Faculty Members' Exhibition

Page 1



นิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจำ�ปี 2555 15 - 26 กันยายน 2555 ณ หอศิลปะและการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ

Nanyang Academy of Fine Arts


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE อำ�ลาคณบดี ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER รองศาสตราจารย์เอกชาติ จันอุไรรัตน์ Assoc. Prof. Eakachart Joenurairatana

เนื่องในโอกาสครบรอบ วันศิลป์ พีระศรี ที่เวียนมาบรรจบ ครบรอบในอีกวาระหนึ่ง ซึ่งคณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์มิเคยละเลยที่ จะจัดงานแสดงผลงานเพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติและพร้อมระลึกถึงท่าน ในวันสำ�คัญเช่นนี้ ถึงแม้ว่าท่านจะเป็น “อาจารย์ฝรั่ง” อย่างที่ลูกศิษย์ รุ่นก่อนๆ ชอบเรียกมาถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ตามในสายตาและความรู้สึก นึกคิดแล้ว ท่านเปรียบเสมือนคนไทยคนหนึง่ ซึง่ สร้างสรรค์ผลงานให้แก่ ประเทศชาติอย่างมหาศาล ดัง่ ชือ่ ของท่านทีเ่ ป็นทีร่ จู้ กั ดีกว่าชือ่ อิตาเลียน ในสังคมคนไทยและในวงการศิลปะ พวกเราเชือ่ ว่าในสปิริตของท่านแล้ว ท่านคงรู้สึกว่าท่านเป็นคนไทยคนหนึ่งเช่นเดียวกับพวกเรา สังเกตจากที่ ท่านได้แสดงบทบาทถึงความก้าวหน้าในวิชาชีพที่พัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่ง เพื่อนำ�พาวงการศิลปะให้เจริญเติบโต เป็นที่ประจักษ์และเป็นที่ยอมรับ ในแต่ละสาขา ไม่แพ้แม้แต่คณะมัณฑนศิลป์ที่ซึ่งท่านได้ริเริ่มร่วมกับ พระยาอนุมานราชทนก่อตั้งให้เป็นคณะที่สี่ ในสาขาศิลปะอันประณีต อย่างมีเอกลักษณ์ของคณะมายาวนานกว่าครึง่ ศตวรรษ จนเป็นต้นกำ�เนิด สายน้�ำ แห่งวงการมัณฑนากรในสถาบันต่างๆ ได้เจริญรอยตาม ในวาระครบรอบห้าสิบหกปีนี้ พวกเราเหล่าบรรดาครูบาอาจารย์ ศิลปิน และนักออกแบบคณะมัณฑนศิลป์ ขอใช้วาระนี้แสดงถึงพลัง สร้างสรรค์ภายใต้ชื่อ Eastern Spirit ด้วยความเคารพและน้อมระลึก ถึงท่านศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ผู้ก่อตั้งคณะของพวกเราดังผลงาน ที่ประจักษ์ต่อสายตาประชาชนมา ณ โอกาสนี้อีกวาระหนึ่ง รองศาสตราจารย์เอกชาติ จันอุไรรัตน์ คณบดีคณะมัณฑนศิลป์


แนวความคิด เอกสารราชการที่หมุนผ่านเข้ามาในรอบ 4 ปี 3


TITLE hughut ARTIST/DESIGNER Tan Yee Noh

Deputy Head of Design & Media Nanyang Academy of Fine Arts, Singapore

Background & significant of work hughut was created for my master degree in Mass Communication with City University of Oklahoma. It is a company that specializes in making designer cushion cover. Like all other developed countries, Singapore is an aging country. With a large population of people that are above 50s, once they are retrenched, it is impossible for them to find another job. Or if they are lucky enough, they will find a job with a big pay cut. It is equally bad for those that are high or low educated. Despite our government encouragement and high media coverage, this group of people still face depressing age discrimination in when looking for a job. Few years ago, after being laid off for more than once, a middle aged man killed himself by jumping into the MRT track, leaving 2 kids and an illiterate retard wife. This tragedy hit me hard and inspired me to provide a solution for the low or uneducated group of women.

Objectives 1. To provide a solution—a stable job opportunity to women above 50s with neither professional skills nor educational certificate. 2. To provide training through work. 3. To raise awareness of this escalating social issue Concept Being a company that specializes in designer cushion cover, hughut provides more than cushion cover. It all starts with a simple thought by providing something simple yet unique. With a tagline that summarizes their ethos, “Uniquely Yours”, hughut is a platform for both the consumer and their staffs: Staff: Provides pride, stability, confidence, growth and economical support for women that face closed door due to their age. Consumer: hughut fills the emptiness in everybody’s heart with warmth and companionship, 24 hours a day and 7 days a week.

4


Yee Noh has a Master in Mass Communication from Oklahoma University, Bachelor of Graphics and Packaging Design with Honors from Art Center College of Design, Pasadena, California, and a Diploma in Graphics Design from Baharuddin College of Design. Prior to her career at NAFA, Yee Noh has spent her entire career in Design. She started as a Designer with Asia Trade News. She rose through her ranks and was an Assistant Art Director with Times Periodical and an Art Director at Vision Force and Eno Design.

Design Process To better projects this issue and illustrates the solution, a list of items were being put together by me after work, around the clock: • Logo • Cushion Covers: 12 designs for man & women • Packaging • Website • Annual Report: Written and designed a 18 pages of annual report • Newsletter • Speech: A speech for the CEO of hughut for the stockholder Annual Stockholder Meeting. • Feature story: A feature story written by reporter in the newspaper. In this case, I became a reporter interviewing the CEO (myself) and narrates the story in written format. • Report: A 32 pages of hughut report encompassing the situation analysis, public analysis, employees relation plan, media relation plan, community relation plan. • Poster

Materials, Equipment & Techniques Fabrics, sewing machine and desktop publishing programmes Dimension • 12 Cushion cover: Opened size 16” x 16”, closed size 6” x 9” • website: Requires a computer for exhibition • poster: A3 size • newsletter: 2 pages of A3 size • Annual Report: 18 pages of A4 size, printed and bind like a book • Feature story

5


Website


Annual Report

Newsletter


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE นกขมิ้น Nest ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์ชนิศา ชงัดเวช Chanisa Changadvech

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน บทกล่อมเด็กนั้นเป็นมรดกทางภูมิปัญญาของ ชาติ เป็นกาพย์กลอนประเภทแรกที่เด็กได้ยิน แสดง ถึงรากเหง้าชีวิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรมพื้นบ้าน ของชาตินั้นๆ จัดเป็นคติชาวบ้าน คือเรื่องที่เกี่ยวกับ วัฒนธรรมดั้งเดิมทั้งหมดของประเทศชาติที่สืบต่อ เป็นประเพณีกันมาหลายชั่วอายุคน การศึกษาเรื่อง พื้นบ้านนี้เป็น เครื่องรำ�ลึกชาติกำ�เนิดของชนชาติ บทกล่อมเด็กร้องโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เด็กเกิด ความเพลิดเพลิน นอนหลับง่าย อารมณ์ดีหายขุ่นมัว และอบอุ่นใจว่าไม่ได้นอนอยู่คนเดียว มีทำ�นองร้อง ช้าๆ เพื่อสร้างบรรยากาศให้สงบชวนนอน บทกล่อม เด็กจัดเป็นวรรณกรรมมุขปาฐะแบบหนึ่ง ทำ�ให้ยาก ที่จะระบุได้ว่าเริ่มร้องตั้งแต่สมัยใดหรือเริ่มร้องด้วย เนือ้ หาใจความอย่างไร เพราะร้องต่อๆ กันมา เนือ้ หา ของเพลงบางครั้งนึกอะไรได้ก็ร้องขึ้นมา บางครั้งก็ มีสาระสอดแทรกทั้งการอบรมสั่งสอน เล่าวิถีชีวิต ท้องถิ่นความเชือ่ และศีลธรรม เป็นต้น เป็นทีส่ งั เกตุวา่ บทกล่อมเด็กของไทยจะมีจินตนาการอันน่าอัศจรรย์ และมีเนื้อหาที่เปรียบเปรยได้อย่างน่าสนใจ อนึ่งบทกล่อมเด็ก นกขมิ้น ที่คัดมานี้ นอกจาก จะร้องกล่อมให้เด็กหลับสบายแล้ว ยังมีเนื้อหาที่ เปรียบเปรยเด็กกับลูกนกขมิ้นเหลืองอ่อน ให้กลับมา นอนรัง กลับมาสูอ่ อ้ มอกของแม่ดว้ ย หรืออาจเปรียบ ได้กับเยาวชนไทยรุ่นใหม่ที่หลงลืมความเป็นไทย มัว วิ่งไล่ตามวัฒนธรรมต่างชาติ ให้ได้คิด และหวนกลับ มาเห็นคุณค่าของความเป็นไทยมากขึ้น

ปัจจุบนั บทกล่อมเด็กดัง้ เดิมของไทยจำ�นวนมาก ได้เลิกร้องกันไปแล้ว ครอบครัวสมัยใหม่บางครอบครัว เปิดเพลงผู้ใหญ่ตามสมัยนิยมให้เด็กฟังกล่อมนอน หรือบางครอบครัวนำ�เพลงกล่อมเด็กต่างชาติมาใช้ กล่อมลูกหลานแทน (lullaby) ซึ่งอาจเป็นด้วยภาพ ประกอบที่สวยงามน่ารัก และเพลงร้องที่ทันสมัย ทำ�นองสากล จึงทำ�ให้เข้าถึงได้ง่ายกว่า การนำ�เสนอ ผลงานสร้างสรรค์เรือ่ งนกขมิน้ นี้ จะเป็นการสร้างสรรค์ ภาพประกอบสำ�หรับเด็กทีเ่ ป็นเรือ่ งของไทย แสดงถึง วัฒนธรรมไทย ด้วยรูปแบบที่นา่ รักทันสมัย ประกอบ เสียงร้องและการผสมผสานดนตรีสากลเข้ากับกลิ่น ไอของดนตรีไทยพื้นบ้าน เพื่อเสริมสร้างเอกลักษณ์ และช่วยสื่อสารเนื้อหาให้ชัดเจนสนุกสนาน เพื่อคน รุ่นใหม่เข้าถึงบทกล่อมเด็กไทยได้ง่ายขึ้น และเกิด ความซาบซึ้งประทับใจ

8


วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อสร้างสรรค์ภาพประกอบเพลงจากบท กล่อมเด็กที่ข้ามยุคสมัย ให้เยาวชนและคนรุ่นใหม่ เข้าถึงได้ง่าย มีความน่ารักสนุกสนานเป็นสากล เกิด ความประทับใจและเห็นคุณค่าในมรดกทางวัฒนธรรม ของชาติ 2. เพื่ อ เป็ น การเตื อ นสติ แ ก่ เ ยาวชนในสั ง คม ปัจจุบันที่ลุ่มหลงและวิ่งไล่ตามวัฒนธรรมต่างชาติ จนขาดความเข้าใจและความภาคภูมิใจในวิถีชีวิต แบบไทย 3. เพื่อส่งเสริมความรักความผูกพันและความ อบอุ่นในครอบครัว 4. เพือ่ อนุรกั ษ์เพลงกล่อมเด็ก ซึง่ เป็นสมบัตทิ าง วัฒนธรรม และเผยแพร่ให้เป็นประโยชน์ และอาจ เป็นทางหนึ่งที่ช่วยแก้ปัญหาทางอารมณ์และสังคม ให้แก่เด็กและเยาวชนได้

แนวความคิด กลับคืนสู่รัง สู่จิตวิญญาณแห่งบ้านของเรา กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูล ความรู้ ในเรื่องคติ ชาวบ้านและบทกล่อมเด็กต่างๆ จากหนังสือ วีดที ศั น์ ซีดีเสียง และผู้เชี่ยวชาญด้านวรรณกรรม 2. คัดเลือกบทกล่อมเด็ก “นกขมิ้นเหลืองอ่อน” ตีความหมาย และออกแบบร่างลายเส้น 3. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลลวดลายผ้าทอของ ไทย โดยเลือกผ้าซิ่นของชาวไทลื้อ ลายเกาะยอ เกาะปาด เป็นผ้านุ่ง เสื้อเป็นลายดอกแก้ว ปรับปรุง สัดส่วนของภาพให้เด่นชัดและพัฒนาลายเส้น ให้มี ความลืน่ ไหล สอดคล้องกลมกลืน มีเอกลักษณ์ สือ่ สาร เรื่องราวและความเป็นพื้นบ้านมากขึ้น

9


4. วางโครงสีของภาพให้อบอุ่นสดใส ใช้กลวิธี ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ การลงสีแบบ2มิติ แยกระยะของภาพด้วยน้ำ�หนักสี ภาพประกอบขนาด 75 x 55.5 เซนติเมตร ภาพเคลื่อนไหวประกอบเพลงความยาว และลวดลาย ประมาณ 240 วินาที เอกสารอ้างอิง รองศาสตราจารย์กุหลาบ มัลลิกะมาส. คติชาวบ้าน. พิมพ์ครั้งที่ 2. สมาคมภาษาและหนังสือแห่ง ประเทศไทย ศาสตราจารย์ พต.หญิง คุณหญิงผะอบ โปษะกฤษณะ กับผู้จัดทำ�. เพลงกล่อมเด็กและเพลงประกอบ การละเล่นของเด็ก ภาคกลาง 16 จังหวัด. สำ�นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ: คุรุสภา พรพิไล เลิศวิชา. ไม้อ่อนย่อมดัดได้ ดั่งใจ. ฉบับพิมพ์ สี : บริษัทธารปัญญาจำ�กัด ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สน สีมาตรัง และคณะ. ช่างทอ ร้อยใจ เทิดไท้ ๗๒ พรรษา. วุฒิสภาจัดพิมพ์ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธี มงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ

5. ลงสีภาพประกอบต้นฉบับบนกระดาษ ด้วย สีอะครีลิคผสมกลวิธีการตัดกระดาษปะติด (paper collage) เพื่อสร้างลวดลาย 6. บันทึกเสียงร้องและตัดต่อทำ�เพลง 7. นำ � ภาพประกอบต้ น ฉบั บ มาสร้ า งภาพ เคลื่อนไหว ตัดต่อผสมเสียงเพลง ในโปรแกรม คอมพิวเตอร์ วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน สีอะครีลิค พู่กัน กระดาษชนิดต่างๆ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องบันทึกเสียง เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน สร้างภาพประกอบด้วย สีอะครีลิคผสมกลวิธี การตัดกระดาษปะติด (paper collage) สร้ า งภาพเคลื่ อ นไหวประกอบเพลงด้ ว ย โปรแกรมคอมพิวเตอร์

10


เจ้านกขมิ้นเหลืองอ่อนเอย ค่ำ�แล้วจะนอนที่ตรงไหน จะนอนไหนก็นอนได้ สุมทุมพุ่มไม้ก็เคยนอน ลมพระพายชายพัดมาอ่อนอ่อน เจ้าเคยจรมานอนรัง เอย จากบทกล่อมเด็กฉบับสอบ หอพระสมุดวชิรญาณ รวบรวม


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE การสร้างสรรค์ความประทับใจศิลปกรรมภาคเหนือตอนบนด้วยทักษะร่วมสมัย The creation of impressive northern Thailand arts with contemporary skill. ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ Asst. Prof. Chainarong Ariyaprasert

ศาสตราจารย์พยูร โมสิกรัตน์ อาจารย์วีระศักดิ์ บุญ-หลง อาจารย์นพพร วิวรรธกะ กระทั่งสามารถ จัดการเรียนการสอนได้โดยเข้าใจหลักสูตรและวิธกี าร ถ่ายทอดรวมถึงประสิทธิผลของนักศึกษาที่ได้ศึกษา เป็นลำ�ดับ กระทั่งมีส่วนร่วมในการปรับหลักสูตรใน ปีการศึกษา 2547 และหลักสูตรปรับปรุงปี พ.ศ. 2555 ที่เน้นพัฒนาการของการศึกษาอาชีพที่แตกต่างกัน ของนักศึกษาแต่ละภาควิชาของคณะมัณฑนศิลป์ ข้าพเจ้ามีขอ้ สังเกตประการหนึง่ จากบรรทัดฐาน (Norm) ทางทักษะทางศิลปะ ที่แต่เดิมข้าพเจ้าเข้าใจ ว่าใช้เป็นตัวบ่งชี้ท่ีใช้แยกแยะนักศึกษาเก่งหรือไม่เก่ง ในอนาคตทางอาชีพ ซึ่งคำ�นี้ ในทางสังคมวิทยา หมายถึง พฤติกรรมและบทบาทภายในสังคมหรือ กลุ่ม ซึ่งได้จำ�กัดความว่าเป็น “กฎเกณฑ์” ที่ใช้ แยกแยะค่านิยม ทัศนคติและพฤติกรรมปฏิบัติตาม ธรรมเนียม ซึง่ ในทีน่ นี้ นั้ หมายถึงมาตรฐานและเกณฑ์ บ่งชีข้ องกลุม่ ต่อการยอมรับในทักษะการฝึกหัดเขียน ภาพ ที่ได้ประพฤติปฏิบัติกันมาช้านาน ว่าอย่างใด เหมาะและอย่างใดไม่เหมาะสม กฎเกณฑ์ดังกล่าว อาจบอกโดยชัดเจนหรือโดยเป็นนัยได้ทั้งสิ้น ผู้ที่ไม่ ปฏิบัติตามบรรทัดฐานของกลุ่มอาจได้รับการชี้โทษ และตำ�หนิติเตียนว่ากล่าวโดยวิธีการต่างๆ ซึ่งอาจ หมายถึงการให้ความเห็นเชิงวิพากษ์วิจารณ์ การได้ คะแนนน้อย การถูกล้อเลียนโดยเพื่อนนักศึกษาหรือ คณาจารย์ผสู้ อน และอาจนำ�ไปสูก่ ารกีดกันไปจากกลุม่ ข้าพเจ้าพบว่าแนวโน้มการยอมรับของกลุม่ นำ�ไป สู่แนวทางที่กลุ่มถือปฏิบัติกระทำ�จนกลายเป็นปกติ อาทิเช่นในการคบหาสมาคม การพูดจา หรือความ นิ ย มในรู ป ลั ก ษณ์ ภ ายนอกและพฤติ ก รรมการ

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน ตั้งแต่ข้าพเจ้าได้รับโอกาสในการสอบคัดเลือก เข้าศึกษาต่อในคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร ก็มีโอกาสได้เรียนรู้จากการปฏิบัติการทาง ศิลปะขั้นพื้นฐานที่หลากหลายเพื่อนำ�มาใช้ในการ ศึกษาและการนำ�เสนอผลงานสร้างสรรค์การออกแบบ ตามสาขาวิชาของตนเอง ข้าพเจ้าพบว่าปฏิบัติการ ในรายวิชาแกน ของหลักสูตรปี 2529 อันประกอบ ไปด้วยวิชา วาดเส้นเบื้องต้น 1 และ 2 วิชาทฤษฎี การออกแบบ วิชาทฤษฎีสี วิชาศิลปะปฏิบัติ เรขศิลป์ เบื้องต้น รวมถึงวิชาศิลปะไทยปริทัศน์นั้น ได้ช่วย หล่อหลอมให้ข้าพเจ้ามีความรู้ความเข้าใจรวมถึง ความยอมรับได้ถึงความสำ�คัญของศิลปะกับรสนิยม ของบุคคลที่มีความแตกต่างกัน เมื่อข้าพเจ้าได้รับโอกาสอีกครั้งเมื่อสามารถ สอบทุนโครงการพัฒนาอาจารย์สาขาวิชาทีข่ าดแคลน ประจำ�ปี พ.ศ. 2539 ตามคำ�แนะนำ�ของท่านอาจารย์ นิรันดร์ ไกรฤกษ์ หัวหน้าภาควิชาในขณะนั้นได้ สำ�เร็จ และเมื่อจบการศึกษา ก็ได้มีโอกาสเข้ารับ ตำ�แหน่งอาจารย์ โดยเข้ารับหน้าที่ปฏิบัติราชการทันที ในช่วงเวลาที่บุคลากรภาควิชาเกษียณอายุราชการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอนก วีรเวชพิสัย โดยทำ�การ สอนวิชาแกนในหลักสูตรทีป่ รับในปี พ.ศ. 2537 ได้แก่ วิชาวาดเส้นเบื้องต้น 1 และ 2 ศิลปะปฏิบัติ1 และ 2 และวิชาศิลปะไทยปริทศั น์ (ในส่วนของอาจารย์ ผู้ประสานงานดูแลนักศึกษาในการออกภาคสนาม ระหว่างการเดินทาง) หลายปีที่เริ่มต้นจากอาจารย์ ฝึกหัดที่ช่วยประสานกับคณาจารย์หลายท่าน หลาย วิชาตั้งแต่ อาจารย์พิพัฒน์ พ่วงสำ�เนียง ผู้ช่วย 12


การสร้างสรรค์ความประทับใจศิลปกรรมภาค เหนือตอนบนด้วยทักษะร่วมสมัยของข้าพเจ้า จึงเป็น การประมวลเอาทักษะในการเขียนภาพแบบฉับพลัน อันเกิดจากความจำ�เป็นในการเดินทางเป็นกลุ่มหรือ หมูค่ ณะในคราวทีเ่ ดินทางมาเพือ่ ศึกษาสถาปัตยกรรม และศิลปกรรมที่มีจำ�นวนมาก ในภาคเหนือตอนบน ของประเทศไทย สามวาระในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ก่อให้เกิดรูปแบบผลงานการสร้างสรรค์โดยใช้ความ แม่นยำ�ในการคัดสรรมุมมองของภาพและนำ�เสนอ อย่างรวดเร็ว ตั้งแต่ในช่วงที่ข้าพเจ้าเป็นนักศึกษาใน หลักสูตรบัณฑิตศึกษาของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหาร ลาด กระบัง เมื่อ พ.ศ. 2542 กระทั่งมาร่วมดูแลคณะ นักศึกษาในรายวิชาศิลปไทยปริทัศน์ในปี พ.ศ. 2547 และในช่วงที่ข้าพเจ้าเป็นวิทยากรร่วมเดินทางไปกับ คณะนักศึกษาหลักสูตรบัณฑิตศึกษา การออกแบบ ภายในของมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยข้าพเจ้าได้ ผสมผสานความประทับใจกับวิถีชีวิตของคนเหนือ ในปัจจุบันเทคโนโลยี เครื่องมือเครือ่ งใช้ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ใช้ชวี ติ และการทำ�งานหล่อหลอมรวมตัวเข้าด้วยกัน เป็นองค์ประกอบและรายละเอียดที่น่าสนใจในวิถี ชีวิตร่วมสมัย ทีส่ ะท้อนความแตกต่างไปจากจารีต และขนบตามวิถีแบบเดิมๆ ภาพทั้งสามวาระของ ข้าพเจ้านี้ ได้ประมวลรวมกันเข้าโดยอาศัยการใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์ประมวลผลในการสร้างสรรค์ ผลงานออกแบบจิตรกรรม ในลักษณะที่เรียกว่าภาพ พิมพ์ดิจิทัล

แต่งกาย บรรทัดฐานดังกล่าวนี้มีความแตกต่างกัน มากและมี วิ วั ฒ นาการไม่ เ ฉพาะแต่ ใ นช่ ว งเวลาที่ แตกต่างกันเท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงความแตกต่างของวัย ชนชัน้ ทางสังคมและกลุม่ ทางสังคมด้วย บรรทัดฐาน ของกลุ่มหนึ่งอาจไม่ได้รับการยอมรับในอีกกลุ่มหนึ่ง ก็ได้ การปฏิบัติตามบรรทัดฐานของกลุ่มจะนำ�มาซึ่ง การได้รับความยอมรับและความเป็นที่นิยมภายใน กลุ่ม การเพิกเฉยต่อบรรทัดฐานของสังคมหรือกลุ่ม หนึ่งๆอาจทำ�ให้ไม่ได้รับการยอมรับ หรือถึงขั้นถูกขับ จากกลุ่มออกไปเลยก็เป็นได้ กรณีที่สังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน เช่น นักศึกษา น้องใหม่จ�ำ เป็นจะต้องเรียนรูแ้ ละปรับตัวต่อบรรทัดฐาน ทางสังคมใหม่ ที่มีผลต่อการกำ�หนดคุณค่าว่า สิ่งใด ควรหรือไม่ควร เช่นการแต่งกายด้วยลักษณะเสื้อผ้า อย่างไร หรือจะมีวิธีคบหาอย่างไรกับเพื่อนต่างเพศ ต่างวัย หรือกับรุ่นพี่และรุ่นน้องภายในสาขาวิชาหรือ คณะวิชา การเรียนรู้เพื่อปรับตัวเข้าหาบรรทัดฐาน ทางวัฒนธรรมเฉพาะกลุ่มนี้มีความสำ�คัญอย่างยิ่ง ต่อการจัดการการแสดงออก ทำ�ให้เกิดบุคลิกภาพ ของนักศึกษาสาขาวิชาและระดับคณะมัณฑนศิลป์ ที่มีอัตลักษณ์เฉพาะ และแม้จะมีโอกาสอยู่ร่วมกัน เพียงไม่กี่ปีในฐานะเพื่อน และรุ่นพี่รุ่นน้อง แต่ก็มี อิทธิพลต่อไปในการใช้ชีวิตในอนาคต ข้าพเจ้าพบว่าวิชาพื้นฐาน หรือวิชาแกนหลาย วิชาของคณะมัณฑนศิลป์ มีสว่ นช่วยในการเสริมสร้าง ผูเ้ รียนทีม่ พี น้ื ฐานทักษะทางวิจติ รศิลป์ สถาปัตยกรรม หรือทักษะทางฝีมือ เช่นการเขียนแบบ การวาดเส้น หรือทักษะทางจิตรกรรมและประติมากรรมที่แตกต่าง กัน ให้เกิดความเข้าใจและการยอมรับในแบบอย่าง (Style) ในการสร้างสรรค์ของกันและกัน และยังมี ส่วนช่วยปรับทัศนคติความรู้ความเข้าใจทางศิลปะ ที่ ช่ ว ยวางรากฐานการสร้ า งสรรค์ ผ ลงานที่ ดีไ ด้ มาตรฐานการออกแบบต่อไปในการศึกษาในชั้นปีที่ สูงขึ้น ไม่เพียงเฉพาะผู้เรียนที่ได้คะแนนยอดเยี่ยม เท่านัน้ หากแต่ละรูปแบบทีน่ กั ศึกษาแต่ละบุคคลตัง้ ใจ นำ�เสนอนั้น ทำ�ให้เห็นแนวโน้ม หรือบรรทัดฐานของ การเรียนรู้ศิลปะและการออกแบบในแบบฉบับของ แต่ละบุคคลทีโ่ ดดเด่นเฉพาะตัว และแตกต่างกันตาม ธรรมชาติของแต่ละสาขาวิชา

วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อแสดงให้เห็นถึงทักษะทางฝีมือที่ได้ศึกษา และได้สร้างสมมา ในการวาดเส้นภาพศิลปกรรม ภาคเหนือตอนบนในช่วงเวลาต่างๆ แบบฉับพลัน มา ประมวล เรียบเรียง กับเทคนิคทางคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อนำ�เสนอองค์ประกอบและรายละเอียด อื่นๆ ที่นา่ สนใจในวิถีชีวิตร่วมสมัย ที่สะท้อนความ แตกต่างไปจากจารีตและขนบตามวิถีแบบเดิมๆ อัน เป็นความประทับใจเฉพาะตัว ร่วมกับงานศิลปกรรม ภาคเหนือตอนบน

13


เทคโนโลยีพระจอมเกล้า ลาดกระบัง ในช่วงที่เป็น อาจารย์ควบคุมการเดินทางในรายวิชาศิลปะไทย ปริทัศน์ และช่วงที่ร่วมเดินทางไปกับคณะนักศึกษา หลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาการออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ทัศนศึกษาบริเวณภาคเหนือ ตอนบนของประเทศไทย 2. กล้องถ่ายภาพนิ่ง 3. เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีสามารถต่อเชื่อมระบบ สารสนเทศได้ 4. เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ท ที่สามารถพิมพ์เอกสาร สีขนาดเอสี่และเอสามได้ ในลักษณะตามต้องการ 5. กระดาษพิมพ์สีขาว ขนาดเอสี่ และเอสาม ชนิด 250 แกรม

แนวความคิด การเรี ย บเรี ย งศิ ล ปกรรมภาคเหนื อ ตอนบน ผสมผสานกับภาพถ่าย เพื่อสร้างองค์ประกอบศิลป์ ด้วยทักษะการใช้กลวิธีทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ให้เกิดความร่วมสมัยในรูปแบบผลงานที่นำ�เสนอ กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน* 1. เรียบเรียงผลงานสร้างสรรค์ที่เกี่ยวข้องกับ ศิลปกรรมภาคเหนือตอนบน โดยคัดเฉพาะผลงาน วาดเส้นทัศนียภาพที่ได้ใช้ทักษะจากรายวิชาแกน ของคณะมัณฑนศิลป์ 2. นำ�ผลงานดังกล่าวมาแสกนเป็นข้อมูลภาพ โดยใช้นามสกุล Tiff เพื่อนำ�มาคัดสรรและเรียบเรียง ได้สะดวกมากยิ่งขึ้นด้วยคอมพิวเตอร์ 3. จั ด เตรี ย มภาพศิ ล ปกรรมภาคเหนื อ ตอน บนในปั จ จุ บั น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ วิ ถี ชี วิ ต และสั ง คมที่ เปลีย่ นแปลงไปมากขึน้ โดยการศึกษาข้อมูลภาพถ่าย จากเครือข่ายสารสนเทศ “Google” 4. ทำ � การประยุ ก ต์ ภ าพขึ้ น ใหม่ ด้ว ยการ ดัดแปลงภาพให้เปลี่ยนไปจากเดิม แต่ให้ยังคงสาระ สำ�คัญที่ต้องการนำ�เสนอเอาไว้ โดยใช้ชุดคำ�สั่ง คอมพิวเตอร์ “ FotoSketcher ” 5. ทำ � การออกแบบร่ า งโดยผสมผสานภาพ งานวาดเส้ น ทั ศ นี ย ภาพของตนเองให้ ป ระสาน สัมพันธ์กับการศึกษาข้อมูลภาพถ่ายจากเครือข่าย สารสนเทศ “Google” ให้เข้าด้วยกัน โดยชุดคำ�สั่ง สำ�เร็จรูปคอมพิวเตอร์ “Photoshop” 6. ทำ�การสรุปภาพที่ประมวลขึ้นหลายลักษณะ เพื่อนำ�มาจัดพิมพ์โดยใช้เครื่องพิมพ์มาตรฐานสูง ต่อไป 7. คัดเลือกให้ได้ภาพผลงานที่ดีที่สุดในทัศนะ ของผู้สร้างสรรค์ จำ�นวน 1 ชุด เพื่อจัดพิมพ์และจัด แสดงงานต่อไป

เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน การตัดติดภาพวาดเส้นด้วยตนเองกับภาพถ่าย ด้วยเทคนิคการพิมพ์ดิจิทัล (Digital printing) ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ 42 x 29.7 เซนติเมตร จำ�นวน 4 ภาพ

เอกสารอ้างอิง Social Norms, available at : http://changing minds.org/explanations/theories/social_ norms.htm Steven N. Durlauf and Lawrence E. Blume (Eds), ‘Social Norms’ in New Palgrave Dictionary of Economics, Second Edition, London: Macmillan, (forthcoming) Kamau, C. (2009) Strategising impression management in corporations: cultural knowledge as capital. In D. Harorimana (Ed) Cultural implications of knowledge วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน sharing, management and transfer: 1. ผลงานสร้างสรรค์การบันทึกภาพฉับพลัน identifying competitive advantage. ช่ ว งระหว่ า งที่ เ ป็ น นั ก ศึ ก ษาในหลั ก สู ต รบั ณ ฑิ ต Chapter 4. Information Science ศึกษาของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบัน Reference. ISBN 978-1-60566-790-4

14



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ตลับสลักดุนฝังหินสี Silver Casket encrusted with Chasing Repousse decoration and the Stone ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์ชาติชาย คันธิก Chartchay Kuntik

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน “ตลับสลักดุนฝังหินสี”: เนื้อหาของวัสดุ เราทราบกันดีว่าโลหะเป็นของมีค่า มีสมบัติ คงทนถาวรผุพังและเปื่อยสลายได้ยากกว่าวัสดุชนิด อื่น โลหะจึงเป็นวัสดุยอดนิยมสำ�หรับการสร้างสรรค์ ผลงานที่เป็นสาธารณะ อาทิ การนำ�โลหะมาใช้เป็น ข้าวของเครื่องใช้ในศาสนา ใช้ในการหล่อพระพุทธรูป องค์เทพต่างๆ ลวดลายบุดุน เครื่องมงคลต่างๆ ภาชนะใส่สิ่งของ ระฆัง สถูปจำ�ลอง รวมถึงการนำ� มาใช้ บุ หุ้ ม เจดี ย์ เ พื่ อ ให้ ผิ ว ขององค์ เ จดี ย์ มี ค วาม เรียบร้อย เกิดความทนทาน และแข็งแรง คนไทยมีวัฒนธรรมในการใช้โลหะมีค่า เช่น ทองคำ�และเงิน1 ตั้งแต่ครั้งอดีตจวบถึงปัจจุบัน มิว่า จะเป็นวัตถุทางศาสนา เครื่องประดับ หรือเครื่องใช้ ไม้สอย ซึ่งการใช้โลหะดังกล่าวได้ปรากฏหลักฐาน ทางโบราณคดีตั้งแต่ยุคทวารวดี ยุคสุโขทัย ล้านนา อยุธยา สืบต่อมาเป็นมรดกล้ำ�ค่ายังยุครัตนโกสินทร์ ทำ�ให้ปุถุชนรุ่นหลังอย่างพวกเราได้รับทราบถึงสมบัติ ทางสุนทรียะของภูมปัิ ญญาในการสร้างสรรค์รปู ลักษณ์ จิตวิญญาณการใช้โลหะสูงค่าเพื่อความเป็นสิริมงคล ต่อชีวิต และฝีมือการประดิษฐ์ผลงานประณีตศิลป์

ด้วยเทคนิคโบราณซับซ้อน นอกจากนี้ สถาบัน พระมหากษัตริย์เป็นที่เคารพรักของปวงชนชาวไทย เสมอมา ข้าวของเครื่องใช้และศิลปวัตถุที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์เพื่อใช้ในชีวิตประจำ�วัน ทั่วๆ ไป หรือสร้างขึ้นไว้เพื่อใช้ในพิธีสำ�คัญ จึงนิยม สร้างด้วยวัสดุที่มีค่า ประกอบขึ้นจากฝีมือช่างหลวง ชั้นสูง ซึ่งช่างหลวงมักใช้เวลาสร้างสรรค์ชิ้นงานอย่าง อิสระ ไม่มีเงื่อนไขเรื่องเวลา เพื่อให้ได้คุณภาพฝีมือ ขั้นสูงสุด เป็นเกียรติยศถวายต่อพระมหากษัตริย์ เราจึงพบเสมอว่าศิลปวัตถุแต่ละชิ้นนั้นล้วนประดิษฐ์ ขึ้นอย่างวิจิตรงดงาม ถึงแม้ว่าหลักฐานเก่าจะระบุ รูปแบบการใช้ศิลปะเครื่องเงินว่า มีการใช้เพียงบุคคล ชั้นสูง เจ้านายชั้นต่างๆ ข้าราชบริพาร และสามัญชน ผู้มีฐานะดี สำ�หรับยุครัตนโกสินทร์ตอนปลายถึง ปัจจุบัน โลหะเงินถูกนำ�มาใช้สำ�หรับการสร้างสรรค์ ผลงานศิลปะ หัตถศิลป์และการออกแบบผลิตภัณฑ์ ประเภทต่างๆ อย่างหลากหลายสำ�หรับประชาชน ทั่วไป จึงกล่าวได้ว่า ศิลปะเครื่องเงินของชาวสยาม ตั้งแต่ครั้งโบราณกาลถึงปัจจุบัน มีจุดมุ่งหมายเพื่อ สะท้อนความงดงามในการดำ�เนินชีวิต

1 เงินเป็นโลหะที่รู้จักกันมาแต่สมัยโบราณนานนับหลายพันปีมาแล้ว มนุษย์เริ่มรู้จักเงินหลังทองแดงและทองคำ� ซากของขี้

ตะครันที่พบในบริเวณแถบเอเชียไมเนอร์และตามหมู่เกาะต่างๆในทะเลอีเจียน เป็นหลักฐานว่ามนุษย์เริ่มรู้จักถลุงแร่ตะกั่ว เงินปนมากกว่า 4,000 ปี เครื่องประดับที่ทำ�จากโลหะเงินของชาวอียิปต์โบราณสมัย 4,000 ปี ก่อนคริสตศักราชเป็นหลัก ฐานอีกอย่างหนึ่งที่แสดงว่า มนุษย์รู้จักใช้เงินเป็นเครื่องประดับมานานแล้ว เงินเป็นโลหะที่มีค่ารองจากทองคำ� ประโยชน์ สำ�คัญของเงินในสมัยจักรวรรดิโรมัน ที่ใช้เงินเป็นหลักในระบบเงินตราจนต่อมากลายเป็นคำ�ที่เราเรียกวัตถุสมมุติทั่วไปที่ใช้ แลกเปลี่ยนสิ่งของหรือสินค้า เช่น ธนบัตรหรือเหรียญสตางค์ว่า “เงิน”

16


แนวความคิด “ตลับสลักดุนฝังหินสี”: การถ่ายทอดสุนทรียะ ของโลหะวัตถุ วัสดุ รวมถึงฝีมือ ผลงานชิ้นนี้ถ่ายทอดความรู้และความสามารถ ด้านทักษะฝีมือในงานประณีตศิลป์ไทย ซึ่งได้รับแรง บันดาลใจจากบันทึกประวัติศาสตร์สมัยอยุธยา

จากการรวบรวมตัวอย่างทางโบราณคดี อนุมาน ได้ว่า คนไทยไม่ใช้งานเครื่องประดับ เครื่องใช้ไม้สอย หรือศิลปวัตถุ เพื่อการใช้สอยที่สะดวกสบายเพียง ด้านเดียว หากสิง่ ของเครือ่ งใช้เหล่านัน้ ต้องบูรณาการ สติปัญญา สะท้อนความเชื่อทางศาสนา ปรัชญา หรื อ ความคิ ด อ่ า นของผู้ ส ร้ า งสรรค์ ต่ อ สิ่ ง รอบตั ว ตัวอย่างได้แก่ การขุดพบเหรียญเงินเสมัยทวารวดี ณ ตำ�บลพระประโทน นครปฐม ที่มีรูปปูรณกลศด้าน หนึ่ง และมีอักษรสันสกฤตราชวงศ์ปัลละ ความว่า “ศรีทวารวดี ศวรปุณยะ” แปลว่าบุญกุศลของ พระราชาแห่งศรีทวารวดี ถูกผลิตเพื่อให้ประชาชน ผู้ใช้พึงระลึกถึงคุณของพระเจ้าแผ่นดินเป็นเนืองนิตย์ นอกจากนี้โลหะเงินยังเป็นเครื่องหมายสัญญะหรือ เครื่องยศบ่งบอกสถานภาพ ในส่วนของความปราดเปรื่องของคนไทยภาค เหนื อ ที่ มี ก ารออกแบบเครื่ อ งประดั บ กำ � ไลเงิ น รู ป เกือกม้าสองวงวางชิดที่เรียกว่า “เงินเจียง” เพื่อใช้ แลกเปลี่ยนสิ่งของและยังคงรูปของเครื่องประดับ ประดับความงามสำ�หรับเรือนร่างในคราวเดียว หรือ เครื่องประดับ “จะปิ้ง” ทำ�จากโลหะเงิน มีรูปแบบที่ ประกอบด้วยห่วงเล็กๆ ร้อยต่อเป็นร่างแห ไม่เป็น สนิม โปร่งสบาย ไม่อับทึบเหมือนจะปิ้งวัสดุอื่น จะปิ้ง ถูกสร้างขึ้นเพื่อปกปิดอวัยวะเพศของเด็กหญิง ใช้ผูก ไว้ใต้เอว เนื่องจากเด็กหญิงโบราณที่มักไม่นุ่งผ้า ในสมัยโบราณแบ่งกลุ่มประณีตศิลป์ออกแบ่ง เป็น 10 หมวดใหญ่ ได้แก่ หมู่ช่างเขียน หมู่ช่าง แกะ หมู่ช่างหุ่น หมู่ช่างปั้น หมู่ช่างปูน หมู่ช่างรัก หมู่ช่างบุ หมู่ช่างกลึง หมู่ช่างสลัก และหมู่ช่างหล่อ ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีการก่อตั้ง หมู่ ช่างฝีมือ เรียกว่า “สุวรรณช่าง” เพื่อรวบรวมช่าง ทองหลวง ช่างทองและเงินรูปพรรณไว้โดยเฉพาะ ขึ้น ไว้สำ�หรับสร้างผลงานหรือซ่อมแซม เครื่องราช กกุธภัณฑ์ เครื่องราชูปโภค หรือเครื่องประดับ

กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน ผลงานตลับชิ้นนี้สร้างสรรค์ขึ้นด้วยเทคนิคการ สลักดุนและการฝังประดับอัญมณี เนื่องจากเทคนิค ทั้งสองเป็นเทคนิคที่มีความสำ�คัญและเป็นที่นิยม อย่างสูงต่อเครื่องโลหะไทย หากกล่าวถึงหลักฐานที่ ปรากฏนับตั้งแต่อดีต ได้แก่ เครื่องทองสมัยทวารวดี มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 11-16 ทำ�ด้วยการสลัก บุดุนเป็นลาย แล้วประดับอัญมณีหรือแก้วสีต่างๆ ตามธรรมชาติ ทำ�เป็นสายสร้อยประดับคอ (แสดง ให้ เห็ น ว่ า กระบวนการผลิ ต พั ฒ นามาจากสมั ย ยุ ค สำ�ริด ส่วนในสมัยอยุธยาพบเครื่องทองสลักดุนที่กรุ วัดราชบูรณะ ซึ่งอยู่ในสมัยเจ้าสามพระยา (หรือ พระราชาธิราชที่ 2 แผ่นดินที่ 5 ในสมัยอยุธยา) และ สมัยรัตนโกสินทร์ทย่ี งั มีการทำ�เครือ่ งประดับรูปพรรณ ภาชนะด้วยการสลักดุน เช่น พานหมาก โถ จอก หรือ ทำ�เป็นเครื่องยศ ตลับ นำ�มาสลักเป็นลายทั้งหมด หรือเฉพาะขอบบนล่างเป็นเชิงชาย) วิธีการสร้างผลงาน เริ่มต้นด้วยการเตรียมโลหะ ด้วยการนำ�เม็ดเงิน หรือเนื้อเงินเก่าที่จะนำ�มาแปรรูป มาหลอมลงในเบ้า “หลอมด้วยความร้อน” และเท หรือหล่อลงในรางเท จากนัน้ นำ�ไปรีดให้เป็นแผ่นต่อไป การขึ้นรูปมีกระบวนการหลากหลายวิธี อาทิ การฉลุ การทุบ การดึงเป็นเส้น หรือรีดเป็นแผ่น หากต้องการ ให้มีมิติต้องประกอบด้วยการตีหรือเคาะให้เกิดเป็น รูปทรง ก่อนเชื่อมด้วยวิธีการ “เป่าแล่น” ชิ้นงานด้วย บอแรกซ์และน้ำ�ประสานเงิน (หรือกระบวนการอื่นที่ ปราศจากการเป่าแล่น คือ การหล่อ การสาน การบุ วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน และ การถัก ฯลฯ) จากนั้นตกแต่งพื้นผิวด้วยเทคนิค ต้ อ งการนำ � เสนอศิ ล ปวั ต ถุ ที่ แ สดงออกถึ ง สลักดุน ซึ่งการสลักหมายถึง การขุด ถาก หรือ เทคนิ ค ประณี ต ศิ ล ป์ ต ามคติ นิ ย มการใช้ โ ลหะเงิ น แกะเนื้อโลหะให้เป็นร่องหรือลวดลาย ส่วนการดุน เพื่อสะท้อนวิถีชีวิตไทย หมายถึง การดันผิวโลหะออกมาโดยมีชันรองอยู่

17


และปฏิบัติเป็นขั้นตอน มี “ความสม่ำ�เสมอเกิดเป็น วินัย” ของจิตที่สอดประสานรับกับทักษะฝีมือตาม กติกาของเทคนิค ตลอดจน ชิ้นงานนี้เอื้อให้ผู้สัมผัส ได้หยุดเพื่อพิจารณาถึงเนื้อหาอันเป็นนาม ตัวแบบ รวมถึงวัสดุที่เป็นรูป ด้วยการตระหนักรู้อย่างมีสติ และลึกซึ้งตามลำ�ดับ แม้ว่ารูปแบบ วัสดุ และการผลิต จักเป็น กระบวนการสร้างสรรค์ที่พัฒนาไปสู่การตระหนักรู้ ทางจริยธรรม หากไม่ใช่วิธีเข้าถึงสัจธรรมอันสูงสุดได้ เนื่องจากมนุษย์มีประสบการณ์ ในการเติมเต็มทาง จิตวิญญาณในระดับที่แตกต่างกัน อาทิ ความเชื่อ หรือหลักการดำ�รงชีวติ การปรับแต่งทัศนคติตอ่ ตนเอง และสังคม การให้ความสามารถแก่ตนเองที่จะชื่นชม รัศมีบริสุทธิ์ การประสบความสว่างของธรรม และ วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน สงบไปพร้อมๆ กับบริบทของผลงานประณีตศิลป์ชิ้น 1. เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำ� ดังกล่าว ราวกับว่ามนุษย์ผู้สัมผัสสามารถเป็นศิลปิน เครื่องประดับ แห่งชีวิตได้ด้วยตนเอง ตรงกันข้าม ประสบการณ์ทาง 2. โลหะเงิน ความงามระหว่างวัตถุและมนุษย์ อาศัยวิถีปฏิบัติที่ เรียบง่าย กระทั่งกลายเป็นรูปแบบทางศิลปะของการ 3. หินสี มีชีวิตเช่นเดียวกัน ดังนั้น รากเหง้าทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และทักษะฝีมือจึงดำ�รงอยู่ในฐานะบริบท เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน ทางวัฒนธรรมพุทธศาสนาของไทย ซึ่งคุณค่าสูงสุด การสลักดุนและฝังอัญมณีหินสี ของประณีตศิลป์ไทยคือ สุนทรียวิธีที่จะนำ�เรากลับ สู่ธรรมชาติ แม้วันหนึ่งรูปและนามทั้งหลายอาจสูญ ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ สลาย มิอาจปรากฏให้จับต้องหรือมองเห็นได้อีก แต่ ประมาณ 5.5 × 5.5 × 4.5 เซนติเมตร เราก็สามารถระลึกถึงความรู้สึกรับรู้ที่อิ่มเอิบ เพราะ กระบวนการสร้างสรรค์สอดแทรกพุทธิปัญญามากกว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างสรรค์ การนำ�เสนอผลงานสร้างสรรค์ชิ้นนี้ต้องการ มูลค่าของราคาค่างวดอันผ่านอำ�นาจของภาพลักษณ์ แสดงความรู้แห่งรากเหง้าทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และวัสดุราคาแพง และทักษะทางฝีมือ เพื่อให้ผู้ชมเกิดการประจักษ์ถึง คุณค่าของงานประณีตศิลป์ไทย ที่มีรูปแบบสามารถ เอกสารอ้างอิง นำ�จิตให้เข้าถึง “ความรู้สึกรับรู้” ระหว่างตัวตนของผู้ ปฏิมากร คุ้มเดช, วัฒนธรรมศิลป์ของเงิน, เอกสาร สร้างสรรค์กับวิถีปฏิบัติแห่งพุทธ กล่าวคือ ศิลปวัตถุ ประกอบการบรรยายสัมมนา “วิวัฒน์แห่ง มีศักยภาพในการยกระดับจิตใจมนุษย์จากความโง่ เครื่องเงินไทย”, ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร, เขลาจากการพิจารณาถึงทางออกด้วยความงาม มิ พระนครศรีอยุธยา 2549. ว่าจากการกำ�หนดรูปลักษณ์ ลวดลาย รูปทรง หรือ แน่งน้อย ปัจจพรรค์, เครื่องเงินในประเทศไทย, พื้นผิวของวัตถุอันสร้างขึ้นเป็นองค์ประกอบศิลป์ ศูนย์การพิมพ์พลชัย, กรุงเทพฯ 2534. กอปรกับการจดจ่ออย่างเป็นสมาธิยามผลิตผลงาน ด้านหลัง ดุนเนื้อโลหะให้มีลักษณะนูนเป็นลวดลาย และสุดท้ายคือขั้นตอนการตกแต่งผิวภายนอก ซึ่ง การตกแต่งมีหลากหลายวิธี ขึ้นอยู่กับการออกแบบ เช่นเดียวกับการขึ้นรูป ได้แก่ การแกะลาย การดุน ลาย การสร้างลายด้วยกระดาษทรายหรือหัวผ้าปัด และการปัดผิวเงา เป็นต้น ส่วนการตกแต่งด้วยวัสดุ อื่น เช่น การคร่ำ� กะไหล่ การถม การประดับอัญมณี หินสี หรือแก้วต่างๆ รวมถึงการลงยา กรณีของตลับ ชิ้นนี้ ผู้สร้างสรรค์เลือกใช้เทคนิคการฝังอัญมณี ทำ� ขึน้ เพือ่ เหตุผลในการประดับตกแต่ง เสริมสร้างคุณค่า ด้านความงาม ตลอดจนเพิ่มสีสันให้มีรายละเอียด แตกต่างจากพื้นที่เป็นลวดลายค่อนข้างเป็นระนาบ หรือมีความนูนต่ำ�

18



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE เรื่องราวของถ้วย Story of Cups ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์ชานนท์ ไกรรส Chanon Krairos

เทคนิคการตกแต่งเพื่อเพิ่มคุณค่าให้กับรูปทรงได้ อย่างหลากหลายวิธีการ เช่น การตกแต่งก่อนการ เผาดิบ (การตกแต่งขั้นที่ 1) : การขูดขีด การเจาะ รม ควัน ดินสี, การตกแต่งหลังการเผาดิบ (การตกแต่ง ขั้นที่ 2) : การเคลือบ การเว้นเคลือบ สีใต้เคลือบ, การเผาตกแต่ง (การตกแต่งขั้นที่ 3) : รูปลอก เซรามิกส์ สีบนเคลือบ การเขียนน้ำ�ทอง เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ การสร้างสรรค์รูปแบบพื้นฐานของ เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร โดยถ้วยเพียงหนึ่งใบ หากจะ ศึกษาให้เกิดความถ่องแท้จะพบว่าความชาญฉลาด และสติปัญญาเชิงสร้างสรรค์ของมนุษย์นั้น ก่อให้ เกิดความงดงามของรูปทรงและเทคนิคการตกแต่ง ที่สวยงาม อันสอดคล้องต่อประโยชน์ใช้สอย การ บูรณาการทฤษฎีทางศิลปะให้มีความเชื่อมโยงต่อ ศาสตร์ทางเครื่องเคลือบดินเผา จะรังสรรค์ให้การ นำ � เสนอผลงานจากความคิ ดสร้ า งสรรค์ ไ ด้ อ ย่ า ง สมบูรณ์

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน การออกแบบภาชนะสำ�หรับใส่น้ำ� เป็นสิ่งที่ถูก สร้างสรรค์ขน้ึ พร้อมกับการกำ�เนิดของมนุษย์เป็นเวลา หลายพันปีมาแล้ว เมื่อมนุษย์รู้จักและเข้าใจถึงการ ใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ ประสบการณ์ในการดำ�รง ชีวิต ช่วยสอนให้มนุษย์รู้จักสร้างคุณสมบัติเฉพาะตัว นั่นคือ ความคิดสร้างสรรค์ รู้จักการสังเกต ทดลอง ดัดแปลง และปรับปรุง เมื่อพบเห็นสิ่งรอบข้างตลอด จนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มนุษย์จึงได้ เก็บเป็นความรู้ไว้ในสมอง เมื่อมีโอกาสอำ�นวยก็นำ� ความรู้ เหล่ านั้ น มาทดลองปฏิบัติตามแบบอย่ างที่ ได้จดจำ�ไว้ เพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองให้มี ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ดังนั้นการสร้างสรรค์ของมนุษย์ จึงก่อเกิดความเจริญทางอารยธรรม วัฒนธรรม และ ประเพณี โดยมีเอกลักษณ์ทางรสนิยมเฉพาะตาม แต่ละท้องถิ่น หลังศตวรรษที่ 18 หรือราว ค.ศ. 1851 เป็นต้น มา การปฎิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution Era) ก่อให้เกิดการตื่นตัวทางด้านการศึกษาในสาขา ฟิสิกส์ และวิทยาศาสตร์ ส่งผลให้การสร้างสรรค์ ผลงานทางเครื่องเคลือบดินเผาได้ถูกพัฒนารูปแบบ ตลอดจนเทคโนโลยีด้านการผลิตแบบอุตสาหกรรม จึงได้เกิดขึ้น เพื่อให้เท่าทันต่อความต้องการทางด้าน เศรษฐกิจ และจำ�นวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น โดย ความแตกต่างด้านรูปทรงของภาชนะแต่ละชิ้น ขึ้น อยู่กับประโยชน์ใช้สอย ความเชื่อมโยงของหลัก การยศาสตร์ (Ergonomics) และวิธีการใช้งาน ซึ่ง ในการสร้างสรรค์ผลงานเครื่องเคลือบดินเผานั้น มี

วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อศึกษาและนำ�เสนอผลงานสร้างสรรค์ ตามกระบวนการอุตสาหกรรมเครือ่ งเคลือบดินเผา 2. เพื่ อ ศึ ก ษาและประยุ ก ต์ ท ฤษฎี ท างศิ ล ปะ มาเชื่อมโยงต่อเทคนิคการตกแต่งตามกรรมวิธีทาง เครื่องเคลือบดินเผา 3. เพื่อเป็นการนำ�เสนอเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร ในชีวิตประจำ�วัน ในรูปแบบของถ้วยน้ำ�มาตรฐาน โดยสามารถถ่ายทอดความงดงามเชิงสร้างสรรค์ให้ แก่สังคมไทย

20


ภาพที่ 1 การวิเคราะห์ผลงานสร้างสรรค์

แนวความคิด การนำ�หลักทฤษฎีทางศิลปะมาบูรณาการต่อ กระบวนการสร้างสรรค์ทางเครื่องเคลือบดินเผา

กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษารูปแบบและสัดส่วนของถ้วยน้�ำ มาตรฐาน ความจุ ตลอดจนประโยชน์ใช้สอยตามหลักการทาง การยศาสตร์ 2. วิเคราะห์ และสรุปผลที่ได้จากการศึกษา นำ�เสนอด้วยรูปแบบแผนผังการสร้างสรรค์ 3. ศึกษาเทคนิคการตกแต่งตามกรรมวิธีทาง เครื่องเคลือบดินเผา 4. จัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการ สร้างสรรค์ทางเครื่องเคลือบดินเผา 5. จัดเตรียมวัตถุดิบที่ใช้ในการสร้างสรรค์ทาง เครื่องเคลือบดินเผา 6. สร้างต้นแบบ และสร้างแม่พมิ พ์ชนิดหล่อกลวง 7. ขึ้นรูปผลงานสร้างสรรค์ และตกแต่งชิ้นงาน ตามกรรมวิธีทางเครื่องเคลือบดินเผา 8. เผาดิบ เผาเคลือบ และเผาตกแต่งผลงาน สร้างสรรค์ 9. นำ�เสนอผลงานสำ�เร็จ

21


ภาพที่ 2 ขั้นตอนการสร้างสรรค์และการตกแต่งตามกรรมวิธีทางเครื่องเคลือบดินเผา

วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน เครือ่ งคอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายภาพนิง่ เครือ่ งมือ และอุปกรณ์ทางเครื่องเคลือบดินเผา วัตถุดิบทาง เครื่องเคลือบดินเผา เตาเผาไฟฟ้า เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน การหล่อน้ำ�ดินพอร์ซเลน : แบบกลวง (Porcelain Slip : Hollow Casting) การตกแต่งตามกรรมวิธีทางเครื่องเคลือบดิน เผา (Ceramics Decorate Techniques) อุณหภูมิ 800 - 1,200 องศาเซลเซียส

เอกสารอ้างอิง Andrew Martin. (2006). Mold Making and Slip Casting. New York : Lark Crafts Anthony Quinn. (2007). The Ceramic Design Course. London : Thames & Hudson Jacqui Atkin. (2009). 250 Tips Techniques and Trade Secrets for Potters. London : Page One คำ�ที่สืบค้น Design cup. (ออนไลน์). เข้าถึงเมื่อ 1 พฤษภาคม 2012. เข้าถึงได้จาก URL : http://ceramicartsdaily.org

ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ ผลงานจัดวางบนผนัง 60 x 90 เซนติเมตร

22



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE บ้านหลังสุดท้าย The last home ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์ณัฎฐินี ผายจันเพ็ง Nattinee Phaychanpheng

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน พุทธศาสนิกชนคนไทยในปัจจุบันเริ่มถดถอยใน พระธรรมคำ�สั่งคำ�สอนของพุทธศาสนาลงไปทุกที อาจเป็ น เพราะยุ ค ของความเจริ ญ งอกงามทาง เทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจ ยิ่งเจริญด้วยวัตถุนิยม ใจก็ยิ่งถอยห่างจากคุณธรรมจริยธรรม เพราะความ มัวเมาใน กิเลส ตัณหา งมงายในความอยากมี อยากเป็นและอยากได้ จนลืมนึกไปว่า ท้ายที่สุดแล้ว ก็ไม่มีอะไรที่สามารถเป็นเจ้าข้าวเจ้าของได้ ทุกอย่าง ล้วนแต่ไม่เที่ยง แปรปรวน และต้องสลายไปในที่สุด แม้กระทั่งร่างกายที่เราอาศัยอยู่นี้ ก็ยังไม่ใช่ของๆ เรา ท้ายสุดก็ต้องดับสลายไป ดังที่พระพุทธเจ้าได้ สอนไว้ว่า “อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา” แปลว่าความ ไม่เที่ยง แปรปรวนไป สลายไปในที่สุด จะหาอะไร มาเป็นเรา ของเราไม่ได้เลย ไม่ให้ไปยึดมั่นถือมั่น เพราะมันมีสภาพที่เป็นทุกข์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ไตรลักษณ์” แปลว่าลักษณะสามอย่าง หรือ สามัญ ลักษณะ หมายถึง กฎธรรมดาของสรรพสิ่งทั้งปวง 1. อนิจจัง หรือ อนิจจตา ตามคำ�ศัพท์บาลี หมายถึง ความไม่เที่ยง ความไม่คงที่ ความไม่ยั่งยืน ภาวะที่เกิดขึ้นแล้วเสื่อมสลายไป 2. ทุกขัง หรือ ทุกขตา ตามคำ�ศัพท์บาลี หมายถึง ความเป็นทุกข์ ความทนอยู่ไม่ได้ ภาวะที่กดดัน ภาวะ ที่มีความบีบคั้นขัดแย้ง 3. อนัตตา หรือ อนัตตตา ความไม่ใช่ตัวตน ความไม่มีตัวตนที่แท้จริงของมัน ผู้สร้างสรรค์ ได้ถ่ายทอดแนวความคิด โดยการ ใช้รูปทรงทางสัญลักษณ์สื่อความหมาย โดยเนื้อหา

ในผลงาน “บ้านหลังสุดท้าย” มีองค์ประกอบดังนี้ 1. เรื่อง (Subject) “บ้านหลังสุดท้าย” ที่เราไม่ สามารถเลือกได้ คือ โกศใบเล็กๆ แคบๆ ใช้บรรจุ อัฐิ หรือเถ้ากระดูกหลังจากการตาย เพื่อเป็นการ เตือนสติแก่มนุษย์ ในสังคมปัจจุบันที่มีแนวโน้มส่วน ใหญ่อยูใ่ นลัทธิบริโภคนิยม ให้ระลึกถึงหลักพระธรรม คำ�สอนของพุทธศาสนาในเรื่อง ...อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ... การไม่ยึดมั่นถือมั่นทั้งวัตถุทางกาย และ ทางจิต ละกิเลส ตัณหา ความอยากมี อยากเป็น และอยากได้ เพราะจะอยู่ในสภาพที่เป็นทุกข์ ผู้ สร้างสรรค์ ได้เปรียบโกศบรรจุอัฐิ ใบเล็กๆ แคบๆ กับบ้านซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัย 4 ที่สำ�คัญของมนุษย์ ขณะยังมีชีวิต มนุษย์ใฝ่หาบ้านหลังโต บ้านหลังงาม ท้ายที่สุดเราก็อยู่ได้เพียงแค่ โกศใบเล็กๆ ที่จะเป็น บ้านหลังสุดท้ายนี้เท่านั้น 2. การใช้สัญลักษณ์ (Symbol) ผู้สร้างสรรค์ ได้ ใช้โกศ ซึ่งเป็นรูปทรงทางสัญลักษณ์ที่ใช้ในพิธีกรรม ทางพุทธศาสนา ในการบรรจุอัฐิของคนตายซึ่งแทน สัญลักษณ์ในคตินยิ มแบบประเพณีดง้ั เดิม เปรียบเปรย กับบ้านซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัย 4 ที่มนุษย์ใฝ่หาขณะ ยังมีชีวิตอยู่ นำ�มาสร้างสรรค์และหล่อขึ้นใหม่ ด้วย วัสดุดินพอร์สเลนซ์สีขาว โดยมีรูปสัญลักษณ์ของ สินค้าบริโภคนิยมปรากฏอยู่ เช่น LOUIS VUITTON VERSACE CHANEL APPLE ฯลฯ เป็นการตีความ ในลักษณะของการเปรียบเปรย ที่สะท้อนทัศนคติ และวิถีชีวิตของบุคคลในสังคมไทยปัจจุบัน ที่อยู่ใน กระแสของลัทธิบริโภคนิยมครอบงำ� ไล่ล่าตามความ ทันสมัย และกำ�หนดคุณค่าในการดำ�เนินชีวิตจาก 24


ค่านิยมทางวัตถุ ที่เป็นผลมาจากโลกทัศน์ และ ชีวทัศน์แบบตะวันตก (Westernization) เพื่อดิ้นรน ในการที่ จ ะดำ � รงได้ ใ นสั ง คมขณะที่ ยั ง มี ชี วิ ต อยู่ นอกจากนี้ยังเป็นความหมายแฝงที่เป็นนัยยะ ถึง กิเลส ความอยาก ตัณหาทั้งปวง 3. กระบวนการสร้างความหมาย (Signification) การนำ�สัญลักษณ์ของทั้งสองสิ่ง โกศใส่อัฐิและ แบรนด์สินค้าบริโภคนิยม ที่มีความขัดแย้งกัน ในทาง ความหมายและการใช้งาน มาสร้างสรรค์อยู่ด้วยกัน เสมือนเป็นการประชดประชันเสียดสี สิ่งหนึ่งใช้ ประกอบพิธีกรรมในคตินิยมแบบประเพณีดั้งเดิมใน ทางพุทธศาสนาของทางโลกตะวันออก และใช้เมือ่ ถึง คราวเศร้าโศก และยามที่มนุษย์หมดลมหายใจแล้ว ฉุกให้คิดถึงความตายอันอยู่เบื้องหน้า ชวนให้นึกถึง การปล่อยวาง การไม่ยึดมั่นถือมั่น ขณะที่อีกสิ่งเป็น สัญลักษณ์ตัวแทนของทางโลกตะวันตก เป็นค่านิยม ทางวัตถุ แฟชั่น ความฟุ้งเฟ้อ หลงระเริง ใช้เพื่อการ ดำ�รงอยู่ได้ในสังคมขณะที่ยังมีชีวิต ตีความหมายถึง กิเลส ตัณหา ความโลภ ความอยากมี อยากเป็น อยากได้ ทั้งปวง ผู้สร้างสรรค์ต้องการนำ�เสนอด้วย รูปโกศขึ้นรูปด้วยเทคนิคการหล่อ การเสียดสีกึ่งประชดประชัน ไปพร้อมๆ กับการให้ ด้วยน้ำ�ดินพอสร์เลนซ์สีขาว ระลึกถึงหลักพระธรรมคำ�สัง่ สอน การละกิเลสทัง้ ปวง เมื่อมนุษย์เราหมดลมหายใจไปจากโลกแล้ว ทรัพย์ สมบัติและกิเลสทั้งหลายทั้งปวงเหล่านี้ ก็ไม่สามารถ นำ�ติดตัวไปได้ ผลงานสร้างสรรค์ “บ้านหลังสุดท้าย” เป็นการ นำ�เสนอให้ระลึกถึงหลักพระธรรมคำ�สอนของพระ พุทธศาสนา เตือนสติให้พุทธศาสนิกชน และคนไทย ทุกคน ได้ตระหนักถึง การไม่ประมาท ในความตาย และนึกถึงความตายอยู่ทุกขณะจิต การไม่ยึดมั่น ถือมั่น รู้จักปล่อยวาง ลดความเห็นแก่ตน ความ ยึดมั่นในความเห็นของตนเป็นหลัก ลดความอยากมี อยากเป็น และอยากได้ พึงระลึกว่าสิ่งทั้งหลาย ย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามเหตุปัจจัยของมันเองเป็น ธรรมดา ไม่ให้เกิดความประมาทหลงระเริงเวลาใน ขณะยังมีชีวิตอยู่ เพราะจะอยู่ในสภาพที่เป็นทุกข์ เพราะไม่ว่าอย่างไรแล้ว ท้ายที่สุด บ้านหลังสุดท้าย ที่เราจะอยู่ ก็เป็นเพียง “โกศ“ ใบเล็กๆ...แค่นี้ ภาพตัวอย่างแบรนด์สินค้าบริโภคนิยม ที่จะนำ�มาออกแบบ รูปลอกเพื่อตกแต่งบนชิ้นงาน เท่านั้น... 25


วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพือ่ ศึกษาและรวบรวมข้อมูลต่างๆ ทีม่ คี วาม เกี่ยวข้องกับ กฎไตรลักษณ์ และการหาค่าสัญลักษณ์ ความหมาย เพื่อนำ�มาสร้างสรรค์งาน 2. เพื่อเป็นการเตือนสติแก่มนุษย์และสังคมใน ปัจจุบัน ให้ระลึกถึงหลักพระธรรม คำ�สอนของพุทธ ศาสนาในเรื่อง “ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ”

เอกสารอ้างอิง กำ�จร สุนพงษ์ศรี. ศิลปะสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2538. กชภรณ์ ตราโมท. (2546, กุมภาพันธ์-กรกฎาคม). โกศอัฐิประจำ�หมู่บ้าน ภาพลักษณ์ ความเข้มแข็ง ของชุมชน หมู่บ้านศาลาแดงเหนือ. จุลสาร ไทยคดีศึกษา. 19(3-4), 44-54. ทรงศักดิ์ แซ่ตั้ง. สัญญะของลัทธิบริโภคนิยม. วิทยานิพนธ์ศิลปมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย ศิลปากร, 2540. ธีรานันโท. มงคลพิธีไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำ�กัด, 2535. พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตโต). พุทธวินัยถึง ภิกษุณี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : หจก. สามลดา, 2553. พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าธานีนิวัติ. สำ�เนาเรื่อง ธรรมเนียมใส่โกศมาแต่ไหน. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, 2483. สมาคมผู้ทำ�คุณประโยชน์เพื่อพระพุทธศาสนาแห่ง ประเทศไทย. คำ�สอนในพระพุทธศาสนา. พิมพ์ ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ : หจก.อรุณการพิมพ์, 2554. Moure, Gloria. Marcel Duchamp. London : Thames of Hudson, 1988. มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนา. วิธีสืบค้น วัสดุสารสนเทศ. [ออนไลน์]. เข้าถึง ได้จาก : http : / / www.dhammahome.com (วันที่ค้นข้อมูล : 3 กรกฎาคม 2555). วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. วิธีสืบค้นวัสดุสารสนเทศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http : / / www.th. wikipedia.org/wiki/ไตรลักษณ์ (วันที่ค้นข้อมูล :7 กรกฎาคม 2555). ชัย แสงทิพย์. วิธีสืบค้นวัสดุสารสนเทศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http : / / www.buddha dhamma.com (วันที่ค้นข้อมูล : 7 กรกฎาคม 2555). พระอาจารย์ ไพศาล วิสาโล. วิธีสืบค้นวัสดุ สารสนเทศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http : / / www.dhammajak.net (วันที่ค้นข้อมูล : 7 กรกฎาคม 2555).

แนวความคิด “เจ้ามามือเปล่าแล้วเจ้าจะเอาอะไร? เจ้าก็ไป มือเปล่าเหมือนเจ้ามา” บ้ า นหลั ง สุ ด ท้ า ยที่ เ ราจะ อยู่ เป็นเพียง “โกศ “ ใบเล็กๆ.... แค่นี้เท่านั้น ...... กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่มีความ เกี่ยวข้องกับ กฎไตรลักษณ์ และหลักพระธรรมคำ�สอน ของพุทธศาสนาในเรื่อง “อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา” จากหนังสือธรรมะ แหล่งข้อมูลเอกสาร และทาง อินเตอร์เน็ต 2. สรุปและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนำ�มาตีความ หมาย การหาค่าสัญลักษณ์ การหาสื่อและวัสดุที่ เหมาะสมในการสร้างสรรค์งาน 3. ออกแบบ ค้นคว้า ทดลอง ในลักษณะ 2 มิติ และ 3 มิติ 4. ทำ�แม่พิมพ์ และขึ้นรูปด้วยเทคนิคการหล่อ น้ำ�ดินพอร์ซเลน 5. ประกอบชิ้นส่วน ตกแต่งชิ้นงาน และเผา อุณหภูมิ 1,250 องศา วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน แม่พิมพ์ปูนพลาสเตอร์ นํ้าดินหล่อพอร์ซเลน นํ้าเคลือบใส รูปลอกเซรามิก เตาเผา เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน ขึ้นรูปด้วยการหล่อนํ้าดิน และเผาอุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ 8.5 x 8.5 x 35 เซนติเมตร 26



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE บ้านเนินเขา, ราชบุรี Hill House, Ratchaburi ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์ณัฐรฐนนท์ ทองสุทธิพีรภาส Nathrathanon Thongsuthipheerapas

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน ในการสร้างสรรค์ที่ว่างเพื่อการสร้างสถาปัตยกรรมนั้นมักถูกมองว่าเป็นหน้าที่ของสถาปนิก ที่จะ เป็นผูส้ ร้างทีว่ า่ งเพือ่ ตอบสนองการใช้งาน มัณฑนากร ผู้ ม าสานต่ อ ในการสร้ า งสรรค์ ที่ ว่ า งภายในนั้ น ได้ ถู ก จำ � กั ด กรอบความคิ ด จนงานออกแบบภายใน มิได้มอี สิ ระในการคิดสร้างสรรค์ ทีว่ า่ งเพือ่ สนองตอบ ความต้องการรายละเอียดการอยู่อาศัย ซึ่งเป็น รายละเอียดของการอยู่อาศัยที่ได้สัมผัสจริง งาน ออกแบบภายในที่การใช้งานมิได้สัมพันธ์เชื่อมโยง กับบริบทโดยรอบ การถูกตัดขาดด้วยขั้นตอนและ วิธีการของการปฏิบัติวิชาชีพจึงทำ�ให้เกิดข้อจำ�กัด รูปแบบของผลงานออกแบบภายใน ในการสร้างสรรค์ ผลงานครั้งนี้ต้องการแสดงให้เห็นถึง การข้ามกรอบ ของขั้นตอนและวิธีการ เพื่อให้เห็นว่าบริบทสภาพ แวดล้อมนั้นสัมพันธ์เชื่อมโยงกับงานออกแบบภายใน โดยตรง จากพฤติกรรมผู้ใช้งานเจ้าของบ้านต้องการ สร้างบ้านพักตากอากาศ สำ�หรับพักผ่อนในวันหยุด เสาร์ - อาทิตย์ ที่จังหวัดราชบุรีและต้องการใช้เป็น บ้านพักอาศัยในยามเกษียณอายุ ที่มีความเรียบง่าย สามารถปรับเปลี่ยนพื้นที่ภายในได้ง่าย ราคาไม่แพง มีประโยชน์ใช้สอยสองส่วน คือส่วนที่อยู่อาศัยของ เจ้าของบ้าน อีกส่วนคือที่พักของแขกที่มาเยี่ยมและ แม่ที่แวะมาพักในบางครั้ง จากสภาพแวดล้ อ มซึ่ ง อยู่ ใ นอำ � เภอสวนผึ้ ง จังหวัดราชบุรี บริเวณโดยรอบเป็นไร่สับปะรดกว้าง

ใหญ่ มีภูเขาโดยรอบของพื้นที่ ต้นไม้ใหญ่สลับกัน ไปตามไหล่เขา ท้องฟ้าสว่างสีขาวอมฟ้า ก้อนเฆม แสงแดดและลมเคลื่ อ นไหวไปมาอย่ า งเห็ น ได้ ชั ด อากาศในตอนกลางวันจะร้อนแต่ในตอนบ่ายจะเย็น ลง ตามปริมาณแสงแดด แต่หากอยู่ในที่ร่มก็จะไม่ ร้อนมากนัก ความชื่นชอบในบริบท (Context) ของ เจ้าของบ้านภาพความงามที่ผู้อาศัยมองเห็นและ อยากสัมผัสจึงได้เลือกพื้นที่บริเวณนี้เป็นที่ต้ังสำ�หรับ การอยู่อาศัย ดังนั้นพื้นที่ภายในบ้านจะต้องรักษา ความงามที่มีอยู่ไว้ให้ได้ กระบวนการเริ่ ม ต้ น ด้ ว ยความต้ อ งการแยก สัดส่วนของที่พักแขกในแบบร่างครั้งแรก จึงได้แยก ประโยชน์ใช้สอยในสองส่วนนี้ออกจากกัน โดยเน้น แกนอาคารตามทิศเป็นรูปตัว L เปิดมุมมองภายใน ด้วยการเชื่อมพื้นที่กันด้วยเฉลียงด้านหน้า แต่แบบ ในครั้งแรกนี้ถูกยกเลิกไปเพราะต้องการประหยัดค่า ก่อสร้างและขนาดที่ใหญ่เมื่อเจ้าของบ้านได้เห็นมิติ มุมมองต่างๆ จึงตัดสินใจปรับเปลี่ยนรูปแบบโดย ในแบบครั้งต่อมาได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบประโยชน์ ใช้สอยให้มารวมกัน ลดขนาดพื้นที่ลงตัดส่วนที่ไม่ จำ�เป็นออก ลดจำ�นวนเสาลงเพื่อประหยัดโครงสร้าง โดยมีเฉลียงขนาดใหญ่คั่นกลางระหว่างที่พักแขก และที่ พั ก อาศั ย หลั ก ออกจากกั น ในส่ ว นนี้ จ ะเป็ น ที่ พั ก ผ่ อ นชื่ น ชมบรรยากาศของบริ เ วณโดยรอบ ด้านข้างมีห้องเก็บของ ที่เก็บจักรยาน และอุปกรณ์ งานช่างต่างๆที่เจ้าของบ้านสามารถนำ�มาทำ�เป็น งานอดิเรกในบริเวณเฉลียงส่วนนี้ได้อีกด้วย ด้าน

28


หน้ามีเฉลียงยาวหน้ากว้าง 2 เมตร เพื่อเชื่อมพื้นที่ และเป็นทางเข้าหลักสู่ห้องต่างๆ สามารถใช้เป็นที่ นั่งเล่น ชมวิวทิวทัศน์ พักผ่อนทำ�กิจกรรมต่างๆเป็น แนวความคิดเช่นเดียวกับ “เอ็น” ในสถาปัตยกรรม ญี่ปุ่นที่ถูกใช้เพื่อชื่นชมสวนหรือเพื่อชมจันทร์ในฤดู หนาว พื้นที่ดังกล่าวจึงเป็นทั้งพื้นที่กึ่งภายใน พื้นที่ ภายนอก พื้นที่เพื่อปรับแสงปรับความรู้สึก พื้นที่ห้องน้ำ�ของในส่วนที่พักอาศัยหลักอยู่ทาง ทิศตะวันตกของตัวบ้าน เป็นส่วนที่จะโดนแสงแดด ในช่วงบ่ายผนังด้านนี้จะร้อน จึงเลือกที่จะให้ห้องน้ำ� อยู่บริเวณนี้ ทางเข้าห้องน้ำ�ไม่มีประตูแต่จะออกแบบ ให้หลบสายตาด้วยผนัง ในส่วนของห้องแต่งตัวและ ชั้นวางเสื้อผ้าที่เป็นชั้นคอนกรีตทาสีขาวขนานไปกับ ทางเดินภายใน มีช่องแสงที่พอเหมาะเพื่อในตอน กลางวันไม่ต้องเปิดไฟเพื่อใช้งาน ด้านหลังทางทิศใต้ มีหอ้ งอาบน้�ำ แบบกึง่ เปิดกึง่ ปิด สามารถอาบน้ำ�พร้อม มองเห็นบรรยากาศภายนอกไปในตัว ตามความ ต้องการของเจ้าของบ้าน ภายในห้องใหญ่ประกอบไปด้วยส่วนทำ�งาน ส่วนนอน ส่วนนั่งเล่น ซึ่งพื้นที่บริเวณนี้เจ้าของ ต้องการให้เป็นแบบ OPEN SPACE สามารถปรับ เปลี่ยนได้โดยใช้เครื่องเรือนลอยตัวที่มีความสูงไม่ เกิน 0.90 เมตรเพื่อให้เครื่องเรือนไม่ขวางทิศทาง แสงและลม และทำ�ให้ผู้อาศัยในบ้านเห็นวิวทิวทัศน์ ที่สวยงาม มีผนังกั้นตรงแนวเสาในส่วนนอนและส่วน นั่งเล่นเพื่อทำ�ให้เกิดขอบเขตที่ว่าง ขอบเขตนี้มิได้ปิด กั้นโดยสิ้นเชิงแต่เปิดให้แสง เสียง อากาศผ่านไปมา ได้มี ส่วนทำ�งานที่มีชั้นหนังสือขนาดใหญ่เนื่องจาก เจ้าของบ้านมีหนังสือเป็นจำ�นวนมากต้องการทำ�เป็น ชั้นปูนเพื่อไม่ให้มีปัญหาเรื่องปลวกจึงออกแบบแนบ ไปกับผนังอาคาร เมื่ อ พั ฒ นาแบบมาได้ จ นกระทั่ ง การทำ � หุ่ น จำ�ลองเพื่อตรวจสอบและแสดงให้เห็นถึงมิติสัมพันธ์ ทีว่ า่ งเพือ่ ปรับปรุงก่อนการเขียนแบบ ทางเจ้าของบ้าน ได้เห็นถึงมิติท่ีเกิดขึ้นจากหุ่นจำ�ลองจึงตัดสินใจแก้ไข แบบในส่วนด้านหลังอีกครัง้ เพือ่ ปรับปรุงในส่วนทีพ่ กั

แขกที่พื้นที่ส่วนใหญ่หายไปกับทางเดิน จึงตัดสินใจ ยกเลิกครัวในส่วนทีพ่ กั แขก ยกเลิกประตูทางเข้าจาก ภายนอกเพื่อเพิ่มพื้นที่ สามารถแยกห้องเครื่องปั้ม น้ำ� เครื่องกรองน้ำ� ออกไปเป็นสัดส่วนได้ ในส่วนโครงสร้างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กที่ช่าง ชาวบ้านในพื้นที่คุ้นเคยกับการก่อสร้างในลักษณะนี้ ทำ�ให้ช่วยลดค่าใช้จ่ายลง ในส่วนพื้นผิวจะโชว์วัสดุ คอนกรีตเป็นหลักจะทาสีขาวในบางส่วนและด้านบน เพื่อการสะท้อนแสงทำ�ให้ฝ้าและส่วนด้านบนของ บ้านดูเบากลมกลืนไปกับท้องฟ้า ผนังบางส่วนจะกรุ หินลูกรังซึ่งได้จากบริเวณพื้นที่แถวนั้นด้วยความที่ มีสีแดงอมส้ม จึงเลือกกรุในบางส่วนเพื่อสร้างความ เชื่อมโยงกับบริบทบ่งบอกถึงประโยชน์ ใช้สอยเพิ่ม มิติให้กับที่ว่างมากขึ้น หลังคาโครงสร้างเหล็กเอียง ไปทางทิศใต้เพื่อกัน แดดและทำ�ให้น้ำ�ฝนไหลได้ดี สัมพันธ์กับภายในที่เอียงเพื่อรับแสงและเปิดมุมมอง ทำ�ให้ได้เห็นทัศนียภาพที่สวยงามด้านทิศเหนือ ซึ่ง เป็นด้านหน้าอาคาร ในภูมปัิ ญญาตะวันออก ความกลมกลืนระหว่าง ความเชื่อ สังคม ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ความเป็น พื้นถิ่นของแต่ละพื้นที่ผสมผสานอยู่ในสิ่งก่อสร้าง สถาปัตยกรรมในอดีตอย่างแยกกันไม่ได้ สิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นล้วนเหมาะสมกับสถานที่และเวลา (SPACE & TIME) ในขณะที่ปัจจุบันโลกตะวันออกได้ถูกเร่งให้ พัฒนาจนลืมที่จะมองในเรื่องบริบท สภาพแวดล้อม ทีห่ ล่อหลอมสิง่ ต่างๆ ให้เกิดขึน้ งานออกแบบในครัง้ นี้ มิได้มองหาแบบแผน ระเบียบ หรือรูปแบบในอดีตเพือ่ นำ�มาออกแบบ แต่ต้องการแสดงความสามารถใน ด้านการออกแบบภายในว่าสามารถแสดงผลลัพธ์ ที่เกิดจาก บริบท สภาพแวดล้อม วิถีชีวิตของผู้ อาศัย ความเชื่อ สังคม ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ความเป็นท้องถิ่นตามธรรมชาติในปัจจุบันเพื่อปลูก สร้างบ้านตากอากาศให้เกิดพื้นที่ว่างที่เป็นประโยชน์ สอดคล้องกับความต้องการของเจ้าของบ้าน โดยผ่าน กระบวนการแก้ปัญหาในการออกแบบได้ผลสำ�เร็จ เป็นอย่างดี

29


วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง กระบวนการในการ ออกแบบ การนำ�พฤติกรรมและสภาพแวดล้อมสู่การ ออกแบบที่ว่าง 2. เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง การสร้ า งสรรค์ ที่ ว่ า ง ภายในที่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับสภาพแวดล้อม โดยรอบ 3. เพื่อค้นหามุมมอง มิติ แนวคิดใหม่ๆ จาก กระบวนการของการทำ�งานออกแบบภายใน

แนวความคิด จากบริบทสู่ที่ว่างภายใน กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมของผู้ อาศัย 2. ศึกษาสภาพแวดล้อมในพื้นที่ 3. เทคนิควิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม 4. พัฒนารูปแบบของผลงาน 5. จัดทำ�แบบขั้นสุดท้าย การนำ�เสนอผลงาน

30


วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน กระดาษแข็ง อุปกรณ์การทำ�หุ่นจำ�ลอง

เอกสารอ้างอิง ชัยยศ อิษฎ์วรพันธุ์. ธรรมชาติ ที่ว่าง และสถานที่. กรุงเทพฯ : คอร์ปอเรชั่น โฟร์ดี, 2543. ทิพย์สุดา ปทุมานนท์. จิตวิทยาสถาปัตยกรรม มนุษย์ ปฏิสันถาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547. ต้นข้าว ปาณินท์. คนและความคิดทางสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์สมมติ, 2553. Zumthor, Peter. Thinking Architecture. Baden Switzerland : Lars Muller Publishers, 2000.

เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน การออกแบบเขียนแบบด้วยโปรแกรม AUTO CAD, PHOTOSHOP, หุ่นจำ�ลอง ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ 40 x 150 เซนติเมตร

31


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ฉันอยู่นี่ อยู่ไหน (w) here am I ? ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์ดรุพร เขาจารี Daruporn Khaocharee

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน “Globalization promotes intercultural communication, including travel and migration, which bring people from different societies into direct contact. The world is more integrated than ever.… With so many people “in motion,” the unit of anthropological study expands from the local community to the diaspora ….”

“… as people move, they take their traditions and their anthropologists along with them” (1997, p. 444). และ “Most migrants maintain their ties with their native land. In a sense, they live multilocally – in different places at once (Kottak, 2008, p. 377). (เหล่า ผู้อพยพ ยังคงรักษาสายใยเชื่อมโยงระหว่างตนกับ ดินแดนมาตุภูมิไว้ หรือกล่าวได้ว่า เสมือนพวกเขา อาศัยอยู่ในท้องถิ่นอันมากกว่าหนึ่ง – ในดินแดน ต่าง ๆ ไปพร้อม ๆ กัน) เมื่อมนุษย์ ได้พำ�นักยังพื้นที่ท้องถิ่นอันหลาก หลาย ประสบการณ์และเรื่องราวทางด้านจิตใจที่ สะสมก็ค่อยๆ ถูกสร้าง ผสมผสานและก่อร่างกลาย เป็นประสบการณ์และความเฉพาะตัวของจิตใจซึ่ง มี “อัตลักษณ์ที่แตกต่าง บนความแตกต่างและแปร เปลี่ยนตลอดเวลา” (บัณฑิต ไกรวิจิตร, 2550, หน้า 10). การนำ�เสนอผลงานสร้างสรรค์เรื่อง ฉันอยู่นี่ อยู่ไหน จะเป็นการนำ�เสนอหนึ่งในตัวอย่างของ ประสบการณ์ ความทรงจำ�และเรื่องราวของข้าพเจ้า ในฐานะผูพ้ ลัดถิน่ คนหนึง่ และเป็นการสะท้อนให้เห็น ถึงความเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนของสิ่งใด ใดอันเป็นธรรมดาโลก ไม่ว่าจะอยู่ที่ถิ่นไหน มนุษย์ ผู้ซึ่งเป็นส่วนเล็ก ๆ ของจักรวาล ไม่ควรยึดมั่นกับ สิ่งใด เพียงมีชีวิตที่เบิกบานในแนวทางที่ถูกต้อง เลือกเก็บแค่สิ่งที่ดีมีสุข และเตรียมใจพร้อมรับการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ โดยผลงานสร้างสรรค์นี้มีการ

(Kottak, 2008, p. 377-378)

Kottak กล่าวว่า “โลกาภิวัฒน์ก่อให้เกิดการ ติ ดต่ อ สื่ อ สารรวมถึ ง การเดิ น ทางและการอพยพ ย้ายถิ่น ซึ่งนำ�พาให้ผู้คนจากหลากหลายสังคมได้ พบปะนานาวัฒนธรรม และโลกก็ได้ผสมรวมเป็น หนึ่งมากกว่าที่เคย…. ท่ามกลางผู้คนซึ่งหมุนเวียน เคลื่อนไหวเหล่านั้น ในทางมานุษยวิทยาได้แผ่ขยาย การศึกษาตั้งแต่ชุมชนย่อยท้องถิ่น ไปจนถึงการพลัด ถิ่น…” การพลัดถิ่น (Diaspora) หมายถึง การโยก ย้ายถิ่นฐานจากถิ่นต้นกำ�เนิดของมนุษย์ ไปยังถิ่นที่ อาศัยพักพิงอื่น ซึ่งเกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ อดีตกาลจวบจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นด้วยสาเหตุ ด้านต่าง ๆ เช่น ความจำ�เป็นทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง หรือแม้แต่ด้วยความสมัครใจก็ตาม ใน ความเป็นจริงถึงกายมนุษย์นั้นจะพลัดพรากจากถิ่น มาตุภูมิ แต่ในด้านจิตใจนั้นมนุษย์มักพกพาเรื่องราว ประสบการณ์ของตนไปด้วยในรูปแบบความทรงจำ� ต่างๆ และมายาคติ ดังเช่นที่ Kottak กล่าวว่า

32


ใช้ส่วนประกอบต่างๆ (Elements) เพื่อแทนค่า ประสบการณ์และความทรงจำ�ในการพลัดถิ่นของ ข้าพเจ้า ดังนี้ รูปร่างกราฟิกเรขาคณิต ใช้แทนค่าภาพจำ�ของ ประสบการณ์ โดยตัดทอนรายละเอียดยิบย่อยออก จับไว้แต่เพียงใจความสำ�คัญ (Essence) รูปแบบ กราฟิกร่วมสมัยนั้นต้องการสื่อถึงความทรงจำ�ที่ถูก จดจำ�ไว้-ไม่เลือนหาย-ไร้กาลเวลา (Timeless) สี สีที่ใช้เป็นสีสันของความเป็นธรรมชาติของ ดินแดนมาตุภมู ิ แต่ผา่ นการปรับค่าสีให้ดเู ป็นสังเคราะห์ ขึ้น เพื่อแทนค่าการเดินทางผ่านกระบวนการ จาก ท้องถิ่นจนถึงนานาอารยะ ดังคำ�กล่าวของ Kottak ที่ ว่า “… the interplay of local, …, to international cultural forces.” (1997, p. 453). วัสดุ ไม้ต้นกระถินเทพา จากสวนของบิดา ข้าพเจ้า (จังหวัดจันทบุร)ี ซึง่ แทนค่าความเป็นท้องถิน่ (Local) แม้จะถูกผ่านกระบวนการขัดเกลาต่างๆ แต่ ก็ยังคงอัตลักษณ์ดั้งเดิมให้เห็น การจัดวาง ชิ้นงานย่อยทั้ง 4 ชิ้น ซึ่งแทน ค่าประสบการณ์การพลัดถิ่น ดังนี้ จังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย เมืองซานฟรานซิสโกและนิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดเรียงตามลำ�ดับจากซ้าย ไปขวา โดยถือว่ายังเป็นปลายเปิดและยังไม่สิ้นสุด เพราะอาจมีประสบการณ์เพิ่มเติมเกิดขึ้นในอนาคต อีกก็เป็นได้

วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ และเพื่อศึกษา เรือ่ งราวภายในจิตใจของข้าพเจ้าเกีย่ วกับประสบการณ์ การเป็นผู้พลัดถิ่น (Diaspora) ในท้องถิ่นต่าง ๆ และ เป็นการแสดงตัวอย่างและแบ่งปันประสบการณ์กับ ผู้ชม 2. เพื่อเป็นตัวอย่างซึ่งสื่อและสะท้อนให้เห็น ถึงสัจธรรมของความเปลี่ยนแปลงอันเป็นธรรมดา โลก มนุษย์ควรเตรียมใจให้พร้อมรับการเปลี่ยนอยู่ เสมอ 3. เพื่อเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดการสร้างทัศนคติ ในแง่บวกของบุคคล ซึ่งจะส่งผลให้สภาพสังคมของ บุคคลนั้นๆถูกกระตุ้นและขับเคลื่อนอย่างน่าอยู่ ไม่ ว่าจะเป็นแดนมาตุภูมิ หรือดินแดนพักพิงก็ตาม แนวความคิด Diaspora - วัฏจักรของความแปลก แตกต่าง ปรับตัว คุ้นเคย ลาจาก และคำ�นึง อันไม่สิ้นสุด

33


กระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับการ พลัดถิ่น (Diaspora) จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น หนังสือ และออนไลน์ ได้แก่ สาเหตุของการพลัดถิ่น ความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในถิ่นใหม่ การรับ เอาหรือไม่รับเอาอัตลักษณ์-วัฒนธรรมของถิ่นใหม่ การเป็นส่วนหนึ่ง (Belongings) การกลับสู่แดน มาตุภูมิ ความรู้สึกเมื่อจบประสบการณ์พลัดถิ่น 2. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลและประสบการณ์ ภายในจิตใจของข้าพเจ้าเกี่ยวกับประสบการณ์การ พลัดถิ่น (Diaspora) ในท้องถิ่นต่างๆ 3. เปรียบเทียบ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุป เป็นข้อมูลที่ง่ายต่อการนำ�เสนอ 4. ออกแบบร่างผลงาน 5. จัดทำ�ผลงาน

ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ ประมาณ 40 x 70 เซนติเมตร เอกสารอ้างอิง บัณฑิต ไกรวิจิตร. เอกสารศุกร์เสวนา 2 กุมภาพันธ์ 2550 เรื่อง การศึกษาชุมชน “คนพลัดถิ่น” (Diaspora). [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www.shi.or.th/content/22/1/ Holmes, Lowell D. Anthropology An Introduction, New York: The Ronald Press Company, 1965. Kottak, Conrad Phillip. Anthropology The Exploration of Human Diversity Seventh Edition, New York: McGraw-Hill, 1997. Kottak, Conrad Phillip. Cultural Anthropology Twelfth Edition, New York: McGraw-Hill, 2008. Wikipedia contributors. “Diaspora.” Wikipedia, The Free Encyclopedia. Wikipedia, The Free Encyclopedia, 12 Jul. 2012. Web. 15 Jul. 2012.

วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน เลื่อยไฟฟ้า กระดาษทราย สี พู่กัน กาว เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน ไม้ และสื่อผสม

34



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ปริศนาแห่งชีวิต The mystery of Life ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์ธาตรี เมืองแก้ว Thatree Muangkaew

ที่มาและความสำ�คัญในการสร้างสรรค์ผลงาน ธรรมชาติรอบตัวมนุษย์ มีความงาม ความจริง ที่เป็นเหตุและผล สิ่งมีชีวิตรวมไปถึงพืชพันธุ์ต่างๆ ล้วนมีวิถีชีวิตการเจริญเติบโตอย่างน่าสนใจเป็นไป ในรูปแบบเฉพาะตัวของมันเอง ฝักกระถินณรงค์ เมื่อเกาะเกี่ยวรวมกัน ด้วย การซ้อนกันของกลีบ และจังหวะลีลาไขว้กันไปมา ทำ�ให้รูปทรงดูลึกลับน่าพิศวง ชวนให้ค้นหาเหตุใน การเกิดขึ้นมาของรูปทรงของพืชชนิดนี้ รูปทรงที่ดู ลึกลับน่าพิศวงนี้ ทำ�ให้ข้าพนึกไปถึงเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาในชีวิตของมนุษย์เราที่มีทั้งสุขและทุกข์ ก็ล้วนมีเหตุและปัจจัยที่ทำ�ให้สิ่งต่างๆ นั้นเกิดขึ้นมา แล้วดับไป ตามหลักของธรรมชาติและคำ�สั่งสอนใน พุทธศาสนา สิ่งเหล่านี้ข้าพเจ้ามีความสนใจพิจารณา และ เป็นที่มาของความบันดาลใจในการสร้างสรรค์ ผล งานประติ ม ากรรมเครื่ อ งปั้ น ดิ น เผาเพื่ อ สื่ อ สาร ความประทับใจที่มีต่อรูปทรงอินทรียรูป (Organic form)

วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมเครือ่ งปั้นดินเผา เพื่อแสดงถึงความลึกลับ ที่แฝงไปด้วยจังหวะ ลีลา ของเหตุและผลในการประกอบขึ้นมาของรูปทรงที่ ได้รับแรงบันดาลใจมาจากรูปทรงที่มีอยู่ในธรรมชาติ (ฝักกระถินณรงค์) แนวความคิด สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมเครือ่ งปั้นดินเผา ในรูปแบบของรูปทรงอินทรียรูป (Organic Form) โดย ใช้ดินปากเกร็ด ผสมกากเมล็ดกาแฟสดคั่วแล้วบด เป็นผงที่ใช้แล้วจากการทำ�น้ำ�กาแฟ นวดให้เข้ากัน กับดินด้วยอัตราส่วน 8-10% เพื่อทำ�ให้ดินที่เหนียว มากมีความพรุนตัว ทำ�ให้สามารถขึ้นรูปชิ้นงานที่มี ความหนาบางแตกต่างกันมากๆ ได้ หลังจากทำ�การ ขึ้นรูปผลงานแต่ละชิ้นแล้วนั้น จะนำ�ชิ้นงานแต่ละชิ้น มาประกอบเข้าด้วยกันให้เป็นผลงานชิ้นเดียว เพื่อ ให้ผลงานมีมิติและรูปแบบเป็นไปตามแนวความคิด ในการแสดงออก

36


กระบวนการการสร้างสรรค์ผลงาน 1. พิจารณาสิ่งที่เป็นแรงบันดาลใจ 2. หาข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ และสรุป เกี่ยวกับแรงบันดาลใจ 3. กำ�หนดแนวทางในการสร้างสรรค์ 4. เลือกเทคนิคกรรมวิธีทางเครื่องปั้นดินเผา ในการนำ�เสนอผลงาน ซึ่งในการสร้างสรรค์ผลงาน ชุดนี้ข้าพเจ้าเลือกใช้วิธีการขึ้นรูปแบบบีบ ในการ ขึ้นรูปผลงานแต่ละชิ้นที่มีขนาดแตกต่าง แล้วนำ�มา ประกอบกันเป็นผลงาน 5. วิเคราะห์ สรุปผลทีไ่ ด้จากการศึกษา นำ�เสนอ ด้วยรูปถ่ายและภาพร่างสองมิติ 6. จัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการ สร้างสรรค์ทางเครื่องปั้นดินเผา 7. จัดเตรียมวัตถุดิบที่ใช้ในการสร้างสรรค์ทาง เครื่องปั้นดินเผา ซึ่งในการสร้างสรรค์งานชุดนี้ ข้าพเจ้าได้เลือกใช้ดินปากเกร็ดผสมด้วยกากกาแฟ สดที่ผ่านการคั่วและบดมาแล้ว เพื่อให้ดินมีความ ภาพแบบร่าง พรุนตัวและลดการแตกร้าวหลังการเผาในกรณีที่ปั้น งานที่มีความหนาตั้งแต่ 2 เซนติเมตรขึ้นไป 8. ขึ้นรูปผลงานและตกแต่งพื้นผิวชิ้นงานตาม กรรมวิธีทางเครื่องปั้นดินเผา

37


9. เผาชิ้นงานด้วยอุณหภูมิ 800, 1100 และ 1200 องศาเซลเซียส จากการใช้ดนิ ปากเกร็ด เผา ด้วยอุณหภูมทิ แ่ี ตกต่างกันไป ทำ�ให้สขี องดินมีความ แตกต่างกันไปด้วย คือจะมีโทนสีตั้งแต่ส้มไป จนถึง แดงเข้ม 10. พิจารณารูปทรงแต่ละชิ้น ทำ�การประกอบ เพือ่ ให้ได้ผลเป็นไปตามแนวความคิดในการแสดงออก 11. นำ�เสนอผลงานสำ�เร็จ

เอกสารอ้างอิง ทวี พรหมพฤกษ์. วิชาเครื่องเคลือบดินเผาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2523. ชลูด นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2544. น. ณ ปากน้ำ�. วิวัฒนาการลายไทย. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2550. เลน, จอห์น. ความงามข้ามกาลเวลา. สดใส ขันติวรพงศ์, ผู้แปล. กรุงเทพฯ : มูลนิธิเด็ก, วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน 2550. ดินปากเกร็ดผสมกากกาแฟ เครื่องมือปั้น เตา พุทธทาส อินทปัญโญ. ธรรมะในฐานะวัฒนธรรม เผาไฟฟ้า และการประยุกต์ให้เต็มความหมาย. กรุงเทพฯ : กระทรวงวัฒนธรรม, 2551. เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน ปรชญาจารย์. นครปฐม: ภาควิชาปรัชญา คณะ การขึ้นรูปแบบบีบ (pinching) เผาด้วยอุณภูมิ อักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2553. 800, 1100, 1200 องศาเซลเซียส ลีโอ ตอลสตอย. ปฏิทินปัญญา. มนตรี ภู่มี: แปล จากสำ�นวน ภาษาอังกฤษของ ปีเตอร์ เซคีริน. ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 44 x 44 x 33 เซนติเมตร 2555.

38



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ดินแดนในใจ In My Land ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธีรวัฒน์ งามเชื้อชิต Asst. Prof. Teerawat Ngarmchuachit

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน ข้าพเจ้าเชื่อว่าแหล่งกำ�เนิดของความบันดาลใจ ที่ยิ่งใหญ่ ส่วนหนึ่งก็มาจากการเฝ้าสังเกตธรรมชาติ โดยทั่วไปคำ�ว่า “ภูมิทัศน์” หมายถึง ภาพรวมของ พื้ น ที่ ใ ดพื้ น ที่ ห นึ่ ง ที่ ม นุ ษ ย์ รั บ รู้ ท างสายตาในระยะ ห่าง อาจเป็นพื้นที่ธรรมชาติที่ประกอบด้วยรูปทรง ของแผ่นดิน น้ำ� ต้นไม้ สัตว์และสรรพสิ่งมนุษย์สร้าง ในสภาพอากาศหนึ่ ง และช่ ว งเวลาหนึ่ ง ที่ เ รี ย กว่ า ภูมิทัศน์ธรรมชาติ หรือภาพรวมของเมืองหรือส่วน ของเมือง เรียกว่าภูมิทัศน์เมือง นอกจากนี้ยังมีการ ใช้คำ� “ภูมิทัศน์” กับพื้นที่ที่มีลักษณะเฉพาะเด่นชัด เช่น ภูมิทัศน์ทะเล ภูมิทัศน์ภูเขา ภูมิทัศน์ทะเลทราย หรือ ภูมิทัศน์พระจันทร์ ซึ่งหมายถึงภาพรวมของ พื้นที่บนผิวดวงจันทร์ที่มนุษย์อวกาศไปเยือน ภูมิทัศน์ ตรงกับคำ�ภาษาอังกฤษว่า Landscape มีผู้บัญญัติคำ�นี้ใช้แทนการทับศัพท์ภาษาอังกฤษเป็น ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2520 ในรายงานทางเทคนิคด้าน ภูมิสถาปัตยกรรม โครงการอุทยานประวัติศาสตร์ สุโขทัย คำ�ที่มีความหมายใกล้เคียงกับภูมิทัศน์ ได้แก่ “ทิวทัศน์” (View) ซึ่งมีความหมายแคบเฉพาะภาพ ส่วนของธรรมชาติทม่ี คี วามสวยงาม ในชีวติ เราทุกคน คงต้องเคยผ่านประสบการณ์ ในเรื่องการสูญเสีย พลัดพราก ทัง้ จากสิง่ ของและคนอันเป็นทีร่ กั อารมณ์ และความรู้สึกนี้ เป็นความเจ็บปวดและรุนแรงซึ่งเข้า มากระทบเราในขณะนั้น เมื่อเวลาผ่านไป ความรู้สึก นั้นค่อยเปลี่ยนเป็นความทรงจำ�ที่ฝังตัวอยู่ในจิตใจ เป็นความคิดคำ�นึง เมื่อเราได้เดินทางไปในสถานที่ ท่องเทีย่ วต่างๆ ได้มองเห็นกับภูมปิ ระเทศทีก่ ว้างใหญ่

เวิ้งว้างของขุนเขาในแวดล้อมของธรรมชาติ ข้าพเจ้า ได้เรียนรู้ว่ามนุษย์เรานั้นช่างเป็นสิ่งมีชีวิตที่เล็กน้อย เมื่อเทียบกับธรรมชาติอันยิ่งใหญ่ และเมื่อถึงเวลา หนึง่ เราทัง้ หลายย่อมเปลีย่ นเป็นธุลดี นิ เราควรเรียนรู้ และน้อมรับในสิ่งที่เป็นนี้ เช่น ในชั่วเวลาหนึ่งที่เรายัง ถูกห้อมล้อมด้วยอารมณ์และความรู้สึกของความ เป็นมนุษย์ ภาพอันตระการตาของขุนเขาเหล่านี้ที่ อยู่ห้อมล้อมตัวเราย่อมดึงอารมณ์และความรู้สึก เปล่าเปลี่ยวอ้างว้าง ที่อยู่ในใจของเราออกมาได้ ทำ�ให้เกิดความรู้สึกว่า ภาพลักษณ์บางอย่างของภูมิ ทัศน์ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ อาจสร้างความรู้สึกที่ สอดคล้องกับภาวะอารมณ์ของเราได้ ที่ได้กล่าวมานี้จึงเป็นที่มาและความสำ�คัญใน การสร้างงานจิตรกรรมภาพภูมทิ ศั น์ขน้ึ เพือ่ ตอบสนอง อารมณ์​์ แ ละความรู้ สึ ก ส่ ว นตั ว และต้ อ งการแสดง ให้เห็นถึงความงาม ความสุข ความอ้างว้าง และ ความเศร้าที่มีอยู่ในใจของเราทุกคน ให้เราทั้งหลาย ย้อนกลับมองตัวเองและสิ่งรอบ ๆ ตัว ด้วยความ อ่อนน้อม คารวะ โดยถ่ายทอดผ่านงานจิตรกรรม แบบภูมิทัศน์ วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน ต้องการนำ�เสนอผลงานในรูปแบบภูมิทัศน์แบบ อิงความจริงจากธรรมชาตฺิ และสร้างเรื่องราวที่มี นอกเหนือจากธรรมชาติ โดยใช้เรือ่ งราวและสิง่ ต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ มาจัดการใหม่เป็นการใช้รูปแบบ มุมมองความงามในแบบที่ตัวผมเองชอบและรู้สึก มี ก้ อ นหิ น และภู เ ขาพื้ น ที่ ว่ า งเป็ น ตั ว ดำ � เนิ น เรื่ อ งที่

40


สำ�คัญในการสร้างบรรยากาศให้เกิดตามที่ต้องการ และใช้ปัจจัยทางทัศนธาตุ รูปทรง แสงเงา นํ้าหนัก ที่ ป ระสานกลมกลื น กั น ก่ อ ให้ เ กิ ด ความงามนำ � มา สร้างงานจิตรกรรมให้ผู้ชมเกิดความรู้สึกคล้อยตาม แนวความคิดของข้าพเจ้า และทั้งหมดนี้เป็นภูมิทัศน์ ที่เกิดขึ้นใหม่ทั้งหมด แนวความคิด ภาพลั ก ษณ์ บ างอย่ า งของภู มิ ทั ศ น์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในธรรมชาติ อาจสร้างความรู้สึกที่สอดคล้องกับ ภาวะอารมฌ์ของเราในขณะนั้น และเมื่อเรามอง ธรรมชาติผ่านจากประสบการณ์ชีวิตของเราที่แล้วๆ มา เราย่อมสัมผัสได้ถึงอารมฌ์และความรู้สึกร่วมที่ เราปรุ่งแต่งขึ้น เมื่อมองเห็นก้อนหินใหญ่ ภูเขา เนิน ดิน สิ่งก่อสร้างที่ปรักหักพังวางกระจัดกระจายอยู่ ในบริเวณภูมิทัศน์นั้น ให้ความรู้สึกที่แปลกประหลาด ซึ่ ง ธรรมชาติ ที่ ป รากฏขึ้ น ตรงหน้ า เราในขณะนั้ น สามารถดึงเอา ความรัก ความหลัง ความศรัทธา และความฝั น ทั้ ง หลายที่ อ ยู่ ใ นด้ านดี ใ นใจของเรา ออกมา เช่นเดียวกัน บางครั้งความเศร้าและความ อ้างว้างที่อยู่ในใจทั้งหลายก็พรั่งพรูออกมาด้วยเช่น เดียวกัน แต่ก็เป็นความเศร้าที่อบอุ่นเพราะมันเจือ ไปด้วยความรักและความผูกพันที่มีอยู่ในใจของเรา ต่อบุคคลนั้น ข้าพเจ้าจึงมีความคิดว่า ธรรมชาติเป็นแรง บันดาลใจที่ยิ่งใหญ่ เราได้แง่คิดและมุมมองที่ดีใน การดำ�เนินชีวิตจากการซึมซับธรรมชาติอยู่เสมอ

1

2

3

กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. หาข้อมูลจากภาพถ่ายต่างๆ ทั้งจากสถานที่ ที่เคยไปจริงและจากรูปภาพ (ภาพที่ 1) 2. นำ�ภาพถ่ายรูปก้อนหินแบบต่างๆ มาเลือก เพื่อหาความเหมาะสมในการประกอบกัน เป็นภาพรวม (ภาพที่ 2) 3. ทำ�แบบร่างผลงานเพื่อนำ�ไปขยายลงขนาด งานจริง (ภาพที่ 3) 4. ร่างภาพบนเฟรมที่ใช้เขียนจริง 5. ปฏิบัติงานจิตรกรรมสีอคิลิก ในห้องสตูดิโอ ทำ�งาน (ภาพที่ 4)

4 41


5

6

วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน (ภาพที่ 5-6) อุปกรณ์สำ�หรับทำ�แบบร่าง 1. กล้องถ่ายรูป โซนี่ nex 7 พร้อมเลนส์ 18-200 มม.- กล้องถ่ายภาพแคนน่อน 7D พร้อมเลนส์ 70-300 L ขาตั้งกล้อง 2. คอมพิวเตอร์ 3. เครื่องพิมพ์​์สี อุปกรณ์การสร้างงานจิตรกรรม 1. เฟรมผ้าใบชนิดละเอียดขนาด 70 x 90 ซม. 2. สีอคริลิก 3. พู่กันขนาดต่างๆ 4. ดินสอร่าง 5. ขาหยั่งสำ�หรับวางเฟรมผ้าใบ 6. เก้าอี้นั่งเขียนรูป 7. โคมไฟสำ�หรับทำ�งาน

7

ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ 70 x 90 เซนติเมตร เอกสารอ้างอิง วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, ภูมิทัศน์. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2555. ANSEL ADAMS. landscape of the american west. London : QuercusPublishing Plc, 2008. BARBARA A. PORTER. PETRA splendors of the nabataean civilization. China, 2011. Marco Paoluzzo Beijing Artron, Terraborealis marco paoluzzo. China: Colour Printing Co.Ltd., 2010. Polly Mangue. 501 must-vist natural wonders. London, 2009.

เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน สร้างผลงานด้วยเทคนิคจิตรกรรมสีอคริลิก ซึ่ง มีความสะดวกสำ�หรับการทำ�งานของผม เนื่องจาก หลายๆ ครั้ง ผมได้มีการนำ�เทคนิคการเขียนนี้ออกไป ทำ�งานที่สถานที่จริงในการเขียนภาพภูมิทัศน์ การ เขียนที่สถานที่จริงนี้เอง เป็นการฝึกทักษะให้เราได้ เรียนรู้สีที่ปรากฏอยู่ในธรรมชาติ และฝึกการจำ�ลอง แบบจนเกิดความเข้าใจและความจัดเจน เมื่อเราได้ นำ�งานจิตรกรรมนี้กลับมาสร้างต่อ หรือสร้างขึ้นใหม่ ในสตูดิโอเราก็จะมีความชำ�นาญมากขึ้น (ภาพที่ 7)

42



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ถ้อยคำ� More than words ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. น้ำ�ฝน ไล่สัตรูไกล Asst. Prof. Namfon Laistrooglai (Ph.D.) ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน Words Create Hope Words Create Friend Words Destroy Relationship Words cause the enemies Word to connect with people Words bring the affair Words to build relationship Words to support the poor Words to motivate the rich Words Creates emotion

วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานแบบ Mix-Media ที่สะท้อนแนวความคิด มาจากพฤติกรรม การสื่อสาร การรับรู้ และการตีความหมายจากการพูด 2. เพือ่ ให้ผชู้ มได้หยุดคิด วิเคราะห์ถงึ จุดมุง่ หมาย ทีแ่ ท้จริง ของการสือ่ สารทัง้ ทางด้านอวัจวนภาษาและ วัจนภาษา รวมทั้งการตีความหมายและการถ่ายทอด ความหมายจากคำ�พูด

การพูดเป็นพฤติกรรมการสื่อที่ผู้พูดสามารถใช้ ภาษาทั้งด้าน อวัจนภาษา และวัจนภาษาในการส่ง สารติดต่อไปยังผู้ฟังได้ชัดเจนและรวดเร็ว การพูด ของมนุษย์เป็นการสือ่ ความหมายโดยการใช้เสียงและ กริยาท่าทางรวมทั้งยังเป็นเครื่องถ่ายทอด ความรู้ ความคิด ความรู้สึก ในปัจจุบันนี้การพูดก็ยิ่งทวีความ สำ�คัญมากขึ้น เพราะโลกมีความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยี อ ย่ า งรวดเร็ ว ผ่ า นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อย่างไรก็ตาม ความสำ�คัญของการพูดนั้นอยู่ที่ผู้พูด และผู้นำ� สามารถเข้าใจวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมาย ร่วมกันได้อย่างถูกต้อง

กระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษาเทคนิคการถ่ายทอดผลงานรูปแบบ Mix-Media ในลักษณะต่างๆ 2. ออกแบบผลงาน และเตรียมแบบร่าง 3. จัดทำ�ผลงานด้วยเทคนิคการพิมพ์และการปัก

แนวความคิด ความสำ�คัญของคำ�พูด

วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน บล็อกพิมพ์สกรีน ผ้า เครื่องคอมพิวเตอร์ ไหม ปักชนิดต่างๆ เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน การพิมพ์ตะแกรงไหม และงานปัก ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ 150 x 100 เซนติเมตร

44



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE มัณฑนศิลป์ ไม่สิ้นศีล 5 ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์บวรรัตน์ คมเวช Bovonruch komwech

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน ในระหว่างปี พ.ศ. 2541-2548 ข้าพเจ้าได้รับ มอบหมายจากมหาวิทยาลัยฯ ให้ทำ�โครงการพัฒนา เพิ่มมูลค่าผ้าทอพื้นเมือง ใน 11 จังหวัดตอนบน ของประเทศ ได้แก่ แพร่ น่าน เชียงใหม่ เชียงราย ลำ�ปาง ลำ�พูน ขอนแก่น อุทัยธานี บุรีรัมย์ ราชบุรี และนครปฐม รวมแล้ว 30 กว่าพื้นที่ และได้พา ลู ก ศิ ษ ย์ ไ ปด้ ว ยกั น เพื่ อ สร้ า งประสบการณ์ ต รงแก่ พวกเขา เป้าหมายการอบรมคือ ทำ�อย่างไรให้ชาวบ้าน ผู้ทอผ้าเห็นความสำ�คัญของการเลือกใช้เส้นด้าย สีสวย ๆ มาทอผ้า เพราะชาวบ้านนั้นไม่ธรรมดา นอกจากปลูกข้าวเก่ง สร้างบ้านเรือนสวยเย็นสบาย ทอผ้าได้แล้ว ยังสามารถสร้างวัดวาอารามโบสถ์ วิหาร พระพุทธรูป ได้อย่างงดงามเป็นอมตะ คือ งาม มาก่อนอย่างไร ปัจจุบนั ก็งามอยูแ่ ละคงงามอย่างนัน้ ต่อไปอีกในอนาคต ควรเป็นครูสอนข้าพเจ้ามากกว่า ข้าพเจ้าจึงต้องหาวิธีสอนเพื่อให้เกิดการยอมรับจาก ชาวบ้านผู้มาเรียน อาจารย์เปรื่อง เปลี่ยนสายสืบ ผู้เชี่ยวชาญในวงการศิลปะพื้นบ้าน ได้ให้คำ�แนะนำ� แก่ข้าพเจ้าว่า “...ให้เลือกเนื้อหาส่วนที่ง่ายที่สุด จาก ทฤษฏีสีมาเชื่อมโยงเป็นเรื่องที่เข้ากับวิถีชนบทไทย เพื่อให้เกิดการยอมรับฟังและยอมนำ�ไปปฏิบัติให้ได้ ผล อย่าเอาทั้งหมดเดี๋ยวชาวบ้านเผ่นหนีหมด อย่า แสดงตัวว่าไปสอน ถ้าจะเอาลูกศิษย์ ไปด้วยให้แสดง ตัวเสมือนลูกหลานไปขอวิชา แต่งตัวให้ดี พูดจาให้ มีสัมมาคารวะ อย่าทำ�เป็นพูดเล่นตามภาษาชนบท

ทั้งที่พูดไม่ถนัด เราหัวเราะสนุกแต่เจ้าถิ่นเขาได้ยิน จะเข้าใจผิดว่าเราไปล้อเลียนเขา เขาอาจจะแอบผูก โกรธเราไว้ในใจทำ�ให้ไม่อยากเปิดใจรับฟังและไม่อยาก ทำ�ตามสิง่ ทีเ่ ราแนะนำ� ไม่กนิ เหล้าสูบบุหรีแ่ ม้ชาวบ้าน จะเอามาให้ อย่าไปจู๋จี๋กันให้ชาวบ้านเห็น ...” และนี่ คือธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฎิบัติ เป็นศีลธรรม กฎ ศีลธรรม1 หรือที่เรียกว่าจริยธรรมนั่นเอง ที่สร้าง มนต์ตรามหาเสน่ห์ให้แก่ทีมงานชาวศิลปากร ทำ�ให้ ข้าพเจ้าสามารถนำ�ทีมงานลูกศิษย์ทำ�งานได้อย่าง ตลอดรอดฝั่ง ผลของการจัดอบรมทุกครัง้ ข้าพเจ้าและลูกศิษย์ ทีมงานต้องตกตะลึงกับผลงานของผู้เข้าอบรมที่เป็น ชาวบ้านล้วน ๆ ไม่วา่ จะเป็นการระบายสี การออกแบบ ลวดลายและชุดสี ล้วนเป็นงานที่มีความงามทาง สุนทรีย์ มีบุคลิกเฉพาะตัว มีชีวิต มีวิญญาณ มี ลมหายใจ นึกเปรียบเทียบกับลูกศิษย์ที่พาไปด้วยกัน แล้วคนละชัน้ ไปเลย ทำ�ให้สงสัยว่าทำ�ไมท่านเหล่านัน้ จึงมีความเข้าใจในเรื่องความงามได้อย่างลึกซึ้งเช่นนี้ ทั้ ง ที่ ท่ า นไม่ เ คยอยู่ ใ นระบบการศึ ก ษาของรั ฐ บาล อ่านหนังสือไม่ออก เขียนหนังสือไม่ได้ ไม่ได้เรียนกับ สถาบันสอนศิลปะใด ๆ ไม่ได้รับข่าวสารทางศิลปะ มีแต่บา้ น วัด โรงเรียน และเป็นทีน่ า่ สังเกตว่า ชาวบ้าน จะมีน้ำ�ใจโอบอ้อมอารี มีคุณธรรมที่แสดงออกทาง กาย วาจา และใจ ด้วยความถูกต้องและดีงาม อัน เกิดขึ้นด้วยศีล (Precept) หมายถึงหลักการปฎิบัติ เพื่อฝึกหัดกาย วาจา ใจ2 ภาพชีวิตประจำ�วันที่ได้ 1 พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525 2 ในหนังสือจริยธรรมกับชีวิตของ ผศ.บุญมี แท่นแก้ว

