UV : Annual Report 2554 th

Page 1

(

)



01

สารบัญ

02 03 04 06 08 09 10 12

วิสัยทัศน และ พันธกิจ

ขอมูลทั่วไป

ขอมูลทางการเงินที่สําคัญ

คณะกรรมการบริษัท

สารจากประธานกรรมการ

สารจากประธานอํานวยการ รายงาน คณะกรรมการตรวจสอบ

โครงสรางกลุมบริษัท

13 19 22 25 26 30 33 34

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ความรับผิดชอบตอสังคม

การพัฒนาบุคคลาการ

โครงสรางรายได วิเคราะหผลการดําเนินงาน และฐานะการเงิน

ปจจัยความเสี่ยง

โครงสรางการถือหุน

โครงสรางองคกร

35 45 50 59 61 62

โครงสรางการจัดการ คณะกรรมการบริษัทและ คณะผูบริหาร

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

รายการระหวางกัน รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัท ตอรายงานทางการเงิน รายชื่อบริษัทยอย และบริษัทรวม

เอกสารแนบ งบการเงิน และรายงาน ของผูสอบบัญชีอนุญาต

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 01

26/3/2555 22:16:36


02

วิสัยทัศน และ พันธกิจ ป 2555 - 2557

วิสัยทัศน มุงเนนการสรางสรรคและพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพยที่มีคุณภาพ ภายใตการบริหารจัดการที่ดี เพื่อสรางผลตอบแทนอยางเหมาะสม และเติบโตอยางยั่งยืน

พันธกิจ สินคา : สรางสรรครูปแบบสินคาแตกตาง คุณภาพ (Reliable) และราคาเหมาะสม สังคมและสิ่งแวดลอม : สรางจิตสํานึก หวงใยสังคม (Caring) และสิ่งแวดลอม พนักงาน : สงเสริมความกาวหนา (Proactive) รวมมือสรางสรรค (Inspiring) ประหยัด แบงปน ผูถือหุน : สรางผลตอบแทนที่เหมาะสมตอเนื่อง และมั่นคงภายใตธรรมาภิบาลที่ดี

UV_THai.indd 02

26/3/2555 22:16:36


ขอมูลทั่วไป

03

ขอมูลทั่วไป ขอมูลเกี่ยวกับบริษัท ชื่อบริษัท ชื่อภาษาอังกฤษ เลขทะเบียนบริษัท ประเภทธุรกิจ หมวดธุรกิจ กลุมอุตสาหกรรม ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนชําระแลว มูลคาที่ตราไวตอหุน ขอจํากัดการถือหุนตางดาว ที่ตั้งสํานักงาน

บริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด ( มหาชน ) ( “ บริษัท ” ) Univentures Public Company Limited หรือ “ UV ” ทะเบียนเลขที่ 0107537001030 ลงทุนและพัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย อสังหาริมทรัพยและกอสราง 764,770,615 บาท 764,770,615 บาท 1 บาท รอยละ 49 เลขที่ 57 ปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ชั้น 22 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท : 0 2643 7100 โทรสาร : 0 2255 9418 เว็บไซต : www.univentures.co.th

บุคคลอางอิง นักลงทุนสัมพันธ

นายสถาพร โทรศัพท : โทรสาร : อีเมลล :

อมรวรพักตร 0 2643 7100 ตอ 7125 0 2256 0639 investor_relations@univentures.co.th

ผูสอบบัญชี

นายนิรันดร ลีลาเมธวัฒน ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 2316 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด อาคารเอ็มไพรทาวเวอร ชั้น 50 - 51 เลขที่ 195 ถนนสาทรใต กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : 0 2677 2000 โทรสาร : 0 2677 2222

นายทะเบียนหลักทรัพย

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย ( ประเทศไทย ) จํากัด อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท : 0 2229 2800 Call Center : 0 2229 2888 โทรสาร : 0 2359 1259

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 03

26/3/2555 22:16:37


04

ขอมูลทางการเงินที่สําคัญ

ขอมูลทางการเงินที่สําคัญ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 2552 ผลการดําเนินงาน รายไดจากการขาย รายไดรวม ตนทุนขาย กําไรขั้นตน กําไรสุทธิ ฐานะการเงิน สินทรัพยรวม หนี้สินรวม ทุนที่ออกและเรียกชําระแลว สวนของผูถือหุน เงินสด ขอมูลตอหุน กําไรสุทธิตอหุน เงินปนผลตอหุน มูลคาตามบัญชีตอหุน มูลคาที่ตราไวตอหุน อัตราสวนทางการเงิน อัตรากําไรขั้นตน อัตราหมุนเวียนของสินทรัพยรวม อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม อัตราผลตอบแทนผูถือหุน อัตราสวนหนี้สินรวมตอสวนของผูถือหุน ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย ระยะเวลาจายชําระหนี้เฉลี่ย อัตราการเติบโต สินทรัพยรวม หนี้สินรวม

UV_THai.indd 04

ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท

3,602.05 3,623.33 2,802.08 799.97 206.10

2,269.72 2,287.76 1,859.96 409.76 112.02

1,317.01 1,361.02 1,139.17 177.88 16.93

ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท

6,871.98 4,639.33 764.77 2,232.65 237.71

4,965.58 2,884.23 764.77 2,081.35 180.36

3,763.65 1,625.42 764.77 2,138.22 480.25

บาท บาท บาท บาท

0.08 0.06 2.92 1.00

0.07 0.05 2.72 1.00

0.01 0.01 2.80 1.00

รอยละ เทา รอยละ รอยละ เทา วัน วัน วัน

22.21 0.61 3.48 9.56 2.08 15.05 57.35 57.81

18.05 0.52 2.57 5.31 1.39 12.37 62.17 78.65

15.62 0.44 0.01 0.81 0.76 22.00 68.00 39.00

รอยละ รอยละ

38.39 60.85

35.86 77.44

53.56 249.74

26/3/2555 22:16:37


ขอมูลทางการเงินที่สําคัญ

05

ขอมูลทางการเงินที่สําคัญ Revenu รายได รวม Million Baht ลานบาท

ธุรกิจEstat อสังหาริมทรัพย Real Zinc ธุรกิจสังกะสี Othe อื่นๆ

2552 2009

2553 2010

2554 2011

ปYear

กํProfit าไรสุทธิ ลานบาท Million Baht

สวนของผูInterests ถือหุนรายยอย Minority Equity Holders the ษCompan สวนของผู ถือหุนofของบริ ัท

2552 2009

2553 2010

2554 2011

ปYear

นปนShare ผลตอหุน/ Earning / กําไรสุทธิper ตอหุนShare Dividend เงิper 0.09 0.08 0.07 0.06 0.05 0.04 0.03 0.02 0.01 0.00

0.07 0.05

กํDividend าไรสุทธิตper อหุนShare เงิ นปนผลต น Earning perอหุShar

0.08 0.06

0.01 2009 2552

2010 2553

2011 2554

ปYear

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 05

26/3/2555 22:16:37


of Directors 06 06 Board คณะกรรมการบริ ษัท

Board of Directorsษัท คณะกรรมการบริ

UNIVENTURES PUBLIC COMPANY LIMITED UV_THai.indd6 6 06-07_new1.indd

3/4/2555 17:42:40 27/3/2555 15:34:44


4:44

คณะกรรมการบริษัท

07

รายงานประจ�ำปี 2554

UV_THai.indd 7

3/4/2555 17:42:42


08

สารจากประธานกรรมการ

สารจากประธานกรรมการ ในปที่ผานมาปจจัยทางเศรษฐกิจตางประเทศ และในประเทศไทยมิไดสงผลกระทบตอเปา ของแผนธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย การ พัฒนาโครงการที่อยูอาศัย การสงมอบหอง ชุดในโครงการเปนไปเกินความคาดหมาย สง ผลใหรายไดทั้งกลุมเปนไปตามเปาที่วางไว ถึงแมวารายไดจะไดรับผลกระทบจากบริษัท ในกลุมที่มิใชธุรกิจอสังหาริมทรัพยคือ บริษัท ไทย-ไลซาท จํากัด ที่ผลิตผงสังกะสีออกไซด ซึ่ ง ได รั บ ผลกระทบจากอุ ท กภั ย นํ้ า ท ว มใน ไตรมาสที่ 4 แลวก็ตาม ทั้งนี้งบการเงินของ บริษัทฯ ในป 2554 ไดมีการปรับใหเปนไป ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออก และปรับปรุงใหม โดยจะกระทบกับงบการเงิน ของบริษัทฯ ในเรื่องการนําเสนอขอมูลทาง การเงิน การเปลี่ยนนโยบายการบัญชี และ การรับรูภ าระผูกพันของผลประโยชนพนักงาน กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมเห็ น เป น รู ป ธรรมอย า ง ชัดเจนมากขึ้น โดยเห็นไดจากโครงการปารค เวนเชอร อีโคเพล็กซ ที่สรางเสร็จสมบูรณ แล ว และเป น โครงการสํ า นั ก งานใจกลาง เมืองที่ใสใจสิ่งแวดลอมอนุรักษพลังงาน และ มีสวนสรางความรมรื่น และพื้นที่สีเขียวให แกชุมชน

UV_THai.indd 08

นับเปนความยินดีที่ บริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด (มหาชน) ไดรับคะแนนเต็มรอยจากผลการ ประเมิ น คุ ณ ภาพการประชุ ม ผูถื อ หุ น สามัญ ประจํ า ป โดยสมาคมส ง เสริ ม ผู  ล งทุ น ไทย ประจําป 2554 ซึ่งอยูในเกณฑดีเยี่ยม และ ดิฉันขอถือโอกาสนี้ ขอบพระคุณลูกคาและผู ถือหุนทุกทานที่ใหการสนับสนุนบริษัทฯ ดวย ดีเสมอมา และขอขอบคุณกรรมการบริษัท ผู บริหาร และพนักงานทุกทานที่ไดมุงมั่น ทุมเท ในการทํา งานเพื่ อ องค ก รอย า งเต็ ม ที่ และ รวมกันบริหารองคกรแหงนี้ใหเปน บริษัทจด ทะเบียนที่มีธรรมาภิบาลที่ดี

นางสาวพจนีย ธนวรานิช ประธานกรรมการ

26/3/2555 22:16:40


สารจากประธานอํานวยการ

09

สารจากประธานอํานวยการ คอนเซปต” ตรงกับความตองการของกลุมเปาหมาย ซึ่ ง เป น คนรุ  น ใหม ที่ เ ริ่ ม ทํ า งานหรื อ ผู  ที่ ช อบความ สะดวกสบายในการเดิ น ทาง ซึ่ ง ห า งจากรถไฟฟ า บีทีเอส หรือรถไฟฟามหานครไมไกลนัก ทั้งนี้ฐาน ลูกคาของกลุม “ยูดีไลท” ที่บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด ไดสรางขึ้น ในชวง 3 ป ที่ผานมาเพิ่มขึ้นเปน 1,997 ครอบครัว ดังนั้น ภารกิจ ที่สําคัญตอเนื่องคือการขยายโครงการควบคูไปกับ การสรางชุมชนนาอยูและการสรางความพึงพอใจ ใหแกลูกบาน

ป 2554 ที่ ผ  า นมานั บ ว า มี ค วามสํ า คั ญ ต อ บริ ษั ท ยูนเิ วนเจอร จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) เปนอยางยิง่ คือเปนปสุดทายของแผนธุรกิจ ฉบับโรดแมป 4 ป คือ ตั้งแตป 2551-2554 (UV Road Map) ที่ดิฉัน ไดนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัท เพื่ออนุมัติใน ปลายป 2550 นับแตมีการเปลี่ยนโครงสรางผูถือหุน ใหญเปนบริษัท อเดลฟอส จํากัด การปรับโครงสราง ธุรกิจใหสอดคลองกับการยายหมวดเปนบริษัทพัฒนา อสังหาริมทรัพย ดวยการปรับโครงสรางเพิ่มสัดสวน การถือหุนในบริษัทยอย คือ บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด เพื่อพัฒนาโครงการที่อยูอาศัย ประเภทอาคารสูง ภายใตชื่อโครงการ “ยู ดีไลท” การลงทุนพัฒนาอาคารปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ สํ า นั ก งานและโรงแรมใจกลางย า นเพลิ น จิ ต -วิ ท ยุ ซึ่งความสําเร็จ ที่เกิดขึ้นเปนไปตามกรอบระยะเวลา งบประมาณที่ไดนําเสนอไวทุกประการ ทั้งนี้เกิดขึ้น จากความมุงมั่น ทุมเท ของฝายบริหาร ฝายปฏิบัติ การ ระบบการบริหารจัดการ และที่สําคัญที่สุดคือ วัฒนธรรมขององคกรที่เปดกวางในความคิด และ เนนการทํางานเชิงรุก ผลประกอบการรายไดโดยรวมของบริษทั ฯ และบริษทั ในกลุม ในป 2554 ทีผ่ า นมาคือ 3,623 ลานบาท เติบโต สูงขึ้นรอยละ 58 เมื่อเทียบกับป 2553 และผลกําไร เพิ่มขึ้นรอยละ 11 โดยมาจากรายไดหลักคือ ธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพยประเภทที่อยูอาศัยอาคารสูง เพื่อขายภายใตบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด ซึ่งมีการรับรูรายไดสูงขึ้น จาก 1,406 ลาน บาทเปน 2,545 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 123 กลาวคือ การโอนหองชุดที่โครงการคอนโดมิเนียม ยู ดีไลท แอท หวยขวาง สเตชั่น จํานวน 584 ยู นิ ต และโครงการคอนโดมิ เ นี ย ม ยู ดี ไ ลท แอท จตุจักร สเตชั่น จํานวน 652 ยูนิต พรอม กันนี้ไดมีการเปดตัวโครงการใหม 3 โครงการ คือ โครงการคอนโดมิเนียม ยู ดีไลท2 แอท ประชาชื่น จํานวน 645 ยูนิต โครงการคอนโดมิเนียม ยู ดีไลท 3 ประชาชื่น-บางซื่อ จํานวน 783 ยูนิต และลาสุด ในเดือน ธันวาคมคือ โครงการคอนโดมิเนียม ยู ดี ไลท เรสซิเดนซ พัฒนาการ-ทองหลอ จํานวน 965 ยูนิต รวมมูลคา 4,072 ลานบาท โดยฟงกชั่นการ ออกแบบรูปแบบและราคาที่เหมาะสมของ “ยู ดีไลท

สํ า หรั บ โครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ป ระเภทอาคาร สํานักงานคือ โครงการปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ มูลคาประมาณ 5,000 ลานบาท ตั้งอยูใจกลางเมือง แยกถนนเพลิ น จิ ต–วิ ท ยุ ซึ่ ง เปน อาคารสํ า นั ก งาน เกรดเอพรอมโรงแรมสูง 34 ชั้น โดยจะสรางราย ได ประเภทคาเชาใหบริษัทฯ ตอเนื่องเปนเวลา 30 ป สํานักงานใหเชากวา 26,000 ตารางเมตรกอสราง แล ว เสร็ จ ในเดื อ นกั น ยายนที่ ผ  า นมาและมี ผู  เ ช า ประมาณรอยละ 30 และรอยละ 100 ในสวนพื้นที่ รานคา บริษัทฯ ไดทําการเปดตัวโครงการอยางเปน ทางการ เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2555 นับเปนความ ภาคภูมิใจที่โครงการ ปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ไดรับคําชื่นชมอยางมาก การยกยองในความสวยงาม ของภูมิสถาปตย เอกลักษณโดดเดนของภูมิทัศน รอบโครงการ และตอกยํ้าดวยรางวัล “ชนะเลิศการ พั ฒ นาโครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ป ระเภทอาคาร สํานักงาน” (Best Commercial Development) จาก Thailand Property Award 2010 รางวัล ชนะเลิ ศ ของเอเซี ย แปซิ ฟ  ค ในด า นการออกแบบ ทางสถาป ต ยกรรม สํ า หรั บ อาคารที่ มี ก ารใช ง าน หลายประเภทในตึกเดียวกัน” (Best Mixed-use Architecture Asia Pacific) จาก Asia Pacific Property Award 2011 และรางวัลชนะเลิศของ ประเทศไทยในดานการออกแบบทางสถาปตยกรรม สํ า หรั บ อาคารที่ มี ก ารใช ง านหลายประเภทในตึ ก เดียวกัน” (Best Mixed-use Architect Thailand) จาก Asia Pacific Property Awards 2011 นอกจาก นี้บริษัทฯ มุงหวังที่จะไดรับการรับรองการเปนอาคาร สีเขียวอนุรักษพลังงานทั้งจากสถาบัน ในประเทศ และตางประเทศ อาทิเชน การรับรองจาก LEED (The Leadership in Energy and Environmental Design) ในระดับขั้นสูงสุดแพลทินัมจากสถาบันดาน อาคารสีเขียวของ สหรัฐอเมริกา ในสวนของโรงแรม ตั้งแตชั้น 23-34 คือ โรงแรม ดิ โอกุระ เพรสทีจ กรุงเทพฯ (The Okura Prestige Bangkok) โรงแรม ระดับ 5 ดาว ชั้นนําจากประเทศญี่ปุน จํานวน 240 หอง ซึ่งคาดวาจะแลวเสร็จในเดือนเมษายน 2555 นั บ เป น โครงการแรก ที่ ส ร า งรายได ค  า เช า โดย สามารถ พัฒนาไดตามกําหนดเวลาและงบประมาณ ที่ไดตั้งไว ซึ่งในป 2555 บริษัทฯ คาดวาอัตราผูเชา สํานักงานจะเพิ่มขึ้นเปนกวารอยละ 60 สําหรับธุรกิจผลิตสังกะสีออกไซดซึ่งเปนธุรกิจดั้งเดิม แตไมใชธุรกิจหลัก โรงงานใหมมูลคา 276 ลานบาท สรางเสร็จปลายไตรมาสที่หนึ่งป 2554 ตามแผน และงบประมาณที่ไดตั้งไว โดยมีอุปกรณการผลิต ที่ทันสมัย ลดการใชกําลังคน ในชวง 9 เดือนแรก สามารถสรางยอดขายไดตามเปาคือ 11,637 ตัน หรือ 831 ลานบาท แตในไตรมาสที่ 4 โรงงานที่ นิคมอุตสาหกรรมโรจนะและโรงงานที่รังสิตประสบ กั บ อุ ท กภั ย ครั้ ง ร า ยแรงตั้ ง แต ป ลายเดื อ นตุ ล าคม ถึงเดือนธันวาคมที่ผานมา สงผลกระทบตอรายได ในไตรมาสที่ 4 และมีผลทําใหรายไดทั้งปตํ่ากวาที่

ประมาณการ 2,600 ตัน/ปหรือ ลดลงรอยละ 16 ทัง้ นีค้ วามเสียหายในสินทรัพยที่เกิดขึน้ บริษัทฯ ไดทาํ ประกันภัยครอบคลุมความเสียหายทัง้ จํานวน และอยู ในระหวางการขอคาชดเชยความเสียหายจากบริษัท ประกันภัย อยางไรก็ตามบริษัทฯ ไดเตรียมแผนการ ฟนฟูโรงงานเชิงรุก นับตั้งแตโรงงานไดรับผลกระทบ โดยมีการเตรียมการจัดหาอุปกรณลวงหนาจึงสงผล ใหโรงงานสามารถทยอยเปดการผลิตไดภายในกลาง เดือนธันวาคมคือ 15 วัน หลังจากเขาพื้นที่ได โดยเรง การผลิตเพื่อสงมอบสินคาใหลูกคาที่มียอดคางจัดสง ทั้งนี้โรงงานยังไดรับสิทธิพิเศษจากสํานักงานคณะ กรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) เปนเวลา 7 ป ในป 2555 นี้ ป  จ จั ย เสี่ ย งของภาคธุ ร กิ จ ทื่ ต  อ ง ระมัดระวัง คือ ตนทุนการผลิตที่สูงขึ้นอันเนื่องจาก คาพลังงาน คาครองชีพ คาวัสดุกอสรางที่มีการปรับ ตัวสูงขึ้น นับวาเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผูประกอบการ จะตองเรงปรับตัวเพื่อการแขงขันในระยะยาว ทั้ง นี้บริษัทฯ มีความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจของประเทศ ความตองการในที่อยูอาศัย การลงทุนจากตางชาติ ที่จะขยายฐานในเอเชีย สําหรับแผนธุรกิจในป 2555 นี้ บริ ษั ท ฯ มี แ ผนการลงทุ น ที่ ดิ น เพิ่ ม ในโครงการ อสังหาริมทรัพยประเภทที่อยูอาศัย อาคารสูงเพื่อ ขาย ประมาณ 900 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 45 จากป 2554 และรับรูรายไดจากการโอนโครงการ คอนโดมิเนียม ยู ดีไลท แอท ออนนุช สเตชั่น มูลคา 1,360 ลานบาท โครงการ ยู ดีไลท2 แอท บางซื่อ บางสวนมูลคา 310 ลานบาท และเพิ่มการลงทุนใน โครงการอสังหาริมทรัพย เพื่อคาเชาประมาณ 880 ลานบาท ทั้งนี้คาดวารายไดจาก บริษัทฯ ในกลุมทั้ง สิ้นประมาณ 3,900 ลานบาท ในปที่ผานมาบริษัทฯ ไดทํากิจกรรมเพื่อสังคมเพิ่ม มากขึ้ น โดยเป น แกนนํ า ในการรวบรวมพั น ธมิ ต ร ทางธุรกิจ รวมบริจาคชวยเหลือผูประสพภัยสึนามิใน ประเทศญี่ปุนผานสถานเอกอัครราชฑูตญี่ปุน สําหรับ ภัยพิบัตินํ้าทวมที่เกิดขึ้นในประเทศไทย บริษัทฯ ไดให ความชวยเหลือแกพนักงาน และครอบครัวที่ประสบ อุทกภัย ทั้งในดานใหเงินชวยเหลือทันที ใหที่พัก อาศัยชั่วคราว เงินกูปลอดดอกเบี้ยในวงเงิน และ การผอนชําระคืนที่เหมาะสม และบริษัทฯ มิไดปลด พนักงานและจายเงินเดือนเต็มตลอดระยะเวลาที่ปด โรงงานที่นิคมอุตสาหกรรมโรจนะ นอกจากนี้บริษัทฯ ไดสมทบทุนเงินชวยเหลือผานตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย และพนักงานในกลุมไดจัดกิจกรรมรวม กัน ฟนฟูหลังน้ำทวมที่โรงเรียนบานแปง จังหวัด สิงหบุรี สุดทายนี้ ดิฉันและคณะผูบริหารและพนักงานของ บริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด (มหาชน) และบริษัทใน เครือ ขอขอบพระคุณลูกคา ผูถือหุน และพันธมิตร ทางธุรกิจทุกทาน ที่กรุณาใหความไววางใจและความ รวมมือดวยดีตลอดมา คณะผูบริหารและพนักงาน ทุ ก ท า นมุ  ง มั่ น ที่ จ ะร ว มกั น ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นการที่ จ ะ สรางองคกรแหงนี้ใหมีความกาวหนา เจริญรุงเรือง โปรงใส และสรางผลตอบแทนที่ดีที่สุดสําหรับผูถือ หุนทุกทาน

นางอรฤดี ณ ระนอง ประธานอํานวยการ

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 09

26/3/2555 22:16:42


10

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ การสอบทานความเหมาะสมของระบบการ ควบคุมภายใน และพัฒนาระบบการควบคุม ภายในอยางตอเนื่อง รวมถึงการกํากับดูแล งานตรวจสอบภายในอยางเครงครัด และ พิจารณาคัดเลือก และแตงตั้งผูสอบบัญชีรับ อนุญาตของบริษัทฯ และคาตอบแทนผูสอบ บัญชีประจําป บริ ษั ท ฯได มี ก ารกํ า หนดขอบเขตของการ ปฏิบัติงาน รวมถึงอํานาจ หนาที่ และความ รั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการตรวจสอบไว โดยสังเขป ดังนี้ สอบทานการปฏิบัติของบริษัทฯ ใหเปน ไปตามแนวทางที่ กํ า หนดไว ข องกฎหมาย ว า ด ว ยหลั ก ทรั พ ย และตลาดหลั ก ทรั พ ย ฯ ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และกฎหมาย คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ยูนเิ วนเจอร อื่นที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ กําหนดไว จํากัด (มหาชน) ประกอบดวยกรรมการอิสระ จํานวนทั้งสิ้น 3 ทาน ซึ่งทุกทานเปนผูที่มี สอบทานระบบควบคุ มภายใน และการ ความรูความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และ ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ เพื่อใหบริษัทฯ ประสบการณเฉพาะดาน และมีคุณสมบัติ มี ร ะบบควบคุ ม ภายในและการตรวจสอบ ครบถ ว นตามกฎบั ต รของคณะกรรมการ ภายในที่มีความเหมาะสมเพียงพอ และเปน ตรวจสอบ โดยมีนายสุวิทย จินดาสงวน เปน ไปอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนใหความเห็น ประธานกรรมการตรวจสอบ นางสาวพจนีย ชอบในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง ธนวรานิช และนายนรรัตน ลิ่มนรรัตน เปน หัวหนาหนวยตรวจสอบภายใน กรรมการตรวจสอบ โดยกรรมการตรวจสอบ ของบริษัทฯ ทั้ง 3 ทาน ไมมีสวนรวมในการ สอบทานความถู ก ต อ งของรายงานทาง บริหาร รวมทั้งไมไดเปนผูบริหาร พนักงาน การเงิน และความเพียงพอของการเปดเผย หรื อ ผู  มี อํ า นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ข อ มู ล ของบริ ษั ท ฯในกรณี ที่ เ กิ ด รายการ ในเครือหรือบริษัทรวมทั้งสิ้น เกี่ยวโยง หรือรายการที่อาจมีความขัดแยง ทางผลประโยชน เพื่อใหมั่นใจวางบการเงิน ตลอดป 2554 ที่ผานมาคณะกรรมการตรวจ ของบริษัทฯ มีความถูกตอง และเปนไปตาม สอบได ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ภ ายใต ข อบเขตของ มาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจากคณะ กรรมการบริ ษั ท ข อ กํ า หนดต า งๆ และ พิ จ ารณาคั ด เลื อ ก และเสนอแต ง ตั้ ง แนวทางปฏิ บั ติ ที่ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ผูสอบบัญชีของบริษัทฯ รวมถึงพิจารณาเสนอ ประเทศไทยกําหนดไว รวมถึงการสอบทาน คาตอบแทนของผูสอบบัญชี การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี การสอบทาน งบการเงิน การสอบทานความเหมาะสมของ พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือราย การเป ด เผยข อ มู ล ของรายการระหว า งกั น การที่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ทางผลประโยชน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมาย และขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพยฯ

UV_THai.indd 10

จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัทฯ พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือราย การที่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมาย และขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพยฯ คณะกรรมการตรวจสอบได ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ตามขอบเขต และความรับผิดชอบที่ไดรับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง สอดคลองกับขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ รวมถึงยึดหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ ตี ลอดมา โดยตระหนักถึงประสิทธิภาพ และโปรงใส สามารถตรวจสอบไดทุกขั้นตอน เพื่อพัฒนา ให บ ริ ษั ท ฯ เป น องค ก รที่ มี ก ารกํ า กั บ ดู แ ล กิจการที่ดี ในป 2554 คณะกรรมการตรวจสอบได มี การประชุมรวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง โดยกรรมการ ตรวจสอบทุกทานเขารวมประชุมครบถวนทุก ครั้ง ทั้งนี้ มีการประชุมรวมกับผูสอบบัญชี และหนวยงานตรวจสอบภายในโดยไมมีฝาย จัดการ 1 ครั้ง ในการประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบ แตละครั้งไดมีการเชิญผูบริหาร จากหน ว ยงานต า งๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งเข า ร ว ม ประชุม เพือ่ รับทราบปญหาทีพ่ บจากการตรวจ สอบ และนํากลับไปดําเนินการแกไข รวมทั้ง หาทางปองกันไมใหเกิดขอบกพรองที่เคยมี มาอีกอยางถาวร ซึ่งสรุปสาระสําคัญไดดังนี้ สอบทานความถูกตองของรายงาน ทางการเงิน และความเพียงพอขอ การเปดเผยขอมูลของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบได ทํ า หน า ที่ ส อบ ทานและให ค วามเห็ น ต อ งบการเงิ น ราย ไตรมาส และงบการเงินประจําป 2554 โดย ไดรับฟงคําชี้แจง และซักถามผูบริหาร และ ผูสอบบัญชีในเรื่องความถูกตองครบถวนของ งบการเงิน ตามมาตรฐานบัญชีทมี่ กี ารประกาศ ใช รายการบัญชีที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงอยางมี

26/3/2555 22:16:42


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

นั ย ส� ำ คั ญ ความเสี่ ย ง และการเปิ ด เผย ข้อมูล ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความ เห็นสอดคล้องกับผู้สอบบัญชีว่า งบการเงิน ดังกล่าว มีความถูกต้องตามที่ควร ในสาระ ส�ำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป สอบทานระบบควบคุมภายในและ การตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ส� ำ หรั บ ปี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ประเมินความเพียงพอของระบบควบคุม ภายใน และพิ จ ารณารายงานการตรวจ สอบภายในตามแผนงานที่ได้รับอนุมัติ ซึ่ง ครอบคลุมระบบงานที่ส�ำคัญ ทั้งนี้ ไม่พบข้อ บกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ และมีความเห็นว่า บริษัทฯมีระบบการติดตามควบคุมการด�ำเนิน งานของบริษัทฯ และบริษัทฯ ย่อย อย่าง เหมาะสม และมีประสิทธิผล การสอบทานการตรวจสอบภายใน ได้สอบ ทานภารกิจ ขอบเขตการปฏิบัติงาน หน้าที่ และความรับผิดชอบ อัตราก�ำลัง และความ เป็ น อิ ส ระของหน่ ว ยงานตรวจสอบภายใน โดยคณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า หน่วยงานตรวจสอบภายใน สามารถปฏิบัติ งานได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลสอดคล้ อ งกั บ เป้าหมาย และความเสี่ยงของบริษัทฯ และมี ความเป็นอิสระ รวมทั้งมีการพัฒนาคุณภาพ การตรวจสอบทั้งในด้านบุคลากร และการ ปฏิบัติงานตรวจสอบ สอบทานการปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และกฎหมายที่ เกี่ยวกับธุรกิจ ของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ส อบทานการ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลัก ทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยว กับธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงการปฏิบัติตาม

ข้ อ ก� ำ หนดของบริ ษั ท ฯ และข้ อ ผู ก พั น ที่ บริษัทฯ มีกับบุคคลภายนอก คณะกรรมการ ตรวจสอบมี ค วามเห็ น ว่ า ไม่ พ บประเด็ น ที่ เป็ น สาระส� ำ คั ญ ในเรื่ อ งการไม่ ป ฏิ บั ติ ต าม กฎหมาย ข้อก�ำหนด และข้อผูกพันที่บริษัทฯ มีไว้กับบุคคลภายนอก พิ จ ารณารายการเกี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณารายการ เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมาย และ ข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยคณะ กรรมการตรวจสอบมี ค วามเห็ น ว่ า รายการ ดังกล่าวเป็นรายการทีส่ มเหตุผล เป็นประโยชน์ สูงสุดต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้ง มีที่เปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง และครบถ้วน

11

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ครบถ้วน ตามทีร่ ะบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบทีไ่ ด้รบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการ บริษัทฯ โดยใช้ความรู้ ความสามารถ และ มีความเป็นอิสระ ตลอดจนได้ให้ความเห็น และข้อเสนอแนะต่างๆ ต่อฝ่ายบริหาร และ กรรมการบริษัทฯ ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจ สอบมีความเห็นว่า บริษัทฯ มีการรายงาน ข้อมูลทางการเงิน และการด�ำเนินงานอย่าง ถูกต้องครบถ้วน มีระบบควบคุมภายในการ ตรวจสอบภายใน และการบริหารความเสี่ยง ที่เหมาะสม มีการปฏิบัติต ามกฎหมาย ข้อ ก�ำหนดต่างๆ มีการปฏิบัติเกี่ยวกับรายการ เกี่ ย วโยงอย่ า งถู ก ต้ อ ง มี ก ารปฏิ บั ติ ง านที่ สอดคล้องกับระบบการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และมีการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดี ขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีระบบการคัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลที่มีความเป็นอิสระเพื่อท�ำ หน้าที่ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ

พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตัง้ และ เสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ระเมิ น ทั ก ษะ ความรู้ ความสามารถของผู้สอบบัญชี และ ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ ส อบบั ญ ชี ความเป็ น อิ ส ระในการ ปฏิ บั ติ ง าน และคุ ณ ภาพของผลงานการ ตรวจสอบ จึ ง เห็ น ควรเสนอแต่ ง ตั้ ง ต่ อ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อน�ำเสนอที่ประชุม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ ให้ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง นายนิรันดร์ ลีลาเมธาวัฒน์ ผู้สอบบัญชีรับ อนุญาต เลขทะเบียน 2316 นางสาวนิตยา เชษฐโชติ ร ส ผู ้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุ ญ าต เลข ทะเบียน 4439 นางสาววรรณาพร จงพีรเดชา นนท์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4098 นางสาว วิภาวรรณ ปัทวันวิเวก ผู้สอบ บัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4795 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด คนใด คนหนึ่งเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ประจ�ำปี 2555 ในอัตราค่าสอบบัญชี 810,000 บาท

สุวิทย์ จินดาสงวน

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจ�ำปี 2554


โครงสร้างกลุ่มบริษัท

100 %

98.88 %

60 %

100 %

99.98 %

100 %

บริษัท ยูนิเวนเจอร์แอสเซท แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด (UVAM) ทุนจดทะเบียน / ทุนช�ำระแล้ว 22.31 ล้านบาท

กองทุนรวมกินรีพร็อพเพอร์ตี้(KRF) ทุนช�ำระแล้ว 2.10 ล้านบาท

บริษัท ไทย - ไลซาท จ�ำกัด (TL) ทุนจดทะเบียน / ทุนช�ำระแล้ว 140 ล้านบาท

31.81 %

79 %

20 %

20 %

100 %

100 %

บริษัท ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จ�ำกัด (FS) ทุนจดทะเบียน / ทุนช�ำระแล้ว 5 ล้านบาท

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จ�ำกัด (UVC) ทุนจดทะเบียน / ทุนช�ำระแล้ว 2.5 ล้านบาท

ธุรกิจอื่น

หมายเหตุ : * ถือหุ้นทางอ้อมผ่านบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ดิเวลล็อปเมนท์ จ�ำกัด คิดเป็นร้อยละ 59.99 **ถือหุ้นทางอ้อมผ่านบริษัท เอสโก้ เวนเจอร์ จ�ำกัด คิดเป็นร้อยละ 15.80

บริษัท เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (EEI) ทุนจดทะเบียน / ทุนช�ำระแล้ว 25 ล้านบาท

บริษัท สหสินวัฒนา ไบโอเอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด **(SSB) ทุนจดทะเบียน / ทุนช�ำระแล้ว 10 ล้านบาท

บริษัท สหสินวัฒนา โคเจนเนอเรชั่น จ�ำกัด **(SSC) ทุนจดทะเบียน / ทุนช�ำระแล้ว 92 ล้านบาท

บริษัท เอสโก้ เวนเจอร์ จ�ำกัด (EV) ทุนจดทะเบียน 50 ล้านบาท / ทุนช�ำระแล้ว 27.50 ล้านบาท

การลงทุนพลังงาน

ทุนจดทะเบียน 764.77 ล้านบาท ทุนช�ำระแล้ว 764.77 ล้านบาท

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จ�ำกัด (มหาชน)

ผลิตผงสังกะสีอ๊อกไซด์และเคมีภัณฑ์อื่น

บริษทั แกรนด์ ยู ลิฟวิง่ จ�ำกัด*(GUL) ทุนจดทะเบียน / ทุนช�ำระแล้ว 244.05 ล้านบาท

บริษทั แกรนด์ ยูนติ ดี้ เิ วลล็อปเมนท์ จ�ำกัด (Grand U) ทุนจดทะเบียน / ทุนช�ำระแล้ว 600 ล้านบาท

บริษัท เลิศรัฐการ จ�ำกัด (LRK) ทุนจดทะเบียน / ทุนช�ำระแล้ว 600 ล้านบาท

การลงทุนและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 (ส่วนที่ถือหุ้นทางตรงและทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 10 ขึ้นไป)

โครงสร้างกลุ่มบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จ�ำกัด (มหาชน)

12

12 โครงสร้างกลุ่มบริษัท


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

13

ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษทั ยูนเิ วนเจอร จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) จดทะเบียนกอตั้งเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2523 โดยมีวัตถุประสงคเริ่มแรกเพื่อประกอบธุรกิจ ผลิตและจําหนายผลิตภัณฑผงสังกะสีออ กไซด (Zinc Oxide) บริษัทฯ ไดเขาจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในป 2531 และนับตั้งแตป 2544 เปนตนมา บริษัทฯ ได ขยายการลงทุนในธุรกิจพัฒนอสังหาริมทรัพย อย า งต อ เนื่ อ งในการพั ฒ นาโครงการ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ที่ มี ศั ก ยภาพแต ป ระสบ ป ญ หาการเงิ น ไม ส ามารถดํ า เนิ น โครงการ จนแล ว เสร็ จ โดยจั ด ตั้ ง บริ ษั ท ย อ ย หรื อ ร ว มทุ น กั บ บริ ษั ท ผู  พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ที่ มี ป ระสบการณ จากการเปลี่ ย นแปลง และการขยายการลงทุ น ในธุ ร กิ จ พั ฒ นา อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ในป 2549 บริ ษั ท ฯ จึ ง ได รั บ การอนุ มั ติ จ ากตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทยให ย  า ยหมวดธุ ร กิ จ จากหมวด ปโตรเคมีและเคมีภัณฑ (Petrochemicals & Chemicals Sector) เปนหมวดพัฒนา อสังหาริมทรัพย (Property Development Sector) ปจจุบันบริษัทฯ ไดดําเนินธุรกิจหลักในการ พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ป ระเภทอาคารชุ ด พักอาศัยเพื่อขาย โดยดําเนินการผานบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด ซึ่ง บริษัทฯ ถือหุนทางตรง ในสัดสวนรอยละ 60 และ บริษัท แกรนด ยู ลิฟวิ่ง จํากัด ซึ่งเปน บริษัทยอย (ถือหุนโดยบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด รอยละ 99.98) ในป 2554 ได พั ฒ นาโครงการคอนโดมิ เ นี ย ม แลวเสร็จ พรอมโอนหองชุดใหแกลูกคา 2 โครงการ ไดแก โครงการ ยู ดีไลท แอท หวยขวาง สเตชั่น และ โครงการ ยู ดีไลท แอท จตุจักร สเตชั่น นอกจากนี้ ไดเปดโครงการใหมเพิ่ม ขึ้นอีก 3 โครงการ คือ โครงการ ยู ดีไลท 2 แอท บางซื่อ สเตชั่น, โครงการ ยู ดีไลท 3 ประชาชื่น - บางซื่อ และโครงการ ยู ดีไลท เรสซิเดนส พัฒนาการ - ทองหลอ โดยมีมลู คา ของโครงการรวมประมาณ 4,072 ลานบาท ซึ่งไดรับการตอบรับจากลูกคา เปนอยางดี โดยเฉพาะโครงการ ยู ดีไลท 2 แอท บางซื่อ สเตชั่น ซึ่งเปดขายในไตรมาส 1 สามารถ ป ด การขายได ภ ายในป 2554 ส ว นอี ก 2 โครงการ ซึ่งเปดขายในไตรมาส 4 ในชวง ที่มีปญหาดาน อุทกภัยก็ยังสามารถปดการ ขายไดโดยเฉลี่ย ประมาณรอยละ 20 ถึง 30 ปจจุบันบริษัทฯ มียอดขายหองชุดในโครงการ ที่อยูระหวางการพัฒนา (Backlog) คิดเปน

มูลคารวมประมาณ 2,991 ลานบาท โดย จะสามารถทยอยโอนหองชุดในโครงการดัง กลาวเพื่อรับรูรายได ตั้งแตไตรมาส 1 ป 2555 จนถึงไตรมาส 4 ป 2556 นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได พั ฒ นาโครงการ ปาร ค เวนเชอร อี โ คเพล็ ก ซ ซึ่ ง เป น พื้ น ที่ สํานักงานใหเชา รานคา และโรงแรมภายใต ชื่อ ดิ โอกุระ เพรสทีจ กรุงเทพฯ บริเวณ สีแ่ ยกถนนเพลินจิต-วิทยุ โดยบริษทั เลิศรัฐการ จํากัด ซึ่งบริษัทฯ ถือหุนอยูในสัดสวน รอยละ 100 ซึ่งปจจุบันไดดําเนินการพัฒนาในสวน พื้นที่สํานักงาน และรานคาแลวเสร็จในเดือน กันยายน 2554 โดยมีผูเชาพื้นที่แลวทั้งสวน สํานักงาน และสวนรานคาประมาณรอยละ 30 และรอยละ 100 ตามลําดับ สําหรับพื้นที่ สวนโรงแรมจะดําเนินการพัฒนาใหแลวเสร็จ ในเดือนเมษายน 2555 ในสวนธุรกิจผลิตและจําหนายผลิตภัณฑผง สั ง กะสี อ  อ กไซด ซึ่ ง เป น ธุ ร กิ จ ดั้ ง เดิ ม ของ บริษัทฯ ภายใต บริษัท ไทย - ไลซาท จํากัด (บริ ษั ท ฯ ถื อ หุ  น ร อ ยละ 100) ซึ่ ง ดํ า เนิ น ธุรกิจดังกลาวมากวา 30 ป เดิมมีโรงงาน ผลิตสังกะสีออกไซด ตั้งอยูซอยพหลโยธิน 90 ถนนพหลโยธิ น ตํ า บลประชาธิ ป  ต ย อํ า เภอธั ญ บุ รี จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี และในป 2554 ไดเปดโรงงานใหม อีก 1 แหงตั้งอยู สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ตําบลสามบัณฑิต อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดย โรงงานทั้ง 2 แหง เปดทําการผลิตตลอด 24 ชั่วโมง ในป 2554 มีอัตรากําลังการผลิตจาก ทั้ง 2 โรงงาน สามารถรองรับความตองการ ในตลาดด ว ยกํ า ลั ง การผลิ ต ไม ตํ่ า กว า ป ล ะ 18,000 ตัน จากเดิมอยูที่ประมาณ 15,000 ตัน/ ป ซึ่งจะสงผลใหธุรกิจสวนนี้ของ บริษัทฯ มีการเติบโตเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 13

26/3/2555 22:16:44


14

ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย

‘ปารคเวนเชอร - ดิ อีโคเพล็กซ ออน วิทยุ’ อาคารอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานแห ง ใหม ใ จกลาง เพลินจิตซิตี้ บนพื้นที่กวา 5 ไร ความสูง 34 ชั้น มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 81,400 ตร.ม. แบง พื้นที่ใชสอย ออกเปนสามสวนหลักๆ ไดแก สํ า นั ก งานให เ ช า ระดั บ พรี เ มี่ ย ม 26,000 ตารางเมตร ตั้งแตชั้น 9-22 และโรงแรม หรูระดับ 5 ดาว สัญชาติญี่ปุนชั้นนําของโลก ‘ดิ โอกุระ เพรสทีจ กรุงเทพฯ’ ชั้น 23-34 จํานวน 240 หอง หองประชุม และหอง สัมมนาที่ชั้น 8 และพื้นที่ใหเชา สําหรับราน คาประมาณ 1,000 ตารางเมตร ชั้น 1-2

UV_THai.indd 14

นับเปนอาคารรูปแบบใหมที่มีการออกแบบ อั น โดดเด น ด ว ยสถาป ต ยกรรมที่ ไ ด รั บ แรง บันดาลจากการประนมมือไหว และดอกบัว สะทอนถึงเอกลักษณความเปนไทยอันงดงาม หากแฝงดวยความทันสมัยและมีระดับ ซึ่ง พั ฒ นาภายใต ป รั ช ญาการก อ สร า งที่ ผ สาน นวั ต กรรมการออกแบบซึ่ ง ให ค วามสํ า คั ญ อยางยิ่งกับคุณภาพชีวิตที่ดีของผูอยูอาศัย ผานความใสใจสิ่งแวดลอมแบบ Eco Driven Building

26/3/2555 22:16:47


ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย

“วิคเตอร คลับ” หองประชุมสัมมนาที่ผสม ผสานเทคโนโลยีลาสุดและศิลปะเขากันอยาง ลงตัว ตัง้ อยูบ นชัน้ 8 ปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ บนถนนวิทยุ แยกเพลินจิต ดวยการเดินทาง ที่สะดวกสบายสามารถเขาถึงไดโดยตรงจาก สถานีรถไฟฟาเพลินจิต ดวยความทันสมัยดานเทคโนโลยีและความ โดดเด น ด า นการออกแบบที่ ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบการจั ด งานได อ ย า งหลาก หลายทําให “วิคเตอร คลับ” ตอบสนองความ ตองการในทุกๆ ดานของผูเขารวมประชุม สั ม มนาเพื่ อ สรรสร า งความสํ า เร็ จ ได อ ย า ง สมบูรณแบบ

15

ในโลกธุ ร กิ จ ที่ ไ ร พ รมแดนและก า วไปอย า ง ไม ห ยุ ด ยั้ ง “วิ ค เตอร คลั บ ” ได นํ า เสนอ เทคโนโลยีอันทันสมัยใหแกผูเขารวมประชุม สัมมนา ไมวาจะเปนระบบเครื่องเสียงลาสุด อุปกรณไรสาย เครือ่ งฉาย LCD และ อินเตอรเนต ทั้งนี้ รวมถึงหองประชุม “วิคเตอร ลิ้งค ดวย ระบบ Cisco Telepresence โดย ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี” เพื่อการประชุมเสมือนจริงเชื่อม ผานหนาจอที่มีความคมชัดสูงกับอีกกวา 600 แหงทั่วโลกที่สอดคลองกับความเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม เพื่อลดคาใชจายและประหยัด เวลาในการเดินทาง

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 15

26/3/2555 22:16:49


16

¡ j q { p ×

¥ j p j Ô p- k p Ô p j¦mÓ¨ j } © Ó ² ¨ Ô¥ ¢Ô©}Ô Ó Ô p j ® ¢Ó ©}Ôq p © Ó Lab Room q p¥ Û p j ­¥ ¨sÔ¨ j ¡p¦jÔ©k¦ Ô p j q ©}Ô Ô p ­~ ps ~ q² k pm¡| j ­ ¡}

¥ ”j ¥} ” ¥ Ó ® ­ ² ¨ Ô¥ ¢Ô Ó Ó j p ­p ² m } j © Ô p ­ ¢j Ô ¨sÔ~ ps ~ q² k p¥k ¥ q p ¥} ... ¥ ­ ­p ² m } j~Ó p« ¡p§m pj ¨ Ô~ p ¡j j ¨sÔs ~ k p ¢j Ô ¥sÓ Ô mÔ ~¢Ô¥ ¥ ¬ ¥~ × ©t}× ~¢Ôt j Ô - Ô ¥ Û ~Ô

UV_THai.indd 16 16-17_new1.indd 16

26/3/2555 22:16:59 27/3/2555 0:40:04

UV_TH


¡ j q { p ×

¥ j }mÓ ¨sÔqÓ ¨ j }¢¦ ² ¡p j mÓ ¨sÔq Ó Ó j p ~­ ²­ m p­ m­ | ¡ ~Ô pj p Ô ¥kÔ ¢Ó Ô p¨ Ó ¢ m §} ¥ q p p Home Friendly ¥kÔ © ¢}m¡ j ¢j Ô ¦ m ¢Ó Ó m ®p ¥ ­ Ùpm ¢Ô j¦ m ~Ô pj ~Ó p« ­ ² ¡p m ¦ }mÓ ¨sÔ q Ó Ó pj ¢ Ó ¨ Ô m¡| ©}Ô ¥ ¥ m } pm ¥ Û ¢Óq pk pm¡| ¦ ¥ ¥ ¬p¥ ¬ m ² m vk p¥p mÓ ¦ × ­m¡|~Ô p¥ © j ® ­ ­ m¡ | ¨sÔ § s × © }Ô Ô m ® p Ó p ¬ ® q } j Ó © ! jm¡| ² ¥p } pj Ó © ¨sÔ { Ó j p ­ « ­ Ô pm ¡k¨ Ô j m¡|©}Ô jj Ó ¥sÓ ¥m ­ p jj² pj p ¨ Ô p ¡} ¥ Û ~Ô

® m¡| sÓ § j© Ó¨ Ô Ô p© Ô© jj Ó ® ©}Ô ¥ pm¡|¥ ­ ¦ jk ¦ ² j ©t¥m ¥p ­ ©}Ôq jj k k ©t¥m q j m ¢Ós¡ s §} ¥ Û ¥p ­¥kÔ ¢Ó ~ ¡mm ² © { s¡ s k p m¡|¨ Ô Ó ¢Ó ­pk ® © j

17

¥ Grand U ¥ j¨ Ô ¡jm ¥ Û ¥qÔ k p Ô p¦ j m §}¨ Ù ­m¡| }Ô ²® j ²® ¦ pq jj ¥j¬ ©}Ô ¨ 3-5 Ë ¥ q p ~ ®p m ¦ ¥p ­ ©k Ô ps¡} ­ ² ¨ Ôm¡|¥ Û ¥qÔ k pm §}¨ Ù ©}ÔpÓ « ¥ j jÓ Ô p¥ ¬ ® y m¡ | p jÓ Ô p¥ Ó ¥} p ~Ô ¡ j j ¡ × ­ } p ¥sÓ mÓ ¦ pm p ¥p ¥} j ¥ Û ~Ô Óp ¨ Ô~Ô ¡ mÔ k ¦ m Ô ps¡} } p© }Ô

Grand U ¥ { ~ ¥ p Ó p ­p §} j }~Ô ¡ k mÔ ¥ ­ mp© Ôt ­p m k ­¥ § s ×¥ pj¬¥ Û ­p¨ ~Ô ¡ k ­ j }m k pj } p¦ Ô q ² ¨ Ô m k ¢Ó¨ sÓ p m ­ ¡jm ¥ Û ¥qÔ k p ©}Ô© Ó j

+:* :!#+8 Q:#ā 2554

22:16:59

UV_THai.indd 17 16-17_new1.indd 17

26/3/2555 22:17:00 27/3/2555 0:40:19


18

ธุรกิจผลิตและจําหนายผลิตภัณฑผงสังกะสีออกไซด

จากจุดเริ่มตนเล็กๆ เมื่อป พ.ศ. 2523 กวา 30 ป ที่บริษัท ไทย-ไลซาท จํากัด ผู ผลิตผงสังกะสีออกไซดรายแรกแหงประเทศไทย ภายใตชื่อผลิตภัณฑ “เตาเผา” ไดพัฒนาผงสังกะสีออกไซดตอเนื่องอยางไมหยุดยั้ง โดยมุงเนนดาน เทคโนโลยี และพลังงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไปพรอมกับการรักษา คุณภาพใหดี อยูเสมอ สอดคลองกับนโยบายของบริษัทฯ “ผลิตภัณฑไดมาตรฐาน บริการเปนหนึ่ง คํานึงถึงความพึงพอใจของลูกคา พรอมปรับปรุง และพัฒนาอยางตอเนื่อง” โรงงานตั้งอยูบนเนื้อที่กวา 20 ไร ที่สวนอุตสาหกรรมโรจนะ พรอมตอบสนอง ความตองการของตลาดที่โตขึ้นอยางรวดเร็ว และพรอมรองรับการเติบโตของ บริษัทฯ อยางแข็งแรงและยั่งยืน บริษัทฯ ผลิตผงสังกะสีออกไซดดวยกรรมวิธีแบบ French Process โดย ใชวัตถุดิบสังกะสีแทงคุณภาพสูง จากเหมืองแรอันดับหนึ่งของประเทศไทย ผานกระบวนการผลิตที่ไดมาตรฐาน มีการวิเคราะหความบริสุทธิ์ และควบคุม คุณภาพอยางเขมงวดจนไดผงสังกะสีออกไซดที่มีความขาว มีประกายในตัวและ มีพื้นที่ผิวสูง ซึ่งทําปฏิกิริยาทางเคมีไดเปนอยางดี ปจจุบันบริษัทฯ ได พัฒนาผง สังกะสีออกไซด เพื่อตอบรับการใชงานที่หลากหลายซึ่งมีทั้งแบบผง (Powder) และแบบเม็ด (Granular)

Powder Zinc

Granular Zinc

โดยรูปแบบเม็ดซึ่งเปนผลิตภัณฑลาสุด พัฒนาขึ้นเพื่อชวยลดปญหาการฟุง กระจาย ลดการสิ้นเปลืองผงสังกะสีออกไซดและสามารถนําไปใชไดกับทุก อุตสาหกรรม

UV_THai.indd 18

โรงงานสามารถรองรับกําลังการผลิตสูงสุดถึง 5,000 ตันตอเดือน โดยเลือกใช เครื่องจักรที่มีคุณภาพสูง ตลอดกระบวนการผลิตเพื่อใหมีประสิทธิภาพการผลิต สูงสุด และลดตนทุนการผลิตไดเปนอยางดี มีการนําพลังงานสะอาดจากกาซ ธรรมชาติมาใชในกระบวนการผลิต นอกจากลดการสิ้นเปลืองพลังงานแลว ยัง สงผลใหผงสังกะสีออกไซดมีคุณภาพสมํ่าเสมอ และควบคุมขนาดอนุภาคไดเปน อยางดี อีกทั้งยังลดการปลอยคารบอนไดออกไซด พรอมทั้งชวยลดมลภาวะเปน พิษตอสิ่งแวดลอม โดยการจัดสงกาซธรรมชาตินี้ ไดรับความรวมมือจาก บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ซึ่งมีมาตรฐานการผลิตที่สากลยอมรับ

บริษัทฯ ไดรับการรับรองมาตรฐานคุณภาพมาตรฐานสากล ISO 9001 เวอรชั่น 2008 (ISO 9001:2008) จาก TUV NORD Cert Certification และในระดับ สากลไดปฏิบัติตามกฎระเบียบของกฎหมาย REACH ใน EU รวมทั้งไดจําแนก สารเคมี และติดฉลากตามระบบ GHS (Global Harmonized System) ที่ใช กันทั่วโลก อีกทั้งยังไดรับใบรับรองมาตรฐาน GMP และ HACCP เปนราย แรกในประเทศไทย

