Annual Report 2011 TH

Page 1

Balance for Sustainability

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554


สารบัญ

บทความพิเศษ สารจากประธานกรรมการ รายงานคณะกรรมการตรวจสอบต่อผู้ถือหุ้น วิสัยทัศน์ พันธกิจ คุณค่าองค์กร โครงสร้างรายได้ ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน รายงานและการวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน รายงานการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม ลักษณะการประกอบธุรกิจ ข้อมูลทั่วไป โครงสร้างกลุ่มบริษัท รายชื่อบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โครงสร้างการบริหาร บุคคลอ้างอิงอื่นๆ นโยบายการจ่ายเงินปันผล ปัจจัยความเสี่ยง การควบคุมภายใน รายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการบริษัท การถือครองหุ้นของคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร รายการระหว่างกัน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงินรวม

3

รายงานประจ�ำปี 2554

10 16 18 20 21 22 25 28 32 34 36 37 38 39 40 47 48 50 52 53 66 67 69 70 71 72


น�ำป ้ ระปา

Wee Operate Water Business and Wastewater Treatment เราร่วมกันด�ำเนินธุรกิจด้านการบริหารจัดการน�้ำแบบครบวงจร รวมถึงการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย อันเป็นการคืนสมดุลสูว่ งจรน�ำ้ พร้อม น�ำผลประโยชน์สูงสุดสู่ทุกคน อย่างเท่าเทียม

รายงานประจ�ำปี 2554

4


น�ำ้ ประปา

นํ้า เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ เพื่อให้ได้มาซึ่งน�้ำประปาที่สะอาดเหมาะสมส�ำหรับใช้ในการอุปโภคและบริโภค รวมทั้งสามารถน�ำไปใช้ในกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) จึงมุ่งผลิตน�้ำประปาที่มีคุณภาพตาม มาตรฐานสากล โดยยึดหลักปฏิบัติ 3 ประการ คือ ความสะอาด เพียงพอ และต่อเนื่อง ทุกคนสามารถไว้วางใจในน�้ำประปาจากเราเพื่อไปใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดในทุกๆ ด้าน

สะอาด

ต่อเนื่อง

เราใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการควบคุมการผลิตและจ่ายน�้ำ ท�ำให้ สามารถควบคุมคุณภาพน�้ำประปาได้ตลอดเวลา รวมถึงตรวจสอบ และได้รบั การยืนยันคุณภาพน�ำ้ จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จึงมั่นใจได้ว่าน�้ำประปาที่จ่ายโดยบริษัทฯ มีความสะอาดและมี คุณภาพ

เราติดตั้งหน่วยการผลิตรวมทั้งเครื่องสูบจ่ายน�้ำให้มีหน่วยส�ำรอง เพื่อรองรับกรณีฉุกเฉินและใช้ระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหาร การจัดการซ่อมบ�ำรุง เพื่อสามารถรองรับการจ่ายน�้ำประปาให้แก่ ผู้บริโภคอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมงทุกวัน

เพียงพอ เราวางระบบการผลิ ต น�้ ำ ประปาด้ ว ยอั ต ราก�ำลั ง การผลิ ต สู ง สุ ด ที่ 440,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวันและมีถังกักเก็บน�้ำประปาจ�ำนวน 5 แห่ง สามารถกักเก็บน�้ำประปารวมกันได้ถึง 156,000 ลูกบาศก์เมตร จึงมัน่ ใจได้วา่ ในทุกพืน้ ทีท่ ใี่ ห้บริการน�ำ้ ประปาของบริษทั ฯ จะมีปริมาณ น�้ำประปาและแรงดันที่เพียงพอตลอดเวลา

รายงานประจ�ำปี 2554

5


พลังงานทดแทน Wee Expand Ideas to Provide Alternative Energy

เราเริ่มการศึกษาโครงการด้านพลังงานทางเลือก พลังงาน แสงอาทิตย์ เพื่อเป็นการขยายไปสู่ธุรกิจพลังงานทางเลือก ทุกประเภท เช่น พลังงานลม พลังงานทดแทนในรูปแบบ ต่างๆ อันจะเป็นการช่วยคืนสมดุลสู่ธรรมชาติอีกทางหนึ่ง


พลังงาน ทดแทน ในปัจจุบันปัญหามลพิษทางอากาศและปัญหาภาวะโลกร้อนมีสาเหตุหลักมาจากไอเสียที่เกิดขึ้นในระหว่างการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงที่เกิดจาก น�้ำมันดิบ ดังนั้นปัญหาเหล่านี้จึงสามารถแก้ไขได้ด้วยการเปลี่ยนแปลงในภาคอุตสาหกรรมพลังงาน โดยแนวทางที่จะเปลี่ยนไปครั้งนี้จะต้องค�ำนึงถึง ความเพียงพอของพลังงานส�ำหรับอนาคตด้วย บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) ตระหนักถึงความส�ำคัญของปัญหานี้เป็นอย่างดี เราจึงเริ่ม ศึกษาและลงทุนในโครงการที่จะติดตามเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อเตรียมพร้อมส�ำหรับการน�ำพลังงานทดแทนไปใช้ได้อย่างเหมาะสม เพื่อประโยชน์สูงสุด ของการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่ายั่งยืนและไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม

พลังงานอื่นๆ

ประเทศไทยซึง่ เป็นประเทศในเขตร้อน ทีม่ ศี กั ยภาพสูงในการผลิตไฟฟ้า จากแสงอาทิตย์ ปัจจุบันนี้เราสามารถผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ด้วย เทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ ซึ่งวิธีนี้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและช่วย ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่ชั้นบรรยากาศได้ด้วย บริษัทฯ จึงให้น�้ำหนักในการลงทุนที่ธุรกิจนี้เป็นอันดับหนึ่ง และเชื่อว่าธุรกิจนี้ จะช่วยสร้างความมั่นคงทางพลังงานให้กับประเทศของเรา

นอกเหนือจากพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมแล้ว ยังมีพลังงานอืน่ ๆ ทีบ่ ริษทั ฯ ให้ความสนใจและพัฒนาเพือ่ ขยายไปสูก่ ารบริการจากบริษทั ฯ ในอนาคต อาทิเช่น พลังงานชีวมวล จากการที่ประเทศไทยเป็น ประเทศเกษตรกรรมส่งผลให้มีเศษวัตถุดิบตามธรรมชาติอยู่มากมาย ไม่ว่าจะเป็น แกลบ กากอ้อย กะลาปาล์ม ซางข้าวโพด เปลือกไม้ เศษไม้ หญ้า และอื่นๆ ซึ่งท�ำให้บริษัทฯ ได้มองเห็นโอกาสนี้และมี ความสนใจทีจ่ ะด�ำเนินการศึกษาและรวบรวมข้อมูลการลงทุนในธุรกิจ ที่เกี่ยวข้อง หรือพลังงานจากขยะ ผลจากการขยายตัวของชุมชนเมือง และการบริโภคทีเ่ พิม่ มากขึน้ ส่งผลให้ขยะชุมชนมีจ�ำนวนเพิม่ มากขึน้ ทุกปี ซึ่งบริษัทฯ ได้ตระหนักถึงปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นได้ จากขยะ บริษัทฯ ได้มีการศึกษาและหาโอกาสที่จะผลิตไฟฟ้า จากพลังงานขยะซึง่ นอกจากจะเป็นการช่วยลดปริมาณขยะให้ลดลงแล้ว แต่ยังสามารถท�ำการป้อนไฟฟ้าเข้าสู่ระบบ ทดแทนการน�ำเข้าของ เชื้อเพลิงฟอสซิลได้อีกช่องทางหนึ่ง

พลังงานลม พลังงานลม เป็นอีกหนึ่งพลังงานที่มาจากธรรมชาติ โดยที่เราสามารถ น�ำมาใช้ได้ไม่จ�ำกัด บริษัทฯ จึงให้ความสนใจและศึกษาความเป็นไป ได้ในการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม แม้ในขณะนี้ทั่วโลกจะ มีโครงการประเภทนี้เกิดหลายแห่ง แต่ส�ำหรับในประเทศไทยยังถือว่า อยู่ในช่วงระยะเริ่มต้น ซึ่งบริษัทฯ หวังจะเป็นหนึ่งในผู้ที่มีส่วนร่วมใน การบุกเบิกการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในประเทศไทย

7

รายงานประจ�ำปี 2554

พลังงานแสงอาทิตย์


สิง่ แวดล้อม

WEE go together with green eco solution for all

เราก้าวไปด้วยกัน มีจิตส�ำนึกร่วมกัน พร้อมตระหนักถึง ปัญหาสิ่งแวดล้อมและสนับสนุนการแก้ไขปัญหาอย่างเต็มที่ เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของทุกคนในสังคมและองค์กรจะได้ เติบโตอย่างยั่งยืนตลอดไป


สิง่ แวดล้อม บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) มีความมุ่งมั่นในการด�ำเนินธุรกิจควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม การป้องกันมลพิษ พร้อมทั้งปรับปรุงการ ด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ที่ดีของทุกคนในสังคมและองค์กรได้เติบโตอย่างยั่งยืนไปพร้อมๆ กัน โดยมีแนว ปฏิบัติดังนี้

1

ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อก�ำหนดต่างๆ ด้านสิง่ แวดล้อมอย่างเคร่งครัด และมีการวางแผนควบคุมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุดิบ และ พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งให้ความร่วมมือในการรักษา สิ่งแวดล้อม

3

มีนโยบายในการด�ำเนินธุรกิจทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เช่น ธุรกิจบ�ำบัด น�้ำเสียชุมชนและการก�ำจัดขยะ

2

สนับสนุนให้ความร่วมมือกับชุมชน เพือ่ ด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับสิ่งแวดล้อม

รายงานประจ�ำปี 2554

9


สารสนเทศยุคใหม่กับการด�ำเนินธุรกิจ ตัวอย่างโครงการบูรณาการภูมิสารสนเทศโครงข่ายจ่ายน�้ำประปา ปัจจุบันสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทและความส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจมากยิ่งขึ้นในหลายด้าน ทั้งการช่วยเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน การพัฒนาศักยภาพ และสร้างผลิตภาพขององค์กร กล่าวได้ว่าโลกยุคใหม่ เข้าสู่ยุคสารสนเทศ (Information Age) อย่างแท้จริง โดยขีดความสามารถในการจัดการและการน�ำสารสนเทศทั้งภายในและภายนอกมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เป็นปัจจัย ส�ำคัญในการพัฒนาสมรรถนะขององค์กรในการขับเคลื่อนธุรกิจ การบริหารจัดการลูกค้า การพัฒนากระบวนงาน การสร้างนวัตกรรม ของสินค้าและบริการ การจัดการความรู้ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อผลการด�ำเนินงานทางธุรกิจที่เติบโตและยั่งยืน การออกแบบเพื่อพัฒนาโครงการบูรณาการภูมิสารสนเทศโครงข่ายจ่ายน�้ำประปาของบริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งได้รับ รางวัลชมเชยจากการประกวดในงาน Thailand ICT Excellence Awards 2010 เพื่อยกย่องเชิดชูองค์กรที่สามารถน�ำเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ส่งเสริมการด�ำเนินงานขององค์กร จัดโดยสมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย และวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นตัวอย่างที่ดีของการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นเครื่องมือส่งเสริมและขับเคลื่อนธุรกิจ ด้วยการเชื่อมโยงกระบวนงานธุรกิจ ระหว่างการผลิตและจ่ายน�้ำประปาของบริษัทฯ กับการจ�ำหน่ายน�้ำประปาให้ผู้ใช้น�้ำของการประปาส่วนภูมิภาคในพื้นที่บริการอ�ำเภอ นครชัยศรี อ�ำเภอสามพราน อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และอ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร อ�ำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร

ภาพรวมโครงการ การบูรณาการสารสนเทศของโครงการ ได้รับการออกแบบโดยการน�ำ ระบบภูมิสารสนเทศ (Geographic Information System) มาประยุกต์ใช้ บูรณาการข้อมูลเชิงพื้นที่กับโครงข่ายสื่อสารในกิจการของบริษัทฯ กับการประปาส่วนภูมิภาค โดยท�ำการเชื่อมโยงแผนที่ดิจิตอล (Digital Map) ครอบคลุมตลอดกระบวนงานทางธุรกิจของทั้งสองหน่วยงาน ตั้งแต่กระบวนการผลิตน�้ำประปา โครงข่ายส่งน�้ำประปาผ่านท่อส่งน�้ำ ประธาน (Bulk Transmission Main) และท่อจ่ายน�้ำ (Local Distribution Network) เข้าสู่โครงข่ายท่อบริการผู้ใช้น้ำ� ของการประปาส่วนภูมิภาค ในพื้นที่บริการด้วยโปรแกรมประยุกต์ควบคุมการส่งน�้ำ SCADA (Supervisory Control And Data Acquisition) และโปรแกรมงาน ภูมิสารสนเทศ MapInfo Professional ผ่านโครงข่ายสื่อสารไร้สาย Wi-WAN ระหว่างโรงกรองน�้ำบางเลน นครปฐม สถานีเพิ่มแรงดันน�้ำ คลองโยง สถานีสูบจ่ายน�้ำพุทธมณฑล สถานีสูบจ่ายน�้ำมหาชัย และ สถานีเพิ่มแรงดันน�้ำกระทุ่มแบน สมุทรสาคร แผนที่ดิจิตอลบูรณาการ BTM & LDN กับโครงข่ายท่อกปภ.

รายงานประจ�ำปี 2554

10


การปรับเข้ากับธุรกิจและการมุ่งเน้นกลยุทธ์ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการนี้ให้เชื่อมโยงกับพันธกิจ หลักของธุรกิจที่ก�ำหนดให้ธุรกิจเกี่ยวกับน�้ำ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม เติ บ โตอย่ า งมั่ น คง ต่ อ เนื่ อ ง และยั่ ง ยื น โดยบู ร ณาการระบบ ภูมสิ ารสนเทศเป็นระบบสารสนเทศย่อยระบบหนึง่ ของระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการธุรกิจเกี่ยวกับน�้ำในอันที่จะช่วยผลิตสารสนเทศเชิง พื้นที่แก่ผู้บริหาร ส�ำหรับประกอบการตัดสินใจด�ำเนินงานเพื่อสร้าง ความพึงพอใจสูงสุดต่อการประปาส่วนภูมิภาค และผู้ใช้น�้ำในพื้นที่ บริการน�้ำประปา ฝ่ายสารสนเทศของบริษัทฯ ท�ำการวางแผนกลยุทธ์ของโครงการด้วย การก�ำหนดให้เป็นกลยุทธ์ย่อย (Sub-strategy) ของกลยุทธ์องค์กรที่ เน้นการเติบโตในธุรกิจน�้ำ ด้วยการบูรณาการข้อมูลภูมิสารสนเทศมา ช่วยประกอบการตัดสินใจด�ำเนินกิจกรรมทางการตลาด เพื่อเพิ่มยอด ผู้ใช้น�้ำในพื้นที่บริการและยอดการใช้น�้ำประปาในกลุ่มผู้ใช้น�้ำสอง ระบบทั้งน�้ำประปา และน�้ำบาดาล ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักในการ ท�ำการตลาด

ในด้านทรัพยากรบุคคล บริษัทฯ ได้เตรียมแผนพัฒนาความรู้และ ทักษะของทั้งเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ และผู้ใช้งานเพื่อให้มีความเข้าใจ ในข้อมูลเชิงพื้นที่ มีความช�ำนาญในการใช้งานโปรแกรม MapInfo Professional รวมถึงความรู้ในสาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อน�ำไปร่วม ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป เช่น ระบบชลศาสตร์การจ่ายน�้ำ (Hydraulic Model) การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ และการจัดการพื้นที่ บริการ (Service Area Management) เป็นต้น

การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ มีการก�ำหนดนโยบายด้านการบริหารความเสี่ยงของโครงการ ให้อยู่ในกรอบทิศทางนโยบายบริหารความเสี่ยงขององค์กร ซึ่งเน้นที่ จะรักษาสมดุลระหว่างระดับความเสี่ยงและผลตอบแทนจากโครงการ โดยให้มีความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) และระดับ เบี่ยงเบนที่ยอมรับได้ (Risk Tolerance) โดยมีคณะท�ำงาน (Steering Committee) ก�ำกับดูแลการจ�ำกัดและ ถ่ายโอนความเสี่ยง

ขอบเขตการออกแบบและประยุกต์ใช้ บริษัทฯ โดยฝ่ายสารสนเทศ ฝ่ายการตลาด และฝ่ายปฏิบัติการ ได้ ออกแบบเชื่อมต่อโครงข่าย BTM และ LDN ของบริษัทกับโครงข่าย การจ่ายน�้ำแก่ผู้ใช้น�้ำในพื้นที่บริการของการประปาส่วนภูมิภาค เพื่อ ให้เกิดบูรณาการตั้งแต่ กระบวนการผลิตจนกระทั่ง ส่งมอบผลิตภัณฑ์ และบริการหลังจ�ำหน่ายในลักษณะ End-to-End Solution พร้อมกับ ออกแบบเพื่อการประยุกต์ใช้โครงการกับระบบงานอื่นในลักษณะงาน ต่อยอด หรืองานขั้นสูงต่อไป เช่น การ Plug-in กับระบบชลศาสตร์ การจ่ายน�้ำ (Hydraulic Model) เป็นต้น

การบริหารการเปลี่ยนแปลง บริษัทฯ มีการก�ำหนดกระบวนการในการบริหารการเปลี่ยนแปลงของ โครงการทีจ่ ะเกิดขึน้ โดยก�ำหนดแผนบริหารการเปลีย่ นแปลงทีค่ รอบคลุม ถึงขั้นตอนการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง (Procedure for handling changes) ก�ำหนดบทบาท และหน้าที่ของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง พร้อม แผนรองรับกรณีแผนบริหารการเปลี่ยนแปลงไม่เป็นไปตามที่ก�ำหนด โดยเฉพาะการแต่งตั้งให้มีผู้ประสานงานการเปลี่ยนแปลง (Change Coordinator) ของโครงการ ท�ำหน้าที่ติดตามรวบรวมการจัดการ เปลี่ยนแปลงทั้งที่ด�ำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว และอยู่ระหว่างด�ำเนินการ ก�ำหนดแนวทางการบริห ารความต่ อเนื่องของโครงการ ระบุแ ละ ประเมินความเสี่ยง การวิเคราะห์ผลกระทบต่อโครงการ

สรุป ระบบสารสนเทศยุ ค ใหม่ จั ด ได้ ว ่ า เป็ น เครื่ อ งมื อ ส�ำคั ญ ในการ บริหารจัดการ และสนับสนุนการตัดสินใจในการด�ำเนินธุรกิจในยุคปัจจุบนั ดังเช่น ตัวอย่างโครงการบูรณาการภูมิสารสนเทศโครงข่ายจ่าย น�้ำประปาของบริษัทฯ กับการประปาส่วนภูมิภาคด้วยการประยุกต์ ใช้ Seamless IntegratedGIS ในลักษณะ End-to-End Solution ตั้งแต่ กระบวนการผลิตน�้ำประปา การส่งน�้ำประปาผ่านโครงข่าย BTM และ LDN ของบริษัทฯ เข้าสู่โครงข่ายท่อจ่ายน�้ำของการประปาส่วน ภูมิภาคที่เชื่อมต่อด้วยโครงข่ายสื่อสารไร้สาย Wi-WAN ระหว่าง โรงกรองน�้ำบางเลน สถานีเพิ่มแรงดันน�้ำคลองโยง สถานีสูบจ่ายน�้ำ พุทธมณฑล สถานีสูบจ่ายน�้ำมหาชัย และสถานีเพิ่มแรงดันน�้ำ กระทุ่มแบน จะสามารถช่วยให้ประชาชนในเขตจังหวัดนครปฐม และ สมุทรสาครมีน�้ำประปาใช้โดยไม่ขาดแคลน เพื่อการอุปโภคบริโภค การพาณิชย์ และอุตสาหกรรม ทดแทนการใช้น�้ำบาดาลซึ่งเป็น ต้นเหตุกอ่ ให้เกิดความเสียหายต่อสิง่ แวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ปัญหาแผ่นดินทรุด และการรุกล�ำ้ ของน�ำ้ เค็มสูพ่ นื้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเล เป็นต้น

11

รายงานประจ�ำปี 2554

ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ได้ท�ำการประเมินขีดความสามารถ และจัดสรรทรัพยากร ส�ำหรับบริหารโครงการที่จะเกิดขึ้นด้วยการส�ำรวจความพร้อม และ วางแผนงบประมาณในทุกองค์ประกอบ ทัง้ ข้อมูลเชิงพืน้ ที่ (Spatial Data) และข้อมูลอธิบายพืน้ ที่ (Attribute Data) คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ตา่ งๆ แผนที่ดิจิตอล โปรแกรม MapInfo Professional รวมถึงเตรียมการ จัดฝึกอบรมผู้ใช้งานระบบภูมิสารสนเทศ


องค์กรแห่งความยั่งยืน เราคงคุ้นเคยและได้ยินค�ำพูดเกี่ยวกับเรื่องของความยั่งยืน ไม่ว่าจะในระดับประเทศเช่นการพัฒนาประเทศสู่ความยั่งยืน หรือในระดับองค์กรที่ พยายามมุ่งเน้นการน�ำองค์กรสู่ความยั่งยืน ในพันธกิจของบริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) ได้ระบุ ถึงการด�ำเนินธุรกิจขององค์กรให้มีการ เติบโตอย่างมั่นคง ต่อเนื่องและยั่งยืน ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจการผลิตน�้ำประปา การบ�ำบัดน�้ำเสีย รวมถึงธุรกิจพลังงานทางเลือกหรือธุรกิจเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมุ่งเน้นการสร้างและรักษาความสมดุลให้เกิดขึ้นอย่างเหมาะสมระหว่างกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความยัง่ ยืนของบริษทั ฯ หรือองค์กรใดๆ จึงหมายถึงการมุง่ สร้างเป็นการด�ำเนินธุรกิจองค์กรให้มผี ลการประกอบการทีด่ บี นพืน้ ฐานของการดูแลสังคม และสิ่งแวดล้อมควบคู่กันไป ด้วยการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมด�ำเนินการ

The Triple Bottom Line Model-3BL Model

¤ÇÒÁà·‹Òà·ÕÂÁ໚¹¸ÃÃÁ

¤ÇÒÁÊÁ´ØÅ

àÈÃÉ°¡Ô¨

Socio Economic Impacts Social investment Business Ethic

Resource efficiency Product Availability Life Cycle Analysis

Economic Growth Socio Economic

Eco Efficiency

Sustainability

Êѧ¤Á

Social Progress

Socio Envirou mental

ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ

Environmental Protection

¡ÒþÖ觾ҫÖ觡ѹáÅСѹ Health & Security Local Environment Global Climate Change

รายงานประจ�ำปี 2554

12

ด้านเศรษฐกิจ

ด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตน�้ำประปาส่งให้กับการประปาส่วนภูมิภาค โดยมีผลประกอบการที่ดีและมีผลตอบแทนคืนสู่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ทุกปี ด�ำเนินธุรกิจโดยยึดหลักปฏิบัติบรรษัทภิบาลที่ดี (Corporate Good Governance) ซึง่ หมายถึงบริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจทีถ่ กู ต้องตามหลัก จริยธรรมธุรกิจ (Business Ethics) ตรวจสอบได้ตามหลักธรรมาภิบาล ซึ่งถือเป็นเป็นความรับผิดชอบต่อสังคมภายใน คือ พนักงาน ผู้ถือหุ้น คาบเกี่ยวภายนอกบ้างคือ เจ้าหนี้สถาบันการเงิน คู่ค้า โดย บริษัทฯ ได้รับการประเมินผลการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ในขัน้ “ดีมาก (Very Good)” จากส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

ด้วยบริษัทฯ ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของทรัพยากรน�้ำ จึงได้ริเริ่ม ด�ำเนินงานโครงการ “1 ล้านกล้า สร้างป่าต้นน�้ำ” ในปี 2554 ซึ่งเป็น โครงการระยะยาว 5 ปี บนพื้นที่ 5,000 ไร่ จ�ำนวน 1,000,000 ต้น ซึ่ง เป็นพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมจากการท�ำเหมืองแร่ ในหมู่บ้านอีต่อง ต�ำบล ปิล๊อก อ�ำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ในพื้นที่เขตอุทยานแห่ง ชาติทองผาภูมิ ทั้งนี้เพื่อเป็นการสร้างป่าต้นน�้ำแม่กลองส่วนหนึ่งของ ที่มาของแม่น�้ำท่าจีน ที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตน�้ำประปาอยู่ใน ปัจจุบัน นอกจากนี้บริษัทฯ ยังได้มีแนวคิดในการอนุรักษ์ลุ่มแม่น�้ำ ท่าจีนซึ่งจะริเริ่มด�ำเนินโครงการใน ระยะต่อไป


ด้านสังคม

ด้านการสร้างอาชีพและกระจายรายได้สู่ชุมชน

นอกจากความรับผิดชอบต่อสังคมภายในของบริษัทฯ โดยยึดหลัก ปฏิบัติการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งมีข้อก�ำหนด 15 ข้อของ กลต. บนพืน้ ฐานของหลักบรรษัทภิบาลทีด่ ี 5 ด้าน แล้ว บริษทั ฯ ได้ก�ำหนด นโยบายที่ ชั ด เจนในการดู แ ลชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง ถื อ เป็ น ความรับผิดชอบต่อสังคมภายนอกซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ด้านหลักๆ

นอกจากการสร้างป่าต้นน�้ำแล้วซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในโครงการ “1 ล้านกล้า สร้างป่าต้นน�ำ้ ” แล้วบริษทั ฯ ได้ก�ำหนดแนวทางการปลูกป่า ต่อโดยใช้ชุมชนในพื้นที่ โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการเพาะกล้าด�ำเนิน การปลูกจนถึงการบ�ำรุงรักษาผืนป่าสืบต่อไป ทั้งนี้เพื่อเป็นการสร้าง อาชีพและรายได้ให้เกิดขึ้นกับชุมชนอย่างต่อเนื่อง

4.

ʹѺʹع ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

TTW CSR Theme

1.

͹ØÃÑ¡É ·ÃѾÂÒ¡Ã ¸ÃÃÁªÒµÔ

2.

ÊÌҧÍÒªÕ¾áÅÐ ¡ÃШÒÂÃÒÂä´Œ ÊÙ‹ªØÁª¹

13

รายงานประจ�ำปี 2554

3.

