - 2,700 120 - - 51,389 32,459 - - 22,603 6,649 - - 74,026 48,113 - - - 1,560 - - - 15,276 - - 1,174 32,725 2,040 2,628 - 6,120 18,684 6,061 18,684 - 133 -
บริษัทย่อย ขายสินค้า ซื้อสินค้า ขายเครื่องจักรและอุปกรณ์ รายได้ค่าเช่า รายได้จากการให้บริการ ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ ค่าเช่าจ่าย ค่านายหน้าจ่าย ซื้อเงินลงทุน บริษัทร่วม รายได้ค่าที่ปรึกษา ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่าย กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ค่านายหน้าจ่าย ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ค่าบริการระบบอิเล็กโทรนิกส์เมล ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าเช่าจ่าย
90
3,087 9,934 3,586 16,376 365
641 3,261 1,963 17,959 222
- 3,110 2,546 16,376 -
1,666 17,959 -
หมายเหตุประกอบงบการเงิน ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้ (หน่วย : พันบาท) ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทร่วม บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำกัด
งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2552 2551 2552 2551 - 171 - -
ลูกหนี้อื่นและเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ประกอบด้วย ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม
404,899 136 31,652 1,584 37,590 154,905 733,550 286,165 442,489 155,041 765,202 287,749
ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท เอสโก้ เวนเจอร์ จำกัด บริษัท ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จำกัด บริษัท ไทย - ไลซาท จำกัด บริษัท เลิศรัฐการ จำกัด บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด บริษัทร่วม บริษัท สหสิน โคเจนเนอเรชั่น จำกัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ทีซีซี เทคโนโลยี่ จำกัด บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด รวม
- - - - -
- - - - -
- 2,690 17,341 11,585 36
68 10 -
132 16 446 972 18 -
400,000 - - 210 - - 4,621 126 - 404,899 136 31,652 1,584
91
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ร้อยละต่อปี) อัตราดอกเบี้ย เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จำกัด บริษัท เอสโก้ เวนเจอร์ จำกัด บริษัท เลิศรัฐการ จำกัด บริษัท ไทย-ไลซาท จำกัด บริษัทร่วม บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำกัด บริษัท สหสิน โคเจนเนอเรชั่น จำกัด บริษัท เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด รวม
92
งบการเงินรวม
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
2552 2551 2552 2551 2552 2551 - 5.00 - - - 4,500 5.00 5.00 - - 3,700 2,500 5.00 5.00 - - 581,000 125,000 5.00 - - - 112,000 MLR, MLR, MLR+2 MLR+2 31,850 149,165 31,850 149,165 8.00 8.00 740 740 - 9.00 9.00 5,000 5,000 5,000 5,000 37,590 154,905 733,550 286,165
หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้ (หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552
เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
- - - -
- - - -
2551
132,000 80,500 1,231,200 311,350 (666,500) (259,850) 696,700 132,000
บริษัทร่วม ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
154,905 250,000 154,165 250,000 - 5,590 - 4,850 (117,315) (100,685) (117,315) (100,685) 37,590 154,905 36,850 154,165
รวมเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
154,905 250,000 286,165 330,500 - 5,590 1,231,200 316,200 (117,315) (100,685) (783,815) (360,535) 37,590 154,905 733,550 286,165
เจ้าหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท ไทย-ไลซาท จำกัด เจ้าหนี้อื่นและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน ประกอบด้วย เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม
-
2,951 980 3,931
-
-
128
1,877 684 3,600 8,850 - 10,727 684 3,600
93
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (หน่วย : พันบาท) งบการเงิ นรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2552 2551 เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จำกัด บริษัท ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จำกัด บริษัท ไทย-ไลซาท จำกัด บริษัทร่วม บริษัท เอส.ยู.เอ็น แมเนจเม้นท์ จำกัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท อาคเนย์แคปปิตอล จำกัด บริษัท ทีซีซี เทคโนโลยี่ จำกัด บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด รวม
- - -
- - -
1 - -
20 3,202
-
431
-
-
290 583 1,892 186 2,951
- 433 49 964 1,877
290 393 - - 684
378 3,600
(ร้อยละต่อปี) อัตราดอกเบี้ย เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทร่วม บริษัท เอส.ยู.เอ็น แมเนจเม้นท์ จำกัด บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย กรรมการของบริษัทย่อย รวม
94
งบการเงินรวม
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
2552 2551 2552 2551 2552 2551 - 1.5 - 8,850 - 5.0 - 830 - - 5.0 - 150 - - 980 8,850 - -
หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้
งบการเงินรวม
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
2552 2551 2552 8,850 8,850 - (8,850) - - - 8,850 -
-
กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 1 มกราคม ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
- - -
24,000 - (24,000) - - -
-
บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม
- 980 980
- - -
รวมเงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
8,850 32,850 - - 980 - - (8,850) (24,000) - 980 8,850 - -
ค่าเช่ารับล่วงหน้าจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ทีซีซี ลักซ์ชูรีโฮเทลส์ แอนด์ รีสอร์ท จำกัด
1,050,000
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทร่วม ณ วันที่ 1 มกราคม ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
250,000
2551
- - - - -
-
-
95
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สัญญาสำคัญที่ทำกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีดังต่อไปนี้ สัญญาค่านายหน้าและค่าบริหารงานขาย ในปี 2548 บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงเรื่องค่าตอบแทนกับบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเม้นท์ จำกัด โดยบริษัทย่อยตกลงที่จะจ่ายค่านายหน้าให้กับบริษัทดังกล่าวในอัตราร้อยละ 2 ของรายได้จากการขายห้องชุดใน โครงการพาร์ควิว วิภาวดี เฟส 1 และในอัตราร้อยละ 1.6 ของรายได้จากการขายห้องชุดในโครงการพาร์ควิว วิภาวดี เฟส 2 โดยแบ่งจ่ายเป็น 3 งวด ดังนี้ งวดที่ 1 จ่ายร้อยละ 30 ของมูลค่าโครงการ ณ วันเปิดงานขายเมื่อมียอดขายเกิดขึ้นแล้วร้อยละ 50 งวดที่ 2 จ่ายร้อยละ 30 ของมูลค่าโครงการ ณ วันเปิดงานขายเมื่อโอนกรรมสิทธิ์ห้องชุดห้องแรก งวดที่ 3 จ่ายร้อยละ 40 เมื่อโอนกรรมสิทธิ์ครบจำนวนของห้องชุดที่ขายได้ก่อนโอนงานขายให้ฝ่ายธุรกิจนายหน้า ซึ่งคิดจากมูลค่าขายสุทธิ หลังหักเงินที่เบิกจ่ายจากงวดที่ 1 และงวดที่ 2 ในปี 2551 บริษัทย่อยได้จ่ายชำระค่านายหน้าแก่บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเม้นท์ จำกัด ครบทุกงวดเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 ทางด้านบริษัท แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง จำกัด ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงเรื่องค่าตอบแทนกับบริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเม้นท์ เซอร์วิส จำกัด โดยบริษัทย่อยตกลงที่จะจ่ายค่าบริหารงานขาย เป็นรายเดือนๆละ 32,184 บาท ตั้งแต่วันท ี่ 1 มีนาคม 2551 ถึง 31 ธันวาคม 2551 และค่านายหน้าในอัตราร้อยละ 2 ของรายได้จากการขายห้องชุดในโครงการพาร์ควิว วิภาวดีเฟส 4 โดยแบ่งจ่ายเป็น 3 งวดดังนี้ งวดที่ 1 จ่ายร้อยละ 30 ของมูลค่าโครงการ ณ วันเปิดงานขายเมื่อมียอดขายเกิดขึ้นแล้วร้อยละ 50 งวดที่ 2 จ่ายร้อยละ 30 ของมูลค่าโครงการ ณ วันเปิดงานขายเมื่อโอนกรรมสิทธิ์ห้องชุดห้องแรก งวดที่ 3 จ่ายร้อยละ 40 เมื่อโอนกรรมสิทธิ์ได้ร้อยละ 70 ของโครงการ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2551 ทางด้าน บริษัท แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง จำกัด ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงเรื่องค่าตอบแทนกับบริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด โดยบริษัทย่อยตกลงที่จะจ่ายค่าบริหารงานขาย เป็นรายเดือนๆละ 150,318 บาท ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2551 ถึง 31 สิงหาคม 2552 และค่านายหน้าในอัตราร้อยละ 2 ของรายได้จากการขายห้องชุดในโครงการ ยู สบาย โดยแบ่งจ่ายเป็น 3 งวด ดังนี้ งวดที่ 1 จ่ายร้อยละ 30 ของมูลค่าโครงการ ณ วันเปิดงานขายเมื่อมียอดขายเกิดขึ้นแล้วร้อยละ 50 งวดที่ 2 จ่ายร้อยละ 30 ของมูลค่าโครงการ ณ วันเปิดงานขายเมื่อโอนกรรมสิทธิ์ห้องชุดห้องแรก งวดที่ 3 จ่ายร้อยละ 40 เมื่อโอนกรรมสิทธิ์ได้ร้อยละ 70 ของโครงการ สัญญาให้บริการที่ปรึกษา เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2549 บริษัท ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จำกัด ได้ลงนามในสัญญาให้บริการที่ปรึกษาในโครงการเดอะ นอร์ทเทิร์น ทาวน์ รังสิต กับบริษัท ปริญเวนเจอร์ จำกัด เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2549 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2552 โดยรับชำระค่าบริการเป็นรายเดือนๆละ 80,000 บาท เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2552 บริษัท ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จำกัด ได้ลงนามในบันทึกแนบท้ายสัญญา เพื่อขยายระยะเวลาการให้บริการ ออกไปอีกเป็นระยะเวลา 12 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2552 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2553 โดยรับชำระค่าบริการในอัตราเดิม 96
