Test

Page 1

นำ�คุณค่าจากอวกาศ เพื่อพัฒนาชาติและสังคม Delivering Values From Space

รายงานประจำ�ปี 2558

ANNUAL REPORT 2015

สำ�นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) : สทอภ. Geo-Informatics and Space Rechnology Development Agency (Public Organization) : GISTDA กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Ministry of Science and Technology


สาร

รศ. ดร. สมเจตน์ ทิณพงษ์

ประธานกรรมการบริหาร สทอภ. ผ่านพ้นทศวรรษ สทอภ. ยังคงมุ่งมั่นที่จะให้บริการข้อมูลจากดาวเทียม รวมไปถึงการประยุกต์ใช้ข้อมูล ดาวเทียมเพื่อการจัดการทั้ง ด้านภัยพิบัติ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ โดยในปี 2554 สทอภ. ได้กำ�หนดวิสัยทัศน์สำ�หรับแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี ส ทอภ. (พ.ศ. 2556-2560) “สทอภ. นำ�คุณค่าจากอวกาศเพื่อพัฒนาประเทศชาติและสังคม” อีกทั้งได้ทำ�กิจกรรมต่างๆเพื่อรองรับการที่ประเทศไทย จะเข้าสู่สมาคมอาเซียนในอนาคตอันใกล้นี้ นอกจากนี้ในปี 2553 ต่อเนื่องปี 2554 สทอภ. ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการนำ�ข้อมูลภาพจากดาวเทียมมาบริหารจัดการปัญหาอุทกภัย ของประเทศด้วย ในนามของ สทอภ. กระผมขอขอบคุณทุกท่านและทุกหน่วยงานที่ให้ความร่วมมือในการดำ�เนินงานของ สทอภ. อย่างดียิ่งเสมอมาและ ขอบคุณกรรมการบริหาร ผู้บริหาร อีกทั้งเจ้าหน้าที่ สทอภ. ในการสร้างคุณค่าสู่ประเทศชาติและสังคมไทย

  (รศ. ดร. สมเจตน์ ทิณพงษ์) ประธานกรรมการบริหาร สำ�นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ 


สาร

ดร. อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

ผู้อําานวยการ สทอภ.

