Mascot น้องแครอท

Page 1

Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

Mascot

Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

Thailand Research Expo

2013

by Attpol Polyiam


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

คำ�นำ� รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการออกแบบภาพเคลื่อนไหว เนื้อหาในรายงานเล่มนี้ประกอบ ไปด้วย การศึกษาและเรียนรู้ตามขั้นตอน 3 ส. เพื่อการออกแบบมาสคอตในการส่งเข้าประกวด Thailand Research Expo 2013 ที่จะถูกจัดขึ้นในปีนี้ในหัวข้อ การออกแบบ Mascot ของงาน “การนำ�เสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ ๒๕๕๖” (Thailand Research Expo 2013) จะต้องสื่อให้เห็นถึงการแสดงความคิดสร้างสรรค์ของนักวิจัย ในการสร้างวิจัยอย่างมีคุณค่า และประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ และเพื่อเป็นการสร้างสรรค์ความรู้และแนวความคิดใหม่ๆ ให้แก่นักศึกษา ในรายงานเล่มนี้จะประกอบไปด้วยการดำ�เนินการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระต่าย ลักษณะนิสัยของกระต่าย

จัดทำ�โดย นายอรรถพล พลเยี่ยม (นายอรรถพล พลเยี่ยม) นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาศิลปกรรม


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม เรื่อง หน้า ขั้นตอนการสือนค้นข้อมูล ส.1 4 ความเป็นมาของกระต่าย 5 ประโยชน์ของกระต่าย 5 ขั้นตอนการผลิต ภาพร่างที่ 1 6 ภาพร่างที่ 2 7 Sketch 6 ท่าทางของมาสคอต 8 ขั้นตอนการทำ�งาน 9 ขั้นตอนการลงสี 10-12 ภาพรวม 6 ท่าทาง 13 การสรุปผลและความหมายของมาสคอต 14


