1
ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๒๓ วันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๖๐
2
จดหมายข่าวเทวาลัย ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๒๓ วันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๖๐
วาดภาพโดย น.ส.สุธรี า ศรีตระกูล (อักษรศาสตร์#80)
จดหมายข่าวเทวาลัย ที่ปรึกษา
รศ.ดร.กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา คณบดี รศ.ดร.สุรเดช โชติอุดมพันธ์ รองคณบดี ผศ.ดร.นิรดา จิตรกร ผู้ช่วยคณบดี ผศ.ดร.อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล ผู้ช่วยคณบดี อ.William Whorton
ผู้รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ และสื่อสารองค์กร ผศ.ดร.ศิรประภา ชวะนะญาณ ผู้ช่วยคณบดี (Siraprapa.C@chula.ac.th)
ภาพปก น.ส. มนัสนันท์ ด่านมงคลทิพย์ (อักษรศาสตร์#82)
โครงการระดมเงินบริจาค ในโอกาส ๑๐๐ ปีอักษรศาสตร์ จุฬาฯ
อ่านจดหมายข่าวเทวาลัยฉบับย้อนหลังได้ท่ี http://www.arts.chula.ac.th/~sandbox/dhevalai/ ส่งข่าวประชาสัมพันธ์ได้ท่ี http://artscu.net คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร. (662) 218 - 4870 www.arts.chula.ac.th
3
6 อาจารย์คณะอักษรศาสตร์ ได้รับรางวัลอาจารย์ดีเด่น สออ. ประเทศไทย ประเภทอาจารย์อาวุโสดีเด่น สาขามนุษยศาสตร์
ข่าวจากภาควิชาบรรณารักษ์ศาสตร์
11
ข่าวจาก EIL Program
12
ข่าวจากภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ
13
ข่าวจากหอพระไตรปิฎกนานาชาติ
14
ข่าวจากศูนย์การแปลและการล่าม เฉลิมพระเกียรต
20
ข่าวบริการวิชาการ: ใคร ทำ�อะไร ที่ไหน
21
ปฏิทินกิจกรรม เดือนพฤศจิกายน
5 ศิษย์เก่า อักษรศาสตร์ บริจาคสมทบทุน เงินทุนอักษรศาสตร์ร้อยปี
10
ฅนอักษรฯ คุณรัศมี สุวรรณกำ�เนิด
17
4
สุจริตธรรมน�ำรัฐถ้วน บรมราโชวาทล้วนค�ำ ปวงราษฎร์จอดจิตจ�ำ รู้รักสามัคคีแม้
เจ็ดสิบฉน�ำ ทิพย์แท้ ปฏิบัติ ตามเฮย กว่าสิ้นกัลป์สมัยฯ
รวมไทยเป็นหนึ่งด้วย ภักดี บรมราชสมภพเก้าสิบปี ผ่องแพร้ว ยอยศพระภูมี เดิมเกียรติ ไท้เฮย ใจกระจ่างปานประทีปแก้ว รุ่งรุ้งลออถวายฯ 5 ธันวาคม 2560 วันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร (ผศ.ดร.อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล ร้อยกรอง) พระบรมสาทิสลักษณ์: จิระรัตน์ แก้ววิลาศ
5
อาจารย์คณะอักษรศาสตร์ ได้รับรางวัลอาจารย์ดีเด่น สออ.ประเทศไทย ประเภทอาจารย์อาวุโสดีเด่น สาขามนุษยศาสตร์
คณะอักษรศาสตร์ขอแสดงความยินดีในโอกาสที่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริพร ภักดีผาสุข
หัวหน้าภาควิชาภาษาไทย ได้รับรางวัลอาจารย์ดีเด่น สออ.ประเทศไทย ประเภทอาจารย์อาวุโสดีเด่น สาขามนุษยศาสตร์
6
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วนิดา สุรวดี อดีตอาจารย์เกษียณอายุราชการของภาควิชา บรรณารักษศาสตร์ มอบเงินเพื่อจัดตั้งเงินทุน ผู้ช่วยศาสตราจารย์วนิดา สุรวดี
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
เมื่อวันศุกร์ที่ 1 ธันวาคม 2560 เวลา 13.00 น. ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์สุทธิลักษณ์ อ�ำพันวงศ์ อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะ อักษรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วนิดา สุรวดี อดี ต อาจารย์ ป ระจ� ำ ภาควิ ช าบรรณารั ก ษศาสตร์ ได้มามอบเงินเพื่อจัดตั้งเงินทุน ผู้ช่วยศาสตราจารย์วนิดา สุรวดี ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ส่งเสริมการศึกษา วิจัย ดูงาน ฝึกอบรม ประชุมสัมมนาทางบรรณารักษศาสตร์ และ สารสนเทศศึกษา หรือเรื่องที่เกี่ยวข้องใน ประเทศหรือต่างประเทศแก่นิสิตภาควิชา บรรณารักษศาสตร์ 2. การอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับนิสิตภาควิชา บรรณารั ก ษศาสตร์ ที่ ค ณะอนุ ก รรมการ บริหารเงินทุนภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ เห็นสมควร ในการนี้ รองศาสตราจารย์ ดร. สุรเดช โชติ อุดมพันธ์ รองคณบดี ได้รับมอบหมายจาก คณบดีคณะอักษรศาสตร์ให้มารับมอบทุนดัง กล่าว และได้กล่าวขอบพระคุณผู้ช่วย ศาสตราจารย์วนิดา พร้อมกับมอบของที่ ระลึก ทั้งนี้ คณาจารย์ภาควิชา บรรณารักษศาสตร์ อดีตคณาจารย์ของภาค วิชาฯ ที่เกษียณอายุราชการ รวมถึงลูกศิษย์ ของผู้ช่วยศาสตราจารย์วนิดา ได้เข้าร่วมพิธี รับมอบทุนดังกล่าวด้วย
