งประเพณีสารทเดือนสิบ

Page 1


ความเปนมาของประเพณีสารทเดือนสิบ ประเพณีสารทเดือนสิบสันนิษฐานวาเปนประเพณีที่รับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรมอินเดียกับประเพณี อื่นอีกหลายประเพณีที่ชาวนครฯรับมา ทั้งนี้เพราะวาชาวนครติดตอกับอินเดียมานาน กอนดินแดนสวนอื่น ๆ ของประเทศไทย วัฒนธรรมและอารยะธรรมของอินเดียสวนใหญจึงถายทอดมายังเมืองนครเปนแหงแรกแลว คอย ๆ ถายทอดไปยังเมืองอื่น ๆและภูมิภาคอื่น ๆ ในประเทศไทย ประเพณีสารทเดือนสิบเปนประเพณีที่วิวัฒนาการมาจาก ประเพณี " เปตพลี " ของศาสนาพราหมณ กลาวคือในศาสนาพราหมณมีประเพณีอยูประเพณีหนึ่ง เรียกวา " เปตพลี " เปนประเพณีที่จัดทําขึ้นเพื่อทําบุญ อุทิศสวนกุศลใหแกผูตาย ประเพณีนี้ปฏิบัติตอเนื่องกันมาในอินเดียกอนสมัยพุทธกาลคําวา " แปต " เปนภาษา บาลีตรงกับคําวา " เปรต " ในภาษาสันสกฤตแปลวา " ผูไปกอน " หมายความถึงบรรพบุรุษที่ตายไปแลวของ ใคร ๆ ทุกคน ถาเปนคนดี พญายมซึ่งเปนเจาแหงความตายจะพาวิญญาณไปสูแดนอันเปนบรมสุขไมมาเกิดอีก แดนนี้อาจจะอยูทิศใตแคนเดียวกับยมโลก ตามความเชื่ออันเปนความเชื่อดังเดิมที่สุดของพราหมณซึ่งมีปรากฏ ในพระเวท อันเปนคัมภีรของศาสนาพราหมณ ตอมาพราหมณไดเกิดความเชื่อชิ้นใหม คือความเชื่อ เกี่ยวกับ นรก ดังนั้นชาวอินเดียจึงเกรงวาบรรพบุรุษที่ตายอาจจะไปตกนรกก็ไดหากคนไมชวย วิธกี ารชวยไมใหคนตก นรกก็คือ การทําบุญอุทิศสวนกุศลไปใหเรียกวาพิธีศราทธ ซึ่งกําหนดวิธีการทําบุญไวหลายวิธี หากลูกหลาน ญาติมิตรไมทําบุญอุทิศสวนกุศลไปใหบรรพบุรษุ ที่ตายไปเปนเปรตจะไดรับความอดยากมาก ดังนั้น การทําบุญ ทั้งปวงที่ทําเพื่ออุทิศผลไปใหแกผูลวงลับไปแลว ซึ่งเรียกวาทําบุญทักษิณานุปทานหรือเปตพลี นั้นลวนเปน ความเชื่อที่มีเคามาจากเรื่องเปรตของพราหมณทั้งสิ้น


