สารผวภ 10 issue

Page 1

ZINE

สาร

Issue

10

ผู้ว่าการภาค 3330 โรตารีสากล ปีบริหาร 2557-2558 Rotary District3330, 3330, Monthly Letter : April 2015 RotaryInternational International District Monthly Letter : March 2015


คณะกรรมการบริการระหว่างประเทศ ภาค 3330

International Service Committee

อัตราแลกเปลี่ยนเดือนเมษายน 33 บาท ต่อ 1 US$ สาร

ผูวาการภาค 3330 โรตารีสากล ปบริหาร 2557-2558

Rotary International District 3330, Monthly Letter : January 2015

เดือนแหงความตระหนักในโรตารี Rotary Awareness Month

Issue

สาร

7

ผูวาการภาค 3330 โรตารีสากล ปบริหาร 2557-2558

Rotary International District 3330, Monthly Letter : March 2015

Issue

9

ชาญ วารีรัตน์ กราฟฟิกดีไซน์


สาร ผวภ.

Governor’s

สารผู้ว่าการภาค Monthly Letter

มวลมิตรโรแทเรียนที่รักทุกท่าน

1

ขณะนี้เข้าสู่เดือนเมษายน เป็นช่วงฤดูร้อน อากาศในประเทศไทยในปีนี้ร้อนมากกว่าปกติ แต่สมาชิกโรตารีทุกสโมสรก็ ยังคงทำ�กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในชุมชนอย่างต่อเนื่อง หลังการประชุมใหญ่ประจำ�ปีของภาคเรา ซึ่งมีผู้ว่าการภาคจากภาคต่างๆ ให้เกียรติมาร่วมงานกับเรา ผมและคณะ ก็เดินทางไปร่วมประชุมใหญ่ประจำ�ปีของภาคต่างๆ ตามคำ�เชิญของผู้ว่าการภาคนั้นๆ เป็นการเหย้าเยือน โดยภาค 2500 ประเทศญี่ปุ่นได้จัดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 ผมก็ได้นำ�คณะไปร่วมประชุมที่เมืองโอบิฮิโร่ ของผู้ว่าการภาค Shuishi Oku และ ภาค 3300 ประเทศมาเลเซีย ของผู้ว่าการภาคหญิงคนแรกของมาเลเซีย Kirenjit ก็ได้จัดไปแล้วในเดือนธันวาคม 2557 ที่ กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยผมได้ร่วมเดินทางไปกับ ฯพณฯพิชัย รัตตกุล อดีตประธานโรตารีสากล ซึ่งได้รับเชิญให้ เป็น Guest of Honor หรือผู้มีเกียรติสูงสุดในงานและเป็นผู้กล่าวปราศรัยหลักของงาน หรือ Keynote Speaker ในการประชุมใหญ่ของภาค 3300 ในปีนี้ ในเดือนเมษายนนี้ มีการประชุมใหญ่ประจำ�ปีของภาค 3690 และภาค 3630 ที่ประเทศ เกาหลี โดยมีภาค 3630 จัดในช่วงเดียวกับภาค 3520 ไต้หวัน ปีนี้ภาคเราจึงเลือกเดินทางไป ร่วมประชุมใหญ่ของภาค 3690 ซึ่งปีที่แล้วเราไม่ได้ไปร่วมประชุม และภาค 3520 ซึ่งเป็น ภาคมิตรภาพกับภาคของเรา โดยผมและผู้ว่าการภาค Audi Lin ได้ริเริ่มในการจดเป็นภาค มิตรภาพกัน เมื่อคราวที่ผมไปอบรมผู้ว่าการภาครับเลือก และร่วมประชุม Taipei Institute หรือการประชุมระดับโซนประจำ�ปี การมีความสัมพันธ์ และมิตรไมตรีกับภาคต่างๆในหลายๆประเทศ นอกจากมิตรภาพ ที่ดีต่อกันแล้ว การร่วมมือในด้านการทำ�โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ในรูปของทุนสนับสนุน ระดับโลก ช่วยทำ�ให้สโมสรต่างๆ ในภาคของเราได้มีโอกาสได้ทำ�โครงการสำ�คัญๆ ที่มีมูลค่าสูง โดยที่ไม่ต้องใช้เงินทั้งหมดของตนเอง แต่ได้เงินจากมูลนิธิโรตารีและคู่มิตรต่างประเทศมาช่วย สนับสนุน ดังนั้นภาคของเราจึงพยายามขยายให้มีความสัมพันธ์กับสโมสรโรตารีในภูมิภาคต่างๆ มากขึ้น เดือนนี้ เป็นเดือนแห่งนิตยสารโรตารี ทางภาคพยายามส่งเสริมให้ทุกสโมสรได้ทำ�สาร สโมสรประจำ�สัปดาห์เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ของโรตารีให้แพร่ขยายมาก ขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและการสื่อสารที่ทันสมัยในปัจจุบัน ทำ�ให้การส่งสารในรูปของอีเล็กทรอนิกส์เมล์ เข้ามามี บทบาทมากขึ้น ถึงแม้สิ่งพิมพ์จะยังมีความจำ�เป็นอยู่ สมาชิกโรตารีทุกท่านในประเทศไทย จะได้รับนิตยสารโรตารี ซึ่งปีนี้เป็นความภาคภูมิใจของภาค 3330 ของเรา ที่มีอดีตผู้ว่าการภาค นายแพทย์พรชัย บุญแสง ทำ�หน้าที่เป็นบรรณาธิการ นิตยสารโรตารีในประเทศไทย ขอให้ทุกท่านได้อ่านบทความในนิตยสารนี้ จะเพิ่มความรู้ในเรื่องของโรตารีและอื่นๆ ให้แก่ทุก ท่านเป็นอย่างดี

3330 โรตารีสากล ขวัญชัย เลาหวิรภาพ ผูปีบ้วริ่าหการภาค าร 2557-2558

รวมใจจุดประกายโรตารี


Governor’s

สารผู้ว่าการภาค Monthly Letter

2

Fellow Rotarians

March is here, it’s summer. The weather in Thailand this year is hotter than usual but members of all Rotary clubs are still doing the humanitarians in the communities continuously. After our District Conference which governors from other districts gave the honor of joining us, I and the team went to join the District Conferences of other districts according to the governors of those districts in return. The District 2500 in Japan had theirs since October 2014. I took the team to join the conference in Obihiro of District Governor Shuishi Oku and also District 3300, Malaysia, of Malaysian’s first female district governor, Kirenjit, was in December 2014 in Kuala Lumpur which I went with PRIP Bhichai Rattakul, who was the Guest of Honor and the keynote speaker of this year’s District Conference of D 3330 RI. This April is the District Conference of D 3690 and D 3630, Korea in which the District 3630 holds in the same time as D 3520, Taiwan. This year our district choose to go to D 3690’s District Conference which we didn’t go last year and D 3520 is our friendship district. I and District Governor Audi Lin signed friendship agreement when I went to DGE Assembly and Taipei Institute. To have relationship and friendship with many districts in many countries, apart from good fellowship towards each other, the cooperation of doing humanitarian projects in the form of global grants help clubs in our district to have chances in doing important projects that cost lots of money without spending all the money themselves but receiving money from the Rotary Foundation and sister clubs from foreign countries to help. This is why our district is trying to expand the relationship with Rotary clubs in more areas. This month is the Rotary Magazine Month. Our district is trying to promote every club to put out club bulletins to publicize news and promote the Rotary image to a wider range. Modern technology and communication nowadays make sending messages in the form of electronic mails more popular, even though printed matters are still necessary. All Rotarians in Thailand will receive the Rotary magazine which this year our District 3330 is proud to have Past District Governor Dr. Pornchai Boonsaeng as the Editor-in-Chief of the Thai Rotary Magazine. Please read the articles in this magazine to broaden your knowledge in Rotary and others for all of you. (อน.อาสา ศาลิคุปต...แปล)

