หนังสือย้อนมองสามชุกตลาดร้อยปี กว่าจะถึงวันนี้

Page 1


“ในโอกาสรับมอบรางวัล อนุรกั ษมรดกทางวัฒนธรรม ในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก ชุมชนสามชุกตลาดรอยป”

เรียบเรียงโดย พรรณงาม เงาธรรมสาร ปรีดา คงแปน

สนับสนุนโดย โครงการศึกษาภูมหิ ลังทางประวัตศิ าสตร กระบวนการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม : กรณีศกึ ษาชุมชนตลาดสามชุก สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ กระทรวงวัฒนธรรม สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการมหาชน) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพแหงชาติ (สสส.) กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง มูลนิธชิ มุ ชนไท

1


คำประกาศจากยูเนสโก

2

โครงการอนุรักษชุมชนยานตลาดเกาสามชุกประสบความสำเร็จ อยางสูง บรรลุเปาหมายที่วางไวในในเชิงสังคม เศรษฐกิจ และในเชิง กายภาพ จนองคกรสหประชาชาติเพื่อสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม (UNESCO) ไดมอบรางวัล “Award of Merit” ใหในป พ.ศ. 2552 นี้ คณะกรรมการผพู จิ ารณาตัดสินผลไดยกยองการอนุรกั ษชมุ ชนยานตลาดเกา สามชุกนี้วา “โครงการอนุรักษชุมชนยานตลาดเกาสามชุกนี้ไดรับรางวัล Award of Merit เนือ่ งจากแผนฟน ฟูของโครงการสามชุกนีไ้ ดแสดงออกถึงวิสยั ทัศน ที่กวางไกล และแนวทางที่แสดงถึงการรวมมือกันของหนวยงานทองถิ่น จนสามารถผ า นพ น วิ ก ฤตเศรษฐกิ จ มาได โครงการนี้ ทำให เ กิ ด ความ ตระหนักในวงกวางของการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมที่มีพื้นฐานขึ้นมา จากรากหญา และมีคุณสมบัติที่จะเปนแบบอยางในการอนุรักษชุมชน ทางประวัตศิ าสตรแหงอืน่ ๆ ในประเทศไทยได” ความคิ ด เห็ น ของคณะกรรมการยู เ นสโกได ส รุ ป ชั ด เจนจนเป น ที่ ประจักษแลวในแนวทางการจัดทำแผนการอนุรักษโดยกระบวนการภาค ประชาชนทีม่ ศี กั ยภาพในการทีจ่ ะประยุกตใชเพือ่ กระตนุ ใหเกิดการอนุรกั ษ มรดกทางวัฒนธรรมในระดับตางๆ ของประเทศไทยสืบไปได องคการการศึกษา วิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ สำนักงานประจำภูมภิ าค ภาคพืน้ เอเชียและแปซิฟค


UNESCO Heritage Awards Ceremony 11 December 2009 Samchuk Community and Old Market District, Suphanburi (Award of Merit 2009) Address by Dr Molly Lee UNESCO Bangkok Director a.i. Asia and Pacific Regional Bureau for Education Your Excellency, Prime Minister of Thailand,Governor of Suphanburi,Representative of the Samchuk Community and Old Market District Committee,Members of the project team, Residents of Samchuk, Ladies and gentlemen. We are gathered here today to honor the outstanding achievements in the restoration of the Samchuk Community and Old Market District in Suphanburi which has won an Award of Merit in the 2009 UNESCO Asia-Pacific Heritage Awards for Culture Heritage Conservation. On behalf of UNESCO, I am very honoured to officially present the Award to the project team members and key

3


4

figures in Suphanburi who have ensured the successful conservation of this important heritage complex. As you may know, the UNESCO Asia-Pacific Heritage Awards recognize private sector efforts that have successfully conserved buildings of heritage value in the region. UNESCO believes that recognizing private efforts to restore and adapt historic structures will encourage other property owners to undertake conservation projects within the community, either independently or by seeking public-private partnerships. Over the past ten years of this Awards programme, the winning projects have had a tremendous impact on conservation in their neighborhoods and in their countries. Many winning projects have set new technical standards in conservation. Others have provided an inspiring demonstration of the political feasibility of conserving historic buildings. And most importantly, the winning projects have shown beyond a doubt that conservation should be a shared responsibility between the government and civil society. In Thailand, UNESCO has recognized a range of projects for their outstanding conservation works. This ranges from palace structures, such as Phra Racha Wang Derm Palace and the Tamnak Yai at Devavesm Palace, to community conservation projects – namely Wat Sra Tong in Khon Kaen, Wat Pongsanuk in Lampang, the Amphawa Canal Community in Samut Songkram,


and of course the Samchuk Community and Old Market District here in Suphanburi. The 2009 Heritage Awards Jury, composed of conservation experts from all around the region, praised the conservation of the Samchuk Community and Old Market District most highly. Please allow me to share with you the official Jury citation: Once in serious socio-economic decline, the Samchuk Community and Old Market District has been successfully revitalized through the far-sighted vision and cooperation of the local residents. The conservation work has been undertaken in a holistic way, including not only the heritage architecture, but also the living heritage of this historic commercial hub, thus contributing to a more comprehensive understanding of the site’s value as a cultural heritage resource for the community. The community has been the main driving force for the project at all levels, from setting policy to establishing urban design guidelines. The full restoration of three major historic buildings into living museums and neighborhood centres provides a focal point for the urban district of wooden shophouses. The project will have a major impact in raising awareness about grassroots heritage conservation and is an important model for empowering other historic communities in Thailand.

5


6

Let me express our congratulations to the Samchuk Community and Old Market Committee, which has worked in partnership with municipal authorities and government agencies such as the Fine Arts Department. Through the leadership and vision of the local leaders and residents, this project has catalyzed interest in the historic heritage of Suphanburi Province and, indeed, in historic market towns all around the country. In closing, let me express once again our congratulations to the project team for their successful efforts, to the conservation team for their high professionalism, and to the community of Samchuk and Old Market District for their excellent cooperation and support. It is our hope that this Award will continue to inspire future conservation efforts in Suphanburi and in other heritage properties and historic towns and neighborhoods all around Thailand. It is my great honour at this time to officially present the 2009 Award of Merit for the UNESCO Asia-Pacific Heritage Awards for Culture Heritage Conservation to the Samchuk Community and Old Market District. Thank you DRAFT 23 Nov 2009


สาสนแสดงความยินดี รัฐมนตรีวา การกระทรวงวัฒนธรรม นายธีระ สลักเพชร ปจจุบนั ความตืน่ ตัวเกีย่ วกับการพลิกฟน ตลาดเกาเปนไปอยางคึกคัก ทัง้ ตลาดใน น้ำและตลาดบนบก ซึง่ สะทอนใหเห็นวาสังคมไทยยังคงเห็นคุณคาและโหยหาในวิถชี วี ติ และวัฒนธรรมดัง้ เดิมทีก่ ำลังเลือนหายไป กระบวนการอนุรกั ษและฟน ฟูตลาดรอยปสามชุก จนทำใหตลาดเกาทีซ่ บเซาไป แลวพลิกฟน ชีวติ กลับคืนมาใหมไดนนั้ เปนความงดงามทีน่ า ชมเชยยิง่ เพราะใชหลักการ ทำงานแบบมีสว นรวมของชุมชน เทศบาล วัด โรงเรียน องคกรทัง้ ภาครัฐและภาค เอกชนเขามาเกือ้ หนุน จนทำใหตลาดสามชุกกลายเปน “ตลาดมีชวี ติ พิพธิ ภัณฑมชี วี า” ชาวสามชุกไดชว ยกันสืบคนประวัตศิ าสตร การฟน ฟูภมู ปิ ญ  ญา และการอนุรกั ษ 7 สถาปตยกรรมที่มีคุณคา และสุดทายกลายเปนผลตอการฟนฟูของเศรษฐกิจและ การทองเทีย่ วในยานสามชุกเปนอยางมาก วันนี้ตลาดเกาสามชุกกลายเปนตนแบบที่นาศึกษาในการฟนฟูจิตวิญญาณของ ชุมชน แตสงิ่ ทีส่ ำคัญไมแพกนั คือขบวนชาวบานทีท่ ำงานรวมกันอยางตอเนือ่ ง ทำให เกิดพลังทีเ่ ขมแข็งจนสามารถรวมกันผลักดันเปาหมายใหบรรลุผลไดในทีส่ ดุ และกลาย เปนรูปแบบการพัฒนาอยางยัง่ ยืน ในโอกาสที่ตลาดรอยปสามชุกไดรับรางวัลจากยูเนสโก ผมขอแสดงความยินดี เปนอยางยิง่ และขอใหชาวสามชุกทุกทานไดภมู ใิ จวา การอนุรกั ษฟน ฟูตลาดรอยปที่ สามชุก มิใชเกิดประโยชนเฉพาะของคนสามชุกเทานั้น หากแตเปนตัวอยางของ กระบวนการมีสว นรวมของภาคประชาชน ทีส่ ำคัญคือตลาดแหงนีย้ งั เปนแหลงเรียนรทู มี่ คี ณ ุ คาทางประวัตศิ าสตร รวมทัง้ เปนมรดกทางวัฒนธรรมของลูกหลานไทยทัว่ ประเทศ นายธีระ สลักเพชร รัฐมนตรีวา การกระทรวงวัฒนธรรม


คำนิยม รศ.ศรีศกั ร วัลลิโภดม ตลาดสามชุก : พิพธิ ภัณฑมชี วี ติ โดยคนสามชุก เพือ่ คนสามชุก

8

จากประสบการณในการเรียนรูและทำงานของขาพเจาเกี่ยวกับพิพิธ ภัณฑทอ งถิน่ นัน้ พิพธิ ภัณฑทสี่ รางขึน้ ใหเปนแหลงเรียนรชู วี ติ วัฒนธรรมของ คนในสังคมทองถิน่ เพิง่ เกิดขึน้ ราว ๑๐ กวาปมานีเ้ อง โดยเริม่ ตัง้ แตพพิ ธิ ภัณฑ วัดมวงของคนบานมวง อำเภอบานโปง จังหวัดราชบุรี เปนพิพธิ ภัณฑที่ แม ว า จะได รั บ การสนั บ สนุ น อย า งมากมายจากมหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร อันเปนองคกรของรัฐก็ตาม แตก็เกิดขึ้นจากสำนึกรักมาตุภูมิของผูคนใน ทองถิน่ และคนในทองถิน่ มีความรสู กึ เปนเจาของอยางแทจริง ไมใชของรับ (บริจาค) หรือองคกรอืน่ ๆ มาทำให เปนเหตุใหเกิดการเคลือ่ นไหวของคนใน ทองถิ่นอื่นๆ ที่อยากมีพิพิธภัณฑของตนเองบาง อยางเชน พิพิธภัณฑ เขายีส่ าร อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม พิพธิ ภัณฑวดั หนองขาว บานหนองขาว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี และพิพธิ ภัณฑวดั จันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค เปนตน พิพิธภัณฑทองถิ่นที่กลาวมานี้มีลักษณะที่แตกตางจากพิพิธภัณฑ ทองถิ่นอื่นๆ ทั้งที่มีมากอนและเกิดขึ้นใหม ในลักษณะที่เปนพิพิธภัณฑ ซึง่ เนนความรใู นเรือ่ งชีวติ วัฒนธรรม ไมใชศลิ ปวัฒนธรรม อันเปนเรือ่ งทีม่ กั อยูนอกเหนือการรับรูและประสบการณรวมกันของคนในสังคมทองถิ่น ที่มักเปนพิพิธภัณฑแสดงศิลปวัตถุที่ใครๆ ซึ่งเปนคนนอกสังคมทองถิ่น มาสรางใหและทำใหก็ได โดยเฉพาะบรรดาพิพิธภัณฑทั้งหลายของทาง รัฐและเอกชนอืน่ ๆ โดยทีช่ าวบานไมมสี ว นรวมและรสู กึ วาเปนเจาของ แต


