editorial design

Page 1

























































บทนำ รูปร่างหน้าตาของบ้าน นับเป็นความประทับใจแรก ในการเริ่มต้นทำความรู้จักกับบ้าน หลายคนคงเคยเจอบ้านที่ พื้นที่ใช้สอยลงตัว มีการออกแบบจัดวางห้องต่างๆได้ถูกทิศทาง บ้านเย็นสบาย หรือแม้กระทั่งบ้านหลังเก่าที่เรา อยู่มาตั้งแต่เด็ก ทุกมุมในบ้านมีความทรงจำที่ผูกพันกันมานาน แต่หน้าตาของบ้านไม่ค่อยสวยโดนใจเรา จึงทำให้ไม่แน่ใจว่าจะเลือกลงหลักปักฐาน ยกตำแหน่งให้เป็นบ้านในฝันดีหรือไม่ ? บ้านทาวน์เฮ้าส์หรือบ้านตึกแถวริมถนน นับเป็นตัวอย่างคลาสสิคสำหรับการปรับปรุงโฉมหน้า บ้านให้มีความอบอุ่นและเป็นเอกลักษณ์ จะสังเกตได้ว่า หน้าบ้านที่เหมือนกันเรียงซ้ำๆกัน แต่เมื่อผู้อยู่อาศัยมี อุปนิสัยใจคอ รูปร่าง หน้าตาที่ต่างกัน จึงมักมีรายละเอียดเล็กน้อยที่แสดงความเป็นครอบครัวนั้นๆออกมา การสวมหน้ากากให้บ้าน หรือศัพท์เทคนิคเรียกกันว่า การใส่ facade นั้น เป็นวิธีการปรับโฉมบ้านหลังเดิมให้มีห น้าตาสวยถูกใจ โดยทีไ่ ม่กระทบกับโครงสร้างเดิมหรือพืน้ ทีใ่ ช้สอยมากนัก (บางครัง้ อาจเป็นการเพิม่ พืน้ ทีใ่ ช้สอย ให้บ้านเสียด้วย) วิธีนี้เป็นวิธีที่ได้รับความนิยมมานาน “12 แบบ แต่งผนังหน้าบ้านให้น่ามอง” เล่มนี้ จะเป็นคู่มือที่ช่วยให้คุณได้มีทางเลือกในการแปลงโฉม บ้านห้องแถวหรือทาวน์เฮ้าส์ได้อย่างสวยงาม ลงตัว และปลอดภัย พร้อมให้ความรูค้ วบคูก่ บั แบบก่อสร้างทีแ่ สด งขนาดและสัดส่วนชัดเจน ช่วยให้คุณสามารถนำไปประยุกต์ใช้ตกแต่งผนังหน้าบ้านให้น่ามองได้เป็นอย่างดี

สำนักพิมพ์ บ้านและสวน

1


2 1แบบ

7$`7 *

M; T< T;

bM ; TCO*

7$`7 *

M; T< T;

bM ; TCO*

กรวรรณ คันโธ : เรื่อง อังคณา สิริวรรณศิลปี, เอกรินทร์ พันธุนิล : แบบ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของศูนย์ข้อมูลอมรินทร์

เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ

978-974-289-314-9 พิมพ์ครั้งแรก  มิถุนายน  2556

กรวรรณ คันโธ. 12 แบบตกแต่งหน้าบ้านให้น่ามอง.– กรุงเทพฯ: บ้านและสวน, 2556. 48 หน้า: ภาพประกอบ (สี). (แบบแต่งบ้าน) 1. การตกแต่งภายใน. 2. เครื่องตกแต่งภายในบ้าน. I. ชื่อเรื่อง. II. ชื่อชุด. 747.7 ภ2ก12 ISBN 978-974-289-314-9

เจ้าของ  ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา  บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง  จำกัด  (มหาชน)  กรรมการผู้จัดการใหญ่  ระริน  อุทกะพันธุ ์ ปัญจรุ่งโรจน์  กรรมการผู้จัดการสายงานนิตยสาร  นวลจันทร์  ศุภนิมิตร บรรณาธิการที่ปรึกษา  สุภาวดี  โกมารทัต,  ประพันธ์  ประภาสะวัต  บรรณาธิการอำนวยการ  เจรมัย  พิทักษ์วงศ์ บรรณาธิการสำนักพิมพ์ กาญจนา เอนอ่อน บรรณาธิการสายงานการจัดสวน ทิพาพรรณ ศิริเวชฎารักษ์ บรรณาธิการ  ภัทริน จิตรกร เลขานุการกองบรรณาธิการ  สุรีรัตน์ ตั้งตะธารากุล ที่ปรึกษาฝ่ายซับเอดิเตอร์  มนทิรา  วงศ์ชะอุ่ม ซับเอดิเตอร์  สุภาวดี สุขสมัย หัวหน้าฝ่ายศิลปกรรม พรพัฒน์ วงศ์ตั้นหิ้น ศิลปกรรมอาวุโส ธีระยุทธ ช่างคิด ศิลปกรรม สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ภาพ แฟ้มภาพ สำนักพิมพ์บ้านและสวน นิตยสารบ้านและสวน นิตยสาร room บรรณาธิการภาพ อภิรักษ์ สุขสัย ช่างภาพ สิทธิศักดิ์ น้ำคำ, ปิยะวุฒิ ศรีสกุล, ปรัชญา จันทร์คง, ธนกิตติ์ คำอ่อน, ธนาวุฒิ โชติประดิษฐ ผู้อำนวยการฝ่ายจัดการสำนักพิมพ์  ชัชฎา  พรหมเลิศ  พิสูจน์อักษร  นิภาดา พลายศรี คอมพิวเตอร์ นุชนารถ แตงดี ประสานงานการผลิต  ไตรรัตน์  ทรงเผ่า ที่ปรึกษาสายงานโฆษณา อุไรวรรณ สุนทรหงษ์ ผู้อำนวยการฝ่ายโฆษณา วลีรัตน์ ศักดิ์ขจรยศ ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา พรกมล พุ่มฉัตร เจ้าหน้าที่โฆษณาอาวุโส อ้อยทิพย์ จงวิบูลย์ แผนกโฆษณา กชพร รัศมีธานินทร์, วิไลกัญญา จันทร์ธิวัตรกุล, สุทธิรัตน์ บุญอนันต์ ผู้จัดการฝ่ายธุรกิจโฆษณา พรศิริ เทศชุติธรรมกูล เลขานุการฝ่ายโฆษณา พัชรชนิต ผลดี ผู้อำนวยการฝ่ายการตลาดและสื่อสารแบรนด์ น้ำทิพย์ เงินแย้ม ผู้จัดการฝ่ายการตลาดและสื่อสารแบรนด์ - นิตยสาร ศุภมิต นำประดิษฐ์ ผู้จัดการส่วนการตลาดและสื่อสารแบรนด์ - นิตยสาร จุรีพร ชัยสงคราม ฝ่ายการตลาดและสื่อสารแบรนด์ - นิตยสาร จีรภา แจ่มศรี สำนักงาน  บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) 378 ถนนชัยพฤกษ์ (บรมราชชนนี) เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 โทรศัพท์ 0-2422-9999 ต่อ 4200 (ฝ่ายโฆษณา ต่อ 4250) โทรสาร 0-2434-3555, 0-2434-3777, 0-2435-5111 E-mail: house@amarin.co.th Homepage: <http://www.amarin.com> <http://www.baanlaesuan.com>  แยกสีและพิมพ์ท ี่ สายธุรกิจโรงพิมพ์ บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) 376 ถนนชัยพฤกษ์ (บรมราชชนนี) เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 โทรศัพท์ 0-2422-9000, 0-2882-1010 โทรสาร 0-2433-2742, 0-2434-1385 จัดจำหน่ายโดย  บริษัทอมรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์ จำกัด 108 หมู่ที่ 2 ถนนบางกรวย - จงถนอม ตำบลมหาสวัสดิ์ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 โทรศัพท์ 0-2423-9999 โทรสาร 0-2449-9222, 0-2449-9500 - 6 Homepage: <http://www.naiin.com> ติดต่อฝ่ายสมาชิกได้ที่ โทรศัพท์ 0-2423-9999 กด 2 หรือ E-mail: member@amarin.co.th 2 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

DDC 747.7

05 09 11 14 17 20 24 29 33 36 40 44

กันแดด บังตา แบบเบาๆ ก่ออิฐโชว์สวย ก่อร่อง ช่องสวย ไม้ห่มปูน กล่องเหล็กใส่กรอบ จังหวะผสานวัสดุ รื่นไหลต่อเนื่อง พื้นที่สีเขียว กล่องเปิด-ปิด กล่องสีเขียว คลาสสิคร่วมสมัย ระนาบเอียง 3


