Kasetnivet Village Journal (Aug.-Sep. 2013)

Page 1

[ ก อ ง ทุ น ]

สิงหาคม กันยายน 2556



ทีฆายุกา โหตุ มหาราชินี


วารสารสมาคมหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ แจ้งวัฒนะ 14 • ฉบับ สิงหาคม-กันยายน 2556

สารจากนายกสมาคม

4

เรียน ท่านสมาชิกชาวเกษตรนิเวศน์ที่เคารพทุกท่าน ในวโรกาสอันเป็นมิง่ มหามงคลทีส่ มเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ พระบรม ราชินนี าถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 81 พรรษา ในวันที่ 12 สิงหาคม 2556 นี้ ข้าพระพุทธเจ้าในนามของพสกนิกรชาวเกษตรนิเวศน์ ขอถวายพระพร ชัยมงคลให้ทรงเจริญพระชนมายุยิ่งยืนนาน ขออ�ำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลโลก ได้โปรดอภิบาลบันดาลดลให้ทรงพระเกษม ส�ำราญ มีพระพลานามัยแข็งแรง สถิตเป็นมิง่ ขวัญแก่ปวงชนชาวไทยตลอด กาลนาน ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ชื่นใจ ชื่นใจจริงๆ ที่ชาวเกษตรนิเวศน์ได้แสดงพลังเข้าร่วมประชุม ในการจัดท�ำประชาคมหมู่บ้าน เพื่อของบประมาณจากโครงการพัฒนา ศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML) ซึ่งเป็นโครงการของส�ำนักงานกองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ (กทบ) เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคมที่ผ่านมา แม้ผมจะไม่ได้อยูใ่ นทีป่ ระชุมในวันนัน้ (เนือ่ งจากติดภารกิจทีม่ กี ารนัดหมาย ล่วงหน้าก่อนแล้ว ต้องกราบขอโทษมา ณ ทีน่ ดี้ ว้ ยครับ) เมือ่ ได้รบั การบอก เล่าจากเพือ่ นกรรมการฯ และผูท้ เี่ กีย่ วข้องว่าสมาชิกฯ ได้มาประชุมกันอย่าง พร้อมเพรียงและให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียงิ่ ขอขอบคุณทุกท่านทีเ่ สียสละ เพื่อหมู่บ้านอย่างแท้จริง งบประมาณ SML นี้ผมได้รับแจ้งจากท่าน ส.ส.สุรชาติ เทียนทอง เมือ่ วันที่ 15 ก.ค. ว่า หมูบ่ า้ นเกษตรนิเวศน์สามารถขอเงินงบประมาณจาก SML มาด�ำเนินการพัฒนาหมูบ่ า้ นได้ โดยขอให้ดำ� เนินการจัดท�ำประชาคมและ เตรียมท�ำโครงการให้เสร็จเรียบร้อยภายในวันที่ 31 ก.ค. นี้ มีเวลาไม่ถึง 2 อาทิตย์กบั เอกสารทีจ่ ะต้องอ่านท�ำความเข้าใจเพือ่ แจ้งให้สมาชิกฯ ได้รบั ทราบ คณะกรรมการฯ ได้ประชุมชีแ้ จงและแบ่งงานกันท�ำอย่างเร่งรีบ โดย มอบหมายให้ ดร.อรทัย อร่ามพงษ์พนั ธ์ เป็นแม่งาน และมีคณะกรรมการฯ ทุกท่านรับผิดชอบในการประชาสัมพันธ์ รวมถึงชีแ้ จงถึงความจ�ำเป็นในการ จัดท�ำโครงการฯ พร้อมทั้งเชิญชวนสมาชิกฯ เข้าร่วมประชุมท�ำประชาคม ให้มากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ ผลส�ำเร็จในการจัดท�ำประชาคมมีส่วนส�ำคัญที่ ท�ำให้ผ่านเกณฑ์ขั้นต้นของการของบฯ นี้ ก็มาจากความร่วมมือร่วมใจของ สมาชิกฯ ทุกท่าน ขณะนีไ้ ด้มกี ารเปิดบัญชีตามระเบียบของคณะกรรมการ กทบ เพือ่ รอรับเงินที่จะโอนมา ซึ่งคาดว่าจะได้รับเงินเต็มตามจ�ำนวน 1.5 ล้านบาท เมือ่ ได้รบั เงินแล้ว คณะกรรมการโครงการหมูบ่ า้ นและชุมชนทีไ่ ด้จากการท�ำ ประชาคมจึงจะเริม่ ประชุมด�ำเนินการกิจกรรมตามทีป่ ระชาคมรับรองต่อไป ต้องขอให้สมาชิกฯ ช่วยกันดูแลการใช้จ่ายเงินให้เกิดประโยชน์แก่หมู่บ้าน อย่างเต็มศักยภาพทีส่ ดุ ขอเรียนให้ทา่ นสมาชิกฯ ทราบว่าเงินทีไ่ ด้รบั เป็นเงิน ที่มาจากภาษีอากรของพวกเรา ไม่ใช่เงินจากพรรคการเมือง เพียงแต่เป็น นโยบายของรัฐบาลที่จะให้ชุมชนน�ำไปพัฒนาหมู่บ้านของตัวเองให้เข้มแข็ง และช่วยเหลือตนเองได้ในอนาคต เป็นการลดภาระของภาครัฐทีจ่ ะไปพัฒนา


