วัฒนธรรมท้องถิ่น (ม้าแก้บน)

Page 1


วิ่งมาแกบน

การบนบาน” นั้นเปนการไปขอความชวยเหลือจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และมีการใหคํามั่นสัญญาตอ สิ่งศักดิ์สิทธิ์วาจะใหบางสิ่งบางอยางที่เชื่อ หรือคาดวาสิ่งศักดิ์สิทธิ์นั้นๆ โปรดปรานเปนเครื่องตอบ แทน ซึ่งเมื่อสัมฤทธิ์ผลแลวก็ตองมีการทําตามคําสัญญาที่ไดตั้งจิตอธิษฐานไว โดยมีการนําเครื่องตอบ แทนที่วานั้นมาใหตามที่บนบานไว ซึ่งเรียกวาเปนการ “แกบน” นั่นเอง และ “การแกบน” ตอสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ในแตละสถานที่นั้น ก็มักจะมีเรื่องราวและรูปแบบของการแกบนแบบตางๆ ที่หลากหลาย อยางเชน การบนถวายดอกไม ถวายไขตม หัวหมู ถวายละครรํา หรืออะไรอื่นๆ อีกมากมายตามแตละ บุคคลที่จะทําการบนบานและแกบนกัน และการแกบนก็อาจจะมีเรื่องราวของการแกบนแบบแปลกๆ ที่มีความนาสนใจอยูไมนอย อยางเชนการแกบนที่ “วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร” ซึ่งที่นี่มีการแกบน แบบแปลกๆ เฉพาะทองถิ่นที่ชาวบานบุ ซึ่งเปนชุมชนริมคลองบางกอกนอยนับถือปฏิบัติสืบตอกันมา อยางยาวนาน ชาวบานบุใหความเคารพ นับถือ และศรัทธา “วัดสุวรรณาราม” วาเปนดั่งศูนยรวมจิตใจของ ชุมชน ซึ่งภายในวัด มีพระอุโบสถ อันเปนที่ประดิษฐานพระประธานที่มีชื่อวา “พระศาสดา” หรือที่ ชาวบานบุเรียกดวยความเคารพกันวา “หลวงพอศาสดา” ถือวาเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และที่เคารพบูชา อยางสูงสุดอยางหนึ่งของชาวบานบุ ซึ่งองคหลวงพอศาสดานั้น มีลักษณะเปนพระพุทธรูปปางมารวิชัย สรางโดยฝมือชางสุโขทัย องคพระมีความสูงถึงรัศมี 8 ศอก 1 คืบ 8 นิ้ว หนาตักกวาง 6 ศอก 1 คืบ เปนพระพุทธรูปที่มีความงดงาม สงางามดวยทรวดทรงอันออนชอย


