Walls Hold Stories (งัดบ้าน) “งัดบ้าน” เป็นชื่อในทานองทีเล่นทีจริงของนิทรรศการกลุ่มของนักสร้างสรรค์ (ในฐานะศิลปิน) จานวน 14 ท่าน ซึ่งการงัดบ้านในที่นี้ มิได้หมายถึงการงัดเข้าไปขโมย หรือเพื่อโจรกรรมสิ่งของของผู้อื่นแต่ อย่างใด หากแต่เป็นเพียงการเปรียบเปรย และสมมติถึงสถานการณ์บางอย่างในชีวิตของเรา โดยในบางครั้ง ตัวเราเอง ได้หลงลืมหรือละเลย “สิ่ง” (กุญแจแห่งความทรงจา) นั้นไป กล่าวให้กระชับก็คือ เป็นการงัดเข้าไปดู เพื่อสารวจตรวจสอบ นึกย้อนแล้วตีความ มองหาร่องรอยต่างๆในพื้นที่ความทรงจาของเรา ทั้งในช่วงเวลา อดีตและปัจจุบัน ซึ่งในที่นี้ ผู้เขียนพอจะสรุปและนาเสนอประเด็นสาคัญของศิลปินแต่ละท่าน เพื่อความเข้าใจ ในเบื้องต้น เอาไว้ดังนี้ ท่านแรก (1) ชัชชัยวัชร ชังชู มีทรรศนะว่าในแต่ละบ้าน โดยเฉพาะในส่วนของโต๊ะอาหาร เป็นสถานที่ แห่งการพบปะพูดคุยเรื่องราวต่างๆในชีวติ อย่างไรก็ดี แนวคิดเช่นนี้ยังใกล้เคียงกับประเด็นของ (2) กรุณา รวมธรรมรักษ์ คือ “เรื่องของอาหารการกิน” เพราะเป็นสิ่งที่ช่วยสร้างประสบการณ์และความสัมพันธ์ ระหว่างตัวกรุณาเอง กับแม่ของเขา (3) เตชินท์ ปิน่ ทุพนั ธ์ ก็เช่นเดียวกัน จากความทรงจาในวัยเด็ก ที่ได้ รับประทานอาหารเช้าฝีมือผู้ปกครองก่อนไปโรงเรียน โดยเฉพาะเมนูจาพวก “ไข่” ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าว ได้ สร้างความผูกผัน จนเกิดเป็นความรู้สึกดีขึ้นในใจ จากที่ได้กล่าวไปแล้วว่า ประสบการณ์ที่ว่าด้วยเรื่องของ อาหารการกิน ดูจะเป็นสิ่งสาคัญที่อยู่คู่บ้าน และอยู่คู่กับมนุษย์อย่างเราๆมาอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี เรื่องราวในวัยเยาว์ของ (4) ณุพล วิรยิ ะวงษ์ โดยเฉพาะของเล่นที่บ้าน (ม้าล้อ) อันเป็นของเล่นที่ประทับใจเมื่อ ครั้งยังเป็นเด็ก ซึ่งสิ่งนี้ได้สร้างความรู้สึกสนุกสนาน ระหว่างณุพล กับพ่อแม่ (ผูซ้ ึ่งคอยชักจูงไปสู่สิ่งใหม่ที่ดี งามในชีวิต) ขณะทีส่ ภาพสังคมทุกวันนี้ มีการเคลื่อนตัวและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทาให้ (5) นพธรรม ศร คม มองว่าเทคโนโลยีต่างๆในยุคสมัยปัจจุบัน มีส่วนสาคัญในการเข้ามาเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนใน ครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง "โทรศัพท์บ้าน" ที่เริ่มขาดหายไปและถูกแทนที่ด้วยโทรศัพท์มือถือหรือสมาร์ท โฟน เกิดเป็นปัจจัยเพิ่มเติมให้กับมนุษย์ในยุคปัจจุบัน กล่าวให้ถึงที่สุดก็คือ เป็นยุคที่เทคโนโลยีได้สถาปนา ตนเองขึ้นมาเป็นนายเหนือตัวเรา ทั้งนี้ หากจะว่าด้วยเรื่องความเปลี่ยนแปลง อันเนื่องมาจากเงื่อนไขของ เวลาแล้ว (6) สุรเจต ทองเจือ ก็เป็นอีกท่าน