โครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย Designer of the year 2008
คำนิยม ภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มีขอบข่ายกว้างขวาง ครอบคลุมทั้งการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การส่งเสริมศิลปะทุกแขนง ซึ่งเป็นขุมทรัพย์แห่งความรู้ และเป็นมรดกที่จะสืบทอดจากช่าง ศิลปิน นักออกแบบรุ่นก่อน ๆ สู่รุ่นต่อ ๆ ไป จึงนับเป็นภาระสำคัญส่วนหนึ่งขององค์กรนี้ มหาวิทยาลัยศิลปากร ถือกำเนิดและเติบโตขึ้นมาบนพื้นฐานของการเป็น สถาบันการศึกษาแห่งแรกของประเทศ ที่มุ่งผลิตผู้มีความรู้ความสามารถทางด้าน ศิลปะและการออกแบบ ด้านโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์ ออกไปรับใช้ประเทศชาติ แม้ในระยะต่อมา มหาวิทยาลัยจะได้ขยายขอบข่ายการผลิตบุคลากรให้ครอบคลุม สาขาวิชาต่าง ๆ อย่างหลากหลาย ทั้งสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงการขยายพื้นที่เขตการศึกษาไปยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม และวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ซึ่งหากย้อนหลังกลับไปตลอดช่วงกว่า 60 ปี แห่ง การสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร สามารถกล่าวได้ว่ามหาวิทยาลัยประสบความ สำเร็จในระดับที่น่าพอใจในภารกิจการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และการธำรงรักษา มรดกทางวัฒนธรรมของชาติเสมอมา ถือเป็นจุดแข็งทีต่ อ้ งส่งเสริมให้เข้มแข็งยิง่ ๆ ขึน้ การส่งเสริมงานสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัย รวมถึงงานศิลปะการออกแบบ ตามโครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ระยะที่ 4 (Designer of the Year 2008) ถือเป็นการสร้างมาตรฐานภูมิปัญญาของคนไทยที่สมควรได้ รับการสนับสนุน ยกย่อง และรวบรวมสะสมคุณค่าเหล่านี้ไว้เพื่อความภูมิใจของ นักออกแบบไทยให้ปรากฏต่อสังคมสืบไป ขอแสดงความชื่นชมคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และคณะ กรรมการตัดสินผลงานการออกแบทุกท่าน องค์กรเอกชน สถาบันอุดมศึกษา หน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจนบุคลากรทุกฝ่ายที่ให้การสนับสนุน ให้การดำเนินกิจกรรม เพื่อสร้างเครือข่ายทรัพยากรบุคคลของประเทศด้านศิลปะและการออกแบบ บรรลุวัตถุประสงค์โดยตรงตามที่ได้กำหนดไว้ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ 19 กันยายน 2551
2
คำนำ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้มอบให้คณะมัณฑนศิลป์จัดโครงการคัดสรรนักออกแบบแห่งปีระยะที่ 4 ในปี 2551 ขึ้นอีกวาระหนึ่ง ใน ฐานะที่เป็นสถาบันอุดมศึกษาด้านศิลปะการออกแบบที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงที่สุดของประเทศ คณะมัณฑนศิลป์จึงถือเป็นภารกิจสำคัญที่ จะสนับสนุนการจัดโครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย เพื่อเชิดชูวิชาชีพด้านการออกแบบของไทยเผยแพร่สู่สาธารณชน ผลการคัดสรรนักออกแบบแห่งปี 2551 แสดงให้เห็นถึงความมีคุณภาพของผลงานออกแบบของนักออกแบบไทยที่มีขีดความสามารถในการ แข่งขันผลงานการออกแบบในเวทีสากล และเพื่อสืบสานเจตนารมณ์ของโครงการ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ ที่ ให้เกียรติ เป็นประธานในพิธีมอบรางวัลนักออกแบบยอดเยี่ยมแห่งปี 2551 ขอขอบพระคุณ คุณนิธิ สถาปิตานนท์ ประธานกรรมการ บริษัทสถาปนิก 49 จำกัด และศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรมแบบร่วมสมัย 2545) คุณเมธินี สุวรรณบุณย์ นายกสมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย ผู้จัดการใหญ่สาย Project Development บริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จำกัด คุณพันธ์พิไล ใบหยก ประธานบริหาร BIDS อาคารใบหยกทาวเวอร์ 2 หม่อมหลวงภาวินี สันติศิริ กรรมการผู้จัดการ บริษัทสหัสชา (1993) จำกัด นายกสมาคมนักศึกษาเก่าคณะมัณฑนศิลป์ นักออกแบบยอดเยี่ยมแห่งปี 2547 และนักออกแบบเกียรติยศปี 2550 และ อาจารย์อภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล รองผู้อำนวยการศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ ที่กรุณาให้เกียรติเป็น กรรมการตัดสินผลงานออกแบบยอดเยี่ยมแห่งปี 2551 ขอขอบพระคุณ คณะกรรมการผู้คัดสรรผลงานการออกแบบ ปี 2551 ทุกท่าน ซึ่งประกอบด้วยนักออกแบบยอดเยี่ยมแห่งปี 2550 นักออกแบบผู้มีชื่อเสียงในประเทศไทย นักวิชาการด้านศิลปะและการออกแบบจากสถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ บรรณาธิการหนังสือและ วารสารที่เกี่ยวข้องด้านศิลปะและการออกแบบ ที่ได้ให้เกียรติร่วมเป็นคณะกรรมการคัดเลือกและดำเนินการตัดสินผลงานรอบที่ 1 ระหว่าง วันที่ 15-16 สิงหาคม 2551 ซึ่งจัดขึ้น ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ทำให้การดำเนินงานของโครงการสำเร็จลุล่วงตามเป้าหมาย ทุกประการ ขอขอบคุณศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) ที่เอื้อเฟื้อสถานที่และการอำนวยความสะดวกอย่างดียิ่งของเจ้าหน้าที่ทุกท่าน ในการจัดงานแถลงข่าว และให้ความอนุเคราะห์สถานที่ การจัดพิธีการมอบรางวัล และจัดแสดงนิทรรศการผลงานการออกแบบของ นักออกแบบที่ผ่านการคัดเลือก และอำนวยความสะดวกในการตัดสินผลงานการออกแบบแห่งปี 2551 อย่างดียิ่ง ท้ายสุดขอขอบคุณ คณะกรรมการดำเนินงานโครงการ คณาจารย์และบุคลากรสำนักงานเลขานุการคณะมัณฑนศิลป์ทุกท่าน ที่ช่วย ให้การดำเนินโครงการสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทุกประการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วัฒนพันธุ์ ครุฑะเสน รักษาราชการแทนคณบดีคณะมัณฑนศิลป์ 19 กันยายน 2551
3
การแถลงข่าว ณ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC)
4
การตัดสินผลงานรอบที่ 1 ณ ห้อง Ballroom Zone A ชั้น 2 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ วันศุกร์ที่ 15 สิงหาคม 2551
5
6
