1
DESIGNER OF THE YEAR 2013: ON LIFE AND DESIGN พิมพ์ที่ บริษัท โอเอส พริ้นติ้งเฮ้าส์ จ�ำกัด | OS Printing House Co., Ltd. จ�ำนวน 1,000 เล่ม | 1,000 Copies ตุลาคม 2556 | October 2013 บทสัมภาษณ์ | INTERVIEW: Studio Dia{ogue ออกแบบและจัดวางรูปเล่ม | GRAPHIC DESIGN: ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี | Asst. Prof. Arwin Intrungsi ประสานงาน | COORDINATOR: มาลินี วิกรานต์ | Malinee Wigran มุกดา จิตพรมมา | Mukda Jitphromma เปรมชัย จันทร์จ�ำปา | Premchai Janjumpa แปล | TRANSLATOR: ศศิวิมล สันติราษฎร์ภักดี | Sasivimol Santiratpakdee มาริสา จันทมาศ | Marissa Chanthamas ขอขอบคุณ | THANKS: สถาบันส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรมเพื่อการค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ สมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ไทย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบตัวพิมพ์อิเล็คทรอนิคส์: SILPAKORN70NEW โดย ไพโรจน์ ธีระประภา Thailand Institute of Design and Innovation Promotion, Department of International Trade Promotion, Ministry of Commerce Thai Graphic Designers Association Faculty of Architecture, Chulalongkorn University Font: SILPAKORN70NEW by Pairoj Theeraprapa
2
ท่ามกลางสายธารนวัตกรรมด้านการสร้างสรรค์ ผลงานออกแบบของไทยทีไ่ ม่เคยหยุดนิง่ การแสดงผลงาน นักออกแบบยอดเยีย่ มแห่งปี เป็นการถ่ายทอดกระแสธาร แนวคิดการออกแบบ ซึง่ แฝงไว้ดว้ ยฝีไม้ลายมือทักษะของ นักออกแบบผู้ผลิตผลงานแต่ละชิ้นด้วยความประณีต อีก ทั้งยังเป็นการเพิ่มพูนสั่งสมต่อยอดศักยภาพในการแสดง ความสามารถของการบูรณาการแต่ละองค์ความรู้ให้เกิด การพัฒนาต่อยอดอย่างต่อเนื่องไม่มีที่สิ้นสุด โดยเฉพาะ อย่างยิง่ การตัดสินผลงานนักออกแบบยอดเยีย่ มแห่งปีในปี ที่ 9 นี้ นับเป็นการสร้างสรรค์ศาสตร์และศิลปะระหว่างทักษะ ความคิดสร้างสรรค์ผลงานจากจินตนาการที่ได้วิเคราะห์ คัดสรรมาเป็นอย่างดี เป็นสิง่ ทีย่ ากต่อคณะกรรมการตัดสิน รางวัลอันทรงคุณค่า หนังสือเล่มนีเ้ ป็นการน�ำเสนอความเป็นมาของ นักออกแบบ ผูแ้ สวงหาความเป็นตัวของตนเอง ความก้าวหน้า ศาสตราจารย์เอกชาติ จันอุไรรัตน์ และพัฒนางานอย่างไม่หยุดยัง้ อันน�ำมาซึง่ กระบวนทัศน์ใน ประธานคณะกรรมการด�ำเนินงาน การคิดค้น วิเคราะห์ระบบความคิดใหม่ กอรปกับวิสยั ทัศน์ โครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ 9 ในการรวบรวมประสบการณ์ทสี่ งั่ สม บ่มเพาะ ปลูกฝังมา เป็นระยะเวลายาวนาน ซึง่ แต่ละครัง้ ของการแสดงผลงานที่ Prof. Eakachart Joneurairatana ผ่านมา ได้รบั ความสนใจและประสบความส�ำเร็จก้าวหน้ามา Chairman โดยตลอดเป็นอย่างดี และนับเป็นผลงานทีส่ ดุ ยอดแต่ละชิน้ The 9th Designer of the Year Project Committee ทีไ่ ด้รบั การวิจารณ์แสดงความคิดเห็นจากคณะกรรมการทุก ท่าน อันเป็นผลงานทีแ่ ฝงไว้ดว้ ยเจตนารมย์ทจี่ ะสร้างสรรค์ พัฒนาการใหม่ในวงการออกแบบ ทีต่ อ้ งอาศัยสมาธิ และ สติปัญญาอันเฉลียวฉลาดในการสร้างสรรค์ผลงาน ในนามของคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร ซึ่งเป็นสถานศึกษาค้นคว้าแหล่งวิชาการเรียนรู้ ทางด้านศิลปะและการออกแบบ รูส้ กึ ชืน่ ชมในตัวนักออกแบบ ทุกท่านทีแ่ สวงหาองค์ความรูใ้ หม่ในด้านวิชาชีพมาน�ำเสนอ แก่ประชาชนผูส้ นใจ พร้อมทัง้ สร้างชือ่ เสียงให้แก่ประเทศให้ เป็นทีร่ จู้ กั และยอมรับในการออกแบบมาโดยตลอด รวมทัง้ ขอขอบคุณกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวง พาณิชย์ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ ส�ำนักงานบริหารและ พัฒนาองค์ความรู้ สมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ไทย สมาคม มัณฑนากรแห่งประเทศไทย สมาคมนักออกแบบผลิตภัณฑ์ แห่งประเทศไทย เครือข่ายวิชาชีพ สถาบันการศึกษาและ ผูเ้ กีย่ วข้องทุกท่าน ทีม่ สี ว่ นสร้างสรรค์วงการออกแบบไทย ให้เจริญก้าวหน้าต่อไป
In the midst of this innovative development of Thai design that never ceases to improve, it is important to showcase the works through the “Designer of the Year” awards. It is a means to show the skills of the designer imbued with the with the traditional aesthetics in addition it demonstrates the constant development which creates value that has no end. Especially in judging the work in this ninth year. There is a clear demonstration of creativity and integration of arts and science as well as of skill and imagination. It has been a very challenging job for the juries in selecting the awardees. This book aims to give the public insight into the inspiration and works of the designer that has led them to their current success. Hopefully it will serve as an inspiration for those who want to find their own unique identity and success in design. This book showcases the vision and experiences that have drive the successful designs that have made a reputation for the designer. Each year the exhibition of works has always been well received. In addition to showcasing the works each piece also receives constructive criticism that aims for constant improvement. In the name of the Faculty of Decorative Arts, which is an institution dedicated to researching the best in arts and design education, it out objective to support artistic potential for Thailand’s reputation. I would like to take this opportunity to thank Department of International Trade Promotion, Ministry of Commerce, Thailand Creative & Design Center (TCDC), Office of Knowledge Management and Development (Public Organization), Thai Graphic Designers Association (ThaiGa), Thailand Interior Designers’ Association (TIDA), Thailand Product Designers’ Association, Universities and all those involved that have helped to contribute to the development of the Thai design industry.
3
การสนับสนุนผูป้ ระกอบการในการสร้างมูลค่า เพิม่ ให้แก่สนิ ค้าของตนเอง ถือเป็นนโยบายส�ำคัญของกรม ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศมาอย่างต่อเนื่อง และจะ ยิ่งมีความส�ำคัญมากขึ้น แม้ว่าภาวะเศรษฐกิจโลกจะมี การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การออกแบบและความ คิดสร้างสรรค์นั้นยังคงช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถ เพิ่มมูลค่าการขายได้ ก่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจไทย อย่างยั่งยืน การสนับสนุนบุคลากรในวงการออกแบบจึง เป็นหน้าที่ที่สถาบันส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรม เพื่อการค้าให้ความส�ำคัญมาโดยตลอด อย่างไรก็ตาม ความเจริญก้าวหน้าของวงการออกแบบไทยคงไม่ได้เกิด จากหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งเท่านั้น หากแต่มาจาก ความร่วมมือจากหลายหน่วยงานร่วมกันสนับสนุน การทีค่ ณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ด�ำเนินโครงการนักออกแบบไทยยอดเยี่ยมแห่งปีมา หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ อย่างต่อเนื่อง ถือเป็นสิ่งที่น่ายกย่องชื่นชม เพราะมีส่วน ผู้อ�ำนวยการสถาบันส่งเสริมการออกแบบและ ช่วยให้เยาวชนรวมทัง้ ประชาชนทัว่ ไปเห็นความส�ำคัญของ นวัตกรรมเพือ่ การค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ วิชาชีพด้านการออกแบบ ซึง่ สถาบันส่งเสริมการออกแบบ กระทรวงพาณิชย์ และนวัตกรรมเพือ่ การค้า ในฐานะหน่วยงานภาครัฐ ยินดี ให้การสนับสนุนโครงการนี้ ด้วยเห็นความส�ำคัญของวิชาชีพ การออกแบบซึง่ มีสว่ นช่วยพัฒนาเศรษฐกิจไทยในอนาคต M.L. Kathathong Thongyai ขอแสดงความยินดีกับมหาวิทยาลัยศิลปากร Director ทีโ่ ครงการนักออกแบบไทยยอดเยีย่ มแห่งปี ประสบความ Thailand Institute of Design and Innovation ส�ำเร็จด้วยดีมาถึงปีที่ 9 ซึง่ ผลจากการด�ำเนินงานทีผ่ า่ นมามี Promotion, Department of International Trade ส่วนช่วยเป็นก�ำลังใจให้แก่นกั ออกแบบมีความคิดริเริม่ ใหม่ Promotion, Ministry of Commerce ในการพัฒนาผลงานของตนเอง อีกทั้งมีส่วนช่วยผลักดัน ผลงานของนักออกแบบไทยให้เป็นที่ประจักษ์สู่สายตา นานาชาติ ซึ่งผมเชื่อว่าการร่วมมือที่ดีเช่นนี้ จะส่งผลให้ นักออกแบบไทยมีชอื่ อยูใ่ นระดับแนวหน้าของนักออกแบบ ระดับโลกได้อย่างแน่นอน
4
The support for those working the creative industries through adding value is a critical policy of the Department of International Trade Promotion that is gaining more importance. In this time of rapid economic change design and creativity is still an important drive in keeping a competitive advantage. This is the force that encourages a sustainable economic development for Thailand. The support for those in the design industry is thus the mission of the Thailand Institute of Design and Innovation Promotion for the enhancement of trade. However, the development of the Thai design industry is not the role of any one organization. It is the result of a collaboration across different organizations thus the support gained from the Faculty of Decorative Arts in the “Designer of the Year” is very much appreciated. It is a means for the public to recognize the importance of the design industry. As a government entity the institute is proud to be part of this outstanding program. This is due to our commitment to the development of the Thai economy into the future. I would like to congratulate Silapakorn University in the success of this award for 9 years. Over the years the award has been supporting and inspiring Thai designers to innovate their own works for appreciation in both local and global markets. I believe this cooperation will propel Thai designs to a leadership position in the global market.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง คณบดีคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Asst. Prof. Akekapong Treetrong
Dean Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในอนาคตจ�ำเป็น ต้องน�ำแนวทางด้านการออกแบบและแนวทางแห่งความคิด สร้างสรรค์อนั มีศลิ ปวัฒนธรรมเป็นพืน้ ฐานและถือเป็นกระดูก สันหลังของการพัฒนาประเทศในยุคหน้า นักออกแบบ และผลงานออกแบบในแต่ละแขนงจึงมีความส�ำคัญต่อการ เพิม่ มูลค่าทางเศรษฐกิจของชาติในทุกส่วนรอบทิศ ตัง้ แต่ ผลิตภัณฑ์ชุมชน วิถีชีวิต ที่อยู่อาศัย สินค้าผลิตภัณฑ์ใน ระบบย่อยจนถึงผลิตภัณฑ์ส่งออก การแปรรูปผลิตภัณฑ์ ที่มาจากการเกษตร ที่สามารถยกระดับมูลค่าให้มากขึ้น ด้วยการออกแบบนั่นเอง โครงการเส้นทางสูร่ ะดับสากลของนักออกแบบ ไทย “Designer of the Year” เป็นโครงการทีส่ ง่ เสริมนัก ออกแบบไทยให้ก้าวไกลสู่สากล ส่งเสริมก�ำลังใจ และให้ พลังแห่งแรงบันดาลใจกับนักคิด นักออกแบบ ที่ยืนหยัด ในวิชาชีพนักออกแบบอย่างแข็งแกร่ง โดยเฉพาะรากฐาน นักออกแบบไทยที่มีลักษณะเฉพาะและลุ่มลึกชาติหนึ่งใน โลก และเมื่อเข้าสู่บรรยากาศแห่งความร่วมมือขอบเขต การค้าเสรีอาเซียน ประเทศไทยก็ควรมีบทบาทในฐานะ ที่มีรากแก่นทางศิลปวัฒนธรรมมายาวนาน นักออกแบบ ไทยจึงควรจะสร้างแรงบันดาลใจให้กับเหล่ามวลสมาชิก อาเซียน เป็นผู้น�ำด้านการจัดการด้านการออกแบบ และ มีโอกาสทีส่ ามารถเป็นผูน้ ำ� ด้านการพัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์ บทบาทของมัณฑนศิลป์จึงไม่ใช่เพียงแค่การ บ่มเพาะ การสร้างสรรค์ผา่ นการเรียนการสอนอย่างเดียว แต่ จะต้องเป็นส่วนหนึง่ ในการผลักดันแนวคิดแห่งมัณฑนศิลป์ ออกสู่สังคม และสนับสนุนให้เกิดผลงานการออกแบบทั้ง ประเทศ ส่งเสริมให้คนไทยคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ ให้กบั ประเทศไทยด้วย ดังนัน้ มัณฑนศิลป์จงึ มีความภูมใิ จ กับโครงการ “Designer of the Year” นี้ และขอแสดง ความยินดีกับผู้ได้รับรางวัลส�ำหรับปีนี้ครับ
The economic and social development in the future needs a strategy in design and creative thinking founded in a cultural basis. It is the foundation for the country’s growth. Designers and their works are critical in creating added economic value comprehensively. This is inclusive of traditional ways of life to products meant for export. The enhancement of by products from the agricultural process is the basis for the country’s next stage of growth. The value added is created through design. The “Designer of the Year” is a project designed as means for Thai designers to enter the global stage and a sign of encouragement for outstanding work. It is a means for inspiring designers to work constructively. This is especially true for Thai designers that have a unique steeped in cultural heritage. In face of the AEC integration, Thailand which has a firm base in a long cultural heritage, should lead and inspire other countries. Thailand should take leadership role in the development of the creative industries. Thus, the role of the Faculty of Decorative Arts is more than simply creating creative talent through education. The faculty must push the inspiration and support for design to the public. It is part of the mission to promote creativity and innovation in Thailand. It is with great pride that the faculty congratulates all of the “Designer of the Year”
5
โครงการนักออกแบบแห่งปี มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ดาํ เนินกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมเพือ่ สนับสนุน นักออกแบบสร้างสรรค์ไทย โดยเมือ่ ปี 2547 ได้ประกาศเกียรติคณ ุ รางวัลนักออกแบบ ไทยปี 2547 และดําเนินการมาอย่างต่อเนือ่ งจนถึงปัจจุบนั ซึง่ ทําให้เกิดผลสะท้อนในการยก ระดับด้านมาตรฐานวิชาชีพ และการเผยแพร่ชอื่ เสียงผลงานการออกแบบขึน้ ในระดับหนึง่ เพือ่ ให้เป็นการดําเนินงานทีต่ อ่ เนือ่ ง มหาวิทยาลัยศิลปากร จึงได้มอบให้คณะ มัณฑนศิลป์ เป็นผูด้ าํ เนินงานสานต่อโครงการเส้นทางสูร่ ะดับสากลของนักออกแบบไทย โดย ได้มกี ารทําข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรม เพื่อการค้ากรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เพื่อยกระดับการ คัดสรรนักออกแบบ เพือ่ นําไปสูก่ ารพัฒนามาตรฐานนักออกแบบไทยสูร่ ะดับสากลต่อไป วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อเป็นเวทีให้นักออกแบบไทยได้พัฒนามาตรฐานผลงานการออกแบบสู่ ระดับสากล 2. เพือ่ เชิดชูเกียรตินกั ออกแบบทีส่ ร้างสรรค์ผลงานทีส่ ะท้อนอัตลักษณ์รว่ มสมัย 3. เพือ่ สร้างเครือข่ายด้านการออกแบบในกลุม่ วิชาชีพ และบูรณาการระหว่าง นักออกแบบ มหาวิทยาลัย/สถาบัน หน่วยงานทางการออกแบบ และสังคมภายนอก 4. เพือ่ สนองนโยบายรัฐบาลในการมุง่ ส่งเสริมและสนับสนุนงานทางการออกแบบ ของไทยให้ได้มาตรฐานระดับนานาชาติ และเป็นแหล่งฐานความรูท้ แี่ สดงออกถึงวิวฒ ั นาการ งานออกแบบของไทยในระดับสากล ประเภทของการออกแบบที่มอบรางวัล 1. การออกแบบเครื่องเรือน (Furniture Design) 2. การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) 3. การออกแบบเครื่องประดับ (Jewelry Design) 4. การออกแบบผ้าและเส้นใย (Textile and Fabric Design) 5. การออกแบบกราฟิก (Graphic Design) ประเภทของรางวัล 1. Honor Awards เป็นรางวัลเชิดชูเกียรติ ทีม่ อบให้แก่นกั ออกแบบไทยผูม้ ปี ระสบการณ์ระดับสูง ที่มีผลงานออกแบบอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลามากกว่า 10 ปี และประสบความสําเร็จ ในการประกอบวิชาชีพ เป็นแบบอย่างที่ดี และมีคุณูปการแก่วงการออกแบบและสังคม 2. Designer of the year Awards เป็นรางวัลทีม่ อบให้แก่นกั ออกแบบไทย ผูม้ ปี ระสบการณ์ทาํ งานมากกว่า 5 ปี มีผลงานออกแบบอย่างต่อเนือ่ งในสาขาวิชาชีพ และมีผลงานชิน้ สําคัญอันโดดเด่นแห่งปี และเป็นที่ประจักษ์ในเชิงพาณิชย์ 3. Emerging Awards เป็นรางวัลทีม่ อบให้แก่นกั ออกแบบไทยหน้าใหม่ ทีม่ อี ายุไม่ตา่ํ กว่า 20 ปี มีผลงาน โดดเด่นในรอบปี โดยอาจเป็นผลงานออกแบบเชิงพาณิชย์หรือเป็น ผลงานต้นแบบที่มี เอกลักษณ์อันแจ่มชัด ซึ่งนําไปสู่การพัฒนารูปแบบเป็นเชิงพาณิชย์ต่อไปในอนาคตได้
6
ทุกประเภทรางวัล จะได้รบั โล่รางวัลประกาศเกียรติคณ ุ พร้อมเกียรติบตั ร และ จะได้รบั การตีพมิ พ์ผลงานในสูจบิ ตั ร และเว็บไซต์ www.thaidesignerawards.com ซึง่ จะเผยแพร่ทงั้ ภายในประเทศและต่างประเทศ การแสดงนิทรรศการเผยแพร่ในงานแสดง สินค้านานาชาติภายในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งการจัดแสดงนิทรรศการถาวร ร่วมกับผลงานของนักออกแบบแห่งปี 2547– 2551 ณ พิพธิ ภัณฑ์การออกแบบศิลปากร (Silpakorn Design Museum) อาคารศิลป์ พีระศรี 3 มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวัง สนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม เพือ่ เป็นแหล่งข้อมูลการเรียนรู้ ทีแ่ สดงถึงแนวคิดและทีม่ า ของผลงานการออกแบบของนักออกแบบไทย ให้เป็นฐานความรูใ้ นวงการศึกษามากยิง่ ขึน้ การพิจารณาตัดสินรางวัล แบ่งออกเป็น 2 รอบ ได้แก่ รอบคัดสรร และรอบตัดสิน 1. แนวทางการคัดสรร คณะกรรมการจะคัดสรรนักออกแบบทีส่ มควรได้รบั รางวัลจากการเสนอชือ่ จาก หน่วยงานภาครัฐและเอกชนทีเ่ กีย่ วข้องกับการออกแบบ สมาคมวิชาชีพทางการออกแบบ สื่อสารมวลชนที่เกี่ยวข้อง สถาบันการศึกษาด้านศิลปะและการออกแบบ นักออกแบบ แห่งปีที่เคยได้รับรางวัล และบุคคลทั่วไป 2. หลักเกณฑ์ในการตัดสิน หลักเกณฑ์ในการตัดสิน จะพิจารณาจากกระบวนการคิดในการออกแบบและ สร้างผลงานของนักออกแบบไทย ในภาพรวม ดังนี้ • ประเภทการออกแบบเครือ่ งเรือน ผลิตภัณฑ์ เครือ่ งประดับ ผ้าและเส้นใย เป็นผูท้ มี่ แี นวคิดการออกแบบอันแสดงออกซึง่ อัตลักษณ์ บนพืน้ ฐานของภูมปิ ญั ญา ตะวันออก เน้นการต่อยอดต้นทุนทางวัฒนธรรมและทรัพยากรของประเทศเป็นฐานใน การสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบ เป็นผูท้ สี่ ร้างสรรค์ผลงานทีม่ กี ารผสมผสานระหว่างความสวยงาม ประโยชน์ ใช้สอย การผลิต และโอกาสทางธุรกิจ หรือ เป็นผลงานที่ก่อให้เกิด กระบวนทัศน์หรือ คุณค่าใหม่ในวงการออกแบบ • ประเภทการออกแบบกราฟิก เป็นบุคคลต้นแบบที่มีกระบวนการทางความคิดและกระบวนการท�ำงานที่ดี สร้างสรรค์ผลงานออกแบบทีแ่ สดงถึงความคิดสร้างสรรค์ ความงาม ตอบสนองวัตถุประสงค์ ทางการออกแบบได้ดี มีเอกลักษณ์เฉพาะตนอันโดดเด่น หรือแสดงออกซึง่ อัตลักษณ์ไทย หรือเป็นผลงานที่ก่อให้เกิดกระบวนทัศน์หรือคุณค่าใหม่ในวงการออกแบบ (หมายเหตุ การพิจารณาจัดผลงานให้ได้รับรางวัลใด ให้ถือข้อวินิจฉัยของ คณะกรรมการตัดสินเป็นที่สิ้นสุด) 3. คณะกรรมพิจารณาตัดสินรางวัล ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญ ศิลปิน นักออกแบบที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย นักวิชาการด้านการออกแบบ สื่อสารมวลชนที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ
DESIGNER OF THE YEAR PROJECT Silapakorn University developed this culturally imbued activity with the aim to support Thai designers and creativity. Since 2004 the Thai designers have been recognized for their works continuously over the years up to today. This has resulted in raising the bar for the field of design and promoting the reputation of those whose works deserve recognition. In order to keep this project going Silapakorn University has appointed the Faculty of Decorative Arts to continue this tradition with an aim to bring Thai designs to the world stage. This has been realized through the cooperation with the Thailand Institute of Design and Innovation Promotion, Department of International Trade Promotion, Ministry of Commerce to raise the standard of Thai design to meet international standards. OBJECTIVES 1. To offer a venue for Thai designers develop their works to meet international standards. 2. To recognize designers whose works reflect creativity and a contemporary identity. 3. To create a network of those in the field of design and integration between educational institutions and society. 4. To support the government policy to promote Thai designers to the international arena as well as to serve as a base of knowledge in the evolution of Thai design development. AWARD CATEGORIES 1. Furniture Design 2. Product Design 3. Jewelry Design 4. Textile and Fabric Design 5. Graphic Design AWARDS OF RECOGNITION 1. Honor Award This award is given to those with at least ten years of continuously producing outstanding works that have improved the design industry and society at large. The awardee must set a benchmark for performance and example for aspiring designers. 2. Designer of Year Award This is awarded to those whose works have been in themselves producing truly unique work of arts over the years. 3. Emerging Award The intention of this is to award to encourage new comers into the field. The awardees should be at least twenty years of age. Works can either be competed or prototypes that have good future potential for economic success.