พิพิธภัณฑทองถิ่นที่เนนชีวิตวัฒนธรรมเปนตัวตั้งนั้น คนขางนอกทำไมได นอกจากมาชวยเหลือและสงเสริมในดานความรู เทคนิควิธกี ารและเงินทุน อยางเชน มูลนิธชิ มุ ชนไท คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบัง และมูลนิธเิ ล็ก-ประไพ วิรยิ ะพันธุ เป น ต น แต เ นื้ อ หาและความรู ใ นเรื่ อ งชี วิ ต วั ฒ นธรรมที่ เ ป น องค ร วม อันมีลักษณะการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลานั้น ไมมีทางที่ ผวู เิ ศษจากภายนอกจะมารังสรรคใหได เพราะตองประดิษฐคดิ ตออยเู สมอ รวมทั้งการแกไขความขัดแยงอันเปนปกติวิสัยของสังคมมนุษย การสราง ความรูและจัดการความรูทางชีวิตวัฒนธรรม คือ สิ่งที่ทำใหพิพิธภัณฑ ตลาดสามชุกเปนพิพิธภัณฑที่มีชีวิต เพราะเมื่อคนจากภายนอกที่เขามา ชมนัน้ ไมไดเพียงเห็นและเรียนรูจากสิ่งของที่จัดแสดงแตเพียงอยางเดียว หากไดแลเห็นความเคลื่อนไหวของคนสามชุกในทางสังคมวัฒนธรรมและ เศรษฐกิจตลอดเวลา แตการสรางความรูและความคิดริเริ่ม ตลอดจนการจัดการความรู ทัง้ ในเรือ่ งอนุรกั ษและพัฒนาชีวติ วัฒนธรรมอยางตอเนือ่ งอยางมีชวี ติ ชีวานี้ หาไดเกิดขึน้ โดยงาย หากไมมสี ำนึกรวมของชุมชน (sense of community) ที่ผลักดันและกระตุนใหคนในชุมชนรวมพลังกันในการดำเนินงาน ใน ลักษณะทีเ่ ปนองคกรภายในทีม่ งุ ประโยชนเพือ่ สวนรวมรวมกัน พิพธิ ภัณฑ ท อ งถิ่ น หลายแห ง อ อ นแรงและล ม เลิ ก ไปก็ เ พราะขาดองค ก รภายในที่ ทำหนาที่จัดการในเรื่องนี้ โดยเฉพาะพิพิธภัณฑที่ “คนใน” คิดไมเปน เอาแตรอพึง่ การฟน ฟูจากภายนอกเพียงอยางเดียว พิพธิ ภัณฑตลาดสามชุก มีองคกรดังกลาวทีป่ ระกอบดวยบุคคลซึง่ มีสติปญ  ญาและความรทู มี่ จี ติ สำนึก ในความเสียสละอยางสูง มารวมกันชวยคิดชวยทำ ชวยแกไขกันอยาง สมานฉันท มีทงั้ การคนควาสรางความรทู างประวัตศิ าสตรของทองถิน่ โดยไม ตองพึ่งคนนอก เพื่อนำมาพัฒนาในเรื่องการสรางสำนึกและการสื่อให คนนอกเขามาเรียนรู จนทำใหคนในชุมชนสามชุกแทบทุกคนรจู กั รากเหงา

9


10

ของตนดี และสามารถเปนมัคคุเทศกบรรยายชีวติ วัฒนธรรมของคนสามชุก แตอดีตจนปจจุบันไดอยางภาคภูมิ นับเปนความสำเร็จที่เห็นชัดเจนวา การเปนพิพธิ ภัณฑทมี่ ชี วี ติ ของตลาดสามชุกนัน้ เปนสิง่ ทีค่ นสามชุกสรางขึน้ โดยคนสามชุกและเพือ่ คนสามชุกโดยแท ดังเปนทีป่ ระจักษแกคนภายนอก ที่เขามาเยือนวา การเขามาเที่ยวและจับจายซื้อของในตลาดสามชุกนั้น ไมใชแตเพียงซื้อ “ของ” ได “ของ” อยางเชนการซื้อจากตลาดในปจจุบัน แตไดแลเห็น “คน” และ “ชีวติ ” ของคนสามชุกแตอดีตจนปจจุบนั รวมไป ดวย เพราะฉะนั้นจึงไมเปนที่นาประหลาดใจเลยที่ตลาดรอยปสามชุก จะไดรบั รางวัลยูเนสโกในเรือ่ งอนุรกั ษมรดกทางวัฒนธรรมในภูมภิ าคเอเชีย แปซิฟก ในสวนตัวของขาพเจาชื่นชมและยินดีดวยกับรางวัลเกียรติยศของ ยูเนสโกครัง้ นี้ เพราะเกิดจากการยอมรับและยกยองวาเปนผลงานของคนใน ชุมชนทองถิน่ โดยแท เปนสิง่ ทีน่ า ภูมใิ จกวาการเปนมรดกโลกทีเ่ กิดจากการ สรางสรรคขนึ้ โดยคณะกรรมการมรดกโลกทีห่ ลายๆ แหงทัง้ ในประเทศและ นอกประเทศกระสันอยากจะไดในทุกวันนี้ รศ.ศรีศกั ร วัลลิโภดม มูลนิธเิ ล็ก-ประไพ วิรยิ ะพันธุ


คำนำ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ “ตลาดสามชุก ตลาดรอยป” เปนสถานที่ทองเที่ยวที่สำคัญและนา สนใจแห ง หนึ่ ง ของจั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี เนื่ อ งจากยั ง คงมี ก ลิ่ น อายของ บรรยากาศตลาดโบราณ อาคารบานเรือนซึง่ เปนสถาปตยกรรมในชวงสมัย รัชกาลที่ ๕ นอกจากนี้ สามชุกยังมีความโดดเดนในเรือ่ งราวความเปนมา พัฒนาการ การปรับตัวและเปลีย่ นแปลงทีน่ บั เนือ่ งจากอดีต อันเปนประวัติ ศาสตรทอ งถิน่ ทีม่ คี วามเชือ่ มโยงตามเสนทางการคาขาย และความสัมพันธ กับผูคนทั้งภายนอกและภายในทองถิ่น สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ได พิ จ ารณาและสนั บ สนุ น โครงการศึ ก ษาภู มิ ห ลั ง ทางประวั ติ ศ าสตร กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม : กรณีศึกษาชุมชน ตลาดสามชุก โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ศึกษาทบทวนกระบวนการและปจจัย เงื่อนไขในการฟนฟูตลาดรอยป การเก็บรวบรวมองคความรูเกี่ยวกับ ประวัติศาสตรทองถิ่น และการพัฒนาแหลงเรียนรูทางวัฒนธรรมและ เผยแพรความรสู สู าธารณะ สำนักงานฯ คาดหวังวา คณะผดู ำเนินโครงการ ซึง่ ไดรบั เกียรติจาก ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ห ลายท า นเป น ที่ ป รึ ก ษา รวมทั้ ง ได รั บ ความร ว มมื อ จาก คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ ภาคีเครือขายและคนใน ชุมชน จะสามารถบรรลุตามวัตถุประสงคและเจตจำนงทีต่ งั้ มัน่ ไว เพือ่ การ

11


แบงปนและเผยแพรความรูจากการถอดบทเรียนและประสบการณการ พัฒนา อันจะกอใหเกิดประโยชนกับคนสามชุกในการสรางสำนึกรักและ หวงแหนทองถิน่ การทองเทีย่ วเพือ่ เรียนรปู ระวัตศิ าสตรสงั คม วัฒนธรรม และภูมปิ ญ  ญาเกีย่ วกับสามชุกของผคู นทีม่ าเยีย่ มเยียน รวมทัง้ การเรียนรู และปรับใชของเครือขายชุมชนเขมแข็งและภาคีเครือขายอืน่ ๆ

(นายสมชาย เสียงหลาย) เลขาธิการคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ 12


คำนำ มูลนิธชิ มุ ชนไท ทามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลงใหทันสมัย และความหลงใหล ในวัฒนธรรมตะวันตก ชาวตำบลสามชุก คนเล็กคนนอย ผูไรเงินและ อำนาจ ไดลกุ ขึน้ มารวมมือกัน ตอตานความพยายามทีจ่ ะเปลีย่ นอาคาร ไมเกาแกในตลาดโบราณใหเปนตึกทันสมัย ดวยความรักและหวงแหนในศิลปวัตถุที่บรรพบุรุษไดสรางไว และ วัฒนธรรมวิถีชีวิตที่สืบทอดตอๆ กันมากวารอยป ชาวสามชุกไดใชเวลา ตั้งแตป พ.ศ.2543 จนถึงทุกวันนี้ รวมกันอนุรักษและฟนฟูตลาดเกาที่ ซบเซาและทรุดโทรม ใหกลับมาเปน “ตลาดมีชีวิต พิพิธภัณฑมีชีวา” เปนที่นิยมชมชอบของนักทองเที่ยวและผูมาเยือน เปนแหลงเรียนรูศึกษา ดูงานการพัฒนาและเปนที่ยอมรับยกยองของนานาชาติ จนไดรับรางวัล “Award of Merit ” จากองคการ UNESCO ความสำเร็จและกระบวนการทำงานของชาวสามชุก ไมเปนเพียง สิ่ ง ที่ น า นิ ย มและสรรเสริ ญ เท า นั้ น หากแต เ ป น ตั ว อย า งและบทเรี ย น ที่ สำคั ญ ในด า นอนุ รั ก ษ แ ละพั ฒ นาอย า งยั่ ง ยื น สำหรั บ ชุ ม ชนท อ งถิ่ น ทัง้ หลาย ตลอดจนหนวยงานของรัฐทีน่ ำไปพิจารณาและปรับใชในทองถิน่ ตางๆ ทัว่ ประเทศไทย หนั ง สื อ สั้ น ๆ หรื อ บทความยาวๆ เล ม นี้ ที่ เ ขี ย นขึ้ น โดยอาจารย พรรณงาม เงาธรรมสาร นักประวัติศาสตร และนางปรีดา คงแปน ผจู ดั การมูลนิธชิ มุ ชนไท บรรยายในภาษาทีเ่ รียบงายและกระชับ กระบวน