Quanchai Laohaviraphab RI

D3330 Governor 2014-2015 Light up Rotary


แกรี ซี เ ค ฮวง ประธานโรตารีสากล ปี 2557-2558

ทุกวันนี้เรามีวิธีการติดต่อ ระหว่างกันและกันมากมาย หลายแบบยิ่งขึ้นกว่าแต่ ก่อน ในยุคของการประชุม ทางวีดิทัศน์และสามารถ ส่งข้อความได้ทันที เรา สามารถทำ�งานร่วมกันได้เกือบจะทุกที่และสามารถติดต่อ ถึงกันได้เสมอ พวกเราสามารถแบ่งปันผลงานโรตารีทางเฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์และทางเว็ปไซต์ rotary.org อย่างไรก็ตามนิตยสาร ที่ท่านกำ�ลังถืออยู่ในมือหรือกำ�ลังอ่านทางเครื่องมืออีเล็กโทร นิคอยู่ขณะนี้ยังมีความสำ�คัญอย่างใหญ่หลวง นิตยสารเดอะโรแทเรียน เป็นนิตยสารฉบับหนึ่งที่ เก่าแก่ที่สุดในโลกที่ได้มีการจัดพิมพ์ต่อเนื่องกันมาไม่มีหยุด นับตั้งแต่ฉบับแรกในปี 2454 ที่มีท่าน พอล แฮริส เป็นผู้ เขียน สมัยนั้นนิตยสารมีอยู่ไม่กี่หน้าและพิมพ์ขาวดำ�ทั้งเล่ม

Governor’s

สารผู้ว่าการภาค Monthly Letter

3

ตัวพิมพ์มีขนาดเล็ก ภาพประกอบมีน้อย มีภาพโฆษณาจากผู้ จำ�หน่ายเปียโน ผู้จำ�หน่ายเสื้อผ้าอุปกรณ์ตัดเย็บ และโรมแรม ที่มนี ้ำ�ก๊อกร้อนและน้ำ�ก๊อกเย็นบริการ เดี๋ยวนี้ท่านสามารถอ่านนิตยสารนี้บนมือถือ แทบเล็ต หรืออ่านนิตยสารประจำ�ภูมิภาคที่จัดพิมพ์ถึง 24 ภาษา มีนักเขียนที่รับรางวัลโนเบิล 17 ท่าน รางวัลพูลิตเซอร์ 19 ท่าน เคยมีเขียนให้นิตยสาร รวมถึงท่านมหาตมะ คานที ท่าน บิชอป เดสมอนด์ ตูตู นักประพันธ์เอก ยอร์จ เบอร์นาร์ด ชอ และนิโคลัส เมอร์เรย์ บัทเลอร์ ทุกๆเดือน นิตยสารเดอะ โรแทเรียนจะลงภาพถ่ายที่ดีที่สุดจากโลกโรตารี สำ�หรับ สร้างแรงบันดาลใจให้มีส่วมร่วม ให้รู้ข้อเท็จจริงและให้ความ เพลิดเพลิน ในยุคสมัยการสื่อสารที่ฉับไวนี้ มีวิธีการมากมายใน การหาข้อมูลใหม่ๆ ถามว่าเรายังจำ�เป็นต้องมีนิตยสาร เดอะ โรแทเรียน หรือไม่? แน่นอนครับ นิตยสารนี้เป็นวิธีหนึ่งที่ดี ที่สุดสำ�หรับแพร่ข่าวสารโรตารีที่เป็นปัจจุบันเหมือนกับที่เคย เป็นมา ทำ�ให้ผมมีโอกาสแบ่งปันความสนุกสนานตื่นเต้นในวัน โรตารี มีหน้าโชว์เคส โชว์ผลงานดีๆ ของโรแทเรียนรอบโลก และจุดเน้นเรื่องสำ�คัญๆ ที่มีผลกับเราทุกคน นิตยสาร เดอะ โรแทเรียน มิใช่มีเรื่องน่าอ่านสำ�หรับโรแทเรียนเท่านั้น แต่ยัง เป็นวิธีที่ดีมากในการส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กรโรตารีและ แสดงให้โลกเห็นผลงานดีๆ ที่โรแทเรียนได้กระทำ�ด้วย ดังนั้น เมื่อท่านอ่านนิตยสารฉบับนี้จบแล้ว โปรดส่ง ต่อๆ ไปให้ผู้อื่นด้วย ลองถามตัวท่านเองว่า มีใครบ้างที่ควร สนใจบทความของนิตยสารฉบับนี้เป็นพิเศษหรือไม่ โปรด มอบให้เพื่อนๆหรือเพื่อนร่วมงาน หรือคนใกล้ชิดท่าน โปรด แบ่งปันให้ผู้ที่ท่านเชิญมาร่วมประชุมสโมสรโรตารีได้อ่านด้วย โปรดท่องเว็บ www.therotarianmagazine.com และแบ่ง ปันเรื่องดีๆ ทางสัมคมออนไลน์ หรือส่งผ่านทางอีเมล์ของท่าน โปรดใช้นิตยสารนี้สำ�หรับ รวมใจจุดประกายโรตารี เฉกเช่นที่ โรแทเรียนได้กระทำ�มาตลอด 104 ปีด้วย (อน.อาสา ศาลิคุปต...แปล)


Governor’s สารผู้ว่าการภาค

Monthly Letter

4

President, Rotary International 2014-2015 Nowadays we have more ways of communication with each other than before. In the age of video conference and immediate message sending, we can work together almost everywhere and can always connect with each other.We can share our Rotary works via facebook, twitter and the rotary.org website. However, the magazine you are holding or reading electronically is still very important.The Rotarian is one of the oldest magazines in the world ever published continuously.Since the first issue in 1911 written by Paul Harris with only a few pages inblack and white, then the letters were small, illustrations were few. There were advertisement pictures from a piano dealership, sewing materials seller and a hotel with hot and cold water tabs. Now you can read this magazine on your cellphone, tablet or read the regional magazines that are published in 24 languages. There are 17 Nobel-Prize winners, 19 Pulitzer-Prize winners wrote for the magazines including Mahatma Gandhi, Bishop Desmond Tutu, the great author George Bernard Shaw and Nicholas Murray Butler. Every month the Rotarian will publish the best photographs from the Rotary world to build inspiration, to partake, to know the truth and to entertain. In the age of rapid communication, thereare many ways in finding new information. The question is do we still need The Rotarians? Of course, this magazine is one of the best ways for me to share the fun and excitement of Rotary Day, there are showcase pages showing good projects of Rotarians around the world. It not only contains interesting stories for Rotarians, but is a very good way to enhance the image of Rotary organization and also show good works that Rotarians do to the worldSo, when you finish reading this magazine, please forward to other people.Ask yourself who should be especially interested in the topic(s) of this magazine. Please give to your friend or co-worker or someone close to you. You can also share it to the people whom you invite to your club meeting. Please browse through www.therotarianmagazine.com and share good stories via online communities or by your email. Please use this magazine to Light up Rotary just like Rotarians had done all these past 104 years.


