9
ก้าวข้ามโรคภัยกับ
ปัญหาสุขภาพผู้สูงวัย เรื่องและภาพ : อาทิมา
9
ก้าวข้ามโรคภัยกับ
ปัญหาสุขภาพผู้สูงวัย
ค�ำน�ำ
4
หนังสือ “ ก้าวข้ามโรคภัยกับ 9 ปัญหาสุขภาพผู้สูงวัย “ ถือเป็นแหล่งความ รู้ที่ปรารถนาต้องการให้ความช่วยเหลือช่วยเหลือแก่กลุ่มผู้สูงวัย และท่านผู้อ่านที่ สนใจทุกเพศทุกวัย ได้กา้ วข้ามโรคภัย อันประกอบไปด้วย 9 ปัญหาสุขภาพผูส้ งู อายุ อันได้แก่ อาการสับสนและสูญเสียความทรงจ�ำ ภาวะกระดูกพรุน ปัญหาการทรงตัว และการหกล้ม อาการนอนไม่หลับ ปัญหาการกลัน้ ปัสสาวะไม่อยู่ อาการมึนงงเวียน ศีรษะ ปัญหาภาวะทุพโภชนาการและความผิดปกติในการรับประทาน ปัญหาการ ได้ยิน และปัญหาการมองเห็น และนอกจากนี้ยังมีโรคที่เกี่ยวข้องกับอาการและ ปัญหาดังกล่าวอีกกว่า 11 โรค ทีค่ ดั สรรมาให้ทา่ นผูอ้ า่ นได้รบั ทราบข้อมูล และดูแล สุขภาพตัวเอง ทางผูจ้ ดั ท�ำหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า ท่านผูอ้ า่ นจะก้าวข้ามโรคภัยของปัญหาสุขภาพ ผู้สูงวัยไปด้วยกัน เพื่อสุขภาพที่ยั่งยืน
อาทิมา
5
สารบัญ 1
CHAPTER อาการสับสนและสูญเสียความทรงจ�ำ ............................Page 9
2
CHAPTER ภาวะกระดูกพรุน ............................Page 35
3
CHAPTER ปัญหาการทรงตัวและการหกล้ม Page 43..........................
4
CHAPTER อาการนอนไม่หลับ ............................Page 69 6
5
CHAPTER ปัญหากลั้นปัสสาวะไม่อยู่ Page 75..........................
6
CHAPTER อาการมึนงงเวียนศีรษะ ............................Page 85
7
CHAPTER
ปัญหาภาวะทุพโภชนาการและ ความผิดปกติในการรับประทาน Page 95............................
ปัญหาการได้ยิน ............................Page 109
9
8
CHAPTER
CHAPTER ปัญหาการมองเห็น Page 121........................... 7
“ก้าวข้ามโรคภัยของปัญหาสุขภาพผู้สูงวัยไปด้วยกัน... ...เพื่อสุขภาพที่ยั่งยืน”
1
CHAPTER
อาการ สับสนและ สูญเสีย ความทรงจ�ำ
“อาการหลงลืมหรือคิดช้าลงเป็นอาการที่พบได้เมื่ออายุมากขึ้น หากมีปัญหาสุขภาพที่เฉียบพลัน เช่น การอักเสบติดเชื้อ หัวใจหรือ สมองขาดเลือด ก็อาจเกิดอาการเพ้อ งุนงง สับสนได้ง่ายขึ้น แต่เมื่อ แก้ไขที่สาเหตุของการเจ็บป่วย อาการเหล่านี้ก็จะดีขึ้นได้”
12
สิ่งส�ำคัญสิ่งหนึ่งที่คนในครอบครัวควรสังเกตก็คือ หากพบว่าผู้สูงอายุเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง ทางด้านอารมณ์ พฤติกรรมและความทรงจ�ำอย่างต่อเนือ่ งและเป็นเวลานาน นัน่ อาจเป็นสัญญาณ ถึงอาการเริ่มต้นของภาวะสมองเสื่อมได้
โดยสัญญาณเตือนว่าผู้สูงอายุอาจมีอาการสมองเสื่อม เช่น เรียนรู้หรือจดจ�ำ สิ่งใหม่ๆ พูดซ�ำ้ ถามซ�ำ ้ เริม่ บกพร่องในการท�ำสิง่ ทีซ่ บั ซ้อน หลงหรือลืมทิศทางในทีท่ คี่ วร คุ้นเคย ไม่อยากเข้าสังคมหรือพูดน้อยลง อารมณ์หรือนิสัยเปลี่ยนแปลงไป เป็นต้น
ทั้งนี้ ภาวะสมองเสื่อมที่พบบ่อยที่สุดเกิดจากโรคอัลไซเมอร์ ซึ่ง เกิดจากการฝ่อของเนื้อสมอง แต่สมองเสื่อมสามารถเกิดจากสา เหตุอื่นๆ ได้ โดยจะขอยกตัวอย่างในโรคของ เส้นเลือดสมองตีบ และ โรคพาร์กินสัน 13
โรค หลอดเลือด สมอง (Stroke) 14
โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) คือ ภาวะที่สมองขาดเลือด ไปเลีย้ งเนือ่ งจากหลอดเลือดตีบ หลอดเลือดอุดตัน หรือหลอดเลือด แตก ส่งผลให้เนื้อเยื่อในสมองถูกท�ำลาย การท�ำงานของสมองหยุด ชะงัก
15
ความผิดปกติของหลอดเลือดสมอง ความผิดปกติของหลอดเลือดสมองที่ท�ำให้สมองขาดเลือด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (ischemic stroke) เป็นสาเหตุ ส่วนใหญ่ที่ท�ำให้เกิดโรคหลอด เลือดสมอง พบได้ประมาณ 80% หลอดเลือดสมองอุดตันเกิดได้ จากลิ่มเลือด ทีเ่ กิดขึน้ ในบริเวณอืน่ ไหลไปตาม กระแสเลือดจนไปอุดตันทีห่ ลอด เลือดสมอง หรืออาจเกิดจากมีลมิ่ เลือดก่อตัวในหลอดเลือดสมอง และขยายขนาดใหญ่ขึ้นจนอุดตัน หลอดเลือดสมอง ส่วนสาเหตุ ของหลอดเลือดสมองตีบอาจเกิด จากการสะสมของไขมันในหลอด เลือด ท�ำให้หลอดเลือดตีบแคบ มี ค ว า ม ยื ด ห ยุ ่ น แ ล ะ มี ประสิทธิภาพในการล�ำเลียงเลือด ลดลง 16
หลอดเลือดสมองแตก(hemorrhagic stroke) พบ ได้ประมาณ 20% ของโรคหลอดเลือดสมอง ท�ำให้บริเวณที่เปราะบางนั้นโป่งพอง และแตกออก หรือ
“...อาจเกิดจากหลอด เ ลื อ ด เ สี ย ค ว า ม ยืดหยุน่ จากการสะสม ของไขมั น ในหลอด เลือด...”
ท� ำ ให้ ห ลอดเลื อ ดปริ แ ตกได้ ง ่ า ย ซึ่ ง อั น ตรายมากเนื่ อ งจากท� ำ ให้ ป ริ ม าณ เลื อ ดที่ ไ ปเลี้ ย งสมองลดลงอย่ า งฉั บ พลันและท�ำให้เกิดเลือดออกในสมอง ส่ ง ผลให้ ผู ้ ป ่ ว ยเสี ย ชี วิ ต ในเวลาอั น รวดเร็วได้
17
ปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมอง ปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองมีหลายสาเหตุ แบ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันไม่ได้ และ ปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันได้ ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันได้มักมีสาเหตุจากสุขภาพโดยรวมและรูปแบบ การด�ำเนินชีวิต
ปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันไม่ได้ อายุ
เมื่ออายุมากขึ้น หลอดเลือด ก็จะเสื่อมตามไปด้วย โดย ผิวชั้นในของหลอดเลือดจะ หนาและแข็งขึ้นจากการที่มี ไขมันและหินปูนมาเกาะ รูที่เลือดไหลผ่านจะแคบลง เรื่อยๆ
เพศ
พบว่าเพศชายมีความเสี่ยงต่อโรคหลอด เลือดสมองสูงกว่าเพศหญิง ภาวะการแข็งตัวของเลือดเร็วกว่าปกติ ส่ง ผลให้เกิดการจับตัวกันของเม็ดเลือดและมี ลิ่มเลือดเกิดขึ้นได้ง่ายกว่าคนปกติ
18
ปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันได้ โรคหัวใจ
เช่ น โรคลิ้ น หั ว ใจผิ ด ปกติ หั ว ใจเต้ น ผิ ด จังหวะ เป็นสาเหตุของการเกิดลิ่มเลือด ถ้า ลิ่มเลือดไปอุดตันที่หลอดเลือดสมอง ก็จะ ท�ำให้สมองขาดเลือดได้
ยาคุมก�ำเนิด ความดันโลหิตสูง
เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ส�ำคัญที่สุดของโรคหลอด เลือดสมอง ผูท้ มี่ ภี าวะความดันโลหิตสูงจึงมี โอกาสเป็นโรคหลอดเลือดสมองได้มากกว่า คนปกติ
เบาหวาน
ในผู้หญิงที่ใช้ยาคุมก�ำเนิดที่มีฮอร์โมนเอส โตรเจนสู ง จะมี ค วามเสี่ ย งต่ อ การเกิ ด โรค หลอดเลือดสมองสูง
โรคซิฟิลิส
เป็นสาเหตุของหลอดเลือดอักเสบและหลอด เลือดแข็ง
การขาดการออกก�ำลังกาย
เป็นสาเหตุทที่ ำ� ให้หลอดเลือดแข็งทัว่ ร่างกาย หากเกิดที่สมองจะมีโอกาสเป็นโรคหลอด เลือดสมองมากกว่าคนปกติ 2-3 เท่า
ไขมันในเลือดสูง
เป็นความเสีย่ งของโรคหลอดเลือดสมองเช่น เดียวกับโรคหลอดเลือดหัวใจ คือภาวะไขมัน สะสมอยู่ตามผนังหลอดเลือด ท�ำให้กีดขวาง การล�ำเลียงเลือด 19
อาการของโรคหลอดเลือดสมอง เมื่อสมองขาดเลือดจะท�ำให้สมองไม่สามารถท�ำงานได้ ตามปกติ ซึ่งอาการแสดงต่างๆ จะมากหรือน้อยขึ้นกับ ระดับความรุนแรงและต�ำแหน่งของสมองทีถ่ กู ท�ำลาย เช่น
เดินเซ ทรงตัวล�ำบาก
ชาหรืออ่อนแรงที่ใบหน้าและ/หรือ บริเวณแขนขาครึ่งซีกของร่างกาย
พูดไม่ชัด ปากเบี้ยว มุมปากตก น�้ำลายไหล กลืนล�ำบาก 20
ตามัว มองเห็นภาพซ้อนหรือเห็นครึ่งซีก หรือตาบอดข้างเดียวทันทีทันใด
ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ
อาการเหล่านี้มักเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน ในรายที่มี ภาวะสมองขาดเลือดแบบชั่วคราว (transient ischemic attack: TIA) อาจมีอาการเตือนเหล่านี้เกิดขึ้นชั่วขณะแล้วหาย ไปเอง หรืออาจเกิดขึ้นได้หลายครั้งก่อนจะมี อาการสมองขาดเลือดแบบถาวร
“...ดังนั้นหากมีอาการผิดปกติเกิด ขึ้น ควรรีบพบแพทย์ทันที...” เนื่องจากอาการของโรคหลอดเลือดสมองจัดเป็นอาการร้ายแรงและอาจเป็นอันตรายถึงแก่ ชีวิต หรือหากไม่ถึงชีวิต ก็อาจท�ำให้กลายเป็นโรคอัมพาต อัมพฤกษ์ ไม่สามารถช่วยเหลือ ตนเองและต้องใช้เวลาในการรักษาฟื้นฟูสุขภาพต่อไป 21
การตรวจวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง
ในปัจจุบันมีวิธีการตรวจวินิจฉัยที่มีประสิทธิภาพและสามารถบ่งชี้ถึงต�ำแหน่งของสมองและ หลอดเลือดที่ผิดปกติ รวมถึงภาวะและสาเหตุที่เป็นปัจจัยเสี่ยงของการเป็นโรคหลอดเลือด สมองได้ เช่น
• การตรวจเลือดเพื่อดูความเข้มข้นและความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด • การตรวจระดับน�้ำตาลและระดับไขมันในเลือด • การตรวจหาการอักเสบของหลอดเลือด • การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiogram) เพื่อดูจังหวะการเต้น ของหัวใจที่ผิดปกติ • การตรวจสมองด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (computerized tomography) เพื่อดูว่าสมองมีภาวะขาดเลือดหรือภาวะเลือดออก ในสมองหรือไม่ • การตรวจอัลตราซาวนด์หลอดเลือดบริเวณคอ (carotid duplex scan) เพือ่ ดูขนาดและการไหลเวียนของหลอดเลือดแดงบริเวณคอที่ ไปเลีย้ งสมองด้วยคลืน่ ความถี่สูง • การตรวจสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (magnetic resonance imaging) เพื่อดูเนื้อสมอง หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดที่คอ เป็นวิธีการที่ ไม่เจ็บปวดและ มีประสิทธิภาพสูง
22
การรักษาโรคหลอดเลือดสมอง
การรักษาขึ้นกับสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองว่าเป็นหลอดเลือดสมองตีบหรือหลอดเลือด สมองแตก โดยจะมีแนวทางการรักษาที่แตกต่างกัน
หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน
เป้าหมายของการรักษาคือท�ำให้เลือดไหลเวียน ได้อย่างปกติ โดยทางเลือกในการรักษามีหลาย วิธี ในบางกรณีแพทย์อาจให้ยาละลายลิ่มเลือด ซึ่งพบว่าจะได้ผลดีกับผู้ที่มีอาการและอาการ แสดงของโรคหลอดเลือดสมองและรีบมาโรง พยาบาลภายในระยะเวลาไม่เกิน 4.5 ชั่วโมง
หลอดเลือดสมองปริแตกหรือ ฉีกขาด เป้าหมายของการรักษาคือการ ควบคุมปริมา เลือดที่ออกด้วยการรักษา ระดับความดันโลหิต ในกรณีทเี่ ลือดออกมาก แพทย์อาจพิจารณาท�ำการผ่าตัดเพื่อป้องกัน ความเสียหายต่อสมองทีอ่ าจเกิดขึน้ หากมีการ เปลี่ยนแปลงความดันโลหิต
23
การป้องกันการกลับเป็นซ�้ำ
การป้องกันเป็นการรักษาโรคหลอดเลือดสมองทีด่ ที สี่ ดุ และควรป้องกันก่อนการเกิดโรคหลอด เลือดสมอง....