13


14

การของชาวสามชุกในการรือ้ ฟน ตลาด เศรษฐกิจ ความเปนชุมชน ตลอด จนการอนุรักษอาคารที่มีรูปทรงทางสถาปตยกรรมเกาแกและมีศิลปะ การสลักไมทงี่ ดงาม คำบรรยายนี้แสดงใหเห็นวา ทามกลางการเหอความเปนสมัยใหม และทิ้งของเกา ที่แพรสะพัดไปทั่วสังคมไทย ยังมีคนธรรมดา ราษฎร ในทองถิน่ ชนบททีร่ กั และหวงแหนวิถชี วี ติ วัฒนธรรม ความเปนชุมชนทีม่ ี มาแตอดีตของตน และยินดีทจี่ ะรวมมือรวมใจกันทำงาน เพือ่ สรางความ เจริญรุงเรืองจากฐานราก ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม อันเปนผลผลิต ทางภูมปิ ญ  ญาบรรพชน สำนึ ก อั น น า ชื่ น ชมนี้ ไดทำใหชาวสามชุกมีความเห็นรวมกันวา ใหอนุรักษตลาดสามชุกไวเปนมรดกและแหลงเรียนรูทางวัฒนธรรมของ ชุมชนและทองถิน่ ฟน ฟูเศรษฐกิจของตลาดโดยพัฒนาเปนแหลงทองเทีย่ ว เชิงอนุรักษ แทนที่จะเห็นดวยกับนโยบายและความประสงคของเจาที่ดิน กรมธนารักษทจี่ ะรือ้ ตลาดเกาและสรางใหม กระบวนการฟนฟูชุมชนและตลาดสามชุกนี้ แสดงใหเห็นถึงความ สำคัญของประวัตศิ าสตรทอ งถิน่ และเรือ่ งราวในอดีต ซึง่ นอกจากจะชักจูง คนจำนวนมาก ผูเฒาแก ครูและนักเรียน ใหเขามารวมในการพัฒนา ไดแลว ยังสรางความภาคภูมิใจใหแกชาวชุมชนและใหแนวทางในการ จัดกิจกรรม เชน งาน “อรอยดีทสี่ ามชุก” การพัฒนาที่สามชุกนี้ เปนตัวอยางที่ดีของความรวมมือระหวาง ชุมชนกับองคกรอื่นๆ และหนวยงานในทองที่ ซึ่งเอื้อใหงานของชุมชนนั้น สำเร็จลุลว งไปไดรวดเร็วและมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ จะเห็นไดวา บทบาทของ องคกรเอกชนทีไ่ ดรบั การสนับสนุนจาก สสส. (สำนักงานกองทุนสนับสนุน การสรางเสริมสุขภาพแหงชาติ) นั้ น เปนไปในดานสงเสริมการเรียนรู เปนหลัก ในดานการวิจยั หาขอมูล ในดานการจัดการ ในดานการศึกษา


จากการแลกเปลี่ ย นดู ง าน และทำหน า ที่ ช ว ยประสานงานเชื่ อ มโยง ชุ ม ชนกั บ นั ก วิ ช าการ ส ว นบทบาทหน ว ยงานท อ งที่ คื อ เทศบาลนั้ น เปนผูอำนวยความสะดวกและชวยเหลือกิจกรรมตางๆ ที่ชุมชนริเริ่มขึ้น และดำเนิ น การ จะเห็ น ได ว า องค ก รและหน ว ยงานเหล า นี้ มิ ไ ด เ ข า ไป พัฒนาเอง ชาวชุมชนเปนผรู เิ ริม่ และดำเนินงานทัง้ สิน้ บทบาทหนาทีข่ อง องคกรเหลานี้มีเพียงชวยเหลือสนับสนุนชาวชุมชนเทานั้น ดั ง ที่ ผู นำที่ เคยเปนฝายบริหารของเทศบาลตำบลสามชุกสะทอนวา “สิ่งที่ยาก คือ การพยายามไมใหเทศบาลเขาไปทำเอง แตปลอยใหชุมชนเปนผูทำตาม ความตองการของชุมชน และเทศบาลเปนผสู นับสนุน” ชุมชนสามชุกในงานฟน ฟูชมุ ชนและตลาดเกาไดใหบทบาทอันมีคา ยิง่ แกองคกรพัฒนาเอกชนและหนวยงานของรัฐวา การพัฒนาชุมชนที่มี ประสิทธิภาพและยั่งยืนนั้น ตองเปนงานที่ทำโดยชุมชน สมาชิกของ ชุมชนเอง ทั้งการริเริ่มวางแผน และดำเนินการ องคกรและหนวยงาน ภายนอกตางๆ มีหนาที่เพียงแคสนับสนุนเทานั้น นอกจากนั้นแลว สามชุกยังสอนชุมชนอื่นๆ อีกวา พลังแหงความ รวมมือรวมใจนั้นยิ่งใหญนัก อาจเนรมิตสิ่งที่ไมนาเปนไปได ใหเปนสิ่งที่ เปนไปได รศ.ดร.ม.ร.ว.อคิน รพีพฒ ั น ประธานคณะกรรมการมูลนิธชิ มุ ชนไท

15


คำขอบคุณจากชาวสามชุก

16

ตลาดสามชุ ก สมั ย ก อ นเขาเรี ย กว า “สามเพ็ ง ” ต อ มาเรี ย กว า “สามชุก” ปจจุบนั เรียกวา “สามชุกตลาดรอยป” ตลาดมีชวี ติ พิพธิ ภัณฑ มีชวี า ผมขอขอบคุณทุกๆ ทานที่มีสวนรวมและใหการสนับสนุนในทุกรูป แบบในทุกสถานการณทั้งที่มองเห็นและมองไมเห็นในการพัฒนาตลาด สามชุก ตัง้ แตป พ.ศ.2543 จนถึงปจจุบนั ทำใหเราสามารถผานปญหา ตางๆ มาไดดว ยดี ประสบความสำเร็จเกินความคาดหมาย ทำใหคนรจู กั สามชุกมากขึ้น ทำใหสามชุกเปนชุมชนตนแบบ เปนแหลงเรียนรู เปน แหลงทองเทีย่ ว และเปนแหลงทำมาหากินของคนทัว่ ไป ดังทีท่ า นไดเห็นใน ปจจุบัน เราอยูรวมกันโดยอาศัยการขอความรวมมือกัน ใชกติกาชุมชน เปนหลักในการบริหารจัดการแบบมีสว นรวมอยางแทจริง ไมไดใชกฎหมาย ไมไดใชอทิ ธิพลใดมาบังคับ เราใช “กติกาชุมชนเปนหลัก” จะเห็นไดจาก การตกแต ง ร า นจะแสดงออกถึ ง ความหลากหลายและเอกลั ก ษณ ข อง แตละคน ทุกสิ่งทุกอยางที่เกิดขึ้นที่สามชุกได เพราะวาคณะกรรมการพัฒนา ตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ ชาวสามชุก และผูใหการสนับสนุนรวมคิด ร ว มทำ ทุ ม แรงกายแรงใจและกำลั ง ทรั พ ย โ ดยไม ไ ด ห วั ง ผลตอบแทน จึงทำใหมีวันนี้ที่สามชุก การพัฒนาตลาดสามชุกไดรบั การสนับสนุนจากมูลนิธชิ มุ ชนไท ภายใต โครงการปฏิบัติการชุมชนและเมืองนาอยู ที่มีสำนักงานกองทุนสนับสนุน การสรางเสริมสุขภาพแหงชาติ (สสส.) และสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน


(องค ก ารมหาชน) ให ก ารสนั บ สนุ น และทุ ก ท า น ทุ ก สาขาวิ ช าชี พ ทุกสถาบันการศึกษา นักวิชาการนั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา วั ด ประชาชน คณะศึกษาดูงาน พอคาแมคา นักทองเที่ยว สื่อมวลชน รายการทีวี นิ ต ยสารต า งๆ มู ล นิ ธิ สมาคมและองค ก รต า งๆ ที่ เ ห็ น คุ ณ ค า ของ ตลาดสามชุกที่ใหคำแนะนำ ใหกำลังใจ และใหโอกาสกับชาวสามชุก นอกจากทีก่ ลาวมาแลว สิง่ ทีช่ าวตลาดสามชุกเคารพนับถือและเปน ศูนยรวมจิตใจของคนสามชุก คือเจาพอหลักเมืองสามชุก ที่บางครั้งเรา ทำงานกันทามกลางปญหาใหญที่ซับซอนมากมายหลายครั้งหลายหน ไมวา จะเปนปญหาการเมืองหรือปญหาเฉพาะหนา จนแทบจะไมมที างออก แตเราก็สามารถผานมาไดดว ยดี ไมวา จะเปนโอกาสจังหวะทีเ่ ราไมสามารถ กำหนดไดเองตองเปนไปตามเงือ่ นไข สถานการณ และเวลาตามธรรมชาติ แตผลที่ออกมาพวกเราก็ไดพบไดเห็นไดโอกาสไดจังหวะเปนที่นาพอใจ สามารถทำใหพวกเราทำงานตอไดอยางมีประสิทธิภาพและประสบความ สำเร็ จ ด ว ยดี ดั ง ที่ ป รากฏในป จ จุ บั น ผมและชาวสามชุ ก ขอขอบ พระคุณทุกทานอีกครั้ง และขออำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของเจาพอหลักเมือง สามชุกคมุ ครองทุกทานทีร่ ว มอนุรกั ษสามชุกตลาดรอยป นายพงษวนิ ชัยวิรตั น ประธานคณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรกั ษ และชาวสามชุก

17


สารบัญ

18

คำประกาศจากยูเนสโก สาสนแสดงความยินดีจาก รมว.กระทรวงวัฒนธรรม คำนิยมจาก รศ.ศรีศกั ร วัลลิโภดม คำนำ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ คำนำ มูลนิธิชุมชนไท คำขอบคุณจากชาวสามชุก ปลุกบาน...สรางชุมชน...คนสามชุก ประวัตแิ ละพัฒนาการของ “องคกรชุมชนสามชุก” กระบวนการเรียนร.ู ..ทามกลางการทำ จาก “ตลาด...สพู พิ ธิ ภัณฑชมุ ชน” การฟน ฟูอาหารดัง้ เดิมในตลาดสามชุก จาก “โรงเรียน...สชู มุ ชน“ จาก “ชุมชน...สสู งั คม” บทสรุปจากการเรียนรู คำนิยมจากทานผมู าเยือน สามชุก...ความสำเร็จของการเมืองภาคประชาชน ขาวประชาสัมพันธองคการยูเนสโก

2 7 8 11 13 16 19 20 30 31 33 39 40 43 46 49 53


19

พรรณงาม เงาธรรมสาร ปรีดา คงแปน


20 ที่วาการอำเภอเดิมหนาตลาดสามชุกเปนเรือนไมสักสวยงามถูกรื้อสรางใหมดวยคอนกรีต แบบปจจุบนั

ตลาดสามชุก เดิมตัง้ อยบู ริเวณวัดสามชุก ตอมาไดยา ยมาอยใู นที่ ตัง้ ปจจุบนั ซึง่ สมัยกอนชาวบานเรียกวา “สามเพ็ง” ตลาดสามชุกเปนยาน การคาและศูนยกลางของอำเภอสามชุก มีแมน้ำทาจีนไหลผาน มีสภาพ เปนที่ราบลุมริมแมน้ำ ตั้งอยูในเขตสุขาภิบาลสามชุก อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี และยกฐานะเปนเทศบาลตำบลสามชุก เมือ่ พ.ศ.2542 อำเภอสามชุกเดิมชือ่ “อำเภอนางบวช” ตัง้ เมือ่ พ.ศ. 2437 ตอมา ไดยายที่วาการอำเภอมาอยูบริเวณ “บานสามเพ็ง” และในป พ.ศ.2481 ไดเปลีย่ นชือ่ มาเปนอำเภอสามชุก


จากโคลงนิราศสุพรรณของสุนทรภู นิทานยานสุพรรณ และบันทึก คนรุนเกา จับความไดวา “สามชุก” ในอดีตเปนแหลงรวมของการแลก เปลีย่ นสินคา โดยชาวกะเหรีย่ ง ลาว ละวา จะนำเกวียนบรรทุกของปา มาแลกกับสินคาที่ชาวเรือนำมาจากทางใต ทำใหบริเวณทาน้ำกลายเปน ตลาด มีเรือมาจอดมากมายเพือ่ รับสงสินคา และสินคาทีช่ าวบานนำมานัน้ บรรจุอยใู น “กระชุก” ซึง่ ทำจากไมไผ จึงเปนทีม่ าของชือ่ “สามชุก”

