TTW: Annual Report 2009

Page 1

รายงานประจำปี 2552


บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552


บมจ.น้ำประปาไทย


สารบัญ 6 8 15 16 19 20

32 62

80

พัฒนาการของบริษัท ตั้งแต่ปี 2547 กราฟเปรียบเทียบตารางจ่ายน้ำและกิจกรรมของแต่ละปี

บทความ : B3G กับความยั่งยืนในธุรกิจน้ำ สารจากประธานกรรมการ รายงานคณะกรรมการตรวจสอบต่อผู้ถือหุ้น

วิสัยทัศน์ พันธกิจ คุณค่าองค์กร

การดำเนินงานในรอบปี

21 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป

26 โครงสร้างรายได้

27 สรุปการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำคัญในรอบปีที่ผ่านมา รวมทั้งเหตุการณ์ปัจจุบัน 30 รายงานและวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน

ความรับผิดชอบต่อสังคม

35 นโยบายการกำกับดูแลกิจการ

36 กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม

106

ข้อมูลองค์กร

62 63 66 68 69

ข้อมูลทั่วไป

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

โครงสร้างกลุ่มบริษัท

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่

โครงสร้างการบริหาร

การบริหารจัดการ

80 นโยบายการจ่ายเงินปันผล

81 การบริหารความเสี่ยง

83 การควบคุมภายใน

84 รายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร

103 การถือครองหุ้นของคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร

104 ค่าตอบแทน 104 บุคคลอ้างอิงอื่นๆ 105 รายการระหว่างกัน

งบการเงิน

106 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

107 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

108 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

รายงานประจำปี 2552


พัฒนาการของบริษัทตั้งแต่ปี 2547 กราฟเปรียบเทียบตารางจ่ายน้ำ และกิจกรรมของแต่ละปี

2547

2548

89,084,313

100,146,662

2549

107,334,075

สรุปเหตุการณ์สำคัญในแต่ละปี

2547

• เริ่มผลิตและจำหน่ายน้ำประปาให้การประปาส่วนภูมิภาคในเขตจังหวัดสมุทรสาคร-นครปฐม โดยมีกำหนดปริมาณการรับซื้อน้ำขั้นต่ำจาก กปภ. ที่ 200,000 ลบ.ม. ต่อวัน • เริม่ ใช้สทิ ธิประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ตามบัตรส่งเสริมการลงทุน ทีไ่ ด้รบั จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)

2548

• มีการเปลีย่ นแปลงโครงสร้างการถือหุน้ โดยจากเดิมบริษทั ฯ มีผถู้ อื หุน้ 2 รายคือ บมจ. ช.การช่าง และกลุม่ บริษทั เธมส์ วอร์เตอร์ เป็นเมือ่ ภายหลังการเปลีย่ นแปลงแล้วบริษทั ฯ มีผถู้ อื หุน้ 4 ราย คือ บมจ. ช.การช่าง, บมจ. ทางด่วนกรุงเทพ, บมจ. ธนาคารกรุงเทพ, และ บมจ. ธนาคารทหารไทย • ปริมาณการขายน้ำประปาเพิม่ ขึน้ กว่าร้อยละ 50 เปรียบเทียบกับปีทผี่ า่ นมา

2549

• เข้าซือ้ กิจการของบริษทั วอเตอร์โฟลว์ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ทีด่ ำเนินการในส่วนของงานปฏิบตั กิ ารในฝ่ายผลิต โดยดูแลเกีย่ วกับการผลิต การ

ซ่อมบำรุง และการควบคุมการผลิต และจ่ายน้ำประปา เป็นหน่วยผลิตให้กบั บริษทั ฯ ทำให้ วอเตอร์โฟลว์ มีสถานะเป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ

• บริษทั มิตซุย วอร์เตอร์ โฮลดิง้ ส์ (ประเทศไทย) จำกัด เข้าซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ จากบมจ. ช.การช่าง ทำให้มติ ซุยฯ มีสถานะเป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่อนั ดับสองรองจาก บมจ. ช.การช่าง • บริษทั ฯ แปรสภาพเป็นบริษทั มหาชน และเพิม่ ทุนจดทะเบียนจาก 3,250 ล้านบาท เป็น 3,990 ล้านบาท • บริษทั ฯ ได้รบั ใบรับรองระบบบริหารงานคุณภาพตามเกณฑ์ ISO 9001:2000 • ปริมาณการรับซือ้ น้ำขัน้ ต่ำจาก กปภ. ปรับเพิม่ ขึน้ เป็น 250,000 ลบ.ม. ต่อวัน

บมจ.น้ำประปาไทย


2550

2551

2552

114,591,756

115,283,731

117,227,151

92,818,141

107,519,687

108,718,026

หน่วย : ลบ.ม. TTW PTW

2550

• เข้าซื้อหุ้นร้อยละ 98 ของทุนชำระแล้วของบริษัท ประปาปทุมธานี จำกัด ทำให้ประปาปทุมธานีฯ มีสถานะเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ

• เสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนของบริษทั ฯ ให้แก่กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ฯ จำนวน 40 ล้านหุน้

2551

• เข้าเป็นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเสนอขายหุน้ สามัญของบริษทั ฯ ต่อบุคคลทัว่ ไปเป็นครัง้ แรกจำนวน 1 พัน ล้านหุน้ • ปริมาณการรับซือ้ น้ำขัน้ ต่ำจาก กปภ. ปรับเพิม่ ขึน้ เป็น 300,000 ลบ.ม. ต่อวัน • ลงนามในสัญญาซือ้ ขายน้ำประปาส่วนเพิม่ กับการประปาส่วนภูมภิ าค

2552

• เริม่ การก่อสร้างการขยายกำลังการผลิตจากกำลังการผลิตสูงสุด 320,000 ลบ.ม. ต่อวัน เป็น 440,000 ลบ.ม. ต่อวัน • ปรับโครงสร้างหนีข้ องบริษทั ฯ โดยออกหุน้ กูจ้ ำนวน 7 พันล้านบาท ทีอ่ ตั ราดอกเบีย้ แบบคงทีเ่ ฉลีย่ 7 ปี เท่ากับร้อยละ 4.9 เพือ่ นำเงินมาชำระ หนีเ้ งินกูร้ ะยะยาว ทำให้บริษทั ฯ ลดความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราดอกเบีย้ • เข้าซือ้ สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา และให้บริการบำบัดน้ำเสียแก่ลกู ค้าภายในเขตนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน เป็นระยะ เวลา 30 ปี • ปรับโครงสร้างหนีข้ องบริษทั ลูกคือ บริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด มีผลทำให้คา่ ใช้จา่ ยด้านดอกเบีย้ ลดลง 1.5 %

รายงานประจำปี 2552


B3G model with sustainble water business B3G กับความยั่งยืนในธุรกิจน้ำ

ในปัจจุบันมีธุรกิจมากมายในโลกแต่โจทย์หนึ่งของทุกๆ ธุรกิจที่เหมือนกัน คือการสร้างความยั่งยืนทางธุรกิจ ซึ่งต้องอาศัยปัจจัย 3 ประการ ได้แก่ การ เติบโตของตลาด ความเป็นมิตรกับชุมชนและสิ่งแวดล้อม และความคุ้มค่าต่อ การลงทุน โดยต้องอาศัยการบริหารจัดการที่เหมาะสมและมีต้นทุนมากน้อย แตกต่างกัน แต่มีอยู่ธุรกิจหนึ่งที่แตกต่าง เพราะมีครบทั้ง 3 ประการ ตาม ธรรมชาติของมันเอง นั่นก็คือ ’ธุรกิจน้ำ’ เพื่อความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นจึงขอนำ เสนอธุรกิจนี้โดย 4 คุณลักษณะของธุรกิจเกี่ยวกับน้ำ คือ Blue Green Gold และ Glitter หรือ B3G

บมจ.น้ำประปาไทย


Blue

ตลาดสีฟา้ ครามในธุรกิจน้ำ

ปริมาณน้ำทั้งหมดในโลกคือ 1.4 พันล้านลูกบาศก์ Total World Water กิโลเมตร เป็นน้ำจืด 35 ล้านลูกบาศก์กโิ ลเมตร หรือคิดเป็น ร้อยละ 2.5 ของน้ำทัง้ หมด จากปริมาณน้ำจืดทัง้ หมดมีนำ้ จืด ที่เราสามารถเข้าถึงได้คิดเป็นร้อยละ 0.3 น้ำจืดที่เหลือเป็น 2.5 % Freshwater น้ำแข็งซึง่ อยูใ่ นรูปของหิมะบนยอดเขาและก้อนน้ำแข็งทางขัว้ โลกเหนือและใต้ ซึง่ หมายถึง มีนำ้ จืดทีเ่ ราสามารถนำมาใช้ได้ เพียงร้อยละ 0.0075 ของปริมาณน้ำทัง้ หมดในโลก น้ำจึงเป็นทรัพยากรทีม่ คี า่ เพราะแม้จะไม่ใช่ทรัพยากรที่ 97.5Saltwater % ใช้แล้วหมดไป แต่จากปัจจัย 2 ประการ คือ จำนวนประชากร ของมนุ ษ ย์ ที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น และมลพิ ษ ทางน้ ำ ที่ เ กิ ด จากการ กระทำของมนุษย์สง่ ผลให้ปริมาณน้ำจืดทีน่ ำมาใช้ได้มจี ำกัด มากขึน้ เรือ่ ยๆ ปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกกำลังประสบปัญหาการ ขาดแคลนน้ำจืด และปัญหาดังกล่าวมีแนวโน้มจะเพิ่มมาก ขึ้นจากการขยายตัวของประชากรและเศรษฐกิจ ซึ่งคาดว่า Breakdown of freshwater resources ภายในปี พ.ศ. 2568 จะมีมากกว่า 30 ประเทศทั่วโลกที่ ประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำจืดทีเ่ ข้าถึงได้ 0.3 %

น้ำสะอาดสำหรับอุปโภค-บริโภคกับปัญหาระดับโลก

สหประชาชาติประเมินว่า ปริมาณการใช้นำ้ ต่อคนต่อวัน ในเขตเมืองคือ 200 ลิตรต่อคนต่อวัน สำหรับการบริโภค อาหาร และทำความสะอาด อย่างไรก็ตาม 1 ใน 6 ของ ประชากรโลกหรือกว่า 894 ล้านคน ไม่สามารถเข้าถึงแหล่ง น้ำสะอาดได้ ในปัจจุบนั ประชากร 2.5 พันล้านคน รวมถึงเด็ก 1 พัน ล้านคน ปราศจากสุขอนามัยขัน้ พืน้ ฐาน ทุกๆ 20 วินาทีจะมี เด็กเสียชีวิต และมีผู้เสียชีวิตรวม 1.5 ล้านคนในแต่ละปี เพราะมีสขุ อนามัยทีไ่ ม่ดจี ากน้ำ ประชากรของโลกโดยเฉพาะในภูมภิ าคแอฟริกา เอเชีย กลาง ตะวันออกกลาง และอเมริกาใต้ยังมีการเข้าถึงของ ระบบสุขอนามัยต่ำกว่าร้อยละ 50 ของประชากร ในปี พ.ศ. 2543 ประชากรกว่า 884 ล้านคน ครึง่ หนึง่ อาศัยในเอเชีย ยัง ใช้นำ้ ทีไ่ ม่ได้รบั การบำบัด

Freshwater Lakes & Rivers

70 %

Ice & Snow Cover In Mountainous Regions

30 % Ground Water ทีม่ ารูปประกอบ : UN-Water, 2008

รายงานประจำปี 2552


จากปัญหาสูโ่ อกาสในการลงทุน

สหประชาชาติประเมินว่าในปี พ.ศ. 2568 จะมีการ เติบโตของประชากรโลกประมาณ 7.82 พันล้านคน องค์การ อนามัยโลกเชื่อว่าต้องใช้เงินลงทุนมากกว่า 11.3 พันล้าน เหรียญสหรัฐฯ ต่อปีตลอดระยะเวลา 15 ปี (2548 – 2563) ใน การพัฒนาแหล่งน้ำและสุขอนามัยด้านน้ำทั่วโลกให้เป็นไป ตามเป้าหมายแห่งสหัสวรรษใหม่ เพือ่ บรรเทาภัยจากการเข้า ไม่ถงึ แหล่งน้ำสะอาด ประเทศไทย สำหรับประเทศไทยมีปริมาณน้ำจืด ซึ่งเกิดจากน้ำฝน เฉลีย่ ต่อปี น้ำบาดาล ไอน้ำในชัน้ บรรยากาศ น้ำผิวดิน และ แหล่ ง กั ก เก็ บ น้ ำ รวมทั้ ง สิ้ น ประมาณ 1,700,000 ล้ า น ลู ก บาศก์ เ มตรโดยมี ค วามต้ อ งการใช้ น้ ำ ประมาณปี ล ะ 70,000 ล้ า นลู ก บาศก์ เ มตร ซึ่ ง แบ่ ง เป็ น การใช้ น้ ำ เพื่ อ การเกษตรร้อยละ 75 เพือ่ การอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมร้อยละ 18 เพื่อการบริโภคร้อยละ 4 และเพื่อภาคอุตสาหกรรมและการ ท่องเทีย่ วร้อยละ 3 และความต้องการใช้นำ้ ทัง้ ประเทศมีแนว โน้มเพิม่ มากขึน้ เฉลีย่ ร้อยละ 1 ต่อปี

เมือ่ พิจารณาการเข้าถึงน้ำประปาในประเทศไทย พบว่า มีเพียงร้อยละ 50 ที่เข้าถึงน้ำประปาได้ ในขณะที่การเข้าถึง ระบบรวบรวมน้ำเสียนั้นส่วนใหญ่จะอยู่ตามนิคมอุตสาหกรรม หากเป็นภาคครัวเรือนนัน้ จะใช้ระบบรวบรวมร่วมกับท่อ ระบายน้ำฝน ซึง่ ถือว่าระบบการบริหารน้ำเสียในประเทศไทย นัน้ ยังอยูใ่ นระยะเริม่ ต้นเท่านัน้ จากข้อมูลทัง้ หมดได้แสดงให้เห็นแล้วว่าธุรกิจน้ำนับวัน มีแต่ความต้องการที่เพิ่มขึ้น มีวิวัฒนาการในการใช้น้ำให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และยังมีโอกาสอีกมากมายทั้งใน ประเทศไทยเองและต่างประเทศ

ทีม่ ารูปประกอบ : UN-Water, 2008

10

บมจ.น้ำประปาไทย


Green

ความเป็นมิตรกับชุมชนและสิ่งแวดล้อมในธุรกิจน้ำ

สุขอนามัยด้านน้ำ

เนือ่ งจากมนุษย์ทกุ คนต้องใช้นำ้ และใช้ทกุ วัน การเข้าถึง แหล่งน้ำทีส่ ะอาดเป็นปัจจัยสำคัญทีจ่ ะส่งเสริมภาวะสุขภาพ ทีด่ ี ในรายงานของ World Business Council for Sustainable Development เรือ่ ง It is time for business to act ระบุวา่ การ ลงทุนในด้านน้ำของรัฐและเอกชนทุก 1 เหรียญสหรัฐ จะส่งผล ตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์จากการเพิ่มสุขอนามัยที่ดีต่อ ชุมชน 10 เหรียญสหรัฐ หรือกว่า 10 เท่า การลงทุนในธุรกิจ น้ำจึงเป็นการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างชัดเจน ขอให้ นึกถึงภาพความสุขในการใช้นำ้ แต่ละวันของท่านเทียบกับวัน ทีน่ ำ้ ไม่ไหล การบริหารจัดการน้ำดี-น้ำเสีย ธุรกิจเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่ก่อให้เกิดการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรทีม่ จี ำกัดอย่างคุม้ ค่าทีส่ ดุ ดังนัน้ ธุรกิจ ภาวะโลกร้อน-เทคโนโลยีนำ้ สีเขียว น้ำจึงเป็นส่วนกระตุ้นให้เกิดการดูแลสิ่งแวดล้อมทั้งต้นน้ำ ภาวะโลกร้อนเป็นปรากฏการณ์สำคัญที่ส่งผลกระทบ กลางน้ำ และปลายน้ำไปโดยปริยาย ขอยกตัวอย่างประเทศที่ ต่อทุกชีวติ บนโลกใบนี้ ทรัพยากรน้ำเป็นส่วนสำคัญทีไ่ ด้รบั ผล มีการบริหารจัดการน้ำทีด่ ปี ระเทศหนึง่ เช่น สิงคโปร์ เนือ่ งจาก กระทบ World Wildlife Fund, WWF ได้ทำการศึกษาความ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นเกาะขนาด 699 ตารางกิโลเมตร เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศบริเวณลุ่มน้ำแยงซีเกียง ระบุว่า ประเทศนีจ้ งึ ใช้กลยุทธ์ “Four Taps” มาใช้ “4 ท่อ” ทีว่ า่ นัน้ อุณหภูมใิ นลุม่ น้ำแยงซีเกียงสูงขึน้ 0.33 องศาเซลเซียสต่อปี หมายถึงการได้มาซึง่ น้ำดิบ 4 ทาง ได้แก่ 1. น้ำฝนและอ่าง ตัง้ แต่ปี 2533 ถึงปัจจุบนั และจะเพิม่ ขึน้ ต่อไปเรือ่ ยๆ ปรากฏเก็บน้ำ 2. น้ำจากประเทศเพือ่ นบ้าน 3. น้ำเสียทีผ่ า่ นการ การณ์นี้จะก่อให้เกิดหายนะทางธรรมชาติหนักขึ้นและบ่อย บำบัดเพือ่ นำกลับมาใช้ใหม่ และ 4. น้ำทะเล ภายใต้หน่วย ครัง้ ทัง้ น้ำท่วมรุนแรง คลืน่ ความร้อน และภัยแล้ง ขณะเดียว งาน Public Utilities Board หรือ PUB การบริหารน้ำของ กันระดับน้ำทะเลบริเวณนครเซี่ยงไฮ้ก็ขยับสูงขึ้น 11.5 ซม. สิงคโปร์จงึ เน้นประสิทธิภาพเพือ่ ความยัง่ ยืน น้ำทุกหยดมีคา่ ระหว่าง 30 ปีมานี้ และมีแนวโน้มสูงขึน้ อีก 18 ซม. ในปี 2593 ในแต่ละหยดใช้ 2 ครัง้ ดังนัน้ ธุรกิจน้ำจึงเป็นตัวจักรสำคัญที่ ซึง่ จะสร้างภัยคุกคามแหล่งน้ำในเมือง ประธานของ WWF จะขับเคลื่อนให้เกิดการใช้น้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด กล่าวถึงผลการวิจัยดังกล่าวว่า “การประเมินแยงซีเกียงยัง และเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้เข้าใจง่ายขึน้ ขอให้คดิ ว่า ช่ ว ยย้ ำ ถึ ง ความสำคั ญ ของการลงทุ น เพื่ อ รั ก ษาการปรั บ ท่านอาศัยบนเกาะแห่งหนึง่ ทีม่ แี ต่ธารน้ำตกไหลลงสูท่ ะเล ซึง่ เปลีย่ นสภาพอากาศ” ท่านต้องใช้นำ้ ท่านต้องอาศัยแหล่งน้ำดังกล่าว แล้วท่านจะ นอกจากแม่น้ำแยงซีเกียงแล้ว ผลกระทบจากโลกร้อน ไม่รว่ มมือในการดูแลแหล่งน้ำหรือ? ท่านจะไม่รว่ มมือในการ ยังมีอกี มาก ความตืน่ ตัวของประชาคมโลกนำไปสูก่ า้ วสำคัญ ดูแลป่าต้นน้ำหรือ? ท่านจะไม่ส่งเสริมให้มีการใช้น้ำอย่างมี ในการผลักดันเทคโนโลยีสีเขียวอย่างจริงจัง ในธุรกิจน้ำการ ประสิทธิภาพสูงทีส่ ดุ หรือ? ท่านจะไม่บำบัดน้ำเสียก่อนปล่อย พัฒนาด้านเทคโนโลยีแบ่งออกเป็นหลายด้าน ทัง้ ด้านสารเคมี กระบวนการผลิต กระบวนการส่ง-จ่าย การบำบัดน้ำ และ สูล่ ำธารดังกล่าวหรือ? การนำกลั บ มาใช้ ใ หม่ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ ง าน ทรัพยากรน้ำให้คมุ้ ค่าทีส่ ดุ และคืนน้ำเสียจากผูบ้ ริโภคทีไ่ ด้รบั การบำบัดแล้วกลับคืนสูธ่ รรมชาติได้อย่างปลอดภัย น้ำกับสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องที่แยกกันไม่ขาด และน้ำกับ ชุมชนเป็นสิง่ ทีไ่ ม่อาจแยกขาดจากกันได้ ทัง้ นีป้ จั จัยหนึง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดความขาดแคลนน้ำ คือมลพิษทางน้ำทีเ่ กิดจากฝีมอื ของ มนุษย์ เช่น การอุปโภค-บริโภค การเกษตร การอุตสาหกรรม และอืน่ ๆ เป็นต้น ซึง่ ส่งผลให้ปริมาณน้ำทีส่ ามารถนำมาใช้ได้ น้อยลง ดังนั้นการบริหารจัดการน้ำดีให้เพียงพอต่อความ ต้องการ และบำบัดควบคุมน้ำเสีย เป็นสิง่ หนึง่ ทีผ่ อู้ ยูใ่ นธุรกิจ น้ำมีสว่ นเกีย่ วข้องอย่างมาก

รายงานประจำปี 2552

11


Gold

การลงทุนทีค่ มุ้ ค่าในธุรกิจน้ำ

จากปัญหาการขาดแคลนและความต้องการ น้ำ สะอาดทีข่ ยายตัวอย่างต่อเนือ่ งทางสหประชาชาติและ ธนาคารโลกได้ให้การสนับสนุน ทั้งในแง่เงินทุนวิจัย และการลงทุนเพือ่ พัฒนาแหล่งน้ำ การบำบัดน้ำเพือ่ อุปโภคบริโภคและเพื่อคืนสู่แหล่งน้ำธรรมชาติอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งในภูมิภาคเอเชียก็มีธนาคารเพื่อการ พัฒนาแห่งเอเชียเป็นแหล่งเงินทุนสำคัญ รวมถึง หน่วยงานระหว่างประเทศอืน่ ๆ เช่น JICA เป็นต้น

คำถามสำคัญของทัง้ ภาครัฐและเอกชนคือ การลงทุนใน ธุรกิจน้ำมีความคุ้มค่าหรือไม่? โดยเฉพาะในประเทศไทยที่ ระบบสาธารณูปโภคส่วนใหญ่ยงั เป็นของรัฐ เพือ่ ความชัดเจน จึงขอนำมูลค่าหุน้ ของธุรกิจน้ำในตลาดทุนต่างๆ ของโลกมา พิจารณา การวิจยั หุน้ ในธุรกิจน้ำของตลาดแนสแด็กบริษทั ฯ หนึง่ พบว่า นักลงทุนทีล่ งทุน 10,000 เหรียญสหรัฐในปี พ.ศ. 2543 จะได้รบั เงินกลับคืนเป็นมูลค่ากว่า 71,051.43 เหรียญสหรัฐ ในเดือนกุมภาพันธ์ปี พ.ศ. 2549 นอกจากนี้รายงานของ Global summit management กล่าวว่าในช่วงปี 25432548 ผลตอบแทนเฉลีย่ ในหุน้ ธุรกิจน้ำคือ 134.57% ในขณะ ที่ S&P 500 มีผลตอบแทนเฉลีย่ เพียง 2.74% จึงพออุน่ ใจได้ ว่าธุรกิจน้ำในต่างประเทศประสบความสำเร็จและให้ผลตอบ แทนการลงทุนอย่างคุม้ ค่า บทความตอนหนึ่ ง ของนิ ต ยสารออนไลน์ “MSN Money” เรื่อง “Invest in the coming global water shortage” อ้างถึงคำพูดของ Maude Barlow ประธานรัฐสภา แคนาดาว่า “น้ำคือทองคำสีฟา้ ” และได้แสดงให้เห็นว่าตลอด 10 ปีทผี่ า่ นมาดัชนีหนุ้ กลุม่ สาธารณูปโภคด้านน้ำมีมลู ค่าสูง ขึน้ ร้อยละ 133 เป็น 2 เท่าของผลตอบแทนจากดัชนีหนุ้ ดาวน์ โจนกลุม่ สาธารณูปโภคทัง้ หมดกว่า 5 ปีทผี่ า่ นมาธุรกิจน้ำมี มูลค่าสูงขึ้นมากกว่าร้อยละ 32 ในขณะที่ผลตอบแทนของ 12

บมจ.น้ำประปาไทย

ดัชนีหุ้นดาวน์โจนกลุ่มสาธารณูปโภคทั้งหมด และดัชนีหุ้น ดาวน์โจนกลุม่ อุตสาหกรรมเป็นไปอย่างราบเรียบ หนึง่ ในปัจจัย ที่ทำให้เกิดการผลักดันในการลงทุน เนื่องมาจากความต้อง การน้ำไม่ขนึ้ กับอัตราเงินเฟ้อ ภาวะเศรษฐกิจ อัตราผลตอบ แทนการลงทุน หรือการเปลีย่ นรสนิยม ความต้องการน้ำเป็น สิง่ ทีม่ อี ยูแ่ ละเพิม่ ขึน้ จริง ตลาดในประเทศทีก่ ำลังพัฒนาช่วงปี 2533 – 2551 มี การลงทุนของเอกชนในธุรกิจน้ำอย่างต่อเนือ่ งเฉลีย่ ปีละ 3.84 พันล้านเหรียญสหรัฐ มีโครงการเกิดขึ้นใหม่เฉลี่ยปีละ 35 โครงการ (ในช่วง 5 ปีสดุ ท้ายเฉลีย่ ปีละ 64 โครงการ) เช่นในปี 2536 มีการลงทุนของ Indah water เรือ่ งระบบบำบัดน้ำเสีย ในมาเลเซีย ปี 2540 มีการลงทุนใหญ่ทมี่ ะนิลามูลค่า 9.9 พัน ล้านเหรียญสหรัฐ ปี 2543 มีการลงทุนใหญ่ทโี่ จโฮร์มลู ค่า 4.2 พันล้านเหรียญสหรัฐ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นประเทศในเขตอาเซียน รูปแบบธุรกิจน้ำในต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศทีพ่ ฒ ั นา แล้วจะแปลงเป็นเอกชนเต็มตัว ซึง่ หลายประเทศเริม่ ต้นจากการ เป็นธุรกิจของรัฐ ขยับมาเป็นรัฐวิสาหกิจ และเป็นเอกชน ซึง่ ในแต่ละประเทศก็จะมีรปู แบบของตนเอง ประเทศไทยของเรายัง คงรูปแบบของรัฐและ รัฐวิสาหกิจอยู่ แต่กเ็ ริม่ มีแนวทางทีจ่ ะว่า จ้างเอกชนในการให้บริการในส่วนอืน่ ๆ เช่น การส่งน้ำดิบ การ ผลิตน้ำประปา การวางใบเก็บเงิน งานวางท่อ และงานด้าน การลดน้ำสูญเสีย เป็นต้น นอกจากนี้ยังรวมถึงโอกาสจาก นิคมอุตสาหกรรมต่างๆ ที่มีระบบบริหารจัดการน้ำภายใน ตนเอง รวมถึ ง ในอนาคตหากกฎหมายร่ ว มทุ น (Public Private Partnership, PPP) ในประเทศเปิดกว้างขึน้ ก็จะส่ง ผลให้ เ อกชนมี โ อกาสร่ ว มลงทุ น กั บ ภาครั ฐ โดยเฉพาะใน องค์การปกครองส่วนท้องถิน่ ต่างๆ ในธุรกิจด้านน้ำมากขึน้ จึง แสดงให้เห็นว่าเป็นธุรกิจทีย่ งั มีอนาคตและน่าลงทุน


New Projects

Investment commitments (2008 US$ billions)

18 15

Manila

12

concessions

Buenos Aires

6

Indah Region

3

Sewerage

Johor

Chilean privatizations

concession Malaysia

9

90 80 70 60 50 40 30 20

concession Syabas concession

10 0

Other investment commitments

Large commitments

08

20

07

20

06

20

05

04

20

20

03

02

20

20

01

20

00

20

99

19

98

97

19

19

96

95

19

94

19

19

93

19

92

19

91

19

19

90

0

Projects

Glitter

บทสรุ ป ของความเป็ น ธุ ร กิ จ น้ ำ อั น สว่ า งเรื อ งรอง

ตามที่กล่าวไปแล้วเมื่อต้นเรื่องครับว่าหลักสำคัญที่ ธุรกิจต้องการสร้างคือ “ความยัง่ ยืน” สรุปได้เป็นสมการตัว แปรสมมติวา่ Blue + Green + Gold = Glitter หรือ B3G

ความเป็น Glitter ทีส่ มบูรณ์จะต้องไม่ได้เกิดความเรือง รองเพียงเฉพาะผู้ที่อยู่ในธุรกิจน้ำเท่านั้น แต่จะต้องเป็นการ ประสานประโยชน์ให้เกิดขึ้นทุกภาคส่วน การกระจายผล ประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรจะต้องเป็นธรรมอย่างมีเหตุ และผล ส่งผลให้ผู้ที่อยู่ในวงจรธุรกิจน้ำทั้งทางตรงและทาง อ้อมได้รบั ผลประโยชน์เช่นกัน หรือก็คอื ใช้หลักธรรมาภิบาลที่ ดี (Corporate Governance) เข้ามาด้วย อย่างนีจ้ งึ จะเรียก ว่าเป็นธุรกิจทีม่ อี งค์ประกอบครบตาม B3G ทุกประการ

Glitter Blue

Green Gold

เอกสารอ้างอิง Jon Markman, 2005. Invest in the coming global water shortage. http://moneycentral.msn.com/content/P102152.asp. Louis Bass, 2006. Investing in water: The most profitable investment of the 21st Century. http://www.investmentu.com. http://ppi.worldbank.org/. www.pub.gov.sg http://www.unwater.org/statistics.html.3 http://www.wbcsd.org http://www.wwf.org/

รายงานประจำปี 2552

13


14

บมจ.น้ำประปาไทย


ดร. ทนง พิทยะ ประธานกรรมการบริษัท

สารจาก

ประธานกรรมการบริษทั

ในปี 2552 เป็นอีกปีหนึ่งที่กลุ่มบริษัท น้ำประปาไทย ดำเนินธุรกิจได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยมีรายได้รวมของกลุม่ บริษทั เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 10.9 จากปี 2551 และยังเป็นปีทบี่ ริษทั ฯ มียอดสะสม การจ่ายน้ำประปาให้กบั การประปาส่วนภูมภิ าคกว่า 500 ล้านลูกบาศก์เมตร นับเป็นนิมติ หมายทีด่ ที ี่ แสดงให้เห็นถึงการเติบโตอย่างยัง่ ยืนของกลุม่ บริษทั น้ำประปาไทย โดยยังคงตระหนักและให้ความ สำคัญในเรือ่ งของความสะอาด ความเพียงพอ ความต่อเนือ่ ง และความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม สิง่ แวดล้อม และผูม้ สี ว่ นได้เสียควบคูก่ นั ไป การบริหารและจัดการที่สำคัญในปี 2552 บริษัทฯ ได้เข้าไปซื้อสิทธิในการบริหารและจัดการน้ำประปาและ น้ำเสียในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน เป็นระยะเวลา 30 ปี เพื่อเป็นการขยายฐานลูกค้าและรูปแบบการประกอบ ธุรกิจให้ครอบคลุมมากกว่าเดิม ซึ่งเป็นไปตามวิสัยทัศน์ ของบริ ษั ท คื อ เป็ น ผู้ น ำภาคเอกชนของประเทศในการ ดำเนิ น ธุ ร กิ จ เกี่ ย วกั บ น้ ำ อย่ า งครบวงจร นอกจากนี้ แ ล้ ว บริ ษั ท ฯ ได้ บ ริ หารจัดการต้นทุนทางการเงินของบริ ษั ท ฯ และบริษัทย่อย โดยบริษัทฯ ออกจำหน่ายหุ้นกู้จำนวนเงิน 7,000 ล้านบาทในเดือนกุมภาพันธ์ และปรับโครงสร้าง หนี้ในบริษัทย่อยอีกจำนวนเงิน 3,000 ล้านบาทในเดือน ตุลาคม ทำให้บริษัทฯ มีต้นทุนทางการเงินที่ลดลงส่งผล ให้มีผลประกอบการที่ดีขึ้นและจะสะท้อนกลับไปยังผู้ถือ หุ้นทุกท่านในรูปของเงินปันผล การที่บริษัทฯ ประสบความสำเร็จด้วยดีในปีที่ผ่าน มา ผมในฐานะประธานกรรมการบริ ษั ท ขอแสดงความ ขอบคุณต่อผู้ใช้น้ำประปาในพื้นที่บริการ หน่วยงานของ