ที่ได้หยิบยกประเด็นเรื่องการพังทลาย หรือการล่มสลายของวัตถุ สุรเจตได้นาไม้ระแนงจากบ้านเก่าของตน มาสะท้อนถึง “แก่นแท้” และมองหา “คุณค่าต่างๆของวัตถุ” จาก ระดับส่วนตัว ไปจนถึงระดับโครงสร้างทางสังคมที่เราอาศัยอยู่ ลาดับต่อมา แนวคิดของ (7) พิชากร ชูเขียว ที่เชื่อว่า “บ้าน คือวิถีของการใช้ชีวติ ของเขา” เพราะไม่ว่า ขนาดของบ้าน จะมีมากหรือน้อยแค่ไหนก็ตามที พิชากรก็มักจะใช้ชีวิตวนเวียนอยู่ในพื้นที่ที่ตนเองคุ้นเคย เพียงแค่มคี วามรู้สึกพึงพอใจ ที่ได้อาศัยพื้นที่ตรงบริเวณนั้นสาหรับทากิจกรรมต่างๆ เมื่อพื้นที่ของบ้านมี ส่วนสาคัญ และมิได้แยกขาดออกจากพฤติกรรมของผู้อยู่อาศัย (8) พงศ์จรัส รัชนี จึงกลับมาให้ความสนใจ ในประเด็นเรื่องกฎเกณฑ์ และข้อจากัดเชิงพื้นที่ ที่ถูกทาให้เป็นเพียงสถานที่เพื่อการพักอาศัย และในสภาวะ
บางอย่าง เพื่อให้ได้มาซึ่งที่อยู่อาศัย พงศจรัสได้อธิบายว่า เราอาจต้องยอมรับในสิ่งต่างๆที่จะเกิดขึ้นใน เบื้องหน้า ถัดมาอีกท่านหนึ่ง คือ (9) จิรวงษ์ วงษ์ตระหง่าน ทีม่ ีความเห็นว่า บ้านแต่ละหลังที่เราต่างพบเจอ จะ มีการเลือกใช้ “เก้าอี้” ที่มีความหลากหลายแตกต่างกันไป ซึ่งเก้าอี้ในลักษณะต่างๆที่ว่านี้ ได้กลายมาเป็น “สัญญะทางวัฒนธรรม” โดยเฉพาะเรื่องของรสนิยมของผู้อยู่อาศัย แต่ทว่า (10) ชยะกร การุณเดช มี ความเห็นที่แตกต่างออกไป เนื่องจากชยะกรสนใจบ้านและสิ่งของภายในบ้าน ในฐานะที่เป็นความงาม หรือ “รูปทรงทางสุนทรียะ” และความน่าสนใจของรูปทรง ได้ส่งผลให้เกิดจินตนาการอันพิลกึ ล่วงเลยไปถึงการตีความ ของ (11) สัญชัย ไชยนันทน์ ที่เห็นว่า “บ้านคือพื้นที่ส่วนตัว” ที่เราสามารถทาอะไรก็ได้แบบสุดๆ (ในขั้นสุด) ประหนึ่งว่า เป็นการปลดปล่อยตัวตน ให้รอดพ้นไปจากสายตาของผู้คนภายนอกที่กาลังจ้องมอง เหนือสิ่งอื่นใด กระบวนทัศน์หรือกรอบความคิด ความเชื่อต่างๆที่เป็นนามธรรม ก็ยังคงทางานอยู่ใน สานึกของมนุษย์อย่างไม่ขาดสาย แนวคิดทางศาสนาหรือลัทธิต่างๆก็เช่นเดียวกัน ซึ่งพบได้ในงานของ (12) อนุพงษ์ สิงห์ทอง ทีส่ นใจเรื่องความศรัทธาในมิติทางพุทธศาสนา ซึ่งอนุพงษ์มองว่าเป็นสิ่งสาคัญในฐานะที่ เป็นส่วนหนึ่งของบ้าน อีกทั้งยังเป็นศูนย์กลางของพลังชีวิต ที่คอยยึดเหนี่ยวจิตใจคนในครอบครัว มากไป กว่านั้น แนวคิดเช่นนี้มีความสอดรับกับทรรศนะของ (13) เจตนา แสวงนาม ทีเ่ ชื่อว่า “บ้านเป็นสถานที่บ่ม เพาะสิ่งเร้นลับในระดับปัจเจก” และได้ถูกผสมเข้ากับสภาวะทางอารมณ์พื้นฐานของการมีอยู่ของมนุษย์ อีกทั้ง การรับรู้ทางผัสสะต่างๆของมนุษย์ ได้นาไปสู่คติความเชื่อต่างๆมากมาย และศิลปินท่านสุดท้ายที่จะกล่าวถึง ไว้ในที่นี้ คือ (14) ทศพล เบ็ญกูล ซึ่งมีทรรศนะในเชิงบวกว่า ทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกใบนี้ ล้วนมีคุณค่าในตัว ของมันเอง (บ้านก็เช่นกัน) เพียงแค่มนุษย์อย่างเราๆเปิดใจเข้าสัมผัส จึงจะสามารถค้นพบสิ่งที่เรากาลัง พยายามตามหา จากเรื่องราวต่างๆที่ผ่านมา ผู้เขียนเห็นว่าทั้งหมดทั้งมวล ล้วนมีความเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับ ความสัมพันธ์ต่างๆระหว่าง “ตัวเรา” กับ “บ้านของเรา” ทั้งสิ้น และเหนือสิ่งอื่นใด เครื่องมือที่ศิลปินใช้ในการ ออกแรงงัดในที่นี้ ก็มิใช่วัตถุธรรมดาสามัญอย่างเช่น ค้อน ชะแลง สว่าน หรือไขขวง ฯลฯ แต่ทว่าเป็น ผลงาน “ศิลปะ” ที่เขารัก อย่างไรก็แล้วแต่ ในท้ายที่สุด ไม่ว่าหน้าตาของบ้านและการหาความหมายของคาว่าบ้านจะ เป็นอย่างไร การค้นหาจุดสิ้นสุดของการหาความหมายของคาว่า “บ้าน” คงเป็นสิ่งที่ตัวเรา อาจต้อง ตระหนักรู้ “ด้วยตัวของตัวเอง”
เจตนา แสวงนาม : เขียน
1. ชัชชัยวัชร ชังชู 2. พิชากร ชูเขียว 3. เตชินท์ ปิ่นทุพันธ์ 4. ชยะกร การุณเดช 5. สัญชัย ไชยนันทน์ 6. กรุณา รวมธรรมรักษ์ 7. นพธรรม ศรคม 8. พงศ์จรัส รัชนี 9. ณุพล วิริยะวงษ์ 10. อนุพงษ์ สิงห์ทอง 11. เจตนา แสวงนาม 12. จิรวงษ์ วงษ์ตระหง่าน 13. ทศพล เบ็ญกูล 14.สุรเจต ทองเจือ
Chatchaiwat Chungchoo Pichakorn Chukiew tua pen not Techin Pintupan Chayakon Karoondech Sanchai Chaiyanant Karuna Ruamthammaluk Nopphatham Sornkom Pongjarus Rajani Nupol Wiriyawong Anupong Singthong Jettana Savangnam Jirawong Wongtrangan Todsapon Bengrun Surajate Tongchua
1.ชัชชัยวัชร ชังชู “ The Memories of my eating time” เทคนิค: ขึ้นรูปด้วยแปลนหมุน ขนาด : ปรับเปลี่ยนตามพื้นที่ ปีที่สร้าง : 2060 แนวความคิด เมื่อพูดถึงความหมายของคาว่าบ้าน สิ่งแรกที่ข้าพเจ้านึกถึงก็คือครอบครัว บ้านคือสถานที่ ที่รวบรวมความทรงจาต่างๆ ของครอบครัว และความทรงจาต่างๆของข้าพเจ้า เรื่องรวมต่างๆ การพูดคุย การตัดสินใจต่างๆในชีวติ และช่วงเวลาแบ่งปัน เรื่องราว ความสุข ความทุก มักเกิดขึ้นบนโต๊ะอาหาร นั่นคือช่วงเวลาที่ครอบครัว ได้อยู่พร้อมหน้าพร้อมตาและได้ใช้ชว่ งเวลา สั้นๆของทุกๆวัน ข้าพเจ้าจึงสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมที่มาจากรูปทรงต่างๆ ของสิ่งของที่อยู่บนโต๊ะอาหาร เพื่อเป็นสิ่งที่จะนาพาความ รูปสึกให้หวนนึกถึงช่วงเวลาที่สาคัญของครอบครัว -----Chatchaiwat Chungchoo “ The Memories of my eating time” Technique: Throwing Size : Dimensions variable 2017 THAILAND Concept Home means family. Home is the place fulfil with various memory. The remarkable moment of my family frequently happens