คู่มือวิจัย

Page 1

คูม่ อื นักวิจยั

โครงการ

RSU Research Successors

Program (I)

โดย... สถาบันวิจัย ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน สำนักงานวางแผน มหาวิทยาลัยรังสิต


2

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

คำนำ

preface

คู่มือวิจัยเล่มนี้ เป็นเอกสารที่หน่วยวิจัยของมหาวิทยาลัยรังสิต 3 หน่วยงาน คือ สถาบันวิจัย ศูนย์สนับสนุน และพัฒนาการเรียนการสอน และสำนักงานวางแผน ร่วมมือกันจัดทำขึน้ เพือ่ ใช้เป็นเอกสารให้คำแนะนำแก่ผทู้ ำผลงานวิจยั ทีเ่ ข้าร่วมโครงการ RSU Research Successors Program (I) ซึง่ จะช่วยให้ผทู้ ำผลงานวิจยั องค์ความรู้ ผลงานวิจยั เพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน และผลงานวิจัยสถาบัน เกิดความรู้ความเข้าใจในหลักเกณฑ์การสมัครขอรับทุนอุดหนุนการวิจัย แนวทางการจัดทำข้อเสนอโครงการวิจยั (proposal) การจัดทำรายงานการวิจยั การเขียนบรรณานุกรมและเอกสารอ้างอิง รวมถึง ตัวอย่างของแบบฟอร์มต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือวิจัยเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ทำวิจัยให้สามารถทำผลงานวิจัยได้อย่าง ถูกต้องตามกระบวนการขัน้ ตอน และเป็นไปตามรูปแบบทีก่ ำหนด ทัง้ นี้ หากมีขอ้ สงสัย หรือต้องการข้อมูลเพิม่ เติมสามารถ ติดต่อสอบถามได้โดยตรงกับหน่วยวิจัยที่เป็นผู้ให้ทุนสนับสนุน

คณะผู้จัดทำ


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

สารบัญ

contents (

หลักการและเหตุผลโครงการ RSU Research Successors Program I....................................................... 4

(

แนวปฏิบตั กิ ารขอทุนสนับสนุนการวิจยั ........................................................................................................... 8

(

รายละเอียดแนวทางการเสนอโครงการวิจยั ..................................................................................................... 9

(

แบบฟอร์มการเขียนข้อเสนอโครงการวิจยั (Research Proposal).............................................................. 14

(

แบบฟอร์มสัญญารับทุนอุดหนุนการวิจัย 3 สถาบันวิจย ั .................................................................................................................................................. 18 3 ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน.............................................................................................. 20 3 สำนักงานวางแผน....................................................................................................................................... 22

(

สัญญายืมเงินทุนอุดหนุนการวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 สัญญายืมเงินทุนอุดหนุนการวิจย ั ............................................................................................................. 25 3 ใบยืมเงินทดรองจ่าย.................................................................................................................................. 26 3 ใบรับเงิน...................................................................................................................................................... 27

(

เงื่อนไขการเบิกค่าใช้จ่าย 3 กรณีขอรับทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจย ั .................................................................................................... 28 3 กรณีขอรับทุนอุดหนุนจากศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน................................................ 29 3 กรณีขอรับทุนอุดหนุนจากสำนักงานวางแผน.......................................................................................... 30

(

แบบรายงานความก้าวหน้าของการวิจยั .......................................................................................................... ข้อเสนอแนะการเขียนรายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์............................................................................................. 3 การพิมพ์ปกรายงาน................................................................................................................................... 3 การพิมพ์สน ั ปกรายงาน.............................................................................................................................. 3 การเขียนบทคัดย่อ..................................................................................................................................... 3 การเขียนกิตติกรรมประกาศ...................................................................................................................... 3 การเขียนสารบัญ สารบัญตาราง และสารบัญภาพ............................................................................... 3 การเขียนอ้างอิงเอกสาร............................................................................................................................. 3 การเขียนบรรณานุกรม...............................................................................................................................

(

ภาคผนวก

32 33 37 38 39 43 45 48 56

3


4

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

หลักการและเหตุผล โครงการ RSU Research Successors Program (I) หลักการและเหตุผล การวิจัยเป็นภารกิจหลักอย่างหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 นอกจากนั้น ผลงานวิจัยยังเป็นตัวบ่งชี้สำคัญที่กำหนดไว้ในมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา ของทั้งสำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ สกอ. และสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. ทัง้ นี้ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาในปีการศึกษา 2553 ทีผ่ า่ นมาบ่งชีใ้ ห้เห็นว่า มหาวิทยาลัยรังสิตควรเพิม่ ศักยภาพทางด้านการวิจัย รวมถึงนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ ทั้งในด้านปริมาณคือต้องทำให้สัดส่วนการขอผลงานวิจัย มีความสมดุลกับจำนวนอาจารย์ในคณะวิชาและในด้านคุณภาพ ได้แก่ การส่งผลงานลงตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ ระดับชาติและนานาชาติ รวมถึงการนำเสนอผลงานผ่านเวทีการประชุมวิชาการทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ ด้วยเหตุผล ดังกล่าว ทางมหาวิทยาลัยรังสิตโดยฝ่ายวิชาการและฝ่ายพัฒนาและแผนการเงิน ตระหนักถึงความสำคัญและถือเป็นประเด็น เร่งด่วนทีท่ กุ ภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ ผูบ้ ริหาร คณะวิชา และหน่วยงานสนับสนุน ต้องมาผนึกกำลังร่วมมือกัน เพือ่ สร้างความ แข็งแกร่งในการผลักดัน ส่งเสริม สนับสนุน ให้คณาจารย์และบุคลากรของคณะวิชาต่างๆ สามารถสร้างสรรค์ผลงานวิจยั และ งานสร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ เพื่อบรรลุตามเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพ การศึกษา โดยมีการตัง้ เป้าหมายว่า “ ภายในปีการศึกษา 2556 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สุขภาพ และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี จะมีผลงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ตพี มิ พ์เผยแพร่ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจยั ทัง้ หมด และสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จะมีผลงานวิจยั หรืองาน สร้างสรรค์ตพี มิ พ์เผยแพร่ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยทั้งหมด” ทัง้ นี้ ในทางปฏิบตั เิ พือ่ บรรลุเป้าหมายดังกล่าว ฝ่ายวิชาการ โดย 2 หน่วยงาน คือ สถาบันวิจยั (สวจ.) และศูนย์ สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน (ศสพ.) และฝ่ายพัฒนาและแผนการเงิน คือ สำนักงานวางแผน (สวผ.) ซึง่ มีภารกิจ ในการให้การสนับสนุนและส่งเสริมด้านการทำงานวิจยั องค์ความรู้ งานวิจยั เพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน และงานวิจยั สถาบัน จึงได้ทำความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยสร้างกระบวนการสนับสนุนการทำงานวิจัยอย่างครบวงจร แบบองค์รวม ให้แก่คณาจารย์และบุคลากร เป็นลักษณะของโครงการที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยโครงการในรอบ 1 ปี จะประกอบด้วยขัน้ ตอนการดำเนินการ ดังนี้

จัดฝึกอบรมเพือ่ ให้ความรู้

> ให้ทนุ สนับสนุนการทำวิจยั

> จัดให้มรี ะบบพีเ่ ลีย้ งนักวิจยั

> สนับสนุนการตีพิมพ์เผยแพร่และนำเสนอผลงานวิจัย

> มอบประกาศนียบัตรสำหรับผู้บรรลุเป้าหมาย

X

ให้คำแนะนำ • การทำ Proposal • การทำรายงานวิจัย • การเขียนบทความวิจยั


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

5

1. การจัดหลักสูตรฝึกอบรมระยะ 1 ปี ให้แก่คณาจารย์ที่ได้รับการเสนอชื่อจากคณะวิชาต่างๆ โดยขอความร่วมมือจากคณะวิชาในการดำเนินการคัดเลือก และนำเสนอรายชื่ออาจารย์และบุคลากรที่ทาง คณะวิชากำหนดตัวบุคคลให้เป็นผู้รับผิดชอบในการทำผลงานวิจัยให้บรรลุผลสำเร็จ ซึ่งแบ่งสัดส่วนตามความเหมาะสม ระหว่างผู้ที่ต้องทำผลงานวิจัยองค์ความรู้ ผู้ที่ต้องทำผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และผู้ที่ต้องทำผลงานวิจัย สถาบัน ทั้งนี้ อาจารย์และบุคลากรที่ได้รับการเสนอรายชื่อทุกท่าน จะเข้าสู่ระบบการลงทะเบียนเป็นบุคคลกลุ่มพิเศษ ที่จะได้รับการดูแลและสนับสนุนอย่างเต็มที่ในทุกด้าน เพื่อช่วยเหลือให้สามารถทำผลงานวิจัยได้อย่างบรรลุผลสำเร็จตลอด ระยะเวลาตัง้ แต่เริม่ ต้นจนสิน้ สุดโครงการด้วยการเผยแพร่ผลงานวิจยั อาจารย์และบุคลากรในโครงการจะได้รับการฝึกอบรมหลักสูตร 1 ปี แยกกลุ่มตามประเภทของการทำวิจัย ซึ่งจะได้รับความรู้ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการขั้นตอนการทำผลงานวิจัยทั้งหมด โดยเนื้อหาของหลักสูตรจะครอบคลุม ถึงการจัดทำข้อเสนอโครงการวิจัย สถิติที่ใช้ในการทำวิจัย การจัดทำรายงานการวิจัยอย่างมีคุณภาพ การตีพิมพ์ เผยแพร่ และนำเสนอผลงานวิชาการ และภายหลังสิ้นสุดโครงการฝึกอบรมจะมีพิธีมอบประกาศนียบัตรให้แก่ท่านผู้ผ่าน การฝึกอบรม หมายเหตุ : อาจารย์และบุคลากรผู้เข้าร่วมโครงการจะต้องได้รับการอนุมัติจัดสรรเวลาจากทางคณะวิชา ให้สามารถเข้าร่วมฝึกอบรมตลอดทั้งหลักสูตรได้อย่างต่อเนื่องและครบถ้วน การฝึกอบรมจะถูกจัดขึ้นเป็นช่วง พร้อมกับให้ผู้ทำวิจัยลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนไปทีละขั้น เพื่อทำผลงาน วิจัยของตนให้ประสบความสำเร็จภายในระยะเวลา 1 ปี เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาผู้ทำผลงานจะมีผลงานวิจัยที่เป็นรูปธรรมและ มีคุณภาพ อยู่ในเกณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับได้ 1 ชิ้นงาน ที่คณะวิชาสามารถนำไปนับรวมเป็นคะแนนในการประกันคุณภาพ การศึกษาได้ 2. การให้ทุนสนับสนุนการวิจัย หลังจากโครงการเริ่มต้น และผู้ทำวิจัยผ่านการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อ “การจัดทำข้อเสนอ โครงการวิจยั ” แล้ว 3 สัปดาห์ ผูท้ ำวิจยั ทุกท่านจะต้องนำส่งข้อเสนอโครงการวิจยั (Proposal) ของตนเองผ่านทางสถาบันวิจยั (สวจ.) หรือ ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน (ศสพ.) หรือ สำนักวางแผน (สวผ.) ตามแต่ประเภทของงานวิจยั โดยทัง้ 3 หน่วยงาน จะนำเข้าสูท่ ป่ี ระชุมของคณะกรรมการวิจยั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ทิ นุ สนับสนุนการทำวิจยั ในทันที ซึง่ เป็นการ รับประกันได้ว่า ผู้ทำวิจัยจะได้รับการสนับสนุนด้านทุนวิจัยอย่างเต็มที่แน่นอน 3. การจัดระบบพี่เลี้ยงนักวิจัยเพื่อคอยดูแลและให้คำปรึกษา กลุม่ ของนักวิจยั หน้าใหม่ ซึง่ ยังขาดประสบการณ์ในการทำงานวิจยั จะได้รบั การดูแลจากอาจารย์ผทู้ รงคุณวุฒิ ทั้งภายในและภายนอกที่จะทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงนักวิจัย โดยพี่เลี้ยงจะเริ่มทำหน้าที่ตั้งแต่การให้คำแนะนำในการเขียน ข้อเสนอโครงการวิจัย (Proposal) ซึ่งทันทีที่ได้รับอนุมัติทุนวิจัย ผู้ทำวิจัยสามารถเริ่มต้นทำงานวิจัยได้ทันที โดยพี่เลี้ยง จะคอยให้คำปรึกษาให้กระบวนการทำงานเป็นไปอย่างมีคุณภาพถูกต้องตามหลักวิธีวิจัย ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการใช้สถิติ การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล การเขียนรายงานการวิจัย รวมถึงการเตรียมนิพนธ์ต้นฉบับเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ หรือ นำเสนอในเวทีการประชุมวิชาการ นอกจากนั้น พี่เลี้ยงจะคอยดูแลช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ ให้ผู้ทำวิจัยสามารถ ทำงานได้ประสบผลสำเร็จอย่างราบรื่น และทำหน้าที่ตรวจประเมินความคืบหน้าในการทำงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลา เพื่อให้งานเสร็จทันตามกำหนด 4. การให้ทุนสนับสนุนเพื่อการตีพิมพ์เผยแพร่และนำเสนอผลงานวิจัย เมือ่ ทำผลงานวิจยั เสร็จสิน้ ทางสถาบันวิจยั (สวจ.) และ ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน (ศสพ.) จะร่วมกันสนับสนุนให้ผู้ทำวิจัย นำบทความวิจัยลงตีพิมพ์เผยแพร่หรือนำเสนอสู่เวทีการประชุมวิชาการในหลากหลาย ช่องทางตามความประสงค์ของผูท้ ำวิจยั ได้แก่ การตีพมิ พ์เผยแพร่ลงในวารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต


6

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

หรือ ในเอกสารประชุมวิชาการ (Proceedings) ของงานประชุมวิชาการประจำปี มหาวิทยาลัยรังสิต (RSU Research Conference) หรือ ลงตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการอืน่ ๆ ทัง้ ในระดับชาติและระดับนานาชาติ หรือ หากผูว้ จิ ยั ประสงค์จะเดินทางไปร่วม นำเสนอบทความวิจัยทั้งในรูปแบบ Oral หรือ Poster ในงานประชุมวิชาการทั้งภายใน หรือภายนอกประเทศ ทางมหาวิทยาลัยพร้อมที่จะให้การสนับสนุนค่าใช้จ่ายสำหรับการเดินทางและค่าลงทะเบียนในทุกกรณี 5. การมอบประกาศนียบัตรสำหรับผู้บรรลุเป้าหมาย ทางมหาวิทยาลัยจะมีการจัดพิธมี อบประกาศนียบัตร เพือ่ ประกาศเกียรติคณ ุ ให้แก่ผทู้ ำวิจยั ทีท่ ำผลงานวิจยั เสร็จสมบูรณ์และได้รบั ตีพมิ พ์เผยแพร่หรือนำเสนอสูเ่ วทีการประชุมวิชาการเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว นอกจากนัน้ จะมีการประสาน ไปยังสำนักงานบริหารทรัพยากรมนุษย์ และศูนย์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อบันทึกข้อมูลว่าท่านได้รับการพัฒนาคุณภาพ บุคลากรในส่วนงานวิจยั ซึง่ ทางมหาวิทยาลัยและทางคณะวิชา จะสามารถนำข้อมูลนีไ้ ปใช้เพือ่ การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน และการประกันคุณภาพการศึกษาได้ต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานวิจัยเชิงวิชาการให้แก่คณาจารย์ และบุคลากรของคณะวิชา ที่ยังไม่เคยทำงานวิจัยหรือยังขาดประสบการณ์และความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการทำงานวิจัย ให้ได้รับการพัฒนาศักยภาพ เพื่อก้าวไปสู่การเป็นนักวิจัยของมหาวิทยาลัย 2. เพื่อเป็นการทบทวนความรู้ และเสริมสร้างความแข็งแกร่งในการทำงานวิจัยให้แก่อาจารย์และบุคลากร ที่ผ่านการทำผลงานวิจัยมาแล้ว ให้สามารถก้าวสู่การทำงานวิจัยในระดับสูงหรืองานวิจัยเฉพาะทางต่อไป 3. เพื่อให้ผลงานวิจัยองค์ความรู้ ผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และผลงานวิจัยสถาบัน เกิดมีขึ้น อย่างเป็นรูปธรรมและมีระดับคุณภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรับได้ ส่งผลให้คณะวิชามีผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่บรรลุ เป้าหมายตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา ของทั้งสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ สกอ. และ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. ผู้รับผิดชอบโครงการ สถาบันวิจยั ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน และสำนักงานวางแผน วิทยากรโครงการฝึกอบรมตลอดหลักสูตร ผูท้ รงคุณวุฒจิ ากภายนอก ทีมงานนักวิจยั พีเ่ ลีย้ ง และผูอ้ ำนวยการหน่วยวิจยั ทัง้ หมด ทีมงานนักวิจัยพี่เลี้ยง ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก และ ผู้ทรงคุณวุฒิภายในมหาวิทยาลัยรังสิต กลุ่มเป้าหมาย อาจารย์ และบุคลากรทีไ่ ด้รบั การเสนอชือ่ จากคณะวิชา/หน่วยงานต้นสังกัด จำนวน 200 คน


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

7

กรอบระยะเวลาการดำเนินงาน กิจกรรมการดำเนินงาน

ระยะเวลาการดำเนินโครงการ ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ.

1. การฝึกอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร ในห้วข้อ “การ จัดทำข้อเสนอโครงการวิจัย” 2. ส่งข้อเสนอโครงการวิจัย 3. พิจารณาอนุมตั ทิ นุ วิจยั 4. เริม่ ต้นทำงานวิจยั 5. การฝึกอบรม ในห้วข้อทีเ่ กีย่ วข้อง ครัง้ ที่ 1 6. การฝึกอบรม ในหัวข้อทีเ่ กีย่ วข้อง ครัง้ ที่ 2 7. การฝึกอบรม ในหัวข้อทีเ่ กีย่ วข้อง ครัง้ ที่ 3 8. ผลงานวิจยั เสร็จสมบูรณ์ พร้อมตีพมิ พ์เผยแพร่ 9. การตีพมิ พ์เผยแพร่ผลงานวิจยั 10. พิธมี อบประกาศนียบัตรให้แก่ผผู้ า่ นการ ฝึกอบรม

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. คณาจารย์และบุคลากรของคณะวิชาได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถด้านการทำงานวิจัย ที่สามารถ นำไปต่อยอดหรือขยายผลไปสู่การทำงานวิจัยในระดับสูง หรืองานวิจัยเฉพาะทางได้ต่อไป 2. ผลงานวิจยั องค์ความรู้ ผลงานวิจยั เพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน และผลงานวิจยั สถาบันเกิดมีขน้ึ อย่างเป็น รูปธรรมและมีระดับคุณภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรับได้ 3. คณะวิชามีผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่บรรลุเป้าหมายตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา ของ ทั้งสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ สกอ. และสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. 4. มหาวิทยาลัยรังสิต มีค่าคะแนนการประกันคุณภาพการศึกษาด้านการทำงานวิจัยในระดับที่สูงขึ้น


8

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

แนวปฏิบัติการขอทุนสนับสนุนการวิจัย ผู้วิจัยเขียน Proposal ตามแบบฟอร์มให้แก่หน่วยงานที่ขอรับทุนวิจัย คณะกรรมการทุนวิจัยประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติทุนวิจัย ประกาศแจ้งผลการอนุมัติทุนวิจัย ผู้วิจัยกรอกรายละเอียดสัญญาทุนวิจัยและสัญญายืมเงินทุนวิจัย ผู้วิจัยดำเนินงานตามขั้นตอนตามระเบียบของหน่วยงานที่ให้ทุนวิจัย ผู้วิจัยส่งรายงานความก้าวหน้าในการดำเนินงาน ตามระเบียบของหน่วยงานที่ให้ทุนวิจัย เมื่องานวิจัยเสร็จสมบูรณ์ ผู้วิจัยต้องจัดส่งรูปเล่มรายงานวิจัยแก่หน่วยงานที่ให้ทุนวิจัย ผู้วิจัยมีการนำเสนอผลงานวิจัยในรูปแบบของการตีพิมพ์เผยแพร่/ นำเสนอในเวทีประชุมวิชาการ


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

9

รายละเอียดแนวทางการเสนอโครงการวิจัย (สถาบันวิจยั ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน และสำนักงานวางแผนพัฒนาคุณภาพ) ให้เขียนชี้แจงรายละเอียดต่างๆ ตามหัวข้อที่กำหนดให้ ดังนี้ 1. ชื่อโครงการ ให้ระบุชื่อโครงการวิจัยที่จะทำให้ชัดเจนทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยชื่อโครงการควรจะบ่งบอกให้ทราบ ถึงเนื้อหาสาระของการวิจัย ควรกำหนดให้ชัดเจนและกระชับที่สุดเท่าที่จะทำได้ 2. ประเภทนักวิจัย แบ่งเป็น 2 ประเภทดังนี้ 1. นักวิจัยประสบการณ์ ซึ่งเคยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยมาแล้ว 2. นักวิจัยหน้าใหม่ ซึ่งยังไม่เคยได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยมาก่อน 3. ประเด็นทีท่ ำวิจยั จำแนกตามหน่วยงานทีข่ อรับทุนอุดหนุนฯ ซึง่ แยกรายละเอียดดังนี้ 3.1 กรณีขอรับทุนอุดหนุนวิจยั จากสถาบันวิจยั มีประเด็นดังต่อไปนี้ 1) การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง 2) ความมั่นคงของรัฐและการเสริมสร้างธรรมาภิบาล 3) การปฏิรูปการศึกษา 4) การจัดการน้ำ 5) การพัฒนาพลังงานทดแทน 6) การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออกและลดการนำเข้า 7) การป้องกันโรคและการรักษาสุขภาพ 8) การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 9) การพัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพ เทคโนโลยีใหม่และเทคโนโลยีที่สำคัญเพื่ออุตสาหกรรม 10) การบริหารจัดการการท่องเที่ยว และเพิม่ หัวข้อที่ 11) สังคมธรรมาธิปไตย เพือ่ ให้เป็นไปตามแนวปฏิบตั ขิ องมหาวิทยาลัยรังสิต 3.2 กรณีขอรับทุนอุดหนุนวิจัยจากศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน งานวิจยั เพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน สามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้ดงั นี้ (ให้เลือก 1 ประเภท) การวิจยั เกีย่ วกับนักศึกษา ได้แก่ • การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน • การพัฒนาการเรียนรู้ • การปรับปรุงลักษณะของผู้เรียน • พฤติกรรมและทัศนคติของผู้เรียน ฯลฯ การวิจัยเกี่ยวกับอาจารย์ผู้สอน ได้แก่ • การวางแผนการสอน • วิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ • การแก้ปัญหาในชั้นเรียน


