นิทรรศการศิลปะ เสียงเพรียกแห่งขุนเขา 1
ลานาไพร
โดย สุขุม เขื่อนศิริ Art Exhibition Sound of the mountain 1
Jungle by Sukhum Khuensiri
ณ ห้องแสดง ชั้น 2 อาคาร ขัวศิลปะ จ.เชียงราย จัดแสดงวันที่ 8 -31 ตุลาคม 2559 8-31 October 2016
ศิลปารมณ์ ใครศรัทธามาถวิลศิลปะ อารยะสูงสุดวิมุติสมัย ประเสริฐกว่าผองคนชนชั้นใด มโนมัยขาวสะอาดปราศธุลี ทุกภพ ทุกชาติ พิลาศล่วง จงเด่นดวงดั่งจันทราสง่าศรี จงสถิตสรวงสวรรค์ชั้นกวี เป็น “มณี” แห่ง “มนุษย์” พุทธิพงศ์ มโนมัยแห่งศิลปิน อัญเชิญศิลปะแก้ว ประดิษฐ์ประดับดวง ปรุงทิพย์ชโลมปวง สรงโสจรหทัยห้าว หลอมศิลป์หลอมศาสตร์สร้าง หลอมกาพย์ยกกวี หลอมประติมาลี หลอมจิตกรแผ้ว
แก่นสรวง เด่นด้าว ใจปราชญ์ หกฟูามาหอม สุนทรีย์ เก็จแก้ว ลาโลกย์ ผ่องพื้นภูมิสยาม ว.วชิรเมธี 12 ธันวาคม 2557
ชีวิตคนทางานศิลปะแตกต่างกันในรูแบบต่างๆทั้งวิธีคิดและการดาเนินชีวิตของแต่ละคน การเป็นศิลปิน ยากพอๆกับการเป็นปราชญ์ ความเข้าใจถ่องแท้ ลึกซึ้ง ย่อมต้องเข้าถึงแก่นแท้ ความรู้อยู่รอบโลกแล้วแต่เราจะ หยิบฉวยเอาส่วนใด “ป่าดง-คน-สัตว์”คืองานที่ผมเลือกทีจ่ ะทา งานของผมเป็นรูปแบบการวิจัยในแต่ล่ะพื้นที่ป่า สัมผัสรับรูก้ ารมีอยู่จริงซึ่งสัมพันธ์กับธรรมชาติความสมบูรณ์ของระบบป่า สืบค้นเรื่องราวของสัตว์ป่าแล้วจึงเข้า สารวจร่องรอยในแต่ล่ะพื้นทีบ่ ริเวณ จากนั้นจึงค่อยผลิตออกมาเป็นผลงาน ซึ่งชิ้นงานแต่ละชิ้นบ่งบอกลักษณะ ของสัตว์แต่ล่ะชนิด พื้นที่การอยู่อาศัย ป่าทึบ ป่าโปร่ง ห้วยตลิ่งริมบึงหรือถ้าหินโพรงไม้ หากินกลางวันกลางคืน ออกหากินประมาณกี่โมงในสัตว์แต่ล่ะชนิดซึ่งเหมือนจะง่ายเมื่อเราเข้าใจแค่เปลือกย่อยของมันแต่ยากในการ เข้าใจในเชิงลึก สัตว์แต่ล่ะชนิดย่อมไม่เหมือนกันและสัตว์ชนิดเดียวกันก็มีนิสัยไม่เหมือนกันตามแต่ประสบการณ์ ที่เขาเคยพบเจอ ซึ่งเราจะได้เรียนรู้อยู่เสมอจากภูมิประเทศในป่าและสัตว์ป่าตัวผลงานจึงมีความหลากหลายในแต่ ล่ะชิ้นงานและแต่ล่ะชิ้นงานก็มีที่มาที่ไปเรื่องราวไม่เหมือนกันตามแต่จะได้พบเจอกันในสถานการณ์ใด ชีวิตการ ทางานของผมส่วนใหญ่จึงอยู่ในป่าเป็นหลักพบปะพูดคุยกับคนในป่า เรียนรู้วิถีชีวิตเรียบง่ายของคนชนเผ่าคนชาย ขอบทาความเข้าใจเรื่องคนกับป่าซึง่ ผมเริ่มถูกแปลงชีวิตให้เหมือนพวกเขาเข้าทุกที่กบั สิง่ ที่เห็นอยู่แทบทุกวัน พร้อมๆกับบอกเล่าเรือ่ งราววิญญาณแห่งป่าสู่สงั คมเมือง ลานาไพรจึงเป็นบันทึกการเดินทางในดงอันกว้างใหญ่หลายแห่งของผู้จดั ทาซึง่ เกี่ยวกับพื้นเพภูมิหลังที่ได้ซึมซับและคุ้นชินในวัยเยาว์จนกระทัง่ เข้าสู่วัยทางาน 14 ปี กับ การเดินทางยามค่าคืนบนผืนป่าสะเกิน จ.น่าน 2 ปี บนเทือกเขาดอยผาหม่นกับพี่น้อง ชาวม้งพร้อมๆกับวิจัยชนิดนกที่ป่าห้วยบง จ.เชียงราย จนปัจจุบันใช้ชีวิตชายขอบกับชาว กะเหรี่ยงที่อุทยานแห่งชาติแม่เมย จ.ตาก เรื่องราวป่าจึงถูกถ่ายทอดใน หลายๆแง่มุมแต่อย่างไรก็ตามองค์รวมในนิทรรศการครั้งนี้เพื่อสือ่ ความหมาย ของป่า การอนุรักษ์หวงแหนทรัพยากรป่า สัตว์ป่า ปลูกถ่ายความคิดเกี่ยวกับป่า สู่สังคมว่าป่าสาคัญอย่างไร เป็นอีกหนึ่งส่วนงานอนุรกั ษ์แม้สงิ่ ที่ลงมือทาจะเป็น เพียงสิ่งเล็กๆน้อยๆเมือ่ เทียบกับผู้อื่นก็ตาม สุขุม เขื่อนศิริ 7 สิงหาคม 2559
ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย ประเทศไทยเป็นหนึ่งใน 20 ประเทศที่มีทรัพยากรชีวภาพหลากหลายมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก พันธุ์พืชพันธุ์สัตว์รวมทั้งความ หลากหลายทางชีวภาพ หรือ ทรัพยากรชีวภาพ เป็นฐานสาคัญของการเกษตร ยารักษาโรค เศรษฐกิจทั้งระดับท้องถิ่นและ ระดับประเทศ สาเหตุสาคัญที่ทาให้ในพื้นที่ป่าตามธรรมชาติของประเทศไทยมีความหลากหลายของพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์เป็นอย่างมาก เนื่องจากเหตุผลหลายประการ ได้แก่ 1.ประเทศไทยตั้งอยู่ในโซนร้อนเหนือเส้นศูนย์สูตรเล็กน้อยและอยู่ติดทะเล จึงมีสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมต่อการอยู่รอด การ เจริญเติบโตและการแพร่พันธุ์ของสิ่งมีชีวิตหลายชนิดตลอดปี อย่างไรก็ตามสภาพภูมิอากาศจะแตกต่างกันบ้างในภาคต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับ ตาแหน่งที่ตั้งของภาคและระดับความสูงต่าของพื้นที่ 2. มีความแตกต่างกันของสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย จากสภาพที่มีความหลากหลายของภูมิ ประเทศและภูมิอากาศในพื้นที่ที่อยู่ในระดับความสูงจากระดับน้า ทะเลที่ต่างกัน มีปริมาณน้าฝน อุณหภูมิและปัจจัยอื่นๆ เช่นสภาพ พื้นดินที่แตกต่างกัน ได้เอื้ออานวยให้เกิดความหลากหลายของประเภทของป่าตามธรรมชาติซึ่งป่าแต่ละประเภทจะมีลักษณะที่เฉพาะตัว และมีสิ่งมีชีวิตที่ปรับตัวอาศัยอยู่ในแต่ละพื้นที่แตกต่างกัน 3. ประเทศไทยอยู่ในบริเวณศูนย์กลางที่มีการกระจายพันธุ์ของพืชและสัตว์ กล่าวคือเป็นเขตซ้อนทับกันของกลุ่มพรรณพฤกษชาติ ถึง 3 กลุ่มคือ กลุ่มอินโด - เบอร์มีส กลุ่มอินโด-ไชนิส และ กลุ่มมาเลเซีย ในส่วนของสัตว์ป่า ประเทศไทยถือเป็นจุดซ้อนทับของเขต สัตวภูมิศาสตร์ 3 เขตเช่นกัน
ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทย แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ป่าดงดิบหรือป่าไม่ผลัดใบ และ ป่าผลัดใบ ป่าไม่ผลัดใบ เป็นระบบนิเวศน์ของป่าไม้ชนิดที่ประกอบด้วยพันธุ์ไม้ชนิดไม่ผลัดใบคือ มีใบเขียวตลอดเวลา แบ่งเป็น 4 ชนิด 1.ป่าดิบเมืองร้อน เป็นป่าที่อยู่ในเขตลมมรสุมพัดผ่านเกือบตลอดปี มีปริมาณน้าฝนมาก แบ่งออกเป็น 1.1 ป่าดงดิบชื้น ป่าดงดิบชื้นในประเทศไทยมีการกระจายส่วนใหญ่อยู่ทางภาคใต้และภาคตะวันออกของประเทศ อาจพบในภาค อื่นบ้าง แต่มักมีลักษณะโครงสร้างที่เป็นสังคมย่อยของสังคมป่าชนิดนี้ ป่าดงดิบชื้นขึ้นอยู่ในที่ราบบนภูเขาที่ระดับความสูงไม่เกิน 600 เมตร 1.2 ป่าดงดิบแล้ง ป่าดงดิบแล้งของเมืองไทยพบกระจายตั้งแต่ตอนบนของทิวเขาถนนธงชัยจากจังหวัดชุมพรขึ้นมาทางเหนือ ปก คลุมลาดเขาทางทิศตะวันตกของทิวเขาตะนาวศรีไปจนถึงจังหวัดเชียงราย ป่าชนิดนี้พบตั้งแต่ระดับความสูงจากน้าทะเลปานกลาง ประมาณ 100 เมตรขึ้นไปถึง 800 เมตร 1.3 ป่าดงดิบเขา ป่าดงดิบเขาอาจพบได้ในทุกภาคของประเทศในบริเวณที่เป็นยอดเขาสูง พบตั้งแต่เขาหลวง จ.นครศรีธรรมราช เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ขึ้นไปจนถึงยอดเขาสูง ๆ ในภาคเหนือ เช่น ยอดดอยอินทนนท์ ดอยปุย และยอดดอยอื่นๆ ในจังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย และแม่ฮ่องสอน เป็นต้น Sound of the mountain 1
