คู่มือบุคลากร

Page 1

คำำนำ ำ คู่มือบุคลำกรฉบับนี้ จัดทำำขึ้น เพือ่ ให้บคุ ลำกรใช้เป็ นแนวทำงในกำรปฏิบตั งิ ำนในเรื่องที่เกี่ยว กับบุคลำกรของมหำวิทยำลัย ซึ่งได้รวบรวมหลักเกณฑ์ของระเบียบ ประกำศ และแนวทำงปฏิบตั ติ ่ำงๆ เอำไว้ เพือ่ ให้บคุ ลำกรได้ศึกษำและมีควำมเข้ำใจและถือปฏิบตั ไิ ด้ถูกต้อง รวมถึงเพือ่ ให้บคุ ลำกรทรำบถึง สิทธิและสวัสดิกำรต่ำงๆ ที่มหำวิทยำลัยจัดให้กบั บุคลำกร จึงขอควำมร่วมมือจำกบุคลำกรศึกษำและยึด เป็ นแนวทำงในกำรปฏิบตั งิ ำนต่อไป ข้อผิดพลำดประกำรใดที่เกิดขึ้นในคู่มือฉบับนี้ ผูจ้ ดั ทำำต้องกรำบขออภัยมำ ณ โอกำสนี้ และ จะพยำยำมแก้ไขให้ถูกต้องเท่ำที่จะกระทำำได้ในโอกำสต่อไป สำำนักงำนบุคคล


สารบัญ หมวดที่ 1

การคัด เลือ กและการแต่ง ตัง้ 7 1.1. นโยบาย 1.2 ประเภทของบุคลากร 1.3 คุณสมบัติของบุคลากร 8 1.4 อายุงาน 1.5 การประกันเข้าทำางาน หมวดที่ 2 ค่า ตอบแทน 9 2.1 นโยบาย 2.2 ข้อพิจารณากำาหนดอัตราค่าจ้าง 2.3 การเลื่อนขั้นเงินเดือน 2.4 วันและสถานที่จ่ายเงินเดือน 10 2.5 การทำางานล่วงเวลา และในวันหยุด

2.11 ค่าเช่าบ้านอาจารย์ชาวต่างชาติ หน้า

2.6 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกสถานที่ 11 2.7 การกำา หนดภาระงานสอนและค่าตอบแทนการสอน เกินภาระงาน 15 2.8 ค่าตอบแทนการสอนวิชาสหกิจศึกษา 20 2.9 ค่าตอบแทนตำาแหน่งทางวิชาการ 21 2.10 ค่าตอบแทนตำาแหน่งบริหาร 22

หมวดที่ 3 วัน -เวลาทำา งาน และวัน หยุด 23 3.1 นโยบายและเวลาพักปกติ 3.2 วันและเวลาทำางานปกติ 3.3 วันหยุดประจำาสัปดาห์ หน้า 3.4 วั น ห ยุ ด ป ร ะ เ พ ณี เ ป็ น ไ ป ต า ม ป ร ะ ก า ศ ข อ ง มหาวิทยาลัย 3.5 การลงเวลาทำางาน หมวดที่ 4 ประเภทและหลัก เกณฑ์ก ารลาหยุด 24 4.1 การลาป่วย 25 4.2 การลากิจ 4.3 การลาพักผ่อนประจำาปี 4.4 การลาอุปสมบท หรือ การลาไปประกอบพิธีฮัจย์ 26 4.5 การลาคลอดบุตร 4.6 การลาเพื่อราชการทหาร 27 4.7 การลาศึกษา อบรม ดูงาน หรือปฏิบัติงานวิจัย 4.8 การลาไปต่างประเทศ 4.9 การขาดงาน


หมวดที่ 5 การพ้น สภาพจากการเป็น บุค ลากร 32 5.1 การลาออก 5.2 การครบเกษียณอายุ 33 5.3 การเลิกจ้าง 5.4 สิ้นสุดอายุสัญญาว่าจ้าง หมวดที่ 6 34 6.1 6.2 บุตร 6.3 54 6.4

สวัส ดิก าร การประกันสังคม ค่าเล่าเรียนและเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของ 51 การประกันอุบัติเหตุ กองทุนสำารองเลี้ยงชีพ

6.5 เงินช่วยเหลือบุคลากร 56 6.6 เครื่องแบบ หมวดที่ 7 การประเมิน ผลการปฏิบ ต ั ิง าน 57 7.1 วัตถุประสงค์ 7.2 เกณฑ์ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน หมวดที่ 8 วิน ัย และมาตรการทางวิน ัย 59 8.1 วัตถุประสงค์ 8.2 วินัย 8.3 มาตรการทางวินัย 60 ก า ร แ ต่ ง ตั้ ง ค ณ า จ า ร ย์ ป ร ะ จำา ใ ห้ ด ำา ร ง ตำา แ ห น่ ง ท า ง วิช าการ 62

นโยบายการสอนของมหาวิท ยาลัย รัง สิต 68 ก า ร คุม ส อ บ แ ล ะ ร ะ เ บีย บ ป ฏิบ ัต ิส ำา ห รับ ก ร ร ม ก า ร คุม ส อ บ 72 คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ข องอาจารย์ 74 คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง บุ ค ล า ก ร ส า ย ส นั บ ส นุ น 76


มหำวิทยำลัยรังสิต Rangsit University มหาวิทยาลัยรังสิต ตัง้ อยู่บนเนื้อที่ 161 ไร่ ตำาบลหลักหก ถนนพหลโยธิน อำาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี บริเวณรอบข้างมหาวิทยาลัยเป็ นชุมชน"เมืองเอก" เนื้อที่ 4,000 ไร่ มหาวิทยาลัยอยูใ่ นทำาเล ที่มสี ภาพแวดลอ้ มดีเยี่ยม ประกอบด้วยสิ่งอำานวยความ สะดวกครบครันเช่น สนามกอล์ฟ สระว่ายน้าำ สนามเทนนิส เป็ นต้น มีอากาศ บริสุทธิ์ แจ่ มใส เหมาะสำา หรับเป็ นที่ตงั้ ของสถาบันการศึ กษาชัน้ สู ง มหาวิทยาลัยรังสิตเป็ นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนทีม่ จี ดุ มุ่งหมายสำาคัญคือ การผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาทีต่ รง กับความต้องการในการพัฒนาประเทศ โดยมุ่งเน้น ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การออกแบบ และ การจัดการเป็ นสำาคัญ รวมถึงวิชาชีพอิสระ ทีส่ ามารถสร้างงานของตนเองได้ ความคิดทีจ่ ะดำาเนินการจัดตัง้ มหาวิทยาลัยรังสิตมีมานานแล ้ว โดย นายประสิทธิ์ อุไรรัตน์ (อดีตผูว้ ่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด อดีตผูว้ ่าการการทางพิเศษ และอดีตรองผูว้ ่า ราชการกรุงเทพมหานคร) ตัง้ แต่ เมื่อครัง้ ยังอยู่ในราชการว่า จะรวบรวมบุคคลที่รกั ใคร่ชอบพอ สร้าง กิจกรรมขึ้นอย่างหนึ่งทีจ่ ะอำานวยประโยชน์แก่ สังคมส่วนรวมได้เต็มที่ โดยได้ตงั้ ปณิธานไว้ว่า "เราจะสร้าง เยาวชนและคนรุ่นใหม่ให้ เป็ นบัณฑิตทีเ่ พียบพร้อมด้วยวิทยาการและเพียบพร้อมด้วยจริยธรรม" คณะผูก้ ่อตัง้ โครงการ มหาวิทยาลัยรังสิตประกอบด้วย นักการศึกษา นักวิชาการ และผูช้ าำ นาญการจาก รัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่มคี วามเห็นตรงกันว่า การศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศยังไม่เพียงพอกับความ ต้องการ โดยเฉพาะในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การออกแบบ และการจัดการเพือ่ ให้บรรลุเป้ าหมายดัง กล่าว มหาวิทยาลัยรังสิตจึงได้กาำ หนดแนวทางการจัดการศึกษาไว้อย่างชัดเจน ดังนี้ม่งุ เน้นในเรื่องของ มาตรฐานการศึกษาและความเป็ นเลิศทางวิชาการ ส่งเสริมพัฒนาหลักสูตร และสาขาวิชาให้สอดคลอ้ ง และ ทันต่อความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ส่งเสริมให้มกี ารศึกษาภาคทฤษฎีควบคู่และสัมพันธ์ไป กับภาคปฏิบตั ิ ซึง่ นอกเหนือจากการฝึ กฝนปฏิบตั ิงาน หรือการเรียนรูโ้ ดยตรงจากธุรกิจ อุตสาหกรรม หรือ สถานประกอบการในสาขาที่ตนศึกษาแลว้ ยังมุ่งส่งเสริมให้คณะและสาขาวิชา ต่างๆ ของมหาวิทยาลัยเป็ น


องค์กรหรือสถานปฏิบตั ิงานในตัวเอง ทัง้ นี้โดยมีจดุ มุ่งหมายให้องค์กรเหล่านี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา และยังเป็ นการให้บริการชุมชน อีกส่วนหนึ่งด้วย มหาวิทยาลัยตระหนักดีว่า บัณฑิตทุกคนจำาเป็ นต้องมีทกั ษะ หรือความรูพ้ ้ นื ฐานที่จาำ เป็ นในการประกอบ อาชีพโดยเฉพาะ สำาหรับระบบธุ รกิจสมัยใหม่ อันได้แก่ ความรูภ้ าษาอังกฤษ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยจึงกำาหนดให้นกั ศึกษาทุกคน ทุกคณะต้องเรียนวิชาคอมพิวเตอร์พ้นื ฐาน และเน้นความรูภ้ าษา ต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษในการเรียนการสอน ในด้านการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยมุ่งสร้างเสริมทัศนคติทถ่ี ูกต้องต่อการศึกษาคือ ส่งเสริมให้นกั ศึกษา มีความตัง้ ใจ ใฝ่ รู ้ และมีความกระตือรือร้นในการศึกษา ด้วยตนเองอย่างจริงจัง ซึง่ จะเป็ นพื้นฐานสำาคัญ ของชีวติ นอกจากการจัดสภาพแวดล ้อมโดยทัวไปของมหาวิ ่ ทยาลัยให้มีบรรยากาศทีเ่ อือ้ อำานวยต่อการศึกษาแล ้ว มหาวิทยาลัยยังได้ให้ความสำาคัญและจัดเตรียมสื่อการเรียนการสอน เทคนิคการสอนที่ทนั สมัย การจัด เตรียมห้องสมุดที่ได้มาตรฐาน มีหนังสือ วารสาร สื่อผสมต่างๆ รวมทัง้ ซีดีรอม วีดิทศั น์ และบริการ อินเทอร์เน็ต ซึ่งนักศึกษาสามารถเข้าศึกษาค้นคว้า เป็ นรายบุคคล การจัดให้มอี าจารย์ประจำาที่มคี ุณภาพ จำานวนมากพอสำาหรับการเรียน การสอน และการดูแลนักศึกษาอย่างใกลช้ ดิ นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังจัดให้มที ุนการศึกษาประเภทต่างๆ จำานวนมาก รวมทัง้ ทุนกูย้ มื เพือ่ การศึกษา ของรัฐบาล เพือ่ ส่งเสริมให้นกั ศึกษา เกิดความมุ่งมันในการศึ ่ กษามากยิง่ ขึ้น เพื่อเป็ นการส่งเสริมให้นกั ศึกษามีความพร้อมที่จะออกไปเผชิญกับชีวติ การทำา งาน และมีพ้ นื ฐานในการ พัฒนาตนเอง มหาวิทยาลัยได้ สนับสนุ นให้นกั ศึกษามีส่วนร่วมในการทำากิจกรรม ร่วมกัน ทัง้ ด้านดนตรี กีฬา สันทนาการและการบริการชุมชน ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการบริหาร กิจการนักศึกษา ทัง้ นี้โดยอยู่ -2บนพืน้ ฐานความเชือ่ ทีว่ า่ มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบจะต้องรับผิดชอบ และให้ความ สำาคัญต่อการเสริมสร้างและ พัฒนาศักยภาพทุกด้านของ ชีวิตนักศึกษาทัง้ ในเชิงวิชาการ คุณธรรม บุคลิกภาพพลานามัย และศิลป วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยได้จดั ตัง้ โรงเรียนสอนดนตรี มีสนาม ฟุตบอล บาสเกตบอล กรีฑาลูแ่ ละลาน ฯลฯ เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้เลือกตามความถนัด และความสนใจ

อนึ่ง มหาวิทยาลัยได้จดั สร้างหอพักนักศึกษาเพือ่ เป็ นแหล่งหล่อหลอม พัฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษา ให้ ได้มโี อกาสฝึ กฝนการใช้ชวี ติ และทำางานร่วมกับผูอ้ ่นื การร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เป็ นระบบ และต่อ เนื่อง รวมทัง้ การปลูกฝังคุณลักษณะ และคุณธรรมต่างๆ ตามแนวปรัชญาของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต ได้เริ่มดำาเนินการเปิ ดรับนักศึกษารุ่นแรกตัง้ แต่ปีการศึกษา 2529 ในนามของวิทยาลัย รังสิต ต่อมาได้รบั การเปลี่ยนประเภทเป็ นมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2533 โดยได้รบั พระ มหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เป็ นองค์ประธานในพิธี สถาปนามหาวิทยาลัย เมือ่ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2533 นับเป็ นสิรมิ งคลแก่มหาวิทยาลัยรังสิต เป็ นอย่างยิง่ ปัจจุบนั มหาวิทยาลัยรังสิต เปิ ดสอนในระดับปริญญาตรี 60 สาขาวิชา และในระดับบัณฑิตศึกษา 18 สาขา วิชา นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยรังสิตยังได้เปิ ดดำาเนินการหลักสู ตรนานาชาติ โดยจัดสอนเป็ นภาษาอังกฤษ ซึ่ง ปัจจุบนั เปิ ดสอนระดับปริญญาตรี คือ สาขาวิชาปรัชญา การเมืองและเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาธุรกิจระหว่าง ประเทศ สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการบริการ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชา นิเทศศาสตร์ สาขาวิชาระบบและการจัดการสารสนเทศ และเตรียมการสำาหรับหลักสูตรใหม่ท่จี ะเปิ ดสอน เพิ่มเติม ทัง้ ระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษานอกจากนี้มหาวิทยาลัยรังสิตยังได้เข้าร่วมโครงการ University Studies Aboard Consortium (USAC) ซึง่ มีมหาวิทยาลัยชัน้ นำาจากทัว่ โลกเข้าร่วมโครงการ กว่า 400 แห่งและมหาวิทยาลัยรังสิตได้รบั เลือก ให้เป็ นผูแ้ ทนในภูมภิ าคเอเซีย เพื่อมุ่งสู่การเป็ นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่มมี าตรฐานระดับนานาชาติ มหาวิทยาลัยรังสิตได้ดาำ เนินการ ปรับปรุงหลักสูตรให้ทนั สมัย และสอดคลอ้ งกับสภาพสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลง โดยมุ่งสูค่ วามเป็ นสากลมากขึ้น -3มหาวิทยาลัยได้ร่วมมือทางวิชาการกับสถาบัน และมหาวิทยาลัยชัน้ นำานานาประเทศ อาทิ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ เยอรมัน นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย สวิสเซอร์แลนด์ เบลเยี่ยม กอเรีย ใต้ห วัน กัมพูชา จีนฯลฯ ครอบคลุมสาขาวิชาต่างๆ ทีม่ หาวิทยาลัยเปิ ดสอน ความร่วมมือกระทำาในรูป แบบ ต่างๆ ทัง้ ในด้านการพัฒนาหลักสู ตร การทำา วิจยั การแลกเปลี่ยนคณาจารย์ และนักศึกษาการส่ง บุคลากร และนักศึกษาไปฝึ กอบรม นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยยังเปิ ด สำานักงานศึกษาต่างประเทศ เพื่อ


เตรียมความพร้อมให้แก่นกั ศึกษาที่ตอ้ งการไปศึกษา และหาประสบการณ์เพิ่มเติมยังต่างประเทศในบาง ภาคการศึกษา โดยสามารถโอน หน่วยกิตทัง้ หมดมายังมหาวิทยาลัยรังสิตได้ จุดประสงค์กำรจัดตัง้ มหำวิทยำลัย การจัดตัง้ มหาวิทยาลัยรังสิต มีวตั ถุประสงค์ดงั นี้ : 1. เพื่อจัดตัง้ เป็ นสถาบันระดับอุดมศึกษาที่ม่งุ มัน่ ความเป็ นเลิศในทางวิชาการ โดยมุ่งผลิต บัณฑิตที่มคี วามรูค้ วามสามารถสูง รวมทัง้ เป็ นผูท้ ่มี คี วามเชื่อมัน่ ในตนเอง พร้อมที่จะพัฒนาความรูค้ วาม สามารถนัน้ ให้เกิดความชำานาญ รูจ้ กั ใช้ประสบการณ์ในการแก้ปญั หาได้อย่างถูกต้องทัง้ ของตนเองและส่วน รวม มีความกระตือรือร้นทีจ่ ะร่วมรับผิดชอบต่อการแก้ปญั หาสังคม 2. เพื่อพัฒนาความรูแ้ ละเทคโนโลยีใหม่ๆ ให้เกิดขึ้น โดยสนับสนุ นงานศึกษาค้นคว้าและงาน วิจยั รวมทัง้ การส่งเสริมให้มกี ารแลกเปลีย่ นความรู ้ ทัศนะ และความเห็นในหมู่นกั วิชาการ และผูส้ นใจใฝ่ รู ้ โดยทัว่ ไป 3. เพือ่ ให้บริการทางด้านวิชาการแก่ชมุ ชน โดยเน้นทีจ่ ะใช้ความรูและเทคโนโลยี ้ ทม่ี อี ยูใ่ นแวดวง การศึกษา ให้สามารถรับใช้และเป็ นประโยชน์ต่อชุมชนสร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่ประเทศชาติได้โดย แท้จริง 4. เพือ่ ปลูกฝังและก่อตัง้ สถาบันหลักทางด้านจริยธรรมในสังคม โดยเป็ นศูนย์กลางการเผยแพร่ แนวความคิดและค่านิยมทีส่ ่งเสริมต่อการพัฒนาประเทศ 5. เพือ่ ส่งเสริมและทำานุบาำ รุงศิลปวัฒนธรรมประจำาชาติไทย 6. เพื่อแบ่งเบาภาระของรัฐบาล โดยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้สอดคลอ้ งกับแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ -4-

วิสยั ทัศน์มหำวิทยำลัย

เป็ นแหล่งทรัพยากรการเรียนรู ้ และการค้นคว้าวิจยั เพือ่ การพัฒนาแบบยัง่ ยืนทีส่ นองตอบความ ต้องการของท้องถิ่น และการแก้ปญั หาของสังคม ส่งเสริมนวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ของการเป็ น ผูน้ าำ ทางวิชาการ และผูป้ ระกอบการ ทัง้ ในกลุม่ นักศึกษา และคณาจารย์ทกุ สาขาวิชา คำานึงถึงประโยชน์ส่วน รวม สร้าง และพัฒนาองค์กรให้มคี วามมันคง ่ และมุง่ เน้นคุณภาพ

ปรัชญำคติพจน์

มหาวิทยาลัยรังสิต มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะผลิตบัณฑิต ให้มที กั ษะทีจ่ ะออกไปรับใช้สงั คม และในโลก กว้าง โดยคาดหวังว่า บัณฑิตที่จบออกไป ได้รบั ความรูท้ ่ที นั สมัยตรงตามสาขาที่สนใจศึกษา และสามารถ ปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้เป็ นอย่างดี คติพจน์: สร้างสรรค์สง่ิ ทีด่ ใี ห้แก่สงั คม

เพลงประจำำมหำวิทยำลัย ตะวันรุง่ ทุ่งรังสิต คำำร้อง เนำวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ทำำนอง รังสิต จงญำนสิทโธ เรืองแสงทองไล้โลมท้องทุ่ง ดัง่ จันทน์ปรุงไล้กลิ่นปรำงหอม แสนงำมสุดงำมน้ำำ จิต ลอยสำยลมพัดลอยละลิ่ว ไผ่โปรยปลิวริ้วสูธ่ ำรใส สองเรำก้ำวไปก้ำวไป * เหมือนกังหัน

แผ่วลมรินหอมกลิ่นฟำงฟุ้ ง ดอกแก้วเจ้ำจอมพะยอมรังสิต จำกรังสิตสูใ่ จทุกใจ ขลุย่ บรรเลงโหยแผ่วเพลงพลิ้ว ทุ่งรังสิตงำมเหมือนควำมใฝ่ ผัน บนพื้นดินสีทองศรัทธำ ไม่ห่ำงลมหัน -5-

เหมือนควำมฝัน ตะวันนั้นรุง่ ทุ่งรังสิตอยู่ทกุ ครำ ไกลแสนไกลมิไกลเหมือนใกล้ ฝำกดวงใจให้สอ่ื ควำมฝัน

จะใฝ่ จะฝันไขว่คว้ำ ดัง่ ศรัทธำมัน่ ท้ำตะวัน ฝำกตะวันให้สอื่ ควำมหมำย โอ้พน่ี อ้ งเอยมิเคยไหวหวัน่


พร้อมใจรวมใจหมำยมัน่

ร่วมรังสรรค์รงั สิตรังสี

บุคลำกรใหม่ บุคลากรใหม่ของมหาวิทยาลัยทุกท่าน จะต้องดำาเนินการ ดังต่อไปนี้ 1. รายงานตัวเข้าปฏิบตั ิง าน เพื่อทำา บันทึกข้อตกลงการจ้างหรือสัญญาจ้า ง และรับทราบข้อ กำาหนด ข้อบังคับ ระเบียบ หลักเกณฑ์และแนวทางการปฏิบตั ทิ เ่ี กี่ยวข้องและจำาเป็ นในการปฏิบตั งิ าน 2. นอกเหนือจากการรายงานตัวแล ้ว จะต้องจัดส่งเอกสารหรือลงนามในเอกสาร ดังต่อไปนี้ 2.1 กรอกแบบ รทม. 28 (สำาหรับคณาจารย์) พร้อมแนบเอกสาร ดังต่อไปนี้ (1) สำาเนาเอกสารวุฒกิ ารศึกษาทุกระดับ ทัง้ ปริญญาบัตรและใบรายงานผลการศึกษา (Transcript) (2) สำาเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำาตัวประชาชน หรือสำาเนาหนังสือเดินทาง (กรณีต่างชาติ) 2.2 จัดหาผูค้ าำ ประกันการทำางาน โดยผูค้ า้ำ ประกันจะต้องเป็ นข้าราชการระดับ 5 หรือ พนักงานรัฐวิสาหกิจทีม่ เี งินเดือนเทียบเท่าระดับ 5 2.3 แจ้งเลขทีบ่ ญั ชีเงินฝากธนาคาร เพือ่ โอนเงินเดือนเข้า ซึง่ เป็ นบัญชีเงินฝากออมทรัพย์/ สะสมทรัพย์หรือกระแสรายวัน ยกเว้นบัญชีเงินฝากประจำา ของทุกธนาคารพาณิชย์ ทุกธนาคาร 2.4 ขอรับการทำาบัตรประจำาตัวบุคลากร 2.5 ลงนามอนุญาตให้ตรวจสอบวุฒกิ ารศึกษา 2.6 ดำาเนินการเอกสารด้านประกันสังคม -63. บุคลากรจะต้องปฏิบตั ติ ามกรอบภารกิจ หลักเกณฑ์ ข้อกำาหนด ข้อบังคับ ระเบียบและแนวทางที่ มหาวิทยาลัย

หมวดที่ 1 กำรคัดเลือกและกำรแต่งตัง้ 1.1 นโยบำย 1.1.1 มหาวิทยาลัย จะพิจารณาคัดเลือก และแต่งตัง้ บุคคลเข้าทำางาน โดยถือหลักความเหมาะสม ในความรู ้ ความสามารถเป็ นเกณฑ์ 1.1.2 มหาวิทยาลัย จะส่งเสริมให้บุคลากรมีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน โดยสนับสนุน ให้ศึกษาค้นคว้า เพิม่ วุฒิ เพิม่ ความรูแ้ ละประสบการณ์ในการปฏิบตั งิ าน 1.2 ประเภทของบุคลำกร 1.2.1 บุคลากร หมายความว่า ผูท้ ต่ี กลงทำางานโดยได้รบั ค่าจ้างและทำาสัญญาจ้างกับ มหาวิทยาลัย 1.2.2 บุคลากร แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ 1.2.2.1 คณาจารย์ ได้แก่ บุคลากรทีท่ าำ หน้าทีส่ อน วิจยั หรือให้บริการทางวิชาการ ซึง่ อาจทำาหน้าทีด่ า้ นการบริหารด้วย ได้แก่ตาำ แหน่ง อาจารย์ ผูช่้ วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ กำาหนดอายุสญั ญาจ้าง : คราวละ 3 ปี 1.2.2.2 เจ้าหน้าที่ ได้แก่ บุคลากรทีท่ าำ หน้าทีส่ นับสนุนการเรียนการสอน ซึง่ เกี่ยวกับ การบริหาร บริการ และธุรการ กำาหนดอายุสญั ญาจ้าง : คราวละ 2 ปี

-7-

1.3 คุณสมบัตขิ องบุคลำกร คุณวุฒิ และคุณสมบัตขิ องบุคลากรเป็ นไปตามทีม่ หาวิทยาลัยกำาหนด ซึง่ ต้องตรงและสอดคลอ้ ง กับหน้าทีค่ วามรับผิดชอบหรือสายงาน


1.4 อำยุงำน 1.4.1 มหาวิทยาลัย จะเริ่มนับอายุการทำางาน ของบุคลากรตัง้ แต่วนั แรกทีเ่ ข้าทำางาน 1.4.2 มหาวิทยาลัย กำาหนดระยะเวลาทดลองปฏิบ ัติงานสำาหรับบุคลากรใหม่เป็นเวลา 120 วัน หากผลการทดลองปฏิบตั งิ านเป็ นทีย่ อมรับ จะได้รบั การแต่งตัง้ เป็ น บุคลากรประจำาของมหาวิทยาลัยตัง้ แต่วนั ทีท่ ดลองงานและจะได้รบั สิทธิและด้าน สวัสดิการต่างๆ ของมหาวิทยาลัยตามหลักเกณฑ์ทก่ี าำ หนด แต่หากผลการปฏิบตั งิ านไม่ เป็ นทีย่ อมรับ หรือบุคคลนัน้ ไม่มคี วามสามารถในการปฏิบตั หิ น้าที่ มหาวิทยาลัยจะ พิจารณาเลิกจ้าง 1.5 กำรประกันกำรเข้ำทำำงำน

บุคลากรทีเ่ ข้าปฏิบตั งิ านจะต้องมีผูค้ า้ำ ประกันการทำางานกับมหาวิทยาลัย โดยต้องทำา หนังสือค้าำ ประกันในวันรายงานตัวตามหลักเกณฑ์ท่มี หาวิทยาลัยกำาหนด พร้อมทัง้ แนบหลัก ฐาน ดังนี้ 1. สำาเนาบัตรประจำาตัวประชาชน / บัตรข้าราชการ 2. สำาเนาทะเบียนบ้าน 3. หนังสือรับรองเงินเดือน กรณีบคุ ลากรทำาหน้าทีเ่ กี่ยวข้องกับการเงิน จะต้องค้าำ ประกันด้วยเงินสดหรือหลักทรัพย์มลู ค่าไม่ ต่ำากว่า ................... บาท

-8หมวดที่ 2 ค่ำตอบแทน 2.1 นโยบำย

มหาวิทยาลัย มีนโยบายทีจ่ ะให้บคุ ลากรทุกคนได้รบั ค่าตอบแทนทีย่ ุตธิ รรม และ เหมาะสมกับตำาแหน่งหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ 2.2 ข้อพิจำรณำกำำหนดอัตรำค่ำจ้ำง เกณฑ์พจิ ารณาในการกำาหนดอัตราค่าจ้างของตำาแหน่งงานต่างๆ ประกอบด้วย 2.2.1 หน้าทีร่ บั ผิดชอบของตำาแหน่งงาน 2.2.2 บัญชีเงินเดือนของมหาวิทยาลัย 2.2.3 คุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ์ และความรูค้ วามสามารถพิเศษที่ตรงกับตำา แหน่ ง หน้าทีแ่ ละความจำาเป็ นของมหาวิทยาลัย 2.2.4 สภาวะทางเศรษฐกิจ 2.3 กำรเลือ่ นขัน้ เงินเดือน มหาวิทยาลัยจะพิจารณาเลือ่ นขัน้ เงินเดือนให้กบั บุคลากร ในกรณีต่อไปนี้ 2.3.1 การเลือ่ นขัน้ เงินเดือนประจำาปี ปกติปีละ 1 ครัง้ โดยบุคลากรจะต้องมีคุณสมบัติ และหลักเกณฑ์ ดังนี้ (1) ปฏิบตั งิ านเต็มเวลาในรอบปีงบประมาณของมหาวิทยาลัยมาแล ้วไม่นอ้ ยกว่า 8 เดือน (2) ต้องไม่ใช้สทิ ธิการลาเกินกว่าทีก่ าำ หนด (3) ไม่เป็ นผูถู้ กลงโทษทางวินยั ยกเว้น โทษตักเตือนด้วยวาจาและเป็ นลายลักษณ์อกั ษร (4) ผลการประเมินการปฏิบตั งิ านเป็ นทีน่ ่าพอใจ ซึง่ พิจารณาจากปริมาณงาน คุณภาพ และผลงานทีไ่ ด้ปฏิบตั มิ าในรอบปี ทผ่ี ่านมา ความประพฤติ ความอุตสาหะ วิรยิ ะ และความเอาใจใส่ในการปฏิบตั งิ านและอืน่ ๆ (5) อัตราการปรับเงินเดือนให้กบั บุคลากร ให้เป็ นตามทีม่ หาวิทยาลัยกำาหนด -92.3.2 การปรับเงินเดือนให้แก่บคุ ลากรทีไ่ ด้รบั วุฒสิ ูงขึ้น มีหลักเกณฑ์ดงั นี้ (1) วุฒทิ ไ่ี ด้รบั จะต้องเป็ นประโยชน์หรือสอดคลอ้ งกับตำาแหน่งงาน หรือสอดคลอ้ งและ เป็ นประโยชน์ในการปรับตำาแหน่งใหม่