10

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

• การพัฒนาการสอน • การเพิม่ พูนศักยภาพด้านการสอน • การพัฒนาผลงานทางวิชาการ ฯลฯ การวิจัยเพื่อปรับปรุงรูปแบบและเทคนิคการสอน ได้แก่ • รูปแบบการสอน • รูปแบบการเรียนรู้ • เทคนิคและรูปแบบการจัดกิจกรรม • ยุทธวิธีการแก้ปัญหา • กลยุทธ์การสอน • การติดตามและประเมินประสิทธิภาพสือ่ การสอน (ชุดการสอน, สือ่ e-Learning, ชุดทดลอง ฯลฯ) ฯลฯ การวิจัยเพื่อสร้างสื่อการสอนหรือนวัตกรรม ได้แก่ • สือ่ การสอนอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ สือ่ การสอน e-Learning (ทัง้ online และไม่ online) บทเรียน คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI) เช่น Flash, Photoshop, Autoware ฯลฯ หมายเหตุ: ของบประมาณในรูปแบบโครงการ e-Learning • แบบฝึกทักษะ ชุดเสริมสร้างความรู้/ประสบการณ์ • ชุดสือ่ VDO, CD, VCD, DVD • คู่มือการเรียนรู้ • คู่มือการพัฒนาตนเอง • ชุดอุปกรณ์การเรียนภาคปฏิบัติการ ฯลฯ หมายเหตุ: ของบประมาณในรูปแบบโครงการทั่วไป การวิจัยเกี่ยวกับหลักสูตร ได้แก่ • การติดตามและประเมินผลหลักสูตร • รูปแบบหลักสูตรที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • หลักสูตรที่สร้างเสริมประสบการณ์จริงให้กับผู้เรียน • การปรับเปลีย่ นวิธกี าร/ กิจกรรมในหลักสูตร • การปรับเปลี่ยนเนื้อหาหลักสูตรให้สอดคล้องกับท้องถิ่น • การปรับเปลีย่ นวิธกี ารวัดและการประเมินผลการเรียน ฯลฯ การวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยสนับสนุนสำหรับการพัฒนาการเรียนการสอน ได้แก่ • สื่อการสอนที่มุ่งเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง • อุปกรณ์การเรียนการสอน โสตทัศนูปกรณ์ • ห้องปฏิบัติการ ความพร้อมในการให้บริการ • สภาพห้องเรียน ห้องปฏิบตั กิ าร เช่น แสง เสียง อุณหภูมิ ฯลฯ โครงการอื่นที่เป็นงานวิจัยที่เข้าข่ายการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การวิจัย เกีย่ วกับผูบ้ ริหาร การวิจยั เกีย่ วกับความก้าวหน้าด้านวิชาชีพครูของอาจารย์ในมหาวิทยาลัย การวิจยั เกีย่ วกับเอกสาร ฯลฯ


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

11

3.3 กรณีขอรับทุนอุดหนุนวิจัยจากสำนักงานวางแผน เป็นการวิจยั สถาบัน ซึง่ ลักษณะของโครงการวิจยั มีดงั นี้ • การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาระบบที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างพื้นฐาน คุณภาพนักศึกษา คุณภาพบุคลากร คุณภาพหลักสูตร และคุณภาพการจัดการ • การศึกษาวิจัยเพื่อติดตามผลบัณฑิต • การศึกษาวิจัยสถาบันที่สอดคล้องกับนโยบายและแผนงานของมหาวิทยาลัย 4. รายวิชา/สาขาวิชาที่ทำการวิจัย ให้ผู้วิจัยระบุว่าโครงการวิจัยเน้นหนักในสาขาวิชาใด ซึ่งจะช่วยให้การจัดข้อมูลเพื่อการศึกษาค้นคว้า อ้างอิง มีความสะดวกและรวดเร็วยิง่ ขึน้ เช่น สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สาขาการท่องเทีย่ ว สาขาการโรงแรม สาขาการตลาด ฯลฯ รวมถึงระบุรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับโครงการวิจัยของท่านด้วย 5. ผู้ดำเนินการวิจัย ให้ผวู้ จิ ยั กรอกรายละเอียด ชือ่ -สกุล ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมทัง้ ระบุคณ ุ วุฒกิ ารศึกษา และตำแหน่ง ทางวิชาการ 6. นักวิจัยพี่เลี้ยง ให้ระบุชอ่ื นักวิจยั พีเ่ ลีย้ งจากภายใน หรือภายนอกทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในเรือ่ งหรือสาขาวิชาทีท่ า่ นทำวิจยั จำนวน 2 ท่านเป็นอย่างน้อย ทั้งนี้หน่วยงานที่ให้ทุนวิจัยจะมีรายชื่อของนักวิจัยพี่เลี้ยงให้แก่นักวิจัย ดังนั้น จึงสามารถติดต่อขอ คำแนะนำได้จากหน่วยงานที่ให้ทุน 7. สถานทีท่ ำการทดลอง และ/หรือ เก็บข้อมูล ให้ระบุสถานทีท่ จ่ี ะทำการเก็บรวบรวบข้อมูลหรือทำการทดลองให้ชดั เจน เพือ่ บันทึกไว้สำหรับตรวจสอบความ ซับซ้อน ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโครงการ และศึกษาสถานการณ์งานวิจยั 8. ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย ข้อมูลในเรื่องนี้จะเป็นเครื่องแสดงเหตุผลความจำเป็นของโครงการที่จะทำการวิจัยนั้นๆ ว่าสมควรได้รับการ สนับสนุนหรือไม่เพียงใด ผู้วิจัยควรกล่าวถึงภูมิหลังและความสำคัญของปัญหา และพยายามเขียนให้ผู้อ่านเกิดความสนใจ ในปัญหาที่ต้องการศึกษาวิจัย โดยเขียนให้มีความต่อเนื่องและเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน รวมถึงอธิบายหลักการและ เหตุผลที่เสนอโครงการนี้ สภาพปัญหาและความจำเป็นในการทำการวิจัย 9.

วัตถุประสงค์ของโครงการ วัตถุประสงค์ของการวิจัยเป็นข้อความที่แสดงให้เห็นถึงสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการทราบ ดังนั้นจึงควรระบุให้ชัดเจนว่า ผู้วิจัยต้องการศึกษาเกี่ยวกับอะไร ต้องการทราบหรือต้องการจะบรรลุผลในเรื่องใด และผลลัพธ์ที่คาดหวังคืออะไร ถ้ามี วัตถุประสงค์หลายประการควรแบ่งออกเป็นหัวข้อต่างๆ ที่ชัดเจน (ไม่ซ้ำซ้อนหรือคาบเกี่ยวกัน) 10 . ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ให้ระบุความคาดหมายของประโยชน์ที่จะได้รับจากโครงการวิจัยนี้ว่า จะมีผลต่อการพัฒนาในเรื่องใดและ อย่างไรบ้าง ซึง่ ประโยชน์ทเ่ี กิดขึน้ อาจจะมีทง้ั ในด้านวิชาการและด้านการปฏิบตั ิ การเขียนหัวข้อนีอ้ าจจะเขียนเป็นเชิง บรรยาย หรือเขียนเป็นข้อๆ ก็ได้


12

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

11. การทบทวนวรรณกรรม ให้ระบุรายละเอียดของทฤษฎีหรือหลักการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรอบแนวคิดของโครงการวิจัย รวมถึง รายละเอียด/ ผลการวิจัยของงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 12. ระเบียบวิธวี จิ ยั ให้ระบุรายละเอียดต่อไปนี้ 12.1 ประเภทของการวิจัย ให้ระบุประเภทของการวิจัยให้ชัดเจน โดยพิจารณาดังนี้ • การวิจัยพื้นฐาน (Basic Research) เป็นการศึกษาที่มุ่งแสวงหาข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับปรากฏการณ์ อย่างมีระเบียบแบบแผน เพื่อนำไปใช้ทดสอบและ/หรือสร้างทฤษฏีอธิบายปรากฏการณ์นั้นๆ • การวิจัยประยุกต์ (Applied Research) เป็นการศึกษาค้นคว้าเพื่อหาความรู้ใหม่และมีวัตถุประสงค์ เพือ่ นำความรูน้ น้ั ไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบตั อิ ย่างใดอย่างหนึง่ หรือเป็นการนำเอาความรูแ้ ละวิชาการต่างๆ ทีไ่ ด้จากการวิจยั พื้นฐานมาประยุกต์ใช้ต่ออีกหนึ่ง และให้ระบุเพิ่มเติมด้วยว่าเป็นการวิจัยตามความต้องการของมหาวิทยาลัยรังสิต หรือเป็น การวิจัยทั่วไป • การวิจยั และพัฒนา (Research and Development) เป็นการศึกษาค้นคว้าและพัฒนาคิดค้นอย่างเป็น ระบบและน่าเชือ่ ถือ โดยมีเป้าหมายในพัฒนาผลผลิต เทคโนโลยี สิง่ ประดิษฐ์ สือ่ อุปกรณ์ เทคนิควิธี รูปแบบการทำงาน หรือระบบการบริหารจัดการ ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน • นวัตกรรม / สิง่ ประดิษฐ์ (Innovation and Invention) เป็นการศึกษาค้นคว้า หรือสิง่ ประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนำ นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทำงานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วยประหยัดเวลา และ แรงงานได้ด้วย 12.2 ใช้ระเบียบวิธีวิจัยอะไร (ระเบียบวิธีวิจัยเชิงบรรยาย เชิงสำรวจ ระเบียบวิธีวิจัยเชิงทดลอง ระเบียบ วิธวี จิ ยั เชิงประวัตศิ าสตร์ การวิจยั เอกสาร การวิจยั กรณีศกึ ษา ฯลฯ) 12.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ให้ระบุว่าประชากรที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาคือใคร (หรืออะไร) มีลักษณะ อย่างไร มีจำนวนเท่าไร และวิธีการที่จะได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นอย่างไร ในกรณีของการศึกษาเชิงปริมาณ สิ่งที่ผู้วิจัย ควรคำนึงถึงคือความเพียงพอของขนาดตัวอย่าง และความเป็นตัวแทนของประชากร ทั้งนี้เพื่อเพิ่มความถูกต้องเหมาะสม ในการอ้างอิงผลสรุปจากกลุ่มตัวอย่างไปยังประชากรที่ศึกษา หมายเหตุ: โครงการวิจัยที่จำเป็นต้องทำการทดลองในมนุษย์ และ/หรือ สัตว์ทดลอง จะต้องผ่านความ เห็นชอบของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน และคณะกรรมการรับผิดชอบและจัดการเกี่ยวกับการใช้สัตว์เพื่อการ ทดลอง 12.4 เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ระบุให้ชดั เจนว่าผูว้ จิ ยั จะใช้เครือ่ งมือประเภทใด หรืออะไรบ้าง ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลที่ต้องการจากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเครื่องมือที่จะนำมาใช้นี้อาจเป็นเครื่องมือที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเอง หรือเป็น เครื่องมือที่มีผู้อื่นสร้างหรือพัฒนาไว้ก่อนแล้วก็ได้ (ในกรณีที่ใช้เครื่องมือการวิจัยอันเป็นผลงานของผู้อื่น ควรอ้างอิงแหล่ง ที่มาและคุณภาพของเครื่องมือด้วย) 12.5 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ให้ระบุว่าผู้วิจัยมีขั้นตอนและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างไร เมื่อไร ใคร เป็นผู้ดำเนินการ มีวิธีการควบคุมสภาพแวดล้อม หรือตัวแปรแทรกซ้อนที่อาจมีผลต่อคุณภาพของข้อมูลหรือไม่อย่างไร 10.5 การวิเคราะห์ขอ้ มูล การวิเคราะห์ขอ้ มูลเป็นการจัดกระทำกับข้อมูลดิบทีเ่ ก็บรวบรวมมาได้ เพือ่ หาทาง ที่จะตอบปัญหา วัตถุประสงค์ หรือทดสอบสมมุติฐานของการวิจัย ในประเด็นนี้ให้ระบุวิธีการทางสถิติทั้งหมด ที่จะนำ มาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล แต่ไม่จำเป็นต้องอธิบายรายละเอียดของกระบวนการทางสถิตินั้นๆ 12.6 วิธกี ารดำเนินงานตลอดโครงการ (โปรดระบุขน้ั ตอนโดยละเอียด ในกรณีทเ่ี ป็นโครงการร่วมกัน ให้ระบุ การแบ่งส่วนงาน และผูร้ บั ผิดชอบ


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

13

12.7 นกรณีทเ่ี ป็นงานวิจยั ประเภทสือ่ e-Learning ให้ระบุรายละเอียดของเนือ้ หาบทเรียน และจำนวนเวลา ที่ใช้ในการสอนในหัวข้อนั้นๆ 13. ขอบเขตของการวิจัย ให้ระบุว่าการวิจัยตามโครงการที่เสนอนี้มีขอบเขตแค่ไหน ครอบคลุมถึงอะไรบ้าง การกำหนดขอบเขตของ การวิจยั ควรกำหนดไว้ทง้ั ในแง่ของประชากร และกลุม่ ตัวอย่าง ตัวแปรทีศ่ กึ ษา ประเด็นทีศ่ กึ ษา พืน้ ทีท่ ท่ี ำการศึกษา เป็นต้น ซึง่ เป็นการตีกรอบไว้วา่ ผูว้ จิ ยั จะศึกษาภายในขอบเขตทีก่ ำหนดนีเ้ ท่านัน้ การกำหนดขอบเขตของการวิจยั จะช่วยให้ผวู้ จิ ยั กำหนดขนาดของกลุม่ ตัวอย่างและวิธกี ารสุม่ กลุม่ ตัวอย่างได้เหมาะสมยิง่ ขึน้ เกิดความสะดวกในการวางแผนรวบรวมข้อมูล และช่วยให้รู้ว่าการสรุปผลของการวิจัยจะอ้างอิงไปได้กว้างขวางเพียงใด 14. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการวิจัย ให้ระบุรายการอุปกรณ์ทั้งหมดที่จำเป็นต้องใช้ในการวิจัย โดยแยกเป็นอุปกรณ์ที่มีอยู่แล้ว และอุปกรณ์ที่ต้อง จัดหาเพิม่ ซึง่ ข้อมูลทีร่ ะบุนจ้ี ะช่วยให้ทราบถึงความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของการดำเนินงานโครงการวิจยั นัน้ 15. แผนการดำเนินงานตลอดโครงการ ให้ผู้วิจัยแสดงตารางที่ระบุถึงรายการของงานหรือกิจกรรม โดยระบุว่าในแต่ละขั้นของการดำเนินการวิจัยนั้น จะดำเนินการในช่วงเวลาใดและใช้เวลานานเท่าไร รวมถึงผลงานทีจ่ ะต้องนำส่งหน่วยงานทีใ่ ห้ทนุ ในแต่ละงวดให้ชดั เจน ซึง่ การวางแผนตารางเวลานี้ ควรกะประมาณให้สมจริง และควรคำนึงถึงความเป็นไปได้ในด้านอืน่ ๆ ประกอบด้วย 16. งบประมาณ ให้เป็นไปตามเงื่อนไขการเบิกค่าใช้จ่ายของหน่วงานที่ให้ทุนฯ 17. เอกสารอ้างอิง ให้เป็นไปตามข้อแนะนำการเขียนรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 18. ความเห็นของหัวหน้าภาควิชา/ หัวหน้าสาขาวิชา/ หัวหน้าหน่วยงาน 19. ความเห็นของคณบดี กรณียื่นข้อสเนอโครงการเพื่อขอรับทุนจากศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน 20. ความเห็นของคณะกรรมการประจำคณะ กรณียื่นข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนจากสถาบันวิจัย 21. ความเห็นของคณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัย กรณียื่นข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนจากสถาบันวิจัย 22. ความเห็นของผู้อำนวยการสถาบันวิจัย กรณียื่นข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนจากสถาบันวิจัย 23. ประวัตินักวิจัย ให้เป็นไปตามข้อแนะนำการเขียนรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์


14

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

แบบฟอร์มการเขียนข้อเสนอโครงการวิจยั (Research Proposal) แนวทางการเสนอโครงการวิจัย (องค์ความรู/้ พัฒนาการเรียนการสอน/ สถาบัน) เพือ่ ขอรับทุนอุดหนุนการวิจยั ....................................................................... ประจำปีการศึกษา.................... 1. ชื่อโครงการ (ภาษาไทย)................................................................................................................................................................................. (ภาษาอังกฤษ)............................................................................................................................................................................ ประสบการณ์ (เคยได้รบ ั ทุนอุดหนุนจาก (ระบุ)..................................................................... 2. ประเภทนักวิจัย หน้าใหม่ (ยังไม่เคยได้รับทุนอุดหนุน) 3. ประเด็นทีท่ ำวิจยั (จำแนกตามหน่วยงานทีข่ อรับทุน)......................................................................................................... 4. รายวิชา/สาขาวิชาทีท่ ำการวิจยั ............................................................................................................................................ 5. ผู้ดำเนินงานวิจัย ชือ่ (นาย นาง นางสาว ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)....................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... คุณวุฒ.ิ ........................................................................................................................................................................................ ตำแหน่งทางวิชาการ................................................................................................................................................................. สถานทีท่ ำงาน............................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท์...................................................................................................................................................................................... 6. นักวิจยั พีเ่ ลีย้ ง (อย่างน้อย 2 คน) ชือ่ (นาย นาง นางสาว ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)....................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... คุณวุฒ.ิ ........................................................................................................................................................................................ ตำแหน่งทางวิชาการ................................................................................................................................................................. สถานทีท่ ำงาน............................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท์...................................................................................................................................................................................... ชือ่ (นาย นาง นางสาว ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)....................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... คุณวุฒ.ิ ........................................................................................................................................................................................ ตำแหน่งทางวิชาการ................................................................................................................................................................. สถานทีท่ ำงาน............................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท์...................................................................................................................................................................................... 7. สถานทีท่ ำการทดลองหรือเก็บข้อมูล................................................................................................................................. 8. ความสำคัญและทีม่ าของปัญหาทีท่ ำการวิจยั ................................................................................................................... 9. วัตถุประสงค์ของโครงการ.................................................................................................................................................... 10. ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั ....................................................................................................................................................


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

15

11. ทบทวนวรรณกรรม (พอสังเขป)............................................................................................................................................ 12. ระเบียบวิธีวิจัย ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อดังต่อไปนี้ 12.1 ประเภทของการวิจยั 12.2 ใช้ระเบียบวิธีวิจัยอะไร 12.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 12.4 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 12.5 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 12.6 การวิเคราะห์ข้อมูล 12.7 วิธกี ารดำเนินงานตลอดโครงการ 13. ขอบเขตของการวิจยั (ประชากร กลุม่ ตัวอย่าง สมมติฐานการวิจยั ).................................................................................. 14. วัสดุอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการวิจยั ................................................................................................................................................. 15. แผนการดำเนินงานตลอดโครงการ................................................................................................................................ 16. งบประมาณ ............................................................................................................................................................................. 17. เอกสารอ้างอิง......................................................................................................................................................................... 18. ความเห็นของหัวหน้าภาควิชา/ หัวหน้าสาขาวิชา/ หัวหน้าหน่วยงาน ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ลงนาม....................................................................................... ( ) 19. ความเห็นของคณบดี (กรณียื่นข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนจากศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน) ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ลงนาม....................................................................................... ( ) 20. ความเห็นของคณะกรรมการประจำคณะ (กรณียื่นข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนจากสถาบันวิจัย) ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ลงนาม....................................................................................... ( ) 21. ความเห็นของคณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัย (กรณียื่นข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนจากสถาบันวิจัย) ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ลงนาม....................................................................................... ( ) 22. ความเห็นของผู้อำนวยการสถาบันวิจัย (กรณียื่นข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนจากสถาบันวิจัย) ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ลงนาม....................................................................................... ( )


16

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

23. ประวัตินักวิจัย โครงการวิจยั ............................................................................ ชือ่ - นามสกุล (ภาษาไทย)............................................................................................................................................................ (ภาษาอังกฤษ)....................................................................................................................................................... วัน เดือน ปีเกิด................../............................./.......................... ตำแหน่ง อาจารย์ ผศ. รศ. ศ. อืน่ ๆ (ระบุ)........................................ การศึกษา ไม่ได้อยู่ระหว่างการศึกษาต่อ อยู่ระหว่างการศึกษาต่อ สถานะ อยู่ระหว่างการทดลองงาน ผ่านการทดลองงาน สถานภาพในโครงการวิจัย หัวหน้าโครงการ ผู้ร่วมวิจัย ผู้ช่วยวิจัย ทีอ่ ยู่ (ทีท่ ำงาน).................................................................................................................................................................................. จังหวัด.......................................................................................................รหัสไปรษณีย.์ ....................................................... โทรศัพท์....................................................................................................โทรสาร................................................................... ทีอ่ ยู่ (ทีท่ ำงาน).................................................................................................................................................................................. จังหวัด.......................................................................................................รหัสไปรษณีย.์ ....................................................... โทรศัพท์...............................................................โทรสาร...............................................มือถือ*............................................. E-mail Address*........................................................................................................................................................................ ประวัตกิ ารศึกษา (ระบุคณ ุ วฒิ สาขาวิชา คณะ สถาบันและปีทส่ี ำเร็จ) วุฒกิ ารศึกษา

สาขา

คณะ

สถาบัน

ปีทส่ี ำเร็จ

........................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................ งานวิจัยที่กำลังดำเนินการอยู่ (โปรดกรอกข้อความในตาราง) ชือ่ โครงการ

แหล่งเงินทุน

ระยะเวลา โครงการ

สัดส่วนเวลาทำงาน ทัง้ หมดของท่านใน โครงการ (%)

ท่านมีเวลาในการทำวิจยั ประมาณสัปดาห์ละ.........................ชัว่ โมง ลงชือ่ ............................................................................................... ( ) วันที.่ ..................../......................../...................... หมายเหตุ : * โปรดระบุ


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

แบบฟอร์มสัญญารับทุนอุดหนุนการวิจัย # # #

สถาบันวิจัย ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน สำนักงานวางแผน

17


18

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

สถาบันวิจยั สัญญาเลขที.่ ............./..............