2. ป่าสน ป่าชนิดนี้ถือเอาลักษณะโครงสร้างของสังคมเป็นหลักในการจาแนกโดยเฉพาะองค์ประกอบของชนิดพันธุ์ไม้ในสังคม และไม้เด่นนา อาจเป็นสนสองใบหรือสนสามใบ 3.ป่าพรุหรือป่าบึง พบตามที่ราบลุ่มมีน้าขังอยู่เสมอ และตามริมฝั่งทะเลที่มีโคลนเลนทั่วๆ ไป แบ่งออกเป็น 3.1 ป่าพรุ เป็นสังคมป่าที่อยู่ถัดจากบริเวณสังคมป่าชายเลน โดยอาจจะเป็นพื้นที่ลุ่มที่มีการทับถมของซากพืชและ อินทรียวัตถุที่ไม่สลายตัว และมีน้าท่วมขังหรือชื้นแฉะตลอดปี 3.2 ป่าชายเลน เป็นสังคมป่าไม้บริเวณชายฝั่งทะเลในจังหวัดทางภาคใต้ และมีน้าขึ้น-น้าลงอย่างเด่นชัดในรอบวัน 4. ป่าชายหาด แพร่กระจายอยู่ตามชายฝั่งทะเลที่เป็นดินกรวด ทราย และโขดหิน ดินมีฤทธิ์เป็นด่าง ป่าผลัดใบ เป็นระบบนิเวศน์ป่าชนิดที่ประกอบด้วยพันธุ์ไม้ชนิดผลัดใบหรือทิ้งใบเก่าในฤดูแล้ง เพื่อจะแตกใบใหม่เมื่อเข้าฤดู ฝน ยกเว้นพืชชั้นล่างจะไม่ผลัดใบ จะพบป่าชนิดนี้ตั้งแต่ระดับความสูง 50-800 เมตร แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. ป่าเบญจพรรณ ลักษณะทั่วไปเป็นป่าโปร่ง พื้นที่ป่าไม้ไม่รกทึบ มีไม้ไผ่ชนิดต่างๆ ขึ้นอยู่มาก มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่างๆ ที่ เป็นที่ราบ หรือตามเนินเขา พันธุ์ไม้จะผลัดใบในฤดูแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือป่าผสมผลัดใบ เป็นป่าที่มีพรรณไม้เด่น 5 ชนิด ตามความหมายของคาว่า “เบญจ” คือ ห้า ได้แก่ ไม้สัก ไม้มะค่า ไม้แดง ไม้ประดู่ และไม้ชงิ ชัน 2. ป่าแดง ป่าแพะ หรือป่าเต็งรัง พบขึ้นสลับกับป่าเบญจพรรณ ลักษณะเป็นป่าโปร่ง มีต้นไม้ขนาดเล็ก และขนาดกลาง ป่า เต็งรังเป็นป่าผลัดใบที่มีไม้วงศ์ยางบางชนิดเป็นไม้เด่น ได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง และยางกราด ฤดูแล้งจะผลัดใบ และมีไฟป่า เป็นประจา ป่าเต็งรังมีถิ่นกระจายโดยกว้างๆ ซ้อนทับกันอยู่กับป่าเบญจพรรณ แต่อาจแคบกว่าเล็กน้อย มีปรากฏตั้งแต่จังหวัด เพชรบุรีขึ้นไปจนถึงเหนือสุดในจังหวัดเชียงราย 3. ป่าหญ้า เกิดจากการทาลายสภาพป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ ดินมีความเสื่อมโทรม ต้นไม้ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ จึงมีหญ้าต่างๆ เข้าไปแทนที่ แพร่กระจายทั่วประเทศในบริเวณที่ป่าถูกทาลายและเกิดไฟป่าเป็นประจาทุกปี
ลำนำไพร
ช้างเอเชีย หรือเรียกว่า ช้างอินเดีย มีขนาดเล็ก กว่าช้างแอฟริกามาก มีหูเล็กกว่า และที่สังเกตได้ ชัดเจนคือ มีเพียงเพศผู้เท่านั้นที่มีงาขนาดใหญ่โผล่ ออกมาให้เห็นช้างเป็นสัตว์กินพืช อยู่รวมกันเป็น โขลง มีช้างพังอายุมากเป็นจ่าโขลง ช้างเอเชียส่วน ใหญ่มีขนาดความสูงประมาณ 2-4 เมตร มีน้าหนัก ประมาณ 3,000 - 5,000 กม. ช้างเมื่อโตเต็มที่จะ กินอาหารวันหนึ่งประมาณ 200 กม. การนอน หลับโดยปกติของช้าง มีระยะเวลาสั้น ประมาณ 3-4 ชั่วโมง เวลานอนของมันอยู่ในระหว่าง 23.00-03.00 น. ของวันรุ่งขึ้น ลักษณะการนอน ของช้างเมื่อหลับสนิท จะนอนตะแคงลาตัวข้างใด ข้างหนึ่งลงกับพื้น ช้างมีอาการหาวนอนและนอน กรนเช่นเดียวกับมนุษย์ ถ้าหากพบช้างนอนหลับ ในเวลากลางวัน ควรสันนิษฐานไว้ก่อนว่า ช้าง เชือกนั้นคงไม่สบาย ช้างอยู่ในสังคมที่มีลาดับ โครงสร้าง การใช้ชีวิตในสังคมของช้างเพศผู้และ เพศเมียมีความแตกต่างกันมาก โดยเพศเมียจะใช้ เวลาทั้งชีวิต
ชื่อภาพ พรายงาปลี acrylic on canvas ขนาด 80 x 100 ในกลุ่มครอบครัวหรือโขลง ที่มีความสัมพันธ์แน่นหนา ซึ่งประกอบด้วยแม่ ลูก พี่น้อง ป้าและน้า กลุ่มเหล่านี้จะถูกนาโดย เพศเมียตัวที่มีอายุมากที่สุด ซึ่งเรียกว่า แม่แปรก ในขณะที่เพศผู้ตัวเต็มวัยใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่อย่างสันโดษ ชีวิตของช้างเพศผู้ตัว เต็มวัยนั้นแตกต่างจากช้างเพศเมียอย่างมาก โดยเมื่อมันมีอายุมากขึ้น มันจะใช้เวลาที่ขอบของโขลงนานขึ้น โดยจะค่อย ๆ ปลีกตัว ไปอยู่สันโดษคราวละหลายชั่วโมงหรือหลายวัน จนกระทั่งเมื่อช้างมีอายุได้ประมาณสิบสี่ปี ช้างเพศผู้ก็จะแยกตัวออกจากโขลงที่ตน กาเนิดขึ้นอย่างถาวร ช้างตัวผู้ หรือเรียกว่า ช้างพลาย มีชื่อเรียกกันต่าง ๆ ตามลักษณะ เช่น ช้างสีดอ หรือช้างงวง หรือช้างนรการ (ช้างที่ไม่มีงา หรือมีงาสั้น) ส่วนช้างตัวเมีย เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ช้างพัง ส่วนช้างพังที่เป็นหัวหน้าโขลงจะเรียกว่า ช้างแม่แปรก หรือคาสุภาพเรียกว่า ช้างแม่หนัก
Sound of the mountain 1
ชื่อภาพ พี่บิ๊ก
acrylic on canvas
ขนาด 60 x 80
แรด มีรูปร่างโดยทั่วไปคือ ตาเล็ก ปากงุ้มเป็นรูปสามเหลีย่ มหรือสีเ่ หลีย่ ม มีหนังที่หนา มาก ในบางชนิดอาจเห็นเป็นชั้นคล้ายเกราะ และมีลักษณะเด่นที่สุด คือ เขาบริเวณสัน จมูกที่งอกแหลมยื่นยาวออกมา เรียกกันว่า "นอ" แรดเป็นสัตว์ที่ไม่มีต่อมเหงื่อ ดังนั้นจึง ชอบนอนแช่โคลนหรือแช่ปลักเหมือนหมูหรือสัตว์ชนิดอื่น ๆ เพื่อดับความร้อนและไล่ แมลงที่มารบกวน หากินในเวลากลางคืน กลางวันนอนพักผ่อนซึ่งอาจนอนหลับในท่ายืนก็ ได้ แรดเป็นสัตว์ที่มีสายตาแย่มาก แต่มีประสาทรับกลิ่นและประสาทหูดีเยี่ยม จึงเป็นสัตว์ ที่มีนิสัยฉุนเฉียวง่าย โกรธง่าย ประกอบกับขนาดลาตัวที่ใหญ่จึงมักไม่ค่อยมีศัตรูตาม ธรรมชาติ ในปัจจุบันมีแรดหลงเหลืออยู่เพียง 5 ชนิด เท่านั้น พบในทวีปแอฟริกา 2 ชนิด (แรดขาว/แรดดา) ในเอเชีย 3 ชนิด(แรดอินเดีย/แรดชวา/กระซู่,แรดสุมาตรา)
ลำนำไพร
ชื่อภาพ ครอบครัวสมเสร็จ
acrylic on canvas
ขนาด 80 x100
สมเสร็จ จาแนกออกเป็น 4 ชนิด เป็นสมเสร็จของเอเชีย 1 ชนิดคือ สมเสร็จที่พบในประเทศไทย และอีก 3 ชนิด มีถิ่นที่อยู่ในทวีปอเมริกาซึ่งมีขนาดเล็กและสีสันทึบกว่าทางเอเชีย สมเสร็จแรกเกิดสีขนดาทั้งตัว แต่มีริ้วลายสีขาว ทั้งตัวคล้ายลายลูกแตงไทย เมื่อโตขึ้นลายและสีขนเปลี่ยนเป็นแบบตัวโต เต็มวัยเมื่ออายุประมาณ 6 เดือนขึ้นไป สมเสร็จเป็นสัตว์กีบคี่เช่นเดียวกับแรดและกระซู่ แต่ไม่มีนอ หนังตามตัว ไม่หนาเป็นรอยพับย่นอย่างแรดและกระซู่ มี แต่แผ่นหนังแข็งหนาบริเวณก้านคอ ทาให้สมเสร็จมุดป่ารกทึบได้ดี การ ดารงชีวิตใช้จมูกดมกลิ่นและใช้หูฟังเสียง มากกว่าจะใช้ตามองดู เนื่องจากตามีขนาดเล็ก และอยู่ด้านข้างของหัว ปกติออกหากินตอนกลางคืน มักไม่ค่อยชอบ เดินหากินตามทางด่านสัตว์ แต่จะชอบเลือก หาทางใหม่ โดยการก้มหัวลงต่าใช้จมูกที่เป็นงวงดมกลิ่นนาทาง และใช้ หนังคอที่ด้าน แข็ง ดันมุดเปิดทาง เที่ยวเดินซอกแซกหาแทะเล็มใบไม้ หน่อไม้ และลูกไม้ที่หล่นตามพื้นป่ากิน อย่าง เงียบๆ นิสัยทั่วไปของสมเสร็จคล้ายกับกระซู่ ชอบใช้ชีวิตสันโดษตามลาพัง อาศัยอยู่ตามป่าดิบ รกทึบ และเย็นชื้นไม่ ชอบอากาศร้อน จึงมักอาศัยอยู่ใกล้ ๆ แหล่งน้า ว่ายน้าและดาน้าเก่ง ฤดูจับคู่ผสมพันธุ์ของสมเสร็จอยู่ในช่วงเดือน เมษายน – พฤษภาคม ผสมพันธุ์กันในน้า ระยะตั้งท้องนาน 390 วัน ออกลูกท้องละ 1 ตัว ตั้งท้องได้ทุก 2 ปี อายุ ยืนประมาณ 30 ปี