Governor’s

สารผู้ว่าการภาค Monthly Letter

5

John Kenny

จอห์ น เ ค นนี ่ ประธานทรัสตี มูลนิธิโรตารี ปี 2557-2558

Rotary Foundation Trustee Chair 2014-2015

ทุนสนับสนุนแบบใหม่

เมื่อตอนเริ่มแนะนำ�ทุนสนับสนุนแบบใหม่ของมูลนิธิ โรตารี ในแผนวิสัยทัศน์อนาคตนั้น คณะทรัสตีฯ ได้มีมติ ให้มี การทบทวนการใช้ทุนแบบใหม่นี้ในปีโรตารี 2558-59 เพื่อว่า เราจะได้อาศัยประสบการณ์จากท่านไปช่วยทำ�ให้ขั้นตอนการ ทำ�งานของเรามีประสิทธิผลที่สุดเท่าที่จะทำ�ได้ คณะทรัสตีฯ ตระหนักว่า ทุนสนับสนุนเกี่ยวข้องกับผู้ ร่วมงานจำ�นวนมากซึ่งอาจมีความหวังที่แตกต่างกันดังนั้นผม จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการอิสระขึ้นมาหนึ่งชุด ประกอบด้วย อดีตประธานโรตารีสากล 4 ท่านเพื่อให้มั่นใจว่ามุมมองทั้งหมด จะได้รับการพิจารณาและมั่นใจว่าจะเป็นความลับสำ�หรับผู้ที่ ปรารถนาเช่นนั้น คณะกรรมการฯ ใคร่ขอทราบข้อคิดเห็นจาก ประสบการณ์การทำ�งานของท่านในเรื่องที่เน้นความสำ�คัญ ทุน สนับสนุนระดับภาค และทุนสนับสนุนระดับโลก นำ�ความคิด เห็นของท่านมาปรับปรุงมูลนิธิโรตารีของเราให้ดีที่สุดเท่าที่จะ ทำ�ได้ คณะกรรมการฯชุดนี้ประกอบด้วยตัวผมเอง และอดีต ประธานโรตารีสากล ท่านคัลยัน บาเนอร์จี ท่านเรย์ คลิงกิน สมิทธิ์ และบิล บอยด์ ผู้ที่ทำ�หน้าที่เป็นประธานกรรมการชุดนี้ พวกเรายินดีรับคำ�แนะนำ�จากท่านผ่านทางอีเมล์นี้ futurevisionbillboyd@outlook.com พวกเราจะอ่านและวิเคราะห์ข้อคิดเห็นของท่านและ จะนำ�ไปประชุมกันที่ประชุมใหญ่โรตารีสากล ณ เมืองเซา เปาโล บราซิลเพื่อตกลงว่ามีข้อใดที่ควรส่งให้คณะกรรมการ โปรแกรมทรัสตี และให้คณะกรรมการชุดนี้ทำ�การสำ�รวจข้อคิด เห็นไปเท่าที่จำ�เป็น เพื่อให้มั่นใจว่าจะเป็นการสะท้อนความ คิดเห็นของสมาชิกโรตารีทุกคน และส่งรายงานกลับมาให้พวก เราทราบในการประชุมอบรมผู้ว่าการภาครับเลือก ในเดือน มกราคม 2559 พวกเราต้องการจะนำ�เสนอข้อแนะนำ�เหล่านั้น ในการประชุมคณะทรัสตี เดือนเมษายน 2559 เราขอให้ท่านช่วยให้ความคิดเห็นหรือคำ�แนะนำ�แก่เรา เพื่อให้มั่นใจว่ามูลนิธิโรตารีของเราจะได้ทำ�สิ่งที่ดีๆให้โลกอย่าง ต่อเนื่อง ในวิธีการที่ดีที่สุดต่อไป (อน.อาสา ศาลิคุปต...แปล)

When the new grant model for The Rotary Foundation was introduced under the Future Vision Plan, the Trustees decided that it should be reviewed in the 2015-16 Rotary year so that your experiences could help make our processes as effective as possible.

The Trustees recognize that grants involve many participants who may have different expectations, so I have appointed an independent committee of four past RI presidents to ensure that all views will be considered, and to ensure confidentiality to anyone who may want it. The committee would like to hear about your experiences with the areas of focus and district and global grants, and to seek your ideas for any improvements that could make our Rotary Foundation the best possible. It comprises myself and Past RI Presidents Kalyan Banerjee, Ray Klinginsmith, and Bill Boyd, who will serve as chair. We welcome your suggestions, which you can email to futurevisionbillboyd@outlook.com. We will read and analyze your ideas and meet at the Rotary International Convention in São Paulo, Brazil, to decide on any items that should be given to the Trustees Programs Committee. That committee will undertake the necessary surveys to ensure we are reflecting the opinions of every Rotary member, and will report back to us at the January 2016 International Assembly. We intend to make our recommendations at the April 2016 meeting of the Trustees. We seek your support to ensure that our Rotary Foundation continues to do good in the world in the best possible way.


Governor’s สารผู้ว่าการภาค

Monthly Letter

6

ประชุม

DC ที่เกาหลี

ปีนี้ภาค 3690 ประเทศเกาหลี และภาค3520 ประเทศไต้หวัน ได้เชิญให้ภาคของเราไปร่วมประชุมใหญ่ ประจำ�ปี หรือ District Conference กับภาคของเขา หลัง จากที่ผู้ว่าการภาคของเขาได้มาร่วมประชุมใหญ่ประจำ�ปีของ เราที่โรงแรมเอเชีย กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 6-7 มีนาคม ที่ผ่านมา คณะจากภาคของเราประกอบด้วย ผม, อดีตผู้ว่าการ ภาคอรชร สายสีทอง และอดีตนายกวัลลภ สุทธิพิเชษฐ์ ประธานคณะกรรมการระหว่างประเทศไทย-เกาหลี ของภาค ได้เดินทางไปที่กรุงโซล ประเทศเกาหลี เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2558 โดยมีอดีตผู้ว่าการภาค An He Jin, ผู้ว่าการภาคนอ มินีเดสิเนตของเขา และนายกสโมสร บูซอน มารับคณะของ เราที่สนามบินอินซอน ซึ่งเป็นสนามบินที่ถูกจัดอันดับว่าเป็น สนามบินที่ดีที่สุดในโลกปีนี้ พวกเราได้ไปพักที่โรงแรม MVL ซึ่งเป็นโรงแรมที่ใช้ในการประชุม DC ของภาค 3690 ในวัน แรก โดยผู้ว่าการภาค Lee Sang Gyun ต้อนรับพวกเราที่ โรงแรม ตอนเที่ยงเลี้ยงอาหารเที่ยงของมูลนิธิโรตารีภาค โดย มีผู้แทนประธานโรตารีสากล อผภ.Henry Chang จากภาค 3520 ของไต้หวันมาร่วมงาน หลังจากนั้นเวลา 13.30 น. เริ่มเปิดประชุมที่ห้องบอลรูมของโรงแรม วันนี้มีเฉพาะนายก สโมสรและผู้ช่วยผู้ว่าการภาคมาร่วมประชุม มีพิธีเคารพ

บทความโดย ผวภ.ขวัญชัย เลาหวิรภาพ

ธงชาติเกาหลี และไต้หวัน ก่อนประชุมจะมีการพูดถึง 4 Way Test และร้องเพลงโรตารี (R-O-T-A-R-Y) ภาค 3690 มี จำ�นวนสโมสรและจำ�นวนสมาชิกใกล้เคียงกับภาค 3330 ของ เรา ตอนเย็นเป็นงานเลี้ยงต้อนรับผู้แทนประธานโรตารีสากล รุ่งขึ้นวันที่ 18 เมษายน ซึ่งเป็นวันที่ 2 ของการ ประชุม จัดที่หอประชุม KINTEX ซึ่งจะใช้เป็นที่ประชุมใหญ่ โรตารีสากล ที่เกาหลีเป็นเจ้าภาพ ในปี 2016 วันนี้เปิดโอกาส ให้สมาชิกโรตารีในภาคเข้าร่วมประชุม ตอนที่ผู้แทนประธาน โรตารีสากลและผู้ว่าการภาคเข้ามาในห้องประชุม จะได้รับ การต้อนรับ โดยผู้ที่อยู่ในห้องประชุมทั้งหมด จะยืนปรบ มือ หลังจากเชิญทั้งผู้แทนและคู่สมรส, ผู้ว่าการภาคและคู่ สมรส ขึ้นนั่งประจำ�ที่บนเวที รับมอบดอกไม้ต้อนรับ แล้วเริ่ม พิธีเปิดโดยผู้ว่าการภาค เปิดเพลงชาติไต้หวัน, ญี่ปุ่น, ไทย, ฟิลิปปินส์ และเกาหลี ยืนไว้อาลัยโรแทเรียนที่เสียชีวิตใน ปีนี้, กล่าวถึง Four Way Tes 4 Way Test และร้องเพลง โรตารี เหมือนเมื่อวาน แนะนำ�ท่านผู้แทนฯ, แขก ผู้ช่วยผู้ ว่าการภาคและนายกสโมสรต่างๆ จะขึ้นไปบนเวทีทีละพื้นที่ จับมือกับผู้แทนฯและผู้ว่าการภาค แนะนำ�สโมสรใหม่ กล่าว เปิดโดยผู้ว่าการภาค ตามด้วยคำ�ปราศรัยของผู้แทนฯ ต่อจาก นั้นเชิญผู้ว่าการภาค 2710 ของญี่ปุ่นขึ้นกล่าว ตามด้วยผม และผู้ว่าการภาคจากฟิลิปปินส์ หลังจากนั้นเป็นรายงานของ ฝ่ายมูลนิธิโรตารี รายชื่อผู้บริจาค, ทุนการศึกษาของภาค ถ่าย ภาพหมู่ และรับประทานอาหารกลางวัน โดยจัดเป็นเบนโตะ แบบญี่ปุ่น คนละกล่อง หลังจากรับประทานอาหารกลางวัน พวกเราได้ เดินทางกลับโรงแรม อดีตผู้ว่าการภาค Lee และคณะจาก ภาค 3630 ซึ่งเป็นภาคที่ อผภ.อรชร สายสีทอง เป็นผู้แทน ประธานโรตารีสากลปีที่แล้ว มารับพวกเราเดินทางไปที่เมือง เกวียงจู ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าของเกาหลีและเป็นเมืองมรดก โลกในปัจจุบัน อยู่ทางใต้ของเกาหลีใกล้เมืองปูซาน ภาค 3630 เป็นภาคที่ใหญ่ที่สุดในเกาหลี และใหญ่เป็นที่สองใน โลก มีสมาชิกกว่า 6,500 คน พวกเราได้อยู่ที่นั่น 2 คืน และ เดินทางกลับประเทศไทยในเย็นวันที่ 20 เมษายน โดยที่ ผมอยู่ต่อเพื่อเดินทางไปร่วมประชุม DC ของภาค 3520 ที่ ไต้หวันซึ่งผมจะเล่าให้ฟังในฉบับหน้า