Every awardee will be awarded by receiving an honorary certificate and plaque plus publication in thw book commemorating the celebration of design and website www.thaidesignerswards.com. These publications are a good means of disseminating the skills of Thai Designers to foreign and local business prospects. In addition there are some projects that will be selected to joining the roadshows both at the local and international venues. A permanent exhibition featuring works from awarded designers starting from 2004 to 2008 will be set at the Silapakorn Design Museum (SDM). This exhibit will serve as the knowledge source for those who want to study the inspiration and thinking process that goes into the design of leading Thai designers, which will be a great source of learning materials for students. JUDGING PROCEDURE There are two rounds which are the selection or screening round and the actual judging of awards round. 1. Selection Procedure The Selection or Screening Committee will select those to be nominated through contributions from industry or government organizations including those involved with design, design associations, media specializing in design as well as members of the public. 2. Judging Criteria Weight will be given to the thinking process as follows: • Furniture Design, Jewelry Design, and Textile and Fabric Design Categories The awardee must demonstrate uniqueness in design based in local knowledge and eastern culture. The concept should built on existing art forms and resources in the country as an inspiration of design. The designer must be able to strike a balance between aesthetics and function with a real business potential. In addition design must have some value added element. • Graphic Design Category The awardee must have a good design thinking and work process that can demonstrate the creativity, aesthetics and functional aspects. The works must illustrate a unique identity or show an outstanding Thainess or may result in a paradigm shift that creates new value in the design industry. (Please note the decision to award any given person is dependent on the Judging Committee.) 3. The Judging Committee The Judging Committee will comprise of industry or government organizations including those involved with design, design associations, and media specializing in design.
7
ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ ๑๐๗๖ / ๒๕๕๖ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินรอบคัดสรร โครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ ๙
ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ ๑๒๔๖ / ๒๕๕๖ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินรอบคัดสรร โครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ ๙
เพื่อให้การด�ำเนินงานตัดสินผลงานโครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ ๙ (Designer of the Year 2013) โดยมอบหมายให้คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นผู้ด�ำเนินการร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรมเพือ่ การค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เพือ่ ให้โครงการด�ำเนินไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตัง้ คณะกรรมการตัดสินรอบคัดสรร โครงการเส้นทางสูร่ ะดับสากล ของนักออกแบบไทย ครัง้ ที่ ๙ ประเภทงานออกแบบเครือ่ งเรือน งานออกแบบผลิตภัณฑ์ งานออกแบบเครือ่ งประดับ งานออกแบบผ้าและเส้นใย ประกอบด้วยบุคคลผู้มีรายชื่อดังต่อไปนี้.-
เพื่อให้การด�ำเนินงานตัดสินผลงานโครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ ๙ (Designer of the Year 2013) โดยมอบหมายให้คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นผู้ด�ำเนินการร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรมเพือ่ การค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และ สมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ไทย เพือ่ ให้โครงการด�ำเนินไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตัง้ คณะกรรมการตัดสินรอบ คัดสรรโครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ ๙ ประเภทงานออกแบบกราฟิก ประกอบด้วย บุคคลผู้มีรายชื่อดังต่อไปนี้.-
๑. นายประธาน ธีระธาดา ๒. นายวิวัฒน์ หิรัญพฤกษ์ ๓. หม่อมหลวงภาสกร อาภากร ๔. นายธนบูรณ์ สมบูรณ์ ๕. นางสาวจุฑามาส บูรณเจตน์ ๖. อาจารย์ต่อวงศ์ ปุ้ยพันธวงศ์ ๗. อาจารย์ปิติ คุปตะวาทิน ๘. นายธีรชัย ศุภเมธีกูลวัฒน์ ๙. นายกรกต อารมย์ดี ๑๐. อาจารย์ทวีศักดิ์ มูลสวัสดิ์ ๑๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิญญา บุญประกอบ ๑๒. นางสาวพิรดา เสนีวงศ์ ณ อยุธยา ๑๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น�้ำฝน ไล่สัตรูไกล ๑๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิทวัน จันทร ๑๕. นายระพี ลีละสิริ ๑๖. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี ๑๗. นางมาลินี วิกรานต์ ๑๘. นางสาวมุกดา จิตพรมมา ๑๙. นายเปรมชัย จันทร์จ�ำปา ๒๐. นายจิราพัชร์ เชี่ยวจินดากานต์
๑. นายโอภาส ลิมปิอังคนันต์ ๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภูวไนย ทรรทรานนท์ ๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี ๔. อาจารย์วุฒิชัย ชุณหสกุลโชค ๕. นายสยาม อัตตะริยะ ๖. นางสาวณัฐจรัส เองมหัสสกุล
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผู้ประสานงานข้อมูล ผู้ประสานงานข้อมูล ผู้ประสานงานข้อมูล ผู้ประสานงานข้อมูล ผู้ประสานงานข้อมูล
สั่ง ณ วันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
8
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
สั่ง ณ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
Designer of the Year 2013 Selection committee Pratan Teeratada Wiwat Hirunpruk M.L. Passakorn Apakorn Thanaboon Somboon Jutamas Buranajade Piti Amraranga Torwong Puipanwong Piti Kuptawatin Teerachai Suppametheekulwat Korakot Aromdee Taweesak Molsawat Pirada Senivongse na Ayudhya
Asst. Prof. Namfon Laistrooglai (Ph.D.) Asst. Prof. Vitawan Chunthone Rapee Leelasiri Pichit Virankabutra Asst. Prof. Puvanai Dardarnanda Asst. Prof. Arwin Intrungsi Wutthichai Chunhasakulchoke Siam Attariya Nutjarus Eangmahassakul
9
ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ ๑๒๓๖ / ๒๕๕๖ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินผลงานรอบตัดสิน โครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ ๙ เพือ่ ให้การด�ำเนินงานตัดสินผลงานโครงการเส้นทางสูร่ ะดับสากลของนักออกแบบไทย ครัง้ ที่ ๙ (Designer of the Year 2013) โดยมอบหมายให้คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นผูด้ �ำเนินการร่วมกับสถาบันส่งเสริม การออกแบบและนวัตกรรมเพื่อการค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และสมาคมนัก ออกแบบเรขศิลป์ไทย เพื่อให้โครงการด�ำเนินไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินผลงานรอบ ตัดสิน โครงการเส้นทางสูร่ ะดับสากลของนักออกแบบไทย ครัง้ ที่ ๙ ประเภทงานออกแบบเครือ่ งเรือน งานออกแบบ ผลิตภัณฑ์ งานออกแบบเครื่องประดับ งานออกแบบผ้าและเส้นใย และประเภทงานออกแบบกราฟิก ประกอบด้วย บุคคลผู้มีรายชื่อดังต่อไปนี้.
๑. นายนิธิ สถาปิตานนท์ ๒. นายสุวรรณ คงขุนเทียน ๓. นายดวงฤทธิ์ บุนนาค ๔. นางสุพัตรา ศรีสุข ๕. หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ ๖. นายสักกฉัฐ ศิวะบวร ๗. นายบรรณนาท ไชยพาน ๘. รองศาสตราจารย์พิศประไพ สาระสาลิน ๙. รองศาสตราจารย์บุญสนอง รัตนสุนทรากุล ๑๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ถาวร โกอุดมวิทย์ ๑๑. นายมกร เชาว์วาณิชย์ ๑๒. นายโอภาส ลิมปิอังคนันต์ ๑๓. นายณัฐวิทย์ ทองประเสริฐ ๑๔. รองศาสตราจารย์เอกชาติ จันอุไรรัตน์ ๑๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปิยลักษณ์ เบญจดล ๑๖. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง ๑๗. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี ๑๘. หม่อมหลวงภาสกร อาภากร ๑๙. นางมาลินี วิกรานต์ ๒๐. นางสาวมุกดา จิตพรมมา ๒๑. นายเปรมชัย จันทร์จ�ำปา
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผู้ประสานงานข้อมูล ผู้ประสานงานข้อมูล ผู้ประสานงานข้อมูล ผู้ประสานงานข้อมูล ผู้ประสานงานข้อมูล
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป
สั่ง ณ วันที่ ๓๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
10
Designer of the Year 2013 Judging committee Nithi Sthapitanonda Suwan Kongkhunthain Duangrit Bunnag Supatra Srisook M.L. Kathathong Thongyai Sakkachat Siwaboworn Bannanat Chaiyapan Assoc. Prof. Pisprapai Sarasalin Assoc. Prof. Boonsanong Ratanasoontragul Asst. Prof. Thavorn Ko-udomvit Makorn Chaowanich Opas Limpi-Angkanan Natthawit Tongprasert Prof. Eakachart Joneurairatana Asst. Prof. Piyaluk Benjadol Asst. Prof. Akekapong Treetrong
11
Honor Awards 2013
มานพ ศรีสมพร | Manop Srisomporn
Designer of the Year Awards 2013 เดชา อรรจนานันท์ และ พลอยพรรณ ธีรชัย Decha Archjananun & Ploypan Theerachai ฐิติรัตน์ คัชมาตย์ | Tithi kutchamuch ฝนทิพย์ ตั้งวิริยะเมธ | Fonthip Tangviriyamate ธีรนพ หวังศิลปคุณ | Tnop Wangsillapakun
Emerging Awards 2013
จักรพันธ์ ชรินรัตนา | Jakkapun Charinrattana ชาญฉลาด กาญจนวงศ์ | Chanchalad Kanjanawong ปัญจพล กุลปภังกร | Panjapol Kulpapangkorn รุ้งพลอย ล้อไพฑูรย์ | Rungploy Lorpaitoon ศิริน กันคล้อย | Sirin Gunkloy
Finalist Designer of the Year Awards 2013 ไชโย โอภาสสมุทรชัย | Chaiyo Opassamutchai กฤษณ์ พุฒพิมพ์ | Kris Putpim เอนก กุลทวีทรัพย์ | Anake Kulthaweesap อนุพงศ์ สุทธะลักษณ์ | Anupong Suttalak บัณฑิต พงศาโรจน์วิทย์ | Bundid Pongsarojchanawit วิไล ไพจิตรกาญจนกุล | Wilai Paijitkarnchanakul ชยทรรศ วิเศษศรี | Chayatat Wisetsri อนุทิน วงศ์สรรคกร | Anuthin Wongsunkakon สันติ ลอรัชวี | Santi Lorratchawee
Finalist Emerging Awards 2013
อุดม เรืองไพสิฐพร และ กาญจนาภรณ์ ชัยวิริยานนท์ Udom Ruangpaisitporn & Kanchanaporn Chaiviriyanont นุชจริน หวังพงษ์สวัสดิ์ | Nucharin Wangphongsawasd Pana Objects วุฒิไกร ศิริผล | Wuthigrai Siriphon อัจฉรา นิมิตวิภาวงศ์ | Ajchara Nimitvipawong ประยุทธ ศิริกุล | Prayut Sirikul นวธันย์ รุ่งดิลกโรจน์ | Nawatan Rungdilokroajn ฉัตรณรงค์ จริงศุภธาดา | Chatnarong Jingsuphatada สุพิชาน โรจน์วณิชย์ | Supichan Rojvanich
12
15 25 33 41 49 58 60 62 64 66 69 69 70 70 71 72 72 73 73 75 75 76 77 77 78 78 79 79
Honor Awards 2013 Graphic Design
มานพ ศรีสมพร Manop Srisomporn
13
14
มานพ ศรีสมพร | Manop Srisomporn Honor Awards 2013: Graphic Design
วิวฒ ั นาการของตัวอักษรไทยนัน้ เริม่ ต้นขึน้ จาก การบันทึกด้วยเหล็กแหลมลงบนใบข่อย มีลกั ษณะเป็นเส้น ทีข่ นานกันตลอดทัง้ เส้นและแกนกลางของตัวอักษรเอียงไป ทางด้านขวาซึง่ มีรปู ลักษณ์ทเี่ กิดจากอุปกรณ์และวัสดุในการ จดบันทึก จนเมือ่ วิทยาการสมัยใหม่และคณะมิชชันนารีจาก ตะวันตกเข้ามาในประเทศไทย ตัวอักษรตะกัว่ ก็ถกู คิดค้น ขึน้ เพือ่ เป็นเครือ่ งมือในการกระจายความรู้ วิทยาการสมัย ใหม่ เผยแพร่ศาสนา รวมไปถึงข้อบทกฎหมายต่างๆ บน สื่อสิ่งพิมพ์ ท�ำให้อักษรที่เป็นเนื้อความ (Body Text) มี การพัฒนาอย่างต่อเนื่องและมีความหลากหลายของแบบ อักษรขึน้ อยูก่ บั อิทธิพลทางสังคมในแต่ละยุคแต่ละสมัย จน กระทั่งปี พ.ศ. 2510 ความนิยมในการใช้ตัวตะกั่วเริ่มลด ลงเนื่องจากเทคโนโลยีต่างๆ พัฒนารุดหน้าไปอย่างมาก และความต้องการใช้ตัวพาดหัว (Headline) ก็มีมากขึ้น เช่นกัน ตัวอักษรลอก (dry-transfer letter) จึงเป็นทาง เลือกใหม่ของผู้ใช้งานในยุคนั้น
The evolution of Thai alphabets originated from branding sharp iron on the leaves of Khoi. The alphabet is written in the parallel line, the center of alphabet leans to right side that has characteristic as the equipment and material while it was recording. When the arrival of modern sciences and group of western missionaries in Thailand, the lead letters have been designed to be essential tools for distributing the modern sciences, religions and various ordinances on printed media. As a result, the body text has been continuously progressed and full of different letters as the social influence in each period. The popularity of lead lettering decreased since 1967 due to many technologies have been highly developed and esteemed to use the headline and dry-transfer letters as new choice of users during that period.
HELVETICA TO MANOP-TICA สัญญะแห่งโมเดิรน์ นิสม์ หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 สงบลง เหตุการณ์ทาง สังคมในช่วงปี ค.ศ. 1950 ทีต่ ามมาอย่างการฟืน้ ฟูเศรษฐกิจ ในหลายประเทศ ทัง้ ในโซนยุโรป รัสเซีย ญีป่ นุ่ และสหรัฐ อเมริกา ภาวะสงครามเย็น การเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ การ ผันเปลีย่ นทางความคิดในแนวทางโมเดิรน์ นิสม์กค็ กุ รุน่ ขึน้ ซึง่ เหตุการณ์ตา่ งๆ ล้วนแล้วแต่สร้างความเปลีย่ นแปลงและ วิวัฒนาการให้กับวงการต่างๆ หลากหลายแขนง รวมทั้ง วงการดีไซน์ก็ได้รับอิทธิพลนี้เช่นกัน
HELVETICA TO MANOP-TICA Sign of Modernism After the World War 2 ended, the social situation; economic development in many countries in Europe, Russia, Japan and USA have been highly occurred during 1950. The cold war, solicitation of freedom rights, ideological changeability in the way of modernism appeared. All of events have an influence to innovation and evolution of design and several fields.
15
neuehassgrotesk หรือภายหลังเปลีย่ นชือ่ มา เป็น Helvetica ซึง่ มีความหมายว่าไทป์ของสวิส (The Swiss typeface) คือผลงานการออกแบบไทป์เฟซของ แม็กซ์ มิ ดิงเกอร์ (Max Miedinger) และเอดัวร์ด ฮอฟฟ์มานน์ (Eduard Hoffmann) ผูอ้ ำ� นวยการโรงหล่อโลหะ ฮาสไทป์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในปี ค.ค. 1957 กลายเป็นแบบ อักษร Sans serif ทีไ่ ด้รบั ความนิยมมากทีส่ ดุ ในช่วงปี 19601980 และถูกน�ำมาใช้กว้างขวางอย่างต่อเนือ่ งจนถึงปัจจุบนั ความเรียบง่ายนิง่ เฉย แต่เท่อยูใ่ นทีของ Helvetica กลายเป็นเอกลักษณ์อนั ส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ Helvetica เป็นแบบ อักษรทีส่ ามารถน�ำไปใช้ได้กบั ทุกๆ บริบท มีความเป็นสากล สูงมากท�ำให้ถูกน�ำไปสร้างภาพลักษณ์ให้กับแบรนด์และ กลายเป็นเครื่องหมายการค้าต่างๆ มากมาย เช่น 3M, American Airlines, AGFA, BMW, Panasonic, Post-it, Microsoft, Toyota เป็นต้น นอกจากนัน้ แล้วโครงสร้างของ ตัวอักษรทีอ่ า่ นออกง่ายยังเป็นข้อดีในการน�ำไปใช้ในพืน้ ที่ สาธารณะ จึงไม่นา่ แปลกใจหากเราจะเห็น Helvetica บน ป้ายถนน เรียงรายตามตรอกซอกซอย และแทรกตัวอยูใ่ น ทุกๆ พื้นที่ได้อย่างไม่เคอะเขิน จริงอยูท่ กี่ ารเปลีย่ นผ่านของสังคมก่อให้เกิดงาน ดีไซน์ในมิติที่สดใหม่ แต่ในขณะเดียวกันงานดีไซน์อย่าง Helvetica ก็สะท้อนกลับไปสู่สังคมเช่นกันว่าเราก�ำลัง เคลือ่ นตัวเข้าสูย่ คุ โมเดิรน์ นิสม์ ยุคสมัยใหม่ทเี่ ปิดกว้างและ ผู้คนต่างให้ค่ากับงานออกแบบเพิ่มมากขึ้น ซึ่งนอกจาก Helvetica จะสร้างแรงสัน่ สะเทือนให้กบั สังคมในยุคนัน้ แล้ว Helvetica ยังกลายเป็นแรงบันดาลใจให้กบั แบบอักษรใน ยุคต่อมามากมาย เช่น Arial เป็นต้น รวมทั้งส่งอิทธิพล ไปยังงานออกแบบทั่วโลก หลายๆ ประเทศจึงออกแบบ แบบอักษรโดยยึดสัณฐานของ Helvetica เป็นหลัก น�ำมา ออกแบบในภาษาของตัวเองเพือ่ ให้สอดคล้องไปกับ Helvetica ฟอนต์โมเดิรน์ นิสม์ทกี่ ำ� ลังมาแรง รวมถึงประเทศไทยด้วย “ผลงานออกแบบส่วนมากเป็นของ มานพ ศรีสมพร เขาได้ออกแบบอักษรลอกไว้เป็นจ�ำนวนมากกว่า 20 แบบ ยิ่งไปกว่านั้นเมื่อก้าวเข้าสู่ยุคโฟโต้ไทป์เซตติ้ง และดิจิทัล มานพยังได้มบี ทบาทในการออกแบบตัวพิมพ์ทสี่ วยงามอีก หลายแบบ นับได้วา่ เป็นนักออกแบบคนเดียวทีม่ ผี ลงานการ สร้างตัวพิมพ์ต่อเนื่องกันถึงสี่ยุค ได้แก่ ยุคตัวประดิษฐ์ อักษรลอก โฟโต้ไทป์เซตติง้ และดิจทิ ลั อีกทัง้ มีโอกาสร่วม งานกับบริษทั ผลิตแบบตัวพิมพ์ทสี่ ำ� คัญๆ เกือบทุกบริษทั ”
16
Neuehassgrotesk was later renamed to be Helvetica meaning of type of Swiss. The Swiss typeface had been designed by Max Miedinger and Edward Hoffmann, Director of metal casting manufacturing named Haztype, Switzerland in 1957 and then became the model of letter Sans Serif that got the most popularity during 1960-1980 and have been continuously popularized until nowadays. The simplicity and elegance of Helvetica are the significant identity. It is used in every contexts and has high international standard, thus, it has frequently used for several brand images and trademarks such as 3M, American Airlines, AGFA, BMW, Panasonic, Post-it, Microsoft, Toyota, etc. Moreover, the structure of letter is easier to read and is an advantage of presenting in public area. It is not surprised if viewing the Helvetica on the signpost in the roads and allies including in every area. The social changes is the origin of modern design in several dimensions, in a meanwhile, Helvetica design can reflect to the society. For instance, the movement in modernism era has widened and many people perceived more value of design. Helvetica was very popular in that period and was the origin of inspiration to design the model of letter; Arial and etc. In addition, Helvetica letter which is the basis characteristic of letter design in Thailand and worldwide to harmonize with popular modernist font. Manop Srisomporn designed more 20 patterns of transferred letters. Furthermore, he has role in designing various attractive printed letters in the era of phototype setting and digital. He is only one designer who has continuously created the printed letter for four periods such as inventive letter, transferred letter, phototype setting and digital. He has an opportunity to participate in designing the printed letters with most company.
