คิดถึงครู ครั้งที่ ๓
นิทรรศการผลงานคณาจารย์อาวุโสคณะมัณฑนศิลป์ ๑๘ พฤษภาคม - ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๗ ณ หอศิลปะและการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ 1
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พงษ์ศักดิ์ อารยางกูร
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 510 - 2547 ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน ชื่อผลงาน 1: โขนกลางจันทร์ | ขนาด: 80 x 60 ซ.ม. | เทคนิค: สีอครีลิค ชื่อผลงาน 2: โขนกลางลาน | ขนาด: 80 x 60 ซ.ม. | เทคนิค: สีอครีลิค 2
อาจารย์วีระศักดิ์ บุญ-หลง ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน
ชื่อผลงาน: CHEZ NOUS CHALET | ที่ตั้งโครงการเลขที่ 100 หมู่ 6 ถ.แม่มาลัย-ปาย ต.สบเปิง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ เป็น Boutique hotel ตัวอาคาร คสล. และบล็อกประสาน อาคารสูง 4 ชั้น ซึ่งประกอบไปด้วยส่วนที่เป็นที่พัก ส่วนต้อนรับ ส่วนสปา ห้องจัดเลี้ยง และส่วนรับประทานอาหารบนระเบียง อาคารไม้ชั้นเดียวที่อยู่บริเวณด้านหน้า เชื่อมต่อกับตัวอาคารใหญ่เป็นร้านขายกาแฟและอาหารว่างส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่เดินทางผ่านไปปายและแม่ฮ่องสอน 3
อาจารย์จรินทร์ รอดประเสริฐ
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2508 - 2526 ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน ชื่อผลงาน 1: “ดิน น�้ำ ลม ไฟ” ห้องนอนคุณสัญญลักษณ์ เจียมปรีชา ชื่อผลงาน 2: “รวงทิพย์” โฮมเธียเตอร์คุณพีระยุทธ นาคอินทร์ ชื่อผลงาน 3: “Space Fantasy: ถ�้ำอวกาศ” ห้องนอนบ้านศรีรัตน์ (ได้รับรางวัลสมาคมสถาปนิกสยามฯ ปี 2532) 4
อาจารย์นิรันดร์ ไกรฤกษ์
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2509 - 2544 ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน ชื่อผลงาน 1: “Old & New” Lobby and Banquet Hall โรงแรมรัตนโกสินทร์ ชื่อผลงาน 2: “Light Sculpture” ทางเข้า Discotheque โรงแรม Asia ราชเทวี ชื่อผลงาน 3: “Ligthing for Ceiling” Main Lobby โรงแรม Grace 5
อาจารย์พิพัฒน์ พ่วงส�ำเนียง
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ.2514 - 2532 ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน ชื่อผลงาน: องค์ประกอบศิลป์ | ขนาด: 21 x 29.7 ซ.ม. | เทคนิค: ปากกา 6
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธีระ ปาลเปรม
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2507 - 2544 ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน ชื่อผลงาน: องค์ประกอบศิลป์ | ขนาด: 21 x 29.7 ซ.ม. | เทคนิค: ปากกา ดินสอสี 7
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พยูร โมสิกรัตน์
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2516 - 2550 ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน ชื่อผลงาน: ห่วงใยโลก | ขนาด: 100 x 113 ซ.ม. | เทคนิค: กระดาษสา กากกระชาย กากกาแฟ ทรายสี สีน�้ำบนแผ่นไม้อัดยาง 8
อาจารย์บัณฑิต ผดุงวิเชียร
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2511 - 2543 ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ชื่อผลงาน 1: ดอกไม้ | ขนาด: 50 x 60 ซ.ม. | เทคนิค: สีน�้ำมัน ชื่อผลงาน 2: แจกันดอกไม้ | ขนาด: 60 x 50 ซ.ม. | เทคนิค: สีน�้ำมัน 9
อาจารย์เปรื่อง เปลี่ยนสายสืบ
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2507 - 2537 ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ชื่อผลงาน: เรือใบ | ขนาด: 70 x 50 ซ.ม. | เทคนิค: สีน�้ำมัน
10
อาจารย์นิพนธ์ ผริตะโกมล
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2506 - 2536 ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ชื่อผลงาน 1: พักผ่อน | ขนาด: 70 x 90 ซ.ม. | เทคนิค: สีน�้ำมัน ชื่อผลงาน 2: ดอกบัว | ขนาด: 60 x 80 ซ.ม. | เทคนิค: สีน�้ำมัน 11
ผู้ช่วยศาสตราจารย์มาโนช กงกะนันทน์
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2503 - 2537 ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ชื่อผลงาน 1: ผลงานออกแบบนิเทศศิลป์ ชื่อผลงาน 2: ผลงานออกแบบตกแต่งภายใน
12
รองศาสตราจารย์ชัยนันท์ ชะอุ่มงาม
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2517 - 2551 ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ชื่อผลงาน 1: แสงแห่งชีวิต (Light of Life) | ขนาด: 60 x 80 ซ.ม. | เทคนิค: ย้อมเยื่อสา หล่อเยื่อกระดาษสา เส้นใยไหมพรมสี และจิตรกรรมสีอครีลิค ชื่อผลงาน 2: โลกของฉัน หมายเลข 2 (My World series 2) | ขนาด: 60 x 160 ซ.ม. | เทคนิค: ย้อมเยื่อสา หล่อเยื่อกระดาษสา ริบบิ้น เส้นใยไหมพรมสี และจิตรกรรมสีอครีลิค 13
อาจารย์ลาวัณย์ อุปอินทร์
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2502 - 2539 ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ชื่อผลงาน 1: TIMOTHY กับลูกชาย, 2556 | ขนาด: 50 x 60 ซ.ม. | เทคนิค: สีน�้ำมันบนผ้าใบ ชื่อผลงาน 2: องค์อร อุปอินทร์ | ขนาด: 62 x 72 ซ.ม. | เทคนิค: สีน�้ำมันบนผ้าใบ 14
อาจารย์สมโภชน์ อุปอินทร์
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2502 - 2538 ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา ชื่อผลงาน 1: องค์อร อุปอินทร์ | ขนาด: 45 x 60 ซ.ม. | เทคนิค: สีน�้ำมันบนผ้าใบ
15
ผู้ช่วยศาสตราจารย์มานิตย์ ภู่อารีย์
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2517 - 2539 ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา ชื่อผลงาน: Milano | ขนาด: 21 x 29 ซ.ม. | เทคนิค: เกรยอง บนกระดาษ
16
รองศาสตราจารย์สน สีมาตรัง
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2517 - 2538 ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา ชื่อผลงาน: “ขบวนพยุหยาตราทางนภากาศของพระอินทร์” ภาพลายเส้นส�ำหรับขยายเป็นภาพแกะสลักกระจกใส ด้านหน้าห้อง Main Lobby ของ Hua Chang Heritage Hotel, เชิงสะพานหัวช้าง ปทุมวัน, กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2554 | ขนาด: ภาพต้นฉบับ 80 x 550 ซ.ม. ขยายเป็นภาพแกะสลัก ขนาด 330 x 2200 ซ.ม. | แนวความคิด: เน้นการแสดงความยินดี ต้อนรับ ความสง่างาม ความเป็นไทย ที่นี่ประเทศไทย และอ�ำนวยพรแก่ทุกคนที่ได้มาพักที่โรงแรม 17
รองศาสตราจารย์วีระ โยธาประเสริฐ
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2517 - 2537 ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา ชื่อผลงาน 1: Northern Village, 1974 | ขนาด: 45 x 70 ซ.ม. | เทคนิค: Etching ชื่อผลงาน 2: Trio, 1999 | ขนาด: 50 x 70 ซ.ม. | เทคนิค: Etching ชื่อผลงาน 3: Glory No.2 | ขนาด: 100 x 100 ซ.ม. | เทคนิค: Etching
18
อาจารย์เสวต เทศน์ธรรม
