1
2
รายงาน เรื่อง ออกแบบฟอนต์ลายมือไทย-อังกฤษ จากโปรแกรม Font creator รายวิชา ARTD2304 ออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ กลุ่มเรียน 101
จัดทาโดย นายเกียรติภูมิ โพธิ์ไพงาม รหัส 5411307084
เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
3
คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ARTD2304 มี จุดประสงค์เพื่อศึกษาและหาความรู้ในเรื่องฟอนต์ มีตัวหนา ตัวเอน และในรายงานฉบับนี้ได้มีข้อมูล ที่สามารถให้ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนในการทาในแต่ละตัว และการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมต่างๆ ในการจัดทารายงาน ตัวกระผมเองนั้นต้องขอขอบคุณ ผศ.ประชิด ทิณบุตร ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบ ฟอนต์และเป็นที่ปรึกษาในการทางาน และได้ติเตือนในเรื่องความบกพร่องของงานตัวกระผมเองก็ หวังว่ารายงานฉบับนี้จะมีประโยชน์ไม่มากก็น้อยในการศึกษาค้นคว้า หากรายงานฉบับนี้ผิดพราด ประการใด กระผมของอภัยมา ณ ที่นี้ด้วยครับผม
นายเกียรติภูมิ โพธิ์ไพงาม ผู้จัดทา
4
สารบัญ เรือ่ ง
หน้า
กระบวนการทางาน
5-6
DO(ขั้นตอนและหลังการทา)
7-14
Did(ผลที่ได้รับ)
15-17
Done(การนาไปใช้)
18-20
ตัวอย่าง Font creator
21
ขั้นตอนการตั้งค่าชื่อฟอนต์
22-24
ขั้นตอนการทาตัวหนา(Bold)
25-27
ขั้นตอนการทาตัวเอน(Italic)
28-30
ขั้นตอนการทาตัวหนาเอน(Italic-Bold) Show font
31-32 33
5
กระบวนการทางาน 1.Goalเป้าหมาย เป้าหมายของรายงานนี้คือ ฟอนต์ลายมือ ภาษาไทย-อังกฤษ
2.Toolsเครื่องมือหลัก - เทมเพลตที่เป็น Grid สาหรับเขียนฟ้อนต์ลายมือ
-ปากกาดาหัวสักหลาด
- คอมพิวเตอร์
6
-เครื่องสแกน
-โปรแกรม Font creator
7
-โปรแกรมAdobe Reader อ่านไฟล์ PDF เปิดไฟล์ PDF
3.Do Did Done -Doมีขั้นตอนและหลักฐานแสดง ขั้นตอนการออกแบบฟอนต์ลายมือ ภาษาไทย-อังกฤษ จากโปรแกรม Font creator
8
ขั้นตอนที่ 1 ดาวว์โหลดเทมเพลตที่เป็น Grid สาหรับเขียนฟ้อนต์ลายมือ
ขั้นตอนที่ 2สแกนภาพที่เขียนลงในคอมพิวเตอร์เลือก save เทมเพลตให้เป็นไฟล์ PDF
ภาพที1่ แสดงหน้าเทมเพลตฟ้อนต์ลายมือ
9
ขั้นตอนที3่ เปิดไฟล์ภาพขึ้นมาคลิกคลุมตัวอักษรในเทมเพลตที่เราต้องการ แล้วกด CTRL+C
ขั้นตอนที4่ เปิดโปรแกรม font creator เลือก file>open>font file
10
เลือก font ต้นฉบับ AAA_Watin-kiettipoom
ขั้นตอนที5่ เปิดไฟล์ที่เป็นชื่อเราขึ้นมาแล้วเลือกอักษรที่เราได้เลือกมาจาก PDF
จากนั้นกด CTRL+ V ตัวอักษรจะขึ้นมาให้เราปรับสัดส่วนตามมาตรฐานของอักษรแต่ละตัวให้ครบทุกตัวใน เทมเพลต
11
ขั้นตอนที่ 6การจัดวางช่องไฟ ตาแหน่งระยะห่าง หน้า-หลัง ความสูง - Cap height คือ ความสูงของตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ - Median คือ ความสูงของตัวอักษรพิมพ์เล็ก - X-height คือ ระยะห่างระหว่างเส้นฐานจนถึงเส้น median ซึ่งเป็นช่วงของตัวพิมพ์เล็ก - Baseline คือ เส้นฐาน
12
ขั้นตอนที8่ จัดระยะช่องไฟของอักษร โดยคลิกขวา
properties
ปรับระยะห่าง ตรง Glyph Metrics ให้มีค่าตรงตามความเหมาะสมของแต่ละอักษร ควรตรวจสอบอย่าง ละเอียดทุกตัวอักษร โดยการกด Ctrl+F5
13
ขั้นตอนที9่ เมื่อเราตรวจสอบและปรับตัวอักษรได้ครบทุกตัวแล้ว จากนั้นให้เรากด TEST FONT
14