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สัญญาเช่าพื้นที่ห้องชุด เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2550 ทางด้านบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ทำสัญญาเช่าพื้นที่ห้องชุดกับบริษัท บลูไชน่า จำกัด มีกำหนด ระยะเวลา 3 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2551 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 โดยบริษัทย่อยดังกล่าวมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าเช่าเป็น รายเดือนๆ ละ 18,525 บาท สัญญาบริหารจัดการ ในปี 2552 บริษัทได้ทำสัญญากับบริษัทย่อย 8 บริษัท เพื่อบริหารจัดการ Back office มีกำหนดระยะเวลา 12 เดือน เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 โดยคิดค่าบริการเป็นรายเดือนๆ ละ 1,965,000 บาท สัญญาเช่ารถยนต์ บริษัทและบริษัทย่อยได้ทำสัญญาเช่ารถยนต์กับ บริษัท อาคเนย์แคปปิตอล จำกัด จำนวน 6 คัน รวมมูลค่า 1 0.95 ล้านบาท มีกำหนด ระยะ เวลา 5 ปี โดยชำระค่าเช่าเป็นรายเดือนๆ ละ 182,508 บาท เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม 2551 ถึงเดือนพฤษภาคม 2557 สัญญาบริการดูแลระบบอิเล็กโทรนิกส์เมล เมือ่ วันที ่ 1 มิถนุ ายน 2551 บริษัทและบริษัทย่อยได้ทำสัญญากับบริษัท ทีซีซี เทคโนโลยี จำกัด ในการรับบริการการดูแลระบบอิเล็กโทรนิกส์ เมลและให้เช่าอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โดยจ่ายค่าบริการตามที่ระบุในสัญญา สัญญาบริการ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2551 บริษัท แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง จำกัด ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงค่าทำความสะอาดกับบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด สำหรับโครงการอาคารชุด ยู สบาย เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 ถึงวันที่ 12 มีนาคม 2552 โดยชำระค่าบริการเป็น รายเดือนๆ ละ 12,000 บาท ตั้งแต่วันที่ 13 มีนาคม 2552 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2552 โดยชำระค่าบริการเป็นรายเดือนๆ ละ 24,000 บาท และตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2553 โดยชำระค่าบริการเป็นรายเดือนๆ ละ 12,000 บาท เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2552 บริษัท แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง จำกัด ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงค่าทำความสะอาดกับบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด สำหรับโครงการ ย ู ด ีไลท์ แอด บางซื ่อ สเตชั ่น เริ ่ม ตั ้งแต่ว ันที ่ 5 มกราคม 2552 ถ ึงวันที ่ 31 มกราคม 2553 โดยชำระ ค่าบริการเป็นรายเดือน ๆ ละ 12,000 บาท เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2552 บริษัท แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง จำกัด ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงค่าทำความสะอาดกับบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด สำหรับโครงการพาร์ควิว วิภาวดี 4 เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2552 โดยชำระค่าบริการเป็น รายเดือนๆละ 12,000 บาท
97
หมายเหตุประกอบงบการเงิน เมือ่ วันที ่ 20 ตุลาคม 2552 บริษทั แกรนด์ ยู ลิฟวิง่ จำกัด ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงค่าทำความสะอาดกับบริษทั ลุมพิน ี พรอพเพอร์ต ี้ มาเนจเมนท์ จำกัด สำหรับโครงการ ย ูดีไลท์ แอท หว้ ยขวาง สเตชัน่ เริม่ ตัง้ แต่วนั ที ่ 20 ตลุ าคม 2552 ถงึ วันท ี่ 31 ตลุ าคม 2552 โดยชำระค่าบริการเป็นรายเดือนๆ ละ 4,800 บาท และตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2552 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 โดยชำระค่าบริการเป็นรายเดือนๆ ละ 12,000 บาท สัญญาจะเช่าพื้นที่ ในเดือน กรกฎาคม 2551 บริษัท เลิศรัฐการ จำกัด ได้ยกเลิกบันทึกข้อตกลงให้เช่าพื้นที่ และลงนามในสัญญาจะให้เช่าพื้นที่เพื่อวัตถุประสงค์ ในการประกอบกิจการโรงแรมแก่บริษทั ทซี ซี ี ลกั ซ์ชรู โี ฮเทลส์ แอนด์ รสี อร์ท จ ำกัด โดยสัญญาเช่าระบุระยะเวลาของสิทธิการเช่าเป็นเวลา 30 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 6 กันยายน 2554 บริษัทย่อยจะได้รับค่าตอบแทนจำนวน 1,358 ล้านบาท และค่าบริการตามที่จะตกลงทำสัญญากันโดย ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2552 บริษทั ย่อยได้บนั ทึกเงินช่วยค่าก่อสร้างล่วงหน้าดังกล่าวซึง่ ถือเป็นส่วนหนึง่ ของค่าเช่ารวม เป็นจำนวนเงิน 1,050 ล้านบาท ภายใต้หนี้สินไม่หมุนเวียนในงบดุล สัญญาบริหารโครงการ บริษัทได้ทำสัญญากับบริษัท เลิศรัฐการ จำกัด เพื่อบริหารโครงการ มีกำหนดระยะเวลา 41 เดือน เริ่มตั้งแต่วันที 1 เมษายน 2551 ถึงวันที ่ 31 สิงหาคม 2554 โดยคิดค่าบริการ ดังนี้ (หน่วย : บาท)
ช่วงระยะเวลาการให้บริการ เมษายน 2551 - ธันวาคม 2551 มกราคม 2552 - เมษายน 2554 พฤษภาคม 2554 - สิงหาคม 2554
ค่าบริการรายเดือน
600,000 750,000 400,000
สัญญาเช่าอาคาร ในปี 2552 บริษัท (ผู้ให้เช่า) และบริษัท ไทย-ไลซาท จำกัด (ผู้เช่า) ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาเช่าอาคาร โดยตกลง อัตราค่าเช่าเดือนมกราคม 2552 เป็นจำนวนเงิน 120,000 บาท และนับตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2552 ถึงเดือนธันวาคม 2554 ในอัตรา เดือนละ 48,000 บาท สัญญาเช่าที่ดิน ในปี 2552 บริษัท (ผู้ให้เช่า) และบริษัท ไทย-ไลซาท จำกัด (ผู้เช่า) ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาเช่าที่ดิน โดยตกลง อัตราค่าเช่าเดือนมกราคม 2552 เป็นจำนวนเงิน 380,000 บาท และนับตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2552 ถึงเดือนธันวาคม 2552 ในอัตรา เดือนละ 152,000 บาท และหลังจากนั้นผู้ให้เช่าและผู้เช่าจะตกลงอัตราค่าเช่าสำหรับปีต่อๆ ไปร่วมกัน
98
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สัญญาแต่งตั้งที่ปรึกษา ในปี 2552 บริษัทได้ทำสัญญากับบริษัท ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จำกัด เพื่อให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโครงการที่จอดรถ มีกำหนดระยะเวลา 11 เดือน เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2552 โดยคิดค่าบริการเป็นจำนวนเงิน 2.5 ล้านบาท ในปี 2552 บริษัทได้ทำสัญญากับบริษัท ไทย-ไลซาท จำกัด เพื่อให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการวางกลยุทธและการบริหารจัดการ มีกำหนดระยะ เวลา 2 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 โดยคิดค่าบริการเป็นอัตราร้อยละ 2 ของยอดขาย หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีดังต่อไปนี้ ภาระหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการที่บริษัทค้ำประกันหนี้สินทุกประเภทที่มีต่อธนาคาร ของบริษัท ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บริษัทในวงเงิน 42 ล้านบาท (2551: 32 ล้านบาท) โดย ณ วั นที ่ 31 ธั นวาคม 2552 บริษัทย่อยดังกล่าวได้ใช้วงเงินไปแล้ว จำนวน 0.09 ล้านบาท (2551: 0.11 ล้านบาท) ภาระหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการที่บริษัทค้ำประกันหนี้สินทุกประเภทที่มีต่อธนาคาร ของบริ ษ ั ท ไทย-ไลซาท จำกั ด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บริษัทในวงเงิน 244 ล้านบาท (2551: 20 ล้านบาท) โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทย่อยดังกล่าวได้ใช้วงเงินไปแล้วจำนวน 29.07 ล้านบาท (2551: 0.58 ล้านบาท) ภาระหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการที่บริษัทค้ำประกันหนี้สินทุกประเภท ที่มีต่อธนาคาร ของบริษัท ปริญเวนเจอร ์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทร่วมของ บริษทั ในวงเงิน 63.63 ล้านบาท (2551: 97.5 ล้านบาท) โดย ณ ว ั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2 552 บริษัทร่วมดังกล่าวได้ใช้วงเงินไปแล้ว จำนวน 5.23 ล้านบาท (2551: 37.27 ล้านบาท) โดยทั่วไปการค้ำประกันนี้มีผลผูกพันต่อบริษัทนานเท่าที่ภาระหนี้สินยังไม่ได้ชำระ โดยบริษัทย่อยและบริษัทร่วมดังกล่าว บริษัท ไม่มีการคิดค่า ธรรมเนียมในการค้ำประกันดังกล่าว (หน่วย : พันบาท) 5. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด งบการเงิ นรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ เช็คในมือ เช็คธนาคารเพื่อชำระหนี้เงินกู้ ตั๋วแลกเงิน รวม
2552 2551 2552 237 343 52 1,233 (351) (14) 104,374 354,976 22,202 52,479 - - 29,923 - - 292,000 539,953 260,000 480,246 894,921 282,240
2551
72 (431) 245,869 349,953 595,463
99
หมายเหตุประกอบงบการเงิน ยอดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ ดังนี้ (หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวม 2552 2551 2552 2551 466,040 878,479 268,841 579,021 14,204 16,440 13,397 16,440 2 2 2 2 480,246 894,921 282,240 595,463
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา อื่นๆ รวม
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินรวม 6 . เงินลงทุนอื่น เงินลงทุนระยะยาวอื่น ตราสารทุนที่เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย
2552 2551 -
33,306
เงินลงทุนอื่นทั้งหมดของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เป็นสกุลเงินบาท รายการเคลื่อนไหวในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ของตราสารทุนที่เป็นหลักทรัพย์เผื่อขายมี ดังนี้ (หน่วย : พันบาท) งบการเงินรวม
ณ วันที่ 1 มกราคม ลดทุนระหว่างปี โอนเป็นตราสารทุนที่ถือไว้เพื่อค้า ขายระหว่างปี รายการปรับปรุงจากการตีราคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม
100
2552 2551 33,306 69,705 - (7) (25,907) (64,098) 56,699 (36,392) - 33,306
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (หน่วย : พันบาท) รายการเคลื่อนไหวในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ของตราสารทุนที่เป็นหลักทรัพย์เพื่อค้ามี ดังนี้ งบการเงินรวม
ณ วันที่ 1 มกราคม โอนจากตราสารทุนที่เป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย ขายระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม
7. ลูกหนี้การค้า กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการอื่นๆ หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวม หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญระหว่างปี การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้การค้า มีดังนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ครบกำหนดชำระ บุคคลหรือกิจการอื่นๆ ยังไม่ครบกำหนดชำระ เกินวันครบกำหนดชำระ: น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ รวม
2552 2551 - 25,907 (25,907) - -
(หน่วย : พันบาท) งบการเงิ นรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2552 2551
หมายเหตุ - 4 192,167 192,167 (2,512) 189,655 -
171 130,051 130,222 (2,524) 127,698 -
- - - - - -
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงิ นรวม 2552 2551 255 - 171 - 184,456 95,496 -
4,810 265 - 2,636 192,167 (2,512) 189,655 189,655
118,016 118,016 118,016 -
31,851 - - 2,704 130,051 (2,524) 127,527 127,698
- - - - - - - -
2551 88,066 29,950 118,016 118,016 118,016
โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัท มีระยะเวลาตั้งแต่ 7 วันถึง 90 วัน 101
หมายเหตุประกอบงบการเงิน ลูกหนี้การค้าและมูลค่างานระหว่างก่อสร้างที่ยังไม่เรียกเก็บ/เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า - อาคารชุด ซึ่งแสดงรวมอยู่ในลูกหนี้การค้า มีดังนี้ (หน่วย : พันบาท) งบการเงินรวม มูลค่าการซื้อขายที่ได้มีการทำสัญญา จะซื้อจะขายแล้ว ยอดขายรวมของโครงการ อัตราส่วนของมูลค่าซื้อขายที่ได้มีการขาย (ร้อยละ) ลูกหนี้การค้าและมูลค่างานระหว่างก่อสร้างที่ ยังไม่เรียกเก็บ ลูกหนี้ค่างวดค้างชำระ มูลค่างานระหว่างก่อสร้างที่ยังไม่เรียกเก็บ รวม ลูกหนี้ค่างวดค้างชำระ ค่างวดที่ถึงกำหนดชำระแล้ว หัก เงินรับชำระแล้ว สุทธิ มูลค่างานระหว่างก่อสร้างที่ยังไม่เรียกเก็บและ เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ค่างวดที่ถึงกำหนดชำระแล้ว หัก จำนวนที่รับรู้เป็นรายได้ รายการดังกล่าวประกอบด้วย เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า มูลค่างานระหว่างก่อสร้างที่ยังไม่เรียกเก็บ