26/3/2555 22:17:01


ความรับผิดชอบตอสังคม

19

ความรับผิดชอบตอสังคม

บริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ ดําเนินธุรกิจภายใตความใสใจตอสิ่งแวดลอม ชุมชน และสังคมตลอดมา บริษัทฯ มี วิ สั ย ทั ศ น ที่ ชั ด เจนในการกํ า หนดให ก ารดํ า เนิ น กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมเป น อี ก หนึ่ ง นโยบายหลั ก ควบคู  ไ ปกั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ภายใต ห ลั ก คุณธรรม จริยธรรม อันเปนหลักการสําคัญที่บริษัทฯไดปลูกฝงใหกับพนักงานภายในองคกร บริษัทฯ จึงไดดําเนินโครงการเพื่อสาธารณะ ประโยชนตางๆ อยางเปนรูปธรรมและตอเนื่อง โดยมุงเนนใหพนักงานมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ อยางสมํ่าเสมอ เพื่อสงผลตอการสราง ทัศนคติอันดี รวมถึงปลูกฝงจิตสาธารณะในการสรางประโยชน และการรวมรับผิดชอบตอสังคมในดานตางๆ อันเปนสวนหนึ่งในการ รักษาดุลยภาพทั้งทางดานเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และสังคม ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนา และสรางผลประโยชนใหแกประเทศไทยอยางยั่งยืน

การสงเสริมดานการศึกษา ดวยตระหนักถึงความสําคัญของการศึกษาของเยาวชน บริษัทฯ จึงไดจัดกิจกรรมเพื่อรวม สนับสนุนดานการศึกษา โดยมีกิจกรรมอาทิเชน มอบทุนการศึกษาใหกับนักเรียนที่ยากจน โรงเรียนธัญบุรี อําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี และการมอบทุนการศึกษาใหกับบุตรของ พนักงาน ซึ่งเปนกิจกรรมที่จัดขึ้นอยางตอเนื่องเปนประจําทุกป

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 19

26/3/2555 22:17:12


20

ความรับผิดชอบตอสังคม

การสนับสนุนสังคม บริษัทฯ มีความมุงมั่นที่จะมีสวนรวมในการ สร า งสรรค คุ ณ ภาพสั ง คมไทยให อ ยู  ร  ว ม กัน อยางมีความสุข จึงพรอมรวมสนับสนุน องคกร และชุมชนใกลเคียงเพื่อสงเสริมการ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี และตอยอดการชวย เหลือสังคมเมื่อเกิดวิกฤตภัย โดยมีกิจกรรม สําคัญๆ ในป 2554 อาทิ

1

บริ จ าคถุ ง ยั ง ชี พ เพื่ อ ช ว ยเหลื อ ผู  ประสบภัยน้ำทวมใหกับพนักงาน และ ประชาชน ที่ไดรับผลกระทบจาก มหาอุทกภัย บริเวณรังสิต

2

รวมกับคริสจักรไมตรีจิตร วงเวียน 22 บริจาคถุงยังชีพเพือ่ ชวยเหลือผูป ระสบภัย น้ำทวมใหกับประชาชนที่ไดรับผลกระทบจาก มหาอุทกภัย บริเวณศาลายา และทวีวัฒนา

3

ร ว มฟ  น ฟู - เยี ย วยาเยาวชนของชาติ จากมหาอุทกภัย ณ โรงเรียน บานแปง วิทยาคม อําเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี

UV_THai.indd 20

4 5 6 7 8

รวมสมทบเงินบริจาคสมทบโครงการ “ตลาดทุ น รวมใจ ช ว ยภั ย น้ ำ ท ว ม” เพื่อชวยเหลือผูประสบมหาอุทกภัย ร ว มสมทบเงิ น บริ จ าคเพื่ อ ช ว ยเหลื อ ผูประสบภัยแผนดินไหว และสึนามิ ที่ ประเทศญี่ปุน

ร ว มสมทบเงิน บริ จ าคเพื่ อ ช ว ยเหลื อ ผูประสบภัยน้ำทวม ณ ศูนยปฏิบัติการ ภัยพิบัติสภากาชาดไทย จัดกิจกรรมขุดลอกทอระบายนำ้ รองรับ ฤดู ฝ น บริ เ วณชุ ม ชนรอบโครงการ ยู ดีไลท แอท จตุจักร สเตชั่น

ทํ า โครงการชมชุ น น า อยู  ร ว มกั บ สํานักงานเขตสวนหลวง ดวยการมอบ เสื้ อ ให กั บ วิ น มอเตอร ไ ซด เพื่ อ ส ง เสริ ม ให ชุมชนนาอยู เปนระเบียบ สวยงาม

26/3/2555 22:17:15


ความรับผิดชอบตอสังคม

21

การสงเสริมสิ่งแวดลอมที่ดี ดวยตระหนักถึงความสําคัญของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ บริษัทฯ จึงไดทํากิจกรรม เสริมสรางการดูแลสิ่งแวดลอมและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีกิจกรรมอาทิเชน การ รณรงคแยกขยะภายในบริษัทฯ เพื่อนําขยะบางประเภทบริจาคใหกับองคกรที่มีความตองการ

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 21

26/3/2555 22:17:25


22

j { ¡m j

j { ¡mm j § j { ¡m j ¢ ¥ ¥q × q² j } ( s ) ¦ ¨ ¥m ©}Ô~ j pm ² m v¨ ¥ ­ pk pj { j ¡mm k p §} ~ } q p § ¡ j { j ¡mm Ó p¥ Û ¦ ~Ó ¥ ­ p §} q | pm q² ¥ Û ¦ p¦ j Ìj q² ˨ Ô¦jÓ jp ¥ ­ ¥ ­ ¢ j m ¢Ô m ¦ { j ¨ j x ~ p ¨ Ô¦jÓ ¡m j ¨ pm×j t ­p q ² © ¢Ój { m¡| k p ~ |zצ j k p ¥ ­ m p ¨q Ó p ¢p ¡}¨ Ô¦jÓ ¢jmÔ ®p ®j { j ¡mm k p q ¥ ­ ~ ®p¦~Ó j ¢~ y ¥ ¥ ­ jp ¥kÔ ² p j ¢~ ~Ó p« ­¥j ­ kÔ pj Ô ­k p jp ¨ j x ~ p ¨ pm×j q p j ¢~ ~ ¦ j Ìj q² Ë ®p j ¢~ j~ ¦ §m pj ¥ ¥ ­ Ó jp ¨ Ô m~ j ² p ¥s p ¡j m } jj t ­p¥ Û ¨q jk pj }² ¥ ¡ j q ¨~Ôj ¦kÓpk k p§ j Ùqq¡ j ¢~ q¡} j m m } Ô p m×

j ¢~ j Ô pm¡| s ~ ­} ¨ j ² p ¨ pm×j ¢Óm ¥ Û ¥

j ¢~ j vs ¦ § s × j¥ Ô ¥p ©}Ô ~ ¡mm ² j qj ­©}Ô j p ¡

UV_THai.indd 22 16 22-23_new1.indd

26/3/2555 27/3/255522:17:29 1:41:53

UV_TH


j { ¡m j

23

j ¢~ j ~ q ¥ m¡| ¨ pm×j (Internal Quality Audit) GMP & HACCP

j ¢~ Power Point k ® ® y

j ¢~ j m ¥ ­ p (Risk Management)

j ¢~ kÔ m ¢Ô¥j ­ j j Óp¥ j p ¡

j ¢~ ¥ x ~ ¥ ­ p j m m¡ ¡k j | Ó ¡mm ¦ ¥ j ~Ó p« ­¥j ­ kÔ p

j ¢~ j p ¦ j ¥ Û ­¥ ® p ­} (Coaching & Mentoring Skills)

j ¢~ j j ¥ Û Ô p ­}

j ¢~ ¥ m mj m p¨q ¢jmÔ ¦ j ¨ Ô j ¦ ¥j m } p

+:* :!#+8 Q:#ā 2554

22:17:29

UV_THai.indd 23 17 22-23_new1.indd

26/3/2555 27/3/255522:17:30 1:42:29


24

การพัฒนาบุคลากร หลักสูตรการสรางคุณภาพชีวิตที่ดีในการ ทํางานภายในองคกรสูความเปนเลิศ

U & We Fun Run 2011 กิ จ กรรมสํ า หรั บ พนั ก งานทุ ก คน เพื่ อ ให พนักงานไดออกกําลังกายรวมกันดวยการวิ่ง มีการแขงขันและเกมสตางๆ เพื่อเพิ่มความ สนุกสนานและความทาทายในการวิ่งมากขึ้น โดยจัดขึน้ ทุก 2 เดือน ณ สวนลุมพินี กรุงเทพฯ

โยคะเพื่อสุขภาพ กิ จ กรรมสํ า หรั บ พนั ก งานที่ รั ก สุ ข ภาพ โดย เชิญอาจารยผูเชี่ยวชาญทางดานโยคะ มา ใหความรูแกพนักงานถึงที่ทํางาน ซึ่งจะจัด เดือนละ 2 ครั้ง

UV_THai.indd 24

26/3/2555 22:17:31


25

UV_THai.indd 25

70.24% 0.37% 0.33% 0.00% 0.03% 0.00% 0.00% 0.19% 71.16% 25.01% 2.20% 27.21% 0.27% 27.48% 1.21% 0.06% 0.06% 0.04% 1.36% 100.00%

2,544.87 13.33 12.04 0.00 0.98 0.00 0.00 6.97 2,578.19 906.33 79.70 986.02 9.84 995.87 43.74 2.05 2.05 1.43 49.27 3,623.33

บจก. แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท (60%) บจก. เลิศรัฐการ (100%) บจก. ยูนิเวนเจอร แอสเซท แมเนจเมนท (100%) รายไดจากคาเชาและกําไรจากการขายทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณใหเชา บจก. แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท (60%) / บจก. เลิศรัฐการ (100%) / ดอกเบี้ยรับ บจก. ยูนิเวนเจอร แอสเซท แมเนจเมนท (100%) / เงินปนผลรับ กองทุนรวมกินรีพร็อพเพอรตี้ (99%) กําไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนระยะยาว รายไดอื่น รวมรายไดจากธุรกิจการลงทุนและพัฒนาอสังริมทรัพย ธุรกิจผงสังกะสีออกไซดและเคมีภัณฑ รายไดจากการขาย - ในประเทศ รายไดจากการขาย – ตางประเทศ รวมรายไดจากการขาย บจก. ไทย-ไลซาท (100%) รายไดอื่น รวมรายไดจากธุรกิจผงสังกะสีออกไซดและเคมีภัณฑ ธุรกิจอื่น รายไดจากการขายเครือ่ งบันทึกเวลา และอุปกรณ ควบคุมระบบจอดรถ บมจ. ยูนิเวนเจอร/ บจก. ฟอรเวิรด ซิสเต็ม (100%)/ บจก. เอสโก เวนเจอร (79%)/ บจก. ยูนิเวนเจอร คอนซัลติ้ง (100%) รายไดจากธุรกิจที่ปรึกษาดานประหยัดพลังงาน ดอกเบี้ยรับ รายไดอื่น รวมรายไดจากธุรกิจอื่น รายไดรวม

%

ลานบาท

ดําเนินการโดย (% การถือหุนของบริษัทฯ)

กลุมธุรกิจ ธุรกิจการลงทุนและพัฒนาอสังหาริมทรัพย รายไดจากการขายหองชุดพักอาศัย รายไดจากคาเชาอาคารสํานักงาน รายไดจากคาเชาอพารทเมนท

2554

โครงสรางรายไดรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอย ตั้งแตป 2552 ถึงป 2554 สามารถจําแนกตามกลุมธุรกิจไดดังตอไปนี้

โครงสรางรายได

1.58 2.24 0.11 44.27 2,287.77

40.34

1,001.78 79.79 1,081.57 8.77 1,090.34

1,139.36 0.00 6.86 0.00 0.99 0.00 0.00 5.95 1,153.16

ลานบาท

2553

0.07% 0.10% 0.00% 1.94% 100.00%

1.76%

43.79% 3.49% 47.28% 0.38% 47.66%

49.80% 0.00% 0.30% 0.00% 0.04% 0.00% 0.00% 0.26% 50.41%

%

0.00 13.05 6.45 61.71 1,361.00

42.21

760.94 48.53 809.47 4.33 813.80

463.09 0.00 0.00 0.00 1.17 5.81 11.44 3.98 485.49

ลานบาท

2552

0.00% 0.96% 0.47% 4.53% 100.00%

3.10%

55.91% 3.57% 59.48% 0.32% 59.79%

34.03% 0.00% 0.00% 0.00% 0.09% 0.43% 0.84% 0.29% 35.67%

%

25

รายงานประจําป 2554

26/3/2555 22:17:32


26

วิเคราะหผลการดําเนินงานและฐานะการเงิน

วิเคราะหผลการดําเนินงานและฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน-ของบริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หนวย: ลานบาท ขอมูลทางการเงินที่สําคัญ

รายไดขาย บริการและคาเชา ตนทุนขาย บริการและใหเชา กําไรขั้นตน คาใชจายในการขายและบริหาร กําไรจากการดําเนินงาน รายไดอื่น กําไรกอนหักดอกเบี้ยจายและภาษีเงินได ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กําไรสุทธิ คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี กําไรกอนดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี สวนของกําไรที่เปนของ ผูถือหุนของบริษัทฯ สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม

บริ ษั ท ฯ มี ร ายได สํ า หรั บ ป 2554 จํ า นวน 3,602.0 ลานบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 1,332.3 ลานบาท คิดเปนอัตราการเติบโต รอยละ 58.7 จากป 2553 เนื่องจากรายไดจากธุรกิจ อสังหาริมทรัพยเพื่อที่อยูอาศัย เพิ่มขึ้น

ป 2554 3,602.0 2,802.1 799.9 467.7 332.2 21.3 353.5 31.8 114.5 206.1 92.2 445.7

ป 2553 2,269.7 1,860.0 409.7 287.6 122.2 18.0 140.2 2.7 10.5 112.0 17.2 157.4

63.1 143.0

56.7 55.3

ร อ ยละ 124.6 ถึ ง แม ว  า รายได จ ากธุ ร กิ จ สังกะสีออกไซด จะลดลงประมาณรอยละ 8.8 เนื่ อ งจากผลกระทบของอุ ท กภั ย ใน ประเทศไทย และมีกําไรขั้นตนจํานวน 799.9 ลานบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 390.2 ลานบาท

เพิ่มขึ้น (ลดลง) 1.332.3 942.1 390.2 180.1 210.0 3.3 213.3 29.1 104.0 94.1 75.0 288.3 6.4 87.7

1) ธุรกิจอสังหาริมทรัพย 2) ธุรกิจผลิตสังกะสีออกไซด 3) อื่นๆ รวม

UV_THai.indd 26

ป 2554 2,575.1 986.0 40.9 3,602.0

11.3 158.6

หรือ รอยละ 95.2 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นใน อัตรากําไรขั้นตนของธุรกิจอสังหาริมทรัพย เพื่อที่อยูอาศัย รอยละ 161.7 ถึงแมวากําไร ขั้นตนของธุ ร กิ จ สั ง กะสี อ  อ กไซด จะลดลง รอยละ 50.9

รายไดหลักของบริษัทฯมาจาก 2 ธุรกิจหลัก ไดแก ประเภทรายได

รอยละ 58.7 50.7 95.2 62.6 171.8 18.3 152.1 1,077.8 990.5 84.0 436.1 183.2

หนวย: ลานบาท รอยละ 71.5 27.4 1.1 100.0

ป 2553 1,146.2 1,081.6 41.9 2,269.7

รอยละ 50.5 47.7 1.8 100.0

เพิ่มขึ้น (ลดลง) 1,428.9 (95.6) (1.0) 1,332.3

รอยละ 124.6 (8.8) (2.4) 58.7

26/3/2555 22:17:33


วิเคราะหผลการดําเนินงานและฐานะการเงิน

รายไดและกําไรขั้นตนธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย • อสังหาริมทรัพยประเภท คอนโดมิเนียม รายไดจากขายหองชุด จํานวน 2,545 ลานบาท เพิ่มขึ้นอยางมีสาระสําคัญ จํานวน 1,405.5 ลานบาท โดยในป 2554 บริษัทฯ มีการรับรู รายไดเพิ่มขึ้น 614 ยูนิต จากป 2553 โดย มาจากการรั บ รู  ร ายได โ ครงการ ยู ดีไลท แอท หวยขวาง สเตชั่น จํานวน 584 ยูนิต และโครงการ ยู ดีไลท แอท จตุจกั ร สเตชัน่ 652 ยูนิต กําไรขั้นตนจํานวน 761.5 ลานบาท เพิ่มขึ้น จากป 2553 จํานวน 470.3 ลานบาทเปนผล จากการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสงผล ใหมีการสรางอาคารคอนโดมิเนียมเสร็จเร็ว กอนกําหนด • อสังหาริมทรัพยประเภท อาคารสํานักงาน ในป 2554 เปนปแรกทีบ่ ริษทั ฯ มีรายไดจากให เชาอาคารสํานักงานปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ซึ่งเปนอาคารสํานักงานเกรดเอพรอมโรงแรม สู ง 34 ชั้ น ก อ สร า งแล ว เสร็ จ ในเดื อ น กันยายน 2554 และมีผูเชาประมาณรอยละ 30 มีการรับรูรายได 13.3 ลานบาท ธุรกิจผลิตสังกะสีออกไซด ในป 2554 บริ ษั ท ฯ มี ย อดขายผงสั ง กะสี ออกไซดจาํ นวน 13,818 ตันลดลงจากป 2553 จํานวน 729 ตัน หรือรอยละ 5.0 จากป 2553 ทีม่ ี ยอดขาย 14,546 ตัน โดยมีสาเหตุหลักจาก วิกฤติอุทกภัยในชวงไตรมาส 4/2554 สงผล ให บริษัทฯ ไมสามารถผลิตสินคาสินคาได ชั่วคราว มีผลให รายไดในป 2554 ลดลง 95.6 ลานบาท จากป 2553 ทีม่ รี ายได 1,081.6 ลานบาท ณ ปจจุบัน บริษัทฯ สามารถผลิต สินคาไดตามปกติ

กําไรขั้นตนจํานวน 47.4 ลานบาทคิดเปน รอยละ 4.8 ของรายได ลดลงจากป 2553 จํานวน 49.3 ลานบาท โดยในป 2553 บริษัทฯ มีกําไรขั้นตน จํานวน 96.7 ลานบาท คิดเปน รอยละ 8.9 ของรายได บริษัทฯ มีกําไรขั้นตน ลดลงไปในทิศทางเดียวกับรายได ประกอบ กับมีการสํารองการดอยคาของตนทุนสังกะสี แทงเหตุจากราคาสังกะสีแทงในตลาดโลกมี ความผันผวนมากในป 2554 คาใชจายในการขาย/บริการและการบริหาร จํานวน 467.7 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 180.1 ลานบาท จากป 2553 เปนผลมาจากคาใชจายในการ โอนกรรมสิทธิ์ของหองชุดซึ่งสอดคลองกับ การรั บ รู  ร ายได ข องธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ประเภทที่อยูอาศัยที่เพิ่มขึ้น และคาใชจาย การตลาดเพื่ อ สนั บ สนุ น คอนโดมิ เ นี ย ม โครงการใหมซึ่งเปดตัวในป 2554 ที่ผานมา จํานวน 3 โครงการ คือ โครงการ ยู ดีไลท2 แอท ประชาชื่นสเตชั่น จํานวน 645 ยูนิต โครงการ ยู ดี ไ ลท 3 ประชาชื่ น -บางซื่ อ จํานวน 783 ยูนิต และ โครงการ ยู ดีไลท เรสซิเดนซ พัฒนาการ-ทองหลอ จํานวน 965 ยูนิต นอกจากนี้บริษัทฯ ยังมีการตั้งสํารอง ค า ใช จ  า ยของความเสี ย หายจากอุ ท กภั ย น้ำทวมจํานวน 13.8 ลานบาทในป 2554

27

ดอกเบี้ยจาย จํานวน 31.8 ลานบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 29.1 ลานบาท หรือรอยละ 1,077.8 เนื่องจากมี การเบิ ก เงิ น กู  ข องโครงการปาร ค เวนเชอร อีโคเพล็กซ ภาษีเงินได จํานวน 114.5 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จํานวน 104.0 ลานบาท หรือรอยละ 990.5 เนื่องจากกําไรที่ สูงขึ้นของธุรกิจอสังหาริมทรัพย กําไรสุทธิ จํานวน 206.1 ลานบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 94.1 ลานบาท หรือ รอยละ 84.0 เนื่องจากการเพิ่ม ขึ้นในกําไรสุทธิของธุรกิจอสังหาริมทรัพยเพื่อ ที่อยูอาศัย รอยละ 153.7 ถึงแมวากําไรสุทธิ ของธุรกิจสังกะสีออ กไซด จะลดลงรอยละ 131.6 กําไรที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ จํานวน 63.1 ลานบาท (หรือคิดเปน 0.082 บาทตอหุน) เพิ่มขึ้นเปนจํานวน 6.4 ลานบาท จากป 2553 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 11.3 จาก จํานวน 56.7 ลานบาท (หรือคิดเปน 0.074 บาทตอหุน)

กําไรสุทธิกอนดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี จํานวน 445.7 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จํานวน 288.3 ลานบาท หรือ รอยละ 183.2 เนื่องจากการ เพิ่มขึ้นในกําไรสุทธิกอนดอกเบี้ยจาย ภาษี เงินได คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี ของธุรกิจอสังหาริมทรัพยเพือ่ ทีอ่ ยูอ าศัย รอยละ 248 ถึงแมวากําไรสุทธิกอนดอกเบี้ยจาย ภาษี เงินได คาเสื่อมราคา และคาใชจายตัดบัญชี ของธุรกิจสังกะสีออ กไซด จะลดลงรอยละ 83.8

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 27

26/3/2555 22:17:34


28

วิเคราะหผลการดําเนินงานและฐานะการเงิน

หนวย: ลานบาท งบการเงินรวม(เฉพาะรายการสําคัญ)

31 ธันวาคม 2554 สินทรัพย โครงการอสังหาริมทรัพยระหวางการพัฒนา สินทรัพยหมุนเวียน อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ-สุทธิ รวมสินทรัพย หนี้สิน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูระยะยาวที่กําหนดชําระภายใน 1 ป คาเชารับลวงหนาที่เกี่ยวของกันที่กําหนดรับรูภายใน 1 ป หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน คาเชารับลวงหนา หนี้สินระยะยาว หนี้สินรวม สวนผูถือหุนบริษัท สวนผูถือหุนสวนนอย รวมผูถือหุน

สินทรัพย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพยมีมูลคา รวมทั้งสิ้น 6,872.0 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก สิ้นป 2553 จํานวน 1,906.4 ลานบาท หรือ คิดเปนรอยละ 38.4 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก • สินทรัพยหมุนเวียนเพิม่ ขึน้ 1,449.8 ลานบาท หรือรอยละ 59.4 ซึ่งสวนใหญเกิดจาก โครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ร ะหว า งการ พัฒนาซึ่งเปนการกอสรางคอนโดมิเนียม เพิ่มขึ้น 1,266.2 ลานบาท นอกจากนี้ สิ น ทรั พ ย ห มุน เวี ย นอื่น เพิ่ ม ขึ้น 103.9 ลานบาท

UV_THai.indd 28

31 ธันวาคม 2553

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

รอยละ

2,714.4 3,891.4 2,078.5 545.0 6,872.0

1,448.2 2,441.6 2,079.5 116.8 4,965.6

1,266.2 1,449.8 1,871.0 428.2 1,906.4

87.4 59.4 (0.1) 366.6 38.4

357.0 721.6 886.7 2,609.9 1,429.5 453.3 2,029.5 4,639.4 1,812.1 420.6 2,232.6

42.8 704.5 1,591.7 1,250.0 1,292.7 2,884.3 1,799.2 282.1 2,081.3

314.2 17.1 886.7 1,018.2 1,429.5 (796.7) 736.8 1,755.1 12.9 138.5 151.3

734 2.4 100.0 64.0 100 (63.7) 57.0 60.9 0.7 49.1 7.3

• ที่ดิน อาคารและอุปกรณเพิ่มขึ้น 428.2 ลานบาท หรือรอยละ 366.6 สวนใหญ เป น ผลมาจากโรงงานผลิ ต ผงสั ง กะสี ออกไซด แ ห ง ใหม ที่ ส วนอุ ต สาหกรรม โรจนะ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา จํานวน 200.0 ลานบาท และทรัพยสิน ในอาคารปาร ค เวนเชอร อี โ คเพล็ ก ซ ทีบ่ ริษทั ถือครอง (Property Plant and Equipment : PPE) จํานวน 210.0 ลานบาท

หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 หนี้สินรวมมี จํานวน 4,639.4 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นป 2553 จํานวน 1,755.1 ลานบาท หรือรอยละ 60.9 โดยเป น การเพิ่ ม ขึ้ น ของหนี้ สิ น

หมุนเวียน 1,018.2 ลานบาท หรือรอยละ 64.0 สาเหตุหลักจากเงินกูระยะสั้น เพิ่มขึ้น 314.2 ล า นบาท และค า เช า ล ว งหน า จาก กิจการที่เกี่ยวของกันที่กําหนดรับรู เปนราย ไดภายใน 1 ป จํานวน 886.7 ลานบาท ซึ่งถูก แสดงเปนสวนของหนี้สินระยะยาวทั้งหมด ในปกอน เนื่องจากยังไมถึงกําหนดรับรูเปน รายไดภายใน 1 ป หนี้สินไมหมุนเวียนเพิ่มขึ้น 736.8 ลานบาท หรือรอยละ 57.0% จากสิ้นป 2553 เปนการ เพิ่ ม ขึ้ น ของเงิ น กู  ยื ม ระยะยาวจากสถาบั น การเงิน จํานวน 1,429.5 ลานบาท ซึง่ สวนใหญ จากการเบิ ก กู  ข องโครงการปาร ค เวนเชอร อีโคเพล็กซ ขณะเดียวกันในป 2554 มีการ รับเงินคาเชารับลวงหนาจาก บริษัท ทีซีซี

26/3/2555 22:17:35


วิเคราะหผลการดําเนินงานและฐานะการเงิน

ลั ก ซ ชู รี โฮเทลส แอนด รี ส อร ท จํ า กั ด อีกจํานวน 90.0 ลานบาท ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธั น วาคม 2554 มี ก ารรั บ ค า เช า ล ว งหน า แลวทั้งสิ้น 1,340.0 ลานบาท หรือเทากับ รอยละ 98.7 ของมูลคาสัญญาเชา ซึง่ คาเชารับ ลวงหนาจํานวน 886.7 ลานบาท ไดถูกแสดง เปนหนี้สินระยะสั้นในป 2554 เนื่องจากมี กําหนดรับรูเปนรายไดภายใน 1 ป สงผลให ยอดคาเชารับลวงหนาลดลง จํานวน 796.7 ลานบาท

สวนของผูถือหุน

สภาพคลอง

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สวนของผูถือหุน มีจํานวนรวม 2,232.6 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก สิ้นป 2553 จํานวน 151.3 ลานบาท หรือ เพิ่มขึ้นรอยละ 7.3 ซึ่งมาจากผลประกอบการ ป 2554 จํานวน 206.1 ลานบาท และการจาย เงินปนผลในป 2554 จํานวน 38.2 ลานบาท

สภาพคล อ งของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย อ ย สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีกระแส เงินสุทธิเพิ่มขึ้นจํานวน 56.7 ลานบาท โดย บริษัทฯ และบริษัทยอยมีเงินสดสุทธิตนงวด ที่ยกมาจากป 2553 จํานวน 180.4 ลานบาท เปนผลใหเงินสดสุทธิปลายงวดเทากับ 237.7 ลานบาท ทั้งนี้ รายละเอียดกระแสเงินสด แตละกิจกรรม มีดังนี้

สวนของผูถือหุนสวนนอยเพิ่มขึ้น 138.5 ลาน บาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 49.1 สวนใหญจาก กําไรสุทธิจากผลประกอบการประจําป 2554 ของบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด

กระแสเงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน - กอนการเปลี่ยนแปลงสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน กระแสเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้นระหวางป-สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้นตนป-สุทธิ ผลกระทบจากจากอัตราแลกเปลี่ยน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้นสิ้นป-สุทธิ

กระแสเงินสดไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน ก อ นการเปลี่ ย นแปลงสิ น ทรั พ ย แ ละหนี้ สิ น ดําเนินงาน จํานวน 443.1 ลานบาท เปนกระแส เงินสดที่ไดจากการดําเนินงานสําหรับป 2554 อยางแทจริง ซึง่ มาจากกําไรสุทธิสาํ หรับป และ ปรับปรุงรายการที่ไมใชเงินสดจากคาเสื่อม ราคาและรายการตัดบัญชี กระแสเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมดําเนินงาน จํานวน 1,206.3 ลานบาท มาจากกระแส เงิ น สดที่ ไ ด ม าจากกิ จ กรรมดํ า เนิ น งาน

29

ปรับปรุงดวยการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย และหนี้สินดําเนินงาน ซึ่งรายการสําคัญมา จากการใช ไ ปในโครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ระหวางการพัฒนา จํานวน 1,481.0 ลานบาท ซึ่งถือเปนสินทรัพยดําเนินงาน ซึ่งแสดงเปน สินทรัพยหมุนเวียน กระแสเงิ น สดสุ ท ธิ ใ ช ไ ปในกิ จ กรรมลงทุ น จํานวน 432.3 ลานบาท สวนใหญเปนการ ลงทุนในสินทรัพยถาวรของบริษัทฯ

จํานวน (ลานบาท) 443.1 (1,206.3) (432.3) 1,695.5 56.7 180.4 0.6 237.7

กระแสเงิ น สดสุ ท ธิ ไ ด ม าจากกิ จ กรรมจั ด หาเงิน จํานวน 1,695.5 ลานบาท สวนใหญ เป น เงิ น กู  ยื ม จากธนาคารเพื่ อ การลงทุ น ใน โครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ป ระเภทอาคาร สํานักงาน โดยรวม บริษัทและบริษัทยอยมีฐานะการเงิน ที่แข็งแกรง ทั้งในสวนสภาพคลอง อัตราหนี้ สินตอสวนผูถือหุน เเละอัตราผลตอบแทน ผูถือหุน

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 29

26/3/2555 22:17:36


30

ปจจัยความเสี่ยง

ปจจัยความเสี่ยง ผลกระทบจากธุรกิจการ พัฒนาในอสังหาริมทรัพย:

1

ความเสี่ยงจากปญหาดานการเมือง และภาวะเศรษฐกิจ

ป 2554 ยังคงเปนปที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้ง ด า นการเมื อ งและความผั น ผวนของภาวะ เศรษฐกิ จ ภายในประเทศค อ นข า งสู ง โดย ปจจัยความเสี่ยงที่สําคัญและสงผลกระทบ ต อ ตลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ได แ ก ความ ตอเนื่องในการดําเนินนโยบายดานเศรษฐกิจ จากภาครั ฐ เนื่ อ งจากมี ก ารเลื อ กตั้ ง และ เปลี่ยนแปลงรัฐบาลใหมในชวงกลางป 2554 โดยมีการออกนโยบายดานเศรษฐกิจที่สําคัญ เชน การขึ้นคาแรงขั้นต่ำ การปลอยกูและ ลดภาษีบานหลังแรก การลดภาษีนิติบุคคล รวมถึ ง การบริ ห ารจั ด การเงิ น เฟ อ และหนี้ สาธารณะ เปนตน บริษัทฯ ไดมีการติดตาม และประเมิ น ผลกระทบที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จาก นโยบายดังกลาวอยางตอเนื่อง และไดมีการ ปรับตัวเพื่อใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง โดยไมใหกระทบตอผลการดําเนินงานของ บริษัทฯ ในดานภาวะเศรษฐกิจชวงไตรมาส 1 ป 2554 มี ข ยายตั ว ของผลิ ต ภั ณ ฑ ม วลรวมภายใน ประเทศ (GDP) ประมาณรอยละ 3 ซึ่งลด ลงเล็กนอยจากรอยละ 3.8 ในไตรมาสที่ 4 ของป 2553 เนื่องจากการใชจายเพื่อการ อุปโภคและบริโภคของครัวเรือนและรัฐบาล ลดลง อัตราดอกเบี้ยเชิงนโยบายของไทยมี การปรับตัวเพิ่มขึ้น รวมถึงการขึ้นราคาวัสดุ กอสรางไดสงผลใหตลาดอสังหาริมทรัพยมี อัตราการขยายตัวที่ลดลงเมื่อเทียบกับชวง เดียวกันของปที่ผานมา โดยเฉพาะในสวน ของการซื้ อ อาคารชุ ด ที่ ช ะลอลงหลั ง จากมี อัตราการเติบโตสูงมากในป 2553 ในสวน ของราคาที่อยูอาศัยใหมก็มีการปรับตัวเพิ่ม ขึ้นตามราคาที่ดิน คาแรง และวัสดุกอสราง ชวงครึ่งปหลังของป 2554 กรุงเทพมหานคร ได ป ระสบกั บ ป ญ หาภาวะอุ ท กภั ย ครั้ ง ร า ยแรง ธุ ร กิ จ ส ว นใหญ ไ ด รั บ ผลกระทบ โดยตรงจากภาวะน้ ำ ท ว ม มี ป  ญ หาการ

UV_THai.indd 30

ขาดแคลนวัตถุดิบและปญหาดานการขนสง เปนอยางมาก ตลาดอสังหาริมทรัพยก็ไดรับ ผลกระทบโดยตรงเชนกัน โดยเฉพาะในพื้นที่ ที่ประสบกับปญหาอุทกภัย ผูบริโภคเลื่อนการ ตัดสินใจซื้อ ขณะที่ผูประกอบการก็ชะลอการ เปดตัวโครงการใหม อยางไรก็ตาม ในพื้นที่ ที่ไมไดประสบกับปญหาอุทกภัยยังคงมีการ ขยายตัวไดอยางตอเนื่อง และมีการซื้อเพื่อ อยูอาศัยจริง โดยเฉพาะอาคารชุดที่อยูในตัว เมืองและไมถูกน้ำทวม สําหรับธุรกิจการพัฒนาอสังหาริมทรัพยของ บริษัทฯ ในสวนของอาคารชุ ดที่ ลงทุ นและ พัฒนาโดย บริษทั แกรนด ยูนติ ดี้ เิ วลล็อปเมนท จํ า กั ด ไม ไ ด ป ระสบกั บ ป ญ หาจากอุ ท กภั ย เนื่ อ งจากตั้ ง อยู  ใ นพื้ น ที่ ชั้ น ในของกรุ ง เทพ มหานคร นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง ได มี ก าร จั ด เตรี ย มมาตรการป อ งกั น อุ ท กภั ย ที่ อ าจ เกิด ขึ้ น ไว ล  ว งหน า ทํ า ให มี ลู ก คา สว นใหญ ที่ ป ระสบกั บ อุ ท กภั ย เข า มาโอนห อ งชุ ด ใน โครงการที่ ส ร า งเสร็ จ แล ว เป น จํ า นวนมาก โดยในช ว งไตรมาส 3 และ ไตรมาส 4 โครงการ ยู ดีไลท แอท หวยขวาง สเตชั่น และโครงการ ยู ดีไลท แอท จตุจักร สเตชั่น มีลูกคาเขามาโอนหองชุดจํานวน 743 หอง ชุ ด คิ ด เป น มู ล ค า รั บ รู  ร ายได จํ า นวนเงิ น 1,537 บาท

ปที่ผานมา เนื่องจากป 2553 การขยายตัว ของตลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย อ ยู  ใ นอั ต ราสู ง มี โ ครงการเป ด ใหม โ ดยเฉพาะอาคารชุ ด คอนโดมิเนียมเปนจํานวนมาก ทั้งในทําเล แนวรถไฟฟาเดิมและสวนตอขยาย แตใน ชวงตนป 2554 อัตราการขยายตัวและเปด โครงการใหมเริ่มชะลอตัวลง ซึ่งมีสาเหตุมา จากภาวะเงินเฟอและอัตราดอกเบี้ยธนาคาร อยูในชวงขาขึ้น ประกอบกับราคาของวัสดุ กอสรางและคาแรงสูงขึ้นอยางตอเนื่อง จน ชวงกลางป 2554 มีการเลือกตั้งและเปลี่ยน รั ฐ บาลทํ า ให ผู  ป ระกอบการบางรายยั ง คง ชะลอการตั ดสิ นใจลงทุนและเปดโครงการ เพื่อรอความชัดเจนของนโยบายกระตุนภาค อสังหาริมทรัพยจากรัฐบาลใหม และในชวง ปลายปก็เกิดปญหาอุทกภัยขึ้น ทําใหอัตรา การขยายตัวและเปดโครงการใหมตลอดทั้ง ป 2554 ไมไดมีการขยายตัวมากนัก อยางไรก็ตาม ในป 2554 มีโครงการอาคาร ชุ ด คอนโดมิ เ นี ย มที่ ส ร า งเสร็ จ มากที่ สุ ด นั บ ตั้งแตวิกฤติเศรษฐกิจป 2540 โดยมีจํานวน หองชุดที่เสร็จแลวมากกวา 300,000 ยูนิต ซึ่งเปนผลมาจากการขยายตัวของโครงการ คอนโดมิเนียมทีเ่ ปดใหมในชวง 2 ป กอนหนานี้ สวนการแขงขันของโครงการคอนโดมิเนียมที่ เปดใหมสวนใหญยังเปนโครงการที่ตั้งอยูใน ยานกลางใจเมืองและใกลสถานีรถไฟฟา โดย หองชุดสวนใหญยังคงเปนสตูดิโอ หรือขนาด 1 หองนอนที่มีพื้นที่ใชสอยตั้งแต 22 ตาราง เมตร ถึง 35 ตารางเมตร และมีราคาเฉลี่ย สํ า หรั บ คอนโดมิ เ นี ย มที่ อ ยู  ใ กล ห รื อ ติ ด กั บ สถานีรถไฟฟาและยานกลางใจเมืองประมาณ 2.5 - 5 ลานบาทตอยูนิต สวนคอนโดมิเนียม ที่ อ ยู  บ ริ เ วณรอบนอกหรื อ ไกลออกไปจะมี ราคาเฉลี่ยประมาณ 1 - 2 ลานบาทตอยูนิต

ในสวน “โครงการปารค เวนเชอร อีโคเพล็กซ” ซึ่งเปนอาคารสํานักงาน และโรงแรมสูงรวม 34 ชั้น ตั้งอยูบนหัวมุมสี่แยกถนนเพลินจิต วิทยุ ลงทุนและพัฒนาโดย บริษัท เลิศรัฐการ จํากัด ไดกอสรางในสวนของสํานักงานแลว เสร็จในเดือนกันยายน 2554 ตามแผนงาน ที่ ว างไว โดยไม ไ ด รั บ ผลกระทบใดๆ จาก ปญหาอุทกภัยหรือปจจัยเสี่ยงดานการเมือง และเศรษฐกิ จ แต อ ย า งใด โดยเริ่ ม มี ผู  เ ช า เขาตกแตงพื้นที่และเริ่มเชาตั้งแตตนเดือน ในสวนของ บริษทั แกรนด ยูนติ ดี้ เิ วลล็อปเมนท กั น ยายน 2554 และในส ว นของโรงแรม จํากัด ไดมีการเปดโครงการใหมในป 2554 คาดวาจะแลวเสร็จในเดือนเมษายน 2555 จํ า นวน 3 โครงการ มู ล ค า รวมประมาณ 4,072 ลานบาท ประกอบดวยโครงการ ยู ดีไลท2 แอท บางซื่อสเตชั่น ซึ่งเปดการขายตั้งแต ความเสี่ยงจาก ชวงตนไตรมาส 2 และมียอดขายในชวงเดือน สภาพการแขงขัน แรกสูงมากกวารอยละ 80 สวนโครงการ ยู ดีไลท ในป 2554 ภาวะธุรกิจภาคอสังหาริมทรัพย เรสซิเดนส พัฒนาการ-ทองหลอ และ ยู ดีไลท 3 ประชาชื่ น -บางซื่ อ ได เ ริ่ ม เป ด ขายใน มีการขยายตัวในอัตราที่ลดลงเมื่อเทียบกับ

2

26/3/2555 22:17:36


ปจจัยความเสี่ยง

ช ว งไตรมาส 4 ซึ่ ง ยั ง คงมี ลู ก ค า ให ค วาม สนใจเขามาซื้อหองชุดอยางตอเนื่องถึงแม จะยั ง คงอยู  ใ นช ว งที่ มี ป  ญ หาจากอุ ท กภั ย นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง มี โ ครงการที่ ส ร า ง เสร็ จ และโอนให แ ก ลู ก ค า ในช ว งป 2554 จํานวน 2 โครงการ ไดแก ยู ดีไลท แอท ห ว ยขวาง สเตชั่ น และ ยู ดี ไ ลท แอท จตุจกั ร สเตชัน่ ทําใหบริษทั ฯ มียอดรับรูร ายได เปนจํานวนเงินประมาณ 2,545 ลานบาท สํ า หรั บ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ป ระเภทอาคาร สํานักงาน ในป 2554 มีโครงการที่เปดใหม ไมมากนัก โดยในสวนของบริษัท เลิศรัฐการ จํ า กั ด ได เ ป ด ให เ ช า พื้ น ที่ สํ า นั ก งานใน โครงการปารค เวนเชอร อีโคเพล็กซ ตั้งแต เดือนกันยายน 2554 และมีลูกคาใหความ สนใจเปนอยางมาก เนื่องจาก อาคารตั้งอยู ในยานธุรกิจชั้นใน (CBD) มีทางเดินเชื่อม จากรถไฟฟา BTS สถานีเพลินจิตได และ เปนอาคารที่เนนการอนุรักษสิ่งแวดลอมและ การประหยั ด พลั ง งาน ซึ่ ง ตอบสนองความ ตองการของลูกคาในปจจุบัน และสามารถ แขงขันในตลาดสํานักงานระยะยาวได โดย ในไตรมาส 4 มีผูเชาพื้นที่สวนสํานักงานแลว มากกวารอยละ 30 และมีผูเชาพื้นที่รานคา แลวรอยละ 100

3

ความเสี่ยงดาน ตนทุนการพัฒนาโครงการ

ในป 2554 มีภาวะอัตราเงินเฟอ และการ เพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ย ตลอดจนปญหา จากภาวะการเมือง เศรษฐกิจ และอุทกภัย ครั้งรายแรง มีทั้งการขาดแคลนวัตถุดิบและ มีปญหาดานการขนสง ทําใหตนทุนของวัสดุ กอสรางและแรงงานเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม ในการกอสรางอาคารปารค เวนเชอร อีโคเพล็กซ ซึ่งเปนโครงการขนาด ใหญของบริษัทฯ ไดมีการจัดซื้อจัดจางไปแลว และสามารถดําเนินการพัฒนาจนแลวเสร็จ ในเดือนกันยายน 2554 ตามแผนงานที่วาง ไว โดยที่ไมไดรับผลกระทบมากนัก ในสวน ของโครงการพัฒนาอาคารชุดคอนโดมิเนียม บริษัทฯ ไดมีการบริหารจัดการงานกอสราง อาคารรวมกับผูรับเหมาโครงการอยางใกล ชิดทั้งในสวนการออกแบบ และการเลือกใช วั ส ดุ เ พื่ อ ควบคุ ม ต น ทุ น ที่ มี แ นวโน ม เพิ่ ม ขึ้ น

และวางแผนเพือ่ ลดตนทุนหรือใหมผี ลกระทบ ตอโครงการใหนอยที่สุดได

4

ความเสี่ ย งจากการปล อ ยสิ น เชื่ อ จากสถาบันการเงิน

ปญหาจากภาวะเศรษฐกิจและอุทกภัยที่เกิด ขึ้นในรอบปที่ผานมา ยังคงทําใหสถาบันการ เงินเพิ่มความเขมงวดในการปลอยสินเชื่อทั้ง ประเภทสินเชื่อโครงการ (Pre-Finance) และ สินเชื่อบุคคล (Post–Finance) โดยเฉพาะใน ส ว นของผู  กู  เ พื่ อ ซื้ อ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ยั ง คง นโยบายของธนาคารแหงประเทศไทยในการ กําหนดอัตราสวนเงินใหสินเชื่อตอมูลคาหลัก ประกัน (LTV Ratio) อยางไรก็ตาม โครงการ อาคารชุดคอนโดมิเนียมของบริษัทฯ ไมได รับผลกระทบจากกรณีดังกลาว เนื่องจากมี การกํ า หนดเงิ น ดาวน แ ละเงิ น ผ อ นดาวน ที่ รอยละ 10 ของราคาขายอยูแ ลว นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังคงมีมาตรการในการประสานงาน กั บ สถาบั น การเงิ น ตั้ ง แต เ ริ่ ม เป ด จองห อ ง ชุด โดยมีการตรวจสอบเครดิตของลูกคาใน เบื้องตน เพื่อลดความเสี่ยงในการถูกปฏิเสธ วงเงินเมื่อถึงกําหนดโอนหองชุด ตลอดจนมี การประสานงานกับลูกคา และสถาบันการเงิน อย า งใกล ชิ ด ในช ว งการโอนห อ งชุ ด เพื่ อ ใหความชวยเหลือดานขอมูลที่เกี่ยวของจน ลู ก ค า ได รั บ การอนุ มั ติ สิ น เชื่ อ จากสถาบั น การเงิน ในสวนของสินเชื่อโครงการบริษัทฯ ยังเนนนโยบายการบริหารจัดการทางการเงิน โดยพยายามควบคุมอัตราสวนหนี้สินตอทุน (D/E Ratio) ใหอยูในระดับที่เหมาะสมเพื่อ ลดตนทุนทางการเงินและความเสี่ยงในการ ชําระคืนเงินกูใหนอยที่สุดดวย สําหรับโครงการอาคารสํานักงานปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ซึ่งเปนโครงการอาคารสํานักงาน และโรงแรมขนาดใหญและใชเงินลงทุนสูง ทางบริษัทฯ ไดรับการสนับสนุนจากสถาบัน การเงินดวยดีมาโดยตลอด จนไดดําเนินการ ก อ สร า งส ว นสํ า นั ก งานเสร็ จ แล ว ในเดื อ น กันยายน 2554 ตามแผนงานที่วางไว และ จะดําเนินการพัฒนาพื้นที่สวนโรงแรมใหแลว เสร็จในเดือนเมษายน 2555

31

ผลกระทบจากธุรกิจผลิต ผงสังกะสีออกไซด:

1

ความเสี่ยงจาก ราคาวัตถุดิบ

ในป 2554 ราคาวัตถุดิบหลักที่ใชในการผลิต ผงสังกะสีออกไซด คือ สังกะสีแทง (ZINC INGOT) ซึ่ ง ใช ร าคากลางของตลาดโลก ที่ เ รี ย กว า ราคา LME (London Metal Exchange) เปนตัวอางอิงในการซื้อขาย มี ความผันผวนเปนอยางมาก ซึ่งเกิดจากการ เก็งกําไรของนักลงทุนในตลาด LME และ ปจจัยทางดานเศรษฐกิจในยุโรป ประกอบ กั บ เหตุ ก ารณ ไ ม แ น น อนทางการเมื อ งใน ตะวันออกกลาง จึงทําใหบริษทั ฯ ตองวางแผน การดําเนินธุรกิจดวยความระมัดระวัง และ ติ ด ตามสถานการณ ต  า งๆ ที่ อ าจจะก อ ให เกิดผลกระทบอยางใกลชิดรวมทั้งวิเคราะห ขอมูลจากปจจัยภายนอกประเทศและภายใน ประเทศ เพื่อนําขอมูลมากําหนดนโยบายการ วางแผนให เ หมาะสมในการจั ด ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ เพื่อใหสอดคลองกับปริมาณความตองการ และราคาขายของลูกคาแตละราย เพื่อที่จะ รั ก ษาอั ต รากํ า ไรให เ ป น ไปตามเป า หมายที่ บริษัทฯกําหนดไว

2

ความเสี่ยงจาก การแขงขันดานราคา

แม ว  า สภาวะเศรษฐกิ จ ทั้ ง ภายนอก และ ภายในประเทศปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น จากป 2553 ที่ ผ  า นมา และส ง ผลให ก ารผลิ ต ในภาค อุตสาหกรรมตางๆ มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น โดย ในป 2554 อุตสาหกรรมการผลิตยางรถยนต ภายในประเทศบางรายมี ก ารขยายกํ า ลั ง การผลิ ต ตามภาวะเศรษฐกิ จ ที่ ดี ขึ้ น ทํ า ให มีปริมาณการสั่งซื้อผงสังกะสีออกไซดของ ลู ก ค า ในอุ ต สาหกรรมการผลิ ต ยางรถยนต เพิ่มขึ้นจากป 2553 รอยละ 15 อยางไรก็ตาม ในด า นภาวะการแข ง ขั น ด า นราคาขายผง สั ง กะสี อ  อ กไซด ยั ง มี ค วามรุ น แรงมากกว า ปที่ผานมา เนื่องจากคูแขงในธุรกิจผลิตผง สั ง กะสี อ  อ กไซด มุ  ง เน น การใช ก ลยุ ท ธ ด  า น ราคาเปนสิ่งจูงใจ ในขณะที่บริษัทฯ มุงเนน ผลิตสินคาที่มีคุณภาพดวยราคาที่เหมาะสม

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 31

26/3/2555 22:17:37


32

ปจจัยความเสี่ยง

3

ความเสี่ยงจาก ราคาน้ำมันในตลาดโลก

4

ความเสี่ยงจาก การจัดหาแหลงวัตถุดิบ

ราคาน้ำมันดิบปรับตัวสูงขึ้นจากราคาเฉลี่ยป เนื่องจากการผลิตสังกะสีออกไซด ใชวัตถุดิบ 2553 ที่ราคา 78 ดอลลารสหรัฐฯ ตอบารเรล สังกะสีแทงบริสุทธิ์ รอยละ 99.995 (Special มาเปน 95 ดอลลารสหรัฐฯ และมีแนวโนม High Grade Zinc Ingot) คิดเปนอัตราสวน เพิ่ ม ขึ้ น ในป 2555 เนื่ อ งจากหลายป จ จั ย ต อ การผลิ ต ร อ ยละ 80 การจั ด หาแหล ง ทั้งในดานปจจัยพื้นฐานที่เปลี่ยนแปลงทําให วัตถุดิบ จึงมีความสําคัญอยางยิ่ง ดังนั้นการ ราคาน้ ำ มั น ปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น และจากความ พึ่งพาแหลงวัตถุดิบ ในประเทศเพียงแหลง ตองการใชน้ำมัน อันเนื่องจากความหนาว เดียวจึงอาจมีความเสี่ยง ทั้งในดานของการ เย็นที่ทวีความรุนแรงขึ้นในยุโรป สงผลให ตอรองราคา ปริมาณการเก็บสินคาคงเหลือ ปริมาณความตองการใชน้ำมันสําเร็จรูปเพิ่ม และการจัดสงใหทันกับแผนการผลิต บริษัทฯ มากขึ้น และปริมาณสํารองน้ำมันสําเร็จรูป จึงไดเพิ่มชองทางการจัดหาแหลงวัตถุดิบเพิ่ม ลดลงเปน อยางมาก รวมถึงเหตุการณความ เติม โดยการนําเขาจากตางประเทศ เพื่อ ไมสงบในตะวันออกกลางยังสรางความกังวล บริหารความเสี่ยง และชวยใหบริษัทฯ มีทาง ตอทิศทางสถานการณราคาน้ำมันในป 2555 เลือกในการจัดซื้อวัตถุดิบ และบริหารการจัด สงสินคาใหทันกับการผลิตมากขึ้น ธุรกิจผลิตผลสังกะสีออกไซดเปนธุรกิจหนึ่งที่ ใชน้ำมันเปนปจจัยการผลิต โดยในป 2554 ความเสี่ยงดาน ้ บริษัทฯ มีคาใชจายนำมันคิดเปนรอยละ 50 อัตราแลกเปลี่ยน ของคาใชจายในการผลิตทั้งหมดซึ่งเพิ่มขึ้น จากป 2553 ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากราคาน้ ำ มั น ใน ราคาวัตถุดิบหลักที่ใชในการผลิตผงสังกะสี ตลาดโลกไดปรับตัวสูงขึ้น อยางไรก็ตามเพื่อ ออกไซด ถูกกําหนดโดยการอางอิงจากราคา ลดความเสี่ยงจากราคาน้ำมันดังกลาวบริษัทฯ ตลาดกลางที่กรุงลอนดอน London Metal ไดดําเนินการเปลี่ยนแปลงระบบการผลิตใน Exchange (LME) ซึ่งกําหนดเปนสกุลเงิน โรงงานแหงใหมในสวนอุตสาหกรรมโรจนะ เหรียญดอลลารสหรัฐ และมีวิธีการคํานวณ โดยเปลี่ ย นจากการใช เ ชื้ อ เพลิ ง เป น ก า ซ ราคาวัตถุดิบ โดย ณ วันที่ทําการซื้อขาย จะ ธรรมชาติ ซึง่ มีคา ใชจา ยตำ่ กวาการใชนำ้ มันเตา คํานวณราคาวัตถุดิบโดยแปลงจากสกุลเงิน อยูมาก จึงทําใหบริษัทฯ ลดอัตราความเสี่ยง ดอลลาร ส หรั ฐ เป น สกุ ล เงิ น บาทด ว ยอั ต รา ทางดานราคาน้ำมันไดในระดับหนึ่ง แลกเปลี่ยน ณ วันที่ทําการซื้อขายดังกลาว สงผลใหบริษัทฯ ไดรับความเสี่ยงจากอัตรา แลกเปลี่ยนที่นํามาใชคํานวณราคาวัตถุดิบ

5

UV_THai.indd 32

บริ ษั ท ฯ จึ ง ดํ า เนิ น มาตรการป อ งกั น ความ เสี่ยงดังกลาว โดยจะทําสัญญาซื้อขายอัตรา แลกเปลี่ยนลวงหนา (Forward Contract) เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนในอัตรา แลกเปลี่ยน

