Bilingual Programs 2014-2015

Page 1


หลักสูตรสองภาษา (BILINGUAL PROGRAMS) โลกอนาคตเป็นโลกแห่งการเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุน ต่อไปผู้ประกอบอาชีพและเจ้าของธุรกิจที่จะประสบความส�ำเร็จได้ไม่ สามารถแข่งขันกันเฉพาะในประเทศของตนเท่านัน้ แต่ตอ้ งพร้อมรับ การแข่งขันในระดับภูมภิ าคและระดับโลก การเปลีย่ นแปลงในอนาคต อันใกล้ คือ การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จะท�ำให้เกิด การเปิดเสรีทั้งด้านการค้า การลงทุน และการเคลื่อนย้ายแรงงาน ผู้ ประกอบวิชาชีพบางสาขา เช่น นักบัญชี สถาปนิก ผู้ประกอบธุรกิจ ท่องเทีย่ วฯ สามารถเลือกท�ำงานได้อย่างเสรีในกลุม่ ประเทศอาเซียน ทั้ง 10 ประเทศ ดังนั้น กลุ่มคนรุ่นใหม่ ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา คน ท�ำงานในสาขาอาชีพต่างๆ และนักธุรกิจที่จะประสบความส�ำเร็จใน โลกอนาคตคงไม่ส ามารถจ�ำ กั ด ตั ว เองเป็ นแค่ เ พีย งประชากรของ ประเทศใดประเทศหนึ่ ง แต่ต้ อ งพร้อ มสู่ก ารเป็น ประชากรของ ประชาคมโลก (Global Citizen) ที่สามารถติดต่อสื่อสาร ท�ำงานร่วม กับคนทีม่ าจากประเทศต่างๆ ทัว่ โลกที่ใช้ภาษาและมีวฒ ั นธรรมทีแ่ ตก ต่างกันได้ ท�ำให้ภาษาอังกฤษซึง่ เป็นภาษาสากลของโลกและอาเซียน จะทวีความส�ำคัญขึ้นเรื่อยๆ และไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้อีกต่อไป มหาวิ ท ยาลัย กรุง เทพเปิ ด สอนหลั ก สูต รสองภาษา (ไทยอังกฤษ) หรือ Bilingual Programs ใน 4 คณะ 6 สาขาวิชา ดังนี้ คณะบริหารธุรกิจ • สาขาวิชาการตลาด • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบัญชี • บัญชี คณะนิเทศศาสตร์ • สาขาวิชาการโฆษณา • สาขาวิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสายการบิน

คณะบริหารธุรกิจ (School of Business Administration)

• สาขาวิชาการตลาด (Marketing) • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ (International Business Management)

นักบริหารอนาคตไกล

• ให้มากกว่าความรู้ในห้องเรียน ด้วยหลักสูตรที่พัฒนาจาก โลกธุรกิจ • เรียนรู้จากประสบการณ์ท�ำงานจริงผ่านโครงการ CEMP (Creative Entrepreneurial Marketing Project) ที่ให้นักศึกษาสร้าง แบรนด์วางจ�ำหน่ายและสร้างรายได้จริงตั้งแต่ในรั้วมหาวิทยาลัย

สู่อนาคตที่เหนือกว่า!

นักธุรกิจ นักบริหารการตลาด นักบริหารความเสี่ยง นักวิจัย ทางด้านการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ นักวิเคราะห์ทางธุรกิจ ผู้ บริหารในองค์การค้าและธุรกิจระหว่างประเทศ ผูบ้ ริหารตราสินค้าและ ผลิตภัณฑ์ เจ้าของธุรกิจระหว่างประเทศ ฯลฯ

หลักสูตรปริญญาตรี 575


คณะบัญชี (School of Accounting)

• บัญชี (Accounting)

สร้างนักบัญชียุคใหม่ พร้อมท�ำงานในองค์กรชั้นน�ำระดับประเทศ ในอาเซียนและในระดับโลก • สร้างนักบัญชียุคดิจิตอลที่มีความรู้ความสามารถรอบด้าน เหนือกว่านักบัญชีทั่วไป ทั้งด้านบัญชี เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ภาษาอังกฤษ พร้อมทักษะในการคิด วิเคราะห์ ให้คำ� ปรึกษาแก่องค์กร สูบ่ ทบาทคียแ์ มนคนส�ำคัญทีพ่ ร้อมให้คำ� ปรึกษาผูบ้ ริหารในการด�ำเนิน ธุรกิจให้ประสบความส�ำเร็จ • มีโอกาสได้งานในบริษัทตรวจสอบบัญชีชั้นน�ำระดับโลก (BIG 4) ตั้งแต่ยังศึกษาอยู่ ได้แก่ PricewaterhouseCoopers, Ernst & Young, KPMG, Deloitte และบริษัทชั้นน�ำอื่นๆ สู่อนาคตที่เหนือกว่า! นักบัญชี ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต นักวิเคราะห์และออกแบบสารสนเทศทางการบัญชี ที่ปรึกษาด้านการ บัญชีและภาษีอากร ที่ปรึกษาด้านการลงทุน ฯลฯ

576 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คณะนิเทศศาสตร์ (School of Communication Arts)

• สาขาวิชาการโฆษณา (Advertising) • สาขาวิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (Broadcasting)

รอบรู้ทุกศาสตร์ด้านการสื่อสาร • พัฒนาหลักสูตรโดยมืออาชีพชั้นน�ำของวงการ อัพเดทน�ำ เทรนด์เสมอด้วยการเรียนการสอนแบบ Project-Based Learning และ Collaborative Learning • ฝึกคิดและฝึกปฏิบัติจริงกับ Virtual Studio ห้องปฏิบัติการ ทางนิเทศศาสตร์ที่ทันสมัยที่สุดในการผลิตรายการวิทยุและโทรทัศน์ สู่อนาคตที่เหนือกว่า! ครีเอทีฟโฆษณา นักวางแผนสื่อโฆษณา นักข่าว ดีเจ ผู้ ประกาศข่าว ผูผ้ ลิตรายการโทรทัศน์หรือวิทยุ ผูก้ ำ� กับโฆษณา เจ้าของ โปรดักชั่นเฮ้าส์ ฯลฯ


คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละการจั ด การการท่ อ งเที่ ย ว (School of Humanities and Tourism Management)

• สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสายการบิน (Airline Business Management)

เป็นหนึ่งด้านการจัดการธุรกิจสายการบิน • น�ำวิทยาการและเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้ในการเรียนการ สอน • ฝึกปฏิบตั จิ ริงในเครือ่ งบินจ�ำลองเทคโนโลยีอนาคต Boeing 787 Dreamliner ใหม่ล่าสุด Top of The Line ที่รองรับเทคโนโลยีอีก 10 ปีข้างหน้า • เรียนรู้ท่ามกลางห้องปฏิบัติการภาคพื้นดินที่สมจริง ภาย ใต้สุดยอดอาคารปฏิบัติการ Tourism Tower ศูนย์รวมความรู้ด้าน ธุรกิจท่องเทีย่ วและบริการทีล่ ำ�้ สมัย ครบวงจรทีส่ ดุ ในประเทศไทยและ เอเชียแปซิฟิก สู่อนาคตที่เหนือกว่า! พนักงานต้อนรับบนเครือ่ งบิน พนักงานภาคพืน้ ดิน พนักงาน ขายบัตรโดยสารสายการบิน ตัวแทนขนส่งสินค้าทางอากาศ ฯลฯ

หลักสูตรปริญญาตรี 577



วิทยาลัย​นานาชาติ มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ​ ปัจจุบัน​โลก​ยุค​โล​กาภิ​วัต​น์​ที่​เปิด​กว้าง​ทาง​ด้าน​การ​ติดต่อ​ สื่อสาร​และ​การ​คมนาคม​ได้​นำ�​มา​ซึ่ง​ความ​เปลี่ยนแปลง​ใน​หลาย​ด้าน ระบบ​ธุรกิจ​มุ่ง​สู่​ตลาด​โลก​มาก​ขึ้น​ส่ง​ผล​ให้​ภาษา​อังกฤษ​เข้า​มา​มี​ บทบาทสำ�คัญ​ที่​เป็นส​ ื่อ​กลาง​ใน​การ​ดำ�​เนิน​ธุ​รกร​รม วิทยาลัย​นานาชาติ มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ​จึง​จัด​ดำ�เนิน​การ​ สอน​ระดับ​ปริญญา​ตรี​หลักสูตร​นานาชาติ (International Program) เพิ่ม​จาก​การ​สอน​ระดับ​ปริญญา​ตรี หลักสูตร​ภาษา​ไทย โดย​ใช้​ภาษา​ อังกฤษ​เป็น​สื่อ​การ​เรียน​การ​สอน​ทุก​วิชา เพื่อ​เปิด​โอกาส​ให้​นัก​ศึกษา​ ต่าง​ประเทศ ได้เ​ข้าม​ า​ศกึ ษาวิทยา​การ​และ​วฒ ั นธรรม​ของ​ประเทศ​ไทย ตลอด​จน​เอือ้ ป​ ระโยชน์แ​ ก่น​ กั ศ​ กึ ษา​ชาว​ไทย​ทต​ี่ อ้ งการ​เพิม่ ท​ กั ษะ​ความ​ รู้​ทาง​ด้าน​ภาษา​อังกฤษ​ซึ่ง​มี​ความ​สำ�คัญ​และ​จำ�เป็น​ยิ่ง​ใน​วงการ​ธุรกิจ นอกจาก​นั้น​ยัง​เป็นการ​เตรียม​ความ​พร้อม​สำ�หรับ​นัก​ศึกษา​ที่​สนใจ​ไป​ ศึกษา​ต่อ​ใน​ต่าง​ประเทศ ปัจจุบัน​วิทยาลัย​นานาชาติ มหาวิทยาลัยก​ รุงเทพ เปิด​สอน 7 สาขา​วิชา คือ สาขา​วิชา​การ​ตลาด สาขา​วิชา​นิเทศศาสตร์ สาขา​วิชา​ภาษา​อังกฤษ​ธุรกิจ สาขา​วิชา​การ​จัดการ​​ท่อง​เที่ยวนานาชาติ สาขา​วิชา​ความ​เป็นผ​ ู้​ประกอบ​การ สาขา​วิชา​คอมพิวเตอร์ก​ ​รา​ฟิกส​ ์​และ​มัล​ติมีเดีย สาขา​วิชา​การจัดการการโรงแรมและภัตตาคาร อนึง่ ผูส​้ นใจ​สมัคร​เข้าศ​ กึ ษา​ตอ่ ใ​น​หลักสูตร​นานาชาติ จะ​ตอ้ ง​ สอบ​คัด​เลือก​ด้วย​ข้อสอบ​ภาษา​อังกฤษ​ ​สนใจ​ขอ​ราย​ละเอียด​เพิ่ม​เติม​ ได้ที่​วิทยาลัย​นานาชาติ มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ โทร. 0 2350 3500 ต่อ 1588, 1609 และ 1657