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2517 - 2539 ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา ชื่อผลงาน 1: ประติมากรรมโลหะต้นแบบ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 | ขนาด: 6 x 6 x 29 ซ.ม. | พระรูปหล่อโลหะ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว องค์ต้นแบบ เพื่อขยายขนาด สองเท่าครึ่งพระองค์จริง ประดิษฐานด้านหน้า ศาลากลางจังหวัดอยุธยา อาคารหลังใหม่ ถนนสายเอเซีย ชื่อผลงาน 2: ประติมากรรมโลหะต้นแบบ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 | ขนาด: 10 x 14 x 28 ซ.ม. | พระรูปหล่อโลหะองค์ต้นแบบ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อขยายขนาด เท่าครึ่งพระองค์จริง ประดิษฐานด้านหน้า โรงเรียนนายร้อยต�ำรวจสามพราน จังหวัดนครปฐม 19
อาจารย์ช�ำเรือง วิเชียรเขตต์
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) พ.ศ. 2539 รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2517 - 2538 ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา ชื่อผลงาน: “เศร้า” (Soroow) | ขนาด: 32 ซ.ม. | วัสดุ: บรอนซ์ 20
อาจารย์เสาวภา วิเชียรเขตต์
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2517 - 2539 ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา ชื่อผลงาน: “ห่วงชีวิต 2554” (Embrace of Life 2011) | ขนาด: 20 x 46 ซ.ม. | วัสดุ: บรอนซ์
21
รองศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ ชมุนี
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2525 - 2550 ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา ชื่อผลงาน 1: ทิวทัศน์เหนือจริง:เรือหอยโข่งออกจากท่า | ขนาด: 55 x 75 ซ.ม. | เทคนิค: สีอะครีลิค ชื่อผลงาน 2: วัดอรุณในสีน�้ำเงิน ม่วง และเหลือง | ขนาด 40 x 60 ซ.ม. | เทคนิค สีอะครีลิค ชื่อผลงาน 3: ภาพสเก็ตช์ผลงานติดตั้ง “จุดหมายกับอุปสรรค์” | ขนาด: 56 x 76 ซ.ม. | เทคนิค: วาดเส้นปากกา
22
รองศาสตราจารย์ปรีชา อมรรัตน์
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2528 - 2550 ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา ชื่อผลงาน 1: น�้ำลง | ขนาด: 23 x 16 ซ.ม. | เทคนิค: วาดเส้น ชื่อผลงาน 2: เรือประมง | ขนาด: 23 x 17 ซ.ม. | เทคนิค: วาดเส้น ชื่อผลงาน 3: เรือประมง | ขนาด: 30 x 23 ซ.ม. | เทคนิค: สีน�้ำ ชื่อผลงาน 4: ตลาดท่านา | ขนาด: 23 x 30 ซ.ม. | เทคนิค: วาดเส้นหมึกจีน 23
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ เสริมศักดิ์ นาคบัว
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2503 - 2538 ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา ชื่อผลงาน: ผลิ 57
24
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวนิช สุวรรณโมลี
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2522 - 2544 ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา ชื่อผลงาน: จานอาวุโส (1000 ปี) กับผลแอปเปิ้ลสด | ขนาด: 5 x 27 x 27 ซ.ม. | เทคนิค: การขึ้นรูปด้วยผ้าชุบน�้ำดินบนแม่พิมพ์ปูน | แนวความคิด: จานอาวุโส คือ จานที่แสดงออกถึงความเก่าแก่ เปรียบได้กับอาจารย์อาวุโสที่มีประสบการณ์ยาวนาน ที่ยังคงอยู่ร่วมสมัยกับอาจารย์ ณ ปัจจุบัน ซึ่งเปรียบผลแอปเปิ้ล อันมีต�ำนานที่หลากหลายเป็นอมตะ ตลอดกาล 25
1
2
3 4
2
5
6
อาจารย์โกศล สุวรรณกูฏ
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2519 - 2552 ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ ชื่อผลงาน 1: เข็มกลัดไฟฉาย (Wisdom of Gosol #1) | ชื่อผลงาน 2: ไฟส�ำรองเปลี่ยนสี (Wisdom of Gosol #2) ชื่อผลงาน 3: เข็มกลัดไฟฉาย (Wisdom of Gosol #3) | ชื่อผลงาน 4: ไฟฉายส�ำรองในรถ (Wisdom of Gosol #4) ชื่อผลงาน 5: ปืนไฟฉาย (Wisdom of Gosol #5) | ชื่อผลงาน 6: ตะเกียงหลอดไฟตั้งและแขวน (Wisdom of Gosol #6) วัสดุ: วัสดุเหลือใช้ เช่น แบตเตอรี่โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่เสื่อมแล้ว หลอดไฟ ขวดน�้ำ สายไฟ ลวด 26
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สวเรศ เกตุสุวรรณ
รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2522 - 2543 ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ ชื่อผลงาน 1: หนังสือเรื่อง “อะไรๆ ก็ เออโก” โดย ออส่วน ชื่อผลงาน 1: หนังสือเรื่อง “นี่ไง! การออกแบบผลิตภัณฑ์” โดย ออส่วน แนวความคิด: เป็นการออกแบบวิธีการถ่ายทอดเนื้อหาวิชา “การออกแบบผลิตภัณฑ์” และ “เออร์กอนอมิกส์” ในรูปลักษณะข้อเขียนกึ่งวิชาการ เพื่อเผยแพร่ต่อนักศึกษาและประชาชน ทั้งสามารถใช้เป็นเอกสารการสอนในชั้นเรียนวิชาดังกล่าวด้วย 27
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พงษ์ศักดิ์ อารยางกูร (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2510 - 2547) ประวัติการศึกษา: - ศ.บ. คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - Dip. (Scenografia) Academy of Fine Art กรุงโรม อิตาลี ประวัติการท�ำงาน: - พ.ศ. 2518-2521 ได้รับทุนรัฐบาลอิตาลี ศึกษาวิชาการ ออกแบบฉากที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี เป็นเวลา 3 ปี - พ.ศ. 2536-2539 ด�ำรงต�ำแหน่งคณบดีคณะมัณฑนศิลป์ - พ.ศ. 2537-2540 อนุกรรมการบริหาร โครงการพัฒนาความ ร่วมมือระหว่างประเทศ สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ ทบวงมหาวิทยาลัย - พ.ศ. 2540-2542 ด�ำรงต�ำแหน่งรองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ มหาวิทยาลัยศิลปากร - พ.ศ. 2544-2547 ด�ำรงต�ำแหน่งคณบดีคณะมัณฑนศิลป์ เกษียณราชการ - พ.ศ. 2547-ปัจจุบัน ที่ปรึกษาวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการตัดสินผลงาน: - กรรมการด�ำเนินการประกวดและตัดสินตราสัญลักษณ์ การจัด งานฉลองศิริราชสมบัติครบ 50 ปี ด�ำเนินการโดยกรมศิลปากร - กรรมการด�ำเนินการประกวดและตัดสินตราสัญลักษณ์ การจัด งานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาส พระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ - ได้รับเชิญเป็นกรรมการตัดสินผลงานเครื่องเคลือบดินเผาระดับ นานาชาติที่ประเทศญี่ปุ่น (THE 4TH INTERNATIONAL CERAMICS COMPETTION 1995 MINO JAPAN) - ปี 2539 ได้รับการพิจารณาจากกระทรวงการต่างประเทศให้ไป ตัดสินตราสัญลักษณ์ ASEM ณ ประเทศอินโดนีเซีย เนื่องด้วยมี สมาชิกเพิ่มขึ้น - ประธานกรรมการตัดสินประกวด “โกรเฮ่ ดีไซด์ อวอร์ด” ปี 2539 และ 2540 ซึ่งเน้นการออกแบบเพื่อสรรสร้างการแก้ปัญหา และรักษาสิ่งแวดล้อม โดยพิจารณาผลงานชนะเลิศ ส่งประกวด ระดับนานาชาติ ณ ประเทศสิงคโปร์ จัดโดยบริษัทสปินเลอร์ แอนด์ แอสโซซิเอท - เป็นที่ปรึกษากรรมด�ำเนินการจัดตั้งและออกแบบพิพิธภัณฑ์ ประวัติการพยาบาลไทย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2546 กรรมการด�ำเนินการประกวดตราสัญลักษณ์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาส พระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 12 สิงหาคม 2547
อาจารย์วีระศักดิ์ บุญ-หลง สถานที่เกิด: กรุงเทพฯ ประวัติการศึกษา: - ศิลปบัณฑิต มัณฑนศิลป์ - ปริญญาโท EN.SA.D (PARIS) ประวัติการท�ำงาน: - Amanpuri Resort Hotel - Tawana Ramada Hotel - B.B.C. Bank - Indosuez Bank อาจารย์จรินทร์ รอดประเสริฐ (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2508 - 2526) เกิด: 9 กุมภาพันธ์ 2482 สถานที่: จังหวัดนครสวรรค์ ประวัติการศึกษา: - จบชั้นมัธยม จากโรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี - จบชั้นอาชีวะชั้นสูง จากโรงเรียน ช่างก่อสร้างอุเทนถวาย - เคยได้รับทุนอาชีวะเรียนดีจากกระทรวงศึกษาฯ (คัดจากคะแนนสูงสุด 2 คนใน 700 คน) - เคยได้รับทุนพระราชทาน “ทุนภูมิพล” (ขณะเรียนปี 3 จุฬาฯ) - จบปริญญา สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต เกียรตินิยม จุฬาฯ (โดยได้คะแนนรวมสูงสุดเป็นที่หนึ่งของรุ่นที่จบ 60 คน ปี 2507) - อบรมดูงานในยุโรป อเมริกา เอเชีย เป็นระยะเสมอ ประวัติการท�ำงาน: - อาจารย์ประจ�ำคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - อาจารย์พิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ - อาจารย์พิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - วิทยากรบรรยายเรื่องสถาปัตยกรรม และตกแต่งภายในให้กับ สถานศึกษา - อนุกรรมการระเบียบปฏิบัติวิชาชีพ สมาคมสถาปนิกสยามฯ - เขียนบทความลง หนังสือพิมพ์ วารสาร และเป็นวิทยากรทาง โทรทัศน์ - กรรมการสมาคมชาวจังหวัดนครสวรรค์ - กรรมการที่ปรึกษาวารสารบางฉบับ, บางบริษัท - เป็นวิทยากรอบรม “เลิกบุหรี่ใน 5 วัน” ของร.พ.มิชชั่นฯ ราว 10 ปี - ได้รับรางวัลผลงานดีเด่น จากสมาคมสถาปนิกสยามฯ - ประธานอ�ำนวยการ ส�ำนักงานสถาปนิกจรินทร์ รอดประเสริฐ (ก่อตั้งปี พ.ศ. 2508 ถึงปัจจุบัน) - สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยามฯ สมาคมมัณฑนากร สภาสถาปนิกไทย 28
- กรรมการบริหาร บริษัทผลิตอุปกรณ์ก่อสร้าง จ�ำกัด (พ.ศ. 2511 ถึงปัจจุบัน) - กรรมการบริหาร บริษัทกระเบื้องยางหัวหมาก จ�ำกัด (พ.ศ. 2512 ถึงปัจจุบัน) - ได้รับรางวัล “ศิษย์เก่าดีเด่น” ปี พ.ศ. 2548 (ในโอกาสครบรอบ 72 ปี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - ตั้งทุนการศึกษาโดยเงินส่วนตัว ให้นักศึกษาคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - ตั้งทุนการศึกษาโดยเงินส่วนตัว ไว้ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อจัดสรรเป็นรางวัลให้นิสิตที่ชนะการ ประกวดงานเรียนออกแบบ งานสถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่ดีเด่น เป็นประจ�ำ ทุนนี้ชื่อ “ทุนจรินทร์ รอดประเสริฐ เพื่อสถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่”
อาจารย์พิพัฒน์ พ่วงส�ำเนียง (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2514 - 2532) ประวัติการศึกษา: - ศิลปบัณฑิต คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติการท�ำงาน: - พิพิธภัณฑ์วัดม่วง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธีระ ปาลเปรม (รับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2507 - 2544) เกิด: วันที่ 2 พฤศจิกายน 2483 สถานที่: จังหวัดปทุมธานี ประวัติการศึกษา: - พ.ศ. 2490 โรงเรียนอ�ำนวยศิลป์, โรงเรียนเทเวศร์ศึกษา - พ.ศ. 2500 โรงเรียนศิลปศึกษา ม.ศิลปากร อาจารย์นิรันดร์ ไกรฤกษ์ - พ.ศ. 2507 ปริญญาศิลปบัณฑิต (มัณฑนศิลป์) ม.ศิลปากร (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2509 - 2544) ประวัติการท�ำงาน: เกิด: 15 มีนาคม 2484 - พ.ศ. 2507 อาจารย์ผู้สอนประจ�ำคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย สถานที่ : จังหวัดกรุงเทพฯ ศิลปากร (38 ปี 4 เดือน 17 วัน) ประวัติการศึกษา: - อาจารย์พิเศษคณะจิตรกรรมฯ ม.ศิลปากร (4 ปี) - เตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย - อาจารย์พิเศษคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.ศิลปากร (8 ปี) - ศิลปบัณฑิต คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - พ.ศ. 2517 เลขานุการคณะมัณฑนศิลป์ - LE DIPLOME DE CREATEUR D’ ARCHITECTURES ET DE - พ.ศ. 2524 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ MODELES สถาบัน CENTRE DE ART ET DE TECNIQUES - พ.ศ. 2526 หัวหน้าภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน (ECOLE CAMONDO) PARIS - พ.ศ. 2532 กรรมการสภามหาวิทยาลัย (สายคณาจารย์) ผลงานด้านการบริหาร: - พ.ศ. 2540 คณบดีคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - พ.ศ. 2521-2525 ต�ำแหน่งหัวหน้าภาควิชาคนแรก หลังจาก - พ.ศ. 2544 เกษียณอายุราชการ (1 ก.ค. 2544) การแบ่งแยกภาควิชา หลักสูตรใหม่ - อาจารย์พิเศษคณะมัณฑนศิลป์ (ป.ตรี และ ป.โท) - พ.ศ. 2530-2531 ต�ำแหน่งรองคณบดีคณะมัณฑนศิลป์ - พ.ศ. 2546 ผู้ปฏิบัติงานพิเศษด้านศิลปะและการออกแบบของ - พ.ศ. 2532-2535 ต�ำแหน่งคณบดีคณะมัณฑนศิลป์ สปาฟา (SEAMEO SPAFA) - พ.ศ. 2536-2539 ต�ำแหน่งหัวหน้าภาควิชาออกแบบตกแต่ง - อาจารย์พิเศษคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ภายใน - อาจารย์พิเศษคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม - พ.ศ. 2540-2543 ต�ำแหน่งหัวหน้าภาควิชาออกแบบตกแต่ง ผลงานการออกแบบ: ภายใน สมัยที่ 2 - ออกแบบภายในอาคารบริการศึกษา (ม.สุโขทัยธรรมาธิราช) ประวัติผลงานออกแบบบางส่วน: - ออกแบบภายในห้องประชุม รพ.ศิริราช (ตึกอ�ำนวยการเดิม) - ผลงานประติมากรรมแสง เพื่อประกอบในการตกแต่งสถานที่ - ออกแบบอาคารโรงแรมหาดทอง (จ.ประจวบคีรีขันธ์) “The Light Sculpture” - ออกแบบอาคารบ้านพักอาศัยและออกแบบตกแต่งภายในบ้าน รางวัลที่ได้รับ: พล.อ.ชัชชม กันหลง - พ.ศ. 2536 อาจารย์ดีเด่น ประจ�ำปีการศึกษา 2536 - ออกแบบอาคารบ้านพักอาศัยและออกแบบตกแต่งภายในบ้าน - พ.ศ. 2537 ศิษย์เก่าดีเด่น ประจ�ำปีการศึกษา 2537, MR. TORAJIRO OHASHI รองชนะเลิศอันดับ 1 การออกแบบศูนย์แสดงผลิตภัณฑ์และ - ออกแบบศาลาเอนกประสงค์ ม.ร.ว.อายุมงคล โสณกุล เทคโนโลยีด้านกระจก จัดโดย สมาคมสถาปนิกสยามและบริษัทกร (จ.ประจวบคีรีขันธ์)
29
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พยูร โมสิกรัตน์ (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2516 - 2550) เกิด: 23 มิถุนายน 2490 สถานที่: จังหวัดพัทลุง ประวัติการศึกษา: - ศิลปบัณฑิต (ประติมากรรม) คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร - ประกาศนียบัตรชั้นสูง (สถาปัตยกรรมไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติการท�ำงาน: - พ.ศ. 2541-2549 การแสดงผลงานคณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์ - พ.ศ. 2541-2542 การแสดงผลงานเนื่องในวันศิลป์ พีระศรี - พ.ศ. 2542 การแสดงศิลปกรรมบึงบอระเพ็ด - พ.ศ. 2543 การแสดงศิลปกรรมขนาดเล็ก “พื้นผิวและวัสดุ” การแสดงศิลปกรรมเพื่อศิลป์ พีระศรี 2000 - พ.ศ. 2544 การแสดงศิลปกรรม “ภาพเหมือนศิลปิน” - พ.ศ. 2545 การแสดงศิลปกรรม “วาดเส้นร่วมสมัย” - พ.ศ. 2547 การแสดงศิลปกรรม “ดอกไม้ในพระนามาภิไธย สิริกิติ์” - พ.ศ. 2548 การแสดงศิลปกรรม “คืนชีวาอันดามัน” - พ.ศ. 2549 การแสดงศิลปกรรม “Art 2006”