เนื้อความที่กล่าวมาข้างต้นนี้เป็นเนื้อความที่ ยกมาจากหนังสือแกะรอยตัวพิมพ์ไทย หนังสือประกอบ นิทรรศการ 10 ตัวพิมพ์กบั สังคมไทย โดย ประชา สุวรี านนท์ ซึง่ เป็นเนือ้ ความทีน่ อกจากจะนิยามให้เราเห็นอย่างแจ่มชัด ถึงผลงานการออกแบบตัวอักษรไทยและอิทธิพลทีอ่ าจารย์ มานพ ศรีสมพร ได้สร้างให้กับวงการดีไซน์ไทยแล้ว บาง ประโยคยังแสดงให้เราเห็นถึงความมุ่งมั่นในการท�ำงาน อย่างต่อเนื่องและความรักที่อาจารย์มานพมีต่อตัวอักษร ได้เป็นอย่างดี “สมัยที่ผมเรียนอยู่ที่วิทยาลัยเพาะช่าง พอ เรียนตอนเช้าเสร็จ แทนที่จะไปโต๋เต๋ที่โรงหนังคิง ผมก็ จะไปดูพี่เปี๊ยก โปสเตอร์ เขียนโปสเตอร์หนัง เขียนป้าย โฆษณา และไปท�ำงานเป็นช่างศิลป์ อยู่ที่บริษัทยาโอลัน กรุงเทพ เข้าท�ำงานตัง้ แต่บา่ ยโมงจนถึงห้าโมงเย็น การได้ ไปท�ำงานทีน่ นั่ ท�ำให้มโี อกาสท�ำงานศิลปะทุกชนิด ไม่วา่ จะ เป็น กล่องผลิตภัณฑ์ ใบปลิวโฆษณา ป้ายโฆษณาต่างๆ ซึ่งในยุคนั้นตัวเฮดไลน์ต้องเขียนด้วยมือทั้งหมด ไม่มีตัว เรียงพิมพ์ ไม่มตี วั ขูด ไม่วา่ จะเป็นโปสเตอร์หนังสูงเป็นสิบๆ เมตร หรือว่าฉลากยาเล็กๆ ก็ตอ้ งฝึกฝนและเขียนด้วยมือ ทัง้ หมด” อาจารย์มานพเริม่ ต้นเล่าให้เราฟังถึงการท�ำงาน ออกแบบครัง้ แรกซึง่ กลายเป็นจุดเริม่ ต้นส�ำคัญในการเป็น ไทป์ดไี ซเนอร์ในเวลาต่อมา และบรรยากาศงานออกแบบใน ปี พ.ศ. 2505 ทีเ่ ทคโนโลยียงั ไม่เข้ามามีบทบาทมากอย่าง ในปัจจุบนั นักออกแบบส่วนมากจึงต้องมีทกั ษะศิลปะในแง่ ของการวาดการเขียนติดตัวทุกคน
All the quotations are based from the book named “Gae Roy Tua Pim Thai”, the book was created for the exhibition “10 printed letters with Thai society” by Pracha Suveeranont. All sentences referred to the Thai letter design and his influence in the field of Thai design. Some sentences obviously presented his continuous effort because of his attraction on letter. For example, “During my education at the college of Poh Chang, I have frequently seen the man named “Piek Poster” painted the film poster, advertising signboard after my class ended in the morning. Subsequently, I worked as the artist at Ya-Olan Krungthep Company from one p.m. to five p.m. At this point, I got a chance to create all kinds of artwork; product package, advertising pamphlet, advertising billboard. In that period, I have to make hand-made headline, without setting type and scraping letter. I practiced my hand-made written skill for more ten meters height of film poster or small medicine raffle.” Manop told about his first working and it was the essential origin of his type designer. The pattern of design in 1962 was created with an influence of technology, thus, all designers need to have artistic skill of writing and painting.
17
หลังจบการศึกษาทีว่ ทิ ยาลัยเพาะช่าง พ.ศ. 2511 อาจารย์มานพถูกชวนให้ไปรับราชการครูอยู่ที่ต่างจังหวัด อาจารย์มานพตอบเพียงสั้นๆ ว่า “ผมคงไปรับราชการไม่ ได้ เพราะผมรักงานตัวอักษรเสียแล้ว” จากนั้นจึงย้ายไป ท�ำในต�ำแหน่งอาร์ติสต์ทบี่ ริษทั ดีทแฮล์ม แอดเวอร์ไทซิง่ (ซึ่งในเวลาต่อมาคือบริษัท Leo Burnett) บริษัทโฆษณา ที่ขยายสาขามาจากประเทศเยอรมันซึ่งเป็นหนึ่งในบริษัท โฆษณาที่รับออกแบบโฆษณาให้กับสินค้าแบรนด์ต่างๆ ที่ น�ำเข้ามาจากต่างประเทศ โลโก้ไทป์ของต่างๆ ที่ติดมา กับแบรนด์สินค้าจึงต้องถูกเปลี่ยนให้เป็นภาษาไทยเพื่อ ให้เข้ากับบริบทไทยมากขึ้น “บริษัทดีทแฮล์มในสมัยนั้น รับออกแบบงานโฆษณาให้กับ โอวัลติน คลีเน็กซ์ โกเต๊ก ซ์ เดลซี่ ข้อดีที่ได้ท�ำงานกับบริษัทนี้ก็คือเขาเป็นบริษัท โฆษณาที่เป็นสาขามาจากเมืองนอก ท�ำให้เราได้ท�ำงาน กับอาร์ตไดเร็กเตอร์จากสวิตเซอร์แลนด์ที่มาช่วยดูงาน เราได้ดูว่าฝรั่งเขาท�ำงานกันอย่างไรและฝรั่งเองก็ได้เห็น ว่าเราท�ำงานอย่างไรด้วย อาร์ตไดเร็กเตอร์คนนัน้ ให้ความ เห็นว่าการเขียนตัวอักษรด้วยมือมีความล�ำบากเมือ่ เปรียบ เทียบกับการใช้ตวั ขูดในภาษาอังกฤษในการท�ำตัวเฮดไลน์ เขาพูดกับผมว่าการเขียนมันเสียเวลา ท�ำไมไม่ท�ำตัวขูด” จากค�ำเชื้อเชิญของอาร์ตไดเร็กเตอร์คนนั้นเอง อาจารย์ มานพได้ออกแบบอักษรลอกขึ้นเป็นครั้งแรกให้กับบริษัท Mecanorma ประเทศฝรั่งเศส ในปี 2513 ซึ่งในยุคนั้น ตัวอักษรลอกยังไม่เป็นที่นิยมมากนักท�ำให้ตัวอักษรลอก ถูกใช้อยู่ในวงการโฆษณาเป็นหลัก
18
After his graduation at the college of Poh Chang in 1968, he had rejected to work as the governmental teacher in upcountry as the suggestion. He shortly mentioned that “I could not go to work there since I was attractive in the letter creation”. He subsequently transferred to work as an artist at Diethelm Advertising (Leo Bernett) which is the franchise of advertising company in Germany and designed the advertising for several brands of imported products. Logotype of many brands have been changed to Thai version to match with Thai context. “In the past, Diethelm company designed the advertising for many companies; Ovaltin, Kleenex, Kotex, Delsy.” I was fortunate to work in the branch of Diethelm Company since it is the imported advertising company, I have practiced with Art Director from Switzerland. Therefore, I can know how the foreigner worked as equals and can understand the working method of Thai people. He commented that hand-made letter for the headline has difficult process when compared with scraping letter in English version. He said that it has to spend much time to write, why you did not create with scraping letter. As his suggestion, he preliminary designed the transferred letter for Mecanorma, France in 1970. Although the transferred letter was not widely popularized but it was frequently used in the fields of advertising during that period.
“อาร์ตไดเร็กเตอร์คนนัน้ เข้าไปถามบริษทั สยามวาลาว่าท�ำไมไม่ทำ� ตัวหนังสือ ไทยออกมาใช้บา้ ง สยามวาลาก็บอกว่ามันลงทุนสูงมากและไม่แน่ใจว่าคนไทยจะใช้หรือ เปล่า เพราะในยุคนัน้ คนไทยยังนิยมเขียนด้วยมืออยู่ อีกอย่างคือหาคนเขียนแบบอักษรไม่ ได้ ในขณะเดียวกันสินค้าจากต่างประเทศก็เข้ามา แบรนด์ใหญ่ๆ ก็ตอ้ งการโลโก้ ต้องการ เฮดไลน์ด้วยกันทั้งนั้น เขาจึงบอกกับสยามวาลาว่าจะให้ผมเขียน และถ้าไม่มีคนซื้อ ทา งดีทแฮล์มจะรับซือ้ เอาไว้เอง” จากการตกลงกันระหว่างสยามวาลาและดีทแฮล์ม อาจารย์ มานพจึงเริม่ ออกแบบแบบอักษรโดยตัง้ ชือ่ ว่า มานพ ออกมาเรือ่ ยๆ รวมทัง้ สิน้ 23 แบบ อักษร มานพถูกน�ำมาใช้อย่างกว้างขวางไม่วา่ จะเป็นในบริษทั โฆษณา หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือป้ายชื่อถนนในกรุงเทพฯ และป้ายทางหลวง โดยเฉพาะตัวอักษรลอก แบบ มานพ 2, มานพ 9, มานพ 5 และมานพ 11 หนึง่ ในฟอนต์มานพ ทีถ่ กู พูดถึงในวงกว้างถึงรูปแบบอักษรทีส่ ดใหม่ พ้นไปจาก ความคุน้ ชินของคนในสมัยนัน้ คือ ‘มานพติกา้ ’ แบบอักษรพาดหัว (Headline) ทีไ่ ม่มหี วั ตัวอักษรตามทัศนคติของรูปแบบอักษรไทย แต่ยดึ แนวทางการออกแบบตามโครงสร้าง ของฟอนต์ Helvetica ซึง่ ใช้เวลาในการพัฒนาแบบตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2516-2525 “คนทีเ่ ห็น ฟอนต์มานพติกา้ (Manop-Tica) ก็วพิ ากษ์วจิ ารณ์กนั ว่าท�ำไมฟอนต์ภาษาไทยถึงเป็นอย่าง นี้ ท�ำไม ร.เรือ ถึงมีลกั ษณะของตัวอักษรเหมือนตัว S ในภาษาอังกฤษ ผมก็บอกว่าทีผ่ ม ท�ำก็เพือ่ ท�ำให้มนั เข้ากับชือ่ ของสินค้าทีใ่ ช้ Helvetica คนก็พดู กันว่ามันไม่ได้มาตรฐาน แต่ พอท�ำๆ ไปสักระยะหนึ่ง ฟอนต์มานพติก้า ก็เริ่มติดตลาด เอเจนซี่โฆษณาเริ่มให้ความ สนใจและหันมาใช้กนั เยอะขึน้ มานพติกา้ จึงกลายเป็นอักษรพาดหัวตัวแรกทีม่ โี ครงสร้าง ตัวอักษรเหมือนฟอนต์ลาติน และถูกออกแบบเป็นชุด มีตัวหนา ตัวบาง รวมทั้งหมด 4 น�้ำหนัก” “ตอนแรกโรงงานผลิตตัวอักษรลอกทีเ่ มืองนอกก็ยงั ไม่เชือ่ ใจว่าเราจะสามารถ เขียนอักษรตามมาตรฐานได้หรือเปล่า เลยให้ผมเขียนตัวอักษรแต่ละตัวขนาดสูง 6 นิ้ว แล้วก็เอาแว่นขยายมาส่องดูตามเส้นขอบว่าเขียนได้เนี้ยบหรือเปล่า เพราะเวลาผลิต ต้องผลิตเยอะเป็นหมื่นๆ แผ่น พอเขาเห็นว่าเราเขียนเนี้ยบ ตอนหลังเขาก็ให้ผมลดลง มาเหลือแค่ 3 นิ้ว และเวลาที่เราเขียนเสร็จแล้วก็ต้องทดลองเอาไปย่อขนาดดูนะครับ ว่าเมือ่ เวลาตัวอักษรขนาดเล็กลงแล้วมีปญ ั หาเรือ่ งหัวทีท่ บึ ตันหรือเปล่า” อาจารย์มานพ เล่าถึงกระบวนการออกแบบตัวอักษรทีเ่ ขียนขึน้ ด้วยลายมือเพือ่ ส่งไปท�ำเป็นอักษรลอกที่ ต่างประเทศ เมือ่ เปลีย่ นผ่านเข้าสูย่ คุ โฟโต้ไทป์เซตติง้ อาจารย์มานพก็ยงั พัฒนาฟอนต์เพือ่ ให้สามารถน�ำไปใช้กับเครื่องเหล่านั้นด้วย แต่เนื่องจากเครื่องพิมพ์ต้องลงทุนสูงท�ำให้ โฟโต้ไทป์เซตติ้งจึงไม่เป็นที่นิยมนักจนปี พ.ศ. 2532 บริษัทสหวิริยา ผู้แทนจ�ำหน่าย แอปเปิล คอมพิวเตอร์ ก็เริ่มน�ำเข้ามาขายในประเทศไทย “เครื่องนี้มันท�ำได้ทุกอย่าง นะ ออกแบบฟอนต์ก็ท�ำได้ อาร์ตเวิร์กก็ท�ำได้ ตอนนั้นผมก็อายุปาเข้าไป 50 แล้ว เคย จับแต่ปากการ็อตติง้ จับแต่พกู่ นั แล้วจะให้เปลีย่ นมาเป็นจับเมาส์ มันก็ยากอยูเ่ หมือนกัน ผมบอกกับทางสหวิรยิ าว่าผมเขียนให้ได้ แต่ผมดีไซน์บนคอมพิวเตอร์ไม่เป็น ทางสหวิรยิ า ก็เลยยกคอมพิวเตอร์เครือ่ งแรกมาให้ผม ตอนนัน้ ราคาประมาณ 145,000 บาท แพงมาก นะสมัยนัน้ แล้วก็สง่ เทรนเนอร์มาสอนการใช้โปรแกรมให้ผมในวันเสาร์-อาทิตย์ เพราะ ตอนนัน้ ผมท�ำงานประจ�ำอยูท่ ี่ Leo Burnett (ดีทแฮล์มร่วมกิจการกับ Leo Burnett) หลัง จากปี พ.ศ. 2532 ผมก็เลยไม่ได้ใช้ร็อตติ้ง ไม่ได้ใช้ปากกาอีกเลย ผมยังแปลกใจว่าผม จะไม่เขียนอะไรอีกแล้วเหรอเนี่ย แต่หันกลับมาจับเมาส์ จับคีย์บอร์ดแทน”
That art director visited Siamvala and questioned why don’t you design a Thai letter. Siamvala answered that the cost was very expensive and Thai people maybe not use it due to they preferred to write by hand and rarely found the writer. In a meanwhile, the arrival of imported products need to create the logo and headline for the top ten brands. The art director agreed with Siamvala and the Diethelm Company desire to buy my designed work if nobody bought it. For this reason, I designed the total 23 models of letters in the name of “Manop”. Manop model; transferred letter Manop 2, Manop 9, Manop 5 and Manop 11 have been widely used in the advertising companies, governmental offices, State Enterprises or signpost of roads in Bangkok. Manoptca is a well-known and modern font for headlines. Head of letters as the model in Thai alphabets have not shown in the model of Manoptica but it was designed as the structure of Helvetica that has been developed the model during 1973-1982. Manoptica Font has been commented to the lack of standard and characteristics of Thai font , for instance, the Thai letter “ร” has assimilated with English font “ S“. I informed that I designed to match with the name of Product that used Helvetica. Although people commented in the issue of standard but Font of Manoptica finally popularized especially in the advertising agencies. Manoptica was the first headline letter as the structure of Latin Font and was designed in the series of 4 weight levels, having both thick and thin letters. “The transferred letter manufacturing in overseas distrusted and checked the smooth of lines by the magnifying glass to accept the standard of each six inches letter and then printed in the term of mass production”. The art director subsequently requested only three inches letter, I worried about the problem of thick head of smaller letter. In addition, Manop said to the design process of hand-written letters before they have been produced as the characteristic of transferred letters in overseas. The arrival of phototype setting period resulted to the font development of Manop to match with those machines. Phototype setting machine has not popularized because of the high cost. The Apple Computer has been firstly sold through Sahaviriya Company, the agent in Thailand since 1989. Although this computer can design the font and artwork but I used to write by rotting pen and brush, it is difficult to use the mouse and design the letter through the computer. Sahaviriya Company subsequently delivered me the expensive computer in the price of 145,000 Baht and I was trained to use the program in every Saturday and Sunday while I was working at Leo Burnett (Diethelm Company cooperated with Leo Burnett). By this reason, I have progressed to use mouse and keyboard and have rarely used the rotting pen since 1989.