(2) อัตราการปรับเงินเดือน หากเงินเดือนยังไม่ถงึ ขัน้ ต้นของวุฒทิ ไ่ี ด้รบั ใหม่ จะปรับ อัตราเงินเดือนให้เท่ากับเงินเดือนขัน้ ต้นของวุฒทิ ไ่ี ด้รบั ใหม่ และหากบุคลากรได้รบั อัตราเงินเดือนเท่ากับเงินเดือนขัน้ ต้นของวุฒทิ ไ่ี ด้รบั ใหม่ หรือสูงกว่าอยู่แลว้ จะปรับ เพิม่ อัตราเงินเดือนให้อกี 5 เปอร์เซ็นต์ 2.4 วันและสถำนที่จำ่ ยเงินเดือน 2.4.1 มหาวิทยาลัยจะจ่ายเงินเดือนและค่าตอบแทนใดๆ ให้กบั บุคลากร ในวันก่อนวันสุดท้าย ของเดือน และกรณีทต่ี รงกับวันหยุดจะจ่ายในวันทำางานก่อนหน้านัน้ โดยจ่ายผ่านเข้าบัญชี เงินฝากธนาคารของบุคลากร ซึง่ บุคลากรจะต้องแจ้งเลขทีบ่ ญั ชีเงินฝากต่อสำานักงาน บุคคลในวันแรกทีเ่ ข้าทำางาน 2.5 กำรทำำงำนล่วงเวลำ และในวันหยุด 2.5.1 ในกรณีทง่ี านมีลกั ษณะต้องทำาติดต่อกันไป ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งาน หรือเป็ นงานเร่งด่วน จะหยุดเสียมิได้ ซึง่ ผูบั้ งคับบัญชาโดยอนุมตั ขิ องผูอำ้ านวยการ หรือคณบดีขน้ ึ ไป สามารถ ให้เจ้าหน้าทีท่ าำ งานล่วงเวลาหรือในวันหยุดเท่าทีจ่ าำ เป็ น จะได้รบั ค่าล่วงเวลา และค่าทำางาน ในวันหยุด ตามกฎหมายแรงงาน ดังนี้ 1. ค่าล่วงเวลาในวันทำางานปกติ 1.5 เท่าของอัตราปกติ 2. ค่าล่วงเวลาในวันหยุด ในเวลาทำางานปกติ 1 เท่าของอัตราปกติ 3. ค่าล่วงเวลาในวันหยุด นอกเวลางานปกติ 3 เท่าของอัตราปกติ 2.5.2 บุคลากรในระดับผูบ้ งั คับบัญชาตัง้ แต่หวั หน้าแผนกขึ้นไปไม่มสี ทิ ธิได้รบั ค่าล่วงเวลา และ ค่าทำางานในวันหยุด

-102.6 ค่ำตอบแทนกำรปฏิบตั งิ ำนนอกสถำนที่

บุคลากรซึง่ ได้รบั อนุ มตั ิจากอธิการบดีหรือผูท้ ่ไี ด้รบั มอบหมายให้ไปปฏิบตั ิงานของมหาวิทยาลัย นอกสถานที่ และไม่สามารถเดินทางไป-กลับที่พกั ภายในวันเดียวได้ จะได้รบั ค่าตอบแทนการปฏิบตั ิงาน นอกสถานที่ โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้ 2.6.1 การเดินทางไปปฏิบตั งิ านนอกสถานที่ ให้รวมถึงการเดินทางไปสัมมนา อบรม ประชุม ศึกษาดูงานหรือปฏิบตั ภิ ารกิจใดๆ ทีม่ คี วามจำาเป็ นต้องให้บคุ ลากรเข้าร่วม เนื่องจากเป็ น ข้อบังคับ, การกำาหนดของหน่วยงานราชการ, การขอความ ร่วมมือระหว่างสถาบันหรือ กับหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง หรือตามทีอ่ ธิการบดีเห็นสมควร 2.6.2 กรณี ตอ้ งไปปฏิบตั ิงานหลายวันติดต่อกัน ให้นบั เวลาต่อเนื่อง 24 ชัว่ โมงเป็ นหนึ่งวัน เ ศ ษ ข อ ง วั น ถ้ า ค ร บ 12 ชั ่ ว โ ม ง ใ ห้ นั บ เ ป็ น ห นึ่ ง วั น 2.6.3 ค่ า ต อ บ แ ท น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น น อ ก ส ถ า น ที่ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย (1) ค่าเบี้ยเลี้ยง (2) ค่าทีพ่ กั (3) ค่าพาหนะ 2.6.4 อัต ราค่ า ตอบแทนสำา หรับ การปฏิบ ตั ิ ง านนอกสถานที่ภ ายในประเทศ เป็ น ดัง นี้ (1) บุคลากรตำาแหน่งอาจารย์ประจำา , เจ้าหน้าที่, ทีไ่ ม่ได้ดาำ รงตำาแหน่งบริหาร - ค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย วันละ 400 บาท - ค่าทีพ่ กั ให้เบิกได้ตามอัตราทีจ่ ่ายจริงและไม่เกินวันละ 1,200 บาท - ค่าพาหนะเดินทาง ให้เบิกได้ในอัตราค่าโดยสารรถไฟปรับอากาศชัน้ สอง หรือรถโดยสารประจำาทางปรับอากาศชัน้ หนึ่ง (2) อาจารย์ประจำาและเจ้าหน้าที่ท่ดี าำ รงตำาแหน่งบริหารที่เป็ นไปตามโครงสร้างของ มหาวิทยาลัย, ผูด้ าำ รงตำาแหน่งรองศาสตราจารย์ , ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ยกเว้น ค ณ บ ดี แ ล ะ ผู ้ อำา น ว ย ก า ร - ค่ า เ บี้ ย เ ลี้ ย ง เ ห ม า จ่ า ย วั น ล ะ 600 บ า ท - ค่าทีพ่ กั ให้เบิกได้ตามทีจ่ ่ายจริง และไม่เกินวันละ 1,800 บาท -11- ค่ าพาหนะเดินทาง ให้เบิกได้ในอัตราไม่เกินค่ าโดยสารเครื่องบินชัน้


ประหยัดหรือรถไฟปรับอากาศชัน้ หนึ่งหรือรถโดยสารประจำาทางปรับอากาศ ชั้ น ห นึ่ ง (3) คณบดี , ผู อ้ าำ นวยการ, ผู ด้ าำ รงตำา แหน่ ง ศาสตราจารย์ , ผู ช้ ่ ว ยอธิก ารบดี , ร อ ง อ ธิ ก า ร บ ดี , ที่ ป รึ ก ษ า อ ธิ ก า ร บ ดี - ค่ า เ บี้ ย เ ลี้ ย ง วั น ล ะ 800 บ า ท - ค่ า ที่พ กั ให้เ บิก ได้ต ามที่จ่ า ยจริ ง และไม่ เ กิ น วัน ละ 2,200 บาท - ค่าพาหนะเดินทาง ให้เบิกได้ตามอัตราไม่เกินค่าโดยสารเครื่องบินชัน้ ธุรกิจ หรือ อัตราค่าโดยสารรถไฟปรับอากาศชัน้ หนึ่ง หรือรถโดยสารประจำา ทาง ป รั บ อ า ก า ศ ชั้ น ห นึ่ ง (4) บุคลากรที่ไปปฏิบตั ิงานนอกสถานที่จะได้รบั ค่าตอบแทน ตามข้างต้น ยกเว้น ก ร ณี ต่ อ ไ ป นี้ จ ะ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ค่ า ต อ บ แ ท น - ไปปฏิบตั ิหน้าที่ในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร, ปทุมธานี, นนทบุรี , ส มุ ท ร ป ร า ก า ร - การไปปฏิบ ตั ิ ง านหรื อ เข้า ร่ ว มโครงการซึ่ง มหาวิท ยาลัย จัด เอง หรื อ มหาวิทยาลัยออกค่าใช้จ่ายทุกอย่างเป็ นการเหมาจ่ายให้แก่เจ้าของโครงการหรือ เ จ้ า ข อ ง ส ถ า น ที่ แ ล ้ ว (5) กรณี บุคลากรเดินทางไปปฏิบตั ิงานนอกสถานที่โดยใช้พาหนะของตนเอง ให้ ได้รบั สิทธิเบิกค่าน้าำ มันรถ โดยคำานวณตามระยะทางทีก่ าำ หนดโดยกรมทางหลวง อัตรากิโลเมตรละ 2 บาท แต่เบิกได้ไม่เกินอัตราสูงสุดของค่าพาหนะที่กาำ หนด 2.6.5 อัต ราค่ า ตอบแทนสำา หรับ การปฏิบ ตั ิ ง านนอกสถานที่ใ นต่ า งประเทศ เป็ น ดัง นี้ ประเทศกลุม่ ก (1) บุคลากรในตำาแหน่งอาจารย์ประจำา, เจ้าหน้าที่ และผูด้ าำ รงตำาแหน่งนอกเหนือจาก ข้อ (2) - ค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย วันละ 2,600 บาท - ค่าพาหนะเดินทาง ไม่เกินอัตราค่าโดยสารเครื่องบินชัน้ ประหยัด -12- ค่าทีพ่ กั ตามจ่ายจริงวันละไม่เกิน 7,500 บาท

(2) บุคลากรในตำา แหน่ งผู ช้ ่วยอธิการบดี , รองอธิการบดี , ที่ปรึกษาอธิการบดี , ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ - ค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย วันละ 3,600 บาท - ค่าพาหนะเดินทาง อั ต ร า ค่ า โ ด ยส า ร เ ค รื่ อ ง บิ น ชั้ น ธุ ร กิ จ - ค่าทีพ่ กั ตามจ่ายจริง แต่วนั ละไม่เกิน 10,000 บาท ประเทศกลุม่ ข (1) บุคลากรในตำาแหน่งอาจารย์ประจำาและเจ้าหน้าที่ และผูดำ้ ารงตำาแหน่งนอกเหนือจาก ข้อ (2) - ค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย วันละ 2,400 บาท - ค่ า พาหนะเดิ น ทาง อั ต ราค่ าโดยสารเครื่ อ งบิ น ชั้ น ประหยั ด - ค่าทีพ่ กั ตามจ่ายจริงวันละไม่เกิน 5,000 บาท (2) บุคลากรในตำา แหน่ ง ผู ช้ ่ วยอธิการบดี , รองอธิการบดี , ที่ปรึกษาอธิการบดี - ค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย วันละ 3,400 บาท - ค่ า พ า ห น ะ เ ดิ น ท า ง อั ต ร า ค่ า โ ด ย ส า ร เ ค รื่ อ ง บิ น ชั้ น ธุ ร กิ จ - ค่าทีพ่ กั ตามจ่ายจริง แต่วนั ละไม่เกิน 7,000 บาท ประเทศกลุม่ ค (1) บุคลากรในตำาแหน่งอาจารย์ประจำาและเจ้าหน้าที่ และผูด้ าำ รงตำาแหน่ง นอกเหนือจาก (2) - ค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย วันละ 2,200 บาท - ค่าพาหนะเดินทาง อัตราค่ าโดยสารเครื่องบินชัน้ ประหยัด - ค่าทีพ่ กั ตามจ่ายจริงวันละไม่เกิน 3,100 บาท (2) บุคลากรในตำาแหน่งผูช่้ วยอธิการบดี, รองอธิการบดี, ทีป่ รึกษาอธิการบดี - ค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย วันละ 3,200 บาท - ค่าพาหนะเดินทาง ค่าโดยสารเครื่องบินชัน้ ธุรกิจ - ค่าทีพ่ กั ตามจ่ายจริง แต่วนั ละไม่เกิน 4,500 บาท -132.6.6 กรณีท่ผี ูเ้ ดินทางไปปฏิบตั ิงานนอกสถานที่ทงั้ ภายในประเทศและ ต่างประเทศ ได้รบั


การดูแลรับรองโดยเจ้าภาพหรือผูเ้ กี่ยวข้อง หรือมีการเหมาจ่าย ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เกี่ยวกับค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าที่พกั ค่าพาหนะแลว้ จะไม่ได้รบั ค่าตอบแทนประเภทนัน้ ๆ อีก 2.6.7 กรณีบุคลากรดำารงตำาแหน่งมากกว่าหนึ่งตำาแหน่ง การจ่ายค่าตอบแทนการปฏิบตั ิงาน น อ ก ส ถ า น ที่ ใ ห้ ยึ ด ต า ม ตำา แ ห น่ ง ที่ ไ ด้ ไ ป ป ฏิ บั ติ 2.6.8 การขออนุ มตั ิเดินทางไปปฏิบตั ิงานนอกสถานที่ ให้ดาำ เนินการกรอกแบบขออนุ มตั ิท่ี กำา ห น ด ประเทศกลุ่ม ก. ประเทศ รัฐ เมือง ได้แก่ สาธารณรัฐฝรัง่ เศส สหพันธรัฐรัสเซีย ญี่ป่ ุน สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ ราชอาณาจักรสเปน สาธารณรัฐอิตาลี สาธารณรัฐสิง คโปร์ เครือรัฐออสเตรเลีย สาธารณรัฐออสเตรีย ราชอาณาจักรเดนมาร์ก สาธารณรัฐ ฟิ นแลนด์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ราชอาณาจักรนอร์เวย์ ราชอาณาจักร สวีเ ดน สมาพัน ธรัฐ สวิส (สวิต เชอร์แ ลนด์ ) ราชอาณาจัก รเบลเยี่ย ม แคนาดา สาธารณรัฐ เกาหลี (เกาหลีใต้) สาธารณรัฐโปรตุเกส ไต้หวัน สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล สาธารณรัฐโปแลนด์ กัมพูชา ราชรัฐ ลักเซมเบิรก์ สาธารณรัฐซิลี นิวซีแลนด์ ฮ่องกง สาธารณรัฐฟิ ลปิ ปิ นส์ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรัฐ ตุรกี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สาธารณรัฐฮังการี สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย สาธารรัฐไอซ์แลนด์ ราช อ า ณ า จั ก ร ร็ อ ก โ ก ม อ ริ เ ชี ย ส ส า ธ า ร ณ รั ฐ เ ช็ ก ส า ธ า ร ณ รั ฐ ส โ ล วั ก ร า ช รั ฐ โ ม น า โ ก ประเทศกลุ่ม ข. ประเทศ รัฐ เมือง ได้แก่ รัฐบาห์เรน สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐ ไซปรัส สาธารณรัฐอินเดีย สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน สาธารณรัฐอิรกั รัฐอิสราเอล ราชอาณาจักรฮัชไมด์ จอร์แดน รัฐคูเวต สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน รัฐสุลต่านโอมาน รัฐกาตาร์ ราชอาณาจักรซาอุดอิ าระเบีย สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ เนการาบรูไนดารุสซาลาม (บรูไน) สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย ราชอาณาจักร ตองกา ราชรัฐอันดอร์รา สาธารณรัฐเฮลเลนิก (กรีซ) โรมาเนีย สาธารณรัฐบุรุนดี สาธารณรัฐแคเมอรูน สาธารณรัฐ แอฟริ ก ากลาง สาธารณรัฐ ซาด สาธารณรัฐ โกตดิว วั ร์ (ไอเวอรี่โ คส) สาธารณรัฐ จิบู ตี สาธารณรัฐอาหรับอียิป ต์ สาธารณรัฐแกมเบีย สาธารณรัฐกานา สาธารณรัฐเคนยา สาธารณรัฐมาลี สาธารณรัฐอิสลามมอริเตเนีย สาธารณรัฐไนเจอร์ สาธารณรัฐเซเนกัล สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย สาธารณ รัฐเซียร์ราลีโอน สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย สาธารณรัฐเบนิน เครือรัฐบาฮามาส สาธารณรัฐคอสตาริกา

สาธารณรัฐปานามา สาธารณรัฐตรินิแดดแลโตเบโก จาเมกา สาธารณรัฐอาร์เจนตินา สาธารณรัฐโครเอเซีย ส า ธ า ร ณ รั ฐ ส โ ล วี เ นี ย -14สาธารณรับบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา สาธารณรัฐมาซิโดเนีย สาธารณรัฐเมเนีย สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน สาธารณรัฐเบลารุส สาธารณรัฐเอสโตเนีย จอร์เจีย สาธารณรัฐคาซัคสถาน สาธารณรัฐคีรก์ ิซสถาน สา ธารณรัฐลัตเวีย สาธารณรัฐจิทวั เนีย สาธารณรัฐมอลโดวา สาธารณรัฐทาจิกิสถาน เติรก์ เมนิสถาน ยูเครน สาธารณรัฐอุซ เลกิส ถาน สาธารณรัฐสัง คมนิยมประชาธิปไตยศรีล งั กา สหรัฐเม็กซิโก มาเลเซีย ราช อาณาจักรเนปาล สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ สาธารณรัฐบัลแกเรีย สาธารณรัฐยู กนั ดา สาธารณรัฐแซมเบีย ส า ธ า ร ณ รั ฐ ซิ ม บั บ เ ว ส า ธ า ร ณ รั ฐ ตู นิ เ ซี ย ประเทศ ค. ประเทศ รัฐ เมือง อื่น ๆ นอกจากที่กาำ หนดในประเทศ ก.และประเทศ ข. 2.7 กำรกำำหนดภำระงำนสอนและค่ำตอบแทนกำรสอนเกินภำระงำน 2.7.1 ให้อาจารย์ประจำามีภาระงานขัน้ ต่ำาต่อปี การศึกษาดังนี้ (1) สำาหรับผูม้ ไิ ด้ดาำ รงตำาแหน่งบริหาร ให้มภี าระงาน 18 หน่วยกิต (2) ตำาแหน่งหัวหน้าสาขาวิชา หัวหน้าภาควิชา เลขานุการคณะ รองคณบดี ผูอ้ าำ นวยการสำานักงาน หัวหน้าแผนก ให้มภี าระงาน 12 หน่วยกิต (3) ตำาแหน่งคณบดี ผูช้ ่วยอธิการบดี รองอธิการบดี ให้มภี าระงาน 6 หน่วยกิต (4) สำาหรับตำาแหน่งบริหารอืน่ ๆ นอกเหนือจากข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของ อธิการบดี 2.7.2 การคำานวณภาระงานขัน้ ต่ำาให้กระทำาดังนี้ (1) การคำานวณภาระงานขัน้ ต่ำาสำาหรับการสอนระดับปริญญาตรี - ให้นบั จำานวน 1 หน่วยกิตของรายวิชาบรรยายเป็ น 1 หน่วยกิตภาระงาน - ให้นับจำานวน 1 หน่วยกิตของรายวิชาปฏิบตั กิ ารตามคูม่ อื การศึกษาเป็น 1 หน่วยกิตภาระงาน - ให้นบั การเป็ นทีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์/ศิลปนิพนธ์/ปริญญานิพนธ์/การศึกษาค้นคว้าอิสระ หรือโครงงานอืน่ ๆ ทีม่ ลี กั ษณะคล ้ายคลึงเป็ นภาร งานต่อโครงงานหลังโครงงานเสร็จสิ้นสมบูรณ์ ดังนี้  โครงงานทีม่ ี 1-3 หน่วยกิต ให้นบั เป็ น 0.5 หน่วยกิตภาระงาน


 โครงงานทีม่ ี 4-6 หน่วยกิต  โครงงานทีม่ ี 7-9 หน่วยกิต

ให้นบั เป็ น 1.0 หน่วยกิตภาระงาน ให้นบั เป็ น 1.5 หน่วยกิตภาระงาน -15 โครงงานทีม่ ี 10-12 หน่วยกิต ให้นบั เป็ น 2.0 หน่วยกิตภาระงาน  โครงงานทีม่ ี 13 หน่วยกิตขึ้นไป ให้นบั เป็ น 2.5 หน่วยกิตภาระงาน - ให้นบั การเป็ นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์/ศิลปนิพนธ์/ปริญญานิพนธ์/การศึกษาค้นคว้า อิสระ หรือโครงงานอืน่ ๆ ทีม่ ลี กั ษณะคล ้ายคลึง 5 โครงงานเทียบเท่าเป็ น 1.0 หน่วยกิต - ภาระงาน จำานวนกรรมการสอบทีส่ ามารถนับภาระงานได้ให้เป็ นไป ตามเกณฑ์ทก่ี าำ หนด - ไม่ให้อาจารย์ทป่ี รึกษานับการเป็ นกรรมการสอบโครงงานภายใต้การปรึกษาของตนเป็ น ภาระงาน - ให้นบั จำานวน 1 หน่วยกิตของรายวิชาบรรยายหรือปฏิบตั กิ ารของหลักสูตรนานาชาติเป็ น 1.2 หน่วยกิตภาระงาน (2) การคำานวณภาระงานขัน้ ต่ำาสำาหรับการสอนระดับปริญญาโท - ให้นบั จำานวน 1 หน่วยกิตของรายวิชาบรรยายหรือปฏิบตั กิ ารเป็ น 1.5 หน่วยกิตภาระงาน - ให้นบั การเป็ นทีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาค้นคว้าอิสระ เป็ นภาระงานต่อโครงงาน หลัง โครงงานเสร็จสิ้นสมบูรณ์ดงั นี้ • โครงงานทีม่ ี 1-3 หน่วยกิต ให้นบั เป็ น 1.0 หน่วยกิตภาระงาน • โครงงานทีม่ ี 4-6 หน่วยกิต ให้นบั เป็ น 2.0 หน่วยกิตภาระงาน • โครงงานทีม่ ี 7-9 หน่วยกิต ให้นบั เป็ น 3.0 หน่วยกิตภาระงาน • โครงงานทีม่ ี 10-12 หน่วยกิต ให้นบั เป็ น 4.0 หน่วยกิตภาระงาน  โครงงานทีม่ ี 13 หน่วยกิตขึ้นไป ให้นบั เป็ น 5.0 หน่วยกิตภาระ งาน  ให้นับการเป็ นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษา ค้นคว้าอิสระ 2 โครงงาน เทียบเท่าเป็ น 1.0 หน่วยกิตภาระงาน จำานวนกรรมการทีส่ ามารถนับภาระงานได้ให้ เป็ นไปตามเกณฑ์ทก่ี าำ หนด และมิให้อาจารย์ทป่ี รึกษานับการเป็ นกรรมการสอบ โครงงานภายใต้การปรึกษาของตนเป็ นภาระงาน

ให้นบั การออกและตรวจข้อสอบประมวลความรูเ้ ป็ น 1 หน่วยกิตภาระงานต่อ รายวิชา รวมทัง้ หลักสูตรไม่เกิน 2 หน่วยกิต

-16 การจัดการเรียนการสอนระบบไตรภาค ให้แปลงจากระบบไตรภาคเป็ นระบบทวิภาค ก่อน เช่น ถ้าสอน 4 หน่วยกิตในระบบการศึกษาไตรภาค จะต้องแปลงมาเป็ น 3 หน่วยกิตในระบบการศึกษาแบบทวิภาค (3) หลังการคำานวณภาระงานขัน้ ต่ำาตามข้างต้นแลว้ หากยังมีภาระงานส่วนเกินให้จ่ายค่าตอบแทน ดังนี้ - การจ่ายค่าตอบแทนสำาหรับการสอนระดับปริญญาตรี  การสอนรายวิชาบรรยายหรือปฏิบตั กิ ารให้คิดต่อสัปดาห์ทท่ี าำ การสอนหน่วยกิตละไม่ เกิน 400 บาท • วิทยาลัยแพทยศาสตร์ หน่วยกิตละไม่เกิน 1,000 บาท  วิทยาลัยนานาชาติ หน่วยกิตละไม่เกิน 1,000 บาท  คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยกิตละไม่เกิน 600 บาท  คณะวิทยาศาสตร์ (เฉพาะ Pre-Clinic) หน่วยกิตละไม่เกิน 600 บาท  วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ หน่วยกิตละไม่เกิน 500 บาท - การจ่ายค่าตอบแทนสำาหรับวิทยาลัยนานาชาติ ให้เป็ นไปตามเงือ่ นไขและแนว ปฏิบตั ขิ องวิทยาลัยนานาชาติ - การเป็ นทีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์/ศิลปนิพนธ์/ปริญญานิพนธ์/การศึกษาค้นคว้า อิสระ หรือโครงงานอืน่ ๆ ทีม่ ลี กั ษณะคล ้ายคลึง ให้จ่ายค่าตอบแทนต่อโครงงาน หลังจากโครงงานเสร็จสิ้น ดังนี้  โครงงานทีม่ นี กั ศึกษา 1 คน จ่ายค่าตอบแทนร้อยละ 30 ของค่าหน่วยกิต (ไม่รวมค่าบำารุงห้องปฏิบตั กิ าร) ทัง้ นี้ไม่เกิน 2,500 บาทต่อโครงงาน  โครงงานทีม่ นี กั ศึกษา 2 คน จ่ายค่าตอบแทนร้อยละ 20 ของค่าหน่วยกิตรวม


(ไม่รวมค่าบำารุงห้องปฏิบตั กิ าร) ทัง้ นี้ไม่เกิน 2,500 บาทต่อโครงงาน  โครงงานทีม่ นี กั ศึกษา 3 คน จ่ายค่าตอบแทนร้อยละ 15 ของค่าหน่วยกิตรวม (ไม่รวมค่าบำารุงห้องปฏิบตั กิ าร) ทัง้ นี้ไม่เกิน 2,500 บาทต่อโครงงาน -17 โครงงานทีม่ นี กั ศึกษา 4 คนขึ้นไป จ่ายค่าตอบแทนร้อยละ 12 ของค่าหน่วยกิตรวม (ไม่รวมค่าบำารุงห้องปฏิบตั กิ าร) ทัง้ นี้ไม่เกิน 2,500 บาทต่อโครงงาน - การเป็ นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ /การศึกษาค้นคว้าอิสระ ให้จ่ายค่าตอบแทนท่านละ 5 เปอร์เซ็นต์ของค่าหน่วยกิตลงทะเบียน (ไม่รวมค่าบำารุงห้องปฏิบตั ิการ) รวมแลว้ ไม่เกิน 1,000 บาทต่อโครงงาน โดยจำานวนกรรมการสอบให้เป็ นไปตามเกณฑ์ท่กี าำ หนด และมิให้ อาจารย์ทป่ี รึกษาขอเบิกค่าตอบแทนการเป็ นกรรมการสอบโครงงานภายใต้การปรึกษาของตน (4) ก า ร จ่ า ย ค่ า ต อ บ แ ท น สำา ห รั บ ก า ร ส อ น ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า โ ท - การสอนรายวิชาบรรยายหรือปฏิบตั ิการ หน่ วยกิตละ 1,500 บาท โดยให้ปฏิบตั ิตาม เ งื่ อ น ไ ข แ ล ะ แ น ว ป ฏิ บั ติ ข อ ง บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย - การเป็ นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการศึกษาค้นคว้าอิสระ หรือโครงงานอื่น ๆ ที่ มีล กั ษณะคล า้ ยคลึง ให้จ่ า ยค่ า ตอบแทนต่ อ โครงงานหลัง จากโครงงานเสร็ จ สิ้ น ส ม บู ร ณ์ ดั ง นี้ • วิทยานิพนธ์ จ่ายค่าตอบแทนร้อยละ 30 ของค่าลงทะเบียน (ไม่รวมค่า บำารุงห้องปฏิบตั กิ าร) ทัง้ นี้ไม่เกิน 12,000 บาทต่อวิทยานิพนธ์  วิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ จ่ายค่าตอบแทนร้อยละ 30 ของค่าลงทะเบียนรวม ทัง้ นี้ ไม่เกิน 5,000 บาทต่อวิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ - การเป็ นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ให้จ่ายค่าตอบแทนคนละ 5 เปอร์เซ็นต์ของค่า หน่วยกิตลงทะเบียน (ไม่รวมค่าบำารุงห้องปฏิบตั กิ าร) และไม่เกินท่านละ 1,000 บาท ต่อโครงงาน โดยจำานวนกรรมการสอบให้เป็ นไปตามเกณฑ์ทก่ี าำ หนด และมิให้ อาจารย์ทป่ี รึกษาขอเบิกค่าตอบแทนการเป็ นกรรมการสอบโครงงานภายใต้การ ป รึ ก ษ า ข อ ง ต น - การเป็ นกรรมการสอบประมวลความรูป้ ากเปล่าจ่ายค่าตอบแทนสำาหรับการปฏิบตั งิ าน