Sound of the mountain 1
ชื่อภาพ บ้านดงของเสือโคร่งแม่ลูก
acrylic on canvas
ขนาด 60 x 80
เสือโคร่ง เป็นสัตว์ตระกูลแมวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ลาตัวมีสีเหลืองแดงหรือสีขมิ้น มีแถบสีดาหรือน้าตาลพาดตามลาตัวตลอด ในแนวตั้ง บริเวณหน้าอก ส่วนท้องและด้านในของขาทั้งสี่มีสีขาวครีม บางตัวอาจมีสีออกเหลือง หลังหูมีสีดาและมีแต้มสีขาวเด่นชัด อยู่กลางใบหู ขาหน้าของเสือโคร่งจะบึกบึนและแข็งแรงกว่าขาหลัง ฝ่าตีนกว้าง หางยาวประมาณครึ่งหนึ่งของลาตัว ปลายหางเรียว ลายดาที่หางมีลักษณะทั้งริ้วและปล้องปนกัน ปลายหางมักจะเป็นสีดา เสือโคร่งใช้หางช่วยรักษาสมดุลของร่างกายขณะหันตัวอย่าง ฉับพลัน นอกจากนี้ยังใช้ในการสื่อสารกับเสือตัวอื่น ลายพาดกลอนของเสือโคร่งแต่ละตัวมีความแตกต่างกันมาก และไม่ซ้ากันเลย แม้แต่ตัวเดียว ชอบอาศัยอยู่ตามป่าทึบสลับกับทุ่งหญ้าโล่ง ชอบว่ายน้าและแช่น้ามาก ซึ่งแตกต่างจากเสือสายพันธุ์อื่น ล่าเหยื่อได้ทั้ ง กลางวันและกลางคืน แต่ส่วนใหญ่ในเวลากลางวันจะนอนพักผ่อน ล่าเหยื่อในเวลาเย็น พลบค่า กลางคืน หรือขณะที่อากาศไม่ร้อน จัด มีสายตาที่มองเห็นได้ทั้งที่มืดและสว่าง พฤติกรรมและอุปนิสัยชอบอยู่เพียงลาพังตัวเดียวโดด ๆ ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์ นิสัยปกติ จะหวงถิ่น ชอบทิ้งรอยข่วนตามต้นไม้เพื่อประกาศอาณาเขต และเป็นการบริหารเล็บให้อยู่ในสภาพดีอยู่เสมอและการปล่อยปัสสาวะ ไว้ตามที่ต่าง ๆ ตามปรกติ เสือโคร่งไม่ชอบปีนต้นไม้ แต่ก็ปีนได้ถ้าต้องการ เสือโคร่งแบ่งออกเป็นชนิดย่อยหรือพันธุ์ได้ 9 พันธุ์ ขนาด และน้าหนักของเสือโคร่งแต่ละพันธุ์มีความแตกต่างกันมาก เพศผู้มีพื้นที่ในการหากินกว้างถึง 200-300 ตารางกิโลเมตร ขณะที่ตัว เมียมีเพียง 60 ตารางกิโลเมตร
ลำนำไพร
ชื่อภาพ ส.เสือดาวคะนอง
acrylic on canvas
ขนาด 60 x 80
เสือดาว ลาตัวสีน้าตาลอมเหลืองหรือมีสีเหลือง มีลายจุดสีดาเรียกว่า "ลายขยุ้มตีนหมา" แต้มบริเวณลาตัว ขนาดความยาวหัวถึงลาตัว 107-129 ซม.หนัก 45-65 กก.เสือดาว สามารถแบ่งเป็นชนิดย่อย ได้ 9 ชนิด เสือดาวอาศัยได้ในสภาพแวดล้อมหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นป่าหรือพื้นที่โล่ง ซึ่งมีหินและพุ่มไม้แห้ง ๆ แต่ มันชอบสภาพป่ามากกว่า เสือดาวทนแล้งทนร้อนและอาศัยในพื้นที่ห่างไกลแหล่งน้าได้ดีกว่าเสือโคร่ง ชอบ ใช้ชีวิตบนต้นไม้และเคลื่อนที่ว่องไวไปตามกิ่งไม้จะลากเหยื่อกลับขึ้นไปกินบนต้นไม้ เพื่อป้องกันสัตว์กินซาก มาแย่งอาหาร เสือดาวเริ่มกินเหยื่อที่บริเวณท้องก่อน ในขณะที่เสือโคร่งเริ่มกินที่สะโพกก่อน เสือดาวมี ความฉลาดและนิสัยระแวดระวังภัยมากกว่าเสือโคร่ง เสือดาวจะมีพื้นที่ในการหากินประมาณ 27 – 37 กก. เสือดาวชอบอยู่สันโดษ จะจับคู่เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น ตั้งครรภ์ประมาณ 90-100 วัน ออกลูกครั้งละ 14 ตัว ปริมาณของเสือดาวเมื่อเทียบกับเสือโคร่งแล้วจะมีมากกว่าถึง 3-5 เท่า ในพื้นที่ ๆ มีเสือโคร่ง 1 ตัว อาจพบเสือดาวได้มากถึง 3-5 ตัว
Sound of the mountain 1
เสือดา เชื่อว่าหลายคนเคยเข้าใจผิดมาแล้วว่า เสือดากับเสือดาวเป็นเสือคนละชนิดกัน ความ จริงคือทั้งสองเป็นเสือชนิดเดียวกัน ลูกของเสือ ดาวหรือเสือดา ในครอกหนึ่งๆอาจมีทั้งเสือ ดาวและเสือดาปะปนกัน และหากสังเกตให้ดี จะพบว่าพื้นสีดาของเสือดาก็มีลายแก้มเป็น ดวงๆเช่นเดียวกับเสือดาว มีข้อสันนิฐานว่า เสือดาจะพบเฉพาะในเขตโซนร้อนเท่านั้น และ มีข้อสังเกตตามหลักทฤษฎีหนึ่งว่า สัตว์ที่พบใน เขตร้อนที่มีฝนตกชุกมักจะเปลี่ยนเป็นดา หรือ มีสีเข้มกว่าสัตว์ที่พบในเขตอื่น แม้แต่ใน ประเทศไทยก็มีสัตว์ที่เข้าข่ายนี้ดว้ ยเช่นกัน คือ สัตว์ชนิดเดียวกันที่พบได้ทั้งทางภาคเหนือและ ภาคใต้จะพบว่าสัตว์ที่พบทางภาคใต้สีจะเข้ม กว่า ยิ่งลงไปทางทิศใต้มากเท่าไหร่ก็จะพบเสือ ดาวน้อยลง และพบเสือดามากขึ้น มีรายงาน การพบเสือดาวในมะละกาว่า พบแต่เสือดา ทั้งหมด ถิ่นอาศัยของเสือดาว/เสือดาส่วนใหญ่ จะอยู่ในป่าทุกแบบเช่นป่าเบญจพรรณ ป่าดิบ แล้ง ป่าเต็งรัง โดยเฉพาะในบริเวณที่เป็น รอยต่อของป่า ซึ่งจะมีสัตว์กินพืชจาพวกเก้ง กวางป่า ลิง หมูป่า อาศัยอยู่
ชื่อภาพ ไออุ่นรักใต้รั้วความเขียวขจี acrylic on canvas
ขนาด 60 x 80
ลำนำไพร
ชื่ อภาพ อ้อมอกพ่อ acrylic on canvas
Sound of the mountain 1
ขนาด 60 x 80
เสือไฟ เป็นเสือขนาดกลาง มีรูปร่าง บึกบึน ขาค่อนข้างยาว ลาตัวสีเรียบ มี ลวดลายน้อย มีสีพื้นน้าตาลแดงจนถึง แดงอย่างเก้ง บางตัวอาจมีสีดา หรือ น้าตาล หรือเทา มีเสือไฟดาแบบเมลานิ ซึมบ้างแต่พบได้น้อย เสือไฟที่อยู่ทาง ใกล้เส้นศูนย์สูตรจะมีลายเรียบที่สุด ส่วนตัวที่อยู่ไปทางเหนือมากขึ้นก็จะมี ลายมากขึ้นตามละติจูด ความยาวลาตัว 75-105 เซนติเมตร น้าหนัก 8-15 กิโลกรัม ตัวผู้ใหญ่กว่าตัวเมียอย่างเห็น ได้ชัด เสือไฟชอบอาศัยอยู่ในป่าฝน บางครั้งอาจพบบริเวณป่าเปิด ป่า ละเมาะ และป่าหญ้า รวมถึงป่าที่เป็น ดงหิน เสือไฟหากินเวลากลางคืน ปีน ต้นไม้เก่ง แต่ชอบอยู่บนพื้นดินมากกว่า มักอาศัยตามลาพัง ใช้เวลาตั้งท้องนาน 95 วัน ออกลูกครั้งละ 1–2 ตัว ตาม โพรงไม้ที่มีความปลอดภัย เสือไฟ เป็น สัตว์ที่ชาวล้านนาเชื่อว่าเป็นพญาเสือ แม้เสือที่มีขนาดใหญ่กว่ายังกลัว
เสือลายเมฆ เป็นเสือขนาดเล็ก รูปร่าง โดยทั่วไปคล้ายเสือดาวแต่เล็กกว่า รูปร่าง เตี้ยป้อม ลาตัวมีสีพื้นน้าตาลอมเทาจนถึง น้าตาลเหลือง ช่วงล่างและขาด้านในสีขาว หรือสีครีม มีลายสีน้าตาลเข้มเป็นดวง เหมือนก้อนเมฆขนาดใหญ่ทั่วตัว ขา ค่อนข้างสั้น ขาหลังยาวกว่าขาหน้าอย่าง เห็นได้ชัด อุ้งตีนกว้าง เขี้ยวยาว 3.8-4.5 ซม.นับว่ายาวที่สุดในจานวนเสือทั้งหมดใน โลก ด้านหลังเขี้ยวคมมาก มีความยาวลาตัว และหัว 65 - 95 ซม.น้าหนัก 16 - 23 กก. มีอุปนิสัยที่ลึกลับ และอาศัยบนต้นไม้ในป่า ทึบ ทาให้ศึกษาได้ยาก เสือลายเมฆชอบ อาศัยและพักผ่อนบนต้นไม้ เป็นนักปีนชั้น เยี่ยม มีข้อตีนที่พลิกหมุนได้ จึงสามารถ ห้อยโหนกิ่งไม้ด้วยขาหลังเพียงอย่างเดียว แล้วปล่อยให้หัวห้อยลงมาได้ เปรียบเทียบ ฝีมือการปีนป่ายกับเสือดาวแล้วเสือลายเมฆ จะเก่งกว่า หากินในเวลากลางคืน ตั้งท้อง 90 - 95 วันออกลูกครั้งละ 2 - 4 ตัว อายุขัยโดยเฉลีย่ 11 ปีเสือลายเมฆเป็นเสือ ที่เพาะพันธุ์ได้ยากมากเนื่องจากตัวผู้ชอบ ฆ่าตัวเมีย
ชื่อภาพ อ้อมอกแม่ในดงดิบ acrylic on canvas
ขนาด 60 x 80
ลำนำไพร
ชื่อภาพ ต้นน้า ต้นชีวิต acrylic on canvas
Sound of the mountain 1
ขนาด 60 x 80