19
ในวัย 50 ปี อะไรท�ำให้อาจารย์มานพถึงมีความ กล้าที่จะเปลี่ยนแปลงและเรียนรู้กับสิ่งใหม่ๆ -เราถามถึง แรงบันดาลใจส�ำคัญ “ผมชอบเรื่องอิเล็กทรอนิกส์ สมัย ก่อนตอนเป็นนักเรียนอยู่ที่เพาะช่างก็จะอยู่ใกล้บ้านหม้อ ผมกับเพื่อนไปซื้อของมาประกอบเล่นกันเป็นประจ�ำ พอ เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาในขณะที่คนอื่นๆ ไม่ท�ำกันแล้ว เพราะมันฝืน แต่ผมรู้สึกว่าเราอย่าไปยึด เราต้องตาม เทคโนโลยีสมัยใหม่ให้ทนั ถ้าคิดว่าเท่านีก้ พ็ อแล้ว มันก็ได้ เท่านั้น แต่ถ้าเราอยากจะศึกษาอย่างอื่นอีก เราก็จะรู้สึก ว่าได้พัฒนาขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง ผมก็เลยได้เปรียบเพราะว่า เริ่มฝึกมาตั้งแต่ต้น จึงมีโอกาสได้ท�ำงานออกแบบฟอนต์ ให้กับบริษัทคอมพิวเตอร์อีกหลายบริษัท เช่น Computer Graphic ประเทศสหรัฐอเมริกา, Agfa Computer ประเทศ เยอรมัน, Epson, Lynotronic สหราชอาณาจักร และ Graphico ประเทศไทย” จาก Leo Burnett อาจารย์มานพเออรีร่ ไี ทร์มา ท�ำงานต่อที่บริษัทประกิต แอนด์ เอฟซีบี (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2537 “นอกจากได้ออกแบบตัวอักษรไทยแล้ว ผมยังได้ ออกแบบอักษรลาว เขมร เวียดนาม อีกด้วย เพราะบริษทั ประกิตในตอนนัน้ มีสาขาอยูใ่ นหลายๆ ประเทศ และต้องท�ำ ฉลากสินค้าแบรนด์ตา่ งๆ ไปจากเมืองไทย คุณประกิตเอง ก็ตดิ ต่อไปทางสถานทูตให้สง่ เจ้าหน้าทีม่ าช่วยสอน ช่วยดู เรือ่ งความสมบูรณ์ของภาษา ตอนอยูท่ นี่ นั่ ผมได้ทำ� งานกับ คนรุ่นใหม่ที่มีความคิดน่าสนใจ เราแลกเปลี่ยนความรู้กัน พวกเขาเรียนโปรแกรม Fontographer จากผม ในขณะ เดียวกันผมก็เรียนรูโ้ ปรแกรม Photoshop และ Illustrator จากพวกเขา เขาชอบเอางานดีไซน์แบบแปลกๆ มาให้ผม ดู ผมว่าก็ดีนะท�ำให้งานออกแบบมีอีกแขนงหนึ่งออกมา มันเป็นแนวความคิดของวัยรุ่น เราจะไปยึดตัวเองเป็น มาตรฐานไม่ได้ ยกตัวอย่าง อย่างเพลง เราจะบอกว่าเพลง ไทยเดิมเพราะกว่าเพลงสมัยใหม่กไ็ ม่ถกู เพราะว่ามันเป็น คนละแนวกัน เราไปติเขาไม่ได้หรอก” อาจารย์มานพเล่า ถึงประสบการณ์การท�ำงานครัง้ เมือ่ ท�ำงานอยูใ่ นต�ำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์กราฟิก ก่อนจะอนุญาตให้บริษทั เดียร์บกุ๊ (รูจ้ กั กันในชือ่ บริษทั DBFONTS) น�ำไปพัฒนาต่อ จนสามารถน�ำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ในระบบใหม่ได้ สะดวกมากยิ่งขึ้น “นึกย้อนกลับตอนที่มีคอมพิวเตอร์เข้า มา ถ้าผมไม่คดิ จะพัฒนาตัวเองขึน้ ไป บวกกับอายุทมี่ ากขึน้ ผมก็คงไม่รจู้ ะไปท�ำอะไร พอมาเรียนรู้ ฝึกฝนคอมพิวเตอร์ ผมก็จะสามารถออกแบบได้มาจนกระทัง่ เดีย๋ วนี”้ อาจารย์ มานพหัวเราะอย่างอารมณ์ดีทิ้งท้ายบทสนทนา
20
We questioned “What was his inspiration to change and study the modern things when he was fifty years?” He answered that “He was preferable in electronic since he studied in the College of Poh Chang near Ban Moh. Although nobody interested to create it but I and my friend have regularly bought many objects to invent as the current of new technologies and I got more advantage due to I have continuously practiced until I have a chance to design the font for several computer companies such as Computer Graphic, USA., Agfa Computer, Germany and Epson, Lynotronic, UK including Graphico, Thailand. Manop decided to get early retirement from Leo Burnett to work in Prakit FCB (Public) in 1994. I also designed the Lao, Khmer, Vietnamese letters, not only Thai letter because Prakit FCB (Public ) Company has many branches in several countries and various raffles of product brands have been designed from Thailand. Additionally, Khun Prakit requested the officer from the Embassy train me about the completeness of language. While I was working there, I appreciated working with all interesting idea of young designers. We have knowledge exchange through the study in Program Fontographer, Photoshop and Illustrator. The young designers preferred to show me his strange design which is the teenage style. I feel good to see the progression of design since I don’t think to fix my own identity as like the standard of design. For instance, we cannot decide that the oldstyle Thai song is more melodious than the modern song because of the different style of both songs. He mentioned to his working experience while he was performing as Head of Computer Graphic for Dear Book Company (well-known in the name of DBFONTS) has been permitted by him to progress the new system to easily use in the computer. “After the arrival of the computer, I did not desire to develop my design through the computer because of my older age. After I studied and practiced how to use the computer and can now design my work”. He joyfully laughed.
“เราจะบอกว่าเพลงไทยเดิม เพราะกว่าเพลงสมัยใหม่ก็ไม่ถูก เพราะว่ามันเป็นคนละแนวกัน เราไปติเขาไม่ได้หรอก”
“We cannot judge that an old-style Thai song is more melodious than the modern song because of the different styles of both songs.”
กรอบรูปบนฝาผนังบ้านพักย่านงามวงศ์วานของ ไทป์ดไี ซเนอร์ วัย 75 ปี ถูกประดับตกแต่งด้วยรูปครอบครัว ภาพถ่ายที่ระลึกที่มีผู้มอบให้ในวาระครบรอบ 50 ปี Helvetica ภาพถ่ายพอร์เทรตที่มีฉากหลังเป็นแบบอักษร ทีอ่ าจารย์มานพเป็นคนออกแบบ และอีกหลายภาพทีก่ ลาย เป็นประวัติศาสตร์ฉบับย่นย่อบันทึกความทรงจ�ำตลอด ชีวิตการท�ำงานของไทป์ดีไซเนอร์คนนี้ ขณะเดียวกันหน้า จอคอมพิวเตอร์บนโต๊ะท�ำงานก็มีแสงสว่างวาบขึ้นจาก โปรแกรม Illustrator ปรากฏตัวอักษรที่อาจารย์มานพ ออกแบบขึน้ มาโดยปราศจากจุดประสงค์ในแง่การท�ำก�ำไร แบบอักษรทีเ่ รียงรายอยูบ่ นหน้าจอนัน้ กลายเป็นเครือ่ งยืนยัน อันเป็นรูปธรรมว่า อาจารย์มานพ ศรีสมพร ไม่ได้มองเห็น ตัวอักษรเป็นเพียงงานหรืออาชีพ หากแต่มองว่าตัวอักษร เหล่านั้นคือ ‘ชีวิต’ ของเขา
Now he lives in his home at 75 years Thai designer at Ngam Vong Van have been decorated on the wall with the family photo and his portrait (souvenir in an occasion of 50th Year Anniversary of Helvetica) has his letter model on background. There are many memorable photos that can brief the past working record of this Type Designer. Increasingly, having flash light from Illustrator Program on screen of his computer and appeared his letter that he ideologically designed without any commercial objectives. All of these letters on that screen are the tangible guarantee that Manop Srisomporn intended to design all letters as his profession. It is assumed that those letters are a part of his life.
21
เกิดเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2481 ที่อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ประวัติการศึกษา ระดับอนุบาล โรงเรียนละเอียดด�ำรงค์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ระดับประถม โรงเรียนบุญนิธิ จังหวัดพะเยา ระดับมัธยม โรงเรียนพะเยาพิทยาคม อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ระดับ ปม.ช โรงเรียนเพาะช่าง กรุงเทพมหานคร ประวัติการท�ำงาน พ.ศ. 2511 เข้าท�ำงานในบริษัท ดีทแฮล์ม (แผนกโฆษณา) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น Leo Burnett พ.ศ. 2513 ออกแบบอักษรลอกเป็นครั้งแรก ให้กับบริษัท Mecanorma ประเทศฝรั่งเศส พ.ศ. 2516-2525 ช่วงเวลาพัฒนาแบบตัวอักษร จนกลายเป็น Manop-Tica และแบบอักษรมานพ ในเวอร์ชันต่างๆ พ.ศ. 2525-2530 เรียนรู้การใช้คอมพิวเตอร์และ ใช้โปรแกรม Fontographer เพื่อออกแบบฟอนต์ บนเครื่องคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2530-2536 ออกแบบฟอนต์ส�ำหรับบริษัท คอมพิวเตอร์หลายบริษัท เช่น Compu-Graphic, Agfa Computer, Epson, Lynotronic, Graphico เป็นต้น พ.ศ. 2537 ท�ำงานในต�ำแหน่งหัวหน้าฝ่าย คอมพิวเตอร์กราฟิก บริษัท ประกิต แอนด์ เอฟ ซีบี (มหาชน)
22
Birthdate : 30 November 1938 at Amphur Muang, Payao Background of education Kindergarten Level : Laietdamrong, Amphur Muang, Payao Primary Level: Boonnithi School, Payao Secondary Level: Payaopittayakom, Amphur Muang, Payao Diploma: The School of Poh Chang, Bangkok Background of Working 1968: worked in Diethelm Company (Adverising Department), then changed its name to Leo Burnett. 1970: firstly designed the copied alphabets at Mecanorma, France 1973-1982: developed the alphabet pattern towards Manop-Tica and many versions of alphabet patterns “Manop”. 1982-1987: studied the computer usage and used the program ”Fontographer to design the pattern of font on computer. 1987-1993: designed the pattern of font for many computer companies; Compu-Graphic, Agfa Computer, Epson, Lynotronic, Graphico. 1994: worked in the position of Head, Computer Graphic Division, Prakit and FCB (Public).
Designer of the Year Awards 2013 Furniture Design
Product Design and Jewelry Design
เดชา อรรจนานันท์ และ พลอยพรรณ ธีรชัย Decha Archjananun & Ploypan Theerachai ฐิติรัตน์ คัชมาตย์ Tithi kutchamuch
Jewelry Design
ฝนทิพย์ ตั้งวิริยะเมธ Fonthip Tangviriyamate
Graphic Design
ธีรนพ หวังศิลปคุณ Tnop Wangsillapakun
23
24
เดชา อรรจนานันท์ และ พลอยพรรณ ธีรชัย Decha Archjananun & Ploypan Theerachai Designer of the Year Awards 2013: Furniture Design
ในโลกของการออกแบบ เฟอร์นเิ จอร์ไม่ใช่เพียง เครื่องเรือนที่ท�ำให้ผู้ใช้สะดวกสบายเท่านั้น หากแต่ยัง แสดงออกถึงรสนิยมและรูปแบบการใช้ชีวิตของผู้ใช้งาน อีกด้วย หน้าที่ของดีไซเนอร์ผู้ออกแบบจึงไม่ได้ออกแบบ เพื่อประโยชน์ใช้สอยเพียงอย่างเดียว แต่ต้องน�ำเสนอ แนวความคิดอันแตกต่างสะท้อนใส่ลงไปในผลงาน โดย เฉพาะอย่างยิ่ง วงการนักออกแบบเฟอร์นิเจอร์ระดับโลก ที่แข่งขันกันอย่างดุเดือด เดชา อรรจนานันท์ และ พลอยพรรณ ธีรชัย แห่ง Thinkk Studio แบรนด์ออกแบบเฟอร์นเิ จอร์สญ ั ชาติ ไทย ทีแ่ หวกช่องว่างของการแข่งขันระดับโลกมาได้อย่างน่า ภูมใิ จ ผลงานทีท่ งั้ คูอ่ อกแบบอย่าง แจกัน Weight Vases ก็มบี ริษทั จากฝรัง่ เศสให้ความสนใจซือ้ หรือ โคมไฟ CONST ก็โดดเด่นเป็นทีจ่ บั ตามองของสือ่ ในงานแฟร์ระดับโลกอย่าง Milan Fair เลยทีเดียว ยังไม่นบั ผลงานอีกมากมายทีไ่ ด้รบั รางวัลและได้ไปจัดแสดงในงานแฟร์อีกหลายแห่งทั่วโลก ดูเหมือนว่า ‘ความแตกต่าง’ คือสิ่งส�ำคัญ ที่ดีไซเนอร์ทั้งสองมีอยู่ แต่กว่าจะน�ำความแตกต่างนี้ กลั่นกรองออกมาเป็นผลงานได้นั้นต้องท�ำอย่างไรบ้าง บรรทัดต่อจากนี้ไปคือค�ำตอบ
Furniture as an embodiment of design extends beyond being a comfortable item in the home. It is the expression of the person’s taste and lifestyle thus the designer must differentiate the offer in this environment of extreme and intense competition. Decha Archjananun and Ploypan Theerachai pioneered Thinkk Studio as a Thai brand proud to participate in the global arena. Having produced many successful pieces such as the Lamp “Const” and “Weighted Vases” that was received with much acclaim at the Milan Fair, that a French company proposed to buy them. Many of their works have received awards and have been chosen for exhibition in several fairs around the world. The key word is differentiation. However the critical element is to harmonize differentiation with function.
25
พวกคุณเริม่ ต้นสนใจในงานออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ได้อย่างไร เดชา: เราเริ่มต้นจากการท�ำอินทีเรียดีไซน์มา ก่อน ประกอบกับเราสองคนมีความชอบเรือ่ งเฟอร์นเิ จอร์ และโปรดักต์ ดีไซน์เป็นทุนเดิมอยูแ่ ล้ว พอท�ำไปได้สกั ระยะ ก็มโี อกาสเลือกใช้เฟอร์นเิ จอร์ให้เหมาะกับโปรเจกต์ของเรา เอง เราพบว่าเฟอร์นเิ จอร์ทเี่ ราชอบส่วนใหญ่เป็นของมาจาก แบรนด์ตา่ งประเทศทีม่ รี าคาค่อนข้างสูง ซึง่ ในขณะเดียวกัน เราทราบมาว่าผูผ้ ลิตในไทยก็มศี กั ยภาพและทักษะทีด่ พี อจะ ผลิตสินค้าให้กับแบรนด์ต่างประเทศเหล่านั้นอยู่แล้ว แต่ กลับไม่ค่อยมีผลงานที่ออกแบบโดยดีไซเนอร์คนไทย จึง เป็นแรงบันดาลใจให้เราคิดออกแบบเฟอร์นิเจอร์ให้กับผู้ ผลิตในเมืองไทย พลอยพรรณ: คือเรามองเห็นศักยภาพว่าจริงๆ แล้วเมืองไทยมีโรงงานผลิตเฟอร์นเิ จอร์เยอะ คิดว่าน่าจะดี ถ้าเราได้เข้ามาท�ำงานในจุดนี้ และเป็นการเพิ่มทางเลือก ให้ผู้ใช้งานเฟอร์นิเจอร์มากขึ้น ซึ่งปกติมักจะใช้ดีไซน์จาก ต่างประเทศ เดชา: ช่วงแรกเราเรียนรูก้ ารท�ำงานเฟอร์นเิ จอร์ จากการเข้าไปฟังบรรยายและไปเวิรก์ ช็อปกับผูเ้ ชีย่ วชาญ ต่างๆ รวมทั้งการประกวดทั้งในและต่างประเทศ จนเรา รู้สึกว่าพร้อมแล้ว เริ่มมีผลงานกับผู้ผลิตจริงๆ และงาน บางส่วนก็ได้รับรางวัลบ้าง จนรู้สึกว่าเราชอบทางด้านนี้ จริงๆ และอยากจะศึกษาต่อทางด้านนีม้ ากขึน้ เรือ่ ยๆ ก็เลย ตัดสินใจแยกกันไปเรียนต่อ ทางพลอยไปเรียนต่อด้านสเปซ และเฟอร์นเิ จอร์ดไี ซน์ทสี่ วีเดน ส่วนเราไปเรียนต่อทางด้าน โปรดักต์ ดีไซน์ทสี่ วิตเซอร์แลนด์ หลังจากทีก่ ลับมาแล้ว จึง ท�ำงานออกแบบให้กบั แบรนด์ไทยและต่างประเทศเต็มตัว
26
How did you first get interested in furniture design? Decha: We started in interior design so it was a natural progression for us to get into furniture and product design. On many of our projects we had to select furniture to accompany the interior. We worked with many global names and found that in reality Thai manufacturers had the skill to create these quality products as well. However, Thai designers in the field is still a rarity so we seized this opportunity to use our work to inspire Thai manufacturing. Ploypan: We saw that there was a lot of potential for Thai designers instead of us buying only imports. So we decided to provide our products as a choice for consumers. Decha: To gain additional knowledge we attended workshops and lectures on furniture design. Soon we started competing for awards and winning, we knew we had items we really could manufacture. This made us want to learn more about furniture design. Ploypan studied Space and Furniture Design in Sweden while I studied Product Design in Switzerland. By the time we both finished we had worked for both Thai and foreign brands.
“เราจะให้คุณค่ากับกระบวนการทางความคิด การวิเคราะห์ โดยองค์ประกอบหลักๆ ในการท�ำงานคือ การมองถึงพฤติกรรมหรือกิจวัตรประจ�ำวันที่บางทีเรา อาจมองข้ามไป”
แนวคิดหลักๆ ที่ใช้ในการออกแบบคืออะไร พลอยพรรณ: ในปัจจุบันนี้เฟอร์นิเจอร์ที่มีการออกแบบในท้องตลาดทั่วไปมี เยอะมาก และมีการออกแบบที่ดีอยู่บางส่วน เราคิดว่าจะท�ำอย่างไร ในการออกแบบ เฟอร์นิเจอร์ขึ้นมาชิ้นหนึ่งให้เกิดความแตกต่างจากสิ่งที่มีอยู่แล้ว เดชา: เราก็เลยมองว่า เราน่าจะให้คุณค่ากับกระบวนการความคิด การ วิเคราะห์ โดยที่เราจะมีองค์ประกอบหลักๆ ในการท�ำงาน คือจะมองถึงพฤติกรรมหรือ กิจวัตรประจ�ำวันที่บางทีเรามองข้ามไป พลอยพรรณ: ซึง่ บางครัง้ การทีเ่ ราคิดถึงมัน ก็อาจจะน�ำมาใช้ตอบโจทย์อะไร ใหม่ๆ ให้กับพฤติกรรมของคนในปัจจุบัน เดชา: อีกส่วนคือประสบการณ์ชวี ติ ของเราตัง้ แต่วยั เด็ก บางทีอาจจะมีคณ ุ ค่า บางอย่าง ทัง้ ความทรงจ�ำและความสนุกในช่วงเวลานัน้ ซึง่ เราน�ำมันกลับมาใช้ในผลงาน อีกรูปแบบหนึ่งที่คนรับรู้ เวลาที่คนเห็นของก็อาจจะรู้สึกเชื่อมโยงถึงกันได้ พลอยพรรณ: อีกส่วนหนึง่ ก็จะเป็นเรือ่ งพืน้ ฐานทางวัฒนธรรมของเราเอง นัน่ คือ การน�ำต้นทุนทางวัฒนธรรมมาใช้ อย่างการเข้าดีเทลไม้แบบเก่า ซึง่ สามารถสร้างเอกลักษณ์ และคาแรกเตอร์ของเฟอร์นิเจอร์ขึ้นมาได้ ตัวอย่างผลงานที่ชื่อว่า Scrap Facet ได้รับ รางวัล Furniture Design Award 2010 ที่สิงคโปร์ โดยมี นาโอโตะ ฟูกาซาว่า เป็น กรรมการตัดสินรางวัลด้วย เป็นการน�ำไม้เก่ามาใช้ เพือ่ ให้เกิดคุณค่าทางความรูส้ กึ ของ เก้าอี้ตัวใหม่ทุกๆ ตัวที่ผลิตขึ้นมา ท�ำให้เกิดความไม่ซ�้ำกัน
What is the main design concept? Ploypan: There are many outstanding works around so the main question is how to break the mould of existing patterns. Decha: We concentrate on adding value on the principle elements of design in our work process without losing sight of the functionality and behavior of people in their daily activities. Ploypan: If we can recognize the human behavior in their daily activities, we will be able to innovate different forms in our furniture. Decha: We also draw from our own childhood memories for our designs. I think it is something that our buyers can certainly relate to. Ploypan: Culture is also very important for our designs for instance the pattern of wood that can create identity and character for the furniture. “Scrap Facet” is one of our works that won the Furniture Design Award 2012 in Singapore, where Naoto Fukasawa was one of the judges. Its charm was in creating value by incorporating old wood to create a modern chair with a traditional feel.
“We desire to build the value in our thinking process, the analysis through the principle elements in working to regard the behavior or daily activities that we perhaps overlook”
27
คิดว่าอะไรคือข้อดีของการน�ำต้นทุนหรือภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรมมาใช้ในผลงาน พลอยพรรณ: เราจะเอามาใช้ในแง่ทพี่ อสือ่ ออก ไปในสากลแล้วเข้าใจได้ ไม่ใช่แค่ว่าเป็นงานที่เฉพาะคน ไทยเท่านั้นที่เข้าใจ คิดว่าการน�ำมาใช้ก็เป็นก�ำไรอยู่แล้ว เพราะเป็นการสร้างความแตกต่างจากของทัว่ ๆ ไป แต่เรา จะวิเคราะห์ถงึ เวลาทีเ่ ขามองมา เขาจะต้องเข้าใจถึงฟังก์ชนั การใช้งานด้วย ไม่ใช่แค่เรือ่ งความงามอย่างเดียว ไม่ใช่แค่ น�ำองค์ประกอบหรือลวดลายไทยมาปัก เราจะวิเคราะห์ถงึ ประโยชน์การใช้สอยด้วย ตัวอย่างผลงานที่ชื่อว่า ARMS Chair เราใช้สถาปัตยกรรมแบบเอเชียอย่างการขัดไม้ มา ดัดแปลงโครงสร้างให้เป็นโครงสร้างของเก้าอี้ หรือผลงาน ทีช่ อื่ ว่า Cover Crop เป็นผลงานจากทีเ่ ข้าเวิรก์ ช็อปกับกรม ส่งเสริมการส่งออกและท�ำให้คนรูจ้ กั Thinkk Studio รวม ถึงได้รบั รางวัล Elle Decoration Thailand Design Awards 2009-2010 มีการใช้ลายสานไทยๆ ของฝาชีมาสาน เพือ่ ให้มีความโปร่ง น�้ำหนัก แสง เงา และกลมกลืนไปกับ ธรรมชาติ เดชา: สังเกตว่าผลงานของเราหลายๆ ชิน้ จะใช้ ต้นทุนทางวัฒนธรรมของเราค่อนข้างเยอะ แต่ปริมาณทีเ่ อา มาใช้ จะค�ำนึงถึงความเหมาะสมทีค่ นทีเ่ ห็นผลงานแล้วจะ เข้าใจ เราสนับสนุนให้นกั ออกแบบไทยน�ำภูมปิ ญ ั ญาเหล่า นี้มาใช้ ซึ่งถ้าน�ำมาใช้เพียงอย่างเดียว จะเป็นการอนุรักษ์ สิ่งเหล่านั้นให้อยู่กับที่ แต่ถ้าเราน�ำมาบวกกับความคิด สร้างสรรค์หรือวิธกี ารท�ำงานในรูปแบบอืน่ ๆ อาจจะพัฒนา ไปในอีกรูปแบบหนึ่ง หรือพลิกแพลงให้เกิดโปรดักต์ชิ้น ใหม่ๆ ได้ ท�ำให้ทักษะไม่หยุดนิ่งอยู่กับที่ สามารถพัฒนา ต่อไปเรือ่ ยๆ และตอบสนองพฤติกรรมของคนในยุคปัจจุบนั ได้ด้วย
28
What is the advantage of incorporating cultural elements into your design? Ploypan: Our products appeal to a much wider audience than just Thai people. Our reused design is profitable because it differs from other products. We created it for the function and usefulness of usage. It is not just an application of the element of embroidering with Thai traditional patterns. For instance, the work titled “ARMS Chair” applied the structure of chair in the pattern of Asian architecture. The work titled “Cover Crop” from the workshop with the Department of Export Promotion that got Elle Decoration Thailand Design Awards 2009 – 2010 and it resulted to the reputation of Thinkk Studio. This awarded work was harmoniously designed with Thai weaving pattern of well-spaced, balance with lighting and shadow including the natural harmony. Decha: We design our works with a touch of culture but it is also important to understand how this will be received by the consumers. I would like to encourage designs to use culture to serve the dual purpose of conservation and innovation. This would help them to improve their skills and better serve the needs of the buyers today.