เครดิตภาพจาก https://www.facebook.com/pimrumpai.premsmit/
7
“แทนพระคุณเทวาลัย สู่ศตวรรษใหม่อักษรศาสตร์” โครงการระดมเงินบริจาคในโอกาส ๑๐๐ ปีอักษรศาสตร์ จุฬาฯ
เนื่องในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปีอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ในปี ๒๕๖๐ คณะ อักษรศาสตร์ จุฬาฯ ใคร่เรียนเชิญพี่น้องชาวอักษรศาสตร์ทุกท่านและ ทุกรุ่น มาช่วยกันพาคณะอักษรศาสตร์ของเราก้าวไปสู่ศตวรรษใหม่ ด้วย การร่วมแรงร่วมใจกันสมทบทุนให้กับโครงการระดมเงินบริจาคในโอกาส ๑๐๐ ปีอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลัก ดังนี้
เนื่องจากขาดแคลนงบประมาณ นิสิตที่ไม่มีกำ�ลังทรัพย์จึงไม่มีโอกาส พัฒนาตนเองด้วยการเดินทางไปศึกษาแบบแลกเปลี่ยนระยะสั้นที่ต่าง ประเทศ
๒. พัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการของคณะอักษรศาสตร์ ด้วยการ สนับสนุนโครงการแลกเปลี่ยนนิสิตและอาจารย์กับสถาบันในต่างประเทศ ในปัจจุบัน นิสิตอักษรศาสตร์ที่ต้องการเดินทางไปศึกษาแบบแลกเปลี่ยน ระยะสั้นที่ต่างประเทศมีจำ�นวนมากขึ้นเรื่อยๆ คณะต้องการให้เงิน สนับสนุนเป็นบางส่วนเหมือนคณะและสถาบันอื่นๆ แต่ไม่สามารถทำ�ได้
* ผู้บริจาคเงินให้แก่คณะอักษรศาสตร์โดยตรง สามารถนำ�ใบเสร็จไปลด หย่อนภาษีได้ ๒ เท่า * ผู้บริจาคเงินให้แก่มูลนิธิฯโดยตรง สามารถนำ�ใบเสร็จไปลดหย่อนภาษี ได้ ๑ เท่า
๓.เพื่อเป็นเงินทุนในการบำ�รุงรักษาอาคาร ระบบ และวัสดุอุปกรณ์ ทั้งหมดของอาคารมหาจักรีสิรินธร ซึ่งเป็นอาคารเพียงแห่งเดียวที่เป็น ๑. เพื่อสนับสนุนเงินทุนการศึกษาให้แก่น้อง ๆ นิสิตอักษรศาสตร์ที่ กรรมสิทธิ์ของคณะอักษรศาสตร์ในปัจจุบัน ขาดแคลนทุนทรัพย์หรือประสบเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ ในปัจจุบัน คณะฯ ต้อง จัดสรรทุนการศึกษาให้กับนิสิตรวมทั้งสิ้น ๑๕๐ คน เป็นเงินประมาณสาม ชาวอักษรศาสตร์ทุกท่านสามารถ ล้านบาทต่อปี และเมื่อดูแนวโน้มที่ผ่านมา มีนิสิตที่ขาดแคลนเพิ่มจำ�นวน อ่านรายละเอียดของโครงการได้ที่ ขึ้นเรื่อยๆ จำ�นวนเงินทุนการศึกษาซึ่งมหาวิทยาลัยจัดสรรมาให้คณะนั้น https://www.arts.chula.ac.th/~sandbox/give/ จึงไม่เพียงพอที่จะมอบให้นิสิตเหล่านี้ และกรอกใบแสดงความจำ�นงบริจาคออนไลน์ได้ที่ https://goo.gl/ หมายเหตุ: นิสิตปริญญาตรีที่ขาดแคลน ๑ คนต้องการทุนการศึกษาปีละ forms/nwRdOMzwzPHeCmJV2 หรือดาวน์โหลดใบแสดงความจำ�นง ๘๔,๐๐๐ บาทต่อปี บริจาคได้ที่ http://www.arts.chula.ac.th/doc/donateform.pdf
8
9
10
ศิษย์เก่า อักษรศาสตร์ บริจาคสมทบทุน เงินทุนอักษรศาสตร์ร้อยปี
เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2560 รองศาสตราจารย์สุภัทรา อักษรานุเคราะห์ เฟรชชี่ปี 2500 และ อบ. รุ่น 25 กรุณาบริจาคสมทบทุนเงินทุน อักษรศาสตร์ร้อยปี จ�ำนวน 84,000 บาท
วันที่ 1 ธันวาคม 2560 ผู้แทนอักษรศาสตรบัณฑิต (อ.บ.) รุ่น 44 รหัส 19 กรุณามอบเงิน บริ จ าคสมทบทุ น เงิ น ทุ น อั ก ษรศาสตร์ ร ้ อ ยปี จ�ำนวนเงิน 84,019 บาท เป็นเงินบริจาคงวด แรกของรุ่น 44
11
The English as an International Language (EIL) Program
"CAPTIONED VIDEOS IMPROVE VERBAL COMPREHENSION. BUT DO THEY (REALLY) IMPROVE LISTENING SKILLS?"
