โครงการวิจัยสรางสรรคผลิตภัณฑของที่ระลึก จากชุมชนอำเภอกระนวน จังหวัดขอนแกน
ผูรับผิดชอบโครงการ ผูชวยศาสตราจารยชัยณรงค อริยะประเสริฐ และคณะ
โครงการวิจัยสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก จากชุมชนอำ�เภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น
ผู้รับผิดชอบโครงการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ และคณะ
คานา โครงการวิจัยสร๎างสรรค์ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกจากชุมชนอาเภอกระนวน จังหวัด ขอนแกํน เป็นโครงการที่ได๎รับการสนับสนุนจาก บริษัท ทิสโก๎ไฟแนนเชียลกรุ๏ป จากัด (มหาชน) รํวมกับคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อศึกษากระบวนการ และทักษะการผลิตเสื่อกก และของที่ระลึกอื่นๆ ของชุมชนอาเภอกระนวน จังหวัดขอนแกํน กับความต๎องการผลิตของที่ระลึก กลุํมลูกค๎า บริษัท ทิสโก๎ไฟแนนเชียลกรุ๏ป จากัด (มหาชน) อันเป็นการศึกษาทักษะของกลุํมชุมชนบ๎าน ทอเสื่อนามาพัฒนาตํอยอดกับเทคนิคการย๎อมสี การทอเส๎นกก ให๎มีรูปแบบสีสันที่แตกตําง และมีอัต ลักษณ์เฉพาะตัวของเสื่อกก อาเภอกระนวน ขอนแกํน และนาไปประยุกต์สูํผลิตภัณฑ์รํวมสมัยตํางๆ ให๎สอดคล๎องกับความต๎องการของการใช๎งานในปัจจุบัน คณะผู๎วิจัย ขอขอบคุณภาควิชาออกแบบตกแตํงภายใน ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ และ สานักงานเลขานุการคณะมัณฑนศิลป์ ที่สนับสนุนอาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรรํวมดาเนินการวิจัย ขอบคุณอาจารย์พิเศษ เครือขํายทางวิชาการและวิชาชีพด๎านการออกแบบทุกทํานทีม่ ีสํวนสนับสนุน การทาวิจัย โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู๎อยํางมีสํวนรํวมระหวํางคณะผู๎วิจัยและชุมชนฯ รวมถึงบูรณา การองค์ความรู๎เพื่อพัฒนาคุณสมบัติของผลงานสร๎างสรรค์ตามภารกิจที่เหมาะสมรํวมกันระหวําง วิทยาลัยนาโนเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าเจ๎าคุณทหารลาดกระบัง และคณะ มัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอบคุณบริษัท ทิสโก๎ไฟแนนเชียลกรุ๏ป จากัด (มหาชน) ขอบคุณ นายอาเภอไกรสร กองฉลาด และเจ๎าหน๎าที่ประจาอาเภอกระนวน จังหวัดขอนแกํน ทุกทํานที่อานวย ความสะดวกในการเดินทางสารวจข๎อมูลพืน้ ที่ ให๎ความคิดเห็น และข๎อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์ตํอ การดาเนินงาน รวมถึงการชี้แนะประเด็นความต๎องการเพิ่มเติมของกลุํมชุมชน ซึ่งคณะผู๎วิจัยได๎นา ข๎อมูลเหลํานี้มาปรับใช๎ในการสร๎างสรรค์และพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก ให๎สอดคล๎องตาม วัตถุประสงค์ คณะผู๎วิจัยหวังเป็นอยํางยิ่งวํา รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์นี้จะเป็นประโยชน์ตํอผู๎ที่สนใจ นาไปตํอยอดภูมิปัญญาพื้นบ๎านสูํแนวโน๎มการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหมํๆ และเป็นประโยชน์ตํอผู๎ที่ นาไปใช๎ให๎เกิดผลสัมฤทธิ์ตามความคาดหวัง คณะผู๎วิจัย เมษายน 2556
ก
สารบัญ หน้า คานา สารบัญ สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนา สาเหตุที่มาและความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของโครงการ แผนดาเนินงาน ลักษณะกิจกรรม วิธีการ ระยะเวลา และสถานที่ในการ ดาเนินงาน เป้าหมายโครงการ งบประมาณ ผลที่คาดวําจะได๎รับ ผู๎รับผิดชอบโครงการ 2 ทบทวนวรรณกรรม ประวัติความเป็นมา กก พื้นที่ปลูก การปลูก ต๎นกกที่ใช๎ทาเสื่อ คุณประโยชน์ของต๎นกก วัสดุที่ต๎องเตรียม วิธีการทอเสื่อกก ลวดลายเสื่อชนิดตํางๆ 3 วิธีการศึกษา กระบวนการศึกษา และการดาเนินการ การลงพื้นที่เพื่อเก็บข๎อมูลโครงการครั้งที่ 1 ผลงานการสั่งจ๎างการทอเสื่อกกตามที่คณะผู๎วิจัยฯ ได๎ทาการออกแบบ ของกลุํมชุมชนเสื่อกก บ๎านนาเลาะ ข
ก ข ง 1 1 3 3 4 4 5 5 6 6 6 8 9 10 10 11 15 15 18 18 19 26
สารบัญ (ต่อ) หน้า การลงพื้นที่เพื่อติดตามงานครั้งที่ 2 การลงพื้นที่เพื่อปิดโครงการ ขั้นตอนการเรียบเรียงกระบวนการศึกษา และรายงานผล บทที่ 4 รายงานผลการดาเนินงาน รายงานการประชุมความก๎าวหน๎าของงาน 5 สรุปผล และเสนอแนะการศึกษา ประโยชน์ ปัญหา และแนวทางจัดการ 6 ภาคผนวก บรรณานุกรม ประวัติผู้วิจัย
ค
38 38 39 40 40 52 52 66 84 79 85 80
สารบัญภาพ ภาพที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28
หน้า กลุํมชุมชนทอเสื่อกก บ๎านนาเลาะ อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแกํน ต๎นกกกลม ต๎นกกเหลี่ยม โฮงทอเสื่อ ฟืม ด๎ายไนลํอน ไม๎สอด ม๎ารองนั่ง แทํงเทียนไข นายไกรสร นายอาเภอกระนวน กับ ผศ.ชัยณรงค์ หัวหน๎าโครงการ เก็บข๎อมูลสัมภาษณ์ และพิจารณาผลงานที่วัดบ๎านนาเลาะ บรรยากาศการเก็บข๎อมูล และการสาธิตการทอเสื่อกกของสมาชิกชุมชน ย๎อมสีเดียวตลอดทั้งเส๎น กับการใช๎เทคนิคการถักเปียกํอนย๎อม เทคนิคการมัดย๎อม โจทย์เทคนิคการย๎อม กลุํมชุมชนบ๎านคาตานา กลุํมชุมชนที่ทากระเป๋าถักจากเชือกรํม, โคมไฟจากด๎าย สีของการย๎อมกก ตามคาสั่งจ๎างของคณะผู๎วิจัยฯ ออกแบบ กลุํมชุมชนบ๎านนาเลาะ สาธิตการย๎อม และทอเส๎นกก เสื่อ 001 เสื่อ 002 เสื่อ 003 เสื่อ 004 เสื่อ 005 เสื่อ 006 เสื่อ 007 เสื่อ 008 เสื่อ 009 ง
2 7 7 11 12 12 13 14 14 18 19 20 20 21 22 23 24 25 25 26 26 27 27 28 28 29 29 30
สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า 29 เสื่อ 010 30 30 เสื่อ 011 31 31 เสื่อ 012 31 32 เสื่อ 013 32 33 เสื่อ 014 32 34 เสื่อ 015 33 35 เสื่อ 016 33 36 เสื่อ 017 34 37 เสื่อ 018 34 38 เสื่อ 019 35 39 เสื่อ 020 35 40 เสื่อ 021 36 41 เสื่อ 022 36 42 เสื่อ 023 37 43 เสื่อ 024 37 44 เสื่อ 025 38 45 ภาพกระดาษออกแบบลวดลาย 42 46 แสดงกิจกรรมการนาเสนองานของคณะวิจัยและคณะนักออกแบบ 43 47 แสดงผลงานของผู๎ชํวยศาสตราจารย์ ดร.ปฐวี ศรีโสภา 44 48 แสดงผลงานของผู๎ชํวยศาสตราจารย์ ดร.ปฐวี ศรีโสภา 45 49 ผลงานการสร๎างสรรค์ของอาจารย์พัฒนา เจริญสุข 46 50 แสดงผลงานการสร๎างสรรค์ของผู๎ชํวยศาสตราจารย์ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ 47 51 แบบพวงกุญแจ างสรรค์ขกองคณะนั 51 แจ ผลงานการสร้ ผลงานการของคณะนั ออกแบบกออกแบบ............................................... 47 52 หรับบบนโต๊ างสรรค์ ของคณะนักออกแบบ...... 48 52 แบบถาดใส่ แบบถาดใสํสิ่งของส� ของสำาหรั บนโต๏ะะผูผู้บ๎บริริหหารารผลงานการสร้ ผลงานของคณะนั กออกแบบ 53 หรับบบนโต๊ ผลงานการสร้ างสรรค์ของคณะนักออกแบบ..... 49 53 แบบคลี่ถาดใส่ าดใสํขของส� องสำาหรั บนโต๏ะะผูผู้บ๎บริริหหารารของคณะนั กออกแบบ 54 แสดงผลงานการสร๎างสรรค์ของคณะนักออกแบบ 49 55 ผลิตภัณฑ์ชุดแผํนรองภาชนะบนโต๏ะรับประทานอาหาร 53 55 56 ผลิตภัณฑ์โคมไฟประดับตกแตํงขนาดเล็กในที่พักอาศัย 56 56 57 แบบแปลน รูปด๎าน ผลิตภัณฑ์โคมไฟประดับตกแตํง 57 จ
สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า 56 58 ผลิตภัณฑ์แจกันประดับกกทอ บนโต๏ะผู๎บริหาร 57 57 59 ผลิตภัณฑ์ถาดใสํสิ่งของสาหรับบนโต๏ะผู๎บริหาร 58 60 60 ผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ๎าเอนกประสงค์เพื่อเป็นของที่ระลึกของทิสโก๎ฯ 61 61 61 ผลิตภัณฑ์ซองไอโฟน (iPhone) และไอแพด (iPad) 62 62 62 พวงกุญแจ 12 ราศี 63 ๆเพื่อศึ่อกศึษาชุ กษาชุมชน.................... มชน................ 66 63 แสดงขั้นตอนที่ 11:: การส การสํารวจและสั ารวจและสังเกตโดยการลงพื้นที่จริงเพื 64 แสดงขั้นตอนที่ 2 : นํนาาผลมาอภิ ผลมาอภิปปรายเพื มาสั่ง่งจจ๎าาง............................. 67 รายเพื่อ่อออกแบบ ออกแบบ จากนั จากนั้น้นนํนาามาสั ง………………………. 67 เพื่อจัดทํ้นาตอนที ตนแบบชิ 65 แสดงขั ่ 3 : ้นนงานเบื างานที้อ่ไงต ด๎มนาศึกษาความเป็นไปได๎ใหมํๆ………………………………………. 68 65 งานที่ได่ได๎มมาศึาทกาการจั ษาความเป ใหม................................................. 69 68 66 แสดงขั้นตอนที่ 34 : นํนาาแบบที ดทาต๎นไปได นแบบ……………………………………………… โดยการออกแบบผลิ ตภัณฑรวมกั บทีม้งออกแบบ 67 แสดงขั ้นตอนที่ 5 : รวบรวมปั ญหาทั กระบวนการ…………………………………………………….. 70 66 แสดงขั้น้นตอนที ตอนที่่ 46 :: นํนาาผลงานที แบบที่ไดม่ได๎าทํไปตํ าการจั ดทํารตณาการน นแบบ...................................................... 68 แสดงขั อยอดบู ารํอง……………………………………… 69 71 67 แสดงขั้นตอนที : รวบรวมป หาทัม้งากํ กระบวนการ ่อทําการสรุ ป.................................... 70 69 แสดงการเกิ ดลัก่ 5ษณะใหมํ ที่ไมํญเคยมี อนในเทคนิเพืคของชุ มชนกระนวน………………………. 72 และนําเสนอเปนรายงานฉบัภบาพร สมบูเจนสุ รณ วรรณ์ นักศึกษาปี1…………………………………………… 73 70 แสดงผลงานของนางสาววิ 68 แสดงขั้นตอนที่ 5 : รวบรวมป ญหาทั ้งกระบวนการ ่อทํ1า…………………………………………… การสรุป.................................... 71 71 แสดงผลงานของนางสาววิ ภาพร เจนสุ วรรณ์ นักศึกเพืษาปี 74 และนําเสนอเปนรายงานฉบับสมบูรณ 72 แสดงผลงานของนางสาววิภาพร เจนสุวรรณ์ นักศึกษาปี1…………………………………………… 75 69 แสดงขั้นตอนที่ 5 : รวบรวมปญหาทั้งกระบวนการ เพื่อทําการสรุป.................................... 72 73 ผลงานสาเร็จทีส่ ั่งจ๎างชุมชนเย็บกระเป๋าบูรณาการวิจัย……………………………………….……… 76 และนําเสนอเปนรายงานฉบับสมบูรณ 74 ผลงานสาเร็จทีส่ ั่งจ๎างชุมชนเย็บกระเป๋าบูรณาการวิจัย……………………………………….……… 77 70 แสดงขั้นตอนที่ 6 : นําผลงานที่ไดไปตอยอดบูรณาการนํารองไปยังงานในมิติอื่นๆ.............. 73 75 แสดงภาพบรรยากาศในการทางานและความภาคภูมิใจของคณะวิจัย………………………….. 78 ที่นาสนใจเพิ่มเติมตอไป 76 แสดงภาพบรรยากาศในการทางานและความภาคภูมิใจของคณะวิจัย………………………….. 79 71 แสดงการเกิดลักษณะใหมที่ไมเคยมีมากอนในเทคนิคของชุมชนกระนวน............................ 74 72 แสดงผลงานของนางสาววิภาพร เจนสุวรรณ นักศึกษาป 1 : วิชาออกแบบ 2 .................... 75 73 แสดงผลงานของนางสาววิภาพร เจนสุวรรณ นักศึกษาป 1 : วิชาออกแบบ 2 .................... 76 74 แสดงผลงานของนางสาววิภาพร เจนสุวรรณ นักศึกษาป 1 : วิชาออกแบบ 2 .................... 77 75 แสดงกิจกรรมบูรณาการวิจัยสูวิชาออกแบบ 2 : นักศึกษาป 1 ภาควิชาออกแบบภายใน.... 78 76 แสดงกิจกรรมบูรณาการวิจัยสูวิชาออกแบบ 2 : นักศึกษาป 1 ภาควิชาออกแบบภายใน.... 79 77 แสดงกิจกรรมบูรณาการวิจัยสูวิชาออกแบบ 2 : นักศึกษาป 1 ภาควิชาออกแบบภายใน.... 80 78 ผลงานสําเร็จที่สั่งจางชุมชนเย็บกระเปาบูรณาการวิจัยกับรายวิชาและจัดทําตนแบบไดสําเร็จ... 81 79 แสดงภาพบรรยากาศในการทํางานและความภาคภูมิใจของคณะวิจัยตอการศึกษาครั้งนี้..... 82 80 แสดงภาพบรรยากาศในการทํางานและความภาคภูมิใจของคณะวิจัยตอการศึกษาครั้งนี้..... 83 ฉ
1
บทที่ 1 บทนา
สาเหตุที่มาและความสาคัญของปัญหา จากการที่บริษัท ทิสโก๎ไฟแนนเชียลกรุ๏ป จากัด (มหาชน) ได๎ลงพื้นที่ในชุมชนอาเภอ กระนวน จังหวัดขอนแกํน ได๎พบวําในชุมชนฯ มีความสามารถในการทอเสื่อกก และการจัดทาของที่ ระลึกอื่นๆจากวัสดุที่หาได๎ผสมผสานกับทักษะและภูมิปญ ั ญาท๎องถิ่น ซึ่งเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ชุมชน รวมกันในระหวํางชํวงเวลาที่วํางจากการทาเกษตรกรรม แตํด๎วยทักษะการผลิตภัณฑ์เสือ่ กกและ ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกอื่นๆทีม่ ีนั้น ยังคงรูปแบบ และการใช๎งานแบบเดิมๆ ทาให๎ผลิตภัณฑ์ไมํเป็นที่ นําสนใจ ไมํตรงตามวัตถุประสงค์ความต๎องการของตลาด ที่ต๎องการผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกที่ทั้งทักษะ ฝีมือการผลิตและมีคุณคําเพิ่มทางสุนทรียะและสร๎างประสบการณ์ที่แปลกใหมํ กระตุ๎นเร๎าทางจิตใจ และอารมณ์ เพื่อแฝงให๎เป็นมูลคําเพิ่มของผลิตภัณฑ์ ตัวอยํางจากประเด็นปัญหาของชุมชน กรณีศึกษาการทอเสื่อกกในชุมชน มักใช๎กกซึ่งเป็น วัสดุที่ได๎มาจากธรรมชาติอยํางคุ๎นชิน มีการย๎อมสีประกอบกับลวดลายการทอแบบเดิมๆ โดยขาด ทักษะการเพิ่มมูลคําความนําสนใจให๎กับเส๎นกก เพียงนาเส๎นกกมาทอเป็นผลิตภัณฑ์เสือ่ อันเป็น ผลิตภัณฑ์ที่ชุมชนทั่วๆ ไปนิยมผลิตกันอยูํแล๎ว ซึ่งรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหมํๆ เป็นสํวนหนึง่ ที่ทาให๎ ผู๎บริโภคหันมาสนใจ บริษัททิสโก๎ฯเล็งเห็นความสาคัญจึงได๎ขอความอนุเคราะห์ทางวิชาการมายังคณะ มัณฑนศิลป์ซึ่งเป็นคณะวิชาที่ได๎รับรางวัลสถาบันพัฒนาเศรษฐกิจสร๎างสรรค์ดีเดํนระดับประเทศ เพื่อ ทาการออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกรํวมกับชุมชนอาเภอกระนวน จังหวัดขอนแกํน อันเป็นความ รํวมมือกันในสามฝุาย โดยมีคณะมัณฑนศิลป์ ทาหน๎าที่เป็นผู๎ออกแบบผลิตภัณฑ์และพัฒนาเทคนิคใน ด๎านตํางๆ ที่เกี่ยวกับการเพิ่มมูลคําทางทักษะ สุนทรียะ และประสบการณ์ เพื่อเพิ่มมูลคําแฝงให๎กับ ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก โดยผํานกิจกรรมการนาเสนอผลงานสร๎างสรรค์และการสาธิต
1
2
ภาพที่ 1 กลุํมชุมชนทอเสื่อกก บ๎านนาเลาะ อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแกํน
3
การสร้างสรรค์ และคําสั่งจ้างให้ผลิตของที่ระลึกตามแบบที่คณะวิจัยได้สร้างสรรค์ไว้ให้ ซึ่งในที่นี้ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ 5 ประเภท ประกอบไปด้วย 1. ชุดแผ่นรองภาชนะบนโต๊ะรับประทานอาหาร 2. ของประดับตกแต่งขนาดเล็กในที่พักอาศัย 3. งานประติมากรรมศิลปะขนาดเล็กที่สามารถใช้สอยได้บางลักษณะ เพื่อประดับและใช้ งานบนโต๊ะผู้บริหารระดับสูง 4. กระเป๋าผ้าเอนกประสงค์เพื่อเป็นของที่ระลึกของบริษัท ทิสโก้ฯ 5. ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกอื่นๆ ที่แสดงภูมิปัญญาและสะท้อนลักษณะพิเศษที่น่าจดจําของ ชุมชนเพื่อจําหน่ายได้ โดยทั้งหมดที่กล่าวมานี้ บริษทั ทิสโก้ฯ เป็นผู้สนับสนุนการดําเนินงานทั้งหมด เพื่อสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กบั ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกชุมชนใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “เสื่อกก” และความคุ้นเคยของ ชุมชน วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อศึกษากระบวนการ และทักษะการผลิตเสื่อกกและของที่ระลึกอื่นๆของชุมชน อําเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น กับความต้องการผลิตของที่ระลึกกลุ่มลูกค้าบริษัททิสโก้ไฟแนนเชียล กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) 2. เพื่อสรุปแนวทางสร้างสรรค์ การสาธิตการผลิต การพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์และมอบ คําสั่งจ้างให้กับกิจกรรมการผลิตของที่ระลึกทั้ง 5 ประเภท ต่อชุมชนอําเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น 3. เพื่อให้ได้รายงานฉบับย่อและรายงานฉบับสมบูรณ์สําหรับเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และ ใช้ในสาธารณประโยชน์ต่อไป แผนดําเนินงาน ลักษณะกิจกรรม วิธีการ ระยะเวลา และสถานทีใ่ นการดําเนินงาน ทีมคณะผู้วิจัยฯ กําหนดเดินทางศึกษาข้อมูลพื้นที่ชุมชน 3 ครั้ง (ระหว่างเดือนสิงหาคม – ตุลาคม 2555) ตามแผนการดําเนินงานดังนี้ 1. ครั้งที่ 1 (เดือนสิงหาคม 2555) เพื่อทําการสังเกตและเรียนรู้ชุมชน และถ่ายทอด องค์ความรู้ด้วยการสาธิต และนําเสนอให้ชุมชน โดยคณาจารย์ทั้งสามท่าน และผู้ร่วมวิจัย พร้อมคําสั่ง ดําเนินการผลิตต้นแบบจากคณะวิจัยฯ ใช้เวลาในกิจกรรมนี้ประมาณ 2 วัน 1 คืน 2. ครั้งที่ 2 (ต้นเดือนกันยายน 2555) แนะนําเพื่อปรับแก้ผลิตภัณฑ์สั่งจ้างครั้งที่ 1 ให้ ได้เสก็ตซ์แบบที่พัฒนาตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญมากยิ่งขึ้น โดยเน้นประเด็นด้านทักษะความตั้งใจ