รัฐที่เกี่ยวข้อง ผู้ถือหุ้น และนักลงทุนที่ได้ให้การสนับสนุน กิ จ การของบริ ษั ท ฯ รวมถึ ง พนั ก งานในกลุ่ ม บริ ษั ท น้ ำ ประปาไทยทุ ก คนที่ ทุ่ ม เทแรงกายและแรงใจ เพื่ อ ที่ จ ะ พัฒนาองค์กรให้เติบโตและแข็งแกร่ง และหวังเป็นอย่าง ยิ่งว่าจะได้รับการสนับสนุนและความอนุเคราะห์จากทุกๆ ท่านด้วยดีต่อไป (ดร. ทนง พิทยะ) ประธานกรรมการบริษัท รายงานประจำปี 2552

15


รายงานคณะกรรมการ ตรวจสอบต่อผู้ถือหุ้น

ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2549 เมือ่ วันที่ 28 กรกฎาคม 2549 มีมติแต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการ อิสระจำนวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิมีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านการเงิน การบัญชี กฎหมาย วิศวกรรม และการบริหารองค์กร และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อกำหนดและ แนวทางปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการตรวจสอบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมี นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว เป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายไพรัช เมฆอาภรณ์ และ นายสมนึก ชัยเดชสุรยิ ะ เป็นกรรมการตรวจสอบ และหัวหน้าแผนกตรวจสอบภายใน ทำหน้าที่ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

16

บมจ.น้ำประปาไทย


คณะกรรมการบริษทั กำหนดขอบเขตการปฏิบตั งิ านของ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยกำหนดให้มีการประชุมอย่าง น้อยปีละ 4 ครัง้ ซึง่ ในปี 2552 มีการประชุมร่วมกันทัง้ หมด 5 ครัง้ โดยกรรมการตรวจสอบทุกท่านเข้าร่วมประชุมครบถ้วน ทุกครัง้ เพือ่ พิจารณาและอนุมตั เิ รือ่ งต่างๆ โดยสรุปดังนี ้ 1. คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินราย ไตรมาส และงบการเงินประจำปี 2552 โดยผูส้ อบบัญชี และผู้ บริ ห ารของบริ ษั ท ฯ ที่ มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบจั ด ทำรายงาน ทางการเงิน ให้มีความถูกต้องเชื่อถือได้ตามมาตรฐานทาง บัญชีทยี่ อมรับทัว่ ไป รวมทัง้ มีการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน อย่างเพียงพอและทันเวลา ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมี ความเห็นสอดคล้องกับผู้สอบบัญชีว่า งบการเงินดังกล่าวมี ความถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามมาตรฐานการ บัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป 2. คณะกรรมการตรวจสอบได้อนุมตั แิ ผนการตรวจสอบ ภายใน และสอบทานผลการตรวจสอบภายใน รวมถึงการ ประเมิ นผลการดำเนินงานและระบบการควบคุมภายใน ระหว่างปี 2552 ซึ่งสรุปได้ว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุม ภายในที่ เ พี ย งพอเหมาะสม และมี ก ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขให้ สอดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพ 3. คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานการเข้ า ทำ รายการและการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในปี 2552 เพื่อให้แน่ใจว่า การทำรายการที่เกี่ยวโยงกันมีความสมเหตุ สมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น สอบ ทานให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบายการทำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ซึ่งมีความสอดคล้องตามหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์กำหนด 4. สอบทานการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงการปฏิบตั ติ ามข้อกำหนดของบริษทั ฯ 5. คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทให้พิจารณาแต่งตั้ง นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุ ญ าตเลขที่ 3844 และ/หรื อ นางสาว ทิพวัลย์ นานานุวัฒน์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3459 และ/หรือ นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขที่ 3930 แห่งบริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ประจำปี 2552 โดยกำหนดค่า ตอบแทนเป็นจำนวนเงินรวมไม่เกิน 1,050,000 บาท

นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

6. คณะกรรมการตรวจสอบพิ จ ารณากระบวนการ สนับสนุนให้ผู้มีส่วนได้เสียได้รับการดูแลจากบริษัทฯ ตาม สิทธิที่มีตามกฎหมาย และกำกับดูแลให้บริษัทฯ มีการเปิด เผยข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ทั้งข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงินอย่างถูกต้องครบถ้วน ทัน เวลา โปร่งใส มีความเท่าเทียมกันและน่าเชือ่ ถือ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ง านที่ ไ ด้ รั บ มอบ หมายอย่างรอบคอบ ด้วยความรูค้ วามสามารถและเป็นอิสระ โดยไม่มขี อ้ จำกัดในการได้รบั ข้อมูล ตลอดจนให้คำแนะนำใน เรือ่ งต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องซึง่ ได้รบั ความร่วมมือเป็นอย่างดีจากผู้ บริหารของบริษัทฯ ผู้ตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีของ บริษัทฯ และคณะกรรมการตรวจสอบได้ติดตามการดำเนิน งานของบริษทั ฯ ในปี 2552 ตามขอบเขตอำนาจหน้าทีค่ วาม รับผิดชอบและให้ความเห็นว่าบริษัทฯ ได้จัดทำงบการเงิน อย่างถูกต้อง มีการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการบัญชีที่ รับรองโดยทัว่ ไปส่งผลให้รายงานการเงินมีความถูกต้องตามที่ ควรในสาระและเชื่ อ ถื อ ได้ มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล รายการ ระหว่างกัน หรือรายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผล ประโยชน์อย่างเพียงพอ มีการมอบอำนาจและอนุมัติให้ ดำเนินงานอย่างมีขนั้ ตอนตามหลักเกณฑ์ทกี่ ำหนดไว้เป็นไป ตามระบบการควบคุมภายในทีด่ ี มีความเพียงพอและเหมาะ สม ไม่มีข้อบกพร่องที่เป็นสาระสำคัญ รวมทั้งมีการบริหาร ความเสี่ ย งที่ เ หมาะสมกั บ สภาพธุ ร กิ จ มี ก ารปฏิ บั ติ ต าม กฎหมาย ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ ๆ อย่างถูกต้องครบถ้วน

(นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจำปี 2552

17


18

บมจ.น้ำประปาไทย


วิสัยทัศน์ พันธกิจ คุณค่าองค์กร

วิสยั ทัศน์ (Vision)

เป็นผู้นำภาคเอกชนของประเทศในการดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับน้ำ อย่างครบวงจร

พันธกิจ (Mission)

• ผลิตและจ่ายน้ำประปาที่สะอาด อย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง ให้กบั ลูกค้าเพือ่ สร้างความพึงพอใจสูงสุดและช่วยอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม • พัฒนาความรูค้ วามสามารถของพนักงาน ส่งเสริมให้มคี วาม เจริญก้าวหน้าตามศักยภาพ บำรุงขวัญกำลังใจและให้ผลตอบแทนที่ เหมาะสมเพื่อให้พนักงานมีความภาคภูมิใจ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่และ ผูกพันกับองค์กร • บริหารและดำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส ซือ่ สัตย์ สุจริต และ มีประสิทธิภาพ เพือ่ ให้มผี ลประกอบการเป็นทีพ่ อใจและสร้างประโยชน์ สูงสุดให้แก่ผถู้ อื หุน้

คุณค่าองค์กร (Corporate Values)

ดำเนินธุรกิจให้บรรลุพันธกิจบนพื้นฐานของความพึงพอใจและผล ประโยชน์สงู สุดของทัง้ ลูกค้า พนักงาน และผูถ้ อื หุน้ ด้วยการ

• พัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ ง continuous improvement • ทำงานเชิงรุกด้วยความคิดริเริม่ proactive & initiative • ทำงานเป็นทีม teamwork

รายงานประจำปี 2552

19


การดำเนินงาน ในรอบปี

20

บมจ.น้ำประปาไทย


ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป (หน่วย : ล้านบาท) ข้อมูลทางการเงิน รายการ สินทรัพย์รวม หนีส้ นิ รวม ส่วนของผูถ้ อื หุน้ รายได้จากการขายน้ำประปา รายได้รวม ต้นทุนขายน้ำประปาและ ต้นทุนการบริการ ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร กำไรขัน้ ต้น กำไรสุทธิของบริษทั ฯ มูลค่าหุน้ ตามบัญชี (บาท/หุน้ ) กำไรสุทธิตอ่ หุน้ (บาท/หุน้ )

งบการเงินรวม สำหรับปีทสี่ นิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 2551 2550 2549

2552

งบการเงินบริษทั ฯ สำหรับปีทสี่ นิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 2550 2549

21,064 12,370 8,695 3,994 4,067

17,895 9,558 8,336 3,569 3,639

18,681 13,966 4,715 2,567 2,623

10,682 6,792 3,890 1,698 1,722

20,868 12,260 8,608 2,647 2,991

14,547 6,188 8,360 2,356 2,478

15,226 10,123 5,103 1,986 2,016

11,293 6,800 4,493 1,698 1,721

1,199 208 2,850 1,594 2.18 0.40

1,177 168 2,428 1,358 2.08 0.37

781 158 1,809 920 1.43 0.28

496 105 1,202 674 1.20 0.21

683 147 1,976 1,485 2.16 0.37

629 118 1,727 1,000 2.10 0.27

533 126 1,454 724 1.55 0.22

509 97 1,189 677 1.20 0.21

อัตราส่วนทางการเงิน รายการ อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหากำไร อัตรากำไรขัน้ ต้น (%) อัตรากำไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (%) อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำเนินงาน อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%) อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชำระดอกเบีย้ (เท่า) Net Debt / EBITDA (เท่า) อัตราการจ่ายเงินปันผล (%)

งบการเงินรวม สำหรับปีทสี่ นิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 2551 2550 2549

งบการเงินบริษทั ฯ สำหรับปีทสี่ นิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 2551 2550 2549

70.39 39.18 18.77

67.36 37.33 20.89

70.48 35.07 21.39

70.78 39.16 18.64

74.33 49.67 17.51

73.28 40.36 14.86

73.18 35.94 15.10

69.99 39.36 17.28

8.18 16.03

7.43 14.64

6.27 11.58

6.41 9.84

8.39 18.99

6.72 14.78

5.46 10.94

6.26 9.88

1.42 5.63 2.52 77.61

1.15 4.69 2.96 44.06

2.96 3.47 5.83 17.66

1.75 2.69 4.12 38.11

1.42 5.36 3.50 83.27

0.74 3.90 2.44 59.85

1.98 3.18 5.32 22.43

1.51 1.72 4.17 37.94

รายงานประจำปี 2552

21


สินทรัพย์รวม

(หน่วย : ล้านบาท)

21,064 18,681 17,895 10,682

2552

22

บมจ.น้ำประปาไทย

2551

2550

2549


รายได้รวม

(หน่วย : ล้านบาท)

4,067 3,639 2,623 1,722

2552

2551

2550

2549

รายงานประจำปี 2552

23


อัตรากำไรขั้นต้น /อัตรากำไรสุทธิ (%)

70.39 %

67.36 %

39.18 %

2552 อัตรากำไรขั้นต้น

24

บมจ.น้ำประปาไทย

70.48 %

37.33 %

2551 อัตรากำไรสุทธิ

70.78 %

35.07 %

2550

39.16 %

2549


กำไรขั้นต้น/กำไรสุทธิ (หน่วย : ล้านบาท)

1,594

1,358 920

674

2,850 2,428 1,809 1,594

1,358

920

1,202

39.16 % 674

2552 กำไรขั้นต้น

2551

2550

2549

กำไรสุทธิ

รายงานประจำปี 2552

25


โครงสร้างรายได้

บริ ษั ท ฯ ได้ ล งทุ น ในหุ้ น สามั ญ ของบริ ษั ท ประปา ปทุมธานี จำกัด ร้อยละ 98 เมือ่ วันที่ 18 ธันวาคม 2550 ผล จากการลงทุนในบริษทั ดังกล่าว บริษทั ฯ ได้จดั ทำงบการเงิน รวมโดยรวมงบการเงินของบริษัท ประปาปทุมธานี จำกัด และ บริษัท บีเจที วอเตอร์ จำกัด (บริษัทย่อยของบริษัท ประปาปทุมธานี จำกัด) ไว้ในงบการเงินรวมของบริษทั ฯ ตัง้ แต่วันที่ 30 มิถุนายน 2550 และรวมผลการดำเนินงานของ บริษทั ย่อยดังกล่าว ตัง้ แต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2550 ในงบการ เงินรวมสำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551

สิทธิพิเศษจากการส่งเสริมการลงทุน

เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2545 บริษัทฯ ได้รับสิทธิพิเศษ จากการส่งเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการลง ทุน พ.ศ. 2520 ตามบัตรส่งเสริมการลงทุนเลขที่ 1382(2)/ 2545 สำหรับกิจการสาธารณูปโภคและบริการขั้นพื้นฐาน โดยสิทธิประโยชน์ที่บริษัทฯ ยังคงใช้ประโยชน์จากบัตรส่ง เสริมการลงทุนนี้คือ การได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับกำไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่ง เสริมการลงทุนเป็นเวลา 8 ปี เริ่มจากวันที่มีรายได้จากการ รายได้หลักของบริษัทฯ และบริษัทย่อยแสดงได้ดังภาพ ประกอบกิจการนั้น โดยสิทธิดังกล่าวจะครบกำหนดในปี ดังกล่าว 2555

2,647 (66%) 1,347 (34%)

2,356 (66%)

1,213 (34%)

1,987 (77%) 1,698 (100%) 580 (23%)

2552 26

บมจ.น้ำประปาไทย

2551

2550

รายได้จากการจำหน่ายน้ำประปาของบริษัทฯ รายได้จากการจำหน่ายน้ำประปาของปทุมธานีฯ

2549

(หน่วย: ล้านบาท)


รายงานและการวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน

ก) เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552 บริษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิและไม่มปี ระกันอายุ 3 ปี 5 ปี และ 7 ปี จำนวนเงินรวม 7,000 ล้านบาท โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ จ่ายชำระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินทัง้ จำนวนและการ ขยายกำลังการผลิตและส่งน้ำประปาของบริษทั ฯ รายละเอียดหุน้ กูส้ รุปได้ดงั นี ้

หุ้นกู้

หุน้ กูช้ ดุ ที่ 1 อายุ 3 ปี

หุน้ กูช้ ดุ ที่ 2 อายุ 5 ปี หุน้ กูช้ ดุ ที่ 3 อายุ 7 ปี

วันที่ครบกำหนด

อัตราดอกเบี้ย

จำนวนเงิน (บาท)

26 ก.พ. 2555 26 ก.พ. 2557 26 ก.พ. 2559

4.00% ต่อปี 4.75% ต่อปี 5.35% ต่อปี

3,500,000,000 1,700,000,000 1,800,000,000

การออกและเสนอขายหุน้ กูใ้ นครัง้ นี้ บริษทั ฯ ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมการชำระคืนเงินกูย้ มื ก่อนกำหนด (prepayment fee) จำนวน 116.8 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ สามารถลดความเสีย่ งของอัตราดอกเบีย้ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากแนวโน้มการปรับ ขึน้ ของอัตราดอกเบีย้ ในท้องตลาดในอนาคต ข) เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2552 บริษัทฯ ได้ซื้อสิทธิในการบริหารจัดการน้ำประปาและน้ำเสียในนิคมอุตสาหกรรม บางปะอิน (สิทธิในการดำเนินงานฯ) จากบริษทั ทีด่ นิ บางปะอิน จำกัด เป็นจำนวนเงิน 1,400 ล้านบาท โดยบริษทั ฯ ได้รบั เงินกู้ ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินทัง้ จำนวนเพือ่ เข้าซือ้ สิทธิในการดำเนินงานฯ ดังกล่าว โดยมีอตั ราดอกเบีย้ ประมาณ MLR ลบ 2.00-2.25% ต่อปี และมีระยะเวลาการชำระคืนเงินต้น 10 ปี การเข้าซือ้ สิทธิในการดำเนินงานฯ ในครัง้ นี้ บริษทั ฯ มีรายได้จาก การขายน้ำประปา และรายได้จากการบำบัดน้ำเสียตัง้ แต่วนั ทีเ่ ข้าซือ้ สิทธิในการดำเนินงานฯ จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เป็น จำนวนเงิน 54.2 ล้านบาท และ 12.5 ล้านบาท ตามลำดับ ค) เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2552 บริษัทฯ ได้ปรับโครงสร้างเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินของบริษัท ประปา ปทุมธานี จำกัด (บริษทั ย่อย) โดยบริษทั ฯ ได้รบั เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินจำนวน 3,600 ล้านบาท มีอตั ราดอกเบีย้ ประมาณ MLR ลบ 2.00-2.25% และมีระยะเวลาการชำระคืนเงินต้น 10 ปี ซึง่ ภายหลังจากบริษทั ฯ ได้รบั เงินกูย้ มื ดังกล่าวแล้ว บริษทั ย่อยได้กยู้ มื เงินจากบริษทั ฯ จำนวน 3,100 ล้านบาท โดยมีอตั ราดอกเบีย้ สูงกว่าทีบ่ ริษทั ฯ กูย้ มื เงินจากสถาบันการเงิน ประมาณร้อยละ 0.125 ต่อปี และมีระยะเวลาชำระคืนเงินต้น 10 ปี โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ นำไปชำระคืนเงินกูย้ มื คงเหลืออยู่ กับสถาบันการเงินทัง้ จำนวน การชำระคืนเงินต้นก่อนกำหนดในครัง้ นี้ บริษทั ย่อยต้องจ่ายค่าธรรมเนียมการชำระคืนเงินกูย้ มื ก่อนกำหนด (prepayment fee) จำนวน 60.7 ล้านบาท

วิเคราะห์รายได้จากการขายน้ำประปา

รายได้

น้ำประปา – บริษทั ฯ น้ำประปา – บริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด รวม

ปี 2552 งบการเงินรวม ปี 2551 2,646.6 1,347.2 3,993.8

2,355.8 1,213.4 3,569.2

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ เปลี่ยนแปลง ร้อยละ 290.8 133.8 424.6

12.3 11.0 11.9

รายได้นำ้ ประปาของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยปี 2552 เพิม่ ขึน้ จำนวน 424.6 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 11.9 เนือ่ งจาก 1) ปริมาณจ่ายน้ำประปาของบริษทั ฯ เพิม่ ขึน้ จำนวน 1.2 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.1 และราคาขายน้ำประปาที่ ปรับเพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 2) ในเดือนสิงหาคม 2552 บริษทั ฯ ซือ้ สิทธิในการดำเนินงานฯ ในราคา 1,400 ล้านบาท ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีรายได้จากการบริหารจัดการน้ำประปาในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน จำนวน 54.2 ล้านบาท โดยเป็นรายได้จากการขาย น้ำประปา จำนวน 2.4 ล้านลูกบาศก์เมตร และ 3) บริษทั ย่อยมีปริมาณจ่ายน้ำประปาเพิม่ ขึน้ จำนวน 1.9 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.7 และราคาขายน้ำประปาของบริษทั ย่อยทีป่ รับเพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น

รายงานประจำปี 2552

27


วิ เคราะห์รายได้จากการบริการ

รายได้

ค่าบริการ – บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) ค่าบริการ – บริษทั บีเจที วอเตอร์ จำกัด รวม

(หน่วย : ล้านบาท) 31 ธันวาคม 2552 งบการเงิน31 รวม ธันวาคม 2551

12.5 42.1 54.6

- 36.0 36.0

เปลี่ยนแปลง ร้อยละ งบการเงินเฉพาะกิจการ

12.5 6.1 18.6

100.0 16.9 51.7

รายได้คา่ บริการของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยปี 2552 เพิม่ ขึน้ จำนวน 18.6 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 51.7 หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 51.7 เนือ่ งจากบริษทั ฯ ได้ซอื้ สิทธิในการดำเนินงานฯ ตามทีก่ ล่าวข้างต้น ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีรายได้จากการบำบัดน้ำ เสียจำนวน 12.5 ล้านบาท

วิเคราะห์ค่าใช้จ่าย

รายได้

ต้นทุนขายและบริการ ค่าใช้จา่ ยการขายและบริหาร ค่าสิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่าย น้ำประปาและการให้บริการบำบัดน้ำเสียตัด จำหน่าย ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล รวม

(หน่วย : ล้านบาท) ปี 2552 งบการเงินรวม ปี 2551

เปลี่ยนแปลง ร้อยละ งบการเงินเฉพาะกิจการ

1,198.6 207.6

1,176.9 168.2

21.7 39.4

1.8 23.4

9.7 667.0 188.0 2,270.9

- 728.7 2.1 2,075.9

9.7 (61.7) 185.9 195.0

100.0 (8.5) 8,852.4 9.4

ต้นทุนขายน้ำประปาและต้นทุนการบริการ เพิม่ ขึน้ จำนวน 21.6 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.8 เนือ่ งจากต้นทุนในการ บริหารจัดการน้ำประปาและน้ำเสียทีน่ คิ มอุตสาหกรรมบางปะอินจำนวน 12.6 ล้านบาท และยอดขายน้ำประปาทีเ่ พิม่ ขึน้ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร เพิ่มขึ้นจำนวน 39.4 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.4 เนื่องจาก 1) ค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมการตลาด จำนวน 14.6 ล้านบาท 2) ค่าธรรมเนียมการกูย้ มื เงินจำนวน 7 ล้านบาท 3) ค่าใช้จา่ ยพนัก งานเพิม่ ขึน้ จำนวน 2.2 ล้านบาท และ 4) ประมาณการโบนัสกรรมการประจำปี 2552 จำนวน 7.7 ล้านบาท ค่าสิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาและการให้บริการบำบัดน้ำเสียตัดจำหน่าย เพิม่ ขึน้ จำนวน 9.7 ล้าน บาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 100 เนือ่ งจากในเดือนสิงหาคม 2552 บริษทั ฯ ได้ซอื้ สิทธิในการดำเนินงานฯ ในราคา 1,400 ล้านบาท โดยตัดจำหน่ายสิทธิฯ ดังกล่าวด้วยวิธหี น่วยทีผ่ ลิตได้ (Unit of production method) ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ลดลงจำนวน 61.7 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 8.5 โดยมีรายการธุรกิจทีท่ ำให้คา่ ใช้จา่ ยทางการเงิน ลดลงและเพิม่ ขึน้ โดยสาเหตุหลักทีท่ ำให้คา่ ใช้จา่ ยทางการเงินลดลง เนือ่ งจาก 1) ในเดือนพฤษภาคม 2551 บริษทั ฯ ได้จา่ ย ชำระคืนเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จำนวน 3,000 ล้านบาท ซึง่ คิดอัตราดอกเบีย้ MLR และ 2) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2552 บริษทั ฯ ได้ออก หุน้ กูอ้ ายุ 3 ปี 5 ปี และ 7 ปี จำนวน 7,000 ล้านบาท โดยมีอตั ราดอกเบีย้ เฉลีย่ ในปี 2552 เท่ากับร้อยละ 4.53 ต่อปี เพือ่ จ่าย ชำระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจำนวน 5,839.8 ล้านบาท ซึง่ คิดอัตราดอกเบีย้ MLR-1% และ 3) อัตราดอกเบีย้ เงินกูย้ มื ระยะยาว ของบริษทั ย่อยลดลง โดยปี 2552 เงินกูย้ มื ระยะยาวมีอตั ราดอกเบีย้ MLR เฉลีย่ ร้อยละ 6 ต่อปี (ปี 2551 : ร้อยละ 7 ต่อปี) สาเหตุหลักทีท่ ำให้คา่ ใช้จา่ ยทางการเงินเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจาก 1) บริษทั ฯ จ่ายชำระคืนเงินกูย้ มื ก่อนกำหนดโดยการออกหุน้ กูใ้ นข้าง ต้น บริษทั ฯ ต้องจ่ายชำระค่าธรรมเนียมการจ่ายคืนเงินกูย้ มื ก่อนกำหนด จำนวน 116.8 ล้านบาท 2) บริษทั ฯ กูย้ มื เงินระยะยาว จำนวน 1,072 ล้านบาท จากสถาบันการเงินเพือ่ ซือ้ สิทธิในการดำเนินงานฯ โดยมีอตั ราดอกเบีย้ ประมาณ MLR ลบ 2.002.25% และ 3) บริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด จ่ายชำระคืนเงินกูย้ มื ก่อนกำหนด ดังนัน้ บริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด ต้องจ่าย ชำระค่าธรรมเนียมการจ่ายคืนเงินกูย้ มื ก่อนกำหนด จำนวน 60.7 ล้านบาท ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลเพิม่ ขึน้ 185.9 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 8,852.4 เนือ่ งจากบริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด (บริษทั ย่อย) ได้รบั หนังสือแจ้งการเปลีย่ นแปลงผลขาดทุนสุทธิจากสำนักงานสรรพากรพืน้ ที่ ซึง่ จากการประเมินของสำนักงานดังกล่าว บริษทั ย่อยจะต้องเสียภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลตัง้ แต่ปี 2552 เป็นต้นไป เพือ่ ลดความเสียหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในอนาคต บริษทั ย่อย จึงจ่ายและบันทึกภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลดังกล่าว จากการวิเคราะห์รายได้และค่าใช้จา่ ยดังกล่าว ทำให้บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีกำไรสุทธิ 1,593.6 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2551 ร้อยละ 17.3 28

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน

รายได้

สินทรัพย์รวม หนีส้ นิ รวม ผูถ้ อื หุน้

(หน่วย: ล้านบาท) ปี 2552 งบการเงินรวม ปี2551

21,064.2 12,369.5 8,694.7

17,894.6 9,558.2 8,336.4

เปลี่ยนแปลง ร้อยละ งบการเงินเฉพาะกิจการ

3,169.6 2,811.3 358.3

17.7 29.4 4.3

วิเคราะห์สนิ ทรัพย์

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีสนิ ทรัพย์รวม 21,064.2 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 3,169.6 ล้านบาท เมือ่ เปรียบเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เนือ่ งจากบริษทั ฯ ซือ้ สิทธิในการดำเนินงานฯ จำนวน 1,400 ล้านบาท และบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดสุทธิเพิม่ ขึน้ ระหว่างปีจำนวน 2,219.8 ล้านบาท

วิเคราะห์หนีส้ นิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีหนีส้ นิ รวม 12,369.5 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 2,811.3 ล้านบาท เมือ่ เปรียบ เทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เนือ่ งจาก 1) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2552 บริษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิและ ไม่มปี ระกันอายุ 3 ปี 5 ปี และ 7 ปี จำนวนเงินรวม 7,000 ล้านบาท โดยหุน้ กูจ้ ำนวน 1,000 ล้านบาท บริษทั ฯ มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ขยายกำลังการผลิตและส่งน้ำประปาของบริษทั ฯ 2) บริษทั ฯ ได้รบั เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินเพือ่ ซือ้ สิทธิในการ ดำเนินงานฯ จำนวน 1,072 ล้านบาท และเจ้าหนีอ้ นื่ กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันจำนวน 428 ล้านบาท และ 3) บริษทั ฯ มีเงินกูย้ มื เหลือจากการปรับโครงสร้างเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินของบริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด จำนวน 500 ล้านบาท

วิเคราะห์สว่ นผูถ้ อื หุน้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั ฯ มีสว่ นผูถ้ อื หุน้ 8,694.7 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 358.4 ล้านบาท เมือ่ เปรียบเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เนือ่ งจากในปี 2552 บริษทั ฯ มีกำไรสุทธิจำนวน 1,593.6 ล้านบาท และจ่ายเงินปันผลจำนวน 1,236.9 ล้าน บาท

วิเคราะห์กระแสเงินสด

ในปี 2552 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน 2,439.5 ล้านบาท มีกระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรม ลงทุน 2,037.1 ล้านบาท และกระแสเงินสดจากการจัดหาเงินจำนวน 1,014.3 ล้านบาท โดยในปี 2552 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีการดำเนินการทีส่ ำคัญดังต่อไปนี ้ 1. ในเดือนกุมภาพันธ์ 2552 บริษทั ฯ ได้ออกหุน้ กูอ้ ายุ 3 ปี 5 ปี และ 7 ปี จำนวน 7,000 ล้านบาท ตามทีก่ ล่าวไว้ในข้อ ก) ข้างต้น 2. ในเดือนสิงหาคม 2552 บริษทั ฯ ได้ซอื้ สิทธิในการบริหารจัดการน้ำประปาและน้ำเสียในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ตามทีก่ ล่าวไว้ในข้อ ข) ข้างต้น

3. ในเดือนตุลาคม 2552 บริษทั ฯ ได้ปรับโครงสร้างเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินของบริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด ตามทีก่ ล่าวไว้ในข้อ ค) ข้างต้น 4. ในระหว่างปี 2552 บริษทั ฯ ได้ดำเนินการขยายกำลังการผลิตเพิม่ ขึน้ จากเดิมทีบ่ ริษทั ฯ มีกำลังการผลิตสูงสุดที่ 320,000 ลบ.ม.ต่อวัน เป็น 440,000 ลบ.ม.ต่อวัน โดยได้จา่ ยชำระงานระหว่างก่อสร้างจำนวน 537.1 ล้านบาท 5. ในระหว่างปี 2552 บริษทั ฯ ได้จา่ ยเงินปันผลจำนวน 1,236.9 ล้านบาท

ค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชี

ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชีในปี 2552 บริษทั ฯ ได้วา่ จ้างบริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นผูส้ อบบัญชีของ บริษทั ฯ ตามมติทปี่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2552 เมือ่ วันที่ 3 เมษายน 2552 โดยค่าตอบแทนทีผ่ สู้ อบบัญชีได้รบั จาก บริษทั ฯ จำนวน 1,050,000 บาท

รายงานประจำปี 2552

29


สรุปการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการที่สำคัญ ในรอบปีที่ผ่านมา รวมทั้งเหตุการณ์ปัจจุบัน

มกราคม 2552

26 กุมภาพันธ์ 2552

2552

ความสำคั ญ

เริ่ ม การก่ อ สร้ า งโครงการ The บริษัทฯ ออกหุ้นกู้จำนวน 7 พัน West Bangkok Water Treatment ล้านบาท เพือ่ ปรับโครงสร้างหนีร้ ะยะยาว and Distribution Facilities Project ของบริษัทฯ ที่มีจำนวน 6 พันล้านบาท Expansion Phase 1 ซึ่ ง เป็ น การ และใช้เงินส่วนที่เหลือสำหรับการขยาย ก่ อ สร้ า งเพื่ อ ขยายกำลั ง การผลิ ต น้ ำ กำลังการผลิต ประปาจากกำลั ง การผลิ ต สู ง สุ ด ที่ 320,000 ลบ.ม./วั น เป็ น 440,000 ลบ.ม./วัน เนื่องจากในปี 2551 บริษัทฯ ได้ ทำการประเมินแล้วว่า หากอัตราการใช้ น้ำประปายังคงเพิ่มขึ้นอย่างที่เป็นอยู่ใน ขณะนั้ น ในปี 2553 อาจเกิ ด ปั ญ หา ขาดแคลนน้ำประปาในเขตพื้นที่ส่งจ่าย น้ำของบริษัทฯ ได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการ เตรียมพร้อมทีจ่ ะรองรับความต้องการใช้ น้ ำ ประปาที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ดั ง กล่ า ว และเพื่ อ สนับสนุนนโยบายของรัฐบาลในการใช้ น้ ำ ประปาทดแทนการใช้ น้ ำ บาดาล บริษทั ฯ จึงต้องขยายกำลังการผลิต โดย สร้างต่อเติมจากระบบผลิตและส่งน้ำ ประปาระบบเดิมของบริษทั ฯ