มรส. 81

สัญญารับทุนอุดหนุนการวิจยั มหาวิทยาลัยรังสิต ทำที่

มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 หมูท่ ่ี 7 ต.หลักหก อ.เมืองปทุมธานี จ.ปทุมธานี

วันที.่ ......... เดือน............................. พ.ศ. ................ สัญญาฉบับนีท้ ำขึน้ ระหว่าง ..................................................................... อายุ................ ปี ตำแหน่ง....................................... อยูบ่ า้ นเลขที.่ ............................. ถนน........................................... แขวง......................................... เขต............................................... จังหวัด.................................................... เป็นหัวหน้าโครงการวิจยั ทีไ่ ด้รบั ทุนอุดหนุนการวิจยั จาก มหาวิทยาลัยรังสิต ซึง่ ต่อไป ในสัญญานีจ้ ะเรียกว่า "ผูร้ บั ทุน" ฝ่ายหนึง่ กับ มหาวิทยาลัยรังสิต โดย ผศ.ดร.นเรฏฐ์ พันธราธร ตำแหน่ง รองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ ปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทนอธิการบดี ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 52/347 หมูท่ ่ี 7 ถนนพหลโยธิน ตำบลหลักหก อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี 12000 ซึ่งต่อไปในสัญญานี้จะเรียกว่า "ผู้ให้ทุน" อีกฝ่ายหนึ่ง คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงทำสัญญากัน มีข้อความดังนี้ ข้อ 1. วัตถุประสงค์ "ผูใ้ ห้ทนุ " ตกลงให้ทนุ และ "ผูร้ บั ทุน" ตกลงรับทุนอุดหนุนการวิจยั ประจำปี พ.ศ. .................... เพือ่ ทำการวิจยั เรือ่ ง (ภาษาไทย) .................................................................................................................................................................................................... (ภาษาอังกฤษ) ............................................................................................................................................................................................... ข้อ 2. เอกสารอันเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา 2.1 เอกสารหมายเลข 1 เอกสารเสนอโครงการวิจยั เรือ่ ง................................................................................................. 2.2 เอกสารหมายเลข 2 ระเบียบมหาวิทยาลัยรังสิต ว่าด้วย ทุนอุดหนุนการวิจยั มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2548 ความใดในเอกสาร แนบท้ายสัญญาขัดแย้งกับข้อความในสัญญานี้ให้ใช้ข้อความในสัญญานี้บังคับ ข้อ 3.

ระยะเวลาของสัญญา ทุนวิจัยมีกำหนดระยะเวลา...................เดือน เริ่มตั้งแต่วันที่................เดือน....................... พ.ศ.................... ถึงวันที.่ ...................เดือน....................พ.ศ. ..................

ข้อ 4.

หน้าที่ของผู้รับทุน 4.1 "ผูร้ บั ทุน" ตกลงรับเงินทุนอุดหนุนการวิจยั จาก "ผูใ้ ห้ทนุ " เป็นเงินจำนวน ......................................... บาท (............................................................................) โดยจะทำการเบิกจ่ายเงินทุนเป็นงวดๆ ตามสัญญายืมเงินทุนวิจัยของ มหาวิทยาลัยรังสิต เพือ่ เป็นค่าตอบแทนและค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ตามระเบียบของมหาวิทยาลัยรังสิต ว่าด้วยการส่งเสริมการวิจยั พ.ศ.2548 4.2 "ผู้รับทุน" ได้รับทราบและเข้าใจ ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับของ "ผู้ให้ทุน" ซึ่งมีอยู่ในวันที่ทำสัญญานี้ โดยตลอดแล้ว "ผูร้ บั ทุน" ยินยอมผูกพันตามระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับดังกล่าวและจะปฏิบตั ติ ามโดยเคร่งครัด 4.3 "ผู้รับทุน" จะทำการวิจัยด้วยความวิริยะอุตสาหะ ให้สำเร็จได้ผลสมดังความมุ่งหมายของ "ผู้ให้ทุน" โดยมี กำหนดส่งงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ให้กบั "ผูใ้ ห้ทนุ " ภายในวันที่ ...................................................... หากเกิดอุปสรรคไม่สามารถ ทำการวิจยั ได้ดว้ ยประการใดก็ดี "ผูร้ บั ทุน" จะรายงานให้ "ผูใ้ ห้ทนุ " ทราบเป็นลายลักษณ์อกั ษรทันทีและ "ผูร้ บั ทุน" จะรายงาน ผลการวิจัยตรงตามเวลาและหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

19

4.4 "ผู้รับทุน" ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินและการส่งใบสำคัญ โดย "ผู้รับทุน" จะใช้เงินทุนอย่างประหยัดมีประสิทธิภาพและให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในกรณีที่มีค่าใช้จ่ายเกินกว่าที่ได้รับอนุมัติ "ผู้รับทุน" ตกลงรับผิดชอบเองทั้งสิ้น 4.5 "ผูร้ บั ทุน" รับรองว่าทุก 3 (สาม) เดือน นับแต่วนั ทีท่ ำสัญญาขอรับทุนเป็นต้นไป จะส่งรายงานความก้าวหน้า การวิจัย และส่งรายงานสรุปผลเมื่อสิ้นปีของการได้รับทุนแม้ว่าการวิจัยนั้นจะยังไม่เสร็จสมบูรณ์ และเมื่อทำการวิจัย เสร็จสมบูรณ์ตามระยะเวลาทีก่ ำหนดแล้ว จะส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ตามเงือ่ นไขที่ "ผูใ้ ห้ทนุ " กำหนด 4.6 "ผู้รับทุน" ต้องนำเสนอผลงานวิจัยประเภทบรรยายในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยรังสิต หรือ การประชุมวิชาการอืน่ ๆ ทีจ่ ดั ขึน้ ทัง้ ในประเทศไทย และต่างประเทศ ภายใต้ความเห็นชอบของ "ผูใ้ ห้ทนุ " 4.7 ในการเผยแพร่ขอ้ มูล ข่าวสารอันเกีย่ วกับผลงานของโครงการ ในสิง่ พิมพ์ใดหรือสือ่ ใดในแต่ละครัง้ "ผูร้ บั ทุน" จะต้องระบุขอ้ ความว่า "ได้รบั ทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยรังสิต" ทัง้ นีใ้ ห้สง่ สำเนาของสิง่ ทีไ่ ด้เผยแพร่นน้ั ให้ "ผูใ้ ห้ทนุ " จำนวน 1 (หนึง่ ) ชุดด้วย ข้อ 5. กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญาและความรับผิดชอบ 5.1 สิทธิความเป็นเจ้าของทรัพย์สนิ ทางปัญญาในผลงานวิจยั ทีไ่ ด้รบั ทุนอุดหนุดการวิจยั ครัง้ นี้ ให้เป็นสิทธิรว่ มกัน ของ "ผูใ้ ห้ทนุ " และ "ผูร้ บั ทุน" ทัง้ สองฝ่าย 5.2 กรรมสิทธิใ์ นเอกสารและผลงานใดๆ ที่ "ผูร้ บั ทุน" จัดทำขึน้ ในโครงการและส่งมอบให้กบั "ผูใ้ ห้ทนุ " ได้ตกเป็น ของ "ผูใ้ ห้ทนุ " ตัง้ แต่วนั ทีส่ ง่ มอบ 5.3 ในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารหรือการให้ความเห็นเกี่ยวกับผลงานวิจัยข้างต้น ในสิ่งพิมพ์ใดหรือสื่อใด "ผูร้ บั ทุน" ซึง่ ให้ความเห็นในผลงานวิจยั จะต้องเป็นผูร้ บั ผิดชอบกับผูเ้ กีย่ วข้องแต่เพียงอย่างเดียว "ผูใ้ ห้ทนุ " ไม่ตอ้ งรับผิดชอบ ต่อความเห็นข้างต้นแต่อย่างใดทั้งสิ้น 5.4 กรรมสิทธิใ์ นวัสดุครุภณ ั ฑ์หรือเครือ่ งมืออุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการวิจยั ทีจ่ ดั ซือ้ จัดจ้างในการดำเนินการโครงการตาม สัญญานีร้ วมถึงนวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ ให้กรรมสิทธิต์ กเป็นของ "ผูใ้ ห้ทนุ " โดยมอบหมายให้ สถาบันวิจยั เป็นผูร้ บั ผิดชอบ ดูแล "ผู้รับทุน" อาจขอใช้วัสดุครุภัณฑ์หรือเครื่องมืออุปกรณ์ข้างต้นได้ภายใต้ความรับผิดชอบของสถาบันวิจัย ข้อ 6. การบอกเลิกสัญญาและชดใช้ทุน หาก "ผูร้ บั ทุน" ประพฤติผดิ สัญญานีไ้ ม่วา่ ข้อหนึง่ ข้อใด หรือไม่อาจทำการวิจยั ให้ลลุ ว่ งตลอดไปตามโครงการวิจยั ทีไ่ ด้รบั การจัดสรรเงินทุนอุดหนุน และ "ผูใ้ ห้ทนุ " พิจารณาแล้วไม่มเี หตุอนั สมควร "ผูใ้ ห้ทนุ " มีสทิ ธิบ์ อกเลิกสัญญานีไ้ ด้ทนั ที โดย "ผูร้ บั ทุน"ยินยอมคืนเงินทีไ่ ด้รบั ไปแล้วทัง้ หมด พร้อมดอกเบีย้ ในอัตราสูงสุดตามกฎหมายนับแต่วนั รับทุนให้แก่ "ผูใ้ ห้ทนุ " และจะไม่เรียกร้องค่าเสียหายอย่างใดๆ จาก "ผูใ้ ห้ทนุ " ทัง้ สิน้ ทุกประการ สัญญาฉบับนี้ทำขึ้นเป็นสองฉบับมีข้อความถูกต้องตรงกัน คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายได้เข้าใจข้อความโดยตลอดแล้ว จึงได้ลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญต่อหน้าพยาน มหาวิทยาลัยรังสิต

ลงชือ่ .................................................................... ผูร้ บั ทุน ( ) หัวหน้าโครงการวิจยั

ลงชือ่ .................................................................. พยาน ( ผศ. ดร.พงษ์จนั ทร์ อยูแ่ พทย์) ผูอ้ ำนวยการสถาบันวิจยั

ลงชือ่ .................................................................... ผูใ้ ห้ทนุ ( ผศ. ดร.นเรฏฐ์ พันธราธร ) รองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการ ปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทนอธิการบดี ลงชือ่ ........................................................................ พยาน ( นายกสิณ จันทร์เรือง ) ผูอ้ ำนวยการสำนักงานบริหารทรัพยากรมนุษย์


20

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน สัญญารับทุนอุดหนุนการวิจยั เพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต ฉบับที… ่ ...……/……...….. ทำที่ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 หมู่ 7 ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธานี วันที.่ ...............เดือน......................................พ.ศ....................

สัญญาฉบับนีท้ ำขึน้ ระหว่าง..........................................................................................................................อายุ...............................ปี อยูบ่ า้ นเลขที.่ ...........................หมูท่ .่ ี ........................ซอย….......................................................ถนน....................................................................... ตำบล/แขวง................................อำเภอ/เขต.............................................จังหวัด.....................................โทรศัพท์..................................... ตำแหน่ง.................................................สังกัด.........................................................คณะ.......................................................................................... เป็นหัวหน้าโครงการวิจัยที่ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยรังสิตประจำ ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่าจะเรียกว่า “ผูร้ บั ทุน” ฝ่ายหนึง่ กับมหาวิทยาลัยรังสิต โดยรองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการ ปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทนอธิการบดี ซึง่ ต่อไปในสัญญานี้ เรียกว่า “ผู้ให้ทุน” อีกฝ่ายหนึ่ง คู่สัญญาหรือสองฝ่ายจะตกลงทำสัญญากัน มีข้อความดังต่อไปนี้ ข้อ 1

วัตถุประสงค์ “ผูใ้ ห้ทนุ ” ตกลงให้ทนุ และ “ผูร้ บั ทุน” ตกลงรับและผูใ้ ห้ทนุ ตกลงให้เงินทุนอุดหนุนการวิจยั ประจำปี พ.ศ.............. เพื่อทำการวิจัยเรื่อง (ภาษาไทย)..................................................................................................................................................................................................................... (ภาษาอังกฤษ).............................................................................................................................................................................................................. ข้อ 2

เอกสารอันเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา 2.1 เอกสารหมายเลข 1 เอกสารเสนอโครงการวิจยั เรือ่ ง..................................................................................................... 2.2 เอกสารหมายเลข 2 ระเบียบมหาวิทยาลัยรังสิต ว่าด้วยการส่งเสริมการวิจยั พ.ศ.2537 ความใดในเอกสาร แนบท้ายสัญญา ขัดแย้งกับข้อความในสัญญานี้ ให้ใช้ข้อความในสัญญานี้บังคับ ข้อ 3

ระยะเวลาของสัญญา ทุนวิจยั มีกำหนดระยะเวลา....................เดือน เริม่ ตัง้ แต่วนั ที.่ ...............เดือน....................................พ.ศ................... ถึงวันที.่ .............เดือน............................พ.ศ................ ข้อ 4

หน้าที่ของผู้รับทุน 4.1 “ผูร้ บั ทุน” ตกลงรับเงินทุนอุดหนุนการวิจยั จาก "ผูใ้ ห้ทนุ " เป็นจำนวน...............................................................บาท (...........................................................................................) โดยจะทำการเบิกจ่ายเงินทุนเป็นงวดๆ ตามสัญญายืมเงินทุนวิจยั ของ มหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อเป็นค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยรังสิต ว่าด้วยการส่งเสริมการวิจัย พ.ศ.2537 4.2 “ผู้รับทุน” ได้รับทราบและเข้าใจ ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับของ “ผู้ให้ทุน” ซึ่งมีอยู่ในวันที่ทำสัญญานี้ โดยตลอดแล้ว "ผูร้ บั ทุน” ยินยอมผูกพันตามระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับดังกล่าวและจะปฏิบตั ติ ามโดยเคร่งครัด 4.3 “ผูร้ บั ทุน” จะทำการวิจยั ด้วยคาวมวิรยิ ะอุตสาหะ ให้สำเร็จได้ผลสมดังความมุง่ หมายของ “ผูใ้ ห้ทนุ ” โดยมี กำหนดส่งงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ให้กบั “ผูใ้ ห้ทนุ ” ภายในวันที.่ ..........................................หากเกิดอุปสรรคไม่สามารถทำการวิจยั ได้ดว้ ยประการใดก็ดี “ผูร้ บั ทุน” จะรายงานให้ “ผูใ้ ห้ทนุ ” ทราบเป็นลายลักษณ์อกั ษรทันที และ “ผูร้ บั ทุน” จะรายงานผลการวิจยั ตรงตามเวลาและหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

21

4.4 “ผู้รับทุน” ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินและการส่งใบสำคัญ โดย“ผู้รับทุน” จะใช้เงินทุนอย่างประหยัด มีประสิทธิภาพ และให้เกิดประโยชน์สงู สุด ในกรณีทม่ี คี า่ ใช้จา่ ยเกินกว่าทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ “ผูร้ บั ทุน” ตกลง รับผิดชอบเองทั้งสิ้น 4.5 “ผูร้ บั ทุน” รับรองว่าทุก 6 (หก) เดือน นับแต่วนั ทีท่ ำสัญญาขอรับทุนเป็นต้นไป จะส่งรายงานความก้าวหน้า การวิจัยและส่งรายงานสรุปผลเมื่อสิ้นปีของการได้รับทุน แม้ว่าการวิจัยนั้นจะยังไม่เสร็จสมบูรณ์ และเมื่อทำการวิจัยเสร็จ สมบูรณ์ ตามระยะเวลาทีก่ ำหนดแล้ว จะส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ตามเงือ่ นไขที่ “ผูใ้ ห้ทนุ ” กำหนด 4.6 “ผู ้ ร ั บ ทุ น ” ต้ อ งนำเสนอผลงานวิ จ ั ย ประเภทบรรยายในการประชุ ม วิ ช าการของมหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต หรือการประชุม วิชาการอืน่ ๆ ทัง้ ในประเทศไทยและต่างประเทศ ภายใต้ความเห็นชอบ “ผูใ้ ห้ทนุ ” 4.7 ในการเผยแพร่ขอ้ มูล ข่าวสารอันเกีย่ วกับผลงานของโครงการ ในสิง่ พิมพ์ใดหรือสือ่ ใดในแต่ละครัง้ “ผูร้ บั ทุน” จะต้องระบุข้อความว่า “ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยรังสิต” ข้อ 5

กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญาและความรับผิดชอบ 5.1 สิทธิความเป็นเจ้าของทรัพย์สนิ ทางปัญญาในผลงานวิจยั ทีไ่ ด้รบั ทุนอุดหนุนการวิจยั ครัง้ นี้ ให้เป็นสิทธิรว่ มของ “ผูใ้ ห้ทนุ ”และ “ผูร้ บั ทุน” ทัง้ สองฝ่าย 5.2 “ผูร้ บั ทุน” ยินยอมให้ลขิ สิทธิแ์ ละ/หรือสิทธิบตั รของผลการวิจยั ทีไ่ ด้รบั ทุนอุดหนุนการวิจยั นีเ้ ป็นสิทธิรว่ มของ “ผูใ้ ห้ทนุ ”และ “ผูร้ บั ทุน” อย่างละครึง่ และเมือ่ ผูร้ บั ทุนนำผลการวิจยั ดังกล่าวไปพิมพ์เผยแพร่ “ผูร้ บั ทุน” รับรองทีจ่ ะลงข้อความ แสดงกิตติกรรมประกาศตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด 5.3 “ผูร้ บั ทุน” ยินยอมให้ “ผูใ้ ห้ทนุ ” เผยแพร่ผลการวิจยั ทัง้ หมด หรือส่วนใดส่วนหนึง่ ทัง้ การตีพมิ พ์เผยแพร่ใน รูปแบบเอกสาร และเผยแพร่ในรูปแบบออนไลน์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต 5.4 ในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร หรือการให้ความเห็นเกี่ยวกับผลงานวิจัยข้างต้นในสิ่งพิมพ์ใดหรือสื่อใด “ผูร้ บั ทุน” ซึง่ ให้ความเห็นในผลงานวิจยั จะต้องเป็นผูร้ บั ผิดชอบกับผูเ้ กีย่ วข้องแต่เพียงอย่างเดียว “ผูใ้ ห้ทนุ ” ไม่ตอ้ งรับผิดชอบ ต่อความเห็น ข้างต้นแต่อย่างใดทัง้ สิน้ ข้อ 6

การบอกเลิกสัญญาและชดใช้ทุน หาก “ผูร้ บั ทุน” ประพฤติผดิ สัญญานีไ้ ม่วา่ ข้อหนึง่ ข้อใด หรือไม่อาจทำการวิจยั ให้ลลุ ว่ งตลอดไปตามโครงการวิจยั ทีไ่ ด้รบั การจัดสรรเงินทุนอุดหนุน และ“ผูใ้ ห้ทนุ ”พิจารณาแล้วไม่มเี หตุผลอันสมควร “ผูใ้ ห้ทนุ ” มีสทิ ธิบ์ อกเลิกสัญญานี้ ได้ทนั ที โดย “ผูร้ บั ทุน” ยินยอมคืนเงินทีไ่ ด้รบั ไปแล้วทัง้ หมด พร้อมดอกเบีย้ ในอัตราสูงสุดตามกฎหมาย นับแต่วนั รับทุนให้แก่ “ผูใ้ ห้ทนุ ” และจะไม่เรียกร้องค่าเสียหายใดๆ จากผู้ให้ทุนทั้งสิ้นทุกประการ หนังสือสัญญานีท้ ำขึน้ ไว้ 2 ฉบับ โดยมีขอ้ ความถูกต้องตรงกันทุกประการ คูส่ ญ ั ญาถือไว้ฝา่ ยละฉบับทัง้ สองฝ่าย ได้อ่าน และเข้าใจข้อความในสัญญานี้โดยตลอดแล้ว จึงได้ลงลายมือชื่อต่อหน้าพยานไว้เป็นหลักฐานต่อไป ลงชือ่ .........................................................................ผูร้ บั ทุน ลงชือ่ .................................................................... ผูใ้ ห้ทนุ ( ผศ.ดร.นเรฏฐ์ พันธราธร ) ( ) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ลงชือ่ ........................................................................พยาน ( ผศ.อารีรตั น์ แย้มเกษร ) ผูอ้ ำนวยการศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน หมายเหตุ

พยานคนที่ 1 พยานคนที่ 2

ลงชือ่ ...................................................................... พยาน ( )

ผู้อำนวยการศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน/ คณบดีที่คณะหัวหน้าโครงการสังกัด


22

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

สำนักงานวางแผน แบบฟอร์ม RI.8

สัญญารับทุนอุดหนุนการวิจยั สถาบัน มหาวิทยาลัยรังสิต ทำที่

ฉบับที่ ……......../……........ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 หมูท่ ่ี 7 ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธานี

วันที… ่ …....…เดือน………………..……พ.ศ. …...……… ข้าพเจ้า……………………………………………………….อายุ………ปี สัญชาติ……………เชือ้ ชาติ …………. อยูบ่ า้ นเลขที… ่ ….....................……ซอย………..................................………………..ถนน ………………..............……………. ตำบล/แขวง…………………............………อำเภอ/เขต………...........………………….จังหวัด…..........………………………. โทรศัพท์………………......………………. ตำแหน่ง……….................……………….. สังกัด…………...........……………….. เป็นหัวหน้าโครงการวิจยั / นักวิจยั ทีไ่ ด้รบั ทุนอุดหนุนการวิจยั สถาบัน จากมหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปีการศึกษา ..................... ซึง่ ต่อไปในสัญญานีเ้ รียกว่า "ผูร้ บั ทุน" เพือ่ ทำการวิจยั เรือ่ ง (ภาษาไทย)…………………………………………………………………………………………….........................................….. …………………………….......................…………………………………………………………..............……………………….. (ภาษาอังกฤษ)…………………………………………………………………………………………...................................……... ……………………………………………………………………………………………………….....................................……….. ข้าพเจ้าตกลงทำสัญญาให้ไว้แก่มหาวิทยาลัยรังสิต โดย ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ ตำแหน่งรองอธิการบดีฝ่ายแผน พัฒนาและแผนการเงิน ซึง่ ต่อไปในสัญญานีเ้ รียกว่า "ผูใ้ ห้ทนุ " ดังมีขอ้ ความต่อไปนี้ ข้อ 1 ผูร้ บั ทุนตกลงรับและผูใ้ ห้ทนุ ตกลงให้เงินทุนอุดหนุนการวิจยั จากผูใ้ ห้ทนุ เป็นจำนวนเงิน ..........……….. บาท (………………………………..........………….) โดยจะทำการเบิกจ่ายเงินทุนเป็นงวด ๆ ตามสัญญายืมเงินทุนวิจยั สถาบันของ มหาวิทยาลัยรังสิต เพือ่ เป็นค่าตอบแทนและค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ตามประกาศมหาวิทยาลัยรังสิต เรือ่ งทุนอุดหนุนการวิจยั ประเภท โครงการวิจยั สถาบัน พ.ศ. 2548 ข้อ 2 ผูร้ บั ทุนได้รบั ทราบและเข้าใจระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับของผูใ้ ห้ทนุ ซึง่ มีอยูใ่ นวันทีท่ ำสัญญานีโ้ ดย ตลอดแล้ว ผูร้ บั ทุนยินยอมผูกพันตามระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับดังกล่าวและจะปฏิบตั ติ ามโดยเคร่งครัด ข้อ 3 ผู้รับทุนจะทำการวิจัยด้วยความวิริยะอุตสาหะ ให้สำเร็จได้ผลสมดังความมุ่งหมายของผู้ให้ทุน หากเกิด อุปสรรคไม่สามารถทำการวิจัยได้ด้วยประการใดก็ดี ผู้รับทุนจะรายงานให้ผู้ให้ทุนทราบเป็นลายลักษณ์อักษรทันที และ ผู้รับทุนจะรายงานผลการวิจัยตรงตามเวลาและหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ข้อ 4 ผู้รับทุนยินยอมปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการเบิกจ่ายเงิน และการส่งใบสำคัญ โดยเคร่งครัด ตามเวลาทีก่ ำหนด และผูร้ บั ทุนจะใช้เงินทุนอย่างประหยัดมีประสิทธิภาพและให้เกิดประโยชน์สงู สุด ข้อ 5 ผูร้ บั ทุนรับรองว่าทุก 2 เดือนนับแต่วนั ทีท่ ำสัญญาขอรับทุนเป็นต้นไป จะส่งรายงานความก้าวหน้าการวิจยั และส่งรายงานสรุปผลเมื่อสิ้นปีของการได้รับทุน แม้ว่าการวิจัยนั้นจะยังไม่เสร็จสมบูรณ์ และเมื่อทำการวิจัยเสร็จสมบูรณ์ ตามระยะเวลาที่กำหนดแล้ว จะส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ตามเงื่อนไขที่ มหาวิทยาลัยรังสิตกำหนด