12
ECO-CRITICISM IN THE 21ST CENTURY
ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ
ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญนิสิต นักศึกษา คณาจารย์และผู้สนใจ เข้าฟังการบรรยายเรื่อง "Eco-criticism in the 21st Century" โดย Associate Professor Yuan Shu จาก Texas Tech University วันจันทร์ที่ 18 ธันวาคม 2560 เวลา 9.30 น. ณ ห้อง 708 อาคารบรมราชกุมารี
13
หอพระไตรปิฎกนานาชาติ
กิจกรรมสนทนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ครั้งที่ 24
"พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียนักเรียนไทย"
กิจกรรมสนทนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ครั้งที่ 24
"พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียนักเรียนไทย" โดย วรลักษณ์ ภักตร์อ�ำไพ และ สิรภพ ลู่โรจน์เรือง นิสิตคณะเศรษฐศาสตร์ (นานาชาติ) จุฬาฯ ผู้ได้รับรางวัลชนะเลิศ ในการประกวดโครงการ Redesigning Thailand #4 จัดโดย ทีดีอาร์ไอ วันพุธที่ 20 ธันวาคม 2560 12.00 - 13.00 น. (ลงทะเบียน 11.30 น. ) ณ หอพระไตรปิฎกนานาชาติ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ชั้น 2 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ มอบหนังสือ พระนิพนธ์ของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ เป็นของขวัญวันปีใหม่แก่ผู้เข้าร่วม ผู้สนใจเข้าร่วมแจ้งชื่อได้ที่ โทร. 02-218-4916 หรือ e-mail: tipitaka.chula@gmail.com
ศูนย์การแปลและการล่ามเฉลิมพระเกียรติ
14
Music, Translation and Politics โดย Dr. Sebnem Susam-Saraeva
15
ศูนย์การแปลและการล่ามเฉลิมพระเกียรติขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมการ สัมมนาแนวโน้มปัจจุบันของการวิจัยการแปลหัวข้อ “Music, Translation and Politics” โดย Dr. Sebnem Susam-Saraeva, senior lecturer, University of Edinburgh, UK ในวันศุกร์ที่ 15 ธันวาคม 2560 เวลา 10.00-12.00 ห้อง 401/5 อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะ อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กำ�หนดการ
9.30-10.00 ลงทะเบียน 10.00-11.30 การบรรยายโดย Dr. Sebnem Susam-Saraeva (บรรยายเป็นภาษาอังกฤษ) 11.30-12.00 แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและอภิปราย ท่านที่สนใจกรุณาลงทะเบียนโดยกรอกข้อมูลในแบบฟอร์มตามลิงค์นี้ https://docs.google.com/…/1GHC3sVLmV0yge2tqSKhFpxHVo9J…/edit หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ ccti_2010@hotmail.com ไม่มีค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมสัมมนา
Abstract Music, Translation and Politics Within popular music studies, the connections between politics and music have been well-documented. From hip hop’s spread as the sound of dissidents to censorship imposed on raï, the field is rife with examples where music’s potential as a political tool has been recognized both by those who utilize it as such and those who are threatened by it. Research on translation and music, on the other hand, is just beginning to acknowledge the significance of politics and is on the lookout for methodological and conceptual tools which could shed clearer light on the phenomena in question. The talk will offer an overview of areas where translation, music and politics intersect. These range from issues of accessibility in ‘art music’ and the way they are governed by domestic policies, to politics of gender and race as reflected in rap lyrics’ interlingual and intralingual translations circulated on online forums; from ‘majority’ language cover versions of ‘minority’ folk songs, and vice versa, to the global circulation of partisan songs, such as ‘Bella ciao’, since the Italian resistance movement to this day, in multilingual versions. The talk will focus on why music seems to have the political power it is attributed with, how this power is harnessed by various social agents within different historical and social contexts, and how it is enhanced and modified by translations and other interlingual activities, which, in turn, become acts of politics in and of themselves.