เต็มวัน วันละ 2,000 บาทต่อท่าน โดยจำานวนกรรมการให้เป็ นไปตามเกณฑ์ทก่ี าำ หนด - ค่าตอบแทนการเป็ นกรรมการออกและตรวจข้อสอบประมวลความรูข้ อ้ เขียน ให้ เหมาจ่ายรายวิชา ๆ ละ 5,000 บาท รวมแลว้ หลักสูตรละไม่เกิน 10,000 บาท -18- การจ่ายค่าตอบแทนสำาหรับการสอนระดับปริญญาเอก ให้ปฏิบตั ติ ามประกาศการ เบิกจ่ายค่าตอบแทนการสอนระดับปริญญาโท (5) ให้นบั ภาระงานขัน้ ต่ำาต่อปี การศึกษา เพือ่ คำานวณค่าตอบแทนเกินภาระงานตามลำาดับดังนี้ ลำาดับที่ 1 การสอนบรรยายและปฏิบตั ใิ นระดับปริญญาตรี ลำาดับที่ 2 การสอนบรรยายและปฏิบตั ใิ นระดับปริญญาตรี หลักสูตรนานาชาติ ลำาดับที่ 3 การสอนบรรยายและปฏิบตั ใิ นระดับปริญญาโท ลำาดับที่ 4 การเป็ นทีป่ รึกษาโครงงาน/ปริญญานิพนธ์ระดับปริญญาตรี ลำาดับที่ 5 การเป็ นกรรมการสอบโครงงาน/ปริญญานิพนธ์ระดับปริญญาตรี ลำาดับที่ 6 การเป็ นทีป่ รึกษาโครงงาน/วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท ลำาดับที่ 7 การเป็ นกรรมการสอบโครงงาน/วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท ลำาดับที่ 8 การออกและตรวจข้อสอบประมวลความรูร้ ะดับปริญญาโท (6) การเบิกค่าตอบแทนข้างต้น ให้ทาำ เฉพาะกรณีทม่ี ภี าระงานเกินขัน้ ต่ำาเท่านัน้ (7) ข้อเท็จจริงใด ๆ ทีป่ รากฏเพิม่ เติมหรือประเด็นนอกเหนือจากข้างต้น รวมถึงข้อขัดแย้งใด ๆ ที่เกิดขึน้ ให้อยูใ่ นดุลยพินจิ ของอธิการบดีหรือผูที้ ไ่ ด้รบั มอบหมายและถือเป็ นทีส่ ้นิ สุด (8) วิธีการเบิกจ่ายให้ ถือปฏิบตั ิ ดังนี้ - การให้ขอ้ มูลและการคำานวณหน่วยกิตและค่าตอบแทน เพือ่ ขอเบิกค่าตอบแทนถือ เป็ นความรับผิดชอบของวิทยาลัย/คณะ การขอเบิกค่าตอบแทนการสอนในแต่ละ เดือนจะต้องผ่านการพิจารณากลันกรองและได้ ่ รบั การรับรองจาก หัวหน้าหมวดวิชา/ สาขาวิชา/ภาควิชาและคณบดีของวิทยาลัย/คณะตามลำาดับ - อาจารย์ประจำาทีท่ าำ การสอนทุกคนจะต้องจัดทำาตารางสอนและกรอกแบบภาระงานสอน อาจารย์ประจำา และต้องผ่านการรับรองจากคณบดี และรวมรวมจัดส่งสำานักงานบุคคล ภ า ย ใ น 3 สั ป ด า ห์ นั บ แ ต่ วั น เ ปิ ด ภ า ค ก า ร ศึ ก ษ า - ผู ท้ ่ี ส อนเกิ น ภาระงานขัน้ ต่ำา จะได้ร ับ ค่ า ตอบแทนการสอนในแต่ ล ะเดื อ น


- เมือ่ สิ้นปี การศึกษาปรากฏว่ามีภาระงานรวมแล ้วไม่เกินกว่าภาระงานขัน้ ต่ำ าทีก่ าำ หนด แต่ ได้มกี ารขอเบิกค่าตอบแทนระหว่างปี การศึกษา ค่าตอบแทนทีไ่ ด้รบั ไประหว่าง -19ปี การศึกษาจะถูกหักคืนจากเงินเดือนภายในภาคการศึกษาถัดไป - การขอเบิกค่าตอบแทนการสอน มีขนั้ ตอนดังต่อไปนี้  อาจารย์ทส่ี อนเกินภาระงานขันต่ ้ ำ าในแต่ละเดือน กรอกเอกสารตามประเภททีข่ อเบิก และ ให้วทิ ยาลัย/คณะพิจารณากลันกรองให้ถู ่ กต้อง และจัดส่งสำานักงานบุคคลภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป  สำานักงานบุคคลขออนุมตั กิ ารขอเบิกจ่ายค่าตอบแทนฯ ต่อรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ  สำานักงานบุคคลบันทึกค่าตอบแทนทีไ่ ด้รบั อนุมตั ใิ นระบบเงินเดือนเพือ่ จ่ายพร้อมกับ เงินเดือน  สำานักงานบุคคลสรุปค่าตอบแทนแจ้งแผนกงบประมาณเพือ่ บันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายของ วิทยาลัย/คณะ 2.8 ค่ำตอบแทนกำรสอนวิชำสหกิจศึกษำ มีหลักเกณฑ์ ดังนี้ (1) ให้นบั จำานวนหน่วยกิตของการสอนวิชาสหกิจศึกษาเป็ น 0.2 หน่วยกิตภาระงานต่อ นักศึกษา 1 คน หากมีอาจารย์รบั ผิดชอบนักศึกษาคนนัน้ ๆ มากกว่า 1 คน ให้หารเฉลีย่ เป็นจำานวนหน่วยกิต ของอาจารย์แต่ละคน (2) การเบิกจ่ายค่าตอบการสอนวิชาสหกิจศึกษา จะกระทำาได้เมือ่ มีภาระงานเกินกว่าที่ กำาหนดในประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง การกำาหนดภาระงานสอนและค่าตอบแทนการสอนเกินภาระงาน พ.ศ.2546 ลงวันที่ 18 กันยายน 2546 แล ้วเท่านัน้ (3) การคำานวณและการเบิกจ่ายค่าตอบแทนวิชาสหกิจศึกษา - อาจารย์ทส่ี อนวิชาสหกิจศึกษาจะได้รบั ค่าตอบแทนในอัตราไม่เกิน 20 เปอร์เซ็นต์ ของค่าหน่วยกิตลงทะเบียนวิชาสหกิจศึกษา (ไม่รวมค่าบำารุง) - ให้ดำาเนินการขออนุมตั เิ บิกจ่ายค่าตอบแทนวิชาสหกิจศึกษาเมือ่ เสร็จสิน้ โครงการแล ้ว

-20-

2.9 ค่ำตอบแทนตำำแหน่ งทำงวิชำกำร มหาวิทยาลัยจะจ่ายค่าตอบแทนให้กบั บุคลากรทีด่ าำ รงตำาแหน่งทางวิชาการ โดยมีหลักเกณฑ์ ต่อ ไปนี้ 2.9.1 อัตราค่าตอบแทน (1) ตำาแหน่งผูช้ ่วยศาสตราจารย์ เดือนละ 5,000 บาท (2) ตำาแหน่งรองศาสตราจารย์ เดือนละ 9,000 บาท (3) ตำาแหน่งศาสตราจารย์ เดือนละ 15,000 บาท 2.9.2 ผูท้ จ่ี ะได้รบั เงินประจำาตำาแหน่งทางวิชาการ จะต้องได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดาำ รงตำาแหน่งทาง วิชาการโดยมหาวิทยาลัย ไม่ใช่ตาำ แหน่งติดตัวก่อนทำางานกับมหาวิทยาลัย 2.9.3 บุคลากรทีด่ าำ รงตำาแหน่งทางวิชาการ และรับเงินประจำาตำาแหน่ง จะต้องปฏิบตั ติ ามภารกิจ ดังนี้ (1) ผูด้ าำ รงตำาแหน่งผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ภายในช่วงเวลาทุก 2 ปี จะต้องมีบทความทาง วิชาการทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์เผยแพร่ในวารสารทางวิชาการ หรือมีผลงานในลักษณะอืน่ ทีเ่ ทียบเท่าไม่นอ้ ยกว่า 1 เรื่อง (2) ผูด้ าำ รงตำาแหน่งรองศาสตราจารย์ ภายในช่วงเวลาทุก 2 ปี จะต้องมีบทความทาง วิชาการทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์เผยแพร่ในวารสารทางวิชาการไม่นอ้ ยกว่า 2 เรื่อง หรือมี บทความจากผลงานวิจยั ทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ หรือผลงานใน ลักษณะอืน่ ทีเ่ ทียบเท่าไม่นอ้ ยกว่า 1 เรื่อง (3) ผูด้ าำ รงตำาแหน่งศาสตราจารย์ ภายในช่วงเวลาทุก 2 ปี จะต้องมีบทความทางวิชาการที่ ได้รบั การตีพมิ พ์เผยแพร่ในวารสารทางวิชาการไม่นอ้ ยกว่า 2 เรื่อง หรือมีบทความ จากผลงานวิจยั ทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับชาติ หรือผลงาน ในลักษณะอืน่ ทีเ่ ทียบเท่าไม่นอ้ ยกว่า 2 เรื่อง หรือมีบทความจากผลงานวิจยั ทีไ่ ด้รบั


การตีพมิ พ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการนานาชาติ ไม่นอ้ ยกว่า 1 เรื่อง

-21(4) หากไม่สามารถปฏิบตั ติ ามภารกิจข้างต้น จะถูกระงับเงินประจำาตำาแหน่งทางวิชาการ จนกว่าจะสามารถปฏิบตั ติ ามภารกิจทีก่ าำ หนดได้ โดยให้เริ่มนับช่วงเวลาใหม่นบั แต่ วันทีภ่ ารกิจทีเ่ สนอได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการของมหาวิทยาลัย 2.10 ค่ำตอบแทนตำำแหน่ งบริหำร ในกรณีทบ่ี คุ ลากรทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีใ่ นตำาแหน่งอาจารย์ประจำา ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดาำ รงตำาแหน่งบริหาร จะได้รบั ค่าตอบแทนการดำารงตำาแหน่งปกติ ดังนี้ (1) อัตราค่าตอบแทน - ตำาแหน่ง คณบดี ค่าตอบแทนเดือนละ 15,000 บาท - ตำาแหน่ง รองคณบดี ค่าตอบแทนเดือนละ 6,000 บาท - ตำาแหน่งหัวหน้าภาควิชา/สาขาวิชา/หลักสูตร/เลขานุการคณะหรือวิทยาลัย ค่าตอบแทนเดือนละ 5,000 บาท (2) กรณีได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดำารงตำาแหน่งเกินกว่า 1 ตำาแหน่ง ให้ได้รบั ค่าตอบแทนเฉพาะ เพียงอัตราทีส่ ูงสุดเท่านัน้ (3) เมือ่ บุคลากรพ้นจากตำาแหน่งแล ้ว จะไม่ได้รบั ค่าตำาแหน่ง (4) เมือ่ ผูด้ าำ รงตำาแหน่งไม่อยู่ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นช่วงเวลาใด ผูป้ ฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทนจะได้รบั เงิน ประจำาตำาแหน่งแทน 2.11 ค่ำเช่ำบ้ำนอำจำรย์ชำวต่ำงชำติ อาจารย์ชาวต่างชาติจะได้รบั ค่าเช่าบ้านในอัตราเดือนละ 3,000 บาท โดยจะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ (1) ปฏิบตั งิ านกับมหาวิทยาลัยครบ 120 วัน หรือได้รบั การบรรจุแลว้ (2) ถือหนังสือเดินทางของต่างประเทศ และไม่ถอื สัญชาติไทย (3) ได้รบั เงินเดือนไม่ถงึ 35,000 บาท

-22หมวดที่ 3 วัน – เวลำทำำงำน และวันหยุด 3.1 นโยบำยและเวลำพักปกติ 3.1.1.1 มหาวิทยาลัย จะกำาหนดเวลาทำางานปกติของบุคลากรวันละ 8 ชัว่ โมงรวมเวลาพัก 1 ชัว่ โมง ในสัปดาห์หนึ่งให้มวี นั ทำางานปกติ 5 วัน นอกเหนือจากวันหยุดประจำาสัปดาห์ให้มวี นั หยุดตาม ประเพณี โดยการออกประกาศให้ทราบล่วงหน้า 3.2 วันและเวลำทำำงำนปกติ 3.2.1 วันจันทร์ ถึง วันศุกร์ ตัง้ แต่เวลา 08.30 – 16.30 น. 3.2.2 ในกรณีทม่ี คี วามจำาเป็ นหรือเพือ่ ให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ และสภาพการทำางานของแต่ละ ตำาแหน่งหน้าทีห่ รือหน่วยงาน มหาวิทยาลัยอาจเปลีย่ นแปลงวัน เวลาทำางานปกติและวันหยุด ของบุคลากรไปจากทีร่ ะบุไว้ ตามความเหมาะสม 3.2.3 อาจารย์ทม่ี คี วามจำาเป็ นต้องจัดการเรียนการสอนในวันเวลานอกเหนือจากเกณฑ์ปกติ ให้ถอื หลักการทำางานปกติ 40 ชัว่ โมง ตามภาระงาน และมีชวั ่ โมงให้คาำ ปรึกษาแก่นกั ศึกษาไม่นอ้ ย กว่า 15 ชัว่ โมง / สัปดาห์ เฉลีย่ ไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน / สัปดาห์ 3.3 วันหยุดประจำำสัปดำห์ สัปดาห์ละ 2 วัน วันเสาร์และอาทิตย์ ซึ่งอาจมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมกับลักษณะ งาน 3.4 วันหยุดประเพณี เป็ นไปตำมประกำศของมหำวิทยำลัย ในกรณี ท่วี นั หยุดตามประเพณี วนั ใดตรงกับวันหยุดประจำาสัปดาห์ มหาวิทยาลัยจะจัดให้มวี นั หยุดชดเชยในวันทำางานถัดไปหรือตามทีเ่ ห็นสมควร


3.5 กำรลงเวลำทำำงำน บุคลากรทุกคนจะต้องบันทึกเวลาด้วยตนเองทุกครัง้ ทีเ่ ข้าทำางานและเลิกงาน 3.5.1 หากบุคลากรมีความจำาเป็ นต้องออกจากมหาวิทยาลัยหรือเลิกงาน ก่อนเวลาเลิกงานปกติ ให้ขอ -23อนุญาตจากผูบ้ งั คับบัญชาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และให้บนั ทึกเวลาออกตามความเป็ นจริง 3.5.2 หน่วยงานทีต่ อ้ งปฏิบตั งิ านต่อเนื่องตลอด 24 ชัว่ โมง ให้แบ่งการ ทำางานเป็ นกะการ ปฏิบตั งิ านให้ชดั เจน หมวดที่ 4 ประเภทและหลักเกณฑ์กำรลำหยุด ประเภทกำรลำหยุดงำน มหาวิทยาลัยให้บคุ ลากรมีสทิ ธิลาหยุดงานในกรณีต่างๆ ดังนี้ 1. ลาป่ วย 2. ลากิจ 3. ลาพักผ่อนประจำาปี 4. ลาอุปสมบท หรือ การลาไปประกอบพิธีฮจั ย์ 5. ลาคลอดบุตร 6. ลาเพือ่ ราชการทหาร 7. ลาไปศึกษาอบรม ดูงาน หรือปฏิบตั งิ านวิจยั 8. ลาไปต่างประเทศ ข้อปฏิบตั ิ  การนับวันลา ให้นบั ตามปี งบประมาณทีม่ หาวิทยาลัยกำาหนด ตัง้ แต่วนั ที่ 1 เดือน มิถนุ ายนของปี ถงึ วันที่ 31 พฤษภาคมของปี ถดั ไป

 การลาให้ใช้ใบลา ตามแบบฟอร์มหรือทำาบันทึกการลา เว้นแต่ในกรณีจาำ เป็ นหรือ รีบด่วน ให้โทรศัพท์ แต่ทงั้ นี้ตอ้ งส่งใบลาตามแบบฟอร์มในวันแรกทีม่ าทำางาน  การลาในประเภทเดียวกันซึง่ มีระยะเวลาต่อเนื่องกันจะเป็ นในปี เดียวกันหรือไม่ก็ตาม ให้นบั เป็ นการลาครัง้ หนึ่ง -24 ถ้าวันหยุดทำางานอยู่ในระหว่างวันลาให้นบั วันหยุดงานนัน้ เป็ นวันลาด้วย ยกเว้น การลาป่ วย ลาพักผ่อนประจำาปี ไม่นบั วันหยุด  ถ้ามีวนั หยุดงานต่อเนื่องก่อนวันลาให้นบั วันลาเริ่มต้นตัง้ แต่วนั เปิ ดทำางาน  ถ้าวันหยุดงานต่อเนื่องหลังวันลา ให้นบั วันก่อนหยุดงานเป็ นวันหมดเขตการลา  การลาหยุดงานตัง้ แต่ 3 วันขึ้นไปจะต้องได้รบั อนุมตั จิ ากอธิการบดี  หน่วยงานนัน้ ๆ จะต้องทำาจัดทำาบัญชี/รวบรวมใบลา แล ้วส่งให้ สำานักงานบุคคลทุก 15 วัน 4.1 กำรลำป่ วย 4.1.1 บุคลากรทีเ่ จ็บป่ วยไม่สามารถทำางานได้ อาจขอลาป่ วยเพือ่ รักษาตัวโดยได้รบั ค่าจ้าง ทัง้ นี้ ไม่เกินปี ละ 30 วันทำางาน โดยยืน่ ใบลาต่อผูบ้ งั คับบัญชาตามลำาดับ 4.1.2 หากบุคลากรป่ วยและไม่สามารถมาทำางานได้ ให้ตวั เองหรือผูใ้ กลช้ ดิ ติดต่อแจ้งให้ ผูบ้ งั คับบัญชาทราบทางโทรศัพท์ หรือด้วยวิธีอน่ื ใดโดยเร็วทีส่ ุดและให้ยน่ื ใบลาต่อ ผูบ้ งั คับบัญชาทันทีทก่ี ลับมาทำางานได้ 4.2 กำรลำกิจ 4.2.1 บุคลากรสามารถลากิจได้ ปี ละไม่เกิน 10 วัน 4.2.2 บุคลากรมหาวิทยาลัยประสงค์จะลากิจส่วนตัว ให้ส่งใบลาต่อผูบ้ งั คับบัญชาตามลำาดับเว้น แต่มเี หตุจาำ เป็ นไม่สามารถรอรับ อนุญาตได้ทนั จะส่งใบลาพร้อมระบุเหตุจาำ เป็ นไว้แลว้ หยุดงานไปก่อนก็ได้ แต่จะต้องชี้แจงเหตุผลให้ผูบ้ งั คับบัญชาผูม้ อี าำ นาจอนุญาตโดยเร็ว 4.2.3 ผูท้ ไ่ี ด้รบั อนุญาตให้ลากิจส่วนตัวซึง่ ได้หยุดงานไปยังไม่ครบกำาหนดถ้ามีงานจำาเป็ นเกิดขึ้น ผูบ้ งั คับบัญชา / ผูม้ อี าำ นาจ อาจเรียกตัวมาทำางานได้


4.3

กำรลำพักผ่อนประจำำปี 4.3.1 บุคลากรทีผ่ ่านการทดลองงานแล ้ว มีสทิ ธิลาพักผ่อนประจำาปี ได้ ไม่เกินปี ละ 10 วัน ทำางาน โดยไม่ถอื เป็ นวันลา 4.3.2 บุคลากร จะต้องขออนุญาตผูบ้ งั คับบัญชาล่วงหน้า -254.3.3 มหาวิทยาลัยอาจกำาหนดวันหยุดพักผ่อนประจำาปี ของบุคลากรทัง้ มหาวิทยาลัย โดยจะ ประกาศให้ทราบเป็ นคราวๆ ไป

4.4

กำรลำอุปสมบท หรือ กำรลำไปประกอบพิธีฮจั ย์ 4.4.1 บุคลากรทีจ่ ะได้รบั สิทธิลาตามข้อนี้ได้ จะต้องมีอายุการทำางานกับมหาวิทยาลัย ไม่นอ้ ย กว่า 3 ปี การศึกษา 4.4.2 บุคลากรทีป่ ระสงค์จะลาอุปสมบทในพุทธศาสนาหรือผูน้ บั ถือศาสนาอิสลาม ซึง่ ประสงค์จะ ลาไปประกอบพิธีฮจั ย์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดอิ าระเบีย ให้ส่งใบลาต่อผูบ้ งั คับบัญชา ตามลำาดับจนถึงผูม้ อี าำ นาจอนุญาตก่อนวันอุปสมบท หรือก่อนวันออกเดินทางไปประกอบ พิธีฮจั ย์ ไม่นอ้ ยกว่า 30 วัน 4.4.3 บุคลากรจะต้องนำาหลักฐานแสดงการอุปสมบทและการลาสิกขาบท มายืน่ ต่อสำานักงาน บุคคลภายใน 7 วันนับแต่วนั ทีเ่ ริ่มกลับเข้าทำางาน หากไม่นาำ หลักฐานมามอบภายใน กำาหนดเวลาดังกล่าวจะถือว่าบุคลากรผูน้ นั้ ขาดงาน

4.5. กำรลำคลอดบุตร 4.5.1 บุคลากรหญิงมีครรภ์ มีสทิ ธิลาเพือ่ การคลอดบุตรได้ก่อนและหลังคลอดครรภ์หนึ่งไม่เกิน 90 วัน รวมวันหยุดด้วย โดยได้รบั ค่าจ้างตามอัตราทีไ่ ด้รบั อยู่ไม่เกิน 45 วันและอีก 45 วันหลัง จะได้รบั เงินสงเคราะห์การหยุดงานเพือ่ การคลอดบุตรจากสำานักงานประกันสังคม 4.5.2 ให้บคุ ลากรซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์แจ้งกำาหนดวันทีจ่ ะคลอดโดยประมาณให้ผูบ้ งั คับบัญชาทราบ บุคลากรประสงค์จะลาหยุดงานก่อนคลอดให้ยน่ื ใบลาต่อผูบ้ งั คับบัญชาก่อนหรือในวันทีล่ า เว้นแต่ไม่สามารถลงชื่อในใบลาได้ จะให้ผูอ้ น่ื ลาแทนก็ได้ แต่เมือ่ สามารถลงชื่อได้แล ้ว ให้ส่งใบลาโดยเร็ว

4.5.3 ในกรณีจาำ เป็ นต้องหยุดงานเนื่องจากการคลอดบุตร โดยฉุกเฉินและไม่อาจขออนุญาต ล่วงหน้าได้ ให้บคุ ลากรหรือผูใ้ กลช้ ดิ แจ้งและส่งใบลาหยุดงานพร้อมใบรับรองแพทย์ให้แก่ ผูบ้ งั คับบัญชาโดยเร็วทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะทำาได้

-26-

4.6 กำรลำเพือ่ รำชกำรทหำร 4.6.1 บุคลากรทีท่ างราชการเรียกตัวเข้ารับราชการทหาร เรียกพลเพือ่ ตรวจสอบ เพือ่ ฝึ กวิชาทหาร หรือเพือ่ ทดลองความพรัง่ พร้อมตามกฎหมาย ว่าด้วยการรับราชการทหารมีสทิ ธิลาเพือ่ การ ดังกล่าว ตามระยะเวลาทีก่ าำ หนดในหมายเรียก โดยได้รับค่าจ้างในอัตราปกติปีละไม่เกิน 60 วัน 4.6.2 บุคลากรทีถ่ กู เรียกตัวดังกล่าวจะต้องยืน่ ใบลาและสำาเนาหมายเรียกต่อผูบ้ งั คับบัญชาโดยเร็ว ทีส่ ุดนับตัง้ แต่วนั ทีไ่ ด้รบั หมายเรียกหากบุคลากรหยุดงานไปเพือ่ การนี้โดยมิได้ยน่ื ใบลาถือ ว่าเป็ นการขาดงาน กำรขอยกเว้นกำรตรวจเลือกเข้ำรับรำชกำรทหำร (สำำหรับผูด้ ำำ รงตำำแหน่ งอำจำรย์ประจำำ) บุคลากรทีด่ าำ รงตำาแหน่งอาจารย์ประจำาและถึงกำาหนดต้องเข้ารับการตรวจคัดเลือกเข้ารับราชการ ทหารแต่ไม่สามารถเข้ารับการตรวจเลือกได้เนื่องจากมีภาระงานสอนสามารถดำาเนินการขอยกเว้นการตรวจ เลือกได้ทส่ี าำ นักงานบุคคล โดยยืน่ เอกสารดังนี้ 1. สำาเนาทะเบียนบ้าน 2. สำาเนา สด.9 3. ตารางสอนประจำาภาคการศึกษาที่ 2 โดยมีชวั ่ โมงสอนไม่นอ้ ยกว่า 12 ชัว่ โมง / สัปดาห์ วิธีดาำ เนินการ นำาเอกสารดังกล่าวยื่นทีส่ าำ นักงานบุคคลภายในวันที่ 1 ตุลาคมของปี ทจ่ี ะต้อง เข้ารับการตรวจคัดเลือกเข้ารับราชการทหาร สำาหรับอาจารย์ทเ่ี คยยืน่ เรือ่ งขอยกเว้นไว้กับสำานักงานบุคคลแล ้ว จะได้รบั สิทธิการยกเว้นนี้จนกว่าจะพ้นสภาพการเป็ นอาจารย์ของมหาวิทยาลัย 4.7 กำรลำศึกษำ อบรม ดูงำน หรือปฏิบตั งิ ำนวิจยั


บุคลากรประสงค์จะลาไปศึกษา ฝึ กอบรม ดูงาน หรือปฏิบตั กิ ารวิจยั ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ให้ส่งใบลาต่อผูบั้ งคับบัญชาตามลำาดับ พร้อมด้วยรายละเอียดประกอบ ใบลา ก่อนถึงวันลาไม่นอ้ ยกว่า 30 วัน บุคลากรที่ลาศึกษาหรือรับทุนสนับสนุ นการศึกษาจะต้องปฏิบตั ิตามแนวทางหรือข้อกำาหนดของ ประกาศ เรื่องการลาศึกษาและการให้ทนุ สนับสนุนการศึกษา ดังต่อไปนี้ -274.7.1 การลาศึกษา แบ่งเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ (1) การลาศึกษาประเภทเต็มเวลา หมายถึง บุคลากรใช้เวลาเพือ่ การศึกษาอย่างเต็มที่ โดยลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคการศึกษาในอัตราไม่ตำ่ ากว่าข้อกำาหนดของ สถาบันการศึกษานัน้ ๆ และต้องให้สำาเร็จการศึกษาภายในเวลาทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ (2) การลาศึกษาประเภทบางเวลา หมายถึง บุคลากรใช้เวลาเพือ่ การศึกษาบางเวลา โดย ยังคงปฏิบตั งิ านบางส่วนทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้กบั มหาวิทยาลัย ดังนี้ - ให้รบั ผิดชอบภาระงานสอน อย่างน้อยภาคการศึกษาละ 3 หน่วยกิต และไม่เกิน 6 หน่วยกิต โดยไม่มสี ทิ ธิขอรับค่าสอนหรือค่าตอบแทนใดๆ จากมหาวิทยาลัย - ภาระงานอืน่ ๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายตามความเหมาะสม - บุคลากรสายสนับสนุนให้ผูบ้ งั คับบัญชามอบหมายงานและกำาหนดเวลาทำางานให้เอื้อ ต่อการศึกษา โดยจะต้องปฏิบตั งิ านให้กบั มหาวิทยาลัยสัปดาห์ละ 25 ชัว่ โมง (3) การลาศึกษาประเภทนอกเวลา หมายถึง บุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านเต็มเวลาปกติ แต่ขอ อนุมตั ลิ าศึกษานอกเวลาทำาการปกติหรือในวันหยุด โดยไม่มขี ้อผูกพันในการปรับวุฒิ และปรับเงินเดือน ซึง่ มหาวิทยาลัยสงวนสิทธิ์ทจ่ี ะพิจารณาตามความเหมาะสม 4.7.2 คุณสมบัตขิ องบุคลากรผูม้ สี ทิ ธิลาศึกษา ลำประเภทเต็มเวลำ (1) บุคลากรทีไ่ ด้รบั ทุนสนับสนุนการศึกษา และรับเงินเดือนจากมหาวิทยาลัย จะต้อง เป็ นบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านให้กบั มหาวิทยาลัยต่อเนื่องติดต่อกันมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี และ อายุไม่เกิน 40 ปี (2) บุคลากรทีข่ อรับทุนสนับสนุนการศึกษาจากภายนอก และรับเงินเดือนจาก

มหาวิทยาลัยจะต้องเป็ นบุคลากรทีผ่ ่านการทดลองงานและได้รบั การบรรจุแต่งตัง้ แลว้ (3) บุคลากรทีข่ อรับทุนสนับสนุนการศึกษาบางส่วนจากภายนอกและบางส่วนจาก มหาวิทยาลัย และรับเงินเดือนจากมหาวิทยาลัย จะต้องเป็ นบุคลากรทีผ่ ่านการ ทดลองงานและได้รบั การบรรจุแต่งตัง้ แลว้