6

ความเสี่ยง ที่มาจากอุทกภัย

เนื่องจากประเทศไทยประสบปญหาอุทกภัย เมื่อปลายป พ.ศ. 2554 ที่ผานมา โรงงาน อุตสาหกรรม และบริษัทหลายแหงไดรับผล กระทบเปนอยางมาก โดยรอยละ 95 ของ โรงงานอุ ต สาหกรรมที่ ไ ด รั บ ผลกระทบไม สามารถทํ า การผลิ ต สิ น ค า ได ใ นระยะ 1-2 เดือน หลังจากการเกิดอุทกภัยทําใหเกิดปญหา สินคาขาดแคลน นิคมสวนอุตสาหกรรมโรจนะ ซึ่งเปนที่ตั้งของโรงงานของบริษัทฯ ไดเตรียม มาตรการปองกันภัยจากธรรมชาติโดยเฉพาะ ภั ย จากอุ ท กภั ย โดยได เ ริ่ ม ทํ า การก อ สร า ง กํ า แพงป อ งกั น น้ ำ ท ว มที่ ใ ช วั ส ดุ พิ เ ศษและ การออกแบบที่เฉพาะตัวเพื่อปองกันอุทกภัย ลอมรอบนิคมอุตสาหกรรมโรจนะทั้ง 3 เฟส โดยเริ่มทําการกอสรางตั้งแตเดือนมกราคม 2555 และคาดวาจะแลวเสร็จในเดือนสิงหาคม 2555 และนอกจากนี้ภายในโรงงานมีแผน รองรับภัยธรรมชาติโดยเครื่องจักรที่ขนยาย ไดงายและสะดวก ยกขึ้นที่สูงไดในเวลาที่ จํากัด รวมถึงการจัดเก็บสินคาที่ผลิตเสร็จ พร อ มส ง ให อ ยู  ใ นสถานที่ ที่ ป ลอดภั ย และ สะดวกกับการขนยายในภาวะฉุกเฉิน

26/3/2555 22:17:37


โครงสรางการถือหุน

33

โครงสรางการถือหุน ถือหุนรายใหญ 10 อันดับแรก ณ วันปดสมุดทะเบียนผูถือหุนลาสุด เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ชื่อผูถือหุน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

จํานวนหุนที่ถือ

บริษัท อเดลฟอส จํากัด* UOB KAY HIAN PRIVATE LIMITED นายวิชิต ชินวงศวรกุล บริษัท ไทยเอ็นดีวีอาร จํากัด AMERICAN INTERNATIONAL ASSURANCE COMPANY, LIMITED - TIGER

นายสรสรรค คูหรัตนพิศาล นายสุนทร คูหรัตนพิศาล นายสุชน สิริวรการวณิชย นายจงรักษ ศรีพันธพร THE BANK OF NEW YORK MELLON

หมายเหตุ :

หุน 431,297,126 62,610,000 22,700,000 16,815,449 15,000,000 11,000,000 9,000,000 8,000,000 7,700,000 6,342,700

% 56.396 8.187 2.968 2.199 1.961 1.438 1.177 1.046 1.007 0.829

ขอมูลจากบริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย ( ประเทศไทย ) จํากัด * บริษัท อเดลฟอส จํากัด ถือหุนโดย นายฐาปน สิริวัฒนภักดี รอยละ 50 และนายปณต สิริวัฒนภักดี รอยละ 50

ขอจํากัดการถือหุนของบุคคลตางดาว บริ ษั ท ฯ มี ข  อ จํ า กั ด การถื อ หุ  น ของบุ ค คล ตางดาว (Foreign limit) ไวรอ ยละ 49 ของทุน จดทะเบียนชําระแลว โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีบคุ คลตางดาวถือหุน ของบริษทั รอยละ 12.96 ของทุนจดทะเบียนชําระแลว นโยบายการจายเงินปนผล บริ ษั ท ฯ มี น โยบายที่ จ ะเสนอให ที่ ป ระชุ ม ผูถือหุนพิจารณาจายเงินปนผลของบริษัทฯ แก ผู  ถื อ หุ  น ในอั ต ราไม ต่ ำกว า ร อ ยละ 50

ของกํ า ไรสุ ท ธิ ห ลั ง หั ก ภาษี และทุ น สํ า รอง ตางๆ ทั้งหมดของงบการเงินรวมในแตละป ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับแผนการลงทุน ความจําเปน และความเหมาะสมอื่ น ๆ ในอนาคต เมื่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท มี ม ติ เ ห็ น ชอบให จ  า ย เงินปนผลประจําปแลว จะตองนําเสนอขอ อนุมัติตอที่ประชุมผูถือหุน เวนแตเปนการ จายเงินปนผลระหวางกาลใหคณะกรรมการ บริ ษั ท มี อํ า นาจอนุ มั ติ ใ ห จ  า ยเงิ น ป น ผลได และรายงานใหที่ประชุมผูถือหุนทราบในการ ประชุมคราวตอไป

นโยบายการจ า ยเงิ น ป น ผลของบริ ษั ท ย อ ย คณะกรรมการของบริษัทยอยจะพิจารณาจาก กําไรสะสม และกระแสเงินสดคงเหลือเปรียบ เทียบกับงบลงทุนของบริษัทยอย หากกระแส เงินสดคงเหลือมีเพียงพอหลังการตั้งสํารอง ตามกฏหมายแลวคณะกรรมการของบริษัท ย อ ยจะพิ จ ารณาจ า ยเงิ น ป น ผลตามความ เหมาะสมเปนกรณีๆ ไป

การจายเงินปนผลยอนหลัง 5 ปที่ผานมา ของบริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด ( มหาชน ) รายละเอียด 2554 2553 2552 2551 เงินปนผลประจําป ( บาทตอหุน ) 0.06 0.05 0.01 0.05 กําไรสุทธิ ตามงบการเงินรวม ( ลานบาท ) 63.09 56.72 8.25 61.83 สัดสวนการจายเงินปนผลเทียบกับกําไรสุทธิ 72.73% 67.42% 92.73% 61.84%

2550 0.10 100.95 75.61%

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 33

26/3/2555 22:17:38


34

โครงสรางองคกร

โครงสรางองคกร

บริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด ( มหาชน ) คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณา คาตอบแทนและสรรหา คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง

คณะกรรมการบริหาร

ประธานอํานวยการ คณะกรรมการ พิจารณาการลงทุน

ฝายกํากับดูแลการปฏิบัติงาน และตรวจสอบภายใน

กรรมการผูจัดการ

ฝาย พัฒนาโครงการ

UV_THai.indd 34

ฝาย พัฒนาธุรกิจ

ฝายกฏหมาย และบริหารทรัพยสิน

ฝาย ทรัพยากรบุคคล

ฝายธุรการ

ฝาย จัดซื้อกลาง

ฝายเทคโนโลยี สารสนเทศ

ฝายบัญชี

ฝายการเงิน และงบประมาณ

26/3/2555 22:17:39


โครงสรางการจัดการ

35

โครงสรางการจัดการ โครงสรางการจัดการของบริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด (มหาชน) ประกอบดวย คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดยอย 4 คณะ ไดแก คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนและสรรหา คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมีประธาน อํานวยการ เปนผูบริหารสูงสุดของบริษัท

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยบุคคลผูทรงคุณวุฒิจํานวนทั้งสิ้น 8 ทาน โดยเปนกรรมการที่เปนผูบริหาร ( Executive Directors ) จํานวน 2 ทาน และกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร (Non - Executive Directors) จํานวน 6 ทาน ดังรายชื่อตอไปนี้ 1 2 3 4 5 6 7 8

ชื่อ - นามสกุล นางสาวพจนีย ธนวรานิช นายสุวิทย จินดาสงวน นายนรรัตน ลิ่มนรรัตน นายฐาปน สิริวัฒนภักดี นายปณต สิริวัฒนภักดี นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร นางอรฤดี ณ ระนอง นายธนพล ศิริธนชัย

หมายเหตุ :

ตําแหนง ประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ / ประธานอํานวยการ กรรมการ / กรรมการผูจัดการ

วันที่ไดรับการแตงตั้ง 18 กรกฎาคม 2550 24 ตุลาคม 2546 16 ธันวาคม 2548 18 กรกฎาคม 2550 18 กรกฎาคม 2550 18 กรกฎาคม 2550 24 พฤษภาคม 2543 10 มิถุนายน 2546

- นายอลงกรณ ประธานราษฎรนิกร เปนเลขานุการบริษัท - ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2554 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2554 ที่ประชุมไดมีมติแตงตั้ง นางสาวพจนีย ธนวรานิช นายนรรัตน ลิ่มนรรัตน นายปณต สิริวัฒนภักดี ดํารงตําแหนงกรรมการตออีกวาระหนึ่ง - ในป 2554 มีการประชุมคณะกรรมการบริษัท จํานวนทั้งสิ้น 5 ครั้ง

คํานิยาม กรรมการที่เปนผูบริหาร หมายถึง กรรมการ ที่ ดํ า รงตํ า แหน ง เป น ผู  บ ริ ห าร และมี ส  ว น เกี่ยวของในการบริหารงานประจําของบริษัท กรรมการที่ ไ ม เ ป น ผู  บ ริ ห าร หมายถึ ง กรรมการที่มิไดดํารงตําแหนงเปนผูบริหาร และไม มี ส  ว นเกี่ ย วข อ งในการ บริ ห ารงาน ประจํ าของบริษัท อาจจะเปน หรื อไมเปน กรรมการอิสระก็ได กรรมการอิ ส ระ หมายถึ ง กรรมการที่ มี คุ ณ สมบั ติ ส อดคล อ งกั บ หลั ก เกณฑ ข อง สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย และตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย แห ง ประเทศไทย โดยมี คุ ณ สมบั ติ และ ลั ก ษณะต อ งห า มของกรรมการอิ ส ระของ บริษัท ดังนี้

1

3

2

4

ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่ มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัท ใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือ นิติบุคคลที่ อาจมีความขัดแยง ทั้งนี้ นับรวมหุนที่ถือโดย ผูเกี่ยวของดวย ไดแก คูสมรส บุตรที่ยังไม บรรลุนิติภาวะ

ไมเปน หรือเคยเปนกรรมการที่มีสวน รวมในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน หรือที่ปรึกษาซึ่งไดรับเงินเดือนประจํา หรือ ผู มีอํานาจควบคุมของบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือของผูมีอํานาจควบคุม ของบริษัท เวนแตไดพนจากการมีลักษณะดัง กลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป

ไมมีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือ โดยการจดทะเบียน ในลักษณะที่เปน บิ ด ามารดา คู  ส มรส พี่ น  อ ง บุ ต ร หรื อ รวมทั้ง คูสมรสของบุตร กับ ผูบริหาร ผูถือ หุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่ จะไดรับการเสนอชื่อ เปนผูบริหาร หรือ ผู มีอํานาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทยอย

ไมมี หรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจ กับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัท รวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุม ของบริษัท ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวาง การใชวจิ ารณญาณอยางอิสระ รวมทัง้ ไมเปน หรือเคยเปนผูถือหุนที่มีนัย หรือผูมีอํานาจ ควบคุมของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับ บริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 35

26/3/2555 22:17:39


36

โครงสรางการจัดการ

ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของ บริษทั เวนแตจะไดพน จากการมีลกั ษณะดังกลาว มาแลวไมนอยกวา 2 ป ความสัมพันธทางธุรกิจตามขางตน รวมถึง การทํารายการทางการคาที่กระทําเปนปกติ เพื่ อ ประกอบกิ จ การ การเช า หรื อ ให เ ช า อสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับสินทรัพย หรือบริการ หรือการให หรือรับความชวย เหลื อ ทางการเงิ น ด ว ยการรั บ หรื อ ให กู  ยื ม ค้ำประกัน การใหสินทรัพยเปนหลักประกัน หนี้สิน รวมถึงพฤติการณอื่นทํานองเดียวกัน ซึ่งเปนผลใหบริษัท หรือสัญญามีภาระหนี้ที่ ตองชําระตออีกฝายหนึ่ง ตั้งแตรอยละ 3 ของสินทรัพยที่มีตัวตนสุทธิของบริษัท หรือ ตั้งแต 20 ลานบาทขึ้นไป แลวแตจํานวน ใดจะต่ำกวา ทั้งนี้ การคํานวณภาระหนี้ดัง กลาวใหเปนไปตามวิธีการคํานวณมูลคาของ รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ตามประกาศคณะ กรรมการกํากับตลาดทุน วาดวยหลักเกณฑ ในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม และใหนับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหวาง 1 ป กอนวันที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับ บุคคลเดียวกัน

5

ไมเปน หรือเคยเปนผูสอบบัญชีของ บริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของ บริษัท และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจ ควบคุม หรือหุนสวนของสํานักงานสอบบัญชี ซึ่ ง มี ผู  ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท บริ ษั ท ย อ ย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจ ควบคุมของบริษัทสังกัดอยู เวนแตจะไดพน จากการมี ลั ก ษณะดั ง กล า วมาแล ว ไม น  อ ย กวา 2 ป

6

ไมเปน หรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชา ชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ ปรึกษากฎหมาย หรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งไดรับคาบริการเกินกวาสองลานบาทตอป จากบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัท รวม ผูถือหุนรายใหญ หรือ ผูมีอํานาจควบคุม ของบริ ษั ท และไมเ ป น ผูถื อ หุ น ที่มีนัย ผูมี อํานาจควบคุม หรือหุนสวนของผูใหบริการ ทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะไดพนจากการ มีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป

UV_THai.indd 36

7

ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้น เพื่ อ เป น ตั ว แทนของกรรมการของ บริษัทฯ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปน ผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญของบริษัท

8

ไม ป ระกอบกิ จ การที่ มี ส ภาพอย า ง เดียวกัน และเปนการแขงขันที่มีนัย กับกิจการของบริษัท หรือบริษัทยอย หรือ ไม เ ป น หุ  น ส ว นที่ มี นั ย ในห า งหุ  น ส ว น หรื อ เปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจํา หรือ ถือหุนเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิ ออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบ กิจการที่มีสภาพอยางเดียวกัน และเปนการ แข ง ขั น ที่ มี นั ย กั บ กิ จ การของบริ ษั ท หรื อ บริษัทยอย

9

ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถให ความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการ ดําเนินงานของบริษัท

ภายหลั ง ได รั บ การแต ง ตั้ ง เป น กรรมการ อิสระ กรรมการอิสระอาจไดรับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทใหตัดสินใจในการ ดําเนินกิจการของบริษัท บริษัทยอย บริษัท รวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง โดยมีการตัดสินใจในรูป แบบขององคคณะ (collective decision) ได หมายเหตุ : บริษัทใหญ หมายถึง บริษัทที่ถือหุนบริษัท เกินกวา รอยละ 50 บริษัทยอย หมายถึง บริษัทที่บริษัทถือหุน เกินกวา รอยละ 50 บริษัทรวม หมายถึง บริษัทที่บริษัทถือหุน เกินกวา รอยละ 20 แตไมเกินรอยละ 50 บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หมายถึง บริษัทยอยใน ลําดับเดียวกันตั้งแตสองบริษัทขึ้นไปที่มีบริษัทใหญ เปนบริษัทเดียวกัน (และมีความหมายตามประกาศ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ที่ กจ.32/2549 เรื่องการยื่น และ การยกเวนการยื่น แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพย ลง วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.2549 และประกาศอื่นใด ที่อาจมีการแกไขเพิ่มเติม)

กรรมการผู  มี อํ า นาจลงนาม ผูกพันบริษัท ตามหนังสือรับรองของบริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด (มหาชน) ที่ออกโดยกรมพัฒนาธุรกิจ การคา กระทรวงพาณิชย ระบุให นายฐาปน สิ ริ วัฒ นภั ก ดี หรื อ นายปณต สิ ริ วัฒ นภั ก ดี หรือ นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร หรือ นาง อรฤดี ณ ระนอง หรือ นายธนพล ศิริธนชัย กรรมการสองในจํานวนหาคนลงลายชื่อรวม กันพรอมประทับตราสําคัญของบริษัท ขอบเขตอํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีความรับผิดชอบ และ ระมัดระวังตอผูถือหุน เกี่ยวกับการดําเนิน ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และกํ า กั บ ดู แ ลให ฝ  า ย บริ ห ารดํ า เนิ น การให เ ป น ไปตามเป า หมาย และแนวทางที่กอใหเกิดประโยชนสูงสุดแก ผูถือหุน โดยคํานึงถึงผลประโยชน ของผูมี สวนไดเสียทุกฝาย รวมถึงการปฏิบัติใหเปน ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับของ บริษัท มติคณะกรรมการ และมติที่ประชุม ผูถือหุน เวนแตในเรื่องที่กฎหมายกําหนด ใหตองไดรับมติที่ประชุมผูถือหุน การปฏิบัติ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ และขอบังคับของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลท.) และสํ า นั ก คณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย และตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) ดวยความ ซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต และระมั ด ระวั ง รั ก ษาผล ประโยชนของบริษัท และรับผิดชอบตอผูถือ หุนทั้งในปจจุบัน และในระยะยาว คณะกรรมการบริ ษั ท อาจมอบอํ า นาจให กรรมการคนหนึ่ง หรือหลายคน หรือบุคคล อื่นใดปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดแทนคณะ กรรมการบริ ษั ท และอาจยกเลิ ก เพิ ก ถอน เปลี่ยนแปลงหรือแกไขอํานาจนั้นๆได คณะ กรรมการบริษัทมีอํานาจกําหนด และแกไข เปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการซึ่งมีอํานาจลงนาม ผูกพันบริษัท ตลอดจนจัดตั้งคณะกรรมการ ชุดยอย

26/3/2555 22:17:40


โครงสรางการจัดการ

อยางไรก็ตาม คณะกรรมการบริษัทอาจมอบ อํานาจใหคณะกรรมการบริหารมีอํานาจหนาที่ ในการปฏิบัติงานตางๆ ตามขอบเขตอํานาจ หนาที่ของคณะกรรมการบริหาร

ทั้ ง นี้ การมอบอํ า นาจดั ง กล า ว ต อ งไม มี ลักษณะเปนการมอบอํานาจ หรือมอบอํานาจ ช ว งที่ ทํ า ให ผู  รั บ มอบอํ า นาจสามารถอนุ มั ติ รายการที่ตน หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผล

37

ประโยชน อื่ น ใด (ตามที่ สํ า นั ก งาน ก.ล.ต. ประกาศกํ า หนด) ทํ า กั บ บริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ยอย ยกเวนเปนการอนุมัติรายการที่เปนไป ตามนโยบาย และหลักเกณฑที่คณะกรรมการ บริษัทพิจารณาอนุมัติไว

คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการบริหาร ซึ่งปจจุบันประกอบดวยกรรมการ 5 ทาน ดังรายชื่อตอไปนี้ 1 2 3 4 5

ชื่อ - นามสกุล นายฐาปน สิริวัฒนภักดี นายปณต สิริวัฒนภักดี นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร นางอรฤดี ณ ระนอง นายธนพล ศิริธนชัย

หมายเหตุ :

ตําแหนง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

รายละเอียด กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร

- นายอลงกรณ ประธานราษฎรนิกร เปนเลขานุการคณะกรรมการบริหาร - ในป 2554 มีการประชุมคณะกรรมการบริหาร จํานวน 10 ครั้ง

ขอบเขตอํานาจหนาที่ และความ รับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร พิจารณา และกําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ เปาหมาย แผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจ บริหารตางๆ ของบริษทั และบริษทั ยอยรวมกับ ฝายบริหารระดับสูง เพื่อเสนอคณะกรรมการ บริ ษั ท เห็ น ชอบ รวมทั้ ง กํ า กั บ ดู แ ล และ ติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทที่กําหนด ใหเปนไปตามแผนธุรกิจที่ไดรับอนุมัติ อนุมัติ การดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท และบริ ษั ท ย อ ย ในเรื่ อ งต า งๆ ตามขอบเขตอํ า นาจที่ ไ ด รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

กลั่นกรองในเรื่องที่ฝายบริหารระดับสูงเสนอ ให พิ จ ารณาในส ว นที่ น อกเหนื อ จากอํ า นาจ ของคณะกรรมการบริหาร เพื่อนําเสนอคณะ กรรมการบริษัทอีกขั้นหนึ่ง

หรือบริษัทยอย ยกเวนเปนการอนุมัติรายการ ที่เปนไปตามนโยบาย และหลักเกณฑที่คณะ กรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว

ทั้งนี้ การอนุมัติรายการจะตองไมมีลักษณะ เปนการอนุมัติที่ทําใหคณะกรรมการบริหาร หรื อ ผู  รั บ มอบอํ า นาจจากคณะกรรมการ บริหารสามารถอนุมัติรายการที่ตน หรือบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสียหรืออาจมี ความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่ สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) กับบริษัท

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 37

26/3/2555 22:17:40


38

โครงสรางการจัดการ

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ โดยแตงตั้งจากกรรมการบริษัท ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด มีจาํ นวนอยางนอย 3 คน และอยางนอย 1 คน จะตองมีความรูด า นบัญชี และการเงิน ปจจุบนั คณะกรรมการ ตรวจสอบของบริษัทประกอบดวยกรรมการ 3 ทาน ซึ่งทั้งหมดเปนกรรมการที่เปนอิสระ ดังรายชื่อตอไปนี้ 1 2 3

ชื่อ - นามสกุล นายสุวิทย จินดาสงวน นางสาวพจนีย ธนวรานิช นายนรรัตน ลิ่มนรรัตน

ตําแหนง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

รายละเอียด กรรมการอิสระ และมีความรูดานบัญชี และการเงิน กรรมการอิสระ และมีความรูดานบัญชี และการเงิน กรรมการอิสระ และมีความรูดานบัญชี และการเงิน

หมายเหตุ : - นายวิเชียร ครองศักดิ์ศิริ เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ถึงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2554 - นายอลงกรณ ประธานราษฎรนิกร รักษาการเลขานุการคณะกรรมการ ตั้งแตวันที่ 7 พฤศจิกายน 2554 - กรรมการตรวจสอบมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ป นับแตวันแตงตั้ง หรือตามวาระการเปนกรรมการ - ในป 2554 มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบจํานวน 5 ครัง้ และคณะกรรมการตรวจสอบไดเขารวมประชุมกับผูส อบบัญชี โดยไมมฝี า ยจัดการ 1 ครัง้

ขอบเขตอํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตรวจสอบ

1 2

สอบทานให บ ริ ษั ท มี ก ารรายงานทาง การเงิ น อย า งถู ก ต อ ง และเป ด เผย อยางเพียงพอ

สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมาย วาดวยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับ ธุรกิจของบริษัท

3

พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือ รายการที่อาจมีความขัดแยงทางผล ประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมาย และขอ กําหนดของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้ เพื่อให มั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผล และ เปนประโยชนสูงสุดตอบริษัท

4

สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุม ภายใน (Internal Control) และ การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่ เหมาะสม และมีประสิทธิผล และพิจารณา ความเป น อิ ส ระของหน ว ยงานตรวจสอบ ภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบ ในการ พิ จ ารณาแต ง ตั้ ง โยกย า ย เลิ ก จ า งหั ว หน า หนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่น ใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน

UV_THai.indd 38

5 6

สอบทานใหบริษัทมีระบบการประเมิน ความเสี่ยง และการบริหารความเสี่ยง ที่เหมาะสมเพียงพอ และมีประสิทธิภาพ

พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตัง้ บุคคล ซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทําหนาที่เปน ผูสอบบัญชีของบริษัท และเสนอคาตอบแทน ของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุม กับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝ ายจัดการเขารวม ประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง

7

จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจ สอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจํา ปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาวตองลงนาม โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ ตองประกอบดวยขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้

(ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของ บริษัท (ข) ความเห็ น เกี่ ย วกั บ ความเพี ย งพอของ ระบบควบคุมภายในของบริษัท (ค) ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย วาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอ กําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่ เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท (ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของ ผูสอบบัญชี (จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชน

(ฉ) จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจ สอบ และการเขารวมประชุมของกรรมการ ตรวจสอบแตละทาน (ช) ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะ กรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ ตามกฎบัตร (charter) (ซ) การประเมินผลการกํากับดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ (ฌ) รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุน และผูลงทุน ทั่วไปควรทราบภายใตขอบเขตหนาที่ และ ความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมาย จากคณะ กรรมการบริษัท

8 9

ใหความเห็นชอบแผนงานการตรวจสอบ ของฝายตรวจสอบภายใน

พิจารณาทบทวน เพื่อปรับปรุงกฎบัตร คณะกรรมการตรวจสอบใหสอดคลอง กั บ กฎข อ บั ง คั บ ของคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย และ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมทั้ง ภาวการณ และความเหมาะสม

10

จั ด หาความเห็ น ที่ เ ป น อิ ส ระจาก ทีป่ รึกษาภายนอก หรือผูเ ชีย่ วชาญ ทางวิชาชีพในกรณีจําเปน โดยบริษัทเปนผูรับ ผิดชอบคาใชจายดังกลาว

26/3/2555 22:17:41


โครงสรางการจัดการ

11

ป ฏิ บั ติ ก า ร อื่ น ใ ด ต า ม ที่ ค ณ ะ กรรมการบริษัทมอบหมาย ด วย ความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ

นอกจากนี้ เพื่อใหการปฏิบัติงานตามขอบเขต อํ า นาจหน า ที่ ข องคณะกรรมการตรวจสอบ

เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ใหคณะกรรมการ ตรวจสอบมีอํานาจเชิญฝายจัดการ ผูบริหาร หรือผูรับผิดชอบที่เกี่ยวของเขารวมประชุม เพื่อชี้แจงใหความเห็น หรือสงเอกสารตามที่ เห็นวาเกีย่ วของจําเปน และใหมอี าํ นาจวาจางที่ ปรึกษา หรือผูเชี่ยวชาญทางวิชาชีพภายนอก

39

ในกรณีจําเปน หรือใชจายอื่นใดที่เกี่ยวของ กับการปฏิบัติหนาที่ โดยบริษัทฯเปนผูรับผิด ชอบคาใชจายดังกลาว

คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนและสรรหา คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนและสรรหา ซึ่งปจจุบันประกอบดวยกรรมการ 4 ทาน ดังรายชื่อตอไปนี้ 1 2 3 4

ชื่อ - นามสกุล นางสาวพจนีย ธนวรานิช นายนรรัตน ลิ่มนรรัตน นายสุวิทย จินดาสงวน นายฐาปน สิริวัฒนภักดี

ตําแหนง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

รายละเอียด กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร และเปนกรรมการที่เปนอิสระ กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร และเปนกรรมการที่เปนอิสระ กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร และเปนกรรมการที่เปนอิสระ กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร

หมายเหตุ : - นางอรฤดี ณ ระนอง เปนเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนและสรรหา - คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนและสรรหา มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ป นับแตวันแตงตั้ง หรือตามวาระการเปนกรรมการ - ในป 2554 มีการประชุมคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนและสรรหา จํานวน 1 ครั้ง

ขอบเขตอํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการพิ จ ารณาค า ตอบแทน และสรรหา

1 2

กํ า หนดหลั ก เกณฑ และนโยบายใน การสรรหากรรมการและกรรมการ ชุดยอยของบริษัท

พิจารณาสรรหา และคัดเลือกบุคคล ที่ เ หมาะสมที่ จ ะมาดํ า รงตํ า แหน ง กรรมการ ในกรณีที่มีตําแหนงวางลง เพื่อ เสนอคณะกรรมการบริ ษั ท พิ จ ารณาอนุ มั ติ และ / หรื อ เสนอขออนุ มั ติ ต  อ ที่ ป ระชุ ม ผูถือหุน แลวแตกรณี

3

พิจารณาสรรหา และคัดเลือกบุคคล ที่ เ หมาะสมที่ จ ะมาดํ า รงตํ า แหน ง ตั้งแตระดับกรรมการผูจัดการขึ้นไปในกรณี ที่ตําแหนงวางลง

4

พิ จ ารณาเสนอรายชื่ อ กรรมการที่ มี คุณสมบัตเิ หมาะสมเปนกรรมการชุดยอย เสนอตอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ แตงตัง้ เมือ่ มีตําแหนงวางลง

ประสบการณ ความรู และความรับผิดชอบ ของกรรมการ โดยเปรียบเทียบกับบริษัทอื่น ในธุรกิจเดียวกัน

5

7

6

8 9

พิจารณาเสนอแนะกําหนดคาตอบแทน และผลประโยชนอื่นใดที่จําเปน และ เหมาะสมทั้งที่เปนตัวเงิน และมิใชตัวเงินเพื่อ จูงใจ และรักษาคณะกรรมการ คณะกรรมการ ชุดยอย และ / หรือเสนอตอที่ประชุมผูถือ หุนอนุมัติ จัดทําหลักเกณฑ และนโยบายในการ กําหนดคาตอบแทนของคณะกรรมการ บริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ พิจารณาคาตอบแทนและสรรหา และคณะ กรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง เพื่ อ เสนอให คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ และ/ หรื อ เสนอต อ ที่ ป ระชุ ม ผู  ถื อ หุ  น อนุ มั ติ ต าม แตกรณี โดยมีหลักเกณฑการพิจารณาจาก ผลประกอบการของบริษัทฯ ขอบเขตหนาที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการแตละชุด

พิจารณากําหนดคาตอบแทน และผล ประโยชนอนื่ ใดทีจ่ าํ เปน และเหมาะสม ทัง้ ทีเ่ ปนตัวเงิน และไมใชตวั เงิน เพือ่ ตอบแทน และจูงใจผูบริหารระดับสูง ตั้งแตตําแหนง กรรมการผูจัดการขึ้นไป โดยพิจารณาจากการ ประเมินผลงานความทุมเท และผลประกอบ การของบริษัท ให คํ า ชี้ แ จงตอบคํ า ถามเกี่ ย วกั บ คาตอบแทนของกรรมการในที่ประชุม ผูถือหุน ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ บริษทั มอบหมาย และดวยความเห็นชอบ จากคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนและ สรรหา

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 39

26/3/2555 22:17:41


40

โครงสรางการจัดการ

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งปจจุบันประกอบดวยกรรมการ 11 ทาน ดังรายชื่อตอไปนี้ ชื่อ - นามสกุล 1. นางอรฤดี ณ ระนอง 2. นายธนพล ศิริธนชัย 3. นายเนรมิต สรางเอี่ยม 4. นายกรธวัช กิ่งเงิน 5. นายนพดล ถีระศิลป 6. นายสุธี ลิมปนชัยพรกุล 7. นายสถาพร อมรวรพักตร 8. นายวิชัย มหัตเดชกุล 9. นางสาวปรารถนา อุดมสิน 10. นายรชฏ นันทขวาง 11. นางจริยา พินเสนาะ

ตําแหนง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

รายละเอียด ประธานอํานวยการ กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด กรรมการผูจัดการ บริษัท ไทย - ไลซาท จํากัด กรรมการผูจัดการ บริษัท ฟอรเวิรด ซิสเต็ม จํากัด ผูชวยกรรมการผูจัดการ ฝายพัฒนาโครงการ ผูชวยกรรมการผูจัดการ ดานการเงิน งบประมาณ และบัญชี ผูอํานวยการอาวุโส ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ ผูอํานวยการ ฝายบัญชี ผูอํานวยการ ฝายการเงินและงบประมาณ ผูอํานวยการ ฝายจัดซื้อกลาง

หมายเหตุ : - นางสาวประดุจฤทัย บุญเพิ่ม เปนเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง - ในป 2554 สํารวจความเสี่ยงเปนรายเดือน และประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง จํานวน 3 ครั้ง

ขอบเขตอํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

1

กํ า หนดยุ ท ธศาสตร และนโยบาย ตลอดจนถึ ง วางเป า หมายของการ บริ หารความเสี่ ยงของทั้ งองคกร เพื่ อเปน แนวทางใหฝายบริหารไดมีการบริหารความ เสี่ยงอยางที่มีประสิทธิภาพ และเปนไปใน ทิศทางเดียวกัน

2

กํ า หนดกรอบการบริ ห ารความเสี่ ย ง โดยรวม (Integrated Risk Management) โดยให ค รอบคลุ ม ความ เสี่ ย งหลั ก ของธุ ร กิ จ เช น ความเสี่ ย งของ ธุรกิจ (Business Risk) และความเสี่ยงดาน การปฏิบัติการ (Operational Risk) เปนตน

3

วางระบบการบริ ห ารความเสี่ ย ง เพื่ อ ลดผลกระทบที่ อ าจมี ต  อ การ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท อย า งถาวร รวมถึ ง จั ด ให มี ก ารประเมิ น ความเสี่ ย งเป น ประจํ า

UV_THai.indd 40

4

จั ด ทํ า และอนุ มั ติ แ ผนการจั ด การ ความเสี่ยงที่เหมาะสม โดยประเมิน ปจจัยเสี่ยงที่อาจสงผล กระทบตอการดําเนิน ธุรกิจของบริษัท จัดทําแผนจัดการความเสี่ยง ในทุกระดับ โดยการระดมความคิดเห็นจาก ผูบริหาร และพนักงานจากหนวยงานตางๆ

5 6

พั ฒ นาระบบจั ด การความเสี่ ย งให มี ประสิ ทธิ ภาพ และติ ดตามให บริ ษั ท มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งอย า งเหมาะสม

ส ง เสริ ม ให ผู  บ ริ ห าร และพนั ก งาน ตระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการ จั ด การความเสี่ ย ง และบริ ห ารความเสี่ ย ง ที่ จ ะทํ า ให บ ริ ษั ท ไม ส ามารถดํ า เนิ น การให บรรลุ เ ป า หมาย รวมทั้ ง ผลั ก ดั น ให มี ก าร บริ ห ารความเสี่ ย งในทุ ก ระดั บ ขององค ก ร และปลู ก ฝ ง ให เ ป น วั ฒ นธรรมขององค ก ร

7

ติ ด ตามความคื บ หน า ในการปฏิ บั ติ ตามแผนจัดการความเสี่ยงของบริษัท ให คํ า ปรึ ก ษา แนะนํ า ในการดํ า เนิ น การ บริหารความเสี่ยง

8 9

สื่ อ สารกั บ คณะกรรมการตรวจสอบ ถึ ง ความเสี่ ย งที่ สํ า คั ญ ที่ มี ผ ลต อ การ ควบคุมภายใน รายงานต อ คณะกรรมการบริ ษั ท ถึ ง ความเสี่ยง และการจัดการความเสี่ยง

เลขานุการบริษัท เพื่อใหเปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการ ที่ ดี ข องบริ ษั ท จดทะเบี ย น และข อ กํ า หนด ข อ ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ห ลั ก ท รั พ ย  แ ล ะ ตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 คณะกรรมการบริ ษั ท จึ ง ได แ ต ง ตั้ ง ให น าย อลงกรณ ประธานราษฎรนิกร ผูอํานวยการ อาวุ โ ส ฝ า ยกฎหมายและบริห ารทรัพ ยสิน

26/3/2555 22:17:42


โครงสรางการจัดการ

เปนเลขานุการบริษัท โดยมี ภาระหนาที่ใน การใหคําแนะนําดานกฎหมาย และกฎเกณฑ ตางๆ ที่คณะกรรมการตองทราบ และจัดการ ประชุ ม รวมทั้ ง ดู แ ลกิ จ กรรมต า งๆ ของ คณะกรรมการ เพื่ อ ให ก รรมการสามารถ

ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ไ ด อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และ ประสิทธิผล และกอใหเกิดประโยชนสูงสุด ตอบริษัท รวมทั้งการจัดทํา และเก็บรักษา เอกสาร อาทิ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัด ประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุม

41

คณะกรรมการ และรายงานประจํ า ป ข อง บริษัท หนังสือนัดประชุมผูถือหุน รายงาน การประชุมผูถือหุน และเก็บรักษารายงาน การมีสวนไดเสียที่รายงานโดยกรรมการ หรือ ผูบริหาร

ประธานอํานวยการ และผูบริหาร* ประธานอํานวยการ และผูบริหารของบริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด (มหาชน) ประกอบดวยรายชื่อดังตอไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผูบริหาร นางอรฤดี ณ ระนอง นายธนพล ศิริธนชัย นายสุธี ลิมปนชัยพรกุล นายสถาพร อมรวรพักตร ** นายอลงกรณ ประธานราษฎรนิกร นายกําพล ปุญโสณี นายวิชัย มหัตเดชกุล

ตําแหนง กรรมการ / ประธานอํานวยการ กรรมการ / กรรมการผูจัดการ ผูชวยกรรมการผูจัดการ ฝายพัฒนาโครงการ ผูชวยกรรมการผูจัดการ ดานการเงิน งบประมาณ และบัญชี ผูอํานวยการอาวุโส ฝายกฎหมายและบริหารทรัพยสิน ผูอํานวยการอาวุโส ฝายพัฒนาธุรกิจ ผูอํานวยการอาวุโส ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ

หมายเหตุ : * ผูบริหาร หมายถึง กรรมการ หรือผูดํารงตําแหนงระดับบริหารสี่รายแรกนับตอจากประธานอํานวยการลงมา และผูซึ่งดํารงตําแหนงเทียบเทา ผูดํารงตําแหนงระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย และรวมถึงผูดํารงตําแหนงระดับบริหาร ในสายงานบัญชี หรือการเงิน ** นายสถาพร อมรวรพักตร ไดเริ่มงานกับบริษัท เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

ผูบริหารของบริษัทยอย ของบริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด ( มหาชน ) มีรายชื่อดังตอไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ผูบริหาร นายเนรมิต สรางเอี่ยม นายกรธวัช กิ่งเงิน นายนพดล ถีระศิลป นายอลงกรณ ประธานราษฎรนิกร นายกําพล ปุญโสณี นายสุธี ลิมปนชัยพรกุล*

กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ

ตําแหนง บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด บริษัท ไทย - ไลซาท จํากัด บริษัท ฟอรเวิรด ซิสเต็ม จํากัด บริษัท ยูนิเวนเจอร แอสเซท แมเนจเมนท จํากัด บริษัท ยูนิเวนเจอร คอนซัลติ้ง จํากัด บริษัท เลิศรัฐการ จํากัด

หมายเหตุ : * นายสุธี ลิมปนชัยพรกุล ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการผูจัดการ บริษัท เลิศรัฐการ จํากัด เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 41

26/3/2555 22:17:42


42

โครงสรางการจัดการ

ทัง้ นี้ กรรมการ และผูบ ริหารของบริษทั ทุกทาน เป น ผู  มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ ว นตามที่ ก ฎหมาย กําหนด และไมปรากฏวามีประวัตกิ ารทําความ ผิ ด ตามกฎหมาย ประกาศสํ า นั ก งานคณะ กรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลท.) ในระยะเวลาที่ผานมาเกี่ยวกับ ( 1 ) การถูกพิพากษาวากระทําผิดตาม กฎหมายทางอาญา ( 2 ) การถู ก พิ พ ากษาให เ ป น บุ ค คล ลมละลาย หรือถูกพิทักษทรัพย ( 3 ) การเป น ผู  บ ริ ห าร หรื อ ผู  มี อํ า นาจ ควบคุมในบริษัท หรือหางหุนสวน ที่ ถู ก พิ พ า ก ษ า ใ ห  เ ป  น บุ ค ค ล ลมละลาย หรือถูกพิทักษทรัพย

การสรรหา แตงตัง้ และวาระการ ดํารงตําแหนง • คณะกรรมการบริษัท ตามขอบังคับของบริษัท คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวย กรรมการจํานวนไมนอยกวา 5 คน และกรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของ จํานวนกรรมการทั้งหมดนั้นตองมีถิ่นที่อยูใน ราชอาณาจักร และกรรมการของบริษัท จะ ตองเปนผูมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะตอง หามตามที่กฎหมายกําหนด ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการโดย ใชเสียงขางมากตามหลักเกณฑ และวิธีการ ดังนี้ ( 1 ) ผูถ อื หุน คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเทากับ หนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง ( 2 ) ผูถือหุนแตละคนจะตองใชคะแนน เสียงทีม่ อี ยูท งั้ หมดเลือกบุคคลเดียว หรื อ หลายคนเป น กรรมการก็ ไ ด แต จ ะแบ ง คะแนนเสี ย งให ผู  อื่ น มากนอยเพียงใดไมได ( 3 ) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนสู ง สุ ด ตาม ลํ า ดั บ ลงมาจะได รั บ เลื อ กตั้ ง เป น กรรมการเท า จํ า นวนกรรมการ ที่ จ ะพึ ง มี หรื อ จะพึ ง เลื อ กตั้ ง ใน ครั้ ง นั้ น ในกรณี ที่ บุ ค คลซึ่ ง ได รั บ

UV_THai.indd 42

การเลื อ กตั้ ง ในลํ า ดั บ ถั ด ลงมา มี คะแนนเสี ย งเท า กั น เกิ น จํ า นวน กรรมการที่จะพึงมี หรือพึงเลือกตั้ง ในครั้งนั้น ใหเลือกโดยวิธีจับสลาก เพื่ อ ให ไ ด ต ามจํ า นวนกรรมการที่ จะพึงมี ในกรณี ที่ ตํ า แหน ง กรรมการว า งลงเพราะ เหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ คณะ กรรมการบริษัทจะเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่งมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะตองหามตาม กฎหมาย เขาเปนกรรมการแทนในการประชุม คณะกรรมการคราวถัดไป ดวยคะแนนเสียง ไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนกรรมการที่ยัง เหลืออยู เวนแตวาระการดํารงตําแหนงของ กรรมการจะเหลือนอยกวา 2 เดือน ที่ประชุมผูถือหุนอาจลงมติใหกรรมการคนใด ออกจากตําแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระ ได ดวยคะแนนเสียง ไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนผูถือหุน ซึ่งมาประชุมและมีสิทธิ ออกเสียง และมีหุนนับรวมกันไดไมนอยกวา กึ่งหนึ่งของจํานวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่มา ประชุม และมีสิทธิออกเสียงในการประชุมนั้น ในการประชุ ม สามั ญ ประจํ า ป ผู  ถื อ หุ  น ทุ ก ครั้ง บริษัทไดกําหนดใหกรรมการตองออก จากตําแหนงจํานวนหนึ่งในสามของจํานวน กรรมการทั้งหมด ถ าจํ านวนกรรมการที่ จะ แบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ใหออก โดยจํานวนที่ใกลเคียงที่สุดกับอัตราสวนหนึ่ง ในสาม โดยกรรมการที่จะตองออกในปแรก และปที่สอง ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ใหใชวิธีจับสลากกันวาผูใดจะตองออกสวนใน ปหลังๆใหกรรมการที่อยูในตําแหนงนานที่สุด นั้นเปนผูออกจากตําแหนง ทั้งนี้ กรรมการ ซึ่ ง พ น จากตํ า แหน ง แล ว อาจจะได รั บ เลื อ ก ตั้งใหมได • คณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการชุดยอยของบริษัท ซึ่งไดแก คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิ จ ารณาค า ตอบแทนและ สรรหา และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ต อ งได รั บ การแต ง ตั้ ง โดยคณะกรรมการ บริษัท

• เจาหนาที่ระดับบริหาร การแตงตัง้ ผูบ ริหารสูงสุดตัง้ แตระดับกรรมการ ผูจัดการขึ้นไปนั้น คณะกรรมการพิจารณา ค า ตอบแทนและสรรหา จะคั ด เลื อ กผู  มี คุณสมบัติครบถวนตามที่กําหนด และเสนอ ชื่ อ ผู  ผ  า นการคั ด เลื อ กที่ ส มควรได รั บ การ แตงตัง้ ตอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ คัดเลือกผูท ี่ เหมาะสมจะดํารงตําแหนงโดยวิธีลงคะแนน เสียงขางมากตอไป สําหรับเจาหนาที่บริหารอื่นๆ คณะกรรมการ บริษัทมอบหมายใหประธานอํานวยการเปนผู คัดเลือกผูที่เหมาะสม มาดํารงตําแหนง

คาตอบแทนกรรมการ และผูบริหาร • คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน ประจําป ครัง้ ที่ 32/2554 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2554 มีมติกําหนด คาตอบแทนกรรมการ ตามที่คณะกรรมการ พิจารณาคาตอบแทนและสรรหา และคณะ กรรมการบริษทั เสนอ ดังนี้ o คาตอบแทนคณะกรรมการ ประกอบ ด ว ยค า ตอบแทนรายเดื อ น และค า เบี้ยประชุม ประธานกรรมการไดรับคา ตอบแทนรายเดือน 16,000 บาทตอเดือน และคาเบี้ยประชุม 22,000 บาทตอครั้ง กรรมการแตละทาน ไดรับคาตอบแทน รายเดือน 8,000 บาทตอเดือน และคา เบี้ยประชุม 18,000 บาทตอครั้ง o คา ตอบแทนคณะกรรมการบริ ห าร* ประกอบด ว ยค า ตอบแทนรายเดื อ น ประธานกรรมการบริหาร ไดรับคาตอบ แทนรายเดื อ น 25,000 บาทต อ เดื อ น กรรมการบริหารแตละทานไดรบั คาตอบแทน รายเดือน 20,000 บาทตอเดือน หมายเหตุ * ยกเวนกรรมการบริหารที่ดํารง ตําแหนงผูบริหารบริษัท

26/3/2555 22:17:42


โครงสรางการจัดการ

o คาตอบแทนคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด ว ยค า ตอบแทนรายเดื อ น ประธานกรรมการตรวจสอบ ไดรบั คาตอบแทน รายเดือน 40,000 บาทตอเดือน กรรมการ ตรวจสอบแตละทานไดรับคาตอบแทน รายเดือน 30,000 บาทตอเดือน o คาตอบแทนคณะกรรมการพิจารณา คาตอบแทนและสรรหา ประกอบดวยคา เบี้ยประชุม ประธานกรรมการพิจารณาคา ตอบแทนและสรรหาไดรับคาเบี้ยประชุม

22,000 บาทตอครั้ง กรรมการพิจารณา คาตอบแทน และสรรหาแตละทานไดรับ คาเบี้ยประชุม 18,000 บาทตอครั้ง ทัง้ นี้ วงเงินของคาเบีย้ ประชุม และคาตอบแทน รายเดือน เมือ่ รวมกับคาตอบแทนพิเศษ (ถามี) ไมเกินจํานวนเงิน 5,000,000 บาท โดยในสวน คาตอบแทนพิเศษ คณะกรรมการพิจารณา คาตอบแทนและสรรหา จะเปนผูพิจารณา จัดสรรตามความเหมาะสม จากผลประกอบการ ของบริษทั เปนสําคัญ

43

• คาตอบแทนของผูบริหาร ในป 2554 รวม 6 ทาน ทีไ่ ดรบั จากบริษทั ฯ ในรูปเงินเดือน โบนัส และกองทุนสํารอง เลีย้ งชีพ รวมเปนเงินทัง้ สิน้ 19,073,950 บาท • คาตอบแทนอื่น - ไมมี -

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 43

26/3/2555 22:17:42


44

โครงสรางการจัดการ

ในป 2554 คาตอบแทนที่กรรมการไดรับ มีรายละเอียดดังนี้ คณะกรรมการ

คาตอบแทนรวม 1,604,000 บาท 1,200,000 บาท 76,000 บาท 780,000 บาท 1,250,000 บาท

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนและสรรหา คณะกรรมการบริหาร * คาตอบแทนพิเศษ * หมายเหตุ :

* ยกเวนกรรมการบริหารที่ดํารงตําแหนงผูบริหารบริษัท

สรุปเปรียบเทียบคาตอบแทนกรรมการป 2554 และป 2553 คาตอบแทน คาตอบแทน (รายเดือน เบี้ยประชุม และคาตอบแทนพิเศษ)

ป 2554 4,910,000 บาท

ป 2553 3,996,000 บาท

คาตอบแทนกรรมการบริษัทประจําป 2554

กรรมการบริษัท 1 2 3 4 5 6 7 8

นางสาวพจนีย นายสุวิทย นายนรรัตน นายฐาปน นายปณต นายสิทธิชัย นางอรฤดี นายธนพล รวม

UV_THai.indd 44

ธนวรานิช จินดาสงวน ลิ่มนรรัตน สิริวัฒนภักดี สิริวัฒนภักดี ชัยเกรียงไกร ณ ระนอง ศิริธนชัย

คณะ กรรมการ บริษัท

คณะ กรรมการ ตรวจสอบ

302,000 186,000 186,000 186,000 186,000 186,000 186,000 186,000 1,604,000

360,000 480,000 360,000 1,200,000

คาตอบแทน ( บาท ) คณะ คณะกรรม กรรมการ การบริหาร พิจารณา คาตอบแทน และสรรหา 22,000 18,000 18,000 18,000 300,000 240,000 240,000 76,000 780,000

คาตอบแทน พิเศษ

รวม

250,000 200,000 200,000 200,000 200,000 200,000 1,250,000

934,000 884,000 764,000 704,000 626,000 626,000 186,000 186,000 4,910,000

26/3/2555 22:17:44


คณะกรรมการบริษัทและคณะผูบริหาร

45

คณะกรรมการบริษัท และคณะผูบริหาร นางสาวพจนีย ธนวรานิช

นายสุวิทย จินดาสงวน

นายนรรัตน ลิ่มนรรัตน

ประเภทกรรมการ : กรรมการที่เปนอิสระ ตําแหนงปจจุบัน : ประธานกรรมการ / กรรมการ ตรวจสอบ / ประธานกรรมการพิจารณาคาตอบแทน และสรรหา อายุ : 65 ป คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Syracuse University ประเทศสหรัฐอเมริกา (ดวยทุน USAID) ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Financial Institutions Governance Program (2/2554) • Audit Committee Program (ACP 32/2553) • The Role of Compensation Committee Program (RCC4/2550) • The Role of Chairman Program (RCP13/2549) • Directors Certificate Program (DCP17/2545) การถือหุนในบริษัทฯ • 0% (-0- หุน ) จํานวนปที่เปนกรรมการ • 4 ป 8 เดือน ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) บริษัท โออิชิ กรุป จํากัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพประกันภัย จํากัด (มหาชน) • กรรมการอิสระ บริษัท ไทยรับประกันภัยตอ จํากัด (มหาชน) บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จํากัด (มหาชน) ตําแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน • ประธานกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ประจํากระทรวงพาณิชย • กรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 3 - กฎหมายเกีย่ วกับ การเงิน) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตําแหนงในกิจการที่แขงขันเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ ของบริษัทฯ ที่อาจทําใหเกิดความขัดแยงทางผล ประโยชน • - ไมมี – ประสบการณ 2549 - 2551 • รองประธานสภานิติบัญญัติแหงชาติ สภานิติบัญญัติแหงชาติ • ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย กระทรวงพาณิชย • ที่ปรึกษาคณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติ ฝายเศรษฐกิจ คณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติดานเศรษฐกิจ 2544 - 2551 • กรรมการในคณะกรรมการนโยบายสถาบันการเงิน ธนาคารแหงประเทศไทย 2545 - 2550 • ประธานกรรมการ สถาบันประกันภัยไทย ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี -

ประเภทกรรมการ : กรรมการที่เปนอิสระ ตําแหนงปจจุบัน : กรรมการอิสระ / ประธาน กรรมการตรวจสอบ / กรรมการพิจารณาคา ตอบแทนและสรรหา อายุ : 57 ป คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตรเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Advance Audit Committee Program (4/2554) • Monitoring the Quality Financial Report (2551) • The Role of the Chairman Program (RCP 18/2551) • The Role of Compensation Committee Program (RCC1/2549) • Improving the Quality of Financial Reporting (QFR 2/2549) • Audit Committee Program (ACP4/2548) • Directors Certification Program (DCP44/2547) • Directors Accreditation Program (DAP14/2547) การถือหุนในบริษัทฯ • 0.07% (500,000 หุน) จํานวนปที่เปนกรรมการ • 8 ป 6 เดือน ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ประธานกรรมการ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) • คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน) ตําแหนงในกิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน • ประธานกรรมการ บริษัท อินเตอรเน็ท โซลูชั่น แอนด เซอรวิส โพรวายเดอร จํากัด บริษัท ไวดไว แม็กซ จํากัด ตําแหนงในกิจการที่แขงขันเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ ของบริษัทฯที่อาจทําใหเกิดความขัดแยงทางผล ประโยชน • - ไมมี – ประสบการณ 2546 – 2550 • กรรมการตรวจสอบ บริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด (มหาชน) ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี -

ประเภทกรรมการ : กรรมการที่เปนอิสระ ตําแหนงปจจุบัน : กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ / กรรมการพิจารณาคาตอบแทนและ สรรหา อายุ : 53 ป คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการเงิน • มหาวิทยาลัยคอรแนล, นิวยอรค, ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Directors Certification Program (DCP initial) • Finance for Non-Finance Director (FND-2547) การถือหุนในบริษัทฯ • 0% (-0- หุน ) จํานวนปที่เปนกรรมการ • 6 ป 3 เดือน ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น • - ไมมี – ตําแหนงในกิจการอืน่ ทีไ่ มใชบริษทั จดทะเบียน • กรรมการ / ประธานอํานวยการ บริษทั เอเซียแอสเซทแมเนจเมนท จํากัด • ที่ปรึกษา ตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ • อนุกรรมการสรรหาและพัฒนาบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตําแหนงในกิจการที่แขงขันเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ ของบริษัทฯที่อาจทําใหเกิดความ ขัดแยงทางผลประโยชน • - ไมมี – ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี -

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 45

26/3/2555 22:17:44


46

คณะกรรมการบริษัทและคณะผูบริหาร

นายฐาปน สิริวัฒนภักดี

นายปณต สิริวัฒนภักดี

นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร

ประเภทกรรมการ : กรรมการผูมีอํานาจลงนาม ตําแหนงปจจุบัน : กรรมการ / ประธานกรรมการ บริหาร / กรรมการพิจารณาคาตอบแทนและสรรหา อายุ : 37 ป คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตรการเงิน การธนาคาร มหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Directors Accreditation Program (DAP10/2547) การถือหุนในบริษัทฯ • 28.20% (215,648,563 หุน) จํานวนปที่เปนกรรมการ • 4 ป 8 เดือน ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น • รองประธานกรรมการ บริษัท อาหารสยาม จํากัด (มหาชน) • รองประธานกรรมการ / รองประธานกรรมการ บริหาร บริษัท โออิชิ กรุป จํากัด (มหาชน) • กรรมการ / กรรมการบริหาร บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จํากัด (มหาชน) ตําแหนงในกิจการอืน่ ทีไ่ มใชบริษทั จดทะเบียน • กรรมการ / กรรมการผูอ าํ นวยการใหญ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) • กรรมการ / รองประธานกรรมการบริหาร บริษทั เบียรไทย (1991) จํากัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท อเดลฟอส จํากัด ตําแหนงในกิจการที่แขงขันเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ ของบริษัทฯที่อาจทําใหเกิดความขัดแยงทาง ผลประโยชน • - ไมมี – ประสบการณ • - ไมมี ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี -

ประเภทกรรมการ : กรรมการผูมีอํานาจลงนาม ตําแหนงปจจุบัน : กรรมการ / กรรมการบริหาร อายุ : 34 ป คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ และหลักสูตรวิศวกรรม อุตสาหกรรม และเศรษฐศาสตร จาก มหาวิทยาลัย แมสซาชูเสทส ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Directors Certification Program (DCP46/2547) • Finance for Non-Finance Director (FND10/2547) การถือหุนในบริษัทฯ • 28.20% (215,648,563 หุน) จํานวนปที่เปนกรรมการ • 4 ป 8 เดือน ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการ / กรรมการบริหาร บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จํากัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท อาหารสยาม จํากัด (มหาชน) บริษัท โออิชิ กรุป จํากัด (มหาชน) ตําแหนงในกิจการอืน่ ทีไ่ มใชบริษทั จดทะเบียน • กรรมการ / กรรมการบริหาร บริษทั เบียรทพิ ย บริเวอรี่ (1991) จํากัด • กรรมการ / รองกรรมการผูจัดการ บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จํากัด • กรรมการ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) บริษัท ที.ซี.ซี. แลนด เลเซอร (ชื่อปจจุบัน-ทีซีซี โฮเทลสกรุป) จํากัด บริษัท อเดลฟอส จํากัด บริษทั อีสเทิรน ซีบอรด อินดัสเตรียล เอสเตท (ระยอง) จํากัด บริษัท พรรณธิอร จํากัด บริษัท สิริวนา จํากัด บริษัท คริสตอลลา จํากัด บริษัท ทีซีซี โฮลดิ้ง จํากัด บริษัท ทีซีซี แลนด จํากัด ตําแหนงในกิจการที่แขงขันเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ ของบริษัทฯ ที่อาจทําใหเกิดความขัดแยงทาง ผลประโยชน • - ไมมีประสบการณ • กรรมการ 2546–2552 บริษทั เครืออาคเนย จํากัด 2547–2551 บริษัท เทอราโกร จํากัด ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี -

ประเภทกรรมการ : กรรมการผูมีอํานาจลงนาม ตําแหนงปจจุบัน : กรรมการ / กรรมการบริหาร อายุ : 57 ป คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • Mini MBA มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Directors Certification Program (DCP26/2546) • DCP Refresher Course (2/2548) การถือหุนในบริษัทฯ • 0% (-0- หุน) จํานวนปที่เปนกรรมการ • 4 ป 8 เดือน ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการ / กรรมการบริหาร บริษัท เสริมสุข จํากัด (มหาชน) บริษัท อาหารสยาม จํากัด (มหาชน) บริษัท โออิชิ กรุป จํากัด (มหาชน) บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จํากัด (มหาชน) ตําแหนงในกิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน • กรรมการ / กรรมการรองกรรมการ ผูอํานวยการใหญ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท อเดลฟอส จํากัด บริษัท อีสเทิรน ซีบอรด อินดัสเตรียล เอสเตท (ระยอง) จํากัด บริษัท ไทยเบเวอรเรจแคน จํากัด ตําแหนงในกิจการที่แขงขันเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ ของบริษัทฯที่อาจทําใหเกิดความ ขัดแยงทางผล ประโยชน • - ไมมี – ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี -

UV_THai.indd 46

26/3/2555 22:17:44


คณะกรรมการบริษัทและคณะผูบริหาร

นางอรฤดี ณ ระนอง

นายธนพล ศิริธนชัย

นายสุธี สิมปนชัยพรกุล

ประเภทกรรมการ : กรรมการผูมีอํานาจลงนาม ตําแหนงปจจุบัน : กรรมการ / กรรมการบริหาร / เลขานุการ คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน และสรรหา / ประธานอํานวยการ อายุ : 51 ป คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ San Diego State University, ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Role of the Compensation Committee Program (RCC7/2551) • DCP Refresher Course (3/2549) • Diploma of Directors Certification Program (DCP17/2545) การถือหุนในบริษัทฯ • 0.82% (6,300,000 หุน) จํานวนปที่เปนกรรมการ • 11 ป 11 เดือน ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น • - ไมมี ตําแหนงในกิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน • กรรมการ บริษัท เลิศรัฐการ จํากัด บริษัท เอสโก เวนเจอร จํากัด กองทุนรวม กินรีพร็อพเพอรตี้ บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด บริษัท แกรนด ยู ลิฟวิ่ง จํากัด บริษัท เอ็กซเซลเลนท เอ็นเนอรยี่ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท ยูนิเวนเจอร คอนซัลติ้ง จํากัด บริษทั ยูนเิ วนเจอร แอสเซท แมเนจเมนท จํากัด บริษัท ฟอรเวิรด ซิสเต็ม จํากัด บริษัท ไทย – ไลซาท จํากัด มูลนิธิมาแตรเดอีวิทยาลัย ตําแหนงในกิจการที่แขงขันเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ ของบริษัทฯที่อาจทําใหเกิดความ ขัดแยงทางผล ประโยชน • - ไมมี – ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี -

ประเภทกรรมการ : กรรมการผูมีอํานาจลงนาม ตําแหนงปจจุบัน : กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการผูจัดการ อายุ : 44 ป คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of Texas at Austin, ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Directors Certification Program (DCP39/2547) • Directors Accreditation Program (DAP10/2547) การถือหุนในบริษัทฯ • 0% (-0- หุน) จํานวนปที่เปนกรรมการ • 8 ป 10 เดือน ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น • - ไมมี ตําแหนงในกิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน • กรรมการ บริษัท เลิศรัฐการ จํากัด บริษัท เอสโก เวนเจอร จํากัด กองทุนรวม กินรีพร็อพเพอรตี้ บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด บริษัท แกรนด ยู ลิฟวิ่ง จํากัด บริษัท ยูนิเวนเจอร คอนซัลติ้ง จํากัด บริษทั ยูนเิ วนเจอร แอสเซท แมเนจเมนท จํากัด บริษัท ฟอรเวิรด ซิสเต็ม จํากัด บริษัท ไทย – ไลซาท จํากัด ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี -

ตําแหนง : ผูชวยกรรมการผูจัดการ ฝายพัฒนา โครงการ อายุ : 37 ป สัดสวนการถือหุน • 0% (-0- หุน) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร • - ไมมี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารโครงการ CLEMSON University, ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Directors Accreditation Program (DAP 89/2554) ตําแหนงในกิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน • กรรมการผูจัดการ บริษัท เลิศรัฐการ จํากัด ประสบการณทํางาน 2549 - 2551 • ผูจัดการฝายธุรกิจอสังหาริมทรัพย บริษัท แคปปตอล แอดไวเซอรี่ เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จํากัด ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี -

47

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 47

26/3/2555 22:17:45


48

คณะกรรมการบริษัทและคณะผูบริหาร

นายสถาพร อมรวรพักตร

นายอลงกรณ ประธานราษฎรนกิ ร

นายกําพล ปุญโสณี

ตําแหนง : ผูชวยกรรมการผูจัดการ ดานการเงิน งบประมาณและบัญชี อายุ : 39 ป สัดสวนการถือหุน • 0% (-0- หุน) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร • - ไมมี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • - ไมมี ประสบการณทํางาน 2551 – 2554 • ผูอํานวยการฝายบัญชีและการเงิน บริษัท เมอรเมด มาริไทม จํากัด (มหาชน) 2550 - 2551 • ผูจัดการอาวุโสฝายบัญชีและการเงิน บริษัท เมอรเมด มาริไทม จํากัด (มหาชน) ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี -

ตําแหนง : ผูอํานวยการอาวุโส ฝายกฎหมาย และบริหารทรัพยสิน / เลขานุการบริษัท อายุ : 46 ป สัดสวนการถือหุน • 0% (-0- หุน) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร • - ไมมี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท กฎหมาย McGeorge School of Law, University of the Pacific, ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Company Secretary Program (CSP 44/2555) • Directors Certification Program (DCP 114/2552) • Financial Statements for Directors (FSD 4/2552) ตําแหนงในกิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน • กรรมการ / กรรมการผูจัดการ บริษทั ยูนเิ วนเจอร แอสเซท แมเนจเมนท จํากัด • กรรมการ บริษัท เลิศรัฐการ จํากัด ประสบการณทํางาน 2541 - 2550 • ผูจัดการกองทุนอาวุโส ฝายจัดการกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย บริษทั หลักทรัพยจดั การกองทุนรวม วรรณ จํากัด ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี-

ตําแหนง : ผูอํานวยการอาวุโส ฝายพัฒนาธุรกิจ อายุ : 40 ป สัดสวนการถือหุน • 0.18% (1,375,000 หุน) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร • - ไมมี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of Newcastle upon Tyne, ประเทศอังกฤษ ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Directors Accreditation Program (DAP 87/2554) ตําแหนงในกิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน • กรรมการ / กรรมการผูจัดการ บริษัท ยูนิเวนเจอร คอนซัลติ้ง จํากัด • กรรมการการลงทุนกองทุนรวม กินรีพร็อพเพอรตี้ • กรรมการ บริษัท คาเธย แอสเซท แมเนจเมนท จํากัด ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี -

UV_THai.indd 48

26/3/2555 22:17:45


คณะกรรมการบริษัทและคณะผูบริหาร

นายวิชัย มหัตเดชกุล

นายเนรมิต สรางเอีย่ ม

นายกรธวัช กิง่ เงิน

ตําแหนง : ผูอํานวยการอาวุโส ฝายเทคโนโลยี สารสนเทศ อายุ : 46 ป สัดสวนการถือหุน • 0% (-0- หุน) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร • - ไมมี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท สาขาสถิติศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) -ไมมีประสบการณทํางาน 2553 • ผูอํานวยการ ฝายบริหารระบบสารสนเทศ ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) 2537 - 2552 • ผูอํานวยการอาวุโส ฝายคอมพิวเตอร และเทคโนโลยี บริษทั หลักทรัพยจดั การกองทุนรวม วรรณ จํากัด ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี -

ตําแหนง : กรรมการผูจัดการ บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด อายุ : 44 ป สัดสวนการถือหุน • 0% (-0- หุน) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร • - ไมมี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Accreditation Program (DAP 87/2553) ประสบการณทํางาน 2547 - ปจจุบัน • กรรมการผูจัดการ บริษัท ไทย เว็บ บิสซิเนส จํากัด • กรรมการบริหาร บริษัท กานสมอง จํากัด • กรรมการ / กรรมการผูจัดการ บริษัท สมองสวนหนา จํากัด ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี -

ตําแหนง : กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ไทย–ไลซาท จํากัด อายุ : 46 ป สัดสวนการถือหุน • 0.00% (3,000 หุน) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร • - ไมมี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาตรี สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ประวัติการอบรมหลักสูตรของสมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Directors Certification Program (DCP71/2549) ประสบการณทํางาน • - ไมมี – ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา • - ไมมี -

49

นายนพดล ถีระศิลป ตําแหนง : กรรมการผูจัดการ บริษัท ฟอรเวิรด ซิสเต็ม จํากัด อายุ : 54 ป สัดสวนการถือหุน • 0.00 % (5,600 หุน) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร • - ไมมี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาธุรกิจระหวางประเทศ Pacific States University California, ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัติการอบรมหลักสูตรของ สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Directors Accreditation Program (DAP 86/2554) ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปทผี่ า นมา - ไมมี -

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 49

26/3/2555 22:17:46


50

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ บริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด (มหาชน) ไดตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที่ดี และมุงมั่นที่จะยกระดับของการกํากับดูแลกิจการ ที่ดีอยางตอเนื่อง โดยเชื่อมั่นวาการกํากับดูแลกิจการที่ดีจะเปนประโยชนตอการดําเนินธุรกิจของบริษัท สามารถเพิ่มมูลคา และผลตอบแทน แกผูถือหุน และผูลงทุนในระยะยาว ตลอดจนสรางความเชื่อมั่นใหกับผูถือหุนผูลงทุน และผูที่เกี่ยวของทุกฝาย และเพื่อใหการบริหารงานเปน ไปอยางโปรงใสเปนธรรม สามารถตรวจสอบได โดยคํานึงถึงสิทธิ และความเทาเทียมกันของผูถือหุน และความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสีย คณะกรรมการบริษัท จึงไดกําหนดใหมีนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทอยางเปนลายลักษณอักษร สอดคลองกับหลักการกํากับดูแล กิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และระเบียบปฏิบัติของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย โดยจัดใหมี การทบทวน และปรับปรุงใหเปนปจจุบันอยูเสมอ เพื่อสื่อสาร และสรางความรูความเขาใจในเรื่องการกํากับดูแลกิจการที่ดีใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ของบริษัทไดรับทราบ และถือปฏิบัติอยางตอเนื่อง เพื่อใหบรรลุถึงเปาหมายสูงสุดของบริษัท ซึ่งไดแก การบรรลุถึง เปาหมายในการดําเนินธุรกิจ และการเจริญเติบโตของบริษัทฯ อยางตอเนื่องและยั่งยืน

นโยบายการกํา กั บ ดูแ ลกิ จ การ ครอบคลุมเรื่องตางๆ ดังนี้ 1. สิ ท ธิ แ ละการปฏิ บั ติ ต  อ ผู  ถื อ หุ  น อย า ง เทาเทียมกัน 2. บทบาทตอผูมีสวนไดเสีย 3. ความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการ บริษัท 4. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส

1

สิทธิและความเทาเทียมกันของ ผูถือหุน

บริ ษั ท ฯ ให ค วามสํ า คั ญ ต อ สิ ท ธิ แ ละความ เท า เที ย มกั น ของผู  ถื อ หุ  น โดยกํ า หนดเป น นโยบายขั้นพื้นฐานของผูถือหุน ไดแก สิทธิ ในการได รั บ ใบหุ  น และสิ ท ธิ ใ นการโอนหุ  น สิทธิในการมีสวนแบงในผลกําไรของบริษัทฯ สิ ท ธิ ใ นการได รั บ สารสนเทศของบริ ษั ท ฯ อย า งเพี ย งพอ ทั น เวลา และในรู ป แบบที่ เหมาะสมตอการตัดสินใจ นอกจากนี้ยังให ความสําคัญตอสิทธิของผูถือหุนในการเขา ร ว มประชุ ม และออกเสี ย งลงคะแนน ในที่ ประชุ ม ผู  ถื อ หุ  น เพื่ อ ตั ด สิ น ใจในเรื่ อ งสํ า คั ญ ของบริษัทฯ เชน การเลือกตั้งและถอดถอน กรรมการ การอนุมัติธุรกรรมที่สําคัญและมี ผลต อ ทิ ศ ทางการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ การแก ไ ขหนั ง สื อ บริ ค ณห ส นธิ ข อ บั ง คั บ บริษัทฯ และการใหความเห็นชอบในการแตง ตั้งผูสอบบัญชี • การประชุมผูถือหุน บริษัทฯ กําหนดใหมีการประชุมสามัญผูถือ หุ  น ป ล ะครั้ ง ภายในเวลาไม เ กิ น 4 เดื อ น นั บ แต สิ้ น สุ ด รอบป บั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ และ

UV_THai.indd 50

หากมี ค วามจํ า เป น เร ง ด ว นต อ งเสนอวาระ เปนกรณีพิเศษ ซึ่งกระทบหรือเกี่ยวของกับ ผลประโยชนของผูถือหุน หรือเกี่ยวของกับ เงื่อนไขหรือกฎเกณฑ กฎหมายที่ใชบังคับที่ ตองไดรับการอนุมัติจากผูถือหุนแลว บริษัทฯ จะเรียกประชุมวิสามัญผูถือหุนเปนกรณีไป นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึง สิทธิของผูถือหุน โดยไดเปดโอกาสใหผูถือ หุนคนหนึ่งหรือหลายคนซึ่งถือหุนและมีสิทธิ ออกเสียงนับรวมกันไดไมเกินกวารอยละ 5 ของจํานวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ เสนอระเบียบวาระการประชุมผูถือหุนและชื่อ บุคคลเพื่อเปนกรรมการลวงหนา เพื่อแสดง ใหเห็นถึงการปฏิบัติตอผูถือหุนทุกรายอยาง เปนธรรมและเทาเทียมกัน โดยบริษัทฯ ได กําหนดหลักเกณฑการใหผูถือหุนสวนนอย เสนอระเบียบวาระการประชุมผูถือหุน และ ชื่อบุคคลเพื่อเปนกรรมการลวงหนา พรอม ทั้งเปดโอกาสใหมีการซักถามคณะกรรมการ ลวงหนากอนวันประชุมผูถือหุน นอกจากนี้ บริษัทฯ มีนโยบายที่จะอํานวยความสะดวก ใหแกผูถือหุน และปฏิบัติตอผูถือหุนทุกราย อยางเทาเทียมกัน เปนธรรม และเปนไปตาม ขอกําหนด กฎหมาย โดยกําหนดใหสทิ ธิออกเสียง ในที่ประชุมเปนไปตามจํานวนหุนที่ผูถือหุน ถืออยู โดยหนึ่งหุนมีสิทธิเทากับหนึ่งเสียง ในป 2554 บริษทั ฯ ไดจดั ใหมกี ารประชุมสามัญ ผูถือหุน 1 ครั้ง โดยดําเนินการตาม พรบ. บริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 ขอกําหนด ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย และตลาดหลักทรัพย เพื่อคุณภาพการจัดการ ประชุมสามัญผูถือหุน ดังนี้

กอนวันประชุมผูถือหุน บริษัทฯ ไดเปดเผยมติคณะกรรมการบริษัท เรือ่ งกําหนดการจัดประชุมผูถ อื หุน ทางเว็บไซต ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และของ บริษัทฯ พรอมทั้งไดนําหนังสือเชิญประชุม ผู  ถื อ หุ  น ที่ มี ร ายละเอี ย ดครบถ ว นเป ด เผย ในเว็บไซตบริษัทฯ กอนลวงหนา 30 วัน และ ไดจดั สงหนังสือเชิญประชุม ซึง่ มีวาระทีส่ าํ คัญ อยางครบถวนตามกฎหมาย ขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และขอ บังคับของบริษทั ฯ ไดแก รายละเอียดวาระการ ประชุมซึ่งไดระบุอยางชัดเจนในแตละวาระที่ นําเสนอวาเปนเรื่องที่นําเสนอเพื่อทราบ เพื่อ อนุมตั ิ หรือเพือ่ พิจารณา รวมทัง้ นําเสนอความ เห็นของคณะกรรมการบริษัทในแตละวาระ อยางชัดเจน รายงานการประชุมครั้งที่ผานมา รายงานประจําป พรอมทัง้ เอกสารประกอบการ ประชุม เอกสารทีต่ อ งใชในการมอบฉันทะ และ ระบุวิธีการไวชัดเจน โดยจัดสงให ผู  ถื อ หุ  น ล ว งหน า ก อ นการประชุ ม ผู  ถื อ หุ  น 7 วัน และประกาศลงในหนังสือพิมพรายวันฉบับ ภาษาไทย เพื่อเชิญประชุมผูถือหุนติดตอกัน ไม น อยกว า 3 วั น และกอนวั นประชุม ไม นอยกวา 3 วัน เพือ่ บอกกลาวใหผถู อื หุน ทราบ ลวงหนา ในเวลาที่เพียงพอสําหรับเตรียมตัว ศึ ก ษาข อ มู ล เกี่ ย วกั บ วาระการประชุ ม ก อ น เขารวมประชุม พรอมทั้งจัดใหมีชองทางให ผูถือหุนสามารถซักถามคณะกรรมกรรมการ ลวงหนากอนวันประชุมผูถือหุนได โดยได จัดสงใหผูถือหุนทุกรายที่มีรายชื่อปรากฏใน สมุดทะเบียนผูถือหุน ณ วันปดสมุดทะเบียน

26/3/2555 22:17:46


นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

ผูถ อื หุน ของบริษทั ฯ รวมทัง้ ไดแตงตัง้ กรรมการ อิ ส ระเป น ผู  รั บ มอบฉั น ทะแทนผู  ถื อ หุ  น ใน กรณีที่ผูถือหุนประสงคจะมอบฉันทะใหผูอื่น มาประชุมแทน สามารถเลือกมอบฉันทะให บุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือกรรมการอิสระของ บริษัทฯ เขาประชุมแทนได วันประชุมผูถือหุน บริ ษั ท ฯ ได กํ า หนดสถานที่ วั น และเวลา การประชุ ม ที่ ส ะดวกกั บ ผู  ถื อ หุ  น อย า งเท า เทียมกันทุกราย โดยบริษัทฯ จัดใหมีเอกสาร ประกอบการประชุม ซึ่งสงพรอมกับหนังสือ เชิญประชุม เพื่อใหผูถือหุนทราบกระบวนการ และขัน้ ตอนในการเขารวมประชุม การตรวจสอบ เอกสารหรือหลักฐานเพื่อแสดงสิทธิในการ เข า ร ว มประชุ ม จั ด เจ า หน า ที่ ล งทะเบี ย น กําหนดจุดบริการรับลงทะเบียนอยางเหมาะสม และเพียงพอ โดยผูถือหุนสามารถลงทะเบียน เขารวมประชุมไดลวงหนากอนเวลาประชุม 1 ชั่วโมง และตอเนื่องจนกวาการประชุมผู ถือหุนจะแลวเสร็จรวมถึงการเลี้ยงรับรองที่ เหมาะสมแกผูถือหุนที่มาประชุมดวย ในการประชุ ม ผู  ถื อ หุ  น ประธานกรรมการ บริษัท ไดทําหนาที่ประธานในที่ประชุม และ กอนดํ าเนิ นการประชุ มไดแจงรายละเอี ยด ขององค ป ระชุ ม อธิ บ ายวิ ธี ก ารลงคะแนน การนั บ คะแนนการใช บั ต รลงคะแนน การ เก็บบัตรลงคะแนน และเปดเผยผลการนับ คะแนนในแตละวาระอยางชัดเจน โปรงใส และเก็บบัตรลงคะแนนไวเพือ่ ตรวจสอบภายหลัง รวมทั้ ง เป ด โอกาสให ผู  ถื อ หุ  น ซั ก ถาม หรื อ แสดงความคิดเห็นอยางเหมาะสมและเพียง พอ และใหกรรมการที่เกี่ยวของชี้แจงและให ขอมูลตางๆ แกผูถือหุนอยางชัดเจน สําหรับ การลงคะแนนและนับคะแนนเสียง บริษัทฯ ปฏิบัติตามขอบังคับของบริษัทฯ ที่กําหนดให 1 หุน เปน 1 เสียง และนับเสียงขางมาก เปนมติ โดยใชบัตรลงคะแนนเฉพาะกรณีที่ ผูถือหุนคัดคาน หรืองดออกเสียง และเก็บ บั ต รลงคะแนนไว เ พื่ อ ตรวจสอบได ใ นภาย หลัง ทั้งนี้ในการประชุมผูถือหุนมีกรรมการ เขารวมประชุมรวม 8 ทาน ประกอบดวย ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหาร และคณะกรรมการ บริษัท รวมทั้งมีผูแทนหนวยงานตางๆ และ ผูสอบบัญชีของบริษัทฯ เขารวมประชุม

หลังวันประชุมผูถือหุน บริษัทฯ แจงมติที่ประชุมผูถือหุนผานระบบ ข า วของตลาดหลัก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย ภายในวันทําการถัดไป และผานทางเว็บไซต ของบริษัทฯ โดยไดระบุผลของการลงคะแนน เสียง (เห็นดวย / ไมเห็นดวย / งดออกเสียง) ในแตละวาระ และจัดสงรายงานการประชุม ผู  ถื อ หุ  น ซึ่ ง จดบั น ทึ ก รายชื่ อ กรรมการที่ เ ข า รวมประชุม ผลของการลงคะแนนเสียง (เห็น ดวย / ไมเห็นดวย / งดออกเสียง) ในวาระ ที่ ข อรั บ รอง / อนุ มั ติ จ ากผู  ถื อ หุ  น รวมทั้ ง ขอซักถามของผูถือหุนในแตละวาระ และการ ชี้แจงของบริษัทฯ ใหตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยและหนวยงานราชการ ภายใน ระยะเวลา 14 วันนับแตวันประชุมผูถือหุน และเผยแพรรายงานการประชุมผูถือหุนบน เว็บไซตของบริษัทฯ • การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริ ษั ท ฯ มี น โยบายในการดู แ ลเรื่ อ งการใช ขอมูลภายใน ซึ่งถือวาเปนความรับผิดชอบ ของกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานที่ตอง เก็ บ รั ก ษาข อ มู ล ความลั บ ของบริ ษั ท อย า ง เคร ง ครั ด โดยเฉพาะข อ มู ล ภายในที่ ยั ง ไม เปดเผยต อสาธารณะ หรือขอมูลที่ผลกระ ทบตอการดําเนินธุรกิจ หรือราคาหุน โดย กําหนดที่จะไมใชโอกาส หรือขอมูลที่ไดจาก การเปนกรรมการผูบริหาร หรือพนักงานของ บริษัทในการหาประโยชนสวนตน ไมใชขอมูล ภายในเพื่อประโยชนของตนในการซื้อขาย หุนบริษัท หรือใหขอมูลภายในแกบุคคลอื่น เพื่ อ ประโยชน ใ นการซื้ อ ขายหุ  น ของบริ ษั ท และ ในเรื่องการทําธุรกิจที่แขงขันกับบริษัท หรื อ ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ ง ไม เ ป ด เผยข อ มู ล ความลั บ ทางธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ต อ บุ ค คล ภายนอก โดยเฉพาะคูแขง แมพนสภาพการ เปนกรรมการ ผูบริหาร หรือพนักงานของ บริษัทฯ ไปแลวเปนระยะเวลา 2 ป และเพื่อ ปองกันมิใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ที่มีสวนใกลชิดกับขอมูลของบริษัทฯนําขอมูล ภายในที่ตนรูมาแสวงหาประโยชนอันเปนการ ฝาฝนหนาที่ความรับผิดชอบของตนที่มีตอ บริษัทฯ และผูถือหุน โดยจํากัดใหรับรูได เฉพาะกรรมการ และผู  บ ริ ห ารระดั บ สู ง ที่ เกี่ยวของเทานั้น รวมถึงหามกรรมการ และ ผูบริหาร รวมทั้งคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุ นิติภาวะ ซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทกอน

51

การประกาศงบการเงิน 1 เดือน และภาย หลั ง จากที่ ป ระชาชนได รั บ ทราบข อ มู ล แล ว 48 ชั่วโมง โดยทุกๆ 3 เดือน โดยบริษัทฯ จะแจงคณะกรรมการบริษัท และฝายบริหาร ถึงชวงระยะเวลาหามซื้อขายหลักทรัพยของ บริษัทฯ ดังกลาว และใหกรรมการ ผูบริหาร มีหนาที่รายงานการถือครองหลักทรัพยของ บริษัทฯ และจัดสงรายงานดังกลาวใหบริษัทฯ รับทราบ ทั้งนี้ เพื่อมิใหกรรมการ ผูบริหาร นําขอมูลภายในไปใชประโยชนซึ่งกอใหเกิด ความขัดแยงทางผลประโยชน การกระทําฝาฝนใดๆ อันเปนเหตุใหบริษทั ฯ ได รับความเสียหาย หรือสูญเสียโอกาสทางธุรกิจ บริษทั ฯ ถือเปนการปฏิบตั ิ ขัดกับนโยบาย และ จริยธรรมทางธุรกิจ ตองไดรับโทษทางวินัย อยางรายแรง และยังมีความผิดตามพระราช บัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535

2

บทบาท ตอผูมีสวนไดเสีย

บริ ษั ท ฯ ให ค วามสํ า คั ญ ต อ ผู  มี ส  ว นได เ สี ย ทั้ ง ภายในและภายนอกบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง ได แ ก ผู  ถื อ หุ  น กรรมการ พนั ก งานของบริ ษั ท ฯ ลูกคา คูคา เจาหนี้ คูแขง หนวยงานอื่นๆ ที่ บริษัทฯ ดําเนินกิจกรรมดวย รวมถึงการคํานึง ถึงความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม โดยได กํ า หนดแนวทางปฏิ บั ติ อ ย า งชั ด เจน ไวในคูมือจรรยาบรรณทางธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อใหกรรมการ ฝายบริหาร และพนักงาน ของบริษัทฯ ถือปฏิบัติอยางเครงครัดในการ ปฏิบัติงาน และถือเปนภาระหนาที่และเปน วินยั ทีท่ กุ คนพึงปฏิบตั ิ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ผูถือหุน : บริ ษั ท ฯ จะปฏิ บั ติ ห น า ที่ ด  ว ยความซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต และเป น ธรรมโดยคํ า นึ ง ถึ ง การเจริ ญ เติบโตของมูลคาบริษัทฯ ในระยะยาวและผล ตอบแทนที่ดีแกผูถือหุน

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 51

26/3/2555 22:17:47


52

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

พนักงาน : บริษัทฯ ถือวาพนักงานเปนปจจัยแหงความ สําเร็จของการบรรลุเปาหมายของบริษัทฯ ที่ มี คุ ณ ค า โดยเป ด โอกาสอย า งทั่ ว ถึ ง และ สม่ำเสมอในการเรียนรู และพัฒนาความรู ความสามารถของพนั ก งานอย า งเต็ ม ศักยภาพ การดูแลรักษาสภาพแวดลอมใน การทํางานใหมีความปลอดภัยตอชีวิต และ ทรั พ ย สิ น ของพนั ก งาน รวมทั้ ง การให ผ ล ตอบแทนแกพนักงานที่เปนธรรมทั้งในดาน เงินเดือนสวัสดิการและผลตอบแทนในรูปอื่น ลูกคา : บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญในการสราง ความพึงพอใจและความมั่นใจใหลูกคาที่จะ ไดรับสินคาและบริการที่ดีมีคุณภาพ ในราคา ที่เปนธรรม รักษาสัมพันธภาพที่ดี ตลอดจน การจัดใหมีกระบวนการที่ใหลูกคารองเรียน เกี่ยวกับคุณภาพ ปริมาณ ความปลอดภัย ของสินคาและบริการ การใหขอมูลขาวสาร เกี่ ย วกั บ สิ น ค า และบริ ก ารอย า งครบถ ว น ถูกตองเพียงพอและทันตอเหตุการณ รวมทั้ง การรั ก ษาความลั บ ของลู ก ค า ซึ่ ง ไม ไ ด รั บ อนุญาตจากลูกคาหรือผูมีอํานาจของบริษัทฯ ก อ น และไม นํ า ไปใช เ พื่ อ ประโยชน โ ดย มิชอบ เวนแตเปนขอมูลที่ตองเปดเผยตอ บุคคลภายนอกที่เกี่ยวของตามบทบังคับของ กฎหมาย คูแขง : บริ ษั ท ฯ จะประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต  อ คู  แ ข ง ทาง การค า ภายใต ก รอบแห ง กฎหมายของการ แข ง ขั น ที่ ดี ไม ล ะเมิ ด ความลั บ หรื อ ล ว งรู  ความลั บ ทางการค า ด ว ยวิ ธี ก ารที่ ไ ม สุ จ ริ ต หรื อ ด ว ยวิ ธี ก ารอื่ น ที่ ไ ม เ หมาะสม และไม ทํ า ลายชื่ อ เสี ย งของคู  แ ข ง ทางการค า ด ว ย การกล า วหาในทางร า ยและปราศจากซึ่ ง ขอมูลจริง คูคา และ/หรือเจาหนี้ : บริษัทฯคํานึงถึงความเสมอภาคและเปนธรรม คํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ และ ตั้งอยูบนพื้นฐานของการไดรับผลตอบแทนที่ เปนธรรมตอทัง้ สองฝาย หลีกเลีย่ งสถานการณ ทีท่ าํ ใหเกิดวามขัดแยงทางผลประโยชน รวมทัง้ ปฏิบัติตามพันธะสัญญา

UV_THai.indd 52

ชุมชน และสังคม : บริษัทฯ คํานึงถึงผลประโยชนสวนรวม และ ไมกระทําการใดๆ ที่จะมีผลเสียหายตอชื่อ เสียงของประเทศ สิง่ แวดลอม และประโยชน สาธารณะ โดยไดดาํ เนินการสงเสริมพนักงาน ให มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คม ให ค วาม ช ว ยเหลื อ และสนั บ สนุ น กิ จ กรรมอั น เป น ประโยชนตอสวนรวมที่บริษัทฯ ตั้งอยู โดย เฉพาะโครงการพั ฒ นาการศึ ก ษา รวมทั้ ง ได ต ระหนั ก ถึ ง การปฏิ บั ติ ต ามมาตรฐานที่ เกี่ ย วกั บ ความปลอดภั ย สุ ข อนามั ย และ สิ่ ง แวดล อ มอย า งถู ก ต อ งเหมาะสม เพื่ อ ปองกันผลกระทบที่กอใหเกิดความสูญเสีย ต อ ชี วิ ต และทรั พ ย สิ น ของชุ ม ชน และ สิ่งแวดลอม

คณะกรรมการบริษัทประกอบดวยกรรมการ ที่มีคุณสมบัติหลากหลาย ทั้งในดานทักษะ ประสบการณ ความสามารถที่เปนประโยชน กั บ บริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง ได อุ ทิ ศ เวลาเพื่ อ ปฏิ บั ติ หนาทีต่ ามความรับผิดชอบไดอยางเต็มที่ และ เพื่ อ ให ก ารปฏิ บั ติ ห น า ที่ ข องคณะกรรมการ บริษัทมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล คณะ กรรมการบริษทั ไดจดั ใหมคี ณะกรรมการชุดยอย ตางๆ เพื่อชวยศึกษาและกลั่นกรองงานตาม ความจําเปน โดยเฉพาะในกรณีที่ตองอาศัย ความเปนกลางในการวินิจฉัย พรอมทั้งได กําหนดนโยบาย บทบาท หนาที่รับผิดชอบ กระบวนการทํ า งาน เช น การดํ า เนิ น การ ประชุม และการรายงานตอคณะกรรมการ บริษัทไวอยางชัดเจน

บริษัทฯ ไดจัดใหมีชองทางใหผูที่มีสวนไดเสีย ทุ ก กลุ  ม สามารถรายงาน หรื อ ร อ งเรี ย นใน เรื่องที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอบริษัท ไวอยางชัดเจนใน website ของบริษัทฯ

• ภาวะผูนํา คณะกรรมการบริษัทฯ เปนผูใหความเห็นชอบ ตอการกําหนดวิสัยทัศน ภารกิจ กลยุทธ เปา หมาย แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษัท โดยกํ า หนดให มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการ บริ ษั ท อย า งน อ ยไตรมาสละหนึ่ ง ครั้ ง เพื่ อ ติ ด ตามผลดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท และรั บ ทราบเรื่องดําเนินการที่สําคัญของฝายจัดการ รวมถึ ง ได จั ด ให มี ก ลไกในการกํ า กั บ ดู แ ล ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของ ผูบริหารวาเปนไปตามเปาหมายที่วางไวทั้ง ระยะสั้น และระยะยาว

3

ความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริ ษั ท มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบใน การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ให เ กิ ด ประโยชน อย า ง ระมั ด ระวั ง ซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต และรอบคอบ โดยกํากับดูแลใหการบริหารจัดการ เปนไป ตามเปาหมาย และแนวทางที่จะกอใหเกิด ประโยชน สู ง สุ ด แก ผู  ถื อ หุ  น และคํ า นึ ง ถึ ง ผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียทุกฝาย คณะกรรมการบริ ษั ท เป น ผู  มี ภ าวะผู  นํ า วิสัยทัศน มีความเปนอิสระในการตัดสินใจ เพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ และผูถือหุน โดยรวม และดูแลใหบริษัทฯ มีระบบงานที่ให ความเชื่อมั่นไดวากิจกรรมตางๆ ของบริษัทฯ ไดดําเนินไปในลักษณะที่ถูกตองตามกฎหมาย และมีจริยธรรม โดยกรรมการทุกทานเขาใจ เป น อย า งดี ถึ ง หน า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของ กรรมการ และลักษณะการดําเนินธุรกิจของ บริษัทฯ พรอมที่จะแสดงความคิดเห็นอยาง เปนอิสระ และปรับปรุงใหทันสมัยอยูตลอด เวลา โดยตระหนักดีถึงการปฏิบัติหนาที่ดวย ความซื่อสัตยสุจริต ระมัดระวัง และรอบคอบ

กรรมการของบริ ษั ท ทุ ก ท า นเป น บุ ค คลผู  มี ความรู ความสามารถ และประสบการณที่ เปนประโยชนตอการดําเนินธุรกิจของบริษัท โดยบุ ค คลที่ รั บ การเสนอเป น กรรมการจะ ต อ งผ า นกระบวนการสรรหาที่ โ ปร ง ใสโดย คณะกรรมการบริ ษั ท ทั้ ง นี้ บุ ค คลที่ จ ะได รับการเสนอเปนกรรมการทีผ่ า นความเห็นชอบ ของคณะกรรมการจะได รั บ การบรรจุ เ ป น ระเบี ย บวาระการประชุ ม เพื่ อ เสนอต อ ผู  ถื อ หุ  น โดยบริ ษั ท ฯ จะเป ด เผยประวั ติ คุ ณ วุ ฒิ ประสบการณ และการถื อ หุ  น ใน บริ ษั ท ฯ ของกรรมการทุ ก ท า นในรายงาน ประจําป

26/3/2555 22:17:47


นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

• วิสัยทัศน และ พันธกิจ ป 2555 - 2557 วิสัยทัศน มุงเนนการสรางสรรคและพัฒนาโครงการ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ที่ มี คุ ณ ภาพ ภายใต ก าร บริหารจัดการที่ดี เพื่อสรางผลตอบแทนอยาง เหมาะสม และเติบโต อยางยั่งยืน พันธกิจ สินคา : สรางสรรครูปแบบสินคาแตกตาง คุณภาพ (Reliable) และราคาเหมาะสม สังคมและสิ่งแวดลอม : สรางจิตสํานึก หวงใยสังคม (Caring) และ สิ่งแวดลอม พนักงาน : สงเสริมความกาวหนา (Proactive) รวมมือ สรางสรรค (Inspiring) ประหยัด แบงปน ผูถือหุน : สรางผลตอบแทนที่เหมาะสมตอเนื่อง และ มั่นคงภายใตธรรมาภิบาลที่ดี อนึ่ ง การกํ า หนดวิ สั ย ทั ศ น กลยุ ท ธ และ แผนธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ข า งต น ประธาน อํ า นวยการได นํ า เสนอ และอภิ ป รายในที่ ประชุ ม กรรมการบริ ห าร และอนุ มั ติ โ ดย คณะกรรมการของบริษัท ซึ่งคณะกรรมการ บริหาร และกรรมการบริษัทไดมีการติดตาม แผนงาน งบประมาณ และปจจัยเสี่ยงถึง ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของ สภาวะเศรษฐกิจ และการแขงขันการตลาด อยางตอเนื่อง • การถวงดุลของกรรมการที่ไมเปน ผูบริหาร การแต ง ตั้ ง กรรมการของบริ ษั ท ฯ เป น ไป ตามมติ ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู  ถื อ หุ  น โดยผ า น การพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาคา ตอบแทนและสรรหา และคณะกรรมการ บริษัท ตามลําดับ ตามขอบังคับของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวย กรรมการ

อยางนอย 5 ทาน ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริษัท มีจํานวน 8 ทาน ประกอบดวย - กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร 6 ทาน คิด เปนสัดสวนรอยละ 75 ของจํานวนกรรมการ ทั้งหมด โดยมีกรรมการที่เปนอิสระ 3 ทาน คิดเปนสัดสวนรอยละ 37.50 ของจํานวน กรรมการทั้งหมด ซึ่งเปนจํานวนที่มากพอที่ จะสามารถสรางกลไกถวงดุลอํานาจภายใน คณะกรรมการบริษัท - กรรมการที่เปนผูบริหาร 2 ทาน คณะกรรมการบริ ษั ท ถื อ เป น นโยบายให กรรมการทีไ่ มเปนผูบ ริหารมีการประชุมกันเอง ตามความจําเปน เพื่ออภิปรายปญหาตางๆ เกี่ยวกับการจัดการ โดยไมมีกรรมการที่เปน ผูบริหาร หรือฝายบริหารเขารวมการประชุม รวมทั้งมีนโยบายใหคณะกรรมการตรวจสอบ เขารวมประชุมกับผูสอบบัญชี โดยไมมีฝาย จัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครัง้ เพื่อใหมั่นใจไดวากรรมการบริษัทจะปฏิบัติ หนาที่ในฐานะตัวแทนผูถือหุนไดอยางเปน อิสระ และมีการถวงดุลที่เหมาะสม • การรวมหรือแยกตําแหนง คณะกรรมการบริ ษั ท กํ า หนดให ป ระธาน กรรมการเปนกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร เปนบุ คคลคนละคนกั บประธานอํานวยการ และไมมีความสัมพันธใดๆกับฝายบริหาร โดย มีบทบาท อํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบ ในการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการบริ ษั ท และฝายบริหารออกจากกันอยางชัดเจน และ เปนลายลักษณอักษร • คณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการบริ ษั ท ได แ ต ง ตั้ ง กรรมการ ที่ มี ค วามรู  ความชํ า นาญที่ เ หมาะสมเป น คณะกรรมการชุดยอย เพื่อชวยปฏิบัติงาน ศึ ก ษาและกลั่ น กรองเรื่ อ งสํ า คั ญ ที่ ต  อ งการ ดูแลอยางใกลชิดในแตละดาน และเสนอ ความเห็นตอคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ มี องคประกอบสมาชิก ขอบเขตหนาที่ และ ความรับผิดชอบ ตามรายละเอียดในหัวขอ การจัดการ

53

• การประชุมคณะกรรมการบริษัท บริ ษั ท ฯ มี ก ารกํ า หนดการประชุ ม คณะ กรรมการบริษัทไวอยางเปนทางการลวงหนา ตลอดทั้ ง ป และแจ ง ให ก รรมการทราบ กําหนดการดังกลาว โดยกําหนดการประชุม อยางนอยไตรมาสละ 1 ครั้ง ในกรณีจําเปน เร ง ด ว น อาจมี ก ารประชุ ม คณะกรรมการ เปนการเพิ่มเติมตามความเหมาะสม และ เพื่ อ ให ค ณะกรรมการบริ ษัท สามารถปฏิ บั ติ หน า ที่ ไ ด อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ในการจั ด ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท บริ ษั ท ฯ จะ จัดสงหนังสือเชิญประชุมซึ่งกําหนดวาระการ ประชุ ม ที่ ชั ด เจนและเอกสารประกอบการ ประชุมที่ครบถวนเพียงพอใหคณะกรรมการ บริ ษั ท ล ว งหน า ก อ นการประชุ ม เป น เวลา อย า งน อ ย 7 วั น เพื่ อ ให ก รรมการได มี เวลาศึ ก ษาข อ มู ล อย า งเพี ย งพอก อ นเข า รวมประชุ ม การประชุมแต ละครั้ งใชเวลา ประมาณ 1 - 3 ชั่วโมง และกรรมการทุกคน มีโอกาสอภิปรายและแสดงความเห็นอยาง เปดเผย โดยมีประธานกรรมการบริษัทเปน ผู  ป ระมวลความเห็ น และข อ สรุ ป ที่ ไ ด จ ากที่ ประชุ ม ในกรณี ที่ ก รรมการท า นใดเป น ผู  มี สวนไดเสียอยางมีนัยสําคัญในเรื่องที่กําลัง พิจารณาจะตองออกจากการประชุมระหวาง การพิจารณาในเรื่องนั้นๆ ซึ่งในการประชุม แตละครั้งมีการจดบันทึกการประชุมเปนลาย ลักษณอักษร และนําเสนอตอคณะกรรมการ บริ ษั ท พิ จ ารณาร า งรายงานการประชุ ม ดั ง กลาว กอนทําการรับรองความถูกตองของ เอกสารในการประชุมครั้งตอไป โดยประธาน กรรมการบริษัท และเลขานุการบริษัท สําหรับ เอกสารที่จัดเก็บจะมีทั้งบันทึกการประชุมซึ่ง จัดเก็บอยูในรูปแบบแฟมขอมูลที่เปนตนฉบับ และแฟมอิเล็คทรอนิคส ซึ่งรวมถึงเอกสาร ที่ประกอบวาระการประชุมดวย เพื่อความ สะดวกสํ า หรั บ กรรมการและผู  ที่ เ กี่ ย วข อ ง สามารถตรวจสอบอางอิงได ในป 2554 คณะกรรมการบริษัท มีการประชุม ตามวาระปกติ จํานวน 4 ครั้ง และการประชุม นัดพิเศษ 1 ครั้ง

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 53

26/3/2555 22:17:48


54

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

• การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ คณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษั ท มี ม ติ เ ห็ น ชอบแบบ ประเมิ น ผลคณะกรรมการบริ ษั ท ทั้ ง คณะ เพื่ อ ใช ใ นการประเมิ น ผลตนเองของคณะ กรรมการบริ ษั ท โดยให ก รรมการบริ ษั ท ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านโดยตนเองทุ ก ป เพื่อคณะกรรมการบริษัทไดพิจารณาทบทวน ผลงาน ประเด็นและอุปสรรคตางๆ ในรอบป ที่ผานมา พรอมทั้งจัดทําสรุปผลการประเมิน กรรมการบริษัท เพื่อคณะกรรมการบริษัทจะ นําผลการประเมินมาปรับปรุงการปฏิบัติงาน ใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยั ง มี ก ารประเมิ น ผลการดํ า เนิ น งานของ ประธานอํานวยการและกรรมการผูจัดการ • การปฐมนิเทศกรรมการใหม บริษัทฯ จัดใหมีการปฐมนิเทศกรรมการที่ได รับการแตงตั้งใหม เพื่อใหกรรมการใหมไดรับ ทราบนโยบายธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้งขอมูล ที่เกี่ยวของ อาทิ โครงสรางเงินทุน ผูถือหุน ผลการดําเนินงาน รวมทั้งกฎหมาย กฎเกณฑ

UV_THai.indd 54

ตางๆ พรอมทั้งขอมูลที่เปนประโยชนสําหรับ การเปนกรรมการบริษัท ประกอบดวย 1. พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 2. ขอพึงปฏิบัติที่ดีสําหรับกรรมการบริษัท จดทะเบียน 3. หนั ง สื อ รั บ รองบริ ษั ท ของกรมพั ฒ นา ธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย หนังสือ บริคณหสนธิ และขอบังคับของบริษัท 4. คูมือการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท 5. คู  มื อ กรรมการบริ ษั ท จดทะเบี ย นของ ก.ล.ต. 6. ข อ แนะนํ า การให ส ารสนเทศสํ า หรั บ บริษัทจดทะเบียน ป 2549 7. หนังสือรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท จดทะเบียน 8. หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี สํ า หรั บ บริษัทจดทะเบียน ป 2549 9. รายงานประจําปของบริษทั ฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษ และ Compact Disc.