อาจารย์เปรื่อง เปลี่ยนสายสืบ (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2507 - 2537) เกิด: วันที่ 14 กรกฎาคม 2475 สถานที่เกิด: กรุงเทพมหานคร ถึงแก่กรรม ประวัติการศึกษา: - โรงเรียนสวนกุหลาบ ระดับมัธยม - โรงเรียนเพาะช่าง - ศิลปบัณฑิต (จิตรกรรม) คณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติการท�ำงาน: - อาจารย์ประจ�ำวิชาศิลปะพื้นบ้าน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร การแสดงงานศิลปกรรม: - ร่วมแสดงในงานศิลปกรรมแห่งชาติ - ร่วมแสดงงานศิลปกรรมของจิตรกร-ปฏิมากรสมาคม - จัดการแสดงผลผลงานศิลปกรรมที่โรงแรมอินทรา - จัดการแสดงภาพเป็นกลุ่มที่ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล - จัดการแสดงภาพเป็นกลุ่มที่โรงแรมมณเฑียร - จัดนิทรรศการภาพถ่ายสภาพแวดล้อมแหล่งผลิตหัตถกรรม ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รางวัลและเกียรติคุณ: - รางวัลเกียรตินิยม อันดับ 3 เหรียญทองแดง (จิตรกรรม) จากการแสดงงานศิลปะของจิตรกร-ปฏิมากรสมาคม (ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เป็นประธานกรรมการตัดสิน) - พ.ศ. 2498 เกียรตินิยมอันดับ 3 เหรียญทองแดง (จิตรกรรม แบบไทย) จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 3 - พ.ศ. 2501 เกียรตินิยมอันดับ 3 เหรียญทองแดง (จิตรกรรม) จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 9 - พ.ศ. 2503 เกียรตินิยมอันดับ 3 เหรียญทองแดง (จิตรกรรม) จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 11 - พ.ศ. 2504 เกียรตินิยมอันดับ 3 เหรียญทองแดง (จิตรกรรม) จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 12
อาจารย์บัณฑิต ผดุงวิเชียร (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2511 - 2543) สถานที่เกิด: จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประวัติการศึกษา: - ศิลปบัณฑิต คณะจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร รายวิชาที่ท�ำการสอน: วาดเส้น จิตรกรรม วาดเส้นสร้างสรรค์ การสร้างภาพประกอบ ประวัติแสดงผลงานบางส่วน: - แสดงผลงานด้านจิตรกรรมร่วมกับเพื่อนและคณาจารย์ - ร่วมแสดงงานศิลปกรรมแห่งชาติในสมัยเป็นนักศึกษาหลายครั้ง เมื่อเป็นอาจารย์แล้วไม่ได้ส่งผลงานร่วมแสดงงานศิลปกรรม แห่งชาติ แต่เคยร่วมงานแสดงงานกับกลุ่มศิลปิน รางวัลที่ได้รับบางส่วน: - รับพระราชทานรางวัลที่ 2 เหรียญเงิน 2 ครั้ง ในงานศิลปกรรม แห่งชาติ - รับพระราชทานรางวัลที่ 3 เหรียญทองแดง 1 ครั้ง ในงาน ศิลปกรรมแห่งชาติ
อาจารย์นิพนธ์ ผริตะโกมล (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2506 - 2536) สถานที่เกิด: จังหวัดชัยภูมิ ถึงแก่กรรม ประวัติการศึกษา: - ศิลปบัณฑิต (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร
30
ประสบการณ์ท�ำงาน: - ท�ำการสอนที่คณะมัณฑนศิลป์ เป็นเวลายี่สิบกว่าปี สอนวิชาวาด เส้น วาดเส้นสร้างสรรค์ จิตรกรรม ออกแบบภาพประกอบเทคนิค นิเทศศิลป์ - สร้างสรรค์งานศิลปะประเภทจิตรกรรมร่วมแสดงทั้งในประเทศ และต่างประเทศหลายครั้ง - เขียนภาพประกอบประจ�ำหนังสือรายสัปดาห์และรายเดือนเป็น ระยะเวลานาน - ด้านงานบริหาร เป็นหัวหน้าภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ และ กรรมการประจ�ำคณะมัณฑนศิลป์ - เป็นอาจารย์สอนพิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย รางวัลที่เคยได้รับ: - ชนะเลิศรางวัลที่ 1 โปสเตอร์ของสภากาชาดไทย - รางวัลเหรียญเงินประเภทจิตรกรรม ในการแสดงของจิตรกรประติมากรสมาคม ของท่านศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี - รางวัลเหรียญเงิน 2 เหรียญ และเหรียญทองแดง 2 เหรียญ ประเภทจิตรกรรมในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ
รางวัลเกียรติยศ: - ศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - ได้รับรางวัลที่หนึ่ง ในการประกวดจิตรกรรมฝาผนังของส�ำนัก กลางนักเรียนคริสเตียนกรุงเทพฯ - ได้รับรางวัลที่หนึ่ง เกียรตินิยมเหรียญทอง (มัณฑนศิลป์) ใน การประกวดศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 12 - ได้รับรางวัลที่หนึ่งในการประกวด Art For Heart’s sake ที่นคร Los Angeles ประเทศสหรัฐอเมริกา - ได้รับรางวัล Prints Award ในการประกวดภาพพิมพ์ งานฤดู ร้อนของมหาวิทยาลัย California (Los Angeles) - ได้รับการคัดเลือกโดยศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี ให้ผลงาน ภาพพิมพ์ประเภท Wood Block ไปแสดงที่กรุงโตเกียว ประเทศ ญี่ปุ่น ในงาน International Biniel Prints Contest ในงานนี้มี ศิลปินคนส�ำคัญของโลกแสดงอยู่ด้วยคือ Pablo Picasso, Joan Miro และ George Braque ผลงานสร้างสรรค์: - ออกแบบและเขียนจิตรกรรมฝาผนัง ห้องประชุมของส�ำนักงาน กลางนักเรียนคริสเตียน กรุงเทพฯ - ออกแบบและเขียนจิตรกรรมฝาผนังในบ้านพักรับรองของ รัฐบาลที่แหลมแท่น ต�ำบลบางแสน จังหวัดชลบุรี - ออกแบบและเขียนจิตรกรรมฝาผนัง ธนาคารกสิกรไทย (สาขา พัฒนพงศ์) กรุงเทพฯ - ออกแบบและเขียนจิตรกรรมฝาผนัง โรงพยาบาลวชิระ กรุงเทพฯ - ออกแบบและเขียนจิตรกรรมฝาผนัง โรงแรมแกรนด์ กรุงเทพฯ - ออกแบบประติมากรรม (จ�ำหลักแบน) สหธนาคาร สาขาจังหวัด ขอนแก่น - ออกแบบประติมากรรม (จ�ำหลักแบน) ธนาคาร MERCHANTILE กรุงเทพฯ - อดีตผู้เชี่ยวชาญอาวุโส (ทัศนศิลป์) ศูนย์ภูมิภาคโบราณคดีและ วิจิตรศิลป์ (SPAFA)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์มาโนช กงกะนันทน์ (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2503 - 2537) สถานที่เกิด: กรุงเทพมหานคร ประวัติการศึกษา: - มัธยมศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ (บางรัก) พระนคร - ศ.บ. คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - ได้รับทุนรัฐบาล (ก.พ.) เป็นคนแรกของมหาวิทยาลัยศิลปากร ไปศึกษาวิชา Interior Design ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา - M.A. (Art), M.F.A. (Environmental Design) University of California (Los Angeles) - M.F.A. (Environmental Design) จาก University of California (Los Angeles) ผลงานวิชาการ: - ต�ำรา: ศิลปะการออกแบบ, ประวัติและการออกแบบเครื่อง เรือน, Lighting for Interior, เลขนศิลป์ (สิ่งแวดล้อม) ฯลฯ - หนังสือ: การอนุรักษ์หัตถกรรมประเพณี, ศิลปะพื้นบ้านหัตถกรรมท้องถิ่น, หัตถกรรมภาคใต้, หัตถกรรมพื้นบ้าน (สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน เล่มที่ 13 โดยพระราชประสงค์ใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว) - งานวิจัย: เครื่องจักรสานราชบุรี (ส�ำนักงานเผยแพร่เอกลักษณ์ ของชาติ ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี): Wickerwork in seven provinces of Central Thailand) (UNESCO.)
รองศาสตราจารย์ชัยนันท์ ชะอุ่มงาม (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2517 - 2551) สถานที่เกิด: กรุงเทพมหานคร ประวัติการศึกษา: - ศิลปบัณฑิต สาขาภาพพิมพ์ (เกียรตินิยม) คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - ศิลปมหาบัณฑิต สาขาภาพพิมพ์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - Cert. of Training Course for Editor and Book Designer, UNESCO, Bangkok 31
- Dip. For Further Development of Trainer Teacher of Arts in School, The National Art Centre, Philippines - Cert. of Care and Conservation of Works on Paper’s Workshop, The University, of Melbourne, Australia, held, at Silpakorn University ประวัติการท�ำงาน: - รางวัลที่ 1 เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรมร่วมสมัย ในการ ประกวดจิตรกรรมบัวหลวงครั้งที่ 1 - รับพระราชทานเข็มกลัดพระนามาภิไธยทองค�ำ จากสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีฯ 2545 - รับพระราชทานเข็มกลัดพระนามาภิไธยกะไหล่ทองลงยา จาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีฯ 2549
- พ.ศ. 2513 โปรดเกล้าฯ ให้เขียนภาพสีน�้ำมัน พระบรมวงศา นุวงศ์ จ�ำนวน 4 ภาพ ติดตั้งที่พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน - พ.ศ. 2525 โปรดเกล้าฯ ให้เขียนภาพเจ้าฟ้าวชิรุณหิศ ติดตั้งที่ พระที่นั่งวิมานเมฆ - พ.ศ. 2544 ได้รับรางวัลมนัส เศียรสิงห์ “แดง” เป็นศิลปิน เกียรติยศทัศนศิลป์ดีเด่น - พ.ศ. 2546 ได้รับรางวัลบุคคลดีเด่น มูลนิธิเสถียรโกเศศ-นาคะ ประทีป การแสดงศิลปกรรมบางส่วน: - พ.ศ. 2511 การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 18 - พ.ศ. 2522-2525 นิทรรศการศิลปกรรมแห่งประเทศไทย ครั้ง ที่ 1-14, นิทรรศการศิลปกรรมหลายครั้งในต่างประเทศ ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส อาจารย์ลาวัณย์ อุปอินทร์ - พ.ศ. 2527 นิทรรศการภาพเหมือน ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2502 - 2539) หอศิลป กรมศิลปากร เกิด: 12 มกราคม 2478 - พ.ศ. 2529 นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย ที่พิพิธภัณฑสถาน สถานที่เกิด: กรุงเทพมหานคร ศิลปะกรุงปักกิ่ง กวางโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน ประวัติการศึกษา: - พ.ศ. 2530 นิทรรศการสุนทรียภาพเฉลิมพระเกียรติ ที่ศูนย์ - โรงเรียนศิลปศึกษา (เตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากร) สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) - ศิลปบัณฑิต (จิตรกรรม) คณะจิตรกรรม ประติมากรรม - พ.ศ. 2535 นิทรรศการศิลปกรรมสตรีนานาชาติ (26 ประเทศ) มหาวิทยาลัยศิลปากร นิทรรศการสตรีสร้างสรรค์, นิทรรศการ 73 ศิลปินไทย ศิษย์ศิลป์ ประวัติการท�ำงาน: พีระศรี 100 ปี - พ.ศ. 2502-2511 สอนวาดภาพทางโทรทัศน์ จัดรายการแนะน�ำ - พ.ศ. 2536-2537 นิทรรศการสัญจรงานแสดงจิตรกรรม ศิลปะ อาเซียน ทุกประเทศอาเซียน - พ.ศ. 2512-2517 สอนคณะจิตรกรรม ประติมากรรม - พ.ศ. 2543 นิทรรศการภาพศิลปะ รัฐบุรุษอาวุโส นายปรีดี มหาวิทยาลัยศิลปากร พนมยงค์ (เนื่องในวาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล) - พ.ศ. 2512-2516 เขียนคอลัมน์ “ศิลปะ-ศิลปิน” ในหนังสือ - พ.ศ. 2545 นิทรรศการศิลปกรรม เนื่องในการได้รับเกียรติ ชัยพฤกษ์ ให้เป็นสิลปินเกียนติยศทัศนศิลป์ดีเด่นทางด้านสันติภาพ - พ.ศ. 2517-2539 สอนคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประชาธิปไตย และความเป็นธรรม ที่สถาบันปรีดี พนมยงค์ - พ.ศ. 2517 ร่วมก่อตั้งแนวร่วมศิลปิน - พ.ศ. 2522 ร่วมก่อตั้งชมรมศิลปกรรมแห่งประเทศไทย อาจารย์สมโภชน์ อุปอินทร์ (ปัจจุบันเป็นสมาคมศิลปกรรมแห่งประเทศไทย) (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2502 - 2538) - พ.ศ. 2533 จัดนิทรรศการสันติภาพไทย ร่วมกับมูลนิธิปรีดีฯ เกิด: 31 ตุลาคม 2477 - พ.ศ. 2535 จัดนิทรรศการ 60 ปี ประชาธิปไตย มหาวิทยาลัย สถานที่เกิด: จังหวัดเพชรบูรณ์ ธรรมศาสตร์ ถึงแก่กรรม รางวัลและเกียรติคุณบางส่วน: ประวัติการศึกษา: - พ.ศ. 2506 รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 3 เหรียญทอง ประเภท - โรงเรียนประจ�ำอ�ำเภอหล่มศักดิ์ จิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 14 - โรงเรียนเพาะช่าง ส�ำเร็จวิชาครูประถมศิลป - พ.ศ. 2510 ได้รับมอบหมายให้เข้าซ่อมภาพเขียนสีน�้ำมันใน - ศิลปบัณฑิต (ประติมากรรม) คณะจิตรกรรมและประติมากรรม ต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน และเขียนภาพประดับ พระต�ำหนักภูพิงค ประวัติการท�ำงาน: ราชนิเวศน์ - พ.ศ. 2504-2516 สอนคณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร
32
- พ.ศ. 2517 สอนที่ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รางวัลและเกียรติคุณ: - พ.ศ. 2502 รางวัลเกียนตินิยมอันดับ 3 เหรียญทองแดง (จิตรกรรม) จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 10 - พ.ศ. 2503 ได้รางวัลที่ 2 จากการประกวดงานจิตรกรรมฝาผนัง ซึ่งจัดโดยบริษัท The Standard Vacuum Oil - พ.ศ. 2504 รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 3 เหรียญทองแดง (จิตรกรรม) จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 12 - พ.ศ. 2505 รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงิน (มัณฑนศิลป์) จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 13 - พ.ศ. 2506 รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงิน (จิตรกรรม) จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 14 - พ.ศ. 2507 รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงิน (จิตรกรรม) จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 15 - พ.ศ. 2508 รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 3 เหรียญทองแดง (จิตรกรรม) จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 16 - พ.ศ. 2510 รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 3 เหรียญทองแดง (จิตรกรรม) จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 17 - พ.ศ. 2511 รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 3 เหรียญทองแดง (จิตรกรรม) จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 18 - พ.ศ. 2512 รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 3 เหรียญทองแดง (จิตรกรรม) จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 19 การแสดงงานศิลปกรรม: - พ.ศ. 2502-2512 ร่วมแสดงงานศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 10-19 - พ.ศ. 2506 ศิลปกรรมนานาชาติ ที่กรุงไซง่อน ประเทศเวียดนาม - พ.ศ. 2507 ศิลปกรรมนานาชาติ ที่เท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา - พ.ศ. 2514 แสดงงานศิลปกรรมย้อนหลัง หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี - พ.ศ. 2529 แสดงร่วมกับศิลปิน 3 ชาติ ไทย-ญี่ปุ่น-เยอรมัน ที่เมืองคาวาซากิ ประเทศญี่ปุ่น - พ.ศ. 2534 แสดงงานศิลปกรรมย้อนหลัง ณ พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ หอศิลปะ - พ.ศ. 2538 ร่วมแสดงศิลปกรรม Asian Modernism 1) ญี่ปุ่น โตเกียว ณ The Japan Foundation Forum 28 ตุลาคม 2538 ถึง 3 ธันวาคม 2538 2) ฟิลิปปินส์ มะนิลา ณ Metropolitan Museum of Manila 6 กุมภาพันธ์ 2539 ถึง 6 มีนาคม 2539 3) ไทย กรุงเทพฯ ณ The National Gallery, Bangkok 3-28 พฤษภาคม 2539 4) อินโดนีเซีย จาการ์ต้า ณ Gedung Pameran Seni Rupa มิถุนายน ถึง กรกฎาคม 2539
- พ.ศ. 2539 ร่วมแสดงศิลปกรรม SAM Inaugural Exhibition (Southeast Asian Art) ณ Singapore Art Museum 20 มกราคม 2539 ถึง 19 พฤษภาคม 2539 ผู้ช่วยศาสตราจารย์มานิตย์ ภู่อารีย์ (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2517 - 2539) สถานที่เกิด: ธนบุรี ถึงแก่กรรม ประวัติการศึกษา: - พ.ศ. 2495 แผนกวิจิตรศิลป์ สถานบันเพาะช่าง - พ.ศ. 2497-2502 ศิลปบัณฑิต (เกียรตินิยม) คณะจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร - พ.ศ. 2505 ได้รับทุนแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไปศึกษาและดูงาน ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา - Dip, Pittura Laccademia Di Belle Arti, Di Roma Italia ประวัติแสดงผลงานบางส่วน: - พ.ศ. 2503 แสดงผลงานนิทรรศการภาพพิมพ์ (วูดคัท) ณ ประเทศออสเตเลียและนิวซีแลนด์ - พ.ศ. 2525 แสดงงานศิลปะเซรามิค ผลงานศิลปะเครื่องปั้น ดินเผาดีเด่นยอดเยี่ยม - พ.ศ. 2526 ได้รับเชิญร่วมแสดงศิลปะเซรามิคร่วมสมัย ณ เมือง มิลาโน่ ประเทศอิตาลี - พ.ศ. 2535 แสดงงานมหกรรมศิลปกรรม 16 ศิลปินชั้นเยี่ยม รางวัลที่ได้รับบางส่วน: - พ.ศ. 2502 รางวัลเกียรตินิยม เหรียญทอง (จิตรกรรม) - พ.ศ. 2504 รางวัลเกียรตินิยม เหรียญทอง (ภาพพิมพ์) - พ.ศ. 2505 รางวัลเกียรตินิยม เหรียญทอง (ภาพพิมพ์) และรางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน (จิตรกรรม) จนได้รับเกียรติ ยกย่องให้เป็นศิลปินชั้นเยี่ยม (สาขาภาพพิมพ์) รองศาสตราจารย์สน สีมาตรัง เกิด: 20 เมษายน 2489 สถานที่เกิด: กรุงเทพมหานคร ประวัติการศึกษา: - พ.ศ. 2497-2500 โรงเรียนเฉลิมสาสน์ศึกษา กรุงเทพฯ - พ.ศ. 2501-2506 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย กรุงเทพฯ - พ.ศ. 2507-2508 ประกาศนียบัตรวิชาชีพการช่าง (ป.ว.ช.) โรงเรียนช่างศิลป กรมศิลปากร กรุงเทพฯ - พ.ศ. 2509-2513 ปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับ 2) คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร - พ.ศ.2519-2521 ประกาศนียบัตรชั้นสูงหลังปริญญาตรี สาขา 33
สถาปัตยกรรมไทย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร ประวัติการรับราชการ: - พ.ศ. 2514-2516 รับราชการที่คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - พ.ศ.2517- 2549 วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2517 รับราชการ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - พ.ศ.2521-2532 เลขานุการภาควิชาประยุกตศิลป์ศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - พ.ศ.2525-2548 รับการแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ - พ.ศ.2533-2539 หัวหน้าภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา - พ.ศ.2540-2543 รองคณบดีฝ่ายวิชาการ - พ.ศ.2540-2548 กรรมการสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ประเภท ผู้แทนคณาจารย์ - พ.ศ.2549-ปัจจุบัน รับการแต่งตั้งเป็นรองศาสตราจารย์ - พ.ศ.2549 เกษียณอายุราชการเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2549 - พ.ศ.2550-2553 ผู้อ�ำนวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - พ.ศ.2552-2553 กรรมการสภามหาวิทยาลัยศิลปากรประเภทผู้ บริหารการศึกษา (ได้รับการคัดเลือกจากกลุ่มคณบดี) - พ.ศ.2554-ปัจจุบัน รับราชการต�ำแหน่งอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ รางวัลและประวัติการแสดงงานศิลปกรรมบางส่วน: - พ.ศ. 2509 รางวัลที่ 1 ประเภทจิตรกรรมงานประกวด ศิลปกรรม มูลนิธิคริสเตียนแห่งประเทศไทย - พ.ศ. 2514 รางวัลเหรียญเงิน ประเภทจิตรกรรม การแสดง ศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 19 - พ.ศ. 2515 รางวัลเหรียญเงิน ประเภทจิตรกรรม การแสดง ศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 20 - พ.ศ. 2514- 2517 ร่วมแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 19-22 - พ.ศ. 2516 รางวัลเหรียญทองแดง ประเภทจิตรกรรม การ แสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 21 - พ.ศ. 2539 รางวัลที่ 1 ประกวดสมุดไดอารี่ชุด “หนังใหญ่วัด ขนอน” ของบริษัท แปลน โมทิฟ จ�ำกัด - พ.ศ. 2540 รางวัลที่ 1 ประกวดสมุดไดอารี่ชุด “หุ่นละครเล็ก” พิมพ์โดยธนาคารเอ็กซิม (เพื่อการส่งออก) จ�ำกัด - พ.ศ. 2542 รางวัลที่ 1 ประกวดปฏิทินปี 2542 ชุด “ปริศนา ธรรม” พิมพ์โดยบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ธนชาติ มหาชน จ�ำกัด - พ.ศ. 2550 นิทรรศการเดี่ยวของ นายสน สีมาตรัง ชื่อว่า “ลืม ความรู้จัก ถามหาความ รู้สึก (Escape from Reality, Keep Only My Own Feeling)” ณ หอศิลปะและการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์ วันที่ 1 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2550
- พ.ศ. 2550-2552 ศิลปินรับเชิญ ร่วมโครงการแลกเปลี่ยนศิลป วัฒนธรรม ไทย-อินเดีย โดยมีหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ร่วมกับ Visva Parati University, Santiniketan, Calcutta, India จัดแสดงผลงานที่หอศิลปะของทั้งสองสถาบันฯ แบบ นิทรรศการสัญจร - พ.ศ.2551 ศิลปินรับเชิญโครงการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒธรรมใน อนุภูมิภาคกลุ่มแม่น�้ำโขงระหว่างหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กับสถาบัน วิจิตรศิลป์แห่งชาติ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ ศิลปินจากมหาวิทยาลัยศิลปะเมืองเว้ ประเทศเวียดนาม จัดแสดง ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เวียงจันทน์ - พ.ศ.2551-2552 ศิลปินรับเชิญ โครงการแลกเปลี่ยนศิลป วัฒนธรรม ไทย-อิตาลี 2008-2009 โดยหอศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร ลงนามร่วมกับ Libera Academia Di Belle Arti, Brescia, Milan, Italy เป็นเจ้าภาพจัดงาน Art Workshop ที่ สถาบันศิลปะทั้งสองแห่ง และจัดนิทรรศการศิลปกรรมทั้งที่เมือง Brescia, Italy และที่หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร - พ.ศ.2552 ศิลปินรับเชิญร่วมโครงการแลกเปลี่ยนศิลป วัฒนธรรม ไทย-เวียดนาม โดยมีหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ร่วมกับ Ho Chiminh City University of Fine Arts, Vietnam จัดแสดงนิทรรศการที่หอศิลปะของทั้งสองสถาบัน - พ.ศ.2553 ศิลปินรับเชิญร่วมโครงการแลกเปลี่ยนศิลป วัฒนธรรมไทย-อเมริกา โดยมีหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ร่วมกับ California Polytecnic State University, U.S.A. จัด แสดงที่หอศิลปะของทั้งสองสถาบันฯ ที่สหรัฐอเมริการและที่ กรุงเทพฯ รองศาสตราจารย์วีระ โยธาประเสริฐ (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2517 - 2537) สถานที่เกิด: กรุงเทพมหานคร ถึงแก่กรรม ประวัติการศึกษา: - พ.ศ. 2498-2504 คณะจิตรกรรมแฃะประติมากรรม (ศบ. จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร - พ.ศ. 2504-2507 ได้รับทุนการศึกษาต่างประเทศของรัฐบาล อิตาลี ศึกษา ณ สถาบันศิลปศึกษา กรุงโรม (DIPLOMA DELLA DECORZIONE DI BELLE ARTI DE ROMA, ITALI) ประวัติการท�ำงาน: - อาจารย์ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
34
ประวัติแสดงผลงานบางส่วน: - แสดงผลงานเดี่ยว ปี 2507 - แสดงร่วมกับศิลปินอื่นๆ ในประเทศและต่างประเทศทุกครั้งเมื่อ มีโอกาส รางวัลที่ได้รับบางส่วน: - เหรียญเงิน จากการแสดงศิลปินนานาชาติที่ประเทศอิตาลี - เหรียญเงิน จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ (ไทย) - เหรียญทองแดง หลายครั้งจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ
- พ.ศ. 2517 อาจารย์ประจ�ำวิชาประติมากรรม ภาควิชา ประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ - พ.ศ. 2498 รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงิน (ประติมากรรม) งานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 6 - พ.ศ. 2498 รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงิน (ประติมากรรม) งานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 6 - พ.ศ. 2498 รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงิน (ประติมากรรม) งานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ผลงานศิลปะในที่สาธารณชนและผู้ที่สะสมศิลปะ: - พ.ศ. 2496 ปั้นรูปพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก และ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่หอประชุมกองทัพบก - พ.ศ. 2497 มหาวิยาลัยหอการค้าไทย กรุงเทพฯ - พ.ศ. 2506 ธนาคารแห่งประเทศไทย สาขาล�ำปาง จ.ล�ำปาง - พ.ศ. 2507 อาคารสภาวิจัยแห่งชาติ - พ.ศ. 2514 อาคารหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ กรุงเทพฯ การแสดงงาน ประติมากรรมอาเซียน ครั้งที่ 2 ที่สวนจตุจักร กรุงเทพฯ - พ.ศ. 2535 อุทยานเบญจศิริ ถ.สุขุมวิท เนื่องในวโรกาสมหา มงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรม ราชนินีนาถ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2535 - ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์
อาจารย์เสวต เทศน์ธรรม (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2517 - 2539) เกิด: 14 มีนาคม 2478 สถานที่: จังหวัดลพบุรี ประวัติการศึกษา: - ระดับมัธยม โรงเรียนนนทศึกษา - โรงเรียนศิลปศึกษา (เตรียมศิลปากร) - ศิลปบัณฑิต (ประติมากรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติการท�ำงาน: - พ.ศ. 2500-2519 อาจารย์คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัย ศิลปากร - พ.ศ. 2517 อาจารย์ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผลงานและการแสดงงาน: - รางวัลที่ 1 การประกวดพระรูปเหมือนอดีตเจ้าอาวาสวัดปริวาส (ถนนรัชดา) - รางวังที่ 1 และรางวัลที่ 2 การประกวดพระรูปเหมือนที่วัด โสมนัส (นางเลิ้ง)
อาจารย์เสาวภา วิเชียรเขตต์ (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2517 - 2539) เกิด: 3 มีนาคม 2475 สถานที่เกิด: กรุงเทพมหานคร ประวัติการศึกษา: - คณะจิตรกรรม ประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติแสดงผลงานบางส่วน: - พ.ศ. 2525 ร่วมแสดงประติมากรรมในนิทรรศการศิลปกรรมที่ ธนาคารแห่งประเทศไทย - พ.ศ. 2534-2536 นิทรรศการศิลปะผสมผสานของไทยยุคใหม่ที่ สหรัฐอเมริกา และศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย - พ.ศ. 2536 นิทรรศการศิลปกรรม “วิเชียรเขตต์” 36 ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ ถนนเจ้าฟ้า กรุงเทพฯ รางวัลที่ได้รับบางส่วน: - พ.ศ. 2498 ได้รับรางวัลที่ 3 เหรียญทองแดงในการร่วมแสดง ภาพเขียนแบบ THAI TRADITION ART ในนิทรรศการศิลปกรรม แห่งชาติ ครั้งที่ 6 ณ หอศิลป์ กรมศิลปากร
อาจารย์ช�ำเรือง วิเชียรเขตต์ (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2517 - 2538) เกิด: 2 มีนาคม 2474 สถานที่: จังหวัดกาฬสินธุ์ ประวัติการศึกษา: - ระดับมัธยมจากโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ - โรงเรียนเพาะช่าง - พ.ศ. 2493-2497 ได้เข้ารับการศึกษาในคณะจิตรกรรมและ ประติมากรรมในมหาวิทยาลัยภายใต้ อ�ำนวยการสอนโดย ท่านศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี (C, FEROCI) ประวัติการท�ำงาน: - พ.ศ. 2497 อาจารย์ประจ�ำคณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
35
- ร่วมแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบเนื่องในวโรกาส ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 “6 ทศวรรษ ครองราชย์” ระหว่างวันที่ 15-30 กันยายน 2549 ณ หอศิลปะ และการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - ร่วมแสดงงาน “Land-Seascape 7th” ณ หอศิลปะและการ ออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ 19 -29 มิ.ย.2549 - พ.ศ.2538 ร่วมแสดงงาน กลุ่มนิมิต ที่ริเวอร์ซิตี้ - พ.ศ.2525 ร่วมแสดงงาน กลุ่มไม้ไผ่ บริติชเคาน์ซิล กรุงเทพฯ
รองศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ ชมุนี (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2525 - 2550) เกิด: 17 กุมภาพันธ์ 2490 การศึกษา: - EdD. (Art Criticism) School of ED New York,1988 - MFA. Pratt Institute, 1978 - BFA. (Art Education) with Highest Honour. Pratt Institute, 1976 - วทบ. (ชีวเคมี) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2514 การแสดงผลงานบางส่วน: - พ.ศ. 2556 นิทรรศการ “สีสันและจิตวิญญาณ” โครงการเชิดชู เกียรติเนื่องในวาระเกษียณอายุราชการ 2-12 กรกฎาคม 2556 - พ.ศ.2555 นิทรรศการผลงานคณาจารย์ประจ�ำคณะมัณฑนศิลป์ 2540-2555 - พ.ศ. 2552 THAI - VIETNAM CONTEMPORARY ART EXHIBITION 2009 by 50 Thai - 38 Vietnamese artists under the art and cultural exchange of Art Center, Silapakorn University and Ho Chi Minh City University of Fine Arts, Vietnam 2-26 ธันวาคม 2552 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ - พ.ศ. 2551 นิทรรศการWASTELESS FOR GREEN WORLD นิทรรศการเพื่อถ่ายทอดผลงานต้นแบบปฏิบัติการสร้างสรรค์ ของ คณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 2 - พ.ศ.2551 นิทรรศการภาพวาดดอกไม้และภาพเหมือนคน FACE & FLOWER ของนักศึกษาภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา ณ หอ ศิลปะและการออกแบบคณะมัณฑนศิลป์ 20- 29 ส.ค. 2551 - พ.ศ. 2550 ร่วมแสดงผลงาน “แรงบันดาลใจจากบทเพลงพระ ราชนิพนธ์” การแสดงศิลปกรรมไทย ครั้งที่ 8 ประจ�ำปี 2550 เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา - Thai-American Art Project: Thai-American Art and Cultural Exchange year 2007 Program Under the Collaboration of Art Center, Silpakorn University and California Polytechnic State University and San Joes State University, 29 August -13 September 2007 at Art Center, Silpakorn University, 2-28 November 2007 at University Art Gallery, Department of Art & Design California Polytechnic State University - ร่วมแสดงงาน “พอเพียง หัวใจแห่งธรรมชาติ” “The hart of Nature” ครั้งที่ 1 ณ สีลมแกลเลอเรีย 21 เม.ย. - 21 พ.ค. 2550 - ร่วมแสดงผลงาน “แรงบันดาลใจจากบทเพลงพระราชนิพนธ์” การแสดงศิลปกรรมไทย ครั้งที่ 8 ประจ�ำปี 2550 เนื่องในโอกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 พ.ศ.2549
รองศาสตราจารย์ปรีชา อมรรัตน์ (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2528 - 2550) เกิด: 3 มกราคม 2490 สถานที่เกิด: จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประวัติการศึกษา: - อนุปริญญาศิลปบัณฑิต คณะจิตรกรรมประติมากรรมและ ภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - ครุศาสตร์บัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนคร (อุตสาหกรรมศิลป์ - ช่างปั้นดินเผา) ประวัติการท�ำงานราชการ: - เป็นอาจารย์สอนวิชาเครื่องเคลือบดินเผา เคยเป็นหัวหน้าภาค วิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผลงานทางวิชาการดีเด่น: - ร่วมการแสดงศิลปกรรมของศิษย์ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี 160 คน ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ - นิทรรศการแสดงงานเครื่องปั้นดินเผา “ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน เผาเตาฟืน” ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ - แสดงผลงานมหกรรมศิลปะเครื่องปั้นดินเผา 4 ภาค ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม รางวัลที่ได้รับ: - รางวัลเหรียญทองแดงการแสดงศิลปะเครื่องปั้น ประเภท ศิลปกรรมในการแสดงเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2525 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ เสริมศักดิ์ นาคบัว (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2503 - 2538) เกิด: 30 สิงหาคม 2478 สถานที่เกิด: จังหวัดชัยนาท ประวัติการศึกษา: - M.A.E. (Ceramics) U. of Hawaii, U.S.A. - ศิลปบัณฑิต (มัณฑนศิลป์) มหาวิทยาลัยศิลปากร 36
- อนุปริญญาศิลปบัณฑิต (จิตรกรรม-ประติมากรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร - Cert. In Tile Manufacturing Technology, Japan - Cert. In Ceramics. Inst. Of Industrial Arts. Helsinki, Finland ต�ำแหน่งทางวิชาการ: - ศาสตราจารย์ ระดับ 10 ต�ำแหน่งทางบริหาร: - รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร มหาวิทยาลัยศิลปากร - รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปากร - คณบดีคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - หัวหน้าภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ต�ำแหน่งปัจจุบัน: - ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ผลงานทางวิชาการดีเด่น: - หนังสือและบทความเกี่ยวกับเคลือบขี้เถาพืชชนิดต่าง ๆ ที่ท�ำ การทดลองต่อเนื่องมามากกว่า 40 ชนิด - งานออกแบบ Ceramic ทั้งด้านอุตสาหกรรมและงานสร้างสรรค์ ทางศิลปะจ�ำนวนมาก