กา รใ ช เ รื อ สั ญ จร ทา งน้ำ ใน แม น้ำ ทาจีนในอดีต

บริ เ วณ ท า เรื อ สะ พา นข า มแ ม น้ำ ทาจีน

งานทอดกฐินทางน้ำในอดีต ความผูกพัน ผูคน ศาสนา แมน้ำ และตลาดสามชุก

21


22

งานบุญในตลาดสามชุกในอดีต

อีกชือ่ หนึง่ ทีเ่ รียกขานพืน้ ทีน่ คี้ อื “สามเพ็ง” ซึง่ เลากันวาเพีย้ นมาจาก “สามแพรง” เนื่องจากเปนที่ชุมนุมของพอคาที่เดินทางมาจากทิศเหนือ ใต และตะวันตก สามชุกจึงพัฒนาจากอดีตทีเ่ ปนทาแลกเปลีย่ นสินคาและตลาดทีค่ กึ คัก จอแจ เอกลักษณนขี้ องสามชุกเปนประวัตศิ าสตรทมี่ ชี วี ติ เห็นเปนประจักษ และสัมผัสไดสำหรับทุกคนในปจจุบันที่มาเยือนตลาดเกาสามชุกที่อยูริม แมน้ำทาจีน ดวยตัวบานและอาคารในตลาดทีม่ รี ปู ทรงทางสถาปตยกรรม เกาแก มีศลิ ปะการแกะสลักไมทงี่ ดงาม สรางมาตัง้ แตรชั กาลที่ 5 และยัง สามารถทำหนาทีเ่ ปนทัง้ ตลาดและชุมชนทีอ่ ยอู าศัยประกอบการคาขายแบบ ไทย-จีนดัง้ เดิม ทีส่ บื ทอดประวัตศิ าสตรมารวมรอยปไดอยางสมบูรณ แมจะ ทรุดโทรมทางกายภาพไปตามกาลเวลา ตลาดและชุมชนทีเ่ ปนมรดกเกาแก แหงนี้ เผชิญกับวิกฤติ การอยูรอด เนื่องจากการพัฒนาเมืองไปสูความ


ทันสมัยแบบใหม ตัง้ แตป 2510 เปนตนมา มีการตัดถนนหลายสายและ การยายออกของสถานทีร่ าชการ รวมทัง้ การเกิดตลาดนัดรอบขาง เปนเหตุ ใหเกิดการซบเซาทางเศรษฐกิจของยานตลาดเกาสามชุก ผคู นจำนวนหนึง่ จำเปนตองยายออกเพื่อไปทำมาหากินที่อื่น ชาวชุมชนที่เหลือหันหนา เขาหากัน นัง่ คุยกันอยางจริงจังเพือ่ “กอบกชู มุ ชน” “ปลุกบาน...สรางชุมชน...คนสามชุก” เปนคำพูดทีน่ างอรุณลักษณ ออนวิมล คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกนำเสนอเพือ่ ใหเห็นภาพรวม ภารกิจที่กลุมไดรวมดำเนินการ คำพูดนี้สะทอนใหเห็นการดำเนินงานใน 3 ระดับ คือ ระดับ “บาน” ระดับ “ชุมชน” และระดับ “ทองถิน่ ” ทีก่ วางขึน้ กระบวนการฟนฟูและอนุรักษตลาดสามชุก ในทัศนะของพงษวิน ชัยวิรตั น นายกเทศมนตรี สะทอนวา “การมีสว นรวมเปนสิง่ มหัศจรรย ที่ทำใหพวกเราทำงานรวมกันอยูไดอยางมีความสุข” ขณะที่สมชาย

ลายไมสถาปตยกรรมที่งดงามมีคุณคาของตลาดสามชุก

23


24

หงษสพ ุ รรณ แกนนำอีกคนหนึง่ สะทอนวา “เปนโอกาสใหพวกเราได เรียนรกู ารพัฒนาจากระดับลางขึน้ ไป…” เสียงสะทอน “คนใน” ขางตน คือการเกิดกลุมที่ทำกิจกรรมเพื่อ สว นรวม และขบวนการมี ส ว นร ว มของประชาชนในพื้ น ที่ นั้ น เป น องค ประกอบเบือ้ งตนทีส่ ำคัญของความเปนชุมชน และเปนรากฐานของประชา สังคม (civil society) ซึ่งเปนวิถีทางที่จะสรางความเขมแข็งและความ สมานฉันทขนึ้ ในสังคม และชีใ้ หเห็นโอกาสในการพัฒนาทิศทางขบวนการ ประชาสังคมในประเทศไทยทีน่ า ศึกษากรณีหนึง่ คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ เกิ ด ขึ้ น ในเดื อ น กรกฎาคม พ.ศ. 2543 จากเวทีประชาคมที่ ดร.สมเกียรติ ออนวิมล ซึง่ เปนคนสามชุกไดเขามาผลักดันใหเกิดการระดมความคิดเห็น เนื่องจาก กรมธนารักษ มีนโยบายจะใหรอื้ ตลาดเกาและสรางใหม เพราะตลาดเกา นัน้ ทรุดโทรม และเศรษฐกิจซบเซามาอยางตอเนื่อง ที่ประชุมระดมความเห็นใหอนุรักษตลาดสามชุกไวเปนมรดกและ แหลงเรียนรทู างวัฒนธรรมของชุมชนและทองถิน่ ฟน ฟูเศรษฐกิจของตลาด โดยพัฒนาเปนแหลงทองเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ


หลังจากการตั้งคณะกรรมการพัฒนาตลาดฯ มาเกือบสองปแตไมมี ความกาวหนา เพราะไมไดแปรความคิดไปสกู ารปฏิบตั ิ ตามคำของแกนนำ “…เราประชุมกันเปน 10 ครัง้ ก็ไมมอี ะไรเคลือ่ นไหว จนเบือ่ ..แทบ จะพับโครงการไปเลย...ทุกคนไมมปี ระสบการณ...อยากจะอนุรกั ษ แต จะอนุรกั ษตรงไหนก็ไมร.ู ..ขาดความชัดเจน…เหมือนพายเรือในอาง ไมรจู ะไปไหน...เราไดความคิด แตไมรจู ะทำอยางไร ไมรกู ระบวนการ การจัดการ..” อยางไรก็ตาม คณะกรรมการฯ ไดเริม่ สัมภาษณผเู ฒาผแู กเกีย่ วกับ ประวัติและเรื่องราวเกาๆ ของชุมชน ทั้งดานวิถีชีวิตและวัฒนธรรม เพื่อ นำมาเผยแพรใหคนรุนหลังและสาธารณชนไดรูจักภูมิปญญาของทองถิ่น และนำไปสูความคิดจัดงาน “อร อ ยดี ที่ ส ามชุ ก ” เพื่อฟนและอนุรั กษ เอกลักษณดานอาหารของสามชุกที่เลื่องชื่อวาอรอย และเพื่อใหคนเกาๆ ทีย่ า ยออกไปไดกลับมาเยือนบานเกา งาน “อรอยดีทสี่ ามชุก” จึงเปนผลผลิต ของความรสู กึ หวงหาและปรารถนาจะเติมเต็มสิง่ ทีข่ าดหายในความสัมพันธทาง สังคมของชุมชน

25


26

เวทีระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการอนุรักษตลาดสามชุกเมื่อป 2545

เวทีประชุมหารือระหวางนายกเทศมนตรีกับชาวบาน


27

งานฟนฟูประเพณีวัฒนธรรมในวันสงกรานตในวัดของคนสามชุก ซึ่งเปนกิจกรรมรวมกลุม ที่มีการแบงงานกันทำอยางเปนระบบในครั้งแรก และมีผูคนมารวมงานมากมายจนทำให คณะกรรมการฯ มีกำลังใจในการทำงานมากขึ้น

ภาพเวที “ภาพเกาเลาขานตำนานสามชุก” ที่มีผูอาวุโสบอกเลาลูกหลาน ในงานภาพเกา เลาขานตำนวนสามชุกป 2545


ภาพการทำกิจกรรมกวาดหยากไยแมงมุมที่ตลาดรอยป เปนกิจกรรมแรกทีค่ นในตลาดรวมกันทำเพือ่ ฟน ฟูตลาด

28

แนวคิดในการดำเนินการของคณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุก เริ่มเปลี่ยนไป เมื่อมูลนิธิชุมชนไทเขามารวมดำเนินการเมื่อปลายป พ.ศ. 2545 โดยมีหลักการที่เริ่มจากการมีสวนรวมของชาวชุมชน และการ พัฒนาอยางเปนองครวม โดยสรุปกระบวนการทีส่ ำคัญ ดังนี้ 1. การลงพืน้ ทีเ่ พือ่ ศึกษาขอมูลของชุมชน ทำใหเขาใจประวัตคิ วาม เปนมา ปญหาทางเศรษฐกิจของตลาดและชุมชน รวมทัง้ โครงสรางความ สัมพันธของผคู นในเมือง 2. สนับสนุนการศึกษาแลกเปลี่ยนดูงาน ทำใหคณะกรรมการฯ ไดเรียนรูจากการแลกเปลี่ยน และกระตุนใหมีความคิดในการอนุรักษฯ ที่ชัดเจนขึ้น 3. การเปดเวทีชมุ ชนใหญ เพือ่ สรางการมีสว นรวม และแลกเปลีย่ น ความคิดเห็น ซึง่ ทีป่ ระชุมเสนอกิจกรรมทีจ่ ะทำรวมกันมากมาย 4. กระตุนใหทำกิจกรรมรวมกลุม กิจกรรมแรก คือ การรวมกัน ทำความสะอาดตลาดสามชุก เปนกิจกรรมทีต่ กลงกันในทีป่ ระชุมใหญและ ชาวชุมชนก็รว มมือกับเทศบาล


5. ประชุมทบทวนกลไกในการทำงาน เนื่องจากคณะกรรมการ พัฒนาตลาดบางทานไมมีความพรอมในการทำงาน การประชุมทบทวน นำไปสูการปรับกลไกในการทำงานใหม 6. กระตนุ ใหทำกิจกรรมอยางตอเนือ่ ง กิจกรรมทีท่ ำมาจากขอเสนอ ของเวทีชุมชน และแกนหลักในการทำงานคือ ชาวบาน คณะกรรมการ พัฒนาตลาด และเทศบาล 7. ประสานเชือ่ มโยงเครือขายและนักวิชาการ ทัง้ งานออกแบบและ การจะปรับปรุงซอมแซมอาคาร มีการกระตนุ ใหเกิดการแลกเปลีย่ นถกเถียง ระหวางกัน เพือ่ หาขอสรุปทีด่ ที สี่ ดุ 8. การสรุปบทเรียนหลังจากทำกิจกรรมรวมกันทุกครัง้ กระบวนการ นีส้ ำคัญสำหรับการเรียนรรู ะหวางกลมุ คนทีม่ ารวมมือ ทำใหชว ยกันยอนมอง จุดออน - จุดแข็งของการทำงาน มีการเพิม่ ขวัญกำลังใจซึง่ กันและกัน และ สามารถกำหนดจังหวะกาวการทำงานไปขางหนารวมกัน

