Fah magazine

Page 1


Contents

5

TGO News

8

เรื่องน่ารู้จาก อบก.

12

The Greenhouse Effect ปรากฏการณ์เรือนกระจก

นวั ต กรรมสร้ า งสรรค์

สาหร่ายใบมะกรูด เปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ ให้กลายเป็นทรายขาวสะอาด

14

มองหลากมุม

ตลาดคาร์บอน (Carbon Market) แนวทางยั่งยืนของธุรกิจและสิ่งแวดล้อม

19 20

Cover Story

...เมืองในฝัน... LOW CARBON SOCIETY

Life Infographic 10 วิธีลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก แบบง่ายๆ

26 Guest Room

Ecolife สไตล์ ท็อป-พิพัฒน์ อภิรักษ์ธนากร


30

34

Green Culture Green office เขียวจากภายใน

36

Let’s Go Green ฉลากนั้นส�าคัญแค่ไหน

Green Attraction

ตากอากาศดีทเี่ มืองในฝัน ซิมลา

40

42

Technology & Design

Reuse ไอเดียเก๋ๆ เพื่อลดโลกร้อน & นวัตกรรมลดโลกร้อน

44

แนะน�าหนัง เพลง หนังสือ

Around the World

The Database

48


Contributors ปิ่นอนงค์ วัชรปาณ อดีตคือบรรณาธิการนิตยสาร ปัจจุบันเป็นฟรีแลนซ์ ท�างานเป็นทัง้ บรรณาธิการเฉพาะกิจ นักเขียนคอลัมน์ให้ กับนิตยสาร และเป็นโกสต์ไรเตอร์ “นักเขียนเงา” ส�าหรับ ผลงานพ็อกเก็ตบุ๊กเล่าชีวิตให้กับคนดังหลายเล่ม นอก เวลางานยังเป็นนักดูหนังและนักเดินทาง ด้วยสายตาของ สื่อมวลชน ติดตามมุมมองและเรื่องเล่าสนุกๆ เบื้องหลัง การท�างานฟรีแลนซ์ของเธอได้ที่ www.facebook. com/writaholic.th

ปาล์ม-วิชชุตา ลิมปณะวัสส์

วิธลี ดโลกร้อน : ทุกวันนีท้ า� สิง่ เล็กๆ ในชีวติ ประจ�าวันที่ พอจะช่วยลดการใช้พลังงาน และใช้ถุงพลาสติกให้น้อย ที่สุดเท่าที่จะน้อยได้ แยกขยะอย่างจริงจัง หรือใช้แสง และลมธรรมชาติให้มากทีส่ ดุ แทนเครือ่ งใช้ไฟฟ้า เป็นต้น

ตอนนี้เป็นฟรีแลนซ์วาดภาพประกอบที่ชอบการ เดินทางพอๆ กับอยากขายต้นไม้และมีรา้ นกาแฟ เล็กๆ ที่บ้าน วิ ธี ล ดโลกร้ อ น : ใช้ พ ลั ง งานเท่ า ที่ จ� า เป็ น ลดการใช้ถงุ พลาสติก ปลูกต้นไม้และพืชผักสวน ครัวบริเวณบ้านค่ะ

ตามตะวัน

ดร.กิตติมา ไกรพีรพรรณ ดร.เอ๋ เป็นนักวิชาการ ฝ่ายพัฒนาบัณฑิตและ นั ก วิ จั ย ส� า นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) หลังเรียนจบจาก มหาวิ ท ยาลั ย ก็ ท� า งานเพื่ อ ประเทศชาติ ใ นสาย วิทยาศาสตร์มาจนถึงปัจจุบนั โดยสนใจงานด้านการ ศึกษาเป็นพิเศษ นอกจากชอบจัดกิจกรรมให้เด็กได้ เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างสนุกสนาน ชอบวาดภาพ และตีขิมแล้ว ยังชอบการเขียนหนังสือหลากหลาย รูปแบบ ทั้งหนังสือเรียนรู้วิทยาศาสตร์ส�าหรับเด็ก บทความด้านวิทยาศาสตร์ส�าหรับคนทั่วไป และ หนังสือพ็อกเก็ตบุ๊กเล่าชีวิตของคนที่ประสบความ ส�าเร็จในสายอาชีพวิทยาศาสตร์เพื่อจุดประกายให้ เด็กไทยอยากเป็นนักวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้น วิธีลดโลกร้อน : สิ่งเล็กๆ ที่ชอบท�าเพื่อลดโลก ร้อนคือการสร้างโลกสีเขียวเพื่อเป็นแหล่งสะสม คาร์บอน ถึงแม้จะเป็นเพียงสวนเล็กๆ ในบ้าน เช่น ปลูกแคคตัส ไม้ยนื ต้น และพืชผักสวนครัวปลอดสาร พิษไว้ทานเอง และแจกจ่ายให้เพือ่ นสนิทมิตรสหาย หากทุกคนช่วยกันท�าสิ่งเล็กๆ เหล่านี้ ก็จะเป็นพลัง ที่ยิ่งใหญ่และช่วยให้โลกของเราน่าอยู่มากขึ้น

อยูใ่ นแวดวงนิตยสาร ท�างานทัง้ สัมภาษณ์ เขียน คอลัมน์เชิงไลฟ์สไตล์ ชีวติ อยูไ่ ม่ตดิ ออฟฟิศนัก และว่างเมื่อไหร่ต้องหาเวลาวันหยุดยาว เดิน ทางไกลไปเจอผู้คนต่างถิ่น ต่างที่ ต่างภาษา วิธีลดโลกร้อน : ปกติเป็นคนชอบพกถุงผ้า เวลาเข้าร้านสะดวกซื้อจะรีบบอกพนักงานขาย ว่า “ไม่ต้องใส่ถุงพลาสติกค่ะ” แล้วจัดแจง หยิบของทั้งหมดใส่ถุงของเราเองซะ นอกจากนี้ ยังมีกล่องข้าวไปเอง เวลาซื้ออาหารตามสั่ง ก็ยื่นกล่องข้าวให้พ่อค้าแม่ค้าใส่ ถือว่าช่วย ลดปริมาณการใช้กล่องโฟม และดีต่อสุขภาพ อี ก อย่ า งหนึ่ ง คื อ เป็ น ผู ้ ห ญิ ง ที่ ขั บ รถไม่ เ ป็ น จึงสะดวกใจกับการไปไหนมาไหนด้วยรถสาธารณะ และการเดิน

ต้องการ-วลัยกร สมรรถกร นักวาดการ์ตูนผู้ใช้สีน�้าจากดอกไม้ใบไม้เพื่อ บอกเล่าเรื่องราวการใช้ชีวิตออร์แกนิกให้ได้ อย่างมีความสุข วิธลี ดโลกร้อน : กินผักอินทรียท์ ไี่ ม่ใช้สารเคมี ในการปลูกก็ลดโลกร้อนได้มากทีเดียว และ ต้องการก็พยายามใช้แก้วรีฟิล หิ้วปิ่นโต เวลา ต้องออกไปซือ้ อาหารเครือ่ งดืม่ ข้างนอกเพือ่ ช่วย ลดโลกร้อนอีกทางหนึ่งด้วยค่ะ

เล็ก รุ่งจิรวัฒน์ นักเขียนและช่างภาพอิสระ ผู้มีความสุขกับการ ดูหนัง ฟังเพลง อ่านหนังสือ และสนุกกับการเล่า เรื่องราวเล็กๆ น้อยๆ รอบๆ ตัว ผ่านถ้อยค�า และภาพถ่าย วิธีลดโลกร้อน : ลดความฟุ่มเฟือยในชีวิตให้น้อย ลง แล้วใช้ชีวิตให้เรียบง่ายมากขึ้น


TGO News

อบก. ลงนามบันทึกข้อตกลงกับกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ เผยแพร่ความรู้ ด้านการประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อมุ่งสู่การเป็นเมืองลดคาร์บอน เมื่ อ วั น ที่ 15 มิ ถุ น ายนที่ ผ านมา องค์ ก ารบริ ห ารจั ด การก๊ า ซเรื อ นกระจก (องค์ ก ารมหาชน) โดยนางประเสริ ฐ สุ ข จามรมาน ผู ้ อ� า นวยการองค์ ก ารบริ ห าร จัดการก๊าซเรือนกระจก และนายจรินทร์ จักกะพาก อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความ ร่ ว มมื อ เผยแพร่ ค วามรู ้ ด ้ า นการประเมิ น ปริมาณก๊าซเรือนกระจกทีป่ ล่อยจากกิจกรรม ทั้ ง หมดขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น (Carbon Footprint for Organization : CFO) และการรายงานข้อมูลปริมาณก๊าซ เรื อ นกระจกระดั บ เมื อ ง (City Carbon

Footprint : CCF) ให้แก่องค์กรปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น เพื่ อ มุ ่ ง สู ่ ก ารเป็ น เมื อ งลด คาร์บอน โดยมี ดร.พงษ์วภิ า หล่อสมบูรณ์ รองผู้อ�านวยการองค์การบริหารจัดการ ก๊าซเรือนกระจก นายนรภัทร ปลอดทอง รองอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น พร้อมด้วยผู้บริหารกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่นเข้าร่วมพิธีดังกล่าว วัตถุประสงค์ของการลงนามบันทึก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ในครั้ ง นี้ เ พื่ อ ส่งเสริมการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมุ่ง สู่การเป็นเมืองลดคาร์บอน ซึ่งกิจกรรม

ภายใต้ความร่วมมือ ได้แก่ การเผยแพร่ ความรูแ้ ละฝึกอบรมให้แก่บคุ ลากรขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ ทุกระดับ โดยในช่วงแรก เริ่มที่เทศบาลนคร และเทศบาลเมือง และ ขยายผลไปสู่เทศบาลต�าบลในอนาคตรวมทั้ง สือ่ สารให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทุกระดับ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเห็นถึงประโยชน์ ของการรายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และการด� า เนิ น งานตามแผนการลดก๊ า ซ เรือนกระจกเพือ่ มุง่ สูก่ ารเป็นเมืองลดคาร์บอน ต่อไป

อบก. เปิดตัวผู้ประกอบการน�าร่อง ฉลากลดโลกร้อน ระยะที่ 3 ‘จากคาร์บอนฟุตพริ้นท์...ก้าวสู่ฉลากลด โลกร้อน’ เมื่ อ วั น ที่ 16 พฤษภาคมที่ ผ ่ า นมา องค์ ก ารบริ ห ารจั ด การก๊ า ซเรื อ นกระจก (องค์ ก ารมหาชน) หรื อ อบก. โดยนาง ประเสริ ฐ สุ ข จามรมาน ผู ้ อ� า นวยการ อบก. เป็นประธานในพิธีแถลงข่าวเปิดตัว ผูป้ ระกอบการน�าร่องฉลากลดโลกร้อน ระยะ ที่ 3 ‘จากคาร์บอนฟุตพริ้นท์...ก้าวสู่ฉลาก ลดโลกร้อน’ ณ ห้อง Executive 1 และ 2 โรงแรมปทุมวันปริ๊นเซส กรุงเทพฯ โดย อบก. ได้พัฒนาฉลากใหม่เพื่อต่อยอดฉลาก คาร์ บ อนฟุ ต พริ้ น ท์ ข องผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ดิ ม ที่ ด�าเนินการร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีโลหะและ วัสดุแห่งชาติ มาเป็นฉลากลดคาร์บอนฟุตพริน้ ท์

ของผลิตภัณฑ์หรือ ‘ฉลากลดโลกร้อน’ ซึง่ เป็นฉลากทีช่ ว่ ยบ่งชีว้ า่ ผลิตภัณฑ์มกี ารลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกตลอดวัฏจักร ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ อย่ า งน้ อ ยร้ อ ยละ 2 นั บ เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ ดี ข องโครงการ โดย อบก. ให้ ก ารสนั บ สนุ น และให้ ค�าแนะน�าในการปฏิบัติงานให้สามารถ ลดก๊าซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตได้ ทั้งนี้ อบก. ได้เปิดตัวฉลากลดโลกร้อน

และด� า เนิ น โครงการน� า ร่ อ งมาแล้ ว 2 ปี พบว่ า มี ผ ลการด� า เนิ น งานส� า เร็ จ ลุ ล ่ ว งไป ด้ ว ยดี มี บ ริ ษั ท สมั ค รใจเข้ า ร่ ว มโครงการ จ�านวน 37 บริษัท และมีส่วนช่วยลดการ ปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกได้ 980,772 ตั น คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี โดยทีผ่ า่ นมา อบก. ได้ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น และค� า แนะน� า แก่ บ ริ ษั ท ที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ เพื่ อ เป็ น การ ส่ ง เสริ ม และเผยแพร่ ฉ ลากลดโลกร้ อ น

5

5


อย่างต่อเนื่อง อบก. จึงได้ด�าเนินโครงการ ฉลากลดโลกร้อน ระยะที่ 3 และเป็นที่มา ของการเปิ ด ตั ว ผู ้ ป ระกอบการซึ่ ง ผ่ า นการ คัดเลือกเข้าร่วมโครงการน�าร่อง จ�านวน 10 ราย ได้แก่ 1. บริษัท คอนโก้เมททอลเวอร์คส์ จ�ากัด 2. บริษัท ที.ซี. ฟาร์มาซูติคอล อุตสาหกรรม จ�ากัด 3. บริษัท ทีพีไอ โพลีน จ�ากัด (มหาชน) 4. บริษัท ไทยวา จ�ากัด (มหาชน)

5. บริษัท วงศ์บัณฑิต จ�ากัด 6. บริษัท เสริมสุข จ�ากัด (มหาชน) 7. บริษัท หาดทิพย์ จ�ากัด (มหาชน) 8. บริษัท อ�าพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จ�ากัด 9. บริษัท อิมโก้ ฟู๊ดแพ็ค จ�ากัด 10. บริษัท อีสเทิร์น โพลีแพค จ�ากัด ส�าหรับก้าวต่อไปของ อบก. ในการ ส่งเสริมให้ประเทศมุ่งสู่การเป็นสังคม คาร์ บ อนต�่ า และบรรลุ ผ ลตามแผน ยุทธศาสตร์ ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ

ภู มิ อ ากาศ เพื่ อ มุ ่ ง สู ่ ก ารพั ฒ นาสี เ ขี ย ว ของประเทศ (Green Growth) นั้น คือ การบูรณาการแผนงาน เพื่อบริหารจัดการ และลดก๊าซเรือนกระจกให้แก่ทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้องต่อไป โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมการ ผลิตและบริโภคอย่างยั่งยืน (Sustainable Production and Consumption) สร้างเสริม โอกาสทางการค้าระหว่างประเทศในอนาคต ต่อไป

อบก. ประสานภาครัฐ พัฒนาแนวทางการติดตามประเมินผล การลด ก๊าซเรือนกระจกจากมาตรการ ภายใต้ NAMAs เมื่อวันที่ 5 เมษายนที่ผ่านมา องค์การ บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การ มหาชน) หรือ อบก. โดย ดร.ณัฐริกา วายุภาพ นิ ติ พ น รองผู ้ อ� า นวยการองค์ ก ารบริ ห าร จั ด การก๊ า ซเรื อ นกระจก พร้ อ มด้ ว ย นายรองเพชร บุญช่วยดี ผู้จัดการกลุ่มงาน ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ก ๊ า ซ เ รื อ น ก ร ะ จ ก นายวราภรณ์ คุณาวนากิจ วิศวกรระดับ 11 สั ง กั ด ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ ว ่ า การชุ ม ชนสั ม พั น ธ์ แ ละ สิ่ ง แวดล้ อ มโครงการการไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่งประเทศไทย และนายกัณตชัย ศรีสุคนธ์ ผู ้ อ� า นวยการส� า นั ก วิ ศ วกรรม องค์ ก าร กระจายเสี ย งและเผยแพร่ ภ าพสาธารณะ แห่ ง ประเทศไทย ร่ ว มแถลงข่ า วประจ� า สัปดาห์ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม ณ ห้ อ ง 301 อาคาร กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม กรุงเทพฯ สืบเนื่องจากประเทศไทยได้ยื่นหนังสือ แสดงเจตจ�านงการลดก๊าซเรือนกระจกอย่าง มี เ ป้ า หมายต่ อ ส� า นั ก เลขาธิ ก ารอนุ สั ญ ญา สหประชาชาติวา่ ด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมิอากาศ หรือ UNFCCC (United Nations Framework Convention on Climate Change) อย่างเป็นทางการ จ�านวน 2 ฉบับ โดยแบ่งเป็น 1. เป้าหมายการด�าเนินงานลด ก๊าซเรือนกระจกก่อนปี ค.ศ. 2020 และ 2. เป้าหมายการด�าเนินงานลดก๊าซเรือนกระจก หลังปี ค.ศ. 2020 ซึง่ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1 เป้าหมายการด�าเนินงานลดก๊าซ เรือนกระจกก่อนปี ค.ศ. 2020 : NAMAs

66

ประเทศไทยได้ยนื่ หนังสือแสดงเจตจ�านง การด� า เนิ น งานลดก๊ า ซเรื อ นกระจก ที่เหมาะสมของประเทศหรือ NAMAs (Nationally Appropriate Mitigation Actions) ต่อส�านักเลขาธิการอนุสัญญา สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง ส ภ า พ ภู มิ อ า ก า ศ เ มื่ อ วั น ที่ 2 9 ธันวาคม พ.ศ. 2557 โดยมีเป้าหมาย เพื่อลดก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 7 ถึง 20 ในภาคพลังงานและภาคขนส่ง เมื่อ เทียบกับระดับการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากการด�าเนินงานตามปกติ หรือ BAU (Business as Usual) ภายในปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563) 2 เป้าหมายการด�าเนินงานลดก๊าซ เรือนกระจกหลังปี ค.ศ. 2020 : INDCs นอกจากนี้ ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ประเทศไทยได้ ยื่น ข้ อ เสนอการ มี ส ่ ว นร่ ว มของประเทศในการลดก๊ า ซ เรือนกระจกและการด�าเนินงานด้านการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภายหลัง ปี พ.ศ. 2563 หรือ INDCs (Intended Nationally Determined Contributions) ต่อส�านักเลขาธิการอนุสญ ั ญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ UNFCCC อย่างเป็นทางการ โดยมี เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 20 ถึง 25 ในทุกภาคส่วน (EconomyWide) เมื่อเทียบกับระดับการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกจากการด�าเนินงานตามปกติ หรือ BAU (Business as Usual) ภายในปี

ค.ศ. 2030 (พ.ศ. 2573) จากการด� า เนิ น งานดั ง กล่ า วข้ า งต้ น องค์ ก ารบริ ห ารจั ด การก๊ า ซเรื อ นกระจก (องค์ ก ารมหาชน) หรื อ อบก. ได้ รั บ มอบหมายจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม (ทส.) ให้ดา� เนินการติดตาม ประเมินผลการลดก๊าซเรือนกระจก (Tracking) ในระดั บ มาตรการและนโยบาย ในการนี้ อบก. จึ ง ได้ ด� า เนิ น งานร่ ว มกั บ กระทรวง พลังงาน กระทรวงคมนาคม และหน่วยงาน ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการลดก๊าซเรือนกระจก ในระดับมาตรการและนโยบาย ทั้งในส่วน ของการพัฒนากระบวนการติดตามประเมิน ผลการลดก๊ า ซเรื อ นกระจก รวมถึ ง การ พั ฒ นาโครงสร้ า งส� า หรั บ กระบวนการ ตรวจวั ด รายงาน และทวนสอบ หรื อ MRV (Measurement Reporting and Verification) เพือ่ ให้วธิ กี ารและกระบวนการ ติดตามประเมินผลการลดก๊าซเรือนกระจก ต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น มีความเหมาะสม กับบริบทของประเทศ และมีความน่าเชื่อใน ระดับสากล นอกจากนี้ อบก. ในฐานะหน่วยงาน ส่งเสริมและสนับสนุนการลดก๊าซเรือนกระจก ของประเทศ ได้บรู ณาการแนวทางและวิธกี าร ติดตามประเมินผลการลดก๊าซเรือนกระจก ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่มีศักยภาพ และมี ความประสงค์ในการติดตามประเมินผลการ ลดก๊าซเรือนกระจกในระดับมาตรการและ นโยบาย เพื่อเป็นส่วนหนึ่งที่สนับสนุนการ บรรลุเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกของ


ประเทศ ในปี ค.ศ. 2020 โดย อบก. ได้ ลงนามบันทึกความร่วมมือทางวิชาการร่วม กับ 2 หน่วยงาน ได้แก่ 1 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) มีวตั ถุประสงค์หลักในการบูรณาการ

วิธีการและกระบวนการติดตามประเมิน ผลการลดก๊าซเรือนกระจกจากมาตรการ ภายใต้แผนการด�าเนินงานของ กฟผ. 2 องค์การกระจายเสียงและแพร่ ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.)