102
2552 2551 1,982,122 1,695,786 2,843,727 2,827,164 69.70 59.98 2,521 1,264 3,785
484 4,179 4,663
547,163 1,185,965 (544,642) (1,185,481) 2,521 484 547,163 (478,540) 68,623
1,185,965 (1,170,248) 15,717
69,887 (1,264) 68,623
19,896 (4,179) 15,717
หมายเหตุประกอบงบการเงิน ยอดลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ ดังนี้ งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552 179,523 124,333 - 10,132 3,365 - 189,655 127,698 - สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา รวม
8. สินค้าคงเหลือ
สินค้าสำเร็จรูป สินค้าระหว่างผลิต วัตถุดิบ วัสดุโรงงาน วัตถุประกอบการผลิต สินค้าระหว่างทาง หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
114,651 3,365 118,016
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552 35,388 58,592 - 7,938 2,986 - 43,390 112,183 - 3,539 240 - 363 2,604 - 12,900 - - 103,518 176,605 - (3,040) (24,673) - 100,478 151,932 -
2551
2551 38,858 112,183 240 2,565 153,846 (20,579) 133,267
ต้นทุนของสินค้าคงเหลือที่บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายและได้รวมในบัญชีต้นทุนขายสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจำนวน 0 บาท ( 2551 : 893 ล้านบาท) สำหรับงบการเงินเฉพาะกิจการ และจำนวน 609 ล้านบาท (2551: 943 ล้านบาท) สำหรับงบการเงินรวม ในปี 2551 กลุ่มบริษัทมีการบันทึกขาดทุนจากมูลค่าสินค้าลดลงจำนวน 20 ล้านบาท สำหรับงบการเงินเฉพาะกิจการ และงบการเงินรวม ซึ่ง ส่วนใหญ่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในราคาตลาดของวัตถุดิบ รายการดังกล่าวได้รวมในบัญชีต้นทุนขายสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551
103
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 9 . ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนที่ดินและอาคารระหว่างก่อสร้าง: โครงการปัจจุบัน ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็นต้นทุน หัก ส่วนที่โอนไปเป็นต้นทุนขายสะสม รวม ต้นทุนการกู้ยืมที่รวมเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการพัฒนาระหว่างปี อัตราดอกเบี้ยของต้นทุนเงินกู้ยืม (ร้อยละต่อปี)
10 . สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี้กรมสรรพากร อื่นๆ รวม
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินรวม 2552 2551 1,172,168 561,659 17,118 2,669 1,189,286 564,328 (373,437) (311,365) 815,849 252,963 14,449 778 MLR-1.5%, MLR-1% MLR-1.5%
งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552 6,001 2,358 1,341 33,207 13,618 - 24,923 27,209 374 64,131 43,185 1,715
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 11 . เงินลงทุนในบริษัทย่อย 2552 2551 511,625 300,123 ณ วันที่ 1 มกราคม 133,174 338,494 เพิ่มทุนในบริษัทย่อย (7,500) (116,540) ลดทุนในบริษัทย่อย 637,299 522,077 ค่าเผื่อการด้อยค่า (2,374) (10,452) 634,925 511,625 ณ วันที่ 31 ธันวาคม
104
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 1,155 3,471 4,626
หมายเหตุประกอบงบการเงิน ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ยนู เิ วนเจอร์ คอนซัลติง้ จำกัด เมือ่ วันที ่ 8 ธันวาคม 2551 มีมติอนุมตั ใิ ห้ลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 10 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 1,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) เป็น 2.5 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 1,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 2.5 บาท) โดยบริษัทย่อยชำระคืนเงิน ค่าหุ้นและจดทะเบียนการลดทุนกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2552 ที่ประชุมเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2552 ได้มีมติอนุมัติให้บริษัทชำระเงินทุนเพิ่มให้เต็มมูลค่าหุ้นในบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลลอปเม้นท์ จำกัด ตามสัดส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ร้อยละ 60 คิดเป็นจำนวนเงิน 132 ล้านบาท โดยได้นำไปจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ในวันที ่ 6 พฤศจิกายน 2552 ในเดือนตุลาคม 2552 บริษัทได้ซื้อหุ้นสามัญของบริษัท เอสโก้ เวนเจอร์ จำกัด จำนวน 200,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 5.87 บาท จากบุคคลที่เกี่ยว ข้องกันรวมเป็นจำนวนเงิน 1.17 ล้านบาท ทำให้สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทในบริษัทย่อยดังกล่าวเปลี่ยนจากร้อยละ 75 เป็นร้อยละ 79 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ เมือ่ วันท ี่ 13 มีนาคม 2551 และทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ เมือ่ วันที ่ 28 มีนาคม 2551 ของบริษทั แกรนด์ ยูนติ ี้ ดิเวลล็อปเมนท ์ จำกัด ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้เพิม่ ทุนจดทะเบียนจากเดิม 50 ลา้ นบาท (หุน้ สามัญ 5,000,000 หนุ้ มูลค่าหุน้ ละ 10 บาท) เป็น 600 ล้านบาท (หุน้ สามัญ 60,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) และเรียกชำระหุ้นละ 4.50 บาท เป็นจำนวนเงิน 247.50 ล้านบาท โดยได้นำไปจดทะเบียนกับ กระทรวงพาณิชย์ เมือ่ วันที ่ 9 เมษายน 2551 และได้จา่ ยชำระค่าหุน้ สามัญเพิม่ ทุนดังกล่าวเป็นจำนวน 121.27 ลา้ นบาท (หุน้ สามัญ 26,950,000 หุน้ เรียกชำระหุน้ ละ 4.50บาท)นอกจากนีบ้ ริษทั ได้ซอื้ หุน้ สามัญของบริษทั แกรนด์ ยนู ติ ี้ ดเิ วลลอปเม้นท์ จำกัด จำนวน 6.60 ลา้ นหุน้ จากบริษทั ยูนิเวนเจอร์ แอสเซท แมนเนจเม้นท์ จำกัด เป็นจำนวน 32.73 ล้านบาท (550,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 10 บาท และ 6,050,000 หุ้น ราคา หุ้นละ 4.50 บาท) ที่ประชุมคณะกรรมการเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2551 ของบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ได้มีมติอนุมัติเรียกชำระค่าหุ้นเพิ่มเติม หุ้นละ 1.50 บาท เป็นจำนวนเงิน 82.5 ล้านบาท โดยได้นำไปจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2551 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2551 ของบริษัท ไทย-ไลซาท จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ได้มีมติอนุมัติให้เพิ่มทุนจดทะเบียน จากเดิม 5 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 50,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) เป็น 140 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 1,400,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) โดยจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วน โดยได้นำไปจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2551 คณะกรรมการลงทุนของกองทุนรวมกินรีพร็อพเพอร์ตี้ มีมติให้ลดเงินทุนที่เรียกชำระแล้วจำนวน 118 ล้านบาท เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2551
105
106
บริษัท ไทย-ไลซาท จำกัด บริษัท ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จำกัด บริษัท ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จำกัด บริษัท ยูนิเวนเจอร์ แอสเซท แมเนจเม้นท์ จำกัด กองทุนรวม กินรีพร็อพเพอร์ตี้ บริษัท เอสโก้ เวนเจอร์ จำกัด บริษัท เลิศรัฐการ จำกัด บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด รวม
บริษัทย่อย
ทุนชำระแล้ว
วิธีราคาทุน
การด้อยค่า
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ราคาทุน-สุทธิ
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่
เงินปันผลรับ
(หน่วย : พันบาท)
เงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และเงินปันผลรับสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้
2,650 70,276 15,617 2,856 - 12,277 - 100,000 - 229,800 - 511,625 74,026 48,113
100.00 137,500 137,500 142,494 142,494 - - 142,494 142,494 - 29,996 99.99 5,000 5,000 25,200 25,200 (11,032) (13,652) 14,168 11,548 - 100.00 2,500 10,000 2,500 10,000 - - 2,500 10,000 3,750 2,500
100.00 100.00 22,310 22,310 2,650 2,650 - - 2,650 98.88 98.88 5,573 5,573 5,573 5,573 (3,514) (2,717) 2,059 79.00 75.00 27,500 27,500 22,226 21,052 (12,972) ( 8,775) 9,254 100.00 100.00 100,000 100,000 100,000 100,000 - - 100,000 60.00 60.00 380,000 380,000 361,800 229,800 - - 361,800 662,443 536,769 (27,518) (25,144) 634,925
100.00 99.99 100.00
2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551
(ร้อยละ) สัดส่วนความเป็นเจ้าของ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน การจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จำกัด เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2552 คณะกรรมการมีมติอนุมัติการจัดสรรกำไรสะสม เป็นเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุน้ ละ 15 บาท เป็นจำนวนเงินทัง้ สิน้ 3.75 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จา่ ยให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในวันที ่ 26 มิถนุ ายน 2552 ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ยูนิเวนเจอร์ แอสเซท แมเนจเม้นท์ จำกัด เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2552 คณะกรรมการมีมติอนุมัติการจัดสรร กำไรสะสมเป็นเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 4.50 บาท เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 10.04 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น ในวันที่ 26 มิถุนายน 2552 ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ยูนิเวนเจอร์ แอสเซท แมเนจเม้นท์ จำกัด เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2552 คณะกรรมการมีมติอนุมัติการจัดสรร กำไรสะสมเป็นเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 27 บาท เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 60.24 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น ในวันที่ 28 ตุลาคม 2552 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท ไทย-ไลซาท จำกัด เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2551 มีมติให้จ่ายเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 600 บาท เป็นจำนวน รวม 30 ล้านบาท ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นบริษัท ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จำกัด เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2551 มีมติให้จ่ายเงินปันผลสำหรับปี 2550 ในอัตราหุ้นละ 2.50 บาท รวมเป็นเงิน 2.5 ล้านบาท ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท ยูนิเวนเจอร์ แอสเซท แมเนจเม้นท์ จำกัด เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2551 มีมติให้จ่ายเงินปันผลสำหรับปี 2550 ในอัตราหุ้นละ 7 บาท รวมเป็นเงิน 15.62 ล้านบาท
107