ว่าการจะยกเลิกการค้าบริเวณนีเ้ ป็นเรือ่ งยากพอสมควร แต่จะพยายามขอให้จดั ระเบียบอ�ำนวยความสะดวกในการ สัญจรของสมาชิกฯ และการรักษาความสะอาดบริเวณ นี้ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ แต่ถ้าสมาชิกฯ ต้องการ ให้ยกเลิกการค้าขายและคืนพืน้ ทีท่ งั้ หมดแก่หมูบ่ า้ นตาม วัตถุประสงค์เดิม ขอให้แสดงความคิดเห็นและแจ้งให้คณะ กรรมการฯ ทราบ เพื่อจะได้รวบรวมความคิดเห็นเพื่อ ต่อสูข้ อสิทธิค์ นื จากบริษทั ฯ และส�ำนักงานเขตฯ ต่อไป ต้องยอมรับความจริงว่าการจะแก้ไขปัญหาต่างๆ ของหมู่บ้านตามที่สมาชิกฯ ร้องมา ในบางเรื่องอาจจะ ล่าช้า หลายเรือ่ งคณะกรรมการฯ ต้องใช้เวลาในการระดม ความคิดเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้สมาชิกฯ และ บางเรือ่ งไม่สามารถแก้ไขให้ได้ เพราะติดขัดในแง่กฏหมาย และอ�ำนาจในการด�ำเนินการ แต่จากการทีส่ มาชิกฯ เข้า ร่วมประชุมประชาคมกองทุน SML และร่วมลงชื่อใน การจัดระเบียบการค้าซอยสังคมเป็นจ�ำนวนมาก เป็น ก�ำลังใจอันส�ำคัญยิ่งแก่คณะกรรมการฯ และเป็นนิมิต หมายอันดีที่เราจะเดินหน้าไปด้วยกัน เพื่อความสงบสุข และท�ำหมู่บ้านของเราให้เจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืน ปัญหาของสมาชิกฯ ท่านหนึ่งท่านใดก็ขอให้เป็นปัญหา ร่วมกันของคนทัง้ หมูบ่ า้ น มาร่วมกันกับคณะกรรมการฯ ในการพิจารณาแก้ไขปัญหาในทุกจุดทีเ่ กิดขึน้ ปัญหาต่างๆ จะแก้ไขได้ไม่ยาก ขอให้เรารวมตัวกันอย่างเป็นเอกภาพ คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นส�ำคัญ ร่วมแสดงความคิด เห็นและวิธดี ำ� เนินการทีด่ ใี ห้กบั คณะกรรมการฯ เพือ่ น�ำ ไปปฏิบัติให้เกิดผลดีแก่หมู่บ้านของเรา ก้าวต่อไปเราจะเดินหน้าการขอจดทะเบียนนิติ บุคคลหมูบ่ า้ นเกษตรนิเวศน์ให้สำ� เร็จโดยเร็วทีส่ ดุ การทีผ่ ม รณรงค์เรือ่ งนีม้ าอย่างต่อเนือ่ ง เพราะเห็นว่าสาธารณูปโภค ทีเ่ ราใช้กนั มากว่า 40 ปี ไม่ได้รบั การดูแลจากบริษทั ฯ ที่ ขายที่ให้เราแต่อย่างใด ถนนช�ำรุดทรุดโทรมและมีการ ยึดเป็นที่ค้าขาย ที่รกร้างว่างเปล่ากลายเป็นที่ทิ้งขยะ เป็นบ่อเกิดของสัตว์พาหะน�ำโรค เป็นต้น การจัดตั้ง นิติบุคคลบ้านจัดสรรจะมีผลบังคับใช้ตามกฏหมาย เรา สามารถออกกฏระเบียบข้อบังคับตามทีส่ มาชิกส่วนใหญ่ เห็นชอบ มาเป็นข้อบังคับและแนวทางในการด�ำเนินงาน ความเท่าเทียมกันของสมาชิกฯ จะเกิดขึน้ การแก้ไขปัญหา ต่างๆ จะง่ายขึน้ เพราะเป็นไปตามข้อบังคับทีเ่ ราก�ำหนด ขึ้นมา ที่ดินรกร้างว่างเปล่าจะต้องเสียค่าส่วนกลางเช่น เดียวกับสมาชิกฯ ทีอ่ ยูอ่ าศัยแล้ว การจัดการกับผูล้ ะเมิด

วารสารสมาคมหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ แจ้งวัฒนะ 14 • ฉบับ สิงหาคม-กันยายน 2556

ประเทศให้กา้ วไกลต่อไป ฉะนัน้ การทีม่ สี มาชิกฯ บางท่าน กังวลและไม่สบายใจด้วยเกรงว่าจะเป็นการสนับสนุนและ เป็นฐานเสียงให้พรรคการเมืองนัน้ ขอให้ทา่ นสบายใจได้ สมาชิกฯ เรามีความคิดแยกแยะด้วยสติปญ ั ญาเองจะรัก ใครชอบใครเป็นสิทธิของท่านอยู่แล้ว ขอให้ช่วยกันน�ำ เงินทีค่ าดว่าจะได้รบั มาพัฒนาหมูบ่ า้ นของเราให้ดขี นึ้ กว่า เดิม ปลอดภัยน่าอยู่ ท่านจะได้ไปประกอบอาชีพแต่ละคน อย่างสบายใจไม่ตอ้ งห่วงหน้าพะวงหลัง ประเทศของเรา จะได้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับประเทศอื่นบ้าง ส�ำหรับปัญหาเรื่องค้าขายของบรรดาพ่อค้า แม่ค้าในบริเวณซอยสังคมที่ค้าขายกันอย่างไม่เป็น ระเบียบรุกล�ำ้ สิทธิของเรามาช้านานและขยายตัวเพิม่ ขึน้ จนขณะนีม้ าถึงซอยสังคม 2 และ 3 แล้ว สมาชิกฯ หลาย ท่านถามผมว่าคณะกรรมการฯ ไม่มมี าตรการใดในการ ยับยัง้ และจัดการเลยหรือ บางท่านมีปญ ั หาในการใช้ถนน ในการไปปฏิบัติภารกิจ ปัญหาการทิ้งขยะของผู้มักง่าย และปัญหาอื่นๆ ต้องขอเรียนว่าคณะกรรมการฯ ไม่ได้ นิง่ นอนใจแต่อย่างใด มีการพยายามหาทางแก้ไขอยูต่ ลอด และได้เจรจาขอความร่วมมือจากผูค้ า้ ไม่ให้เพิม่ เขตการ ขาย รวมทัง้ การจัดเก็บขยะไม่ให้มาทิง้ ตามทีว่ า่ ง แต่ไม่ได้ รับความร่วมมือเท่าทีค่ วร บางรายบอกว่าถ้าไม่ให้เขาขาย ก็ตอ้ งไม่ให้คนอืน่ ขายทัง้ หมด จะมาห้ามเขาคนเดียวไม่ได้ คณะกรรมการฯ จึงจ�ำเป็นต้องยับยัง้ การเติบโตอย่างไร้ ระเบียบและไม่ให้มาริดรอนสิทธิอนั ชอบธรรมของสมาชิกฯ โดยรวมได้ จึงท�ำหนังสือแจ้งไปยังบริษทั บางกอกแลนด์ ผูด้ แู ลสาธารณูปโภคนี้ และส�ำนักงานเขตหลักสีผ่ รู้ บั ผิด ชอบทีล่ ำ� รางสาธารณะ ให้เข้ามาจัดระเบียบการค้าขายให้ ถูกสุขลักษณะ และให้สมาชิกฯ ได้สญ ั จรไปมาได้สะดวก ตามวัตถุประสงค์ที่ท�ำไว้ ทราบว่าทัง้ บริษทั ฯ และส�ำนักงานเขตหลักสีก่ ำ� ลัง เข้ามาแก้ไขปัญหาให้อยู่ ท�ำให้ผคู้ า้ ขายได้รวมตัวร้องทุกข์ ไปทีก่ รมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุตธิ รรม ขอ ให้ส�ำนักงานเขตหลักสี่ยุติการเข้ามารื้อถอนเพิงค้าขาย กรมคุ้มครองสิทธิฯ ได้เชิญผมไปให้ข้อเท็จจริงในเรื่อง นี้ ผมพร้อมด้วยกรรมการฯ บางท่านและสมาชิกฯ ที่ เกี่ยวข้องได้เข้าไปชี้แจงแล้ว ทางกรมฯ ขอให้รวบรวม รายชือ่ ผูเ้ ดือดร้อนแจ้งให้ทราบด้วยเพือ่ ด�ำเนินการแก้ไข ปัญหาให้ต่อไป คณะกรรมการฯ จึงได้รวบรวมรายชื่อ จัดส่งพร้อมทัง้ หนังสือแจ้งความต้องการของเราไปเรียบร้อย แล้ว รอการแก้ไขของผูท้ เี่ กีย่ วข้องทุกฝ่ายอยู่ ต้องเรียน