วิธีการใช้งานหนังสือเล่มนี้ หนังสือเล่มนี้เป็นคู่มือสำหรับผู้ที่ต้องการตกแต่งผนังด้านหน้าบ้าน ในแต่ละแบบจะแสดงรูปด้าน รูปตัด และรายละเอียด ของหน้าบ้านที่ปรับปรุงจากอาคารพาณิชย์หรือทาวเฮาส์ที่พบเห็นอยู่ ทั่วไป คือ มีหน้ากว้าง 4 เมตร และสูง 4 ชั้น บางแบบมีการปรับปรุงเฉพาะเปลือกอาคาร บาง แบบอาจเปลี่ยนรูป แบบของประตแูละหน้าต่าง เพื่อใหเ้ข้ากับรูปแบบที่ปรับปรุงแล้ว

01

กันแดด บังตา

ดาดฟ้า

ดาดฟ้า

ดาดฟ้า

พื้นชั้นที่ 4

พื้นชั้นที่ 4

พื้นชั้นที่ 4

พื้นชั้นที่ 3

พื้นชั้นที่ 3

พื้นชั้นที่ 3

พื้นชั้นที่ 2

พื้นชั้นที่ 2

พื้นชั้นที่ 2

พื้นชั้นที่ 1

พื้นชั้นที่ 1

แบบเบาๆ

พื้นชั้นที่ 1 ERDRDY;g cC _$V;9W$g 0MCTD$lTM;6

แบบเดิม รูปด้านมาตรฐานก่อนปรับปรุง

แบบปรับปรุง รูปด้านอาคารที่ปรับปรุงแล้ว มีแสดงในทุกแบบ

$ OE O* - O*LID

ETIER_<WD*_MGf$ ÃéÞñ ¿Þïð 9TLW$;S L;VC `G I9T9S<6 IDLW;Tl CS;

­«®²

$EO<- O*_= 6 'LG« ,T<_EÿD<9TLW

02

? *_MGf$_@YOg DX6$S< a'E*LE T*'T;6 T;<; ­«¶­

ISL6Z:EEC6T9WMg Tc6 9IgS c=_CYOg ;lTCTbL cO_6WD<I$$S<? COY - T*$ OLE T*$fLTCTE8_@VCg C[G' T9lTbM <T ;_ET CW<EEDT$TJ9W;g T =ER9S<b+cC _MCYO;$S<< T;% T*e`G I_MCTRLlTMES<b'E9W-g O<*T;? COY `<< žËÁ ÀϾÃÑ `GR`;I:EEC-T7V cC _; ;=EZ*`7 *9WCg T$_$V;c=

OV2CO _>T`$E *%;T6 ´õ®´õ± .C« _I ;E O*=[; $ O=ERCT5 ° .C« IT*LGS<6 T;7TC`<<

­«®´ ­«®²

`;IE O*ER<TD; Tl ER_<WD*

OV2CO _>T`$E * %;T6´õ®´õ± .C«

รูปตัด อาคารที่ปรับปรุงแล้ว

`<<%DTD M; ID · _C7E _I ;E O*=[;$ O =ERCT5 ° .C« IT*LGS<6T;7TC`<<

? *_MGf$_@YOg DX6$S< a'E*LE T*'T;

<Eþ_I5M; T'T; $EZ6I DOV2 ? *_MGf$_@YOg DX6$S<a'E*LE T*'T; OV2CO _>T`$E *%;T6´õ®´õ± .C« _I ;E O*=[;$ O=ERCT5 ° .C« IT*LGS<6 T;7TC`<<

E[=6 T; M; ID · _C7E

°«²­

6T6A T

6T6A T

°«²­

®«²­

ETIER_<WD*_MGf$ ÃéÞñ ¿Þïð 9TLW$;S L;VC `G I9T9S< 6 IDLW;Tl CS;

@Y;h -S;h 9W g ±

<Eþ_I5M; T'T; $EZ6I DOV2

`<<%DTD

°«²­

<Eþ_I5M; T'T; $EZ6I DOV2

<Eþ_I5M; T'T; $EZ6I DOV2 OV2CO _>T`$E *%;T6 ´õ®´õ± .C« _I ;E O*=[; $ O=ERCT5 ° .C« IT*LGS<6 T;7TC`<< $EO<- O*_= 6 'LG« ,T<_EÿD<9TLW ? *_MGf$_@YOg DX6 $S<a'E*LE T*'T;

@Y;h -S;h 9W g ¯

$EO<- O*_= 6 'LG« ,T<_EÿD<9TLW

01

@Y;h -S;h 9W g ®

±«­­

­® LlTMES<L I;_LTOV2;Wh 'IE'S6OV2CO 9WCg %W ;T6_9 Te $S; cC <6V *O MEāOMS$<V;g _@YOg $TE+S6_EÿD*OV29W*g T D LID `GR `%f*`E* a6D$TE;lTCT_EÿD*LGS<c=CT7TCE[=

@Y;h -S;h 9W g ¯

°«²­

TIPS

°«²­

E[=6 T; M; ID · _C7E

@Y;h -S;h 9W g °

°«²­

@Y;h -S;h 9W g °

@Y;h -S;h 9W g ®

03

แบบก่อสร้างที่แสดงอยู่ใน 12 แบบ มีดังนี้

°«²­

°«²­

$EO<- O*_= 6 'LG« ,T<_EÿD<9TLW OV2CO _>T`$E * %;T6 ´õ®´õ± .C« _I ;E O*=[;$ O=ERCT5 ° .C« IT*LGS<6 T;7TC`<<

@Y;h -S;h 9W g ±

<Eþ_I5M; T'T; $EZ6I DOV2 ? *_MGf$_@YOg DX6 $S<a'E*LE T*'T;

ERDRDY;g cC _$V;9W$g 0MCTD$lTM;6

01 รูปภาพลักษณะอาคารต้นแบบที่แสดง ให้เห็นวัสดุ สีสัน และรูปแบบโดยรวม 02 ส่วนขยายเพิ่มเติม เพื่อลงรายละเอียด การก่อสร้าง ระยะ และวัสดุ 03 TIP หรือ ข้อแนะนำเพื่อเติมหรือข้อควร ระวังสำหรับรูปแบบนั้นๆ

12 · ®¯ `<<M O*LIDMIT;

4 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

5


กันแดด บังตา แบบเบาๆ

แบบขยาย 1 หน่วย : เมตร

3.50

ระแนงขนาด 2x4” ไม้หรือไม้เทียม ทาสีน้ำมัน ฝังเพลทเหล็กยึดกับ โครงสร้างระแนง

ฐานคอนกรีตขนาด 200x400 มม. แต่งเรียบปูนเรียบ ทาสี

3.50

สำหรับบ้านที่มีลักษณะเรียบๆ เส้นสายเบาๆ สบายตา สไตล์โมเดิร์น ถ้าต้องการเพิ่มองค์ประกอบปรับโฉมให้บ้าน ดูมีมิติมากขึ้น บวกกับการใช้งานที่ช่วยบังแดด และบังสายตา ลองใช้โครงเหล็กและไม้แบบนี้ดูไปกันได้ดีไม่ขัดสายตา

โครงเหล็กยึดกับโครงสร้างหลัก อาคารเหล็กขนาด 150x50 มม. ทาสีกันสนิมแล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน (ขนาดโครงสร้างควรปรึกษาวิศวกร)

โครงเหล็กยึดกับโครงสร้างหลัก อาคาร เหล็กขนาด 150x50 มม. ทาสี กันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน (ขนาดโครงสร้างควรปรึกษาวิศวกร)

แบบขยาย 2 หน่วย : เมตร

3.50

รูปด้าน หน่วย : เมตร ดาดฟ้า

รูปตัด หน่วย : เมตร

3.50

3.50

1.50

พื้นที่ชั้น 4

0.40

6 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

ฐานคอนกรีตขนาด 200x400 มม. แต่งเรียบ ปูนเรียบ ทาสี

3.50

5.00

1.00 1.00

แบบขยาย 1

พื้นที่ชั้น 2

2.80 3.50

3.50

โครงเหล็กกล่องขนาด 150x50 มม. ทาสีกันสนิมแล้ว ทาทับด้วยสีน้ำมัน (ขนาดโครง -สร้างควรปรึกษาวิศวกร) พื้นที่ชั้น 1

4.00

ผนังฝาอิฐฉาบปูนเรียบทาสี

TIPS

บานเปิดหนีไฟ ไม้ หรือไม้เทียม ทาสีน้ำมัน

0.35

พื้นที่ชั้น 2

7.80

เหล็กกล่องขนาด 50x50 มม. ทาสีกัน สนิมแล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

2.80

3.50

โครงเหล็กยึดกับ โครงสร้างหลักอาคาร

บานเปิด (สำหรับการหนีไฟ) ไม้ หรือไม้เทียม ทาสีน้ำมัน โครงเหล็กกล่องขนาด 150x50 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน (ขนาดโครงสร้างควรปรึกษาวิศวกร)

พื้นที่ชั้น 3 1.00

เหล็กยึดระแนงขนาด 100x50 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

ระแนงขนาด 2”x4” ไม้ หรือ ไม้เทียม ทาสีน้ำมัน

ระแนงขนาด 2”x4” ไม้ หรือ ไม้เทียม ทาสีน้ำมัน

1.00

พื้นที่ชั้น 3

โครงเหล็กขนาด 150x50 มม. ทาสีกันสนิมแล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน (ขนาดโครงสร้างควรปรึกษาวิศวกร)