องคหลวงพอศาสดานี้ ชาวบานบุมีความเคารพ นับถือกันมาหลายชั่วอายุคนแลววา หลวงพอ ศาสดามีความศักดิ์สิทธิ์ในแงที่ทานจะคอยปกปองคุมครองชาวบานบุใหอยูเย็นเปนสุข ซึ่งหากกลาว โดยหลักทางพระพุทธศาสนา หลวงพอศาสดาก็คือพระพุทธรูปองคหนึ่งซึ่งเปนสัญลักษณแทนองค พระสัมมาสัมพุทธเจา แตวาชาวบานบุนั้นกลับมีความเชื่อเฉพาะของทองถิ่นวาหลวงพอศาสดากลับ เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีตัวตน ที่จะคอยชวยดลบัลดาลประทานพรใหแกชาวบานที่มากราบไหวขอพร และ มาบนบานกับทาน ใหไดสมหวังดังที่บนบานไว จนเกิดใหมีเรื่องราวของการแกบนแบบแปลกๆ ตอ องคหลวงพอศาสดาขึ้นมา ซึ่งถือวาเปนความเชื่อเฉพาะถิ่นที่ไมเหมือนที่อื่น ที่ชาวบานบุยังคงเชื่อถือ และศรัทธากับการแกบนหลวงพอปฏิบัติสืบทอดตอกันมาจนถึงทุกวันนี้ “หลวงพอศาสดา” กับการแกบนแบบไมเหมือนใคร “อันเรื่องการแกบนนี้ รูความก็เห็นวามีมานานแลว ตั้งแตสมัยโบร่ําโบราณ ตั้งแตผมโตมาก็รู เรื่องวามีมาแลว มันเปนคลายๆ กับลักษณะความเชื่อมั่นของเราเองวาเปนอยางนี้ มันเปนความเชื่อถือ ของคนที่นี่ และพระทานก็มีชื่อเสียงมาในทางที่ดีมาโดยตลอด อันนี้ผมนับถือแตยังไมเคยบน แตวาถา มาผานโบสถก็ตองวันทากันทุกครั้งที่ผานมา” ลุงวีระ รุงแสง ประธานชุมชนบานบุ เปนชาวบานบุตั้งแตกําเนิดที่มีความผูกพันกับวัดสุวรรณ ราม และมีความนับถือศรัทธาในองคหลวงพอศาสดาเปนอยางมาก ไดเลาถึงความเชื่อ ความศรัทธา ในเรื่องของการแกบนแบบแปลกๆ ทั้ง 3 อยางที่มีตอหลวงพอศาสดาอันไมเหมือนใครของที่นี่ใหฟง พรอมกับเลาใหฟงถึงลักษณะการแกบนทั้ง 3 แบบที่ชาวบานบุปฏิบัติกันมาใหรูวา ชาวบานบุมีความเชื่อมาตั้งแตครั้งสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 วา การมาบนหลวงพอศาสดา แลวไดดั่งที่บนบานไวก็ตองมาแกบน ซึ่งหลวงพอศาสดานั้นทานไมชอบใหแกบนดวยดนตรี ละคร หรือ การละเลนอื่นๆ แตจะชอบใหแกบนแบบแปลกๆ ซึ่งในอดีตนั้นจะมีการแกบนอยู 3 อยาง คือบนเขก หัวตัวเอง บนตุกตาลมลุก และบนวิ่งมา


“การบนเขกหัวตัวเอง ถาบนวาจะเขกกี่ทีก็ตองแกบนเขกตามนั้นและเขกดวยมือของตนเอง มีคนที่มาแกบนมักพูดกันวาเหมือนมีคนมาจับมือเราใหเขกหัวตัวเอง เพราะคนที่ไปแกบนดวยวิธีนี้หัว ปูดกันทุกคน” ลุงวีระ เลาใหฟงถึงการบนเขกหัวตัวเอง และยังอธิบายถึงการแกบนแบบอื่นๆ วา การบนตุกตาลมลุก การแกบนดวยวิธีนี้จะเหนื่อยและลําบาก เริ่มดวยการนั่งชันเขาตรงหนา ใบเสมา แลวเอามือทั้งสองสอดเขาไปไวกุมใตขา จากนั้นก็กลิ้งวนขวาไปหาซายหมุนใหเปนวงกลม บน ไววาจะหมุนกี่รอบก็หมุนไปตามจํานวนนั้น การแตงกายจะแตงเหมือนเด็กหัวจุกหรือไมก็ได แตตอง สมมติใหตัวเราเปนตุกตา ทั้งนี้จางคนอื่นมาแกบนแทนก็ได ลุงวีระบอกวาการบนในลักษณะนี้ถาบน เรื่องขอใหถูกหวยหรือบนในเรื่องการพนัน หลังจากแกบนเสร็จแลวก็ลวนตางเจ็บตัวกันไปตามๆ กัน ราวกับวาหลวงพอศาสดาไมสนับสนุนใหเลนการพนัน ทั้งนี้การบนและแกบนเขกหัวตัวเองหรือตุกตาลมลุก สวนมากจะขอใหชวยในเรื่องที่เดือดเนื้อ รอนใจหรือขอบนไมใหฝนตก ซึ่งปจจุบันนี้การแกบนทั้ง 2 อยางนี้ไมคอยมีใครมาบนและแกบนดวย วิธีการนี้สักเทาไหรแลว เพราะเปนการแกบนที่ยาก จะเห็นมีก็แตการ “วิ่งมา” แกบนที่ยังคงมีใหเห็น และเปนการแกบนที่หลวงพอศาสดาโปรดปรานเปนอยางมาก ถือวาเปนการแกบนที่มีชื่อเสียงของวัด สุวรรณาราม ที่ชาวบานก็ยังคงนับถือปฏิบัติการวิ่งมาแกบนกันมาอยางตอเนื่อง จนจะเรียกวาเปน เอกลักษณของการแกบนที่ไมมีที่ไหนเหมือนแลวก็วาได