29


30

กระบวนการมีสว นรวมจากประชาชนในระดับฐานราก และการเรียน รูจากการปฏิบัติจริง โดยผานการศึกษาดูงาน การระดมความเห็นจาก ประชาชนที่มีสวนไดสวนเสีย การคิดงานจากกิจกรรมเล็กๆ และมอง กระบวนการพัฒนาอยางเปนองครวม โดยมีคนเปนตัวตัง้ ไมใชมองในแง ของเศรษฐกิจ หรือการเมือง หรือการพัฒนาอยางแยกโดดๆ กิจกรรมที่เปนเสมือนประตูเปดใหคณะกรรมการฯ ไดเห็นทิศทางใน การทำงานทีส่ ามารถนำไปสปู ฏิบตั กิ ารจริงก็คอื การจัดเวทีประชาคมเพือ่ ระดมความคิดเห็นของชาวชุมชนตอทิศทางการพัฒนาตลาด และขอเสนอ ที่มาจากเวทีประชาคมวันนั้นประมวลได 13 ขอ ครอบคลุมกิจกรรมดาน ตางๆ อยางหลากหลาย ตั้งแตการจัดระเบียบตลาด การรักษาความ สะอาด การอนุรกั ษบา นเกา การพัฒนาจุดทองเทีย่ ววิถชี วี ติ ริมน้ำ ทำทาง เดินริมน้ำ สงเสริมการออกกำลังกาย การใหผูสูงอายุมารวมทำประวัติ ศาสตรชุมชน การจัดตั้งกองทุนอนุรักษฟนฟูบานเกา ฯลฯ ทั้งหมดนี้ได กลายเป น เสมื อ นแผนแม บ ทในการพั ฒ นาชุ ม ชนที่ ไ ด รั บ อาณั ติ จ าก ชาวชุมชนโดยตรง คณะกรรมการพัฒนาตลาดฯ ชุดแรกจำนวน 30-40 คน แมจะดีใน แงของการมีสว นรวม แตทำใหการขับเคลือ่ นงานเปนไปอยางยากลำบาก หลังจากมีการประชุมทำความเขาใจกระบวนการทำงานของโครงการฯ ไดมี การปรับโครงสรางการบริหารจัดการภายในองคกรใหมใหสอดคลองกับ ภารกิจหนาทีค่ วามรับผิดชอบ โดยจัดตัง้ คณะกรรมการขึน้ ใหม มีจำนวน 6 ฝาย ไดแก ฝายจัดระเบียบตลาดและการพัฒนาสิง่ แวดลอม ฝายการ ออกแบบและอนุรกั ษฟน ฟู/ปรับปรุงอาคาร ฝายการจัดตัง้ กองทุนฟน ฟูและ อนุรกั ษฯ ฝายการประชาสัมพันธ ฝายการสรางเอกลักษณ และฝายการ


ประสานงานกั บ ราชพั ส ดุ มี ค ณะกรรมการอำนวยการและกรรมการ ทีป่ รึกษาเปนองคกรกลางในการเชือ่ มโยงทุกฝาย การปรับองคกร รวมถึงการสรรหาคณะกรรมการใหมทสี่ มัครใจและ พรอมที่จะชวยงานจริง และกำหนดหนาที่การทำงานที่ชัดเจนของแตละ ฝาย ทำใหงานกาวหนาไปไดอยางรวดเร็วมากขึน้

31

บานของขุนจำนง จีนารักษ บุคคลสำคัญของสามชุก ที่ลูกหลานยินดีใหคณะกรรมการฯ นำมาปรับปรุงเปนพิพิธภัณฑในตลาด


การจัดระเบียบตลาด ซึ่งเปนกิจกรรมเล็กๆ ใกลตัว โดยรณรงค ชั ก ชวนชาวตลาดให ลุ ก ขึ้ น มาทำความสะอาดตลาดหน า บ า นของตน มี เ ทศบาลเป น ผู อำนวยความสะดวก ตลอดจนจั ด หาอุ ป กรณ ใ นการ ทำความสะอาดตางๆ ให ผลของการทำความสะอาดลางพื้น กวาด “หยากไยรอยป” และรื้อผาใบกันแดดที่ใชการไมคอยไดแลวออก ทำให

32


ตลาดสะอาดขึ้นจนเปนที่สังเกตได กิจกรรมนี้สงผลใหพอคาแมขายรูสึก ตระหนักในการมีสวนรวมจัดระเบียบการวางของขายดวยความสมัครใจ ตอไป ทั้งๆ ที่กอนหนานี้ไมมีใครใสใจ

ศู น ย อ าหารและจุ ด พั ก ของนั ก ท อ งเที่ ย ว เทศบาลร ว มกั บ คณะกรรมการฯเจรจากับผูเชาซึ่งเปนเจาของโรงเก็บของเกาในตลาดให ยอมอนุญาตใหเทศบาลปรับปรุงพืน้ ทีว่ า งทีใ่ ชเก็บของเกาแลวจัดทำเปนศูนย อาหารและจุดพักของนักทองเทีย่ ว การปรับปรุง/จัดระเบียบตางๆ นี้ ทำให ตลาดสามชุกมีความพรอมทางกายภาพทีจ่ ะรับรองผทู จี่ ะมาใชบริการ คูปองอาหาร คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกไดประยุกตใชสงิ่ ที่ ไดพบเห็นจากการไปดูงานที่เทศบาลระยอง นั่นคือการแจกคูปองอาหาร แกผูมาดูงาน และคณะกรรมการฯ ขายคูปองใหกับธนาคาร หนวยงาน

33


34

กวาจะมาเปนสามชุกในวันนี้ ทัง้ คณะกรรมการฯ และชาวบานตางก็มารวมประชุมแสดงความคิดเห็นกัน หลายครั้งหลายหน


รานคา เพือ่ นำมาใชในตลาดซึง่ จะชวยพยุงเศรษฐกิจของตลาด เปนการ ขยายพื้นที่สาธารณะของตลาดสามชุกใหเชื่อมตอกับภาคีขางนอกที่เปน ชนชัน้ กลางของเมืองไดอยางแยบยลนาสนใจ การทำสะพานเดินริมน้ำ ชาวชุมชนเห็นวาอาคารไมบริเวณถนน เลียบนทีของตลาดสามชุกนั้น ในฤดูน้ำหลาก น้ำจะกัดเซาะตลิ่งอยาง รุนแรงจนเปนเหตุใหบานริมน้ำทรุดเอียง จึงมีการจัดประชุมรวมระหวาง กรรมการพัฒนาตลาด ชาวชุมชนตลาด เทศบาล และสถาปนิก เพื่อ หารือเกีย่ วกับรูปแบบของการทำสะพานทีร่ กุ ล้ำแมน้ำนอยทีส่ ดุ การปรับปรุงอาคารในตลาด เนือ่ งจากกลมุ ทีเ่ ปนอาคารไมเดิมนัน้ เกาแกและทรุดโทรม มีปญหาหลังคารั่วเปนสวนใหญ แตโครงสรางของ

35


36

ตัวอาคารมีหลังคาทีต่ อ ยาวกันไปโดยตลอด ทำใหการซอมแซมจำตองมีการ ตกลงพรอมใจและวางแผนรวมกันของผูอยูอาศัยทั้งหมด จึงตองจัดการ ประชุมรวมกันขึ้นระหวางคณะทำงานฝายออกแบบและปรับปรุงอาคาร เกากับสถาปนิกชุมชน เพือ่ สำรวจความเสียหายและมีการวางแผนรวมกัน กองทุนพัฒนาตลาดสามชุก คณะกรรมการพัฒนาตลาดฯ ไดจดั ตัง้ กองทุนพัฒนาตลาดขึน้ โดยรวบรวมเงินทีไ่ ดจากการจัดงานตางๆ มีการ จัดตั้งคณะทำงานขึ้นดูแลรับผิดชอบ พรอมทั้งจัดรางระเบียบ เพื่อให กองทุนเกิดความยัง่ ยืนในการดูแลอนุรกั ษอาคารในพืน้ ทีต่ อ ไป การเกิดคณะกรรมการฝายทองเที่ยว เปนการกาวขยับที่สำคัญ เพราะทำใหเกิดกลไกเพิม่ ขึน้ อีกหนึง่ สวน โดยมีเปาหมายหลักเพือ่ การฟน ฟู เศรษฐกิจของชุมชน โดยการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ การมีทุน ทางสถาปตยกรรมโบราณ ทำใหปจ จัยรองรับการทองเทีย่ วของสามชุกใน ทิศทางดังกลาวมีศักยภาพสูง ไดมีการวางแผนสงเสริมการทองเที่ยวใน ลักษณะตางๆ เชน การจัดทำเว็บไซต และแผนพับแนะนำของดีและ แหลงทองเทีย่ วของสามชุก เปนตน การเกิด “พิพธิ ภัณฑขนุ จำนงจีนารักษ” และ “บานพูดได” กิจกรรม ทีเ่ พิม่ ทักษะการเรียนรแู ละความสามารถในการจัดการใหแกคณะกรรมการ


เทศบาลนคร ทมี อนรุ กั ษศ ลิ ปกรรม

เชียงรายมาศ

ึ ก ษ า ดู ง า น

อยางมาก คือกระบวนการ “ปลุกบาน” ใหกลายเปน “พิพธิ ภัณฑชมุ ชน” โดยไดแนวคิดแรงบันดาลใจมาจากการไปแลกเปลีย่ นดูงานตามทีต่ า งๆ สำหรับพิพธิ ภัณฑขนุ จำนงฯ นัน้ มีเปาหมายทีจ่ ะฟน ฟูอนุรกั ษอาคาร สามชัน้ ทีม่ สี ถาปตยกรรมเกาแกงดงามแตบางสวนถูกทิง้ รางไปใหกลายเปน พิพิธภัณฑที่บอกเลาเรื่องราวของเจาของบานควบคูไปกับประวัติศาสตร ชุมชน บางสวนจัดเปนที่แสดงนิทรรศการหมุนเวียน เพื่อใหความรูแก ชุ ม ชนเกี่ ย วกั บ ความเป น มาของสถานที่ ต า งๆ ตลอดจนวิ ถี ชี วิ ต และ วัฒนธรรมของชุมชน และบางสวนจะใชเปนที่ประชุม/เสวนาของชุมชน สวนที่เปน “บานพูดได” นั้ น มุงหวังใหบานแตละหลังบอกเลาประวัติ เรือ่ งราวชีวติ ของเจาของและผทู เี่ คยอยอู าศัย ผานรูปภาพ ขาวของเครือ่ ง ใช และ “ของดี” ที่เจาของภูมิใจจะนำเสนอ เพื่อใหผูมาเยี่ยมชมได เรี ย นรู แ ละเข า ใจถึ ง วิ ถี ชี วิ ต และวั ฒ นธรรมของประชาชนคนสามั ญ ทีป่ ระกอบกันเปนสวนหนึง่ ของชุมชนตลาดสามชุกในอดีต การ “ปลุกบาน” ทีเ่ กิดขึน้ ทีส่ ามชุก จึงไมใชเพียงแคการฟน ฟูบา น เกาใหกลายเปนพิพิธภัณฑใหคนไดเขาชมเทานั้น แตเปนการ “ปลุกจิต วิญญาณของตลาด” ผานบานแตละหลังในชุมชนใหตนื่ ขึน้ อันเนือ่ งมา

37


38

จากการสรางความหมายและใหความสำคัญใหมกบั อะไรๆ ทีเ่ ปน “ของเกา” ทีถ่ กู ซุกอยตู ามหลืบซอกของบาน ใหคนในบานเองไดรสู กึ ถึงความสืบเนือ่ ง กับอดีตและความรสู กึ ภาคภูมใิ จในบรรพบุรษุ ครอบครัว และชุมชนของตน ความสำเร็จที่ไดจากการปรับปรุงสภาพแวดลอมทางกายภาพของ ตลาดดวยความรวมมือของคนในทีเ่ ปนชาวชุมชนตลาด เปนปรากฏการณ ทีเ่ ปนรูปธรรมและเปนทีป่ ระจักษอยางกวางขวาง ความเคลือ่ นไหวอืน่ ๆ จึง เกิดขึน้ ตามมา บรรยากาศภายในตลาดมีชวี ติ ชีวามากขึน้ ผคู นเริม่ เขามา ซือ้ ของและเยีย่ มชมตลาดจำนวนมาก ประกอบกับการหนุนเสริมจากการ ประชาสัมพันธของสื่อ ทั้งที่เปนวิทยุ โทรทัศน และบทความในหนังสือ พิมพถึงความสวยงามดานสถาปตยกรรมของหองแถวไม และมีอาหาร อรอย ทำใหเริม่ มีผมู าเยือนจากตางเมืองมากขึน้ เศรษฐกิจของตลาดจึงดีวันดีคืน มีการเปลี่ยนแปลงในยานตลาดที่ สำคัญคือ ดานความสัมพันธที่มีระหวางกัน คณะกรรมการฯ ตางรูสึก ประทับใจกับ “น้ำใสไมตรีทมี่ ตี อ กันมากขึน้ ของคนยานตลาด มีการ ทักทายปราศรัยยิม้ แยมใหแกคณะกรรมการฯ อยางทีไ่ มเคยเปนมากอน”