เหล็กขนาด 100x50 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับ ด้วยสีน้ำมัน

3.50

ราวระเบียงเหล็ก Flat Bars ทาสีกันสนิม แล้วทาทับ ด้วยสีน้ำมัน

3.50

พื้นที่ชั้น 4

ระแนงขนาด 2”x4” ไม้ หรือ ไม้เทียม ทาสีน้ำมัน

รายละเอียด หน่วย : เมตร

5.00

ดาดฟ้า

แบบขยาย 2

พื้นที่ชั้น 1

1 เลือกใช้ไม้เทียมที่มีคุณสมบัติทนแดดทน ฝน ไม่บิดงอ จะทนทานกว่าใช้ไม้จริงที่อาจ ผุพังและสีซีดจางได้ในอนาคต 2 รูปแบบ facade แบบนี้อาจนำไปประยุกต์ ใช้กับส่วนที่ไม่ใช่หน้าบ้านก็ได้ โดยเฉพาะ ตัวบ้าน ที่อยู่ทางทิศใต้หรือทิศตะวันตก ที่มีแสงแดดจัด เพราะจะช่วยกรองแสงแดด แต่ไม่บังลม

4.00 ระบบยื่นไม่เกินที่กฎหมายกำหนด 7


ก่ออิฐโชว์สวย สำหรับใครที่มีหน้าบ้านพื้นที่จำกัดไม่พอสำหรับการเพิ่มโครงสร้าง แนะนำให้เลือกใช้การ ปรับโฉมคล้ายๆ กับการปะติดไปที่ผนังและพื้นผิวต่างๆ เพื่อความสวยงามลงตัวควร เลือกสีกระเบื้องและสีพื้นผิวที่กลมกลืนไปในสไตล์เดียวกัน

รูปด้าน หน่วย : เมตร

3.50

ดาดฟ้า

ประตูบานเปิดคู่ พร้อมช่องแสงด้านบน พื้นที่ชั้น 4

ราวระเบียงเหล็ก flat Bars ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

3.50

ผนังก่ออิฐกรุกระเบื้อง ลาย Stretcher Bond เว้นร่องยาแนว 2 ซม.

พื้นที่ชั้น 3

ราวระเบียงเหล็ก flat Bars ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

8 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

พื้นที่ชั้น 2

กะบะต้นไม้ ฉาบปูนเรียบทาสี 3.50

02 ก่ออิฐโชว์สวย

3.50

ผนังก่ออิฐกรุกระเบื้อง ลาย Stretcher Bond เว้นร่องยาแนว 2 ซม.

พื้นที่ชั้น 1

4.00 9


03 ก่อร่อง

แบบขยายรูปด้าน หน่วย : เมตร

ผนังก่ออิฐกรุกระเบื้อง Stretcher Bond เว้น ร่องยาแนว 2 ซม.

ช่องสวย

ประตูบานเปิดคู่ พร้อม ช่องแสงด้านบน

1.00

0.40

1.20

0.30

0.10

เเพื่อความสวยงามลงตัว เจ้าของบ้านควรลงรายละเอียด ไปถึงการเลือกลักษณะหรือสี ของบานประตู ไฟกิ่งหน้าบ้าน กระถางต้นไม้ รวมไปถึงม้านั่ง หน้าบ้าน เพราะจะช่วยให้ ภาพรวมดูไปในทางเดียวกัน

กระถางต้นไม้ ตะแกรงเหล็กวางกระถางต้นไม้ กระบะต้นไม้ฉาบปูนเรียบทาสี

TIP เทคนิคการเรียงลายอิฐนั้นมีอยู่หลากหลาย ลองเลือกการเรียงอิฐที่แตกต่างออกไปตาม ตัวอย่างนี้ ทำให้หน้าบ้านเราดูสวยแปลกตายิ่งขึ้น

Stretcher Bond

English Bond

Flemish Bond 10 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

สถานที่ บ้านคุณชัชชา สุขศรีวงศ์ 11


ก่อร่อง ช่องสวย

ราวระเบียงเหล็ก Flat Bars ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

วัสดุธรรมดาที่หาได้ทั่วไปเมื่อนำมาใส่ไอเดียบวกกับฝีมือช่างก่อสร้างก็สามารถเพิ่มมูลค่าทำให้บ้านเรา มีบรรยากาศที่น่าประทับใจไม่เหมือนกับบ้านข้างๆเหมาะกับคนที่ชอบงานฝีมือแบบ Hand Craft และแนวธรรมชาติ ไม่เน้นปรุงแต่งที่มากเกินไป

1.50

กรอบช่องเปิด คสล. ฉาบเรียบทาสี

ดาดฟ้า

แบบขยาย หน่วย : เมตร

ฝังเหล็กเพื่อยึดกับ โครงสร้างคานด้านบน อิฐมอญเผาแกร่งขนาด 7x17x4 ซม. เว้นร่องปูน ก่อประมาณ 3 ซม. วางสลับด้านตามแบบ

0.17 1.50

อิฐมอญเผาแกร่ง ขนาด7x17x4 ซม.

เว้นร่องปูนก่อ ประมาณ 3 ซม. วางสลับดานตามแบบ

ฝังเหล็กเพื่อยึดกับ โครงสร้างคาน

แนวร่องระบายน้ำระเบียง บริเวณหน้าคาน กรุด้วยอิฐ ฝังเหล็กเพื่อยึดกับโครงสร้างคาน

ดาดฟ้า

รูปตัด หน่วย : เมตร

1.50

3.50

3.50

อิฐมอญเผาแกร่งขนาด7x17x4 ซม. เว้น ร่องปูนก่อประมาณ 3 ซม. วางสลับด้านตามแบบ

พื้นที่ชั้น 4

3.50

บริเวณหน้าคาน กรุด้วยอิฐ ฝังเหล็กเพื่อยึด กับโครงสร้างคาน

กรอบช่องเปิด คสล. ฉาบเรียบทาสี

แบบขยาย

พื้นที่ชั้น 3

อิฐมอญเผาแกร่ง ขนาด 7x17x4 ซม. เว้นร่องปูนก่อประมาณ 3 ซม. วางสลับด้านตามแบบ

พื้นที่ชั้น 3

อิฐมอญเผาแกร่งขนาด 7x17x4 ซม. เว้นร่องปูน ก่อประมาณ 3 ซม. วางสลับด้านตามแบบ พื้นที่ชั้น 2

กรอบช่องเปิด คสล. ฉาบเรียบทาสี

3.50

TIP พื้นที่ชั้น 1

4.00

พื้นที่ชั้น 2

ฝังเหล็กเพื่อยึด กับโครงสร้างคาน 3.50

กรอบช่องเปิด คสล. ฉาบเรียบทาสี (สำหรับการหนีไฟ)

รูปด้าน หน่วย : เมตร

3.50

บริเวณหน้าคาน กรุด้วยอิฐ

3.50

บริเวณหน้าคาน กรุ ด้วยอิฐ

12 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

พื้นที่ชั้น 4

3.50

บริเวณหน้าคาน กรุ ด้วยอิฐ

ราวระเบียงเหล็ก Flat Bars ทาสีกันสนิม แล้วทาทับ ด้วยสีน้ำมัน

สำหรับส่วนเสาอิฐนี้ ควรคัดอิฐมอญ ที่มีขนาดเท่าๆ กัน ไม่บิดงอ หรือหักบิ่น เพื่อการจัดเรียงอิฐที่ง่าย สวย และ แข็งแรง โดยการนำมาเรียงสลับไปมาตามรูป

พื้นที่ชั้น 1

ระบบยื่นไม่เกินที่กฎหมายกำหนด 13


ไม้ห่มปูน

บ้านปูนเปลือยสไตล์โมเดิร์นแบบดิบๆ ควรเบรกด้วยวัสดุที่ช่วยให้ดูอบอุ่นสักหน่อย โดยการนำ ไม้ธรรมชาติมากรุทับลงไปให้ได้จังหวะ จะทำเป็นไม้ลายถี่หรือห่างจะเล็กหรือใหญ่ นอนหรือตั้ง สลับยังไงก็ได้ แต่ควรเลือกแบบใดแบบหนึ่งให้สอดคลอ้งกันทุกๆ ส่วน

3.50

ดาดฟ้า

ราวระเบียงเหล็ก Flat bars ทาสีกันสนิมแล้วทาทับ ด้วยสีน้ำมัน

พื้นที่ชั้น 4

3.50

ผนังไม้สัก หรือ ไม้สังเคราะห์ หน้า 6”ตีซ้อนทับ 1”ทาสีเคร่าไมเ้นื้อแข็ง ขนาด 1x2” #0.40x0.40 ม. ยึดกับผนัง

พื้นที่ชั้น 3

14 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

3.50 พื้นที่ชั้น 2

3.50

04 ไม้ห่มปูน

ผนังไม้สัก หรือ ไม้สังเคราะห์ หน้า 6”ตีซ้อนทับ 1”ทาสีเคร่าไมเ้นื้อแข็ง ขนาด 1x2” #0.40x0.40 ม. ยึดกับผนัง