46


เห็นซ้ำ� ๆ ในทุกแห่งหนตำ�บลอำ�เภอคือ ทุกเช้า ชาวบ้านต่างนำ�ข้าวปลาอาหารไปทำ�บุญตักบาตร รักษาศีล เข้าวัดฟังธรรมสวดมนต์นง่ั สมาธิทกุ วันพระ งานบุญใหญ่ ต่างพร้อมใจกันหยุดทำ�นา พากันเข้า วัดทั้งหมู่บ้านอย่างสม่ำ�เสมอมิได้ขาด การปฏิบัติ ตามคำ�สอนของพุทธศาสนา ทำ�ให้จิตใจของผู้ไม่ได้ เรียนหนังสือ มือเท้าหยาบกร้านเพราะทำ�ไร่ทำ�นา เลี้ยงคนทั้งประเทศ สามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ อย่างงดงามขนาดนี้เชียวหรือ ดังคำ�สอนที่ว่า ให้ชาว พุทธหมั่นทำ�ทาน รักษาศีลและเจริญสมาธิภาวนา เพื่อกำ�จัดกิเลสคือ โลภ โกรธ หลง ที่คอยเคลือบใจ มนุษย์ทุกคนอยู่ตลอดเวลา เมื่อใจใสสะอาดบริสุทธิ์ ผลงานสร้างสรรค์จึงงามอย่างสะอาดบริสุทธิ์ไปด้วย การนี้ได้ให้แนวคิดแก่ข้าพเจ้าว่า ถ้าให้ลูกศิษย์ ได้ ทำ�ทาน รักษาศีล และเจริญสมาธิภาวนาอย่าง สม่ำ�เสมอบ้าง คงจะทำ�ให้ลูกศิษย์รังสรรค์ผลงาน เรียนได้อย่างอัศจรรย์และมีความงดงามเป็นแน่แท้ จึงได้หาโอกาสพาลูกศิษย์ ไปทำ�บุญตักบาตรด้วยกัน หมั่นพูดชวนให้รักษาศีล 5 โดยเฉพาะข้อ 5 ที่ว่า ไม่กินของมึนเมาเพราะถ้าเมาแล้วขาดสติทำ�ผิดศีล ได้ทุกข้อ แนะนำ�ให้ลูกศิษย์ ได้ปฏิบัติธรรมนั่งสมาธิ เพื่ อ ฝึ ก ใจให้ เ กิ ด ความสงบนิ่ ง นุ่ ม นวลควรแก่ ก าร งาน ยิ่งพูดสอนก็ยิ่งห่างไกลความฝันเพราะขาดแรง สนับสนุน ขาดโอกาสและกำ�ลังใจในการทำ�ทาน รักษาศีลและเจริญสมาธิภาวนา ไม่มีวิชาจริยธรรม ในตารางสอน กิจกรรมที่ส่งเสริมจริยธรรมกลับหา

ยาก มีแต่กิจกรรมที่เอื้อต่อการผิดศีล เช่น รับน้อง ด้วยการให้รุ่นพี่ยืนด่าทอขู่ตะคอก เลี้ยงเหล้าเบียร์ ในงานรับน้องกระทั่งขาดสติประพฤติผิดทางกาม ท่ามกลางงานเลีย้ ง หรือเมาแล้วเผลอไผลเกิดอุบตั เิ หตุ พิการบ้าง เสียชีวิตบ้าง ดังมีหลักฐานปรากฏจน ทุกวันนี้ การสร้างระบบรักษาศีลคือการสร้างระบบ จริยธรรมที่ต้องประสานกันอย่างต่อเนื่องระหว่าง กายและใจ เพื่อให้เกิดการทำ�ความดี โดยมี ศีลเป็น ระบบการควบคุมกายและใจ3 เหมือนว่าต้องการรับ ประทานมะม่วง แต่ไม่มีนโยบายปลูกต้นมะม่วงแล้ว เมื่อไรจะได้เห็นผลมะม่วง กระทั่งปี พ.ศ. 2554 ทาง มหาวิทยาลัยทั่วประเทศได้ให้ความสำ�คัญกับคำ�ว่า จริยธรรม โดยบรรจุลงในแผนการประเมินการสอน เป็นข้อแรก และบังคับให้มีคะแนนจริยธรรมกำ�กับ ในทุกสรรพวิชาทั้งหมด ด้วยจริยธรรมในสังคมไทย ขึ้นกับระบบศีลในพระพุทธศาสนา4 ดังนั้นการจะ มีจริยธรรมได้ต้องมีศีลธรรมก่อน ซึ่งศีลก็เป็นหนึ่ง ใน ทาน ศีล สมาธิ ภาวนา ตรงกับความตั้งใจ เดิมของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจึงเกิดแรงบันดาลใจที่จะ สร้างสรรค์ผลงานเพื่อแนะนำ�และสร้างกำ�ลังใจให้ ลูกศิษย์และเชิญชวนชาวมัณฑนศิลป์ทุกท่านให้เห็น ความสำ�คัญของการทำ�ทาน รักษาศีล เจริญสมาธิ ภาวนาอย่างสม่ำ�เสมอ อันนำ�ไปสู่การมีจริยธรรมที่ ดีงาม เกิดพุทธิปัญญานำ�พาการสร้างสรรค์ผลงาน มัณฑนศิลป์ที่งดงามมีคุณค่าสืบต่อไป

3 หนังสือพุทธธรรมของ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต) 4 ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมทย์

47


วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อศึกษาและนำ�เสนอประโยชน์ของการ ทำ�ทาน รักษาศีลและเจริญสมาธิภาวนาอย่างสม่�ำ เสมอ อันเป็นเหตุให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานมัณฑนศิลป์ ได้อย่างงดงามยิ่งขึ้น 2. เพื่ อ กระตุ้ น จิ ต สำ � นึ ก ในเห็ น ความสำ � คั ญ ของการทำ�ทาน รักษาศีลและเจริญสมาธิภาวนา 3. เพื่อเชิญชวนลูกศิษย์และชาวมัณฑนศิลป์ ให้หมั่นทำ�ทาน รักษาศีลและเจริญสมาธิภาวนาอย่าง สม่ำ�เสมอ

กระบวนการในการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูล 2. วิเคราะห์ข้อมูล 3. ออกแบบภาพร่าง 4. ทำ�ผลงานจริง

แนวความคิด การ ทำ�ทาน รักษาศีล และเจริญสมาธิภาวนา เป็นทางมาแห่งพุทธิปัญญา อันเป็นทีม่ าของความงาม และเป็นพลังในการสรรค์สร้างความงาม ไฉนเลย จงมาสร้างพุทธิปัญญาในมัณฑนศิลป์กันเถิด การสอนลู ก ศิ ษ ย์ แ บบปากเปล่ า ให้ เ ข้ า ใจถึ ง ประโยชน์ของการทำ�ทานรักษาศีล และเจริญสมาธิ ภาวนานั้น บางครั้งน่าเบื่อ ไร้รสชาติ ไม่นา่ ประทับใจ ไม่ เพี ย งพอต่ อ การสร้างความรู้สึก ให้เกิดอารมณ์ อยากปฏิบัติตาม ข้าพเจ้าได้มองหาวิธีการบันทึก คำ � สอนและบั น ทึ ก ภาพการทำ � ตามคำ � สอนนั้ น บน ข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจำ�วันแบบง่าย ๆ ทั่วไป เช่น ในกรอบรูป ในจอคอมพิวเตอร์ หรือบนกระเป๋า ผ้าดิบธรรมดาสักใบ หรือทำ�สื่อวีดีทัศน์ เพื่อโฆษณา เชิญชวน ให้กำ�ลังใจ เชิดชูการทำ�ทาน รักษาศีลและ เจริญสมาธิภาวนา อาจทำ�ให้เกิดความอร่อยทาง ความรู้สึก อยากเรียนรู้ อยากดู อยากมอง อยาก ลองหยิบมาใช้ดูและปฏิบัติตามคำ�สอนนั้นเข้าสักวัน ทุกครั้งที่ลูกศิษย์ ได้เห็นภาพการทำ�ความดี ทุกครั้งที่ คำ�สอนเหล่านี้ถูกอ่าน ทาน ศีล สมาธิ ภาวนา จะ เกิดซ้�ำ แล้วซ้�ำ เล่า จริยธรรมจะเบ่งบานไปทัว่ มัณฑนศิลป์ ย่อมทำ�ให้เกิดพุทธิปัญญาทีจ่ ะนำ�พาให้การสร้างสรรค์ นั้น ๆ งดงามทรงคุณค่ายิ่งขึ้นอย่างแน่นอน

เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน ตัด เย็บ ย้อม ปัก ถัก ทอ การถ่ายภาพนิ่ง การถ่ายภาพยนตร์และการตัดต่อ

วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน วัสดุสิ่งทอ เช่น ผ้าดิบ เส้นใยต่างๆ สีย้อม ต่างๆ จักรเย็บผ้าอุตสาหกรรม กล้องถ่ายภาพนิ่ง กล้องถ่ายวีดีโอ เครื่องคอมพิวเตอร์

ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ กระเป๋าผ้าดิบ 2 x 10 x 7 นิ้ว วีดีทัศน์ความยาวประมาณ 5 นาที

48



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE เครื่องประดับชิ้นแรก The First One ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์ ดร.ปฐมาภรณ์ ประพิศพงศ์วานิช Pathamaphorn Praphitphongwanit (Ph.D.)

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน งานเครื่ อ งทองโบราณของเมื อ งเพชรนั้ น เริ่มจากในสมัยรัชกาลที่ 4 มีช่างสิบหมู่หลายสาขา จากเมืองหลวงรวมทั้งช่างทองได้มาอาศัยอยู่ ณ เมืองเพชรบุรี เพื่อก่อสร้างพระราชวังเป็นเวลานาน ดังนั้นช่างพื้นบ้านเพชรบุรีที่ไปเป็นลูกมือหรือผู้ช่วย ช่างหลวง จึงได้มีโอกาสได้รับการถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์นำ�ไปถ่ายทอดฝีมือผ่านช่างแต่ละ รุ่นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เครื่องทองเมืองเพชร กลายเป็นศิลปหัตถกรรมล้ำ�ค่าที่มีเอกลักษณ์พิเศษ เฉพาะตัว เพราะเป็นงานศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านที่ ผสมผสานความงดงามของธรรมชาติ และประโยชน์ ใช้สอยของทองไว้อย่างกลมกลืนสมบูรณ์แบบ จึงมี ความงดงามอันทรงคุณค่า จนทำ�ให้เครื่องทองเมือง เพชรบุรีกลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำ�ค่าของ ชาติ เอกลักษณ์ของทองเพชรบุรี คือ รูปทรงและ ลวดลายจากธรรมชาติ เช่น ลูกสน ดอกพิกุล ไข่ปลา เป็นต้น โดยการรีดทองเป็นเส้นแล้วดัดลวดลายต่างๆ ต้องทำ�ทีละส่วน ประกอบด้วยมือผลิตได้ครั้งละชิ้น ช่างทองเมืองเพชรโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ช่างทองรูปพรรณ และช่างทำ�ภาชนะต่างๆ ช่าง ทองเมืองเพชรอยู่ในกลุ่มช่างทองรูปพรรณ รูปแบบ ทองรูปพรรณของเมืองเพชรมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว นิยมทำ�เครื่องประดับประเภท สร้อยคอ สร้อยข้อ มือ แหวน ต่างหู ลวดลายที่ได้สร้างสรรค์จนเป็น ที่นิยมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีดังนี้ คือ ขัดมัน (สร้อยคอ) สี่เสา หกเสา แปดเสา (การถักห่วงกลม

ขนาดเล็กๆ จำ�นวนมากอย่างต่อเนื่อง) สมอเกลียว ลูกสน เต่าร้าง (ต่างหู มีลักษณะคล้ายพวงของ ผลเต่าร้าง) ลูกไม้ปลายมือหรือเล็บมือ ดอกพิกุล ดอกมะลิ ก้านบัว บัวสัตตบงกช (กระดุม) บัวจงกล และมณฑป ประจำ�ยาม เสมาหรือปลา ผีเสื้อ งู พญานาค มังกร ตะขาบ พิรอด และ ตะไบ เป็นต้น ปัจจุบันช่างทองโบราณที่ยังมีชีวิตก็ล้วนแล้วจะ สูงด้วยอายุและจะมีลดน้อยลงไปทุกวัน ช่างทำ�ทอง ในเพชรบุรีระยะหลังมานี้จึงเป็นช่างทองที่เป็นบุตร หลานทายาทของช่ า งทองโบราณที่ไ ด้ รับ ถ่ า ยทอด ความรู้ให้สานต่องานฝีมือสกุลช่างราชสำ�นัก ซึ่งเป็น เอกลักษณ์ชาติไว้ แต่ผู้ที่ฝึกเป็นช่างทองต้องมีใจรัก มีความอดทนในการทำ�งาน เพราะงานทำ�เครื่องทอง เป็นงานทีใ่ ช้เวลาในการทำ�งาน ใช้ความละเอียดประณีต อย่างสูง ในขณะที่ค่าตอบแทนในการทำ�ต่ำ�มาก นายชุ่ม สุวรรณช่าง ช่างทองคนสุดท้ายของตระกูล สุวรรณช่าง กล่าวไว้ว่า “เครื่องทองรูปพรรณแบบ โบราณนั้นนับวันจะสูญหายไป เพราะไม่มีช่างและคน รุ่นใหม่ให้ความสนใจในการฝึกหัด เนื่องจากรายได้ จากการทำ�ทองไม่ค้มุ กับเวลาและแรงงานเครื่องทอง รูปพรรณของไทยต้องใช้เวลาและฝีมือในการทำ�งาน จึงไม่มีช่างรับทำ� ส่วนเครื่องทองรูปพรรณที่มีขายกัน แพร่หลายตามร้านทองนั้นเป็นงานฝีมือของช่างจีน ซึ่งมีวิธีทำ�และลวดลายแตกต่างไปจากเดิม” ด้วยเหตุที่กล่าวมาข้างต้น จึงต้องการหรือมุ่ง หวังที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยรักษา อนุรักษ์และ สื บ สานเครื่ อ งประดั บ สกุ ล ช่ า งเพชรบุ รี ใ ห้ ค งอยู่ สืบไป กอปรกับความหลงใหลและชื่นชอบส่วนตัวใน

50



เครื่ อ งประดั บ สกุ ล ช่ า งเมื อ งเพชรบุ รี อ ยู่ ก่ อ นแล้ ว รวมทั้งได้มีโอกาสไปเยี่ยม นางเนื่อง แฝงสีคำ� ณ จังหวัดเพชรบุรี ซึง่ เป็นครูชา่ งภูมปัิ ญญาศิลปหัตถกรรม (ช่างทอง) ปัจจุบันอายุ 98 ปี โดยมี นางติ๋ว แฝงสีคำ� (ลูกสาวนางเนื่อง แฝงสีคำ�) เป็นผู้สืบทอดรุ่นถัดมา พร้อมทั้งชมการสาธิตการถักสร้อยโบราณแบบหก เสา ทำ�ให้เกิดเป็นแรงบันดาลใจที่จะเริ่มฝึกหัดทำ� เครื่องประดับเอง แต่เนื่องจากเป็นมือใหม่หัดทำ� จึง ได้เลือกเพียงบางลวดลายมาออกแบบเชิงประยุกต์ และทำ�เป็นเครื่องประดับชิ้นแรกนี้ขึ้นมา

4. สรุปประเภทและขนาดเครื่องประดับ พร้อม ร่างแบบ 2 มิติ 5. ผลิตชิ้นงานเครื่องประดับ วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำ� เครื่องประดับ 2. โลหะเงินบริสุทธิ์ เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน การดึง การรีด และการเชื่อม

วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อสืบสานกลวิธีการทำ�เครื่องประดับ สกุลช่างเพชรบุรี 2. เพื่อเรียนรู้และฝึกฝนการทำ�เครื่องประดับ 3. เพื่อฝึกสมาธิและความอดทน

ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ เครื่องประดับ (ต่างหู) มีขนาดประมาณ 2 × 2 × 2 เซนติเมตร ต่อข้าง เอกสารอ้างอิง รองศาสตราจารย์วัฒนะ จูฑะวิภาต, ศิลปหัตถกรรม ของช่างทองเมืองเพชร: ความเป็นมาและ สภาพปัจจุบัน, กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ, 2535. Laikramantique. ทองเพชรบุรี. (ออนไลน์) (2012). เข้าถึงได้จาก : http://www.laikramantique. com/ทองเพชรบุรี โครงการ “รีเจ้นท์ ชะอำ� เพื่อสภาพแวดล้อมและ การพัฒนาแบบยั่งยืน”. เพชรบุรี, กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพ์สารคดี. 2536.

แนวความคิด เครื่องประดับสกุลช่างเพชรบุรี กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึ ก ษาและรวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ รู ป แบบ ลวดลาย และเทคนิคการทำ�เครื่องประดับสกุลช่าง เพชรบุรี 2. เลือกรูปแบบ ลวดลาย และเทคนิคพื้นฐาน เกี่ยวกับการทำ�เครื่องประดับสกุลช่างเพชรบุรี 3. ทดลองและฝึกฝนทำ�เครื่องประดับเบื้องต้น

52


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE บ่ายวันอาทิตย์ Sunday Afternoon ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์ปนท ปลื้มชูศักดิ์ Panot Pluemchusak

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน ปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีใน สังคมไทย มีการพัฒนาและเติบโตอย่างรวดเร็ว รวมทัง้ ความก้าวหน้าทางการติดต่อสือ่ สาร ทีส่ ามารถเชือ่ มโยง กันอย่างอิสระและรวดเร็ว ทำ�ให้เกิดการเปิดรับและ เรียนรู้สิ่งใหม่มาสู่สังคมไทยอย่างไม่มีจำ�กัด มีผลให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงในด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ รวมทั้งลักษณะรูปแบบของการดำ�เนินชีวิตที่มีความ ยุ่งเหยิง ซับซ้อน ฟุ้งเฟ้อ มุ่งหาความสุขที่เกิดจาก การเคลื่ อ นไหวตามกระแสของโลกวั ต ถุ ใ นสั ง คม มากกว่าความสุขทางด้านจิตใจ ในอดีต สังคมไทยเป็นสังคมที่มีลักษณะทาง วัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของสังคม วิถีทาง ในการดำ�เนินชีวติ ของผูค้ น มีความเป็นอยูใ่ นรูปแบบ ที่เรียบง่าย เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีน้ำ�ใจ สมถะ พอเพียง ความสุข ความอิ่มเอมใจ เกิดจากการปรับตัวและ มองเห็ น สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น และมี อ ยู่ จ ากสภาพแวดล้ อ ม รอบๆ ตัว จากความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในวิถีชีวิตของ สังคมไทย ส่งผลต่อแนวทางในการดำ�เนินชีวิตของ ผู้คน การที่ได้สัมผัสรับรู้สิ่งที่ได้กล่าวมาแล้ว ก่อให้ เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่ สะท้อนให้เห็นถึงความสุขของวิถีชีวิตธรรมดา ในอีก แง่มุมหนึ่งท่ามกลางความเจริญก้าวหน้าของสังคม เมืองใหญ่

ภาพแบบร่าง

53


วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงแง่มุมความสุข จากวิถี ชีวิตธรรมดาในอีกแง่มุมหนึ่งของสังคม 2. สร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมไทยร่วมสมัย ถ่ายทอดเรื่องราววิถีชีวิตจากสภาพสังคมปัจจุบัน 3. สร้างสรรค์งานผลงานจิตรกรรมไทยร่วมสมัย โดยมีแรงบันดาลใจด้านเนื้อหา รูปแบบ และวิธีการ จากภาพตัวกาก ในงานจิตรกรรมไทยแบบประเพณี

กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษา และรวบรวมข้อมูลจากวิถีชีวิตในแง่มุม ต่างๆ จากสถานที่และบรรยากาศจริง 2. เก็บข้อมูล บันทึกภาพถ่ายจากสถานที่จริง 3. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลผลงานจิตรกรรม ไทยแบบประเพณี จากจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ ต่างๆ โดยศึกษาในส่วนของเนือ้ หาเรื่องราว ในการ นำ�เสนอรูปแบบในการแสดงออก และเทคนิควิธกี าร ในการถ่ายทอด 4. เก็บข้อมูล ด้วยการบันทึกภาพถ่ายและภาพ ลายเส้น 5. นำ�ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาในส่วนของวิถี ชีวติ ในสภาพแวดล้อมจริง กับส่วนของผลงานจิตกรรม ไทยแบบประเพณี ที่บันทึกด้วยภาพถ่ายและภาพ ลายเส้น มารวบรวมสำ�หรับทำ�ภาพร่างผลงาน 6. สร้างภาพร่างผลงานทีส่ ะท้อน ความคิด และ อารมณ์ความรูส้ กึ ตามวัตถุประสงค์ทต่ี อ้ งการ 7. สร้างสรรค์ผลงาน 8. สรุปและประเมินผลของผลงานสร้างสรรค์

แนวความคิด แสดงออกในเรื่ อ งราวของวิ ถี ชี วิ ต คนไทยใน สังคมปัจจุบัน ผ่านแง่มุมชีวิตธรรมดา เพื่อสะท้อนให้ เห็นถึงความสุขแบบง่าย ๆ ซึ่งเกิดจากการหยุดพัก ผ่อนคลายความเหนื่อยล้า จากการดำ�เนินชีวิตในแต่ ละวัน ที่เต็มไปด้วยความวุ่นวาย ยุ่งเหยิง ท่ามกลาง ความเจริญของสังคมเมืองใหญ่

วัสดุ อุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงาน เฟรมผ้าใบ สีอะคริลิก แปรง พู่กัน ดินสอ สมุด สเก็ตช์ กล้องถ่ายภาพ เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน สีอะคริลิก ทองคำ�เปลวและเงินเปลว บนผ้าใบ ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ 60 x 80 เซนติเมตร

54



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE รูป-นาม-สมมุติ Putative Form and Behalf ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภากร สุคนธมณี Asst. Prof. Prapakorn Sukonthamanee

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน การสร้างสรรค์งานศิลปะสิง่ ทอ อาจทำ�ได้หลาย ลักษณะ ทั้งกระบวนการทอ การถัก การสาน เป็น หนึ่งในกระบวนการสร้างสรรค์ที่เกิดจากความคิดที่ ต้องการจะนำ�เสนอเทคนิควิธีการของงานศิลปะสิ่ง ทอให้มีความแปลกใหม่มีความหลากหลายน่าสนใจ มากกว่าการเป็นผืนผ้า จากความเป็นผ้าทอ แปร เปลี่ยน เพิ่มเติมให้เป็นงานสร้างสรรค์เชิงศิลปกรรม โดยกระบวนการทอจะผสานกับการถัก การสาน อีก ทั้งเป็นการรวบรวมความเป็นวัสดุพื้นถิ่นที่สามารถ นำ�มาใช้ให้เกิดประโยชน์ นำ�มาทดลองใช้สร้างสรรค์ ผลงานให้มีความหลากหลาย สร้างสรรค์ความเป็น วัสดุมากกว่าความเป็นเส้นใย และหาความลงตัวจาก วัสดุนน้ั ๆ ให้มากทีส่ ดุ ศิลปะภาพทอก็เป็นอีกลักษณะ หนึ่งของการสร้างสรรค์ผลงานด้วยเทคนิคการถัก การสาน แบบพื้นฐานผสมผสานกับเทคนิคการทอ แบบดั้งเดิม แนวความคิดที่ต้องการผสมผสานงาน สิ่งทอกับงานศิลปะ เสมือนสร้างสรรค์ผลงานภาพ เขียนลงบนเฟรมผ้าใบเพียงแต่เป็นการสร้างงานศิลปะ จากเส้นใยด้วยกระบวนการเชิงช่างพื้นฐานของไทย

เทคนิ ค การทอเป็ น การสั่ ง สมประสบการณ์ ความชำ�นาญ และทักษะ มาจากการเรียนรู้จาก ธรรมชาติทั้งสิ้น จากเดิมธรรมชาติมอบเส้นใยของ ฝ้าย ไหม ปอ ป่าน เริ่มเรียนรู้และค้นคว้าหาความ เป็นไปได้จากเส้นใยจากวัสดุอื่นๆ เพิ่มเติม อีกทั้ง การใช้สีย้อมทั้งจากเปลือกไม้ ใบไม้ หรือแม้กระทั่ง ลวดลายที่อิงจากสภาพแวดล้อมรอบตัว ทั้งลาย พันธุ์ ไม้ ลายสัตว์ การเลือกสรรทดลองใช้วัสดุ ใน กระบวนการสร้างสรรค์งานทอ “ไม่มีชื่อ” นี้ จึง เป็นการนำ�เส้นใยฝ้ายที่นับได้ว่าเป็นเส้นใยดั้งเดิม ทอผสานเข้ากับกับงานโครงสร้างจากไม้ไผ่หาความ เข้ า กั น และสอดคล้ อ งของความเป็ น งานทอเพื่ อ สร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะสิ่งทอแบบสื่อประสม ถ่ า ยทอดความเป็ น รู ป สั ญ ลั ก ษณ์ จ ากความรู้ สึ ก เสริมความเป็นงานทอย้อมเส้นใยให้มีความแปลก ใหม่ เพิ่มลูกเล่นทางการทอ การถัก การสาน จาก เทคนิ ค ทอธรรมดาให้ มี ค วามพิ เ ศษที่ ส ร้ า งความ ชัดเจนต่อไป

56


ภาพแบบร่าง และขั้นตอนการสร้างสรรค์ผลงาน

57


วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อสร้างงานศิลปะจากเส้นใยด้วยการ ถักทอลงบนโครงไม้ไผ่ 2. เพื่อสืบสานงานทอให้มีความหลากหลาย มากขึ้นในรูปแบบของงานศิลปะ 3. เพื่อถ่ายทอดรูปสัญลักษณ์ของคณะ มัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ให้เป็น ที่รู้จัก

วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ไผ่ 1 ลำ�ใหญ่ให้ได้รูปตามแบบร่าง 2. ไม้ไผ่เหลากลม มีด 3. ฝ้าย เส้นใยอื่นๆ 4. สีย้อมฝ้าย สีย้อมธรรมชาติ เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน การทอ การถัก การสาน

แนวความคิด ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ นำ�เสนอและถ่ายทอดถึงรูปสัญลักษณ์คณะ 150 x 120 เซนติเมตร มัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เอกสารอ้างอิง กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน สำ�นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. 1. เพื่อเผยแพร่ให้ศิษย์เก่า นักศึกษา บุคลากร ปริทรรศน์วัฒนธรรม ผ้าไทยและจักสานงาน และสาธารณชนได้รับรู้ข้อมูลและข่าวสาร ศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา รูปตราสัญลักษณ์ของคณะมัณฑนศิลป์ ที่มี ลาดพร้าว, 2537. ที่มาและความหมายอันเป็นมงคล วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, คณะมัณฑนศิลป์ คือ “ดอกบัว” มหาวิทยาลัยศิลปากร. (ออนไลน์). (2555). 2. หาความเป็นไปได้ถึงโครงสร้าง รูปทรงของ เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ ไม้ไผ่ พร้อมเลือกสรรวัสดุในการทอ คณะมัณฑนศิลป์_มหาวิทยาลัยศิลปากร. 3. ปฏิบัติงานสร้างสรรค์ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2555. 4. จัดแสดงพร้อมให้ผู้เข้าชมสามารถร่วมกัน ถักทอด้วย

58



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE เฟรมจักรยานทำ�จากก้านไม้กอล์ฟ Bicycle frame made from golf club ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์ปิติ คุปตะวาทิน Piti Khuptawathin

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน ประเทศทางตะวันออกส่วนใหญ่ได้มีการแลก เปลี่ย นวั ฒ นธรรมกั บชาติ ท างตะวั น ตกมาช้า นาน แล้ว ซึ่งจะเห็นร่องรอยการพัฒนาการจากเครื่องใช้ ไม้สอยต่างๆ ที่เกิดจากการถูกผสมผสาน (mixed) และปรับเปลี่ยน (adapted) เพื่อให้เหมาะสมกับการ ใช้งาน การผลิต หรือแม้แค่เพียงตอบสนองความ ต้องการทางอารมณ์ก็ดี จากปัจจัยดังที่กล่าวมาข้างต้น ผู้สร้างสรรค์ เชื่ อ ว่ า หากทำ � การศึ ก ษาหรื อ ค้ น หารู ป แบบของ ผลิตภัณฑ์ที่สามารถแสดงออกทางสัญลักษณ์บาง อย่ า งมาสร้ า งสรรค์ ง านที่ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความ แตกต่างของกลุ่มคนแต่ละกลุ่มในแต่ละช่วงเวลา ทั้งในแง่ค่านิยมและการใช้ชีวิต การปรับตัวของกลุ่ม คนตะวั น ออกเมื่ อ ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลของวั ฒ นธรรม ตะวันตก การเข้าใจและตระหนักถึงสิ่งที่รับมา เพื่อ ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับตนเองและกาลเวลา จักรยาน ผลิตภัณฑ์หนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาว นานและยังเป็นสิ่งที่ถูกปรับเปลี่ยนรูปแบบเพื่อให้ เหมาะสมกับการใช้งาน ด้วยหลักการเดิมที่เรียบง่าย จากการใช้ อุ ป กรณ์ น้ อ ยชิ้ น ในการประกอบขึ้ น มา เป็นพาหนะ ซึ่งในที่นี้ผู้สร้างสรรค์ต้องการใช้เป็นสื่อ ในการสร้างสรรค์ผลงาน

กอล์ฟ กีฬาทีม่ ตี น้ กำ�เนิดจากชาติตะวันตก และ แพร่หลายมายังเอเชีย จนถึงปัจจุบันประเทศที่มี ปริมาณผู้เล่นมากทีสุดขณะนี้กลายเป็นประเทศใน เอเชียไปแล้ว เป็นสัญลักษณ์ของวัฒนธรรมร่วมสมัย ที่เข้าได้กับคนแทบทุกชาติ ทุกเผ่าพันธุ์ ทั้งนี้ ผู้สร้างสรรค์เกิดความประทับใจในความ เหมื อ นและต่ า งของกี ฬ าทั้ ง สองประเภทคื อ กี ฬ า กอล์ฟและจักรยาน โดยเฉพาะจักรยานที่มีรูปแบบ มาจากยุค 1960s - 70s ด้วยรูปทรงที่ตรงไปตรงมา เรียบง่ายและยังเป็นที่นิยมอยู่ในปัจจุบัน รวมถึงกีฬา กอล์ฟที่ยังคงเป็นที่นิยม นอกจากนี้แล้วผู้สร้างสรรค์ ยั ง สนใจในวั ส ดุ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ที่ ใ กล้ เ คี ย งกั บ วั ส ดุ ทำ�เฟรมจักรยานคือก้านไม้กอล์ฟ ที่มีการพัฒนา มายาวนาน รูปทรงที่เป็นปล้องคล้ายปล้องไผ่ที่มี คุณสมบัติความยืดหยุ่น เบา และดูดซับแรงที่ แตกต่างกับโลหะรูปพรรณชนิดอื่น ผู้สร้างสรรค์เชื่อว่าหากสามารถออกแบบโดย นำ�เอาแง่มุมที่ไม่มีผู้ใดเคยทดลองทำ�มาก่อน จะทำ� ให้เกิดการตั้งคำ�ถามขึ้นในใจกับสิ่งต่างๆ รอบๆ ตัว ที่ ผ สมผสานหลากหลายและหลอมรวมจนอาจ กลายเป็ น รากเหง้ า แห่ ง ตะวั น ออกได้ อี ก ทางหนึ่ ง ว่าที่แท้เราต้องการสิ่งนั้นในรูปแบบไหนและที่จริง แล้วเราต้องการมันหรือไม่

60


ภาพที่ 1 : ในปี 1963 ทอมป์ ซิมส์สัน (Tom Simpson) ภาพที่ 2 : เฟรมจักรยานอีกประเภทที่ใช้ในการแข่งขันช่วงปี ขณะกำ�ลังแข่งขันขี่จักรยานทำ�เวลาประเภททีม 4 คน, เขาขี่ 1960s-70s ที่มา : ThePeterek Manual for Bicycle มูตั้น (Moulton) ที่ เดอะ บั๊ด แทร็ค (The Butts Track) Framebuilders, หน้าปก เมือง โคเวนทรี่, สามารถเอาชนะผู้เข้าร่วมการแข่งขันและ ทำ�ลายสถิติ ที่มา : http://www.moultonbicycles.co.uk/ heritage.html

ภาพที่ 3 : แบบภาพร่างตามแนวคิดเบื้องต้น

61


วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อศึกษาและทดลองคุณสมบัติของวัสดุ 2. เพื่อให้ตระหนักกับสิ่งต่างๆ รอบๆ ตัว ที่ ผสมผสานหลอมรวมจนกลายเป็นการแสดงออก แบบตะวั น ออกโดยเฉพาะสิ่ ง ต่ า งๆที่ รั บ มาจาก วัฒนธรรมอื่น แนวความคิด รณรงค์ให้ขี่จักรยานกันมากขึ้น กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษารูปแบบเฟรมจักรยาน โดยการค้นคว้า ข้อมูลด้านเอกสารและสืบค้นออนไลน์ 2. ศึกษาวัสดุและเทคนิคการผลิต 3. สรุปข้อมูล เป็นแนวทางในการออกแบบ 4. สรุปแบบ กำ�หนดขนาดของชิ้นงาน 5. ผลิตชิ้นงาน เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน กลึง เชื่อม (weld brazing) ขัดและตกแต่งผิว วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน ก้านไม้กอล์ฟ ท่อหล็กไร้เกรด ท่อหล็กจาก โช๊คอัพใช้แล้ว อุปกรณ์จักรยานสำ�เร็จรูป ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ 140 x 90 เซนติเมตร บรรณานุกรม Paterlek, Tim 2005, ThePeterek Manual for Bicycle Framebuilders, Kermese Distribution Inc., Pennsylvania. Moulton Bicycle Company. Heritage (online). Access on 1 August 2012. Available from http://www.moultonbicycles.co.uk/ heritage.html

ภาพที่ 4 : วัสดุอุปกรณ์ และการผลิตเฟรมจักรยาน

62



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE แม่ซื้อ Guardian Angles ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์พัฒนา เจริญสุข Patana Charoensook

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน ในสาระของมนุ ษ ยชาติ ตั้ ง แต่ วิ นาที แ รกของ การมีชีวิตบนผืนโลกใบนี้ ซึ่งรายล้อมไปด้วยสาระ แห่งความเชื่อความศรัทธาที่แฝงอยู่ในทุกหนทุกแห่ง ของการใช้ชีวิต โดยเฉพาะความเชื่อทางฝั่งของซีก โลกตะวันออกที่เรา ๆ ท่าน ๆ มักจะคุ้นเคยกันอยู่ อันเริม่ ตัง้ แต่การก่อกำ�เนิดชีวติ การดำ�รงอยูข่ องชีวติ ไปจนถึงวาระแห่งการสิ้นสุดของลมหายใจซึ่งจะสั้น หรือยาวนัน้ ก็เชือ่ ว่าแล้วแต่ผลบุญผลกรรมทีไ่ ด้สะสม มา ด้วยในความเชื่อความศรัทธาที่ได้ฟังตามๆ กัน มานั้น (มา อนุสฺสเวน) ล้วนแล้วแต่หลีกหนีความเชื่อ ความศรัทธานั้น ๆ ไปไม่ได้ ถูกครอบงำ�ด้วยความ วิ ต กกั ง วลในเคราะห์ ก รรมที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น กั น ตน และบุคคลรอบข้าง โดยต้องหากลวิธีต่าง ๆ อัน แยบยลต่อการโน้มน้าวความคิด ดึงเอาความเชื่อ ความศรัทธา มาสร้างขวัญและ กำ�ลังใจในการดำ�รง ชีวิตต่อไปอย่างมีความสุข ปฐมบทแรกของการกำ � เนิ ด ชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ ปุถุชน เริ่มตั้งแต่การปฏิสนธิในครรภ์ของมารดาอัน เป็นพื้นที่ปิดล้อมแรกๆ ที่ปกป้องดูแลสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ถึงเล็กที่สุด ให้ปลอดภัยเป็นไปตามธรรม ธรรมคำ�นี้ อันหมายถึง ความเป็นธรรมดา เป็นไปตามธรรมชาติ ถึงพร้อมด้วยหน้าที่ มีเหตุผลและประกอบด้วยความ ถูกต้อง ด้วยสรรพนานาแห่งวุฒิปัญญาใดๆ ก็ตาม ก็ยังไม่ปราศจากความวิตกกังวลอันที่จะเกิดกับสิ่งมี ชีวิตเล็ก ๆ ในสายเลือดได้ ด้วยสิ่งที่ได้ยินต่อ ๆ กัน มาว่าห้ามโน้นห้ามนี่นั้น ล้วนแล้วแต่เป็นกุศโลบายที่ ป้องกันดูแลลูกในครรภ์และแม่ให้ปลอดภัย อย่างเช่น

ความเชื่อของภาคอีสาน ที่ห้ามผู้ที่ตั้งครรภ์นั่งขวาง บันไดด้วยเหตุผลที่ว่าจะทำ�ให้คลอดยาก แท้ที่จริง นั้นก็เพื่อความปลอดภัย เพราะบันไดของบ้านเป็น ทางสัญจรหลักมีการเข้าออกขึ้นลงตลอดทั้งวัน การ ที่มานั่งขวางบันไดนั้น ทำ�ให้ต้องขยับลุกนั่งบ่อยๆ ซึ่งอาจจะเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ ได้ ผ่านมาจนถึงไตรมาสที่สามของการตั้งครรภ์ วิถีแห่งธรรมชาติก็บันดาลให้สิ่งมีชีวิตได้รับรู้ถึงลม หายใจเฮือกแรกหลังจากที่ลืมตาดูโลกกลม ๆ ใบนี้ ด้วยอาการที่ครบสามสิบสองประการ ภายใต้อ้อม กอดของแม่ พร้อมกับสัมผัสแห่งความเชื่อที่ผู้เฒ่าผู้ แก่ใช้กุศโลบายด้วยการทำ�พิธีแบ่งลูกผีลูกคนให้กับ ลูกที่เกิดใหม่โดยนำ�ลูกใส่กระด้ง ทำ�พิธีร่อนกระด้ง พร้อมกล่อมบทเพลงพื้นบ้านที่มีคำ�ร้องโดยมีเนื้อ ร้องส่วนหนึ่งที่ว่า สามวันลูกผี สี่วันลูกคน ลูกของ ใครมารับไปเน้อ โบราณมีความเชื่อว่า ลูกทุกคนนั้น มี “แม่ซื้อ” ที่เป็นเทพธิดาประจำ�ตัวประจำ�วันเกิดที่ อัญเชิญให้มารับลูกไป เป็นการฝากให้เทพธิดาประจำ� ตัวมาปกปักษ์รักษาลูกให้พ้นจากอันตราย ไม่เจ็บไข้ ได้ปว่ ย เชือ่ ว่าในขณะทีล่ กู ตืน่ หรือหลับอยูจ่ ะมีอาการ สะดุ้ง ผวา ร้องไห้ หัวเราะ ยิ้ม นั้นเพราะแม่ซื้อมา เล่นด้วย แม่ซื้อ เป็นเทพธิดาประจำ�วันเกิดตามความ เชื่อประจำ�ท้องถิ่นภาคกลางซึ่งมีความคล้ายคลึง กับภาคเหนือเป็นอันมาก ประกอบด้วย แม่ซื้อวิจิตร มาวรรณ เศียรสิงห์ผิวกายแดงประจำ�วันอาทิตย์ แม่ ซื้อวรรณนงคราญ เศียรม้าผิวกายขาวนวลประจำ� วันจันทร์ แม่ซื้อยักษบริสุทธิ์ เศียรกระบือผิวกาย ชมพูประจำ�วันอังคาร แม่ซื้อสามลทัศ เศียรช้างผิว

64


กายเขียวประจำ�วันพุธ แม่ซื้อกาโลทุกข์ เศียรกวาง ผิวกายเหลืองอ่อนประจำ�วันพฤหัสบดี แม่ซื้อยักษ์ นงเยาว์ เศียรโคผิวกายฟ้าอ่อนประจำ�วันศุกร์ และ สุดท้ายแม่ซื้อเอกาไลย์ เศียรเสือผิวกายดำ�ประจำ� วันเสาร์ เทพธิดาทุกองค์แต่งกายสีทอง แม่ซื้อ เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวพันกับการเกิด อัน เป็นส่วนหนึ่งของความเชื่อเรื่อง เกิด แก่ เจ็บ ตาย ที่เป็นสัจธรรมของสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้ นำ�มาสู่แรง บันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน โดยเลือกแม่ซื้อ ประจำ�วันเกิด ชื่อสามลทัศ ซึ่งเป็นเทพธิดาประจำ� วันพุธ มีเศียรเป็นช้างผิวกายสีเขียว แต่งกายด้วย ภูษาสีทอง ถือพัดโบก ประกอบกับการนำ�ดอกบัว ที่ เ ป็ น ดอกไม้ ป ระจำ � วั น เกิ ด มาเป็ น แนวคิ ด ในการ ออกแบบประยุกต์ลวดลายปักลูกปัด บนเครื่องแต่ง กายตั้งแต่ผ้าห่มนาง ผ้านวมนาง ภูษา ประยุกต์จาก เครือ่ งแต่งกายตัวนางในนาฏศิลป์ไทย โดยศึกษาเน้น ระเบีย บวิธีการนุ่ง ห่ม ตามรูป แบบประเพณีดั้ง เดิม จำ�ลองสู่หุ่นตุ๊กตาบาร์บี้ มาตราส่วน 1:5 โดยการออกแบบจั ด วางลวดลายด้ ว ยการ ประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ลอกลายลงบน ผ้าแล้วปักเดินเส้นด้วยดิ้นทองปักลูกปัดสีขนาดเล็ก สลับสีตามที่ออกแบบไว้

ภาพที่ 3 ขั้นตอนการปักผ้าห่มนาง

ภาพที่ 4 การปักผ้านวมนางกับภูษา

ภาพที่ 1 ลายปักผ้าห่มนาง ภาพที่ 5 หัวโขนเศียรช้าง ผิวกายสีเขียว

ภาพที่ 2 วัสดุเครื่องแต่งกาย ผ้าทอดิ้นเขียว ผ้าทอดิ้นทอง ลูกปัดสีต่างๆ

ภาพที่ 6 แม่ซื้อ สามลทัศ

65


จินตภาพสู่รูปธรรมได้แฝงเอาไว้ซึ่งภูมิปัญญา หลากหลายจากความเชื่อสู่ความจริงซึ่งในผลงาน สร้างสรรค์นี้ได้แสดงออกทางทักษะของการศึกษา ฝึกฝนศิลปวิทยาการในคณะมัณฑนศิลป์ ทีไ่ ด้ร�ำ่ เรียน มาทำ�ให้มีประสบการณ์ในการนำ�ฝีมือมาประยุกต์ใช้ โดยประกอบด้วยการศึกษาถึงที่มาแห่งความเชื่อใน เรื่องของแม่ซื้อ รูปแบบการแต่งกาย วิธีการนุ่งห่ม ของการแต่งกายในนาฏศิลป์ไทยดั้งเดิม เทคนิคการ ปักลูกปัดประดับประดาบนผืนผ้าธรรมดาให้มีมูลค่า เพิ่มมากขึ้น การปั้นแต่งหัวโขนจำ�ลองขนาดเล็กรวม ถึงการแต่งแต้มสีวาดลวดลาย การประกอบเครื่อง ประดับ การถ่ายภาพประกอบ การจัดแสง กำ�หนด ท่าทาง การปรับแต่งภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สุดท้ายกับการนำ�เสนอผลงาน สิ่งที่ได้เหล่านี้เกิดขึ้น มาจากแรงบันดาลใจเล็กๆ ทีเ่ กีย่ วกับ เทพธิดาประจำ�วัน ที่เรียกกันว่า แม่ซื้อ ซึ่งสามารถตอบวัตถุประสงค์ ได้

กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษาค้นคว้าที่มาที่เกี่ยวกับ แม่ซื้อ ในหมวด ของการเกิด เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องความเชื่อในพุทธ ศาสนา เกิด แก่ เจ็บ ตาย 2. เพื่อนำ�ผลการศึกษามาวิเคราะห์สรุปเพื่อ สร้างสรรค์ผลงาน 3. ออกแบบภาพร่างเครือ่ งแต่งกายแม่ซอ้ื ประจำ� วันพุธ วันเกิดของผู้สร้างสรรค์ 4. ออกแบบลวดลายบนผ้าห่มนาง นวมนาง ภูษา 5. ปักดิ้นทองและ ปักลวดลายด้วยลูกปัดทอง เขียว และแดง ประดับคริสตัล 6. ปั้นหัวโขนเศียรช้าง แต่งสีประดับคริสตัล 7. แต่งตัวลงบนหุ่นตุ๊กตาบาร์บี้

วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ผ้าทอดิ้นทอง, ดิ้นเขียว 2. ดินปั้นขาวสำ�เร็จรูป วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 3. ดิ้นทอง 1. ศึกษาเกีย่ วกับ แม่ซอ้ื เป็นส่วนหนึง่ ของผลงาน 4. ลูกปัดสี, คริสตัล สร้างสรรค์หัวข้อ Eastern Spirit ในเรื่องความเชื่อ 5. สีอะครีลิก เกิด แก่ เจ็บ ตาย 2. ถ่ายทอดความเชือ่ เกีย่ วกับ แม่ซอ้ื ในอุดมคติ เทคนิคการสร้างสรรค์ผลงาน ให้เป็นรูปธรรมตามจินตนาการของผู้สร้างสรรค์โดย สื่อผสม 3 มิติ นำ�องค์ความรู้ทั้ง 7 ภาควิชาในคณะมัณฑนศิลป์ มา บูรณาการ และประยุกต์ใช้ ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ 30 x 30 x 30 เซนติเมตร แนวความคิด จินตลักษณ์สามลทัศ เอกสารอ้างอิง กรมการศาสนา.พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์การศาสนา.2514 พระไตรปิฎก วินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม 1 ภาค 1 หน้าที่ 25 HoroLive | Tuesday, February 28th, 2012 http://www.oknation.net/blog/kasemakung/ 2012/01/04/entry-1

66



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE สมบูรณ์พูนสุข ๙๙๙๙๙๙๙๙๙/2555 Powerfully of life 999999999/2012 ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิทักษ์ สง่า Asst. Prof. Pitak Sa-nga

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน ได้ความบันดาลใจจากแนวความคิดที่เกี่ยวกับ ความเชือ่ ของคนภาคพืน้ อาเซียนทีว่ า่ การทีจ่ ะดำ�เนิน ชีวิตที่จะต้องก้าวไปสู่ความสำ�เร็จของชีวิตหรือการ กระทำ�ใดๆ ก็ตาม จำ�เป็นจะต้องอาศัยความเชื่อ ส่วนบุคคลอย่างตั้งมั่นหลอมรวมกันกับวัฒนธรรมที่ สืบทอดกันอย่างต่อเนื่องหลายชั่วชีวิตคนเข้าด้วยกัน เป็นพลังอันพิเศษและยิ่งใหญ่ คอยเฝ้าส่งถ่ายพลัง ให้ กั บ ผู้ ที่ ศ รั ท ธาเชื่ อ ในพลั ง นี้ เ ท่ า นั้ น พลั ง นี้ จึ ง จะ สำ�แดงฤทธิ์ปาฏิหารย์ ให้ประจักษ์กับผู้นั้นอย่างน่า อัศจรรย์

มอง เป็นการผูกร้อยเรียงความหมายทางนามธรรม และรูปธรรมเป็นแนวทางหนึ่ง ในการแสดงออกทาง การสร้างสรรค์ทางศิลปะให้ปรากฏในงานประติมากรรม 3 มิติ ซึ่งได้รวมตัวผสมผสานเข้าด้วยกันอย่างเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน และความขัดแย้งในขนาดของ ปริมาตรกับเส้นเป็นห่วงที่ยึดกันระหว่างรูปทรงที่อยู่ ด้านบนกับรูปทรงที่อยู่ด้านล่าง ยากที่จะแยกออก จากกันได้อย่างชัดเจน หรือแม้แต่จะขาดสิง่ ใดสิง่ หนึง่ มิได้เช่นกัน Surprising = น่าพิศวง น่าอัศจรรย์ใจ น่าประหลาดใจ wonderful = ความงดงามพิเศษยิ่ง กว่าสิ่งใดเสมอเหมือน 2 สิ่งที่มีอยู่ในตัวของผลงาน ศิลปะอย่างครบถ้วน การค้นหาอัตลักษณ์ศิลป์ในงานประติมากรรม 3 มิติ คืออะไร? การแสดงออกในรูปแบบศิลปะ ประติ ม ากรรมของข้ า พเจ้ า ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น กั บ ประสบการณ์ทางความคิดและจินตนาการที่มีผล ต่อการเปลีย่ นแปลงอย่างต่อเนือ่ งไม่วา่ จะเป็นผลทาง บวกหรือผลในทางลบอย่างรุนแรง ต่ออารมณ์และ ความรู้สึกภายใน อันอยู่เหนือขอบเขตของเวลา เพราะเป็นการเปิดประตูของจินตนาการระหว่างผู้ สร้างสรรค์ตัวผลงานศิลปะกับผู้ชมผลงานเชื่อมโยง ซึ่งกันและกัน เป็นอย่างไร? เป็นตัวแทนจินตนาการของข้าพเจ้า ทางความเชื่อที่ว่า”สิ่งมีชีวิตทุกอย่างในโลกดวงนี้ ต้องการอยู่ร่วมกันอย่างสุขสบาย” ไม่ว่าจะมีรูปแบบ การดำ�เนินชีวิตแบบใดก็ตามซึ่งจะสร้างสิ่งต่าง ๆ ที่ เป็นประโยชน์ต่อตนเองเป็นหลักก่อน แล้วจึงจะ เกี่ยวข้องกันกับสิ่งรอบข้างนั้น ๆ ด้วยเช่นกัน

วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน แสดงสัญลักษณ์ภาพของอารมณ์ที่ปรากฏใน งานประติมากรรม 3 มิติ ในการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมลอยตัว ของข้าพเจ้า ได้ให้ความสำ�คัญของอารมณ์ที่ปรากฏ ขึ้นในตัวของงานเป็นปัจจัยหลักและส่วนที่รองจาก อารมณ์คือรูปธรรมทางการมองเห็นหรือรูปลักษณ์ ที่มีความเป็นเฉพาะทางรูป เมื่อมองดูแล้วมีความ พิเศษที่แตกต่างจากรูปทรงที่พบเห็นโดยทั่วไป ส่วน สำ � คั ญ ที่ ส ามคื อ ความเชื่ อ ที่ เ ป็ น แนวความคิ ด ที่ เป็นส่วนตัวที่สนับสนุนส่งเสริมให้ตัวของผลงาน มี เอกภาพทางสุนทรียศาสตร์ ที่ผสมผสานให้ตัวของ ผลงานประติมากรรมอันมีอัตลักษณ์ของเวลาที่เกิด ขึ้นตลอดของเวลานั้น ส่งผลให้ผู้ชมเกิดจินตนาการ ทางความงามแห่งเวลาทีเ่ ป็นร่องรอยอดีต เช่น กรอบ สี่เหลี่ยมคล้ายประตู และรู้สึกถึงจินตนาการ เวลา ปัจจุบันสลับไปมาอย่างต่อเนื่อง เมื่อขณะเปลี่ยนมุม 68


อยู่ที่ไหน? อยู่ในความคิดและจินตนาการของ ข้าพเจ้าถ่ายทอดลงไปกับตัวแทนทางทางความคิด และจินตนาการ ที่เรียกกันว่าศิลปะที่สัมผัสได้ จับ ต้ อ งได้ ด้ว ยอารมณ์ ค วามรู้ สึ ก และจิ น ตนาการที่ พิเศษ ทีเ่ ชือ่ ว่าให้ความจริงใจและทรงพลังอันยิง่ ใหญ่ กับตนเองและผู้พบเห็น รู้ได้อย่างไร? เมื่อพบเห็นแล้วอารมณ์ ความคิด จินตนาการ ตกอยู่ในภวังค์เหมือนเข้าใจเหมือนสงสัย เหมือนรู้เหมือนไม่รู้หรืองงทำ�ให้เหมือนลืมทุกสิ่งทุก อย่างไปชั่วขณะ (AMBIGUOUS FIGURES) เห็น ลักษณะที่คลุมเคลือแต่ชัดเจนในคุณสมบัติของสิ่ง นั้นๆเช่น แร่ทองคำ�ที่มีลักษณะที่เฉพาะพิเศษ ไม่สึก กร่อนตามอุณหภูมิมีความสุกใสของสีที่มีในตัว จำ�เป็นหรือไม่? มีความจำ�เป็นอย่างยิ่งในการ สร้างสรรค์ ต่อการแสดงออกทางศิลปะหรือตัวแทน ความคิด จินตนาการ อารมณ์ ความรู้สึก ความเชื่อ ความศรัธา อันเกิดคุณค่าทันที่ต่อผู้สนใจที่พบเห็น หรือเกี่ยวข้อง โดยไม่จำ�กัดเวลา หนทางเข้ า ไปสู่ ส ภาวะทางอารมณ์ แ ละ จินตนาการในความรู้สึก หากขาดสิ่งนี้แล้วจะทำ�ให้ งานศิลปะไม่เป็นศิลปะอีกต่อไป เราก็จะไม่พบสิง่ ใหม่ ภาพแบบร่าง ทางความสุ น ทรี ย ภาพทางความงามแน่ น อนหาก เช่นกัน ผู้สร้างสรรค์ ไม่สามารถค้นหาสิ่งที่ข้าพเจ้า บอกได้ก็ไม่ต่างไปจากการลอกเลียนแบบหรือขโมย ของคนที่ทำ�แล้วมาทำ�ซ้ำ� ซึ่งวิธีการที่ข้าพเจ้ากล่าว มานี้ เป็นหลักพื้นฐานมากสำ�หรับผู้ที่ศึกษาและ สร้างสรรค์ที่จะต้องมีอยู่ในตัวอย่างเต็มล้น และก็ ไม่มีผู้ที่สร้างสรรค์หรือนักออกแบบท่านใดยินยอม ให้ผู้อื่นมาบอกว่าผลงานตนเองไปเหมือนของผู้อื่น 69


เป็นแน่แท้ ในการทีจ่ ะนำ�ไปสูก่ ารสร้างสรรค์ผลงานที่ สำ�เร็จเป็นผลงานขึ้นมาได้นั้น สามารถจำ�แนกเป็น หลักใหญ่ๆ ดังนี้ 1. ทีม่ าของแนวความคิด หรือการทีไ่ ด้ไปพบกับ คุณค่าทางความสุนทรียที่งดงามพิเศษ 2. ร่างภาพผลงาน 2 มิติ ค้นหาความลงตัว ทางสุนทรียศาตร์ของรูปทรง 3 มิติ 3. นำ�ภาพประมวล ของสิง่ ต่างๆ ทีเ่ ป็นสือ่ กลาง ทางการรับรู้ร่วมกันมาแสดงออกร่วมกันในผลงาน 4. การประพันธ์ความหมายทางรูปทรงให้เกิด ความสมบูรณ์เป็นรูปธรรม 5. อธิ บ ายด้ ว ยรู ป ทรงทางสื่ อ งานศิ ล ปะ ประติมากรรม 3 มิติ ด้วยความพิเศษเฉพาะตนให้ โดดเด่น ทั้ง 4 หลัก ที่กล่าวมานี้เป็นหัวใจในการ สร้ า งสรรค์ ผ ลงานศิ ล ปะของแต่ ล ะบุ ค คลนั้ น ที่ มี ความเชื่อตามความรู้ ประสบการณ์ เหตุการณ์ต่างๆ ที่ผ่านเข้ามาในชีวิตของข้าพเจ้าอย่างแท้จริงภายใต้ ความเชื่อที่ว่า”สิ่งที่แท้จริงที่ทุกคนรู้จักดีที่สุดคือสิ่ง ที่จับต้องได้สัมผัสได้ด้วยตนเองเท่านั้น”

กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. พบความคิด 2. จินตนาการ 3. สร้างสรรค์ 4. สร้างแบบจำ�ลอง 2-3 มิติ 5. ค้นหาความสุนทรียภาพทางรูปทรง 3 มิติ 6. ร่างเป็นผลงานจริง 7. ทบทวนปัญหา 8. พัฒนาความสุนทรียทางความคิด รูปทรง อารมณ์ วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน สแตนเลส,เครื่องเชื่อมอาร์กอน เครื่องขัด ฯลฯ

เครื่องตัด

เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน เชื่อมโลหะสแตนเลส ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ 12 x 12 x 56 เซนติเมตร เอกสารอ้างอิง พุทธธรรม Charles Wallschlaeger Basic Visual Concepts and Principles for Artists, Architects, and Designers The Ohio state University Department of Industrial Design, America: Wm.C. Brown Publishers,1992. Gregory,R.L.,Eye and Brain. The Psychology of Seeing. New York: McGraw-Hill, 1966. Ruhrberg-Schneckenburger-Fricke-Honnef. ART of the 20th Century Painting Sculpture-new Media-Photography, London, Madrid, New York, Spain: TASCHEN Ltd.,1969.

แนวความคิด ความเชื่ อเป็น ต้น กำ�เนิด พลัง ของมนุษ ย์ ช าติ สามารถส่ ง ถ่ า ยผ่ า นเวลาได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งจากที่ หนึ่งไปยังที่หนึ่ง ภายใต้ความเชื่อที่ว่า “เวลาเปลี่ยนสถานที่เปลี่ยน-ทุกอย่างเปลี่ยน”และมนุษย์อยู่ได้ ด้วยจินตนาการหรือจินตนาการที่ทำ�ให้มนุษย์อยู่ได้ อย่างไรข้อจำ�กัด

70



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE พระตำ�หนักมารีราชรัตบัลลังก์ Mareerajratbulung Residence ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไพรวัลย์ ดาเกลี้ยง Asst. Prof. Praiwan Da-kliang

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน พระราชวังสนามจันทร์ดินแดนแห่งความสุขสงบเย็น รุ่งอรุณ อุ่นใอ ในยามฝัน ทุกอณู ผู้ย่าง ทางสิ้นทุกข์ ฤดูกาล ผ่านฝัน นานร้อยปี พระตำ�หนัก ขององค์ ทรงชอบใจ วชิราวุธ สุดชอบ ทรงตอบถ้อย สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ชิดฟ้า คราพนม พระร่วงโรจนฤทธิ์ ศักดิ์สิทธิ์มาก ให้ยิ้มแย้ม แจ่มใส ในทุกคราว เป็นที่ตั้ง ทั้งเรียน เพียรศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ดั่งเมืองนอน วิทยาเขต สนามจันทร์ ฝันโดดเด่น มัณฑนศิลป์ ถิ่นนี้ ก็มีครู ต่างพึ่งพา อาศัย ในหนทาง คนที่นี่ ล้วนดี มีน้ำ�ใจ เมื่อคราวทุกข์ ทวี เป็นที่สุด ได้บรรเทา เหตุร้าย ให้ใจดี ก้าวเข้าไป ในอาณา ฟ้าประกอบ มองสายน้ำ� เบิกบาน ธารของเรา ธรรมชาติ ร่มเย็น เป็นที่สุด จิตได้พัก สักครั้ง ดั่งอุรา เหล่าต้นไม้ รายล้อม น้อมให้ร่ม สาดทอดมา คราฝัน บ้านสีแดง “พระตำ�หนักมารีราชรัตบัลลังก์” พระตำ�หนัก คู่ขวัญ อันโจษจัน “พระตำ�หนักชาลีมงคลอาสน์” งดงามเหลือ เมื่อประทับ นับเรืองรอง “พระตำ�หนักมารีราชรัตบัลลังก์” มีสมกลม สลักลาย ให้งามจริง ผ่านคู่น้ำ� กั้นกลาง ระหว่างใช้ มีแห่งเดียว เชียวหนา ฟ้าจำ�นรร

สนามจันทร์ ดินแดน แคว้นความสุข ได้คอยปลุก ลุกตื่น ชื่นฤทัย สมฤดี นี่สร้าง วางสวยไว้ ทรงสร้างไว้ ในครา มาบังคม ตำ�หนักน้อย เมืองนอน นครปฐม พระปฐม เจดีย์ ที่รักเรา ใครลำ�บาก ขอพร ตอนใจเศร้า ผ่านเรื่องราว ไปได้ ใช่แน่นอน เป็นตำ�รา ความรู้ ครูสั่งสอน ที่สอง ลองคิดดู ทั้งที่เล่น ที่เรียน เปลี่ยนจิตหนู ทุกถ้วนผู้ อยู่แคว้น แดนวิไล เมื่อเยื้องย่าง ทางเห็น เด่นสมัย ผ่านเรื่องร้าย ไปได้ ให้ยินดี ใจมนุษย์ สุดร้าย ในทุกที่ สถานที่ สนามจันทร์ นั้นแบ่งเบา สิ่งชื่นชอบ ตอบใจ ไม่ให้เศร้า เป็ดน้อยเจ้า ว่ายไป ในธารา ให้มนุษย์ พักผ่อน ตอนเหนื่อยล้า หยุดรักษา ให้คลาย หายมีแรง มีสายลม พริ้วไหว ได้เห็นแสง เป็นที่แห่ง ขององค์ ทรงราชัน สีแดงขลัง ด้วยสักทอง มองแล้วฝัน สองสิ่งนั้น ผูกพัน ฝันครอบครอง ได้ประกาศ ให้ไว้ ไม่เป็นสอง เป็นคู่ของ อีกตำ�หนัก รักกันจริง ที่ได้วาง แดงไว้ ให้งามยิ่ง ทั้งสองสิ่ง เชื่อมโยง ลงสะพาน เดินข้ามไป สองคูหา พาเสกสรรค์ งามเนือชั้น สววรค์เห็น เด่นวิไล

72


อันที่ไป ที่มา ในคราสร้าง ตั้งสองชื่อ สอดคล้อง มองกาลไกล เรื่องมิตรแท้ ที่พระองค์ ทรงได้แต่ง ตัวละคร ของพ่อนี้ ที่ตั้งมา เอาสิ่งนี้ มาตั้ง ครั้งเป็นชื่อ ชาลีมงคลอาสน์ วาดแสดง ตัวละคร ของลูก ที่ผูกนี้ ตั้งเป็นชื่อ ตำ�หนัก ที่รักกัน ยังมีอีก มากมาย ให้ได้ชม เชิญไปเที่ยว เหลียวไว้ ถูกใจจัง ขอรำ�ลึก นึกถึง ซึ่งพระคุณ สร้างผลงาน ภาพเขียน เวียนนิยม อนุรักษ์ ภาษาไทย ใช้กับจิต เป็นผู้รู้ เป็นครูช่าง ทั้งจิตรกร เป็นดินแดน ดีแท้ แน่แห่งยุค งดงามเหลือ เชื่อไหม สนามจันทร์

ที่ได้วาง หลักการ สารสื่อใส เชื่อมโยงไว้ เพราะละคร ตอนแต่งมา จึงเปลี่ยนแปลง จากฝรั่ง ตั้งไว้หนา ชาลีหนา คือชื่อท่าน นั้นแสดง พระตำ�หนัก เล่าลือ ชื่อแอบแฝง เป็นชื่อแห่ง แหล่งล้า ฟ้ากำ�นัล ชื่อมารี นี่หนา พาสุขสันต์ ตำ�หนักนั้น มารีราชรัตบัลลังก์ ตามเหมาะสม เท่านี้ ดีฝากฝัง ราชวัง ช่างฝัน อันภิรมย์ ที่เกื้อหนุน อุ่นใจ ให้กระผม เป็นปฐม บ่มเพาะ เสนาะกลอน ของชีวิต ความเป็นไทย ที่ได้สอน และแต่งกลอน สุนทรีย์ นิราศกัน มีความสุข สงบเย็น เด่นสร้างสรรค์ เชิญครับท่าน เมืองสวรรค์ ฝันก้าวไกล..

วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อต้องการถ่ายทอดผลงานจิตรกรรมแบบ เหมือนจริง “อภิสัจนิยม” (Super Realism) ที่เก็บ รายละเอี ย ดความเป็ น จริ ง ในบรรยากาศขณะนั้ น แสดงให้เห็นความงามงาม ความสัมพันธ์ของเอกภาพ ของแผ่นดินพระราชวังสนามจันทร์ 2. เพือ่ ต้องการแสดงให้เห็นถึงความสุข สงบเย็น ในดินแดนแห่งนี้ ที่เป็นปัจจัยหนึ่งที่ช่วยให้จิตของ มนุษย์ พบความสงบร่มเย็น ไม่วุ่นวาย ไม่ฟุ้งซ่าน ทำ�ให้จิตมีสมาธิ มีกำ�ลังเหมือนกับการเติมพลังของ ชีวิต 3. เพื่อเป็นการตอบแทนดินแดนนี้ ที่มีพระคุณ กับข้าพเจ้า ที่ให้ที่พำ�นัก มีอาชีพ ให้ความรู้ ให้ความ รู้สึกดีๆ เป็นที่ปรับสภาพจิตใจ ให้มีกำ�ลังใจที่จะ ทำ�งานอย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพือ่ เป็นการเทิดพระเกียรติ “พระบาทสมเด็จ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว” รัชกาลที่ 6 ที่พระองค์ ได้ ทรงสร้างสถาปัตย์อันงดงามแห่งยุค ให้เป็นสมบัติ ของชาวจังหวัดนครปฐม 5. เพื่อเสนอแนวความคิดเรื่อง เรื่อง กวี กับ งานจิตรกรรมที่มีการเชื่อมโยงกันเป็นความงามทาง สุนทรีย์ ให้ชนรุ่นหลังได้เห็นความสำ�คัญของภาษา ไทย เพื่ออนุรักษ์สิ่งดีงามเหล่านี้ให้มีสืบต่อไป ภาพร่างพระตำ�หนักมารีราชรัตบัลลังก์ 73


แนวความคิด

อันแนวคิด แนวทาง อย่างที่ใช้ จิตอ่อนไหว ในเรื่อง เคืองกันนาน มีแต่เรื่อง เข้ามา ฟ้าประกอบ ต้องพลัดบ้่าน เมืองมิตร จิตเรรวน สอนอยู่ทาง บ้านอยู่ทาง ช่างยากแท้ อยากลาออก ราชการ พาลเสียจัง มีความทุกข์ มาปลอบ ครอบงำ�จิต คิดไม่ออก บอกไม่ถูก สุขอย่างคน เดินเข้าไป ไถ่ถาม สนามจันทร์ พบสิ่งงาม สถาปัตย์ ชัดเมื่อดู เป็นดินแดน แคว้นดิน ถิ่นความสุข มีต้นไม้ ร่มรื่น ขึ้นประจำ� นกน้อยใหญ่ ได้อาศัย ได้พักผ่อน สถาปัตย์ งามงด จรดเรียงมา จึงใช้แนว คิดนี้ ที่สร้างภาพ จะขอสร้าง ความดี นี้จนตาย

เรื่องของใจ ไม่นิ่ง สิ่งฟุ้งซ่าน ทำ�ไหวหวั่น พบยิ่ง สิ่งรบกวน ยากจะลอบ หลีกเลี่ยง เบี่ยงสอบสวน เสียขบวน ปรับตัว รั้วกั้นกลาง หมดทางแก้ คราวนี้ นี่สะสาง แทบหมดหวัง หนทาง ช่างมืดมน ทำ�ชีวิต เคว้งคว้าง ทางสับสน คงต้องทน อีกกี่ปี นี้หนอครู ว่าที่นั่น มีอะไร ใคร่อยากรู้ โถ้เพิ่งรู้ สถานที่ นี้งดงาม ได้คลายทุกข์ เรื่องราว พราวสวยล้ำ� ธารไหลฉ่ำ� ธรรมชาติ สะอาดตา แดดไม่ร้อน ลมพัดพริ้ว ลิ่วหรรษา ทำ�จิตพา สงบใว้ ไม่วุ่นวาย ได้แต่กราบ พระปฐม ก้มถวาย ขอบคุณหลาย ในสุขพบ สงบเย็น..

กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. หาแรงบันดาลใจจากสิง่ ทีก่ ระทบทัง้ กาย และใจทำ�ให้เกิดความรู้สึกนึกคิดโดยใช้ ประสบการณ์ตรงจากทางกายภาพภายนอก และภายในจิตใจที่ถูกกระทบ จนเกิดการ สั่นไหวเป็นอารมณ์สะเทือนใจ จึงเกิดเป็น แนวคิด แนวทางในการสร้างผลงาน 2. เก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งเป็นข้อมูลโดยตรง และข้อมูลที่กรองแล้ว ไม่ว่าจะเป็นภาพถ่าย ในสถานที่จริงแต่ละช่วงแต่ละเวลาตั้งแต่ เช้าจนเย็น ข้อมูลที่เป็นเนื้อหาทาง อินเตอร์เน็ต และหนังสือ 3. สรุปผลจากข้อมูล นำ�ภาพข้อมูลและเนื้อหา มาประมวลหาความลงตัวในการทำ�ภาพร่าง เพื่อเป็นต้นแบบทางภาพและความคิดใน การสร้างผลงาน 4. ปฏิบัติงานสร้างผลงานตามแนวคิดที่ตั้งไว้ ทั้งเรื่องรูปแบบและเนื้อหาในการแสดงออก ให้สมบูรณ์ 5. ออกแบบกรอบภาพให้เข้ากับผลงานเพื่อ เผยแพร่แก่นกั ศึกษาและประชาชนโดยทัว่ ไป

วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างผลงาน 1. กล้องถ่ายภาพนิ่ง 2. คอมพิวเตอร์ และคอมพิวเตอร์พกพา 3. สีอะคริลิค สีลงพื้น ผ้าใบเขียนภาพ กรอบเฟรม พู่กัน ขาหยั่ง แว่นตาขยาย ระบบไฟให้ความสว่างในการทำ�งาน เทคนิคในการสร้างผลงาน จิตรกรรมสีอะคริลิคบนผ้าใบ ขนาดของผลงาน 80 x 120 เซนติเมตร เอกสารอ้างอิง th.wikipedia.org/พระราชวังสนามจันทร์ www.paiduaykan.com/76../sanamjun.html. www.palaces.thai.net/vt/vtsc/.

74



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ศรัทธาหมายเลข 1 Faith No 1 ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER รศ.ดร ไพโรจน์ ชมุนี Associate Professor Dr. Pairoj Jamuni, EdD.

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน ภาพของโบสถ์วิหารของศาสนาต่างๆ ที่ศิลปิน ถ่ายภาพมาจากภูเก็ต จันทบุรี และกัวลาลัมเปอร์ ทั้งหมดเป็นศาสนาสำ�คัญประจำ�เมืองแต่ละเมืองใน ประเทศไทยและมาเลเซี ย ทั้ ง สองประเทศเป็ น สมาชิกองค์การอาเซียน

แยก แต่กลายเป็นพลังที่เกิดจากความหลากหลาย ทำ�ให้เอเชียอาคเนย์งดงาม หลักสุนทรียศาสตร์ รูปทรง และการแสดงออก หลั ก สุ น ทรี ย ศาสตร์ ส่ ว นตั ว ของข้ า พเจ้ า คื อ ศิลปะคือการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ดังนั้น ไม่ว่า ไปใหน ครั้งแรก หรือไม่ก็ตาม เปิดใจ หูตาให้กว้างที่สุด เรียนรู้แล้วเอาสิ่งที่เห็น ดูฟัง มาประมวล ใช้อารมณ์ บุ ค คลิ ก ส่ ว นตั ว เพื่ อ เลื อ กสิ่ ง ที่ เ ป็ น แรงบั น ดาลใจ มาสร้างผลงานและในที่สุด ภาพศรัทธา ข้าพเจ้า คิดอยู่นานว่าจะรวบรวมเอาภาพชาวพุทธนั่งสมาธิ สวดมนต์ มุสลิมทำ�ละหมาด และชาวคริสต์กำ�ลังทำ� พิธใี นโบสถ์มารวมเป็นภาพเดียวกันจะดีใหม? กลับมา คิดอีกครั้ง จึงเลือกภาพศาสนสถานที่นา่ จะเป็นภาพ สะท้อนศรัทธาหรือจิตวิญญาณได้ดีกว่า พระเจดีย์ วั ด ฉลองจั ง หวั ด ภู เ ก็ ต กลายเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข อง การยกจิตใจให้สูง รู้เข้าใจชีวิต ถึงนิพพานให้ได้ ซุ้ม ประตูวัดเขตบุญ จันทบุรี ซุ้มประตูแบบจีนคือทางเข้า แดนพุทธภูมิ เป็นชาวพุทธต้องกล้าเริ่มเดินเข้าไปเถิด ส่วนกลางของภาพวิหารคาธอลิกที่เด่นเป็นสง่า เห็นชัดตั้งแต่ยั่งยืนอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำ�จันทบุรี มองไปที่ไม้กางเขนที่อยู่บนยอดแหลมทั้งคู่ของโบสถ์ คือปริศนาธรรมให้รู้ว่าจนมีความกล้า และศรัทธา เพื่อก้าวสูงขึ้นไป เข้าถึงในสาระอันแท้จริงแห่งพระ คัมภีร์ รวมจิตเข้าเป็นหนึ่งกับพระผู้เป็นเจ้า และภาพ สุเหร่าที่มุมบนขวา มียอดโดมและหอคอย การศึกษา อัลกุรุอาลอย่างถูกต้อง มีศรัทธามั่นคง สวดมนต์ สรรเสริญ และทำ�จิตท่านให้สงู ขีน้ เพือ่ เข้าถึงพระองค์ ได้รับสิ่งที่ดีที่สุดของชีวิตของศาสนิกชน

วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน เพื่ อ นำ � เสนอความคิ ด สร้ า งสรรค์ เ ฉพาะตั ว ของศิลปิน ในเนื้อสาระที่มีลักษณะเป็นนามธรรม ศรัทธาเป็นนามธรรม อยู่ในจิตใจของมนุษย์แต่ละคน แต่ศิลปินจำ�เป็นต้องหาภาพสิ่งที่เป็นรูปธรรม มาใช้ เป็นสื่อความหมาย จึงเลือกศาสนสถานของศาสนา ต่างๆ พุทธ คริสต์ และอิสลาม แนวคิด เอเชียอาคเนย์ ประกอบด้วยสมาชิกที่มีความ แตกต่างกันทัง้ วัฒนธรรม ศาสนาและอืน่ ๆ แต่สามารถ อยู่ร่วมกัน ทำ�งานช่วยเหลือกันได้ ประเทศไทยมี ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวพุทธ แต่ก็มีส่วนน้อยที่ เป็นคริสเตียน และอิสลาม ส่วนมาเลเซียประชากร ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม มีวัฒนธรรมอิสลาม ภาพของศาสนสถานจากสามศาสนาจึงนำ�มารวมกัน ผลงานศิลปกรรมที่ผู้สร้างนำ�มาเสนอในครั้งนี้ เป็นการแสดงให้เห็นจิตวิญญาณ ที่สามารถพบได้ ในดินแดนต่างๆ ของประเทศในกลุ่มอาเชียน ความ แตกต่างกันไม่ว่าด้วยวัฒนธรรม ศาสนา หรือสิ่งที่ สัมผัสได้ เช่น ความแตกต่างกันมากพอสมควร แต่ ความแตกต่างเหล่านี้ ไม่ใช่สิ่งที่ทำ�ให้เกิดความแตก 76


แต่ละศาสนา แต่ละนิกาย มีมรรคา หรือหนทาง ดีที่สุด ที่จะทำ�ให้เขาไต่เต้า ขึ้นสู่จุดสูงสุด แต่สิ่งที่ เป็นปัญหาอุปสรรคของศาสนิกชนส่วนหนึ่งคือ แม้ จะมีถนนหรือบันไดอยู่โดยสมบูรณ์เพียบพร้อม แต่ เขากลับไม่ยอมก้าวเดิน แล้วจะโทษใคร?

3. ผ้าใบ ขึงบนกรอบ มีขนาด และรูปร่างสัดส่วน ต่างกัน เช่น จัตุรัส 40 x 40 ซม. หรือสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่มีขนาดและอัตราส่วนกว้างต่อยาว ต่างกัน เช่น 45 x 60 ซม. กว้าง : ยาว = 3: 4 และ 29.5 x 59 ซม. (กว้าง : ยาว =1:2)

กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. การคิด: ผลงานภาพที่ 1 สาระสำ�คัญคือ พลั ง ศรั ท ธาของอาเซี ย นมิ ไ ด้ ม าจากศาสนาเดี ย ว วัฒนธรรมเดียว ในประเทศไทย ศิลปินเลือกภาพ พระเจดีย์จากวัดฉลอง จังหวัดภูเก็ต เป็นตัวแทน พุทธศาสนาแบบเถรวาท วัดเขตบุญจังหวัดจันทบุรีซึ่ง สร้างตามแบบจีน แทนพุทธนิกายมหายาน (ชาวไทย เกือบครึง่ หนึง่ มีเชือ้ สายจีน และโบสถ์โรมันคาทอลิค ประจำ�จังหวัดจันทบุรี แทนชาวคริสต์ (ส่วนมากอยู่ ในภาคกลางและภาคเหนือ) สุเหร่าแห่งนครกัวลา ลัมเปอร์เป็นตัวแทนศาสนาอิสลามซึ่งมีผู้นับถือมาก ในอินโดนีเซีย มาเลเซีย และบรูไนเดรูสลาม 2. การจัด ร่างภาพ เริ่มจากการหาสาระสำ�คัญ ของเรื่อง ศรัทธาเป็นสิ่งไม่มีตัวตน เป็นพลังสำ�คัญ ที่ขับเคลื่อนความคิด และการกระทำ� ศิลปินตัดสิน ใจเลือกภาพศาสนสถานเพราะเห็นว่าน่าจะชัดเจน มากกว่ารูปชาวพุทธใส่บาตร หรือพิธีกรรมในศาสนา อื่น แล้วเริ่มนำ�ภาพมาทดลองจัดร่าง

เทคนิคในการสร้างสรรค์ 1. นำ�ภาพถ่ายทีเ่ ป็นข้อมูลนำ�มาเรียงกันดู เลือก ภาพที่มีเนื้อหาเหมาะสม 2. จัดการเรียงภาพถ่ายในแบบต่างๆ บนล่าง ซ้ายขวา 3. เลื อ กภาพที่ จั ด เรี ย งดี ที่ สุ ด ไปสเก็ ต ช์ ใ น คอมพิวเตอร์ เลือกเส้นและโครงสี 4. ขยายภาพ ซึ่งทำ�ในคอมพิวเตอร์แล้ว เลือก ใช้สีอะครีลิคบนผ้าใบ ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ 18 x 24 นิ้ว หรือ 45 x 60 เซนติเมตร

วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน 1. กล้องถ่ายภาพ Digital Canon Eos 2. คอมพิวเตอร์ ฟูจิตสึ (Fujitsu) โปรแกรมที่ ร่างภาพ ใช้ Paint 77


strength as Buddhist are searching the truth of life through their meditation, Christian strengthening their faiths on bible and Islam carried on their strong will with faith toward Alah. Southeast Asian, in Malaysia Thailand and Singapore may be different in their religious and practice but share a common strong faith in each religion, all of them lives in peace as friends with love and respect to person of different culture. There are many places in Thailand where people if different religions and cultural background such as Buddhist and Islamic Thai in Ayuthya area of central part of Thailand as well as in the south , Buddhist and Christian in Kanchanaburi and Rachburit and Thai Buddhist and Christian communities in Chantaburi, all of these are examples of people of different religion and culture living in peace and harmony for many centuries.

General concept The purpose of this project is to present acrylic painting artwork reflecting the key themes: the spirit of the east (South east Asia). Two series of art work one emphasize the faiths of different religions such as Buddhism, Christianity and Islam. When the author mentions the term “beauty” it does not only means only visual qualities such as colour and texture but also the deeper aspects of faith in each person, Spiritual quality, religion and love of fellow human beings. The artist views Southeast Asia as the place of wide range of cultural diversities and life styles, as a painter and photographer, the artist spent times in summer and some times other season to spend holiday painting and taking photograph. The two series of artworks may seem different, the former on faith, spiritual strength which is abstract in nature and the latter, the landscape of houses or commercial buildings along the river bank or bay area but in the profound level of thinking, the two series share the same meaning, precious lives of the southeast Asian, inside the inhabitants’ souls, the calm and wisdom and in the physical level beautiful waters and comfortable place to live. This is the spirit of Southeast Asia. The artist had selected pictures of Buddhist temple or other temple architectural structure such as the stupa of Wat Shalong Phuket, the Chinese style torana (main gate) of Wat Khetboon and the Catholic church of Chantaburi and the mosque of Kualalumpur, these are the places representing the greatness of ASEAN countries spiritual

เอกสารอ้างอิง Charies Ledesma et al, The Rough Guide to Malay Sing Bru, The Rough Guide,nd. David K Wyatt, Studies in Thai History, Chiengmai: Silkworm Books, 1994. Joshua Samuel Brown, Singapore Encounterm Sing: Loneley planet nd. Ricklefs MC A New History of Asia, Mc Millan NY 2010. Simon Richmond etal, Malaysia, Singapore, Brunei, Singapore: Lonely Planet, nd. S Rimand and Celeste Brash: Kuala Melakka Penang. ภาพถ่าย ศิลปินถ่ายเองในประเทศไทย พ.ศ. 2553 2555

78



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE มาย ด็อก My dog ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์ภูษิต รัตนภานพ Phusit Rattanapanop

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน ในช่วงหลายปี ที่ผ่านมา ประเทศไทยประสบ ปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติที่สร้างความเสียหาย เหตุการณ์ต่างๆล้วนต่างสร้างประสบการณ์ ในการ อยู่รอดแก่มนุษย์ ดังตัวอย่าง คลื่นสึนามิ แผ่นดิน ไหว และน้ำ�ท่วมมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการ ดำ�เนินชีวิตปกติของเรา ประสบการณ์ดังกล่าวสร้าง คำ�ถามแก่พวกเราในฐานะศิลปินว่า เราได้อาศัยอยู่ กับวิธีการนี้หรือไม่? หรือสิ่งที่อาจจะตอบสนองต่อ วิธีการแก้ปัญหาหรือศิลปะของเราที่จะเปลี่ยนแปลง เหล่านี้หรือไม่

กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษาและทบทวนข้อมูลปัญหาภัยพิบัติทาง ธรรมชาติจากประสบการณ์ตรง 2. สรุปข้อมูล เป็นแนวทางในการสร้างสรรค์ ผลงาน 3. สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำ�งานโลหะ 2. โลหะ ทองเหลือง 3. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ

วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน เพื่อสร้างสรรค์งานผลงานศิลปะแสดงออกถึง สือ่ ผสม องค์ความรู้ทางสุนทรียะส่วนบุคคล ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ แนวความคิด 105 x 30 x 95 เซนติเมตร สะท้อนมุมมองจากประสบการณ์ตรง นำ�เสนอ เส้นที่บางเบาระหว่างการมีชีวิตอยู่กับการสูญเสีย จากเหตุการณ์ภัยพิบัติ ในประเทศไทยในปี 2011 แสดงสภาวะอารมณ์ ความคาดหวัง ความกลัว ความสับสน การสูญเสีย

80



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE 8 ฟอง ต่อ 1 วัน Eight eggs per day ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์ ดร. วีรวัฒน์ สิริเวสมาศ Veerawat Sirivesmas (Ph.D.)

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน เริ่มต้นจากความต้องการในการทดลองวัสดุ ต่างๆในการสร้างสรรค์ผลงานเพื่อสะท้อนแนวคิด ในแต่ละห้วงเวลานั้น จึงเริ่มพิจารณาจากผลงาน “ขยับ” (วีรวัฒน์ สิริเวสมาศ 2554) เทคนิคสื่อผสม โดยใช้เปลือกไข่จระเข้ และการดัดเคาะลวดโลหะ ให้ได้ลักษณะของเส้นตามความต้องการ ผลงาน ชิ้ น นี้ ไ ด้ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง การเลื อ กใช้ วั ส ดุ ที่ เ หลื อ จากธรรมชาติ มาสร้างสรรค์ให้เกิดเนื้อหาใหม่ ซึ่ง สอดคล้ อ งในแนวคิ ด แต่ ต่ า งในรู ป แบบกั บ ผลงาน “บทสนทนาในความเงียบ” (วีรวัฒน์ สิริเวสมาศ 2553) ที่เป็นงานเครื่องประดับ ใช้วัสดุเปลือกไม้ที่ ร่วงหล่นตามธรรมชาติและเก็บได้ในสวน ประกอบ กับวัสดุที่ถูกผลิตผ่านกระบวนการอุตสาหกรรม ซึ่ง เป็นสัญลักษณ์สะท้อนภาพความแตกต่างทางความ คิดและจินตภาพ ที่ก่อให้เกิดบทสนทนาอันไม่มีที่สิ้น สุดได้ ในขณะเดียวกัน จากผลงานประติมากรรม ติดตั้งจัดวาง “อากาศกับอารมณ์” (วีรวัฒน์ สิริเวส มาศ. อดิเรก โลหะกุล 2554) ก็เป็นอีกตัวอย่าง หนึ่ ง ของการเลื อ กใช้ วั ส ดุ เ หลื อ ใช้ อ ย่ า งกระดาษ หนังสือพิมพ์ที่ถูกตัดแปะร้อยเรียงกันเป็นเส้นสาย ขนาดยาวหลายเส้น ศิลปินต้องการสื่อให้เห็นถึง การถูกประดับประดาด้วยข้อมูลข่าวสารประจำ�วันที่ มากมายก่ายกอง ทับถมเสียจนไม่รู้ว่าจะย่อยอะไรดี ในวิถีปัจจุบัน เหล่านี้ต่างสะท้อนให้เห็นถึงทั้งนัยยะ ของการหยิบยกประเด็น นำ�เสนอเนื้อหาสะท้อน ความหมายที่ต่างกัน และมีจุดประสงค์ในการใช้วัสดุ เหลือใช้ที่เหมือนกัน

วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน ผู้สร้างสรรค์ กำ�หนดวัตถุประสงค์ในความคิด สร้างสรรค์ผลงาน ดังนี้ 1. สร้างสรรค์ผลงานจากเศษวัสดุธ รรมชาติ โดยการสร้างสัญลักษณ์สะท้อนเนื้อหา 2. นำ�วัสดุเปลือกไข่มาสร้างสัญลักษณ์สะท้อน เนื้ อ การรั ก ษาสุ ข ภาพผ่ า นความหลากหลายของ รูปทรง 3. สะท้อนแง่คิด การให้กำ�ลังใจ ผ่านการใช้ซ้ำ� ของวัสดุและการสร้างองค์ประกอบ แนวความคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน สร้างสรรค์ผลงานสะท้อนแนวคิดการให้กำ�ลัง ใจ การรักษาชีวิตและสุขภาพ ให้ความสำ�คัญกับ ความเรียบง่าย และเป็นกิจวัตร ในความเรียบง่าย นั้น แฝงไปด้วยความหวัง ความสนุกสนาน และพลัง แห่งการเคลื่อนไหว ผ่านการจัดองค์ประกอบด้วย วิธีต่างๆ เช่น การจัดระเบียบ การวางเรียง การซ้ำ� กัน และการเปลี่ยนแปลงของรูปทรง ทัศนธาตุ

82


ภาพที่ 1 : ภาพแสดงผลงานสร้างสรรค์ ที่ถูกหยิบยกมาอ้าง ถึงในช่วงเวลา 2553-2554 (ภาพโดย วีรวัฒน์ สิริเวสมาศ) จากวิ ธี ก ารทำ � งานและการเก็ บ ข้ อ มู ล ผ่ า นผลงาน ทดลองทางศิลปะและเครือ่ งประดับ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การ ใช้เปลือกไข่ ทำ�ให้ข้าพเจ้าหันมามองสิ่งใกล้ตัวในครอบครัว อาการป่วยด้วยโรคไตวายของมารดาข้าพเจ้าซึ่งต้องฟอก ไตทางหน้าท้องเป็นประจำ�ทุกวันมาเป็นระยะเวลาหลายปี กิจวัตรประจำ�วัน โดยเฉพาะในเรื่องของโภชนาการ ท่าน ต้องทานโปรตีนให้มากเพื่อชดเชยการสูญเสียสิ่งเหล่านี้ไป กับของเสียที่ถูกขับออกจากร่างกาย ไข่ โดยเฉพาะไข่ขาว โดยคำ�แนะนำ�ของแพทย์แนะนำ�ว่า เป็นโปรตีนที่มีประโยชน์ และเหมาะสมกับผู้ป่วยโรคไตมากที่สุด โดยแนะนำ�ให้ทาน อย่างต่ำ� วันละ 8 ฟอง เพื่อชดเชยกับโปรตีนที่เสียไป คำ� แนะนำ�ทางการแพทย์ที่เรียบง่าย แต่การปฏิบัติเป็นกิจวัตร ต่อเนื่องเป็นเวลานานย่อมก่อให้เกิดความซ้ำ�ซากจำ�เจแต่ ไม่จำ�ใจ แน่นอนการนำ�ไข่ขาวไปปรุงอาหาร (ด้วยข้อจำ�กัด ว่าห้ามเค็ม) ให้แตกต่างกันในแต่ละมื้อ แต่ละสัปดาห์ เพื่อ สร้างความหลากหลายทางการบริโภคนั้นไม่ง่าย แต่ก็ดำ�เนิน ต่อไปด้วยแรงบันดาลใจและกำ�ลังใจอันเต็มเปี่ยมของการ รักษาชีวิตให้ยืนยาวตามวิถีธรรมชาติเท่าที่สังขารจะอำ�นวย

ภาพที่ 2 : รูปภาพของไข่ ปริมาณที่ต้องบริโภคในแต่ละวัน ภาพที่ 3 : แบบร่างภาพรวมของผลงานสร้างสรรค์ทั้งหมด และแบบร่างแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน และแนวทางในการติดตั้งจัดวางผลงาน ไข่ที่ถูกบริโภคและเศษเปลือกไข่ที่เหลือทิ้งในแต่ละวัน เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ที่มี ค วามหมายของการรั ก ษาชี วิ ต ของคน ที่มีความหมายในชีวิตของช้าพเจ้ามาก ข้าพเจ้าต้องการ สะท้อนให้เห็นถึงความหมายของการรักษาชีวิตของคนอันเป็นที่รักนี้ ผ่านสัญลักษณ์ จำ�นวน และปริมาณของการบริโภค ไข่ในแต่ละวัน อันหมายถึงความเป็นไปได้ในการต่อชีวิตบุคคลอันเป็นที่รักของครอบครัวให้ยืนยาวออกไปด้วยสารอาหาร ที่เพียงพ่อ ในสภาวะจำ�กัดของโรคภัยอันมีผลต่อสังขารของคนเรา หลายครอบครัวที่อาจจะมีสมาชิกในครอบครัว เจ็บ ไข้ได้ป่วย ซึ่งก็เป็นไปตามสังขารนั้น ย่อมเป็นโอกาสอันดีที่บุตรหลานจะแสดงความกตัญญูกตเวทิตาด้วยการดูแลเอาใจ ใส่ท่านอย่างใกล้ชิด ในขณะเดียวกัน ข้าพเจ้าต้องการให้กำ�ลังใจ ผ่านสัญลักษณ์ในงานสร้างสรรค์นี้ อันอาจจะเป็นเพียง เศษเสี้ยวหนึ่งของวัสดุที่หลงเหลือจากการบริโภค แต่สามารถสะท้อนนัยยะทางพฤติกรรมการให้ความสำ�คัญต่อการดูแล รักษาสุขภาพ ต่อบุคคลอันเป็นที่รักและต่อตนเองด้วย ผ่านผลงานสร้างสรรค์ ที่มีรูปทรงและวัสดุหลักที่เหมือนกัน แต่ สามารถสร้างสรรค์ นำ�เสนอมุมมองแนวคิด ที่หลากหลายได้ สะท้อนถึงความคิดที่ “ขยับ” ต่อไปอย่างไม่หยุดนิ่งยอมแพ้ “เคลื่อนไหว” ต่อไปอย่างมีความหมายและเต็มเปี่ยมไปด้วยกำ�ลังใจ 83


กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน

วัสดุ อุปกรณ์การสร้างสรรค์ผลงาน วัสดุ : เปลือกไข่, ลวดโลหะ, เศษกระดาษ หนังสือพิมพ์ อุปกรณ์ : ค้อน ตะปูและทั่งขนาดเล็ก คีม ขนาดต่างๆ มีดคัตเตอร์ ไม้บรรทัดเหล็ก แผ่นยาง รองตัด

ขั้นตอนการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล Preparation, Data Collection, Data Analysis

ขั้นตอนการบ่มเพาะข้อมูล การศึกษา เปรียบเทียบ ทดลอง เพื่อให้เห็นผลดี ผลเสีย จนเกิดตัวเลือกที่เหมาะสม เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน Incubation, investigation, Experimentation เทคนิคการ ดัดและเคาะลวดโลหะด้วยคีมและ

ค้อน (hammering) และใช้วิธีการติดตั้งจัดวาง ผลงาน (installation) ตามพื้นทีท่ ี่ถูกกำ�หนด (site specific)

ขั้นตอนการรู้แจ้งเห็นจริง เห็นความเหมาะสมจากการ ทดลอง สะท้อนแนวคิด ปรากฏเป็นรูปลักษณ์ที่ลงตัว Illumination, Reflection, Improvement

ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ ขนาดของชิ้ น งานในแต่ ล ะชิ้ น โดยประมาณ ขั้นตอนการแสดงผล พิสูจน์ผลงาน เผยแพร่ต่อสาธารณะ 5 x 5 x 15 cm จำ�นวน 8 ชิ้น โดยติดตั้งในพื้นที่ Verification, Publication ที่กำ�หนด Site Specific เอกสารอ้างอิง วีรวัฒน์ สิริเวสมาศ, “ขยับ” นิทรรศการแสดงผลงาน สร้างสรรค์ของคณาจารย์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ 2554 วีรวัฒน์ สิริเวสมาศ, อดิเรก โลหะกุล. “อากาศและ อารมณ์” Weather นิทรรศการแสดงผลงาน ศิลปะ ไทย-นอร์ดิก หอศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร กรุงเทพฯ 2554 วีรวัฒน์ สิริเวสมาศ. “บทสนทนาในความเงียบ” นิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์ของ คณาจารย์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร กรุงเทพฯ 2553

84



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ประณีตศิลป์เพชรบุรี Thai Art Jewelry depicting the Phetchaburi technique ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์ศิดาลัย ฆโนทัย Sidalai Kanothai

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน วั ฒ นธรรมการใช้ ศิ ล ปะเครื่ อ งประดั บ และ เครื่องแต่งกายของคนไทยดำ�รงอยู่คู่กันมาช้านาน ซึง่ เรามักพบเห็นได้จากปรากฏหลักฐานทางโบราณคดี นับตั้งแต่ยุคทวารวดี สุโขทัย ล้านนา และอยุธยา สืบต่อมาเป็นมรดกอันล้ำ�ค่ามาสู่ยุครัตนโกสินทร์ ในปัจจุบัน เครื่องประดับเป็นวัฒนธรรมการประดับ ประดา นิยมสวมใส่คู่กับเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายอื่นๆ เครื่ อ งประดั บ ถู ก สวมใส่ แ ละตกแต่ ง ร่ า งกายเพื่ อ ความสวยงาม แสดงออกถึงชาติพันธุ์ เครื่องประดับไทยในทุกยุคทุกสมัย มีรูปแบบที่ งดงาม เป็นผลงานที่ต้องใช้ความรู้และเทคนิคการ ผลิตที่ซับซ้อน เป็นการประดิษฐ์ด้วยภูมิปัญญาและ ฝีมือของบรรพชน รวมถึงมีการพัฒนารูปลักษณ์ เกิด เป็นผลงานประณีตศิลป์ชั้นสูง เครื่องทองหรือทอง รูปพรรณของไทยนับเป็นศิลปหัตถกรรมอันทรงคุณค่า มาแต่โบราณ ยิง่ เครือ่ งทองสกุลช่างเมืองเพชรแล้ว ยิ่ ง สมควรได้ รั บ การยกย่ อ งสรรเสริ ญ ปรากฏต่ อ สายตาของคนไทยและเป็นที่ยอมรับกันจากต่างชาติ มีคณ ุ ลักษณะทีป่ ระณีตงดงาม แสดงถึงเอกลักษณ์ อัน เป็นมรดกทางวัฒนธรรมล้ำ�ค่ายิ่งของชาติ นอกจากนี้ ผลงานประณีตศิลป์ประเภทเครือ่ งทอง ผสมผสาน ความงดงามทางศิลปะและประโยชน์ใช้สอยเข้าด้วยกัน

มีหน้าทีห่ ลักในการประดับตกแต่ง ร่างกายเพื่อความ งดงามและเป็นรูปแบบการออมทรัพย์ลักษณะหนึ่ง อีกด้วย ปัจจุบันช่างทองโบราณที่ยังมีชีวิตก็ล้วนแล้วจะ สูงด้วยอายุและจะมีลดน้อยลงไปทุกวัน ช่างทำ�ทอง ในเพชรบุรีระยะหลังมานี้จึงเป็นช่างทองที่เป็นบุตร หลานทายาทของช่ า งทองโบราณที่ไ ด้ รับ ถ่ า ยทอด ความรูใ้ ห้สานต่องานฝีมือสกุลช่างราชสำ�นักเอกลักษณ์ ชาติไว้ แต่ผทู้ ฝึ่ี กเป็นช่างทองต้องมีใจรัก มีความอดทน ในการทำ�งาน เพราะงานทำ�เครื่องทองเป็นงานที่ใช้ เวลาในการทำ�งาน ใช้ความละเอียดประณีตอย่าง สูงในขณะที่ค่าตอบแทนในการทำ�ต่ำ�มาก นายชุ่ม สุวรรณช่าง ช่างทองคนสุดท้ายของตระกูลสุวรรณ ช่าง กล่าวไว้ว่า “เครื่องทองรูปพรรณแบบโบราณนั้น นับวันจะสูญไปเพราะไม่มีช่าง คนรุ่นใหม่ไม่สนใจ ฝึกหัด เนื่องจากรายได้จากการทำ�ทองไม่คุ้มกับเวลา และแรงงาน เครื่องทองรูปพรรณของไทยต้องใช้ เวลา และฝีมือในการทำ�งาน จึงไม่มีช่างรับทำ� ส่วน เครื่องทองรูปพรรณที่มีขายกันแพร่หลายตามร้าน ทองนั้นเป็นงานฝีมือของช่างจีน ซึ่งมีวิธีทำ�และ ลวดลายแตกต่างไปจากเดิม” เป็นทีส่ งั เกตว่าในอดีต ช่างผู้ชายจะมีความสามารถมีพื้นฐานด้านการเขียน และการแกะสลักที่ดีกว่าผู้หญิงจึงมีการออกแบบ

86


วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อสร้างสรรค์งานประณีตศิลป์ (เครื่องประดับ) แสดงภูมิปัญญาบรรพชน 2. เพื่อพัฒนารูปแบบของเครื่องประดับงาน ลวดลายสร้อยหกเสาสู่ความร่วมสมัย 3. เพื่อสืบสานงานฝีมือ และอนุรักษ์มรดกทาง วัฒนธรรมของประเทศชาติ

ดัดแปลง สร้างสรรค์สิ่งใหม่อยู่เสมอ เครือ่ งทอง รูปพรรณในระยะแรกๆ จึงมีรปู แบบหลากหลาย ต่อมา ผูช้ ายไม่นยิ มฝึกทำ�ทอง กลับเลือกไปทำ�งานอืน่ ทีส่ นุก และได้ค่าตอบแทนมากกว่าช่างทอง ในระยะหลัง ส่วนใหญ่จึงเป็นผู้หญิง ที่ได้ฝึกทำ�ทองตามรูปแบบ ดัง้ เดิมทีม่ มี าแต่อดีต ไม่มกี ารพัฒนาลวดลายใหม่เลย เหตุนเ้ี องก็เป็นได้ทท่ี �ำ ให้คณ ุ ค่าและความงามลบเลือน ไปด้วยการแทนที่จากสิ่งที่เป็นค่านิยมตามสมัยนิยม ด้วยเหตุที่กล่าวมาข้างต้น ก่อเกิดแนวคิดเพื่อ ต้องการอนุรักษ์ และสืบสานไว้ซึ่งวัฒนธรรมอันดีที่ มีมาไม่ให้สญ ู หาย กอปรกับการเผยแพร่ความงดงาม ของเครื่องประดับลักษณะไทยที่แม้มีการสร้างสรรค์ พัฒนาตามรูปแบบร่วมสมัย หากยังคงสะท้อนแบบแผน ของประณีตศิลป์ไทยที่มีการปฏิบัติกันมายาวนาน โดยนำ�เสนอผลงานสร้างสรรค์จากความคิดริเริ่ม พั ฒ นารู ป แบบของเครื่ อ งประดั บ ลวดลายสร้ อ ย หกเสา1 ให้เกิดมิติความงามมุมมองใหม่ ยังคง ลักษณะเด่นด้วยทักษะการถักที่ประณีต ลวดลายที่ อ่อนช้อยงดงามเพื่อให้สร้อยสามารถม้วนหรือขด ตั ว อย่ า งนุ่ ม นวลประดุ จ เชื อ กแบบอย่ า งงานฝี มื อ ช่างทองเมืองเพชรบุรีไว้ ส่อแสดงถึงภูมิปัญญาของ บรรพชนอันสะท้อนถึงจิตวิญญาณแห่งศิลปหัตถกรรม ไทยโบราณอันทรงคุณค่า

แนวความคิด สืบสานภูมิปัญญาบรรพชนด้านงาน ประณีตศิลป์ กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษารูปแบบ ลวดลาย และวิธีการทำ� ลวดลายสร้อยหกเสาของช่างทองโบราณ เมือง เพชรบุรี 2. ศึกษาลักษณะเด่นของลวดลายสร้อยหก เสา ด้วยการทดลองทำ�ด้วยตนเอง เก็บรวบรวมเป็น ข้อมูลพัฒนางานออกแบบต่อไป 3. ออกแบบเครื่องประดับที่แสดงความงาม และลักษณะเฉพาะของลวดลาย 4. สรุปแบบ และกำ�หนดสัดส่วนชิ้นงาน 5. ผลิตผลงานเครื่องประดับ

1 ลวดลายสร้อยหกเสา เป็นลวดลายของการถักห่วงกลมขนาดเล็กๆ จำ�นวนมากและถักอย่างต่อเนื่อง

87


วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำ� เครื่องประดับ 2. โลหะเงินบริสุทธิ์

ประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างสรรค์ ผลงานเครื่ อ งประดั บ รู ป แบบร่ ว มสมั ย แสดง แนวคิด การอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญางานฝีมือ ของช่างทำ�ทองโบราณเมืองเพชรบุรี เพื่อให้ผู้ชม เกิดการประจักษ์ถึงคุณค่าของงานประณีตศิลป์ไทย ผู้สร้างสรรค์นำ�เสนอทักษะฝีมือการถักที่ประณีต งดงาม แสดงลักษณะเด่นของลวดลาย สะท้อน ภูมิปัญญาของบรรพชนอันแสดงถึงจิตวิญญาณแห่ง ศิลปหัตถกรรมไทยโบราณอันทรงคุณค่าในการสร้าง สุนทรียะบนร่างกาย

เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน สร้อยหกเสาประณีตศิลป์เพชรบุรี การนำ�เส้น ลวดขนาดเล็กม้วนบนแกนเหล็ก ตัดเป็นห่วงกลมแล้ว เป่าแล่นเพื่อเชื่อมห่วงให้เป็นห่วงแต่ละห่วง แล้วนำ� ห่วงแต่ละห่วงมาสานขัดกันอย่างต่อเนื่อง เริ่มขึ้น ลายโดยใช้ นิ้วมือบีบตรงกลางห่วงให้เกือบติดกัน (ลักษณะจะคล้ายห่วง 2 ห่วงติดกัน) และถักตาม แบบของลวดลาย หากเริ่มขึ้นลายทีละ 6 ห่วง จึง จะเรียกสร้อยหกเสา และเริ่มขึ้นลายทีละ 4 หรือ เริ่มทีละ 8 ห่วงก็จะเป็น สร้อยสี่เสา และแปดเสา สี่เสา หกเสา แปดเสา แตกต่างกันที่การขึ้นลายครั้ง แรก และขนาดของสร้อย สร้อยสี่เสาจะมีขนาดเล็ก สร้อยหกเสามีขนาดปานกลาง ส่วนสร้อยแปดเสา จะมีขนาดใหญ่

เอกสารอ้างอิง โครงการ “รีเจ้นท์ ชะอำ� เพื่อสภาพแวดล้อมและ การพัฒนาแบบยั่งยืน”, เพชรบุรี, กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพ์สารคดี, 2536. รองศาสตราจารย์วัฒนะ จูฑะวิภาต, ศิลปหัตถกรรม ของช่างทองเมืองเพชร: ความเป็นมาและ สภาพปัจจุบัน, กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ, 2535. องค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบุรี, เพชรบุรีเมือง งาม งามงานสกุลช่างเมืองเพชร, เพชรบุรี: ธรรมสาร, 2550.

ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ 0.5 x 21 เซนติเมตร

88



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ภวังค์แห่งความสุข The moment of Happiness ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์สหเทพ เทพบุรี Sahathep Thepburi

หนึ่งอันเดียวกัน ไม่มีการบีบคั้น แค่รู้เท่าทัน วางใจ ให้เป็นไปตามเหตุและผล ทุกข์ในใจก็จะน้อยลง ส่ง ผลให้เกิดความสุขขึ้นในจิตใจได้ จากความสำ�คัญดังกล่าวการนำ�เสนอผลงาน สร้างสรรค์เรื่อง “ภวังค์แห่งความสุข” จึงเป็นการ นำ�เสนอลักษณะผลงานที่แสดงให้เห็นถึงอารมณ์ มากกว่าความหมายของรูปลักษณ์ทป่ี รากฏ โดยอาศัย ผิวเรียบตึง และมวลปริมาตรที่สมบูรณ์อย่างเต็มอิม่ ของร่างกาย ให้ตา่ งจากคนปกติทว่ั ไป ประสานกับ อากัปกริยาการเคลื่อนไหวอย่างเป็นอิสระ ดูนุ่มนวล หนักแน่น แต่พลิว้ ไหวอย่างมีพลัง จนนำ�ไปสูค่ วามหมาย ทางความรู้สึกของจิตใจ

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน ความสุขคือยอดปรารถนาของคนทุกคน เพราะ เชื่อกันว่าสิ่งนี้จะเป็นเป้าหมายสูงสุดของการมีชีวิต อยู่ในโลกนี้ ความเจริญของเทคโนโลยีได้มีบทบาท ต่อการดำ�เนินชีวิตของคนในสังคมทุกๆ ด้าน เกือบ จะกล่าวได้วา่ มนุษย์ ได้สร้างเครือ่ งมือขึน้ มาใช้ควบคุม ความเป็นมนุษย์ดว้ ยกัน ทำ�ให้เกิดค่านิยมของพฤติกรรม ต่างๆ มากมาย เพื่อตอบสนองความต้องการทาง กายและจิตใจ ความสมหวังและไม่ได้ดังหวัง หรือ ความปรารถนาจะเพิ่มปริมาณของความสุขที่ได้รับ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นข้อจำ�กัดที่บังคับและบีบคั้นจิตใจ ให้ขาดความเป็นอิสระในการตัดสินใจ ซึ่งเกิดขึ้น ได้กับทุกคน ความสุขและความทุกข์จึงเป็นสิ่งคู่กัน หรืออีกนัยหนึ่งอาจเป็นตัวเดียวกัน ขึ้นอยู่กับทัศนะ ของการมองเห็น เช่น สิ่งที่ได้รับเป็นความสุข แต่อีก มุมมองก็มีความทุกข์ผสมอยู่ หรือในความทุกข์อาจ มีความพึงพอใจแทรกอยู่ เป็นเรื่องธรรมดาที่เกิดขึ้น ได้ตามเหตุปัจจัย ดังนั้นกระแสความต้องการในใจเรา กับกระแส ที่ปรากฏในความเป็นจริงอาจจะขัดแย้งกัน แต่ถ้า ทุกคนมีการพัฒนาความรู้ความเข้าใจ สิ่งต่างๆ ที่ เป็นกฎธรรมชาติและ รู้เข้าไปถึงเหตุปัจจัยแห่งความ เป็นไปของมัน กระแสความต้องการของเราก็จะ สอดคล้องกับเหตุปัจจัยในกฎธรรมชาติ และเป็นอัน

วัตถุประสงค์ของการสร้างผลงาน 1. เพือ่ เสนอแง่มมุ ของการเปลีย่ นแปลงในสังคม ที่มีผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจ 2. เพื่อสะท้อนปัญหาและ การสร้างทัศนคติทดี่ ี ในการใช้ชีวิตให้มีความสุข 3. เพื่อค้นหาเทคนิคและวิธีการ ในการแสดง ออกทางศิลปะ แนวความคิด “ความสุขที่เกิดจากภายใน เป็นความหวังแห่ง ชีวิต”

90



กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษาและ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรม และผลกระทบที่มีต่อคนในสังคม 2. ออกแบบโครงสร้างของรูปทรงให้สอดคล้อง กับแนวความคิด 3. Sketch รูปแบบ 3 มิติ และจัดวาง 4. ขยายต้นแบบ 5. ถอดพิมพ์ และหล่อชิ้นงานด้วยวัสดุถาวร (Fiber glass) 6. ประกอบ และตกแต่งชิ้นงาน

ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ 23 x 53 x 19 เซนติเมตร เอกสารอ้างอิง ชลูด นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพมหานคร; บริษัทสำ�นักพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำ�กัด, 2539. พระธรรมปิฎก(ปฺ.อ. ปยุตฺโต). พัฒนาคุณภาพชีวิต ด้วยจิตวิทยาแบบยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร; มูลนิธิพุทธธรรม, 2543. พระธรรมปิฎก(ปฺ.อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรม. กรุงเทพมหานคร;มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2538. วิทยากร เชียงกูล. จิตวิทยาในการสร้างความสุข. กรุงเทพมหานคร; สำ�นักพิมพ์สายธาร, 2548 Charles Wallschlaeger, Basic Visual Concepts and Principles for Artists, Architects and Designer. US A; Copyright by Wm. c. Brown Publishers.1992. Paul Zelanski, Mary Pat Fisher. The Art of Seeing. New Jersey; Published by Pearson Education, 2007.

วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เครื่องมือขยายต้นแบบ 2. ดินน้ำ�มัน, Wax, เหล็ก 3. เครื่องมือถอดพิมพ์ 4. ยางซิลิโคลน, ปูนปลาสเตอร์ 5. เครื่องมือหล่อชิ้นงาน 6. เรซิน, ไฟเบอร์กลาส 7. เครื่องมือประกอบ และตกแต่งชิ้นงาน 8. สีลูไซด์, หินแกรนิต เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน ปั้นต้นแบบ หล่อด้วยวัสดุไฟเบอร์กลาส

92


NOME DEL PROGETTO

Teoria del design (+-) è unico

ทฤษฎีทางการออกแบบ “บวกลบ” เป็นเอกลักษณ์หนึ่งเดียว

NOME DELL’AUTORE

Sukontaroat Kongcharoen

อาจารย์สุคนธรส คงเจริญ

Nome del lavoro

“L’esame della Teoria della Complessità

alla base del triangolo della solidità della

del Design come materia di studio universi-

teoria. I punti che ci interessano per essere

tario “Arte e Design” a livello internazionale.

leader nel mondo asiatico sono: 1. Legge

Parola chiave: Teoria della Complessità

della logica che deve essere fatta insieme;

Riassunto: la ricerca sull’esame della

2. L’innovazione a basso costo e di elevata

Teoria della Complessità del Design come

qualità; 3. La cultura che nasce dalla

materia di studio universitario “Arte e Design”

comprensione della natura dell’Asia. Lo studio

a livello internazionale.

è la forma della struttura, di cui non si riesce

a dare requisiti specifici se non nelle opere

Questa ricerca deve essere utile nello

studio, sui

attori

nell’ambiente

alla

teoria

2.

La

questione

d’arte originali di ciascun paese. Questi tre

nell’insegnamento e come spinta,

principali

Critica

punti sono alla base della collaborazione tra i

degli

Interiordesigners asiatici, verso l’importanza

principali designers dell’Asia.

dell’organizzazione del percorso di studio

dell’arte e del design a livello internazionale.

nella proposta del programma del corso di

Critica alla teoria 1. Quando riusciamo a

Arte e Design, devono seguire le linee guida

disegnare in modo naturale, con la bellezza

internazionali per gli studi universitari, con il

perfetta come lo richiede l’estetica, è perché

coordinamento unificato nei corsi di base.

abbiamo dovuto studiare la teoria che

Studiare insieme il 50% nel 1° e 2° anno,

insegna cosa è giusto e cosa è sbagliato?

mentre dal 3° e 4° si inizia la specializzazi-

O la conoscenza ha la stessa importanza

one anche attraverso gli scambi educativi:

della capacità? Se disegnassimo, senza avere

organizzando un comitato il cui obiettivo sia

un codice e una identità riconducibili

alle

trovare terreno per gli scambi educativi, i

nostre emozioni, seguendo soltanto le mani,

seminari, gli scambi di insegnanti e studenti,

questo potrebbe causare una perdita nello

ed infine anche gli scambi per i tirocini.

studio, a livello universitario, dell’arte e

C’è la possibilità che questo punto possa

design?

occupare il 30% della struttura organizzativa

93

Critica alla teoria 3. Le osservazioni


del corso, apportando più esperienza nello

qualità, rispetto al presente. Il primo risultato

studio. Ma questo metodo si dimostrerà

sarà enorme, cioè “la qualità dello studente”,

efficace nel garantire una buona qualità? O

che seguirà la pianificazione nei tempi

è meglio progettare e produrre sulla carta

richiesti. Questa teoria della complessità

piuttosto

avrà luogo e si farà sistema, e la decisione è

che

vedere

la

qualità

della

produzione effettiva?

lasciata alla direzione che ha una visione

internazionale, diretta, seria, dedicata e non

Teoria della critica dell’arte. Secondo

circolare, bensì triangolare.

le testimonianze delle bellezze del mondo, già ai tempi dei greco-romani si inizia ad utilizzare la bella struttura nel disegno, quella

Tale

struttura

triangolare

porta

alla

era la “struttura triangolare”. Possiamo vedere

leadership, grazie alla punta del triangolo

questi disegni sia nelle arti decorative che

che nonostante si scambi con le altre punte

nell’architettura dello spazio esterno, come ad

continua ad avere una base molto solida.

esempio il Partenone (periodo greco-romano)

Questa strutta è anche sì la prima struttura da

o ancora prima nelle costruzioni dell’antico

meritarsi la nomea di “modello di bellezza”.

Egitto, come l’interno delle Piramidi, a forma triangolare con punta. Questo ha fatto sì

che l’autore pensasse alle connessioni tra la

formazione per Artisti inizio 2012

struttura e la base, fino alla produzione di

Metodo: mani + cuore (con colori acrilici)

questa opera (Teoria del design “+-“ è unico).

Formazione e critica dell’opera: artisti na-

Si può concludere che tutti i tre punti sono im-

zionali di arte visiva

portati e tra loro connessi.

che accompagna l’opera per la valutazione

Ma quale angolo del triangolo sarà il

Opera: esposizione presso corso di alta

La scelta dell’opesra: scrivere un articolo

principale, si saprà solo dalle critiche e dalle

recensioni dei vari gruppi, quali i ricercatori

di arte visiva

e i professionisti del mondo dell’istruzione.

Perciò, l’autore non conclude indicando qual

tura, all’interno del progetto “Trasmettere la

è la direzione, ma segnalando solo i requisiti

conoscenza per la critica dei lavori di Interior

importanti, che possono garantire una migliore

design (budget del 2011)”.

94

Opera selezionata dagli artisti nazionali Supportato dal Ministero di Arte e Cul-



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ศิลปะไทย และความคิดสร้างสรรค์ : เอกลักษณ์ใหม่ของอาหารไทย Thai Arts & Creativity: The New Identity for Thai Foods ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผศ. ร.ต.อ. ดร. อนุชา แพ่งเกษร Asst. Prof. Pol. Capt. Anucha Pangkesorn (Ph.D.)