“วิ่งมา” แกบน องคหลวงพอศาสดา การ “วิ่งมา” แกบน ที่หลวงพอศาสดาชื่นชอบนั้น มีเรื่องราวเลากันมาวาพระศาสดาโปรด ปรานการวิ่งมามาก หลังจากที่อัญเชิญจากสุโขทัยมาประดิษฐานไวที่วัดวัดสุวรรณารามแลว มีคนมา บนบานศาลกลาวในเรื่องของการงานและการคาขาย เมื่อสําเร็จผลก็ไดฝนไปวา มีพราหมณทานหนึ่ง มาบอกวาใหแกบนดวยการวิ่งมาจึงเปนที่มาของพิธีแกบนที่วัดแหงนี้ ลุงวีระ พูดถึงการวิ่งมาแกบนวา “ทุกวันนี้การแกบนวิ่งมายังมีใหเห็น มีทั้งคนในชุมชนและ คนตางถิ่น การบนดวยการวิ่งมาจะบนเรื่องอะไรก็ได จะขอไมใหฝนตก แตสวนใหญคนจะมาบนวิ่งมา กันในเรื่องของการเกณฑทหาร เมื่อกอนการวิ่งมาแกบนจะใชกานกลวยมาเปนตัวมา แตเดี๋ยวนี้ไมเอา แลว ใชผาขาวมาแทน นําผาขาวมามาผูกมัดใหเปนหัวขมวดปมคลายๆ เปนหัวมา ขางหลังก็เปน หาง” “เวลามาแกบน ตองมาจุดธูปไหวบอกกอนที่จะวิ่ง ตองมานั่งคุกเขาอยูดานหนาใบเสมา ตรงหนาโบสถ ตั้งนะโม 3 จบ แลวก็บอกวาจะมีการมาวิ่งแกบนเนื่องจากที่ไดบนบานไว แลวก็เริ่มวิ่ง รอบโบสถตามจํานวนที่ไดบนไว วิ่งวนขวาของโบสถ แลวเวลาวิ่งก็ตองรองเสียงมาฮี้ๆ ฮี้ๆ ไปเรื่อยรอบ โบสถดวย พอวิ่งเสร็จก็มากราบอีกที เปนอันวาเสร็จสิ้นการแกบน” ลุงวีระอธิบายถึงวิธีการวิ่งมาแก บน