Governor’s

สารผู้ว่าการภาค Monthly Letter

7

บทความโดย อผภ.นพ.พรชัย บุญแสง

การก่อตั้งสโมสรใหม่ ....แง่คิดบางประการ(2) การขยายสโมสรสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่ องค์กรโรตารี

ใน 110 ปีที่ผ่านมา องค์กรโรตารีขยายตัวเติบใหญ่ได้ เกิด จากการก่อตั้งสโมสรใหม่เป็นสำ�คัญ สโมสรเดิมใหญ่ขึ้น และดีขึ้นเป็นตัวช่วยสโมสรเดิมใหญ่ขึ้นจากการเพิ่มสมาชิก ที่มีคุณสมบัติดีและความสามารถในการรักษาสมาชิก และ ดีขึ้นจากการทำ�บริการ 5 แนวทาง ทำ�กิจกรรม โครงการที่ โดนใจชุมชนและเป็นประโยชน์ต่อชุมชนอย่างยั่งยืนการขยาย สโมสร อาจเป็นไปได้หลายอย่าง • ขยายแบบลูกไม้หล่นไกลต้น ก่อตั้งที่ต่างอำ�เภอ ต่าง จังหวัด กระทั่งต่างประเทศ • ขยายแบบไผ่แตกกอ “แตกแล้วโต” ก่อตั้งสโมสรใหม่ใน พื้นที่ใกล้เคียงกับสโมสรเดิม เช่นอำ�เภอเดียวกัน(มักเป็น อำ�เภอเมือง) • ขยายแบบผ่าเหล่า เช่นก่อตั้งสโมสรอีคลับ Satellite Club ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ภาค 3330 เราเพิ่มสโมสรได้มากถึง 20 สโมสร เพิ่มสมาชิกให้กับภาคเรามากถึง 439 ท่าน (จำ�นวนสมาชิกของสโมสรใหม่ ณ 28 กุมภาพันธ์) ทำ�ให้ องค์กรโรตารีเรามีโอกาสเข้าถึงชุมชนได้มากขึ้น และดีขึ้น

หลายๆ สโมสรในพื้นที่ร่วมกันทำ�กิจกรรม ทำ�ให้พื้นที่มีชีวิต ชีวามากขึ้น ถ้าไม่มีการก่อตั้งสโมสรใหม่ ภาคเรายังคงมี สมาชิกประมาณ 2,100 ท่าน บรรยากาศของภาคเราคงจะ ไม่คึกคัก มีชีวิตชีวาเช่นนี้

ประสบการณ์การขยายสโมสรในช่วง 5 ปี ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาเราขยายสโมสรได้อย่างไร

โมเดลแบบดั้งเดิม

การก่อตั้งสโมสรโรตารีตั้งแต่การก่อตั้งสโมสรโรตารีกรุงเทพ เมื่อปี 2473 ซึ่งเป็นสโมสรแห่งแรก และการก่อตั้งสโมสร โรตารีต่อๆ มา ส่วนมากอาศัยชนชั้นสูง ผู้นำ�ธุรกิจ ข้าราชการระดับสูง ทำ�ให้โรตารีในประเทศไทยขยายตัวได้ อย่างรวดเร็ว ในศตวรรษที่ 21 โลกเปลี่ยนแปลงอย่างมาก นักธุรกิจชั้น นำ�เริ่มทำ� CSR ด้วยตัวเอง โรตารีไม่ใช่ทางเลือกลำ�ดับแรก แต่เป็นพันธมิตรระดับนโยบายที่ทำ�โครงการร่วมกัน ในระยะ 20 ปี สมาชิกสโมสรที่เข้ามาส่วนใหญ่เป็นชนขั้นกลาง เป็น SME ที่มีฐานะปานกลาง นักธุรกิจและผู้นำ�ระดับชาติเข้ามา เป็นสมาชิกมีน้อยมาก

ปี 2001-02 เป็นปีพิเศษ

โรตารีทั่วโลกและภาคเราสามารถเพิ่มสมาชิกได้มากเป็น


Governor’s สารผู้ว่าการภาค

Monthly Letter

8

ประวัติการณ์ เนื่องจากประธานโรตารีสากล Richard de King ถือการเพิ่มสมาชิกเป็นเรื่องสำ�คัญลำ�ดับแรก ผู้ว่าการ ภาคในปีนั้นคือ อผภ.ศรียา ศิริเวช ได้กำ�หนดเป้าหมาย และ ถือเป็นวาระสำ�คัญของภาค มีรางวัลยกย่องทั้งระดับสโมสร และบุคคล มีเข็มยกย่องรูปนกอินทรี มอบให้โรแทเรียนที่ สามารถแนะนำ�สมาชิกเข้าสโมสรได้ เป็นปีที่เพิ่มสมาชิกได้ มากถึง 417 ท่าน สามารถก่อตั้งได้ 3 สโมสร หลังจาก นั้น ในแต่ละปี เราสามารถก่อตั้งสโมสรใหม่ได้น้อยมาก เรา จะเปลี่ยนแปลงแนวโน้มนี้ได้อย่างไร จะใช้กลยุทธ์ กลเม็ด อะไร

ปี 2009-10 พลังแห่งเครือข่าย

อผภ.เธียรไชย นิยม ตระหนักถึงความสำ�คัญของการเพิ่ม สมาชิก ในช่วงปลายปีได้ระดมการเพิ่มสมาชิกโดยขอร้อง นายกสโมสรต่างๆ ซึ่งเป็นช่องทางการตลาดที่สำ�คัญที่สุด ในระยะเวลาเพียง 2-3 เดือน สามารถ “เชื้อเชิญ” สมาชิกใหม่ ได้มากถึง 100 ท่าน

ปี 2010-11 ภาค 3330 กำ�หนดงานด้าน สมาชิกภาพเป็นเป้าหมายสำ�คัญลำ�ดับแรก

การเพิ่มสมาชิกและเพิ่มสโมสรถือเป็นวาระสำ�คัญของ ภาค ประธานสมาชิกภาพภาค อน.เซียมเดช สิงหาอาจ และ ทีมงาน ร่วมกับนายกรุ่น 102 ทำ� SWOT กำ�หนดเป้าหมาย ดำ�เนินการเพิ่มและรักษาสมาชิกอย่างจริงจัง ทีมงานภาค สื่อสารถึงผู้นำ�สโมสรและมวลสมาชิก มีเข็มยกย่องผู้แนะนำ�ที่ สวยงาม ยกย่องทีมผู้ก่อตั้งสโมสรใหม่ และผู้แนะนำ�สมาชิก ใหม่ในทุกโอกาส เป็นปีแรกที่เราสามารถก่อตั้งสโมสรได้มาก ถึง 6 สโมสร

ปี 2011-12 กำ�หนดเป้าหมายที่ท้าทาย และ ทำ�ได้จริง

ผู้ว่าการภาคปี 2011-12 อผภ.อรชร สายสีทอง สามารถ ก่อตั้งสโมสรใหม่ได้มากถึง 9 สโมสร ด้วยเวลาเพียง 5 เดือน เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่ง ทำ�ได้อย่างไร ผมคิดว่าน่าจะมาจาก เหตุปัจจัยสำ�คัญ 2 ประการ คือ • คุณสมบัติพิเศษของผู้นำ� อผภ.อรชร มีความมุ่งมั่นเกิน 100 ไม่บรรลุเป้าหมายไม่เลิก มีความรู้ความสามารถ เพียงพอที่จะทำ�ให้บรรลุเป้าหมาย • ทีมปฐมนิเทศที่มีประสิทธิภาพ ทีมนี้มีความสำ�คัญ เป็น

ทีมที่สามารถให้ความรู้โรตารีได้ดี ออกพื้นที่ไปให้กำ�ลัง ใจสมาชิกกลุ่มเป้าหมายถึงถิ่น สามารถสร้างแรงบันดาล ใจได้เยี่ยม ชุมชนในพื้นที่ฟังแล้วตอบรับเป็นอย่างดี นี่ คือ “อรชรโมเดล”