จำ�แนกคุณค่าได้ 3 ด้านคือ (1) คุณค่าทางโภชนาการ อาหารไทยแต่ละจานมีสารอาหารหลายตัว ซึ่งสาร อาหารแต่ละตัว ร่างกายจะใช้ประโยชน์ ได้ตอ้ งทำ�งาน ร่วมกัน (2) คุณค่าสรรพคุณทางยาของผักและ สมุนไพรที่เป็นเครื่องปรุงของอาหาร และ (3) คุณค่า ทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรม โดยจะมีรสชาติและ ลักษณะเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง (ศรีสมร คงพันธุ์, 2547) ดังนั้นการสร้างเอกลักษณ์ใหม่ของอาหารไทย จึงได้นำ�แนวความคิดในด้านศิลปะไทย มาเป็นองค์ ประกอบ ซึ่งศิลปะไทยได้รับอิทธิพลจากธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ มในสั ง คมไทยมี ลั ก ษณะเด่ น คื อ ความงามอย่างนิ่มนวลมีความละเอียดประณีต ที่ แสดงให้เห็นถึงลักษณะนิสัยและจิตใจของคนไทยที่ ได้สอดแทรกไว้ในผลงานที่สร้างสรรค์ขึ้น โดยเฉพาะ ศิลปะการแกะสลักผัก ผลไม้ และศิลปะการร้อย มาลัยของไทย ที่เป็นรู้จักอย่างดีและเลื่องชื่อไปทั่ว โลก การที่อาหารไทยจะสามารถให้เป็นทีน่ ยิ มยอมรับ จากทั่วโลกได้นั้น ต้องมีความคิดสร้างสรรค์ด้วย

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน สังคมไทยมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่กันหลายระดับ ชั้น ตั้งแต่สังคมที่เรียบง่ายจนถึงสังคมชั้นสูง ตาม สถานะทางเศรษฐกิจ สังคม และภูมิภาคตามถิ่นที่อยู่ อาศัย อันเนื่องจากมีประเพณี ศาสนา และสถาบัน พระมหากษัตริย์ ที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคน ไทย จากความหลากหลายของกลุ่มคนและสังคมนี้ จึงก่อเกิดบูรณาการเป็นความคิด ความเชื่อ แล้ว ถ่ายทอดเป็นประเพณีวัฒนธรรมไทยที่งดงาม อัน เป็นที่ยอมรับในสังคมหนึ่งๆ ให้คนในสังคมนั้นได้รับรู้ แล้วขยายไปในขอบเขตทีก่ ว้างขึน้ โดยผ่านสัญลักษณ์ ที่อยู่ในผลงานแขนงต่างๆ เรียกว่า ศิลปะไทย ศิลปะไทย (Thai arts) เป็นเอกลักษณ์ของ ชาติไทย ที่คนไทยทั้งชาติต่างภาคภูมิใจอย่างยิ่ง ซึ่ง เป็นความงดงามที่สืบทอดอันยาวนานตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน บ่งบอกถึงวัฒนธรรมที่เกิดขึ้น โดยมี พัฒนาการบนพื้นฐานของความเป็นไทย ศิลปะไทย ล้วนมีคุณค่าอยู่ 2 ประการ คือ คุณค่าทางด้านรูป ทรง และคุณค่าทางด้านเรื่องราว อาหารไทย (Thai Foods) เป็นหนึง่ ในเอกลักษณ์ และภูมปัิ ญญาของบรรพบุรษุ ของชาติไทย โดยอาหาร ไทยเป็นที่นิยม ยอมรับ และรู้จักอย่างแพร่หลายทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนี้ยังติดอันดับ 1 ใน 5 อาหารยอดนิยมของโลก เพราะอาหารไทย เป็นอาหารเพื่อสุขภาพ ที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง และมีสรรพคุณทางยาในคราวเดียวกัน ซึ่งสามารถ

วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน ผู้สร้างสรรค์ กำ�หนดวัตถุประสงค์ในความคิด สร้างสรรค์ผลงาน เพื่อตอบคำ�ถามกลุ่มเป้าหมายที่ เคยรับประทานอาหารไทยมาแล้ว ประเด็นดังนี้ 1. การทำ�ให้ลูกค้าพอใจกับอาหารและบริการ ใหม่หากเรามีการเปลี่ยนแปลง

96


2. ต้องก่อให้เกิดความแตกต่างจากประสบการณ์การรับประทานอาหารไทยแบบเดิม และต่าง จากชาติอื่น 3. ทำ � ให้ ลู ก ค้ า เข้ า ถึ ง การเปลี่ ย นแปลงของ อาหารให้ได้ 4. ก่อให้เกิดการจดจำ� ฝังใจ ชื่นชอบใน เอกลักษณ์รสชาติของอาหารไทย 5. สร้างสถานการณ์อื่นที่จะมาให้กับสินค้าถ้า มันเปลี่ยนไป 6. ได้อะไรใหม่ๆ ที่จะนำ�มาใช้กับอาหารไทยได้ อย่างเหมาะสม 7. ต้องสามารถได้อะไรที่ใหม่มาแทนที่ในตลาด ที่มีคู่แข่ง

(incorporation) (4) การขยาย (expand) (5) การ กำ�จัด (eradication) และ (6) การจัดระเบียบใหม่ (regulation) วัสดุ อุปกรณ์การสร้างสรรค์ผลงาน วัสดุธรรมชาติ : ไม้ไผ่ เครื่องปั้นดินเผา ผ้า ฝ้าย และอาหารไทย

เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน ผูส้ ร้างสรรค์ ได้น�ำ เสนอรูปแบบการจัดวางอาหาร ไทย ด้วยงานศิลปะการติดตั้ง (Installation Arts) พร้อมกับการแสดงแบบฉับพลัน (Happening Arts) ที่สะท้อนถึงศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของไทย เพื่อ สร้ า งความสะเทื อ นใจให้ ค นดู ไ ด้ มี อ ารมณ์ ร่ ว มใน แนวความคิด ระหว่างการทำ�งานศิลปะที่จัดแสดงไว้ โดยให้ผู้เข้า ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ใ นเอกลั ก ษณ์ ใ หม่ ข อง ชมได้ชิมอาหารไทย ทั้งอาหารคาวหวาน และผลไม้ อาหารไทย ที่ให้ความสำ�คัญต่อการคิดนอกกรอบ ด้วยการเสียบไม้ขนาดต่างๆ (Lateral Thinking) ซึ่งประกอบด้วย 6 แนวทาง คือ (1) การแทนที่ (substitution) (2) การกระทำ�ใน ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ สิ่งตรงข้าม (opposition) (3) การรวมเข้าด้วยกัน พื้นที่ 300 x 300 x 300 เซนติเมตร กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน ผู้สร้างสรรค์ กำ�หนดขั้นตอน และกระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงานดังนี้

Process of Design In The Past

Social Change

Art s & Culture

Investigation Problem

Analysis/ Design/

Local Material

Separate

Group

Compare

Design & Development

Evaluate Analysis

Final

Tasting

New Identity The Thai Food

Product Design / Installation Arts / Interior Design

97


98



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ความจริงในความเชื่อ Truth in Belief ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี Asst. Prof. Arwin Intrungsi

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน ในวัฒนธรรมของมนุษย์ มีสิ่งที่สืบทอดมายาว นานจากอดีตจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ ความเชื่อ ความ เชื่อหมายถึง ความรู้สึกนึกคิดของคนในสังคม ที่ยึด มั่น และยอมรับในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อาจมีเหตุผลหรือ ไม่มีเหตุผลก็ได้ ความเชื่อบางอย่างเป็นตัวกำ�หนด พฤติกรรมการดำ�เนินชีวิตของคน เช่น ความเชื่อใน เรื่องกฎแห่งกรรม หรือนรกสวรรค์ ก็จะทำ�ให้ผู้นั้น กระทำ�แต่ความดี ไม่ทำ�ความชั่ว เพราะกลัวจะได้รับ ผลแห่งกรรมชั่วนั้นประสบแก่ตน หากกระทำ�ดีก็จะ ได้รับความดีตอบแทน เมื่อตายไปก็จะได้ขึ้นสวรรค์ ความเชื่อในบางเรื่องอาจไม่สามารถหาคำ�ตอบที่แน่ ชัดหรือพิสูจน์ ได้ เช่น ความเชื่อในเรื่องผีสาง เทวดา หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ มนุษย์ เกิดมาพร้อมกับความทุกข์และความ ต้องการ เมื่อความทุกข์และความต้องการนั้นเกิดขึ้น แก่ตน จนรูส้ กึ ว่าไม่สามารถแก้ปัญหานัน้ ได้ดว้ ยตนเอง แล้ว มนุษย์ก็มองหาความช่วยเหลือจากผู้อื่น อาจ เริ่มจากผู้ที่ใกล้ชิด เช่น พี่น้อง เพื่อนฝูง หรือผู้ที่มี สถานะเหนือกว่าตน เช่น พ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่ นักการเมืองระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ประเทศเพื่อน บ้าน ไปจนถึงองค์การสหประชาชาติ จนกระทั่งเมื่อ คิดว่าไม่มใี ครสามารถช่วยเหลือตนได้แล้ว สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ จึงกลายเป็นคำ�ตอบสุดท้ายในทางใจ

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสังคมไทยมีหลายรูปแบบ ได้แก่ พระภูมิเจ้าที่ เทพเจ้าในศาสนาต่างๆ บุคคลสำ�คัญ ในประวัติศาสตร์ ตัวละครในนวนิยาย พืช สัตว์ หรือสิ่งของ โดยเฉพาะที่มีความพิเศษหรือมีรูปร่าง ผิดปกติธรรมดา โดยเชื่อว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์นั้นมีพลัง หรืออำ�นาจวิเศษที่จะดลบันดาลให้เป็นไปตามสิ่งที่ มนุษย์ร้องขอวิงวอน และเพื่อให้เกิดความมั่นใจมาก ขึ้นว่าการวิงวอนร้องขอนั้นจะประสบผลสำ�เร็จ ก็จะ ต้องมีการให้สัญญากับสิ่งศักดิ์สิทธิ์น้นั ว่าจะให้ส่งิ ของ หรือกระทำ�การต่างๆ ตอบแทน หากได้รับในสิ่งที่ ร้องขอไว้ ที่เราเรียกกันว่า “การบน” และ “การแก้บน“ การบน และแก้บนนี้ ก่อให้เกิดอาชีพที่เป็น เอกลักษณ์ยิ่งในประเทศไทย อาทิ ธุรกิจผลิตสิ่งของ สักการะต่างๆ เช่น ธูปเทียน มาลัย ศาลพระภูมิ ตุ๊กตาเสียกบาล ปูนปั้นรูปสัตว์ต่างๆ นางรำ�แก้บน ฯลฯ หากพิจารณากันดีๆ การวิงวอนร้องขอและ การติดสินบนสิ่งศักดิ์สิทธิ์นี้ ไม่ได้เป็นไปตามหลักคำ� สอนทางพุทธศาสนาเท่าใดนัก แต่ก็นา่ แปลกที่คนใน สังคมไทยกลับหลอมรวมสองสิ่งนี้เข้าด้วยกัน เช่น การบนและแก้บนกับพระพุทธรูปอันเป็นสัญลักษณ์ ของพระพุทธเจ้า ซึ่งได้ทรงตรัสสอนไว้ว่า “ตนเป็น ที่พึ่งแห่งตน” อีกทั้งพระพุทธเจ้าซึ่งทรงตรัสรู้เข้าสู่ พระนิพพานแล้ว คงไม่มีความต้องการลาภสักการะ ใดๆ มีเพียงพระธรรมอันประเสริฐที่พระองค์ ได้มอบ ไว้เท่านั้นที่จะช่วยเหลือเหล่าเวไนยสัตว์ ให้พ้นจาก บ่วงทุกข์ทั้งหลายได้

100


การนำ�เสนอผลงานสร้างสรรค์เรือ่ ง ความเชือ่ นี้ จะเป็นการนำ�เสนอให้เห็นถึงข้อมูลเชิงสถิติท่นี า่ สนใจ รวมทัง้ เป็นการเตือนสติคนให้ได้ตระหนักถึงสิง่ ทีก่ �ำ ลัง ดำ�เนินไปในสังคมไทยว่าเป็นสิ่งงมงายไร้ข้อพิสูจน์ หรือเป็นสิ่งที่ควรยึดมั่นปฏิบัติตามกันไป

3. ออกแบบร่าง Story board และสื่อจัดวาง 4. จัดเตรียมข้อมูลภาพถ่าย และวิดีโอ 5. ตัดต่อภาพถ่าย และวิดีโอ ผสมเสียง ใน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 6. จัดทำ�สื่อจัดวางประกอบการฉายวิดีโอ

วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อศึกษารวบรวมและนำ�เสนอข้อมูลด้าน ต่างๆ ที่นา่ สนใจที่เกี่ยวกับความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ การบนและการแก้บน 2. เพื่อเป็นการเตือนสติแก่สังคมในยุคปัจจุบัน ให้ยึดมั่นในหลักคำ�สอนทางพุทธศาสนาในเรื่อง ตน เป็นที่พึ่งแห่งตน

วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน กล้องถ่ายภาพนิ่ง กล้องถ่ายวิดีโอ เครื่องเล่น ดีวีดีขนาดเล็ก เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์อิงค์ เจ็ท กระดาษแข็ง กาว เทปกาว ของใช้ที่เกี่ยวกับ การบนบานหรือสักการะสิ่งศักดิ์สิทธ์ เช่น พวงมาลัย ตุ๊กตานางรำ� ธูปเทียน

แนวความคิด ความจริงในความเชื่อ

เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน วิดีโอ และสื่อผสม

ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ วิดีโอความยาวประมาณ 240 วินาที กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน* 1. ศึกษา และรวบรวมข้อมูลในเชิงสถิตเิ รือ่ งการ สื่อผสมขนาดประมาณ 60x60x120 เซนติเมตร บนบานศาลกล่าวจากแบบสอบถามทางอินเตอร์เนต และการสัมภาษณ์ ได้แก่ สาเหตุของการบนบาน เอกสารอ้างอิง ศาลกล่าว เรื่องที่นิยมบนบานศาลกล่าว สิ่งของหรือ เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ. สังคมศึกษา การกระทำ�ที่ใช้ในการแก้บน สาเหตุของการเลือกให้ ศาสนา และวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 3. สิ่งของหรือการกระทำ�ในการแก้บน สัมฤทธิผลของ กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์ การบน สิ่งศักดิ์สิทธิ์คืออะไร. (ออนไลน์). (2012). เข้าถึง 2. สรุปผลทีไ่ ด้จากการศึกษา รวบรวม เป็นข้อมูล ได้จาก : http://sacredlthings.blogspot.com/ ที่ง่ายต่อการนำ�เสนอ 2011/12/blog-post.html

101


ภาพที่ 1 แบบสอบถามเรื่องการบนบานศาลกล่าวทางอินเตอร์เนต (google docs)

ภาพที่ 2 การสรุปข้อมูลจากแบบสอบถามทางอินเตอร์เนต (google docs)

102



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE การประยุกต์งานศิลปะ เรื่อง “การแตกสลาย” Disintegration ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์อิทธิพล วิมลศิลป์ Ithipol Vimolsilp

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน จากอดีตมนุษย์ ได้มีการสร้างงานศิลปะอย่าง มากมายหลายยุคหลายสมัย งานศิลปะที่เกิดจาก ภูมิปัญญาของช่างและศิลปินผู้สร้างงาน เป็นส่วน หนึ่ ง ของสั ง คมที่ มี ห น้ า ที่ แ สดงออกถึ ง คุ ณ ค่ า ทาง วัฒนธรรม โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ของตนเพื่อ ถ่ายทอดและบันทึกเรื่องราวตามยุคสมัย ศิลปินใน ยุคต่างๆ ได้สร้างสรรค์และพัฒนาตามแนวทางของ ตน การแสวงหาสื่อใหม่ๆ และวิธีการแสดงออกเป็น ส่วนสำ�คัญในกระบวนการสร้างสรรค์ ทั้งนี้ทั้งนั้น มันก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะสามารถคิดอะไรใหม่ๆ ได้ ตลอดเวลา ศิลปินรุน่ หลังถูกครอบงำ�ด้วยความสำ�เร็จ ที่ผ่านมา หน้าที่ของคนรุ่นหลังจึงไม่ง่ายที่จะตีฝ่า วงล้อมทางความคิดและรูปแบบที่มีอยู่ก่อนแล้ว การ ต่อยอดทางความคิดน่าจะเป็นทางหนึ่งที่จะทำ�ได้ วิถีของชาวเอเชียตั้งแต่ดั้งเดิม เป็นวิถีชีวิตที่ ผูกพันกับธรรมชาติ คนไทยเองก็เช่นกันมีความใกล้ชดิ ธรรมชาติ ในหนทางของธรรมชาตินั้นคือความจริง ที่ไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้ การเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไป เป็นธรรมชาติของสรรพสิ่งที่เราสามารถรับรู้ได้ เมื่อ พูดถึงการเกิดเราจะรับรู้ได้ถึงความหวัง ความสุข ความสมหวัง ในขณะเดียวกันการแตกสลายหรือการ ดับไปก็เป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับการเกิด สภาวะของ การดับสลายให้ความรู้สึกของการสิ้นหวัง การจบสิ้น ของสิ่งที่ดำ�เนินมา แต่หากเข้าใจว่าการดับหรือแตก สลายเป็นกลไกหนึ่งของธรรมชาติ เฉกเช่น ต้นไม้ เกิ ด ขึ้ น จากดิ น และเมื่ อ หมดอายุ ขั ย ก็ ย่ อ ยสลาย กลายเป็นดิน เพื่อให้ชีวิตอื่นเกิดขึ้นมาหมุนเวียนอยู่ เช่นนี้ ข้าพเจ้าจึงเห็นว่าการสิ้นไปสลายไปจึงเป็น

วงจรที่สำ�คัญที่มนุษย์ ไม่อาจเลี่ยงได้ และต้องเผชิญ กับสิ่งเหล่านี้ทุกคน แต่ด้วยความไม่รู้และเข้าใจต่อๆ กันว่าการจบสิ้นของสรรพสิ่งเป็นสิ่งที่นา่ กลัว และไม่ ต้ อ งการให้ เ กิ ด ขึ้ น แต่ โ ดยส่ ว นตั ว ผู้ ส ร้ า งงานมิ ไ ด้ ต้องการชี้นำ�ว่าผู้คนทั่วไปจะรู้สึกถึงสถานการณ์นี้ อย่างไรแต่ต้องการแสดงสภาวะตามกฎเกณฑ์ของ ธรรมชาติ หากจะกล่าวถึงสถานการณ์ครั้งร้ายแรง เราก็จะพบว่าเกิดเหตุสะเทือนใจบ่อยครั้งที่เราต้อง เผชิญกับความหวาดกลัว ความรู้สึกที่ไม่มั่นคง เช่น ความล้ ม เหลวของระบบทุ น ในประเทศที่ เ รี ย กว่ า วิกฤตต้มยำ�กุ้ง ในปี 2540 เกิดวิกฤตหนี้สาธารณะ และส่งผลกระทบไปทั่วทั้งภูมิภาคเอเชีย ในประเทศ ไทยรัฐบาลในยุคนั้นประกาศลดค่าเงินบาท ในเวลา นั้นทุกเช้าที่เราตื่นขึ้นมาจะได้รับรู้ว่าค่าเงินบาทลด ลงทุกวัน ภาคธุรกิจหลายแห่งล้มครืนสิ้นเนื้อประดา ตัว บางคนเลือกที่จะจากโลกไปด้วยคิดว่าจะพ้น ปัญหาที่เผชิญอยู่ บางคนยอมรับชะตากรรมแล้วตั้ง ต้นชีวิตสร้างตัวใหม่ทั้งที่อยู่ในสภาวะล้มละลาย นี่ เป็นเหตุการณ์สำ�คัญครั้งใหญ่ครั้งหนึ่งที่ผู้คนเผชิญ หน้ากับความล่มสลายและความหวาดกลัว ในอีก ซีกโลกที่เราสามารถรับรู้ข่าวสารได้ไวในปัจจุบันคือ วิกฤตซับไพรม์หรือที่เราเรียกวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ ในอเมริกา ในช่วง พ.ศ 2550 - 2551 และยังส่งผล ถึงปัจจุบันเป็นวิกฤตที่เกิดจากสินเชื่อด้อยคุณภาพ ผู้เป็นลูกหนี้สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ ไม่สามารถจ่าย หนี้ได้ อีกทั้งเกิดความอ่อนแอของสถาบันการเงิน ทำ�ให้ไม่สามารถปรับโครงสร้างหนี้ได้ ทำ�ให้ผู้คน จำ�นวนมากถูกยึดบ้านไม่มีที่อยู่อาศัยเพียงชั่วข้าม คืน สะท้อนสภาวะล้มเหลวระบบทุนนิยมขนาดใหญ่

104


ด้ วยสถานการณ์และแนวความคิดดัง กล่ าวนำ �มา สู่การแสดงออกซึ่งสภาวะการแยกตัวของรูปทรง และกระจายออกจากรูปทรงเดิม พลังของการแยก ธาตุต่างๆ ให้แตกสลายทำ�ให้เกิดสถานการณ์ที่ไม่ คาดฝันและสะเทือนใจ ความที่เราไม่รู้จะเกิดอะไร ขึ้ น ในสถานการณ์ ข องการเปลี่ ย นแปลงทำ � ให้ เ รา กลัว ความพลัดพรากความสูญเสีย เป็นปัจจัยที่ ทำ�ให้มนุษย์ดิ้นรนทุกวิถีทางไม่ให้สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น แต่ทุกสิ่งบนโลกภายใต้กฎของแสงและเวลาย่อม ไม่มีความเที่ยงแท้แน่นอน แต่สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ทำ� ให้เกิดความสมดุลตามธรรมชาติ เช่นเดียวกับสิ่ง ที่แตกต่างกันทั้งหลายเช่น กลางวันและกลางคืน ผู้หญิงและผู้ชาย ร้อนและเย็น เป็นความแตกต่างที่ ทำ�ให้สิ่งต่างๆบนโลกนี้มีความสมดุล ประยุกตศิลป์คำ�นี้อาจตีความได้ไปต่างๆนาๆ ตามความเข้าใจพื้นฐานแต่ละคนแต่โดยรวมยังพูด ถึงการบูรณาการความรู้และสิ่งที่มีความแตกต่าง เข้าไว้ด้วยกันโดยสองสิ่งนี้จะส่งเสริมซึ่งกันและกัน การนำ�ศิลปะกับประโยชน์ ใช้สอยยังเป็นโจทย์เดิม แต่ในแนวทางของภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คือ การใช้ศิลปะเป็นตัวนำ� รูปทรงทางศิลปะต้องมาก่อน ประโยชน์ใช้สอย ด้วยแนวคิดนี้ข้าพเจ้าได้ประยุกต์ งานศิลปะตามแนวทางที่ได้ทำ�มาในระยะหลังนี้ คือ เรื่อง “การแตกสลาย“ (Disintegration) โดยมีแนว ความคิดว่าวัตถุอยู่ได้ด้วยการรวมตัวกันของสสารที่ มีสถานะคือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เป็นปัจจัย มีการเคลื่อนไหวช้าเร็วและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จากสถานะหนึ่งไปสู่สถานะหนึ่ง การแตกสลายเป็น การทำ�ให้วงจรของสิ่งต่างๆ มีความสมบรูณ์โดยมี จุดเริม่ และจุดจบ ในด้านศิลปะข้าพเจ้าเห็นความงาม ของการแตกออกของรู ป ทรงโดยใช้ รู ป ทรงทาง สถาปัตยกรรมที่พังทลายมาสื่อตามแนวความคิด การพังทลายทำ�ให้ทุกสิ่งโดยที่ยกมานี้คือโครงสร้าง ทางสถาปัตยกรรม การสร้างสถาปัตยกรรมต่างๆ เกิ ดขึ้ น ด้ ว ยงบประมาณและการออกแบบรวมถึ ง ฝีมือช่างที่มีความแตกต่างกัน จึงมีรูปลักษณ์ที่ออก มางดงามหรือไม่งามแตกต่างกันไปแต่ไม่ว่างามหรือ ไม่ย่อมมีอายุการใช้งานหรือสิ้นสุดการใช้งานก่อน

เวลาอันควร ด้วยปัจจัยทางธรรมชาติหรือมนุษย์เอง ก็ตาม แต่ไม่ว่าด้วยเหตุใดเมื่อมันถึงจุดสิ้นสุดก็ล้วน ต้องลงมากองอยูบ่ นพืน้ ดิน ไม่วา่ มันจะสร้างด้วยมูลค่า มหาศาลเพียงใดก็ตาม เมื่อแตกสลายและพังลงมา สถาปัตยกรรมต่างๆ เหล่านั้นล้วนมีความเท่าเทียม กันโดยสิ้นเชิง เพราะสุดท้ายก็จะต้องย่อยสลาย กลับคืนสู่พื้นดิน ในประวัติศาสตร์ของยุคที่รุ่งเรือง สถาปัตยกรรมที่แข็งแรงมากมาย กำ�แพงเมืองที่ใช้ ป้องกันข้าศึกที่แข็งแรงที่สุดเมื่อถึงเวลาก็ถูกทำ�ลาย ลงมาได้เช่นกัน อาณาจักรที่ยิ่งใหญ่เพียงใดสุดท้าย ก็ล่มสลายเหลือเพียงหลักฐานและความทรงจำ�ทาง ประวัติศาสตร์ โดยประมวลมาทั้งหมดนี้ไม่ได้บอก ว่าไม่ควรจะสร้างสิ่งใดเพราะสุดท้ายมันก็ต้องพัง แต่เป็นการบอกว่าทุกสิ่งนั้นสามารถโลดแล่นในช่วง เวลาของมัน และสิ่งต่างๆ เหล่านั้นก็มีช่วงเวลาและ จุดสิน้ สุด การเข้าใจในสัจธรรมจึงเป็นวิถที เ่ี ราจะดำ�รง อยู่บนความไม่ประมาท วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของการสร้างผลงาน ศิลปะและการออกแบบ 2. เพือ่ พัฒนางานด้านวิชาการให้มคี วามก้าวหน้า 3. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้สู่สาธารณะ แนวความคิด สร้างงานศิลปะและการออกแบบทีม่ กี ระบวนการ เชิงบูรณาการ โดยมีเนื้อเรื่องที่แสดงออกถึงความ สะเทือนใจจากความรู้สึกที่ไม่มั่นคงทางด้านจิตใจ ก่อให้เกิดความกลัวโดยปรุงแต่งจากความไม่รู้ ของ ความเป็นไปในธาตุทั้ง 4 คือ ดิน น้ำ� ลม ไฟ การเกิด ย่อมนำ�มาสู่ความหวังความสมหวัง การคงอยู่นำ�ไป สู่การยึดไว้เมื่อมีความสุขสมหวังก็ยึดไว้เมื่อมีทุกข์ ก็ปรารถนาให้ออกไปไกลจากตัว การดับสิน้ แตกสลาย เป็นผลพวงสุดท้ายของการเกิดขึ้นและตั้งอยู่ เป็นสิ่ง ที่ผู้คนกลัวและไม่ต้องการ แต่เป็นกระบวนการที่ทำ� ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สมบรูณ์ ด้วยแนวความคิด นีข้ า้ พเจ้าต้องการประยุกต์งานศิลปะให้เกิดประโยชน์ ใช้สอยในขณะทีผ่ ลทีไ่ ด้เป็นลักษณะงานประติมากรรม

105


สื่อผสมที่มีประโยชน์ใช้สอยเป็นโคมไฟ โดยสร้าง กระบวนการศึกษารูปทรงจากงานศิลปะมาเป็นแรง บันดาลใจในการสร้างรูปทรงประติมากรรมสื่อผสม ร่วมกับประโยชน์ใช้สอย กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน กระบวนการสร้างสรรค์งานชุดนีเ้ ป็นกระบวนการ ของการประยุกต์งานศิลปะให้มีประโยชน์ ใช้สอย โดยให้ความสำ�คัญกับการใช้รูปทรงทางศิลปะ (ART FORM ) มาประกอบกับ การสร้างประโยชน์ใช้สอย (FUNCTION) โดยใช้งานศิลปะเป็นแรงบันดาลใจ ในการสร้างรูปทรง ตามลำ�ดับขั้นตอนเป็นกระบวน การดังนี้ 1. ในส่วนของงานศิลปะ เป็นต้นทางของรูปแบบ ในการสร้างงานประยุกต์ศิลป์ เป็นรูปแบบเฉพาะตัว ของผูท้ �ำ งานศิลปะ โดยมีรปู แบบและแนวคิดทีช่ ดั เจน ว่าต้องการแสดงออกในเรื่องใด - การร่างผลงาน (sketch) เมื่อได้แนวเรื่อง และเนื้อหาที่ต้องการแสดงออก จึงเริ่มร่างภาพเพื่อ ให้ได้รปู ทรงทีต่ อ้ งการ โดยนำ�ข้อมูลภาพสถาปัตยกรรม มาจัดวางในทิศทางที่ต้องการ แนวทางคือการสร้าง รูปทรงสถาปัตยกรรมที่แตกสลายหรือแตกกระจาย ออกจากกัน - การร่างงานจริงและการขึ้นสีพื้น เมื่อได้ แบบร่ างตามต้ อ งการจึ ง มาถึ ง ขั้ น ตอนการทำ � งาน จริง โดยใช้ดินสอร่างภาพโครงสร้างตึกลงบนเฟรม ผ้าใบ หลังจากร่างเสร็จใช้สีดำ�ระบายพื้น - ติดวัสดุตามโครงสร้างทีข่ น้ึ ไว้ โดยใช้กระดาษ ชั้นและเศษผ้า รวมทั้งเศษวัสดุอื่นๆ ด้วยกาวลาเท็ก เพื่อให้รูปทรงสถาปัตยกรรมมีพื้นผิวที่นูนขึ้นมา อีก ทั้งช่วยเรื่องการทับซ้อนของรูปทรง และทำ�ให้งานมี พื้นผิวดูสมจริง

- วาดรายละเอียดและการสร้างพื้นผิว หลัง จากขึ้นพื้นสีดำ�และปะด้วยวัสดุแล้วจึงได้เพิ่มราย ละเอียดของรูปทรงโดยการเพิ่มน้ำ�หนักที่อ่อนกว่า ลงบนพื้นสีดำ� และเพิ่มน้ำ�หนักอ่อนจนเป็นระยะหน้า รวมทั้ ง ใช้ สี ส ร้ า งพื้ น ผิ ว ด้ ว ยการทำ � เทคนิ ค โดยใช้ เกรียงปาดสีให้มีผิวนูนขึ้นมา 2. ในส่วนของงานประยุกตศิลป์ เป็นการนำ� โครงสร้างจากสถาปัตยกรรมที่แตกสลาย มาเป็นรูป แบบในการสร้างประติมากรรมโคมไฟ โดยสร้างจาก วัสดุ ไม้ พลาสติก โลหะ และหลอดไฟ - สร้างฐานไม้โดยวางโลหะไว้เป็นแกนกลาง และเป็นโครงด้านใน - ตัดไม้เป็นแผ่น และ หาเศษวัสดุต่างๆ นำ� มาผสมผสาน โดยมีการทำ�สีบางส่วนโดยเฉพาะไม้ ซึ่งจะทำ�เป็นสีดำ�มันเงา - ติดตั้งหลอดไฟที่แกนโลหะ นำ�ไม้และเศษ วัสดุที่เตรียมไว้มาประกอบกับแกนโลหะ วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เฟรมผ้าใบ 2. สีอะคลีลิค 3. แปรงและพู่กัน 4. กระดาษชั้นและเศษผ้า เศษวัสดุอื่นๆ 5. กาวลาเท็ก 6. ไม้และโลหะ เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน สื่อผสม ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ 1.งานศิลปะสื่อผสม 150 x 150 เซนติเมตร 2.งานประยุกตศิลป์ 50 x 50 x 80 เซนติเมตร

106



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE สตูลไทย Thai Stool ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์อินทรธนู ฟ้าร่มขาว Inthanu Faromkao

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน จากประวัติศาสตร์การออกแบบเครื่องเรือน รูปแบบของเครื่องเรือนส่วนหนึ่ง ล้วนสะท้อนมาจาก ปัจจัยที่แตกต่างในแง่ของสภาพการดำ�รงชีพหรือ ความเป็นอยู่ของผู้คนในสังคม (Miller, J 2005) ตัวอย่างเช่น สตูลสูงทีใ่ ช้กบั เคาท์เตอร์บาร์ในวัฒนธรรม ตะวันตกหรือตั่งเตี้ยในวัฒนธรรมตะวันออก รวมทั้ง ปั จ จั ย ทางด้ า นสภาพภูมิป ระเทศและภูมิอากาศที่ เชื่อมโยงกับวัตถุดิบในการผลิต ตัวอย่างเช่น เก้าอี้ โปร่งสานจากวัสดุธรรมชาติในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ หรือโซฟานุ่มหุ้มเบาะหนังวัวในอเมริกา และยุโรป จากปัจจัยดังทีก่ ล่าวมาข้างต้น ผูส้ ร้างสรรค์เชือ่ ว่าหากทำ�การศึกษาหรือค้นหารูปแบบเครื่องเรือนที่ มีประวัติการดำ�รงอยู่คู่สังคมตะวันออกมาช้านาน แม้ไม่สามารถหาต้นกำ�เนิดที่แน่ชัดหรือไม่มีรูปแบบ และลวดลายวิจิตรตามแบบประเพณีนิยมแต่หาก ผู้คนสำ�เหนียกได้ถึงความใกล้ชิดกับวิถีชีวิตตะวัน ออก ก็เชื่อว่าเครื่องเรือนชิ้นนั้นๆ จะเป็นตัวแทนของ จิตวิญญานตะวันออกได้ ทั้งนี้ ผู้สร้างสรรค์เกิดความประทับใจในการ คงอยู่ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันของเก้าอี้ไม้สตูลกลม ที่ใช้และพบเห็นได้ทั่วไปในทุกภาค และเกือบทุกพื้นที่ ในสังคมไทย โดยมากมักพบเห็นอยู่ในร้านอาหาร เก่าแก่เชือ้ สายจีน แต่กม็ ากทีอ่ ยูต่ ามบ้านเรือนห้องแถว ทั่วไป ด้วยรูปทรงตรงไปตรงมา แฝงไว้ด้วยประโยชน์ ใช้สอย การทำ�สีและลวดลายทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ นอกจาก

นี้แล้วผู้สร้างสรรค์ยังสนใจในวัสดุพื้นถิ่นที่พบหาได้ ง่ายในภูมิภาคอันได้แก่ หวาย ที่มีประวัติการนำ�มา ใช้ผลิตเครื่องเรือนมายาวนาน มีเอกลักษณ์ของการ ขึ้นรูปทรง และเทคนิคการเชื่อมต่อหรือการจบงาน ที่แตกต่างกับวัสดุประเภทอื่นๆ (ศักดิ์ชาย สิกขา 2552) ผูส้ ร้างสรรค์เชือ่ ว่าหากสามารถออกแบบโดย นำ�เอาทั้งด้านรูปลักษณ์ เทคนิคการผลิตและการ ตกแต่ง และการการใช้สอย มาต่อยอดสร้างความ ร่วมสมัยแต่สืบทอดอารมณ์การดำ�รงอยู่ของเครื่อง เรือนนี้มาได้ จะสามารถสร้างเครื่องเรือนร่วมสมัยที่ สะท้อนถึงวิถีตะวันออกได้เป็นอย่างดี วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เพื่อศึกษาและค้นหาแนวทางการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ที่สะท้อนวิถีตะวันออก 2. เพื่ อ สร้ า งสรรค์ ผ ลงานสื บ สานมรดกทาง วัฒนธรรมของตะวันออก แนวความคิด การตีความผลิตภัณฑ์เก่าสู่ผลิตภัณฑ์ใหม่ กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษารูปแบบเครื่องเรือนที่ดำ�รงอยู่คู่สังคม ตะวันออก โดยการออกสำ�รวจ ค้นคว้าข้อมูลด้าน เอกสาร ภาพถ่ายและภาพประกอบที่เกี่ยวข้อง 2. ศึกษาวัสดุและเทคนิคการผลิตทีม่ เี อกลักษณ์ และสะท้อนภูมิปัญญา

108


รูปที่ 1 : เก้าอี้ไม้สตูลกลม

รูปที่ 2 : สตูลหวาย บริษัท Chicfurniche

3. สรุปข้อมูล เป็นแนวทางในการออกแบบ 4. จัดทำ�แบบร่าง ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ โดย เทคนิคร่างภาพด้วยมือ และใช้คอมพิวเตอร์สร้างภาพ 5. สรุปแบบ กำ�หนดขนาดของชิ้นงาน 6. ผลิตชิ้นงาน

ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ สตูลเตี้ย 32 x 45 เซนติเมตร สตูลสูง 34 x 60 เซนติเมตร สตูลยาว 35 x 120 x 40 เซนติเมตร

เอกสารอ้างอิง เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน Miller, J 2005, Furniture: World styles from กลึงไม้ classical to contemporary, Dorling Kindersley Limited, London. วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน ศักดิ์ชาย สิกขา 2552, ต่อยอดภูมิปัญญาหัตถกรรม ไม้ไทย (สักหรือยาง) หวาย เชือก หรือหวาย พื้นบ้าน, โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, เทียม อุบลราชธานี

109



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ความรัก Love ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์อุณรุท กสิกรกรรม Unarut Kasikornkam

ที่มาและความสำ�คัญของการสร้างสรรค์ผลงาน นับตั้งแต่มนุษย์ถือกำ�เนิดขึ้นมาบนโลก และอยู่ ร่วมกันเพือ่ สร้างอารยธรรมและจารีตประเพณี มีการ พัฒนาที่แสดงถึงความเจริญทั้งทางด้านวัตถุและ จิตใจ ทำ�ให้มนุษย์มีความต้องการไม่มีที่สิ้นสุด ทั้งนี้ ขึน้ อยูก่ บั รสนิยม บุคลิกภาพและพฤติกรรมของแต่ละ บุคคล ที่จะมาเติมเต็มส่วนที่ขาดหายไป การแสวงหา ความพอใจให้แก่ตนเองในบริบทของความรัก ความ สุขที่เกิดจากความรัก อาจจะกล่าวได้ว่าเป็นเรื่องที่ กว้างไกลและลึกซึ้ง เพราะความรักมิได้จำ�กัดเฉพาะ มนุษย์ แต่รวมถึงเพือ่ นร่วมโลกและสรรพสัตว์ทง้ั หลาย ที่มีให้เห็นและรู้สึก ความรักที่มีต่อธรรมชาติและ ความงามในอุดมคติทั้งความจริงและความฝัน อาจกล่าวได้วา่ ตัวมนุษย์เองก็ถอื กำ�เนิดมาจาก ธรรมชาติ ผูกพันเชือ่ มโยงกันมาช้านานแล้ว มนุษย์จงึ ควรตระหนักถึงความมหัศจรรย์ของธรรมชาติ ใช้ใจ สัมผัสถึงความอบอุ่น ความรื่นรมย์ ความปรารถนา ความรัก ความเอื้ออาทร ที่ประสานสัมพันธ์ต่อกัน บันดาลใจให้เกิดจิตนาการแห่งการสร้างสรรค์ท่พี ร้อม จะผลิบานในจิตใจของมนุษย์

วัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงาน ข้ า พเจ้ า ต้ อ งการนำ � เสนอถึ ง ความรั ก ที่ มี ต่ อ ธรรมชาติ การเชือ่ มโยงประสานสัมพันธ์กนั ของมนุษย์ กับธรรมชาติ มุง่ แสดงออกถึงความดีงามทางปัญญา และจิตใจ เพื่อความเข้าใจในคุณค่าของงานศิลปะ แนวความคิด มุ่งแสดงถึงสุนทรียภาพ อารมณ์และความรู้สึก ของการดำ�รงอยู่ของชีวิต กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน 1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูล 2. นำ�ข้อมูลมาสังเคราะห์ผ่านกระบวนการทาง ศิลปะ โดยทำ�ภาพร่าง (SKETCH) เพื่อหา ต้นแบบที่สมบูรณ์ 3. ทำ�การสร้างสรรค์ผลงานจริง

111


วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน 1. เฟรมผ้าใบ 2. สีอะครายลิค 3. พู่กันชนิดต่างๆ 4. จานผสมสี 5. ดินสอ ยางลบ 6. กระดาษชนิดต่างๆ 7. กล้องถ่ายรูป เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน จิตรกรรมสีอะครายลิค ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ 50 x 70 เซนติเมตร

เอกสารอ้างอิง ชลูด นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์, 2553. พิษณุ ศุภนิมิตร. มหัศจรรย์แห่งศิลปะ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์, 2549.