การฟนฟูประเพณีการทอดกฐินทางน้ำ


คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุก ยังตระหนักในความสำคัญของ การปลูกฝงจิตสำนึกรักบานเกิดใหกบั คนรนุ ตอไป และนับวาเปนโชคดีของ สามชุกที่ได ผอ.สมเกียรติ กูเกียรติภูมิ ผูอำนวยการโรงเรียนอนุบาล สมเด็จพระวันรัตในเขตเทศบาล เปนแกนนำกรรมการพัฒนาตลาดที่ แข็งขันผูหนึ่ง ทานมีปรัชญาวา “โรงเรียนควรเขาไปหาชุมชน...ไปดูวา ชุมชนทำอะไรอย.ู ..ควรเสนอตัวเขาไปชวยเหลือชุมชน...” ตัวอยางการจัดการเรียน “วิถชี วี ติ ชุมชนสามชุก” ไดระบุวตั ถุประสงค ไว 3 ขอ คือ ใหนักเรียนไดศึกษาและรูจักสภาพของทองถิ่นและชุมชนที่ ตนอยูอาศัย ไดเรียนรูโดยใชภูมิปญญาและแหลงเรียนรูทองถิ่น และได เห็นคุณคาและภูมิใจในภูมิปญญาทองถิ่น และสามารถนำมาใชไดใน ชีวิตประจำวัน โดยอาศัยหลักสูตรการเรียนรจู กั ชุมชน คณะกรรมการพัฒนาตลาดได จัดใหมี “โครงการแรลลี่จักรยานเยาวชน” ขึ้น เพื่อเสริมการเรียนรูจัก ชุมชนและปลูกฝงความรักในทองถิน่ ขณะเดียวกันก็สอดแทรกความสนุก เพลิดเพลินดวย

39


40

จากองคกรชุมชนสามชุก ณ จุดนี้ไดกลายเปนแหลงเรียนรูศึกษา ดูงานดานตนแบบในการพัฒนาที่มาจากฐานราก ที่มีกลุม/องคกรจาก ภายนอกมาดูงานมากมาย มีทั้งที่เปนกลุม/องคกรบริหารสวนทองถิ่น องคกรชุมชนจากตางประเทศ ผสู อื่ ขาวโทรทัศนชอ งตางๆ นักเขียนวารสาร เกี่ ย วกั บ การท อ งเที่ ย วและการอนุ รั ก ษ ข องเก า และนั ก ศึ ก ษาด า น การพัฒนาจากมหาวิทยาลัยตางๆ การทีส่ ามชุกไดกลายเปนสถานทีท่ อ งเทีย่ วดานอนุรกั ษทดี่ งึ ดูดผคู นมา เยี่ยมชมจำนวนมาก และเปนแหลงเรียนรูดานการพัฒนาขององคกร/ หนวยงานตางๆ สรางความรูสึกภูมิใจและความมั่นใจในศักยภาพและ ภูมปิ ญ  ญาของทองถิน่ ใหแกแกนนำองคกรและชาวชุมชนอยางมีนยั สำคัญ ชุ ด ของกิ จ กรรมที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการดำเนิ น งานภายใต โ ครงการฯ เมืองนาอยู จึงเริ่มจากการที่ชาวตลาดลุกขึ้นมาทำความสะอาดหนาบาน ตัวเอง แลวพัฒนาจนไปสูการเกิดขึ้นของพิพิธภัณฑชุมชน และจากการ เรียนรู (ภาย) ในโรงเรียนไปสกู ารเรียนรใู นชุมชนและเพือ่ ชุมชน แลวขยาย และเชือ่ มโยงประสบการณในกระบวนการเรียนรจู ากชุมชนในตลาดสามชุก ไปสชู มุ ชนอืน่ รอบขาง ทัง้ หมดนีเ้ ปน “กระบวนการสรางความเปนชุมชน” หรือ “ทำใหชมุ ชนเขมแข็ง” สรางความตระหนักในบทบาทของพลเมืองที่ จะตืน่ ตัวเขามามีสว นรวมในการกระทำการเพือ่ ชุมชนของตนเอง โดยเนน ความเทาเทียมเสมอภาคในการแสดงความคิดเห็น การผนึกกำลังรวมแรง รวมใจกัน เรียนรูรวมกัน และใชทุนทางสังคมทั้งทางกายภาพและพลัง ภูมปิ ญ  ญาทีม่ อี ยเู พือ่ ทีจ่ ะสรางสรรคและแกปญ  หาของตนเอง


รานกาแฟเกาแกดั้งเดิม

ทีส่ ามชุก ทัง้ หมดทัง้ ปวงเหลานี้ เริม่ ขึน้ จากกลมุ เล็กๆ ในแตละสวน ของสังคมชุมชน โดยเริม่ ตนทีค่ ณะกรรมการชุมชน คณะกรรมการพัฒนา ตลาดสามชุ ก ชาวตลาด วั ด โรงเรี ย น และเยาวชนในเขตสามชุ ก แลวขยายไปสูภาคีและชุมชนอื่นๆ ทั้งที่เปนนักวิชาการ ขาราชการและ องคกรหนวยงานรัฐ และเอกชนภายนอก สวนสิ่งที่กรรมการหลายคนบอกวาไดเรียนรูอยางสำคัญจากการ ทำกิจกรรม คื อ การไดเรียนรูรูปแบบการพัฒนาที่ขึ้นมาจากฐานราก ผูนำที่เคยเปนฝายบริหารของเทศบาลสะทอนวา “สิ่งที่ยาก คือการ พยายามไมใหเทศบาลเขาไปทำเอง แตปลอยใหชมุ ชนเปนผทู ำตาม ความตองการของชุมชน และเทศบาลเปนผใู หการสนับสนุน” ในทัศนะของตัวนายกเทศมนตรี เทศบาลเปนองคกรบริหารสวน ทองถิน่ ทีน่ า จะเอือ้ ตอการสรางความเขมแข็งใหแกชมุ ชนไดดกี วาองคกรอืน่ ๆ เพราะอยูใกลชิดทองถิ่นที่สุดจึงนาจะรูและตอบสนองตอทองถิ่นไดดีกวา องคกรหรือหนวยงานอื่น อีกทั้งเทศบาลมีบุคลากรและงบประมาณเปน

41


ลานโพธิ์ พืน้ ทีส่ ว นกลางของ ชุมชนตลาดสามชุก ใชในการประชุม พบปะหารือกัน

42

เครื่องมือหลอลื่นใหการสนับสนุนกิจการของชุมชนได ที่สำคัญ ผบู ริหาร เทศบาลมาจากการเลือกตัง้ และมีระบบการบริหารงานทีเ่ ปนอิสระ ประสบการณขางตนขององคกรชุมชนสามชุกชี้ใหเห็นวา จิตสำนึก และความเปนชุมชนนัน้ อาจรือ้ ฟน และเสริมสรางไดโดยพลังของชาวชุมชน หรือภาคประชาชนเอง เพียงแตมกี ารจัดการทีเ่ หมาะสม และเปดโอกาสให พลังในพื้นที่ไดเขามามีสวนรวมในกระบวนการการเติบโตของชุมชนและ เมือง เมือ่ นัน้ ความมีชวี ติ ชีวา การสรางสรรค ความเอือ้ อาทร และความ ผูกพันตอกันอันเปนพืน้ ฐานสำคัญของชุมชนทีแ่ ทจริงก็จะคืนกลับมา เสนทางพัฒนาการขององคกรชุมชนสามชุกไดเขยิบและยกระดับจาก จุดเริม่ ตนทีเ่ ปนฐานรากสุด คือ บาน-ชุมชน สหู นวยสังคมทีส่ งู ขึน้ เรือ่ ยๆ ไดแก ตลาด วัด โรงเรียน และทองถิน่ ทีส่ ามชุกเปนประจักษพยานวา “ชุมชน” เปนฐานและเวทีสำคัญของภาคประชาชน เปนหนวยสำคัญทาง สังคมและการเมืองทีจ่ ะผลักดันใหเกิดขบวนการประชาสังคม บนพืน้ ฐาน ของการมีสว นรวมและความเสมอภาคของประชาชน


สิ่งที่สามชุกสะทอนใหเห็นก็คือ ยุทธศาสตรการทำงานที่ใชองคกร ปกครองทองถิน่ เปนฐานรวมกับชุมชนในการขับเคลือ่ นแนวทางการพัฒนา ที่ ชุ ม ชนเป น ผู ร ว มคิ ด -ร ว มทำ โดยนั ก พั ฒ นาประสานหน ว ยงานและ ทรั พ ยากรด า นต า งๆ ที่ มี ทั้ ง ด า นวิ ช าการ เทคนิ ค วิ ท ยา บุคคล และ งบประมาณ ฯลฯ รวมทั้งเสริมสรางความสามารถในการจัดการใหกับ แกนนำนัน้ เปนแนวทางทีไ่ ดผล มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอยางสูง บนเงื่อนไขที่บุคลากร/แกนนำของชุมชนบางสวนมีพื้นฐานความพรอมที่ จะเสี ย สละเพื่ อ สาธารณะ และนั ก พั ฒ นาเองเรี ย นรู ที่ จ ะปรั บ เปลี่ ย น ยุทธศาสตรการทำงานใหสอดคลองกับสภาพปญหา/ความตองการ จังหวะ กาว และศักยภาพของชุมชน กรณีของสามชุกเปนตัวอยางของความสำเร็จทีช่ มุ ชนสามารถพัฒนา ตัวเองไดอยางรวดเร็วเมือ่ ตระหนักในทุนทางสังคมและภูมปิ ญ  ญาของทองถิน่ ของตน และสามารถปรับใชนวัตกรรมทีไ่ ดมาจากการแลกเปลีย่ นเรียนรจู าก ชุมชนอืน่ ไดอยางสรางสรรค และทีส่ ำคัญก็คอื ทามกลางการเรียนจากการ ปฏิบัติการจริงเหลานี้ ชาวชุมชนไดรูจักทองถิ่นของตนเองมากขึ้น “รูจัก สถานะและอัตภาพลักษณะของสังคมตนทามกลางสังคมใหญ” รสู กึ ภาคภูมิใจในทองถิ่นของตน และมีความกระตือรือรนและจิตสำนึกที่ จะขยายการมี ส ว นร ว มออกไปสู ชุ ม ชนท อ งถิ่ น พรอมๆ กั บ การได รู จั ก เขาใจและเอื้ออาทรตอเพื่อนชาวชุมชนอื่น ที่ น า สนใจก็ คื อ ชุ ม ชนมี ร ะบบวิ ธี คิ ด และมองโลกแบบของตน ภาพรวมเมืองนาอยใู นวิธคี ดิ ของชุมชนไมไดแยกสวนออกเปนดานๆ แตมกั จะคิดเปนองครวม ที่มีหลายๆ มิติบูรณาการซอนกันอยู มีวัด/สถาบัน ศาสนา และวัฒนธรรมประเพณีเปนหลัก และใหความสำคัญกับความ