การ​เรียน Preparatory English Course

เพื่อ​เป็นการ​เตรียม​ความ​พร้อม​และ​เพิ่ม​ทักษะ​ความ​รู้​ด้าน​ ภาษา​อังกฤษ​ใน​การ​เรียน​วิทยาลัย​นานาชาติ​ต่อ​ไป ผู้​ที่​ผ่าน​การ​สอบ​ คัด​เลื อก​จะ​ต้ อง​เรีย นวิ ชา IEN001 Preparatory English Course ทุก​คน โดย​จะ​ใช้​เวลา​เรียน​รวม​ทั้ง​สิ้น 110 ชั่วโมง และ​มี​การ​ฝึก​ภาษา​ อังกฤษ​ใน​หอ้ ง​ปฏิบตั ​กิ าร​ภาษา​อกี 33 ชัว่ โมง โดย​เสีย​คา่ ​ใช้​จา่ ย​ใน​การ​ เรียน​เป็น​เงิน 9,000 บาท การ​ช�ำระ​ค่า​เรียน Preparatory English Course ให้​ช�ำระ​พร้อม​กับ​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ขึ้น​ทะเบียน​นัก​ศึกษา เพื่อ​ ให้​ได้​ประโยชน์​อย่าง​เต็ม​ที่​ใน​การเตรียม​นัก​ศึกษา​ให้​มี​ความ​พร้อม​ ส�ำหรับ​การ​เรียน​ใน​วิทยาลัย​นานาชาติ มหาวิทยาลัยไ​ด้​ก�ำหนด​ให้​นัก​ ศึกษา​ตอ้ ง​ม​เี วลา​เรียน Preparatory English Course ไม่น​ อ้ ย​กว่า 80% ของ​เวลา​เรียน​ทงั้ หมด​ตาม​ทกี่ ำ� หนด​ไว้ ผู​ท้ ​ไี่ ม่ส​ ามารถ​สอบ​ผา่ น​วชิ า​ดงั ​ กล่าว​ไม่​สามารถ​เข้า​ศึกษา​วิชา​ใน​หลักสูตร​ได้ และ​ต้อง​ศึกษาวิชา​ดัง​ กล่าว​ซ�้ำ จนกว่า​จะ​สอบ​ผ่าน​และ​มี​ความ​รู้​ภาษา​อังกฤษ​ถึง​เกณฑ์​ตาม​ ที​ม่ หาวิทยาลัยก​ ำ� หนด ส�ำหรับชาว​ตา่ ง​ประเทศ​หรือช​ าว​ไทย​ท​มี่ ​คี วาม​ สามารถ​ใน​การ​ใช้​ภาษา​องั กฤษ​ได้​ด​เี ช่น​เดียว​กบั ​เจ้าของ​ภาษา​สามารถ​ ขอ​ยกเว้น​การ​เรียน Preparatory English Course ได้​โดย​การ​ยนื่ ​คำ� ร้อง​ ขอ​ทดสอบ​ความ​สามารถ​ทาง​ภาษา​อังกฤษ ถ้า​ผู้​สมัคร​สามารถ​สอบ​ ผ่าน​การ​ทดสอบ​ก็​จะ​ได้​รับ​การ​ยกเว้น​การ​เรียน Preparatory English Course

การ​เรียน Preparatory Mathematics Course

เพื่อ​เป็นการ​เพิ่มพูน​ความ​รู้​แก่​นัก​ศึกษา​ที่​ยัง​ขาด​พื้น​ความ​ รู้​ด้าน​คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย​ได้​จัด​วิชา IMA 001 Preparatory Mathematics Course ให้​โดย​จัด​ให้​เรียน​รวม​ทั้ง​สิ้น 44 ชั่วโมง โดย​ เสีย​ค่า​ใช้จ่าย​ใน​การ​เรียน​ตาม​หลักสูตร 5,000 บาท

หลักสูตรปริญญาตรี 579



หลักสูตรภาคพิเศษ การ​พฒ ั นา​ศกั ยภาพ​ทาง​ดา้ น​การ​ศกึ ษา​ม​บี ทบาท​สำ�คัญ​อย่าง​ ยิ่ง​ใน​ปัจจุบัน ความ​เปลี่ยนแปลง​ทาง​เศรษฐกิจแ​ ละ​สังคม​ที่​เกิด​ขึ้น​ส่ง​ ผล​ให้​แต่ละ​องค์กร​ตระหนักถ​ ึง​การ​ส่ง​เสริมท​ รัพยากร​บุคคล​ให้​มี​ความ รอบรู้​ทั้ง​ด้าน​วิชา​การ​และ​ทักษะ​เชิง​ปฏิบัติ มหาวิทยาลัยก​ รุงเทพ​เป็นส​ ถาบันอ​ ดุ มศึกษา​เอกชน​ทใ​ี่ ห้ค​ วาม​ สำ�คัญ​ใน​การ​ผลิต​บัณฑิต​ที่​มี​ความ​รู้ความ​สามารถ​ออก​ไป​ทำ�งาน​ ได้​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ โดย​เปิด​ดำ�เนิน​การ​สอน​ระดับ​ปริญญา​ตรี ปริญญา​โท​ และ​ปริญญา​เอก และ​เพื่อ​เป็นการ​ขยาย​โอกาส​ทางการ​ ศึกษา​สำ�หรับ​บุคคล​ที่​ทำ�งาน​แล้ว​แต่​ต้องการ​เพิ่มพูน​วิทย​ฐานะ​ของ​ ตน มหาวิทยาลัยจ​ ึง​จัดการ​เรียน​การ​สอน​ภาค​พิเศษ​ด้วย​จุด​มุ่ง​หมาย​ ที่​จะ​เอื้อ​ประโยชน์​ให้​กลุ่ม​ผู้​ทำ�งาน​ได้​มี​โอกาส​ศึกษา​เล่า​เรียน​เพิ่ม​เติม ปัจจุบัน​มหาวิทยาลัยเ​ปิด​สอน​ภาค​พิเศษแต่ละหลักสูตร​ ดังนี้ หลั ก สู ต รปริ ญ ญาตรี เปิ ด รั บ ผู้ สำ�เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือ ปวช. เข้าศึกษาต่อในคณะต่อไปนี้ คณะบัญชี คณะนิเทศศาสตร์ - สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ (วิชาเอก: Event Communication วิชาโท: Advertising) คณะบริหารธุรกิจ - สาขาวิชาการตลาด - สาขาวิชาการจัดการ กลุม่ วิชาเอกการจัดการธุรกิจสมัยใหม่ คณะบริหารธุรกิจคิดค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตรแบบเหมาจ่าย และสามารถเทียบโอนประสบการณ์ในการทำ�งานได้

หลักสูตรปริญญาตรีที่สอง เปิดรับผู้สำ�เร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีทุกสาขา เข้าศึกษาต่อในคณะต่อไปนี้ คณะบัญชี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ - สาขาวิชาการออกแบบภายใน

หลักสูตรปริญญาตรีสำ�หรับผู้จบ ปวส. หรือเทียบเท่า เปิดรับ ผู้สำ�เร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา ปวส. หรือ ปวท. เพื่อเทียบโอน วิชาเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีในคณะ ดังนี้ คณะบัญชี คณะบริหารธุรกิจ - สาขาวิชาการตลาด - สาขาวิชาการจัดการ กลุม่ วิชาเอกการจัดการธุรกิจสมัยใหม่

ทั้งนี้ หลักสูตร​และ​ราย​ละเอียด​วิชา​สามารถ​ดู​ได้​จาก​หลักสูตร​ ปริญญา​ตรี ภาค​ปกติ