ÊÒ¸ÒóÊØ¢ ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹


ด้านการพัฒนาสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน ส่วนหนึ่งของการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน คือการท�ำให้สมาชิกในชุมชนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง น�้ำดื่มที่สะอาดและถูกสุขลักษณะ ถือเป็นส่วนส�ำคัญอย่างยิ่ง ในปี 2554 บริษัทฯ ได้ให้การสนับสนุนการสร้างระบบประปาภูเขากับหมู่บ้านอรุโณทัย อ�ำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ผ่านมูลนิธิรัฐบุรุษพลเอกเปรม ส่งผลให้ชาวบ้านชุมชนชาวเขากว่า 20,000 คน มีน้ำ� ประปาใช้อย่างทั่วถึง

ด้านสนับสนุนการศึกษา บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของเยาวชนที่จะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต การสนับสนุนและเพิ่มโอกาสทาง การศึกษาให้กับเยาชนถือเป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่งในการแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทฯ ในรูปของโครงการที่ส�ำคัญๆ ดังนี้

1. โครงการ “ยุวชนไทย ร่วมใจรักษ์น้ำ� (Thai Tap Junior Water Prize)” เป็นโครงการประกวดนวัตกรรมด้านการอนุรักษ์น้ำ� ใน ชุ ม ชนอย่ า งยั่ ง ยื น ของนั ก เรี ย นในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาในเขต กรุงเทพฯ และปริมณฑลในปี 2554 และในระดับประเทศ ในปี 2555 เป็นต้นไป เป็นโครงการระยะยาว 5 ปี เช่นกัน โดยผู้ชนะเลิศจะได้รับทุนการศึกษาและมีโอกาสส่งผลงานเข้า ประกวดในระดับนานาชาติต่อไป

รายงานประจ�ำปี 2554

14


2. โครงการมอบทุนการศึกษาให้กับนักเรียนในพื้นที่ให้บริการเป็นประจ�ำทุกปีและสร้างอาคารเรียนให้กับโรงเรียนวัดสุขวัฒนาราม เนื่องในโอกาส ฉลองครบรอบ 10 ปีของบริษัทฯ ในปี 2554 3. การมอบระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาให้กับโรงเรียนภูเขียวและภูมิวิทยาในจังหวัดชัยภูมิ

ด้านสิ่งแวดล้อม การที่บริษัทฯ ได้รับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14000 เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2550 เป็นสิ่งที่พิสูจน์และยืนยันถึงความ มุ่งมั่นในการดูแลเรื่องของสิ่งแวดล้อมจากการด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ รวมถึงการเข้าร่วมเป็นสมาชิกส่วนหนึ่งของชมรมคนรักแม่น้ำ� ท่าจีนซึ่งเป็น เครือข่ายของชุมชนที่เฝ้าดูแล ปกป้องและรักษาแม่น�้ำท่าจีนให้ใสสะอาดและหล่อเลี้ยงชาวนครปฐมและสมุทรสาคร การด�ำเนินงานของบริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) ด้วยการรักษาสมดุลในสามมิติ คือ เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยค�ำนึงถึงผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน จะน�ำพาองค์กรเข้าสู่ความเป็นองค์กรที่ยั่งยืน

รายงานประจ�ำปี 2554

15


สารจาก

ประธานกรรมการ

รายงานประจ�ำปี 2554

16


ปี 2554 ถือเป็นก้าวส�ำคัญของบริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) หลังจากที่ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปามาเป็นเวลาเกือบ 10 ปี จนนับเป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาภาคเอกชนรายใหญ่ที่สุดของประเทศไทย โดยตลอดเวลาที่ผ่านมา บริษัทฯ มีแนวทางการท�ำงานในเชิงรุก ด้วยความคิดริเริ่มและท�ำงานเป็นทีม บนพื้นฐานของความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นลูกค้า พนักงาน คู่ค้า ผู้ถือหุ้น ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ซึ่งปัจจัยเหล่านี้เป็นสิ่งที่ท�ำให้บริษัทฯ เติบโตอย่างมั่นคง ต่อเนื่อง และยั่งยืน ในปี 2554 บริษัทฯ ได้แสดงเจตนารมณ์ในการเข้าไปลงทุนท�ำธุรกิจด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างเต็มตัว ด้วยความตระหนักถึงความส�ำคัญ ของสิ่งแวดล้อมที่จะมีผลกระทบต่อประเทศในระยะยาว โดยบริษัทฯ ได้ริเริ่มเจรจาร่วมทุนกับพันธมิตรในประเทศ เพื่อลงทุนในธุรกิจผลิตกระแส ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ในขณะเดียวกัน บริษัทฯ ยังให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินธุรกิจที่ควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคม โดยได้ให้การ สนับสนุนกิจกรรมด้านสังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ซึ่งเหตุการณ์มหาอุทกภัยในช่วงปลายปี 2554 เป็นตัวอย่างที่ เป็นรูปธรรมของเจตนารมณ์ดังกล่าว โดยบริษัทฯ ยืนหยัดในการผลิตน�้ำประปา และให้บริการแก่ประชาชนอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง ด้วยความ ตระหนักถึงความจ�ำเป็นที่ประชาชนต้องมีน�้ำที่สะอาดและมีคุณภาพดีส�ำหรับการอุปโภคบริโภค ส�ำหรับทิศทางของธุรกิจของกลุ่มบริษัทในปี 2555 บริษัทฯ คาดว่าจะมีรายได้เติบโตเพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 15 ของปีที่ผ่านมา และคาดว่าก�ำไรในปี 2555 จะเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้นเช่นกัน เนื่องจากบริษัทฯ ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์มหาอุทกภัยเพียงเล็กน้อย ในนามของคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ผมขอขอบคุณท่านที่ให้ความเชื่อมั่นต่อบริษัทฯ มาโดยตลอดและบริษัทฯ ขอให้ทุก ท่านมีความมั่นใจว่า บริษัทฯ จะเติบโตและก้าวหน้าไปอย่างยั่งยืน และมีความสามารถในการสร้างผลตอบแทนที่ดีต่อผู้ถือหุ้นทุกๆ ท่านในระยะยาว

(ดร. ทนง พิทยะ) ประธานกรรมการบริษัท

รายงานประจ�ำปี 2554

17


รายงาน คณะกรรมการตรวจสอบ เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการอิสระผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านต่างๆ 3 ท่าน โดยมีนายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายไพรัช เมฆอาภรณ์ และนายสมนึก ชัยเดชสุริยะ เป็นคณะ กรรมการตรวจสอบ และมีหัวหน้าแผนกตรวจสอบภายใน ท�ำหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจ�ำปี 2554

18


คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติงานภายใต้ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทอย่างรอบคอบ ด้วยความรู้ความสามารถ และความเป็นอิสระโดยไม่มีข้อจ�ำกัดในการได้รับข้อมูล ซึ่งสอดคล้องกับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในรอบปี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 8 ครั้ง ซึ่งได้รวมถึงการประชุมร่วมกับผู้บริหารของ บริษัท ผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบภายใน โดยกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมครบทั้ง 3 ท่าน ทุกครั้ง ทั้งนี้ สรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้

1. สอบทานความถูกต้องน่าเชื่อถือของงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจ�ำปี 2554

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจ�ำปี 2554 ร่วมกับผู้บริหารและผู้สอบบัญชี เพื่อให้มั่นใจว่างบการเงินมีความถูกต้องในสาระส�ำคัญ และเชื่อถือได้ ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป และมีการเปิดเผยข้อมูล อย่างเพียงพอ ครบถ้วน

2. สอบทานงานตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบสอบทานงานตรวจสอบภายใน เพื่อประเมินประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในที่จะช่วยส่งเสริมให้การ ด�ำเนินงานบรรลุตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ โดยพิจารณาจากรายงานการตรวจสอบภายในตามแผนงานที่ได้รับอนุมัติซึ่งครอบคลุม ระบบงานที่ส�ำคัญของบริษัท ทั้งนี้ ไม่พบข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ บริษัทมีการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ มีการมอบอ�ำนาจและ อนุมัติให้ด�ำเนินงานอย่างมีขั้นตอนตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ เป็นไปตามระบบการควบคุมภายในที่ดี และมีการก�ำกับดูแลกิจการที่มี ความโปร่งใส

3. สอบทานและให้ความเห็นต่อรายการที่เกี่ยวโยงกัน

คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาการเปิดเผยข้อมูลในกรณีทเี่ กิดรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน การเข้าท�ำรายการของบริษทั ฯ มีความสมเหตุสมผล มีความโปร่งใส และมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง โดยเป็นไปตามตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ขจัดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์อย่างรอบคอบ

4. การปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

บริษัทมีหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส และปฏิบัติโดยเป็นไปตามกฏหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ

5. พิจารณาและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแต่งตั้งให้คุณศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3844 และ/หรือ คุณศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3930 และ/หรือ คุณกฤษฎา เลิศวนา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4958 แห่งบริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทประจ�ำปี 2554 โดยค�ำนึงถึงความน่าเชื่อถือ และปฏิบัติหน้าที่เป็นไปตาม มาตรฐานการประกอบวิชาชีพการสอบบัญชี โดยก�ำหนดค่าสอบบัญชีเป็นจ�ำนวนเงินไม่เกิน 1,195,000 บาท คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีค่ รบถ้วนตามทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั และมีความเห็นว่าบริษทั ฯ มีการรายงานข้อมูลทางการเงิน และด�ำเนินงานอย่างถูกต้อง มีระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อก�ำหนดและระเบียบข้อบังคับต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง มีการเปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันอย่างถูกต้อง และมีการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับระบบการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างเพียงพอ โปร่งใส และเชื่อถือได้

(นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจ�ำปี 2554

19


วิสย ั ทัศน์ เป็นบริษัทชั้นน�ำของประเทศในการด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับน�้ำ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม

รายงานประจ�ำปี 2554

20

พันธกิจ

คุณค่าองค์กร

เติบโตอย่างมั่นคง ต่อเนื่อง และยั่งยืน เพื่อบรรลุซึ่งวิสัยทัศน์ บนพื้นฐานของความสมดุลระหว่างลูกค้า พนักงาน คู่ค้า ผู้ถือหุ้น ชุมชน และสิ่งแวดล้อม

ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ บ รรลุ วิ สั ย ทั ศ น์ และพั น ธกิ จ บนพื้ น ฐานของความ พึงพอใจและผลประโยชน์สูงสุดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียด้วยการ - พัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง - ท�ำงานเชิงรุกด้วยความคิดริเริ่ม และ - ท�ำงานเป็นทีม


โครงสร้างรายได้ ในปี 2550 บริษัทฯ ลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด ในอัตราร้อยละ 98 ของทุนช�ำระแล้ว และในเดือนสิงหาคม 2552 บริษัทฯ ซื้อสิทธิในการบริหารจัดการน�้ำประปาและน�้ำเสียในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ดังนั้น รายได้หลักของบริษัทฯ และบริษัทย่อยประกอบด้วย 1) รายได้จากการขายน�้ำประปาในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครปฐม รายได้จากการขายน�้ำประปาและรายได้จากการให้บริการบ�ำบัดน�้ำ เสียในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน 2) รายได้จากการขายน�้ำประปาในพื้นที่รังสิต และพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ซึ่งแสดงได้ดังนี้ ปี 2554 (ล้านบาท) %

ปี 2553 (ล้านบาท) %

ปี 2552 (ล้านบาท) %

ขายและบริการ – บริษัทฯ

3,017

67

2,968

68

2,659

66

ขายน�้ำประปา – ประปาปทุมธานี

1,473

33

1,378

32

1,347

34

รวมรายได้

4,490

100

4,346

100

4,006

100

21

รายงานประจ�ำปี 2554

รายการ


ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน

ÊÔ¹·ÃѾÂà ÇÁ (˹‹Ç : ŌҹºÒ·)

(˹‹Ç : ŌҹºÒ·) §º¡ÒÃà§Ô¹ÃÇÁ ÃÒ¡Òà สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน ขายและบริการ รายไดรวม ตนทุนขายและบริการ คาใชจายบริหารและ คาตอบแทนผูบริหาร

2554

21,728

ÊÓËÃѺ»‚ÊÔé¹ÊØ´Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2554

2553

2552

21,728

21,488

21,064

11,537 12,005

12,370

10,192

9,484

8,695

4,546

4,395

4,048

4,635

4,420

4,067

1,323

1,294

1,199

222

197

208

2552

2553

21,064

21,488

ÃÒÂä´ŒÃÇÁ (˹‹Ç : ŌҹºÒ·)

5000

4,635

4,420 4,067

3750

2500

1250

รายงานประจ�ำปี 2554

22

0 2554

2553

2552


ÍѵÃÒ ¡ÓäâÑé¹µŒ¹/ ÍѵÃÒ¡ÓäÃÊØ·¸Ô (%)

»‚

52

ÍѵÃÒ¡ÓäâÑé¹µŒ¹ (%) 70.39

46.74

39.18

25 %

2554

2553

2552 39.18%

45.62

0%

70.39%

ÍѵÃÒ¡ÓäÃÊØ·¸Ô (%)

45.62%

69.83

70.93%

70.93

46.74%

53

69.83%

54

50 % 75 %

ÍѵÃÒ¡ÓäâÑé¹µŒ¹

ÍѵÃÒ¡ÓäÃÊØ·¸Ô

¡ÓäâÑé¹µŒ¹/¡ÓäÃÊØ·¸Ô¢Í§ºÃÔÉÑ·Ï (˹‹Ç : ŌҹºÒ·)

3,223 3,101 3,000 2,500

¡ÓäâÑé¹µŒ¹

2,063

2,850

2,063

1,594

1,500 1,000 500

1,594

0

2552

2553

2554

23 ¡ÓäâÑé¹µŒ¹

¡ÓäÃÊØ·¸Ô

รายงานประจ�ำปี 2554

3,101

¡ÓäÃÊØ·¸Ô¢Í§ºÃÔÉÑ· 2,113

2,113

2,000

(˹‹Ç : ŌҹºÒ·)

3,223

2,850


ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน

รายการ

งบการเงินรวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 2552

(หน่วย : ล้านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 2552

สินทรัพย์รวม

21,728

21,488

21,064

21,348

21,167

20,868

หนี้สินรวม

11,537

12,005

12,370

11,395

11,876

12,260

ส่วนของผู้ถือหุ้น

10,192

9,484

8,695

9,954

9,291

8,608

ขายและบริการ

4,546

4,395

4,048

3,017

2,968

2,659

รายได้รวม

4,635

4,420

4,067

3,746

3,554

2,991

ต้นทุนขายและบริการ

1,323

1,294

1,199

748

762

683

222

197

208

167

135

147

ก�ำไรขั้นต้น

3,223

3,101

2,850

2,269

2,206

1,976

ก�ำไรสุทธิของบริษัทฯ

2,113

2,063

1,594

2,063

1,959

1,485

มูลค่าหุ้นตามบัญชี (บาท/หุ้น)

2.55

2.38

2.18

2.49

2.33

2.16

ก�ำไรสุทธิต่อหุ้น (บาท/หุ้น)

0.53

0.52

0.40

0.52

0.49

0.37

ค่าใช้จ่ายบริหารและค่าตอบแทนผู้บริหาร

อัตราส่วนทางการเงิน รายการ

งบการเงินรวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 2552

อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหาก�ำไร อัตราก�ำไรขั้นต้น (%)

70.93

69.83

70.39

74.97

73.11

74.33

อัตราก�ำไรสุทธิ (%)

45.62

46.74

39.18

55.06

55.11

49.67

อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (%)

21.60

22.70

18.77

21.40

21.89

17.51

อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (%)

9.80

9.70

8.18

9.70

9.32

8.39

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%)

20.3

19.12

16.03

15.62

16.54

18.99

อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (เท่า)

1.13

1.27

1.42

1.14

1.28

1.42

อัตราส่วนความสามารถช�ำระดอกเบีย้ (เท่า)

7.12

7.60

5.63

6.10

5.32

5.36

Net Debt / EBITDA (เท่า)

1.80

2.39

2.52

2.23

2.82

3.50

66.07

61.84

77.61

67.67

64.21

83.27

อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน

อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน

อัตราการจ่ายเงินปันผล (%)

รายงานประจ�ำปี 2554

24


รายงานและการวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน วิเคราะห์รายได้จากการขายน�้ำประปา (หน่วย : ล้านบาท)

รายได้

ปี 2554

ปี 2553

เปลี่ยนแปลง

ร้อยละ

น�้ำประปา – บริษัทฯ

2,988.0

2,932.2

55.8

1.9

น�้ำประปา – บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด

1,473.1

1,377.8

95.3

6.9

รวม

4,461.1

4,310.0

151.1

3.5

รายได้จากการขายน�้ำประปา ในปี 2553 และปี 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายได้จากการขายน�้ำประปาเท่ากับ 4,310 ล้านบาท และ 4,461.1 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการ เติบโตเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้าเท่ากับร้อยละ 3.5 รายได้จากการขายน�้ำประปาที่เพิ่มขึ้นสามารถอธิบายได้ดังนี้ ปี 2554 1) รายได้จากการขายน�้ำประปาของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 55.8 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 เนื่องจากราคาขายน�้ำประปาที่ปรับ ขึ้นจากปีก่อนในขณะที่ยอดขายน�้ำประปาใกล้เคียงกับปีที่แล้ว 2) รายได้จากการขายน�้ำประปาของ บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 95.3 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9 เนื่องจากยอด ขายน�้ำประปาของ PTW เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 4.2 ล้านลบ.ม. และ ราคาขายน�้ำประปาของประปาปทุมธานี เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วจ�ำนวน 0.38 บาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5

อัตราค่าน�้ำประปาที่บริษัทฯ และประปาปทุมธานี ขายให้แก่ กปภ. ที่ผ่านมาเป็นดังนี้ ค่าน�้ำประปาของบริษัทฯ

ระยะเวลา

1-300,000 ลบ.ม. แรก (บาท / ลบ.ม.)

ตั้งแต่ 300,001 ลบ.ม. ขึ้นไป (บาท / ลบ.ม.)

ค่าน�้ำประปาของ บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด (บาท / ลบ.ม.)

1 ม.ค. 2552 – 31 ธ.ค. 2552

23.552023

-

11.49

1 ม.ค. 2553 – 31 ม.ค. 2553

24.461331

14.676799/10.75*

10.99

1 ม.ค. 2554 – 31 ม.ค. 2554

25.110952

11.02

11.37

* ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2553 - 31 ธันวาคม 2553

วิเคราะห์ค่าใช้จ่าย (หน่วย : ล้านบาท)

รายได้

ปี 2554

ปี 2553

เปลี่ยนแปลง

ร้อยละ

ต้นทุนขายและบริการ

1,323.0

1,294.0

29.0

2.2

ค่าใช้จ่ายในการบริหารและค่าตอบแทนผู้บริหาร

222.0

197.0

25.0

12.7

และการให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสียตัดจ�ำหน่าย

30.4

36.1

-5.70

-15.8

ค่าใช้จ่ายทางการเงิน

518.0

442.1

75.9

17.2

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

210.9

181.7

29.2

16.1

รวม

2,304.3

2,150.9

153.4

7.1

ค่าสิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา

รายงานประจ�ำปี 2554

25


ต้นทุนขายน�้ำประปาและต้นทุนการบริการ ต้นทุนขายน�้ำประปาและต้นทุนบริการของบริษัทฯ และบริษัทย่อยส่วนใหญ่ประกอบด้วย ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปา ค่าไฟฟ้า ค่าสารเคมี ค่าเช่าที่ดินส�ำหรับแนวท่อ ค่าแรงงาน และวัสดุสิ้นเปลือง ใน ปี 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีต้นทุนขายและต้นทุนบริการเท่ากับ 1,323.0 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้รวมเท่ากับ ร้อยละ 28.5 โดยมี อัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นในปี 2554 เท่ากับร้อยละ 2.2 ซึ่งสามารถอธิบายได้ดังนี้ 1) ยอดขายน�้ำประปาของบริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด เพิ่มขึ้น 4.2 ล้าน ลบ.ม. 2) ค่าใช้จ่ายเกีย่ วกับการป้องกันน�้ำท่วมในปี 2554 เพิ่มขึ้น 11.3 ล้านบาท 3) ค่าเช่าที่ดินส�ำหรับระบบส่งน�้ำประปาเพิ่มขึ้น 3.3 ล้านบาท

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายในการบริหารของบริษัทฯ และบริษัทย่อยใน ปี 2554 เท่ากับ 222.0 ล้านบาท โดยมีอัตราการเติบโตในปี 2554 เมื่อเทียบกับปีก่อนเท่ากับ ร้อยละ 12.7 ซึ่งค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเพิ่มขึ้นเนื่องจากในปี 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการโฆษณาประชาสัมพันธ์ และกิจกรรมการตลาดเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 7.8 ล้านบาทและมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 15.3 ล้านบาท

ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ค่าใช้จ่ายทางการเงินใน ปี 2554 เท่ากับ 518.0 ล้านบาท โดยมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อนเท่ากับร้อยละ 17.2 เนื่องจากในปี 2554 มีอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 1.3 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน ซึ่งในปี 2553 อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 3.76 ใน ขณะที่ปี 2554 อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 5.06

ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 29.2 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.1 เนื่องจากผลการด�ำเนินงานรวมของบริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด เพิ่มขึ้น และ บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด มีการจ่ายภาษีเงินได้ประจ�ำปี 2551 ตามการประเมินของสรรพากรพื้นที่เพิ่มเติมจ�ำนวน 15.8 ล้านบาท ในปี 2554

ก�ำไรสุทธิ บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีก�ำไรสุทธิในปี 2554 เท่ากับ 2,113.0 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2553 จ�ำนวน 43.1 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 2.4

รายงานและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน (หน่วย : ล้านบาท)

รายได้

31 ธ.ค. 2554

31 ธ.ค. 2553

เปลี่ยนแปลง

ร้อยละ

สินทรัพย์รวม

21,728.3

21,488.3

240.0

1.1

หนี้สินรวม

11,536.6

12,004.7

-468.1

-3.9

ผู้ถือหุ้น

10,191.7

9,483.6

708.1

7.5

วิเคราะห์สินทรัพย์ สินทรัพย์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยส่วนใหญ่ ได้แก่ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาฯ สุทธิ สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาและการให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสียสุทธิ และสิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาสุทธิ

รายงานประจ�ำปี 2554

26

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวม 21,728.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 240.0 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เนื่องจากบริษัทฯ และบริษัทย่อยมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดและเงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้นระหว่างปีจ�ำนวน 949.9 ล้านบาท ในขณะที่อาคาร อุปกรณ์ และสินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาที่ต้องโอน เมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาลดลง 525.5 ล้านบาท


วิเคราะห์หนี้สิน หนี้สินของบริษัทฯ และบริษัทย่อยส่วนใหญ่ ได้แก่ หุ้นกู้ และเงินกู้ยืมระยะยาวและเงินกู้ยืมระยะยาวที่ครบก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนี้สินรวม 11,536.6 ล้านบาท ลดลง 468.1 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เนื่องจากเงินกู้ระยะยาวจากสถาบันการเงินลดลง 236.0 ล้านบาทและเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นๆลดลง 260.2 ล้านบาท ในขณะที่ปี 2554 มี การตั้งหนี้สินส�ำรองผลประโยขน์ระยะยาวของพนักงาน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 12.1 ล้านบาท

วิเคราะห์ส่วนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ มีส่วนผู้ถือหุ้น 10,191.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 708.1 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เนื่องจากในปี 2554 บริษัทฯ มีก�ำไรสุทธิประจ�ำปีจ�ำนวน 2,113 ล้านบาท และจ่ายเงินปันผลจ�ำนวน 1,396.1 ล้านบาท

วิเคราะห์กระแสเงินสด กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ในปี 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงานจ�ำนวน 2,731.0 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนจ�ำนวน 56.9 ล้านบาทหรือ ลดลงร้อยละ 2.0 เนื่องจากในปี 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายดอกเบี้ยและภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ในปี 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนจ�ำนวน (1,194.8) ล้านบาท ลดลงจากปี 2553 เนื่องจากในปี 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรน้อยกว่าปี 2553

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ในปี 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินจ�ำนวน (1,642.9) ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปี 2553 เนื่องจากมีการ จ่ายเงินปันผลเพิ่มขึ้น 120.4 ล้านบาท

ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชีในปี 2554 บริษัทฯ ได้ว่าจ้างบริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ตามมติที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2554 เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2554 โดยค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีได้รับจากบริษัทฯ จ�ำนวน 1,195,000 บาท

รายงานประจ�ำปี 2554

27


รายงานการปฏิบต ั ต ิ ามหลัก การก�ำกับดูแลกิจการทีด ่ ี

นโยบายเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความส�ำคัญต่อการปฏิบัติตามหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ตี ามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยได้มอบหมายให้คณะกรรมการบรรษัทภิบาลท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแล ด้านบรรษัทภิบาล ตลอดจนพิจารณาความเคลื่อนไหวระดับสากล เพื่อเปรียบเทียบกับสิ่งที่ปฏิบัติอยู่และให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุง รวมทั้งได้ก�ำหนดให้เรื่องบรรษัทภิบาลเป็นวาระหนึ่งในการประชุม คณะกรรมการบริษัท นอกจากนี้ยังได้จัดท�ำคู่มือจรรยาบรรณและ จริยธรรมทางธุรกิจเผยแพร่ให้กบั พนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ เพื่อให้พนักงานทุกคนน�ำไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานและได้ เผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ที่ www.thaitap.com

รายงานประจ�ำปี 2554

28

บริษัทฯ เห็นว่าหลักบรรษัทภิบาลและจรรยาบรรณทางธุรกิจเป็น แนวทางบริหารองค์กรทีเ่ ป็นประโยชน์ จึงให้ความส�ำคัญในหลักการ และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบและเป็นธรรมต่อผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น การก�ำหนดอย่างชัดเจนเกี่ยวกับโครงสร้าง องค์ประกอบหน้าที่ความรับผิดชอบ ความเป็นอิสระ และการปฏิบัติ งานของคณะกรรมการบริษัท การเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส มีระบบ การตรวจสอบและการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ความเชือ่ ถือและเพิม่ มูลค่า ให้แก่ผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ ได้เปิดเผยข้อมูลในเรื่องดังกล่าวผ่านช่องทางต่างๆ เช่น ในรายงานประจ�ำปี แบบ 56-1 เว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์และ เว็บไซต์ของบริษัทฯ

นอกจากนี้ ยั ง เปิ ด โอกาสให้ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย สามารถเสนอแนะ ความคิดเห็นผ่ า นทางอีเ มล์ ไ ปยังนัก ลงทุนสัมพันธ์ ข องบริษัทฯ ที่ ir@thaitap.com ซึ่งข้อเสนอแนะต่างๆ จะได้รับการรวบรวมกลั่นกรอง เพื่อรายงานต่อฝ่ายจัดการและคณะกรรมการบริษัท เพื่อทราบและ พิจารณาตามล�ำดับต่อไป

การปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษทั ฯ ให้ผถู้ อื หุน้ ทุกรายได้รบั สิทธิพนื้ ฐานต่างๆ ทัง้ ในฐานะนักลงทุน และในฐานะเจ้าของบริษัทฯ ด้วยวิธีการและมาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับ โดยให้สิทธิในการซื้อ ขาย โอน หลักทรัพย์ที่ตนถืออยู่อย่างเป็นอิสระ การได้รับส่วนแบ่งผลก�ำไรจากบริษัทฯ การเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น การแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมอย่างเป็นอิสระ การร่วมตัดสินใจ ในเรื่องส�ำคัญ เช่น การเลือกตั้งกรรมการ การอนุมัติธุรกรรมที่ส�ำคัญ และมีผลต่อทิศทางในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นทุกคน มีสิทธิออกเสียงตามจ�ำนวนหุ้นที่ถืออยู่ โดยหุ้นแต่ละหุ้นมีสิทธิออก เสียงหนึ่งเสียง และไม่มีหุ้นใดมีสิทธิพิเศษที่เป็นการจ�ำกัดสิทธิของ ผู้ถือหุ้นรายอื่น


นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ ด�ำเนิ น การต่ า งๆ ที่ เ ป็ น การส่ ง เสริ ม การใช้สิทธิของผู้ถือหุ้น ดังนี้ 1. ให้ข้อมูลที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นส�ำหรับผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับ การด�ำเนิ น ธุรกิจอย่างชัดเจน และทันต่อเหตุการณ์ โดยผ่านทางเว็บไซต์ของ บริษัทฯ และผ่านทางตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก รายได้ รั บ ข้ อ มู ล ประกอบวาระการประชุ ม เป็ น การ ล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ยังได้ชี้แจงสิทธิของ ผู้ถือหุ้นในการเข้าประชุมและสิทธิออกเสียงลงมติของผู้ถือหุ้นไว้ อย่างชัดเจนในหนังสือนัดประชุมที่บริษัทฯ จัดส่งให้ 3. ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง ผู้ถือหุ้น สามารถมอบฉันทะให้กรรมการอิสระหรือบุคคลใดๆ เข้าร่วม ประชุมแทนได้โดยใช้หนังสือมอบฉันทะที่ได้จัดส่งไปให้พร้อม หนังสือนัดประชุม ซึ่งเป็นแบบที่ผู้ถือหุ้นสามารถก�ำหนดทิศทาง การออกเสียงลงคะแนนได้ตามที่กระทรวงพาณิชย์ก�ำหนด และ บริษัทฯ ยังได้จัดให้มีอากรแสตมป์ไว้ส�ำหรับผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นที่เข้าประชุมภายหลังจากเปิด การประชุมแล้ว สามารถออกเสียงลงคะแนนได้ในวาระทีอ่ ยูร่ ะหว่าง การพิจารณาและยังไม่ได้มีการลงมติและนับเป็นองค์ประชุม ตั้งแต่วาระที่ได้เข้าประชุมเป็นต้นไป 4. ในวั น ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ได้ จั ด ให้ มี ก ารลงทะเบี ย นโดยใช้ ร ะบบ บาร์โค้ดทีแ่ สดงถึงเลขทะเบียนของผูถ้ อื หุน้ แต่ละราย ทีไ่ ด้จดั พิมพ์ไว้ บนแบบลงทะเบียน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับความสะดวกสบายใน การประชุมและท�ำให้ขั้นตอนการลงทะเบียนเป็นไปอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ในการใช้สิทธิออกเสียงแต่ละวาระได้ใช้วิธีเก็บบัตร ยืนยันลงคะแนนของผู้ถือหุ้น เฉพาะบัตรยืนยันการลงคะแนน เสียงที่ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียง เพื่อค�ำนวณหักออกจากผู้ที่ มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนทั้งหมดและส�ำหรับวิธีการนับคะแนน บริษัทฯ ใช้ระบบ e-voting เป็นเครื่องมือช่วยนับคะแนน เพื่อ ความรวดเร็วสามารถประกาศผลคะแนนได้ทันที หลังจากจบ การพิจารณาแต่ละวาระ โดยเมื่อจบการประชุมผู้ถือหุ้นสามารถ ขอตรวจสอบรายละเอียดได้ 5. ในการประชุมได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็นข้อเสนอ แนะ หรือตั้งค�ำถามในวาระต่างๆ อย่างอิสระก่อนการลงมติใน วาระใดๆ ในการประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้ทราบข้อมูล รายละเอียดในเรื่องดังกล่าวอย่างเพียงพอ 6. ก�ำหนดให้มีวาระเกี่ยวกับค่าตอบแทนของกรรมการเพื่อชี้แจงให้ ผู้ถือหุ้นได้ทราบจ�ำนวนและประเภทของค่าตอบแทนที่กรรมการ แต่ละคนได้รับ โดยแบ่งเป็นเบี้ยประชุมและโบนัสกรรมการบริษัท ซึ่งได้รับการชี้แจงรายละเอียดไว้ในหน้า 67

รายงานประจ�ำปี 2554

29


การปฎิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทฯ พยายามสร้างเครื่องมือที่ช่วยให้เกิดความเท่าเทียมกันกับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือผู้ถือหุ้นส่วนน้อย นักลงทุนสถาบันหรือผู้ถือหุ้น ต่างชาติ ดังนี้

การดูแลการใช้ข้อมูลภายใน คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดมาตราการการป้องกันการใช้ข้อมูล ภายในโดยมิชอบของบุคคลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการและ ผู้บริหารของบริษัทและบริษัทในเครือ รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่ บรรลุนิติภาวะ ดังนี้ 1. ห้ามบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดท�ำงบการเงินบริษทั ฯ ท�ำการซือ้ ขาย หลักทรัพย์ของบริษทั ฯ นับแต่เริม่ จัดเตรียมจนถึงวันสิน้ สุดวันถัดจาก วันที่มีการเปิดเผยงบการเงินดังกล่าวแล้ว 2. ห้ามบุคคลที่เกี่ยวข้องที่รู้และควรรู้ว่าบริษัทฯ จะมีการเผยแพร่ ข้อมูล ซึ่งมีสาระส�ำคัญที่อาจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของ บริษทั ท�ำการซือ้ ขายหลักทรัพย์นบั แต่วนั รู้หรือควรรู้ดงั กล่าว จนถึง วันสิน้ สุดวันถัดจากวันทีไ่ ด้ท�ำการเปิดเผยและเผยแพร่ขอ้ มูลดังกล่าว

บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ก�ำกั บ ดู แ ลให้ มี ร ะบบการบริ ห าร จัดการที่เชื่อมั่นได้ว่าสามารถรับรู้สิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย ต่างๆ ตามที่ได้ก�ำหนดแนวทางไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่าง ชั ด เจนในหลั ก การก�ำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละจรรยาบรรณ รวมทั้งดูแลให้มั่นใจได้ว่าสิทธิดังกล่าวได้รับการปฏิบัติด้วย ความเสมอภาค ทั้งผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า และผู้มีความ สัมพันธ์ทางธุรกิจ ดังนี้

ผู้ถือหุ้น

นอกจากสิ ท ธิ ขั้ น พื้ น ฐานสิ ท ธิ ที่ ก�ำหนดไว้ ต าม กฎหมาย เช่น สิทธิในการเข้าประชุมผู้ถือหุ้น และออกเสี ย งลงคะแนนสิ ท ธิ ที่ จ ะได้ รั บ ผลตอบแทนอย่ า งเป็ น ธรรมแล้ ว ยั ง ให้ สิ ท ธิ ผู้ถือหุ้นในการเสนอแนะข้อคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ การด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ โดยทุกๆ ข้อคิดเห็น จะได้รับการรวบรวมเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทพิจารณาต่อไป

การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดนโยบายและการด�ำเนินการต่างๆ ดังนี้ 1. โครงสร้างการถือหุ้นที่ชัดเจน โปร่งใส ไม่มีการถือหุ้นไขว้กับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จึงไม่ท�ำให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้แก่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งโดยได้เปิดเผยโครงสร้างการถือหุ้นของ บริษัทฯ และบริษัทย่อยไว้ในรายงานประจ�ำปีรวมถึงการเปิดเผย การถือหลักทรัพย์ของคณะกรรมการบริษัทอย่างครบถ้วน 2. แบ่ ง แยกหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบอย่ า งชั ด เจนระหว่ า ง คณะกรรมการบริษทั ฝ่ายบริหารและผูถ้ อื หุน้ จึงท�ำให้ปราศจาก การก้าวก่ายหน้าที่ความรับผิดชอบ ในกรณีที่กรรมการบริษัทหรือ ผู้บริหารคนใดคนหนึ่งมีส่วนได้เสียกับผลประโยชน์ในเรื่องที่ก�ำลัง พิจารณา ผู้มีส่วนได้เสียนั้นก็จะไม่เข้าร่วมประชุมหรืองดออกเสียง เพื่อให้การตัดสินใจของคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารเป็นไป อย่างยุติธรรม เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้น 3. การก�ำหนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและการใช้ข้อมูล ภายในไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีบทก�ำหนดโทษ กรณีที่ ผู้บริหารหรือพนักงานน�ำข้อมูลภายในไปเปิดเผยต่อสาธารณะ หรือน�ำไปใช้ประโยชน์ส่วนตน

รายงานประจ�ำปี 2554

30

พนักงาน บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับพนักงานโดยถือว่า เป็นทรัพยากรที่มีค่าและมุ่งมั่นที่จะให้พนักงาน มีความภาคภูมิใจและเชื่อมั่นในองค์กร ในปีที่ ผ่านมาบริษัทฯ ได้ด�ำเนินการโครงการต่างๆ เพื่ อ สนั บ สนุ น และเสริ ม สร้ า งบรรยากาศ การท�ำงานร่วมกันและเพือ่ เสริมศักยภาพของพนักงาน นอกจากนี้ ยังให้ความส�ำคัญกับการรักษาสุขภาพ ความปลอดภั ย สภาพแวดล้ อ มในการท�ำงาน ตลอดจนค่าตอบแทนพนักงาน รวมถึงการพัฒนา บุคคลากรทุกระดับตั้งแต่ระดับต้นถึงระดับสูง เพือ่ เตรียมความพร้อมในการเติบโตในหน้าทีก่ ารงาน

ลูกค้า บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะให้ลกู ค้าได้รบั ประโยชน์สูงสุด ในด้านคุณภาพและความเพียงพอ ต่อเนื่อง ตลอดจนมุ่งรักษาสัมพันธภาพอันดี รวมทั้งจัดให้ มีการสนับสนุนในด้านต่างๆ เพื่อให้ลูกค้าได้รับ ความพึงพอใจสูงสุด


การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส

บริษัทฯ ปฏิบัติตามกรอบการแข่งขันทางการค้า ที่สุจริต โดยยืดถือการปฏิบัติตามสัญญาและ จรรยาบรรณ

เจ้ําหนี้ บริ ษั ท ฯ ได้ ป ฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไขการกู ้ ยื ม เงิ น ตามข้อตกลงและหน้าที่ที่พึงมีต่อเจ้าหนี้

ด้านสังคม บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมต่อผู้มีส่วน เกี่ยวข้องทุกฝ่าย โดยมุ่งสนับสนุนกิจกรรมเพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างประโยชน์ต่อชุมชน และสังคมทีบ่ ริษทั ฯ เข้าไปด�ำเนินธุรกิจ นอกจากนี้ ยังส่งเสริมให้พนักงานมีสว่ นร่วมในการปฏิบตั ติ น ให้เป็นประโยชน์กับชุมชนและสังคม โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในปลายปี 2554 ได้เกิดวิกฤตอุทกภัย ครั้ง ใหญ่ ในภาคกลาง และบริษัท ฯ ซึ่ง ตั้งอยู ่ ในพื้นที่วิกฤตได้ด�ำเนินการช่วยเหลือด้านอาหาร และน�้ำเพื่ออุปโภคบริโภคแก่ผู้ประสบภัยในพื้นที่ รอบๆ ที่ตั้งของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่องจนกระทั่ง เหตุการณ์เข้าสู่ปกติ

ด้านสิ่งแวดล้อม บริ ษั ท ฯ มี น โยบายในการด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ ที่ ให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาสิ่งแวดล้อม ชุมชน และสั ง คมควบคู ่ กั น ไปนั บ ตั้ ง แต่ ก ารออกแบบ กระบวนการผลิ ต เทคโนโลยี ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิง่ แวดล้อมโดยการด�ำเนินธุรกิจจะไม่สง่ ผลกระทบ กับชุมชนและมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ รวมทั้งเสริมสร้างความรู้ ปลูกจิตส�ำนึกตลอดจน ส่งเสริมให้พนักงาน และผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง มีสว่ นร่วม ในการรักษาสิ่งแวดล้อม

1. เปิดเผยข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงินอย่าง ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา 2. จัดท�ำรายงานความรับ ผิดชอบของคณะกรรมการต่ อ รายงาน ทางการเงิ น และแสดงไว้ คู ่ กั บ รายงานผู ้ ส อบบั ญ ชี ใ นรายงาน ประจ�ำปี 3. ก�ำหนดให้กรรมการและผู้บริหารต้องรายงานการมีส่วนได้เสีย ของตนและบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ให้ทราบ ผ่านเลขานุการบริษัท เพื่อท�ำการเก็บรักษาและรวบรวมเสนอให้ ประธานกรรมการบริษัท และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ทราบภายใน 7 วันท�ำการนับแต่วันที่บริษัทฯ ได้รับรายงานนั้น 4. เปิดเผยข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่ในคณะอนุกรรมการและจ�ำนวน ครั้งการเข้าร่วมประชุมเป็นรายบุคคล 5. เปิดเผยโครงสร้างการด�ำเนินงานและการลงทุนในบริษัทลูก 6. เปิดเผยข้อมูลค่าตอบแทนที่กรรมการแต่ละคนได้รับจากการเป็น กรรมการในคณะอนุกรรมการเป็นรายบุคคล นักลงทุนสัมพันธ์ได้ท�ำหน้าทีต่ ดิ ต่อสือ่ สารกับนักลงทุนสถาบันผูถ้ อื หุน้ รวมทั้ ง นั ก วิ เ คราะห์ แ ละหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งอย่ า งเท่ า เที ย มกั น โดยหากผู้ถือหุ้นต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อโดยตรงกับ นักลงทุนสัมพันธ์ ir@thaitap.com ซึ่งในปี 2554 ได้มีการจัดกิจกรรมทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ เพื่อพบปะกับนักลงทุน นักวิเคราะห์ โดย ได้น�ำเสนอผลการด�ำเนินงาน งบการเงิน ฐานะการเงิน แนวโน้มใน อนาคต รวมทั้งการจัด Company Visit ตลอดจน การตอบข้อซักถาม จากนักลงทุน โดยตรงผ่านทางอีเมล์และโทรศัพท์อย่างสม�่ำเสมอ

31

รายงานประจ�ำปี 2554

คู่ค้า

บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญเรื่องการเปิดเผยสารสนเทศ เนื่องจากมี ผลกระทบต่อการตัดสินใจของผูล้ งทุน ซึง่ ได้ด�ำเนินการตามทีก่ ฎหมาย ก�ำหนด โดยมีสาระส�ำคัญครบถ้วน เพียงพอ และทันเวลา และ เปิดเผยข้อมูลสารสนเทศผ่านระบบ SET Community Portal ของตลาดหลักทรัพย์ และเว็บไซต์ของบริษัทฯ ซึ่งบริษัทฯ ยึดถือ ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ข้อบังคับต่างๆ ที่ก�ำหนดโดยส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหน่วยงานอื่นของรัฐ เช่น


กิจกรรมเพือ ่ สังคม คุณภาพชีวต ิ และสิง่ แวดล้อม กิจกรรมเพื่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม

ส�ำหรับปี 2554 บริษัทฯ มุ่งเน้นการสนับสนุนกิจกรรมเพื่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม

กิจกรรมเพือ ่ สังคม

การออกรับค�ำขอใช้น�้ำประปา

ของประชาชนในพืน้ ทีจ่ า่ ยน�ำ้ โดยได้รว่ มกับการประปาส่วนภูมภิ าค

โครงการปรับปรุงระบบประปาภูเขา

ให้กับ หมู่บ้านอรุโณทัย อ�ำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่

การให้การช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยด้วยถุงยังชีพ

อาหาร และได้ จั ด หาน�้ ำ ดื่ ม ที่ ส ะอาด เพื่ อ ให้ ป ระชาชน ที่เดือดร้อนมีน้ำ� เพื่อบริโภคอย่างเพียงพอ

รายงานประจ�ำปี 2554

32


กิจกรรมเพือ ่ ชุมชน

งานวันเด็ก

บริษัทฯ มีการจัดงานเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงเช้าบริษัทฯ ได้ร่วมกับ อบต. บางระก�ำ ณ ลานอเนกประสงค์ โรงเรียนวัดสุขวัฒนาราม และช่วงบ่ายจัดที่โรงผลิตน�้ำประปาบางเลน จังหวัดนครปฐม

การมอบคอมพิวเตอร์โรงเรียน

ให้กับโรงเรียนภูมิวิทยา อ�ำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ

กิจกรรมเพือ ่ สิง่ แวดล้อม ให้กับนักเรียนในพื้นที่ที่ให้บริการในจังหวัดนครปฐมและจังหวัด สมุทรสาคร พร้อมอุปกรณ์การเรียนและอุปกรณ์กีฬา

โครงการ “1 ล้านกล้า สร้างป่าต้นน�้ำ” ซึ่งเป็นโครงการระยะยาว 5 ปี เป็นพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมจากการท�ำเหมืองแร่ในหมู่บ้านอีต่อง ต�ำบลปิล๊อก อ�ำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ในพื้นที่เขต อุทยาแห่งชาติทองผาภูมิ

33

รายงานประจ�ำปี 2554

โครงการมอบทุนการศึกษา


ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) (บริษัทฯ) เป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาให้กับการประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) ในพื้นที่ 2 จังหวัดได้แก่ จังหวัดนครปฐม ประกอบด้วยอ�ำเภอนครชัยศรี อ�ำเภอสามพราน อ�ำเภอพุทธมณฑล และจังหวัด สมุทรสาคร ประกอบด้วยอ�ำเภอเมืองสมุทรสาครและอ�ำเภอกระทุ่มแบน โดยเริ่มผลิตและจ่ายน�้ำประปาให้กับ กปภ. นับตั้งแต่ ปี 2547 เป็นต้นมา ในปี 2554 บริษัทฯ มีก�ำลังการผลิตสูงสุด 440,000 ลูกบาศก์เมตร ต่อวัน และมีปริมาณการรับซือ้ น�ำ้ ขัน้ ต�ำ่ จาก กปภ. 318,000 ลูกบาศก์เมตร ต่อวัน ซึ่งถือเป็น 70% ของก�ำลังการผลิตสูงสุด โดยตลอดทั้งปี 2554 บริษัทฯ มียอดจ�ำหน่ายน�้ำประปาให้กับ กปภ.ทั้งสิ้น 120 ล้าน ลูกบาศก์เมตรและมียอดจ�ำหน่ายน�้ำสะสมนับตั้งแต่จ่ายน�้ำวันแรก จนถึงสิ้นปี 2554 รวมทั้งสิ้น 745 ล้านลูกบาศก์เมตร ในขณะเดียวกัน จากวิสัยทัศน์ที่จะก้าวไปสู่การเป็นบริษัทชั้นน�ำของ ประเทศในการด�ำเนินธุรกิจน�้ำ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม ในปี 2554 บริษัทฯ ได้เข้าลงทุนหุ้นสามัญของบริษัท ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด (CKP) ซึ่งเป็น Holding company ที่ถือหุ้นพลังงานไฟฟ้าอยู่ในโครงการผลิต ไฟฟ้าด้วยพลังงานน�้ำเขื่อนน�้ำงึม 2 ในสัดส่วนร้อยละ 30 ของทุน จดทะเบียน 100 ล้านบาท หรือคิดเป็นจ�ำนวนหุ้น 3 ล้านหุ้น และ ประมาณไตรมาสที่ 1 ปี 2555 CKP มีแผนที่จะจดทะเบียนเพิ่มทุนจาก 100 ล้านบาทเป็น 9,200 ล้านบาท ดังนั้น เพื่อเป็นการรักษาสัดส่วน การถือหุ้นใน CKP ให้คงอยู่ที่ร้อยละ 30 บริษัทฯ จึงจะด�ำเนินการซื้อ หุ้นเพิ่มทุนของ CKP เพิ่มเติมด้วยมูลค่าเงินลงทุน 2,730 ล้านบาท ซึ่งเมื่อรวมกับก่อนหน้านี้แล้วจะเป็นเงินลงทุนทั้งสิ้น 2,760 ล้านบาท ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้รับอนุมัติจากผู้ถือหุ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

รายงานประจ�ำปี 2554

34


แผนผังแสดงพื้นที่จ่ายน�้ำประปา ในจังหวัดนครปฐม-สมุทรสาคร

ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด (ประปาปทุมธานี) เป็นบริษัทย่อยของ บริษัทฯ ประกอบธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาให้กับการประปา ส่วนภูมิภาค (กปภ.) ในพื้นที่ปทุมธานี-รังสิตนับตั้งแต่ปี 2541 เป็นต้นมา ปัจจุบันมีก�ำลังการผลิตสูงสุด 388,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และ มีปริมาณการรับซื้อน�้ำขั้นต�่ำจาก กปภ. 330,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ซึ่งถือเป็น 85% ของก�ำลังการผลิตสูงสุด โดยตลอดทั้งปี 2554 ประปาปทุมธานี มียอดจ�ำหน่ายน�้ำประปาให้กับ กปภ. ทั้งสิ้น 130 ล้านลู ก บาศก์ เ มตรและมี ย อดจ�ำหน่ า ยน�้ ำ สะสมนั บ ตั้ ง แต่ จ ่ า ยน�้ ำ วันแรกจนถึงสิ้นปี 2554 รวมทั้งสิ้น 1,173 ล้านลูกบาศก์เมตร

แผนผังแสดงพื้นที่จ่ายน�้ำประปาในจังหวัดปทุมธานี

ลักษณะการประกอบธุรกิจในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการเข้าซื้อสิทธิในการผลิตน�้ำประปาและบ�ำบัดน�้ำเสียในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน (BIE) จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจากบริษัท ที่ดินบางปะอิน จ�ำกัด เป็นระยะเวลา 30 ปีนับแต่เดือนสิงหาคม 2552 โดยมีก�ำลังการผลิตน�้ำประปา 48,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และมีความ สามารถในการบ�ำบัดน�้ำเสีย 18,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน โดยตลอดทั้งปี 2554 BIE มียอดจ�ำหน่ายน�้ำประปาทั้งสิ้น 5.5 ล้านลูกบาศก์เมตร และ มียอดจ�ำหน่ายน�้ำสะสมนับตั้งแต่วันแรกที่เข้าด�ำเนินกิจการจนถึงสิ้นปี 2554 รวมทั้งสิ้น 14.9 ล้านลูกบาศก์เมตร ทั้งนี้ การด�ำเนินการเข้าซื้อสิทธิใน BIE มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการลดการพึ่งพารายได้จาก กปภ. ซึ่งเป็นลูกค้าเพียงรายเดียวของบริษัทฯ อีกทั้ง เป็นการเพิ่มทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ให้กับบุคลากรของบริษัทฯ ในการที่จะเป็นผู้ให้บริการโดยตรงกับลูกค้า ปูทางไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ที่ ว่า “เป็นบริษัทชั้นน�ำของประเทศในการด�ำเนินธุรกิจน�้ำ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม”

รายงานประจ�ำปี 2554

35


ข้อมูลทั่วไป บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2554

36

เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร Homepage ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน

0107549000114 30/130 หมู่ 12 ถนนพุทธมณฑลสาย 5 ต�ำบลไร่ขิง อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 (+662) 811-7526, (+662) 811-7528, (+662) 811-8369, (+662) 811-7685-6, (+662) 811-8100 (+662) 420-6064 http://www.thaitap.com ผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา ให้แก่การประปาส่วนภูมิภาค 3,990,000,000 บาท

แบ่งเป็นหุ้นสามัญ มูลค่าที่ตราไว้ ทุนช�ำระแล้ว ชื่อย่อหลักทรัพย์ ติดต่อนักลงทุนสัมพันธ์

3,990,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 บาท 3,990,000,000 บาท TTW อีเมลล์ : ir@thaitap.com โทรศัพท์ : (+662) 811-7528 ต่อ 1108


โครงสร้างกลุ่มบริษัทฯ บมจ. น�้ำประปาไทย ทุนจดทะเบียน 3,990 ล้านบาท ทุนที่ช�ำระแล้ว 3,990 ล้านบาท

98% * บจก. ประปาปทุมธานี

68%

30%

ทุนจดทะเบียน 1,200 ล้านบาท ทุนที่ช�ำระแล้ว 1,200 ล้านบาท

32%

บจก. ไทยวอเตอร์ โอเปอร์เรชั่นส์ ทุนจดทะเบียน 60 ล้านบาท ทุนที่ช�ำระแล้ว 60 ล้านบาท

บจก. ซี เค พาวเวอร์ ทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท ทุนที่ช�ำระแล้ว 100 ล้านบาท

37

รายงานประจ�ำปี 2554

หมายเหตุ : *ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 2 ถือโดย การประปาส่วนภูมิภาค


รายชื่อบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด

บริษัท ไทยวอเตอร์ โอเปอร์เรชั่น จ�ำกัด

สถานที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร

43 หมู่ 3 ถนนเชียงรากน้อย -บางไทร ต�ำบลบ้านปทุม อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี 12160 (+662) 979-8530-2 (+662) 979-8533

ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน แบ่งเป็นหุ้นสามัญ มูลค่าที่ตราไว้ ทุนช�ำระแล้ว

ผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา ให้การประปาส่วนภูมิภาค 1,200,000,000 บาท 12,000,000 หุ้น หุ้นละ 100 บาท 1,200,000,000 บาท

สถานที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน แบ่งเป็นหุ้นสามัญ มูลค่าที่ตราไว้ ทุนช�ำระแล้ว

30/10 ม.12 ถนนพุทธมณฑลสาย 5 ต�ำบลไร่ขิง อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 (+662) 811-9504-8 (+662) 811-9509 บริหารและจัดการระบบผลิต และจ่ายน�้ำประปาและระบบ บ�ำบัดน�้ำเสีย 60,000,000 บาท 600,000 หุ้น หุ้นละ 100 บาท 60,000,000 บาท

บริษัท ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด สถานที่ตั้ง โทรศัพท์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน แบ่งเป็นหุ้นสามัญ มูลค่าที่ตราไว้ ทุนช�ำระแล้ว

รายงานประจ�ำปี 2554

38

587 อาคารวิริยะถาวร ชั้น 19 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ (+662) 274-9771 ถือหุน้ ในบริษทั อืน่ ๆ (Holding Company) 100,000,000 บาท 10,000,000 หุ้น หุ้นละ 10 บาท 100,000,000 บาท


ÊѴʋǹ ¡Òö×ÍËØŒ¹ (%) 0

20

40

บริษัท ช.การช่าง จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท มิตซุย วอเตอร์ โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน)

60

80

ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) RBC DEXIA INVESTOR SERVICES BANK S.A. HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD นายมิน เธียรวร AMERICAN INTERNATIONAL ASSURANCE COMPANY LIMITED-TIGER

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายชื่อกลุ่มผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 ราย ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2554 จ�ำนวนหุ้นที่ถือ

สัดส่วนการถือหุ้น (%)

บริษัท ช.การช่าง จ�ำกัด (มหาชน) 1,198,777,400 30.04% ..................................................................................................................................................................................................................... บริษัท มิตซุย วอเตอร์ โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 1,036,500,000 25.98% ..................................................................................................................................................................................................................... บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) 368,750,000 9.24% ..................................................................................................................................................................................................................... บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด 163,362,405 4.09% ..................................................................................................................................................................................................................... บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) 136,405,500 3.42% ..................................................................................................................................................................................................................... ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) 73,895,000 1.85% ..................................................................................................................................................................................................................... RBC DEXIA INVESTOR SERVICES BANK S.A. 60,623,600 1.52% ..................................................................................................................................................................................................................... HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD 55,468,100 1.39% ..................................................................................................................................................................................................................... นายมิน เธียรวร 53,451,700 1.34% ..................................................................................................................................................................................................................... AMERICAN INTERNATIONAL ASSURANCE COMPANY 40,500,000 1.02% LIMITED-TIGER

39

รายงานประจ�ำปี 2554

รายชื่อผู้ถือหุ้น


โครงสร้างการบริหาร ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2554 โครงสร้างการจัดการของบริษัทมีรายละเอียด ดังนี้

¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ºÃÔÉÑ· ¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ºÃÃÉÑ·ÀÔºÒÅ

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÃÃËÒ áÅСÓ˹´¤‹ÒµÍºá·¹

¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ºÃÔËÒäÇÒÁàÊÕè§

¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ºÃÔËÒÃ

¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà µÃǨÊͺ ¡ÃÃÁ¡Òà ¼ÙŒ¨Ñ´¡ÒÃ

Êӹѡ§Ò¹¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡ÒÃ

á¼¹¡µÃǨÊͺÀÒÂã¹

½†Ò·ÃѾÂҡúؤ¤Å áÅиØáÒÃ

½†Ò»¯ÔºÑµÔ¡ÒÃ

½†Ò¾Ѳ¹Ò¸ÃØ¡Ô¨

คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้ ว ยประธานกรรมการ และ กรรมการ ซึ่งมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คนโดยมี สัดส่วนกรรมการที่มิได้เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด และมีกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 3 คน หรือมีสัดส่วน 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด

รายงานประจ�ำปี 2554

40

โครงสร้างการจัดการของบริษทั ฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการ 6 ชุด คือ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และเจ้าหน้าที่บริหาร โดย คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 4 คน ซึง่ มีคณ ุ สมบัติ ดังนี้

½†Ò¡ÒõÅÒ´

½†ÒÂÊÒÃʹà·È

½†ÒºÑÞªÕáÅСÒÃà§Ô¹

กรรมการมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจ�ำกัด โดยมีว าระในการด�ำรงต�ำแหน่ ง 3 ปี การแต่งตั้งกรรมการต้องมีความโปร่งใส โดยเป็นไปตามข้อบังคับของ บริษัทฯ และตามหลัก เกณฑ์ แ ละกระบวนการที่ก�ำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน โดยเสนอชื่อบุคคล พร้ อ มประวั ติ เ พื่ อ เข้ า รั บ การพิ จ ารณาเป็ น กรรมการผ่ า นคณะ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริษัท พิ จ ารณาน�ำเสนอขอรั บ การอนุ มั ติ แ ต่ ง ตั้ ง จากที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น


คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการ 12 คน ดังนี้ 1. ดร.ทนง พิทยะ 2. นายปลิว ตรีวิศวเวทย์ 3. นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว 4. นายไพรัช เมฆอาภรณ์ 5. นายสมนึก ชัยเดชสุริยะ 6. นายณรงค์ แสงสุริยะ 7. นายประเสริฐ มริตตนะพร 8. นายจุน อะเกตะ 9. นายสุวิช พึ่งเจริญ 10. ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์

ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงและกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน, กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล และกรรมการตรวจสอบ กรรมการและประธานกรรมการบริหาร กรรมการ, กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และกรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการ,กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการ และกรรมการบริหาร กรรมการ และกรรมการบริหาร

11. นายโทโมโนริ ซูซูก ิ 12. นายสมโพธิ ศรีภูม ิ

กรรมการ, กรรมการบริหาร และกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ, กรรมการบริหาร, กรรมการบริหารความเสีย่ งและกรรมการบรรษัทภิบาล

วาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี โดยในการประชุมสามัญประจ�ำปีทุกครั้งให้กรรมการออกจากต�ำแหน่ง 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมด กรรมการ ที่จะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรกและปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทให้ใช้วิธีจับฉลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ ในต�ำแหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจถูกเลือกเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้

อ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ บริษัท

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัท ได้แก่ (1) นายปลิว ตรีวิศวเวทย์ นายณรงค์ แสงสุริยะ นายสมบัติ กิจจาลักษณ์ นายประเสริฐ มริตตนะพร นายสมโพธิ ศรีภูมิ นายสุวิช พึ่งเจริญ โดยกรรมการสองในห้าคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตรา บริษัท หรือ (2) นายปลิว ตรีวิศวเวทย์ นายณรงค์ แสงสุริยะ นาย สมบัติ กิจจาลักษณ์ นายประเสริฐ มริตตนะพร หรือ นายสมโพธิ ศรี ภูมิ หรือ นายสุวิช พึ่งเจริญ คนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อร่วมกับ นาย จุน อะเกตะ หรือ นายโทโมโนริ ซูซูกิ รวมเป็นสองคนและประทับ ตราบริษัท คณะกรรมการมีการก�ำหนดประชุมโดยปกติเป็นประจ�ำทุก 3 เดือน และมีการประชุมพิเศษเพิ่มตามความจ�ำเป็น โดยมีการก�ำหนดวาระ ชัดเจนล่วงหน้า และมีวาระพิจารณาติดตามผลการด�ำเนินงานเป็น ประจ�ำ ส�ำนักงานกรรมการผู้จัดการได้ส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อม ระเบียบวาระการประชุมก่อนการประชุมล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 10 วัน และมีการส่งเอกสารประกอบการประชุมล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน เพื่อให้คณะกรรมการได้มีเวลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วม ประชุม โดยในปี 2554 มีการประชุมทั้งสิ้น 7 ครั้ง

คณะกรรมการบริษัทมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ และการก�ำกับดูแลให้การบริหารจัดการเป็นไปตาม เป้าหมายและแนวทางที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น อยู่ใน กรอบของการมีจริยธรรมที่ดีและค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วน ได้เสียทุกฝ่าย 1) ดูแลและจัดการให้การด�ำเนินการของบริษทั ฯ เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุม ผู ้ ถื อ หุ ้ น และรั ก ษาผลประโยชน์ ข องบริ ษั ท ฯ บนพื้ น ฐาน ของหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี 2) ก�ำหนดนโยบายและทิศทางการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ และก�ำกับ ควบคุ ม ดู แ ลให้ ฝ ่ า ยบริ ห ารด�ำเนิ น การให้ เ ป็ น ตามนโยบายที่ ก�ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กิจการ และความมั่งคั่งสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น 3) ให้ความเห็นชอบวิสัยทัศน์ พันธกิจ คุณค่าขององค์กรที่บริษัทฯ มุ่งหวังและจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจ 4) จัดให้มีและก�ำกับดูแลให้มีการบริหารจัดการตามหลักการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดี 5) พิ จ ารณาอนุ มั ติ ง บประมาณการลงทุ น และงบประมาณใน การด�ำเนินการของบริษทั ฯ ประจ�ำปี รวมทัง้ ดูแลการใช้ทรัพยากรของ บริษัทฯ

41

รายงานประจ�ำปี 2554

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม ผูกพันบริษัท


6) จัดให้มีการรายงานข้อมูลทางการเงิน ข้อมูล และข้อมูลทั่วไป ที่ส�ำคัญต่อผู้ถือหุ้น อย่างครบถ้วน ถูกต้องและเพียงพอและ ยืนยันการตรวจสอบรับรองข้อมูลที่รายงาน 7) จัดให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และมาตรการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม เพียงพอ รวมทัง้ มีการติดตามการด�ำเนินการในเรือ่ งดังกล่าวอย่างสม�ำ่ เสมอ 8) พิจ ารณาก�ำหนดและแยกบทบาทหน้ า ที่แ ละความรับ ผิด ชอบ ระหว่างคณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการ และฝ่ายบริหารอย่างชัดเจน รวมทั้งมีการสื่อสารบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบดังกล่าวต่อคณะกรรมการ คณะกรรมการ บริหารคณะอนุกรรมการ ฝ่ายบริหารและพนักงานของบริษัทฯ อย่างสม�่ำเสมอ 9) ก�ำกับดูแลให้คณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการ และฝ่าย บริหาร ด�ำเนินการตามนโยบายที่ก�ำหนดไว้ 10) พิจารณาประเมินผลงาน ก�ำหนดเงินเดือน ค่าจ้าง สวัสดิการ โบนัส บ�ำเหน็จและผลตอบแทนอื่นๆ รวมทั้งค่าใช้จ่ายและ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกของกรรมการผู้จัดการ รวมถึงก�ำหนดแผน ส�ำรองเกี่ยวกับการสรรหาบุคลากรที่จะด�ำรงต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ ของฝ่ายบริหาร ในกรณีที่ฝ่ายบริหารไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ 11) พิจารณาปรับเปลี่ยนแก้ไขขอบเขตอ�ำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ และบทบาทของคณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการต่าง ๆ และฝ่ายบริหาร ตามความเหมาะสม

คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการ จ�ำนวน 5 คน คือ 1. นายณรงค์ แสงสุริยะ 2. นายสุวิช พึ่งเจริญ 3. ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์ 4. นายโทโมโนริ ซูซูกิ 5. นายสมโพธิ ศรีภูมิ

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ขอบเขตและอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริหาร

รายงานประจ�ำปี 2554

42

1) ก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการให้เป็นไปตาม มติ นโยบาย(policies) และกลยุทธ์ (strategies) ที่ก�ำหนดโดย คณะกรรมการบริษัท ตลอดจนให้ค�ำแนะน�ำและค�ำปรึกษาแก่ กรรมการผู้จัดการ 2) ก�ำกับดูแลการศึกษาความเป็นไปได้ส�ำหรับโครงการใหม่ รวมทั้ง พิจารณาอนุมัติด�ำเนินโครงการต่างๆ ตามที่เห็นสมควรภายใน วงเงินตามข้อ (3) 3) มีอ�ำนาจอนุมัติการเข้าท�ำนิติกรรมใดๆ ซึ่งมีผลผูกพันต่อบริษัทฯ ในวงเงินไม่เกิน 50 (ห้าสิบ) ล้านบาท ทั้งนี้ การอนุมัติดังกล่าว ต้ อ งไม่ เ ป็ น รายการที่มีค วามขัด แย้ ง หรือ มีส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย กั บ บริษัทฯ หรือบริษัทย่อยของบริษัทฯ 4) มีอ�ำนาจพิจารณาอนุมัติ และ/หรือก�ำหนดนโยบายการบริหารงาน การด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ หรือการด�ำเนินการใดๆ อันมีผลผูกพัน ต่อบริษทั ฯ ภายใต้กรอบนโยบายและกลยุทธ์ (policies and strategies) ที่ก�ำหนดโดยคณะกรรมการบริษัท

5) มีอ�ำนาจว่าจ้าง แต่งตั้ง ลงโทษทางวินัย เลิกจ้าง ให้ออกปลด ก�ำหนดเงินเดือน โบนัส สวัสดิการ และผลตอบแทนอื่นๆ รวมทั้งค่าใช้จ่ายและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกของเจ้าหน้าที่หรือ พนักงานของบริษัทฯ ที่มีต�ำแหน่งตั้งแต่ผู้จัดการฝ่ายหรือเทียบ เท่าขึ้นไป แต่ไม่รวมถึงกรรมการผู้จัดการ 6) มีอ�ำนาจแต่งตั้ง ก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ มอบหมายแนวนโยบาย ก�ำกับดูแล ก�ำหนดผลตอบแทน ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าใช้จ่ายและ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับคณะท�ำงานพิเศษเพื่อด�ำเนินงาน เฉพาะเรื่อง รวมถึงอนุมัติข้อเสนอของคณะท�ำงานพิเศษภายใน วงเงินตามข้อ (3) 7) มอี �ำนาจแต่งตัง้ ประธานทีป่ รึกษา ทีป่ รึกษา และ/หรือคณะที่ปรึกษา ของคณะกรรมการบริหารได้ตามความเหมาะสม โดยการก�ำหนด ผลตอบแทน ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าใช้จ่ายและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ของประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษา และ/หรือคณะที่ปรึกษาดังกล่าว ให้เป็นอ�ำนาจของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 8) ด�ำเนินการอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท เป็นครั้งคราว

คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จ�ำนวน 3 คน คือ 1. นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายสมนึก ชัยเดชสุริยะ กรรมการ 3. นายไพรัช เมฆอาภรณ์ กรรมการ

ขอบเขตและอ�ำนาจหน้าทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบ 1) สอบทานให้บริษัทฯ มีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและ เปิดเผยอย่างเพียงพอ 2) สอบทานระบบการควบคุ ม ภายใน (internal control) และการตรวจสอบภายใน (internal audit) ของบริษัทฯ ให้มี ความหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 3) สอบทานการปฏิบตั ขิ องบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และนโยบายที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของบริษัทฯ 4) พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ ในกรณีที่เกิดรายการที่ เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้มีความถูกต้อง ครบถ้วนและทันเวลา 5) พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทน ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อเสนอขอ อนุมัติต่อผู้ถือหุ้น 6) จัดท�ำรายงานการก�ำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษทั ฯ ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 7) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายและด้วย ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ


คณะกรรมการบริษัทมีการแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน เพื่อช่วยในการพิจารณาคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมที่จะด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท กรรมการผู้จัดการ และ ก�ำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วย กรรมการ จ�ำนวน 3 คน คือ 1. นายไพรัช เมฆอาภรณ์ 2. นายประเสริฐ มริตตนะพร 3. นายจุน อะเกตะ

ประธานกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการ

ขอบเขตและอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 1) พิจ ารณาหลัก เกณฑ์ แ ละกระบวนการในการสรรหาบุ ค คลที่ มี คุณสมบัติเหมาะสมเพื่อด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทรวมทั้ง คัดเลือกบุคคลตามกระบวนการสรรหาทีไ่ ด้ก�ำหนดไว้แล้วน�ำเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาแต่งตั้งหรือเพื่อน�ำเสนอ ต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาแต่งตัง้ แล้วแต่กรณีทัง้ นี้ในกระบวนการ พิจารณาคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมข้างต้นนั้น ให้รวม ถึงการเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสามารถเสนอชื่อบุคคลเพื่อ เข้ารับการพิจารณาคัดเลือกได้ด้วย 2) พิจ ารณาหลัก เกณฑ์ แ ละกระบวนการในการสรรหาบุ ค คลที่ มี คุณสมบัตเิ หมาะสมเพื่อด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการ รวมทั้ง ด�ำเนินการสรรหาและคัดเลือกบุคคลตามกระบวนการสรรหาที่ได้ ก�ำหนดไว้แล้วน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาแต่งตัง้ 3) จัดให้มีแผนการสืบทอดงาน (Succession Plan) ส�ำหรับการด�ำรง ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญของฝ่ายบริหาร หรือบุคคลที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะ ได้รับพิจารณาด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารระดับสูง พร้อมกับทบทวน แผนดังกล่าวอย่างสม�่ำเสมอ 4) ก�ำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนส�ำหรับกรรมการ และกรรมการผู้จัดการ 5) พิจารณาเสนอค่าตอบแทนของกรรมการต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้ความเห็นชอบแล้วน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณา อนุมัติ 6) พิจารณาเสนอเงินเดือนและการปรับอัตราเงินเดือน รวมถึงผลตอบแทน อื่นของกรรมการผู้จัดการ แล้วน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ 7) ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ นื่ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริษทั มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล เพื่อช่วย ในการพิจารณานโยบายและแนวทางการปฏิบัติในเรื่องการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีและจริยธรรมทางธุรกิจ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ประกอบด้วยกรรมการ จ�ำนวน 4 คน คือ 1. นายสมนึก ชัยเดชสุริยะ 2. นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว 3. นายไพรัช เมฆอาภรณ์ 4. นายสมโพธิ ศรีภูม ิ

ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ขอบเขตและอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ บรรษัทภิบาล 1) เสนอแนวปฏิบัติด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีต่อคณะกรรมการ บริษัท 2) ก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการต่างๆ และฝ่ายบริหารเพือ่ ให้เป็นไปตามหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี 3) ทบทวนแนวปฏิบัติด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีโดยเปรียบเทียบ กั บ หลั ก การก�ำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องมาตรฐานสากลและของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาปรับปรุงให้ทันสมัยอย่างสม�่ำเสมอ 4) มอบนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีให้คณะท�ำงานการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และรายงานผลการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีต่อคณะกรรมการบริษัท 5) มีอ�ำนาจในการเชิญบุคคลภายนอกที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ เป็นที่ปรึกษาและเข้าร่วมประชุมได้ด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ 6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทมีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่ อ ช่ ว ยในการพิ จ ารณาก�ำหนดนโยบายเกี่ ย วกั บ มาตรการและ แผนการบริหารจัดการความเสี่ยงในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบ ด้วยกรรมการ จ�ำนวน 4 คน คือ 1. นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว 2. นายประเสริฐ มริตตนะพร 3. นายโทโมโนริ ซูซูก ิ 4. นายสมโพธิ ศรีภูม ิ

ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการ กรรมการ กรรมการ

43

รายงานประจ�ำปี 2554

คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน


ขอบเขตและอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง 1) ก�ำหนดนโยบายการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management Policy) โดยรวมของบริษทั ฯ พร้อมทัง้ มอบหมายให้ฝา่ ยบริหารเป็นผูป้ ฏิบตั ิ ตามนโยบายดังกล่าว รวมถึงรายงานผลการปฏิบตั ติ อ่ คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง 2) พัฒนาและทบทวนระบบการจัดการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ ให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีการประเมินผล และติดตามกระบวนการบริหารความเสีย่ งให้สอดคล้องตามนโยบาย ที่ก�ำหนดไว้อย่างสม�่ำเสมอ 3) สนับสนุนผลักดันให้เกิดความร่วมมือในการบริหารความเสี่ยง ทุกระดับของบริษัทฯ 4) จัดให้มีรายงานความเสี่ยงและข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการ บริษัท 5) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

คณะผูบ้ ริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะผู้บริหารของบริษัทฯ ประกอบด้วยผู้บริหารจ�ำนวน 9 คน ดังนี้ 1. นายสมโพธิ ศรีภูมิ 2. นายธนัช ศิริเจริญ 3. นายชัชวาล เทียนประเสริฐกิจ 4. นายสมภล กฤษฎาสิมะ 5. นายศิวา นาคธารีย์ 6. นายสมเกียรติ ปัทมมงคลชัย

กรรมการผู้จัดการ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาด ผูอ้ �ำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสารสนเทศ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชีและ การเงิน 7. นางสาวปทิดา ไชยเสน ผู้อ�ำนวยการฝ่ายทรัพยากร บุคคลและธุรการ 8. นายสหชัย เฮงตระกูล ผูอ้ �ำนวยการประจ�ำส�ำนักงาน กรรมการผู้จัดการ 9. นางสาวสุดารัตน์ เจียมจันทร์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน กรรมการผู้จัดการ

ขอบเขตและอ�ำนาจหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการ

รายงานประจ�ำปี 2554

44

1) มีอ�ำนาจอนุมตั กิ ารท�ำนิตกิ รรมใดๆ ซึง่ มีผลผูกพันบริษทั ฯในวงเงิน ไม่เกิน 5,000,000 บาท (ห้าล้านบาทถ้วน) 2) มีอ�ำนาจในการออก แก้ไข เพิ่มเติม ปรับปรุง ระเบียบ ค�ำสั่ง และข้อบังคับเกี่ยวกับการท�ำงานของบริษัทฯ เช่น การบรรจุ แต่งตัง้ ถอดถอน และวินยั พนักงานและลูกจ้าง การก�ำหนดเงินเดือน และเงินอื่นๆ รวมตลอดถึงการสงเคราะห์และสวัสดิการต่างๆ 3) มีอ�ำนาจที่จะมอบอ�ำนาจให้พนักงานระดับบริหารของบริษัทฯ อันได้แก่ผู้อ�ำนวยการฝ่าย ปฏิบัติหน้าที่แทนกรรมการผู้จัดการ ในเฉพาะเรื่อง (เช่น การสั่งซื้อ การจัดจ้าง การสั่งจ่ายเงิน) ได้ ตามที่เห็นสมควร

4) มี อ�ำนาจแต่ ง ตั้ ง บุ ค คลหรื อ คณะบุ ค คลใดให้ ด�ำเนิ น กิ จ การ ของบริษัทฯ ภายใต้การควบคุมของกรรมการผู้จัดการ หรืออาจ มอบอ�ำนาจเพื่อให้บุคคลดังกล่าวมีอ�ำนาจด�ำเนินการตามที่ กรรมการผู้จัดการเห็นสมควร และมีอ�ำนาจเปลี่ยนแปลง แก้ไข ยกเลิก เพิกถอนอ�ำนาจนั้นๆ ได้ 5) มีอ�ำนาจปรับปรุง โยกย้าย ยุบรวม หรือขยายโครงสร้างองค์กร ในระดับต�่ำกว่าฝ่ายได้ตามความเหมาะสมตราบเท่าที่บริษัทฯ ยังคงมี 7 ฝ่าย และมีจ�ำนวนพนักงานรวมไม่เกิน 116 อัตรา 6) มีอ�ำนาจก�ำหนดอัตราเงินเดือนและผลตอบแทนอื่นๆ รวมทั้ง อัตราค่าใช้จ่ายและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกของผู้จัดการฝ่าย หรือเทียบเท่าขึ้นไป เพื่อน�ำเรียนขอความเห็นชอบจากคณะ กรรมการบริหาร 7) มีอ�ำนาจก�ำหนดโครงสร้างอัตราเงินเดือนและผลตอบแทนของ พนักงานระดับต�่ำกว่าผู้อ�ำนวยการฝ่ายหรือเทียบเท่า ทั้งนี้ อัตรา เงินเดือน (ไม่รวมค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นๆ) ทั้งในข้อ (6) และ (7) รวมกันทัง้ สิน้ ต้องไม่เกินร้อยละ 1 ของรายได้ของบริษทั ฯ 8) มีอ�ำนาจว่าจ้าง แต่งตั้ง ลงโทษทางวินัย เลิกจ้าง ให้ออก ปลด ก�ำหนดเงินเดือน โบนัส สวัสดิการ และผลตอบแทนอืน่ ๆ รวมทั้ ง ค่ า ใช้ จ ่ า ยและสิ่ ง อ�ำนวยความสะดวกของพนั ก งาน บริษัทฯ ที่มีอัตราเงินเดือน (เฉพาะอัตราเงินเดือนโดยไม่รวม ผลประโยชน์อื่นๆ ที่ได้รับ) ไม่เกิน 150,000 บาท/เดือน และ/หรือพนักงานของบริษทั ฯทีม่ ตี �ำแหน่งต�ำ่ กว่าผูอ้ �ำนวยการฝ่าย หรือเทียบเท่า นอกนั้นให้กรรมการผู้จัดการน�ำเรียนขอความ เห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร ทั้งนี้ สามารถมอบอ�ำนาจ ช่ ว งต่ อ การด�ำเนิ น การข้ า งต้ น ทั้ ง หมดหรื อ บางส่ ว นให้ แ ก่ คณะท�ำงาน คณะกรรมการ คณะบริหารงาน คณะบุคคล หรือผู้อ�ำนวยการคนหนึ่งคนใดได้ตามความเหมาะสม 9) มี ห น้ า ที่ ด�ำเนิ น การควบคุ ม ดู แ ลกิ จ การทั้ ง ปวงของบริ ษั ท ฯ ให้เป็นไปตามมติและนโยบายของคณะกรรมการบริษัท 10) มีหน้าที่ในการเสนอขออนุมัติงบดุล งบการเงิน และบัญชีก�ำไร ขาดทุนของบริษัทฯ ต่อคณะกรรมการบริษัท 11) มีหน้ า ที่น�ำเสนอเรื่อ งที่ส�ำคัญ ต่ อ คณะกรรมการบริษัทหรือ ที่ ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติเห็นชอบ หรือเพื่อการอื่นใด ตามความเหมาะสม 12) มีหน้าทีศ่ กึ ษาความเป็นไปได้ส�ำหรับโครงการใหม่ๆ และมีอ�ำนาจ พิจารณาอนุมัติโครงการต่างๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริหาร 13) ในกรณี ก รรมการผู ้ จั ด การไม่ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ไ ด้ ให้กรรมการผู้จัดการแต่งตั้งผู้อ�ำนวยการฝ่ายหรือบุคคลอื่นเป็น ผูร้ กั ษาการเพือ่ ปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทนเป็นครัง้ คราวไป โดยผูร้ กั ษาการ มีอ�ำนาจหน้ า ที่เ ท่ า กับ กรรมการผู้จัดการ 14) ด�ำเนินการอืน่ ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั เป็นครั้งคราว


อย่างไรก็ดี กรรมการผู้จัดการและผู้ที่ได้รับมอบอ�ำนาจจากกรรมการผู้จัดการไม่มีอ�ำนาจในการที่จะอนุมัติเรื่องหรือรายการที่ตนเองหรือบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้ส่วนเสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใด จะเข้าท�ำกับบริษัทฯหรือบริษัทย่อยของบริษัทฯ ตาม ค�ำนิยามของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ในปี 2554 คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อยมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 33 ครั้ง ดังนี้ จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน

7 7 8 6 2 3

ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง

45

รายงานประจ�ำปี 2554

คณะกรรมการบริษัท มีการประชุมตามวาระปกติ คณะกรรมการบริหาร มีการประชุมตามวาระปกติและวาระพิเศษ คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมตามวาระปกติ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีการประชุมตามวาระปกติ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลมีการประชุมตามวาระปกติ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนมีการประชุมตามวาระปกติ


การเข้าร่วมประชุมของกรรมการในปี 2554 สามัญ ผู้ถือหุ้น

วิสามัญ ผู้ถือหุ้น

คณะ กรรมการ บริษัท

คณะ กรรมการ บริหาร

คณะ กรรมการ ตรวจสอบ

คณะ กรรมการ สรรหาและ ก�ำหนด ค่าตอบแทน

คณะ กรรมการ บรรษัท ภิบาล

คณะ กรรมการ บริหาร ความเสี่ยง

1. ดร.ทนง พิทยะ

1/1

1/1

7/7

-

-

-

-

-

2. นายปลิว ตรีวิศวเวทย์

1/1

1/1

7/7

-

-

-

-

-

3. นายณรงค์ แสงสุริยะ

1/1

1/1

7/7

6/7

-

-

-

-

4. นายประเสริฐ มริตตนะพร

1/1

1/1

7/7

-

-

3/3

-

6/6

5. ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์

1/1

1/1

6/7

6/7

-

-

-

-

6. นายสมโพธิ ศรีภูมิ

1/1

1/1

7/7

7/7

-

-

2/2

6/6

7. นายโคอิชิ วาคานะ

1/1

-

3/4

-

-

2/2

-

-

-

1/1

2/3

-

-

-/1

-

-

9. นายโทโมโนริ ซูซูกิ

1/1

1/1

7/7

7/7

-

-

-

6/6

10. นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว

1/1

1/1

7/7

-

8/8

-

2/2

6/6

11. นายไพรัช เมฆอาภรณ์

1/1

1/1

7/7

-

8/8

3/3

1/2

-

12. นายสมนึก ชัยเดชสุริยะ

1/1

1/1

7/7

-

8/8

-

2/2

-

13. นายสุวิช พึ่งเจริญ

1/1

1/1

7/7

7/7

-

-

-

-

รายชื่อคณะกรรมการ

8. นายจุน อะเกตะ

หมายเหตุ นายโคอิชิ วาคานะ ลาออกจากการเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2554 นายจุน อะเกตะ ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2554

การประเมินผลตนเองของคณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริษัท ในการประชุมครั้งที่ 6/2554 เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2554 มีมติรับทราบการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัทประจ�ำ ปี 2554 โดยได้ท�ำการประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ ประกอบด้วย 5 หัวข้อ คือ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนและธุรกิจของบริษัทฯ ความสัมพันธ์กับฝ่ายบริหาร การติดตามการด�ำเนินการของฝ่ายจัดการ การประชุมคณะกรรมการ และผลการด�ำเนินงานของคณะกรรมการ สรุปผลการประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะในภาพรวมเห็นว่าการด�ำเนินการส่วนใหญ่จัดท�ำได้ดี มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 88.4%

รายงานประจ�ำปี 2554

46


บุคคลอ้างอิง

ที่ปรึกษากฏหมาย

บริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2264-0777 0-2661-9190 โทรสาร 0-2264-0789-90 0-2661-9192

สถาบันการเงินที่ติดต่อ

บริษัท เดอะลีจิสท์ จ�ำกัด 990 อาคารอับดุลราฮิม ชั้น 9 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0-2636-1111 โทรสาร 0-2636-0000 ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน)

47

รายงานประจ�ำปี 2554

ผู้สอบบัญชี


นโยบาย การจ่ายเงินปันผล

รายงานประจ�ำปี 2554

48


นโยบายการจ่ายเงินปันผล เพื่อให้การจ่ายเงินปันผลของบริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) มีแนวทางทีช่ ดั เจนกับเพือ่ เป็นการรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จึงก�ำหนดนโยบายการจ่ายเงินปันผลไว้ดังนี้ ในการจ่ายเงินปันผลนั้น บริษัทฯ จะพิจารณาถึงความต้องการใช้ เงินตามเป้าหมายของบริษัทฯ ในระยะเวลา 5 ปีข้างหน้า รวมถึง การรักษาระดับอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนของบริษัทฯ ให้อยู่ในระดับที่ เหมาะสม ทั้งนี้ เพื่อลดความเสี่ยงทางด้านการเงินของบริษัทฯ ที่อาจ จะเกิดขึ้น ในกรณีที่บริษัทฯ เห็นว่าสามารถที่จะจ่ายเงินปันผลได้ บริษัทฯ จะพิจารณาจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น ในอัตราสูงสุดเท่า ที่เงินสดและกระแสเงินสดจะอ�ำนวยเป็นล�ำดับแรก ทั้งนี้ จะไม่น้อย กว่าร้อยละ 50 ของก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคล ส�ำรองตาม กฎหมาย และส�ำรองอื่นๆ ที่ก�ำหนดไว้ในเงื่อนไขของสัญญาต่างๆ

0.35

à§Ô¹»˜¹¼Å (หนวย : บาท/หุน)

0.28 0.20 0.15 0.15 2550 2551 2552 2553 2554

2554 (ครึ่งปีแรก) 2553 เงินปันผล 0.15 0.35

2552 0.28

(หน่วย : บาท/หุ้น)

49

2551 0.20

รายงานประจ�ำปี 2554

(ครึ่งปแรก)

2550 0.15


ปัจจัยความเสีย ่ ง สืบเนือ่ งจากการทีบ่ ริษทั ฯ เป็นผูใ้ ห้บริการด้านสาธารณูปโภค ขัน้ พืน้ ฐาน ดังนัน้ ความส�ำคัญทีบ่ ริษทั ฯต้องตระหนักเป็น อย่ า งยิ่ ง นั้ น คื อ การให้ บ ริ ก ารแบบต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ ให้ ก าร ด�ำเนินธุรกิจเป็นไปอย่างมัน่ คง ซึง่ การบริหารและการควบคุม ความเสีย่ งเป็นองค์ประกอบทีส่ ำ� คัญในการด�ำเนินธุรกิจของ บริษทั ฯ โดยความเสีย่ งต้องอยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้

รายงานประจ�ำปี 2554

50

คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ “คณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง” โดยแต่งตัง้ จากกรรมการบริษทั จ�ำนวน 4 ท่าน โดยมี 1 ท่าน เป็นกรรมการอิสระและปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็นประธานฯ เพือ่ ก�ำหนดนโยบายด้านการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) โดยรวมของบริษทั ฯ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ ”คณะเจ้าหน้าทีบ่ ริหารความเสีย่ ง“ ซึ่งประกอบด้วย

ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ มีหน้าที่ในการวิเคราะห์ประเมิน ปัจจัยความเสีย่ ง ด�ำเนินการบริหารจัดการความเสีย่ งให้เป็น ไปตามนโยบายที่ ค ณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง ได้ให้ความเห็นชอบและจัดท�ำทะเบียนความเสี่ยง รวมถึง การติดตามผลการด�ำเนินงาน ตามแผนบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ควบคุมความเสีย่ งอย่างต่อเนือ่ ง ในปี 2554 บริษัทฯ ได้จัดท�ำทะเบียนความเสี่ยงโดยแยกเป็น 2 ส่วนคื อ 1) ความเสี่ยงในธุรกิจน�้ำประปาที่มีอยู่ในปัจจุบัน 2) ความเสี่ยงในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการท�ำธุรกิจใหม่ (ธุรกิจอื่นๆ ที่นอกเหนือจากธุรกิจน�้ำประปา) โดย ในแต่ละส่วนได้จัดจ�ำแนกความเสี่ยงออกเป็นแต่ละ ประเด็นซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้


1. ความเสี่ยงในธุรกิจน�้ำประปาที่มีอยู่ในปัจจุบัน 1.1 การจ่ายน�้ำประปาที่ผลิตจากโรงผลิตน�้ำโพธาราม บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการศึกษาปริมาณความต้องการใช้น�้ำประปา ตั้งแต่ปี 2554 จนถึง ปี 2564 พบว่าในปี 2558 มีความต้องการ ใช้ น�้ ำ ประปาเฉลี่ ย 420,000 ลบ.ม./วั น และในปี 2564 มีความต้องการใช้น�้ำประปาเฉลี่ย 580,000 ลบ.ม./วัน ซึ่งปัจจุบัน โรงผลิตน�้ำโพธารามมีก�ำลังการผลิตสูงสุด 100,000 ลบ.ม./วัน ในขณะทีโ่ รงผลิตน�ำ้ ของบริษทั ฯ มีก�ำลังการผลิตสูงสุดที่ 440,000 ลบ.ม/วัน จะเห็นได้ว่าการจ่ายน�้ำของโรงผลิตน�้ำโพธาราม มีผลกระทบกับบริษัทฯ ในระยะยาวไม่มากนัก อีกทั้งบริษัทฯ ยังได้จัดท�ำแผนกลยุทธ์การเพิ่มปริมาณการใช้น�้ำประปาของ ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมรายใหญ่ที่มีปริมาณการใช้ น�้ำประปามากในแต่ละเดือน 1.2 การเปลี่ยนแปลงนโยบายภาครัฐเกี่ยวกับน�้ำบาดาล บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการศึกษาความต้องการใช้น�้ำประปาในพื้นที่ ให้บริการในระยะยาว อีกทั้งบริษัทฯ ได้ด�ำเนินการรวบรวม ข้อมูลของผู้ประกอบการที่เป็นผู้ใช้น้ำ� 2 ระบบ เพื่อศึกษาและ วิเคราะห์ผลกระทบต่อปริมาณการใช้น�้ำประปาที่ลดลง หรือ สัดส่วนการใช้น้ำ� ประปาต่อน�้ำบาดาลในกรณีที่มีการลด หรือ ยกเลิกค่าอนุรักษ์น�้ำบาดาล 1.3 เทคโนโลยีที่ใช้ในการบ�ำบัดน�้ำเสีย และปรับคุณภาพน�้ำ ปั จ จุ บั น นี้ ผู ้ ป ระกอบการหลายแห่ ง มี ค วามสนใจที่ จ ะน�ำ เทคโนโลยีที่ใช้ในการบ�ำบัดน�้ำเสีย และปรับคุณภาพน�้ำ โดย น�ำน�้ ำ ที่ ใ ช้ แ ล้ ว น�ำกลั บ มาใช้ ใ หม่ เ พื่ อ ลดปริ ม าณการใช้ น�้ำประปา อีกทั้งยังเป็นการลดต้นทุนการผลิต บริษัทฯ จึงได้ ทบทวนต้นทุนการผลิตน�้ำประปาจากน�้ำเสีย และติดตาม แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีเมมแบรนในประเทศไทย 1.4 คุณภาพ และปริมาณน�้ำดิบไม่เพียงพอต่อการผลิต บริ ษั ท มี ก ระบวนการตรวจสอบและติ ด ตามปริ ม าณน�้ ำ ดิ บ ในเขื่อน และประตูน�้ำที่เกี่ยวข้อง มีขั้นตอนในการตรวจสอบ คุณภาพน�้ำดิบก่อนเข้าสู่กระบวนการผลิต อีกทั้งเฝ้าระวังเรื่อง การตกค้างของสารเคมีจากยาฆ่าแมลง โดยการส่งน�้ำไปตรวจ ที่ห้องปฏิบัติการภายนอก 1.5 ผลกระทบต่อการปรับขึน้ ราคาน�ำ้ มันต่อสารเคมีทใี่ ช้ในการผลิต

ขยายโรงกรองน�้ ำ แห่ ง ที่ ส องให้ ค รอบคลุ ม กั บ กั บ ปริ ม าณ ความต้องการใช้น้ำ� โดยโรงกรองน�้ำแห่งที่สองจะอยู่ในพื้นที่ ที่มีความต้องการใช้น�้ำ ซึ่งเป็นการลดต้นทุนการด�ำเนินการ จะท�ำให้ต้นทุนต่อหน่วยในการผลิตน�้ำ และราคาที่เสนอขาย ต่อการประปาส่วนภูมิภาคลดลง