พื้นที่ชั้น 1

รูปด้าน หน่วย : เมตร

4.00 15


แบบขยาย หน่วย : เมตร

ดาดฟ้า

3.50

ผนังไม้สักหรือไม้สังเคราะห์ หน้า 6” ตีซ้อนทับ 1” ทาสี เคร่าไม้เนื้อแข็ง ขนาด 1”x2”# 0.40 x 0.40 ม. ยึดกับผนัง ปิดขอบด้วยเหล็กฉากทาสีน้ำมัน

พื้นที่ชั้น 4

นอกจากการกรุไม้แบบเสมอกันแล้วเซาะร่องแล้วยังมีวิธีการ กรุไม้ในรูปแบบต่างๆให้เลือกอีกมากมายรวมไปถึงการเลือก ใช้ไม้สองขนาดตีสลับกันด้วย 01

ผนังไม้สักหรือไม้สังเคราะห์ หน้า 6” ตีซ้อนทับ 1” ทาสี เคร่าไม้เนื้อแข็ง ขนาด 1”x2”# 0.40 x 0.40 ม. ยึดกับผนัง ปิดขอบด้วยเหล็กฉากทาสีน้ำมัน

พื้นที่ชั้น 3

แบบขยาย

ผนัง หน้า 6” ตีซ้อนทับ 1”

3.50

TIP

3.50

ราวระเบียงเหล็ก Flat bars ทาสีกันสนิมแล้วทาทับ ด้วยสีน้ำมัน

ผนังไม้สักหรือไม้สังเคราะห์ หน้า 6” ตีซ้อนทับ 1” ทาสี เคร่าไม้เนื้อแข็ง ขนาด 1”x2”# 0.40 x 0.40 ม. ยึดกับผนัง ปิดขอบด้วยเหล็กฉากทาสีน้ำมัน

พื้นที่ชั้น 2

3.50

02 ผนัง หน้า 6” ตีซ้อนทับ 1” ผนัง หน้า 6” ตีซ้อนทับ 1”

พื้นที่ชั้น 1

05

ระบบยื่นไม่เกินที่กฎหมายกำหนด

ผนัง หน้า 6” ตีซ้อนทับ 1”

ผนัง หน้า 6” ตีซ้อนทับ 1”

03

รูปตัด หน่วย : เมตร

ผนัง หน้า 4”

04

กล่องเหล็กใส่กรอบ

01 ตีซ้อนเกล็ดแนวนอน 02 ตีซ้อนเกล็ดแนวนอน ไม้สองขนาด 03 ผนังตีกับแนวตั้ง 04 ผนังตีทับแนวตั้งไม้สองขนาด

สถานที่ บ้านคุณสลิล โชติปทุมวรรณ - คุณพหลไชย เปรมใจ 16 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

17


0.80

นำเหล็กกล่องมาประกอบสร้างเป็นโครงสร้างโปร่งๆ ต่อเนื่องกันไป ตั้งแต่ส่วนประตูรั้ว ราวระเบียง ไปจนถึงดาดฟ้า สลับจังหวะยื่นหดเป็นกรอบให้องค์ประกอบของบ้านดูน่าสนใจ ตัวโครงเหล็กควรเลือกทาสีให้ตัดกับพื้นผิวผนังด้านหลัง เพื่อดูแล้วโดดเด่นมีมิติ

แบบขยาย หน่วย : เมตร ราวระเบียงเหล็ก Flat Bars @ 0.10 ซม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

รูปตัด หน่วย : เมตร 0.025

0.15

กล่องเหล็กใส่กรอบ

โครงเหล็กกล่อง 100 x 100 มม. ทาสี กันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน โครง เหล็กยึดกับโครงสร้างหลักอาคาร

ดาดฟ้า

3.10

3.50

3.50

ดาดฟ้า

โครงเหล็กกล่อง 100 x 100 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน โครงเหล็กยึดกับโครงสร้างหลักอาคาร

โครงเหล็กกล่อง 100 x 100 มม. ทาสี กันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน โครง เหล็กยึดกับโครงสร้างหลักอาคาร

3.50

พื้นที่ชั้น 4

3.50

3.50

พื้นที่ชั้น 4

แบบขยาย พื้นที่ชั้น 3

3.50

ราวระเบียงเหล็ก Flat Bar ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

พื้นที่ชั้น 1

รูปด้าน หน่วย : เมตร

การใช้เหล็กมาเป็นองค์ประกอบ ภายนอกอาคาร ต้องระมัดระวังช่วง รอยเชื่อมต่อให้เรียบร้อย โดยสังเกต ว่าต้องมีการเชื่อมรอบๆ รอยต่อและ ทาสีกันสนิมปกคลุมทุกส่วนรวมถึง รอยขีดข่วนต่างๆ ด้วย

พื้นที่ชั้น 2

ราวระเบียงเหล็ก Flat Bar ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

3.50

TIP

พื้นที่ชั้น 2

3.50

โครงเหล็กกล่อง 100 x 100 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน โครงเหล็กยึดกับโครงสร้างหลักอาคาร

3.50

โครงเหล็กกล่อง 100 x 100 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน โครงเหล็กยึดกับโครงสร้างหลักอาคาร

พื้นที่ชั้น 3

ราวระเบียงเหล็ก Flat Bers @ 0.10 ซม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

3.50

ราวระเบียงเหล็ก Flat Bers @ 0.10 ซม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

พื้นที่ชั้น 1

ระบบยื่นไม่เกินที่กฎหมายกำหนด

4.00 18 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

19


จังหวะผสานวัสดุ แม้ไอเดียต้นแบบจะเป็นบ้านเดี่ยวสไตล์โมเดิร์น แต่เราก็สามารถนำ เทคนิคการใช้วัสดุผสมผสานและการยื่นหดของตัวอาคารมาประยุกต์ ได้ โดยเฉพาะส่วนราวระเบียงนั้นถ้าสามารถเลือกใช้รูปแบบราวที่น่า สนใจก็จะยิ่งส่งเสริมให้หน้าบ้านของเราดูโดดเด่นไม่ซ้ำใคร

ดาดฟ้า

ทำผิวคอนกรีตขัดมัน

3.50

กันสาดโครงเหล็ก ทาสีกันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน

ทำผิวคอนกรีตขัดมัน

พื้นที่ชั้น 4

3.50

ผนังก่ออิฐมวลเบาทำผิว คอนกรีตลายไม้ โดยใช้ไม้ เทียมประทับบนผิวปูนฉาบที่ กำลังเซตตัว

พื้นที่ชั้น 3

บานเกล็ดกระจกดัดแสงปรับมุม

3.50

ผนังฉาบปูนเรียบทาสีภายนอก

สถานที่ บ้านคุณกศินร์ ศรศรี - คุณไมโกะ ฮิชิโมโต 20 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

พื้นที่ชั้น 2

ดูแบบขยายม้านั่ง คาน คสล.ทำผิวขัดมัน 3.50

06 จังหวะผสานวัสดุ

บานเกล็ดกระจกดัดแสงปรับมุม

รูปด้าน หน่วย : เมตร

พื้นที่ชั้น 1

4.00 21


3.50

0.90

1.50 0.60 0.45 0.45 0.45 0.90

ม้านั่ง คสล. ทำผิวขัดมัน ครีบ คสล. รอบหน้าต่าง ทำผิวขัดมัน

ถ้าต้องการใช้ไม้มาเป็นส่วนประกอบ ภายนอกของอาคาร เช่น ราวระเบียง ระแนงกันแดด ไม่ควรเลือกใช้ไม้เนื้อแข็งที่ เพิ่งตัดมาใหม่ ไม้ต้องผ่านการอบมาแล้ว เพื่อป้องกันการบิดงอ และควรทาสีเคลือบ รักษาเนื้อไม้ไม่ให้ไม้ผุกร่อนก่อน เวลาอันควร

0.475

ไม้แดงขนาด 1.5”x4”

ไม้แดงขนาด 1.5”x4”

0.30

ไม้แดงขนาด 1”x1” พื้นไม้แดงขนาด 1”x4” ตีเว้นร่อง 1 ซม. ทำสีธรรมชาติ

แผ่นโพลีคาร์บอเนทตัน หนา 4 มม. ตงไม้เนื้อแข็งขนาด 2”x4”

รูปด้านขยายม้านั่ง หน่วย : เมตร

ผ้าโชว์ท้องพื้นสำเร็จรูปทาสีขาว ผนังฉาบปูนเรียบทาสีภายนอก

0.05

0.10

คาน คสล. ทำผิวขัดมัน

ไม้แดงขนาด 1.5”x4”

ไม้แดงขนาด 2”x4”

3.50

พื้นที่ชั้น 3

ไม้แดงขนาด 1.5”x4” ไม้แดงขนาด 1.5”x3”

ผนังก่ออิฐมวลเบาทำผิวคอนกรีต ลายไม้ โดยใช้ไม้เทียมประทับบนผิว ปูนฉาบที่กำลังเซตตัว