หลักสูตร​ภาค​พิเศษ​แบ่ง​การ​เรียน​การ​สอน​ออก​เป็น 3 ภาค​ การ​ศึกษา คือ ภาค​การ​ศึกษา​ที่​หนึ่ง ภาค​การ​ศึกษา​ที่​สอง และ​ภาค​ ฤดู​ร้อน ซึ่ง​แต่ละ​ภาค​การ​ศึกษา​จะ​มี​การ​เรียน 3-6 วิชา ยกเว้น​ภาค​ ฤดู ​ร้ อนจะ​มี​การ​เรีย น 2-3 วิชา โดยก�ำหนดเวลาเรียน​เ ฉพาะ​ วัน​เสาร์ - วัน​อาทิตย์ และวันอื่นๆ บางวันในตอนค�่ำ ส�ำหรับ​หลักสูตร​ ปริญญา​ตรี​ใช้​ระยะ​เวลา​การ​ศกึ ษา​รวม 4 ปี ยกเว้น คณะบัญชี ใช้​ระยะ​ เวลา​การ​ศกึ ษา​รวม 4 ปี กับ 1 ภาค​การ​ศกึ ษา แม้ร​ ะยะ​เวลา​การ​ศกึ ษา​ ของ​หลักสูตร​ภาค​พิเศษ​จะ​มี​จ�ำกัด แต่​มหาวิทยาลัย​ก็ได้​จัด​หลักสูตร​ และ​คณาจารย์​ที่​มคี​ วาม​พร้อม​อยู่​ใน​มาตรฐาน​เดียวกัน​กับ​ภาค​ปกติ นอกจาก​นี้ มหาวิทยาลัย​ยัง​ได้​จัดการ​เรียน​การ​สอน​สำ�หรับ​ ปริญญา​ตรี​ที่​สอง​ภาค​พิเศษ​ใน​คณะ​บัญชี และ​คณะ​​สถาปัตยกรรม​ ศาสตร์ สาขา​วิชา​การ​ออกแบบ​​ภายใน ซึ่ง​ใช้​ระยะ​เวลา​ศึกษา​ไม่​เกิน 3 ปี นอกจากหลักสูตร​การ​เรียน​การ​สอน เนื้อหา และ​การ​วัด​และ​ ประเมินผ​ ล​ที่​ใช้​ร่วม​กันก​ ับ​หลักสูตร​ภาค​ปกติ​แล้ว นัก​ศึกษา​หลักสูตร​ ภาค​พิเศษ​ทุก​คน​มี​สิทธิ์​ได้​รับ​สวัสดิการ​และ​บริการ​ด้าน​ต่างๆ ที่​ มหาวิทยาลัย​จัด​ไว้​เช่น​เดียวกัน​กับ​ที่​ศึกษา​ภาค​ปกติ​ได้​รับ​ทุก​ประการ

หลักสูตรปริญญาตรี 581


หลักสูตร​ปริญญา​ตรี Creative Technology

คณะวิศวกรรมศาสตร์ • สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ • สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า • สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ • สาขาวิชาวิศวกรรมมัลติมีเดียและระบบอินเทอร์เน็ต โครงการวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ร่วมกับบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) โครงการวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ร่วมกับบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม • สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ • สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า • สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ • สาขาวิชาวิศวกรรมมัลติมีเดียและระบบอินเทอร์เน็ต หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA-SMEs) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ • สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์

* เปิดส​ อน​ทั้ง​หลักสูตร​ภาค​ปกติ และ​ภาค​พิเศษ ** เปิดส​ อน​ทั้ง​หลักสูตร​ภาค​ปกติ และ​ภาค​บ่าย *** เปิดส​ อน​ทั้ง​หลักสูตร​ภาค​ปกติ ภาคบ่าย และ​ภาค​พิเศษ

582 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

Creative Business and Management คณะบัญชี* คณะบริหารธุรกิจ • สาขาวิชาการตลาด*** • สาขาวิชาการเงิน • สาขาวิชาการจัดการ* กลุ่มวิชาเอกการจัดการธุรกิจสมัยใหม่* กลุ่มวิชาเอกการจัดการทรัพยากรมนุษย์* • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ** • สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ* • สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์** คณะนิติศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ • สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ • สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ คณะการสร้างเจ้าของธุรกิจและการบริหารกิจการ • สาขาวิชาการเป็นเจ้าของธุรกิจ


Creative Media and Design

คณะศิลปกรรมศาสตร์ • สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ • สาขาวิชาทัศนศิลป์ • สาขาวิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ • สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ • หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิ​ิต (หลักสูตร 5 ปี) • สาขาวิชาการออกแบบภายใน คณะนิเทศศาสตร์ • สาขา​วิชา​การ​ประชาสัมพันธ์* • สาขา​วิชา​วารสารศาสตร์ • สาขา​วิชา​การ​โฆษณา • สาขา​วิชา​ศิลปะ​การ​แสดง ทักษะสร้างสรรค์ศิลปะการ​แสดง ศิลปะการแสดงนานาชาติ • สาขา​วิชา​วิทยุก​ ระจาย​เสียงและ​วิทยุโ​ทรทัศน์ • สาขา​วิชา​ภาพยนตร์ การผลิตภาพยนตร์ การบริหารงานภาพยนตร์ ภาพยนตร์ศึกษาและการผลิตภาพยนตร์ทางเลือก • สาขา​วิชา​การ​สื่อสารตรา คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว • สาขาวิชาภาษาอังกฤษ • สาขาวิชาภาษาไทย • สาขาวิชาภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวและการโรงแรม • สาขาวิชาภาษาจีนเพื่อธุรกิจระหว่างประเทศ • สาขาวิชาการจัดการการโรงแรม • สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสายการบิน

หลักสูตรสองภาษา

ระดับปริญญาตรี หลักสูตรสองภาษา 6 สาขาวิชา ได้แก่ • บัญชี • สาขาวิชาการตลาด • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ • สาขาวิชาการโฆษณา • สาขาวิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสายการบิน

วิทยาลัย​นานาชาติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

• สาขา​วิชา​การ​ตลาด • สาขา​วิชา​นิเทศศาสตร์ • สาขา​วิชา​ภาษา​อังกฤษ​ธุรกิจ • สาขา​วิชา​การ​จัดการ​ท่อง​เที่ยวนานาชาติ • สาขา​วิชา​ความ​เป็น​ผู้​ประกอบ​การ • สาขา​วิชา​คอมพิวเตอร์​ก​รา​ฟิก​ส์​และ​มัลต ​ ิมีเดีย • สาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและภัตตาคาร

หลักสูตร​ปริญญา​ตรี ภาคบ่าย

(เรียนที่วิทยาเขตกล้วยนํ้าไท 3 ปีครึ่ง) คณะบริหารธุรกิจ • สาขาวิชาการตลาด (เน้นกลุ่มวิชาเอกเลือกทางด้านธุรกิจบริการและบันเทิง) • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ (เน้นกลุ่มวิชาเอกเลือกทางด้านการเป็นผู้ประกอบการ และการจัดการระดับโลก) • สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ หลักสูตรปริญญาตรี 583


ก้าว​สู่​รั้วมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์ เมือ่ ​กา้ ว​เข้า​ส​รู้ วั้ ม​ หาวิทยาลัยสร้างสรรค์ใน​ฐานะ​นกั ​ศกึ ษา​ของ​ มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ นอกจาก​ความ​รู้ท​ าง​วิชา​การที่น​ ักศ​ ึกษา​ทุกค​ น​ พึง​ได้​รับ​จาก​คณาจารย์ผ​ ​สู้ อน​แล้ว การ​ให้​บริการ​นกั ​ศกึ ษา​ใน​ดา้ น​ตา่ งๆ นับเ​ป็นภ​ ารกิจท​ ​สี่ ำ� คัญอ​ กี ป​ ระการ​หนึง่ ข​ อง​มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย​ กรุงเทพ​มี​ความ​พร้อม​ด้วย​ศักยภาพ​ใน​การ​เรียน​การ​สอน​และ​อุปกรณ์​ ประกอบ​การ​ศึกษา​ที่​ทัน​สมัย​เอื้อ​ประโยชน์​แก่​นัก​ศึกษา รวม​ถึง​มี​ หน่วย​งาน​บริการ​ตา่ งๆ ไว้​รองรับค​ วาม​ตอ้ งการ​และ​ให้​ความ​ชว่ ย​เหลือ​ นัก​ศกึ ษา​ตลอด​ระยะ​เวลา​ท​ใี่ ช้​ชวี ติ ​ใน​รวั้ ม​ หาวิทยาลัย​แม้ก​ ระทัง่ ​บณ ั ฑิต​ ที่​ส�ำเร็จ​การ​ศึกษา​จาก​สถาบัน​ไป​แล้ว โดย​มหาวิทยาลัย​ได้​แบ่ง​หน่วย​ งาน​เพื่อใ​ห้​บริการ​แก่​นัก​ศึกษา​และ​บัณฑิต ดังต​ ่อ​ไป​นี้

ส่ง​เสริม​ด้าน​วิชา​การ

ส�ำนักห​ อ​สมุดและศูนย์การเรียนรู้

ส�ำนักหอสมุดและศูนย์การเรียนรู้ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นศูนย์การเรียน รู้ที่ ให้บริการข้อมูลสารสนเทศในสาขาวิชาต่างๆ ในรูปแบบที่หลาก หลาย ทั้งแบบสิ่งพิมพ์และดิจิตอล เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน และการค้นคว้าวิจยั ด้วยระบบเทคโนโลยีทที่ นั สมัย นอกจากนัน้ ส�ำนัก หอสมุ ด และศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ ยังเป็นพื้นที่การเรียนรู้ (Collaborative Learning Space) เพื่อตอบสนอง “การเรียนรู้” ของนักศึกษา โดย เป็นหน่วยงานทีส่ ร้างกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละการน�ำเสนอสือ่ การเรียน รู้ในรูปแบบต่างๆ กิจกรรมการเรียนรู้ได้แก่ • การอบรมการรู้สารสนเทศ (Information Literacy) ให้กับ นักศึกษาทุกคณะ ทุกชั้นปี ในรูปแบบคอร์สการสอนที่ตอบสนองการ เรียนรู้ของนักศึกษา อาทิ การสอนการรู้สารสนเทศ การสืบค้นข้อมูล จากห้องสมุดด้วย OPAC (Online Public Access Catalog) การสอน การสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลออนไลน์ (Electronic Database) • การอบรมการสืบค้นข้อมูลเพื่องานวิจัย โดยใช้ฐานข้อมูล เฉพาะสาขาวิชา เช่น ฐานข้อมูลทางด้านนิเทศศาสตร์ ฐานข้อมูลทาง ด้านบริหารธุรกิจ ฐานข้อมูลทางด้านนิติศาสตร์ ฐานข้อมูลทางด้าน วิทยาศาสตร์และสหสาขาวิชา รวมถึงการสอนการเขียนบรรณานุกรม 584 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

โดยใช้ โ ป ร แ ก ร ม E n d Note ที่อ�ำนวยความสะดวกในการจัด บรรณานุกรมอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้มคี วามรูใ้ นการ เขียนบรรณานุกรม เพื่อประกอบการท�ำวิจัยทีส่ ามารถน�ำไปใช้ในการ ศึกษาระดับสูงต่อไป และบริการตรวจสอบการลอกเลียนวรรณกรรม ด้วยโปรแกรม Turnitin บริก า ร ที่ ส�ำ นั ก ห อ สมุดและศูนย์การเรียนรู้ อ�ำนวยความ สะดวกให้ผู้ใช้บริการได้แก่ • บริการ e-Requisition เพื่อให้ผู้ใช้บริการทั้งคณาจารย์และ นักศึกษาสามารถเสนอซื้อทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต • บริการ Renew Online เป็นการให้บริการยืมต่อทรัพยากร สารสนเทศ โดยให้ผใู้ ช้บริการสามารถด�ำเนินการยืมต่อได้ดว้ ยตนเอง ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยไม่ต้องน�ำตัวเล่มมาที่ห้องสมุด • บริการจองออนไลน์ (Reserves Online) เป็นบริการจอง ทรัพยากรสารสนเทศที่มีผู้ใช้บริการท่านอื่นยืม โดยสามารถท�ำการ จองผ่านระบบการสืบค้น OPAC ของส�ำนักหอสมุดและศูนย์การเรียนรู้ • บริการ Inter Library Loan เป็นบริการยืมระหว่างห้องสมุด เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกแก่ผใู้ ช้บริการใน การค้นหาหนังสือ หรือบทความจากฐานข้อมูลต่างๆ ที่มีให้บริการใน ห้องสมุ ด สถาบั นอื่น โดยส�ำนักหอสมุดฯ สามารถด�ำเนินการติดต่อ ประสานงานเพื่ อให้ผู้ใช้บริการได้รับข้อมูลที่ต้องการได้และเป็นการ ใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างสถาบัน • บริ ก า ร ยื ม ห นังสือข้ามวิทยาเขต เป็นการให้บริการยืม หนังสือระหว่างวิทยาเขตรังสิตและวิทยาเขตกล้วยน�ำ้ ไท โดยเป็นการ ลดภาร ะ ใ น ก า ร เ ดินทางที่ผู้ใช้บริการสามารถยืม-คืน ทรัพยากร สารสนเทศของห้องสมุดได้ทั้งสองวิทยาเขต • บริการพิมพ์งาน เป็นการให้บริการพิมพ์งานแก่ผใู้ ช้บริการ เพียงมีบัตรและเติมเงินลงในบัตร ผู้ใช้บริการก็สามารถสั่งพิมพ์งานที่ ต้องการได้อย่างสะดวก • บริ ก า ร เ ข้ า เล่มวิทยานิพนธ์ เป็นบริการที่อ�ำนวยความ สะดวกแก่ผู้ใช้บริการ ไม่ต้องไปใช้บริการจากภายนอก ส�ำนักหอสมุด