เสือปลา หรือ เสือแผ้ว เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จาพวกเสือขนาดเล็กรูปร่างอ้วนป้อม ขนตาม ลาตัวค่อนข้างสั้นและหนา ขนสีเทาอมน้าตาล หรือขนสีเทาอมมะกอก มีจุดสีน้าตาลเข้มแกมดา เรียงเป็นลายแนวขนานไปกับความยาวลาตัว โดย ขนแบ่งออกเป็น 2 ชั้น ซึ่งพัฒนามาเพื่อหากินกับ น้าโดยเฉพาะ ขนชั้นในสั้นเกรียนและแน่นมากจน น้าซึมผ่านไม่ได้ ทาให้ตัวของเสือปลาแห้ง และ ช่วยรักษาความอบอุ่นเอาไว้ในขณะลงจับปลาใน น้า ขนชั้นในสั้นกว่าขนชั้นนอก มีความหนาและ ยาวกว่าขนชั้นใน มีพังผืดบาง ๆ ยึดระหว่าง นิ้วเท้าหน้า ยังไม่พัฒนา เก็บเล็บไม่ได้เหมือนเสือ ชนิดอื่น ๆ เสือปลามีหัวขนาดใหญ่ หูสั้นมีกรอบสี ดา ดวงตาสีเขียว มีความยาวตั้งแต่หัวถึงลาตัว 70-90 เซนติเมตร หางสั้น 20-30 เซนติเมตร น้าหนัก 7-11 กิโลกรัม ขนาดของเสือปลาอาจมี ความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของ อาหารซึ่งก็คือความสมบูรณ์ของป่า ลูกเสือปลา ขนาดเล็กมีลักษณะคล้ายแมวดาว มักอาศัยหากิน อยู่ตามป่าเบญจพรรณ, ป่าพรุหรือป่าละเมาะ และป่าชายเลน เพราะอาหารหลัก คือ ปลา สามารถว่ายน้าและดาน้าได้อย่างคล่องแคล่ว โดย ใช้ขาหลังตีน้า ปีนต้นไม้ได้เก่ง มักอยู่บนต้นไม้ แต่ ไม่ทารังอาศัยอยู่บนต้นไม้ มักทารังอยู่ในโพรงใต้ ต้นไม้ ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ ตั้งท้อง 60-65 วัน ออกลูกครั้งละ 1-4 ตัว มีการ กระจายพันธุ์กว้างขวาง ในภูมิประเทศที่มีอากาศ หนาวเย็น มักอาศัยใกล้แหล่งน้า
หมีควาย มีลาตัวอ้วนใหญ่ หัวมีขนาดใหญ่ ตาเล็กและหูกลม ขาอ้วนล่าและหนา หางสั้น มีนิ้วเท้ายาวทั้งหมดห้านิ้ว กรงเล็บสั้น ขนตาม ลาตัวหยาบมีสีดา มีลักษณะเด่นคือ ขน บริเวณหน้าอกเป็นรูปตัว V มีสีขาว ตัวผู้มี ขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย ขนาดเมื่อโต เต็มที่ ความยาวลาตัวและหัว 120-150ซม. ความยาวหาง 6.5-10ซม. น้าหนักอาจหนักได้ ถึง 200 กก. หมีควายหากินโดยลาพังยกเว้น ครอบครัวแม่ลูก พื้นที่หากินราว 10-20 ตารางกิโลเมตร หากินเวลากลางคืน แต่ก็อาจ พบตอนกลางวันได้บ้าง กินทั้งพืชและสัตว์ ส่วนใหญ่เป็นพืชมากกว่า แม้หมีควายจะดุร้าย อย่างรูปร่างภายนอก หมีควายมักเลี่ยงคน มากกว่าที่จะเข้าโจมตี แต่ถ้าเทียบกับหมีดา อเมริกาแล้ว หมีควายค่อนข้างดุร้ายมากกว่า มีประวัติทาร้ายคนมากกว่า หมีควายบางตัว ย้ายแหล่งหากินตามฤดูกาล ในฤดูร้อนจะย้าย ขึ้นไปอาศัยบนที่สูง ส่วนในฤดูหนาวจะลงมา พื้นที่ต่ากว่า หมีควายที่อาศัยในถิน่ หนาวจะมี พฤติกรรมที่คล้ายกับการจาศีลด้วย ตั้งท้อง นาน 7-8 เดือน ออกลูกครั้งละไม่เกิน 2 ตัว ตามโพรงไม้หรือในถ้าที่ปลอดภัย หมีควาย เป็นสัตว์ที่สายตาไม่ค่อยดี จึงค่อนข้างดุร้าย เมื่อตกใจหรือสงสัยจะยืนด้วยขาหลัง มี อายุขัยราว 25 ปี
ชื่อภาพ หมีใหญ่กลางไพรดิบ acrylic on canvas
ขนาด 60 x 80
ลำนำไพร
ชื่อภาพ วิญญาณป่า
acrylic on canvas
ขนาด 110 x 150
กระทิง,กระทู้ หรือ เมย ตัวสีดาหรือดาแกมน้าตาล เว้นแต่ที่ตรงหน้าผากและครึ่งล่างของขาทั้ง 4 เป็นสีขาว เทา ๆ หรือเหลืองอย่างสีทอง เรียกว่า "หน้าโพ" ขาทั้ง 4 ข้างตั้งแต่เหนือเข่าลงไปถึงกีบเท้ามีสีขาวเทาหรือ เหลืองทอง ทาให้มองดูเหมือนสวมถุงเท้า เขามีสีเขียวเข้ม ปลายเขามีสีดาบริเวณโคนเขามีรอยย่นซึ่งรอยนี้จะ มีมากขึ้นเมื่อสูงวัย มีความยาวลาตัวและหัว 250-300 ซม.หาง 70-105 ซม. ความสูงจาก น้าหนัก 650-900 กก.โดยตัวผู้มีน้าหนักมากกว่าตัวเมียลูกกระทิงขนาดเล็กจะยังไม่มีถงุ เท้าเหมือนกระทิงตัวโต ขึ้น กระทิงชอบ อาศัยอยู่ในป่าที่มีทุ่งหญ้าอยูใ่ กล้เคียง ชอบพื้นที่ต่ามีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยฝูงหนึ่งมีสมาชิก ตั้งแต่ 2-60 ตัว สมาชิกในฝูงประกอบด้วยตัวเมียและลูก บางครั้งอาจเข้าไปหากินรวมฝูงกับวัวแดง กระทิง ออกหากินตอนเช้า กินหญ้าและใบไม้ ชอบกินหญ้าอ่อนมากกว่าหญ้าแก่ ตกบ่ายจะพักผ่อนและเคี้ยวเอื้อง ถึง ตอนเย็นค่อยออกหากินอีกครั้งจนถึงค่าแล้วก็พากันเข้าป่าทึบเพื่อพักผ่อนและหลับ มีอายุได้ถึง 26 ปี
Sound of the mountain 1
ชื่อภาพ ลงโป่งดงดิน
acrylic on canvas
ขนาด 110 x 150
วัวแดง (วัวเพาะ หรือ วัวดา) มีลักษณะสาคัญที่ต่างไปจากวัวบ้านและกระทิง คือ มีวงก้นขาว ทั้งในตัวผู้และตัวเมีย มีเส้นขาวรอบจมูก ขาทั้ง 4 ข้างมีสีขาวตั้งแต่หัวเข่าจนถึงกีบเท้า ระหว่าง โคนขาของตัวผู้ไม่มีขน แต่เป็นหนังตกกระแข็ง ๆ เรียกว่า "กระบังหน้า" ความยาวลาตัวและหัว ประมาณ 190 - 255 ซม.หางยาว 65 - 70 ซม. น้าหนักราว 600 - 800 กก. วัวแดงชอบหากิน อยู่เป็นฝูง ไม่ใหญ่นัก ราว 10-15 ตัว ปกติจะเริ่มออกหากินตั้งแต่ตอนพลบค่าไปจนถึงเช้าตรู่ กลางวันนอนหลบตามพุ่มไม้ทบึ ชอบอยู่ตามป่าโปร่งหรือป่าทุง่ ชอบกินดินโป่งไม่ชอบนอนแช่ ปลัก รักสงบ ปกติไม่ดุร้ายเหมือนกระทิง หากินโดยมีตัวเมียเป็นจ่าฝูง ออกลูกครัง้ ล่ะ 1 ตัว มี อายุยืนประมาณ 30 ปี ลำนำไพร
ชื่อภาพ เดือนหงายกลางป่า
acrylic on canvas
ขนาด 60 x 80
ควายป่า หรือ มหิงสา มีรูปร่างคล้ายควายบ้าน แต่ตัวใหญ่กว่ามาก หนักได้ถึง 800-1,200 กก.ในขณะที่ควายบ้านมักหนักไม่ถึง 500 กก. ลาตัวยาว 2.4-3 เมตร แข็งแรง มีวงเขากว้าง ได้ถึงกว่าสองเมตร กว้างที่สุดในบรรดาสัตว์จาพวกวัวควายทั้งหมด สีลาตัวดา หรือเทาเข้ม ขาทั้งสี่สีขาวหรือสีเทาเหมือนใส่ถุงเท้า ที่หน้าอกมีเสี้ยวแบบพระจันทร์เสี้ยวสีขาวเหมือนใส่ สร้อยคอ ควายป่ามีนิสัยดุร้าย แม้จะมีขนาดใหญ่โตแต่ก็ปราดเปรียวมาก ชอบอาศัยอยู่ใน ป่าโปร่ง ทุ่งหญ้าที่ชื้นแฉะ กินหญ้าและพืชในน้าเป็นอาหาร หากินเวลาเช้าและเย็น เวลา กลางวันจะนอนในพุ่มไม้ที่รกทึบ หรือนอนแช่ปลัก บางครั้งอาจมุดหายไปในปลักทั้งตัวโดย โผล่จมูกขึ้นมาเท่านั้น ควายป่าอาศัยกันเป็นฝูงโดยมีสมาชิกในฝูงเป็นตัวเมียและควายเด็ก มีตัวเมียเป็นจ่าฝูง ส่วนควายหนุ่มที่ไม่ได้ร่วมฝูงตัวเมียก็หากินโดยลาพัง มีอายุขัยประมาณ 25 ปี Sound of the mountain 1
ชื่อภาพ สี่พี่น้องตระกูลหมาใน
acrylic on canvas
ขนาด 60 x 80
หมาใน เป็นหมาป่าขนาดปานกลาง ตัวผู้หนักประมาณ 15-20 กก. ตัวเมีย 10-13 กก.ขนหนา แน่น สีน้าตาล แดงอมส้ม หมาในในประเทศไทยมีสีน้าตาลแดงตลอดทั้งตัวไม่มีสีขาวหมาในมีพฤติกรรมหลายอย่างคล้ายหมาใน แอฟริกา ทั้งการหากินและสภาพสังคม หมาในอาศัยอยู่เป็นฝูง ๆ หนึ่งราว 5-12 ตัว บางฝูงอาจใหญ่มากถึงกว่า 25 ตัว ประกอบด้วยสมาชิกครอบครัวเดียวกัน สมาชิกในฝูงมักมีตัวผู้มากกว่าตัวเมียสองเท่า และฝูงส่วนใหญ่ก็มัก มีตัวเมียที่เป็นแม่หมาเพียงตัวเดียว การวิวาทหรือรังแกกันในฝูงเกิดน้อยมากเนื่องจากสังคมหมาในถือระบบลาดับ ชั้นมาก หากินตอนกลางวัน เช้ามืด และพลบค่าเป็นหลัก สามารถล่าเหยื่อที่หนักกว่าตัวเองถึง 10 เท่าได้ หมาใน เพียงสองสามตัว ก็ล่ากวางที่หนักถึง 50 กิโลกรัมได้ หมาในล่าสัตว์ใหญ่ด้วยการทางานเป็นทีม เมื่อจับเหยื่อได้ก็ จะเริ่มกินเหยื่อด้วยการกระชากลากไส้ทั้งเป็น ส่วนที่ถูกเลือกกินก่อนมักเป็นหัวใจ ตับ ลูกตา หมาในชอบน้ามาก มักลงน้าหลังจากกินอาหาร และมักนั่งแช่น้าตื้น ๆ ไม่ว่าอากาศจะร้อนหรือเย็น ชอบส่ายหางเมื่อดีใจเช่นเดียวกับ หมาบ้าน มีอายุขัยประมาณ 10-15 ปี