30

1 สิงหาคม

บมจ.น้ำประปาไทย

บริ ษั ท ฯ ได้ ปิ ด ความเสี่ ย งเรื่ อ ง ความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย เพราะ เดิมเงินกูจ้ ำนวนดังกล่าวมีอตั ราดอกเบีย้ เป็นแบบลอยตัวเท่ากับ MLR-1.5% ซึ่ง อัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัวนั้นอยู่นอก เหนือความควบคุมของบริษัทฯ การที่ บริ ษั ท ฯ เปลี่ ย นเงิ น กู้ เ ป็ น หุ้ น กู้ ทำให้ อัตราดอกเบีย้ เป็นแบบคงทีซ่ งึ่ เฉลีย่ 7 ปี อยูท่ ปี่ ระมาณ 4.9% ต่อปี ทำให้บริษทั ฯ ไม่ตอ้ งรับความเสีย่ งในการต้องจ่ายดอก เบีย้ สูงกว่าทีค่ าดการณ์ไว้

กปภ. ปรับปริมาณการรับซือ้ น้ำขัน้ ต่ำของ บริษัท ประปาปทุมธานี จำกัด (ประปาปทุมธานีฯ) ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ของบริษทั ฯ ตามสัญญาทีไ่ ด้ลงนามแล้ว โดยปรับจาก 310,000 ลบ.ม./วัน เป็น 320,000 ลบ.ม./วัน

การที่กปภ. มีสัญญาการรับซื้อน้ำ ขั้นต่ำ จะเป็นการช่วยรับประกันรายได้ ของประปาปทุมธานีฯ และช่วยลดความ เสี่ ย งในด้ า นรายได้ ข องประปาปทุ ม ธานี ฯ ในกรณี ที่ ค วามต้ อ งการใช้ น้ ำ ประปาในเขตรั บ ผิ ด ชอบของประปา ปทุมธานีฯ ลดน้อยลง


7 สิงหาคม

29 ตุลาคม

บริษัทฯ ได้เข้าซื้อสิทธิในการดำเนินการผลิตจำหน่ายและให้บริการน้ำประปา และน้ำเสียในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน เป็นระยะเวลา 30 ปี มูลค่า 1,400 ล้าน บาท

ใช้เครดิตของบริษทั ฯ กูย้ มื เงินจาก สถาบันทางการเงินเพื่อนำไปให้บริษัท ประปาปทุ ม ธานี จำกั ด (ประปาปทุ ม ธานีฯ) ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ กู้ ยืมจำนวน 3,000 ล้านบาท

2552

2552

ความสำคัญ 1. เป็นจุดเชื่อมต่อที่ทำให้บริษัทฯ กลายเป็น “บริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับน้ำ แบบครบวงจร” ใน 2 ด้าน คือ 1.1. ด้านการผลิต (Operation) คือ ธุรกิจน้ำประปา ทำน้ำดิบจากแม่นำ้ ให้กลายเป็นน้ำสะอาดเพื่อการอุปโภค บริ โ ภค และธุ ร กิ จ บำบั ด น้ ำ เสี ย คื อ บำบั ด น้ ำ ที่ ใ ช้ แ ล้ ว ให้ ก ลายเป็ น น้ ำ สะอาดก่อนปล่อยกลับคืนสูแ่ ม่นำ้ 1.2. ด้านการบริการ (Service) คือ บริษทั ฯ รับผิดชอบดูแลตัง้ แต่การเริม่ ต้น คือ ผลิตน้ำประปา จ่ายน้ำ ไปจนถึง การจดมิเตอร์ วางบิลเก็บเงิน และดูแล เรือ่ งร้องเรียนจากลูกค้าหากเกิดความไม่ สะดวกในการใช้นำ้

2. โครงการนี้ เ ป็ น โครงการที่ บริษัทฯ ไม่ได้ใช้เงินทุนของบริษัทฯ (ไม่ ต้องใช้เงินจากส่วนของผู้ถือหุ้น) เนื่อง จากสามารถกูเ้ งินได้ 100% เพือ่ โครงการ นี ้ ทำให้เกิดมูลค่าเพิ่มในส่วนของผู้ถือ หุน้ 3. โครงการนี้ ถื อ เป็ น โครงการ นำร่องเพื่อเตรียมความพร้อมของพนักงานในการทำธุรกิจเกี่ยวกับน้ำแบบครบ วงจร ทั้งนี้บริษัทฯ กำลังวางแผนที่จะ ขยายกิ จ การไปสู่ ธุ ร กิ จ ในลั ก ษณะ เดียวกันทีม่ ขี นาดใหญ่ขนึ้

1. ประปาปทุ ม ธานี ฯ จ่ า ยดอก เบี้ยในอัตราที่ลดลง จากเดิมจ่ายอยู่ที่ MLR-0.5% ลดลงเหลื อ MLR-2% ประหยัดค่าใช้จา่ ยด้านดอกเบีย้ ได้ 1.5% 2. บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ เงิ น ปั น ผลจาก ประปาปทุ ม ธานี ฯ เพิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจาก เงื่อนไขในสัญญาเงินกู้ของประปาปทุม ธานีฯ เดิมระบุให้ต้องกันเงินสดสำรอง เป็นจำนวนหนึ่งสำหรับจ่ายเงินต้น และ ดอกเบี้ย ซึ่งเงินจำนวนดังกล่าวประปา ปทุ ม ธานี ฯ จะไม่ ส ามารถนำมาใช้ ไ ด้ หลังจากที่ยกเลิกสัญญาเงินกู้เดิมแล้ว ทำให้ประปาปทุมธานีฯ ไม่ตอ้ งมีการกัน สำรอง จึงทำให้บริษัทฯ ได้รับเงินปันผล จากประปาปทุมธานีฯ เป็นจำนวน 294 ล้านบาทในเดือนตุลาคม 2552

รายงานประจำปี 2552

31


ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

การกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริ ษั ท น้ ำ ประปาไทย จำกั ด (มหาชน) ได้ตระหนักถึงความสำคัญและเห็นประโยชน์ ในแนวทางปฏิบัติที่ดีสำหรับกรรมการบริษัทตามที่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้เผยแพร่ข้อพึง ปฏิบัติสำหรับกรรมการบริษัท จึงได้นำมายึดถือเป็น แนวทางปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ซึ่งที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษทั ได้ปฏิบตั งิ านเป็นไปตามแนวทาง ดังกล่าว

32

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

33


34

บมจ.น้ำประปาไทย


นโยบายการกำกับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีเพื่อเพิ่ม ความโปร่งใส ความรับผิดชอบตามหน้าที่ของคณะกรรมการและผู้บริหาร และเพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น ผูล้ งทุนและผูเ้ กีย่ วข้องทุกฝ่าย จึงได้กำหนดนโยบายสนับสนุนการกำกับดูแลกิจการ โดยครอบคลุมหลักสำคัญ ดังนี ้ คณะกรรมการบริษทั มุง่ มัน่ ทีจ่ ะสร้างมูลค่าเพิม่ แก่กจิ การของบริษทั ฯ ในระยะยาว โดยจะกำกับดูแลและดำเนิน งานด้วยความรอบคอบและระมัดระวังตามกำลังความสามารถ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผูถ้ อื หุน้ พร้อมกับ ดูแลมิให้เกิดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและการกระทำในฐานะ กรรมการของคณะกรรมการบริษทั ผลการปฎิบตั ิ ในปี 2552 บริษัทฯ ได้ดำเนินการตามแนวปฏิบัติของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

1

คณะกรรมการบริษทั จะปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย ผลการปฎิบตั ิ ในปี 2552 บริษัทฯ ได้ดำเนินการตามแนวปฏิบัติของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

2 3 4 5

คณะกรรมการบริษทั จะดำเนินงานเป็นไปด้วยความโปร่งใสและตรวจสอบได้ โดยจะเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลาแก่ผทู้ เี่ กีย่ วข้องทุกฝ่าย ผลการปฎิบตั ิ ในปี 2552 บริษัทฯ ได้ดำเนินการตามแนวปฏิบัติของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริษัทจะดำเนินธุรกิจโดยคำนึงถึงความเสี่ยงอยู่เสมอ โดยจะดำเนินการให้มีการควบคุมและ บริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม ผลการปฎิบตั ิ บริษทั ฯ ได้ดำเนินการประเมินความเสีย่ งขององค์กรเป็นประจำทุกปี คณะกรรมการบริษทั จะจัดให้มจี รรยาบรรณในการปฏิบตั งิ านสำหรับกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน โดยคณะ กรรมการบริษัทจักต้องเป็นตัวอย่างเกี่ยวกับจรรยาบรรณ รวมถึงปฏิบัติตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้บริหารและ พนักงานตามหลักการกำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดต่างๆ คือ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล เพื่อ สนับสนุนการบริหารงานของบริษทั ฯ ให้ดำเนินการตามนโยบายเกีย่ วกับการกำกับดูแลกิจการโดยมุง่ เน้นเรือ่ ง ความโปร่งใส การดูแลไม่ให้เกิดการมีส่วนได้เสียซึ่งอาจเกิดจากการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจที่ เกีย่ วข้อง ผลการปฎิบตั ิ บริษทั ฯ ได้ดำเนินการตรวจประเมินผลปฏิบตั งิ านเป็นประจำทุกปี ซึง่ เป็นไปตามมาตรฐาน

รายงานประจำปี 2552

35


กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และ สิ่งแวดล้อม

36

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

37


กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และ สิ่งแวดล้อม

09•01•52 วั นเด็ก

• สร้างความสัมพันธ์กับประชาชนในพื้นที่ • ประชาสัมพันธ์ชื่อเสียงบริษัทฯ

พื้นที่บริเวณรอบโรงผลิตน้ำประปาบางเลน บริษทั ฯ ร่วมกับอบต.บางระกำจัดงานวันเด็กแห่งชาติประจำปี 2552 ณ โรงเรียนวัดสุขวัฒนาราม โดยจัดกิจกรรมให้เด็กนักเรียนได้รว่ ม สนุก พร้อมแจกอุปกรณ์การศึกษามากมาย เพือ่ กระชับความ สัมพันธ์กบั ชุมชนโดยรอบโรงผลิตน้ำประปาบางเลน

38

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

39


กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และ สิ่งแวดล้อม

19-20•01

ปรับปรุงที่ทำการ กปภ.อ้อมน้อย

• เสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับกปภ. • สร้างความสัมพันธ์กับกปภ.

กปภ. สาขาอ้อมน้อย บริษัทฯ สนับสนุนงบประมาณปรับปรุงภูมิทัศน์ให้กับการประปาส่วนภูมิภาค สาขาอ้อมน้อย เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับการประปาส่วนภูมิภาค

40

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

41


กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และ สิ่งแวดล้อม

•03•52

มอบตู ก ้ ดน้ ำ เย็ น ให้ รร.วัดสุขวัฒนาราม • สร้างความสัมพันธ์กับประชาชนในพื้นที่ • ประชาสัมพันธ์ชื่อเสียงบริษัทฯ

โรงเรียนวัดสุขวัฒนาราม เป็นโรงเรียนที่ใกล้โรงผลิตน้ำประปาบางเลน บริษัทฯ มอบตู้กดน้ำเย็นให้กับโรงเรียนวัดสุขวัฒนาราม เพื่อสร้างสุขลักษณะที่ดีให้กับนักเรียนได้มีน้ำดื่มที่สะอาด

42

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

43


กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และ สิ่งแวดล้อม

07,12 52 มอบทุนบุตร กปภ. • สร้างความสัมพันธ์กับกปภ. กปภ.เขต 3, สาขาสามพราน, สาขาอ้อมน้อย, สาขาสมุทรสาคร บริษัทฯ มอบทุนการศึกษาให้กับบุตร ธิดา ของพนักงาน และลูกจ้างของการประปาส่วนภูมิภาค เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน พนักงานและลูกจ้างของการประปาส่วนภูมิภาค

44

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

45


กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และ สิ่งแวดล้อม

22, 25-26

มอบทุนการศึกษา

52

• สร้างความสัมพันธ์กับประชาชนในพื้นที่

• ประชาสัมพันธ์ชื่อเสียงบริษัทฯ

โรงเรียนในพื้นที่ให้บริการ

บริษัทฯ มอบทุนการศึกษาให้กับนักเรียน มอบทุนอาหารกลางวัน อุปกรณ์การศึกษา และอุปกรณ์กีฬา ให้กับโรงเรียนในพื้นที่ เพื่อแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายของผู้ปกครอง

46

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

47


กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และ สิ่งแวดล้อม

09•08•52 ให้บริการนอกสถานที่ หมู่บ้านสิวารัตน์ • ขยายฐานผู้ใช้น้ำของกปภ. และเพิ่มปริมาณการจ่ายน้ำ หมู่บ้านสิวารัตน์ 2 อ.สามพราน จ.นครปฐม บริษัทฯ ร่วมกับการประปาส่วนภูมิภาค สาขาสามพราน ออกบริการรับคำร้องขอ ใช้น้ำประปานอกสถานที่ เพื่อบริการในวันหยุด เสาร์-อาทิตย์ ให้กับประชาชน

48

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

49


กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และ สิ่งแวดล้อม

•08•52

ให้บริการนอกสถานที่ อบต.สนามจันทร์ • ขยายฐานผู้ใช้น้ำของกปภ. และเพิ่มปริมาณการจ่ายน้ำ

ประชาชนในพื้นที่ อบต.สนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม บริษทั ฯ ร่วมกับการประปาส่วนภูมภิ าค สาขาอ้อมน้อย ออกบริการรับคำร้องขอใช้นำ้ ประปา นอกสถานที่ เพือ่ บริการให้กบั ประชาชนทีไ่ ม่สะดวกในการเดินทางมาชำระเงินทีก่ ารประปา ส่วนภูมภิ าค สาขาสามพราน

50

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

51


กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และ สิ่งแวดล้อม

20•09•52

สนับสนุนกิจกรรม “วันอนุรักษ์คูคลองแห่งชาติ” ณ อบต.บางระกำ • สร้างความสัมพันธ์กับประชาชนในพื้นที่ • ประชาสัมพันธ์ชื่อเสียงบริษัทฯ อบต.บางระกำ บริษัทฯ สนับสนุนงบประมาณให้กับชมรมเรารักแม่น้ำท่าจีนเพื่อใช้ในกิจกรรม วันอนุรักษ์แม่น้ำ คูคลอง ณ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 4 ตำบลบางระกำ อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม

52

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

53


กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และ สิ่งแวดล้อม

23-24• •52 อบรมการสื อ ่ สารโทรศั พ ท์ ใ ห้ ก ปภ.

• สร้างภาพลักษณ์ด้านการบริการให้กปภ. • สร้างความสัมพันธ์กับกปภ. โรงแรมโรสการ์เดนท์ สามพราน

บริษัทฯ จัดอบรมการสื่อสารทางโทรศัพท์ เพื่อให้บริการประชาชน โดยวิทยากรที่มีชื่อเสียง ณ โรงแรมโรสการ์เดนท์ สามพราน การอบรมครั้งนี้สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพใน การบริการประชาชนให้ได้รับมาตรฐานการบริการที่ดีขึ้น

54

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

55


กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และ สิ่งแวดล้อม

26•11•52

งานเสริมสร้างความสัมพันธ์ กับผู้ใช้น้ำ • สร้างความสัมพันธ์กับผู้ใช้น้ำรายใหญ่

สนามกอล์ฟรอยัลเจมส์ และโรงแรมศาลายาพาวิลเลี่ยน

บริษัทฯ จัดงานเสริมสร้างความสัมพันธ์กับผู้ใช้น้ำ โดยเชิญผู้ใช้น้ำ 10 อันดับแรก และผู้บริหารของการประปาส่วนภูมิภาค ร่วมกิจกรรมตีกอล์ฟที่สนามกอล์ฟ รอยัลเจมส์ และรับประทานอาหารค่ำที่ โรงแรมศาลายาพาวิลเลี่ยน

56

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

57


กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และ สิ่งแวดล้อม

•12•52 มอบของขวัญปีใหม่ กปภ.

• สร้างความสัมพันธ์กับกปภ. การประปาส่วนภูมิภาค บริษัทฯ มอบของขวัญปีใหม่เพื่อแสดงความขอบคุณให้กับ การประปาส่วนภูมิภาคที่สนับสนุนกิจการของบริษัทฯ

58

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

59


กิจกรรมเพื่อสังคม คุณภาพชีวิต และ สิ่งแวดล้อม

กิจกรรมตลอดปี 52 • เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับระบบการผลิตน้ำประปาให้ประชาชน ส่วนราชการ และหน่วยงานการศึกษาได้รับทราบ • ประชาสัมพันธ์ชื่อเสียงบริษัทฯ โรงผลิตน้ำประปาบางเลน บริษัทฯ ให้การต้อนรับผู้ใช้น้ำ หน่วยราชการ ที่เข้ามาเยี่ยมชม กระบวนการผลิตของโรงผลิตน้ำประปา บางเลน

60

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

61


ข้อมูลองค์กร ข้อมูลทั่วไป บริษัท เลขทะเบียนบริษัท สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร Homepage ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน แบ่งเป็นหุ้นสามัญ มูลค่าที่ตราไว้ ทุนชำระแล้ว ชื่อย่อหลักทรัพย์ ติดต่อนักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์

น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) 0107549000114 30/10 หมู่ 12 ถนนพุทธมณฑลสาย 5 ตำบลไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 0-2811-7528 0-2420-6064 http://www.thaitap.com ผลิตและจำหน่ายน้ำประปาให้แก่การประปาส่วนภูมิภาค 3,990,000,000 บาท 3,990,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 บาท 3,990,000,000 บาท TTW ir@thaitap.com 0-2811-7528 ต่อ 209

ข้อมูลองค์กร

62

บมจ.น้ำประปาไทย


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

บริษัทฯ ประกอบกิจการสาธารณูปโภคในการผลิต และจำหน่ายน้ำประปาให้กบั การประปาส่วนภูมภิ าค (กปภ.) ในพื้นที่อำเภอนครชัยศรี อำเภอสามพราน อำเภอพุทธ มณฑล จั ง หวั ด นครปฐม และอำเภอเมื อ งสมุ ท รสาคร อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เพื่อทดแทนระบบ ผลิตน้ำประปาจากบ่อบาดาลของ กปภ. และเพือ่ เพิม่ ปริมาณ การผลิตน้ำประปาให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภค อันเป็นการช่วยแก้ปญ ั หาแผ่นดินทรุดและน้ำเค็มแทรกในชัน้ บาดาลตามนโยบายรัฐบาล บริ ษั ท ฯ เริ่ ม จดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง บริ ษั ท เมื่ อ วั น ที่ 11 กันยายน 2543 ด้วยทุนจดทะเบียน 100,000 บาท โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ ประกอบธุรกิจผลิตน้ำประปาจำหน่ายให้แก่ การประปาส่วนภูมิภาคในพื้นที่อำเภอนครชัยศรี อำเภอ สามพราน อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และอำเภอ กระทุม่ แบน และอำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร

ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีทนุ จดทะเบียน 3,990 ล้านบาท และเรียก ชำระแล้ว 3,990 ล้านบาท เมือ่ วันที่ 21 กันยายน 2543 บริษทั ฯ ได้ทำสัญญาซือ้ ขายน้ำประปากับ กปภ. เป็นระยะเวลา 30 ปี หรือสิน้ สุดวันที่ 20 กรกฎาคม 2577 โดยมีลกั ษณะสัญญาเป็น Build Own Operate (BOO) กล่าวคือ บริษทั ฯ เป็นผูด้ ำเนินการก่อสร้าง ระบบผลิตน้ำประปาและระบบจ่ายน้ำประปาให้แก่ผู้บริโภค ด้วยกำลังการผลิตสูงสุดที่ 320,000 ลูกบาศก์เมตร/วัน โดย บริษัทฯ เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในระบบผลิตน้ำประปาและ ระบบจ่ายน้ำประปาให้แก่ผบู้ ริโภค และบริษทั ฯ ไม่ตอ้ งโอน ระบบผลิตและระบบจ่ายดังกล่าวให้แก่ กปภ. นอกจากนี้ ภายใต้สัญญาซื้อขายน้ำประปา ได้กำหนดให้มีปริมาณขั้น ต่ำที่ กปภ. ต้องซือ้ จากบริษทั ฯ (MOQ) ตลอดระยะเวลา 30 ปี โดยมีลักษณะ MOQ แบบเพิ่มขึ้นตลอดอายุของสัญญา ดังนี ้

ระยะเวลาเริม่ ต้น ระยะเวลาสิน้ สุด 21 กรกฎาคม 2547 20 กรกฎาคม 2549 20 กรกฎาคม 2551 21 กรกฎาคม 2549 20 กรกฎาคม 2577 (สิน้ สุดสัญญา) 21 กรกฎาคม 2551

ปริมาณน้ำขัน้ ต่ำที ่ กปภ.ต้องซือ้ (ลบ.ม./วัน) 200,000 250,000 300,000 รายงานประจำปี 2552

63


สื บ เนื่ อ งจากความต้ อ งการใช้ น้ ำ ประปาในพื้ น ที่ จังหวัดนครปฐมและจังหวัดสมุทรสาคร ได้เพิ่มสูงขึ้นโดยต่อ เนือ่ ง จนทำให้ปริมาณการจ่ายน้ำเฉลีย่ ต่อเดือนใกล้เคียงกับ กำลังการผลิตสูงสุดของบริษทั ฯ ซึง่ บริษทั ประเมินแล้วว่าอาจ เกิดปัญหาขาดแคลนน้ำประปาในเขตพื้นที่จ่ายน้ำของบริ ษัทฯ ในอนาคตอันใกล้นี้ ดังนั้น เพื่อเป็นการรองรับความ ต้องการในการใช้นำ้ ประปาเพิม่ ขึน้ ดังกล่าวและเพือ่ สนับสนุน นโยบายของรัฐบาลในการใช้น้ำประปาทดแทนการใช้น้ำบา ดาลบริษทั ฯ จึงได้เสนอต่อกปภ. ทีจ่ ะขยายกำลังการผลิตจาก ระบบผลิตและส่งน้ำประปาเดิมของ บริษัทฯ จาก 320,000 ลบ.ม./วัน เป็น 440,000 ลบ.ม./วัน ซึง่ จะทำให้บริษทั ฯ เป็น บริษทั ผลิตน้ำประปาทีม่ กี ำลังการผลิตสูงทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกับผู้ ประกอบกิจการประปาเอกชนรายอืน่ ในประเทศ และเมือ่ วันที่ 29 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯ ได้ลงนาม ในสัญญาแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาซือ้ ขายน้ำประปาเดิมกับกปภ. โดยกปภ. จะรับซือ้ น้ำประปาขัน้ ต่ำเพิม่ เติม จนกระทัง่ สิน้ สุด อายุสญ ั ญาพร้อมระยะเวลาตามสัญญาซือ้ ขายฯ เดิม ดังนี ้

อย่างไรก็ตาม ในการประกอบกิจการประปา บริษทั ฯ จะ ต้องได้รับสัมปทานจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม บริษทั ฯ ได้รบั สัมปทานประกอบกิจการประปาจาก กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม เมื่ อ วั น ที ่ 11 มีนาคม 2548 โดยมีระยะเวลาสัมปทาน 25 ปี ในการผลิตน้ำประปา บริษัทฯ จะทำการสูบน้ำจาก แม่นำ้ ท่าจีนมาใช้เป็นน้ำดิบในการผลิตน้ำประปาทีผ่ ลิตได้จะ ถูกส่งด้วยท่อส่งน้ำประธาน (Bulk Transmission Main : BTM) จากโรงผลิตน้ำทีอ่ ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ไปยัง สถานีจ่ายน้ำทั้ง 2 แห่งของบริษัทฯ คือ สถานีจ่ายน้ำพุทธ มณฑล และสถานีจา่ ยน้ำมหาชัยด้วย และถูกสูบจ่ายต่อผ่าน ท่อจ่ายน้ำ (Local Distribution Network : LDN) เพือ่ เข้าสูท่ อ่ บริการเพื่อให้บริการประชาชนในเขตพื้นที่ของสำนักงาน ประปาสามพราน สำนักงานประปาอ้อมน้อย และสำนักงาน ประปาสมุทรสาคร ในการผลิตน้ำประปาของบริษัทฯ นั้น บริษัทฯ ได้ทำ สัญญาว่าจ้าง บริษทั วอเตอร์โฟลว์ จำกัด (วอเตอร์โฟลว์) ซึง่ มีฐานะเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ให้ดำเนินการเป็นหน่วย ผลิตในส่วนของงานปฏิบตั กิ ารโดยดูแลเกีย่ วกับการผลิต การ

ระยะเวลาเริม่ ต้นซือ้ ขายน้ำประปา ระยะเวลาสิน้ สุด ภายใน 660 วัน นับแต่วนั ทีล่ งนาม ในสัญญาฯ หรือไม่เกินวันที่ 19 ต.ค. 53 18 ต.ค. 54 19 ต.ค. 54 18 ต.ค. 55 19 ต.ค. 55 18 ต.ค. 56 19 ต.ค. 56 18 ต.ค. 57 19 ต.ค. 57 18 ต.ค. 58 19 ต.ค. 58 20 ก.ค. (2577 สิน้ สุดสัญญา)

ปริมาณน้ำขัน้ ต่ำทีก่ ปภ. ต้องซือ้ เพิม่ เติม (ลบ.ม./วัน) 9,000 18,000 27,000 36,000 45,000 54,000

หมายเหตุ : การนับระยะเวลาเริ่มต้นซื้อขายน้ำที่แท้จริง จะเริ่มนับตั้งแต่วันที่การก่อสร้างขยายกำลังผลิตแล้วเสร็จ และสามารถเริ่มผลิตและ จ่ายน้ำประปาได้

ซ่อมบำรุง และการควบคุมการผลิต และจ่ายน้ำประปา บริ ษั ท ประปาปทุ ม ธานี จำกั ด เป็ น บริ ษั ท ย่ อ ยของ บริษทั ฯ มีทนุ จดทะเบียนและชำระแล้ว 1,200 ล้านบาท โดย ประกอบธุรกิจผลิตและจำหน่ายน้ำประปาให้แก่ กปภ. เช่น เดียวกับบริษัทฯ โดยเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2538 ประปา ปทุ ม ธานี ได้ เ ข้ า ทำสั ญ ญาให้ สิ ท ธิ ด ำเนิ น การผลิ ต และ จำหน่ายน้ำประปากับ กปภ. โดยมีอายุสัญญา 25 ปี มี ลักษณะสัญญาเป็น Build Own Transfer (BOT) กล่าวคือ ประปาปทุ ม ธานี เป็ น ผู้ ด ำเนิ น การก่ อ สร้ า งระบบผลิ ต 64

บมจ.น้ำประปาไทย

น้ำประปา และระบบจ่ายน้ำประปา ด้วยกำลังการผลิตสูงสุด ที่ 388,000 ลูกบาศก์เมตร/วัน ซึ่งประปาปทุมธานีต้องโอน ระบบจ่ายน้ำประปาให้เป็นกรรมสิทธิ์ของ กปภ. ณ วันเริ่ม ประกอบกิจการ ในวันที่ 15 ตุลาคม 2541 และต้องโอนระบบ ผลิตน้ำประปาให้เป็นกรรมสิทธิข์ อง กปภ. ในเวลา 24.00 น. ของวันทีค่ รบ 25 ปี หลังจากวันเริม่ ประกอบกิจการหรือวันที่ 14 ตุลาคม 2566 ทัง้ นี้ ประปาปทุมธานี สามารถขอเช่าระบบ ผลิตน้ำประปาจาก กปภ. เพือ่ ผลิตและจำหน่ายน้ำประปาต่อ จากวันทีค่ รบ 25 ปี ได้อกี 2 ครัง้ ระยะเวลาเช่าครัง้ ละ 10 ปี


ทัง้ นี้ ประปาปทุมธานี ได้รบั สัมปทานประกอบกิจการประปา จากกระทรวงมหาดไทย เมือ่ วันที่ 13 มกราคม 2543 มีระยะ เวลา 25 ปี การผลิตน้ำประปาของประปาปทุมธานี เริม่ จากการสูบ น้ำดิบจากแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อใช้ในการผลิตที่โรงผลิตน้ำที่ อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี น้ำประปาทีผ่ ลิตได้จะถูกส่ง ด้วยท่อส่งน้ำประธาน ไปยังสถานีจ่ายน้ำทั้ง 3 แห่งของ ประปาปทุ ม ธานี คื อ สถานี จ่ า ยน้ ำ รั ง สิ ต สถานี จ่ า ยน้ ำ ธรรมศาสตร์ และสถานีจา่ ยน้ำปทุมธานี และจะถูกสูบจ่ายต่อ ผ่านท่อจ่ายน้ำ (Local Distribution Network : LDN) ไปยัง ท่อบริการเพื่อให้บริการประชาชนในเขตพื้นที่ของสำนักงาน ประปาปทุมธานีและสำนักงานประปารังสิต เนื่องด้วยความ ต้องการน้ำในพื้นที่เพิ่มสูงขึ้น เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2549 ประปาปทุมธานีได้ลงนามในสัญญาซื้อขายน้ำประปากับ กปภ. เพือ่ เพิม่ ปริมาณน้ำประปาทีจ่ ะซือ้ จากประปาปทุมธานี อีกในปริมาณ 70,000 ลบ.ม./วัน โดยกำหนดให้บริการในเขต พืน้ ทีส่ ำนักงานประปารังสิต โดยได้วา่ จ้าง บริษทั บีเจที วอเตอร์ จำกัด (บีเจที) ซึ่งเป็นบริษัทฯ ย่อยของประปาปทุม ให้ทำ หน้าทีใ่ นการดำเนินการในส่วนของงานปฏิบตั กิ ารในฝ่ายผลิต

การซ่อมบำรุง การควบคุมการผลิต และการจ่ายน้ำประปา ของประปาปทุมธานี ปัจจุบัน ประปาปทุมธานี มีกำลังการ ผลิตสูงสุดที่ 388,000 ลบ.ม./วัน และจำหน่ายน้ำประปาให้ กปภ. ในปริมาณน้ำขัน้ ต่ำที่ 310,000 ลบ.ม./วัน เมือ่ วันที่ 7 สิงหาคม 2552 บริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญา การเข้าซือ้ สิทธิในการบริหารและจัดการน้ำประปาและน้ำเสีย ในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ระยะเวลาการเข้าซือ้ สิทธิ 30 ปี มูลค่า 1,400 ล้านบาท โดยมีกำลังการผลิตน้ำประปาบน ผิวดินที่ 48,000 ต่อลบ.ม./วัน ราคาจำหน่ายน้ำประปาอยูท่ ี่ 22.5 บาทต่อลบ.ม.และ มีกำลังการบำบัดน้ำเสียที่ 18,000 ลบ.ม./วัน ราคาค่าบริการในการบำบัดน้ำเสียอยูท่ ี่ 7-9 บาท ต่อลบ.ม.แล้วแต่ระดับคุณภาพของน้ำที่เสีย แต่ถ้าระดับ คุณภาพของน้ำเสียเกินกว่าเกณฑ์ทกี่ ำหนดไว้จะคิดค่าบริการ ในอัตรา 20 บาทต่อลบ.ม. โดยเหตุผลหลักทีบ่ ริษทั ฯ เข้าไป ซื้อสิทธิที่ดินบางปะอิน คือ 1) เป็นการลดการพึ่งพารายได้ จากลูกค้ารายเดียว คือ การประปาส่วนภูมภิ าค (กปภ) และมี พืน้ ทีใ่ นการให้บริการเพิม่ มากขึน้ 2) เป็นการขยายฐานทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ในธุรกิจบำบัดน้ำเสีย และ 3) เป็นผู้ ให้บริการโดยตรงกับลูกค้าเองอย่างครบวงจร