...คือ ต้องควบคุมปัจจัย เสีย่ งทีส่ ง่ เสริมให้หลอดเลือด เกิดการตีบ อุดตัน หรือแตก เช่น ความดันโลหิตสูง โรค หัวใจ โรคเบาหวาน ไขมันใน เลือดสูง การสูบบุหรี่ หรือขาด การออกก�ำลังกาย เป็นต้น 24
ตรวจเช็กสุขภาพประจ�ำปีเพือ่ ค้นหาปัจจัยเสีย่ ง ถ้ า พบต้ อ งรี บ รั ก ษาและพบแพทย์ อ ย่ า ง สม�่ำเสมอ ในกรณี ที่ พ บว่ า มี ป ั จ จั ย เสี่ ย งที่ ท� ำ ให้ ห ลอด เลือดตีบ อุดตัน หรือแตก ต้องรักษาและรับ ประทานยาอย่างสม�่ำเสมอตามแผนการรักษา ของแพทย์ ห้ า มหยุ ด ยาเอง และควรรี บ พบ แพทย์ทันทีถ้ามีอาการผิดปกติ ควบคุมระดับความดันโลหิต ไขมัน และน�ำ้ ตาล ในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ควบคุมอาหารให้สมดุล หลีกเลี่ยงอาหารรส เค็ม หวาน มัน ออกก�ำลังกายสม�่ำเสมอ อย่างน้อย 30 นาที ต่อวัน 3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ และควบคุมน�ำ้ หนักให้ เหมาะสม งดสูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
25
ผู้ที่เป็นหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันแล้ว แพทย์จะให้การรักษาโดยใช้ยาเพื่อป้องกันการ กลับเป็นซ�้ำของโรคหลอดเลือดสมอง แต่การใช้ยาเหล่านี้จ�ำเป็นต้องมีการติดตามผลและใช้ภาย ใต้ค�ำแนะน�ำของแพทย์อย่างเคร่งครัด เนื่องจากถ้ามีการใช้ยาผิด ประมาทเลินเล่อ หรือไม่มีการ ติดตามดูแลอย่างสม�่ำเสมออาจเกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างรุนแรง เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้
26
โรค พาร์กินสัน (Parkinson) 27
โรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease) เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของเซลล์สมอง โดยเฉพาะ ส่วนที่สร้างโดพามีน (dopamine) ท�ำให้โดพามีนมีปริมาณน้อยลง จึง ส่งผลให้เกิดความผิดปกติของการเคลื่อนไหว
28
29
อาการของโรคพาร์กินสัน อาการทางกาย
สั่น
หน้านิ่ง
เคลื่อนไหวช้า
น�ำ้ลายไหล 30
ร่างกายแข็งเกร็ง พูดช้า เสียงค่อย
หกล้มง่าย
เดินล�ำบาก เดินซอยเท้า เท้าติดเวลาก้าวขา 31
อาการทางจิตใจ ซึมเศร้า วิตกกังวล
32
อาการอื่นๆ
ความจ�ำระยะสัน้ ไม่คอ่ ยดีในระยะต้น ความจ�ำเสือ่ มใน ระยะท้าย เหงื่อออกมาก ท้องอืด ท้องผูก ปัสสาวะบ่อย ควบคุมการปัสสาวะไม่ได้ การรับรู้กลิ่นและรสไม่ดี มึนศีรษะเวลาลุกขึ้นเนื่องจากความดันโลหิตต�่ำลง
33
สาเหตุของโรคพาร์กินสัน
ยังไม่ทราบสาเหตุ
“ในปัจจุบัน ที่ท�ำให้เกิดโรคพาร์กินสันอย่างแน่ชัด...”
...แต่เชื่อว่ามีปัจจัยที่อาจส่งผลให้เกิดโรคพาร์กิน สันได้ ได้แก่...
ปัจจัยทางพันธุกรรม ในรายที่มียีนผิดปกติอาจเพิ่มความเสี่ยงของการเกิด โรคพาร์กินสันได้
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม เช่น การได้รับสารบางอย่างเป็นเวลานานๆ ไม่ว่าจะโดยการ
สูดดมหรือการรับประทาน หากแต่ยังไม่ทราบว่าสารใดในสิ่งแวดล้อมที่มีส่วนท�ำให้เกิด โรคพาร์กินสัน
34
การรักษาโรคพาร์กินสัน
ในปัจจุบันยังไม่มีการรักษาโรคพาร์กินสันให้หายขาดหรือหยุดยั้งการด�ำเนินของโรคได้ ซึ่งวิธี การรักษาที่ใช้โดยทั่วไปมีดังนี้
การรักษาด้วยยา เป็นการรักษาตาม อาการ โดยใช้ยาที่ออกฤทธิ์ที่ระบบ โดพามีน
การรักษาโดยการผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึก (deep brain stimulation) เป็นวิธีการรักษาด้วย การผ่าตัดฝังขั้วไฟฟ้าเพื่อไปกระตุ้นสมอง ใช้ส�ำหรับ รักษาผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน ซึ่งเคยได้รับการรักษา ด้วยยา แต่มีอาการมากขึ้นจนการรักษาด้วยยาไม่ให้ ผลดีเท่าที่ควร
...ทั้งนี้แพทย์จะเป็นผู้พิจารณาวิธีการรักษาที่ เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย 35
2
CHAPTER
ภาวะ กระดูกพรุน
“โรคกระดูกพรุน คือ โรคกระดูกชนิดหนึ่งที่กระดูกเริ่ม เสื่อมและบางลงเนื่องจากการสูญเสียแคลเซียมที่สะสมในกระดูก”
38
โรคนี้จะไม่ก่อให้เกิดความ เจ็ บ ปวดนอกจากกระดู ก แตกหรื อ หั ก พบได้ บ ่ อ ย บริ เ วณกระดู ก สั น หลั ง สะโพก หรือข้อมือ รวมทั้ง ยั ง ส า ม า ร ถ เ กิ ด ไ ด ้ กั บ กระดู ก ส่ ว นอื่ น ๆ ของ ร่างกายอีกด้วย...
...ทั้งนี้โรคกระดูกพรุนเป็นสาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้เกิด ภาวะกระดูกหักหรือกระดูกสันหลังผิดรูปในสตรีสูงอายุ
39
สาเหตุของโรคกระดูกพรุน “การสูญเสียฮอร์โมนเพศหญิงเนื่องจากหมด ประจ�ำเดือน เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยของการเกิด โรคกระดูกพรุน โดย 25% ของสตรีที่มีอายุมากกว่า 60 ปีมักพบว่าเป็นโรคกระดูกพรุน”
การที่สตรีหมดประจ�ำเดือนเร็วหรือได้รับ การผ่าตัดรังไข่ทิ้งก่อนอายุ 45 ปี
อายุที่มากขึ้น โดยเมื่ออายุมากกว่า 50 ปี กระดูกจะบางลงทุก 1-3% ทุกปี
40
มีประวัติ ครอบครัวเป็น โรคกระดูกพรุน
น�้ำหนักลดลงอย่าง รวดเร็วเนื่องจาก โหมออกก�ำลังกาย หรืออดอาหาร ชาวผิ ว ขาวหรื อ เชื้อชาติชาวเอเชีย
ใช้ ย าสเตี ย รอยด์ เกินขนาด
สูบบุหรี่
ปัจจัยเสีย่ งร่วม ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด โรค
ดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์หรือ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เป็นประจ�ำ
ภาวะฮอร์โมน ไม่สมดุล เช่น โรคต่อมไทรอยด์
กระดูกพรุน
เป็นโรคเรื้อรัง เช่น โรคตับ โรคทางเดิน อาหารผิดปกติ
ขาดวิตามินดี หรือแคลเซียม 41
โรคกระดูกพรุนในเพศชาย โรคกระดูกพรุนสามารถพบได้ในเพศชายเช่นเดียวกัน แต่พบได้น้อยกว่าในเพศหญิง
“ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค คือ การเป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง และการขาดฮอร์โมนเพศชาย” 42
การป้องกันและการรักษา
รับประทานอาหารให้ครบทุกหมู่
โดยเฉพาะแคลเซียมและ วิตามินดีซึ่งเป็นแร่ธาตุส�ำคัญในการเสริมสร้างกระดูกให้แข็งแรง ควรได้รับ ปริมาณแร่ธาตุทั้ง 2 นี้อย่างเหมาะสมตั้งแต่วัยเด็กตลอดช่วงอายุเพื่อความแข็ง แรงของกระดูก ซึ่งจะสมบูรณ์ที่สุดในช่วงอายุ 20 ปีปลายๆ หรือ 30 ปีต้นๆ
ออกก�ำลังกายสม�่ำเสมอ
หลี ก เลี่ ย งการดื่ ม เครื่ อ งดื่ ม ที่ มี แอลกอฮอล์ ร วมถึ ง สารคาเฟอี น เนื่องจากมีผลท�ำลายกระดูก
งดสูบบุหรี่ ตรวจร่างกายเป็นประจ�ำ โดยเฉพาะ เมือ่ อายุมากกว่า 50 ปีควรเข้ารับการ ตรวจวั ด กระดู ก เพื่ อ ป้ อ งกั น การ เสื่อมแต่เนิ่นๆ
43
3
CHAPTER
ปัญหาการ ทรงตัวและ การหกล้ม
ปัญหาการทรงตัวหรือหกล้มในผูส้ งู อายุอาจเกิดได้จากหลายปัจจัย...