16
Wonderful Poland in Stamps
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วริตตา ศรีรัตนา ภาควิชาภาษาอังกฤษ ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรร่วมเสวนาหัวข้อ "มารี คูรี – สตรีเปลี่ยนโลก: ชีวิตจริงหลังดวงสแตมป์" ร่วมกับ คุณกสินา ลิมสมานพพรรณ (ผู้แทนจากOXFAM) และ ดร.พิภัทร พฤกษาโรจนกุล (วิศวกรนิวเคลียร์ช�ำนาญการพิเศษ รักษาการที่ปรึกษาด้านพลังงานปรมาณู ส�ำนักปรมาณูเพื่อสันติ) ในวันที่ 16 ธันวาคม 2560 เวลา 10.30-12.00 น. งานเสวนาครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของนิทรรศการ “Wonderful Poland in Stamps” ซึ่งจัดโดยสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐโปแลนด์ประจ�ำประเทศไทย ร่วมกับไปรษณีย์ไทยและ ไปรษณีย์โปแลนด์ ณ อาคารไปรษณีย์กลาง บางรัก ระหว่างวันศุกร์ที่ 15 ถึง วันอาทิตย์ที่ 17 ธันวาคม 2560
17
ฅนอักษรฯ เรียบเรียงโดย มีเกียรติ แซ่จิว
คุณนงเยาว์ จันทร์เขียน
คุณรัศมี สุวรรณกำ�เนิด
หลักคิดในการท�ำงานของแต่ละบุคคล บอกความเป็นตัวตนของคนได้เสมอ เราจะใช้ ชีวิตไปวันๆ หรือสนุกกับงานที่ได้รับมอบหมายอย่างกระตืนรือร้น ผลของงานที่ออกมา ให้ค�ำตอบได้เป็นอย่างดี เช่นเดียวกับค�ำถามที่เราถาม คุณรัศมี สุวรรณก�ำเนิด หรือ คุณ กิ๊ฟท์ ฅนอักษรฯ ฉบับนี้ว่ามีหลักคิดในการท�ำงานอย่างไร คุณกิ๊ฟท์ตอบเป็นสองค�ำ ออกมาว่า “สนุก...ใจ” คือ สนุก กับการท�ำงานจะท�ำให้งานมีคุณภาพ กับ ใจ คือมีใจกับ การท�ำงาน ผลลัพธ์มักจะออกมาดีเสมอ เมื่อได้ฟังค�ำตอบของหลักคิดดังกล่าวแล้ว ก็ ประเมินได้ไม่ยากว่าทุกวันที่มาท�ำงานนั้น คุณกิ๊ฟท์มาพร้อมกับค�ำว่าสนุกและมีใจรักใน การท�ำงาน และที่ส�ำคัญเราอยากจะขอเพิ่มเติมค�ำว่า ‘ทีมเวิร์ค’ อีกสักค�ำที่เห็นได้ชัดว่า คุณกิ๊ฟท์มีและเป็นส่วนหนึ่งที่ส�ำคัญในศูนย์บริการวิชาการอย่างแท้จริง
18
จากศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่งจุฬาฯ สู่ ศูนย์ บริการวิชาการ คณะอักษรฯ สวัสดีค่ะ ชื่อรัศมี สุวรรณก�ำเนิด ชื่อเล่น กิ๊ฟท์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี เอกภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เคยท�ำงานที่ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่งจุฬาฯ มาก่อน และเริ่มเข้ามาท�ำงานที่ศูนย์บริการ วิชาการตอนเดือนมกราคม ปี 2556 โดย อาจารย์ท่านหนึ่งแนะน�ำมาค่ะ ปีหน้าก็เข้าสู่ปี ที่ 5 แล้ว หน้าที่หลักจะดูแลโครงการอบรม ภาษาไทยส�ำหรับชาวต่างประเทศ ตั้งแต่การ รับสมัคร จัดท�ำกิจกรรมต่างๆ ประสานงานกับ อาจารย์ผู้สอนและดูแลโครงการ Summer School ค่ะ ‘สนุก’ กับ ‘ใจ’ รับมือกับปัญหาในการท�ำงาน งานของศูนย์บริการวิชาการ ส่วนมากที่มี ปั ญ หามั ก จะเกิ ด กั บ บุ ค คลภายนอกที่ ม าใช้ บริการ โดยเฉพาะชาวต่างชาติ ซึ่งแต่ละคนจะ มีความเยอะอยู่แล้ว เราก็จะแก้ปัญหากับคน เหล่านี้ด้วยกฎระเบียบต่างๆ ที่ศูยน์ฯ ก�ำหนด ขึ้นมา ถือว่าเป็นตัวแก้ไขปัญหาได้ในระดับ หนึ่ง แต่ก็อาจจะให้เวลาท�ำความเข้าใจกันนิด นึง ก็จะมีหลักคิดในการท�ำงานทุกครั้งว่าเรา ต้อง สนุกกับการท�ำงาน เพราะเมื่อเราสนุก แล้วก็จะท�ำให้งานมีคุณภาพ และที่ส�ำคัญก็คือ ใจ เราต้องมีใจกับการท�ำงาน ผลลัพธ์ในงานที่ ท�ำจึงจะออกมาดีเสมอ อาจารย์และเพื่อนร่วมงาน อาจารย์ส่วนมากจะเป็นกันเองกับเจ้าหน้าที่ น่ารักค่ะ อาจารย์ที่จะสนิทมากหน่อยก็จะมี ความบันเทิง มีเรื่องเม้าส์กันอยู่เรื่อยๆ แก้ เครียดดีค่ะ ส่วนผอ.รักสงบ (ผศ.ดร.รักสงบ วิจิตรโสภณ) ให้อิสระในการท�ำงานอย่างเต็มที่ ทุ ก เช้ า ที่ เ จอจะมี แ ต่ ร อยยิ้ ม มอบให้ กั บ เจ้ า หน้าที่ เหมือนเป็นก�ำลังใจในการท�ำงานใน ทุกๆ วัน เพื่อนร่วมงานที่เป็นมนุษย์แม่ ประเภทเดียวกัน น้องโจ้ (คุณสุรีพร เอมโอช) ถึงแม้เช้าบางวันจะดูเหมือนหมดแรงมาท�ำงาน
19