during the meals. We discuss, take and seek for the advice, whether happiness or sadness, we talk and share with each other at the dining table. Therefore I am impress the moment when members of the family are all together at the dining table. These sculptures inspired by the elements on the dining table of my family to recall the precious time we spent together
2. พิชากร ชูเขียว / tua pen not “ LOOPER ” เทคนิค: จัดวางสื่อผสม ขนาด : ปรับเปลี่ยนตามพื้นที่ ปีที่สร้าง : 2560 แนวความคิด ถ้าเมื่อพูดถึงบ้าน คือวิถีของการใช้ชีวิตของผม ในเมื่อพื้นที่ดังกล่าวถูกจากัดอยู่แค่ห่วงที่วนอยู่ในส่วนของพื้นที่สร้างงานที่ถู ก ตีกรอบไว้แค่ส่วนที่จาเป็นของเนื้อที่บ้าน บ้านซึ่งกว้างมากแต่ถูกใช้งานเพียงแค่นั้น มันก็ย่อมไม่ต่างอะไรกับชีวิตของมนุษ ย์ที่มี พื้นที่การใช้ชีวิตที่กว้างมาก เราก็ยังที่จะวนอยู่ในพื้นที่คุ้นเคยเพียงแค่ความพึงพอใจของเราเท่านั้นเอง --------------------------PICHAKORN CHUKIEW/ tua pen not “ LOOPER ” Technique : mixed media Installation Size: Dimensions variable 2017 THAILAND Concept The meaning of home is a place where I express my way of life. Although the size of a house is big, it is only a specific area used. As I prefer to create my works in the specific area of the house that I am familiar. In a similar way as life, there is a large area for people to make a living, however people like to live in their Familiar area
3.เตชินท์ ปินทุพันธ์ “ อยู่ กับ ไข่ ” เทคนิค: เซรามิกเผาไฟสูง ขนาด : 80x30 เซนติเมตร ปีที่สร้าง : 2560 แนวความคิด เมื่อข้าพเจ้าคิดถึงบ้าน คาว่าบ้าน ชั่วขณะหนึง ภาพ ที่ข้าพเจ้าเห็น ถึงความทรงจาที่ดี ในตอนเด็ก ภาพตอนที่ แม่ของข้าพเจ้า ทาอาหารเช้า ในทุกๆวั นคือไข่ เมนูไ ข่ต่างๆ ก่อนไป โรงเรียน ความรู้สึกที่ดี และอบอุ่นยังคงอยู่ ไม่ลืมเลือน ข้า พเจ้า จึงนา ประสบการณ์ และความรู้สึกในช่วงเวลานั้น เป็นมุมมองคาว่าบ้าน มาสร้างเป็น งานศิลปะ ความงาม ในแบบของตน -------------------Tachin Pintupun “ Live with the eggs ” Technique: wood,ceramic Size : 80x30 cm 2017 THAILAND Concept ‘HOME’, for a moment, I think about good childhood memories that My mother had cooked me variety of egg menus for breakfast before I went to school every day. The warm feeling still never fades. So, I brought this experience at that time to convey my perspective about ‘HOME’, and create it into my individual art.