วิธีการได้มาของข้อมูลนักออกแบบ คัดสรรชื่อนักออกแบบและผลงาน จากงานแสดงสินค้านานาชาติ ระดับประเทศ และงานประกวด ทั้งในประเทศและต่างประเทศ คัดกรองจากสมาคมวิชาชีพทางการออกแบบ การสรรหาด้วยการสืบค้น รวบรวม ข้อมูลจากนิตยสารทางการออกแบบ และอินเตอร์เน็ต การเสนอชื่อจากผู้ว่าจ้างงาน ออกแบบ หรือบริษัทผู้ประกอบการ การเสนอชื่อของนักออกแบบเอง
หลักเกณฑ์ในการตัดสิน หลักเกณฑ์ในการตัดสิน จะพิจารณาจากกระบวนการคิดในการออกแบบและ สร้างผลงานของนักออกแบบ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หน้าที่ ประโยชน์ ความสะดวก ในการใช้งาน ความสวยงามสะดุดตา การสือ่ ความหมาย ความเหมาะสม และทำให้เกิด คุณค่าใหม่ในวงการออกแบบ ความมีประสิทธิภาพและโอกาสในทางการค้า และมี ผลงานการออกแบบสร้างสรรค์อย่างโดดเด่น ในปี 2550 - 2551
คณะกรรมการตัดสินรอบที่ 1 1. คณบดีคณะมัณฑนศิลป์ 2. รองศาสตราจารย์เอกชาติ จันอุไรรัตน์ 3. รองศาสตราจารย์พิศประไพ สาระศาลิน 4. รองศาสตราจารย์บุญสนอง รัตนสุนทรากุล 5. นางสุพัตรา ศรีสุข 6. หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ 7. นายขวัญชัย ผลชีวิน 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นพปฎล สุวัจนานนท์ 9. อาจารย์อภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล 10. นายชูเกียรติ ลิขิตปัญญารัตน์ 11. อาจารย์วิรัตน์ รัตตากร 12. นายคณิต เสตะรุจิ 13. นายสมชาย จงแสง 14. นายดวงฤทธิ์ บุนนาค 15. นายอุดม อุดมศรีอนันต์ 16. อาจารย์ ดร.อภิญญา บุญประกอบ 17. นายประธาน ธีระธาดา 18. นายสักกฉัฐ ศิวะบวร
19. นางรังสิมา กสิกรานันท์ 20. นางสาวนวลวรรณ สุพฤฒิพานิชย์ 21. นายสมประสงค์ พระสุจันทรทิพย์ 22. อาจารย์วัชรัตน์ สมัครคามัย 23. อาจารย์กฤษณพงศ์ เกียรติศักดิ์ 24. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิรวัฒน์ วงศ์พันธุเศรษฐ์ 25. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น้ำฝน ไล่สัตรูไกล 26. อาจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง 27. อาจารย์เทิดศักดิ์ เหล็กดี 28. นางมาลินี วิกรานต์ 29. นางสาวมุกดา จิตพรมมา 30. นางสาวนันทนา แซ่ลี
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ
คณะกรรมการตัดสินรอบที่ 2 1. นายนิธิ สถาปิตานนท์ 2. นางเมธินี สุวรรณบุณย์ 3. นายอภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล 4. นางสาวพันธ์พิไล ใบหยก 5. หม่อมหลวงภาวินี สันติศิริ
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ที่ปรึกษา ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
7
8
Honor Award มอบให้แก่นักออกแบบผู้มีประสบการณ์ระดับสูง ผู้ที่มีผลงานออกแบบอย่างต่อเนื่องระยะเวลานาน และประสบความสำเร็จในการประกอบวิชาชีพ เป็นแบบอย่างที่ดี และมีคุณูปการแก่วงการออกแบบและสังคม Honor Awards 2008 Furniture Design สุวรรณ คงขุนเทียน Suwan Kongkhunthian Product Design สาธิต กาลวันตวานิช Sathit Kalawantawanich Jewelry Design พรพิไล มีมาลัย Pornpilai Zou Meemalai Textile & Fabric Design ชเล วุทธานันท์ Chalae Wuthanadha
9
Honor Award in Furniture Design
สุSuwan วรรณ คงขุ น เที ย น Kongkhunthian
10
11
สุวรรณ คงขุนเทียน Suwan Kongkhunthian สถานที่ติดต่อ 53/31 ซอยศุภราช 1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 02 272 6879, 081 814 7048 อีเมล์ yothaka@cscoms.com การศึกษา Bachelor of Fine Arts (Decorative Arts) มหาวิทยาลัยศิลปากร ประสบการณ์การทำงาน 2520-2521 Co-ordinator at gencon Co.,Ltd. (Saudi Arabia ) 2521-2523 Design Assitant at Raja Furniture Co.,Ltd. ( Thailand ) 2523-2550 Managing Partner of Design Basis Pte.Ltd. (Singapore) 2538-ปัจจุบัน Design Consultant of The Life Shop Pte.,Ltd. (Singapore) 2548 Guest Speaker for Good Design Award 2548 (G-mark Award), Tokyo, Japan 2546-2548 อุปนายกสมาคมผู้ผลิตผลิตภัณฑ์แนวดีไซน์ (Design and Objects) 2548-2550 นายกสมาคมผู้ผลิตผลิตภัณฑ์แนวดีไซน์ (Design and Objects) 2532-ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท โยธกา อินเตอร์แนชั่นแนล จำกัด ดูแลด้านการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ 2545-ปัจจุบัน คณะกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ คณะศิลปกรรม สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ปัจจุบัน ที่ปรึกษาสมาคมผู้ผลิตผลิตภัณฑ์แนวดีไซน์ (Design and Objects) ที่ปรึกษาสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บรรยายพิเศษที่มหาวิทยาลัยต่างๆ มหาวิทยาลัยศิลปากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอุบล มหาวิทยาลัย เจ้าคุณทหารลาดกระบัง และ มหาวิทยาลัยรังสิต
12
รางวัล 2546 2546-2547 2546-2548 2547 2548 2549 2551
All Great Design (From I-Design Magazine. Thailand) Design Excellent (From Elle Decoration Magazine, Thailand) G-Mark Award (From Japan Industrial Design Promotion Organization, Japan) Thailand Designer of the year 2547 (From Silpakorn University) Design for Asia Award Winner 2547 (From Hong Kong Design Centre) Prime Minister’s Export Award Thailand (From Department of Export Promotion) Outstanding New Modern Furniture (From TIFF 2005 Export Awards) Design of the Year (From Elle Decoration Magazine Thailand) Best Dinning Room Furniture (From TIFF 2549 Export Awards) Outstanding New Modern Furniture (From TIFF 2549 Export Awards) A Jury for Red Dot Award; Design Concept Competition 2549, Singapore Good Governance Awards 2551 (จากสถาบัน ป๋วย อึ้งภากรณ์/สมาคมธนาคารไทย/สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม (SMEs) Design Excellent Awards 2551 (From Department of Export Promotion)
Honor Award in Product Design
สาธิ ต กาลวั น ตวานิ ช Satit Kalawantavanich