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

23

ข้อ 6 ผู้รับทุนยินยอมให้ลิขสิทธิ์และ/หรือสิทธิบัตรของผลการวิจัยที่ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยนี้ เป็นสิทธิ ร่วมของผู้ให้ทุนและผู้รับทุนอย่างละครึ่ง และเมื่อผู้รับทุนนำผลการวิจัยดังกล่าวไปลงพิมพ์เผยแพร่ ผู้รับทุนรับรองที่จะลง ข้อความแสดงกิตติกรรมประกาศตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ข้อ 7 หากผูร้ บั ทุนประพฤติผดิ สัญญานีไ้ ม่วา่ ข้อหนึง่ ข้อใด หรือไม่อาจทำการวิจยั ให้ลลุ ว่ งตลอดไปตามโครงการ วิจัยที่ได้รับการจัดสรรเงินทุนอุดหนุน และผู้ให้ทุนพิจารณาแล้วไม่มีเหตุอันสมควร ผู้ให้ทุนมีสิทธิ์บอกเลิกสัญญานี้ได้ทันที โดยผู้รับทุนยินยอมคืนเงินที่ได้รับไปแล้วทั้งหมด พร้อมดอกเบี้ยในอัตราสูงสุดตามกฎหมายนับแต่วันรับทุนให้แก่ผู้ให้ทุน และจะไม่เรียกร้องค่าเสียหายอย่างใด ๆ จากผู้ให้ทุนทั้งสิ้นทุกประการ หนังสือสัญญานีท้ ำขึน้ ไว้ 2 ฉบับ โดยมีขอ้ ความถูกต้องตรงกันทุกประการ คูส่ ญ ั ญาถือไว้ฝา่ ยละฉบับ ทัง้ สองฝ่าย ได้อ่านและเข้าใจข้อความในสัญญานี้โดยตลอดแล้ว จึงได้ลงลายมือชื่อต่อหน้าพยานไว้เป็นหลักฐานต่อไป ลงชือ่ ……………………............……...……….ผูร้ บั ทุน ลงชือ่ ………………………..............…..............มหาวิทยาลัยรังสิต ( ) ( ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ ) ผูใ้ ห้ทนุ หัวหน้าโครงการวิจยั / นักวิจยั รองอธิการบดีฝา่ ยแผนพัฒนาและแผนการเงิน ลงชือ่ …………………………………............พยาน (รศ.ดร.วิมล ชอบชืน่ ชม) ผูอ้ ำนวยการสำนักงานวางแผน


24

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

สัญญายืมเงินทุนอุดหนุนการวิจัย เและเอกสารที่เกี่ยวข้อง (เอกสารใช้รว่ มกัน)


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

25

(หน่วยงานทีข่ อรับทุน สวจ./ศสพ./สวผ.) สัญญายืมเงินทุนอุดหนุนการวิจัย................................................................................... มหาวิทยาลัยรังสิต

เลขที.่ .................................. วันที่.......................เดือน.................................พ.ศ.................... ข้าพเจ้า......................................................................................................................ตำแหน่ง.................................................................................. สังกัด...................................................................................คณะ..............................................................................หัวหน้าโครงการวิจยั เรือ่ ง (ภาษาไทย).................................................................................................................................................................................................................. มีความประสงค์ขอยืมเงินทุนอุดหนุนการวิจยั ของมหาวิทยาลัยรังสิต งวดที.่ ..............เพือ่ เป็นค่าใช้จา่ ยในการวิจยั ตามสัญญา รับทุนวิจยั มหาวิทยาลัยรังสิต ฉบับที่ / ลงวันที.่ ........... เดือน.................... พ.ศ. ................. ดังมี รายละเอียดต่อไปนี้ 1. หมวดค่าตอบแทน

เป็นจำนวนเงิน

บาท

2. หมวดค่าใช้สอย

เป็นจำนวนเงิน

บาท

3. หมวดค่าวัสดุ

เป็นจำนวนเงิน

บาท

4. หมวดค่าพิมพ์รายงานการวิจยั

เป็นจำนวนเงิน

บาท

5. หมวดรายจ่ายอืน่ (โปรดระบุ.........................) เป็นจำนวนเงิน

บาท

6. การนำเสนอผลงานและเผยแพร่งานวิจยั

เป็นจำนวนเงิน

รวมเป็นจำนวนเงิน (

10,000

บาท บาท )

ข้าพเจ้าสัญญาว่าจะปฏิบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยรังสิต ว่าด้วย การส่งเสริมการวิจัยในส่วนที่เกี่ยวกับทุน อุดหนุนการวิจัย พ.ศ. 2537 ทุกประการ และจะนำใบสำคัญจ่ายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งเงินเหลือจ่าย (ถ้ามี) ส่งให้ภายใน กำหนดเวลาในระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากมหาวิทยาลัยรังสิต คืนภายใน.............วัน นับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั เงินยืมนี้ ถ้าข้าพเจ้า ไม่ส่งตามกำหนด ข้าพเจ้ายินยอมให้หักเงินเดือนค่าจ้าง หรือเงินอื่นใดที่ข้าพเจ้าจะพึงได้รับจากมหาวิทยาลัยรังสิต ชดใช้ จำนวนเงินที่ยืมไปจนครบถ้วนได้ทันที ลงชือ่ .................................................................ผูร้ บั ทุน ลงชือ่ ..............................................................มหาวิทยาลัยรังสิตผูใ้ ห้ทนุ ลงชือ่ ................................................................. พยาน ลงชือ่ ...........................................................................พยาน ( ) ( )

หมายเหตุ พยานคนที่ 1 ผูอ้ ำนวยการศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน/ สถาบันวิจยั / สำนักงานวางแผน พยานคนที่ 2 คณบดีที่คณะหัวหน้าโครงการสังกัด (สำหรับศูนย์สนับสนุนฯ) และ ผู้อำนวยการ (สำหรับสถาบันวิจัย)


26

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

27

มหาวิทยาลัยรังสิต ใบรับเงิน ข้าพเจ้า.................................................................................................................ตำแหน่ง ................................................. เลขทีบ่ ตั รประชาชน/ ผูเ้ สียภาษี..............................................................................ทีอ่ ยูเ่ ลขที.่ .................................หมูท่ .่ี ............... ซอย..................................................................ถนน .......................................................แขวง/ตำบล............................................... เขต/อำเภอ ................................................... จังหวัด ....................................................................รหัสไปรษณีย.์ .......................... ได้รับเงิน

ค่าตอบแทนผู้ช่วยงานวิจัย ค่าวิทยากร/ ผูเ้ ชีย่ วชาญ/ ผูป้ ระเมิน อืน่ ๆ ระบุ ................................................................................................................................................... จำนวน............................................................ บาท หัก ภาษี ณ ทีจ่ า่ ย ........................................ บาท ค่าพาหนะ ...................................................... บาท จำนวนเงินสุทธิ ........................................... บาท

การจ่าย

เงินสด เช็คธนาคาร เลขที่ ........................................................................... ธนาคาร/สาขา ............................................................ ลงวันที่ .......................................................................

ลงชือ่ ....................................................................... ผูร้ บั เงิน (.......................................................................) วันที.่ .............../................../................

หมายเหตุ: กรุณากรอกให้ครบทุกช่อง

ลงชือ่ ...................................................................... ผูจ้ า่ ยเงิน (...................................................................) วันที.่ ................/................./...............


28

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

เงือ่ นไขการเบิกค่าใช้จา่ ย กรณีขอรับทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัย ให้ระบุรายละเอียดประมาณการค่าใช้จา่ ยรวมทัง้ หมดของโครงการ พร้อมทัง้ แจกแจงยอดรวมของค่าใช้จา่ ยแยก ตามประเภทหมวดเงินงบประมาณ ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าวัสดุ และหมวดค่าจัดทำรายงาน ผลการวิจยั สำหรับรายละเอียดของการประมาณค่าใช้จา่ ยนัน้ ให้คำนวณและแจกแจงรายละเอียดตามแนวทางประมาณการ ค่าใช้จา่ ย ดังต่อไปนี้ 1. หมวดค่าจ้าง/ค่าตอบแทน นักวิจยั พีเ่ ลีย้ ง จะได้คา่ ตอบแทนโครงการละ 5,000 บาท โดยมีรายละเอียดลำดับการจ่ายเงิน ดังนี้ ลำดับที่ 1 เมื่อข้อเสนอโครงการได้รับการอนุมัติ 1,000 บาท ลำดับที่ 2 เมื่อผู้ทำวิจัย ส่งเล่มรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์แล้ว 2,000 บาท ลำดับที่ 3 เมือ่ ผูว้ จิ ยั Submit บทความเข้าสูง่ านประชุมวิชาการ 2,000 บาท หรือในวารสารวิจัย หมายเหตุ หน้าที่หลักของนักวิจัยพี่เลี้ยง • แนะนำนักวิจัยในการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย • ให้คำปรึกษาระหว่างการดำเนินการวิจัย รวมถึงกระบวนการทำให้ข้อแนะนำด้านสถิติ และให้แนวทางในกรณีเกิดปัญหาที่ไม่สามารถดำเนินการวิจัยได้ตามแผน • ให้คำแนะนำการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ • ให้คำแนะนำการเขียนนิพนธ์ต้นฉบับเพื่อเผยแพร่ในรูปแบบของการนำเสนอบทความ ในงานประชุมวิชาการ (Proceedings) หรือในวารสารวิจยั 2. หมวดค่าใช้สอย ได้แก่ 1. ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปปฏิบตั งิ าน ได้แก่ ค่าวิจยั สนาม ค่าทดลองทางวิทยาศาสตร์ ค่ายานพาหนะ ค่าเบีย้ เลีย้ ง และค่าทีพ่ กั โดยให้อนุโลมเบิกจ่ายตามอัตราทีก่ ำหนดตามระเบียบ และประกาศของมหาวิทยาลัย รังสิต หรือ เบิกจ่ายเท่าทีจ่ า่ ยจริง (หากเป็นค่าใช้จา่ ยในการเดินทาง หรือ ค่าน้ำมันรถ อนุมตั กิ รณีใดกรณีหนึง่ เท่านัน้ โดยอนุมตั ไิ ม่เกิน 4,000 บาท/โครงการ และจำเป็นต้องแจ้งรายละเอียดในการเดินทางด้วย) 2. ค่าสาธารณูปโภค ค่าธรรมเนียม ค่าไปรษณีย์โทรเลข ค่าโทรศัพท์ ให้เบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริง โดย ความจำเป็นและประหยัด ไม่เกินโครงการละ 1,000 บาท 3. หมวดค่าวัสดุ ได้แก่ ค่าวัสดุทใ่ี ช้ในการวิจยั ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าวัสดุสน้ิ เปลือง ซึง่ อาจแบ่งเป็น ประเภท ต่างๆ คือ วัสดุสำนักงาน วัสดุไฟฟ้า วัสดุงานบ้านและครัว วัสดุเครือ่ งบริโภค อาหารสด วัสดุกอ่ สร้าง วัสดุ ยานพาหนะ และขนส่ง วัสดุเชือ้ เพลิงและหล่อลืน่ วัสดุวทิ ยาศาสตร์หรือการแพทย์ วัสดุการเกษตร วัสดุโฆษณาและ เผยแพร่ วัสดุ เครื่องแต่งกายเพื่อการวิจัย ทั้งนี้ การกำหนดรายการวัสดุให้เป็นไปตามลักษณะของโครงการวิจัยนั้นๆ สิง่ ของทีม่ อี ายุการใช้ยนื นาน ราคาหน่วยละไม่เกิน 1,000 บาท ให้เบิกในหมวดวัสดุ สำหรับวัสดุ สำนักงาน ให้เบิกจ่ายในงบรวมไม่เกิน 2,000 บาท ส่วนครุภัณฑ์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ในเงินทุน อุดหนุนการวิจัยนี้ *หากมีความจำเป็นต้องจัดซื้อครุภัณฑ์หรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการวิจัย ซึ่งเป็นครุภัณฑ์หรืออุปกรณ์ ที่บุคคล/คณะอื่นๆ สามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่อได้ ให้เสนอขอขึ้นมาได้ โดยงบรวมในโครงการต้องไม่เกิน 100,000 บาท โดยครุภัณฑ์ หรืออุปกรณ์นั้นเมื่อเสร็จสิ้นโครงการจะตกเป็นของมหาวิทยาลัย


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

29

4. หมวดค่าจัดทำรายงานผลการวิจัย ได้แก่ ค่าพิมพ์ ค่าถ่ายเอกสาร ค่าจัดทำเอกสารรายงานความ ก้าวหน้ารายงานฉบับสมบูรณ์ ให้เบิกจ่ายตามจริง โดยรวมแล้วไม่เกิน 7,000 บาท เพือ่ ความสะดวกในการคิดประมาณการ ค่าใช้จ่าย ขอให้ถือราคาประเมินสำหรับรายการต่อไปนี้ เป็นแนวทางประกอบ 1. ค่าจ้างทำสำเนา ไม่เกินหน้าละ 50 สตางค์ 2. ค่าจ้างบันทึกข้อมูล/ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 5,000 บาท มีหลักเกณฑ์การพิจารณาสนับสนุน ดังนี้ • เป็นการวิจยั เชิงปริมาณ ทีม่ กี ารศึกษาวิจยั โดยมีประชากรหรือกลุม่ ตัวอย่าง 1,000 ตัวอย่างขึน้ ไป • ไม่สนับสนุนในโครงการที่ได้จ้างผู้ช่วยวิจัยแล้ว • ไม่สนับสนุนโครงการที่หัวหน้าโครงการเป็นนักวิจัยใหม่ เนื่องจากต้องการให้นักวิจัยได้มีการ พัฒนาตนเอง 3. ค่าอัดล้างและขยายภาพ ไม่เกิน 1,000 บาท หมายเหตุ 1. ทุนสนับสนุนการวิจัยของมหาวิทยาลัยรังสิต ไม่มีค่าตอบแทนนักวิจัยและที่ปรึกษาโครงการ 2. แนวทางการเขี ย นรายละเอี ย ดประมาณการค่ า ใช้ จ ่ า ย เป็ น ตั ว อย่ า งสำหรั บ วิ ธ ี ก ำหนดรายละเอี ย ด ประมาณการค่าใช้จา่ ยเท่านัน้ หัวหน้าโครงการวิจยั อาจกำหนดรายการของการใช้จา่ ยมากกว่าหรือน้อยกว่ารายการทีแ่ สดง ในตัวอย่าง ตามความเป็นจริงในการปฏิบตั งิ านของโครงการวิจยั นัน้ 3. งบประมาณแต่ละหมวด ควรมีรายละเอียด ชัดเจน สอดคล้องกับการดำเนิน การโครงการ เช่น 1) ค่าสัตว์ทดลอง จะต้องระบุวา่ ใช้สตั ว์ทดลองกีต่ วั ราคา/ตัว 2) ค่าสารเคมีระบุชอ่ื สารเคมีและราคา 3) ค่าเดินทางเพือ่ การดำเนินวิจยั หรือเก็บตัวอย่าง ต้องระบุจำนวนวัน คน อัตราทีจ่ า่ ย และจำนวนครัง้ 4. กรณีนอกเหนือจากรายการทีก่ ำหนดนี้ คณะกรรมการฯ จะพิจารณาตามความเหมาะสม กรณีขอรับทุนอุดหนุนจากศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน 1. หมวดค่าจ้าง/ค่าตอบแทน นักวิจยั พีเ่ ลีย้ ง จะได้คา่ ตอบแทนโครงการละ 5,000 บาท โดยมีรายละเอียดลำดับการจ่ายเงิน ดังนี้ ลำดับที่ 1 เมื่อข้อเสนอโครงการได้รับการอนุมัติ 1,000 บาท ลำดับที่ 2 เมื่อผู้ทำวิจัย ส่งเล่มรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์แล้ว 2,000 บาท ลำดับที่ 3 เมือ่ ผูว้ จิ ยั Submit บทความเข้าสูง่ านประชุมวิชาการ 2,000 บาท หรือในวารสารวิจัย หมายเหตุ หน้าที่หลักของนักวิจัยพี่เลี้ยง • แนะนำนักวิจัยในการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย • ให้คำปรึกษาระหว่างการดำเนินการวิจัย รวมถึงกระบวนการทำให้ข้อแนะนำด้านสถิติ และให้แนวทางในกรณีเกิดปัญหาที่ไม่สามารถดำเนินการวิจัยได้ตามแผน • ให้คำแนะนำการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ • ให้คำแนะนำการเขียนนิพนธ์ต้นฉบับเพื่อเผยแพร่ในรูปแบบของการนำเสนอบทความ ในงานประชุมวิชาการ (Proceedings) หรือในวารสารวิจยั 2. หมวดค่าใช้สอย • ค่าพิมพ์แบบสอบถาม และการวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิติ ให้เหมาจ่ายชุดละ 10 บาท • ค่าพิมพ์และทำสำเนาเนือ้ หา ให้เหมาจ่าย 3,000 บาท ต่อโครงการ


30

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

• ค่าเข้าเล่ม 400 บาท สำหรับจำนวน 2 เล่ม (1 เล่ม ของศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน, 1 เล่ม ของหัวหน้าโครงการ) ในกรณีทม่ี ผี รู้ ว่ มวิจยั สามารถเพิม่ ค่าเข้าเล่มได้อกี 200 บาท ต่อ 1 เล่ม ตามจำนวนของผู้ร่วมวิจัย • ค่าถอดเทปและจัดพิมพ์เนือ้ หา (กรณีทม่ี กี ารสัมภาษณ์) 300 บาทต่อเวลา 1 ชัว่ โมง 3. หมวดค่าวัสดุ หมายถึง เงินที่จ่ายเพื่อซื้อสิ่งของที่โดยสภาพย่อมสิ้นเปลือง ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทต่างๆ คือ วัสดุไฟฟ้า วัสดุงาน บ้านและครัว วัสดุเครือ่ งบริโภค วัสดุกอ่ สร้าง วัสดุวทิ ยาศาสตร์หรือการแพทย์ วัสดุการเกษตร วัสดุโฆษณาและ เผยแพร่ วัสดุ เครือ่ งแต่งกายเพือ่ การวิจยั ฯลฯ ทัง้ นี้ การกำหนดรายการวัสดุ ให้เป็นไปตามลักษณะของโครงการวิจยั นัน้ ๆ 4. หมวดค่าใช้จ่ายอื่นๆ (เบ็ดเตล็ด) คณะกรรมการการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนจะพิจารณาตามความเหมาะสม โดยปกติกำหนดให้อยู่ ในวงเงิน 1,000 บาท ต่อโครงการ กรณีขอรับทุนอุดหนุนจากสำนักงานวางแผน เกณฑ์ในการตัง้ งบประมาณโครงการวิจยั สถาบัน มีรายละเอียดดังนี้ 1. หมวดค่าจ้าง/ค่าตอบแทน นักวิจยั พีเ่ ลีย้ ง จะได้คา่ ตอบแทนโครงการละ 5,000 บาท โดยมีรายละเอียดลำดับการจ่ายเงิน ดังนี้ ลำดับที่ 1 เมื่อข้อเสนอโครงการได้รับการอนุมัติ 1,000 บาท ลำดับที่ 2 เมื่อผู้ทำวิจัย ส่งเล่มรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์แล้ว 2,000 บาท ลำดับที่ 3 เมือ่ ผูว้ จิ ยั Submit บทความเข้าสูง่ านประชุมวิชาการ 2,000 บาท หรือในวารสารวิจัย หมายเหตุ หน้าที่หลักของนักวิจัยพี่เลี้ยง • แนะนำนักวิจัยในการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย • ให้คำปรึกษาระหว่างการดำเนินการวิจัย รวมถึงกระบวนการทำให้ข้อแนะนำด้านสถิติ และให้แนวทางในกรณีเกิดปัญหาที่ไม่สามารถดำเนินการวิจัยได้ตามแผน • ให้คำแนะนำการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ • ให้คำแนะนำการเขียนนิพนธ์ต้นฉบับเพื่อเผยแพร่ในรูปแบบของการนำเสนอบทความ ในงานประชุมวิชาการ (Proceedings) หรือในวารสารวิจยั 2. หมวดค่าใช้สอย • ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน ได้แก่ ค่าพาหนะเดินทาง ค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าที่พัก ให้อนุโลม เบิกจ่ายตามอัตราที่กำหนดในระเบียบและประกาศของมหาวิทยาลัยรังสิต • ค่าธรรมเนียม ค่าไปรษณียโ์ ทรเลข ค่าโทรศัพท์ ให้เบิกจ่ายเท่าทีจ่ า่ ยจริงโดยความจำเป็นและประหยัด • ค่าจัดพิมพ์เอกสาร ไม่เกิน 2,000 บาท • ค่าผลิตแบบสอบถาม ชุดละไม่เกิน 5 บาท ทัง้ นีไ้ ม่เกิน 5,000 บาท (คำนวณจากจำนวนกลุม่ ตัวอย่าง) • ค่าถ่ายเอกสาร ไม่เกิน 2,000 บาท • ค่าวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิตดิ ว้ ยคอมพิวเตอร์ ชุดละ 10-15 บาท (คำนวณจากจำนวนกลุม่ ตัวอย่าง) (โดยอิงตามสถิติที่ผู้วิจัยใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล) • ค่าจัดทำรายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ ไม่เกิน 5,000 บาท


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

31

3. หมวดวัสดุ เป็นเงินทีจ่ า่ ยเพือ่ ซือ้ สิง่ ของทีโ่ ดยสภาพย่อมสิน้ เปลือง เช่น วัสดุสำนักงาน วัสดุทใ่ี ช้ในการวิจยั ฯลฯ ทัง้ นี้ การกำหนดรายการวัสดุให้เป็นไปตามลักษณะของโครงการวิจัยนั้นๆ โดยให้เบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริงโดยความจำเป็น และ ประหยัด สำหรับครุภัณฑ์เบิกจ่ายไม่ได้ในเงินอุดหนุนการวิจัยสถาบัน 4. หมวดรายจ่ายอื่นๆ เป็นประเภทเงินที่คณะกรรมการพิจารณาทุนวิจัยสถาบันจะพิจารณาให้ตามความเหมะสม เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในระหว่างปฏิบัติการวิจัย คณะกรรมการฯ ให้อำนาจนักวิจัยในการตัดสินใจยืดหยุ่น การใช้งบประมาณระหว่างรายการ / หมวดได้เองในระดับหนึ่ง แต่ต้องมีหลักฐานและมีเหตุผลในการใช้งบประมาณทุกครั้ง โดยการใช้งบประมาณดังกล่าวนี้ สามารถถัวเฉลีย่ ระหว่างหมวดได้ไม่เกิน 20%


32

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

(หน่วยงานทีข่ อรับทุน สวจ./ศสพ./สวผ.)