4. ชยะกร การุณเดช “ untitled ” เทคนิค : จิตรกรรมสื่อผสม ขนาด : 1×5 ม. ปีที่สร้าง : 2560 แนวความคิด งานชิ้นนี้เป็นการนาเอารูปทรงของวัตถุของเครื่องใช้ภายในบ้านและโครงสร้างของสิ่งก่อสร้างมาผสมผสานจัดวางให้เกิดเป็น งานจิตรกรรมกึ่งนามธรรม -------------------Chayakon Karoondech “ untitled ” Technique: mixed painting on canvas Size : 1M ×5 M 2017 THAILAND Concept This work used the form of some object in the house and mix with Structure of building to created the abstract painting
5. สัญชัย ไชยนันทน์ เทคนิค : ผสม บน ไม้อัด ขนาด : 100x100 ซม./ 60x110 ซม. /120x90 ซม. แนวความคิด พฤติกรรมขั้นสุดในพื้นที่ที่รู้สึกตัวขั้นสุด --------------------------Sanchai Chaiyanant “ Passing motion morning” Technique: Mixed media on plywood Size : 100x100 cm 2017 THAILAND “ My dear bath ” Technique: Mixed media on plywood Size : 60x110 cm 2017 THAILAND “She miss me ” Technique: Mixed media on plywood Size : 120x90 cm 2017 THAILAND Concept exclusive behavior in the most private place
6.กรุณา รวมธรรมรักษ์ “ กับข้าวกับปลา” เทคนิค: เทคนิคผสม ขนาด : ปรับเปลี่ยนตามพื้นที่ ปีที่สร้าง : 2560 แนวความคิด เมื่อกล่าวถึงบ้านในตัวของข้าพเจ้า คือสถานที่ที่มีความสาคัญของข้าพเจ้ากับแม่เป็นอย่างมาก แม่ของข้าพเจ้ามักจะใช้เวลาใน การทากับข้าวให้ข้าพเจ้าอยู่ตลอดเวลา เป็นช่วงเวลาที่ข้าพเจ้าจะได้นั่งคุยกับแม่มากที่สุด และในมื้ออาหารทุกมื้อข้าพเจ้าได้เห็น ถึงความรักที่แม่ข้าพเจ้าได้สร้างได้ปรุงให้ ไม่ว่าท่านจะป่วยเพียงใดอาหารของท่านก็คือ แรง และกาลังใจที่มอบให้ข้าพเจ้าเสมอ มา -------------------Karuna Ruamthammaruk “ FOOD” Technique : mixed media Size : Dimensions variable 2017 THAILAND concept Home is a very important place for me and my mother. She loves spending her time cooking for me . The kitchen is the place where both of us mostly talk and share our stories. Through the food that she cooks , I can feel the love and care from her. Although how sick she was, cooking was her own way of sending me strength and encouragement.
7.นพธรรม ศรคม “ บ้านใครบ้านมัน ” ทคนิค: ปะติด สื่อผสม ขนาด : 56*28*86 ปีที่สร้าง : 2560 แนวความคิด ช่องทางการติดต่อสื่อสารในปัจจุบัน ได้ถูกเทคโนโลยีเข้ามาเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของทุกคนภายในครอบครัว ที่ซึ่งมีพื้นที่ของคาว่า"บ้า น"จากัดอยู่ "โทรศัพท์บ้าน"ซึ่งมีความสาคัญกับสมาชิกภายในครอบครัวในยุคสมัยหนึ่ง ถูกลด ความสาคัญลงไปอย่างเห็นได้ชัด ข้าพเจ้าจึงขอนาเสนอผลงานศิลปะ Mixed media ที่กาลังพูดถึงพื้นที่ที่ขาดหายไปภายใน บ้าน --------------------Nopphatham Sornkom “ Bann kai Bann mun ” Technique: Mix Collage Size : 56*28*86 2017 THAILAND Concept In the past we used home phones to communicate with people. New technology has made communication easier as phones are mobile. There is now less emphasis on the use of home phones. I would like to present my art work "mixed media"
8. พงศ์จรัส รัชนี “ ที่อาศัย ” เทคนิค : สื่อผสม ขนาด: ผันแปรตามพื้นที่ ปีที่สร้าง: 2560 แนวความคิด : ในภาวะบางอย่างเพื่อให้ได้มาซึ่งที่อยู่อาศัยอาจต้องยอมรับสิ่งต่างๆทั้งในเรื่องของสภาพแวดล้อม , กฎเกณฑ์ , สถานที่ ,ฐานะ หรือข้อแม้บางอย่างที่ส่งผลให้เกิดข้อจากัดในเรื่องพื้นที่จึงทาให้พื้นที่ ที่จากัดนั้นถูกใช้เป็นสถานที่เพื่อเพียงพัก อาศัย ------------------------Pongjarus Rajani “Residence” Technique : mixed media Size: Dimensions variable Year: 2017 Concept : To get a place to live .We might need to accept an environment ,rules ,location ,size and financial or any other conditions that caused a limitation of living space.