มีวัตถุประสงค์หลักในการพัฒนาวิธีการและ กระบวนการติ ด ตามประเมิ น ผลการลดก๊ า ซ เรือนกระจกจากมาตรการเพิม่ ประสิทธิภาพของ ระบบส่ ง สั ญ ญาณโทรทั ศ น์ โดยเปลี่ ย นจาก ระบบ Analog ไปสู่ระบบ Digital

อบก. เปิดตัวโครงการเตรียมความพร้อมด้านกลไกตลาด เพื่อสนับสนุนการ ลดก๊าซเรือนกระจก (Thailand Partnership for Market Readiness : PMR) องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. โดยนางประเสริฐสุข จามรมาน ผู ้ อ� า นวยการ ดร.พงษ์ วิ ภ า หล่อสมบูรณ์ รองผู้อ�านวยการ และนางบงกช กิตติสมพันธ์ ผูอ้ า� นวยการส�านักวิเคราะห์และ ติดตามประเมินผล เปิดตัวโครงการ ‘เตรียม ความพร้อมด้านกลไกตลาด เพื่อสนับสนุน การลดก๊าซเรือนกระจก (Thailand Partnership for Market Readiness : PMR) โดยได้รับ เกียรติจากภาคีสนับสนุน ได้แก่ นายธรรมยศ ศรีชว่ ย อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรกั ษ์พลังงาน นายวิจยั อมราลิขติ ประธาน คณะกรรมาธิการด้านสิ่งแวดล้อม สมาคม สั น นิ บ าตเทศบาลแห่ ง ประเทศไทย และ นางสาววราภรณ์ หิรัญวัฒน์ศิริ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านสิง่ แวดล้อมอาวุโส ธนาคารโลก เข้าร่วมเปิดตัว และแถลงเปิดโครงการ ณ ห้องแมนดาริน A โรงแรมแมนดาริน สามย่าน กรุงเทพฯ เมื่อ วันที่ 5 เมษายน ที่ผ่านมา นายธรรมยศ ศรีช่วย อธิบดีกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) แถลงเปิ ด โครงการโดยมี ใ จความส� า คั ญ ว่ า “กระทรวงพลังงานก�าหนดยุทธศาสตร์โดย มีเป้าหมายให้มีการใช้พลังงานของประเทศ อย่างมีประสิทธิภาพ และได้ก�าหนดกลยุทธ์ ด้านการอนุรักษ์พลังงาน โดยมีกลยุทธ์ทั้ง ด้านระเบียบกฎหมาย การส่งเสริมสนับสนุน การสร้ า งความตระหนั ก การส่ ง เสริ ม การ พั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม และการ พัฒนาก�าลังคน เพื่อก�ากับดูแลและส่งเสริม ให้เกิดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเป้าหมายตามแผนอนุรักษ์พลังงาน ได้ ก� า หนดให้ ล ดความเข้ ม ข้ น การใช้ พ ลั ง งาน ลง 30% ในปี 2579 เมื่อเทียบกับปี 2553 ซึ่ง พพ. ในฐานะหน่ ว ยงานที่ มี ห น้ า ที่ ค วาม รับผิดชอบโดยตรง ได้ด�าเนินงานในโครงการ ส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานให้ แ ก่ โ รงงาน ควบคุมและอาคารควบคุมมาอย่างต่อเนื่อง “ดังนั้นการที่ พพ. และ อบก.ได้มีความ ร่วมมือด�าเนินกิจกรรมต่างๆ ภายใต้ ‘โครงการ พั ฒ นาการลดก๊ า ซเรื อ นกระจกในอาคาร ควบคุ ม และโรงงานควบคุ ม ’ โดยใช้กลไก

ตลาด Energy Performance Certificate Scheme (EPC)’ ภายใต้ PMR เพื่อ ส่ ง เสริ ม การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พลั ง งาน ขณะเดี ย วกั น ยั ง ช่ ว ยลดก๊ า ซ เรือนกระจกได้ จึงนับเป็นโอกาสอันดีท ี่ จะมีการต่อยอดข้อมูลด้านพลังงานสูข่ อ้ มูล การลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ” ด้ า นนางประเสริ ฐ สุ ข จามรมาน ผู้อ�านวยการ อบก. กล่าวตอนหนึ่งว่า “ประเทศไทยได้แสดงเจตจ�านงการ ด�าเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกทีเ่ หมาะสม ของประเทศ (NAMAs) ช่วยควบคุมไม่ให้ อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นไม่เกิน 2 องศา เซลเซียส โดยจะลดปริมาณการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกระหว่างร้อยละ 7-20 ภายใน ปี 2563 เมื่อเทียบกับปี 2548 และภายใต้ INDCs ประเทศไทยได้แสดงเจตจ�านง ในการลดก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 20-25 ภายในปี 2573 เพื่ อ ให้ ส ามารถบรรลุ เป้าหมายนี้ได้ จึงจ�าเป็นต้องมีการศึกษา และพัฒนากลไก รวมทัง้ เครือ่ งมือต่างๆ มา สนั บ สนุ น ให้ ด� า เนิ น มาตรการลดก๊ า ซ เรือนกระจกได้อย่างเหมาะสม “ธนาคารโลกได้ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความ ส� า คั ญ ของกลไกตลาด จึ ง ได้ จั ด ตั้ ง โปรแกรม PMR โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สนับสนุนการเตรียมความพร้อมด้านกลไก ตลาดในประเทศก� า ลั ง พั ฒ นา รวมทั้ ง การท�าโครงการน�าร่องและทดสอบเครื่อง มือใหม่ๆ ทางการตลาดภายใต้ PMR มีประเทศก�าลังพัฒนาเข้าร่วมโครงการ รวม 17 ประเทศ ขณะนี้มีประเทศที่ได้รับ การเห็นชอบข้อเสนอโครงการ และได้รับ การอนุมัติเงินสนับสนุนแล้ว 13 ประเทศ รวมถึงประเทศไทยด้วย โดยได้รับความ เห็ น ชอบจากที่ ป ระชุ ม Partnership Assembly (PA) ให้ ก ารสนั บ สนุ น เงิ น จ� า นวน 3 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ เพื่ อ มา ด�าเนินกิจกรรมต่างๆ ภายใต้โครงการ ซึ่งจากการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวัน ที่ 5 มกราคม 2559 มี ม ติ เ ห็ น ชอบ ร่ า งหนั ง สื อ ข้ อ ตกลงรั บ ความช่ ว ยเหลื อ

แบบให้เปล่าจากธนาคารโลก โดยมอบหมาย ให้ ก ระทรวงการคลั ง เป็ น ผู ้ ล งนามในนาม รั ฐ บาลแห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย และลงนาม หนังสือข้อตกลงโดยรองปลัดกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559” กลไกตลาดที่ อบก. เสนอเพื่อด�าเนินการ ภายใต้ PMR ประกอบด้วย 2 กลไก ได้แก่ 1) Energy Performance CertificateScheme (EPC) หรือกลไกเพื่อส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการ ใช้พลังงาน การลดก๊าซเรือนกระจกในอาคาร ควบคุม และโรงงานควบคุม และ 2) Low Carbon City Program (LCC) ส�าหรับส่งเสริมการด�าเนิน การลดก๊าซเรือนกระจก มุ่งสู่เมืองคาร์บอนต�่า ของเทศบาลและชุมชน ซึ่งมีความสอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที ่ 11 และยุทธศาสตร์ประเทศ อีกทั้งเป็นส่วนหนึ่ง ในการสนับสนุนเป้าหมายของกระทรวงพลังงาน ได้แก่ แผนอนุรักษ์พลังงาน และแผนพัฒนา พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก การด�าเนินงานแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะแรกเป็นช่วงเตรียมการ คือนับจากปัจจุบันพ.ศ. 2561 เตรียมความพร้อมด้านกลไกตลาดใน ส่วนของ EPC Scheme และ LCC Program ด้วยรูปแบบแบบสมัครใจ และระยะที่สอง เป็น ช่วงการด�าเนินโครงการน�าร่อง เริ่มภายหลังที่ได้ ข้อสรุปส�าหรับรูปแบบ และแนวทางทีเ่ หมาะสมใน การด�าเนินการ ผลจากการศึกษาและการด�าเนินกิจกรรม ต่ า งๆ ภายใต้ โ ครงการตลอดช่ ว งระยะเวลา 3 ปีนับจากนี้ คาดว่าจะช่วยประเทศไทยในการ เตรียมความพร้อมเพือ่ น�ากลไกตลาดมาใช้ในการ สนับสนุนการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ และขอขอบคุณกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน ที่มีส่วนสนับสนุนในการจัดท�า ข้อเสนอโครงการ ผู้แทนจากองค์กรต่างๆ ที่ เล็งเห็นความส�าคัญในการเตรียมความพร้อม ด้านการลดก๊าซเรือนกระจก และหวังเป็นอย่าง ยิ่งว่าการด�าเนินโครงการจะได้รับความร่วมมือ และการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน

7

7


เรื่องน่ารู้จาก อบก. เรือ่ ง : กองบรรณาธิการ

The Greenhouse Effect ปรากฏการณ์เรือนกระจก

ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas) เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน หรือรังสีอนิ ฟราเรดได้ดี ก๊าซเหล่านีม้ คี วามจ�าเป็นต่อการรักษาอุณหภูมใิ นบรรยากาศของโลกให้คงที่ ซึ่งหากบรรยากาศโลกไม่มีก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ ดังเช่นดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ในระบบ สุริยะแล้ว จะท�าให้อุณหภูมิในตอนกลางวันนั้นร้อนจัด และในตอนกลางคืนนั้นหนาวจัด เนื่องจาก ก๊าซเหล่านี้ดูดคลื่นรังสีความร้อนไว้ในเวลากลางวัน แล้วค่อยๆ แผ่รังสีความร้อนออกมาในเวลา กลางคืน ท�าให้อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน มี ก ๊ า ซจ� า นวนมากที่ มี คุ ณ สมบั ติ ใ นการดู ด ซั บ คลื่ น รั ง สี ค วามร้ อ น และถู ก จั ด อยู ่ ใ นกลุ ่ ม ก๊ า ซ เรือนกระจก ซึง่ มีทงั้ ก๊าซทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติและเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ก๊าซเรือนกระจก

8


ทีส่ �าคัญ คือ ไอน�้า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โอโซน มีเทนไนตรัสออกไซด์ และสารซีเอฟซี เป็นต้น แต่ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกควบคุมโดยพิธีสารเกียวโต มีเพียง 6 ชนิด โดยจะต้อง เป็นก๊าซที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ (anthropogenic greenhouse gas emission) เท่านั้น ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N20) ก๊าซไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFC) ก๊าซเพอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PFC) และก๊าซ ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ (SF6) ทั้งนี้ ยังมีก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ที่ส�าคัญอีกชนิดหนึ่ง คือ สารซีเอฟซี (CFC หรือ Chlorofluorocarbon) ซึ่งใช้เป็นสาร ท�าความเย็นและใช้ในการผลิตโฟม แต่ไม่ถกู ก�าหนดในพิธสี ารเกียวโต เนือ่ งจากเป็นสาร ที่ถูกจ�ากัดการใช้ในพิธีสารมอนทรีออลแล้ว

ที่มา : www.tgo.or.yh/2015/thai/content.php?s1=78s2=16&sub3=sub3

9


กิจกรรมที่ท�ำให้เกิดก๊ำซเรือนกระจก กิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ก�าลังเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกเหล่านี้ การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น�้ามัน และก๊าซ ธรรมชาติ รวมทั้งการตัดไม้ท�าลายป่าส่งผลต่อการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ การท�าการเกษตรและการปศุสัตว์ ปล่อยก๊าซมีเทนและไนตรัสออกไซด์ ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ นอกจากนี้ กระบวนการแปรรูป อุตสาหกรรมปล่อยสารฮาโลคาร์บอน (CFCs, HFCs, PFCs) การเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกนั้น ส่งผลให้ชั้นบรรยากาศมีความสามารถในการกักเก็บรังสีความร้อนได้มากขึ้น ผลที่ ตามมาคือ อุณหภูมเิ ฉลีย่ ของชัน้ บรรยากาศทีเ่ พิม่ ขึน้ ด้วย แต่การเพิม่ ขึน้ ของอุณหภูมโิ ลกนัน้ ไม่ได้เพิม่ ขึน้ เป็นเส้นตรงกับปริมาณ ก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มขึ้น อีกทั้งก๊าซเรือนกระจกแต่ละชนิดยังมีศักยภาพในการท�าให้เกิดภาวะเรือนกระจก (Global Warming Potential : GWP) ที่แตกต่างกัน ค่าศักยภาพในการท�าให้เกิดภาวะโลกร้อนนี้ ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการแผ่รังสีความร้อนของ โมเลกุล และขึ้นอยู่กับอายุของก๊าซนั้นๆ ในบรรยากาศ และจะคิดเทียบกับการแผ่รังสีความร้อนของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ใน ช่วงระยะเวลาหนึ่ง เช่น 20 ปี 50 ปี หรือ 100 ปี โดยค่า GWP ของก๊าซเรือนกระจกต่างๆ ในช่วงเวลา 100 ปี ของก๊าซเรือนกระจกต่างๆ เป็นดังนี้

ก๊าซเรือนกระจก

อายุในชั้นบรรยากาศ (ปี)

ศักยภาพในการท�าให้เกิดภาวะโลกร้อน (เท่าของคาร์บอนไดออกไซด์)

คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน (CH4) ไนตรัสออกไซด์ (N2O) ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFCs) เพอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PFCs) ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ (SF6) ไนโตรเจนไตรฟลูออไรด์ (NF3)

5-200 12 114 1.4-270 1,000-50,000 3,200 740

1 25 298 124-14,800 7,390-12,200 22,800 17,200

ที่มา : IPCC Forth Assessment Report-Climate Change 2007 (https://www.ipcc.ch/publications_and_data/ar4/wg1/en/ch2s2-10-2.html และ https://www.ipcc.ch/ipccreports/tar/wg1/016.htm)

ลดโลกร้อนด้วยปำยข้อมูลรถยนต (Eco-sticker) การใช้พลังงานโดยเฉพาะสาขาการขนส่งถือเป็นภาคที่ มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาก ปจจุบันเกือบทุกครัวเรือน มีรถส่วนบุคคลใช้ ซึ่งสัดส่วนการใช้รถยนต์ส่วนบุคคลและ รถสาธารณะอยู่ที่ร้อยละ 67 ต่อร้อยละ 33 ทั้งนี้เพื่อตอบ

10

สนองต่อความสะดวกสบายในการด�ารงชีวิตประจ�าวัน การ ศึกษาข้อมูลรถยนต์แต่ละประเภท จึงเป็นเรื่องที่ผู้บริโภค ให้ความส�าคัญ เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในการเลือกซื้อ อีกทั้งการปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ใหม่ที่จะเริ่ม ใช้ในปี 2559 ซึ่งค�านวณจากค่าคาร์บอนไดออกไซด์ก็เป็น ประเด็นส�าคัญต่อการตัดสินใจของผู้บริโภค กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงการคลัง ได้ร่วม ลงนามบันทึกความร่วมมือเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้รถยนต์ อย่างยัง่ ยืน (Sustainable Mobility) จึงเปดตัวระบบปายข้อมูล รถยนต์ (Eco-sticker) ซึ่ง Eco-sticker จะแสดงข้อมูลของรถ รุ่นต่างๆ อาทิ อัตราการใช้เชื้อเพลิง และการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์, มาตรฐานความปลอดภัยของระบบเบรก และความปลอดภัยผู้โดยสารในกรณีที่เกิดการชนด้านหน้าและ ด้านข้าง เป็นต้น มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ตุลาคม 2558 โดยผู้ผลิต


และผู ้ น� า เข้ า ต้ อ งติ ด Eco-sticker แต่ บั ง คั บ ใช้ เ ฉพาะ รถยนต์ใหม่ที่จ�าหน่ายในประเทศไทยเท่านั้น ยกเว้นรถยนต์ มือสอง และรถยนต์ที่ผลิตเพื่อส่งออกซึ่ง Eco-sticker นี้ ในหลายๆ ประเทศมีการใช้มานานแล้ว ข้อมูลที่จะปรากฏบน Eco-sticker ประกอบไปด้วย 4 ส่วนส�าคัญ ได้แก่ - ข้อมูลผู้ผลิต/ผู้น�าเข้า ได้แก่ ชื่อ ที่อยู่ และเว็บไซต์ - ข้อมูลรถยนต์ ได้แก่ ชื่อรุ่น แบบโครงรถ เครื่องยนต์ เกียร์ ขนาดยางล้อ จ�านวนที่นั่ง น�้าหนักรถ เชื้อเพลิงที่ สามารถใช้ได้ และโรงงานที่ผลิตรถยนต์ - รายการอุปกรณ์ที่ติดตั้งจากโรงงาน ซึ่งประกอบด้วย อุปกรณ์ทมี่ สี าระส�าคัญในด้านการประหยัดพลังงาน อุปกรณ์ที่ มีสาระส�าคัญด้านความปลอดภัย และรายการอุปกรณ์อื่น - การทดสอบตามมาตรฐานอ้างอิง ได้แก่ อัตราการใช้ ที่มา (1) (2) (3) (4) (5) (6)

:

น�้ามัน (หน่วยลิตรต่อ 100 กิโลเมตร) ใน 3 รูปแบบการใช้งาน คือ สภาวะรวม สภาวะในเมือง และสภาวะนอกเมือง และแถบ แสดงอัตราการใช้นา�้ มันอ้างอิงในสภาวะรวม (Combined) ซึง่ ทดสอบโดยใช้น�้ามันเบนซินหรือดีเซล หรือน�้ามัน E85 (ถ้ามี) นอกจากนี้ Eco-sticker จะมี QR Code ให้ผู้ซื้อ รถยนต์หรือประชาชนทั่วไปสามารถดาวน์โหลด Eco-sticker เพื่อรับข้อมูลรายละเอียดของรถยนต์คันนั้น รวมทั้งข้อมูลเพิ่ม เติมเกีย่ วกับ Eco-sticker ได้ ข้อมูลเหล่านีเ้ ราในฐานะผูบ้ ริโภค ควรใส่ใจและให้ความส�าคัญ เนื่องจากจะเป็นตัวช่วยในการ ตัดสินใจเลือกรถที่เหมาะสมกับการใช้งานจริงแล้ว ยังได้ใช้รถ ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลงอีกด้วย

ฐานข้อมูลออนไลน์ : http://www.prachachat.net (วันที่ค้นข้อมูล 1 พฤษภาคม 2558) ฐานข้อมูลออนไลน์ : http://www.manager.co.th (วันที่ค้นข้อมูล 27 เมษายน 2558) ฐานข้อมูลออนไลน์ : http://news.voicetv.co.th (วันที่ค้นข้อมูล 30 เมษายน 2558) ฐานข้อมูลออนไลน์ : http://www.autodeft.com (วันที่ค้นข้อมูล 1 พฤษภาคม 2558) ที่มา : IPCC Forth Assessment Report-Climate Change 2007 (https://www.ipcc. ch/publications_and_data/ar4/wg1/en/ch2s2-10-2.html และ https://www.ipcc. ch/ipccreports/tar/wg1/016.htm) ที่มา : www.tgo.or.yh/2015/thai/content.php?s1=78s2=16&sub3=sub3

11


นวัตกรรมสร้างสรรค์

เรื่อง : ดร.กิตติมา ไกรพีรพรรณ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค)

“สาหร่ายใบมะกรูด”

เปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ให้กลายเป็นทรายขาวสะอาด เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย เราจึง ต้องดูแลรักษาสุขภาพของตัวเองให้แข็งแรง อยู่เสมอ แต่ส�าหรับโลกใบนี้ เมื่อภูมิอากาศ เปลี่ ย นแปลง ใครกั น ที่ จ ะช่ ว ยดู แ ลรั ก ษา สุขภาพให้กับโลกใบนี้ของเราได้ เ มื่ อ โ ล ก ข อ ง เ ร า มี อุ ณ ห ภู มิ สู ง ขึ้ น เพราะ “ปรากฏการณ์เรือนกระจก” หรือ “Greenhouse Effect” ซึ่งมีสาเหตุมาจาก พลังงานแสงอาทิตย์ในช่วงความยาวคลื่น อิ น ฟราเรดที่ ส ่ อ งมายั ง โลก แทนที่ จ ะ สะท้ อ นกลั บ ออกไป กลั บ ถู ก เก็ บ สะสม ไว้ ใ นชั้ น บรรยากาศโดยโมเลกุ ล ของก๊ า ซ เรือนกระจกหลายชนิด เช่น ไอน�้า ก๊าซ คาร์ บ อนไดออกไซด์ ก๊ า ซมี เ ทน ก๊ า ซ ไนตรั ส ออกไซด์ ก๊ า ซคลอโรฟลู อ อโร คาร์บอน (CFCs) โดยเฉพาะอย่างยิ่งก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งมีปริมาณถึง 53% เมื่อเทียบกับก๊าซเรือนกระจกชนิดอื่นๆ

12

ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ เ ก็ บ สะสม พลั ง งานความร้ อ นไว้ ใ นบรรยากาศโลก และท�าให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น ซึ่งก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ส่วนใหญ่เกิดจากการ กระท�าของคนเรานี่เอง ไม่ว่าจะเป็นโรงงาน อุตสาหกรรม อาคาร ส�านักงาน ที่พักอาศัย การเผาไหม้เชื้อเพลิง เผาขยะ เผาป่า ล้วน ท�าให้เกิดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ขึ้นสู่บรรยากาศ การลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้น บรรยากาศ โดยการสะสมคาร์บอนในพื้นที่ เกษตรกรรมเป็นเรื่องที่น่าสนใจ เพราะคุ้มค่า ในการลงทุ น และมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะช่ ว ยแก้ ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศใน ระยะยาวได้อีกด้วย พื้นที่เกษตรกรรมเป็น แหล่งสะสมคาร์บอนที่ดี เพราะสามารถเก็บ สะสมคาร์บอนได้ทั้งในพืชและในดิน โดย การท�าเกษตรกรรมในรูปแบบต่างๆ เช่น

การปลู ก หญ้ า เลี้ ย งสั ต ว์ การปรั บ ปรุ ง ดิ น โดยใช้วัสดุอินทรีย์หรือวัสดุที่มีคาร์บอนสูง การท�าวนเกษตร ควบคู่ไปกับการลดการ ท�าลายคาร์บอนในดิน โดยเฉพาะการเผา เศษวัสดุทางการเกษตรซึง่ เป็นการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ นอกจากการท� า เกษตรกรรมบนบก เพื่อเป็นแหล่งสะสมคาร์บอนในพืชและใน ดิ น แล้ ว เราสามารถปลู ก พื ช ในทะเลเพื่ อ เป็นแหล่งดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ ละลายอยู่ในน�้าทะเล และสะสมคาร์บอนไว้ ในพืชทะเลเพือ่ ช่วยลดภาวะโลกร้อนได้เช่นกัน จากงานวิจัยของ รศ.อัญชนา ประเทพ และ คณะนักวิจัย จากหน่วยวิจัยสาหร่ายและ หญ้าทะเล คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ พบสาหร่ายทะเลชนิดหนึ่ง ที่ น ่ า สนใจในการใช้ เ ป็ น แหล่ ง ดู ด ซั บ ก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์เพือ่ ช่วยลดภาวะโลกร้อน


สาหร่ายใบมะกรูดเป็นสาหร่ายสีเขียว ชนาดใหญ่ จัดอยูใ่ นกลุม่ พืช ต้นของสาหร่าย ใบมะกรูดเรียกว่า ทัลลัส ประกอบด้วยส่วน ที่คล้ายใบมีรูปร่างแบนคล้ายใบมะกรูดเรียง ต่อกันเป็นพุ่ม ล�าต้น และราก แต่ส่วน ประกอบเหล่านี้ไม่ใช่ราก ล�าต้น และใบ ที่แท้จริง เพราะสาหร่ายใบมะกรูดไม่มีท่อ ล�าเลียงเหมือนพืชชั้นสูง สาหร่ายใบมะกรูด ดูดซับอาหาร แร่ธาตุ และน�้า จากน�้าทะเล เข้าสูเ่ ซลล์ผา่ นทางผนังเซลล์จากทุกส่วนของ ทัลลัสโดยตรง สาหร่ายใบมะกรูดมีอตั ราการ เจริญเติบโตที่รวดเร็วมาก โดยการสร้างส่วน ที่คล้ายใบขึ้นมาใหม่ประมาณ 2-3 ใบต่อ ทัลลัสต่อวัน เราจะเห็นบริเวณปลายทัลลัส มีใบใหม่เพิ่มขึ้นมาเรื่อยๆ ทุกวัน ในระยะที่ ใบใหม่งอกนีส้ าหร่ายใบมะกรูดจะดูดซับก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์เพื่อใช้ในการสังเคราะห์ แสงเพียงอย่างเดียว แต่หลังจากส่วนทีค่ ล้าย ภาพจาก www.mcot.net ใบเหล่านี้เจริญเติบโตเต็มที่ ซึ่งใช้เวลาหลัง จากงอกออกมาประมาณ 36 ชัว่ โมง สาหร่าย ใบมะกรู ด จะเริ่ ม สร้ า งแคลเซี ย มคาร์ บ อน เนตมาสะสมไว้ ที่ ใ บ พร้ อ มๆ ไปกั บ การ สังเคราะห์แสง จึงท�าให้สาหร่ายใบมะกรูด สามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ มากขึ้ น เป็ น เท่ า ตั ว และเป็ น แหล่ ง สะสม คาร์บอน (Carbon sink) ที่มีศักยภาพ

คือ สาหร่ายใบมะกรูด (Genus Halimeda) ความมหัศจรรย์ของสาหร่ายใบมะกรูดคือ สามารถดู ด ซั บ คาร์ บ อนไดออกไซด์ ใ นน�้ า ทะเลได้สู ง ถึ ง 19.08 กรั ม คาร์ บ อน/วั น / ตร.ม. ซึง่ สูงกว่าต้นไม้หลายเท่า และสามารถ เปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นแคลเซียม คาร์บอเนต หรือหินปูนสะสมไว้ได้มากถึง 80% ของน�้าหนักตัว