แบบรายงานความก้าวหน้าของการวิจัย................................................. ประจำภาคการศึกษาที.่ ................. 1. ชือ่ หัวหน้าโครงการ.................................................................................................................................................................... 2. ชือ่ โครงการ (ภาษาไทย)........................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................... 3. รายงานผลความก้าวหน้าของการวิจยั ครัง้ ที.่ ................ระหว่างเดือน...........................ถึงเดือน........................พ.ศ...................... 4. ในระยะเวลา..............................เดือนทีผ่ า่ นมา ก. ข้าพเจ้าได้เริม่ ดำเนินการตามแผนงานทีไ่ ด้กำหนดไว้ประมาณ..............................% ข. เท่าทีไ่ ด้ดำเนินการไปแล้วนัน้ ได้มอี ปุ สรรคและ/หรือมีปญ ั หาสำคัญๆ บางประการคือ................................................. ...................................................................................................................................................................................................... ค. ข้าพเจ้ายังไม่สามารถดำเนินตามแผนงานทีไ่ ด้กำหนดไว้ เพราะ................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................... แต่คาดว่าจะสามารถเริม่ ต้นโครงการวิจยั นีไ้ ด้ประมาณเดือน...........................................พ.ศ............................................... 5 ทีอ่ ยูท่ ต่ี ดิ ต่อได้........................................................................................................................................................................... โทรศัพท์........................................................................................... 6. การใช้จ่ายงบประมาณ

งบประมาณ ที่ได้รับ หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าวัสดุ ค่าจัดทำรายงาน หมวดรายจ่ายอืน่ (โปรดระบุ.......................) รวม

..............................บาท ..............................บาท ..............................บาท ..............................บาท ...............................บาท

งบประมาณ ที่ใช้จ่ายไปแล้ว

คงเหลือ

............................บาท ......................................บาท ............................บาท ......................................บาท .............................บาท .......................................บาท ............................บาท .......................................บาท ............................บาท .......................................บาท

..............................บาท ............................บาท .......................................บาท

7. ถ้ามีการเปลีย่ นแปลงคณะผูด้ ำเนินการวิจยั ไปจากเดิม ต้องแจ้งให้ทราบดังนี้ (1) ..................................................................(ลาออก) .....................................................................................(ทำหน้าทีแ่ ทน) (2) .................................................................(ลาออก) .....................................................................................(ทำหน้าทีแ่ ทน) (2) .................................................................(ลาออก) .....................................................................................(ทำหน้าทีแ่ ทน) 8. ผลงานวิจัยที่ได้ทำไปแล้วในงวดนี้ (โดยละเอียด) ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... 9. คำชี้แจง ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ลงชือ่ .....................................................................หัวหน้าโครงการ ( ) *จำเป็นต้องลงนาม

ลงชือ่ .....................................................................นักวิจยั พีเ่ ลีย้ ง* ( )


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

33

ข้อแนะแนำการเขียนรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การเขียนรายงานวิจยั โดยทัว่ ไป จะมีทง้ั หมด 5 บทดังนี้ บทที่ 1 บทนำ จะกล่าวถึงความเป็นมาและปัญหาของการวิจยั วัตถุประสงค์ของการวิจยั สมมติฐาน การวิจยั ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั ข้อจำกัดของการวิจยั และขอบเขตของการวิจยั บทที่ 2 ทฤษฎี เอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย บทที่ 4 ผลการวิจยั จะรายงานถึงผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ในบทนีผ้ วู้ จิ ยั จะต้องอภิปรายถึงผลการวิจยั ได้ข้อค้นพบจากการวิจัยที่ตั้งไว้ในวัตถุประสงค์และสมมติฐาน บทที่ 5 สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ส่วนประกอบของรายงานการวิจัย 1. ปกนอก 2. ปกใน 3. บทคัดย่อ (ภาษาไทย- Abstract ภาษาอังกฤษ) 4. กิตติกรรมประกาศ 5. สารบัญ 6. สารบัญตาราง 7. สารบัญภาพ 8. บทนำ 9. บททบทวนเอกสาร 10. ระเบียบวิธีวิจัย 11. ผลการวิจยั และวิจารณ์ 12. สรุปผลและข้อเสนอแนะ 13. เอกสารอ้างอิง (บรรณานุกรม) 14. ภาคผนวก 15. ชีวประวัติผู้วิจัย

ปกนอก (Front Cover) ปกนอก ต้องเป็นปกแข็ง ใช้สีดำ/ขาว สำหรับสถาบันวิจัย ใช้สีแดงเลือดหมู สำหรับศูนย์สนับสนุนและ พัฒนาการเรียนการสอน และใช้กระดาษปกแข็งสีขาว สำหรับสำนักงานวางแผน พิมพ์ข้อความต่างๆ ด้วยตัวพิมพ์เข้ม (Bold) สีทอง (ดูตวั อย่างที่ 1 หน้า 37) และบนปกนอกของรูปเล่มงานวิจยั จะต้องมีรายละเอียดตามลำดับ จากบนลงล่าง ดังนี้ 1) ตรามหาวิทยาลัยรังสิต (ขนาดกว้าง 0.6 นิว้ ยาว 1 นิว้ เป็นสีทอง หรือสีดำ สำหรับสำนักงานวางแผน) 2) ชือ่ งานวิจยั ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 3) ชือ่ - นามสกุล ของผูเ้ ขียนโครงการวิจยั โดยไม่ตอ้ งระบุคำนำหน้านาม 4) ปี พ.ศ. ทีไ่ ด้รบั ทุนอุดหนุนโครงการวิจยั (เลขอารบิก) 5) สันปก พิมพ์ชอ่ื โครงการวิจยั ชือ่ ผูท้ ำวิจยั และปี พ.ศ. เรียงไปตามความยาวของสันปก โดยจัดระยะ ให้เหมาะสม ตัวอักษรตัง้ เมือ่ หงายรูปเล่มงานวิจยั ขึน้ (ดูตวั อย่างที่ 2 หน้า 38)


34

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

ปกใน (Title Page) ปกในมีรายละเอียดเหมือนปกนอก

บทคัดย่อ (Abstract) บทคัดย่อเป็นการสรุปเนื้อหาของโครงการวิจัยที่กระชับ ชัดเจน ซึ่งจะทำให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจงานวิจัย ได้อย่างรวดเร็ว การเขียนบทคัดย่อ ควรเขียนให้ตอ่ เนือ่ งกันในลักษณะความเรียง โดยระบุ 1) วัตถุประสงค์ และขอบเขตการวิจัย 2) วิธกี ารวิจยั วิธกี ารเก็บข้อมูล เครือ่ งมือทีใ่ ช้ จำนวน และลักษณะของกลุม่ ตัวอย่างทีศ่ กึ ษา 3) ผลการวิจัยโดยสังเขป ทัง้ นี้ ให้พมิ พ์บทคัดย่อตามแบบฟอร์มทีก่ ำหนดไว้ ความยาวไม่เกิน 1 หน้า ทัง้ ภาษาไทย และภาษา อังกฤษ โดยเรียงลำดับบทคัดย่อภาษาไทยไว้กอ่ น ตามด้วยบทคัดย่อภาษาอังกฤษ (ดูตวั อย่างที่ 3 หน้า 41 และ ตัวอย่าง ที่ 4 หน้า 42 )

กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgments) กิตติกรรมประกาศเป็นข้อความแสดงความขอบคุณผู้มีส่วนสนับสนุน ช่วยเหลือ และให้ความร่วมมือ ในการทำโครงการวิจยั ส่วนนีจ้ ะมีหรือไม่มกี ไ็ ด้ ถ้ามีให้พมิ พ์คำว่า กิตติกรรมประกาศไว้กลางหน้ากระดาษ กิตติกรรมประกาศ ไม่ควรยาวเกิน 1 หน้า (ดูตวั อย่างที่ 5 หน้า 44)

สารบัญ (Table of Contents) สารบัญเป็นส่วนที่บ่งบอกตำแหน่งหน้าของส่วนต่างๆ ทั้งหมดที่มีอยู่ในโครงการวิจัย โดยเริ่มลำดับหน้า ตัง้ แต่สารบัญเป็นต้นไป หัวข้อทีต่ อ้ งบรรจุไว้ในสารบัญ คือ ชือ่ บท และหัวข้อรอง (หัวข้อทีจ่ ดั ไว้กง่ึ กลางหน้ากระดาษ) ส่วน หัวข้อข้าง (หัวข้อทีจ่ ดั ไว้ชดิ ซ้ายหน้ากระดาษ) นัน้ จะใส่ในสารบัญหรือไม่กไ็ ด้ (ดูตวั อย่างที่ 6 หน้า 45)

สารบัญตาราง (List of Table) สารบัญตารางเป็นส่วนที่บ่งบอกตำแหน่งของตารางทั้งหมดที่มีอยู่ในโครงการวิจัย (ดูตัวอย่างที่ 7 หน้า 46)

สารบัญภาพ (List of Figure) สารบัญภาพเป็นส่วนที่บ่งบอกตำแหน่งหน้าของภาพ (รูปภาพ แผนที่ กราฟ และอื่นๆ) ทั้งหมดที่มี อยูใ่ นงานวิจยั (ดูตวั อย่างที่ 8 หน้า 47)

บทนำ (Introduction) บทนำ เป็นส่วนที่บรรยายอย่างสังเขปเกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ 1) ความเป็นมาของเรื่องที่วิจัย 2) ความสำคัญของปัญหาที่นำมาวิจัย 3) วัตถุประสงค์ของการวิจัย 4) ขอบเขตของการวิจัย 5) ระเบียบวิธีวิจัย เพื่อตอบปัญหาที่ตั้งไว้ในวัตถุประสงค์ 6) ข้อตกลงเบือ้ งต้น และนิยามศัพท์ (ถ้ามี)


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

35

7) รายละเอียดอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับโครงการวิจัยแต่ละเรื่อง ทั้งนี้ ผู้วิจัยไม่ต้องระบุชื่อหัวข้อ แต่ให้เขียนบรรยายร้อยเรียงเนื้อหาแต่ละหัวข้อที่เป็นส่วนประกอบของ บทนำให้สละสลวยสอดรับกัน โดยอาจเรียบเรียงส่วนประกอบของบทนำเหล่านีใ้ นตำแหน่งก่อน หรือ หลังตามความ เหมาะสม รายละเอียดอื่นๆ ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการที่ปรึกษาโครงการ

ทบทวนวรรณกรรม (Review Literature) ส่วนนี้เป็นการตรวจเอกสารโดยบรรยายข้อมูลความรู้เดิม แนวคิด ทฤษฎี และผลการศึกษา และวิจัย ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนแนวความคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะทำวิจัย ซึ่งได้จากการตรวจสอบ จากหนังสือ ตำรา เอกสาร งานวิจยั ในประเทศ และ/หรือ งานวิจยั ต่างประเทศ และแหล่งข้อมูลอืน่ ๆ ตลอดจนสมมติฐาน อาจมีนยิ ามศัพท์เฉพาะ หรือนิยามศัพท์ปฏิบัติการ และกรอบแนวคิดในการวิจัย ที่แสดงขั้นตอน หรือความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ใช้ ประกอบด้วย 2 หัวข้อหลัก ดังนี้ 1. แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทำวิจัย 2. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องหรือสอดคล้องกับเรื่องที่ทำวิจัย

ระเบียบวิธีวิจัย (Methods) เป็นส่วนทีบ่ รรยายวิธดี ำเนินการเกีย่ วกับการวิจยั ว่ามีขน้ั ตอนในการทำอย่างไรบ้าง แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ 1. การรวบรวมข้อมูล เป็นส่วนที่ระบุให้ทราบวิธีการที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ทั้งนี้ขึ้นกับลักษณะของ การวิจยั แต่ละประเภท ซึง่ อาจมีวธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมูลต่างกัน โดยชีใ้ ห้เห็นว่าแต่ละขัน้ ตอนของการวิจยั ใช้เอกสาร ข้อมูล หรือเครือ่ งมือประเภทใด เอกสาร ข้อมูล หรือเครือ่ งมือนัน้ ๆ ได้มาอย่างไร โดยวิธใี ด เช่น ใช้แบบสอบถามทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ เอง เพือ่ เก็บข้อมูลปฐมภูมิ ส่วนข้อมูลทุตยิ ภูมนิ น้ั รวบรวมมาจากเอกสาร ทีไ่ ด้มาจากแหล่งต่างๆ เป็นต้น 2. การวิเคราะห์ขอ้ มูล เป็นส่วนทีร่ ะบุให้ทราบวิธกี ารในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ทัง้ เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ทั้งนี้ขึ้นกับลักษณะของการวิจัยแต่ละประเภท หรือตามแต่ละสาขาที่เกี่ยวข้อง

ผลการวิจยั และวิจารณ์

(Research Result) ส่วนนี้แสดงให้เห็นถึง ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลและการแสดงผลการทดสอบสมมติฐาน และการ วิจารณ์ผลการวิจัย ซึ่งการรายงานผลการวิจัยและการวิจารณ์นั้น ควรยึดวัตถุประสงค์ และสมมติฐานของการวิจัยเป็นหลัก เพื่อชี้ให้เห็นว่าผลการวิจัยได้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างไรบ้าง และสอดคล้องกับสมมติฐานที่วางไว้หรือไม่ อย่างไร

บทสรุปและข้อเสนอแนะ

(Conclusion) บทสรุปและข้อเสนอแนะ เป็นส่วนทีส่ รุปเนือ้ หาในโครงการวิจยั ทัง้ หมดทีก่ ล่าวมา อาจมีขอ้ เสนอแนะต่างๆ เช่น การเสนอแนะเกีย่ วกับการวิจยั ในครัง้ ต่อไป ประโยชน์ในการนำผลการวิจยั ไปปรับใช้ได้จริง หรือนำไปพัฒนาแนวคิด หรือทฤษฎีในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น

การอ้างอิงเอกสาร (References) ในงานวิจยั จะต้องมีรายการเอกสารและสิง่ อ้างอิง เช่น รายชือ่ หนังสือ สิง่ พิมพ์ โสตทัศนวัสดุ และไฟล์ขอ้ มูล ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เพื่อให้ผู้อ่านสามารถตรวจสอบและค้นคว้าเพิ่มเติมได้ รายการ เอกสาร และสิ่งอ้างอิง จะอยู่ต่อจากส่วนเนื้อหา และอยู่ก่อนส่วนภาคผนวก


36

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

ภาคผนวก (Appendix) ภาคผนวกเป็นส่วนที่ให้รายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนผลงานวิจัย เช่น แบบสอบถาม หรือแบบ สัมภาษณ์ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตารางบันทึกข้อมูล และสูตรคำนวณต่างๆ เป็นต้น การจะมีภาคผนวกหรือไม่ ขึ้นอยู่กับความจำเป็นและความเหมาะสม หากมีให้เริ่มภาคผนวกในหน้าถัดจากเอกสาร และสิ่งอ้างอิง โดยมีข้อความว่า ภาคผนวกอยู่กลางหน้ากระดาษส่วนกลาง รายละเอียดในภาคผนวก ให้แสดงในหน้าถัดไป หากมีความจำเป็นต้องแบ่ง ภาคผนวกออกเป็นภาคผนวกย่อย ในหน้าต่อไปพิมพ์คำว่า ภาคผนวก ก และชือ่ ของภาคผนวก ก (ถ้ามี) ตรงกลางหน้า กระดาษส่วนกลาง การเริม่ ภาคผนวกย่อยทุกครัง้ ให้ขน้ึ หน้าใหม่


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

37

ตัวอย่างที่ 1

การพิมพ์รายงานวิจยั • การพิมพ์ปกรายงานวิจย ั

1 นิว้

บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรือ่ ง ขยะและของเสียอันตราย Computer Aided Instruction for Solid Waste and Hazardous Waste

เว้นระยะให้เท่ากัน X

(ใส่ได้ไม่เกิน 3 ชือ่ ถ้าเกิน 3 ให้ใส่ชอ่ื คนแรกและคณะ)

X

โดย ลาวัณย์ วิจารณ์

สนับสนุนทุนวิจยั โดย (หน่วยงานทีข่ อรับทุนอุดหนุนงานวิจยั ฯ) ............................................................................ มหาวิทยาลัยรังสิต ปีการศึกษา*............... *หมายเหตุ : ปีทไ่ี ด้รบั อนุมตั ทิ นุ


38

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

ตัวอย่างที่ 2

ั ปกรายงานวิจยั • การพิมพ์สน

บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรือ่ ง ขยะและของเสียอันตราย

ยี อนั ตราย เส ง อ ข ะ ล แ ะ ย สอน เรอ่ื ง ข and HazardousWaste ย ่ ว ์ ช ร อ เต ิ ว พ te บทเรยี นคอม struction for Solid Was

ided In Computer A

ลาวัณย์ วิจารณ์

โดย ์ ั ย์ วจิ ารณ แรกและคณะ) ลาวณ หใ้ สช่ อ่ื คน ใ 3 ิ น เก ้ า ถ 3 ชอ่ื (ใสไ่ ดไ้ มเ่ กนิ

ศสพ. 15/2548* *หมายเหตุ : หน่วยงาน/รหัสโครงการทีไ่ ด้รบั ทุน

ว ิจ ัยโดย น ุ ท น ุ น ส บ ั สน การสอน น ย ี เร ร า ก า และพ ัฒน ูศนย์สนับสนุน ิทยาลัยรังสิต มหาว 2548 ปกี ารศกึ ษา


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

39

การเขียนบทคัดย่อ หลักการเขียนบทคัดย่อ บทคัดย่อ (Abstract) หมายถึง ส่วนที่แสดงเนื้อหาสำคัญของเอกสารโดยย่อ โดยทั่วไปมักจะเขียนอยู่ต่อจาก ชือ่ เรือ่ ง บทคัดย่อมักจะมีลกั ษณะดังนีค้ อื 1. บทคัดย่อ มาก่อนคำนำ และแยกให้ออกระหว่างคำนำกับบทคัดย่อ 2. ย่อทุกๆ ส่วนของงานวิจยั (คำนำย่อ เนือ้ เรือ่ งย่อ สรุปย่อ) โดยเขียนสิง่ ทีผ่ อู้ า่ นควรได้ทราบจากงานของเรา โดยควรเรียงลำดับเช่นเดียวกับในเนื้อหาสัมมนา 3. เมือ่ ผูอ้ า่ นๆ บทคัดย่อจบแล้ว ต้องมองภาพรวมของงานวิจยั ออก ส่วนรายละเอียดนัน้ ผูอ้ า่ นสามารถติดตาม อ่านได้ในบทความงานวิจัย 4. บทคัดย่อไม่ควรยาวจนเกินไป (ไม่ควรเกิน 1/2 หน้ากระดาษ A4) เพราะอาจทำให้ เวลาในการอ่านส่วนอืน่ ๆ ลดลง ในบทคัดย่อไม่มตี าราง รูปภาพ หรือการอ้างอิงใดๆ 5. ไม่มีส่วนของข้อมูลหรือแนวคิดอื่น ที่อยู่นอกเหนือจากในเนื้อหาบทความงานวิจัย การเขียนบทคัดย่อมีหลักสำคัญ 3 ประการ ดังนี้ 1. มีความสัน้ กระทัดรัดและกระชับ (Concision) เลือกเฉพาะสาระทีเ่ ป็นประเด็นใจความสำคัญของเอกสาร โดยใช้สำนวนทีก่ ระทัดรัด มีความกระชับ หลีกเลีย่ ง การใช้คำหรือประโยคที่มีความยาว หรือมีความซ้ำซ้อนความยาวของบทคัดย่อไม่มีกำหนดไว้ตายตัว ขึ้นอยู่กับชนิดของ เอกสารและเนื้อหาสาระของเอกสารนั้นๆ ว่า มีความสำคัญมากน้อยเพียงใด โดยทั่วไปบทคัดย่อจะมีเพียง 1 ย่อหน้า แต่ สำหรับเอกสารงานวิจัยมีได้มากกว่า 2. มีความถูกต้อง (Precision) สามารถถ่ายทอดประเด็นสำคัญของเอกสารได้อย่างถูกต้อง ตามความหมายเดิมของเอกสารต้นฉบับ ไม่ควรมีการตีความหรือแสดงความคิดเห็นใดๆ อันทำให้ผู้อ่านเข้าใจสาระของเอกสารต้นฉบับผิดไป 3. มีความชัดเจน (Clarity) การเรียบเรียงถ้อยคำเพือ่ เสนอในบทคัดย่อจะต้องสือ่ ความหมายให้เข้าใจชัดเจน โดยใช้รปู ประโยคทีส่ มบูรณ์ ไม่ใช่เขียนกระท่อนกระแท่นเป็นคำๆ การเขียนบทคัดย่องานวิจัย การเขียนบทคัดย่อของงานวิจัย เป็นการเขียนบทคัดย่อประเภทให้ความรู้ (Informative Abstract) ซึ่งควร เขียนต่อเนื่องกันไป และมีเนื้อหาที่ประกอบด้วยส่วนสำคัญดังต่อไปนี้ คือ 1. จุดประสงค์ (Purpose or Objective) เป็นการอธิบายให้ทราบถึงจุดมุ่งหมายในการศึกษานั้นว่ามุ่งในเรื่องใดบ้าง และหากจำเป็นต้องกล่าวถึง ปัญหาสำคัญหรือการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับผลการศึกษาวิจัยอย่างใกล้ชิด ก็อาจกล่าวไว้โดยย่อ 2. วิธีการ (Methodology) เป็นการอธิบายขัน้ ตอน เทคนิค อุปกรณ์ เครือ่ งมือ สารเคมีทส่ี ำคัญในการศึกษาวิจยั นัน้ โดยย่อ