9. ณุพล วิรยิ ะวงษ์ “Small smile big smile ” เทคนิค : เซรามิค รากุ ขนาด : 45x110x160 cm 2560 ---------------------Nupol Wiriyawong “Small smile big smile ” Technique: ceramic raku Size : 45x110x160 cm 2017
10. อนุพงษ์ สิงห์ทอง “ ความศรัทธา ” เทคนิค: เทคนิคการขึ้นรูป ขึ้นรูปด้วยเครื่องแป้นหมุน(throwing) เทคนิคการเผา เผาอุหภูมิ 1250 องศาเซลเซียส เผาในบรรยากาศรีดักชั่น เคลือบด้วยเคลือบขี้เถ้า ขนาด : องค์ใหญ่ กว้าง 23 เซนติเมตร สูง 32 เซนติเมตร 1 ชิ้น องค์กลาง กว้าง 19 เซนติเมตร สูง 28 เซนติเมตร 1 ชิ้น องค์เล็ก กว้าง 13 เซนติเมตร สูง 22 เซนติเมตร 3 ชิ้น ปีที่สร้าง : 2560 แนวความคิด ความศรัทธาในสิ่งๆหนึ่งที่มีความสาคัญส่วนหนึ่งของบ้าน สิ่งที่เป็นศูนย์กลางยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในบ้าน ความศรัทธาใน พุทธศาสนา ห้องพระ หิ้งพระจึงเป็นแรงบันดาลใจให้ขา้ พเจ้าสรรสร้าง ความศรัทธา โดยผลงานชุดนี้ได้นาการตัดทอนมาผสมลงในงานประติมากรรมเซรามิกขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ..............................สงบนิ่งตามความศรัทธา................................. Anupong Singthong “ Faith ” Technique: throwing and ash glazed 1250°C RF Size : 23 cm x 32 cm/19 cm x 28 cm /13cm x 22 cm 2017 THAILAND Concept Faith in the one thing that is important part of the house. What’s the central anchor of the soul of the house. Faith in Buddhism, Buddha statue room, shelf for set Buddha statue It inspired me to create faith. The work of this created of art in a distortion of the truth. mixed into ceramic sculpture forming with throwing. …………….Quieted as Faith………………..
11.เจตนา แสวงนาม เทคนิค : เซรามิค 1230 องศา ขนาด : แปรผันตามพื้นที่ แนวความคิด สิ่งเร้นลับที่เกิดขึ้นภายในบ้าน ที่ถูกผสมผสานเข้ากับสภาวะทางอารมณ์พื้นฐานของการมีอยู่ของมนุษย์ เช่น ความกลัว ความ กังวล ความรักและความหวั ง ได้นามนุษย์เดินทางไปสู่พื้นที่ของแนวคิดและคติความเชื่อต่างๆมากมาย ซึ่งความเชื่อที่ว่า นี้ ดารงอยู่ในภาวะนามธรรม จึงเป็นการยากสาหรับมนุษย์ที่จะรับรู้และจับต้องมองหา หากกล่าวให้ถึงที่สุด มนุษย์เราสามารถรู้ ได้เท่าที่เรารับรู้ผ่านทางผัสสะ หรือทางประสาทสัมผัสอันตื้นเขิน สิ่งที่เราเรียกว่า “ความจริง” จึงเป็นได้เพียงชุดข้อมูลที่ถูก ประกอบสร้าง ผ่านประสบการณ์และจินตนาการในระดับปัจเจกบุคคล ---------------------Jettana Savangnam Technique: ceramic 1,230° Size : dimensions variable 2017 THAILAND Concept The mystery occurring within the home is blended into the basic emotional state of human beings such as fear, anxiety, love, and hope. It brings mankind to the area of many ideas and beliefs. This belief exists in the abstract. So, it is difficult for human beings to perceive and manipulate. Finally, human beings can know as much as they perceive through their shallow senses. What we call "truth" is simply a set of data created through experience and imagination at the individual level.
"The Change" (การเปลี่ยนแปลง) Size : 24×19×42 cm.