เร่ิ่มทศวรรษที่ 2 ของการดำ�เนินงาน สทอภ. เร่งปรับเปล่ีย นการ บริหารจัดการองค์กรทุกๆ ด้านอย่างต่อเน่ื่อง เพื่อให้มีการ ทำ�งานเชิงรุกและ มีผลงานที่เป็นประโยชน์ ตอบสนองต่อสังคมที่เป็น รูปธรรมเพิ่มมากขึ้นรวมทั้ง มีการพัฒนาพันธมิตรทางธรุ กิจเพื่อ ให้มีรายได้มาพัฒนาองค์กรนอกเหนือ จาก ท่​่ีภาครัฐสนับสนุน โดย เฉพาะการดำ�เนินธุรกิจกับหน่วยงานต่างประเทศ ในปี 2554 สทอภ. ได้ดำ�เนินกิจกรรมเพื่อสนับสนุนนโยบายรัฐบาล รวมทั้งหน่วยงาน ภาครัฐ ในด้าน สังคม เศรษฐกจิ ความมั่นคง เช่น การใช้ข้อมูล จาก ดาวเทียมในการประเมิน ความเสียหายจากอุทุกภัย ปี 2553 - 2554 การใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศ มาตราส่วนใหญ่ (1:25,000) เพ่ื่อติด ตามและประเมินพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก ของประเทศไทย ปี 2554 การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การกัดเซาะชายฝ่ังใน ประเทศไทยโดยใช้ภาพถ่าย ดาวเทียม การใช้ภาพถ่ายดาวเทียมใน การติดตามการเปล่​่ียนแปลงผลกระทบจากการเปล่​่ียนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ อย่างต่อเนื่อง การประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียมและภูมิ สารสนเทศเพื่อการวางแผนพัฒนาตามยุทธศาสตร์จังหวัด รวมทั้งสนับสนุนขอ้มูลให้หน่วยงานความมั่นคงภาครัฐ นำ�ไปใช้ประโยชน์และปรับปรุง ระบบบริการเพื่อให้ตอบสนองทันต่อความต้องการ เป็นต้น และเพื่อให้องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศมีการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องและมีการเผยแพร เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง สทอภ. จึง จัดฝึกอบรมด้านวิชาการให้หน่วยงานทั้ง ภาครัฐ และ เอกชนทั้งท่ีเป็นหลักสูตรประจำ�ปี หลักสูตรเฉพาะทาง และหลักสูตรนานาชาติอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง จัดกิจกรรม เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้กับเยาวชน ประชาชนทั่วไป เช่น จัดนิทรรศการ จัดค่ายเยาวชน จัดประกวดแข่งขันโครงงาน จัดกิจกรรมคาราวานยาน ยนต์แห่งการเรียนรู้ ภมูิสารสนเทศสู่ชุมชนร่วมกับเครือข่ายศูนย์ภมูิภาคฯ 5 แห่ง และดำ�เนิน โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิ สารสนเทศสู่ชุมชน นอกจากนี้ ยังพัฒนาความร่วมมือ กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศไม่ว่าจะเป็นด้านวิชาการ หรือด้านธุรกิจ การดำ�เนินงานเพื่อตอบสนองต่อสังคมและประเทศชาตจำ�เป็น ที่จะต้องมีการพัฒนาความรู้ เทคโนโลยี ด้านอวกาศและภูมิสารสนเทศ ให้ นำ�ไปสู่การปฏิบัติและเกิดประโยชน์สูงสุดทั้งกับภาครัฐและเอกชน ดังนั้น ในปีงบประมาณ 2555 จึงได้เตรียมดำ�เนินโครงการระบบติดตามเฝ้าระวัง ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยด้วย ดาวเทียม ระยะท่ี่ 2 และโครงการอุทยานรังสรรค์นวัตกรรมด้านอวกาศ โดยโครงการนี้จะพัฒนาต่อยอดเพื่อนำ� ไป สู่การสนับสนุน การผลิต ในภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจ โดยเฉพาะผู้ประกอบการขนาดกลางถึง ขนาดเลก็ (SME) ซึ่งการดำ�เนินงานดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งที่จะรองรับ การที่ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ท้ายนี้ ผมขอขอบคุณคณะกรรมการ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ สทอภ. รวมถึงหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และหน่วยงานระหว่าง ประเทศท่​่ีมีส่วนร่วมในการพัฒนา สนับสนุน และสร้างความเจริญเติบโตให้ สทอภ. มีการดำ�เนินงานที่ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 11 ปี

(ดร. อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ 


คณะกรรมการบริหาร สํานักงานพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ

รศ. ดร. สมเจตน์ ทิณพงษ์

Assoc.Prof.Dr. Somchet Thinaphong

ประธานกรรมการบริหาร

Chairman of GISTDA Executive Board

ดร. พรชัย รุจิประภา

รศ. ดร. สมเจตน์ ทิณพงษ์

พลโท อมรเทพ โรจนสโรช

Dr. Pornchai Rujiprapa

Assoc.Prof.Dr. Somchet Thinaphong

Lt.Gen. Amornthep Rochanasaroj

Permanent Secretary, Ministry of Science and Technology

Chairman of GISTDA Executive Board

Director, Royal Thai Survey Department

ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ประธานกรรมการบริหาร

เจ้ากรมแผนท่ีทหาร


พลโท นพดล โชติศิริ

ดร. สุพัทธ์ พู่ผกา

เจ้ากรมแผนที่ทหาร

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

Lt.Gen. Nopphadon Chotisiri Director, Royal Thai Survey Department

รศ. ดร. นิพันธ์ จิตะสมบัติ

ดร. บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์

Assoc.Prof.Dr. Nipant Chitasombat

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ Memberard

Dr. Buntoon Srethasirote

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ Memberard

Dr. Supat Poopaka Member

พลตำ�รวจโท ทวีศักด์ิ ตู้จินดา

Pol.Lt.Gen. Thaweesak Tuchinda

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ Member

นางสาววลัยรัตน์ ศรีอรุณ

ดร. อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

ผู้อำ�นวยการสำ�นักงบประมาณ

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

Ms. Walairat Sriarun

Director, Bureau of the Budget

Dr. Anond Snidvongs Member


แผนผังโครงสร้างการบริหารของ สทอภ.