40

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

3. ผลและบทสรุป (Result and Conclusions) เป็นการกล่าวถึงผลการค้นคว้าทดลอง โดยการเขียนอย่างกระทัดรัด และให้ความรู้ ความเข้าใจมากที่สุด หากมีข้อกำหนดใดๆ ที่มีผลกระทบต่อความเที่ยงตรงของผลการวิจัย จะต้องชี้แจงไว้ด้วยส่วนบทสรุป โดยอธิบาย ความสำคัญของผลการค้นคว้าที่ดี ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้เบื้องต้น นอกจากนี้อาจมีข้อเสนอแนะ การประเมินผล และแนวทางการใช้ประโยชน์ทส่ี ำคัญด้วย บทคัดย่อที่ดี ประกอบด้วย 1. บทนำ สรุปบทนำหรือความเป็นมาของการทำวิจัยอย่างสั้นๆ ใน 1 ประโยค หรือจะเน้นการเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย โดยมีเหตุผลอยากค้นพบข้อเท็จจริงอะไรบ้าง อาจจะเขียนในลักษณะพยายามหาคำตอบเพื่อทดสอบ สมมติฐานต่างๆ พยายามเขียนให้สั้น กะทัดรัด ชัดเจน และรัดกุม เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจอย่างมาก สำหรับจูงใจ ให้ผู้อ่านอยากอ่านงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ต่อไป 2. วิธีการ มีวิธีการดำเนินการวิจัยอย่างไรบ้าง เช่น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เช่นใช้ แบบสอบถามหรือ แบบสัมภาษณ์ วิธีการเลือกตัวอย่าง จำนวนกลุ่มตัวอย่าง การรวบรวม ข้อมูล และลักษณะของการวิเคราะห์ข้อมูล เช่น การใช้สถิตติ า่ ง ๆ 3. ผลการค้นพบ มีขอ้ ค้นพบอะไรบ้าง โดยเสนอเฉพาะข้อค้นพบทีส่ ำคัญๆ และเป็นผลลัพธ์ หลักๆ ของงาน วิจัย เช่น เขียนเน้นตามวัตถุประสงค์การวิจัย สมมติฐานการวิจัย ทดสอบ แล้วได้ผลอย่างไรบ้าง ควรเขียนให้สั้น มีลักษณะเป็นการบรรยาย ไม่มีตารางหรือตัวเลขมาแสดง การเขียนข้อค้นพบจะต้องตรงกับความเป็นจริงที่ค้นพบ ไม่ใช่เขียนตามความคิดของ ตนเอง 4. สรุปผล มีข้อค้นพบอะไรบ้างที่เป็นส่วนสำคัญที่มีนัยสำคัญ หรือปัญหาที่เกี่ยวข้องจากการค้นพบ โดย ให้มีความเชื่อมโยงผลการวิเคราะห์ข้อมูลกับวัตถุประสงค์การวิจัย และสมมติฐานการวิจัย ให้เหตุผลสนับสนุนที่สมเหตุ สมผลให้ผู้อ่านเกิดความเชื่อถือในสิ่งที่ ค้นพบ


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

41

ตัวอย่างที่ 3 ย่อหน้า 0.5 นิว้

สายใจ \\ ทองเนียม \\ 2549: \ ความคิดเห็นของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตทีม่ ตี อ่ การอ่าน \\ ภาควิชาภาษาไทย \ คณะศิลปศาสตร์\ มหาวิทยาลัยรังสิต \\ 116 \ หน้า

X

เว้นระยะ 2 บรรทัด

ย่อหน้า 0.5 นิว้

การวิจยั ในครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษา ข้อมูลทัว่ ไปเกีย่ วกับการอ่านและความคิดเห็น เรือ่ ง การส่งเสริมการอ่านของคณะทีศ่ กึ ษาอยูข่ องนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรังสิต กลุม่ ตัวอย่าง ทีใ่ ช้ในการวิจยั คือนักศึกษา จาก 10 คณะ จำนวน 370 คน ทีเ่ รียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 ทำการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้คา่ สถิติ พืน้ ฐาน ได้แก่ ข้อมูลร้อยละ ค่าเฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ตลอดจน ข้อเสนอแนะของนักศึกษา แล้วนำเสนอข้อมูลในรูปแบบของตารางประกอบการบรรยาย X

เว้นระยะ 1 บรรทัด

ผลการวิจยั พบว่า ด้านข้อมูลทัว่ ไป นักศึกษา อ่านหนังสือโดยเฉลีย่ 4.12 วัน ต่อสัปดาห์ นัก ศึกษาส่วนใหญ่ใช้เวลาอ่านหนังสือโดยเฉลีย่ 30 นาที ต่อครัง้ ด้านประเภทของหัวข้อทีช่ อบอ่าน นัก ศึกษาส่วนใหญ่ชอบอ่านข่าว ดารามากทีส่ ดุ และมีจดุ มุง่ หมายในการอ่านคือ อ่านเพือ่ ความบันเทิง โดย วิธกี ารอ่าน พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่จะซือ้ หนังสือมาอ่านเอง และมักจะอ่านอยูท่ ห่ี อ้ งพักเมือ่ เปรียบ เทียบในแต่ละคณะ พบว่า นักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ ระบุวา่ มีปญ ั หาในการอ่านมากทีส่ ดุ ด้านความ คิดเห็นเกีย่ วกับการอ่าน นักศึกษาส่วนใหญ่คดิ ว่าการอ่านเป็นสิง่ จำเป็นในชีวติ ประจำวัน และเห็นว่า บุคคลทุกวัย ควรอ่านหนังสือนักศึกษาทุกคณะมีความเห็นตรงกันว่า การอ่านมีความสำคัญต่อการเรียน การสอนของนักศึกษามาก มีนกั ศึกษา 7 คณะเห็นว่า อาจารย์ผสู้ อนมักสัง่ ให้ นักศึกษาไปอ่านตำราเรียน นักศึกษา 4 คณะเห็นว่าที่ คณะมีการเรียนสอนที่ส่งเสริมการอ่านของนักศึกษา และอาจารย์ผู้สอน มักสั่งให้ นักศึกษาไปอ่านหนังสืออื่นๆ เพิ่มเติมนอกเหนือจากตำราเรียน ด้านข้อเสนอแนะของนัก ศึกษาพบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่าทางคณะ ฝ่ายห้องสมุด และทางมหาวิทยาลัย ควรจัดกิจกรรม ต่างๆ เพือ่ ส่งเสริมการอ่านของนักศึกษา หมายเหตุ:

เครือ่ งหมาย \ หมายถึง การเว้นวรรค 1 ระยะพิมพ์ \\ หมายถึง การเว้นวรรค 2 ระยะพิมพ์

หมายเหตุ : การตัง้ ค่ากระดาษ

หัวกระดาษกว้าง 1.5 นิว้ ท้ายกระดาษกว้าง 1 นิว้ ด้านซ้ายกว้าง 1.5 นิว้ และด้านขวา กว้าง 1 นิว้ อักษร Angsana New ขนาด 16 พอยต์


42

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

ตัวอย่างที่ 4

Saijai \\ Thongneam \\ 2549: \ Opinion of Students of Rangsit University on Reading \\ Thai\ Faculty of Liberal Arts \ Rangsit University \\ 116 \ Pages เว้นระยะ 2 บรรทัด

The purposes of this research were: to study the students' information of reading and opinions on faculty reading promotion of the undergraduate students in Rangsit University. The sample was 370 students from 10 faculties during the first semester of academic year of 2006. The data were analyzed by percentage, mean and standard deviation. The students' comments were presented by frequency distribution. เว้นระยะ 1 บรรทัด

The results of this research were as follows: The duration of time the student read were 4.12 days per week and 30 minutes each time. They preferred reading from books and reading about movie stars. Their purpose on reading was to entertain themselves and they enjoyed reading at their own rooms. Most of the students preferred buying books for reading. The students from Faculty of Liberal Arts indicated that they had reading problems. Most of the student's thought reading was necessary for their everyday life and people at all age should read. The students of all faculty agreed that reading was the most important skill. The students from 7 faculties informed that they were assigned to read text books whereas the students from 4 faculties were assigned to read external books. The result on the students' comment can be concluded that teaching and learning activities; library management and University support should be developed to encourage student's reading.

หมายเหตุ:

เครือ่ งหมาย \ หมายถึง การเว้นวรรค 1 ระยะพิมพ์ \\ หมายถึง การเว้นวรรค 2 ระยะพิมพ์

หมายเหตุ : การตัง้ ค่ากระดาษ

หัวกระดาษกว้าง 1.5 นิว้ ท้ายกระดาษกว้าง 1 นิว้ ด้านซ้ายกว้าง 1.5 นิว้ และด้านขวา กว้าง 1 นิว้ อักษร Angsana New ขนาด 16 พอยต์


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

43

การเขียนกิตติกรรมประกาศ หลักการเขียนกิตติกรรมประกาศ 1. เขียนคำขอบคุณให้กับบุคคล หรือหน่วยงานที่ช่วยเหลือจริงๆ เช่น เอื้อเฟื้อข้อมูล ภาพ เครื่องมือ ให้ทุน ช่วยอ่าน แก้ไข หรืออำนวยความสะดวกแก่ในการปฏิบัติงาน ช่วยแนะนำในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในครั้งนี้ ฯลฯ ไม่เขียนขอบคุณแบบไม่สมเหตุผลโดยไม่เกี่ยวข้องกับ เช่นขอขอบคุณคุณวรุณวตีอย่างสูงสุดที่เป็นกำลังใจให้............. ขอบคุณน้องหนึง่ น้องแนน น้องเอ๋ น้องโฟมทีเ่ อือ้ เฟือ้ ปากกาลูกลืน่ ขณะค้นข้อมูล 2. ไม่ควรเขียนยืดยาว หรือพร่ำเพ้อเจ้อจนอ่านแล้วไม่แน่ใจว่าผู้นั้นมีตัวตนอยู่หรือไม่ ถ้าเป็นไปได้ควรระบุสิ่ง ที่เขาได้ช่วยอย่างคร่าวๆด้วย ไม่ควรขอบคุณโดยการใส่เพียงชื่อของหน่วยงานหรือบุคคลเท่านั้น 3. คำนิยมอาจมีหรือไม่มีก็ได้ โดยทั่วไปนิยมวางไว้ก่อนเอกสารอ้างอิง


44

กิตต

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

ตัวอย่างที่ 5 ตัวอักษร Angsana New หนา ขนาด 18 พอยต์

X

กิตติกรรมประกาศ --------เว้นระยะ 1 บรรทัด

งานวิจัยฉบับนี้สำเร็จลงได้โดยได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์สนับสนุนแลพัฒนา การ เรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต ขอขอบคุณในความร่วมมือและความช่วยเหลือจากนักศึกษา คณะต่างๆ ทีช่ ว่ ยตอบ แบบสอบถาม คณะการแพทย์แผนตะวันออก และคณะวิทยาศาสตร์ ทีช่ ว่ ย อนุเคราะห์ในเรือ่ งการเก็บรวบรวม แบบสอบถามส่งคืนให้กบั ผูว้ จิ ยั อาจารย์ศนิวาร วุฒกุล อาจารย์ จิรพร รักษาพล โดยเฉพาะอย่างยิง่ อาจารย์สรไน รอดนิตย์ ทีก่ รุณาช่วยตรวจสอบแบบสอบถาม ตลอดจนให้คำแนะนำอันเป็นประโยชน์ต่อการเรียบเรียงข้อมูลเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งผู้วิจัยขอขอบคุณ ไว้ ณ-----ทีน่ ้ี เว้นระยะ 1 บรรทัด

ขอขอบคุณ สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยรังสิต ทีใ่ ห้ความช่วยเหลือใน เรือ่ งการค้นคว้าเอกสาร เป็นอย่างดี คุณรยากร รอดระรัง จากสถาบันวิจยั มหาวิทยาลัยรังสิต ทีก่ รุณาให้ความรูแ้ ละ คำแนะนำ ตลอดจนจัดหาโปรแกรม คอมพิวเตอร์มาให้วเิ คราะห์ขอ้ มูลได้ถกู ต้องรวดเร็วขึน้ และผูว้ จิ ยั ยังได้รับ ความ กรุณาจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พนิตนาฏ ชูฤกษ์ ช่วยตรวจทาน แนะนำการเขียน บทคัดย่อจนสำเร็จ ได้ดว้ ยดี ซึง่ ผูว้ จิ ยั รูส้ กึ ขอบคุณเป็นอย่างยิง่ ขอให้คุณโยชน์จากการทำวิจัยครั้งนี้เป็นของทุกท่าน ที่มีส่วนช่วยเหลือให้งานวิจัยฉบับนี้ สำเร็จลุลว่ งได้ ตามจุด-------------มุง่ หมาย เว้นระยะ 1 บรรทัด

สายใจ ทองเนียม พฤศจิกายน 2550

หมายเหตุ : การตัง้ ค่ากระดาษ

หัวกระดาษกว้าง 1.5 นิว้ ท้ายกระดาษกว้าง 1 นิว้ ด้านซ้ายกว้าง 1.5 นิว้ และด้านขวา กว้าง 1 นิว้ อักษร Angsana New ขนาด 16 พอยต์


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

สารบัญ---------------------------X

ตัวอย่างการเขียนสารบัญ

ตัวอย่างที่ 6

เว้นระยะ 1 บรรทัด

บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจยั X ขอบเขตของการวิจยั เว้น 10 ตัวอักษร ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั สมมติฐานการวิจยั นิยามศัพท์ บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม 1 เคาะ ทฤษฎี แนวคิด งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง กรอบแนวคิดการวิจยั บทที่ 3 ระเบียบวิธวี จิ ยั ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์และวิจารณ์ ผลการวิจยั ข้อวิจารณ์ บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจยั อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ

หน้า ก ข ค (1) (5) (10) 1 1 5 7 8 9 11 13 14 15 29 31 31 32 35 36 39 41 63 71 79 85 90

บรรณานุกรม

105

ตัวอักษร Angsana New หนา ขนาด 18 พอยต์

-------------------

-------------------

X

L

หมายเหตุ : การตัง้ ค่ากระดาษ

หัวกระดาษกว้าง 1.5 นิว้ ท้ายกระดาษกว้าง 1 นิว้ ด้านซ้ายกว้าง 1.5 นิว้ และด้านขวา กว้าง 1 นิว้ อักษร Angsana New ขนาด 16 พอยต์

45


46

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

ตัวอย่างที่ 7 ตัวอักษร Angsana New หนา ขนาด 18 พอยต์

X

สารบัญตาราง หน้า

ตัวเลขให้พมิ พ์กง่ึ กลางคำว่า “ตารางที”่

1 2

สถิตปิ ระชาชนผูเ้ ข้ารับบริการจากโรงพยาบาล

12

จำนวนร้อยละของกลุม่ ตัวอย่างจำแนกตามเขตบริการ

33

ค่าเฉลีย่ ความคิดเห็นต่อการให้บริการของโรงพยาบาล จำแนกตามเขตเข้ารับบริ การ -----------------------------X

60

-------------------

-------------------------

X

ตารางที่

X

X

เว้น 10 ตัวอักษร

3

แนวการพิมพ์ (กรณีความยาวเกิน 1 บรรทัด)

หมายเหตุ : การตัง้ ค่ากระดาษ

หัวกระดาษกว้าง 1.5 นิว้ ท้ายกระดาษกว้าง 1 นิว้ ด้านซ้ายกว้าง 1.5 นิว้ และด้านขวา กว้าง 1 นิว้ อักษร Angsana New ขนาด 16 พอยต์


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

ตัวอย่างที่ 8 ตัวอักษร Angsana New หนา ขนาด 18 พอยต์

X

สารบัญภาพ

X

หน้า

ตัวเลขให้พมิ พ์กง่ึ กลางคำว่า “ภาพที”่

1 2

-----------------

-------------------------

ภาพที่

X

กรอบแนวคิดการวิจยั

16

ภาพการเข้ารับบริการจากโรงพยาบาลของประชาชน

28

วิธวี เิ คราะห์ระบบ (System Analysis)

36

X

เว้น 10 ตัวอักษร

3

หมายเหตุ : การตัง้ ค่ากระดาษ

หัวกระดาษกว้าง 1.5 นิว้ ท้ายกระดาษกว้าง 1 นิว้ ด้านซ้ายกว้าง 1.5 นิว้ และด้านขวา กว้าง 1 นิว้ อักษร Angsana New ขนาด 16 พอยต์

47


48

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

การเขียนอ้างอิงเอกสาร รูปแบบการเขียนอ้างอิงเอกสาร การอ้างอิง หมายถึง การบอกแหล่งทีม่ าของข้อความทีใ่ ช้อา้ งอิง ในเนือ้ หาทีน่ ำมาเขียนเรียบเรียง ปัจจุบนั ในสาขาวิทยาศาสตร์สขุ ภาพนิยมใช้ คือ 1. การอ้างอิงแบบแทรกปนในเนือ้ หา ซึง่ มี 2 ระบบ (ส่งศรี ดีศรีแก้ว, 2534 : 78) คือ 1.1 ระบบนาม - ปี (Author - date) ระบบนาม - ปี เป็นระบบทีม่ ชี อ่ื ผูแ้ ต่ง, ปีทพ่ี มิ พ์ และเลขหน้า ทีอ่ า้ งอิงอยูภ่ ายในวงเล็บ ดังตัวอย่าง (ชือ่ ผูแ้ ต่ง. ปีทพ ่ี มิ พ์ : เลขหน้าทีอ่ า้ งอิง) 1.2 ระบบหมายเลข (Number System) เป็นระบบทีค่ ล้ายคลึงกับระบบนาม - ปี แต่ระบบนีจ้ ะใช้ หมายเลข แทนชือ่ ผูแ้ ต่งเอกสารซึง่ การอ้างอิง มีอยู่ 2 วิธี คือ 1.2.1 ให้หมายเลขตามลำดับของการอ้างอิง 1.2.2 ให้หมายเลขตามลำดับอักษรผูแ้ ต่ง 2. บรรณานุกรม (Bibliography) หมายถึง รายการของทรัพยากรสารสนเทศทัง้ หมดทีผ่ ทู้ ำรายงานได้ใช้ ประกอบการเขียนรายงาน ทัง้ ทีป่ รากฏชัดเจนโดยเขียนอ้างอิงไว้ และส่วนทีไ่ ม่ปรากฏชัดเจน แต่อาจเป็นเพียงการ รวบรวมความคิดหลาย ๆ แนว แล้วนำมาเรียบเรียงใหม่ การอ้างอิงแทรกในเนือ้ หา (การอ้างอิงแบบนาม-ปี) โดยทัว่ ไปจะประกอบด้วยชือ่ ผูแ้ ต่งและปีพมิ พ์ ในกรณีทเ่ี ป็นการอ้างอิงเนือ้ หาโดยตรงหรือแนวคิดบางส่วน หรือเป็นการคัดลอกข้อความบางส่วนมาโดยตรงสมควรระบุเลขหน้าไว้ดว้ ย อย่างไรก็ตาม การไม่ระบุเลขหน้าอาจทำได้ในกรณีทเ่ี ป็นการอ้างอิงงานของผูอ้ น่ื โดยการสรุปเนือ้ หาหรือ แนวคิดทัง้ หมดของงานชิน้ นัน้ มา หลักและตัวอย่างการเขียนนามผู้แต่ง 1. ถ้าเป็นชาวต่างประเทศใช้นามสกุลเท่านัน้ ถ้าเป็นชาวไทยให้ใส่ชอ่ื ก่อน แล้วตามด้วยนามสกุล ถึงแม้ เขียนเอกสารเป็นภาษาต่างประเทศก็ตาม เพราะถือเป็นแบบทีส่ ากลยอมรับแล้วว่าประเทศไทยใช้เช่นนี้ • ( เปลือ้ ง ณ นคร, 2511: 160) • ( Fontana, 1985: 61) • ( Thanat Khoman, 1976: 16-25) • ( Kasem Suwanagul, 1962: 35) 2. กรณีผแู้ ต่งมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ • (กรมหมืน ่ นราธิป พงศ์ประพันธ์, 2516: 40) • (พระยาอนุมาร ราชธน, 2510: 20) • (สมเด็จพระอริยวง ศาคตญาน [ จวน อุฏฐายี ] , 2512: 61-65) • (มล.บุญเหลือ เทพยสุวรรณ,2520 :3-4 )


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

49

3. กรณีผแู้ ต่งมียศทางทหาร ตำรวจ หรือมีตำแหน่งทางวิชาการ เช่น ศาสตราจารย์ หรือมีคำเรียกทาง วิชาชีพ เช่น นายแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร ไม่ตอ้ งใส่ยศ หรือ ตำแหน่งทางวิชาการ หรือคำเรียกทางวิชาชีพนัน้ ๆ • ( จรัส สุวรรณเวลา, 2538: 29) • (วสิษฐ์ เดชกุญชร, 2522: 82 - 83) 4. ผู้แต่งใช้นามแฝง • ( Dr.Seuss, 1968: 33 - 38) • ( Twain, 1962: 15 - 22) • ( หยก บูรพา, 2520: 47 - 53) การอ้างเอกสารหนึง่ เรือ่ งทีม่ ผี แู้ ต่งคนเดียว การอ้างถึงเอกสารหรืองานนั้นทั้งงานโดยรวม ให้ระบุนามผู้แต่งและปีพิมพ์แทรกในข้อความในตำแหน่ง ทีเ่ หมาะสม กล่าวคือ ถ้าระบุนามผูแ้ ต่งในเนือ้ ความ ให้อา้ งปีพมิ พ์ไว้ในวงเล็บ (ตัวอย่าง 1) หรือให้ระบุทง้ั นามผูแ้ ต่งและ ปีพมิ พ์ของเอกสารนัน้ ในวงเล็บ (ตัวอย่าง 2) ตัวอย่าง 1 • สุจต ิ รา บูรมินเหนทร์ (2509) ศึกษาว่า ในภาษาไทยมีคำในหมวดใดบ้าง และคำอะไรบ้างทีน่ ำมา ใช้เป็นคำซ้ำได้ ผลการศึกษาพบว่า คำทุกหมวดในจำนวนหมวด สามารถนำมาใช้เป็นคำซ้ำได้... • Landsteiner (1936) described the hapten concept whereby conjugation of small molecules with no inherent immunogenic properties… ตัวอย่าง 2 • ..ในขณะทีก ่ ารใช้ผลการวิจยั ทางสังคมศาสตร์สว่ นใหญ่อยูใ่ นวงแคบ จำกัดเฉพาะในกลุม่ สาขาวิชา ของตนเท่านัน้ (จรรยา สุวรรณทัต, 2520) • Previous work on the group living talapoins (Keverne, 1979),demonstrated that… ในย่อหน้าหนึง่ ๆ เมือ่ อ้างถึงงานนัน้ ซ้ำอีกครัง้ หนึง่ ไม่ตอ้ งระบุปพี มิ พ์ในการอ้างครัง้ ต่อมาได้ ถ้างานนัน้ เพิง่ ถูกอ้างและไม่สบั สนกับงานอืน่ (ตัวอย่าง 3) ตัวอย่าง 3 • ธีรพันธ์ เหลืองทองคำ (1979) ศึกษาคำซ้ำทีใ่ ช้เป็นคำวิเศษณ์ และคำคุณศัพท์ ในภาษาไทยถิน ่ อีสาน พบว่าสระหลัง (ทัง้ สระปากห่อและปากไม่หอ่ ) แสดงให้เห็นขนาดใหญ่กว่าหรือค่าสูงกว่า • ประคอง นิมมารเหมินทร์ (2519) อธิบายความสัมพันธ์ของความหมาย และเสียงสระในคำขยาย ในภาษา อีสาน ว่า ภาษาอีสานใช้เสียงสระ อิ อี แอะ แอ เอาะ ออ บรรยายลักษณะทีป่ รากฏของสิง่ ทีม่ ี ขนาดเล็ก.....ธีรพันธ์ เหลืองทองคำ และ ประคอง นิมมารเหมินทร์ พบว่าเสียงสระในภาษาไทยถิน่ อีสาน มีความสัมพันธ์โดยตรงกับการให้ความหมายในเชิงขนาดของวัตถุ • In a recent study of group living talapoins, Keverne (1979) demonstrated that…Keverne also found…