กันแต่เช้า แต่เมื่อถึงเวลางานจริงๆ ก็เหมือนองค์ลงกัน ทั้งคู่ ท�ำงานวนไป ไม่รู้เอาแรงกันมาจากไหน ใครว่า ท�ำงานศูนย์บริการวิชาการเป็นงานสบาย ไม่ใช่อย่างที่ คิดนะคะ เจ้าหน้าที่ศูนย์นี้ท�ำงานได้ทุกอย่างค่ะ งาน เอกสาร งานบ้านงานเรือน แม้กระทั้งตระเวนซื้อของ ปอกผลไม้ ล้างจาน แม้กระทั้งงานแบกหาม ก็ไม่เคย ได้ยินค�ำว่าเหนื่อยจากการท�ำงานของเพื่อนร่วมงานที่ น่ารักอย่างน้องโจ้เลย ข้อนี้น่าชื่นชมมากค่ะ ท�ำงานไป คุยเรื่องลูกกันไป แนวทางเดียวกันคุยกันได้ทุกเรื่องค่ะ อีกอย่างนิสัยค่อนข้างเหมือนกัน คาดหวังว่าศูนย์บริการวิชาการพัฒนาต่อไปอย่างไร การพัฒนาศูนย์ฯ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับคนใดคนหนึ่งเท่านั้น ถ้าทุกคนให้ความร่วมมือกัน และด�ำเนินไปตาม นโยบายเดียวกัน ก็จะท�ำให้กิจการงานของศูนย์ฯ เติบโตได้อีกเยอะค่ะ และทุกวันนี้ก็ยังมีความรู้สึก เหมือนเดิมคือ สนุกกับการท�ำงานคะ นอกเหนือจากงานประจ�ำ เคยบ่นกับตัวเองและคนรอบข้างเสมอว่า อยากเปิด ร้านขายของช�ำ อาจจะดูข�ำๆ แต่เหมือนเป็นความสุข เล็กๆ ที่อยากท�ำ ตอนนี้นอกเหนือจากงานประจ�ำแล้ว แทบจะไม่มีเวลาท�ำอะไรเลยนอกจากเลี้ยงลูก แล้วก็ สรรหาเมนูอาหารให้ลูก ทุกวันนี้ก็ปั้มนมวนไปค่ะ เหมือนเป็นหน้าที่หลักอีกอย่างที่ต้องท�ำเลยทีเดียว เนื่องในคณะอักษรครบ 100 ปี มีอะไรอยากฝากถึง คณะ อยากให้คณะได้เป็นส่วนหนึ่งในการผลิตทรัพยากร มนุษย์ที่มีคุณภาพทั้งทางด้านความรู้และเรื่องอื่นๆ แบบนี้ต่อไป ทุกวันนี้ที่ได้รับอยู่ก็โอเคในระดับหนึ่ง แต่อยากให้มีความเท่าเทียมกันในทุกระดับ ก็คงจะ ฝากไว้เท่านี้
20
ข่าวบริการวิชาการ: ใคร ท�ำอะไร ที่ไหน รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐมา พงศ์ไพโรจน์
รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐมา พงศ์ไพโรจน์ ภาควิชาภาษาอังกฤษ ได้รับเชิญจากสถาบัน ภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้เป็น feature speaker ในการประชุมนานาชาติ “Learning and Assessment in ELT: Challenges and Opportunities” โดยหัวข้อ บรรยายได้แก่ “Structural Competition in L2 Acquisition”เมื่อวันศุกร์ที่ 10 พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมอโนมาแกรนด์ กรุงเทพฯ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วริตตา ศรีรัตนา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วริตตา ศรีรัตนา ภาควิชาภาษาอังกฤษ ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากร ร่วมเสวนาหัวข้อ "มารี คูรี – สตรีเปลี่ยนโลก: ชีวิตจริงหลังดวงสแตมป์" ร่วมกับ คุณกสินา ลิมสมานพพรรณ (ผู้แทนจากOXFAM) และ ดร.พิภัทร พฤกษาโรจนกุล (วิศวกรนิวเคลียร์ ช�ำนาญการพิเศษ รักษาการที่ปรึกษาด้านพลังงานปรมาณู ส�ำนักปรมาณูเพื่อสันติ) ในวันที่ 16 ธันวาคม 2560 เวลา 10.30-12.00 น. งานเสวนาครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของนิทรรศการ “Wonderful Poland in Stamps” ซึ่งจัดโดยสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐโปแลนด์ ประจ�ำประเทศไทย ร่วมกับไปรษณีย์ไทยและไปรษณีย์โปแลนด์ ณ อาคารไปรษณีย์กลาง บางรัก ระหว่างวันศุกร์ที่ 15 ถึง วันอาทิตย์ที่ 17 ธันวาคม 2560
21
ปฏิทินกิจกรรมคณะอักษรศาสตร์ เดือนธันวาคม 2560
8
15
18
20
EIL Program
ศูนย์การแปลและการล่ามเฉลิมพระเกียรติ
ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ
หอพระไตรปิฎกนานาชาติ
Captioned videos improve verbal comprehension. But do they (really) improve listening skills? (เวลา 12.30-13.30 น. ณ ห้อง 707 อาคารบรมราช กุมารี)
Music, Translation and Politics โดย Dr. Sebnem Susam-Saraeva (เวลา 10.0012.00 น. ณ ห้อง 401/5 อาคาร มหาจักรีสิรินธร)
Eco-criticism in the 21st Century โดย Associate Professor Yuan Shu (เวลา 9.30-11.30 น. ณ ห้อง 708 อาคารบรมราชกุมารี)