และศู น ย์ ก ารเรียนรู้รับเข้าเล่มวิทยานิพนธ์หลายรูปแบบ และราคา ย่อมเยา • บริการไรท์แผ่นและพิมพ์ปกซีดี-รอม เป็นบริการที่อ�ำนวย ความส ะ ด วกแก่ผู้ใช้ระดับบัณฑิตศึกษาเบ็ดเสร็จในขั้นตอนเดียว ส�ำหรับผูท้ ตี่ อ้ งการไรท์แผ่นซีด-ี รอม สารนิพนธ์ และวิทยานิพนธ์ โดย ส�ำนักหอสมุดและศูนย์การเรียนรู้ พร้อมจัดส่งให้กับบัณฑิตวิทยาลัย โดยนักศึกษาไม่ต้องกลับมาติดต่ออีกครั้ง • บริการเติมเงิน Pre-paid เป็นบริการทีอ่ ำ� นวยความสะดวก ให้กบั นักศึกษา สามารถเติมเงินลงในบัตรนักศึกษา เพือ่ ใช้ในการช�ำระ เงิน เช่น ค่าพิมพ์งาน ค่าปรับ เป็นต้น • ฐานข้อมูลออนไลน์ (e-Database) จ�ำนวน 19 ฐาน เพื่อ ให้ผู้ใ ช้ บริการค้นคว้าข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วผ่านเครื่อง คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน แท็ปเล็ต เป็นต้น โดยประกอบด้วยฐาน ข้อมูลต่างๆ ดังนี้ ฐานข้อมูลทางด้านบริหารธุรกิจ - Business Source Complete (BSC) - CORPUS 2008 - Regional Business News - SETSMART เกี่ยวกับข้อมูลบริษัทจดทะเบียน ดัชนีและ ราคาหลักทรัพย์ ฐานข้อมูลทางด้านนิเทศศาสตร์ - Communication & Mass Media Complete (CMMC) - Theatre in Video - Dance in Video ฐานข้อมูลทางด้านนิติศาสตร์ - Westlaw - Thailandlaw 9 ฐานข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์และสหสาขาวิชา - Science Direct - Academic Search Complete (ASC) - Emerald

นอกจากนั้นก็มีฐานข้อมูลอื่นๆ เช่น หนังสือออนไลน์ (e-Books) ได้แก่ ฐานข้อมูล E-book By EBSCO Host วิทยานิ พ นธ์ ไทยและวิทยานิพนธ์ต่างประเทศ (e-Thesis) ได้แก่ ฐานข้อมูล ProQuest Dissertation and Theses (PQDT) ฐาน ข้อมูลวิ ท ยานิพนธ์ ไทย และฐานข้อมูล ThaiLIS Digital Collection (TDC) ข่าว (e-News) ได้แก่ ฐานข้อมูล NEWSCenter ฐานข้อมูล Matichon e-Library และฐานข้อมูล iQNewsClip นอกจากนี้ส�ำนักหอสมุดและศูนย์การเรียนรู้ ได้จัดท�ำคลัง ข้อมูล ที่รวบรวมงานวิจัย เอกสารสิ่งพิมพ์ของมหาวิทยาลัย รวมถึง สารนิพนธ์และวิทยานิพนธ์ ซึง่ บริการเหล่านีช้ ว่ ยให้นกั ศึกษาสามารถ ศึกษาค้นคว้าวิจัยได้อย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น การจัดสภาพพื้นที่ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ส�ำนักหอสมุดและศูนย์การเรียนรู้ ได้จัดพื้นที่เพื่อเอื้อต่อการ เรียนรู้ โดยมีการจัดพืน้ ทีท่ างกายภาพและสิง่ อ�ำนวยความสะดวกต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ส�ำหรับให้บริการกว่า 500 เครื่อง พื้นที่ WiFi ส�ำหรับการเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ตผ่านเครือ่ งมือสือ่ สารต่างๆ ห้อง ประชุมขนาดใหญ่ที่สามารถรองรับได้ถึง 86 ที่นั่ง ห้องประชุมกลุ่ม ย่อย โดยจัดเครื่องมือและอุปกรณ์เทคโนโลยีที่ตอบสนองการเรียน รู้ เช่น จอโทรทัศน์ LED ส�ำหรับการน�ำเสนองานกลุ่มในห้องประชุม ย่อย และมีการจัดพื้นที่ภายในส�ำนักหอสมุดเป็นห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) ซึ่งภายในห้องประกอบด้วยอุปกรณ์ทันสมัยอัน ได้แก่ Smart Board, Smart Podium, iPad และ iMac ส�ำหรับรองรับ การเรียนการสอนในรูปแบบดิจิตอล นอกจากนี้ตลอดทั้งปีส�ำนักหอสมุดและศูนย์การเรียนรู้ ยังมี กิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรูข้ องนักศึกษา เช่น การจัด กิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมการเรียนรูน้ อกห้องเรียน การจัดงาน BU Library Fair การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน การจัดนิทรรศการ และการน�ำ หลักสูตรปริญญาตรี 585