แล้วชาวต่างชาติให้การยอมรับหรือมีปฏิกริ ยิ าอย่างไร ต่อ ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่พวกคุณใส่ลงไปในผลงาน เดชา: เขาไม่ได้รลู้ กึ ถึงทีม่ าทีไ่ ปของความเป็น ไทยว่ามากมายขนาดไหน แต่สงิ่ ทีเ่ ขารับรูไ้ ด้คอื ความแตก ต่าง และถ้าเขารู้ลึกลงไปอีกว่าความแตกต่างเหล่านั้นมา จากพื้นฐานของวัฒนธรรมเรา เขาก็จะยิ่งให้ความสนใจ มากยิ่งขึ้น พลอยพรรณ: เพราะฉะนัน้ รูปแบบการน�ำเสนอ เราจึงอยากให้เป็นสากล โดยน�ำเสนอในสิง่ ทีค่ นทัว่ โลกมอง เห็นแล้วเข้าใจได้ ไม่เพียงเฉพาะคนไทยเท่านั้นที่เข้าใจ เวลาที่พวกคุณท�ำงานร่วมกัน มีกระบวนการคิดร่วมกัน อย่างไร พลอยพรรณ: บางทีเราก็มจี ดุ เริม่ ต้นมาคนละ ที่ แต่เวลาที่ต่างคนต่างมีไอเดียมาก็จะมาคุยกันก่อน ว่า อย่างไหนมีความเป็นไปได้มากกว่า เดชา: สมมติโปรเจกต์หนึ่ง เรามีแรงบันดาล ใจ 5 อย่างที่จะท�ำเก้าอี้สักตัวหนึ่ง แต่ไม่ใช่ว่าทั้ง 5 แรง บันดาลใจนัน้ จะสามารถผลักดันไปจนถึงกระบวนการผลิต สุดท้ายได้ เราก็จะมานัง่ คิดวิเคราะห์กนั ว่าสิง่ ไหนดีทสี่ ดุ ที่ เราจะน�ำมาใช้ รวมทั้งวิธีการหรือกระบวนการผลิตในรูป แบบใดที่จะเหมาะสมกับวัสดุ พลอยพรรณ: บางครัง้ ในช่วงการท�ำการทดลอง ผลิต เราอาจจะเจอไอเดียใหม่ๆ ที่น�ำมาใช้ต่อยอดได้ ซึ่ง บางครั้งอาจจะไม่ค่อยเหมือนที่คิดไว้ในตอนแรกก็เป็นได้
How has the foreign market responded to your designs? Decha: Foreigners all know about the long heritage of Thai culture and they certainly give value when they realize that the work is embedded in cultural identity. Ploypan: However, the presentation must be world class so that it will not only be appreciated by Thais but everyone around the world. How do you work together on the design process? Ploypan: Usually there are different ways to start on a piece. We originate our ideas individually and come together to discuss which ones have the best potential. Decha: Once we had five different ideas on how to design a chair but it could not be manufactured. We had to come back to think it through and work out the best solution for the best option we got. Ploypan: In the actual work process there is a period of experimentation. We usually find a lot of new ideas during the manufacturing process itself.
29
30
THINKK STUDIO 7/8 Yenakard Road, Chongnonsri, Yannawa, Bangkok 10120 Tel. 662 671 9317 Email: thinkkstudio@yahoo.com Web site: www.thinkk-studio.com
ในมุมมองของพวกคุณทั้งสองคน คิดว่านักออกแบบ เฟอร์นิเจอร์ที่ดีควรเป็นอย่างไร เดชา: นักออกแบบที่ดีต้องเคารพในผลงาน ของตัวเราเองก่อน และเคารพในผลงานของคนอื่น ด้วย นอกจากนั้นคือให้ความส�ำคัญกับทุกๆ หน้าที่ ทุกๆ กระบวนการในการท�ำงาน เราต้องประนีประนอมกับทุก ฝ่าย และให้ความเคารพในความคิดของแต่ละคน อย่างช่าง เองก็อาจจะมีเทคนิคหรือทักษะทีเ่ ราไม่รู้ เขาก็ให้ขอ้ แนะน�ำ ดีๆ กับเรา ผูผ้ ลิตก็อาจจะมีขอ้ มูลในเชิงการตลาดบางอย่าง ทีเ่ ราไม่รู้ ส่วนเราก็จะมีความถนัดในการออกแบบ ถ้าต่าง คนต่างประนีประนอมซึง่ กันและกัน จะท�ำให้ภาพรวมของ งานทั้งหมดตอบโจทย์ให้กับทุกๆ ฝ่ายได้ และอีกสิ่งหนึ่ง ที่มองเห็น คือดีไซเนอร์ที่เราชอบหลายๆ คนในตอนนี้เขา มีความสม�่ำเสมอในผลงานที่ท�ำ แม้ว่าจะใช้เวลายาวนาน มากแค่ไหน มีผลงานมากมายแค่ไหนก็ตาม เขาจะควบคุม ระดับคุณภาพผลงานของเขาให้เป็นเส้นตรงได้ พลอยพรรณ: ส่วนใหญ่เราจะเปิดกว้างในการ รับฟังและตีโจทย์ ตอนท�ำงานก็จะมุง่ มัน่ ให้ความส�ำคัญกับ การท�ำงานมาก คืออยากให้ผลงานทีอ่ อกมาพูดแทนเรา น�ำ เสนอความตัง้ ใจหรือความคิดในนัน้ ออกมาได้เอง โดยทีเ่ รา ไม่ต้องอธิบายอะไรมาก
In your view how do you provide advice in being the best furniture designer? Decha: The best designers need to have faith in their works and others as well. Additionally, they must give an importance to every function and process in the work, compromising with all factions. A designer must listen to the manufacturer as well because they have the skill in the actual production. It is important to take all the views together and work out the best solution together. This is why team work is important. It is also important for designers despite their tight schedules to maintain the quality of their work. Ploypan: It is important to have a desire to share our ideas to the work. It is through our designs that we express our intentions and concepts to the world.
31
32
ฐิติรัตน์ คัชมาตย์ | Tithi kutchamuch Designer of the Year Awards 2013: Product Design and Jewelry Design
ในแวดวงธุรกิจด้านการออกแบบ มีสินค้า มากมายนับพันนับหมืน่ แบบ บ้างก็ตอบโจทย์ดา้ นการใช้งาน บ้างก็ตอบโจทย์ด้านศิลปะและความสวยงาม ซึ่งล้วนแล้ว แต่มีจุดประสงค์เดียวกันคือตอบสนองผลประโยชน์ในแง่ ธุรกิจ หรือเพื่อสร้างยอดขายให้มากเข้าไว้ มีนกั ออกแบบอยูน่ อ้ ยคนนัก ทีจ่ ะตัง้ ค�ำถามว่า สินค้าชิ้นนั้นๆ ได้สร้างหรือให้อะไรกับโลกใบนี้ ด้วยเรื่อง ราวอันมีเหตุผลรองรับ ซึ่ง ฐิติรัตน์ คัชมาตย์ ดีไซเนอร์ เจ้าของแบรนด์ Tithi Kutchamuch เลือกทีจ่ ะตอบค�ำถาม เหล่านี้ผ่านการออกแบบ ผลงานอย่าง My Sweets ที่ตั้ง ค�ำถามว่าการออกแบบท�ำให้ยอดขายเพิม่ มากขึน้ แต่กลับ ท�ำให้ปริมาณของสินค้าลดน้อยลงหรือไม่ ซึง่ ได้รบั รางวัล Pyramid Awards ของ Deutsche Bank ประเทศเยอรมัน ก็เป็นเครือ่ งยืนยันว่าแนวคิดนี้ได้รบั การตอบสนองเช่นกัน แนวทางการออกแบบทีแ่ ตกต่างและมาพร้อมกับ การตัง้ ค�ำถาม ท�ำให้ผลงานของแบรนด์ Tithi Kutchamuch ชัดเจนในเรือ่ ง Conceptual มาก ลองไปตัง้ ค�ำถามอีกครัง้ กับแนวคิดของเธอผ่านบทสัมภาษณ์ชิ้นนี้
There are innumerable products that use design as a critical part of brandind. Some products can respond to the need of utility or art or beauty, however, all of them have same commercial objectives to gain more profit and expanding the target market. Some designers wonder about the value of design in products for usage in reality. For this reason, Tithi Kutchamuch, designer and brand creator said that the answer is in her work. For instance, the work titled ”My Sweets” questioned that“ Can the design increase more fruitfulness but also decrease the quantity of products ?” . This work got Pyramid Awards of Deutsche Bank, Germany which guaranteed to be interacted this concept. Several trends of design and questions have highly resulted in the concept of the Brand “Tithi Kutchamuch”. Try to revisit with her design concept through this interview.
33
การสร้างผลงานด้วยการตั้งค�ำถามของคุณ เกิดขึ้นได้ อย่างไร เราจบปริญญาตรีจากคณะศิลปะอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ระหว่างเรียนก็ท�ำงานประกวดไปด้วย ได้รางวัลมาบ้าง พอท�ำโปรเจกต์กบั กรมส่งเสริมการส่งออก ก็ได้รางวัลไป ดูงานที่เยอรมัน ฝรั่งเศส และอีกหลายๆ ที่ หลังจากจบก็ ท�ำงานประมาณสองปี ท�ำงานประจ�ำด้วย ฟรีแลนซ์ด้วย ที่บริษัทจะมีงานออกแบบผลิตภัณฑ์ปีละสองครั้ง กลางปี รูปทรงหนึ่ง ปลายปีรูปทรงหนึ่ง บางทีก็รูปทรงเดิม แต่ เปลี่ยนสี พอถึงจุดหนึ่งเริ่มอิ่มตัว จึงมาถามตัวเองว่า จะ ออกแบบอย่างนี้ไปถึงเมื่อไร จริงๆ แล้วการออกแบบคือ อะไร เป็นการกระตุน้ ให้คนซือ้ ของมากขึน้ โดยทีเ่ ราเปลีย่ น รูปทรงไปเรือ่ ยๆ แบบนีห้ รือ และสงสัยว่าของบนโลกนีก้ ม็ ี อยู่มากมายหลายล้านแบบอยู่แล้ว ท�ำไมยังต้องออกแบบ เพื่อกระตุ้นให้คนอยากซื้อของเพิ่มมากขึ้นอีก จึงตัดสินใจไปเรียนต่อที่ RCA (Royal College of Art) ทีอ่ งั กฤษ หลังจากจบมา ความคิดเรือ่ งการออกแบบ ก็เปลีย่ นไปมาก เพราะมีคนสนใจด้านการออกแบบจากทัว่ โลกมารวมกัน ได้แลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับเพือ่ น อาจารย์ ทีเ่ ป็นนักออกแบบระดับโลก เป็นไอคอนของวงการออกแบบ ก่อนหน้านีต้ อนอยูไ่ ทย ได้เห็นงานออกแบบ ก็เห็นแต่ปลาย ทาง ไม่ทราบถึงทีม่ าว่าเป็นอย่างไร อยูท่ ี่ RCA เราสนใจการ ออกแบบในแนว Conceptual ทีเ่ น้นเรือ่ งอารมณ์ความรูส้ กึ ทุกครัง้ ทีจ่ ะท�ำการออกแบบ จะถามตัวเองก่อนว่า มันควร จะมีขนึ้ ไหม สร้างอะไรให้กบั โลกนีไ้ หม เหมือนเป็นการใส่ เมสเสจลงไป ตอนแรกก็ไม่รวู้ า่ แนวความคิดนีถ้ กู ไหม แต่ การออกแบบก็ไม่มถี กู ผิด จนมาท�ำโปรเจกต์ My Sweets แล้วได้รางวัล ก็เลยเกิดความมัน่ ใจว่า อย่างน้อยก็มคี นกลุม่ หนึง่ ทีใ่ ห้การยอมรับและเข้าใจในเมสเสจทีเ่ ราต้องการสือ่ ออกไป และท�ำให้เราเชื่อมั่นว่าแนวทางที่เราวางไว้เป็น ไปได้
34
How do you design through your questioning process? I graduated from the Faculty of Industrial Design, King Mongkut Institute of Technology Ladkrabang. During my studies, I got many awards from the competition or presented the project to The Department of Export Promotion and got the scholarship to visit study in Germany and France. After my graduation, I worked as freelance designer and product design in the company for 2 years. I designed the product for two times per year; some patterns in midyear and other patterns in the end of year or changing the color when the products are saturated. By this reason, I questioned how long I have to design in this style, What is the design ? It is the stimulus through the different patterns of design to be consumed by the clients. It is doubt why the designer has to create to stimulus the need of consumers even though there are many different things in the earth. I decided to study at RCA (Royal College of Art).England. After my graduation, I changed my concept of design since many icons in the field of design; colleagues, instructors as world designer who interested in design have jointly exchanged their viewpoints. When I stayed in Thailand, I thought of it as the only the destination of design but I have never known how it originated. While I studied in RCA, I was attractive in conceptual design, reflecting to the emotion and feeling. Before I designed, I asked myself to the value and usefulness as like presenting the message in my design. Firstly, I cannot decide the status of my concept, however, It is not right and wrong in design. When I worked in the project “My Sweets”, I have more confidence since my message was accepted and perceived by some group, thus, I expected that my concept can possible to be successful.
“ทุกครั้งที่จะท�ำการออกแบบ จะถาม ตัวเองก่อนว่า มันควรจะมีขึ้นไหม สร้างอะไรให้กับโลกนี้ไหม”
“Before I designed, I asked myself to the value and usefulness”
แนวทางที่ว่ามีรูปแบบเป็นอย่างไร โดยส่วนตัวเชือ่ ว่า ของบนโลกนีม้ เี ยอะมากแล้ว เก้าอีม้ เี ป็นหมืน่ แบบ ไปเดินซูเปอร์มาร์เก็ตก็มกี ะละมังเจ็ด แบบเจ็ดสี มันเยอะมาก ในฐานะนักออกแบบก็ถามตัวเอง ว่า แล้วจะออกแบบไปเพื่ออะไร ซึ่งถ้าเป็นผลิตภัณฑ์ของ ตัวเอง จะมองไปในเรือ่ งความรูส้ กึ อารมณ์ สิง่ ทีเ่ ราอยาก ถ่ายทอดไปในสิง่ ของนัน้ ๆ มากกว่าทีจ่ ะไปเน้นเรือ่ งอืน่ ๆ คือ เป็นความเชือ่ ในการแปลความหมายทางด้านการออกแบบ ว่าของหนึ่งชิ้นต้องมีที่มา ซึ่งเราคิดว่ามันส�ำคัญมาก อย่างผลงานทีช่ อื่ ว่า A Secret Friend เป็นงาน ที่ท�ำหลังจากเรียนจบแล้ว ตอนนั้นกลับมาเมืองไทย คุณ แม่ก็บอกว่าสุนัขที่บ้านตาย รู้สึกเสียใจมาก เพราะเราพา เขามาด้วยไม่ได้ เป็นแรงบันดาลใจให้ออกแบบผลงานเป็น Sculpture คือจะมีสว่ นหัวทีเ่ ป็นแหวนและอีกส่วนหนึง่ เป็น ตัว แล้วพอเราถอดหัวหรือแหวนออกไป ก็จะเป็นเหมือน เวลาเราไปไหนก็ตาม ส่วนหนึง่ ของเขาก็จะติดตัวไว้กบั เรา ด้วย ส่วนทีเ่ ป็นตัว เวลาทีถ่ อดหัวไปก็จะไม่สมบูรณ์ เหมือน ขาดอะไรไป และเมือ่ วันหนึง่ เรากลับบ้าน ก็นำ� ชิน้ ส่วนหัวมา ใส่ไว้เหมือนเดิม จึงจะกลายเป็น Sculpture ทีส่ มบูรณ์แบบ เป็นการน�ำเรื่องราวในชีวิตมาสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์ ขึ้นมา
What is the direction you use for your concept development? I believed that there are many patterns of design in the world, for example, many styles of chairs, basins on seven shades of colors in supermarket. As the designer, what purpose of creation, I mostly reflect to the emotion and feeling in my product design more than other issues due to I give importance in transmission through my design to inform the source of product. The work titled “A Secret Friend” was designed while I stayed in Thailand after my graduation. I feel very sad when my mother told me about the death of my dog. It is an inspiration of my sculptural design in the figure of ring on the head that can separated from the body. I can keep the ring with us but the body is not physically. When I returned home and put on the head, the perfect of sculpture will be happened. This concept is inserted the real story in my life through the product.
35
กระบวนการท�ำงานของคุณมีขั้นตอนอย่างไร เนื่ อ งจากจบมาจากการเป็ น นั ก ออกแบบ ผลิตภัณฑ์ เพราะฉะนั้นวิธีการเริ่มคิดจึงไม่ได้พัฒนาจาก วิธกี ารท�ำ หรือเริม่ มาจากเทคนิค ว่าเราเก่งเรือ่ งการหล่อ การฉลุ หรือการขึ้นรูปแบบไหน แต่เราจะพัฒนามาจาก ความคิดและประสบการณ์ เราต้องการที่จะสื่อสารอะไร ลงไป ต่อจากนั้นก็จะมาดูว่า เทคนิคอะไรจะเป็นสื่อที่ท�ำ ผลงานออกมาได้ งานนี้อาจจะเป็นการหล่อ งานเลเซอร์ อย่างงานมุกนี่ต้องขึ้นมือเท่านั้น เพราะมุกแต่ละเม็ดมา จากธรรมชาติขนาดไม่เท่ากัน ดังนั้นเรื่องขั้นตอนการท�ำ จึงไม่ใช่ปัจจัยแรกในการคิด แต่ว่าเป็นปัจจัยที่ท�ำให้งาน ส�ำเร็จออกมามากกว่า
36
How do you define the process of your design? As a product designer, my concept is not developed from any methods or techniques; casting, engraving or molding. Actually, I progressed from the idea and direct experience that I desire to communicate and then selected the technique; casting or laser to interact through the design. I especially selected the technique of handmade decoration with the pearl by the reason that each piece of natural pearl has not equal size. Therefore, the process of production is not the main factor in thinking but the success of production is the necessary factor.
คุณมีการน�ำต้นทุนทางวัฒนธรรมตะวันออกมาใช้ใน รูปแบบไหน จะเห็นได้วา่ ตอนนีส้ นิ ค้าในท้องตลาดมีปริมาณ ค่อนข้างมาก ระบบการสือ่ สารและโลกออนไลน์ บางครัง้ ก็ ท�ำให้ความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละชนชาติลดน้อยลง อย่าง เวลาเราเห็นของวางอยู่ชิ้นหนึ่ง เราไม่รู้หรอกว่าของชิ้นนี้ มาจากที่ไหน ยกเว้นที่ใช้เทคนิคโบราณมากๆ เช่น รอย ปิดทอง ก็ท�ำให้พอทราบว่ามาจากที่ไหน แต่โดยส่วนตัว แล้ว งานของเราจะเริ่มมาจากความเป็นนามธรรม ไม่ได้ ออกมาในเชิงเทคนิคหรือวัสดุ แต่ออกมาในแง่ความคิด ความรู้สึกที่ถูกหล่อหลอมด้วยความเป็นไทยมาตั้งแต่เด็ก จากในครอบครัว ท�ำให้เรามีความคิดและมุมมองทีแ่ ตกต่าง ไปจากชนชาติอื่นๆ
What forms of Eastern art do you apply as cultural inspiration to design? Nowadays, there are many products flooding in the market. The mass media and online connections have resulted in the reduction of national identity. We cannot know the source of origin when we see a piece of product if it did not present the ancient technique such as collaged with golden leaves. My work has normally designed from the viewpoint of abstraction, not any techniques or objects. My concept and viewpoint differed from other nations since my feeling was a pride in the inheritance of Thai identity since my childhood.