ขั้นตอนที1่ 0 จากนั้นคลิกที่ฟอนท์ต้นแบบ เพื่อทาการเปลี่ยนชื่อตัวอักษรของเรา เมนู Tools>AutoNaming
เปลี่ยนชื่อฟอนต์
ตั้งชื่อ CRU-kiettipoomฟอนท์ กด Next
15
เรียบร้อย
16
-Didผลที่ได้รับคือ ฟอนต์ลายมือ ภาษาไทย-อังกฤษ จากโปรแกรม Font creator ชื่อแบบตัวพิมพ์ CRU-kiettipoom
17
18
-Doneได้นาไปทดสอบ-สร้าง-ประยุกต์-ใช้ประโยชน์ คือ นามาติดตั้งเพื่อใช้เป็นแบบพิมพ์ในรายงานของวิชา ออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์
ข้อมูลแบบตัวพิมพ์(Font Information) ชื่อแบบตัวพิมพ์ (Typeface/Font Name ) ชื่อ CRU-kiettipoom ประเภทของไฟล์ตัวพิมพ์ OpenType Layout, TrueType Outlines ออกแบบโดย นายเกียรติภูมิ โพธิ์ไพงาม รหัสนักศึกษา 5411307084 วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ ARTD2304 กลุ่มเรียน 101 สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 14 เดือน มกราคม พศ.2556
ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาลาติน(Latin Characters) ได้แก่ ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwxyz!@#%^&*()_+|{}[]:"<>?;'",./\*-.=;'
ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาไทย(Thai Characters) ได้แก่ กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ๆๅ฿อะอาอุึอูอิอีอึอือ่อ้อ๊อ๋อ์อาเแโใไ?
19
ข้อความสาหรับการทดสอบการพิมพ์รับคาสั่งพิมพ์ และเพื่อแสดงตาแหน่งการพิมพ์รูป อักขระที่ออกแบบ-จัดช่องว่าง ช่องไฟระหว่างรูปอักขระและระหว่างคา ทั้งชุดคือ ภาษาอังกฤษกับภาษาไทย In typography, a font is traditionally defined as a quantity of sorts composing a complete character set of a single size and style of a particular typeface. For example, the complete set of all the characters for “9-point Bulmer” is called a font, and the “10-point Bulmer” would be another separate font, but part of the same font family, whereas “9-point Bulmer boldface” would be another font in a different font family of the same typeface. One individual font character might be referred to as a “piece of font” or a “piece of type”.Font nowadays is frequently used synonymously with the term typeface, although they had clearly understood different meanings before the advent of digital typography and desktop publishing. ในทางวงการพิมพ์นั้นกล่าวถึงฟ้อนต์โดยทั่วไปว่า หมายถึงตัวอักษรที่ใช้เป็นแบบตัวเรียงพิมพ์เนื้อหา ที่มีขนาด และรูปแบบเป็นชุดเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นแบบตัวอักษรที่ใช้ในการเรียงพิมพ์เนื้อหาที่ท่านกาลังอ่านอยู่นี้ มีชื่อ แบบตัวอักษรชุดนี้ว่า บางพูด(Bangpood) ที่ประกอบด้วยรูปอักขระ(Glyphs) ของตัวพยัญชนะ (Consonants) สระ(Vowels) วรรณยุกต์ (Tones) เครื่องหมายสัญลักษณ์(Signs and Symbols) วรรคตอน(Punctuation) อักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คากลอนไทยสาหรับใช้พิมพ์ทดสอบผลการออกแบบ แสดงโครงสร้างของตัวอักษร การจัดระดับ ตาแหน่งรูปพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เครื่องหมายวรรคตอน การจัดระยะช่องไฟรอบรูปอักขระหรือฟ้อนต์ ส่วนภาษาไทย ที่สร้าง บันทึก ติดตั้ง และหรือทดสอบในโปรแกรมฟ้อนต์ครีเอเตอร์และัหรือด้วยโปรแกรม ประยุกต์อื่นๆในระบบ เขามักใช้คากลอนนี้ ให้นักศึกษาคัดลอกไปวาง เปลี่ยนเป็นฟ้อนต์ที่เราทา ตรวจสอบระยะ ช่องไฟกั้นหน้า-หลัง การประสมคาตาแหน่งสระและวรรณยุกต?ว่าตรงตาแหน่งตามหลักไวยกรณ์ของไทยหรือ ใหม่และบันทึกเป็นหลักฐานแสดงในรายงาน ภาษาอังกฤษให้ตรวจสอบดูด้วยตาเองว่าระยะเป็นอย่างไร แล้วไป แก้ไขในตารางฟ้อนต์ และทดสอบใหม่ ซ้าๆ จนแน่ใจว่าเป็นระยะและตาแหน่งที่ถูกต้องแล้ว