...เช่น ข้อเสื่อม กล้ามเนื้อลีบและอ่อนแรง โรคทางสมอง ความดันโลหิตตกเมื่อลุกขึ้นยืนจากท่านั่งหรือนอน หัวใจเต้นผิดจังหวะ ยาต่างๆ ที่มีผลต่อความดันโลหิตหรือท�ำให้ง่วง สภาพแวดล้อมที่มีแสงสว่างไม่เพียงพอ พื้นที่ลาดเอียงหรือลื่นเปียก เป็นต้น 46
ปัญหาการทรงตัวและการหกล้มเป็นปัญหา ที่ ส�ำ คั ญ มากส� ำ หรั บผู ้ สูง อายุ เนื่ องจากมี กระดูกบางพรุนอยู่แล้ว เมื่อหกล้มก็อาจ ท�ำให้กระดูกหักได้ง่ายและอาจเกิดปัญหา แทรกซ้ อ นที่ ต ามมาจากการผ่ า ตั ด และ นอนโรงพยาบาลนาน
และในบทนี้เราขอน�ำเสนอโรคที่อยู่ในกลุ่มปัญหาการทรงตัวหรือหกล้มในผู้สูงอายุ ได้แก่ โรคข้อเข่าเสื่อม โรคความดันโลหิตสูง และภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
47
โรค ข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthitis) 48
โรคข้อเข่าเสื่อม เกิดจากการที่กระดูกอ่อนซึ่งท�ำหน้าที่ ปกป้องและดูดซับแรงกระแทกภายในข้อเข่ามีการสึกหรอและ เสื่อมสภาพลง หากกระดูกอ่อนนี้เสียหายเป็นพื้นที่กว้าง กระดูก ในข้อเข่าจะเสียดสีกันเอง ท�ำให้เกิดการอักเสบและมีอาการปวด โดยทัว่ ไปหากเกิดจากการเสือ่ มของข้อมักจะเริม่ จากข้อเข่าด้านใน ก่อน เมื่อมีการสึกเพิ่มขึ้นจึงเสื่อมทั้ง 3 ข้อย่อยคือ ผิวข้อด้านใน ผิวข้อด้านนอก และผิวข้อด้านหลังกระดูกสะบ้า
49
สาเหตุของโรคข้อเข่าเสื่อม
พันธุกรรม และความผิดปกติแต่ก�ำเนิดบางชนิด เช่น ขา หรือเข่าผิดรูป
การใช้ข้อเข่าหักโหมซ�้ำๆ ท่าทางบางอย่างที่ต้องงอเข่ามากเกินไป เช่น การคุกเข่า หรือนั่งยองๆ ท�ำให้เข่าต้องรับแรง กดสูงกว่าปกติเป็นเวลานาน 50
อายุและเพศ โดยเมื่ออายุมากขึ้น ความสามารถในการ ซ่ อ มแซมตั ว เองของกระดู ก อ่ อ นก็ ล ดลง นอกจากนี้ ผูห้ ญิงทีม่ อี ายุมากกว่า 50 ปีขนึ้ ไป จะมี แ นวโน้ ม ของการเกิ ด ข้ อ เข่ า เสื่ อ มได้ มากกว่าผู้ชายที่อายุเท่ากัน
น�้ำหนักตัวมาก (BMI มากกว่า 23 กก./ม.2)
ได้รับการรักษาไม่ถูกต้อง
ประวัติการบาดเจ็บที่ข้อเข่า ซึง่ ส่งผลให้มโี อกาสเกิดข้อเข่าเสือ่ มได้สงู โดย อาจเป็นผลจากการบาดเจ็บ โดยถึงแม้รา่ งกาย จะมี ก ารซ่ อ มแซมตั ว เองหลั ง การบาดเจ็ บ โครงสร้างข้อเข่าก็อาจไม่แข็งแรงเหมือนเดิม
โรคไขข้ออักเสบ เช่น รูมาตอยด์ เกาท์ ส่งผลให้กระดูกอ่อน ถูกท�ำลายจนกระทั่งหมดไป ท�ำให้เกิดอาการ ปวดและข้อติดแข็งตามมา 51
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม
การรักษาที่ ไม่ใช่การผ่าตัด ช่วยบรรเทาอาการปวดและช่วยให้เข่า เคลื่อนไหวได้ดีขึ้น ได้แก่... • ปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ชีวิต ได้แก่ รับประทานอาหารที่เหมาะสมเพื่อ ควบคุมน�้ำหนักตัว ออกก�ำลังกายชนิดส่งแรงกระแทกข้อเข่าน้อยเป็นประจ�ำ เช่น ว่ายน�้ำ ขี่จักรยาน เดิน เพื่อส่งเสริมให้ข้อเข่าแข็งแรงขึ้น • ลดน�้ำหนักหากมีน�้ำหนักตัวมากเกินไป เพื่อลดแรงกดบนข้อเข่า • รับประทานยาแก้ปวดและยาต้านการอักเสบที่ ไม่ใช่สเตียรอยด์ • การฝึกกล้ามเนื้อต้นขาและ กายภาพบ�ำบัด • การรักษาด้วยการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
52
53
โรค ความดัน โลหิต (Hypertension) 54
โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่ ได้รับ การขนานนามว่า “เพชฌฆาตเงียบ” เนื่องจากมีความรุนแรงถึงแก่ชีวิตหาก ไม่ได้รับการวินิจฉัยแต่เนิ่น ทั้งนี้อันตรายของโรคได้แก่การที่ หัวใจต้องรับภาระหนักกว่าปกติ จนน�ำไปสูภ่ าวะแทรกซ้อนหลาย ประการ อาทิ กล้ามเนือ้ หัวใจหนาขึน้ หัวใจวาย และไตได้รบั ความ เสียหาย
แต่ที่ร้ายแรงที่สุดก็คือ การที่ภาวะ แทรกซ้อนเหล่านี้ด�ำเนินไปอย่างเงียบเชียบโดย ไม่มีสัญญาณบ่งชี้ใดๆ เลย 55
...โรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่ไม่ค่อยแสดงอาการผิดปกติ ยกเว้นในผู้ป่วยที่เป็นโรคความ ดันโลหิตสูงระยะรุนแรงก็อาจมีอาการแสดง เช่น......
ปวดศีรษะรุนแรง หายใจสั้น เลือดก�ำเดาไหล ซึง่ อาการเหล่านีย้ งั ถือว่าเป็นอาการที่ ไม่เฉพาะเจาะจงและบอก ไม่ได้ชดั เจน หรือในบางรายทราบเมือ่ ตรวจพบภาวะแทรกซ้อน จากโรคความดันโลหิตสูงขึ้นแล้ว ท�ำให้ต้องหมั่นมีการตรวจ สุขภาพและวัดค่าความดันอย่างสม�่ำเสมอ...
...จึงท�ำให้โรคนี้ถูกเรียกว่าเป็นฆาตกร เงียบ (Silent Killer) ที่ท�ำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ อย่างไม่ทันระวังตัว 56
สาเหตุของความดันโลหิตสูง โรคความดันโลหิตสูงแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ชนิดทีย่ งั ไม่ทราบสาเหตุทแี่ น่ชดั (Primary Hypertension หรือ Essential Hypertension) ซึ่งไม่สามารถระบุถึงต้นเหตุการเกิดได้ ชนิดที่ทราบสาเหตุ (Secondary Hypertension) ซึ่งอาจเกิดได้จากหลายสภาวะ เช่น ภาวะ หยุดหายใจขณะหลับ โรคไต ปัญหาต่อมไทรอยด์ เนือ้ งอกทีต่ อ่ มหมวกไต หลอดเลือดผิดปกติ แต่ก�ำเนิด การใช้ยาบางชนิด การใช้สารเสพติด หรือแอลกอฮอล์
57
การวินิจฉัยความดันโลหิตสูง
แพทย์จะวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงโดยดูจากการวัดค่าความดันโลหิตของผู้ป่วยเป็นหลัก และมีการตรวจวัดหลายครัง้ เพือ่ ความแม่นย�ำของผลการตรวจ ซึง่ ค่าความดันโลหิตทีว่ ดั ได้จะ แบ่งออกเป็น 2 ค่า
ค่าความดันซิสโตลิก (Systolic) เป็นความดันโลหิตในหลอดเลือด แดงขณะที่หัวใจบีบตัว
ค่าความดันไดแอสโทลิก (Diastolic) เป็นค่าความดันโลหิต ในหลอดเลือดแดงขณะหัวใจคลาย ตัว
หากวัดค่าความดันโลหิตได้สูงตั้งแต่ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ขึ้นไป แพทย์จะวินิจฉัยว่าผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง หากวัดได้ค่าความดันโลหิตสูงตั้งแต่ 130/80 มิลลิเมตร ปรอทขึ้นไป แพทย์จะวินิจฉัยว่าผู้ป่วยอยู่ในภาวะก่อน ความดันโลหิตสูง (Prehypertension)...
“...ซึ่งเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง ในอนาคต” 58
การรักษาและป้องกัน ความดันโลหิตสูง แพทย์ จ ะแนะน� ำ ให้ ผู ้ ป ่ ว ยปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมในด้ า นการรั บ ประทานอาหารเบื้องต้น โดยการ ลดอาหารประเภทโซเดียมสูง เน้นรับประทานผักและผลไม้ที่มี กากใยสูง ธัญพืช ปลาที่อุดมไปด้วย กรดไขมันที่ดีต่อร่างกาย หลีกเลีย่ งเนือ้ สัตว์ประเภทเนือ้ แดง ไม่ ดื่ ม แอลกอฮอล์ งดสู บ บุ ห รี่ ควบคู่ไปกับการออกก�ำลังกายอย่าง สม�ำ่ เสมอและการใช้ยาร่วมด้วย เพือ่ ช่วยปรับค่าความดันโลหิตให้ลดลง อยู่ในระดับปกติ หมัน ่ ตรวจสุขภาพเป็นประจ�ำเสมอ
ทั้งนี้การรักษายังต้องค�ำนึงถึง ชนิดของโรคด้วย เพราะหากเป็นชนิดที่ ทราบสาเหตุ ผู้ป่วยมีโอกาสในการรักษา หายได้มากกว่าชนิดที่ ไม่ทราบสาเหตุ 59
ภาวะหัวใจ เต้นผิดจังหวะ (Cardiac dysrhythmias) 60
หัวใจเต้นผิดจังหวะ คือ การทีห่ วั ใจเต้นไม่เป็นจังหวะตามธรรมชาติ โดยอาจเต้นเร็วเกินไปหรือช้าเกินไป ซึง่ เป็นผลจากการเปลีย่ นแปลง ของกระแสไฟฟ้าในหัวใจหรือเกิดไฟฟ้าลัดวงจรในห้องหัวใจ ท�ำให้ การสูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ ควร และอาจส่งผลให้ผปู้ ว่ ยมีภาวะเสีย่ งต่อภาวะหัวใจล้มเหลวหรือ หลอดเลือดสมองอุดตันเพิ่มมากขึ้น
61
ชนิดของภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะสามารถแบ่งได้เป็นหลายชนิด โดยสามารถแบ่งเป็นชนิดใหญ่ๆ ได้ 2 ชนิด ดังนี้
หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ มีอัตราการเต้นของ หัวใจมากกว่า100 ครั้ง ต่อนาทีขึ้นไป
หัวใจเต้นช้ากว่าปกติ อัตรา การเต้นของหัวใจต�่ำกว่า 60 ครั้งต่อนาที 62
สาเหตุของภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ สาเหตุที่ท�ำให้หัวใจเต้นผิดปกติมีความแตก ต่างกันไปในผู้ป่วยแต่ละราย
โดยการที่หัวใจจะเต้นเร็ว หรือช้าลงขึน้ กับพฤติกรรมในการ ด�ำเนินชีวิต ประวัติสุขภาพ และ ปัจจัยแวดล้อมของผู้ป่วยแต่ละ ราย
“สาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดภาวะ หัวใจเต้นผิดจังหวะ ได้แก่...” ความผิดปกติแต่กำ� เนิดหรือความผิดปกติ ของโครงสร้างหัวใจ เช่น กล้ามเนื้อหัวใจผิด ปกติแต่กำ� เนิด ลิน้ หัวใจรัว่ ผนังหัวใจหนาผิด ปกติ หลอดเลือดหัวใจตีบ ความผิดปกติของร่างกายที่มีผลต่อการ ท�ำงานของหัวใจ เช่น ความดันโลหิตสูง ไข มันในเลือดสูง เบาหวาน ภาวะไทรอยด์เป็น พิษ อิเล็กโทรไลต์ในร่างกายผิดปกติ ยาและสารบางชนิด เช่น ยาทีม่ สี ว่ นประกอบ ของแอมเฟตามีน คาเฟอีนที่อยู่ในชา กาแฟ หรือน�้ำอัดลม ความเครียดและความวิตกกังวล 63
อาการของภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ โดยส่วนใหญ่แล้วผู้ป่วยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะมัก ไม่ทราบว่าตนเองมีปัญหา โดยมักพบภาวะนี้จากการตรวจ สุขภาพหรือเมือ่ ป่วยด้วยโรคอืน่ แล้วมาพบแพทย์ แต่ในผูป้ ว่ ย บางรายอาจมีอาการปรากฏให้สังเกตได้ เช่น...