0.90 1.45

3.50

พื้นที่ชั้น 4

TIP

0.20

แบบขยายกันสาด

0.20

ดาดฟ้า

รูปตัดขยายม้านั่ง หน่วย : เมตร

0.70

1.50

แบบขยายม้านั่ง พื้นไม้แดงขนาด 1”x4” ตีเว้นร่อง 1 ซม. ทำสีธรรมชาติ

พื้นที่ชั้น 2

3.50

1.50

ตงไม้เนื้อแข็งขาด 2”x4” ผ้าโชว์ท้องพื้น สำเร็จรูปทาสีขาว

คาน คสล. ทำผิวขัดมัน

0.84

0.84

รูปตัดขยายกันสาด หน่วย : เมตร

พื้นที่ชั้น 1

ระบบยื่นไม่เกินที่กฎหมายกำหนด

รูปตัด หน่วย : เมตร

โครงเหล็กขนาด 2”x4”ทาสีกันสนิม อลูมิเนียม แผ่นพอลิคาร์บอเนต ทาทับด้วยสีน้ำมัน ขนาด 1”x1” หนา 8 มม. โครงเหล็กขนาด 2”x4” ทาสีกันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน โครงเหล็กขนาด 2”x4” ทาสีกันสนิม ทาทับ ด้วยสีน้ำมัน

0.20

1.05

0.20

1.50

0.90 2.40

22 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

23


07

ลื่นไหลต่อเนื่อง

ลื่นไหลต่อเนื่อง สำหรับผู้ที่ต้องการให้ความเป็นส่วนตัวโดยการทำระแนงพรางสายตาแต่ในขณะเดียวกันก็ อยากให้บ้านโฉบเฉี่ยวดูน่ามอง ลองทำระแนงคลุมหน้าบ้านให้มีลักษณะต่อเนื่องทอดยาวจาก หลังคาดาดฟ้าลงสู่ฝ้าเพดานชั้นล่าง และเน้นรูปทรงอิสระใช้เส้นสายที่ไม่ขนานกับระนาบแนวตั้ง และนอนแบบนี้ รับรองว่าใครเห็นก็ต้องเหลียวหลัง

รูปด้าน หน่วย : เมตร

ดาดฟ้า

0.80

3.50

บานกระทุ้งระแนงไม้เนื้อแข็ง บนโครงเหล็กขนาด 1”x2” อุปกรณ์บานกระทุ้งตาม มาตรฐานผู้ผลิต

พื้นที่ชั้น 4

0.80

3.50

ทำบานกระทุ้งเป็นระแนงไม้เนื้อแข็ง บนโครงเหล็กขนาด 1”x2” ให้กลมกลืนไปกับผนังระแนงไม้

พื้นที่ชั้น 3

ราวกันตกเหล็กส่อง ขนาด 1.5” x 3” ทาสีกันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน 3.50

ระแนงไม้เนื้อแข็งขนาด 3/4”x3” ตีเว้นร่อง 1 ซม. บนโครงเหล็ก ขนาด 1”x2” ทาสีย้อมไม้ สำหรับทาภายนอก

2.05

พื้นที่ชั้น 2

3.50

2.20

ทำบานกระทุ้งเป็นระแนงไม้เนื้อแข็ง บนโครงเหล็กขนาด 1”x 2” ให้กลมกลืนทับไปกับผนังระแนงไม้

ระแนงไม้เนื้อแข็ง ขนาด 3/4”x3” ตีเว้นร่อง 1 ซม. ทาสีย้อมไม้สำหรับทาภายนอก

พื้นที่ชั้น 1

สถานที่ Intelligent Millionaire Co.,Ltd. 24 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

4.00 25


1.20

ระแนงไม้เนื้อแข็ง ขนาด 3/4”x3” ตีเว้นร่อง 1 ซม. ทาสีย้อมไม้สำหรับทาภายนอก 1.50

ระแนงไม้เนื้อแข็ง ขนาด 3/4”x3” ตีเว้นร่อง 1 ซม. ทาสีย้อมไม้สำหรับทาภายนอก

ดาดฟ้า

3.50

บานกระทุ้งระแนงไม้เนื้อแข็งบนโครงเหล็กขนาด 1”x2” อุปกรณ์บานกระทุ้งตามมาตรฐานผู้ผลิต

0.90

โครงเหล็กยึดเข้ากับโครงสร้างหลักอาคาร พื้นที่ชั้น 4

3.50

แบบขยาย 2

ทำบานกระทุ้งเป็นระแนงไม้เนื้อแข็ง บนโครงเหล็ก ขนาด 1”x2” ให้กลมกลืนไปกับผนังระแนงไม้

0.90

โครงเหล็กยึดเข้ากับโครงสร้างหลักอาคาร พื้นที่ชั้น 3

ระแนงไม้เนื้อแข็ง ขนาด 3/4”x3” ตีเว้นร่อง 1 ซม. ทาสีย้อมไม้ สำหรับทาภายนอก

1.50

3.50

พื้นที่ระหว่างผนังระแนงไม้กับผนังอาคารใช้เป็นพื้นที่พักผ่อน โครงเหล็กขนาด 1.5”x3” โรยกรวดแม่น้ำ เพื่อสร้างบรรยากาศพักผ่อนและช่วยปิดบัง Floor Drain คาน คสล. ทำผิวขัดมัน 0.90

0.45

1.50

ระแนงไม้เนื้อแข็ง ขนาด 3/4”x3” ตีเว้นร่อง 1 ซม. ทาสีย้อมไม้สำหรับทาภายนอก

เหล็กกล่องขนาด 1”x2” ทาสีกันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน 0.45

ไม้เนื้อแข็งขนาด 3/4”x3” โครงเหล็กขนาด 1.5”x3” ทาสีกันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน โรยกรวดแม่น้ำ เพื่อสร้างบรรยากาศ พักผ่อนและช่วยปิดบัง Floor drain

แบบขยาย 1

ระแนงไม้เนื้อแข็งขนาด 3/4”x3” ตีเว้นร่อง 1 ซม. ทาสีย้อมไม้ สำหรับทาภายนอก

2.40

ฝ้าเพดานระแนงไม้เนื้อ แข็งขนาด 3/4”x3” ตีชนชิดทาสีย้อมไม้ สำหรับทาภายนอก

3.50

พื้นที่ชั้น 2

เหล็กกล่องขนาด 1.5”x3” ทาสีกันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน

ฝ้าเพดานระแนงไม้เนื้อแข็ง ขนาด 3/4”x3” ตีชนชิด ทาสีย้อมไม้ สำหรับทาภายนอก

พื้นที่ชั้น 1

ระบบยื่นไม่เกินที่กฎหมายกำหนด

รูปตัด หน่วย : เมตร

26 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

ฝ้าเพดานระแนงไม้เนื้อแข็ง ขนาด 3/4”x3” ตีชนชิด ทาสีย้อมไม้ สำหรับทาภายนอก

แบบขยาย 1 หน่วย : เมตร 27


08

ระแนงไม้เนื้อแข็งขนาด 3/4”x3” ตีเว้นร่อง 1 ซม.ทาสีย้อมไม้ สำหรับทาภายนอก โครงเหล็กขนาด 1”x2” ทาสีกันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน ทำบานกระทุ้งเป็นระแนงไม้เนื้อแข็งบน โครงเหล็กขนาด 1”x2” ให้กลมกลืน ไปกับผนังระแนงไม้

พื้นที่สีเขียว

ติดบานพับสแตนเลสแบบกระทุ้ง

0.45

แบบขยาย 2 หน่วย : เมตร ไม้เนื้องแข็ง ขนาด 3/4” x 3”

โครงเหล็ก ขนาด1.5”x3”

TIP การหุ้มระแนงไม้คลุมตลอดผนัง อาจทำให้พื้นที่ภายในระบาย อากาศได้ไม่ดีนัก จึงควรทำช่อง เปิดไว้ในทุกๆชั้น เพื่อรับลมและ แสงสว่างในเวลาที่ต้องการ

สถานที่ บ้าน Mr.Yong Philip 28 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

29


พื้นที่สีเขียว บ้านทาวน์เฮ้าส์ และห้องแถวหรืออาคารพานิชย์นั้น มักสร้างแบบเรียงแถวติดและอยู่ ริมถนนจนบางครั้งก็ขาดพื้นที่สีเขียวและได้รับมลภาวะจากผู้ใช้รถใช้ถนนไปเต็มๆ ทั้ง เขม่าควันและเสียงดังรบกวน การเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยทำหน้ากาก หน้ากากต้นไม้ให้ บ้านแบบนี้ จะช่วยดึงธรรมชาติมาไว้ใกล้ตัวแบบประหยัดพื้นที่

ดาดฟ้า

เหล็กแบนกว้าง 4 ซม. หนา 10 มม. ทาสีกันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน

3.50

ครีบ คสล. ฉาบปูนเรียบ ทาสีภายนอก

0.90

ดาดฟ้า พื้นที่ชั้น 4

ครีบ คสล. ฉาบปูนเรียบ ทาสีภายนอก ฝังเพลทเหล็กยึดกับ โครงสร้างหลักอาคาร

ผนังก่ออิฐฉาบปูนเรียบทาสีภายนอก

3.50

3.50

ครีบ คสล. ฉาบปูนเรียบ ทาสีภายนอก เหล็กแบนกว้าง 4 ซม. หนา 10 มม. ทาสีกันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน

แบบขยาย 0.90

พื้นที่ชั้น 4

เหล็กแบนกว้าง 4 ซม. หนา 10 มม. ทาสีกันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน

พื้นที่ชั้น 3

ประตูบานเลื่อนวงกบ บานกรอบอลูมิเนียม ลูกฟักกระจกตัดแสง

3.50

3.50

เหล็กกล่องขนาด 3”x3” ทาสีกัน สนิมทาทับด้วยสีน้ำมันยึดกับ โครงสร้างหลักอาคาร

0.90

พื้นที่ชั้น 3 พื้นที่ชั้น 2

ผนังก่ออิฐฉาบปูนเรียบ ทาสีภายนอก

ร่องระบายหน้าระเบียง

ราวกันตกก่ออิฐฉาบปูน เรียบ ทาสีภายนอก

3.50

3.50

1.50

พื้นที่ชั้น 2

ราวกันตก ก่ออิฐฉาบ ปูนเรียบ ทาสีภายนอก

พื้นที่ชั้น 1

3.50

ระบบยื่นไม่เกินที่กฎหมายกำหนด

พื้นที่ชั้น 1

รูปด้าน หน่วย : เมตร

รูปตัด หน่วย : เมตร

4.00

30 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

31


0.18

พื้นระเบียงปูกระเบื้อง ตัดขอบขนาด 30x30 ซม.

กล่องเปิด-ปิด

เหล็กแบนกว้าง 4 ซม. หนา 10 มม.ทาสีกันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน ราวกันตกก่ออิฐฉาบปูนเรียบ ทาสีทาภายนอก เหล็กแบนกว้าง 4 ซม. หนา 10 มม. ทาสีกันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน เหล็กกล่องขนาด 3”x3” ทาสี กันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน ยึดกับโครงสร้างหลักอาคาร ฝังเพลทเหล็กยึดกับโครงสร้าง หลักอาคาร

0.18

0.18

0.18

0.90

0.18

0.18

0.18

0.18

แบบขยาย หน่วย : เมตร

เหล็กกล่องขนาด 3”x3” ทาสี กันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน ยึดกับโครงสร้างหลักอาคาร

เหล็กแบนกว้าง 4 ซม. หนา 10 มม. ทาสีกันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน ปลูกไม้เลื้อย ช่วยกันแดด กรองแสง บังสายตา กรองฝุ่น

0.18

0.18

0.18

0.18

0.18

0.18

0.18

0.18

เหล็กแบนกว้าง 4 ซม. หนา 10 มม. ทาสีกันสนิม ทาทับด้วยสีน้ำมัน

รายละเอียด หน่วย : เมตร 32 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

TIPS 1 โครงสำหรับไม้เลื้อย สามารถใช้เหล็กหรือไม้ก็ได้ หากใช้เหล็ก และแสงแดดส่องค่อนข้างแรงที่หน้าบ้าน โครงเหล็กอาจร้อนเกิน ไปจนไม้เลื้อยไม่ขึ้น ต้องหาทางบังแสงแดดเพื่อให้ไม้เลื้อยเติบโตให้ เต็มพื้นที่ก่อน 2 ควรเลือกพันธุ์ไม้ให้เหมาะกับสภาพแวดล้อมบริเวณผนังหน้าบ้าน เช่น แสงแดดแรงควรปลูก เฟื่องฟ้า มะแว้งเทศและสายน้ำผึ้ง หรือแสงแดดรำไรควรปลูก หงส์ฟ้า หัวใจล้านดวงและพลูลงยา 3 หมั่นตัดแต่งไม้เลื้อยให้เรียบร้อยอยู่เสมอ ระมัดระวังไม่ให้ เลื้อยไปรบกวนข้างบ้าน (สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพันธุ์ไม้เลื้อยและการดูแล ได้ใน หนังสือไม้เลื้อย คู่มือคนรักต้นไม้ ชุดที่ 6 ของสำนักพิมพ์ บ้านและสวน)

09

33


กรอบระแนง เหล็กฉาก 50x50 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

กล่องเปิด-ปิด ส่วนระเบียงหน้าบ้านที่ต้องการเพิ่มพื้นที่ใช้งานแบบ กึ่งภายในและภายนอก ให้ติดตั้งผนังเบาที่มีหน้าต่าง บานหมุนไม้เทียมเล่นจังหวะลวดลายโปร่งทึบสลับกัน สอดคล้องต่อเนื่องไปถึงประตูรั้วหน้าบ้านได้ ประโยชน์ทั้งพรางสายตา และระบายอากาศ

ระแนงไม้สังเคราะห์ หน้า 4” เว้นร่อง 1 ซม. ทาสี

2.00

2.00 4.00

กรอบบานเปิด เหล็กฉาก 50x50 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

แปลนส่วนระแนงติดตาย หน่วย : เมตร

เหล็กH 125x125 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับ ด้วยสีน้ำมัน บานเปิดระแนง ไม้สังเคราะห์ หน้า 4” เว้นร่อง 1 ซม.และ หน้า 2” เว้นร่อง 5 ซม. ทาสี

รูปตัด หน่วย : เมตร ดาดฟ้า

ดาดฟ้า

เหล็กH 125x125 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับ ด้วยสีน้ำมัน

บานเปิดระแนงไม้สังเคราะห์ หน้า 4” เว้นร่อง 1 ซม.ทาสี

34 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

3.50

ระบบยื่นไม่เกินที่กฎหมายกำหนด

1.05 0.05

3.50

แบบขยาย หน่วย : เมตร

พื้นที่ชั้น 2

0.05

2.45

เหล็กH 125x125 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน โครงเหล็ก ยึดกับโครงสร้างหลักอาคาร ควร ปรึกษาวิศวกร

บานเปิดระแนงไม้สังเคราะห์ หน้า 4” เว้นร่อง 1 ซม.และ หน้า 2” เว้นร่อง 5 ซม.ทาสี

TIP การตกแต่งบ้านโดยการเพิ่มผนังเบา ครอบพื้นที่ด้านหน้าเกือบทั้งหมดต้อง ระมัดระวังเรื่องทางหนีไฟในกรณีเกิดเหตุ เพลิงไหม้ ดังนั้นจึงต้องมีการออกแบบ ช่องเปิดไม่ว่าจะเป็นประตูหรือหน้าต่างที่มี ขนาดใหญ่พอที่จะลอดตัวหนีออกมาได้

1.05

พื้นที่ชั้น 3

3.50

3.50 4.00

กรอบระแนง เหล็กฉาก 50x50 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

พื้นที่ชั้น 1

พื้นที่ชั้น 1

เหล็ก H 125x125 มม. แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

ระแนงไม้สังเคราะห์ หน้า 4” เว้นร่อง 1 ซม. ทาสี

แบบขยาย ระแนงไม้สังเคราะห์ หน้า 4” เว้นร่อง 1 ซม.ทาสี

ระแนงไม้สังเคราะห์ หน้า 4” เว้นร่อง 1 ซม. ทาสี

พื้นที่ชั้น 4

ผนังก่ออิฐฉาบปูนเรียบทาสี บานเปิด ระแนงไม้ สังเคราะห์ หน้า 2” เว้น ร่อง 5 ซม. ทาสีพร้อม อุปกรณ์บานหมุนและ กลอน

พื้นที่ชั้น 2

รูปด้าน หน่วย : เมตร

กรอบระแนงและกรอบบานเปิด เหล็ก ฉาก 50x50 มม. ทาสีกัน สนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

บานเปิดระแนงไม้ สังเคราะห์ หน้า 4” เว้น ร่อง 1 ซม.ทาสี

3.50

บานเปิด ระแนงไม้สังเคราะห์ หน้า 2” เว้นร่อง 5 ซม. ทาสีพร้อม อุปกรณ์บานหมุนและกลอน

4.00

2.45

พื้นที่ชั้น 3

2.00

0.60

3.50

ระแนงไม้สังเคราะห์ หน้า 4” เว้นร่อง 1 ซม.ทาสี บานเปิด ระแนงไม้สังเคราะห์ หน้า 2” เว้นร่อง 5 ซม. ทาสีพร้อม อุปกรณ์บานหมุนและกลอน บานเปิด ระแนงไม้สังเคราะห์ หน้า 2” เว้นร่อง 5 ซม. ทาสีพร้อม อุปกรณ์บานหมุนและกลอน ระแนงไม้สังเคราะห์ หน้า 4” เว้นร่อง 1 ซม.ทาสี

2.00

3.50

พื้นที่ชั้น 4

เหล็กH 125x125 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน โครงเหล็กยึดกับ โครงสร้างหลักอาคารควรปรึกษาวิศวกร

กรอบบานเปิด เหล็กฉาก 50x50 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

4.00

ราวระเบียงเหล็ก Flat Bars ทาสีกัน สนิมแล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