แนวโครงข่ายท่อส่งและจ่ายน้ำภาคกลาง

รายงานประจำปี 2552

65


р╣Вр╕Др╕гр╕Зр╕кр╕гр╣Йр╕▓р╕Зр╕Бр╕ер╕╕р╣Ир╕бр╕Ър╕гр╕┤р╕йр╕▒р╕Ч

<C+┬л ;hU=ER=Tc9D

9Z;+69R_<WD; ┬░┬й┬╢┬╢┬н G T;<T9 9Z;9Wg-UER`G I ┬░┬й┬╢┬╢┬н G T;<T9 ┬╢┬╡┬л┬н ┬в

┬о┬н┬н ┬в

<+$┬л =ER=T=9ZC:T;W

<+$┬л IO_7OE aAGI

9Z;+69R_<WD; ┬о┬й┬п┬н┬н G T;<T9 9Z;9Wg-UER`G I ┬о┬й┬п┬н┬н G T;<T9

9Z;+69R_<WD; ┬о┬н G T;<T9 9Z;9Wg-UER`G I ┬о┬н G T;<T9

┬о┬н┬н ┬в

<+$┬л <W_+9W IO_7OE

9Z;+69R_<WD; ┬▓┬н G T;<T9 9Z;9Wg-UER`G I ┬▓┬н G T;<T9

р╕У р╕зр╕▒р╕Щр╕Чр╕╡р╣И 8 р╕бр╕Бр╕гр╕▓р╕Др╕б 2553 р╣Др╕Фр╣Йр╕бр╕╡р╕Бр╕▓р╕гр╕Др╕зр╕Ър╕гр╕зр╕б р╕Ър╕гр╕┤р╕йр╕▒р╕Ч р╕зр╕нр╣Ар╕Хр╕нр╕гр╣Мр╣Вр╕Яр╕ер╕зр╣М р╕Ир╕│р╕Бр╕▒р╕Ф р╣Бр╕ер╕░ р╕Ър╕гр╕┤р╕йр╕▒р╕Ч р╕Ър╕╡р╣Ар╕Ир╕Чр╕╡ р╕зр╕нр╣Ар╕Хр╕нр╕гр╣М р╕Ир╕│р╕Бр╕▒р╕Ф р╣Вр╕Фр╕вр╣Вр╕Др╕гр╕Зр╕кр╕гр╣Йр╕▓р╕Зр╕Бр╕ер╕╕р╣Ир╕бр╕Ър╕гр╕┤р╕йр╕▒р╕Чр╕п р╕лр╕ер╕▒р╕Зр╕Бр╕▓р╕гр╣Ар╕Ыр╕ер╕╡р╣Ир╕вр╕Щр╣Бр╕Ыр╕ер╕Зр╕Фр╕▒р╕Зр╕Щр╕╡ р╣Й

<C+┬л ;hU=ER=Tc9D

9Z;+69R_<WD; ┬░┬й┬╢┬╢┬н G T;<T9 9Z;9Wg-UER`G I ┬░┬й┬╢┬╢┬н G T;<T9 ┬╢┬╡┬л┬н ┬в*

<+$┬л =ER=T=9ZC:T;W

9Z;+69R_<WD; ┬о┬й┬п┬н┬н G T;<T9 9Z;9Wg-UER`G I ┬о┬й┬п┬н┬н G T;<T9

┬│┬╡ ┬в

<+$┬л c9DIO_7OE aO_=OE _E-S─е;L ┬░┬п ┬в

р╕лр╕бр╕▓р╕вр╣Ар╕лр╕Хр╕╕ : *р╕кр╣Ир╕зр╕Щр╕Чр╕╡р╣Ар╣И р╕лр╕ер╕╖р╕нр╕нр╕╡р╕Бр╕гр╣Йр╕нр╕вр╕ер╕░ 2 р╕Цр╕╖р╕нр╣Вр╕Фр╕в р╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕гр╕░р╕Ыр╕▓р╕кр╣Ир╕зр╕Щр╕ар╕╣р╕бр╕ар╕┤ р╕▓р╕Д

66

р╕Ър╕бр╕И.р╕Щр╣Йр╕│р╕Ыр╕гр╕░р╕Ыр╕▓р╣Др╕Чр╕в

9Z;+69R_<WD; ┬│┬н G T;<T9 9Z;9Wg-UER`G I ┬│┬н G T;<T9


รายชื่อ กลุ่มบริษัทย่อย

บริษัท ประปาปทุมธานี จำกัด

สถานทีต่ งั้ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน แบ่งเป็นหุน้ สามัญ มูลค่าทีต่ ราไว้ ทุนชำระแล้ว

43 หมู่ 3 ถนนเชียงรากน้อย-บางไทร ตำบลบ้านปทุม อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี 12160 โทรศัพท์ 0-2979-8530-2 โทรสาร 0-2979-8533 ผลิตและจำหน่ายน้ำประปาให้การประปาส่วนภูมภิ าค 1,200,000,000 บาท 12,000,000 หุน้

หุน้ ละ 100 บาท 1,200,000,000 บาท

บริษัท วอเตอร์โฟลว์ จำกัด

สถานทีต่ งั้ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน แบ่งเป็นหุน้ สามัญ มูลค่าทีต่ ราไว้ ทุนชำระแล้ว

30/10 หมู่ 12 ถนนพุทธมณฑลสาย 5 ตำบลไร่ขงิ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 โทรศัพท์ 0-2811-7526 โทรสาร 0-2420-6064 บริหารและจัดการระบบผลิตและจ่ายน้ำประปา 10,000,000 บาท 100,000 หุน้

หุน้ ละ 100 บาท 10,000,000 บาท

บริษัท บีเจที วอเตอร์ จำกัด

สถานทีต่ งั้ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน แบ่งเป็นหุน้ สามัญ มูลค่าทีต่ ราไว้ ทุนชำระแล้ว

587 อาคารวิรยิ ะถาวร ชัน้ ซีเอช ถนนสุทธิสารวินจิ ฉัย

แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 บริหารและจัดการระบบผลิตและจ่ายน้ำประปาและระบบบำบัดน้ำเสีย 50,000,000 บาท 500,000 หุน้

หุน้ ละ 100 บาท 50,000,000 บาท

รายงานประจำปี 2552

67


ŕ¸œบŕš‰ŕ¸–มอญุŕš‰ŕ¸™รายŕšƒญŕ¸?ŕšˆ รายชมŕšˆอภ฼ุŕšˆลŕ¸œบŕš‰ŕ¸–มอญุŕš‰ŕ¸™ŕ¸—฾ŕšˆŕ¸–มอญุŕš‰ŕ¸™สบงสุด 10 ราย ณ วูนท฾ŕšˆ 31 ŕ¸˜ูนวาคล 2552

<EĂžKS9 -ÂŤ$TE- T* +U$S6 ÂĽCMT-;ÂŚ

35.31 %

<EĂžKS9 CV7.ZD IO_7OE aPG6VÄŚ*L ÂĽ=ER_9Jc9DÂŚ +U$S6

State Street Bank And Trust Company For Australia Hsbc (Singapore) Nominees Pte Ltd State Street Bank And Trust Company For London <EĂžKS9 $EZ*_9@=ER$S;-ĂżIĂž7 +U$S6 ÂĽCMT-;ÂŚ :;T'TE $EZ*_9@ +U$S6 ÂĽCMT-;ÂŚ

25.93 %

OYg;e

17.35 %

<EĂžKS9 c9D_Of;IĂż6WOTE +U$S6

°¾­ ¢

<EĂžKS9 9T*6 I;$EZ*_9@ +U$S6 ÂĽCMT-;ÂŚ

œ¯¹ ¢

Rbc Dexia Investor Services Bank S.A. 80,681,200 MZ ;

<EÞKS9 CV7.ZD IO_7OE aPG6VČ*L ¼=ER_9Jc9DŒ +U$S6 ŽŠ­°¹Š²­­Š­­­ MZ ;

:;T'TE $EZ*_9@ +U$S6 ÂĽCMT-;ÂŚ 73,895,000 MZ ;

OYg;e ³œ¯Š¹¯ŽŠ­­­ MZ ;

<EĂžKS9 $EZ*_9@=ER$S;-ĂżIĂž7 +U$S6 ÂĽCMT-;ÂŚ 55,955,000 MZ ;

<EÞKS9 9T*6 I;$EZ*_9@ +U$S6 ¼CMT-;Œ °³¾Š´²­Š­­­ MZ ;

State Street Bank And Trust Company For London 49,600,000 MZ ;

<EÞKS9 c9D_Of;Iÿ6WOTE +U$S6 Ž²ŽŠ¹´²Š¹­­ MZ ;

Hsbc (Singapore) Nominees Pte Ltd 43,055,500 MZ ; State Street Bank And Trust Company For Australia 30,889,500 MZ ;

68

บลŕ¸ˆ.ŕ¸™ŕš‰ำประปาŕš„ŕ¸—ย

2.02 %

Rbc Dexia Investor Services Bank S.A.

<EÞKS9 -$TE- T* +U$S6 ¼CMT-;Œ ŽŠ¹­¾Š´´´Š¹­­ MZ ;

+U;I;MZ ;9SČ*MC6 °Šœœ­Š­­­Š­­­ MZ ;

0.77 % 1.08 % 1.24 % 1.40 % 1.85 %


р╣Вр╕Др╕гр╕Зр╕кр╕гр╣Йр╕▓р╕Зр╕Бр╕▓р╕гр╕Ър╕гр╕┤р╕лр╕▓р╕г р╕У р╕У р╕зр╕▒р╕зр╕▒р╕Щр╕Щр╕Чр╕╡р╕Чр╕╡р╣И р╣И 31 30 р╕Шр╕▒р╕Шр╕▒р╕Щр╕Щр╕зр╕▓р╕Др╕б р╕зр╕▓р╕Др╕б 2552 2552 р╕бр╕╡р╕бр╕╡р╕гр╕гр╕▓р╕вр╕ер╕░р╣Ар╕нр╕╡ р╕▓р╕вр╕ер╕░р╣Ар╕нр╕╡р╕вр╕вр╕Фр╕Ф р╕Фр╕▒р╕Фр╕▒р╕Зр╕Зр╕Щр╕╡р╕Щр╕╡ р╣Й р╣Й '5R$EEC$TE<EEKS9BV<TG

'5R$EEC$TE<E├╛KS9

'5R$EEC$TELEEMT`GR $UM;6' T7O<`9;

'5R$EEC$TE<E├╛MTE

'5R$EEC$TE<E├╛MTE 'ITC_LWgD*

$EEC$TE>[ +S6$TE

`>;$7EI+LO< 'ITC=GO6BSD

`>;$7EI+LO<BTDb;

LU;S$*T;$EEC$TE >[ +S6$TE

? TD@S4;T:ZE$V+ `GR$TE7GT6

? TD=1V<S7V$TE

'5R$EEC$TE7EI+LO<

? TD<S┬Й-├┐ `GR$TE_*├╛;

? TD9ES@DT$E<Z''G `GR:ZE$TE

р╕Хр╕▒р╣Йр╕Зр╣Бр╕Хр╣И р╕зр╕▒р╕Щр╕Чр╕╡р╣И 1 р╕бр╕Бр╕гр╕▓р╕Др╕б 2553 р╕бр╕╡р╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕гр╕▒р╕Ър╣Вр╕Др╕гр╕Зр╕кр╕гр╣Йр╕▓р╕Зр╕Бр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕гр╕Вр╕нр╕Зр╕Ър╕гр╕┤р╕йр╕▒р╕Чр╕п р╕гр╕▓р╕вр╕ер╕░р╣Ар╕нр╕╡р╕вр╕Фр╕Фр╕▒р╕Зр╕Щр╕╡р╣Й '5R$EEC$TE<EEKS9BV<TG

'5R$EEC$TE<E├╛KS9

'5R$EEC$TELEEMT`GR $UM;6' T7O<`9;

'5R$EEC$TE<E├╛MTE

'5R$EEC$TE<E├╛MTE 'ITC_LWgD*

$EEC$TE>[ +S6$TE

`>;$7EI+LO< BTDb; ? TD9ES@DT$E<Z''G `GR:ZE$TE

? TD=1V<S7V$TE

? TD@S4;T:ZE$V+

'5R$EEC$TE7EI+LO<

LU;S$*T;$EEC$TE >[ +S6$TE

L I;L *_LE├╛C `GR_>D`@E $V+$EECO*' $E

? TD$TE7GT6

? TD_9'a;aGDW LTEL;_9J

? TD<S┬Й-├┐ `GR$TE_*├╛;

р╕гр╕▓р╕вр╕Зр╕▓р╕Щр╕Ыр╕гр╕░р╕Ир╕│р╕Ыр╕╡ 2552

69


9

5

4

1

คณะกรรมการบริษัท 1. ดร.ทนง พิทยะ

4. นายไพรัช เมฆอาภรณ์

กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการสรรหาและ กำหนดค่าตอบแทน, กรรมการตรวจสอบ, กรรมการบรรษัทภิบาล

กรรมการอิสระ และประธานกรรมการบรรษัทภิบาล

ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ

2. นายปลิว ตรีวิศวเวทย์

รองประธานกรรมการ

3. นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว

70

6

12

บมจ.น้ำประปาไทย

กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

5. นายสมนึก ชัยเดชสุริยะ 6. นายณรงค์ แสงสุริยะ

กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร


11

2

3

8

7. นายประเสริฐ มริตตนะพร

10. นายโคอิชิ วาคานะ

กรรมการ และกรรมการสรรหาและ กำหนดค่าตอบแทน

8. นายสุวิช พึ่งเจริญ

กรรมการ และกรรมการบริหาร

กรรมการ และกรรมการสรรหาและ กำหนดค่าตอบแทน

11. นายคาซูชิเกะ คาตามูระ

กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการบริหารความเสี่ยง

9. ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์

12. นายสมโพธิ ศรีภูม ิ

กรรมการ และกรรมการบริหาร

10

7

กรรมการ กรรมการบริหาร และเลขานุการบริษัท

รายงานประจำปี 2552

71


คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยประธานกรรมการ และกรรมการ ซึง่ มีจำนวนไม่นอ้ ยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน โดยมีสดั ส่วนกรรมการทีม่ ไิ ด้เป็นผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ไม่นอ้ ย กว่ากึง่ หนึง่ ของจำนวนกรรมการทัง้ หมด และมีกรรมการอิสระ ไม่นอ้ ยกว่า 3 คน หรือมีสดั ส่วน 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการ ทัง้ หมด โครงสร้างการจัดการของบริษัทฯ ประกอบด้วยคณะ กรรมการ 6 ชุด คือ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและ กำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยง และเจ้าหน้าที่บริหาร โดยคณะ กรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการอิสระ 4 คน ซึ่งมี คุณสมบัต ิ ดังนี ้

กรรมการมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด โดยมีวาระในการดำรง ตำแหน่ง 3 ปี การแต่งตั้งกรรมการต้องมีความโปร่งใส โดย เป็นไปตามข้อบังคับของบริษัทฯ และตามหลักเกณฑ์และ กระบวนการที่ ก ำหนดขึ้ น โดยคณะกรรมการสรรหาและ กำหนดค่าตอบแทน โดยเสนอชือ่ บุคคลพร้อมประวัตเิ พือ่ เข้า รับการพิจารณาเป็นกรรมการผ่านคณะกรรมการสรรหาและ กำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริษัท พิจารณานำ เสนอขอรั บ การอนุ มั ติ แ ต่ ง ตั้ ง จากที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ทั้ ง นี้ กระบวนการสรรหาดังกล่าว วาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี โดยในการประชุม สามัญประจำปีทกุ ครัง้ ให้กรรมการออกจากตำแหน่ง 1 ใน 3 ของกรรมการทัง้ หมด กรรมการทีจ่ ะต้องออกจากตำแหน่งใน ปีแรกและปีทสี่ องภายหลังจดทะเบียนบริษทั ให้ใช้วธิ จี บั ฉลาก กันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ใน ตำแหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจากตำแหน่ง กรรมการที่ออก ตามวาระนัน้ อาจถูกเลือกเข้ามาดำรงตำแหน่งใหม่ได้

คณะกรรมการบริษัท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการ 12 คน ดังนี ้ 1. ดร.ทนง พิทยะ 2. นายปลิว ตรีวิศวเวทย์ 3. นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว 4. นายไพรัช เมฆอาภรณ์ 5. นายสมนึก ชัยเดชสุริยะ 6. นายณรงค์ แสงสุริยะ 7. นายประเสริฐ มริตตนะพร 8. นายสุวิช พึ่งเจริญ 9. ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์ 10. นายโคอิชิ วาคานะ 11. นายคาซูชิเกะ คาตามูระ 12. นายสมโพธิ ศรีภูมิ

กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท

กรรมการผู้มีอำนาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัท ได้แก่ (1) นายปลิว ตรีวศิ วเวทย์ นายณรงค์ แสงสุรยิ ะ นายสมบัติ กิจจาลักษณ์ นายประเสริฐ มริตตนะพร นายสมโพธิ ศรีภมู ิ โดยกรรมการสองในห้าคนนีล้ งลายมือชือ่ ร่วมกันและประทับ

72

บมจ.น้ำประปาไทย

ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ

รองประธานกรรมการ

กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการอิสระ และประธานกรรมการสรรหาและกำหนด ค่าตอบแทน

กรรมการอิสระ และประธานกรรมการบรรษัทภิบาล

กรรมการและประธานกรรมการบริหาร

กรรมการ

กรรมการบริหาร

กรรมการบริหาร

กรรมการ

กรรมการบริหาร

กรรมการบริหาร และเลขานุการบริษัท

ตราบริษทั หรือ (2) นายปลิว ตรีวศิ วเวทย์ นายณรงค์ แสงสุริยะ นายสมบัติ กิจจาลักษณ์ นายประเสริฐ มริตตนะพร หรือ นายสมโพธิ ศรีภูมิ คนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อร่วมกับ นายโคอิชิ วาคานะ หรือ นายคาซูชิเกะ คาตามูระ รวมเป็น สองคนและประทับตราบริษทั


คณะกรรมการมีการกำหนดประชุมโดยปกติเป็น ประจำทุก 3 เดือน และมีการประชุมพิเศษเพิ่มตามความ จำเป็น โดยมีการกำหนดวาระชัดเจนล่วงหน้า และมีวาระ พิจารณาติดตามผลการดำเนินงานเป็นประจำ สำนักงาน กรรมการผู้ จั ด การได้ ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม พร้ อ ม ระเบียบวาระการประชุมก่อนการประชุมล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 10 วัน และมีการส่งเอกสารประกอบการประชุมล่วงหน้าไม่ น้อยกว่า 7 วัน เพื่อให้คณะกรรมการได้มีเวลาศึกษาข้อมูล อย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม โดยในปี 2552 มีการ ประชุมทัง้ สิน้ 10 ครัง้

อำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั

คณะกรรมการบริษทั มีความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ เกีย่ ว กับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และการกำกับดูแลให้การ บริหารจัดการเป็นไปตามเป้าหมายและแนวทางที่จะก่อให้ เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ผถู้ อื หุน้ อยูใ่ นกรอบของการมีจริยธรรม ทีด่ แี ละคำนึงถึงผลประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย 1. ดูแลและจัดการให้การดำเนินการของบริษัทฯ เป็น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และรักษาผลประโยชน์ของ บริษทั ฯ บนพืน้ ฐานของหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี 2. กำหนดนโยบายและทิศทางการดำเนินงานของ บริษัทฯ และกำกับควบคุมดูแลให้ฝ่ายบริหารดำเนินการให้ เป็ น ตามนโยบายที่ ก ำหนดไว้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กิจการ และความมัง่ คัง่ สูงสุดให้แก่ผถู้ อื หุน้ 3. ให้ ค วามเห็ น ชอบวิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ คุ ณ ค่ า ของ องค์กรทีบ่ ริษทั ฯ มุง่ หวังและจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ 4. จัดให้มีและกำกับดูแลให้มีการบริหารจัดการตาม หลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี

5. พิ จ ารณาอนุ มั ติ ง บประมาณการลงทุ น และงบ ประมาณในการดำเนินการของบริษทั ฯ ประจำปี รวมทัง้ ดูแล การใช้ทรัพยากรของบริษทั ฯ 6. จัดให้มีการรายงานข้อมูลทางการเงิน ข้อมูลและ ข้อมูลทั่วไปที่สำคัญต่อผู้ถือหุ้น อย่างครบถ้วน ถูกต้องและ เพียงพอ และยืนยันการตรวจสอบรับรองข้อมูลทีร่ ายงาน 7. จัดให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในและการ ตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพ และมาตรการบริหาร ความเสี่ยงที่เหมาะสม เพียงพอ รวมทั้งมีการติดตามการ ดำเนินการในเรือ่ งดังกล่าวอย่างสม่ำเสมอ 8. พิจารณากำหนดและแยกบทบาทหน้าที่และความ รับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร คณะ อนุกรรมการ และฝ่ายบริหารอย่างชัดเจน รวมทัง้ มีการสือ่ สาร บทบาท หน้ า ที่ และความรั บ ผิ ด ชอบดั ง กล่ า วต่ อ คณะ กรรมการ คณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการ ฝ่าย บริหารและพนักงานของบริษทั ฯ อย่างสม่ำเสมอ 9. กำกั บ ดู แ ลให้ ค ณะกรรมการบริ ห าร คณะอนุ กรรมการ และฝ่ายบริหาร ดำเนินการตามนโยบายทีก่ ำหนด ไว้ 10. พิจารณาประเมินผลงาน กำหนดเงินเดือน ค่าจ้าง สวัสดิการ โบนัส บำเหน็จและผลตอบแทนอืน่ ๆ รวมทัง้ ค่าใช้ จ่ายและสิง่ อำนวยความสะดวกของกรรมการผูจ้ ดั การ รวมถึง กำหนดแผนสำรองเกี่ยวกับการสรรหาบุคลากรที่จะดำรง ตำแหน่ง ที่สำคัญของฝ่ายบริหาร ในกรณีที่ฝ่ายบริหารไม่ สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้ 11. พิจารณาปรับเปลีย่ นแก้ไขขอบเขตอำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ และบทบาทของคณะกรรมการบริหาร คณะ อนุกรรมการต่างๆ และฝ่ายบริหาร ตามความเหมาะสม

คณะกรรมการบริหาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการ จำนวน 5 คน คือ

1. 2. 3. 4. 5.

นายณรงค์ แสงสุรยิ ะ นายสุวชิ พึง่ เจริญ ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์ นายคาซูชเิ กะ คาตามูระ นายสมโพธิ ศรีภมู ิ

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ

รายงานประจำปี 2552

73


ขอบเขตและอำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริหาร

1. กำกับดูแลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการให้ เป็นไปตามมติ นโยบาย (Policies) และกลยุทธ์ (Strategies) ที่กำหนดโดยคณะกรรมการบริษัท ตลอดจนให้คำแนะนำ และคำปรึกษาแก่กรรมการผูจ้ ดั การ 2. กำกั บ ดู แ ลการศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ส ำหรั บ โครงการใหม่ รวมทั้งพิจารณาอนุมัติดำเนินโครงการต่างๆ ตามทีเ่ ห็นสมควรภายในวงเงินตามข้อ (3) 3. มี อ ำนาจอนุ มั ติ ก ารเข้ า ทำนิ ติ ก รรมใดๆ ซึ่ ง มี ผ ล ผูกพันต่อบริษทั ฯ ในวงเงินไม่เกิน 50 (ห้าสิบ) ล้านบาท ทัง้ นี้ การอนุมตั ดิ งั กล่าว ต้องไม่เป็นรายการทีม่ คี วามขัดแย้งหรือมี ส่วนได้สว่ นเสียกับบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ

4. มีอำนาจพิจารณาอนุมตั ิ และ/หรือกำหนดนโยบาย การบริหารงาน การดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ หรือการดำเนิน การใดๆ อันมีผลผูกพันต่อบริษทั ฯ ภายใต้กรอบนโยบายและ กลยุทธ์ (Policies and Strategies) ที่กำหนดโดยคณะ กรรมการบริษทั 5. มีอำนาจว่าจ้าง แต่งตั้ง ลงโทษทางวินัย เลิกจ้าง ให้ออก ปลด กำหนดเงินเดือน โบนัส สวัสดิการ และผลตอบ

แทนอื่นๆ รวมทั้งค่าใช้จ่ายและสิ่งอำนวยความสะดวกของ เจ้ า หน้ า ที่ ห รื อ พนั ก งานของบริ ษั ท ฯ ที่ มี ต ำแหน่ ง ตั้ ง แต่ ผู้ จั ด การฝ่ า ยหรื อ เที ย บเท่ า ขึ้ น ไป แต่ ไ ม่ ร วมถึ ง กรรมการผู้ จัดการ 6. มีอำนาจแต่งตั้ง กำหนดอำนาจหน้าที่ มอบหมาย แนวนโยบาย กำกับดูแล กำหนดผลตอบแทน ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าใช้จ่ายและสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคณะทำงาน พิเศษเพื่อดำเนินงานเฉพาะเรื่อง รวมถึงอนุมัติข้อเสนอของ คณะทำงานพิเศษภายในวงเงินตามข้อ (3) 7. มีอำนาจแต่งตั้งประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษา และ/ หรือคณะที่ปรึกษาของคณะกรรมการบริหารได้ตามความ เหมาะสม โดยการกำหนดผลตอบแทน ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าใช้ จ่ายและสิ่งอำนวยความสะดวกของประธานที่ปรึกษา ที่ ปรึกษา และ/หรือคณะที่ปรึกษาดังกล่าวให้เป็นอำนาจของ คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน 8. ดำเนินการอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการบริษทั เป็นครัง้ คราว

คณะกรรมการตรวจสอบ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการอิสระ จำนวน 3 คน คือ

ขอบเขตและอำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการ ตรวจสอบ

1. นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว 2. นายสมนึก ชัยเดชสุรยิ ะ 3. นายไพรัช เมฆอาภรณ์

1. สอบทานให้บริษัทฯ มีรายงานทางการเงินอย่างถูก ต้องและเปิดเผยอย่างเพียงพอ 2. สอบทานระบบการควบคุมภายใน (internal control) และการตรวจสอบภายใน (internal audit) ของบริษทั ฯ ให้มี ความหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 3. สอบทานการปฏิ บั ติ ข องบริ ษั ท ฯ ให้ เ ป็ น ไปตาม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนด ของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และ นโยบายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ 4. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ ในกรณีที่

คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ให้มคี วามถูกต้อง ครบถ้วนและทันเวลา 5. พิ จ ารณา คั ด เลื อ ก เสนอแต่ ง ตั้ ง และเสนอค่ า ตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ต่อคณะกรรมการบริษัท เพือ่ เสนอขออนุมตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ 6. จั ด ทำรายงานการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การของคณะ กรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของ บริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะ กรรมการตรวจสอบ 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบ หมายและด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริษทั มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการ และกำหนดค่าตอบแทน เพื่อช่วยในการพิจารณาคัดเลือก สรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะดำรงตำแหน่งกรรมการ จำนวน 3 คน คือ บริษทั กรรมการผูจ้ ดั การและกำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณา 74

บมจ.น้ำประปาไทย


1. นายไพรัช เมฆอาภรณ์ 2. นายประเสริฐ มริตตนะพร 3. นายโคอิชิ วาคานะ

ขอบเขตและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหา และกำหนดค่าตอบแทน

1. พิจารณาหลักเกณฑ์และกระบวนการในการสรรหา บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อดำรงตำแหน่งกรรมการ บริษัท รวมทั้งคัดเลือกบุคคลตามกระบวนการสรรหาที่ได้ กำหนดไว้แล้วนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณา แต่งตั้งหรือเพื่อนำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้ง แล้วแต่กรณี ทัง้ นีใ้ นกระบวนการพิจารณาคัดเลือกบุคคลทีม่ ี คุณสมบัตเิ หมาะสมข้างต้นนัน้ ให้รวมถึงการเปิดโอกาสให้ผู้ ถื อ หุ้ น ส่ ว นน้ อ ยสามารถเสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ เข้ า รั บ การ พิจารณาคัดเลือกได้ดว้ ย 2. พิจารณาหลักเกณฑ์และกระบวนการในการสรรหา บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อดำรงตำแหน่งกรรมการผู้ จัดการ รวมทั้งดำเนินการสรรหาและคัดเลือกบุคคลตาม กระบวนการสรรหาที่ ไ ด้ ก ำหนดไว้ แ ล้ ว นำเสนอต่ อ คณะ กรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาแต่งตัง้

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล

คณะกรรมการบริษัทมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ บรรษัทภิบาล เพือ่ ช่วยในการพิจารณานโยบายและแนวทาง การปฏิบตั ใิ นเรือ่ งการกำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละจริยธรรมทาง

1. นายสมนึก ชัยเดชสุรยิ ะ 2. นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว 3. นายไพรัช เมฆอาภรณ์ 4. นายสมโพธิ ศรีภมู ิ

ขอบเขตและอำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบรรษัท ภิบาล

1. เสนอแนวปฏิบัติด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดีต่อ คณะกรรมการบริษทั 2. กำกับดูแลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ คณะ กรรมการบริหารคณะอนุกรรมการต่างๆ และฝ่ายบริหารเพือ่ ให้เป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี 3. ทบทวนแนวปฏิบัติด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยเปรี ย บเที ย บกั บ หลั ก การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข อง มาตรฐานสากลและของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาปรับปรุงให้ ทันสมัยอย่างสม่ำเสมอ

ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการ

3. จัดให้มีแผนการสืบทอดงาน (Succession Plan) สำหรับการดำรงตำแหน่งทีส่ ำคัญของฝ่ายบริหาร หรือบุคคล ทีอ่ ยูใ่ นเกณฑ์ทจี่ ะได้รบั พิจารณาดำรงตำแหน่งผูบ้ ริหารระดับ สูง พร้อมกับทบทวนแผนดังกล่าวอย่างสม่ำเสมอ 4. กำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนสำหรับ กรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ 5. พิจารณาเสนอค่าตอบแทนของกรรมการต่อคณะ กรรมการบริ ษั ท เพื่ อ ให้ ค วามเห็ น ชอบ แล้ ว นำเสนอต่ อ ที่ ประชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาอนุมตั ิ 6. พิจารณาเสนอเงินเดือนและการปรับอัตราเงินเดือน รวมถึงผลตอบแทนอืน่ ของกรรมการผูจ้ ดั การ แล้วนำเสนอต่อ คณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 7. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการบริษทั

ธุรกิจ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการบรรษัท ภิบาล ประกอบด้วยกรรมการ จำนวน 4 คน คือ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการ กรรมการ กรรมการ

4. มอบนโยบายการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ใ ห้ ค ณะ ทำงานการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ และรายงานผล การกำกับดูแลกิจการทีด่ ตี อ่ คณะกรรมการบริษทั 5. มีอำนาจในการเชิญบุคคลภายนอกทีม่ คี วามรูค้ วาม เชี่ยวชาญเป็นที่ปรึกษาและเข้าร่วมประชุมได้ด้วยค่าใช้จ่าย ของบริษทั ฯ 6. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการบริษทั

รายงานประจำปี 2552

75


คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการบริษทั มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการบริหาร ธุรกิจของบริษัท โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะ

ความเสีย่ ง เพือ่ ช่วยในการพิจารณากำหนดนโยบายเกีย่ วกับ กรรมการบริหารความเสีย่ ง ประกอบด้วยกรรมการ จำนวน 4 มาตรการและแผนการบริหารจัดการความเสีย่ งในการดำเนิน คน คือ 1. 2. 3. 4.

นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว นายประเสริฐ มริตตนะพร นายคาซูชเิ กะ คาตามูระ นายสมโพธิ ศรีภมู ิ

ขอบเขตและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง

1. กำหนดนโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย ง (Risk Management Policy) โดยรวมของบริษัทฯ พร้อมทั้งมอบ หมายให้ฝา่ ยบริหารเป็นผูป้ ฏิบตั ติ ามนโยบายดังกล่าว รวม ถึงรายงานผลการปฏิบตั ติ อ่ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง 2. พัฒนาและทบทวนระบบการจัดการบริหารความ เสีย่ งของบริษทั ฯ ให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อ เนื่อง โดยมีการประเมินผลและติดตามกระบวนการบริหาร ความเสี่ ย งให้ ส อดคล้ อ งตามนโยบายที่ ก ำหนดไว้ อ ย่ า ง สม่ำเสมอ

ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการ กรรมการ กรรมการ

3. สนับสนุนผลักดันให้เกิดความร่วมมือในการบริหาร ความเสีย่ งทุกระดับของบริษทั ฯ 4. จัดให้มรี ายงานความเสีย่ งและข้อเสนอแนะต่อคณะ กรรมการบริษทั 5. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการบริษทั

คณะผูบ้ ริหาร

76

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะผูบ้ ริหารของบริษทั ประกอบด้วยผูบ้ ริหารจำนวน 5 คน ดังนี ้ รายชือ่ ตำแหน่ง 1. นายสมโพธิ ศรีภมู ิ กรรมการผูจ้ ดั การ 2. นายสหชัย เฮงตระกูล ผูจ้ ดั การฝ่ายปฏิบตั กิ าร 3. นายสมเกียรติ ปัทมมงคลชัย ผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชีและการเงิน 4. นายนทิน ตงศิร ิ ผูจ้ ดั การฝ่ายพัฒนาธุรกิจและการตลาด 5. นางสาวปทิดา ไชยเสน ผูจ้ ดั การฝ่ายทรัพยากรบุคคลและธุรการ ตัง้ แต่ วันที่ 1 มกราคม 2553 คณะผูบ้ ริหารของบริษทั ประกอบด้วยผูบ้ ริหารจำนวน 7 คน ดังนี ้ รายชือ่ ตำแหน่ง 1. นายสมโพธิ ศรีภมู ิ กรรมการผูจ้ ดั การ 2. นายสมภล กฤษฎาสิมะ ผูอ้ ำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ 3. นายสมเกียรติ ปัทมมงคลชัย ผูอ้ ำนวยการฝ่ายบัญชีและการเงิน 4. นางสาวปทิดา ไชยเสน ผูอ้ ำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคลและธุรการ 5. นายสหชัย เฮงตระกูล รักษาการผูอ้ ำนวยการฝ่ายปฏิบตั กิ าร 6. นายนทิน ตงศิร ิ รักษาการผูอ้ ำนวยการฝ่ายการตลาด 7. นายศิวา นาคธารีย ์ รักษาการผูอ้ ำนวยการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ บมจ.น้ำประปาไทย


ขอบเขตและอำนาจหน้าทีข่ องกรรมการผูจ้ ดั การ

1. มีอำนาจอนุมัติการทำนิติกรรมใดๆ ซึ่งมีผลผูกพัน บริษทั ฯ ในวงเงินไม่เกิน 5,000,000 บาท (ห้าล้านบาทถ้วน) 2. มี อ ำนาจในการออก แก้ ไ ข เพิ่ ม เติ ม ปรั บ ปรุ ง ระเบียบ คำสัง่ และข้อบังคับเกีย่ วกับการทำงานของบริษทั ฯ เช่น การบรรจุ แต่งตัง้ ถอดถอน และวินยั พนักงานและลูกจ้าง การกำหนดเงินเดือนและเงินอืน่ ๆ รวมตลอดถึงการสงเคราะห์ และสวัสดิการต่างๆ 3. มีอำนาจที่จะมอบอำนาจให้พนักงานระดับบริหาร ของบริ ษั ท ฯ อั น ได้ แ ก่ ผู้ จั ด การฝ่ า ย ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ แ ทน กรรมการผูจ้ ดั การในเฉพาะเรือ่ ง (เช่น การสัง่ ซือ้ การจัดจ้าง การสัง่ จ่ายเงิน) ได้ตามทีเ่ ห็นสมควร 4. มีอำนาจแต่งตั้งบุคคลหรือคณะบุคคลใดให้ดำเนิน กิจการของบริษทั ฯ ภายใต้การควบคุมของกรรมการผูจ้ ดั การ หรืออาจมอบอำนาจเพื่อให้บุคคลดังกล่าวมีอำนาจดำเนิน การตามที่ ก รรมการผู้ จั ด การเห็ น สมควร และมี อ ำนาจ เปลีย่ นแปลงแก้ไข ยกเลิก เพิกถอนอำนาจนัน้ ๆ ได้ 5. มี อ ำนาจปรั บ ปรุ ง โยกย้ า ย ยุ บ รวม หรื อ ขยาย โครงสร้างองค์กรในระดับต่ำกว่าฝ่ายได้ตามความเหมาะสม ตราบเท่าทีบ่ ริษทั ฯ ยังคงมี 4 ฝ่าย และมีจำนวนพนักงานรวม ไม่เกิน 143 อัตรา 6. มีอำนาจกำหนดอัตราเงินเดือนและผลตอบแทน อืน่ ๆ รวมทัง้ อัตราค่าใช้จา่ ยและสิง่ อำนวยความสะดวกของผู้ จัดการฝ่ายหรือเทียบเท่าขึน้ ไป เพือ่ นำเรียนขอความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริหาร 7. มีอำนาจกำหนดโครงสร้างอัตราเงินเดือนและผล ตอบแทนของพนักงานระดับต่ำกว่าผู้จัดการฝ่ายหรือเทียบ เท่า ทัง้ นีอ้ ตั ราเงินเดือน (ไม่รวมค่าตอบแทนและผลประโยชน์ อืน่ ๆ) ทัง้ ในข้อ (6) และ (7) รวมกันทัง้ สิน้ ต้องไม่เกินร้อยละ 3 ของรายได้ของบริษทั ฯ 8. มีอำนาจว่าจ้าง แต่งตัง้ ลงโทษทางวินยั เลิกจ้าง ให้ออก ปลด กำหนดเงินเดือน โบนัส สวัสดิการ และผลตอบ แทนอื่นๆ รวมทั้งค่าใช้จ่ายและสิ่งอำนวยความสะดวกของ พนักงานบริษัทฯ ที่มีอัตราเงินเดือน (เฉพาะอัตราเงินเดือน โดยไม่รวมผลประโยชน์อนื่ ๆ ทีไ่ ด้รบั ) ไม่เกิน 150,000 บาท/

เดือน และ/หรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มีตำแหน่งต่ำกว่า ผู้จัดการฝ่ายหรือเทียบเท่า นอกนั้นให้กรรมการผู้จัดการนำ เรี ย นขอความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการบริ ห าร ทั้ ง นี้ สามารถมอบอำนาจช่วงต่อการดำเนินการข้างต้นทัง้ หมดหรือ บางส่วนให้แก่คณะทำงาน คณะกรรมการ คณะบริหารงาน คณะบุคคล หรือผู้จัดการคนหนึ่งคนใดได้ตามความเหมาะ สม 9. มีหน้าที่ดำเนินการควบคุมดูแลกิจการทั้งปวงของ บริษัทฯ ให้เป็นไปตามมติและนโยบายของคณะกรรมการ บริษทั 10. มีหน้าทีใ่ นการเสนอขออนุมตั งิ บดุล งบการเงิน และ บั ญ ชี ก ำไรขาดทุ น ของบริ ษั ท ฯ ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท

11. มี ห น้ า ที่ น ำเสนอเรื่ อ งที่ ส ำคั ญ ต่ อ คณะกรรมการ บริษทั หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาอนุมตั เิ ห็นชอบ หรือ เพือ่ การอืน่ ใดตามความเหมาะสม 12. มีหน้าทีศ่ กึ ษาความเป็นไปได้สำหรับโครงการใหม่ๆ และมีอำนาจพิจารณาอนุมตั โิ ครงการต่างๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบ หมายจากคณะกรรมการบริหาร 13. ในกรณีกรรมการผู้จัดการไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ ได้ ให้กรรมการผู้จัดการแต่งตั้งผู้จัดการฝ่ายหรือบุคคลอื่น เป็นผู้รักษาการเพื่อปฏิบัติหน้าที่แทนเป็นครั้งคราวไป โดยผู้ รักษาการมีอำนาจหน้าทีเ่ ท่ากับกรรมการผูจ้ ดั การ 14. ดำเนินการอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการบริษทั เป็นครัง้ คราว อย่างไรก็ดี กรรมการผู้จัดการและผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ จากกรรมการผูจ้ ดั การไม่มอี ำนาจในการทีจ่ ะอนุมตั เิ รือ่ งหรือ รายการทีต่ นเองหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้สว่ น เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่น ใด จะเข้าทำกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยของบริษัทฯ ตามคำ นิยามของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลัก ทรัพย์

ใ นปี 2552 คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย มีการประชุมรวมทัง้ สิน้ 28 ครัง้ ดังนี ้

คณะกรรมการบริษทั มีการประชุมตามวาระปกติและวาระพิเศษ จำนวน 10 ครัง้ คณะกรรมการบริหาร มีการประชุมตามวาระปกติและวาระพิเศษ จำนวน 6 ครัง้ คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมตามวาระปกติและวาระพิเศษ จำนวน 5 ครัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีการประชุม จำนวน 2 ครัง้ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลมีการประชุม จำนวน 2 ครัง้ คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทนมีการประชุม จำนวน 3 ครัง้

รายงานประจำปี 2552

77


การเข้าร่วมประชุ​ุมของกรรมการในปี 2552

ETD-āgO'5R$EEC$TE ®« 6E«9;* @Ċ9DR ¯« ;TD=GVI 7EÿIþJI_I9D °« ;TD5E*' `L*LZEþDR ±« ;TD=ER_LEþ2 CEþ77;R@E ²« 6E«LC<S7V $V++TGS$K5 ³« ;TDLCa@:V JEÿB[CV ´« ;TDaD-þaOR a'_C7T;V µ« ;TDa'OV-þ IT'T;R ¶« ;TDa7aCOR$V CS7LZaCa7 ®­« ;TD'T.[-þ_$R 'T7TC[ER ®®« ;TD_7-R@Ċ9D `L*LV*`$ I ®¯« ;TDc@ES- _C)OTBE5 ®°« ;TDLC;X$ -SD_6-LZEþDR ®±« ;TDLZIþ- @ČĎ*_+Eþ

'5R$EEC$TE<EþMTE ®« ;TD5E*' `L*LZEþDR ¯« 6E«LC<S7V $V++TGS$K5 °« ;TDLCa@:V JEÿB[CV ±« ;TDa7aCOR$V CS7LZaCa7 ²« ;TD'T.[-þ_$R 'T7TC[ER ³« ;TDLZIþ- @ČĎ*_+Eþ

LTCS >[ 8YOMZ ; IþLTCS >[ 8YOMZ ; '5R$EEC$TE<EþKS9 ®¬® ®¬® ®­¬®­ ®¬® ®¬® ®­¬®­ ®¬® ®¬® ®­¬®­ ®¬® ®¬® ®­¬®­ ®¬® ®¬® ¶¬®­ ®¬® ®¬® ®­¬®­ ®¬® ª ²¬®­ ª ®¬® ²¬®­ ®¬® ª °¬®­ ª ®¬® ´¬®­ ®¬® ®¬® ®­¬®­ ®¬® ®¬® ®­¬®­ ®¬® ®¬® ®­¬®­ ®¬® ®¬® ®­¬®­

³¬³ ³¬³ ³¬³ ¯¬³ °¬³ ³¬³

'5R$EEC$TELEEMT`GR$UM;6' T7O<`9; ®« ;TD=ER_LEþ2 CEþ77;R@E °¬° ¯« ;TDaD-þaOR a'_C7T;V ¯¬° 3. ;TDa'OV-þ IT'T;R ®¬° 4. ;TDc@ES- _C)OTBE5 °¬°

'5R$EEC$TE7EI+LO< 1. ;TD_7-R@Ċ9D `L*LV*`$ I 2. ;TDc@ES- _C)OTBE5 3. ;TDLC;X$ -SD_6-LZEþDR

²¬² ²¬² ²¬²

'5R$EEC$TE<EEKS9BV<TG 1. ;TDLCa@:V JEÿB[CV 2. ;TD_7-R@Ċ9D `L*LV*`$ I 3. ;TDc@ES- _C)OTBE5 ±« ;TDLC;X$ -SD_6-LZEþDR

¯¬¯ ¯¬¯ ¯¬¯ ¯¬¯

'5R$EEC$TE<EþMTE'ITC_LWgD* ®« ;TD=ER_LEþ2 CEþ77;R@E ¯¬¯ ¯« ;TDLCa@:V JEÿB[CV ¯¬¯ 3. ;TDa7aCOR$V CS7LZaCa7 ®¬¯ 4. ;TD'T.[-þ_$R 'T7TC[ER ®¬¯ 5. ;TD_7-R@Ċ9D `L*LV*`$ I ¯¬¯

หมายเหตุ นายคาซูชิเกะ คาตามุระ เข้าเป็นกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน 2552 แทนคุณโตโมอะกิ มัตสุโมโต้ นายโคอิชิ วาคานะ เข้าเป็นกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2552 แทนคุณโยชิโฮะ โคเมตามิ

78

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

79


การบริหาร จัดการ

นโยบายการจ่ายเงินปันผล เงินปันผล เพือ่ ให้การจ่ายเงินปันผลของบริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) มีแนวทางทีช่ ดั เจน กับเพือ่ เป็นการรักษาผลประโยชน์ ของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ จึงกำหนดนโยบายการจ่ายเงินปันผลไว้ ดังนี ้ ในการจ่ายเงินปันผลนั้น บริษัทฯ จะพิจารณาถึงความ ต้องการใช้เงินตามเป้าหมายของบริษทั ฯ ในระยะเวลา 5 ปี ข้างหน้า รวมถึงการรักษาระดับอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนของ บริษทั ฯ ให้อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม ทัง้ นีเ้ พือ่ ลดความเสีย่ งทาง ด้านการเงินของบริษัทฯ ที่อาจจะเกิดขึ้นในกรณีที่บริษัทฯ เห็นว่าสามารถที่จะจ่ายเงินปันผลได้ บริษัทฯ จะพิจารณา จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราสูงสุดเท่าที่เงินสดและ กระแสเงินสดจะอำนวยเป็นลำดับแรก ทั้งนี้ จะไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลสำรอง ตามกฎหมาย และสำรองอื่นๆ ที่กำหนดไว้ในเงื่อนไขของ สัญญาต่างๆ 80

บมจ.น้ำประปาไทย

(หน่วย : บาท/หุ้น)

0.20 0.15 0.11

0.10


การบริหารความเสี่ยง ความต่อเนือ่ งในการให้บริการเป็นสิง่ ทีส่ ำคัญยิง่ สำหรับ การเป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารสาธารณู ป โภคขั้ น พื้ น ฐาน บริ ษั ท ฯ ตระหนักดีวา่ น้ำประปามีความจำเป็นต่อการใช้ชวี ติ ประจำวัน ดังนั้นบริษัทฯ จึงต้องบริหารความเสี่ยงในทุกด้าน เพื่อให้ มั่นใจว่าบริษัทฯ สามารถผลิตและจ่ายน้ำประปาที่มีความ สะอาด ได้อย่างเพียงพอและต่อเนือ่ ง คณะกรรมการบริษัท จะดำเนินธุรกิจโดยคำนึงถึงความ เสี่ยงอยู่เสมอ โดยจะดำเนินการให้มีการควบคุมและบริหาร ความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม

ปัจจัยความเสีย่ งทีอ่ าจมีผลกระทบ ต่อการดำเนินธุรกิจ

บางเลน จังหวัดนครปฐม ทั้งนี้แหล่งที่ก่อหรืออาจก่อให้เกิด มลพิษทีส่ ำคัญ คือ ชุมชมริมน้ำ เกษตรกรรม (ฟาร์มสุกร สวน กล้วยไม้ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ) จากข้อมูลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547-2551 พบว่า คุณภาพน้ำแม่น้ำท่าจีนตอนกลางมีค่า DO เฉลี่ยสูงขึ้น แสดงให้เห็นแนวโน้มที่ดีขึ้นเล็กน้อยของ คุณภาพน้ำแต่ยงั อยูใ่ นเกณฑ์ตำ่ กว่ามาตรฐาน ส่วนคุณภาพของน้ำในแม่น้ำเจ้ าพระยาซึ่ งเป็นแหล่ง น้ำดิบของประปาปทุมธานี มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน ซึง่ ทัง้ นี้ ประปาปทุมธานี ได้มกี ารเฝ้าระวังและตรวจสอบแลก เปลี่ ย นข้ อ มู ล กั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งและการประปา นครหลวงอย่างสม่ำเสมอ

3. ความผันผวนของอัตราดอกเบีย้

1. ปริมาณน้ำในแหล่งน้ำ ปริมาณของน้ำดิบในแม่น้ำท่าจีนซึ่งเป็นแหล่งน้ำหลัก บริษทั ฯ ออกและเสนอขายหุน้ กูใ้ นวงเงิน 7,000 ล้าน

และได้รับการผันน้ำจากเขื่อนในจังหวัดชัยนาท และจังหวัด กาญจนบุรี รวมกับปริมาณน้ำฝนตามฤดูกาลแล้วมีปริมาณ เพียงพอสำหรับการผลิตน้ำประปา ซึ่งในฤดูแล้งปริมาณน้ำ ในแม่นำ้ ท่าจีนจึงขึน้ อยูก่ บั ปริมาณการกักเก็บน้ำของเขือ่ น ณ 31 ธันวาคม 2552 ปริมาณกักเก็บน้ำทีใ่ ช้การได้จริง และผันลงสูแ่ หล่งน้ำของเขือ่ นรวมกันมีปริมาณ 17,736 ล้าน ลบ.ม. ลดลงจากปี 2551 คิดเป็นร้อยละ 15 ซึง่ เพียงพอต่อ การผันเข้าสู่แม่น้ำท่าจีนตามปกติ และเพียงพอต่อการนำน้ำ ดิบไปผลิตน้ำประปา อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้จัดทำแผน การประสานงานกั บ หน่ ว ยราชการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น กรม ชลประทาน เพื่อรับทราบสถานการณ์ของปริมาณน้ำอย่าง ต่อเนือ่ งและสม่ำเสมอ สำหรั บ บริ ษั ท ประปาปทุ ม ธานี จำกั ด (ประปา ปทุมธานี) ใช้น้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณใกล้เคียงกับ สถานีสูบน้ำดิบของการประปานครหลวง มีปริมาณน้ำดิบ เพียงพอตลอดปี และได้มีการประสานงานกับหน่วยงาน ราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อเฝ้าระวังและรับทราบสถานการณ์ ปริมาณน้ำอย่างต่อเนือ่ ง

2. คุณภาพของแหล่งน้ำ ในปี 2551-2552 แม่นำ้ ท่าจีนตอนกลาง คุณภาพน้ำ

ส่วนใหญ่อยู่ในระดับที่สามารถผลิตเป็นน้ำประปาได้จัดเป็น แหล่งน้ำประเภทที่ 4 โดยพบออกซิเจนละลายน้ำ (DO) โดย เฉลี่ย คือ 1.99-2.49 มก./ล. บริเวณใต้ปากคลองพระยา บรรลือ อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ส่วนค่าความ สกปรก (BOD) โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 2.0-2.8 มก./ล. บริเวณ วั ด เที ย นดั ด อำเภอสามพราน และที่ บ ริ เ วณสะพาน

บาทเมือ่ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2552 รวม 3 ชุด คือ ชุดที่ 1 ครัง้ ที่ 1/2552 จำนวน 3,500 ล้านบาท อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 4.00 ต่อปี ครบกำหนด 26 กุมภาพันธ์ 2555, ชุดที่ 2 ครัง้ ที่ 2/ 2552 จำนวน 1,700 ล้านบาท อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 4.75 ต่อ ปี ครบกำหนด 26 กุมภาพันธ์ 2557 และชุดที่ 3 ครัง้ ที่ 3/ 2552 จำนวน 1,800 ล้านบาท อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 5.35 ต่อ ปี ครบกำหนด 26 กุมภาพันธ์ 2559 เพือ่ นำเงินไปชำระเงินกู้ ยืมจากสถาบันการเงินดังกล่าว ซึ่งหากหุ้นกู้ของบริษัทฯ มี การคิดอัตราดอกเบีย้ คงทีแ่ ล้วบริษทั ฯ จะสามารถขจัดความ เสีย่ งจากการผันผวนของอัตราดอกเบีย้ ดังกล่าวข้างต้น นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ มีเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน 2 แห่ง ด้วยกัน โดยมียอดเงินกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จำนวน 4,582 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยคิดดอกเบี้ยแบบลอยตัว (Floating Interest Rate) โดยอ้างอิงกับอัตรา MLR ของ ธนาคารผูใ้ ห้ก ู้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีอตั ราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผู้ ถือหุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เท่ากับ 1.42 เท่า จาก ข้อมูลทางการเงินดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นว่าบริษัทฯ และบริษัทย่อยมีนโยบายทางการเงินที่พึ่งพิงหนี้สินในระดับ หนึ่ง ด้วยเหตุนี้ หากอัตราดอกเบี้ยเพิ่มสูงขึ้นจะส่งผลให้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีภาระดอกเบีย้ จ่ายทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อความสามารถในการชำระหนี้ ฐานะ ทางการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัท ย่อย

รายงานประจำปี 2552

81


4. ด้านแรงงาน

ความเสี่ยงด้านการบริหารบุคลากรภายในองค์กร ซึ่ง ปัจจัยเสี่ยงด้านทรัพยากรบุคคลเป็นปัจจัยที่สำคัญมากต่อ ความสำเร็จขององค์กร โดยปัจจัยเสีย่ งดังกล่าวอยูใ่ นระดับที่ ยอมรับได้เนื่องจากมีมาตราการควบคุมและติดตามอย่าง สม่ำเสมอ และมีกฎระเบียบ สำหรับพนักงานบริษัททุกคน ปฏิบตั ิ และแนวทางให้การสรรหาบุคคลากร จากแหล่งแรง งานโดยตรง อีกทัง้ บรษัทฯ มีนโยบายด้านการพัฒนาทรัพยา กรบุคคล โดยการส่งเสริมให้พนักงานทุกระดับเกิดการเรียนรู้ และมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ซึ่งถือเป็นการสร้างขวัญและ กำลังใจให้พนักงาน

82

บมจ.น้ำประปาไทย

5. ด้านวัตถุดบิ

ความเสี่ยงด้านการจัดหาสารเคมีที่ใช้ในการผลิตน้ำ ประปา ซึง่ จะเกิดขึน้ ได้ในกรณีทตี่ ลาดมีความต้องการใช้สาร เคมีบางประเภทซึ่งเป็นสารเคมีหลักที่เกี่ยวกับการผลิตน้ำ ประปาสูง และในฤดูทมี่ นี ำ้ หลาก หรือเกิดภาวะน้ำท่วมอย่าง รุนแรงในแถบภูมภิ าคเดียวกัน เช่น มีความต้องการใช้สารเคมี สูงในประเทศจีน อินเดีย ญีป่ นุ่ เป็นต้น ทำให้เกิดการแข่งขัน ด้านราคาสูง ส่วนในด้านการขาดแคลนวัตถุดบิ หลักในตลาด ยังไม่เคยเกิดขึน้ ในแถบภูมภิ าคเอเชีย ในส่วนของบริษทั ฯ ได้ มีการเตรียมพร้อมเพือ่ รองรับความเสีย่ งในการบริหารจัดการ ด้านสารเคมีหลัก โดยมีการจัดทำแผน และการบริหารสินค้า คงคลัง และมีการเฝ้าระวังสินค้าคงเหลือและความต้องการใช้ สารเคมี ทัง้ นีใ้ นการสัง่ ซือ้ วัตถุดบิ สารส้มน้ำ ซึง่ เป็นสารเคมีที่ มีปริมาณการใช้สูงสุด ได้มีการประมูลซื้อขายและจัดทำ สัญญาซือ้ เป็นระยะยาว กับผูจ้ ำหน่ายสารส้มน้ำทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย และได้มีการติดต่อกับผู้จำหน่ายรายอื่นๆ ที่ มีศักยภาพในการจัดหาสารส้มน้ำอย่างเพียงพอกับความ ต้องการใช้ของบริษทั ฯ เพือ่ เป็นผูจ้ ดั หาสำรองในกรณีทบี่ ริษทั จัดหาหลักอาจเกิดปัญหาที่ทำให้ไม่สามารถจัดหาได้ นอก จากนั้นยังมีแผนที่จะประมูลสารเคมีชนิดอื่นๆ อีกเพื่อเพิ่ม การรองรับความเสีย่ ง และได้มกี ารจัดหาข้อมูลแหล่งผลิตและ ผูจ้ ำหน่ายวัตถุดบิ รายใหม่ๆ ทัง้ ในและต่างประเทศ


การควบคุมภายใน บริษัทฯ ให้ความสำคัญอย่างยิ่งต่อการจัดให้มีระบบ โดยในปี 2552 หัวหน้าแผนกตรวจสอบภายในของ

ควบคุมภายในที่ดีซึ่งเป็นไปตามหลักการของการกำกับดูแล กิจการทีด่ ี กล่าวคือ การปฏิบตั งิ านในหน้าทีต่ า่ งๆ มีความ โปร่งใส ยุติธรรม เชื่อถือได้ และมีการถ่วงดุลอำนาจและ สามารถตรวจสอบได้ อันนำไปสู่ประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น พนักงาน และผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกฝ่าย บริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ บริษทั สอบบัญชีธรรมนิติ จำกัด เพือ่ ทำการประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ของบริษทั ฯ และบริษทั วอเตอร์โฟลว์ จำกัด โดยมีระยะเวลา การให้บริการอย่างน้อย 1 ปี เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 30 ตุลาคม 2549 เรือ่ ยมา และในปี 2552 บริษทั ฯ ได้วา่ จ้างบริษทั สอบบัญชี ธรรมนิติ จำกัด ดำเนินการตรวจสอบภายในต่อไป โดยทำ หน้ า ที่ ร่ ว มกั น กั บ แผนกตรวจสอบภายในของบริ ษั ท ฯ นอกจากนี้ยังได้เริ่มดำเนินการตรวจสอบภายในบริษัทใน เครือน้ำประปาไทยด้วย เพื่อให้มีแนวทางการกำกับดูแล กิจการทีด่ ี มีความโปร่งใส เชือ่ ถือได้อย่างน้อยปีละ 1 ครัง้

บริษทั ฯ และบริษทั สอบบัญชีธรรมนิติ จำกัด ได้ดำเนินการ ตรวจสอบภายในและประเมินผลการควบคุมรวมถึงการ ประเมินความเสีย่ งของบริษทั ในกลุม่ น้ำประปาไทย จำนวน ทัง้ หมด 6 ครัง้ ซึง่ เป็นไปตามแผนการตรวจสอบภายในทีไ่ ด้ รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบและกรรมการผู้ จัดการ ของบริษทั ฯ ซึง่ ผลการตรวจสอบภายในไม่พบสิง่ ผิด ปกติใดๆ ทีเ่ ป็นสาระสำคัญอันจะกระทบต่อวัตถุประสงค์และ เป้าหมายการดำเนินงานของบริษทั โดยคณะกรรมการตรวจ สอบให้แนวทางไว้ให้ผปู้ ฏิบตั กิ ารตรวจสอบภายใน เสนอแผน ในการปรับปรุงระบบทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั ให้มปี ระสิทธิภาพและ รัดกุมยิ่งขึ้น และตรวจสอบเพื่อให้มั่นใจในการปฏิบัติการ ระบบทีด่ อี ยูแ่ ล้วอย่างต่อเนือ่ ง และไม่มขี อ้ ละเว้นการปฏิบตั ิ ตามระบบทีไ่ ม่สามารถอธิบายเหตุผลได้ อนึง่ บริษทั สำนักงานเอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ซึง่ เป็น ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ได้ทำการสอบทานประสิทธิภาพ ระบบการควบคุมทางบัญชีของบริษัทฯ ตามที่เห็นว่าจำเป็น สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2548 ถึง 2552 เพื่อ ประโยชน์ในการกำหนดขอบเขตการปฏิบตั งิ านตรวจสอบเพือ่ แสดงความเห็นต่องบการเงินให้รดั กุมและเหมาะสม และไม่ พบข้อสังเกตในระบบการควบคุมภายในทางบัญชีที่มีสาระ สำคัญ

รายงานประจำปี 2552

83


รายละเอียดเกี่ยวกับ คณะกรรมการบริษัท

84

บมจ.น้ำประปาไทย


รายงานประจำปี 2552

85


รายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ดร.ทนง พิทยะ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการ

อายุ การศึกษา

ปริญญาเอก

สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิรน์ ประเทศสหรัฐอเมริกา

ก.พ. 2552 – ปัจจุบัน ปัจจุบัน

ประธานกรรมการ บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) ประธานคณะกรรมการทีป่ รึกษา บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนทหารไทย จำกัด ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนทหารไทย จำกัด รองประธานคณะกรรมการทีป่ รึกษา กลุม่ บริษทั คิง เพาเวอร์

อาจารย์พเิ ศษ มหาวิทยาลัยชินวัตร

2547

หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุน่ 25/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 0.009 % 10/10

ประสบการณ์ทำงาน

ประวัติการอบรม/สัมมนา

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท การเข้าร่วมประชุมในปี 2552

86

63 ปี

บมจ.น้ำประปาไทย


นายปลิว ตรีวิศวเวทย์ กรรมการ และรองประธานกรรมการ

อายุ การศึกษา

64 ปี

ปริญญาโท

สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยโอซาก้า ประเทศญีป่ นุ่

ก.พ. 2552 – ปัจจุบัน 2549 - ก.พ.2552 2541 – ปัจจุบัน 2537 - ปัจจุบัน 2533 – ปัจจุบัน 2517 - ปัจจุบัน

รองประธานกรรมการ บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) กรรมการและประธานกรรมการ บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษทั รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร บริษทั ทางด่วนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั สยาม ซี บี บี เอ็นจิเนียริง่ จำกัด ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ช.การช่าง จำกัด (มหาชน)

2547

หลักสูตร Director Certificate Program (DCP) รุน่ 50/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 0.075 % 10/10

ประสบการณ์ทำงาน

ประวัติการอบรม/สัมมนา

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท การเข้าร่วมประชุมในปี 2552

รายงานประจำปี 2552

87


นายณรงค์ แสงสุริยะ กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร

อายุ การศึกษา

65 ปี

ปริญญาตรี

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2543 – ปัจจุบัน 2536 – ปัจจุบัน 2526 – ปัจจุบัน

กรรมการ บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั สยาม ซี บี บี เอ็นจิเนียริง่ จำกัด กรรมการและรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่อาวุโส ฝ่ายปฎิบตั กิ าร บริษทั ช.การช่าง จำกัด (มหาชน)

2548

หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุน่ 54/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 0.050 % 10/10

ประสบการณ์ทำงาน

ประวัติการอบรม/สัมมนา

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท การเข้าร่วมประชุมในปี 2552

88

บมจ.น้ำประปาไทย


นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว กรรมการอิระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง และกรรมการบรรษัทภิบาล

อายุ การศึกษา

ปริญญาโท ประสบการณ์ทำงาน

66 ปี

สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ KEIO University, Japan (โดยทุนธนาคารแห่งประเทศไทย)

ก.ค. 2550 – ปัจจุบัน 2549 - ปัจจุบัน ปัจจุบัน

กรรมการ บริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด

กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ งและ กรรมการบรรษัทภิบาล บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการ บริษทั สตาร์ซานิตารี่ แวร์ จำกัด ทีป่ รึกษาสมาคมไทย-ลาวเพือ่ มิตรภาพ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตน์ ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

กรรมการบริหาร มูลนิธชิ วี ติ พัฒนา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจ้าฟ้ากัลยานิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ประธานกรรมการ บริษทั บริหารสินทรัพย์สขุ มุ วิท จำกัด

กรรมการบริหาร บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (บสท.)