779/210 ถนนประชาราษฎร์บำเพ็ญ แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 โทร. +662 691 6331 โทรสาร +662 691 3478 อีเมล์ info@propagandaonline.com 13
2
5
1
3
4
6
7
8
1. Dog Lamp (Designed by Chaiyut Plypetch) Inspired by the fierce street dog who becomes tamed and friendly, this sleek designed table lamp brings your best friend on the table. Equipped with an On/Off switch and a 3-step-dimmer located in the head, the ‘Dog Lamp’ will glow with a lively light when touched. The head can be adjusted up and down. The body is made of plastic while the head is anodized aluminum. Award: “Good Design 2007” from The Chicago Athenaeum: Museum of Architecture and Design, U.S.A 2. FrogGetMee (Designed by Ankul Assavaviboonpan) Just crazy for noodles? Spaghetti’s all you think about? Not too worry, FrogGetMee is the perfect two-in-one utensil for you. A combination of a soup spoon and chopsticks, FrogGetMee frees you to enjoy eating with one hand while you go on doing other things with the other. Now who says you can’t have the best of both hands? Award: “Good Design 2006” from The Chicago Athenaeum: Museum of Architecture and Design, U.S.A 3. Saltepper (Designed by Chaiyut Plypetch) A user-friendly integration of traditional salt and peppershakers. Inspiredby the identical forms of the Siamese Twin, the pair is attached yet separate. Convenient and easy to use, this single shaker is a minimal addition that gives maximum effect. Salt is indicated by the minus (-) sign dispenser to remind less is best, while pepper is indicated by the plus (+) sign dispenser to encourage use for better health. Award: “Good Design 2000” from The Chicago Athenaeum: Museum of Architecture and Design, U.S.A 4. Dish Up (Designed by Kunlanath Sornsriwichai) A functionally innovative design, this set of three free standing dishes each have a simple yet effective in-built standing device… a wonderful solution for drying just about anywhere that’s tight for space. Award: “Good Design 2001” from The Chicago Athenaeum: Museum of Architecture and Design, U.S.A
5. Shark (Designed by Chaiyut Plypetch) This ABS Plastic Bottle opener takes on the form of a shark’s dorsal finIt is fitted with a magnetic core for handy storage on the refrigerator door. Award: “Good Design 2001” from The Chicago Athenaeum: Museum of Architecture and Design, U.S.A 6. Melting Bulb (Designed by Martin Hoontrakul) At soaring temperatures, melting bulb lies low to offer you mellow lighting for a cooler experience. Just think of it either as the bulb that doesn’t bite or born - for unlike your average light bulb, it’s made of rubber! Unbreakable and harmless, you can hang it, touch it, move it - just have fun with it, for it’s the coolest nighttime buddy you can ever ask for. Award: “Good Design 2002” from The Chicago Athenaeum: Museum of Architecture and Design, U.S.A 7. Forked Up (Designed by Khetrat Tham-Ittisak) A simple steel fork with an opening incorporated in the base enabling it to function also as a bottle opener. Award: “Good Design 2005” from The Chicago Athenaeum: Museum of Architecture and Design, U.S.A 8. Ap-Peel (Designed by Chaiyut Plypetch) From the dinner table, cruise on into the living room for some refreshing fruit. Ap-Peel is a fruitful invention that keeps all contents in one basket, including a self-styled sheath for your knife. Simply take your pick, peel your prize and stick the knife back into Ap-peel’s ever so tasteful design. Award: “Good Design 2002” from The Chicago Athenaeum: Museum of Architecture and Design, U.S.A “Red Dot Award 2002 : Product Design” from the Design Zentrium Nordrhein Westfalen, Germany “Good Design 2002”, G-Mark from Japan Industrial Design Promotion organization, Japan 15
Honor Award in Jewelry Design
พรพิ ไ ล มี ม าลั ย Pornpilai Zou Meemalai
16
1
4
7
8
2
3
5
6
9
10
17
1
2
3
4
5
6
7
1. 2. 3. 4. 5.
18
8
Title: Date of work: Medium: Size: Title: Date of work: Medium: Title: Date of work: Medium: Size: Title: Date of work: Medium: Size: Title: Date of work: Medium: Size:
9
10
Web21, neck ornament 2008 Acrylic, silver thread, silver 8 x 55 cm One and the same side, ring 2007 hand crocheted 24k gold wire, Ms. Chulita’s tooth Through, bangles in pair 2004 hand formed silver circle 84 x square 52 x 52 ht. Gathering, ring 2004 Silver, 1mm Pearl Beads ring top 16mm.hgt, 32mm.lgth Lotusscript I & II, rings in pair 2003 22k gold, hand formed 22 x 22 mm.
6. 7. 8. 9. 10.
Title: Date of work: Medium: Size: Title: Date of work: Medium: Size: Title: Date of work: Medium: Title: Date of work: Medium: Size: Title: Date of work: Medium: Size:
LotusDisc, Earrings 2004 hand formed silver sheet 52 x 9 mm Uni-Form, sculpture 2004 hand crocheted silver wire 30 x 75 cm. Wedding rings set for Nop, Kulsiri Tipaprasarn 2007 24k yellow gold, 18k platinum, diamond Living glass, object 2007 Silver 72 x47x 97mm each BetweenIII, neckpiece 2003 Silver, Silicone Rubber length 42 cm, square 50x50mm, round 32mm.
