คำ�นำ� ปัจจุบัน ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ยอมรับว่าเป็น ภาษากลาง ที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างประเทศและยัง เป็นภาษาที่มีบทบาทสำ�คัญต่อการดำ�รงชีวิต สมุดภาพ คำ�ศัพท์ภาษาอังกฤษชุด “ประเพณีไทย ๑๒ เดือน” เล่มนี้จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้คำ�ศัพท์ชุดประเพณีไทย มากยิ่งขึ้นจึงหวังว่าสมุดภาพเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ นักเรียนและผู้ สนใจได้บ้างไม่มากก็น้อย
อรรถพล พลเยี่ยม
January
(แจน‘ยัวรี่) เดือนมกราคม
Boon Koon Lan Festival ประเพณีบุญคูณลาน
ประเพณีบุญคูณลาน บุญคูณลานเป็นการทำ�บุญเพื่อรับขวัญข้าว ในเดือนที่ ๑ คื อ เดื อ นมกราคมของทุ ก ปี ห ลั ง จากเก็ บ เกี่ ย วข้ า วเสร็ จ ชาว บ้ า นจะขนเอามั ด รวงข้ า วที่ เ กี่ ย วเสร็ จ แล้ ว นั้ น ไปกองรวมกั น ไว้ ที่ ล านเก็ บ ข้ า วด้ ว ยมี ค วามเชื่ อ ว่ า ข้ า วนั้ น เป็ น พื ช เลี้ ย งชี วิ ต ที่ มี เ ทพารั ก ษาเทพองค์ นั้ น มี น ามว่ า “แม่ โ พสพ”ซึ่ ง เป็ น ขวั ญ ข้าวที่เลี้ยงมนุษย์มาการทำ�บุญมีพระสวดมนต์เย็นฉันเช้าเพื่อ เป็ น สิ ริ ม งคลแก่ ข้ า วเปลื อ กเมื่ อ พระฉั น เช้ า แล้ ว ก็ ทำ � พิ ธี สู่ ข วั ญ ข้าวและผูกข้อต่อแขนกันในหมู่ชาวบ้านผู้ร่วมพิธีในการทำ�บุญ คูณลานจะต้องจัดเตรียมสถานที่ทำ�บุญที่ลานนวดข้าวของตน การนำ�ข้าวที่นวดแล้วมากองขึ้นให้สูงเรียกว่าคูณลานจากนั้น นิ ม นต์ พ ระภิ ก ษุ ส งฆ์ ม าเจริ ญ พระพุ ท ธมนต์ จั ด น้ำ � อบน้ำ � หอม ไว้ ป ระพรมขึ ง ด้ า ยสายสิ ญ จน์ ร อบกองข้ า วเมื่ อ พระภิ ก ษุ ส งฆ์ เจริ ญ พระพุ ท ธมนต์ จ บแล้ ว ถวายภั ต ตาหารเพลแก่ พ ระภิ ก ษุ สงฆ์ จากนั้นนำ�ข้าวปลาอาหาร มาเลี้ยงญาติพี่น้อง ผู้มาร่วม ทำ�บุญพระสงฆ์ฉันเสร็จก็จะประพรมน้ำ�พุทธมนต์ให้กองข้าว
February
(เฟบ’รัวรี) เดือนกุมภาพันธ์
Hae Pha Khuen That Festival ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ
ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ พุทธศาสนิกชนชาวจังหวัดนครศรีธรรมราชเชื่อว่า การ ทำ�บุญและการกราบไหว้บูชาที่ให้ได้กุศลจริงจะต้องปฏิบัติต่อ พระพั ก ตร์ ข องพระพุ ท ธเจ้ า และใกล้ ชิ ด กั บ พระพุ ท ธเจ้ า ให้ ม าก ที่ สุ ด เมื่ อ พระองค์ เ สด็ จ ปริ นิ พ พานแล้ ว ก็ ยั ง มี สั ญ ลั ก ษณ์ ข อง พระพุ ท ธเจ้ า อยู่ ไ ด้ แ ก่ พ ระธาตุ เ จดี ย์ พ ระพุ ท ธรู ป การกราบไหว้ บู ช าสิ่ ง เหล่ า นี้ เ ท่ า กั บ เป็ น การกราบไหว้ บู ช าต่ อ พระพั ก ตร์ พระพุทธองค์เช่นเดียวกันการที่ชาวนครศรีธรรมราชนำ�ผ้าไป บูชาพระบรมธาตุเจดีย์ด้วยการโอบรอบองค์พระบรมธาตุเจดีย์ ถื อ ว่ า พระบรมธาตุ เ จดี ย์ เ ป็ น เสมื อ นพระพุ ท ธเจ้ า เป็ น การบู ช า ที่ ส นิ ท แนบกั บ พระพุ ท ธองค์ ช่ ว งเวลาการแห่ ผ้ า ขึ้ น ธาตุ มี ปี ล ะ ๒ ครั้ง คือในวันมาฆบูชา ขึ้น ๑๕ ค่ำ�เดือน ๓ และวันวิสาขบูชา ขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๖ โดยนำ�ผ้าไปห่มองค์พระบรมธาตุเจดีย์ ณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช การ แห่ผ้าขึ้นธาตุจะนัดหมายโดยพร้อมเพรียงกันเป็นขบวนใหญ่
March
(มาร์ช) เดือนมีนาคม
Bun pra wet Festival ประเพณีบุญผะเหวด
ประเพณีบุญผะเหวด คำ�ว่าผะเหวด เป็นสำ�เนียงของชาวอีสาน ที่มาแผลงมา จากคำ�ว่าผะเหวดซึ่งหมายถึงผะเหวดสันดรการทำ�บุญผะเหว ดเป็ น การทำ � บุ ญ และฟั ง เทศน์ เ รื่ อ งผะเหวดสั น ดรชาดกหรื อ เทศน์ มหาชาติซึ่งมีจำ�นวน กัณฑ์ ๑๓ กัณฑ์ ด้วยความ เชื่อว่าหากได้ฟังเทศน์มหาชาติครบทั้ง กัณฑ์ ๑๓ กัณฑ์จบ ภายในวั น เดี ย วนั้ น อานิ ส งฆ์ จ ะดลบั น ดาลให้ ไ ปเกิ ด ในแดน แห่งความสุขตามพุทธคติบุญผะเหวดเป็นประเพณีการบริจาค ทานครั้ ง ยิ่ ง ใหญ่ คื อ งานมหากุ ศ ลให้ รำ � ลึ ก ถึ ง การบำ � เพ็ ญ บุ ญ คื อ ความดี ที่ ยิ่ ง ยวดอั น มี ก ารสละความเห็ น แก่ ตั ว เพื่ อ ผลคื อ ประโยชน์ สุ ข อั น ไพศาลของมวลชนมนุ ษ ย์ ช าติ น อกจากนี้ ยั ง เป็ น การสั ง สรรค์ ร ะหว่ า งญาติ พี่ น้ อ งจากแดนไกลสมกั บ คำ � กล่ า วที่ ว่ า “กิ น ข้ า วปุ้ น เอาบุ ญ ผะเหวดฟั ง เทศน์ ม หาชาติ ”
April
(เอ’พริล) เดือนเมษายน
Songkran Festival
ประเพณีวันสงกรานต์
ประเพณีวันสงกรานต์ วันสงกรานต์ ถือเป็นประเพณีการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ ของไทยที่ยึดถือปฏิบัติมาแต่โบราณช่วงวันสงกรานต์จึงเป็น วันแห่งความเอื้ออาทร ความรัก ความผูกพัน ที่มีต่อกันทั้ง ครอบครัว ชุมชน สังคม และศาสนา แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนไปสู่ สังคมในวงกว้าง และมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนทัศนคติ และความ เชื่อส่วนนั้นไปและในความเชื่อดั้งเดิมที่ใช้สัญลักษณ์เป็นองค์ ประกอบหลักในพิธี ได้แก่ การใช้น้ำ�เป็นตัวแทน แก้กันกับความ หมายของฤดูร้อน ช่วงเวลาที่พระอาทิตย์เคลื่อนเข้าสู่ราศีเมษ ใช้ น้ำ�รดให้แก่กันเพื่อความชุ่มชื่น และขอพรจาก บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย รวมทั้งแสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อบรรพบุรุษ ที่ล่วง ลับไปแล้ว ด้วยการทำ�บุญอุทิศส่วนกุศลไปให้ การสร้างความ สมัครสมานสามัคคีในชุมชน ได้แก่ การร่วมกันทำ�บุญให้ทาน การก่อพระเจดีย์ทรายและเป็น การทำ�นุบำ�รุงพระพุทธศาสนา
May
(เมย์) เดือนพฤษภาคม
Rocket Festival ประเพณีบุญบั้งไฟ
ประเพณีบุญบั้งไฟ ประเพณีบุญบั้งไฟนิยมทำ�กันในเดือนหกได้ ถือเป็น ประเพณีสำ�คัญที่จะขาดไม่ได้เพราะตั้งแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน ชาวอีสานมีความเชื่อว่า ถ้าปีใดไม่จัดงานบุญบั้งไฟ ฟ้าฝนก็จะ ไม่ตกต้องตามฤดูกาล เกิดความแห้งแล้ง ไม่มีน้ำ�ทำ�นา แต่ถ้า ปีใดจัดงานประเพณีบุญบั้งไฟ ฟ้าฝนก็จะตกต้องตามฤดูกาล เกิด ความอุดมสมบูรณ์ปราศจากโรคภัยงานบุญบั้งไฟจึงถือเป็นงาน ประเพณี ประจำ�ปีที่สำ�คัญของชาวอีสาน พอใกล้ถึงวันงานชาว อีสานไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็จะกลับบ้านไปร่วมงานบุญบั้งไฟซึ่งเป็น งานที่สร้างความรักความสามัคคีของคนท้องถิ่นเป็นอย่างดี จัดงานบุญบั้งไฟขึ้นเพื่อเป็นการบูชาพระยาแถนหรือเทพวัสสกา ลเทพบุตรซึ่งชาวบ้านมีความเชื่อว่าพระยาแถนมีหน้าที่คอยดูแล ให้ ฝ นตกถู ก ต้ อ งตามฤดู ก าลและมี ค วามชื่ น ชอบไฟเป็ น อย่ า ง มากหากหมู่บ้านใดไม่จัดทำ�การจัดงานบุญบั้งไฟบูชาฝนก็จะ ไม่ ต กถู ก ต้ อ งตามฤดู ก าลอาจก่ อ ให้ เ กิ ด ภั ย พิ บั ติ กั บ หมู่ บ้ า นได้
June
(จูน) เดือนมิถุนายน
Phi Ta Khon Festival ประเพณีผีตาโขน
ประเพณีผีตาโขน ผีตาโขน เป็นชื่อการละเล่นชนิดหนึ่ง โดยผู้เล่นทำ�รูป หน้ากาก มีลักษณะน่าเกลียดน่ากลัว การเล่นผีตาโขน มี เฉพาะงานบุญประเพณีพื้นบ้านเรียกว่า“บุญหลวง”เป็นการละ เล่นที่เกี่ยวเนื่องกับพิธีกรรมมีวัตถุประสงค์เพื่อบวงสรวงบูชา วิญญาณผีบรรพชนต้นตระกูลเผ่าพันธุ์ผู้ที่สร้างบ้านเมือง บรรพ ชนเมื่อตายเป็นผี จึงเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่น่าเกรงขาม มีอำ�นาจ ที่จะดลบันดาลให้ความอุดมสมบูรณ์หรือความหายนะแก่บ้าน เมืองได้ เพื่อเป็นการแสดงความเคารพ เพื่อความอุดมสมบูรณ์ พูนสุขของบ้านเมืองจึงจะต้องทำ�การละเล่นเต้นฟ้อนผีตาโขน เพื่ อ เซ่ น สรวงบู ช าให้ เ ป็ น ที่ ถู ก อกถู ก ใจแก่ ผี บ รรพชนการละ เล่นผีตาโขนจึงเป็นการละเล่นที่มีมาแต่โบราณและผ่านการ สืบทอดทางพิธีกรรมเป็นสายยาวจากรุ่นต่อรุ่นมาจนถึงปัจจุบัน
July
(จูไล่) เดือนกรกฏาคม
Candle Festival ประเพณีแห่เทียนพรรษา
ประเพณีแห่เทียนพรรษา แห่เทียนมีประเพณีหนึ่งที่เนื่องด้วยวันเข้าพรรษาและจัด เป็นประเพณีที่สำ�คัญและสืบทอดกันเรื่อยมาก็คือประเพณีหล่อ เที ย นพรรษาสำ � หรั บ ให้ พ ระภิ ก ษุ แ ละพุ ท ธศาสนิ ก ชนทั่ ว ไปได้ จุ ด บู ช าพระประธานในโบสถ์ ซึ่ ง เที ย นพรรษาสามารถอยู่ ไ ด้ ตลอด ๓ เดือน การถวายเทียนพรรษาเป็นกุศลอย่างหนึ่งของ การให้แสงสว่าง พิธีหล่อเทียนเริ่มก่อนเข้าพรรษา ประมาณ ๑ สัปดาห์ เมื่อหล่อเทียนเสร็จ วันรุ่งขึ้นจะนำ�เทียนพรรษาที่หล่อ ได้ จัดขบวนแห่นำ�ไปถวายที่วัด เพื่อเป็นพุทธบูชา ในวันนั้นจะ มีการทำ�บุญตักบาตรถวายแด่พระภิกษุเพื่อเป็นการร่วมกุศลกัน ในหมู่บ้านอานิสงส์ของการหล่อเทียนหรือถวายเทียนพรรษา แด่ พ ระภิ ก ษุ ถื อ กั น ว่ า จะทำ � ให้ เ ป็ น ผู้ มี ปั ญ ญาดี เ จริ ญ ก้ า วหน้ า เหมือนดังแสงเทียนที่สว่างยามค่ำ�คืนซึ่งพระภิกษุสมัยก่อนใช้ เป็นแสงสว่างในการอ่านหนังสือธรรมะและประกอบกิจของสงฆ์
August
(ออกัส’ท) เดือนสิงหาคม
Long Boat Racing ประเพณีแข่งเรือยาว
ประเพณีแข่งเรือยาว เป็นประเพณีแข่งเรือยาวเป็นประเพณีที่สำ�คัญต่อประชาชน ชาวไทยตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น การแข่ ง เรื อ ยาวมั ก จะเล่ น กั น ในฤดู น้ำ � หลากเป็ น ประเพณี ที่ ส อดคล้ อ งกั บ วิ ถี ชี วิ ต ความ เป็ น อยู่ ข องประชาชนชาวไทยที่ อ าศั ย อยู่ ใ กล้ แ ม่ น้ำ � เป็ น อย่ า งมากโดยการแข่ ง เรื อ ยาวมั ก จะควบคู่ ไ ปกั บ การทำ � บุ ญ ตั ก บาตรไหว้ พ ระการปิ ด ทองรวมทั้ ง งานกฐิ น การแข่ ง เรื อ ยาวไม่ ไ ด้ แ ข่ ง เพื่ อ การเอาชนะแต่ แ ข่ ง เพื่ อ ฉลองเทศกาลออก พรรษาและแข่ ง เพื่ อ ให้ ค วามสนุ ก สนานและสามั ค คี แ ก่ ช าว บ้ า นถึ ง แม้ ใ นปั จ จุ บั น การแข่ ง เรื อ ยาวอาจจะไม่ เ หมื อ นใน สมั ย ก่ อ นไม่ มี ก ารร้ อ งเพลงแห่ เ รื อ แต่ ก ลายเป็ น เปิ ด เพลงลู ก ทุ่ ง แทนแต่ ก็ ยั ง มี ห น่ ว ยงานต่ า งๆที่ เ ล็ ง เห็ น ความสำ � คั ญ จึ ง ได้ มี ก ารจั ด แข่ ง เรื อ ยาวในหลายจั ง หวั ด และจั ด เป็ น ประจำ � ทุ ก ปี จ นทำ � ให้ ป ระเพณี ก ารแข่ ง เรื อ ยาวได้ ก ลาย เป็ น ที่ รู้ จั ก และเป็ น ที่ ส นใจของนั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวต่ า งชาติ
September
(เซพ’เทอเบอะ) เดือนกันยายน
Um Pra Dam Nam Festival ประเพณีอุ้มพระดำ�น้ำ�
ประเพณีอุ้มพระดำ�น้ำ� ประเพณีอุ้มพระดำ�น้ำ�เป็นประเพณีที่มีเพียงแห่งเดียวใน ประเทศไทยเกิ ด จากความเชื่ อ เกี่ ย วกั บ อภิ นิ ห ารของพระพุ ท ธ รู ป สำ � คั ญ คู่ บ้ า นคู่ เ มื อ งคื อ พระพุ ท ธมหาธรรมราชาซึ่ ง คนหา ปลาสองสามี ภรรยาทอดแหได้ที่วังเกาะระสารในบริเ วณลุ่ม น้ำ�ป่าสักในเขตตัวเมืองเพชรบูรณ์จึงนำ�ไปไว้ที่วัดไตรภูมิเมื่อถึง เทศกาลสารทพระพุทธรูปองค์นี้จะหายไปและชาวบ้านจะพบมา เล่นน้ำ�ที่บริเวณที่ค้นพบเดิมดังนั้นในเทศกาลทำ�บุญสารทหลัง จากทำ�บุญเสร็จแล้วจะมีพิธีอัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาลง ริ้วขบวนเรือไปสรงน้ำ�ที่วังเกาะระสารแต่ปัจจุบันนำ�มาทำ�พิธี ที่ท่าน้ำ�ของวัดโบสถ์ชนะมารในเมื่อดำ�น้ำ�เสร็จชาวบ้านจะตัก น้ำ�รดศีรษะและรดกันเองเพื่อเป็นสิริมงคลชาวบ้านเชื่ออีกว่าถ้า ทำ�พิธีอุ้มพระดำ�น้ำ�แล้วจะทำ�ให้ฝนตกต้องตามฤดูกาลอีกด้วย
October
(ออคโท’เบอะ) เดือนตุลาคม
Buffalo Racing Festival ประเพณีวิ่งควาย
ประเพณีวิ่งควาย ประเพณีวิ่งควาย จัดขึ้นหลังฤดูการไถนาเพื่อให้ควาย พักเหนื่อยหลังการ ใช้งานอย่างหนัก และระหว่างรอการเก็บ เกี่ ย วชาวนาจะนำ � ควายมาชุ ม นุ ม กั น เพื่ อ ถื อ โอกาสมาพบปะ สนทนากันรวมทั้งการซื้อขายสินค้าที่ตลาดจนกลายมาเป็นการ แข่งขันวิ่งควายขึ้นในอดีตประเพณีวิ่งควายเกี่ยวข้องกับความ เชื่อทางไสยศาสตร์ที่ว่าถ้าควายของใครเจ็บป่วยเจ้าของควาย ควรจะนำ � ควายของตนไปบนกั บ เทพารั ก ษ์ แ ละเมื่ อ หายเป็ น ปกติแล้วจะต้องนำ� ควายมาวิ่งแก้บน ฉะนั้น ในปีต่อๆ มา ชาวบ้ า นก็ นำ � ควายของตนมาวิ่ ง เพื่ อ ป้ อ งกั น การเจ็ บ ป่ ว ยเสี ย แต่ เ นิ่ น ๆและมี ค วามเชื่ อ ที่ว่าหากปีใดไม่มีการวิ่ง ควายปีนั้น ควายจะเป็นโรคระบาดกันมากเดิมทีมีแต่คนในท้องถิ่นรู้จัก แต่ ในปั จจุ บัน ประเพณี วิ่ ง ควายเป็นประเพณีประจำ�จัง หวัง ชลบุรี ที่ โ ด่ ง ดั ง เป็ น ที่ รู้ จั ก กั น ไปทั่ ว ทั้ ง ชาวไทยและชาวต่ า งประเทศ