สารทเดือนสิบ พิธกี รรม เริ่มตั้งแตวันแรม 1 ค่ํา เดือน 10 ซึ่งถือวาเปนวันที่พญายมปลอยตัวผูลวงลับไปแลวที่ (เรียกวา "เปรต") มาจากนรก สําหรับวันนี้บางคนก็ประกอบพิธี บางคนจะประกอบพิธีในวันแรม 13 ค่ํา 14 ค่ํา และ 15 ค่ํา โดยการนําอาหารไปทําบุญที่วัดเรียกวา "หมรับเล็ก" เปนการตอนรับบรรพบุรุษ และญาติมิตร ที่ขึ้นมาจากนรกเทานั้น การเตรียมการสําหรับประเพณีสารทเดือนสิบ เริ่มขึ้นในวันแรม 13 ค่ํา เดือน 10 วันนี้ เรียกวา "วันจาย" เปนวันที่เตรียมหมรับ และจัดหมรับ คือการเตรียมสิ่งของตาง ๆ ที่ใชในการจัดหมรับ เมื่อไดของ ตามที่ตองการแลวก็เตรียมจัดหมรับ การจัดหมรับแตเดิมใชกระบุงเตี้ย ๆ ขนาดเล็กหรือใหญก็ได แตภายหลัง ใชภาชนะไดหลายชนิด เชน กระจาด ถาด กะละมัง ถัง หรือ กระเชอ สําหรับสิ่ง การจัดหมรับ ชั้นแรกใสขาวสารรองกระบุงแลวใสหอม กระเทียม พริก เกลือ กะป น้ําตาล และ เครื่องปรุงอาคาว หวาน ที่เก็บไวไดนาน ๆ เชน มะพราว ฟก มัน กลวย (ที่ยังไมสุก) ออย ขาวโพด ขา ตะไคร ขมิ้น และพืชผักอื่น ๆ นอกจากนั้นก็ใสของใชในชีวิตประจําวัน เชน น้ํามันมะพราว น้ํามันกาดไต ไมขีดไฟ หมอ กะทะ ถวยชาม เข็ม ดาย เครื่องเชี่ยนหมาก ไดแก หมาก พลู ปูน กานพลู การบูน พิมเสน สีเสียด ยา เสน บุหรี่ ยาสามัญประจําบาน ธูปเทียน แลวใสสิ่งอันเปนหัวใจอันสําคัญของหมรับคือ ขนม 5 อยางมี ดังนี้ 1. ขนมลา เปนสัญลักษณแทนแพรพรรณเครื่องนุงหม 2. ขนมพอง เปนสัญลักษณแทนแพสําหรับบุรพชน ใชลองขามหวงมหรรณพ 3. ขนมบา เปนสัญลักษณแทนสะบา สําหรับบุรพชนจะไดใชเลนสะบา ในวันสงกรานต 4. ขนมกง (ขนมไขปลา) เปนสัญลักษณแทนเครื่องประดับ 5. ขนมดีซํา เปนสัญลักษณแทนเงินเบี้ย สําหรับใชสอย



ความสําคัญ เปนความเชื่อของพุทธศาสนิกชนในจังหวัดภาคใตโดยเฉพาะอยางยิ่งในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่เชื่อวาบรรพ บุรุษอันไดแก ปูยา ตายาย และญาติพี่นองที่ลวงลับไปแลว หากทําความชั่วจะตกนรกกลายเปนเปรต ตองทน ทุกขทรมานในอเวจี ตองอาศัยผลบุญที่ลูกหลานอุทิศสวนกุศลใหแตละปมายังชีพ ดังนั้นในวันแรม ๑ ค่ําเดือน สิบ คนบาปทั้งหลายที่เรียกวาเปรตจึงถูกปลอยตัวกลับมายังโลกมนุษยเพื่อมาขอสวนบุญจากลูกหลานญาติพี่ นอง และจะกลับไปนรกในวันแรม ๑๕ ค่ํา เดือนสิบ ในโอกาสนี้เองลูกหลานและผูยังมีชีวิตอยูจึงนําอาหารไป ทําบุญที่วัด เพื่ออุทิศสวนกุศลใหแกผูที่ลวงลับไปแลว เปนการแสดงความกตัญูกตเวที สาระ ประเพณีสารทเดือนสิบมีสาระสําคัญหลายประการ ดังนี้ ๑. เปนการแสดงความกตัญูกตเวทีตอบรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว ที่ไดอบรมเลี้ยงดูลูกหลาน เพื่อตอบแทน บุญคุณ ลูกหลานจึงทําบุญอุทิศสวนกุศลไปให ๒. เปนโอกาสไดรวมญาติที่อยูหางไกล ไดพบปะทําบุญรวมกันสรางความรักใครสนิทสนมในหมูญาติ ๓. เปนการทําบุญในโอกาสที่ไดรับผลผลิตทางการเกษตรที่เริ่มออกผลเพราะเชื่อวาเปนสิริมงคลแกตนเองและ ครอบครัว ๔. ฤดูฝนในภาคใตจะเริ่มขึ้นในปลายเดือนสิบ พระภิกษุสงฆบิณฑบาตยากลําบาก ชาวบานจึงจัดเสบียงอาหาร นําไปถวายพระในรูปของหฺมฺรับ ใหทางวัดไดเก็บรักษาเปนเสบียงสําหรับพระภิกษุสงฆในฤดูฝน