การที่ไปเรียนและใช้ชีวิตในต่างประเทศ คิดว่าส่งผล กระทบต่อความเป็นไทยในงานไหม การได้มโี อกาสไปใช้ชวี ติ ในต่างประเทศ ไม่ได้ ท�ำให้ความเป็นไทยลดน้อยลง แต่ท�ำให้มองเห็นความเป็น ไทยชัดเจนขึน้ ยิง่ ได้ทอ่ งเทีย่ วมาก อยูต่ า่ งประเทศมาก ก็ ยิง่ เห็นชัดขึน้ มีงานชิน้ หนึง่ ทีช่ อื่ ว่า Ordinary Mould เป็น แม่พมิ พ์เค้กทีพ่ อท�ำเป็นเค้กออกมา จะมีลกั ษณะทีข่ า้ งนอก คล้ายๆ โดนัท ดูรูปลักษณ์แล้วไม่เห็นความเป็นไทยเลย เหมือนเป็นวัฒนธรรมของต่างชาติด้วยซ�้ำ แต่พอหั่นเค้ก ออกมาเป็นชิ้นๆ จะเห็นเป็นรูปหัวใจ เหมือนการแจกจ่าย ความรักให้คนรอบๆ ตัว เพราะฉะนั้นความเป็นไทยก็ยัง มีอยู่
Has living overseas affected your expression of Thai identity? Although I lived in overseas but my Thai identity has not reduced On the other hand, I can increasingly realize to Thai identity because of the journey and life experience. Obviously, the work titled ”Ordinary Mould” is the mold of cake like the doughnut of western culture but we can view the heart of Thai identity when it was cut, it refers to the love that is delivered to people all around.
37
38
TITHI KATCHAMUCH Tel. +66 8 5946 5669 Email: info@tithi.info Web site: www.tithi.info
คิดว่าการเป็นนักออกแบบต้องมีแนวทางชัดเจนไหม ถ้าอยากมีตวั ตนในวงการออกแบบต้องมีแนวทางเป็นของตัวเองชัดเจน เช่น ถ้าเราเป็นหมอศัลยกรรมจมูกทีเ่ ก่ง คนทีอ่ ยากท�ำศัลยกรรมจมูกก็จะมาหาเรา ไม่วา่ จะท�ำ อะไร ต้องเชือ่ มัน่ ในสิง่ ทีต่ วั เองท�ำว่าถูกต้อง ไม่ไหวไปตามกระแส คนไทยชอบเป็นโรคฮิต ตามๆ กัน ส่วนหนึง่ คือขาดความเชือ่ มัน่ ไม่มจี ดุ ยืนในตัวเอง พอใครว่าอะไรดี ก็โน้มเอียง ไปทางนั้น ต้องเชื่อมั่นในสิ่งที่เราท�ำ ในสิ่งที่เราเลือก เป็นตัวของตัวเอง ถ้าเราเชื่อ คน รอบข้างก็จะเชื่อ แล้วจะกลายเป็นความส�ำเร็จ
What is the best way for the designer to proceed in developing their work? If the designers desire to have their own identity, they need to propose their clear and distinctive concept. For instance, if you are the excellent surgeon, many people who desire to have nose surgery would like to see. You have to faith in our design without any hesitation as popular trends, therefore, you must have self-confident in our selection. Finally, it is our success when we have been concerned from the others.
แล้วนักออกแบบที่ดีในมุมมองของคุณต้องเป็นอย่างไร นักออกแบบทีด่ ขี นึ้ อยูก่ บั ว่า ผูม้ องเป็นใคร นักออกแบบทีด่ ขี องผูป้ ระกอบการ คือท�ำยอดขายให้ได้มากทีส่ ดุ ของอะไรขายดี นักออกแบบคนนัน้ จะเก่ง ถ้าเป็นนักออกแบบ ที่ดีของผู้ใช้งาน คือคนที่ท�ำของที่สื่อสารได้ ใช้งานง่าย คงทน และไม่รู้สึกว่าของนั้นดู เก่าหรือเชยในระยะเวลาอันรวดเร็ว ซึง่ ผูป้ ระกอบการกับผูบ้ ริโภคจะเห็นตรงข้ามกัน โดย ส่วนตัวแล้ว นักออกแบบทีด่ ตี อ้ งมีจรรยาบรรณทัง้ ต่อตัวเองและส่วนรวม เราอาจจะเป็น หน่วยเล็กๆ ไม่สามารถท�ำให้ใครจนหรือรวยได้ แต่ถา้ หน่วยเล็กๆ ทุกหน่วยคิดถึงภาพรวม มากกว่าผลประโยชน์ส่วนตนเป็นหลัก เชื่อว่าท�ำให้สังคมในภาพรวมดีขึ้นได้
What is the best designer in your view? In my personal viewpoint for the qualification of best designer, I think that the best designer or manufacturer has to increase more benefits and can promote the best-seller products. On the other hand, the best designer of consumer has to successfully communicate and create the qualified and up-to-date product. Importantly, the best designers need to have the code of ethics for themselves and public. Although they are a few areas that cannot one cannot truly judge the real advantage over others but if they mostly need to think of the advantage of public and the society will have more integration.
39
40
ฝนทิพย์ ตั้งวิริยะเมธ | Fonthip Tangviriyamate Designer of the Year Awards 2013: Jewelry Design
นิยามความงามของ Jewelry ส�ำหรับผูส้ วมใส่ แต่ละคนนั้น อาจมีความหมายที่แตกต่างออกไป ความ สวยงามที่เกิดขึ้นบางคนอาจมองด้วยรูปลักษณ์ภายนอก หรือบางคนอาจมองที่แนวคิดในการออกแบบ เช่นเดียว กับดีไซเนอร์ผอู้ อกแบบนัน้ ต่างก็มนี ยิ ามความงามอันเป็น เอกลักษณ์เป็นของตนเอง ส�ำหรับ ฝนทิพย์ ตัง้ วิรยิ ะเมธ เจ้าของแบรนด์ เครือ่ งประดับอันดับต้นๆ ของไทยอย่าง ฝนทิพย์ (FONTHIP) เธอมองถึงการเชื่อมโยงของสิ่งต่างๆ รอบตัว ที่น�ำไปสู่ แนวคิดในการออกแบบให้เข้ากับผู้สวมใส่ และที่ส�ำคัญ คื อ การน� ำ เอกลั ก ษณ์ ข องศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทยเข้ า มา ผสมผสานได้อย่างลงตัว ผลงานของฝนทิพย์ทไี่ ด้รบั รางวัล Emerging Designer of the Year 2007 ในสาขา Jewelry Design เธอทดลองน�ำวัสดุหนังเทียม (PU) กับโลหะเงิน มาเชื่อม โยงกันอย่างที่ไม่เคยมีใครท�ำมาก่อน อีกทั้งยังใช้เทคนิค ท�ำมือในแบบดั้งเดิมของช่างทองโบราณ จนผลงานเป็นที่ จับตาของลูกค้าทั้งยุโรปและเอเชีย เมื่อถามถึงเอกลักษณ์ของแบรนด์ ฝนทิพย์ (FONTHIP) เชื่อว่าลูกค้าคงสามารถตอบได้ทันที แต่ เจ้าของแบรนด์กลับลังเลทีจ่ ะตอบ เพราะนิยามความงาม ในการออกแบบ Jewelry ของเธอ คือการเชื่อมโยงของ หลายๆ สิ่งเข้าด้วยกัน ส่วนจะเป็นอะไรบ้างนั้น ลองไป ส�ำรวจผ่านถ้อยค�ำของเธอดู
Jewelry creates distinct meaning for the individual wearing it. It differentiates through appearance and definition of design resulting in a unique beauty identity for the person. Fontip Tangviriyamate, the brain behind one of the top ten brands in Thailand. She relates all surroundings with her design concept to be suitable for the user. Importantly, she harmonizes integration of Thai art and culture identity with her design. The work of Fontip was selected for the award : Emerging Designer of the Year 2007 in the field of Jewelry Design. She innovated her design by harmonizing the PU and silver with the primitive handmade technique of ancient goldsmith, as a result, the European and Asian customers always kept their eye open to look out for her designed work. Whenever asked about the identity of her brand, she said it is certainly something that the customers can all see for themselves. As a designer she said finds herself reluctant to really define her style because it is the result of many different factors.
41
คุณเริ่มต้นสนใจในการออกแบบ Jewelry ได้อย่างไร ตั้งแต่สมัยเรียน ชอบทดลองน�ำวัสดุต่างๆ มาประดิษฐ์ หาวิธีการท�ำใหม่ๆ อยู่ตลอด ชอบนั่งท�ำไป เรื่อยๆ กลับจากท�ำงานก็มานั่งท�ำ บางทีเพลินจนลืมเวลา ไปเลย เพือ่ นบ้านเห็นเขาก็สนใจว่าเราท�ำอะไร ท�ำให้เราก็ นึกเกิดอยากท�ำเป็นของขวัญให้เขาดูบา้ ง ซึง่ เป็นงานอดิเรก ที่เริ่มต้นจากการที่ท�ำของขวัญให้คนอื่น พอท�ำให้หลายๆ คนเข้า เลยกลายเป็นธุรกิจเล็กๆ ขึ้นมา หลังจากนัน้ ก็เริม่ มีการขายเป็นแบรนด์จริงจังใน ปี 2007 และปีตอ่ มา 2008 ก็ได้เข้า Talent Thai เป็นปีแรก ตอนนั้นมีงานน�ำเสนอแค่ 7 ชิ้น ตอนแรกก็กลัว ว่าจะเป็น ยังไง เพราะไม่มีความพร้อมเลย แต่ก็คิดว่าเรามีโอกาส แล้วที่ได้เข้ามา ก็ลองลุยดู สุดท้ายก็ได้ออเดอร์จากสเปน และอังกฤษ ถึงจะเป็นออเดอร์เล็กๆ แต่กเ็ ป็นจุดเปลีย่ นที่ ท�ำให้ได้มาท�ำงานแบบเต็มตัว
How did you start your interest in jewelry design? I have continuously invented since I studied various methods of design with several kinds of objects. After working hour, I preferred to steadily create until the neighbors wondered what I was doing.By this reason, I inspired to create the gifts for other people and then progressed to be the small business and finally established the brand in 2007. Subsequently, my brand has a chance to work with Talent Thai in 2008 by presenting only 7 pieces of designed works. I feel so much worried since I have no readiness to work. Nevertheless, I try to create the designed works, as a result, there are the small orders from Spain and England that originated to the utmost design.
คิดว่าเอกลักษณ์ของแบรนด์ ฝนทิพย์ (FONTHIP) คืออะไร ทุกวันนี้ เราก็ถามตัวเองอยูเ่ หมือนกันว่าเอกลักษณ์ ของแบรนด์คืออะไร เพราะเราเป็นคนท�ำงานออกแบบ เครื่องประดับแบบไม่ยึดติด เหมือนชีวิตเราด�ำเนินไป อย่างไร เราสนใจอะไร ก็ทำ� ไปอย่างนัน้ เป็นจุดทีท่ ำ� ให้งาน ของเรามีความหลากหลาย มีอสิ ระในการคิด ได้ทดลองท�ำ สิง่ ใหม่ๆ อยูต่ ลอด สมมติเราอยากจะเพิม่ มิตใิ นงานเครือ่ ง ประดับ เราก็ลงมือทดลองด้วยเทคนิคต่างๆ หลายๆ แบบ เพราะเราชอบที่จะท�ำแบบนี้ จึงเกิดคอลเลคชันใหม่มา เรือ่ ยๆ โดยทีเ่ ราไม่ได้ไปก�ำหนดว่าสไตล์ของเราคืออะไรเลย
What is the identity of Brand “Fonthip”? At present, we have created the identity of our brand because we freely work on the design of the jewelry as our life proceeded or what we interested and preferred to do. By this reason, our designed works have diversity, freedom in creating and continuous innovation. It supposed that we would like to have more dimensions in jewelry design with several modern techniques since we preferred to regularly create with free style for our new collections.
42
“งานของเราเหมือนการท�ำอาหาร จะเลือกวัตถุดิบอะไร จะปรุงอย่างไร ให้กลมกล่อม และใครจะเป็นคนกิน” คุณมีปรัชญาหรือแนวคิดหลักๆ ที่ใช้ในการออกแบบไหม เราคิดว่าสิง่ ส�ำคัญในการท�ำงานออกแบบเครือ่ ง ประดับ คือ การตื่นรู้และอิสระ หมายถึงเราอยากรู้อะไร เราก็ใช้ผัสสะให้ครบ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ความ รู้สึก และด�ำเนินชีวิตไปตามปกติ ส่วนตัวเป็นคนชอบท�ำ อะไรหลายๆ อย่าง ไม่ว่าเราจะท�ำอะไร ท�ำกับข้าว ออก ก�ำลังกาย ดูหนัง ฟังเพลง มันเป็นการส่งเสริมท�ำให้เรา ท�ำงานออกแบบได้ดีขึ้น และเห็นความเชื่อมโยงของงาน ออกแบบ จะคิดเสมอว่างานของเราเหมือนการท�ำอาหาร จะเลือกวัตถุดิบอะไร จะปรุงอย่างไรให้กลมกล่อม และ ใครจะเป็นคนกินมัน จากผลงานหลายๆ ชิ้นที่ผ่านมา คุณมีการเอาต้นทุนทาง วัฒนธรรมตะวันออกมาใช้อย่างไร ให้ลูกค้าชาวต่างชาติ ยอมรับ เรามีความสนใจในเรื่องศิลปวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมตะวันออกมาตัง้ แต่ตอนเรียนแล้ว เราศึกษา ทัง้ ศิลปะ การกิน เครือ่ งแต่งกาย และวิถชี วี ติ ด้วยเหตุผล ทีล่ กู ค้าส่วนใหญ่เป็นชาวต่างชาติ เราจึงอยากมอบอะไรให้ เขาเป็นทีร่ ะลึก และจดจ�ำว่ามันคือวัฒนธรรมไทยทีด่ งี าม จึง เกิดเป็นคอลเล็กชัน ‘มาลัย’ ขึน้ ซึง่ ตามวัฒนธรรมไทย การ มอบมาลัยเหมือนเป็นการมอบช่อดอกไม้แสดงความยินดีที่ เขามาเยีย่ มบ้านเรา เมือ่ ปีทแี่ ล้วก็ได้ไปแสดงผลงานทีป่ ารีส เกาหลี และเวียดนาม สร้างเอกลักษณ์ให้งานชุดนีใ้ ห้เป็นที่ รูจ้ กั และเป็นทีน่ า่ จดจ�ำของลูกค้ามาก ลูกค้าส่วนใหญ่กอ็ ยู่ ในโซนยุโรป เราส่งออกเดนมาร์กเป็นเจ้าประจ�ำ ช่วงหลังก็ มีลกู ค้าญีป่ นุ่ และเกาหลีเพิม่ เข้ามา ส่วนประเทศเพือ่ นบ้าน ทีเ่ ป็นลูกค้ารายส�ำคัญคือสิงคโปร์ ซึง่ เราก็ไปออกงานทีน่ นั่ ทุกปี
What is the main philosophy in your design concept? I found that the perception and freedom have an essence for the jewelry design. It referred what I desired to know, I can perceive by all five senses of touch and normally stay alive. I preferred to do many activities; cooking, exercising, seeing the movies and listening the songs. All of them can support to progress my creation and also view the relation of design. I think that my design is similar with the cooking since it is necessary to select the raw materials and how to properly flavour and who will taste it. How has the integration of Eastern culture in your works been received by foreign customers? I was attracted to Thai art and culture including the Eastern culture since I had studied the aesthetics of art, consumer, costume and way of life. Especially, the majority of clients are the foreigners so I desired to deliver them the gifts that can memorize the splendid culture of Thailand. For this reason, the collection in the series of “Malai” had been designed as the Thai culture of giving the garland in the meaning of congratulation and welcome foreigners with a bouquet. It was exhibited in Paris, Korea and Vietnam last year. The identity of this collection was designed to be well-known and can fix in one’s mind. Most of clients live in Europe, especially exporting to the regular customers in Denmark. The Japanese and Korean customers subsequently increased, VIP customer is Singapore as the neighbored country where the exhibition have been continuously staged in every year.
“Our design is similar with cooking. The raw materials will be selected to created a well-balanced seasoning for the consumer”.
43
ผลงานชุด ‘มาลัย’ มีแนวคิดในการออกแบบอย่างไร จุดเริม่ ต้นมาจากทีเ่ ราคิดว่า อยากจะท�ำงานที่ ไม่เกิดมลพิษต่อสิง่ แวดล้อม ลูกค้า และตัวเราเอง เพราะ ว่าเราเคยเชือ่ มงานมากจนไม่สบาย จึงอยากท�ำงานทีไ่ ม่สง่ ผลกระทบต่อร่างกายมากนัก ส่วนตัวก็ชอบร้อยมาลัย จัด ดอกไม้อยู่แล้ว จึงเกิดความคิดต่อยอดว่า การร้อยมาลัย เป็นกิจวัตรประจ�ำวันที่สามารถน�ำมาออกแบบเป็นเครื่อง ประดับได้ คือเราอยากน�ำเรื่องวิถีชีวิตเข้ามาในวิธีการ สร้างสรรค์งาน ก็เลยคิดว่าอยากจะเชื่อมโยงบรรยากาศ เดิมๆ ของไทย อย่างวิธีประดับดอกไม้ง่ายๆ มาพัฒนาสู่ งาน เพื่อให้อรรถรสในการด�ำรงชีวิตแบบดั้งเดิมได้ด�ำรง อยูต่ อ่ ไป ในอีกแง่หนึง่ ถ้าคิดว่าเราท�ำแค่ของ มันก็ไม่เป็น การสืบทอด แต่ถา้ เราท�ำของทีท่ ำ� ให้เกิดวิถชี วี ติ ก็จะท�ำให้ วัฒนธรรมที่ดีงามได้รับการสืบทอดไปด้วย และนอกจากนั้น งานมาลัยก็ไม่ใช่แค่เครื่อง ประดับ แต่เราขยายกลีบให้ใหญ่ขนึ้ กลายเป็นของใช้ ของ ตกแต่ง ซึ่งความคิดเล็กๆ สามารถต่อยอดเป็นความคิดที่ ใหญ่และเป็นสิ่งอื่นได้อีก จึงเป็นผลงานที่เราภูมิใจมาก
44
How was the design concept for the “Malai” series developed? The design concept originated from the creation of work from a time without pollution in the environment. The client and I started to get sick after I had soldered many pieces of irons, thus, I desire to work without any effect to my health. Normally, I prefer to make garlands and decorate the flowers so I designed the jewelry under the concept of creating the garlands in daily life. I would like to present the way of life and traditional flower decoration in Thai style to maintain the cultural lifestyle through my designed works. However, if the design is not true to the cultural inheritance but it is only one product so it is better to inherit the way of life and splendor of culture through the design. Furthermore, I have a feeling of accomplishment with the series of Malai since they are not only the jewelry but they can progress as decorated objects that is an integration from minor to major concept.
45
ในมุมมองของคุณ คิดว่านักออกแบบเครื่องประดับที่ดี ควรเป็นอย่างไร สิง่ ส�ำคัญของนักออกแบบทีด่ คี อื ต้องรูจ้ กั ความ เชื่อมโยงของสิ่งต่างๆ เราต้องเข้าใจว่ามีสิ่งนี้ด้วย ถึงจะ มีอีกสิ่งหนึ่งก็ตาม ถ้าเราเข้าใจองค์รวมของสิ่งต่างๆ เรา จะท�ำงานออกมาได้ดี เช่น เราจะออกแบบเครื่องประดับ ที่เป็นอาร์ต เราต้องเข้าใจว่าศิลปะนั้นจะสื่ออะไร ถ้าเรา ออกแบบเครื่องประดับในเชิงอุตสาหกรรม ก็ต้องดูว่ามี เงือ่ นและปัจจัยทีแ่ ตกต่างกันออกไปอย่างไร ถ้าเราออกแบบ เครือ่ งแต่งกาย เราก็ตอ้ งเข้าใจว่าเราจะน�ำเสนออะไร และ เราจะน�ำเสนอแนวความคิดของเราเข้าไปอย่างไร ส�ำหรับ ตัวเราเอง เวลาออกแบบ จะคิดอย่างอิสระ อะไรก็ได้ ใช้ การทดลองเป็นหลัก ซึง่ ไม่มผี ดิ ไม่มถี กู แต่การทีจ่ ะเอามา น�ำเสนอ ต้องค�ำนึงถึงสถานการณ์และสถานที่ ว่าเราจะน�ำ เสนออะไรให้ลูกค้าเข้าใจและน�ำไปใช้ได้ อย่างเช่น เวลา พูดกับเด็ก ถ้าพูดภาษาผู้ใหญ่ เขาก็อาจจะไม่เข้าใจ เรา ต้องเลือกสารที่จะน�ำเสนอให้เหมาะสม ดูเหมือนว่าคุณจะให้ความสนใจเรือ่ งการเชือ่ มโยงเป็นพิเศษ นักออกแบบเครื่องประดับที่ดีควรรู้จักการ เชื่อมโยง และไม่ว่าจะเป็นการออกแบบสาขาไหน ไม่ว่า จะท�ำอะไร ถ้าเรารูจ้ กั การเชือ่ มโยง ก็จะท�ำให้เราออกแบบ อย่างเข้าใจมันได้จริงๆ นอกจากนัน้ ควรจะฝึกฝนตัวเองให้ มีฝมี อื เราคิดว่าความจ�ำนัน้ ลืมกันได้ แต่ประสาทสัมผัสที่ มือไม่สามารถลืมได้ ถ้าเราฝึกมือทุกวัน มันก็จะอยูใ่ นตัวเรา ไม่วา่ จะท�ำเครือ่ งประดับ หรืองานออกแบบอืน่ ๆ ก็ตาม และ ผลงานจะมีคุณค่า ถ้าเรารู้จักการเชื่อมโยงของบริบทต่างๆ
46
What is the best jewelry designer in your viewpoint? The perception and harmony with the environment through the design which is the most important factor for being a world class designer. For instance, when I plan to design of artistic jewelry, it is necessary to understand what the art means. If I design the industrial jewelry, I must realize how the different conditions and factors relate. If I design the costume, I need to understand what and how will be presented. I have freedom to design through many pretests, without any righteousness and wrongness, but only regard to the situation and location for the presentation to be perceived and used by the clients. If I communicate with the children with adult language, they cannot understand so I have to select the appropriate substance.