สําหรับเรื่องราวความเชื่อของการ “วิ่งมา” แกบนตอหลวงพอศาสดาของที่นี่ นอกจากจะมี ความแปลกนาสนใจไมเหมือนใครแลว ยังมีเรื่องราวความ (เหลือ) เชื่อ หรือปาฏิหาริยที่เกิดขึ้น มากมาย ดังที่มีเรื่องเลาตอๆ กันมาวา มีคนมาวิ่งมาแกบน แลวแกลงวิ่งหลอกๆ ไมยอมวิ่งจริงๆ แตทํา ไปไดเพียงครูเดียวเทานั้น จูๆ ก็เหมือนมีมือขนาดยักษมาเขกหัว ทั้งๆ ที่บริเวณนั้นไมมีใครเลย ซึ่งนับ แตนั้นมาทําใหหลายๆ คนไมกลาวิ่งมาหลอกๆ แกบนที่วัดนี้อีกเลย หรือจะเปนกรณีที่ลุงวีระเลาใหฟง วา “เคยมีคนถูกหวยแลวเขาบนไววาจะวิ่งมา 15 รอบ ซึ่งถาดูแลววิ่ง 15 รอบแบบเหยาะๆ นี่สบาย เลย เขาก็วิ่งเวียนขวา เขาวาพอยกมือเสร็จจะวิ่งปุบ ระยะจากหนาโบสถไปหลังโบสถมันสุดลูกหูลูกตา เลย เหมือนระยะทางมันยืดออกไปเลย เขาก็วิ่งพอไปถึงทายโบสถเขาไมไหว เพื่อนตองไปรอรับเอายา ลมมากินกัน พอเสร็จแลวบอกวาไมไหวแลวหลวงพอ พรุงนี้เอาใหม หลวงพอก็ให ทีนี้พอรุงขึ้นเตรียม มาเลยกอนจะวิ่งกินยาลมเลย และพรรคพวกไปยืนรอ ทีละครึ่งโบสถ พอออกวิ่งครบรอบโบสถ เรียกวาโซซัดโซเซตองประคองปกกันเลย หนึ่งวันวิ่งไดครึ่งรอบ วิ่งอยูหนึ่งเดือนถึงจะครบตามที่บนไว บอกวาเข็ดเลย เรียกวาวัตถุประสงคของหลวงพอทานไมตองการสงเสริมลักษณะการบนเพื่อการพนัน แบบนี้ หลวงพอทานไมชอบใหใครเลนการพนัน” เรียกวาการ “วิ่งมา” แกบนตอองคหลวงพอศาสดานี้มีความศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของ ชาวบานบุที่ไมมีใครกลาหลบหลูตอความเชื่อนี้ ซึ่งทุกวันนี้ความเชื่อของการวิ่งมาแกบนไดกลายเปน ชองทางของการสรางรายไดใหกับคนในชุมชนของชาวบานบุเอง เพราะหลายๆ คนเมื่อทราบวาหลวง พอศาสดามีความศักดิ์สิทธิ์และชื่นชอบการแกบนดวยการวิ่งมา ตางก็พากันมาบนบานและมาแกบน ดวยการวิ่งมา ซึ่งอันที่จริงการวิ่งมานั้นคนบนอาจจะแกบนวิ่งมาเองหรือวาจะจางคนอื่นมาวิ่งแทนก็ได ซึ่งเปนการสรางรายไดใหเกิดขึ้นภายในชุมชนบานบุ

วิ่งมา” แกบน สรางรายได พี่สุนัน รัตนพงศธระ เปนชาวบานบุที่มีความศรัทธาตอองคหลวงพอศาสดาและมีความเชื่อ เกี่ยวกับการวิ่งมาแกบนหลวงพอ ซึ่งเคยบนมากับตัวเองและก็ไดสมหวังตามที่ขอไว จึงทําใหมีความ เชื่อ ความศรัทธาตอการวิง่ มาแกบนเปนอยางมาก อีกทั้งยังไดเปนผูเริ่มตนการหาเด็กๆ ในชุมชนบาน บุมาวิ่งมาแกบนแทนคนที่ไมสามารถวิ่งมาแกบนไดดวยตัวเอง จนเกิดเปนอาชีพขึ้นมาก็วาได ที่ สามารถสรางรายไดใหกับเด็กๆ ในชุมชนและยังเปนการชวยอนุรักษการวิ่งมาแกบนใหยังคงอยูคูกับ ชาวบานบุตอไป “เรื่องแบบนี้มันก็ขึ้นอยูที่ความเชื่อของคนเรา คนที่เขาไมเชื่อก็จะวาเรางมงาย แตวาถาไดกับ ตัวเองแลวก็จะรูวามันไมงมงาย มันมีสวนจริง เปนความเชื่อสวนบุคคล อยางการวิ่งมาแกบน ถาเขายัง เชื่อก็ยังมีตอไป แตถาเขาไมเชื่อก็จะคอยๆ หายไป เราก็อยากใหอนุรักษไว จะไดรูวาดั้งเดิมมี มีการ เชื่อของคนแบบนี้” “อยางที่มีการจางเด็กวิ่งมาแกบนเกิดขึ้นมาจากการที่บางคนที่มาบนสูงอายุหรือวาวิ่งเองไม ไหว เขาก็จะหาตัวแทนและจะบอกหลวงพอวาจางเด็กมาเปนตัวแทนวิ่งแทน เพื่อใหสิ่งที่ไดบนไวหมด สิ้นกันไป ไมติดคาง ตัวพี่เองเขามาดูแลเรื่องหาเด็กมาวิ่งมาแทนมาหลายปแลว ก็ใชวิธีไปถามเด็กๆ