4.7.3 4.7.4 4.7.5 4.7.6

-28(4) บุคลากรทีข่ อรับทุนสนับสนุนการศึกษาประเภทเงินเดือนจากมหาวิทยาลัย จะต้อง เป็ นบุคลากรทีผ่ ่านการทดลองงานและได้รบั การบรรจุแต่งตัง้ แลว้ ลำประเภทบำงเวลำ (1) บุคลากรทีข่ อรับทุนสนับสนุนการศึกษา และรับเงินเดือนจากมหาวิทยาลัย และ ปฏิบตั งิ านบางเวลา จะต้องเป็ นบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านให้กบั มหาวิทยาลัยต่อเนื่อง ติดต่อกันมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี และอายุไม่เกิน 40 ปี (2) บุคลากรทีไ่ ด้ขอทุนสนับสนุนการศึกษาประเภทเงินเดือนจากมหาวิทยาลัย จะต้อง เป็ นบุคลากรทีผ่ ่านการทดลองงานและได้รบั การบรรจุแต่งตัง้ แลว้ ลำประเภทนอกเวลำ (1) บุคลากรทีข่ อรับทุนสนับสนุนการศึกษา และรับเงินเดือนจากมหาวิทยาลัย และ ปฏิบตั งิ านเต็มเวลา จะต้องเป็ นบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านให้กบั มหาวิทยาลัย ต่อเนื่องติดต่อกันมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี และอายุไม่เกิน 40 ปี (2) บุคลากรทีไ่ ด้รบั ทุนสนับสนุนการศึกษาประเภทเงินเดือนจากมหาวิทยาลัย และปฏิบตั งิ านเต็มเวลา จะต้องเป็ นบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านให้กบั มหาวิทยาลัย ต่อเนื่องติดต่อกันมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี ได้รบั การตอบรับให้เข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาทีม่ มี าตรฐานและเป็ นทีย่ อมรับ และ/หรือ ได้ รับทุนสนับสนุนการศึกษาจากมหาวิทยาลัยหรือจากหน่วยงานภายนอก ผ่านการตรวจสุขภาพจากโรงพยาบาล ตามประเภทของการลาศึกษา มีความตัง้ ใจจริงทีจ่ ะกลับมาปฏิบตั งิ านให้กบั มหาวิทยาลัย มีความรับผิดชอบและทุ่มเทในการปฏิบตั งิ าน


4.7.7 หลักเกณฑ์และรายละเอียดเกี่ยวกับการลาศึกษาของบุคลากร มหาวิทยาลัยจะประกาศให้ ทราบเป็ นประจำาทุกปี 4.7.8 บุคลากรทีล่ าศึกษา จะต้องทำาสัญญาผูกพันกับมหาวิทยาลัย โดยจะต้องปฏิบตั ติ ามอย่าง เคร่งครัด

-294.7.9 บุคลากรทีล่ าศึกษาในประเทศหรือต่างประเทศ หากจำาเป็ นต้อง เดินทางออกนอกประเทศ ทีศ่ ึกษา จะต้องขออนุญาตจากมหาวิทยาลัยเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน หรือในกรณีฉุกเฉิน ต้องแจ้งให้มหาวิทยาลัยทราบโดยทันที และต้องได้รบั อนุญาต ก่อนการเดินทาง 4.7.10 บุคลากรทีล่ าศึกษาทุกประเภท จะต้องรายงานผลการลงทะเบียนเรียนและผลการศึกษาใน แต่ละภาคการศึกษาโดยเร็ว 4.7.11 บุคลากรทีล่ าศึกษาและมีผลการเรียนในเกณฑ์มาตรฐาน จะได้รบั การอนุมตั ใิ ห้ขยายเวลา การศึกษาตามหลักสูตรต่อไปโดยอัตโนมัติ โดยจะแจ้งให้บคุ ลากรทีล่ าศึกษาทราบล่วงหน้า ไม่นอ้ ยกว่า 1 เดือน ก่อนสิ้นปี การศึกษาของทุกปี 4.7.12 กรณีทบ่ี คุ ลากรคาดว่าจะไม่สามารถสำาเร็จการศึกษาได้ภายในเวลาทีไ่ ด้รบั การอนุมตั จิ ะต้อง ยืน่ เรื่องขอขยายเวลาการศึกษาล่วงหน้าอย่างน้อย 3 เดือน ก่อนครบกำาหนด โดยมี หลักฐานรับรองจากอาจารย์ทป่ี รึกษาและอาจารย์ผูค้ วบคุมวิทยานิพนธ์อย่างน้อย 2 คน ทัง้ นี้ผลการพิจารณาขึ้นอยู่กบั ดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาการลาศึกษาและการ ให้

ทุนสนับสนุนการศึกษาบุคลากร 4.7.13 บุคลากรทีล่ าศึกษาและลงทะเบียนเรียนหน่วยกิตครบตามหลักสูตร และเขียนนิพนธ์ และ/หรือวิทยานิพนธ์เสร็จสิ้น แต่สอบไม่ผ่าน จะต้องยืน่ เรื่องขอขยายเวลาการศึกษา โดยเร็ว พร้อมแสดงหลักฐาน ทัง้ นี้ผลการพิจารณาขึ้นอยู่กบั ดุลยพินิจของคณะกรรมการ พิจารณาการลาศึกษาและการให้ทนุ สนับสนุนการศึกษาบุคลากร 4.7.14 เมือ่ บุคลากรสำาเร็จการศึกษา จะต้องแจ้งผลการศึกษาให้มหาวิทยาลัยทราบโดยเร็ว และ

รายงานตัวกลับเข้าทำางานภายใน 7 วัน สำาหรับบุคลากรทีล่ าศึกษาในประเทศ และภายใน 30 วัน สำาหรับบุคลากรทีล่ าศึกษาต่างประเทศ หากไม่ปฏิบตั ติ ามถือเป็ นความผิดวินยั อย่างร้ายแรง 4.7.15 การกลับมาปฏิบตั งิ านของบุคลากรและการให้กลับมาปฏิบตั งิ าน ให้ยดึ ถือหลักเกณฑ์ดงั นี้ (1) เมือ่ ครบกำาหนดการลาและบุคลากรทีล่ าศึกษากลับมาปฏิบตั งิ าน ให้แจ้งเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษรผ่านผูบ้ งั คับบัญชาตามลำาดับชัน้ ทันที พร้อมทัง้ ยืน่ เอกสารการศึกษา หรือเอกสารการสำาเร็จการศึกษา -30(2) กรณีบคุ ลากรทีล่ าศึกษากลับเข้าทำางานตามปกติ ให้ผูบั้ งคับบัญชามอบหมายภาระงาน แก่บคุ ลากรนัน้ ตามความเหมาะสม 4.7.16 มหาวิทยาลัยอาจเรียกตัวบุคลากรทีล่ าศึกษากลับมาปฏิบตั งิ านได้ และให้ถอื เป็ นการ เริ่มชดใช้เวลาตามข้อผูกพันทีร่ ะบุไว้ 4.7.17 ไม่อนุญาตให้บคุ ลากรทีล่ าศึกษาประเภทเต็มเวลากลับเข้าทำางานเป็ นการชัว่ คราวระหว่าง ลาศึกษา 4.7.18 กรณีทบ่ี คุ ลากรไม่สามารถสำาเร็จการศึกษาเนื่องด้วยเหตุผลใดๆ จะต้องกลับมาปฏิบตั งิ าน ชดใช้ตามเวลาทีก่ าำ หนด และ/หรือเป็ นเงินตามทีก่ าำ หนดไว้ในสัญญาผูกพัน 4.7.17 บุคลากรทีย่ งั อยู่ในระหว่างการชดใช้ทนุ ไม่มสี ทิ ธิขอลาศึกษาในระดับนัน้ ซ้าำ อีก กำรชดใช้เวลำ 1. การลาศึกษาประเภทเต็มเวลา โดยรับเงินเดือนและ/หรือรับทุนสนับสนุนการศึกษา บุคลากรจะต้องชดใช้โดยการปฏิบตั งิ านให้กบั มหาวิทยาลัยเป็ นเวลาจำานวน 3 เท่าของเวลาทีใ่ ช้ในการศึกษา หากบุคลากรไม่สามารถชดใช้ตามทีร่ ะบุได้ จะต้องชดใช้เป็ นเงินจำานวน 3 เท่าของเงินเดือนและ/หรือจำานวน เงินทุนสนับสนุนการศึกษาทีไ่ ด้รบั ระหว่างลาศึกษา 2. การลาศึกษาประเภทบางเวลา โดยรับเงินเดือนและ/หรือรับทุนสนับสนุนการศึกษา บุคลากร จะต้องชดใช้โดยการปฏิบตั งิ านให้กบั มหาวิทยาลัยเป็ นเวลาจำานวน 2 เท่าของเวลาทีใ่ ช้ในการศึกษา หาก บุคลากรไม่สามารถชดใช้ตามทีร่ ะบุได้ จะต้องชดใช้เป็ นเงินจำานวน 2 เท่าของเงินเดือนและ/หรือจำานวนเงิน ทุนสนับสนุนการศึกษาทีไ่ ด้รบั ระหว่างลาศึกษา


3. การลาศึกษาประเภทนอกเวลา โดยรับเงินเดือนและ/หรือรับทุนสนับสนุนการศึกษา บุคลากรจะต้องชดใช้โดยการปฏิบตั งิ านให้กบั มหาวิทยาลัยเป็ นเวลาจำานวน 1 เท่าของเวลาทีใ่ ช้ในการ ศึกษา หากบุคลากรไม่สามารถชดใช้ตามทีร่ ะบุได้ จะต้องชดใช้เป็ นเงินจำานวน 1 เท่าของเงินเดือน และ/หรือจำานวนเงินทุนสนับสนุนการศึกษาทีไ่ ด้รบั ระหว่างลาศึกษา 4. กรณีบคุ ลากรทีล่ าศึกษา ขอลาออกหรือพ้นสภาพการเป็ นบุคลากรด้วยเหตุหนึ่งเหตุใดก็ตาม ทำาให้ไม่สามารถชดใช้โดยการปฏิบตั งิ านให้กบั มหาวิทยาลัยครบตามข้อผูกพัน บุคลากรจะต้องชดใช้เป็ น เงินให้กบั มหาวิทยาลัยตามข้อผูกพันทีร่ ะบุไว้ -31-

4.8 กำรลำไปต่ำงประเทศ บุคลากรประสงค์จะลาไปต่างประเทศด้วยเหตุใดๆ นอกจากเพือ่ ไปศึกษาเพิม่ เติม ให้ส่งใบลา ต่อผูบ้ งั คับบัญชาตามลำาดับ และจะต้องได้รบั การอนุญาตจากอธิการบดีก่อนการเดินทางไปต่างประเทศ 4.9 กำรขำดงำน การหยุดงานโดยมิได้รบั อนุญาต ตามเงือ่ นไขทีก่ าำ หนดไว้ขา้ งต้น หรือการหยุดงานเกินกำาหนด เวลาทีไ่ ด้รบั อนุญาต ให้ถอื เป็ นการขาดงานหรือละทิ้งหน้าที่ ซึง่ ถือเป็ นการปฏิบตั ติ นฝ่ าฝื นระเบียบวินยั หมวดที่ 5 กำรพ้นสภำพจำกกำรเป็ นบุคลำกร กำรสิ้นสุดสภำพกำรเป็ นบุคลำกรเกิดขึ้นเนื่ องจำกกรณี ต่อไปนี้ 1. ตาย 2. ลาออกจากการเป็ นบุคลากร 3. ถูกเลิกจ้าง ถูกไล่ออก 4. ครบเกษียณอายุ 5. สิ้นสุดอายุสญั ญาว่าจ้าง

5.1 กำรลำออก บุคลากรทีป่ ระสงค์จะลาออกจากงาน ให้ยนื หนังสือขอลาออกล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน ต่อผู ้ บังคับบัญชาโดยตรงเหนือขึ้นไปชัน้ หนึ่งแลว้ ให้ผูบ้ งั คับบัญชาผูน้ นั้ เสนอใบลาออกผ่านตามลำาดับจนถึง อธิการบดีเพื่อพิจารณาอนุ ญาตหรือไม่อนุ ญาตให้ลาออก และไม่อนุ ญาตให้บุคลากรที่มภี าระงานสอนลา ออกระหว่างภาคการศึกษา เว้นแต่คณบดีจะพิจารณาให้ลาออกได้

-325.2 กำรครบเกษี ยณอำยุ บุคลากรผูม้ อี ายุครบ 65 ปี บริบูรณ์ ถือว่าครบเกษียณอายุ เว้นแต่อธิการบดีจะอนุ มตั ิให้มกี าร จ้างเป็ นคราวๆ ไปอีกคราวละไม่เกิน 1 ปี เมื่อได้พิจารณาเหตุผลหรือประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย และ บุคลากรผูน้ นั้ ยังมีสุขภาพสมบูรณ์เพียงพอทีจ่ ะปฏิบตั งิ าน 5.3 กำรเลิกจ้ำง ให้เป็ นไปตามระเบียบและสัญญาว่าจ้างของมหาวิทยาลัย 5.3.1 กรณี มหาวิทยาลัยเลิกจ้างบุคลากร โดยบุคลากรมิได้ปฏิบตั ิตนฝ่ าฝื นระเบียบวินยั และ กฎหมายแรงงาน มหาวิทยาลัยจะจ่ายค่าชดเชยให้แก่บคุ ลากรตามพระราชบัญญัตคิ ่มุ ครองแรงงาน ดังนี้ 1. บุคลากรซึ่งทำางานติดต่อกันครบหนึ่งร้อยยี่สบิ วัน แต่ไม่ครบหนึ่งปี ให้จ่ายไม่นอ้ ยกว่าค่า จ้างอัตราสุดท้ายสามสิบวัน หรือไม่นอ้ ยกว่าค่ าจ้างของการทำา งานสามสิบวันสุ ดท้าย สำาหรับลูกจ้าง ซึง่ ได้รบั ค่าจ้างตามผลงานโดยคำานวณเป็ นหน่วย 2. บุคลากรซึ่งทำางานติดต่อกันครบหนึ่งปี แต่ไม่ครบสามปี ให้จ่ายไม่นอ้ ยกว่าค่าจ้างอัตรา สุดท้ายเก้าสิบวัน หรือไม่นอ้ ยกว่าค่าจ้างของการทำางานเก้าสิบวันสุดท้ายสำาหรับลูกจ้าง ซึง่ ได้รบั ค่าจ้างตามผลงานโดยคำานวณเป็ นหน่วย 3. บุคลากรซึ่งทำางานติดต่อกันครบสามปี แต่ไม่ครบหกปี ให้จ่ายไม่นอ้ ยกว่าค่าจ้างอัตรา สุดท้ายหนึ่งร้อยแปดสิบวัน หรือไม่นอ้ ยกว่าค่าจ้างของการทำา งานหนึ่งร้อยแปดสิบวัน สุดท้ายสำาหรับลูกจ้างซึง่ ได้รบั ค่าจ้างตามผลงานโดยคำานวณเป็ นหน่วย


4. บุคลากรซึ่งทำางานติดต่อกันครบหกปี แต่ไม่ครบสิบปี ให้จ่ายไม่นอ้ ยกว่าค่าจ้างอัตรา สุดท้ายสองร้อยสี่สิบวัน หรือไม่นอ้ ยกว่าค่าจ้างของการทำา งานสองร้อยสี่สิบวันสุดท้าย สำาหรับลูกจ้าง ซึง่ ได้รบั ค่าจ้างตามผลงานโดยคำานวณเป็ นหน่วย 5.3.2 การเลิกจ้าง เนื่องจากกระทำาความผิดวินยั จะไม่ได้รบั ค่าชดเชยมีสาเหตุดงั ต่อไปนี้ 5.3.2.1 ละทิ้งหน้าทีเ่ ป็ นเวลา 3 วันติดต่อกัน โดยไม่มเี หตุผลอันควร 5.3.2.2 ฝ่ าฝื นระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศหรือคำาสัง่ อันชอบด้วยกฎหมายทีเ่ กี่ยวกับการ ปฏิบตั งิ านของบุคลากร ซึง่ ผูบ้ งั คับบัญชาตามสายงาน ได้ตกั เตือนเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษรแล ้ว เว้นแต่ กรณีรา้ ยแรงไม่ตอ้ งตักเตือน -335.3.2.3 ประมาทเลินเล่อจนเป็ นเหตุให้มหาวิทยาลัยได้รบั ความเสีย หายทางวัตถุหรือ ทางชื่อเสียงเกียรติคุณอย่างร้ายแรง 5.3.2.4 ทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทำาผิดอาญาโดยเจตนาแก่มหาวิทยาลัย 5.3.2.5 ต้องคำาพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษจำา คุก เว้นแต่เป็ นความ ผิดลหุโทษ หรือ ความผิดอันกระทำาโดยประมาท 5.3.2.6 จงใจทำาให้มหาวิทยาลัยได้รบั ความเสียหาย 5.4 สิ้นสุดอำยุสญั ญำว่ำจ้ำง บุคลากรผูใ้ ดซึง่ ทำาสัญญาว่าจ้างไว้กบั มหาวิทยาลัย หากครบกำาหนดอายุการว่าจ้างตามสัญญา และไม่มกี ารต่อสัญญาอีก บุคลากรผูน้ นั้ สิ้นสุดสภาพการเป็ นบุคลากรนับตัง้ แต่วนั ถัดจากวันทีค่ รบกำาหนด อายุสญั ญาเป็ นต้นไป หมวดที่ 6 สวัสดิกำร เพือ่ ให้บคุ ลากรมีความมันคงในชี ่ วติ มหาวิทยาลัยจึงได้จดั ให้มี สวัสดิการและผลประโยชน์

พิเศษแก่บคุ ลากรในรูปแบบต่าง ๆ ทัง้ นี้เกิดขึ้นตามกฎหมาย และทีม่ หาวิทยาลัยได้จดั ให้แก่บคุ ลากรเอง สวัสดิการทีเ่ กิดขึ้นตามกฎหมาย 6.1 กำรประกันสังคม วัตถุประสงค์ของกำรจัดตัง้ กองทุนประกันสังคม เพือ่ สร้างหลักประกันและความมัน่ คงในการดำารงชีวติ ให้แก่ประชาชน โดยการเฉลีย่ ทุกข์ เฉลีย่ สุข ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมด้วยการออมและเสียสละเพือ่ ส่วนรวมมีหลักการสำาคัญ ทีม่ งุ่ ให้ประชาชน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ช่วยเหลือตนเอง และครอบครัวในยามที่ไม่มรี ายได้ รายได้ลดลงหรือมีรายจ่าย เพิม่ ขึ้น โดยไม่เป็ นภาระให้ผูอ้ ่นื และสังคม การประกันสังคมจึงเป็ นใครบ้างต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุน ประกันสังคม -34ผูท้ ม่ี หี น้าทีต่ ามกฎหมาย ต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม ประกอบด้วย 3 ฝ่ าย คือ - รัฐบาล - นายจ้าง - ลูกจ้าง นายจ้างและลู กจ้าง จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุน ในอัตราร้อยละ 5 ของค่ าจ้าง (ปี 2545) และ รัฐบาลสมทบอีกส่วนหนึ่ง โดยนายจ้างเป็ นผูน้ าำ ส่ง ในส่วนของลูกจ้าง และนายจ้างต้องนำา ส่งเงินสมทบ ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดจากเดือนทีจ่ ่ายค่าจ้าง (หักเงินสมทบ) ณ สำานักงานประกันสังคมจังหวัด หรือ สำานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ท่สี ถานประกอบการนัน้ ขึ้นทะเบียนไว้ โดยจ่ายเป็ นเงินสดหรือจ่ายผ่าน ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา หรือทางไปรษณียล์ งทะเบียน สิทธิประโยชน์ท่ลี ูกจ้ำงจะได้รบั ผูป้ ระกันตนเจ็บป่ วยฉุกเฉินหรือได้รบั อุบตั เิ หตุจะทำาอย่างไร กรณี ผูป้ ระกันตนซึ่งจ่ายเงินสมทบมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 3 เดือน เมื่อเจ็บป่ วยฉุ กเฉิ น หรือได้รบั อุบตั เิ หตุ หากไม่สามารถเข้ารับการรักษาพยาบาล ในสถานพยาบาลทีร่ ะบุไว้ในบัตรรับรองสิทธิได้ สามารถ เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลใดก็ได้ โดยสำารองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน แลว้ นำาหลักฐาน มาขอรับเงินคืน จากสำานักงานประกันสังคม ซึง่ สามารถเบิกได้ในส่วนของค่ารักษาพยาบาลทีเ่ กิดขึ้น ภายใน


72 ชัว่ โมงแรกหลังเกิดเหตุ โดยไม่นบั รวมวันหยุดราชการ ต่อจากนัน้ ผูป้ ระกันตนต้อง เข้ารับการรักษาตัว ต่อยังสถานพยาบาล ทีร่ ะบุช่อื ไว้ในบัตรรับรองสิทธิรกั ษาพยาบาล กรณี เจ็บป่ วยฉุกเฉิ น ผูป้ ่ วยนอก จ่ายให้ปีละไม่เกิน 2 ครัง้ ดังนี้ - ค่ารักษาพยาบาลตามทีจ่ ่ายจริงไม่เกิน 300 บาท/ครัง้ - ค่าตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบตั กิ าร จ่ายเพิม่ จากค่ารักษาพยาบาล ไม่เกิน 200 บาท/ครัง้ - ค่าหัตถการ จากแพทย์ จ่ายเพิม่ จากค่ารักษาพยาบาล ไม่เกิน 200 บาท/ครัง้ ผูป้ ่ วยในจ่ายให้ปีละไม่เกิน 2 ครัง้ ดังนี้ - ค่ารักษาพยาบาลตามทีจ่ ่ายจริง ไม่เกินวันละ 1500 บาท -35- กรณีผ่าตัดใหญ่ไม่เกิน 2 ชัว่ โมง ไม่เกิน 8,000 บาท - กรณีผ่าตัดใหญ่เกิน 2 ชัว่ โมง ไม่เกิน 14,000 บาท - ค่าห้อง ค่าอาหาร ไม่เกินวันละ 700 บาท - ค่ารักษาพยาบาลเพิม่ กรณีทต่ี อ้ งรักษาในห้อง ICU จ่ายไม่เกินวันละ 2,000 บาท - กรณีการตรวจรักษาด้วยเทคโนโลยีชนั้ สูง ได้แก่ CT SCAN หรือ MRI จ่ายไม่เกิน 4,000 บาท ตามหลักเกณฑ์ทก่ี าำ หนด ค่าพาหนะเคลือ่ นย้ายผูป้ ่ วย - ค่ารถพยาบาลหรือเรือพยาบาล จ่ายให้ไม่เกิน 500 บาท/ครัง้ - พาหนะรับจ้าง หรือส่วนบุคคล ไม่เกิน 300 บาท/ครัง้ - ข้ามเขตจังหวัด จ่ายเพิม่ ตามระยะทางกิโลเมตรละ 90 สตางค์ กรณี ประสบอุบตั ิเหตุ - จ่ายเท่าทีจ่ ่ายจริงตามความจำาเป็ น ภายใน 72 ชัว่ โมง ไม่จาำ กัดจำานวนครัง้ - ถ้าเข้ารับการรักษา ณ โรงพยาบาลของรัฐ จ่ายค่ารักษาพยาบาลเท่าทีจ่ ่ายจริง ตามความจำาเป็ น สำาหรับค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ภายใน 72 ชัว่ โมง หากเข้ารักษา ณ พยาบาลเอกชน จ่าย ตามหลักเกณฑ์เดียวกับ กรณีฉุกเฉิน โดยไม่กาำ หนดจำานวนครัง้

ประโยชน์ทดแทนกรณี เจ็บป่ วย หรือประสบอันตรำย ผูป้ ระกันตนซึ่งจ่ายเงินสมทบในส่วนของกรณี เจ็บป่ วยมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 3 เดือน ภายในระยะ เวลา 15 เดือน ก่อนวันรับบริการทางการแพทย์ จะได้รบั การบริการทางการแพทย์รวมถึงค่าอวัยวะเทียม และอุปกรณ์ในการบำา บัดรักษาโรค ตามประกาศสำานักงานประกันสังคมโดยไม่เสียค่ าใช้จ่าย จากสถาน พยาบาลที่มชี ่อื ระบุไว้ในบัตรรับรองสิทธิรกั ษาพยาบาล โดยแสดงบัตรรับรองสิทธิฯ ทุกครัง้ ที่เข้ารับการ รักษาพยาบาล ยกเว้นโรคทีไ่ ม่อยู่ในข่ายคุม้ ครอง และได้รบั เงินทดแทนการขาดรายได้ในระหว่างหยุด พักรักษา ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างรายเดือน โดยได้รบั ตามที่หยุดงานจริง ตามคำาสัง่ แพทย์ ครัง้ ละไม่เกิน 90 วัน และรวมกันไม่เกิน 180 วัน ต่อปี เว้นแต่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังจะได้รบั ไม่เกิน 365 วัน -36-

ประโยชน์ทดแทนกรณี คลอดบุตร ผูป้ ระกันตนหญิง ซึง่ จ่ายเงินสมทบในส่วนของกรณีคลอดบุตรมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 7 เดือน ภายใน ระยะเวลา 15 เดือน ก่อนวันคลอดบุตรมีสิทธิได้รบั ค่าคลอดบุตร เหมาจ่ายครัง้ ละ 6,000 บาท และเงิน สงเคราะห์การหยุดงานเพือ่ การคลอดบุตรเหมาจ่ายในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลีย่ เป็นระยะเวลา 90 วัน ผูป้ ระกันตนชาย ซึง่ จ่ายเงินสมทบมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 7 เดือน มีสทิ ธิได้รบั ค่าคลอดบุตร เหมาจ่าย ครัง้ ละ 6,000 บาท สำาหรับภรรยาทีจ่ ดทะเบียนสมรสหรือหญิงทีอ่ ยู่กนิ กันฉันสามีภรรยาโดยเปิ ดเผย แต่ไม่ ได้จดทะเบียนสมรส ผูป้ ระกันตนมีสทิ ธิได้รบั ค่าคลอดบุตรคนละ 2 ครัง้ สำาหรับกรณีทส่ี ามีและภรรยาเป็ นผูป้ ระกันตนทัง้ คู่ ให้ใช้สทิ ธิในการเบิกค่าคลอดบุตร รวมกันไม่ เกิน 4 ครัง้ โดยบุตรทีน่ าำ มาใช้สทิ ธิเบิกค่าคลอดบุตรแลว้ ไม่สามารถนำามาขอรับค่าคลอดบุตรได้อกี ประโยชน์ทดแทนกรณี ทพุ พลภำพ ผูป้ ระกันตน ซึง่ จ่ายเงินสมทบในส่วนของกรณีทพุ พลภาพมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 3 เดือน ระยะเวลา 15 เดือน ก่อนวันทีค่ ณะกรรมการการแพทย์กาำ หนดให้เป็ นผูท้ พุ พลภาพ มีสทิ ธิได้รบั - ค่ารักษาพยาบาลตามทีจ่ ่ายจริง แต่ไม่เกินเดือนละ 2,000 บาท - เงินทดแทนการขาดรายได้เป็ นรายเดือนร้อยละ 50 ของค่าจ้างตลอดชีวติ - ค่าอวัยวะเทียม/อุปกรณ์ในการบำาบัดรักษาโรค ตามประกาศของสำานักงานประกันสังคม เรื่อง


ประเภท และอัตราค่าอวัยวะเทียม และอุปกรณ์ในการบำาบัดรักษาโรคกรณีทพุ พลภาพ ประโยชน์ทดแทนกรณี ตำย ผูป้ ระกันตน ซึง่ จ่ายเงินสมทบมาในส่วนของกรณีตาย มาแล ้วไม่นอ้ ยกว่า 1 เดือนภายใน ระยะเวลา 6 เดือน ก่อนถึงแก่ความตาย สำานักงานประกันสังคมจ่ายประโยชน์ทดแทน ดังนี้ - ค่าทำาศพ เป็ นเงิน 30,000 บาท จ่ายให้ผูจ้ ดั การศพ ผูจ้ ดั การศพ คือ บุคคลซึง่ ผูป้ ระกันตนทำา หนังสือระบุให้เป็ นผูจ้ ดั การศพ หรือคู่สมรส บิดา มารดา หรือบุตรของผูป้ ระกันตน หรือบุคคล อืน่ ซึง่ มีหลักฐานแสดงว่าเป็ นผูจ้ ดั การศพผูป้ ระกันตน - เงินสงเคราะห์ จ่ายให้บุคคลซึง่ ผูประกั ้ นตนทำาหนังสือระบุให้รับสิทธิ หรือเฉลีย่ จ่ายให้กับทายาท ของผูป้ ระกันตน ตามระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบของผูป้ ระกันตนก่อนเสียชีวติ ดังนี้ -37- ผูป้ ระกันตนจ่ายเงินสมทบมาแล ้ว ตัง้ แต่ 36 เดือน ขึ้นไป จะได้รบั เงินสงเคราะห์เท่ากับค่าจ้าง ประมาณหนึ่งเดือนครึ่ง - ผูป้ ระกันตนจ่ายเงินสมทบมาแล ้ว 10 ปี ข้นึ ไป จะได้รบั เงินสงเคราะห์เท่ากับค่าจ้างประมาณ 5 เดือน กรณี สงเครำะห์บตุ ร เงือ่ นไขการเกิดสิทธิ - จ่ายเงินสมทบมาแล ้วไม่นอ้ ยกว่า 12 เดือน ภายในระยะเวลา 36 เดือน ก่อนเดือนทีม่ สี ทิ ธิได้รบั ประโยชน์ทดแทน - เป็ นผูป้ ระกันตนตามมาตรา 33 หรือ มาตรา 39 ประโยชน์ทดแทนกรณี สงเครำะห์บตุ ร - เงินสงเคราะห์บตุ รเหมาจ่าย เดือนละ 200 บาท ต่อบุตรหนึ่งคน เงือ่ นไขของบุตรที่ได้รบั กำรสงเครำะห์ - เงินสงเคราะห์บตุ รสำาหรับบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย ซึง่ มีอายุไม่เกิน 6 ปี บริบูรณ์ จำานวนคราว ละไม่เกิน 2 คน (บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายดังกล่าว ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม หรือบุตรซึง่ ได้ยก