ภาพจาก http://www1a.biotec.or.th

สาหร่ายใบมะกรูดสามารถแพร่พันธุ์ได้ อย่างรวดเร็วและอยู่รวมกันอย่างหนาแน่น เพราะสาหร่ายใบมะกรูดสามารถสืบพันธุ์ได้ ทัง้ แบบอาศัยเพศ และแบบไม่อาศัยเพศ โดย การแบ่งตัวงอกต้นใหม่จากเส้นใยของราก โดยสามารถงอกต้นใหม่ได้ทุกๆ 10-15 วัน และยังงอกต้นใหม่ได้จากต้นเดิมที่แตกหัก ดังนั้น สาหร่ายใบมะกรูดในธรรมชาติจึงอยู่ กั น อย่ า งหนาแน่ น มากถึ ง 200 ทั ล ลั ส ต่ อ ตารางเมตร ดั ง นั้ น ด้ ว ยอั ต ราการ เจริญเติบโตและอัตราการสร้างแคลเซียม คาร์บอเนตที่รวดเร็ว ความหนาแน่นสูง และ ปริมาณการสะสมแคลเซียมจ�านวนมาก จึง ท�าให้สาหร่ายใบมะกรูดมีศักยภาพสูงมาก ในการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ทลี่ ะลายอยู่ ในน�า้ ทะเล และเป็นสิง่ มีชวี ติ อีกชนิดหนึง่ ทีม่ ี ศักยภาพสูงในการลดภาวะโลกร้อน สาหร่ายใบมะกรูดมีการแพร่กระจายได้ กว้างและพบได้ทั่วไปทั้งฝั่งอ่าวไทยและฝั่ง อันดามัน โดยขึ้นอยู่ตามแนวชายฝั่ง ทั้งใน บริเวณน�้าขึ้นน�้าลงที่มีพื้นเป็นหาดทรายหรือ ซากปะการัง ไปจนถึงระดับน�้าลึก 100-150 เมตร ที่มีระดับความเข้มแสงน้อยมาก ซึ่ง จากการศึกษา พบว่า สาหร่ายใบมะกรูด สามารถดู ด ซั บ ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ที่ ล ะลายอยู ่ ใ นน�้ า ได้ ถึ ง 2,400 ตั น ต่ อ ปี โดยใช้ในการสังเคราะห์แสง 600 ตันต่อ ปี และที่ เ หลื อ อี ก 1,800 ตั น ต่ อ ปี ใ ช้ ใ น การสร้ า งแคลเซี ย มคาร์ บ อเนตเก็ บ สะสม ไว้ เมื่อสาหร่ายใบมะกรูดตายลง แคลเซียม คาร์บอเนตหรือหินปูนทีเ่ ก็บสะสมไว้ในทัลลัส จะสลายกลายเป็นเม็ดทรายละเอียดกลับสู่ พื้นทรายใต้ท้องทะเล สาหร่ายใบมะกรูดจึง มีบทบาทในการช่วยหมุนเวียนธาตุคาร์บอน จากบรรยากาศให้กลายเป็นเม็ดทรายกลับ คื น สู ่ ท ้ อ งทะเล ซึ่ ง จากการค้ น พบความ มหัศจรรย์ของสาหร่ายใบมะกรูดในการสร้าง แคลเซียมคาร์บอเนตจากคาร์บอนไดออกไซด์ นีเ่ อง จึงน�าไปสูก่ ารวิจยั เชิงลึกเพือ่ ต่อยอดใน การผลิตผลิตภัณฑ์แคลเซียมคาร์บอเนตจาก สาหร่ายใบมะกรูด ซึ่งเป็นนวัตกรรมสีเขียว เพื่อช่วยลดโลกร้อนต่อไปในอนาคต ภาพจาก http://www.biogang.net

แหล่งข้อมูล Seasonal Variation in Density, Growth rate and Calcium carbonate Accumulation of Halimeda macroloba Decaisne at Tangkhen Bay, Phuket Province, Thailand. Sutinee Sinutok, Supattra Pongparadon and Anchana Prathep. Seaweed and Seagrass Research Unit, Excellence Center for Biodiversity of Peninsular Thailand, Department of Biology, Faculty of Science, Prince of Songkla University, Thailand. Malaysian Journal of Science 27 (2) : 1 – 8 (2008) http://e-journal.um.edu.my/public/article-view.php?id=4895 สาหร่ายสีเขียว Halimeda macroloba Decaisne ในประเทศไทย โดยจารุวรรณ มะยะกูล คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, วารสารวิทยาศาสตร์ มข. ปีที่ 42 ฉบับที่ 2 เลขหน้า 262-273 ปี พ.ศ. 2557 http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/article_detail.php?ArticleID=142094 สาหร่ายใบมะกรูด ส�านักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) http://www.biogang.net/plant_view.php?uid=47655&id=187829 สาหร่ายลดโลกร้อน โดยสุภัทรา พงศ์ภราดร และ ผศ.ดร.อัญชนา ประเทพ หน่วยวิจัยสาหร่ายและหญ้าทะเล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ http://rescom.trf.or.th/display/ keydefault.aspx?id_colum=2513 ผลงานวิจัยบ่งชี้ว่า สาหร่ายใบมะกรูดดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้ดีกว่าต้นไม้ 5 เท่า http://www1a.biotec.or.th/BRT/index.php/global-warming/332-halimeda-2

13


มองหลากมุม เรี่อง : อนุสรณ์ ศรีค�าขวัญ ภาพ : สุภชัย รอดประจง

ตลาดคาร์บอน (Carbon Market) แนวทางยั่งยืนของธุรกิจและสิ่งแวดล้อม ไม่เพียงกลุ่มประเทศอุตสาหกรรม ที่มีบทบาทใน ‘ตลาดคาร์บอน’ และ การซื้อขาย ‘คาร์บอนเครดิต’ เพื่อ ลดก๊าซเรือนกระจกทีเ่ ป็นสาเหตุของ ภาวะโลกร้อน ประเทศไทยเองก็มี บทบาทในเรื่องของตลาดคาร์บอน (Carbon Market) และธุรกิจเกี่ยว กับคาร์บอน (Carbon Business) ไม่นอ้ ย เพราะเป็นทัง้ ผูข้ ายคาร์บอน เครดิต และยังเป็นประเทศแรกของ อาเซี ย นที่ ส ามารถให้ ก ารรั บ รอง เรื่องคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของสินค้าได้ ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ ป น เ ช น ไ ร นั้ น คุณประเสริฐสุข จามรมาน ผูอ้ า� นวยการ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก หรือ อบก. จะมาร่วมพูดคุยกับเรา ในเรื่องนี้

14


เปิดประตูสู่ตลาดคาร์บอน

“องค์ ก ารบริ ห ารจั ด การก๊ า ซ เรือนกระจก (องค์การมหาชน) มีชื่อ ย่อว่า อบก. ส่วนชื่อภาษาอังกฤษ เรียกว่า THAILAND GREENHOUSE GAS MANAGEMENT ORGANIZATION (PUBLIC ORGANIZATION) ตัง้ ขึน้ มา เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 เพือ่ รับรองโครงการทีท่ า� แล้วสามารถ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและ เกิดเป็นคาร์บอนเครดิตได้ เพราะตาม กติกาของอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่ า ด้ ว ยการเปลี่ ย นแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ ก�าหนดว่า ต้องมีหน่วยงาน ของประเทศท� า หน้ า ที่ รั บ รองว่ า คาร์ บ อนเครดิ ต ที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น ไป ต า ม ห ลั ก เ ก ณ ฑ ์ ก า ร พั ฒ น า ที่ยั่งยืน ในช่วงแรกของการจัดตั้ง องค์ ก ารฯ เราจึ ง เน้ น การให้ ก าร รับรองก่อน แต่ในขณะเดียวกันงาน ที่ท�าควบคู่กันไปก็คือเรื่องของการ ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนรู้จักคาร์บอน เครดิ ต รู ้ จั ก ท� า โครงการลดการ ปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก แล้ ว เกิ ด เป็นคาร์บอนเครดิต และรู้จักเรื่อง ของตลาดคาร์บอน ซึ่งหมายถึงว่า

โครงการที่ เ ราท� า แล้ ว เกิ ด คาร์ บ อน เครดิตได้นสี้ ามารถขายให้กบั ประเทศ พัฒนาแล้วที่ถูกก�าหนดโดยพิธีสาร เกียวโตว่า ต้องลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกลงเท่านั้นเท่านี้ แต่ถ้า ลดด้ ว ยตั ว เขาเองแล้ ว ยั ง ไมบรรลุ เป้าหมาย ก็สามารถซื้อเครดิตจาก ประเทศก�าลังพัฒนาอย่างประเทศไทย ได้ จึ ง เท่ า กั บ ว่ า ประเทศไทยก็ มี ส่วนร่วมในการลดคาร์บอนด้วย “นอกจากนี้ ป ระเทศไทยยั ง เป็ น ประเทศแรกในกลุ ่ ม อาเซี ย น ที่สามารถให้การรับรองตราคาร์บอน ฟุ ต พริ้ น ท์ ข องสิ น ค้ า และบริ ก าร ได้ เนื่ อ งจากเรามี ร ะบบข้ อ มู ล ที่ ดี คาร์บอนฟุตพริ้นท์ เป็นฉลากแสดง ปริ ม าณก๊ า ซเรื อ นกระจกทั้ ง หมด ที่ ป ล่ อ ยออกจากวงจรชี วิ ต ของ ผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ลูกค้าเปรียบเทียบ ว่าในสินค้าประเภทเดียวกันนีบ้ ริษทั ใด ปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้น้อยกว่ากัน ส่วนนี้ส�าคัญอย่างยิ่งในการส่งออก เพราะประเทศน�า เข้ามักจะถามว่า ‘บอกคาร์ บ อนฟุ ต พริ้ น ท์ ข องสิ น ค้ า คุณได้หรือไม่’ หากบอกไม่ได้จะท�าให้ ศักยภาพในการค้าลดลง จึงท�าให้

องค์กรต่างๆ ให้ความสนใจขอรับการ รับรองมาก” แต่เดิมที่ประเทศไทยมีบทบาท รับรองตราคาร์บอนฟุตพริ้นท์ ควบคู่ ไปกั บ การขาย ‘คาร์ บ อนเครดิ ต ’ ให้ ก ลุ ่ ม ประเทศอุ ต สาหกรรมนั้ น คุณประเสริฐสุข บอกว่า เนื่องจากใน ปี 2555 สหภาพยุโรปได้ประกาศว่า จะซื้อคาร์บอนจากกลุ่มประเทศด้อย พัฒนาเท่านั้น เพราะหวังดีอยากช่วย ประเทศเหล่านี้ ต่อมาเมือ่ หมดสัญญา พิธีสารเกียวโตครั้งที่ 1 เข้าสู่ครั้งที่ 2 ประเทศญี่ปุ่น กับนิวซีแลนด์ แม้จะ อยู่ในพันธสัญญาต่อ แต่ไม่ขอยืนยัน ปริมาณการลดคาร์บอนไดออกไซด์ จึงไม่สามารถซื้อคาร์บอนเครดิตได้ ส่งผลให้ลูกค้าของประเทศไทยแทบ ไม่เหลือ “แม้ ลู ก ค้ า น้ อ ยลง ซ�้ า ราคา คาร์ บ อนตก แต่ ก ารลดปริ ม าณ คาร์ บ อนเป็ น สิ่ ง ที่ ดี ต ่ อ โลก เราจึ ง หั น มาส่ ง เสริ ม ให้ มี ต ลาดคาร์ บ อน ภายในประเทศไทย โดยภาคสมัครใจ” คุ ณ ประเสริ ฐ สุ ข กล่ า ว “ปั จ จุ บั น หลายประเทศได้มีการจัดตั้งตลาด คาร์บอนภายในประเทศของตนเอง

15


เช่น นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย อังกฤษ สหภาพยุโรป เกาหลี จีนบางเมือง เป็นต้น โดยก�าหนดโควตาในการ ปล่ อ ยคาร์ บ อนให้ อ งค์ ก รต่ า งๆ หากปล่อยเกินต้องไปซื้อเครดิตจาก องค์ ก รอื่ น ที่ ป ล่ อ ยต�่ า กว่ า โควตา ส�าหรับประเทศไทย ยังอยู่ในขั้นตอน เตรียมตัว ซึ่งก็มีแนวโน้มที่ดีขึ้น โดย ตอนนี้ เ ราตั้ ง คณะท� า งานเกี่ ย วกั บ ตลาดคาร์บอนขึ้น เพื่อช่วยกันดูว่า ต้องเตรียมพร้อมเรื่องอะไรบ้าง และ ต้องมีการสร้างแรงจูงใจ เช่น บริษัท A ต้ อ งการท� า CSR ซึ่ ง นอกจาก จะไปปลู ก ต้ น ไม้ หรื อ ท� า กิ จ กรรม เพื่อสังคมอื่นๆ ก็เพิ่มทางเลือกให้ เขามาซื้อคาร์บอนเครดิต ซึ่งเมื่อซื้อ แล้วก็สามารถน�าเงินนั้นมาลดหย่อน ภาษีได้ ซึ่งวิธีนี้ที่ประเทศญี่ปุ่นก็ใช้ อยู่ เป็นต้น” จากแนวคิดการสร้างแรงจูงใจให้ องค์กรต่างๆ เข้าร่วมตลาดคาร์บอน คุณประเสริฐสุข ย�้าว่า ยังอยู่ในขั้นตอน ด� า เนิ น งาน ซึ่ ง ยั ง ต้ อ งมี ม าตรการ

16

เห็นชอบในอีกหลายภาคส่วน แต่ ณ ปัจจุบันมีแนวทางที่ดีขึ้นเรื่อยๆ แม้ ป ระเทศไทยจะด� า เนิ น การ ขายคาร์ บ อนเครดิ ต มานาน แต ส� า หรั บ การค้ า ระหว่ า งองค์ ก รด้ ว ย กันเองภายในประเทศ ยังถือเป็นเรือ่ ง ใหม่ ด้วยเหตุนี้ คุณประเสริฐสุข ได้ อธิบายถึงรูปแบบการซือ้ ขาย และการ ก�าหนดโควตาคาร์บอนว่า “ทั่ ว โลกมี อุ ต สาหกรรมหลั ก ที่ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG) สูง อยู ่ 5 ประเภท คื อ 1. ซี เ มนต์ 2. เหล็ก 3. ไฟฟ้า 4. กระดาษและ เยื่อ 5. ปิโตรเคมี ขอยกตัวอย่าง เกาหลี ใ ต้ ประเทศบ้ า นใกล้ เ รื อ น เคี ย งเรา ที่ นั่ น ก� า หนดออกมาเลย ว่า โรงงานหนึ่งสามารถปล่อยก๊าซ เรือนกระจกได้ไม่เกิน 25,000 ตัน ต่อปี หากโรงงานใดปล่อยเกิน ต้อง เข้าสู่ระบบตลาดคาร์บอน โดยต้อง มีมาตรการลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจกภายในโรงงาน หากลดไม่ได้ ก็ ต ้ อ งไปซื้ อ คาร์ บ อนเครดิ ต จาก

โรงงานที่ลดได้” เพื่ อ ให้ เ ห็ น ภาพชั ด เจน คุ ณ ประเสริ ฐ สุ ข ยกตั ว อย่ า งว่ า หาก รัฐบาลก�าหนดเพดานการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกไว้ที่ 10 ตันต่อปี แต่ โรงงาน A สามารถใช้ ม าตรการ ลดก๊าซเรือนกระจกได้ โดยในปีนั้น ปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกไปเพี ย ง 8 ตัน เท่ากับว่า โรงงาน A สามารถ ขายคาร์บอนเครดิตจ�านวน 2 ตัน ให้กับโรงงานอื่นๆ ที่ไม่สามารถลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ต�่ากว่า 10 ตันต่อปีได้ ในขณะเดียวกัน หาก โรงงาน B มีแนวโน้มว่าจะปล่อยก๊าซ เรือนกระจกถึง 14 ตัน ก็สามารถ ซื้อคาร์บอนเครดิตจากโรงงานอื่นๆ มาชดเชย 4 ตันที่เกินได้ โดยต้อง อยู่ภายใต้กฎกติกาที่รัฐบาลก�าหนด เพื่อไม่ให้เกิดการซ�้าซ้อนในการขาย คาร์บอนเครดิต และมาตรการการ ลดก๊าซเรือนกระจก


แนวโน้มตลาดคาร์บอน ในประเทศ

ด้วยอุตสาหกรรมขยายตัว อย่าง รวดเร็ว ฉะนั้นการจะโยนความรับ ผิ ด ชอบในการลดก๊ า ซเรื อ นกระจก ให้ ป ระเทศอุ ต สาหกรรม ที่ มี อ ยู ่ 41 ประเทศเพี ย งอย่ า งเดี ย วนั้ น คง ไม่ได้ เพราะแม้ประเทศก�าลังพัฒนา จะปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกน้ อ ย (ประเทศไทยปล่อยก๊าซเรือนกระจก ประมาณ 0.9%) แต่กลุ่มประเทศ ที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปริมาณ ที่ น ้ อ ยนั้ น เมื่ อ รวมกั น แล้ ว คิ ด เป็ น 24% ของทั้งโลก จึงเท่ากับว่ามีการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่สูงเช่นกัน ฉะนั้นสหประชาชาติจึงขอความร่วม มือ ให้ทุกประเทศช่วยกันลดปริมาณ ก๊ า ซเรื อ นกระจก ซึ่ ง ทุ ก ประเทศ ต่างก็ตระหนัก และให้ความร่วมมือ ส�าหรับประเทศไทยนั้น คุณประเสริฐสุข บอกว่า “ประเทศไทยได้เสนอตัวเลขการ ลดก๊าซเรือนกระจกโดยความสมัครใจ

Kalabi Yau / Shutterstock.com

ให้กับสหประชาชาติว่าภายใน พ.ศ. 2563 เราจะลดลงให้ได้ ร้อยละ 7 (จากการด�าเนินงานปกติของ พ.ศ. 2548) คิดเป็นตัวเลขอยูท่ ี่ 24 ล้านตัน และหากเราได้รบั ความช่วยเหลือจาก ต่างประเทศด้วย จะพยายามลดให้ได้ 20% คือ 74 ล้านตัน โดยเน้นไปที่ ด้านพลังงาน หลังจากที่ส่งตัวเลขชุด นีไ้ ปแล้วสหประชาชาติกร็ อ้ งขออีกว่า ไม่ได้แล้วนะที่ส่งมานี่ อุณหภูมิของ โลกยังเพิม่ ขึน้ มากกว่า 2 องศาอยูเ่ ลย ขอให้มองระยะยาวหน่อยว่า พ.ศ. 2573 ประเทศไทยจะลดได้เท่าไหร่ ฉะนั้นเมื่อหารือกันถึงศักยภาพแล้ว เราก็ประกาศเพิม่ เติมว่า ภายใน พ.ศ. 2573 ประเทศไทยจะลดปริมาณก๊าซ เรือนกระจกให้ได้ 20% หรือ 111 ล้าน ตัน จากการด�าเนินงานปกติ ซึ่งรวม สาขาการปล่อยในด้านอืน่ ๆ ด้วยนอก เหนือจากภาคพลังงาน และถ้าหากมี การช่วยเหลือจากต่างประเทศ เราจะ ลดให้ได้ถึง 25% ซึ่งเราประกาศไป เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 นี้เอง

ค่ะ” จากตัวเลขชุดแรกที่ไทยจะต้อง ลดการปล่อย GHG ลง 24 ล้านตัน ภายในปี 2563 ปรากฏว่า... “เราก็ มาประเมินผลการลด พบว่าปัจจุบัน ลดได้ 34 ล้านตัน หรือ 10% แล้ว ค่ะ ซึ่งหากคิดเทียบจากเป้าเดิมที่เรา ประกาศว่าภายใน พ.ศ. 2563 จะ ลดให้ได้ 7% หรือ 24 ล้านตันนั้น ณ ตอนนี้ ตัวเลขของ พ.ศ. 2558 เราลด ลงไปได้ถึง 10% คือ 34 ล้านตันแล้ว เท่ากับว่าเราบรรลุเป้าหมายไปเยอะ มาก” คุณประเสริฐสุขกล่าว แม้คุณ ประเสริฐสุข จะพูดถึงศักยภาพที่ดี มากในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกของประเทศไทย ก็ยัง พ่วงท้ายด้วยค�าว่า ‘แต่’… “ตอนนี้ก�าลังมองต่อไปข้างหน้า ว่า ภายใน พ.ศ. 2563 เราจะมี ศักยภาพที่ลดปริมาณการปล่อยก๊าซ เรื อ นกระจกได้ เ พิ่ ม ขึ้ น มากกว่ า นี้ หรื อ ไม่ เพื่ อ ที่ จ ะท� า ให้ เ ป้ า หมาย ระยะที่สอง พ.ศ. 2573 บรรลุได้เร็ว ยิ่ ง ขึ้ น ที นี้ มั น ก็ มี ป ระเด็ น ว่ า จาก

17 17


ประเทศไทยเป็นประเทศแรกในกลุ่มอาเซียนที่ให้การรับรองตราคาร์บอนฟุตพริ้นท์ ของสินค้าและบริการได้คาร์บอนฟุตพริ้นท์เป็นฉลากแสดงปริมาณก๊าซเรือนกระจก ทั้งหมดที่ปล่อยออกจากวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ลูกค้าเปรียบเทียบ ว่าในสินค้าประเภทเดียวกันนีบ้ ริษทั ใดปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้นอ้ ยกว่ากัน ซึง่ เป็นข้อมูลที่มีความส�าคัญอย่างยิ่งในการส่งออก พ.ศ. 2563 ไปถึง พ.ศ. 2573 ต้อง ลดถึง 111 ล้านตัน ซึ่งตรงนี้อาจ จะลดยาก เพราะการลดครั้ ง แรก มันง่าย แต่จะลดลงเพิ่มไปอีกนี่เริ่ม ยากแล้ว ก็ต้องใช้กลไกตลาด การ ซื้ อ ขายคาร์ บ อนเครดิ ต นี่ ล ะค่ ะ มา ช่วย และหาก พ.ศ. 2573 เราลด ได้ ม ากกว่ า เป้ า ที่ ว างไว้ ส่ ว นเกิ น ทีเ่ กิดขึน้ นัน้ อาจจะใช้วธิ ขี ายออกนอก ประเทศ เพราะทัว่ โลกตอนนีใ้ ห้ความ ส�าคัญกับตลาดคาร์บอนมากขึ้น” จากการอธิบายถึงศักยภาพของ ประเทศไทยในการลดปริ มาณการ ปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก ที่ สั ม พั น ธ์ กั บ การประกาศเจตนารมณ์ ต อ สหประชาชาติ ท�าให้เห็นได้ชัดว่า ตลาดคาร์บอนไม่เพียงมีประโยชน์ใน การลดโลกร้อนเท่านั้น แต่ยังรวมถึง ช่องทางเพิ่มศักยภาพในด้านธุรกิจ ขององค์กรต่างๆ อีกด้วย อี ก ประเด็ น หนึ่ ง คื อ เมื่ อ พู ด ถึงตลาดคาร์บอน และการซื้อขาย คาร์บอนเครดิต แน่นอน ไอเดียการ ปลูกต้นไม้ในพื้นที่ว่างเปล่าย่อมผุด

18 18

ขึ้นมาในมโนภาพของใครหลายคน การปลูกต้นไม้เพือ่ น�ามาขายคาร์บอน เครดิตนัน้ คุณประเสริฐสุข อธิบายว่า “เรื่องการปลูกป่ามีมาตั้งแต่ตอน เริม่ พิธสี ารเกียวโตแล้วค่ะ แต่มขี อ้ แม้ ว่าคุณต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า 50 ปีที่แล้ว ที่ ข องคุ ณ ตรงนั้ น ไม่ เ คยเป็ น ป่ า มา ก่อน เพราะเขากลัวว่าคุณไปตัดต้นไม้ แล้วคุณไปปลูกเพื่อจะเอาคาร์บอน เครดิต แล้วกว่าต้นไม้จะโต ต้องใช้ เวลา เพราะฉะนั้นการท�าโครงการ ที่ ไ ด้ ค าร์ บ อนเครดิ ต จากการปลู ก ป่ า จึ ง มี น ้ อ ย เพราะใช้ เ วลานาน นั่ น เอง ในส่ ว นของประเทศไทย รัฐบาลปัจจุบันมองว่าแนวทางนี้เป็น ประโยชน์ ซึ่ง อบก. ก็ก�าลังพัฒนา รูปแบบอยู่ โดยอาจเป็นการส่งเสริม ให้เอกชนปลูกป่าขึน้ มา แล้วรัฐบาลรับ ซื้อคาร์บอนเครดิต แต่ต้องมีสัญญา ว่า 20 ปี ห้ามตัดต้นไม้ เป็นต้น ซึ่ง ก็ต้องศึกษาความเป็นไปได้อีกระยะ หนึ่ง” คุณประเสริฐสุข ย�้าว่า โครงการ ปลู ก ป่ า ยั ง อยู ่ ใ นช่ ว งการศึ ก ษา