50

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

การระบุชอ่ื ผูเ้ ขียนทีเ่ ป็นชาวต่างประเทศ สามารถทำได้ 2 วิธี 1) ให้ระบุชอ่ื ภาษาต่างประเทศในเนือ้ ความและระบุปพี มิ พ์ในวงเล็บ (ตัวอย่าง 4) 2) ให้ระบุชอ่ื เป็นภาษาไทยในเนือ้ ความก่อนและวงเล็บชือ่ ภาษาต่างประเทศและปีพมิ พ์(ตัวอย่าง 5) ตัวอย่าง 4 • Read ( 1972 a: 15-17) ได้อธิบายถึงลำดับขัน ้ ในการเตรียมทำรายงานดังนี.้ . ตัวอย่าง 5 • แมคโดนัฟ ให้ความเห็นว่า "หลักสูตรการเรียนการสอนภาษาทีม ่ ลี กั ษณะเจาะจง เป็นวิธที ด่ี ที ส่ี ดุ ทีจ่ ะ บรรลุวัตถุประสงค์หลักการของการศึกษาที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อ" ถ้าอ้างเอกสารเรือ่ งเดียว เขียนโดยผูแ้ ต่งคนเดียว แต่มหี ลายเล่มจบให้ระบุหมายเลขของเล่มทีอ่ า้ งถึงด้วย เช่น • •

(พระบริหารเทพธานี, 2546, เล่ม 3) (Willmarth, 1980 ,Vol.3)

การอ้างเอกสารหนึง่ เรือ่ งทีม่ ผี แู้ ต่ง 2 คน เมือ่ เอกสารทีอ่ า้ งถึงมีผแู้ ต่ง 2 คน ให้ระบุนามผูแ้ ต่งทัง้ 2 คน ทุกครัง้ ทีม่ กี ารอ้างโดยใช้คำ และหรือ and เชือ่ ม นามผูแ้ ต่ง (ตัวอย่าง 6) ตัวอย่าง 6 • Schlachter และ Thompson (1974) ศึกษาวิธวี จิ ยั ทีใ่ ช้ในวิทยานิพนธ์บรรณารักษศาสตร์และพบว่า... จากการวิเคราะห์วธิ วี จิ ยั ทีใ่ ช้ในวิทยานิพนธ์บรณารักษ์ศาสตร์พบว่า วิธวี จิ ยั เชิงสำรวจมีผนู้ ยิ มใช้กนั แพร่หลาย และคงจะเป็นทีน่ ยิ มใช้ตอ่ ไป (Shalachter and Thompson, 1974) •

In some studies the theoretical constructs are based on assumptions and premises about the information transfer process, Which derives from the theoretical formulation of Shannon and Weaver (1949)

การอ้างเอกสารหนึง่ เรือ่ งทีม่ ผี แู้ ต่ง 3 คน เวลาอ้างถึงเอกสารทีม่ ผี แู้ ต่ง 3 คนครัง้ แรก ให้ระบุนามผูแ้ ต่งทุกคน (ตัวอย่าง 7) เมือ่ อ้างถึงครัง้ ต่อไปให้ระบุ เฉพาะนามผู้แต่งคนแรก ตามด้วย et al. หรือ and others สำหรับเอกสารภาษาอังกฤษ และคำ และคณะ หรือ และคนอืน่ ๆ สำหรับเอกสารภาษาไทย (ตัวอย่าง 8) ตัวอย่าง 7 • คณิต มีสมมนต์,แสวง โพธิเ์ งิน และสนอง ค้านสิทธิ์ (2502:25) ได้กล่าวถึงคุณสมบัตข ิ อง แม่เหล็กว่า.... •

Sorensen, Compbell และ Poss (1975 : 8-10) ค้นพบว่า...Case,Borgman,and Meadow (1986"31) Stated:…


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

51

ตัวอย่าง 8 • คณิต มีสมมนต์ และคณะ (2502:27) กล่าวสรุปไว้ดงั นี.้ .. • Sorensen และคนอืน ่ ๆ (1975:35) ได้สรุปเพิม่ เติมว่า... • Writing is one way of making meaning from experience for ourselves and for others (Case et al.,1986:31) ข้อยกเว้น ถ้าเอกสารสองเรือ่ งทีอ่ า้ งครัง้ ต่อมา เมือ่ เขียนย่อโดยใช้ et al. และทำให้รายการทีอ่ า้ งปรากฏคล้ายกันเช่น • Bradley,Ramirez, and Soo (1973)… • Bradley,Soo and Brown(1983)… • ถ้าเขียนย่อจะเป็น Bradley et al.(1983) เหมือนกัน ในกรณีเช่นนีเ้ พือ่ ไม่ให้ผอู้ า่ นสับสนให้เขียนชือ่ ผูแ้ ต่งทุกคน การอ้างเอกสารหนึง่ เรือ่ งทีม่ ผี แู้ ต่งมากกว่า 3 คน ในการอ้างถึงทุกครัง้ ให้ระบุเฉพาะนามผูแ้ ต่งคนแรก พร้อมคำ et al. หรือ and others สำหรับเอกสาร ภาษาอังกฤษ และคำ และคณะ หรือคนอืน่ ๆ สำหรับเอกสารภาษาไทย ข้อยกเว้น ถ้าเอกสารสองเรือ่ งทีอ่ า้ งเมือ่ เขียนย่อแล้วทำให้รายการทีอ่ า้ งปรากฏคล้ายกัน ในกรณีนเ้ี มือ่ อ้างถึงเอกสาร เหล่านัน้ ในเนือ้ ความ ให้พยายามระบุผแู้ ต่งคนต่อมาเรือ่ ยๆ จนถึงชือ่ ผูแ้ ต่งทีไ่ ม่ซำ้ กัน เช่น • Takac,Schaefer,Malonet,Bryant,Cron,and Wang(1982) และ • Takac,Schaefer,Bryant,Wood,Maloney,and Cron (1982) ในเนือ้ ความการอ้างถึงจะปรากฏดังนี้ • Takac,Schaefer,Maloney et al. (1982) และ • Takac,Schaefer,Bryant et al. (1982) การอ้างเอกสารที่ผู้แต่งเป็นสถาบัน เมือ่ อ้างเอกสารทีม่ สี ถาบันเป็นผูแ้ ต่งแทรกในเนือ้ ความในระบบนาม-ปี ให้ระบุนามผูแ้ ต่งทีเ่ ป็นสถาบัน โดย เขียนชือ่ เต็มในการอ้างครัง้ แรก และถ้ามีชอ่ื ย่อทีเ่ ป็นทางการก็ให้ระบุชอ่ื ย่อนัน้ ในวงเล็บใหญ่ [ ] ไว้ดว้ ย กรณีนใ้ี นการ อ้างครัง้ ต่อมาใช้ชอ่ื ย่อนัน้ ได้ ในกรณีทไ่ี ม่มชี อ่ื ย่อ การอ้างครัง้ ต่อๆ มาให้ระบุชอ่ื สถาบันเต็มทุกครัง้ (ตัวอย่าง9) ตัวอย่าง 9 การอ้างครัง้ แรก คือ • (องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภณ ั ฑ์ [ร.ส.พ], 2519:25) • (Asian Institute of Technology [AIT],1981:19) การอ้างครั้งต่อมา • (ร.ส.พ.,2519:25) • (AIT,1981:19)


52

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

การอ้างถึงผู้แต่งที่เป็นสถาบัน ควรคำนึงถึงแนวทางดังต่อไปนี้ด้วย คือ ต้องพยายามให้ผู้อ่านไม่สับสน ระหว่างสถาบันทีอ่ า้ งถึงนัน้ กับสถาบันอืน่ ๆ ทัง้ นี้ ถ้าสถาบันนัน้ เป็นหน่วยงานรัฐบาล อย่างน้อยต้องอ้างถึงระดับกรม หรือเทียบเท่าและเขียนอ้างระดับสูงลงมาก่อน เช่น • (กรมประชาสัมพันธ์,2534 :33) • (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,คณะวิศวกรรมศาสตร์,2539 : 21) • (กระทรวงมหาดไทย,สำนักนโยบายและแผน,2538:13) • (สำนักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ,2539:109) การอ้างเอกสารหลายเรือ่ งโดยผูแ้ ต่งคนเดียวกัน ในการอ้างเอกสารหลายเรื่องที่เขียนโดยผู้แต่งคนเดียวกัน แต่ปีพิมพ์ต่างกันให้ระบุนามผู้แต่งครั้งเดียว แล้วระบุปพี มิ พ์ตามลำดับ ใช้เครือ่ งหมายจุลภาค( , ) คัน่ ระหว่างปีพมิ พ์ โดยไม่ตอ้ งระบุนามผูแ้ ต่งซ้ำอีก เช่น • (บุญยงค์ เกศเทศ,2516:74,2520:18-20,2523:14-15) • (Hassam and Grammick,1981:56,1982:154) แต่ถา้ วิทยานิพนธ์อา้ งเอกสารหลายเรือ่ ง ทีเ่ ขียนโดยผูแ้ ต่งคนเดียวกัน แต่ปพี มิ พ์ซำ้ กัน ให้ใช้ a b c d ตามหลังปีพมิ พ์สำหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ และใช้ ก ข ค ง ตามหลังปีพมิ พ์ สำหรับเอกสารภาษาไทย เช่น • (เจือ สตะเวทิน, 2516ก: 3) • (กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ, 2520ก: 3-34, 2520ข: 64) • (Katz, 1984a: 15-17) • (Katz, 1984b: 21-23) • (Bruce, 1980a: 4, 1980b: 4, 1980b: 10, 1980c: 18) การอ้างเอกสารหลายเรือ่ งโดยผูแ้ ต่งหลายคน การอ้างเอกสารหลายเรื่องที่เขียนโดยผู้แต่งต่างกัน พร้อมกัน มีวิธีเขียน 2 วิธี ให้เลือกใช้วิธีใดวิธีหนึ่ง ตลอดทั้งเล่ม คือให้ระบุนามผู้แต่งโดยเรียงตามลำดับอักษร ตามด้วยปีพิมพ์ และใส่เครื่องหมายอัฒภาค ( ; ) เอกสารทีอ่ า้ งแต่ละเรือ่ ง เช่น • (เจือ สตะเวทิน, 2516ข: 143; ฐะปะนีย์ นาครทรรพ และ ประภาศรี สีหอำไพ, 2519: 98-100; ทองสุข นาคโรจน์, 2519:83 เปลือ้ ง ณ นคร, 2512: 10-15) • (Fiedler,1967: 15; Kast and Rosenzweig,1973: 46-49; Thompson,1967:125; Woodward, 1965: 77-78) ให้เรียงตามปีพมิ พ์จากน้อยไปหามาก และใช้เครือ่ งหมายอัฒภาค (;) คัน่ ระหว่างเอกสารทีอ่ า้ งแต่ละเรือ่ ง ทัง้ นีเ้ พือ่ แสดงวิวฒ ั นาการของเรือ่ งทีศ่ กึ ษา เช่น • (Woodward, 1965: 77-78; Fiedler, 1967: 15; Thompson, 1967:125; Kast and Rosenzweig, 1973: 46-49) ในกรณีที่อ้างเอกสารหลายชื่อเรื่อง ที่มีทั้งผู้แต่งเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศให้อ้างชื่อผู้ที่แต่ง เป็นภาษาไทยจนครบก่อน แล้วจึงตามด้วยชือ่ ผูท้ แ่ี ต่งเป็นภาษาต่างประเทศโดยวิธใี ดวิธหี นึง่ ข้างต้น


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

53

การอ้างเอกสารทีไ่ ม่ปรากฏนามผูแ้ ต่ง เอกสารทีไ่ ม่ปรากฏนามผูแ้ ต่ง มีวธิ กี ารอ้างดังนี้ เอกสารที่ไม่ปรากฏนามผู้แต่งให้ลงชื่อเรื่องได้เลย • (ภูมศ ิ าสตร์แห่งทวีปเอเชีย, 2482: 15-16) • ("Study Finds," 1982:27) • the book College Bound Seniors (1979:30)… เอกสารที่ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง มีแต่ผู้ทำหน้าที่เป็นบรรณาธิการหรือผู้รวบรวม ให้ลงชื่อบรรณาธิการ หรือผูร้ วบรวม • (Anderson, ed., 1950: 143) • (Livingstone, comp., 1985: 29) • (ทวน วิรย ิ าภรณ์, บรรณาธิการ, 2505:60) • (พ.ณ ปรพมวญมารค, ผูร้ วบรวม, 2489: 564-570) การอ้างหนังสือแปล ระบุชอ่ื ผูเ้ ขียนทีเ่ ป็นเจ้าของเรือ่ ง ถ้าไม่ทราบชือ่ ผูเ้ ขียน จึงระบุชอ่ื ผูแ้ ปล เช่น • (ครอว์ฟอร์ด, 2515: 111) • (สมุท ศิรไิ ข, ผูแ้ ปล, 2507: 14-18) การอ้างเอกสารทีเ่ ป็นบทวิจารณ์ ให้ใส่ชอ่ื ผูว้ จิ ารณ์ • (Dokecki, 1973: 18) • (เกศินี หงสนันท์, 2517: 379) การอ้างเอกสารทีอ่ า้ งถึงในเอกสารอืน่ ถ้าต้องการอ้างเอกสารที่ผู้แต่งได้อ้างถึงในงานของตน การอ้างเช่นนี้ถือว่า มิได้เป็นการอ้างถึงเอกสาร นั้นโดยตรง ให้ระบุนามผู้แต่งของเอกสารทั้งสองรายการ โดยระบุนามผู้แต่งและปีพิมพ์ของเอกสารอันดับแรก ตามด้วยคำว่า อ้างถึงใน หรือ cited in แล้วระบุนามผูแ้ ต่งของเอกสารอันดับรองและปีพมิ พ์ (ตัวอย่าง 10) การอ้างเอกสารที่อ้างถึงในเอกสารอื่น ตัวอย่าง 10 • ...แท้จริงประโยชน์ที่หอพระสมุดสำหรับพระนครจะทำให้แก่บ้านเมืองได้ ไม่ใช่แต่รวมหนังสือ เก็บไว้เป็นสมบัติของบ้านเมืองอย่างเดียว ถ้าหากสามารถตรวจสอบหนังสืออันเป็นเหตุให้เกิดวิชาความรู้ พิมพ์ให้ แพร่หลายได้ ยังเป็นประโยชน์ยิ่งขึ้นเหมือนกับแจกจ่ายสมบัตินั้นไปให้ถึงมหาชนอีกชั้นหนึ่ง กรรมการจึงเห็น เป็นข้อสำคัญมาแต่แรกตั้งหอพระสมุดสำหรับพระนคร ซึ่งหอพระสมุดควรเอาเป็นธุระในเรื่องพิมพ์หนังสือด้วย (สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ, 2495: 110 อ้างถึงใน แม้นมาส ชวลิต, 2509: 38) ถ้าเอกสารอันดับรองไม่ได้ระบุปพี มิ พ์ของเอกสารอันดับแรก ให้ลงดังนี้ • (พระยาอนุมานราชธน อ้างถึงใน สายจิตต์ เหมินทร์, 2507: 25-26) • (Bradford, cited in Deutsh, 1943: 43)


54

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

ถ้ากล่าวถึงนามเจ้าของเอกสารอันดับแรกในเนื้อหาอยู่แล้ว ก็ลงแต่เพียงปีพิมพ์และเลขหน้า (ถ้ามี) ของ เอกสารอันดับแรกและชือ่ เอกสารอันดับรองไว้ได้ในวงเล็บ ( ) เช่น • สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ทรงรายงานถึงจำนวนหนังสือไทยทีม ่ อี ยูใ่ นหอพระสมุดสำหรับ พระนครในปี พ.ศ. 2459 ดังนีค้ อื ...(2459: 60 อ้างถึงใน แม้นมาส ชวลิต, 2509: 24) • พระยาอนุมานราชธนในเรือ่ ง แหลมอินโดจีนสมัยโบราณ (สายจิตต์ เหมินทร์, 2507: 25-26)… • เรือ่ ง The Journals of Gamaliel Bradford, 1883-1932 (Deutsch, 1943: 43) ได้รายงาน... • หรือ Bradford (Deutsch, 1943: 43) ได้กล่าวถึงในการเดินทางตอนหนึง่ ว่า... การอ้างถึงส่วนหนึ่งของหนังสือรวมบทความ การอ้างถึงส่วนหนึ่งของหนังสือซึ่งเป็นสิ่งพิมพ์รวมบทความ หรือผลงานของผู้เขียนหลายคนและมี ผูร้ บั ผิดชอบในการรวบรวม หรือทำหน้าทีบ่ รรณาธิการ ให้ระบุเฉพาะนามผูเ้ ขียนบทความ ในกรณีทไ่ี ม่ปรากฏนาม ผูเ้ ขียนบทความ ให้ใช้วธิ กี ารอ้างอิงตามแบบเดียวกับการอ้างเอกสาร ทีไ่ ม่ปรากฏนามผูแ้ ต่งทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น การอ้างเอกสารพิเศษหรือสือ่ ลักษณะอืน่ การอ้างถึงเอกสารพิเศษ เช่น ต้นฉบับตัวเขียว รายการวิทยุ โทรทัศน์ สไลด์ ฟิลม์สตริปส์ เทป แผนที่ เป็นต้น ให้ระบุลักษณะของเอกสารพิเศษหรือสื่อนั้นๆ • ต้นฉบับตัวเขียน คัมภีรโ์ บราณ • (London, British Library, Arundel MSS; 285, fol. 165b) • ("การเกต". สมุดไทยขาว อักษรไทยเส้นดินสอดำ, 1:55) • ("ทีฆนิกายมหาวคคปาลี." ฉบับล่องชาด, ผูก 11) • ("เรือ่ งงบประมาณการจ่ายเงินแผ่นดิน ร.ศ.111-112." หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น. 1-3. เลขที่ 3, 10, 11.) • รายการวิทยุโทรทัศน์ • (กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, รายการโทรทัศน์ ชุด "มรดกไทย") • สไลด์ ฟิลม ์ สตริปส์ • (กรมส่งเสริมการเกษตร, สไลด์) • เทป (ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช, เทปตลับ) เอกสารพิเศษเหล่านี้ ถ้าในการอ้างถึงหัวข้อใดก็ตามทีม่ นี ามซ้ำกัน ให้ใช้อกั ษร ก ข ค ง หรือ a b c d กำกับไว้หลังชือ่ เช่นกัน เช่น (พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ก. สมุดไทยดำอักษรไทยเส้นตรง: 42-43) (พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ก. สมุดไทยดำอักษรไทยเส้นตรง: 24-44) การอ้างการสือ่ สารระหว่างบุคคล การสือ่ สารระหว่างบุคคล อาจเป็นจดหมาย บันทึก การสนทนา การสัมภาษณ์ ฯลฯ ให้ระบุชอ่ื ทีผ่ เู้ ขียน สือ่ สารด้วย พร้อมวันทีถ่ า้ ทำได้ เช่น • P.K. Nought (personal communication, April 10, 1983) mentioned… • (Wichai Sangsakda, interview, January 8, 1992)


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

• •

55

(เสนอ อินทรสุขศรี, จดหมาย, 10 มกราคม 2530) (กระมล ทองธรรมชาติ, สัมภาษณ์, 5 กันยายน 2529)

การอ้างอิงทีไ่ ม่ได้อา้ งจากต้นฉบับแต่เป็นการอ้างอิงต่อให้ใช้คำว่า "อ้างโดย" เช่น • Smith (1984 อ้างโดย Harrington, 1989) กล่าวว่า • ภาพประกอบให้ใช้คำว่า "ภาพที"่ • ตารางประกอบให้ใช้คำว่า "ตารางที"่ การอ้างทีม่ าของตารางและภาพ การเขียนชื่อผู้แต่งให้ใช้หลักการ เดียวกับการเขียนอ้างแบบตามท้ายข้อความในเนื้อเรื่องด้วย ตามด้วย วงเล็บปีทพ่ี มิ พ์ เช่น • ตารางที่ 1 ...................................................ที่มา: Bose และคณะ (1984) • การอ้างที่มาของภาพ • ภาพที่ 1 ........................................................ที่มา: Johnson และ Smith (1980) การอ้างอิงจากเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ อนุญาตให้อา้ งอิงข้อมูลจาก website ของสถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการ บริษทั หรือ หน่วยงานเอกชน ทีม่ ชี อ่ื เสียงเท่านัน้ ไม่อนุญาตให้ใช้ขอ้ มูลจาก Website ส่วนบุคคลทีส่ ร้างขึน้ หรือข้อมูลจากการเสนอความคิดเห็น web board มีชอ่ื ผูจ้ ดั ทำหรือผูผ้ ลิต การอ้างอิงในบทความ ตัวอย่าง เน้นผู้แต่ง • ข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษ (2542) ระบุวา่ สารเคมีอน ั ตราย วัตถุอนั ตราย สารอันตราย หมายถึง ธาตุ หรือสารประกอบทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ป็นพิษหรือเป็นอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์ พืช และทำให้ทรัพย์สนิ และ สิง่ แวดล้อมเสือ่ มโทรม เน้นเนื้อหา • สารเคมีอน ั ตราย วัตถุอนั ตราย สารอันตราย หมายถึง ธาตุ หรือสารประกอบทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ป็นพิษ หรือเป็นอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์ พืช และทำให้ทรัพย์สนิ และสิง่ แวดล้อมเสือ่ มโทรม (กรมควบคุม มลพิษ, 2542)


56

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

การเขียนบรรณานุกรม ในการเขียนบรรณานุกรม จำเป็นจะต้องมีการอ้างอิง บอกแหล่งทีม่ าของข้อมูล ซึง่ จะปรากฏอยูใ่ นบรรณานุกรม ท้ายเล่มหรือท้ายบท การอ้างอิงบรรณานุกรม หมายถึง การอ้างอิงแหล่งสารนิเทศซึง่ เป็นทฤษฎี ข้อมูล ความรู้ มาประกอบ ในผลงานทางวิชาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ เพื่อบอกแหล่งที่มาของสารนิเทศอันเป็นการ ให้เกียรติแก่เจ้าของผลงานเหล่านัน้ แบ่งตามประเภทการอ้างอิงได้ดงั นี้ # APA (American Psychological Association) การอ้างอิงระบบ APA (American Psychological Association) เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนอ้างอิง บรรณานุกรม ในผลงานทางวิชาการทางด้านศึกษาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ # Vancouver Style การอ้างอิงระบบ Vancouver เป็นแนวทางในการเขียนอ้างอิงบรรณานุกรมในผลงานทางวิชาการทางด้าน แพทยศาสตร์ และวิทยาศาสตร์สุขภาพ การเขียนบรรณานุกรมที่แสดงถึงเอกสารที่อ้างอิงทั้งหมดในรายงานการวิจัยนั้น การเขียนเอกสารอ้างอิงให้ใส่ คำว่า “บรรณานุกรม” ตัวอักษร Angsana New หนา ขนาด 18 พอยต์ ไว้กลางหน้ากระดาษ ไม่ขดี เส้นใต้ ในระดับชือ่ เอกสารอ้างอิงตามลำดับใส่เอกสารอ้างอิงภาษาไทยก่อนแล้วตามด้วยภาษาอังกฤษ วิธกี ารใส่รายชือ่ เอกสารอ้างอิง มีดงั นี้ 1. เรียงลำดับชื่อผู้แต่งหรือผู้รายงานตามอักษร 2. ชือ่ ผูแ้ ต่งหรือผูร้ ายงาน ภาษาไทย เขียนชือ่ ตัว แล้วตามด้วยชือ่ สกุล ถ้ามียศหรือบรรดาศักดิ์ ให้เขียนไว้ หลังชือ่ สกุล เช่น เพียร เวชบุล, แพทย์หญิง, คุณ เป็นต้น ส่วนภาษาอังกฤษ เขียนชือ่ สกุล แล้วตามด้วยชือ่ ตัว 3. ระบุชื่อเอกสารอ้างอิง 4. ระบุวา่ พิมพ์ครัง้ ทีเ่ ท่าไร (ถ้ามี) 5. ระบุสถานทีส่ ำนักพิมพ์ สำนักพิมพ์ พ.ศ. ทีพ่ มิ พ์ 6. ระบุจำนวนหน้าที่อ้างอิง รายละเอียดการเขียนตามตัวอย่าง ดังนี้


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

1. หนังสือ 1.1

หนังสือทั่วไป รูปแบบ ชือ่ ผูแ้ ต่ง. \\ ปีทพ่ี มิ พ์. \\ ชือ่ หนังสือ. \\ จำนวนเล่ม (ถ้ามี). \\ ครัง้ ทีพ่ มิ พ์ (ถ้ามี). \\ สถานทีพ่ มิ พ์: \ สำนักพิมพ์.