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม จากโจทย์ที่ได้รับ จากที่สำ�นักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ มีการจัดประกวดออกแบบและตั้งชื่อ Mascot ของงานการนำ�เสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ Thailand Research Expo 2013 ด้วย สำ�นักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้กำ�หนดการจัดงาน “การนำ�เสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2556” (Thailand Research Expo 2013) ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ให้เป็นเวทีระดับชาติด้านการส่งเสริมการวิจัย โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายการ วิจัยและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในภาคส่วนต่างๆทั่วประเทศ ซึ่งการจัดงานมีองค์กรและหน่วยงานในระบบวิจัยได้นำ�ผลงานและกิจกรรมเข้าร่วมงานในหลาก หลายรูปแบบ และมีผู้เข้าร่วมงานเป็นจำ�นวนมาก สำ�หรับปี 2556 กำ�หนดจัดงานดังกล่าวขึ้น ในวันที่ 23-27 สิงหาคม 2556 ณ ศูนย์ประชุม บางกอกคอนเวนชั่นเซนเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ ราชประสงค์ กรุงเทพฯ โดยในปีนี้ วช. กำ�หนดให้มี “โครงการประกวดออกแบบและตั้งชื่อ Mascot ของงานการนำ�เสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2556 (Thailand Research Expo 2013)” ขึ้นโดยผลงานที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ จะได้รับเงินรางวัล และเกียรติบัตร จึงขอเชิญชวนผู้สนใจส่งผลงานการออกแบบ ภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2556 ดังรายละเอียดในประกาศตามหัวข้อ ที่ส่งมาด้วย แนวคิดและเนื้อหาในการออกแบบ 1.การออกแบบ Mascot ของงาน “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2556” (Thailand Research Expo 2013) จะต้องสื่อให้เห็นถึงการแสดง ความคิดสร้างสรรค์ของนักวิจัยในการสร้างงานวิจัยอย่างมีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ 2.การออกแบบ Mascot ตามข้อ 1 ต้องมีรูปแบบที่สร้างความสนใจแก่ผู้พบเห็น โดยมีรูปแบบที่ใช้สีสันสวยงาม มีความน่ารัก มีบุคลิกที่ร่าเริงและ แสดงความเฉลียวฉลาด รวมทั้งมีความเป็นมิตร พร้อมกับสะท้อนแนวคิดตามที่กำ�หนดไปพร้อมกัน 3.การออกแบบ Mascot ตามข้อ 1 และ 2 จะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือสัญลักษณ์ใดก็ได้ โดยผู้ออกแบบต้องให้ความเห็น และความหมายของ Mascot ที่ออกแบบและนำ�เสนออย่างชัดเจน ไม่น้อยกว่า 3 บรรทัด และไม่เกิน 5 บรรทัด กติกาการส่งผลงานที่ออกแบบ นิสิต นักศึกษา ทุกสาขาวิชาการ และผู้สนใจ สามารถส่งผลงานได้ไม่จำ�กัดจำ�นวน ออกแบบและตั้งชื่อ Mascot ที่สื่อถึงแนวคิดและเนื้อหาในการออกแบบตามที่ระบุไว้ 3 ข้อข้างต้น มีองค์ประกอบของการออกแบบในภาพที่สวยงาม จดจำ�ง่าย และไม่ซ้ำ�กับผลงานที่เคยมี การเผยแพร่หรือเป็นที่รู้จักมาแล้ว ออกแบบโดยใช้สีไม่เกิน 4 สี การออกแบบต้องใช้คอมพิวเตอร์กราฟฟิกในการออกแบบ โดยออกแบบ Action ต่างๆ ของ Mascot ไม่น้อยกว่า ๖ Action ได้แก่ ท่าไหว้ ท่า ผายมือทางซ้าย ท่าผายมือทางขวา ท่าแสดงความเป็นมิตรหรือเชื้อเชิญ ท่าแสดงบุคลิกที่ดูสนุกสนาน หรืออื่นๆ เกณฑ์การคัดเลือก การออกแบบสอดคล้องกับแนวคิดและเนื้อหาในการออกแบบตามที่กำ�หนด มีความเหมาะสมในการใช้งานได้จริง การส่งผลงาน ส่งผลงานการออกแบบโดยพิมพ์เป็น 4 สี บนกระดาษขนาด A4 Action แผ่นละ 1 ภาพ (รวม 6 Action) โดยจัดส่งเป็น jpg., ai.