ความเป็นไปได้ ซึ่งต้องรอติดตาม ความคื บ หน้ า ของโครงการต่ อ ไป และทั้งหมดของกระบวนการตลาด คาร์บอนนั้น แม้หลายโครงการก�าลัง พัฒนา แต่ก็มีแนวโน้มที่เป็นไปได้ สูง ซึ่งสิ่งที่องค์กรจะได้รับจากตลาด คาร์บอนแน่นอนนัน้ คือ เพิม่ ขีดความ สามารถในการแข่งขันของสินค้าใน ตลาดโลก การลดการปล่ อ ยก๊ า ซ เรือนกระจกช่วยให้ลดต้นทุนและเพิม่ ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจระยะยาว ส่ ง เสริ ม การตลาดและเสริ ม สร้ า ง ภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กร และหากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม ทาง อบก. ก็ยินดีต้อนรับทุกท่าน สามารถติดต่อได้ที่ ส�านักงานพัฒนา ธุรกิจ องค์การบริห ารจัดการก๊า ซ เรื อ นกระจก ศู น ย์ ร าชการเฉลิ ม พระเกียรติฯ เลขที่ 120 อาคารบี ชัน้ 9 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุง่ สองห้อง เขตหลั ก สี่ กรุ ง เทพฯ 10210 โทรศั พ ท์ 0-2141-9827-35 หรื อ www.tgo.or.th


Life Infographic ภาพ : palim

19


Cover Story

ปิ่นอนงค์ วัชรปาณ...เรียบเรียง

...เมืองในฝัน... LOW CARBON SOCIETY “สังคมคาร์บอนต�่า” เป็นสังคมในฝันที่เรา

พยายามจะผลักดันให้ไปถึงจุดนัน้ แต่อย่างทีร่ กู้ นั ดีวา่ โลก ใบนีเ้ ผชิญหน้ากับภาวะโลกร้อนและสภาวะเรือนกระจกมา อย่างยาวนานหลายทศวรรษ โลกก�าลังแย่...เรารู้ โลกร้อน...เรารู้ ก็ดว้ ยภูมอิ ากาศ สภาพแวดล้อม...ที่แปรปรวนมากขึ้น และอุณหภูมิเฉลี่ย ของอากาศบนโลกที่สูงขึ้นทุกปี โดยค่อยๆ เพิ่มจากเดิม ทีละน้อย และสิ่งที่เกิดขึ้นก็คือผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต รวมถึ ง มนุ ษ ย์ ทุ ก คนบนโลก ทั่ ว โลกตระหนั ก รู ้ . ..และ ตื่นตัวในเรื่องนี้กันมาตลอด จึงท�าให้เกิดแนวคิดเกี่ยว กับกิจกรรมการลดก๊าซเรือนกระจก ด้วยการร่วมกันลด ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทั้งนี้เพื่อให้ “เมืองใน ฝัน...แห่งอนาคต” เป็นจริงขึ้นมาได้

20

ท�าไม? “สังคมคาร์บอนต�่า” จึงช่วย แก้ปัญหาโลกร้อน

เพราะคาร์บอน หรือคาร์บอนไดออกไซด์ คือก๊าซเรือนกระจกที่ส่งผลให้อุณหภูมิเฉลี่ย ของอากาศเพิม่ ขึน้ ก๊าซเรือนกระจกส่วนมาก เกิดขึ้นจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ มีส่วน น้อยที่เกิดจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ และ เมือ่ ศึกษาสถิตอิ ณ ุ หภูมขิ องโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลง ในรอบศตวรรษ พบว่า อากาศทั่วโลกช่วง ศตวรรษที่ 20 มีคา่ เฉลีย่ สูงขึน้ 0.74 บวก/ลบ 0.18 องศาเซลเซียส ซึ่งท�าให้คาดคะเนได้ว่า อากาศในช่วงศตวรรษที่ 21 นี้ หรือระหว่าง พ.ศ. 2544-2643 จะมีอณ ุ หภูมเิ พิม่ ขึน้ 1.1-6.4

สังคม คาร์บอนต�่า คือสังคมที่ใช้ เชื้อเพลิงคาร์บอนต�่า โดยมีเทคโนโลยี เชื้อเพลิงและ พลังงานทดแทน ใหม่ๆ เข้ามา เป็นตัวช่วย


อุณหภูมโิ ลกเพิม่ ขึน้ 3 องศาเซลเซียส...เกิดปรากฏการณ์ เอลนิโญและปรากฏการณ์คลืน่ ความร้อนได้ทวั่ ไป ขัว้ โลกเหนือ ไร้น�้าแข็ง ป่าอเมซอนแห้งแล้ง นับเป็นจุดที่คาดการณ์ว่าไม่ สามารถหยุดยั้งกระบวนการโลกร้อนได้อีกแล้ว อุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้น 4 องศาเซลเซียส...น�้าแข็งบริเวณ ขั้วโลกใต้จะละลายจนหมด แม้แต่ธารน�้าแข็งบนเขาหิมาลัย เมืองใกล้แม่น�้าจะจมทะเลจนหายไปจากแผนที่โลกหลายแห่ง อุ ณ หภู มิ โ ลกเพิ่ ม ขึ้ น 5 องศาเซลเซี ย ส...เกิ ด การ เปลีย่ นแปลงทางธรรมชาติจนมนุษย์ตอ้ งอพยพย้ายถิน่ แย่งชิง ทรัพยากรกันท�าให้ระบบสังคมล่มสลาย อุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้น 6 องศาเซลเซียส...มหาสมุทรไม่ สามารถใช้ประโยชน์อะไรได้ แทบทุกพืน้ ทีก่ ลายเป็นทะเลทราย เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติจนไม่อาจคาดการณ์ได้ และมนุษย์ จะสูญสิ้นเผ่าพันธุ์

องศาเซลเซียส และถ้าหากอยากรูว้ า่ เมือ่ อุณหภูมโิ ลกเพิม่ สูงขึน้ เรื่อยๆ จะเกิดอะไรตามมา เนื้อหาจากหนังสือ Six Degrees Our Future On a Hotter Planet โดย มาร์ค ไลนัส จะท�าให้ เราเห็นภาพชัดเจนขึ้น ดังนี้ อุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส...ขั้วโลกเหนือจะ ไร้หิมะเป็นเวลาครึ่งปี อากาศอุ่นขึ้นแต่ความชื้นในดินจะลด ส่งผลให้เกิดความแห้งแล้งและเกิดทะเลทรายใหม่ๆ อุ ณ หภู มิ โ ลกเพิ่ ม ขึ้ น 2 องศาเซลเซี ย ส...น�้ า แข็ ง บน กรีนแลนด์ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่มีมานานกว่าหนึ่ง แสนห้าหมื่นปีจะละลาย ท�าให้น�้าในทะเลเพิ่มสูงขึ้น จะไม่มี หมีขวั้ โลกและสุนขั ลากเลือ่ นอีกต่อไป รวมทัง้ เกิดปรากฏการณ์ ฟอกขาวของปะการัง ความอุดมสมบูรณ์และสมดุลของแหล่ง ทรัพยากรทางทะเลจะเสียไป

10 อันดับประเทศที่มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่สุดในโลก

นี่คือสถิติรอบล่าสุด เมื่อปี 2014 (ไม่ได้จัดท�าทุกปี) ที่องค์กรสิ่งแวดล้อมโลก GGEI ได้ท�าการรวบรวมข้อมูลและให้การรับรองว่าเมืองเหล่า นี้เป็นเมืองที่มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

3

4

10 5

1 2

9

6

7

8

10 ออสโล,

ประเทศนอร์เวย์ (81.2 คะแนน)

9 เฮลซิงกิ,

ประเทศฟินแลนด์ (82.8 คะแนน)

8 สิงคโปร์

(84.9 คะแนน)

7 นิวยอร์ก, ประเทศ สหรัฐอเมริกา (89.2 คะแนน)

6 เบอร์ลิน,

4 แวนคูเวอร์,

ประเทศเยอรมนี (90 คะแนน)

ประเทศแคนาดา (96 คะแนน)

ประเทศอังกฤษ (90.7 คะแนน)

ประเทศสวีเดน (96.4 คะแนน)

5 ลอนดอน,

3 สตอกโฮล์ม,

2 อัมสเตอร์ดัม,

* กรุงเทพฯ, ประเทศไทย อยู่ ประเทศ เนเธอร์แลนด์ (98.3 ในอันดับ 8 จาก 22 ประเทศในการ คะแนน) 1 โคเปนเฮเกน, จัดอันดับเฉพาะใน ประเทศเดนมาร์ก กลุ่มประเทศเอเชีย (คะแนนเต็ม 100) ด้วยกัน

21


ใครๆ ก็มุ่งสู่ “เมืองคาร์บอนต�่า”

ขณะนีห้ ลายๆ ประเทศทัว่ โลกก�าลังให้ความส�าคัญกับการลดปริมาณการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยแต่ละประเทศได้วางเป้าหมายอย่างชัดเจน เพือ่ ก้าวเข้า สู่ “สังคมคาร์บอนต�่า” อย่างจริงจังและยั่งยืน ลองมาส�ารวจกันดีกว่าว่าแต่ละเมือง แต่ละประเทศเขาท�าอะไรกันบ้าง... 1.

ญี่ปุ่น

ถือว่าเป็นประเทศน�าร่อง ในฐานะผู้น�าเศรษฐกิจ ในแถบเอเชี ย โดยเฉพาะ จึ ง พั ฒ นาสู ่ สั ง คม คาร์ บ อนต�่ า ได้ ล�้ า หน้ า ที่ สุ ด โดยใช้ ฐ านจาก หลากหลายระบบการปฏิบัติ ไม่ว่าจะเป็นการ ผลิตเหล็กและซีเมนต์ด้วยการประหยัดพลังงาน เทียบกับประเทศอื่นๆ ได้ถึง 1-1.25 เท่า, ระบบ ขนส่งมวลชนที่มีประสิทธิภาพสูง ครอบคลุม การให้ บ ริ ก ารถึ ง 46.7% (มากกว่ า เยอรมนี 20.7% ฝรั่งเศส 16.1% สหรัฐฯ 22% และ อังกฤษ 13.1%), มีการใช้รถประหยัดพลังงาน มากที่สุด, เป็นผู้ผลิตเซลล์ไฟฟ้าแสงอาทิตย์ รายใหญ่ที่สุดในโลก, ผลิตเครื่องปรับอากาศ และตู้เย็นประหยัดพลังงานมากที่สุดในโลก, ใช้ พลังงานนิวเคลียร์ผลิตไฟฟ้าได้ในสัดส่วนหนึ่ง ในสาม และส�าคัญทีส่ ดุ คือรณรงค์ให้ประชาชนมี ส่วนร่วมในการลดโลกร้อน โดยลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 2.55 ล้านตัน (ช่วงปี 2005-2006) นอกจากนัน้ ญีป่ นุ่ ยังได้วางเป้าหมาย ไว้วา่ จะลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลง ราว 25% ในปี 2030

2

4

5 12 6 3

ภาพจาก www.tokyobybike.com

เมืองโตเกียว, เมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มี เป้าหมายการเป็น “เมืองสีเขียว” โดยจะพัฒนา มาตรฐานเมืองไปในด้านนี้

เมืองนาโกยา, เป็นเมืองอุตสาหกรรมขนาดเล็ก 2. แคนาดา, นครแวนคูเวอร์-เคยได้รับต�าแหน่ง 3. สเปน, เมืองบิลอาโบ-ใช้ก๊าซ ที่ปล่อยคาร์บอนปีละ 7.4 ตัน เมื่อปี พ.ศ. 2533 เมืองหลวงแห่ง Earth Hour จากคณะกรรมการ Earth ชีวภาพจากหลุมฝังกลบขยะขนาด ได้ตั้งเป้าหมายที่จะลดการปล่อยก๊าซลง 25% Hour City Challenge (EHCC) ขององค์กร WWF ใหญ่ของเมืองมาผลิตกระแสไฟฟ้า เนื่องจากมีจุดมุ่งหมายจะเป็นเมืองแนวหน้าของโลก โดยเน้นพัฒนาคุณภาพระบบสาธารณูปโภคพื้น ที่มีการจัดการสภาพอากาศอย่างชาญฉลาด ทั้งการ นอกจากลดปริ ม าณการปล่ อ ย ฐาน ใช้พลังงานทางเลือกส�าหรับระบบขนส่ง วางแผนด้านพลังงานชุมชนและยุทธศาสตร์การขนส่ง คาร์บอนได้มากแล้ว ยังช่วยสร้าง มวลชน และปรับปรุงสิ่งก่อสร้างต่างๆ ให้เป็น ของเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตั้งเป้าว่าภายในปี รายได้ต่อปีเพิ่มให้ประเทศได้อีก พ.ศ. 2563 อาคารทุกแห่งในเมืองต้องปล่อยคาร์บอน อาคารประหยัดพลังงาน เป็นศูนย์ และผู้คนในเมืองจะใช้ขนส่งมวลชน 50% ภาพจาก http://infospigot.typepad.com เน้นการเดินเท้าหรือขีจ่ กั รยาน รวมทัง้ เพิม่ กิจกรรม 22 สีเขียวให้ได้อีกเท่าตัว ภาพจาก www.straight.com

4. สวี เ ดน, เมื อ งแวกซ์ โ จ- โครงการ “บันได 8 ขัน้ เพือ่ เปลีย่ น ชีวิตท่านสู่วิถียั่งยืน” รณรงค์การ ปรั บ เปลี่ ย นชี วิ ต ประจ� า วั น ของ คนเมืองให้ปล่อยคาร์บอนน้อย ที่สุด เคยได้ร างวัล “เมืองที่มี การใช้พลังงานอย่างยั่งยืน” จาก สหภาพยุโรป ปี 2549 ภายใต้ เป้าหมายเปลี่ยนพื้นที่เกษตรใน เขตเมื อ ง 30% ให้ เ ป็ น เกษตร อิ น ทรี ย ์ พ ร้ อ มลดการใช้ ไ ฟฟ้ า ลง 20%


12. เดนมาร์ก, เมืองโคเปนเฮเกน-สนับสนุนการเกษตร ใช้ พ ลั ง งานลม แปลงระบบความร้ อ นมาเป็ น การใช้ พลังงานทางเลือก และส่งเสริมให้ผู้คนลดใช้รถยนต์ ส่ ว นตั ว มาเป็ น จั ก รยานหรื อ ขนส่ ง มวลชน โดยตั้ ง เป้าหมายจะเป็นเมืองปลอดคาร์บอนให้ได้แห่งแรกของ โลกในปี 2025

11. สิงคโปร์, ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 ใช้มาตรการ ค�านวณภาษีจากฐานการปล่อยก๊าซคาร์บอน โดยมี อัตราก�าหนดว่ารถทีป่ ล่อยคาร์บอนต�า่ กว่า 160 กรัม ต่อกิโลเมตรจะได้เงินคืน 5,000-20,000 ดอลลาร์ สิงคโปร์ ทั้งนี้ถ้าปล่อยเกิน 211 กรัมต่อกิโลเมตร จะถูกเก็บค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมในราคาดังกล่าว นับเป็นปฏิบัติการหนึ่งที่ได้ผลมาก ภาพจาก : http://www.reliablejoe.com

10

1

10. จีน, ฮ่องกง-ความที่เป็นเมืองประชากรหนาแน่น มาก ผังเมืองจึงต้องถูกวางโครงสร้างอย่างจ�ากัดการ ใช้พื้นที่แผ่นดิน ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์พื้นที่สีเขียว จากสวนสาธารณะและสวนน�้าอย่างสมดุล เน้นการ ใช้ยานพาหนะไฟฟ้า โดยเพิ่มจุดบริการชาร์จไฟฟ้า (ส�าหรับยานพาหนะ) และการน�าวัสดุต่างๆ กลับ มาใช้ใหม่

9. บรูไน, อัตราปล่อยก๊าซคาร์บอนต่อประชากร 1 คน สูงถึง 16 ตันต่อปี นับเป็นอันดับหนึ่งในอาเซียน ภาครัฐ เริ่มใช้โครงการผลิตไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ พร้อมกับลด การใช้น�้ามัน ท�าให้ลดการปล่อยคาร์บอนได้มาก

8

11

9

7

8. เวียดนาม, เมืองดานัง-เมืองต้นแบบคาร์บอนต�่า จากการคัดเลือกของ APEC โดยสามารถลดการปล่อย ก๊าซได้มากถึง 12,000 ตัน ด้วยการรณรงค์ใช้จักรยาน ไฟฟ้า พร้อมกับพัฒนาระบบขนส่งมวลชน ส่งเสริม เทคโนโลยีลดก๊าซเรือนกระจกและพลังงานหมุนเวียน

5. อังกฤษ, เมืองลอนดอน-ภาครัฐประกาศตั้งเขต ปล่อยคาร์บอนต�่าแห่งแรกของโลกเรียก “ULEZ” คือ ย่านชั้นในของลอนดอน โดยก�าหนดให้รถที่วิ่งได้ในเขต ดังกล่าวเป็นยานพาหนะทีป่ ล่อยคาร์บอนต�า่ เท่านัน้ เฉพาะ รถยนต์ไฮบริด หรือรถยนต์ไฟฟ้า เก็บค่าธรรมเนียม เพิ่มเติมส�าหรับรถปล่อยคาร์บอนเกินก�าหนด โครงการ อยู่ในช่วงส�ารวจความเห็นของภาคธุรกิจและประชาชน ซึ่งได้รับการสนับสนุนเสียงตอบรับถึง 58% และจะมีผล บังคับในปี 2020

ภาพจาก https://twitter.com/tnb_news

6. เบลเยี ย ม, เมื อ งบรั ส เซลส์ - หลากหลาย กิจกรรมสู่วิถีบริโภคที่ยั่งยืน เช่น ร้านขายของมือ สอง ร้านให้บริการซ่อมแซมสิ่งของ การส่งเสริม ให้ชาวเมืองบริโภคของจากแหล่งผลิตที่เป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม การสนับสนุนให้เจ้าของทีด่ นิ ปลูก ผักสวนครัวแบบปลอดสารเพือ่ บริโภคในครัวเรือน หรือแลกเปลี่ยนกับเพื่อนบ้าน Tupungato / Shutterstock.com

7. ออสเตรเลีย, รัฐควีนส์แลนด์-พัฒนาการใช้ พลังงานแสงอาทิตย์อย่างจริงจัง ล่าสุดก�าลังพัฒนา เทคโนโลยีการรวมแสงอาทิตย์แบบเข้มข้นสูงด้วยการใช้ ชุดกระจก 170 ชิ้นสู่หอคอยแล้วน�าอุณหภูมิรวมที่สูงถึง 1,000 องศาเซลเซียสมาผลิต Solar Gas ซึ่งมีพลังงาน สูงกว่าก๊าซธรรมชาติทั่วไปกว่า 25% นอกจากนั้นยัง พัฒนาการใช้พลังงานถ่านหินซึ่งลดการปล่อยคาร์บอน เหลือเพียงไม่เกิน 1 กิโลกรัมต่อหน่วย อีกทั้งยังค้นพบ การผลิตน�า้ มันจากสาหร่ายเป็นเทคโนโลยีใหม่ลา่ สุดด้วย ภาพจาก https://www.linkedin.com

23


กรุงเทพฯ ก้าวสู่... มหานครคาร์บอนต�่าเช่นกัน

topten22photo / Shutterstock.com

“ปลูก-ปล่อย-ปิด-ปรับ” คือ แนวทางส�าคัญที่เราก�าลังก้าวเข้าสู่การเป็นเมืองคาร์บอนต�่า...เป้าหมายเดียวกับทั่วโลก โดย การพัฒนาส�าคัญครั้งนี้มองไกลไปที่ พ.ศ. 2563 ตามโครงการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งกรุงเทพฯ จะมีวิถีสังคมที่ยั่งยืนและเป็น เมืองคาร์บอนต�่าได้อย่างแท้จริง “ปลูก”...เพิ่มพื้นที่สีเขียว “ปล่อย”...จัดการขยะและของเสียอย่างมีประสิทธิภาพ “ปิด”...ส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างชาญฉลาด “ปรับ”...เปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอย่างยั่งยืน สังคมต้องช่วยกันลดความต้องการใช้พลังงาน สังคมต้องหลีกเลี่ยงการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลหรือน�้ามัน และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และสังคมต้องมีมาตรการ ความมั่นคงทางพลังงานและเป็นสังคมที่มีการพบปะหารือกันในเรื่องความต้องการของคนทุกกลุ่มในสังคม

24 24


อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด-ต�่ำสุด ของประเทศไทยย้อนหลัง 20 ปี (ระหว่ำง พ.ศ. 2535-2554) C

50 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0

2554 2553 2552 2551 2550 2549 2548 2547 2546 2545 2544 2543 2542 2541 2540 2539 2538 2537 2536 2535

อุณหภูมิสูง 35.2 36.7 36.1 35.5 35.5 43.4 35.9 37.4 36.3 36.9 36.4 34.5 34.8 36.7 36.6 35.4 36.9 36.6 35.6 37.1 อุณหภูมิต�่ำ 5.7

8.3

6.8

8.2 12.3 11.9 12.4 11.8 12.9 14.9 15.5 16.6 14.0 18.7 17.0 17.6 18.6 15.7 15.4 16.8

...เราจะท�าอะไรบ้าง ในเรื่องการ “ปลูก-ปล่อย-ปิด-ปรับ” -

ใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า และก่อให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนในองค์กร น�าร่องด้วยอาคารในสังกัดกรุงเทพมหานคร จ�านวน 35 แห่ง เพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่อช่วยดูดซับคาร์บอนด้วยต้นทุนต�่า พร้อมยกระดับสุขภาพกับคุณภาพชีวิตของคนเมือง ใช้แนวคิด “ขยะคือทรัพยากร” เน้นการจัดการขยะให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดปริมาณขยะ และใช้เทคโนโลยีมาจัดการ ขยะให้กลับมาเป็นประโยชน์เพิ่มขึ้น - ด�าเนินมาตรการประหยัดพลังงานช่วยกันคนละไม้คนละมือ - เน้นการสร้างความตระหนักรู้เพื่อน�าไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการร่วมมือของคนในสังคม เพื่อให้เกิดสังคมเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนต่อไป ทั้งหมดนี้คือเรื่องราวเกี่ยวกับการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต�่าที่ก�าลังเกิดขึ้นในทุกๆ ที่บนโลก หากอยากให้โลกใบนี้ยังคง เป็นบ้านที่เราอยู่อย่างมีความสุข มีฟ้าใสๆ มีต้นไม้เขียวๆ มีท้องทะเล และธารน�้าแข็งให้เราได้ชื่นชมกันต่อไป ก็ต้องช่วยกัน คนละไม้คนละมือ เพื่อให้โลกที่เรารัก ไม่ร้อนไปกว่านี้...