ทิศทางใหม่ในอนาคต : E-clubs

โลกยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21 มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง ใหญ่หลวง ได้พัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสาร และมีการใช้ อินเตอร์เน็ต และสมาร์ตโฟนกันอย่างกว้างขวาง โรตารี สากลตระหนักถึงความสำ�คัญของการเปลี่ยนแปลงนี้ ได้ทำ� โครงการนำ�ร่องที่เกี่ยวกับสมาชิกภาพหลาย ๆ เรื่อง ที่จะมี บทบาทสำ�คัญอย่างยิ่งในอนาคตน่าจะเป็นเรื่องของ eClub สโมสรอีคลับได้เป็นโครงการนำ�ร่องตั้งแต่ปี 2001 COLลงมติให้สโมสรโรตารี eClub เป็นสโมสรแบบใหม่ มีผล ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2010 ทุกภาคสามารถก่อตั้งสโมสร E-clubs ได้ภาคละ 2 สโมสร และเมื่อปี 2013 COL ได้ ประกาศให้ทุกภาคทั่วโลกสามารถก่อตั้ง E-clubs กี่สโมสร ก็ได้ สโมสรโรตารีอีคลับน่าจะสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคน ทำ�งานวัยหนุ่มสาวในปัจจุบัน ปีนี้ เราสามารถก่อตั้งสโมสร อีคลับได้หนึ่งสโมสร เป็นสโมสรที่ 2 ของภาค เราน่าจะ สามารถก่อตั้งสโมสรอีคลับได้อีกมากในทุกจังหวัด ทุกพื้นที่

การดูแลรักษาสโมสรใหม่ให้ดำ�รงอยู่ได้ เติบ ใหญ่ได้อย่างมั่นคง

การก่อตั้งสโมสรใหม่ ไม่ง่าย แต่จะรักษาให้สโมสรใหม่เติบ ใหญ่ได้อย่างมั่นคงยิ่งยากกว่า สโมสรที่ก่อตั้งใหม่ มีโอกาส ถูกยุบ หรืออ่อนแอลง ด้วยสาเหตุนานาประการ โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง 3 ปีแรก การดูแลรักษาสโมสรใหม่ให้เป็นสโมสรที่ เปี่ยมพลัง ควรคิดถึงปัจจัยสำ�คัญๆ ได้แก่ 1. แนวคิดของการก่อตั้งสโมสรใหม่ ถ้าเรากำ�หนดเกณฑ์ มาตรฐานไว้ดีตั้งแต่เริ่มแรก เช่นมีจำ�นวนสมาชิกก่อตั้ง มากพอ (เกิน 30 ยิ่งดี) สมาชิกมีคุณสมบัติดี มีความ หลากหลาย และเข้าใจในอุดมการณ์แห่งการบำ�เพ็ญ ประโยชน์ สโมสรย่อมมีความมั่นคง มีอนาคตที่สดใส สโมสรที่มีสัดส่วนข้าราชการมากเกินไป มีการโยกย้าย บ่อย ขาดความหลากหลายของสมาชิก ศักยภาพทาง เศรษฐกิจไม่ดี มักจะทำ�ให้สโมสรอ่อนแอ


Governor’s

สารผู้ว่าการภาค Monthly Letter

9

2. นายกก่อตั้ง และแกนนำ�สโมสร การสรรหานายก ก่อตั้ง และสมาชิกก่อตั้งที่มีศักยภาพอย่างน้อย 5-10 ท่าน เป็นผู้ที่มีภาวะผู้นำ� เป็นผู้ที่มีใจให้โรตารี มีฐานะ ทางเศรษฐกิจดี มีความพร้อมทั้งด้านเศรษฐกิจ และเป็น ผู้นำ�ครอบครัว สามารถเป็นหลักชัยให้สมาชิก และเป็น ผู้สนับสนุนค้ำ�จุนให้กับสโมสรได้ ทั้งในยามปกติและใน ยามสโมสรประสบปัญหา (แต่ไม่ใช่เป็นผู้ที่คอยชี้นิ้วสั่ง การ ) หลายๆ สโมสรที่ได้รับความสำ�เร็จในวันนี้ เป็น คุณูประการของท่านเหล่านั้นไม่น้อยเลย เช่น สโมสร โรตารีพลอยราชบุรี ที่มี นยก.วลัยรัตน์ ทรัพย์คิรี เป็น แกนกลาง 3. ศักยภาพของพื้นที่ ชุมชนในเมืองที่มีความเจริญ ประชากรหนาแน่น ย่อมได้เปรียบกว่าชุมชนที่ยากจน มี ประชากรน้อย อยู่กระจัดกระจาย 4. สโมสรพี่เลี้ยง และผู้แทนพิเศษผู้ว่าการภาค มีความ สำ�คัญไม่น้อย 5. สโมสรพี่เลี้ยง จะต้องสนับสนุนทรัพยากรต่างๆอย่างเต็ม ที่ ทั้งด้านกิจกรรม การหาทุน รวมถึงการช่วยสรรหา สมาชิกเพิ่มให้กับสโมสรใหม่ สโมสรพี่เลี้ยงจะช่วยดูแล สนับสนุนช่วยเหลือสโมสรใหม่อย่างน้อย 2 ปี แต่ใน ความเป็นจริง มักจะมีความผูกพันและการสนับสนุนช่วย เหลือซึ่งกันและกันต่อเนื่องไปอีกยาวนาน ที่ผ่านมา เรา มีสโมสรพีเ่ ลีย้ งทีเ่ ป็นแม่แบบหลายสโมสร เช่น สโมสร โรตารีนครปฐม สโมสรราชบุรี สโมสรโรตารีภเู ก็ต สโมสรโรตารี กระบี่ สโมสรโรตารีบา้ นแพ้ว เป็นต้น ผูแ้ ทนพิเศษผูว้ า่ การ ภาค ควรจะต้องเป็นมืออาชีพในการขยายสโมสร มีความ รู้ความเข้าใจในเรื่องราวของโรตารี ธรรมนูญโรตารีเป็น อย่างดี และรู้การบริหารจัดการสโมสรโรตารีอย่างลึกซึ้ง

6. ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน สโมสรที่เข้มแข็งต้องอาศัยศักยภาพ ของสมาชิกของสโมสรตนเองเป็นหลัก จะอาศัยสโมสรอืน่ คงได้เป็นครัง้ คราว สโมสรใหม่จ�ำ เป็นต้องรีบหาสมาชิกที่ มีคุณสมบัติดี มีความหลากหลายเพิ่ม สโมสรใหม่จะสูญ เสียสมาชิกมากเป็นพิเศษในช่วง 2-3 ปีแรก ประมาณปี ละ 10-15 % เราต้องหาเลือดใหม่ให้ได้มากกว่าเลือดที่ ไหลออก พยายามให้สโมสรใหม่มีสมาชิกเกิน 30 ขึ้นไป เป็นสมาชิกที่มีใจ มีศักยภาพ มีภาวะผู้นำ� มีความเข้าใจ ในองค์กรโรตารี จึงจะถือได้ว่าปลอดภัย ดังนั้นการสร้าง สโมสรของเราให้เป็นสโมสรที่สมาชิกอยู่แล้วมี ความสุข สนุก และเปี่ยมด้วยมิตรภาพ สมาชิกสามารถพัฒนา ภาวะผู้นำ� และมีโอกาสใช้ความชำ�นาญด้านอาชีพในการ ให้บริการ สโมสรเช่นนี้จะมีแรงดึงดูดสมาชิกใหม่ได้ และ รักษาสมาชิกไว้ได้ กลุ่มมุ่งหวังที่มาเยี่ยมสโมสรได้เห็น ความดี ความงามขององค์กรโรตารี จะตัดสินใจมาร่วม องค์กรเราได้ง่ายขึ้น

บทส่งท้าย

การก่อตั้งสโมสรใหม่เป็นงานที่ท้าทาย ต้องการเวลาและกำ�ลัง ใจสูงยิ่ง ผู้ว่าการภาคมีหน้าที่รับผิดชอบสูงสุดและสำ�คัญที่สุด ทีมผู้นำ�ภาคและผู้นำ�สโมสรจะต้องมีแนวทางและการกระทำ� ที่ไปในแนวเดียวกัน แม้จะเห็นต่างในบางกรณี เราเป็นทีม เดียวกัน ไม่ควรชี้นิ้วบอกผิดบอกถูก กาลเวลาจะเป็นเครื่อง พิสูจน์แนวคิดใหม่ๆ วิธีการใหม่ๆ ถ้าได้ผลดี ก็เดินหน้าต่อ ไป ถ้าไม่ได้ผลหรือล้มเหลว ก็ทบทวนแล้วหาแนวทางใหม่ๆ วิธีการใหม่ๆ เราไม่สามารถทำ�งานได้ผลดีด้วยวิธีการเดิมๆ ที่ พิสูจน์แล้วว่าไม่ได้ผล