43


44

จากตลาดสามชุก....สูวัด.. ความผูกพันที่ไมเคยหางหาย ..แมนจะรุงเรืองหรือซบเซา

สัมพันธของคนในชุมชนอยางสูง กระบวนการพัฒนาเมืองที่จะประสบ ความสำเร็จจำตองคิดถึงประเด็นเหลานี้ ยังมีขอสังเกตอีกวา คณะทำงานของสามชุกใหน้ำหนักกับความ สำเร็จในรูปแบบการจัดและดำเนินการประชุมของนักพัฒนาวา ทำใหการ แลกเปลีย่ นถกเถียงในทีป่ ระชุมมีประสิทธิภาพ ไดเนือ้ หาและขอสรุป อีกทัง้ การติดตามงานก็ผลักดันใหงานกาวไปขางหนา แตเมื่อมองในแงของการ เรียนรูที่กระตุนความคิดริเริ่ม แกนนำลวนใหความสำคัญกับการดูงานแลกเปลี่ยนที่เปดโลกทัศนใหพวกเขาไดรูเทาทันสถานการณจริงของสังคม พรอมๆ กับไดรจู กั สถานะของชุมชนตนในทามกลางสังคมอืน่ บทบาทของสตรีในกระบวนการพัฒนาเมืองทีส่ ามชุกเปนอีกลักษณะ หนึ่ ง ที่ โ ดดเด น แกนนำที่ เ ป น ผู ห ญิ ง อยู ใ นแถวหน า ของการขั บ เคลื่ อ น กระบวนการทีน่ นั่ พวกเธอมาจากหลากหลายอาชีพและหลายวัย ทัง้ ทีเ่ ปน


45 ครู-อาจารยในโรงเรียนและสถาบันการศึกษา และเปนขาราชการบำนาญ และแมบา น พวกเธอจะเกาะติดทุกกิจกรรม ไมวา จะเปนการไปดูงานตาง พืน้ ที่ ใกลหรือไกล ในทีป่ ระชุมบุคลิกลักษณะของพวกเธอทีท่ งั้ กระตือรือรน ละเอียด ใจเย็น เขาใจและมีความเห็นอกเห็นใจเพือ่ นรวมงาน ทำใหการ ประชุมมีสีสันไปพรอมๆ กับเปนการสรางสรรค และจากความสัมพันธที่ พวกเธอมีกับเครือขายผูหญิงอื่นของเมือง เชน ชมรมแอโรบิค ทำให กิจกรรมหลายอยางเปนไปได โดยเฉพาะในการรับรองชุมชนตางๆ ที่มา ดูงาน พวกเธออยูเบื้องหลังการรวมพลังเรียกรองและสนับสนุนใหนายก เทศมนตรีลงรับสมัครอีกครัง้ เพือ่ สานตอโครงการฯ นีใ้ หเปนผลสำเร็จถึงทีส่ ดุ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ สามชุกตลาดรอยป


46

เรียน คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรกั ษ ผม พล.อ.ต.กำธน สินธุวานนท พรอมคณะ ว.ป.อ. รุน 20 และ ครอบครัว ไดมาเยีย่ มและไดรบั ทราบถึงงานของคณะกรรมการทีม่ งุ มัน่ ทำให สามชุกเปนแหลงนาอยู โดยพยายามทุกวิถที างอยางจริงจังและไมทอ ถอย จนประสบความสำเร็จในการสรางความรวมมือ รวมใจของชุมชน ใหรัก และมีจติ สำนึกในความเปน “สามชุก” ซึง่ เปนทีน่ า สรรเสริญและชืน่ ชมเปน อันมาก อยากใหคณะทำงานแหงนี้เปนแบบอยางใหแกชุมชนอื่นๆ ซึ่งทำให เกิดความหวังวา สำนึกของชุมชนแหงนี้ หากเจริญกวางขวางออกไป จะชวยใหบา นเมืองของเรามัน่ คงแข็งแกรง เปนชาติไทยทีม่ นั่ คงถาวรตอไป ขางหนา ขอขอบคุณทีเ่ ชิญมาชมและเรียนรู ทำใหพวกเรามีความหวังขึน้ เปน อันมาก พล.อ.ต.กำธน สินธุวานนท องคมนตรี พรอมคณะ 15 สิงหาคม 2548


ยินดีทไี่ ดมาเยีย่ มเยียนตลาดชุมชนรอยปของอำเภอสามชุก ขอขอบ คุณทุกคนทีใ่ หการตอนรับดวยไมตรีจติ อันดีงาม จึงขอใหรกั ษาชุมชนและ วัฒนธรรมทองถิน่ ทีด่ นี ตี้ ลอดไป พล.ต.อ. โกวิท วัฒนะ 23 มิถนุ ายน 2549 รูสึกดีใจมากที่ไดมาพบกับคณะดำเนินการอนุรักษ “บานสามชุก” ซึง่ จะเปนมรดกใหลกู หลานไดไวศกึ ษาตอไป รศ. ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปนแหงชาติ ราชบัณฑิต 13 มีนาคม 2549

การอนุรักษบานสามชุกของคณะกรรมการเปนสิ่งที่นาชื่นชมมาก เพราะเปนการอนุรักษประวัติศาสตรวิถีชีวิตของทองถิ่นสามชุก ซึ่งจะนำ ความภาคภูมใิ จมาสคู นทองถิน่ รักทองถิน่ ไมละทิง้ ทองถิน่ และชวยกัน ทำความเจริญใหถึงลูกหลาน คุณหญิงกุลทรัพย เกษแมนกิจ อดีตอธิบดีกรมศิลปากร 19 กรกฎาคม 2549

47


ผมรสู กึ ยินดีทไี่ ดมโี อกาสมาเยือนตลาดสามชุกรอยป “ตลาดสามชุก” ในวันนี้ ผมขอใหชุมชนอนุรักษวิถีชีวิตไทยไวใหลูกหลานเพื่อใหเกิดความ ภาคภูมใิ จในความเปนไทยตลอดไป ดร.ปยะสวัสดิ์ อัมระนันทน รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน 16 กุมภาพันธ 2550

48

จากผปู ระสบภัยสึนามิ ทีบ่ า นพังเสียหาย คุณพอและญาติเสียชีวติ ชุมชนลมสลาย ไดมาเยือนสามชุก รูสึกไดในทันทีวาพวกเราจะกลับไป ฟน ฟูชมุ ชนของตนเองใหมใหได พลังของชุมชนสามชุกชางมีพลังมากมาย พวกเราไดเห็นพลังชุมชนและนำมันกลับไปใชฟนฟูชุมชนหลังภัยพิบัติ โดยอาศัยพลังของชุมชน ขอบคุณสามชุกที่รวมกันสรางสิ่งดีๆ ใหเปน บทเรียนในสังคมไทยไดเรียนรวู ถิ ชี มุ ชนใหคงอยตู ลอดไป ขอบคุณทีใ่ หโอกาส ไมตรี จงไกรจักร 30 พฤศจิกายน 2552


เขียนโดย ดร.วิวฒ ั นชยั อัตถากร วันศุกรที่ 18 กันยายน 2009 เวลา 15:44 น.

49

เมือ่ ปลายเดือนสิงหาคม 2552 ทีเ่ พิง่ ผานมานี้ ยูเนสโก (UNESCO) องคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติประกาศให ชุมชนสามชุกตลาดเการอยป สุพรรณบุรี ไดรับรางวัลระดับ “ดี” ในการ ประกวดโครงการอนุรกั ษมรดกทางวัฒนธรรมในภูมภิ าคเอเชียและแปซิฟก ประจำป 2552 ถือเปนเรื่องนาชื่นชมยินดีและนำความภาคภูมิใจมาสูไม เพียงแตชาวสามชุกเทานัน้ รวมถึงประเทศไทยชาวไทยถวนหนาดวย


50

ตลาดสามชุกเริม่ เปนทีร่ จู กั ของผคู นทีช่ นื่ ชอบการทองเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ เมื่อ 4 – 5 ปที่ผานมา มีลักษณะเปนตลาดชุมชนทองถิ่น หองแถวไม ไมมตี กึ สูง ไมใชตลาดติดแอรมสี งิ่ อำนวยความสะดวกและลานจอดรถดีๆ แบบหางใหญ หากแตสามชุกเปนตลาดชาวบานเดินดินทีจ่ ดั วางสินคาแล ดูสะอาด เปนระเบียบนาเดิน มีสินคาและอาหารพื้นบานอรอยหลาก หลาย คุณภาพดี ราคายุตธิ รรมเปนกันเอง พอคาแมคา ยิม้ แยมเชิญชวน ใหซื้อของแบบชิมกอนชอบใจคอยซื้อ นับเปนการเริ่มตนตอนรับนักทอง เทีย่ วทีอ่ บอนุ นาประทับใจทีเดียว หากทานมีโอกาสไปแวะเดินตลาดสามชุก จะรวู า ตลาดแหงนีม้ ใิ ชแคตลาดขายอาหารธรรมดา กวาจะมาเปนตลาดรอยปสามชุกทีค่ วารางวัลดีดา นอนุรกั ษมรดกทาง วัฒนธรรมไดในวันนี้ หนังสือเรือ่ ง “ตลาดมีชวี ติ พิพธิ ภัณฑมชี วี า” และ หนั ง สื อ เรื่ อ ง “ย า นตลาดร อ ยป ส ามชุ ก กั บ กลไกชุ ม ชนในมิ ติ ก าร อนุรกั ษ” ไดบอกเลาใหทราบวา ตลาดสามชุกก็เชนเดียวกับตลาดชุมชน ที่พบเห็นไดทั่วไปในแถบที่ลุมริมน้ำภาคกลางอื่นๆ ที่ตองลมลุกคลุกคลาน ทยอยหายตายจากไปทามกลางความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของการ สรางภาวะทันสมัยแบบตะวันตกทีเ่ นนย้ำบริโภคนิยม คนสามชุกจึงตองหัน หนาเขาหากัน ทบทวนทำแนวทางพัฒนาชุมชนกันใหมเพื่อความอยูรอด จนชุมชนสามชุกเขมแข็งขึน้ สามารถอนุรกั ษวถิ ชี วี ติ ดัง้ เดิมของชุมชนไวได ดวยความรวมมือรวมใจกันดำเนินการอยางแทจริงของประชาชนในชุมชน ดวยความอุตสาหะเพียรพยายามและการตระหนักถึงคุณคาที่ดีงามของ ชุมชน จักตองสืบสาน ประสานพลังภายในและภายนอก หนวยงาน ทองถิ่น องคกรเอกชน นักวิชาการอิสระ และผูเห็นคุณคาการพัฒนา ชุมชนใหเขมแข็งแนวยัง่ ยืน มากกวาการเนนในเรือ่ งของวัตถุมากจนทำให วัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชนดอยคาสูญหายไป จนในที่สุดสามารถเปลง อานุ ภ าพของพลั ง ชุ ม ชนออกมาได ความสั ม พั น ธ ข องชุ ม ชนโดยผ า น