"human skills & textbooks (กะโหลกและตารา) Size : dimensions variable
"The Eyes" (จักษุ) Size : 22×23×47 cm.
"Sense" (ผัสสะ) Size : dimensions variable
12. จิรวงษ์ วงษ์ตระหง่าน “ ที่(นั่ง) (ที่)ว่าง ” เทคนิค: ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ขนาด : 30x30x30cm. / ชิ้น 2559-2560 THAILAND แนวความคิด ในบ้านแต่ละหลังมีการเลือกใช้เก้าอีท้ ี่แตกต่างกันไป ตามรสนิยมในการใช้สอย บ้านบางหลังใช้เก้าอีโ้ ซฟาหนังราคาแพงในการรับแขก บางหลังนั่งเพียงก้อมไม้เล็กๆ เพื่อสร้างวงสนทนาพูดคุยกัน ทั้งนี้ทั้งนั้น เก้าอี้เป็นเพียงวัตถุ ๆหนึ่งที่ให้คนที่ยืนได้นั่ง ทากิจกรรมต่างๆ นานา แต่เมื่อใดที่ไม่มีคนมานั่งมัน ความว่าง ก็จะปรากฏขึ้น ผมจึงทาเก้าอี้จาก เซรามิกที่มันไม่สามารถนั่งได้ในความเป็นจริง เพียงแต่ต้องการแค่รูปทรงของมัน บงบอกไปถึง รูปที่ว่าง ( space volume) ไม่อยากยืน . . . ก็นั่ง ได้นั่งมุมอื่น . . . มองก็เปลี่ยนไป เมื่อไม่นั่ง จึงเกิด ที่ (นั่ง) ว่าง ที่นั่ง ที่นั่งไม่ได้ . . . ความว่างก็จะเข้ามาแทน ที่นั่งว่าง เอง ---------------------Jirawong Wongtrangan “ empty seat” Technique: Ceramic Stoneware 1270c Size : 30x30x30cm. / each 2016-2017 Concept In each home, there are different ways of choosing a chair depending on taste and purposes. Some choose expensive sofas to welcome guests. Some choose wooden tiny chairs to create a group of conversation. However, a chairs is just an object for one who stands to sit and do activities. But when no one uses it, there is an emptiness. Therefore, I made chairs from ceramic because it cannot be sit in the reality. I just want to create the chairs form, which referred to the space volume. Do not wish to stand…sit, sit in a different corner…see things differently, when you do not sit, there is, a (empty) seat, the seat that cannot be sit…an emptiness will sit, at the empty seat
13. ทศพล เบญกุล “ อดีตของรูปทรง ” เทคนิค: วาดเส้น ขนาด : 90x100 เซนติเมตร 90x100เซนติเมตร 70x90 เซนติเมตร 70x90เซนติเมตร 80x70 เซนติเมตร ปีที่สร้าง : 2560 แนวความคิด จุดเริ่มต้นในการสร้างสรรค์ผลงาน โดยส่วนตัวมีความรู้สึกชอบ และหลงใหลในความงามของรูปทรง หรือวัตถุบางอย่างที่ชวน ให้นึกถึงบรรยากาศ ความประทับใจ ซึ่งมันจะเป็นตัวบ่งบอกถึงเรื่องราวต่างๆที่ทรงคุณค่า และน่าจดจา -------------------Todsapon Bengrun “untitled” Technique: Drawing Size : 90x100cm / 90x100cm /70x90cm / 70x90cm / 80x70 cm 2017 THAILAND Concept The starting point in the creation, Personally, I have a feeling and fascinated in the beauty of shapes or something that remind my impressive stories. It will be an indicative of the valuable and memorable .