Governor’s สารผู้ว่าการภาค

Monthly Letter

10

คุณค่าหลักของโรตารี บทความโดย อผภ.เธียรศักดิ์ ปิยธรรมสิริ ผู้ว่าการภาค 3330 โรตารีสากล ปีบริหาร 2546-2547 ท่านเคยถามกับตัวเองไหมครับว่า โรตารีมีอะไรดี ? จึงทำ�ให้ชื่อนี้เป็นที่รู้จักในชุมชน และมีคนในชุมชนเข้าไปเป็นสมาชิกของสโมสรโรตารี

ผมเคยถามคำ�ถามนี้กับตัวเองเมื่อ 23 ปี ที่แล้ว ณ วันที่ผมตอบรับคำ�เชื้อเชิญ จากเพื่อนนักเรียนรุ่นเดียวกันให้เข้าไปสัมผัสการประชุมปกติประจำ�สัปดาห์ของสโมสร โรตารีภูเก็ต ซึ่งจัดขึ้นทุกค่ำ�คืนวันพุธเวลาหนึ่งทุ่มครึ่งจนถึงสามทุ่ม ที่โรงแรมเพิร์ล ภูเก็ต ประหลาดใจตัวเองอยู่เหมือนกันว่า แม้ยังไม่สามารถหาคำ�ตอบที่ชัดเจนนัก แต่ ผมก็เข้าร่วมกิจกรรมกับสโมสรโรตารีภูเก็ตตลอดมา ได้มีโอกาสทำ�หน้าที่ประธานโครง การฯ เป็นประธานฝ่ายฯ เป็นคณะกรรมการบริหารสโมสร จนกระทั่งได้รับโอกาส ที่ดียิ่งให้ทำ�หน้าที่ นายกสโมสรโรตารีภูเก็ตในปีที่ 8 ของการเป็นสมาชิกสโมสรโรตารี ภูเก็ต ซึ่งทำ�ให้ผมมีคำ�ตอบที่อธิบายกับตัวเองได้ แต่ยังไม่สามารถสรุปได้ว่า ควรมี คำ�จำ�กัดความว่าอย่างไร จนกระทั่งเมื่อโรตารีสากล มีอายุครบร้อยปี ได้มีการทำ�การศึกษาวิจัยว่า อะไร บ้างที่เป็นคุณค่าหลักของโรตารี ? เป็นคุณค่าที่ทำ�ให้โรตารีเป็นที่รู้จัก ยอมรับ และ สร้างสรรค์กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิ่น และ ชุมชนโลกมาได้ต่อเนื่อง ร่วมร้อยปี ผมจึงได้คำ�ตอบกับตัวเองว่า โรตารีมีดีอย่างนี้ นี่เอง.... คุณค่าหลักของโรตารี ที่ทีมทำ�การศึกษาวิจัยสรุปมามีด้วยกัน 5 ประการ คือ ประการแรก คือ การสร้างมิตรภาพและการมีเครือข่าย ประการที่สอง คือ ความหลากหลายในอาชีพของสมาชิก ประการที่สาม คือ การบริการหรือการบำ�เพ็ญ ประโยชน์ ประการที่สี่ คือ การมีภาวะผู้นำ� และ ประการสุดท้ายที่ห้า คือ ความเชื่อ มั่นในคุณธรรมและจริยธรรม โรตารี เริ่มต้นเมื่อ หนึ่งร้อยสิบปีที่แล้วด้วยการใฝ่หามิตรภาพของทนายความ ผู้หนึ่งในมลรัฐชิคาโก ชื่อ พอล พี แฮรีส เรื่องของมิตรภาพ ที่เป็นคุณค่าหลักของ โรตารีในประการแรก จึงเป็นแรงดึงดูดให้เกิดการพบปะกันของผู้คนให้เข้ามาเป็น สมาชิกของสโมสรโรตารี ความสุภาพอ่อนโยนในการเข้าหากัน การยอมรับความคิด เห็นที่แตกต่างกัน การให้เกียรติซึ่งกันและกัน มีทัศนคติในทางทางบวกต่อกัน และมุ่ง หมายที่จะสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน จึงทำ�ให้มีมิตรภาพที่มั่นคงยั่งยืนและต่อเนื่องกัน


Governor’s

สารผู้ว่าการภาค Monthly Letter

11

มา จนเกิดเป็นเครือข่ายถักทอมิตรภาพได้แน่นแฟ้นไปทั่ว ทุกมุมโลก จากการเริ่มต้นของโรตารีเมื่อแรกเริ่มจากสมาชิก 4 ท่าน มาจาก 4 อาชีพ คือ ทนายความ ช่างตัดเสื้อ สุภาพบุรุษ พ่อค้าถ่านหิน และ วิศวกรเหมืองแร่ ซึ่งต่อ มาได้กลายเป็นเงื่อนไขหนึ่งของการเข้าเป็นสมาชิกของ สโมสรโรตารีว่าต้องผู้ที่มีอาชีพแน่นอน เป็นอาชีพที่เลี้ยง ตัวเองได้โดยสุจริต และถือเป็นตัวแทนในสาขาอาชีพนั้นๆ เพราะแต่ละวิชาชีพ หรือการเป็นนักธุรกิจที่ทำ�ธุรกิจแตก ต่างกัน ย่อมมีความถนัดที่ไม่เหมือนกัน ประโยชน์ที่ได้คือ ความหลากหลายของความถนัดในแต่ละบุคคลจากต่าง อาชีพ ดังนั้น ความหลากหลายของสาขาอาชีพ จึงนับเป็น คุณค่าหลักประการที่สองของโรตารี ความหลากหลายของ โรตารี อาจหมายความรวมไปถึง ความหลากหลายของ มวลมนุษยชาติ ในด้านต่างๆ ทั้งภาษา วัฒนธรรม ความ เชื่อ ที่สามารถนำ�มาหล่อหลอมกล่อมเกลากันได้ในโรตารี เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิ่นและชุมชนโลกได้อย่าง มีประสิทธิภาพ โรตารีได้รับการเรียกขานว่าเป็นองค์กรบำ�เพ็ญ ประโยชน์ เนื่องจากการรวมตัวของมวลสมาชิกตั้งแต่ แรกเริ่มนั้นได้ตระหนักถึงสิ่งโยงยึดของมวลสมาชิกว่านอก จากจะมีมิตรภาพที่ดีต่อกันแล้ว สมาชิกขององค์กรควรทำ� ตนให้มีคุณค่าด้วยการสร้างประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมด้วย ถึงจะทำ�ให้องค์กรโรตารีเป็นที่น่าเชื่อถือ และยอมรับจาก ชุมชน การบริการหรือการบำ�เพ็ญประโยชน์ คุณค่าหลัก ประการที่สามของโรตารี จึงเป็นผลิตผลที่เป็นสื่อให้ชุมชน ได้รู้จักกับองค์กรโรตารี ว่าเป็นองค์กรที่สร้างสรรค์สังคม ชุมชน ด้วยโครงการบำ�เพ็ญประโยชน์อย่างมากมาย ตั้งแต่ การสนับสนุนให้เยาวชนมีการเดินทางไปแลกเปลี่ยนเรียน รู้ วิถีชีวิต ภาษาและวัฒนธรรม ในอีกประเทศหนึ่ง การ อุปถัมภ์สนับสนุนให้เยาวชนแต่ละช่วงวัย มีการรวมตัวกัน เป็นสโมสรทั้งในสถาบันการศึกษาหรือชุมชน เพื่อพัฒนา ตนเองและเรียนรู้ศึกษาการบำ�เพ็ญตนเองให้เป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม ตลอดจนสโมสรโรตารีเองได้ทำ�โครงการต่างๆ ทั้งทางด้านการศึกษา สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ

ชุมชน จนถึงเรื่องของการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ซึ่งผล งานของโครงการเหล่านี้มีหลักฐานปรากฏชัดเจนอยู่ทั่วทุก มุมโลก และมีปริมาณเพิ่มขึ้นในทุกปี โรตารีให้ความสำ�คัญกับการสร้างเสริมประสบการณ์ ให้สมาชิกมีภาวะผู้นำ� ซึ่งนับเป็นคุณค่าหลักประการที่ สี่ของโรตารี ผ่านการทำ�งานร่วมกันในสโมสร และใน ชุมชน โดยเปิดโอกาสให้สมาชิกได้ใช้ความสามารถตาม ความถนัดในสาขาอาชีพ ในการร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วม ดำ�เนินการในการทำ�งานของสโมสร เปิดโอกาสให้เป็น ผู้รับผิดชอบโครงการในแต่ละโครงการของสโมสร หรือทำ� หน้าที่ในฝ่ายงาน ตั้งแต่เป็นกรรมการ เป็นประธาน จน กระทั่งเป็นนายกสโมสร โดยมีการจัดการอบรมให้เข้าใจ ในกระบวนการบริหาร และมีโอกาสดำ�เนินการอย่าง เป็นรูปธรรม ในการเป็นประธานที่ประชุม การความคุม เวลา การตรงต่อเวลา หรือการพูดในที่สาธารณะ ทำ�ให้ ทรัพยากรบุคคลของโรตารี มีคุณภาพและประสิทธิภาพ สามารถอุทิศตัวเป็นประโยชน์ต่อชุมชนได้เป็นอย่างดี คุณค่าหลักประการที่ห้าของโรตารี ที่นับเป็นประการ สุดท้ายคือ การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรมทั้งใน วิชาชีพและชีวิตส่วนตัว การทำ�ธุรกิจที่ไม่เอาเปรียบลูกค้า ปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยความยุติธรรมและเคารพในสิทธิของ แต่ละบุคคล มุ่งมั่นใช้ทักษะทางวิชาชีพผ่านกิจกรรมโรตารี เพื่อสนับสนุนส่งเสริมเยาวชน เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบความ เดือดร้อนหรือผู้ด้อยโอกาส และเพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิต ของผู้คนในชุมชนให้ดีขึ้น ทั้งนี้สมาชิกในแต่ละสโมสรจะ ไม่แสวงหาประโยชน์พิเศษใดๆในทางธุรกิจและวิชาชีพจาก มวลสมาชิกในสโมสรเดียวกันหรือสมาชิกต่างสโมสร นี่คือสิ่งดีๆ ที่โรตารี กลั่นกรองจากพฤติกรรมปกติ บางประการของมวลมนุษยชาติ แล้วนำ�มาเจียรนัยให้ ความสำ�คัญ มุ่งมั่นให้สมาชิกสโมสรโรตารีทุกคนนำ�ไป ปฏิบัติ เพื่อช่วยกันสืบสานถักทอให้สังคมโลกมีความเชื่อ มั่นในการกระทำ�ในสิ่งดีๆ เพื่อให้ผู้คนบนโลกนี้จะได้มีชีวิต อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มีความเอื้อเฟื้อ เกื้อกูลกัน เพื่อ มิตรภาพที่ยั่งยืนตลอดกาลนาน


Governor’s สารผู้ว่าการภาค

Monthly Letter

12

Rotary International 3520 District Conference

Republic of China (Taiwan)


Governor’s

สารผู้ว่าการภาค Monthly Letter

13

Rotary International 3630, 3690 District Conference

Republic of Korea


Governor’s สารผู้ว่าการภาค

Monthly Letter

14

ผวภ.ขวัญชัย เลาหวิรภาพ เข้าร่วมประชุมใหญ่ ภาค 3690 สาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างวันที่ 17-20 เมษายน 2558

1

2

5

1. ผู้แทนประธาน โรตารีสากล กล่าว ในพิธีเปิดการ ประชุมใหญ่ภาค 3690 ณ โรงแรม MVL

2. ผวภ.ขวัญชัย เลาหวิรภาพ รับมอบของที่ระลึก จาก ผวภ.ลี (3690) 5. ภาพหมู่ ผู้ว่าการภาค อดีตผู้ว่าการภาค ที่เข้าร่วมงานทั้งหมด ผวภ.ขวัญชัย และ อผภ.อรชร นั่งอยู่ริมซ้าย

7

3. ตัดเค้กฉลอง 34 ปี ภาค 3690 โดยผู้ว่าการภาค ต่างๆ ที่ร่วม งาน โดยมีผู้แทน ประธานโรตารี สากลยืนกลาง

3

4. ผวภ.ขวัญชัย กล่าว แสดงความยินดีใน การประชุมใหญ่ภาค 3690 ณ ศูนย์ประชุม นานาชาติเกาหลี KINTEX เมือง Goyang

4

6

6. สโมสรโรตารี อุยจองบู ภาค 3690 คู่มิตรกับสโมสร กาญจนบุรี

9

9. เยี่ยมกรุงโซล และเป็น แขกรับเชิญในการเยี่ยม ชม สำ�นักเลขานุการ ประธานาธิบดี

7. สโมสรโรตารี อุยจองบู-เฮอยง 3690 คู่มิตรสโมสร ปู่เจ้าสมิงพราย ในการประชุมใหญ่ภาค 3690

8

8. ร่วมเป็นแขกในการเลี้ยงต้อนรับจากสโมสรโรตารี เคียงจู-ชอนมา ภาค 3630 อผภ. อรชร เคยเป็นผู้แทนประธานโรตารีสากล ในการประชุมใหญ่ภาคนี้ โดยยืนข้าง อผภ.ลี จง ยูล ภาค 3690 ซึ่งเป็นผู้ว่าการภาคปีบริหารเดียวกับ อผภ.อรชร


Governor’s

สารผู้ว่าการภาค Monthly Letter

15

เมษายน 2558

สวัสดีครับ ในเดือนมีนาคมทีผ่ า่ นมา มีการประชุมใหญ่ ประจําปี ของภาค 3330, 3340 และ 3360 เจ้าหน้าทีข่ อง ศูนย์โรตารีฯ ได้ไปร่วมการประชุมเพือ่ ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมของศูนย์ และช่วยเหลือในส่วนต่างๆ ตามทีผ่ วู้ า่ การภาคขอมา และเช่นเดียวกัน เจ้าหน้าทีศ่ นู ย์ฯ ทัง้ คณะ ได้ไปร่วมการประชุมสัมมนานายกรับเลือกร่วมภาคปี 2015-16 ทีห่ าดใหญ่ ทีมศูนย์โรตารีฯ ได้ชว่ ยเหลืออย่าง มากเกีย่ วกับการเตรียมการ ทัง้ เอกสารการสัมมนา ป้ายชื่อ ป้ายชื่อตัง้ โต๊ะ ใบประกาศนียบัตร ตลอดจนการจัดห้อง

ประชุมย่อย และอุปกรณ์ต่างๆ ทีใ่ ช้ในห้องประชุมย่อย ประการสําคัญ คือ การแนะนําเกีย่ วกับการลงทะเบียนและ การเข้าใช้งาน My Rotary ของนายกรับเลือก สุดท้ายขอให้ทุกคนโชคดี และมีความสุข ในวันปี ใหม่ไทยที่ จะมาถึงเดือนนี้ ด้วยไมตรีจติ แห่งโรตารี (วิชยั มณีวชั รเกียรติ) ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์โรตารีฯ ปี 2557-59

PDG.Anthony Richards และ DGN.Mir Ali ภาค 3272 ประเทศปากีสถาน มาเยีย่ ม ศูนย์โรตารีฯ และได้แลกธงสโมสรกับสโมสร โรตารีอสี เทิรน์ ซีบอร์ด ภาค 3340

ผูน้ ําภาค 3310 เยีย่ มศูนย์โรตารีฯ เพือ่ แลกเปลีย่ นความคิดเห็น ในแนวทางการทํางานของศูนย์โรตารีในประเทศไทย กับสํานักงานของภาค 3310 (มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน)

ตรวจเช็คความเรียบร้อยของ “กล่องนํ้าใจ” เพือ่ ส่งให้สโมสรโรตารี เชียงใหม่เหนือเพือ่ ช่วยชาวบ้านทีป่ ระสบอัคคีภยั ที ่ อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ ศูนย์โรตารีในประเทศไทย: info@rotarythailand.org โทร. 0 2661 6720-1

www.rotarythailand.org

Facebook://RotaryCentreThailand


รก ยงาน รประชุม

ประจำเดือน มีนาคม 2558 Monthly Attendance Report March 2015 พื้นที่

1

2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

สโมสร 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49

ยะลา เบตง ปัตตานี นราธิวาส หาดใหญ่ หาดใหญ่นครินทร์ ควนลัง-หาดใหญ่ สงขลานวมินทร์ คอหงส์ โคกเสม็ดชุน นครหาดใหญ่ สงขลา สตูล ระโนด เพชรละงู