5


สิทธิข์ องส่วนรวมเป็นไปตามกฏหมายของบ้านเมือง และข้อบังคับของหมูบ่ า้ น ขยะต่างๆ ทีท่ งิ้ ไม่เป็นระเบียบจะเบาบางและหมดไป การรักษาความปลอดภัย จะเป็นระบบและเข้มแข็งขึน้ การจัดการปัญหาจราจรทีน่ บั วันจะเพิม่ ขึน้ จะ เป็นระบบและบังคับใช้ตามกฏที่เราตราขึ้นปัญหาต่างๆ ที่เราวิตกกังวลจะ ลดน้อยลง ขอแต่เพียงให้สมาชิกร่วมมือร่วมใจและอาสาเข้ามาร่วมคิดร่วมท�ำ คิดถึงหมู่บ้านของเราให้มากๆ สังคมเราจะดีขึ้นกว่าทุกวันนี้แน่นอนครับ ขอผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินทุกท่านช่วยกันลงชื่อในการจัดประชุมเพื่อลงมติ ขอจัดตัง้ นิตบิ คุ คลบ้านจัดสรรทีค่ ณะกรรมการฯ ทุกท่าน หรือมีขอ้ สงสัยประการ ใดโปรดสอบถามได้ที่ดร.อรทัย อร่ามพงษ์พันธ์ ครับ สุดท้ายนีข้ อเรียนว่าวารสารหมูบ่ า้ นทีอ่ อกทุก 2 เดือนนัน้ จะมีการ ปรับปรุง โดยจะจัดส่งไปทาง e-mail ของท่าน หรือจะอ่านที่ facebook ของ หมูบ่ า้ นก็ได้ ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ร่วมรณรงค์ลดภาวะโลกร้อน หรือท่านทีป่ ระสงค์จะ อ่านเป็นรูปเล่มตามปกติ กรุณาตอบแบบสอบถามและส่งมาทีส่ มาคมฯ หรือ ทาง internet ตามที่ท่านสะดวกครับ

วารสารสมาคมหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ แจ้งวัฒนะ 14 • ฉบับ สิงหาคม-กันยายน 2556

วีระพล เทพพัตรา

6


สรุปรายรับ-รายจ่าย ปี 2556 ยอดคงเหลือยกมา รายรับ รับค่าส่วนกลาง รับสมทบจากศาลา(ลุงชิน) รับบริจาค รับค่าไฟฟ้าจาก รปภ. รับค่าผ่านทางจากเมืองทอง ดอกเบี้ยรับ รวมรายรับ รายจ่าย ค่าจ้าง รปภ. ค่าไฟฟ้า ค่าน�้ำประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าใช้จ่ายซ่อมสาธารณูปโภค(ไฟฟ้า+ถนน) ค่าใช้จ่ายตัดหญ้า-ต้นไม้-กวาดถนน ค่าอุปกรณ์เครื่องเขียน+ถ่ายเอกสาร+ธรรมเนียม ค่าจัดท�ำวารสาร+หนังสือ+ประกาศ ค่าใช้จ่ายงานเฉพาะ

596,303.86 กุมภาพันธ์ 312,800.00 6,000.00 4,284.00 3,090.00 326,174.00

788,863.14 มีนาคม 64,000.00 6,000.00 2,278.00 4,230.00 76,508.00

44,500.00 29,999.76 2,700.57 206.00 22,264.00 14,189.00 3,385.00 21,600.00 (ยางมะตอย) 5,450.00 144,294.33 596,303.86

46,650.00 31,581.27 2,219.45 431.00 13,273.00 7,700.00 360.00 31,400.00 (ยางมะตอย) 133,614.72 788,863.14

34,225.00 28,745.11 2,264.23 566.25 3,805.00 10,100.00 1,920.00 81,625.59 783,745.55

วารสารสมาคมหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ แจ้งวัฒนะ 14 • ฉบับ สิงหาคม-กันยายน 2556

ค่าใช้จ่ายจัดงานวันเด็ก ค่ารับรอง+งานศพ รวมรายจ่าย ยอดคงเหลือยกไป

386,748.19 มกราคม 345,800.00 6,000.00 400.00 1,650.00 353,850.00

7


สรุปรายรับ-รายจ่าย ปี 2556 ยอดคงเหลือยกมา รายรับ รับค่าส่วนกลาง รับสมทบจากศาลา(ลุงชิน) รับบริจาค รับค่าไฟฟ้าจาก รปภ. รับค่าผ่านทางจากเมืองทอง ดอกเบี้ยรับ เงินสมัครสมาชิกสมาคม(หลังหักค่าใช้จ่าย) รวมรายรับ รายจ่าย ค่าจ้าง รปภ. ค่าไฟฟ้า ค่าน�้ำประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าใช้จ่ายซ่อมสาธารณูปโภค(ไฟฟ้า+ถนน) ค่าใช้จ่ายตัดหญ้า-ต้นไม้-กวาดถนน ค่าอุปกรณ์เครื่องเขียน+ถ่ายเอกสาร+ธรรมเนียม ค่าจัดท�ำวารสาร+หนังสือ+ประกาศ ค่าใช้จ่ายงานเฉพาะ

วารสารสมาคมหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ แจ้งวัฒนะ 14 • ฉบับ สิงหาคม-กันยายน 2556

ค่าเครื่องแบบ รปภ. ค่ารับรอง+งานศพ รวมรายจ่าย ยอดคงเหลือยกไป

8

783,745.55 เมษายน 108,400.00 6,000.00 1,000.00 2,661.00 3,480.00 121,541.00

778,015.21 พฤษภาคม 62,500.00 6,000.00 3,300.00 3,060.00 388.09 75,248.09

42,175.00 33,018.77 3,169.23 681.59 13,914.00 11,600.00 2,825.00 6,040.00 10,199.75 (ล�ำโพง) 3,648.00 127,271.34 778,015.21

42,700.00 31,129.25 2,338.86 630.23 1,570.00 9,500.00 780.00 800.00 43,500.00 (ป้ายจราจร) 132,948.34 720,314.96

ทางสมาคมฯ ขอขอบคุณท่านสมาชิกหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ทุกท่าน ที่จ่ายเงินค่าบ�ำรุงหมู่บ้านของเรา หากท่านใดไม่สะดวกในการจ่ายเงินที่พนักงานเก็บเงินหรือตัวแทนประจ�ำซอย ท่านสามารถช�ำระผ่านธนาคารโดยโอนเงินเข้าบัญชี

สมาคม หมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ แจ้งวัฒนะ 14 ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา เทสโก้ โลตัส แจ้งวัฒนะ เลขที่บัญชี 403-868758-7 แล้วแจ้งการโอนเงินของท่านได้ที่ คุณบุญเพ็ญ แตงมีแสง เหรัญญิกของสมาคมฯ 081-869-3624 หรือทาง boonpen_kaset@hotmail.com หรือโพสต์สลิปหลักฐานการโอนของท่านได้ทาง Facebook ของ หมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ (วิธีการสมัครเข้าเป็นสมาชิกในกลุ่ม facebook ของเกษตรนิเวศน์ อยู่ที่ปกหลัง)