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 12. เงินลงทุนในบริษัทร่วม ณ วันที่ 1 มกราคม ส่วนแบ่งกำไร (ขาดทุน) สุทธิจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ซื้อเงินลงทุน อื่น ๆ กลับรายการ (ค่าเผื่อการด้อยค่า) ณ วันที่ 31 ธันวาคม
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552 74,080 50,951 53,283 (2,657) 22,750 - - 1,487 - - (1,108) - 71,423 74,080 53,283 - - (1,691) 71,423 74,080 51,592
2551 49,339 1,487 50,826 2,457 53,283
ที่ประชุมคณะกรรมการเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2552 ของ บริษัท ยูนิเวนเจอร์ แอสแซท แมเนจเม้นท์ จำกัด ได้มีมติอนุมัติให้ขายหุ้น บริษัท เอส.ยู.เอ็น.แมเนจเม้นท์ จำกัด จำนวน 295,000 ห ุ ้น ให้แก่ บริษ ัทแห่งหนึ่ง ในราคาหุ้นละ 30.58 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 9.02 ล ้านบาท ในปี 2551 กลุ่มบริษัทไม่ได้รับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนของ บริษัท เอส.ยู.เอ็น. แมเนจเม้นท์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทร่วมที่บริษัทลงทุนและบันทึกเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย สำหรับขาดทุนสุทธิส่วนที่เกินกว่ามูลค่าเงินลงทุนของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วมนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กลุ่มบริษัทยังมี ผลขาดทุนสะสมที่ยังไม่รับรู้ของบริษัทร่วมจำนวน 24.54 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 กลุ่มบริษัทไม่มีภาระหนี้สินที่เกี่ยวเนื่องกับผล ขาดทุนเหล่านี้ ในระหว่างปี 2551 บริษัทได้จ่ายชำระค่าหุ้นเพิ่มเติม ของบริษัท เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด จำนวน 1.49 ล้านบาท และ บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ได้ซื้อหุ้นเพิ่มทุนในบริษัทย่อยจากผู้ถือหุ้นเดิม 42,293 หุ้น ในราคาที่แตกต่างกันจำนวนเงิน รวม 0.47 ล้านบาท
108
109
เงินปันผลรับ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่
เงินลงทุนในบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และเงินปันผลรับสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ (หน่วย : พันบาท) งบการเงินรวม
(ร้อยละ) สัดส่วนความเป็นเจ้าของ ทุนชำระแล้ว วิธีราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย
สัดส่วน ความเป็นเจ้าของ ทุนชำระแล้ว วิธีราคาทุน การด้อยค่า ราคาทุน-สุทธิ
งบการเงินเฉพาะกิจการ
31.81 31.81 25,000 25,000 8,337 8,337 2,591 4,283 - 29.50 - 10,000 - 2,950 - - 49.00 49.00 100,000 100,000 49,000 49,000 60,947 57,481 20.00 20.00 92,000 92,000 18,400 18,400 6,071 10,502 20.00 20.00 10,000 10,000 2,000 2,000 1,814 1,814 77,737 80,687 71,423 74,080
-
เงินปันผลรับ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่
(หน่วย : พันบาท)
- - - - - -
2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551
2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 บริษัท เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด 31.81 31.81 25,000 25,000 8,337 8,337 (5,745) (4,054) 2,592 4,283 - 49.00 49.00 100,000 100,000 49,000 49,000 - - 49,000 49,000 - บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำกัด 57,337 57,337 (5,745) (4,054) 51,592 53,283 รวม
บริษัท เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท เอส.ยู.เอ็น. แมเนจเม้นท์ จำกัด บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำกัด บริษัท สหสินวัฒนาโคเจนเนอเรชั่น จำกัด บริษัท สหสินวัฒนาไบโอเอ็นเนอร์ยี่ จำกัด รวม
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 13 . อสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนาเพื่อให้เช่า หมายเหตุ ค่าที่ดิน ค่าก่อสร้างอาคาร ค่าออกแบบงานสถาปัตย์และระบบ อื่นๆ รวม
32
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินรวม 2552 2551 518,227 309,859 344,430 52,430 22,470 55,354 13,928 970,441 346,257
รายการเคลื่อนไหวในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ของอสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนาเพื่อให้เช่า มีดังนี้
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
110
(หน่วย : พันบาท) งบการเงิ นรวม 346,257 346,257 624,184 970,441
111
ราคาทุน/ราคาประเมินใหม่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น ส่วนเกินทุนจากการตีราคา จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น โอน จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี โอน จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
14 . ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
145.12 - 9.53 - 154.65 - - - 154.65
- - - - - - - -
16.69 2.23 - 18.92 2.37 (0.28) (0.02) 20.99
48.58 0.84 - - 49.42 - (0.65) (0.02) 48.75
16.85 3.22 (1.36) 18.71 4.64 (5.76) (8.36) 9.23
26.03 20.20 - (1.72) 44.51 11.28 (4.86) (17.76) 33.17 16.90 1.66 (6.51) 12.05 0.61 - (8.98) 3.68
19.61 1.18 - (6.68) 14.11 0.23 - (9.22) 5.12
อาคารและ สิ่งปลูกสร้าง เครื่องจักร อื่น และอุปกรณ์ ยานพาหนะ
(หน่วย : ล้านบาท)
33.23 5.97 (7.22) 31.98 4.88 5.67 (7.84) 34.69
46.58 4.48 - (7.58) 43.48 3.96 10.53 (9.98) 47.99
289.33 35.35 9.53 (15.98) 318.23 19.32 (10.41) (36.98) 290.16 - 83.67 - 13.08 - (15.09) - 81.66 - 12.50 0.19 (0.18) - (25.20) 0.19 68.78
3.41 8.65 - - 12.06 3.85 (15.43) - 0.48
ติดตั้ง และ เครื่องใช้ งานระหว่าง สำนักงาน ก่อสร้าง รวม
เครื่องตกแต่ง
ที่ดิน
งบการเงินรวม
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
112 154.65 30.50 25.80 1.78 11.50 12.06 - - - 0.28 - - 154.65 30.50 25.80 2.06 11.50 12.06 154.65 27.76 23.94 1.44 13.30 0.29 154.65 27.76 23.94 1.44 13.30 0.29
221.38 221.38
236.29 0.28 236.57
ติดตั้ง และ เครื่องใช้ งานระหว่าง สำนักงาน ก่อสร้าง รวม
อาคารและ สิ่งปลูกสร้าง เครื่องจักร อื่น และอุปกรณ์ ยานพาหนะ
(หน่วย : ล้านบาท) เครื่องตกแต่ง
ราคาทรัพย์สินของกลุ่มบริษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจำนวนแล้ว แต่ยังคงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจำนวน 28 ล้านบาท (2551: 40 ล้านบาท)
ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551
ที่ดิน
งบการเงินรวม
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
113
ราคาทุน/ราคาประเมินใหม่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น ส่วนเกินทุนจากการตีราคา จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น โอน จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
107.87 - 7.17 - 115.04 - - - 115.04
13.09 0.76 - - 13.85 - (0.26) (0.01) 13.58
14.35 10.17 - (0.87) 23.65 - (5.91) (17.74) -
11.50 - - (1.28) 10.22 - - (8.29) 1.93
(หน่วย : ล้านบาท)
22.03 7.89 - (5.93) 23.99 0.84 6.10 (9.82) 21.11
1.54 4.38 - - 5.92 2.69 (8.61) - -
170.38 23.20 7.17 (8.08) 192.67 3.53 (8.68) (35.86) 151.66
ติดตั้ง และ เครื่องใช้ งานระหว่าง สำนักงาน ก่อสร้าง รวม
เครื่องตกแต่ง
อาคารและ สิ่งปลูกสร้าง เครื่องจักร อื่น และอุปกรณ์ ยานพาหนะ
ที่ดิน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
114
ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ1 มกราคม 2552 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี โอน จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
- - - - - - - -
7.28 0.56 - 7.84 0.61 (0.09) (0.01) 8.35
11.57 1.43 (0.80) 12.20 - (4.05) (8.15) -
9.45 1.17 (1.28) 9.34 0.32 - (8.05) 1.61
(หน่วย : ล้านบาท)
16.38 3.06 (5.68) 13.76 3.34 4.14 (7.67) 13.57
- - - - - - - -
44.68 6.22 (7.76) 43.14 4.27 (23.88) 23.53
ติดตั้ง และ เครื่องใช้ งานระหว่าง สำนักงาน ก่อสร้าง รวม
เครื่องตกแต่ง
อาคารและ สิ่งปลูกสร้าง เครื่องจักร อื่น และอุปกรณ์ ยานพาหนะ
ที่ดิน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
115
ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551
(หน่วย : ล้านบาท)
115.04 6.01 11.45 0.60 10.23 5.92 149.25 - - - 0.28 - - 0.28 115.04 6.01 11.45 0.88 10.23 5.92 149.53 115.04 5.23 - 0.32 7.54 - 128.13 115.04 5.23 - 0.32 7.54 - 128.13
ติดตั้ง และ เครื่องใช้ งานระหว่าง สำนักงาน ก่อสร้าง รวม
เครื่องตกแต่ง
อาคารและ สิ่งปลูกสร้าง เครื่องจักร อื่น และอุปกรณ์ ยานพาหนะ
ที่ดิน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน ราคาทรัพย์สินของบริษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจำนวนแล้วแต่ยังคงใช้งานจนถึง ณ วันที ่ 31 ธันวาคม 2552 มีจำนวน 4 ล้านบาท (2551: 27 ล้านบาท) ในปี 2552 บริษัทได้นำที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างมูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จำนวนเงินประมาณ 128.62 ล้านบาท ให้ บริษัท ไทย-ไลซาท จำกัด เช่าเพื่อใช้ในการดำเนินการโดยมีอัตราค่าเช่าตามที่ระบุในสัญญา ในปี 2551 บริษัทได้นำที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างมูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวนเงินประมาณ 121 ล้านบาท ไปค้ำประกัน วงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้น ในระหว่างปี 2552 บริษัทได้ไถ่ถอนที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวแล้ว การประเมินราคาสินทรัพย์ ในระหว่างปี 2551 บริษทั และบริษทั ย่อยได้บนั ทึกราคาทีด่ นิ ด้วยราคาประเมินใหม่ซงึ่ ผูป้ ระเมินอิสระได้ใช้เกณฑ์ราคาตลาด ตามรายงานประเมิน เมือ่ วันที ่ 10 กันยายน 2551 โดยได้ระบุราคาประเมินเป็นจำนวนเงินรวม 114.72 ล้านบาท สำหรับบริษทั และ 37.82 ล้านบาท สำหรับบริษทั ย่อย ส่วนที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าที่ดินจากการตีราคาประเมิน ได้บันทึกไว้ในบัญชี “ ผลกำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง - ผลต่างจากการตีราคาที่ดิน ” ซึ่งแสดงไว้ ภายใต้ส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุลเป็นจำนวนเงิน 110.26 ล้านบาท สำหรับงบการเงินเฉพาะกิจการ และ 147.57 ล้านบาท สำหรับงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
15. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน / ค่าความนิยม ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
116
งบการเงินรวม
(หน่วย : พันบาท)
ค่าความนิยม ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ รวม 1,089 - 1,089 381 3,162 3,543 - 1,811 1,811 1,470 4,973 6,443 660 234 894 - 10,401 10,401 2,130 15,608 17,738
หมายเหตุประกอบงบการเงิน ค่าตัดจำหน่ายสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
งบการเงินรวม ค่าความนิยม ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ 790 - - 426 - 1,112 790 1,538 - 1,129 - 358 790 3,025 680 3,435 1,340 12,583
(หน่วย : พันบาท) รวม 790 426 1,112 2,328 1,129 358 3,815 4,115 13,923