FONTHIP Website: www.fonthip.com Mobile +66 8 1620 3809 Email: info@fonthip.com
How do you pay special attention to relationships? The best jewelry designers in all fields of design need to understand and approach to relationship through their designs. Moreover, the memory can be forgotten but the sense of touch by hand cannot forget if the designers continuously practice their skills in designing the jewelry or other products. Importantly, the value of design work will appear if it has relationship with different contexts.
47
48
ธีรนพ หวังศิลปคุณ | Tnop Wangsillapakun Designer of the Year Awards 2013: Graphic Design
หลังจาก ธีรนพ หวังศิลปคุณ ตัดสินใจกลับมา ประจ�ำการอยู่ที่ประเทศไทย ตั้งแต่เมื่อช่วงต้นปี 2556 ที่ ผ่านมา พร้อมกับย้ายฐานการท�ำงานของสตูดโิ อ TNOP™ DESIGN ซึง่ ก่อตัง้ ขึน้ มาตัง้ แต่ พ.ศ.2548 ทว่าเดิมมี base อยูท่ ชี่ คิ าโก สหรัฐอเมริกา กลับมาสร้างสีสนั ให้กบั แวดวง งานออกแบบกราฟิกไทย ตั้งแต่งานออกแบบสิ่งพิมพ์ แบรนด์ดงิ้ อินเตอร์แอ็กทีพดีไซน์ งานออกแบบครบวงจร ตัง้ แต่แคตตาล็อก คียว์ ชิ วลส�ำหรับแคมเปญโปรโมทกิจกรรม ประจ�ำปีครั้งล่าสุดอย่าง Creativities Unfold ของศูนย์ สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) ซึง่ สร้างปฏิกริ ยิ าตอบรับ ทัง้ ในระดับค�ำชมจากสิง่ ทีม่ องเห็น ไปจนถึงประสบการณ์ ที่จะได้สัมผัสกับงานออกแบบ ซึ่งถูก Custom-made ให้ กลายเป็นแคตตาล็อกสิง่ พิมพ์ทเี่ ปิดโอกาสให้ผใู้ ช้สามารถ เลือกคอนเทนต์หรือวิชวลในรูปแบบทีเ่ ขาต้องการได้อย่าง ไม่ซ�้ำกัน เราเลือกเริ่มต้นเล่าถึง TNOP ด้วยผลงานชิ้น ล่าสุดทีเ่ พิง่ ได้สมั ผัสมา เพราะแท้จริงแล้ว กราฟิกดีไซเนอร์ รายนี้ถือว่า มีประสบการณ์เคยร่วมงานกับแบรนด์ระดับ โลกมาตั้งแต่สมัยท�ำงานเป็นซีเนียร์ดีไซเนอร์อยู่ Segura Inc. ที่สหรัฐอเมริกา ดูแลงานออกแบบให้กับลูกค้าอย่าง NIKE, COCA-COLA หรือ CORBIS รวมทัง้ ยังอยูเ่ บือ้ งหลัง โปรเจ็กต์อีกมากมายภายใต้การท�ำงานของสตูดิโอที่เขา ก่อตั้งขึ้นมาเองอย่าง TNOP™ DESIGN ขณะนี้ TNOP ก�ำลังโฟกัสไปที่การท�ำงาน ออกแบบสิ่งพิมพ์ พวก Print & Publication รวมถึงงาน อินเตอร์แอ็กทีพ ให้กับลูกค้าทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ
After Tnop Wangsillapakun returned to work in Thailand since the beginning of 2013. Before that he set up the office of studio TNOP™ DESIGN was established in 2005 at Chicago, USA before relocating to Thailand. His return built excitement in the colorful field of Thai Graphic Design such as printed design, interactive design, design for catalogues and key visual for campaign in promoting the annual activities; Creativities Unfold of TCDC has positive interaction from viewing and touching the designed works including custom-made as the printed catalog, the consumers have an opportunity to select the different content or visual as they desired. This designer has participated with the international brand in worldwide while he was working as Senior Designer in Segura Inc, USA, he designed for clients like NIKE, COCA-COLA or CORBIS. Additionally, he planned several project for his studio ”TNOP™ DESIGN”. TNOP is now focusing on print & publication and interactive design for Thai and foreign clients.
49
“นักออกแบบควรให้ความส�ำคัญกับสิ่งต่างๆ รอบตัวให้ มาก เพราะนักออกแบบที่ดี คือ นักมองหาโอกาสใหม่ๆ หรือนักมองหาปัญหาใหม่ๆ แล้วน�ำมาสร้างสรรค์เป็น งานออกแบบ เขาจะไม่จดจ่ออยู่กับงานของตัวเองหรือ กระบวนการทางความคิดเพียงรูปแบบเดียว”
“The designers need to realize and incorporate the environment since the best designers are the challenger or thinker who created the designed work. Therefore, they do not concentrate on the only thinking process”.
คุณสมบัติส�ำคัญของการเป็นกราฟิกดีไซเนอร์ที่ดีควรจะ เป็นอย่างไร นักออกแบบควรให้ความส�ำคัญกับสิง่ ต่างๆ รอบ ตัวให้มาก เพราะนักออกแบบที่ดี คือ นักมองหาโอกาส ใหม่ๆ หรือนักมองหาปัญหาใหม่ๆ แล้วน�ำมาสร้างสรรค์เป็น งานออกแบบ ฉะนัน้ เขาจะไม่จดจ่อกับงานออกแบบของตัว เอง จะไม่จดจ่ออยูก่ บั งาน หรือกระบวนการทางความคิด เพียงรูปแบบเดียว เนือ่ งจากยุคสมัยเปลีย่ นไป วิธกี ารมอง งานกราฟิกก็เปลี่ยนไปเช่นกัน ส�ำหรับผมมันไม่น่าจะเป็น รูปแบบ Traditional ซึง่ เดิมทีกราฟิกดีไซเนอร์ คือ ผูผ้ ลิต หรือ นักแก้ปัญหา แต่ตอนนี้มันไม่ใช่การแก้ปัญหาอย่าง เดียวแล้ว มันเป็นการสร้างโอกาสใหม่ๆ การท�ำงานร่วมกับ ดีไซเนอร์ในหลากหลายสาขา เพือ่ มาสร้างสิง่ ใดสิง่ หนึง่ ร่วม กัน เราต้องให้ความส�ำคัญกับพฤติกรรมการบริโภคของคน แม้กระทั่งเรื่องของกลยุทธ์ สังคมหรือศิลปวัฒนธรรมใน ชุมชนที่เราอาศัยอยู่ด้วย
50
What is the necessary qualification for a graphic designer? The designers need to realize and incorporate the environment since the best designers are the challenger or thinker who created the designed work. Therefore, they do not concentrate on the only thinking process. When the era changed, the way to see the graphic works also progressed. I think that it is impossible to be traditional style. Previously, the graphic designer was the producer or person who solved the problem. At this time, the graphic designer can create various modern products and can work with the designers from many fields to jointly create the new pattern of designed work. Importantly, the designers have to give an importance with the human behavior in consuming and social strategy or art & culture of our community.
วิธีคิดหรือปรัชญาในการท�ำงานออกแบบกราฟิกของคุณ คืออะไร ปกติผมมักจะตัง้ ปรัชญาในการท�ำงาน ซึง่ เปลีย่ น ไปทุกๆ 2 ปี เพราะว่าโลกมันเปลี่ยนไป เราจะใช้ปรัชญา เดิมทีเ่ คยเชือ่ อยู่ บางทีมนั ก็ไม่สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้ ตลอด บวกกับผมเป็นคนที่มีความสนใจเปลี่ยนแปลงไป อยู่ตลอดเวลา อย่างช่วงนี้จะสนใจเรื่องของการท�ำงาน ออกแบบเชิงสิง่ พิมพ์ ซึง่ ดึงดูดให้ผรู้ บั สารเข้ามามีสว่ นร่วม ในงานของเรา เราจะไม่ทำ� งานทีโ่ ชว์ให้คนเสพย์หรือให้คน appreciate ความงามของมันอย่างเดียวแล้ว เราต้องสร้าง Interaction เราต้องการให้คนเห็นงานของเราแล้ว หยุด หยิบ จับ เล่น หรือมา complete งานที่เราปล่อยออก ไป เราจะไม่ไป dictate หรือบอกว่าเขาจะต้องมองงาน แบบไหน มันจะเปิดกว้างมากขึ้น ซึ่งเป็นปรัชญาใหม่ที่ พยายามจะน�ำเข้ามาประยุกต์ใช้ในงานออกแบบส�ำหรับ ลูกค้าในเมืองไทย
What is your way of thinking or philosophy in graphic designing? I have regularly changed my philosophy of design every two years because of the changes in the world. If I still propose only on the philosophy, I choose those to apply with my designed works. I have frequently changed my attraction, for example, I presently interest in printed design that can interact with the receivers to participate in my design. Nevertheless, I will not create whatever to be merely consumed or appreciated the beauty. On the other hand, I desire to have interaction with the viewers through my design by a sense of touching or directly completing with it without any dictation or suggesting how to view it. All of these are the modern philosophy that I try to apply with my design for the clients in Thailand.
51
ท�ำไมการสร้างปฏิสมั พันธ์หรือ Interaction จึงส�ำคัญต่อ งานออกแบบประเภทกราฟิกดีไซน์ ช่วงหลังผมมีความรู้สึกว่า ดีไซเนอร์หลายคน ท�ำงานออกไป โดยไม่ได้สนใจหรือ exclude กลุม่ audience ออกไป เหมือนจดจ่ออยูก่ บั งาน ปัญหา หรือโจทย์ทไี่ ด้มา แล้วก็ตอบโจทย์กลุ่มเป้าหมายในมุมรวม แต่ผมอยากให้ เขาใส่ใจหรือเจาะไปที่แต่ละบุคคลหรือ individual ด้วย การท�ำงานออกแบบของผม จึงพยายามท�ำงาน โดย โฟกัสไปที่กลุ่ม audience ที่มีขนาดเล็กลง ท�ำให้มันเป็น specific และอยากให้งานได้มี interaction กับเขา โดย เราอาจท�ำงานออกไป หรือปล่อยออกไปเพียงแค่ครึง่ เดียว แล้วให้ผู้ใช้สรุปตามความคิดของเขาเอง เวลาใครได้งาน ไป เขาจะได้สรุปมุมมองของเขาเอง บางทีทกี ราฟิกดีไซเนอร์จะท�ำงาน แล้วจดจ่ออยู่ กับงานของตัวเอง มีความผูกพันกับงานจนเหมือนท�ำให้มนั กลายเป็นงานศิลปะ ซึง่ ในบางครัง้ เรามองข้ามคนทีจ่ ะเข้ามา ผูกพันหรือเข้ามามีสว่ นร่วมในการใช้งานของเรา ไม่เพียงแค่ ในเชิงของฟังก์ชนั่ แต่หมายถึงในเชิง Strategy วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และสังคมด้วย ดังนั้น หากกราฟิกดีไซเนอร์ ให้ความส�ำคัญกับสิง่ เหล่านี้ งานกราฟิกดีไซน์มนั ก็จะไม่ถกู วางทิง้ อยูบ่ นหิง้ แต่มนั จะมีความผูกพันกับผูค้ นได้ชนิดทีค่ ณ ุ เองก็อาจจะคาดไม่ถึงด้วยซ�้ำ
52
Why does the interaction influence to the graphic design? At this time, I feel that many designers create their works without regarding or excluding the audiences. They merely concentrate on the problems or questions and then abstractly respond to the target group, therefore, they must be attentive or individually approach. I intentionally focus and specific the target group, additionally, also have interaction by presenting only half-finished design in order to let them summarizing as individual idea and viewpoint. The graphic designers perhaps focus too much in having their works with the characteristic of artwork. The designer often disregards or does not give a chance to the target group participating with their designs, not propose only the function but also have cultural, environmental and social strategies. If the graphic designers thus realized these matters, their works will be better in connecting to the audience on the other hand, they will get more interaction than expected.
เมื่อถึงเวลาลงมือท�ำงานออกแบบกราฟิก กระบวนการท�ำงานของคุณเป็นอย่างไร กระบวนการออกแบบของแต่ละโปรเจ็กต์ ส�ำหรับลูกค้าแต่ละรายจะใช้กระบวนการ ท�ำงานทีแ่ ตกต่างกันไป เช่น กระบวนการท�ำงานของงานออกแบบแบรนด์ดงิ้ หรือโลโก้ เรา จะใช้เวลาอยูก่ บั สมุดเสก็ตช์เยอะมาก จะต้องเสก็ตช์อยูน่ นั่ แหละครับ ส่วนกระบวนการ ท�ำงานออกแบบสิ่งพิมพ์หรือหนังสือ เราจะอยู่กับการจัด Layout เสียส่วนใหญ่ แต่ บรรยากาศของสตูดิโอที่ TNOP™ DESIGN จะพยายามกระตุ้นให้ดีไซเนอร์ท�ำด้วยมือ จะเสก็ตช์หรือใช้ craft ของตัวเองเข้ามามีส่วนในการท�ำงานมากๆ แล้วหาแรงบันดาล ใจจากงานศิลปะหรือสิ่งรอบๆ ตัว ซึ่งไม่ได้มาจากงานดีไซน์ด้วยกันเอง เพื่อจะได้น�ำเข้า มา incorporate กับตัวงาน ให้งานออกแบบของเรามีความสดใหม่ หรือเป็นอีกมุมมอง ใหม่ที่เรามองผ่านของที่คนเคยมองมาแล้ว แล้วอาจจะเบื่อไปแล้ว แต่เราจะน�ำกลับมา มองในมุมใหม่ ในแบบของเรา ระยะหลังๆ มานี้ การหยิบเอาวัฒนธรรมไทยหรือภูมปิ ญ ั ญาตะวันออกมาใส่ลงไปในงาน ออกแบบมักจะถูกพูดถึงในวงกว้าง หรือกระทั่งมีการกระตุ้นให้นักออกแบบทุกสาขา พยายามใช้สิ่งเหล่านี้ให้เป็นประโยชน์ ในฐานะกราฟิกดีไซเนอร์ คุณมีความคิดเห็นต่อ ประเด็นนี้อย่างไร เราไม่ควรบังคับว่า ในงานออกแบบของเราจะต้องมีสงิ่ ต่างๆ เหล่านีอ้ ยู่ เพราะ เราไม่สามารถทีจ่ ะท�ำงาน โดยจะต้องมีขอ้ บังคับแบบนัน้ แบบนี้ เพราะงานทุกงานต้องดู เป็นธรรมชาติ ทุกอย่างถูกสร้างขึ้นมาด้วยเหตุและผลของมัน อันที่จริงดีไซเนอร์ควรจะ รู้สึก inspire เมื่อได้เห็นงานศิลปวัฒนธรรมในประเทศของตน แล้วเกิดความคิดได้เอง ว่า เราอยากจะน�ำสิ่งนี้เข้ามาสร้างเป็นโปรเจ็กต์ หรือน�ำเข้ามา incorporate คือ เห็น แล้ว inspire กับมัน ไม่จ�ำเป็นต้องบอกว่ามัน “ต้อง” หรือ “must” เพราะว่าตอนที่ เราอยู่กับมันนานๆ บางทีเราอาจรู้สึกไม่ inspire กับมันเหมือนกัน ซึ่งศิลปวัฒนธรรม ในประเทศไทยเอง ยังมีแยกย่อยออกไปตั้งหลายอย่าง หากเราเป็นคนภาคกลาง เพียง แค่เดินทางไปภาคเหนือ เราก็จะได้เห็นศิลปวัฒนธรรมอีกแบบหนึง่ แล้ว เราก็จะเริม่ รูส้ กึ inspire เพราะเป็นรูปแบบทีเ่ ราไม่เคยเห็นมาก่อน เราต้องรูส้ กึ เอง เมือ่ เรารูส้ กึ inspire
What is your process in doing graphic design? The design for the client in each project is different, for instance, the designer lastingly engrossed with repeated sketching in the process of branding or logo design. The designer mostly works on the layout in the process of printed or book design. Designers in the studio of TNOP™ DESIGN have been stimulated to create with hand-made works; sketching or crafting and then got an inspiration from the artwork or surroundings to freshly incorporate with the products or to build up the new point of view as their own identities and can free from the tediousness. Thai culture and Eastern art has been recently incorporated as a stimulus for many design disciplines especially in the field of graphic design. What are your thoughts on this issue? The designers should avoid to fix these issues and they cannot work under the unchangeable rule because all natural works have been reasonably created. Absolutely, the designers ought to have an inspiration when they viewed the work of art and culture in their countries. They desired to insert this issue in their project or incorporate to get an inspiration. However, it is not necessary to fix it since the designers are familiar with it until they have not any inspiration. Thailand has several art and culture, if the people in the central part visited in the northern area, they have obviously seen the differential culture and have an inspiration from the unseen appearance. They can naturally apply whenever they are inspired.
เราก็จะหยิบจับน�ำมันเข้ามาใช้เองตามธรรมชาติ
53
54
คุณเคยน�ำเอาวัฒนธรรมไทยหรือภูมปิ ญ ั ญาตะวันออกมา ผสมผสานลงไปในงานออกแบบกราฟิกของตนเองบ้างหรือไม่ งานหลายๆ ชิน้ ทีผ่ มท�ำ บางครัง้ เมือ่ เรากลับไป มอง มันจะมีหลายสิง่ ทีผ่ มไม่เคยเห็นมาก่อน ซึง่ สามารถดึง กลับเอามาท�ำ อย่างเช่น โปรเจ็กต์ Self-promotion ของ ผมเองได้น�ำเอาลายผ้ายันต์ ลายสักต่างๆ นานา กลับเข้า มาใช้ แล้วผสมผสานกับงานไทโปกราฟีทเี่ ราชอบท�ำ ผสม ให้เข้ากัน เพราะเราไม่จ�ำเป็นต้องสร้างสรรค์งาน เพื่อให้ มันถ่ายทอดออกมาในรูปแบบเดิมๆ ก็ได้ เนื่องจากงาน ออกแบบในเชิงอนุรักษ์นิยม ถึงแม้จะมีจุดมุ่งหมายที่ดี แต่ควรจะ connect กับวิถีชีวิต และในสังคมยุคปัจจุบัน งานออกแบบควรจะพัฒนาไปตามสภาพสังคมด้วย
Have you ever incorporated Thai culture and Eastern thoughts in your graphic design? When I consider my works in retrospective, I have concept to recreate such as my project “Self-Promotion” has been harmoniously mixed the patterns of fabrics, amulet, and tattoo with typographical works to present as the original patterns. Although the design in characteristics of conservatism has a good objective but should connect with the way of life and also progress the designed works as the social situation in nowadays.
หัวใจส�ำคัญส�ำหรับการท�ำงานในอนาคตของกราฟิก ดีไซเนอร์ไทยคืออะไร หลายๆ ครัง้ ผมมักจะตอบว่าเป็นเรือ่ งของการ ให้ความส�ำคัญกับ Detail แล้วมันก็กลับมาสู่เรื่องนี้จริงๆ เรือ่ งของ Detail หรือมุมมอง มุมมองของเราทีจ่ ะต้องมอง ไม่เหมือนคนอืน่ เราจะต้องหาสิง่ ทีค่ นอืน่ มองข้ามไป มอง ไม่เห็น มันเป็นสิ่งที่จะท�ำให้งานหรือแนวความคิดของเรา มันโดดเด่นกว่าคนอื่นได้ ทีนี้ เมื่อถึงตรงนั้นแล้ว อยาก ให้เด็กรุ่นใหม่มองวิถีการใช้ชีวิตของกลุ่มคนที่เราท�ำงาน ออกแบบให้ ในเชิงที่เป็น individual ด้วย เพราะเวลา เขาดูงานหรือเสพงานออกแบบของเรา มันควรเป็นการดู เพื่อความสวยงาม หรือฟังก์ชั่นเพียงอย่างเดียว แต่มันจะ ต้องมีคุณค่าเพิ่มขึ้นในเชิงของสังคม วัฒนธรรม หรือสิ่ง แวดล้อมด้วย สิง่ ต่างๆ เหล่านีจ้ ะกลายเป็นข้อแม้ทเี่ พิม่ เข้า มาเรือ่ ยๆ ในสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปทุกที ทุกยุค ทุกสมัย ดังนัน้ งานกราฟิกในอนาคตจะไม่ใช่เรือ่ งทีจ่ ดจ่ออยูก่ บั การ ตอบโจทย์หรือความสวยงามเท่านั้น
What is the inspiration for future creation of Thai Graphic Designers? I usually reply about the essence of detail or viewpoint. My opinion is different and realize I disregard issues to have more conspicuous conceptthan other graphic designers. Therefore, the young designers need to perceive the life style of individual consumer. The consumer normally viewed the designed work through the beauty or function, therefore, the designers should increase the value of society, culture and environment. All of these are the accrued stipulation as changeable society in each era and the trend of graphic design is not only the reply or beauty.