ให้เป็ นบุตรบุญธรรมของบุคคลอืน่ ) - ผูป้ ระตนมีสทิ ธิได้รบั ประโยชน์ทดแทน ในกรณีสงเคราะห์บตุ ร สำาหรับบุตรทีม่ อี ายุไม่เกิน 6 ปี บริบูรณ์ เว้นแต่ผูป้ ระกันตนเป็ นผูท้ พุ พลภาพ หรือถึงแก่ความตาย ในขณะทีบ่ ตุ รมีอายุไม่เกิน 6 ปี บริบูรณ์ จะมีสทิ ธิได้รบั ประโยชน์ทดแทนต่อจนอายุ 6 ปี บริบูรณ์ หลักเกณฑ์กำรใช้สทิ ธิขอรับประโยชน์ทดแทน - ในกรณีทบ่ี ดิ ามารดาเป็ นผูป้ ระกันตน ให้ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งเป็ นผูม้ สี ทิ ธิรบั ประโยชน์ทดแทนเพียง ฝ่ ายเดียว - ผูป้ ระกันตนมีสทิ ธิขอรับประโยชน์ทดแทน สำาหรับบุตรคราวละไม่เกิน 2 คน โดยนับลำาดับการ เกิดก่อนหลัง -38- เมือ่ ผูป้ ระกันตนมีการจดทะเบียนหย่า หรือแยกกันอยู่ และบุตรอยู่ในอุปการะของผูป้ ระตน ฝ่ ายใด ให้ฝ่ายนัน้ มีสทิ ธิรบั ประโยชน์ทดแทน - ในกรณีทผ่ี ูป้ ระกันตนชายไม่ได้จดทะเบียนสมรส การขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์ บุตร สามารถทำาได้ 3 วิธี คือ 1) จดทะเบียนสมรส 2) จดทะเบียนรับรองบุตร (ตามทีก่ าำ หนดไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ) 3) ยืน่ เรื่องต่อศาล ให้พพิ ากษารับรองบุตร ประโยชน์ทดแทนกรณี ชรำภำพ กรณี เงินบำำนำญชรำภำพ เงือ่ นไขการเกิดสิทธิ - จ่ายเงินสบทบไม่นอ้ ยกว่า 180 เดือนไม่ว่าระยะเวลา 180 เดือนจะติดต่อกันหรือไม่ก็ตาม และ - มีอายุครบ 55 ปี บริบูรณ์ และ - ความเป็ นผูป้ ระกันตนสิ้นสุดลง กรณี บำำ เหน็ จชรำภำพ


เงือ่ นไขการเกิดสิทธิ - จ่ายเงินสมทบไม่ครบ 180 เดือน และ - ความเป็ นผูป้ ระกันตนสิ้นสุดลง และ - มีอายุครบ 55 ปี บริบูรณ์หรือเป็ นผูท้ พุ พลภาพ หรือถึงแก่ความตาย เงินบำำนำญชรำภำพ - กรณีจ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือนให้ได้รบั เงินบำานาญชราภาพ ในอัตราร้อยละ 15 ของค่าจ้าง เฉลีย่ 60 เดือนสุดท้าย ทีใ่ ช้เป็ นฐานในการคำานวณเงินสมทบ ก่อนความเป็ นผูประกั ้ นตนสิ้นสุดลง - จ่ายเงินสมทบเกินกว่า 180 เดือน ให้ปรับเพิม่ อัตราเงินบำานาญชราภาพตามข้อที่ 1 จากอัตรา ร้อยละ 15 เพิม่ อีกร้อยละ 1 ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบ ทุก 12 เดือน -39เงินบำำเหน็ จชรำภำพ - กรณีจ่ายเงินสมทบต่ำากว่า 12 เดือน ให้จ่ายเงินบำาเหน็จชราภาพเท่ากับจำานวนเงินสมทบที่ ผูป้ ระกันตนจ่าย สมทบเข้ากองทุน - กรณีจ่ายเงินสมทบ ตัง้ แต่ 12 เดือนขึ้นไป ให้จ่ายเงินบำาเหน็จชราภาพเท่ากับจำานวนเงินสมทบที่ ผูป้ ระกันตนและนายจ้างจ่ายสมทบเข้ากองทุนพร้อมผล ประโยชน์ตอบแทน ตามทีส่ าำ นักงาน ประกันสังคมกำาหนด ประโยชน์ทดแทนกรณี ว่ำงงำน หลักเกณฑ์และสิทธิประโยชน์ หลักเกณฑ์ทจ่ี ะทำาให้ท่านมีสทิ ธิ คือ จ่ายเงินสมทบในส่วนของกรณีว่างงานมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนการว่างงาน เงือ่ นไขการเกิดสิทธิ 1. ต้องขึ้นทะเบียนผูว้ ่างงานทีส่ าำ นักงานจัดหางานของรัฐ 2. มีความสามารถในการทำางาน และพร้อมทีจ่ ะทำางานทีเ่ หมาะสมตามทีจ่ ดั หาให้ 3. ต้องไม่ปฏิเสธการฝึ กงาน 4. ต้องรายงานต่อเจ้าหน้าทีส่ าำ นักจัดหางาน ไม่นอ้ ยกว่าเดือนละ 1 ครัง้

5. ผูท้ ว่ี ่างงานต้องไม่ถกู เลิกจ้างเนื่องจากกรณี - ทุจริตต่อหน้าที่ - กระทำาผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง - จงใจทำาให้นายจ้างได้รบั ความเสียหาย - ฝ่ าฝื นข้อบังคับ หรือระเบียบเกี่ยวกับการทำางาน หรือคำาสังอั ่ นชอบด้วยกฎหมายในกรณี ร้ายแรง - ละทิ้งหน้าทีเ่ ป็ นเวลา 7 วันทำางานติดต่อกัน โดยไม่มเี หตุอนั ควร - ประมาทเลินล่อเป็ นเหตุให้นายจ้างได้รบั ความเสียหายอย่างร้ายแรง - ได้รบั โทษจำาคุกตามคำาพิพากษา 6. ต้องมิใช่ผูม้ สี ทิ ธิได้รบั ประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพ -407. มีสทิ ธิรบั ประโยชน์ทดแทนเริ่มตัง้ แต่วนั ที่ 8 นับแต่วนั ว่างงานจากการทำางานกับนายจ้างราย สุดท้าย 8. ไม่เป็ นผูป้ ระกันตนโดยสมัครใจตามมาตรา 39 สิทธิท่ที ่ำนจะได้รบั ประโยชน์ทดแทน กรณี ถูกเลิกจ้ำง - ได้รบั เงินทดแทนระหว่างการว่างงานปี ละไม่เกิน 180 วัน ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างกรณี ลาออกจากงาน กรณี สมัครใจลำออก - ได้รบั เงินทดแทนระหว่างการว่างงานปี ละไม่เกิน 90 วัน ในอัตราร้อยละ 30 ของค่าจ้าง หากใน 1 ปี ปฏิทนิ มีการยืน่ ขอรับเงินทดแทนระหว่างการว่างงานเกินกว่า 1 ครัง้ ให้นบั ระยะเวลา การรับเงินทดแทนระหว่างการว่างงานรวมกันไม่เกิน 180 วัน เงินทดแทนการขาดรายได้จะจ่าย เป็ นงวดเดือน โดยโอนเงินผ่านบัญชีธนาคารตามทีผ่ ูป้ ระกันตนแจ้ง ขัน้ ตอนและวิธีกำรขอรับประโยชน์ทดแทน 1. ต้องไปขึ้นทะเบียนผูว้ ่างงานทีส่ าำ นักจัดหางาน กรมการจัดหางาน


2. กรอกแบบฟอร์มใบขึ้นทะเบียนผูป้ ระกันตนกรณีว่างงาน พร้อมด้วยหลักฐานดังนี้ - บัตรประชาชน - รูปถ่าย 1 นิ้ว 1 ใบ 3. กรอกแบบคำาขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน พร้อมด้วยหลักฐานดังนี้ - หนังสือรับรองการออกจากงาน หรือสำาเนาแบบแจ้งการออกจากงาน (สปส 6-09) หรือ - หนังสือหรือคำาสังของนายจ้ ่ างทีใ่ ห้ออกจากงาน - สำาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรกทีม่ ชี ่อื และเลขทีบ่ ญั ชี 4. เจ้าหน้าทีส่ าำ นักจัดหางานทำาการสัมภาษณ์/ตรวจสอบคุณสมบัตแิ ละประวัตกิ ารทำางาน 5. เจ้าหน้าทีส่ าำ นักจัดหางานทำาการเลือกตำาแหน่งงานว่างให้เลือก 3 แห่ง ให้ผูป้ ระกันตนกรณี ว่างงานได้พจิ ารณา

- ใบเสร็จรับเงิน (กรณีขอรับค่ารักษาและกรณีขอรับค่าอวัยวะเทียม/อุปกรณ์) - ใบรับรองแพทย์ (กรณีขอรับเงินทดแทนการขาดรายได้ ให้แพทย์ระบุวนั หยุดงาน และกรณี ขอรับค่าอวัยวะเทียม/อุปกรณ์ฯ ให้แพทย์ระบุประเภทอวัยวะเทียม/อุปกรณ์ฯทีใ่ ช้ดว้ ย) - หนังสือรับรองของนายจ้าง (กรณีขอรับเงินทดแทนการขาดรายได้) - สำาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรก ซึง่ มีช่อื และเลขทีบ่ ญั ชี (กรณีขอรับ เงินทางธนาคาร)

-416. หากยังไม่มงี านทีเ่ หมาะสม เจ้าหน้าทีส่ าำ นักจัดหางานจะประสานงานส่งฝึ กอบรมแรงงานตาม ความจำาเป็ น 7. เจ้าหน้าทีจ่ ะทำาการบันทึกสถานะผูป้ ระกันตนกรณีว่างงานเข้าสู่ฐานข้อมูลกลาง 8. เจ้าหน้าทีส่ าำ นักงานประกันสังคมดึงข้อมูลผูป้ ระกันตนกรณีว่างงานขึ้นมาวินิจฉัยตามเงือ่ นไข การเกิดสิทธิ 9. เมือ่ คุณสมบัตคิ รบถ้วน สำานักงานประกันสังคมทำาการโอนเงินทดแทนการขาดรายได้ตามสิทธิ ให้ผูป้ ระกันตน ผ่านทางบัญชีธนาคาร 10. หากผูข้ อรับประโยชน์ทดแทนไม่พอใจคำาสังจ่​่ ายประโยชน์ทดแทน สามารถยืน่ อุทธรณ์ได้ ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้งคำาสัง่

-42- สำาเนาทะเบียนสมรส (กรณีภริยาผูป้ ระกันตนคลอดบุตร) หากไม่มที ะเบียนสมรส ให้แนบ หนังสือรับรองของผูป้ ระกันตนกรณีไม่มที ะเบียนสมรส - สำาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรก ซึง่ มีช่อื และเลขทีบ่ ญั ชี(กรณีขอรับ เงินทางธนาคาร)

หลักฐำนประกอบกำรขอรับประโยชน์ทดแทน สำาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรก ซึง่ มีช่อื และเลขทีบ่ ญั ชี(กรณีขอรับ เงินทางธนาคาร) กรณี ประสบอันตรำยหรือเจ็บป่ วย - แบบคำาขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วย (สปส.2-01/1)

กรณี คลอดบุตร - แบบคำาขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีคลอดบุตร (สปส.2-01/2) - สำาเนาสูตบิ ตั รของบุตร (กรณีคลอดบุตรแฝดให้แนบสำาเนาสูตบิ ตั รของคู่แฝดด้วย)

กรณี ทพุ พลภำพ - แบบคำาขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีทพุ พลภาพ (สปส.2-01/3) - ใบเสร็จรับเงิน (กรณีขอรับค่าอวัยวะเทียม/อุปกรณ์) - ใบรับรองแพทย์ (กรณีขอรับเงินทดแทนการขาดรายได้ และกรณีขอรับค่าอวัยวะเทียม/ อุปกรณ์ฯ ให้แพทย์ระบุประเภทอวัยวะเทียม/อุปกรณ์ฯทีใ่ ช้ - สำาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรก ซึง่ มีช่อื และเลขทีบ่ ญั ชี(กรณีขอรับ เงินทางธนาคาร) กรณี ตำย กรณีขอรับค่าทำาศพ - แบบคำาขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีตาย (สปส.2-01/4)


- สำาเนามรณบัตร - สำาเนาบัตรประจำาตัวประชาชนของผูจ้ ดั การศพ - หลักฐานจากฌาปนสถานหรือมัสยิดทีแ่ สดงว่าเป็ นผูจ้ ดั การศพ - สำาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรก ซึง่ มีช่อื และเลขทีบ่ ญั ชี(กรณีขอรับ เงินทางธนาคาร) กรณี ขอรับเงินสงเครำะห์ - แบบคำาขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีตาย (สปส.2-01/4) - สำาเนาบัตรประจำาตัวประชาชนของผูม้ สี ทิ ธิได้รบั เงินสงเคราะห์ - สำาเนาทะเบียนสมรสของผูป้ ระกันตนและของบิดามารดา (ถ้ามี) พร้อมสำาเนา -43- สำาเนาสูตบิ ตั รของบุตร หรือสำาเนาทะเบียนบ้านของบุตร กรณีบตุ รไม่มสี ูตบิ ตั ร กรณี สงเครำะห์บตุ ร - แบบคำาขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บตุ ร (สปส. 2-01/5) - สำาเนาทะเบียนสมรส หรือ สำาเนาทะเบียนหย่าของผูป้ ระกันตน (กรณีจดทะเบียนหย่า) - สำาเนาสูตบิ ตั รของบุตร - สำาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรก ซึง่ มีช่อื และเลขทีบ่ ญั ชี(กรณีขอรับ เงินทางธนาคาร) กรณี ชรำภำพ - แบบคำาขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ (สปส. 2-01/6) - สำาเนาทะเบียนบ้าน ของทายาทผูมี้ สทิ ธิ(กรณีผรัู ้ บประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพถึงแก่ความตาย) - สำาเนามรณบัตร (กรณีผูร้ บั ประโยชน์ทดแทน กรณีชราภาพถึงแก่ความตาย) ระยะเวลำกำรขอรับประโยชน์ทดแทน ผูป้ ระกันตนหรือผูม้ สี ทิ ธิรบั ประโยชน์ทดแทนต้องยืน่ คำาขอรับประโยชน์ทดแทนภายใน 1 ปี

นับตัง้ แต่วนั ที่มสี ทิ ธิและถ้าไม่มาขอรับเงินภายใน 2 ปี นับแต่วนั ที่สาำ นักงานประกันสังคมได้แจ้งให้รบั เงิน ให้เงินนัน้ ตกเป็ นของกองทุน แต่ถา้ มีเหตุจาำ เป็ นอาจยืน่ ขอขยายเวลาการขอรับเงินออกไปได้อกี สถำนที่ย่นื คำำขอรับประโยชน์ทดแทน สำานักงานประกันสังคม เลขที่ 88/28 หมู่ 4 ถนนติวานนท์ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 1506 สำานักงานประกันสังคม เขตพื้นที่ 1 สำาหรับสถานประกอบการในเขตห้วยขวาง ดินแดง และพญาไท โทรศัพท์ 0-2248-0831,0-2248-0850-64, โทรสาร 0-2248-0865 -44สำานักงานประกันสังคม เขตพื้นที่ 2 สำาหรับสถานประกอบการในเขตบางขุนเทียน บางบอน จอมทอง ภาษีเจริญ บางแค หนองแขม ราษฏร์บูรณะ ทุ่งครุ ตลิง่ ชัน ทวีวฒั นา และบางพลัด โทรศัพท์ 0-2415-0533,0-2415-0544,0-2415-1618 โทรสาร 0-2415-8488,0-2415-5039 สำานักงานประกันสังคม เขตพื้นที่ 3 สำาหรับสถานประกอบการในเขตหนองจอก มีนบุรี คลองสามวา ลาดกระบัง คันนายาว บึงกุ่ม สะพานสูง บางเขน สายไหม วังทองหลาง และบางกะปิ โทรศัพท์ 0-2379-2832,0-2733-4111-20,0-2733-4223-26,0-2379-2938 โทรสาร 0-2379-2836 สำานักงานประกันสังคม เขตพื้นที่ 4 สำาหรับสถานประกอบการในเขตคลองเตย วัฒนา สวนหลวง ประเวศ บางนา และพระโขนง โทรศัพท์ 0-2311-5935-9,0-2311-6507-9,0-2311-6527-8 โทรสาร 0-2311-6511,0-2311-6740-1 สำานักงานประกันสังคม เขตพื้นที่ 5


สำาหรับสถานประกอบการในเขตดุสติ ลาดพร้าว หลักสี่ ดอนเมือง จตุจกั ร และบางซือ่ โทรศัพท์ 0-2954-2577-84 โทสาร 0-2954-4869,0-2954-4809 สำานักงานประกันสังคม เขตพื้นที่ 6 สำา หรับ สถานประกอบการในเขตธนบุรี บางคอแหลม ยานนาวา คลองสาน บางรัก สาทร บางกอกใหญ่ และบางกอกน้อย โทรศัพท์ 0-2476-9016-18,0-2468-8776-77 โทรสาร 0-2468-8771 สำานักงานประกันสังคม เขตพื้นที่ 7 สำาหรับสถานประกอบการในเขตพระนคร ปทุมวัน ป้ อมปรามศัตรูพ่าย ราชเทวี และสัมพันธวงศ์ โทรศัพท์ 0-2622-2500 โทรสาร 0-2622-2526 -45สำานักงานประกันสังคมจังหวัดทุกจังหวัด ผูป้ ระกันตนตำมมำตรำ 39 ลูกจ้างทีเ่ ป็ นผูป้ ระกันตนในโครงการประกันสังคมแล ้ว หากต่อมาได้ส้นิ สภาพการเป็ นลูกจ้าง เนื่องจากลาออก หรือสิ้นสุดการจ้างงาน แต่มคี วามประสงค์จะเป็ นผูป้ ระกันตนต่อ ก็สามารถยืน่ แบบแสดง ความจำานงขอเป็ นผูป้ ระกันตนโดยสมัครใจ ตามมาตรา 39 ได้ ซึง่ ลูกจ้างผูน้ นั้ จะต้องเคยเป็ นผูป้ ระกันตน และได้จ่ายเงินสมทบมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 12 เดือน ก่อนวันลาออกจากงานหรือสิ้นสุดการจ้างงาน โดยยื่น แบบ สปส. 1-20 บัตรประกันสังคมพร้อมสำา เนา และบัตรประจำา ตัวประชาชนหรือบัตรอื่นที่ใช้แทนบัตร ประจำาตัวประชาชนหรือบัตรอื่นที่ทางราชการออกให้พร้อมสำาเนา ภายใน 6 เดือน นับแต่วนั สิ้นสภาพการ เป็ นลูกจ้างโดยต้องจ่ายเงินสมทบ ในอัตราเดือนละ 432 บาท (ปี 2547) บัตรประกันสังคม บัตรรับรองสิทธิกำรรักษำพยำบำล ยื่นขอมีบตั ร - เขียนคำาร้องขอมีบตั รใหม่ ตามแบบ สปส. 1-03 และ 1-02 - กรณีบตั รหาย ให้ใช้แบบ สปส. 6-17 พร้อมค่าธรรมเนียม 10 บาท - สำาเนาบัตรประจำาตัว หรือสำาเนาทะเบียนบ้าน

บัตรรับรองสิทธิกำรรักษำพยำบำล - เขียนคำาร้อง ขอบัตรใหม่ ตามแบบ สปส. 9-02 - กรณีบตั รหาย ให้ใช้แบบ สปส. 9-02 - สำาเนาบัตรประจำาตัวประชาชน หรือสำาเนาทะเบียนบ้าน ยื่นขอมีบตั รใหม่ได้ท่ี - สำานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ - สำานักงานประกันสังคมจังหวัด โรคทีก่ าำ หนดให้ไม่อยู่ในความครอบคลุมในกรณีเจ็บป่ วยหรือประสบอันตราย (โรคทีย่ กเว้นการรักษาฟรี) - โรคจิต ยกเว้นกรณีเฉียบพลัน ซึง่ ต้องทำาการรักษาในทันที และระยะเวลารักษาไม่เกิน 15 วัน -46- โรคหรือการประสบอันตรายอันเนื่องจากการใช้ยาเสพติด ตามกฎหมาย ว่าด้วยยาเสพติด - โรคเดียวกันทีต่ อ้ งใช้เวลารักษาตัวในโรงพยาบาลประเภทคนไข้ใน เกิน 180 วัน ใน 1 ปี - การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis) ยกเว้น ก. กรณีไตวายเฉียบพลัน ทีม่ รี ะยะเวลาการรักษาไม่เกิน 60 วัน ให้มสี ทิ ธิได้รบั บริการทาง การแพทย์ ข. กรณีเจ็บป่ วยด้วยโรคไตวายเรื้อรัง ระยะสุดท้ายให้มสี ทิ ธิได้รบั บริการทางแพทย์ โดยการฟอก เลือด ด้วยเครื่องไตเทียม ตามหลักเกณฑ์เงือ่ นไข และอัตราทีก่ าำ หนดในประกาศ สำานักงาน ประกันสังคม - การกระทำาใดๆเพือ่ ความงามโดยไม่มขี อ้ บ่งชี้ทางการแพทย์ - การรักษาทีย่ งั อยู่ในระหว่างการค้นคว้าทดลอง - การรักษาภาวะมีบตุ รยาก - การตรวจเนื้อเยือ่ เพือ่ การผ่าตัดเปลีย่ นอวัยวะ ยกเว้น การปลูกถ่ายไขกระดูก - การตรวจใดๆทีเ่ กินความจำาเป็ นในการรักษาโรคนัน้ ๆ


- การผ่าตัดเปลีย่ นอวัยวะ - การเปลีย่ นเพศ - การผสมเทียม - การบริการระหว่างพักรักษาตัวแบบพักฟื้ น - ทันตกรรม ยกเว้น กรณีอดุ ฟัน ถอนฟัน ขูดหินปูน - แว่นตา และเลนส์เทียม ยกเว้นการผ่าตัดใส่เลนส์เทียมในลูกตา ให้จ่ายเป็ นค่าเลนส์เทียมใน อัตราข้างละ 4,000 บาท กองทุนเงินทดแทน ตามประกาศคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2515 กองทุนเงินทดแทน เป็ นกองทุนที่ รัฐบาลจัดตัง้ ขึ้น เพือ่ เป็ นทุนให้มกี ารจ่ายเงินทดแทน แก่ลูกจ้างแทนนายจ้างเมือ่ ลูกจ้าง เจ็บป่ วย หรือ -47ประสบอันตราย ทุพลภาพ สู ญหาย หรือถึงแก่ความตาย อันเนื่องจากการทำา งาน หรือป้ องกันรักษาผล ประโยชน์ให้นายจ้าง ปัจจุบนั มีพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ลงวันที่ 15 มิถนุ ายน 2537 ใช้ ประกาศแทนคณะปฏิวตั ฉิ บับดังกล่าว ซึง่ มีผลบังคับใช้ เมือ่ 1 กรกฎาคม 2537 สิทธิประโยชน์ทล่ี ูกจ้างได้รบั ตาม พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. 2537 เจ็บป่ วยหรือประสบอันตรำย - ค่ารักษาพยาบาลทีจ่ ่ายจริงตามความจำาเป็ น ไม่เกิน 35,000 บาท กรณีบาดเจ็บรุนแรงได้รบั ค่า รักษาพยาบาลเพิม่ อีก ไม่เกิน 50,000 บาท/ครัง้ (ตามหลักเกณฑ์ทก่ี าำ หนด) - ค่าทดแทน 60% ของค่าจ้างรายเดือน ไม่ตำ ่ากว่าเดือนละ 2,000 บาท และไม่เกิน 9,000 บาท - กรณีหยุดพักรักษาตัวเกิน 3 วันขึ้นไป สูญเสียอวัยวะ - ค่าทดแทน 60% ของค่าจ้างรายเดือน ไม่เกิน 10 ปี ตามประเภทของอวัยวะ - ค่าฟื้ นฟู ด้านการแพทย์ และอาชีพไม่เกิน 20,000 บาท - ค่าผ่าตัด เพือ่ ฟื้ นฟูสมรรถภาพไม่เกิน 20,000 บาท

ทุพลภำพ - ค่าทดแทนรายเดือน 60% ของค่าจ้างเป็ นเวลา 15 ปี ตำยหรือสูญหำย - ค่าทำาศพ 100 เท่า ของอัตราสูงสุดของค่าจ้างขัน้ ต่ำารายวัน - ค่าทดแทนแก่ทายาท 60% ของค่าจ้างเป็ นเวลา 8 ปี ทำำอย่ำงไรเมื่อลูกจ้ำงเจ็บป่ วย หรือประสบอันตรำยเนื่ องจำกกำรทำำงำน เมือ่ ลูกจ้างเจ็บป่ วยหรือประสบอันตรายจากการทำางาน จะต้องแจ้งให้กบั นายจ้าง เพือ่ ให้นายจ้าง ให้ การรักษาพยาบาลแก่ลูกจ้างโดยทันที และแจ้งให้เจ้าหน้าที่กองทุนเงินทดแทนทราบภายใน 15 วัน นับจาก วันทีน่ ายจ้างทราบการเจ็บป่ วย หรือประสบอันตราย หรือสูญหายตามแบบ กท.16 ลูกจ้างสามารถเข้ารับ -48การรักษาพยาบาล ในสถานพยาบาลใดก็ได้ โดยทดลองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน แลว้ นำาใบเสร็จรับเงิน ไปเบิกคืนภายใน 90 วัน หรือใช้แบบ กท.44 ส่งตัวลูกจ้างเข้ารับการรักษาพยาบาล หากสถานพยาบาลนัน้ อยู่ในความตกลงกับกองทุนเงินทดแทน ทางสถานพยาบาลจะเรียกเก็บ ค่ารักษาพยาบาล จากกองทุนเงิน ทดแทนเอง สวัสดิกำรที่มหำวิทยำลัยจัดให้ ได้แก่ 1. การรักษาพยาบาล 2. ค่าเล่าเรียนบุตร 3. การประกันอุบตั ิเหตุ 4. เงินกองทุนสำารองเลี้ยงชีพ 5. เงินช่วยเหลือบุคลากร 6. เครื่องแบบ สวัสดิกำรรักษำพยำบำล


ผูท้ ไ่ี ด้รบั การบรรจุแต่งตัง้ แล ้วมีสทิ ธิเบิกค่ารักษาพยาบาลของตนเองตามระเบียบ ว่าด้วยเรื่องอัตราค่ารักษาพยาลบาลและหลักการ ดังต่อไปนี้ 1. บุคลากรทุกคนมีสทิ ธิได้รบั การรักษาพยาบาลทีห่ อ้ งพยาบาลของมหาวิทยาลัย 2. สิทธิในการเบิกค่ารักษาพยาบาล ให้รวมถึงคู่สมรสและบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย ของบุคลากรผูม้ สี ทิ ธิเบิกค่ารักษาพยาบาล 3. บุตรชอบด้วยกฎหมายของบุคลากรผูม้ สี ทิ ธิเบิกค่ารักษาพยาบาลจะได้รบั สิทธิ เบิกค่ารักษาพยาบาล ต้องมีอายุไม่เกิน 20 ปี บริบูรณ์ สำาหรับบุตรบุญธรรม ไม่มสี ทิ ธิเบิกค่ารักษาพยาบาล 4. ในกรณีคู่สมรสทำางานในมหาวิทยาลัยรังสิตด้วยกัน ให้สทิ ธิเบิกค่ารักษาพยาบาล ภายในวงเงินสองคนรวมกันได้ 5. ในกรณีคู่สมรสฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง ไม่ได้เป็ นบุคลากรมหาวิทยาลัยและปฏิบตั ิงาน ในหน่วยงานทีม่ สี ทิ ธิเบิกค่ารักษาพยาบาลได้ให้ใช้สทิ ธิเบิกค่ารักษาพยาบาลใน -496. ส่วนของหน่วยงานนัน้ ๆ ก่อนแลว้ จึงนำาสำาเนาหลักฐานทัง้ หมดมาประกอบการ เบิกส่วนทีข่ าดจากมหาวิทยาลัย ทังนี ้ ้จะต้องเป็น โรงพยาบาลตาม ข้อ 6.1.2 โรงพยาบาลทีม่ สี ทิ ธิเบิกค่ารักษาพยาบาล ได้แก่ - โรงพยาบาลวิภาวดี - โรงพยาบาลพระรามเก้า - โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ - โรงพยาบาลปทุมเวช - โรงพยาบาลแพทย์รงั สิต - โรงพยาบาลนนทเวช - โรงพยาบาลของทางราชการ หรือโรงพยาบาล ของรัฐวิสาหกิจ วงเงินในกำรให้กำรรักษำพยำบำล ตามปี งบประมาณของมหาวิทยาลัย ( 1 มิถนุ ายน – 31 พฤษภาคมของปี ถดั ไป ) โดยถือ เกณฑ์อายุการทำางานตามปี ปฏิทนิ ดังต่อไปนี้