สรุปรายรับ-รายจ่าย ปี 2556 ยอดคงเหลือยกมา รายรับ รับค่าส่วนกลาง รับสมทบจากศาลา(ลุงชิน) รับบริจาค รับค่าไฟฟ้าจาก รปภ. รับค่าผ่านทางจากเมืองทอง ดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร เงินสมัครสมาชิกสมาคม(หลังหักค่าใช้จ่าย) รวมรายรับ รายจ่าย ค่าจ้าง รปภ. ค่าจ้าง ช่าง-ตัดหญ้า ค่าไฟฟ้า ค่าน�้ำประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าใช้จ่ายซ่อมไฟฟ้าถนน ค่าอุปกรณ์ติดไฟป้อมยาม ค่าใช้จ่ายซ่อมถนนและล้างท่อ ค่าใช้จ่ายตัดหญ้า-ต้นไม้-กวาดถนน ค่าอุปกรณ์เครื่องเขียน+ถ่ายเอกสาร+ธรรมเนียม ค่าจัดท�ำวารสาร+หนังสือ+ประกาศ ค่าตั้งป้อมออกชวนชื่น-ซอยนิเวศน์

739,756.31 กรกฎาคม 174,400.00 6,000.00 7,000.00 2,133.00 3,500.00 193,033.00

38,450.00 31,376.79 3,341.08 787.52 6,742.00 2,792.74 10,280.00 900.00 8,400.00 29,100.00 (ป้อมยาม 2 ป้อม)

73,000.00 15,000.00 30,217.23 1,996.26 219.35 4,210.00 2,840.00 3,120.00 700.00 12,576.70 (อุปกรณ์ติดตั้งป้อม) 420.00 3,990.00 3,600.00 10,000.00 7,060.00 168,949.54 763,839.77

5,820.00 137,990.13 739,756.31

วารสารสมาคมหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ แจ้งวัฒนะ 14 • ฉบับ สิงหาคม-กันยายน 2556

ค่าซ่อมจักรยาน ค่าเครื่องแบบ รปภ.4 ชุด เครื่องบันทึกเสียงMP3 ค่ารับรอง+งานศพ ค่าคัดทะเบียนโฉนดที่ดินท�ำนิติบุคคลฯ ค่าถ่ายเอกสาร+ใช้จ่ายจัดประชุมSML รวมรายจ่าย ยอดคงเหลือยกไป

720,314.96 มิถุนายน 115,200.00 6,000.00 400.00 5,177.00 3,330.00 2,130.48 25,194.00 157,431.48

9


ข้อดีและข้อเสีย ของการจดทะเบียนนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร

วารสารสมาคมหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ แจ้งวัฒนะ 14 • ฉบับ สิงหาคม-กันยายน 2556

ผศ.ดร.อรทัย อร่ามพงษ์พันธ์

10

บทความต่อไปนีน้ ำ� เสนอข้อดีและข้อเสียในการขอจดทะเบียนนิตบิ คุ คล หมูบ่ า้ นจัดสรรทีม่ กี ารรวบรวมไว้ โดยในขัน้ แรกจะขอสรุปข้อมูลการเตรียม การในส่วนของหมูบ่ า้ นเกษตรนิเวศน์เพือ่ การขอจดทะเบียนนิตบิ คุ คลหมูบ่ า้ น จัดสรรกับกรมที่ดินดังนี้ 1. ชื่อที่ขอจด “นิติบุคคลหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์” 2. การขอจดทะเบียนครัง้ นี้ ผูข้ อคือ ผูซ้ อื้ ทีด่ นิ (ผูถ้ อื ครองกรรมสิทธิ)์ หรือจะเรียกว่าสมาชิกหมู่บ้านฯ ก็ได้ 3. เหตุทที่ ำ� ให้ขอจดทะเบียนฯ ได้กเ็ นือ่ งมาจากผูข้ ายทีด่ นิ (บ. รวมมิตร วิศวกรรม จ�ำกัด) ซึง่ จัดสรรทีด่ นิ แบ่งขายเป็นแปลงมาตัง้ แต่ พ.ศ. 2513 ไม่ ได้ดแู ลซ่อมบ�ำรุงสาธารณูปโภค เช่น ถนน ทางเท้า ระบบระบายน�ำ้ ระบบ ไฟฟ้า ประปา จนถึงปัจจุบันนี้เป็นเวลา 43 ปี สาธารณูปโภคอยู่ในสภาพ ช�ำรุดทรุดโทรมไปมาก ผู้ซื้อที่ดินจึงสามารถขอจดทะเบียนได้ 4. วิธกี ารและขัน้ ตอนในการขอจดทะเบียนคือ ผูซ้ อื้ ทีด่ นิ จัดสรรจ�ำนวน ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนทีด่ นิ แปลงย่อยตามแผนผังโครงการ ยืน่ ค�ำขอ ต่อเจ้าพนักงานทีด่ นิ เพือ่ จัดตัง้ นิตบิ คุ คลบ้านจัดสรรโดยจัดให้มกี ารประชุมผูซ้ อื้ ทีด่ นิ จัดสรร เพือ่ ผูซ้ อื้ ทีด่ นิ จัดสรรจ�ำนวนไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนแปลง ย่อยที่จัดจ�ำหน่ายตามแผนผัง มีมติจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร ในการ ลงคะแนนเสียง ผูถ้ อื กรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ทีม่ ชี อื่ ในโฉนดเป็นผูม้ สี ทิ ธิออกเสียง ที่ จัดสรร 1 แปลงมีเสียง = 1 คะแนนเสียง ส�ำหรับหมูบ่ า้ นเกษตรนิเวศน์แปลง ย่อยทีอ่ ยูซ่ อยมีพนื้ ที่ = 100 ตารางวา แปลงหัวมุมซอยมีพนื้ ที่ = 200 ตาราง วา จะมีเสียงเท่ากันคือ 1 เสียง ถ้าสมาชิกท่านใดถือครองที่ดินมากกว่า 1 แปลงจะมีจ�ำนวนเสียง = จ�ำนวนแปลง ในกรณีที่ผู้ซื้อที่ดินได้แบ่งแยกที่ดิน ออกเป็นแปลงย่อยหลายแปลงกรมที่ดินให้นับเป็น 1 เสียง 5. เอกสารที่ประกอบการขอจดทะเบียนที่มีความส�ำคัญและจ�ำเป็น ต้องได้รับความร่วมมือจากสมาชิกคือ บัญชีรายชื่อผู้เข้าประชุมการจัดตั้ง นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร “หมู่บ้านเกษตรนิเวศน์” ตามแบบฟอร์มของกรม ที่ดิน ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินตามหน้าโฉนดที่สมาคมฯ ได้คัดมาจากกรมที่ดิน เป็นผูม้ อี ำ� นาจลงนาม ในกรณีทผี่ ซู้ อื้ ทีด่ นิ ได้แบ่งแยกทีด่ นิ ออกเป็นแปลงย่อย หลายแปลงกรมทีด่ นิ ให้ผถู้ อื กรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ทีเ่ หลือ (ผูท้ ถี่ อื โฉนดแปลงเดิม ก่อนแยก)เป็นผูม้ อี ำ� นาจลงนาม กรณีผถู้ อื กรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ไม่สะดวกทีจ่ ะเข้า ประชุมลงมติ คณะกรรมการจะน�ำบัญชีรายชือ่ ฯให้ลงนามหรือมอบอ�ำนาจ ให้กรรมการเข้าร่วมประชุมลงมติและลงชื่อแทนได้ 6. ส่วนเอกสารประกอบการยืน่ ขอจดทะเบียนอืน่ ๆ คณะกรรมการสมา คมฯ จะเป็นผูด้ ำ� เนินการจัดท�ำรวมทัง้ ข้อบังคับนิตบิ คุ คลหมูบ่ า้ นเกษตรนิเวศน์ ซึง่ จะต้องได้รบั การลงมติเห็นชอบจากทีป่ ระชุมเดียวกัน สมาคมฯ จะลง “ร่าง”


วารสารสมาคมหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ แจ้งวัฒนะ 14 • ฉบับ สิงหาคม-กันยายน 2556

ข้อบังคับนิตบิ คุ คลหมูบ่ า้ นเกษตรนิเวศน์ ในวารสารฉบับ อันตรายแก่เพือ่ นบ้าน ห้ามจอดรถบนทางเท้า การค้าขาย หน้าเพื่อสมาชิกศึกษาก่อนการประชุมลงมติ บนถนน การก�ำหนดการจอดรถบนถนน ฯลฯ 5. นิตบิ คุ คลหมูบ่ า้ นจัดสรรสามารถยืน่ ค�ำร้องทุกข์ ข้อดี-ข้อเสียของการเป็นนิติบุคคล: ไม่มีข้อเสีย หรือเป็นโจทก์ฟ้องแทนสมาชิก เกี่ยวกับกรณีที่กระทบ เนื่องจากเป็นการจัดตั้งตามพระราชบัญญัติการจัดสรร สิทธิหรือประโยชน์ของสมาชิกจ�ำนวนตัง้ แต่ 10 รายขึน้ ไป ทีด่ นิ พ.ศ. 2543 ทีม่ จี ดุ ประสงค์เพือ่ ประโยชน์แก่สมาชิก เช่น มีคนน�ำรถบรรทุก มาปิดทางเข้าหมูบ่ า้ น หรือความ ที่ซื้อที่ดินหรือบ้านจัดสรร โดยเฉพาะการก�ำหนดให้ เดือดร้อนจากกลิ่นเหม็น น�้ำเน่า เสียงดังจากโรงงานที่ มีผู้รับผิดชอบบ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภคและบริการ อยู่ใกล้เคียงหมู่บ้าน เป็นต้น สาธารณะ ให้มั่นใจได้ว่าทรัพย์สินสาธารณูปโภค และ 6. ปั ญ หาความเดื อ ดร้ อ นร�ำ คาญจะได้ รั บ การ บริการสาธารณะ จะไม่ถกู ขาย หรือโอนไปทีอ่ นื่ ทรัพย์สนิ แก้ไขให้ลดน้อยลงไป ไม่ว่าจะเป็นการตั้งอุปกรณ์ สาธารณูปโภค และบริการสาธารณะ ได้การบ�ำรุงรักษา หาบเร่แผงลอยทีว่ างระเกะระกะบนถนนทางเท้า เป็นต้น ให้อยูใ่ นสภาพทีเ่ หมาะสม เป็นการเพิม่ พูนมูลค่าทรัพย์สนิ เนื่องจากคณะกรรมการบริหารงานนิติบุคคลหมู่บ้าน ของสมาชิกนิตบิ คุ คลฯ ภายใต้การบริหารจัดการทีเ่ หมาะ จัดสรรมีอ�ำนาจหน้าที่ถูกต้องตามกฎหมาย สม โดยสมาชิกมีสทิ ธิใ์ นการออกเสียง ก�ำหนดข้อบังคับ 7. ถนนหนทาง ไฟฟ้า ประปา อีกทั้งบริการ ของนิตบิ คุ คลฯ และสามารถตรวจสอบการบริหารจัดการ สาธารณะทีช่ ำ� รุดทรุดโทรม จะมีงบประมาณทีไ่ ด้จากการ ทรัพย์สนิ ส่วนกลางได้อย่างมีระบบและโปร่งใส แต่มขี อ้ เก็บค่าส่วนกลางในการปรับปรุงซ่อมแซม เนือ่ งจากหลัง ต้องระวังในการบริหารและการด�ำเนินงาน สรุปข้อดีใน การจัดตัง้ นิตบิ คุ คลฯ ผูถ้ อื ครองทีด่ นิ ทุกแปลงเป็นสมาชิก การจัดตั้งนิติบุคคลได้ 9 ข้อดังนี้ นิตบิ คุ คลฯมีหน้าทีใ่ นการช�ำระค่าส่วนกลาง โดยอัตราค่า 1. เมือ่ ได้รบั อนุมตั กิ ารจัดตัง้ นิตบิ คุ คลจะสามารถ ส่วนกลางก�ำหนดโดยคณะกรรมการนิตบิ คุ คลบ้านจัดสรร รับโอนทรัพย์สนิ และสาธารณูปโภคจากผูจ้ ดั สรรทีด่ นิ มาบ ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมฯ ริหารจัดการได้เอง อาทิ โฉนดที่ดินแปลงที่เป็นถนน 8. สร้างความเป็นธรรมและความปลอดภัยให้กับ ทางเท้า สวนพักผ่อน สนามเด็กเล่น เป็นต้น ชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ โดยทุกครอบครัว 2. ได้รบั การยกเว้นค่าธรรมเนียมการโอนทรัพย์สนิ ต้องปฏิบตั ติ ามกฏระเบียบเดียวกัน บ้านทุกหลังและทีด่ นิ และภาษีอากรจากรัฐ ไม่ว่าในส่วนที่กรมที่ดินเรียกเก็บ ทุกแปลงต้องร่วมออกเงินค่าใช้จ่ายส่วนกลาง ขณะท�ำนิตกิ รรม(ค่าธรรมเนียม โอนทรัพย์สนิ ส่วนรวม) 9. มูลค่าทรัพย์สินจะทวีเพิ่มขึ้นในระยะยาว ภาย หรือภาษีบำ� รุงท้องทีป่ ระจ�ำปี รวมทัง้ ภาษีมลู ค่าเพิม่ (เงิน หลังจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรแล้ว ค่าใช้จ่ายส่วนกลาง) จากกรมสรรพากร 3. เจ้าของกรรมสิทธิ์ทุกรายในหมู่บ้านมีส่วนร่วม ส่วนข้อเสียในการไม่จดั ตัง้ นิตบิ คุ คลหมูบ่ า้ นจัดสรร ในการบริหารงานหมูบ่ า้ น ตัง้ แต่ออกกฎระเบียบทีใ่ ช้ใน สรุปได้ 9 ข้อเช่นกัน ได้แก่ หมู่บ้าน การออกสิทธิ ออกเสียงคัดค้าน หรือให้ความ 1. คณะกรรมการหมู่บ้านไม่มีอ�ำนาจหน้าที่ตาม เห็นชอบในที่ประชุมใหญ่ รวมทั้งการแต่งตั้งสมาชิกคน กฎหมาย ในการจัดระเบียบชุมชนของตนเอง เนือ่ งจาก หนึง่ คนใดเป็นคณะกรรมการบริหารงานนิตบิ คุ คลหมูบ่ า้ น ไม่ได้จัดตั้งเป็นนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร จัดสรร 2. คณะกรรมการหมู่บ้านไม่มีอ�ำนาจหน้าที่ตาม 4. มีกฎระเบียบเป็นของตนเอง ก�ำหนดโดยคณะ กฎหมาย ในการยื่นค�ำร้องทุกข์หรือเป็นโจทย์ฟ้องร้อง กรรมการนิติบุคคลบ้านจัดสรร ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง แทนสมาชิกในกรณีที่มีผลกระทบสิทธิหรือประโยชน์ ของสมาชิกหมู่บ้านท�ำหน้าที่ในการก�ำหนดกฎระเบียบ ของสมาชิกภายในหมู่บ้าน เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากสาธารณูปโภค เช่น การ 3. การเรียกเก็บค่าบ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภค ค่า ใช้สโมสร การใช้สระว่ายน�้ำ ฯลฯ ก�ำหนดกฎระเบียบ ใช้จา่ ยส่วนกลางจากสมาชิก ไม่ได้รบั ความร่วมมือช�ำระ เกี่ยวกับการอยู่อาศัยและการจราจรภายใน เช่น ห้าม ค่าใช้จา่ ย ท�ำให้เกิดปัญหาขาดแคลนงบประมาณในการ ส่งเสียงดังหลังเวลา 20.00 น. ห้ามเลี้ยงสัตว์ที่อาจเกิด บริหารงานหมู่บ้าน