Honor Award in Textile & Fabric Design
ชเล วุ ท ธานั น ท์ Schle Woodthanan
19
ARMADILLO
20
SERPENT
5. FP-BRACKET
HORSE
ROBOTISM
ชเล วุทธานันท์ Schle Woodthanan การศึกษา 2527 Textile Engineering จาก Philadelphia College of Textile and Science, Philadelphia, USA ประวัติการทำงาน 2529 ก่อตั้งบริษัท สิ่งทอซาติน จำกัด ในเดือนมิถุนายน โดยเริ่มต้นจากโรงงานทอผ้าเล็ก ๆ ในอำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ 2531 บริษัทฯเริ่มธุรกิจส่งออกผ้าผืนไปต่างประเทศ และเข้าร่วมงานแสดงสินค้าระดับนานาชาติที่ประเทศญี่ปุ่น 2537 บริษัทฯขยายโรงงานไปที่จังหวัดราชบุรี ขณะนั้นมีพื้นที่ประมาณ 80 ไร่เศษ 2544 เป็นปีแห่งความสำเร็จของบริษัทฯโดยในงานมหกรรมสินค้าผ้า DECOSIT 2001 ที่เมือง Brussels ประเทศเบลเยี่ยม ผ้าของบริษัทฯ สามารถได้รับรางวัลชนะเลิศถึงสองรางวัล จากจำนวน 3 ประเภทรางวัลที่มีการประกวด คือ รางวัล Deco Contract Award และ Trend Award ส่งผลให้บริษัทฯได้รับ ความสนใจอย่างมากจากคนในแวดวงธุรกิจด้านสิ่งทอ 2545 ได้รับรางวัลชนะเลิศ Trend Fabric Award จากงาน DECOSIT 2002 อีกครั้งต่อเนื่องกันเป็นปีที่ 2 2546 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่ง Trend Fabric Award จากงาน DECOSIT 2003 ปัจจุบัน สร้างแบรนด์สินค้าภายใต้ชื่อ PASAYA กรรมการผู้จัดการ บริษัท สิ่งทอซาติน จำกัด Textile Designer บริษัท เท็กซ์ไทล์แกลลอรี่ จำกัด รองประธานกรรมการ มูลนิธิป่าเขตร้อน
21
Designer of the year Award มอบให้แก่นักออกแบบ ผู้ออกแบบ ผลงานที่มีความโดดเด่นแห่งปี Designer of the year 2008 Furniture design o-d-a Trimode Studio Product Design กรกต อารมย์ดี Korakot Aromdee ประพัทธ์ จิวะรังสรรค์ Prapat Jiwarangsan Jewelry Design Trimode Studio เกศกาญจน์ อาศิรรัตน์ Keskarn Arsirarat ทศพล วชิราดิศัย Thossapol Wachiradisai Textile & Fabric Design ระพี ลีละศิริ Rapee Leelasiri วิชัย ไลละวิทย์มงคล Wichai Lailawitmongkhol อริสรา แดงประไพ Arisara Dandprapai
23
o-d-a* *จุฑามาส บูรณะเจตน์, ปิติ อัมระรงค์ (Jutamas Buranajade, Piti Amraranga) 67 ถนนสุขุมวิท 49/14 เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 081 712 9998 E-mail odaemail@gmail.com
R2 R2 เกิดจากการที่เราสนใจที่จะทำโครงสร้างของเก้าอี้ ให้เป็นส่วนหนึ่งของ Design ตัวมันเอง องค์ประกอบทุกส่วนที่ปรากฏถูกกำหนดให้มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน และทำหน้าที่ไม่ซ้ำกัน มุ่งเน้นการออกแบบให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้งาน ด้วยส่วนประกอบที่น้อยชิ้น ทั้งนี้ เพื่อให้ได้เก้าอี้อาร์มแชร์ที่ดูเรียบง่ายและมีน้ำหนักที่เหมาะสม The idea R2 has originated from our interest in combining structure of chair to becoming a part of design in itself. All of element was defined to work mutually and function individually. We intend to design in order to bring its efficiency in utility with only few compositions and to become simple, weightless but nice chair.
24
25
Trimode* *ชินภานุ อธิชาธนบดี, ภารดี เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา, พิรดา เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา (Shinpanu Athichathanabadee, Paradee Senivongse na Ayudhya, Pirada Senivongse na Ayudhya) 136/3 เจริญกรุง 82 บางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 อีเมล์ contact@trimodestudio.com เว็บไซต์ www.trimodestudio.com
BAM จากคุณสมบัติในตัวของวัสดุไม้ไผ่ นำไปสู่การสร้างสรรค์ความเป็นไปได้ใหม่ ๆ จากการทดลองเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง พื้นฐานของรูปทรงบนพื้นฐานทางเทคนิควิธีการผลิตแบบดั้งเดิม เฟอร์นิเจอร์ชุด BAM นี้เกิดจาการลดทอนโครงสร้าง ของทรงกระบอก (TUBE) ไม้ไผ่ โดยการตัด-เฉือน ไปสู่โครงสร้างแบบ (ARCH) จากการดัดโค้ง เพื่อให้มีความ สามารถในการรองรับการใช้งาน และเกิดผิวสัมผัสใหม่ ๆ ขึ้น เมื่อนำกระบอกที่ดัดไว้มาเรียงต่อกันจึงเกิดเป็น โครงสร้างที่สามารถพัฒนาต่อไปเป็นเฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเก้าอี้ โต๊ะ หรือโคมไฟได้มากมาย อีกทั้งความ โค้งที่เกิดจากการดัดกระบอกไม้ไผ่นั้นยังสร้างผิวสัมผัสที่เป็นมิตรทำผู้ใช้งานอีกด้วย SODA น้ำและอากาศสร้างให้เกิดฟองอากาศ ความงามตามธรรมชาติที่น่าสนใจ โดยเฉพาะเมื่อกลุ่มฟองอากาศเรียงตัว ติดกันแน่นทำให้เกิดรูปร่างและรูปทรงตามธรรมชาติที่สามารถนำมาสร้างเป็นงานสามมิติที่น่าสนใจได้อย่างดี สำหรับเก้าอี้โซดานี้ จึงพยายามหาเทคนิคการสร้างงานเฟอร์นิเจอร์แบบดั้งเดิม ที่จะสามารถนำมาปรับกระบวนการ และ สร้างฟอร์มอย่างที่ตั้งใจไว้ขึ้นมาได้ ดั้งนั้นเทคนิคการหุ้มบุเฟอร์นิเจอร์แบบดั้งเดิมจึงถูกนำมาปรับกระบวนการ ขึ้นใหม่ผ่านงานออกแบบเซ็ตนี้ 26
27
กรกต อารมย์ดี Korakot Aromdee
335 ม. 10 ตำบลบ้านแหลม อำเภอบ้านแหลม เพชรบุรี 76110 โทร. 089 698 7963 อีเมล์ kappa76110@yahoo.com, korakot.aromdee@yahoo.com เว็บไซต์ www.korakot.net
ผมได้ความบันดาลใจจากการได้เห็นสิ่งแวดล้อมรอบตัว แล้วเอามาประยุกต์ผลิตเป็นงานศิลปะ และงานผลิตภัณฑ์ โดยใช้วัสดุธรรมชาติ เช่น ไม่ไผ่ เชือกป่าน (ปัจจุบันเชือกป่านหายาก จึงใช้เชือกเคลือบเทียนมีสีให้เลือกมากมาย) และใช้เทคนิคการมัดการผูกที่ศึกษาจากเทคนิคการทำว่าวไทย โดยเรียนรู้จากก๋ง ซึ่งเก่งด้านการทำว่าวจุฬา และ ปักเป้า งานที่ออกมาจะมีเทคนิคความเป็นไทย แต่รูปทรงจะเป็นงานศิลปะแบบร่วมสมัย โดยมีความงาม รสนิยม และมีหน้าที่การใช้งาน เพื่อให้เข้ากับยุคสมัยกับการประดับตกแต่งบ้านเรือน และอาคารในปัจจุบัน ความรู้สึกที่แสดงออกคือการยกระดับเทคนิคแบบเรียบง่ายของไทย โดยอาศัยวิชาการออกแบบตามความบันดาลใจ ที่ได้รับจากสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวที่มีอยู่และหาง่ายตามท้องถิ่น สร้างงาน สร้างอาชีพให้ชุมชนและเพิ่มศักยภาพ และ มูลค่าของสินค้า และนำเงินจากต่างประเทศตรงสู่รากหญ้าในท้องถิ่นของข้าพเจ้าเอง หลังจากจบจากภาควิชาประยุกตศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ ข้าพเจ้ารู้สึกซาบซึ้งถึงการออกแบบเพราะมีศักยภาพมาก ไม่เพียงแต่ช่วยให้ตนเองมีรายได้ แต่ยังช่วยให้ชาวบ้านที่มาฝึกงานมีรายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัว และยังเป็น การเสริมงานความเป็นไทยให้ยังคงอยู่ ปัจจุบันผมช่วยได้ 60 คน แต่ยังไม่หยุดในการที่จะช่วยต่อไป การออกแบบ ช่วยสังคมได้ โดยใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มกำลังความสามารถ มีคาถาที่ผมเดินผ่านทุกวันในมหาวิทยาลัย คือ “นายคิดถึงเรานายไม่ต้องทำอะไร นายทำงาน” คาถานี้ ศักดิ์สิทธ์ โดยแท้จริง.