2549 2548

หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุน่ 34/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 0.050 % 10/10

ประวัติการอบรม/สัมมนา

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท การเข้าร่วมประชุมในปี 2552

รายงานประจำปี 2552

89


นายไพรัช เมฆอาภรณ์

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบรรษัทภิบาล

อายุ การศึกษา

ปริญญาโท ประสบการณ์ทำงาน

สาขาวิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล California State University Long Beach, California, USA

ก.ค. 2550 – ปัจจุบัน 2549 – ปัจจุบัน ปัจจุบัน

ประธานกรรมการ บริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน และกรรมการบรรษัทภิบาล บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ไทยออฟติคอล กรุป๊ จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ด่านช้างไบโอ-เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด กรรมการ บริษทั ภูเขียวไบโอ-เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด

2550 2549 2547

หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุน่ 17/2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุน่ 81/2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุน่ 18/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 0.050 % 10/10

ประวัติการอบรม/สัมมนา

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท การเข้าร่วมประชุมในปี 2552

90

64 ปี

บมจ.น้ำประปาไทย


นายสมนึก ชัยเดชสุริยะ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล และกรรมการตรวจสอบ อายุ การศึกษา

59 ปี

ปริญญาโท

สาขาวิชากฎหมาย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2549 – ปัจจุบัน ปัจจุบัน

กรรมการ กรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการบรรษัทภิบาล บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) กรรมการตรวจสอบ บริษทั ดอนเมืองโทลเวย์ จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษทั ยูนคิ เอ็นจิเนียริง่ แอนด์ คอนสตรัคชัน่ จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษทั คาเธ่ยล์ สี แพลน จำกัด (มหาชน) กรรมการตรวจสอบ บริษทั ไทยศรีประกันภัย จำกัด

2548 2547 2547

หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุน่ 9/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุน่ 9/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุน่ 46/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 0.050 % 10/10

ประสบการณ์ทำงาน

ประวัติการอบรม/สัมมนา

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท การเข้าร่วมประชุมในปี 2552

รายงานประจำปี 2552

91


นายประเสริฐ มริตตนะพร กรรมการ กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน และกรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ การศึกษา

54 ปี

ปริญญาโท

สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2549 – ปัจจุบัน 2544 – ปัจจุบัน 2543 – ปัจจุบัน 2533 – ปัจจุบัน

กรรมการ บริษทั เซาท์อสี เอเชีย เอนเนอร์จี จำกัด

กรรมการและรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่อาวุโส : กลุม่ งานบริหาร บริษทั ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) กรรมการ กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน และ กรรมการบริหารความเสีย่ ง บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั สยาม ซี บี บี เอ็นจิเนียริง่ จำกัด

2548

หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุน่ 54/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 0.050 % 10/10

ประสบการณ์ทำงาน

ประวัติการอบรม/สัมมนา

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท การเข้าร่วมประชุมในปี 2552

92

บมจ.น้ำประปาไทย


นายสุวิช พึ่งเจริญ กรรมการ และกรรมการบริหาร

อายุ การศึกษา

ปริญญาโท ประสบการณ์ทำงาน

63 ปี

สาขาวิชารัฐศาสตร์ แขนงวิชาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2550 – ปัจจุบัน 2549 – ปัจจุบัน

ทีป่ รึกษา บริษทั ทางด่วนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) กรรมการ และกรรมการบริหาร บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน)

2546

หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุน่ 37/2546 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 0.014 % 10/10

ประวัติการอบรม/สัมมนา

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท การเข้าร่วมประชุมในปี 2552

รายงานประจำปี 2552

93


ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์ กรรมการ และกรรมการบริหาร อายุ การศึกษา

ปริญญาเอก

สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ (ปฐพีวศิ วกรรม) มหาวิทยาลัยอินส์บรุค ประเทศออสเตรีย

2549 – ปัจจุบัน 2547 – ปัจจุบัน 2544 – ปัจจุบัน 2543 – ปัจจุบัน 2543 – ปัจจุบัน

กรรมการ บริษทั ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) กรรมการ และกรรมการบริหาร บริษทั รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ บริษทั ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) กรรมการ และกรรมการบริหาร บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

2549 2548

หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุน่ 81/2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุน่ 36/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 0.075 % 9/10

ประสบการณ์ทำงาน

ประวัติการอบรม/สัมมนา

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท การเข้าร่วมประชุมในปี 2552

94

53 ปี

บมจ.น้ำประปาไทย


นายคาซูชิเกะ คาตามูระ กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ การศึกษา

ปริญญาโท ประสบการณ์ทำงาน

41 ปี

วิศวกรรมเครือ่ งกล KEIO University, Japan

เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน 2549 - ปัจจุบัน 2549 - ปัจจุบัน

กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการบริหารความเสีย่ ง บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั มิตซุย วอเตอร์ โฮลดิง้ ส์ (ประเทศไทย) จำกัด รองประธานบริหาร ผูจ้ ดั การทัว่ ไป ฝ่ายโครงการโครงสร้างพืน้ ฐาน บริษทั มิตซุย แอนด์ โค (ไทยแลนด์) ลิมติ เต็ด

2551

หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุน่ 74/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 0.025 % 7/10 (เข้าดำรงตำแหน่ง เมือ่ วันที่ 4 เมษายน 2552)

ประวัติการอบรม/สัมมนา

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท การเข้าร่วมประชุมในปี 2552

รายงานประจำปี 2552

95


นายโคอิชิ วาคานะ กรรมการ และกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน

อายุ การศึกษา

ปริญญาตรี

ประสบการณ์ทำงาน

วิศวกรรมเครือ่ งกล Keio University, Japan

มิถุนายน 2552 - ปัจจุบัน ปัจจุบัน

กรรมการ และกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) ผูจ้ ดั การทัว่ ไป แผนกที่ 2 ฝ่ายพัฒนาโครงการขัน้ ที่ 1 บริษทั มิตซุย แอนด์ โค ลิมติ เต็ด (โตเกียว)

2551

หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุน่ 74/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 0.025 % 5/10 (เข้าดำรงตำแหน่ง เมือ่ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2552)

ประวัติการอบรม/สัมมนา

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท การเข้าร่วมประชุมในปี 2552

96

42 ปี

บมจ.น้ำประปาไทย


นายสมโพธิ ศรีภูม ิ

กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้จัดการและเลขานุการบริษัท อายุ การศึกษา

50 ปี

ปริญญาโท ปริญญาโท

Master of Science in Resource Planning and Management Naval Postgraduate School, Monterey, California, U.S.A. Master of Engineering in Structural Engineering and Structural Mechanics (Civil Engineering) University of California at Berkeley, California, U.S.A.

ก.ค. 2550 – ปัจจุบัน 2548 – ปัจจุบัน 2548 – ปัจจุบัน

กรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด

กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการผูจ้ ดั การ และเลขานุการบริษทั บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษทั วอเตอร์โฟลว์ จำกัด

2551 2549

Successful Formulation & Execution the Strategy (SEF) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุน่ 73/2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

ประสบการณ์ทำงาน

ประวัติการอบรม/สัมมนา

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท การเข้าร่วมประชุมในปี 2552

0.067 % 10/10

รายงานประจำปี 2552

97


คณะผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะผู้บริหารของบริษัท ประกอบด้วย ผู้บริหารจำนวน 5 ท่าน

นายสมโพธิ ศรีภูม ิ

กรรมการผู้จัดการ

อายุ การศึกษา

50 ปี

ปริญญาโท ปริญญาโท

Master of Science in Resource Planning and Management Naval Postgraduate School, Monterey, California, U.S.A. Master of Engineering in Structural Engineering and Structural Mechanics (Civil Engineering) University of California at Berkeley, California, U.S.A.

ก.ค. 2550 – ปัจจุบัน 2548 – ปัจจุบัน 2548 – ปัจจุบัน

กรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด

กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการผูจ้ ดั การ และเลขานุการบริษทั บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษทั วอเตอร์โฟลว์ จำกัด

2551 2549

Successful Formulation & Execution the Strategy (SEF) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุน่ 73/2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

ประสบการณ์ทำงาน

ประวัติการอบรม/สัมมนา

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

98

บมจ.น้ำประปาไทย

0.067 %


นายสหชัย เฮงตระกูล ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ อายุ การศึกษา

ปริญญาโท

ประสบการณ์ทำงาน

2550 – ปัจจุบัน 2549 – ปัจจุบัน 2548 – ปัจจุบัน

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

45 ปี

พาณิชยศาสตร์มหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการ บริษทั บีเจที วอเตอร์ จำกัด กรรมการและผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั วอเตอร์โฟลว์ จำกัด ผูจ้ ดั การฝ่ายปฏิบตั กิ าร บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) 0.030 %

รายงานประจำปี 2552

99


นายนทิน ตงศิริ ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจและการตลาด

อายุ การศึกษา

ปริญญาตรี

ประสบการณ์ทำงาน

43 ปี

รัฐศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2551 – ปัจจุบัน 2549 – 2551 มกราคม – มีนาคม 2549

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

100 บมจ.น้ำประปาไทย

ผูจ้ ดั การฝ่ายพัฒนาธุรกิจและการตลาด บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) ธุรกิจส่วนตัว รักษาการผูจ้ ดั การส่วนความปลอดภัยและคุณภาพ บริษทั รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ไม่ม ี


นายสมเกียรติ ปัทมมงคลชัย ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน อายุ การศึกษา

ปริญญาโท ประสบการณ์ทำงาน

2550 – ปัจจุบัน 2548 – ปัจจุบัน 2543 – 2548

36 ปี

บัญชีมหาบัณฑิต (สาขาการบัญชี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

กรรมการ บริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด

กรรมการ บริษทั บีเจที วอเตอร์ จำกัด ผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชีและการเงิน บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การตรวจสอบบัญชี บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด

0.038 %

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

รายงานประจำปี 2552

101


นางสาวปทิดา ไชยเสน ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคลและธุรการ

อายุ การศึกษา

ปริญญาโท

ประสบการณ์ทำงาน

2549 – ปัจจุบัน 2536 – 2549

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

102 บมจ.น้ำประปาไทย

43 ปี

ครุศาสตร์มหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผูจ้ ดั การฝ่ายทรัพยากรบุคคลและธุรการ บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) ผูจ้ ดั การฝ่ายบุคคล บริษทั บางกอก ไมโคร บัส จำกัด 0.038 %


การถือครองหุ้นของคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 การถือหุ้นของกรรมการและผู้บริหาร 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15.

ดร.ทนง นายปลิว นายณรงค์ นายเตชะพิทย์ นายไพรัช นายสมนึก นายสุวิช นายประเสริฐ ดร.สมบัติ นายโคอิจิ นายคาซูชิเกะ นายสมโพธิ นายสหชัย นายสมเกียรติ นางสาวปทิดา

พิทยะ ตรีวิศวเวทย์ แสงสุริยะ แสงสิงแก้ว เมฆอาภรณ์ ชัยเดชสุริยะ พึ่งเจริญ มริตตนะพร กิจจาลักษณ์ วาคานะ คาตามูระ ศรีภูมิ เฮงตระกูล ปัทมมงคลชัย ไชยเสน

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคลและธุรการ

จำนวนหุ้นที่ถือ

342,000

2,997,000

2,000,100

2,000,000

2,000,000

2,000,000

550,000

2,000,100

3,000,100

1,000,000

1,000,000

2,675,100

1,187,000

1,500,000

1,500,000

รายงานประจำปี 2552

103


ค่าตอบแทนกรรมการปี 2552

ลำดับ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง ค่าตอบแทน เบี้ยประชุม รวม

1 ดร.ทนง พิทยะ 2 นายปลิว ตรีวิศวเวทย์ 3 นายณรงค์ แสงสุริยะ 4 นายประเสริฐ มะริตตนะพร 5 ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์ 6 นายสมโพธิ ศรีภูมิ 7 นายโตโมอะกิ มัตสุโมโต้ 8 นายโยชิโอะ โคเมตานิ 9 นายสุวิช พึ่งเจริญ 10 นายเตชะพิทย์ แสงสิงแก้ว 11 นายไพรัช เมฆอาภรณ์ 12 นายสมนึก ชัยเดชสุริยะ 13 นายคาซูชิเกะ คาตามูระ 14 นายโคอิชิ วาคานะ

กรรมการอิสระ 626,000 และประธานกรรมการบริษัท

รองประธานกรรมการ 426,000 ประธานกรรมการ 356,000 บริหาร

กรรมการ / กรรมการ 261,000 สรรหาและกำหนดค่าตอบแทน กรรมการและ 251,000 กรรมการบริหาร

กรรมการและ 341,000 กรรมการบริหาร / กรรมการบรรษัทภิบาล / กรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการ / 76,467 กรรมการบริหารและ กรรมการบริหาร ความเสี่ยง กรรมการและ 90,083 กรรมการสรรหาและ กำหนดค่าตอบแทน กรรมการและ 251,000 กรรมการบริหาร

กรรมการอิสระ / 428,000 ประธานคณะ กรรมการตรวจสอบ / บริหารความเสี่ยง

กรรมการอิสระ / 372,000 กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหาและ กำหนดค่าตอบแทน และกรรมการกำกับ ดูแลกิจการที่ดี

กรรมการอิสระ / 327,000 ประธานคณะ กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการ / 186,158 กรรมการบริหารและ กรรมการบริหาร ความเสี่ยง

กรรมการและ 125,917 กรรมการสรรหาและ กำหนดค่าตอบแทน

รวม

โบนัส

รวมทั้งสิ้น

74,000

700,000

(2551)

13,000

74,000 109,000

500,000 465,000

955,000 627,000

1,455,000

1,092,000

114,000

375,000

480,000

855,000

109,000

360,000

480,000

840,000

149,000

490,000

633,000

1,123,000

33,326

109,793

40,200

149,993

26,833

116,916

402,000

518,916

109,000

360,000

479,000

839,000

142,000

570,000

721,000

1,291,000

142,000

514,000

676,000

1,190,000

122,000

449,000

599,000

1,048,000

76,612

262,770

-

262,770

54,834

180,751

-

180,751

713,000

4,117,625 1,335,605 5,453,230 6,105,200 11,558,430

หมายเหตุ

นายคาซูชเิ กะ คาตามุระ เข้าเป็นกรรมการ ตัง้ แต่วนั ที่ 4 เมษายน 2552 แทนคุณโตโมอะกิ มัตสุโมโต้ นายโคอิชิ วาคานะ เข้าเป็นกรรมการ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มิถนุ ายน 2552 แทนคุณโยชิโฮะ โคเมตามิ

บุคคลอ้างอิงอื่นๆ

ผูส้ อบบัญชี บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ชัน้ 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2264-0777 0-2661-9190 โทรสาร 0-2264-0789-90 0-2661-9192 ทีป่ รึกษากฎหมาย บริษทั เดอะลีจสิ ท์ จำกัด 990 อาคารอับดุลราฮิม ชัน้ 9 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0-2636-1111 โทรสาร 0-2636-0000 สถาบันการเงินทีต่ ดิ ต่อ

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน), ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน), ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน), ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน), ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

104 บมจ.น้ำประปาไทย


รายการระหว่างกัน ในระหว่างปี บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าว เป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯ และบริษัทเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามธุรกิจปกติโดย สามารถดูขอ้ มูลจากหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษทั ฯ ได้

รายงานประจำปี 2552

105


งบการเงิน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

คณะกรรมการบริษทั ได้ให้ความสำคัญต่อหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการดูแลกิจการของบริษทั ฯ ให้มกี ารจัดการทีด่ ี โดยเป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษทั ฯ ตลอดจนมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต ระมัด ระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้น และผู้ลงทุนทั่วไป โดยกำกับดูแลให้รายงานการเงินของบริษัทฯ มีการบันทึก ข้อมูลทางบัญชีทถี่ กู ต้องครบถ้วน สามารถสะท้อนฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงานทีเ่ ป็นจริงของบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิและมี คุณสมบัตคิ รบถ้วนให้ทำหน้าทีส่ อบทานให้บริษทั ฯ มีการรายงานการเงินอย่างถูกต้องเพียงพอ รวมทัง้ มีการเปิดเผยรายการที่ เกีย่ วโยงกัน หรือทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างถูกต้องและครบถ้วนตามกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ คณะกรรมการ ตรวจสอบได้รายงานผลการปฏิบตั งิ านต่อคณะกรรมการบริษทั แล้ว คณะกรรมการบริษทั มีความเห็นว่างบการเงินประจำปี 2552 ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานร่วมกับฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ได้ตรวจสอบแล้วแสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน โดย ถูกต้องตามทีค่ วรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป

106 บมจ.น้ำประปาไทย

(ดร.ทนง พิทยะ) ประธานกรรมการบริษทั

(นายสมโพธิ ศรีภมู )ิ กรรมการผูจ้ ดั การ


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบกำไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วน ของผูถ้ อื หุน้ รวมและงบกระแสเงินสดรวมสำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) และ บริษทั ย่อย และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึง่ ผูบ้ ริหารของ กิจการเป็นผูร้ บั ผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดง ความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ซึง่ กำหนดให้ขา้ พเจ้าต้องวางแผนและปฏิบตั ิ งานเพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างมีเหตุผลว่า งบการเงินแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบ รวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมิน ความเหมาะสมของหลักการบัญชีทกี่ จิ การใช้ และประมาณการเกีย่ วกับรายการทางการเงินทีเ่ ป็นสาระสำคัญ ซึง่ ผูบ้ ริหารเป็น ผูจ้ ดั ทำขึน้ ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการทีน่ ำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าการ ตรวจสอบดังกล่าวให้ขอ้ สรุปทีเ่ ป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ผลการดำเนินงานและ กระแสเงินสดสำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อยและเฉพาะของ บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามทีค่ วรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป

ศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 3930

บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด กรุงเทพฯ : 5 กุมภาพันธ์ 2553

รายงานประจำปี 2552

107


งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

(หน่วย : บาท)

รายละเอียด

หมายเหตุ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว เงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพัน ลูกหนี้การค้า 7 ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันที่ถึง กำหนดชำระภายในหนึ่งปีและดอกเบี้ยค้างรับ 6 วัตถุดิบและวัสดุคงเหลือ 8 เงินจ่ายล่วงหน้าค่างานก่อสร้าง กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ดอกเบี้ยค้างรับ ภาษีซื้อสุทธิรอเรียกคืน ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย อื่น ๆ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน – สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี 6 เงินลงทุนในบริษัทย่อย 9 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ 10 สินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาที่ต้องโอน เมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาฯ - สุทธิ 11 สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา และการให้บริการบำบัดน้ำเสีย - สุทธิ 12 สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำ ประปา - สุทธิ 13 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย อื่น ๆ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

2552

2551

2552

2551

2,285,587,568 1,084,842,552 - 384,018,525 21,558

868,935,254 281,649,081 257,675,630 346,797,578 89,376

1,740,130,052 1,084,842,552 - 255,746,702 138,558

662,386,195 299,313,882 - 232,699,978 4,689,068

- 22,503,474

- 18,325,519

310,601,295 13,729,929

- 9,769,627

41,452,975 48,724,059

95,838,900 -

41,452,975 48,724,059

95,838,900 -

3,469,124 10,707,702 12,476,924 17,650,465 35,996,603 3,947,451,529

3,756,494 - 20,019,186 33,951,607 13,958,434 1,940,997,059

3,469,124 17,310,709 8,309,429 1,016,992 33,337,335 3,558,809,711

3,742,395 - 13,749,124 302,392 9,947,176 1,332,438,737

- - 9,125,396,830

- - 8,925,500,387

2,712,500,000 4,131,841,866 9,056,195,998

- 4,353,336,014 8,854,282,058

3,884,248,162

4,134,413,210

-

-

1,400,318,539

-

1,400,318,539

-

2,689,191,996

2,884,138,387

-

-

10,336,429 2,559,642 1,079,618 777,227 7,313,699 7,024,689 6,893,035 6,664,877 17,116,805,655 15,953,636,315 17,308,829,056 13,215,060,176 21,064,257,184 17,894,633,374 20,867,638,767 14,547,498,913 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี ้

108 บมจ.น้ำประปาไทย


บริษัท น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบดุล(ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (หน่วย : บาท)

รายละเอียด

หมายเหตุ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 เจ้าหนี้อื่น

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6,12 กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี 14 หนี้สินหมุนเวียนอื่น

ดอกเบี้ยค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ภาษีขายที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระ ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย อื่น ๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้เงินประกัน - บริษัทย่อย 6 เจ้าหนี้ระยะยาวอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6,12 หุ้นกู้ - สุทธิ 15 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - สุทธิจาก ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี 14 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

2552

2551

2552

2551

-

353,722

-

-

- 40,612,258 29,803,369

- 49,207,679 102,580,543

3,420,284 29,480,176 29,763,331

2,506,683 37,643,710 102,547,623

214,000,000 18,861,072

- 6,696,005

214,000,000 14,501,163

- -

7,900,746 8,984,832

- 3,897,435

7,900,746 8,686,235

- 3,598,644

420,000,000

1,103,955,215

420,000,000

598,955,215

112,085,535 56,878,867 25,481,558 - 64,153,394 6,273,466 1,005,035,097

2,112,241 42,923,288 21,839,583 13,139,877 - 6,152,938 1,352,858,526

112,085,535 29,549,735 16,745,620 - - 4,012,496 890,145,321

2,112,241 16,937,339 13,969,187 11,846,754 - 2,227,050 792,344,446

- 214,000,000 6,988,482,316

- - -

5,000,000 214,000,000 6,988,482,316

5,000,000 - -

8,205,390,504 4,162,000,000 8,205,390,504 11,369,482,316 9,558,249,030 12,259,627,637

5,390,596,937 5,395,596,937 6,187,941,383

4,162,000,000 11,364,482,316 12,369,517,413

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจำปี 2552

109


บริษัท น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบดุล(ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (หน่วย : บาท)

รายละเอียด

หมายเหตุ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

ส่วนของผู้ถือหุ้น

ทุนเรือนหุ้น

ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 3,990,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนออกจำหน่ายและชำระเต็มมูลค่าแล้ว

หุ้นสามัญ 3,990,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น กำไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย 16 จัดสรรแล้ว - สำรองอื่น 17 ยังไม่ได้จัดสรร ผลแตกต่างของการจัดโครงสร้างการดำเนินธุรกิจ ของกลุ่มบริษัท ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

110 บมจ.น้ำประปาไทย

2552

2551

2552

2551

3,990,000,000 3,990,000,000 3,990,000,000 3,990,000,000 3,990,000,000 2,637,769,601

3,990,000,000 3,990,000,000 3,990,000,000 2,637,769,601 2,637,769,601 2,637,769,601

399,000,000 172,450,096 2,067,968,638

399,000,000 72,446,825 1,811,236,880

399,000,000 399,000,000 172,450,096 72,446,825 1,408,791,433 1,260,341,104

(600,362,866) (600,362,866) - - 8,666,825,469 8,310,090,440 8,608,011,130 8,359,557,530 27,914,302 26,293,904 - - 8,694,739,771 8,336,384,344 8,608,011,130 8,359,557,530 21,064,257,184 17,894,633,374 20,867,638,767 14,547,498,913 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


บริษัท น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกำไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

(หน่วย : บาท)

รายละเอียด

หมายเหตุ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

รายได้ รายได้จากการขายน้ำประปา 18 รายได้จากการบริการ ดอกเบี้ยรับ รายได้เงินปันผล 9 รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายน้ำประปาและต้นทุนการบริการ ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร 6 ค่าตัดจำหน่ายต้นทุนเงินลงทุนในบริษัทย่อย 9 ค่าสิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่าย- น้ำประปา และการให้บริการบำบัดน้ำเสีย- ตัดจำหน่าย 12 ค่าสิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำ ประปาตัดจำหน่าย 13 รวมค่าใช้จ่าย กำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้ นิติบุคคล ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กำไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้นิติบุคคล 20,25 กำไรสุทธิสำหรับปี การแบ่งปันกำไรสุทธิ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย 21 กำไรต่อหุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (หุ้น)

2552

2551

2552

2551

3,993,848,075 54,607,843 14,969,951 - 3,651,478 4,067,077,347

3,569,255,805 2,646,617,194 36,009,815 12,547,248 30,592,704 29,758,433 - 293,993,325 2,933,286 7,593,100 3,638,791,610 2,990,509,300

2,355,871,315 - 22,202,462 97,958,576 1,620,208 2,477,652,561

1,198,555,159 154,974,067 52,613,818 -

1,176,902,482 127,335,279 40,900,338 -

682,683,499 114,350,426 32,898,658 221,494,148

629,396,152 95,609,602 22,208,220 222,100,981

9,756,047

-

9,756,047

-

194,946,391 1,610,845,482

195,480,491 - 1,540,618,590 1,061,182,778

- 969,314,955

2,456,231,865 (666,999,122) 1,789,232,743 (187,978,462) 1,601,254,281

2,098,173,020 (728,698,639) 1,369,474,381 (2,132,777) 1,367,341,604

1,929,326,522 (443,980,743) 1,485,345,779 - 1,485,345,779

1,508,337,606 (508,304,897) 1,000,032,709 - 1,000,032,709

1,593,627,208 7,627,073 1,601,254,281

1,358,407,761 8,933,843 1,367,341,604

1,485,345,779

1,000,032,709

0.40

0.37

0.37

0.27

3,990,000,000

3,718,415,300

3,990,000,000

3,718,415,300

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจำปี 2552

111


บริษัท น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

(หน่วย : บาท)

รายละเอียด งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน

กำไรสุทธิก่อนภาษี รายการปรับกระทบยอดกำไรสุทธิก่อนภาษี เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน: ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ค่าตัดจำหน่ายเงินลงทุนในบริษัทย่อย ค่าสิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา ตัดจำหน่าย ค่าสิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาและ การให้บริการบำบัดน้ำเสียตัดจำหน่าย กำไรจากการจำหน่ายอุปกรณ์ รายได้เงินปันผลจากบริษัทย่อย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน สินทรัพย์ดำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน วัตถุดิบและวัสดุคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน

2552

2551

2552

2551

1,789,232,743

1,369,474,381

1,485,345,779

1,000,032,709

598,639,102 -

582,220,464 -

338,382,611 221,494,148

328,503,885 222,100,981

194,946,391

195,480,491

-

-

9,756,047 (439,782) - 482,151,914

- (1,270,371) - 702,381,019

9,756,047 (24,177) (293,993,325) 326,386,160

- (256,457) (97,958,576) 485,892,271

2,848,285,984 2,087,347,243

1,938,314,813

3,074,286,415 (37,220,947) 67,818 (4,177,955) (7,519,246) (289,010)

(54,093,049) (73,488) (4,208,438) 34,945,272 (1,476,886)

(23,046,724) 4,550,510 (3,960,302) (11,589,195) (228,158)

(46,757,411) - (2,722,459) 14,196,163 (1,473,887)

- (8,595,421) (102,072,219) (2,336,096) 11,181,213 2,923,324,552 (368,559,706) (115,300,713) 2,439,464,133

- (9,689,038) (105,706,221) 6,696,005 7,007,224 2,721,687,365 (714,868,601) (25,173,301) 1,981,645,463

913,601 (8,163,534) (102,079,337) - 5,327,521 1,949,071,625 (212,793,951) (1,016,992) 1,735,260,682

(2,133,020) (5,518,685) - - 2,544,753 1,896,450,267 (490,750,811) (302,392) 1,405,397,064

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

112 บมจ.น้ำประปาไทย


บริษัท น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด(ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (หน่วย : บาท)

รายละเอียด งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราวลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินจ่ายล่วงหน้าค่างานก่อสร้าง - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลดลง เงินจ่ายล่วงหน้าค่างานก่อสร้าง - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เพิ่มขึ้น เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันลดลง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น สินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุดอายุ สัญญาฯ เพิ่มขึ้น จ่ายซื้อสิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา และการให้บริการบำบัดน้ำเสีย จ่ายดอกเบี้ยส่วนที่บันทึกเป็นส่วนหนึ่งของสินทรัพย์ เงินสดรับจากการจำหน่ายอุปกรณ์ เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย เจ้าหนี้เงินประกันผลงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน - สุทธิ เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบัน การเงินลดลง เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินลดลง เงินสดรับสุทธิจากการออกหุ้นกู้ เงินปันผลจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย เงินปันผลจ่าย เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม รายการที่มิใช่เงินสด สินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุดอายุ สัญญาฯ เพิ่มขึ้นจากเจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้นจากเจ้าหนี้กิจการที่ เกี่ยวข้องกันและเจ้าหนี้อื่น โอนสินทรัพย์หมุนเวียนอื่นเป็นงานระหว่างก่อสร้าง สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาและ การให้บริการบำบัดน้ำเสียเพิ่มขึ้นจากเจ้าหนี้อื่นและ เจ้าหนี้ระยะยาวอื่น กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

2552

2551

2552

2551

(803,193,471) 257,675,630

463,653,215 (73,192,641)

(785,528,670) -

444,884,118 -

54,385,925

42,592,517

54,385,925

-

- (48,724,059) - (3,100,000,000) - 77,500,000 (67,033,899) (455,322,082)

- - - (59,610,976)

(48,724,059) - - (461,647,602) (2,359,605) (1,010,074,585) (37,179,026) 1,051,726 - 12,988,143 (2,037,076,924) -

-

-

- (1,010,074,585) (30,368,052) (37,179,026) 3,707,266 24,942 - 293,993,325 (531,165) 12,988,336 224,419,034 (4,997,935,894)

- - 654,325 97,958,576 1,084,210 484,970,253

(114,408,207)

2,854,769,600

-

2,854,769,600

(353,722) (3,004,482,418) - (3,000,000,000) 4,672,000,000 83,000,000 4,672,000,000 - (9,399,345,719) (1,446,766,571) (6,079,552,152) (1,028,757,748) 6,984,863,400 - 6,984,863,400 - (6,006,675) (2,001,422) - - (1,236,892,179) (598,498,845) (1,236,892,179) (598,498,845) 1,014,265,105 (2,113,979,656) 4,340,419,069 (1,722,486,993) 1,416,652,314 92,084,841 1,077,743,857 117,880,324 868,935,254 776,850,413 662,386,195 544,505,871 2,285,587,568 868,935,254 1,740,130,052 662,386,195

-

22,300,637

-

-

43,796,208 4,000,000

- -

43,796,208 4,000,000

- -

428,000,000

-

428,000,000

-

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจำปี 2552

113


บริษัท น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม ส่ ว นของผู ถ้ อื หุน้ บริษทั ใหญ่ กำไรสะสม

ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อก ส่วนเกินมูลค่าหุน้ และชำระแล้ว หุน้ สามัญ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 กำไรสุทธิสำหรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 24) โอนกำไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรร เป็นสำรองอืน่ (หมายเหตุ 17) ออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุน ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั ย่อย ลดลง ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กำไรสุทธิสำหรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 24) โอนกำไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรร เป็นสำรองอืน่ (หมายเหตุ 17) ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั ย่อย ลดลง ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

จัดสรรแล้วสำรอง ตามกฎหมาย

ส่วนของผูถ้ อื หุน้

ส่วนน้อยของ บริษทั ย่อย

ผลแตกต่างของการ ส่วนรวมของ จัดสรรแล้ว จัดโครงสร้างการดำเนิน ผูถ้ อื หุน้ สำรองอืน่ ยังไม่ได้จดั สรร ธุรกิจของกลุม่ บริษทั บริษทั ใหญ่

รวม

3,290,000,000 - -

483,000,000 - -

399,000,000 - -

- - -

1,123,774,789 1,358,407,761 (598,498,845)

(600,362,866) - -

4,695,411,923 1,358,407,761 (598,498,845)

19,361,483 8,933,843 -

4,714,773,406 1,367,341,604 (598,498,845)

- 700,000,000

- 2,154,769,601

- -

72,446,825 -

(72,446,825) -

- -

- 2,854,769,601

- -

- 2,854,769,601

- 3,990,000,000

- 2,637,769,601

- 399,000,000

- 72,446,825

- 1,811,236,880

- (600,362,866)

- 8,310,090,440

(2,001,422) 26,293,904

(2,001,422) 8,336,384,344

3,990,000,000 - -

2,637,769,601 - -

399,000,000 - -

72,446,825 - -

1,811,236,880 1,593,627,208 (1,236,892,179)

(600,362,866) 8,310,090,440 - 1,593,627,208 - (1,236,892,179)

26,293,904 7,627,703 -

8,336,384,344

1,601,254,281 (1,236,892,179)

-

-

-

100,003,271

(100,003,271)

-

-

-

-

- 3,990,000,000

- 2,637,769,601

- 399,000,000

- 172,450,096

- 2,067,968,638

- (600,362,866)

- 8,666,825,469

(6,006,675) 27,914,302

(6,006,675) 8,604,739,771

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ กำไรสะสม

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 กำไรสุทธิสำหรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 24) โอนกำไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรร เป็นสำรองอืน่ (หมายเหตุ 17) ออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กำไรสุทธิสำหรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 24) โอนกำไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรร เป็นสำรองอืน่ (หมายเหตุ 17) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อก และชำระแล้ว

ส่วนเกิน มูลค่าหุน้

จัดสรรแล้วสำรอง ตามกฎหมาย

จัดสรรแล้ว รวม สำรองอืน่ ยังไม่ได้จดั สรร

3,290,000,000 - -

483,000,000 - -

399,000,000 - -

- - -

931,254,065 1,000,032,709 (598,498,845)

5,103,254,065 1,000,032,709 (598,498,845)