64
วิงเวียน หน้ามืด ตาลาย ใจสั่นบริเวณหน้าอก หายใจขัด เจ็บแน่นบริเวณหน้าอก เป็นลม หมดสติ 65
การตรวจวินิจฉัยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
• การซักประวัติอย่างละเอียด เช่น การดื่มชา กาแฟ หรือน�้ำอัดลม โรคประจ�ำตัวต่างๆ (เช่น เส้นเลือดหัวใจ อุดตัน ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หรือภาวะ ไทรอยด์) • การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) ในขณะที่มี อาการ • การติดเครื่องบันทึกคลื่นหัวใจไว้ที่ตัวผู้ป่วยเป็น เวลา 24 หรือ 48 ชั่วโมง (Holter monitoring test) ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการบ่อยแต่ไม่ได้เป็นตลอดเวลา • การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะที่ผู้ป่วย ออกก�ำลังกาย (exercise stress test; EST) • การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiogram) • การตรวจระบบการน�ำไฟฟ้าภายในหัวใจ (cardiac electrophysiology study)
66
การรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
1. การใช้ยาควบคุมจังหวะของหัวใจ ซึ่งถึงแม้จะไม่ช่วยให้หายขาด แต่ก็ลดความถี่ และความรุนแรงของการได้ โดยพบว่าหัวใจเต้นผิดจังหวะหลายชนิดตอบสนองดีต่อ การใช้ยา 2. การใส่เครือ่ งกระตุน ้ หัวใจ (pacemaker) เป็นการฝังเครื่องมือเล็กๆ ไว้ ใต้ ผิ ว หนั ง บริ เ วณกระดู ก ไหปลาร้ า เพือ่ ตรวจจับจังหวะการเต้นของหัวใจ และสอดสายน�ำไฟฟ้าไปยังหัวใจเพื่อ ควบคุมและกระตุ้นให้หัวใจเต้นตาม อัตราที่ก�ำหนด
3. การใช้ไฟฟ้ากระตุกเพื่อปรับการ เต้นของหัวใจ (cardioversion) ใช้ใน กรณีทหี่ วั ใจเต้นเร็วเกินไป โดยแพทย์ จะใช้ ก ระแสไฟฟ้ า จากเครื่ อ งส่ ง ภายนอกร่างกายซึง่ มีลกั ษณะเป็นแผ่น แปะที่ ห น้ า อกของผู ้ ป ่ ว ยเพื่ อ ปรั บ จังหวะการเต้นของหัวใจใหม่
67
4. การใช้ ส ายสวนเพื่ อ จี้ ก ล้ า มเนื้ อ หั ว ใจที่ น� ำ ไฟฟ้าผิดปกติ (ablation therapy) วิธนี เี้ ป็นการ รักษาที่ต้นเหตุซึ่งอาจช่วยให้ภาวะหัวใจเต้นผิด จังหวะบางชนิดหายขาดได้ โดยเป็นวิธีการ รั ก ษาที่ ต ่ อ เนื่ อ งจากการตรวจระบบ การน�ำไฟฟ้าภายในหัวใจ เมื่อสอดสาย สวนไปยังต�ำแหน่งที่เชื่อว่าน่าจะเป็น สาเหตุของความผิดปกติ แพทย์จะ ปล่ อ ยคลื่ น วิ ท ยุ ค วามถี่ สู ง เป็ น จุ ด เล็กๆ เพื่อท�ำลายเนื้อเยื่อหัวใจที่เป็น สาเหตุของหัวใจเต้นผิดจังหวะนั้น
5. การฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจ (implantable cardioverter defibrillator) เป็ น การฝั ง เครื่ อ งมื อ คล้ า ยกั บ เครือ่ งกระตุน้ หัวใจ ใช้ในกรณีทผี่ ปู้ ว่ ย มี ค วามเสี่ ย งหั ว ใจห้ อ งล่ า งเต้ น ผิ ด ปกติ (ventricular fibrillation) ซึ่ง อาจอันตรายต่อชีวิต โดยเมื่อหัวใจ เต้นช้า เครื่องมือจะท�ำหน้าที่ในการก ระตุน้ หัวใจ แต่เมือ่ หัวใจเต้นเร็ว เครือ่ ง มื อ จะปล่ อ ยพลั ง งานไฟฟ้ า ในระดั บ ที่ เหมาะสมเพื่ อ กระตุ ก หั ว ใจให้ ก ลั บ มาเต้ น ปกติทันที 68
การป้องกันภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ “ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะอาจไม่สามารถป้องกันได้เสมอไป แต่สามารถลดโอกาสเกิดให้น้อยลงได้ ดังนี้...”
หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เช่น กาแฟ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ความเครียด การสูบบุหรี่ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกก�ำลังกายสม�่ำเสมอ ตรวจสุขภาพและพบแพทย์ สม�่ำเสมอ
69
4
CHAPTER
อาการ นอนไม่หลับ
“ผู้สูงอายุมักมีปัญหาคุณภาพการนอนที่ลดน้อยลง อาจ หลับยากขึ้น ตื่นบ่อย หลับไม่ลึก และตื่นมาไม่สดชื่น... ...โดยมีสาเหตุจากสภาพร่างกายที่เปลี่ยนแปลงตามวัย รวมถึงอาจมีสาเหตุอื่นๆ เช่น ...
ภาวะซึมเศร้า ความเครียด ความวิตกกังวล อาการปวดต่างๆ กรดไหลย้อน ปัญหาการหายใจหรือโรคนอนกรน ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน ผลข้างเคียงจากยา” 72
ทั้งนี้อาการนอนไม่หลับมักส่งผลให้ เกิ ด ความเสี่ ย งต่ อ การลื่ น หกล้ ม อารมณ์หงุดหงิดหรือภูมคิ มุ้ กันลดลง จากการพักผ่อนไม่เพียงพอ และท�ำให้ เกิดปัญหาสุขภาพอื่นๆตามมา ซึ่งส่ง ผลต่ อ คุ ณ ภาพชีวิตโดยรวมในผู้สูง อายุ
73
การป้องกันและการดูแล จัดห้องนอนให้มบี รรยากาศ ที่ ช ่ ว ยให้ ห ลั บ สบาย เช่ น เ งี ย บ ส ง บ ใ ช ้ ผ ้ า ม ่ า น ผ้าปูที่นอนและผ้าห่มที่มีสีไม่ ฉูดฉาด ปรับอุณหภูมิในห้อง ให้ เ หมาะสม ไม่ ห นาวหรื อ ร้อนเกินไป
ไม่ ค วรนอนกลางวั น เป็ น เวลา นานๆ อาจหากิจกรรมเบาๆ ท�ำ หรือพูดคุยเล่น หากเพลียหรือ ง่วงจริงๆ อาจงีบได้บ้าง แต่ไม่ ควรงีบหลังบ่าย 3 โมง เพราะ จะท�ำให้กลาางคืนหลับยาก
ไม่ควรเข้านอนตั้งแต่หัวค�่ำมาก นัก เวลาที่เหมาะสมคือ 3-4 ทุ่ม และตื่นตี 4-5
พยายามนอน ให้ เ ป็ น เวลา และสถานที่ เ ดิ ม ทุ ก วั น เ พื่ อ ใ ห ้ เ กิ ด ความเคยชิน
พยายามดื่มน�้ำช่วงเช้า และกลางวัน และ ดืม่ ให้นอ้ ยลงหลัง อาหารเย็น เพื่อ ลดการปัสสาวะ ตอนกลางคื น นอกจากนี้ ค วร หลี ก เลี่ ย งเครื่ อ ง ดื่ ม ที่ มี ค าเฟอี น หลั ง เวลาบ่าย 2 โมง
ปรึกษาแพทย์เพื่อทบทวนยาที่ อาจท� ำ ให้ น อนไม่ ห ลั บ และ รักษาต้นเหตุที่ท�ำให้เกิดอาการ นอนไม่หลับ
หากต้องใช้ยานอนหลับ ควรอยู่ ภายใต้ ก ารดู แ ลของแพทย์ เนื่ อ งจากการใช้ ย าอย่ า งต่ อ เนื่องอาจท�ำให้ติดได้
5
CHAPTER
ปัญหากลั้น ปัสสาวะ ไม่อยู่
“การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูงอายุเป็นสิ่งที่ พบบ่อย จนกลายเป็นความเคยชินเมื่อมีอายุมากขึ้น...
78
...แต่ในความ เป็นจริง การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูง อายุ เป็นภาวะที่สามารถรักษาดูแลให้หาย หรือทําให้อาการดีขึ้นได้ ซึ่งการดูแลรักษา อาจมีความแตกต่างจากผู้ที่มีอายุน้อยกว่า อยู่บ้าง เพราะปัจจัยด้านสุขภาพที่แตกต่าง กันของผู้ป่วยแต่ละคน 79
สาเหตุของการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ อาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูงอายุนี้ อาจเกิดได้จากสาเหตุที่แตกต่างจากอาการในผู้อายุน้อย กว่า และอาจเป็นสิ่งที่แก้ไขกลับคืนได้ง่าย หรือเป็นสภาวะที่เป็นเพียงชั่วคราว โดยมีสาเหตุดัง ต่อไปนี้
1. ผู้ป่วยสูงอายุที่มีอาการ เจ็ บ ป่ ว ยด้ ว ยสาเหตุ อื่ น ทัง้ ๆ ที่ ไม่เกีย่ วข้องกับการทํา งานของระบบปัสสาวะ ซึ่ง การเจ็บป่วยดังกล่าว อาจ เกิดผลกระทบต่อการทํางาน ของสมอง ทําให้เกิดอาการ เพ้อ สับสน จนทําให้กลั้น ปั ส สาวะไม่ อ ยู ่ หรื อ มี ปัสสาวะเล็ดราด เมื่อได้ทํา การรั ก ษาอาการเจ็ บ ป่ ว ย นั้นๆ เรียบร้อยแล้ว อาการ ดังกล่าวจะหายไปด้วย 80
2. การอักเสบติดเชือ้ ในทางเดินปัสสาวะ ทํ า ให้ มี อ าการปั ส สาวะบ่ อ ย หรื อ ปั ส สาวะราด ซึ่ ง หลั ง จากรั ก ษาอาการ อักเสบติดเชือ้ หายแล้ว อาการปัสสาวะเล็ด ราดหายไปได้
3. ปัญหาด้านจิตใจ โดยเฉพาะอาการ ซึมเศร้า ซึ่งสามารถพบได้บ่อยในวัยผู้ สูงอายุ เมื่อเกิดอาการซึมเศร้าก็อาจจะ มีปสั สาวะเล็ดราด หลายครัง้ พบว่าผูส้ งู อายุมีอาการซึมเศร้า เพราะถูกทอดทิ้ง ขาดการเอาใจใส่จากลูกหลาน และมี อาการปัสสาวะเล็ดราดตามมา เมื่อได้ ทําการรักษาอาการซึมเศร้า หรือทําให้ ดีขึ้น ก็จะทําให้อาการปัสสาวะเล็ดราด หายไปด้วย 81
4. ผลจากการใช้ยา มียาหลายชนิดที่ส่งผลให้มีปัสสาวะเล็ดราด เช่น
ยาขับปัสสาวะ ยาแก้หวัด ยาแก้แพ้ อากาศ ยาขยายหลอดลม ยาแก้ไอ ยาแก้ปวดท้องที่ทําให้มีปัสสาวะ ตกค้างถ่าย มีปัสสาวะล้นออกมา ยาลดอาการซึมเศร้า หรือยาที่ใช้ ในการรักษากระเพาะปัสสาวะบีบ ตัวไวกว่าปกติ ทําให้มีปัสสาวะ ออกไม่หมด มีปสั สาวะล้นออกมา เช่นกัน
...และประการสําคัญ ผู้สูงอายุมักมียาประจําตัว หลายชนิด รวมถึงอาจได้ รับยาเพิม่ เมือ่ มีอาการเจ็บ ป่ ว ยอื่ น ๆ ซึ่ ง ปั ญ หานี้ สามารถแก้ได้ เพียงปรับ การใช้ ย าหรื อ เปลี่ ย นยา บางชนิดเท่านั้น 82
5. ความผิดปกติของฮอร์โมนทําให้มีปัญหาเบาหวาน เบาจืด ทําให้มีผลต่อการกลั้นปัสสาวะ เพราะเบาหวาน ซึง่ พบได้ในวัยสูงอายุอาจจะมีนา้ํ ตาลออกมาในปัสสาวะ ทาํ ให้ระคายเคือง หรือ ทําให้ปัสสาวะออกมามากได้ ส่วนเบาจืดเกิดจากการหลั่งฮอร์โมนผิดปกติ ทําให้การดูดน้ํากลับ ผิดปกติ ทําให้ปริมาณปัสสาวะออกมามาก ทําให้กลัน้ ปัสสาวะไม่อยูไ่ ด้เช่นกัน หากเกิดจากปัญหา ทั้งสองก็ต้องรักษาสาเหตุพื้นฐานดังกล่าวก่อน จึงจะทําให้อาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ดีขึ้นได้ 83
6. ข้อจํากัดในการเดิน การเคลื่อนไหวของ ร่างกาย เช่น มีอาการปวดเอว ปวดหลัง ปวด เข่า ทําให้เดินลําบาก จะขยับตัวเดินไปห้องน้ํา ได้ใช้เวลานาน ทําให้ปัสสาวะราดออกมาก่อน นอกจากนั้น อาจมีปัญหาด้านสายตาที่มองไม่ ชัด ทําให้เดินไปห้องน้ําช้า ปัสสาวะราดก่อน เช่นกัน การแก้ไขคือ ต้องอํานวยความสะดวก ในการเข้าห้องน้ํา เช่น เพิ่มแสงสว่าง ร่นระยะ ทางการไปห้องน้าํ หรืออาจใช้กระโถนช่วยก็ได้ 7. ท้องผูก ทําให้ก้อนอุจจาระที่จับเป็นก้อน แข็งกดบริเวณท่อปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะ ส่งผลให้กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ เมื่อได้รับการ แก้ไขเอาก้อนอุจจาระออก จะทําให้การกลั้น ปัสสาวะดีขึ้นได้
84
การป้องกันและการดูแล
• ปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุที่ แก้ไขได้ เช่น กระเพาะปัสสาวะอักเสบ • ออกก�ำลังกายและขยับเขยือ้ นให้กล้าม เนื้อร่างกายแข็งแรงขึ้น • ฝึกการขมิบกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานวัน ละ 50-100 ครั้ง • ฝึกการกลัน้ ปัสสาวะโดยปัสสาวะเป็น เวลาและค่ อ ยๆ ยื ด เวลาระหว่ า งการ ปัสสาวะ เพื่อฝึกกระเพาะปัสสาวะให้ สามารถกลั้นได้มากขึ้น
85
6
CHAPTER
อาการมึนงง เวียนศีรษะ
“ อาการมึนงงและเวียนศีรษะ เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ และเป็นสาเหตุที่น�ำไปสู่การหกล้ม ตามมาได้”
88
อาการนี้เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น ความดัน โลหิตต�ำ ่ ผลข้างเคียงจากยา (เช่น ยาแก้ปวดบางชนิด ยาคลายเครียด ยากันชัก) ภาวะน�้ำในหูไม่เท่ากัน ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ โลหิตจาง ความวิตกกังวล เป็นต้น ...โดยจะขอยกตัวอย่างในโรคของ ภาวะน�้ำ ในหูไม่เท่ากัน...