กาญจนวนิช-หาดใหญ่

ตรัง พัทลุง ช่อศรีตรัง ควนขนุน ทับเที่ยง ภูเก็ต ภูเก็ตเซ้าท์ ชิโนภูเก็ต ทุ่งคา อันดามัน จังซีลอน พังงา ระนอง ตะกั่วป่า อันดามันพังงา กระบี่ อ่าวลึก เหลืองกระบี่ นครศรีธรรมราช ไม้เรียง-นครศรี พรหมคีรีศรีมหาชัย ศรีธรรมาโศกราช ทุ่งสง นครศรีวีรไทย ท่าศาลา-นครศรี โพธิ์เสด็จ-นครศรี สิชล-นครศรี ชุมพร สุราษฎร์ธานี ศรีตาปี เพชรตาปี ประจวบคีรีขันธ์ ปราณบุรี

สมาชิก เพิ่ม/ลด % 32 +5 24 - 7 - 16 - 21 - 17 - 25 +1 27 - 20 -2 29 -14 25 - 36 +2 11 -1 - - 5 +1 17 - 50 - 6 - 23 -1 - - 16 - 28 +2 26 +1 25 - 43 - 22 - 27 - 25 - 20 - 22 - 13 - 31 - 7 - 40 - 41 - 9 - 10 - 22 - 26 - 15 -2 21 - 20 - 15 - 14 -2 29 - 44 +1 20 - 22 +3 25 -

50.00 62.50 71.43 84.09 51.19 69.57 71.00 97.04 51.67 60.34 74.00 62.96 72.73 - 100.00 74.51 40.43 50.00 57.39 - 58.33 74.74 57.58 37.33 72.62 72.73 75.36 63.73 47.50 67.05 - 38.71 75.76 50.00 39.84 50.00 66.67 77.27 70.19 76.92 75.24 57.50 73.33 - 55.17 77.27 33.75 53.41 56.00

ครั้ง 3 3 4 4 4 5 4 5 6 4 4 3 4 4 3 5 1 5 2 3 3 3 4 3 3 5 4 4 2 3 4 3 4 3 4 4 2 5 4 6 4 3 4 4 2

พื้นที่ 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

สโมสร 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97

หัวหิน สมุทรสงคราม เพชรบุรี ชะอำ� เขาวัง บ้านแพ้ว สมุทรสาคร กระทุ่มแบน ราชบุรี แก่นจันทร์ พลอยราชบุรี โพธาราม บ้านโป่ง หลักห้า-ดำ�เนิน พระประแดง พระสมุทรเจดีย์ ลัดหลวง สำ�โรง เทพารักษ์ ปู่เจ้าสมิงพราย เอราวัณ สมุทรปราการ บางพลี บางบ่อ นครปฐม พุทธมณฑล ดอนตูม บางเลน พระปฐมเจดีย์ กำ�แพงแสน สนามจันทร์ นครชัยศรี สามพราน กาญจนบุรี ทองผาภูมิ มณีกาญจน์ E-Club ภาค 3330 ท่าเรือ-กาญจนบุรี ท่าม่วง ลูกแก-กาญจนบุรี สุพรรณบุรี เพชรสุพรรณ ป่าเลไลยก์ อู่ทอง สองพี่น้อง ป่าตองบีช เกาะสมุย รอยัลหัวหิน

สมาชิก เพิ่ม/ลด % 32 29 21 15 24 38 20 32 51 41 42 28 31 14 28 27 22 28 17 21 6 19 8 8 85 28 27 26 55 16 48 21 10 50 12 32 27 29 27 24 53 28 34 15 41 28 14 31

- - - - - - - - - - -6 - - - - - -1 - - - - - - - +8 +9 +3 -1 - - - - - -3 -3 - - - - - +3 - -3 - - - - -

- 56.55 63.10 71.67 61.46 62.63 35.00 97.92 82.21 55.12 94.10 92.86 - 59.52 65.48 81.48 79.09 77.14 - 72.62 70.63 87.37 58.33 80.00 94.12 70.97 51.77 - 66.67 - 73.13 75.06 - 77.50 - 82.81 - 37.93 64.44 38.24 70.00 82.14 78.68 56.67 74.39 67.19 - -

ครั้ง 5 4 4 4 5 5 3 4 5 6 2 3 3 5 5 5 4 7 5 3 4 5 4 3 - 3 4 8 4 2 3 5 3 3 2 4 2 4 4 -

การส่งเปอร์เซ็นต์การประชุมประจำ�สัปดาห์ของสโมสร

ทุกเดือนภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป ให้ส่งที่ www.rotary3330.net และเข้าไปที่เมนูพัฒนาสมาชิกภาพ หรือ Membership Development หากมีข้อสงสัยสอบถามที่ : อน.ชวนภัค ศิริณภัค โทร : 082-3456333 Line ID : misschool


มวลมิตรโรแทเรียนที่รักคะ อากาศร้อนกำ�ลังมาเยือนอีกแล้วนะคะ หันไปทางไหนทุก คนก็บ่นกันว่าร้อนๆ ๆ ถ้าหากเป็นเพื่อนที่พอจะแนะนำ� กันได้ ดิฉันก็จะบอกว่า ลองเพิ่มจำ�นวนครั้งของการอาบ น้ำ� เช่น จากวันละ 2 ครั้ง เช้า เย็น ลองเพิ่มรอบเที่ยง เข้าไปอีกสักครั้งดูสิเผื่อว่าจะได้ผล หลังจากนั้น ดิฉัน ก็ได้รับรายงานว่าได้ผล (กับเพียงบางคน) นอกจากนั้น ดิฉันยังมีสูตรลับที่ยังไม่เคยบอกใคร ซึ่งสูตรนี้ใช้กับตัว เองแล้วได้ผล 100 เปอร์เซ็นต์ เพียงแต่สูตรนี้ค่อนข้าง จะเข้าข่าย top secret ใครสนใจหลังไมค์ได้ค่ะ

กองบรรณาธิการ ที่ปรึกษา

อผภ.เธียรศักดิ์ ปิยธรรมสิริ

อผภ.อรชร สายสีทอง อผภ.นพ.สงวน คุณาพร ผวน.จุฑาทิพย์ ธรรมศิริพงศ์ อน.พิเชษฐ์​ รุจิรัตน์ อน.นพ.ศิริพงษ์ ถมสุวรรณ

สุดยอด และ..ซู๊ดด...ยอด (ดูปากณัชชานะคะ) โครงการ บำ�เพ็ญประโยชน์ที่สโมสรต่างๆ ในภาค 3330 ของ เรา จะได้รู้ผลกันในงาน Awards Night ในวันที่ 8 พฤษภาคม 2558 “คืนประกาศรางวัลแห่งความภาค ภูมิใจ” ของชาวโรแทเรียนทั้งมวล ประโยชน์ที่แท้จริงจะ บังเกิดแก่ประชาชนในชุมชน อย่าลืมเตรียมรถ 10 ล้อ มารับรางวัลกลับบ้านกันนะคะ หลังจากนั้น วันที่ 9-10 พฤษภาคม 2558 พบกับการอบรมเจ้าหน้าที่และคณะกรรมการบริหาร สโมสรภาค ประจำ�ปีบริหาร 25582559 ที่ โรงแรมหรรษาเจบี หาดใหญ่ เช่นกัน ขอต้อนรับทุกท่านค่ะ

คณะกรรมการ

อน.เอื้องฟ้า เปี่ยมสวัสดิ์ 089-128-4226

อน.สาธิณี พิศาลคุณากิจ 092-595-4145 อน.ฐกฤต บุตรรุ่งโรจน์ 081-697-3276 อน.ปฐมสิทธิ์ ชาญสิทธิ์จิรากุล 081-736-0291 อน.พรชนก คณาพรพงษ์ 081-738-3401 นยก.นิธิกิตติกานต์ เหมสุวรรณ์ 086-695-0226

บรรณาธิการ

นยก.อาภาฬฎี เลขะกุล โทร.​081-8975623 อีเมล์ : rotarykl@gmail.com

นยก.อาภาฬฎี เลขะกุล บรรณาธิการ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.