11


วารสารสมาคมหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ แจ้งวัฒนะ 14 • ฉบับ สิงหาคม-กันยายน 2556

12

4. ไม่มีงบประมาณในการซ่อมแซม บ�ำรุงรักษา ถนนหนทาง ไฟฟ้า ประปา อีกทัง้ การบริการสาธารณะ ที่ช�ำรุดทรุดโทรม 5. มูลค่าทรัพย์สนิ ภายในหมูบ่ า้ นจะลดลง เนือ่ งจาก สภาพแวดล้อมภายในหมู่บ้านไม่ได้รับการดูแลรักษา 6. ผู้จัดสรรที่ดิน โอนทรัพย์สินที่ดินอันเป็น สาธารณูปโภคให้กับหน่วยงานราชการ เพื่อให้เป็นทาง สาธารณประโยชน์ ท�ำให้ไม่สามารถควบคุมระบบรักษา ความปลอดภัยภายในหมู่บ้านไว้ได้ เนื่องจากเป็นพื้นที่ สาธารณะ บุคคลภายนอกสามารถผ่านเข้าออกได้ หรือ ใช้เป็นทางสัญจรได้ ท�ำให้ถนนหนทางช�ำรุดทรุดโทรม 7. ปัญหาความเดือดร้อนของท่านสมาชิกไม่ได้รบั การแก้ไข เนื่องจากคณะกรรมการหมู่บ้านไม่มีอ�ำนาจ หน้าทีต่ ามกฎหมาย ไม่สามารถแก้ไขปัญหาความเดือด ร้อนของท่านสมาชิกได้ 8. พืน้ ทีส่ ว่ นกลางสกปรกเลอะเทอะ ไม่มี ผูค้ วบคุม ดูแล รวมทัง้ ไม่มงี บประมาณในการจัดจ้างพนักงานรักษา ความสะอาด 9. เกิดปัญหาการบุกรุกพื้นที่ส่วนกลางมาเป็น พื้นที่ส่วนตัว หาบเร่ แผงลอย ของระเกะระกะไม่เป็น ระเบียบเรียบร้อย ปัญหาสุนขั ทีม่ เี จ้าของและสุนขั จรจัด ภายในหมูบ่ า้ นถ่ายมูลเลอะเทอะ ซึง่ ปัญหาเหล่านีท้ งั้ หมด หลายๆ หมูบ่ า้ นไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ เนือ่ งจากไม่มี ระเบียบควบคุมไว้อย่างชัดเจน ปัจจัยทีจ่ ะท�ำให้นติ บิ คุ คลหมูบ่ า้ นจัดสรรด�ำเนินการ ไม่ได้ตามเป้าหมายคือ ตัวบุคคลทีจ่ ะเข้ามา บริหารจัดการ ซึง่ ต้องเสียสละเวลาและก�ำลังกาย ส่วนปัจจัยด้านผูด้ ำ� เนิน งานทีเ่ ป็นพนักงานประจ�ำมีคา่ ตอบแทนของนิตบิ คุ คลบาง แห่งมีปญ ั หาเกีย่ วกับความซือ่ สัตย์และตัง้ ใจในการท�ำงาน โดยสรุปข้อเด่นของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรคือ มีอ�ำนาจในการออกกฎระเบียบทั้งการจราจร การใช้ สาธารณูปโภค การใช้พนื้ ที่ และก�ำหนดบทลงโทษสมาชิก ที่ไม่เคารพกฎ หากหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์จดทะเบียน นิติบุคคลได้ส�ำเร็จจะเป็นช่องทางที่เราจะรักษาสภาพ ที่อยู่อาศัย ป้องกันการใช้พื้นที่ในเชิงพาณิชย์ซึ่งจะเพิ่ม จ�ำนวนทั้งคนและรถแปลกหน้าเข้าหมู่บ้าน ท�ำให้เพิ่ม ความเสี่ยงในการเกิดอาชญากรรมและอุบัติเหตุ