89
โรคน�้ำในหู ชั้นในผิด ปกติ (Meniere’s disease) 90
โรคน�้ำในหูชั้นในผิดปกติ หรือที่มักเรียกกันว่าโรคน�้ำในหูไม่เท่า กัน (Meniere’s disease) เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของหู ชัน้ ใน พบได้คอ่ นข้างบ่อยในคนทุกกลุม่ อายุ ตัง้ แต่ 20-50 ปี โดย เพศชายและเพศหญิงจะมีอตั ราการเกิดโรคนีใ้ นสัดส่วนทีเ่ ท่ากัน
91
สาเหตุของโรคน�้ำในหูชั้นในผิดปกติ
“ในปัจจุบนั ยังไม่ทราบสาเหตุทแี่ น่ชดั ของการเกิดโรคน�้ำในหูชั้นในผิดปกติ...
...แต่พบว่าอาการของโรคเป็นผลมาจาก ความผิดปกติของน�้ำที่อยู่ภายในหูชั้นใน” 92
อาการของโรคน�้ำในหูชั้นในผิดปกติ อาการหลัก ได้แก่ อาการเวียนศีรษะ ซึง่ มักจะเป็นอาการเวียนศีรษะรุนแรงและมีความรูส้ กึ หมุน ร่วมด้วย บางครั้งผู้ป่วยอาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมกับการสูญเสียสมดุลของร่างกาย ซึ่ง อาจท�ำให้เซหรือล้มได้ง่าย ทั้งนี้ผู้ป่วยอาจมีอาการเวียนศีรษะนานเป็นนาทีจนถึงหลายชั่วโมง เลยก็ได้ ในระหว่างที่เกิดอาการ ผู้ป่วยจึงควรอยู่นิ่งๆ ไม่ขยับศีรษะ เพราะอาจท�ำให้มีอาการ เวียนศีรษะเพิ่มขึ้น อาการอื่นๆ ที่อาจพบร่วมด้วย ได้แก่ การได้ยินลดลง มักพบในช่วงระยะแรก ของโรค มักเป็นชัว่ คราวโดยทีก่ ารได้ยนิ จะลดลงในช่วงเกิดอาการเวียนศีรษะ เมื่อร่างกายกลับสู่ภาวะปกติการได้ยิน จะดีขึ้น แต่หากปล่อยให้โรคด�ำเนินไป มากขึน้ การได้ยนิ อาจเสือ่ มลงเรือ่ ยๆ จน กระทั่งหูตึงหรือหูหนวกได้ในที่สุด อาการเสียงรบกวนในหูและอาการหูอื้อ อาจเป็นๆ หายๆ ได้ในช่วงระยะแรกของ โรคบ่อยครั้ง อาจพบว่าเสียงรบกวนในหูจะดังมากขึน้ หรือผู้ป่วยมีอาการหูอื้อมากขึ้นเมื่อจะ เกิดอาการเวียนศีรษะ แต่ในระยะหลังๆ ของโรค อาการนี้อาจเป็นอยู่ตลอดไป
การตรวจวินิจฉัยโรคน�้ำในหูชั้นในผิดปกติ • การซักประวัติอาการ เช่น ลักษณะอาการเวียนศีรษะ ความ รุนแรงของอาการ ระยะเวลาและ ความถี่ของอาการ อาการทางหูที่ เกิดร่วมด้วย • การซักประวัติสุขภาพ เช่น ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต ประวัติโรคซิฟิลิส โรคคางทูม โรค การอักเสบของตา โรคภูมิคุ้มกัน โรคภูมิแพ้ โรคเบาหวาน โรคความ ดันโลหิตสูง โรคไทรอยด์ โรคทาง ระบบประสาท ประวัติการผ่าตัดหู • การตรวจร่างกาย เช่น การตรวจหู คอ จมูก และ ระบบประสาท การตรวจระบบสมดุล ของร่างกาย การตรวจการท�ำงานของ อวัยวะการทรงตัวในหูชั้นใน (videoelectronystagmography: VNG) การตรวจดูการ เคลื่อนไหวของลูกตาในท่าทาง ต่างๆ 94
• การตรวจพิเศษเพิ่มเติม เช่น
การตรวจการได้ยิน (audiogram)
การตรวจการท�ำงานของอวัยวะทรงตัวของ หูชั้นใน (electronystagmography) การตรวจการท�ำงานของเส้นประสาทการ ได้ยิน (evoke response audiometry) การตรวจพิเศษทางรังสี (ในรายที่สงสัยว่า อาจมีเนื้องอกของเส้นประสาทการทรงตัวหรือความ ผิดปกติสมอง) เช่น ตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ สมอง (CT scan) หรือตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
7
CHAPTER
ปัญหาภาวะ ทุพโภชนาการ และความ ผิดปกติ
ภาวะทุพโภชนาการเป็นภาวะร้ายแรงที่เกิดขึ้นเมื่อคุณไม่ได้รับสาร อาหารในปริมาณที่เหมาะสมกับการใช้ชีวิต “...ค�ำว่า “ทุพโภชนาการ” นั้นหมายถึงโภชนาการ ที่ ไม่ดี ซึ่งยังสื่อถึง... ภาวะโภชนาการต�่ำ: เกิดขึ้นเมื่อร่างกายไม่ได้รับ สารอาหารเพียงพอ ภาวะโภชนาการเกิน: เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับ สารอาหารมากกว่าที่ร่างกายต้องการ ...ข้อมูลต่อไปนี้จะเน้นไปยังภาวะโภชนาการต�่ำ เป็นอันดับหนึ่ง...” 98
สัญญาณของภาวะทุพโภชนาการ อาการทีพ่ บได้บอ่ ยของภาวะทุพโภชนาการคือ มี น�้ ำ หนั ก ลดลงโดยไม่ ตั้ ง ใจ (เสี ย มวล ร่างกายไป 5-10% ภายในช่วงเวลาสามถึงหก เดือน) สัญญาณอื่น ๆ มีดังนี้: กล้ามเนื้ออ่อนแอ รูส้ กึ เหนือ่ ยล้าตลอดเวลา อารมณ์ไม่ดี โอกาส เจ็บป่วยหรือติดเชื้อเพิ่มขึ้น สัญญาณหลักของภาวะโภชนาการเกินคือ มีน�้ำหนักร่างกายมากหรือมีภาวะอ้วน แต่ผู้ ป่วยทีม่ ภี าวะโภชนาการต�ำ่ ก็สามารถมีนำ�้ หนัก ตั ว มากได้ เ ช่ น กั น หากว่ า พวกเขาชอบรั บ ประทานแต่อาหารพลังงานสูง (แคลอรี) แต่ มีการทานอาหารประเภทอื่นน้อย
สัญญาณของภาวะทุพโภชนาการในเด็กมี ทั้งการเจริญเติบโตน้อยกว่าที่ควรเป็นและ พฤติ ก รรมเปลี่ ย น อย่ า งเช่ น มี อ ารมณ์ ฉุนเฉียวผิดปรกติ ขี้เกียจ หรือวิตกกังวล น�ำ้ หนักและพัฒนาการทางร่างกายของเด็ก ควรถูกประเมินโดยแพทย์เป็นประจ�ำตั้งแต่ ยังเล็ก ๆ ให้ปรึกษากับแพทย์หรือผูเ้ ชีย่ วชาญ หากว่าคุณมีความกังวลเกี่ยวกับสุขภาพหรือ พัฒนาการของลูกคุณ 99
สาเหตุของภาวะทุพโภชนาการ สาเหตุการเกิดภาวะทุพโภชนาการเป็นได้ทั้งการรับประทานอาหารไม่เพียงพอหรือปัญหาการ ดูดซึมสารอาหารจากอาหารก็ได้
100
ภาวะทางการแพทย์
• ภาวะทางการแพทย์ทนี่ ำ� ไปสูภ่ าวะ ทุพโภชนาการมีดังนี้: • ภาวะทีส่ ง่ ผลให้ความอยากอาหาร ลดลง อย่างเช่นมะเร็ง โรคตับ อาการปวด หรือคลื่นไส้ต่อเนื่อง • ภาวะทางจิต อย่างเช่นภาวะซึม เศร้ า หรื อ โรคจิ ต เภทที่ ส ่ ง ผลต่ อ ความ สามารถในการดูแลตนเอง • ภาวะสุ ข ภาพที่ จ� ำ ต้ อ งเข้ า โรง พยาบาลบ่อย ๆ • ภาวะสุขภาพทีย่ บั ยัง้ ความสามารถ ในการย่อยและดูดซับสารอาหาร อย่างเช่น โรคโครห์น หรือแผลในกระเพาะอาหาร
• สมองเสื่อม: ผู้ป่วยโรคสมอง เสื่อมไม่สามารถสื่อสารความต้องการของ พวกเขาได้ • อาการกลืนล�ำบาก: ภาวะที่ท�ำให้ การกลืนยากล�ำบากหรือมีความเจ็บปวดขณะ กลืน • อาการอาเจียนหรือท้องร่วง ต่อเนื่อง • โรคการกินผิดปรกติ อย่างเช่นโร คอะนอเร็กเซีย • การใช้ยาบางประเภทอาจเพิ่ม ความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการขึ้นได้เช่น กัน โดย ณ ขณะนีม้ ยี ามากกว่า 250 ประเภท ที่ส่งผลต่อความสามารถในการดูดซับและ ย่อยสลายสารอาหารของร่างกาย • คุณอาจมีความเสี่ยงต่อภาวะทุพ โภชนาการเพิ่ ม ขึ้ น หากว่ า ร่ า งกายมี ค วาม ต้องการพลังงานมากขึ้น ยกตัวอย่างเช่นคุณ ก�ำลังอยูใ่ นช่วงพักฟืน้ หลังการผ่าตัดใหญ่หรือ หลังการบาดเจ็บร้ายแรงเช่นการถูกไฟเผา หรือคุณประสบกับการเคลือ่ นไหวนอกเหนือ อ�ำนาจจิตใจอย่างเช่นอาการสั่น เป็นต้น
101
ปัจจัยทางกายภาพ ตัวอย่างปัจจัยทางร่างกายที่ส่งผลให้เกิดภาวะทุพโภชนาการมีดังนี้:
ถ้าฟันของคุณมีสภาพไม่ดีหรือหาก ฟันปลอมไม่เข้าที่ จะท�ำให้การเคี้ยว อาหารล�ำบากหรือสร้างความเจ็บปวด ขึ้น หากคุ ณ สู ญ เสี ย ประสาทรั บ กลิ่ น หรือรับรส คุณอาจสูญเสียความอยาก อาหารไปด้วยเช่นกัน ความพิการทางร่างกายหรือความ ทุพพลภาพที่ท�ำให้การท�ำอาหารหรือ จัดหาอาหารด้วยตนเองล�ำบากขึ้น 102
ปัจจัยทางสังคม ตัวอย่างสถานการณ์ทสี่ ง่ ผลให้เกิดภาวะ ทุพโภชนาการมีดังนี้: อาศัยอยูต่ วั คนเดียวและไม่ชอบเข้าสังคม มี ค วามรู ้ เ รื่ อ งสารอาหารหรื อ การ ประกอบอาหารน้อย มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อย ติดแอลกอฮอล์หรือยาเสพติด ยากจนหรือมีรายได้ต�่ำ