ภาพแบบร่าง

112



ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE กะลาสีขาว Natural Ware ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์กรธนา กองสุข Asst. Prof. Kornthana Kongsuk

แนวความคิด พื้นที่ว่างของวัตถุในธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นโดยมนุษย์นำ�มาใช้เป็น “ภาชนะจากธรรมชาติ” ใช้เป็นสิ่ง รองรับ-บรรจุ สิ่งต่างๆ ที่เราต้องการ สร้างขึ้นโดยผู้ที่พบเห็นในคุณค่า และนำ�มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้มากเท่า ที่เรารู้คุณค่าของสิ่งนั้นๆ เทคนิค : วัสดุ Porcelain เผาที่อุณหภูมิ 1,230 องศา ขนาด : 14 x 15 x 8.5 เซนติเมตร

114


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE โครงการออกแบบตกแต่งภายในศูนย์ 3 วัยสานสายใยรักแห่งครอบครัว ตำ�บลทุ่งสมอ อำ�เภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ในพระอุปถัมถ์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์กศิตินทร ชุมวรานนท์ Kasitin Chumwaranond

แนวความคิด “นาดอนทุ่งสมอ” การทำ�นาเป็นอาชีพหลักที่ภาคภูมิใจของชาวทุ่งสมอ ก่อเกิดความสามัคคีกลมเกลียว พึ่งพา สร้างสานสายใยผูกพันคนท้องถิ่น ชาวบ้านทุ่งสมอปลูกข้าวได้เป็นจำ�นวนมาก เป็นข้าวปลอดสารพิษ มีกลิ่นหอม ข้าวหอมมะลิบ้านทุ่งสมอมีเอกลักษณ์พิเศษของข้าวไม่เหมือนที่อื่นๆ “แดงเหมือนดอกมะขาม” ออกแบบภาพประกอบข้อมูล : อาจารย์พัฒนา เจริญสุข

115


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE เจดียะ = ระลึกถึง ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์เกษร ผลจำ�นงค์ Kaysorn Poljumnong

แนวความคิด เคารพ ครูบาอาจารย์ พื้นบ้านไทย เทคนิค : ประติมากรรมไม้ไผ่ ขนาด : 140 x 60 x 60 เซนติเมตร

116


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE โครงการออกแบบบ้านพักอาศัยคุณอุไรลักษณ์ แสงสุขเอี่ยม หมู่บ้านชิชา ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์เฉลิมใจ บัวจันทร์ Chalermual Buajan

117


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE รู้แจ้งเห็นจริง Enlightenment ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์เทิดศักดิ์ เหล็กดี Terdsak Lakedee

แนวความคิด ผลงานรู้แจ้งเห็นจริง ถูกสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อนำ�ไปติดตั้ง ณ ห้องเรียนสำ�หรับพระภิกษุสงฆ์และผู้ศึกษา พุทธศาสนา ภายในอาคารมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุฯ กรุงเทพฯ เทคนิค : สีอะคลีลิค ขนาด : 80 x 100 เซนติเมตร 118


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE “หยุด” หมายเลข 1 “STOP No. 1” ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ พิชยะสุนทร Asst. Prof. Prasert Phichayasuntorn

เทคนิค : สื่อผสม ขนาด : 39 x 29 x 99 เซนติเมตร

119


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE เครื่องกรองอากาศฆ่าเชื้อโรคด้วยหลอดลำ�แสง UVC ZEED AIR ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐไท พรเจริญ Asst. Prof. Ratthai Porncharoen (Ph.D.)

แนวความคิด เป็นการออกแบบภายนอกที่แสดงถึงการจัดวางภายใน โดยมีพัดลมขนาดเล็กที่พัดผ่านหลอดลำ�แสง UVC ในการฆ่าเชื้อโรคเพื่อนำ�มาใช้ในรถยนต์ โดยงานนี้เป็นผลงานการออกแบบส่วนหนึ่งให้กับ คุณ ธวัชชัย นาคเกษมสุวรรณ เจ้าของบริษัท P.T. SALES AND SERVICE CO., LTD. เทคนิค : สีอะคลีลิค ขนาด : โปสเตอร์ 80 x 150 x 10 เซนติเมตร

120


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ของขลัง The amulet ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์วรภรรท สิทธิรัตน์ Vorapat Sithiratn

แนวความคิด แต่อดีตกาลมนุษย์ทุกเชื้อชาติทุกภาษาต่างต้องการที่พึ่งทางใจ ไม่ว่าจะศาสนาใดหรือแม้แต่คนที่ไม่มี ศาสนา ด้วยเหตุนั้นจึงได้มีการสร้างสึ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ เช่น รูปเคารพหรือสิ่งบูชา และโดยเฉพาะคนไทย เรานั้นได้ถูกปลูกฝังในเรื่องราวเหล่านี้ จนหล่อหลอมรวมเป็นส่วนหนึ่งในสังคมและชีวิตก็ว่าได้ เพียงแต่ ปาฏิหารย์จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีศรัทธา เทคนิค : ไฟเบอร์กลาส ขนาด : 40 X 40 x 90 เซนติเมตร 121


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ซ่อน-หา Hide-and-Seek ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรรณณา ธิธรรมมา Asst. Prof. Wanna Thithamma

เทคนิค : Used Porcelain for casting form, Used Feldspar glaze 1200 ‘C for glazing ขนาด : 12 x 28 เซนติเมตร

122


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE เสน่ห์ Charm ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์วรุษา อุตระ Varusa Utara

แนวความคิด ความงาม วัฒนธรรม ประเพณี เปรียบดั่งแสงสะท้อนที่ระยิบระยับจากจิตใจคนที่หลอมรวมกัน เทคนิค : งานทอผสม ขนาด : 30 x 56 เซนติเมตร

123


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE สีสันแห่งตะวันออก Color of Asian ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภกา ปาลเปรม Asst. Prof. Supphaka Palprame

แนวความคิด ความมั่งคั่งทางศิลปะและวัฒนธรรมแสดงออกได้ถึงความเป็นดินแดนแห่งตะวันออก เช่นเดียวกับ เคลือบ Oil Spot ที่เป็นเคลือบยุคโบราณ มีแหล่งกำ�เนิดอยู่ในแถบเอเชีย ได้รับความนิยมมาตลอดกระทั่ง ปัจจุบัน ความอุดมสมบูรณ์และความมั่งคั่งทางวัฒนธรรมที่แสดงออกได้ในรูปเคารพ วัด และโบราณสถาน ต่างๆ เทคนิค : เทคนิคเซรามิกส์ เนื้อดินสโตนแวร์ (Stoneware Body) ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน (WheelThrowing) เคลือบ Oil Spot เผาที่ระดับอุณหภูมิ 1250 องศาเซลเซียส บรรยากาศออกซิเดชัน ตกแต่งด้วยการเขียนสีทอง ขนาด : ชิ้นที่ 1 เส้นผ่าศูนย์กลาง 21 x สูง 20 เซนติเมตร ชิ้นที่ 2 เส้นผ่าศูนย์กลาง 21.5 x สูง 28 เซนติเมตร 124


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE แบบร่างอุทยานพระธาตุ วัดน้ำ�ม้า อำ�เภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์สมบัติ วงศ์อัศวนฤมล Sombat Wongarsavanarumon

แนวความคิด ออกแบบพระเจดีย์ ถวายเป็นพุทธชยันตี ๒,๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและถวาย เป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 125


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ทศบารมี ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์สมพงษ์ แสงอร่ามรุ่งโรจน์ Sompong Seangaramroungroj

แนวความคิด ข้าพเจ้าต้องการบอกเล่าถึงการปฏิบัติพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอันเป็นสิ่ง ที่นา่ ประทับใจอย่างยิ่ง เป็นความรู้สึกที่อยู่ในใจของข้าพเจ้ามาตลอดของการทำ�งานศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับ พระองค์ท่านการเลือกประเภทและลักษณะของวัสดุที่นำ�มาสร้างงานเป็นไปตามความรู้สึกที่เป็นส่วนตัว ของข้าพเจ้า นั่นคือการรับรู้ถึงความเปลี่ยนแปลงอันเป็นสัจธรรมของโลก อย่างไรก็ตามแผ่นไม้มุงหลังคา เก่าๆ ที่แสดงถึงการผ่านมิติของเวลามาอย่างยาวนานก็ยังบ่งบอกถึงคุณค่าในตัวของมันเองที่ได้ทำ�หน้าที่ มาแล้วอย่างสมบูรณ์ ความรู้สึกที่มีต่อพระองค์ก็เช่นกัน ตลอดระยะเวลากว่า 60 ปีที่พระองค์ท่านได้ให้ สิ่งดีๆ แก่ปวงชนชาวไทยอย่างอเนกอนันต์ วันนี้พระองค์ท่าน 85 พรรษาแล้ว พระองค์คือพระโพธิสัตว์ใน ความรู้สึกของข้าพเจ้า ที่ทรงบำ�เพ็ญบารมีเพื่อประโยชน์สุขของพสกนิกรอย่างแท้จริงดั่งทศบารมี เทคนิค : สีอะครีลิคบนแผ่นแป้นเกล็ด ขนาด : 80 X 120 เซนติเมตร 126


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ร้าว-ราน The moment of Happiness ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์สยุมพร กาษรสุวรรณ Asst. Prof. Sayumporn Kasornsuwan

เทคนิค : เผารมควันด้วยใบไม้ ขนาด : 78 x 80 x 27 เซนติเมตร

127


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE รูพรุนช่องว่าง งานสร้างสรรค์ The moment of Happiness ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์สิทธิโชค ชัยวรรณ Sahathep Thepburi

แนวความคิด ความพรุนหรือช่องว่างเกิดได้ทุกที ไม่ว่าจะเป็นเนื้อและผิววัสดุ ความพรุนกับความงามเป็นเป็นศาสตร์ สองสิ่งที่สามารถนำ�มารวมกันได้ เพียงแค่คนมองต้องการความงามเพียงใด ต้องการความพรุนปุปะมาก เพียงไหน ดอกไม้ใบหญ้าต่างเกิดสีสันเพราะความพรุนของร่องกลีบดอกและแสงเงา เกิดจินตนาการคนละ แบบคนละมุม เทคนิค : วัสดุ ดินแดง ดอกไม้แห้ง ขนาด : สูง 25 เซนติเมตร

128


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE ขลุ่ยดินเผา ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์สืบพงศ์ เผ่าไทย Asst. Prof. Suebpong Powthai

เทคนิค : slip casting terracotta ขนาด : 4 x 11 เซนติเมตร

129


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE Blossom ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์เสาวลักษณ์ กบิลสิงห์ Saowaluck Kabilsingh

แนวความคิด แม้ว่าสังคมทุกวันนี้จะเต็มไปด้วยเทคโนโลยี วิทยาการ การแข่งขัน รูปแบบชีวิตที่เปลี่ยนไปจากเดิม มาก แต่ชีวิตยังคือชีวิต แม้เปลี่ยนรูปแบบไปยังคงดำ�เนินไปตามวัฏ ครรลองของโลก เจริญเติบโต งอกงาม สิ่งใหม่แทนสิ่งเก่า ข้าพเจ้าพบเห็นสิ่งมีชีวิตที่ยังคงดำ�เนินอยู่รอบตัวเช่นเดียวกับเรา จึงต้องการแสดงถึง การมีชีวิตอยู่ของสิ่งมีชีวิต ความงดงาม การเริ่มต้น โดยใช้รูปแบบการผสมผสานของสิ่งมีชีวิตเหล่านั้นที่ยัง คงเป็นหนึ่งเดียวกัน เทคนิค : สื่อผสม ขนาด : 33 x 50 x 75 เซนติเมตร 130


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE La Famiglia ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER อาจารย์หิรัญกฤษฏิ์ ภัทรบริบูรณ์กุล Hirankrit Bhattaraboriboonkul

แนวความคิด ในปี พ.ศ. 2504 สมาชิกในครอบครัวสมิทธิกุลถ่ายรูปร่วมกัน ณ ห้องภาพแห่งหนึ่งในจังหวัด พิษณุโลก โดยมีนายสมบูรณ์ และนางสุนิตย์ (แถวบนจากซ้ายไปขวา) เด็กหญิงพรสรวง เด็กชายเอกมล และเด็กหญิงปริยา (แถวล่างจากซ้ายไปขวา) ขาดก็แต่เพียงเด็กหญิงเตือนใจผู้เป็นลูกสาวคนโต เธอเลือก ที่จะอยู่บ้าน ผมคิดว่ารูปครอบครัวของคุณยายใบนี้แลดูไม่สมบูรณ์ ผมอยากเห็นสมาชิกทุกคนในครอบครัว สมิทธิกุลได้อยู่กันอย่างพร้อมหน้าพร้อมตาอีกครั้งหนึ่ง ในปีนี้ ถึงแม้ว่านายเปโตร สมบูรณ์ สมิทธิกุล ผู้เป็นคุณตาของผมไม่สามารถมาถ่ายรูปกับทุกคนได้ แต่หากท่านยังมีชีวิตอยู่ ผมเชื่อว่าท่านจะมีความสุขที่ได้เห็นป้าเตือน แม่ของผม น้าปี่ น้าอุ๋ย และภรรยาผู้เป็น ที่รักของท่านในรูปครอบครัวสมิทธิกุลใบใหม่นี้ ความสุขของครอบครัวก็คือการได้อยู่กันอย่างพร้อมหน้า ชื่อภาพ “La Famiglia” นายเอกมล และนางสุนิตย์ สมิทธิกุล (แถวบนจากซ้ายไปขวา) นางสรธรัช ตันสุหัช นางเตือนใจ สมิทธิกุล และนางปรียา ทองเพ็ชร์ (แถวล่างจากซ้ายไปขวา) เทคนิค : การออกแบบเครื่องแต่งกายเฉพาะบุคคลโดยใช้ผ้าไหมไทย ประเภทเครื่องแต่งกายสตรี จำ�นวน 4 ชุด และเครื่องแต่งกายบุรุษ จำ�นวน 1 ชุด และการถ่ายภาพ 131


ชื่อผลงานสร้างสรรค์ | TITLE งานออกแบบสถาปัตยกรรมและภายในอาคารแนวใหม่ ชื่อผู้สร้างสรรค์ | ARTIST/DESIGNER ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง Asst. Prof. Akekapong Treetrong

แนวความคิด “เดอะ พรอมมิส” เริ่มต้นการออกแบบจากความคิด 360 องศา บรรจงสร้างสรรค์จากลายเส้น โดย ผูกเรื่องราวร้อยเรียงกันทั้งโครงการ การออกแบบสภาพแวดล้อมภายใน และรูปลักษณ์ภายนอก มีความ กลมกลืน กลมกล่อมสอดคล้องกันอย่างลงตัว คำ�นึงถึงการอยู่อาศัยของคนเมืองที่มีคุณภาพอีกทั้งสะท้อน ลายเส้นสุนทรียภาพเพื่อสร้างคุณค่าทางสถาปัตยกรรม คำ�นึงถึงอารยะสถาปัตย์ (UNIVERSAL DESIGN) คือ การออกแบบที่คำ�นึงถึงองค์ประกอบรอบด้าน และผู้อยู่ทุกเพศทุกวัยทุกสถานะ ลายเส้นของโครงการนี้ปรากฏเป็นเอกลักษณ์ด้วยการปฏิบัติการเวิร์คช็อปบ่มลายเส้นของอาคารให้มี มุมมองที่งดงามคำ�นึงถึงขนาดสัดส่วนที่พอเหมาะ เส้นสายที่พลิ้วไหวของโครงการนี้เกิดจากการเรียงร้อย รูปทรงจากธรรมชาติ โดยคัดองค์ประกอบเพื่อได้รูปทรงอันเหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอย ตัวอาคารมี ลักษณะเฉพาะคล้ายต้นไม้ ใบไม้ที่มีทั้งระนาบ เส้น ทึบ โปร่ง เกิดแสงเงาที่ร่มรื่นในตอนกลางวัน และแสง สว่างที่ลอดผ่านเส้นสายที่งดงามจากภายในช่วงเวลากลางคืน

132


แนวความคิด โครงการ “ดิ เอ็กซ์ทรีม” ไอเดียสร้างสรรค์ที่ฉีกกฎเกณฑ์การออกแบบโรงแรมขนาดเล็กแนวใหม่ที่ ไม่ใช่กล่องไม้ขีดสี่เหลี่ยมที่มีเห็นทั่วไป โดยจะนำ�เอาเส้นสายที่พลิ้วไหวเสมือนการเล่นกีฬาที่ผาดโผนตื่นเต้น ทั้งภายในและภายนอกมีการออกแบบให้สอดคล้องกันในทุกจุด และทุกรายละเอียดตั้งแต่งานกราฟิก งาน ออกแบบผลิตภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ ออกแบบภายใน ออกแบบสถาปัตยกรรม และการออกแบบภูมิสถาปัตย์ ที่สอดคล้องกันทั้งโครงการ โดยมีลายเส้นชุดเดียวกันทั้งหมด คาดว่าจะทำ�ให้ย่านรามคำ�แหงเกิดความคึกคัก และเปลี่ยนมุมมองใหม่ของนักลงทุนที่ไม่ต้องการมีรูปแบบซ้ำ�ๆ อีกต่อไป โดยรูปแบบรูปทรงอาคารนั้นผ่านการกลั่นกรองให้เกิดความงามที่ลงตัวด้วยการสเกตซ์อย่างกลมกล่อม หลายๆ ครั้ง ซ้ำ�ๆ กันจนเกิดรูปทรงที่ลงตัวที่สุด ทำ�ให้เกิดเป็นรูปแบบอาคารที่ทันสมัย และมีอารยธรรม ทางลายเส้นเป็นของตัวเอง เส้นที่นุ่มนวลพลิ้วไหวเหล่านี้ทำ�ให้อาคารมีความน่าสนใจ เกิดมุมมองที่แตกต่าง แปลกตา อีกทั้งทำ�ให้เกิดความจดจำ�ต่อสถานที่ได้เป็นอย่างดี ส่งผลสู่ความประทับใจของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ที่วางเอาไว้ 133


แนวความคิด โครงการ “THE LOX” ที่วางแผนร่วมกับทีมงาน “อยู่สบาย” ตั้งใจจะให้เป็นจุดเริ่มของการออกแบบ โรงแรมขนาดเล็กแนวใหม่ ในระบบที่เป็นมาตรฐานของเซล คำ�ว่า LOX เป็นคำ�ที่พัฒนามาจากคำ�ว่า LOCK โดยการออกแบบจะเกิดจากการนำ�ระบบการผลิตที่ให้ชิ้นส่วนสามารถ LOCK เข้ากันได้ เมื่อเปลี่ยนคำ� ลงท้ายเป็น X โดยหมายถึงการประกบกันของไม้หรือชิ้นส่วนรูป X นั่นหมายถึง การต่อเชื่อมกันจาก 2 วัตถุ ที่อาจจะมีชนิดที่แตกต่างกัน หรือ วัตถุประเภทเดียวกันแล้วขยายสู่โครงสร้างที่ใหญ่ขึ้น ตามขนาดสัดส่วน ที่เหมาะสมตามระบบอุตสาหกรรม เป็นการแตกตัวจากความคิดและจุดเริ่มต้นที่เล็กที่สุดสู่กระบวนการ ที่ใหญ่ที่สุดในโครงการ คือ เริ่มต้นจากเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่ง ขยายสู่พื้นที่ห้อง โซนตำ�แหน่งที่ตั้ง ไปจนถึงบรรยากาศภายในทั้งหมด ทะลุสู่โครงสร้างสถาปัตยกรรมภายนอก และแลนด์สเคปให้เป็นเนื้อ เดียวกัน โดยใช้หลักคิดในระบบโมดูล่า โดยคำ�นึงถึงขนาดที่แตกตัวจาก 1 ไป 2 จาก 2 ไป 4 ให้สอดคล้อง กับอุตสาหกรรมการผลิต โครงการเดอะล็อกซ (THE LOX) โครงการแรกที่จะเริ่มต้นจากกลางเมืองภูเก็ต ในเนื้อที่เพียง 300 ตารางวากว่าๆ แล้วจะดำ�เนินการขยายโครงการสู่โครงการสาขาอื่นต่อไป

134


รายนามผู้แสดงผลงานสร้างสรรค์ ประกอบบทคัดย่อขนาดยาว 1. Tan Yee Noh 2. อาจารย์ชนิศา ชงัดเวช 3. ผศ. ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ 4. อาจารย์ชาติชาย คันธิก 5. อาจารย์ชานนท์ ไกรรส 6. อาจารย์ณัฏฐินี ผายจันเพ็ง 7. อาจารย์ณัฐรฐนนท์ ทองสุทธิพีรภาส 8. อาจารย์ดรุพร เขาจารี 9. อาจารย์ธาตรี เมืองแก้ว 10. ผศ. ธีรวัฒน์ งามเชื้อชิต 11. ผศ. ดร. น้ำ�ฝน ไล่สัตรูไกล 12. อาจารย์บวรรัตน์ คมเวช 13. อาจารย์ปฐมาภรณ์ ประพิศพงศ์วานิช 14. อาจารย์ปนท ปลื้มชูศักดิ์ 15. ผศ. ประภากร สุคนธมณี 16. อาจารย์ปิติ คุปตะวาทิน 17. อาจารย์พัฒนา เจริญสุข 18. ผศ. พิทักษ์ สง่า 19. ผศ. ไพรวัลย์ ดาเกลี้ยง 20. รศ. ดร. ไพโรจน์ ชะมุนี 21. อาจารย์ภูษิต รัตนภานพ 22. อาจารย์ ดร. วีรวัฒน์ สิริเวสมาศ 23. อาจารย์ศิดาลัย ฆโนทัย 24. อาจารย์สหเทพ เทพบุรี 25. อาจารย์สุคนธรส คงเจริญ 26. ผศ. ร.ต.อ. ดร. อนุชา แพ่งเกษร 27. ผศ. อาวิน อินทรังษี 28. อาจารย์อิทธิพล วิมลศิลป์ 29. อาจารย์อินทรธนู ฟ้าร่มขาว 30. อาจารย์อุณรุท กสิกรกรรม

รายนามผู้แสดงผลงานสร้างสรรค์ 1. ผศ. กรธนา กองสุข 2. อาจารย์กศิตินทร ชุมวรานนท์ 3. อาจารย์เกษร ผลจำ�นงค์ 4. อาจารย์เฉลิมใจ บัวจันทร์ 5. ผศ. เทิดศักดิ์ เหล็กดี 6. ผศ. ประเสริฐ พิชยะสุนทร 7. ผศ. ดร. รัฐไท พรเจริญ 8. อาจารย์วรภรรท สิทธิรัตน์ 9. ผศ. วรรณณา ธิธรรมมา 10. อาจารย์วรุษา อุตระ 11. ผศ. ศุภกา ปาลเปรม 12. อาจารย์สมบัติ วงศ์อัศวนฤมล 13. อาจารย์สมพงษ์ แสงอร่ามรุ่งโรจน์ 14. ผศ. สยุมพร กาษรสุวรรณ 15. อาจารย์สิทธิโชค ชัยวรรณ 16. ผศ. สืบพงศ์ เผ่าไทย 17. อาจารย์เสาวลักษณ์ กบิลสิงห์ 18. อาจารย์หิรัญกฤษฏิ์ ภัทรบริบูรณ์กุล 19. รศ. เอกชาติ จันอุไรรัตน์ 20. ผศ. เอกพงษ์ ตรีตรง

135


รายละเอียดโครงการทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม 1. ชื่อโครงการ โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านศิลปะและการออกแบบจากปฏิบัติการสร้างสรรค์สู่ชุมชน : การแสดงนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์ ประจำ�ปี 2555 2. หลักการและเหตุผล คณะมัณฑนศิลป์ ก่อตั้งเมื่อ 18 พฤษภาคม 2499 นับถึงปัจจุบันเป็นเวลา 56 ปี ที่ได้เปิดทำ�การ เรียนการสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรีใน 7 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการออกแบบภายใน สาขาวิชา การออกแบบนิเทศศิลป์ สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ สาขาวิชาประยุกตศิลปศึกษา สาขาวิชาเครื่อง เคลือบดินเผา สาขาวิชาการออกแบบเครื่องประดับ และสาขาวิชาการออกแบบเครื่องแต่งกาย จัดการ เรียนการสอนในหลักสูตรระดับปริญญาโท 6 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ สาขา วิชาประยุกตศิลปศึกษา สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา สาขาวิชาการออกแบบภายใน สาขาวิชาออกแบบ ผลิตภัณฑ์ และสาขาวิชาออกแบบเครื่องประดับ และจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาเอก 1 สาขา คือสาขาวิชาศิลปะการออกแบบ (หลักสูตรนานาชาติ) คณาจารย์ประจำ�ของคณะมัณฑนศิลป์มีความเชี่ยวชาญ มีผลงานทางศิลปะปฏิบัติ และผลงาน ทางวิชาการเป็นที่ยอมรับในวงวิชาชีพ ดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนางานทางวิชาชีพและวิชาการทั้ง ในหมู่คณาจารย์และในวงวิชาชีพ ทางคณะฯจึงมีนโยบายจัดแสดงนิทรรศการผลงานอาจารย์ประจำ�คณะ มัณฑนศิลป์ โดยจัดแสดงนิทรรศการ ณ หอศิลปะและการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร ทั้งนี้ได้กำ�หนดให้วันที่ 15 กันยายน “วันศิลป์ พีระศรี” ของทุกปีเป็นวันเปิดแสดงนิทรรศการ เพื่อ ถือเป็นเกียรติแด่ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ปูชนียบุคคล ผู้วางรากฐานการศึกษาศิลปะร่วมสมัยของไทย ที่มีคุณค่ายิ่งแก่มหาวิทยาลัยศิลปากร และวงการศิลปะร่วมสมัยไทย การจัดโครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านศิลปะและการออกแบบจากปฏิบัติการสร้างสรรค์สู่ชุมชน : การแสดงนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์ ประจำ�ปี 2555 นอกจากจะนำ� เสนอผลงานอาจารย์ประจำ�คณะมัณฑนศิลป์ดังเช่นทุกปีแล้ว จะได้เชิญนักวิชาการ นักออกแบบ ศิลปิน จากสถาบันต่าง ๆ มาร่วมนำ�เสนอและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านศิลปะและการออกแบบจากปฏิบัติการ สร้างสรรค์ของท่านเหล่านั้นในครั้งนี้ด้วย เพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้ด้านศิลปะและการออกแบบให้ขยาย ออกสู่สาธารณชนในวงกว้าง เป็นการสื่อสารด้านความคิด ความรู้สึกด้วยปัญญาที่สร้างสรรค์ต่อสังคม ระหว่างคณาจารย์ นักศึกษา ผู้ชมและผู้สนใจทั่วไป เป็นการเสนอแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานโดยอิสระ ในลักษณะที่สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์และเชื่อมโยงความรู้สึกต่อผู้ชมเป็นสำ�คัญ และเป็นการจัดกิจกรรม ร่วมในโอกาสวันศิลป์ พีระศรี ของมหาวิทยาลัยศิลปากร

136


3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 3.1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์ นักออกแบบ ศิลปินสร้างสรรค์และพัฒนาผลงาน ออกแบบทางศิลปะและผลงานทางวิชาการเผยแพร่แก่สาธารณชน 3.2 เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ สถานะความรู้ ความเข้าใจและสร้างเสริมรสนิยม มาตรฐาน ทาง ศิลปะและการออกแบบในสาขาวิชามัณฑนศิลป์แก่นักเรียน นักศึกษา ประชาชน และผู้สนใจทั่วไป 4. เป้าหมายจำ�นวนผู้เข้าร่วมโครงการ 4.1 คณาจารย์ นักวิชาการ นักออกแบบ มัณฑนากร จำ�นวน 20 คน 4.2 คณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์ นำ�เสนอผลงานนิทรรศการ จำ�นวน 50 คน 4.2 นักศึกษา และประชาชนผู้สนใจทั่วไป จำ�นวนประมาณ 330 คน 5. แผนการดำ�เนินงาน / วิธีดำ�เนินการ แผนงาน

2554 ตค.มค. ธ.ค

2555 กพ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย

1. วางแผนดำ�เนินโครงการ/ขออนุมัติ โครงการ 2.แต่งตั้งคณะกรรมการ 3.ประชุมกรรมการเตรียมแผนงาน 4. แจ้งคณาจารย์เข้าร่วมโครงการและ ประชาสัมพันธ์ 5. รวบรวมการตอบรับ 6.เตรียมการจัดสัมมนาและปฏิบัติการ สร้างสรรค์ผลงาน 7. จัดทำ�-ส่งเอกสาร ประชาสัมพันธ์ 8. ประสานงานผู้อ่าน (Peer)ประสาน งานผู้เสนอและจัดทำ�สิ่งพิมพ์ 9. ติดตั้งผลงาน/แสดงงาน 10. สรุปค่าใช้จ่าย ประเมินผล และ รายงานผลโครงการ

137

ก.ค. ส.ค. ก.ย.


6. ระยะเวลาและสถานที่ดำ�เนินการ 6.1 การสัมมนาและปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานต้นแบบ ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2555 6.2 จัดแสดงนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน ระหว่างวันที่ 15 - 30 กันยายน 2555 ณ หอศิลปะและการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ 7. ประมาณการใช้จ่าย 7.1 จากเงินรายได้นอกงบประมาณ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 แผนงานทำ�นุบำ�รุงศิลป วัฒนธรรม จำ�นวน 250,000 บาท (สองแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) ตามประมาณการดังนี้ 7.1.1 ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์การผลิตผลงานต้นแบบ หรือผลงานศิลปะ และ การออกแบบ ค่าตอบแทน ใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมจำ�นวน 50,000 บาท - ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานวิชาการ 5,000 บาท - ค่าสนับสนุนการจัดซื้อวัสดุสร้างสรรค์ผลงาน 40,000 บาท - ค่าตอบแทนอื่น ๆ 2,000 บาท - ค่าวัสดุอื่น ๆ 2,000 บาท - ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ 1,000 บาท 7.1.2 ค่าใช้จ่ายในการจัดทำ�สูจิบัตรและวัสดุติดตั้งผลงาน ค่าตอบแทน ใช้สอย ค่าวัสดุ และ ค่าสาธารณูปโภค รวมจำ�นวน 200,000 บาท - ค่าจัดพิมพ์โปสเตอร์ บัตรเชิญ และจัดส่ง 10,000 บาท - ค่าถ่ายภาพผลงานและประชาสัมพันธ์ 10,000 บาท - ค่าอาหารทำ�การนอกเวลา 1,000 บาท - ค่าตอบแทนอื่น ๆ 2,000 บาท - ค่าใช้จ่ายในการจัดทำ�สูจิบัตรและอาร์ตเวิร์ค 170,000 บาท - ค่าวัสดุอื่น ๆ 4,000 บาท - ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ 3,000 บาท หมายเหตุ ขอถัวจ่ายทุกรายการ

138


8. ตัวชี้วัดผลสำ�เร็จจากการดำ�เนินงาน ตัวชี้วัด

หน่วยนับ

ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - ผู้เข้ารับบริการนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - ความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่รับบริการวิชาการและวิชาชีพ ต่อประโยชน์จากการบริการ ผลผลิต ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - จำ�นวนผู้เข้ารับบริการ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - ความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ ตัวชี้วัดเชิงเวลา - งานบริการวิชาการแล้วเสร็จตามระยะเวลา ตัวชี้วัดเชิงต้นทุน - ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร

ร้อยละ

แผน 2555

ผล 2555

80

ร้อยละ

80

คน

400

ร้อยละ

80

ร้อยละ

100

บาท

250,000

9. หน่วยงานที่รับผิดชอบ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 10.1 ได้รวบรวมองค์ความรู้ศิลปะการออกแบบ และเผยแพร่เพื่อการใช้ประโยชน์ในวงกว้างก่อ ให้เกิดการพัฒนาผลงานทางศิลปะและวิชาการสาขามัณฑนศิลป์ทั้งในหมู่อาจารย์และในวงวิชาชีพ 10.2 เกิดแนวความคิดและวิธีการเพิ่มเติมเพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนาวงการศิลปะการ ออกแบบของประเทศ 10.3 เป็นกิจกรรมการประชาสัมพันธ์คณะมัณฑนศิลป์ ให้เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป 10.4 ได้ร่วมจัดกิจกรรมเนื่องในโอกาส วันศิลป์ พีระศรี ของมหาวิทยาลัยศิลปากร

139


คำ�สั่งคณะมัณฑนศิลป์ ที่ / ๒๕๕๕ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาผลงาน โครงการนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์ ประจำ�ปี ๒๕๕๕ ……………………………. เพื่อให้การนำ�เสนอผลงานโครงการนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์ คณะมัณฑนศิลป์ ประจำ�ปี ๒๕๕๕ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางวิชาการ ที่ประชุมคณะกรรมการ อำ�นวยการโครงการนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์ คณะมัณฑนศิลป์ ประจำ�ปี ๒๕๕๕ ครั้ง ที่ ๑/๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๕ จึงมีมติแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาผลงานสร้างสรรค์ของ คณาจารย์ ประกอบด้วยบุคคลผู้มีตำ�แหน่งรายชื่อ ดังต่อไปนี้

๑. ศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณี ๒. ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัย สายสิงห์ ๓. รองศาสตราจารย์ชัยนันท์ ชะอุ่มงาม ๔. คณบดีคณะมัณฑนศิลป์ ๕. รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย ๖. รองคณบดีพระราชวังสนามจันทร์ ๗. หัวหน้าภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน ๘. หัวหน้าภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ๙. หัวหน้าภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ ๑๐. หัวหน้าภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา ๑๑. หัวหน้าภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา ๑๒. หัวหน้าภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ ๑๓. หัวหน้าภาควิชาการออกแบบเครื่องแต่งกาย ๑๔. นายศุภฤกษ์ ทับเสน

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ

สั่ง ณ วันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

(รองศาสตราจารย์เอกชาติ จันอุไรรัตน์) คณบดีคณะมัณฑนศิลป์

140


คำ�สั่งคณะมัณฑนศิลป์ ที่ ๓๗ / ๒๕๕๕ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการอำ�นวยการ โครงการนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์ คณะมัณฑนศิลป์ ประจำ�ปี ๒๕๕๕ ……………………………. เพื่อให้การดำ�เนินงานตามโครงการจัดแสดงนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์คณะ มัณฑนศิลป์ ประจำ�ปี ๒๕๕๕ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะกรรมการอำ�นวยการ ประกอบด้วย ผู้ดำ�รงตำ�แหน่ง และรายชื่อดังต่อไปนี้ ๑. รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย ประธานกรรมการ ๒. หัวหน้าภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน กรรมการ ๓. หัวหน้าภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ กรรมการ ๔. หัวหน้าภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ กรรมการ ๕. หัวหน้าภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา กรรมการ ๖. หัวหน้าภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา กรรมการ ๗. หัวหน้าภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ กรรมการ ๘. หัวหน้าภาควิชาการออกแบบเครื่องแต่งกาย กรรมการ ๙. รองศาสตราจารย์ปรีชา ปั้นกล่ำ� กรรมการ ๑๐. อาจารย์สัญญา สุขพูล กรรมการ ๑๑. อาจารย์กัญชลิกา กัมปนานนท์ กรรมการ ๑๒. อาจารย์ตรีชฎา โชติรัตนาภินันท์ กรรมการ ๑๓. อาจารย์ทวีศักดิ์ มูลสวัสดิ์ กรรมการ ๑๔. อาจารย์ชานนท์ ไกรรส กรรมการ ๑๕. หัวหน้างานบริหารและธุรการ กรรมการ ๑๖. นายศุภฤกษ์ ทับเสน กรรมการและเลขานุการ ๑๗. นางภาวนา บุญปก กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ สั่ง ณ วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕

(รองศาสตราจารย์เอกชาติ จันอุไรรัตน์) คณบดีคณะมัณฑนศิลป์ 141


คำ�สั่งคณะมัณฑนศิลป์ ที่ ๓๘ / ๒๕๕๕ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงาน โครงการนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์ คณะมัณฑนศิลป์ ประจำ�ปี ๒๕๕๕ ……………………………. เพื่อให้การดำ�เนินงานตามโครงการจัดแสดงนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์คณะ มัณฑนศิลป์ ประจำ�ปี ๒๕๕๕ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงาน ประกอบด้วย ผู้ดำ�รงตำ�แหน่ง และรายชื่อดังต่อไปนี้ ฝ่ายสิ่งพิมพ์และประชาสัมพันธ์ ๑. อาจารย์อนุชา แสงสุขเอี่ยม ประธาน ๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อติวรรธน์ วิรุฬห์เพชร กรรมการ ๓. อาจารย์ ดร.ชลฤทธิ์ เหลืองจินดา กรรมการ ๔. นายวุฒิ คงรักษา กรรมการและเลขานุการ ๕. นางรัตนา สังข์สวัสดิ์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ๖. นางพจนี ช่วยเจริญ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ๗. นางสาวนัฐญภรณ์ เลิศอนรรฆภัณฑ์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่ความรับผิดชอบ (๑) ประสานงาน รวบรวมบทความ คัดเลือก แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ (๒) จัดทำ�เอกสาร สิ่งพิมพ์ เพื่อการประชาสัมพันธ์ โปสเตอร์ บัตรเชิญ สูจิบัตร และอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง (๓) บันทึกภาพ การดำ�เนินงาน และประสานงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงาน

ฝ่ายรวบรวมผลงานและข้อมูล ๑. รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย ๒. อาจารย์ชนิศา ชงัดเวช ๓. อาจารย์ศรีนาฎ ไพโรหกุล ๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภากร สุคนธมณี ๕. อาจารย์ชานนท์ ไกรรส ๖. นายศุภฤกษ์ ทับเสน ๗. นางสาวอโนมา รัตนน้อย

142

ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ


หน้าที่ความรับผิดชอบ (๑) รวบรวมและพิจารณากลั่นกรองผลงาน ข้อมูลผลงานเพื่อส่งฝ่ายสิ่งพิมพ์และประชาสัมพันธ์ (๒) ตรวจสอบข้อมูล และประสานงานกับผู้เสนอผลงานและคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง

ฝ่ายติดตั้งนิทรรศการ ๑. รองคณบดีพระราชวังสนามจันทร์ ประธาน ๒. อาจารย์ณัฐรฐนนท์ ทองสุทธิพีรภาส กรรมการ ๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพจน์ สิงห์สาย กรรมการ ๔. อาจารย์สมพงษ์ แสงอร่ามรุ่งโรจน์ กรรมการ ๕. อาจารย์ปิติ คุปตะวาทิน กรรมการ ๖. อาจารย์ธาตรี เมืองแก้ว กรรมการ ๗. อาจารย์ภูษิต รัตนภานพ กรรมการ ๘. นางภาวนา บุญปก กรรมการและเลขานุการ ๙. นางสาวปนัดดา เจริญปิติกุล กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่ความรับผิดชอบ (๑) รวบรวมผลงาน วางแผน กำ�กับดูแล ติดตั้งการจัดแสดงผลงานนิทรรศการ (๒) ประสานงานกับคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง

ฝ่ายประเมินผล และการเงิน ๑. นางสาวมุกดา จิตพรมมา ประธาน ๒. นายเปรมชัย จันทร์จำ�ปา กรรมการ ๓. นางสาวจิตตรี ลิ้มรุ่งเรืองรัตน์ กรรมการ ๔. นางนภาพร ทองทวี กรรมการ หน้าที่ความรับผิดชอบ (๑) จัดทำ�แบบลงทะเบียน แบบประเมินผล ติดตาม และสรุปผลการดำ�เนินงาน (๒) ดูแล ตรวจสอบ สรุปค่าใช้จ่าย และประสานงานกับคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง

สั่ง ณ วันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕

(รองศาสตราจารย์เอกชาติ จันอุไรรัตน์) คณบดีคณะมัณฑนศิลป์

143


Eastern Spirit : นิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจำ�ปี 2555 ภาพปก ออกแบบปก ออกแบบจัดวางรูปเล่ม ถ่ายภาพผลงาน ประสานงาน ประสานงานต่างประเทศ ตัวพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ พิมพ์ที่

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เทิดศักดิ์ เหล็กดี อาจารย์อนุชา แสงสุขเอี่ยม ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี และอาจารย์อนุชา แสงสุขเอี่ยม ผู้ช่วยศาสตราจารย์อติวรรธน์ วิรุฬห์เพชร ศุภฤกษ์ ทับเสน อิญทิรา เพชรรัตน์ DB EcoThai | www.dbfont.biz ilastthing Design and Printing โทร. 02 875 1799

144




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.