1
ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๔ วันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
2
จดหมายข่าวเทวาลัย
ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๔ วันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
วาดภาพโดย น.ส.สุธรี า ศรีตระกูล (อักษรศาสตร์#80)
จดหมายข่าวเทวาลัย
BALAC TALK หน้า 15
ที่ปรึกษา
รศ.ดร.กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา คณบดี รศ.ดร.สุรเดช โชติอุดมพันธ์ รองคณบดี ผศ.ดร.นิรดา จิตรกร ผู้ช่วยคณบดี ผศ.ดร.อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล อ.William Whorton
ผู้รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ และสื่อสารองค์กร ผศ.ดร.ศิรประภา ชวะนะญาณ ผู้ช่วยคณบดี (Siraprapa.C@chula.ac.th)
อ่านจดหมายข่าวเทวาลัยฉบับย้อนหลังได้ท่ี http://www.arts.chula.ac.th/~sandbox/dhevalai/ ส่งข่าวประชาสัมพันธ์ได้ท่ี http://artscu.net คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร. (662) 218 - 4870 www.arts.chula.ac.th
3
“เวนิสวาณิช”
ละครเวทีอักษรฯ จุฬาฯ 61
4 โครงการอบรมภาษาสเปน ขั้นพื้นฐาน ให้แก่นักเรียนไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่จะเข้าร่วมโครงการแลก เปลี่ยนวัฒนธรรมในลาตินอ เมริกา ของมูลนิธิการศึกษา และวัฒนธรรมสัมพันธ์ไทยนานาชาติ (เอเอฟเอส)
12
ฅนอักษรฯ คุณกมลรัตน์ โกมลนิรมิต
12
6
ข่าวจากภาควิชาประวัติศาสตร์
7
ข่าวจากสาขาวิชาภาษาเอเชียใต้
8
ข่าวจากภาควิชาภาษาอังกฤษ และหลักสุูตร EIL
9
ข่าวจากภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
15
ข่าวการบริการวิชาการ ใคร ทำ�อะไร ที่ไหน
16
ปฏิทินกิจกรรม: เดือนกุมภาพันธ์
4
ภาควิชาศิลปการละคร
“เวนิ ส วาณิ ช ” ละครเวทีอักษรฯ จุฬาฯ 61 “เวนิสวาณิช” ละครเวทีอักษรฯ จุฬาฯ 61 ถ้าการแต่งงานกันของบัสสานิโยและนางปอร์ เมื่อละครเรื่องนี้ไม่ใช่ตลกรักโรแมนติก แต่แสบ เชียท�ำไปเพื่อเอาตัวรอด เพื่อเงินและอิสรภาพ ความรักที่อันโตนิโยมีให้เพื่อนรักมากกว่าเพื่อน จี๊ดยิ่งกว่าที่เคย ชายจะให้กัน ความเกลียดโกรธพยาบาทเพราะ หลายคนอาจจะรู้จักเรื่อง “เวนิสวาณิช” บท ถูกกดขี่เป็นเรื่องที่น่าคิด มากกว่าการตราหน้า พระราชนิพนธ์แปลใน พระบาทสมเด็จ และจดจ� ำ ว่ า ไชล็ อ กคื อ พ่ อ ค้ า ยิ ว หน้ า เลื อ ด พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่อง The Mer- “เวนิสวาณิช” จะยังคงเป็นละครโรแมนติก chant of Venice ของวิลเลียม เชคสเปียร์ ใน สนุกสนาน ชวนหัวอยู่อีกไหม? ฐานะหนังสืออ่านนอกเวลาสมัยเด็ก หรือจาก “เวนิสวาณิช” งานวิจัยสร้างสรรค์ในโครงการ บทเพลงไพเราะอย่างเพลง ความรัก ฟังดนตรี เมธีวิจัยอาวุโส (สกว.) เรื่อง “การวิจัยการแสดง เถิดชื่นใจ และหลั่งมาเองเหมือนฝน จากที่พ่อ : สร้างสรรค์งานวิจัยในสาขาศิลปะการแสดง แม่เคยเปิดให้ฟังในสมัยเด็กชวนให้นึกถึงเรื่อง ไทยร่วมสมัย” ของ ศาสตราจารย์พรรัตน์ ด�ำรุง ราวรั ก หวานชื่ น ของหนุ ่ ม สาวของพระนาง ดัดแปลงบทจากพระราชนิพนธ์แปลในรัชกาล อย่างบัสสานิโยและนางปอร์เชีย มิตรแท้อย่าง ที่ 6 และก�ำกับการแสดง โดย ดังกมล ณ ป้อม อันโตนิโย และพ่อค้ายิวไชล็อกหน้าเลือดที่หวัง เพชร อาจารย์ประจ�ำภาควิชาศิลปการละคร เฉือนเนื้อแลกหนี้ ก่อนที่ท้ายสุดเรื่องราวจะจบ และรองคณบดี คณะอักษรฯ จุฬาฯ จัดแสดง ลงอย่างแฮปปี้เอนดิ้งเพราะความเมตตาและ เนื่องในวาระครบรอบ 402 ปีมรณกรรมของ ความรักเพื่อนมนุษย์ แต่หากสิ่งที่คุณเคยได้รู้นี้ เชคสเปียร์ 101 ปีของการสถาปนาจุฬาลงกรณ์ เป็ น เพี ย งภาพของยอดภู เ ขาน�้ ำ แข็ ง ใต้ มหาวิทยาลัย และคณะอักษรศาสตร์ 101 ปี ของบทพระราชนิพนธ์แปลเรื่องนี้ อีกทั้งยัง มหาสมุทรเท่านั้นล่ะ? เป็นการครบรอบ 47 ปีของการก่อตั้งภาควิชา