เราอาจคุน้ เคยกับการท�ำงานออกแบบทีค่ ำ� นึงถึงสิง่ แวดล้อม จากงานออกแบบสาขาต่างๆ เช่น เฟอร์นเิ จอร์ แฟชัน่ โปรดักส์ ฯลฯ แต่กบั งานกราฟิกดีไซน์ เราจะสามารถสร้างสรรค์ งาน โดยใส่ใจสิ่งแวดล้อมไปด้วยอย่างไร หากคุณออกแบบงานออกมาสักชิ้น พอจบแล้วมันกลายเป็นขยะ อันนี้ถือว่า เป็นความผิดตั้งแต่ Drawing board แล้ว ผมเชื่อว่า หากกราฟิกดีไซเนอร์มีไอเดียใน การสร้างชีวติ หลังความตายให้งานออกแบบของเรา นีก่ เ็ ท่ากับว่า ดีไซน์ของเราสามารถ ช่วยเรื่องสิ่งแวดล้อมได้ ซึ่งมันไม่ใช่เรื่องยากเลยที่เราจะใส่เข้าไป เป็นสิ่งที่อยากให้นัก ออกแบบรุ่นใหม่ incorporate สิ่งเหล่านี้เข้าไปในงานออกแบบด้วยครับ อีกส่วนหนึ่ง คือ เรื่องของการใช้งานหรือ Function งานออกแบบกราฟิก ของเราไม่ควรก�ำหนดให้มนั มีฟงั ก์ชนั่ เดียวส�ำหรับคนเสพ เพราะฉะนัน้ แนวโน้มของงาน กราฟิกดีไซน์ในอนาคตจะต้องมีหลายฟังก์ชันในตัวของมันเอง ผู้คนซื้อไปแล้วหรือหยิบ จับไปแล้ว จะไม่สามารถทิ้งมันไปได้ เพราะมีฟังก์ชันที่ 1 แล้วยังมีฟังก์ชันที่ 2 ที่ท�ำให้ เขาสามารถใช้งานต่อไปได้ ถ้าเป็นกระดาษหรือเป็นหนังสือก็ไม่ควรท�ำให้เขาทิ้งถังขยะ อันนั้นเป็นข้อผิดพลาดของดีไซน์ในปัจจุบันเลยทีเดียวที่สร้างขยะขึ้นมาเยอะมาก
When using environment as part of the inspiration for furniture, fashion, and product design how should designers create their works? If the designers create their works and it gets abandoned in the end. Don’t blame it on the drawing board. I believe that if the graphic designers can revive their inspiration through the designs, it can be believed that they can sustain the environment. Especially, it is not difficult to incorporate this issue through their designs. Additionally, the usage or function of graphic design ought to have only one function for the consumer. The trend of graphic design makes it necessary to have several identities of functions, as a result, the consumers should not throw away the products since they could select the function 1 and function 2. The designers should not produce the papers or books to be thrown in the garbage bin, for this reason, it is the mistake of present designers as primary cause of many works that have been discarded. TNOP™ DESIGN Bangkok, Thailand Tel. +66 8 4159 5224 Email: tnop@tnop.com Website: www.tnop.com
55
56
Emerging Awards 2013 Furniture Design
จักรพันธ์ ชรินรัตนา Jakkapun Charinrattana
Product Design
ชาญฉลาด กาญจนวงศ์ Chanchalad Kanjanawong
Jewelry Design
ปัญจพล กุลปภังกร Panjapol Kulpapangkorn
Textile and Fabric Design
Graphic Design
รุ้งพลอย ล้อไพฑูรย์ Rungploy Lorpaitoon ศิริน กันคล้อย Sirin Gunkloy
57
STUDIO248 Tel. +66 8 9481 1892 Web site: www.studio248.com E-mail: golf.studio248@gmail.com PROFESSIONAL EXPERIENCES 2013 • Exhibition at Milan Fair 2013 (Zona Ventura Lambrate) • Exhibition at TIFF Bangkok (Design plant zone) • Exhibition at IMM Cologne D3 2013 2012 • Exhibition at Milan Fair 2012 (Zona Ventura Lambrate) • Project: Observing specific detail in the simplest everyday action • Show products: 7-day closet and Crane lamp 2009/2013 • Lecturer Furniture design subject. Rungsit University 2011 • Design Kross wood shelf-teakwood for Platoform 2010/2011 • Establish Studio248 and design furniture collection
จักรพันธ์ ชรินรัตนา Jakkapun Charinrattana Emerging Awards 2013: Furniture Design
58
AWARDS / EXHIBITIONS 2012 • Guest speaker for Sansiri lounge (Trend remix about Milan Design Week) • Receive Demark Award for “Crane lamp”- Thailand • Exhibition at Milan Fair 2012 (Zona Ventura Lambrate) project: Observing specific detail in the simplest everyday action: Show products: 7-day closet and Crane lamp 2011 • Talent Thai (now) by Department of International Trade Promotion (DITP) Ministry of Commerce, Royal Thai Government 2008 • Milan Design Week- “That’s design” with Domus Academy Theme “Excentric Eccentrico” at via Tortona
59
ชาญฉลาด กาญจนวงศ์ Chanchalad Kanjanawong Emerging Awards 2013: Product Design
GREY RAY STATIONERY Tel. +66 8 6891 4171 Web site: www.grey-ray.com Facebook: greyraystationeryfanpage EDUCATION • BFA (Interior Design) Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University AWARDS 2011 • Finalist from Thai Creative Awards by Office of Knowledge Management and Development (OKMD) Thailand, Product : EE Defender 2012 • The 2nd Talent Thai Popular Vote Award Product : Drawing Out I 2013 • The Winner DEmark Award 2013 (Gift & Decorative Items/ Household Items) from Department of International Trade Promotion (DITP) Thailand, Product : EE Defender & Drawing Out II • Good Design Award 2013 (G-mark) (Gift & Decorative Items/ Household Items) from Japan lnstitute of DesignPromotion (JDP), Product : EE Defender
60
61
EDUCATION 2011-2012 • MA (Distinction), jewellery silversmithing and related product in Birmingham City University, School of Jewellery, UK 2004-2009 • Bachelor degree, Industrial design in major of jewellery design, King’s Mongkut Institute of Technology Ladkrabang, Thailand.
ปัญจพล กุลปภังกร Panjapol Kulpapangkorn Emerging Awards 2013: Jewelry Design
62
WORK EXPERIENCE 2013-Present • Assistant, ATTA Gallery, Bangkok, Thailand. • Special Instructor, Royal Goldsmith, Bangkok, Thailand. • Special Instructor, Metal Design4, Jewellery design, King’s Mongkut Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok, Thailand. 2011 • Design director, LDLS design studio • Freelance graphic designer • Contemporary jewellery designer, ATTA Gallery 2009 • Creator, Not Just a Thing design studio • Designer, Chokas Jewelry 2008 • Internship at Marigot Jewelry, Thailand 2007 • Design director, TITA Record, Grammy. AWARDS 2013 • Winner for TALENTE 2013, Munich, Germany. • Winner for Preziosa Young Contemporary Artist 2013, Florence, Italy. 2009 • Selected Thesis show, Thai Creative and Design Center 2008 • 10 Best talented jewellery designer, Office of Contemporary Art and Culture, Ministry of Culture, The Royal Thai Government. 2007 • Best Creative Jewelry Design by Revere Academy of Jewelry Arts, San Francisco, CA, USA, Workshop in Bangkok,Thailand.
903/67 Rama 3 Road, Bangpongpang, Yannawa, Bangkok 10120 Thailand Tel. +66 8 0920 2224 E-mail: panjaime@hotmail.com Web site: www.panjapolkulp.info
63
รุ้งพลอย ล้อไพฑูรย์ Rungploy Lorpaitoon Emerging Awards 2013: Textile and Fabric Design
19/29 Moo 4, Bang Pai-Nong Prao Nga Road, Tumbon Bang Ku Rad, Amphor Bang Bua Thong, Nonthaburi 11110 Tel. +66 8 60313561, +66 8 70926594 E-mail: rungploy.l@gmail.com EDUCATION 2008-2011 • BFA (Fashion Design) Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University AWARDS 2012 • Outstanding Thesis Selected by Thailand Creative and Design Center (TCDC) and Published on a day Magazine and Wallpapers Magazine
64
65
424 Panna Residence 229 Moo14, Huay Kaew Road, Tumbon Suthep, Amphor Muang, Chaingmai 50200 Tel. +66 8 4642 8349 E-mail: hello.sirin@gmail.com EDUCATION 2009-2012 • BFA (Visual Communication Design) Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University 1996-2008 • Kasetsart University Laboratory School Center for Educational Research and Development, Bangkok
ศิริน กันคล้อย Sirin Gunkloy Emerging Awards 2013: Graphic Design
66
EXPERIENCE 2012-Present • Managing director, U wellness Plus (Kristie France Chiang Mai) co.,ltd., Chiang Mai 2011-Present • Illustrator/ Graphic Designer/ Type Designer, Rabbithood Studio, Chiang Mai 2012 • Guest column writer, Computer Arts Thailand Magazine • Participant, ATypI Hong Kong 2012, Hong Kong • Speaker, BITS 10 MINUTES PROJECT, BITS MMXI, Bangkok 2011 • Trainee, Rabbithood Studio, Chiang Mai 2010 • Trainee, Design Conscious, Bangkok
67
Finalist Designer of the Year Awards 2013 Furniture Design
Product Design
Textile and Fabric Design
Graphic Design
68
ไชโย โอภาสสมุทรชัย Chaiyo Opassamutchai
กฤษณ์ พุฒพิมพ์ Kris Putpim
เอนก กุลทวีทรัพย์ Anake Kulthaweesap
อนุพงศ์ สุทธะลักษณ์ Anupong Suttalak
บัณฑิต พงศาโรจน์วิทย์ Bundid Pongsarojchanawit วิไล ไพจิตรกาญจนกุล Wilai Paijitkarnchanakul
ชยทรรศ วิเศษศรี Chayatat Wisetsri
อนุทิน วงศ์สรรคกร Anuthin Wongsunkakon
สันติ ลอรัชวี Santi Lorratchawee
ไชโย โอภาสสมุทรชัย Chaiyo Opassamutchai
กฤษณ์ พุฒพิมพ์ Kris Putpim
Finalist: Designer of the Year Awards: Furniture Design
Finalist: Designer of the Year Awards: Furniture Design
Tel. +66 8 6906 8988 E-mail: chaiyoandfriends@gmail.com Web site: www.facebook.com/chaiyo.opassamutchai
Tel. +66 8 4113 4512, +66 2279 1790 E-mail: kritdesign@hotmail.com
69
เอนก กุลทวีทรัพย์ Anake Kulthaweesap
อนุพงศ์ สุทธะลักษณ์ Anupong Suttalak
Finalist: Designer of the Year Awards: Product Design
Finalist: Designer of the Year Awards: Product Design
Tel. +66 8 1899 2488, +66 8 1804-0452, +66 2951 3488 , +66 2951 3489 E-mail: contact@labradorfactory.net, labrador_factory@yahoo.com Web site: www.labradorfactory.net
Tel. +66 8 1432 6803 E-mail: akaiguykim99@gmail.com
70
บัณฑิต พงศาโรจน์วิทย์ Bundid Pongsarojchanawit Finalist: Designer of the Year Awards: Textile and Fabric Design
Tel. +66 2389 2377 E-mail: bandidp@gmail.com Web site: www.fabricwoven.com
71
วิไล ไพจิตรกาญจนกุล Wilai Paijitkarnchanakul
ชยทรรศ วิเศษศรี Chayatat Wisetsri
Finalist: Designer of the Year Awards: Textile and Fabric Design
Finalist: Designer of the Year Awards: Textile and Fabric Design
Tel. +66 53 446 291-4 E-mail: wilaip@csloxinfo.com Web site: www.buabhat.com
Tel. +66 84 811 1224, +66 2585 0585 E-mail: taemtakor@hotmail.com Web site: www.taemtakor.com
72
อนุทิน วงศ์สรรคกร Anuthin Wongsunkakon
สันติ ลอรัชวี Santi Lorratchawee
Finalist: Designer of the Year Awards: Graphic Design
Finalist: Designer of the Year Awards: Graphic Design
Tel. +66 8 1441 5567 E-mail: info@cadsondemak.com, anuthin@cadsondemak.com Web site: http://cadsondemak.com
Tel. +66 2938 9522 info@practical-studio.com Web site: www.practical-studio.com
73
Finalist Emerging Awards 2013 Furniture Design
Product Design
นุชจริน หวังพงษ์สวัสดิ์ Nucharin Wangphongsawasd
Pana Objects วุฒิไกร ศิริผล Wuthigrai Siriphon
อัจฉรา นิมิตวิภาวงศ์ Ajchara Nimitvipawong
Jewelry Design
ประยุทธ ศิริกุล Prayut Sirikul
นวธันย์ รุ่งดิลกโรจน์ Nawatan Rungdilokroajn
Graphic Design
ฉัตรณรงค์ จริงศุภธาดา Chatnarong Jingsuphatada
สุพิชาน โรจน์วณิชย์ Supichan Rojvanich
Textile and Fabric Design
74
อุดม เรืองไพสิฐพร และ กาญจนาภรณ์ ชัยวิริยานนท์ Udom Ruangpaisitporn & Kanchanaporn Chaiviriyanont
อุดม เรืองไพสิฐพร และ กาญจนาภรณ์ ชัยวิริยานนท์ นุชจริน หวังพงษ์สวัสดิ์ Nucharin Wangphongsawasd Udom Ruangpaisitporn & Kanchanaporn Chaiviriyanont Finalist: Emerging Awards: Furniture Design Finalist: Emerging Awards: Furniture Design
Tel. +66 2583 6281, +66 8 6561 9000 E-mail: skog.cf@gmail.com Web site: www.facebook.com/skog.furniture
Tel. +66 8 9127 7389 E-mail: nucharinww@gmail.com
75
PANA OBJECTS Finalist: Emerging Awards: Product Design
Tel. +66 8 8499 8090 Fax. +66 2775 5242 E-mail: contact@pana-objects.com Web site: www.pana-objects.com
76
วุฒิไกร ศิริผล Wuthigrai Siriphon
อัจฉรา นิมิตวิภาวงศ์ Ajchara Nimitvipawong
Finalist: Emerging Awards: Textile and Fabric Design
Finalist: Emerging Awards: Textile and Fabric Design
Tel. +66 8 7877 5359 E-mail: w.siriphon@gmail.com Web site: www.wsiriphon.com
Tel. +66 8 1142 2144, +66 2747 2301 E-mail: Kui_nimitvipawong@yahoo.com
77
ประยุทธ ศิริกุล Prayut Sirikul
นวธันย์ รุ่งดิลกโรจน์ Nawatan Rungdilokroajn
Finalist: Emerging Awards: Jewelry Design
Finalist: Emerging Awards: Jewelry Design
Tel. +66 8 9774 9459 E-mail: mumana125@gmail.com Web site: www.facebook.com/prayut.sirikul
Tel. +66 8 1923 1689 E-mail: contact@ninelucksshop.com Web site: www.ninelucksshop.com
78
ฉัตรณรงค์ จริงศุภธาดา Chatnarong Jingsuphatada
สุพิชาน โรจน์วณิชย์ Supichan Rojvanich
Finalist: Emerging Awards: Graphic Design
Finalist: Emerging Awards: Graphic Design
Tel. +66 8 6842 9770 E-mail: chatnarong@gmail.com Web site: www.superstorefont.com
Tel. +66 8 1697 4243 E-mail: odd@hereodd.com Web site: www.hereodd.com
79
ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ ๑๙๗๐ / ๒๕๕๕ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการด�ำเนินงานโครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ ๙ (Designer of the Year 2013) เพือ่ ให้การด�ำเนินงานโครงการเส้นทางสูร่ ะดับสากลของนักออกแบบไทย ครัง้ ที่ ๙ (Designer of the Year 2013) ซึ่งคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับงบประมาณประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๖ หมวดเงินอุดหนุน ทัว่ ไป โครงการท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม และได้รบั มอบหมายจากมหาวิทยาลัยให้ด�ำเนินโครงการ เป็นไปด้วยความ เรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะกรรมการด�ำเนินงาน ประกอบด้วยบุคคลผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง และรายชื่อดังต่อไปนี้.ค ณะกรรมการด�ำเนินงาน ๑. ผู้อ�ำนวยการศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ ส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ ๒. ผู้อ�ำนวยการสถาบันส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรม เพื่อการค้ากรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ๓. นายกสมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ไทย ๔. นายกสมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย ๕. นายกสมาคมนักออกแบบผลิตภัณฑ์แห่งประเทศไทย ๖. รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรม ๗. ศาสตราจารย์เอกชาติ จันอุไรรัตน์ ๘. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง ๙. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี ๑๐. นางมาลินี วิกรานต์ ๑๑. หม่อมหลวงภาสกร อาภากร ๑๒. อาจารย์ปิติ คุปตะวาทิน ๑๓. อาจารย์ ดร.วีรวัฒน์ สิริเวสมาศ ๑๔. นายศุภพงศ์ สอนสังข์ นักออกแบบแห่งปี ๒๐๐๔ และนักออกแบบยอดเยี่ยมแห่งปี ๒๐๐๕ ๑๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิทวัน จันทร นักออกแบบยอดเยี่ยมแห่งปี ๒๐๐๗ ๑๖. นางมัญธรัตน์ จิตมาลีรัตน์ ๑๗. นางนภาพร ทองทวี ๑๘. นางสาวมุกดา จิตพรมมา ๑๙. นางสาวนันทนา แซ่ลี ๒๐. นายเปรมชัย จันทร์จ�ำปา ๒๑. นางสาวอิญทิรา เพชรรัตน์
ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ประธานกรรมการ รองประธาน รองประธาน รองประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
หน้าที่ความรับผิดชอบ ก�ำหนดแนวทาง พิจารณากระบวนการคัดสรร และเกณฑ์การตัดสินผลงานศิลปะและการออกแบบ ประเภทงานออกแบบเครือ่ งเรือน (Furniture Design) ประเภทงานออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) ประเภท งานออกแบบเครื่องประดับ (Jewelry Design) ประเภทงานออกแบบผ้าและเส้นใย (Textile and Fabric Design) ประเภทงานออกแบบกราฟิก (Graphic Design) และประเภทงานออกแบบอื่นที่เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับในวง วิชาชีพ ประสานงานการติดต่อนักออกแบบที่มีความเชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ เข้าร่วมโครงการ จัดกิจกรรมการคัด สรรนักออกแบบ และกิจกรรมประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ในเครือข่าย รวมถึง การจัดแสดงนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในระดับชาติและระดับนานาชาติ
สั่ง ณ วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
80
ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ ๒๗๗ / ๒๕๕๖ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการด�ำเนินงานโครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ ๙ (Designer of the Year 2013) เพิ่มเติม เพือ่ ให้การด�ำเนินงานโครงการเส้นทางสูร่ ะดับสากลของนักออกแบบไทย ครัง้ ที่ ๙ (Designer of the Year 2013) ซึ่งคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับงบประมาณประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๖ หมวดเงินอุดหนุน ทัว่ ไป โครงการท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม และได้รบั มอบหมายจากมหาวิทยาลัยให้ด�ำเนินโครงการ เป็นไปด้วยความ เรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะกรรมการด�ำเนินงาน (เพิ่มเติม) ประกอบด้วยบุคคลผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง และรายชื่อดังต่อไป นี้.
คณะกรรมการด�ำเนินงาน ๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น�้ำฝน ไล่สัตรูไกล ๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภกา ปาลเปรม
รองประธาน รองประธาน
หน้าที่ความรับผิดชอบ ก�ำหนดแนวทาง พิจารณากระบวนการคัดสรร และเกณฑ์การตัดสินผลงานศิลปะและการออกแบบ ประเภทงานออกแบบเครือ่ งเรือน (Furniture Design) ประเภทงานออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) ประเภท งานออกแบบเครื่องประดับ (Jewelry Design) ประเภทงานออกแบบผ้าและเส้นใย (Textile and Fabric Design) ประเภทงานออกแบบกราฟิก (Graphic Design) และประเภทงานออกแบบอื่นที่เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับในวง วิชาชีพ ประสานงานการติดต่อนักออกแบบที่มีความเชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ เข้าร่วมโครงการ จัดกิจกรรมการคัด สรรนักออกแบบ และกิจกรรมประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ในเครือข่าย รวมถึง การจัดแสดงนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในระดับชาติและระดับนานาชาติ
สั่ง ณ วันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร