อติ ว ิ ช ญ์ กุ ล งามเนตร
อติ ว ิ ช ญ์ กุ ล งามเนตร
เป็ นชื่องานจัดแสดงเครือ่ งราชภัณฑ์ และ ทรัพย์สนิ มีคา่ บางส่วน โดยจัดตัง้ ขึน้ ที่ ศาลาสหทัยสมาคม ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท มหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร โดยมีพธิ เี ปิดแสดงในวันที่ 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2483 โดยภายหลังได้ถูกยกเลิก ไป ปจั จุบนั รายการสิง่ ของจัดแสดงบางส่วน ถูกจัดแสดงอยู่ ในพิพธิ ภัณฑ์สถานแห่งชาติ วังหน้า และ อีกบางส่วนอยูใ่ น ศาลาเครือ่ งราชอิสริยยศ พระบรมมหาราชวัง
ส่วนที่ ๑ พืน้ ทีส่ าธารณะ
โถงต้อนรับ จุดจาหน่ายบัตรและฝากของ ร้านขายของทีร่ ะลึก ร้านอาหารและเครือ่ งดืม่ ทีจ่ อดรถ 215 คัน
ส่วนที่ ๒ นิทรรศการ
ห้องนิทรรศการถาวร ห้องนิทรรศการชัวคราว ่
ส่วนที่ ๓ งานบริการวิชาการ
ห้องประชุม ขนาด 420 ทีน่ งั ่ ห้องรับรอง
ส่วนที่ ๔ สนับสนุนโครงการ
สานักงานพิพธิ ภัณฑ์ งานระบบอาคาร คลังพิพธิ ภัณฑ์
รายละเอียดโครงการ
ทีต่ งั ้ โครงการ
หน่วยบัญชาการรักษาดินแดง (สวนเจ้าเชตุ) เลขที่ 2 ถนนเจริญกรุง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 พิกดั 13°44'46.5" N 100°29'43.1"
จากการศึกษากฎหมายและเทศบัญญัตทิ ม่ี ผี ลบังคับใช้ในบริเวณ ทีต่ งั ้ โครงการ พืน้ ทีแ่ ขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สามารถสรุปได้ดงั นี้
พืน้ ทีโ่ ครงการทัง้ หมด พืน้ ทีโ่ ครงการทีส่ ามารถก่อสร้างได้ (F.A.R. 3:1) ระยะร่นจากขอบเขตทีด่ นิ ไม่น้อยกว่า
29,120 87,360 6
ตารางเมตร ตารางเมตร เมตร
ความสูงอาคาร ไม่เกิน
16
เมตร
พืน้ ทีว่ า่ งในโครงการ (O.S.R. 10%) พืน้ ทีว่ า่ งจากระยะร่น พืน้ ทีโ่ ครงการทีก่ ่อสร้างได้บนพืน้ ดิน
3,355.8 3,945.8 17,158
ตารางเมตร ตารางเมตร ตารางเมตร
การวิเคราะห์เส้นทางของนักท่องเที่ยว รูปแบบและเส้นทางการท่องเทีย่ วถูกจาแนกประเภท โดยพิจารณาจากประเภทวิธกี ารเดินทางเข้าสูก่ รุงเทพมหานครชัน้ ใน ของนักท่องเทีย่ วได้ดงั นี้ รถไฟฟ้าใต้ดนิ รถนาเทีย่ ว และเรือขนส่งสาธารณะ รถไฟฟ้าใต้ดนิ
ขึน้ และลงทีส่ ถานีสนามไชย มีรปู แบบการท่องเทีย่ วแบบวงกลม วน กลับมาทีเ่ ดิม โดยมีจุดหมายตามลาดับ 0.สถานีรถไฟฟ้า 1.พระบรมมหาราชวัง 2.พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ 3.วัดพระเชตุพนฯ 4.วัดอรุณฯ 5.ราชพิพธิ ภัณฑ์(ใหม่) 6.สถานีรถไฟฟ้า
รถนาเทีย่ ว
หรือ รถทัวร์ นักท่องเทีย่ วมีลกั ษณะการท่องเทีย่ วแบบเชิงเส้น กล่าวคือ จุดเริม่ ต้นและจุดจบคนละทีก่ นั โดยเริม่ ต้นตามลาดับดังนี้ 1.พระบรมมหาราชวัง 2.วัดพระเชตุพนฯ 3.ราชพิพธิ ภัณฑ์(ใหม่) สาหรับวัดอรุณฯ นักท่องเทีย่ วจะเดินทางไปด้วยรถนาเทีย่ ว โดยมารับ ทีบ่ ริเวณ หน่วยบัญชาการรักษาดินแดนปจั จุบนั
เรือขนส่งสาธารณะ