2. ความเสีย่ งในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการท�ำธุรกิจใหม่ (ธุรกิจอื่นๆ ที่นอกเหนือจากธุรกิจน�้ำประปา) 2.1 ศักยภาพของบุคลากรไม่รองรับต่อการขยายธุรกิจ บริษทั ฯ ด�ำเนินการจัดท�ำกรอบการพัฒนาบุคคลากรทีส่ อดคล้อง กับทิศทางของบริษัทฯ โดยใช้ Individual Development Plan (IDP) เป็นเครื่องมือในการพัฒนาอบรมในห้องเรียน และวิธีการ พัฒนาอื่นๆ เช่น การมอบหมายโครงการ การเพิ่มคุณค่าในงาน และการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ 2.2 การเลือกผู้ร่วมธุรกิจผิดพลาด บริษัท ได้ท�ำการศึกษาประวัติ และผลประกอบการในอดีตของ ผู้ร่วมธุรกิจ และให้ที่ปรึกษาด้านการลงทุนกลั่นกรองคุณสมบัติ ตามที่ก�ำหนด มีการเข้าพบเพื่อท�ำความเข้าใจในผู้ร่วมธุรกิจ และใช้การติดต่อประสานงาน เพื่อประเมินความสัมพันธ์ใน การปฏิบัติงานร่วมกัน และบริษัทได้มีการพัฒนาหลักเกณฑ์ใน การคัดเลือกผู้ร่วมธุรกิจให้ชัดเจนยิ่งขึ้น 2.3 ขาดความพร้อมในการจัดหาทรัพยากร และปัจจัยอืน่ ๆ ทีส่ �ำคัญ บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการศึกษาและรวบรวมข้อมูลธุรกิจ เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้อง ต้นทุน และความเป็นไปได้ทางธุรกิจเบื้องต้น เพื่อ ให้มีข้อมูลเพียงพอในการยื่นข้อเสนอโครงการ นอกจากความเสี่ยงหลักที่ได้ท�ำการขึ้นทะเบียนไว้ ยังต้อง พิจารณาถึงเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นใหม่ๆ ไม่จ�ำกัดเฉพาะความ เสี่ยงที่เป็นความเสียหาย แต่ยังรวมถึงปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ที่ บ่งชี้โอกาสเกิดความเสี่ยงกับบริษัทฯ ภายใต้สถานการณ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยกระบวนการบริหารความเสี่ยงจะต้องได้ รับการออกแบบให้สามารถบ่งชี้เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นและมี ผลกระทบต่อองค์กร ตลอดจนสามารถจัดการความเสี่ยงให้อยู่ ในระดับที่องค์กรยอมรับ เพื่อให้เกิดความมั่นใจอย่างสมเหตุ สมผลในการบรรลุวัตถุประสงค์ที่องค์กรก�ำหนด

บริษัทฯ ได้มีการท�ำสัญญาซื้อขายสารเคมีเป็นรายปี ส�ำหรับ สารเคมีหลักที่ใช้ในกระบวนการผลิต คือ สารส้ม และคลอรีน อีกทั้งมีการจัดหาผู้จ�ำหน่ายสารเคมีอันดับรองส�ำรองไว้ในกรณี ที่มีความจ�ำเป็น 1.6 การยกเลิกสัญญาหรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในสัญญา

51

รายงานประจ�ำปี 2554

บริษัทฯ ได้รักษามาตรฐานในการผลิตน�้ำประปาที่มีคุณภาพที่ สะอาด มีปริมาณน�ำ้ ทีเ่ พียงพอต่อความต้องการ และมีแรงดันน�ำ้ ต่อเนือ่ งตามเกณฑ์มาตรฐานทีก่ �ำหนดไว้ในสัญญา และสัญญา ระหว่างบริษทั กับการประปาส่วนภูมภิ าค มีความชัดเจนและ ครบถ้วนอย่ า งเพียงพอตามกระบวนการกฎหมาย บริษัท มีกระบวนการสือ่ สารสูภ่ ายนอกองค์กร ในเรือ่ งของสัญญาดังกล่าว และในระยะยาว บริ ษั ท ได้ ท�ำการศึ ก ษาและมี แ ผนการ


การควบคุมภายใน

คณะกรรมการบริษัท ได้ให้ความส�ำคัญต่อระบบการควบคุมภายใน อย่างต่อเนื่อง โดยมอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบ ด้วยกรรมการอิสระ สอบทานและประเมินระบบการควบคุมภายใน โดยมีบริษัท สอบบัญชีธรรมนิติ จ�ำกัด ซึ่งได้รับมอบภารกิจให้ปฏิบัติ งานเป็นผู้ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ โดยท�ำหน้าที่ร่วมกับแผนก ตรวจสอบภายในของบริษทั ฯ รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ท�ำหน้าที่สอบทานการปฏิบัติงานในฝ่ายต่างๆ ของบริษัทฯ และบริษัท ในเครือทั้งหมด ตามแผนการตรวจสอบประจ�ำปีที่ได้รับอนุมัติจาก คณะกรรมการตรวจสอบ โดยมุ่งเน้นการตรวจสอบให้ครอบคลุมทุก หน่วยงานขององค์กร ความเพียงพอ และความมีประสิทธิผลของ ระบบการควบคุมภายในของการบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัทฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าการบริหารงานของฝ่าย จัดการเป็นไปอย่างดี มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล รวมถึง มีการควบคุมการด�ำเนินงาน การรายงานทางการเงินที่มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ รวมทั้งมีการปฏิบัติตามนโยบาย นอกจากนี้คณะกรรมการ ตรวจสอบยั ง มี ห น้ า ที่ ใ นการพิ จ ารณาคั ด เลื อ กและเสนอแต่ ง ตั้ ง ผู้สอบบัญชี รวมถึงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี พิจารณาการเปิดเผย ข้อมูลของบริษัทฯ ให้มีความถูกต้องครบถ้วนในกรณีที่เกิดรายการ เกี่ยวโยงหรือรายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์

ในรอบปี 2554 บริษทั ฯ ได้ด�ำเนินการตรวจสอบภายในตามแนวปฏิบตั ิ แห่งมาตราฐานวิชาชีพการตรวจสอบภายในที่ยอมรับได้ทั่วไป ภายใต้ ความเห็นจากเหตุการณ์ที่ประเมินได้ว่า อาจมีผลกระทบต่อความ สามารถในการบรรลุวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ โดยอาศัยการพิจารณา จากข้อมูลการประเมินความเสี่ยงระดับองค์กร ของบริษัทฯ รวมทั้ง บริษัทในเครือ จ�ำนวนทั้งสิ้น 6 ครั้ง สรุปความเห็นได้ว่าบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอและเหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจ รายงานทางการเงินของบริษทั ฯ ได้จดั ท�ำขึน้ ตามหลักการบัญชีทรี่ บั รอง โดยทั่วไป โดยมีบริษัท ส�ำนักงานเอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด เป็นผู้สอบ บัญชีของบริษัทฯ ได้ด�ำเนินการสอบทานงบการเงินของบริษัทฯ และ บริษัทในเครือทั้งหมด การเปิดเผยข้อมูลในรายงานทางการเงินมี ความถูกต้อง เชื่อถือได้ การด�ำเนินธุรกิจของบริษัทได้ปฏิบัติตาม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอื่นที่ เกี่ยวข้องครบถ้วน

รายงานประจ�ำปี 2554

52


รายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2554

7. นายประเสริฐ มริตตนะพร / กรรมการ กรรมการบริหาร ความเสี่ยง และกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 8. นายสุวิช พ่ึ่งเจริญ / กรรมการและกรรมการบริหาร 9. ดร. สมบัติ กิจจาลักษณ์ / กรรมการและกรรมการบริหาร 10. นายจุน อะเกตะ / กรรมการ และกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน 11. นายโตโมโนริ ซูซูกิ / กรรมการ กรรมการบริหารและกรรมการ บริหารความเสี่ยง 12. นายสมโพธิ ศรีภูมิ / กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการ บรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสีย่ ง และเลขานุการบริษทั

53

รายงานประจ�ำปี 2554

ดร. ทนง พิทยะ / กรรมการอิสระและประธานกรรมการ นายปลิว ตรีวิศวเวทย์ / กรรมการและรองประธานกรรมการ นายณรงค์ แสงสุริยะ / กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว / กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงและกรรมการ บรรษัทภิบาล 5. นายไพรัช เมฆอาภรณ์ / กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ และกรรมการ บรรษัทภิบาล 6. นายสมนึก ชัยเดชสุริยะ / กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ บรรษัทภิบาลและกรรมการตรวจสอบ

1. 2. 3. 4.


1

ดร.ทนง พิทยะ

กรรมการอิสระและประธานกรรมการ

อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาเอก ประสบการณ์ท�ำงาน - ก.พ.2552 – ปัจจุบัน - ปัจจุบัน

64 ปี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น ประเทศ สหรัฐอเมริกา กรรมการอิสระและประธานกรรมการ บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษา บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนทหารไทย จ�ำกัด ประธานกรรมการ บริษัท เอ็ม เอส ไอ จี ประกันภัย (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2554 37th ASEAN Japan Business Meeting ณ สาธาณรัฐแห่งสหภาพพม่า Japan Association of Corporate Executive - 2547, หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุ่น 25/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

2

นายปลิว ตรีวิศวเวทย์

กรรมการและรองประธานกรรมการ

อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท ประสบการณ์ท�ำงาน - มิ.ย. 2554 – ปัจจุบัน - ก.พ. 2552 – ปัจจุบัน - 2549 - ก.พ. 2552 - 2548 – ปัจจุบัน - 2547 – ปัจจุบัน

รายงานประจ�ำปี 2554

54

-

2545 - ปัจจุบัน

-

2517 - ปัจจุบัน

66 ปี สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยโอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น ประธานกรรมการ บริษัท ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด กรรมการและรองประธานกรรมการ บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการและประธานกรรมการ บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ประธานกรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษัท ช.การช่าง จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2547, หลักสูตร Director Certificate Program (DCP) รุ่น 50/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย


3

นายณรงค์ แสงสุริยะ

กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร

อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาตรี ประสบการณ์ท�ำงาน - ต.ค.2554 – ปัจจุบัน - 2550 – ปัจจุบัน - 2544 – ปัจจุบัน -

2543 – ปัจจุบัน - 2537 – ปัจจุบัน

67 ปี สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการ บริษัท ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน บริษัท ช.การช่าง จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการและรองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสกลุ่ม งานปฏิบัติการ บริษัท ช.การช่าง จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการบริหาร บริษัท ช.การช่าง จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2548, หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 54/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยงและกรรมการบรรษัทภิบาล

อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท ประสบการณ์ท�ำงาน - ก.ค.2550 – ปัจจุบัน - 2549 - ปัจจุบัน - ปัจจุบัน

67 ปี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ KEIO University, Japan (โดยทุนธนาคารแห่งประเทศไทย) กรรมการ บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด กรรมการอิสระ กรรมการบรรษัทภิบาล ประธาน กรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยง บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท สตาร์ซานิตารี่ แวร์ จ�ำกัด ที่ปรึกษา สมาคมไทย-ลาวเพื่อมิตรภาพ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา สยามบรมราชกุมารี กรรมการบริหาร มูลนิธิชีวิตพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นาง เธอเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2551, หลักสูตร Audit Committee Program (ACP 22/2551) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - 2548, หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุ่น 34/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

55

รายงานประจ�ำปี 2554

4


5

นายไพรัช เมฆอาภรณ์

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบรรษัทภิบาล

อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท

66 ปี สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล California State University Long Beach, California, USA

ประสบการณ์ท�ำงาน - ก.ค.2550 – ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด - 2549 – ปัจจุบัน กรรมการอิสระ กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการ ตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทยออฟติคอล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ด่านช้างไบโอ-เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด บริษัท ภูเขียวไบโอ-เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2554, หลักสูตร The Board’s Role in Mergers and Acquisitions สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - 2550, หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 17/2550 ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - 2549, หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 81/2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - 2547, หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุ่น 18/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - 2538, Advanced Management Program : The International Senior Manager’s Program Harvard Business School

6

รายงานประจ�ำปี 2554

56

นายสมนึก ชัยเดชสุริยะ

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการบรรษัทภิบาล

อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท ประสบการณ์ท�ำงาน - 2549 – ปัจจุบัน - ปัจจุบัน

60 ปี สาขาวิชากฎหมาย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธาน กรรมการบรรษัทภิบาล บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ กรรมการตรวจสอบ และประธาน กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ทางยกระดับดอนเมือง จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท คาเธ่ย์ลีสแพลน จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ และกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่า ตอบแทน บริษัท ไทยศรีประกันภัย จ�ำกัด


ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2548, หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 9/2548 - 2547, หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุ่น 9/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - 2547, หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 46/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

7

นายประเสริฐ มริตตนะพร

กรรมการ กรรมการบริหารความเสีย่ ง และกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน

อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท ประสบการณ์ท�ำงาน - มิ.ย.2554 – ปัจจุบัน - 2547 – ปัจจุบัน - 2544 – ปัจจุบัน - 2543 – ปัจจุบัน

55 ปี สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรรมการ บริษัท ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด กรรมการ บริษัท เซาท์อีสท์ เอเชีย เอนเนอร์จี จ�ำกัด กรรมการและรองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสกลุ่ม งานบริหาร บริษัท ช.การช่าง จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง และ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2548, หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 54/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

นายสุวิช พึ่งเจริญ

กรรมการ และกรรมการบริหาร

อายุ 65 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท สาขาวิชารัฐศาสตร์ แขนงวิชาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประสบการณ์ท�ำงาน - 2550 – ปัจจุบัน ที่ปรึกษา บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) - 2549 – ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) - 2546 – 2549 กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2546, หลักสูตรประกาศนียบัตรชัน้ สูง การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะส�ำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 1/2546 สถาบันพระปกเกล้า - 2546, หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 37/2546 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

57

รายงานประจ�ำปี 2554

8


9

ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์

กรรมการ และกรรมการบริหาร

อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาเอก ประสบการณ์ท�ำงาน - 2549 – ปัจจุบัน - 2547 – ปัจจุบัน - 2543 – ปัจจุบัน - 2543 – ต.ค.2554

54 ปี สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ (ปฐพีวิศวกรรม) มหาวิทยาลัยอินส์บรุค ประเทศออสเตรีย กรรมการ บริษัท ช.การช่าง จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการผู้จัดการ บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2549, หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 81/2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - 2548, หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุ่น 36/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

10

รายงานประจ�ำปี 2554

58

นายจุน อะเกตะ

กรรมการ และกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน

อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาตรี ประสบการณ์ท�ำงาน - 31 ก.ค. 2554 - ปัจจุบัน - ส.ค. 2553 – ปัจจุบัน - ก.ค. 2553 – ปัจจุบัน - พ.ค. 2553 – ปัจจุบัน - 2553 – ปัจจุบัน ประวัติการอบรม/สัมมนา -

50 ปี สาขาวิชาสังคมศาสตร์ Hitotsubashi University, Japan กรรมการและกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) ผู้อ�ำนวยการ Galaxy New Spring Group of Companies in Singapore ผู้อ�ำนวยการใหญ่ PT. Pertamit Processing in Indonesia ผู้อ�ำนวยการ Atlatec Group of Companies in Maxico ผู้จัดการทั่วไป แผนกพัฒนาโครงการขั้นที่ 1 แผนกที่ 2 ฝ่ายพัฒนาโครงการขั้นที่ 1 บริษัท มิตซุย แอนด์ โค ลิมิตเต็ด (โตเกียว) ประธานกรรมการ Atlatec S.A. de C.V. (Mexico)


11

นายโตโมโนริ ซูซูกิ

กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการบริหารความเสี่ยง

อายุ 43 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาตรี สาขาพาณิชยกรรม WASEDA University, Japan ประสบการณ์ท�ำงาน - ก.ค. 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) - พ.ค. 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท มิตซุย วอเตอร์ โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด - 2552 – ปัจจุบัน รองผู้จัดการทั่วไป แผนกที่ 2 ฝ่ายพัฒนาโครงการพลังงานขั้นที่ 1 บริษัท มิตซุย แอนด์ โค ลิมิเต็ด (โตเกียว) ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2554, หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 154/2554

นายสมโพธิ ศรีภูมิ

กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง และเลขานุการบริษัท

อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท - ปริญญาโท ประสบการณ์ท�ำงาน - ต.ค.2554 – ปัจจุบัน - ม.ค.2553 – ปัจจุบัน - ก.ค.2552 – ปัจจุบัน - ก.ค.2550 – ปัจจุบัน - 2548 – ปัจจุบัน

51 ปี Master of Science in Resource Planning and Management Naval Postgraduate School, Monterey, California, U.S.A. Master of Engineering in Structural Engineering and Structural Mechanics (Civil Engineering) University of California at Berkeley, California, U.S.A. กรรมการ บริษัท ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด กรรมการ บริษัท ไทยวอเตอร์ โอเปอร์เรชั่นส์ จ�ำกัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด กรรมการ บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้จัดการและ เลขานุการบริษัท บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2554, Building New Businesses in Established Organizations, USA - 2549, หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 73/2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

59

รายงานประจ�ำปี 2554

12


คณะผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะผู้บริหารของบริษัท ประกอบด้วยผู้บริหารจ�ำนวน 9 คน ดังนี้

1. นายสมโพธิ ศรีภูมิ / กรรมการผู้จัดการ 2. นายธนัช ศิริเจริญ / ผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ 3. นายชัชวาล เทียนประเสริฐกิจ / ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาด 4. นายสมภล กฤษฎาสิมะ / ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ 5. นายศิวา นาคธารีย์ / ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสารสนเทศ 6. นายสมเกียรติ ปัทมมงคลชัย / ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชีและ การเงิน

รายงานประจ�ำปี 2554

60

7. นางสาวปทิดา ไชยเสน / ผู้อ�ำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล และธุรการ 8. นายสหชัย เฮงตระกูล / ผู้อ�ำนวยการประจ�ำส�ำนักงาน กรรมการผู้จัดการ 9. นางสาวสุดารัตน์ เจียมจันทร์ / ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน กรรมการผู้จัดการ


1

นายสมโพธิ ศรีภูมิ กรรมการผู้จัดการ

อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท - ปริญญาโท ประสบการณ์ท�ำงาน - ต.ค.2554 – ปัจจุบัน - ม.ค.2553 – ปัจจุบัน - ก.ค.2552 – ปัจจุบัน - ก.ค.2550 – ปัจจุบัน - 2548 – ปัจจุบัน

51 ปี Master of Science in Resource Planning and Management Naval Postgraduate School, Monterey, California, U.S.A. Master of Engineering in Structural Engineering and Structural Mechanics (Civil Engineering) University of California at Berkeley, California, U.S.A. กรรมการ บริษัท ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด กรรมการ บริษัท ไทยวอเตอร์ โอเปอร์เรชั่นส์ จ�ำกัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด กรรมการ บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้จัดการและ เลขานุการบริษัท บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2554, Building New Businesses in Established Organizations, USA - 2549, หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 73/2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

นายธนัช ศิริเจริญ

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ

อายุ การศึกษา - ปริญญาโท ประสบการณ์ท�ำงาน - ส.ค. 2554 - ปัจจุบัน - ม.ค. 2554 – ปัจจุบัน - 8 ม.ค. 2553 – 31 ธ.ค. 2553

52 ปี เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยวอเตอร์ โอเปอร์เรชั่นส์ จ�ำกัด ผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท ไทยวอเตอร์ โอเปอร์เรชั่นส์ จ�ำกัด

ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2554, What dose it take to be and MD of a listed company?

61

รายงานประจ�ำปี 2554

2


3

นายชัชวาล เทียนประเสริฐกิจ

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาด

อายุ การศึกษา - ปริญญาโท

46 ปี บริหารการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ประสบการณ์ท�ำงาน - ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาด บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) - 2551 – เมษายน 2553 ผู้จัดการอาวุโส ส่วนพัฒนาธุรกิจ บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) - 2547 – 2550 ผู้จัดการส่วนสนับสนุน บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) - 2544 - 2547 ผู้จัดการส่วนสารสนเทศ JV-CKET (กิจการร่วมค้า โครงการรถไฟฟ้ากรุงเทพ) ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2554, What dose it take to be and MD of a listed company?

4

นายสมภล กฤษฎาสิมะ

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

อายุ การศึกษา - ปริญญาโท ประสบการณ์ท�ำงาน - 2553 – ปัจจุบัน - 2553– 2554 - 2550 – 2552 - 2538 - 2552

รายงานประจ�ำปี 2554

62

53 ปี บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยวอเตอร์ โอเปอร์เรชั่น จ�ำกัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บีเจที วอเตอร์ จ�ำกัด ผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฏิบัติการและพัฒนาธุรกิจ บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด

ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2554, What dose it take to be and MD of a listed company? - 2551, หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 110/2551 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย


5

นายศิวา นาคธารีย์

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสารสนเทศ

อายุ การศึกษา - ปริญญาโท ประสบการณ์ท�ำงาน - 2553- ปัจจุบัน - 2550 - 2552 - 2546 - 2550

54 ปี Policy & Project Management สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสารสนเทศ บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) Executive Vice President, Funding & Securities บริษัท เอเพ็กซ์ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) Executive Vice President, Finance & MIS บริษัท ซันเทคกรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2554, What dose it take to be and MD of a listed company? - 2549, หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 73/2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

6

นายสมเกียรติ ปัทมมงคลชัย

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชีและการเงิน

อายุ การศึกษา - ปริญญาโท ประสบการณ์ท�ำงาน - ต.ค.2554 – ปัจจุบัน - 2550 – ปัจจุบัน - 2548 – ปัจจุบัน - 2543 – 2548

39 ปี บัญชีมหาบัณฑิต (สาขาการบัญชี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการ บริษัท ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด กรรมการ บริษัท ไทยวอเตอร์ โอเปอร์เรชั่น จ�ำกัด บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชีและการเงิน บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) ผู้ช่วยผู้จัดการตรวจสอบบัญชี บริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด

ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2554, What dose it take to be and MD of a listed company? - 2552, หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 121/2552 - 2552, หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุ่น 79/2552 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

รายงานประจ�ำปี 2554

63


7

นางสาวปทิดา ไชยเสน

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคลและธุรการ

อายุ 46 ปี การศึกษา - ปริญญาโท ครุศาสตร์มหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์ท�ำงาน - 2549 – ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคลและธุรการ บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) - 2536 – 2549 ผู้จัดการฝ่ายบุคคล บริษัท บางกอก ไมโคร บัส จ�ำกัด ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2554, What dose it take to be and MD of a listed company?

8

นายสหชัย เฮงตระกูล

ผู้อ�ำนวยการประจ�ำส�ำนักงานกรรมการผู้จัดการ

อายุ การศึกษา - ปริญญาโท

48 ปี พาณิชยศาสตร์มหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์ท�ำงาน - ส.ค. 2554 - ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการประจ�ำส�ำนักงานกรรมการผู้จัดการ บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) - 2548 – ส.ค. 2554 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) - 2550 – 2552 กรรมการ บริษัท บีเจที วอเตอร์ จ�ำกัด - 2549 – 2552 กรรมการและผู้จัดการใหญ่ บริษัท วอเตอร์โฟลว์ จ�ำกัด ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2554, What dose it take to be and MD of a listed company?

รายงานประจ�ำปี 2554

64


9

นางสาวสุดารัตน์ เจียมจันทร์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานกรรมการผู้จัดการ

อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท ประสบการณ์การท�ำงาน - ส.ค.54 – ปัจจุบัน - 2539 – ก.ค.54 - 2536 – 2538

47 ปี การจัดการมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานกรรมการผู้จัดการ บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) ผู้จัดการส่วนบัญชีและการเงิน บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด ผู้จัดการส่วนบัญชีและการเงิน บริษัท อินเด็กซ์ อินเตอร์ เนชั่ลแนล กรุ๊ป จ�ำกัด

ประวัติการอบรม/สัมมนา - 2554, What dose it take to be and MD of a listed company? - 2554, หลักสูตร Company Secretary Program (CSP) รุ่น 43/2011 - 2554, หลักสูตร Company Reporting Program (CRP) รุ่น 2/2011 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

รายงานประจ�ำปี 2554

65


การถือครองหุ้นของคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

การถือครองหุ้นของกรรมการและผู้บริหาร

รายงานประจ�ำปี 2554

66

จ�ำนวนหุน้ ทีถ่ อื

สัดส่วนการ ถือหุ้นในบริษัท (%)

1. ดร.ทนง พิทยะ

ประธานกรรมการ

342,500

0.009

2. นายปลิว ตรีวิศวเวทย์

รองประธานกรรมการ

2,997,000

0.075

3. นายณรงค์ แสงสุริยะ

กรรมการ

2,000,100

0.050

4. นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว

กรรมการอิสระ

1,000,000

0.025

5. นายไพรัช เมฆอาภรณ์

กรรมการอิสระ

-

ไม่มี

6. นายสมนึก ชัยเดชสุริยะ

กรรมการอิสระ

1,630,000

0.041

7. นายสุวิช พึ่งเจริญ

กรรมการ

-

ไม่มี

8. นายประเสริฐ มริตตนะพร

กรรมการ

1,000,100

0.025

9. ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์

กรรมการ

3,000,100

0.075

10. นายจุน อะเกตะ

กรรมการ

-

ไม่มี

11. นายโทโมโนริ ซูซูกิ

กรรมการ

-

ไม่มี

12. นายสมโพธิ ศรีภูมิ

กรรมการและกรรมการผู้จัดการ

2,425,100

0.061

13. นายธนัช ศิริเจริญ

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ

-

ไม่มี

14. นายชัชวาล เทียนประเสริฐกิจ

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาด

-

ไม่มี

15. นายสมภล กฤษฎาสิมะ

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

-

ไม่มี

16. นายศิวา นาคธารีย์

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสารสนเทศ

-

ไม่มี

17. นายสมเกียรติ ปัทมมงคลชัย

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชีและการเงิน

1,379,000

0.035

18. นางสาวปทิดา ไชยเสน

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคลและธุรการ

900,000

0.023

19. นายสหชัย เฮงตระกูล

ผู้อ�ำนวยการประจ�ำส�ำนักงานกรรมการผู้จัดการ

750,000

0.019

20. นางสาวสุดารัตน์ เจียมจันทร์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานกรรมการผู้จัดการ

-

ไม่มี


ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนของกรรมการที่ได้รับเป็นรายบุคคลในปี 2554

ล�ำดับ

ชื่อ-สกุล

ต�ำแหน่ง

ค่าตอบแทน เบี้ยประชุม

รวม

โบนัส (2553) รวมทั้งสิ้น

1

ดร.ทนง พิทยะ

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการบริษทั

617,000

154,000

771,000

1,318,825 2,089,825

2

นายปลิว ตรีวศิ วเวทย์

รองประธานกรรมการ

440,000

110,000

550,000

939,956

1,489,956

3

นายณรงค์ แสงสุรยิ ะ

ประธานกรรมการบริหาร

407,000

94,417

501,417

871,399

1,372,816

4

กรรมการ / กรรมการสรรหาและ นายประเสริฐ มะริตตนะพร ก�ำหนดค่าตอบแทน / กรรมการบริหารความเสีย่ ง

327,000

82,000

409,000

700,005

1,109,005

5

ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์

กรรมการ / กรรมการบริหาร

314,000

79,500

393,500

672,943

1,066,443

6

นายสมโพธิ ศรีภมู ิ

กรรมการ / กรรมการบริหาร

427,000

107,500

534,500

914,698

1,449,198

7

นายโทโมโนริ ซูซกู ิ

กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสีย่ ง

370,500

93,500

464,000

793,821

1,257,821

8

นายโคอิชิ วาคานะ

กรรมการ / กรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน

135,250

17,000

152,250

579,128

731,378

9

นายสุวชิ พึง่ เจริญ

กรรมการ / กรรมการบริหาร

314,000

79,500

393,500

672,943

1,066,443

10

กรรมการอิสระ / นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ / ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง

499,500

125,500

625,000

1,068,049 1,693,049

11

นายไพรัช เมฆอาภรณ์

กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน / 449,500 กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการบรรษัทภิบาล

109,500

559,000

961,605

1,520,605

12

นายสมนึก ชัยเดชสุรยิ ะ

กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล / กรรมการตรวจสอบ

393,000

99,000

492,000

840,728

1,332,728

13

นายจุน อะเกตะ

กรรมการ / กรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน

135,250

30,500

165,750

-

รวม

4,829,000

165,750

1,181,917 6,010,917 10,334,100 16,345,017

หมายเหตุ นายโคอิชิ วาคานะ ลาออกจากการเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 30 กรกฏาคม 2554 นายจุน อะเกตะ ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 31 กรกฏาคม 2554

รายงานประจ�ำปี 2554

67


สรุปเปรียบเทียบค่าตอบแทนกรรมการปี 2552 2553 และ 2554 รายละเอียด

ปี 2552 จ�ำนวนราย จ�ำนวนเงิน

ปี 2553 จ�ำนวนราย จ�ำนวนเงิน

ปี 2554 จ�ำนวนราย จ�ำนวนเงิน

ค่าตอบแทน

12

4,117,625

12

4,313,817

12

4,829,000

เบี้ยประชุม

12

1,335,605

12

1,299,250

12

1,181,917

โบนัสรวม

12

6,105,200

12

8,279,000

12

10,334,100

รวม

11,558,430

13,892,067

16,345,017

ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหารเป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่กรรมการก�ำหนดซึ่งเชื่อมโยงกับผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ตามระบบประเมินซึ่ง คณะกรรมการบริษัท กรรมการผู้จัดการและผู้บริหารร่วมกันก�ำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายไว้แต่ละปี เพื่อเป็นแนวทางในการด�ำเนินธุรกิจและน�ำไป ใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน กรรมการผู้จัดการและผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 9 คน ได้รับค่าตอบแทน และโบนัส ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เป็นจ�ำนวนเงิน รวมทั้งสิ้น 23,075,751 บาท

สรุปเปรียบเทียบค่าตอบแทนผู้บริหารปี 2552 2553 และ 2554 รายละเอียด

ปี 2552 จ�ำนวนราย จ�ำนวนเงิน

ปี 2553 จ�ำนวนราย จ�ำนวนเงิน

ปี 2554 จ�ำนวนราย จ�ำนวนเงิน

ค่าตอบแทนรวม

5

9,276,880

7

13,485,562

9

16,043,381

โบนัสรวม

5

3,484,540

7

5,052,808

9

7,032,370

เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพส�ำหรับผู้บริหารระดับสูง รายละเอียด เงินสมทบกองทุน ส�ำรองเลี้ยงชีพ