คากลอนตรวจสอบแบบตัวอักษร ตาแหน่งพิมพ์ผสมคาไทย "เป็นมนุษย์สุดประเสริฐเลิศคุณค่า กว่าบรรดาฝูงสัตว์เดรัจฉาน จงฝ่าฟันพัฒนาวิชาการ อย่าล้างผลาญ ฤๅเข่นฆ่าบีฑาใคร ไม่ถือโทษโกรธแช่งซัด ฮึดฮัดด่า หัดอภัยเหมือนกีฬา อัชฌาสัย ปฏิบัติประพฤติกฎ กาหนดใจ พูดจาให้จ๊ะๆจ๋า น่าฟังเอยฯ"
20
คาที่ควรนามาทดสอบคือ วิญูชน ภูปเตมี กตัญญู เกลื่อน เกลื้อน โหมโรง กระโปรง น้าใ ผลที่ได้รับจากการทาฟอนต์
นาฟอน์ที่ได้ไปลงในhttp://www.fontspace.com เพื่อแชร์ฟอนต์ที่เราทาไปสู่แวดวง
21
-ฟอนต์ลายมือ ภาษาไทย-อังกฤษ จากโปรแกรม Font creator
22
3.Do Did Done -Do....มีขั้นตอนและหลักฐานแสดง ขั้นตอนการปรับตัวอักษรฟอนต์ลายมือให้มีตัวหนาและเอียง -Bold อักษรตัวหนา ขั้นตอนที่ 1 เปิดไฟล์งานฟอนต์ลายมือในโปรแกรม Font creator โดยไปที่ File>Open>font flie
เปลี่ยนชื่อผู้ออกแบบFomat>Naming
23
เปลี่ยนชื่อ Font ในแต่ละช่องให้เรียบร้อยตามภาพ ดังนี้ Include copyright notice คาประกาศเรื่องลิขสิทธิ์ Include unique font identifier มีตัวบ่งชี้ที่ไม่ซ้ากันของตัวอักษร Include version string รวมสตริงรุ่น Include full font name รวมถึงชื่อตัวอักษรเต็มรูปแบบ Include postscript name รวมถึงชื่อลงท้าย Include trademarkเครื่องหมายการค้า Include font vendor linkรวมlinkผู้ขายตัวอักษร
24
25
ขั้นตอนที่ 2 เมื่อเปลี่ยนชื่อเรียบร้อยต่อไปเป็นการปรับตัวอักษรให้มีความหนาขึ้น กด CTRL+A
Tool> Glyph Tranfromer>
26
Effects > Bold แล้วปรับความหนาโดย Horizontal= แนวนอน Vertical = แนวตั้ง
27
ขั้นตอนที3่ เมื่อปรับความหนา ระยะห่าง หน้า-หลัง ความสูงของตัวอักษรครบแล้ว คลิกไปที่ font>test เพื่อทดสอบการพิมพ์ ตรวจสอบระยะช่องไฟของแต่ละอักษร
จากนั้นให้TEST-Font
28
ขั้นตอนที4่ เมื่อตรวจสอบความถูกต้องของตัวอักษรเรียบร้อยแล้วให้ Save as แล้วให้เปลี่ยนชื่อตัวอักษร ให้ตรงกับชุดอักษรเพื่อความสะดวกต่อการติดตั้งและความรวดเร็ว
Italicตัวเอน(ขั้นตอนการทา) ขั้นตอนที1่ กด CTRL+A Tool> Glyph Tranfromer>skew
ขั้นตอนที2่ ปรับ Horizontal ตามความเหมาะสม
29
ขั้นตอนที่3เมื่อทาเสร็จ Font>TEST
30
เสร็จสิ้นการทาตัวเอน
31
Bold-Italicตัวหนาเอน(ขั้นตอนการทา) ขั้นตอนที1่ กด CTRL+A -Tool> Glyph Tranfromer>skewปรับค่าตามความเหมาะสม -Tool> Glyph Tranfromer>Effects>Boldปรับค่าตามความเหมาะสม
32
ข้อมูลแบบตัวพิมพ์(Font Information) ชื่อแบบตัวพิมพ์ (Typeface/Font Name ) ชื่อ CRU-kiettipoom ประเภทของไฟล์ตัวพิมพ์ OpenType Layout, TrueType Outlines ออกแบบโดย นายเกียรติภูมิ โพธิ์ไพงาม รหัสนักศึกษา 5411307084 วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ ARTD2304 กลุ่มเรียน 101 สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร
33
Showfont