การวินิจฉัยภาวะทุพโภชนาการ
จะมีการน�ำปัจจัยหลายอย่างเข้ามาพิจารณาในการตรวจสอบว่าคนคนนัน้ เป็นภาวะทุพโภชนาการ หรือไม่ หรือความเสี่ยงสูงหรือไม่ ส�ำหรับผู้ใหญ่ ปัจจัยที่น�ำมามีดังนี้: ดัชนีมวลกาย (BMI): ตัววัดทีส่ ามารถใช้ ชี้ วั ด ว่ า คุ ณ มี น�้ ำ หนั ก ตามเกณฑ์ ผู ้ มี สุขภาพดีตามความสูงหรือไม่ คุณมีน�้ำหนักร่างกายลดหายไปโดยไม่ ตั้งใจในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมาหรือไม่ คุ ณ มี ภ าวะเจ็ บ ป่ ว ยที่ ท� ำ ให้ คุ ณ ไม่ สามารถรับประทานอาหารหรือดูดซับ สารอาหารหรือไม่ คุณมักจะถูกพิจารณาว่าเป็นภาวะ ทุ พ โภชนาการหากมี BMI น้ อ ยกว่ า 18.5 หรือคุณมีการสูญเสียน�้ำหนัก มากกว่า 5% ของน�ำ้ หนักร่างกายในช่วง สามถึงหกเดือนทีผ่ า่ นมา อย่างไรก็ตาม ในบางกรณีแพทย์กอ็ าจคาดว่าคุณมีภา วะทุพโภชนาการได้หากว่าคุณมีคา่ BMI ระหว่าง 18.5 กับ 20
104
แพทย์พิจารณาว่าคุณมีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการสูงหากว่า: คุ ณ มี ภ าวะเจ็ บ ป่ ว ยที่ ท� ำ ให้ คุ ณ ทาน อาหารได้น้อยลงในช่วงห้าวันที่ผ่านมา หรือคุณมีความเสีย่ งทีจ่ ะทานอาหารไม่ ลงในช่วงห้าวันข้างหน้า คุณมีการดูดซึมสารอาหารได้ไม่ดี ยกตั ว อย่ า งเช่ น คุ ณ มี ภ าวะอย่ า งโรค โครห์นทีท่ ำ� ให้ระบบย่อยอาหารอักเสบ คุณมีภาวะที่อาจท�ำให้ร่างกายต้องใช้ สารอาหารมากขึ้นหรือท�ำให้ร่างกายมี ความต้องการสารอาหารเพิ่มขึ้น คุณมีอาการกินหรือดื่มล�ำบาก ส่ ว นภาวะขาดแร่ ธ าตุ ห รื อ วิ ต ามิ น สามารถวินิจฉัยได้จากการตรวจเลือด
การวินิจฉัยภาวะทุพโภชนาการในเด็ก การวินจิ ฉัยภาวะทุพโภชนาการในเด็กจะด�ำเนินด้วยการวัดค่าน�ำ้ หนักและ ส่วนสูงก่อนน�ำค่าทั้งสองที่ ได้มาเทียบกับค่าส่วนสูงและน�้ำหนักมาตรฐาน ส�ำหรับเด็กในวัยนั้น ๆ เด็กบางคนอาจมีค่าต�่ำกว่ามาตรฐานเพราะเกิดมาตัวเล็กตามธรรมชาติ ซึ่ง หากค่าที่ ได้มนี อ้ ยกว่าระดับทีค่ วรเป็นมากจะบ่งชีถ้ งึ ความเสีย่ งต่อภาวะทุพ โภชนาการที่สูงมากตาม
...การตรวจเลือดก็สามารถใช้เพื่อวัดระดับ โปรตีนในเลือดได้ ซึ่งระดับโปรตีนที่ต�่ำอาจบ่งบอก ถึงภาวะทุพโภชนาการในเด็ก... 105
การรักษาภาวะทุพโภชนาการ
การรักษาภาวะทุพโภชนาการจะขึน้ อยูก่ บั สาเหตุของการเกิดภาวะและผูป้ ว่ ยขาดสารอาหารในรูป แบบไหน แพทย์อาจแนะน�ำให้คณ ุ กลับบ้านไปดูแลตนเองตามค�ำแนะน�ำ หรือเริม่ การรักษาทีบ่ า้ นโดยมีนกั โภชนาการหรือผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพคอยก�ำกับอยู่ก็ได้ บางกรณีแพทย์อาจแนะน�ำให้คุณพัก รักษาตัวที่โรงพยาบาลแทนการรักษาภาวะทุพโภชนาการที่บ้าน
หากคุณต้องการรักษาภาวะทุพโภชนาการที่บ้าน
ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจะคอยช่วยเหลือคุณด้วยการปรับเปลี่ยนอาหารการกินที่คุณควรได้รับ ในแต่ละมื้อ
แผนการรับประทานอาหารจะขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ส่วนบุคคล แต่สว่ นมากมักจะแนะน�ำให้คณ ุ เพิม่ ปริมาณ พลังงานที่ควรได้รับ (แคลอรี) โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ของเหลว และวิตามินกับเกลือแร่
...เป้าหมายของแผนการคือลดความเสี่ยงต่อการเกิด ภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ อย่างเช่นการติดเชื้อ และเพื่อเลี่ยง การรักษาตัวที่โรงพยาบาล 106
แพทย์อาจแนะน�ำให้ให้คุณทาน อาหารเสริมทางโภชนาการเพื่อ ช่ ว ยเพิ่ ม ปริ ม าณพลั ง งานกั บ โปรตีนที่ ได้รับ โดยจะมีการตั้ง เป้าหมายของการรักษาและมีการ ติดตามผลอยู่เป็นประจ�ำ ขึ้ น อยู ่ กั บ สาเหตุ ข องภาวะทุ พ โภชนาการของคุณ คุณอาจถูก แนะน�ำให้ใช้ตวั ช่วยเพิม่ เติมอย่าง เช่น การใช้ผู้ดูแลหากคุณมีภาวะ พิ ก ารจนท� ำ ให้ คุ ณ ไปหาซื้ อ อาหารหรือท�ำอาหารล�ำบาก หากว่าคุณมีปญ ั หาการกลืนหรือ ดืม่ น�ำ ้ แพทย์อาจส่งตัวคุณไปพบ นักบ�ำบัดภาษาและการพูด (SLT) ที่จะประเมินการกลืนและให้ค�ำ แนะน�ำเกีย่ วกับอาหารชนิดพิเศษ แก่คุณ หากคุณยังคงทานอาหารไม่เพียง พอต่อความต้องการของร่างกาย แพทย์ อ าจเปลี่ ย นไปใช้ วิ ธี ก าร ป้อนอาหารเทียมอย่างการป้อน ผ่านหลอดซึง่ สามารถด�ำเนินการ ตามโรงพยาบาลหรือที่บ้านก็ได้
การรักษาภาวะทุพโภชนาการที่โรงพยาบาล
หากคุณต้องท�ำการรักษาภาวะทุพโภชนาการที่โรงพยาบาล คุณจะได้พบกับผู้เชี่ยวชาญด้าน สุขภาพหลายท่าน ดังนี้
แพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญด้านภาวะของระบบย่อย นักโภชนาการ พยาบาลผูเ้ ชีย่ วชาญด้าน สารโภชนาการ นักสังคมสงเคราะห์
108
หากคุณไม่มีปัญหาเกี่ยวกับการกลืน อาจมี ก ารวางแผนการรั บ ประทาน อาหารแก่คณ ุ โดยอาจจะมีหรือไม่มกี าร ใช้อาหารเสริมโภชนาการก็ได้
การให้สารอาหารทางหลอดเลือด หากคุณไม่สามารถใช้ท่อส่งอาหารได้ แพทย์อาจใช้วิธีให้สารอาหารแก่คุณ โดยการฉีดเข้าเส้นเลือดโดยตรงผ่าน การหยดยา วิธีการนี้สามารถช่วยให้ ร่างกายคุณได้รับสารอาหารได้แม้จะ ไม่ได้รับประทานเข้าไป
หากคุณไม่สามารถกลืนอาหารได้ คุณ อาจต้องใช้หลอดสวนส่งอาหาร ซึ่งจะ มีอยู่สองประเภท: สายสอดกระเพาะ อาหารทางสอดจมูก: ท่อทีส่ อดเข้าจมูก ลงไปยั ง กระเพาะอาหาร สายสวน กระเพาะอาหาร (PEG): ท่ อ ที่ ส อด เข้าไปในกระเพาะอาหารผ่านทางช่อง บนหน้าท้อง
คุณจะได้รับสารละลายสารอาหารที่ ตรงตามความต้องการของร่างกายคุณ มา โดยสารละลายดังกล่าวอาจเป็นการ ผ ส ม กั น ข อ ง ส า ร อ า ห า ร อ ย ่ า ง คาร์โบไฮเดรตและน�้ำตาล โปรตีน ไข มัน เกลือ และวิตามินกับเกลือแร่
การรักษาเพิ่มเติม
หากมีภาวะต้นเหตุที่ก่อให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ แพทย์จะท�ำการรักษาภาวะนั้นด้วย ระยะเวลาที่คุณต้องรักษาตัวที่โรงพยาบาลจะขึ้นอยู่กับสุขภาพโดยรวมของคุณและสาเหตุที่ก่อ ให้เกิดภาวะทุพโภชนาการขึ้น ในบางกรณีคุณสามารถกลับบ้านได้ขณะที่ยังคงต้องรับการรักษา อยู่
การรักษาเด็ก
ภาวะทุพโภชนาการในวัยเด็กสามารถ รักษาได้ดว้ ยการเพิม่ สารอาหารทีค่ วร ได้รบั ขึน้ เด็กอาจต้องได้รบั สารอาหาร เพิ่มเติมชนิดพิเศษและทานอาหารที่ อุดมไปด้วยพลังงานและสารอาหาร อีกทั้งยังต้องมีการรักษาภาวะต้นเหตุ ไปพร้อมกันด้วย เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการรุนแรงอาจ ต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษและต้อง ไม่ให้อาหารปกติแก่พวกเขาทันที เมื่อ ภาวะของพวกเขาคงที่ แ ล้ ว จึ ง จะ สามารถค่อย ๆ จัดอาหารพวกเขาทาน ได้เรื่อย ๆ จนถึงระดับตามปกติ
“...ภาวะทุพโภชนาการที่เกิดขึ้น เพราะเด็กขาดแคลนอาหารเป็นเรื่องส�ำคัญมาก ๆ ซึ่งอาจต้องมี การช่วยเหลือจากต�ำรวจหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมด้วย” 109
8
CHAPTER
ปัญหาการ ได้ยิน
ปัญหาหนึ่งของผู้สูงอายุ และอาจถือเป็นปัญหา ของญาติ หรือคนรอบข้างด้วยเหมือนกัน คือ
...การที่ผู้สูงอายุมีความสามารถในการ รับเสียงแย่ลง หรือพูดง่ายๆ ก็คือ หูอื้อ หรือหูตึงนั่นเอง...