ปี 2552 จ�ำนวนราย จ�ำนวนเงิน 5 458,844

ปี 2553 จ�ำนวนราย จ�ำนวนเงิน 7 631,979

ปี 2554 จ�ำนวนราย จ�ำนวนเงิน 9 918,803

ค่าตอบแทนอื่น ๆ บริษัทฯ ได้จัดสวัสดิการและค่าตอบแทนอื่นๆ นอกเหนือจากเงินเดือน โบนัสและเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพให้กับผู้บริหารและพนักงานตาม ความเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ การด�ำรงชีพ ตลอดจนมาตรฐานของกลุ่มบริษัทในธุรกิจชั้นน�ำประเภทเดียวกัน

รายงานประจ�ำปี 2554

68


รายการระหว่างกัน บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปฏิบัติตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและหรือประกาศของส�ำนักงานคณะกรรมการหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และหรือตามมาตรฐานการบัญชีทกี่ �ำหนดโดย สภาวิชาชีพบัญชี ของการท�ำรายการทีเ่ ป็นรายการระหว่างกัน ในการทีบ่ ริษทั ฯ จะตกลง เข้าท�ำรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การพิจารณาอนุมตั กิ ารท�ำรายการระหว่างกัน บริษทั ฯ จะมีการน�ำเข้าทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั โดยกรรมการบริษัทที่มีส่วนเกี่ยวข้อง อันอาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ไม่มีสิทธิเข้าร่วมประชุม และลงคะแนนเพื่อพิจารณาในวาระ ดังกล่าว โดยรายการระหว่างกันดังกล่าวจะต้องผ่านการกลั่นกรองจากคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาความสมเหตุสมผลของรายการโดยค�ำนึง ถึงประโยชน์สงู สุดพึงจะมีตอ่ บริษทั ฯ ก่อน ในกรณีทคี่ ณะกรรมการตรวจสอบไม่มคี วามช�ำนาญในการพิจารณารายการระหว่างกัน คณะกรรมการตรวจสอบ สามารถร้องขอให้บริษัทฯ จัดหาผู้เชี่ยวชาญอิสระและ/หรือ ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ เป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว หลังจาก ที่คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกันแล้ว ให้คณะกรรมการตรวจสอบน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท และผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติตามเกณฑ์ที่เหมาะสม รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลตามข้อก�ำหนด กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ในระหว่างปี บริษัทฯ ได้เข้าท�ำรายการซื้อหุ้น บริษัท ซี เค พาวเวอร์ จ�ำกัด เข้าข่ายเป็นการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ ประเภทรายการ เกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการซึ่งมีขนาดรายการรวมในรอบ 6 เดือน ที่ผ่านมาเท่ากับ 2,760,000,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 28.57 ของมูลค่าสินทรัพย์ ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทฯ จัดเป็นรายการที่มีสาระส�ำคัญ โดยรายการดังกล่าวได้รับการอนุมัติจากการจัดประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2554 เมื่อ วันที่ 20 ธันวาคม 2554 รายละเอียดของรายการที่เกี่ยวโยงกันสามารถพิจารณาเพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้องมูลประจ�ำปี (56-1) ของบริษัทฯ

รายงานประจ�ำปี 2554

69


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัท ได้ให้ความส�ำคัญต่อหน้าที่และความรับผิดชอบในการดูแลกิจการบริษัท ให้เป็นไปตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินและสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจ�ำปี 2554 ซึ่งจัดท�ำตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปใน ประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบายการบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง และประมาณการที่สมเหตุ สมผลในการจัดท�ำ รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญในหมายเหตุประกอบงบการเงินอย่างครบถ้วนและเพียงพอ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเป็น ประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้น และนักลงทุนทั่วไป นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัท จัดให้มีระบบบริหารความเสี่ยง และระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลและเหมาะสม เพื่อให้เชื่อมั่นอย่าง มีเหตุผลว่าการบันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วนและเพียงพอ ส�ำหรับการดูแลรักษาทรัพย์สินและป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือมีการ ด�ำเนินการที่ผิดปกติอย่างเป็นสาระส�ำคัญ และเพื่อให้เชื่อมั่นว่ารายการที่เกี่ยวโยงกันซึ่งอาจท�ำให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์เป็นรายการจริง ทางการค้า อันเป็นธุรกิจปกติทั่วไปอย่างสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์สูงสุด รวมทั้งมีการปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่ ง คณะกรรมการตรวจสอบได้ ร ายงานผลการปฏิ บั ติ ง านต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท และได้ ร ายงานความเห็ น เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนนี้ ใ นรายงาน คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งปรากฏในรายงานประจ�ำปี คณะกรรมการบริษัท มีความห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจ และสามารถให้ความมั่นใจอย่างมีเหตุผลได้ ว่า งบการเงินของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีความเชื่อถือได้ตามมาตรฐานบัญชีที่รับรองทั่วไป และถูกต้องตามกฎหมายและกฎระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ได้ตรวจสอบงบการเงินดังกล่าวตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป และแสดงความเห็นว่า งบการ เงินของบริษัทฯ แสดงฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสด โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

(ดร.ทนง พิทยะ) ประธานกรรมการบริษัท

รายงานประจ�ำปี 2554

70

(นายสมโพธิ ศรีภูมิ) กรรมการผู้จัดการ


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วน ของผู้ถือหุ้นรวมและงบกระแสเงินสดรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยและได้ ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้อง และครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปซึ่งก�ำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่น อย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบ รายการทั้งที่เป็นจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้ และประมาณการเกี่ยวกับ รายการทางการเงินทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ ซึง่ ผูบ้ ริหารเป็นผูจ้ ดั ท�ำขึน้ ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการทีน่ �ำเสนอในงบการเงิน โดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสดส�ำหรับปีสิ้นสุด วันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยและเฉพาะของบริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) โดยถูกต้อง ตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยมิได้เป็นการแสดงความเห็นอย่างมีเงือ่ นไขต่องบการเงินข้างต้น ข้าพเจ้าขอให้สงั เกตตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 ในระหว่าง ปีปัจจุบัน บริษัทฯได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีเพื่อจัดท�ำและน�ำเสนอ งบการเงินนี้

กฤษดา เลิศวนา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4958

บริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด กรุงเทพฯ: 30 มกราคม 2555

71

รายงานประจ�ำปี 2554


งบการเงินรวม


บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม หมายเหตุ

2554

2553

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวมเฉพาะกิจ 2554

2553

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันที่ถึงก�ำหนด ช�ำระภายในหนึ่งปีและดอกเบี้ยค้างรับ วัตถุดิบและวัสดุคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาฯ สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา และการให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสีย สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

9 10 8, 11

1,967,105,263 2,965,962,319 431,237,544

2,073,891,038 1,909,340,949 401,453,610

1,405,182,127 2,965,962,319 290,594,552

1,486,428,692 1,909,340,949 272,725,352

8 12

24,869,016 45,773,968 5,434,948,110

23,668,658 63,463,339 4,471,817,594

310,681,575 15,562,833 38,704,463 5,026,687,869

310,578,938 14,294,639 53,374,439 4,046,743,009

8 13 14 15 16

24,807,925 9,232,032,753 3,367,419,936

9,504,074,891 3,620,886,086

2,092,500,000 3,688,853,569 36,100,000 9,161,560,146 -

2,402,500,000 3,910,347,718 9,437,095,364 -

17 18 19

1,333,829,201 2,299,299,214 13,009,775 22,951,997 16,293,350,801

1,364,210,739 2,494,245,605 2,493,037 30,549,837 17,016,460,195

1,333,829,201 8,672,654 16,321,515,570

1,364,210,739 6,429,068 17,120,582,889

21,728,298,911

21,488,277,789

21,348,203,439

21,167,325,898

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจ�ำปี 2554

73


บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้ค้างจ่าย ดอกเบี้ยค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้เงินประกัน - บริษัทย่อย เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - สุทธิจาก ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ - สุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 3,990,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนออกจ�ำหน่ายและช�ำระเต็มมูลค่าแล้ว หุ้นสามัญ 3,990,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ส�ำรองตามกฎหมาย จัดสรรแล้ว - ส�ำรองอื่น ยังไม่ได้จัดสรร ผลแตกต่างของการจัดโครงสร้างการด�ำเนินธุรกิจ ของกลุ่มบริษัท

รายงานประจ�ำปี 2554

74

ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2554

2553

2554

2553

20

108,548,853

368,699,897

84,462,800

345,447,142

21 22

470,000,000 3,500,000,000 91,035,029 112,380,651 76,390,390 4,358,354,923

450,000,000 86,796,677 112,137,877 68,786,042 1,086,420,493

470,000,000 3,500,000,000 112,380,651 51,575,795 4,218,419,246

450,000,000 112,137,877 45,464,373 953,049,392

8

-

-

5,000,000

5,000,000

21 22 23

3,670,000,000 3,496,207,735 12,065,745 7,178,273,480 11,536,628,403

3,926,000,000 6,992,260,896 10,918,260,896 12,004,681,389

3,670,000,000 3,496,207,735 4,998,922 7,176,206,657 11,394,625,903

3,926,000,000 6,992,260,896 10,923,260,896 11,876,310,288

3,990,000,000

3,990,000,000

3,990,000,000

3,990,000,000

3,990,000,000 2,637,769,601

3,990,000,000 2,637,769,601

3,990,000,000 2,637,769,601

3,990,000,000 2,637,769,601

399,000,000 516,859,790 3,217,946,278

399,000,000 320,984,674 2,706,576,234

399,000,000 516,859,790 2,409,948,145

399,000,000 320,984,674 1,943,261,335

(600,362,866)

(600,362,866)

-

-

10,161,212,803 30,457,705 10,191,670,508 21,728,298,911

9,453,967,643 29,628,757 9,483,596,400 21,488,277,789

9,953,577,536 9,953,577,536 21,348,203,439

9,291,015,610 9,291,015,610 21,167,325,898

24 25


บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2554

2553

2554

2553

27

4,461,096,603 85,058,131 42,723,454 46,214,054 4,635,092,242

4,309,970,449 84,945,913 18,485,981 6,378,490 4,419,780,833

2,987,966,010 29,410,016 157,431,723 528,599,998 43,048,839 3,746,456,586

2,932,220,771 36,136,902 123,298,656 458,629,587 3,826,464 3,554,112,380

13

1,322,996,771 221,946,733 -

1,293,970,738 196,945,809 -

747,863,374 167,089,467 221,494,148

762,141,973 134,975,589 221,494,148

17

30,381,538

36,107,800

30,381,538

36,107,800

18

194,946,391 1,770,271,433

194,946,391 1,721,970,738

1,166,828,527

1,154,719,510

2,864,820,809 (11,292,075) 2,853,528,734 (517,964,066) 2,335,564,668 (210,943,525) 2,124,621,143 2,124,621,143

2,697,810,095 2,697,810,095 (442,123,096) 2,255,686,999 (181,723,690) 2,073,963,309 2,073,963,309

2,579,628,059 2,579,628,059 (516,943,094) 2,062,684,965 2,062,684,965 2,062,684,965

2,399,392,870 2,399,392,870 (440,641,710) 1,958,751,160 1,958,751,160 1,958,751,160

2,112,968,832 11,652,311 2,124,621,143

2,062,888,854 11,074,455 2,073,963,309

2,062,684,965

1,958,751,160

ก�ำไรขาดทุน: รายได้

13

27, 32

การแบ่งปันก�ำไร ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนทีเ่ ป็นของผูม้ สี ว่ นได้เสียทีไ่ ม่มอี �ำนาจควบคุมของบริษทั ย่อย

ก�ำไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

28

75 0.53

0.52

0.52

0.49

รายงานประจ�ำปี 2554

รายได้จากการขายน�้ำประปา รายได้จากการบริการ ดอกเบี้ยรับ รายได้เงินปันผล รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายน�้ำประปาและต้นทุนการบริการ ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตัดจ�ำหน่ายต้นทุนเงินลงทุนในบริษัทย่อย ค่าสิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา และการให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสียตัดจ�ำหน่าย ค่าสิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่าย น�้ำประปาตัดจ�ำหน่าย รวมค่าใช้จ่าย ก�ำไรก่อนส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้นิติบุคคล ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้นิติบุคคล ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้นิติบุคคล ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2,637,769,601

3,990,000,000

2,637,769,601

3,990,000,000

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 -

2,637,769,601

3,990,000,000

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับผลประโยชน์ของพนักงาน (หมายเหตุ 5) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี จัดสรรเป็นส�ำรองอื่น (หมายเหตุ 25) ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษัทย่อยลดลงจากเงินปันผลจ่ายของบริษัทย่อย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

-

-

2,637,769,601

3,990,000,000

เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี จัดสรรเป็นส�ำรองอื่น (หมายเหตุ 25) ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษัทย่อยลดลงจากเงินปันผลจ่ายของบริษัทย่อย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ส่วนเกินมูลค่า หุ้นสามัญ

ทุนเรือนหุ้นที่ออก และช�ำระแล้ว

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

รายงานประจ�ำปี 2554

76 399,000,000

-

399,000,000

399,000,000

-

399,000,000

จัดสรรแล้ว ส�ำรองตาม กฎหมาย

516,859,790

195,875,116

320,984,674

320,984,674

148,534,578

172,450,096

จัดสรรแล้ว ส�ำรองอื่น

3,217,946,278

(9,223,672) (1,396,500,000) 2,112,968,832 (195,875,116)

2,706,576,234

2,706,576,234

(1,275,746,680) 2,062,888,854 (148,534,578)

2,067,968,638

ยังไม่ได้จัดสรร

ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ก�ำไรสะสม

งบการเงินรวม

(600,362,866)

-

(600,362,866)

(600,362,866)

-

(600,362,866)

ผลแตกต่างของ การจัดโครงสร้าง การด�ำเนินธุรกิจ ของกลุ่มบริษัท

10,161,212,803

(9,223,672) (1,396,500,000) 2,112,968,832 -

9,453,967,643

9,453,967,643

(1,275,746,680) 2,062,888,854 -

8,666,825,469

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ

(10,788,000) 30,457,705

(35,363) 11,652,311 -

29,628,757

(9,360,000) 29,628,757

11,074,455 -

27,914,302

ส่วนของผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทย่อย

(10,788,000) 10,191,670,508

(9,259,035) (1,396,500,000) 2,124,621,143 -

9,483,596,400

(9,360,000) 9,483,596,400

(1,275,746,680) 2,073,963,309 -

8,694,739,771

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น

(หน่วย: บาท)


รายงานประจ�ำปี 2554

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2,637,769,601

-

-

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับผลประโยชน์ของพนักงาน (หมายเหตุ 5) 3,990,000,000

2,637,769,601

3,990,000,000

เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี จัดสรรเป็นส�ำรองอื่น (หมายเหตุ 25) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี จัดสรรเป็นส�ำรองอื่น (หมายเหตุ 25) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

2,637,769,601

3,990,000,000

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ส่วนเกินมูลค่า หุ้นสามัญ 2,637,769,601

ทุนเรือนหุ้นที่ออก และช�ำระแล้ว 3,990,000,000

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

77

399,000,000

-

399,000,000

399,000,000

จัดสรรแล้ว ส�ำรองตามกฎหมาย 399,000,000

195,875,116 516,859,790

-

320,984,674

148,534,578 320,984,674

จัดสรรแล้ว ส�ำรองอื่น 172,450,096

งบการเงินเฉพาะกิจการ ก�ำไรสะสม

(1,396,500,000) 2,062,684,965 (195,875,116) 2,409,948,145

(3,623,039)

1,943,261,335

(1,275,746,680) 1,958,751,160 (148,534,578) 1,943,261,335

ยังไม่ได้จัดสรร 1,408,791,433

(1,396,500,000) 2,062,684,965 9,953,577,536

(3,623,039)

9,291,015,610

(1,275,746,680) 1,958,751,160 9,291,015,610

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 8,608,011,130

(หน่วย: บาท)


บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม 2554 2553 กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไรก่อนภาษี รายการปรับกระทบยอดก�ำไรก่อนภาษีเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมด�ำเนินงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าตัดจ�ำหน่ายเงินลงทุนในบริษัทย่อย ค่าสิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ประปาตัดจ�ำหน่าย ค่าสิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา และการให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสียตัดจ�ำหน่าย ขาดทุน (ก�ำไร) จากการจ�ำหน่ายอุปกรณ์ ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม รายได้เงินปันผลจากบริษัทย่อย ตัดจ�ำหน่ายภาษี หัก ณ ที่จ่าย ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ก�ำไรจากการด�ำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ และหนี้สินด�ำเนินงาน สินทรัพย์ด�ำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น วัตถุดิบและวัสดุคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินด�ำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้ รับคืนภาษีเงินได้นิติบุคคลถูกหัก ณ ที่จ่าย เงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจ�ำปี 2554

78

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

2,335,564,668

2,255,686,999

2,062,684,965

1,958,751,160

628,169,135 194,946,391

643,762,511 194,946,391

339,020,889 221,494,148 -

366,532,782 221,494,148 -

30,381,538 (2,170,291) 11,292,075 2,806,710 517,020,971

36,107,800 184,578 2,793,757 447,604,023

30,381,538 (1,921) (528,599,998) 1,375,883 516,943,094

36,107,800 (150,844) (458,629,587) 2,096,611 442,422,756

3,718,011,197

3,581,086,059

2,643,298,598

2,568,624,826

(29,783,934) (1,200,358) 18,273,560 43,667

(17,413,526) (1,165,184) 105,741,974 (1,621,306)

(17,869,200) (1,268,194) 14,692,006 43,667

(16,840,092) (564,710) 106,317,562 463,967

(269,081,030) 7,235,343 3,443,498,445 (512,831,358) (212,276,186) 12,610,527 2,731,001,428

(278,530,100) 6,634,989 3,394,732,906 (443,773,101) (163,051,494) 2,787,908,311

(269,867,083) 5,755,369 2,374,785,163 (512,753,481) (2,402,587) 1,859,629,095

(274,642,627) 13,452,285 2,396,811,211 (438,591,834) (2,287,253) 1,955,932,124


บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม 2554 2553 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันลดลง เงินลงทุนในบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น สินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาฯเพิ่มขึ้น สินทรัพย์ไม่มีตัวตนเพิ่มขึ้น จ่ายดอกเบี้ยส่วนที่บันทึกเป็นส่วนหนึ่งของสินทรัพย์ เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายอุปกรณ์ เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินลดลง เงินปันผลจ่ายให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย เงินปันผลจ่าย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม รายการที่มิใช่เงินสด ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้นจากเจ้าหนี้ค่าก่อสร้าง เงินปันผลค้างจ่าย

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

(1,057,623,202) (36,100,000) (63,589,512) (28,807,883) (11,611,449) 2,876,790 (1,194,855,256)

(817,503,105) (645,393,213) (8,142,105) (40,529,898) 3,070,160 (1,508,498,161)

(1,057,623,202) 310,000,000 (36,100,000) (53,707,688) 99,179 528,599,998 (308,731,713)

(817,503,105) 310,000,000 (638,863,388) (40,529,898) 380,000 458,629,587 (727,886,804)

214,000,000 (450,000,000) (10,788,000) (1,396,143,947) (1,642,931,947) (106,785,775) 2,073,891,038 1,967,105,263

214,000,000 (420,000,000) (9,360,000) (1,275,746,680) (1,491,106,680) (211,696,530) 2,285,587,568 2,073,891,038

214,000,000 (450,000,000) (1,396,143,947) (1,632,143,947) (81,246,565) 1,486,428,692 1,405,182,127

214,000,000 (420,000,000) (1,275,746,680) (1,481,746,680) (253,701,360) 1,740,130,052 1,486,428,692

9,875,241 356,053

68,268,018 -

9,875,241 356,053

68,268,018 -

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจ�ำปี 2554

79


บริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 1.

ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ

บริษทั น�ำ้ ประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) จัดตัง้ ขึน้ เป็นบริษทั จ�ำกัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เมือ่ วันที่ 11 กันยายน 2543 และได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษทั มหาชนจ�ำกัด ตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 เมือ่ วันที่ 6 กรกฎาคม 2549 บริษทั ฯ ประกอบกิจการในประเทศไทย โดยมีบริษัท ช.การช่าง จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทที่จดทะเบียนตั้งในประเทศไทยเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ธุรกิจหลักของบริษทั ฯคือการผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ประปาให้กบั การประปาส่วนภูมภิ าค (กปภ.) ในพืน้ ที่ อ.นครชัยศรี อ.สามพราน อ.พุทธมณฑล ในจังหวัดนครปฐม อ.เมืองสมุทรสาคร และอ.กระทุ่มแบน ในจังหวัดสมุทรสาคร ภายใต้สัญญาซื้อขายน�้ำประปากับกปภ. ซึ่งได้ลงนามเมื่อ วันที่ 21 กันยายน 2543 (แก้ไขเพิม่ เติมตามสัญญาลงวันที่ 29 ธันวาคม 2551) เป็นระยะเวลา 30 ปี นับจากวันทีเ่ ริม่ ต้นขายน�ำ้ ประปา (วันที่ 21 กรกฎาคม 2547) และภายใต้สมั ปทานประกอบกิจการประปาจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (“ผูใ้ ห้สมั ปทาน”) เป็นระยะเวลา 25 ปี นับตัง้ แต่วนั ที่ 11 มีนาคม 2548 โดยบริษทั ฯจะต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทีก่ �ำหนดไว้ในสัญญาซือ้ ขายน�ำ้ ประปา และสัมปทานประกอบกิจการ ประปา

ภายใต้สมั ปทานประกอบกิจการประปาดังกล่าวมีขอ้ ก�ำหนดส�ำคัญบางประการ ได้แก่ เมือ่ บริษทั ฯได้ท�ำการไปได้กงึ่ อายุสมั ปทานแล้ว หากรัฐบาล หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ มีความประสงค์จะซือ้ กิจการประปาของบริษทั ฯทัง้ หมด ผูใ้ ห้สมั ปทานมีสทิ ธิถอนคืนสัมปทานเพือ่ ซือ้ หรืออนุญาต ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีเ่ กีย่ วข้องซือ้ กิจการประปาเช่นว่านัน้ ตามราคาซือ้ ขายกันในตลาด แต่ตอ้ งแจ้งให้บริษทั ฯทราบล่วงหน้าหกเดือน

ที่อยู่ของบริษัทฯตามที่จดทะเบียนอยู่ที่ 30/130 หมู่ที่ 12 ถนนพุทธมณฑลสาย 5 ต�ำบลไร่ขิง อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

2.

เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงิน

2.1

งบการเงินนีจ้ ดั ท�ำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทกี่ �ำหนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตามข้อก�ำหนด ในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543

งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับทีบ่ ริษทั ฯใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้

งบการเงินนีไ้ ด้จดั ท�ำขึน้ โดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอืน่ ในนโยบายการบัญชี

2.2

เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงินรวม ก)

งบการเงินรวมนี้ได้จัดท�ำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท น�้ำประปาไทย จ�ำกัด (มหาชน) (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทฯ”) และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อไปนี้ จัดตัง้ ขึน้ ชื่อบริษัท

รายงานประจ�ำปี 2554

80

ลักษณะธุรกิจ

ในประเทศ

บริษทั ประปาปทุมธานี จ�ำกัด

ผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ประปาให้ กับ การประปาส่วนภูมภิ าคในจังหวัด ปทุมธานี

ไทย

บริษทั ไทยวอเตอร์ โอเปอเรชัน่ ส์ จ�ำกัด (ถือหุน้ โดยบริษทั ประปา ปทุมธานี จ�ำกัด ในอัตราร้อยละ 31.5)

บริการจัดการและบ�ำรุงรักษา โครงการน�ำ้ ประปา

ไทย

อัตราร้อยละ ของการถือหุ้น 2554 2553 ร้อยละ ร้อยละ 98 98

68.5

68.5


บริษัทฯน�ำงบการเงินของบริษัทย่อยมารวมในการจัดท�ำงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่บริษัทฯมีอ�ำนาจในการควบคุมบริษัทย่อย จนถึงวันที่ บริษัทฯ สิน้ สุดการควบคุมบริษทั ย่อยนัน้

ค)

งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดท�ำขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญเช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ

ง)

ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯและบริษทั ย่อย รายการค้าระหว่างกันทีม่ สี าระส�ำคัญได้ถกู ตัดออกจากงบการเงินรวมนีแ้ ล้ว

จ)

ส่วนของผูม้ สี ว่ นได้เสียทีไ่ ม่มอี �ำนาจควบคุม คือ จ�ำนวนก�ำไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สทุ ธิของบริษทั ย่อยส่วนทีไ่ ม่ได้เป็นของบริษทั ฯ และ แสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนรวมและส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในงบแสดงฐานะการเงินรวม

2.3

บริษทั ฯจัดท�ำงบการเงินเฉพาะกิจการเพือ่ ประโยชน์ตอ่ สาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมตามวิธีราคาทุน

3.

การปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีใหม่ในระหว่างปี

ในระหว่างปีปจั จุบนั บริษทั ฯได้ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ทอี่ อกโดยสภาวิชาชีพบัญชีดงั นี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) การน�ำเสนองบการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552)

สินค้าคงเหลือ

ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552)

งบกระแสเงินสด

ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552)

นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด

ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552)

เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน

ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552)

สัญญาก่อสร้าง

ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552)

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552)

สัญญาเช่า

ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552)

รายได้

ฉบับที่ 19

ผลประโยชน์ของพนักงาน

ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552)

ต้นทุนการกู้ยืม

ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552)

การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ฉบับที่ 26

การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน

ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552)

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552)

เงินลงทุนในบริษัทร่วม

ฉบับที่ 29

การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุนแรง

ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552)

ส่วนได้เสียในการร่วมค้า

ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552)

ก�ำไรต่อหุ้น

ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552)

งบการเงินระหว่างกาล

ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552)

การด้อยค่าของสินทรัพย์

ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552)

ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น

ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552)

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552)

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

81

รายงานประจ�ำปี 2554

ข)


มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2

การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์

ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552)

การรวมธุรกิจ

ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552)

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการด�ำเนินงานที่ยกเลิก

ฉบับที่ 6

การส�ำรวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15

สัญญาการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์

การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31

รายได้ - รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา

มาตรฐานการบัญชีขา้ งต้นไม่มผี ลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงินนี้ ยกเว้นมาตรฐานการบัญชีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ก�ำหนดให้กิจการรับรู้ผลประโยชน์ที่ให้กับพนักงานเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกิจการได้รับบริการจ้างงานจากพนักงานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจการจะต้องประเมินและบันทึกหนี้สินเกี่ยวกับผลประโยชน์ของพนักงานเนื่องจากเกษียณอายุ โดยใช้การค�ำนวณตาม หลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึ่งเดิมบริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ผลประโยชน์ที่ให้กับพนักงานดังกล่าวเมื่อเกิดรายการ บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวในปีปัจจุบันและรับรู้หนี้สินในช่วงที่เปลี่ยนแปลงโดยบันทึกปรับกับก�ำไรสะสม ณ วันต้นงวดของปีปจั จุบนั การเปลีย่ นแปลงนีท้ �ำให้บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีก�ำไรส�ำหรับปี 2554 ลดลงเป็นจ�ำนวน 3 ล้านบาท (เฉพาะของบริษทั ฯ: ก�ำไรลดลงเป็นจ�ำนวน 1 ล้านบาท) ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวแสดงอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5

รายงานประจ�ำปี 2554

82


4.

มาตรฐานการบัญชีใหม่ที่ยังไม่มีผลบังคับใช้

สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ซงึ่ มีผลบังคับใช้ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือ หลังวันที่ 1 มกราคม 2556 ตามรายละเอียดข้างล่างนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12

ภาษีเงินได้

ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552)

การบัญชีส�ำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล

ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552)

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10

ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไม่มีความเกี่ยวข้องอย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรม ด�ำเนินงาน

ฉบับที่ 21

ภาษีเงินได้ - การได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ที่ไม่ได้คิดค่าเสื่อมราคาที่ตีราคาใหม่

ฉบับที่ 25

ภาษีเงินได้ - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือของผู้ถือหุ้น

ฝ่ายบริหารของบริษัทฯเชื่อว่ามาตรฐานการบัญชีข้างต้นจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงินเมื่อน�ำมาถือปฏิบัติ ยกเว้น มาตรฐานการบัญชีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ก�ำหนดให้กิจการระบุผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดจากความแตกต่างของมูลค่าสินทรัพย์และหนี้สินระหว่างเกณฑ์ ทางบัญชีและภาษีอากร เพื่อรับรู้ผลกระทบทางภาษีเป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด ปัจจุบันฝ่ายบริหารของบริษัทฯอยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบที่อาจมีต่องบการเงินในปีที่เริ่มน�ำมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาถือปฏิบัติ 5.

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเนื่องจากการน�ำมาตรฐานการบัญชีใหม่มาถือปฏิบัติ ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญตามที่กล่าวในหมายเหตุ 3 เนื่องจากบริษัทฯน�ำมาตรฐานการบัญชีฉบับ ปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่มาถือปฏิบัติ ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวแสดงเป็นรายการแยกต่างหากใน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น จ�ำนวนเงินของรายการปรับปรุงที่มีผลกระทบต่อรายการในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีดังนี้ (หน่วย: พันบาท) 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินรวม

งบการเงิน เฉพาะกิจการ

งบแสดงฐานะการเงิน ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานเพิม่ ขึน้ ส่วนของผูม้ สี ว่ นได้เสียทีไ่ ม่มอี �ำนาจควบคุมของบริษทั ย่อยลดลง ก�ำไรสะสม - ยังไม่ได้จดั สรรลดลง

12,066

4,999

36

-

9,223

3,623

83

รายงานประจ�ำปี 2554


(หน่วย: พันบาท) ส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินรวม

งบการเงิน เฉพาะกิจการ

2,807

1,376

8

-

2,799

1,376

งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ค่าใช้จา่ ยพนักงานเพิม่ ขึน้ ก�ำไรส่วนทีเ่ ป็นของผูม้ สี ว่ นได้เสียทีไ่ ม่มอี �ำนาจควบคุมของบริษทั ย่อยลดลง ก�ำไรส่วนทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ใหญ่ลดลง 6.

นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ

6.1

การรับรู้รายได้ รายได้จากการขายน�้ำประปา รายได้จากการขายน�้ำประปารับรู้เมื่อบริษัทฯและบริษัทย่อยได้จัดส่งน�้ำประปาให้แก่การประปาส่วนภูมิภาคแล้ว รายได้จากการขายน�้ำประปา แสดงมูลค่าตามราคาในใบก�ำกับสินค้าโดยไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มส�ำหรับปริมาณน�้ำประปาที่ได้ส่งมอบหลังจากหักส่วนลดแล้ว รายได้จากการบริการ รายได้จากการบริการแสดงมูลค่าตามใบแจ้งหนี้ซึ่งไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มของบริการที่ให้แล้ว ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยค�ำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง

เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมื่อบริษัทฯมีสิทธิในการรับเงินปันผล

6.2

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งถึงก�ำหนดจ่ายคืนภายใน ระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจ�ำกัดในการเบิกใช้

6.3

ลูกหนี้การค้า

ลูกหนีก้ ารค้าแสดงตามมูลค่าตามจ�ำนวนมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญส�ำหรับผลขาดทุนโดยประมาณ ที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้

6.4

วัตถุดิบและวัสดุคงเหลือ

วัตถุดิบและวัสดุคงเหลือแสดงมูลค่าตามราคาทุน (วิธีเข้าก่อน - ออกก่อน) หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า และจะถือเป็น ส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิตน�้ำประปาเมื่อมีการเบิกใช้

84

6.5

เงินลงทุน

รายงานประจ�ำปี 2554

เงินปันผลรับ

ก)

เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพือ่ ค้าแสดงตามมูลค่ายุตธิ รรม การเปลีย่ นแปลงในมูลค่ายุตธิ รรมของหลักทรัพย์บนั ทึกในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน

ข)

เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย


ค)

เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน

มูลค่ายุติธรรมของหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดค�ำนวณจากราคาเสนอซื้อหลังสุด ณ สิ้นวันท�ำการสุดท้ายของปี ส่วนมูลค่ายุติธรรม ของตราสารหนี้ ค�ำนวณโดยใช้ อั ต ราผลตอบแทนที่ ป ระกาศโดยสมาคมตลาดตราสารหนี้ ไ ทยมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของหน่ ว ยลงทุ น ค�ำนวณ จากมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของหน่วยลงทุน

6.6

เงินลงทุนในบริษัทย่อย

เงินลงทุนในบริษัทย่อยที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน

ต้นทุนการลงทุนในบริษัทย่อยได้แก่มูลค่าที่บริษัทฯจ่ายไปเพื่อให้ได้มาซึ่งบริษัทย่อย ทั้งนี้บริษัทย่อยที่ประกอบกิจการภายใต้สัญญาให้สทิ ธิ ด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปากับการประปาส่วนภูมิภาคและสัมปทานที่ได้รับจากกิจการหรือหน่วยงานของภาครัฐ ซึ่งมีเงื่อนไข ของระยะเวลาในการประกอบกิจการที่ได้รับสิทธิและสัมปทานอันจ�ำกัดตามที่ก�ำหนดในสัญญาให้สิทธิและสัมปทาน อีกทั้งทรัพย์สิน ส่วนใหญ่ที่ใช้ในการประกอบกิจการของบริษัทย่อยยังมีภาระผูกพันที่ผู้ได้รับสิทธิจะต้องส่งมอบให้แก่การประปาส่วนภูมิภาค ดังนั้น ต้นทุน การลงทุนในบริษัทย่อยที่ประกอบกิจการภายใต้สัญญาให้สิทธิและสัมปทานดังกล่าวส่วนหนึ่งถือเสมือนว่าเป็นการลงทุนเพื่อให้ได้มาในสิทธิใน การประกอบกิจการภายใต้สัญญาให้สิทธิและสัมปทานที่บริษัทย่อยได้รับ ซึ่งบริษัทฯตัดจ�ำหน่ายส่วนดังกล่าวโดยวิธีเส้นตรงภายในระยะเวลา ของสัญญาให้สทิ ธินบั จากวันทีล่ งทุนในบริษทั ย่อยนัน้ และแสดงเป็นค่าตัดจ�ำหน่ายเงินลงทุนในบริษทั ย่อย จ�ำนวนทีต่ ดั จ�ำหน่ายรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ย ในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน

ส�ำหรับบริษัทย่อยที่โอนการด�ำเนินงานโดยส่วนใหญ่มาที่บริษัทฯหลังจากที่บริษัทฯเข้าลงทุนในบริษัทย่อยดังกล่าวเพื่อเป็นการลดต้นทุนการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯในอนาคต ต้นทุนการลงทุนในบริษัทย่อยนั้นส่วนหนึ่งถือเสมือนว่าเป็นการลงทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งการด�ำเนินงานส่วน ดังกล่าว ซึ่งบริษัทฯตัดจ�ำหน่ายส่วนดังกล่าวโดยวิธีเส้นตรงภายในระยะเวลาของสัญญาซื้อขายน�้ำประปาระหว่างบริษัทฯ กับการประปาส่วน ภูมิภาคนับจากวันที่ลงทุนในบริษัทย่อยนั้นและแสดงเป็นค่าตัดจ�ำหน่าย เงินลงทุนในบริษัทย่อย จ�ำนวนที่ตัดจ�ำหน่ายรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วน ของก�ำไรหรือขาดทุน

6.7

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา

ทีด่ นิ แสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสือ่ มราคาสะสม และค่าเผือ่ การด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี)

ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ค�ำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณ 3 ปี 5 ปี และ 10 ปี ยกเว้น สินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาของบริษัทฯค�ำนวณโดยการใช้วิธีผันแปรตามหน่วยผลิต ซึ่งมีวิธีค�ำนวณดังนี้ ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับงวด

=

อัตราส่วนการผลิตน�้ำประปาส�ำหรับงวด

=

ต้นทุนสินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาสุทธิ ณ วันต้นงวด x อัตราส่วนการผลิตน�้ำประปาส�ำหรับงวด จ�ำนวนผลผลิตน�้ำประปาจริงส�ำหรับงวด (จ�ำนวนผลผลิตน�้ำประปาจริงส�ำหรับงวด + ประมาณการ จ�ำนวนผลผลิตน�้ำประปาในอนาคตจนถึงวันสิ้นสุด สัญญาซื้อขายน�้ำประปา)

=

สินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาทั้งหมด - ค่าเสื่อมราคาสะสมถึงวันต้นงวด

85

รายงานประจ�ำปี 2554

ต้นทุนสินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาสุทธิ ณ วันต้นงวด


สินทรัพย์ในการผลิตน�ำ้ ประปาของบริษทั ฯ ประกอบด้วย ต้นทุนค่าก่อสร้างโรงผลิตน�ำ้ ประปา และระบบในการจ่ายน�ำ้ ประปา รวมทัง้ ดอกเบีย้ จ่าย และค่าใช้จ่ายทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน

ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับที่ดินและงานระหว่างก่อสร้าง บริษทั ฯตัดรายการทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมือ่ จ�ำหน่ายสินทรัพย์หรือคาดว่าจะไม่ได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจาก การใช้หรือจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ รายการผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ (ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการ จ�ำหน่ายสินทรัพย์กบั มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นนั้ ) จะรับรูใ้ นส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนเมือ่ บริษทั ฯตัดรายการสินทรัพย์นนั้ ออกจากบัญชี

6.8

สินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาฯ และค่าตัดจ�ำหน่าย

สินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาของบริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด ซึ่งต้องโอนให้แก่การประปาส่วนภูมิภาคเมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาให้สิทธิด�ำเนิน การผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ประปา ได้แก่ ทีด่ นิ โรงผลิตน�ำ้ ประปา และระบบในการจ่ายน�ำ้ ประปาแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม และค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าตัดจ�ำหน่ายของสินทรัพย์ในการผลิตน�ำ้ ประปาค�ำนวณโดยการใช้วิธีผันแปรตามหน่วยผลิต ซึ่งมีวิธีค�ำนวณดังนี้ ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับงวด

=

ต้นทุนสินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุดอายุสัญญา สุทธิ ณ วันต้นงวด x อัตราส่วนการผลิตน�้ำประปาส�ำหรับงวด

อัตราส่วนการผลิตน�้ำประปาส�ำหรับงวด

=

จ�ำนวนผลผลิตน�้ำประปาจริงส�ำหรับงวด (จ�ำนวนผลผลิตน�้ำประปาจริงส�ำหรับงวด + ประมาณการ จ�ำนวนผลผลิตน�้ำประปาในอนาคตจนถึงวันสิ้นสุดสัญญาให้สิทธิ ด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา)

ต้นทุนสินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาที่ต้องโอน เมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาฯสุทธิ ณ วันต้นงวด

=

สินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาฯ ทั้งหมด - ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมถึงวันต้นงวด

ค่าตัดจ�ำหน่ายรวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน

งานระหว่างก่อสร้างแสดงมูลค่าตามราคาทุนและไม่มีการตัดจ�ำหน่าย 6.9 ต้นทุนการกู้ยืม

ต้นทุนการกู้ยืมของเงินกู้ที่ใช้ในการจัดหาหรือก่อสร้างสินทรัพย์ที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการแปลงสภาพให้พร้อมใช้หรือขาย ได้ถูกน�ำไปรวม เป็นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นั้นจะอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามที่มุ่งประสงค์ ส่วนต้นทุนการกู้ยืมอื่นถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวด ที่เกิดรายการ ต้นทุนการกู้ยืมประกอบด้วยดอกเบี้ยและต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมนั้น

6.10 สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาและการให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสียและค่าตัดจ�ำหน่าย

ก)

86

รายงานประจ�ำปี 2554

บริษัทฯ บันทึกต้นทุนค่าสิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาและการให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสีย (“สิทธิการด�ำเนินงาน”) ในราคาทุน ที่ซื้อมา โดยปันส่วนค่าสิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา และค่าสิทธิในการให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสียตามสัดส่วนรายได้ที่คาดว่า จะได้รับที่ค�ำนวณได้ ณ วันที่ซื้อ

สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าตัดจ�ำหน่ายของสิทธิในการด�ำเนินงานดังกล่าวค�ำนวณโดยใช้วิธีผันแปรตามหน่วยผลิต ซึ่งมีวิธีค�ำนวณดังนี้


ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับงวด

=

สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ประปาสุทธิ ณ วันต้นงวด x อัตราส่วนการผลิตน�ำ้ ประปาส�ำหรับงวด

อัตราส่วนการผลิตน�ำ้ ประปาส�ำหรับงวด

=

จ�ำนวนผลผลิตจริงของการผลิตน�ำ้ ประปาส�ำหรับงวด (จ�ำนวนผลผลิตจริงของการผลิตน�ำ้ ประปา ส�ำหรับงวด + ประมาณการจ�ำนวนผลผลิตในอนาคตของการผลิตน�ำ้ ประปา จนถึงวันสิ้นสุดสัญญาให้สิทธิด�ำเนินงาน)

สิ ท ธิ ใ นการด�ำเนิ น การผลิ ต และจ�ำหน่ า ย น�ำ้ ประปาสุทธิ ณ วันต้นงวด

=

สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ประปา - ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมถึง วันต้นงวด

ค่าตัดจ�ำหน่ายรวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน

ข)

สิทธิในการให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสีย สิทธิในการให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสียแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าตัดจ�ำหน่ายของ สิทธิในการด�ำเนินงานดังกล่าวค�ำนวณโดยใช้วิธีผันแปรตามหน่วยผลิต ซึ่งมีวิธีค�ำนวณดังนี้ ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับงวด = สิทธิในการด�ำเนินการให้บริการบ�ำบัดน�ำ้ เสียสุทธิ ณ วันต้นงวด x อัตราส่วนการบ�ำบัดน�ำ้ เสียส�ำหรับงวด อัตราส่วนการบ�ำบัดน�ำ้ เสียส�ำหรับงวด

=

จ�ำนวนผลผลิตจริงของการบ�ำบัดน�ำ้ เสียส�ำหรับงวด (จ�ำนวนผลผลิตจริงของการบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำหรับงวด + ประมาณการจ�ำนวนผลผลิตในอนาคตของการบ�ำบัดน�้ำเสียจนถึงวันสิ้น สุดสัญญาให้สิทธิด�ำเนินงาน)

สิทธิในการด�ำเนินการให้บริการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย = สิทธิในการด�ำเนินการให้บริการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย - ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมถึงวันต้นงวด สุทธิ ณ วันต้นงวด

ค่าตัดจ�ำหน่ายรวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน

6.11 สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาและค่าตัดจ�ำหน่าย

ค่าสิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาที่เกิดจากการที่บริษัทฯซื้อหุ้นสามัญบริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด ในราคาที่สูงกว่า มูลค่ายุติธรรมของบริษัทย่อยดังกล่าวถือเป็นสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุใช้งานจ�ำกัด ซึ่งเเสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมเเละ ค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี)

บริษัทฯคิดค่าตัดจ�ำหน่ายโดยใช้วิธีเส้นตรงตามอายุสัญญาให้สิทธิด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาที่เหลืออยู่ของบริษัทย่อยดังกล่าว นับ จากวันที่บริษัทฯซื้อหุ้นสามัญบริษัทย่อย (ประมาณ 16 ปี) เเละจะมีการประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์เมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการ ด้อยค่า บริษัทฯ จะทบทวนระยะเวลาการตัดจ�ำหน่ายและวิธีการตัดจ�ำหน่ายของสิทธิในการด�ำเนินการผลิตเเละจ�ำหน่ายน�้ำประปาทุกสิ้นปี เป็นอย่างน้อย ค่าตัดจ�ำหน่ายรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน

6.12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน (สินทรัพย์ที่ท�ำให้ได้มาซึ่งงานบริหารจัดการและบ�ำรุงรักษา) ของบริษัทย่อย แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่าย สะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ของสินทรัพย์นั้น

บริษัทย่อยตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จ�ำกัดอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย์ นั้น (5 ปี) และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า บริษัทย่อยจะทบทวนระยะเวลาการตัด จ�ำหน่ายและวิธีการตัดจ�ำหน่ายของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าวทุกสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจ�ำหน่ายรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของก�ำไรหรือ ขาดทุน

87

รายงานประจ�ำปี 2554


6.13 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอ�ำนาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกบริษัทฯควบคุมไม่ว่าจะเป็นโดยทาง ตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ

นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดยทางตรงหรือทางอ้อมซึ่งท�ำให้มีอิทธิพล อย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อบริษัทฯ ผู้บริหารส�ำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มีอ�ำนาจในการวางแผนและควบคุมการด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ

6.14 สัญญาเช่าระยะยาว

จ�ำนวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า

6.15 การด้อยค่าของสินทรัพย์

ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะท�ำการประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน อื่นของบริษัทฯและบริษัทย่อยหากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่า และจะท�ำการประเมินการด้อยค่าของสิทธิในการด�ำเนินการผลิต และจ�ำหน่ายน�้ำประปาเป็นรายปี บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าต�่ำ กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่า จากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า

บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน

6.16 ผลประโยชน์พนักงาน

รายงานประจ�ำปี 2554

88

ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน

บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ

ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน

โครงการสมทบเงิน

บริษัทฯและบริษัทย่อย และพนักงานของบริษัทฯและบริษัทย่อยได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่าย สะสมและเงินที่บริษัทฯและบริษัทย่อยจ่ายสมทบให้เป็นรายเดือน สินทรัพย์ของกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพได้แยกออกจากสินทรัพย์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เงินที่บริษัทฯและบริษัทย่อยจ่ายสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในปีที่เกิดรายการ

โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน

บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระส�ำหรับเงินชดเชยที่ต้องจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึ่งบริษัทฯและบริษัทย่อย ถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานส�ำหรับพนักงาน

บริษัทฯและบริษัทย่อยค�ำนวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผู้เชี่ยวชาญอิสระ ได้ท�ำการประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย

ผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย (Actuarial gains and losses) ส�ำหรับโครงการผลประโยชน์หลังออก จากงานของพนักงานจะรับรู้ทันทีในก�ำไรหรือขาดทุน

ในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เป็นครั้งแรก บริษัทฯและบริษัทย่อยเลือกรับรู้หนี้สินในช่วง การเปลี่ยนแปลงที่มากกว่าหนี้สินที่รับรู้ ณ วันเดียวกันตามนโยบายการบัญชีเดิม โดยบันทึกปรับกับก�ำไรสะสม ณ วันต้นงวดของปีปัจจุบัน


6.17 ภาษีเงินได้

บริษัทฯ และบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้ตามจ�ำนวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กับหน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยค�ำนวณจากก�ำไรทางภาษีตาม หลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดในกฎหมายภาษีอากร

7.

การใช้ประมาณการทางบัญชี ในการจัดท�ำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ในบางสถานการณ์ฝ่ายบริหารอาจต้องใช้การประมาณและการตั้งสมมติฐาน ซึ่งมีผลกระทบต่อจ�ำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน ด้วยเหตุนี้ผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกต่างไปจากจ�ำนวน ที่ประมาณไว้

8.

รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่ส�ำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไข ทางการค้าและเกณฑ์ตามทีต่ กลงกันระหว่างบริษทั ฯและบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันเหล่านัน้ ซึง่ เป็นไปตามปกติธรุ กิจโดยสามารถสรุปได้ดงั นี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2553

2554

นโยบายการก�ำหนดราคา

2553

รายการธุรกิจกับบริษทั ย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) ต้นทุนขายและบริการ

-

-

28

29

ราคาตามสัญญา

ดอกเบีย้ รับ

-

-

121

108

ต้นทุนขายและบริการ

2

5

2

5

ค่างานระหว่างก่อสร้าง

-

655

-

655

ราคาตามสัญญา

36

-

36

-

ราคาตามสัญญา

อัตราดอกเบีย้ เงินกูย้ มื ขัน้ ต�ำ่ ลบส่วนต่างทีก่ ำ� หนดต่อปี

รายการธุรกิจกับกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน

89

รายงานประจ�ำปี 2554

ซือ้ เงินลงทุนในบริษทั ร่วม

เกณฑ์ทตี่ กลงร่วมกัน


ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2554 ลูกหนี้อื่น - บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (มีผู้ถือหุ้นหรือกรรมการร่วมกัน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2553

2554

2553

62

10

62

10

62

10

62

10

บริษัทย่อย

-

-

3,346

2,611

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (มีผู้ถือหุ้นหรือกรรมการร่วมกัน)

-

228,737

1,205

228,600

รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

-

228,737

4,551

231,211

เจ้าหนี้เงินประกัน - บริษัทย่อย

-

-

5,000

5,000

-

-

5,000

5,000

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 20)

เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยอดคงค้างของเงินให้กู้ยืมระยะยาว ระหว่างบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 และการเคลื่อนไหวของ เงินให้กู้ยืมระยะยาว ดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินให้กู้ยืมระยะยาว บริษทั ประปาปทุมธานี จ�ำกัด เงินต้น ดอกเบี้ย รวม

รายงานประจ�ำปี 2554

90

ลักษณะความ สัมพันธ์

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

เพิ่มขึ้น ระหว่างปี

ลดลง ระหว่างปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

บริษัทย่อย 2,712,500

-

(310,000)

2,402,500

579

121,158

(121,055)

682

2,713,079

121,158

(431,055)

2,403,182


(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2554

2553

เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันและดอกเบี้ยค้างรับ บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด เงินต้น

-

-

2,402,500

2,712,500

ดอกเบี้ย

-

-

682

579

รวม

-

-

2,403,182

2,713,079

หัก: ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปีและดอกเบี้ยค้างรับ

-

-

(310,682)

(310,579)

เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ

-

-

2,092,500

2,402,500

เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันคิดดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้นต�่ำลบส่วนต่างที่ก�ำหนด (MLR-margin) ต่อปี และมีก�ำหนด ช�ำระคืนเงินต้นทุกไตรมาส เงินให้กู้ยืมดังกล่าวมีก�ำหนดช�ำระคืนเงินต้นงวดสุดท้ายภายในเดือนกันยายน 2562 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานของกรรมการและผู้บริหาร ดังต่อ ไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 2554 ผลประโยชน์ระยะสั้น

2553

9.

2554

2553

59

52

39

33

1

1

1

1

60

53

40

34

ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2554

2553

475

445

65

65

เงินฝากธนาคาร

1,966,630

2,073,446

1,405,117

1,486,364

รวม

1,967,105

2,073,891

1,405,182

1,486,429

เงินสด

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินฝากออมทรัพย์ และเงินฝากประจ�ำ มีอัตราดอกเบี้ยระหว่างร้อยละ0.25 ถึง 2.50 ต่อปี (2553: ร้อยละ 0.25 ถึง 0.85 ต่อปี) เงินลงทุนชั่วคราว ยอดคงเหลือดังกล่าวประกอบด้วยเงินลงทุนในหลักทรัพย์เพือ่ ค้าและเงินฝากประจ�ำธนาคารระยะเวลา 6 ถึง 12 เดือน โดยมีอตั ราดอกเบีย้ ระหว่าง ร้อยละ 2.50 ถึง 5.25 ต่อปี

91

รายงานประจ�ำปี 2554

10.


(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554

2553 1,633,827

1,113,031

1,633,827

1,113,031

724,445

596,379

ตราสารหนีร้ ฐั วิสาหกิจ

30,063

24,806

ตราสารหนีภ้ าคเอกชน

502,938

150,071

74,689

25,054

1,332,135

796,310

2,965,962

1,909,341

เงินฝากประจ�ำธนาคาร เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพือ่ ค้าซึง่ แสดงตามมูลค่ายุตธิ รรม พันธบัตรรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ

ตราสารทุนในความต้องการของตลาด รวมเงินลงทุนชัว่ คราว 11.

ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ยอดลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ มีอายุหนีค้ งค้างนับจากวันทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระน้อยกว่า 3 เดือน

12.

วัตถุดิบและวัสดุคงเหลือ

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2554

2553

วัตถุดิบ

8,066

5,557

5,303

3,764

อะไหล่

16,803

18,112

10,260

10,530

รวม

24,869

23,669

15,563

14,294

13.

เงินลงทุนในบริษทั ย่อย

เงินลงทุนในบริษทั ย่อยตามทีแ่ สดงอยูใ่ นงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) บริษัท

บริษทั ไทยวอเตอร์ โอเปอเรชัน่ ส์ จ�ำกัด

รายงานประจ�ำปี 2554

สัดส่วนเงินลงทุน

2554

2554

2553

ร้อยละ

ร้อยละ

2553

เงินปันผลที่บริษัทฯ รับระหว่างปี

ราคาทุน 2554

2553

2554

2553

60,000

60,000

68.5

68.5

700,000

700,000

-

-

1,200,000

1,200,000

98

98

3,998,310

3,998,310

528,600

458,629

4,698,310

4,698,310

528,600

458,629

หัก: ค่าตัดจ�ำหน่ายเงินลงทุนใน บริษัทย่อยสะสม

(989,456)

(767,962)

-

-

หัก: เงินปันผลรับจากก�ำไรก่อน การซื้อหุ้น

(20,000)

(20,000)

-

-

รวม

3,688,854

3,910,348

528,600

458,629

บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด

92

ทุนเรียกช�ำระแล้ว


ในระหว่างไตรมาสทีห่ นึง่ ของปี 2554 บริษทั ฯได้รบั เงินปันผลจากบริษทั ประปาปทุมธานี จ�ำกัด เป็นจ�ำนวน 329 ล้านบาท ตามมติทปี่ ระชุมสามัญ ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ประปาปทุมธานี จ�ำกัด เมือ่ วันที่ 4 มีนาคม 2554 ในระหว่างไตรมาสที่สามของปี 2554 บริษัทฯได้รับเงินปันผลจากบริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด เป็นจ�ำนวน 200 ล้านบาท ตามมติที่ประชุม คณะกรรมการของบริษทั ประปาปทุมธานี จ�ำกัด เมือ่ วันที่ 29 กรกฎาคม 2554 ในระหว่างปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษทั ไทยวอเตอร์ โอเปอร์เรชัน่ ส์ จ�ำกัด มิได้มกี ารจ่ายเงินปันผล

รายงานประจ�ำปี 2554

93


เงินลงทุนในบริษัทร่วม

บริษทั

รวม

บริษทั ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด

รวม

บริษัท ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด

บริษัท

14.1 รายละเอียดของบริษัทร่วม

14.

รายงานประจ�ำปี 2554

94

ลงทุนในบริษทั อืน่

ลักษณะธุรกิจ

ลงทุนในบริษัทอื่น

ลักษณะธุรกิจ

ไทย

จัดตัง้ ขึน้ ในประเทศ

ไทย

จัดตัง้ ขึ้นในประเทศ

-

ร้อยละ

ร้อยละ 30

2553

2554

สัดส่วนเงินลงทุน

-

ร้อยละ

ร้อยละ 30

2553

2554

สัดส่วนเงินลงทุน 2553

2554

36,100

36,100

ราคาทุน 2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ

36,100

36,100

2554

ราคาทุน

งบการเงินรวม

-

-

-

-

24,808

24,808

2554

36,100

36,100

-

-

2553

-

-

(หน่วย: พันบาท)

2553

มูลค่าตามบัญชี ตามวิธรี าคาทุน - สุทธิ

2554

มูลค่าตามบัญชี ตามวิธสี ว่ นได้เสีย

(หน่วย: พันบาท)


14.2 ส่วนแบ่งขาดทุนและเงินปันผลรับ

ในระหว่างปี บริษัทฯรับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนจากการลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินรวมดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ส่วนแบ่งขาดทุนจาก เงินลงทุนในบริษัทร่วมในระหว่างปี

บริษัท

2554 บริษทั ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด รวม

2553 11,292

-

11,292

-

14.3 ข้อมูลทางการเงินของบริษัทร่วม ข้อมูลทางการเงินตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินของบริษัทร่วมโดยสรุปมีดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท)

บริษัท บริษทั ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด

ทุนเรียกช�ำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

รายได้รวม ส�ำหรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

ขาดทุนส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

2554

2553

2554

2553

2554

2553

2554

2553

2554

2553

100

-

6,499

-

6,437

-

1

-

38

-

เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2554 บริษัทฯได้ลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด จ�ำนวน 36 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 30 ของ ทุนจดทะเบียน ในเดือนพฤศจิกายน 2554 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2554 ของบริษัท ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด มีมติอนุมัติให้เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท ดังกล่าวจากเดิม 100 ล้านบาท เป็น 9,200 ล้านบาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จ�ำนวน 910 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท โดยจัดสรรหุ้นเพิ่ม ทุนดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วน อย่างไรก็ตาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทดังกล่าวยังไม่ได้เรียกช�ำระค่าหุ้นเพิ่มทุนนี้

95

รายงานประจ�ำปี 2554


ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

ที่ดิน

สินทรัพย์ใน การผลิต น�้ำประปา

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 452,264 9,546,709 ซือ้ เพิม่ 28,417 73,322 จ�ำหน่าย/ ตัดจ�ำหน่าย โอนเข้า (ออก) 1,177,971 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 480,681 10,798,002 ซือ้ เพิม่ 1,221 จ�ำหน่าย/ ตัดจ�ำหน่าย โอนเข้า (ออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 480,681 10,799,223 ค่าเสือ่ มราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 1,496,075 ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับปี 351,567 ค่าเสือ่ มราคาสะสมส�ำหรับส่วนทีจ่ �ำหน่าย/ ตัดจ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 1,847,642 ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับปี 320,657 ค่าเสือ่ มราคาสะสมส�ำหรับส่วนทีจ่ �ำหน่าย/ ตัดจ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 2,168,299 มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 480,681 8,950,360 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 480,681 8,630,924 ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับปี 2553 (363 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนขายน�ำ้ ประปาและบริการ ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร) 2554 (332 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนขายน�ำ้ ประปาและบริการ ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร)

15.