4
และลักษณะใหมํของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น พร๎อมกับคาสั่งจ๎างใหมํจากคณะวิจัยฯ ใช๎เวลาในกิจกรรมนี้ 2 วัน 1 คืน 3. ครั้งที่ 3 (ปลายเดือนกันยายน 2555) แนะนาเพื่อปรับแก๎ผลิตภัณฑ์สงั่ จ๎างครั้งที่ 2 พัฒนาตามความเห็นของผู๎เชี่ยวชาญ พร๎อมกับคาสั่งจ๎างผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกเพื่อบริษัท ทิสโก๎ฯ ตาม จานวนใช๎จริงครบทุกแบบจากคณะวิจัยฯ (แบบละ 3 ชุด บริษัทฯ 2 ชุด คณะวิจัย 1 ชุด) ใช๎เวลาใน กิจกรรมนี้ 2 วัน 1 คืน 4. คณะผู๎วิจัยดาเนินการเรียบเรียงการศึกษากระบวนการรายงานผล โดยแบํงเป็น 2 ระยะ 4.1 ระยะแรกเป็นบทสรุปผู๎บริหาร ดาเนินการโครงการพร๎อมภาพและเอกสาร ประกอบฉบับประมวลยํอ เพื่อนาไปใช๎เผยแพรํประชาสัมพันธ์ CSR ของทางเจ๎าของทุน ใช๎เวลา ประมาณ 3-4 สัปดาห์ 4.2 ระยะที่สอง บทสรุปการศึกษาเพื่อจัดพิมพ์รูปเลํมสมบูรณ์ นาสํงบริษทั ทิสโก๎ฯ ชุมชน และคณะฯ ภายหลัง ในเวลาประมาณ 3-4 เดือน เป้าหมายโครงการ 1. ชุมชนได๎รับคาสั่งจ๎างออกแบบผลิตภัณฑ์จากคณะวิจัย และบริษัท ทิสโก๎ฯ 2. บริษัท ทิสโก๎ฯ ได๎ของต๎นแบบของที่ระลึกที่พัฒนาจากคณะวิจัยและชุมชน 3. บริษัท ทิสโก๎ฯ ได๎ต๎นแบบของที่ระลึกเพื่อใช๎ออกคาสั่งซื้อจากคณะวิจัย และชุมชน 4. บริษัท ทิสโก๎ฯ ได๎รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ภายใน 3-4 เดือนหลังจากได๎ต๎นแบบ 5. ผู๎แทนคณะมัณฑนศิลป์ได๎ถํายทอดองค์ความรู๎ให๎กับชุมชน 6. นักศึกษาผู๎รวํ มวิจัยกับคณะมัณฑนศิลป์ได๎รํวม แลกเปลีย่ นเรียนรู๎กับชุมชน
งบประมาณ การดาเนินโครงการในครั้งนี้ ได๎รับการสนับสนุนงบประมาณจาก บริษทั ทิสโก๎ฯ เพื่อเป็น คําใช๎จํายในการดาเนินงาน ได๎แกํ คําพาหนะในการเดินทาง คําน้ามันเชื้อเพลิง คําอาหาร คําที่พัก คําวัสดุสื้นเปลืองตํางๆ คําจัดทาเอกสารการเผยแพรํ คําเบี้ยประชุม คําจ๎างทาต๎นแบบของที่ระลึก ครั้งที่ 1 และ 2 และคําใช๎จาํ ยอื่นๆ ตามความเหมาะสม เป็นจานวนทั้งสิ้น 500,000 บาท (ห๎าแสน บาทถ๎วน) โดยการเหมาจําย แบํงรับจานวน 3 งวด
5
อนึ่ง หากคณะวิจัยมีการลงพื้นที่เพิ่มเติมจากแผนดาเนินงานกิจกรรมวิจัยสร๎างสรรค์ที่ กาหนดไว๎ สามารถกระทาได๎เพื่อให๎การจัดสรรทางบัญชีงานวิจัยมีความถูกต๎องเรียบร๎อย การ เดินทางเพิ่มเติมอื่นๆ ขอให๎เป็นภาระในการจัดการเดินทางและคําใช๎จํายตํางๆ โดยผู๎สนับสนุน ภายนอกเพิ่มเติม ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ 1. บุคลากรคณะมัณฑนศิลป์ และบริษทั ทิสโก๎ฯ รับรู๎ และเข๎าใจสภาพปัญหาผลิตภัณฑ์ ของที่ระลึกของชุมชนอาเภอกระนวน จังหวัดขอนแกํน 2. บุคลากรคณะมัณฑนศิลป์ และบริษทั ทิสโก๎ฯ สามารถสรุปแนวทางการแก๎ปัญหาใน การจัดกิจกรรมให๎ชุมชนอาเภอกระนวน จังหวัดขอนแกํน 3. ชุมชนอาเภอกระนวน จังหวัดขอนแกํน สามารถสร๎างสรรค์ผลงานผลิตภัณฑ์ของที่ ระลึกของตนได๎ จากการนาเสนอแนะ และสาธิตโดยบุคลากรคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 4. เกิดการบูรณาการความรํวมมือด๎านบริการวิชาการรํวมกัน ระหวํางหนํวยงานภาครัฐ หนํวยงานเอกชน และชุมชน ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. ผู๎ชํวยศาสตราจารย์ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ อาจารย์ประจา/หัวหน๎าโครงการวิจัย 2. อาจารย์พัฒนา เจริญสุข อาจารย์ประจา/ผู๎รํวมวิจัย 3. ผู๎ชํวยศาสตราจารย์ ดร.ปฐวี ศรีโสภา อาจารย์ประจา/ผู๎รํวมวิจัย 4. อาจารย์บัญชา ชูดวง วิทยากรพิเศษ /ผู๎รํวมวิจัย 5. นางสาวมุกดา จิตพรมมา หัวหน๎างานแผนและสํงเสริมทางวิชาการ/ผู๎รํวมวิจัย
6
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม
ประวัติความเป็นมา ข้อมูลเกี่ยวกับ ต้นกก กก แปลว่า น. กอ, ต๎น, โคน, เชํน กกหู กกไม๎; ชื่อหญ๎าพันธุ์หนึ่งขึ้นในที่ชุํมแฉะ มีหลายชนิด เชํน กก กลม ใช๎สานเสือ่ กกลังกา (กกรังกา) ลาต๎นเป็นสามเหลี่ยม. ก. กอดไว๎กับอก, ประคองไว๎กับอก, เอาไว๎ กับตัวแตํผู๎เดียว; ใช๎เป็นคาซ๎อนมีความหมายใกล๎เคียงกัน เชํน กกกอด กอดกก; (ถน.) ตัด, บั่น, เชํน กกกิ่ง คือ ตัดกิ่ง. source : อ.เปลื้อง ณ.นคร กก 1 : น. เรียกคาหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกดวํา แมํกก หรือ มาตรากก.กก 2 : น. โคน เชํน กกไม๎, ต๎น เชํน กกขา, ลาต๎น เชํน กกเสา.กก 3 : น. ชื่อไม๎ล๎มลุกในวงศ์ Cyperaceae เกิด ในที่ชุํมแฉะ ชนิดลาต๎นกลมใช๎ทอหรือสานเสื่อ เรียกวํา กกกลม หรือ กกเสื่อ (Cyperus corymbosus Rottb., C. tegetiformis Roxb.) ที่ลาต๎นเป็นสามเหลี่ยม เชํน กกลังกา (C. alternifolius L.) กก สามเหลี่ยม [Schoenoplectus grossus (L.f.) Palla] กกขนาก หรือ กกกระหนาก (C. difformis L.).กก 4 : ก. แนบไว๎กับอก โดยปรกติเป็นอิริยาบถนอน เชํน กกกอด กกไขํ กกลูก, โดยปริยาย หมายความวํา เก็บนิ่งไว๎นานเกินควร เชํน เอาเรื่องไปกกไว๎.กก 5 : (ถิ่น-พายัพ) ก. ตัด, บั่น, เชํน กกกิง่ กกยอด.กก 6 : น. ซอกด๎านในหรือซอกด๎านหลังของบานประตูหรือหน๎าตําง, ถ๎าเป็นด๎านหลังของแผํน บานประตู เรียกวํา กกประตู, ถ๎าเป็นด๎านหลังของแผํนบานหน๎าตําง เรียกวํา กกหน๎าตําง.กก ๗ : ดู กะวะ 2. source : ราชบัณฑิตยสถาน 6
7
ภาพที่ 2 ต๎นกกกลม
ภาพที่ 3 ต๎นกกเหลี่ยม
8
พืชวงศ์กก (ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cyperaceae ; อังกฤษ: Sedge) เป็นไม๎ลม๎ ลุก มีประมาณ 4,000 ชนิดแพรํพันธุ์กระจายทั่วโลก ชอบที่ชื้นแฉะ ขึ้นในที่ระดับต่าตามหนอง บึง ทางระบายคันคูน้า และโคลนเลน ใน 46 ประเทศจัดพืชวงศ์กกเป็นวัชพืช มีหลายชนิดใช๎เป็นอาหารเชํน Eleocharis toberosa และ Scirpus toberosus และหลายชนิดนามาทาเครื่องจักสานได๎อยําง เสื่อ กระจาด กระเช๎า หมวก เชํนกกชนิด Scirpus mucronatus, Lepironia mucronata, Carex brizoides เป็น ต๎น กกมีรูปรํางลักษณะ และนิเวศวิทยาเหมือนหญ๎ามาก มีลักษณะที่แตกตํางจากหญ๎าคือ กก มักมีลาต๎นตัน และเป็นสามเหลี่ยมหรือสามมุม บางชนิดมีผนังกั้นแบํงเป็นห๎องๆ มีกาบใบอยูํชิดกันมาก และที่สาคัญคือเกือบไมํมีลิ้นใบ บางชนิดไมํมีเลย ลักษณะสาคัญอีกประการหนึ่งของกกคือ ดอกแตํละ ดอกจะมีกาบชํอยํอยหํอหุ๎มหรือรองรับเพียงอันเดียว กกมีไหลเลื้อยไปใต๎ดิน และจากไหลก็จะแตกเป็น ลาต๎นที่ตัน โผลํพ๎นขึ้นมาเหนือดิน และเมื่อผําลาต๎นดูตามขวาง จะมีลักษณะเป็นสามเหลี่ยม หรือสาม มุมดังได๎กลําวมาแล๎ว ลาต๎นกกจะไมํแตกกิง่ เหมือนพืชชนิดอื่น ใบของกกเหมือนกับใบของหญ๎า แตํจะ เรียงตัวอัดกันแนํนเป็นสามมุม หรือสามตาแหนํงรอบโคนต๎น และมีกาบหํอหุ๎มลาต๎น และไมํมีลิ้นใบ ชํอดอกกกจะเกิดที่ปลายลาต๎นเป็นหลายแบบ เชํน ชํอแยกแขนง, ชํอซี่รํม หรือชํอเชิงลด และ มีดอกขนาดเล็กเป็นทั้งดอกที่สมบูรณ์และไมํสมบูรณ์เพศ โดยมีดอกรวมเรียกวําชํอดอกยํอย ซึ่ง ประกอบด๎วยดอกยํอยหนึ่งหรือหลายดอก แตํละดอกมีริ้วประดับรองรับ สํวนกลีบดอกนั้นไมํมีหรือ อาจมีแตํเปลี่ยนรูปรํางไปเป็นเกล็ด หรือขนแข็งเล็กๆ ในดอกกกจะมีเกสรเพศผู๎แยกกันอยูํ สํวนเกสร เพศเมียจะมีก๎านแยกเป็นสอง-สามแฉก หรือบางครั้งแยกเป็นสอง-สามเส๎น และมีรังไขํอยูํเหนือกลีบ ดอก ภายในมีห๎องเดียวและมีหนึ่งเมล็ด พื้นที่ปลูก พื้นที่ชุํมน้า (อังกฤษ:Wetland) หมายถึงลักษณะทางภูมิประเทศที่มีรูปแบบเป็น พื้นที่ลุํม พื้นที่ราบลุํม พื้นที่ลุํมชื้นแฉะ พื้นที่ฉ่าน้า มีนาทํ ้ วม มีน้าขัง พื้นที่พรุ พื้นทีแ่ หลํงน้า ทั้งที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ และที่มนุษย์สร๎างขึน้ ทั้งที่มีน้าขังหรือทํวมอยูํถาวร และชั่วครั้งชั่วคราว ทั้งที่เป็นแหลํงน้านิ่ง และน้าทั้งที่เป็นน้าจืด น้ากรํอย และน้าเค็ม รวมไปถึงพื้นที่ชายฝั่งทะเล และพื้นที่ของทะเล ในบริเวณ ซึ่งเมื่อน้าลดลงต่าสุดมีความลึกของระดับน้าไมํเกิน 6 เมตร คุณประโยชน์ของพื้นที่ชุํมน้า คือการเป็น แหลํงน้า แหลํงเก็บกักน้าฝน และน้าทํา เป็นแหลํงทรัพยากร และผลผลิตธรรมชาติ ที่มนุษย์สามารถ เข๎าไปเก็บเกี่ยวใช๎ประโยชน์ได๎ และมีความสาคัญตํอการคมนาคมในท๎องถิ่น รวมถึงการเป็นแหลํงรวม
9
สายพันธุ์พืช และสัตว์ อันมีความสาคัญทางนิเวศวิทยา และการอนุรักษ์ธรรมชาติ โดยเฉพาะอยํางยิ่ง เป็นแหลํงของผู๎ผลิตทีส่ าคัญในหํวงโซํอาหาร นอกจากนี้บางแหํงยังมีความสาคัญด๎านนันทนาการ และ การทํองเที่ยว ประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม ประเพณีท๎องถิ่น และเป็นแหลํงศึกษาวิจัยทาง ธรรมชาติวิทยา อีกด๎วย โดยการอุ๎มซับพลังอันรุนแรงของลม และคลื่น พื้นที่ชุํมน้าคือตัวปกปูอง แผํนดินที่เชื่อมตํอจากพายุ น้าทํวม และความเสียหายจากการกระแทกของคลื่น ต๎นไม๎ในพื้นที่ชุํมน้า ชํวยกรองมลพิษ และสิ่งสกปรกที่มากับน้า ที่ลุํมชื้นแฉะน้าจืดสํวนใหญํจะอยูํในบริเวณที่ราบน้าทํวม ของแมํน้า พื้นที่ชุํมน้าที่อยูํระหวํางบริเวณน้าขึ้นน้าลงเป็นตัวอยํางที่ดีที่สุดที่แสดงให๎เห็นการ แพรํกระจาย (Invasion) การปรับตัว (Modification) และการทดแทน (Succession) ของพืชพรรณ ในพื้นที่ กระบวนการแพรํกระจาย และการทดแทนได๎แกํการเจริญงอกงามของหญ๎าทะเล พืชเหลํานี้ ชํวยดักตะกอน และเพิ่มอัตราการตกตะกอน ตะกอนที่ถูกจับไว๎จะเพิ่มกลายเป็นที่เลนราบ สิ่งมีชีวิตใน เลนเริ่มตั้งตัว และกระตุ๎นให๎เกิดสิ่งมีชีวิตรูปแบบอื่นมากขึ้นทาให๎องค์ประกอบอินทรีย์ของดิน การปลูก 1. การเลือกดิน กกชอบขึ้นในที่ดินเลน แตํต๎องอยูํในที่ลุํม มีน้าขังเสมอ หรือน้าขึ้นถึงทุก วันได๎ยิ่งดี ระดับในนากก ประมาณ 25 – 30 เซนติเมตร 2. การเตรียมที่ดิน เมื่อเลือกหาพื้นที่ดินพอสาหรับปลูกกกได๎แล๎ว จัดการถากถางให๎ดินซุย และให๎หญ๎าตายเชํนเดียวกับนาข๎าว เพราะหญ๎าเป็นศัตรูของกกเหมือนกัน ทั้งต๎องทาคันนาไว๎สาหรับ ขังน้าไว๎เชํนเดียวกับการทาคันนาข๎าวที่ๆ สาหรับปลูกกกนี้ เรียกวํา นากก 3. การปักดา การดานากก เหมือนการดานาข๎าว ใช๎หัวกกที่ติดอยูํกับลาต๎นตัดปลายทิ้ง แล๎วให๎เหลือยาวเพียง 50 เซนติเมตร ซึ่งซื้อหรือแยกมาจากนากกของตน มัดเป็นกาๆ นาเอาพันธ์ เหลํานั้นไปยังนากกที่เตรียมแล๎ว แยกออกเป็นหัวๆ ดาลงในนากก หํางกันประมาณ 20 – 25 เซนติเมตร แตํการดานั้นจะต๎องพิจารณาถึงพื้นที่ด๎วย คือ หมายความวํา ถ๎าที่ดินดี มีปุ๋ยมาก ก็ดาหําง หนํอย ถ๎าที่ดินไมํดีก็ให๎ดาถี่ๆ หนํอย พื้นที่ 1 ไรํต๎องใช๎หัวกกประมาณ 600 – 700 กา 4. การบารุงรักษา เมื่อเสร็จจากการดาเรียบร๎อยแล๎ว ชาวนากกก็หมดภาระอันหนัก มีแตํ งานเล็กๆ น๎อยๆ คือ 4.1 การทารั้ว รั้วนี้เป็นรั้วปูองกันวัว และควายที่จะมาเหยียบย่าในนากก หรือกัดกินต๎น กกที่ลัดขึ้นมา
10
4.2 การถอนหญ๎า การถอนหญ๎าในนากก นานๆ จะมีการถอนหญ๎ากันสักครั้ง เมื่อเห็น วํามีหญ๎าขึ้นมาก บางแหํงไมํต๎องถอนหญ๎าเลย เพราะเมื่อกกขึ้นจนแนํนหนา หญ๎าไมํสามารถขึ้นมาได๎ 4.3 การใสํปุ๋ย ตามปกตินากกเมื่อดาลงไปแล๎วครั้งหนึ่ง ไมํต๎องดาอีกตั้งหลายๆ ปี บาง แหํงไมํต๎องดาเลยตั้ง 10 ถึง 15 ปี เพราะตัดต๎นกกไปแล๎ว หัวกกยังอยูํจะแทงหนํอขึ้นมาเป็นลาต๎นอีก และเมื่อเห็นวํากกที่ขึ้นมาใหมํนั้นไมํงามควรหาปุ๋ยใสํลงในนากก ปุ๋ยที่กกชอบมากที่สุดนั้น คือ ปุ๋ยขี้ เป็ด ปลาเนํา และขี้น้าปลา เป็นต๎น ถ๎าหากวําไมํต๎องเป็นการเปลืองมากบางทํานใช๎ปุ๋ยขี้ควายก็ใช๎ได๎ 4.4 การซํอมแซม เมื่อเห็นวําตอนไหนกกหําง หรือหัวกกตาย ไมํมีลาต๎นแทงหนํอขึ้นมา ให๎ใช๎หัวกกดาแซมลงไป มากน๎อยตามแตํสมควร 4.5 การเก็บเกีย่ ว เมื่อเห็นต๎นกกที่ดามาแกํพอตัวแล๎ว (ประมาณ 3 – 4 เดือน) สังเกต ได๎จากดอกกกมีสีเหลือง โดยมากมักจะตัดกกกันในฤดูฝน เมื่อกกแกํเต็มที่แล๎ว ถ๎าไมํมีการตัดมันไปมัน จะเนําเหี่ยวแห๎งฟุบลงไป พอฝนเริ่มตก ก็แทงหนํอลัดขึ้นมาใหมํเชํนนี้เสมอ ความยาวของต๎นกกนั้นที่ ยาวที่สุด ตั้งแตํ 140 – 180 เซนติเมตร ต้นกกที่ใช้ทาเสื่อ ต๎นกกที่ใช๎ทาเสื่อ เรียกวํา กกลังกา หรือกกกลม หรือไหล มีอยูํทั่วไปในทุกจังหวัดในภาค อีสาน และมีมากในจังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด จังหวัดระยอง จังหวัดชลบุรี ต๎นกกเป็นหญ๎าชนิดหนึ่ง มีหัวเหมือนขํา แตํแกํเล็กกวํา แล๎วแตกแขนงเป็นต๎นตามหัวของมัน อยํางเดียวกับขํา กก มี 2 ชนิด คือ 1. กกพื้นเมือง ตามภาษาพื้นเมือง เรียกวํา กกเหลี่ยม หรือผือนา ที่เรียกเชํนนี้เพราะ ลักษณะลาต๎นเป็นเหลี่ยมสามเหลี่ยม ผิดกวําต๎นหญ๎าธรรมดา ผิวของกกเหลี่ยมแข็งกรอบ และไมํ เหนียว เมื่อนามาทอเป็นผืนเสื่อแล๎วขัดไมํเป็นเงา เฉพาะอยํางยิ่งใช๎ไมํทนทาน เพราะฉะนั้นจึงไมํมีผู๎ นิยมใช๎กกชนิดนี้มาทาเป็นเสื่อมากนัก 2. กกพันธุ์ลังกา ภาษาพื้นเมือง เรียกวํา กกกลม หรือไหล ที่เรียกเชํนนี้ เนื่องจากลาต๎น ของมันกลม ผิวอํอนนุํม เหนียว ไมํกรอบ เมื่อนามาทอเป็นเสื่อแล๎วนิ่มนวลนําใช๎ ขัดถูกเ็ ป็นมันนําดู จึง มีผู๎ใช๎กกกลมมาทอเสื่อกันมาก คุณประโยชน์ของต้นกก ด๎วยคุณสมบัติของต๎นกก เมื่อฉีกออกเป็นเส๎นเล็กๆ แล๎วนาไปผึ่งแดดให๎แห๎ง จะได๎เส๎นกก เส๎นละเอียดเล็กที่มีความเหนียวผิวสัมผัสอํอนนุํม และมีความมันเงา ทนทานตํอการใช๎งาน ด๎วย คุณสมบัติเหลํานี้ ผสมผสานกับภูมิปัญญาพื้นบ๎านจากการนาเส๎นกกมาทํอเป็นเสื่อเพื่อใช๎งานก็ได๎ พัฒนาตํอยอดไปสูํแนวคิดผลิตภัณฑ์ใหมํๆ หลากหลายมากมายซึ่งจะยกตัวอยํางพอสังเขปดังนี้
11
1. ทาเป็นเสื่อสาหรับนอน สาหรับปูพื้นในห๎องรับแขกแทนพรม และปูลาดตามพื้น โบสถ์ วิหาร เพื่อความสวยงาม เป็นต๎น 2. ทาเป็นกระเป๋ารูปตําง ๆ ได๎หลายแบบ แล๎วแตํผู๎คิดประดิษฐ์แบบตําง ๆ กัน เชํน กระเป๋าสตางค์ กระเป๋าหิ้วของสตรี 3. ทาเป็นหมอน เชํน หมอนรองที่นั่ง หมอนพิงพนักเก๎าอี้ 4. ทาเป็นกระสอบ เรียกวํา กระสอบกก 5. ทาเป็นเชือกสาหรับมัดของที่หํอแล๎ว วัสดุที่ต้องเตรียม การทอเสื่อเป็นงานหัตถกรรมประเภทเครื่องจักสาน เครื่องจักสานโดยทั่วไปจะหมายถึงสิ่ง ที่ผลิตขึ้นด๎วยมือ โดยวิธีจัก สาน ถัก และทอเป็นหลัก เครื่องจักสานที่ทาขึ้นในถิ่นตํางๆ มีความจาเป็น สาหรับการดารงชีวิตในชนบท ถ๎าจัดเสื่อตามหน๎าที่การใช๎สอย เสื่อเป็นเครื่องจักสานที่ใช๎เป็นเครื่อง เรือน และเครือ่ งปูลาด หรือใช๎สาหรับปูนั่ง ปูนอนเป็นสํวนใหญํ ในขั้นตอนการทอเสื่อกกจะต๎องเตรียม เครื่องมือ และวัสดุ อุปกรณ์ ที่จาเป็นในการใช๎งานดังนี้ 1. โฮงทอ โครงไม๎เครื่องทอ ทาด๎วยแกํนไม๎เนื้อแข็งเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ๎า กว๎าง 2 เมตร ยาว 2.5 เมตร ใช๎สาหรับขึงเชือกไนลํอนในการทอเสื่อกก