ตัง้ แต่ 4 เดือน ถึง 3 ปี มีสทิ ธิเบิกได้ปีละไม่เกิน 25,000 บาท เกินกว่า 3 ปี ถึง 6 ปี มีสทิ ธิเบิกได้ปีละไม่เกิน 30,000 บาท เกินกว่า 6 ปี ถึง 9 ปี มีสทิ ธิเบิกได้ปีละไม่เกิน 35,000 บาท เกินกว่า 9 ปี ถึง 12 ปี มีสทิ ธิเบิกได้ปีละไม่เกิน 40,000 บาท เกินกว่า 12 ปี ถึง 15 ปี มีสทิ ธิเบิกได้ปีละไม่เกิน 45,000 บาท เกินกว่า 15 ปี ขึ้นไป มีสทิ ธิเบิกได้ปีละ ไม่เกิน 50,000 บาท การเจ็บป่ วยในกรณีดงั ต่อไปนี้ไม่มสี ทิ ธิเบิกค่ารักษาพยาบาลจากมหาวิทยาลัย 1. การทำาแท้งโดยเจตนา 2. กามโรค 3. พิษสุราเรื้อรัง 4. โรคทีเ่ กี่ยวกับฟัน ยกเว้น การขูดหินปูน การถอนฟัน อุดฟัน รักษารากฟัน ฟันคุด หรือโรคเหงือกเท่านัน้ -505. การตรวจสายตาเพือ่ ประกอบแว่น หรือใส่คอนแทคเลนส์ 6. การประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วย เพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ (1) เสพเครื่องดองของเมาจนไม่สามารถครองสติได้ (2) จงใจให้ตนเองหรือยอมให้ผูอ้ น่ื ทำาให้ตนเองประสบอันตราย 7. การเจ็บป่ วย หรือประสบอุบตั เิ หตุอนั เป็ นผลมาจากการเข้าร่วมในการจลาจล หรือก่อความไม่สงบให้กบั ประเทศชาติบา้ นเมืองด้วยความสมัครใจ 8. การป้ องกันโรคต่าง ๆ หรือการตรวจทีม่ ใิ ช่เป็ นการวิเคราะห์โรคอันเนื่องมาจาก การเจ็บป่ วย 9. การศัลยกรรมตกแต่ง 10. ค่าอวัยวะเทียม และอุปกรณ์ในการบำาบัดรักษาโรค การเบิกค่ารักษาพยาบาล ให้ผูท้ ไ่ี ด้รบั สิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลนำาเงินส่วนตัวทดรองจ่าย ค่ารักษาพยาบาลไปก่อน แลว้ นำาต้นฉบับใบเสร็จรับเงินพร้อมใบรับรองแพทย์ ยืน่ ต่อสำานักงานบุคคลเพือ่ ดำาเนินการขอเบิกเงินตามขัน้ ตอนต่อไป หรือขอใบส่งตัวที่สำานักงานบุคคล


6.2 ค่ำเล่ำเรียนและเงินสวัสดิกำรเกี่ยวกับกำรศึกษำของบุตร 2.1 ค่าเล่าเรียนของบุตรในสถานศึกษาทัวไป ่ สถานศึกษา หมายความว่า 1. โรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย กรุงเทพมหานคร เทศบาล หรือองค์การบริหารส่วนจังหวัด 2. โรงเรียนในสังกัดส่วนราชการอืน่ ๆ หรือ องค์การของรัฐบาลที่ ก.พ. รับรอง คุณวุฒิ 3. โรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน แต่ไม่รวมถึงโรงเรียน ประเภทอาชีวศึกษาทีใ่ ช้หลักสูตรของโรงเรียนเอง และโรงเรียนการศึกษาพิเศษ เงินค่าเล่าเรียน หมายความว่า เงินค่าธรรมเนียมการเรียนหรือค่าธรรมอืน่ เพือ่ พัฒนาคุณภาพ การศึกษา ที่สถานศึกษาเรียกเก็บตามอัตราที่ได้รบั อนุ มตั ิจากกระทรวงศึกษาธิการ ตัง้ แต่ระดับชัน้ ประถม ศึกษา แต่ไม่เกินระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า บุตร หมายความว่า บุตรโดย -51ชอบด้วยกฎหมาย ซึง่ จะต้องมีอายุไม่เกิน 20 ปี บริบูรณ์ ในวันที่ 1 มิถนุ ายนของทุกปี แต่ไม่หมายรวมถึง บุตรบุญธรรมและบุตรซึง่ บิดา – มารดาได้ยกให้เป็ นบุตรบุญธรรมของผูอื้ น่ ปีการศึกษา หมายความว่า ปีการศึกษาทีก่ าำ หนดโดยกระทรวงศึกษาธิการ หรือส่วนราชการทีค่ วบคุมสถานศึกษานัน้ ๆ (1) บุคลากรมหาวิทยาลัยจะได้รบั เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร เว้นแต่ในกรณีท่ี คู่สมรสฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง ไม่ได้เป็ นบุคลากรของมหาวิทยาลัย และปฏิบตั งิ านในหน่วยงานทีม่ สี ทิ ธิเบิก ค่าเล่าเรียนบุตรได้ ให้ใช้สทิ ธิเบิกจากหน่วยงานนัน้ ๆ ก่อน หากเงินดังกล่าวได้รบั ต่ำากว่าสิทธิทพ่ี งึ จะได้รบั ตามระเบียบนี้ ผูม้ สี ทิ ธิสามารถเบิกเพิม่ เติมได้ รวมแล ้วต้องไม่เกินสิทธิตามระเบียบมหาวิทยาลัยรังสิต (2) ผูม้ สี ทิ ธิสามารถเบิกค่าเล่าเรียนบุตรเท่าจำานวนที่จ่ายจริง แต่ทงั้ นี้ หากสถานศึกษากำาหนด ภาคการศึกษาเป็ น 2 ภาคต่อปี การศึกษา ให้เบิกค่าเล่าเรียนได้ไม่เกินภาคการศึกษาละ 3,000 บาท ต่อ บุตรหนึ่งคน ส่วนสถานศึกษาที่กาำ หนดภาคการศึกษาเป็ น 3 ภาคต่อปี การศึกษา ให้เบิกค่าเล่าเรียนได้ไม่ เกินภาคการศึกษาละ 2,000 บาท ต่อบุตรหนึ่งคน (3) ให้ผูม้ สี ิทธิได้รบั เงินสวัสดิการกับการศึกษาของบุตรตามข้อ 2) มีสทิ ธิได้รบั เงินสวัสดิการ เกีย่ วกับการศึกษาของบุตรได้เพียงบุตรคนทีห่ นึ่งถึงคนทีส่ องเท่านัน้ การนับลำาดับบุตรคนทีห่ นึ่งถึงคนทีส่ อง

ให้นบั เรียงตามลำาดับการเกิดก่อนหลัง ทัง้ นี้ไม่ว่าจะเป็ นบุตรที่เกิดจากการสมรสครัง้ ใด หรืออยู่ในอำานาจ ปกครองของตนหรือไม่ ในกรณีบุตรคนใดคนหนึ่งในจำานวนสองคนตามวรรคแรกตาย กายพิการจนไม่ สามารถเล่าเรียนได้ เป็ นคนไร้หรือเสมือนไร้ความสามารถ วิกลจริต หรือจิตฟัน่ เฟื อนไม่สมประกอบก่อน มีอายุครบ 20 ปี บริบูรณ์สามารถนำาบุตรลำาดับถัดไปทีย่ งั มีชวี ติ อยู่มาใช้สทิ ธิแทนได้ (4) ในกรณีทเ่ี ป็ นปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบตั ติ ามระเบียบนี้ ให้อธิการบดี เป็ นผูว้ นิ ิจฉัย และให้ ถือเป็ นทีส่ ุด 2.2 เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรบุคลากรทีเ่ ข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย เงินค่ำเล่ำเรียน หมายความว่า เงินค่าหน่วยกิตและค่าปฏิบตั กิ ารทีเ่ ก็บตามจำานวนหน่วยกิต ทีล่ งทะเบียนศึกษาทีม่ หาวิทยาลัยกำาหนดและจัดการเรียนการสอนเอง บุตร หมายความว่า บุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย ซึง่ จะต้องมีอายุไม่เกิน 25 ปีบริบรู ณ์ในวันที่ 1 มิถนุ ายนของทุกปี แต่ไม่หมายรวมถึงบุตรบุญธรรมและบุตรซึง่ บิดามารดาได้ยกให้เป็นบุญธรรมของผูอื้ น่ - มหาวิทยาลัย จะให้สทิ ธิเบิกค่าเล่าเรียนเป็ นจำานวนครึ่งหนึ่งของค่าเล่าเรียนในแต่ละภาค การศึกษาสำาหรับบุตรของบุคลากรทีศ่ ึกษาในระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัย -52- บุตรของบุคลากรผูใ้ ดมีผลการศึกษาในภาคการศึกษาในภาคการศึกษาใด ๆ ถูกจำาแนก ประเภทเป็ นนักศึกษารอพินิจ ได้แต้มเฉลีย่ สะสมต่ำากว่า 2.00 มหาวิทยาลัยจะระงับสิทธิใน การให้ค่าเล่าเรียนในภาคการศึกษาถัดไปจนกว่าจะพ้นสภาพการเป็ นนักศึกษารอพินิจ จึงจะ ได้รบั สิทธิค่าเล่าเรียนเช่นเดิมในภาคการศึกษาถัดไป - บุตรของบุคลากรผูใ้ ดทีไ่ ด้รบั สิทธิแลว้ หากกระทำาผิดวินยั ศึกษาตามประกาศมหาวิทยาลัย รังสิต โดยการถูกตัดคะแนนความประพฤติ หรือพ้นสภาพการเป็ นนักศึกษา มหาวิทยาลัย จะระงับสิทธิในการให้ค่าเล่าเรียน - ผูใ้ ดรับสิทธิตามข้างต้นแลว้ มีสทิ ธิได้รบั การช่วยเหลือค่าเล่าเรียนบุตรได้เพียงบุตรคนทีห่ นึ่ง ถึงคนทีส่ องเท่านัน้ การนับลำาดับบุตรคนทีห่ นึ่งถึงคนทีส่ องให้นบั เรียงตามลำาดับการเกิด ก่อนหลังทัง้ นี้ไม่ว่าเป็ นบุตรทีเ่ กิดจากการสมรสครัง้ ใด หรืออยู่ในอำานาจปกครองของตน หรือไม่ ในกรณีบตุ รคนใดคนหนึ่ง ในจำานวนสองคนตามวรรคแรกตาย กายพิการจนไม่ สามารถเล่าเรียนได้ เป็ นคนไร้หรือเสมือนไร้ความสามารถ วิกลจริต หรือจิตฟัน่ เฟื อนไม่ สมประกอบก่อนอายุครบ 25 ปี บริบูรณ์ ให้สามารถนำาบุตรลำาดับถัดไปทีย่ งั มีชวี ติ อยู่มาใช้


สิทธิแทนได้ แนวปฏิบตั ใิ นกำรขอเบิกเงินสวัสดิกำรเกี่ยวกับกำรศึกษำของบุตร 1. ให้บคุ ลากรชำาระเงินค่าเล่าเรียนบุตรไปก่อนแล ้วนำาใบเสร็จรับเงินพร้อมเอกสารยืน่ เรื่อง ของเบิกเงินคืนทีส่ าำ นักงานบุคคล 2. เอกสารทีต่ อ้ งยืน่ ประกอบการขอเบิก ดังนี้ 2.1 สถานศึกษาของราชการ และมหาวิทยาลัยรังสิต - สำาเนาใบสูตบิ ตั รของบุตร - ใบเสร็จรับเงินค่าเล่าเรียนบุตรตัวจริง 2.2 สถานศึกษาเอกชน - สำาเนาใบสูตบิ ตั รของบุตร - สำาเนาใบอนุญาตจัดตัง้ สถานศึกษา - ใบเสร็จรับเงินค่าเล่าเรียนบุตรตัวจริง -536.3. กำรประกันอุบตั เิ หตุ มหาวิทยาลัยได้ทาำ สัญญาประกันอุบตั เิ หตุสาำ หรับบุคลากรกับบริษทั ประกันภัย รายละเอียด และขัน้ ตอนการปฏิบตั ดิ งั นี้ 3.1 ผูม้ สี ทิ ธิได้รบั ความคุม้ ครอง บุคลากรทีไ่ ด้รบั การบรรจุให้เป็ นบุคลากรประจำาของ มหาวิทยาลัยแล ้ว 3.2 ความคุม้ ครอง บุคลากรผูป้ ระสบอุบตั ิเหตุจะได้รบั ความคุม้ ครองในกรณีต่อไปนี้ การเสียชีวติ หรือได้รบั อันตรายบาดเจ็บจนเสียชีวติ บุคลากรจะได้รบั ค่าสินไหมทดแทนใน วงเงินตามทีก่ าำ หนดไว้กรมธรรม์ประกันภัย สถำนพยำบำล บุคลากรผูป้ ระสบอุบตั ิเหตุสามารถเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลที่อยู่ในโครงการประกัน อุบตั เิ หตุ บริษทั ประกันภัยได้ โดยมหาวิทยาลัยจะประกาศชื่อบริษทั ประกันภัย สถานพยาบาล รวมทัง้

รายละเอียดอื่น ๆ ให้ทราบเป็ นคราว ๆ ไป โดยแสดงบัตรประจำา ตัวบุคลากรต่อสถานพยาบาล ซึ่ง บุคลากรไม่ตอ้ งชำาระเงินค่ารักษาภายในวงเงินทีก่ าำ หนดไว้ในข้อตกลงความคุม้ ครองของกรมธรรม์ ขัน้ ตอนกำรขอเบิกค่ำสินไหม กรณีประสบอุบตั เิ หตุ อุบตั เิ หตุเกิดขณะปฏิบตั งิ านของมหาวิทยาลัย บุคลากรสามารถใช้สิทธิรกั ษาพยาบาลจากกองทุน เงิน ทดแทน กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อุบตั ิเหตุนอกเวลา ทำางาน บุคลากรสามารถใช้สิทธิจากกองทุนประกันสังคม หรือขอรับความคุมครองจากบริ ้ ษทั ประกันภัย ขัน้ ตอนการดำาเนินการ ก. เมือ่ ประสบอุบตั เิ หตุ ให้แจ้งให้สาำ นักงานบุคคลทราบโดยเร็ว ข. สำานักงานบุคคลจะประสานกับสำานักงานประกันสังคม หรือบริษทั ประกันภัย 6.4 กองทุนสำำรองเลี้ยงชีพ 4.1 การสมัครเป็ นสมาชิกกองทุนสำารองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแลว้ บุคลากรที่จะเป็ นสมาชิก กองทุนฯได้ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ -54(1) เป็ นบุคลากรของมหาวิทยาลัยรังสิตและได้รบั การบรรจุแลว้ (2) สมัครเข้าเป็ นสมาชิกกองทุนฯ ตามแบบฟอร์มทีก่ าำ หนด โดยผ่านสำานักงานบุคคล 4.2 การสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกกองทุนฯ เมือ่ (1) ลาออกจากการเป็ นบุคลากร หรือเกษียณอายุ (2) ตาย (3) ศาลมีคาำ สังให้ ่ เป็ นคนสาปสูญ ผูไ้ ร้ความสามารถ ผูเ้ สมือนไร้ความสามารถ (4) ได้รบั โทษตามคำาพิพากษาถึงทีส่ ุดให้ตอ้ งโทษจำาคุก (5) มหาวิทยาลัยเลิกจ้างหรือไล่ออก (6) เมือ่ กองทุนเป็ นอันยกเลิก ในกรณีทส่ี มาชิกถึงแก่ความตาย คณะกรรมการบริหารมีหน้าทีด่ ูแลรักษาเงินกองทุนของสมาชิก ผูน้ นั้ เพือ่ มอบให้ผูร้ บั ประโยชน์หรือทายาทต่อไป 4.3 เงินสะสมและเงินสมทบ


มหาวิทยาลัยจะหักเงินสะสมจากเงินเดือนของสมาชิกและจ่ายเงินสมทบจากมหาวิทยาลัยฝ่ ายละ เท่า ๆ กับนำาเข้ากองทุนทุก ๆ เดือน ในอัตราร้อยละของเงินเดือนตามอายุของการเป็ นสมาชิก ดังนี้ (1) อายุสมาชิกไม่ครบ 5 ปี อัตราร้อยละ 3 (2) อายุสมาชิกตัง้ แต่ 5 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี อัตราร้อยละ 5 (3) อายุสมาชิกตัง้ แต่ 10 ปี แต่ไม่ครบ 15 ปี อัตราร้อยละ 7 (4) อายุสมาชิกตัง้ แต่ 15 ปี ข้นึ ไป อัตราร้อยละ 9 สมาชิกจะต้องเริ่มจ่ายเงินสะสมในเดือนทีไ่ ด้รบั อนุมตั ใิ ห้เข้าเป็ นสมาชิกกองทุนจนกว่าจะพ้นจาก สมาชิกภาพ ผลประโยชน์ของสมำชิก มหาวิทยาลัยจะแต่งตัง้ ผูจ้ ดั การกองทุนฯ เพือ่ ทำาหน้าทีบ่ ริหารเงินสะสมของสมาชิก เพือ่ หาผล ประโยชน์ในทางการเงิน และเมือ่ สมาชิกพ้นสภาพการเป็ นบุคลากรของมหาวิทยาลัย จะได้รบั รวมผล ประโยชน์ ดังนี้ -55(1) สมาชิกภาพสิ้นสุดก่อนอายุการเป็ นสมาชิกครบ 3 ปี จะได้รบั เฉพาะเงินสะสมของสมาชิก พร้อมผลประโยชน์ (2) สมาชิกภาพสิ้นสุดเมือ่ อายุสมาชิกครบ 3 ปี แล ้ว จะได้รบั เงินสะสมของสมาชิก ผลประโยชน์ และเงินสมทบจากมหาวิทยาลัยอีก 1 เท่าของเงินสะสมทัง้ หมด กำรยกเลิกกองทุน กองทุนยกเลิกเมื่อ (1) มหาวิทยาลัยเลิกกิจการ 2) ทีป่ ระชุมใหญ่ สมาชิกมีมติให้เลิก (3) รัฐมนตรีสงให้ ั ่ เลิกกองทุน ตามพระราชบัญญัตกิ องทุนสำารองเลี้ยงชีพ (4) สภาพกิจการมหาวิทยาลัยไม่สามารถส่งเงินสมทบเข้ากองทุนได้ต่อไป และมหาวิทยาลัยได้ แจ้งให้สมาชิกทราบล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 60 วัน กำรปฏิบตั แิ ละดำำเนิ นกำรต่ำง ๆ เกีย่ วกับกองทุนสำำรองเลี้ยงชีพ

หน้าทีข่ องสมาชิกกองทุนฯ (1) เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจำาปี (2) ปฏิบตั ติ ามข้อบังคับของกองทุนฯ 6.5 เงินช่วยเหลือบุคลำกร เงินช่วยเหลือกรณีบคุ คลในครอบครัวถึงแก่กรรม ในกรณีทบ่ี ดิ า – มารดาของบุคลากรถึงแก่กรรม มหาวิทยาลัย จะให้ความช่วยเหลือเป็ นจำานวนเงิน 3,000 บาท กรณีการจ่ายเงินช่วยเหลือเป็ นกรณีพเิ ศษ ให้อยู่ในดุลยพินิจของอธิการบดี 6.6 เครื่องแบบ บุคลากรในตำาแหน่ง พนักงาน เจ้าหน้าทีร่ กั ษาความปลอดภัย ช่าง เมือ่ ผ่านการทดลองงานแล ้ว มีสทิ ธิได้รบั เครื่องแบบคนละ 1 ชุด ต่อปี

-56หมวดที่ 7 กำรประเมินผลกำรปฏิบตั งิ ำน 7.1 วัตถุประสงค์ มหาวิทยาลัยจะทำาการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน โดยมีวตั ถุประสงค์ หลักๆ ดังต่อไปนี้ (1) เพือ่ การบรรจุเข้าปฏิบตั งิ านเมือ่ พ้นระยะเวลาทดลองงาน (2) เพือ่ พิจารณาการจ้างงาน เมือ่ สัญญาจ้างสิ้นสุด (3) เพือ่ ให้ความดีความชอบแก่บคุ ลากร (4) เพือ่ การปรับวุฒกิ ารศึกษา (5) เพือ่ พิจารณาขยายการจ้างงาน เมือ่ ครบเกษียณอายุ 7.2 เกณฑ์ในกำรประเมินผลกำรปฏิบตั ิงำน บุคลากรสายคณาจารย์ ประเมินในหัวข้อต่อไปนี้


(1) งานสอน ซึง่ อาจประกอบด้วยหัวข้อย่อยในการประเมิน ดังนี้ - ภาระการสอน - แผนการสอน การออกข้อสอบและตัดเกรด - การคุมสอบและการวิเคราะห์ข ้อสอบ - คุณภาพการสอนประเมินโดยอาจารย์ - คุณภาพการสอนประเมินโดยนักศึกษา - การผลิตเอกสารประกอบการสอน - การผลิตสือ่ การสอนสารสนเทศ หรือเครื่องมือ ห้องปฏิบตั กิ าร หรือคู่มอื ปฏิบตั กิ าร หรือสือ่ อย่างอืน่ ทีเ่ ทียบเท่า (2) งานอาจารย์ทป่ี รึกษา (2) งานวิจยั การพัฒนาวิชาการ บทความทางวิชาการ (3) งานบริการทางวิชาการ (4) งานทำานุบาำ รุงศิลปวัฒนธรรม -57(5) งานบริหาร หรืองานช่วยบริหาร (6) ความรับผิดชอบ การให้ความร่วมมือ ทัศนคติ การอุทศิ เวลา บุคลากรสายผู้ช่วยอาจารย์ ประเมินในหัวข้อต่อไปนี้ (1) งานสอน ซึง่ อาจประกอบด้วยหัวข้อย่อยในการประเมิน ดังนี้ - ภาระงานสอน - แผนการสอน การออกข้อสอบและตัดเกรด - การจัดเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือเพื่อการเรี ยนการสอน - งานคุมสอบและวิเคราะห์ขอ้ สอบ - คุณภาพการสอนประเมินโดยนักศึกษา - คุณภาพการสอนประเมินโดยผูร้ ่ วมงานหรื ออาจารย์ (2) งานช่วยวิจยั , วิจยั , สิ่ งประดิษฐ์, การผลิตสื่ อ

(3) งานบริ การ/งานที่ได้รับมอบหมาย/งานบริ การนักศึกษา/งานกิจกรรม นักศึกษา (4) งานทำานุบาำ รุ งศิลปวัฒนธรรม (5) ความรับผิดชอบ ความร่วมมือ ทัศนคติ และการอุทศิ เวลา บุคลากรสายสนับสนุน ประเมินด้วยหัวข้อหลักและอาจมี หัวข้อย่อยต่อไปนี้ (1) คุณภาพและปริมาณงาน - ความถูกต้องแม่นยำา - เวลาทีใ่ ช้ในการปฏิบตั งิ านทีไ่ ด้รบั มอบหมาย - ปริมาณงานทีร่ บั ผิดชอบตามตำาแหน่ง - ปริมาณงานทีท่ าำ นอกเหนือหน้าทีค่ วามรับ ผิดชอบ (2) การปฏิบตั งิ าน - ความรูค้ วามสามารถต่อหน้าที่ - ความเชื่อถือไว้วางใจ/ความเอาใจใส่งาน - ความเชื่อถือไว้วางใจ/ความเอาใจใส่งาน - การประสานงานและความร่วมมือกับผูอ้ น่ื -58- การบริหารทรัพยากรทีใ่ ช้ในการปฏิบตั งิ าน - ทักษะการสือ่ ข้อความ - การแก้ปญั หาในงาน (3) พฤติกรรมหรือบุคลิกส่วนบุคคล - จิตสำานึกในการให้บริการ - การประพฤติตนตามระเบียบวินยั - ความทุ่มเท เสียสละและอุทศิ เวลา - การเข้าร่วมกิจกรรมของคณะ/หน่วยงาน - การช่วยเหลือมหาวิทยาลัยด้านต่าง ๆ (4) การพัฒนางาน หรือทักษะการบริหาร


หมวดที่ 8 วินัยและมำตรกำรทำงวินัย 8.1 วัตถุประสงค์ บุคลากรมหาวิทยาลัยรังสิต ต้องรักษาระเบียบวินยั โดยเคร่งครัดอยู่เสมอผูใ้ ดฝ่ าฝื นหรือไม่ ปฏิบตั ติ าม ถือว่าผูน้ นั้ ประพฤติปฏิบตั ติ นฝ่ าฝื นวินยั จักต้องได้รบั โทษตามทีร่ ะบุไว้ในหมวดนี้ 8.2 วินัย วินยั ของบุคลากรมหาวิทยาลัยรังสิต มีดงั ต่อไปนี้ 8.2.1 ต้องมาปฏิบตั งิ านตรงตามเวลาทีก่ าำ หนด 8.2.2 ต้องแต่งกายสุภาพเรียบร้อย 8.2.3 ต้องปฏิบตั งิ านด้วยความขยัน ซือ่ สัตย์สุจริตและเทีย่ งธรรม ห้ามมิให้อาศัย หรือยอมให้ ผูอ้ น่ื อาศัยอำานาจหน้าทีข่ องตน ไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมหาประโยชน์ให้ตนเองหรือผูอ้ น่ื

บังคับ

-598.2.4 ต้องปฏิบตั ิตามระเบียบข้อบัง คับของมหาวิทยาลัย ประกาศคำา สัง่ และคำา สัง่ ของผู้

8.2.5 8.2.6 8.2.7 8.2.8

บัญชา ซึง่ สังในหน้ ่ าทีก่ ารงานโดยชอบด้วย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และคำาสัง่ ของมหาวิทยาลัยรังสิต ห้ามมิให้ขดั ขืนหรือหลีกเลีย่ ง ต้องตัง้ ใจปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เกิดผลดีและก้าวหน้าด้วยความอุตสาหะเอาใจใส่ และ ระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของมหาวิทยาลัยรังสิต ต้องอุทศิ เวลาให้แก่มหาวิทยาลัยรังสิต จะละทิ้งหน้าทีโ่ ดยไม่มเี หตุผล อันสมควรไม่ได้ ต้องไม่รายงานเท็จต่อผูบ้ งั คับบัญชา การรายงานโดยปกปิ ดข้อความซึง่ ควรต้องบอก ถือว่าเป็ นการรายงานเท็จด้วย ต้องไม่กระทำาการใด ๆ ให้เป็ นการเสียหายแก่มหาวิทยาลัยรังสิต

รังสิต

8.2.9 ต้องสุภาพเรียบร้อยและรักษาความสามัคคีระหว่างบุคลากรมหาวิทยาลัยรังสิต 8.2.10 ต้องไม่ประพฤติตนให้เป็ นทีเ่ สือ่ มเสียแก่ศีลธรรมอันดีงาม และชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย รังสิต 8.2.11 ห้ามก่อเหตุทะเลาะวิวาทหรือทำา ร้ายร่างกายในขณะปฏิบตั ิหน้าที่หรือในมหาวิทยาลัย 8.2.12 ห้ามเล่นการพนัน เสพสุรา เสพยาเสพติดในขณะปฏิบตั หิ น้าทีห่ รือในมหาวิทยาลัยรังสิต 8.2.13 ต้องไม่ทจุ ริตต่อหน้าทีห่ รือกระทำาความผิดทางอาญาโดยเจตนาต่อมหาวิทยาลัยรังสิต 8.2.14 ต้องไม่กระทำา หรือยินยอมให้ผูอ้ น่ื กระทำาการอืน่ ใด อันได้ช่อื ว่าเป็ นผูป้ ระพฤติชวั ่ อย่าง ร้ายแรง 8.2.15 ต้องไม่กระทำาความผิดอาญาจนได้รบั โทษจำาคุก

8.3 มำตรกำรทำงวินัย 8.3.1 ให้ผูบ้ งั คับบัญชามีหน้าทีส่ ง่ เสริมและดูแลระมัดระวังให้ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาปฏิบตั ติ าม ระเบียบวินยั ถ้าผูบ้ งั คับบัญชารูว้ ่าผูใ้ ต้บงั คับบัญชาได้กระทำาการฝ่ าฝื นวินยั จะต้องดำา เนินการทางวินยั ทันที ถ้าเห็นว่าผูน้ นั้ กระทำาการฝ่ าฝื นวินยั ที่จะต้องได้รบั โทษและอยู่ในอำานาจของตนที่จะลงโทษได้ให้สงั ่ ลงโทษ แต่ถา้ เห็นว่าผูน้ นั้ ควรจะได้รบั โทษสูงกว่าทีต่ นมีอาำ นาจลงโทษได้ ให้รายงานผูบ้ งั คับบัญชาเหนือขึ้นไป -60-