28
29
ประพัทธ์ จิวะรังสรรค์ Prapat Jiwarangsan
215/11 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 086 988 7713 โทรสาร 02 708 4639 อีเมล์ leonews22@hotmail.com เว็บไซต์ www.ligino.com
Zen Garden My purpose is to introduce the power of nature hidden in a silent stone. However, I could sense the moveable power in the nature too. I then convey the message of the movement of power as shown in the work using technique of glass blowing. The composition of shape and form is similar to the contour of landscape; mixing the feeling of calm, movement and relaxing like a peaceful Zen Garden in Japanese style reflecting the eastern philosophy.
30
31
Trimode* *ชินภานุ อธิชาธนบดี, ภารดี เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา, พิรดา เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา (Shinpanu Athichathanabadee, Paradee Senivongse na Ayudhya, Pirada Senivongse na Ayudhya) 136/3 เจริญกรุง 82 บางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 อีเมล์ contact@trimodestudio.com เว็บไซต์ www.trimodestudio.com
SLIZE เครื่องประดับชุดนี้ คือ การพยายามใช้ความคิดสร้างสรรค์มาเล่นกับการทดลองให้เกิดสิ่งใหม่จากโครงสร้างเดิม การเปิดกว้างที่จะทดลองในสิ่งใหม่ ๆ ถือเป็นความท้าทายที่จะให้ได้มาสู่ผลงานอีกมิติที่น่าสนใจ เพราะบางครั้งสิ่งที่ไม่ สมบูรณ์ก็มีความงามซ่อนอยู่ในตัวของมันเอง สำหรับ collection นี้ เราเล่นกับการตัด การต่อ การเฉือน และ การผสมผสานฟอร์มที่ต่างกันเข้าด้วยกันให้เกิดฟอร์มใหม่ เพื่อสร้างความงามที่แตกต่าง วัสดุที่ ใช้คือ โลหะ พลอย สังเคราะห์ โลหะ และ อครีลิค ซึ่งไม่ใช่วัสดุที่แปลกใหม่ต่อวงการเครื่องประดับเลย ความท้าทายอยู่ที่เราจะทำสิ่งเดิม ให้หลุดออกจากความซ้ำซากจำเจอย่างไร VELVET COLLECTION 2008 จากคำสั่งสอนจากรุ่นสู่รุ่น เรื่องเล่าของคนไทยไม่ว่า จะเป็นเงาะถอดรูป หรือ ผ้าขี้ริ้วห่อทอง ล้วนเป็นเรื่องของการให้ คติธรรมว่า อย่าตัดสินคนจากภาพลักษณ์ภายนอก สิ่งนี้ได้กลายมาเป็นแรงบันดาลใจของการสร้างงานที่ซ่อนความงาม ที่แท้จริงไว้ภายใน โดยวัสดุที่ใช้คืออครีิลิค พลอยสังเคราะห์ และใช้กำมะหยี่เคลือบชิ้นงานไว้ด้านนอก เมื่อสวมใส่ไป กำมะหยี่จะค่อย ๆ ลอกออกให้เห็นถึงความงามเนื้อแท้ที่ซ่อนอยู่ภายใน
32
33
เกศกาญจน์ อาศิรรัตน์ Keskarn Arsirarat
2/21 ซอยบรมราชชนนี 32 ตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 โทร. 02 880 7251, 089 788 0890 อีเมล์ keskarna@yahoo.co.uk
Skin Jewellery เป็นการนำเอาคริสตัลจาก Swarovski และกากเพชร มาทำเป็นเครื่องประดับที่ ใช้ติดกับผิวหนัง จุดเด่นของ Skin Jewellery คือสามารถใช้ได้กับทุกส่วนของร่างกาย โดยไม่มีข้อจำกัดเหมือนเครื่องประดับทั่วไป เปรียบเสมือนการทำ Body Paint โดยใช้คริสตัล ผลงานทั้งสามชิ้นนี้ เป็นผลงานที่ข้าพเจ้าออกแบบและทำ ในฐานะ Designer และ Senior Designer ของบริษัท J.Maskrey, London และทั้งสามชิ้นเป็นงานที่แสดงใน London Fashion Week ในแต่ละเทศกาลต่างกันไป Houndstooth เป็นแนวความคิดในการนำ Skin Jewellery มานำเสนอเป็นเครื่องประดับและลายผ้าในเวลาเดียวกัน โดยใช้ Skin Jewellery จำนวนหลายร้อยชิ้น ทั้งคริสตัลสีขาว และสีดำมาประกอบเป็นผลงาน Leopard เป็นงานซึ่งนำเสนอโดยใช้ Skin Jewellery มาทำเป็นลายเสือดาว แทนการใช้หนังเสือจริงมาห่อหุ้มร่างกาย Pop Up Butterfly เป็นผีเสื้อสามมิติหลากสี ซึ่งปีกของผีเสื้อสามารถปรับองศาได้ ไปตามส่วนโค้งเว้าของร่างกาย
34
35
ทศพล วชิราดิศัย Tosapol Wachiradisai
54/146 หมู่บ้านปริญลักษณ์ ถนนเอกชัย แขวงบางบอน เขตบางบอน กรุงเทพฯ 10150 โทร. 02 899 7849, 089 223 9165 อีเมล์ totdesire@hotmail.com
วนเวียน ขยับเขยื้อนเคลื่อนไหว วนเวียน ว่องไว แกว่งไกว กำเนิดจากเส้นสู่โครงสร้างของงานเครื่องประดับ จากเส้นเพียงหนึ่งเส้น ดัดไปเชื่อมไป คดเคี้ยวไปมา จนปลายสองด้านมาบรรจบเสร็จเป็นชิ้นงาน หาจุดเริ่มและสิ้นสุดของเส้นไม่เจอ
36
37
อริสรา แดงประไพ Arisra Daengprapai
130/99 หมู่ 12 ถนนรามอินทรา แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10230 โทร. 089 890 8382 โทรสาร 02 942 9932 อีเมล์ d_matoom2@yahoo.com
River Inspired by ripples on the surface of the river at nighttime that sparkle when touched by the moonlight and starlight. Blur, grey and black colors are used to represent the water and the reflections of the sky while the silver color is added to resemble the shimmering ripples that give this dayed-like carpet its unique appearance.