ภาพที่ 4 โฮงทอเสื่อ 2. ไม๎ขื่อ ไม๎ทํอนกลมวางเป็นคานขื่อไว๎ด๎านบนเพื่อรองรับเส๎นไนลํอน 3. ฟืม เครื่องสาหรับทอเสื่อมีลักษณะเป็นทํอนไม๎มีรูหํางกันประมาณ 1 นิ้ว สาหรับสอดไน ลํอนจะกระทบเชือกไนลํอนและกกให๎ประสานกัน
12
ภาพที่ 5 ฟืม
4. ด๎ายไนลํอน เอ็นหรือเชือกไนลํอน เชือกที่ใช๎ขึงกับโฮง ใช๎สอดตามรูฟืม
ภาพที่ 6 ด๎ายไนลํอน 5. ไม๎สอด ไม๎ที่ทาจากไม๎ไผํมีลักษณะแบนๆใช๎สอดไปตามชํองวํางระหวําง เชือกไนลํอนโดยแนบสํวนหัวของเส๎นกกกับไม๎สอด
13
ภาพที่ 7 ไม๎สอด 6. ไม๎หัวเสื่อ 7. กรรไกร 8. ต๎นกกตากแห๎งประมาณ 2-3 วัน จะได๎ต๎นกกคุณภาพ โดยเฉลี่ยความสูงของต๎น ประมาณ 120-150 ซม.ขึ้นไป หรือมีลาต๎นใบแกํ กํอนทาการจักกก ต๎องสลัดกกกํอนเพื่อคัดความ ยาวตามที่ต๎องการโดยใช๎ไม๎วัดกก ความยาวสูงสุดประมาณ 9 คืบ จนถึงสั้นที่สุด 4 คืบ เมื่อสะ ลัดกกแล๎ว นามาจักกกหรือผํากกเมื่อผําแล๎วขูดเอาไส๎ออกแล๎วนาไปตากแดด พอแห๎งดีแล๎วก็เก็บไว๎ เป็นมัดๆ ตามความยาว กกที่ตากแห๎งแล๎วต๎องมัดให๎แนํนเส๎นกกจะยังเขียว และเป็นเส๎นม๎วน กลม แตํ ถ๎าเก็บเอาไว๎นานไมํได๎ย๎อมสีจะมีมอดแมลงกิน หรือมีหนูกดั กิน 9. ถังน้า 10. ผ๎าสาหรับหํอต๎นกก 11. สีย๎อม ใช๎สี 3 สี คือ แดง เหลือง เขียว กํอนย๎อมจะเอาปี๊บตั้งบนเตาฟืน ใสํน้าลงไป ประมาณคํอนปี๊บ ใสํสีย๎อมลงไปตามต๎องการ ต๎มให๎น้าสีเดือดเอาเส๎นกกที่จะย๎อมแชํน้าให๎นิ่ม กํอนที่จะเอาลงใสํในปีบ๊ น้าสี ต๎มตํอไปสักครูํจึงตักเส๎นกกออก เอาไปแชํน้ากํอนที่จะนาไปตากให๎เส๎น กกที่ย๎อมสีแล๎วแห๎ง ถ๎าไมํแชํน้า หลังจากตักเส๎นกกออกมาจากปี๊บต๎มย๎อมสี เส๎นกกจะแบนไมํม๎วนเป็น เส๎นกลมกกที่จะย๎อมสีต๎องตากหลาย ๆ แดดจนเส๎นกกขาว มิฉะนั้นจะย๎อมสีไมํติด หรือติดไมํสม่าเสมอ 12. ม๎ารองนั่ง เป็นทํอนไม๎ไผํขนาดใหญํที่วางขวางกับโฮง เพื่อเป็นที่รองนั่ง สาหรับคนทอที่ทาการกระทบฟืม
14
ภาพที่ 8 ม๎ารองนั่ง 13. เทียนไข คือ เทียนไขที่เป็นแทํงนามาถูกบั เชือกไนลํอนที่ขึงระหวํางการทอเพื่อ ชํวยให๎การกระทบฟืมมีความลื่นยิ่งขึ้น
ภาพที่ 9 แทํงเทียนไข
15
วิธีการทอเสื่อกก อุปกรณ์ที่ใช๎ในการทอเสื่อจะมี กี่ สํวนใหญํเป็นแบบกี่ตั้ง ใช๎คนทอ 2 คน คือคนหนึ่งพุํง กกเข๎าฟืม และอีกคนหนึ่งกระทบฟืมกํอนจะทอต๎องพรมน้าให๎ชุํม จึงนาไปทอได๎ เมื่อทอเสร็จจึงตัดหาง ที่ยื่นออกมา ถ๎าเสื่อกกที่ ทอเสร็จยังไมํแห๎งพอก็จะนาไปผึ่งแดดไว๎เพื่อไลํความชื้นกํอนที่จะไปใช๎ ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ตํอไปวัตถุดิบที่ใช๎ คือเส๎นกก นอกจากเส๎นกกยังมีเส๎นเอ็นที่ใช๎เป็นเส๎นยืนใน การทอ นิยมใช๎เอ็นไนลอน สีดา สีขาว เส๎นเอ็นที่เป็นเส๎นปอก็นิยม แตํราคาแพงกวําเอ็นไนลอน บาง หมูํบ๎าน ก็ไมํนิยมโดยบอกวําเอ็นปอเส๎นใหญํทอเสื่อไมํสวยแตํบางหมูํบ๎านก็กลับนิยมโดยบอกวํา เสื่อที่ ใช๎เอ็นปอ เป็นเส๎นยืนจะเรียบลื่นไมํมีลายสะดุด ลวดลายเสื่อชนิดต่าง ๆ ด๎วยภูมิปัญญาพื้นบ๎านมีการสั่งสมพัฒนาลวดลายการทอเสื่อออกมาหลายรูปแบบ ด๎วย วิธีการทอด๎วยการสลับสีของเส๎นกกให๎เกิดลวดลาย การสร๎างลวดลายด๎วยการกาหนดการสอยเส๎นกก ขึ้นลง การกาหนดลวดลายจากการย๎อมเส๎นกก และอีกหลายๆ เทคนิคที่ทาให๎เกิดความหลากหลาย เพื่อตอบสนองตํอการใช๎งาน โดยสามารถแบํงการสร๎างลวดลายได๎ดังนี้ 1. ลวดลายเสื่อชั้นเดียว เสื่อชั้นเดียวหรือเรียกอีกอยํางวํา เสื่อลายขัด มีลวดลายที่ แตกตํางกันด๎วยวิธีการทอ และการให๎สีกกเพราะกกแตํละสีแตํละเส๎น ซึ่งใช๎ในการทอจะเป็นตัวกาหนด ลวดลายตํางๆ ของเสื่อ ลายบางชนิด อาจจะเปลี่ยนสีเส๎นกกได๎ตามความชอบของผู๎ใช๎ แตํลายบางชนิด เชํน ลายดอกมะขาม สีของเส๎นกกจะเป็นสิง่ กาหนดลักษณะลายที่ประยุกต์มาจากธรรมชาติ ดังนั้นจึง เปลี่ยนสีเส๎นกกไมํได๎ต๎องใช๎สีตายตัวลวดลายชนิดตํางๆ แบบเสื่อชั้นเดียว 1.1 ลายก๎างปลา ในชํวงลายใช๎กก 2 สี คือ สีเหลือง และสีดาของกกที่ใช๎เปลี่ยนแปลง ได๎ตามความต๎องการของผู๎ทอ 1.2 ลายตาแขก ในชํวงลายใช๎กก 4 เส๎น สีของเส๎นกกสามารถเปลี่ยนแปลงได๎ตาม ความต๎องการ 1.3 ลาย 3 เส๎น (ลายตาเหลือบ) ในชํวงลายใช๎กกในการทอ 3 สี ผู๎ทอสามารถ เปลี่ยนแปลงสีของเส๎นกกได๎ตามความต๎องการ 1.4 ลายไส๎ปลาไหล ในชํวงลาย ใช๎กก 2 สีสีของเส๎นกกสามารถเปลี่ยนแปลงได๎ตาม ความต๎องการ 1.5 ลายเสื่อจันท์ ในชํวงลายใช๎กก 2 สี ผู๎ทอ สามารถเปลีย่ นแปลงสีของกกได๎ตาม ความต๎องการ
16
1.6 ลายตะแคง ในชํวงใช๎กก 4 สี ของเส๎นกกสามารถเปลีย่ นแปลงได๎ความความ ต๎องการของผู๎ทอ 1.7 ลายดอกมะขาม ในชํวงลายใช๎กก 3 สี คือ สีเหลือง สีแดง และสีเขียว การทอเสื่อ ลายดอกมะขามสีของเส๎นกกต๎องตายตัว เพราะเป็นสีที่ใช๎แทนสีของดอกมะขามซึ่งเป็นสีที่เป็นจริงตาม ธรรมชาติ 1.8 ลายตารางสอดไส๎ ในชํวงลายใช๎กก 3 สี สีของเส๎นกกผูท๎ อสามารถเปลี่ยนแปลง ได๎ตามความต๎องการของผู๎ทอ 1.9 ลายสามเส๎นแดงดา (ลายโบราณ) ใช๎กก 2 สี คือ การทอเสื่อลายนี้ต๎องใช๎สีของกก ตายตัว คือ สีแดงและสีดา 1.10 ลายสองเส๎นแดงดา (ลายโบราณ) ใช๎กก 2 สี สีของเส๎นกกที่ใช๎ในการทอลายนี้ ต๎องใช๎สีตายตัว คือสีแดงสีดา 1.11 ลายข๎าวเปลือก ในชํวงลายใช๎กก 3 สี ผู๎ทอสามารถเปลี่ยนแปลงสีของเส๎นกกได๎ ตามความต๎องการ 1.12 ลายปลาไหลสอดไส๎ ในชํวงลายใช๎กก 3สี ผู๎ทอสามารถเปลี่ยนแปลงสีของเส๎น กกได๎ความต๎องการ 1.13 ลายตาคูํ ในชํวงลายใช๎กก 2 สี ผู๎ทอสามารถเปลี่ยนแปลงสีได๎ตามความ ต๎องการ 1.14 ลายคดกริช ในชํวงลายใช๎กก 2 สี ผู๎ทอสามารถเปลีย่ นแปลงสีได๎ตามความ ต๎องการ 1.15 ลายคลื่นน้า ในชํวงลายใช๎กก 2 สี ผู๎ทอสามารถเปลีย่ นแปลงสีได๎ตามความ ต๎องการ 1.16 ลายไม๎กางเขน แดง-ดา ในชํวงลายใช๎กก 2 สี ผู๎ทอสามารถเปลี่ยนแปลงสีได๎ ตามความต๎องการ 1.17 ลายไขํมุก ในชํวงลายใช๎กก 2 สี ผู๎ทอสามารถเปลี่ยนแปลงสีได๎ตามความต๎อง 2. ลวดลายเสื่อสองชั้น เสื่อสองชั้นมีวิธีการผลิตที่แตกตํางจากเสื่อชั้นเดียว คือ การร๎อย เอ็น วิธีการร๎อยเอ็นเสื่อสองชั้น ไมํเป็นมาตรฐานเหมือนกับการร๎อยเอ็นเสื่อชั้นเดียวซึ่งต๎องร๎อยทุกรู และทุกรํองฟืม แตํเสื่อสองชั้นจะร๎อยเอ็นตามลายที่ผู๎ทอต๎องการ ลวดลายที่เกิดขึ้นจากการทอเสื่อสอง ชั้นจึงเป็นการผสมผสานระหวํางการร๎อยเอ็นกับการใช๎สีของเส๎นกกการทอเสื่อสองชั้นในปัจจุบันไมํ เป็นที่นิยมทอสักเทําใด มักจะเป็นสินค๎าตามสั่งเสียมากกวํา เพราะใช๎เวลาในการทอนานกวําเสื่อชั้น เดียวทั้งต๎องกาหนดเรื่องของการร๎อยเอ็นขึ้นเพื่อให๎ได๎ลวดลายตามต๎องการ การร๎อยเอ็นสองชั้นจึงต๎อง
17
ระมัดระวังไมํให๎เกิดการผิดพลาดเพราะจะทาให๎ลายที่ต๎องการเปลี่ยนไปเสื่อสองชั้นที่ทอกันอยูํมี ลวดลายไมํมากเทํากับเสื่อชั้นเดียวลวดลายที่เกิดจากเสื่อสองชั้นจะมีลักษณะของลายที่เหมือนกันทั้ง ด๎านหน๎าและด๎านหลัง เป็นเสื่อที่ใช๎ประโยชน์ได๎ทั้งสองด๎านเสื่อที่ทามาจากต๎นกกวัชพืชข๎างทางที่มี คุณสมบัติพิเศษเฉพาะตัวทั้งความเหนียวนุํมทนทานตํอการใช๎งานนามาผสมผสานกับภูมิปัญญา พื้นบ๎าน จากเส๎นกกเส๎นเล็กๆ ธรรมดาสามารถนามาย๎อมสีด๎วยวิธีตํางๆ ทาให๎เกิดจุดเดํนอันเป็น เอกลักษณ์ นามาทอเป็นผืนด๎วยเทคนิคที่พัฒนามาจากการทอผ๎านามาสูํการทํอเสื่อ ตํางวัสดุตําง ประโยชน์ใช๎สอย จนพัฒนาสูํความหลากหลายของผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองประโยชน์ใช๎สอยเดิมๆ สูํ ประโยชน์ใช๎สอยใหมํๆ ที่เข๎ากันกับวิถีชีวิตของคนในปัจจุบัน
18
บทที่ 3 วิธีการศึกษา กระบวนการศึกษา และการดาเนินการ จากแผนดาเนินการคณะผู๎วิจัยฯ เดินทางภาคสนามไปยังอาเภอกระนวน จังหวัดขอนแกํน เป็นขั้นตอนแรกที่ได๎ศึกษาทาความเข๎าใจโดยตรงกับศักยภาพชุมชนกลุํมอาชีพเสริมในการผลิตเสื่อพับ เส๎นใยกก กุ๎นผ๎าสีสันลวดลายตํางๆ รูปแบบขบวนการผลิตแบบดั้งเดิม และตามความถนัดคุ๎นชิน โดย คณะผู๎วิจัยฯ ดาเนินการลงภาคสนามในระหวํางวันจันทร์ที่ 13 ถึง วันพุธที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2555 ภายใต๎ความรํวมมือของคณะทางานประสานงานชุมชนกับคณะวิจัยฯ นาโดย นายไกรสร กองฉลาด นายอาเภอประจาอาเภอกระนวน จังหวัดขอนแกํน
ภาพที่ 10 นายไกรสร นายอาเภอกระนวน กับ ผศ.ชัยณรงค์ หัวหน๎าโครงการ
18
19
การลงพื้นที่เพือ่ เก็บข้อมูลโครงการครั้งที่ 1 คณะทางานฯ นาคณะผู๎วิจัยฯ เข๎าพบกับสมาชิกชุมชนกลุํมทอเสื่อบ๎านนาเลาะ หมูํ 4 ตาบลหนองโน ผู๎ผลิตเสื่อฯ โดยตรงที่ วัดบ๎านนาเลาะในกระบวนการศึกษาคณะผู๎วิจัยฯ แบํงกลุํมยํอย ออกเป็น 4 กลุํม นาโดย ผศ.ชัยณรงค์ เพื่อเก็บข๎อมูลจากการสัมภาษณ์ และพิจารณาผลงานการทอ เสื่อกก และผลิตภัณฑ์เสื่อกกพับ คณะผู๎วิจยั ฯ ได๎รับความรํวมมืออยํางเป็นกันเองของสมาชิกชุมชนฯ ที่แลกเปลี่ยนข๎อมูลกันอยํางกระตือรือร๎นสนุกสนาน สังเกตได๎วําสมาชิกชุมชนฯ มีความตั้งใจเรํงเห็น ถึงความสาคัญในการสร๎างมูลคําเพิ่มให๎แกํผลิตภัณฑ์เสื่อพับของชุมชน
ภาพที่ 11 เก็บข๎อมูลสัมภาษณ์ และพิจารณาผลงานที่วัดบ๎านนาเลาะ
20
ภาพที่ 12 บรรยากาศการเก็บข๎อมูล และการสาธิตการทอเสื่อกกของสมาชิกชุมชน จากการสัมภาษณ์ในชํวงเช๎า คณะวิจัยฯ ได๎ข๎อสรุปที่เป็นภาพรวมๆ ของการดาเนินการ ของชุมชนดังตํอไปนี้ 1. คุณสมบัติของกก เมื่อฉีดเป็นเส๎นแล๎วนาไปตากแดด เส๎นกกจะม๎วนเป็นเส๎นกลมตาม ธรรมชาติ แล๎วด๎านเปลือกที่มีผิวมันจะออกมาด๎านนอก ต๎นกกอํอน หรือแกํ มีผลตํอสีด๎วย 2. ข๎อจากัดของขนาดความกว๎างของเสื่อ อยูํที่ขนาดความยาวของต๎นกก เสื่อที่ทอได๎ จะ มีความกว๎างประมาณ 48 – 50 ซม. 3. ขนาดเส๎นของกก มีผลตํอความเร็วในการทอ กกเส๎นใหญํก็จะทํอเสร็จเร็วกวํากกเส๎น เล็กในขนาดความยาวที่เทํากันโดยทั่วไปจะทอเสื่อ ให๎มีความยาวมาตรฐานประมาณ 2 เมตร 4. ขนาดของเส๎นกก มีผลตํอผิวสัมผัส เส๎นยิ่งเล็กผิวสัมผัสยิ่งละเอียดนุํม แตํทอยากใช๎ เวลานาน เส๎นใหญํผิวสัมผัสหยาบแข็ง แตํทองํายใช๎เวลาน๎อย ชุมชนชอบทาประเภทหลังนี้ 5. การย๎อมสีเส๎นกก มีทักษะพื้นฐานอยูํ 2 ลักษณะ คือ ย๎อมสีเดียวตลอดทั้งเส๎น กับการ ใช๎เทคนิคการถักเปียกํอนย๎อม (ได๎เทคนิคมาจากการศึกษาดูงานที่อาเภอบ๎านแพน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา)
ภาพที่ 13 ย๎อมสีเดียวตลอดทั้งเส๎น กับการใช๎เทคนิคการถักเปียกํอนย๎อม 6. การย๎อมกก ที่นาเทคนิคขัน้ สูงการมัดย๎อมมาใช๎เหมือนกับการย๎อมเส๎นไหม ซึ่งเป็นอัตลักษณ์ของภาคอิสาน ลวดลายที่ได๎ยังไมํละเอียด และทอยากต๎องวางลายไมํนิยมทา
21
ภาพที่ 14 เทคนิคการมัดย๎อม 7. ทาเสื่อพับเทํานั้น เป็นผลิตภัณฑ์ที่นิยมทากับทุกครัวเรือน 8. นิยมกุ๎นขอบเสื่อด๎วยผ๎าฝูายสีแดง หรือผ๎าฝูายสีสด บางทีก็ไมํเข๎ากันกับลวดลาย และสี ของเสื่อ 9. ขอจากัดด๎านภูมิอากาศ มีผลตํอตากเส๎นกก หลังจากการย๎อม 10. สํวนใหญํชมุ ชนจะสั่งซื้อเส๎นกกสีธรรมชาติบางสํวนมาจากจังหวัดอื่น ชํวงบํายคณะทางานฯ นาคณะวิจัยฯ เข๎าชมตัวอยํางบ๎านที่ทอเสื่อ พบข๎อสังเกตวําในแตํ ละบ๎านจะทอเสื่อตามความถนัด เป็นลวดลายเดิมๆ ตามทักษะที่มี กลุํมบ๎านที่มีทักษะมากก็จะทอเสื่อ ลายมัดหมี่ สํวนกลุํมบ๎านที่มที ักษะปานกลาง ก็จะทอแบบสีเดียว หรือรูปแบบลวดลายที่ไมํซับซ๎อน ทางคณะวิจัยฯ จึงจัดโจทย์การบ๎านสัง่ ให๎กลุมํ ชุมชนทาการย๎อมเส๎นกก ตามเทคนิคตํางๆ ติดตาม ผลงานในวันรุํงขึ้น
22
ภาพที่ 15 โจทย์เทคนิคการย๎อม ในวันอังคารที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2555 เป็นวันที่สองของการเดินทางมาเก็บข๎อมูล ภาคสนาม ในครั้งนี้ทํานนายอาเภอได๎นาชมกลุํมอาชีพอื่นๆ นอกเหนือจากกลุํมชุมชนทอเสื่อ เพื่อให๎ เกิดการบูรณาการกันในระหวํางชุมชน กลุํมชุมชนแรกเป็นกลุํมชุมชนบ๎านคาตานา เป็นกลุํมที่ทาไม๎ กวาด, กระเป๋า, ดอกไม๎ประดิษฐ์จากดินไทย มีทักษะในการปั้นดินสาเร็จรูปได๎ดีมาก มีตลาดรองรับอยูํ แล๎ว ทางคณะผู๎วิจัยจึงให๎คาแนะนาในการผลิตสินค๎าให๎มเี อกลักษณ์เฉพาะมากขึ้น เจาะจงลงไปที่ วัตถุประสงค์อื่นๆ เชํน การนาไปบูชาพระ การทาดอกไม๎ประจาวันเกิด การจัดเป็นแจกันที่มีโทนสี หลากหลาย การนาไปตกแตํงกับสินค๎าชนิดอื่นเพื่อเพิ่มมูลคํา เป็นต๎น หลังจากนั้นชํวงบํายก็เข๎าไปบ๎าน นาเลาะไปติดตามผลการสั่งจ๎างการย๎อมเสื่อในเทคนิคตํางๆ ผลออกมาเป็นที่พึงพอใจของกลุํมชุมชน และคณะวิจัยฯ มาก จากโจทย์ที่กาหนดเทคนิคการย๎อม การกาหนดคูํสี สัดสํวนของสีที่สด ทุกอยําง
23
ลงตัวตรงตามวัตถุประสงค์ หลังจากนัน้ คณะวิจัยฯ ก็ทาการสั่งจ๎างกลุํมชุมชนให๎ทอเสื่อตามลวดลาย และรูปแบบขนาดที่กาหนด นาเส๎นกกบางสํวนกลับไปดาเนินการพัฒนาออกแบบผลิตภัณฑ์ตํอไป
ภาพที่ 16 กลุํมชุมชนบ๎านคาตานา ในวันพุธที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2555 เป็นวันที่สามของการมาภาคสนาม วันนี้คณะทางานฯ ได๎พาไปชมกลุํมชุมชนทากระเป๋าถักจากเชือกรํม บ๎านหนองกุงใหญํ หมูํ 1 ตาบลหนองกุงใหญํ และ กลุํมทาโคมไฟจากด๎าย บ๎านโนนสัง หมูํ 7 ตาบลห๎วยโจด กลุํมที่ทากระเป๋าถักรวมกลุํมกันได๎ไมํนาน แตํผลงานมีทักษะดีมีการแบํงปันเทคนิครูปแบบการถัก ปัญหาหลักๆ ผลงานสํวนใหญํจะซ้าๆ เนื่องจากเน๎นที่รูปแบบที่ผลิตได๎งํายกํอน ผลิตจานวนมากแตํไมํมีตลาดรองรับ สํวนกลุํมโคมไฟจากด๎าย มีตลาดรองรับอยูํแล๎ว เป็นสํวนที่ผลิตเล็กๆ ปัญหาก็คือปัจจุบันก็ขายดีอยูํแล๎วเลยไมํเวลาพัฒนา รูปแบบอื่นๆ ในการหาตลาดใหมํๆ และการสร๎างมูลคําเพิ่มให๎กับสินค๎า
24
ภาพที่ 17 กลุํมชมชนที่ทากระเป๋าถักจากเชือกรํม, โคมไฟจากด๎าย
25
ภาพที่ 18 สีของการย๎อมกก ตามคาสั่งจ๎างของคณะผู๎วิจัยฯ ออกแบบ
ภาพที่ 19 กลุํมชุมชนบ๎านนาเลาะ สาธิตการย๎อม และทอเส๎นกก
26
ผลงานการสัง่ จ้างการทอเสือ่ กกตามที่คณะผู้วิจัยฯ ได้ทาการออกแบบของกลุ่มชุมชนเสื่อกก บ้านนาเลาะ
ภาพที่ 20 เสือ่ 001
ภาพที่ 21 เสือ่ 002
27
ภาพที่ 22 เสื่อ 003
ภาพที่ 23 เสื่อ 004
28
ภาพที่ 24 เสื่อ 005
ภาพที่ 25 เสื่อ 006
29
ภาพที่ 26 เสื่อ 007
ภาพที่ 27 เสื่อ 008
30
ภาพที่ 28 เสื่อ 009
ภาพที่ 29 เสื่อ 010
31
ภาพที่ 30 เสื่อ 011
ภาพที่ 31 เสื่อ 012
32
ภาพที่ 32 เสื่อ 013
ภาพที่ 33 เสือ่ 014
33
ภาพที่ 34 เสือ่ 015
ภาพที่ 35 เสือ่ 016
34
ภาพที่ 36 เสือ่ 017
ภาพที่ 37 เสือ่ 018
35
ภาพที่ 38 เสื่อ 019
ภาพที่ 39 เสื่อ 020
36
ภาพที่ 40 เสื่อ 021
ภาพที่ 41 เสื่อ 022
37
ภาพที่ 42 เสื่อ 023
ภาพที่ 43 เสื่อ 024
38
ภาพที่ 44 เสื่อ 025
การลงพื้นทีเ่ พื่อติดตามงานครั้งที่ 2 ด๎วย ผู๎ชํวยศาสตราจารย์ชัยณรงค์ฯ หัวหน๎าโครงการ ได๎ลงพื้นที่เพื่อติดตามงาน เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ใช๎เวลาในกิจกรรมนี้ 1 วัน เป็นกิจกรรมการแนะนารูปแบบของผลิตภัณฑ์จาก ผลงานต๎นแบบหลากหลายที่คณะวิจัยฯ ได๎ผลิตขึ้น เพื่อให๎เป็นแนวทางแกํกลุํมชุมชนทอเสื่อบ๎านนา เลาะ มีการปรับแก๎ผลิตภัณฑ์สั่งจ๎างครั้งที่ 1 ให๎เป็นไปตามแบบรํางที่ปรับปรุงจากพื้นฐาน ความสามารถ และกระบวนการผลิตตามความเห็นของผู๎เชี่ยวชาญมากยิ่งขึ้น โดยเน๎นประเด็นด๎าน ทักษะความตั้งใจเพิ่มเติมลงไป พร๎อมแนะนาลักษณะใหมํๆ ที่เป็นการเพิม่ มูลคําให๎แกํผลิตภัณฑ์อัน สอดคล๎องไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ในครั้งนี้ได๎เพิ่มเติมคาสั่งจ๎างผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกเพื่อ บริษัท ทิสโก๎ฯ ใหมํจากคณะวิจัยฯ ตามรายการ และจานวนที่ใช๎จริงให๎ครบทุกแบบๆ ละ 3 ชุด บริษัททิสโก๎ฯ 2 ชุด คณะวิจัยฯ 1 ชุด การลงพื้นที่เพื่อปิดโครงการ ผู๎ชํวยศาสตราจารย์ชัยณรงค์ฯ หัวหน๎าโครงการ พร๎อมคณะผู๎วิจัยฯ และกลุํมนักศึกษา ภาควิชาออกแบบตกแตํงภายใน ชั้นปีที่ 1 คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จานวน 5 ทําน ได๎
39
ลงพื้นที่เพื่อเป็นการรายงานสรุปผลปิดโครงการ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 3 มกราคม ถึงวันศุกร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2556 ใช๎เวลาในกิจกรรมนี้ 2 วัน 1 คืนหัวหน๎าโครงการบรรยายสรุปการดาเนินการ ของโครงการตั้งแตํเริ่มต๎นโครงการจนถึงวันที่ปิดโครงการ ให๎กับกลุํมชุมชนทอเสื่อบ๎านนาเลาะ และ กลุํมชุมชนผลิตภัณฑ์กระเป๋าบ๎านหนองโก โดยได๎รับเกียรติจากคุณไพรัช ศรีวิไลฤทธิ์ ผู๎อานวยการ อาวุโส หัวหน๎าตรวจสอบภายใน บริษัท ทิสโก๎ไฟแนนเชียลกรุ๏ป จากัด (มหาชน) และคุณวันชัย อนุตรชัชวาลย์ ผู๎จัดการธนาคารทิสโก๎ สาขาจังหวัดอุดรธานี เข๎ารํวมฟังด๎วย ในกิจกรรมครั้งนี้ทุกฝุายพอใจ กับผลงานของโครงการที่สามารถพัฒนาศักยภาพของกลุํมชุมชนทอเสื่อให๎ได๎รับทักษะใหมํๆ ที่เกิดจาก ความคิดริเริ่มสร๎างสรรค์จากงานออกแบบไปสูํการสร๎างมูลคําเพิ่มให๎แกํเสื่อกกได๎จริง ด๎วยการรํวมแรง รํวมใจของ 3 หนํวยงาน ทาให๎เกิดผลสัมฤทธิ์ในวัตถุประสงค์ทุกประการ ในกิจกรรมครัง้ นี้ได๎นานักศึกษาภาควิชาออกแบบตกแตํงภายใน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ถูกคัดเลือกแบบรํางผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์เสื่อกก มาสั่งจ๎างกลุํมชุมชน ผลิตภัณฑ์เสื่อกก โดยให๎นักศึกษานาเสนอผลงานออกแบบตํอกลุํมชุมชนผลิตภัณฑ์เสือ่ กก ตลอดจน อธิบายความต๎องการ กระบวนการผลิต การใช๎วัสดุประกอบ มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู๎ระหวําง ผู๎ผลิตกับนักออกแบบรุํนใหมํกันโดยตรง โดยในครั้งนี้มีการสั่งจ๎างผลิตสินค๎าต๎นแบบ จานวน 5 รายการ และรอผลในครั้งตํอไป ขั้นตอนการเรียบเรียงกระบวนการศึกษา และรายงานผล คณะผู๎วิจัยดาเนินการเรียบเรียงกระบวนการศึกษา และรายงานผล โดยแบํงขั้นตอนเป็น 2 ระยะดังนี้ 1. ระยะแรกเป็นบทสรุปผู๎บริหาร ดาเนินการโครงการพร๎อมภาพ และเอกสารประกอบ ฉบับประมวลยํอ เพื่อนาไปใช๎เผยแพรํประชาสัมพันธ์ CSR ของทางเจ๎าของทุน ใช๎เวลาประมาณ 3-4 สัปดาห์ 2. ระยะที่สอง บทสรุปการศึกษาเพื่อจัดพิมพ์รูปเลํมสมบูรณ์ นาสํงบริษัท ทิสโก๎ฯ ชุมชน และคณะฯ ภายหลัง ในเวลาประมาณ 3-4 เดือน 2.1 ลงพื้นที่เพื่อสังเกตการณ์ และสั่งงานขั้นต๎น 2.2 ประชุมออกแบบ ประชุมความคืบหน๎า และจัดทาต๎นแบบ 2.3 ประชุมเพือ่ สรุปต๎นแบบ วิเคราะห์ปัญหาและการแก๎ไข 2.4 เดินทางลงไปสั่งจ๎าง บันทึกปัญหา และการแก๎ไขปรับปรุงหน๎างาน 2.5 ประมวลการศึกษา ทาสรุปรายงานนาเสนอการศึกษาฉบับสมบูรณ์ 2.6 ประมวลรวม ทารายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์เพื่อเผยแพรํสาธารณชน
40
บทที่ 4 รายงานผลการดาเนินงาน
รายงานการประชุมความก้าวหน้าของงาน โครงการวิจัยสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกจากชุมชน อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแกํน เพื่อบริษทั ทิสโก๎ ไฟแนนเชียลกรุ๏ป จากัด (มหาชน) วันพุธที่ 29 สิงหาคม 2555 เวลา 16.30 – 19.00 น. ผู๎รํวมประชุม : ผู๎ชํวยศาสตราจารย์ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ หัวหน๎าโครงการวิจัย อาจารย์พัฒนา เจริญสุข ผู๎รํวมวิจัย ผู๎ชํวยศาสตราจารย์ ดร.ปฐวี ศรีโสภา ผู๎รํวมวิจัย นางสาวมุกดา จิตพรมมา ผู๎รํวมวิจัย นางสาวกฤติยา เอกวุฒิไตรภพ นักศึกษาชํวยงานวิจัย นางสาวไพลิน หอมชง นักศึกษาชํวยงานวิจัย นางสาวสุวดี สุธรรมวงศ์ นักศึกษาชํวยงานวิจัย นายพัฒนศักดิ์ มังคะลี นักศึกษาชํวยงานวิจัย นายณัฐคม มาลาไพฑูรย์ทิพย์ นักศึกษาชํวยงานวิจัย ผู๎ลาประชุม : อาจารย์บัญชา ชูดวง ผู๎รํวมวิจัย วาระที่ 1 : การนาเสนอประมวลกิจกรรมการลงพื้นที่ของคณะวิจัย และนักออกแบบ วาระที่ 2 : การนาเสนองานของคณะวิจัย และการนาเสนอผลงานของคณะนักออกแบบ วาระที่ 3 : การอภิปรายหาข๎อสรุปการดาเนินการตํอไป และนัดหมายการประชุมครั้งหน๎า วาระที่ 4 : การสรุปกิจกรรมลงพื้นที่ครั้งตํอไป (วัน เวลา สถานที่ และรายละเอียด) วาระที่ 5 : เรื่องอื่นๆ เกี่ยวเนื่องกับการบูรณาการสูํการเรียนการสอนของรายวิชาภายในคณะมัณฑนศิลป์ การประชาสัมพันธ์ผลงาน ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ตามระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ ฯลฯ
40
41
วาระที่ 1 : การนาเสนอประมวลกิจกรรมการลงพื้นที่ของคณะวิจยั และนักออกแบบ หัวหน๎าโครงการ (ผศ.ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ) เปิดการประชุม และอธิบายสังเขป โครงการเพื่อทบทวนงานทีไ่ ด๎มอบหมายให๎คณะฯ ได๎แบํงกันไปดาเนินการ โดยประกอบไปด๎วยการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ 5 ประเภท ประกอบไปด๎วย 1. ชุดแผํนรองภาชนะบนโต๏ะรับประทานอาหาร 2. ของประดับตกแตํงขนาดเล็กในที่พักอาศัย 3. งานประติมากรรมศิลปะขนาดเล็กที่สามารถใช๎สอยได๎บางลักษณะ เพื่อประดับ และใช๎ งานบนโต๏ะผู๎บริหารระดับสูง 4. กระเป๋าผ๎าเอนกประสงค์เพื่อเป็นของที่ระลึกของบริษัททิสโก๎ฯ 5. ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกอื่นๆ ที่แสดงภูมิปัญญาและสะท๎อนลักษณะพิเศษที่นําจดจาของ ชุมชนเพื่อจาหนํายได๎ พร๎อมกับได๎นาเสนอประมวลภาพบางสํวน เพื่อให๎ทบทวนกิจกรรมระหวํางการลงพื้นที่ และหัวหน๎าโครงการได๎นาเสนอรูปแบบกระดาษที่ได๎ออกแบบเพื่อใช๎สร๎างสรรค์ลวดลายและสีสันตํางๆ เพื่อการสั่งจ๎างทอผืนเสื่อกก อยํางเป็นระบบ ที่สามารถนามาบูรณาการกับรายวิชาพื้นฐานของคณะ มัณฑนศิลป์ (วิชาการออกแบบ 1 และ 2 ของแตํละภาควิชาที่ดาเนินการสอน) อนุเคราะห์เขียนแบบ โดย อาจารย์พัฒนา เจริญสุข ผู๎รํวมวิจัย
4242
ภาพที่ 45 ภาพกระดาษออกแบบลวดลาย ที่หัวหน๎าโครงการได๎ สร๎างสรรค์ ึ้นเพื่อใช๎ประกอบกับกิจกรรมการเรี ภาพที ่ 45 ขภาพกระดาษออกแบบลวดลาย ที่หยัวนการสอนแบบบู หน๎าโครงการได๎รณาการรายวิชา ออกแบบสร๎1 าและ 2 ของแตํ ชาฯ บกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการรายวิชา งสรรค์ ขึ้นเพื่อลใช๎ะภาควิ ประกอบกั
ออกแบบ 1 และ 2 ของแตํละภาควิชาฯ
43
43
วาระที ่ 2่ :2การน าเสนองานของคณะวิ ออกแบบ วาระที : การน าเสนองานของคณะวิจจัยัยและการน และการนาเสนอผลงานของคณะนั าเสนอผลงานของคณะนักกออกแบบ หัวหัหน๎ าโครงการ อริยยะประเสริ ะประเสริฐฐ))ได๎ได๎ขขอให๎ อให๎คคณะวิ ณะวิจัยจทัยาการ ทาการ วหน๎ าโครงการ(ผู(ผู๎ช๎ชํวํวยศาสตราจารย์ ยศาสตราจารย์ชชัยัยณรงค์ ณรงค์ อริ นาเสนอผลงานในแขนงที ดร.ปฐวี ศรีศรีโสภา โสภาได๎ได๎ นาเสนอผลงานในแขนงทีแ่ ตํแ่ ลตํละทํะทํานที านที่ส่สนใจ นใจโดยเริ โดยเริ่ม่มทีที่ ่ ผูผู๎ช๎ชวํวํ ยศาสตราจารย์ ยศาสตราจารย์ ดร.ปฐวี นาเสนอการออกแบบชุ นาเสนอการออกแบบชุดผลิ ดผลิตตภัภัณณฑ์ฑ์หหลายรายการ ลายรายการ
ภาพที่ 46 แสดงกิจกรรมการนาเสนองานของคณะวิจัยและคณะนักออกแบบ ภาพที่ 46 แสดงกิจกรรมการนาเสนองานของคณะวิจัยและคณะนักออกแบบ
44 44
ภาพที่ 47 แสดงผลงานของผู๎ชํวยศาสตราจารย์ ดร.ปฐวี ศรีโสภา
ภาพที่ 47 แสดงผลงานของผู๎ชํวยศาสตราจารย์ ดร.ปฐวี ศรีโสภา
45 45
ภาพที่ 48 แสดงผลงานของผู๎ชํวยศาสตราจารย์ ดร.ปฐวี ศรีโสภา ภาพที่ 48 แสดงผลงานของผู๎ชํวยศาสตราจารย์ ดร.ปฐวี ศรีโสภา
46
ภาพที่ 49 ผลงานการสร๎างสรรค์ของ อาจารย์พัฒนา เจริญสุข
47 47
ภาพที่ 50 แสดงผลงานการสร๎างสรรค์ของผู๎ชํวยศาสตราจารย์ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ ภาพที่ 50 แสดงผลงานการสร๎างสรรค์ของผู๎ชํวยศาสตราจารย์ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ
ภาพที่ 51 แบบพวงกุญแจ ผลงานการสร๎างสรรค์ของคณะนักออกแบบ ภาพที่ 51 แบบพวงกุญแจ ผลงานการสร๎างสรรค์ของคณะนักออกแบบ
48
ภาพที่ 52 แบบถาดใส่สงิ่ ของสาหรับบนโต๊ ะผู้บริหาร ผลงานการสร้ างสรรค์ ของคณะนักออกแบบ
49
ภาพที่ 53 แบบคลี่ถาดใสํของสาหรับบนโต๏ะผู๎บริหาร ผลงานการสร๎างสรรค์ของคณะนักออกแบบ
ภาพที่ 54 แสดงผลงานการสร๎างสรรค์ของคณะนักออกแบบ
50 50 คณะผู๎วิจัยและนักออกแบบได๎ทาการอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนข๎อคิดเห็นในการดาเนินการ ในแตํละแบบมากพอสมควร าแบบที ่ 5 คือแบบการสร๎ างสรรค์่ยขนข๎ องที มิปาเนิ ัญญาของ คณะผู๎วิจัยและนัและพบวํ กออกแบบได๎ ทาการอภิ ปรายเพื่อแลกเปลี อคิ่รดะลึเห็กนจากภู ในการด นการ ชุในแตํ มชนเอง ที่ได๎ออกแบบไว๎ยัและพบวํ งไมํดีนัก าแบบที ซึ่งจาเป็่ 5นจะต๎ องคิดสร๎างสรรค์ การออกแบบกั นตํอมไปให๎ ดียิ่งขึ้น ละแบบมากพอสมควร คือแบบการสร๎ างสรรค์ ของที่ระลึกจากภู ิปัญญาของ โดยนัทีด่ไหมายให๎ ดาเนิยนังการน ีไปตํนอจะต๎ ยอดผลิ ต๎นาแบบเพื พัฒนารูปแบบและแนวทางกั ชุอีมกชนเอง ด๎ออกแบบไว๎ ไมํดีนาแบบที ัก ซึ่งจ่มาเป็ องคิดตสร๎ งสรรค์ก่อารออกแบบกั นตํอไปให๎ดียิ่งขึ้น อีตํกอไป โดยนัดหมายให๎ดาเนินการนาแบบที่มีไปตํอยอดผลิตต๎นแบบเพื่อพัฒนารูปแบบและแนวทางกัน ตํอไป วาระที่ 3 : การอภิปรายหาข๎อสรุปการดาเนินการตํอไปและนัดหมายการประชุมครั้งหน๎า คณะผูป๎วิจรายหาข๎ ัยได๎ทาการคั เลือกาเนิผลงาน 4 ชนิดดของทั ้งคณะผู๎วิจัยมครัและของนั วาระที่ 3 : การอภิ อสรุปดการด นการตํทัอ้งไปและนั หมายการประชุ ้งหน๎า กออกแบบ ขึ้นมาคนละ คณะผู 1 แบบ๎วิจเพื นการจั นแบบทัเพื้ง ่อ4ให๎ชนิเห็ดนรูของทั ปแบบ้งคณะผู และรายละเอี ยดการดกออกแบบ าเนินการ ัยได๎่อดทาเนิ าการคั ดเลืดอทกาต๎ผลงาน ๎วิจัย และของนั งครบถ๎วน1 แบบ โดยนัเพื ดหมายให๎ ลับไปท ที่ 19 กันยายน 2555 ขึอยํ้นามาคนละ ่อดาเนินกการจั ดทาต๎นแบบให๎ แบบ เพืเสร็ ่อให๎จสิเห็้นนภายในวั รูปแบบนและรายละเอี ยดการด าเนินเวลา การ 16.00 น. วเพืน อ่ นโดยนั ามาคัดหมายให๎ ดเลือก และสรุ นอีจกสิครั ้ง โดยนันดทีหมายเบื นในวัน2555 ดังกลําเวลา วใน อยํางครบถ๎ กลับไปทปผลโครงการกั าต๎นแบบให๎เสร็ ้นภายในวั ่ 19 กั้อนงต๎ยายน การประชุน.ม เพืทัอ่ ้งนนีามาคั ้มีผลงานสร๎ ผู๎ชํวยศาสตราจารย์ ศรีโสภา้องต๎ ที่สนามารถน 16.00 ดเลือกางสรรค์ และสรุขปองผลโครงการกั นอีกครั้ง ดร.ปฐวี โดยนัดหมายเบื ในวันดังามาผลิ กลําวในต ต๎นแบบได๎มหลากหลายประเภท ได๎ให๎ผู๎ชจํวัดยศาสตราจารย์ ทาทุกชิ้นงานเพื่อดร.ปฐวี ดูรายละเอี ด ที่สพร๎ อมทั้งามาผลิ สรุปการต การประชุ ทั้งนี้มีผลงานสร๎างสรรค์จึขงอง ศรีโยสภา ามารถน นการในรอบแรก จานวนชิ้นงานละสองชุ พร๎กอชิมให๎ จัดทาการบั นทึกและทาบทามความสมั รใจ ต๎ดนาเนิ แบบได๎ หลากหลายประเภท จึงได๎ให๎จัดดทาทุ ้นงานเพื ่อดูรายละเอี ยด พร๎อมทั้งสรุปคการ ของผู าเนินการจัดทาต๎จนานวนชิ แบบเพื้น่องานละสองชุ ขอความอนุเดคราะห์ รํวมเป็ ทยากรถํ ความรู๎และทัคกรใจ ษะ ดาเนิน๎ดการในรอบแรก พร๎อมให๎ จัดนทวิาการบั นทึากยทอดองค์ และทาบทามความสมั ในการปฏิ ิการ ดหากมี วามจาเป็ นต๎องดาเนิเนคราะห์ การจัดรอบรมถํ ความรู๎ตํอคไปวามรู๎และทักษะ ของผู ๎ดาเนิบนัตการจั ทาต๎นคแบบเพื ่อขอความอนุ ํวมเป็นวิาทยทอดองค์ ยากรถํายทอดองค์ วาระที่ 4 บ: การสรุ กิจกรรมลงพื ้นทีน่คต๎รัอ้งตํงดอาเนิ ไป (วั น เวลา สถานทีายทอดองค์ ่ และรายละเอี ยด)๎ตํอไป ในการปฏิ ัติการ ปหากมี ความจาเป็ นการจั ดอบรมถํ ความรู จากผลงานออกแบบและการดู นแบบสถานที ในความคื บหน๎าครั้งนียด) ้ คณะวิจัยอภิปรายถึง วาระที่ 4 : การสรุ ปกิจกรรมลงพื้นที่ครั้งตํอผไปลงานต๎ (วัน เวลา ่ และรายละเอี แนวทางการดจากผลงานออกแบบและการดู าเนินการด๎านการถํายทอดผลสั มฤทธิ์ภนายหลั โครงการเสร็ ้น ้งโดยจะเรํ ทาต๎ปรายถึ นแบบง ผลงานต๎ แบบ งในความคื บหน๎จาสิครั นี้ คณะวิงจจััยดอภิ ให๎ ได๎ภายในกลางเดื อนกันายายน เพื่อจะนาเข๎ าที์ภ่ปายหลั ระชุมเพื ่อสรุปความเป็ ในการเดิ แนวทางการด าเนินการด๎ นการถํายทอดผลสั มฤทธิ งโครงการเสร็ จสิ้นไปได๎ โดยจะเรํ งจัดนททางลงไป าต๎นแบบ นาเสนอต๎ นแบบให๎กอับนกั ทางชุ มชน สาหรั การด ทาตํ ทั้งนี้ได๎นอไปได๎ ภิปรายกั นถึงปันญ หาหาก ให๎ ได๎ภายในกลางเดื นยายน เพื่อบจะน าเข๎าเนิ าทีน่ปการจั ระชุมดเพื ่อสรุอไป ปความเป็ ในการเดิ ทางลงไป ชนไมํสนามารถด นการจัมชน ดทาได๎ ตามต๎ นแบบที ให๎ นถึจึงปังได๎ มีความ นชุมาเสนอต๎ แบบให๎าเนิ กับทางชุ สาหรั บการด าเนิ่คนณะวิ การจัจดัยทฯาตํได๎ อไปสร๎าทังสรรค์ ้งนี้ได๎อเอาไว๎ ภิปรายกั ญหาหาก สนใจจะให๎ ชุมชนทีาเนิ ่เกี่ยนวข๎การจั องกัดบทผลงานของคณะวิ กชุมจชน ๎ติดตามที ทาง ชุมชนไมํสามารถด าได๎ตามต๎นแบบทีจัย่คทุณะวิ ัยฯ ได๎พร๎สร๎อามผู งสรรค์ เอาไว๎่เกีให๎่ยวข๎องจึงได๎เดิมนีความ ขึสนใจจะให๎ ้นมาฝึกอบรม แลกเปลี นรู๎ เพื่อการถํายทอดองค์ วามรู๎ทพร๎ี่มีปอมผู ระสิ๎ตทิดธิตามที ภาพ ่เกีและปฏิ ชุมชนที ่เกี่ยวข๎่ยอนเรี งกับยผลงานของคณะวิ จัยทุกชุมคชน ่ยวข๎องบัติกเดิารผลิ นทางต แบบพร๎ อมคณะวิ ทยากร กฝนกระบวนการตํ างๆความรู ที่เกี๎ท่ยี่มวข๎ีปอระสิ งโดยเฉพาะสํ วนของการน าองค์ต ขึต๎้นมาฝึ กอบรม แลกเปลี ่ยนเรียเพืนรู่อ๎ ฝึเพื ่อการถํายทอดองค์ ทธิภาพ และปฏิ บัติการผลิ ๎มาใช๎อพมคณะวิ ัฒนารูปทแบบ สมบัติของผลิตภัณางๆ ฑ์ ทีการท แบบชิ้นงาน วนของการน ตามที่คณะวิ จัย ต๎ความรู นแบบพร๎ ยากร และคุ เพื่อฝึณกฝนกระบวนการตํ ่เกี่ยวข๎าต๎อนงโดยเฉพาะสํ าองค์ ออกแบบ นการฝึ ัติการ รวมถึตงภัดูณงานผลงานตํ างๆในการออกแบบของคณาจารย์ ความรู ๎มาใช๎โดยเป็ พัฒนารู ปแบบกอบรม และคุปฏิณบสมบั ติของผลิ ฑ์ การทาต๎ นแบบชิ้นงาน ตามที่คณะวิจัย และนั กศึกษาคณะมั ณฑนศิ ลป์เพื่อปฏิ ให๎เบข๎ัตาใจรู ่เปลี่ยนแปลงไปในปั จจุบัน รวมถึงเพื่อให๎ ออกแบบ โดยเป็นการฝึ กอบรม ิการปแบบผลงานที รวมถึงดูงานผลงานตํ างๆในการออกแบบของคณาจารย์ คณะวิกจศึัยกสามารถเชิ เข๎ารํวมกิจ่เปลี กรรมในครั ง้ นี้เพื่อรํจวจุมแลกเปลี ่ยนเรีงเพืยนรู และนั ษาคณะมัญณชวนดี ฑนศิลไป์ซเนอร์ เพื่อให๎อีกเข๎มากมายให๎ าใจรูปแบบผลงานที ่ยนแปลงไปในปั บัน รวมถึ ่อให๎๎ กับผู๎เข๎จาัยอบรม โดยให๎ ทางบริไซเนอร์ ษัททิสอโก๎ีกมากมายให๎ สามารถเข๎เาข๎สัางรํเกตการณ์ ได๎อยํางเต็ านวน 3 ่ยวันเรี น 2ยนรูคื๎น คณะวิ สามารถเชิ ญชวนดี วมกิจกรรมในครั ง้ นี้เมพืที่อ่ รํจวมแลกเปลี วงวันศุโดยให๎ กร์ ถึงทวัางบริ นจันษทร์ัททิต๎สนโก๎เดือสามารถเข๎ น ถึงกลางเดื นตุลาคม ไ2555 ณ อาคารศิ ลป์พีร3ะศรีวัน3 2วิทคืยาน กัระหวํ บผู๎เข๎างชํ าอบรม าสังอเกตการณ์ ด๎อยํางเต็ มที่ จานวน เขตพระราชวั ยดลาคม สถานที ่ กับคุณณอาคารศิ มุกดา จิลตป์พรมมา ระหวํางชํวงวันงสนามจั ศุกร์ ถึงนวัทร์นจัโดยให๎ นทร์ ต๎ปนระสานงานรายละเอี เดือน ถึงกลางเดือนตุ 2555 พีระศรีตํ3อไป วิทยา เขตพระราชวังสนามจันทร์ โดยให๎ประสานงานรายละเอียด สถานที่ กับคุณมุกดา จิตพรมมา ตํอไป
51 51 วาระที่ 5 : เรือ่ งอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการบูรณาการสูํการเรียนการสอนของรายวิชาภายในคณะ มัวาระที ณฑนศิ่ 5ล:ป์เรือ่ งอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการบูรณาการสูํการเรียนการสอนของรายวิชาภายในคณะ มัณฑนศิลป์ เนื่องด๎วยหัวหน๎าโครงการได๎นาเสนอตารางออกแบบลวดลาย ที่สามารถนามาใช๎ประกอบ ในกิจกรรมการเรี ชาออกแบบ 1 และ 2 เพื่อฝึกฝนทักษะที ่เกี่ยวกับามาใช๎ การออกแบบ เนื่องด๎ยนการสอนในรายวิ วยหัวหน๎าโครงการได๎ นาเสนอตารางออกแบบลวดลาย ที่สามารถน ประกอบ สองมิจกรรมการเรี ติ และสามมิยตนการสอนในรายวิ ิ ที่เกี่ยวเนื่องกับการบู รณาการงานวิ สัม่อพัฝึนกธ์ฝนทั สอดคล๎ องกั่เกีบ่ยการเรี ยนการสอน ในกิ ชาออกแบบ 1 และจัย2ให๎เพื กษะที วกับการออกแบบ ด๎สองมิ วยการฝึ กฝนในแบบฝึ ดของนั กษารจึณาการงานวิ งจะได๎ขอความอนุ ปยังรายวิ างๆยทีนการสอน ่อาจารย์ ติ และสามมิ ติ ที่เกีก่ยหัวเนื ่องกักบศึการบู จัยให๎สเัมคราะห์ พันธ์สไอดคล๎ องกัชบาตํ การเรี ประจ าภาควิ ชาตํางๆ ในการให๎ ความอนุ รํวขมกิอความอนุ จกรรมตํเอคราะห์ ไป ไปยังรายวิชาตํางๆ ที่อาจารย์ ด๎วยการฝึ กฝนในแบบฝึ กหัดของนั กศึกษาเคราะห์ จึงจะได๎ วหน๎ ายงานถึเคราะห์ งการปฏิรํวบมกิ ัติรจาชการไปเป็ ประจาภาควิชหัาตํ างๆาโครงการได๎ ในการให๎ครวามอนุ กรรมตํอไปนประธานการตรวจประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน ที่วิทยาลั ยนาโนงการปฏิ มหาวิทบยาลั ยเทคโนโลยีนเประธานการตรวจประกั จ๎าคุณทหารลาดกระบัง นทีคุณ ่ผําภาพ นมา หัวหน๎(IQA) าโครงการได๎ รายงานถึ ัติราชการไปเป็ โดยได๎กหษาภายใน ารือเบื้องต๎(IQA) นกับคณบดี และคณะอาจารย์ ี่วิทยาลั ยฯ ตํอประเด็ การพัฒนาคุณภาพของวั สดุ การศึ ที่วิทยาลั ยนาโน มหาวิทยาลั ยเทคโนโลยี เจ๎าคุณนทหารลาดกระบั ง ที่ผํานมา กก ติกนารต๎ นทานเชืและคณะอาจารย์ ้อรา ความแข็งแรง และสีฒสันนาคุ ในการย๎ อมที่สดใส โดยได๎ตํอหคุารืณอสมบั เบื้องต๎ กับาคณบดี ที่วิทการทนตํ ยาลัยฯ อตํความชื อประเด็้นนการพั ณภาพของวั สดุ โดยเทีตํอยคุบเคี ยงกับติกงานวิ ัยที่ทามากํ้อรา อนหน๎ า 1 -งแรง 2 ชิ้นการทนตํ ที่มคี วามคล๎ ายคลึ้นงกัและสี น ประกอบกั บกรณี ษา กก ณสมบั ารต๎จานทานเชื ความแข็ อความชื สันในการย๎ อมทีศ่สึกดใส จากความเป็ ไปได๎ ในโครงการหมู นผ๎าไหมนาโน มจึงอภิ ปรายได๎ ระเด็นวําสมควรให๎ รํง โดยเทียบเคียนงกั บงานวิ จัยที่ทามากํํบอ๎านหน๎ า 1 - 2 ชิในที ้นที่ปมระชุ คี วามคล๎ ายคลึ งกัน ปประกอบกั บกรณีศึกเษา ดาเนินการประสานงานกั บทางวิทํบยาลั ดาเนิ นการขอความอนุ เคราะห์ทเาง จากความเป็ นไปได๎ในโครงการหมู ๎านผ๎ยนาโนฯ าไหมนาโนโดยทั ในทีน่ปทีระชุมเพืจึง่ออภิ ปรายได๎ ประเด็นวําสมควรให๎ รํง วิดชาเนิ าการ และเชิญเป็นที่ปบรึทางวิ กษากิทตยาลั ติมศัยกนาโนฯ ดิ์สาหรับวาระเรํ ขอความอนุ เคราะห์ใเนชํ องทางที นการประสานงานกั โดยทันงทีดํวนนีเพื้ เพื ่อด่อาเนิ นการขอความอนุ คราะห์ ทาง่ เป็ ไปได๎โและเชิ ดยสะดวกทั ายในการพั ติ งดํวและคุ วยเทคโนโลยี ยจาก่ วิชนาการ ญเป็น้งทีสองฝุ ่ปรึกษากิ ตติมศักฒดินาคุ ์สาหรัณบสมบั วาระเรํ นนี้ เพืณ่อภาพด๎ ขอความอนุ เคราะห์ทใี่ทนชํันสมั องทางที งานวิ จัยระหวํ างสถาบั้งนสองฝุ รวมถึ งผลสัมฤทธิ ข์ องการตํ พร๎อมทั ้งหารือให๎คทุณี่ทมุันกสมั ดายจาก จิต เป็ นไปได๎ โดยสะดวกทั ายในการพั ฒนาคุ ณสมบัอตยอดโครงการ ิ และคุณภาพด๎ วยเทคโนโลยี พรมมา คณะกรรมการ และเลขานุ ารงานวิ จัยโครงการนี ้รับไปดาเนิพร๎ นการศึ ษาถึองให๎ คําคสมนาคุ งานวิ จัยระหวํ างสถาบัน รวมถึ งผลสัมกฤทธิ ข์ องการตํ อยอดโครงการ อมทั้งกหารื ุณมุกดาณและ จิต อัพรมมา ตราคําตอบแทนที ่เป็นไปได๎ ซึ่งมิได๎ตกั้งารงานวิ เอาไว๎กํอจนหน๎ าในแผนงานของโครงการวิ ัย งคําสมนาคุณและ คณะกรรมการ และเลขานุ ัยโครงการนี ้รับไปดาเนินการศึกจษาถึ หัวหน๎า่เป็โครงการได๎ ญหาที ่กังวลในเรื ่องการพัฒนาผลิตภัณจฑ์ัย และการถํายทอด อัตราคําตอบแทนที นไปได๎ ซึ่งนมิาเสนอปั ได๎ตั้งเอาไว๎ กํอนหน๎ าในแผนงานของโครงการวิ องค์ความรู๎เพืหั่อวให๎หน๎นาาไปสู ํการพัฒนนาที ่ยั่งยืนญตํหาที อที่ป่กระชุ ม ่องการพั ซึ่งเป็ฒนนาผลิ วาระทีตภั่นณ อกเหนื อจากประเด็ นใน โครงการได๎ าเสนอปั ังวลในเรื ฑ์ และการถํ ายทอด ข๎อตกลงในปั ่วางเอาไว๎ ได๎ขมอความอนุซึ่งเคราะห์ อาจารย์ ดร.ชลฤทธิ ์ เหลืนอในง องค์ ความรู๎เพืญ่อหาการวิ ให๎นาไปสูจัยํกทีารพั ฒนาที่ยตั่งอนต๎ ยืนตํนอที่ปจึงระชุ เป็นวาระที ่นอกเหนื อจากประเด็ จิข๎นอตกลงในปั ดา ซึ่งเป็นญอาจารย์ กออกแบบนิ ทมี่ ขีปอความอนุ ระสบการณ์ ความรูอาจารย์ ๎ และความเข๎ าใจถึ์ งเหลื คุณคํอาง หาการวิจและนั ัยที่วางเอาไว๎ ตอนต๎เทศศิ น ลจึป์งได๎ เคราะห์ ดร.ชลฤทธิ ของการออกแบบ ฒนาตราสิ นค๎าเทศศิ และเพิ คําด๎วยการออกแบบฉลาก และบรรจุ จินดา ซึ่งเป็นอาจารย์และพั และนั กออกแบบนิ ลป์ท่มี มูีปลระสบการณ์ ความรู๎ และความเข๎ าใจถึงคุภณัณคํฑ์า ผลิตภัณฑ์ทั้งในฝั่งโลกตะวั และตะวั เข๎ารํวมให๎คาปรึกษา และรํภวมให๎ ของการออกแบบ และพันฒตกนาตราสิ นค๎านออกในระดั และเพิ่มมูบลนานาชาติ คําด๎วยการออกแบบฉลาก และบรรจุ ัณฑ์ ความอนุ นวทางทีน่เหมาะสมในการตํ อยอดผลิตบภันานาชาติ ณฑ์ไปสูํการสร๎ ค๎า กษา (Branding) ผลิ ตภัณฑ์เคราะห์ ทั้งในฝัแ่งโลกตะวั ตก และตะวันออกในระดั เข๎าารํงตราสิ วมให๎คนาปรึ และรํวมให๎ เพื่อให๎ดาเนิ นการทางการตลาด และธุรกิจให๎อปยอดผลิ ระสบความส างยัา่งงตราสิ ยืนตํอไป ระชุมได๎รับ ความอนุ เคราะห์ แนวทางที่เหมาะสมในการตํ ตภัณฑ์าเร็ ไปสูจํกอยํารสร๎ นค๎าโดยที่ป(Branding) ทราบ และได๎ อยูํรํวมกิจกรรมการประชุ จนเสร็ จสิ้น และได๎ มูลทัม้งได๎หมด เพื่อให๎ดาเนิ นการทางการตลาด และธุรกิจมให๎ ประสบความส าเร็จรอยํํวมน างยัารายละเอี ่งยืนตํอไปยดของข๎ โดยที่ปอระชุ รับ นาไปดาเนิและได๎ นการทัอยูนํรทีํวพมกิร๎อจมน าเสนอความก๎มาจนเสร็ วหน๎าจในการประชุ มครัรํว้งมน ถัดารายละเอี ไป ทราบ กรรมการประชุ สิ้น และได๎ ยดของข๎อมูลทั้งหมด ดประชุ นปิาไปด าเนิมเวลา นการทั19.00 นทีพร๎น.อมนาเสนอความก๎าวหน๎าในการประชุมครั้งถัดไป ยณรงค์ ยะประเสริ ปิผศ.ชั ดประชุ มเวลาอริ19.00 น. ฐ หัวหน๎าโครงการ ผู๎จด และทบทวน บันทึกการประชุม ผศ.ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ หัวหน๎าโครงการ ผู๎จด และทบทวน บันทึกการประชุม
บทที่ 5 สรุปผลและเสนอแนะการศึกษา
ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีการออกแบบทั้งสิ้น 5 ประเภท ดังนี้ 1. ชุดแผํนรองภาชนะบนโต๏ะรับประทานอาหาร 2. ของประดับตกแตํงขนาดเล็กในที่พักอาศัย 3. งานประติมากรรมศิลปะขนาดเล็กที่สามารถใช๎สอยได๎บางลักษณะ เพื่อประดับ และใช๎งานบนโต๏ะผู๎บริหารฯ 4. กระเป๋าผ๎าเอนกประสงค์เพื่อเป็นของที่ระลึกของทิสโก๎ฯ 5. ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกอื่นๆ ที่นําจดจาของชุมชน ประโยชน์ ปัญหา และแนวทางจัดการ 1. ผลิตภัณฑ์ชดุ แผํนรองภาชนะบนโต๏ะรับประทานอาหาร ชุดมีรองจานและรองแก๎ว อยํางละ 4 ชิ้น ชุดละ 300 บาท สํวนชุดมีรองจานและรองแก๎ว อยํางละ 6 ชิ้น ชุดละ 400 บาท โดย ใช๎เวลาดาเนินการ 2, 3, และ 4 สัปดาห์ แล๎วแตํปริมาณสั่งซื้อ ซึ่งสามารถทาได๎รวดเร็ว ผลิตได๎จานวน มาก สามารถสร๎างสีสันลวดลายได๎ หลากหลาย ราคาดีแตํมีปัญหาคือ ไมํสามารถผลิตได๎ไมํมาก หาก ต๎องการปริมาณสูงจะต๎องทาสต๏อค
52
53
ภาพที่ 55 ผลิตภัณฑ์ชุดแผํนรองภาชนะบนโต๏ะรับประทานอาหาร
54 54
2. ผลิตภัณฑ์โคมไฟประดับตกแตํงขนาดเล็กในที่พักอาศัย ราคาชุดละ 750 บาท ซึ่งหาก 2. ผลิตภัณฑ์โคมไฟประดับตกแตํงขนาดเล็กในที่พักอาศัย ราคาชุดละ 750 บาท ซึ่งหาก คิดเฉพาะผืนเสื่อกก และการตัดเย็บหนังนั้นมีราคาประมาณ 250 บาท โดยใช๎เวลาทา 2 - 3 สัปดาห์ คิดเฉพาะผืนเสื่อกก และการตัดเย็บหนังนั้นมีราคาประมาณ 250 บาท โดยใช๎เวลาทา 2 - 3 สัปดาห์ ซึ่งสามารถสร๎างสีสันลวดลายได๎หลากหลาย ปัญหาสาคัญคือชุมชนไมํมีผู๎ประสานจัดหาหลอด สายไฟ ซึ่งสามารถสร๎างสีสันลวดลายได๎หลากหลาย ปัญหาสาคัญคือชุมชนไมํมีผู๎ประสานจัดหาหลอด สายไฟ และโครงโลหะติดตั้งผลิตภัณฑ์ ทาให๎จาเป็นต๎องซื้อสาเร็จรูปมาประกอบราคาสูง และต๎องอาศัยบรรจุ และโครงโลหะติดตั้งผลิตภัณฑ์ ทาให๎จาเป็นต๎องซื้อสาเร็จรูปมาประกอบราคาสูง และต๎องอาศัยบรรจุ ภัณฑ์ประกอบเพื่อจัดสํง ซึ่งในที่นี้ งานออกแบบชิ้นนี้แสดงถึงปัญหาของชุมชนในเรื่องการเป็น ภัณฑ์ประกอบเพื่อจัดสํง ซึ่งในที่นี้ งานออกแบบชิ้นนี้แสดงถึงปัญหาของชุมชนในเรื่องการเป็น ผู๎ดาเนินการจัดทาสิ่งที่ไมํถนัด และไมํคุ๎นเคย เนื่องด๎วยชุมชนมีวิถีชีวิตแบบการเกษตรมิใชํวิถีแบบ ผู๎ดาเนินการจัดทาสิ่งที่ไมํถนัด และไมํคุ๎นเคย เนื่องด๎วยชุมชนมีวิถีชีวิตแบบการเกษตรมิใชํวิถีแบบ ธุรกิจแบบเมือง ชุมชนคุ๎นเคยกับการนาสํงชิ้นงานเพียงทอตามแบบ เย็บตามแบบแล๎วนาใสํกลํองสํง ธุรกิจแบบเมือง ชุมชนคุ๎นเคยกับการนาสํงชิ้นงานเพียงทอตามแบบ เย็บตามแบบแล๎วนาใสํกลํองสํง เทํานั้น จึงจาเป็นต๎องมีการสร๎างวิสาหกิจชุมชนเพื่อมีผู๎ดาเนินการประสานงาน และจัดทาในสํวนนี้ เทํานั้น จึงจาเป็นต๎องมีการสร๎างวิสาหกิจชุมชนเพื่อมีผู๎ดาเนินการประสานงาน และจัดทาในสํวนนี้ แนวคิดในการออกแบบโคมไฟ (ลูกรักบี้) แนวคิดในการออกแบบโคมไฟ (ลูกรักบี้) 1. เป็นโคมไฟประดับตกแตํงรูปแบบรํวมสมัย เหมาะสาหรับใช๎ในการตกแตํงภายใน 1. เป็นโคมไฟประดับตกแตํงรูปแบบรํวมสมัย เหมาะสาหรับใช๎ในการตกแตํงภายใน ห๎องรับแขก เพื่อสร๎างบรรยากาศจากแสงไฟที่สํองผํานเสื่อกกในแบบพื้นบ๎าน ห๎องรับแขก เพื่อสร๎างบรรยากาศจากแสงไฟที่สํองผํานเสื่อกกในแบบพื้นบ๎าน 2. ใช๎เสื่อกกเป็นวัสดุหลักในการออกแบบ 2. ใช๎เสื่อกกเป็นวัสดุหลักในการออกแบบ 3. เน๎นรูปแบบที่ชาวบ๎านสามารถนาไปปรับประยุกต์เป็นรูปแบบเฉพาะตัวได๎ เพียงแคํ 3. เน๎นรูปแบบที่ชาวบ๎านสามารถนาไปปรับประยุกต์เป็นรูปแบบเฉพาะตัวได๎ เพียงแคํ เปลี่ยนสีสัน หรือลวดลาย เปลี่ยนสีสัน หรือลวดลาย 4. เป็นรูปแบบที่เรียบงําย อาศัยทักษะ ฝีมือของชํางเย็บเสื่อที่มีอยูํเดิมเป็นหลัก ไมํเน๎น 4. เป็นรูปแบบที่เรียบงําย อาศัยทักษะ ฝีมือของชํางเย็บเสื่อที่มีอยูํเดิมเป็นหลัก ไมํเน๎น การใช๎ทักษะพิเศษในการขึ้นรูป การใช๎ทักษะพิเศษในการขึ้นรูป 5. ชิ้นสํวนที่นามาประกอบกันเป็นโคมไฟ มีการออกแบบให๎เป็นรูปแบบเดียวกันจึงงําย 5. ชิ้นสํวนที่นามาประกอบกันเป็นโคมไฟ มีการออกแบบให๎เป็นรูปแบบเดียวกันจึงงําย ในการขึ้นรูป หรือการปรับประยุกต์เป็นรูปแบบอื่นๆ หรือการปรับเปลี่ยนขนาด ในการขึ้นรูป หรือการปรับประยุกต์เป็นรูปแบบอื่นๆ หรือการปรับเปลี่ยนขนาด 6. โคมไฟสามารถจัดเก็บเพื่อการขนสํงให๎ประหยัดพื้นที่ (รวบเข๎าด๎วยกัน) แตํเมื่อ 6. โคมไฟสามารถจัดเก็บเพื่อการขนสํงให๎ประหยัดพื้นที่ (รวบเข๎าด๎วยกัน) แตํเมื่อ นามาใช๎งานก็สามารถดัดให๎กลายเป็นรูปทรงตามที่ต๎องการได๎ นามาใช๎งานก็สามารถดัดให๎กลายเป็นรูปทรงตามที่ต๎องการได๎ ปัญหาของผลงานออกแบบ ปัญหาของผลงานออกแบบ 1. ในการออกแบบโคมไฟ จาเป็นต๎องมีชิ้นสํวนที่ต๎องทาพิเศษเพื่อการใสํหลอดไฟ คือ 1. ในการออกแบบโคมไฟ จาเป็นต๎องมีชิ้นสํวนที่ต๎องทาพิเศษเพื่อการใสํหลอดไฟ คือ ขั้วหลอด และสํวนโครงสร๎างของโคม ที่โคมไฟในรูปแบบนี้จาเป็นต๎องอาศัยโครงในการตั้งพื้นที่ ขั้วหลอด และสํวนโครงสร๎างของโคม ที่โคมไฟในรูปแบบนี้จาเป็นต๎องอาศัยโครงในการตั้งพื้นที่ นอกเหนือไปจากการขึ้นรูปเสื่อกก ซึ่งหากทาจาหนํายในชุมชนอาจเป็นอุปสรรคสาคัญที่ต๎องอาศัย นอกเหนือไปจากการขึ้นรูปเสื่อกก ซึ่งหากทาจาหนํายในชุมชนอาจเป็นอุปสรรคสาคัญที่ต๎องอาศัย เครื่องมือ อุปกรณ์ และแรงงานมาทาชิ้นสํวนเหลํานี้ เครื่องมือ อุปกรณ์ และแรงงานมาทาชิ้นสํวนเหลํานี้ 2. เสื่อถูกออกแบบให๎เป็นรูปทรงแผํนสี่เหลีย่ มผืนผ๎าที่ดัดงอได๎ จึงจาเป็นต๎องดามขอบ 2. เสื่อถูกออกแบบให๎เป็นรูปทรงแผํนสี่เหลีย่ มผืนผ๎าที่ดัดงอได๎ จึงจาเป็นต๎องดามขอบ เสื่อด๎วยลวด ที่เป็นการเย็บที่คํอนข๎างยาก อาจมีผลให๎ราคาต๎นทุนสูง เสื่อด๎วยลวด ที่เป็นการเย็บที่คํอนข๎างยาก อาจมีผลให๎ราคาต๎นทุนสูง 3. การขึ้นรูปเป็นทรงของโคมไฟ ที่ต๎องใช๎วิธีการดัดทีละชิ้น หากไมํประณีตพอ จะทาให๎ 3. การขึ้นรูปเป็นทรงของโคมไฟ ที่ต๎องใช๎วิธีการดัดทีละชิ้น หากไมํประณีตพอ จะทาให๎ รูปทรงของโคมดูบูดเบี้ยวได๎ รูปทรงของโคมดูบูดเบี้ยวได๎
55 55
4. ปลายของแถบเสื่อกกแตํละแถบเป็นลักษณะเส๎นตัด ที่ถกเย็บด๎วยชิ้นผ๎ากุ๏นอีกชิ้น ทา 4. ปลายของแถบเสื่อกกแตํละแถบเป็นลักษณะเส๎นตัด ที่ถกเย็บด๎วยชิ้นผ๎ากุ๏นอีกชิ้น ทา ให๎ขาดความตํอเนื่อง ที่จะทาให๎ผลงานดูไมํประณีต ให๎ขาดความตํอเนื่อง ที่จะทาให๎ผลงานดูไมํประณีต 5. โคมที่ออกแบบ ไมํสามารถบดบังตัวหลอดภายในได๎ ทาให๎ความงามของเสื่อกก ไมํ 5. โคมที่ออกแบบ ไมํสามารถบดบังตัวหลอดภายในได๎ ทาให๎ความงามของเสื่อกก ไมํ สมารถแสดงตัวได๎อยํางเต็มที่ แตํกลับได๎เห็นความไมํงามของหลอดไฟแทน สมารถแสดงตัวได๎อยํางเต็มที่ แตํกลับได๎เห็นความไมํงามของหลอดไฟแทน
ภาพที่ 56 ผลิตภัณฑ์โคมไฟประดับตกแตํงขนาดเล็กในที่พักอาศัย ภาพที่ 56 ผลิตภัณฑ์โคมไฟประดับตกแตํงขนาดเล็กในที่พักอาศัย
56 56
ภาพที่ 57 แบบแปลน รูปด๎าน ผลิตภัณฑ์โคมไฟประดับตกแตํง ภาพที่ 57 แบบแปลน รูปด๎าน ผลิตภัณฑ์โคมไฟประดับตกแตํง 3. ผลิตภัณฑ์แจกันประดับกกทอ บนโต๏ะผู๎บริหาร ราคาชุดละ 550 บาท ซึ่งใช๎เวลาทา 2 3. ผลิตภัณฑ์แจกันประดับกกทอ บนโต๏ะผู๎บริหาร ราคาชุดละ 550 บาท ซึ่งใช๎เวลาทา 2 - 3 สัปดาห์ โดยสามารถสร๎างสีสันลวดลายได๎หลากหลาย แตํชุมชนไมํสามารถออกแบบปรับปรุงให๎ - 3 สัปดาห์ โดยสามารถสร๎างสีสันลวดลายได๎หลากหลาย แตํชุมชนไมํสามารถออกแบบปรับปรุงให๎ พัฒนาตํอเนื่องเพื่อให๎ขายได๎ด๎วยตนเอง แตํจาเป็นต๎องมีการสร๎างวิสาหกิจชุมชนเพื่อมีผู๎ดาเนินการ พัฒนาตํอเนื่องเพื่อให๎ขายได๎ด๎วยตนเอง แตํจาเป็นต๎องมีการสร๎างวิสาหกิจชุมชนเพื่อมีผู๎ดาเนินการ ประสานงาน และจัดทาในสํวนนี้ด๎วย ประสานงาน และจัดทาในสํวนนี้ด๎วย
ภาพที่ 58 ผลิตภัณฑ์แจกันประดับกกทอ บนโต๏ะผู๎บริหาร ภาพที่ 58 ผลิตภัณฑ์แจกันประดับกกทอ บนโต๏ะผู๎บริหาร 4. ผลิตภัณฑ์ถาดใสํสิ่งของสาหรับบนโต๏ะผู๎บริหาร ใน 1 ชุดนั้นมีสามชิ้น ราคาชุดละ 350 4. ผลิตภัณฑ์ถาดใสํสิ่งของสาหรับบนโต๏ะผู๎บริหาร ใน 1 ชุดนั้นมีสามชิ้น ราคาชุดละ 350 บาท ซึ่งใช๎เวลาทา 2 - 3 สัปดาห์ โดยสามารถสร๎างสีสันลวดลายได๎ หลากหลายขึ้นอยูํกับการทอเสื่อ บาท ซึ่งใช๎เวลาทา 2 - 3 สัปดาห์ โดยสามารถสร๎างสีสันลวดลายได๎ หลากหลายขึ้นอยูํกับการทอเสื่อ และรูปทรงของถาดที่ออกแบบได๎อีกเพื่อให๎ประกอบได๎อีกหลายๆ ลักษณะ แตํมีปัญหาคือชุมชนไมํ และรูปทรงของถาดที่ออกแบบได๎อีกเพื่อให๎ประกอบได๎อีกหลายๆ ลักษณะ แตํมีปัญหาคือชุมชนไมํ
57 57
สามารถออกแบบปรับปรุงให๎พัฒนาตํอเนื่องขึ้นได๎ด๎วยตนเองได๎ สามารถออกแบบปรับปรุงให๎พัฒนาตํอเนื่องขึ้นได๎ด๎วยตนเองได๎
. .