• การเขารับการอบรมของคณะ กรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทใหความสําคัญตอการ เขารวมสัมมนาหลักสูตรที่เกี่ยวของกับการ พัฒนาความรู ความสามารถในการปฏิบัติ หนาที่กรรมการอยางตอเนื่อง โดยมีกรรมการ บริษัทเขารับการอบรมหลักสูตรของสมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ( IOD ) เพื่อนําความรู และประสบการณมาพัฒนา บริษัท และบริษัทยอย ดังนี้

26/3/2555 22:17:49


นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

1

ชื่อ - นามสกุล นางสาวพจนีย ธนวรานิช

2

นายสุวิทย

จินดาสงวน

3

นายนรรัตน

ลิ่มนรรัตน

4 5

นายฐาปน นายปณต

สิริวัฒนภักดี สิริวัฒนภักดี

6

นายสิทธิชัย

7

นางอรฤดี

ณ ระนอง

8

นายธนพล

ศิริธนชัย

ชัยเกรียงไกร

• การป อ งกั น ความขั ด แย ง ทางผล ประโยชน์ คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดนโยบายที่จะ ไมใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของ บริ ษั ท ฯ ใช โ อกาสจากการเป น กรรมการ ผู  บ ริ ห าร และพนั ก งานแสวงหาประโยชน สวนตน ซึ่งกําหนดไวในคูมือจรรยาบรรณทาง ธุรกิจ ถึงขอปฏิบัติสําหรับกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษทั ฯ ใหหลีกเลีย่ งการทํา รายการที่เกี่ยวโยงกับตนเองที่อาจกอใหเกิด ความขั ด แย ง ทางผลประโยชน กั บ บริ ษั ท ฯ ในกรณีที่จําเปนตองทํารายการดังกลาวเพื่อ ประโยชนของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัท กํ า หนดให ต  อ งปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ ข อง

-

55

หลักสูตร Financial Institutions Governance Program ( Class 2/2011 ) Audit Committee Program ( ACP 32/2010 ) The Role of Compensation Committee Program ( RCC 4/2007 ) The Role of Chairman Program ( RCP 13/2006 ) Directors Certification Program ( DCP 17/2002 ) Advance Audit Committee Program ( 4/2001 ) Monitoring the Quality Financial Report ( 2008 ) The Role of the Chairman Program ( RCP 18/2008 ) The Role of Compensation Committee Program ( RCC1/2006 ) Improving the Quality of Financial Reporting ( QFR 2/2006 ) Audit Committee Program ( ACP 4/2005 ) Directors Certification Program ( DCP 44/2004 ) Directors Accreditation Program ( DAP14/2004 ) Directors Certification Program ( DCP - initial ) Finance for Non-Finance Director ( FND - 2004 ) Directors Accreditation Program ( DAP 10/2004 ) Directors Certification Program ( DCP 46/2004 ) Finance for Non-Finance Director ( FND10/2004 ) Directors Certification Program ( DCP 26/2003 ) DCP Refresher Course ( 2/2005 ) Role of the Compensation Committee Program ( RCC7/2008 ) DCP Refresher ( Course 3/2006 ) Diploma of Directors Certification Program ( DCP17/2002 ) Directors Certification Program ( DCP 39/2004 ) Directors Accreditation Program ( DAP 10/2004 )

ตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย โดยมี ราคาและเงื่อนไขเสมือนทํารายการกับบุคคล ภายนอก โดยกรรมการหรือพนักงานที่มีสวน ไดเสียในรายการนั้นจะตองไมมีสวนในการ พิจารณาอนุมัติ และในกรณีที่เขาขายเปน รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ภายใต ป ระกาศของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จะตอง ปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการ และการเปด เผยขอมูลรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท จดทะเบียนอยางเครงครัด

• จรรยาบรรณทางธุรกิจ บริษัทฯ มุงมั่นในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ อยางโปรงใส ซื่อสัตย มีคุณธรรม มีความ รับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสีย ตลอดจนสังคม และสิ่งแวดลอม รวมทั้ง สงเสริม พัฒนา และเคารพการไมลวงละเมิดการสรรสราง งานอั น เป น ทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา หรื อ ลิ ข สิ ท ธิ์ ตลอดจน ไม เ กี่ ย วข อ งกั บ การ ละเมิ ด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน โดยกํ า หนดเป น นโยบายที่ จ ะไม กี ด กั น หรื อ ไม เ ลื อ กปฏิ บั ติ ต อ ผู  ห นึ่ ง ผู  ใ ด และจะดํ า เนิ น การเพื่ อ รั บ ประกั น ว า พนั ก งานจะมี สิ ท ธิ ใ นด า นความ ปลอดภั ย ส ว นบุ ค คล มี ส ถานที่ ทํ า งานที่ ปลอดภั ย สะอาด และถู ก สุ ข ลั ก ษณะ

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 55

26/3/2555 22:17:51


56

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

รวมถึ ง ปราศจากการล ว งละเมิ ด หรื อ การ ข ม เหงในทุ ก รู ป แบบ โดยใช ห ลั ก ความ ยุ ติ ธ รรม และจริ ง ใจในการบริ ห ารจั ด การ เกี่ยวกับ คาจาง ผลประโยชนตางๆ และ เงื่อนไขการจางงานอื่นๆ รวมทั้งไมใชแรงงาน เด็ ก หรื อ แรงงานบั ง คั บ และไม มี ก ารใช มาตรการด า นระเบี ย บวิ นั ย ในการลงโทษ ทางกาย การคุ ก คาม การกระทํ า รุ น แรง หรือการขมเหงทางกาย จิตใจ หรือทางวาจา และจะดําเนินการเพือ่ รับรองโอกาสทีเ่ ทาเทียม กันสําหรับผูรวมงานทุกคน โดยนโยบายดังกลาวขางตนคณะกรรมการ บริษัทไดกําหนดเปนขอพึงปฏิบัติไวในคูมือ จรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ เพื่ อ ให เ กิ ด ความ ชัดเจน สะดวกแกกรรมการ ผูบริหาร และ พนั ก งานของบริ ษั ท ฯ ในการรั บ ทราบถึ ง แนวทางในการประพฤติปฏิบัติควบคูกับไป กับขอบังคับและระเบียบของบริษัทฯ รวมทั้ง ไดกําหนดใหเปนหนาที่และความรับผิดชอบ ของกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคน ที่จะตองรับทราบ ทําความเขาใจและปฏิบัติ ตามนโยบายและขอปฏิบัติตามที่กําหนดไว ในคูมือจรรยาบรรณทางธุรกิจอยางเครงครัด โดยใหผูบังคับบัญชาทุกระดับชั้นปฏิบัติตน เป น ตั ว อย า งที่ ดี และมี ห น า ที่ ส  ง เสริ ม ให ผู  ใ ต บั ง คั บ บั ญ ชาปฏิ บั ติ ต ามข อ ประพฤติ ปฏิบัติที่กําหนดไว • การควบคุมภายในและการตรวจสอบ ภายใน คณะกรรมการบริ ษั ท ได จั ด ให มี ร ะบบการ ควบคุ ม ภายในที่ ค รอบคลุ ม ทั้ ง ด า นการเงิ น การปฏิบัติงาน การดําเนินการใหเปนไปตาม กฎหมาย ข อ บั ง คั บ ระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข อ ง และมีกลไกการตรวจสอบและถวงดุลในการ ปกป อ งรั ก ษาและดู แ ลเงิ น ทุ น ของผู  ถื อ หุ  น และสินทรัพยของบริษัทฯ มีฝายตรวจสอบ ภายในทํ า หน า ที่ ต รวจสอบการปฏิ บั ติ ง าน ของทุ ก หน ว ยงานให เ ป น ไปตามระเบี ย บที่ วางไว รวมทั้งประเมินประสิทธิภาพและความ เพียงพอของการควบคุมภายใน ทั้งนี้ คณะ กรรมการบริษัทดูแลใหฝายตรวจสอบภายใน มีความเปนอิสระ สามารถทําหนาที่ตรวจสอบ และถวงดุลไดอยางเต็มที่ และใหรายงานตรง ตอคณะกรรมการตรวจสอบเปนประจําตาม เวลาที่กําหนดไว

UV_THai.indd 56

• การบริหารความเสี่ยง ในป 2554 คณะกรรมการบริษัท ไดแตงตั้ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งประกอบ ด ว ยสมาชิ ก ผู  บ ริ ห ารระดั บ สู ง ที่ เ ป น ผู  แ ทน จากสายงานตางๆ ในการทําหนาที่ชวยคณะ กรรมการบริษัทดูแลกระบวนการบริหารความ เสี่ยงโดยรวมของบริษัทฯ ใหอยูในระดับที่ เหมาะสม และมี ห น า ที่ ดํ า เนิ น การเพื่ อ ให มั่นใจวาบริษัทฯ มีการบริหาร และจัดการ ความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งรวมถึงการ กําหนด ประเมิน ปองกัน ลด และติดตาม ความเสี่ยง โดยมีการสํารวจความเสี่ยงเปน รายเดื อ น และรายงานต อ คณะกรรมการ บริษัทเปนรายไตรมาสเปนอยางนอย พรอม ทั้งจัดใหมีระบบเตือนความเสี่ยง (warning system) และรายงานต อ คณะกรรมการ บริหาร และ/หรือ คณะกรรมการบริษัททันที เมื่อระดับความเสี่ยงอยูในเกณฑที่มีนัยสําคัญ ทั้งนี้ องคประกอบสมาชิก ขอบเขตหนาที่และ ความรับผิดชอบ ตามรายละเอียดในหัวขอ การจัดการ • รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษั ท มี ห น า ที่ รั บ ผิ ด ชอบใน รายงานการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัท ยอย และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏใน รายงานประจําป ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัท ไดมอบหมายใหคณะกรรมการตรวจสอบเปน ผูพิ จารณารายงานทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอยถูกตอง เปนไปตามมาตรฐาน การบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย มีการ ใช น โยบายบั ญ ชี ที่ เ หมาะสมและถื อ ปฏิ บั ติ โดยสม่ำเสมอ รวมทั้งคณะกรรมการบริษัท ไดใหความเห็นไวในรายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการต อ รายงานทางการเงิ น คูกับรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ และ รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาตแลว

4

การเปดเผยขอมูล และความโปรงใส

บริ ษั ท ฯ มี น โยบายด า นการเป ด เผยข อ มู ล ความโปรงใส รายงานทางการเงิน และการ ดําเนินงาน โดยกําหนดขอปฏิบตั ใิ นการเปดเผย สารสนเทศทางการเงิน และอื่นๆ ที่เกี่ยว กับธุรกิจ และผลประกอบการของบริษัทฯ ที่ ถูกตองครบถวน เพียงพอ เชือ่ ถือได และทันเวลา

อย า งสม่ ำ เสมอให กั บ ผู  ถื อ หุ  น นั ก ลงทุ น นั ก วิ เ คราะห ห ลั ก ทรั พ ย และบุ ค คลทั่ ว ไป คณะกรรมการบริษัทดูแลใหมีการปฏิบัติตาม กฎหมายขอบังคับ และระเบียบที่เกี่ยวของ เกี่ยวกับการเปดเผยขอมูล และความโปรงใส อย า งเคร ง ครั ด โดยเมื่ อ กรรมการ หรื อ ผู  บริ ห ารมี ก ารเปลี่ ย นแปลงการซื้ อ ขายหุ  น ตามขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการ กํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย ไ ด มี การรายงานขอมูลใหกับฝายกํากับดูแลการ ปฏิ บั ติ ง านทราบตลอดเวลา และตั้ ง แต ป  2554 กรรมการ และผูบริหารไดรายงานการ ถือครองหลักทรัพย และเปดเผยสวนไดเสีย ของตน และผูเกี่ยวของตอคณะกรรมการ บริษัท ทั้งนี้เพื่อใหมั่นใจวากรรมการ ผูบริหาร สามารถบริหาร และดําเนินกิจการดวยความ ซื่อ สัตยสุจริต มีความชัดเจน โปรงใส และ มีสวนชวยใหผูถือหุน ตลอดจนผูลงทุนทั่วไป เกิดความเชื่อมั่นในผูบริหารของบริษัทฯ • ความสัมพันธกับผูลงทุน บริ ษั ท ฯ ให ค วามสํ า คั ญ ต อ การเป ด เผย สารสนเทศของบริษัทฯ ตามขอกําหนดของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย และ สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย และตลาดหลั ก ทรั พ ย ที่ มี ค วามถู ก ต อ ง ครบถวน โปรงใส สม่ำเสมอ ทันเวลา และ ทั่วถึงผานชองทางตางๆ ทั้งในทางตรง และ ทางออมมาโดยตลอด โดยมอบหมายใหผู มีความรู ความสามารถ และมีความเขาใจ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท เป น อย า งดี ทํ า หน า ที่ เ ป น นักลงทุนสัมพันธ และนอกจากนี้ ประธาน อํ า นวยการ และ/หรื อ กรรมการผู  จั ด การ มีหนาที่สื่อสารโดยตรงกับผูถือหุน นักลงทุน และนั ก วิ เ คราะห ห ลั ก ทรั พ ย ทั้ ง ใน และ ตางประเทศ โดยจัดใหมีการนําเสนอขอมูล ความคื บ หน า การดํ า เนิ น กิ จ การ และตอบ ข อ ซั ก ถามต า งๆ เกี่ ย วกั บ บริ ษั ท ฯ ให แ ก นั ก ลงทุ น และนั ก วิ เ คราะห ห ลั ก ทรั พ ย (Analyst Meeting) จั ด แถลงข า วแก สื่ อ มวลชน (Press Conference) เผย แพรขาวประชาสัมพันธ (Press Release) นอกเหนื อ จากการเป ด เผยข อ มู ล เกี่ ย วกั บ สารสนเทศตางๆ แจงตอตลาดหลักทรัพย แห ง ประเทศไทย และผ า นทางเว็ บ ไซต บริษัท (www.univentures.co.th) ที่บริษัทฯ

26/3/2555 22:17:51


นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

ปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบันอยูเสมอ เพื่อ ใหผูมีสวนไดเสียทุกกลุมที่มีสวนเกี่ยวของกับ กิจกรรมของบริษัทฯ ไดรับรูขอมูลของบริษัท ที่เปนปจจุบันอยางเทาเทียมกัน นอกจากนี้บริษัทไดจัดใหมีนักลงทุนสัมพันธ เพื่ อ เป น ตั ว แทนในการสื่ อ สารกั บ ผู  ล งทุ น ผูถ อื หุน นักวิเคราะหหลักทรัพย และหนวยงาน อื่นที่เกี่ยวของ โดยสามารถติดตอนักลงทุน สัมพันธไดที่ : นายสถาพร อมรวรพักตร บริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด ( มหาชน ) ปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ 57 ชั้น 22 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 หมายเลขโทรศัพท : 0 2643 7100 ตอ 7125 เบอรแฟกซ : 02 255 9417 Email address : investor_relations@univentures.co.th

• คาตอบแทนกรรมการ และผูบริหาร คณะกรรมการบริษัทกําหนดใหคณะกรรมการ พิ จ ารณาค า ตอบแทนและสรรหา เป น ผู  พิจารณากําหนดคาตอบแทนของกรรมการ กรรมการชุดยอย และฝายบริหารระดับสูง ของบริษัทฯ และเพื่อเปนการจูงใจและรักษา กรรมการที่มีคุณภาพตามที่บริษัทฯตองการ และอยูในลักษณะที่เปรียบเทียบไดกับระดับ ที่ ป ฏิ บั ติ อ ยู  ใ นอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น คณะ กรรมการที่ ไ ด รั บ มอบหมายหน า ที่ ค วาม รับผิดชอบเพิ่มขึ้นควรไดรับคาตอบแทนเพิ่ม ที่เหมาะสม สวนกรรมการที่เปนผูบริหาร และ ฝายบริหารควรไดรับคาตอบแทนที่เชื่อมโยง กับผลการดําเนินงานของบริษัทฯ และผลการ ปฏิบัติงานของกรรมการ หรือผูบริหารแตละ คน เพื่อใหเกิดการกํากับดูแลที่ดีตามหลักการ ที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด รวมทั้งหลักการปฏิบัติที่ดีที่ยอมรับในระดับ สากล โดยคาตอบแทนกรรมการเปนไปตาม มติที่ไดรับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผูถือหุน

57

ทั้งนี้ รายละเอียดคาตอบแทนกรรมการและ ผูบริหารในป 2554 ไดเปดเผยไวในหัวขอคา ตอบแทนกรรมการและผูบริหารแลว

• การเขารวมประชุมของกรรมการบริษัทแตละทาน ประจําป 2554 การเขารวมประชุม / การประชุมทั้งหมด กรรมการบริษัท 1 2 3 4 5 6 7 8

นางสาวพจนีย นายสุวิทย นายนรรัตน นายฐาปน นายปณต นายสิทธิชัย นางอรฤดี นายธนพล

ธนวรานิช จินดาสงวน ลิ่มนรรัตน สิริวัฒนภักดี สิริวัฒนภักดี ชัยเกรียงไกร ณ ระนอง ศิริธนชัย

คณะกรรมการ บริษัท

คณะกรรม การตรวจสอบ

คณะกรรมการพิจารณา คาตอบแทน / สรรหา

คณะกรรมการ บริหาร

5 ครั้ง / 5 ครั้ง 5 ครั้ง / 5 ครั้ง 5 ครั้ง / 5 ครั้ง 5 ครั้ง / 5 ครั้ง 4 ครั้ง / 5 ครั้ง 5 ครั้ง / 5 ครั้ง 4 ครั้ง / 5 ครั้ง 4 ครั้ง / 5 ครั้ง

5 ครั้ง / 5 ครั้ง 5 ครั้ง / 5 ครั้ง 5 ครั้ง / 5 ครั้ง -

1 ครั้ง / 1 ครั้ง 1 ครั้ง / 1 ครั้ง 1 ครั้ง / 1 ครั้ง 1 ครั้ง / 1 ครั้ง -

10 ครั้ง / 10 ครั้ง 10 ครั้ง / 10 ครั้ง 10 ครั้ง / 10 ครั้ง 10 ครั้ง / 10 ครั้ง 9 ครั้ง / 10 ครั้ง

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 57

26/3/2555 22:17:52


58

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

• การถือหลักทรัพยของกรรมการบริษัท ประจําป 2554 1 2 3 4 5 6 7 8

กรรมการบริษัท นางสาวพจนีย ธนวรานิช นายสุวิทย จินดาสงวน นายนรรัตน ลิ่มนรรัตน นายฐาปน สิริวัฒนภักดี นายปณต สิริวัฒนภักดี นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร นางอรฤดี ณ ระนอง นายธนพล ศิริธนชัย

จํานวนหุนที่ถือครอง ( UV ) ** 500,000 หุน 215,648,563 หุน * 215,648,563 หุน * 6,300,000 หุน -

หมายเหตุ : *

เปนการถือหุนทางออมผานบริษัท อเดลฟอส จํากัด ซึ่งถือหุนบริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด (มหาชน) จํานวน 431,297,126 หุน โดยนายฐาปน สิริวัฒนภักดี และนายปณต สิริวัฒนภักดี ถือหุนบริษัท อเดลฟอส จํากัด รวมกันรอยละ100 ** ขอมูลสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

• การแตงตั้งผูสอบบัญชีและ คาธรรมเนียมในการสอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบรับผิดชอบคัดเลือก ผู  ส อบบั ญ ชี ใ นเบื้ อ งต น โดยพิ จ ารณาถึ ง คุณสมบัติความเปนอิสระ สามารถสอบทาน งบการเงินเสร็จตามกําหนดเวลา มีความรู ความเชี่ยวชาญของการใหบริการสอบบัญชี ตลอดจนเขาใจในธุรกิจของกลุมบริษัท และ เสนอความเห็ น ให ค ณะกรรมการบริ ษั ท

UV_THai.indd 58

พิจารณาเพื่อนําเสนอขออนุมัติแตงตั้งผูสอบ บัญชีในที่ประชุมผูถือหุน บริษทั และบริษทั ยอย จายคาตอบแทนการสอบ บัญชีใหกบั บริษทั สํานักงาน เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จํากัด ที่ผูสอบบัญชีสังกัด ในรอบป บัญชี 2554 มีจํานวนเงินรวม 2,785,000 บาท ประกอบดวยคาสอบบั ญชี ของบริ ษั ท จํานวน 810,000 บาท และคาสอบบัญชีของ

บริษัทยอย 1,975,000 บาท ในรอบปบัญชีที่ผานมา บริษัท และบริษัทยอย มิไดจายคาตอบแทนของงานบริการอื่นใหกับ ผูสอบบัญชี บุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวของกับ ผูสอบบัญชีและสํานักงานสอบบัญชีที่ผูสอบ บัญชีสังกัด และไมมีคาใชจายในอนาคตอัน เกิดจากการตกลงที่ยังใหบริการไมแลวเสร็จ ในรอบปบัญชีที่ผานมา

26/3/2555 22:17:53


รายการระหวางกัน

59

รายการระหวางกัน

1

รายการ ระหวางกัน

บริษัทฯ มีรายการระหวางกันที่สําคัญกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนที่เกิดขึ้นในป 2554 และ 2553 ดังตอไปนี้ (1) บริษัทฯ ใหเงินกูยืมระยะสั้นกับบริษัทรวม ป

บริษัทรวม

2554

บจก. เอ็กซเซลเลนท เอ็นเนอรยี่อินเตอรเนชั่นแนล บจก. สหสินวัฒนา โคเจนเนอเรชัน่

หนวย : พันบาท

ลักษณะ ความ สัมพันธกับ บริษัทฯ กรรมการ รวมกัน

อัตรา ดอกเบี้ย (%)

ยอดยกมา

ใหกูเพิ่ม

ชําระคืน ระหวางงวด

ยอดคง เหลือ

9

11,000

-

3,000

8,000

8

740

-

-

740

(2) บริษัทฯ ไดรับรายไดดอกเบี้ยรับจากบริษัทรวม บริษัทรวม บจก. เอ็กซเซลเลนท เอ็นเนอรยี่ อินเตอรเนชั่นแนล บจก. สหสินวัฒนา โคเจนเนอเรชั่น

หนวย : พันบาท

ลักษณะความสัมพันธ กับบริษัท กรรมการรวมกัน

(3) บริษัทฯ มีดอกเบี้ยคางรับจากบริษัทรวม

ดอกเบี้ยรับ ป 2554 885 59

ดอกเบี้ยรับ ป 2553 463 49

หนวย : พันบาท

บริษัทรวม บจก. เอ็กซเซลเลนท เอ็นเนอรยี่ อินเตอรเนชั่นแนล บจก. สหสินวัฒนา โคเจนเนอเรชั่น

ลักษณะความสัมพันธ กับบริษัท กรรมการรวมกัน

ดอกเบี้ยคางรับ ดอกเบี้ยคางรับ ป 2554 ป 2553 714 277 187 128

รายละเอียดเพิ่มเติมดูไดจากเอกสารเเนบงบการเงิน เเละรายงานของผูสอบบัญชีอนุญาต

2

การใหความชวยเหลือทางการเงิน แกกิจการที่เกี่ยวของกัน

3

ความจําเปนและความสมเหตุสมผล ของรายการ

บริษัทฯ ไดใหความชวยเหลือทางการเงินแก รายการระหว า งกั น ข า งต น เป น รายการที่ บริษัทยอยหรือบริษัทรวม ตามสัดสวนที่ตน สมเหตุสมผล เนื่องจากเปนรายการดําเนิน มีสว นไดเสียในนิตบิ คุ คลนัน้ ตามเงือ่ นไขการคา การทางธุรกิจตามปกติและรายการสนับสนุน โดยทั่วไป ซึ่งเปนการบริหารจัดการทางธุรกิจ ธุรกิจปกติ ซึ่งใชเงื่อนไขการคาทั่วไป และ ตามปกติ รวมทั้งรายการดังกลาวไดรับการ สามารถคํานวณคาตอบแทนไดจากทรัพยสิน อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทและบริษัทได หรือ มูลคาอางอิง ซึ่งเปนไปตามขอกําหนด เปดเผยภาระผูกพันและรายการกับบุคคลที่ ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดย เกี่ ย วโยงข อ งกั น ไว ใ นหมายเหตุ ป ระกอบ นอกจากจะกําหนดอํานาจของผู อนุมัติตาม งบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ดวยแลว วงเงินที่กําหนดแลว คณะกรรมการตรวจสอบ

ได ส อบทานการทํ า รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ที่ ต อ งได รั บ การพิ จ ารณาจากคณะกรรมการ บริษัทตามกฎระเบียบของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย และมีความเห็นวารายการ ระหวางกันดังกลาวเปนไปตามเงื่อนไขปกติ ของธุรกิจ ทั้งนี้ ขอมูลรายละเอียดรายการ ระหวางกันไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 59

26/3/2555 22:17:53


60

รายการระหวางกัน

4

มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการ ทํารายการระหวางกัน

บริษัทฯ ไดกําหนดนโยบายและขั้นตอนการ อนุ มั ติ แ ละดํ า เนิ น การรายการที่ เ กี่ ย วโยง กัน และรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผล ประโยชน ดังนี้ • การดํ า เนิ น ธุ ร กรรมที่ พิ จ ารณาแล ว ว า เป น รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ตาม หลั ก เกณฑ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย จะต อ งมี ก ารปฏิ บั ติ ตามข อ กํ า หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย แห ง ประเทศไทย และสํ า นั ก งาน คณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละ ตลาดหลักทรัพย อยางถูกตองครบถวน รวมทั้ ง ผ า นการตรวจสอบของคณะ กรรมการตรวจสอบในกรณีที่ตองไดรับ การพิจารณาจากคณะกรรมการบริษัท • รายการความชวยเหลือทางการเงินกับ บริษทั ยอย บริษทั รวม เชน เงินทุนหมุนเวียน ในรูปเงินกู การใหกูยืม จะตองไดรับผล ตอบแทนตามอัตราตลาด • กรรมการซึ่งมีสวนไดเสียในเรื่องใดไมมี สิ ทธิ ออกเสียงและไม ไดรับอนุ ญาตให เขารวมประชุมในเรื่องนั้น

UV_THai.indd 60

5

• กรณีเปนรายการที่เกี่ยวโยงกันประเภท นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการ รายการธุรกิจปกติหรือรายการสนับสนุน ระหวางกันในอนาคต ธุ ร กิ จ ปกติ ซึ่ ง อยู ใ นอํ า นาจอนุ มั ติข อง ฝ า ยบริ ห าร ให ใ ช ร าคา และเงื่ อ นไข รายการระหวางกันของบริษัทฯ ที่เกิดขึ้นและ เข น เดี ย วกั บ การทํ า รายการกั บ บุ ค คล อาจเกิ ด ขึ้ น ต อ ไปในอนาคตจะเป น รายการ ภายนอก และหากไม มี ร าคาดั ง กล า ว ที่ ดํ า เนิ น การทางธุร กิ จ ตามปกติทั่ ว ไป โดย บริษัทจะพิจารณาเปรียบเทียบราคาสินคา ไมมีการถายเทผลประโยชนระหวางบริษัทฯ หรือบริการกับบุคคลภายนอกภายใตเงื่อนไข บริษัทยอยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดย ที่เหมือนหรือคลายคลึงกัน หรืออาจใช บริษัทฯ จะใหคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณา ประโยชนจากรายงานของผูป ระเมินอิสระ ตรวจสอบให ค วามเห็ น ถึ ง ความเหมาะสม ซึง่ วาจางโดยบริษทั ฯ มาทําการเปรียบเทียบ ของราคา และความสมเหตุสมผลของการ ราคาสําหรับรายการระหวางกันที่สําคัญ ทํ า รายการ พร อ มทั้ ง เป ด เผยชนิ ด มู ล ค า เพื่อมั่นใจวาราคาดังกลาวสมเหตุสมผล และเหตุ ผ ลในการทํ า รายการต อ ผู  ถื อ หุ  น และเพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัท โดย ตามขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการ กํ า หนดอํ า นาจของผู  อ นุ มั ติ ต ามวงเงิ น กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และ และผูบริหารที่มีสวนไดเสียในรายการ ตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย โดย ดังกลาวจะตองไมเปนผูอนุมัติ เครงครัด เพื่อใหผูถือ หุนและผูมีสวนไดเสีย ไดรับการดูแลผลประโยชนอ ย า งเป น ธรรม • กรณีที่รายการที่เกี่ยวโยงกันมีมูลคาเขา และเทาเทียมกันตามนโยบายการกํากับดูแล เกณฑที่ตองขออนุมัติจากผูถือหุนโดย กิจการที่ดี ใชค ะแนนเสี ย ง 3 ใน 4 ของผู  มี สิท ธิ ออกเสี ย งลงคะแนน ผูถือหุนใหญที่มี สวนไดเสียสามารถเขาประชุมไดเพื่อนับ เปนองคประชุม แตไมมสี ทิ ธิออกเสียงลง คะแนน (ซึ่งฐานในการคํานวณคะแนน เสี ย งเพื่ อ อนุ มั ติ ร ายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ไมนับสวนของผูมีสวนไดสวนเสีย เกณฑ ดังกลาวจึงไมเปนปญหากับองคประชุม และคะแนนเสียง)

26/3/2555 22:17:53


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตอรายงานทางการเงิน

61

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทมีหนาที่รับผิดชอบตอ รายงานทางการเงินของบริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด ( มหาชน ) และ บริษัทยอย ตลอดจน ข อ มู ล สารสนเทศทางการเงิ น ที่ ป รากฏใน รายงานประจําป และในงบการเงินของบริษทั ฯ ซึ่งรายงานทางการเงินดังกลาวจัดทําขึ้นตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ภายใต พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 และ ตามข อ กํ า หนดของคณะกรรมการกํ า กั บ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 โดยไดมกี ารเลือกใชนโยบายบัญชีทเี่ หมาะสม และถื อ ปฏิ บั ติ อ ย า งสมํ่ า เสมอ รวมทั้ ง มี การเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อประโยชน ตอผูถ อื หุน และนักลงทุนทัว่ ไป ทัง้ นี้ งบการเงิน ดังกลาวไดผา นการตรวจสอบ และใหความเห็น อยางไมมีเงื่อนไขจากผูสอบบัญชีรับอนุญาต ที่เปนอิสระ

คณะกรรมการบริ ษั ท ทํ า หน า ที่ กํ า กั บ ดู แ ล และพั ฒ นาบรรษั ท ภิ บ าล โดยได จั ด ให มี และดํารงไวซึ่งระบบการบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายในที่เหมาะสม และมี ประสิทธิภาพ เพื่อใหมั่นใจไดวามีการบันทึก ขอมูลทางบัญชีของบริษัท และบริษัทยอย อยางถูกตอง ครบถวน ทันเวลา และเพียงพอ รวมถึงปองกันไมใหเกิดการทุจริตหรือการ ดํ า เนิ น การที่ ผิ ด ปกติ อ ย า งมี ส าระสํ า คั ญ นอกจากนี้ เพื่อใหมีการทบทวนระบบการ ควบคุมภายในของบริษทั เปนไปอยางตอเนือ่ ง และสอบทานระบบการทํางานอยางสมำ่ เสมอ คณะกรรมการบริษทั ไดแตงตัง้ คณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวยกรรมการที่เปน อิสระ ทําหนาที่กํากับดูแล และประเมิน ระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบ ภายในใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เชื่อถือได ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ไดแสดงความเห็นตอเรือ่ งดังกลาวปรากฏใน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบทีไ่ ดแสดงไว ในรายงานประจําปนี้แลว

คณะกรรมการบริษทั มีความเห็นวาระบบการ ควบคุมภายในของบริษัท และบริษัทยอย และการตรวจสอบภายในโดยรวมของบริษัท อยูในระดับที่นาพอใจ สามารถสรางความ เชือ่ มัน่ อยางมีเหตุผลวา รายงานทางการเงิน ของบริษทั ยูนเิ วนเจอร จํากัด (มหาชน) และ บริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ได แสดงฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน อยางถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญแลว

นางสาวพจนีย ธนวรานิช ประธานกรรมการบริษัท

รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 61

26/3/2555 22:17:53


62

รายชื่อบริษัทยอยและบริษัทรวม

รายชื่อบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัท เลิศรัฐการ จํากัด ชื่อยอ : LRK ประเภทธุรกิจ : พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย และธุรกิจการลงทุน เว็บไซต์ : www.park-ventures.com เลขทะเบียนบริษัท : 0105550094052 สถานที่ตั้งสํานักงาน : เลขที่ 57 ปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ชั้น 22 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 0 2643 7100 โทรสาร 0 2255 9417 ทุนจดทะเบียน : 600,000,000 บาท จํานวนหุน : 60,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวตอหุน : 10 บาท ทุนชําระแลว : 600,000,000 บาท สัดสวนการถือหุน : 100 %

บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด ชื่อยอ : Grand U ประเภทธุรกิจ : พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพยอาคารที่พักอาศัยเพื่อขาย เว็บไซต : www.grandunity.com เลขทะเบียนบริษัท : 0105544087228 สถานที่ตั้งสํานักงาน : เลขที่ 57 ปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ชั้น 22 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 0 2643 7171 โทรสาร 0 2253 3263 ทุนจดทะเบียน : 600,000,000 บาท จํานวนหุน : 60,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวตอหุน : 10 บาท ทุนชําระแลว : 600,000,000 บาท สัดสวนการถือหุน : 60 %

กองทุนรวม กินรีพร็อพเพอรตี้ ชื่อยอ : KRF ประเภทธุรกิจ : กองทุนรวมอสังหาริมทรัพยเพื่อลงทุน ซื้อหรือเชา อสังหาริมทรัพยหรือลงทุนในสิทธิเรียกรองที่มี อสังหาริมทรัพยเปนหลักประกัน เว็บไซต : เลขทะเบียนบริษัท : 11/2542 สถานที่ตั้งสํานักงาน : เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร ชั้น 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 0 2659 8847 โทรสาร 0 2659 8864 จํานวนหนวยลงทุน : 551,075 หนวย มูลคาหนวยลงทุนที่ตราไว : 10 บาท ทุนชําระแลว : 2,101,750 บาท สัดสวนการถือหุน : 98.88 %

บริษัท ยูนิเวนเจอร แอสเซท แมเนจเมนท จํากัด ชื่อยอ : UVAM ประเภทธุรกิจ : การลงทุนและการจัดการ เว็บไซต : www.univentures.co.th เลขทะเบียนบริษัท : 0105541027224 สถานที่ตั้งสํานักงาน : เลขที่ 57 ปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ชั้น 22 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 0 2643 7100 โทรสาร 0 2255 9417 ทุนจดทะเบียน : 22,310,000 บาท จํานวนหุน : 2,231,000 หุน มูลคาที่ตราไวตอหุน : 10 บาท ทุนชําระแลว : 22,310,000 บาท สัดสวนการถือหุน : 100 %

บริษัท แกรนด ยู ลิฟวิ่ง จํากัด*

บริษัท ไทย – ไลซาท จํากัด

ชื่อยอ : Grand U Living ประเภทธุรกิจ : พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพยอาคารที่พักอาศัยเพื่อขาย เว็บไซต : www.grandunity.com เลขทะเบียนบริษัท : 0105533024696 สถานที่ตั้งสํานักงาน : เลขที่ 57 ปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ชั้น 22 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 0 2643 7171 โทรสาร 0 2253 3263 ทุนจดทะเบียน : 244,049,400 บาท จํานวนหุน : 24,404,940 หุน มูลคาที่ตราไวตอหุน : 10 บาท ทุนชําระแลว : 244,049,400 บาท สัดสวนการถือหุน : 99.98 %

ชื่อยอ : TL ประเภทธุรกิจ : ตัวแทนจําหนายผลิตภัณฑผงสังกะสีออกไซด และเคมีภัณฑอื่น ๆ เว็บไซต : www.univentures.co.th เลขทะเบียนบริษัท : 0105515006258 สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ : เลขที่ 3 ซอยพหลโยธิน 90 ถนนพหลโยธิน ตําบลประชาธิปตย อําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12130 สํานักงานสาขา : เลขที่ 54 หมูที่ 3 ตําบลสามบัญฑิต อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13210 โทรศัพท 0 2643 7111 โทรสาร 0 2643 7299 , 0 3580 0977 ทุนจดทะเบียน : 140,000,000 บาท จํานวนหุน : 1,400,000 หุน มูลคาที่ตราไวตอหุน : 100 บาท ทุนชําระแลว : 140,000,000 บาท สัดสวนการถือหุน : 100 %

หมายเหตุ : * ถือหุน บริษัท แกรนด ยู ลิฟวิ่ง จํากัด ทางออม ผาน บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด

UV_THai.indd 62

26/3/2555 22:17:53


รายชื่อบริษัทยอยและบริษัทรวม

บริษัท เอสโก เวนเจอร จํากัด ชื่อยอ : EV ประเภทธุรกิจ : ลงทุนในธุรกิจบริหารและจัดการพลังงาน เว็บไซต : www.univentures.co.th เลขทะเบียนบริษัท : 0105548154680 สถานที่ตั้งสํานักงาน : เลขที่ 57 ปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ชั้น 22 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 0 2643 7100 โทรสาร 0 2255 9417 ทุนจดทะเบียน : 50,000,000 บาท จํานวนหุน : 5,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวตอหุน : 10 บาท ทุนชําระแลว : 27,500,000 บาท สัดสวนการถือหุน : 79 % ริษัท สหสินวัฒ

บริษัท สหสินวัฒนา โคเจนเนอเรชั่น จํากัด * ชื่อยอ : SSC ประเภทธุรกิจ : จัดหาและจําหนายพลังงานใหลูกคากลุมอุตสาหกรรม และกลุมพาณิชยกรรม เว็บไซต : เลขทะเบียนบริษัท : 0105548101268 สถานที่ตั้งสํานักงาน : เลขที่ 475 อาคารสิริภิญโญ ชั้น 12 ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0 2201 3466 – 7 โทรสาร 0 2201 3465 ทุนจดทะเบียน : 92,000,000 บาท จํานวนหุน : 9,200,000 หุน มูลคาที่ตราไวตอหุน : 10 บาท ทุนชําระแลว : 92,000,000 บาท สัดสวนการถือหุน : 20 %

63

บริษัท เอ็กซเซลเลนท เอ็นเนอรยี่ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ชื่อยอ : EEI ประเภทธุรกิจ : ใหบริการเปนที่ปรึกษาดานวิศวกรรมการจัดการ และอนุรักษพลังงาน เว็บไซต : www.eei.co.th เลขทะเบียนบริษัท : 0105542011771 สถานที่ตั้งสํานักงาน : เลขที่ 475 อาคารสิริภิญโญ ชั้น 12 ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0 2201 3466 – 7 โทรสาร 0 2201 3465 ทุนจดทะเบียน : 25,000,000 บาท จํานวนหุน : 2,500,000 หุน มูลคาที่ตราไวตอหุน : 10 บาท ทุนชําระแลว : 25,000,000 บาท สัดสวนการถือหุน : 31.81 %

บริษัท ยูนิเวนเจอร คอนซัลติ้ง จํากัด ชื่อยอ : UVC ประเภทธุรกิจ : ใหบริการเปนที่ปรึกษาดานการเงิน และการลงทุน เว็บไซต : www.univentures.co.th เลขทะเบียนบริษัท : 0105543041526 สถานที่ตั้งสํานักงาน : เลขที่ 57 ปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ชั้น 22 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 0 2643 7100 โทรสาร 0 2255 9417 ทุนจดทะเบียน : 2,500,000 บาท จํานวนหุน : 250,000 หุน มูลคาที่ตราไวตอหุน : 10 บาท ทุนชําระแลว : 2,500,000 บาท สัดสวนการถือหุน : 100 %

หมายเหตุ : * ถือหุน บริษัท สหสินวัฒนา โคเจนเนอเรชั่น จํากัด ทางออม ผาน บริษัท เอสโก เวนเจอร จํากัด

บริษัท สหสินวัฒนา ไบโอเอ็นเนอรยี่ จํากัด * ชื่อยอ : SSB ประเภทธุรกิจ : จัดหาและจําหนายพลังงานใหลูกคากลุมอุตสาหกรรม และกลุมพาณิชยกรรม เว็บไซต : เลขทะเบียนบริษัท : 0105550089211 สถานที่ตั้งสํานักงาน : เลขที่ 475 อาคารสิริภิญโญ ชั้น 12 ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0 2201 3466 – 7 โทรสาร 0 2201 3465 ทุนจดทะเบียน : 10,000,000 บาท จํานวนหุน : 1,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวตอหุน : 10 บาท ทุนชําระแลว : 10,000,000 บาท สัดสวนการถือหุน : 20 %

บริษัท ฟอรเวิรด ซิสเต็ม จํากัด ชื่อยอ : FS ประเภทธุรกิจ : ตัวแทนจําหนายเครื่องบันทึกเวลา และอุปกรณควบคุมระบบจอดรถ เว็บไซต์ : www.forwardsystem.co.th เลขทะเบียนบริษัท : 0105539131397 สถานที่ตั้งสํานักงาน : เลขที่ 888/222-224 อาคารมหาทุนพลาซา ชั้น 2 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 0 2643 7222 โทรสาร 0 2255 8986 - 7 ทุนจดทะเบียน : 5,000,000 บาท จํานวนหุน : 50,000 หุน มูลคาที่ตราไวตอหุน : 100 บาท ทุนชําระแลว : 5,000,000 บาท สัดสวนการถือหุน : 100 %

หมายเหตุ : * ถือหุน บริษัท สหสินวัฒนา ไบโอเอ็นเนอรยี่ จํากัด ทางออม ผานบริษัท เอสโก เวนเจอร จํากัด รายงานประจําป 2554

UV_THai.indd 63

26/3/2555 22:17:54



บริษัท ยนิู เวนเจอร์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบการเงิน และ รายงานของผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

รายงานประจำ�ปี 2554


รายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

1

รายงานผ้สู อบบัญชีรับอนญาต ุ เสนอ ผ้ ถู ือห้ ุนบริษทั ยนิู เวนเจอร์ จํากัด (มหาชน) ิ ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกจการ ณ วันที 31/ธันวาคม 2554 และ 2553 ิ ่ ํ ํ งบกาไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จรวมและงบกาไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จเฉพาะกจการ งบแสดงการเปลียนแปลงสวนของผู ถ้ ือหุ น้ รวมและ ่ ิ /และงบกระแสเงิ นสดรวมและงบกระแสเงิ นสดเฉพาะกจการ ิ งบแสดงการเปลี ยนแปลงสวนของผู ถ้ ือหุ ้นเฉพาะกจการ ั ่ ของบริ ษ ทั /ยูนิเวนเจอร์ จํากดั (มหาชน) และบริ ษ ทั ยอย ่ และของเฉพาะ บริ ษ ทั สําหรั บปี สิ นสุ ดวันเดี ยวกนของแตละปี ิ ่ ยูนิเวนเจอร์ จํากดั (มหาชน) ตามลําดับ ซึ งผูบ้ ริ หารของกจการเป็ นผูร้ ับผิดชอบตอความถู กต้องและครบถ้วนของข้อมูลใน ่ าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงิ ่ ่ งบการเงินเหล่านี สวนข้ นดังกลาวจากผลการตรวจสอบของข้ าพเจ้า ํ ข้า พเจ้า ได้ป ฏิ บัติ งานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ทีรั บรองทัว ไป ซึ งกาหนดให้ ข ้า พเจ้า ต้องวางแผนและ ่ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญหรื อไม่ ่ มีเหตุผลวา่/งบการเงิ นแสดงข้อมูลที ขดั ตอข้ ปฏิ บตั ิ งานเพือให้ได้ความเชื อมัน อยาง การตรวจสอบรวมถึ งการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการ/ทั งที เ ป็ นจํานวนเงิ นและการเปิ ดเผยข้อมูลใน ี ั งบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชี ทีกิจการใช้และประมาณการเกยวกบรายการทางการเงิ นทีเป็ น สาระสํา คัญซึ งผูบ้ ริ หารเป็ นผูจ้ ัด ทํา ขึ น /ตลอดจนการประเมิ นถึ งความเหมาะสมของการแสดงรายการที นํา เสนอใน ่ ่ ขอ้ สรุ ปทีเป็ นเกณฑ์อยางเหมาะสมในการแสดงความเห็ ่ งบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื อวาการตรวจสอบดั งกลาวให้ นของ ข้าพเจ้า ่ ิ ิ ข้าพเจ้าเห็นวางบการเงิ นรวมและงบการเงินเฉพาะกจการข้ างต้นนี แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกจการ ิ ณ วันที 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนิ นงานเฉพาะกจการ และกระแสเงินสดรวมและ ิ ั ่ ของบริ ษทั ยูนิเวนเจอร์ จํากดั (มหาชน) และบริ ษทั ยอย ่ กระแสเงินสดเฉพาะกจการ สําหรับปี สินสุ ดวันเดียวกนของแตละปี และของเฉพาะบริ ษ ทั ยูนิ เ วนเจอร์ จํา กดั (มหาชน) ตามลํา ดับ โดยถู ก ต้อ งตามที ค วรในสาระสํา คัญ ตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน

รายงานประจำ�ปี 2554


2

รายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

ิ ตามที อธิ บายไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิ นข้อ 4 กจการได้ ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นทีออกและปรับปรุ ง ิ ใหมซึ่  ง มี ผ ลบัง คับ ใช้ต ัง แตวั่ น ที 1 มกราคม 2554/งบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกจการสํ า หรั บปี สิ น สุ ด วัน ที ่ ว 31 ธันวาคม 2553 ได้ปรับปรุ งใหมแล้

(นิรันดร์ ลีลาเมธวัฒน์) ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 2316 บริ ษทั เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากดั กรุ งเทพมหานคร 21 กุมภาพันธ์ 2555


งบเเสดงฐานะการเงิน

3

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สินทรัพย์

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่)

(บาท) สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่นและเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กจิ การ ที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ โครงการอสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนา เงินล่วงหน้าค่าก่อสร้างโครงการ อสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนา เงินมัดจาค่าที่ดนิ โครงการอสังหาริมทรัพย์ ระหว่างการพัฒนา สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

7 8

237,711,962 131,167,816

180,357,687 195,710,868

25,706,072 -

89,196,211 -

6 9 10

10,417,559 345,119,784 2,714,380,456

12,423,394 281,823,550 1,448,161,901

267,051,498 -

498,857,048 -

103,008,209

108,208,916

35 11

152,120,000 197,459,442 3,891,385,228

121,407,000 93,468,555 2,441,561,871

114,120,000 2,026,148 408,903,718

37,943,629 625,996,888

12 13

1,814,163

2,894,207

1,128,867,094 -

1,131,284,753 -

-

-

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินลงทุนในบริษทั ร่วม ลูกหนี้อื่นและเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กจิ การ ที่เกี่ยวข้องกัน เงินล่วงหน้าค่าก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินมัดจาค่าที่ดนิ ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า ค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

6

14 35 15 16 17

รวมสินทรัพย์ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

-

-

175,283,493

-

4,656,198 2,078,464,505 544,986,500 298,263,058 1,340,178 18,173,336 32,894,989 2,980,592,927

206,244,929 2,079,530,885 12,500,000 116,799,639 17,781,892 1,340,178 14,277,536 72,645,940 2,524,015,206

8,405,266 23,575,384 12,021,196 9,907,583 1,358,060,016

8,791,273 6,142,977 12,912,643 6,863,034 1,165,994,680

6,871,978,155

4,965,577,077

1,766,963,734

1,791,991,568

3

รายงานประจำ�ปี 2554


4

งบเเสดงฐานะการเงิน บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

หนี้สินและส่วนของผู้ถอื หุ้น

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่)

(บาท) หนี้สนิ หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถงึ กาหนดชาระภายในหนึ่งปี เจ้าหนี้อื่นและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ค่าเช่ารับล่วงหน้าจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ที่ถงึ กาหนดรับรู้ภายในหนึ่งปี เจ้าหนี้เงินประกันผลงานโครงการ อสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนา หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สนิ หมุนเวียน

18

357,000,000 304,786,335

42,807,524 595,148,658

-

-

18

721,600,000

704,500,000

-

-

6, 18

2,815,550 58,080,844 181,323,975

2,763,305 4,813,449 181,296,288

457,143 -

473,927 -

6

886,724,194

-

-

-

19

24,007,286 73,547,192 2,609,885,376

33,979,774 26,345,590 1,591,654,588

18

1,429,500,000

-

107,375,841 453,275,806 15,264,519 24,030,350 2,029,446,516 4,639,331,892

42,576,943 1,250,000,000 1,292,576,943 2,884,231,531

9,824,305 10,281,448

4,777,176 5,251,103

หนี้สนิ ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้เงินประกันผลงานอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน ค่าเช่ารับล่วงหน้าจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สนิ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สนิ ไม่หมุนเวียน รวมหนี้สนิ

6 20

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

4

8,881,308 8,881,308 19,162,756

5,251,103


งบเเสดงฐานะการเงิน

5

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

หนี้สินและส่วนของผู้ถอื หุ้น

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่)

(บาท) ส่วนของผู้ถอื หุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน

21 764,770,615

764,770,615

764,770,615

764,770,615

764,770,615 474,572,457

764,770,615 474,572,457

764,770,615 474,572,457

764,770,615 474,572,457

56,787,338 515,923,320 1,812,053,730

56,482,000 503,376,991 1,799,202,063

54,305,338 454,152,568 1,747,800,978

54,000,000 493,397,393 1,786,740,465

ส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถอื หุ้น

420,592,533 2,232,646,263

282,143,483 2,081,345,546

1,747,800,978

1,786,740,465

รวมหนี้สนิ และส่วนของผู้ถอื หุ้น

6,871,978,155

4,965,577,077

1,766,963,734

1,791,991,568

ทุนที่ออกและชาระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ กาไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถอื หุ้นของบริษัท

21

23 4

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

5

รายงานประจำ�ปี 2554


6

งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สาหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม หมายเหตุ

2554

6

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2553 (ปรับปรุงใหม่) (บาท)

2554

2553 (ปรับปรุงใหม่)

1,043,845,858 2,544,870,664

1,130,356,770 1,139,366,415

88,514,710 -

80,591,070 -

13,333,415 3,203,640 18,073,291 3,623,326,868

4,657,611 13,381,876 2,287,762,672

25,267,143 6,840,000 8,198,383 128,820,236

29,604,158 36,599,357 4,827,241 151,621,826

การดาเนินงานต่อเนื่อง รายได้ รายได้จากการขายและการให้บริการ รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุด รายได้คา่ เช่าจากสัญญาเช่าดาเนินงาน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ รายได้อื่น รวมรายได้

6 6, 12 6

ค่าใช้จา่ ย ต้นทุนขายและต้นทุนการให้บริการ ต้นทุนขายหน่วยในอาคารชุด ต้นทุนจากการให้เช่าจากสัญญาเช่าดาเนินงาน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ค่าใช้จ่ายในการขาย 6, 25 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 6, 26 ต้นทุนทางการเงิน 6, 29 รวมค่าใช้จา่ ย

978,536,826 1,783,371,463

1,011,769,850 848,191,796

40,168,572 175,809,210 291,909,623 31,827,578 3,301,623,272

78,623,761 208,956,655 2,670,452 2,150,212,514

ส่วนแบ่งขาดทุนในตราสารทุน - การบัญชีดา้ นผู้ลงทุน บริษทั ร่วม 13

(1,080,044)

(14,987,658)

320,623,552

122,562,500

8,254,667

31,287,926

(114,521,660) 206,101,892

(10,540,854) 112,021,646

(2,147,910) 6,106,757

(769,957) 30,517,969

206,101,892

112,021,646

6,106,757

30,517,969

กาไรก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กาไรสาหรับปี

30

กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสาหรับปี-สุทธิจากภาษี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

6

120,565,569 120,565,569

-

120,333,900 120,333,900

-


งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

7

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สาหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม หมายเหตุ

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2553 (ปรับปรุงใหม่)

2554

2553 (ปรับปรุงใหม่)

(บาท)

ส่วนของกาไรที่เป็นของ ผู้ถอื หุ้นของบริษทั ส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุม กาไรสาหรับปี

63,092,842 143,009,050 206,101,892

56,720,405 55,301,241 112,021,646

6,106,757 6,106,757

30,517,969 30,517,969

63,092,842 143,009,050 206,101,892

56,720,405 55,301,241 112,021,646

6,106,757 6,106,757

30,517,969 30,517,969

0.082

0.074

0.008

0.040

ส่วนของกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมที่เป็นของ ผู้ถอื หุ้นของบริษทั ส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุม กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

32

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

7

รายงานประจำ�ปี 2554


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้

รายการกับผู้ถือหุน้ ทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถือหุน้ เงินทุนทีไ่ ด้รับจากผู้ถือหุน้ และการจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุน้ เงินปันผลให้ผู้ถือหุน้ ของบริษัทและบริษัทย่อย หุน้ ทุนออกให้ตามสิทธิ รวมรายการกับผู้ถือหุน้ ทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถือหุน้ กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี โอนไปสารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ตามทีร่ ายงานในปีก่อน ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ปรับปรุงใหม่

บริษทั ยูนเิ วนเจอร์ จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถอื หุน้ สาหรับแต่ละปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

33 21

4

หมายเหตุ

474,572,457

764,770,615

8

5,115 5,115

-

474,567,342 474,567,342

ส่วนเกิน มูลค่าหุน้ สามัญ

3,635 3,635

-

764,766,980 764,766,980

ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อกและ ชาระแล้ว

1,834,925 56,482,000

(7,643,706) (7,643,706) 56,720,405 (1,834,925) 503,376,991

-

งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) องค์ประกอบอื่น ของส่วนของ กาไรสะสม ผู้ถือหุน้ ทุนสารอง ยังไม่ได้ ผลต่างจากการ ตามกฎหมาย จัดสรร ตีราคาทีด่ ิน (บาท) 54,647,075 456,135,217 147,567,416 (147,567,416) 54,647,075 456,135,217 -

(7,643,706) 8,750 (7,634,956) 56,720,405 1,799,202,063

1,897,684,030 (147,567,416) 1,750,116,614

รวมส่วน ของผู้ถือหุน้ ของบริษัท

(13,697,754) (13,697,754) 55,301,241 282,143,483

240,539,996 240,539,996

ส่วนของ ส่วนได้เสีย ทีไ่ ม่มีอานาจ ควบคุม

(21,341,460) 8,750 (21,332,710) 112,021,646 2,081,345,546

2,138,224,026 (147,567,416) 1,990,656,610

รวมส่วน ของผู้ถือหุน้

8 งบเเสดงการเปลี่ยนเเปลงส่วนของผู้ถือหุ้น


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้

เงินปันผลให้ผู้ถือหุน้ ของบริษัทและบริษัทย่อย รวมรายการกับผู้ถือหุน้ ทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถือหุน้ กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี โอนไปสารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

33

4

ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554

รายการกับผู้ถือหุน้ ทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถือหุน้ เงินทุนทีไ่ ด้รับจากผู้ถือหุน้ และการจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุน้

764,770,615

4

ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ปรับปรุงใหม่

764,770,615

764,770,615

764,770,615

หมายเหตุ

ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อกและ ชาระแล้ว

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ตามทีร่ ายงานในปีก่อน

บริษทั ยูนเิ วนเจอร์ จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถอื หุน้ สาหรับแต่ละปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

9

474,572,457

474,572,457

474,572,457

474,572,457

ส่วนเกิน มูลค่าหุน้ สามัญ

305,338 56,787,338

56,482,000

56,482,000

(38,233,531) (38,233,531) 63,092,842 (305,338) 515,923,320

(12,007,644) 491,369,347

503,376,991

-

-

(147,567,416) -

งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) องค์ประกอบอื่น ของส่วนของ กาไรสะสม ผู้ถือหุน้ ทุนสารอง ยังไม่ได้ ผลต่างจากการ ตามกฎหมาย จัดสรร ตีราคาทีด่ ิน (บาท) 56,482,000 503,376,991 147,567,416

(38,233,531) (38,233,531) 63,092,842 1,812,053,730

(12,007,644) 1,787,194,419

(147,567,416) 1,799,202,063

1,946,769,479

รวมส่วน ของผู้ถือหุน้ ของบริษัท

(4,560,000) (4,560,000) 143,009,050 420,592,533

282,143,483

282,143,483

282,143,483

ส่วนของ ส่วนได้เสีย ทีไ่ ม่มีอานาจ ควบคุม

(42,793,531) (42,793,531) 206,101,892 2,232,646,263

(12,007,644) 2,069,337,902

(147,567,416) 2,081,345,546

2,228,912,962

รวมส่วน ของผู้ถือหุน้

งบเเสดงการเปลี่ยนเเปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

9

รายงานประจำ�ปี 2554


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

เงินปันผลให้ผถู้ อื หุ้นของบริษทั หุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ รวมรายการกับผู้ถอื หุ้นที่บนั ทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถอื หุ้น กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี โอนไปสารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

รายการกับผู้ถอื หุ้นที่บนั ทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถอื หุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถอื หุ้น

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ตามที่รายงานในปีก่อน ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ปรับปรุงใหม่

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สาหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

10

33 21

4

หมายเหตุ

5,115 5,115 474,572,457

764,770,615

-

474,567,342 474,567,342

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น สามัญ

3,635 3,635

-

764,766,980 764,766,980

ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ ชาระแล้ว

องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของ

1,834,925 54,000,000

(7,643,706) (7,643,706) 30,517,969 (1,834,925) 493,397,393

-

(7,643,706) 8,750 (7,634,956) 30,517,969 1,786,740,465

กาไรสะสม ผูถ้ อื หุ้น รวมส่วน ทุนสารอง ยังไม่ได้ ผลต่างจากการ ของผูถ้ อื หุ้น ตามกฎหมาย จัดสรร ตีราคาที่ดิน ของบริษทั (บาท) 52,165,075 472,358,055 110,261,000 1,874,118,452 (110,261,000) (110,261,000) 52,165,075 472,358,055 1,763,857,452

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุงใหม่)

10 งบเเสดงการเปลี่ยนเเปลงส่วนของผู้ถือหุ้น


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

เงินปันผลให้ผถู้ อื หุ้นของบริษทั รวมรายการกับผู้ถอื หุ้นที่บนั ทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถอื หุ้น กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี โอนไปสารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

รายการกับผู้ถอื หุ้นที่บนั ทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถอื หุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถอื หุ้น

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ตามที่รายงานในปีก่อน ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ปรับปรุงใหม่ ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สาหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

11

33

4

4

หมายเหตุ

764,770,615

764,770,615 764,770,615 764,770,615

ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ ชาระแล้ว

474,572,457

474,572,457 474,572,457 474,572,457

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น สามัญ

องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของ

305,338 54,305,338

(38,233,531) (38,233,531) 6,106,757 (305,338) 454,152,568

-

(38,233,531) (38,233,531) 6,106,757 1,747,800,978

กาไรสะสม ผูถ้ อื หุ้น รวมส่วน ทุนสารอง ยังไม่ได้ ผลต่างจากการ ของผูถ้ อื หุ้น ตามกฎหมาย จัดสรร ตีราคาที่ดิน ของบริษทั (บาท) 54,000,000 493,397,393 110,261,000 1,897,001,465 (110,261,000) (110,261,000) 54,000,000 493,397,393 1,786,740,465 (6,812,713) (6,812,713) 54,000,000 486,584,680 1,779,927,752

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุงใหม่)

งบเเสดงการเปลี่ยนเเปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

11

รายงานประจำ�ปี 2554


12

งบกระเเสเงินสด บริษทั ยูนเิ วนเจอร์ จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด สาหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม 2554

2553 (ปรับปรุงใหม่) (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554

2553 (ปรับปรุงใหม่)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กาไรสาหรับปี รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ ต้นทุนทางการเงิน ขาดทุนจากมูลค่าสินค้าลดลง ผลเสียหายจากเหตุการณ์น้าท่วม ขาดทุนจากการด้อยค่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ผลประโยชน์พนักงาน (กลับรายการ) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการลดมูลค่าเงินลงทุนใน บริษัทย่อยและบริษัทร่วม ขาดทุนจากการจาหน่ายเงินลงทุนในบริษัทร่วม ขาดทุน (กาไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ขาดทุน (กาไร) จากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ภาษีเงินได้ การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดาเนินงาน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ โครงการอสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนา เงินล่วงหน้าค่าก่อสร้างโครงการอสังหาริมทรัพย์ ระหว่างการพัฒนา เงินมัดจาค่าที่ดินโครงการอสังหาริมทรัพย์ ระหว่างการพัฒนา สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

206,101,892

112,021,646

6,106,757

30,517,969

44,514,230 (3,203,640) 31,827,578 13,055,097 13,985,229 20,697,867 3,256,875 668,063

17,008,140 (4,657,611) 2,670,452 179,791 (20,000)

6,146,107 (25,267,143) (6,840,000) 2,068,595 (35,000)