(หน่วย : พันบาท) งบการเงิ นเฉพาะกิจการ ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ค่าตัดจำหน่ายสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
-
-
3,162 3,162 8,668 130 11,960
69 69 838 907 3,093 11,053 117
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
16 . หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย
หมายเหตุ
ส่วนที่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ส่วนที่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน 4 เงินกู้ยืมจากกิจการอื่น ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน หนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อส่วนที่ถึง กำหนดชำระภายในหนึ่งปี ส่วนที่ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่มีหลักประกัน รวม
งบการเงินรวม
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
2552 2551 2552
2551
218,024 - - - 8,850 - 8,850 - - - 57 - 226,874 8,907 -
-
- 226,874
-
90,000 98,907
- -
57 57
57
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยซึ่งไม่รวมหนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อ แสดงตามระยะเวลาครบกำหนดการจ่ายชำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ได้ดังนี้
ครบกำหนดภายในหนึ่งปี ครบกำหนดหลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี รวม
118
(หน่วย : พันบาท) นรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ 2552 2551 2552 2551 226,874 8,850 - - 90,000 - 226,874 98,850 - -
หมายเหตุประกอบงบการเงิน หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยส่วนที่มีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดของหลักประกันซึ่งเป็นสินทรัพย์ ดังนี้ งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552 - 240,977 - 127,107 125,940 -
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - ราคาตามบัญชี ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 115,037 -
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 กลุ่มบริษัทและบริษัทมีวงเงินสินเชื่อซึ่งยังมิได้เบิกใช้เป็นจำนวนเงินรวม 586.74 ล้านบาท และ 10 ล้านบาท ตามลำดับ (2551: 481.90 ล้านบาท และ 228.08 ล้านบาท ตามลำดับ) หนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อ หนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดดังนี้
ครบกำหนดภายในหนึ่งปี
(หน่วย : พันบาท) งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จการ 2552 2551 2552 2551 - 57 - 57
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยทั้งหมดของกลุ่มบริษัทและบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เป็นสกุลเงินบาท
17 . หนี้สินหมุนเวียนอื่น ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานค้างจ่าย อื่นๆ รวม
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552 2551 16,144 7,214 1,228 2,322 5,968 17,667 1,887 4,319 22,112 24,881 3,115 6,641
119
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 18 . ทุนเรือนหุ้น ราคาตามมูลค่าหุ้น (บาท) ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม หุ้นสามัญ 1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม หุ้นสามัญ 1 ทุนที่ออกและชำระแล้ว ณ วันที่ 1 มกราคม หุ้นสามัญ 1 เพิ่มทุน 1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม หุ้นสามัญ 1
(พันหุ้น : พันบาท) 2552
จำนวนหุ้น จำนวนเงิน
2551 จำนวนหุ้น
จำนวนเงิน
944,528 944,528 944,528 944,528 944,528 944,528 944,528 944,528 764,767 764,767 762,268 762,268 - - 2,499 2,499 764,767 764,767 764,767 764,767
ในเดือนเมษายน 2551 มีการจัดสรรหุ้นสามัญใหม่ให้แก่ผู้ใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (UV-W1 และ ESOP-W3) จำนวน ทั้งสิ้น 917,146 หุ้น โดยบริษัทได้รับเงินเพิ่มทุนทั้งสิ้นเป็นจำนวน 2.15 ล้านบาท และได้ดำเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนจำนวน 0.91 ล้านบาท กับกระทรวงพาณิชย์แล้ว เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551 ซึ่งจะทำให้ทุนที่ออกและเรียกชำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็น 764.18 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 764.18 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ในเดือนกรกฎาคม 2551 มีการจัดสรรหุ้นสามัญใหม่ให้แก่ผู้ใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (ESOP -W2 และ ESOP-W3) จำนวนทั้งสิ้น 582,700 หุ้น โดยบริษัทได้รับเงินเพิ่มทุนทั้งสิ้นเป็นจำนวน 0.58 ล้านบาท และได้ดำเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนจำนวน 0.58 ล้านบาทกับกระทรวงพาณิชย์แล้ว เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 ซึ่งจะทำให้ทุนที่ออกและเรียกชำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็น 764.76 ล้านบาท (หุ้น สามัญ 764.76 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท) 19 . ส่วนเกินทุนและสำรองตามกฎหมาย ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นสูงกว่ามูลค่าหุ้นที่จดทะเบียนไว้ บริษัทต้องนำค่าหุ้นส่วนเกินนี้ตั้งเป็นทุนสำรอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี้จะนำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ 120
หมายเหตุประกอบงบการเงิน การตีราคาและการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ส่วนเกินทุนจากการตีราคาและการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมที่บันทึกไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น รวมผลสะสมของส่วนเกินจากการตีราคา และ การเปลี่ยนแปลงสุทธิในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายจนกระทั่ง มีการจำหน่ายเงินลงทุนนั้น สำรองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัตแิ ห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัดพ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษทั จะต้องจัดสรรทุนสำรอง(“สำรองตามกฎหมาย”) อย่างน้อย ร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา(ถ้ามี)จนกว่าสำรองดังกล่าวมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุน จดทะเบียน เงินสำรองนี้จะนำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ 20. ใบสำคัญแสดงสิทธิ บริษทั ได้จดั สรรจำนวนหน่วยของใบสำคัญแสดงสิทธิทีจ่ ะซือ้ หุน้ สามัญให้แก่ผูถ้ อื หุน้ เดิม (UV-W1) ใบสำคัญแสดงสิทธิทีจ่ ะซือ้ หุน้ สามัญ ให้แก่ พนักงานของบริษัทและบริษัทย่อยในวงจำกัด (ESOP-W2) และใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ให้แก่กรรมการและพนักงานและ/หรือ ที่ปรึกษาของบริษัท และบริษัทย่อยในวงจำกัด (ESOP-W3) การเปลี่ยนแปลงในใบสำคัญแสดงสิทธิดังนี้
UV-W1
ESOP-W2
ESOP-W3
อนุมัติโดย วันที่ออก จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิที่ออก (หน่วย) อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ (ปี) กำหนดเวลาการใช้สิทธิ วันที่ใช้สิทธิครั้งสุดท้าย ราคาใช้สิทธิต่อ 1 หุ้นสามัญ (บาท) อัตราส่วนการใช้สิทธิ (ใบสำคัญแสดงสิทธิต่อหุ้นสามัญ) การเปลี่ยนแปลงจำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิ ราคาใช้สิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิ
ที่ประชุมวิสามัญ ที่ประชุมวิสามัญ ที่ประชุมวิสามัญ ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2545 ครั้งที่ 1/2545 ครั้งที่ 1/2546 20 กุมภาพันธ์ 2546 19 ธันวาคม 2546 19 ธันวาคม 2546 17,427,299 13,500,000 12,255,500 7 5 5 ทุก 3 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 3 เดือน 19 กุมภาพันธ์ 2553 30 มิถุนายน 2551 30 กันยายน 2551 25 1 1 1 : 1 1 : 1 1:1
- จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิ (ส่วนที่ยังไม่ได้ใช้สิทธิ) (หน่วย) - ราคาใช้สิทธิต่อ 1 หุ้นสามัญ (บาท)* - อัตราส่วนการใช้สิทธิ *
174,162,990
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
2.406 1 : 1.03899
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
* มีผลบังคับใช้ตั้งแต่งวดการใช้สิทธิในเดือนธันวาคม 2546
121
หมายเหตุประกอบงบการเงิน ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จัดสรร ใช้สิทธิ/หมดอายุในระหว่างปี 2546 ถึงปี 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ใช้สิทธิในระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
UV-W1
ESOP-W2
174,273 13,500 (4,572) (13,500) 169,701 - - - 169,701 -
(พันหน่วย) ESOP-W3 12,255 (12,255) -
21. ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน กลุ่มบริษัทนำเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน โดยแสดงส่วนงานธุรกิจ เป็นรูปแบบหลักในการรายงาน โดยพิจารณาจากโครงสร้าง การบริหารและการรายงานทางการเงินภายในของกลุ่มบริษัทเป็นเกณฑ์ในการกำหนดส่วนงาน ส่วนงานธุรกิจ กลุ่มบริษัทเสนอส่วนงานธุรกิจที่สำคัญ ดังนี้
ส่วนงาน 1 ส่วนงาน 2
ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจผลิตและขายสังกะสีอ๊อกไซด์ และเคมีภัณฑ์
ส่วนงานภูมิศาสตร์ กลุ่มบริษัทดำเนินธุรกิจหลักในประเทศ ดังนั้นฝ่ายบริหารจึงพิจารณาว่า กลุ่มบริษัทมีส่วนงานทางภูมิศาสตร์เพียงส่วนงานเดียว
122
123
รายได้ กำไรขั้นต้น ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น ส่วนแบ่งผลกำไร (ขาดทุน) จากเงิน ลงทุนในบริษัทร่วม ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำไรสำหรับปี
ส่วนงาน 1 2552 2551
ส่วนงาน 2 2552 2551
อื่นๆ 2552 2551
รายการตัดบัญชี 2552 2551
รวม 2552 2551
463,093 64,756 942,734 1,054,248 47,618 32,941 (133,425) (14,985) 1,320,020 1,136,960 100,081 12,130 55,075 109,348 22,412 15,445 310 3,195 177,878 140,118 14,452 43,064 29,544 36,600 (2,657) 22,750 (44,352) (21,468) (128,620) (125,028) (16,376) (17,959) (1,120) (781) (11,824) (31,062) (8,678) 15,596 8,247 61,830
(หน่วย : พันบาท)
รายได้และผลการดำเนินงานจากส่วนงานทางธุรกิจในงบการเงินรวมสำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
124
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ ต้นทุนโครงการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนา เพื่อให้เช่า สินทรัพย์อื่น รวมสินทรัพย์
ส่วนงาน 1 2552 2551
ส่วนงาน 2 2552 2551
อื่นๆ 2552 2551
1,011,219 359,913 - - - - (40,778) (13,656) 970,441 346,257 1,465,848 1,335,555 3,763,650 2,450,978
252,963
236,574 127,698 151,931
รายการตัดบัญชี รวม 2552 2551 2552 2551
24,667 27,017 60,903 199,955 135,809 9,602 - - 221,379 3,786 4,664 178,241 118,218 8,718 4,944 (1,090) (128) 189,655 - - 96,070 142,333 4,408 9,598 - - 100,478 818,356 252,963 - - - - (2,507) - 815,849
(หน่วย : พันบาท)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 22 . รายได้อื่น
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552
2551
กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน กำไรจากการขายเงินลงทุน อื่นๆ รวม
- 11,400 12,336 23,736
23 . ค่าใช้จ่ายในการขาย