หรือ psd (ความละเอียดไม่น้อยกว่า 300 dpi) ส่งผลงานการออกแบบโดยพิมพ์เป็น 4 สี บนกระดาษขนาด A4 รวม 6 Action จำ�นวน 1 แผ่น พร้อมให้ความหมายของ Mascot โดยจัดส่ง เป็น word ผลงานตามข้อ 1 และ 2 ใส่ในแฟ้มโชว์งาน พร้อมแผ่น CD จำ�นวน 1 ชุด โดยทุกชิ้นให้ระบุข้อมูลผู้ออกแบบหรือเจ้าของผลงาน ได้แก่ -ชื่อ – นามสกุล -สาขาที่ศึกษา และสถาบันที่สังกัด หรือองค์กรที่สังกัด -ที่อยู่ทางไปรษณีย์ -เบอร์โทรศัพท์ที่ทำ�งาน / ที่บ้าน / มือถือ -e-mail address ส่งผลงานภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2556 (ดูจากวันที่ที่ประทับตราไปรษณีย์เป็นสำ�คัญ) หรือนำ�ส่งผลงานด้วยตนเองภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2556 ตามเวลาราชการ ส่วนส่งเสริมและพัฒนาการวิจัย ภารกิจบริหารจัดการผลงานวิจัย สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 196 ถ.พหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม กระต่าย กระต่ายเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดเล็ก มีขนปุกปุยทั่วลำ�ตัว มีหางกลมสั้น มีใบหูยาวเมื่อเทียบกับสัตว์อื่น ซึ่งวิวัฒนาการมาใช้สำ�หรับฟังเสียง ได้เป็นอย่างดี และยังมีประสาทสัมผัสในการดมกลิ่นที่ดีมาก กระต่ายมีขาหน้าที่มี 5 นิ้ว ขาหลังมี 4 นิ้ว มีสะโพกที่ยาวและทรงพลัง เต็มไปด้วย กล้ามเนื้อ จึงสามารถกระโดดได้เป็นอย่างดี ใต้ฝ่าเท้ามีขนนุ่ม ๆ รองรับอยู่ เพื่อมิให้เกิดเสียงเมื่อเคลื่อนไหว เป็นสัตว์ที่ตื่นตกใจง่ายและมีความ ว่องไวปราดเปรียวมากในการระแวดระวังภัย นอกจากนี้แล้วตาของกระต่ายยังมีหนังตาหรือเปลือกตาถึง 3 ชั้นด้วยกัน ประโยขน์ของกระต่าย กระต่ายเป็นสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหารเท่านั้น ต่างจากสัตว์ฟันแทะที่กินได้ทั้งเนื้อและพืช อาหารของกระต่ายได้แก่ หญ้าและพืชผักชนิดต่าง ๆ อายุขัยโดยเฉลี่ยของกระต่ายจะอยู่ที่ 2-3 ปี นับเป็นสัตว์ที่สืบพันธุ์เร็วมาก โดยปีหนึ่ง ๆ กระต่ายสามารถออกลูกได้ถึง 2-3 ครั้ง ครั้งละประมาณ 2-3 ตัว กระต่ายในธรรมชาติ มักอาศัยอยูใ่ นที่ราบโล่งที่เป็นทุ่งหญ้ามากกว่าป่าทึบ โดยขุดโพรงใต้ดินเป็นรังและที่อยู่อาศัย ลูกกระต่ายป่าใน ธรรมชาติ เมื่อแรกเกิดจะลืมตา และในวันรุ่งขึ้นก็สามารถวิ่งและกระโดดได้เลย เมื่อกระต่ายตัวเมียจะคลอดลูก จะแยกออกจากรังเดิมไปขุดรังใหม่ เพื่อป้องกันลูกอ่อนจากกระต่ายตัวผู้ ซึ่งอาจฆ่าลูกกระต่ายเกิดใหม่ได้ โดยจะกัดขนตัวเองเพื่อปูรองรับลูกใหม่ที่จะเกิดขึ้นมา กระต่ายโดยธรรมชาติ เป็นสัตว์ที่อยู่สุดปลายของห่วงโซ่อาหาร ด้วยเป็นอาหารของสัตว์กินเนื้อชนิดต่าง ๆ เช่น หมาป่า, หมาจิ้งจอก, แมวป่า, เสือ ชนิดต่าง ๆ, หมาใน, ชะมด, เพียงพอน รวมถึงงูขนาดใหญ่ด้วย เช่น งูหลามและงูเหลือม กระต่ายเป็นสัตว์ที่ผูกพันกับมนุษย์มาเป็นเวลานาน ด้วย การเป็นสัตว์ที่ถูกล่าเพื่อเป็นอาหารและเกมกีฬาโดยเฉพาะในแถบทวีปยุโรป ในเชิงวัฒนธรรมและความเชื่อ ชาวตะวันตกเชื่อว่า การพกขากระต่ายจะ นำ�มาซึ่งโชคดี ชาวจีนและชาวญี่ปุ่นเชื่อว่า กระต่ายเป็นเทพเจ้าแห่งดวงจันทร์ มีหน้าที่ปรุงยาอายุวัฒนะ เป็นสัตว์เลี้ยงของฉางเอ๋อ เทพธิดาแห่งดวง จันทร์ การมอบรูปลักษณ์ของกระต่ายจึงถือเป็นการมอบความปรารถนาให้โชควาสนาให้แก่กัน นอกจากนี้แล้วในทางโหราศาสตร์ กระต่ายยังเป็น ตัวแทนของนักษัตรลำ�ดับที่ 4 คือ ปีเถาะ ที่ใช้สัญลักษณ์เป็นกระต่าย ในปัจจุบัน กระต่ายได้กลายมาเป็นสัตว์เลี้ยงของมนุษย์ทั้งในแง่ของการเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม และสัตว์เศรษฐกิจเพื่อรับประทานเนื้อ โดย กระต่ายชนิดที่นำ�มาพัฒนาสายพันธุ์จนเป็นสัตว์เลี้ยงนั้น โดยมากจะเป็นชนิด กระต่ายยุโรป (Oryctolagus cuniculus) ที่มีถิ่นกำ�เนิดดั้งเดิมใน ทวีปยุโรป ซึ่งกระต่ายสายพันธุ์สวยงามนั้นก็มีด้วยกันหลากหลายมากมาย โดนยมีขนาดแตกต่างกันออกไปตามขนาดลำ�ตัว อาทิ เนเธอร์แลนด์ด วอฟ, โปลิช แรทบิท, ฮอลแลนด์ลอป ซึ่งเป็นกระต่ายขนาดเล็ก และอิงลิชลอป ที่เป็นกระต่ายขนาดใหญ่ เป็นต้น ประโยชน์ของกระต่าย 1. กระต่ายให้ความเพลิดเพลิน การเลี้ยงกระต่ายในประเทศส่วนมากเป็นการเลี้ยงไว้ดูเล่น เพื่อความเพิดเลิน เนื่องจากกระต่ายเป็นสัวต์ที่น่ารัก เลี้ยงง่าย กินอาหารได้เกือบทุกประเภท ทำ�ให้มีผู้นิยมเลี้ยงกระต่ายกันมากขึ้น เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ กระต่ายจะเป็นเพื่อนเล่นใน ยามที่คุณเงาได้ ซึ่งมักจะทำ�ให้คุณมีสุขภาพจิตดีขึ้น กระต่ายยังช่วยทำ�ให้เด็กๆ มีนิสัยรักสัตว์ มีความเมตตาปราณีต่อสัตว์ และรู้จักความรับ ผิดชอบในการเลี้ยงดูกระต่าย ซึ่งจะเป็นการเตรียมพร้อมที่จะก้าวไปเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต 2.ประโยชน์ในทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระต่ายเป็นสัตว์ขนาดเล็ก เลี้ยงง่ายโตเร็ว ขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว กายวิภาคและสรีระวิทยาของ กระต่ายไม่แตกต่างจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นๆมากนัก จึงนิยมใช้กระต่ายในการศึกษาทดลอง และงานวิจัยต่างๆ ทางด้านวิทยาศาสตร์การ แพทย์ เช่น 2.1 ใช้ในการเรียนทางสัตววิทยา โดยการผ่ากระต่ายเพื่อศึกษาโครงกระดูกกล้ามเนื้อ อวัยวะภายใน เส้นเลือด และเส้นประสาท 2.2 ใช้ศึกษาฤทธิ์ของยาต่างๆ ก่อนที่จะนำ�ใช้ในคน 2.3 ใช้ทดสอบความปลอดภัยของยา วัคซีน และเครื่องสำ�อาง 2.4 ช่วยในการวินิจฉัยโรค โดยฉีดเชื้อเข้ากระต่ายแล้วสังเกตอาการเช่น โรคพิษสุนัขบ้า เป็นต้น 2.5 ผลิตชีวภัณฑ์ต่างๆ เช่น แอนติบอดี (antibody) เอวินิฉัยโรคสารเร่งการแข็งตัวของเลือด และเอนไซม์ (enzyme) ที่ใช้การวินิฉัยโรค ต่างๆ 2.6 ฬช้ตรวจการตั้งครรภ์ โดยอาศัยหลัการที่ว่า ปัสสาวะของสตรีมีครรภ์เมื่อฉีดเข้ากระต่ายตัวเมีย จะกระตุ้นเหนี่ยวนำ�ให้เกิดการตดใข่ 2.7 ใช้ในงานวิจัย เช่น การฝากย้ายตัวอ่อนสัตว์ (Embryo Transfer) มิการทดลองทำ�ได้สำ�เร็จในกระต่ายเป็นสัวต์ชนิดแรก 3. เป็นอาชีพเสริมของเกษตรกร กระต่ายเป็นสัวต์เลี้ยงง่าย ขยายพันธุ์อย่างรวดเร็วใช้เนื้อที่น้อย กินอาหารได้หลายชนิด และสามารถใช้ ประโยชน์จากอาหารได้ดีกว่าสัตว์กระเพราะเดียวกัน เช่น สัตว์ปีก และสุกร เหมาะสำ�หรับการเลี้ยงเป็นอาชีพเสริมของเกษตรกร