November
(โนเวม เบอะ) เดือนพฤศจิกายน
Loy Krathong Day
ประเพณีวันลอยกระทง
ประเพณีวันลอยกระทง เมื่อถึงวันเพ็ญพระจันทร์เต็มดวงในเดือน ๑๒ ชาวบ้าน จะจั ด เตรี ย มทำ � กระทงจากวั ส ดุ ที่ ห าง่ า ยตามธรรมชาติ เ ช่ น หยวกกล้ ว ยและดอกบั ว นำ � มาประดิ ษ ฐ์ เ ป็ น กระทงสวยงาม ปั ก ธู ป เที ย นและดอกไม้ เ ครื่ อ งสั ก การบู ช าก่ อ นทำ � การ ลอยในแม่ น้ำ � ก็ จ ะอธิ ษ ฐานในสิ่ ง ที่ มุ่ ง หวั ง พร้ อ มขอขมา ต่ อ พระแม่ ค งคาเพื่ อ บู ช ารอยพระพุ ท ธบาทและพระพุ ธ เจ้ า ตามคติ ค วามเชื่ อ และรั ก ษาขนบธรรมเนี ย มของไทยไว้ มิ ให้ สู ญ หายไปตามกาลเวลาอี ก ทั้ ง ทำ � ให้ รู้ ถึ ง คุ ณ ค่ า ของน้ำ � หรื อ แม่ น้ำ � ลำ � คลองอั น เป็ น สิ่ ง จำ � เป็ น สำ � หรั บ การดำ � รงชี วิ ต สถานที่จัดงานหลายแห่ง มีการประกวดกระทง ประกวดนาง นพมาศ และมีมหรสพสมโภชในตอนกลางคืน นอกจากนั้นยังมี การจุดดอกไม้ ไฟ พลุ ตะไล ซึ่งในการเล่นต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ
December
(ดีเซม’เบอะ) เดือนธันวาคม
Buriram Huairat Festival Kite
ประเพณีว่าวอีสาน
ประเพณีว่าวอีสาน ช่วงฤดูเก็บเกี่ยวหรือย่างเข้าสู่ฤดูหนาวมีลมมรสุมตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ พั ด แรงชาวอี ส านส่ ว นใหญ่ จึ ง ถื อ โอกาสนี้ ปล่ อ ยว่ า วขึ้ น สู่ ท้ อ งฟ้ า เป็ น การแข่ ง ขั น กั น บางถิ่ น ยั ง ถื อ ว่ า การเล่ น ว่ า วเป็ น การเสี่ ย งทายทำ � นายฝนฟ้ า ในปี ต่ อ ไปด้ ว ย คื อ ถ้ า ปี ใ ดว่ า วติ ด ลมบนตลอดคื น สม่ำ � เสมอก็ ท ายว่ า ปี ต่ อ ไป ฝนฟ้ า จะตกต้ อ งอุ ด มสมบู ร ณ์ ค นชนบทก็ พ ากั น ทำ � ว่ า วแอก ซึ่ ง มี รู ป แบบเป็ น เอกลั ก ษณ์ ข องท้ อ งถิ่ น เล่ น กั น ทุ ก หมู่ บ้ า น เป็ น ประเพณี ก ารละเล่ น ของท้ อ งถิ่ น อี ส านแต่ น านมาและ เปิ ด โอกาสให้ ทุ ก หมู่ บ้ า นทำ � ว่ า วแอกมาแข่ ง ขั น ชิ ง รางวั ล กั น ตัดสินกันที่ความสวยงามเสียงแอกและลีลาของว่าวบนท้องฟ้า นอกจากนี้ มี ก ารประกวดขบวนแห่ ว่ า วที่ ยิ่ ง ใหญ่ ส วยงาม ตอนค่ำ � มี ม หรสพการละเล่ น และการแสดงสิ น ค้ า พื้ น บ้ า น