ลำนำไพร
ชื่อภาพ บังไพร
acrylic on canvas
ขนาด 60 x 80
จระเข้น้าจืด มีลักษณะที่แตกต่างจากสัตว์เลื้อยคลานชนิดอื่น คือมีการเจริญเติบโตได้โดยไม่ต้องมีการลอกคราบ รูปร่างปกคลุมด้วยผิวหนังแข็งแรง ลักษณะคล้ายเกราะคลุมตัว มีเกล็ดซึ่งมีลักษณะเป็นกระดูกแข็งปกคลุมส่วนหลัง ขา และหาง มีหางที่แข็งแรง และมีขา 4 ขา โดยขาคู่หน้ามีขนาดเล็กและสั้นกว่าขาหลัง จระเข้น้าจืดพันธุ์ไทย เป็น จระเข้ขนาดปานกลาง ค่อนมาทางใหญ่ ( ความยาว 3-4 เมตร) มีลักษณะคล้ายจระเข้น้าเค็ม แต่มีลักษณะที่เห็น เด่นชัด คือจระเข้น้าจืดพันธุ์ไทยมีเกล็ดท้ายทอย จานวน 4 เกล็ด ส่วนจระเข้พันธุ์น้าเค็มจะไม่มีเกล็ดท้ายทอย มักอยู่ เดี่ยวๆ อาศัยตามแหล่งน้านิ่ง บึง หรือวังน้าที่สงบ มีความลึกไม่เกิน 5 ฟุต มีร่มเงาพอสมควร เพราะจระเข้เป็นสัตว์ เลือดเย็น ถ้าอากาศร้อนมันจะแช่อยู่ในน้ามากกว่าอยู่บนบก แต่ถ้าอากาศหนาวจะขึ้นมานอนผึ่งแดดบนบกในตอน กลางวัน โดยจะนอนนิ่งอ้าปากกว้าง เพื่อปรับอุณหภูมิในร่างกาย แม้จะมีขนาดใหญ่กลับเคลื่อนไหวได้อย่าง คล่องแคล่ว ว่องไว สามารถวิ่งในระยะทางสั้นๆได้เร็วพอๆกับคนเลยทีเดียว จระเข้มีสายตาที่รวดเร็วมาก ตาของมัน มองเห็นได้รอบทิศเป็นมุม 180 องศา การรับกลิ่นของจระเข้นั้น นอกจากจมูกเป็นปุ่มกลมนูนที่ปลายปากแล้ว ยังมี กระเปาะเป็นโพรงภายในปาก จึงสามารถรับรู้กลิ่นได้ทั้งบนบกและในน้า ประสาทสัมผัสพิเศษอีกอย่างหนึ่งคือ การ รับรู้ทางผิวหนังเมื่อมีแรงสั่นสะเทือนพื้นดินรับรู้เหตุการณ์ทางธรรมชาติได้ล่วงหน้า เช่น ฝนตก พายุ หรือแผ่นดินไหว จะส่งเสียงร้องในลาคอคล้ายเสียงคารามและมีอาการตื่นตระหนกตกใจ
Sound of the mountain 1
ชื่อภาพ ดับตะวันที่รังแร้ง
acrylic on canvas
ขนาด 85 x 200
แร้ง หรือ อีแร้ง อยู่ในกลุ่มนกล่าเหยื่อเช่นเดียวกับเหยี่ยว, อินทรี หรือนกเค้าแมว โดยที่แร้งถือว่าเป็นนกที่มี ขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่มนี้ แร้ง จะแตกต่างจากไปนกในกลุ่มนี้คือ จะไม่ล่าเหยื่อหรือกินสัตว์เป็น ๆ เป็นอาหาร แต่ จะกินเฉพาะซากสัตว์ที่ตายแล้ว อันเนื่องจากอุ้งตีนของแร้งนั้นไม่แข็งแรงพอที่จะขย้าเหยื่อได้ เพราะได้ วิวัฒนาการให้มีอุ้งตีนที่แบนและกรงเล็บทีเ่ ล็กสัน้ เหมาะกับการอยู่บนพื้นดินมากกว่านกล่าเหยื่อจาพวกอื่น แร้งมี รูปร่างโดยรวมคือ ปีกกว้าง หางสั้น มีคอที่ยาว หัวเล็ก ลาไส้รวมถึงกระเพาะของแร้งก็ยังมีกรดที่ มีฤทธิกัดกร่อน สามารถฆ่าแบคทีเรียหรือจุลชีพอื่น ๆ ที่มีอยู่ในซากสัตว์ได้จึงทาให้แร้งสามารถกินซากเน่าเปื่อยโดยไม่เป็น อันตราย สาหรับในประเทศไทยพบแร้งทัง้ หมด 5 ชนิด โดยแบ่งเป็นแร้งอพยพ 2 ชนิด คือ แร้งดาหิมาลัย แร้งสี น้าตาลหิมาลัย แร้งประจาถิ่น 3 ชนิด คือ พญาแร้ง แร้งสีน้าตาล และแร้งเทาหลังขาว แร้งก็ยังสามารถมองเห็น ได้ไกลถึง 35 กิโลเมตร จากบนท้องฟ้า แร้งเป็นนกที่ครองคู่เพียงคู่เดียวตลอดทั้งชีวิต ซึ่งอาจจะครองคู่อยู่ด้วยกัน นานถึง 30 ปี
ลำนำไพร
ชื่อภาพ ชนเขาฤดูลมหนาว
acrylic on canvas
ขนาด 60 x 80
กวางดาว มีขนสีน้าตาลแกมเหลืองออกสีชมพู มีจุดสีขาว ส่วนท้องมีสีขาว เขามี สามกิ่ง โค้งคล้ายพิณ มีการผลัดเขาทุกปี ยาวได้ถึง 75 ซม. เมื่อเทียบกับเนื้อทราย ซึ่งเป็นญาติใกล้ชิดแล้ว กวางดาวถูกสร้างมาให้เหมาะสาหรับการวิ่งมากกว่า ตัวผู้ที่มี ขนาดใหญ่มากๆ หนักได้ถึง 98 ถึง 110 กก. มีช่วงชีวิต 8–14 ปี กวางดาวมีการ วิวัฒนาการต่อมกลิ่นบริเวณดวงตาสูง ซึ่งมีขนแข็งที่คล้ายกิ่งไม้เล็กๆ รวมทั้งต่อม กลิ่นที่หลังขา อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง 10-30 ตัว หรือ อาจมากกว่า ในฝูง ประกอบด้วย กวางตัวผู้ 1-2 ตัว กวางตัวเมีย และลูกๆ ออกหากินเวลาเช้ามืด และ พลบค่า เวลากลางวันหลบ พักตามร่มไม้ Sound of the mountain 1
ชื่อภาพ คู่ไพร
acrylic on canvas
ขนาด 60 x80
เก้งธรรมดา หรือ อีเก้ง หรือ ฟาน มีส่วนหลังโก่งเล็กน้อย ลาตัวสีน้าตาลแดง ด้านใต้ซีดและอมเทาเล็กน้อย หางด้านบนสีน้าตาลเข้ม ด้านล่างสีขาว เก้งตัวผู้มีเขาสั้น ฐานเขาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกะโหลกยืน่ ยาวขึน้ ไปเป็น แท่ง มีขนปกคลุม และมีขนสีดาขึ้นตามแนวเขาจนดูเป็นรูปตัววีเมื่อมองด้านหน้าตรง ส่วนปลายเขาสั้น แต่เป็น ง่ามเล็ก ๆ แค่สองง่าม ไม่แตกเป็นกิ่งก้านแบบกวาง ผลัดเขาปีละครั้ง ส่วนตัวเมียไม่มีเขาและฐานเขา แต่บน หน้าก็มีขนรูปตัววีเหมือนกัน เก้งตัวที่อายุมากตัวผู้มีเขี้ยวยาวแหลมโค้งโผล่พ้นขากรรไกรออกมา เวลาเดินจะ ยกขาสูงทุกย่างก้าว หากินได้ทั้งกลางวันและกลางคืน แต่ส่วนใหญ่จะพบตอนเย็นหรือหัวค่า และตอนเช้ามืด จนถึงช่วงสาย อดน้าไม่เก่ง จึงมักอยู่ไม่ไกลจากแหล่งน้า อาหารหลักได้แก่ยอดไม้, หน่ออ่อน, ใบไม้, ผลไม้ และ รวมถึงเปลือกไม้ด้วย ไม่ค่อยกินหญ้า มีฤดูผสมพันธุ์อยู่ในช่วงฤดูหนาว ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงมกราคม ตก ลูกต้นฤดูฝนพอดี ปกติตกลูกครั้งละหนึ่งตัว ตั้งท้องนานราว 6 เดือน ออกลูกตามใต้พุ่มไม้ ลูกเก้งมีจุดสีขาว ตามตัว เมื่ออายุได้ราว 6 เดือน จุดสีขาวนั้นจึงค่อยจางหายไป เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ได้เมื่ออายุได้ 18 เดือน อายุขัยประมาณ 15 ปี ลำนำไพร
ชื่อภาพ เจ้าโทนที่ดอยยาว
acrylic on canvas
ขนาด 60 x 80
หมูป่า มีรูปร่างหน้าตาคล้ายหมูบ้าน แต่มีขนตามลาตัวยาวกว่า ลาตัวมีสีเทาดา บางตัวอาจมีสีน้าตาลเข้ม ขน บริเวณหัวชี้ยาวออกไปทางด้านหลัง มีขนาดความยาวลาตัวและหัว 135-150 ซม. ความยาวหาง 20-30 ซม. มี น้าหนักประมาณ 75-200 กก. โดยตัวผู้จะมีน้าหนักหนักกว่าตัวเมีย สามารถวิ่งได้เร็ว 30 ไมล์/ชั่วโมง ตัวเมียสามารถ มีลูกได้ครอกละ 10-11 ตัว ปีละ 2 ครอก พฤติกรรมสามารถอาศัยอยู่ได้ในหลากหลายสภาพแวดล้อม แต่มักเลือกที่ จะอยู่ใกล้แหล่งน้า ในธรรมชาติหมูป่าชอบอาศัยในป่าชื้น ชอบตีแปลงและคลุกโคลน เพื่อรักษาอุณหภูมิร่างกายและ เพื่อป้องกันแมลงรบกวน หมูป่าไวต่ออุณหภูมิแวดล้อมมาก อากาศที่ร้อนเกินไปอาจทาให้หมูป่าเป็นลมแดดได้ สามารถกินอาหารได้หลากหลายทั้งพืชและสัตว์ขนาดเล็ก เช่น สัตว์เลื้อยคลานหรือแม้แต่ซากสัตว์ด้วย การหา อาหารจะใช้จมูกดุนดินเพื่อขุดหาอาหารใต้ดิน ขณะออกหาอาหารจะส่งเสียงร้องดังอยู่ตลอดเวลา มักหากินใน ช่วงเวลาเช้าตรู่และยามบ่าย บางครั้งอาจหากินได้ในเวลากลางคืนด้วย มักรวมกันเป็นฝูงใหญ่ ราว 20-100 ตัว โดย จะมีอายุของสมาชิกในฝูงคละเคล้ากันไป เมื่อถึงสภาวะคับขันจะหลบหนีไปตามพุ่มไม้เตี้ย ๆ ตามปกติแล้วหมูป่าเป็น สัตว์ที่ขี้หงุดหงิดและมีอารมณ์ร้าย เมื่อพบศัตรูตัวผู้จะออกมาทาหน้าที่ต่อสู้เพื่อปกป้องสมาชิกในฝูง ด้วยการพุ่งชน ด้วยเขี้ยวที่ยาวโง้งออกมา ซึ่งในตัวเมียไม่มี
Sound of the mountain 1
ชื่อภาพ อีเห็นลายเสือโคร่งที่ป่า จ.น่าน
acrylic on canvas
ขนาด 50 x 60
อีเห็นลายเสือโคร่ง หรือ อีเห็นลายพาด สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่งในอันดับสัตว์กินเนื้อ มี รูปร่างหน้าตาเหมือนสัตว์จาพวกอีเห็นหรือชะมดทัว่ ไป แต่มีหน้ายาวและมีรูปร่างเพรียวบางกว่า ขนตามลาตัวสีน้าตาลอ่อน มีลักษณะเด่น คือ มีแถบสีดา 7-8 แถบพาดขวางลาตัว โดยแถบ ดังกล่าวมีรูปทรงเป็นสามเหลีย่ มยาว ๆ และมีแถบสีดาพาดยาวผ่านใบหน้าและหน้าผาก 2 เส้น ด้านล่างของลาตัวและขามีสีอ่อนกว่าบริเวณหลัง มีหูยาวและมีประสิทธิภาพในการฟังเสียงที่สงู ตามีขนาดใหญ่ ส่วนโคนหางจะมีแถบสีดาเป็นปล้อง ๆ มีต้อมกลิ่นขนาดเล็ก สามารถหดเล็บเก็บ ได้เหมือนพวกแมว มีความยาวลาตัวและหัว 45-50 ซม.น้าหนัก 1-3 กก. มักอาศัยอยู่ในป่าดิบ ชื้นใกล้แหล่งน้า ออกหากินในเวลากลางคืนตามลาพัง มีลิ้นที่สากเหมือนพวกแมว กินสัตว์ขนาด เล็กจาพวกแมลง รวมทั้งพืช ผลไม้ ปัจจุบัน การศึกษานิเวศวิทยาของอีเห็นลายเสือโคร่งนั้นยังมี อยู่น้อยมาก เนื่องจากเป็นสัตว์ที่พบเห็นตัวได้ยาก
ลำนำไพร
ชื่อภาพ กระโจนรัก
acrylic on canvas
ขนาด 50 x 60
กระต่ายป่า มีลักษณะเด่นคือ มีหูยาว สามารถมองเห็นได้แต่ไกล มีขนขึ้นบริเวณกระพุ้ง แก้ม ขาคู่หลังยาวกว่าขาคู่หน้า เท้าหน้ามี 5 นิ้ว เท้าหลังมี 4 นิ้ว ใต้ผ่าเท้ามีขนปกคลุม หนาแน่นช่วยให้เคลื่อนไหวได้โดยไม่มีเสียง หางสั้นเป็นกระจุก ขนบริเวณหลังเป็นสีน้าตาล ปนเทา ปลายขนมีสีน้าตาลเข้ม มีความยาวลาตัวและหัว 44-50 ซม. น้าหนัก 1.-7 กก. ชอบ อาศัยในป่าโปร่ง, ป่าเต็งรัง, ป่าเบญจพรรณ ออกหากินในเวลากลางคืนตามพงหญ้าที่รกชัฏ ออกหากินตามลาพังในอาณาบริเวณของตัวเอง มี หญ้า เป็นอาหารหลัก ยอดไม้ หรือผลไม้ที่ ร่วงจากต้นเป็นอาหารเสริม ในบางครั้งอาจแทะเขากวางที่ผลัดทิ้งเพื่อเพิ่มแคลเซียมด้วย กระต่ายป่าตัวผู้มักต่อสู้เพื่อแย่งชิงตัวเมียในฤดูผสมพันธุ์ด้วยการกระโดดถีบหรือกัดด้วย ความรุนแรง กระต่ายป่าตัวเมียใช้เวลาตั้งท้อง 35-40 วัน ออกลูกครั้งละ 1-7 ตัว โดยการขุด โพรงใต้ดินอยู่ อายุขัยประมาณ 6 ปี
Sound of the mountain 1
ชื่อภาพ นุ่มนิ่มในดงรัก
acrylic on canvas
ขนาด 50 x 60
ลิ่น หรือ นิ่ม จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ลิ่นทุกชนิดจะมีส่วนหน้าที่ยาว มีปากขนาดเล็ก มีลักษณะเป็นรูเล็ก ๆ ไม่มีฟัน กินอาหารโดยการใช้ลิ้นที่ยื่นยาวและน้าลายที่เหนียวตวัด กินแมลงตามพื้นดิน จาพวก มดและปลวกหรือหนอนขนาดเล็ก และมีลาตัวที่ปกคลุมด้วยเกล็ดเป็นชิ้น ๆ เหมือนกับสัตว์เลื้อยคลาน ทาหน้าที่เหมือนชุดเกราะเพื่อใช้ในการป้องกันตัว เมื่อถูกรุกรานลิ่นจะลด ลาตัวเป็นวงกลม ขณะที่ส่วนท้องจะไม่มีเกล็ด ซึ่งจะถูกโจมตีได้ง่ายลิ่นมีเล็บที่แหลมคมและยื่นยาว ใช้ สาหรับขุดพื้นดินหาอาหารและขุดโพรงเป็นที่อยูอ่ าศัยและพักผ่อน และปีนต้นไม้ เป็นสัตว์ที่หากินใน เวลากลางคืน ลิ่นออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 1-2 ตัวลิ่น หากินตอนกลางคืน ปีนป่ายได้ดี และเคลื่อนไหวบน พื้นดินได้แคล่วคล่อง ตอนกลางวันจะพักผ่อนตามง่ามไม้ ในโพรง หรือในจอมปลวก อาศัยได้ในภูมิ ประเทศหลายชนิด ทั้งป่าทึบ ป่าชั้นสอง ทุ่งหญ้า สัตว์ในสกุลเดียวกับลิ่นมี 7 ชนิด 3 ชนิดอยู่ในเอเชีย 4 ชนิดอยู่ในแอฟริกา ในเมืองไทยมีสองชนิดคือ ลิ่น และลิ่นพันธุ์จีน
ลำนำไพร
ชื่อภาพ รอแรงลาลม acrylic on canvas
Sound of the mountain 1
ขนาด 40 x 50
ลิงลม หรือ นางอาย หรือ ลิงจุ่น เป็นสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนมไม่มีหาง ตาโตลาตัวสีเหลืองอม น้าตาลหรืออมเทา ส่วนท้องสีซีดกว่า สันจมูกสี ขาว ขอบตาคล้า แนวสันหลังเป็นสีเข้มตลอด หนัง ตัวเล็ก น้าหนักประมาณ 1-2 กิโลกรัม ลิงลมสามารถปรับตัวให้อยูไ่ ด้ในป่าทุกสภาพ แม้แต่ป่าที่ถูกแผ้วถางแล้ว อาหารหลักคือ แมลง นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมขนาดเล็ก สัตว์เลื้อยคลาน ผลไม้ น้าหวาน และเกสร ดอกไม้ ออกหากินเวลากลางคืน ตอนกลางวัน จะหลับตามง่ามไม้ หากินโดยลาพัง บางครั้ง อาจพบเป็นคู่หรือเป็นครอบครัวลิงลมตัวผู้จะ ปัสสาวะไว้ตามต้นไม้ เพื่อเป็นการประกาศ อาณาเขต ลิงลมปกติเคลื่อนตัวอย่างเชื่องช้า แต่จะว่องไวเวลาไล่จับแมลงกิน และจะ เคลื่อนไหวได้เร็วเป็นพิเศษเมื่อมีลมพัดแรง ๆ จนเป็นที่มา ของชื่อ ลิงลม ส่วนชื่อนางอายนั้น มีที่มาจากเวลาที่พวกมันตกใจหรือถูกจับได้ จะซุกหน้าไว้ในแวงแขน นอกจากนี้แล้ว ลิงลม ยังเป็นสัตว์ที่มีลิ้น 2 ลิ้น คือ ลิ้นสั้น กับ ลิ้น ยาว ใช้ประโยชน์ในการกินอาหารแตกต่างกัน รวมถึงมีกระดูกสันหลังที่มีลักษณะพิเศษที่ สามารถบิดตัวได้คล้ายงูอีกด้วย จึงใช้ในการ ปีนป่ายต้นไม้ได้เป็นอย่างดี อีกทั้งสภาพของ ขนและสียังสามารถแฝงตัวให้กลมกลืนกับ ธรรมชาติได้ด้วย
บ่าง หรือ พุงจง มีรูปร่างคล้ายกระรอกบิน ขนาดใหญ่ ผิวหนังย่น ตามีขนาดใหญ่สีแดง ใบหูเล็ก มีนิ้วทั้งหมด 5 นิ้ว สีขนมี หลากหลายมาก โดยสามารถเปลี่ยนไปตาม สภาพแวดล้อม ทั้งน้าตาลแดง หรือเทา รวมทั้งอาจมีลายเลอะกระจายไปทั่วตัวด้วย โดยตัวเมียมีสีอ่อนกว่าตัวผู้ หางมีลักษณะ แหลมยาว มีพังผืดเชื่อมติดต่อกันทั่วตัว โดย เชื่อมระหว่างขาหน้าและขาหลัง ขาหลังกับ หาง ระหว่างขาหน้ากับคอ และระหว่างนิ้ว ทุกนิ้ว มีนิ้วทั้งหมด 5 นิ้ว โดยที่ไม่มีหัวแม่มือ เล็บแหลมคมมากใช้สาหรับไต่และเกาะเกีย่ ว ต้นไม้ มีความยาวหัวและลาตัวโตเต็มที่ราว 34-42 ซม.น้าหนัก 1-1.8 กก. บ่างอาศัยและ หากินอยู่บนต้นไม้สูง และสามารถอาศัยได้ใน ป่าทุกสภาพ ออกหากินในเวลากลางคืน โดย ตอนกลางวันจะนอนหลับพักผ่อนตามยอดไม้ หรือโพรงไม้ กินอาหารจาพวกพืช ออกลูก ครั้งละตัว แม่บ่างจะเลี้ยงลูกไว้โดยให้เกาะที่ ท้อง(กระเป๋าหน้าท้อง)บ่างมักมีต้นไม้ประจา ที่ใช้ในการร่อน สามารถร่อนได้เป็นระยะ ทางไกลได้ถึง 136 เมตร บ่าง เป็นสัตว์ที่มี เสียงร้องคล้ายเสียงคนร้องไห้ จึงเป็นที่รับรู้ กันดีของผู้ที่อาศัยอยู่ชายป่าหรือผู้ที่นิยมการ ผจญภัย ว่าเสียงร้องของบ่างน่ากลัวเหมือนผี
ชื่อภาพ ก่อนร่างร่อนบิน acrylic on canvas
ขนาด 34 x 54
ลำนำไพร
ชื่อภาพ ขึ้นคอนที่ป่าห้วยบง
acrylic on canvas
Sound of the mountain 1
ขนาด 40 x 60
