Present สสส 61 04 10 final

Page 1

การศึกษาพื้นที่ โครงการย่านจีน ถิ่นบางกอก

วันที่ 10 เมษายน 2561


กลุ่มปั้นเมือง ก่อตั้งในปี พ.ศ.2558 มีประสบการณ์การ ทางานด้านการฟื้นฟูย่านเก่าในเขตเมือง ได้แก่ ย่านตลาด น้อยและพื้นที่ต่อเนื่องโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่มาร่วมกันกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เพื่อกาหนดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ครอบคลุมทุกมิติ และสอดคล้ อ งกั บ แนวทางพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ขององค์ ก าร สหประชาชาติ (Sustainable Development Goals : SDGs) ในประเด็นการพัฒนาเมืองและชุมชน (Sustainable Cities and Communities) ที่เป็นส่วนสาคัญของการทาให้ เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ มีความปลอดภัยทั่วถึง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่างยั่งยืน


กลุ่มปั้นเมือง มีวิสัยทัศน์ในการมุ่งเน้นการบูรณาการความรู้ด้านวิชาชีพสถาปนิก ผังเมือง สังคมวิทยา และกระบวนการสื่อสารและสาขา วิชาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมือง ด้วยความเชื่อมั่นในกระบวนการมีส่วนร่วมและศักยภาพของผู้คนที่ให้ชุมชน ที่สามารถเป็นผู้ร่วม กาหนดทิศทางนโยบายและกระบวนการในการพัฒนา โดยใช้ “การจัดการความรู้” และ “การออกแบบ” เป็นเครื่องมือสาหรับพัฒนา ความรู้ ความเชื่อมั่น และทักษะของผู้คนเพื่อนาไปสู่การเป็น “พลเมืองตื่นรู้” (Active Citizen) ที่ร่วมสร้างการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหาร จัดการเมืองจากฐานราก (Bottom Up) ซึ่งมีผู้คนเป็นศูนย์กลาง


ประสบการณ์ การทางาน


ทาไม? ต้อง ไชน่าทาวน์


ไชน่าทาวน์ พื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

-----------------------ศูนย์กลางการค้าของกรุงรัตนโกสินทร์.

เกาะกรุงรัตนโกสินทร์

ไชน่าทาวน์

เขตเมืองชั้นใน


เป็นชุมชนการค้าเริ่มแรกบริเวณริมแม่น้าเจ้าพระยาในกรุงเทพฯ

ที่มา : โครงการอนุรักษ์ ฟืน้ ฟูยา่ นตลาดน้ อยและพื ้นที่ตอ่ เนื่อง

่ านริมนาไชน่ ้ “ภาพถ่ายและแผนทีย่ าทาวน์บริเวณตลาดน้อย ในอดีต”


เป็นศูนย์กลางการค้าระดับเมืองในปัจจุบัน

“การค้าส่งและปลีกในย่านสาเพ็ง”

N “ย่านเยาวราชที่มีการใช้งานทั้งกลางวันและกลางคืน”


เป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม ทั้งจับต้องได้และจับต้องไม่ได้

“บ้านโซวเฮงไถ่ บ้านจีนสมัยต้นรัตนโกสินทร์ในตลาดน้อย” ศาสนสถาน ชุมชน อาคารเก่า ท่าเรื อ ท่าเรื อในอดีต เส้ นทางลาเลียงสินค้ า

N


มรดกวัฒนธรรมอาชีพดั้งเดิม


มรดกวัฒนธรรมแทรกอยู่ในระบบตรอกซอกซอย


อาคารเก่าที่มีคุณค่าทางสถาปัตยกรรม


ศักยภาพของเอื้อต่อการต่อเดินของระบบตรอก ซอย


การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม


พื้นที่ริมน้ากว่า 1.8 กม. แต่ไม่มีพื้นที่สาธารณะที่ชุมชนเข้าถึงแม่น้าได้


ความหนาแน่นของพื้นที่อยู่อาศัย


ขาดพื้นที่สันทนาการ ออกกาลังกาย


การเปลี่ยนแปลงจากโครงการพัฒนาในพื้นที่

N ที่มา : โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านตลาดน้อยและพืน้ ที่ต่อเนือ่ ง

“โครงการพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและกระแสการพัฒนาที่ดินริมแม่น้า”


สถานีรถไฟฟ้า วัดมังกร


ผลกระทบต่อชุมชนและอาคารเก่าอันเนื่องจากสิทธิการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟฟ้า