กิจกรรมการพบปะ พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกิดความแนนแฟน จนชาวบานตระหนักถึงความสำคัญทีจ่ ะตองมีสว นรวมในการพยายามทำให ชุมชนทีพ่ วกเขาอาศัยอยดู ขี นึ้ และรวมเผชิญหนากับปญหาตางๆ รวมกัน ในกระบวนการอนุรกั ษพฒ ั นาตลาด ไดหลอหลอมการเมืองภาคประชาชน ใหกับชาวสามชุก แมจะมีความขัดแยงทีม่ าจากการเปลีย่ นแปลงฐานทางการเมืองของ กลุมขั้วอำนาจใหญ ตลาดสามชุกเปนตัวอยางที่ดีของการสรางการเมือง ภาคประชาชนที่นาศึกษาเรียนรู ทำใหชุมชนดำรงอยูไดในโลกสมัยใหมที่ เปลีย่ นแปลงไปอยางรวดเร็ว ตลาดสามชุกถือเปน “ความสำเร็จ” ในการ พัฒนาอยางมีสวนรวมของประชาชน ถือเปน “แบบอยาง” ของชุมชนที่ “พัฒนาแบบยั่งยืน” ได สามชุกไดรับการคัดเลือกจากสมาคมสถาปนิก สยามในพระบรมราชูปถัมภ ใหไดรับพระราชทานรางวัลอนุรักษศิลปะ สถาปตยกรรมดีเดนประเภทองคกรจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารีป 2548 กระบวนการพัฒนามีลักษณะ “บนสูลาง” ยิ่งทำใหวิธีคิดของชนชั้น ผูนำรัฐมักขาดลอยจากชุมชนอันหลากหลายอยางสิ้นเชิง แมอางวามี แนวทางเพือ่ การอนุรกั ษและฟน ฟู แตกเ็ ปนคนละความหมายไมสอดคลอง กับความคิดของชาวบาน กรณีชุมชนสามชุกตลาดรอยปเปนตัวอยาง รูปธรรมยืนยันใหเห็นชัดเจน จากนี้ไปอนาคตการพัฒนาฟนฟูชุมชนเชิง อนุรกั ษวฒ ั นธรรมทองถิน่ จะอยใู นมือองคการปกครองสวนทองถิน่ ตางๆ คนสามชุกยังสามารถคิดคนฟนฟูใหตลาดรอยปสามชุกเปนสถานที่ ทองเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ ทีส่ รางรายไดเขาพืน้ ที่ และอนุรกั ษวฒ ั นธรรมวิถชี วี ติ ดั้งเดิมของชุมชนได อีกทั้งมิติการอนุรักษและฟนฟูตลาด ทำใหชุมชน สามชุกดำรงตัวอยไู ดในโลกยุคโลกาภิวตั นอยางมีเกียรติและมีศกั ดิศ์ รี โดย ไมตองบิดเบือนวิถีชีวิตประจำวันของชุมชน คนสามชุกและตลาดสามชุก

51


52

จึงเปนชุมชนทีโ่ ดดเดนในจังหวัดสุพรรณบุรี ขอถือโอกาสนี้เชิญชวนคนไทยไปเที่ยวสามชุก “ตลาดมีชีวิต” และ สถานทีท่ อ งเทีย่ วอืน่ ๆ ในประเทศดวย เปนการสงเสริมการทองเทีย่ วภายใน ยามชาติ เ กิ ด วิ ก ฤติ เ ศรษฐกิ จ ไทยไม ช วยไทย แลวใครจะมาชวยเรา จะเห็นวาพลังชุมชนชาวสามชุกตอกย้ำประชาธิปไตยของชุมชน โดยชุมชน เพือ่ ชุมชน เปนตัวแบบการพัฒนา “ลางสบู น” นอกจากการหาซือ้ อาหาร และขนมพืน้ บานทีอ่ รอยหลากหลายราคาถูกแลว ทานยังจะไดชมบานเรือน ไมเกาๆ ที่ติดลวดลายไมฉลุไดบรรยากาศเกาๆ อยางเพลิดเพลินเจริญใจ และเจริญปญญา ขอแสดงความยินดีกับชาวชุมชนสามชุกอีกครั้งหนึ่ง สำหรับรางวัล เกียรติยศระดับโลกจากยูเนสโก สรางชือ่ เสียงใหประเทศไทย ในอนาคตเรา คงจะเห็นชุมชนทองถิน่ เขมแข็งเพือ่ การทองเทีย่ วทีย่ งั่ ยืนเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ ตอไป


UNESCO Bangkok Asia and Pacific Regional Bureau for Education

ขาวประชาสัมพันธองคกรยูเนสโก

ชุมชนสามชุกและตลาดเการอยป ชนะรางวัลอนุรกั ษขององคกรยูเนสโก กรุ ง เทพฯ, 4 กั น ยายน 2552 - โครงการอนุ รั ก ษ ชุ ม ชน สามชุ ก และตลาดเก า ร อ ยป จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี ชนะรางวั ล ดี (Aword of Merit) จากการประกวดรางวัลเพื่อการอนุรักษมรดก ทางวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟคแหงองคการยูเนสโก ประจำป 2552 คณะกรรมการผตู ดั สินกลาวชืน่ ชมโครงการอนุรกั ษชมุ ชนสามชุกและ ตลาดเการอยป จังหวัดสุพรรณบุรวี า แมครัง้ หนึง่ จะไดรบั ผลกระทบรุนแรง จากภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจและสังคม แตทางชุมชนสามชุกและตลาด เการอยปกส็ ามารถฟน ตัวขึน้ มาไดสำเร็จ โดยผานวิสยั ทัศนอนั กวางไกลและ ความรวมมืออยางใกลชิดของชุมชนทองถิ่น โครงการอนุรักษดำเนินแบบ องครวม ซึ่งรวมถึงมรดกทางสถาปตยกรรมและมรดกที่สืบทอดตอกันมา ของศูนยกลางการคาประวัตศิ าสตรแหงนีอ้ กี ดวย ทัง้ นีก้ อ ใหเกิดความเขาใจ ทีค่ รอบคลุมมากยิง่ ขึน้ ถึงคุณคาของสถานทีแ่ หงนีใ้ นฐานะทีเ่ ปนแหลงทีม่ า ของมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชน นอกจากนี้ ชุมชนสามชุกยังเปนแรง สำคัญในการผลักดันโครงการนี้ในทุกระดับ ตั้งแตการกำหนดนโยบาย ไปจนถึ ง การร า งแนวทางการออกแบบชุ ม ชนเมื อ ง การบู ร ณะอาคาร ประวัตศิ าสตรทงั้ สามหลังเปนพิพธิ ภัณฑทมี่ ชี วี ติ และศูนยกลางของละแวกนี้ ไดทำใหเกิดศูนยรวมของอำเภอที่เต็มไปดวยตึกแถวไม โครงการดังกลาว จะมีผลกระทบสำคัญในการสรางความตระหนักถึงการอนุรักษมรดกใน ระดับรากหญา ทั้งยังเปนแบบอยางที่สำคัญในการสรางแรงจูงใจใหแก

53


54

ชุมชนประวัตศิ าสตรอนื่ ๆ ในประเทศไทยตอไป ในปนี้มีโครงการอนุรักษสงผลงานเขาประกวดทั้งสิ้น 48 โครงการ จาก 14 ประเทศในภาคพื้ น เอเชี ย และแปซิ ฟ ค ซึ่ ง ประกอบไปด ว ย โรงแรม อาคารสำนั ก งาน สถาบั น ทางวั ฒ นธรรม อาคารสถาบั น การศึกษา ศาสนสถาน อนุสรณสถาน อาคารสาธารณะ ที่พักอาศัย และชุมชนเมือง Sangiin Dalai Monastery ในโกบีไอมัคใต ประเทศมองโกเลีย ไดรบั รางวัลยอดเยีย่ ม (Award of Excellence) จากโครงการประกวดนี้ ผไู ดรบั รางวัลดีเดน 3 รางวัล ไดแก M24 Midget Submarine Wreck ในนครซิดนีย ประเทศออสเตรเลีย Ali Gohar House ในเมืองฮุนซา ประเทศปากีสถาน และ Hanok Regenneration ในเมืองบุกชอน ประเทศเกาหลีใต ในสวนของผูไดรับรางวัลดี (Award of Merit) 4 รางวัล ไดแก Huai Hai Lu 796 ในเมืองเซี่ยงไฮ ประเทศจีน YMCA Student Branch ในนครบุมไบ ประเทศอินเดีย Waterworks Buiding ในเมือง โอคแลนด ประเทศนิวซีแลนด และชุมชนสามชุกตลาดเการอยป จังหวัด สุพรรณบุรี ประเทศไทย ดังที่ไดกลาวถึงกอนหนานี้ รางวัลชมเชย 4 รางวัล (Honourable Mention) ไดแก The Academy of Visual Arts (Former Royal Air Force Officeer’ Mess) at the Hong Kong Bapsist University ในเขตปกครองพิเศษฮองกง ประเทศจีน Heritage Buildings in Cicheng Historic Town ในมณฑลเจอเจียง ประเทศจีน YWCA Lady Willingdon Hotel ในนครมุมไบ ประเทศอินเดีย และ Tang Family Chapel เมืองฮอยอัน ประเทศเวียดนาม โครงการรางวัลเพือ่ การอนุรกั ษมรดกทางวัฒนธรรมในภูมภิ าคเอเชีย และแปซิฟค แหงองคการยูเนสโก มีจดุ ประสงคหลักเพือ่ ยกยองบุคคลและ องคกรภาคเอกชน หรือโครงการความรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชน ในการบูรณปฏิสังขรณอาคารและสิ่งกอสรางที่เปนมรดกอันทรงคุณคาใน ภูมภิ าค


ทั้งนี้ โครงการอนุรักษที่สงเขาประกวดเพื่อเขารับพิจารณารางวัลฯ จะตองมีอายุมากกวา 50 ป ขึ้ น ไป และแลวเสร็จสมบูรณภายในระยะ เวลา 10 ป ที่ ผ า นมา นอกจากนี้ จะตองมีการเปดใชอาคารนั้นๆ มา แลวอยางนอยเปนระยะเวลาหนึง่ ปนบั ตัง้ แตวนั ทีป่ ระกาศประกวดรางวัล องค ก ารยู เ นสโกเชื่ อ มั่ น ว า ในการยกย อ งภาคเอกชนเรื่ อ งการ บูรณปฏิสงั ขรณและปรับเปลีย่ นโครงสรางทางประวัตศิ าสตรจะเปนแรงผลัก ดันใหเจาของอาคารรายอืน่ ๆ เริม่ ดำเนินโครงการอนุรกั ษภายในชุมชนของ ตนเอง ไมวา จะเปนการกระทำโดยตัวบุคคล หรือการแสวงหาความรวมมือ ระหวางภาครัฐและเอกชนตอไป ประเทศไทยไดสง โครงการอนุรกั ษเขารวมการประกวดรางวัลฯ มาเปน ระยะเวลาตอเนือ่ ง โดยนอกเหนือไปจากโครงการอนุรกั ษชมุ ชนสามชุกและ ตลาดเการอยปนนั้ โครงการอนุรกั ษอนื่ ๆ ในประเทศไทย 6 โครงการก็เคย ไดรับรางวัลจากองคการยูเนสโกมากอนหนานี้ คื อ โครงการอนุรักษ วั ด ปงสนุ ก เมื อ งลำปาง (รางวั ล Award of Merit ป พ.ศ.2551) โครงการอัมพวาชัยพัฒนานุรักษ รางวัลชมเชย (รางวัล Honourable Mention ป พ.ศ.2551) สำนักงานทรัพยสนิ สวนพระมหากษัตริย จังหวัด ฉะเชิงเทรา (รางวัล Honourable Mention ป พ.ศ.2551) โครงการ อนุรกั ษตำหนักใหญ วังเทวเวศน กรุงเทพมหานคร (รางวัล Honourable Mention ป พ.ศ.2548) โครงการอนุรกั ษพระราชวังเดิม กรุงเทพมหานคร (รางวัล Award of Merit ป พ.ศ.2547) และโครงการอนุรกั ษวดั สระทอง จังหวัดขอนแกน (รางวัล Award of Merit ป พ.ศ.2545) สำหรับขอมูลเพิม่ เติมเรือ่ งการประกวดรางวัลเพือ่ การอนุรกั ษมรดกทาง วัฒนธรรม และรายชื่อโครงการผูชนะรางวัลในปนี้สามารถดูไดที่เว็บไซต http://www.unescobkk.org/culture/heritageawards

55


ขอขอบคุณ นักพัฒนา

56

: มณฑา อัจฉริยะกุล ทับทิม แกวกิ่ง สถาปนิกชุมชน : ชวนัฐ ลวนเสง สักรินทร แซภู ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ มนตทวี จิระวัฒนทวี ทีมงานมูลนิธเิ ล็ก-ประไพ วิรยิ ะพันธ คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบัง



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.