ภาพที่ 59 ผลิตภัณฑ์ถาดใสํสิ่งของสาหรับบนโต๏ะผู๎บริหาร ภาพที่ 59 ผลิตภัณฑ์ถาดใสํสิ่งของสาหรับบนโต๏ะผู๎บริหาร 5. ผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ๎าเอนกประสงค์เพื่อเป็นของที่ระลึกของทิสโก๎ฯ แตํละแบบนั้นมี 5. ผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ๎าเอนกประสงค์เพื่อเป็นของที่ระลึกของทิสโก๎ฯ แตํละแบบนั้นมี ราคาชุดละ 550 บาท (ขึ้นอยูกํ ับราคาของสํวนประกอบตํางๆ ) โดยใช๎เวลาทา 2-3 สัปดาห์ ซึ่ง ราคาชุดละ 550 บาท (ขึ้นอยูกํ ับราคาของสํวนประกอบตํางๆ ) โดยใช๎เวลาทา 2-3 สัปดาห์ ซึ่ง สามารถสร๎างสีสันลวดลายได๎หลากหลายขึ้นอยูํกับการทอเสื่อ และรูปแบบของสํวนประกอบที่ซื้อมา สามารถสร๎างสีสันลวดลายได๎หลากหลายขึ้นอยูํกับการทอเสื่อ และรูปแบบของสํวนประกอบที่ซื้อมา ติดตั้งได๎หลายๆ ลักษณะ แตํมีปัญหาคือ รสนิยม และการเลือกของชุมชนที่ไมํสามารถออกแบบ ติดตั้งได๎หลายๆ ลักษณะ แตํมีปัญหาคือ รสนิยม และการเลือกของชุมชนที่ไมํสามารถออกแบบ ปรับปรุงให๎พัฒนาตํอเนื่องขึ้นให๎เป็นที่นิยมได๎ด๎วยตนเอง ซึ่งในที่นี้ควรแยกการสั่งจ๎างเป็นสองสํวนคือ ปรับปรุงให๎พัฒนาตํอเนื่องขึ้นให๎เป็นที่นิยมได๎ด๎วยตนเอง ซึ่งในที่นี้ควรแยกการสั่งจ๎างเป็นสองสํวนคือ การจ๎างทอเสื่อ และการจ๎างเย็บกระเป๋าแยกกัน สํวนรูปแบบชิ้นงาน จะหนักไปทางการตัดเย็บเป็น การจ๎างทอเสื่อ และการจ๎างเย็บกระเป๋าแยกกัน สํวนรูปแบบชิ้นงาน จะหนักไปทางการตัดเย็บเป็น สาคัญ คณะวิจัยต๎องให๎คาปรึกษาชํวยเลือกสํวนประกอบกํอนนาไปติดในชิ้นงาน และควรทดสอบทา สาคัญ คณะวิจัยต๎องให๎คาปรึกษาชํวยเลือกสํวนประกอบกํอนนาไปติดในชิ้นงาน และควรทดสอบทา หลายขนาด และประชุมกาหนดราคาจาหนํายจากทุกๆ ฝุาย เพือ่ เพิ่มมูลคําผลิตภัณฑ์เสื่อกกให๎มมี ูลคํา หลายขนาด และประชุมกาหนดราคาจาหนํายจากทุกๆ ฝุาย เพือ่ เพิ่มมูลคําผลิตภัณฑ์เสื่อกกให๎มมี ูลคํา ที่สูงขึ้นด๎วยการออกแบบ ที่สูงขึ้นด๎วยการออกแบบ
58 58 แนวคิดในการออกแบบกระเป๋า (รวม) 1. รูปแบบกระเป๋า าเน๎(รวม) นการออกแบบ Pattern การตํอชิ้นเสื่อที่แสดงถึงคุณคําของงาน แนวคิดในการออกแบบกระเป๋ ฝีมือ เป็นการสร๎ ลคําเพิ่มให๎า กเน๎ับนเสืการออกแบบ ่อ และทาให๎ผPattern นังด๎านข๎าการตํ งของกระเป๋ ีมิติ ไมํงดคุูแณบนราบเหมื 1. รูาปงมู แบบกระเป๋ อชิ้นเสื่อาทีดู่แมสดงถึ คําของงานอน กระเป๋ ่วไป างมูลคําเพิ่มให๎กับเสื่อ และทาให๎ผนังด๎านข๎างของกระเป๋าดูมีมิติ ไมํดูแบนราบเหมือน ฝีมือ เป็าทันการสร๎ กระเป๋าทั่วไป2. กลุํมเปูาหมายเน๎นเป็นสตรีอายุ 32-45 ปี ที่เป็นคนมีรสนิยม และมีบคุ ลิกดี 3. มีกลุมํมิตเปู ิที่เาหมาะส าหรั บวินถสตรี ีชีวิตอคนเมื อง ที่สปีามารถรองรั 2. หมายเน๎ นเป็ ายุ 32-45 ที่เป็นคนมีบรเอกสารขนาด สนิยม และมีบA4 คุ ลิกได๎ดี 4. นทอของเสื ่อ เพื่อสร๎างความนํ 3. ใช๎ มีมกิตารวางขวางสลั ิที่เหมาะสาหรับไปมาของลวดลายจากเส๎ วิถีชีวิตคนเมือง ที่สามารถรองรั บเอกสารขนาด A4 ได๎ าสนใจ 5. บการใช๎วัสดุบหไปมาของลวดลายจากเส๎ นังที่ทาให๎ดูมีราคา ทาความสะอาดงํ กลาง และมี 4. ผสมกั ใช๎การวางขวางสลั นทอของเสื่อายเพืในโทนสี ่อสร๎างความนํ าสนใจ สัดสํวนการน5.ามาใช๎ ผสมกัทบี่ 20% การใช๎วัสดุหนังที่ทาให๎ดูมีราคา ทาความสะอาดงําย ในโทนสีกลาง และมี รูปแบบหู หิ้ว หรือการเปิดปิด เป็นแบบที่พึ่งวัสดุอุปกรณ์ (Accessory) ที่สามารถหาซื้อ สัดสํวนการน6.ามาใช๎ ที่ 20% ได๎ในท๎องถิ่น6.เป็รูนปหลั ก หิ้ว หรือการเปิดปิด เป็นแบบที่พึ่งวัสดุอุปกรณ์ (Accessory) ที่สามารถหาซื้อ แบบหู นรูกปแบบที่ชาวบ๎านสามารถนาไปปรับประยุกต์เป็นรูปแบบเฉพาะตัวได๎ เพียงแคํ ได๎ในท๎องถิ่น7.เป็เน๎ นหลั ปรับเปลี่ยนสี7.สันเน๎นหรืรูปอลวดลายที ่ทอานสามารถน หรือเพิม่ ลดขนาดให๎ กลายเป็ าสตางค์ขนาดเล็ ก ภายใต๎ แบบที่ชาวบ๎ าไปปรับประยุ กต์เนป็กระเป๋ นรูปแบบเฉพาะตั วได๎ เพี ยงแคํ หลั การที่ยนสี ่ออกแบบรํ มกัน ่ทอ หรือเพิม่ ลดขนาดให๎กลายเป็นกระเป๋าสตางค์ขนาดเล็ก ภายใต๎ ปรับกเปลี สัน หรือวลวดลายที เป็นรูปวแบบกระเป๋ าที่เรียบงําย อาศัยทักษะ ฝีมือในการทากระเป๋าแบบเดิมเป็นหลัก ไมํ หลักการที่อ8. อกแบบรํ มกัน เน๎นการใช๎ท8.ักษะพิ ้นรูาปทีมาก ด๎วายการสร๎ างในงานออกแบบบนผนั เป็นเรูศษในการขึ ปแบบกระเป๋ ่เรียบงํ ย อาศัยาทังความแตกตํ กษะ ฝีมือในการท ากระเป๋าแบบเดิมเป็งกระเป๋ นหลักาไมํ ด๎เน๎านนหน๎ า และหลั านั้น ้นรูปมาก ด๎วยการสร๎างความแตกตํางในงานออกแบบบนผนังกระเป๋า การใช๎ ทักษะพิงเทํ เศษในการขึ ด๎านหน๎า และหลังเทํานั้น ปัญหาของผลงานต้นแบบ (รวม) 1. ลวดลายและสี สันที่นามาสร๎างต๎นแบบเป็นลวดลายที่ทอขึ้นพิเศษ และมีความงามของ ปัญหาของผลงานต้ นแบบ (รวม) สีสัน แตํเมื่อ1.นามาใช๎ บนกระเป๋สาันในลั กษณะทีางต๎ ่ขาดลวดลายแบบพื ้นเรีย่ทบๆ มาชํควยขั บชิ้นเสื่อที่ ลวดลายและสี ที่นามาสร๎ นแบบเป็นลวดลายที อขึ้นสีพิกเลางๆ ศษ และมี วามงามของ มีสีสลันวดลาย จุดสนใจของกระเป๋ กบดบั่ขงาดลวดลายแบบพื ด๎วยลายเสื่อมากกวํ้นเรีารูยปบๆ แบบการจั ยงชิว้นยขัเสืบ่อชิสลั แตํเมื่อทนาให๎ ามาใช๎ บนกระเป๋าในลัากถูษณะที สีกลางๆดเรีมาชํ ้นเสืบ่อที่ ขวางไปมาตามที มีลวดลาย ทาให๎จ่อุดอกแบบ สนใจของกระเป๋าถูกบดบังด๎วยลายเสื่อมากกวํารูปแบบการจัดเรียงชิ้นเสื่อสลับ 2. โครงสร๎ างกระเป๋าเลือกใช๎วัสดุหนังเป็นวัสดุหลัก ทาให๎กระเป๋ากลายเป็นรทรงแข็ง มี ขวางไปมาตามที ่ออกแบบ น้าหนักมาก2.และตั ้งยากางกระเป๋ ไมํสามารถจุ ของได๎ นกระเป๋ าเครื่อนงสรทรงแข็ าอาง หรื โครงสร๎ าเลือกใช๎ วัสดุมหากเทํ นังเป็านทีวั่ตส๎อดุงการ หลัก กลายเป็ ทาให๎กระเป๋ ากลายเป็ ง มีอใสํ ของขนาดเล็ แทน ้งยาก ไมํสามารถจุของได๎มากเทําที่ต๎องการ กลายเป็นกระเป๋าเครื่องสาอาง หรือใสํ น้าหนักมาก กและตั ทรงกระเป๋าถูกปรับเปลี่ยนให๎สั้นจนเหมือนกระเป๋าถือ ทาให๎สัดสํวนของแบบผิดเพี้ยน ของขนาดเล็3.กแทน ไปจากเดิม 3. ทรงกระเป๋าถูกปรับเปลี่ยนให๎สั้นจนเหมือนกระเป๋าถือ ทาให๎สัดสํวนของแบบผิดเพี้ยน ไปจากเดิม 4. ทรงกระเป๋ามีความแคบเกินไป ทาให๎กางออกใช๎งานได๎ลาบากเวลาต๎องการหาของ ภายใน 4. ทรงกระเป๋ามีความแคบเกินไป ทาให๎กางออกใช๎งานได๎ลาบากเวลาต๎องการหาของ ภายใน
59 59 กระเป๋าแบบที่ 1 (เจาะรูตาไกํ) แนวคิ ดในการออกแบบ : ล๎อเลียนการสานกระเป๋าเพื่อให๎มองเห็นของภายในกระเป๋าได๎ กระเป๋าแบบที ่ 1 (เจาะรู ตาไกํ) และให๎สีสันของสิ านั้นทาให๎ก: ระเป๋ ําสนใจมากขึ้น โดยการน าเจาะบนเสื่อกก าเพืได๎่อ แนวคิ่งดของเหลํ ในการออกแบบ ล๎อเลีาดูยนนการสานกระเป๋ าเพื่อให๎มาตาไกํ องเห็นมของภายในกระเป๋ ล๎และให๎ างภาพเสื กกแบบเดิ มๆ ทีานัท่ ้นอเป็ นแผํกระเป๋ น ให๎าเสมื นการสานแบบให๎ เห็นชํอาตาไกํ งโปรํงมสลั บกับระนาบทึ สีสัน่อของสิ ่งของเหลํ ทาให๎ ดูนอําสนใจมากขึ ้น โดยการน าเจาะบนเสื ่อกกบเพืใน่อ จัล๎งาหวะการเจาะที ่เหมาะสม เป็นการเพิ ์ให๎กับงานทอเสื่อได๎เห็นโดยคู ํสีของตาไกํ เสื่อควรให๎ ดู งภาพเสื่อกกแบบเดิ มๆ ทีถืท่ ออเป็ แผํน ให๎่มเสนํ เสมืหอนการสานแบบให๎ ชํองโปรํ งสลับกักบับระนาบทึ บ ใน กลมกลื นกัน แตํเลํ่เหมาะสม นสีสันของผ๎ ่ใช๎หุ๎ม่ บุเสนํ ไว๎ซหับ์ให๎ในกระเป๋ าแทน่อได๎ โดยคูํสีของตาไกํกับเสื่อควรให๎ดู จังหวะการเจาะที ถือาเป็ฝูานยที การเพิ กับงานทอเสื กลมกลื นกัน แตํเลํนสีนสแบบ ันของผ๎ าฝูายที ่ใช๎หุ๎ม่ 1บุไ(เจาะรู ว๎ซับในกระเป๋ ปัญหาของผลงานต้ กระเป๋ าแบบที ตาไกํ) าแทน 1. รูปแบบการเจาะตาไกํ ขนาดรู ี่เจาะ ตและจ ปัญหาของผลงานต้ นแบบ กระเป๋าแบบที ่ 1 ท(เจาะรู าไกํ)านวนที่เจาะ ไมํเหมาะสมกับขนาดของ กระเป๋าที่เป็น1.ทรงสั ้น รูปแบบการเจาะตาไกํ ขนาดรูที่เจาะ และจานวนที่เจาะ ไมํเหมาะสมกับขนาดของ การกุ้น๏นขอบหนังด๎านข๎างควรเป็นสีใกล๎เคียงกับสีของเสื่อ (สีน้าตาลเข๎ม) มากกวําใช๎สี กระเป๋าที่เป็น2.ทรงสั เดียวกับสํวนของหู หิ้ว๏นขอบหนังด๎านข๎างควรเป็นสีใกล๎เคียงกับสีของเสื่อ (สีน้าตาลเข๎ม) มากกวําใช๎สี 2. การกุ เดียวกับาแบบที สํวนของหู กระเป๋ ่ 2 (3หิ้วแถบตั้ง) แนวคิ : เน๎นความเรียบงํายและดูมีราคา ด๎วยลูกเลํนในการเปิดชํอง กระเป๋าแบบที ่ 2 (3ดในการออกแบบ แถบตั้ง) ของชิ้นเสื่อ 3แนวคิ ชิ้นทีด่นในการออกแบบ ามาวางทับกันในแนวตั โดยการบิ ้น Pattern างให๎ งออก แล๎ดวชํทอาให๎ : เน๎น้งความเรี ยบงํดาชิยและดู มีราคาด๎าด๎นลํวยลู กเลํปนุอในการเปิ ง ผนั งกระเป๋ ก็จะสามารถมองเห็ ของผ๎าบุเด๎สืา่อนลํ ด๎านในได๎ กน๎อยแล๎ทาให๎ ของชิ ้นเสื่อา3ดูมชิีม้นิตทีิ ่นในขณะเดี ามาวางทัยบวกักั นในแนวตั ้ง โดยการบินดสีชิส้นันPattern างให๎ปเุอล็งออก วทาให๎ กระเป๋ าดูมาีลดููกมเลํีมนิตเล็ิ ในขณะเดี กๆ ที่ดูดี ยวกันก็จะสามารถมองเห็นสีสันของผ๎าบุเสื่อด๎านในได๎เล็กน๎อย ทาให๎ ผนังกระเป๋ กระเป๋ าดูมีลูกเลํนเล็กนๆแบบ ที่ดูดกระเป๋ ี าแบบที่ 2 (3 แถบตั้ง) ปัญหาของผลงานต้ แม๎จะตัดนกระดาษขนาดเทํ าจริ่ ง2และประกบให๎ ปัญหาของผลงานต้ แบบ กระเป๋าแบบที (3 แถบตั้ง) เห็นเป็นทรงกระเป๋าตามแบบแล๎ว ชํางทา ต๎นแบบไมํก็สแม๎ ามารถถํ ายทอดผลงานออกมาให๎ ได๎ตามแบบได๎เห็ซึน่งเป็อาจเป็ นเพราะความคุ ๎นชินผนั จะตัดกระดาษขนาดเทํ าจริง และประกบให๎ นทรงกระเป๋ าตามแบบแล๎ ว ชํง างทา กระเป๋ าแบบเรี ยบๆทั่วาไป และความสูงของกระเป๋ ที่ถูกลดลง ซึจึ่งงอาจเป็ ไมํมีระยะมากพอที ่จะบิ ้นเสืง่อได๎ ต๎นแบบไมํ ก็สามารถถํ ยทอดผลงานออกมาให๎ ได๎ตาามแบบได๎ นเพราะความคุ ๎นชิดนชิผนั ชํกระเป๋ างจึงทาแบบเรี าตามแบบโดยเพี งเว๎นชํองโหวํ ที่ไมํได๎โปุงาตัทีว่ถออก ซึ่งดูจึเหมื บเสื่อ 3่จชิะบิ้นในแนวตั ยบๆทั่วไปยและความสู งของกระเป๋ ูกลดลง งไมํอมนการเย็ ีระยะมากพอที ดชิ้นเสื่อ้งได๎ ธรรมดา ชํางจึงทาตามแบบโดยเพียงเว๎นชํองโหวํที่ไมํได๎โปุงตัวออก ซึ่งดูเหมือนการเย็บเสื่อ 3 ชิ้นในแนวตั้ง ธรรมดาาแบบที่ 3 (ไขว๎สลับ) กระเป๋ ดในการออกแบบ : เสื่อกกมีความงามของแนวเส๎นทอที่ชัดเจน จึงใช๎ลักษณะของ กระเป๋าแบบทีแนวคิ ่ 3 (ไขว๎ สลับ) ความงามที่เรีแนวคิ ยบงํายด๎ วยการวางแนวเส๎: นเสื ทอให๎ ขวางกั นไปมา ด๎วยการตันดทอที เสื่อ่ชเป็ัดนเจน ชิ้นๆจึงบุใช๎ดล๎วักยผ๎ษณะของ าฝูาย ดในการออกแบบ ่อกกมี ความงามของแนวเส๎ และน ามากุ่เ๎นรีขอบด๎ วยผ๎วยการวางแนวเส๎ าฝูายสีเดียวกับเสื ่อ แล๎วขจึวางกั งนามาวางไขว๎ ลับเป็นดผนั กระเป๋ ังหวะและ ความงามที ยบงํายด๎ นทอให๎ นไปมา ด๎วสยการตั เสื่องเป็ นชิ้นาๆ ให๎บุดม๎วีจยผ๎ าฝูาย ทิและน ศทางที ่เหมาะสม ามากุ ๎นขอบด๎วยผ๎าฝูายสีเดียวกับเสื่อ แล๎วจึงนามาวางไขว๎สลับเป็นผนังกระเป๋า ให๎มีจังหวะและ ทิปัศญทางที ่เหมาะสม นแบบ กระเป๋าแบบที่ 3 (ไขว๎สลับ) หาของผลงานต้ 1. เสื่อทีน่นแบบ ามาใช๎ ในการท าต๎น่ แบบเป็ ปัญหาของผลงานต้ กระเป๋ าแบบที 3 (ไขว๎สนลัเสืบ่อ)กกที่มีลวดลาย และสีสันที่สะดุดตา ทาให๎กลบ ความเดํนของแนวเส๎ ่จะนาต๎ ามาใช๎ เป็นลูนกเสืเลํ่อนกกที ในการออกแบบ 1. เสื่อทีน่นทอของกกที ามาใช๎ในการท นแบบเป็ ่มีลวดลาย และสีสันที่สะดุดตา ทาให๎กลบ ความเดํนของแนวเส๎นทอของกกที่จะนามาใช๎เป็นลูกเลํนในการออกแบบ
60 60
2. แนวการวางชิ้นเสื่อเป็นแนวเดียวกันทั้งหมด จึงไมํเห็นการไขว๎สลับไปมาของเส๎นทอ 2. แนวการวางชิ้นเสื่อเป็นแนวเดียวกันทั้งหมด จึงไมํเห็นการไขว๎สลับไปมาของเส๎นทอ ตามที่ออกแบบ เส๎นที่ไขว๎สลับกลับเกิดจากเส๎นกุ๏นหนังที่เหมือนเอามาเย็บกดลงบนผืนเสื่อชิ้นเดียวแทน ตามที่ออกแบบ เส๎นที่ไขว๎สลับกลับเกิดจากเส๎นกุ๏นหนังที่เหมือนเอามาเย็บกดลงบนผืนเสื่อชิ้นเดียวแทน 3. ขนาดกระเป๋าที่ไมํได๎ทาตามแบบที่กาหนดให๎ ทาให๎สัดสํวนของลายที่ออกแบบกับผลงาน 3. ขนาดกระเป๋าที่ไมํได๎ทาตามแบบที่กาหนดให๎ ทาให๎สัดสํวนของลายที่ออกแบบกับผลงาน ต๎นแบบผิดเพี้ยนไป มีผลตํอความงามและคุณคําของผลงานที่ผู๎ทาต๎นแบบไมํได๎ให๎ความสาคัญกับแบบ ต๎นแบบผิดเพี้ยนไป มีผลตํอความงามและคุณคําของผลงานที่ผู๎ทาต๎นแบบไมํได๎ให๎ความสาคัญกับแบบ เทําที่ควร แตํเน๎นความงํายในการทาให๎เสร็จเป็นผลงานออกมาเทํานั้น เทําที่ควร แตํเน๎นความงํายในการทาให๎เสร็จเป็นผลงานออกมาเทํานั้น
ภาพที่ 60 ผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ๎าเอนกประสงค์เพื่อเป็นของที่ระลึกของทิสโก๎ฯ ภาพที่ 60 ผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ๎าเอนกประสงค์เพื่อเป็นของที่ระลึกของทิสโก๎ฯ
61 61
6. ผลิตภัณฑ์ซองไอโฟน (iPhone) และไอแพด (iPad) ที่ทอด๎วยกก มีราคาชุดละ 200 6. ผลิตภัณฑ์ซองไอโฟน (iPhone) และไอแพด (iPad) ที่ทอด๎วยกก มีราคาชุดละ 200 350 บาท (ขึ้นอยูํกับ Accessories ประกอบ) ซึ่งใช๎เวลาทา 2 - 3 สัปดาห์ สามารถสร๎างสีสันได๎ 350 บาท (ขึ้นอยูํกับ Accessories ประกอบ) ซึ่งใช๎เวลาทา 2 - 3 สัปดาห์ สามารถสร๎างสีสันได๎ หลากหลายมากมาย แตํมีปญ ั หาคือ รสนิยมและการเลือกหนัง และลายของกกทอมาตัดเย็บของชุมชน หลากหลายมากมาย แตํมีปญ ั หาคือ รสนิยมและการเลือกหนัง และลายของกกทอมาตัดเย็บของชุมชน ที่ไมํสามารถพัฒนาให๎เป็นที่นยิ มได๎ด๎วยตนเอง โดยเฉพาะอยํางยิ่งการพัฒนารูปแบบ และการใช๎สอย ที่ไมํสามารถพัฒนาให๎เป็นที่นยิ มได๎ด๎วยตนเอง โดยเฉพาะอยํางยิ่งการพัฒนารูปแบบ และการใช๎สอย ให๎เป็นประโยชน์มากยิ่งขึ้น ถ๎าเหมาให๎ชุมชนเลือก Accessories ประกอบเองจะเกิดปัญหาเรื่อง ให๎เป็นประโยชน์มากยิ่งขึ้น ถ๎าเหมาให๎ชุมชนเลือก Accessories ประกอบเองจะเกิดปัญหาเรื่อง รสนิยมขัดแย๎งกับความต๎องการรูปแบบชิ้นงาน จะเน๎นความประณีตในการตัดเย็บ คณะวิจัยต๎องให๎ รสนิยมขัดแย๎งกับความต๎องการรูปแบบชิ้นงาน จะเน๎นความประณีตในการตัดเย็บ คณะวิจัยต๎องให๎ คาปรึกษาชํวยเลือกสีสัน ขนาด รายละเอียดปลีกยํอย กํอนสร๎างชิ้นงาน และควรมีต๎นแบบตัว คาปรึกษาชํวยเลือกสีสัน ขนาด รายละเอียดปลีกยํอย กํอนสร๎างชิ้นงาน และควรมีต๎นแบบตัว ผลิตภัณฑ์ใช๎เทียบ และทดสอบขนาดได๎ชัดเจน และพอดี (เนื่องด๎วยชิ้นงานมีขนาดที่หลากหลาย ผลิตภัณฑ์ใช๎เทียบ และทดสอบขนาดได๎ชัดเจน และพอดี (เนื่องด๎วยชิ้นงานมีขนาดที่หลากหลาย เปลี่ยนแปลงรวดเร็วไมํสามารถทาสต็อคได๎) เปลี่ยนแปลงรวดเร็วไมํสามารถทาสต็อคได๎)