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม ขั้นตอนการผลิต

ภาพร่างที่ 1 ภาพในการร่างครั้งแรกแสดงให้เห็นถึง กระต่ายที่ ได้ Sketch จะเห็นเป็นรูปร่างกระต่ายที่ยังไม่ สมบูรณ์เท่าไหร่ เป็นกระต่ายที่ดูแล้วเหมือนกับกระต่ายที่ไม่ค่อยมีชีวิตชีวาเท่าไหร่


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

แบบร่างที่ 2 .ภาพที่สองเป็นภาพ Sketch ที่ได้เพิ่มผ้าพันคอ และโบว์ ทำ�ลักษณะให้มีความร่าเริงมากขึ้น พร้อมกับออกแบบแขนขาให้เพื่อ การออกแบบออกท่าทางให้มีความสอดคล้องกับตัว Mascot มากขึ้น


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

ขั้นตอนต่อมาได้ ออกแบบท่าทาง 6 ท่า โดยมีท่า เชื้อเชิญ ท่าผายมือข้างขวา ท่าผายมือข้าง ซ้าย ท่าสนุกสนาน ท่าไหว้ และท่าร่าเริง โดยการ Sketch ก่อน และพร้อมตั้งชื่อ Mascot ว่าน้อง แครอท


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

ขั้นตอนการดราฟเส้น จากภาพ Sketch ในโปรแกรม Adoby Illustrator cs6 เพื่อความ สะดวกต่อการทำ� Mascot ในการดราฟภาพ

การดราฟเส้น โดยใช้เครื่องมือ Pen Tool ในการลากเส้นดราฟเพื่อการลงสีในตัว Mascot


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

การลงสีตัว Mascot น้อง แครอท โดยการลงสีแต่ละส่วน ตอนนี้ได้ทำ� ผ้าพันคอ เป็น สีแดง และโบว์สีแดง

ได้ทำ�การเปลี่ยนสี ผ้าพันคอ และโบว์ เป็นสีฟ้า และได้ดราฟ ลงสี น้อง แครอท ครบ 6 ท่า ก็เป็นอันเสร็จสิ้น


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

ได้รวบรวมท่าทั้งหมด 6 ท่าได้แก่ ท่าเชื้อเชิญ ท่าผายมือทางขวา ท่าผายมือทางซ้าย ท่าสนุกสนาน ท่าไหว้ ท่าร่าเริง โดยเป็นการดราฟและลงสีเรียบร้อย


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

จากการทำ�โบว์ และ ผ้าพันคอสีแดงได้เปลี่ยน มาเป็นสีฟ้า


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

ได้ทำ�การ Export ไฟล์เป็น .JPG รวมทั้งหมด 6 ท่า


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

Mascot Thailand Research Expo 2013

ความหมายของ Mascot Thailand Research Expo 2013 ชื่อของ Mascot : น้อง แครอท เพื่อเป็นงานวิจัย นำ�เสนอประโยชน์งานวิจัยอย่างมีคุณและพัฒนาประเทศในด้านของตัวกระต่ายนั้น ได้มีการนำ� กระต่ายมาทดลองวัคซีนยาเพื่อ รักษาโรคต่างๆ อย่างมากมายในการแพทย์ และยังช่วยเกษตรกร ในหารายได้ในการเพาะเลี้ยงกระต่ายที่มีราคาถูกและให้ลูกเยอะเพื่อนำ�มาขาย ให้กับกลุ่มคนที่รักในตัวของกระต่ายที่มีความน่ารัก ร่าเริง ออกแบบโดย นายอรรถพล พลเยี่ยม สาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่อยู่ 2392/27 ถนนพหลโยธิน แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900 เบอร์โทรศัพท์ 085-9167835 Email : attpol0708@gmail.com


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

จัดทำ�โดย

นายอรรถพล พลเยี่ยม 5211309322 สาขาวิชา ศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทสศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

บรรณานุกรม 1) เว็บไซต์ http://th.wikipedia.org/wiki บทความโดย สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: พฤหัสบดีที่ 3 มกราคม 2556 หนังสือสัตว์สวยป่างาม โดย ชมรมนิเวศวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล สิงหาคม 2518 http://www.nupet.org


Mascot

Thailand Research Expo

2013

Chandrakasem Rajabhat University คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

by Attpol Polyiam


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.