25


Guest Room

เรื่องและภำพ : กองบรรณำธิกำร

Ecolife

สไตล์ ท็อป-พิพฒ ั น์ อภิรกั ษ์ธนากร

เมื่อเอ่ยถึง ท็อป-พิพัฒน์ อภิรักษ์ธนำกร หลำยคนจดจ�ำเขำได้ในฐำนะ นั ก แสดงและพิ ธี ก รมำกควำมสำมำรถ ในขณะที่ ห ลำยๆ คนนึ ก ถึ ง ภำพ นั กออกแบบผู ้ มี ใจรั กสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ ำงจริ ง จั ง แต่ ส� ำ หรั บคนใกล้ ชิ ดจะรู ้ ว ่ ำ ชำยหนุม่ ผูน้ มี้ วี ถิ ชี วี ติ ทีน่ ำ่ ทึง่ เนือ่ งจำกเขำผสมผสำนชีวติ ส่วนตัว ชีวติ กำรท�ำงำน และกำรรักษำสิ่งแวดล้อมเข้ำด้วยกันได้อย่ำงลงตัว

26


ปัจจุบนั ท็อปท�ำงำนหลำยอย่ำง ทัง้ เป็นเจ้ำของบริษทั คิดคิด จ�ำกัด ที่ ใ ห้ ค� ำ ปรึ ก ษำเกี่ ย วกั บ กำรออกแบบที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มแก่ หน่วยงำนต่ำงๆ และผู้สนใจทั่วไป ออกแบบผลิตภัณฑ์แบรนด์ โอ (O) ของตัวเอง แล้วยังเป็นเจ้ำของศูนย์กำรเรียนรู้งำนออกแบบ Eco Shop Common ซึ่งตั้งอยู่ที่ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพฯ บริเวณชั้น 1 ท็อปบอกเรำว่ำกำรใช้ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมท�ำให้เขำมี ควำมสุข เรำจึงถำมเขำถึงจุดเริ่มต้นที่ท�ำให้เขำสนใจเรื่องสิ่งแวดล้อม ซึ่งท็อปตอบด้วยน�้ำเสียงสดใสว่ำ “ตอนเด็กๆ ผมก็เหมือนเด็กทั่วไปที่ไม่ค่อยใส่ใจเรื่องนี้สักเท่ำไหร่ จะสนใจก็ตอ่ เมือ่ เป็นเรือ่ งทีม่ อี ยูใ่ นข้อสอบ พอสอบเสร็จก็ลมื จนวันหนึง่ ได้ดูหนังเรื่อง The Inconvenient Truth ซึ่งเป็นหนังสำรคดีเกี่ยวกับ สิง่ แวดล้อม มันท�ำให้ผมสงสัยว่ำนีเ่ ป็นเรือ่ งจริงเหรอ เลยเริม่ หำค�ำตอบ ตอนท� ำ วิ ท ยำนิ พ นธ์ ผ มเลยเลื อ กเรื่ อ งสิ่ ง แวดล้ อ ม หลั ง จำกนั้ น ผม ก็ท�ำงำนด้ ำนออกแบบโดยศึกษำกระบวนกำรออกแบบให้ เ ป็ น มิ ตร กับสิ่งแวดล้อม และท�ำมำเรื่อยๆ จนวันนี้ก็ร่วม 10 ปีแล้ว เรียกได้ว่ำ จุดเปลี่ยนชีวิตผมเกิดจำกกำรดูหนังเรื่องนั้นเลยครับ “ส�ำหรับงำนออกแบบ ผมโชคดีที่ช่วงเริ่มต้นได้มีโอกำสท�ำงำน กับ ผศ.ดร.สิงห์ อินทรชูโต (หัวหน้ำศูนย์ปฏิบัติกำรออกแบบจำก เศษวั ส ดุ (Scrap Lab) สำขำวิ ช ำเทคโนโลยี ท ำงอำคำร คณะ สถำปัตยกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์) ในโครงกำรเปลี่ยน ขยะให้เป็นทอง ซึ่งน�ำเศษวัสดุจำกโรงงำนมำใช้ โครงกำรนี้เปิดมุมมอง ให้ผมสนใจศึกษำแนวคิดที่เรียกว่ำ LCA หรือ Life Cycle Assessment ซึ่งจะมองผลิตภัณฑ์อย่ำงครบวงจร ยิ่งศึกษำ ผมก็ยิ่งสนใจ และลงลึก ไปเรื่อยๆ ทั้งจำกหนังสือซึ่งส่วนใหญ่เป็นหนังสือต่ำงประเทศ และจำก แหล่งข้อมูลต่ำงๆ แล้วย่อยลงมำเหลือ 4 หัวข้อหลักๆ คือ Production กำรผลิต Logistic กำรขนส่ง Human Center กำรใช้งำน และสุดท้ำย

คือ Disposal กำรจัดกำร หรือว่ำกำรก�ำจัดพวกเศษซำกวัสดุ ซึ่งพอเรำ มองด้วยมุมนี้มันท�ำให้เห็นครบทั้งวงจรของผลิตภัณฑ์ เหมือนกับเรำดู ตั้งแต่เกิดจนตำย พอตำยแล้วไปไหนต่อ” เมื่อเรำถำมว่ำ กำรที่ท็อปท�ำงำนเกี่ยวข้องกับเรื่องสิ่งแวดล้อม มำนำน เขำเห็นควำมเปลี่ยนแปลงอะไรบ้ำงในสังคมไทย ท็อปนิ่งคิด อยู่ครู่หนึ่งก่อนตอบว่ำ “ตลอด 10 ปีที่ผ่ำนมำ สิ่งแรกที่เห็นได้ชัดคือ ผู้คนมีควำมเข้ำใจ ในเรื่องสิ่งแวดล้อมกันมำกขึ้น ตอนที่ผมเปิดร้ำนอีโคช็อปใหม่ๆ ในปี 2552 คนยังไม่รู้เลยว่ำสินค้ำอีโคคืออะไร แล้วอีโคแปลว่ำอะไร ส่วน ใหญ่จะนึกถึงของที่ท�ำจำกวัสดุธรรมชำติ แต่วันนี้ ค�ำว่ำอีโคกลำยเป็น ค�ำที่ใช้กันทั่วไปโดยไม่ต้องอธิบำยควำมหมำยแล้ว ผมคิดว่ำเรื่องนี้ แหละที่เปลี่ยนแปลงมำกที่สุด ผมลองสังเกตคนที่เดินเข้ำมำในร้ำน อีโคช็อป ส่วนใหญ่จะเป็นคนรุน่ ใหม่ทมี่ คี วำมรูส้ กึ แคร์คนอืน่ แคร์สงั คม แคร์ในเรือ่ งสิง่ แวดล้อม แล้วรูส้ กึ ว่ำกำรท�ำแบบนีเ้ ป็นเรือ่ งดี ทำงร้ำนเลย จัดกิจกรรมให้ลูกค้ำโดยเฉพำะนิสิตนักศึกษำที่เรียนด้ำนกำรออกแบบ มำท�ำกิจกรรมร่วมกัน บำงทีน้องๆ ก็จับกลุ่มกันมำท�ำกำรบ้ำนส่ง อำจำรย์ พอเรียนจบพวกเขำก็จะไปเป็นดีไซเนอร์ ถ้ำเขำน�ำแนวคิดเรือ่ ง สิ่งแวดล้อมไปออกแบบผลิตภัณฑ์ แนวคิดนี้ก็จะขยำยออกไป เพรำะ ดีไซเนอร์หนึ่งคนไม่ได้ท�ำสินค้ำแค่ชิ้นเดียวแล้วเลิก แต่จะต้องท�ำสินค้ำ อีกไม่รตู้ งั้ กีช่ นิ้ แล้วสินค้ำแต่ละชิน้ มันจะถูกผลิตอีกตัง้ ไม่รเู้ ท่ำไหร่ และ คนที่ได้ใช้ก็ไม่รู้ตั้งกี่คน ฉะนั้นถ้ำเรำปลูกฝังเรื่องสิ่งแวดล้อมไปกับ พวกเขำได้ รับรองว่ำสถำนกำรณ์สิ่งแวดล้อมจะต้องเปลี่ยนแปลงไปใน ทำงที่ดีขึ้นแน่ๆ นอกจำกน้องๆ นักศึกษำแล้ว คนท�ำงำน คนที่ใช้ชีวิต อยู่ในเมืองก็เข้ำมำทีร่ ้ำนอีโคช็อปกันมำกขึ้น เวลำมำทีร่ ้ำนพวกเขำก็จะ มำคุยแลกเปลีย่ นกัน ซึง่ แต่ละคนก็มคี วำมคิดทีน่ ำ่ สนใจ นีค่ อื สิง่ ทีส่ มั ผัส ได้ที่อีโคช็อปซึ่งท�ำให้ผมกับทีมงำนรู้สึกดีครับ”

27


พอเราขอให้ท็อปเล่าถึงกิจกรรมต่างๆ ในร้านอีโคช็อป เขาก็มี สีหน้าแช่มชื่นขึ้นมาทันที และเล่าให้เราฟังอย่างกระตือรือร้นว่า “ที่ ร ้ า นอี โ คช็ อ ป เราเปิ ด พื้ น ที่ เ ล็ ก ๆ ให้ ค นที่ ส นใจเรื่ อ ง สิ่งแวดล้อมได้มานั่งพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดกัน ให้เขาได้เรียนรู้ ว่ามีนวัตกรรมอะไร มีผลิตภัณฑ์อะไร มีวัสดุอะไรบ้างที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม แนวความคิดแต่ละอย่างมีวิธีการอย่างไรบ้าง เรา แบ่งสัดส่วนเอาไว้ว่ากิจกรรมที่จัดขึ้นนี้ 70% ให้ความรู้อีก 30% เป็นการขายสินค้า เพราะคนไทยชอบช้อปปิ้ง ฉะนั้นที่อีโคช็อปเลย มีแนวความคิดว่า คนทีเ่ ข้ามาทีน่ จี่ ะได้ 3 อย่างกลับไป อย่างแรกคือ ความรู้ เมื่อซื้อของคุณต้องอ่านรายละเอียดหรือต้องได้รับความรู้ ไปด้วย อย่างทีส่ องคือโอกาส เราอยากให้พนื้ ทีน่ เี้ ป็นก้าวแรกส�าหรับ นักออกแบบหรือคนที่ผลิตสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้เขามา เริ่มต้นที่นี่ ให้เขาเรียนรู้วิธีการด�าเนินธุรกิจเบื้องต้น สุดท้ายคือ รายได้ เพราะถ้าท�าสินค้ามาแล้วไม่มีคนซื้อ สุดท้ายก็จะเลิกท�าของ พวกนี้ก็จะหายไปจากตลาด” เมื่ อ ถามว่ า ที่ เ ขาด� า เนิ น ชี วิ ต ในแนวทางที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อมมาตลอดอย่างนี้ เขาต้องการเห็นการเปลี่ยนแปลงอะไร ในสังคม ก็ได้รับค�าตอบว่า

28

“มี ค นถามเยอะนะว่ า ที่ ผ มท� า ทั้งหมดนี้ ผมอยากจะเห็นโลกใบนี้มัน เปลีย่ นแปลงไปขนาดไหน ผมอยูบ่ นโลก ของความเป็นจริงหรือเปล่า ซึ่งสิ่งที่ผม จะตอบคือ ผมอยู่บนโลกของความเป็น จริงครับ โดยท�าในสิ่งที่ผมชอบเหมือน กับที่หลายๆ คนท�าในสิ่งที่ตนเองชอบ คนที่ชอบเล่นพระ ก็เสียเงินไปกับการ เช่าพระ คนที่ชอบรถยนต์ ก็เสียเงินไป กับการแต่งรถยนต์ หรืออยู่กับรถยนต์ สิ่ ง ที่ ผ มสนใจคื อ เรื่ อ งการออกแบบ ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง พอได้ ลงมือท�างานท�าให้รู้ว่ามีวิธีที่เราจะใช้ ชีวิตให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้นะ แต่ผมไม่ได้ใช้ชวี ติ แบบอีโคตัง้ แต่ตนื่ ยัน หลับ ผมเลือกท�าในสิ่งที่ท�าได้ ฉะนั้น ผมจะบอกกับหลายๆ คนที่มีโอกาสได้ คุยกันว่า ผมเป็นพวกอีโคแบบมีกิเลส ผมก็ยังอยากได้ อยากมี ผมไม่ได้ปั่น จักรยานไปได้ทุกที่ แต่ถ้าเกิดสิ่งไหน ผมท�าได้ผมจะท�า และผมจะท�าต่อไป เรื่อยๆ จนวันตาย ฉะนั้นผมไม่ได้คิด ว่าจะเป็นคนเปลี่ยนโลกใบนี้ ผมแค่ท�า ในสิ่งที่ชอบเท่านั้น” ในฐานะนั ก ออกแบบที่ เ ป็ น มิ ต ร กับสิ่งแวดล้อม ท็อปกวาดรางวัลมา มากมายทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ เราถามเขาว่าได้ตั้งเป้าหมายไว้ตั้งแต่ แรกหรือไม่ ว่าจะได้รางวัลอย่างนี้ ท็อปตอบว่า “เรื่องรางวัลเป็นสิ่งที่ไม่ได้คาดหวังครับ แต่เวลาท�างานผมจะ ท�าด้วยความสนุก และตัง้ ใจ ทีส่ า� คัญผมจะเน้นเรือ่ งการใช้ทรัพยากร ให้คมุ้ ค่าทีส่ ดุ ทัง้ วัตถุดบิ ทีใ่ ช้ ทัง้ เรือ่ งการขนส่ง ซึง่ ช่วยลดต้นทุนไป ได้มาก ท�าให้สินค้าอีโคที่ผมออกแบบไม่ได้แพงกว่าสินค้าทั่วไป ยกตัวอย่างเช่น ทีมดีไซน์ของผม ออกแบบสมุด 0.4921 โดยย่อความ กว้างระหว่างเส้นบรรทัดลงให้เหลือประมาณ 0.4921 เซนติเมตร แทน การออกแบบเดิมคือ 0.65 เซนติเมตร ผลก็คอื สมุดแต่ละเล่มจะมีเส้น บรรทัดเพิ่มขึ้น 1,280 เส้น กระดาษผมก็ใช้กระดาษสีน�้าตาลเพราะ รีไซเคิลได้มากครั้งกว่ากระดาษฟอกขาว และใช้หมึกจากถั่วเหลือง พิมพ์ทั้งเล่มแบบจุดๆ ท�าให้ลดหมึกส�าหรับพิมพ์ไป 50% ด้วยวิธี คิดแบบนี้ท�าให้สมุดอีโคของผมราคาเท่ากับสมุดทั่วๆ ไป แล้วตอนที่ ท�าเราจะเขียนสตอรี่เอาไว้ว่างานชิ้นนี้มีที่มาที่ไปอย่างไร พอมีการ ประกวด เราก็ส่งเข้าประกวดด้วย ซึ่งได้รับการยอมรับจากคณะ กรรมการให้ได้รางวัลมา เลยรู้สึกว่าเราก็ใช้ได้เหมือนกันนะ น้องๆ ในที ม ทุ ก คนก็ ดี ใ จ มั น เป็ น น�้ า หล่ อ เลี้ ย งและเป็ น ก� า ลั ง ใจให้ กั บ ทุกคนในทีม ส�าหรับผมรางวัลเป็นผลพลอยได้จากความตั้งใจของ เรา แต่ผลพลอยได้ที่มากกว่านั้นคือ พอได้รับรางวัลสินค้าของเรา ก็ขายได้มากขึ้นครับ”


นอกจากบทบาทต่างๆ ที่เราได้พูดคุยกันมาแล้ว ล่าสุดท็อป ได้ท�าแอพพลิเคชั่น อีโค ไลฟ์ ขึ้นมา ซึ่งท็อปได้อธิบายถึงที่มาของ แอพพลิเคชั่นนี้ให้เราฟังว่า “ผมมีความฝันว่า อยากจะรวบรวมคนที่มีแนวความคิดแบบ เดียวกันขึ้นมาเป็นคอมมูนิตี้ เป็นชุมชนที่วัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม ไม่ใช่อนุมานเอาเองว่ามีคนคิดแบบเรานะ แต่หาตัวไม่เจอ จริงอยู่ที่ ตอนนี้เรามีอีโคช็อป คอมมอนเป็นศูนย์กลางให้คนมาเจอกัน แต่เรา ยังไม่ได้เก็บข้อมูลให้ตามเจอกันได้ ผมเลยคิดเครื่องมือขึ้นมาเป็น ช่องทางในการสื่อสารซึ่งก็คือแอพพลิเคชั่น โดยแอพนี้จะเก็บข้อมูล การเดินทางจากการเดิน ปั่นจักรยาน หรือขับยานพาหนะแล้วสรุป ผลการเดินทางให้เป็นข้อมูลที่น่าสนใจ เช่น ปริมาณก๊าซคาร์บอน ทีล่ ดได้ในการเดินทางเปรียบเทียบเป็นจ�านวนการปลูกต้นไม้ ปริมาณ แคลอรีที่เผาผลาญไป พร้อมได้รับคะแนนสะสมเรียกว่า อีโค พ้อยท์ เพื่อเป็นส่วนลดตามร้านค้า ร้านอาหารต่างๆ ที่ร่วมโครงการ อัน นี้ท�าเวอร์ชั่นที่ 1 เมื่อกลางปีที่แล้ว ตอนนี้เราพยายามจะปรับอีก เวอร์ชั่นหนึ่งให้เข้ากับทาร์เก็ตของเรา ให้มีความเป็นไลฟ์สไตล์มาก ขึ้น แล้วใช้วิธีการสแนปแอนด์แชร์เพื่อให้เกิดเป็นคอมมูนิตี้การเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมขึ้นมาจริงๆ”

ก่อนจากกัน ท็อปฝากมุมมองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมไว้ว่า “เรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องที่ต้องช่วยกันครับ การมี หน่วยงานอย่าง องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การ มหาชน) หรือ อบก. เป็นเรือ่ งทีด่ ี อบก. เป็นหน่วยงานหนึง่ ทีท่ า� งาน เรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจังและวัดผลได้ เวลาซื้อของถ้าสังเกตจะ เห็นว่ามีสินค้าที่ติดฉลากคาร์บอนเยอะขึ้น ทั้งหมดที่ อบก. ท�ามัน เป็นการให้ก�าลังใจผู้ประกอบการให้ท�าดีต่อไป ไม่ได้ท�าเพื่อหวังผล ก�าไรแต่เพียงอย่างเดียว ส�าหรับผมในฐานะที่เป็นนักออกแบบ การ มีหน่วยงานมารับรองว่างานชิ้นนี้ได้มาตรฐานจริงๆ ลดปริมาณ คาร์บอนจริงๆ มันช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้กับสินค้า ให้กับ นักออกแบบคนนัน้ ได้ ผมเลยรูส้ กึ ว่าการเกิดขึน้ ของ อบก. ช่วยสร้าง ความน่าเชือ่ ถือให้กบั ผลิตภัณฑ์ ให้กบั โรงงาน ให้กบั ผูผ้ ลิต ก็เป็นสิง่ ทีล่ กู ค้าหรือผูบ้ ริโภคต้องท�าความเข้าใจอย่างต่อเนือ่ ง โดยผมจะเป็น คนหนึง่ ทีช่ ว่ ยสือ่ สารว่าฉลากทีต่ ดิ อยูด่ า้ นหลังสินค้ามันมีความหมาย นะ มันคือปริมาณของการลดคาร์บอนที่เกิดขึ้นในอากาศ ซึ่งมันมี ผลอย่างไรกับตัวเราและสิ่งแวดล้อมครับ”

29


Green Culture

เรื่อง : อนุสรณ์ ศรีค�ำขวัญ ภำพ : วิกรม วิสุทธิปรำณี และทีมงำน อบก.

Green office เขียวจากภายใน ส�ำหรับคนทั่วไป มิติควำมเข้ำใจเกี่ยวกับเรื่อง Green office คงมีเพียงว่ำ เป็น ส�ำนักงำนที่ประหยัดพลังงำน ปิดไฟทุกครั้งที่ไม่ใช้งำน ใช้กระดำษเอกสำรให้คุ้มค่ำ ทีส่ ดุ เท่ำนัน้ แต่เมือ่ ได้พดู คุยกับ ดร.พงษ์วภิ า หล่อสมบูรณ์ รองผูอ้ ำ� นวยกำรองค์กำร บริหำรจัดกำรก๊ำซเรือนกระจก หรือ อบก. องค์กรที่ได้รับรำงวัลส�ำนักงำนสีเขียวใน ระดับดีมำก ส�ำหรับตัวผู้เขียนเองนั้นเข้ำใจเรื่องนี้กระจ่ำงขึ้นมำกเลยทีเดียว

30


“อบก. เข้ ำ ร่ ว มโครงกำรส� ำ นั ก งำนสี เ ขี ย วของ กรมส่งเสริมคุณภำพสิง่ แวดล้อม ใน พ.ศ. 2558 เป็นปีแรก และก็ ผ ่ ำ นเกณฑ์ ส� ำ นั ก งำนสี เ ขี ย วในระดั บ ดี ม ำกค่ ะ ” ดร.พงษ์วิภำ เกริ่นน�ำ แล้วอธิบำยเกณฑ์ของกำรเป็น ส�ำนักงำนสีเขียวว่ำ “Green office คือ ส�ำนักงำนทีค่ ำ� นึง ถึงสิง่ แวดล้อมและดูแลบุคลำกรเพือ่ ให้เกิดคุณภำพชีวติ ใน กำรท�ำงำนที่ดีขึ้น แล้วก็ประหยัดทรัพยำกรในกำรท�ำงำน ค่ะ มีเกณฑ์ทั้งหมด 7 หมวด” โดยเกณฑ์ทั้ง 7 หมวดนั้น ดร.พงษ์วิภำ ได้น�ำหลักกำร มำอธิบำยให้ฟังอย่ำงเข้ำใจง่ำยๆ และเห็นภำพในทันที ว่ำ “1. องค์กรต้องมีนโยบำยที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

2. เมื่อมีนโยบำยแล้ว ก็ต้องสื่อสำรกับบุคลำกร เพื่อให้ ทุกคนมองไปในทิศทำงเดียวกัน โดยกำรจัดประชุม และ จัดนิทรรศกำรประชำสัมพันธ์ 3. ลงมือปฏิบัติในด้ำน พลังงำน และทรัพยำกร 4. จัดกำรของเสียอย่ำงเป็นระบบ 5. สภำพแวดล้อมภำยในส�ำนักงำน ต้องเหมำะสมกับกำร ท�ำงำน 6. มีกำรจัดซื้อจัดจ้ำงสีเขียว และ 7. ต้องพัฒนำ ให้ดีขึ้นเรื่อยๆ” ไม่ใช่แค่ประหยัดพลังงำนและทรัพยำกรเท่ำนั้นหรือ? ผู ้ เ ขี ย นตั้ ง ค� ำ ถำมทั น ที ที่ ฟ ั ง จบ ดร.พงษ์ วิ ภ ำ รั บ ค� ำ พร้อมรอยยิ้ม แล้วกล่ำวว่ำ “ค่ะ ไม่ใช่แค่กำรประหยัด น�้ำ ประหยัดไฟ ประหยัดกระดำษ แต่ต้องดูรวมถึงสภำพ

31


แวดล้ อ ม ทั้ ง ภายในและภายนอก ขององค์กรด้วย เพื่อให้เหมาะสมกับ การท�างาน เช่น ต้องดูว่าแสงสว่าง เหมาะกับการท�างานหรือไม่ เสียง ดั ง จนรบกวนสมาธิ ใ นการท� า งาน หรือเปล่า แล้วยังมีเรื่องของความ น่าอยู่ Green office ต้องมีความเป็น ระเบียบ ไม่สกปรก อากาศถ่ายเทดี และที่ส�าคัญต้องมีการจัดซื้อจัดจ้าง สีเขียว “การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งสี เ ขี ย ว คื อ เมื่อเปลี่ยนอุปกรณ์ต่างๆ ต้องเป็น ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ที่ อบก. เอง เราเพิง่ เปลีย่ นจากหลอด ไฟธรรมดา เป็น LED เพราะประหยัด ไฟได้มากกว่า และมีอายุการใช้งานที่ นานกว่า นอกจากนี้ต้องดูอีกว่า สิ่งที่ จะซื้อนั้นมีความจ�าเป็นหรือไม่ อย่าง เช่นกระดาษ ก็มีให้เลือกซื้อทั้งชนิด รีไซเคิล และชนิดเนื้อเยื่อใหม่ เรา ก็ ม าชั่ ง น�้ า หนั ก ว่ า อย่ า งไหนดี ต ่ อ สิ่งแวดล้อมมากกว่า ซึ่งแน่นอนย่อม เป็นชนิดรีไซเคิล เราก็เลือกซื้อมาใช้ ที่นี่มีแค็ตตาล็อก ผลิตภัณฑ์สีเขียว เพื่อใช้พิจารณาว่า รุ่นไหนเหมาะสม ที่สุด” พร้ อ มกั น นี้ ดร.พงษ์ วิ ภ า ได้ ยกตั ว อย่ า งของเครื่ อ งถ่ า ยเอกสาร ที่ทาง อบก. เช่ามาใช้ว่า นอกจาก พิจารณาจากคุณสมบัติการเป็นมิตร ต่อสิง่ แวดล้อม ไม่เปลืองไฟ ไม่ปล่อย ฝุ่นผงมากเกินไปแล้ว ทางส�านักงาน ยังได้น�าต้นไม้มาวางข้างเครื่องถ่าย เอกสารอีกด้วย เพราะมันช่วยดูดซับ โอโซน และผงหมึกได้ นี่จึงเป็นอีก ค�ายืนยันหนึ่งว่า การเป็นส�านักงาน สีเขียวต้องมองรอบด้าน ไม่ใช่เฉพาะ ด้านการประหยัดพลังงานเพียงอย่าง เดียว เมื่อประเด็นการสนทนาขยับมา สู่เรื่องต้นไม้ ดร.พงษ์วิภา ได้อธิบาย