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียนักเรียน ไทย โดย วรลักษณ์ ภักตร์อ�ำไพ และ สิรภพ ลู่โรจน์เรือง (เวลา 12.00-13.00 ณ หอพระไตรปิฎก นานาชาติ อาคารมหาจุฬาลงกรณ์)
22
Year 9, No. 23: 2 December 2017 News from the International Affairs Section
Kunming Visit
Yunnan University organized the South and Southeast Asian University Rectors Forum on November 26-27, 2017, in Kunming, PRC. Among delegates joining the forum were representatives from Chulalongkorn University: Professor Wasee Tulvatana, M.D., Associate Professor Suradech Chotiudompant, Ph.D., and Theerawat Theerapojjanee, Ph.D. The forum was held with the view towards establishing an academic network among universities in China, South Asian and Southeast Asian regions. Being the first meeting of its kind, some of the significant issues covered during the discussion concerned the constitution of a China-South and Southeast Asian University Network. In the constitution, participants from more than 40 universities, including Fudan University, Jawaharlal Nehru University, Uni-
23
versity of Colombo, Souphanouvong University, Royal University of Phnom Penh, and Mandalay University, were encouraged to reflect on the proposed agreement. The core objectives of the proposal of the establishment of this new network will be: (1) to hold Rectors Forum on a regular basis, which will conduct talks on innovation and development of regional higher education; (2) to explore the possibilities of creating talent cultivation programs as well as setting up an international certification system to foster the mutual development of academic projects among universities involved; (3) to promote international cooperation in academic research with a clear aim towards regional development both in economic and social dimensions; and (4) to build and expand this network into an interactive platform to increase its members’ international influence. On November 28, the delegates from the Faculty of Arts, Chulalongkorn University, visited the School of Foreign Languages, Yunnan University. They were warmly welcome by Peng Rong, Party Secretary, and Luo Hong, Vice Dean. The discussion entailed the areas of potential collaboration between the School of Foreign Languages, Yunnan University, and the Faculty of Arts, Chulalongkorn University, with the emphasis on the teaching and learning of Thai as a foreign language, which is increasingly popular at Yunnan University, if not overall in the Yunnan region where the Thai language, culture, and customs are well-acknowledged. The delegates were also led to a classroom where Thai was being taught and learnt how popular the Thai language was among the languages chosen by Yunnan students. In the afternoon, the delegates continued their trip to Yunnan Around Asia Education (YAAE) Headquarters. Greeted by Dr. Ma Chi and her team, the delegates visited the office and classrooms of the YAAE. Both the officials and the students at the center provided a welcoming ceremony, comprising speeches delivered in Thai and English, a fashion show of Thai costumes, and group activities showcasing their command of both Thai and English. The YAAE is an active academic center in the Yunnan region, recruiting Yunnan students solely for Chiangmai University and the Faculty of Humanities of Kasetsart University.