ราวระเบียงเหล็ก Flat Bars ทาสีกันสนิมแล้วทา ทับด้วยสีน้ำมัน เหล็กH 125x125 มม. ทาสีกันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน โครงเหล็กยึดกับ โครงสร้างหลักอาคาร ควรปรึกษาวิศวกร

3.50

3.50

1.50

แปลนส่วนช่องเปิด หน่วย : เมตร

รายละเอียด หน่วย : เมตร

2.00

2.00 4.00 35


10

กล่องสีเขียว ไม่ต้องสงสัยกันเลยว่า ต้นไม้เพียงน้อยนิดก็สามารถเปลี่ยน บรรยากาศให้พื้นที่รอบๆ ดูมีชีวิตชีวาขึ้นได้จริงๆ แต่ถ้าใครยัง ติดใจในเรื่องพื้นที่ที่จำกัดในการปลูกต้นไม้รอบๆ บ้านอยู่ละก็ ลองดูไอเดียการปลูกไม้เลื้อยที่ผนังรอบบ้านอย่างนี้ดูสิ

กล่องสีเขียว

ดาดฟ้า

ไม้เลื้อยเกาะผนัง เช่น ต้นตีนตุ๊กแก 3.50

กรอบประตูปูนปั้นทาสี ราวระเบียงเหล็ก Flat Bars ทาสี กันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

พื้นที่ชั้น 4

กระบะไม้เลื้อยฉาบปูนเรียบทาสี

3.50

ไม้เลื้อยเกาะผนัง เช่น ต้นตีนตุ๊กแก

พื้นที่ชั้น 3

กระบะไม้เลื้อยฉาบปูนเรียบทาสี

3.50

กรอบประตูปูนปั้นทาสี ไม้เลื้อยเกาะผนัง เช่น ต้นตีนตุ๊กแก

พื้นที่ชั้น 2

3.50

กระบะไม้เลื้อยฉาบปูนเรียบทาสี

รูปด้าน หน่วย : เมตร สถานที่ เก๊าไม้ล้านนา รีสอท 36 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

พื้นที่ชั้น 1

4.00 37


รูปตัด หน่วย : เมตร

ราวระเบียงเหล็ก Flat Bars ทาสี กันสนิม แล้วทาทับด้วยสีน้ำมัน

0.40

1.00

กรอบหน้าต่างปูนปั้นทาสี

3.50

0.55

0.600.10

1.05

ดาดฟ้า

พื้นที่ชั้น 4

3.50 2.20

พื้นที่ชั้น 2

3.50

0.40

กรอบประตูปูนปั้นทาสี

พื้นที่ชั้น 1

ระบบยื่นไม่เกินที่กฎหมายกำหนด

38 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

1 สำหรับแบบนี้ ไม้เลื้อยที่เลือกใช้ควรเป็น แบบที่มีรากพิเศษเพื่อยึดติดกับผิวผนังได้ เลย เช่น ตีนตุ๊กแก เหลืองชัชวาล พลูด่าง ผิวผนังจะต้องชื้นและควรมีความขรุขระ เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการเกาะของไม้เลื้อย อาจมีข้อเสียคือ ทำให้ผิวผนังหลุดร่อน แต่ จะไม่ทำลายโครงสร้างผนัง 2 การดูแลไม้เลื้อยประเภทนี้คือ ต้องรดน้ำ ตัดแต่งให้แนบกับผนังจึงจะดูสวยงาม และ หมั่นสางเพื่อให้ไม้เลื้อยโดนแสงแดดอย่าง ทั่งถึง และควรระวังไม่ให้ไม้เลื้อยไปรบกวน ข้างบ้าน(สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพันธุ์ ไม้เลื้อยและการดูแลได้ใน หนังสือไม้เลื้อย คู่มือคนรักต้นไม้ ชุดที่ 6 ของสำนักพิมพ์บ้านและสวน)

0.10

TIPS 0.10

กระบะไม้เลื้อยฉาบปูนเรียบทาสี

0.10

พื้นที่ชั้น 3

0.10

บัวปูนปั้นรอบช่องเปิด ไม้เลื้อยเกาะผนัง เช่น ต้นตีนตุ๊กแก กระบะต้นไม้ คสล. ฉาบปูนเรียบทาสี

0.40

กรอบหน้างต่างปูนปั้นทาสี

0.40

ปรับลักษณะประตู-หน้าต่าง

0.55

0.600.10

ไม้เลื้อยเกาะผนัง เช่น ต้นตีนตุ๊กแก

3.50

1.05

กระบะไม้เลื้อยฉาบปูนเรียบทาสี

ดินปลูก เตรียมระบบกรอง ดินและระบายน้ำ 0.10

0.30

แบบขยาย หน่วย : เมตร 39


11

คลาสสิคร่วมสมัย

คลาสสิคร่วมสมัย ใครที่ยังหลงใหลกลิ่นอายของสถาปัตยกรรมแนวคลาสสิกของประเทศฝั่งตะวัน ตกอยู่ แต่ขณะเดียวกันก็ไม่อยากเก่าตกยุค ให้ลองตกแต่งบ้านด้วยคิ้วบัวซ้อน เป็นชั้นๆ แต่ลดทอนให้เหลือเพียงรูปทรงเหลี่ยมๆ แบบนี้ก็จะดูร่วมสมัยมากขึ้น

ดาดฟ้า

รูปด้าน หน่วย : เมตร

3.50

ราวระเบียงก่ออิฐฉาบปูน ด้านนอกทำ บัวปูนปั้นหรือติดบัวสำเร็จรูป แต่งรอย ต่อเรียบทาสีด้านในฉาบเรียบทาสี

พื้นที่ชั้น 4

3.50

ราวระเบียงก่ออิฐฉาบปูน ด้านนอกทำ บัวปูนปั้นหรือติดบัวสำเร็จรูป แต่งรอย ต่อเรียบทาสีด้านในฉาบเรียบทาสี

ราวระเบียงก่ออิฐฉาบปูน ด้านนอกทำ บัวปูนปั้นหรือติดบัวสำเร็จรูป แต่งรอย ต่อเรียบทาสีด้านในฉาบเรียบทาสี

3.50

พื้นที่ชั้น 3

ผนังก่อชิดเสาด้านในเพื่อแนวขอบเสา

พื้นที่ชั้น 2

3.50

ขอบกันสาดด้านนอกทำบัวปูนปั้นหรือ ติดบัวสำเร็จรูป แต่งรอยต่อเรียบทาสี

พื้นที่ชั้น 1

สถานที่ บ้านครอบครัววัลลภศิริ 40 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

4.00 41


0.05

พื้นที่ชั้น 3

ระเบียง

3.50

1.95

0.90

0.05 0.10

3.50

0.10

0.10

1.95

ราวระเบียงก่ออิฐฉาบปูน ด้านนอกทำ บัวปูนปั้นหรือติดบัวสำเร็จรูป แต่งรอย ต่อเรียบทาสีด้านในฉาบเรียบทาสี

0.10 พื้นที่ชั้น 4

ระเบียง

0.35

0.90

3.50

0.10 0.050.05

1.75

ดาดฟ้า

0.20

0.90

ราวระเบียงก่ออิฐฉาบปูน ด้านนอก ทำบัวปูนปั้นหรือติดบัวสำเร็จรูป แต่ง รอยต่อเรียบทาสีด้านในฉาบเรียบทาสี

0.30

0.90

0.05

0.20

0.10 0.05

แบบขยาย หน่วย : เมตร

ตัวอย่างรูปตัดบัวสำเร็จรูป หน่วย : เมตร

ผนังก่อชิดเสาด้านในเพื่อแนวขอบเสา

รูปตัด หน่วย : เมตร 42 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

TIP

3.50

ขอบกันสาด ด้านนอกทำปูนปั้นหรือติด บัวสำเร็จรูป แต่งรอยต่อเรียบทาสี

พื้นที่ชั้น 2

พื้นที่ชั้น 1

ระบบยื่นไม่เกินที่กฎหมายกำหนด

การตกแต่งด้วยคิ้วบัวในบางกรณี ยังเป็นการป้องกันน้ำฝนไหลย้อน เข้าไปในวงกบหน้าต่างอีกด้วย หรือ ที่เรียกว่าบัวหยดน้ำ 43


12

ระนาบเอียง

ระนาบเอียง หน้าบ้านที่มีหน้าตาเป็นกล่องๆ ดูแบนเรียบยาวต่อเนื่องกันไป ตลอดนี้ สามารถเพิ่มลูกเล่นได้โดยการใส่กรอบกันสาดแบบ เอียงๆ เพื่อสร้างระนาบเอียงให้บ้านดูแตกต่างไป

ดาดฟ้า

3.50

กรอบยื่นจากผนัง คสล. ฉาบปูนเรียบ ทาสี โครงสร้างควรปรึกษาวิศวกร

พื้นที่ชั้น 4

3.50

ผนังฉาบปูนเรียบทาสี กรอบยื่นจากผนัง คสล. ฉาบปูนเรียบ ทาสี โครงสร้างควรปรึกษาวิศวกร ผนังยื่นเฉียงประมาณ 1 เมตร