(หน่วย : พันบาท) งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จการ 2552 2551 2552 2551 4,066 3,580 - 3,807 1,727 - 13,641 34,622 14,871 - 1,857 1,290 - 395 44,352 21,468 - 14,036
ค่าขนส่ง ค่านายหน้า ค่าใช้จ่ายการตลาด อื่นๆ รวม
24 . ค่าใช้จ่ายในการบริหาร
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร ค่าเช่าและบริการ ค่าเสื่อมราคา ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน อื่นๆ รวม
3,224 - - - 26,290 6,157 29,514 6,157
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552 82,999 69,935 57,398 12,564 8,554 7,943 9,124 11,243 4,276 3,295 - 3,031 20,638 35,296 668 128,620 125,028 73,316
3,872 6,712 10,584
2551 51,449 5,423 4,093 9,347 70,312
125
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 25. ผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน
งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552
ผู้บริหาร เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อื่นๆ พนักงานอื่น เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อื่นๆ รวม
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
15,252 16,948 15,252 920 807 920 204 204 204 16,376 17,959 16,376 56,676 46,185 33,038 2,496 1,790 1,632 7,451 4,001 6,352 66,623 51,976 41,022 82,999 69,935 57,398
2551 16,948 807 204 17,959 30,356 1,157 1,977 33,490 51,449
กลุ่มบริษัทได้จัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับพนักงานของกลุ่มบริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานในการเป็นสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 5 ถึง อัตราร้อยละ 10 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุ่มบริษัทจ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 5 ถึง อัตรา ร้อยละ 10 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนสำรองเลีย้ งชีพนีไ้ ด้จดทะเบียนเป็นกองทุนสำรองเลีย้ งชีพตามข้อกำหนดของกระทรวงการคลัง และจัดการกองทุนโดยผู้จัดการกองทุนที่ได้รับอนุญาต
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552
26 . ต้นทุนทางการเงิน
ดอกเบี้ยจ่าย กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยจ่ายกิจการอื่น สถาบันการเงิน ส่วนที่บันทึกเป็นต้นทุนของอสังหาริมทรัพย์ ระหว่างการพัฒนา รวม
- 133 - 133 - - 15,436 1,426 28 22 (14,449) (778) - 1,120 781 28 22
126
2551
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 27. ภาษีเงินได้ การลดภาษีเงินได้นิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรารัษฎากรฉบับที ่ 387 พ.ศ. 2544 ลงวันที ่ 5 กนั ยายน 2544 ให้สทิ ธิทาง ภาษีแก่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากอัตราร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 25 สำหรับ กำไรสุทธิทางภาษีเฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 300 ล้านบาท เป็นเวลาห้ารอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกันนับแต่รอบระยะเวลาบัญชีแรกที่เริ่มในหรือ หลังวันทีพ่ ระราชกฤษฎีกานีใ้ ช้บงั คับ และยังได้รบั สิทธิในการลดภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลแห่งพระราชกฤษฎีกาตามความในประมวลรัษฎากร ฉบับท ี่ 475 แต่ไม่เกินรอบระยะเวลาบัญชี 2553 ที่สิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2553 จำนวนภาษีเงินได้ในงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการและงบกำไรขาดทุนรวมแตกต่างจากจำนวนภาษีเงินได้ที่คำนวณ โดยการใช้อัตราภาษีเงิน ได้คูณกับยอดกำไรสุทธิตามบัญชีสำหรับปีเนื่องจาก (ก)
กลุ่มบริษัทมีขาดทุนทางภาษียกมาจากปีก่อน และได้ถูกนำมาใช้เพื่อลดจำนวนกำไรเพื่อเสียภาษีในปีปัจจุบัน
(ข)
ความแตกต่างระหว่างการรับรู ้ รายได้และค่าใช้จา่ ยทางบัญชีกบั รายได้และค่าใช้จา่ ยทางภาษีบางรายการโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรือ่ ง เกี่ยวกับเงินปันผลรับจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ขาดทุนจากมูลค่าสินค้าลดลงและขาดทุนจากมูลค่าเงินลงทุนลดลง
28. กำไรต่อหุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานสำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธนั วาคม 2552 และ 2551 คำนวณจากกำไรสำหรับปีทเี่ ป็นส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั และจำนวน หุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายแล้วระหว่างปีโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก แสดงการคำนวณดังนี้ (หน่วย : พันบาท/พันหุ้น) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552
กำไรที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท (ขั้นพื้นฐาน) จำนวนหุ้นสามัญที่ออก ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบของหุ้นที่ออกจำหน่ายระหว่างปี จำนวนหุ้นสามัญโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (ขั้นพื้นฐาน) กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท)
2551
8,247 61,830 75,695 109,207 764,767 762,268 764,767 762,268 - 1,926 - 1,926 764,767 764,194 764,767 764,194 0.01 0.08 0.10 0.14
127
หมายเหตุประกอบงบการเงิน กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรต่อหุ้นปรับลดสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 คำนวณจากกำไรสำหรับปีที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทและ จำนวนหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายแล้วระหว่างปี โดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักหลังจากที่ได้ปรับปรุงผลกระทบของหุ้นปรับลด ดังนี้
งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552 2551 8,247 61,830 75,695 109,207 764,767 764,194 764,767 764,194 - 14,927 - 14,927 - 1,384 - 1,384 764,767 780,505 764,767 780,505 0.01 0.08 0.10 0.14
กำไรส่วนที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท (ปรับลด) จำนวนหุ้นสามัญโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (ขั้นพื้นฐาน) ผลกระทบจากการออกสิทธิที่จะเลือกซื้อหุ้น UV-W1 ESOP-W3 จำนวนหุ้นสามัญโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (ปรับลด) กำไรต่อหุ้นปรับลด (บาท)
(หน่วย : พันบาท / พันหุ้น) งบการเงินเฉพาะกิจการ
29. เงินปันผล ในการประชุมสามัญประจำปีของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั เมือ่ วันที ่ 23 เมษายน 2552 ผถู้ อื หุน้ มีมติอนุมตั กิ ารจัดสรรกำไรเป็นเงินปันผลในอัตราหุน้ ละ 0.05 บาท เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 38.24 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในวันที่ 30 เมษายน 2552 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2551 ของบริษัทมีมติอนุมัติการจัดสรรเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 0.10 บาท เป็นจำนวน ทั้งสิ้น 76.33 ล้านบาท 30. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยต่อไปนี้ไม่มีผลกระทบต่องบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บริษทั ไทย-ไลซาท จำกัด ได้เปลีย่ นนโยบายการบัญชีสำหรับสินค้าสำเร็จรูปจากวิธเี ข้าก่อน - ออกก่อนเป็นต้นทุน ถวั เฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักตัง้ แต่ วนั ที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป เพื่อให้การบริหารต้นทุนสินค้ามีความสอดคล้องกับสภาพการดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงนโยบาย การบัญชีดังกล่าวไม่มีผลกระทบที่เป็นสาระสำคัญต่องบการเงินรวมของบริษัท
128
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 31. เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้านการเงิน กลุม่ บริษทั มีความเสีย่ งจากการดำเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบีย้ และอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ และจากการ ไม่ปฏิบตั ติ ามข้อกำหนดตามสัญญาของคูส่ ญ ั ญา กลุม่ บริษทั ไม่มกี ารถือหรือออกเครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นตราสารอนุพนั ธ์ เพือ่ การเก็งกำไรหรือ การค้า ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย หมายถึงความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งส่งผลกระทบต่อ การดำเนินงานและกระแสเงินสดของกลุม่ บริษทั เนือ่ งจากดอกเบีย้ ของเงินกูย้ มื ส่วนใหญ่มอี ตั ราคงที่ กลุม่ บริษทั มีความเสีย่ งด้านอัตราดอกเบีย้ ที่เกิดจากเงินกู้ยืม (ดูหมายเหตุ 16) กลุ่มบริษัทได้ลดความเสี่ยงดังกล่าวโดยทำให้แน่ใจว่าดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืมส่วนใหญ่มีอัตราคงที่ อัตราดอกเบี้ยตามสัญญาของเงินให้กู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบกำหนดชำระ มีดังนี้
อัตราดอกเบี้ยตามสัญญา (ร้อยละต่อปี)
ปี 2552 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมแก่บุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมแก่บุคคลหรือกิจการอื่นๆ รวม ปี 2551 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมแก่บุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมแก่บุคคลหรือกิจการอื่นๆ รวม
(หน่วย : พันบาท)
8, 9, MLR, MLR+2 4.25
8, 9, MLR, MLR+2 4.25
งบการเงินรวม ภายใน 1 ปี
หลังจาก 1 ปี หลังจาก 5 ปี แต่ภายใน 5 ปี 37,590 - - - 39 - 37,590 39 - 154,905 - - - 108 - 154,905 108 -
รวม 37,590
39 37,629
154,905
108 155,013
129
หมายเหตุประกอบงบการเงิน ปี 2552 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน ปี 2551 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน
อัตราดอกเบี้ยตามสัญญา (ร้อยละต่อปี)
ภายใน 1 ปี
งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจาก 1 ปี หลังจาก 5 ปี แต่ภายใน 5 ปี
(หน่วย : พันบาท) รวม
5, 9, MLR, MLR+2
733,550
-
-
733,550
5, 9, MLR, MLR+2
286,165
-
-
286,165
อัตราดอกเบี้ยตามสัญญาของหนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบกำหนดชำระมีดังนี้
อัตราดอกเบี้ยตามสัญญา (ร้อยละต่อปี)
ปี 2552 หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการอื่น เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี รวม ปี 2551 หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อส่วนที่ถึง กำหนดชำระภายในหนึ่งปี ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน รวม
130
1.5 MLR-1.5, MLR-1
1.5
MLR-1.5
(หน่วย : พันบาท) งบการเงิ น รวม ภายใน 1 ปี หลังจาก 1 ปี หลังจาก 5 ปี รวม แต่ภายใน 5 ปี
8,850 -
- 8,850
218,024 - - 218,024 226,874 - - 226,874 8,850 - - 8,850 57 - - 57 - 90,000 - 90,000 8,907 90,000 - 98,907
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ปี 2551 หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อส่วนที่ถึง กำหนดชำระภายในหนึ่งปี
ภายใน 1 ปี
งบการเงินเฉพาะกิจการ
(หน่วย : พันบาท)
หลังจาก 1 ปี หลังจาก 5 ปี แต่ภายใน 5 ปี
57
-
รวม
-
57