ตัวอย่าง ชัชนี วายลี,่ วันทนีย์ ศรีรฐั , และวิสสุดา นาคทัต. 2524. ภูมศิ าสตร์การตัง้ ถิน่ ฐาน. กรุงเทพมหานคร: รุง่ ศิลป์. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และสุชาติ สวัสดิศรี (บรรณาธิการ). 2518. ประวัตศิ าสตร์และนักประวัตศิ าสตร์. กรุงเทพมหานคร: ประพันธ์สาส์น. ทองโรจน์ อ่อนจันทร์. 2521. หลักเศรษฐศาสตร์เกษตร. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช. พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโต). 2531. พระพุทธศาสนาในอาเซีย. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. FAO. 1991. Improving Training Quality: A Trainer's Guide to Evaluation. Rome: Food and Agriculture Organization of the United Nations. Goodwin, C. J. 1995. Research in Psychology: Methods and Design. New York: John Wiley & Sons, Inc. Hopkins, D. 1994. A Teacher's Guide to Classroom Research. 2nd ed. Philadelphia: Open University. Katz, W. A. 1974. Introduction to Reference Work. 2 vols. 2nd ed. New York: McGraw-Hill. 1.2 หนังสือแปล รูปแบบ ชือ่ ผูแ้ ปล. \\ ปีทพ่ี มิ พ์. \\ ชือ่ หนังสือ. \\ สถานทีพ่ มิ พ์: \ สำนักพิมพ์. \\ แปลจาก (translated from) ผูแ้ ต่ง. \\ ปีทพ่ี มิ พ์. \\ ชือ่ หนังสือ. \\ สถานทีพ่ มิ พ์: สำนักพิมพ์. ตัวอย่าง นฤจร อิทธิจรี ะจรัส. 2535. แนวความคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาของเฮอร์เบิรต์ สเปนเซอร์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. แปลจาก L. A. Coser. 1971. Masters of Sociological Thought: Ideas in Historical and Social Context. New York: Harcourt Brace Jovanovich, Inc. ส. วาสนา ประวาลพฤกษ์. 2538. นักวางแผนวิจยั ปฏิบตั กิ าร. กรุงเทพมหานคร: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. แปลจาก S. Kemmis and R. McTaggart (eds.). 1988.

57


58

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

1.3 หนังสือที่จัดพิมพ์ในโอกาสพิเศษ รูปแบบ ให้ลงรายการเหมือนหนังสือทั่วไป โดยเพิ่มเติมรายละเอียดของหนังสือไว้ในวงเล็บท้าย รายการ เมือ่ จบข้อความให้ใส่เครือ่ งหมายมหัพภาค (.) กรณีไม่ปรากฏชือ่ ผูแ้ ต่ง จะใช้คำ นิรนาม หรือใส่ชอ่ื เอกสารแทนในตำแหน่งของผูแ้ ต่ง ให้เลือกเพียงแบบเดียวเท่านั้น ตัวอย่าง นิรนาม. 2496. ชุมนุมคติธรรม จอมพล ป. พิบลู สงคราม และท่านผูห้ ญิงละเอียด พิบลู สงคราม. พระนคร: โรงพิมพ์ไทยบริการ. (พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพ นายขีต ขีตตะสังคะ และ นายเจริญ พันธุก์ ระวี ณ เมรุวดั พระศรีมหาธาตุ อ.บางเขน พระนคร 27 เมษายน 2496). รวมรัฐนิยม. 2484. พระนคร: โรงพิมพ์สมัยนิยม. (พิมพ์แจกในงานฌาปนกิจศพ นางล้วน พฤกษุโช ณ วัดสุนทรธรรมทาน 30 เมษายน 2484). 2. บทความ 2.1 บทความในหนังสือที่มีผู้เขียนคนเดียวกันตลอด หรือไม่มีบรรณาธิการ รูปแบบ ชือ่ ผูเ้ ขียนบทความ. \\ ปีทพ่ี มิ พ์. \\ "ชือ่ บทความ." \ ชือ่ เอกสาร. \\ จำนวนเล่ม (ถ้ามี).\\ ครัง้ ทีพ่ มิ พ์ (ถ้ามี). \\ สถานทีพ่ มิ พ์: \ สำนักพิมพ์, \ เลขหน้า. ตัวอย่าง คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. 2537. “การศึกษากับการสืบทอดและการเสริมสร้างวัฒนธรรม.” การศึกษา กับการถ่ายทอดวัฒนธรรม: กรณีหนังใหญ่วดั ขนอน. กรุงเทพมหานคร: บณิยก์ ารพิมพ์. 3-4 Holland, J. L. 1973. “Making vocational choice.” A Theory of Career. New Jersey: Prentice-Hall, 2-18. 2.2 บทความในหนังสือทีม่ บี รรณาธิการหรือผูร้ วบรวม รูปแบบ ชือ่ ผูเ้ ขียนบทความ. \\ ปีทพ่ี มิ พ์. \\ "ชือ่ บทความ." \ ใน (in) ชือ่ บรรณาธิการ. \\ ชือ่ หนังสือ. \\ จำนวนเล่ม (ถ้ามี). \\ ครัง้ ทีพ่ มิ พ์ (ถ้ามี). \\ สถานทีพ่ มิ พ์: \ สำนักพิมพ์, \ เลขหน้า. ตัวอย่าง ณรงค์ชยั อัครเศรณี. 2524. "กลยุทธ์ในการระดมเงินทุนจากต่างประเทศ." ใน ลือชัย จุลาสัย และ มิง่ สรรพ์ สันติกาญจน์. (บรรณาธิการ). เศรษฐกิจไทย: อดีตและอนาคต. กรุงเทพมหานคร: บางกอกการพิมพ์, 273-293.


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

59

Ley, D. and M. S. Samuels. 1978a. "Introduction: Contexts of modern humanism in Geography." In D. Ley, and M. S. Samuels. (eds.). Humanistic Geography: Prospects and Problems. Chicago: Maaroufa Press, 1-17. _____ . 1978b. "Epistemological orientation." In D. Ley and M. S. Samuels, (eds.). Humanistic Geography : Prospects and Problems. Chicago: Maaroufa Press, 19-21. 2.3 บทความในวารสาร รูปแบบ ชือ่ ผูเ้ ขียนบทความ. \\ ปีทพ่ี มิ พ์. \\ "ชือ่ บทความ." \ ชือ่ วารสาร \\ ปีท่ี \ (ฉบับที่ ถ้ามี): \ เลขหน้า. ตัวอย่าง นงลักษณ์ วิรชั ชัย และ สุวมิ ล ว่องวานิช. 2541. “การวิเคราะห์การจัดอันดับมหาวิทยาลัยของประเทศในเอเซีย.” วารสารวิธวี ทิ ยาการวิจยั 11 (2): 21-50. Clark, J. S., M. Fulton, and J. T. Scott, Jr. 1993. “The consistency of land values, land rents, and capitalization formulas.” American Journal of Agriculture Economics 75 (1):147-155. McCarthy, B. and J. Hagan. 1992. “Mean streets: The theoretical significance of situational delinquency among homeless youths.” American Journal of Sociology 98 (3): 597-627. ในกรณีที่บทความไม่จบในฉบับ และยังมีพิมพ์ต่อในฉบับต่อๆ ไป ให้ใช้เครื่องหมายอัฒภาค ( ; ) คั่น แล้วใส่ฉบับที่ ของวารสารฉบับต่อไป คั่นด้วยเครื่องหมายทวิภาค (:) พร้อมกำกับเลขหน้า ทำเช่นนี้เรื่อยๆ จนกว่าบทความนั้นจะจบ บริบูรณ์จึงใส่เครื่องหมายมหัพภาค (.) ตัวอย่าง สมชัย ฤชุพนั ธ์. 2519. “หลักการในการจัดเก็บภาษีมรดกและภาษีการให้.” สรรพากรสาส์น 23 (3): 13-23; (4): 37-53. 2.4

บทความในสารานุกรม รูปแบบ ชือ่ ผูเ้ ขียนบทความ. \\ ปีทพ่ี มิ พ์. \\ “ชือ่ บทความ.” \ ชือ่ สารานุกรม \\ เล่มที:่ \ เลขหน้า.

ตัวอย่าง สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์. 2529. “การถนอมอาหารของชาวใต้.” สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ 1: 163-165. Bennett, J. M. 1989. “Speed reading.” The World Book Encyclopedia 18: 774.


60

คูม่ อื วิจยั

2.5

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

บทความในหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร รูปแบบ ชือ่ ผูเ้ ขียนบทความ. \\ ปีทพ่ี มิ พ์. \\ “ชือ่ บทความ.” \ ชือ่ หนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร \\ (วัน \ เดือน \ ปี): \ เลขหน้า.

ตัวอย่าง พชร สินสวัสดิ.์ 2536. “การปรับกลยุทธ์เพือ่ ดึงนักลงทุนไม่หนีไทย.” สยามรัฐ (4 กรกฎาคม 2536): 7. Dasna, O. 1993. “Mr.Clean campaigns in Thailand.” Bangkok Post (July 3, 1993): 23. 3. บทวิจารณ์หนังสือวารสาร รูปแบบ นามผูเ้ ขียนบทวิจารณ์. \\ ปี. \\ วิจารณ์หนังสือ (ชือ่ หนังสือ), \ โดย \ ชือ่ ผูแ้ ต่งหนังสือ. \\ ชือ่ วารสาร \\ ปีท่ี \ (ฉบับที่ ถ้ามี): \ เลขหน้า. ตัวอย่าง ภาวนา เขมะรัตน์. 2534. วิจารณ์หนังสือรายงานการวิจยั เรือ่ งการปรับปรุงระบบราชการด้านการจัดองค์การ, โดย อมร รักษาสัตย์ และ ถวัลย์ วรเทพพุฒพิ งษ์. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์ 31: 193-205. Millar, T. B. 1976. Review of three and a half powers: The new balance in Asia, by H. C. Hinton. Pacific Affairs 49: 114-115. 4. วิทยานิพนธ์ รูปแบบ ชือ่ ผูเ้ ขียนวิทยานิพนธ์. \\ ปี. \\ ชือ่ วิทยานิพนธ์. \\ ชือ่ ปริญญา \ สาขา, \ มหาวิทยาลัย. ตัวอย่าง สายใจ ทองเนียม. 2544. ความคิดเห็นของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตทีม่ ตี อ่ การอ่าน. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยรังสิต. Thongneam, S. 2006. Opinion of students of Rangsit University on Reading. Master of Arts (Thai), Rangsit University. Wuthironarith, V. 2004. Comparative Study to Student's Achievement in NUR 343 Mental Health Nursing Practicum Lecture with VCD and Role - Play Practice. Master of Nursing Science, Rangsit University.


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

61

5. เอกสารอัดสำเนาและเอกสารที่ไม่ได้ตีพิมพ์อื่นๆ รูปแบบ ชือ่ ผูเ้ ขียน. \\ ปีทพ่ี มิ พ์. \\ ชือ่ เอกสาร. \\ สถานทีพ่ มิ พ์. \\ (อัดสำเนา หรือ Mimeographed). ตัวอย่าง เอนก จันทรวงศ์. 2530. การใช้ทรัพยากรน้ำ. สำนักงานคณะกรรมการแหล่งน้ำแห่งชาติ ศูนย์วเิ คราะห์และ ประสานแผนปฏิบตั กิ าร สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (อัดสำเนา). Kanokbura, R. 1982. Lecture Note on Anthropology. Department of Sociology and Anthropology, Faculty of Social Sciences, Rangsit University. (Mimeographed). 6. รายงาน รูปแบบ ชือ่ ผูร้ ายงาน. \\ ปีทพ่ี มิ พ์. \\ ชือ่ รายงาน. \\ รายงานเสนอต่อใคร. \\ วัน \ เดือน \ ปีของรายงาน. \\ สถานทีพ่ มิ พ์: \ สำนักพิมพ์. ตัวอย่าง ศักดิ์ สมานกิจ. 2516. บ้านสำหรับคนชัน้ กลาง. รายงานเสนอกรรมการการเคหะแห่งชาติ. 20 เมษายน 2516. กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพการพิมพ์. Carpenter, G. 1940. Housing Project for the Low Income. Report to the Mayor's Committee. May 15, 1940. Lansing, MI: Good Service. 7. สิ่งพิมพ์ของรัฐบาล 7.1 ราชกิจจานุเบกษา รูปแบบ ชือ่ เอกสาร. \\ ปีทพ่ี มิ พ์. \\ เล่มที่ \\ ตอนที,่ \ เลขหน้า. ตัวอย่าง ราชกิจจานุเบกษา. 2511. เล่มที่ 85 ตอนที่ 123, หน้า 2. 7.2 ประกาศ คำสัง่ รูปแบบ ชือ่ หน่วยงาน. \\ ปี. \\ ชือ่ เอกสาร. \\ วัน \ เดือน \ ปี ทีป่ ระกาศหรือมีคำสัง่ .


62

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

ตัวอย่าง มหาวิทยาลัยรังสิต. 2548. ประกาศสภามหาวิทยาลัยรังสิต เรือ่ ง ข้อบังคับว่าด้วยการศึกษาขัน้ บัณฑิต ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2548. 15 มิถนุ ายน 2548. มหาวิทยาลัยรังสิต. 2550. คำสัง่ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่ ว086/2550 เรือ่ ง แต่งตัง้ คณกรรมการจัดงาน ประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยรังสิต ครัง้ ที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2550. 19 กันยายน 2550. 8. หนังสือพิมพ์ในกรณีอ้างข่าวทั่วไป รูปแบบ ชือ่ หนังสือพิมพ์. \\ ปีทพ่ี มิ พ์. \\ สถานทีพ่ มิ พ์: วัน \ เดือน \ ปี. \\ เลขหน้า. ตัวอย่าง มติชน. 2535. กรุงเทพมหานคร: 18 ธันวาคม 2547. หน้า 1. Bangkok Post. 2005. Bangkok: December 18, 2005. p. 2. 9. แผนที่ รูปแบบ ชือ่ ผูจ้ ดั ทำ. \\ ปีทพ่ี มิ พ์. \\ ชือ่ แผนที.่ \\ (มาตราส่วน) [ถ้ามี] ตัวอย่าง กรมทางหลวง. 2548. แผนทีแ่ สดงทางหลวงประเทศไทย. (มาตราส่วน 1: 5,000) 10. การสัมภาษณ์ รูปแบบ ชือ่ ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์. \\ ปีทส่ี มั ภาษณ์. \\ ตำแหน่งผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ (ถ้ามี). \\ สัมภาษณ์, \ วัน \ เดือน \ ปี. ตัวอย่าง อารีรตั น์ แย้มเกษร. 2551. ผูอ้ ำนวยการศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต. สัมภาษณ์, 18 มิถนุ ายน 2551. Yamkesorn, A. 2008. Teaching & Learning Support and Development Center of Rangsit University, Rangsit University. Interview, June 18, 2008.


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

63

11. สื่อไม่ตีพิมพ์ 11.1 โสตทัศนวัสดุ โสตทัศนวัสดุ ได้แก่ เทปบันทึกเสียง เทปบันทึกภาพ สไลด์ ฟิลม์ สตริป ภาพยนตร์ รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ รูปแบบ ชือ่ ผูจ้ ดั ทำ. \\ ปี \ เดือน \ วันที่ เผยแพร่. \\ (หน้าทีท่ ร่ี บั ผิดชอบ), \ ชือ่ เรือ่ ง. \\ [ระบุลกั ษณะของ โสตทัศนวัสดุ]. \\ สถานทีห่ รือหน่วยงานทีเ่ ผยแพร่ (ถ้ามี) ตัวอย่าง สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. 2533. บันทึกปากคำ: พฤศจิกายน - ธันวาคม 2532 และ มกราคม 2533. [เทปบันทึกเสียง]. Clark, K. B. 1976. (Speaker), Problems of freedom and behavior modification [Cassette Recording No. 7612]. Washington D.C.: American Psychological Association. 11.2 แฟ้มข้อมูลในโปรแกรมคอมพิวเตอร์และซีดีรอม รูปแบบ ชือ่ ผูจ้ ดั ทำ. \\ ปีทจ่ี ดั ทำ. \\ ชือ่ แฟ้มหรือชือ่ โปรแกรม. \\ [โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือ ซีดรี อม (ระบุหมายเลข)]. \\ สถานทีผ่ ลิต, \ สถานทีห่ รือหน่วยงานทีเ่ ผยแพร่. ตัวอย่าง Fernandes, F. D. 1972. Theoretical prediction of interference loading on aircraft stores: Part 1. Subsonic speeds, [Computer Program]. Pomona, CA: General Dynamics, Electro Dynamics Division. (National Aeronautics and SpaceAdministration Report No. NASA CR-112065-1). U.S. Bureau of the Census. 1991. Census of Population and Housing, 1990: Summany Tape File 3a. Washington, D.C.: U.S. Bureau of the Census. _______. 1992. 1987 Census of Manufacturing Industries by Zip Code on CD-Rom. Washington, D.C.: U.S. Bureau of the Census. ข้อมูลอืน่ ๆ ทีค่ วรทราบ 11.2.1 ถ้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ไม่ได้ตั้งชื่อไว้ ให้เขียนคำอธิบายสั้นๆ เกี่ยวกับข้อมูลในโปรแกรมว่าเป็นโปรแกรม เกี่ยวกับอะไร ขีดเส้นใต้ไว้ในวงเล็บเล็ก 11.2.2 ถ้าแฟ้มข้อมูลมีเลขที่ เช่น ข้อมูลในซีดรี อมให้ระบุเลขทีไ่ ว้ในวงเล็บหลังชือ่ แฟ้ม 11.2.3 ปีที่จัดทำ ในที่นี้หมายถึงปีที่สร้างโปรแกรม หรือปีที่เผยแพร่โปรแกรม 11.2.4 สถานทีผ่ ลิต สถานทีเ่ ผยแพร่ ถ้ามีสถานทีเ่ พียงอย่างใดอย่างหนึง่ หรือ สถานทีผ่ ลิตเป็นสถานทีเ่ ดียวกับ ทีเ่ ผยแพร่ ให้ระบุแต่เพียงชือ่ เดียว


64

คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

11.3 อินเทอร์เน็ต/สื่ออิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบ ชือ่ ผูเ้ ขียน. \\ ปีทต่ี พี มิ พ์. \\ “ชือ่ บทความ.” \\ ชือ่ วารสาร \ (Online). \\ ระบุ website, วัน\ เดือน\ ปี. ที่สืบค้นข้อมูล. ชือ่ ผูเ้ ขียน. \\ ปีทต่ี พี มิ พ์. \\ ชือ่ บท. \\ ใน \ ชือ่ เอกสาร \ (Online). \\ ระบุ website., \ วัน \เดือน \ ปี. (ที่สืบค้นข้อมูล) ชือ่ ผูเ้ ขียน. \\ ปีทต่ี พี มิ พ์. \\ ชือ่ เอกสาร \ (Online). \\ ระบุ website., \ วัน \ เดือน \ ปี.(ทีส่ บื ค้นข้อมูล) ตัวอย่าง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต. 2547. วิสยั ทัศน์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต (Online). www.rsu.ac.th, 12 กุมภาพันธ์ 2550. McNamara, C. 1998a. Program evaluation. In Basic Guide to Program Evaluation (Online). www.mapnp.org/library/evaluatn/fnl_eval.htm, April 19, 2000. _______. 1998b. Basic Guide to Program Evaluation (Online). www.maponp.org/library/evaluatn/ fnl_eval.htm, January 6, 2006.


คูม่ อื วิจยั

โครงการ RSU Rearch Successors Program (I)

a

p

p

e

n

d

i

x

65


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.