32

เพิ่ ม เติ ม ว่ า แม้ ชื่ อ คื อ ส� า นั ก งาน สีเขียวแต่ไม่ได้หมายความว่า ต้องมี ต้นไม้เขียวพรืดไปหมด “ต้นไม้ จะมีหรือไม่ก็ได้ เพราะ Green office ไม่ใช่การเอาต้นไม้ มาถมๆ เนื่องจากเราอยู่ในอาคาร แต่ ก ารมี ต ้ น ไม้ นั้ น ช่ ว ยให้ เ จริ ญ ตา เจริญใจ ดูแล้วมีความสุข อยากให้ ทุกคนมองไปที่ภาพรวมของส�านักงาน มากกว่า ได้แก่ พลังงาน น�า้ กระดาษ แล้วก็ของเสีย ในเรื่องของพลังงาน สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ แสงสว่าง ซึง่ กินไฟไปประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ กับระบบปรับอากาศ ซึ่ง ใช้ไฟไปประมาณ 50-70 เปอร์เซ็นต์ ด้วยเหตุนี้ เมื่อเปลี่ยนมาใช้หลอด LED ก็สามารถประหยัดไฟฟ้าลงได้ มาก ส่วนระบบปรับอากาศนัน้ เราได้ ออกแบบเสื้อ cool mode ซึ่งเป็นผ้า ที่โปร่งสบาย ใส่แล้วไม่ร้อน ท�าให้ไม่

ต้องเปิดเครือ่ งปรับอากาศในอุณหภูมิ ที่ต�่าเกินไปค่ะ ทางด้านกระดาษ ตอนนี้ อบก. ท�างานด้วยระบบ e-office ซึ่ง ใช้กระดาษน้อยอยูแ่ ล้ว แต่ถงึ อย่างไร เราก็ใช้กระดาษครบทั้ง 2 หน้ามา ตั้งแต่ต้นอยู่แล้ว ส่วนเรื่องขยะ เรา ใช้หลักการ 5 ส. เข้ามาช่วย เพราะ นอกจากสะอาดแล้ว ยังช่วยให้ทา� งาน ง่ายด้วย” ฟังการอธิบายเรือ่ ง Green office แล้ว รู้สึกว่ามีกฎเกณฑ์ควบคุมอยู่ไม่ น้อย ฉะนั้นจึงสงสัยว่า พนักงานจะ รู้สึกอึดอัดหรือ ไม่ เมื่อ เอ่ยถามถึง ประเด็นนี้ ดร.พงษ์วิภา ยิ้มเปี่ยม ไมตรีเช่นเคย ก่อนตอบว่า “ไม่เลยค่ะ เพราะนโยบายไม่ได้ บีบบังคับจนเกินไป อีกทั้งเมื่อปฏิบัติ ตามแล้ ว ส่ ง ผลดี ต ่ อ ตั ว พนั ก งานเอง ด้ วยซ�้ า พนั กงานของ อบก. เรา ส่ ว นมากใช้ ถุ ง ผ้ า แทนถุ ง พลาสติ ก


กันอยู่แล้ว และเมื่อรณรงค์การเป็น Green office ตัวพนักงานเองต่างก็ ช่วยกันหาวิธีลดปริมาณขยะลง เช่น เมือ่ จะซือ้ อาหาร ก็นา� จาน ชามส่วนตัว ไปใส่มาทานเอง ก็กลายเป็นว่าไม่มี โฟม หรือถุงพลาสติก นี่เขาท�าเอง โดยไม่ต้องบอกเลย” เป็ น ที่ ท ราบกั น ดี ว ่ า หลอดไฟ LED ราคาค่อนข้างสูง หากเปลี่ยน เพียงหลอดหรือสองหลอดคงพอไหว แต่ส�าหรับส�านักงานนั้นใช้หลอดไฟ หลายดวง การเปลี่ยนทั้งหมดย่อม หมายถึงงบประมาณที่สูงด้วยเช่นกัน ฉะนัน้ ดร.พงษ์วภิ า จึงมีขอ้ เสนอแนะ ส�าหรับองค์กรทีม่ งี บประมาณไม่สงู ว่า “ส�านักงานสีเขียว เริ่มด้วยจิตส�านึก ค่ ะ เช่ น ปิ ด ไฟทุ ก ครั้ ง ที่ ไ ม่ ใ ช้ ใ ห้

เป็นนิสัย เครื่องใช้ไฟฟ้าก็เช่นกัน ถ้า ไม่ใช้ก็ปิด โดยเฉพาะช่วงพักเที่ยง ไปทานข้าว กลับมาแล้วค่อยเปิดใหม่ จะช่วยประหยัดลงได้เยอะค่ะ ฉะนั้น หากยังไม่มีงบประมาณ ก็ควรเริ่ม จากการท�าเรื่องง่ายๆ อย่าง 5 ส. ไปก่อนค่ะ เมื่อทุกคนในส�านักงานมี จิตส�านึกสีเขียวแล้ว ทุกอย่างจะง่าย ขึ้น และที่ส�าคัญระดับผู้บริหารต้อง แสดงความมุ่งมั่นว่าส�านักงานของ เราต้องไปสู่ส�านักงานที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมให้ได้ เพราะถ้าผู้บริหาร ใส่ใจพูดคุย ตัง้ คณะท�างานขึน้ มาจาก ทุกแผนก แล้วสื่อสารให้เขาได้เข้าใจ ให้เขาจริงจัง คณะท�างานเหล่านีก้ จ็ ะ ไปรณรงค์กับเพื่อนในแผนกของเขา คล้ายกับการส่งพนักงานให้ไปคุยกัน

กลายๆ ซึ่งในที่สุดแล้วก็จะช่วยกัน ดึงเข้ามาสู่การด�าเนินงานสีเขียวได้” หลั ง จบการสนทนา ดร.พงษ์ วิ ภ า ได้ ช วนให้ ผู ้ เ ขี ย นเดิ น ชมบอร์ ด ประชาสัมพันธ์ส�านักงานสีเขียว กับ บอร์ดสาระ Green office ประจ�า เดือน ที่ติดไว้เป็นข้อมูลให้พนักงาน ตามจุดต่างๆ และชวนให้เดินดูสภาพ แวดล้อมที่น่าท�างานของ อบก. ซึ่ง อย่างหลังนัน้ ผูเ้ ขียนมีความรูส้ กึ ปลอด โปร่ง โล่งสบาย กับบรรยากาศรอบ ด้าน และเมื่อได้นั่งพูดคุยก็ยิ่งรู้สึก ถึงความน่าอยู่ น่าท�างานยิ่งขึ้น ส่วน อย่างแรกนัน้ เมือ่ คุยเสร็จผูเ้ ขียนจึงได้ เดินไปชม ปรากฏว่า ยืนอ่านเพลินอยู่ นานเลยทีเดียว

33


Let’s go Green

เรื่องและภาพ : ต้องการ

า ำ ค ส ญ ั น ้ ั แ น ค ก ่ไ ห น า ล ฉ

ก่อนซื้อของแต่ละอย่าง ได้อ่านฉลากกันบ้างไหมคะ และการตัดสินใจซื้อของ ของคุณขึ้นอยู่กับตรารับรองหรือฉลากบอกคุณสมบัติต่างๆ มากแค่ไหนคะ ตัวฉันนั้นปรับเปลี่ยนมาใช้ชีวิตแบบที่เขาเรียกกันว่า “สโลว์ไลฟ์” มาสัก 7 ปี ได้แล้วค่ะ ถึงแม้มันจะสโลว์จริงบ้างไม่จริงบ้าง ฉันก็มีหลักการส่วนตัวที่จะใช้ชีวิต ให้เบียดเบียนตัวเอง และเบียดเบียนโลกให้น้อยที่สุดเท่าที่จะท�าได้ โดยไม่ตึงเกิน ไปจนตัวเองล�าบากหรือไม่สบายใจ สิ่งที่ฉันปรับเปลี่ยนมากที่สุดนอกเหนือจาก การขายบ้านใน กทม. ที่แสนแออัดมาอยู่ที่ปากช่องที่อากาศดีกว่ากันเยอะ นั่นคือ

34


อาหารค่ะ ฉันพยายามหาของกินออร์แกนิกและท�าด้วยวิธี ปลอดภัย ไม่ใส่สารแปลกประหลาดมากินกันในครอบครัว ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เรื่องนี้ท�าให้ฉันต้อง ศึกษาค้นคว้าเรื่องเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ มากทีเดียว เพราะฉันรูว้ า่ มันคือค�าตอบทีด่ ี ที่สุดของสุขภาพคน และดีต่อสิ่งแวดล้อม ด้วย ในเมื่อเราต้องกินอาหารอย่างน้อย 3 มื้อต่อวัน ถ้าเราใส่ของที่ดีให้แก่ร่างกายและวิธีการได้มา ซึง่ สิง่ ของนัน้ ท�าให้ดนิ ดี อากาศดีกว่าเกษตรอุตสาหกรรม ที่ครอบง�าโลกอยู่มันก็ยิ่งเยี่ยมเลยใช่ไหมคะ ในการศึ ก ษาเลื อ กหาของกิ น ออร์ แ กนิ ก ท� า ให้ ฉั น ต้ อ งท� า ความรู ้ จั ก ฉลากและตรารั บ รองมาตรฐาน ต่ า งๆ มากมาย เนื่ อ งจากว่ า อาหาร หรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ที่จะขาย ในซูเปอร์มาร์เก็ตหรือส่งออกจะต้องมี ตรารับรองมาการันตีว่าท�าแบบเกษตร อินทรียจ์ ริง ซึง่ เอาเข้าจริงมาตรฐานรับรองแค่เรือ่ งเกษตร อินทรีย์ก็มีหลายรูปแบบแล้ว แต่ละประเทศหรือภูมิภาค ก็ มี ต รารั บ รองต่ า งกั น ไปและมี ข ้ อ ก� า หนดต่ า งกั น ด้ ว ย นอกจากตรารับรองแล้ว สิ่งที่ฉันต้องดูที่ฉลากอีกอย่าง ก็เป็นพวกที่เขียนประมาณว่า ไม่มีสารอันตรายต่างๆ ไม่มีสารเคมีรุนแรง หรือผ่านกรรมวิธีตามธรรมชาติ ซึ่ง ก็แล้วแต่ผลิตภัณฑ์นั้นๆ ว่าเราควรดูอะไรกันบ้าง และ ฉลากและตรารับรองบางอย่างที่ไม่เกี่ยวกับสุขภาพก็อาจ เป็นตัวช่วยให้ตัดสินใจเลือกได้ง่ายขึ้นอีก เช่น ฉลาก คาร์บอนที่ติดบนผลิตภัณฑ์ต่างๆ เป็นการแสดงข้อมูล ว่ า ตลอดวั ฏ จั ก รชี วิ ต ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี ก ารปล่ อ ยก๊ า ซ เรือนกระจกเท่าไหร่ หรืออย่างตรารับรอง Fairtrade ซึ่ง หมายความว่าผลิตภัณฑ์นี้เป็นการค้าโดยชอบธรรม ไม่ เอาเปรียบฝ่ายใดก็ตามในการผลิต แต่ทงั้ นีท้ งั้ นัน้ ตรารับรองและฉลากต่างๆ ไม่ใช่ทสี่ ดุ ทีเ่ ราจะเอามาตัดสินหรอกค่ะ เราคงเคยได้ยนิ ข่าว อยู่เนืองๆ เรื่องสินค้าที่เอาไปตรวจสอบแล้ว ไม่ได้ตรงตามมาตรฐาน ตามที่มีตรารับรอง ซึ่ ง อั น นี้ ส ร้ า งความคั บ ข้ อ งใจให้ กั บ ผู ้ บ ริ โ ภค อย่างมาก จนบางคนอาจไม่อยากซื้อของที่มีตรารับรอง ให้สิ้นเปลืองไปเลย ถ้าถามฉันเรื่องนี้ ฉันก็จะบอกว่า ถ้าเรารูจ้ กั แหล่งทีม่ าของอาหารว่าผลิตมาจากผูผ้ ลิตทีเ่ รา เชือ่ ใจจะดีกว่าตรารับรองอีกค่ะ ซึง่ พวกผัก ผลไม้ อาหาร สดต่างๆ นั้นหาได้นะคะ ทุกวันนี้ฉันซื้อข้าวและผัก รวม

ถึงเนื้อสัตว์ นม อาหารทะเลจากแหล่งที่ฉันเชื่อใจ โดยที่ แหล่งนั้นมีทั้งแบบได้ตรารับรองและแบบไม่มีตรารับรอง ถ้าเรารูจ้ กั อาหารและผูผ้ ลิตอาหารของเราได้จะดีทสี่ ดุ ค่ะ ลองพยายามท�าความรูจ้ กั ผูท้ ผี่ ลิตอาหารให้คณ ุ ดูกนั นะคะ แต่ในขณะเดียวกัน ตรารับรองก็เป็นเรื่องจ�าเป็นแน่นอน ค่ะ มีไว้เป็นข้อตกลงร่วมกันที่จะสามารถ ควบคุมวิธกี าร และคุณภาพของสินค้าให้ได้ ตามมาตรฐาน ดังนั้นเราต้องบาลานซ์ ตัวเองให้ได้ทั้ง 2 แบบค่ะ คือ หนึ่ง รูจ้ กั ฉลากและตรารับรองสินค้าต่างๆ ว่าหมายความว่าอย่างไร ตรงกับสิ่ง ที่เราต้องการหรือไม่ และสอง รู้จักว่าสิ่งที่เราต้องการ คื อ อะไร แล้ ว หามั น ให้ เ จอโดยไม่ ต ้ อ งพึ่ ง ฉลากรั บ รอง อย่างเช่นถ้าเราต้องการผักผลไม้ดีๆ ไว้ส�าหรับครอบครัว เรา เราควรลองปลูกเองหรือไปท�าความรูจ้ กั เกษตรอินทรีย์ ที่เราสามารถเชื่อใจได้แล้วซื้อหามาด้วยราคา ที่ยุติธรรมต่อผู้ปลูกด้วยนะคะ ส่วนของที่ไม่ สามารถเข้าถึงผู้ผลิตได้ เราก็คงต้องพึ่งพา ฉลากที่รับรองโดยองค์กรที่ไว้ใจได้ค่ะ ขอให้ ส นุ ก กั บ การท� า ความรู ้ จั ก ของที่ เ ราบริ โ ภค นะคะ

35


Green Attraction

เรื่อง-ภาพ : ตามตะวัน

ตากอากาศดีที่เมืองในฝัน

ซิมลา

ซิมลา เป็นเมืองที่ท�าให้เรารู้สึกเหมือนเป็นแจ๊คผู้ฆ่ายักษ์ ตอนไต่ต้นถั่ววิเศษซึ่ง สูงจนมองไม่เห็นยอด เพียงแต่เปลี่ยนจากต้นถั่วเป็นต้นสน เพราะขณะนั่งรถเมล์ไต่ ภูเขาไปเรื่อยๆ เห็นแต่ต้นไม้ที่สูงทะลุมาจากหุบเหว แถมยอดสูงแบบไม่รู้สิ้นสุด ตรงไหน ยิ่งท�าให้นึกว่าต้นไม้นั้นคงทะลุไปถึงก้อนเมฆได้ แล้วบนก้อนเมฆก็มีเมือง ในนิทานตั้งอยู่ เป็นเมืองที่มีปราสาท ราชวัง ผู้คนแต่งตัวสวยสด มองไปทางไหน ก็มีแต่รอยยิ้มแห่งความสุข... ปรีน๊ ๆ เสียงแตรรถปลุกให้ตนื่ ขึน้ จากความฝัน หลังงีบหลับไปพักใหญ่เพราะมึน กับโค้งแล้วโค้งเล่า ในทีส่ ดุ เราก็มาถึงซิมลา เมืองหลวงรัฐหิมาจัลประเทศของอินเดีย โดยสวัสดิภาพ ความจริงแล้วฉันรู้จักซิมลาผ่านละครเรื่องในฝันที่เคยดูมานาน หลายปีแล้ว จ�าได้ว่าผู้ก�ากับลงทุนพานักแสดงมาถ่ายท�าไกลถึงอินเดีย แล้วก็เลือก เมืองซิมลาให้เป็นโลเกชั่นแสนโรแมนติก เมื่อมีโอกาสมาอินเดียมีหรือจะไม่บรรจุ เมืองในฝันไว้ในโปรแกรมด้วย


1 2 3

1 ถ้าไม่นั่งรถบัสก็นั่งรถไฟมาซิมลาได้ 2 ซื้อของมีแต่ถุงกระดาษใส่ให้ 3 นักท่องเที่ยวมาไม่ขาดสาย 4 บริเวณจัตุรัสกลางเมือง

4

37


5 ซิมลา ตั้งอยู่บนความสูง 2,100 เมตรเหนือระดับน�้าทะเล ตัวเมืองแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนล่างที่รถสามารถแล่นไปมาได้ ดูเหมือนจะสิ้นสุดตรงสถานีรถโดยสารที่มาส่งเรา กับส่วนบนที่เป็น เขตเมืองอนุรักษ์ ห้ามรถขับขึ้นไป ซึ่งเป็นพื้นที่ท่องเที่ยวส�าคัญ นักท่องเที่ยวจะขึ้นไปหาโรงแรม เกสต์เฮาส์ พักบนนั้น เราเองก็ พร้อมแบกเป้ใบใหญ่เดินขึ้นไป แต่เดินยังไม่ถึง 10 ก้าวก็มีลูกหาบ ชาวอินเดียมาเสนอขายแรงงาน ดูจากโหงวเฮ้งแล้วท่าทางเป็นมิตร น่าไว้วางใจ จึงยอมจ่ายค่าแรงแลกกับความเบาสบาย หลังได้ที่พักถูกใจ ห้องโปร่ง สะอาด ราคายุติธรรม แถมเห็น วิวภูเขา เราก็เริ่มส�ารวจเมืองในฝัน ที่พักของเราตั้งอยู่เหนือมอลล์ ซึ่งเป็นลานกว้างประหนึ่งจัตุรัสของเมือง จึงนับเป็นต�าแหน่งที่ดี ให้ คะแนนโลเกชั่น 8 เต็ม 10 เพราะเดินออกไปหน่อยก็เจอบรรยากาศ เมืองท่องเที่ยว ที่ให้ความรู้สึกประหนึ่งอยู่ในยุโรปมากกว่าอินเดีย ด้วยภูมิประเทศที่ตั้งอยู่บนภูเขาสูง อากาศที่ซิมลาจึงเย็นสบาย เสมอ อย่างช่วงหน้าร้อน อุณหภูมิในเดลีเมืองหลวงของอินเดียอาจ สูงถึง 40 องศาเซลเซียส แต่ที่ซิมลาอุณหภูมิจะราวๆ 25 องศา เซลเซียส ในสมัยอาณานิคมที่อินเดียถูกอังกฤษปกครอง อังกฤษ มักย้ายรัฐบาลมาอยู่ที่นี่ในช่วงฤดูร้อนเสมอ ตัวเมืองด้านบนจึง ได้รับอิทธิพลแบบตะวันตกแทรกซึมอยู่มาก โดยเฉพาะเรื่องของ

สถาปัตยกรรมอาคารบ้านเรือนต่างๆ บริเวณมอลล์ที่ถือเป็นศูนย์รวมของนักท่องเที่ยว มีแลนด์มาร์ก คือโบสถ์คริสต์และห้องสมุด ซึ่งเป็นอาคารรูปแบบนีโอโกธิค รอบๆ บริเวณมีรูปปั้นมหาตมะ คานธี ไม่ไกลกันเป็นรูปปั้นของ อินทิรา คานธี นายกรัฐมนตรีหญิงผู้หลงรักรัฐหิมาจัลประเทศ โดยเฉพาะซิมลา เมืองที่ใครมีโอกาสได้มาสัมผัสก็คงต้องหลง รักเหมือนกัน นอกจากโบสถ์ อนุสาวรีย์คนดังคนส�าคัญของอินเดียแล้ว บนนี้ยังเป็นแหล่งช้อปปิ้ง มีทั้งร้าน อาหาร ร้านกาแฟ ร้านขายหนังสือ ขายเสื้ อ ผ้ า ของที่ ร ะลึ ก ไปรษณี ย ์ ที่ขายตั๋วรถ ฯลฯ ด้วยความเป็นเมือง ตากอากาศของผู้ดีอังกฤษ ซิมลาเลย กลายเป็ น เมื อ งตากอากาศของผู ้ ดี เศรษฐีชาวอินเดียในเวลาต่อมา และ เป็นเมืองท่องเที่ยวอันดับต้นๆ ของ อินเดีย ก่อนมาอินเดียหลายคนเตือนเรา ให้ระวังโน่นนี่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอาหาร ความสะอาด การเดินทาง ขอทาน อากาศที่เต็มไปด้วยฝุ่นละออง ยิ่งมากันเองแค่ 2 สาว ก็ต้อง