ศิลปการละคร อักษรฯ จุฬาฯ อีกด้วย “เวนิสวาณิช” ฉบับ พ.ศ.2561 ของอักษรฯ จุฬาฯ จะพาผู้ชมไปส�ำรวจเบื้องลึกภายใต้ เปลือกละครโรแมนติกคอมเมดีสุดคลาสสิกที่ ทุกคน(คิด)ว่ารู้จักกันดี น�ำเสนอโดยใช้นักแสดง หญิงแสดงเป็นตัวละครชาวคริสต์ทั้งหมด และ ใช้นักแสดงชายแสดงเป็นตัวละครชาวยิวและ มุสลิม “เวนิสวาณิช” ละครเวทีประจ�ำปี 2561 ของ ภาควิชาศิลปการละคร อักษรฯ จุฬาฯ จัด แสดงในระหว่างวันที่ 8 - 18 กุมภาพันธ์ 2561 ณ ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล วัน พุธ-วันศุกร์ รอบ 19.30 น. เสาร์-อาทิตย์ รอบ 14.00 น. เสาร์เพิ่มรอบ 19.30 น. บัตรราคา 700 บาท บุคลากรจุฬาฯ/ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้น ไป) 550 บาท นักเรียน 350 บาท จ�ำหน่าย บัตรทาง https://www.dramaartschulaticket.com ติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่เฟ ซบุ๊กเพจ Drama Arts Chula และ เวนิส วาณิช ละครอักษรฯ จุฬาฯ’61 หรือสอบถามที่ 081-559-7252 และ 02-218-4802
5
6
ภาควิชาประวัติศาสตร์
ชุดปาฐกถาภาควิชาประวัติศาสตร์
"วงจรประวัติศาสตร์: เจ็บแล้วไม่จ�ำก็ซ�้ำรอยกันต่อไป"
7
บาลีสันสกฤตในจารึกกัมพุชพากย์ สาขาวิชาภาษาเอเชียใต้
สาขาภาษาเอเชียใต้ของเชิญ "ท่านผู้รักความรู้" ร่วมงานเสวนาภารตวิทยาครั้งที่ 2/2561
หัวข้อ "บาลีสันสกฤตในจารึกกัมพุชพากย์"
เรื่องร่องรอยค�ำยืมภาษาบาลีสันสกฤตแต่โบราณ ที่ปรากฏในจารึกภาษาเขมร โดยวิทยากร อาจารย์ ดร. ดาวเรือง วิทยารัฐ ผู้ศึกษาจารึกภาษาเขมร อาจารย์ประจ�ำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ ในวันพฤหัสบดี ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 13.00.16.00 น. ณ ห้องประชุม 707 อาคารบรมราชกุมารี คณะอักษรศาสตร์ ด�ำเนินรายการโดย ผศ.ดร. ชานป์วิชช์ ทัดแก้ว (ผู้รับผิดชอบโครงการเสวนาภารตวิทยา) ท่านผู้สนใจ กรุณาแจ้ง ชือ-สกุลจริง และอีเมล หรือ หมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้มาที่ paliskt.artscu@gmail.com
8 ภาควิชาภาษาอังกฤษและ หลักสูตร English as an International Language (EIL)
Corpus Data and Usage-based Approaches to Grammar
9
ทางรอดหรือทางตายแห่งอนาคตของประเทศ และรัฐบาลที่ไม่มีระบบหนังสือของชาติ ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมโครงการเสวนาบรรณาธิการศึกษา เรื่อง “ทางรอดหรือทางตายแห่งอนาคตของประเทศ และรัฐบาลที่ไม่มีระบบหนังสือของชาติ” ในวันศุกร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 13.00 ถึง 16.00 น. ณ ห้อง 303-304 อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้สนใจสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมการเสวนาได้ที่: https://goo.gl/forms/jqkbD6BAz1Ln8Zmi1 ภายในวันพฤหัสบดีที่ 22 กุมภาพันธ์ 2561 หมายเหตุ: ผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร 0 2218 4817
10
โครงการอบรมภาษาสเปนขั้นพื้นฐาน
ให้แก่นักเรียนไทยระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่จะเข้าร่วม โครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในลาตินอเมริกา ของมูลนิธิการศึกษาและวัฒนธรรมสัมพันธ์ไทย-นานาชาติ (เอเอฟเอส) ศูนย์บริการวิชาการ และสาขาวิชาภาษาสเปน
เมื่อวันจันทร์ที่ 22 มกราคม 2561 คณะอักษรศาสตร์ ได้รับเกียรติจากนาย Andelfo García เอกอั ค รราชทู ต โคลอมเบี ย และประธาน เอกอั ค รราชทู ต กลุ ่ ม ประเทศลาติ น อเมริ ก า (GRULAC) นางสาว Alicia Sonchein เอกอัครราชทูตอาร์เจนตินา นาย Christian Rehren เอกอัครราชทูตชิลี นาย Hector Conde Almeida เอกอัครราชทูตคิวบา นาง María del Carmen Martínez Arosemena เอกอัครราชทูตปานามา ผู้แทนจากสถาน เอกอัครราชทูตเม็กซิโกและเปรู นางสาว พัชรี พุ่มพชาติ รองอธิบดีกรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้ กระทรวงการต่างประเทศ นางสาวจิรวัฒนา จรูญภัทรพงษ์ ผู้อ�ำนวยการมูลนิธิการศึกษาและ วัฒนธรรมสัมพันธ์ไทย-นานาชาติ (เอเอฟเอส ประเทศไทย) และอาจารย์ดังกมล ณ ป้อมเพชร รองคณบดี ฝ่ายกิจการนิสิตและศิษย์เก่าสัมพันธ์
คณะอักษรศาสตร์ร่วมในพิธีเปิดโครงการอบรม ภาษาสเปนขั้นพื้นฐาน ให้แก่นักเรียนไทยระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายที่จะเข้าร่วมโครงการแลก เปลี่ยนวัฒนธรรมในลาตินอเมริกา ของมูลนิธิ การศึกษาและวัฒนธรรมสัมพันธ์ไทย-นานาชาติ (เอเอฟเอส) โครงการอบรมนี้ เกิดขึ้นจากความร่วมมือ ระหว่างศูนย์บริการวิชาการ สาขาวิชาภาษา สเปน ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรมอเมริกาและ แปซิฟิกใต้ กระทรวงการต่างประเทศ และมูลนิธิ เอเอฟเอส เพื่อช่วยเตรียมความพร้อมของ นักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจ�ำนวน 60 คนที่จะเดินทางไปแลกเปลี่ยน ณ กลุ่มประเทศ ลาตินอเมริกา อาทิ อาร์เจนตินา อุรุกวัย ปารากวัย เปรู ปานามา โบลิเวียและชิลี ให้มี ความรู้ภาษาสเปนขั้นพื้นฐานและความรู้เบื้อง
ต้นเกี่ยวกับวัฒนธรรมลาตินอเมริกาที่เพียงพอ ต่อการสื่อสารและการใช้ชีวิตในระยะแรกของ การเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน การอบรมได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 22-26 มกราคม 2561 เวลา 09:00 ถึง 16:00 น. ณ อาคารมหา จักรีสิรินธร คณะอักษรศาสตร์ เนื้อหาการอบรม ประกอบไปด้วยไวยากรณ์เบื้องต้น ค�ำศัพท์ ส�ำนวน วัฒนธรรมและการสนทนาเบื้องต้น อนึ่งฯ โครงการดังกล่าวจัดขึ้น ภายใต้ความร่วม มือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในการ พัฒนาความรู้ และทักษะการใช้ภาษาต่าง ประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็นหนึ่งใน พันธกิจ ของศูนย์บริการวิชาการ คณะอักษร ศาสตร์ ที่จะเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางอักษร ศาสตร์เพื่อเอื้อประโยชน์แก่ประชาคมภายนอก
11
12
ฅนอักษรฯ
สัมภาษณ์และเรียบเรียงโดย มีเกียรติ แซ่จิว
คุณนงเยาว์ จันทร์เขียน
คุณกมลรัตน์ โกมลนิรมิต