ผลิตภัณฑ์และการบริการ สทอภ.มผี ลติ ภณั ฑแ์ ละการบรกิ ารไดแ้ ก่การบรกิ ารขอ้ มลู ภมู สิ ารสนเทศโดยใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ดาวเทียม ภาพถ่ายจากดาวเทียม ผลิตภัณฑ์เพ่ิมค่าต่างๆ เช่น แผนที่ท่องเที่ยว เป็นต้น นอกจากน้ี ยังมี การบริการฝึกอบรมท้ังในและนอกสถานที่ รวมท้ังการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนและเปิดให้ หน่วยงาน ต่างๆ ศึกษาดูงานที่ สทอภ. ได้อีกด้วย การบริการข้อมูลภูมิสารสนเทศ

สทอภ. เป็นหน่วยงานเดียวในประ เทศไทยท่ีให้ บริการภูมิสารสนเทศแบบครบ วงจร เริ่มจากข้อมูลต้นน�้ำ โดยมีคลังข้อมูล ดาวเที ย มที่ ห ลากหลายตั้ ง แต่ ด าวเที ย ม รายละเอียดต�่ำ เช่น ดาวเทียม NOAA ดาวเทียม TERRA ระบบ MODIS และ ดาวเทียม AQUA ระบบ MODIS ดาวเทียม รายละเอียดปานกลาง เช่น ดาวเทียม LANDSAT ดาวเทียมรายละเอียดสูง เช่น ดาวเทียมไทยโชตไปจนถึง ดาวเทียมรายละเอีไยด สูง มาก ซึ่ง สทอภ. เป็นผู้แทนจ�ำหนา่ย ดาวเทียมราย ละเอียดสงู มากทุกดวงที่มีใีห้บรก ารเชิงพาณชิย์ อยู่ในปัจจุบัน และ ยังเป็นผู้แทนจ�ำหน่ายดาวเทียมในระบบ เรดาร์ ได้แก่ ดาวเทียม RADARSAT-1 และ RADARSAT-2 จากข้อมูลต้นนั้น สทอภ. ได้ พัฒนาผลิตภัณฑ์เพิ่มค่า เช่น แผนท่ี่ ภาพถ่ายดาวเทียม แผนท่ี่ท่องเท่ียว แผน ท่ีแสดง ลุ่มน�้ำและยังคิดค้นพฒันาอยา่ง ต่อเนื่อง เพื่อใหไ้ด้ผลิตภัณฑ์ ที่ตรงตาม ความต้องการของผู้รับบริการ และในปี 2554 นี้ สทอภ. ได้เริ่มการบริการในรูปแบบ Total Solution อย่างเป็นรูปธรรม โดยให้บริการ เพ่ือสังคมและในเชิงธุรกิจ ซึ่งการบริการในรูปแบบ Total Solution นี้รวมบริการให้ ค�ำปรึกษา บริการวิเคราะห์ข้อมูลเชิง พื้นที่และบริการฝึก อบรม นอกจากหลักสูตรการฝึกอบรมทางด้าน เทคโนโลยี