นักท่องเทีย่ วมีเส้นทางการท่องเทีย่ วแบบเชิงเส้นทีม่ จี ุดเริม่ ต้นและ จุดหมายเป็ นคนละทีก่ นั โดยเริม่ ต้นจาก 0.ท่าเรือท่าช้าง 1.พระบรมมหาราชวัง 2.วัดพระเชตุพนฯ 3.วัดอรุณฯ 4.ราชพิพธิ ภัณฑ์(ใหม่) 5.ท่าเรือท่าเตียน หรือสถานีรถไฟฟ้าสนามไชย
๑ พระสยามินทร์
ห้ องฉายวีดีทศั น์เกริ่นนา ที่บอกเล่าเรื่ องราวความเป็ นมาจากประวัติศาสตร์ จนถึงปั จจุบนั สอดแทรกด้ วยแนวคิดและคติความเชื่อ
๒ ปราณีตศิลป์แห่งสยาม
ห้ องจัดแสดงทรัพย์สนิ มีค่าของแผ่นดิน ที่เกี่ยวข้ องกับการดารงชีวิตในวัง เล่าเรื่ องราวผ่านเครื่ องอิสริยยศ เครื่ องอุปโภคบริโภค และเครื่ องประกอบพระราชพิธีต่างๆ ที่ซงึ่ แสดงออกถึงวัฒนธรรมในอดีต และความงดงามของงานประณีตศิลป์
๒ ปราณีตศิลป์แห่งสยาม
ห้ องจัดแสดงทรัพย์สนิ มีค่าของแผ่นดิน ที่เกี่ยวข้ องกับการดารงชีวิตในวัง เล่าเรื่ องราวผ่านเครื่ องอิสริยยศ เครื่ องอุปโภคบริโภค และเครื่ องประกอบพระราชพิธีต่างๆ ที่ซงึ่ แสดงออกถึงวัฒนธรรมในอดีต และความงดงามของงานประณีตศิลป์
๓ พระจักรพรรดิราช
จัดแสดงสิง่ ของมีค่าของพระมหากษัตริย์ ทั ้งที่เป็ นเครื่ องราชอิสริยยศ เครื่ องราชูปโภค ของสะสม และมงคลบรรณาการจากต่างประเทศ ที่จะบอกเล่าเรื่ องราวของสัญลักษณ์คติและการทรงงานของพระเจ้ าอยู่หวั
๔ เย็นศิระเพราะพระบริบาล
ห้ องจัดแสดงชีวิตของพระเจ้ าอยู่หวั ในยุคปั จจุบนั ที่ทรงเป็ นตัวอย่างของการอยู่อย่างพอเพียง และทรงงานเพื่อแก้ ไขปั ญหาให้ พสกนิกรชาวไทย
๕ ธ สถิตย์ในดวงใจไทยทั่วหล้า
ห้ องนิทรรศการแบบ INTERACTIVE ที่จะให้ ผ้ เู ข้ าชมเห็นภาพรวมทั ้งหมดของพระราชกรณียกิจ ตั ้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั เพื่อให้ ตระหนักรับรู้ถึงความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์อนั ทรงคุณค่า
แนวความคิดในการออกแบบ
การวางผังอาคาร และแกนสาคัญของกลุม่ อาคารสาคัญในพระบรมมหาราชวัง และหมูพ่ ระมหามณเฑียร
ศาสนคติและ สัญลักษณ์คติ เรื่ องเขาพระสุเมรุ กับการวางผังจัดวางอาคาร
อรูปภูม ิ รูปภูม ิ
วิถโี คจรสุรยิ จักรวาล
มหานทีสที นั ดร
ศาสนคติและ สัญลักษณ์คติ เรื่ องเขาพระสุเมรุ กับการออกแบบพื ้นที่ภายในอาคาร
ฐานประทักษิณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม
พระที่นงั่ ดุสติ มหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง
หลังคา
ลาตัว
ฐาน
การถอดสัดส่วนอาคารของ พระที่นงั่ ดุสติ มหาปราสาท มาใช้ ในการออกแบบอาคารราชพิพิธภัณฑ์
การถอดสัดส่วนอาคารของ พระที่นงั่ ดุสติ มหาปราสาท มาใช้ ในการออกแบบอาคารราชพิพิธภัณฑ์
5 4 2
3
1
1- กระจกประหยัดพลังงาน 2- เสารับโครงสร้ างกระจก 3- โครงถักถ่ายแรงไปยังโครงสร้ างหลัก 4- เสา รับน ้าหนักผนัง 5- ผนังคอนกรี ต
สัดส่วนความกว้ างของช่วงช่องเปิ ดอาคาร
องค์ประกอบเปลือกอาคาร
การถอดสัดส่วนอาคารของ พระที่นงั่ ดุสติ มหาปราสาท มาใช้ ในการออกแบบอาคารราชพิพิธภัณฑ์