เวลาท�ำสัมภาษณ์ สิ่งหนึ่งที่ผู้เขียนชอบสังเกตคือ ‘ประกายในแววตาของคู่สนทนา’ เราจะรู้สึกได้ถึงพลังงานบางอย่างหรือที่เรียกว่า ‘ไฟ’ ในการท�ำงาน โดยเฉพาะพนักงานใหม่ๆ ความกระตือรือร้น ใคร่กระหายต่างๆ จะยิ่งชัดเจนมาก และยิ่งกับบางคนนั้น งาน ประจ�ำจึงคล้ายเป็นการลากเส้นต่อจุดไปสู่หนทางใหม่ๆ ในวันข้างหน้า ราวกับคนๆ นั้นล่วงรู้ว่าอนาคตตัวเองต้องการจะเป็นอะไร เช่นที่ ปีเตอร์ เอฟ. ดรักเกอร์ กล่าวว่าในหนังสือ ‘ปัญญางาน จัดการตน’ ตอนหนึ่งว่า “ฉันต้องการเห็นคนแบบไหน เมื่อฉันส่อง กระจกในตอนเช้า” ฅนอักษรฯ ประจ�ำฉบับนี้ก็เช่นเดียวกัน เมื่อได้ฟังเธอสนทนาแต่ต้นจนจบ ก็ยิ่งเห็นตัวตนที่ชัดเจนของเธอมากขึ้น ดังที่เธอได้เล่าเรื่องราวต่างๆ และมุมมองคิดบวกที่น่าประทับใจให้เราฟังในฉบับต้อนรับ ‘วันตรุษจีน’ ฉบับนี้
13
“งานสายนี้กับอาชีพตอนเป็นครูต่างกัน ไหม” ต่างกันเยอะเลยคะ เพราะอย่างตอนเรา เป็นครู เราเจอปัญหาแค่กับเด็กนักเรียน อย่างเด็กประถมเขาจะมีความซื่อ เขามี อะไรก็จะพูดออกมาตรงๆ แต่งานที่ท�ำอยู่ ตรงนี้ เราต้องมาจับงานที่เป็นเอกสาร แล้วติดต่องานกับทางผู้ใหญ่ เหมือนตอน แรกเราไม่ค่อยชิน แต่หลังๆ คือพอเรา ปรับตัวได้และเราก็สนุกไปกับมัน ช่วง แรกเราไม่เคยเจองานในสายนี้มาก่อน ก็ เลยอาจจะยากส�ำหรับเรา แต่เราจะเป็น คนที่อ่อนน้อมถ่อมตน มันก็เลยง่ายใน การเข้าหาผู้ใหญ่
“รู้สึกว่าอยากมาท�ำงานที่นี่” ชื่อกมลรัตน์ โกมลนิรมิต ชื่อเล่น เนม เป็น คนกรุงเทพฯ โดยก�ำเนิด จบการศึกษาจาก มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลธั ญ บุ รี คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ เคยท�ำงานเป็นครูสอนภาษาอังกฤษ สอน ตั้งแต่เด็กอนุบาล 1- ป.6 ที่โรงเรียนเอกชน แห่งหนึ่ง ประมาณ 1 ปี หรือ 2 เทอมการ ศึกษา หลังลาออกจากอาชีพครู มีแพลนว่า จะเรียนต่อ เลยพยายามศึกษาพัฒนาด้าน ภาษา ก่อนจะมาได้งานที่คณะอักษรฯ ทั้งที่ ตอนนั้นมีอยู่ 3 คณะที่เรียกสัมภาษณ์ แต่ก็ รู้สึกว่าอยากมาท�ำงานที่นี่
“ตอนนี้ ส นใจเรื่ อ งการจั ด รายการวิ ท ยุ อักษรพาที” เนมคุ ย กั บ อาจารย์ เ กี่ ย วกั บ การจั ด รายการ เราอยากจะลองเปลี่ยนหรือลอง ท�ำให้รายการวิทยุมีคนมาสนใจมากขึ้น ส่วนใหญ่ตอนนี้งานหลักๆ จะเป็นเกี่ยว กับรายการวิทยุที่รับผิดชอบ ก็เลยอยาก จะลองปรับเปลี่ยนรูปแบบตรงนี้ พัฒนา ให้ดูน่าสนใจยิ่งขึ้น เห็นทางสถานีบอกว่า อยากประชาสัมพันธ์รายการเพื่อดึงดูดวัย รุ่นให้มาฟังเพิ่ม อย่างตอนนี้ก็มีการ โปรโมทรายการวิทยุอยู่ คือเราอยากจะ ประชาสัมพันธ์ให้มากที่สุด เพราะตอนนี้ ทางสถานีมีการประชาสัมพันธ์รายการอยู่ อย่างรายการนี้จัดมานานแล้ว และเป็น รายการที่ดีให้สาระความรู้ด้วย อยากให้ คนฟังเยอะๆ ตอนนี้ก็ปรึกษาทางอาจารย์ อยู่ แต่ก็ยังไม่รู้ว่าจะเปลี่ยนแปลงไปแบบ ไหน ไหนๆ ก็มารับผิดชอบตรงนี้แล้ว เรา ก็อยากจะท�ำให้มันออกมาดีที่สุด
“เจ้าหน้าที่บริการการศึกษา” ต�ำแหน่งงานที่ท�ำตอนนี้เริ่มลงตัวแล้ว เข้ามา เริ่มงานตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2560 ท�ำมา ได้ประมาณ 3-4 เดือนแล้ว หน้าที่หลักๆ จะ เป็นผู้ดูแลด้านการจัดรายการวิทยุอักษรพาที การจัดประชุมคณะกรรมการส่งเสริมผลงาน วิชาการ แล้วก็จะมีด้านของทุนวิจัย ก็จะดูแล ในสองส่วน คือทุนตีพิมพ์เป็นภาษาต่าง ประเทศกั บ การเสนอผลงานวิ ช าการทั้ ง ใน และต่างประเทศ และโครงการอาศรมวิจัย “ปั ญ หาในการท� ำ งานรั บ มื อ และแก้ ไ ข หัวหน้าที่ดูแลงานโดยตรงคือ ผศ.ดร.พรรณี อย่างไร” ชีวินศิริวัฒน์ (รองคณบดีฝ่ายวิจัย) กับพี่แหวว (คุณวิภา หอมศิริ ผอ.ฝ่ายสนับสนุนวิชาการ) เป็นคนที่พอเวลาเจอปัญหาอะไรหนักๆ เข้ามา ก็จะมองในแง่บวกไว้ก่อน คิดในแง่ ดีไว้ก่อนเสมอ ส่วนใหญ่จะปรึกษากับ