38
39
วิชัย ไลลาวิทมงคล
Wichai Lailawitmongkhol 37 ซอยเจริญนคร 57 ถนนเจริญนคร บุคคโล ธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 โทร. 02 862 4952, 085 249 5514 อีเมล์ lwichai@imcurio.com เว็บไซต์ www.siamcurio.com
washi paper kimono
40
41
ระพี ลีละสิริ
Rapee Leelasiri 17 ลาดพร้าว 43 สามเสนนอก ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 02 939 8428, 089 891 6616 อีเมล์ sales@rapeeleela.com เว็บไซต์ www.rapeeleela.com
ชีวิตที่ซ่อนเร้น สาหร่าย ดอกเห็ด และปะการัง ชีวิตเล็ก ๆ ที่งดงาม ซ่อนตัวอยู่ท่ามกลางความสมบูรณ์ของธรรมชาติ แฝงด้วยคุณค่ามหาศาลต่อความสมดุลในระบบนิเวศ และสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ ผลงานชิ้นนี้ สื่อถึงมิติของผิวสัมผัสแบบธรรมชาติ ความงดงามของสีสัน และลักษณะพิเศษของพื้นผิวด้วยเรื่องราว ของสาหร่ายโขดหิน เห็ดสนิม และปะการังอ่อน แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ คือ ออกแบบประยุกต์ศิลป์ ให้เข้ากับประโยชน์ใช้สอย ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ผลิตภัณฑ์พรมปูพื้น ตกแต่งในสถานที่ต่าง ๆ มีรูปแบบที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ มีพื้นผิวที่ช่วยผ่อนคลาย จากความเมื่อยล้าในการเดินทาง หรือตกแต่งผนัง ช่วยดูดซับป้องกันเสียงก้องสะท้อน ในรูปแบบที่ร่วมสมัย ทำให้คนรุ่นใหม่กลับมาสนใจในงานหัตถศิลป์ และกลับมาใกล้ชิดกับธรรมชาติอีกครั้งหนึ่ง นำเทคนิคพื้นบ้านในการถัก ทอ ฟั่นเชือกไล่โทนสี ผสมผสานระหว่างวัสดุจากธรรมชาติ และวัสดุสร้างสรรค์ เพื่อรวมพลังของวัสดุที่แตกต่างให้เข้ากัน ด้วยการประยุกต์ศิลป์ ถักทอในรูปแบบร่วมสมัย ก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ คุณภาพระดับสากลที่ทรงคุณค่า
42
43
Emerging Designer Award มอบให้แก่นักออกแบบหน้าใหม่ ในแต่ละประเภทผลงาน ที่มีผลงานออกแบบโดดเด่น Emerging Designer 2008 Furniture Design ชินพิชญ์ กุสุมวิจิตร Chinnapit Kusumvijit ชวกร จิระพิริยะเลิศ Chavakorn Jirapiriyalert นพชัย ภู่จิระเกษม Noppachai Pujirakasem วิริยะ วัฑฒนายน Wiriya Wattanayon กฤษณ์ พุฒพิมพ์ Krit Phutpim Product Design Yenn Design ศรัณย์ อยู่คงดี Saran Youkongdee ชวกร จิระพิริยะเลิศ Chavakorn Jirapiriyalert
45
ชินพิชญ์ กุสุมวิจิตร Shinpith Kusumwichit 152 จรัญสนิทวงศ์ 91 บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทร. 668 513 0681
“Query” This chair was inspired by how product created by human not nature are also beautiful. Scrap wood, normally is taken for granted, but when integrated with synthetic material , in this case is rubber, resulting in a beautiful chair. Thus, this chair represents an aesthetic combination of natural and synthetic materials.
46
47
ชวกร จิระพิริยะเลิศ Chavakorn Jirapiriyalert
119/74 ถนนนวมินทร์ แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02 948 4097, 081 306 3024 โทรสาร 02 510 1903 อีเมล์ whoohmee@hotmail.com
ภู (PHU) เฟอร์นิเจอร์สำหรับนั่งพักผ่อนบริเวณ Outdoor Public Space ที่ได้รับแรงบันดาลใจ จากเส้นแนวสันเขา อันสวยงาม ทำให้เกิดเส้นโค้งที่มีความต่อเนื่อง และรูปแบบการนั่งที่แตกต่างกันไป ในแต่ละช่วงของเก้าอี้ เมื่อนำมาจัดวางจะเสมือนเป็นส่วนหนึ่งของ Landscape ของพื้นที่ และสามารถนำมาวางเรียงต่อกัน ได้อย่างต่อเนื่อง
48
49
นพชัย ภู่จิรเกษม
Nopchai Phujirakasem 203/34 ตำบลหลักหก อำเภอเมือง ปทุมธานี 12000 โทร. +66 2 929 6531 โทรสาร +66 2 929 0756 อีเมล์ info@lookyangdesign.com เว็บไซต์ www.lookyangdesign.com
Weber Chair the world need...flexible ปัจจุบันเราไม่สามารถสร้างทรัพยากรใหม่ให้กับโลกได้ เเต่สิ่งที่เราสามารถทำได้คือ การเลือกใช้ทรัพยากรอย่าง ยืดหยุ่น ดังนั้น วัสดุยางพารา เป็นอีกวัสดุหนึ่งที่ช่วยลดการใช้ทรัพยากร เพราะปัจจุบันในการบริโภคหรือการใช้ วัสดุในงานเฟอร์นิเจอร์ ส่วนมากเป็นวัสดุไม้หรือวัสดุสังเคราะห์เป็นหลัก เมื่อบริโภคเฟอร์นิเจอร์ไม้ ก็ต้องตัดไม้ เเต่ในขณะเดียวกันการใช้เฟอร์นิเจอร์ยางพารา เป็นการช่วยกันปลูกต้นไม้ เพราะเราต้องใช้น้ำยางพาราในการ ผลิต เมื่อน้ำยางไม่พอก็ต้องปลูกต้นไม้เพิ่ม การที่เราใช้เฟอร์นิเจอร์ยางพารา ไม่เพียงลดการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติเเต่ยังเป็นการเพิ่มทรัพยากรคืนสู่ธรรมชาติอีกด้วย... Today people can’t find new natural resource for earth but We can change flexible resource also pararubber material is a way to reduce resource.Because today we pick and choose a wood or systhetize material.When we need a wood furniture we must cut a tree for make it.After that if we choose a pararubber it help to plant a pararubber tree.When too demand of paraliqid we must planting too rubbertree.Choosing pararubber furniture to increase a tree to natural. 50