อาจารย์โกศล สุวรรณกูฎ (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2519 - 2552) สถานที่เกิด: จังหวัดร้อยเอ็ด ประวัติการศึกษา: - สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ศิลปอุตสาหกรรม) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ประวัติการท�ำงาน: - พ.ศ. 2535 นิทรรศการผลงานคณาจารย์ประจ�ำคณะ มัณฑนศิลป์ 36 ปี งานออกแบบบางส่วน: - เครื่องปรับอากาศรุ่นตั้งพื้นและติดผนังของบริษัท เอส ซี เอ็นจิ เนียริ่ง จ�ำกัด - เครื่องเตือนเมื่อเกิดควันจากการเกิดอัคคีภัย - เข็มกลัดสุภาพสตรี งานวิจัย: - การเพิ่มคุณค่าพลอยจากแหล่งพลอยแพร่ด้วยการออกแบบ ระยะที่ 1, 2 - การพัฒนาแหล่งพลอยแพร่ในด้านการท�ำของที่ระลึกและการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ - การส�ำรวจผลิตภัณฑ์หัตถกรรมพื้นบ้าน 10 จังหวัด ภูมิภาค ตะวันตก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวนิช สุวรรณโมลี (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2522 - 2544) เกิด: 12 กุมภาพันธ์ 2498 สถานที่เกิด: จังหวัดสิงห์บุรี ประวัติการศึกษา: - ปริญญาโท เครื่องเคลือบดินเผา Ceramic Design มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติการท�ำงานราชการ: - เป็นอาจารย์สอนวิชาเครื่องเคลือบดินเผา - เคยเป็นหัวหน้าภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา - เคยเป็นรองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผลงานทางวิชาการดีเด่น: - ร่วมแสดงผลงานในนิทรรศการเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติหลายครั้ง - รับรางวัลเหรียญทอง เหรียญทองแดง งานนิทรรศการ เครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 1, 2 - รับรางวัลชมเชยการประกวดออกแบบสัญลักษณ์สมาคม นักออกแบบผลิตภัณฑ์แห่งประเทศไทย - ค้นคว้าทดลองสร้างระบบปฏิบัติงานราก (Raku) ในปี พ.ศ. 2526 - ร่วมแสดงผลงานคณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์หลายครั้ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สวเรศ เกตุสุวรรณ (เข้ารับราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2522 - 2543) เกิด: 1 ตุลาคม 2497 สถานที่เกิด: กรุงเทพมหานคร ประวัติการศึกษา: - B. Arch. สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาโท การออกแบบผลิตภัณฑ์ (M.I.D.) สถาบันแพรท์ นิวยอร์ก สหรัฐอเมริการ (ทุน ก.พ.) ประวัติการท�ำงาน: - พ.ศ. 2523 Tact Awards 1 ใน 10 แผ่นภาพโฆษณายอดเยี่ยม - พ.ศ. 2535 งานแสดงนิทรรศการผลงานของศิลปินและ นักออกแบบสตรี - พ.ศ. 2530-ปัจจุบัน ผลงานข้อเขียนกึ่งวิชาการด้านการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ และข้อเขียนเกี่ยวกับภาพยนตร์ ตีพิมพ์ใน นิตยสารฉบับพ๊อกเก็ตบุ๊คฯ โดยใช้นาม “ออส่วน”
37
แบบฟอร์มรายละเอียดโครงการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม
๑. ชื่อโครงการ โครงการกิจกรรมเนื่องในโอกาสวันสถาปนาคณะมัณฑนศิลป์ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ๒. ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การอนุรักษ์และส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ รวมทั้งการประยุกต์ ใช้เพื่อรักษาและเพิ่มคุณค่าในระดับนานาชาติ ตอบสนองต่อพันธกิจด้านการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ตอบสนองต่อ/สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ คณะมัณฑนศิลป์ ๓. หลักการและเหตุผล คณะมัณฑนศิลป์ เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของประเทศที่ผลิตนักออกแบบสู่วงการ วิชาชีพด้านศิลปะและการออกแบบ นับตั้งแต่ก่อตั้งคณะมัณฑนศิลป์เมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๔๙๙ จนถึงปัจจุบัน ได้สร้างบุคลากรสู่สังคม มากกว่า ๒,๘๐๐ คน ไปประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาศิลปะ และการออกแบบ สร้างชื่อเสียงทั้งในระดับประเทศและต่างประเทศ กระบวนหนึ่งที่มีส่วนในการสร้าง บัณฑิตให้ประสบความส�ำเร็จได้นั้น คือ อาจารย์ ผู้ท�ำหน้าที่สั่งสอน งานวิชาการ วิจัย บริการวิชาการ แก่สังคม และสร้างปลูกฝังจริยธรรมให้แก่นักศึกษา ดังนั้นเพื่อเป็นการเสริมสร้างกิจกรรมที่สอดคล้องกับพันธกิจของคณะมัณฑนศิลป์ ด้านท�ำนุ บ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมและ การส่งเสริมเผยแพร่การบริการทางวิชาการด้านศิลปะการออกแบบ เพื่อ ร่วมฉลองในโอกาสวันสถาปนาคณะมัณฑนศิลป์ ประจ�ำปี ๒๕๕๗ จึงสมควรจัดโครงการนี้ขึ้น ๔. วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อเป็นกิจกรรมเพื่อเผยแพร่เกียรติคุณของคณาจารย์ นักศึกษาเก่า และนักศึกษา ปัจจุบันของคณะมัณฑนศิลป์ ที่ได้รับเชิดชูเกียรติในระดับประเทศ ๒) เพื่อพัฒนา ส่งเสริม ประสิทธิภาพด้านวิชาการการเรียนการสอนให้แก่คณาจารย์ นักศึกษาและประชาชน ๓) เพื่อส่งเสริมขวัญ ก�ำลังใจ และความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคลากร คณาจารย์ นักศึกษา เก่า และนักศึกษาปัจจุบัน ๕. เป้าหมาย ๕.๑ เป้าหมายเชิงคุณภาพ ๑) บุคลากรของคณะ ได้แก่ คณาจารย์ ข้าราชการ ลูกจ้าง ๒) นักศึกษา และ นักศึกษาเก่าคณะมัณฑนศิลป์ ๕.๒ เป้าหมายเชิงปริมาณ จ�ำนวน ๒๐๐ คน ๖. วิธีด�ำเนินการ/แผนการด�ำเนินงาน/วิธีประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑) การท�ำบุญและพิธีการทางศาสนา ๒) การแสดงผลงานของคณาจารย์อาวุโสคณะมัณฑนศิลป์
38
๗. แผนการด�ำเนินงาน ๑. ขออนุมัติโครงการ ๒. ติดต่อประสานงาน/ประชุมผู้เกี่ยวข้อง ๓. จัดเตรียมข้อมูล ๔. ด�ำเนินการกิจกรรม ๕. สรุปรายงานการด�ำเนินโครงการ/กิจกรรม ๖. เสนอรายงานผลการด�ำเนินงานต่อผู้บริหาร ๗. เผยแพร่ผลการจัดโครงการ ๘. ระยะเวลาด�ำเนินการ วันที่ ๑๘ - ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ๙. สถานที่ด�ำเนินงาน ๑) พิธีท�ำบุญ วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ณ ห้อง ๖๐๕-๘ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพมหานคร ๒) นิทรรศการผลงาน โครงการ “๕๘ ปี รากฐานมัณฑนศิลป์ไทย” วันที่ ๑๘-๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ณ หอศิลปะและการออกแบบคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ ๘. งบประมาณ งบประมาณรายจ่ายจากเงินรายได้ คณะมัณฑนศิลป์ ประจ�ำปี ๒๕๕๗ รวมจ�ำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท (สองแสนบาทถ้วน) ดังประมาณการรายจ่ายดังนี้ งบด�ำเนินงาน กิจกรรมพิธีท�ำบุญ ค่าจ้างเหมา-ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ๔,๐๐๐ บาท ค่าอาหารจัดเลี้ยง ๑๕,๐๐๐ บาท ค่าวัสดุ-ไทยธรรมถวายพระ ๔,๐๐๐ บาท ค่าปัจจัยถวายพระ ๕,๐๐๐ บาท ค่าตอบแทนล่วงเวลาเจ้าหน้าที่ ๒,๐๐๐ บาท รวม ๓๐,๐๐๐ บาท กิจกรรมนิทรรศการ ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก ๒๐,๐๐๐ บาท ค่าอาหารว่าง-จัดเลี้ยงในกิจกรรม ๒๐,๐๐๐ บาท ค่าจ้างเหมาจัดท�ำเอกสาร สูจิบัตร สิ่งพิมพ์ ถ่ายภาพ ๗๕,๐๐๐ บาท ค่าวัสดุในการจัดสถานที่-ติดตั้งนิทรรศการ ๒๕,๐๐๐ บาท ค่าตอบแทนล่วงเวลาเจ้าหน้าที่ ๕,๐๐๐ บาท ค่าจัดท�ำอาร์ทเวิร์ค ๑๐,๐๐๐ บาท ค่าตอบแทนนักศึกษา ๔,๐๐๐ บาท ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด ๓,๕๐๐ บาท ค่าจ้างเหมาจัดท�ำต้นแบบผลงาน ๗,๕๐๐ บาท รวม ๑๗๐,๐๐๐ บาท หมายเหตุ ขอถัวจ่ายทุกรายการ
39
๙. ตัวชี้วัดผลส�ำเร็จจากการด�ำเนินงาน ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ เชิงปริมาณ - จ�ำนวนกิจกรรมที่สอดคล้องกับพันธกิจ ของคณะฯ เชิงคุณภาพ - การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ผลผลิต เชิงปริมาณ -จ�ำนวนบุคลากรผู้เข้าร่วมโครงการ เชิงคุณภาพ - กิจกรรมเผยแพร่ชื่อเสียงของนักศึกษา เก่าของคณะฯ ที่ได้รับการเชิดชูเกียรติ เชิงระยะเวลา - การด�ำเนินโครงการส�ำเร็จตามระยะ เวลา เชิงต้นทุน - ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินโครงการ
กิจกรรม
หน่วยนับ
๘๐
คน
๒๐๐
ร้อยละ
๘๐
บาท
ผล ๒๕๕๕
๑
ร้อยละ
ร้อยละ
แผน ๒๕๕๕
๘๐ ๒๐๐,๐๐๐
๑๐. ผู้รับผิดชอบโครงการ ส�ำนักงานเลขานุการ คณะมัณฑนศิลป์ ๑๑. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑) ได้สร้างกิจกรรมทางศาสนา และการเผยแพร่ผลงานและส่งเสริมท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม ทีด่ ขี องไทย คณาจารย์ นักศึกษา ได้มสี ว่ นร่วมในการแสดงกตเวทิตาต่อคณะฯอันเป็นแหล่งให้วชิ าความรู้ ๒) เกิดความตระหนัก เข้าใจภูมิหลังของหลักสูตรมัณฑนศิลป์ที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย ๓) เกิดเครือข่ายความร่วมมือและบูรณาการระหว่างองค์ความรู้สาขาวิชา หน่วยงานต่าง ๆ
คิดถึงครู ครั้งที่ ๓: นิทรรศการผลงานคณาจารย์อาวุโสคณะมัณฑนศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พฤษภาคม 2557 ออกแบบปกและรูปเล่มโดย ประสานงานข้อมูล พิมพ์ที่ จ�ำนวน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาวิน อินทรังษี ภาวนา บุญปก, พรพรรณ แก้วประเสริฐ, วุฒิ คงรักษา บริษัท โอ เอส พริ้นติ้งเฮ้าส์ จ�ำกัด 500 เล่ม 40