6,421,916 (29,604,158) (36,599,357) (20,000)

(2,818,908) (561,859) 1,080,044 114,521,660 443,124,128

14,341,586 1,010,154 86,847 14,987,658 10,540,854 168,169,517

2,417,659 (625,290) (250,039) 2,147,910 (14,130,444)

8,732,848 9,800,000 1,300,763 1 769,957 (8,680,061)

66,084,934 (498,280) (78,968,512) (1,481,029,792)

(5,744,798) 404,552,454 (181,525,490) (643,634,223)

(13,737,450) -

14,122,844 -

5,200,707

(108,208,916)

-

(30,713,000) (139,195,850)

(58,607,000) 5,731,967

(114,120,000) 570,801

12

(1,315,016)


งบกระแสเงินสด

13

บริษทั ยูนเิ วนเจอร์ จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด สาหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า เจ้าหนี้เงินประกันผลงานโครงการอสังหาริมทรัพย์ ระหว่างการพัฒนา หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดาเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดาเนินงาน

2553 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) (บาท) 39,750,951 (51,291,886) (3,710,150) (3,466,497) (23,232,826) 377,583,089 686,646 (1,167,416) (16,784) (209,951) 27,687 111,408,831 (9,972,489) 39,615,975 24,030,350 (1,145,089,371) (61,254,265) (1,206,343,636)

1,995,914 4,234,074 23,496,117 (8,799,764) 14,696,353

3,896,402 (141,247,625) (1,447,307) (142,694,932)

1,662,648 2,113,967 (1,086,931) 1,027,036

2,667,761 4,531,596 (12,500,000) (466,141,232) (55,640,343) 1,182,790 636,420 (6,990,070) (4,533,750) 3,000,000 31,850,000 (6,000,000) 201,588,730 114,557,671 (243,103,497) (1,109,089,478) 64,798,898 42,576,943 (24,600,000) (20,022,897) 35,279,957 3,920,043 (432,316,663) (1,009,713,795)

17,393,373 6,840,000 (19,837,047) 838,451 (1,901,700) 337,200,000 (259,000,000) 20,000,000 (20,000,000) 35,279,957 116,813,034

29,542,555 36,599,357 (952,259) (4,394,700) 1,173,850,000 (921,200,000) 3,920,043 (502,500,110) (185,135,114)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย รับเงินปันผล จ่ายเงินมัดจาค่าที่ดิน ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดรับจากเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น เงินสดรับจากเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น เงินล่วงหน้าค่าก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเพิ่มขึ้น เจ้าหนี้เงินประกันผลงานอสังหาริมทรัพย์การลงทุนเพิ่มขึ้น เงินจ่ายสุทธิจากการลงทุนสิทธิการเช่า เงินรับจากการจาหน่ายลงทุนในบริษัทร่วม เงินจ่ายสุทธิจากการลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

13

รายงานประจำ�ปี 2554


14

งบกระเเสเงินสด

บริษทั ยูนเิ วนเจอร์ จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด สาหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม หมายเหตุ

2554

2553 (ปรับปรุงใหม่) (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554

2553 (ปรับปรุงใหม่)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัทและบริษัทย่อย ชาระคืนเงินกู้ยืมจากกิจการอื่น เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น ชาระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ค่าเช่ารับล่วงหน้าจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศ คงเหลือสิ้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี 7

(112,609,661) (42,793,531) 314,192,476 2,656,100,000 (1,209,500,000) 90,000,000 1,695,389,284

(2,670,452) (21,341,460) (8,850,000) 42,807,524 864,500,000 (378,024,100) 200,000,000 8,750 696,430,262

(38,233,531) (38,233,531)

(7,643,706) 8,750 (7,634,956)

56,728,985

(298,587,180)

(64,115,429)

(191,743,034)

180,357,687

480,245,630

89,196,211

282,240,008

625,290 237,711,962

(1,300,763) 180,357,687

625,290 25,706,072

(1,300,763) 89,196,211

121,737,839

386,111,453

1,075,445

รายการที่ไม่ใช่เงินสด เจ้าหนี้ค่าก่อสร้างอาคารที่ยังมิได้ชาระเงิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

14

-


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

15

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 หมำยเหตุ

สำรบัญ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

ข้อมูลทัว่ ไป เกณฑ์การจัดทางบการเงิน ผลกระทบจากเหตุการณ์น้ าท่วมครั้งใหญ่ของไทย การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่สาคัญ บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า สิ นค้าคงเหลือ โครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนา สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรื อนหุน้ ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ สารอง ข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่ วนงาน ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ สิ ทธิ ประโยชน์จากการส่ งเสริ มการลงทุน

15

รายงานประจำ�ปี 2554


16

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 หมำยเหตุ

สำรบัญ

32 33 34 35 36 37 38 39

กาไรต่อหุน้ เงินปั นผล เครื่ องมือทางการเงิน ภาระผูกพันที่มีกบั บุคคลหรื อกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยงั ไม่ได้ใช้ การจัดประเภทรายการใหม่

16


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

17

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ได้รับอนุมตั ิให้ออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2555 1

ข้ อมูลทั่วไป บริ ษทั ยูนิเวนเจอร์ จากัด (มหาชน) “บริ ษทั ” เป็ นนิ ติบุคคลที่จดั ตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีที่อยู่จดทะเบียนตั้งอยู่ เลขที่ 57 ปาร์คเวนเชอร์ อีโคเพล็กซ์ช้ นั 22 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุ งเทพมหานคร บริ ษทั จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อเดือนธันวาคม 2531 บริ ษทั ใหญ่ในระหว่างปี ได้แก่ บริ ษทั อเดลฟอส จากัด ซึ่ งเป็ นนิติบุคคลที่จดั ตั้งขึ้นในประเทศไทย บริ ษทั ดาเนิ นธุ รกิจหลักเกี่ยวกับการพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ รายละเอียดของบริ ษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดงั นี้

ชื่อกิจกำร บริ ษทั ย่ อยทางตรง บริ ษทั ไทย-ไลซาท จากัด

ลักษณะธุรกิจ

ผลิตและขายสังกะสี ออ๊ กไซด์ และเคมีภณ ั ฑ์ บริ ษทั ฟอร์เวิร์ด ซิ สเต็ม จากัด ตัวแทนจาหน่ายเครื่ องบันทึก เวลาและอุปกรณ์ควบคุม ระบบจอดรถยนต์ บริ ษทั ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จากัด ที่ปรึ กษาทางด้านการเงินและ การลงทุน บริ ษทั ยูนิเวนเจอร์ แอสแซท ที่ปรึ กษาทางด้านการลงทุน แมเนจเม้นท์ จากัด ให้บริ การการจัดการ และ ลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์ เพื่อให้เช่า

ประเทศที่ กิจกำรจัดตั้ง

บริษทั ถือหุ้นร้ อยละ 2554 2553

ไทย

100.00

100.00

ไทย

99.99

99.99

ไทย

100.00

100.00

ไทย

100.00

100.00

รายงานประจำ�ปี 2554


18

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553

ชื่อกิจกำร กองทุนรวมกินรี พร็ อพเพอร์ต้ ี (ถือหุน้ ทางอ้อมโดยกองทุนส่ วน บุคคลของบริ ษทั ย่อยร้อยละ 1) บริ ษทั เอสโก้ เวนเจอร์ จากัด

ลักษณะธุรกิจ

กองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ ไทย (อยูใ่ นระหว่างการชาระบัญชี)

ลงทุนในธุรกิจการจัดการ พลังงาน บริ ษทั เลิศรัฐการ จากัด พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เพื่อ การลงทุน บริ ษทั แกรนด์ ยูนิต้ ี ดิเวลล็อปเมนท์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ จากัด (คอนโดมิเนียม) บริ ษทั ย่ อยทางอ้ อม บริ ษทั แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง จากัด พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ (บริ ษทั ถือหุน้ ผ่าน บริ ษทั แกรนด์ (คอนโดมิเนียม) ยูนิต้ ี ดิเวลล็อปเมนท์ จากัด ซึ่ งถือ หุน้ ทางตรงร้อยละ 99.98)

2

ประเทศที่ กิจกำรจัดตั้ง

บริษทั ถือหุ้นร้ อยละ 2554 2553 98.88 98.88

ไทย

79.00

79.00

ไทย

100.00

100.00

ไทย

60.00

60.00

ไทย

59.99

59.99

เกณฑ์ กำรจัดทำงบกำรเงิน

(ก) เกณฑ์ การถือปฏิบัติ งบการเงิ นนี้ จดั ทาขึ้ นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น รวมถึงแนวปฏิ บตั ิทางการบัญชี ที่ประกาศใช้โดยสภา วิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี ”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ เกี่ยวข้อง ระหว่างปี 2553 และ 2554 สภาวิชาชี พบัญชี ได้ออกและปรับปรุ งมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่ ง เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นงานของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย (รวมกันเรี ยกว่า “กลุ่มบริ ษทั ”) และมีผลบังคับใช้ต้ งั แต่รอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 ดังต่อไปนี้

18


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

19

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2552) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15

เรื่ อง การนาเสนองบการเงิน สิ นค้าคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน ต้นทุนการกูย้ ืม การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม กาไรต่อหุน้ งบการเงินระหว่างกาล การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสิ นทรัพย์ที่ อาจเกิดขึ้น สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน การรวมธุรกิจ สัญญาการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์

การปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ออกและปรับปรุ งใหม่น้ นั มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนโยบาย การบัญชีของกลุ่มบริ ษทั ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนี้ได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 รายงานประจำ�ปี 2554


20

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 นอกเหนือจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่ขา้ งต้น ระหว่างปี 2553 สภาวิชาชี พบัญชี ได้ ออกและปรับปรุ งมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นฉบับอื่น ๆ ซึ่ งมีผลบังคับสาหรับงบการเงิ นที่ เริ่ มในหรื อหลัง วันที่ 1 มกราคม 2556 เป็ นต้นไป และไม่ได้มีการนามาใช้สาหรับการจัดทางบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวได้เปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 38 (ข) เกณฑ์ การวัดมูลค่ า งบการเงินนี้จดั ทาขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นรายการที่สาคัญที่แสดงในงบแสดงฐานะ ทางการเงินดังต่อไปนี้  

สิ นทรัพย์ทางการเงินเผื่อขายวัดมูลค่าด้วยราคายุติธรรม มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกผันตามโครงการผลประโยชน์พนักงานที่กาหนดไว้

(ค) สกุลเงินที่นาเสนองบการเงิน งบการเงินนี้จดั ทาและแสดงหน่วยเงินตราเป็ นเงินบาท ข้อมูลทางการเงินทั้งหมดมีการปั ดเศษในหมายเหตุประกอบ งบการเงินเพื่อให้แสดงเป็ นหลักพันบาท ยกเว้นที่ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น (ง)

การประมาณการและใช้ วิจารณญาณ ในการจัดทางบการเงินให้เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบ้ ริ หารต้องใช้วิจารณญาณ การประมาณ และข้อสมมติ ฐานหลายประการ ซึ่ งมี ผลกระทบต่ อการกาหนดนโยบายการบัญชี และการรายงานจานวนเงิ นที่ เกี่ยวกับ สิ นทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิดขึ้นจริ งอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดทางบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่ อง การปรับประมาณการ ทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ได้รับผลกระทบ ข้อมูลเกี่ยวกับการประมาณความไม่แน่นอนและข้อสมมติฐานที่สาคัญในการกาหนดนโยบายการบัญชี มีผลกระทบ สาคัญต่อการรับรู ้จานวนเงินในงบการเงินซึ่ งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้

20


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

21

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 27 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 34 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 36 3

ผลกระทบจากเหตุการณ์น้ าท่วมครั้งใหญ่ของไทย การวัด มู ล ค่ า ของภาระผู ก พัน ของผลประโยชน์ พ นัก งานที่ กาหนดไว้ การตีมลู ค่าของเครื่ องมือทางการเงิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

ผลกระทบจำกเหตุกำรณ์ นำ้ ท่ วมครั้งใหญ่ ของไทย บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งดาเนิ นธุ รกิจในจังหวัดพระนครศรี อยุธยาและปทุมธานี ซึ่ งได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์น้ า ท่วมครั้งใหญ่ของไทย เป็ นผลให้ตอ้ งหยุดการผลิตที่ โรงงานที่ จงั หวัดพระนครศรี อยุธยาและปทุมธานี เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2554 และวันที่ 22 ตุลาคม 2554 ตามลาดับ โรงงานดังกล่าวได้เริ่ มผลิตเมื่อเดือนธันวาคม 2554 ผูบ้ ริ หาร บริ ษทั ประกันภัยและเจ้าหน้าที่สารวจภัยได้ทาการประเมินผลกระทบทั้งหมดของความเสี ยหาย ตั้งแต่เดือนมกราคม 2555 แต่การประเมินผลกระทบของความเสี ยหายยังไม่แล้วเสร็ จ ผูบ้ ริ หารเชื่อว่าความเสี ยหายที่เกิดจากเหตุการณ์น้ า ท่วมจะได้รับชดเชยจากการประกันภัยทั้งหมด มูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์รวมของโรงงานดังกล่าวในงบแสดง ฐานะทางการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีจานวน 801 ล้านบาท และรายได้ที่เกิดจากการดาเนิ นงานของ โรงงานดังกล่าวรวมอยู่ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 จานวน 986 ล้าน บาท งบการเงิ นนี้ ยงั มิได้รวมรายการปรับปรุ งที่อาจเกิดขึ้ น หากการประมาณความเสี ยหายและความคุม้ ครองของ ประกันภัยแล้วเสร็ จ

4

กำรเปลีย่ นแปลงนโยบำยกำรบัญชี

(ก) ภาพรวม ตั้งแต่วนั ที่ 1/มกราคม 2554 ผลจากการถือปฏิ บตั ิ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ ออกและปรับปรุ งใหม่ ตามที่กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2 กลุ่มบริ ษทั มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดงั ต่อไปนี้        

การนาเสนองบการเงิน การบัญชีเกี่ยวกับการรวมธุรกิจ การบัญชีเกี่ยวกับการได้มาซึ่ งส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม การบัญชีเกี่ยวกับที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การบัญชีเกี่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน การบัญชีเกี่ยวกับต้นทุนการกูย้ ืม การบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน การบัญชีเกี่ยวกับสัญญาการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ 21

รายงานประจำ�ปี 2554


22

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 รายละเอี ยดของนโยบายการบัญชี ใหม่ ที่ถือปฏิ บตั ิ โดยกลุ่มบริ ษ ทั และผลกระทบต่ องบการเงิ นได้กล่า วรวมใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 (ข) ถึง 4 (ฌ) ดังต่อไปนี้ ส่ วนการถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่ออกใหม่และฉบับปรับปรุ งอื่นๆ ไม่มีผลกระทบต่อนโยบายบัญชี ฐานะทางการเงิน หรื อ ผลประกอบการของกลุ่ม บริ ษทั อย่างมีนยั สาคัญ ผลกระทบต่องบการเงินสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สรุ ปได้ดงั นี้ งบกำรเงิน งบกำรเงิน รวม เฉพำะกิจกำร หมายเหตุ (พันบาท)

งบการเงิน 2553

งบแสดงฐานะการเงิน ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ตามที่รายงานในปี ก่อน การเปลี่ยนแปลงที่เป็ นผลจากการปรับย้อนหลัง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่ อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 เรื่ อง อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ส่ วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 1 มกรำคม 2553 - ปรับปรุ งใหม่

4(จ) 4(ฉ)

2,138,224

1,874,118

(147,567) 1,990,657

(110,261) 1,763,857

งบกำรเงิน งบกำรเงิน รวม เฉพำะกิจกำร หมายเหตุ (พันบาท)

งบการเงิน 2553

งบแสดงฐานะการเงิน ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ตามที่รายงานในปี ก่อน การเปลี่ยนแปลงที่เป็ นผลจากการปรับย้อนหลัง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่ อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 เรื่ อง อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ส่ วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2553 - ปรับปรุ งใหม่

22

4(จ) 4(ฉ)

2,228,913

1,897,001

(147,567) 2,081,346

(110,261) 1,786,740


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

23

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 งบกำรเงิน งบกำรเงิน รวม เฉพำะกิจกำร หมายเหตุ (พันบาท)

งบการเงิน 2554

งบแสดงฐานะการเงิน ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 5223 - ปรับปรุ งใหม่ การเปลี่ยนแปลงที่เป็ นผลจากการปรับทันที มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงาน ส่ วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 1 มกรำคม 2554 - ปรับปรุ งใหม่ งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสาหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 กาไรก่อนภาษีเงินได้ลดลง ซึ่ งรวมผลของการปฏิบตั ิตาม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงาน

2,081,346

1,786,740

4(ซ)

(12,008) 2,069,338

(6,813) 1,779,927

4(ซ)

(3,257)

(2,069)

(ข) การนาเสนองบการเงิน ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 กลุ่มบริ ษทั ถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ อง การนาเสนอ งบการเงิน ภายใต้ขอ้ กาหนดของมาตรฐานที่ปรับปรุ งใหม่ งบการเงินประกอบด้วย     

งบแสดงฐานะการเงิน งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ งบกระแสเงินสดและ หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ทั้งนี้เป็ นผลให้กลุ่มบริ ษทั แสดงการเปลี่ยนแปลงของส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ทั้งหมดในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของ ผูถ้ ือหุ ้น และแสดงการเปลี่ ยนแปลงทั้งหมดที่ ไม่ใช่ ส่วนของผูถ้ ือหุ ้นในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ โดยก่อนหน้านี้ การเปลี่ยนแปลงทั้งหมดดังกล่าวแสดงในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ข้อ มู ล เปรี ยบเที ย บได้ มี ก ารน าเสนอใหม่ เ พื่ อ ให้ เ ป็ นไปตามข้อ ก าหนดของมาตรฐานฉบับ ปรั บ ปรุ งใหม่ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดงั กล่าวมีผลกระทบต่อการนาเสนองบการเงินเท่านั้น โดยไม่มีผลกระทบต่อกาไร หรื อกาไรต่อหุน้

23

รายงานประจำ�ปี 2554


24

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 (ค) การบัญชีเกีย่ วกับการรวมธุรกิจ ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 กลุ่มบริ ษทั ได้ถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ อง การรวมธุ รกิจ และมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ อง งบการเงินรวมและงบการเงิ นเฉพาะ กิจการ สาหรับการรวมธุ รกิจที่เกิ ดขึ้นในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 ซึ่ งนโยบายการบัญชี ใหม่เกี่ยวกับการรวม ธุ รกิ จพร้อมทั้งนโยบายการบัญชี เดิมจะกล่าวในย่อหน้าถัดไป นโยบายการบัญชี ใหม่ได้ถือปฏิ บตั ิ โดยใช้วิธีเปลี่ยน ทันทีต้ งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 ตามวิธีปฏิบตั ิในช่วงเปลี่ยนแปลงที่ระบุในมาตรฐานฉบับปรับปรุ ง กลุ่มบริ ษทั ไม่มี การรวมธุ รกิ จในระหว่างปี 2554 ดังนั้นการถือปฏิ บตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับปรับปรุ งใหม่ท้ งั สองฉบับไม่มี ผลกระทบต่อกาไรหรื อกาไรต่อหุน้ สาหรับปี 2554 การรวมธุ รกิจบันทึกบัญชี โดยใช้วิธีซ้ื อ ณ วันที่ ซ้ื อซึ่ งเป็ นวันที่ อานาจควบคุมได้ถูกโอนให้กลุ่มบริ ษทั การควบคุม หมายถึงอานาจในการกาหนดนโยบายทางการเงิ นและการดาเนิ นงานของกิ จการเพื่ อให้ได้มาซึ่ งประโยชน์จาก กิจกรรมของกิ จการนั้น ในการประเมินการควบคุม กลุ่มบริ ษทั ได้พิจารณาถึงสิ ทธิ ในการออกเสี ยงซึ่ งสามารถใช้ สิ ทธิ น้ นั ได้ในปัจจุบนั การซื ้อกิจการในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุ่มบริ ษทั รับรู ้ค่าความนิยม ณ วันที่ซ้ื อ โดย  มูลค่ายุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่โอนให้ บวก  มูลค่าของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมในบริ ษท ั ของผูถ้ กู ซื้ อ บวก  มูลค่ายุติธรรมของส่ วนได้เสี ยที่มีอยู่ ณ วันซื้ อ หากการรวมธุ รกิจแบบเป็ นขั้น ๆ หัก  มูลค่าสุ ทธิ (โดยทัว่ ไปคือมูลค่ายุติธรรม) ของสิ นทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้ สินที่รับมา เมื่อผลรวมสุ ทธิ ขา้ งต้นเป็ นยอดติดลบ กาไรจากการต่อรองราคาซื้ อจะถูกรับรู ้ทนั ทีในกาไรหรื อขาดทุน สิ่ งตอบแทนที่ โอนให้ไม่ รวมค่ า ใช้จ่า ยที่ จ่ายเพื่ อให้ค วามสัมพันธ์ที่ มีอยู่ก่อนการรวมธุ ร กิ จหมดไป จานวนเงิ น ดังกล่าวจะถูกรับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้ อซึ่ งเป็ นผลมาจากการรวมธุรกิจ นอกเหนื อจากต้นทุนในการจดทะเบี ยนและออกตราสาร หนี้หรื อตราสารทุน กลุ่มบริ ษทั บันทึกต้นทุนดังกล่าวเป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น

24


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

25

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 หนี้ สินสิ่ งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายรับรู ้ดว้ ยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ ซ้ื อ หากสิ่ งตอบแทนที่ คาดว่าจะต้องจ่ายจัด ประเภทเป็ นส่ วนของเจ้าของ หนี้ สินดังกล่าวจะไม่ถูกวัดมูลค่าใหม่และจะบันทึกการจ่ายชาระในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น นอกเหนือจากกรณี ดงั กล่าวการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมในภายหลังของสิ่ งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายรับรู ้ใน กาไรหรื อขาดทุน เมื่อมีขอ้ กาหนดให้เปลี่ยนแทนโครงการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ (โครงการทดแทน) กับโครงการจ่ายโดยใช้หุ้น เป็ นเกณฑ์ที่พนักงานของผูถ้ ูกซื้ อถืออยู่ (โครงการของผูถ้ ูกซื้ อ) และสัมพันธ์กบั ต้นทุนบริ การในอดี ต โดยมูลค่ า ทั้งหมดหรื อบางส่ วนของโครงการทดแทนของผูถ้ ูกซื้ อนี้ ได้ถูกรวมในการวัดมูลค่าสิ่ งที่จะโอนให้ในการรวมธุ รกิจ ทั้งนี้ ได้วดั มูลค่ าโครงการโดยใช้ราคาตลาดของโครงการทดแทนเปรี ยบเที ยบกับราคาตลาดของโครงการของ ผูถ้ กู ซื้ อและขอบเขตของโครงการทดแทนนั้นสัมพันธ์กบั ต้นทุนบริ การในอดีตและ/หรื อต้นทุนบริ การในอนาคต การซื ้อกิจการระหว่ างวันที่ 1 มกราคม 2551 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ค่าความนิยม ได้แก่ส่วนที่เกินระหว่างต้นทุนการซื้ อและส่ วนได้เสี ยของกลุ่มกิจการที่รับรู ้จากการได้มาซึ่ ง สิ นทรัพย์ หนี้ สินและหนี้ สินที่อาจเกิดขึ้นของผูถ้ ูกซื้ อ (โดยทัว่ ไปเป็ นมูลค่ายุติธรรม) เมื่อส่ วนที่ เกินเป็ นยอดติ ดลบ กาไรจาก การต่อรองราคาซื้ อจะถูกรับรู ้ทนั ทีในกาไรหรื อขาดทุน ต้นทุ นในการทารายการ นอกเหนื อจากต้นทุ นในการจดทะเบี ยนและออกตราสารหนี้ หรื อตราสารทุ น ซึ่ งเป็ น ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการรวมธุรกิจ กลุ่มบริ ษทั ถือเป็ นส่ วนหนึ่งของต้นทุนการซื้ อกิจการ การซื ้อกิจการก่ อนวันที่ 1 มกราคม 2551 ค่าความนิยมวัดมูลค่าโดยวิธีเช่นเดียวกับที่กล่าวในย่อหน้าก่อน อย่างไรก็ดีค่าความนิ ยมและค่าความนิ ยมติดลบ ถูก ตัดจาหน่ ายตามระยะเวลาที่ คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จเป็ นเวลา 10 ปี ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 กลุ่ม บริ ษทั ได้ถือปฏิ บตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 43 เดิม (ปรับปรุ ง 2550) กลุ่มบริ ษทั ได้หยุดตัดจาหน่ายค่าความ นิ ยม ค่าความนิ ยมติ ดลบที่ยกมาในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ถูกตัดรายการโดยการปรับปรุ งกับกาไร สะสมที่ยงั ไม่ได้จดั สรร ณ วันที่ 1 มกราคม 2551

25

รายงานประจำ�ปี 2554


26

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 (ง)

การบัญชีเกีย่ วกับการได้ มาซึ่ งส่ วนได้ เสียที่ไม่ มีอานาจควบคุม (เดิมคือผู้ถอื หุ้นส่ วนน้ อย) กลุ่มบริ ษทั ได้ถือปฏิ บตั ิ ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรั บปรุ ง 2552) เรื่ องงบการเงิ นรวมและงบการเงิ น เฉพาะกิจการ สาหรับการซื้ อส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมในบริ ษทั ย่อย นโยบายการบัญชี ใหม่สาหรับการได้มา ซึ่ งส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม รวมถึงนโยบายการบัญชี เดิมจะกล่าวในย่อหน้าถัดไป นโยบายการบัญชี ใหม่ได้ มีการถือปฏิ บตั ิ โดยวิธีเปลี่ยนทันที ต้ งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 ตามแนวปฏิ บตั ิ ในช่ วงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐาน ฉบับปรับปรุ งดังกล่าว ระหว่างปี 2554 กลุ่มกิจการไม่มีการซื้ อส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม ดังนั้นการถือปฏิบตั ิ ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวไม่มีผลกระทบต่อกาไรหรื อกาไรต่อหุ น้ สาหรับปี 2554 ตามนโยบายการบัญชี ใหม่ การได้มาซึ่ งส่ วนได้เสี ยที่ ไม่มีอานาจควบคุมบันทึกบัญชี โดยถือว่าเป็ นรายการกับส่ วน ของเจ้าของในฐานะของผูเ้ ป็ นเจ้าของ ดังนั้นจึงไม่มีค่าความนิ ยมเกิดขึ้นจากรายการดังกล่าว รายการปรับปรุ งส่ วน ได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมขึ้นอยูก่ บั สัดส่ วนของสิ นทรัพย์สุทธิ ในบริ ษทั ย่อย ก่อนหน้านี้ มีการรับรู ้ค่าความนิยมที่เกิดจากการได้มาซึ่ งส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมในบริ ษทั ย่อย ซึ่ งแสดงเป็ น ส่ วนเกินของต้นทุนเงินลงทุนส่ วนที่ลงทุนเพิ่มที่มากกว่ามูลค่าตามบัญชี ของส่ วนได้เสี ยในสิ นทรัพย์สุทธิ ที่ได้มา ณ วันที่เกิดรายการ

(จ) การบัญชีเกีย่ วกับที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ กลุ่มบริ ษทั ถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ในการระบุ และบันทึกบัญชีตน้ ทุนและค่าเสื่ อมราคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญจากการปรับปรุ งมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 และมีผลกระทบต่อกลุ่มบริ ษทั มีดงั นี้   

ต้นทุนการรื้ อถอน การขนย้ายและการบูรณะสภาพของสิ นทรัพย์ ต้องถือเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์และอาจมีการ คิดค่าเสื่ อมราคาประจาปี การกาหนดค่าเสื่ อมราคา ต้องพิจารณาแต่ละส่ วนแยกต่างหากจากกันเมื่อแต่ละส่ วนประกอบนั้นมีสาระสาคัญ มูลค่าคงเหลือของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ตอ้ งมีการประมาณด้วยมูลค่าที่กิจการคาดว่าจะได้รับในปั จจุบนั จาก สิ นทรัพย์น้ นั หากมีอายุและสภาพที่คาดว่าจะได้รับในปั จจุบนั เมื่อสิ้ นสุ ดอายุการใช้ประโยชน์ นอกจากนี้ ตอ้ งมี การสอบทานมูลค่าคงเหลือและอายุการให้ประโยชน์อย่างน้อยทุกสิ้ นปี

26


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

27

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวถือปฏิบตั ิโดยวิธีเปลี่ยนทันทีตามที่กาหนดในวิธีปฏิบตั ิในช่วงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐาน ฉบับปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าว ยกเว้นการพิจารณาต้นทุนการรื้ อถอน การขนย้ายและบูรณะสถานที่ ซ่ ึ งถือปฏิบตั ิ โดย วิธีปรับย้อนหลัง/การเปลี่ยนแปลงนี้ ไม่มีผลกระทบที่ มีนยั สาคัญต่อผลกาไรและกาไรต่อหุ น้ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 นอกจากนี้ ในระหว่างปี 2554 กลุ่มบริ ษทั ได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี สาหรับการบันทึกบัญชี ที่ดิน อาคารและ อุปกรณ์จากวิธีตีราคาใหม่เป็ นวิธีราคาทุนเนื่ องจากทาให้ขอ้ มูลทางการเงินของกลุ่มบริ ษทั สามารถเปรี ยบเทียบกับ บริ ษทั อื่ นในกลุ่มเดี ยวกันได้ การเปลี่ ยนนโยบายการบัญชี ได้ถือปฏิ บตั ิ โดยวิธีปรั บย้อนหลังและได้ปรั บปรุ งงบ การเงิน 2553 ซึ่ งรวมอยู่ในงบการเงิน 2554 ของกลุ่มบริ ษทั เพื่อวัตถุประสงค์ในการเปรี ยบเทียบ ผลกระทบต่องบ การเงิน 2554 และ 2553 มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม 2554 2553

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท)

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ลดลง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ลดลง) กำไรสะสมเพิม่ ขึน้ (ลดลง)

147,567 (147,567) -

147,567 (147,567) -

-

-

(ฉ) การบัญชีเกีย่ วกับอสังหาริ มทรั พย์ เพือ่ การลงทุน กลุ่มบริ ษทั ถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ อง อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ภายใต้มาตรฐานฉบับปรับปรุ ง อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน หมายถึง อสังหาริ มทรัพย์ที่ถือครองเพื่อหาประโยชน์ จากรายได้ค่าเช่า หรื อจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าของสิ นทรัพย์หรื อทั้งสองอย่าง ทั้งนี้ ได้เปิ ดเผยแยกต่างหากจากที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และวัดมูลค่าโดยวิธีราคาทุนหรื อมูลค่ายุติธรรม โดยกาไรหรื อขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงใน มูลค่ายุติธรรมรับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน ก่ อ นหน้ า นี้ อสั ง หาริ มทรั พ ย์ เ พื่ อ การลงทุ น บั น ทึ ก รวมเป็ นส่ ว นหนึ่ งของที่ ดิ น อาคารและอุ ป กรณ์ แ ละ อสั ง หาริ มทรั พ ย์ร ะหว่ า งการพัฒ นาเพื่ อ ให้ เ ช่ า และวัด มู ล ค่ า โดยวิ ธี ตี ร าคาใหม่ แ ละวิ ธี ร าคาทุ น ตามล าดับ การเปลี่ยนแปลงของส่ วนที่ ตีราคาใหม่รับรู ้ในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นหรื อกาไรหรื อขาดทุน ตามที่ กล่าวในมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่ อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

27

รายงานประจำ�ปี 2554


28

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 กลุ่มบริ ษทั เลือกวิธีมูลค่ายุติธรรมสาหรับการบันทึ กบัญชี อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ภายใต้มาตรฐานฉบับปรับปรุ งใหม่ อย่างไรก็ตาม ในระหว่างปี 2554 ฝ่ ายบริ หารมีการพิจารณาการบันทึกบัญชี ใหม่ และเห็ น ว่ า วิ ธี ร าคาทุ น จะท าให้ข ้อ มู ล ทางการเงิ น ของกลุ่ ม บริ ษ ัท สามารถเปรี ย บเที ย บกับ บริ ษ ัท อื่ น ในกลุ่ ม อุตสาหกรรมเดี ยวกันได้ การเปลี่ยนนโยบายการบัญชี ดงั กล่าวได้ถือปฏิ บตั ิ โดยวิธีปรับย้อนหลังและได้ปรับปรุ ง งบการเงิ น 2553 ซึ่ งรวมอยู่ในงบการเงิ น 2554 ของกลุ่มบริ ษทั เพื่อวัตถุประสงค์ในการเปรี ยบเที ยบ ตั้ง แต่ ว นั ที่ 1 มกราคม 2554 ค่ า เสื่ อมราคาและอายุการใช้งานของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนได้มีการประเมินใหม่ตาม ข้อกาหนดของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรั บปรุ ง 2552) ดูหมายเหตุประกอบงบการเงิ นข้อ 4 (จ) การ เปลี่ยนแปลงในเรื่ องดังกล่าวได้ถือปฏิ บตั ิ โดยวิธีเปลี่ ยนทันที ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรั บปรุ ง 2552) ผลกระทบต่องบการเงิน 2554 และ 2553 มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม 2554 2553

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท)

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ลดลง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ลดลง) อสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนาเพื่อให้เช่า (ลดลง) (2,079,531) อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนเพิม่ ขึ้น 2,079,531 กำไรสะสมเพิม่ ขึน้ (ลดลง)

(2,079,531) 2,079,531 -

110,261 (118,666) 8,405 -

110,261 (119,052) 8,791 -

(ช) การบัญชีเกีย่ วกับต้ นทุนการกู้ยืม กลุ่มบริ ษทั ถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ อง ต้นทุนการกูย้ ืม ภายใต้มาตรฐานฉบับปรับปรุ ง ต้นทุนการกูย้ ืมที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มา การก่อสร้างหรื อการผลิตสิ นทรัพย์ที่ เข้าเงื่ อนไขเป็ นส่ วนหนึ่ งของราคาทุนของสิ นทรัพย์น้ นั ทั้งนี้ มาตรฐานฉบับเดิ มต้นทุนการกูย้ ืมดังกล่าวสามารถ บันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดเมื่อเกิดขึ้นหรื อถือรวมเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์ นโยบายการบัญชีภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 เดิมของกลุ่มบริ ษทั บันทึกต้นทุนการกูย้ ืมที่เกี่ยวข้องโดยตรง กับการได้มา การก่อสร้างหรื อการผลิตสิ นทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไขเป็ นส่ วนหนึ่งของราคาทุนของสิ นทรัพย์ ดังนั้นการถือ ปฏิบตั ิตามมาตรฐานฉบับปรับปรุ งใหม่จึงไม่มีผลกระทบต่อกาไรหรื อกาไรต่อหุ น้ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

28


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

29

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 (ซ) การบัญชีเกีย่ วกับผลประโยชน์ ของพนักงาน กลุ่มบริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามมาตรฐานบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่ องผลประโยชน์ของพนักงาน ภายใต้นโยบายการบัญชีใหม่ หนี้สินของกลุ่มบริ ษทั เกี่ยวกับผลประโยชน์หลังออกจากงาน-และหนี้ สินผลประโยชน์ ระยะยาวอื่ น ได้บนั ทึ กในงบการเงิ น /ด้วยวิ ธีคิดลดแต่ ละหน่ ว ยที่ ประมาณการไว้ซ่ ึ งค านวณโดยนักคณิ ต ศาสตร์ ประกันภัยทุกปี ที่ผา่ นมาหนี้สินเหล่านี้รับรู ้เมื่อจะต้องจ่ายชาระ หนี้ สินของกลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั เกี่ ยวกับผลประโยชน์หลังออกจากงานและหนี้ สินผลประโยชน์ระยะยาวอื่น ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 เป็ นจานวนเงิน 12 ล้านบาทและ 6.8 ล้านบาท ตามลาดับ กลุ่มบริ ษทั เลือกที่จะบันทึกหนี้ สิน ทั้งหมดดังกล่าวเป็ นรายการปรับปรุ งกาไรสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ตามวิธีปฏิ บตั ิในช่วงเปลี่ยนแปลงของ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 ผลกระทบต่องบการเงิน 2554 มีดงั ต่อไปนี้

งบแสดงฐานะการเงิน กาไรสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ตามที่รายงานในปี ก่อน ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงานเพิ่มขึ้น กำไรสะสม ณ วันที่ 1 มกรำคม 2554

งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสาหรั บสาหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานเพิ่มขึ้นส่ งผลให้ ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร (เพิ่มขึ้น) กำไรสำหรับปี (ลดลง) กำไรต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐำน (ลดลง) (บาท)

29

งบกำรเงิน งบกำรเงิน รวม เฉพำะกิจกำร (พันบาท) 503,377 (12,008) 491,369

493,398 (6,813) 486,585

งบกำรเงิน งบกำรเงิน รวม เฉพำะกิจกำร (พันบาท)

(3,257) (3,257)

(2,068) (2,068)

(0.004)

(0.003)

รายงานประจำ�ปี 2554


30

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 (ฌ) การบัญชีเกีย่ วกับสัญญาการก่ อสร้ างอสังหาริ มทรั พย์ กลุ่ ม บริ ษ ัท ถื อ ปฏิ บัติ ต ามการตี ค วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับ ที่ 15 เรื่ อง สั ญ ญาการก่ อ สร้ า ง อสังหาริ มทรัพย์ การตี ความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15 เรื่ อง สัญญาการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ ให้เกณฑ์ในการ พิจารณาว่าสัญญาก่อสร้างนั้นอยู่ภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 เรื่ อง สัญญาก่อสร้างหรื อ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 เรื่ อง รายได้ ผลกระทบจากการแยกรายได้จากการก่อสร้าง หากรายได้ดงั กล่าวเป็ นไปตามมาตรฐานการ บัญชี ฉบับที่ 11 เรื่ อง สัญญาก่ อสร้ า ง จะรั บรู ้ รายได้ต ามวิธีอตั ราส่ วนของงานที่ ทาเสร็ จ แต่ หากเป็ นไปตาม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 จะรั บรู ้เมื่ อสิ้ นสุ ดสัญญา หรื อเมื่ อโอนความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ น เจ้าของให้กบั ผูซ้ ้ื อ ที่ผา่ นมากลุ่มบริ ษทั รับรู ้รายได้จากการขายอาคารชุดโดยวิธีอตั ราส่ วนของงานที่ทาเสร็ จ ภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 102 เรื่ อง การรับรู ้รายได้สาหรับธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ (ฉบับ 26 เดิม) หากรายการขายนั้นเข้าเงื่อนไขตามที่ กาหนดในมาตรฐานการบัญชีดงั กล่าว เงื่อนไขต่าง ๆ รวมถึง   

เมื่อทาสัญญาขายแล้วหรื อในกรณี ของการขายอาคารชุด จะต้องมีการทาสัญญาขายแล้วไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 ของพื้นที่โครงการอาคารชุดที่มีเพื่อขาย แต่ละสัญญาที่จะรับรู ้รายได้ จะต้องได้รับเงินล่วงหน้าประเภทไม่ตอ้ งชาระคืนให้แก่ลูกค้าอย่างน้อยร้อยละ 20 ของราคาขายตามสัญญา และ โครงการที่พฒั นาต้องมีงานพัฒนาและงานก่อสร้างเสร็ จแล้วอย่างน้อยร้อยละ 10 ของงานก่อสร้างทั้งหมด

หากการขายอสังหาริ มทรัพย์ไม่เข้าเงื่ อนไขการรับรู ้รายได้ ให้บนั ทึ กจานวนเงิ นที่ ได้รับเป็ นเงิ นมัดจาหรื อเงิ นรั บ ล่วงหน้าจากผูซ้ ้ื อจนกว่ารายการขายดังกล่าวจะเข้าเงื่อนไขการรับรู ้รายได้ ภายใต้การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15 เรื่ อง สัญญาการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ สัญญาการ ขายอาคารชุดเป็ นสัญญาการขายสิ นค้ามิใช่สัญญาก่อสร้าง และอยู่ภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่18 ดังนั้นตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2554 กลุ่มบริ ษทั เปลี่ยนนโยบายการบัญชี จากการรับรู ้ตามวิธีอตั ราส่ วนของงานที่ทาเสร็ จเป็ นเมื่อ สิ้ นสุ ดสัญญา การเปลี่ยนแปลงนี้ ไม่มีผลกระทบต่อผลกาไรและกาไรต่อหุ น้ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 เนื่องจาก ณ วันดังกล่าวไม่มีสญ ั ญาการขายอาคารชุดที่เข้าเงื่อนไขเรื่ อง การรับรู ้รายได้ภายใต้มาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 102

30


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

31

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 5

นโยบำยกำรบัญชีที่สำคัญ

(ก) เกณฑ์ ในการจัดทางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย (รวมกันเรี ยกว่า “กลุ่มบริ ษทั ”) และส่ วนได้เสี ยของ กลุ่มบริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วม การรวมธุรกิจ นโยบายบัญชีสาหรับการรวมธุรกิจที่เกิดขึ้นตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 ได้มีการเปลี่ยนแปลงโปรดดูรายละเอียดใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4(ค) กลุ่ มบริ ษทั บันทึ กบัญชี สาหรั บการรวมธุ รกิ จตามวิธีซ้ื อ ยกเว้นในกรณี ที่เ ป็ นการรวมธุ รกิ จภายใต้การควบคุ ม เดียวกัน การควบคุ ม หมายถึ งอานาจในการกาหนดนโยบายทางการเงิ นและการดาเนิ นงานของกิ จการเพื่ อให้ไ ด้มาซึ่ ง ประโยชน์จากกิจกรรมของกิ จการนั้น ในการพิจารณาอานาจในการควบคุม กิจการต้องนาสิ ทธิ ในการออกเสี ยงที่ เกิ ดขึ้ นมารวมในการพิจารณา วันที่ ซ้ื อกิ จการคื อวันที่ อานาจในการควบคุมนั้นได้ถูกโอนไปยังผูซ้ ้ื อ การกาหนด วันที่ ซ้ื อกิ จการและการระบุเกี่ ยวกับการโอนอานาจควบคุมจากฝ่ ายหนึ่ งไปยังอีกฝ่ ายหนึ่ งต้องใช้ดุลยพินิจเข้ามา เกี่ยวข้อง ค่าความนิยม ถูกวัดมูลค่า ณ วันที่ซ้ื อ โดยวัดจากมูลค่ายุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่โอนให้ซ่ ึ งรวมถึงการรับรู ้จานวน ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมในผูถ้ ูกซื้ อ หักด้วยมูลค่าสุ ทธิ (มูลค่ายุติธรรม) ของสิ นทรัพย์ที่ระบุได้ที่ได้มาและ หนี้สินที่รับมาซึ่ งวัดมูลค่า ณ วันที่ซ้ื อ สิ่ งตอบแทนที่ โอนให้ ต้องวัดด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่โอนไป หนี้ สินที่ กลุ่มบริ ษทั ก่อขึ้ นเพื่อจ่ายชาระ ให้แก่เจ้าของเดิ ม และส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของที่ ออกโดยกลุ่มบริ ษทั ทั้งนี้ สิ่งตอบแทนที่ โอนให้ยงั รวมถึง มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและมูลค่าของโครงการจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ที่ออกแทนโครงการของผูถ้ ูก ซื้ อเมื่อรวมธุ รกิจ หากการรวมธุ รกิจมีผลให้สิ้นสุ ดความสัมพันธ์ของโครงการเดิ มระหว่างกลุ่มบริ ษทั และผูถ้ ูกซื้ อ ให้ใช้ราคาที่ต่ากว่าระหว่าง มูลค่าจากการยกเลิกสัญญาตามที่ระบุในสัญญา และมูลค่าองค์ประกอบนอกตลาด ไป หักจากสิ่ งตอบแทนที่โอนให้ และรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายอื่น 31

รายงานประจำ�ปี 2554


32

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 หากมีการออกโครงการจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ (โครงการทดแทน) เพื่ อแลกเปลี่ยนกับโครงการที่พนักงานของผู ้ ถูกซื้ อถืออยู่ (โครงการผูถ้ ูกซื้ อ) ขึ้ นอยู่กบั ต้นทุนบริ การในอดีต ผูซ้ ้ื อต้องวัดส่ วนของโครงการทดแทนด้วยมูลค่า ตามราคาตลาดซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่ งของสิ่ งตอบแทนที่ โอน หากมี ขอ้ กาหนดเกี่ ยวกับการทางานในอนาคต ผลต่ าง ระหว่า งมูลค่ า ซึ่ งรวมอยู่ในสิ่ งตอบแทนที่ โ อนไป และ ราคาตลาดของโครงการทดแทน รั บรู ้ เ ป็ นผลตอบแทน พนักงานภายหลังการรวมธุรกิจ หนี้ สินที่ อาจเกิ ดขึ้ นของบริ ษทั ที่ ถูกซื้ อที่ รับมาจากการรวมธุ รกิ จ รับรู ้เป็ นหนี้ สินหากมีภาระผูกพันในปั จจุบนั ซึ่ ง เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ในอดีต และสามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่มบริ ษทั วัดมูลค่าส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมตามอัตราส่ วนได้เสี ยในสิ นทรัพย์สุทธิ ที่ได้มาจากผูถ้ ูกซื้ อ ต้นทุ นที่ เ กี่ ยวข้องกับ การซื้ อของกลุ่มบริ ษ ทั ที่ เ กิ ดขึ้ นซึ่ งเป็ นผลมาจากการรวมธุ รกิ จ เช่ น ค่ า ที่ ปรึ กษากฎหมาย ค่าธรรมเนียมวิชาชีพและค่าที่ปรึ กษาอื่นๆ ถือเป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น บริ ษัทย่ อย บริ ษทั ย่อยเป็ นกิ จการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มบริ ษทั การควบคุมเกิดขึ้ นเมื่อกลุ่มบริ ษทั มีอานาจควบคุมทั้ง ทางตรงหรื อทางอ้อมในการกาหนดนโยบายทางการเงินและการดาเนิ นงานของกิ จการนั้น เพื่อได้มาซึ่ งประโยชน์ จากกิจกรรมของบริ ษทั ย่อย งบการเงิ นของบริ ษทั ย่อยได้รวมอยู่ในงบการเงิ นรวม นับแต่วนั ที่ มีการควบคุมจนถึง วันที่การควบคุมสิ้ นสุ ดลง นโยบายการบัญชีของบริ ษทั ย่อยได้ถกู เปลี่ยนตามความจาเป็ นเพื่อให้เป็ นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริ ษทั ผลขาดทุนในบริ ษทั ย่อยจะต้องถูกปันส่ วนไปยังส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมแม้ว่าการปั นส่ วนดังกล่าวจะทาให้ ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมมียอดคงเหลือติดลบก็ตาม

32


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

33

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 การสู ญเสี ยอานาจควบคุม เมื่อมีการสู ญเสี ยอานาจควบคุมกลุ่มบริ ษทั ตัดรายการสิ นทรัพย์และหนี้ สินในบริ ษทั ย่อย ส่ วนได้เสี ยที่ ไม่มีอานาจ ควบคุมและส่ วนประกอบอื่นในส่ วนของเจ้าของที่ เกี่ ยวข้องกับบริ ษทั ย่อยนั้น กาไรหรื อขาดทุนที่ เกิ ดขึ้ นจากการ สู ญเสี ยอานาจควบคุมในบริ ษทั ย่อยรับรู ้ ในกาไรหรื อขาดทุน ส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ย่อยเดิ มที่ ยงั คงเหลืออยู่ให้วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่สูญเสี ยอานาจควบคุม และจัดประเภทเงินลงทุนเป็ นเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ย หรื อเป็ นสิ นทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ขึ้นอยูก่ บั ระดับของอิทธิ พลที่คงเหลืออยู่ บริ ษัทร่ วม บริ ษทั ร่ วมเป็ นกิจการที่กลุ่มบริ ษทั มีอิทธิ พลอย่างมีนยั สาคัญโดยมีอานาจเข้าไปมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจเกี่ยวกับ นโยบายทางการเงิ นและการดาเนิ นงานแต่ไม่ถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกล่าว การมีอิทธิ พลอย่างมีนยั สาคัญ ถูกสันนิษฐานว่ามีอยูเ่ มื่อกลุ่มบริ ษทั มีอานาจในการออกเสี ยงในกิจการอื่นตั้งแต่ร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 50 เงิ นลงทุ นในบริ ษทั ร่ วมบันทึ กในงบการเงิ นรวมโดยใช้วิธีส่วนได้เสี ย (เงิ นลงทุนตามวีธีส่วนได้เสี ยของบริ ษทั ที่ ถูกลงทุน) โดยรับรู ้รายการเริ่ มแรกด้วยราคาทุน รวมถึงต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้ อที่เกิดจากการทารายการดังกล่าว งบการเงิ นรวมได้รวมส่ วนแบ่งกาไรหรื อขาดทุน และ กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่ นของกลุ่มบริ ษทั ภายหลังจากการ ปรับปรุ งนโยบายการบัญชี ให้เป็ นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริ ษทั นับจากวันที่มีอิทธิ พลอย่างมีนยั สาคัญ จนถึง วันที่การมีอิทธิ พลอย่างมีนยั สาคัญนั้นสิ้ นสุ ดลง เมื่อผลขาดทุนที่กลุ่มบริ ษทั ได้รับปั นส่ วนจากบริ ษทั ร่ วมมีจานวน เกินกว่าส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วม มูลค่าตามบัญชี ของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมตามวิธีส่วนได้เสี ย รวมถึงส่ วนได้เสี ย ระยะยาวใดๆจะถูกทอนลงจนเป็ นศูนย์และหยุดรับรู ้ส่วนผลขาดทุ น เว้นแต่ กรณี ที่กลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันตาม กฎหมายหรื อต้องจ่ายเงินเพื่อชาระภาระผูกพันแทนในนามบริ ษทั ร่ วม การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้หรื อค่าใช้จ่ายที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งซึ่ งเป็ นผลมาจาก รายการระหว่างกิจการในกลุ่ม ถูกตัดรายการในการจัดทางบการเงินรวม กาไรที่ ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งซึ่ งเป็ นผลมาจาก รายการกับบริ ษทั ร่ วมถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเท่าที่กลุ่มบริ ษทั มีส่วนได้เสี ยในกิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับกาไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ ง แต่เท่าที่เมื่อไม่มีหลักฐานการด้อยค่าเกิดขึ้น

33

รายงานประจำ�ปี 2554


34

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 (ข) เงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชี ที่เป็ นเงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชีที่เป็ นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สิ นทรัพย์และหนี้ สินที่ เป็ นตัวเงิ นและเป็ นเงิ นตราต่างประเทศ ณ วันที่ รายงาน แปลงค่าเป็ นเงิ นบาทโดยใช้อตั รา แลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กาไรหรื อขาดทุนจากการแปลงค่าบันทึกในกาไรหรื อขาดทุน สิ นทรัพย์และหนี้ สินที่ ไม่เป็ นตัวเงิ นซึ่ งเกิ ดจากรายการบัญชี ที่เป็ นเงิ นตราต่างประเทศซึ่ งบันทึ กตามเกณฑ์ราคา ทุนเดิม แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ (ค) เครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ เครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุ พนั ธ์ได้ถูกนามาใช้เพื่อจัดการความเสี่ ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่เกิดจากกิจกรรมดาเนิ นงาน เครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ไม่ได้มีไว้ เพื่อค้า อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพนั ธ์ที่ไม่เข้าเงื่อนไข การกาหนดให้เป็ นเครื่ องมือป้ องกันความเสี่ ยงถือเป็ นรายการ เพื่อค้า เครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์จะถูกบันทึกบัญชีในขั้นแรกด้วยมูลค่ายุติธรรม ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการทา รายการดังกล่าวบันทึกในงบกาไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น การวัดมูลค่าใหม่ภายหลังการบันทึกครั้งแรกใช้มูลค่ายุติธรรม กาไรหรื อขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ให้เป็ นมูลค่ายุติธรรมบันทึกในกาไรหรื อขาดทุนทันที หากมี ราคาตลาด มูลค่ า ยุติธรรมของสัญญาซื้ อขายเงิ นตราต่ างประเทศล่ วงหน้า ถื อตามราคาตลาดของสัญ ญา ล่วงหน้า ณ วันที่ รายงาน ในกรณี ที่ไม่มีราคาตลาด ให้ประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยการคิ ดลดจากผลต่างระหว่าง ราคาล่วงหน้าตามสัญญา กับราคาล่วงหน้าของสัญญาปั จจุบนั ณ วันที่รายงานที่ ครบกาหนดในวันเดียวกัน โดยใช้ อัตราดอกเบี้ยประเภทที่ใช้กบั ธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ ยง เช่น พันธบัตรรัฐบาล (ง)

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเที ยบเท่าเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรี ยก และเงิ นลงทุน ระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง

34


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

35

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 (จ) ลูกหนี้การค้ าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้ หกั ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญประเมิ นโดยการวิเคราะห์ประวัติการชาระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ ยวกับการชาระหนี้ ใน อนาคตของลูกค้า ลูกหนี้จะถูกตัดจาหน่ายบัญชีเมื่อทราบว่าเป็ นหนี้สูญ (ฉ) สินค้ าคงเหลือ สิ นค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ากว่า วัตถุดิบคานวณโดยใช้วิธีตน้ ทุนเจาะจง วัสดุสิ้นเปลืองโรงงานและวัตถุประกอบการผลิตคานวณโดยใช้วิธีเข้าก่อนออกก่ อน สิ น ค้า ส าเร็ จรู ป และสิ นค้า ระหว่ า งผลิ ต ค านวณโดยใช้วิ ธีต ้นทุ นถัวเฉลี่ ย ถ่ ว งน้ า หนัก ต้น ทุ น สิ น ค้า ประกอบด้วยต้นทุนที่ ซ้ื อ ต้นทุนในการดัดแปลงหรื อต้นทุนอื่นเพื่อให้สินค้าอยู่ในสถานที่ และสภาพปั จจุบนั ใน กรณี ของสิ นค้าสาเร็ จรู ปและสิ นค้าระหว่างผลิตที่ผลิตเอง ต้นทุนสิ นค้ารวมการปั นส่ วนของค่าโสหุ ย้ การผลิตอย่าง เหมาะสม โดยคานึงถึงระดับกาลังการผลิตตามปกติ มูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับเป็ นการประมาณราคาที่คาดว่าจะขายได้จากการดาเนินธุรกิจปกติหกั ด้วยค่าใช้จ่ายที่จาเป็ นใน การขาย (ช) โครงการอสังหาริ มทรั พย์ ระหว่ างการพัฒนา โครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนาคือโครงการที่ถืออสังหาริ มทรัพย์ไว้ดว้ ยความตั้งใจในการพัฒนาและ การขายในการดาเนินธุรกิจปกติ โครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนาแสดงในราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับโดยประมาณแล้วแต่ราคาใด ต่ากว่า มูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ คือ ราคาขายโดยประมาณหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จาเป็ นในการขาย ต้นทุนของโครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนาประกอบด้วย ต้นทุนของแต่ละโครงการ รวมต้นทุนจากการ ได้มา ค่าใช้จ่ายในการพัฒนา ต้นทุนการกูย้ ืม และ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ต้นทุนการกูย้ ืมซึ่ งกูม้ าโดยเฉพาะเพื่อ ใช้ในโครงการรวมเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์จนกระทัง่ การพัฒนาสาเร็ จ 35