51
วิริยะ วัฑฒนายน Wiriya Wattanayon
33/1 ถนนสุวรรณศร แขวงโคกแย้ เขตหนองแค สระบุรี 18230 โทร. 081 599 2805 โทรสาร 036 305 335 อีเมล์ wiriyaw@scg.co.th
Watch Wood You Like เป็นการออกแบบแนว Eco Friendly ที่เน้นถึงประโยชน์สูงสุดของการใช้งาน วัสดุ การผลิต และการขนส่ง โดยเป็นชุดเฟอร์นิเจอร์ Multi-function ที่แต่ละชิ้นสามารถกางออกเป็นเก้าอี้ กล่องใส่ของ ที่ ใส่หนังสือ และพลิกอีกด้านใช้เป็นกระดานสำหรับเขียนได้ นอกจากนี้เมื่อยามจัดเก็บสามารถพับให้แบนเรียบ เพื่อ ประหยัดพื้นที่ หรือนำมาแขวนต่อกันเป็นภาพประดับฝาผนังได้อีกด้วย ภาพที่นำมาใช้จะเป็นภาพต้นไม้ทั้งต้น ตั้งแต่ยอดจนถึงรากแก้ว เพื่อต้องการสื่อให้ผู้ใช้รู้ว่า เราสามารถดึงเอาประโยชน์ของต้นไม้ไปใช้ได้ ทุกส่วน แต่ขณะเดียวกันเราก็สามารถเติมเต็มส่วนที่ขาดหายไปของต้นไม้ให้สมบูรณ์ได้ดังเดิม ด้วยการ ใช้แล้วนำมาแขวนเก็บที่เดิม งานเฟอร์นิเจอร์ชุดนี้จึงเปรียบได้กับงานศิลปะ และงานออกแบบในตัวเดียวกัน
52
53
กฤษณ์ พุฒพิมพ์ Krit Phutpim
132/37 ถนนกรุงเทพ-นนทบุรี 33 เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 โทร. 02 279 1790, 084 113 4512 โทรสาร 02 279 1790 อีเมล์ kritdesign@hotmail.com,Dots.designservice@gmail.com
Grow-around the tree เริ่มต้นด้วยการศึกษา และการตีความหมายของรูปทรงอนาคต-Future form โดยอ้างอิงถึงแนวคิดงานออกแบบ และแนวโน้มความเป็นอยู่ของงาน สถาปัตยกรรม-conceptual architechture ประกอบกับเรื่องราวของการ เจริญเติบโตของธรรมชาติที่มีรูปแบบไม่ตายตัว และสามารถปรับตัว ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมรอบข้างได้อย่าง เหลือเชื่อ Grow - สื่อสารให้เห็นถึงรูปธรรมของรูปทรง ในอนาคตของ furniture และการนำวัสดุหลากหลายชนิด มาปรับใช้กับวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันออกไปเช่นการนำโลหะ เหล็กเส้น มาใช้กับงาน furniture outdoor และในลักษณะรูปทรงเดิม สามารถนำวัสดุงานหวายมาใช้สำหรับงาน furniture indoor เป็นต้น
54
55
YENN DESIGN* *วรรัตน์ พัวไพโรจน์, ศิริลักษณ์ เอกอุกฤฎกุล, ดุลยพล ศรีจันทร์ (Wararat Puapairoj, Siriluck Agukitkul, Doonyapol Srichan) 486/152-154 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. 089 137 6526, 089 131 5512, 086 075 1445 อีเมล์ yenndesign@yahoo.com เว็บไซต์ www.yenndesign.com
poe jung poe jung มีความหมายว่า “การเปิดเผย” (very necked) การนำเส้นพลาสติกโพลีเอทิลีนมาถักทอบนโครงเหล็ก ปิดผิวลามิเนต ซึ่งเป็นเทคนิคฝีมือช่างแบบเอเชีย ด้วยคุณสมบัติโปร่งแสงและความยืดหยุ่นของเส้นพลาสติก ทำให้ poe jung เป็นทั้งฉากกั้นสารพัดประโยชน์ โคมไฟให้แสงสว่าง และยังสามารถเก็บของเล็ก ๆ น้อย ๆ อย่างเช่น ซีดีแผ่นโปรด หรือหนังสืออ่านประจำเข้าไปได้
56
57
ศรัณย์ อยู่คงดี Saran Yukongdee
31/54 ซอยวัดกำแพง ถนนจรัลสนิทวงศ์ 13 แขวงบางเชือกหนัง เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ โทร. 081 644 9702 อีเมล์ studioek@hotmail.com
Siam The inspiration comes from Thai mural paintings and decorative in the Emerald Temple. In Thai history, people in the past got their inspirations from the nature like flowers, flame and were used and modified for art work and designs. This design product comes in square shapes using western coloure appropriate for indoor decorations for hotels, resorts, restaurants, spas and your home. It can be use as sun protection for windows, wall decoration or simply hanging decorative. Moreover, it is easy to install, safe and an innovative way of making a place close to nature.