14. สุรเจต ทองเจือ “Gen” เทคนิค: จัดวางสื่อผสม,ไม้,ตะปู,ทองคาเปลว,ภาพถ่าย ขนาด : ปรับเปลี่ยนตามพืน้ ที่ 2559-2560 แนวความคิด ผลงานชุด “Gen” เป็นผลงานที่นาเสนอประเด็นของการให้ความสาคัญต่อ แก่นแท้ที่ยังคงคุณค่า ผ่านการขยายมุมมองในการ เชื่อมโยงเรื่องราวจากหน่วยทางสังคมที่เล็กที่สุด ไปสู่การตีความถึงหน่วยทางสังคมภายนอกที่ใหญ่ขึ้น โดยให้ความหมายและเรียก หน่วยเหล่านี้รวมๆว่า”บ้าน”(HOME) เพื่อมองให้เห็นถึงปัญหาทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ความเหลื่อมล้าทางสังคมและความ เป็นอยู่จากรุ่นสู้รุ่น ผ่านความล่มสลายของวัตถุที่ซึ่งบ่งบอกความมีคุณค่าทางสังคม และผ่านประสบการณ์ตรงของตัวผู้สร้างสรรค์ เองรวมทั้งผ่านประสบการณ์ร่วมจากผู้คนอื่นๆในบ้าน(สังคม) โดยผลงานชุดนี้จะนาเสนอในรูปแบบศิลปะจัดวางสื่อผสม ประกอบด้วยผลงานสื่อผสมที่สร้างขึ้นจากรั้วระแนงไม้เก่าปิ ดหัวตะปูด้วย ทองคาเปลว และผลงานภาพถ่ายสื่อผสมจานวน 4 ภาพ โดยขนาดและรูปแบบขึ้นอยู่กับพื้นที่ในการนาเสนอ
-------------------Surajate Tongchun “Gen” Technique: Mixed media installations, wood, nail, gold leaf, photography Size : Dimension Variable 2016-2017 แนวความคิด "Gen" presents the issue of giving priority to the valuable essence by expanding the point of view of small scale of society to big scale one and named this as HOME, in order to clearly see the social problems , economy, politics, social disparity and forwarding living of generation through the failure of objects which represent social values and from artist's experiences and also from family(society) member's ones. This work will be presented as a mixed-media installation which includes the piece of work that made from old wooden fence with nail sealed with gold leaves, also 4 pieces of mixed-media photos which the size and pattern is variable and flexible depending on the presentation site.
Contact list
-ชัชชัยวัชร ชังชู
Chatchaiwatpottery@gmail.com
086-366-2050
-พิชากร ชูเขียว
P.tuapennot@gmail.com
083-205-7384
-เตชินท์ ปิ่นทุพันธ์
Tetang87@gmail.com
082-423-5629
-ชยะกร การุณเดช
chaya_kon@windowslive.com
083-942-3772
-สัญชัย ไชยนันทน์
Chaiyanan_1@hotmail.com
089-701-6231
-กรุณา รวมธรรมรักษ์ or@panyaden.ac.th
089-701-6231
-นพธรรม ศรคม
Louis_038@hotmail.com
084-222-1877
-พงศ์จรัส รัชนี
kor.fineart@gmail.com
087-091-9755
-ณุพล วิริยะวงษ์
dameclayday@gmail.com
080-132-2013
-อนุพงษ์ สิงห์ทอง
thawan.ceramics@gmail.com
083-940-1709
-เจตนา แสวงนาม
Jhalaay566@hotmail.com
090-465-9091
-จิรวงษ์ วงษ์ตระหง่าน inclaystudiopottery@gmail.com
081-785-1943
-ทศพล เบ็ญกูล
jeafree@hotmail.com
082-621-1592
-สุรเจต ทองเจือ
surajatetongchua@gmail.com
084-504-5618
"WALLS HOLD STORIES" (งัดบ้าน) พิธีเปิดงานนิทรรศการวันเสาร์ที่ 8 เมษายน 2560 เวลา 18.00 น. ณ ขัวศิลปะ เชียงราย นิทรรศการจัดแสดงวันที่ 8 เมษายน - 7 พฤษภาคม 2560 เปิดให้เข้าชม ทุกวัน เวลา 10.00-19.00 น. ไม่มีค่าเข้าชม -------------------"WALLS HOLD STORIES" Opening reception: Saturday 8th April 2017 Time : 18.00 hrs. Venue: the first floor gallery, Art Bridge Chiang Rai Exhibition on view 8 April -7 May 2017 Open Daily10:00 am - 7:00 pm Admission Free
Artbridge Chiangrai (ABCR) 551 Moo 1, Bandu, Muang Chiang Rai, 57100, Thailand More info : 053-166623 or 088-418-5431 artbridge.cr@gmail.com ,www.facebook.com/artbridgechiangrai