- 700,000,000 3,990,000,000

- 2,154,769,601 2,637,769,601

- - 399,000,000

72,446,825 - 72,446,825

(72,446,825) - 1,260,341,104

- 2,854,769,601 8,359,557,530

3,990,000,000 - -

2,637,769,601 - -

399,000,000 - -

72,446,825 1,260,341,104 8,359,557,530 - 1,485,345,779 1,485,345,779 - (1,236,892,179) (1,236,892,179)

- 3,990,000,000

- 2,637,769,601

- 399,000,000

100,003,271 172,450,096

(100,003,271) 1,408,791,433

- 8,608,011,130

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

114 บมจ.น้ำประปาไทย


บริษัท น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 1. ข้อมูลทัว่ ไปของบริษทั ฯ

บริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) จัดตัง้ ขึน้ เป็นบริษทั จำกัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เมือ่ วันที่ 11 กันยายน 2543 และได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษทั มหาชนจำกัด ตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 เมือ่ วันที่ 6 กรกฎาคม 2549 บริษทั ฯ ประกอบกิจการในประเทศไทย โดยมีบริษทั ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) ซึง่ เป็นบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนตัง้ ในประเทศไทยเป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ธุรกิจหลักของบริษทั ฯ คือการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา ให้กบั การประปาส่วนภูมภิ าค (กปภ.) ในพืน้ ที่ อ.นครชัยศรี อ.สามพราน อ.พุทธมณฑล ในจังหวัดนครปฐม อ.เมือง ั ญาซือ้ ขายน้ำประปากับกปภ. ซึง่ ได้ลงนามเมือ่ วัน สมุทรสาคร และอ.กระทุม่ แบน ในจังหวัดสมุทรสาคร ภายใต้สญ ที่ 21 กันยายน 2543 เป็นระยะเวลา 30 ปี นับจากวันทีเ่ ริม่ ต้นขายน้ำประปา (วันที่ 21 กรกฎาคม 2547) และภายใต้ สัมปทานประกอบกิจการประปาจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (“ผูใ้ ห้สมั ปทาน”) เป็นระยะเวลา 25 ปี นับตัง้ แต่วนั ที่ 11 มีนาคม 2548 โดยบริษทั ฯ จะต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทีก่ ำหนดไว้ในสัญญาซือ้ ขายน้ำประปา และ สัมปทานประกอบกิจการประปา ภายใต้สมั ปทาน ประกอบกิจการประปาดังกล่าวมีขอ้ กำหนดสำคัญบางประการ ได้แก่ เมือ่ บริษทั ฯ ได้ทำการไปได้กงึ่ อายุ สัมปทานแล้ว หากรัฐบาลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ มีความประสงค์จะซือ้ กิจการประปาของบริษทั ฯทัง้ หมด ผูใ้ ห้ สัมปทานมีสทิ ธิถอนคืน สัมปทานเพือ่ ซือ้ หรืออนุญาตให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีเ่ กีย่ วข้องซือ้ กิจการประปาเช่นว่านัน้ ตามราคาซือ้ ขายกันในตลาด แต่ตอ้ งแจ้งให้บริษทั ฯ ทราบล่วงหน้า 6 เดือน ทีอ่ ยูข่ องบริษทั ฯ ตามทีจ่ ดทะเบียนตัง้ อยูเ่ ลขที่ 30/10 หมูท่ ี่ 12 ถนนพุทธมณฑลสาย 5 ตำบลไร่ขงิ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เมือ่ วันที่ 29 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาซือ้ ขายน้ำประปาเดิมกับการประปาส่วน ภูมภิ าค โดยภายใน 660 วันนับแต่วนั ทีล่ งนามในสัญญาดังกล่าว บริษทั ฯ ตกลงขายน้ำประปาเพิม่ ขึน้ จากสัญญาเดิม ตามปริมาณน้ำประปาส่วนเพิม่ และราคาทีร่ ะบุไว้ในสัญญา 2. เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงิน 2.1 งบการเงินนีจ้ ดั ทำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทกี่ ำหนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการแสดง รายการในงบการเงินได้ทำขึน้ เพือ่ ให้เป็นไปตามข้อกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 30 มกราคม 2552 ออกตามความในพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับทีบ่ ริษทั ฯ ใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษ แปลมาจากงบการเงินฉบับภาษาไทยดังกล่าว งบการเงิ น นี้ ไ ด้ จั ด ทำขึ้ น โดยใช้ เ กณฑ์ ร าคาทุ น เดิ ม เว้ น แต่ จ ะได้ เ ปิ ด เผยเป็ น อย่ า งอื่ น ในนโยบายการบั ญ ชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนีไ้ ด้จดั ทำขึน้ โดยรวมงบการเงินของบริษทั น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) (ซึง่ ต่อไปนีเ้ รียกว่า “บริษทั ฯ”) และบริษทั ย่อย (ซึง่ ต่อไปนีเ้ รียกว่า “บริษทั ย่อย”) ดังต่อไปนี ้

จัดตัง้ ขึน้ ใน อัตราร้อยละ ชือ่ บริษทั ลักษณะธุรกิจ ประเทศ ของการถือหุน้ 2552 2551 ร้อยละ ร้อยละ

บริษัท วอเตอร์โฟลว์ จำกัด บริษัท ประปาปทุมธานี จำกัด บริษัท บีเจที วอเตอร์ จำกัด (ถือหุ้นโดยบริษัทประปา ปทุมธานี จำกัดในอัตราร้อยละ 100)

บริการจัดการและบำรุง รักษาโครงการน้ำประปา ผลิตและจำหน่ายน้ำ ประปาให้กับการประปา ส่วนภูมิภาคในจังหวัด ปทุมธานี

บริการจัดการและบำรุง รักษาโครงการน้ำประปา

ร้อยละของสินทรัพย์ ทีร่ วมอยูใ่ น สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 2551 ร้อยละ ร้อยละ

ร้อยละของรายได้

ทีร่ วมอยูใ่ นรายได้รวม

สำหรับปีสนิ้ สุด

วันที่ 31 ธันวาคม 2552 2551

ร้อยละ ร้อยละ

ไทย

100

100

0.32

0.37

0.07

-

ไทย

98

98

21.28

25.87

33.19

33.61

0.27

0.33

1.05

1.02

ไทย 98 98 (โดยทางอ้อม) (โดยทางอ้อม)

รายงานประจำปี 2552

115


ข) ค) ง) จ) 2.3

บริษทั ฯ นำงบการเงินของบริษทั ย่อยมารวมในการจัดทำงบการเงินรวมตัง้ แต่วนั ทีไ่ ด้มา (วันทีบ่ ริษทั ฯ มีอำนาจใน การควบคุมบริษทั ย่อย) จนถึงวันทีบ่ ริษทั ฯสิน้ สุดการควบคุมบริษทั ย่อยนัน้ งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดทำขึ้นโดยมีรอบระยะเวลาบัญชีและใช้นโยบายการบัญชีที่สำคัญเช่นเดียวกันกับ ของบริษทั ฯ ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย รายการค้าระหว่างกันทีม่ สี าระสำคัญได้ตดั ออกจากงบการเงินรวมนี ้ แล้ว ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย คือ จำนวนกำไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยส่วนที่ไม่ได้เป็นของ บริษทั ฯ และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในงบกำไรขาดทุนรวมและส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในงบดุลรวม บริษทั ฯ ได้จดั ทำงบการเงินเฉพาะกิจการเพือ่ ประโยชน์ตอ่ สาธารณะ ซึง่ แสดงเงินลงทุนในบริษทั ย่อย ตามวิธรี าคา ทุน

3. การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่

ในเดือนมิถนุ ายน 2552 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 12/2552 เรือ่ ง การจัดเลขระบุฉบับ มาตรฐานการบัญชีของไทยให้ตรงตามมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ การอ้างอิงเลขมาตรฐานการบัญชีในงบการ เงินนีไ้ ด้ถอื ปฏิบตั ติ ามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับดังกล่าว สภาวิ ช าชี พ บั ญ ชี ไ ด้ อ อกประกาศสภาวิ ช าชี พ บั ญ ชี ฉบั บ ที่ 86/2551 และ 16/2552 ให้ ใ ช้ ม าตรฐานการบั ญ ชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีใหม่ดงั ต่อไปนี ้ 3.1 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) การด้อยค่าของสินทรัพย์

มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย

(ปรับปรุง 2550) และการดำเนินงานที่ยกเลิก

แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการบันทึกสิทธิการเช่า

แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน

มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีขา้ งต้นถือปฏิบตั กิ บั งบการเงิน สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯได้ประเมินแล้ว เห็นว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2550) แนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีสำหรับการบันทึกสิทธิ การเช่า และแนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน ไม่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของ บริษทั ฯ ส่วนแม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) และมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) ไม่มผี ลกระทบ อย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินสำหรับปีปจั จุบนั 3.2 มาตรฐานการบัญชีที่ยังไม่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40

การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจาก รัฐบาลและการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ

ความช่วยเหลือจากรัฐบาล

การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

วันที่มีผลบังคับใช้

1 มกราคม 2555

1 มกราคม 2554

1 มกราคม 2554

อย่างไรก็ตาม กิจการสามารถนำมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2550) และมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 มาถือปฎิบตั กิ อ่ นกำหนดได้ ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯ ได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 และมาตรฐานการบัญชีแบบที่ 40 ไม่ เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจของบริษทั ฯ ส่วนมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24(ปรับปรุง 2550) จะไม่มผี ลกระทบอย่างเป็นสาระ สำคัญต่องบการเงินสำหรับปีทเี่ ริม่ ใช้มาตรฐานการบัญชีดงั กล่าว 116 บมจ.น้ำประปาไทย


4. นโยบายการบัญชีทสี่ ำคัญ

4.1 การรับรู้รายได้ รายได้จากการขายน้ำประปา รายได้จากการขายน้ำประปารับรู้เมื่อบริษัทฯและบริษัทย่อยได้จัดส่งน้ำประปาให้แก่การประปาส่วนภูมิภาคแล้ว ราย ได้จากการขายน้ำประปาแสดงมูลค่าตามราคาในใบกำกับสินค้าโดยไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ สำหรับปริมาณน้ำ ประปาทีไ่ ด้สง่ มอบหลังจากหักส่วนลดแล้ว รายได้จากการบริการ รายได้จากการบริการแสดงมูลค่าตามใบแจ้งหนีซ้ งึ่ ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ของบริการทีใ่ ห้แล้ว ดอกเบีย้ รับ ดอกเบีย้ ถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคำนึงถึงอัตราผลตอบแทนทีแ่ ท้จริง เงินปันผลรับ เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมือ่ มีสทิ ธิในการรับเงินปันผล 4.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคล่องสูง ซึง่ ถึงกำหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันทีไ่ ด้มาและไม่มขี อ้ จำกัดในการเบิกใช้ 4.3 ลูกหนี้การค้า ลูกหนีก้ ารค้าแสดงตามมูลค่าตามจำนวนมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ สำหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณ์ การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี ้ 4.4 วัตถุดิบและวัสดุคงเหลือ วัตถุดบิ และวัสดุคงเหลือแสดงมูลค่าตามราคาทุน (วิธเี ข้าก่อน - ออกก่อน) หรือมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั แล้วแต่ราคาใด จะต่ำกว่า และจะถือเป็นส่วนหนึง่ ของต้นทุนการผลิตน้ำประปาเมือ่ มีการเบิกใช้ 4.5 เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษทั ย่อยทีแ่ สดงอยูใ่ นงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธรี าคาทุน ต้นทุนการลงทุนในบริษทั ย่อย ได้แก่มลู ค่าทีบ่ ริษทั ฯ จ่ายไปเพือ่ ให้ได้มาซึง่ บริษทั ย่อย ทัง้ นีบ้ ริษทั ย่อยทีป่ ระกอบกิจการภายใต้สญ ั ญาให้สทิ ธิ ดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปากับการประปาส่วนภูมิภาคและสัมปทานที่ได้รับจากกิจการหรือหน่วยงาน ของภาครัฐซึ่งมีเงื่อนไขของระยะเวลาในการประกอบกิจการที่ได้รับสิทธิและสัมปทานอันจำกัดตามที่กำหนดใน สัญญาให้สทิ ธิและสัมปทาน อีกทัง้ ทรัพย์สนิ ส่วนใหญ่ทใี่ ช้ในการประกอบกิจการของบริษทั ย่อยยังมีภาระผูกพันที่ ผูไ้ ด้รบั สิทธิจะต้องส่งมอบให้แก่การประปาส่วนภูมภิ าค ดังนัน้ ต้นทุนการลงทุนในบริษทั ย่อยทีป่ ระกอบกิจการภาย ใต้สัญญาให้สิทธิและสัมปทานดังกล่าวส่วนหนึ่งถือเสมือนว่าเป็นการลงทุนเพื่อให้ได้มาในสิทธิในการประกอบ กิจการภายใต้สัญญาให้สิทธิและสัมปทานที่บริษัทย่อยได้รับ ซึ่งบริษัทฯ ตัดจำหน่ายส่วนดังกล่าวโดยวิธีเส้นตรง ภายในระยะเวลาของสัญญาให้สทิ ธินบั จากวันทีล่ งทุนในบริษทั ย่อยนัน้ และแสดงเป็นค่าตัดจำหน่ายเงินลงทุนใน บริษทั ย่อย จำนวนทีต่ ดั จำหน่ายรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำไรขาดทุน สำหรับบริษัทย่อยที่โอนการดำเนินงานโดยส่วนใหญ่มาที่บริษัทฯหลังจากที่บริษัทฯ เข้าลงทุนในบริษัทย่อยดัง กล่าวเพื่อเป็นการลดต้นทุนการดำเนินงานของบริษัทฯ ในอนาคตต้นทุนการลงทุนในบริษัทย่อยนั้นส่วนหนึ่งถือ เสมือนว่าเป็นการลงทุนเพือ่ ให้ได้มาซึง่ การดำเนินงานส่วนดังกล่าวซึง่ บริษทั ฯ ตัดจำหน่ายส่วนดังกล่าวโดยวิธเี ส้น ตรงภายในระยะเวลาของสัญญาซือ้ ขายน้ำประปาระหว่างบริษทั ฯ กับการประปาส่วนภูมภิ าคนับจากวันทีล่ งทุนใน บริษทั ย่อยนัน้ และแสดงเป็นค่าตัดจำหน่ายเงินลงทุนในบริษทั ย่อย จำนวนทีต่ ดั จำหน่ายรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยในงบ กำไรขาดทุน 4.6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ทีด่ นิ แสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสือ่ มราคาสะสม และค่าเผือ่ การ ด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสือ่ มราคาของสินทรัพย์คำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธเี ส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณ 3 ปี 5 ปี และ 10 ปี ยกเว้นสินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาของบริษทั ฯคำนวณโดยการใช้วธิ ผี นั แปรตามหน่วยผลิต ซึง่ มี วิธคี ำนวณดังนี ้ รายงานประจำปี 2552

117


ค่าเสื่อมราคาสำหรับงวด = ต้นทุนสินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาสุทธิ ณ วันต้นงวด x

อัตราส่วนการผลิตน้ำประปาสำหรับงวด

อัตราส่วนการผลิตน้ำประปาสำหรับงวด = จำนวนผลผลิตน้ำประปาจริงสำหรับงวด

(จำนวนผลผลิตน้ำประปาจริงสำหรับงวด + ประมาณการ

จำนวนผลผลิตน้ำประปาในอนาคตจนถึงวันสิ้นสุดสัญญา ซื้อขายน้ำประปา)

ต้นทุนสินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาสุทธิ = สินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาทั้งหมด - ค่าเสื่อมราคา ณ วันต้นงวด สะสมถึงวันต้นงวด

สินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาของบริษทั ฯ ประกอบด้วย ต้นทุนค่าก่อสร้างโรงผลิตน้ำประปา และระบบในการจ่าย

น้ำประปา รวมทัง้ ดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงินทีเ่ กีย่ วข้อง ค่าเสือ่ มราคารวมอยูใ่ นการคำนวณผลการดำเนินงาน ไม่มกี ารคิดค่าเสือ่ มราคาสำหรับทีด่ นิ และงานระหว่างก่อสร้าง 4.7 สินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาฯ และค่าตัดจำหน่าย สินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาของบริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด ซึง่ ต้องโอนให้แก่การประปาส่วนภูมภิ าคเมือ่ สิน้ สุดอายุสญ ั ญาให้สทิ ธิดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา ได้แก่ ทีด่ นิ โรงผลิตน้ำประปา และระบบในการจ่าย น้ำประปาแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าตัดจำหน่ายของ สินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาคำนวณโดยการใช้วธิ ผี นั แปรตามหน่วยผลิต ซึง่ มีวธิ คี ำนวณดังนี ้

ค่าตัดจำหน่ายสำหรับงวด = ต้นทุนสินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุด อายุสัญญาสุทธิ ณ วันต้นงวด x อัตราส่วนการผลิต

น้ำประปาสำหรับงวด

อัตราส่วนการผลิตน้ำประปาสำหรับงวด = จำนวนผลผลิตน้ำประปาจริงสำหรับงวด

(จำนวนผลผลิตน้ำประปาจริงสำหรับงวด + ประมาณการ

จำนวนผลผลิตน้ำประปาในอนาคตจนถึงวันสิ้นสุดสัญญา ให้สิทธิดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา)

ต้นทุนสินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาที่ต้องโอน = สินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาฯ เมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาฯสุทธิ ณ วันต้นงวด ทั้งหมด - ค่าตัดจำหน่ายสะสมถึงวันต้นงวด

ค่าตัดจำหน่ายรวมอยูใ่ นการคำนวณผลการดำเนินงาน งานระหว่างก่อสร้างแสดงมูลค่าตามราคาทุนและไม่มกี ารตัดจำหน่าย 4.8 ต้นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกูย้ มื ของเงินกูท้ ใี่ ช้ในการจัดหาหรือก่อสร้างสินทรัพย์ทตี่ อ้ งใช้ระยะเวลานานในการแปลงสภาพให้พร้อม ใช้หรือขาย ได้ถกู นำไปรวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นนั้ จะอยูใ่ นสภาพพร้อมทีจ่ ะใช้ได้ตามทีม่ งุ่ ประสงค์ส่วนต้นทุนการกู้ยืมอื่นถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดรายการ ต้นทุนการกู้ยืมประกอบด้วยดอกเบี้ยและ ต้นทุนอืน่ ทีเ่ กิดขึน้ จากการกูย้ มื นัน้ 4.9 สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาและการให้บริการบำบัดน้ำเสียและค่าตัดจำหน่าย บริษทั ฯ บันทึกต้นทุนค่าสิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาและการให้บริการบำบัดน้ำเสีย (“สิทธิ การดำเนินงาน”) ในราคาทุนทีซ่ อื้ มา โดยปันส่วนค่าสิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา และค่าสิทธิ ในการให้บริการบำบัดน้ำเสียตามสัดส่วนรายได้ทคี่ าดว่าจะได้รบั ทีค่ ำนวณได้ ณ วันทีซ่ อื้ 4.9.1 สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสมและค่า เผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าตัดจำหน่ายของสิทธิในการดำเนินงานดังกล่าวคำนวณโดยใช้วิธีผันแปรตาม หน่วยผลิต ซึง่ มีวธิ คี ำนวณดังนี ้ 118 บมจ.น้ำประปาไทย


ค่าตัดจำหน่ายสำหรับงวด = สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาสุทธิ ณ วันต้นงวด x อัตราส่วนการผลิตน้ำประปาสำหรับงวด

อัตราส่วนการผลิตน้ำประปาสำหรับงวด = จำนวนผลผลิตจริงของการผลิตน้ำประปาสำหรับงวด

(จำนวนผลผลิตจริงของการผลิตน้ำประปา

สำหรับงวด + ประมาณการจำนวนผลผลิตในอนาคตของการ ผลิตน้ำประปาจนถึงวันสิ้นสุดสัญญาให้สิทธิดำเนินงาน)

สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่าย = สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา น้ำประปาสุทธิ ณ วันต้นงวด - ค่าตัดจำหน่ายสะสมถึงวันต้นงวด

ค่าตัดจำหน่ายรวมอยูใ่ นการคำนวณผลการดำเนินงาน 4.9.2 สิทธิในการให้บริการบำบัดน้ำเสีย สิทธิในการให้บริการบำบัดน้ำเสียแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสมและค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าตัดจำหน่ายของสิทธิในการดำเนินงานดังกล่าวคำนวณโดยใช้วธิ ผี นั แปรตามหน่วยผลิต ซึง่ มีวธิ ี คำนวณดังนี ้

ค่าตัดจำหน่ายสำหรับงวด = สิทธิในการดำเนินการให้บริการบำบัดน้ำเสียสุทธิ ณ วันต้นงวด

x อัตราส่วนการบำบัดน้ำเสียสำหรับงวด

อัตราส่วนการบำบัดน้ำเสียสำหรับงวด = จำนวนผลผลิตจริงของการบำบัดน้ำเสียสำหรับงวด

(จำนวนผลผลิตจริงของการบำบัดน้ำเสียสำหรับงวด

+ ประมาณการจำนวนผลผลิตในอนาคตของการบำบัด น้ำเสียจนถึงวันสิ้นสุดสัญญาให้สิทธิดำเนินงาน)

สิทธิในการดำเนินการให้บริการบำบัด = สิทธิในการดำเนินการให้บริการบำบัดน้ำเสีย

น้ำเสียสุทธิ ณ วันต้นงวด - ค่าตัดจำหน่ายสะสมถึงวันต้นงวด

ค่าตัดจำหน่ายรวมอยูใ่ นการคำนวณผลการดำเนินงาน 4.10 สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา ค่าสิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาทีเ่ กิดจากการทีบ่ ริษทั ฯ ซือ้ หุน้ สามัญบริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด ในราคาทีส่ งู กว่ามูลค่ายุตธิ รรมของบริษทั ย่อยดังกล่าวถือเป็นสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีม่ อี ายุใช้งานจำกัด ซึง่ เเสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสมเเละค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี) บริษทั ฯ คิดค่าตัดจำหน่ายโดยใช้วธิ เี ส้นตรงตามอายุสญ ั ญาให้สทิ ธิดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาทีเ่ หลือ อยูข่ องบริษทั ย่อยดังกล่าว นับจากวันทีบ่ ริษทั ฯ ซือ้ หุน้ สามัญบริษทั ย่อย (ประมาณ 16 ปี) เเละจะมีการประเมิน การด้อยค่าของสินทรัพย์เมือ่ มีขอ้ บ่งชีว้ า่ สินทรัพย์นนั้ เกิดการด้อยค่า บริษทั ฯ จะทบทวนระยะเวลาการตัดจำหน่าย และวิธีการตัดจำหน่ายของสิทธิในการดำเนินการผลิตเเละจำหน่ายน้ำประปาทุกสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัด จำหน่าย รับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำไรขาดทุน 4.11 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันกับบริษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการทีม่ อี ำนาจควบคุมบริษทั ฯ หรือถูกควบคุม โดยบริษทั ฯ ไม่วา่ จะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษทั ฯ นอกจากนีบ้ คุ คลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันยังหมายรวมถึงบริษทั ร่วมและบุคคลซึง่ มีอทิ ธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญ กับบริษทั ฯ ผูบ้ ริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษทั ฯ ทีม่ อี ำนาจในการวางแผนและควบคุมการดำเนิน งานของบริษทั ฯ 4.12 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันทีใ่ นงบดุล บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะทำการประเมินการด้อยค่าของทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ที่ ไม่มตี วั ตนอืน่ ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยหากมีขอ้ บ่งชีว้ า่ สินทรัพย์ดงั กล่าวอาจด้อยค่า และจะทำการประเมินการ ด้อยค่าของสิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาเป็นรายปี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรูข้ าดทุนจาก รายงานประจำปี 2552

119


การด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าต่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้ มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนหมายถึงมูลค่ายุตธิ รรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์ แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยประมาณการกระแส เงินสดในอนาคตทีก่ จิ การคาดว่าจะได้รบั จากสินทรัพย์และคำนวณคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบนั โดยใช้อตั ราคิดลดก่อน ภาษีที่สะท้อนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาดปัจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเป็น ลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ทกี่ ำลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ายุตธิ รรมหักต้นทุนในการขาย บริษทั ฯ และ บริษัทย่อยใช้แบบจำลองการประเมินมูลค่าที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย์ ซึ่งสะท้อนถึงจำนวนเงินที่กิจการ สามารถจะได้มาจากการจำหน่ายสินทรัพย์หกั ด้วยต้นทุนในการจำหน่าย โดยการจำหน่ายนัน้ ผูซ้ อื้ กับผูข้ ายมีความ รอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความ เกีย่ วข้องกัน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะรับรูร้ ายการขาดทุนจากการด้อยค่าในงบกำไรขาดทุน 4.13 ผลประโยชน์พนักงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรูเ้ งินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ เป็นค่าใช้จา่ ยเมือ่ เกิดรายการ 4.14 ภาษีเงินได้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้โดยคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร

5. การใช้ประมาณการทางบัญชี

ในการจัดทำงบการเงินตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ในบางสถานการณ์ฝ่ายบริหารอาจต้องใช้การประมาณและ การตัง้ สมมติฐาน ซึง่ มีผลกระทบต่อจำนวนเงินทีแ่ สดงในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน ด้วยเหตุนผี้ ลที่ เกิดขึน้ จริงจึงอาจแตกต่างไปจากจำนวนทีป่ ระมาณไว้

6. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ในระหว่างปี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีรายการธุรกิจทีส่ ำคัญกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าว เป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯ และบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึง่ เป็นไปตามปกติธรุ กิจโดยสามารถสรุปได้ดงั นี ้

(หน่วย : ล้านบาท)

รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้อื่น ดอกเบี้ยรับ ต้นทุนขายและบริการ ค่าใช้จ่ายในการบริหาร รายการธุรกิจกับกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน ค่าธรรมเนียมบริการ ค่างานระหว่างก่อสร้าง สินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปา ที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาฯ สิทธิในการดำเนินการผลิตและ จำหน่ายน้ำประปาและการให้ บริการบำบัดน้ำเสีย

120 บมจ.น้ำประปาไทย

งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

นโยบายการกำหนดราคา

ราคาตามสัญญา อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้น ต่ำลบส่วนต่างที่กำหนดต่อปี ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา

- - - -

- - - -

7.5 19.4 36.4 0.8

1.3 - 28.7 -

0.8 362.6

0.8 -

- 362.6

- -

ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา

-

77.8

-

-

ราคาตามสัญญา

1,400

-

1,400

-

ราคาตามสัญญา


ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีรายละเอียดดังนี ้ (หน่วย : บาท)

ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บริษัทย่อย บริษัท วอเตอร์โฟลว์ จำกัด บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) อื่นๆ เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน และดอกเบี้ยค้างรับ บริษัทย่อย บริษัท ประปาปทุมธานี จำกัด เงินต้น ดอกเบี้ย รวม หัก: ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปีและ ดอกเบี้ยค้างรับ เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้อง กัน - สุทธิ

เงินจ่ายล่วงหน้าค่างานก่อสร้าง - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท วอเตอร์โฟลว์ จำกัด เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บริษัทย่อย บริษัท ประปาปทุมธานี จำกัด บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) บริษัท ที่ดินบางปะอิน จำกัด เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บริษัท ที่ดินบางปะอิน จำกัด

งบการเงิ นรวม นรวม งบการเงิ 2552 2551

งบการเงิ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ การ 2552 2551

- -

- -

117,000 117,000

4,689,068 4,689,068

- 21,558 21,558 21,558

89,376 - 89,376 89,376

- 21,558 21,558 138,558

- - - 4,689,068

- - -

- - -

3,022,500,000 601,295 3,023,101,295

- - -

-

-

(310,601,295)

-

-

-

2,712,500,000

-

41,452,975 41,452,975

95,838,900 95,838,900

41,452,975 41,452,975

95,838,900 95,838,900

- -

- -

3,420,284 3,420,284

2,506,683 2,506,683

- -

- -

188,097 188,097

- -

29,335,406 467,963 29,803,369 29,803,369

102,580,543 - 102,580,543 102,580,543

29,295,045 280,189 29,575,234 29,575,234

102,547,623 - 102,547,623 102,547,623

214,000,000 214,000,000

- -

214,000,000 214,000,000

- -

รายงานประจำปี 2552

121


(หน่วย : บาท)

งบการเงินนรวม รวม งบการเงิ 2552

เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน - กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน

บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) เจ้าหนี้เงินประกัน - บริษัทย่อย บริษัท วอเตอร์โฟลว์ จำกัด เจ้าหนี้ระยะยาวอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ที่ดินบางปะอิน จำกัด

งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ การ งบการเงิ 2552 2551

2551

7,900,746 7,900,746

- -

7,900,746 7,900,746

- -

- -

- -

5,000,000 5,000,000

5,000,000 5,000,000

214,000,000 214,000,000

- -

214,000,000 214,000,000

- -

ในระหว่างปี 2552 เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกันมีการเคลือ่ นไหวดังต่อไปนี ้ (หน่วย : บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ในระหว่างปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552

เงินให้กู้ยืมระยะยาว บริษัท ประปาปทุมธานี จำกัด เงินต้น ดอกเบี้ย

- - -

เพิ่มขึ้น

ลดลง

3,100,000,000 19,411,021 3,119,411,021

(77,500,000) (18,809,726) (96,309,726)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

3,022,500,000 601,295 3,023,101,295

เงิ น ให้ กู้ ยื ม ระยะยาวแก่ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น คิ ด ดอกเบี้ ย ในอั ต ราดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ ลบส่ ว นต่ า งที่ ก ำหนด (MLR-margin) ต่อปี และมีกำหนดชำระคืนเงินต้นทุกไตรมาส เงินให้กู้ยืมดังกล่าวมีกำหนดชำระคืนเงินต้นงวดสุดท้าย ภายในเดือนกันยายน 2562 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในปี 2552 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้จา่ ยเงินเดือน โบนัส ค่าเบีย้ ประชุมและเงินบำเหน็จให้แก่กรรมการและผูบ้ ริหาร เป็นจำนวนเงิน 52.6 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 32.9 ล้านบาท) (2551: 40.9 ล้านบาท งบการเงินเฉพาะ กิจการ: 22.2 ล้านบาท)

7. ลูกหนี้การค้า

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ยอดลูกหนีก้ ารค้ามีอายุหนีค้ งค้างนับจากวันทีถ่ งึ กำหนดชำระน้อยกว่า 3 เดือน

8. วัตถุดิบและวัสดุคงเหลือ

วัตถุดิบ อะไหล่ รวม

122 บมจ.น้ำประปาไทย

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม 2552

2551

4,786,864 17,716,610 22,503,474

4,405,595 13,919,924 18,325,519

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

2,937,284 10,792,645 13,729,929

2,205,907 7,563,720 9,769,627


9. เงินลงทุนในบริษัทย่อย

(หน่วย : บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ชื่อบริษัท ทุนเรียกชำระแล้ว สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน

2552 2551 ล้านบาท ล้านบาท

2552 ร้อยละ

2551 2552 ร้อยละ

บริษทั วอเตอร์โฟลว์ จำกัด 10 10 100 100 บริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด และบริษทั ย่อย 1,200 1,200 98 98 หัก: ค่าตัดจำหน่ายเงินลงทุนใน บริษทั ย่อยสะสม หัก: เงินปันผลรับจากกำไร ก่อนการซือ้ หุน้ รวม

700,000,000

2551 700,000,000

3,998,309,900 3,998,309,900 4,698,309,900 4,698,309,900 (546,468,034) (324,973,886) (20,000,000) (20,000,000) 4,131,841,866 4,353,336,014

เงินปันผลรับระหว่างปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 2551 -

-

293,993,325 97,958,576 293,993,325 97,958,576 -

-

- - 293,993,325 97,958,576

ในระหว่างปี บริษทั ฯ ได้รบั เงินปันผลจากบริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด เป็นจำนวน 294.0 ล้านบาท ตามมติทปี่ ระชุม คณะกรรมการของบริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด เมือ่ วันที่ 29 ตุลาคม 2552