ความเสี่ยงจากเงินตราต่างประเทศ กลุม่ บริษทั มีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ซึง่ เกิดจากการซือ้ สินค้าและการขายสินค้าทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศกลุม่ บริษทั ได้ทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึ่งรายการดังกล่าวจะมีอายุไม่เกินหนึ่งปี เพื่อป้องกันความเสี่ยงของสินทรัพย์และหนี้สินทาง การเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที่รายงานเป็นรายการที่เกี่ยวข้องกับรายการซื้อและขาย สินค้าที่เป็นเงินตราต่างประเทศในงวดถัดไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุ่มบริษัทและบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็นผลมาจากการมีสินทรัพย์และหนี้ สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศดังนี้ (หน่วย : พันเหรียญสหรัฐฯ) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2552
เงินเหรียญสหรัฐอเมริกา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบดุลที่มีความเสี่ยง สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ
429 404 306 97 735 501 (217) (330) 518 171
404 - 404 - 404
2551
404 97 501 501
131
หมายเหตุประกอบงบการเงิน ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ คือความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่สามารถชำระหนี้แก่กลุ่มบริษัทตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้เมื่อครบกำหนด ฝ่ายบริหารได้กำหนดนโยบายทางด้านสินเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อดังกล่าวโดยสม่ำเสมอ โดยการวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน ของลูกค้าทุกรายที่ขอวงเงินสินเชื่อในระดับหนึ่งๆ ณ วันที่รายงานไม่พบว่ามีความเสี่ยงจากสินเชื่อที่เป็นสาระสำคัญ ความเสี่ยงสูงสุดทางด้าน สินเชื่อแสดงไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินแต่ละรายการ ณ วันที่รายงาน อย่างไรก็ตามเนื่องจากกลุ่มบริษัทมีฐานลูกค้าจำนวน มาก ฝ่ายบริหารไม่ได้คาดว่าจะเกิดผลเสียหายที่มีสาระสำคัญจากการเก็บหนี้ไม่ได้ ความเสี่ยงจากสภาพคล่อง กลุ่มบริษัท มีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดให้เพียงพอต่อการ ดำเนินงานของกลุ่มบริษัท และเพื่อทำให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง การกำหนดมูลค่ายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปิดเผยของกลุม่ บริษทั กำหนดให้มกี ารกำหนดมูลค่ายุตธิ รรมทัง้ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงิน มูลค่ายุตธิ รรม หมายถึง จำนวนเงินทีผ่ ซู้ อื้ และผูข้ ายตกลงแลกเปลีย่ นสินทรัพย์หรือชำระหนีส้ นิ กัน ในขณะทีท่ งั้ สองฝ่ายมีความรอบรูแ้ ละเต็มใจ ในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วัตถุประสงค์ของการวัดมูลค่า และ/หรือการเปิดเผยมูลค่ายุตธิ รรมถูกกำหนดโดยวิธตี อ่ ไปนี ้ ข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับสมมติฐานในการกำหนดมูลค่ายุตธิ รรมถูกเปิดเผยในหมาย เหตุที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์และหนี้สินนั้นๆ มูลค่ายุตธิ รรมของสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าถือตามราคาตลาดของสัญญาล่วงหน้า ถา้ มีราคาตลาด ในกรณีทไี่ ม่มรี าคาตลาด ให้ประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยการคิดลดจากผลต่างระหว่างราคาล่วงหน้าตามสัญญา กับราคาล่วงหน้าของสัญญาปัจจุบัน ณ วันที่รายงาน ที่ครบกำหนดในวันเดียวกัน โดยใช้อัตราดอกเบี้ยประเภทที่ใช้กับธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ยง เช่น พันธบัตรรัฐบาล มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินเป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี 32 . ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน
งบการเงิ นรวม 2552 2551 2552 2551 3,666 191,321 2,509 2,592 100,088 90,184 1,060 3,568 851,600 876,200 - 955,354 1,157,705 3,569 6,160
ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าดำเนินงาน ภายในหนึ่งปี หลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี หลังจากห้าปี รวม
132
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวม
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
2552 2551 2552 ภาระผูกพันอื่นๆ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า หนังสือค้ำประกันจากธนาคาร สัญญาบริการ สัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน สัญญาโครงการพัฒนาอาคารสำนักงาน และโรงแรม สัญญาว่าจ้างออกแบบ สัญญาอื่นๆ รวม
28,481 11,550 - 13,354 37,965 - 5,354 7,402 3,569 - 111,686 - 2,035,569 131,390 - - 1,430 - - 1,466 - 2,082,758 302,889 3,569
2551
6,160
6,160
สัญญาสำคัญที่ทำกับกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน มีดังต่อไปนี้ สัญญาเช่าที่ดิน บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ได้ทำสัญญาเช่าทีด่ นิ และสัญญาอนุญาตให้ใช้ทดี่ นิ เพือ่ การพัฒนาตามโครงการกับเจ้าของทีด่ นิ รายหนึง่ เพือ่ ก่อสร้างสิง่ ปลูก สร้างสำหรับการดำเนินธุรกิจโรงแรม และ/หรืออาคารพักอาศัยพร้อมบริการ และ/หรืออาจใช้พื้นที่บางส่วนเป็นศูนย์การค้า โดยมีระยะเวลา ก่อสร้าง 4 ปี และสัญญาเช่ามีอายุ 30 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 6 กันยายน 2554 โดยบริษัทย่อยดังกล่าวจะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดและเงื่อนไข ที่ระบุไว้ในสัญญา รวมทั้งรับผิดชอบรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างเดิมบนที่ดินเช่า บริษัทย่อยดังกล่าวได้ชำระค่าหน้าดินแล้วจำนวน 437 ล้านบาท ในปี 2552 (2551: 250 ล้านบาท) และค่าเช่ารายปี รวมจำนวน 950 ล้านบาท โดยมีกำหนดชำระดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) ช่วงระยะเวลาการเช่า ค่าเช่าจ่าย
ปีที่ 1 ถึงปีที่ 5 ปีที่ 6 ถึงปีที่ 10 ปีที่ 11 ถึงปีที่ 15 ปีที่ 16 ถึงปีที่ 20 ปีที่ 21 ถึงปีที่ 25 ปีที่ 26 ถึงปีที่ 29 ปีที่ 30 รวมค่าเช่าจ่าย
123.0 135.3 148.8 163.7 180.1 158.5 40.6 950.0 133
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สัญญาเช่าและบริการสำนักงาน บริษัทและบริษัทย่อยได้ลงนามในสัญญาเช่าและบริการสำนักงานกับบริษัทแห่งหนึ่งโดยคิดค่าเช่าและค่าบริการ ดังนี้
(หน่วย : บาท) ช่วงระยะเวลาการเช่า 1 กันยายน 2548 - 31 สิงหาคม 2551 1 กันยายน 2550 - 31 สิงหาคม 2553 1 ธันวาคม 2550 - 30 พฤศจิกายน 2553 1 มีนาคม 2551 - 30 พฤศจิกายน 2553 1 สิงหาคม 2551 - 31 กรกฎาคม 2554 1 กันยายน 2551 - 31 สิงหาคม 2554
ค่าเช่ารายเดือน
176,142 21,168 50,698 32,853 29,706 185,074
ค่าบริการรายเดือน
147,736 21,168 50,698 32,853 29,706 185,074
สัญญาโครงการพัฒนาอาคารสำนักงานและโรงแรม บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญาที่ปรึกษาบริหารงานก่อสร้างและสัญญาออกแบบสำหรับโครงการพัฒนาอาคารสำนักงานและโรงแรม กับบริษัทหลายแห่ง ซึ่งมีมูลค่างานรวมประมาณ 2,445.83 ล้านบาท (2551: 248.84 ล้านบาท) โดย ณ วั น ที ่ 31 ธั นวาคม 2552 บริษ ัท ย่อ ย มีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาดังกล่าวคงเหลือรวมเป็นจำนวนเงินประมาณ 2,035.57 ล้านบาท (2551: 131.39 ล้านบาท) สัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน ในเดือนกุมภาพันธ์ 2551 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินกับบุคคลภายนอกหลายรายเพื่อโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ แห่งหนึ่ง รวมมูลค่า 127.11 ล้านบาท โดยบริษัทย่อยดังกล่าวต้องจ่ายชำระเงินมัดจำล่วงหน้าเป็นจำนวนเงิน 25.42 ล้านบาทและได้ชำระเงิน ส่วนที่เหลือพร้อมกับโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินดังกล่าวแล้วในปี 2552 ในเดือนกันยายน 2552 บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ได้ทำสัญญาจะซือ้ จะขายทีด่ นิ กับบุคคลภายนอกเพือ่ โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์แห่งหนึง่ รวม มูลค่า 150 ล้านบาท โดยบริษัทย่อยต้องจ่ายชำระเงินมัดจำล่วงหน้าเป็นจำนวนเงิน 15 ล้านบาท และได้ชำระเงินส่วนที่เหลือพร้อมกับโอน กรรมสิทธิ์ในที่ดินดังกล่าวแล้วในเดือนมกราคม 2553 ในเดือนกันยายน 2552 บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ได้ทำสัญญาจะซือ้ จะขายทีด่ นิ กับบุคคลภายนอกหลายรายเพือ่ โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ แห่ง หนึ่ง มูลค่า 210 ล้านบาท และในเดือนพฤศจิกายน 2552 บริษัทย่อยได้ทำบันทึกข้อตกลงเพื่อตกลงราคาซื้อขายที่ดินเพิ่มเติมกับบุคคลดังกล่าว อี ก มู ล ค่ า 29 ล้ า นบาทรวมมู ล ค่ า ทั ้ ง สิ ้ น 239 ล้ า นบาทโดยบริษัทย่อยต้องจ่ายชำระเงินมัดจำล่วงหน้าเป็นจำนวนเงิน 47.8 ล้านบาท และ ได้ชำระเงินส่วนที่เหลือพร้อมกับโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินดังกล่าวแล้วในเดือนมกราคม 2553 สัญญาซื้อขายเครื่องปรับอากาศ ในเดือนตุลาคม 2552 บริษัทย่อยได้ทำสัญญากับบริษัทแห่งหนึ่งเพื่อซื้อขายเครื่องปรับอากาศเป็นจำนวนเงิน 7.28 ล้านบาท สำหรับโครงการ ยู ดีไลท์ บางซื่อ โดยบริษัทย่อยต้องนำหนังสือสัญญาค้ำประกันจากธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่งจำนวน 1.46 ล้านบาทเพื่อเป็นหลักประกัน 134
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สัญญาโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ในระหว่างปี 2551 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญาว่าจ้างบริษัทหลายแห่ง ในการดำเนินการออกแบบ และติดตั้งเครื่องจักรสำหรับโครงการ พัฒนาประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ซึ่งมีมูลค่างานรวมประมาณ 6.22 ล้านบาท โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยว กับสัญญาดังกล่าวคงเหลือรวมเป็นจำนวนเงิน 4.13ล้านบาท โดยณวันที ่ 31 ธนั วาคม 2552 บริษทั ย่อยไม่มภี าระผูกพันเกีย่ วกับสัญญาดังกล่าว 33 . หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น บริษทั ย่อยมีหนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการถูกบุคคลธรรมดาฟ้องร้องให้รอื้ ถอนสิง่ ปลูกสร้างและสิง่ กีดขวางอืน่ ในทีด่ นิ ภาระจำยอมของบริษทั และ เรียกร้องค่าชดเชยค่าเสียหายเดือนละ 100,000 บาท นับแต่วันถัดจากวันฟ้อง เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2550 ไปจนกว่าบริษัทย่อยจะดำเนินการ รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างและสิ่งกีดขวางในที่ดินภาระจำยอม ตั้งแต่วันที่ 3 พฤศจิกายน 2550 บริษัทย่อยได้เปิดทางเข้า-ออกแล้ว ทั้งนี้ศาลชั้นต้น ได้ตัดสินแล้ว ให้บริษัทย่อยเพียงรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างแต่ไม่ต้องจ่ายค่าเสียหายตามที่ถูกฟ้องและปัจจุบันคดีอยู่ในระหว่างการยื่นอุทธรณ์ 34 . เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุล ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553 ของบริษัทมติเห็นชอบให้เสนอการจ่ายเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 0.01 บาทเป็น จำนวนเงินทั้งสิ้น 7.65 ล้านบาท กำหนดจ่ายเงินปันผลภายในหนึ่งเดือน นับจากวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี พิจารณาอนุมัติ 35 . มาตรฐานการบัญชีที่ยังไม่ได้ใช้ กลุ่มบริษัทยังไม่ได้ใช้มาตรฐานการบัญชีที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังต่อไปนี้ ณ วันที่รายงาน เนื่องจากยังไม่มีการบังคับใช้ มาตรฐานการบัญชีที่ ออกและปรับปรุงใหม่ดังกล่าวให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ของปีที่กำหนดมีดังนี้