ภาพที่ 61 ผลิตภัณฑ์ซองไอโฟน (iPhone) และไอแพด (iPad) ภาพที่ 61 ผลิตภัณฑ์ซองไอโฟน (iPhone) และไอแพด (iPad) ในขณะที่ปญ ั หาและแนวทางจัดการสาหรับผลิตภัณฑ์การสร๎างสรรค์ผลิตภัณฑ์ของที่ ในขณะที่ปญ ั หาและแนวทางจัดการสาหรับผลิตภัณฑ์การสร๎างสรรค์ผลิตภัณฑ์ของที่ ระลึกอื่นๆ ที่แสดงภูมิปัญญาและสะท๎อนลักษณะพิเศษที่นําจดจาของชุมชน ซึ่งในที่นี้ได๎ทาการ ระลึกอื่นๆ ที่แสดงภูมิปัญญาและสะท๎อนลักษณะพิเศษที่นําจดจาของชุมชน ซึ่งในที่นี้ได๎ทาการ สร๎างสรรค์พวงกุญแจ 12 ราศี โดยมีราคาชิ้นละ 40 - 70 บาท (ขึ้นอยูกํ ับปริมาณสั่งทาและราคาของ สร๎างสรรค์พวงกุญแจ 12 ราศี โดยมีราคาชิ้นละ 40 - 70 บาท (ขึ้นอยูกํ ับปริมาณสั่งทาและราคาของ สํวนประกอบ) และใช๎เวลาทา 1-2 สัปดาห์ หากเตรียมสํวนประกอบให๎ผู๎ผลิตทาอยํางเดียวได๎จะยิ่งดี สํวนประกอบ) และใช๎เวลาทา 1-2 สัปดาห์ หากเตรียมสํวนประกอบให๎ผู๎ผลิตทาอยํางเดียวได๎จะยิ่งดี มากเพราะจะคุมมาตรฐานได๎ดีกวําให๎ชุมชนจัดหาเอง สามารถใช๎เศษเสื่อที่ตดั เหลือจากการผลิต มากเพราะจะคุมมาตรฐานได๎ดีกวําให๎ชุมชนจัดหาเอง สามารถใช๎เศษเสื่อที่ตดั เหลือจากการผลิต ผลิตภัณฑ์อื่นๆ มาดาเนินการได๎อยํางดี แตํมีปัญหานิดหนํอยคือชิ้นงานขนาดเล็กๆ ติดด๎วยกาวทาให๎ ผลิตภัณฑ์อื่นๆ มาดาเนินการได๎อยํางดี แตํมีปัญหานิดหนํอยคือชิ้นงานขนาดเล็กๆ ติดด๎วยกาวทาให๎ หลุดได๎งํายไมํคํอยเรียบร๎อย ควรพิจารณาการออกแบบโดยไมํให๎เหลือเศษเป็นสิ่งสาคัญในการ หลุดได๎งํายไมํคํอยเรียบร๎อย ควรพิจารณาการออกแบบโดยไมํให๎เหลือเศษเป็นสิ่งสาคัญในการ ดาเนินการ ดาเนินการ
62
ภาพที่ 62 พวงกุญแจ 12 ราศี
63 63 จากการทําโครงการวิจัยสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกจากชุมชนอําเภอกระนวน าโครงการวิ จัยสร้าจงสรรค์ ผลิตภัณในหลายๆ ฑ์ของที่ระลึ จากชุ ชนอําเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่จากการทํ น ค้นพบข้ อเด่นของงานวิ ัยสร้างสรรค์ ด้ากนที ่เป็นมการเพิ ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ จัเสืง่อหวัให้ดตขอนแก่ พบข้อขเด่องผู นของงานวิ จัยสร้างสรรค์ ในหลายๆ ด้านทีน่เป็ออกได้ นการเพิ รงตามวันตถุค้ปนระสงค์ ้ใช้งาน และหลากหลาย โดยแยกประเด็ ดัง่มนีมู้ ลค่าผลิตภัณฑ์ เสื่อให้ตรงตามวั ระสงค์ของผู้ใช้งาน และหลากหลาย ดังนี้ ่อจากการ 1. ตมีถุกปารออกแบบโดยพั ฒนาเพิ ่มมูลค่าภูมิปญ ั โดยแยกประเด็ ญาพื้นบ้านท้อนงถิออกได้ ่นการทอเสื มีการออกแบบโดยพัฒนาเพิ่มมูลค่าภูมิปญ ั ญาพื้นบ้านท้องถิ่นการทอเสื่อจากการ สร้างสรรค์ด้ว1. ยงานออกแบบ สร้างสรรค์ด้ว2. ยงานออกแบบ มีการต่อยอดบูรณาการร่วมกับนาโนเทคโนโลยี เพื่อแก้ปัญหาด้านคุณสมบัติ และ 2. มีการต่ ยอดบูรณาการร่ เพิ่มสมรรถนะของวั สดุปอระกอบให้ โดดเด่นวขึมกั้นบนาโนเทคโนโลยี เพื่อแก้ปัญหาด้านคุณสมบัติ และ เพิ่มสมรรถนะของวั ประกอบให้โดดเด่จนทีขึ่ท้น้าทายทั้ง 5 ส่วน ครอบคลุมทุกด้านของผลิตภัณฑ์ให้ 3. ได้ชสิ้นดุงานครบตามภารกิ งานครบตามภารกิ จทีผ่ทลิ้าตทายทั น ครอบคลุอมงการของตลาด ทุกด้านของผลิตภัณฑ์ให้ นําไปประชาสั3.มพัได้นชธ์ิ้นและประยุ กต์ต่อยอดสู ภัณฑ์้งอ5ื่นๆส่วตามความต้ นําไปประชาสั4.มพัมีนรธ์ูปแบบลั และประยุ กต์ต่อตยอดสู ณฑ์สามารถนํ อื่นๆ ตามความต้ กษณะผลิ ภัณฑ์่ผทลิี่ชตัดภัเจน าไปสั่งจ้อางการของตลาด งชุมชนดําเนินการตาม ขั้นตอนแนะนํ4.าได้มีจรริูปงแบบลักษณะผลิตภัณฑ์ที่ชัดเจน สามารถนําไปสั่งจ้างชุมชนดําเนินการตาม ขั้นตอนแนะนํ5.าได้โดยเฉพาะอย่ จริง างยิ่งพวงกุญแจเสื่อกก 12 ราศี สามารถผลิตได้ง่าย จํานวนมาก โดยเฉพาะอย่ างยิ่งพวงกุได้ญทแจเสื รูปแบบน่ารัก5.จดจํ าง่าย และสามารถใช้ กุ คน่อกก 12 ราศี สามารถผลิตได้ง่าย จํานวนมาก รูปแบบน่ารัก6.จดจํคณะวิ าง่ายจและสามารถใช้ ได้ทกุ คน าปรึกษาเพื่อนํากระบวนการไปจดสิทธิบัตรสําหรับ ัยเชื่อว่าน่าจะสามารถขอคํ 6. คณะวิ เชืน่อการลอกเลี ว่าน่าจะสามารถขอคํ าปรึกษาเพื่อนํากระบวนการไปจดสิทธิบัตรสําหรับ ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้ เพื่อป้จอัยงกั ยน ผลิตภัณฑ์ชุมจากการศึ ชนได้เพือ่ กป้ษาครั องกัน้งการลอกเลี นี้ คณะวิจยั นพบว่ามีประเด็นอยู่สามประการใหญ่ๆ ที่มผี ลอย่างยิ่งต่อ จากการศึ ษาครั คณะวิจนัยแรกคื พบว่อามีการแลกเปลี ประเด็นอยู่ยสนเรี ามประการใหญ่ ๆ ที่มผี ลอย่างยิ่งต่อ การดําเนินการในครั ้งนีก้ กล่ าวคื้งอนี้ ประเด็ ยนรู้ทกั ษะความสามารถของ การดํ าเนินทัการในครั ้งนี้ และทั กล่าวคืกอษะของช่ ประเด็านงแต่ แรกคื อการแลกเปลี กั ษะความสามารถของ บุคลากร ้งคณาจารย์ ละชุ มชนที่เกี่ยวข้่ยอนเรี งกัยบนรู ส่ว้ทนงานต่ างๆ ประเด็นต่อมาคือ บุคลากร ้งคณาจารย์ และทักษะของช่างคณะวิ างแต่ละชุ ชนทีและระหว่ ่เกี่ยวข้องกั บส่วนงานต่ ประสิ ทธิภทัาพในการประสานงานระหว่ จัยมเอง างชาวบ้ านในชุามงๆชนทีประเด็ ่เกี่ยวข้นต่ออง มาคือ ธิภาพในการประสานงานระหว่ างคณะวิ างชาวบ้ านในชุ มชนที่เกี่ยวข้อง าง ด้ประสิ วยกันทเอง และประเด็นที่สามคือประเด็ นด้านทัจัยศเอง นคติและระหว่ ที่มีต่อการให้ และได้ รับผลตอบแทนระหว่ ด้ชุมวยกั นเอง และประเด็ ที่สบามคื ศนคติาทการจั ี่มีต่อดการให้ และได้รับมผลตอบแทนระหว่ ชนที ่มีภารกิ จเกี่ยวข้อนงกั งานวิอจประเด็ ัยครั้งนนีด้้ ซึา่งนทั จะพบว่ ทําต้นแบบโดยชุ ชนร้านเย็บกระเป๋าาง ชุมนชนที จเกี่ยวข้ องกับส่ งานวิ จัยครั้งเนีหมื้ ซึอ่งนว่ จะพบว่ ดทําต้นแบบโดยชุ เป็ ผู้ที่ด่มําีภเนิารกิ นการผลิ ตตามที ั่งจ้างโดยดู าจะได้าการจั รับผลประโยชน์ ไปมากทีมชนร้ ่สุด อัานนเย็ เป็บนกระเป๋ เพราะ า เป็ นผู้ที่ดําเนิบนตัการผลิ ตามทีส่ ั่งจ้างโดยดู เหมือ่พนว่ าจะได้รับผลประโยชน์ไปมากทีจ่สัยุดได้อัอนย่เป็างดี นเพราะ สามารถปรั วเปลี่ยตนแปลงไปตามรู ปแบบที ัฒนาจากการออกแบบของคณะวิ ในขณะ บตั่อวพัเปลี ่ยนแปลงไปตามรู แบบที ่พัฒานาจากการออกแบบของคณะวิ จัยได้อย่างดี่มสารนาโน ในขณะ ทีสามารถปรั ่ชุมชนทอเสื ฒนาเปลี ่ยนแปลงทัศปนคติ และค่ นิยมของตนในการทอการย้อมและการเพิ ่ยนแปลงทัด้ศวนคติ และค่านิ่อยของชุ มของตนในการทอการย้ อมและการเพิ ่มสารนาโน ซิทีง่ชค์ุมอชนทอเสื อกไซด์ไ่อด้พัเพีฒยนาเปลี งในกรอบแคบๆ ยการทอเสื มชนยังคงใช้เพียงเวลาว่ างจากการทํ างาน ซิงค์อในชี อกไซด์ ได้เพีายวังในกรอบแคบๆ ด้วยการทอเสื มชนยับงกระเป๋ คงใช้เาพีเป็ยงเวลาว่ งจากการทํ างาน ปกติ วิตประจํ น ในขณะที่ชุมชนเย็ บกระเป๋านั่อของชุ ้นใช้การเย็ นธุรกิจาหลั กในการหารายได้ ปกติ วิตจประจํ ุมชนเย็ านั้นใช้การเย็บกระเป๋ กในการหารายได้ ไปแล้ใวนชีในปั จุบันาซึวั่งนจุดในขณะที นี้ทําให้ค่ชณะวิ จัยบเห็กระเป๋ นทิศทางของผลงานที ่ได้ทันาทีเป็ว่านเป็ธุรนกิได้จหลั ยากที ่จะชักชวนให้ วในปัจ่อจุร่บวันมกัซึบ่งชุจุมดชนเย็ นี้ทําให้ คณะวิาจแล้ ัยเห็วนสามารถยื ทิศทางของผลงานที ได้ยากที่จโะชั กชวนให้ ชุไปแล้ มชนทอเสื บกระเป๋ นหยัดได้อย่า่ได้งเข็ทันมทีแข็ว่างเป็ ด้วนยตนเองได้ ดยปราศจาก ชุมชนทอเสื มกับชุมชนเย็บกระเป๋าแล้วสามารถยืนหยัดได้อย่างเข็มแข็งด้วยตนเองได้โดยปราศจาก คณะวิ จัยเข้า่อร่ร่ววมในกระบวนการ คณะวิจัยเข้าร่ในขณะเดี วมในกระบวนการ ยวกันคณะวิจัยยังพบอีกว่าการเปลี่ยนแปลงเล็กๆน้อยๆที่โดดเด่นมากในชุมชน ยวกัาแบบไปสั นคณะวิจ่งัยจ้ยัางพบอี าการเปลี นแปลงเล็ ๆน้อยๆที่โคดดเด่ นมากในชุ ชน ทอเสื่อภายหลัในขณะเดี งจากการนํ คือทักศว่นคติ ที่มีตอ่ยการมั ดย้อกมและเทคนิ การทอที ่ดูมีอิสมระ ทอเสื่อภายหลังจากการนําแบบไปสั่งจ้าง คือทัศนคติที่มีตอ่ การมัดย้อมและเทคนิคการทอที่ดูมีอิสระ
64
และน่าสนใจขึน้ มากกว่าเดิม โดยดูมีความเป็นตัวของตัวเองมากขึ้นที่ไม่เกิดขึ้นมาก่อน ทั้งนี้อาจเป็น เพราะคณะวิจัยได้จัดสรรงบประมาณในจํานวนที่มากพอเพื่อสั่งจ้างทําต้นแบบของเสื่อทอแต่ละแบบ หลังจากการออกแบบสร้างสรรค์ได้แล้ว ก็สงั่ จ้างชุมชนเพื่อทอเสื่อทั้งผืนเล็กผืนใหญ่ หลากหลาย รูปแบบ จนอาจจะกล่าวได้ว่า การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องของการพัฒนารูปแบบลวดลายและสีสัน ระหว่างคณะวิจัยกับช่างทอเสื่อแต่ละคนในแต่ละบ้านนั้นได้ก่อร่างสร้างทักษะ ความรูแ้ ละความเข้าใจ ผ่านกระบวนการสั่งจ้างให้ทํางานตามแบบที่สร้างสรรค์ขึ้น จากนั้นผลงานที่ได้ก็มีการนํามาแนะนํา และวิพากษ์วิจารณ์ต่อรวมถึงชื่นชมเพื่อสร้างความมั่นอกมั่นใจในการทํางานจนสามารถกําหนดสร้าง รสนิยมของชุมชนขึ้นมาได้อย่างชัดเจนเป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่ง (ซึ่งเรื่องนี้สมควรจะนําไปพัฒนาต่อยอด ต่อไป) ทั้งนี้ ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีการบูรณาการระหว่างสาขาวิชาในประเด็นต่างๆดังนี้ 1. การบูรณาการระหว่างคณะผู้ศึกษาวิจัยกับหน่วยงานบริหารการปกครองท้องถิ่น 2. การบูรณาการระหว่างสถาบันการศึกษาด้านความสร้างสรรค์กับองค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี 3. บูรณาการการประสานและการผลิตระหว่างชุมชนกันเองจากการสั่งจ้างให้ผลิตต้นแบบชิ้นงาน โดยผลงานที่สร้างสรรค์ระหว่างการพัฒนาต้นแบบเพื่อทําคําสั่งจ้างนั้นมีจํานวนมาก เมื่อ ได้ทําการพัฒนา และพิจารณาร่วมกับความสะดวกคล่องตัวและความเป็นไปได้ในการผลิตจริงโดยการ สั่งจ้างแล้ว พบว่า มีปัญหาในรายละเอียดบางประการที่น่าสนใจในหลากหลายประเด็นดังนี้ 1. ด้วยในภารกิจวิจัยสร้างสรรค์จํานวน 5 ภารกิจนั้น ผลงานที่ดูสมบูรณ์และ เป็นไปได้จริงมากที่สุด คือผลงานรูปแบบที่ 1 ที่รองจานและ แก้ว รูปแบบที่ 4 กระเป๋า และรูปแบบที่ 5 พวงกุญแจ 2. รายการที่ 2-3 ของประดับตกแต่งขนาดเล็กในที่พักอาศัยและ งานประติมากรรมศิลปะขนาดเล็กที่ สามารถใช้สอยได้บางลักษณะเพื่อประดับและ ใช้งานบนโต๊ะผู้บริหารระดับสูง จําเป็นต้องดําเนินการ วิจัยอีกพอสมควรเนื่องด้วยขาดงานวิจัยด้านการศึกษาการตลาดของอุปสงค์และ ปัญหาข้อกําหนด ด้านเวลา 3. งานวิจัยไม่สามารถดําเนินการด้านการออกแบบประกอบในส่วนอื่นๆ เช่น ฉลากผลิตภัณฑ์และ บรรจุภัณฑ์ประกอบ เนื่องด้วยปัญหาเรื่องเวลาและ ในชุมชนที่ศึกษาไม่มภี ารกิจเกี่ยวข้องในด้านนี้ 4. ซึ่งชาวบ้านคุ้นเคยกับการสั่งให้ผลิตหรือ สั่งให้ทําตามแบบและ จัดส่งเท่านั้น เนื่องด้วยไม่มีเวลา ให้กับธุรกิจที่ชดั เจน รวมถึงขาดทักษะในการเจรจาและ ประสานงานทางธุรกิจที่ชัดเจน รวมถึงขาด ทักษะในการเจรจา ประสานงานธุรกิจจําเป็นต้องมีโมเดลธุรกิจที่สมบูรณ์เพื่อให้กลุ่มชุมชนเข้าใจก่อน 5. หากสั่งผลิตจํานวนมากแนะนําว่าควรแยกการสั่งจ้างเป็นสองส่วนคือ ส่วนการทอเสื่อและ ส่วนการ เย็บ เพราะปัญหาการทอเสื่อที่ใช้เวลาว่างจากงานบุญหรือการเกษตรทําให้ไม่สามารถเร่งงานได้
65
6. ควรกําหนดรูปแบบตายตัวเพื่อทําแคตตาล็อคชุมชน เพื่อกําหนดรูปแบบ ราคา ปริมาณสั่งซื้อขั้นสูง และขั้นต่ํา ระยะเวลาการวางมัดจํา และวิธีเงื่อนไขการชําระเงินในลักษณะเอกสาร เพื่อสั่งจ้าง ผลิตภัณฑ์ได้ตรงตามเวลา และสามารถดําเนินการได้ตามกําหนดที่วางไว้ 7. จําเป็นต้องมีการประชุมสร้างวิสาหกิจชุมชน เพื่อมีผู้ดําเนินการประสานงาน และจัดทําในส่วน ธุรกิจผลิตภัณฑ์เพื่อกําหนดราคาจําหน่ายผลิตภัณฑ์จากทุกๆ ฝ่าย 8. ควรจัดประชุมเพื่อตกลงกันให้เรียบร้อยในลักษณะความเห็นชอบร่วมกันในการร่างสัญญาจ้างและ การตกลงชดเชยค่าเสียหายที่มีรูปแบบเอกสารสัญญาระหว่างชุมชนกันเอง และระหว่างผู้ว่าจ้างเป็น ลายลักษณ์อักษร 9. ควรพัฒนาต้นแบบให้สมบูรณ์ก่อนแล้วจึงค่อยนําไปสั่งจ้างจะได้ประสิทธิภาพในการทํางานมากกว่า ด้วยการเสนอแนะกับความเป็นไปได้ให้ตรงประเด็นกับวิถีชีวิต ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่าการทอ เสื่อกก เป็นวิถีรองจากการทําไร่ทํานาซึ่งเป็นวิถีหลัก ฉะนัน้ ด้วยความเหมาะสมของการใช้เพียงเวลาที่ ว่างมาสร้างสรรค์กิจกรรมเสริมรายได้ ด้วยการทอเสื่อตามกรรมวิธีพื้นบ้านที่ง่ายๆ ไม่ซบั ซ้อน ไม่ต้อง เน้นความแตกต่างอย่างมากมายไปจากความเคยชิน ถักทอในช่วงเว้นว่างจากกิจกรรมหลัก โดยน่า เสริมประสิทธิภาพในการมุ่งพัฒนาเสื่อให้เป็นเสื่อน่าจะเหมาะสมกับวิถกี ารดํารงชีวิตของชุมชนมาก ที่สุด โดยคณะวิจัยมีความสนใจในการดําเนินการต่อจากงานวิจัย ดังต่อไปนี้ 1. การจัดทําแคตตาล็อคชุมชนที่เป็นภาษาสากลและสวยงาม 2. การจัดทําเอกสารสําหรับสั่งจ้างที่เป็นภาษาสากลสําหรับชุมชน 3. การจัดทําเอกสารสัญญาข้อตกลงระหว่างชุมชนในการดําเนินการร่วมกัน 4. การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จากการวิจัยสร้างสรรค์ ให้สอดคล้องกับประโยชน์ใช้สอย (เช่น ซอง สมาร์ทโฟนหลายๆ ขนาด ฯลฯ) 5. การต่อยอดพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จากการบูรณาการงานวิจัยสร้างสรรค์ ให้สอดคล้องกับแนว นิยมร่วมสมัย (วิจัยร่วมระหว่างภาควิชาฯ ของคณะมัณฑนศิลป์ ที่ปัจจุบนั มี 7 ภาควิชาฯ) 6. การปรับปรุงรูปแบบ และการออกแบบโดยไม่ให้มีเศษวัสดุที่เหลือจากการทอในขบวนการผลิต 7. การพัฒนากระบวนการผลิตโดยใช้วัสดุ และสารประกอบที่เป็นมิตรกับทุกคนในทุกขั้นตอนการผลิต 8. การพัฒนารูปแบบของฉลากและถุงบรรจุภัณฑ์ประกอบผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดให้เหมาะกับการค้า ปลีก-ส่ง และ การขนส่ง 9. การต่อยอดพัฒนารูปแบบและสินค้าเพื่อผลิตเป็นของที่ระลึกในเครือของคณะวิจัยฯ (มัณฑนศิลป์ และทิสโก้)
66 66
บทที บทที่่ 66 ภาคผนวก ภาคผนวก ในภาคผนวกนี ในภาคผนวกนี้้ จะเป็ จะเป็นนการรวบรวมและจั การรวบรวมและจัดดการถอดบทเรี การถอดบทเรียยนความรู นความรู๎ใ๎ในภาพรวมที นภาพรวมที่ส่สรุรุปปอีอีกกครั ครั้ง้ง ในลั ในลักกษณะคล๎ ษณะคล๎าายกั ยกับบบทสรุ บทสรุปปผูผู๎บ๎บริริหหาร าร รํรํววมกั มกับบการจั การจัดดการความรู การความรู๎เ๎เพืพื่อ่อให๎ ให๎รรวบรั วบรัดด ประกอบกั ประกอบกับบการน การนาเสนอ าเสนอ ภาพรวมการวิ ภาพรวมการวิจจัยัยตลอดสี ตลอดสี่เ่เดืดืออนที นที่ด่ดาเนิ าเนินนการจนถึ การจนถึงงขัขั้น้นตอนลํ ตอนลําาสุสุดดทีที่ไ่ได๎ด๎บบูรูรณาการน ณาการนารํ ารํอองกั งกับบงานวิ งานวิจจัยัยความ ความ เป็ เป็นนไปได๎ ไปได๎กกับับการผสมผสานกั การผสมผสานกับบวัวัสสดุดุเเหลื หลืออใช๎ ใช๎ปประเภทอื ระเภทอื่น่นเพื เพื่อ่อเพิ เพิ่ม่มมูมูลลคํคําาชิชิ้น้นงานในลั งานในลักกษณะที ษณะที่ห่หลากหลาย ลากหลาย โดยใช๎ โดยใช๎ปประมวลภาพประกอบเนื ระมวลภาพประกอบเนื้อ้อหาให๎ หาให๎เเข๎ข๎าาใจมากขึ ใจมากขึ้น้นในวิ ในวิธธีกีการเชิ ารเชิงงคุคุณ ณภาพในการด ภาพในการดาเนิ าเนินนการวิ การวิจจัยัยชุชุดดนีนี้้ กระบวนการศึ กระบวนการศึกกษาที ษาที่ใ่ใช้ช้ใในการศึ นการศึกกษาครั ษาครั้ง้งนีนี้ใ้ใช้ช้ววิธิธีกีการดั ารดังงนีนี้้ 1. 1. การส การสารวจและสั ารวจและสังงเกตโดยการลงพื เกตโดยการลงพื้น้นทีที่จ่จริริงงๆเพื ๆเพื่อ่อศึศึกกษาชุ ษาชุมมชนตํ ชนตําางๆในขอบเขตการศึ งๆในขอบเขตการศึกกษา ษา 2. 2. นนาผลมาอภิ าผลมาอภิปปรายเพื รายเพื่อ่อออกแบบ ออกแบบ จากนั จากนั้น้นนนามาสั ามาสั่ง่งจ๎จ๎าางเพื งเพื่อ่อจัจัดดททาต๎ าต๎นนแบบชิ แบบชิ้น้นงานเบื งานเบื้อ้องต๎ งต๎นน 3. 3. นนางานที างานที่ไ่ได๎ด๎มมาศึ าศึกกษาความเป็ ษาความเป็นนไปได๎ ไปได๎ใใหมํ หมํๆๆโดยการออกแบบผลิ โดยการออกแบบผลิตตภัภัณ ณฑ์ฑ์รรํวํวมกั มกับบทีทีมมออกแบบ ออกแบบ 4. 4. นนาแบบที าแบบที่ไ่ได๎ด๎มมาท าทาการจั าการจัดดททาต๎ าต๎นนแบบ(ทั แบบ(ทั้ง้งจัจัดดททาโดยผู าโดยผู๎ร๎รํวํวมวิ มวิจจัยัยเองและทั เองและทั้ง้งสัสั่ง่งจ๎จ๎าางจั งจัดดททาต๎ าต๎นนแบบ)เพื แบบ)เพื่อ่อสัสั่ง่ง จ๎จ๎าางให๎ งให๎ชชุมุมชนจั ชนจัดดททาการผลิ าการผลิตตซ้ซ้าเพื าเพื่อ่อศึศึกกษาระยะเวลาและงบประมาณตํ ษาระยะเวลาและงบประมาณตํออไป ไป 5. 5. รวบรวมปั รวบรวมปัญ ญหาทั หาทั้ง้งกระบวนการเพื กระบวนการเพื่อ่อททาการสรุ าการสรุปปและน และนาเสนอเป็ าเสนอเป็นนรายงานฉบั รายงานฉบับบสมบู สมบูรรณ์ ณ์ 6. 6. นนาผลงานที าผลงานที่ไ่ได๎ด๎ไไปตํ ปตํออยอดบู ยอดบูรรณาการน ณาการนารํ ารํอองไปยั งไปยังงงานในมิ งานในมิตติอิอื่นื่นๆที ๆที่น่นําําสนใจเพิ สนใจเพิ่ม่มเติ เติมมตํตํออไป ไป