รายงานประจำ�ปี 2554


36

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 (ซ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อยและบริ ษัทร่ วม เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั บันทึกบัญชี โดยใช้วิธีราคาทุน ส่ วนการ บันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมในงบการเงินรวมใช้วิธีส่วนได้เสี ย (ฌ) อสังหาริ มทรั พย์ เพือ่ การลงทุน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนได้แก่อสังหาริ มทรัพย์ที่ถือครองเพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่ าหรื อจากมูลค่าที่ เพิ่มขึ้นหรื อทั้งสองอย่าง ทั้งนี้ ไม่ได้มีไว้เพื่อขายตามปกติ ธุรกิ จหรื อใช้ในการผลิตหรื อจัดหาสิ นค้าหรื อให้บริ การ หรื อใช้ในการบริ หารงาน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนแสดงในราคาทุนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ต้น ทุ น รวมค่ า ใช้จ่ า ยทางตรงเพื่ อ ให้ ไ ด้ม าซึ่ งอสั ง หาริ มทรั พ ย์เ พื่ อ การลงทุ น และต้น ทุ น ทางตรงอื่ น เพื่ อ ให้ อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนอยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งานและรวมถึงต้นทุนการกูย้ ืม ค่าเสื่ อมราคาจะบันทึกในกาไรหรื อขาดทุน ซึ่ งคานวณโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณของสิ นทรัพย์ แต่ละรายการ ประมาณการอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์แสดงได้ดงั นี้ อาคาร งานระบบ เครื่ องตกแต่งและติดตั้ง

20, 30 15, 20 5

ปี ปี ปี

กลุ่มบริ ษทั ไม่คิดค่าเสื่ อมราคาสาหรับที่ดินและสิ นทรัพย์ระหว่างก่อสร้างและติดตั้ง การจัดประเภทใหม่ เป็ นที่ ดิน อาคารและอุปกรณ์ เมื่ อมี การเปลี่ ย นแปลงการใช้งานของอสังหาริ มทรั พ ย์โดยจัดประเภทไปเป็ นที่ ดิน อาคารและอุ ปกรณ์ มูลค่ า ยุติธรรม ณ วันที่มีการจัดประเภทใหม่ถือเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์ต่อไป

36


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

37

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 (ญ) ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ การรั บรู้ และการวัดมูลค่ า สิ นทรั พย์ ที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาทุนรวมถึงต้นทุนทางตรงที่ เกี่ ยวข้องกับการได้มาของสิ นทรัพย์ และต้นทุนทางตรงอื่น ๆ ที่เกี่ ยวข้องกับการ จัดหาสิ นทรัพย์เพื่อให้สินทรัพย์น้ นั อยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ ต้นทุนในการรื้ อถอน การ ขนย้าย การบูรณะสถานที่ต้ งั ของสิ นทรัพย์และต้นทุนการกูย้ ืม ส่ วนประกอบของรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์แต่ละรายการที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่เท่ากันต้องบันทึกแต่ละ ส่ วนประกอบที่มีนยั สาคัญแยกต่างหากจากกัน กาไรหรื อขาดทุนจากการจาหน่ ายที่ ดิน อาคาร และอุปกรณ์ คื อผลต่างระหว่างสิ่ งตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับจากการ จาหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยรับรู ้ดว้ ยมูลค่าสุ ทธิ ในกาไรหรื อขาดทุน การจัดประเภทไปยังอสั งหาริ มทรั พย์ เพื่อการลงทุน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการใช้งานจากอสังหาริ มทรั พย์ที่มีไว้ใช้งานไปยังอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุ น ต้องวัด มู ล ค่ า อสั ง หาริ มทรั พ ย์ น้ ั นใหม่ ด ้ ว ยมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมและจั ด ประเภทเป็ นอสั ง หาริ มทรั พ ย์ เ พื่ อ การลงทุ น อสังหาริ มทรัพย์ซ่ ึ งอยู่ระหว่างการก่อสร้างเพื่อใช้เป็ นอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนในอนาคตวัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรม หากเกิ ดกาไรจากการวัดมูลค่าใหม่ซ่ ึ งเป็ นการกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ที่เคย บันทึ กไว้ จานวนที่ เ พิ่ มขึ้ นให้รั บรู ้ ในกาไรหรื อขาดทุ นในส่ วนที่ ไม่เ กิ นกว่าจานวนที่ ทาให้มูลค่ าตามบัญชี ของ อสังหาริ มทรัพย์กลับไปเท่ากับมูลค่าที่ควรจะเป็ น กาไรส่ วนที่เหลือรับรู ้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น และแสดง รายการ “ส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์” ในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ กรณี เกิดส่ วนที่ลดลงจากการวัดมูลค่าใหม่และ หากสิ นทรัพย์น้ นั เคยมีการตีราคาเพิ่มขึ้นและมียอดคงค้างอยูใ่ นบัญชี “ส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์” ในส่ วน ของผูถ้ ื อหุ ้น ส่ วนที่ ลดลงต้อ งรั บ รู ้ ใ นกาไรขาดทุ นเบ็ด เสร็ จอื่ น และต้อ งนาไปลดส่ วนเกิ นทุ นจากการตี ร าคา สิ นทรัพย์ในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ขาดทุนส่ วนที่เหลือรับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุนทันที

37

รายงานประจำ�ปี 2554


38

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 ต้ นทุนที่ เกิดขึน้ ในภายหลัง ต้นทุ นในการเปลี่ ยนแทนส่ วนประกอบจะรับรู ้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของมูลค่ าตามบัญชี ของรายการที่ ดิน อาคารและ อุปกรณ์ ถ้ามีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กลุ่มบริ ษทั จะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และ สามารถวัดมูลค่าต้นทุนของรายการนั้นได้อย่างน่าเชื่ อถือ ชิ้นส่ วนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจาหน่ายตามมูลค่าตาม บัญชี ต้นทุนที่เกิดขึ้นในการซ่ อมบารุ งที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เกิดขึ้นเป็ นประจาจะรับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุนเมื่อ เกิดขึ้น ค่ าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาคานวณจากมูลค่าเสื่ อมสภาพของรายการอาคาร และอุปกรณ์ ซึ่ งประกอบด้วยราคาทุนของสิ นทรัพย์ หรื อต้นทุนในการเปลี่ยนแทนอื่นหักด้วยมูลค่าคงเหลือของสิ นทรัพย์ ค่าเสื่ อมราคาบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในกาไรหรื อขาดทุน คานวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณ ของส่ วนประกอบของสิ นทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์แสดงได้ดงั นี้ อาคารและสิ่ งปลูกสร้างอื่น เครื่ องจักรและอุปกรณ์ ยานพาหนะ เครื่ องตกแต่ง ติดตั้งและเครื่ องใช้สานักงาน

20 5, 10 5 3-10

ปี ปี ปี ปี

กลุ่มบริ ษทั ไม่คิดค่าเสื่ อมราคาสาหรับที่ดินและสิ นทรัพย์ระหว่างก่อสร้างและติดตั้ง วิธีการคิ ดค่าเสื่ อมราคา อายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ และมูลค่าคงเหลื อ ถูกทบทวนอย่างน้อยที่ สุดทุกสิ้ น รอบปี บัญชี และปรับปรุ งตามความเหมาะสม (ฎ) ค่ าเช่ าจ่ ายล่ วงหน้ า ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้าตัดบัญชีเป็ นค่าใช้จ่ายในกาไรหรื อขาดทุน โดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า

38


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

39

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 (ฏ) ค่ าความนิยม ค่าความนิ ยมที่ เกิ ดจากการซื้ อกิ จการของบริ ษทั ย่อยรั บรู ้มูลค่ าเริ่ มแรกตามที่ อธิ บายไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบ การเงิน 5 (ก) ภายหลังจากการรับรู ้เริ่ มแรก ค่าความนิยมจะถูกวัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า (ฐ)

สินทรั พย์ ไม่ มีตัวตน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่ กลุ่มบริ ษทั ซื้ อมาและมีอายุการใช้งานจากัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจาหน่ ายสะสมและ ขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม รายจ่ ายภายหลังการรั บรู้ รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรู ้รายการจะรับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์เมื่อก่อให้เกิดประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวมเป็ น สิ นทรัพย์ที่สามารถระบุได้ที่เกี่ยวข้องนั้น ค่ าตัดจาหน่ าย ค่าตัดจาหน่ายคานวณโดยนาราคาทุนของสิ นทรัพย์หรื อจานวนอื่นที่ใช้แทนราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือ ค่ า ตัด จาหน่ า ยรั บ รู ้ ใ นกาไรหรื อ ขาดทุ นโดยวิ ธีเ ส้นตรงซึ่ ง โดยส่ วนใหญ่ จะสะท้อนรู ป แบบที่ ค าดว่า จะได้รั บ ประโยชน์ในอนาคตจากสิ นทรัพย์น้ นั ตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนโดยเริ่ มตัด จาหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนเมื่อสิ นทรัพย์น้ นั พร้อมที่จะให้ประโยชน์ ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เท่ากับ 5 ปี วิธีการตัดจาหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ และ มูลค่าคงเหลือ จะได้รับการทบทวนทุกสิ้ นรอบปี บัญชี และปรับปรุ งตามความเหมาะสม

(ฑ) การด้ อยค่ า ยอดสิ นทรัพย์ตามบัญชีของกลุ่มบริ ษทั ได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่า มีขอ้ บ่งชี้เรื่ องการด้อยค่าหรื อไม่ ใน กรณี ที่มีขอ้ บ่งชี้จะทาการประมาณมูลค่าสิ นทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน สาหรับค่าความนิยมและสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ที่ มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่ นอน หรื อยังไม่พร้ อมใช้งานจะประมาณมูลค่ าที่ ค าดว่าจะได้รับ คื นทุ กปี ในช่วงเวลาเดียวกัน 39

รายงานประจำ�ปี 2554


40

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู ้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ หรื อมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงิน สด สู งกว่ามูลค่าที่จะได้รับคื น ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในกาไรหรื อขาดทุน เว้นแต่เมื่อมีการกลับรายการการ ประเมินมูลค่าของสิ นทรัพย์เพิ่มของสิ นทรัพย์ชิ้นเดี ยวกันที่ เคยรับรู ้ในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นและมีการด้อยค่าในเวลา ต่อมา ในกรณี น้ ีจะรับรู ้ในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ การคานวณมูลค่ าที่ คาดว่ าจะได้ รับคื น มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคื นของสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึงมูลค่าจากการใช้ของสิ นทรัพย์หรื อ มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์หักต้นทุนในการขายแล้วแต่มูลค่าใดจะสู งกว่า ในการประเมิ นมูลค่าจากการใช้ของ สิ นทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตจะคิดลดเป็ น มูลค่าปั จจุบนั โดยใช้อตั ราคิดลดก่อนคานึ ง ภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบนั ซึ่ งแปรไปตามเวลาและความเสี่ ยงที่มีต่อสิ นทรัพย์ สาหรับสิ นทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสิ นทรัพย์อื่น ให้พิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน รวมกับหน่วยสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์น้ นั เกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้ อยค่ า ขาดทุ นจากการด้อยค่ า ของสิ นทรั พย์ทางการเงิ น จะถูกกลับรายการ เมื่ อมูลค่ าที่ คาดว่าจะได้รับคื นเพิ่ มขึ้ นใน ภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน ขาดทุนจากการด้อยค่าของค่ าความนิ ยมจะไม่มีการปรับปรุ งกลับรายการ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ที่ ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรู ้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานว่ามีขอ้ บ่งชี้ เรื่ องการ ด้อยค่าหรื อไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ ใช้ในการคานวณ มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเท่าที่มูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ไม่เกิน กว่ามูลค่าตามบัญชี ภายหลังหักค่ าเสื่ อมราคาหรื อค่ าตัดจาหน่ าย เสมื อนหนึ่ งไม่เคยมีการบันทึ กขาดทุ นจากการ ด้อยค่ามาก่อน (ฒ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่ มแรกในมูลค่ายุติธรรมหักค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี้สิน (ณ) เจ้ าหนี้การค้ าและเจ้ าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน 40


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

41

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 (ด) ผลประโยชน์ ของพนักงาน โครงการสมทบเงิน โครงการสมทบเงิ นเป็ นโครงการผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน ซึ่ งกิ จการจ่ายสมทบเป็ นจานวนเงิ นที่ แน่ นอนไปอีกกิ จการหนึ่ งแยกต่างหาก (กองทุ นสารองเลี้ ยงชี พ) และจะไม่มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระ ผูกพันโดยอนุ มานที่ จะต้องจ่ ายสมทบเพิ่ มเติ ม ภาระผูกพันในการสมทบเข้าโครงการสมทบเงิ นจะถูกรั บรู ้ เป็ น ค่าใช้จ่ายพนักงานในกาไรหรื อขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานได้ทางานให้กบั กิจการ โครงการผลประโยชน์ ที่กาหนดไว้ โครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้เป็ นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานนอกเหนื อจากโครงการสมทบเงิ น ภาระผูกพันสุ ทธิ ของกลุ่มบริ ษทั จากโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ถกู คานวณแยกต่างหากเป็ นรายโครงการจาก การประมาณผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการทางานของพนักงานในปั จจุบนั และในงวดก่อน ๆ ผลประโยชน์ ดังกล่าวได้มีการคิดลดกระแสเงินลดเพื่อให้เป็ นมูลค่าปัจจุบนั การคานวณนั้นจัดทาโดยนักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยที่ได้รับอนุญาต โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ กลุ่มบริ ษทั รับรู ้กาไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยทั้งหมดที่ เกิ ดขึ้ นในรายการ กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น และรับรู ้ค่าใช้จ่ายของโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ในกาไรหรื อขาดทุน ผลประโยชน์ ระยะสั้ นของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงานวัดมูลค่าโดยมิได้คิดลดกระแสเงิ นสดและรับรู ้ เป็ นค่ าใช้จ่ายเมื่ อ พนักงานทางานให้ หนี้สินรับรู ้ดว้ ยมูลค่าที่คาดว่าจะจ่ายชาระสาหรับการจ่ายโบนัสเป็ นเงินสดระยะสั้นหรื อการปั นส่ วนกาไร หากกลุ่ม บริ ษทั มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายอันเป็ นผลมาจากการที่พนักงานได้ทางาน ให้ในอดีตและภาระผูกพันนี้สามารถประมาณได้อย่างสมเหตุสมผล

41

รายงานประจำ�ปี 2554


42

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 (ต) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้ สินจะรับรู ้ก็ต่อเมื่อกลุ่มบริ ษทั มีภาระหนี้ สินตามกฎหมายที่เกิ ดขึ้ นในปั จจุบนั หรื อที่ ก่อตัวขึ้นอัน เป็ นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไป เพื่อชาระภาระหนี้ สินดังกล่าว ประมาณการหนี้ สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้ อัตราคิดลดในตลาดปั จจุบนั ก่อนคานึ งภาษีเงิ นได้ เพื่อให้สะท้อนจานวนที่อาจประเมินได้ในตลาดปั จจุบนั ซึ่ งแปร ไปตามเวลาและความเสี่ ยงที่ มีต่อหนี้ สิน ประมาณการหนี้ สินส่ วนที่เพิ่มขึ้นเนื่ องจากเวลาที่ผ่านไปรับรู ้เป็ นต้นทุน ทางการเงิน (ถ) รายได้ รายได้ที่รับรู ้ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิ่มและแสดงสุ ทธิ จากส่ วนลดการค้า การขายสิ นค้ าและให้ บริ การ รายได้จากการขายสิ นค้ารับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุนเมื่อได้โอนความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของสิ นค้า ที่มีนยั สาคัญไปให้กบั ผูซ้ ้ื อแล้ว และจะไม่รับรู ้รายได้ถา้ ฝ่ ายบริ หารยังมีการควบคุมหรื อบริ หารสิ นค้าที่ขายไปแล้ว นั้นหรื อมีความไม่แน่นอนที่มีนยั สาคัญในการได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การนั้น ไม่ อาจวัดมูลค่ าของจานวนรายได้และต้นทุนที่ เกิ ดขึ้ นได้อย่างน่ าเชื่ อถื อ หรื อมี ความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ นอนที่ จะต้องรับคืนสิ นค้า รายได้จากการให้บริ การรับรู ้เมื่อมีการให้บริ การ โครงการพัฒนาอสั งหาริ มทรั พย์ เมื่อสัญญาเป็ นไปตามเกณฑ์สาหรับการขายสิ นค้า หรื อถ้าอานาจในการควบคุม ความเสี่ ยง และผลตอบแทนที่ มี นัยสาคัญของความเป็ นเจ้าของของงานระหว่างก่อสร้างถูกโอนให้กบั ผูซ้ ้ื อในคราวเดียว เช่น เมื่อก่อสร้างเสร็ จ หรื อ หลังการส่ งมอบ ในกรณี น้ ีรายได้จะรับรู ้เมื่อเป็ นไปตามเกณฑ์การขายสิ นค้าและบริ การดังกล่าวข้างต้น รายได้ ค่าเช่ า รายได้ค่าเช่าจากอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนรับรู ้กาไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

43

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 เงินปั นผลรั บ เงินปันผลรับบันทึกในกาไรหรื อขาดทุนในวันที่กลุ่มบริ ษทั มีสิทธิ ได้รับเงินปั นผล ดอกเบีย้ รั บและรายได้ อื่น ดอกเบี้ยรับและรายได้อื่นบันทึกในกาไรหรื อขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง (ท) ต้ นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินประกอบด้วยดอกเบี้ยจ่ายของเงินกูย้ ืมและประมาณการหนี้ สินส่ วนที่เพิ่มขึ้นเนื่ องจากเวลาที่ผ่าน ไป และสิ่ งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่าย ขาดทุนจากการจาหน่ายสิ นทรัพย์ทางการเงินที่ถือไว้เผื่อขาย เงินปั นผลของ หุ น้ บุริมสิ ทธิ ซ่ ึ งถูกจัดประเภทเป็ นหนี้ สิน ขาดทุนจากมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ทางการเงิ นที่ รับรู ้ในกาไรหรื อ ขาดทุน หรื อขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ทางการเงิน (นอกเหนื อลูกหนี้ การค้า) และ ขาดทุนจากเครื่ องมือ ป้ องกันความเสี่ ยง รับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน ต้นทุนการกูย้ ืมที่ไม่ได้เกี่ยวกับการได้มา การก่อสร้างหรื อ การผลิตสิ นทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข รับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน โดยใช้วิธีอตั ราดอกเบี้ยที่แท้จริ ง (ธ) สัญญาเช่ าดาเนินงาน รายจ่ายภายใต้สญ ั ญาเช่าดาเนินงานบันทึกในกาไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นต้องนามารวมคานวณจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเช่า เมื่อได้รับ การยืนยันการปรับค่าเช่า การจาแนกประเภทสั ญญาเช่ า ณ วันที่ เริ่ มต้นข้อตกลง กลุ่มบริ ษทั จะพิ จารณาว่าข้อตกลงดังกล่าวประกอบด้วยสัญญาเช่ าหรื อมี สัญญาเช่ าเป็ น ส่ วนประกอบหรื อไม่ โดยพิจารณาจากสิ นทรัพย์ที่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจง ถ้าการปฏิบตั ิตามข้อตกลงนั้นขึ้นอยู่กบั การใช้สินทรัพย์ที่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจง และข้อตกลงนั้นจะนาไปสู่ สิทธิ ในการใช้สินทรัพย์ ทาให้กลุ่มบริ ษทั มี สิ ทธิ ในการควบคุมการใช้สินทรัพย์ รายงานประจำ�ปี 2554


44

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 ณ วันที่เริ่ มต้นข้อตกลง หรื อ มีการประเมินข้อตกลงใหม่ กลุ่มบริ ษทั แยกค่าตอบแทนสาหรับสัญญาเช่า และส่ วนที่ เป็ นองค์ประกอบอื่นโดยใช้มลู ค่ายุติธรรมเป็ นเกณฑ์ในการแยก หากกลุ่มบริ ษทั สรุ ปว่าเป็ นสัญญาเช่าการเงิน แต่ไม่ สามารถแบ่งแยกจานวนดังกล่าวได้อย่างน่าเชื่ อถือ ให้รับรู ้สินทรัพย์และหนี้ สินในจานวนที่ เท่ากับมูลค่ายุติธรรม ของสิ นทรัพย์ที่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจงนั้น หลังจากนั้นจานวนหนี้ สินจะลดลงตามจานวนที่จ่าย และต้นทุนทางการ เงินตามนัยจากหนี้สินจะรับรู ้โดยใช้อตั ราดอกเบี้ยเงินกูย้ ืมส่ วนเพิ่มของกลุ่มบริ ษทั (น) ภาษีเงินได้ ภาษีเงิ นได้จากกาไรหรื อขาดทุนสาหรับปี ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบนั ซึ่ งได้แก่ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายชาระโดย คานวณจากกาไรประจาปี ที่ตอ้ งเสี ยภาษี โดยใช้อตั ราภาษีที่ประกาศใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุ งทาง ภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปี ก่อนๆ ในการกาหนดมูลค่ าของภาษี เงิ นได้ปัจจุ บัน กลุ่มบริ ษทั ต้องคานึ งถึ งผลกระทบของสถานการณ์ ทางภาษี ที่ไ ม่ แน่นอนและอาจทาให้จานวนภาษีที่ตอ้ งจ่ายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ ตอ้ งชาระ กลุ่มบริ ษทั เชื่ อว่าได้ต้ งั ภาษีเงิ นได้ ค้างจ่ายเพียงพอสาหรับภาษีเงินได้ที่จะจ่ายในอนาคต ซึ่ งเกิดจากการประเมินผลกระทบจากหลายปั จจัย รวมถึง การ ตี ความทางกฏหมายภาษี และจากประสบการณ์ ในอดี ต การประเมิ นนี้ อยู่บนพื้ นฐานการประมาณการและข้อ สมมติฐาน และอาจจะเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต ข้อมูลใหม่ๆอาจจะทาให้กลุ่มบริ ษทั เปลี่ยนการตัดสิ นใจโดยขึ้นอยู่กบั ความเพียงพอของภาษีเงินได้คา้ งจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงิ นได้คา้ ง จ่ายจะกระทบต่อค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง (บ) กาไรต่ อหุ้น กลุ่มบริ ษทั แสดงกาไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน ซึ่ งคานวณโดยการหารกาไรหรื อขาดทุนของผูถ้ ือหุ น้ สามัญของกลุ่มบริ ษทั ด้วยจานวนหุน้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักที่ออกจาหน่ายระหว่างปี

44


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

45

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 6

บุคคลหรือกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน เพื่ อวัตถุประสงค์ในการจัดทางบการเงิ น /บุ คคลหรื อกิ จการเป็ นบุ คคลหรื อกิ จการที่ เกี่ ย วข้องกันกับกลุ่ มบริ ษ ทั หากกลุ่มบริ ษทั มีอานาจควบคุมหรื อควบคุ มร่ วมกันทั้งทางตรงและทางอ้อมหรื อมีอิทธิ พลอย่างมี สาระสาคัญต่ อ บุคคลหรื อกิ จการในการตัดสิ นใจทางการเงิ นและการบริ หารหรื อในทางกลับกัน หรื อกลุ่มบริ ษทั อยู่ภายใต้การ ควบคุมเดียวกันหรื ออยู่ภายใต้อิทธิ พลอย่างมีสาระสาคัญเดียวกันกับบุคคลหรื อกิ จการนั้น การเกี่ยวข้องกันนี้ อาจ เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกิจการ ความสัมพันธ์ที่มีกบั บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่มีรายการบัญชีกบั กลุ่มบริ ษทั มีดงั นี้ ชื่อกิจกำร ประเทศที่จดั ตั้ง บริ ษทั อเดลฟอส จากัด ไทย บริ ษทั ไทย-ไลซาท จากัด ไทย บริ ษทั ฟอร์เวิร์ด ซิ สเต็ม จากัด ไทย บริ ษทั ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง ไทย จากัด บริ ษทั ยูนิเวนเจอร์ แอสแซท ไทย แมเนจเม้นท์ จากัด กองทุนรวมกินรี พร็ อพเพอร์ต้ ี ไทย บริ ษทั เอสโก้ เวนเจอร์ จากัด ไทย บริ ษทั เลิศรัฐการ จากัด ไทย บริ ษทั แกรนด์ ยูนิต้ ี ไทย ดิเวลล็อปเมนท์ จากัด บริ ษทั แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง จากัด ไทย

บริ ษทั เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด บริ ษทั สหสิ นวัฒนา โคเจน เนอเรชัน่ จากัด

ลักษณะควำมสั มพันธ์ เป็ นบริ ษทั ใหญ่ของบริ ษทั และมีกรรมการร่ วมกัน เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ น้ ร้อยละ 100 และมีกรรมการร่ วมกัน เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ น้ ร้อยละ 99.99 และมีกรรมการร่ วมกัน เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ น้ ร้อยละ 100 และมีกรรมการร่ วมกัน เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ น้ ร้อยละ 100 และมีกรรมการร่ วมกัน เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ น้ ร้อยละ 98.88 และมีกรรมการร่ วมกัน เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ น้ ร้อยละ 79 และมีกรรมการร่ วมกัน เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ น้ ร้อยละ 100 และมีกรรมการร่ วมกัน เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ น้ ร้อยละ 60 และมีกรรมการร่ วมกัน

ไทย

เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ น้ ทางอ้อมร้อยละ 59.99 โดยมีบริ ษทั แกรนด์ ยูนิต้ ี ดิเวลล็อปเมนท์ จากัด ถือหุน้ ทางตรงร้อยละ 99.98 และมีกรรมการร่ วมกัน เป็ นบริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 31.81 และมีกรรมการร่ วมกัน

ไทย

เป็ นบริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ น้ ทางอ้อมร้อยละ 20

รายงานประจำ�ปี 2554


46

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 ชื่อกิจกำร ประเทศที่จดั ตั้ง บริ ษทั สหสิ นวัฒนา ไบโอ ไทย เอ็นเนอร์ยี่ จากัด บริ ษทั แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอป ไทย เมนท์ จากัด (มหาชน) บริ ษทั บลูไชน่า จากัด ไทย บริ ษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ ี ไทย มาเนจเมนท์ จากัด บริ ษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจ ไทย เมนท์ เซอร์วิส จากัด บริ ษทั เยาววงศ์ โฮลดิ้ง จากัด ไทย บริ ษทั อาคเนย์แคปปิ ตอล ไทย จากัด บริ ษทั อาคเนย์ประกันชีวิต ไทย จากัด บริ ษทั อาคเนย์ประกันภัย ไทย จากัด บริ ษทั ทีซีซี ลักซ์ชูรีโฮเทลส์ ไทย แอนด์ รี สอร์ท จากัด บริ ษทั ทีซีซี เทคโนโลยี่ จากัด ไทย บริ ษทั ทีซีซีซีแอล ราชเทวี ไทย จากัด บริ ษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ ี ไทย เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จากัด

ลักษณะควำมสั มพันธ์ เป็ นบริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ น้ ทางอ้อมร้อยละ 20 เป็ นผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ย่อย เป็ นผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ย่อย มีกรรมการร่ วมกัน มีกรรมการร่ วมกัน มีกรรมการร่ วมกัน มีกรรมการร่ วมกัน กรรมการมีความเกี่ยวโยงเป็ นญาติพี่นอ้ งกับกรรมการของบริ ษทั กรรมการมีความเกี่ยวโยงเป็ นญาติพี่นอ้ งกับกรรมการของบริ ษทั กรรมการมีความเกี่ยวโยงเป็ นญาติพี่นอ้ งกับกรรมการของบริ ษทั กรรมการมีความเกี่ยวโยงเป็ นญาติพี่นอ้ งกับกรรมการของบริ ษทั กรรมการมีความเกี่ยวโยงเป็ นญาติพี่นอ้ งกับกรรมการของบริ ษทั กรรมการมีความเกี่ยวโยงเป็ นญาติพี่นอ้ งกับกรรมการของบริ ษทั


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

47

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 นโยบายการกาหนดราคาสาหรับรายการแต่ละประเภทอธิ บายได้ดงั ต่อไปนี้ รำยกำร รายได้จากการขายสิ นค้า รายได้ค่าเช่า รายได้จากการให้บริ การ รายได้ค่าธรรมเนียมในการจัดหาที่ดิน รายได้จากการค้ าประกัน ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ ค่านายหน้าจ่าย ค่าบริ การระบบอิเล็กโทรนิกส์เมล ดอกเบี้ยจ่าย ค่าเช่ารถยนต์ เงินปันผลจ่าย ค่าเช่าและค่าบริ การสานักงานจ่าย ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

นโยบำยกำรกำหนดรำคำ ราคาที่ตกลงร่ วมกัน ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา ราคาที่ตกลงร่ วมกัน ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา อัตราร้อยละ 5 - 9 ต่อปี ตามจานวนที่ประกาศจ่าย ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา อัตราร้อยละ 5 ต่อปี ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา ตามจานวนที่ประกาศจ่าย ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา ราคาที่ตกลงร่ วมกัน

รายการที่สาคัญกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 5223 สรุ ปได้ ดังนี้ งบกำรเงินรวม 2554 2553

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท)

บริษทั ย่ อย รายได้ค่าเช่า รายได้จากการให้บริ การ รายได้ค่าธรรมเนียมในการจัดหาที่ดิน ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ รายได้จากการค้ าประกัน ค่าเช่าและค่าบริ การสานักงานจ่าย

-

47

-

4,000 88,515 23,356 6,840 2,989 3,420

4,800 80,591 1,271 27,356 36,599 รายงานประจำ�ปี 2554


48

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 2554 2553 (พันบาท) บริษทั ร่ วม ดอกเบี้ยรับ ผู้บริหำรสำคัญ ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารสาคัญ ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น รวมค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารสาคัญ กิจกำรอืน่ ที่เกีย่ วข้ องกัน รายได้จากการขายสิ นค้า รายได้จากการให้บริ การ ค่านายหน้าจ่าย ค่าบริ การระบบอิเล็กโทรนิกส์เมล ดอกเบี้ยจ่าย เงินปันผลจ่าย ค่าเช่ารถยนต์ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

945

1,848

855

1,799

27,675 2,504 30,179

22,712 1,134 23,846

18,385 1,747 20,132

14,742 746 15,488

13,740 6,702 4,725 49 4,560 4,460 4,532

14,696 4,831 3,821 49 3,247 6,756

2,689 3,026 684

2,011 2,758 1,712

ยอดคงเหลือกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม 2554 2553 ลูกหนี้การค้ า กิจกำรอืน่ ที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั แอล.พี.เอ็น ดีเวลลอปเมนท์ จากัด (มหาชน) บริ ษทั ทีซีซีซีแอล ราชเทวี จากัด รวม

2,720 5,962 320 2,720 6,282 งบกำรเงินรวม 2554 2553

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

49

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 งบกำรเงินรวม 2554 2553 ลูกหนี้อื่นและเงินให้ ก้ ยู ืมระยะสั้นแก่ กิจการที่ เกีย่ วข้ องกัน ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริษทั ย่ อย บริ ษทั ฟอร์เวิร์ด ซิ สเต็ม จากัด บริ ษทั ไทย-ไลซาท จากัด บริ ษทั เลิศรัฐการ จากัด บริ ษทั แกรนด์ ยูนิต้ ี ดิเวลล็อปเมนท์ จากัด บริ ษทั แกรนด์ ยู ลิฟวิ่ง จากัด บริ ษทั ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จากัด บริ ษทั เอสโก้ เวนเจอร์ จากัด บริษทั ร่ วม บริ ษทั เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด บริ ษทั สหสิ นวัฒนา โคเจนเนอเรชัน่ จากัด บริ ษทั สหสิ นวัฒนา ไบโอเอ็นเนอร์ยี่ จากัด กิจกำรอืน่ ที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ทีซีซี ลักซ์ชูรี โฮเทลส์ แอนด์ รี สอร์ท จากัด รวม

1,677 8,740 10,417

714 402 127 434 1,677

683 11,740 12,423

-

-

277 406

683

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท) 21,351 245,700 267,051

17,957 480,900 498,857

2,252 2,453 1,980 3,213 6,585 4,138 16

169 5,164 10,433 428 1,470 16

714 -

277

21,351

-

17,957

รายงานประจำ�ปี 2554


50

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553

เงินให้ ก้ ยู มื ระยะสั้นแก่ กจิ การที่เกีย่ วข้ องกัน บริษทั ย่ อย บริ ษทั ฟอร์เวิร์ด ซิ สเต็ม จากัด บริ ษทั เอสโก้ เวนเจอร์ จากัด บริ ษทั เลิศรัฐการ จากัด บริ ษทั ไทย-ไลซาท จากัด บริษทั ร่ วม บริ ษทั สหสิ นวัฒนา โคเจนเนอเรชัน่ จากัด บริ ษทั เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์เนชัน่ แนล จากัด รวม

ลูกหนี้อื่นและเงินให้ ก้ ยู ืมระยะยาวแก่ กิจการ ที่เกีย่ วข้ องกัน ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กยู้ ืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริษทั ย่ อย บริ ษทั เลิศรัฐการ จากัด

อัตรำดอกเบีย้ 2554 2553 (ร้ อยละต่ อปี )

งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 2554 2553 (พันบาท)

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00 5.00

-

-

8.00

8.00

740

740

9.00

9.00

8,000 8,740

11,000 11,740

14,000 3,700 220,000

10,000 3,700 157,000 299,200

-

-

8,000 245,700

11,000 480,900

งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 2554 2553 (พันบาท) -

-

-

-

18,283 157,000 175,283

-

-

18,283

-


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

51

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 อัตรำดอกเบีย้ 2554 2553 (ร้ อยละต่ อปี )

เงินให้ ก้ ยู มื ระยะยาวแก่ กจิ การที่เกีย่ วข้ องกัน บริษทั ย่ อย บริ ษทั เลิศรัฐการ จากัด 5.00

-

งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 2554 2553 (พันบาท) -

-

157,000

-

รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กยู้ ืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มี ดังนี้ งบกำรเงินรวม 2554 2553

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท)

เงินให้ ก้ ยู มื ระยะสั้นแก่ กจิ การที่เกีย่ วข้ องกัน บริษทั ย่ อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น โอน ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวำคม

-

-

-

-

469,900 259,000 (157,000) (334,200) 237,700

696,700 915,200 (1,142,000) 469,900

บริษทั ร่ วม ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวำคม

11,740 (3,000) 8,740

37,590 6,000 (31,850) 11,740

11,000 (3,000) 8,000

36,850 6,000 (31,850) 11,000

รวมเงินให้ ก้ ยู มื ระยะสั้ นแก่ กจิ กำรที่เกีย่ วข้ องกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น โอน ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวำคม

11,740 (3,000) 8,740

37,590 6,000 (31,850) 11,740

480,900 259,000 (157,000) (337,200) 245,700

733,550 921,200 (1,173,850) 480,900

51

รายงานประจำ�ปี 2554


52

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 งบกำรเงินรวม 2554

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2553 2554 2553 (พันบาท)

เงินให้ ก้ ยู มื ระยะยาวแก่ กจิ การที่เกีย่ วข้ องกัน บริษทั ย่ อย ณ วันที่ 1 มกราคม โอน ณ วันที่ 31 ธันวำคม

-

เจ้ าหนี้อื่นและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลหรื อ กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม

2,666 150 2,816

1,783 980 2,763

-

-

-

16

-

-

-

7

-

-

-

เจ้ าหนี้อื่น-กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริษทั ย่ อย บริ ษทั เลิศรัฐการ จากัด บริ ษทั ฟอร์เวิร์ด ซิ สเต็ม จากัด บริษทั ร่ วม บริ ษทั เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์เนชัน่ แนล จากัด กิจกำรอืน่ ที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั อาคเนย์ประกันภัย จากัด บริ ษทั อาคเนย์แคปปิ ตอล จากัด บริ ษทั ทีซีซี เทคโนโลยี่ จากัด บริ ษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จากัด (มหาชน) บริ ษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ ี เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จากัด บริ ษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ ี มาเนจเมนท์ จากัด รวม

52

-

612 154 539 1,338 2,666

157,000 157,000

457 -

1,174 1,783

474 -

457

138

18 591

-

474

90

319 -

384 -

457

474


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

53

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 อัตราดอกเบีย้ 2554 2553 (ร้ อยละต่ อปี ) เงินกู้ยมื ระยะสั้นจากบุคคลหรือกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บุคคลที่เกีย่ วข้ องกัน ผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ย่อย 5.00 กรรมการของบริ ษทั ย่อย 5.00 5.00 รวม

งบการเงินรวม 2554 2553

150 150

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท)

830 150 980

-

-

รายการเคลื่อนไหวของเงิ นกูย้ ืมจากบุคคลหรื อกิ จการที่ เกี่ ยวข้องกันสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม 2554 2553 เงินกู้ยมื ระยะสั้นจากบุคคลหรือกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บุคคลที่เกีย่ วข้ องกัน ณ วันที่ 1 มกราคม ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวำคม ค่ าเช่ ารั บล่ วงหน้ าจากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ทีซีซี ลักซ์ชูรีโฮเทลส์ แอนด์ รี สอร์ท จากัด

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท)

980 (830) 150

980 980

-

-

1,340,000

1,250,000

-

-

สัญญาสาคัญที่ทากับกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน มีดงั ต่ อไปนี้ สั ญญาเช่ าพืน้ ที่ ห้องชุด ในเดือนธันวาคม 2553 บริ ษทั แกรนด์ ยูนิต้ ี ดิเวลล็อปเมนท์ จากัด ทาบันทึกข้อตกลงแนบท้ายสัญญาเช่าพื้นที่หอ้ ง ชุดกับบริ ษทั บลูไชน่า จากัด มีกาหนดระยะเวลา 3 ปี เริ่ มตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 โดย บริ ษทั ย่อยดังกล่าวมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าเช่าเป็ นรายเดือนๆ ละ 18,525 บาท

53

รายงานประจำ�ปี 2554


54

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 สั ญญาบริ หารจัดการ ในระหว่างปี 2554 บริ ษทั ได้ทาสัญญากับบริ ษทั ย่อยหลายแห่ ง เพื่อบริ หารจัดการ Back office มีกาหนดระยะเวลา 12 เดือน เริ่ มตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 โดยคิดค่าบริ การเป็ นรายเดือนๆ ละ 5.79 ล้าน บาทและมีการเรี ยกเก็บเพิ่มจานวน 9.76 ล้านบาท ตามบันทึกข้อตกลงเพิ่มเติมสัญญาบริ การ สั ญญาให้ บริ การ ในระหว่างปี 2554 บริ ษทั ได้ทาสัญญากับบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง เพื่อให้บริ การด้านการบริ หารและควบคุมโครงการ โดยคิดค่าบริ การเป็ นรายเดือนๆ ละ 0.65 ล้านบาท สั ญญาเช่ ารถยนต์ บริ ษ ทั และบริ ษ ทั ย่ อ ยได้ทาสัญญาเช่ า รถยนต์กับ บริ ษ ัท อาคเนย์แ คปปิ ตอล จากัด รวมมูลค่ า 22.57 ล้า นบาท มีกาหนดระยะเวลา 5 ปี โดยชาระค่าเช่าเป็ นรายเดือนๆ ละ 0.38 ล้านบาท สั ญญาบริ การดูแลระบบอิเล็กโทรนิกส์ เมล เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2551 บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยได้ทาสัญญากับบริ ษทั ทีซีซี เทคโนโลยี จากัด ในการรับบริ การการ ดูแลระบบอิเล็กโทรนิกส์เมล และให้เช่าอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โดยจ่ายค่าบริ การตามที่ระบุในสัญญา สั ญญาเช่ าพืน้ ที่ ในเดื อนธันวาคม 2554 บริ ษทั เลิศรั ฐการ จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อย (ผูใ้ ห้เช่ า) ได้ลงนามในสัญญาเช่ าพื้ นที่ เพื่ อ วัตถุประสงค์ในการประกอบกิ จการโรงแรมกับบริ ษทั ที ซีซี ลักซ์ชูรีโฮเทลส์ แอนด์ รี สอร์ ท จากัด โดยสัญญาเช่ า ระบุระยะเวลาของสิ ทธิ การเช่าเป็ นเวลาx30xปี บริ ษทั ย่อยจะได้รับค่าตอบแทนจานวน 1,358 ล้านบาท และค่าบริ การ ตามที่จะตกลงทาสัญญากัน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ย่อยได้บนั ทึกค่าตอบแทนล่วงหน้าที่ ได้รับชาระ แล้ว ซึ่ งถือเป็ นส่ วนหนึ่งของค่าเช่ารับล่วงหน้าจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันรวมเป็ นจานวนเงิน 1,340 ล้านบาทซึ่ งแสดง ภายใต้หนี้ สินหมุนเวียนจานวน 887 ล้านบาท และหนี้ สินไม่หมุนเวียนจานวน 453 ล้านบาท ในงบแสดงฐานะ การเงินรวม


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

55

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 สั ญญาบริ หารโครงการ บริ ษทั ได้ทาสัญญากับบริ ษทั เลิศรัฐการ จากัด เพื่อบริ หารโครงการ มีกาหนดระยะเวลา 41 เดือน เริ่ มตั้งแต่วนั ที่ 1 เมษายน 2551 ถึงวันที่ 31 สิ งหาคม 2554 และได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาขยายเวลาอีก 4 เดือน เริ่ มตั้งแต่วนั ที่ 1 กันยายน 2554 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2554 โดยคิดค่าบริ การ ดังนี้ ช่วงระยะเวลาการให้บริ การ เมษายน 2551 - ธันวาคม 2551 มกราคม 2552 - เมษายน 2554 พฤษภาคม 2554 – ธันวาคม 2554

ค่าบริ การรายเดือน (ล้ านบาท) 0.60 0.75 0.40

ในปี 2553 บริ ษทั เลิศรัฐการ จากัด ได้ทาสัญญาบริ หารและควบคุมโครงการ กับบริ ษทั ทีซีซี ลักซ์ซูรีโฮเทลส์ แอนด์ รี สอร์ ท จากัด โดยมีค่าบริ การจานวน 13 ล้านบาท โดยตกลงรับชาระค่าบริ หารและควบคุมโครงการตามสัดส่ วน ความก้าวหน้าของงาน สัญญามีกาหนดให้แล้วเสร็ จภายในวันที่ 1 มีนาคม 2555 อย่างไรก็ตาม ทั้งสองฝ่ ายตกลงที่จะ ขยายระยะเวลาออกไปจนถึงวันที่ 17 เมษายน 2555 สั ญญาเช่ าอาคาร บริ ษทั (ผูใ้ ห้เช่า) และบริ ษทั ไทย-ไลซาท จากัด (ผูเ้ ช่า) ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาเช่าอาคาร โดยตกลงอัตราค่าเช่าเดือนมกราคม 2553 ถึงเดือนธันวาคม 2554 ในอัตราเดือนละ 0.16 ล้านบาท สั ญญาเช่ าที่ ดิน บริ ษทั (ผูใ้ ห้เช่ า) และบริ ษทั ไทย-ไลซาท จากัด (ผูเ้ ช่ า) ได้ลงนามในบันทึ กข้อตกลงแก้ไขเพิ่ มเติ มสัญญาเช่ าที่ ดิน โดยตกลงอัตราค่าเช่าเดือนมกราคม 2553 ถึงเดือนธันวาคม 2554 ในอัตราเดือนละ 0.24 ล้านบาท สั ญญาแต่ งตั้งที่ ปรึ กษา บริ ษทั ได้ทาสัญญากับบริ ษทั ไทย-ไลซาท จากัด เพื่อให้คาปรึ กษา วิเคราะห์และแนะนาเกี่ยวกับการย้ายโรงงานของ บริ ษทั ย่อยดังกล่าว เริ่ มตั้งแต่วนั ที่ 1 เมษายน 2553 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2554 ในอัตราเดือนละ 0.40 ล้านบาท

รายงานประจำ�ปี 2554


56

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นกับกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ภาระหนี้ สินที่ อาจเกิ ดขึ้ นจากการที่ บริ ษทั ได้ค้ าประกันหนี้ สินของบริ ษทั ย่อยที่ มีต่อ สถาบันการเงิน มีดงั นี้ บริ ษทั ย่อย

วงเงินค้ าประกัน

วงเงินที่บริ ษทั ย่อยใช้ไป (ล้ านบาท) 41.46 0.50 1,103.00 592.16 1,850.00 1,303.00

บริ ษทั ฟอร์เวิร์ด ซิ สเต็ม จากัด บริ ษทั ไทย-ไลซาท จากัด บริ ษทั เลิศรัฐการ จากัด 7

เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสด งบกำรเงินรวม 2554 2553 เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวันและ เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ ตัว๋ สัญญาใช้เงิน รวม

396 89,316 148,000 237,712

(พันบาท) 343 140,015 40,000 180,358

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 200

52

25,506 25,706

49,144 40,000 89,196

ยอดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 2554 2553 (พันบาท) 224,798 168,090 12,960 77,088 12,912 12,266 12,744 12,106 2 2 2 2 237,712 180,358 25,706 89,196

สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา อื่นๆ รวม

56


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

57

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 8

ลูกหนีก้ ำรค้ ำ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 2554 2553 (พันบาท)

หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรื อกิจการอื่นๆ

6

2,720 131,663 134,383 (3,215) 131,168

หั ก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุ ทธิ -

หนีส้ ู ญและหนีส้ งสั ยจะสู ญสำหรับปี

703

6,282 191,941 198,223 (2,512) 195,711 -

-

-

-

-

การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้การค้า มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 2554 2553 (พันบาท)

หมายเหตุ กิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน ยังไม่ครบกาหนดชาระ บุคคลหรือกิจกำรอืน่ ๆ ยังไม่ครบกาหนดชาระ เกินวันครบกาหนดชาระ: น้อยกว่า 3 เดือน 3 – 6 เดือน มากกว่า 6 เดือน

6

หั ก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุ ทธิ

2,720

6,282

-

178,769

-

107,375 17,528 5,683 1,077 134,383 (3,215) 131,168

9,654 2,475 1,043 198,223 (2,512) 195,711

-

-

-

โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลกู ค้าของกลุ่มบริ ษทั มีระยะเวลาตั้งแต่ 7 วันถึง 90 วัน 57

รายงานประจำ�ปี 2554


58

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 ยอดลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม 2554 2553 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา รวม 9

21,354 109,814 131,168

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท) 172,277 23,434 195,711 -

สิ นค้ ำคงเหลือ งบกำรเงินรวม 2554 2553 สิ นค้าสาเร็ จรู ป สิ นค้าระหว่างผลิต วัตถุดิบ วัสดุโรงงาน วัตถุประกอบการผลิต สิ นค้าระหว่างทาง หั ก ค่าเผื่อมูลค่าสิ นค้าลดลง สุ ทธิ

56,497 799 293,493 467 6,075 4,064 361,395 (16,275) 345,120

(พันบาท) 20,831 413 259,542 431 3,406 421 285,044 (3,220) 281,824

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 -

-

ต้นทุนของสิ นค้าคงเหลื อที่ บนั ทึ กเป็ นค่ าใช้จ่ายและได้รวมในบัญชี ตน้ ทุนขายสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีจานวน 959 ล้านบาท (2553: 827 ล้ านบาท) สาหรับงบการเงินรวม

58


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

59

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 10

โครงกำรอสั งหำริมทรัพย์ ระหว่ ำงกำรพัฒนำ

หมายเหตุ ต้นทุนที่ดินและอาคารระหว่างก่อสร้าง: โครงการปัจจุบนั ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็ นต้นทุน หั ก ส่ วนที่โอนไปเป็ นต้นทุนขายสะสม รวม ดอกเบี้ยจ่ายที่รวมเป็ นส่ วนหนึ่ งของต้นทุนการพัฒนาระหว่างปี อัตราดอกเบี้ยของต้นทุนเงินกูย้ ืม (ร้อยละต่อปี )

29

งบกำรเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 5,654,235 2,642,414 69,571 31,803 5,723,806 2,674,217 (3,009,426) (1,226,055) 2,714,380 21,448,162 37,768 14,685 4% 4%

บริ ษทั ย่อยได้นาที่ดินและสิ่ งปลูกสร้างที่จะมีในภายหน้าไปจดจานองไว้กบั สถาบันการเงินหลายแห่ งเพื่อใช้เป็ น หลักประกันเงินกูย้ ืมและหนังสื อค้ าประกันธนาคารของบริ ษทั ย่อย (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18) 11

สิ นทรัพย์ หมุนเวียนอืน่ งบกำรเงินรวม 2554 2553 ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี้กรมสรรพากร ลูกหนี้ -ค่าขายเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม อื่นๆ รวม

9,104 143,668 44,687 197,459

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท) 7,957 2,917 2,428 44,762 (1,121) 35,280 35,280 5,470 230 236 93,469 2,026 37,944

รายงานประจำ�ปี 2554


60

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 12

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มทุนในบริ ษทั ย่อย หั ก ค่าเผื่อการด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวำคม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท) 1,131,285 634,925 502,501 1,131,285 1,137,426 (2,418) (6,141) 1,128,867 1,131,285

ในระหว่างปี 2553 บริ ษทั เลิศรั ฐการ จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อย ได้เพิ่มทุนจดทะเบี ยนจากเดิม 100 ล้านบาท (หุ ้น สามัญ 10 ล้านหุ ้น มูลค่าหุ น้ ละ 10 บาท) เป็ น 600 ล้านบาท (หุ น้ สามัญ 60 ล้านหุ ้น มูลค่าหุ น้ ละ 10 บาท) โดย จัดสรรให้แก่ผถู ้ ือหุน้ เดิมตามสัดส่ วนและจดทะเบียนการเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิ ชย์เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2553 ของบริ ษทั ไทย-ไลซาท จากัด ได้มีมติให้เรี ยกชาระเงินค่า หุ น้ ในส่ วนที่ เหลืออีกร้อยละ 50 จากหุ น้ เพิ่มทุนจานวน 5 ล้านบาทที่ ออกในปี 2552 เป็ นจานวนเงิ น 2.5 ล้านบาท โดยบริ ษทั ย่อยได้ไปจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิ ชย์แล้ว เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2553 ในระหว่างปี 2553 บริ ษทั ได้นาหุ น้ สามัญของบริ ษทั เลิศรัฐการ จากัด จานวน 59.4 ล้านหุ น้ มูลค่าหุ น้ ละ 10 บาท รวม เป็ นจานวนเงิน 594 ล้านบาท ไปจดจานาและได้นาสิ่ งปลูกสร้างในโครงการและการโอนสิ ทธิ ในสัญญาเช่าที่ดินแบบ มีเงื่อนไขไปจดจานองไว้กบั สถาบันการเงินแห่ งหนึ่ งเพื่อใช้เป็ นหลักประกันวงเงินสิ นเชื่ อของบริ ษทั ย่อยดังกล่าวรวม ทั้งสิ้ น 1,850 ล้านบาท ประกอบด้วย วงเงินกูค้ ่าที่ดิน 200 ล้านบาท วงเงินกูค้ ่าก่อสร้าง 1,600 ล้านบาท วงเงินเบิกเกิ น บัญชี 30 ล้านบาท และวงเงินหนังสื อค้ าประกัน 20 ล้านบาท (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 10 16 และ 18)


บริ ษทั ไทย-ไลซาท จากัด บริ ษทั ฟอร์เวิร์ด ซิสเต็ม จากัด บริ ษทั ยูนิเวนเจอร์ คอนซัลติ้ง จากัด บริ ษทั ยูนิเวนเจอร์ แอสเซท แมเนจเม้นท์ จากัด กองทุนรวม กินรี พร็ อพเพอร์ต้ ี บริ ษทั เอสโก้ เวนเจอร์ จากัด บริ ษทั เลิศรัฐการ จากัด บริ ษทั แกรนด์ ยูนิต้ ี ดิเวลล็อป เมนท์ จากัด รวม 100.00 100.00 98.88 79.00 100.00 60.00

100.00

100.00 89.99 79.00 100.00

60.00

สัดส่วนความเป็ นเจ้าของ 2554 2553 (ร้ อยละ) 100.00 100.00 99.99 99.99

380,000

22,310 5,573 27,500 600,000

2,500

140,000 5,000

0

380,000

22,310 5,573 27,500 600,000

2,500

140,000 5,000

ทุนชาระแล้ว 2554 2553

61

361,800 1,164,944

2,650 5,573 22,226 600,000

2,500

144,995 25,200

361,800 1,164,944

2,650 5,573 22,226 600,000

2,500

144,995 25,200

วิธีราคาทุน 2554 2553

(36,077)

(5,014) (17,506) -

-

2,650 559 4,720 600,000

2,500

144,995 11,643

361,800 1,131,285

2,650 2,059 5,385 600,000

2,500

144,995 11,896

ราคาทุน-สุทธิ 2554 2553

361,800 (33,659) 1,128,867

(3,514) (16,841) -

-

การด้อยค่า 2554 2553 (พันบาท) (13,557) (13,304)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และเงินปันผลรับสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553