กระบวนการทางาน


สังคมและวัฒนธรรม

LIVABLE

HOUSING

สิทธิและความมั่นคงในที่อยู่อาศัย

“เวทีกาหนดวิสัยทัศน์ย่าน ร่วมกัน”

MECHANISM

ECONOMY

PHYSICAL การมีส่วนร่วมและกลไกการทางาน

เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของย่านและชุมชน สิ่งแวดล้อม - ภูมิทัศน์ - สถาปัตยกรรม


ดารงความเป็นไชน่าทาวน์ ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ศึกษาและ ทาความเข้าใจย่าน

ทาผังแม่บท อนุรักษ์ฟื้นฟูย่านตลาดน้อยฯ

ทากิจกรรมนาร่อง สร้างกลุ่มคน “กลุ่มคนรักตลาดน้อย”

“ผังแม่บทพื้นที่ริมน้า รวบรวมมรดกวัฒนธรรม ระบุ Design Guideline สร้างภาคีและพื้นที่นาร่อง”

ระยะที่ 1

ระยะที่ 2

ทาข้อมูลเส้นทางเดิน ในเขตสัมพันธวงศ์

“สารวจเส้นทางเดิน สร้างแผนที่และป้ายบอกทาง จัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุน ให้เกิดการเดินในย่าน”

การพัฒนาและฟื้นฟู เขตสัมพันธวงศ์

“อนุรักษ์ฟื้นฟูชุมชน ดั้งเดิมและย่านไชน่าทาวน์ ให้สอดคล้องกับ การพัฒนาเมือง” ระยะที่ 3


ระยะที่ 1 ศึกษาและทาความเข้าใจย่าน


การดาเนินงานในระยะที่ 1


แนวคิดการพัฒนา


การศึกษาดูงาน


การประชุมชุมชนกลุ่มคนรักตลาดน้อย


รวบรวมข้อมูลมรดกวัฒนธรรม


ระยะที่ 2 ทาผังแม่บทและเส้นทางเดินในย่าน


การดาเนินงาน ในระยะที่ 2 ผังแม่บทพื้นที่ริมน้า : โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูตลาดน้อยและพื้นที่ต่อเนื่อง ทาแบบ ทาผังแม่บท รายละเอียด และเสนอ และแนวทางพัฒนา พื้นที่นาร่อง พื้นที่นาร่อง กาหนด ทิศทางการ พัฒนาย่าน

เลือกประเด็น ขับเคลื่อน

“การอนุรักษ์ฟื้นฟู แหล่งมรดกวัฒนธรรมและ ศูนย์กลางเศรษฐกิจ ริมแม่น้าเจ้าพระยา”

การผลักดัน เชิงนโยบาย

ประสานการทางานระหว่างโครงการ สารวจและ เลือกเส้นทางเดิน ที่มีศักยภาพ

ทาแผนที่ ทาป้ายบอกทางและ ทดสอบเส้นทาง

การเดินเพื่อฟื้นฟูย่าน : โครงการไชน่าทาวน์ย่านน่าเดิน

เส้นทางนาร่อง และแนวทางการ ปรับปรุง


การมีส่วนร่วมของภาคีในพื้นที่


จัดทาผังแม่บทพื้นที่ริมแม่น้าในเขตสัมพันธวงศ์


ตัวอย่าง การพัฒนาพื้นที่สาธารณะในย่านเพือ่ รองรับการมีกิจกรรมทางกาย ท่าน้าสวัสดี

ท่าน้าภาณุรังษี


่ าธารณะริมน้าของชุมชนสู่ระดับนโยบาย พืน้ ที่สุขภาวะที่รองรับกิจกรรมทางกาย : พื้นทีส ภาพจาลองทัศนียภาพหลังการปรั บปรุ งท่ านา้ สวัสดี ปั จจุบนั สำนักงำนเขตสัมพันธวงศ์ รับนำเข้ ำในแผนเพื่อจัดสรร งบประมำณ

ภาพจาลองทัศนียภาพหลังการปรั บปรุ งท่ าภาณุ รังษี ปั จจุบนั อยู่ระหว่ำงกำรจัดสร้ ำงตำมแบบ งบประมำณ 50 ลบ. โดย กรมธนำรักษ์

**ปั จ จุ บัน อยู่ ใ นขั้น ตอนเตรี ยมน ำเสนอต่ อ สภำกรุ ง เทพมหำนครเพื ่ อ ขออนุ มัติ งบประมำณในกำรปรับปรุง ภำยใต้กำรดูแลของสำนักผังเมื อง กทม.