หมายเหตุ 1. สาธารณูปโภคส่วนกลาง เช่นถนนและทางเดิน ในหมู่บ้าน ไฟฟ้าส่องสว่างในที่สาธารณะ รั้วและประตู ของหมู่บ้าน สระว่ายน�้ำ สวนหย่อม และสนามเด็กเล่น ภายในโครงการหมูบ่ า้ นจัดสรร เป็นของนิตบิ คุ คลหมูบ่ า้ น จัดสรร ไม่ใช่ทสี่ าธารณะทัว่ ๆ ไป ทีใ่ ครๆ ก็ใช้ประโยชน์ ได้ตามความพอใจ เพราะเป็นทีส่ ว่ นบุคคล เป็นของเอกชน ไม่เหมือนกับที่สาธารณะในชุมชนทุกคนสามารถเข้าไป ใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ ไม่ใช่เฉพาะแต่คนในเขต ชุมชนเท่านั้น คนต่างพื้นที่ก็สามารถเข้ามาใช้ประโยชน์ ได้เช่นกัน ข้อดีของสาธารณูปโภคในหมู่บ้านจัดสรรคือ มีความเป็นส่วนตัวมากกว่า มีความสงบ เฉพาะสมาชิก ของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรเท่านั้นที่สามารถใช้ได้ 2. ค่าบริการสาธารณูปโภคส่วนกลางหรือค่าส่วน กลางเรียกเก็บจากสมาชิก เพื่อน�ำไปเป็นค่าใช้จ่ายใน การบริหารจัดการทรัพย์สินภายในโครงการ หากมีการ จดทะเบียนเป็นนิตบิ คุ คลหมูบ่ า้ นจัดสรรแล้ว ทรัพย์สว่ น กลางก็จะเป็นกรรมสิทธิข์ องนิตบิ คุ คลหมูบ่ า้ นจัดสรรนัน้ 3. “บริการสาธารณะ” หมายความถึง การให้ บริการหรือสิ่งอ�ำนวยความสะดวกในโครงการจัดสรร ที่ดิน ที่ก�ำหนดไว้ในโครงการที่ขออนุญาตจัดสรรที่ดิน ตามมาตรา 23 (4) ซึ่งเรียกเก็บค่าส่วนกลางได้ เช่น ค่าพนักงานรักษาความปลอดภัย ค่าพนักงานรักษาความ สะอาด ค่าไฟฟ้าแสงสว่างส่วนกลาง ค่าบริหารจัดการ หมู่บ้าน ค่าพนักงานหมู่บ้าน ค่าจัดเก็บขยะเป็นบริการ สาธารณะ 4. เรื่องของพื้นที่หน้าบ้านถือเป็นทรัพย์สินของ นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร เจ้าของบ้านไม่ใช่เจ้าของที่มี กรรมสิทธิ์ เพียงแต่มีสิทธิใช้ประโยชน์ได้ก่อนบุคคลอื่น หมายความว่าผู้อื่นก็ยังสามารถใช้ประโยชน์ได้เช่นกัน แต่หากเจ้าของบ้านจะใช้ประโยชน์ก็มีสิทธิใช้ก่อน แต่ อย่างไรก็ดกี ารใช้ประโยชน์ดงั กล่าวนัน้ ต้องไม่กอ่ ความ เดือดร้อน หรือกระทบกระเทือนสิทธิของผูอ้ นื่ เกินสมควร เรือ่ งการจอดรถหน้าบ้าน หากเจ้าของบ้านไม่จอดรถหน้า บ้าน บุคคลอืน่ ก็สามารถมาจอดรถได้ ถือเป็นทีส่ าธารณะ สมาชิกในโครงการทุกคนมีสทิ ธิทจี่ ะใช้จอดได้ แต่ตอ้ งไม่ ถึงขนาดทีก่ อ่ ความเดือดร้อนให้กบั เจ้าของบ้าน เช่น ไม่


จอดรถกีดขวางทางเข้าออกของเจ้าของบ้าน หรือไม่เปิด เครื่องเสียงดังเกินไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความส�ำนึกผิดชอบ และมารยาทซึง่ สมาชิกในหมูบ่ า้ นจัดสรรนัน้ ๆ ควรจะให้ ความส�ำคัญ เรือ่ งการน�ำม้านัง่ มาวางหน้าบ้าน เพือ่ นัง่ เล่น หรือพักผ่อนยามเย็นนัน้ หากไม่กอ่ ความเดือดร้อน หรือก่อ ความร�ำคาญให้กบั สมาชิกคนอืน่ ภายในหมูบ่ า้ นก็สามารถ ท�ำได้ เว้นแต่นติ บิ คุ คลหมูบ่ า้ นจัดสรรนัน้ ๆ จะมีขอ้ บังคับ กฎห้ามเอาไว้ เพราะถือว่าทุกคนมีสทิ ธิใช้ประโยชน์รว่ ม กัน แต่อย่างไรก็ตามต้องไม่ก่อความเดือดร้อนร�ำคาญ แก่สมาชิกในหมูบ่ า้ นด้วย และการจัดวางม้านัง่ ดังกล่าว ไม่ใช่จดั วางโดยมีเจตนาเพือ่ คอยสอดส่องหรือแอบมอง เข้าไปยังบ้านของผูอ้ นื่ เพราะอาจเป็นการละเมิดสิทธิของ บุคคลอื่นได้ 5. เรือ่ งการเลีย้ งสัตว์ในหมูบ่ า้ นจัดสรร หรือการพา สัตว์เลีย้ งไปเดินเล่นนัน้ สมาชิกในหมูบ่ า้ นจัดสรรสามารถ ท�ำได้ ไม่ว่าจะเดินบนถนน หรือบนทางเท้าหน้าบ้านคน อื่นก็ตาม แต่ต้องคอยระวังไม่ให้สัตว์เลี้ยงขับถ่ายสิ่ง ปฏิกูลลงในที่สาธารณะนั้น และอาจจะขัดกับข้อบังคับ ของนิติบุคคลบ้านจัดสรรด้วย

เอกสารอ้างอิง 1. คอลัมน์ “กฎหมายรอบรั้ว” หนังสือพิมพ์เดลิ นิวส์ ฉบับวันเสาร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2555 http:// www.dailynews.co.th/article/950/11875 วัน เสาร์ที่ 30 มิถุนายน 2555 http://www.dailynews.co.th/article/950/133353 วันเสาร์ที่ 15 มิถุนายน 2556 http://www.dailynews.co.th/article/950/211906 วันเสาร์ที่ 25 พฤษภาคม 2556 http://www.dailynews.co.th/article/950/206692 2. ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ http://www. reic.or.th/RealEstateForPeople/Topic-ProblemHome05.asp 3. พระราชบัญญัติจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543 http://www.thailandlawyercenter.com

ตัวอย่าง บัญชีรายชื่อผู้เข้าประชุมการจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ วันที่ xx xxxx 2556

บ้านเลขที่ 13/78 13/78 ที่ว่าง

ลายมือชื่อ ผู้เข้าประชุม

วารสารสมาคมหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ แจ้งวัฒนะ 14 • ฉบับ สิงหาคม-กันยายน 2556

ล โฉนดที่ดิน/ หนังสือ ล�ำดับที่ ผู้ถือกรรมสิชืท่อธิ์/– สิสกุ ทธิครอบครอง รับรองการท�ำประโยชน์ XXX XXXXXXXXX 43068 XXX XXXXXXXXX 43069 XXX XXXXXXXXX 43070

ซอยxxxxxxx

13


คณะกรรมการโครงการหมู่บ้านและชุมชน 3 กลุ่ม จ�ำนวน 36 คน ประธาน รองประธาน เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ เหรัญญิก ผู้ช่วยเหรัญญิก ปฎิคม ตรวจสอบ ประชาสัมพันธ์

วารสารสมาคมหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ แจ้งวัฒนะ 14 • ฉบับ สิงหาคม-กันยายน 2556