เพือ่ ให้พจิ ารณาดำาเนินการตามควรแก่กรณี ถ้าผูบั้ งคับบัญชาผูใดละเลยไม่ ้ ปฏิบตั หิ น้าที่ หรือปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามข้อนี้โดยไม่สจุ ริต ให้ถือว่าผูนั้ น้ กระทำาการฝ่ าฝื นวินยั 8.3.2 โทษทางวินยั มี 8 สถาน คือ (1) ตักเตือนด้วยวาจา (2) ตักเตือนเป็ นลายลักษณ์อกั ษร (3) งดเลือ่ นขัน้ เงินเดือนประจำาปี (4) ตัดเงินเดือน


(5) ลดขัน้ เงินเดือน (6) เลิกจ้าง (7) ไล่ออก 8.3.3 บุคลากรมหาวิทยาลัยรังสิต ผูใ้ ดถูกกกล่าวหาว่ากระทำาการฝ่ าฝื นวินยั ขัน้ ร้ายแรงจะต้อง ได้รบั โทษเลิกจ้างหรือไล่ออก ให้อธิการบดีแต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวน จะต้องแจ้งข้อกล่าวหาและ สอบพยานหลักฐาน ทัง้ ข้อระบุข ้อกล่าวหาเท่าทีม่ ใี ห้ผูถ้ กู กล่าวหาทราบและต้องให้โอกาสผูถ้ กู กล่าวหาชี้แจง และนำาพยานหลักฐานเข้ารีบแก้ข้อกล่าวหาได้ด้วย และขณะมีการสอบสวนและดำาเนินการใดๆ มหาวิทยาลัยอาจ มีคาำ สัง่ ให้พกั งานเป็ นช่วงๆ ได้คราวละไม่เกิน 7 วัน โดยบุคลากรจะได้รบั เงินเดือนครึ่งหนึ่ง ในกรณี ท่ี คณะกรรมการสอบสวนได้สอบสวนเสร็จเรียบร้อยแลว้ ให้รวมผลการสอบสวนและเสนอความเห็นต่อ อธิการบดีเพื่อพิจารณาสัง่ ลงโทษ หรือสัง่ อื่นใดตามที่เห็นสมควร บุคลกรผู ใ้ ดถูกสัง่ ลงโทษให้ผูน้ นั้ อุทธรณ์ต่ออธิการบดี แต่ถา้ ผูส้ งลงโทษเป็ ั่ นอธิการบดี ให้อทุ ธรณ์ต่อนายกสภามหาวิทยาลัย ทัง้ นี้ ต้อง อุทธรณ์ภายใน 30 วันนับแต่วนั ทราบคำาสัง่ 8.3.4 การร้องทุกข์ บุคลากร ผูใ้ ดเห็นว่าผูบ้ งั คับบัญชาให้อาำ นาจหน้าที่ปฏิบตั ิต่อตนโดยไม่ถูกต้อง หรือไม่ปฏิบตั ิ ตามระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคำาสัง่ ให้ผูน้ นั้ ร้องทุกข์ต่ออธิการบดีได้

-61ก ำ ร แ ต่ ง ตั้ ง ค ณ ำ จ ำ ร ย์ ป ร ะ จำำ ใ ห้ ดำำ ร ง ตำำ แ ห น่ ง ท ำ ง วิ ช ำ ก ำ ร การพิจ ารณาแต่ ง ตั้ง คณาจารย์ป ระจำา ให้ดาำ รงตำา แหน่ ง ทางวิช าการ ในตำา แหน่ ง ผู ช้ ่ ว ย ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ให้ถอื คุณสมบัติและหลักเกณฑ์ตามที่กาำ หนดดังต่อ ไ ป นี้ 1. ก า ร แ ต่ ง ตั้ ง โ ด ย วิ ธี ป ก ติ 2. ก า ร แ ต่ ง ตั้ ง โ ด ย วิ ธี พิ เ ศ ษ ก ำ ร แ ต่ ง ตั้ ง โ ด ย วิ ธี ป ก ติ ตำำ แ ห น่ ง ผู ้ ช่ ว ย ศ ำ ส ต ร ำ จ ำ ร ย์

1. คุ ณ ส ม บั ติ เ ฉ พ า ะ ตำา แ ห น่ ง ผูส้ าำ เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ต้องดำารงตำาแหน่งอาจารย์ประจำาและได้ปฏิบตั ิ หน้าทีใ่ นตำาแหน่งดังกล่าวมาแล ้วไม่นอ้ ยกว่า 9 ปี หรือผูส้ าำ เร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า ต้อง ดำารงตำาแหน่งอาจารย์ประจำาและได้ปฏิบตั ิหน้าที่ในตำาแหน่ งดังกล่าวมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี หรือผูส้ าำ เร็จ การศึ ก ษาระดับ ปริ ญ ญาเอกหรื อ เทีย บเท่ า ต้อ งดำา รงตำา แหน่ ง อาจารย์ป ระจำา และได้ป ฏิบ ตั ิ ห น้า ที่ ใ น ตำา แ ห น่ ง ดั ง ก ล่ า ว ม า แ ล ้ ว ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 2 ปี กรณีทไ่ี ด้ดาำ รงตำาแหน่งอาจารย์ประจำา และทำาการสอนประจำาวิชาใดวิชาหนึ่งในสถาบันอุดมศึกษา ของรัฐหรือเอกชนแห่งอื่นอยู่ เมื่อได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็ นอาจารย์ประจำา ในมหาวิทยาลัย จะนับระยะเวลา ระหว่างเป็ นอาจารย์ประจำาในสถาบันอุดมศึกษาอืน่ รวมเป็ นระยะเวลาปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นตำาแหน่งอาจารย์ประจำา ในการพิจ ารณาแต่ ง ตัง้ ตำา แหน่ ง ทางวิช าการ โดยคำา นวณเวลาทำา การสอนดัง กล่ า วให้เ ต็ ม เวลาได้ กรณี ท่เี คยดำารงตำาแหน่ งอาจารย์พเิ ศษในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐหรือเอกชน และได้ทาำ การ สอนประจำาวิชาใดวิชาหนึ่งซึ่งเทียบค่าได้ไม่นอ้ ยกว่า 2 หน่วยกิต ตามระบบทวิภาค เมือ่ ได้รบั แต่งตัง้ ให้ เป็ นอาจารย์ประจำา ในมหาวิทยาลัย จะนับระยะเวลาระหว่างเป็ นอาจารย์พเิ ศษรวมเป็ นระยะเวลาปฏิบตั ิ หน้าที่ในตำาแหน่งอาจารย์ประจำา ในการพิจารณาแต่งตัง้ ตำาแหน่งทางวิชาการ โดยคำานวณเวลาทำาการสอน ดั ง ก ล่ า ว ใ ห้ 3 ใ น 4 ข อ ง เ ว ล า ที่ ทำา ก า ร ส อ น ไ ด้

-62ในกรณี ท่อี าจารย์ได้รบั วุฒิเพิ่มขึ้น ให้นบั เวลาการปฏิบตั ิหน้าที่ในตำาแหน่ งอาจารย์ประจำาก่อน และหลังได้รบั วุฒิเพิม่ ขึ้นรวมกัน เพื่อขอแต่งตัง้ ตำาแหน่งผูช้ ่วยศาสตราจารย์ได้ตามอัตราส่วนของระยะ เ ว ล า ที่ กำา ห น ด ไ ว้ 2. ผลการสอน มีชวั ่ โมงสอนประจำา วิชาใดวิชาหนึ่ง หรือหลายวิชาที่เกี่ยวข้องใกลเ้ คียงกัน ที่กาำ หนดไว้ในหลักสู ตรของมหาวิทยาลัย และมีความชำานาญในการสอน และเสนอเอกสารประกอบการ สอนทีผ่ ลิตขึ้นสำาหรับการสอนทัง้ รายวิชาไม่นอ้ ยกว่า 1 รายวิชา หรือเอกสารประกอบการสอนหลายวิชาใน สาขาวิชาทีเ่ กี่ยวข้องใกลเ้ คียงกันได้ ซึง่ มีคุณภาพดี และได้ใช้ประกอบการสอนมาแลว้ ทัง้ นี้ ชัว่ โมงการสอน และเอกสารประกอบการสอน ต้องเทียบได้ไม่นอ้ ยกว่า 2 หน่ วยกิตในระบบทวิภาค โดยผ่านการประเมิน


คุณภาพของเอกสารประกอบการสอนและประเมินผลการสอน ตามเอกสารแนบท้ายข้อบังคับนี้ ผลการ ป ร ะ เ มิ น ต้ อ ง เ ป็ น ไ ป ต า ม เ ก ณ ฑ์ ข้ า ง ต้ น จึ ง เ ส น อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ไ ด้ 3. ผลงานทางวิชาการ ประกอบด้วย ผลงานวิจยั ซึง่ มีคุณภาพดี และได้รบั การตีพมิ พ์เผยแพร่ มาแลว้ ตามเกณฑ์ท่คี ณะกรรมการกำา หนด ทัง้ นี้ ไม่นบั งานวิจยั ที่ทาำ เป็ นส่วนของการศึกษาเพื่อรับ ปริ ญ ญาหรื อ ประกาศนี ย บัต รใด ๆ หรื อ ผลงานทางวิช าการในลัก ษณะอื่ น ซึ่ ง มีคุ ณ ภาพดี และ งานแต่ง เรียบเรียง แปลหนังสือ หรือบทความทางวิชาการ ซึ่งมีคุณภาพดี และได้รบั การตีพมิ พ์เผย แ พ ร่ ม า แ ล้ ว ตำำ แ ห น่ ง ร อ ง ศ ำ ส ต ร ำ จ ำ ร ย์ 1. คุณสมบัติเฉพาะตำาแหน่ง ดำารงตำาแหน่งผูช้ ่วยศาสตราจารย์และปฏิบตั ิหน้าที่ในตำาแหน่งดัง ก ล่ า ว ม า แ ล ้ ว ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 3 ปี 2. ผลการสอน มีชวั ่ โมงสอนประจำา วิชาหนึ่งวิชาใดหรือหลายวิชาที่เกี่ยวข้องใกลเ้ คียงกันที่ กำาหนดไว้ในหลักสูตรของของมหาวิทยาลัย และมีความชำานาญพิเศษในการสอน และเสนอเอกสารคำาสอน ที่ผลิตขึ้นสำา หรับการสอนทัง้ รายวิชาไม่นอ้ ยกว่า 1 รายวิชา หรือเอกสารคำา สอนหลายวิชาในสาขาวิชาที่ เกี่ยวข้องใกล ้เคียงกัน ซึง่ มีคุณภาพดีและได้ใช้ประกอบการสอนมาแลว้ ทัง้ นี้ชวั ่ โมงการสอน และเอกสารคำา สอน ต้องเทียบได้ไม่นอ้ ยกว่า 2 หน่วยกิตในระบบทวิภาค โดยผ่านการประเมินคุณภาพของเอกสารคำา สอนและประเมินผลการสอน ตามเอกสารแนบท้ายข้อบังคับนี้ ผลการประเมินต้องเป็ นไปตามเกณฑ์ขา้ งต้น จึ ง เ ส น อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ไ ด้ -633. ผลงานทางวิชาการ ประกอบด้วยผลงานวิจยั ซึ่งมีคุณภาพดี และได้รบั การตีพมิ พ์เผยแพร่ มาแลว้ ตามเกณฑ์ท่คี ณะกรรมการกำาหนด ทัง้ นี้ ไม่นบั งานวิจยั ทีท่ าำ เป็ นส่วนของการศึกษาเพือ่ รับปริญญา หรือประกาศนียบัตรใด ๆ หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นซึ่งมีคุณภาพดี และงานแต่ง เรียบเรียง ตำารา หรือหนังสือที่ใช้ประกอบการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ซึ่งมีคุณภาพดีและได้รบั การตีพมิ พ์เผยแพร่ มาแลว้ ผลงานทางวิชาการตามข้อ 5.2.3(1) (2) และ (3) จะต้องไม่ซา้ำ กับผลงานที่ได้เคยใช้สาำ หรับการ พิจารณา แต่งตัง้ เป็ นผูช้ ่วยศาสตราจารย์มาแลว้ ทัง้ นี้ จะต้องมีผลงานทางวิชาการที่เพิม่ ขึ้นหลังจากได้รบั แ ต่ ง ตั้ ง ใ ห้ ดำา ร ง ตำา แ ห น่ ง ผู ้ ช่ ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด้ ว ย ตำำ แ ห น่ ง ศ ำ ส ต ร ำ จ ำ ร ย์

1. คุณสมบัตเิ ฉพาะตำาแหน่ง ดำารงตำาแหน่งรองศาสตราจารย์และได้ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นตำาแหน่งดัง ก ล่ า ว ม า แ ล ้ ว ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 2 ปี 2. ผลการสอน มีชวั ่ โมงสอนประจำาวิชาหนึ่งวิชาใด ที่กาำ หนดไว้ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย และมีความเชี่ยวชาญในการสอน โดยผ่านการประเมินผลการสอน ตามเอกสารแนบท้ายข้อบังคับนี้ ผล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต้ อ ง เ ป็ น ไ ป ต า ม เ ก ณ ฑ์ ข้ า ง ต้ น จึ ง เ ส น อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ไ ด้ 3. ผลงานทางวิ ช าการ ผู ้ข ออาจเสนอผลงานทางวิ ช าการได้ 2 แบบ ดัง นี้ แ บ บ ที่ 1 ผลงานวิจ ยั ซึ่ง มีคุณ ภาพดีมาก และได้รบั การตีพิม พ์เ ผยแพร่ ม าแลว้ ตามเกณฑ์ท่ี คณะกรรมการกำาหนด ทัง้ นี้ ไม่นบั งานวิจยั ทีท่ าำ เป็ นส่วนของการศึกษาเพือ่ รับปริญญาหรือประกาศนียบัตร ใด ๆ หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอืน่ ซึง่ มีคุณภาพดีมาก และงานแต่งตำารา หรือหนังสือทีใ่ ช้ประกอบ การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ไม่นอ้ ยกว่า 1 เล่ม ซึง่ มีคุณภาพดีมากและได้รบั การตีพมิ พ์เผยแพร่มาแลว้ แ บ บ ที่ 2 ผลงานวิ จ ัย ที่ มี คุ ณ ภาพดี เ ด่ น ซึ่ ง ได้ร ับ การตี พิ ม พ์เ ผยแพร่ ม าแล ว้ ตามเกณฑ์ท่ี คณะกรรมการกำาหนด ทัง้ นี้ ไม่นบั งานวิจยั ทีท่ าำ เป็ นส่วนของการศึกษาเพือ่ รับปริญญาหรือประกาศนียบัตร ใด ๆ หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอืน่ ทีม่ คี ุณภาพอยู่ในระดับดีเด่นหรืองานแต่ง ตำารา หรือหนังสือที่ ใช้ประกอบการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ไม่นอ้ ยกว่า 1 เล่ม ซึ่งมีคุณภาพดีเด่นและได้รบั การตีพิมพ์ -64เผยแพร่มาแลว้ ผลงานทางวิชาการตามข้างต้น จะต้องไม่ซา้ำ กับผลงานที่ได้เคยใช้สาำ หรับการพิจารณา แต่งตัง้ เป็ นผูช้ ่วยศาสตราจารย์ และรองศาสตราจารย์มาแลว้ ทัง้ นี้ จะต้องมีผลงานทางวิชาการที่เพิ่มขึ้น ห ลั ง จ า ก ไ ด้ รั บ แ ต่ ง ตั้ ง ใ ห้ ดำา ร ง ตำา แ ห น่ ง ร อ ง ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด้ ว ย วิธีการแต่งตัง้ คณาจารย์ประจำา ให้ดาำ รงตำา แหน่ งผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ โ ด ย วิ ธี ป ก ติ เ ป็ น ดั ง นี้ ก ำ ร แ ต่ ง ตั้ ง ผู ้ ช่ ว ย ศ ำ ส ต ร ำ จ ำ ร ย์ แ ล ะ ร อ ง ศ ำ ส ต ร ำ จ ำ ร ย์ 1. อาจารย์ประจำาผูเ้ สนอขอกำาหนดตำาแหน่งทางวิชาการ เสนอผ่านผูบ้ งั คับบัญชาชัน้ ต้นระดับ ไม่ตำ ่ากว่าหัวหน้าสาขาวิชา ต่อคณะกรรมการประจำาคณะ/วิทยาลัย คณะกรรมการพิจารณาคุณสมบัติและ


ผลงานทางวิชาการเบื้องต้น เพื่อเสนอชื่อผูม้ คี ุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ต่อคณะกรรมการ ตามแบบคำา ขอ เ ส น อ แ ต่ ง ตั้ ง พ ร้ อ ม ด้ ว ย ผ ล ง า น ท า ง วิ ช า ก า ร 2. ผูบ้ งั คับบัญชาชัน้ ต้นระดับไม่ตำ่ากว่าหัวหน้าสาขาวิชา ประเมินเอกสารประกอบการสอนหรือ เอกสารคำาสอน และประเมินผลการสอน พร้อมแนบผลการประเมินของนักศึกษาเพือ่ เสนอคณะกรรมการ โดยคณะกรรมการอาจแต่งตัง้ คณะอนุ กรรมการเพื่อประเมินผลการสอนเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม 3. คณะกรรมการประจำาคณะ/วิทยาลัย แต่งตัง้ ผูทรงคุ ้ ณวุฒใิ นสาขานัน้ ๆ มีตาำ แหน่งทางวิชาการ ไม่ตำ ่ากว่าตำาแหน่งทีเ่ สนอขอให้พิจารณา จำานวน 1 คน เพือ่ ประเมินผลงานทางวิชาการเบื้องต้น ก่อนนำาเสนอ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร 4. คณะกรรมการพิจารณาคุณสมบัตแิ ละผลงานทางวิชาการเบื้องต้น พิจารณากลันกรองผลการ ่ ป ร ะ เ มิ น ก า ร ส อ น ผ ล ง า น ท า ง วิ ช า ก า ร เ พื่ อ เ ส น อ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ต่ อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร 5. คณะกรรมการ แต่งตัง้ ผูท้ รงคุณวุฒใิ นสาขาวิชานัน้ ๆ จำานวน 3 – 5 คน เป็ นคณะกรรมการ ประเมินผลงานทางวิชาการ โดยให้คณะกรรมการประเมินผลงานทางวิชาการมีการประชุม เพือ่ เสนอความ เ ห็ น ต่ อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พิ จ า ร ณ า เ ห็ น ช อ บ การแต่งตัง้ คณะกรรมการประเมินผลงานทางวิชาการ ต้องแต่งตัง้ จากผูท้ รงคุณวุฒจิ ากบัญชีราย ชื่อผูท้ รงคุณวุฒิท่คี ณะกรรมการการอุดมศึกษากำาหนด โดยต้องเป็ นบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย และมี ตำา แหน่ ง ทางวิช าการไม่ ตำ ่า กว่ า ตำา แหน่ ง ที่ เ สนอขอให้พิจ ารณา และกำา หนดให้ต อ้ งมีก ารประชุ ม -65คณะกรรมการประเมินผลงานทางวิชาการ โดยมีกรรมการมาประชุมไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการ ประเมินผลงานทางวิชาการทัง้ หมด ทัง้ นี้ การตัดสินต้องได้รบั คะแนนเสียงจากคณะกรรมการประเมิน ผลงานทางวิ ช าการไม่ น ้อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง และให้ก ารดำา เนิ น การอยู่ ใ นชั้น ความลับ ทุ ก ขั้น ตอน ในกรณีทม่ี เี หตุผลหรือความจำาเป็ นที่มหาวิทยาลัยไม่สามารถแต่งตัง้ ผูท้ รง คุณวุฒทิ ่เี ป็ นบุคคล ภา ยน อก ก็ ใ ห้ข อค ว า ม เห็ น ชอ บจ า ก ค ณ ะก ร รม กา รก า ร อุ ด ม ศึ กษ า เ ป็ น รา ย ๆ ไ ป 6. เมื่อคณะกรรมการ พิจารณาเห็นสมควรแลว้ จึงเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยพิจารณาให ความเห็นชอบและให้อธิการบดีออกคำาสังแต่ ่ งตัง้ และแจ้งให้สาำ นักงานคณะกรรมการการอุดมศึ กษาทราบ ภายใน 30 วัน นับแต่ ว นั ที่ ออกคำา สัง่ แต่ ง ตั้ง พร้อมกับสำา เนาคำา สัง่ แต่งตัง้ คณะกรรมการประเมินผล ง า น ท า ง วิ ช า ก า ร แ ล ะ แ บ บ คำา ข อ แ ต่ ง ตั้ ง ฯ

นั้

คำาสัง่ แต่งตัง้ ให้ดาำ รงตำาแหน่งทางวิชาการต้องระบุสาขาวิชา ของตำาแหน่งทางวิชาการที่สงั ่ แต่งตัง้ น ไ ว้ ด้ ว ย

ก ำ ร แ ต่ ง ตั้ ง ศ ำ ส ต ร ำ จ ำ ร ย์ 1. อาจารย์ประจำาผูเ้ สนอขอกำาหนดตำาแหน่งทางวิชาการ เสนอผ่านผูบ้ งั คับบัญชาชัน้ ต้นระดับไม่ ต่ำากว่าหัวหน้าสาขาวิชา ต่อคณะกรรมการประจำาคณะ/วิทยาลัย คณะกรรมการพิจารณาคุณสมบัติ และผล งานทางวิชาการเบื้องต้น เพือ่ เสนอชื่อผูม้ คี ุณสมบัตติ ามหลักเกณฑ์ต่อคณะกรรมการ ตามแบบคำาขอเสนอ แ ต่ ง ตั้ ง พ ร้ อ ม ด้ ว ย ผ ล ง า น ท า ง วิ ช า ก า ร 2. ผูบ้ งั คับบัญชาชัน้ ต้นระดับไม่ตำ่า กว่าหัวหน้าสาขาวิชา ประเมินผลการสอน เพื่อเสนอคณะ กรรมการ โดยคณะกรรมการอาจแต่งตัง้ คณะอนุ กรรมการเพือ่ ประเมินผลการสอนเพิ่มเติมได้ตามความ เ ห ม า ะ ส ม 3. คณะกรรมการประจำา คณะ/วิทยาลัย แต่งตัง้ ผู ท้ รงคุณวุฒิพิจารณา จำา นวน 1 คน เพื่อ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ง า น ท า ง วิ ช า ก า ร เ บื้ อ ง ต้ น ก่ อ น นำา เ ส น อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร 4. คณะกรรมการพิจารณาคุณสมบัตแิ ละผลงานทางวิชาการเบื้องต้น พิจารณากลันกรองผลการ ่ ป ร ะ เ มิ น ก า ร ส อ น ผ ล ง า น ท า ง วิ ช า ก า ร เ พื่ อ เ ส น อ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ต่ อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร 5. คณะกรรมการ แต่ง ตัง้ กรรมการผู ท้ รงคุ ณวุฒิเพื่อทำา หน้า ที่ป ระเมินผลงานทางวิช าการ -66ใ น ส า ข า วิ ช า นั้ น ๆ ซึ่ ง มี อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ดั ง นี้ (1) ป ร ะ ธ า น ก ร ร ม ก า ร แ ต่ ง ตั้ ง จ า ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร (2) ก ร ร ม ก า ร ผู ้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ การแต่งตัง้ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ เพือ่ ทำาหน้าทีป่ ระเมินผลงานทางวิชาการต้องคัดสรรจากบัญชี รายชื่อผู ท้ รงคุณวุฒิท่คี ณะกรรมการการอุดมศึ กษากำา หนดสำา หรับสาขาวิชานัน้ ๆ โดยต้องเป็ นบุคคล ภายนอกมหาวิทยาลัย และกำาหนดให้ตอ้ งมีการประชุมผูท้ รงคุณวุฒิโดยมีกรรมการมาประชุมไม่นอ้ ย กว่ากึ่งหนึ่งของจำานวนกรรมการทัง้ หมด ทัง้ นี้ การตัดสินของทีป่ ระชุมให้ถอื เสียงข้างมาก และให้การดำาเนิน ก า ร อ ยู่ ใ น ชั้ น ค ว า ม ลั บ ทุ ก ขั้ น ต อ น


ในกรณีทม่ี เี หตุผลหรือความจำาเป็ นทีม่ หาวิทยาลัยไม่สามารถแต่งตัง้ ผูทรงคุ ้ ณวุฒจิ ากบัญชีรายชือ่ ดัง ก ล่ า ว ไ ด้ ก็ ใ ห้ข อ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ จ า ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร อุ ด ม ศึ ก ษ า เ ป็ น ร า ย ๆ ไ ป 6. เมือ่ คณะกรรมการพิจารณาความเห็นของคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒติ ามข้อ 6.2.5 แล ้ว ให้ นำา เ ส น อ ต่ อ ส ภ า ม ห า วิ ท ย า ลั ย พิ จ า ร ณ า 7. เมื่อ สภามหาวิท ยาลัยพิจ ารณาเห็นชอบแล ว้ ให้เสนอความเห็นต่ อคณะกรรมการการ อุ ด ม ศึ ก ษ า พิ จ า ร ณ า ก ำ ร แ ต่ ง ตั้ ง โ ด ย วิ ธี พิ เ ศ ษ กรณีท่มี เี หตุผลและความจำาเป็ นอย่างยิง่ มหาวิทยาลัยอาจเสนอแต่งตัง้ ผูด้ าำ รงตำาแหน่งอาจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ หรือรองศาสตราจารย์ ซึง่ มีคุณสมบัตเิ ฉพาะสำาหรับตำาแหน่ง ทีต่ ่างไปจากทีก่ าำ หนดไว้ ให้ดาำ รงตำาแหน่งสูงขึ้นได้ เช่น การเสนอแต่งตัง้ อาจารย์ประจำาให้ดาำ รงตำาแหน่งรองศาสตราจารย์ โดยทีผ่ ู ้ นัน้ มิได้ดาำ รงตำาแหน่งผูช้ ่วยศาสตราจารย์มาก่อน หรือเสนอขอแต่งตัง้ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ซง่ึ ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ น ตำา แหน่ ง ยัง ไม่ ค รบระยะเวลาที่ กาำ หนดให้ดาำ รงตำา แหน่ ง รองศาสตราจารย์ ให้ดาำ เนิ น การดัง นี้ 1. ตำา แ ห น่ ง ผู ้ ช่ ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ แ ล ะ ร อ ง ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ การแต่งตัง้ ตำาแหน่งผูช้ ่วยศาสตราจารย์โดยวิธีพเิ ศษ และรองศาสตราจารย์โดยวิธีพเิ ศษ จะต้อง เสนอผลงานทางวิชาการเช่นเดียวกับการแต่งตัง้ โดยวิธีปกติและผลงานทางวิชาการจะต้องมีคุณภาพดีมาก

-672. ตำา แ ห น่ ง ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ การแต่งตัง้ ตำา แหน่ งศาสตราจารย์โดยวิธีพิเศษสามารถเสนอผลงานทางวิชาการได้ 2 แบบ เช่ น เดี ย ว กั บ ก า รแ ต่ ง ตั้ ง โ ด ย วิ ธี ป ก ติ แ ล ะผล ง าน ทา ง วิ ช า กา รจะต้อ ง มี คุ ณภ า พ ดี เ ด่ น วิธีการแต่งตัง้ คณาจารย์ประจำา ให้ดาำ รงตำา แหน่ งผู ช้ ่ว ยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ โ ด ย วิ ธี พิ เ ศ ษ ใ ห้ ดำา เ นิ น ก า ร ดั ง นี้ ตำา แ ห น่ ง ผู ้ ช่ ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ วิ ธี พิ เ ศ ษ แ ล ะ ร อ ง ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ วิ ธี พิ เ ศ ษ

ให้ดาำ เนินการตามวิธี การและขัน้ ตอน เช่ นเดียวกับ การแต่ ง ตัง้ ให้ดาำ รงตำา แหน่ ง ผู ช้ ่ ว ย ศาสตราจารย์และรองศาสตราจารย์โดยวิธีปกติโดยอนุโลม โดยให้แต่งตัง้ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ จำานวน 5 ท่าน เป็ นคณะกรรมการประเมินผลงานทางวิชาการ และการตัดสินของที่ประชุมต้องได้รบั คะแนนเสียงไม่ น้ อ ย ก ว่ า 4 ใ น 5 ก ำ ร แ ต่ ง ตั้ ง ศ ำ ส ต ร ำ จ ำ ร ย์ วิ ธี พิ เ ศ ษ ให้ดาำ เนินการตามวิธีการและขัน้ ตอน เช่นเดียวกับการแต่งตัง้ ให้ดาำ รงตำาแหน่งศาสตราจารย์วธิ ี ปกติโดยอนุ โลม โดยให้แต่งตัง้ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ จำานวน 5 ท่าน เป็ นคณะกรรมการประเมินผลงาน ทาง วิ ช ากา ร แล ะการตั ด สิ น ของ ที่ ป ระชุ ม ต้อ งไ ด้ร ั บ ค ะแ น น เสี ย งไ ม่ น ้อ ยกว่ า 4 ใน 5 นโยบายการสอนของมหาวิท ยาลัย รัง สิต เพือ่ ให้การจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยรังสิตเป็ นไปด้วยความเรียบร้อยและมี ประสิทธิภาพจึงเห็นสมควรกำาหนดนโยบายการสอนของมหาวิทยาลัยไว้ดงั นี้ 1. กำรเตรียมสอน 1.1 อาจารย์ตอ้ งแจ้งรายชื่อหนังสือ/ตำารา/หนังสืออ้างอิง เพือ่ ใช้ในการศึกษาค้นคว้าและประกอบการ เรียนการสอนในรายวิชาทีร่ บั ผิดชอบ ผ่านหัวหน้าสาขา/หัวหน้าภาค และคณบดีตามลำาดับ ไปยัง สำานักหอสมุด เพือ่ ทีท่ างสำานักหอสมุดจะได้จดั เตรียม/จัดหา/จัดซื้อ ก่อนเปิ ดภาคการศึกษาถัดไป อย่างน้อย 1 เดือน -681.2 อาจารย์ตอ้ งจัดทำา Course Outline ในรายวิชาทีร่ บั ผิดชอบ และต้องแจกให้นกั ศึกษาทุกคน ในวันแรกทีม่ กี ารเรียนการสอน ในกรณีทม่ี กี ารปรับ Course Outline ต้องแจ้งให้นกั ศึกษา ทราบทันที และหากมีการเปลีย่ นแปลงมากต้องทำาเอกสารแจกให้แก่นกั ศึกษาก่อนสอบกลางภาค 1.3 อาจารย์ตอ้ งทำางานเป็ นผูใ้ ฝ่ รู ้ ทำาตนให้ทนั สมัย และศึกษาค้นคว้าให้ทนั สมัยในรายวิชา ทีต่ นรับผิดชอบเป็ นอย่างน้อย 1.4 อาจารย์ตอ้ งจัดเตรียมเอกสารประกอบการสอนในรายวิชาทีร่ บั ผิดชอบ