14
หัวหน้าถ้ารู้สึกว่าเราแก้เองไม่ได้ อย่างเช่นเวลาเจองานที่มัน เปลี่ยนแปลงกะทันหัน ก็จะรีบแจ้งไปที่อาจารย์พรรณีก่อน อาจารย์ก็จะคอยช่วยเหลือตลอด “แบบอย่างในการท�ำงาน” อาจารย์พรรณีจะเป็นแบบอย่างในการท�ำงาน อาจารย์จะใจเย็น และใจดีมาก ไม่ว่าเรื่องอะไร อาจารย์จะพยายามท�ำให้ได้ เหมือน ทุกอย่างส�ำหรับอาจารย์จะต้องผ่านไปได้เสมอ อาจารย์เป็นแบบ อย่างในด้านการท�ำงาน ปัญหาในการท�ำงานที่เข้ามาอาจารย์จะ ค่อยๆ คิด ค่อยๆ แก้ไปทีละอย่าง จริงๆ หลายคนเลยที่เหมือน เป็นต้นแบบ พี่ปุย ก็ใช่ (หัวหน้ากลุ่มภารกิจงานวิจัยและวิชาการ) ก็จะสอนว่าพอมีปัญหาอะไรมาเราต้องใจเย็นก่อน เพราะว่าเรายัง ไม่เคยเจอกับปัญหาหนักๆ พี่ปุยก็จะช่วยสอนตลอดว่าปัญหามีไว้ แก้เสมอ พี่ปุยจะเก่งด้านการจัดการปัญหา พี่แหววก็สอนเราให้มี ความละเอียดรอบคอบมากขึ้น พี่เจี๊ยบก็จะคอยสอนงานเราตอน เริ่มๆ เข้ามาท�ำ แต่ส่วนใหญ่เนมจะติดต่องานกับอาจารย์พรรณีกับ พี่ปุยอยู่บ่อยๆ จริงๆ มีอาจารย์อีกท่านที่ชื่นชอบคือ อ.ตุลย์ (ดร. ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา) คือส่วนตัวชอบประวัติศาสตร์ และ อาจารย์ก็มีเสน่ห์ในการพูดแถมคุยสนุกและมีความเป็นกันเอง “I’m a Student of World” เคยอ่านหนังสือเล่มหนึ่ง ชอบหลักคิดที่ว่า I’m a Student of World- ‘ฉันเป็นนักเรียนคนหนึ่งของโลกใบนี้’ คือเหมือนกับว่า ทุกๆ วัน เราต้องเจอเรื่องอะไรหลายๆ อย่าง ต้องเรียนรู้ใหม่ๆ เสมอ ท�ำให้เรารู้สึกว่าเอามาปรับใช้กับการท�ำงานได้ เนมคิดว่าสิ่ง ที่จะท�ำให้คนเราประสบความส�ำเร็จก็คือความพยายาม ถ้าเราไม่ ล้มเลิกความตั้งใจ เราท�ำได้ส�ำเร็จทุกอย่าง คือทุกวันของการ ท�ำงานเราต้องเจอกับสิ่งใหม่ๆ อยู่เสมอ ไม่ว่าเราจะท�ำมากี่ปีแล้ว ก็ตาม เราต้องปรับตัวให้ทันกับช่วงเวลาและการเปลี่ยนแปลง หลายๆ อย่าง ตัวเนมก็มีข้อผิดพลาด ก็จะเรียนรู้จากอดีตในความ ผิดมาแก้ปัจจุบัน ทุกคนย่อมมีความผิดพลาดได้เสมอ เพราะฉะนั้น เป็นเรื่องปกติที่จะผิด แต่เราต้องเรียนรู้จากความผิดนั้น บางทีอาจ เพราะเราเป็นคนมองบวกมาก จนที่บ้านบอกมองลบบ้างก็ได้ (หัวเราะ) “ไม่หยุดพัฒนาตัวเอง” เป็นคนไม่ค่อยเที่ยว อย่างตอนนี้ก็จะเรียนพิเศษทั้งเสาร์อาทิตย์ และอ่านหนังสือภาษาอังกฤษเพิ่ม เพราะเนมจบเอกภาษาอังกฤษ มา เราก็ไม่อยากจะทิ้งตรงนี้ที่เราเรียนมา เราจึงต้องไปเรียนเสริม เราจะได้ฝึกใช้ภาษาอยู่ทุกๆ วัน และก็จะเป็นคนชอบอ่านหนังสือ
กับดูหนังแนวประวัติศาสตร์ เพราะเนมมองว่าการย้อนอ่าน ประวัติศาสตร์จะท�ำให้เราเข้าใจปัจจุบัน บางอย่างผลจากอดีตส่ง มาปัจจุบันเสมอ ล่าสุดก็เพิ่งอ่านหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ทางแถบยุโรป โดยเฉพาะอังกฤษ อีกอย่างเนมเป็นคนที่อ่านได้ เรื่อยๆ แต่ไม่ชอบยึดติดหรือชอบอะไรจริงจัง เราเป็นคนที่ชอบรับ ทุกอย่างเข้ามา แล้วจะมองมุมมองแบบกว้างมากกว่า ช่วงนี้จะดู หนังซีรีส์ประวัติศาสตร์ของอังกฤษเรื่องเกี่ยวกับควีนวิตอเรีย รู้สึก ว่าท่านเป็นผู้หญิงที่เก่งและประทับใจค่ะ ตอนนี้คิดเรื่องเรียนต่อ ป.