นกยูง จัดว่าเป็นนกขนาดใหญ่ที่มีความ สวยงามที่สุดชนิดหนึ่งขนาดโตเต็มที่สูง ประมาณ 0.8-1เมตร น้าหนักเมื่อโต เต็มที่จะหนักประมาณ 4-6 กก. มีอายุ ยืนได้ถึง 40-50 ปี ปกตินกยูง ใน ธรรมชาติ จะเป็นสัตว์ตกใจง่าย และขี้ อาย นกตัวผู้ยังมีหงอนเป็นพู่สูงและมี แผ่นหนังที่หน้าสีฟ้าสลับสีเหลืองเห็นได้ ชัดเจน ขนลาตัวมีสีเขียวเป็นประกาย แววเหลือบสีน้าเงินบนปีกและสี ทองแดงทางด้านข้าง ลาตัวดูเป็นลาย เกล็ดแพรวพราวไปทั้งตัว ขนปีกบินสี น้าตาลแดง ขนคลุมโคนหางยื่นยาว ออกมาก มีสีเขียวและมีจุดดวงตากลม ที่ขลิบด้วยสีฟ้าและสีน้าเงิน นกตัวเมีย ลักษณะโดยทั่วไปคล้ายนกตัวผู้ แต่ขนสี เหลือบเขียวน้อยกว่าและมีประสี น้าตาลเหลืองอยู่ทั่วไป ขนคลุมโคนหาง ไม่ยื่นยาวดังเช่นในนกตัวผู้ นกยูงไทย บินได้เก่งกว่านกยูงอินเดีย พบได้ทุ สภาพป่าอาศัยใกล้แหล่งน้าไร้การ รบกวนของมนุษย์
ชื่อภาพ ออกหากิน
acrylic on canvas
ขนาด 40 x 65
แมวป่าหัวแบน จัดเป็นแมวที่แปลกกว่าแมวชนิดอื่น ๆ มันมีรูปหัวที่ยาวและแคบ และหน้าผากที่แบนราบ สมชื่อ มีลาตัวยาวและขาสั้น ดูเผิน ๆ อาจคล้ายกับพวกชะมดหรือนากมากกว่าแมว แมวป่าหัวแบนมีขนาด ใกล้เคียงกับแมวบ้านตัวโต ๆ ตัวเต็มวัยมีน้าหนักประมาณ 1.5-2.5 กก.ลาตัวยาว ขนตามลาตัวยาว อ่อนนุ่ม และแน่น ตามลาตัวมีสีน้าตาลคล้าและลายจุดละเอียดทั่วตัว ปากค่อนข้างยาว ดวงตาใหญ่สีน้าตาลอยูช่ ิด กัน ใบหูกลมและสั้น ขาสั้น อุ้งตีนแคบ หางสั้นประมาณ 13-17 ซม. นิ้วเท้ามีพังพืดเชื่อมเพื่อช่วยในการ ว่ายน้าแบบเดียวกับเสือปลา พังผืดของแมวป่าหัวแบนมีมากกว่าพังผืดของเสือปลาเสียอีก ทาให้เหมาะแก่ การใช้ชีวิตริมน้า นอกจากนี้ยังมีกรามที่ยาว แคบ มีฟันที่แหลมคมกว่าแมวชนิดอื่น ยิ่งทาให้เหมาะที่จะคาบ เหยื่อจาพวกปลาหรือกบไม่ให้ลนื่ หลุดได้งา่ ย ดวงตาที่ใหญ่ทาให้เหมาะกับการล่าในเวลากลางคืน จริง ๆ แมวป่าหัวแบนจัดเป็นแมวป่าที่หายากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก มีผู้พบเห็นมันน้อยครั้งมาก จึงไม่อาจประเมิน สถานภาพที่แน่นอนได้
ลำนำไพร
ชื่อภาพ จ้องไพร acrylic on canvas
Sound of the mountain 1
ขนาด 60 x 80
งูเหลือม เป็นงูขนาดใหญ่ ลาตัวยาวเฉลี่ย ประมาณ 3.5-6 เมตร จัดเป็นงูที่ยาวที่สุดของ โลก ปากมีขนาดใหญ่และฟันแหลมคม ขากรรไกรแข็งแรงมากและสามารถถอด ขากรรไกรในการกลืนเหยื่อที่มีขนาดใหญ่ได้ เกล็ดบริเวณลาตัวตั้งแต่ปลายหัวจรดปลาย หางมีสีเหลืองหรือสีเหลืองปนน้าตาล พื้นของ ตัวสีน้าตาลแดง มีลายแบ่งเป็นวงมีหลายสี ที่ บริเวณส่วนหัวมีเส้นสีดาขนาดเล็กเรียวยาว เรียกว่า "ศรดา" จนเกือบถึงปลายปาก จัดใน อยู่ประเภทงูไม่มีพิษ เลื้อยช้า ๆ และอาจดุ ตามสัญชาตญาณเมื่อมีศัตรู ออกหากิน กลางคืน หากินทั้งบนบกและในน้า อาศัยนอน ตามโพรงดินโพรงไม้ในที่มืดและเย็น หลาย ๆ วันจึงจะออกหากินครั้งหนึ่ง งูเหลือมกินสัตว์ แทบทุกชนิดโดยมักดักซุ่มรอเหยื่อบนต้นไม้ เมื่อได้จังหวะจะทิ้งตัวลงมารัดเหยื่อจนขาด อากาศหายใจ มีสีและลายกลืนไปกับธรรมชาติ ชอบอาศัยในพื้นที่ชื้น
ลิงอ้ายเงียะ, ลิงอัสสัม หรือ ลิงภูเขา เป็นลิงร่างใหญ่ บึกบึน หนักประมาณ 510 กก. ตัวยาวประมาณ 51-63 ซม. รูปร่างทั่วไปคล้ายลิงวอก ขนสีน้าตาลอม เหลือง หน้าอก ท้อง ท้องแขนและขาสี ขาว ก้นและหางสีเทา หัวโต ใบหน้ายื่น มากกว่าลิงขนสั้นชนิดอื่น ขนบริเวณ ด้านข้างใบหน้าชี้ไปทางข้างหลัง ลิงภูเขา อาศัยอยู่ตามภูเขาสูงที่เป็นป่าดิบเขา ที่สูง ตั้งแต่ 500 เมตรขึ้นไปหากินตอนกลางวัน อาศัยกันเป็นฝูง ฝูงหนึ่งมีตัวผู้และตัวเมีย เพศละหลายตัว รวมกันอาจมากถึง 50 ตัว ชอบหากินบนต้นไม้ และมักอยู่ที่ระดับ ความสูงเกิน 10 เมตร ซึ่งสูงกว่าระดับหา กินของลิงกังและลิงแสม กินผลไม้ ใบไม้ โดยเฉพาะใบอ่อน และสัตว์ขนาดเล็กเป็น อาหาร ออกลูกครั้งละตัว มีอายุยืนได้ถึง 25 ปี ชื่อภาพ ลิงภูเขาที่อุทยานแห่งชาติแม่เมย acrylic on canvas
ขนาด 60 x 80
ลำนำไพร
ชื่อภาพ เจ้าหมีขอที่ปลายหินขาว
acrylic on canvas
ขนาด 60 x 80
หมีขอ หรือ บินตุรง หมีขอไม่ใช่หมี แต่เป็นสัตว์ตระกูลชะมด เหตุที่มีชื่อเป็นหมีอาจเพราะมีขนดา หยาบยาวคล้ายหมี บางตัวขนบริเวณหัวอาจเป็นสีเทา ความยาวหัว-ลาตัว 61-96 ซม. หางยาว 50-84 ซม หนัก 9-20 กก. เป็นสัตว์ในวงศ์ชะมดและอีเห็นที่ใหญ่ที่สุด เล็บโค้งสั้น ตัวเมียมีหัวนม 4 หัว หมีขอ มีต่อมฝีเย็บขนาดใหญ่ที่ผลิตสารกลิ่นฉุนที่ใช้ในการทาเครื่องหมายหางของหมีขอยาวประมาณ 90 ซม. แข็งแรงมาก ใช้ยึดเกี่ยวกิ่งไม้หรือแม้แต่หยิบสิ่งของได้ ปลายหางซีกหนึ่งเปลือยเปล่าไม่มีขนเพื่อ ประโยชน์ในการยึดจับ นับเป็นสัตว์เพียงชนิดเดียวในโลกที่มีหางแบบยึดจับได้ หมีขออาศัยอยู่บนต้นไม้ หากินตั้งแต่พลบค่าจนถึงรุ่งสาง เคลื่อนไหวเชื่องช้า อาศัยเพียงลาพัง หรืออาจอยู่เป็นครอบครัวที่มีลูก ที่ยังไม่เป็นผู้ใหญ่อยู่ ในฝูงครอบครัวมีตัวเมียเป็นใหญ่ในฝูง แม้จะอยู่ในอันดับสัตว์กินเนื้อ แต่หมีขอกิน ผลไม้เป็นอาหารหลักเช่นเดียวกับอีเห็น และอาจเป็นสัตว์ในกลุ่มอีเห็นที่กินผลไม้มากที่สุด มีบ้างที่กิน ซากสัตว์ เช่น สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก หมีขอมีบทบาทสาคัญในระบบนิเวศในฐานะเป็นผู้ กระจายเมล็ดพืช และเป็นผู้ควบคุมประชากรสัตว์ฟันแทะด้วย
Sound of the mountain 1
ปลูกป่า สร้างโป่ง 2556 - 2559
ลำนำไพร
ชื่อภาพ พักไพร ขนาด 40 x 60
ชื่อภาพ เจ้าเขี้ยวงอ
ชื่อภาพ ค.ควายเขาเดียว ขนาด 45 x 60
ขนาด 45 x 60
ชื่อภาพ ชิมเปลือกไม้ ขนาด 40 x 50
Sound of the mountain 1
ชื่อภาพ กวางผาในถ้ามืด ขนาด 40 x 60
ชื่อภาพ ค่างลงกินน้า ขนาด 40 x 60
ชื่อภาพ โป่งกระทิง ขนาด 35 x 55
ชื่อภาพ ค่าคืน ขนาด 35 x 55
ชื่อภาพ ดับกระหาย ขนาด 40 x 60
ชื่อภาพ ฉุนเฉียว
ชื่อภาพ เจ้าเมฆา
ชื่อภาพ เจ้าแดงเพลิง
ขนาด 40 x 60
ขนาด 40 x 60
ขนาด 40 x 60
ชื่อภาพ สัมพันธภาพใต้ดงเหมย ขนาด 50 x 60
ชื่อภาพ เจ้าดินดา ขนาด 60 x 80
ชื่อภาพ วันฝนโปรยไพร ขนาด 60 x 80 ชื่อภาพ ความรัก
ขนาด 40 x 60
ลำนำไพร
ชื่อภาพ วิ่งไวใต้แสงเดือน
ชื่อภาพ สู้ชิงถิ่น
ขนาด 50 x 70
ขนาด 40 x 60
ชื่อภาพ เข้าชน
ขนาด 40 x 55
ชื่อภาพ ขบหมู ขนาด 40 x 55
ชื่อภาพ “ปะ-ทะ” ขนาด 50 x 70
Sound of the mountain 1
ชื่อภาพ กระโจนกัด
ชื่อภาพ จ้องไพร ขนาด 80 x 100
ชื่อภาพ ขึ้นข่ม ขนาด 55 x 70
ขนาด 40 x 60
ชื่อภาพ “ขย้า” ที่ห้วยบง ขนาด 50 x 60
สามเสือแห่งเทือกเขาดอยผาหม่น
ชื่อภาพ ทะยานใต้แดดสีทอง
ชื่อภาพ ชน
ขนาด 80 x 100
ขนาด 80 x 100
ขนาด 50 x 70
ชื่อภาพ ลงเขี้ยว ขนาด 80 x 100 ลำนำไพร
ชื่อภาพ อีเห็น 5 ขนาด 20 x 35
ชื่อภาพ เดินดง
ชื่อภาพ อีเห็น 1 ขนาด 20 x 35 Sound of the mountain 1
acrylic on canvas
ชื่อภาพ อีเห็น 2 ขนาด 20 x 35