และเนื่องจากเป็นภาวะที่ค่อยเป็นค่อยไป ท�ำให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพ ชีวิตในการสื่อสารกับผู้อื่นน้อยลงโดยไม่รู้ตัว ญาติของผู้สูงอายุเอง อาจมีปัญหาอื่นตามมาได้ จากการที่ต้องตะโกนสื่อสารกันเป็นเวลา นาน ได้แก่ เสียงแหบ เจ็บคอ ไอ และระคายคอเรื้อรัง เป็นต้น 112
...ภาวะหูอื้อ หรือหูตึง หมายถึง ภาวะที่ความ สามารถในการรับเสียงแย่ลง มีการแบ่งระดับความรุนแรง ของการเสียการได้ยิน ดังตาราง ระดับการได้ยิน
ระดับความพิการ
ความสามารถในการเข้าใจค�ำพูด
0-25 dB 26-40 dB 41-55 dB 56-70 dB 71-90 dB >90 dB
ปกติ หูตึงน้อย หูตึงปานกลาง หูตึงมาก หูตึงรุนแรง หูหนวก
ไม่ล�ำบากในการรับฟังค�ำพูด ไม่ได้ยินเสียงกระซิบ ไม่ได้ยินเสียงพูดปกติ ไม่ได้ยินเสียงพูดที่ดังมาก ได้ยินไม่ชัด แม้ต้องตะโกน ตะโกนหรือใช้เครื่องขยายเสียงก็ ไม่ได้ยิน
113
ปัญหาการได้ยินในผู้สูงอายุ อาจเกิดจากความผิดปกติของกลไก 2 ส่วน คือ
1. ส่วนน�ำเสียงและขยายเสียง ได้แก่ หูชั้น นอกและหู ชั้ น กลาง เมื่ อ คลื่ น เสี ย งจาก ภายนอกผ่านเข้าไปในช่องหูจะไปกระทบ แก้วหู และมีการส่งต่อ และขยายเสียงโดย กระดูกหู 3 ชิ้นในหูชั้นกลาง ไปยังส่วนของ หูชนั้ ในต่อไป ถ้ามีความผิดปกติเกิดขึน้ ในหู ชั้นนอกและหูชั้นกลางของผู้สูงอายุ ท�ำให้ เกิดภาวะหูอื้อ หรือหูตึงได้ สาเหตุมักเกิด จากความผิดปกติของ - หูชั้นนอก เช่น ขี้หูอุดตัน, เยื่อแก้วหู ทะลุ, หูชั้นนอกอักเสบ, เนื้องอกของหูชั้น นอก - หูชั้นกลาง เช่น หูชั้นกลางอักเสบ, น�้ำ ขังอยู่ในหูชั้นกลาง, ท่อยูสเตเซียน (ท่อที่ เชื่อมต่อระหว่างหูชั้นกลางและโพรงหลัง จมูก) ท�ำงานผิดปกติ, โรคหินปูนในหูชั้น กลาง 114
2. ส่วนประสาทรับเสียง ได้แก่ ส่วน ของหูชั้นในไปจนถึงสมอง ซึ่งเป็นส่วนที่ เรารับรูแ้ ละเข้าใจเสียงต่างๆ ความผิดปกติ บริเวณนี้ของผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ท�ำให้เกิด ภาวะหูตึง หรือหูหนวกถาวรได้ และบาง โรคท�ำให้เกิดอันตรายถึงชีวติ ได้ สาเหตุมกั เกิดจากความผิดปกติของ - หูชั้นใน สาเหตุที่พบได้บ่อยสุด คือ ประสาทหูเสื่อมจากอายุ นอกจากนั้น การ เสื่อมของเส้นประสาทหู อาจเกิดจาก • ความผิดปกติแต่ก�ำเนิด หรือ เกิดจากพันธุกรรม • พัฒนาการผิดปกติ หรือการ เป็นโรคระหว่างตั้งครรภ์ของมารดาเอง เช่น โรคหัดเยอรมัน • การได้รับเสียงที่ดังมากๆใน ระยะเวลาสั้นๆ ท�ำให้เส้นประสาทหูเสื่อม เฉียบพลัน เช่นได้ยนิ เสียงปืน เสียงระเบิด หรือเสียงประทัด
• การใช้ยาที่มีพิษต่อประสาทหู เป็นระยะเวลานาน เช่น ยาปฏิชีวนะกลุ่ม อะมิโนไกลโคไซด์, ยาขับปัสสาวะ ที่ใช้ รักษาความดันโลหิตสูง, ยาแอสไพริน, ยาควินีน • การบาดเจ็บของกะโหลกศีรษะ แล้วมีผลกระทบกระเทือนต่อหูชั้นใน • การติดเชือ้ ของหูชนั้ ใน เช่น จาก เยื่อหุ้มสมองอักเสบ จากเชื้อซิฟิลิส หรือ ไวรัสเอดส์ • การผ่าตัดหูแล้วมีการกระทบ กระเทือนต่อหูชั้นใน • มีรรู วั่ ติดต่อระหว่างหูชนั้ กลาง และหูชั้นใน • โรคมีเนีย หรือน�้ำในหู ไม่เท่ากัน
• การได้รับเสียงที่ดังปานกลาง ในระยะเวลานานๆ ท�ำให้ประสาทหูเสื่อม แบบค่อยเป็นค่อยไป เช่นอยู่ในโรงงาน หรืออยู่ในคอนเสิร์ตที่มีเสียงดังมากๆ 115
- สมอง โรคของเส้นเลือด เช่น เส้นเลือดในสมองตีบ, เลือดออกในสมอง จากไขมันใน เลือดสูง, ความดันโลหิตสูง, เนือ้ งอกในสมอง เช่น เนือ้ งอกของเส้นประสาทหู และ/หรือ ประสาท การทรงตัว - สาเหตุอื่นๆ เช่น โรคโลหิตจาง, โรคแพ้ภูมิตัวเอง, โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว, โรคเกล็ด เลือดสูงผิดปกติ, โรคที่มีระดับยูริกในเลือดสูง, โรคไต, โรคเบาหวาน, ความดันโลหิตต�่ำ หรือ สูง, ไขมันในเลือดสูง โรคเหล่านี้สามารถท�ำให้หูอื้อ หรือหูตึงได้ จะเห็นได้ว่าโรคที่ท�ำให้เกิด ปัญหาการได้ยินในผู้สูงอายุ มีสาเหตุได้ทั้งจากหูชั้นนอก, หูชั้นกลาง และหูชั้นใน แต่กล่าวโดย ทัว่ ไป หากพูดถึงภาวะหูตงึ ในผูส้ งู อายุ ก็มกั จะหมายความถึง การเสียการได้ยนิ จากประสาทรับ เสียงเสื่อมตามวัย (age-related hearing loss หรือ presbycusis) 116
การวินิจฉัยปัญหาการได้ยินในผู้สูงอายุ อาศัยการซักประวัติถึงสาเหตุต่างๆที่เป็น ไปได้ • การตรวจหูชั้นนอก ช่องหู แก้วหู หูชั้น กลาง และบริเวณรอบหู • การตรวจเลือด เพื่อหาความผิดปกติ ของเคมีในเลือด • การตรวจปัสสาวะ • การตรวจการได้ยิน เพื่อยืนยัน และ ประเมินระดับความรุนแรงของการเสีย การได้ยิน • การตรวจคลื่นสมองระดับก้านสมอง และการถ่ า ยภาพรั ง สี เช่ น เอ็ ก ซ์ เ รย์ คอมพิวเตอร์สมอง หรือกระดูกหลังหู หรือตรวจคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า และการฉีด สารรังสีเข้าหลอดเลือด
117
การรักษาปัญหาการได้ยินในผู้สูงอายุ การรักษาปัญหาการได้ยินในผู้สูงอายุ รักษาตามสาเหตุ อย่างไรก็ตาม ปัญหาการได้ยินที่เกิด จากพยาธิสภาพของหูชั้นใน, เส้นประสาทหู, และระบบประสาทส่วนกลาง โดยเฉพาะประสาท รับเสียงเสือ่ มตามวัย มักจะรักษาไม่หายขาด นอกจากนัน้ ถ้าเกิดจากประสาทรับเสียงเสือ่ ม ควร หาสาเหตุ หรือปัจจัยที่จะท�ำให้ประสาทรับเสียงเสื่อมเร็วกว่าผิดปกติ เพื่อหาทางชะลอความ เสื่อมนั้นด้วย ส่วนประสาทหูเสื่อม บางรายไม่ทราบสาเหตุ หรือทราบสาเหตุ แต่เป็นสาเหตุที่ รักษาไม่ได้ อาจหายเองก็ได้ หรือจะเป็นอยู่ตลอดชีวิตก็ได้
1. แพทย์จะอธิบายให้ผู้สูงอายุ เข้าใจ ว่า สาเหตุของปัญหาการได้ยนิ เกิดจากอะไร และ เป็นอันตรายหรือไม่ และจะหายหรือไม่
2. ถ้ามีปญ ั หาการได้ยนิ ไม่มาก ยังพอได้ ยินเสียง ไม่รบกวนคุณภาพชีวิตประจ�ำวัน มากนัก คือยังพอสือ่ สารกับผูอ้ นื่ ได้ หรือเป็น เพียงหูขา้ งเดียว อีกข้างยังดีอยู ่ ไม่จำ� เป็นต้อง รักษา เพียงแต่ทำ� ใจยอมรับ แต่ควรหาสาเหตุ ดังกล่าวด้วย 118
3. ถ้ามีปัญหาการได้ยินมาก ไม่ค่อยได้ยิน เสียง โดยเฉพาะถ้าเป็น 2 ข้าง และรบกวน คุณภาพชีวิตประจ�ำวันมาก คือ ไม่สามารถ สื่อสารกับผู้อื่นได้ และเกิดจากสาเหตุที่ ไม่ สามารถแก้ไขได้แล้ว ควรฟื้นฟูสมรรถภาพ การได้ยนิ ด้วยการใช้เครือ่ งช่วยฟัง ซึง่ จะช่วย บรรเทาปัญหาได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งต้องร่วม กั บ การจั ด สิ่ ง แวดล้ อ มให้ เ หมาะแก่ ก าร แยกแยะเสี ย งได้ ชั ด เจนขึ้ น เช่ น ลดเสี ย ง รบกวน และให้คู่สนทนาอยู่ตรงหน้า ไม่พูด เร็ว หรือพูดประโยคยาวเกินไป เพือ่ ผูส้ งู อายุ จะได้จับใจความได้ชัดเจนขึ้น ซึ่งจะท�ำให้ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของตั ว ผู ้ ป ่ ว ยเอง และของ ครอบครัวผู้ป่วยดีขึ้น 119
4. ถ้าปัญหาการได้ยิน เกิดจากประสาทรับ เสียงเสื่อม ควรป้องกันไม่ให้ประสาทรับ เสียงเสื่อมมากขึ้น โดย - หลีกเลี่ยงเสียงดัง - ถ้าเป็นโรคเบาหวาน, ความดันโลหิต สูง, ไขมันในเลือดสูง, โรคไต, โรคกรดยูรกิ ใน เลือดสูง, โรคซีด, โรคเลือด ควบคุมโรคให้ดี เพราะโรคเหล่านี้ ท�ำให้เลือดไปเลีย้ งประสาท หูน้อยลง ท�ำให้ประสาทรับเสียงเสื่อมมาก หรือเร็วขึ้น กว่าที่ควรจะเป็น - หลีกเลีย่ งการใช้ยาทีม่ พี ษ ิ ต่อประสาท หู - หลีกเลี่ยงอุบัติเหตุ หรือการกระทบ กระเทือนบริเวณหู - หลีกเลี่ยงการติดเชื้อของหู หรือการ ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบน - ลดอาหารเค็ม หรือเครื่องดื่มบาง ประเภทที่มีสารกระตุ้นประสาท เช่น กาแฟ, ชา, เครื่องดื่มน�้ำอัดลม (มีสารคาเฟอีน), งด การสูบบุหรี่ (มีสารนิโคติน) สารคาเฟอีน และนิโคติน ท�ำให้เลือดไปเลี้ยงประสาทหู น้อยลง ท�ำให้ประสาทรับเสียงเสือ่ มมาก หรือ เร็วขึ้น กว่าที่ควรจะเป็น - พยายามออกก�ำลังกายสม�่ำเสมอ ลด ความเครียด วิตกกังวล และนอนหลับพัก ผ่อนให้เพียงพอ
120
ดังนั้นปัญหาการได้ยินในผู้สูงอายุ อาจมีสาเหตุจากประสาท หูเสื่อมจากอายุ ซึ่งไม่มีอันตรายร้ายแรงใดๆ หรือมีสาเหตุจากโรคที่ อันตราย เช่น เนื้องอกของสมอง หรือเส้นประสาท ก็ได้ ปัญหาการ ได้ยินดังกล่าว อาจหายได้ หรืออยู่กับผู้ป่วยตลอดชีวิตก็ได้
“...ดังนั้นอย่านิ่งนอนใจ เมื่อผู้สูงอายุที่ท่าน รัก มีปญ ั หาการได้ยนิ ควรปรึกษาแพทย์ หู คอ จมูก เพื่อหาสาเหตุแต่เนิ่นๆ..” 121
9
CHAPTER
ปัญหา การมองเห็น
ภาวะตาแห้ง
124
ภาวะตาแห้ง คือภาวะที่
น�้ ำ หล่ อ เลี้ ย งมี ป ริ ม าณไม่ ม ากพอที่ จ ะ เคลือบให้ความชุม่ ชืน้ แก่ดวงตา ก่อให้เกิด การระคายเคืองในตาและแสบตา ภาวะตา แห้งเป็นภาวะทีพ่ บได้บอ่ ยเมือ่ อายุมากขึน้ เนือ่ งจากปัจจัยหลายอย่าง เช่น ต่อมไขมัน เปลือกตาที่อุดตันได้ง่ายขึ้น ฮอร์โมนที่ เปลีย่ นแปลงไป โรคประจ�ำตัวทีส่ ง่ ผลให้ ตาแห้ง อาทิ โรคไทรอยด์ โรคข้ออักเสบ การใช้ยาบางชนิด เช่น ยาแก้แพ้ยาลด ความดันทีอ่ อกฤทธิข์ บั ปัสสาวะ ซึง่ แพทย์ ต้องวินิจฉัยโดยละเอียดเป็นกรณีไป
“อาการที่ปรากฏโดยมากคือ... ...รู้สึกไม่สบายตา ตาแห้งหรือฝืดๆ ในตา ...เคืองตาหรือมีน�้ำตาไหล ...รู้สึกเหมือนมีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในตา”
ซึ่งบางท่านอาจสงสัยว่ามีน้�ำตาไหลแล้วตาจะ แห้งได้อย่างไร ต้องเข้าใจว่าองค์ประกอบของ น�ำ้ ตานัน้ เปลีย่ นไป พอตาแห้งร่างกายจะกระตุน้ ให้สร้างน�ำ้ ตาขึน้ มาเพือ่ ลดอาการเคืองตาท�ำให้มี น�้ำตาไหลรื้นแต่ดวงตากลับไม่ชุ่มชื้น” 125
ต้อกระจก
126
ต้อกระจกเป็นการเสื่อมสภาพ
ตามอายุ เกิดจากการทีเ่ ลนส์ตาขุน่ จนแสง ที่เข้ามาในลกูตาลดลง ส่งผลต่อความ สามารถในการมองเห็น โรคต้อกระจก เป็นโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ทั้งนี้อาจ พบได้เร็วขึน้ ในผูป้ ว่ ยเบาหวาน ผูป้ ว่ ยมัก จะมาพบแพทย์ดว้ ยอาการตามัว เห็นภาพ ซ้อน ตาสู้แสงไม่ได้ หรือมองไฟแล้วเห็น เป็นแสงกระจาย
“การรักษาท�ำโดยการผ่าตัด สลายต้อและใส่เลนส์เทียม”
“ซึ่งเทคโนโลยีในปัจจุบันค่อนข้างพัฒนา ไปมาก แพทย์จะใช้เครื่องมือเข้าไปสลาย ต้อกระจกด้วยคลืน่ อัลตราซาวนด์และใส่ เลนส์เทียมเข้าไป การผ่าตัดก็เป็นการ ผ่าตัดแบบแผลเล็กซึ่งผู้ป่วยจะฟื้นตัวได้ เร็ว ยกเว้นในรายทีม่ คี วามซับซ้อนซึง่ การ ผ่าตัดต้องซับซ้อนมากขึ้น”
127
ต้อหิน
128
โรคต้อหินแม้จะมีอุบัติการณ์ไม่สูงมากเหมือน ต้อกระจก แต่ก็พบได้ไม่น้อย “โรคต้อหิน คือโรคที่มีการเสื่อมของ ประสาทตาโดยมีปัจจัยเสี่ยงเรื่องความ ดันลูกตาเป็นส�ำคัญ...