ประเพณีสารทเดือนสิบมีขึ้นดวยเหตุผลหลายประการ ดังนี้ 1. เนื่องมาจากความเชื่อทางพุทธศาสนา เชื่อวาในปลายเดือนสิบปูยา ตายาย ญาติพี่นองที่ลวงลับไปแลว และ คนบาปทั้งหลายที่ตกนรก จะถูกปลอยจากนรกใหขึ้นมาพบญาติพี่นองในวันแรม 1 ค่ํา เดือนสิบ และให กลับไปนรกดังเดิมในวันแรม 15 ค่ํา เดือนสิบ ดังนี้ผูที่ยังมีชีวิตอยูก็พยายามหาอาหารตาง ๆ ไปทําบุญที่วัด เพื่ออุทิศสวนกุศลใหแกผูที่ลวงลับที่ขึ้นมาจากนรก 2. เปนการทําบุญเนื่องจากความชื่นชมยินดีในโอกาสที่ไดรับผลิตผลทางการเกษตร 3. เพื่อนําพืชผลตาง ๆ ที่ไดรับจากการเกษตรไปทําบุญสําหรับพระภิกษุจะไดเก็บไวเปนเสบียงในฤดูฝน ซึ่งจะ เริ่มในตอนปลายเดือนสิบ 4. เพื่อเปนการแสดงความรื่นเริงและสนุกสนานประจําปรวมกันเพราะความภาคภูมิใจ ความสุขใจ และความ อิ่มใจ ที่ไดปฏิบัติการทําบุญอุทิศสวนกุศลใหบรรพบุรุษ ญาติมิตรที่ลวงลับไปแลว


เขตบางกอกนอย สํานั กงานเขตบางกอกน อยได จั ดทํ า โครงการอนุ รักษ วั ฒ นธรรมงานบุ ญสารทเดื อนสิ บ จั ดเป น ประจํ า ตอเนื่องทุกป ณ วัดดุสิดารามวรวิหาร เขตบางกอกนอย จะจัดขึ้นในชวงสิ้นเดือน 10 หรือวันแรม 15 ค่ํา เดือน 10

สําหรับประเพณีงานสารทเดือนสิบ สํานักงานเขตบางกออกนอยรวมกับสหภูมิภาคทักษิณจัดขึ้นทุกป เพื่อใหพี่นองชาวใตทั้ง 14 จังหวัด ที่เขามาอาศัยอยูในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ไมสามารถเดินทาง กลับไปทําบุญตามประเพณียังบานเกิดของตนไดมีโอกาสแสดงความกตัญู โดยรวมทําบุญอุทิศสวนกุศลแด บรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว อีกทั้งยังเปนการรวมอนุรักษขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามทางพระพุทธศาสนา ของชาวใตที่มีมาแตโบราณใหคงอยูสืบตอไป


มีการทําบุญอัฐิอุทิศใหบรรพบุรุษ มอบทุนการศึกษา พระภิกษุ-สามเณร นักเรียน และทําบุญทอดผาปา สามัคคี จํานวน 15 กอง นําไปถวายวัด 14 จังหวัดภาคใตและกรุงเทพมหานคร รวม 15 จังหวัด โดยเปดให พุทธศาสนิกชนรวมทําบุญองคผาปา 15 กอง. ตั้งเครื่องสังเวยบรรพบุรุษ(รานเปรต) และรวบรวมนายชื่ออัฐิ เพื่อบังสุกุล ถวายผาปาสามัคคี 15 จังหวัด แสดงพระธรรมเทศนา 1 กัณฑ ถวายภัตตาหารเพลแดพระภิกษุ สามเณรพระสงฆสวดมาติกาบังสุกุลและพิธีสังเวยบรรพบุรุษ(ชิงเปรต) มอบทุนการศึกษาแดพระภิกษุ สามเณร และนักเรียน

มีศิลปวัฒนธรรมภาคใตดวยการแสดงและการละเลนพื้นบาน อาทิ การแสดงมโนราห การละเลนเพลงบอก รวมถึงการสาธิตและจําหนายสินคา ขนมทองถิ่นของชาวใต เชน ขนมกง ขนมลา ขนมดีซํา ขนมพอง ขนมบา เปนตน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.