การสำ�รวจระยะไกลและภูมิสารสนเทศที่ สทอภ. จัดทำ�ขึ้น ในแต่ละปีแล้ว สทอภ. ยั ง จั ด หลั ก สู ต รการฝึ ก อบรมเพื่ อ ช่ ว ย พัฒนาศักยภาพบุคลากรของหน่วยงาน เป็นการเฉพาะ ตามความต้องการของ หน่วยงานนั้นๆ ด้วย สหรับปี 2554 การบริการโดยไม่คิด มูลค่า และ การจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์และ บริการของ สทอภ. มีสัดส่วน ใกล้เคียงกัน โดย รายได้หลักมาจากการให้บริการข้อมูล ดาวเทียม รายละเอียดสูงมาก ดาวเทียมรายละเอียด ปานกลาง ดาวเทียมไทยโชต และการให้บริการใน รูปแบบ Total Solution โดยผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ยัง เป็นหน่วยงาน ของรัฐคิดเป็นร้อยละ 46 มูลค่า การบริการ 140.23 ล้านบาท รองลงมาคือ สถาบันการศึกษาร้อยละ 28 มูลค่าการ บริการ 7.29 ล้านบาท หน่วยงานเอกชน ร้อยละ 18 มูลค่าการบริการ 10.22 ล้าน บาท และ หน่วยงานต่างประเทศร้อยละ 8 มูลค่าการบริการ 14.26 ลา้นบาท ตาม ลำ�ดับ ทั้งนี้ ขั้นตอนในการขอรับ บริการ ข้อมูลในภาวะปกติ และภาวะวิกฤตมี รายละเอียด ตามผังขั้นตอนการขอรับบริการข้อมูล ในภาวะปกติ และ ผังข้ันตอนการบริการข้อมูลในภาวะวิกฤต


การให้บริการข้อมูลดาวเทียมและผลิตภัณฑ์ต่างๆ ประจำ�ปีงบประมาณ 2554 จำ�แนกตามประเภทผลิตภัณฑ์

หมายเหตุ: จ�านวนเงินเป็นตัวเลขอ้างอิงจากใบเสร็จรับเงินที่ออกในปีงบประมาณ 2554

มูลค่าการให้บริการข้อมูลดาวเทียมและผลิตภัณฑ์ต่างๆ ประจำ�ปีงบประมาณ 2554 ต่างประเทศ 14.26 ลบ.

หน่วยงานของรัฐ 140.23 ลบ. สถาบันการศึกษา 7.29 ลบ.

เอกชน 10.22 ลบ. หมายเหตุ : จำ�นวนเงินเป็นตัวเลขอ้างอิงจากใบเสร็จรับเงินที่ออกในปีงบประมาณ 2554

การขอรับบริการข้อมูลในภาวะปกติ สืบค้น ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นว่าข้ิมูลที่ต้องการมีอยู่ ในคลังข้อมูลของ สทอภ. หรือไม่จาก แคตตาล็อกบนเว็บไซต์ของ สทอภ. กรณีที่ข้อมูล ไม่มีอยู่คลัง ข้อมูล สำ�หรับดาวเทียมไทยโชตและ ดาวเทียมรายละเอียดสูงมาก ผู้ใช้บริการสามารถ สั่งให้ดาวเทียม ถ่ายภาพได้

ติดต่อเรา ผู้ใช้บริการสามารถติดต่อเพื่อขอรับ บริการข้อมูลได้ที่ฝ่ายบริการข้อมูล สำ�นัก บริการและพัฒนาธุรกิจ ศูนย์ราชการ เฉลิมพระเกียรติฯ ชั้น 6 อาคาร B ถนน แจ้งวัฒนะ หลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0-2141-4564-69 หรือ E-mail: userservice@gistda.or.th

รับข้อมูล เม่ือข้อมูลผลิตเสร็จผู้ใช้บริการ สามารถเลือกมารับข้อมูลด้วยตนเอง ที่ฝ่ายบริการข้อมูล สำ�นักบริการและ พัฒนาธุรกิจหรือให้ สทอภ. จัดส่ง ข้อมูลไปให้ทางไปรษณีย์ หรือด้วย การ โอนข้อมูลผ่านทางอินเทอร์เน็ต (FTP)


สำ�นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 เลขที่ 120 หมู่ 3 อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคาร B) ชั้น 7 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2141-4470 โทรสาร 0-2143-9586 ถึง 7 Website : www.gistda.or.th E-mail : info@gistda.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.