การควบรวมของบริษัทย่อย เมือ่ วันที่ 30 กันยายน 2552 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการของบริษทั ฯ ได้มมี ติอนุมตั กิ ารปรับโครงสร้างการดำเนินงานของ กลุม่ บริษทั โดยการควบรวมบริษทั ย่อยสองบริษทั ได้แก่ บริษทั วอเตอร์โฟลว์ จำกัด และบริษทั บีเจที วอเตอร์ จำกัด โดย บริษทั ใหม่รบั ไปซึง่ ทรัพย์สนิ หนีส้ นิ สิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบของบริษทั ย่อยทัง้ สองบริษทั ซึง่ การควบรวมดังกล่าว จะแล้วเสร็จในเดือนมกราคม 2553

รายงานประจำปี 2552

123


10. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม ที่ดิน

สินทรัพย์ งานระหว่าง ในการผลิต ก่อสร้าง น้ำประปา

อาคารและ เครื่องตกแต่ง สิ่งปรับปรุง และอุปกรณ์ ยานพาหนะ เครื่องมือ อาคาร สำนักงาน

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2551 452,264,402 9,546,709,065 57,223,738 9,893,267 จัดประเภทรายการใหม่ - - - - ซือ้ เพิม่ - - 537,050,317 - จำหน่าย / ตัดจำหน่าย - - - - โอนเข้า (ออก) - - (31,646,943) 405,238 31 ธันวาคม 2552 452,264,402 9,546,709,065 562,627,112 10,298,505 ค่าเสือ่ มราคาสะสม 31 ธันวาคม 2551 - 1,170,408,353 - 1,909,601 จัดประเภทรายการใหม่ - - - - ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี - 325,667,030 - 1,612,714 ค่าเสือ่ มราคาสะสมสำหรับ ส่วนที่ จำหน่าย / ตัดจำหน่าย - - - - 31 ธันวาคม 2552 - 1,496,075,383 - 3,522,315 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2551 452,264,402 8,376,300,712 57,223,738 7,983,666 31 ธันวาคม 2552 452,264,402 8,050,633,682 562,627,112 6,776,190 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี 2551 (328 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนขายน้ำประปาและบริการ ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร) 2552 (336 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนขายน้ำประปาและบริการ ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร)

รวม

49,914,445 (1,287,578) 6,607,145 (589,138) 29,241,705 83,886,579

31,497,138 20,756,675 10,168,258,730 - - (1,287,578) 2,611,289 354,085 546,622,836 (1,663,005) (2,756,700) (5,008,843) - 2,000,000 - 32,445,422 20,354,060 10,708,585,145

38,664,533 (6,349) 9,636,772

16,699,921 15,075,935 - - 5,245,255 2,671,449

1,242,758,343 (6,349) 344,833,220

(581,351) 47,713,605

(1,058,849) (2,756,699) 20,886,327 14,990,685

(4,396,899) 1,583,188,315

11,249,912 36,172,974

14,797,217 11,559,095

5,680,740 5,363,375

8,925,500,387 9,125,396,830

335,500,846 344,833,220

(หน่วย : บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดิน

สินทรัพย์ งานระหว่าง ในการผลิต ก่อสร้าง น้ำประปา

อาคารและ เครื่องตกแต่ง สิ่งปรับปรุง และอุปกรณ์ ยานพาหนะ เครื่องมือ อาคาร สำนักงาน

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2551 397,531,902 9,546,709,066 57,223,738 9,893,267 ซือ้ เพิม่ - - 537,050,317 - จำหน่าย - - - - โอนเข้า (ออก) - - (31,646,943) 405,238 31 ธันวาคม 2552 397,531,902 9,546,709,066 562,627,112 10,298,505 ค่าเสือ่ มราคาสะสม 31 ธันวาคม 2551 - 1,170,408,352 - 1,909,601 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี - 325,667,032 - 1,612,714 ค่าเสือ่ มราคาสะสมสำหรับ

ส่วนทีจ่ ำหน่าย - - - - 31 ธันวาคม 2552 - 1,496,075,384 - 3,522,315 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2551 397,531,902 8,376,300,714 57,223,738 7,983,666 31 ธันวาคม 2552 397,531,902 8,050,633,682 562,627,112 6,776,190 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี 2551 (324 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนขายน้ำประปาและบริการ ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร) 2552 (333 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนขายน้ำประปาและบริการ ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร)

รวม

11,441,279 2,572,999 (291,744) 29,241,705 42,964,239

12,187,321 674,000 - - 12,861,321

7,270,272 10,042,256,845 - 540,297,316 - (291,744) 2,000,000 - 9,270,272 10,582,262,417

5,315,049 7,387,379

7,054,713 1,957,870

3,287,072 1,757,616

1,187,974,787 338,382,611

(290,979) 12,411,449

- 9,012,583

- 5,044,688

(290,979) 1,526,066,419

6,126,230 30,552,790

5,132,608 3,848,738

3,983,200 4,225,584

8,854,282,058 9,056,195,998

328,503,885 338,382,611

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีอาคารและอุปกรณ์จำนวนหนึง่ ซึง่ ตัดค่าเสือ่ มราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ ราคาทุนของสินทรัพย์ดงั กล่าวมีจำนวนเงินประมาณ 49.1 ล้านบาท (2551: 38.9 ล้านบาท) (งบการเงิน เฉพาะกิจการ: 6.8 ล้านบาท 2551: 3.3 ล้านบาท) ในระหว่างปี 2552 บริษทั ฯ รวมต้นทุนการกูย้ มื จำนวนเงินประมาณ 37.2 ล้านบาท เป็นส่วนหนึง่ ของทีด่ นิ อาคารและ อุปกรณ์ 124 บมจ.น้ำประปาไทย


11. สินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาฯ

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม ที่ดิน

โรงผลิตน้ำประปา และระบบในการจ่าย น้ำประปา

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2551 413,087,705 5,933,703,006 จัดประเภทรายการใหม่ - 1,287,578 ซื้อเพิ่ม - 2,268,150 โอนเข้า (ออก) - 2,452,287 31 ธันวาคม 2552 413,087,705 5,939,711,021 ค่าตัดจำหน่ายสะสม 31 ธันวาคม 2551 166,897,573 2,047,840,760 จัดประเภทรายการใหม่ - 6,349 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี 15,061,345 238,744,537 31 ธันวาคม 2552 181,958,918 2,286,591,646 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2551 246,190,132 3,885,862,246 31 ธันวาคม 2552 231,128,787 3,653,119,375 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปีที่รวมอยู่ในต้นทุนขายน้ำประปาในงบกำไรขาดทุน 2551 2552

งานระหว่าง ก่อสร้าง รวม

2,360,832 - 91,455 (2,452,287) -

6,349,151,543 1,287,578 2,359,605 - 6,352,798,726

- - - -

2,214,738,333 6,349 253,805,882 2,468,550,564

2,360,832 -

4,134,413,210 3,884,248,162

246,719,618 253,805,882

สินทรัพย์ในการผลิตน้ำประปาของบริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด จะถูกโอนให้กบั การประปาส่วนภูมภิ าคภายหลังจาก สิน้ สุดอายุสญ ั ญาให้สทิ ธิดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา 25 ปี

12. สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาและการให้บริการบำบัดน้ำเสีย

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจ 31 ธันวาคม 2552 สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาและการให้บริการบำบัดน้ำเสีย หัก: สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาและ การให้บริการบำบัดน้ำเสียตัดจำหน่ายสะสม สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาและ การให้บริการบำบัดน้ำเสีย - สุทธิ

1,410,074,586 (9,756,047) 1,400,318,539

เมือ่ วันที่ 31 กรกฎาคม 2552 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2552 ของบริษทั ฯ มีมติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ เข้าทำสัญญา ซื้ อ สิ ท ธิ ใ นการดำเนินการผลิตและจำหน่า ยน้ ำ ประปาและการให้ บ ริ ก ารบำบั ด น้ ำ เสี ย แก่ ลู ก ค้ า ภายในเขตนิ คม อุตสาหกรรมบางปะอิน (“สิทธิการดำเนินงาน”) จากบริษทั ทีด่ นิ บางปะอิน จำกัด มูลค่ารวมทัง้ สิน้ 1,400 ล้านบาท โดย แบ่งชำระเป็นงวดตามทีก่ ำหนดในสัญญา ยอดคงค้างของรายการดังกล่าวเเสดงเป็น เจ้าหนีอ้ นื่ - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน จำนวน 214 ล้านบาท และ เจ้าหนีร้ ะยะยาว อืน่ - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน จำนวน 214 ล้านบาทในงบดุล

13. สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2551 สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา หัก: สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาตัดจำหน่ายสะสม สิทธิในการดำเนินการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา - สุทธิ

3,169,108,803 (479,916,807) 2,689,191,996

3,169,108,803 (284,970,416) 2,884,138,387

รายงานประจำปี 2552

125


14. เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกู้

(หน่วย : บาท)

อัตราดอกเบี้ย งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (ร้อยละ) การชำระเงิน 2552 2551 2552 2551

1. MLR – อัตราที่ระบุ ชำระคืนเป็นงวดทุก 3 เดือน ในสัญญาระหว่าง เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม 2553 2.00% - 2.25% ถึงเดือนมิถุนายน 2562 2. MLR – อัตราที่ระบุ ชำระคืนเป็นงวดทุก 3 เดือน ในสัญญาระหว่าง เริ่มตั้งแต่เดือนธันวาคม 2552 2.00% - 2.25% ถึงเดือนกันยายน 2562 3. MLR – 1% ชำระคืนเป็นงวดทุก 3 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม 2548 ถึงเดือนตุลาคม 2559 4. MLR, MLR – 0.5% ชำระคืนเป็นงวดทุก 3 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2551 ถึงเดือนตุลาคม 2559 5. MLR – 0.5% ชำระคืนเป็นงวดทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2548 ถึงเดือนธันวาคม 2558 6. MLR ชำระคืนเป็นงวดทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2551 จนถึงเดือนธันวาคม 2555 รวม หัก: ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิ

1,072,000,000

- 1,072,000,000

-

3,510,000,000

- 3,510,000,000

-

- 5,016,200,000

- 5,016,200,000

-

973,352,152

-

973,352,152

- 2,626,932,846

-

-

- 692,860,721 - - 4,582,000,000 9,309,345,719 4,582,000,000 5,989,552,152 (420,000,000) (1,103,955,215) (420,000,000) (598,955,215) 4,162,000,000 8,205,390,504 4,162,000,000 5,390,596,937

ในระหว่างปี 2552 บริษทั ฯ ได้ออกหุน้ กูต้ ามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 15 เพือ่ ชำระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวส่วนที่เหลืออยู่ของวงเงินกู้ที่ 3 และ 4 และนอกจากนี้ บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้เข้าทำสัญญากู้ยืมเงินกับ บริษทั ฯ เพือ่ นำเงินดังกล่าวมาชำระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวส่วนทีเ่ หลืออยูข่ องวงเงินกูท้ ี่ 5 และ 6

15. หุ้นกู้

เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552 บริษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุน้ กูป้ ระเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มปี ระกัน และมีผแู้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ จำนวน 3 ชุด เป็นจำนวนเงิน 7,000 ล้านบาท เพือ่ จำหน่ายแก่นกั ลงทุนตามประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ โดยมีรายละเอียดของหุน้ กูด้ งั นี ้ ก) หุน้ กูช้ ดุ ที่ 1 จำนวน 3,500,000 หน่วย มูลค่าทีต่ ราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 3,500 ล้านบาท หุน้ กู ้ ดังกล่าวจะครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2555 โดยมีอตั ราดอกเบีย้ คงทีร่ อ้ ยละ 4.00 ต่อปี และมี กำหนดชำระดอกเบีย้ ทุก 6 เดือน ข) หุน้ กูช้ ดุ ที่ 2 จำนวน 1,700,000 หน่วย มูลค่าทีต่ ราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 1,700 ล้านบาท หุน้ กู ้ ดังกล่าวจะครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2557 โดยมีอตั ราดอกเบีย้ คงทีร่ อ้ ยละ 4.75 ต่อปี และมี กำหนดชำระดอกเบีย้ ทุก 6 เดือน ค) หุน้ กูช้ ดุ ที่ 3 จำนวน 1,800,000 หน่วย มูลค่าทีต่ ราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 1,800 ล้านบาท หุน้ กู ้ ดังกล่าวจะครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559 โดยมีอตั ราดอกเบีย้ คงทีร่ อ้ ยละ 5.35 ต่อปี และมี กำหนดชำระดอกเบีย้ ทุก 6 เดือน บริษทั ฯ ต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทางการเงินบางประการ เช่น การดำรงอัตราส่วนทางการเงิน

16. สำรองตามกฎหมาย

ภายใต้บทบัญญัตขิ องมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษทั ฯ ต้องจัดสรรกำไรสุทธิ ประจำปีสว่ นหนึง่ ไว้เป็นทุนสำรองไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหกั ด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนีจ้ ะมีจำนวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำไป จ่ายเงินปันผลได้

126 บมจ.น้ำประปาไทย


17. สำรองอื่น

ตามข้อกำหนดของสัญญาแก้ไขเพิม่ เติมสัมปทานประกอบกิจการประปา ลงวันที่ 20 มีนาคม 2551 กำหนดให้บริษทั ฯ ต้องจัดสรรสำรองก่อนจ่ายเงินปันผลเป็นจำนวนร้อยละ 10 ของกำไรสุทธิประจำปี

18. รายได้จากการขายน้ำประปา

ยอดรายได้จากการขายน้ำประปาของบริษทั ฯ ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ได้ รวมรายได้จำนวน 49.8 ล้านบาท และ 19.3 ล้านบาท ตามลำดับ ซึง่ เกิดจากปริมาณน้ำประปาทีก่ ารประปาส่วนภูมภิ าค ซือ้ จริงสำหรับรอบระยะเวลา 6 เดือน ต่ำกว่าปริมาณน้ำประปาขัน้ ต่ำทีต่ อ้ งซือ้ สำหรับระยะเวลาดังกล่าว ซึง่ เป็นไปตาม เงือ่ นไขทีก่ ำหนดในสัญญาซือ้ ขายน้ำประปา

19. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

รายการค่าใช้จา่ ยแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จา่ ยทีส่ ำคัญดังต่อไปนี ้ (หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม

เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อื่น ของพนักงาน ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ในการผลิต น้ำประปาที่ต้องโอนเมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาฯ ค่าตัดจำหน่ายต้นทุนเงินลงทุนในบริษัทย่อย ค่าบริหารและจัดการ ค่าใช้จ่ายในการผลิตและซ่อมบำรุง

20. การส่งเสริมการลงทุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

2552

2551

111,248,699 344,833,220

100,457,484 335,500,846

32,132,985 338,382,611

29,959,705 328,503,885

253,805,882 - - 480,610,823

246,719,618 - - 510,165,601

- 221,494,148 35,288,373 253,815,726

- 222,100,981 28,732,053 247,032,466

บริษทั ฯ ได้รบั สิทธิพเิ ศษทางภาษีจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนสำหรับการผลิตน้ำประปา ตามบัตรส่งเสริมการ ลงทุนเลขที่ 1382(2)/2545 เมือ่ วันที่ 19 มิถนุ ายน 2545 ภายใต้เงือ่ นไขทีก่ ำหนดบางประการ สิทธิพเิ ศษดังกล่าวมีสาระ สำคัญดังนี ้ - การได้รบั ยกเว้นอากรขาเข้าของการนำเข้าเครือ่ งจักรทีเ่ ข้าตามเงือ่ นไขทีร่ ะบุไว้ - การได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลสำหรับกำไรสุทธิทไี่ ด้จากการประกอบกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม มี กำหนดระยะ เวลาแปดปี นับแต่วนั ทีเ่ ริม่ มีรายได้จากการประกอบกิจการนัน้ (วันที่ 21 กรกฎาคม 2547) รายได้ของบริษทั ฯ สำหรับปีจำแนกตามกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมการลงทุนและไม่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนสามารถ สรุปได้ตอ่ ไปนี ้ กิจกรรมที่ได้รับ การส่งเสริมการลงทุน

2552

2551

รายได้จากการขายน้ำประปา 2,592,395,254 2,355,871,315

21. กำไรต่อหุ้น

รวม

กิจกรรมที่ได้รับ การส่งเสริมการลงทุน 2552

2551

54,221,940

-

2552

2551

2,646,617,194 2,355,871,315

กำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปีดว้ ยจำนวนถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักของหุน้ สามัญทีอ่ อกอยูใ่ น ระหว่างปี

22. ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยดำเนินกิจการในส่วนงานทางธุรกิจเดียวคือธุรกิจผลิตและจำหน่ายน้ำประปา และ ดำเนินธุรกิจ ในส่วนงานทางภูมศิ าสตร์เดียวคือในประเทศไทย ดังนัน้ รายได้ กำไรและสินทรัพย์ทงั้ หมดทีแ่ สดงในงบการเงินจึงเกีย่ ว ข้องกับส่วนงานทางธุรกิจและส่วนงานทางภูมศิ าสตร์ตามทีก่ ล่าวไว้

รายงานประจำปี 2552

127


23. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยและพนักงานได้รว่ มกันจัดตัง้ กองทุนสำรองเลีย้ งชีพขึน้ ตามพระราชบัญญัตกิ องทุนสำรองเลีย้ ง ชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษทั ฯ บริษทั ย่อยและพนักงานจะจ่ายสมทบกองทุนเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 5 ของเงินเดือน กองทุนสำรองเลีย้ งชีพนีบ้ ริหารโดยบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน ทหารไทย จำกัดและบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จำกัด และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมือ่ พนักงานนัน้ ออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษทั ฯ และ บริษทั ย่อย ในระหว่างปี 2552 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้จา่ ยเงินสมทบกองทุนเป็นจำนวนเงิน 3.3 ล้านบาท (เฉพาะขอ งบริษทั ฯ : 1.1 ล้านบาท) (2551 : 3.2 ล้านบาท เฉพาะของบริษทั ฯ : 0.9 ล้านบาท)

24. เงินปันผล

เงินปันผล

เงินปันผลจ่ายจากผลการดำเนินงานส่วนที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุนสำหรับปี 2550 ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อปรากฎในสมุดทะเบียน ผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 20 พฤศจิกายน 2551 รวมเงินปันผลสำหรับปี 2551 เงินปันผลจ่ายจากผลการดำเนินงานส่วนที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุนสำหรับปี 2551 ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อปรากฎในสมุดทะเบียน ผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 13 มีนาคม 2552 เงินปันผลจ่ายระหว่างกาลจากผลการ ดำเนินงานส่วนที่ได้รับการส่งเสริมการ ลงทุนสำหรับเดือนมกราคมถึงเดือน มิถุนายน 2552 ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อ ปรากฎในสมุดทะเบียน ผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2552 รวมเงินปันผลสำหรับปี 2552

(หน่วย : บาท) อนุมัติโดย

ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2551 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2552 เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2552

เงินปันผลจ่าย

เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น

598,498,845 598,498,845

0.15

797,998,460

0.20

438,893,719 1,236,892,179

0.11

25. ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ในระหว่างไตรมาสที่สองของปี 2552 บริษัทย่อยได้รับหนังสือแจ้งการเปลี่ยนแปลงผลขาดทุนสุทธิจากสำนักงาน สรรพากรพื้นที่ ซึ่งจากการประเมินของสำนักงานดังกล่าว บริษัทย่อยจะต้องจ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลของปี 2551 จำนวนประมาณ 44 ล้านบาท เพื่อลดความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต บริษัทย่อยได้บันทึกภาษีเงินได้นิติ บุคคลสำหรับปี 2551 จำนวน 44 ล้านบาท และภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลสำหรับปี 2552 จำนวน 143 ล้านบาท อย่างไร ก็ตาม บริษทั ย่อยไม่เห็นด้วยกับการประเมินดังกล่าว จึงได้ยนื่ อุทธรณ์คดั ค้านการประเมินภาษีอากรกับคณะกรรม การ พิจารณาอุทธรณ์กรมสรรพากร ซึง่ ปัจจุบนั อยูใ่ นระหว่างการพิจารณา หากคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ยกเลิกการ ประเมินผลตามหนังสือแจ้งการเปลีย่ นแปลงผลขาดทุนสุทธิดงั กล่าว ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลทีไ่ ด้เคยบันทึกไว้จะถูกบันทึก กลับรายการเป็นรายได้ของบริษทั ย่อย บริษทั ฯ ไม่มภี าระภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลจากกำไรสุทธิของกิจการทีไ่ ม่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนสำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เนือ่ งจากบริษทั ฯ มีผลขาดทุนทางภาษียกมาจากปีกอ่ น ๆ สูงกว่ากำไรสุทธิสำหรับปี

26. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

26.1 ภาระผูกพันเกีย่ วกับรายจ่ายฝ่ายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั ฯ มีรายจ่ายฝ่ายทุนจำนวนเงิน 520.8 ล้านบาท ทีเ่ กีย่ วข้องกับการโครงการขยาย กำลังการผลิตน้ำประปา 26.2 ภาระผูกพันเกีย่ วกับสัญญาบริการและภาระผูกพันอืน่ ก) บริษทั ฯ ได้ทำสัญญาการบริหารจัดการและการซ่อมบำรุงกับบริษทั วอเตอร์โฟลว์ จำกัด เพือ่ ให้บริษทั ย่อย ดังกล่าวบริหารจัดการและการซ่อมบำรุงรักษาระบบผลิตและจำหน่ายน้ำประปาและบริหารจัดการ ระบบบำบัดน้ำเสีย โดยภายใต้เงือ่ นไขสัญญาดังกล่าวบริษทั ฯ ต้องจ่ายค่าบริการตามอัตราทีร่ ะบุในสัญญา ข) บริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด ได้ทำสัญญาการซ่อมบำรุงกับบริษทั บีเจที วอเตอร์ จำกัด เพือ่ ให้บริษทั ดังกล่าวทำการซ่อมบำรุงรักษา โดยภายใต้เงือ่ นไขสัญญาดังกล่าว บริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด ต้อง จ่ายค่าบริการตามอัตราทีร่ ะบุในสัญญา

128 บมจ.น้ำประปาไทย


ค) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ มีภาระผูกพันจากสัญญาเช่าสถานทีท่ ำการกับบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันและภาระผูกพันจากสัญญาบริการอืน่ ๆ เป็นจำนวนเงินรวม 4.1 ล้านบาท 26.3 หนังสือค้ำประกันธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีหนังสือค้ำประกันซึง่ ออกโดยธนาคารในนามบริษทั ฯ และ บริษัทย่อย เหลืออยู่เป็นจำนวน 248.9 ล้านบาท ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการ ตามปกติ ธุรกิจของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ซึง่ ประกอบด้วย หนังสือค้ำประกันเพือ่ ค้ำประกันตามสัญญา ซื้อขายน้ำประปา กับการประปาส่วนภูมภิ าคจำนวน 209.7 ล้านบาท เพือ่ ค้ำประกันการใช้ไฟฟ้าจำนวน 39.2 ล้านบาท (งบการเงิน เฉพาะกิจการ : เพือ่ ค้ำประกันตามสัญญาซือ้ ขายน้ำประปากับการประปาส่วนภูมภิ าค จำนวน 50.1 ล้านบาท เพือ่ ค้ำประกันการใช้ไฟฟ้าจำนวน 22.1 ล้านบาท) 26.4 คดีฟอ้ งร้อง บริษทั ประปาปทุมธานี จำกัด ในเดือนสิงหาคม 2547 บริษัท ประปาปทุมธานี จำกัด ได้ถูกบุคคลหนึ่งยื่นคำเสนอข้อพิพาทต่อสถาบัน อนุญาโตตุลาการพิจารณาข้อพิพาทในการเรียกร้องค่าเสียหายจากบริษัทดังกล่าว (ผู้คัดค้านที่ 2) ร่วมกับ การ ประปาส่วนภูมภิ าค (ผูค้ ดั ค้านที่ 1) เป็นจำนวนทุนทรัพย์รวมประมาณ 64.5 ล้านบาท จากการละเมิดสิทธิของ บุคคลดังกล่าว อันเนื่องมาจากการก่อสร้างโรงงานผลิตน้ำประปา ต่อมาเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2549 คณะ อนุญาโตตุลาการได้มคี ำชีข้ าดให้ยกคำเสนอข้อพิพาทดังกล่าว ต่อมาเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2549 บุคคลดังกล่าวได้ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองเพื่อคัดค้านคำชี้ขาดของคณะ อนุญาโตตุลาการทีใ่ ห้ยกคำเสนอข้อพิพากษาดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษัท ประปาปทุมธานี จำกัด ไม่ได้มีการตั้งสำรองเผื่อผลเสียหายจากข้อพิพาทดังกล่าวไว้ใน บัญชีเนื่องจากฝ่ายบริหารของบริษัทดังกล่าวเชื่อว่าจะไม่มีค่าเสียหายเป็นจำนวนเงินที่เป็นสาระสำคัญจากข้อ พิพาทดังกล่าว

27. เครื่องมือทางการเงิน

27.1 นโยบายการบริหารความเสีย่ ง เครื่องมือทางการเงินที่สำคัญของบริษัทฯ และบริษัทย่อยตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32“ การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครือ่ งมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนีก้ ารค้า เจ้าหนีก้ ารค้า เจ้าหนีก้ จิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน เจ้าหนีอ้ นื่ เจ้าหนีเ้ งินประกัน ผลงาน หุน้ กูแ้ ละเงินกูย้ มื ระยะยาว บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับเครือ่ งมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริหารความเสีย่ งดังนี ้ ความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับลูกหนีก้ ารค้าและมีความเสีย่ งจากการกระจุก ตัวของลูกหนี้ เนือ่ งจากบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีลกู ค้าหลักรายเดียวคือการประปาส่วนภูมภิ าค อย่างไรก็ตามเนือ่ ง จากการประปาส่วนภูมภิ าคเป็นหน่วยงานราชการ ดังนัน้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจึงไม่คาดว่าจะได้รบั ความเสียหาย ทีเ่ ป็นสาระสำคัญจากการให้สนิ เชือ่ ดังกล่าว จำนวนเงินสูงสุดทีบ่ ริษทั ฯ อาจต้องสูญเสียจากการให้สนิ เชือ่ คือมูลค่า ตามบัญชีของลูกหนีท้ แี่ สดงอยูใ่ นงบดุล ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ทีส่ ำคัญอันเกีย่ วเนือ่ งกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินลงทุน ชัว่ คราว เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน หุน้ กูแ้ ละเงินกูย้ มื ระยะยาวทีม่ ดี อกเบีย้ อย่างไรก็ตามเนือ่ ง จากสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินส่วนใหญ่มอี ตั ราดอกเบีย้ ทีป่ รับขึน้ ลงตามอัตราตลาด หรือมีอตั ราดอกเบีย้ คงที่ ซึ่งใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯ จึงอยู่ในระดับต่ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่สำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสำหรับ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินทีม่ อี ตั ราดอกเบีย้ คงทีส่ ามารถแยกตามวันทีค่ รบกำหนดหรือวันทีม่ กี ารกำหนดอัตรา ดอกเบีย้ ใหม่ (หากวันทีม่ กี ารกำหนดอัตราดอกเบีย้ ใหม่ถงึ ก่อน) ได้ดงั นี ้

รายงานประจำปี 2552

129


งบการเงินรวม สินทรัพย์ทางการเงิน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนีก้ ารค้า หนีส้ นิ ทางการเงิน

เจ้าหนีก้ ารค้า เจ้าหนีก้ จิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน เจ้าหนีอ้ นื่ เจ้าหนีเ้ งินประกันผลงาน หุน้ กู ้ เงินกูย้ มื ระยะยาว

อัตราดอกเบีย้ คงที ่ ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี

อัตราดอกเบีย้ ปรับขึน้ ลง ตามราคาตลาด

ไม่มอี ตั รา รวม ดอกเบีย้

(ล้านบาท)

อัตราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริง (ร้อยละต่อปี)

- 1,085 - 1,085

- - - -

- - - -

2,286 - - 2,286

- - 384 384

2,286 1,085 384 3,755

0.50 - 0.85 0.50 - 1.00 -

- - - - - - -

- - - - 5,192 - 5,192

- - - - 1,796 - 1,796

- - - - - 4,582 4,582

40 458 18 17 - - 513

40 458 18 17 6,988 4,582 12,083

- - - - 4.00 - 5.35 3.38 - 3.88

งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย์ทางการเงิน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนีก้ ารค้า เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน หนีส้ นิ ทางการเงิน เจ้าหนีก้ ารค้า เจ้าหนีก้ จิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน เจ้าหนีอ้ นื่ เจ้าหนีเ้ งินประกันผลงาน หุน้ กู ้ เงินกูย้ มื ระยะยาว

130 บมจ.น้ำประปาไทย

อัตราดอกเบีย้ คงที ่ ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี

อัตราดอกเบีย้ ปรับขึน้ ลง ตามราคาตลาด

ไม่มอี ตั รา รวม ดอกเบีย้

(ล้านบาท)

อัตราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริง (ร้อยละต่อปี)

- 1,085 - - 1,085

- - - - -

- - - - -

1,740 - - 3,023 4,763

- - 256 - 256

1,740 1,085 256 3,023 6,104

0.50 - 0.85 0.50 - 1.00 - 3.50 - 3.98

- - - - - - -

- - - - 5,192 - 5,192

- - - - 1,796 - 1,796

- - - - - 4,582 4,582

33 458 15 17 - - 502

33 458 15 17 6,988 4,582 12,072

- - - - 4.00 - 5.35 3.38 - 3.88


ความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยพิจารณาว่าไม่มคี วามเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น เนือ่ งจากบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยไม่มธี รุ กรรม ทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศทีม่ สี าระสำคัญ 27.2 มูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความ รอบรูแ้ ละเต็มใจในการแลกเปลีย่ นและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะทีไ่ ม่มคี วามเกีย่ วข้อง กัน วิธกี ารกำหนดมูลค่ายุตธิ รรมขึน้ อยูก่ บั ลักษณะของเครือ่ งมือทางการเงิน มูลค่ายุตธิ รรมจะกำหนดจากราคา ตลาดล่าสุด หรือกำหนดขึน้ โดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าทีเ่ หมาะสม บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีการประมาณการมูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงินตามหลักเกณฑ์ดงั นี ้ ก) สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่จะครบกำหนดในระยะเวลาอันสั้น ได้แก่ เงินสดและรายการเทียบ เท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนีก้ ารค้า เจ้าหนีก้ ารค้า เจ้าหนีก้ จิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน เจ้าหนีอ้ นื่ และเจ้าหนี ้ เงินประกันผลงาน แสดงมูลค่ายุตธิ รรมโดยประมาณตามมูลค่าตามบัญชีทแี่ สดงในงบดุล ข) เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันและเงินกู้ยืมระยะยาวที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราใกล้เคียงกับ อัตราดอกเบีย้ ในตลาดแสดงมูลค่ายุตธิ รรมโดยประมาณตามมูลค่าตามบัญชีทแี่ สดงในงบดุล ค) หุ้นกู้ที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราคงที่ แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยการคำนวณมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสด จ่ายในอนาคต คิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยโดยประมาณในตลาดปัจจุบันสำหรับเงินกู้ยืมที่มีเงื่อนไขใกล้ เคียงกัน ซึง่ มูลค่ายุตธิ รรมโดยประมาณมีมลู ค่าใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีทแี่ สดงในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงินทีส่ ำคัญมีมลู ค่าโดยประมาณใกล้เคียงกับมูลค่าตาม บัญชีทแี่ สดงในงบดุล โดยไม่มผี ลแตกต่างอย่างมีสาระสำคัญ

28. การบริหารจัดการทุน

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้กำหนดนโยบายและเป้าหมายต่างๆ เพือ่ ใช้ในการปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ซึง่ นโยบายต่างๆ ทีก่ ำหนดขึน้ เพือ่ ให้บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีเสถียรภาพทางการเงินเพือ่ ใช้ในการดำเนินงาน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 งบการเงินรวมแสดงอัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อทุนเป็น 1.42 : 1 (งบการเงินเฉพาะกิจการ : อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อทุนเป็น 1.42 : 1)

29. การอนุมัติงบการเงิน

งบการเงินนีไ้ ด้รบั อนุมตั ใิ ห้ออกโดยคณะกรรมการบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2553

รายงานประจำปี 2552

131


132 บมจ.น้ำประปาไทย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.