8

38 38

6


ฝุ่นละออง มลพิษแทบไม่มี ผิดกับตอนที่เราอยู่เดลี เมืองหลวงที่นั่น เต็มไปด้วยฝุ่นละอองเล็กๆ ท�าให้หายใจได้ไม่เต็มปอด งานนี้ต้อง ยกความดีความชอบให้รัฐบาลท้องถิ่นซิมลา ที่ออกกฎหมายห้ามใช้ รถยนต์ในเขตเมืองชั้นใน แถมยังมีข้อบังคับใหม่อีกด้วยว่า หากชาว เมืองซิมลาคนไหนจะซื้อรถยนต์ ต้องแสดงหลักฐานก่อนว่าที่บ้านมี ที่จอด ถึงจะได้รับการอนุมัติให้ซื้อได้ เนื่องจากที่ผ่านมาหลายคน เอารถจอดไว้ตามหน้าบ้านบ้าง ถนนข้างทางบ้าง ก่อให้เกิดปัญหา จราจรติดขัด ทั้งยังเบียดบังพื้นที่คนเดินถนนอีก จะว่าไปแล้วซิมลาก็เหมือนสวรรค์ของคนเดินถนน ถูกใจคน ชอบเดินชอบถ่ายรูปอย่างเรามาก ไม่ต้องคอยระวังว่าจะมีรถมา 9 เสยบั้นท้ายเมื่อไหร่ แถมยังรู้สึกสงบอย่างหาที่ไหนไม่ได้ในอินเดีย เนื่องจากไม่มีเสียงบีบแตรรถเสียงดัง มอเตอร์ไซค์ก็ไม่สามารถแว้น ขึน้ มาในเขตเมืองอนุรกั ษ์ได้ เท่านัน้ ยังไม่พอ รัฐบาลท้องถิน่ เขายังออก กฎหมายห้ามทิง้ ขยะลงพืน้ ห้ามสูบบุหรี ่ ห้ามขากถุย พืน้ ถนนไม่วา่ จะแถวแหล่งช้อปปิ้งหรือตามซอกเล็กซอกน้อยจึงสะอาดหมดจด นักท่องเที่ยวเองก็ต้องปฏิบัติตามกฎ แม้จะมาเที่ยวเพียงช่วงเวลา สั้นๆ ก็ตาม ระหว่างเดินเที่ยวในซิมลา เราเจอคุณน้า 2 คนมาส่งเด็กไทย เข้าโรงเรียนที่นี่ ซิมลาน่าจะเป็นเมืองอันดับต้นๆ ของอินเดีย ที่เด็ก ไทยมาเรียนภาษาอังกฤษ คุณน้าทั้งคู่เป็นเอเจนซี่การศึกษา ซึ่งมา ที่นี่เป็นประจ�า แถมใจดีชวนนั่งรถกลับเดลีด้วยกัน เพราะรถบัส ที่พาเด็กมา ขากลับว่างมาก นอกจากเป็นเมืองการศึกษา ซิมลา ยังได้รับการจัดอันดับให้เป็น Best City ของอินเดียด้านสิ่งแวดล้อม และสาธารณู ป โภคหลายปี ติ ด ต่ อ กั น เพราะมี ก ารบริ ก ารด้ า น 10 สาธารณูปโภคดี ปัญหาไฟฟ้าดับน้อย ระบบประปาดี มลพิษในเมือง น้อย อากาศบริสุทธิ์ 5 Viceregal Lodge สมัย นอกจากชอบเดินเล่น ถ่ายรูปแล้ว ไปไหนมาไหนไม่ว่าเมือง 11 ก่อนเป็นทีพ่ า� นักของผูส้ า� เร็จ เล็กเมืองใหญ่เราต้องขอโฉบไปตลาด ว่ากันว่าการเดินตลาด ไม่ว่า ราชการจากอังกฤษ จะเป็นสถานที่แห่งใดในโลก นับเป็นวิธีหนึ่งที่ดีในการท�าความรู้จัก 6 ห้องสมุดและโบสถ์ วิ ถีชีวิตของผู้คนในเมืองนั้นๆ อย่างตลาดสดที่ซิมลา บรรยากาศจะ 7 ตลาดสดในเมือง ต่ างจากย่านช้อปปิ้งแถวจัตุรัสกลางเมืองมาก เพราะคนที่เดินช้อป 8 สาวๆ มาช้อปปิ้ง ด้านในส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยว แต่ในตลาดสดจะเป็นชาวอินเดีย 9 บ้านเรือนที่ตั้งบนไหล่เขา ชาวทิเบตพลัดถิ่น ที่มาจับจ่ายซื้อของ มีการสนทนาพูดคุย แม้ฟัง 10 ร้านกาแฟร้านนี้มีอาหาร เช้าขายด้วย ไม่ออก แต่สัมผัสได้ว่าอบอวลด้วยบรรยากาศความเป็นมิตร 11 อนุสาวรีย์อินทิรา คานธี เป็นมิตรกับผู้คนยังไม่พอ ตลาดเมืองซิมลายังเป็นมิตรกับ ผู้หลงรักเมืองซิมลา สิง่ แวดล้อม เพราะทีน่ ไี่ ม่ใช้ถงุ พลาสติก แต่ใช้ถงุ กระดาษใส่ผกั ผลไม้ ให้แทน เห็นแล้วนึกถึงตอนเด็กๆ ที่เคยช่วยคุณยายพับถุงกระดาษ ขาย เมืองไทยเราแต่กอ่ นใช้ใบตอง ใช้ถงุ กระดาษ หิว้ ตะกร้าไปตลาด ฟีลลิ่งแบบนี้เลย แต่เรากลับเปลี่ยนวิถี หันมาพึ่งพาถุงพลาสติก เกือบทุกการบริโภค ขณะที่หลายประเทศในโลกตัดสินใจแบนถุง บวกเรื่องความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเพิ่มอีกหลายเท่า แต่ พลาสติกอย่างเด็ดขาด อย่างที่อินเดียหลายรัฐก็ออกกฎหมายห้าม พอมาถึงอินเดียจริงๆ แล้ว หลายอย่างไม่ได้น่ากลัวเท่าที่คิด แต่ยัง ใช้ถุงพลาสติก หรือถ้าจะใช้ก็จ�ากัดความหนาของถุง ต้องระวังอยู่บ้าง โดยเฉพาะตอนอยู่เมืองใหญ่ๆ ที่ผู้คนหลากหลาย และทีน่ า� เทรนด์รกั ษ์สงิ่ แวดล้อมสุดๆ คือรัฐหิมาจัลประเทศ ซึง่ ทว่าพอมาถึงซิมลาแล้ว ความรู้สึกระแวงระวังกลับจางหาย มีแต่ มีซมิ ลาเป็นเมืองหลวงนีแ่ หละ เพราะเป็นรัฐแรกในอินเดียทีป่ ระกาศ ความปลอดโปร่งเข้ามาแทนที่ ห้ามผลิต สะสมสต๊อก จ�าหน่าย แจกจ่าย หรือใช้ถงุ พลาสติก ตัง้ แต่ อากาศดีทา� ให้ชวี ติ ดี คงเป็นปัจจัยแรกทีท่ า� ให้เรารูส้ กึ ปลอดโปร่ง ปี 2546 ผ่านไป 10 กว่าปีพวกเขายังคงยึดนโยบายเดิม นโยบาย เมื่ออยู่ซิมลา เพราะเมืองนี้เต็มไปด้วยป่าเขาและทัศนียภาพสีเขียว สีเขียว ที่ท�าให้ซิมลากลายเป็นเมืองในฝันอย่างแท้จริง

39


Technology & Design

เรื่องโดย : อนุสรณ์ ศรีค�ำขวัญ

Reuse ไอเดียเก๋ๆ เพื่อลดโลกร้อน กำร Reuse หรือน�ำกลับมำใช้ใหม่ เป็นอีกหนึง่ แนวทำงในกำรช่วยลดปริมำณ กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก ทีไ่ ม่เพียงจะลดควำมร้อนของโลกลง หำกผสำนควำม คิดสร้ำงสรรค์เข้ำไปแล้วก็จะกลำยเป็นผลิตภัณฑ์เก๋เท่ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ดังเช่นผลิตภัณฑ์ต่อไปนี้

ปฏิทินปลูกผัก โดย LUKYANG ปฏิ ทิ น นั บ เป็ น ของใช้ ที่ เ ปลื อ ง ทรัพยำกรอย่ำงหนึ่ง เพรำะต้องเปลี่ยน ทุ ก ปี และเมื่ อ เปลี่ ย นแล้ ว ส่ ว นมำกก็ โยนทิ้ง ด้วยเหตุนี้ ‘วีรพล วงศ์เทวัญ’ หรือ ลูกยำง เจ้ำของแบรนด์ LUKYANG จึงได้ออกแบบปฏิทินให้คุ้มค่ำที่สุด โดย ท�ำเป็นซองแบบฉีก เดือนละ 1 ซอง ภำยในซองของแต่ละเดือนบรรจุเมล็ด พั น ธุ ์ ผั ก สวนครั ว คุ ณ ภำพดี ที่ เ หมำะ สมกับฤดูนั้นๆ เอำไว้ ได้แก่ โหระพำ, กะเพรำ, พริก, ผักกำด เป็นต้น เมือ่ หมด เดือน ผูใ้ ช้กส็ ำมำรถฉีกตำมรอยปรุ แล้ว น�ำเมล็ดพันธุผ์ กั ไปปลูกได้ทงั้ ในกระถำง หรือกระบะเล็กๆ ส่วนวัสดุที่น�ำมำท�ำ ปฏิทิน ก็เป็นกระดำษรีไซเคิล เรียกได้

ภาพจาก Facebook : LUKYANG 40 และ http://manager.co.th

ว่ำตอบโจทย์ 3R อย่ำงลงตัว ปฏิทินปลูกผัก ไม่เพียงเป็นที่ชื่น ชอบของผูใ้ ช้ แต่ยงั ได้รบั รำงวัล DEmark 2015 (Design Excellence Award) และ G-Mark 2015 (Good Design Award) อีกด้วย Garmento Board แผ่นกระดาน จากเศษผ้า ถุ ง ผ้ ำ ถื อ เป็ น ตั ว แทนถุ ง พลำสติ ก และได้รับกำรรณรงค์ให้ใช้เยอะมำกใน ปัจจุบัน แม้ถุงผ้ำจะดีกว่ำถุงพลำสติก ตั ว อย่ ำ งสิ น ค้ ำ เหล่ ำ นี้ เ ป็ น หนึ่ ง ใน แต่ผ้ำเองก็มีอำยุกำรย่อยสลำยที่ยำวนำน เช่นกัน ฉะนั้นเศษผ้ำก็เป็นตัวกำรหนึ่ง หลำยๆ แนวคิดทีเ่ รำสำมำรถน�ำไปประยุกต์ ในกำรสร้ำงสภำวะเรือนกระจก กับของใกล้ตัวได้ และแม้สมกำรกำรแก้ ตัวอย่ำงผลิตภัณฑ์ที่น�ำเศษผ้ำมำ ปัญหำสภำวะก๊ำซเรือนกระจก จะก่อให้เกิด Reuse ต้องยกให้ Garmento Board ไอเดียเก๋ๆ มำกมำย แต่จะดีมำกหำกเรำทุก ของ ‘ยุทธนำ อโนทัยสินทวี’ นักออกแบบ คนช่วยลดโลกร้อน ด้วยหลัก 3R แต่เนิ่นๆ Fashion Accessory เจ้ำของแบรนด์ เพรำะจะรักษำควำมสมดุลของโลกให้ยงั่ ยืน ReMaker ที่ พ ยำยำมหำทำงออกให้ อย่ำงแท้จริง เศษผ้ำจ�ำนวนมหำศำลที่เขำมี กระทั่ง ตกผลึ ก ที่ ก ำรน� ำ มำอั ด เป็ น กระดำน (คล้ำยกับกำรท�ำแผ่นไม้พำร์ทเิ คิลบอร์ด) จนผลงำนได้รับรำงวัล Best Editors Award ในปี 2010 จำก International Contemporary Furniture Fair (ICFF) และได้รับกำรบรรจุไว้ในห้องสมุดวัสดุ Material Connexion เพรำะเป็นวัสดุที่ ยังไม่มีใครท�ำขึ้นมำก่อน ภาพจาก http://materia.nlmaterial/garmento-boards/ona215-1


นวัตกรรม ลดโลกร้อน

นอกจำกหลัก 3R คือ Reduce ลดกำรใช้ กำรบริโภคทรัพยำกรที่ไม่ จ�ำเป็นลง Reuse กำรใช้ทรัพยำกรให้ คุ้มค่ำที่สุด โดยกำรน�ำกลับมำใช้ซ�้ำๆ Recycle กำรน�ำหรือเลือกใช้ทรัพยำกร มำเข้ำสู่กระบวนกำรผลิตใหม่ กำรน�ำ นวัตกรรมมำใช้ในชีวิตประจ�ำวันก็ช่วย ลดโลกร้อนได้ดี อย่ำงกรณีนวัตกรรมที่ เรำน�ำมำอัพเดตกันในฉบับนี้

Electree Mini

แปลตำมตัว จะได้ควำมว่ำ “ต้นไม้ อิเล็กทรอนิกส์จิ๋ว” แต่เรียกว่ำ “บอนไซ พลังแสงอำทิตย์” ดูจะเป็นมิตรมำกกว่ำ เพรำะเจ้ำต้นไม้ต้นนี้เป็นทั้งของประดับ และให้พลังงำน แรงบันดำลใจของเจ้ำ Electree Mini มำจำกต้นบอนไซ โดยผู้ออกแบบ ได้น�ำแผงโซลำร์เซลล์ขนำดเล็กมำสร้ำง เป็นใบ ซึ่งสำมำรถบิดงอรับแสงอำทิตย์ ได้ ภำยในส่ ว นฐำนของล� ำ ต้ น มี ช ่ อ ง ชำร์จแบตเตอรี่ 3 ช่อง สำมำรถชำร์จ ได้ทั้งขนำด AA และ AAA ซ�้ำยังมี ช่องเสียบ USB เพื่อชำร์จสมำร์ทโฟน ที่ เผลอแวบๆ แบตหมดอยู่เรื่อยอีกด้วย นอกจำกคุณสมบัติด้ำนกำรให้พลังงำน แล้ว จุดเด่นทำงกำรสร้ำงควำมสวยงำม และเป็นเครื่องประดับก็ไม่น้อยหน้ำกัน เพรำะผู้ผลิตได้ออกแบบมำอย่ำงสวยงำม อีกทั้งยังใช้เป็นโคมไฟในยำมค�่ำคืนได้ อีกด้วย

ภาพจาก http://www.popsugar.com http://www.poderpda.com

Repurpose Schoolbags กระเป๋านักเรียนสองผสาน Repurpose Schoolbags เป็นอีก นวัตกรรมหนึ่งที่น�ำพลังแสงอำทิตย์มำ ช่วยในกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ำ แต่เป็น นวัตกรรมแบบผสำนควำมร่วมมือ นัน่ คือ น�ำถุงพลำสติกเก่ำมำรีไซเคิลเป็นกระเป๋ำ นักเรียนทีก่ นั น�ำ้ ได้ แล้วติดตัง้ แผงโซลำร์ เซลล์ไว้ดำ้ นหน้ำส่วนบนของกระเป๋ำ ท�ำ ให้ทกุ ๆ วันทีเ่ ด็กสะพำยกระเป๋ำไป-กลับ โรงเรียน เป็นกำรชำร์จไฟไปในตัว เมื่อ ถึงบ้ำนยำมค�ำ่ คืนก็ใช้กระแสไฟฟ้ำนีอ้ ำ่ น หนังสือได้ โดยให้ควำมสว่ำงสูงสุดถึง 12 ชั่วโมงเลยทีเดียว Repurpose Schoolbags เป็นแนว ควำมคิดของ องค์กร Rethaka ในเมือง Rustenburg ประเทศแอฟริกำใต้ ที่ช่วย แก้ปัญหำให้กับเด็กยำกไร้ ที่ไม่มีไฟฟ้ำใช้ ซึ่ ง ในอนำคตเมื่ อ โครงกำรเติ บ โตขึ้ น ต้ อ งใช้ น�้ ำ มั น ก๊ ำ ด โดยได้ อ อกแบบ เรำอำจจะได้เห็นกระเป๋ำพลังงำนแสง และพัฒนำกระเป๋ำทีว่ ำ่ นีข้ นึ้ มำ แล้วแจก อำทิตย์นอี้ ยูท่ วั่ ทุกมุมโลกก็เป็นได้ ให้นักเรียนใช้ ถึงกระนั้นทุกอย่ำงย่อมมี เงิ น ทุ น ฉะนั้ น ทำงองค์ ก รจึ ง ต้ อ ง คัดสรรเฉพำะนักเรียนที่ขำดแคลนและ เดินทำงไกลจริงๆ เท่ำนั้น โดยรับเงิน ภาพจาก - http://thebetterawards.com/big-betterบริ จำคจำกบริ ษั ท องค์ ก รหรื อ บุ คคล awards-repurpose-schoolbags เมื่อได้ผู้บริจำคและคนที่จะมอบให้แล้ว - http://www.inhabitots.com องค์ ก รก็ จ ะผลิ ต และมอบให้ โ ดยตรง - http://edition.cnn.com

41 41


หนัง/เพลง/หนังสือ

เรื่องและภาพ : เล็ก รุ่งจิรวัฒน์

หนัง : Little Forest ผู้ก�ำกับ : Junichi Mori (จุนอิจิ โมริ)

หนังสือ : ท�ำอะไรเล็กๆ ง่ำยๆ ก็มีควำมสุขได้

Little Forest ภาพยนตร์ญี่ปุ่นที่ดัดแปลงมาจากการ์ตูนหรือมังงะในชื่อเดียวกัน ของไดสุเกะ อิงาราชิ ผลงานการก�ากับของ จุนอิจิ โมริ น�าแสดงโดย ไอ ฮาชิโมโตะ หนังแบ่งออกเป็น 4 ภาค 4 ฤดู คือ ฤดูร้อน (Summer) ฤดูใบไม้ร่วง (Autumn) ฤดูหนาว (Winter) และฤดูใบไม้ผลิ (Spring) แต่เวลาออกฉายได้แบ่งออกเป็น 2 ภาค Summer & Autumn กับ Winter & Spring ภาพยนตร์เรื่องนี้ถ่ายทอดเรื่องราวของ อิชิโกะ หญิงสาววัยรุ่นที่เคยไปใช้ชีวิต ในเมืองใหญ่ แล้วตัดสินใจกลับมาใช้ชีวิตในชนบทที่บ้านเกิดของเธอ ซึ่งเป็นชุมชน เล็กๆ แสนห่างไกล หนังค่อยๆ ด�าเนินเรื่องไปอย่างช้าๆ เรื่อยๆ ผ่านเมนูอาหารที่ อิชิโกะท�า ซึ่งเธอได้ซึมซับและเรียนรู้วิธีการท�าอาหารเหล่านี้มาจากแม่ แต่ตอนนี้แม่ ของเธอได้ออกเดินทางไกล เธอจึงต้องใช้ชีวิตอยู่คนเดียว โดยเธอต้องท�านา ปลูก ข้าว ปลูกผัก เก็บผลไม้ต่างๆ มาท�าเป็นอาหารด้วยตัวเอง ตลอดทั้งเรื่อง เราจะได้เห็นภาพธรรมชาติที่สวยงาม ได้เห็นการปลูกข้าว ปลูก ผัก ท�าอาหาร วิธีการเก็บรักษาอาหาร การใช้ชีวิตของชาวบ้านในชนบท ทั้ง 4 ฤดู แม้เนื้อเรื่องทั้ง 4 ภาคจะดูคล้ายๆ กัน เหมือนวนอยู่ที่เดิม แต่เป็นการวนที่ท�าให้ อิชิโกะเติบโตขึ้น และได้พบค�าตอบ ซึ่งเธอได้ตั้งค�าถามกับตัวเอง ว่าการกลับมา ใช้ชีวิตที่บ้านเกิดครั้งนี้ เป็นเพียงแค่การหนีกลับมาเพราะไม่สามารถใช้ชีวิตในเมือง ใหญ่ได้ หรือเป็นวิถีชีวิตที่เธอเลือกแล้วจริงๆ ลิตเติล้ ฟอเรสต์ เป็นภาพยนตร์ทดี่ แู ล้วมีความสุข ภาพสวย เพลงประกอบเพราะ นอกจากนี้หนังยังถ่ายทอดรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ มากมาย ให้เราได้เห็น ได้เรียนรู้ ภูมิปัญญาและวิถีชีวิตในชนบทของคนญี่ปุ่น ซึ่งหนังเรื่องนี้ก็น่าจะเป็นตัวอย่างของ การใช้ชีวิตที่เรียบง่าย หรือสโลว์ไลฟ์อย่างแท้จริง

“หลั ง ๆ มานี้ ผมชอบคิ ด ว่ า อะไรคื อ ความสุขที่แท้จริงของการมีชีวิต แล้วผมก็ได้ ค�าตอบว่า มันไม่ใช่สิ่งที่คนจ�านวนมากคิด หรือสิง่ ทีส่ งั คมโน้มน้าวให้เราเชือ่ ต่อๆ กันมา ความจริงทีผ่ มพบคือ ความสุขเป็นเรือ่ งง่ายๆ และอยู่ใกล้ๆ ตัวเรานี่เอง” ข้อความข้างบนมาจากค�าน�าของผูเ้ ขียน ในหนังสือ “ท�าอะไรเล็กๆ ง่ายๆ ก็มคี วามสุข ได้” หนังสือว่าด้วยการเดินทางเล่มแรกของ คุณโหน่ง วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ เป็นการ บันทึกเรื่องราวที่พบเจอระหว่างเดินทางไป ท่องเทีย่ วทีเ่ มืองซากะ จังหวัดเล็กๆ บนเกาะ คิวชู ประเทศญี่ปุ่น หนั ง สื อ เล่ ม นี้ จ ะพาเราไปรู ้ จั ก กั บ คน

42


นักเขียน : วงศ์ทนง ชัยณรงค์สงิ ห์ เพลง : อัลบั้มเฉลียงริมน�้ำ ศิลปิน : วัชระ ปำนเอี่ยม ท้ อ งถิ่ น ในเมื อ งซากะ ซึ่ ง ท� า อาชี พ เล็ ก ๆ น้อยๆ แล้วมีความสุขกับชีวิต อาทิ เจ้าของ ฟาร์มเล็กๆ, ร้านขายขนมหวาน, คาเฟ่บ้าน ดิน, นักปรุงแกงกะหรี่, ช่างไม้, ช่างปั้น ดินเผา และนักอนุรักษ์อุโมงค์ เป็นต้น คุณโหน่งถ่ายทอดเรื่องราวออกมาให้เรา อ่านอย่างเรียบง่าย แต่เหมือนได้พาเราออก เดินทางไปด้วยกัน ระหว่างทีอ่ า่ นเราจะอมยิม้ อยู่เป็นระยะ บางครั้งก็เหมือนได้กลิ่นอาหาร ได้ยนิ เสียงหัวเราะ ทีด่ งั ออกมาจากตัวหนังสือ ในหน้ากระดาษ

เสน่ห์อย่างหนึ่งของบทเพลงคือการ อยู่เหนือกาลเวลา หลายบทเพลงที่ถูก เปิดเมื่อหลายสิบปีก่อน ทุกวันนี้ก็ยัง เปิดฟังได้อยู่บ่อยๆ อย่างบทเพลงของ วงเฉลียงที่เรายังคงได้ฟังกันอยู่เรื่อยๆ อั ล บั้ ม เฉลี ย งริ ม น�้ า เป็ น การรวม เพลงสิบกว่าเพลงของเฉลียง ที่คุณเจี๊ยบ วัชระ ปานเอีย่ ม เอามาร้องใหม่กบั ดนตรี เบาๆ ในรูปแบบอะคูสติก โดยงานชุดนี้ ยังคงมี คุณจิก ประภาส ชลศรานนท์ รับหน้าที่เป็นโปรดิวเซอร์ ดูแลการผลิต เช่นเคย บทเพลงที่อยู่ในอัลบั้มนี้ เป็นเพลง ที่เราคุ้นเคยกัน อย่าง 1. รู้สึกสบายดี 2. ฉันเชือ่ เธอ 3. เร่ขายฝัน 4. เธอหมุน รอบฉัน ฉันหมุนรอบเธอ 5. ถ้าโลกนี้ มีเราเพียงสองคน 6. เอกเขนก 7. ดอก มะลิ 8. ต้นชบากับคนตาบอด 9. อื่น อื่นอีกมากมาย 10. ถูกโฉลกเธอ 11. ย�้า คิด ย�้าฝัน 12. ต่างกัน เพลงของเฉลี ย ง นอกจากจะให้ ความรื่นรมย์ในการฟังท่วงท�านองของ เพลงแล้ว เรายังได้แง่คิด มุมมอง ที่ สร้างสรรค์ ทั้งในเรื่องความรัก ความ

ฝัน การใช้ชีวิต รวมถึงความคิดด้าน สังคมและสิ่งแวดล้อม แต่เป็นการคิด ต่างอย่างอ่อนโยน ท�าให้ทุกวันนี้เรายัง คงได้ยนิ เพลงเฉลียงอยูเ่ สมอ อย่างเพลง ‘ต้นชบากับคนตาบอด’ บอดก็เพียง สายตาเท่านัน้ แต่จติ ใจ ก็ยังผูกพันความงาม อาจจะรับรู้ไปตาม สูดกลิ่นงามฟัง เสียงวิไลร่มไม้บังเงา สิง่ จะงาม อยูก่ บั ใจ บอดทีใ่ จเห็นไป อย่างไรไม่มีวันงาม โลกจะสวยนัน้ สวยไปตาม จิตทีง่ าม มองโลกสดใสไปในทางดี เฉลียงริมน�้า เป็นอัลบั้มเพลงที่เปิด ฟังสบายๆ ให้ความรื่นรมย์ เพลิดเพลิน เป็นบทเพลงเฉลียงที่อบอุ่นนุ่มนวล และ สดใส ใครที่เป็นแฟนเพลงของเฉลียง อยู่แล้ว หรือแม้แต่ใครที่เพิ่งมีโอกาสได้ ฟังเป็นครั้งแรก ก็น่าจะชอบบทเพลงใน ชุดนี้เช่นกัน

43 43


Around the World

เรื่องและภาพ : กองบรรณาธิการ

ภาพจาก www.greentechlead.com

โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ลอยน�้า ใหญ่ที่สุดในโลก! ปั ญ หาด้ า นพลั ง งาน เป็ น ปั ญ หา ระดับโลกที่ทุกประเทศให้ความส�าคัญ เนื่องจากแหล่งพลังงานจ�าพวกเชื้อเพลิง ต่ า งๆ เช่ น น�้ า มั น ก๊ า ซธรรมชาติ ถ่านหิน นับวันจะยิ่งมีปริมาณน้อยลง ทุกที แถมยังก่อให้เกิดมลพิษที่ส่งผล ต่ อ ระบบนิ เ วศของโลกใบนี้ ทั้ ง ใบ ดั ง นั้ น พลั ง งานทางเลื อ ก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งพลังงานสะอาดอย่างพลังงาน แสงอาทิตย์ จึงเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนให้ ความสนใจอย่างจริงจัง ล่าสุด ประเทศญี่ปุ่นได้สร้างโรงไฟฟ้า ที่ ใ ช้ พ ลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ แ บบลอย น�้ า ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในโลกแล้ ว โดยบริ ษั ท Kyocera Corporation and Century Tokyo Leasing Corporation ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ยั ก ษ์ ใ หญ่ ข องญี่ ปุ ่ น ในกลุ ่ ม พลังงานได้เริม่ ก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิ ต ย์ แ บบลอยน�้ า ในบริ เ วณ อ่างเก็บน�้ายามาคุระ เขตปกครองชิบะ ห่างจากกรุงโตเกียวราว 43 กิโลเมตร บริษัทได้ท�าการติดตั้งกล่องขนาดใหญ่

44

ที่ ส ามารถยึ ด ติ ด กั บ แผงโซลาร์ เ ซลล์ จ�านวน 51,000 ชุด เหนือผิวน�้าบริเวณ อ่างเก็บน�้าจนกลายเป็นแพโซลาร์เซลล์ ที่มีพื้นที่มากถึง 180,000 ตารางเมตร หรื อ เที ย บเท่ า สนามฟุ ต บอลจ� า นวน 18 สนาม มีก�าลังการผลิตขนาด 13.7 เมกะวั ต ต์ สามารถผลิ ต พลั ง งานให้ กับครอบครัวราว 5,000 หลังคาเรือน และจะช่ ว ยลดการปลดปล่ อ ยก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ราว 8,000 ตันต่อ ปี ซึ่งโรงงานนี้จะเสร็จสมบูรณ์ในเดือน มีนาคมปี 2018 ที่ ต ้ อ งสร้ า งโรงไฟฟ้ า แบบลอยน�้ า เช่ น นี้ เ พราะญี่ ปุ ่ น เป็ น ประเทศเกาะ เล็กๆ ที่มีที่ดินอยู่จ�ากัด ขณะที่การผลิต กระแสไฟฟ้าจากแผงโซลาร์เซลล์ต้อง ใช้พื้นที่กว้างขวางมาก โชคดีที่ประเทศ ญี่ ปุ ่ น มี อ ่ า งเก็ บ น�้ า อยู ่ เ ป็ น จ� า นวนมาก เนื่องจากการพัฒนาระบบชลประทาน เพือ่ การเกษตร ดังนัน้ จึงแก้ปญ ั หาโดยให้ แผงโซลาร์เซลล์ไปลอยอยูบ่ นผืนน�า้ แทน นอกจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว มีอีก

หลายประเทศที่ให้ความสนใจโรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์แบบลอยน�้า อย่าง เช่ น ประเทศบราซิ ล โดย Brazil’s Balbina hydropower plant (HPP) ได้ประกาศแผนการก่อสร้างโรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ลอยน�้า ในอ่างเก็บ น�้าของเขื่อนบัลบินา รัฐอเมซอน ซึ่ง คาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ในเดือนมกราคม ปี 2019 ในส่วนของประเทศอังกฤษ ก็ มี แ ผนก่ อ สร้ า งโรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสง อาทิ ต ย์ ล อยน�้ า ที่ มี ข นาดใหญ่ ที่ สุ ด ใน ทวีปยุโรป ในอ่างเก็บน�้าควีนอลิซาเบธ ที่ 2 โดยจะด� า เนิ น การติ ด ตั้ ง แผง โซลาร์เซลล์ขนาดใหญ่จ�านวน 23,000 ชุด กินพื้นที่เหนือผิวน�้ากว้างเท่ากับสนาม ฟุตบอล 8 สนามรวมกัน โดยมีก�าลัง การผลิ ต 6.3 เมกะวั ต ต์ สามารถ ผลิตพลังงานไฟฟ้าให้กับครอบครัวราว 1,800 หลังคาเรือน คาดว่าโครงการนี้ จะเสร็จสมบูรณ์และจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ ภายในปี 2020


EU และกลุ่มประเทศทะเลเหนือลงนาม

แผนปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานลม

นอกจากพลังงานแสงอาทิตย์พลังงานลมก็เป็นอีกหนึ่งพลังงานสะอาดที่หลาย ประเทศให้ความสนใจเพราะไม่กอ่ ให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อม และสามารถน�า มาใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่รจู้ กั หมดสิน้ เมือ่ วันที่ 6 มิถนุ ายน 2559 กลุม่ ประเทศแถบ ทะเลเหนือ ซึ่งได้แก่ เบลเยียม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี ไอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน พร้อมด้วย นาย Maroš Šefčovič รองประธาน

Energy Union และนาย Miguel Arias Cañete กรรมาธิ ก ารยุ โ รปด้ า นการ ด�าเนินการเกีย่ วกับสภาพภูมอิ ากาศและ พลังงาน (Climate Action & Energy) ได้ร่วมลงนามปฏิญญาและแผนปฏิบัติ การว่าด้วยความร่วมมือด้านพลังงาน ลม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสภาวะ ที่ เ อื้ อ ต่ อ การพั ฒ นาพลั ง งานลมนอก ชายฝั ่ ง ทะเลเหนื อ ให้ เ ป็ น การพั ฒ นา แบบยั่งยืน และเพื่อให้แน่ใจว่าประเทศ สมาชิกจะสามารถเข้าถึงแหล่งพลังงาน ได้ โดยลดการพึ่งพาพลังงานจากต่าง ประเทศ อีกทั้งยังเป็นการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ของการประชุ ม COP21 เมื่ อ เดื อ น พฤศจิกายน 2558 ซึ่งความร่วมมือครั้งนี้ มุ่งไปที่การ พัฒนาใน 4 ด้าน ได้แก่ ● การใช้พื้นที่ที่มีอยู่จ�ากัดให้เกิด ประโยชน์ สู ง สุ ด โดยอาศั ย การแลก เปลี่ยนข้อมูล การหาแนวทางร่วมใน การป้ อ งกั น ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม และการประสานการออกใบอนุ ญ าต ที่เกี่ยวข้อง ● การพั ฒ นาโครงข่ า ยไฟฟ้ า เพื่ อ รองรั บ การพั ฒ นาแหล่ ง ผลิ ต พลั ง งาน ไฟฟ้ า จากพลั ง งานลมนอกชายฝั ่ ง ใน อนาคต โดยเน้นการวางแผนและการ พัฒนาโครงข่ายไฟฟ้าในพื้นที่ที่จ�าเป็น รวมทั้งความเป็นไปได้ของความร่วมมือ

ภาพจาก : www.voathai.com

การหาแนว ปฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น เลิ ศ หรือ best practice เพื่ อ ปรั บ กฎเกณฑ์ ด้ า นเทคนิ ค และ มาตรฐานภายใน ด้ า นพลั ง งานที่ ม าจากน�้ า มั น และก๊ า ซ ภูมิภาคให้เป็นหนึ่งเดียวกัน ธรรมชาติ ความร่ ว มมื อ ในครั้ ง นี้ จ ะช่ ว ยลด ● การแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ระหว่ า ง ค่าใช้จ่ายได้ถึง 5.1 พันล้านยูโร เมื่อ ประเทศสมาชิกเกี่ยวกับความต้องการ เที ย บกั บ การแยกพั ฒ นาโครงการใน ด้านโครงสร้างพื้นฐานนอกชายฝั่งเพื่อ แต่ละประเทศ รวมถึงจะส่งผลดีในทาง วางแผนการลงทุนรวมทั้งการระดมทุน เศรษฐกิจจากการรวมตลาด และจะมี ส�าหรับโครงการที่ด�าเนินร่วมกัน ซึ่งยัง ส่วนช่วยสนับสนุนการด�าเนินงานด้าน เปิดโอกาสให้ประเทศอื่นๆ ที่มีความ สิ่งแวดล้อมและการคุ้มครองทรัพยากร ทางทะเลด้วย สนใจในการลงทุนได้เข้าร่วม ●

45


ภาวะโลกร้อนท�าลายความหลากหลายในท้อง ทะเลและท�าให้สตั ว์หลายชนิดเสีย่ งต่อการสูญพันธุ์

ที ม นั ก วิ จั ย ชาวออสเตรเลี ย ได้ ท�าการศึกษาพบว่าอุณหภูมิเฉลี่ยโลกที่ เพิ่มสูงขึ้น ท�าให้มหาสมุทรอุ่นขึ้นและ ท�าให้ความหลากหลายทางชีววิทยาของ สัตว์ทะเลเปลีย่ นแปลงไปอย่างมาก สัตว์ ทะเลบางประเภทต้องอพยพไปอยู ่ ใน พื้นที่ใหม่ๆ และสัตว์ทะเลบางชนิด โดย เฉพาะในเขตร้อนเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์

4646

การศึกษานี้ครอบคลุมถึงสัตว์ทะเล เกือบ 13,000 ชนิดในมหาสมุทรทุกแห่ง ทั่วโลก ทีมนักวิจัยชี้ว่า สัตว์ทะเลในเขต ร้ อ นจะได้ รั บ ผลกระทบมากที่ สุ ด จาก ภาวะน�้าทะเลอุ่นขึ้น โดยจะมีสัตว์ทะเล จ�านวนมากสูญพันธุไ์ ปเพราะไม่สามารถ ปรับตัวได้ ส�าหรับสัตว์ทะเลที่อยู่รอดได้ ด้วยการขยายพื้นที่อาศัยออกไปยังพื้นที่ ใหม่ ๆ ก็ จ ะไม่ ส ามารถ แพร่พันธุ์ในแหล่งที่อยู่ใหม่ ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อย่างที่เคย การศึกษานี้ยัง ระบุอีกว่าการเปลี่ยนแปลง ลักษณะนีจ้ ะเกิดขึน้ ทัว่ โลก ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อปริมาณ อาหารของประชากรโลกใน อนาคต ศาสตราจารย์ Pandolfi หนึ่ ง ในที ม วิ จั ย กล่ า วว่ า ผลการศึ ก ษานี้ ช ่ ว ยสร้ า ง ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การ เปลี่ ย นแปลงที่ เ ป็ น ผลมา จากภาวะโลกร้ อ น และ จะช่ ว ยน� า ไปสู ่ ก ารพั ฒ นา ยุ ท ธวิ ธี ใ นการจั ด การการ เปลี่ยนแปลงเหล่านี้ หาก ไม่ มี ก ารลดปริ ม าณก๊ า ซ เรื อ นกระจกที่ ป ล่ อ ยออก สูช่ นั้ บรรยากาศลง โลกและ ทะเลจะยังอุน่ ขึน้ ต่อไป และ จะสร้างผลกระทบตามมา อย่างที่การศึกษาชิ้นนี้คาด การณ์ไว้ นอกจากภาวะโลกร้อน จะท� า ให้ ท ะเลอุ ่ น ขึ้ น แล้ ว ยั ง ท� า ให้ แ ผ่ น น�้ า แข็ ง ที่ ขั้ ว โลกเหนือละลายเร็วขึ้น ซึ่ง

แผ่ น น�้ า แข็ ง ในขั้ ว โลกมี ค วามส� า คั ญ ต่อความอยู่รอดของหมีโพลาร์ (Polar Bear) เพราะเป็นทั้งแหล่งอาศัย แหล่ง หาอาหาร หาคู่และเลี้ยงลูก หากแผ่น น�้าแข็งในขั้วโลกยังอุ่นขึ้นและยังละลาย ต่อไป หมีโพลาร์จะไม่สามารถล่าเหยื่อ ได้ เ ป็ น ระยะเวลานาน ซึ่ ง ที ม นั ก วิ จั ย ชาวอเมริกันที่ได้ท�าวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ กล่าวว่า ไม่แน่ใจว่าหมีโพลาร์ซึ่งอาศัย อยู่ในขั้วโลกเหนือจ�านวน 20,000 ถึง 25,000 ตัว จะอยู่รอดได้นานแค่ไหน หากต้องเผชิญกับสภาพเช่นนี้ต่อไป ถ้า ยังไม่มกี ารลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทีท่ า� ให้โลกร้อนขึน้ หมีโพลาร์กจ็ ะตกอยู่ ในสภาพเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ Mark Urban ศาสตราจารย์ด้าน นิเวศวิทยาและชีววิทยาที่มหาวิทยาลัย University of Connecticut ได้ศึกษา บทความเกี่ยวกับการสูญพันธุ์ของสัตว์ กับภาวะโลกร้อนทั้งหมด 131 บทความ ก่อนที่จะสรุปว่าเมื่อโลกอุ่นขึ้น ความเสี่ยง ต่ อ การสู ญ พั น ธุ ์ ข องสั ต ว์ ก็ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น ตามไปด้วย ปัจจุบันนี้เรามาถึงจุดที่เกิด ความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ของสัตว์ที่ 16 เปอร์เซ็นต์ หมายความว่าสัตว์ 1 ใน 6 ก� า ลั ง เสี่ ย งต่ อ การสู ญ พั น ธุ ์ หากเราไม่ ลุ ก ขึ้ น มาลดปริ ม าณก๊ า ซเรื อ นกระจก ลง ในขณะที่ International Union for Conservation of Nature (IUCN) ได้ จัดท�าบัญชีรายชื่อสัตว์และพืชหายาก กว่า 77,000 สายพันธุ์ และเตือนว่าใน จ�านวนนี้มีอยู่ 23,000 สายพันธุ์ที่เสี่ยง ต่อการสูญพันธุ์ และ 830 สายพันธุ์ ที่ ก� า ลั ง สู ญ พั น ธุ ์ ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็ น ว่ า การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ บนโลกของเราก� า ลั ง เกิ ด ขึ้ น อย่ า ง รวดเร็ว


นักวิทยาศาสตร์เผย ช่องโหว่ในชั้นโอโซนเริ่มลดลงราว 4 พันล้านตาราง กิโลเมตร หลังห้ามใช้สารซีเอฟซี ตามพิธีสารมอนทรีออล เมื่อ 30 ปีก่อน ทีมนักวิทยาศาสตร์เผยแพร่ผลการ วิจัยในวารสารวิทยาศาสตร์ (Journal Science) หลังค้นพบการฟื้นฟูของชั้น โอโซนบริ เ วณทวี ป แอนตาร์ ก ติ ก าหรื อ ขั้วโลกใต้ โดยระบุว่า จากการส�ารวจ โดยดาวเทียม การส�ารวจภาคพื้นดิน และการใช้ บ อลลู น ตรวจสอบสภาพ อากาศ พบว่า ช่องโหว่ในชั้นโอโซนเริ่ม

มีอัตราลดลง บ่งชี้ถึงการเข้าสู่สภาวะ ฟื้นฟูของชั้นโอโซน โดยช่องโหว่ในชั้น โอโซนลดลงคิดเป็นพื้นที่ราว 4 พันล้าน ตารางกิโลเมตร หรือเทียบเท่าขนาดของ ประเทศอินเดียโดยประมาณ นับตัง้ แต่ปี 2543 เป็นต้นมา รายงานระบุว่า การฟื้นฟูของชั้น โอโซน เป็นผลมาจากการลดลงอย่าง

ต่ อ เนื่ อ งของคลอรี น ในชั้ น บรรยากาศ ที่เกิดจากสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (ซีเอฟซี) หรือสารเคมีที่ปล่อยออกมา จากกิจกรรมต่างๆ เช่น การซักแห้ง การท�างานของเครือ่ งท�าความเย็น การใช้ สเปรย์ และละอองลอยอื่นๆ ดร.อันยา ชมิดต์ นักวิจยั เรือ่ งผลกระทบจากภูเขาไฟ จากมหาวิทยาลัยลีดส์ หนึ่งในทีมนักวิจัย ครัง้ นี้ กล่าวว่า พิธสี ารมอนทรีออลทีม่ กี าร ลงนามร่วมกันของประเทศต่างๆ เมื่อ ปี 2530 ซึ่งห้ามไม่ให้มีการใช้สารซีเอฟซี คือกุญแจส�าคัญแห่งความส�าเร็จนี้ ทีม่ าของบทความ : http://www.dailynews.co.th

ภาพการส�ารวจสภาพอากาศโดยใช้บอลลูน จาก World Meteorological Organization/Flickr

ภาพจาก https://next.ft.com

รู้ยัง...ยิ่งกินเยอะยิ่งท�า “โลกร้อน” ที่มาของบทความ : www.dailynews.co.th

เมื่อวันที่ 6 มิถุนายนที่ผ่านมา นาย กิตติ สรณเจริญพงศ์ รองผู้อ�านวยการฝ่าย วิจัยและวิเทศสัมพันธ์ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดเผยว่า จากการ ท�าโครงการประเมินติดตามสภาพแวดล้อม ด้านอาหารและนโยบายที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ป้องกันควบคุมปัญหาโรคอ้วนและโรคไม่ ติดต่อ เมือ่ ปี 2549 เก็บตัวอย่างในประชาชน กลุ่มตัวอย่างทั่วประเทศ 4,056 คน อายุ ระหว่ า ง 19-60 ปี จ�า แนกเป็ น กลุ ่ ม ที่ มี

น�้ า หนั ก ตั ว อยู ่ ใ นเกณฑ์ ปกติ 2,119 คน กลุ ่ ม น�้าหนักเกิน 808 คน และ กลุ่มคนอ้วน 1,129 คน พบว่า ทั้ง 3 กลุ่มมีการ บริโภคข้าว ผัก 7 ชนิด คื อ ถั่ ว ฝั ก ยาว ผั ก บุ ้ ง มะเขือ มะเขือเปราะ มะเขือเทศ และหอม ที่ไม่มีความแตกต่างกันมากนัก แต่พบว่า มีการบริโภคเนื้อหมู ไก่ เนื้อ แตกต่างกัน อย่างชัดเจน โดยพบว่าคนอ้วน และคนน�้าหนัก เกิ น นั้ น มี ก ารบริ โ ภคที่ ม ากกว่ า นอกจากนี้ จากการวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล พบว่ า เรื่ อ งของ โภชนาการมี ส ่ ว นสั ม พั น ธ์ กั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม และปัญหาโลกร้อนทางอ้อม โดยพบว่ากว่า ร้อยละ 20-30 ซึ่งมาจากกระบวนการผลิต อาหาร เริ่มตั้งแต่ต้นทางจนถึงกระบวนการ

แปรรูป กว่าจะไปถึงผูบ้ ริโภคจะเกิดการผลิต ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ดังนั้นคนอ้วนและ คนน�้าหนักเกินที่มีพฤติกรรมการบริโภคที่ มากกว่า จึงมีแนวโน้มท�าให้เกิดภาวะโลก ร้อนได้มากกว่า ขณะเดียวกัน หากไม่เร่ง ด�าเนินการแก้ไข ในอนาคตอาจท�าให้เกิด โรคไม่ ติ ด ต่ อ เรื้ อ รั ง ตามมาด้ ว ย อย่ า งไร ก็ตาม ในเรื่องการรับประทานอาหาร เรา ยังต้องรับประทานให้สมดุล ลดเนือ้ สัตว์ ลด การรับประทานอาหารแปรรูป พยายามทาน อาหารตามฤดูกาล ลดการบริโภคอาหารน�า เข้าจากต่างประเทศ เพราะในกระบวนการ ขนส่งจะเกิดการผลิตคาร์บอนไดออกไซด์ อีกทั้งเพิ่มผัก ผลไม้ ตามธงโภชนาการที่ แนะน�า โดยเฉพาะอย่างยิ่งผักปลอดสารพิษ ขณะเดี ย วกั น รั ฐ บาลควรนึ ก ถึ ง การท� า ให้ ราคาอาหารเพื่อสุขภาพถูกลงด้วย

47


the Database

เรือ่ ง : กองบรรณาธิการ

โลกร้อนที่เป็นเหมือนฝันร้ายอาจจะกลายเป็นจริงในอีกไม่กี่ปี ข้างหน้า เพราะล่าสุดรายงานนานาชาติด้านมนุษยชน DARA เปิดเผยว่า ภายในปี 2030 หรือ 18 ปีข้างหน้า ประชากรโลก มากกว่า 100 ล้านคนอาจเสียชีวติ ลงด้วยภัยของสภาวะอากาศ ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วซึ่งเป็นผลมาจากภาวะโลกร้อน

วารสารวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Environmental Research Letters (ERL) ฉบับเดือน พฤษภาคม 2559 เผยแพร่ผลการศึกษาของทีมนักวิจัยชาวออสเตรเลียที่ระบุว่า การเพิ่ม ขึ้นของระดับน�้าทะเลในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ท�าให้เกาะขนาดเล็กจ�านวน 5 แห่งของ หมู่เกาะโซโลมอน ในมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งคาดว่ามีอายุราว 300 ปี หายไปจากแผนที่โลก แล้ว ขณะที่เกาะอีกจ�านวน 6 แห่งก�าลังถูกน�้าทะเลกัดเซาะพื้นที่ชายฝั่งอย่างรุนแรง ท�าให้ ชาวบ้านต้องอพยพออกจากพื้นที่ และย้ายขึ้นไปตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ที่สูงขึ้น การศึกษา ดังกล่าวพบว่าหมู่เกาะโซโลมอนมีระดับน�้าทะเลสูงขึ้นราว 10 มิลลิเมตรต่อปี ตลอดระยะ เวลา 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งสูงกว่าอัตราเฉลี่ยทั่วโลกราว 3 เท่า สืบเนื่องจากโลกร้อนขึ้น และกระแสลมรุนแรงขึ้น ทั้งนี้ ทีมนักวิจัยยังระบุอีกว่า นับเป็นการยืนยันทางวิทยาศาสตร์ เป็นครั้งแรก ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหาสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงต่อชายฝั่งทะเล และผู้คนในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยระดับน�้าทะเลทั่วโลกมีอัตราสูงขึ้นปีละ 3 มิลลิเมตร แต่คาดว่าจะสูงขึ้นในอัตราเดียวกับหมู่เกาะโซโลมอนภายในสิ้นศตวรรษนี้

48


ปัจจุบันนี้มนุษย์บริโภคเนื้อสัตว์มากถึง 230 ล้านตันต่อปี ซึ่งเป็นปริมาณ ที่มากกว่าเมื่อ 30 ปีที่แล้วถึงสองเท่า การท�าปศุสัตว์ต้องใช้น�้าและอาหาร ปริมาณมาก ซึ่งปล่อยก๊าซมีเทนและก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ รวมถึงผลิต ของเสียมหาศาล หากเทียบกันแล้ว ร้อยละ 80 ของการผลิตถั่วเหลือง ทัว่ โลกซึง่ ส่วนมากแล้วเป็น GMO ถูกผลิตเพือ่ เลีย้ งสัตว์สา� หรับการบริโภค ของมนุษย์ มีเพียงร้อยละ 20 เท่านั้นที่ผลิตขึ้นเพื่อการบริโภคของมนุษย์ โดยตรง ซึ่งการผลิตถั่วเหลืองนั้นใช้ปริมาณน�้าและสารเคมีจ�านวนมาก เพื่อเป็นปุ๋ยและก�าจัดศัตรูพืช

ร้อยละ 30 ของผืนโลกทีไ่ ม่ได้ปกคลุมด้วยน�า้ แข็ง ถูกใช้ไปกับการ ท�าปศุสัตว์ หรือปลูกพืชเพื่อเลี้ยงปศุสัตว์ ขณะที่ผู้คนหลายพัน ล้านต้องหิวโหย และการท�าปศุสัตว์บนพื้นที่เหล่านี้ได้สร้างก๊าซ เรือนกระจกมากกว่าภาคคมนาคมทั้งหมด ในรายงาน What’s Feeding Our Food? โดย Friends of the Earth เผยว่า พื้นที่ ป่า 6 ล้านเฮกตาร์ ซึ่งเทียบเท่ากับประเทศลัตเวีย หรือพื้นที่สอง เท่าของประเทศเบลเยียม ถูกเปลีย่ นแปลงให้กลายเป็นฟาร์มและ ปศุสตั ว์ตอ่ ปี โดยส่วนใหญ่นนั้ จะเป็นการปลูกพืชเพือ่ ป้อนปศุสตั ว์ นอกจากนี้ในกระบวนการท�าปศุสัตว์เพื่อการบริโภคส�าหรับคน หนึง่ คนตลอดปีนนั้ ต้องใช้น�้ามากถึง 403,000 ลิตร เทียบเท่ากับ ปริมาณน�้าที่เราใช้อาบน�้าตลอดทั้งปีมากถึง 6,190 ครั้ง หรือการ อาบน�้า 17 ครั้งต่อวันตลอดปี กล่าวคือ เมื่อคุณบริโภคเนื้อสัตว์ เข้าไป เท่ากับว่าคุณได้บริโภคปริมาณน�า้ ทีส่ ตั ว์จา� เป็นต้องใช้ดว้ ย

49 49


50


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.