58
59
ชวกร จิระพิริยะเลิศ Chavakorn Jirapiriyalert
119/74 ถนนนวมินทร์ แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02 948 4097, 081 306 3024 โทรสาร 02 510 1903 อีเมล์ whoohmee@hotmail.com
ZEN ZIG ZAG ZEN ZIG ZAG เป็น Universal toy ที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้เล่นได้ใช้สมองในการวางกลยุทธ์ต่าง ๆ แบบหมากกระดานของญี่ปุ่น ผู้เล่นสามารถสร้างเกมส์ได้ไม่รู้จบ จากการจัดวางแท่งไม้สีที่ไม่เหมือนกัน ทำให้เกมไม่น่าเบื่อ ไม่เก่า ได้แรงบันดาลใจจากลักษณะของรังผึ้ง การออกแบบเน้นความเรียบง่ายแบบ ZEN เพื่อตอบสนองตลาดเป้าหมาย คือ ญี่ปุ่น วัสดุเป็นไม้ธรรมชาติ เป็นของเล่นที่เล่นได้ทุกเพศทุกวัย ช่วยให้เกิดปฎิสัมพันธ์ระหว่างคนต่างวันในครอบครัว วิธีการเล่น คือ การแข่งขันโดยผลัดกันดึงสลักไม้ตามสีที่ทอยลูกเต๋าได้ ซึ่งจะไม่สามารถรู้ได้ล่วงหน้า จึงช่วย ฝึกการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า โดยแข่งกันว่าใครจะทำให้ลูกบอลสีตกลงไปถึงจุดหมายด้านล่าง ได้เร็วกว่ากัน
60
61
1. ชื่อโครงการ โครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ 4 (Designer of the Year 2008) 2. หน่วยงานที่รับผิดชอบ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
โครงการเส้นทางสู่ระดับสากล ของนักออกแบบไทย ครั้งที่ 4 (Designer of the Year 2008)
3. หลักการและเหตุผล มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากรได้ ด ำเนิ น กิ จ กรรมด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมเพื่ อ สนับสนุนนักออกแบบสร้างสรรค์ไทย โดยเริ่มจัดโครงการเชิดชูเกียรตินักออกแบบ ไทยระยะที่ 1 ตามโครงการ Designer of the year 2004 เมื่อปี 2547 ซึ่งทำให้เกิด ผลสะท้อนด้านมาตรฐานวิชาชีพและการเผยแพร่ชื่อเสียงผลงานออกแบบขึ้นในระดั บหนึ่ง ในปี 2548 และปี 2549-2550 ได้จัดดำเนินงานต่อเนื่องระยะที่ 2 และระยะที่ 3 โดยได้มอบให้คณะมัณฑนศิลป์ ซึ่งเป็นสาขาวิชาหนึ่งของมหาวิทยาลัยในการผลิต บัณฑิตและบุคลากรทางวิชาชีพการออกแบบ เป็นผู้ดำเนินงานสานต่อโครงการ เพื่อ เป็นการสนับสนุนในการสร้างเครือข่ายงานกิจกรรมการจัดตั้งศูนย์ออกแบบของ มหาวิทยาลัยศิลปากรต่อไป การดำเนินงานทั้ง 3 ระยะที่ผ่านมา ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีทั้งจาก นักออกแบบ ศิลปิน และสือ่ สิง่ พิมพ์ทางการออกแบบ และเพือ่ เป็นการตอบรับนโยบาย รัฐบาลในการส่งเสริมและสนับสนุนงานทางด้านศิลปะและการออกแบบของไทยให้ ได้มาตรฐานสากล คณะมัณฑนศิลป์จึงเห็นความจำเป็นที่จะจัดดำเนินงานโครงการ เส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทยแห่งปี ครั้งที่ 4 เพื่อเป็นกิจกรรมทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญของวงการงานออกแบบที่ต่อเนื่องและครอบคลุมและทั่วถึง ผลงานในวิชาชีพการออกแบบและวงการศึกษายิ่งขึ้น 4.วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1 เพื่อเป็นเวทีให้นักออกแบบไทยได้พัฒนามาตรฐานผลงาน การออกแบบ 4.2 เพื่อเชิดชูเกียรตินักออกแบบที่สร้างสรรค์ผลงานที่สะท้อน อัตลักษณ์ร่วมสมัยประจำปี 4.3 เพื่อสร้างเครือข่ายด้านการออกแบบในกลุ่มวิชาชีพและ บูรณาการ เอื้อประโยชน์ระหว่างนักออกแบบ มหาวิทยาลัย สถาบัน หน่วยงานทางการออกแบบ และสังคมภายนอก 4.4 เพื่อเพิ่มศักยภาพของนักออกแบบไทยสู่สากล 4.5 เพื่อสนองนโยบายรัฐบาลในการมุ่งส่งเสริมและสนับสนุนงานทาง ศิลปะและการออกแบบของไทยให้ได้มาตรฐานระดับนานาชาติ 63
5. ระยะเวลาดำเนินงาน มกราคม 2551 - กันยายน 2551 6.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน ประมาณ 200 คน ประกอบด้วย นักออกแบบ ผู้ว่าจ้างงาน ออกแบบ ประชาชนผู้สนใจและชื่นชมในผลงานนั้น 7. แผนการดำเนินงาน ม.ค. 2551 : ม.ค.-มี.ค. 2551 : มี.ค.-เม.ย. 2551 : พ.ค. 2551 : พ.ค. 2551 : มิ.ย.-ก.ค. 2551 : ก.ค.-ส.ค. 2551 : ก.ย. 2551 :
ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน เพื่อ วางแนวทางการดำเนินงาน เสนอรูปแบบการจัดงาน /แถลงข่าว/ และประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ คัดเลือกผลงาน/จัดประเภท/ แบ่งแยกกลุ่มผลงานตามการออกแบบ เชิญคณะกรรมการตัดสินและคัดสรร ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนนักออกแบบแห่งปี ส่งผลงานประกวดตามหัวข้อที่กำหนด ประกาศผล/รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำหนังสือ /ประสานงานโรงพิมพ์ จัดทำโล่รางวัล/เตรียมพิธีการมอบรางวัล และเตรียมจัดแสดงผลงาน พิธีมอบรางวัล / จัดแสดงผลงานที่ได้รับรางวัล /การประมูลผลงาน
8. สถานที่ดำเนินงาน ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) และหอศิลปะและการออกแบบคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 9. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จและหน่วยนับ 10.1 จำนวนนักออกแบบที่เข้าร่วมโครงการ 10.2 ร้อยละของผู้เข้าร่วมชมผลงานการออกแบบแห่งปี 2551
64
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 11.1 ได้เผยแพร่ชื่อเสียงของนักออกแบบไทยและเป็นการส่งเสริมผู้มี ผลงานออกแบบยอดเยี่ยมให้สังคมได้รับรู้ 11.2 เป็นการสนับสนุนให้นักออกแบบได้พัฒนาความคิดผลงานเพื่อ ตอบสนองต่อสังคมโดยส่วนรวมมากยิ่งขึ้น ได้สร้างเครือข่ายการ ออกแบบเพื่อร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ และบุคลากรในการ พัฒนาผลงานที่มีคุณภาพในระดับนานาชาติเพิ่มมากขึ้น 11.
คณะกรรมการดำเนินงาน 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วัฒนพันธุ์ ครุฑะเสน ที่ปรึกษา 2. รองศาสตราจารย์เอกชาติ จันอุไรรัตน์ ประธาน 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์น้ำฝน ไล่สัตรูไกล รองประธาน 4. อาจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง กรรมการ 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี กรรมการ 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิรวัฒน์ วงศ์พันธุเศรษฐ์ กรรมการ 7. อาจารย์เทิดศักดิ์ เหล็กดี กรรมการ 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาวี ศิรินคราภรณ์ กรรมการ 9. นางมาลินี วิกรานต์ กรรมการ 10. นางนภาพร ทองทวี กรรมการ 11. นางภาวนา บุญปก กรรมการ 12. นางรัตนา สังข์สวัสดิ์ กรรมการ 13. นางสาวมุกดา จิตพรมมา กรรมการและเลขานุการ 14. นางสาวนันทนา แซ่ลี กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 15. นางสาวเขมิกา กลิ่นเกษร กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