โทไว้ด้วยเหมือนกัน ว่าจะเรียนเกี่ยวกับภาษาและวรรณกรรม อังกฤษ อยากลองเรียนวรรณกรรมดูเพราะยังไม่เคยเรียน “101 ปีอักษรศาสตร์” ที่คณะอักษรฯ เพื่อนร่วมงานดีกับเนมมาก เรารู้สึกเราประทับใจ หลายๆ อย่างที่นี่มาก จริงๆ พี่ๆ เจ้าหน้าที่และอาจารย์น่ารักหลาย ท่านมาก ที่ส�ำคัญคณะอักษรฯ เป็นคณะที่มีความเป็นเอกลักษณ์ และมีความเป็นโบราณสถานและความทันสมัยอยู่ในตัวของคณะ เอง และมีความเป็นเลิศด้านวิชาการ พอมีคนพูดถึงคณะอักษร ศาสตร์ จุฬาฯ ทุกคนก็จะแบบโอโห คือความเป็นเลิศด้านวิชาการ ของคณะอักษรฯ เองด้วย รวมทั้งความเก่าแก่ของคณะเองด้วย เน มก็เชื่อว่าในอีก 10 ปี 20 ปีข้างหน้า คณะอักษรฯ ก็จะยังคงความ เป็นเลิศไว้เสมอ รู้สึกดีใจที่ได้มาเป็นส่วนหนึ่งของคณะอักษรฯ และรู้สึกประทับใจ คิดว่าเป็นการตัดสินใจที่ถูกต้องที่เข้ามาท�ำงาน ที่คณะอักษรศาสตร์
15
ข่าวบริการวิชาการ: ใคร ท�ำอะไร ที่ไหน อาจารย์ ดร. สรคม ดิสสะมาน
อาจารย ดร. สรคม ดิสสะมาน ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ ได้รับเชิญจาก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุราษฎร์ธานี ให้เป็นผู้ตรวจสอบเครื่องมือวิจัยแก่นิสิต ระดับปริญญาโท หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วิชาหลักสูตรและการสอน
16
ปฏิทินกิจกรรมคณะอักษรศาสตร์ เดือนกุมภาพันธ์ 2561
21
22
22
23
ภาควิชาประวัติศาสตร์
สาขาวิชาภาษาเอเชียใต้
ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
การกลั บ มาของคอลิ ฟ ะห์ ผู ้ ท รง ธรรมในโลกยุคห่างไกลจากอุดมคติ โดย ผศ.ดร.จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์ (เวลา 16:30 - 18:30 น. ณ ห้อง 401/18-19 อาคารมหาจักรีสิรินธร)
งานเสวนาภารตวิ ท ยาครั้ ง ที่ 2/2561 หัวข้อ "บาลีสันสกฤตใน จารึกกัมพุชพากย์" เรื่องร่องรอย ค� ำ ยื ม ภาษาบาลี สั น สกฤตแต่ โบราณ ที่ปรากฏในจารึกภาษา เขมร โดย อาจารย์ ดร. ดาวเรือง วิทยารัฐ (เวลา 13.00 – 16.00 น. ณ ห้อง 707 อาคารบรมราชกุมารี)
ซีรีย์เสวนา ริอ่าน: ส�ำรวจความ พยศของตัวบททางเลือก หัวข้อ "เกม" โดย เดชรัต สุขก�ำเนิด และ ก่อพงศ์ วิชญาปกรณ์ (เวลา 13.30 - 16.00 น. ณ ห้อง 707 อาคารบรมราชกุมารี)
โครงการเสวนาบรรณาธิ ก าร ศึกษา เรื่อง “ทางรอดหรือทาง ตายแห่ ง อนาคตของประเทศ และรั ฐ บาลที่ ไ ม่ มี ร ะบบหนั ง สื อ ของชาติ” (เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้อง 303-304 อาคารมหา จักรีสิรินธร)
27
28
ภาควิชาภาษาอังกฤษและหลักสูตร EIL
ภาควิชาประวัติศาสตร์
Corpus Data and Usage-based Approaches to Grammar โดย Assoc. Prof. Michael Barlow (เวลา 13:30 - 15:30 น. ณ ห้อง 707 อาคารบรมราชกุมารี)
จาก เจิ้ง เหอ ถึง สี จิ้นผิง: เมื่อจีน กลับมาเป็นผู้ชี้น�ำระเบียบโลก โดย ผศ.ดร.วาสนา สงศ์สุรวัฒน์ (เวลา 16:30 - 18:30 น. ณ ห้อง 401/18-19 อาคารมหาจักรีสิรินธร)
17
Year 10, No. 4: 17 February 2018 News from the International Affairs Section
HE Tej Bunnag at BALAC Talks
On Saturday, February 3, 2018, His Excellency Tej Bunnag, Ph.D., a former Foreign Minister and a former ambassador of Thailand to several countries was invited to share his experience at the BALAC Talks organized by the BALAC Program on the topic of Language and Culture in the Life of a Thai Diplomat. The two-hour talk covered His Excellency’s experience since childhood until his time at the Ministry of Foreign Affairs. Being a son of a diplomat and a renowned translator, Dr. Bunnag was immersed into the context of literacy since childhood.