รายงานประจ�ำปี 2554

96 10,299 574 186 11,059 41,500 52,559 3,522 1,641 5,163 2,622 7,785 5,896 44,774

562,627 625,484 (1,178,909) 9,202 49,049 (42,466) 15,785 9,202 15,785

งานระหว่าง ก่อสร้าง

29,832 29,817

47,714 10,668 (124) 58,258 11,207 (178) 69,287

83,887 3,581 (130) 752 88,090 10,277 (229) 966 99,104

งบการเงินรวม อาคารและ เครือ่ งตกแต่ง สิง่ ปรับปรุง และอุปกรณ์ อาคาร ส�ำนักงาน

24,818 27,496

20,886 6,027 (4,321) 22,592 8,416 (5,172) 25,836

32,445 22,514 (7,549) 47,410 11,749 (5,827) 53,332

ยานพาหนะ

3,286 2,556

14,991 2,355 (17) 17,329 1,899 19,228

20,354 299 (38) 20,615 1,169 21,784

เครื่องมือ

372,258 344,801

9,504,075 9,232,033

1,583,188 372,258 (4,462) 1,950,984 344,801 (5,350) 2,290,435

10,708,585 754,191 (7,717) 11,455,059 73,465 (6,056) 11,522,468

รวม

(หน่วย: พันบาท)


ที่ดิน

สินทรัพย์ใน การผลิต น�้ำประปา

รายงานประจ�ำปี 2554

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 397,532 9,546,709 ซือ้ เพิม่ 28,417 73,322 จ�ำหน่าย โอนเข้า (ออก) 1,177,971 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 425,949 10,798,002 ซือ้ เพิม่ 1,221 จ�ำหน่าย โอนเข้า (ออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 425,949 10,799,223 ค่าเสือ่ มราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 1,496,075 ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับปี 351,567 ค่าเสือ่ มราคาสะสมส�ำหรับส่วนทีจ่ �ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 1,847,642 ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับปี 320,657 ค่าเสือ่ มราคาสะสมส�ำหรับส่วนทีจ่ �ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 2,168,299 มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 425,949 8,950,360 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 425,949 8,630,924 ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับปี 2553 ( 360 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนขายน�ำ้ ประปาและบริการ ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร) 2554 ( 329 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนขายน�ำ้ ประปาและบริการ ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร)

97

10,299 574 186 11,059 41,500 52,559 3,522 1,642 5,164 2,621 7,785 5,895 44,774

562,627 625,484 (1,178,909) 9,202 49,049 (42,466) 15,785 9,202 15,785

งานระหว่าง ก่อสร้าง

25,598 25,396

12,411 8,565 20,976 9,245 (1) 30,220

42,964 2,858 752 46,574 8,102 (26) 966 55,616

งบการเงินรวม อาคารและ เครือ่ งตกแต่ง สิง่ ปรับปรุง และอุปกรณ์ อาคาร ส�ำนักงาน

17,618 17,285

9,013 2,938 (3,320) 8,631 4,979 (2) 13,608

12,861 16,937 (3,549) 26,249 4,718 (74) 30,893

ยานพาหนะ

2,473 1,447

5,045 1,821 6,866 1,518 8,384

9,270 69 9,339 492 9,831

เครื่องมือ

366,533 339,020

9,437,095 9,161,560

1,526,066 366,533 (3,320) 1,889,279 339,020 (3) 2,228,296

10,582,262 747,661 (3,549) 11,326,374 63,582 (100) 11,389,856

รวม

(หน่วย: พันบาท)


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอาคารและอุปกรณ์จ�ำนวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ มูลค่าตาม บัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม ของสินทรัพย์ดงั กล่าวมีจ�ำนวนเงินประมาณ 68 ล้านบาท (2553: 59 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 20 ล้านบาท 2553: 11ล้านบาท) 16.

สินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาฯ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม โรงผลิต น�้ำประปาและ ที่ดิน

ระบบในการจ่าย

งานระหว่าง

น�้ำประปา

ก่อสร้าง

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2553

413,088

5,939,711

-

6,352,799

5,000

1,075

2,067

8,142

418,088

5,940,786

2,067

6,360,941

ซื้อเพิ่ม

-

177

28,631

28,808

โอนเข้า (ออก)

-

30,698

(30,698)

-

418,088

5,971,661

-

6,389,749

ณ วันที่ 1 มกราคม 2553

181,959

2,286,592

-

2,468,551

ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี

16,455

255,049

-

271,504

198,414

2,541,641

-

2,740,055

17,045

265,229

-

282,274

215,459

2,806,870

-

3,022,329

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

219,674

3,399,145

2,067

3,620,886

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

202,629

3,164,791

-

3,367,420

ซื้อเพิ่ม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มูลค่าสุทธิตามบัญชี

ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 2553

271,504

2554

282,274

สินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาของบริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด จะถูกโอนให้กับการประปา ส่วนภูมิภาคภายหลังจากสิ้นสุด อายุสัญญาให้สิทธิด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา 25 ปี

รายงานประจ�ำปี 2554

98


17.

สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาและการให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสีย (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาและ การให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสีย หัก: สิทธ ิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาและ การให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสียตัดจ�ำหน่ายสะสม สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาและ การให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสีย - สุทธิ

18.

2554

2553

1,410,075

1,410,075

(76,246)

(45,864)

1,333,829

1,364,211

สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2554

2553

สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ประปา

3,169,109

3,169,109

หัก: สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ประปาตัดจ�ำหน่ายสะสม

(869,810)

(674,863)

2,299,299

2,494,246

สิทธิในการด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ประปา - สุทธิ 19.

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท)

2,493 2,493 11,611 14,104 1,095 1,095 2,493 13,009

99

รายงานประจ�ำปี 2554

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ซื้อเพิ่ม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซื้อเพิ่ม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

งบการเงินรวม


20.

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2554

เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

2553

2554

2553

-

-

2,612

2,611

41,493

32,685

33,883

25,419

เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

1,205

14,736

1,939

14,601

เจ้าหนี้กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน

1,675

3,068

-

-

เจ้าหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

-

214,000

-

214,000

เจ้าหนี้อื่นกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน (เจ้าหนี้ค่าก่อสร้าง)

9,885

59,251

9,885

59,251

เจ้าหนี้เงินประกันผลงานที่ไม่เกี่ยวข้องกัน

5,086

2,111

3,542

1,812

เจ้าหนี้จากการซื้อหลักทรัพย์ค้างจ่าย

5,993

6,995

5,993

6,995

43,212

35,854

26,609

20,758

108,549

368,700

84,463

345,447

เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น 21.

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (หน่วย: พันบาท) อัตราดอกเบีย้

งบการเงินรวม

เงินกู้

(ร้อยละ)

การช�ำระคืน

1.

MLR - อัตราทีร่ ะบุ ในสัญญาระหว่าง 2.00% - 2.25% MLR - อัตราทีร่ ะบุ ในสัญญาระหว่าง 2.00% - 2.25%

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

2553

2554

2553

ช�ำระคืนเป็นงวดทุก 3 เดือน เริม่ ตัง้ แต่เดือนมีนาคม 2553 ถึงเดือนมิถุนายน 2562

1,350,000

1,226,000

1,350,000

1,226,000

ช�ำระคืนเป็นงวดทุก 3 เดือน เริม่ ตัง้ แต่เดือนธันวาคม 2552 ถึงเดือนกันยายน 2562

2,790,000

3,150,000

2,790,000

3,150,000

รวม

4,140,000

4,376,000

4,140,000

4,376,000

หัก: ส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี

(470,000)

(450,000)

(470,000)

(450,000)

เงินกูย้ มื ระยะยาว - สุทธิจากส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี

3,670,000

3,926,000

3,670,000

3,926,000

2.

เงินกู้ยืมระยะยาวในข้อ 2. ระบุเงื่อนไขทางการเงินบางประการที่บริษัทฯต้องปฏิบัติตาม เช่น การด�ำรงอัตราส่วนทางการเงิน

รายงานประจ�ำปี 2554

100

22.

หุ้นกู้

เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552 บริษัทฯได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวน 3 ชุด เป็น จ�ำนวนเงิน 7,000 ล้านบาท เพื่อจ�ำหน่ายแก่นักลงทุนตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยมีรายละเอียดของ หุ้นกู้ดังนี้

ก)

หุ้นกู้ชุดที่ 1 จ�ำนวน 3,500,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 3,500 ล้านบาท หุ้นกู้ดังกล่าวจะครบ ก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2555 โดยมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 4.00 ต่อปี และมีก�ำหนดช�ำระดอกเบี้ยทุก 6 เดือน

ข)

หุ้นกู้ชุดที่ 2 จ�ำนวน 1,700,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,700 ล้านบาท หุ้นกู้ดังกล่าวจะครบ ก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2557 โดยมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 4.75 ต่อปี และมีก�ำหนดช�ำระดอกเบี้ยทุก 6 เดือน


ค)

หุ้นกู้ชุดที่ 3 จ�ำนวน 1,800,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,800 ล้านบาท หุ้นกู้ดังกล่าวจะครบ ก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559 โดยมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 5.35 ต่อปี และมีก�ำหนดช�ำระดอกเบี้ยทุก 6 เดือน

บริษัทฯต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินบางประการ เช่น การด�ำรงอัตราส่วนทางการเงิน

23.

ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน

จ�ำนวนเงินส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึ่งเป็นเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 แสดงได้ดังนี้

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน์ของ พนักงานโดยปรับกับก�ำไรสะสมต้นปี (หมายเหตุ 5)

9,259

3,623

ต้นทุนบริการในปัจจุบัน

2,436

1,231

370

145

12,065

4,999

ต้นทุนดอกเบี้ย ยอดคงเหลือปลายปี

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรวมอยู่ในก�ำไรหรือขาดทุนส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ของบริษัทฯและบริษัท ย่อยมีจ�ำนวน 3 ล้านบาท (เฉพาะของบริษัทฯ: 1 ล้านบาท)

สมมติฐานที่ส�ำคัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันประเมินสรุปได้ดังนี้ 2554

อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต (ขึ้นกับช่วงอายุ) อัตราการเปลี่ยนแปลงในจ�ำนวนพนักงาน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(ร้อยละต่อปี)

(ร้อยละต่อปี) 4.0%

4.0%

1.5% - 7.0%

5.0%

6.0% - 14.0%

6.0% - 14.0%

24.

ส�ำรองตามกฎหมาย

ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯต้องจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปีส่วนหนึ่งไว้เป็น ทุนส�ำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนส�ำรองนี้จะมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ส�ำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถน�ำไปจ่ายเงินปันผลได้

25.

ส�ำรองอื่น

ตามข้อก�ำหนดของสัญญาแก้ไขเพิ่มเติมสัมปทานประกอบกิจการประปา ลงวันที่ 20 มีนาคม 2551 ก�ำหนดให้บริษัทฯต้องจัดสรรส�ำรองก่อน จ่ายเงินปันผลเป็นจ�ำนวนร้อยละ 10 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปี

101

รายงานประจ�ำปี 2554

อัตราคิดลด

งบการเงินรวม


26.

ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2554

2553

125,049

64,471

50,289

ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย

345,896

372,258

339,020

366,533

ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ในการผลิตน�้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อ สิ้นสุดอายุสัญญาฯ

282,274

271,504

-

-

-

-

221,494

221,494

2,075

5,295

29,925

34,149

571,502

583,932

339,305

328,466

ค่าใช้จ่ายในการผลิตและซ่อมบ�ำรุง 27.

2554

147,471

ค่าบริหารและจัดการ

2553

เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน

ค่าตัดจ�ำหน่ายต้นทุนเงินลงทุนในบริษัทย่อย

งบการเงินเฉพาะกิจการ

การส่งเสริมการลงทุน บริษทั ฯได้รบั สิทธิพเิ ศษทางภาษีจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนส�ำหรับการผลิตน�ำ้ ประปา ตามบัตรส่งเสริมการลงทุนเลขที่ 1382(2)/2545 เมือ่ วันที่ 19 มิถนุ ายน 2545 ภายใต้เงือ่ นไขทีก่ �ำหนดบางประการ สิทธิพเิ ศษดังกล่าวมีสาระส�ำคัญดังนี้ -

การได้รบั ยกเว้นอากรขาเข้าของการน�ำเข้าเครือ่ งจักรทีเ่ ข้าตามเงือ่ นไขทีร่ ะบุไว้

-

การได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรทีไ่ ด้จากการประกอบกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม มีก�ำหนดระยะเวลาแปดปี นับแต่วนั ที่ เริม่ มีรายได้จากการประกอบกิจการนัน้ (วันที่ 21 กรกฎาคม 2547)

ในระหว่างปี 2553 บริษัทฯได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนส�ำหรับการผลิตน�้ำประปาตามบัตรส่งเสริมการ ลงทุนเลขที่ 2437(2)/2553 เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2553 ภายใต้เงื่อนไขที่ก�ำหนดบางประการ สิทธิพิเศษดังกล่าวมีสาระส�ำคัญดังนี้ -

การได้รบั ยกเว้นอากรขาเข้าของการน�ำเข้าเครือ่ งจักรทีเ่ ข้าตามเงือ่ นไขทีร่ ะบุไว้

-

การได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรทีไ่ ด้จากการประกอบกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม มีก�ำหนดระยะเวลาแปดปี นับแต่วนั ที่ เริม่ มีรายได้จากการประกอบกิจการนัน้ (วันที่ 30 กันยายน 2553)

รายได้ของบริษัทฯส�ำหรับปีจ�ำแนกตามกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนสามารถสรุปได้ต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท)

รายได้จากการขายน�ำ้ ประปา

รายงานประจ�ำปี 2554

102

กิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมการลงทุน

กิจการทีไ่ ม่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน

2554

2553

2554

2553

2,864,698

2,761,646

123,268

170,575

รวม 2554

2553

2,987,966

2,932,221

28.

ก�ำไรต่อหุ้น

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานค�ำนวณโดยการหารก�ำไรส�ำหรับปีที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ(ไม่รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ถ่วงน�้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานแสดงการค�ำนวณได้ดังนี้

ด้วยจ�ำนวนถัวเฉลี่ย


งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

2553

2554

2553

ก�ำไรส�ำหรับปี (พันบาท)

2,112,969

2,062,889

2,062,685

1,958,751

จ�ำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนัก (พันหุน้ )

3,990,000

3,990,000

3,990,000

3,990,000

0.53

0.52

0.52

0.49

ก�ำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน

29.

ข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน

บริษัทฯและบริษัทย่อยด�ำเนินกิจการในส่วนงานทางธุรกิจเดียวคือธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา และด�ำเนินธุรกิจในส่วนงานทางภูมิศาสตร์ เดียวคือในประเทศไทย ดังนั้น รายได้ ก�ำไรและสินทรัพย์ทงั้ หมดทีแ่ สดงในงบการเงินจึงเกีย่ วข้องกับส่วนงานทางธุรกิจและส่วนงานทางภูมศิ าสตร์ ตามทีก่ ล่าวไว้

30.

กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ

บริษัทฯและบริษัทย่อยและพนักงานบริษัทฯได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯ บริษัทย่อยและพนักงานจะจ่ายสมทบกองทุนเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 5 ของเงินเดือน กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดย บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย จ�ำกัดและบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จ�ำกัด และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมือ่ พนักงาน นั้นออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษัทฯและบริษัทย่อย ในระหว่างปี 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จ่ายเงินสมทบกองทุนเป็น จ�ำนวนเงิน 5 ล้านบาท (เฉพาะของบริษัทฯ: 2 ล้านบาท) (2553: 3 ล้านบาท เฉพาะของบริษัทฯ: 2 ล้านบาท)

31.

เงินปันผล เงินปันผล

เงินปันผลจ่ายจากผลการด�ำเนินงานส่วนที่ได้รับการ ส่งเสริมการลงทุนส�ำหรับเดือนกรกฎาคมจนถึงเดือน ธันวาคม 2552 ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อปรากฎในสมุด ทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2553 เงินปันผลจ่ายระหว่างกาลจากผลการด�ำเนินงานส่วน ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนส�ำหรับเดือนมกราคม จนถึงเดือนมิถนุ ายน 2553 ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทีม่ ชี อื่ ปรากฎ ในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 16 สิงหาคม 2553

อนุมัติโดย

เงินปันผลจ่าย ต่อหุ้น

(พันบาท)

(บาท)

ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2553 เมื่อ วันที่ 2 เมษายน 2553 678,276

0.17

597,471

0.15

1,275,747

0.32

798,000

0.20

ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯครั้ ง ที่ 3/2553 เมือ่ วันที่ 30 กรกฎาคม 2553

รวมเงินปันผลส�ำหรับปี 2553 เงินปันผลจ่ายจากผลการด�ำเนินงานส่วนที่ได้รับการ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2554 เมื่อ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ส�ำหรั บ เดื อ นกรกฎาคมจนถึ ง วันที่ 7 มีนาคม 2554 เดือนธันวาคม 2553 ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อปรากฎใน สมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2554 เงิ น ปั น ผลจ่ า ยระหว่ า งกาลจากผลการด�ำเนิ น งาน ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯครั้ ง ที่ ส่ ว นที่ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น ส�ำหรั บ เดื อ น 3/2554 เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2554 มกราคมจนถึงเดือนมิถุนายน 2554 ให้แก่ผู้ถือหุ้น ที่มีชื่อปรากฎในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 16 สิงหาคม 2554 รวมเงินปันผลส�ำหรับปี 2554

เงินปันผลจ่าย

103 598,500

0.15

1,396,500

0.35

รายงานประจ�ำปี 2554

ก�ำไรส่วนทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (บาทต่อหุน้ )


32.

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

บริษัทฯไม่มีภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลจากก�ำไรของกิจการที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 เนื่องจากบริษัทฯมีผลขาดทุนทางภาษียกมาจากปีก่อน ๆ สูงกว่าก�ำไรส�ำหรับปี

ในระหว่างไตรมาสทีส่ องของปี 2552 บริษทั ย่อยได้รบั หนังสือแจ้งการเปลีย่ นแปลงผลขาดทุนสุทธิจากส�ำนักงานสรรพากรพืน้ ที่ ซึง่ จากการ ประเมินของส�ำนักงานดังกล่าว บริษทั ย่อยจะต้องจ่ายภาษี เงินได้นติ บิ คุ คลของปี 2551 จ�ำนวนประมาณ 44 ล้านบาท เพือ่ ลดความเสียหายที่ อาจจะเกิดขึน้ ในอนาคต บริษทั ย่อยได้บันทึกภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับปี 2551 จ�ำนวน 44 ล้านบาท และภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับปี 2552 จ�ำนวน 143 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม บริษทั ย่อยไม่เห็นด้วยกับการประเมินดังกล่าว จึงได้ยนื่ อุทธรณ์คดั ค้านการประเมินภาษีอากรกับ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์กรมสรรพากร ซึง่ ปัจจุบนั อยูใ่ นระหว่างการพิจารณา หากคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ยกเลิกการประเมินผล ตามหนังสือแจ้งการเปลีย่ นแปลงผลขาดทุนสุทธิดงั กล่าว ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลทีไ่ ด้เคยบันทึกไว้จะถูกบันทึกกลับรายการเป็นรายได้ของบริษทั ย่อย

นอกจากนี้ ในระหว่างไตรมาสที่สามของปีปัจจุบัน บริษัทย่อยได้รับหนังสือแจ้งการเปลี่ยนแปลง ผลขาดทุนสุทธิจากส�ำนักงานสรรพากรพื้นที่ ซึ่งจากการประเมินของส�ำนักงานดังกล่าวบริษัทย่อยจะต้องจ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลของปี 2551 เพิ่มเติม จ�ำนวน 16 ล้านบาท บริษัทย่อยได้ จ่ายช�ำระภาษีเงินได้นิติบุคคลดังกล่าวแล้วทั้งจ�ำนวน

33.

ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

33.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯมีรายจ่ายฝ่ายทุนจ�ำนวนเงิน 2 ล้านบาท ที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างและตกแต่งอาคารส�ำนักงาน 33.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาบริการและภาระผูกพันอื่น ก)

บริษัทฯได้ท�ำสัญญาการบริหารจัดการและการซ่อมบ�ำรุงกับบริษัท ไทยวอเตอร์ โอเปอเรชั่นส์ จ�ำกัด เพื่อให้บริษัทย่อยดังกล่าวบริหาร จัดการและการซ่อมบ�ำรุงรักษา ระบบผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ประปาและบริหารจัดการระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย โดยภายใต้เงือ่ นไขสัญญาดังกล่าว บริษัทฯต้องจ่ายค่าบริการตามอัตราที่ระบุในสัญญา

ข)

บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด ได้ท�ำสัญญาการซ่อมบ�ำรุงกับบริษัท ไทยวอเตอร์ โอเปอเรชั่นส์ จ�ำกัด เพื่อให้บริษัทดังกล่าว ท�ำการซ่อมบ�ำรุงรักษา โดยภายใต้เงื่อนไขสัญญาดังกล่าว บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด ต้องจ่ายค่าบริการตามอัตราที่ระบุในสัญญา

ค)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทย่อยมีภาระผูกพันจากสัญญาบริการอื่นๆ เป็นจ�ำนวนเงินรวม 6 ล้านบาท

33.3 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าด�ำเนินงาน บริษทั ฯได้เข้าท�ำสัญญาเช่าด�ำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการเช่าที่ดิน อายุของสัญญามีระยะเวลาตั้งแต่ 1 มีนาคม 2553 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2578 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษทั ฯ มีจ�ำนวนเงินขัน้ ต�ำ่ ทีต่ อ้ งจ่ายในอนาคตทัง้ สิน้ ภายใต้สญ ั ญาเช่าด�ำเนินงานทีบ่ อกเลิกไม่ได้จ�ำนวน 5 ล้านบาท ในระหว่างปี 2554 บริษัทฯมีรายจ่ายตามสัญญาเช่าจ�ำนวนเงิน 1 ล้านบาท 33.4 หนังสือค�้ำประกันธนาคาร

รายงานประจ�ำปี 2554

104

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษทั ฯและบริษทั ย่อย มีหนังสือค�ำ้ ประกันซึง่ ออกโดยธนาคารในนามบริษทั ฯและบริษทั ย่อย เหลืออยูเ่ ป็นจ�ำนวน 262 ล้านบาท ซึง่ เกีย่ วเนือ่ งกับภาระผูกพันทางปฏิบตั บิ างประการตามปกติธรุ กิจของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ซึง่ ประกอบด้วย หนังสือค�ำ้ ประกันเพือ่ ค�ำ้ ประกันตามสัญญาซือ้ ขายน�ำ้ ประปากับการประปาส่วนภูมภิ าคจ�ำนวน 212 ล้านบาท เพือ่ ค�ำ้ ประกันการใช้ไฟฟ้าจ�ำนวน 50 ล้านบาท (งบการเงิน เฉพาะกิจการ: เพือ่ ค�ำ้ ประกันตามสัญญาซือ้ ขายน�ำ้ ประปากับการประปาส่วนภูมภิ าคจ�ำนวน 52 ล้านบาท เพือ่ ค�ำ้ ประกันการใช้ไฟฟ้าจ�ำนวน 31 ล้านบาท)


33.5 คดีฟ้องร้อง บริษทั ประปาปทุมธานี จ�ำกัด ในเดือนสิงหาคม 2547 บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด ได้ถูกบุคคลหนึ่งยื่นค�ำเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการพิจารณาข้อพิพาทใน การเรียกร้องค่าเสียหายจากบริษัทดังกล่าว (ผู้คัดค้าน ที่ 2) ร่วมกับการประปาส่วนภูมิภาค (ผู้คัดค้านที่ 1) เป็นจ�ำนวนทุนทรัพย์รวมประมาณ 64.5 ล้านบาท จากการละเมิดสิทธิของบุคคลดังกล่าว อันเนื่องมาจากการก่อสร้างโรงงานผลิตน�้ำประปา ต่อมาเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2549 คณะอนุญาโตตุลาการได้มีค�ำชี้ขาดให้ยกค�ำเสนอข้อพิพาทดังกล่าว ต่อมาเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2549 บุคคลดังกล่าวได้ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองเพื่อคัดค้านค�ำชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการที่ให้ยกค�ำเสนอ ข้อพิพากษาดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษัท ประปาปทุมธานี จ�ำกัด ไม่ได้มีการตั้งส�ำรองเผื่อผลเสียหายจากข้อพิพาทดังกล่าวไว้ในบัญชีเนื่องจากฝ่ายบริหาร ของบริษัทดังกล่าวเชื่อว่าจะไม่มีค่าเสียหายเป็นจ�ำนวนเงินที่เป็นสาระส�ำคัญจากข้อพิพาทดังกล่าว 34. เครื่องมือทางการเงิน 34.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่ส�ำคัญของบริษัทฯและบริษัทย่อยตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและการเปิดเผย ข้อมูลส�ำหรับเครือ่ งมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หุ้นกู้และเงินกู้ยืมระยะยาว บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับ เครื่องมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้าและมีความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของลูกหนี้ เนื่องจาก บริษัทฯและบริษัทย่อยมีลูกค้าหลักรายเดียวคือการประปาส่วนภูมิภาค อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการประปาส่วนภูมิภาคเป็นหน่วยงานราชการ ดังนั้น บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระส�ำคัญจากการให้สินเชื่อดังกล่าว จ�ำนวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯอาจ ต้องสูญเสียจากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้ที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่ส�ำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินลงทุนชั่วคราว เงินให้กู้ยืมระยะยาว แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน หุ้นกู้และเงินกู้ยืมระยะยาวที่มีดอกเบี้ย อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มีอัตรา ดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯ จึงอยู่ในระดับต�่ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่ส�ำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และส�ำหรับสินทรัพย์และหนี้สิน ทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบก�ำหนด หรือ วันที่มีการก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการก�ำหนดอัตรา ดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดังนี้

105

รายงานประจ�ำปี 2554


งบการเงินรวม อัตราดอกเบีย้ คงที่

อัตราดอกเบีย้

ไม่มี

ภายใน

มากกว่า 1

ปรับขึน้ ลง

อัตรา

อัตราดอกเบี้ย

1 ปี

ถึง 5 ปี

ตามราคาตลาด

ดอกเบีย้

รวม

ที่แท้จริง

ล้านบาท

(ร้อยละต่อปี)

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

-

-

1,967

-

1,967

0.25 - 2.50

2,966

-

-

-

2,966

2.50 - 5.25

-

-

-

431

431

2,966

-

1,967

431

5,364

เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่

-

-

-

109

109

เงินกูย้ มื ระยะยาว

-

-

4,140

-

4,140

3.625 - 5.125

3,500

3,496

-

-

6,996

4.00 - 5.35

3,500

3,496

4,140

109

11,245

เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ หนีส้ นิ ทางการเงิน

หุน้ กู้

งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบีย้ คงที่

อัตราดอกเบีย้

ไม่มี

ภายใน

มากกว่า 1

ปรับขึน้ ลง

อัตรา

อัตราดอกเบีย้

1 ปี

ถึง 5 ปี

ตามราคาตลาด

ดอกเบีย้

รวม

ทีแ่ ท้จริง

ล้านบาท

(ร้อยละต่อปี)

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

-

-

1,405

-

1,405

0.25 - 2.50

2,966

-

-

-

2,966

2.50 - 5.25

ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่

-

-

-

291

291

เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกีย่ วข้องกัน

-

-

2,403

-

2,403

2,966

-

3,808

291

7,065

เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่

-

-

-

84

84

เงินกูย้ มื ระยะยาว

-

-

4,140

-

4,140

3.625 - 5.125

3,500

3,496

-

-

6,996

4.00 - 5.35

3,500

3,496

4,140

84

11,220

เงินลงทุนชัว่ คราว

3.75 - 5.125

หนีส้ นิ ทางการเงิน

หุน้ กู้

รายงานประจ�ำปี 2554

106


ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯและบริษัทย่อยพิจารณาว่าไม่มีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากบริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีธุรกรรมที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ที่มีสาระส�ำคัญ 34.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุตธิ รรม หมายถึง จ�ำนวนเงินทีผ่ ซู้ อื้ และผูข้ ายตกลงแลกเปลีย่ นสินทรัพย์กนั ในขณะทีท่ งั้ สองฝ่ายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลีย่ น และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการก�ำหนดมูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือ ทางการเงิน มูลค่ายุตธิ รรมจะก�ำหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือก�ำหนดขึน้ โดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าทีเ่ หมาะสม บริษัทฯและบริษัทย่อยมีการประมาณการมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินตามหลักเกณฑ์ดังนี้ ก)

สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่จะครบก�ำหนดในระยะเวลาอันสั้น ได้แก่ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้ การค้าและลูกหนีอ้ นื่ เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ แสดงมูลค่ายุตธิ รรมโดยประมาณตามมูลค่าตามบัญชีทแี่ สดงในงบแสดงฐานะการเงิน

ข)

เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันและเงินกู้ยืมระยะยาวที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาดแสดง มูลค่ายุติธรรมโดยประมาณตามมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน

ค)

หุ้นกู้ที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราคงที่ แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยการค�ำนวณมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคต คิดลดด้วย อัตราดอกเบี้ยโดยประมาณในตลาดปัจจุบันส�ำหรับเงินกู้ยืมที่มีเงื่อนไขใกล้เคียงกัน ซึ่งมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณมีมูลค่าใกล้เคียงกับ มูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่ส�ำคัญมีมูลค่าโดยประมาณใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงใน งบแสดงฐานะการเงินโดยไม่มีผลแตกต่างอย่างมีสาระส�ำคัญ

35.

การบริหารจัดการทุน

วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที่ส�ำคัญของบริษัทฯคือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทางการเงินที่เหมาะสมและการด�ำรงไว้ซึ่งความสามารถใน การด�ำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง

ตามงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุม่ บริษทั มีอตั ราส่วนหนีส้ นิ ต่อทุนเท่ากับ 1.13: 1 (2553: 1.27:1) และบริษัทฯมีอัตราส่วน เท่ากับ 1.14:1 (2553: 1.28:1)

36.

การจัดประเภทรายการในงบการเงิน

บริษัทฯได้จัดประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบการเงินส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดประเภท รายการบัญชีในปีปัจจุบันเนื่องจากบริษัทฯได้ปฏิบัติตามการแสดงรายการในงบการเงินตามข้อก�ำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าตาม ที่กล่าวไว้ใน หมายเหตุ 2 และได้น�ำมาตรฐานการบัญชีฉบับใหม่และฉบับปรับปรุงมาถือปฏิบัติตามที่กล่าวในหมายเหตุ 3 และหมายเหตุ 5

การจัดประเภทรายการบัญชีดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อก�ำไร (ขาดทุน) หรือส่วนของผู้ถือหุ้นตามที่ได้รายงานไว้

37.

การอนุมัติงบการเงิน

งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2555

107

รายงานประจ�ำปี 2554


30/130 ËÁÙ‹·Õè 12 ¶¹¹¾Ø·¸ÁűÅÊÒ 5 µÓºÅäË¢Ô§ ÍÓàÀÍÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á 73210 â·ÃÈѾ· : (+662) 811-7526, (+662) 811-7528 â·ÃÊÒà : (+662) 420-6064


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.