มาตรฐานการบัญชี เรื่อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2550) การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
ปีที่มีผลบังคับใช้ 2555 2554 2554
135
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 36 . การบริหารจัดการส่วนทุน นโยบายของคณะกรรมการคือการดำรงฐานเงินทุนทีแ่ ข็งแกร่งเพือ่ รักษาความเชือ่ มัน่ ของผูล้ งทุน เจ้าหนี ้ และตลาด และเพือ่ การดำเนินงานทาง ธุรกิจอย่างต่อเนื่องในอนาคต คณะกรรมการเฝ้าติดตามผลตอบแทนจากเงินลงทุน ซึ่งกลุ่มบริษัทกำหนดว่าเป็นผลของกิจกรรมการดำเนินงาน หารด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นทั้งหมดโดยไม่รวมส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย และระดับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญ 37 . การจัดประเภทรายการใหม่ รายการในงบการเงินของปี 2551 บางรายการได้จัดประเภทใหม่ให้สอดคล้องกับรายการในงบการเงินของปี 2552 ดังนี้ (หน่วย : พันบาท) 2551 งบการเงินรวม งบดุล สินทรัพย์ ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์มีไว้เพื่อขาย เงินมัดจำค่าที่ดิน เงินล่วงหน้าค่าก่อสร้าง สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม หนี้สิน เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน หนี้สินหมุนเวียนอื่น
136
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ก่อนจัด จัด หลังจัด ก่อนจัด จัด หลังจัด ประเภทใหม่ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่
- 252,963 252,963 - - 209,678 (209,678) - - - 43,285 ( 43,285) - - - - 25,421 25,421 - 95,620 95,620 - - 164,226 (121,041) 43,185 - - - - - - 511,625 511,625 - 74,080 74,080 - 53,283 53,283 74,080 (74,080) - 564,908 (564,908) - - 47,289
19,928 19,928 2,480 2,480 (22,408) 24,881 -
- - -
- - - -
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (หน่วย : พันบาท)
งบกำไรขาดทุน รายได้ รายได้จากการขายและให้บริการ เงินปันผลรับ รายได้อื่น ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร
2551 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ก่อนจัด จัด หลังจัด ก่อนจัด จัด หลังจัด ประเภทใหม่ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่ 1,072,204 - 36,600
2,628 1,074,832 1,000,807 32,459 1,033,266 4,458 4,458 - 48,113 48,113 (7,086) 29,514 91,156 (80,572) 10,584
164,455 - - -
(164,455) - 21,468 21,468 125,028 125,028 17,959 17,959 -
102,307 (102,307) - 14,036 14,036 - 70,312 70,312 - 17,959 17,959 -
137
รายชื่อบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษัท ไทย – ไลซาท จำกัด
ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งสำนักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น
TL ตัวแทนจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผงสังกะสีอ๊อกไซด์และเคมีภัณฑ์อื่น ๆ www.univentures.co.th 0105515006258 (เลขทะเบียนเดิมคือ 627/2515) เลขที่ 3 ซอยพหลโยธิน 90 ถนนพหลโยธิน ตำบลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12130 โทรศัพท์: 0 2100 7111 โทรสาร: 0 2998 9144 1,400,000 หุ้น 1,3750,000 หุ้น 100 บาท 137,500,000 บาท 100 %
LRK พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจการลงทุน www.univentures.co.th 0105550094052 เลขที่ 888/210-212 อาคารมหาทุนพลาซ่า ชั้น 2 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์: 0 2100 7100 โทรสาร: 0 2255 9417 10,000,000 หุ้น 10,000,000 หุ้น 10 บาท 100,000,000 บาท 100 %
บริษัท เลิศรัฐการ จำกัด
138
ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งสำนักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น
รายชื่อบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด
ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งสำนักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น
Grand U พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์อาคารที่พักอาศัยเพื่อขาย www.grandunity.com 0105544087228 (เลขทะเบียนเดิมคือ กท04-0139-44) เลขที่ 888/223-224 อาคารมหาทุนพลาซ่า ชั้น 2 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์: 0 2100 7171 โทรสาร: 0 2253 3263 60,000,000 หุ้น 60,000,000 หุ้น 10 บาท 380,000,000 บาท 60 %
GUL พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์อาคารที่พักอาศัยเพื่อขาย www.grandunity.com 0105533024696 (เลขทะเบียนเดิมคือ 2470/2533) เลขที่ 888/223-224 อาคารมหาทุนพลาซ่า ชั้น 2 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์: 0 2100 7171 โทรสาร: 0 2253 3263 24,404,940 หุ้น 24,404,940 หุ้น 10 บาท 244,049,400 บาท 99.98 %
บริษัท แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง จำกัด *
ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งสำนักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น
หมายเหตุ : *ถือหุ้น บริษัท แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง จำกัด ทางอ้อม ผ่าน บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด
139
รายชื่อบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำกัด
ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เวบไซต์ เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งสำนักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น
PV พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์อาคารที่พักอาศัยเพื่อขาย www.prinsiri.com 0105548055398 (เลขทะเบียนเดิมคือ 0108454808522) เลขที่ 123 อาคารซันทาวเวอร์ ชั้น 12 อาคารเอ ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: 0 2671 6900 – 9 โทรสาร: 0 2671 6910 – 11 10,000,000 หุ้น 10,000,000 หุ้น 10 บาท 100,000,000 บาท 49 %
กองทุนรวม กินรีพร็อพเพอร์ตี้ ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งสำนักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น
140
KRF กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เพื่อลงทุนซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์หรือลงทุนใน สิทธิเรียกร้องที่มีอสังหาริมทรัพย์เป็นหลักประกัน 11/2542 เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์: 0 2659 8847 โทรสาร: 0 2659 8864 288,000.084 หุ้น 288,000.084 หุ้น 10 บาท 2,880,010.84 บาท 98.88 %
รายชื่อบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษัท ยูนิเวนเจอร์ แอสเซท แมเนจเม้นท์ จำกัด
ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งสำนักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น
UVAM การลงทุนและการจัดการ www.univentures.co.th 0105541027224(เลขทะเบียนเดิมคือ (1)257/2541) เลขที่ 888/210-212 อาคารมหาทุนพลาซ่า ชั้น 2 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์: 0 2100 7100 โทรสาร: 0 2255 9417 2,231,000 หุ้น 2,231,000 หุ้น 10 บาท 22,310,000 บาท 100 %
EV ลงทุนในธุรกิจบริหารและจัดการพลังงาน www.univentures.co.th 0105548154680 (เลขทะเบียนเดิมคือ 0108454824587) เลขที่ 888/210-212 อาคารมหาทุนพลาซ่า ชั้น 2 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์: 0 2100 7100 โทรสาร: 0 2255 9417 5,000,000 หุ้น 2,750,000 หุ้น 10 บาท 27,500,000 บาท 79 %
บริษัท เอสโก้ เวนเจอร์ จำกัด
ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งสำนักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น
141
รายชื่อบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษัท สหสินวัฒนา โคเจนเนอเรชั่น จำกัด *
SSC จัดหาและจำหน่ายพลังงานให้ลูกค้ากลุ่มอุตสาหกรรมและ กลุ่มพาณิชยกรรม 0105548101268 (เลขทะเบียนเดิมคือ 0108154811501) เลขที่ 475 อาคารสิริภิญโญ ชั้น 12 ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 0 2201 3466 – 7 โทรสาร: 0 2201 3465 9,200,000 หุ้น 9,200,000 หุ้น 10 บาท 92,000,000 บาท 20 %
ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งสำนักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น
หมายเหตุ : *ถือหุ้น บริษัท สหสินวัฒนา โคเจนเนอเรชั่น จำกัด ทางอ้อมผ่านบริษัท เอสโก้ เวนเจอร์ จำกัด
บริษัท สหสินวัฒนา ไบโอเอ็นเนอร์ยี่ จำกัด * ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งสำนักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น
หมายเหตุ: *ถือหุ้น บริษัท สหสินวัฒนา ไบโอเอ็นเนอร์ยี่ จำกัด ทางอ้อมผ่านบริษัท เอสโก้ เวนเจอร์ จำกัด
142
SSB จัดหาและจำหน่ายพลังงานให้ลูกค้ากลุ่มอุตสาหกรรมและ กลุ่มพาณิชยกรรม 0105550089211 เลขที่ 475 อาคารสิริภิญโญ ชั้น 12 ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 0 2201 3466 – 7 โทรสาร: 0 2201 3465 1,000,000 หุ้น 1,000,000 หุ้น 10 บาท 10,000,000 บาท 20 %
รายชื่อบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษัท เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งสำนักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น
EEI ให้บริการเป็นที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมการจัดการและอนุรักษ์พลังงาน www.eei.co.th 0105542011771 (เลขทะเบียนเดิมคือ (1)110/2542) เลขที่ 475 อาคารสิริภิญโญ ชั้น 12 ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 0 2201 3466 – 7 โทรสาร: 0 2201 3465 2,500,000 หุ้น 2,500,000 หุ้น 10 บาท 25,000,000 บาท 31.81 %
บริษัท ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จำกัด
ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งสำนักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น
UVC ให้บริการเป็นที่ปรึกษาด้านการเงินและการลงทุน www.univentures.co.th 0105543041526 (เลขที่ทะเบียนเดิมคือ (1)391/2543) เลขที่ 888/210-212 อาคารมหาทุนพลาซ่า ชั้น 2 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์: 0 2100 7100 โทรสาร: 0 2255 9417 250,000 หุ้น 250,000 หุ้น 10 บาท 2,500,000 บาท 100 %
143
รายชื่อบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษัท ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จำกัด
144
ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เวบไซต์ เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งสำนักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น
FS ตัวแทนจำหน่ายเครื่องบันทึกเวลาและอุปกรณ์ควบคุมระบบจอดรถ www.forwardsystem.co.th 0105539131397 (เลขทะเบียนเดิมคือ (5)692/2539) เลขที่ 888/221-222 อาคารมหาทุนพลาซ่า ชั้น 2 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์: 0 2100 7222 โทรสาร: 0 2255 8986-7 50,000 หุ้น 50,000 หุ้น 100 บาท 5,000,000 บาท 100 %