ภาพที ภาพที่่ 63 63 แสดงขั แสดงขั้น้นตอนที ตอนที่่ 1: 1: การส การสารวจและสั ารวจและสังงเกตโดยการลงพื เกตโดยการลงพื้น้นทีทีจจ่่ ริริงงๆๆ เพื เพื่อ่อศึศึกกษาชุ ษาชุมมชนต่ ชนต่าางๆในขอบเขตการศึ งๆในขอบเขตการศึกกษา ษา
6767
ภาพที่ 64 แสดงขั้นตอนที่ 2 : นาผลมาอภิปรายเพื่อออกแบบ จากนัน้ นามาสั่งจ้าง เพื่อจัดทาต้นแบบชิ้นงานเบื้องต้น
ภาพที่ 64 แสดงขั้นตอนที่ 2 : นาผลมาอภิปรายเพื่อออกแบบ จากนัน้ นามาสั่งจ้าง เพื่อจัดทาต้นแบบชิ้นงานเบื้องต้น
68 68
ภาพที่ 65 แสดงขั้นตอนที่ 3 : นางานที่ได้มาศึกษาความเป็นไปได้ใหม่ๆโดยการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ร่วมกับทีมออกแบบ
ภาพที่ 65 แสดงขั้นตอนที่ 3 : นางานที่ได้มาศึกษาความเป็นไปได้ใหม่ๆโดยการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ร่วมกับทีมออกแบบ
6969
ภาพที่ 66 แสดงขั้นตอนที่ 4 : นาแบบที่ได้มาทาการจัดทาต้นแบบ(ทัง้ จัดทาโดยผูร้ ว่ มวิจัยเองและ ทั้งสั่งจ้างจัดทาต้นแบบ)เพื่อสั่งจ้างให้ชุมชนจัดทาการผลิตซ้าเพื่อศึกษาระยะเวลา และงบประมาณต่อไป
ภาพที่ 66 แสดงขั้นตอนที่ 4 : นาแบบที่ได้มาทาการจัดทาต้นแบบ(ทัง้ จัดทาโดยผูร้ ว่ มวิจัยเองและ ทั้งสั่งจ้างจัดทาต้นแบบ)เพื่อสั่งจ้างให้ชุมชนจัดทาการผลิตซ้าเพื่อศึกษาระยะเวลา และงบประมาณต่อไป
70 70
ภาพที่ 67 แสดงขั้นตอนที่ 5 : รวบรวมปัญหาทั้งกระบวนการเพื่อทาการสรุปและ นาเสนอเป็นรายงานฉบับสมบูรณ์
ภาพที่ 67 แสดงขั้นตอนที่ 5 : รวบรวมปัญหาทั้งกระบวนการเพื่อทาการสรุปและ นาเสนอเป็นรายงานฉบับสมบูรณ์
71 71
ภาพที่ 68 แสดงขั้นตอนที่ 5 : รวบรวมปัญหาทั้งกระบวนการเพื่อทาการสรุปและ นาเสนอเป็นรายงานฉบับสมบูรณ์
ภาพที่ 68 แสดงขั้นตอนที่ 5 : รวบรวมปัญหาทั้งกระบวนการเพื่อทาการสรุปและ นาเสนอเป็นรายงานฉบับสมบูรณ์
72
ภาพที่ 69 แสดงขั้นตอนที่ 5 : รวบรวมปัญหาทั้งกระบวนการเพื่อทาการสรุปและ นาเสนอเป็นรายงานฉบับสมบูรณ์
ภาพที่ 69 แสดงขั้นตอนที่ 5 : รวบรวมปัญหาทั้งกระบวนการเพื่อทาการสรุปและ นาเสนอเป็นรายงานฉบับสมบูรณ์
72
73
73
ภาพที่ 70 แสดงขั้นตอนที่ 6 : นาผลงานที่ได้ไปต่อยอดบูรณาการนาร่องไปยังงานใน มิติอื่นๆทีน่ ่าสนใจเพิ่มเติมต่อไป
ภาพที่ 70 แสดงขั้นตอนที่ 6 : นาผลงานที่ได้ไปต่อยอดบูรณาการนาร่องไปยังงานใน มิติอื่นๆทีน่ ่าสนใจเพิ่มเติมต่อไป
74 74 สรุปข้อเด่นของวิจัยสร้างสรรค์นี้ 1. ฒนาเพิน่มี้ มูลคําภูมิปัญญาพื้นบ๎านท๎องถิ่นด๎วยการสร๎างสรรค์การออกแบบ สรุปมีข้กอารออกแบบโดยพั เด่นของวิจัยสร้างสรรค์ 2. อยอดบูรณาการทางนาโนเทคโนโลยี เพื่อ้นแก๎บ๎ปานท๎ ัญหาด๎ สมบัติแาละเพิ 1. มีการตํ ารออกแบบโดยพั ฒนาเพิ่มมูลคําภูมิปัญญาพื องถิา่นนคุด๎วณยการสร๎ งสรรค์่มสมรรถนะของ การออกแบบ ประกอบให๎ ดดเดํนขึ้น 2. วัมีสกดุารตํ อยอดบูรโณาการทางนาโนเทคโนโลยี เพื่อแก๎ปัญหาด๎านคุณสมบัติและเพิ่มสมรรถนะของ 3. คณะวิ จัยเชื่อวํานํโดดเดํ าจะสามารถขอค าปรึกษาเพื่อนากระบวนการไปจดสิทธิบัตรสาหรับผลิตภัณฑ์ วัสดุประกอบให๎ นขึ้น มชนได๎ พื่อปูวําอนํงกัาจะสามารถขอค นการลอกเลียนแบบ 3. ชุคณะวิ จัยเเชื าปรึกษาเพื่อนากระบวนการไปจดสิทธิบัตรสาหรับผลิตภัณฑ์ 4. ได๎ ิ้นงานครบตามภารกิ จที่ท๎าทายทั ้ง 5 สํวนครอบคลุมทุกด๎านของผลิตภัณฑ์ให๎นาไป ชุมชชนได๎ เพื่อปูองกันการลอกเลี ยนแบบ ประชาสั มพันธ์และตํอยอดได๎ ากการบุ นี้ 4. ได๎ ชิ้นงานครบตามภารกิ จที่ท๎าจทายทั ้ง 5กสํเบิวกนครอบคลุ มทุกด๎านของผลิตภัณฑ์ให๎นาไป 5. มีประชาสั รูปลักษณะผลิ ภัณอฑ์ยอดได๎ ที่ชัดเจนสามารถน มพันธ์แตละตํ จากการบุกเบิาไปสั กนี้ ่งจ๎างชุมชนดาเนินการได๎จริงตามขั้นตอนแนะนา างยิตภั่งพวงกุ ่อกก 12ราศี ตได๎าเนิ งํานย การได๎ จานวนมาก รูปแบบนํ ารัก า 5. โดยเฉพาะอยํ มีรูปลักษณะผลิ ณฑ์ทญี่ชัดแจเสื เจนสามารถน าไปสัสามารถผลิ ่งจ๎างชุมชนด จริงตามขั ้นตอนแนะน จดจ างําย และสามารถใช๎ ด๎ทกุ คน โดยเฉพาะอยํ างยิ่งพวงกุญไแจเสื ่อกก 12ราศี สามารถผลิตได๎งําย จานวนมาก รูปแบบนํารัก สรุปจดจ โดยรวม างําย และสามารถใช๎ได๎ทกุ คน คณะวิจัยหวังเป็นอยํางยิ่งวําการวิจัยเล็กๆชุดนี้จะชํวยปลูกสร๎างแรงบันดาลใจให๎กับชุมชน สรุปโดยรวม อาเภอกระนวน เพราะอยํ ่อก็เนกิดาลใจให๎ ดความกล๎กาับและความ คณะวิจัยหวัจังงเป็หวันดอยํขอนแกํ างยิ่งวํนาการวิ จัยเล็ากงน๎ ๆชุอดยที นี้จ่สะชํุด วในชุ ยปลูมกชนทอเสื สร๎างแรงบั ชุมชน ภาคภู มิใจเนื่องจากการเกิ ดขึ้นของลั กษณะทีางน๎ ่เกิดอขึยที้นมาใหมํ เคยเกิด่อขึก็น้ เมากํ อนในกระบวนการ อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแกํ น เพราะอยํ ่สุด ในชุทมี่ไมํชนทอเสื กิดความกล๎ าและความ และเทคนิ คในการมั ดย๎อมและทอ ่องมาจากแรงบั นดาลใจที ่ชาวบ๎ ดสร๎าง ภาคภูมิใจเนื ่องจากการเกิ ดขึ้นของลัอันกเนื ษณะที ่เกิดขึ้นมาใหมํ ที่ไมํเคยเกิ ดขึาน้ นได๎ มากํรับอจากการจั นในกระบวนการ รูและเทคนิ ปแบบที่หคลากหลายของลวดลายและสี ในการทอเสื่อนทีดาลใจที ่คิดและได๎ แก๎าปนได๎ ัญหารํ มกันตั้งแตํ แรก ในการมัดย๎อมและทอ อันเนืส่อันงมาจากแรงบั ่ชาวบ๎ รับวจากการจั ดสร๎ าง รูปแบบที่หลากหลายของลวดลายและสีสันในการทอเสื่อที่คิดและได๎แก๎ปัญหารํวมกันตั้งแตํแรก
ภาพที่ 71 แสดงการเกิดลักษณะใหมํที่ไมํเคยมีมากํอนในเทคนิคของชุมชนกระนวน ภาพที่ 71 แสดงการเกิดลักษณะใหมํที่ไมํเคยมีมากํอนในเทคนิคของชุมชนกระนวน
73 75 ในขณะเดียวกันทางคณะวิจัยก็ไม่ได้หยุดแต่เพียงหัวข้อวิจัยสร้างสรรค์ของที่ระลึกที่มุ่งพัฒนา แต่ภในขณะเดี ายในชุมชนยวกัหากแต่ ได้บุกเบิจัยกก็นํไามํร่ไอด๎งบู วยกับขการนํ สิ่งกของเหลื ใช้ นทางคณะวิ หยุรดณาการงานวิ แตํเพียงหัวข๎จอัยวิเข้จัยาร่สร๎วมด้ างสรรค์ องที่ราะลึ ที่มุํงพัฒอนา ในกระบวนการบางประเภท ่งเป็กนส่ารํวอนหนึ ในวัสดุก่อสร้จาัยงซึเข๎่งาในที ่นี้ไวด้ยกั คัดบเลืการน อกเอาถุ Big Bag แตํ ภายในชุมชน หากแตํได๎บุกซึเบิ งบูร่งณาการงานวิ รํวมด๎ าสิ่งงของเหลื อใช๎ที่ ใช้ในการขนถ่ายเศษวัสดุก่อสร้ซึ่งาในที งในการดํ นการโครงการก่ อสร้างซึางขนาดใหญ่ พิจารณา ในกระบวนการบางประเภท ่นี่เป็นาสํเนิวนหนึ ่งในวัสดุกํอสร๎ ่งในที่นี่ได๎คัดโดยได้ เลือกเอาถุ ง Big นํBag ามาทดสอบและทดลองจั วมกับเศษชิ ้นส่วนของกกทอที อจากการดํโดยได๎ าเนินการ ที่ใช๎ในการขนถํายเศษวัดสทํดุาประกอบร่ กํอสร๎างในการด าเนินการโครงการกํ อสร๎่เาหลื งขนาดใหญํ จัพิดจทํารณาน าต้นแบบจากงานวิ จัยที่เพิ่งเสร็จดสิท้นาประกอบรํ ที่ผา่ นมา และได้ าศัย้นคณะนั กศึกษาชั้นปี่เหลื ที่ 1อจากการ ในรายวิชา ามาทดสอบและทดลองจั วมกับอเศษชิ สํวนของกกทอที ออกแบบ 2 ดการออกแบบสามมิ ติ ในการบู ณาการวิ กับการเรี ยนการสอนก่ กิจกรรม ดาเนินการจั ทาต๎นแบบจากงานวิ จัยที่เพิ่งรเสร็ จสิ้นทีจ่ผัยํานมา และได๎ อาศัยคณะนัอให้ กศึเกิกดษาชั ้นปีท1ี่ การทดสอบปฏิ บัติการออกแบบและจั ดทําตต้ิ นในการบู แบบให้รเณาการวิ กิดขึ้น จัยกับการเรียนการสอนกํอให๎เกิด ในรายวิชาออกแบบ2 การออกแบบสามมิ กิจกรรมการทดสอบปฏิบัติการออกแบบและจัดทาต๎นแบบให๎เกิดขึ้น
76 76
77 77
ภาพที่ 72-74 แสดงผลงานของนางสาววิภาพร เจนสุวรรณ์ นักศึกษาปี1 : วิชาออกแบบ2 ภาพที่ 72-74 แสดงผลงานของนางสาววิ ภาพร จเจนสุ วรรณ์ ที่บูรณาการงานวิ ัยสูํรายวิ ชา นักศึกษาปี1 : วิชาออกแบบ2 ที่บูรณาการงานวิจัยสูํรายวิชา
7878
ภาพที่ 75 แสดงกิจกรรมบูรณาการวิจัยสูวํ ิชาออกแบบ2 : นักศึกษาปี1 ภาควิชาออกแบบภายใน
ภาพที่ 75 แสดงกิจกรรมบูรณาการวิจัยสูวํ ิชาออกแบบ2 : นักศึกษาปี1 ภาควิชาออกแบบภายใน
79 79
ภาพที่ 76 แสดงกิจกรรมบูรณาการวิจัยสูวํ ิชาออกแบบ2 : นักศึกษาปี1 ภาควิชาออกแบบภายใน
ภาพที่ 76 แสดงกิจกรรมบูรณาการวิจัยสูวํ ิชาออกแบบ2 : นักศึกษาปี1 ภาควิชาออกแบบภายใน
80 80
ภาพที่ 77 แสดงกิจกรรมบูรณาการวิจัยสูวํ ิชาออกแบบ2 : นักศึกษาปี1 ภาควิชาออกแบบภายใน ภาพที่ 77 แสดงกิจกรรมบูรณาการวิจัยสูวํ ิชาออกแบบ2 : นักศึกษาปี1 ภาควิชาออกแบบภายใน
81 81
ภาพที่ 78 ผลงานสาเร็จที่สั่งจ๎างชุมชนเย็บกระเป๋าบูรณาการวิจัยกับรายวิชา ภาพที่ 78 ผลงานสาเร็จที่สั่งจ๎างชุและจั มชนเย็ดทบาต๎ กระเป๋ าบูรณาการวิ นแบบได๎ สาเร็จ จัยกับรายวิชา และจั ดทาต๎นวินจแบบได๎ สาเร็จกเหนือไปกวําผลสัมฤทธิ์ทไี่ ด๎จาก ข๎อแนะนาที่คณะวิจัยอยากให๎ทางเจ๎ าของทุ ัยได๎ตระหนั ข๎อแนะนาที จัยอยากให๎ าของทุนวิจัยได๎สํวตนรํ ระหนั ไปกวํงขัานผลสั ์ทไี่ ด๎จ่อาก วิจัยผลงานหรื อชิ่ค้นณะวิ งานของที ่ระลึกทก็างเจ๎ คือ กระบวนการมี วมกักนเหนื อยําองแข็ ในชุมมฤทธิ ชนทอเสื วิจัยผลงานหรื ะลึยกนรู ก็ค๎แือละพั กระบวนการมี ํวนรํางใกล๎ วมกันชอยํ างแข็งรขัํวนมสร๎ ในชุางชิ มชนทอเสื และกลุ ํมผู๎วิจัยอทีชิ่ไ้นด๎แงานของที ลกเปลี่ย่รนเรี ฒนารํวมกันสอยํ ิดและได๎ ้นงาน ่อ และกลุ ํมผู๎วริจํวัยมกัที่ไนด๎แซึลกเปลี ฒนารํวมกั างใกล๎ และได๎ร่อํวอยํ มสร๎างชั างชิดเจนที ้นงาน่ สร๎ างสรรค์ ่งคณะวิ่ยจนเรี ยั เล็ยงนรู เห็น๎และพั ศักยภาพในจุ ดนีน้ขอยํ องกลุ ํมชุชมิดชนทอเสื สร๎างสรรค์ราํวงสรรค์ มกัน ซึรูป่งคณะวิ จยั เล็งเห็นศักยภาพในจุ ดนี้ของกลุํมชุกมยึชนทอเสื อยํางชัดเจนที สามารถสร๎ แบบของการทอกกขึ ้นเป็นผืนโดยลดการผู ดติดกับ ่อ“ประโยชน์ ” หรื่ อ สามารถสร๎ งสรรค์ รูปกแบบของการทอกกขึ นผืน(โดยเริ โดยลดการผู กยึดติดกับ “ประโยชน์” หรือ “หน๎ าที่ใช๎สาอย” ในลั ษณะเดิมๆได๎อยํางเด็้นดเป็ขาด ่มต๎นกระบวนการจากความพยายามของ “หน๎าทีจ่ใัยช๎ด๎สวอย” ในลั่งจ๎กาษณะเดิ มๆได๎อยํา้งงเด็ ดขาดบ(โดยเริ ่มต๎นากระบวนการจากความพยายามของ คณะวิ ยการสั ง) โดยสามารถตั คาถามกั ผลงานสร๎ งสรรค์เหลํานี้ได๎ออกมาเป็นงานใน คณะวิ ัยด๎วยการสั โดยสามารถตั งสรรค์ ออกมาเป็นงานใน เชิ งศิลจปกรรมได๎ อยํ่งาจ๎งนําง)าสนใจอยํ างยิ่ง ทั้ง้งคนีาถามกั ้คณะวิบจผลงานสร๎ ัยหวังเป็นาอยํ างยิ่งเวํหลํ าไมํานีวํา้ได๎ทางใดทางหนึ ่งก็ตาม เชิ ปกรรมได๎ อยํางนํผาลงานสร๎ สนใจอยําางสรรค์ งยิ่ง ทัก้งารทอกกชุ นี้คณะวิจัยดหวั างยิน่งดาลใจไปยั วําไมํวําทางใดทางหนึ ่งก็ตอาม นํางทีศิ่จละได๎ มีการเผยแผํ นี้ใงห๎เป็เป็นนอยํ แรงบั งชุมชนอื่นๆหรื นํงานหั าที่จตะได๎ มีการเผยแผํ ารทอกกชุ ดนีแ้ให๎รงบั เป็นแรงบั นดาลใจไปยั งชุมชนอื ถกรรมลั กษณะอืผลงานสร๎ ่นๆของชุามงสรรค์ ชนอื่นกในด๎ านการให๎ ดาลใจทางศิ ลปกรรมให๎ สืบ่นเนืๆหรื ่องภูอมิ งานหั ตถกรรมลั ่นในด๎ านการให๎แรงบันดาลใจทางศิพลิธปกรรมให๎ สืบลเนืปะและ ่องภูมิ ปัญญาได๎ อยํางไมํกษณะอื มีที่สิ้นสุ่นดๆของชุ ตํอไป มเชํชนอื นในลั กษณะของการแสดงผลงานในพิ ภัณฑ์ทางศิ ปัการออกแบบ ญญาได๎อยํางไมํ มีทดี่สทิ้นาสืสุด่อตํประชาสั อไป เชํนมในลั ิธภัณฑ์ทงกระบวนการ างศิลปะและ การจั พันธ์กรํษณะของการแสดงผลงานในพิ วมกับการเชิญบุคคลที่มีสํวนรํพวมรวมถึ การออกแบบ ดทาสื่อประชาสัมพันธ์ รํพร๎ วมกัอมทั บการเชิ ญบุคคลทีย่มรติีสํวบนรํ วมรวมถึ กระบวนการ มีสํวนรํวมโดยชุการจั มชนเองในการแสดงผลงาน ้งมีการมอบเกี ัตรเพื ่อเพิ่มงความ มีภาคภู สํวนรํมวิใมโดยชุ ชนเองในการแสดงผลงาน พร๎อมทั้งมีสกืบารมอบเกี ยรติาบงภาคภู ัตรเพื่อมเพิิใจ่มความ จในทักมษะและภู มิปญ ั ญาของชุมชนตนเองให๎ สานตํอไปอยํ ภาคภูมิใจในทักษะและภูมิปญ ั ญาของชุมชนตนเองให๎สืบสานตํอไปอยํางภาคภูมิใจ
82
83
ภาพที่ 79-80 แสดงภาพบรรยากาศในการทางานและความภาคภูมิใจของคณะวิจัย ตํอการศึกษาครั้งนี้
84
บรรณานุกรม พธู. วัฒนธรรมไทย ประจาเดือน มิถุนายน 2542. หน้า 37 – 40. เอกวิทย์ ณ ถลาง. ภูมิปัญญาชาวบ้านสีภ่ าค : วิถีชีวิตและกระบวนการเรียนรู้ชาวบ้าน. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
85
ประวัติคณะผู้วิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ หัวหน้าโครงการวิจัย การศึกษา ศิลปมหาบัณฑิต (การออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยศิลปากร , 2552 ศิลปบัณฑิต (การออกแบบภายใน) (เกียรตินิยมอันดับสอง) มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2539 ตาแหนํง ผูช๎ ํวยศาสตราจารย์ ภาควิชาออกแบบภายใน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารย์พัฒนา เจริญสุข ผู้ร่วมวิจัย การศึกษา ศิลปมหาบัณฑิต (การออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยศิลปากร , 2550 ศิลปบัณฑิต (การออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยศิลปากร , 2531 ตาแหนํง อาจารย์ ภาควิชาออกแบบภายใน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปฐวี ศรีโสภา ผู้ร่วมวิจัย การศึกษา ศิลปดุษฎีบัณฑิต (นฤมิตศิลป์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ,2554 ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (ออกแบบกราฟิก) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าเจ๎าคุณทหารลาดกระบัง ,2547 ศิลปบัณฑิต (ศิลปะไทย) มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ , 2542 สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) (ออกแบบศิลปอุตสาหกรรม) วิชาเอก ออกแบบผลิตภัณฑ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าเจ๎าคุณทหารลาดกระบัง, 2536 ตาแหนํง ผู๎ชํวยศาสตราจารย์ ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารย์บญ ั ชา ชูดวง ผู้ร่วมวิจัย การศึกษา ศิลปบัณฑิต (การออกแบบนิเทศศิลป์) มหาวิทยาลัยศิลปากร , 2532 ตาแหนํง อาจารย์/วิทยากรพิเศษ สไตล์ลิสต์อิสระ ที่ปรึกษาด๎านการออกแบบเครื่องแตํงกาย นางสาวมุกดา จิตพรมมา ผู้ร่วมวิจัย การศึกษา สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2551 วิทยาศาสตรบัณฑิต (สถิติ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ , 2536 ตาแหนํง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ หัวหน๎างานแผนและสํงเสริมทางวิชาการ สานักงานเลขานุการ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
โครงการวิจัยสรางสรรคผลิตภัณฑของที่ระลึก จากชุมชนอำเภอกระนวน จังหวัดขอนแกน
ผูรับผิดชอบโครงการ ผูชวยศาสตราจารยชัยณรงค อริยะประเสริฐ และคณะ