ใครจะวิ่งมามั่ง พอถามปบก็ไมใครปฏิเสธก็มาวิ่งให ก็ถือวาเปนการสรางรายไดใหกับเด็กในชุมชน แลว เด็กก็จะไดไมไปยุงเกี่ยวกับยาเสพติด พอมีงานเด็กก็มา ก็ไดเงินเอาไปใช” พี่นันบอกพรอมกับเลาถึง ขั้นตอนของการจางเด็กวิ่งมาแกบนใหฟงวา “คนที่มาวิ่งมาแกบน แตไมวิ่งเอง ตอนมาแกบนก็จะมาติดตอใหหาเด็กมาวิ่งให และก็ตองเตรียม ดอกไม ธูปเทียนมา สวนอุปกรณในการวิ่งมาก็จะมีผาขาวมามาใหเด็ก และเด็กจะผูกใหเปนหัวมา เปนหางมา แลวก็นําไปไหวกอนที่จะออกวิ่ง เวลาวิ่งก็ใหชูคอไวเหมือนชูคอมา แลวก็ออกวิ่ง ทุกวันนี้ จะวิ่งกัน 3 รอบตอมา 1 ตัว” “แตถาหากใครบนมาไว 9 ตัว 10 ตัว ก็ตองจางเด็กมาเปนมาวิ่งตามจํานวนที่บนไว แลวพอ เด็กวิ่งเสร็จเขาก็จะใหผาขาวมากับเด็กไว เด็กๆ เขาก็จะเก็บผาไว เพราะวาการบนวิ่งมาจะใช ผาขาวมาใหม แลวที่นี่บางคนที่มาแกบนจางใหเด็กวิ่ง แตวาไมมีผาขาวมามาใหเด็ก เด็กเขาก็จะเอา ผาขาวมาใหมที่เก็บไวอยูมาวิ่ง สวนเรื่องคาจางคนจางเขาก็จะใหเงินเด็ก บางคนเขาก็ใหเพิ่มบาง แลวแตตกลงกับเด็กไว” พี่สุนันบอกรายละเอียด เรื่องราวของการแกบนของชาวบานบุที่มีตอความศรัทธาในองคหลวงพระศาสดาที่ชาวบาน เคารพนับถือบูชา ถือวาเปนความเชื่อ ความศรัทธาเฉพาะทองถิ่น ที่ถึงแมวาสังคมในโลกยุคดิจิตอลจะ มีวิวัฒนาการกาวไกลไปเพียงใด แตความเชื่อ ความศรัทธาในเรื่องของการแกบนก็จะยังคงอยูคูกับ ชาวบานบุสืบไป ตราบใดที่ความเชื่อยังฝงแนนลึกอยูในจิตใจของชาวบานทุกคน ที่มา : http://www.palungdham.com/t174.php


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.