24
Chulalongkorn University’s MOU with Anglo-American University in Prague BALAC and CES
Anglo-American University in Prague
provided in English. Lecturers and
Eastern European Studies. Faculty of
(AAU), Czech Republic, will be the first
researchers at the university earned
Arts students are welcome to enroll
university in Central Europe to sign a
their
in
university-level MOU with Chulalongkorn
Berkeley, Stanford, Yale, and Paris-
Lifestyles, Literature, Music”,
University. This occasion is an outcome
Sorbonne. In 2010, AAU was the first
of Central Europe: Prague, Vienna
of the strong collaboration between AAU
non-US university in the world invited
and Budapest”, “Literature of Prague”,
and the Faculty of Arts, Chulalongkorn
to the Western Association of Schools
“Prague Art and Architecture”, “Vaclav
University, as well as the Centre for
and Colleges (WASC). Having gained
Havel: Playwright, President, Dissident”,
European Studies at Chulalongkorn
this prestigious American accreditation
“Advanced Seminar on Kafka” and
University.
in 2016, AAU is the first university in
“Czech as a foreign language”, among
Anglo-American University in Prague
Europe to become member of WASC.
many other interesting courses.
(AAU), established in 1990, is the oldest
AAU is renowned for its excellence in
private institution of higher education
the field of Humanities and Cultural
in the Czech Republic. Courses are
Studies,
degrees
from
particularly
Cambridge,
Central
and
courses
such
as
“Subcultures: “Cities
25
Past Collaboration in Picture:
On Monday 5 June 2017, Assistant Professor Verita Sriratana, PhD, then Acting Deputy Director for Academic Affairs of the Centre for European Studies & Deputy Director of the Bachelor of Arts in Language and Culture (BALAC) International Programme of the Faculty of Arts, was warmly received by Mr Petr Jan Pajas, President of Anglo-American University (AAU) in Prague, and Professor Milada Polišenská, Provost & Distinguished Senior Lecturer, at the President's office to discuss further collaboration between AAU and the Central and Eastern European Studies Section of the Centre for European Studies at Chulalongkorn University, as well as the Faculty of Arts, Chulalongkorn University.
Past Collaboration in Picture:
On Monday 19 September 2017, His Excellency Mr Marek Libřický, Ambassador of the Czech Republic to the Kingdom of Thailand, delivered a lecture on the politics of Central and Eastern Europe to MA students at Chulalongkorn University. He was warmly received by Assistant Professor Natthanan Kunnamas, PhD, Director of the Centre for European Studies and Director of the MA in European Studies Programme (MAEUS), and Professor Milada Polišenská, PhD, then Visiting Lecturer and Researcher at the Centre for European Studies. This special lecture was held as part of the “External Relations of the EU” course, Chulalongkorn University’s MAEUS programme.
26
The inauguration of the MOU signing ceremony was held at Anglo-American University in Prague on Wednesday 29 November 2017 and was presided over by His Excellency Mr Narong Sasitorn, Ambassador of the Kingdom of Thailand to the Czech Republic. This historic MOU will strengthen academic collaboration between Chulalongkorn University and Anglo-American University in Prague, particularly in terms of staff and student exchange between AAU and Chulalongkorn University’s Faculty of Arts, Centre for European Studies and the MA and PhD in European Studies programmes. It marks the beginning of a new chapter in Chulalongkorn University’s connection with the many fine universities in Central Europe.
from left: Milada Polisenska, Deputy President & Chief Academic Advisor HE Mr Narong Sasitorn, Ambassador of the Kingdom of Thailand to the Czech Republic Petr Jan Pajas, President of Anglo-American University
from left: Peter Bolcha, Vice President for Research Cyril Simsa, Director of International Cooperation Carollann Braum, Associate Dean, John H. Carey II School of Law Martin Vimmr, Assistant Dean, School of International Relations and Diplomacy Milada Polišenská Petr Jan Pajas HE Mr Narong Sasitorn Miroslav Svoboda, Vice-President for Faculty and Study Affairs Jan Vašenda, Head of Vice-Presidents Support Office Kateřina Vanová, Assistant Dean, School of Humanities and Social Science Zita Lara, Marketing Director
27
NEWS FROM BALAC
The Inaugural BALAC Talk by Mr. Kong Rithdee Lowell Skar The first BALAC Talk took place on November 25 from
gram, opened the BALAC Talks. After welcoming
13:00 to 15:30 in room 105 of the Maha Chulalongkorn
those in attendance, she thanked Mr. Kong Rith-
Building. The inaugural BALAC Talk speaker was Mr.