เสนอข้อมูลต่างๆ เพื่อตอบสนองการเรียนรู้ของนักศึกษา ส�ำนักหอสมุดและศูนย์การเรียนรู้ เปิดให้บริการวันจันทร์- วัน เสาร์ เวลา 07.30 -19.30 น. และวันอาทิตย์เวลา 09.00 -17.00 น. ที่วทิ ยาเขตกล้วยน�ำ้ ไท และวันจันทร์-วันเสาร์ เวลา 07.30 -19.00 น. ทีว่ ทิ ยาเขตรังสิต นักศึกษาสามารถดูขอ้ มูลเพิม่ เติมได้ที่ http://library. bu.ac.th

ศูนย์ค​ อมพิวเตอร์

เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ​และ​การ​สอื่ สาร​ม​บี ทบาท​สำ� คัญ​อย่าง​ยงิ่ ​ ต่อก​ าร​เรียน​การ​สอน และ​การ​คน้ คว้าว​ จิ ยั เพือ่ ป​ ระโยชน์ท​ างการ​ศกึ ษา ศูนย์ค​ อมพิวเตอร์เ​ป็นห​ น่วย​งาน​ทร​ี่ บั ​ผดิ ช​ อบ​ให้บ​ ริการ​ดา้ น​เทค​โนโล​ยี​ สาร​สนเทศ​แก่ค​ ณาจารย์ เจ้าห​ น้าที่ และ​นกั ​ศกึ ษา โดย​ให้บ​ ริการระบบ​ เครือ​ข่าย​ความเร็ว​สูง และ​ระบบ​เครือ​ข่าย​ไร้​สาย ซึ่ง​สามารถรองรับ​ การ​ให้​บริการ​เทคโนโลยี​เครือ​ข่าย​แบบ​บรรจบ​กัน อีก​ทั้ง​ตอบ​สนอง​ ต่อป​ ริมาณ​ใน​การ​ใช้​งาน​ได้​อย่าง​ม​ปี ระสิทธิภาพ​และ​เพียง​พอต่อค​ วาม​ ต้องการ​ที่​เพิ่มม​ าก​ขึ้น นอกจาก​นี้​ศูนย์ค​ อมพิวเตอร์ย​ ัง​เพียบ​พร้อม​ไป​ ด้วย​บุคลากร​ที่​มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​พัฒนา​ระบบ​สาร​สนเทศ​ต่าง ๆ เพื่อ​ให้​สอดคล้อง​กับ​ความ​ก้าวหน้า​ทาง​วิทยาการ​ที่​เปลี่ยนแปลง​อยู​่ ตลอด​เวลา รวม​ทั้ง​ท�ำ​หน้าที่​ค้นคว้า​พัฒนา​ระบบ​โดย​น�ำเทคโนโลยี​ สมัย​ใหม่​มา​ประยุกต์​ใช้​เพื่อ​เพิ่ม​ประสิทธิภาพ​การ​เรียน​การ​สอน และ​ การ​บริหาร​งาน​ของ​มหาวิทยาลัย ศูนย์​คอมพิวเตอร์​ยัง​ให้​บริการ​เผย​แพร่​สาร​สนเทศ​ทาง​อิน- เทอร์ ​เน็ต ​แ ละ​ระบบ​โ ทรศัพ ท์​มือ​ถือ เพื่อ​ความ​สะดวก​รวดเร็ว​ของ​ นักศึกษา​ใน​การ​ตรวจ​สอบ​ข้อมูล อาทิ การ​ลง​ทะเบียน​เรียน การ​ตรวจ​ สอบตาราง​เรียน​ท​เี่ ปิดส​ อน​และ​ผล​การ​สอบ​ประจ�ำ​ภาค​เรียน ให้บ​ ริการ​ ระบบ​สมา​ร์​ทการ์ด​เพื่อ​ใช้​ส�ำหรับ​ธุ​รกร​รม​ต่างๆ ภาย​ใน​มหาวิทยาลัย มีศูนย์​อบรม​และ​ศูนย์​สอบ​ด้าน​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ​ที่​ทัน​สมัย อัน​ เป็นการ​เพิ่มค​ วาม​รู้​และ​ประสบการณ์ใ​ห้​แก่​นัก​ศึกษา