โครงการไชน่าทาวน์ย่านน่าเดิน


แผนที่เส้นทางเดินในย่านไชน่าทาวน์ 10 เส้น


กิจกรรมทดสอบเส้นทางเดิน


ป้ายบอกทางในย่านไชน่าทาวน์


อาสาสมัครทดสอบเส้นทางเดิน โปสเตอร ์ประชาสัมพันธ ์

แบบสอบถามเส้นทางน่ าเดิน

สรุปข้อมู ลผู เ้ ข้าร่วมกิจกรรม


Walk-in CHINATOWN


แนวความคิดการจัดทาแอพพลิเคชั่น

สารานุกรมท้องถิ่น

Walk-in CHINATOWN

=

Online Town’s Guide system

แผนที่พร้อม ระบบนาทาง หน้าต่างประชาสัมพันธ์ เก็บข้อมูลผู้ใช้


แผนผังการทางาน

ผู้ใช้

Town’s guide online database

สารวจ

สื่อสังคมออนไลน์

แผนที่ออนไลน์

เกิดแรงบันดาลใจ!!

นาทาง

สถานที่

สารานุกรมท้องถิ่น

เก็บข้อมูลผู้ใช้


WALK-IN CHINATOWN แอพพริเคชั่น เพื่อส่งเสริมการเดินในย่าน


WALK-IN CHINATOWN แอพพริเคชั่น เพื่อส่งเสริมการเดินในย่าน


ค้นหาสถานที่


วางแผนและสร้างเส้นทางได้ด้วยตัวเอง


การเก็บข้อมูลสถิติผู้ใช้เส้นทาง

เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับพัฒนาเส้นทางการเดินและข้อเสนอการปรับปรุงกายภาพเพื่อส่งเสริมการเดิน


ศึกษาข้อมูลสถานที่และเรื่องเล่าของชาวชุมชน

ออกแบบข้อมูลให้เข้าใจง่ายและสนุก โดยใช้การถาม-ตอบ และเกมส์ให้เล่น


รายละเอียดพื้นที่ การเดินศึกษา เส้นทางเดินศึกษา มรดกวัฒนธรรมย่านตลาดน้อย



1. สวนชุมชนโปลิศสภา

ภาพก่อนการปรับปรุง

ภาพหลังการปรับปรุง

โครงการความร่วมมือระหว่างโครงการกับสานังานเขตสัมพันธวงศ์และชาวชุมชนเพื่อปรับปรุงและพัฒนาพื้นทีใ่ ห้เป็นสวนสาธารณะเพื่อตอบสนอง ชุมชนบริเวณคลองผดุงกรุงเกษมที่ขาดพื้นที่ต่อการมีกจิ กรรมทางกาย ออกกาลังกาย และทากิจกรรมรวมทั้งสร้างพื้นที่สเี ขียวเพิ่มขึ้นให้กับย่าน

ประเด็นยุทธศาสตร์ - การสร้างพื้นที่สาธารณะที่รองรับกิจกรรมทางกายในชุมชน - การสร้างเครือข่ายเส้นทางเดินสีเขียว (Green link) เพื่อเปลี่ยนถ่ายการสัญจรในเมือง (เส้นทางMRTหัวลาโพง-ท่าเรือสี่พระยา)


1. สวนชุมชนโปลิศสภา

ภาพพื้นที่สวนชุมชนโปลิศสภาก่อนทาการปรับปรุง


1. สวนชุมชนโปลิศสภา

ภาพกระบวนการออกแบบร่วมกันและลงพัฒนาพื้นที่ของชุมชน สานักงานเขตสัมพันธวงศ์และหน่วยงานสนับสนุน


1. สวนชุมชนโปลิศสภา

ปัจจุบันสวนโปริศสภา เป็นพื้นที่ออกกาลังกาย ไท้เก๊กและลานเอนกประสงค์ชุมชน รองรับกิจกรรมงานประเพณีต่างๆของชุมชนโปริศสภา และชุมชนข้างเคียงอีก 2 ชุมชน


2. ตลาดผลไม้ สะพานนี้จงสวัสดิ์

โครงการให้ความสาคัญกับประเด็นวัฒนธรรม ความเชื่อประเพณีของชาวจีน และรวบรวมเผยแพร่ระบุคุณค่ามรดกวัฒนธรรมของย่าน ประเด็นยุทธศาสตร์ - การสร้างพื้นที่สร้างสรรค์ด้วยการใช้ต้นทุนทางวัฒนธรรม - การสร้างเส้นทางนาร่องเพื่อการเดินศึกษามรดกวัฒนธรรมในย่านด้วยการรวบรวมและนาเสนอด้วยกิจกรรมที่สร้างแรงจูงใจในการเดิน