ขนาด 100 x 150
ชื่อภาพ อีเห็น 3 ขนาด 20 x 35
ชื่อภาพ อีเห็น 6 ขนาด 20 x 35
ชื่อภาพ อีเห็น 4 ขนาด 20 x 35
ชื่อภาพ ชิงชัย 1 ขนาด 80 x 100
ชื่อภาพ ชิงชัย 2 ขนาด 80 x 100
ชื่อภาพ
“ ล่า” acrylic on canvas
ชื่อภาพ พักกาย ขนาด 80 x 100
ขนาด 100 x 150
ชื่อภาพ ใต้ด่านไผ่ยามเย็น ขนาด 40 x 50 ลำนำไพร
นาย สุขุม เขื่อนศิริ เกิด วันศุกร์ ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 ที่อยู่ 185 ม.5 ต.งิ้ว อ.เทิง จ.เชียงราย 57230 โทรศัพท์ 083-3182815 , 087-1721395 การศึกษา - ประถมศึกษา ณ โรงเรียนบ้านสักสันเชียงใหม่ อ.เทิง เชียงราย - มัธยมต้น ณ โรงเรียนเทิงวิทยาคม อ.เทิง จ.เชียงราย - มัธยมปลาย ณ โรงเรียนปล้องวิทยาคม อ.เทิง จ.เชียงราย - ปริญญาตรี ศิลปกรรมศาสตร์ สาขา ทัศนศิลป์ ม.ราชภัฏเชียงราย
เกียรติประวัติ พ.ศ.2553 - รองชนะเลิศอันดับ 2“ การปั้นกว่าง ประเภทประชาชน” ในงานชมรมคนรักกว่างเชียงรายครั้งที่ 6 -รองชนะเลิศอันดับ 1 “ ประกวดภาพวาด รักสมเด็จย่า” ประเภท อายุไม่เกิน 25 ปี ณ พระตาหนักดอยตุง พ.ศ.2554 -รองชนะเลิศอันดับ 2 “ ประกวดภาพวาด ประเภทประชาชน” ในงานรวมพลคนรักกว่างเชียงรายครั้งที่ 7 -ชนะเลิศอันดับ 1 “ ประกวดภาพวาด โลกรอดเพราะกตัญญู” สองศรีพระศาสนา ระดับอุดมศึกษา จ.นนทบุรี -รองชนะเลิศอันดับ 2 “ ประกวดวาดภาพ บัณฑิตจิตรอาสา นาปัญญา พัฒนาท้องถิ่น” จ.ลาปาง -ครูพิเศษ ร.ร.อนุบาลเชียงของ ( 11 รางวัล งานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ภาคเหนือ ครั้งที่ 62 ระดับประถมศึกษา ) -ครูวิทยากรพิเศษ โรงเรียนบ้านโป่งเกลือ อ.ห้วยสัก
พ.ศ. 2555 -อันดับ 1 การประกวดริ้วขบวนเทียนพรรษาและต้นเทียน พรรษา เทศบาลตาบลเวียง เชียงของ จ.เชียงราย -อันดับ 3 การประกวดริ้วขบวนและรูปขบวนประเพณีลอยกระทง เทศบาลตาบลเวียง เชียงของ จ.เชียงราย พ.ศ.2556 -ครูพิเศษ ร.ร.วัดอามาตย์วิทยา ( 4 รางวัลพุทธศิลป์ มจร. เชียงราย), ( 5 รางวัล งานสามเณรสัมพันธ์ เชียงราย), (11 รางวัล งานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ครั้งที่ 63 สพม.36) นิทรรศการทั่วไป -พ.ศ. 2554 ศิลปะจากศิลปะนิพนธ์ ครั้งที่ 3 หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ กทม. -พ.ศ. 2555 ศิลปกรรมเยาวชนภาคเหนือ ณ ศูนย์อารยะธรรมโขง-สาละวิน -พ.ศ. 2556 นิทรรศการ ขัวศิลปะ ครั้งที่ 1 นิทรรศการ ขัวศิลปะ ครั้งที่ 2 -พ.ศ. 2557 “นิทรรศการ ภาพวาดขนาดเล็ก Small Painting Exhibition” ขัวศิลปะ นิทรรศการ ขัวศิลปะครั้งที่ 3 “คารวะ อาจารย์ถวัลย์ ดัชนี” -พ.ศ. 2558 นิทรรศการช้างไทย 999 ณ Central bangkok
นิทรรศการกลุ่ม -พ.ศ. 2556 นิทรรศการ จิตนาการและสายธารแห่งวิถีชีวติ สายน้าอิง 1 ณ 9 Art gallery จ. เชียงราย -พ.ศ. 2557 นิทรรศการ อัตลักษณ์ใต้สายธารแห่งจิตรวิญญาณ สายน้าอิง 2 ณ เฮือนศิลป์ใจยอง เชียงใหม่ -พ.ศ. 2559 นิทรรศการ สายน้าอิง 3 คืนสู่มาตุภูมิ 3.1 ณ ไร่เชิญตะวัน จ.เชียงราย 3.2 ณ หอศิลป์ริมน่าน จ.น่าน
ลานาของนักเดินทาง เราต่างเดินเพื่อทาความเข้าใจกับสิ่งต่างๆ ตนเอง ผู้อื่น ธรรมชาติ สภาพแวดล้อม หมูม่ ิตรต่างเผ่าพันธุ์ เราขัดเกลาฝึกฝนตนเองเพื่อให้เป็นคนทีด่ ีกว่าเมื่อวาน การบันทึกอาจเป็นสิ่ง เดียวที่จะทาให้เราตระหนักถึงสิ่งที่ผ่านมา เรื่องราวบทเรียน ความสุขความทุกข์ ลาเค็ญกาย หัวใจ เพื่อให้ทบทวนความจาของเมื่อวาน การเดินทางเพื่อทบทวนหลายสิ่งรอบข้างดึงจิตรสานึก ให้กลับมาอยูก่ ับตนเองในขณะเดียวกับการเปิดโอกาสทาความรู้จักกับสิง่ รอบข้าง อย่างอ่อนโยน เข้าใจและไตร่ตรองมากกว่าทุกครัง้ ความเงียบเป็นจุดกาเนิดของจินตนาการ ความยากลาบาก คือบททดสอบความเอาจริง ความเหนื่อยล้าอาจปรากฏเป็นระยะเมื่อเดินสู่ภูเขาลูกแรกและลูกที่ สองแต่มันก็ยังไม่ใช่ลูกสุดท้าย ใส่ใจจุดหมายแต่อย่าละเลยความอดทน เดินช้าๆมั่นคงสม่าเสมอ ความเหนื่อยล้าในการเดินทางเป็นเรื่องปกติการฝืนดันทุรงั เร่งเร้าไม่ก่อให้เกิดประโยชน์อันใด นอกจากพลาดพลั้งและเสียแรงล้าในการเดินทาง บางขณะย่อมพบเจอสหายในการเดินทางเพื่อนร่วมทางจึงมีหลากหลายอุปนิสัย ใจคอแต่จงมองข้ามมันไปทุกคนต่างมีสิ่งถนัดและมีดีอยูใ่ นตัวความลาเค็ญในปุาจะเผยธาตุแท้แห่ง ตนออกมาเอง ทุกเส้นทางมีช่วงเวลาที่เบื่อหน่ายจืดชืดไร้รสชาติมันคือหนึ่งด่านที่ต้องผ่านไปให้ได้ ผู้พ่ายแพ้คือผู้ท่หี ันหลังกลับมิใช้เพราะความแร้งแค้นแต่หากไร้แรงอดทนอดกลั้นกับ สภาพแวดล้อมทางใจ ช่วงเวลาในการเดินทางยาวนานเสมอ ความนานของเวลาทาให้นักเดินทาง มีเวลาคิดฟุงู ซ่านจินตนาภาพแต่ล่ะนาทีต่างๆกันตามแต่ประสบการณ์ทผี่ ่านมา เส้นทางของเมื่อ วานอาจหล่อหลอมให้แข็งแกร่งวันนีแ้ ละเพิ่มทวีในวันถัดไปแม้มันจะมาพร้อมกับการเหนือ่ ยอ่อน ทางกายก็ตาม ธรรมชาติเปลี่ยนแปลงอยูท่ ุกขณะอย่าประเมินปุาในทัศนะเฉียบแหลมและแม่นยา เพราะมันอันตราย มองโลกให้กว้างกว่าที่เคยเปุาหัวใจให้ใหญ่เป็นลูกโปุง ปลายภูสูงภูเขาทั้งลูกมัน เป็นของเราในขณะเวลาหนึ่งแต่จะพลัดเป็นของคนอื่นเมื่อเราจากไป รสชาติแห่งการครอบครอง ความสาเร็จจะมากล้นเพียงใดอยูท่ ี่ใจของเราจะตืน้ ตันกับมัน มนต์แห่งปุา ไม่มีสิ่งใดเลอค่ากว่าสิ่ง ใดทุกสิ่งทุกอย่างทัดเทียมลงตัวนอบน้อมซึ่งกันและกันนั่นแหละคือ “รสชาติแห่งความงาม”
Sound of the mountain 1
วันนั้น - แดดแดงด่่าน้่าค้างป่า ฉ่่าตายาวโยชน์ปานวาด ขาวพร่างทุ่งทอง รอยอ่าน ป่าสร้างจดหมายเหตุ ขุนดอย เมื่อวาน - สีแห้งหินผาโล่งร้าง ประหัตถ์ประหารเครื่องกลเครื่องน้อย ยิ้มย่ามมนุษย์เขลาบนเงาดอย ถี่ถ้วย ประชุมถ่อย ประหารดิน วันนี้ - มิยินดีดื่มด่่าใต้ดาว อุทกระย่ากล่าว ฝังหิน สัมปทุกข์ ปลุกฆ่า แผ่นดิน ฝนเงิน ประโคมถิ่น ประเคนคน วันพรุ่งนี้ - หมูน้อย บ่อตา พล่านเดือด เล็บเลือด โดดกัก วัดผล แย้งเขี้ยว ทรราช ชาติชน ผู้ระดม ปล้นฆ่า พนาไพร. 8 สิงหาคม 2559
บันทึกของนักเดินทาง
ขอขอบคุณ พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี อาจารย์ เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ คุณ เรืองชัย จิตรสกุล ส่านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 15 เชียงรายกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ครอบครัว อ.เสงี่ยม ยารังสี ครอบครัว อ.ชัยวิชิต สิทธิวงค์ อาจารย์ วีระชล ศรีละ อาจารย์ ศุภารัตน์ อินทนิเวศ ครอบครัว เขื่อนศิริ ครอบครัว ไชยชุมภู ครอบครัว ครูล่าดวน ไชยยิถะ พี่น้อง กลุ่มสายน้่าอิง เจ้าหน้าที่ขัวศิลปะและพี่น้องศิลปิน ครูบนพื้นที่สูง ทุกท่าน ทุกแห่ง ต่ารวจตระเวนชายแดน ทหารพราน พี่น้องชาวม้ง พี่น้องชาวปกากะญอ และทุกๆท่านที่คอยให้การช่วยเหลือและให้ ก่าลังใจในการท่างานตลอดมา