...จัดเป็น ภัยเงียบที่คุกคามสายตาโดยที่ผู้ ป่วยอาจไม่ทันรู้ตัว และอาจน�ำ ไปสู่การสูญเสียการมองเห็น อย่างถาวร”
สาเหตุของโรคต้อหิน
โดยทั่วไปเกิดจากความดันในลูกตาที่สูงขึ้น จนมีการท�ำลายประสาทตา ผู้ที่มีบุคคลใน ครอบครัวเป็นต้อหินก็จะมีความเสีย่ งเพิม่ ขึน้ ส่วนปัจจัยเสีย่ งอืน่ ๆ ได้แก่ เชือ้ ชาติ อายุ ภาวะ สายตาสั้นมากๆ โรคประจ�ำตัวบางชนิด อาทิ เบาหวาน
โรคต้อหินมักจะไม่มีสัญญาณเตือนในระยะ แรก “อาการที่เกิดขึ้น ได้แก่ ลานสายตาผิด ปกติ กล่าวคือการมองเห็นจ�ำกัดวงแคบลง เริ่มจากความผิดปกติของการมองเห็นด้าน ข้างก่อน เกิดขึ้นอย่างช้าๆ โดยที่ผู้ป่วยอาจไม่ ทราบ เมื่อลานสายตาผิดปกติมากขึ้น ผู้ป่วย อาจเริ่มมีอาการ เช่น เดินชนโต๊ะบ่อยๆ หรือ มีปัญหาขณะขับรถเนื่องจากมองไม่เห็นด้าน ข้างและมักจะเป็นมากแล้ว
130
ทั้งนี้เป้าหมายในการรักษา โรคต้ อ หิ น อยู ่ ที่ ก ารรั ก ษา ประสาทตาที่ยังเหลือให้ คงอยู่... โดยทางเลือกในการรักษาจะมีตั้งแต่ การใช้ยา การท�ำเลเซอร์ และการผ่าตัด ตามแต่ชนิดและความรุนแรงของโรค
“...การตรวจวิเคราะห์ความเสี่ยง การวินิจฉัย และให้การรักษาตัง้ แต่ระยะแรกเริม่ มีความส�ำคัญ มากส�ำหรับโรคต้อหิน...” เพราะประสาทตาที่เสียไปแล้วไม่อาจฟื้นฟูให้กลับคืน มาได้ ในผู้ที่อายุ 40 ปีขึ้นไปหรือผู้ที่มีความเสี่ยง แนะน�ำให้เข้ารับการตรวจคัดกรองว่าเสีย่ งต่อการเป็น โรคต้อหินหรือไม่ เพราะต้อหินโดยทั่วไปมักเป็นโรค เรื้อรังซึ่งเกิดจากการที่ความดันตาเพิ่มขึ้นช้าๆ จะไม่มี อาการใดให้สงั เกตได้ ยกเว้น ในกรณีทเี่ ป็นต้อหินแบบ เฉียบพลันซึ่งความดันตาขึ้นสูงเฉียบพลัน จะมีอาการ ตามัว ตาแดง ปวดศีรษะ ปวดตารุนแรงซึ่งมากพอที่ จะท�ำให้ผู้ป่วยรีบมาพบแพทย์เพื่อรักษา แต่ต้อหิน เฉียบพลันพบได้ไม่บ่อยนัก 131
โรคจอ ประสาทตา เสื่อม 132
โรคจอประสาทตาเสื่อมเป็นอีกโรคหนึ่งที่พบได้บ่อยใน ผู้สูงอายุ และมักพบในผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป การรักษาโรคจอประสาทตาเสื่อม ก็เช่นเดียวกับโรคต้อหินที่มีเป้าหมายอยู่ที่ การชะลอความเสื่อมของจอประสาทตา โรคจอประสาทตาเสื่อมมี 2 ชนิด ได้แก่ แบบเปียกและแบบแห้ง โรคจอประสาทตาเสื่อมแบบเปียก เกิดขึ้นจากการที่เมื่อจอประสาทตาเสื่อม ร่างกายจะมีการสร้างเส้นเลือดทีผ่ ดิ ปกติขน้ึ มาทีบ่ ริเวณจุดรับภาพ เส้นเลือดดังกล่าวมี ความเปราะบาง แตกง่าย ท�ำให้มีเลือดออก ที่จอประสาทตา ผู้ป่วยจะมีอาการตามัว แบบเฉียบพลันและรีบมาพบแพทย์ โรคจอประสาทตาเสื่อมแบบแห้ง มักไม่เกิดอย่างเฉียบพลัน แต่เซลล์จอตาจะ เสื่อมลงอย่างช้าๆ จนสูญเสียการมองเห็น อย่างถาวร
กรณีเป็นโรคจอประสาทตาเสือ่ มแบบเปียก แพทย์อาจรักษาด้วยเลเซอร์ชนิดพิเศษหรือ ฉีดยา เข้าไปในน�้ำวุ้นลูกตาเพื่อยับยั้งการ หลัง่ สารทีก่ ระตุน้ ให้เกิดการสร้างเส้นเลือด ผิดปกติ ส่ ว นโรคจอประสาทตาเสื่ อ มแบบแห้ ง แพทย์อาจให้รบั ประทานวิตามินสูตรเฉพาะ เพื่อชะลอการเสื่อมลง แต่ทั้งนี้ผู้ป่วยต้อง ได้ รั บ การตรวจวิ นิ จ ฉั ย จากแพทย์ โ ดย ละเอียด โรคจอประสาทตาเสื่อมในระยะ แรกนัน้ อาจไม่มอี าการใดๆ ให้สงั เกตได้ จะ ทราบเมื่อมีการตรวจขยายม่านตาเท่านั้น เพราะฉะนั้นการเข้ารับการตรวจตาอย่าง น้อยสักครั้งจะช่วยได้มากทีเดียว 133
เบาหวาน ขึ้นตา 134
เบาหวานขึ้นตา โรคเบาหวานที่ผู้สูงอายุมีโอกาสเป็นกันมาก นั้ น ส่ ง ผลต่ อ เส้ น เลื อ ดทั่ ว ร่ า งกายรวมทั้ ง เส้นเลือดในจอประสาทตา โอกาสทีผ่ ปู้ ว่ ยเบา หวานจะเกิดภาวะเบาหวานขึน้ จอประสาทตา ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรคเบาหวานและ ระยะเวลาทีเ่ ป็น เบาหวานท�ำให้ผนังเส้นเลือด มีความผิดปกติ อาจมีการโป่งพอง มีเลือด หรือของเหลวไหลซึม อยูใ่ นชัน้ จอประสาทตา หรือเส้นเลือดตีบตัน ในระยะแรกนั้นผู้ป่วยอาจไม่พบอาการ ผิดปกติใดๆ หรือมีแต่ไม่ได้สงั เกตเห็นเพราะ เป็นการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยที่จอรับภาพ บางรายอาจมีอาการตามัวลงเนื่องจากจุดรับ ภาพบวมหรือตามัวมากแบบเฉียบพลัน ซึ่ง เกิดจากมีเลือดออกในลูกตา หากเป็นมากๆ เกิดเป็นพังผืดที่จอประสาทตาขึ้น ก็มีโอกาส ที่จอตาจะถูกดึงรั้งจนลอกหลุดออกมาได้
“โดยทั่วไปหากได้รับการวินิจฉัย ว่าเป็นเบาหวาน แนะน�ำให้มาพบจักษุแพทย์เพื่อ ตรวจตา จะมีการขยายรูมา่ นตาตรวจประสาทตา ซึ่งจะทราบได้ว่ามีความผิดปกติที่ตาเกิดขึ้นแล้ว หรือยัง” 135
การป้องกันและการดูแล ผู้สูงอายุควรได้รับการตรวจตาอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง การตรวจพบความผิดปกติตั้งแต่ใน ระยะเริ่มแรกจะช่วยให้การรักษามีประสิทธิภาพมากขึ้น
“นอกเหนือจากปัญหาสุขภาพกายเหล่านี้ แล้ว สุขภาพจิตก็ส�ำคัญไม่แพ้กัน...”
...ผู้สูงอายุควรดูแลสภาพจิตใจตัวเอง ให้เบิกบาน ไม่เครียด ขณะเดียวกัน สมาชิ ก ในครอบครั ว หรื อ ผู ้ ดู แ ลก็ มี ส่ ว นอย่ า งมากต่ อ การด� ำ รงชี วิ ต ที่ มี ความสุขของผู้สูงอายุ เพราะการดูแล เอาใจใส่ผู้ใหญ่ในบ้านด้วยความรัก ปฏิบัติต่อท่านอย่างนุ่มนวลอ่อนโยน คือหัวใจของการดูแลผู้สูงอายุอย่าง แท้จริง 136
137
บรรณานุกรม อาจารย์อังคนา จงเจริญ. (2558). ปัญหาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ในคุณปู่คุณย่า. สืบค้นเมื่อ 29 กันยายน,2561, จาก : http://www.uniserv.buu.ac.th/forum2/topic.asp?TOPIC_ ID=6365 โรงพยาบาลบ�ำรุงราษฏร์. (2558). ผู้สูงวัยกับการมองเห็น. สืบค้นเมื่อ 29 กันยายน, 2561, จาก : https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/2558/eye-health care/vision-aging-treatment-care โรงพยาบาลบ�ำรุงราษฏร์. (2558). ผู้สูงอายุกับปัญหาสุขภาพ. สืบค้นเมื่อ 29 กันยายน, 2561, จาก : https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/2558/living-longer-bet ter-geriatric-health-care/degenerative-disorders-symptoms-treatment ไทยรัฐ. (2557). การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผุ้สูงอายุ. สืบค้นเมื่อ 29 กันยายน, 2561, จาก : https://www.thairath.co.th/content/425968 HonestDoc. (2561). ภาวะทุพโภชนาการ. สืบค้นเมื่อ 29 กันยายน, 2561, จาก : https:// www.honestdocs.co/malnutrition POBPAD. (มปป). ความดันโลหิตสูง. สืบค้นเมื่อ 29 กันยายน, 2561, จาก : https://www. pobpad.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8 %94%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%AB%E 0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87
“ก้าวข้ามโรคภัยของปัญหาสุขภาพผู้สูงวัยไปด้วยกัน... ...เพื่อสุขภาพที่ยั่งยืน”