คณะผู้รับผิดชอบ

14

หมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ กลุ่ม 1 (ซอยชมรม) นางชลาวัลย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา นางกรรณิการ์ พันธุ์เสงี่ยม นางนพวดี โมระกรานต์ นางวิภาศรี สระวาสี นางพรพรรณ สร้างสุข น.ส. นิธิรัตน์ น้อยเชื้อเวียง นายมาฬิศร์ เชยโสภณ นายพิณ เกื้อกูล นางขนิษฐา โฆษิตนิธิกุล กลุ่ม 1

หมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ กลุ่ม 2 (ซอยพิทักษ์/สังคม) นายโกเมธ เกตุรัตน์ นายสุรินทร์ วงศ์โต นายมงคล ลาภสัมปันน์ นายสุวิสัณย์ ปริญญาจารย์ นางยินดี จีนะวัฒน์ นางรุจประภา ธีรพจนี น.ส. จิรวรรธ เทพพัตรา นายประสิทธิ์ เหมวราพรชัย นางเทวี สมประสงค์ กลุ่ม2

หมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ กลุ่ม 3 (ซอยเกษตร/นิเวศน์) ดร.อรทัย อร่ามพงษ์พันธ์ นพ. ก�ำธร มาลาธรรม นางวาสนา ร้อยอ�ำแพง นางจรีพร เหลืองทองกุล นางบุญเพ็ญ แตงมีแสง นางจิราวัลย์ อมรเวช พ.ต.ท.ทรงกลด โลหะศิริ พล.ต.จาตุภัทร รัตนวิจิตร นายภูมิรัตน์ รังคสิริ กลุ่ม 3

เบิก-จ่าย จัดท�ำบัญชี นางชลาวัลย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา นายโกเมธ เกตุรัตน์

ดร.อรทัย อร่ามพงษ์พันธ์

นางพรพรรณ สร้างสุข นายมาฬิศร์ เชยโสภณ การด�ำเนินการ นางนพวดี โมระกรานต์ นางวิภาศรี สระวาสี นางกษมา วายุพงษ์ จัดซื้อ-จัดจ้าง นางกรรณิการ์ พันธุ์เสงี่ยม น.ส. นิธิรัตน์ น้อยเชื้อเวียง นายธัญวิทย์ สุขสวัสดิ์ ตรวจสอบ/ประเมิน นายพิณ เกื้อกูล โครงการ นางขนิษฐา โฆษิตนิธิกุล พล.ท.ธนภัทร ศรีกุลชัยภัทร

นางยินดี จีนะวัฒน์ นายสุวิสัณย์ ปริญญาจารย์ นายสุรินทร์ วงศ์โต นายมงคล ลาภสัมปันน์ นางวัชรี ประชาสัยศรเดช นางเทวี สมประสงค์ น.ส.จิรวรรธ เทพพัตรา นางภัทรพร ปริญญาจารย์ นายประสิทธิ์ เหมวราพรชัย

นางบุญเพ็ญ แตงมีแสง นางจิราวัลย์ อมรเวช นพ.ก�ำธร มาลาธรรม นางวาสนา ร้อยอ�ำแพง นายวิวัฒน์ อิงคะประดิษฐ์ นางจรีพร เหลืองทองกุล นายภูมิรัตน์ รังคสิริ นางพิชญา ประภานนท์ พล.ต.จาตุภัทร รัตนวิจิตร

นางรุจประภา ธีรพจนี นายบุญส่ง สมประสงค์

พ.ต.ท.ทรงกลด โลหะศิริ ร.ต.หญิง พนมพร รังคสิริ ร.น.

คุณสมบัติของ กรรมการ ประธานคณะกก. โครงการฯ เหรัญญิกโครงการฯ ตัวแทนจากคณะกก. ตัวแทนจากคณะกก. ตัวแทนจากคณะกก. ตัวแทนประชาชน ตัวแทนจากคณะกก. ตัวแทนจากคณะกก. ตัวแทนประชาชน ตัวแทนจากคณะกก. ตัวแทนจากคณะกก. ตัวแทนประชาชน


ช่องทางการสื่อสารออนไลน์ภายใน ส�ำหรับสมาชิกหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์

ส�ำหรับสมาชิกที่มี facebook • ให้ search ชื่อ “kasetnives” หรือ “เกษตรนิเวศน์” • เจอ กลุ่มปิด (Close group) ของหมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ • เลือก “เข้าร่วมกลุ่ม” (Join group) ทางทีมงานจะติดต่อกลับเพือ่ ขอข้อมูลเบือ้ งต้นทีย่ นื ยันว่าเป็นสมาชิก ในหมูบ่ า้ นเกษตรนิเวศน์ หรือถ้ามีสมาชิกท่านอืน่ ๆ รับรองได้ ก็จะรับเข้ากลุม่ ท่านสามารถติดตามข่าวสาร แจ้งเหตุ ขอความช่วยเหลือหรือแบ่งปัน ข้อมูลดีๆ กับเพื่อนร่วมหมู่บ้านได้ทันที

เบอร์โทรศัพท์ที่ควรรู้ ศูนย์ รปภ. หมู่บ้านเกษตรนิเวศน์ (ศูนย์ พิทักษ์) สถานีต�ำรวจนครบาลทุ่งสองห้อง ผกก.สน.ทุ่งสองห้อง Hot Line สน.ทุ่งสองห้อง สถานีดับเพลิงลาดยาว ส�ำนักงานเขตหลักสี่ ผอ.เขตหลักสี่ รพ.มงกุฎวัฒนะ ศูนย์ รปภ. หมู่บ้านเมืองทอง 1 ศูนย์ รปภ. หมู่บ้านชวนชื่น อปพร.หลักสี่ การไฟฟ้านครหลวง call center การประปานครหลวง call center

02-574-2954 02-574-6465 02-574-6468 083-030-2811 02-537-8710-11 02-982-2081-2 02-982-2081-2 ต่อ 7401 02-574-5000 02-982-6902 02-573-1248 084-404-3935 1130 1125


สมาคมฯ ขอแนะน�ำผู้ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยและซ่อมบ�ำรุงดังนี้

ผู้ช่วยผู้จัดการ นายวรเดช ศรีนอก หมายเลขโทรศัพท์ 02-574-2954 และ 089-222-7303

ฝ่ายช่างรับตัดหญ้า แต่งต้นไม้ ซ่อมแซม นายปัญญา วงค์ด�ำ นายประสิทธิ์ เปลื้องปลิด เวลาปฏิบัติงาน 8:00-17:00 น. สมาชิกติดต่อกับผู้ช่วยผู้จัดการ เพื่อนัดเวลาและสอบถามอัตราค่าบริการ โดยสมาคมฯ จะออกใบเสร็จรับเงินให้ทุกครั้ง กรุณาเรียกใบเสร็จจากเจ้าหน้าที่ทุกครั้งเมื่อจ่ายเงินหลังเสร็จงาน นอกเหนือจากบุคคลดังกล่าว ทางสมาคมฯ ไม่มีส่วนรับรู้ใดๆ หมายเหตุ ทุกวันเสาร์ สัปดาห์ที่ 2-3-4 ของเดือน กลุ่มมรรคฯ จองล้างศาลาประจ�ำทุกสัปดาห์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.