2. ร้านผลไม้มงคล สะพานนี้จงสวัสดิ์

แหล่งรวมผลไม้เพื่อใช้ในงานแต่งงานตามประเพณีของชาวจีน


3. โบสถ์แม่พระลูกประคา (กาลหว่าร์)

ประเด็นยุทธศาสตร์ - การสร้างพื้นที่สร้างสรรค์ด้วยการใช้ต้นทุนทางวัฒนธรรม - การสร้างเส้นทางนาร่องเพื่อการเดินศึกษามรดกวัฒนธรรมในย่านด้วยการรวบรวมและนาเสนอด้วยกิจกรรมที่สร้างแรงจูงใจในการเดินในย่าน - การสร้างความร่วมมือกับภาคีหลายฝ่ายในพื้นที่ในการดาเนินโครงการร่วมกัน ควบคู่กับกระบวนการทางานร่วมกับเด็ก และเยาวชนให้มีส่วนร่วมในการ


ภาพการจัดกิจกรรมต่างๆของโครงการ ที่เกิดจากการประสานความร่วมมือกับโบสถ์และโรงเรียนกาลหว่าร์ (ภาพซ้ายกิจกรรมเดินศึกษาย่าน /ภาพขวา กิจกรรมเปิดตลาดตะลักเกี๊ย)


4. ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย

ประเด็นยุทธศาสตร์ - การสร้างพื้นที่สร้างสรรค์ด้วยการใช้ต้นทุนทางวัฒนธรรม - การสร้างเส้นทางนาร่องเพื่อการเดินศึกษามรดกวัฒนธรรมในย่านด้วยการรวบรวมและนาเสนอด้วยกิจกรรมที่สร้างแรงจูงใจในการเดินในย่าน - การสร้างความร่วมมือกับภาคีหลายฝ่ายในพื้นที่ในการดาเนินโครงการร่วมกัน


5. โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูอาคารศาลเจ้าโรงเกือก

โครงการผลักดันให้เกิดการบูรณะศาลเจ้าอย่างมีส่วนร่วมใช้กิจกรรมการเก็บข้อมูลเชิงสถาปัตยกรรม แบบร่างการปรับปรุงเพื่อระบุคุณค่าและเป็น เครื่องมือสื่อสารเล่าเรื่องเล่าและการระดมทุนของศาลเจ้า โดยประสานงานกับผู้ดูแลศาลเจ้า สมาคมฮากกา ศูนย์ฮากกาศึกษา และกลุ่มคนที่สนใจ ประเด็นยุทธศาสตร์ - การสร้างพื้นที่สร้างสรรค์ด้วยการใช้ต้นทุนทางวัฒนธรรม - การสร้างเส้นทางนาร่องเพื่อการเดินศึกษามรดกวัฒนธรรมในย่านด้วยการรวบรวมและนาเสนอด้วยกิจกรรมที่สร้างแรงจูงใจในการเดินในย่าน - การใช้เครื่องมือด้านการออกแบบเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ - การสร้างความร่วมมือกับภาคีหลายฝ่ายในพื้นที่ในการดาเนินโครงการร่วมกัน


5. โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูอาคารศาลเจ้าโรงเกือก

ภาพกิจกรรมจากการประสานความร่วมมือ กับเครือข่ายเอกชนและสถาบันการศึกษา


กิจกรรมการเก็บข้อมูล VERNADOC อาคารศาลเจ้า

ภ่าพกิจกรรมVernadoc


6. โครงการอนุรักษ์อาคารบ้านโซวเฮงไถ่

ประเด็นยุทธศาสตร์ การสร้างเส้นทางนาร่องเพื่อการเดินศึกษามรดกวัฒนธรรมในย่านด้วยการรวบรวมและนาเสนอด้วยกิจกรรมที่สร้างแรงจูงใจในการเดินในย่าน - การสร้างความร่วมมือกับภาคีหลายฝ่ายในพื้นที่ในการดาเนินโครงการร่วมกัน


6. โครงการอนุรักษ์อาคารบ้านโซวเฮงไถ่

(ซ้าย) ภาพกระบวนการให้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์ของบ้านโซวเฮงไถ่โดยเจ้าของบ้านแก่ผู้มาศึกษาเยี่ยมชม (ขวา) ภาพบรรยากาศการประชุมพูดคุยถึงแนวทางและความเป็นไปได้ในการฟื้นฟูบ้านโซวเฮงไถ่ ของคณะทางานเพื่อฟื้นฟูบ้านโซวเฮงไถ่ กับคุณภู่ศักดิ์ โปษยจินดา ผู้สืบทอดบ้านโซวเฮงไถ่