dee for starting the series and then wished the
Kong Rithdee, the long-time renowned film and culture
talks great success. Mr. Rithdee was introduced
critic at the Bangkok Post.
by Ajarn Dr. Lowell Skar from the BALAC Program
The BALAC Talks are a special lecture series spon-
by giving a biographical sketch and list of some of
sored by the BALAC Program and hosted by the Fac-
his many achievements.
ulty of Arts. The aim of this series is to show the value
In his presentation, Mr. Rithdee stressed how mis-
of the humanities in today’s world. By inviting speak-
fortunes made him what he is: a voracious, hard-
ers from diverse backgrounds who are distinguished in
working, insightful, humble and talented autodi-
different fields but are also engaged with the human-
dact. One great misfortune reading diverse writers
ities, the talks hope to point out to students a few of
was central to his work as a cultural critic and to
the many opportunities for their futures, and to remind
his way of conveying a distinctive understanding
the Chulalongkorn University community and the wid-
of culture. Appreciating and understanding writers
er public of the importance of studying language and
helps readers to gain a humane understanding of a
culture in today’s world.
complex, contradictory and multifaceted world full
Associate Professor Dr. Kingkarn Thepkanjana, Dean
of depth and subtlety. Mr. Rithdee used eight main
of the Faculty of Arts and Director of the BALAC pro-
works – ranging from J.K. Rowling’s Harry Potter to
28
Student’s view BALAC Talk No. 1 An early misfortune in the life of Kong Rithdee was to be refused from the Art Faculty of Chulalongkorn University. Ironically, it is precisely there that he was invited to be the first speaker of the BALAC Talk series and to share with an audience of students, professors and other interested people about his pathway to success in becoming the renowned film critic he is now. As a selfmade but also a humble man who explained about the importance of doubt in his writing, he presented a booklist of stories which were, he says, his teachers in life. To mention a few authors, he discussed about Marquez, Rushdie, Joyce or Murakami. As a skilled cultural critic, Kong Rithdee left his audience with a taste of curiosity for the recommended titles. During the Q&A session, he also gave insightful comments on his idea of subjectivity as an unavoidable feature of humans, but a feature one could observe, analyze and challenge through exposure with culture. An inspiring first talk of a promising series.
Amaël Cognacq, exchange student in the BALAC Program
Roberto Bolaño Ávalos’ The Savage Detectives – to discuss
reading public is to work out in words a reconciliation of what
how literature affected his view of the world and inspired him
he feels about the cultural object he is focusing on and the
in his work.
cultural meaning that this object has for the public. His jour-
When he finally turned to discuss film toward the end of his
nalism, in short, seeks to negotiate his personal feeling and
talk, rather than point to many specific films that he critiqued
the cultural meaning of cultural phenomena.
or that shaped his way of understanding film – he mentioned
After completing his talk, Mr. Rithdee entertained several
the surrealist classic Un Chien Andalou (1929) by Luis Buñuel
questions from the 40 or so people in the audience, and then
and Salvador Dalí and a few others – Mr. Rithdee focused on
concluded the first BALAC Talk. As a small token of appre-
how two film critics, the incisive Pauline Kale and the more
ciation, Dean Thepkanjana gave Mr. Rithdee a gift from the
populist Roger Ebert, taught him two important approaches to
BALAC Program and Faculty of Arts
writing about film.
The BALAC Talks series will continue into 2018, with three
The heart of Mr. Rithdee’s talk, however, lay in his pointing
more talks being planned for January and March 2018.
out that the main challenge as a film and cultural critic for a
29
CALENDAR OF EVENTS 8
15
18
25
EIL Program
Chalermprakiat Center of Translation and Interpretation
Department of Comparative Literatature
International Tipitaka Hall
Music, Translation and Politics
Eco-criticism in the 21st Cen-
by Dr. Sebnem Susam-Saraeva
tury by Associate Professor
(10:00-12:00 hrs, Room 401/5,
Yuan Shu (9:30-11:30 hrs,
Maha Chulalongkorn Building)
Room
Captioned
videos
improve
verbal comprehension. But do they (really) improve listening skills?
(12:30-13:30
hrs, Room 708, Boromrajkumari Building)
708,
Building)
Boromrajkumari
"Speech Is Silver, Silence Is a Thai Student" by Woraluck Phakamphai
and
Sirapob
Lurojruang (12:00-13:00 hrs, Room 105, Maha Chulalongkorn Building)
The Faculty of Arts Public Relations and Internal Communications Assistant Professor Dr Siraprapa Chavanayarn –PR Coordinator
Please send any announcements or information on your current as well as past events to Ms Kankanok Chimsang at artspr08@hotmail.com, pr.arts.chulalongkorn@gmail.com Tel. 662 218 4885
The Faculty of Arts Public Relations and Internal Communications Assistant Professor Dr Siraprapa Chavanayarn –PR Coordinator
Please send any announcements or information on your current as well as past events at artscu.net Tel. 662 218 4885