6,840 6,840

-

-

-

20,519 36,599

-

-

10,080 6,000

เงินปันผลรับ 2554 2553

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

61

รายงานประจำ�ปี 2554


62

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 13

เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม งบกำรเงินรวม 2554 2553 ณ วันที่ 1 มกราคม ส่ วนแบ่งขาดทุนสุ ทธิ จากเงินลงทุนตาม วิธีส่วนได้เสี ย ขายเงินลงทุน ค่าเผื่อการด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวำคม

2,894

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท) 71,423 51,592

(1,080) 1,814 1,814

(14,988) (53,541) 2,894 2,894

-

(49,000) 2,592 (2,592) -

ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการของบริ ษ ัท เมื่ อ วัน ที่ 15 ธัน วาคม 2553 คณะกรรมการมี ม ติ อ นุ ม ัติ ใ ห้ข ายหุ ้ น บริ ษ ัท ปริ ญเวนเจอร์ จากัด จานวน 4,899,994 หุน้ มูลค่าหุน้ ที่ตราไว้หุน้ ละ 10 บาท (บริ ษทั ถือหุ น้ ร้อยละ 49) ให้แก่ บริ ษทั ปริ ญสิ ริ จากัด (มหาชน) ในราคาหุ ้นละ 8 บาท รวมจานวนเงิ นทั้งสิ้ น 39.20 ล้านบาท บริ ษทั ได้มีการโอนหุ ้น ทั้งจานวนในปี 2553 ส่ วนแบ่ งขาดทุ นจากเงิ นลงทุ นในบริ ษทั สหสิ นวัฒนา โคเจนเนอเรชัน่ จากัด และ บริ ษทั สหสิ นวัฒนา ไบโอ เอ็นเนอร์ ยี่ จานวนรวม 1.08 ล้านบาท (2553: 4.99 ล้ านบาท) คานวณขึ้นจากงบการเงินที่จดั ทาโดยฝ่ ายบริ หารของ บริ ษทั ร่ วมดังกล่าว ซึ่ งยังไม่ได้ตรวจสอบหรื อสอบทานโดยผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ดังกล่าว

62


บริ ษทั เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์เนชัน่ แนล จากัด บริ ษทั สหสิ นวัฒนาโคเจนเนอเรชัน่ จากัด บริ ษทั สหสิ นวัฒนาไบโอเอ็นเนอร์ยี่ จากัด รวม 31.81 20.00 20.00

31.81

20.00

20.00

สัดส่ วนความเป็ นเจ้าของ 2554 2553 (ร้ อยละ)

10,000

92,000

25,000

63

10,000

92,000

25,000

ทุนชาระแล้ว 2554 2553

2,000 28,737

18,400

8,337

2,000 28,737

18,400

1,814 1,814

-

-

1,814 2,894

1,080

-

วิธีส่วนได้เสี ย 2554 2553 (พันบาท)

8,337

วิธีราคาทุน 2554 2553

งบกำรเงินรวม

เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และเงินปันผลรับสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553

-

-

-

-

เงินปั นผลรับ 2554 2553

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

63

รายงานประจำ�ปี 2554


บริ ษทั เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็น เนอร์ยี่ อินเตอร์เนชัน่ แนล จากัด รวม

31.81

31.81

สัดส่ วนความเป็ น เจ้าของ 2554 2553 (ร้ อยละ)

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553

25,000

25,000

ทุนชาระแล้ว 2554 2553

64

8,337 8,337

8,337 8,337

วิธีราคาทุน 2554 2553

(8,337) (8,337)

(8,337) (8,337)

การด้อยค่า 2554 2553 (พันบาท)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

-

-

-

ราคาทุน-สุ ทธิ 2554 2553

-

-

เงินปั นผลรับ 2554 2553

64 หมายเหตุประกอบงบการเงิน


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

65

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 14

อสั งหำริมทรัพย์ เพือ่ กำรลงทุน งบกำรเงินรวม ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2553 และ 1 มกรำคม 2554 เพิ่มขึ้น ดอกเบี้ยจ่ายที่รวมเป็ นส่ วนหนึ่ งของต้นทุนระหว่างปี โอนไปโครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการ พัฒนา โอนไปที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ โอนไปค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (พันบาท)

970,441 1,109,090 2,079,531 782,389 50,699

17,062 17,062 -

(308,302) (210,021) (301,076) 2,093,220

17,062

ค่ าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2553 และ 1 มกรำคม 2554 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554

14,756 14,756

7,885 386 8,271 386 8,657

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกรำคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2553 และ 1 มกรำคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554

970,441 2,079,531 2,078,464

9,177 8,791 8,405

65

รายงานประจำ�ปี 2554


66

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 บริ ษัท อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนของบริ ษทั ประกอบด้วย ที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้าง โดยมีไว้เพื่อให้บริ ษทั ไทย-ไลซาท จากัด (บริ ษทั ย่อย) เช่ าเพื่ อใช้ในการดาเนิ นงานของบริ ษ ทั ย่อยดังกล่า ว และมี อตั ราค่ าเช่ า ตามที่ ร ะบุ ในสัญญา อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนแสดงด้วยราคาทุน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ประเมิ นราคาโดยผูป้ ระเมินราคาอิ สระ โดย พิจารณาราคาตลาดตามเกณฑ์ของสิ นทรัพย์ที่ใช้งานอยู่ในปั จจุบนั ราคาประเมินจานวน 116 ล้านบาท (2553: 119.05 ล้ านบาท) บริ ษัทย่ อย อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนของบริ ษทั ย่อยประกอบด้วย สิ่ งปลูกสร้างของบริ ษทั เลิศรัฐการ จากัด โดยมีไว้เพื่อ พัฒนาเป็ นโครงการอสังหาริ มทรัพย์เพื่อให้เช่ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนดังกล่าว แสดงตามวิธีราคาทุน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ประเมินราคาโดยผูป้ ระเมิน ราคาอิสระ ราคาประเมินตามเกณฑ์รายได้มีจานวน 2,578 ล้านบาท ในระหว่างปี 2554 บริ ษทั เลิ ศรั ฐการ จากัด ได้ดาเนิ นการจดจานองสิ่ งปลูกสร้างในโครงการและโอนสิ ทธิ ตาม สัญญาเช่ าที่ ดินแบบมี เ งื่ อนไขกับ สถาบันการเงิ นแห่ งหนึ่ งเพื่ อใช้เป็ นหลักประกันสิ นเชื่ อต่ างๆ ของบริ ษทั ย่อย ดังกล่าว (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18)

66


15

ราคาทุน - ปรั บปรุงใหม่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น โอน จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2553 และ 1 มกรำคม 2554 เพิ่มขึ้น โอน จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554

ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553

58.09 0.14 0.10 58.33 140.60 111.90 310.83

9.04 0.44 9.48 52.74 62.22

ที่ดิน

67

อาคารและ สิ่ งปลูกสร้าง อื่น

49.88 23.65 60.82 (12.70) 121.65

48.47 1.55 (0.14)

เครื่ องจักร และอุปกรณ์

7.70 1.40 2.73 (0.43) 11.40

5.11 2.59 -

ยานพาหนะ (ล้ านบาท)

งบกำรเงินรวม

21.94 61.98 35.37 (14.61) 104.68

32.66 3.66 0.13 (14.51)

เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง และ เครื่ องใช้ สานักงาน

47.39 193.87 (199.50) (1.00) 40.76

0.48 47.27 (0.23) (0.13)

งานระหว่าง ก่อสร้าง

194.72 474.24 11.32 (28.74) 651.54

153.85 55.65 (14.78)

รวม

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

67

รายงานประจำ�ปี 2554


ค่ าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้ อยค่ า ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2553 และ 1 มกรำคม 2554 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ขาดทุนจากการด้อยค่า โอน จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554 มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553

30.32 2.31 32.63 5.37 18.91 56.91 25.70 253.92

1.96 1.96 1.79 3.75 7.52 58.47

ที่ดิน

อาคารและ สิ่ งปลูกสร้าง อื่น

68

22.11 91.66

27.77 5.72 (1.33) (2.17) 29.99

24.52 3.25 -

เครื่ องจักร และอุปกรณ์

3.35 4.53

4.35 1.62 1.33 (0.43) 6.87

3.69 0.66 -

ยานพาหนะ (ล้ านบาท)

งบกำรเงินรวม

10.93 95.85

11.01 9.54 (11.72) 8.83

19.35 5.71 (14.05)

เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง และ เครื่ องใช้ สานักงาน

47.19 40.56

0.20 0.20

0.20 -

งานระหว่าง ก่อสร้าง

116.80 544.99

77.92 22.25 20.70 (14.32) 106.55

80.04 11.93 (14.05)

รวม

68 หมายเหตุประกอบงบการเงิน


ราคาทุน - ปรั บปรุงใหม่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2553 และ 1 มกรำคม 2554 เพิ่มขึ้น โอน จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553

69

1.93 1.93 1.93

1.28 0.13 1.41 1.41

อาคารและ สิ่ งปลูกสร้าง อื่น

21.90 3.14 3.70 (9.52) 19.22

21.11 0.82 (0.03)

17.89 (3.70) 14.19

-

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง และ เครื่ องใช้ งานระหว่าง ยานพาหนะ สานักงาน ก่อสร้าง (ล้ านบาท)

25.24 21.03 (9.52) 36.75

24.32 0.95 (0.03)

รวม

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

69

รายงานประจำ�ปี 2554


ค่ าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2553 และ 1 มกรำคม 2554 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554 มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553

70

1.61 0.27 1.88 0.05 1.93 0.05 -

0.49 0.18 0.67 0.18 0.85 0.74 0.56

อาคารและ สิ่ งปลูกสร้าง อื่น

5.35 8.83

16.55 2.73 (8.89) 10.39

13.57 3.01 (0.03)

14.19

-

-

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง และ เครื่ องใช้ งานระหว่าง ยานพาหนะ สานักงาน ก่อสร้าง (ล้ านบาท)

6.14 23.58

19.10 2.96 (8.89) 13.17

15.67 3.46 (0.03)

รวม

70 หมายเหตุประกอบงบการเงิน


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

71

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 บริ ษ ทั ได้นาที่ ดิ นพร้ อมสิ่ งปลูกสร้ างมูลค่ าสุ ทธิ ตามบัญ ชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จานวนเงิ นประมาณ 8.41 ล้านบาท (2552: 8.79 ล้ านบาท) ให้บริ ษทั ไทย-ไลซาท จากัด เช่าเพื่อใช้ในการดาเนิ นการโดยมีอตั ราค่าเช่าตามที่ ระบุในสัญญา ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์บางส่ วนของบริ ษทั ถูกจัดประเภทใหม่ภายใต้ “อสังหาริ มทรัพย์เพื่อ การลงทุน (ดูรายละเอียดในหมายเหตุขอ้ 4(ฉ)) ในระหว่างปี 2554 ต้นทุ นการกูย้ ืมที่ เกี่ ยวข้องกับการได้มาซึ่ งที่ ดินและอาคารได้บนั ทึ กเป็ นส่ วนหนึ่ งของต้นทุ น สิ นทรัพย์จานวน 1.3 ล้านบาท 16 ค่ ำเช่ ำจ่ ำยล่ วงหน้ ำ งบกำรเงินรวม (พันบาท) 20,023 (2,241) 17,782 24,600 301,076 (45,195) 298,263

ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2553 และ 1 มกรำคม 2554 เพิ่มขึ้น โอนไปอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554

71

รายงานประจำ�ปี 2554


72

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 สั ญญาโอนสิ ทธิ หนี ้ และความผิดชอบตามสั ญญาเช่ า ในปี 2553 บริ ษทั ยูนิเวนเจอร์ แอสเซท แมเนจเม้นท์ จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยได้ทาสัญญารับโอนสิ ทธิ หนี้ และ ความผิดชอบตามสัญญาเช่าที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้างเป็ นระยะเวลา 4.5 ปี ค่าเช่าทั้งสิ้ นตามสัญญามีจานวนเงิน 20.02 ล้านบาท สั ญญาเช่ าที่ ดิน บริ ษทั เลิ ศ รั ฐ การ จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษ ทั ย่อยได้ทาสัญญาเช่ าที่ ดิ นและสัญญาอนุ ญาตให้ใช้ที่ดิ น เพื่ อการพัฒ นา โครงการกับเจ้าของที่ ดินรายหนึ่ ง เพื่อก่อสร้างสิ่ งปลูกสร้างสาหรับการดาเนิ นธุ รกิ จโรงแรม และ/หรื ออาคารพัก อาศัยพร้อมบริ การ และ/หรื อ อาจใช้พ้ืนที่บางส่ วนเป็ นศูนย์การค้า โดยมีระยะเวลาก่อสร้าง 4 ปี และสัญญาเช่ามีอายุ 30 ปี เริ่ มตั้งแต่วนั ที่ 6 กันยายน 2554 ค่าหน้าดินและค่าเช่าตลอดอายุสัญญามีจานวนเงิน 1,387 ล้านบาทโดยบริ ษทั ย่อยดังกล่าวจะต้องปฏิบตั ิตามข้อกาหนดและเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา (ดูรายละเอียดในหมายเหตุขอ้ 35) บริ ษทั ย่อยดังกล่าวได้โอนสิ ทธิ ตามสัญญาเช่ าที่ ดินแบบมีเงื่ อนไขให้กบั สถาบันการเงิ นแห่ งหนึ่ งเพื่ อค้ าประกัน วงเงินสิ นเชื่อของบริ ษทั ย่อย (ดูรายละเอียดในหมายเหตุขอ้ 18) 17

สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ค่าลิขสิ ทธิ์ ซอฟท์แวร์ ค่าลิขสิ ทธิ์ ซอฟท์แวร์ (พันบาท)

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2553 และ 1 มกรำคม 2554 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554

15,607 4,255 (1,304) 18,838 6,989 25,827

72

11,960 4,395 16,355 1,902 18,257


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

73

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ค่าลิขสิ ทธิ์ ซอฟท์แวร์ ค่าลิขสิ ทธิ์ ซอฟท์แวร์ (พันบาท)

ค่ าตัดจาหน่ ายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2553 และ 1 มกรำคม 2554 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554

3,025 2,839 (1,304) 4,560 3,094 7,654

907 2,535 3,442 2,794 6,236

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกรำคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2553 และ 1 มกรำคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554

12,582 14,278 18,173

11,053 12,913 12,021

73

รายงานประจำ�ปี 2554


74

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 18

หนีส้ ิ นที่มภี ำระดอกเบีย้ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 2554 2553 (พันบาท) ส่ วนที่หมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ส่ วนที่มีหลักประกัน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ส่ วนที่มีหลักประกัน เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากบุคคลหรื อกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน ส่ วนที่ไม่มีหลักประกัน เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากบุคคลหรื อ กิจการอื่น ส่ วนที่ไม่มีหลักประกัน รวมหนีส้ ิ นที่มภี ำระดอกเบีย้ หมุนเวียน ส่ วนที่ไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่ วนที่มีหลักประกัน รวมหนีส้ ิ นที่มภี ำระดอกเบีย้ ไม่ หมุนเวียน

357,000

42,807

-

-

721,600

704,500

-

-

980

-

-

150 1,078,750

748,287

-

-

1,429,500 1,429,500

-

-

-

-

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยซึ่ งแสดงตามระยะเวลาครบกาหนดการจ่ายชาระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 2554 2553 (พันบาท) ครบกาหนดภายในหนึ่งปี หลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี รวม

1,078,750 1,429,500 2,508,250 74

748,287 748,287

-

-


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

75

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 หนี้ สินที่ มีภาระดอกเบี้ ยส่ วนที่ มีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดของหลักประกันซึ่ งเป็ นสิ นทรัพย์ ดังนี้ งบกำรเงินรวม 2554 2553 โครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนา ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน รวม

1,550,491 278,704 2,372,315 4,201,510

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553

(พันบาท) 1,425,708 1,425,708

-

-

นอกจากนี้ บริ ษ ัท ย่ อ ยได้โ อนสิ ท ธิ ต ามสั ญ ญาเช่ า ที่ ดิ น แบบมี เ งื่ อ นไขและโอนสิ ท ธิ ใ นบัญ ชี เ งิ น ส ารองเพื่ อ การก่อสร้างแบบมีเงื่อนไขเพื่อเป็ นหลักประกันการชาระหนี้ตามสัญญากูย้ ืมเงินกับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั มีวงเงินสิ นเชื่ อซึ่ งยังมิได้เบิกใช้เป็ นจานวนเงินรวม 2,612 ล้านบาท และ 10 ล้านบาท ตามลาดับ (2553: 3,771 ล้ านบาท และ 10 ล้ านบาท ตามลาดับ) เงิ นกูย้ ืมดังกล่าวมีขอ้ จากัดเกี่ ยวกับการรักษาอัตราส่ วนทางการเงิ น รวมถึงอัตราส่ วนหนี้ สินที่ มีภาระดอกเบี้ ยต่ อ ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยทั้งหมดของกลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 เป็ นสกุลเงินบาท 19

หนีส้ ิ นหมุนเวียนอื่น งบกำรเงินรวม 2554 2553 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย อื่นๆ รวม

26,734 46,813 73,547

75

(พันบาท) 11,770 14,576 26,346

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 5,553 4,271 9,824

1,453 3,324 4,777

รายงานประจำ�ปี 2554


76

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 20

ภำระผูกพันผลประโยชน์ พนักงำน กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั จัดการโครงการบาเหน็จบานาญพนักงานตามข้อกาหนดของพระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการให้ผลประโยชน์เมื่อเกษียณแก่พนักงานตามสิ ทธิ และอายุงาน กลุ่มบริ ษทั ถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงาน ซึ่ งมีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 1/มกราคม/2554/ผลกระทบต่ องบการเงิ นได้เปิ ดเผยในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นข้อ 4 (ซ) ตามที่ กล่าวใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4/(ซ) /กลุ่มบริ ษทั ได้เลือกที่จะบันทึ กภาระผูกพันในช่วงเปลี่ยนแปลงทั้งหมด ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 เป็ นเงินรวม 12 ล้านบาทสาหรับกลุ่มบริ ษทั และ 6.8 ล้านบาทสาหรับบริ ษทั ทั้งนี้ ได้มีการ ปรับปรุ งกาไรสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 แล้ว การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน งบกำรเงินรวม 2554 2553 ภาระผูกพันสาหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน หลังออกจากงาน ณ วันที่ 1 มกราคม ต้นทุนบริ การปัจจุบนั และดอกเบี้ย ภำระผูกพันสำหรับโครงกำรผลประโยชน์ พนักงำน หลังออกจำกงำน ณ วันที่ 31 ธันวำคม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท)

12,008 3,257

-

6,813 2,068

-

15,265

-

8,881

-

-

ข้อสมมุติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิ ตศาสตร์ประกันภัย ณ วันที่รายงาน งบกำรเงินรวม 2554 2553

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (ร้ อยละ)

อัตราคิดลด การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต

3.5 5.0

76

3.5 5.0

3.5 5.0

3.5 5.0


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

77

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 21

ทุนเรือนหุ้น มูลค่าหุน้ 2554 2553 ต่อหุน้ จานวนหุน้ จานวนเงิน จานวนหุน้ จานวนเงิน (บาท) (พันหุ้ น / พันบาท) ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุน้ สามัญ ลดทุน ณ วันที่ 31 ธันวำคม - หุ้นสำมัญ ทุนที่ออกและชาระแล้ ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุน้ สามัญ ออกหุ น้ ใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวำคม - หุ้นสำมัญ

1 1

944,528 (179,758)

944,528 (179,758)

944,528 (179,758)

944,528 (179,758)

1

764,770

764,770

764,770

764,770

1 1

764,770 -

764,770 -

764,767 3

764,767 3

1

764,770

764,770

764,770

764,770

ผูถ้ ือหุ น้ สามัญจะได้รับสิ ทธิ ในการรับเงินปั นผลจากการประกาศจ่ายเงินปั นผลและมีสิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนนหนึ่ ง เสี ยงต่อหนึ่งหุน้ ในที่ประชุมของบริ ษทั การออกหุ้นสามัญ ในเดื อนกุมภาพันธ์ 2553 มี การจัดสรรหุ ้นสามัญใหม่ให้แก่ ผูใ้ ช้สิทธิ ตามใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ ้นสามัญ (UV-W1) จานวนทั้งสิ้ น 3,635 หุ น้ โดยบริ ษทั ได้รับเงินเพิ่มทุนทั้งสิ้ นเป็ นจานวน 8,750 บาท และได้ดาเนิ นการ จดทะเบียนเพิ่มทุนจานวน 3,635 บาทกับกระทรวงพาณิ ชย์แล้ว เมื่อวันที่z26 กุมภาพันธ์ 2553

77

รายงานประจำ�ปี 2554


78

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 การลดทุน ในการประชุมสามัญประจาปี ของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2553 มีมติอนุมตั ิให้ลดทุนจดทะเบียนของ บริ ษทั จากเดิม 944.53 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 944.53 ล้านหุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) เป็ น 764.77 ล้านบาท (หุ น้ สามัญ 764.77 ล้านหุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท) โดยบริ ษทั จดทะเบียนการลดทุนกับกระทรวงพาณิ ชย์เมื่อ วันที่ 59 เมษายน 2553 ส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่ งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณี ที่บริ ษทั เสนอขายหุ น้ สู งกว่า มูลค่าหุน้ ที่จดทะเบียนไว้ บริ ษทั ต้องนาค่าหุ น้ ส่ วนเกินนี้ ต้ งั เป็ นทุนสารอง (“ส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ ”) ส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ นี้จะนาไปจ่ายเป็ นเงินปันผลไม่ได้ 22

ใบสำคัญแสดงสิ ทธิ บริ ษ ัท ได้จัด สรรจานวนหน่ ว ยของใบส าคัญ แสดงสิ ทธิ ที่ จะซื้ อหุ ้นสามัญ ให้แ ก่ ผูถ้ ื อหุ ้นเดิ ม (UV-W1) การ เปลี่ยนแปลงในใบสาคัญแสดงสิ ทธิ มีดงั นี้ อนุมตั ิโดย วันที่ออก จานวนใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่ออก (หน่วย) อายุของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ (ปี ) กาหนดเวลาการใช้สิทธิ วันที่ใช้สิทธิ ครั้งสุ ดท้าย ราคาใช้สิทธิ ต่อ 1 หุน้ สามัญ (บาท) อัตราส่ วนการใช้สิทธิ (ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ต่อหุน้ สามัญ) การเปลี่ ย นแปลงจ านวนใบส าคัญ แสดงสิ ท ธิ ราคาใช้ สิ ทธิ แ ละ อัตราส่ วนการใช้สิทธิ - จานวนใบสาคัญแสดงสิ ทธิ (ส่ วนที่ยงั ไม่ได้ใช้สิทธิ ) (หน่วย) - ราคาใช้สิทธิ ต่อ 1 หุน้ สามัญ (บาท)* - อัตราส่ วนการใช้สิทธิ * * มีผลบังคับใช้ต้ งั แต่งวดการใช้สิทธิ ในเดือนธันวาคม 2546 78

UV-W1 ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 1/2545 20 กุมภาพันธ์ 2546 17,427,299 7 ทุก 3 เดือน 19 กุมภาพันธ์ 2553 25 1:1

174,162,990 2.406 1 : 1.03899


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

79

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 ในระหว่างปี 2553 มีผมู ้ าใช้สิทธิ ตามใบแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ น้ สามัญจานวนทั้งสิ้ น 3,635 หุ น้ 23

สำรอง สารองประกอบด้วย การจัดสรรกาไร และ/หรื อ กาไรสะสม สำรองตำมกฎหมำย ตามบทบัญญัติแห่ งพระราชบัญญัติบริ ษ ทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริ ษทั จะต้องจัดสรรทุ นส ารอง (“สารองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของกาไรสุ ทธิ ประจาปี หลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่า สารองดังกล่าวมีจานวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสารองนี้จะนาไปจ่ายเป็ นเงินปันผลไม่ได้

24

ข้ อมูลทำงกำรเงินจำแนกตำมส่ วนงำน กลุ่มบริ ษทั ได้นาเสนอข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่ วนงานธุรกิจโดยพิจารณาจากระบบการบริ หารการจัดการและ โครงสร้างการรายงานทางการเงินภายในของกลุ่มบริ ษทั เป็ นเกณฑ์ในการกาหนดส่ วนงาน ส่ วนงานธุรกิจ กลุ่มบริ ษทั เสนอส่ วนงานธุรกิจที่สาคัญ ดังนี้ ส่ วนงาน 1 ส่ วนงาน 2

ธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์ ธุรกิจผลิตและขายสังกะสี ออ๊ กไซด์ และเคมีภณ ั ฑ์

ส่ วนงานภูมิศาสตร์ กลุ่มบริ ษทั ดาเนิ นธุ รกิจหลักในประเทศ ดังนั้นฝ่ ายบริ หารจึ งพิจารณาว่า กลุ่มบริ ษทั มีส่วนงานทางภูมิศาสตร์ เพียง ส่ วนงานเดียว

79

รายงานประจำ�ปี 2554


รายได้จากลูกค้าภายนอก รายได้ระหว่างส่ วนงาน กาไร(ขาดทุน)ตามส่ วนงานก่อนหักภาษีที่รายงาน สิ นทรัพย์ตามส่ วนงานที่รายงาน

2,575,109 415,984 5,916,511

2554

2553

80

1,146,226 135,197 4,231,973

ส่ วนงำน 1

986,022 (61,572) 800,863

2554

(พันบาท) 1,081,580 40,919 116,250 23,826 8,734 622,800 1,826,709

ส่ วนงำน 2 2554 2553

อืน่ ๆ

41,916 89,186 33,515 1,949,889

2553

รายได้ ผลการดาเนินงานและสิ นทรัพย์จากส่ วนงานทางธุรกิจในงบการเงินรวมสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดงั นี้

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553

3,602,050 116,250 363,146 8,544,083

2554

รวม

2,269,722 89,186 192,538 6,804,662

2553

80 หมายเหตุประกอบงบการเงิน


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

81

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 การกระทบยอดกาไรหรื อขาดทุนตามส่ วนงานที่รายงาน 2554

2553 (พันบาท)

สาหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม กาไร (ขาดทุน) รวมตามส่ วนงานที่รายงาน การตัดรายการกาไรระหว่างส่ วนงาน จานวนเงินที่ไม่ได้ปันส่ วน: ส่ วนแบ่งผลขาดทุนจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม กำไรรวมก่ อนภำษีเงินได้

363,146 (41,442)

192,538 (54,988)

(1,080) 320,624

(14,987) 122,563

25 ค่ ำใช้ จ่ำยในกำรขำย งบกำรเงินรวม 2554 2553 ภาษีธุรกิจเฉพาะ ค่าใช้จ่ายการตลาด ค่าธรรมเนียมการโอน ค่าขนส่ ง ค่านายหน้า อื่นๆ รวม

84,064 54,039 21,378 5,142 4,388 6,798 175,809

81

(พันบาท) 12,095 42,558 173 5,022 9,154 9,622 78,624

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 -

-

รายงานประจำ�ปี 2554


82

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 26

ค่ ำใช้ จ่ำยในกำรบริหำร งบกำรเงินรวม 2554 2553 ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน ขาดทุนจากการขายเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ขาดทุนจากการด้อยค่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ค่าเช่าและบริ การ ค่าเสื่ อมราคา ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ค่าบริ หารจัดการ ผลเสี ยหายจากเหตุการณ์น้ าท่วม อื่นๆ รวม

27

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553

138,736 -

(พันบาท) 115,857 83,553 14,342 -

20,698 12,674 16,028 11,954 13,985 77,835 291,910

13,077 7,790 1,010 56,881 208,957

10,356 3,353 23,304 120,566

71,688 9,800 8,229 3,887 1,301 25,429 120,334

ค่ ำใช้ จ่ำยผลประโยชน์ ของพนักงำน งบกำรเงินรวม 2554 2553

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท)

ผู้บริ หาร เงินเดือน เงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชี พ อื่นๆ

15,376 1,232 13,571 30,179

82

14,633 1,134 8,079 23,846

9,380 810 9,943 20,133

9,062 746 5,680 15,488


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

83

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 งบกำรเงินรวม 2554 2553

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท)

พนักงานอื่น เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชี พ อื่นๆ รวม

84,543 3,983 36,131 124,657 154,836

75,181 3,594 30,852 109,627 133,473

42,931 2,141 18,348 63,420 83,553

38,670 3,203 14,327 56,200 71,688

โครงการผลประโยชน์ ที่กาหนดไว้ รายละเอียดของโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดเปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 20 โครงการสมทบเงินที่ กาหนดไว้ กลุ่มบริ ษทั ได้จดั ตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชีพสาหรับพนักงานของกลุ่มบริ ษทั บนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานใน การเป็ นสมาชิ กของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 5 ถึง อัตราร้อยละ 10 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุ่มบริ ษทั จ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 5 ถึง อัตราร้อยละ 10 ของเงิ นเดื อนของพนักงานทุกเดื อน กองทุนสารอง เลี้ ยงชี พนี้ ได้จดทะเบี ยนเป็ นกองทุนสารองเลี้ ยงชี พตามข้อกาหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุ นโดย ผูจ้ ดั การกองทุนที่ได้รับอนุญาต

83

รายงานประจำ�ปี 2554


84

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 28

ค่ ำใช้ จ่ำยตำมลักษณะ งบการเงินได้รวมการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามหน้าที่ ค่าใช้จ่ายตามลักษณะได้เปิ ดเผยตามข้อกาหนดในมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับต่าง ๆ ดังนี้ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 2554 2553 (พันบาท) การเปลี่ยนแปลงในสิ นค้าสาเร็ จรู ปและ 41,021 17,624 งานระหว่างทา 304,098 803,390 วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน 154,836 133,473 83,553 71,688 29,758 17,008 6,146 6,422 ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย ผลเสี ยหายจากเหตุการณ์น้ าท่วม 13,985

29

ต้ นทุนทำงกำรเงิน

งบกำรเงินรวม 2554 2553

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท)

ดอกเบี้ยจ่าย บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรื อกิจการอื่น สถาบันการเงิน หั ก จานวนที่รวมอยูใ่ นต้นทุน

49 121,554

49 65 17,241

-

-

(37,768) (50,699) (1,308) 31,828

(14,685) 2,670

-

-

ของสิ นทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข

ส่ วนที่บนั ทึกเป็ นต้นทุนของ - โครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่าง การพัฒนา - อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน - ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สุ ทธิ

84


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

85

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 30

ภำษีเงินได้ การลดภาษีเงินได้ นิติบคุ คล พระราชกฤษฎี กาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรารัษฎากรฉบับที่ 387 พ.ศ. 2544 ลงวันที่ 5 กันยายน 2544 ให้สิทธิ ทางภาษีแก่บริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยลดอัตราภาษีเงินได้นิติ บุคคลจากอัตราร้อยละ 30 เป็ นร้อยละ 25 สาหรับกาไรสุ ทธิ ทางภาษีเฉพาะส่ วนที่ไม่เกิน 300 ล้านบาท เป็ นเวลาห้า รอบระยะเวลาบัญชี ต่อเนื่ องกันนับแต่รอบระยะเวลาบัญชี แรกที่ เริ่ มในหรื อหลังวันที่พระราชกฤษฎี กานี้ ใช้บงั คับ และยังได้รับสิ ทธิ ในการลดภาษีเงินได้นิติบุคคลแห่ งพระราชกฤษฎีกาตามความในประมวลรัษฎากร ฉบับที่ 475 แต่ไม่เกินรอบระยะเวลาบัญชี 2553 ที่สิ้นสุ ดในหรื อหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2553 จานวนภาษีเงิ นได้ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเฉพาะกิจการและงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมแตกต่างจากจานวน ภาษีเงินได้ที่คานวณโดยการใช้อตั ราภาษีเงินได้คูณกับยอดกาไรสุ ทธิ ตามบัญชีสาหรับปี เนื่องจาก (ก) กลุ่มบริ ษทั มีขาดทุนทางภาษียกมาจากปี ก่อน และได้ถกู นามาใช้เพื่อลดจานวนกาไรเพื่อเสี ยภาษีในปี ปัจจุบนั (ข) ความแตกต่างระหว่างการรับรู ้รายได้และค่ าใช้จ่ายทางบัญชี กบั รายได้และค่าใช้จ่ายทางภาษี บางรายการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่ องเกี่ยวกับเงินปั นผลรับจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ขาดทุนจากการลดมูลค่าสิ นค้าและ ขาดทุนจากการลดมูลค่าเงินลงทุน

31

สิ ทธิประโยชน์ จำกกำรส่ งเสริมกำรลงทุน คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุ นอนุ มตั ิ ให้กลุ่มบริ ษทั ได้รับสิ ทธิ ประโยชน์หลายประการในฐานะผูไ้ ด้รับการ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ตามพระราชบัญ ญัติ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น พ.ศ. 2520 เกี่ ย วกับ ธุ ร กิ จ ผลิ ต ภัณ ฑ์เ คมี เ พื่ อ ทาง อุตสาหกรรมและบริ การด้านจัดการพลังงาน ซึ่ งพอสรุ ปสาระสาคัญได้ดงั นี้ (ก)

ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษีสาหรับเครื่ องจักรที่ได้รับอนุมตั ิโดยคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน

(ข)

ให้ได้รับยกเว้นภาษี เงิ นได้นิติบุคคลสาหรั บกาไรสุ ทธิ ที่ได้จากการประกอบกิ จการที่ ได้รับการส่ งเสริ มมี กาหนดเวลา 7 และ 8 ปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น

(ค)

ได้รับยกเว้นไม่ตอ้ งนาเงินปั นผลจากกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มซึ่ งได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลไปรวม คานวณเพื่อเสี ยภาษีเงินได้ ตลอดระยะเวลาที่ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ มได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น

เนื่องจากเป็ นกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนกลุ่มบริ ษทั จะต้องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขและข้อกาหนดตามที่ระบุไว้ ในบัตรส่ งเสริ มการลงทุน 85

รายงานประจำ�ปี 2554


86

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 32

กำไรต่ อหุ้น กาไรต่อหุ ้นขั้นพื้นฐานสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 คานวณจากกาไรสาหรับปี ที่เป็ น ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นสามัญของบริ ษทั และจานวนหุ ้นสามัญที่ ออกจาหน่ ายแล้วระหว่างปี โดยวิธีถวั เฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก แสดงการคานวณดังนี้ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 2554 2553 (พันบาท / พันหุ้ น) 63,093 56,720 6,107 30,518

กำไรที่เป็ นส่ วนของผู้ถือหุ้นของบริษทั (ขั้นพืน้ ฐำน) จานวนหุน้ สามัญที่ออก ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบของหุน้ ที่ออก ณ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 จำนวนหุ้นสำมัญโดยวิธีถัวเฉลีย่ ถ่ วงน้ำหนัก (ขั้นพืน้ ฐำน) กำไรต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐำน (บาท) 33

764,770 -

764,767 3

764,770 -

764,767 3

764,770 0.082

764,770 0.074

764,770 0.008

764,770 0.040

เงินปันผล บริ ษัท ในการประชุมสามัญประจาปี ของผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2554 ผูถ้ ือหุ น้ มีมติอนุมตั ิการจัดสรรกาไร เป็ นเงินปั นผลในอัตราหุ น้ ละ 0.05 บาท เป็ นจานวนเงินทั้งสิ้ น 38.23 ล้านบาท เงิ นปั นผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือ หุน้ ในวันที่ 26 เมษายน 2554 ในการประชุมสามัญประจาปี ของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2553 ผูถ้ ือหุ น้ มีมติอนุมตั ิการจัดสรรกาไร เป็ นเงินปันผลในอัตราหุน้ ละ 0.01 บาท เป็ นจานวนเงินทั้งสิ้ น 7.65 ล้านบาท เงินปั นผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ในวันที่ 11 พฤษภาคม 2553

86


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

87

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 บริ ษัทย่ อย ในการประชุ ม คณะกรรมการของบริ ษัท แกรนด์ ยู นิ ต้ ี ดิ เ วลล็ อ ปเมนท์ จ ากัด เมื่ อ วัน ที่ 25 เมษายน 2554 คณะกรรมการมีมติอนุมตั ิการจัดสรรกาไรเป็ นเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุน้ ละ 0.19 บาท เป็ นจานวนเงินทั้งสิ้ น 11.40 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ในการประชุ ม คณะกรรมการของบริ ษ ทั แกรนด์ ยูนิ ต้ ี ดิ เ วลล็อ ปเมนท์ จากัด เมื่ อ วันที่ 11 พฤศจิ กายน 2553 คณะกรรมการมีมติอนุมตั ิการจัดสรรกาไรเป็ นเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุน้ ละ 0.57 บาท เป็ นจานวนเงินทั้งสิ้ น 34.20 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในระหว่างปี 2553 34

เครื่องมือทำงกำรเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้ านการเงิน กลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงจากการดาเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ และจากการไม่ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดตามสัญญาของคู่สัญญา กลุ่มบริ ษทั ไม่มีการถือหรื อออกเครื่ องมือ ทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ เพื่อการเก็งกาไรหรื อการค้า การจัดการความเสี่ ยงเป็ นส่ วนที่สาคัญของธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั กลุ่มบริ ษทั มีระบบในการควบคุมให้มีความสมดุล ของระดับความเสี่ ยงให้เป็ นที่ยอมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ ยงและต้นทุนของการจัดการ ความเสี่ ยง ฝ่ ายบริ หารได้มีการควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ ยงของกลุ่มบริ ษทั อย่างต่อเนื่ องเพื่อให้มนั่ ใจ ว่ามีความสมดุลระหว่างความเสี่ ยงและการควบคุมความเสี่ ยง การบริ หารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริ ษทั คือการรักษาระดับเงินทุนให้มนั่ คงเพื่อรักษานักลงทุน เจ้าหนี้ และความเชื่ อมัน่ ของตลาดและก่อให้เกิดการพัฒนาของธุรกิจในอนาคต คณะกรรมการได้มีการกากับดูแลผลตอบแทนจากการลงทุน ซึ่ งกลุ่มบริ ษทั พิจารณาจากสัดส่ วนของผลตอบแทนจากกิจกรรมดาเนิ นงานต่อส่ วนของเจ้าของรวม ซึ่ งไม่รวมส่ วน ได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม อีกทั้งยังกากับดูแลระดับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู ้ ือหุน้ สามัญ

87

รายงานประจำ�ปี 2554


88

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 ความเสี่ยงด้ านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ ยงด้านอัตราดอกเบี้ย หมายถึงความเสี่ ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยใน ตลาด ซึ่ งส่ งผลกระทบต่อการดาเนิ นงานและกระแสเงิ นสดของกลุ่มบริ ษทั เนื่ องจากดอกเบี้ยของเงิ นให้กยู้ ืมและ เงิ น กู้ยื ม ส่ ว นใหญ่ มี อ ัต ราคงที่ กลุ่ ม บริ ษ ัท มี ค วามเสี่ ย งด้า นอัต ราดอกเบี้ ยที่ เ กิ ด จากเงิ น ให้ กู้ยื ม และเงิ น กู้ยื ม (ดูหมายเหตุ 6 และ 18) กลุ่มบริ ษทั ได้ลดความเสี่ ยงดังกล่าวโดยทาให้แน่ใจว่าดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินให้กยู้ ืมและเงิน กูย้ ืมส่ วนใหญ่มีอตั ราคงที่ อัตราดอกเบี้ยตามสัญญาของเงินให้กยู้ ืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบกาหนดชาระมีดงั นี้

อัตราดอกเบี้ย ตามสัญญา ภายใน 1 ปี (ร้ อยละต่ อปี )

งบกำรเงินรวม หลังจาก 1 ปี แต่ ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)

รวม

ปี 2554 หมุนเวียน เงินให้กยู้ ืมแก่บุคคล หรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

8, 9

8,740

-

-

8,740

ปี 2553 หมุนเวียน เงินให้กยู้ ืมแก่บุคคล หรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

8, 9

11,740

-

-

11,740

88


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

89

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553

อัตราดอกเบี้ย ตามสัญญา ภายใน 1 ปี (ร้ อยละต่ อปี )

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หลังจาก 1 ปี แต่ ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)

รวม

ปี 2554 หมุนเวียน เงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน

5

245,700

-

-

245,700

ปี 2553 หมุนเวียน เงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน

5

480,900

-

-

480,900

อัตราดอกเบี้ยตามสัญญาของหนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบกาหนดชาระ มีดงั นี้

อัตราดอกเบี้ย ตามสัญญา ภายใน 1 ปี (ร้ อยละต่ อปี ) ปี 2554 หมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากบุคคลหรื อ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม

งบกำรเงินรวม หลังจาก 1 ปี แต่ ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)

รวม

2.45-4.50

357,000

-

-

357,000

4.60-6.25

721,600

-

-

721,600

5

150 1,078,750

-

-

150 1,078,750

89

รายงานประจำ�ปี 2554


90

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553

อัตราดอกเบี้ย ตามสัญญา ภายใน 1 ปี (ร้ อยละต่ อปี ) ส่ วนที่ไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน รวม ปี 2553 หมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากบุคคลหรื อ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม

งบกำรเงินรวม หลังจาก 1 ปี แต่ ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)

รวม

4.80-6.25

-

1,429,500 1,429,500

-

1,429,500 1,429,500

MOR-2.25

42,807

-

-

42,807

4

704,500

-

-

704,500

5

980 748,287

-

-

980 748,287

ความเสี่ยงจากเงินตราต่ างประเทศ กลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่ งเกิ ดจากการซื้ อสิ นค้าและการขายสิ นค้าที่เป็ น เงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริ ษทั ได้ทาสัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึ่ งรายการดังกล่าวจะมีอายุไม่เกิน หนึ่ งปี เพื่อป้ องกันความเสี่ ยงของสิ นทรัพย์และหนี้ สินทางการเงินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ สัญญาซื้ อขายเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที่ รายงานเป็ นรายการที่เกี่ยวข้องกับรายการซื้ อและขายสิ นค้าที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ ในงวดถัดไป

90


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

91

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั มีความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็ นผลมาจาก การมีสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศดังนี้ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 2554 2553 (พันเหรี ยญสหรั ฐอเมริ กา) 410 409 405 404 679 751 1,089 1,160 405 404 (4,053) (775) 385 405 404

เงินเหรี ยญสหรั ฐอเมริ กา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบดุลที่มคี วำมเสี่ ยง สัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดควำมเสี่ ยงคงเหลือสุ ทธิ ความเสี่ยงทางด้ านสินเชื่อ

ความเสี่ ยงทางด้านสิ นเชื่อ คือความเสี่ ยงที่ลกู ค้าหรื อคู่สญ ั ญาไม่สามารถชาระหนี้ แก่กลุ่มบริ ษทั ตามเงื่อนไขที่ ตกลง ไว้เมื่อครบกาหนด ฝ่ ายบริ หารได้กาหนดนโยบายทางด้านสิ นเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ ยงทางด้านสิ นเชื่ อดังกล่าวโดยสม่าเสมอ โดยการ วิเคราะห์ฐานะทางการเงินของลูกค้าทุกรายที่ขอวงเงินสิ นเชื่ อในระดับหนึ่ งๆ ณ วันที่รายงานไม่พบว่ามีความเสี่ ยง จากสิ นเชื่ อที่เป็ นสาระสาคัญ ความเสี่ ยงสู งสุ ดทางด้านสิ นเชื่ อแสดงไว้ในราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ทางการเงิ น แต่ละรายการ ณ วันที่รายงาน อย่างไรก็ตามเนื่ องจากกลุ่มบริ ษทั มีฐานลูกค้าจานวนมาก ฝ่ ายบริ หารไม่ได้คาดว่าจะ เกิดผลเสี ยหายที่มีสาระสาคัญจากการเก็บหนี้ไม่ได้ ความเสี่ยงจากสภาพคล่ อง กลุ่มบริ ษทั มีการควบคุมความเสี่ ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงิน สดให้เพียงพอต่อการดาเนินงานของกลุ่มบริ ษทั และเพื่อทาให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง

91

รายงานประจำ�ปี 2554


92

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 การกาหนดมูลค่ ายุติธรรม นโยบายการบัญชี และการเปิ ดเผยของกลุ่มบริ ษทั กาหนดให้มีการกาหนดมูลค่ายุติธรรมทั้งสิ นทรั พย์และหนี้ สิน ทางการเงิ นและไม่ใช่ ทางการเงิ น มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จานวนเงินที่ผซู ้ ้ื อและผูข้ ายตกลงแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์ หรื อชาระหนี้สินกัน ในขณะที่ท้ งั สองฝ่ ายมีความรอบรู ้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคากัน ได้อย่างเป็ นอิสระในลักษณะของผูท้ ี่ ไม่มีความเกี่ ยวข้องกัน/วัตถุประสงค์ของการวัดมูลค่ าและ/หรื อการเปิ ดเผย มูลค่ายุติธรรมถูกกาหนดโดยวิธีต่อไปนี้ ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานในการกาหนดมูลค่ายุติธรรมถูกเปิ ดเผยใน หมายเหตุที่เกี่ยวข้องกับสิ นทรัพย์และหนี้สินนั้นๆ มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าถือตามราคาตลาดของสัญญาล่วงหน้า ถ้ามีราคาตลาด ในกรณี ที่ไม่มีราคาตลาด ให้ประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยการคิดลดจากผลต่างระหว่างราคาล่วงหน้าตามสัญญา กับ ราคาล่วงหน้าของสัญญาปัจจุบนั ณ วันที่รายงานที่ครบกาหนดในวันเดียวกัน โดยใช้อตั ราดอกเบี้ยประเภทที่ใช้กบั ธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ ยง เช่น พันธบัตรรัฐบาล มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี้สินทางการเงินเป็ นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชี 35

ภำระผูกพันที่มกี บั บุคคลหรือกิจกำรที่ไม่ เกีย่ วข้ องกัน งบกำรเงินรวม 2554 2553

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553 (พันบาท)

ภาระผูกพันตามสัญญาเช่ าดาเนินงาน ภายในหนึ่งปี หลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี หลังจากห้าปี รวม

25,168 102,556 799,940 927,664

92

2,778 98,400 851,600 952,778

-

1,895 1,895


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

93

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 งบกำรเงินรวม 2554 2553 (พันบาท)

ภาระผูกพันอื่น ๆ สัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า หนังสื อค้ าประกันจากธนาคาร สัญญาบริ การ สัญญาจะซื้ อจะขายที่ดิน สัญญาโครงการพัฒนาอาคารสานักงาน และโรงแรม สัญญาโครงการพัฒนาอาคารชุด สัญญาแฟคเตอริ่ ง รวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2554 2553

127,476 55,502 6,518

23,282 47,835 2,778

-

1,895

668,480

320,783

-

-

139,510 451,407 1,448,893

1,065,812 1,051,698 22,808 2,534,996

-

1,895

สั ญญำสำคัญที่ทำกับบุคคลหรือกิจกำรที่ไม่ เกีย่ วข้ องกัน มีดงั ต่ อไปนี้ ภายใต้ สิทธิ การเช่ าสั ญญาเช่ าที่ดิน บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่งได้ทาสัญญาเช่าที่ดินและสัญญาอนุญาตให้ใช้ที่ดิน เพื่อการพัฒนาโครงการกับเจ้าของที่ดินราย หนึ่ ง เพื่อก่อสร้างสิ่ งปลูกสร้างสาหรับการดาเนิ นธุ รกิ จโรงแรม และ/หรื ออาคารพักอาศัยพร้อมบริ การ และ/หรื อ อาจใช้พ้ื นที่ บางส่ วนเป็ นศู นย์การค้า โดยมี ร ะยะเวลาก่ อสร้ า ง 4 ปี และสัญ ญาเช่ า มี อายุ 30 ปี เริ่ มตั้ง แต่ ว นั ที่ 6 กันยายน 2554 โดยบริ ษทั ย่อยดังกล่าวจะต้องปฏิบตั ิตามข้อกาหนดและเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา

93

รายงานประจำ�ปี 2554


94

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 ตามที่กาหนดในสัญญาดังกล่าวค่าหน้าดินจ่ายแล้วจานวน 437 ล้านบาท และค่าเช่ารายปี รวมจานวน 950 ล้านบาท ซึ่ งมีกาหนดชาระดังนี้ ช่วงระยะเวลาการเช่า

ค่าเช่าจ่าย (ล้ านบาท) 123.0 135.3 148.8 163.7 180.1 158.5 40.6 950.0

ปี ที่ 1 ถึงปี ที่ 5 ปี ที่ 6 ถึงปี ที่ 10 ปี ที่ 11 ถึงปี ที่ 15 ปี ที่ 16 ถึงปี ที่ 20 ปี ที่ 21 ถึงปี ที่ 25 ปี ที่ 26 ถึงปี ที่ 29 ปี ที่ 30 รวมค่ ำเช่ ำจ่ ำย สั ญญาจะซื ้อจะขายที่ ดิน

บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งได้ทาสัญญาจะซื้ อจะขายที่ ดินกับบุคคลภายนอกและบริ ษทั หลายรายเพื่อโครงการ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์มูลค่า 835.6 ล้านบาท (2553: 454.69 ล้ านบาท) โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั และ บริ ษทั ย่อยได้ชาระเงินบางส่ วนเป็ นจานวนเงิน 167.12 ล้านบาท (2553: 133.91 ล้ านบาท) สั ญญาโครงการพัฒนาอาคารสานักงานและโรงแรม บริ ษทั ย่อยได้ทาสัญญาสาหรับโครงการพัฒนาอาคารสานักงานและโรงแรมกับบริ ษทั หลายแห่ ง ซึ่ งมีมูลค่างานรวม ประมาณ 2,458 ล้านบาท(2553:2,508 ล้ านบาท) โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยวกับ สัญญาดังกล่าวคงเหลือรวมเป็ นจานวนเงินประมาณ 140 ล้านบาท (2553:1,066 ล้ านบาท) สั ญญาโครงการพัฒนาอาคารชุด บริ ษทั ย่อยได้ทาสัญญาสาหรับโครงการพัฒนาอาคารชุดกับบริ ษทั หลายแห่ง ซึ่ งมีมลู ค่างานรวมประมาณ 3,388 ล้าน บาท (2553: 2,833 ล้ านบาท) โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ย่อยมีภาระผูกพันเกี่ ยวกับสัญญาดังกล่าว คงเหลือรวมเป็ นจานวนเงินประมาณ 451 ล้านบาท (2553: 1,052 ล้ านบาท)โดยบริ ษทั ย่อยต้องนาหนังสื อสัญญา ค้ าประกันจากธนาคารพาณิ ชย์แห่งหนึ่งจานวน 45 ล้านบาท (2553: 47 ล้ านบาท) เพื่อเป็ นหลักประกัน 94


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

95

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 36

หนีส้ ิ นที่อำจเกิดขึน้ บริ ษทั ย่อยมีหนี้ สินที่ อาจเกิ ดขึ้ นจากการถูกบุ คคลธรรมดาฟ้ องร้องให้ร้ื อถอนสิ่ งปลูกสร้างและสิ่ งกี ดขวางอื่นใน ที่ดินภาระจายอมของบริ ษทั และเรี ยกร้องค่าชดเชยความเสี ยหายเดือนละ 100,000 บาท นับตั้งแต่วนั ถัดจากวันฟ้ อง เมื่อวันที่ 3 สิ งหาคม 2550 ไปจนกว่าบริ ษทั ย่อยจะดาเนิ นการรื้ อถอนสิ่ งปลูกสร้างและสิ่ งกีดขวางในที่ดินภาระจา ยอม ตั้งแต่วนั ที่ 3 พฤศจิกายน 2550 บริ ษทั ย่อยได้เปิ ดทางเข้า-ออกแล้ว ทั้งนี้ ศาลชั้นต้นได้ตดั สิ นแล้ว ให้บริ ษทั ย่อย เพียงรื้ อถอนสิ่ งปลูกสร้างแต่ไม่ตอ้ งจ่ายค่าเสี ยหายตามที่ ถูกฟ้ องและปั จจุบนั คดีอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาล อุทธรณ์ บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งอยู่ระหว่างการถูกฟ้ องเรี ยกร้องค่าชดเชยความเสี ยหายจากการผิดสัญญาซื้ อขายเป็ นจานวนเงิน 24 ล้านบาท อย่างไรก็ตามบริ ษทั ย่อยได้บนั ทึกสารองเผื่อหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นไว้เต็มจานวนแล้ว

37

เหตุกำรณ์ ภำยหลังรอบระยะเวลำที่รำยงำน ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2555 มีมติเห็นชอบให้เสนอการจ่ายเงิ นปั นผลต่อที่ประชุ ม สามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี พิจารณาอนุมตั ิในอัตราหุน้ ละ 0.06 บาท เป็ นจานวนเงินทั้งสิ้ น 45.9 ล้านบาท กาหนดจ่ายเงิน ปันผลภายในหนึ่งเดือนนับจากวันประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้

38

มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่ยงั ไม่ ได้ ใช้ กลุ่มบริ ษทั ยังไม่ได้ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่ซ่ ึ งเกี่ยวข้องกับการดาเนิ นงานของ กลุ่มบริ ษทั ดังต่อไปนี้ ณ วันที่รายงาน เนื่องจากยังไม่มีการบังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เรื่ อง

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2552) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ

ปี ที่มีผล บังคับใช้ 2556 2556

ขณะนี้ ผบู ้ ริ หารยังไม่ได้พิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิ ดขึ้นจากการใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและ ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวต่องบการเงินรวมหรื องบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั 95

รายงานประจำ�ปี 2554


96

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่ อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 และ 2553 39

กำรจัดประเภทรำยกำรใหม่ รายการบางรายการในงบแสดงฐานะการเงิ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซึ่ งรวมอยู่ในงบการเงินเพื่อวัตถุประสงค์ในการเปรี ยบเทียบของปี 2554 ได้มีการจัด ประเภทรายการใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการนาเสนอในงบการเงินปี 2554 การจัดประเภทรายการเหล่านี้ เป็ นไปตาม การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ซึ่ งเป็ นผลจากการใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ออกและปรับปรุ งใหม่ ดังที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 นอกจากนี้ไม่มีการจัดประเภทรายการอื่นใดที่มีสาระสาคัญ

96


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.