1.5 อาจารย์ตอ้ งจัดเตรียมสือ่ การเรียนและโสตทัศนู ปกรณ์ให้เหมาะสมกับบทเรียน รวมทัง้ การ นำาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการจัดกิจกรรมในห้องเรียน 1.6 กรณีทอ่ี าจารย์ประสงค์จะใช้โสตทัศนู ปกรณ์ต่าง ๆ ต้องแจ้งศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา เพือ่ อำานวยการสะดวกในเรื่องดังกล่าว ก่อนวันทีม่ กี ารเรียนการสอนอย่างน้อย 1 วันทำาการ 1.7 อาจารย์ตอ้ งเตรียม/เลือกใช้วธิ ีการสอนทีเ่ หมาะสมกับเนื้อหา และจัดเตรียมกิจกรรมการเรียนบน พื้นฐานการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสำาคัญให้มากทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะสามารถดำาเนินการได้ 1.8 อาจารย์ตอ้ งเตรียมการวัดและประเมินผลผูเ้ รียนตามจุดประสงค์การเรียนรูท้ ก่ี าำ หนดไว้ และวัด ให้ครอบคลุมทุกด้านด้วยวิธีหลากหลาย โดยกำาหนดวิธีการประเมินผลผูเ้ รียน พร้อมสัดส่วน คะแนนต่าง ๆ ไว้ใน Course Outline เพือ่ ให้ผูเ้ รียนทราบ

ชดเชยให้แก่นกั ศึกษาด้วย 2.6 ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ขอความร่วมมืออาจารย์ช่วยสอดแทรกและปลูกฝังความมี ระเบียบวินยั คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมอันดีงามให้แก่นกั ศึกษาด้วย เพือ่ ให้นกั ศึกษา เป็ นผูม้ บี คุ ลิกภาพทีด่ ี และเป็ นพลเมืองทีม่ คี ุณภาพของสังคม 2.7 ในการจัดการเรียนการสอนควรเชื่อมโยงปัญหาของสังคมและสิง่ แวดลอ้ มปัจจุบนั กับเนื้อหาสาระ ของวิชาตามความเหมาะสม 2.8 ในการจัดการเรียนการสอนอาจารย์ควรจัดเวลาให้นกั ศึกษาได้มสี ่วนแสดงความคิดเห็นโต้ตอบค้นคว้าหาข้อมูล-ลงมือปฏิบตั ิ และจัดเวลาให้มที งั้ group-work, group-interaction & selflearning ประมาณ 30% ของเวลา lecture

2. การสอน 2.1 ภาคการศึกษาปกติมรี ะยะเวลาการศึกษาไม่นอ้ ยกว่า 15 สัปดาห์ (ไม่รวมวันสอบปลายภาค) 2.2 อาจารย์ตอ้ งเข้าสอนให้ตรงเวลา และครบตามจำานวนคาบตามแผนการสอน 2.3 มหาวิทยาลัยขอความร่วมมืออาจารย์ใช้ภาษาอังกฤษในระหว่างการเรียนการสอนบ้าง เช่น การใช้ ศัพท์เฉพาะ (Technical Term) เพือ่ ส่งเสริมให้นกั ศึกษาได้ใช้ทกั ษะทางด้านภาษาอังกฤษอย่าง ต่อเนื่อง ทัง้ นี้ข้นึ อยู่กบั ความเหมาะสมของลักษณะรายวิชา/เนื้อหาบทเรียน/กิจกรรมการเรียน และความพร้อมของอาจารย์ผูส้ อนแต่ละคน 2.4 ในกรณีทม่ี หาวิทยาลัยมีความจำาเป็ นต้องงดการเรียนการสอนเนื่องจากมีเหตุฉุกเฉินจริง ๆ หรือ เป็ นการงดการเรียนการสอนทีน่ อกเหนือจากประกาศของมหาวิทยาลัย ทางมหาวิทยาลัยจะมี

3. กำรสอบ 3.1 กำาหนดวัน เวลา ของการสอบกลางภาคและการสอบปลายภาคในแต่ละภาคการศึกษาจะกำาหนด ไว้ในปฏิทนิ การศึกษาและคูม่ อื การลงทะเบียนของนักศึกษา โดยมีสาำ นักงานทะเบียนเป็น ผูรั้ บผิดชอบดูแล กรณีทอ่ี าจารย์ต ้องการนำารายวิชาทีร่ บั ผิดชอบไปจัดสอบเองนอกตารางต้องแจ้ง ให้สาำ นักงานทะเบียนทราบล่วงหน้าก่อนวันสอบอย่างน้อย 7 วันทำาการ 3.2 อาจารย์ตอ้ งส่งข้อสอบทีพ่ มิ พ์เรียบร้อยแลว้ ผ่านหัวหน้าสาขา/หัวหน้าภาค และคณบดีตามลำาดับ ไปยังศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาเพีอ่ Copyprint ก่อนวันสอบอย่างน้อย 7 วันทำาการ ข้อสอบ ทีส่ ง่ ช้ากว่ากำาหนด อาจารย์ผูอ้ อกข้อสอบต้องขออนุมตั พิ มิ พ์ต่อคณบดีและอธิการบดีเป็ นกรณีๆ ไป และข้อสอบทีส่ ่งไปศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาแล ้วจะไม่อนุญาตให้มกี ารแก้ไขโดยเด็ดขาด

-69ประกาศงดการเรียนการสอนเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และแจ้งให้คณะทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 สัปดาห์ เพือ่ ทีท่ างคณะจะได้แจ้งให้อาจารย์ อาจารย์พเิ ศษ และนักศึกษาทราบโดยเร็ว ทัง้ นี้ ขอความร่วมมืออาจารย์ช่วยจัดชัว่ โมงสอนชดเชยให้แก่นกั ศึกษาด้วย 2.5 ในกรณีทอ่ี าจารย์งดการเรียนการสอนด้วยเหตุขดั ข้องส่วนตัวใด ๆ อาจารย์ตอ้ งแจ้งหัวหน้าสาขา/ หัวหน้าภาค และคณบดีตามลำาดับทราบโดยเร็ว และต้องแจ้งให้นกั ศึกษาทราบล่วงหน้าก่อนวันที่ มีการเรียนการสอนอย่างน้อย 3 วันทำาการ (ยกเว้นกรณีฉุกเฉิน) พร้อมทัง้ ต้องจัดชัว่ โมงสอน

-703.3 อาจารย์ตอ้ งทำาหน้าทีค่ ุมสอบทัง้ ในรายวิชาทีร่ บั ผิดชอบและรายวิชาอืน่ ๆ โดยอาจารย์ทท่ี าำ หน้าที่ คุมสอบต้องไปรับข้อสอบทีก่ องกลางสอบ ก่อนถึงเวลาสอบอย่างน้อย 30 นาที 3.4 อาจารย์ตอ้ งติดประกาศผลการสอบกลางภาคให้นกั ศึกษาทราบภายใน 14 วันหลังวันสอบ รายวิชานัน้ ๆ 3.5 อาจารย์ตอ้ งส่งผลการสอบปลายภาค/เกรด ไปยังสำานักงานทะเบียนภายในระยะเวลาทีก่ าำ หนด ซึง่ ทางสำานักงานทะเบียนจะกำาหนดวันและแจ้งเป็ นลายลักษณ์อกั ษรให้ทกุ คณะทราบล่วงหน้า


4. กำรประเมินผล 4.1 อาจารย์ควรวัดผลการเรียนรูของนั ้ กศึกษาด้วยวิธที ห่ี ลากหลาย เช่น ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย การเขียนรายงาน การเขียนบทความวิพากษ์วจิ ารณ์ การมีส่วนร่วมในห้องเรียน การสังเกต พฤติกรรมการเรียน เป็ นต้น 4.2 การประเมินผลการเรียนรูใ้ นแต่ละรายวิชาให้ประเมินเป็ นระดับขัน้ (Grades) หรืออักษรระดับขัน้ (Letter Grades) ทีม่ คี ่าระดับขัน้ (Numeric Grades) และสัญลักษณ์ทไ่ี ม่มคี ่าระดับตาม ระเบียบมหาวิทยาลัยรังสิต ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาบัณฑิต 4.3 แนวทางการตัดเกรดสำาหรับรายวิชาต่าง ๆ 1) Class GPA สำาหรับรายวิชาบรรยายควรอยู่ระหว่าง 2.00-2.75 2) Class GPA สำาหรับรายวิชาปฏิบตั คิ วรอยู่ระหว่าง 2.75-3.25 3) จำานวนนักศึกษาทีไ่ ด้เกรด A และ F ไม่ควรมีมากว่า 10% ของจำานวนนักศึกษาทีล ่ ง ทะเบียน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความพร้อมและสภาพแวดล้อมต่าง ๆ เช่น จำานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน ลักษณะของผู้เรียน จุดมุ่ง หมายในการสอบ เป็นต้น นอกจากนี้ผลการสอบและการตัดเกรด สำาหรับรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะจะต้องรับการพิจารณาและ การรับรอง/เห็นชอบ จากคณะกรรมการกำากับมาตรฐานวิชาการ/ คณะกรรมการสอบไล่ภายนอก ประจำาสาขาวิชา

-71การคุม สอบและระเบีย บปฏิบ ัต ิส ำา หรับ กรรมการคุม สอบ เพื่อให้การดำาเนินการสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มี ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ

การประกันคุณภาพการศึก ษาของมหาวิทยาลัย จึงเห็นสมควร กำาหนดหลักเกณฑ์ในการคุมสอบ ดังต่อไปนี้ 1. การคุม สอบถื อ เป็ น ภารกิจ ของอาจารย์ เ ช่ น เดี ย วกั บ การสอน 2. อาจารย์มหี น้าทีใ่ นการคุมสอบ การละเว้นหรือไม่ปฏิบตั ิ ถือเป็ นการฝ่ าฝื นแนวทางการ ปฏิบตั งิ านของบุคลากร 3. อาจารย์ทล่ี าศึกษาต่อบางเวลาให้มหี น้าทีใ่ นการคุมสอบตามปกติ โดยให้หน่วยงาน ต้นสังกัดแจ้งรายละเอียดต่อฝ่ ายทีเ่ กี่ยวข้องเพือ่ ดำาเนินการตามเหมาะสม 4. กรณีอาจารย์ตอ้ งคุมสอบในวันหยุดให้จดั วันหยุดชดเชยตามเหมาะสม โดยดำาเนินการ ตามแบบคำาขออนุมตั ปิ ฏิบตั งิ านนอกเวลาทำางาน และแจ้งสำานักงานบุคคลต่อไป 5. กรรมการคุ ม สอบจะต้ อ งแต่ ง กายให้ สุ ภ าพเรี ย บร้ อ ย และจะต้ อ งไปถึ ง กองอำา นวยการสอบของแต่ ล ะอาคาร ก่ อ น กำาหนดการสอบอย่างน้อย 30 นาที เพื่อลงชื่อปฏิบัติงานและรับ ข้อสอบตลอดจนเพื่อตรวจดูความเรียบร้อยของห้องสอบ 6. ห้ า มนำา เครื่ อ งมื อ สื่ อ สารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ติ ด ตั ว ใน ระหว่างปฏิบัติงานคุมสอบ 7. กรรมการคุมสอบจะต้องตรวจนับข้อสอบทัง้ ก่อนและหลังการสอบวิชานัน้ ๆ ว่าข้อสอบมี ตรงตามจำานวนทีร่ ะบุไว้หน้าซองหรือไม่ หากมไม่ตรงกันก่อนสอบให้รบี ติดต่อกรรมการอำานวยการสอบ โดยด่วน หรือหากไม่ตรงกันหลังสอบให้รบี ดำาเนินการตรวจสอบในห้องสอบทันที 8. ในระหว่างการคุมสอบ ไม่อ่านหนังสือหรือนำางานส่วนตัวใด ๆ มาทำา ไม่ละเลยหรือละทิ้ง หน้าทีก่ ารคุมสอบ หากมีปญั หาเกี่ยวกับการสอบให้สอบถามกรรมการอำานวยการสอบ 9. ในกรณีท่มี ปี ญั หาไม่สามารถปฏิบตั ิงานคุมสอบได้ ต้องมอบหมายให้อาจารย์ท่อี ยู่ในคณะ เดียวกันทีส่ ามารถปฏิบตั งิ านตารมทีม่ อบหมายนัน้ ได้ ไปคุมสอบแทน หรือหากมีเหตุสุดวิสยั อย่างกะทันหัน ต้องรีบแจ้งกองอำานวยการสอบประจำาอาคารนัน้ ๆ โดยเร็วทีส่ ุด 10. กรรมการคุมสอบจะต้องช่วยกวดขันการแต่งกายเข้าสอบของนักศึกษาด้วย ในกรณีท่มี ี ปัญหาเดี่ยวกับเรื่องดังกล่าว ขอให้นาำ นักศึกษาไปพบกรรมการอำานวยการสอบทันที


-7211. หลังจากนักศึกษาทำาข้อสอบไปแลว้ ประมาณ 10 นาที ให้นกั ศึกษาเซ็นชื่อในใบรายชื่อผู ้ เข้าสอบ โดยกรรมการคุมสอบจะต้องตรวจบัตรประจำาตัวนักศึกษาทุกครัง้ ที่เข้าสอบ พร้อมสังเกตว่าผู ้ สอบเป็ นบุคคลเดียวกับเจ้าของรูปหรือไม่ ถ้าไม่มบี ตั รดังกล่าว อนุ โลมให้ใช้บตั รอื่นที่มรี ูปแทนได้ หาก ไม่มบี ตั รใด ๆ ให้นำานักศึกษาไปพบกรรมการอำานวยการสอบ 12. ในกรณีที่นักศึกษาไม่ มีรายชื่ อ เข้ า สอบ อนุโลมให้ ทำาการสอบไปก่อน โดยให้กรรมการคุมสอบเพิ่มชื่อต่อท้ายใน ใบรายชื่ อ ผู้ เ ข้ า สอบ แล้ ว ให้ นั ก ศึ ก ษาติ ด ต่ อ ที่ สำา นั ก งานทะ เบียนฯ ทันทีที่สอบวิชานั้นเสร็จสิ้น 13. ประกาศยำ้า ให้นักศึกษาทราบว่ า หากทุจริต ในการ สอบจะต้องถูกลงโทษสถานหลัก คือ ถูกปรับตกในวิชานั้นและถูกพักการเรียนในภาคการศึกษาปกติ ถัดไป 1 ภาคการศึกษา 14. ให้สงั เกตดูพฤติกรรมของผูเ้ ข้าสอบ มิให้มก ี ารคัดลอก ข้อสอบหรือกระทำาการทุจริตในการสอบ หากพบนักศึกษาทุจริต ในการสอบ ให้กรรมการคุมสอบทำาบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร พร้อมหลักฐานและบันทึกรับสารภาพของนั ก ศึก ษาถึง ประธาน อำานวยการสอบประจำาอาคาร พร้อมทั้งให้รายงานตัวต่อประธาน อำานวยการสอบทันทีที่เสร็จสิ้นการสอบวิชาดังกล่าว 15. การส่ ง คื น ข้ อ สอบและกระดาษคำา ตอบ ต้ อ งรอการ ตรวจนับจากกรรมการอำานวยการสอบก่อน เมื่อการตรวจนับถูก ต้องแล้วให้เซ็นชื่อส่งข้อสอบและกระดาษคำาตอบด้วย 16. ข้ อ สอบถื อ เป็ น เอกสารลั บ แล ะเป็ น สมบั ติ ข อง มหาวิทยาลัยรังสิต สำาหรับให้นักศึกษา เพื่อทำาตอบในห้องสอบ เท่านั้น กรรมการคุมสอบจะต้องส่งคืนข้อสอบให้ครบถ้วน และ ห้ามนำาออกไปเปิดเผยโดยเด็ดขาด ผู้ใดฝ่าฝืนถือว่าผิดระเบียบ การคุมสอบ และอาจถูกดำาเนินคดีอาญาฐานหลักทรัพย์อีกด้วย

-73คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของอำจำรย์ มหาวิทยาลัยมีความคาดหวังต่อบุคลากรของมหาวิทยาลัยทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีใ่ นตำาแหน่งอาจารย์ ซึง่ เป็ นบุคคลทีม่ คี วามสำาคัญอย่างยิง่ ในการจัดการเรียนการสอน ซึง่ เป็ นภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมีความคาดหวังต่ออาจารย์ในเรื่องต่างๆ แยกเป็ นหัวข้อตามภารกิจ ดังต่อไปนี้ ด้ำนกำรสอน 1. อาจารย์มภี าระงานสอนครบตามทีก่ าำ หนด หรืออาจมากกว่าทีก่ าำ หนด 2. มีการประมวลแผนการสอนและจัดทำาแผนการสอนครบทุกหัวข้อ /รายวิชา 3. มีแผนการออกข้อสอบ และออกข้อสอบทัง้ ปรนัยและอัตนัย 4. มีการตัดเกรดทุกรายวิชาทีส่ อน 5. ส่งข้อสอบและผลการตัดเกรดตรงเวลาทีก่ าำ หนด 6. มีการวิเคราะห์ขอ้ สอบในเรื่องทีส่ อน 7. มีการพัฒนาคลังข้อสอบของรายวิชาทีส่ อน 8. มีการนำาภาษาอังกฤษมาใช้ในการสอน และทีด่ ที ส่ี ุดได้มกี ารจัดทำาสือ่ การสอนเป็ น ภาษาอังกฤษไม่ตำ ่ากว่าร้อยละ 50 ของเนื้อหา และสอนเป็ นภาษาอังกฤษร้อยละ 50 9. คุมสอบครบจำานวนครัง้ ทีก่ าำ หนด 10 ได้รบั คะแนนการประเมินโดยนักศึกษา และอาจารย์ ในอัตราทีส่ ูงกว่า 3.5 ด้ำนกำรเป็ นอำจำรย์ท่ปี รึกษำ 1. ดูแลเอาใจใส่นกั ศึกษา มีการติดต่อผูป้ กครองสม่ำาเสมอ 2. ให้เวลาเป็ นทีป่ รึกษาในเรื่องต่างๆ สม่ำาเสมอ 3. ปรับปรุงข้อมูลประวัตนิ กั ศึกษาให้ทนั สมัยอยู่ตลอดเวลา


4. นักศึกษาในความรับผิดชอบ สามารถวางแผนการเรียนได้เหมาะสม ไม่เกิดปัญหาในการลง ทะเบียนและปัญหาการเรียนทีเ่ กิดจากการไม่รูข้ ้อมูลของนักศึกษา ด้ำนกำรผลิตผลงำนทำงวิชำกำร 1. มีการผลิตเอกสารประกอบการสอนทุกหัวข้อเรื่อง/รายวิชา 2. มีการแต่งตำาราเพือ่ ใช้ในการเรียนการสอน -743. มีการผลิตสือ่ สารสนเทศ 4. มีการผลิตหรือดัดแปลงหรือพัฒนาเครื่องมือทีใ่ ช้ในห้องปฏิบตั กิ าร 5. มีการจัดให้นกั ศึกษาศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง มีการผสมผสานวิธีการสอน มอบหมายงาน ให้คน้ คว้า ดูแลให้มกี ารศึกษาด้วยตัวเองในห้องปฏิบตั กิ าร 6. มีการผลิตผลงานวิจยั หรือสิง่ ประดิษฐ์ โดยร่วมในโครงการวิจยั เป็ นผูร้ ่วมวิจยั หรือเป็ น หัวหน้าทีมวิจยั หรือโครงการวิจยั และสามารถหาแหล่งทุนจากภายนอก หรือมีผลงานสิง่ ประดิษฐ์ทไ่ี ด้รบั รางวัลในระดับต่างๆ จนถึงระดับชาติและระดับนานาชาติ 7. มีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ มีบทความวิจยั ในวารสารในประเทศและระดับนานาชาติ หรือมีสทิ ธิบตั รทัง้ ในและต่างประเทศ ด้ำนกำรบริกำรทำงวิชำกำร 1. มีการนำาผลงานวิชาการไปประยุกต์ใช้ในการผลิต ปรับปรุงงานในสถานการณ์จริงอย่างเป็ น รูปธรรม 2. มีการเป็ นกรรมการหรือเป็ นประธาน นายกสมาคม ชมรมวิชาชีพในระดับต่างๆ 3. มีการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาในทุกกิจกรรมทีม่ ี เป็ นอาจารย์ทป่ี รึกษาชมรมนักศึกษา ด้ำนกำรทำำนุ บำำ รุงศิลปวัฒนธรรม เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมทีจ่ ดั ขึ้นเพือ่ การทำานุบาำ รุงศิลปวัฒนธรรม โดยอาจเป็ น กรรมการ ประธานกรรมการหรืออนุกรรมการ หรือคณะทำางาน ด้ำนกำรบริหำรงำนหรือกำรช่วยงำนบริหำรของวิทยำลัย /คณะ 1. สามารถบริหารจัดการหรือปฏิบตั ิหรือดำาเนินงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายได้สาำ เร็จทุกครัง้ 2. สามารถบริหารงานบรรลุเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ตามแผนงานและโครงการประจำาปี ของ วิทยาลัย/คณะในทุกด้าน

ด้ำนควำมรับผิดชอบ ควำมร่วมมือ ทัศนคติ กำรอุทศิ เวลำให้แก่กำรปฏิบตั งิ ำน มีคุณลักษณะครบถ้วนทัง้ 4 อย่าง คือ 1. มีความรับผิดชอบต่อภารกิจของตัวเองและภารกิจของมหาวิทยาลัย และเป็ นแบบอย่างทีด่ ี ต่อศิษย์และทุกคน 2. ให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆ ของทัง้ ในระดับวิทยาลัย/คณะ และของมหาวิทยาลัย -75อย่างเต็มใจและเต็มความรูค้ วามสามารถ 3. มีทศั นคติทด่ี ตี ่อวิชาชีพ ต่อศิษย์ เพือ่ นร่วมงาน ผูบ้ งั คับบัญชาและมหาวิทยาลัย ซือ่ สัตย์ ต่อวิชาชีพและเพือ่ นมนุษย์ 4. อุทศิ เวลาแก่การทำางานอย่างเต็มที่ เต็มกำาลัง และปฏิบตั เิ ป็ นปกติวสิ ยั คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบุคลำกรสำยสนับสนุ น บุคลากรสายสนับสนุนมีบทบาทและส่วนสำาคัญยิง่ ในอันทีจ่ ะสนับสนุนให้ภารกิจสำาคัญของ มหาวิทยาลัยลุลว่ งและประสบผลสำาเร็จ มีภารกิจทัง้ ในด้านการสนับสนุนการเรียนการสอนและการบริหาร จัดการ การดำาเนินงานในทุกๆ ด้าน ซึง่ การทีบ่ คุ ลากร จะสามารถปฏิบตั งิ านได้ดนี นั้ บุคลากรจะต้องมี คุณลักษณะทีด่ ี ดังต่อไปนี้ ด้านคุณภาพและปริมาณงาน 1. มีความละเอียด รอบคอบในการทำางาน แทบจะไม่มขี อ้ ผิดพลาดเลย จนสามารถนำาไปเป็ น บรรทัดฐานได้ 2. ทำางานได้เร็ว เสร็จทันหรือก่อนเวลาทีก่ าำ หนด จนสามารถมอบหมายงานอืน่ ๆ ได้ต่อเนื่อง 3. สามารถรับผิดชอบงานและปฏิบตั งิ านได้ปริมาณงานเท่าหรือมากกว่าทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 4. ผลิตผลงานด้วยตนเองจำานวนมาก และนำาไปใช้หรือก่อประโยชน์ในการดำาเนินงานของ หน่วยงาน/มหาวิทยาลัยอย่างได้ผล ก่อให้เกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัยอย่างชัดเจน ด้ำนกำรปฏิบตั งิ ำน 1. มีความเข้าใจงานในหน้าทีอ่ ย่างลึกซึ้งทุกแง่ทกุ มุม สามารถแก้ปญั หา เสนอแนะวิธีการ ดำาเนินงานได้ และเรียนรูง้ านได้เร็วเป็ นพิเศษ


2. ปฏิบตั งิ านได้รบั มอบหมายได้อย่างถูกต้อง สมบูรณ์ เป็ นทีไ่ ว้วางใจได้เสมอในทุก สถานการณ์ 3. มีการประสานงานและให้ความร่วมมืออย่างดียง่ิ ในการปฏิบตั งิ านร่วมกับผูอ้ น่ื จนเป็ นที่ ประทับใจและอยากร่วมงานด้วยอีก 4. พูดและเขียนได้ใจความชัดเจน ได้ใจความเสมอ ไม่ตอ้ งมีการอธิบายเพิม่ เติม -765. สามารถแก้ไขปัญหาของตนเองได้ โดยไม่ตอ้ งคำาชี้แนะหรือช่วยเหลือใด ๆ และใช้เวลาใน การแก้ไขน้อยมาก ด้ำนพฤติกรรมและบุคลิกส่วนบุคคล 1. ประพฤติตนเป็ นตัวอย่างทีด่ ใี นประหยัดและระวังรักษาเครื่องมือเครื่องใช้หรือทรัพยากรทีใ่ ช้ ในการทำางานจนเป็ นแบบอย่างทีด่ ตี ่อบุคคลอืน่ 2. เป็ นทีป่ ระทับใจและโดดเด่นในการให้บริการจนได้รบั การชมเชย 3. ประพฤติตนตามระเบียบอยูใ่ นเกณฑ์ดมี าก วางตนอย่างเหมาะสม เป็นตัวอย่างทีด่ แี ก่ผอืู ้ น่ เสมอ 4. อาสาให้ความช่วยเหลือเพือ่ นร่วมงานและหน่วยงานหรือมหาวิทยาลัยอย่างเต็มใจ และอุทศิ เวลาในการทำางานอย่างมากโดยไม่คาำ นึงถึงผลประโยชน์ตอบแทนใด ๆ 5. อาสาสมัครในการจัดกิจกรรมบ่อยครัง้ ในฐานะกรรมการ หรือประธานกรรมการดำาเนินงาน 6. มีจติ สำานึกในการช่วยประหยัดด้านต่าง ๆ ตลอดเวลาและถือปฏิบตั จิ ริง และให้ขอ้ มูลในการ กระทำาความผิดต่อชื่อเสียงและทรัพย์สนิ ของมหาวิทยาลัย จนสามารถระงับความเสียหายที่ จะเกิดขึ้นได้ ด้ำนกำรพัฒนำงำนหรือทักษะกำรบริหำรงำน 1. พัฒนางานทีร่ บั ผิดชอบและนอกเหนือความรับผิดชอบ ทำาให้สามารถลดขัน้ ตอน ลดเวลา และงบประมาณได้อย่างได้ผลดีมาก 2. วางแผนและจัดระบบงานได้ถกู ต้องสมบูรณ์ สามารถนำาไปปฏิบตั ไิ ด้เป็ นผลดีต่อหน่วยงาน และมหาวิทยาลัย 3. การตัดสินใจและแก้ไขปัญหาได้ดเี ยีย่ ม มีการวิเคราะห์ปญั หาอย่างรอบคอบ ถีถ่ ว้ นและ สามารถแก้ไขสถานการณ์ได้เป็ นอย่างดี

6. มีความสามารถในการเป็ นผูน้ าำ ได้เป็ นอย่างดี ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาทุกคนให้ความร่วมมือในการ ปฏิบตั งิ าน 7. สนใจและสามารถพัฒนาผูใ้ ต้บงั คับบัญชาอย่างใกลช้ ดิ ทำาให้ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาสามารถ เข้าใจและปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8. นำาเทคนิคสมัยใหม่และเทคโนโลยีมาใช้ในการดำาเนินงานของหน่วยงานอย่างได้ผลดีมาก และสามารถจัดทำาระบบฐานข้อมูล เพือ่ ประโยชน์ในการตัดสินใจอย่างได้ผล -77-


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.