พื้นที่ชั้น 3

3.50

ผนังกรูไม้ หรือไม้สังเคราะห์ หน้า 4” ทาสีเคร่าไม้เนื้อแข็ง ขนาด 1”x2” # 0.40x0.40 ม. หรือผนังเซาะร่องทาสี กรอบ คสล. ฉาบปูนเรียบทาสี ปรับโครงสร้างระเบียงเดิมควร ปรึกษาวิศวกร

พื้นที่ชั้น 2

3.50

ผนังฉาบปูนเรียบทาสี

รูปด้าน หน่วย : เมตร 44 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

พื้นที่ชั้น 1

4.00 45


ET'TISL6Z

รูปตัด หน่วย : เมตร

3.50

0.20 0.20

ผนังกรูไม้ หรือไม้สังเคราะห์ หน้า 4” ทาสีเคร่าไม้ เนื้อแข็ง ขนาด 1”x2” # 0.40x0.40 ม. หรือผนังเซาะร่องทาสี

พื้นที่ชั้น 4

ช่องระบายน้ำฝน 3.50

ฝ้าเพดานภายนอกไม้ หรือไม้สังเคราะห์ หน้า 4” ทาสีเคร่าไม้เนื้อแข็ง ขนาด 1”x2” # 0.40x0.40 ม. 4.55

พื้นที่ชั้น 3

3.50

ผนังกรูไม้ หรือไม้สังเคราะห์ หน้า 4” ทาสีเคร่าไม้เนื้อแข็ง ขนาด 1”x2” # 0.40x0.40 ม. หรือผนังเซาะร่องทาสี

ระบบยื่นไม่เกินที่กฎหมายกำหนด

ช่องระบายน้ำฝน กรอบบื่นจากผนัง คสล. ฉาบปูน เรียบทาสี การต่อเติมโครงสร้าง ควรปรึกษาวิศวกร

46 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง

พื้นที่ชั้น 2

พื้นที่ชั้น 1

0.20

ผนังกรูไม้ หรือไม้สังเคราะห์ หน้า 4” ทาสีเคร่าไม้เนื้อแข็ง ขนาด 1”x2” # 0.40x0.40 ม. หรือผนังเซาะร่องทาสี

1.00

3.50

1.00

กรอบบื่นจากผนัง คสล. ฉาบปูนเรียบทาสี การต่อเติมโครงสร้าง ควรปรึกษาวิศวกร

0.10 0.10

ET'T

' T`E* ¥7 OM; ID¦

_MGf$$G O*%;T6 ®«² x ° ;VhI DTI ³ _C7E _MGf$$G O*%;T6 ¯ x ± ;VhI DTI ³ _C7E _MGf$$G O*%;T6 ¯ x ³ ;VhI DTI ³ _C7E _MGf$ Ū¿âÞê %;T6 ®²­ õ ®²­ õ ´ õ ®­ CC« _MGf$,T$%;T6 ²­ õ ²­ õ ± CC« 9 O_MGf$$GI*LWg_MGWgDC+S7ZESL%;T6 ° ;VhI õ ° ;VhI M;T ¯«­ CC« 9 O_MGf$$GI*LWg_MGWgDC+S7ZESL%;T6 ° ;VhI õ ° ;VhI M;T ¯«­ CC« 9 O_MGf$$GI*LWg_MGWgDC+S7ZESL%;T6 ± ;VhI õ ± ;VhI M;T °«­ CC« 9 O_MGf$$GI*LWg_MGWgDC>Y;> T%;T6 ¯ ;VhI õ ³ ;VhI M;T ¯«­ CC« _MGf$`<;LWg_MGWgDC>Y;> T%;T6 ¯ ;VhI M;T ± MZ; ¥ ®¯ CC« ¦

9 O; 9 O; 9 O; 9 O; 9 O;

615 775 1,090 5,859 451 465 695 1,355 985 837

1,606 156 149 230 457 310 240

cC +Eþ* DTI ±«­­ ª ±«²­ _C7E cC _;YhO`%f* ¥ 'GR$S; ¦ cC cL %;T6 ;VhI õ ¯ ;VhI cC _;YhO`%f* ¥ 'GR$S; ¦ cC cL %;T6 ® ;VhI õ ® ;VhI cC _;YhO`%f* ¥ 'GR$S; ¦ cC cL %;T6 ® ;VhI õ ¯ ;VhI C _;YhO`%f* ¥ 'GR$S; ¦ cC cL %;T6 ® ;VhI õ ³ ;VhI cC _;YhO`%f* ¥ 'GR$S; ¦ cC cL %;T6 ® ;VhI õ ° ;VhI cC _;YhO`%f* ¥ 'GR$S; ¦ cC cL %;T6 ® ;VhI õ ³ ;VhI cC `6* cC cL %;T6 ® ;VhI õ ± ;VhI cC `6* cC cL %;T6 ® ;VhI õ ³ ;VhI cC `6* cC cL %;T6 ¯ ;VhI õ ± ;VhI

_C7E _C7E _C7E _C7E _C7E _C7E _C7E _C7E _C7E

10 10 10 100 60 170 120 180 240

-

7TET*_C7E 7TET*_C7E 7TET*_C7E 7TET*_C7E 7E«C« 7E«C« 7E«C« 7E«C« 7E«C«

150 80 2,300 2,000 380 820 425 320 630 630

80 300 800 130 170 150 150 104 96

`> ; `> ;

3,800 4,300

-

7TET*_C7E 7TET*_C7E 7TET*_C7E 7TET*_C7E 7TET*_C7E 7TET*_C7E 7TET*_C7E

236 311 80 450 56 60 60

70 35 45 45

>;S*

0.20

แบบขยาย หน่วย : เมตร

0.80

กรอบ คสล. ฉาบปูนเรียบทาสี ปรับ โครงสร้างระเบียงเดิมควรปรึกษาวิศวกร

M; ID

cC `=EE[=

0.20

ผนังฉาบปูนเรียบทาสี

ISL6Z

_MGf$

0.20

กรอบยื่นจากผนัง คสล. ฉาบปูนเรียบทาสี การต่อเติมโครงสร้างควรปรึกษาวิศวกร

ดาดฟ้า

TIP สังเกตทิศทางของแสงแดดที่ส่องเข้ามา บริเวณผนังหน้าบ้าน เพื่อกำหนดความเอียง และส่วนยื่นของกันสาด ให้สามารถบัง แสงแดดที่แรงเกินไปได้

<OE 6cA_<OE .ÿ_C;7 M;T ®­ CVGGV_C7E >;S*,T<=[;_EÿD< >;S*$EZLS;MV;$T< >;S*$EZMV;B[_%T >;S*$ OOV2CO _7fC`> ; >;S*<ZOV2=ER6S< >;S*<Z$ER_<YhO*6V;_>T`<<cC _'GYO< ± ;VhI õ ± ;VhI >;S*<Z$ER_<YhO*6V;_>T`<<_'GYO< ± ;VhI õ ± ;VhI >;S*cC _% TGVh;'E TIcC _;YhO`%f* 6 T;_6WDI >;S*cC 7W. O;_$Gf6MEāO7W9S<_$Gf6%;T6 õ ± ;VhI 6 T;_6WDI

MGS*'T `> ;@OGV'TE <O_;7M;T ± CVGGV_C7E %;T6 ¯«®­ õ ³ _C7E `> ;@OGV'TE <O_;7M;T µ CVGGV_C7E %;T6 ¯«®­ õ ³ _C7E

*T;>VILlT_Ef+ cC cA_<OE .ÿ_C;7 M; T$I T* ³ ;VhI M;T µ CVGGV_C7E cC cA_<OE .ÿ_C;7 M; T$I T* ° ;VhI M;T ®¯ CVGGV_C7E *T;9TLWBTD;O$ EO*@Yh; + 9TLW9S<M; T ¯ _9WgDI *T;,T<=[;>LCLW @Yh;>VI_9f$. _+OE *T;9TLW$S;L;VC *T;9T; lTCS;_'GYO<_*TcC D[Eþ_9; *T;9T; lTCS;_'GYO<_*TcC `G$_$OE _*T

ãňĐĄĜĈĐňĕèĐėè éĕâÿĜňÿĈėøĠĈēÿĜňøė÷øĔĨè

47


M;S*LYO-Z6 ®¯ `<< `7 *< T;`GRLI; %O*LlT;S$@VC@ < T;`GRLI;

New

®¯ `<<7$`7 *M; T< T; bM ; TCO*

LID =ERMDS6 9lTc6 +EV* LICM; T$T$`=G*a,C bM < T;_$ T $GTD_= ;< T;MGS*bMC ®¯ `<<`7 *< T;

®¯ `<<`7 *LI;

+S6+lTM; TD9SgI=ER_9Ja6D <EVKS9OCEV;9E <Z '_.f;_7OE +lT$S6 >[ L ;b+LSg * .Yh O c6 9Wg E T ;;TDOV ; 9E a9EJS @ 9 ­ª¯±¯°ª¶¶¶¶ 48 : 12 แบบตกแต่งหน้าบ้าน ให้น่ามอง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.