7. โครงการพัฒนาพื้นที่ลานร่มไทรและโครงการแปลงผักปลอดสารพิษในชุมชน

โครงการประสานขอความร่วมมือกับเจ้าของที่ดิน โดยร่วมกับชุมชนปรับปรุงพื้นที่ทิ้งขยะ ให้เป็นพื้นที่ทางสังคมของชุมชน เป็นพื้นที่ทากิจกรรม และสันทนาการของชุมชนเอื้อต่อสุขภาวะ และขยายผลไปสู่การพัฒนาพื้นที่รกร้างอื่นๆในชุมชน ประเด็นยุทธศาสตร์ - การใช้เครื่องมือด้านการออกแบบเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ - การสร้างความเข็มแข็งและการเรียนรู้ร่วมกับชุมชนเพื่อสร้าง active person - การสร้างความร่วมมือกับภาคีหลายฝ่ายในพื้นที่ในการดาเนินโครงการร่วมกัน


7. โครงการพัฒนาพื้นที่ลานร่มไทรและโครงการแปลงผักปลอดสารพิษในชุมชน

ภาพกิจกรรมการปรับพื้นที่ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ให้เป็นแปลงผักของชุมชน


8. ศาลเจ้าโจวซือกง / บ้านเอ็งฮอกต๋อง

ประเด็นยุทธศาสตร์ - การสร้างพื้นที่สร้างสรรค์ด้วยการใช้ต้นทุนทางวัฒนธรรม - การสร้างเส้นทางนาร่องเพื่อการเดินศึกษามรดกวัฒนธรรมในย่านด้วยการรวบรวมและนาเสนอด้วยกิจกรรมที่สร้างแรงจูงใจในการเดินในย่าน - การสร้างความร่วมมือกับภาคีหลายฝ่ายในพื้นที่ในการดาเนินโครงการร่วมกัน


8. ศาลเจ้าโจวซือกง / บ้านเอ็งฮอกต๋อง

ทัศนียภาพจาลอง เป็นเครื่องมือในการผลักดันการพัฒนาเพื่อให้เกิดการพัฒนาพื้นที่ในภาพรวม และแนวทางการปรับปรุงอาคารจีนโบราณ ร่วมกับสมาคมฮกเกี้ยนแห่งประเทศไทยและมูลนิธิศาลเจ้าโจวซืองกง


8. ศาลเจ้าโจวซือกง / บ้านเอ็งฮอกต๋อง

ภาพการจัดกิจกรรม ทดลอง ใช้พื้นที่บ้านเอ็งฮ๊อกต๋อง เป็นพื้นที่การเรียนรู้เรื่องราว ประวัติศาสตร์ ในย่านตลาดน้อย


9. บ้านไท้ง้วนเองกี่

บ้านไท้ง้วนเองกี่ เป็นหนึ่งในอาคารจีนที่โครงการทากระบวนการพูดคุยกับเจ้าของบ้านเพื่อหาแนวทางการอนุรักษ์บ้านและเป็นพื้นที่เรียนรู้ การปรับปรุงอาคารเก่าที่มี คุณค่าให้สามารถใช้งานได้ ประเด็นยุทธศาสตร์ - การสร้างพื้นที่สร้างสรรค์ด้วยการใช้ต้นทุนทางวัฒนธรรม - การสร้างเส้นทางนาร่องเพื่อการเดินศึกษามรดกวัฒนธรรมในย่านด้วยการรวบรวมและนาเสนอด้วยกิจกรรมที่สร้างแรงจูงใจในการเดินในย่าน - การสร้างความร่วมมือกับภาคีหลายฝ่ายในพื้นที่ในการดาเนินโครงการร่วมกัน


9. บ้านไท้ง้วนเองกี่

ภาพกระบวนการอนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วมกับเจ้าของบ้านเพื่อหาแนวทางที่เหมาะสม


9. บ้านไท้ง้วนเองกี่

ภาพการปรับปรุงอนุรักษ์อาคารให้สามารถกลับมาใช้งานได้ภายหลังเกิดการพังบริเวณอาคารปีกซ้ายและขวา

บ้านไท้ง้วนเองกี่


9. บ้านไท้ง้วนเองกี่

ภาพกิจกรรมการใช้พื้นที่บ้านเป็นพื้นที่เรียนรู้และศึกษาย่านกับสถานศึกษา หน่วยงานองค์กรต่างๆ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.