His
reading novels aloud to his Mon caretaker since he was very young led to his passion to read and sharpened his skills in the Thai language. When he started his undergraduate studies at Cambridge University, his parents insisted on him speaking 100% Thai at home to improve his Thai. Language mixing was prohibited in the household. Although the former diplomat agreed that being a bilingual or trilingual speaker these days is a desirable quality for most careers, he stressed that as a Thai
18
citizen, one must be fluent in Thai to work in Thailand. As a Thai diplomat, he had to deal with Thai people more than foreigners. His skills in Thai became useful when he had to negotiate with his Thai colleagues, which was, ironically, far more challenging than with foreigners.
When the
Cambridge and Oxford graduate was asked about the qualifications of a good diplomat, he stated that skill in negotiation is the primary quality. Additionally, knowledge in history is also essential.
He
commented that expertise in international law or international relations does not make a good diplomat. This is because what the career requires is a good negotiator, especially one representing a developing country such as Thailand. The Faculty of Arts was extremely honored to have HE Tej Bunnag joining us at this event. With his warm and amiable personality, the former Foreign Minister provided beneficial insights for both the students who aspire to be diplomats and those who wish to learn about the importance of language, culture, and literacy in the life of such a truly international person as Dr. Tej Bunnag.
19
WELCOMING JOBS.AC.UK REP On February 1, 2018, Yunlong Zhao, Head of Market Development (Asia Pacific), Jobs. ac.uk, paid a visit to the Faculty of Arts. Welcomed by Associate Professor Suradech Chotiudompant, Ph.D., Associate Dean in International Affairs, Mr. Zhao sought consultation in terms of market expansion for foreign lecturers both at the Faculty and in Thailand as a whole. The discussion entailed the projection of overseas staff hiring mainly from the UK, both for the BALAC and Thai programs. The focus was on the Faculty of Arts because a greater number of foreign personnel is hired here. Jobs. ac.uk, originally launched by the University of Warwick, is now a leading international career platform for academics and research staff. Even though their current markets are located in Europe and the US, the company endeavors to expand their scope to cover Asia, especially Southeast Asia, where international hiring is on the rise.
20
Cornell’s Southeast Asian Program to Collaborate with the Faculty of Arts
On February 7, 2018, Professor John Whitman, Ph.D., representing the Southeast Asian Program (SEAP) at Cornell University, paid a visit to the Faculty of Arts to discuss the possibility of establishing a memorandum of understanding. Present at the discussion were Assistant Professor Wasana Wongsurawat, Ph.D., Assistant to the CU President in charge of research affairs, Associate Professor Suradech Chotiudompant, Ph.D., Associate Dean in International Affairs, Assistant Professor Pawan Ruangsilp, Ph.D., Head of the Department of History, Assistant Professor Pittayawat Pittayaporn, Head of the Department of Linguistics, and Namphueng Padamalangura, Ph.D., Director of the Thai Studies Center. The amiable conversation involved a detailed discussion of the scope and types of potential collaboration. It was concluded that the two institutions would sign a faculty-level MoU soon to facilitate the exchanges at the postgraduate levels. This would provide opportunities for the faculty members and students from the two institutions who conduct research on Southeast Asian studies to travel abroad and enjoy academic resources at Cornell. Further funding may be secured through each institution’s in-house grants or such external research agencies as the Thailand Research Fund or the Royal Golden Jubilee Ph.D. Program.
21
22
VISIT BY UNIVERSITY OF TOKYO DELEGATES On February 5, 2018, Shimura Tsugihiro and Junko Fujimoto from the International Affairs Department, the University of Tokyo, visited the Faculty of Arts, to meet with our students both from the Thai and the BALAC programs who are interested in continuing their postgraduate study at one of the most world-renowned Japanese universities. Thanks to the cooperation with Associate Professor Duantem Krisdathanont, Ph.D., the students were given details about the programs of study available at the University of Tokyo, as well as possible funding from government agencies. After the meeting, both delegates had lunch with the Dean, accompanied by the Associate Dean and the Assistant Dean in charge of international affairs. Mr. Tsugihiro expressed the strong interest in the co-organization of a summer program in Bangkok, in which University of Tokyo students may participate in classes in Thai language and culture, as well as enjoying some cultural trips and activities. The summer program could be a fruitful point to jump start a series of potential cooperation between the Faculty of Arts and the University of Tokyo.
23
CALENDAR OF EVENTS 21
22
22
23
Department of History
South Asian Languages Section
Department of Comparative Literature
Department of Library Science
The Return of Khalifah: Lead- Indology Seminar 2/2018 "Pali
Alternative Text Series # 2
Editorial
er of Justice in the World Far and Sanskrit in Cambodian
Reading Games by Dr De-
from Ideal by Assistant Pro- Scriptures: Traces of Ancient
charut
fessor Julispong Chularatana, Pali and Sanskrit loan words
Korphong
PhD (16:30-18:30 hrs, Room in Cambodian Scriptures" by
(13:30-15:00 hrs, Room 707,
401/18-19, Maha Chakri Si- Daoruang
Boromrajakumari Building)
rindhorn Building)
Wittayarat,
PhD
(13:00-16:00 hrs, Room 707,
Sukkumnoed
and
Witchayapakorn
Studies
Seminar
Project "Survival or Death of the Future of the Nation and the Government, Not Having a National Book System" (13:00-16:00 hrs, Room 303-304, Maha Chakri Sirindhorn Building)
Boromrajakumari Building)
27
28
Department of English and EIL
Department of History
Corpus Data and Usage-based From Zhen He to Xi Jinping: Approaches to Grammar by When China Returns to Lead Associate Professor Michael World Order by Assistant ProBarlow
(13:30-15:30
hrs, fessor Wasana Wongsurawat,
Room 707, Boromrajakumari PhD (16:30-18:30 hrs, Room Building)
401/18-19, Maha Chakri Sirindhorn Building)
The Faculty of Arts Public Relations and Internal Communications Assistant Professor Dr Siraprapa Chavanayarn –PR Coordinator
Please send any announcements or information on your current as well as past events to Ms Kankanok Chimsang at artspr08@hotmail.com, pr.arts.chulalongkorn@gmail.com Tel. 662 218 4885
The Faculty of Arts Public Relations and Internal Communications Assistant Professor Dr Siraprapa Chavanayarn –PR Coordinator
Please send any announcements or information on your current as well as past events at artscu.net Tel. 662 218 4885