586 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

บริการ​ด้าน​อิน​เทอร์​เน็ต

มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ​ได้​ตดิ ​ตงั้ ​และ​ขยาย​ระบบ​เครือ​ขา่ ย​อนิ - ท​รา​เน็ต​และ​อิน​เทอร์​เน็ต​อย่าง​ต่อ​เนื่อง​เพื่อ​ให้​รองรับ​การ​ใช้​งาน​ด้าน​ การ​เรียน​การ​สอน​และ​การ​ค้นคว้า​วิจัย อีก​ทั้ง​ยัง​มุ่ง​เน้น​เพื่อ​ส่ง​เสริม การ​พฒ ั นา​ทกั ษะ และ​ความ​คดิ ​ดา้ น​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ​ของ​นกั ​ศกึ ษา​ ทั้ง​ระดับ​ปริญญา​ตรี บัณฑิต​ศึกษา และ​วิทยาลัย​นานาชาติ ปัจจุบนั ​มหาวิทยาลัย​เชือ่ ม​ตอ่ ​ระบบ​อนิ ​เทอร์​เน็ต​ดว้ ยความเร็ว 2.2 Gbps มี​เครื่อง​แม่​ข่าย​ที่​ให้​บริการ​มาก​กว่า 100 เครื่อง​ท�ำ​หน้า​ที่​ ครอบคลุ ม ​ก าร​ให้ ​บ ริ ก าร​ทั้ ง ​นั ก ​ศึ ก ษา​แ ละ​ค ณาจารย์ มี ​เครื่ อ ง​ คอมพิวเตอร์​ที่​ทัน​สมัย​รองรับ​การ​ใช้​งาน​ของ​นัก​ศึกษา​เกือบ 6,000 เครื่อง นัก ​ศึ กษามหาวิทยาลัย​กรุงเทพ​ทุก​คน​จะ​ได้​รับ Internet Account เพื่อ​ใช้​บริการ​ด้าน​อิน​เทอร์​เน็ต ​ของ​มหาวิทยาลัย โดย​ สามารถ​ใช้​บริการ​จาก​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ภายใน​มหาวิทยาลัย หรือ​ จาก​บ้าน​ผ่าน​ทาง​หมายเลข​โทรศัพท์ และ​ได้​สิทธิ์​เข้า​ใช้​บริการ​ระบบ URSA Online (University Records System Access) เพื่อ​ตรวจ​ สอบ​ข้อมูล​การ​ลง​ทะเบียน วิชา​ที่​เปิด​สอน การ​ลง​ทะเบียน​เรียน​ออน​ ไลน์ รับ​ผล​การ​สอบ​ประจ�ำ​ภาค​เรียน ตรวจ​สอบ​ใบ​รายงาน​เกรด ตาราง​ สอบ และ​รับ​ทราบ​ประกาศ​ข่าว​สาร​ของ​มหาวิทยาลัย อีก​ทั้ง​สามารถ​ ลง​ทะเบียน​เพื่อ​รับ​ทราบ​ข่าว​สาร คะแนน​สอบ และ​รายงาน​เกรด​ผ่าน​ โทรศัพท์​มือ​ถือ นอกจาก​นี้ ​นั ก ​ศึกษา​ทุก​คน​จะ​ได้​รับ​อี​เมล์​แอด​เด​รส​ของ​ ตัว​เอง​และ​พื้นที่​ใน​เครื่อง​แม่​ข่าย​เพื่อ​จัด​ท�ำ​โฮม​เพจ​ส่วน​ตัว กรณี​ ที่ ​นั ก ศึ ก​ษา​ไม่​เชี่ยวชาญ​ใน​การ​สร้าง​โฮม​เพจ นัก​ศึกษา​สามารถ​ใช้​ ระบบ​ของ​มหาวิทยาลัย​ใน​การ​สร้าง​โฮม​เพจ​ได้ หาก​ม​ขี อ้ ​สงสัย​สามารถ​ ติดต่อ​สอบถาม​ได้ที่​ศูนย์​คอมพิวเตอร์ อาคาร ดร.เจริญ คันธ​วงศ์ ชั้น 7 วิทยาเขต​กล้วยน�้ำไท และอาคาร 9 ชั้น 5 วิทยาเขต​รังสิต และ อาคาร 15 ชัน้ 4 วิทยาเขตรังสิต หรือ​ที่ E-mail Address: compcenter @bu.ac.th


ห้อง​ปฏิบัติ​การ

มหาวิทยาลัย​จัด​ให้​มี​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​เฉพาะ​สาขา​วิชา​เพื่อ​ให้​ บริการ​แก่​นัก​ศึกษา​ด้วย​อุปกรณ์ท​ ี่​ทันส​ มัย ได้แก่ คณะ​นิ เ ทศศาสตร์ มี​ห้อง​ป ฏิบัติ​การ​ถ่าย​ภาพ ห้อง​ป ฏิบัติ​ การ​ล้าง​อัด​ขยาย​ภาพ สตู​ดิ​โอ​ถ่าย​ท�ำ​รายการ​โทรทัศน์ ห้อง​ตัด​ต่อ​ วิดีโอ ห้อง​บันทึก​เสียง ห้อง​จัด​รายการ​วิทยุ​กระจาย​เสียง ห้อง​ปฏิบัติ​ การ​วางแผน​ก่อน​การ​ผลิต ห้อง​คอมพิวเตอร์​กราฟิก ห้อง​ปฏิบัติ​การ​ วารสารศาสตร์สิ่ง​พิมพ์​และ​วารสาร​ศาสตร์​ออน​ไลน์ ห้อง​ฝึก​ซ้อม​การ​ แสดง ห้อง​งาน​ฉาก โรง​ละคร อาคาร Center for Cinematic and Digital Arts ประกอบด้วยโรงถ่าย Digital Screening Room ห้อง ปฏิบัติการส�ำหรับตรวจสอบภาพและเสียง ห้องออกแบบและบันทึก เสียง ห้องฝึกซ้อมการแสดง ห้องค้นคว้าวิจยั และเก็บข้อมูลภาพยนตร์ ห้องวางแผนปฏิบัติงานควบคุมงานสร้างภาพยนตร์ ห้องเตรียมการ ผลิต ห้องปฏิบัติงานออกแบบภาพยนตร์ เพื่อ​ให้​นัก​ศึกษา​ใช้​ฝึกงาน​ ภาค​ปฏิบัติ คณะ​นิ ติ ศ าสตร์ มี​ห้อง​ฝึกงาน​ศาล​จ�ำลอง​ที่​เลียน​แบบ​ตาม​ สถานการณ์​จริง ห้อง​ให้​คำ​ � ปรึกษา​ทาง​กฎหมาย เพือ่ ​ให้​นกั ​ศกึ ษา​คณะ​ นิติศาสตร์​มี​โอกาส​ฝึกฝน​ทาง​ด้าน​ปฏิบัตกิ​ าร​ใน​ศาล คณะ​มนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว มีอาคาร Tourism Tower ภายในประกอบด้วย BU Restaurant, BU cafe/, The Lounge, Hotel Lobby, The Suite, The Room, The Aroma, The Massage, The Laundry, The Kitchen ห้องครัวสาธิต, The Tour, The Lab, The Terminal ห้องปฏิบัติการภาคพื้นดิน, The Cabin ห้อง ปฏิบัติการบนเครื่องบิน คณะ​บริหารธุรกิจ มี​หอ้ ง​ปฏิบตั ​กิ าร​คอมพิวเตอร์ ส�ำนักงาน​ฝกึ ปฏิบัติงานในโครงการ CEMP (Creative Entrepreneurial Marketing Project) ​เพือ่ ​เป็นการ​ฝกึ ฝน​ประสบการณ์​ใน​การ​ดำ� เนิน​งาน​ของ​นกั ​ศกึ ษา คณะ​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี มี​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​คอม- พิ ว เตอร์ ห้ อง​ปฏิ บั ติ ​การด้า นระบบเครื อ ข่า ย ห้อง​ป ฏิ บั ติ ​การด้าน ระบบฐานข้อมูลและเครือ่ งแม่ขา่ ย ห้อง​ปฏิบตั ก​ิ ารด้านมัลติมเี ดีย รวม​ ทั้ง​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​ทาง​ด้าน​ฟิสิกส์​และ​เคมี​เพื่อ​รองรับ​การ​ใช้​งาน​ของ​

นัก​ศึกษา คณะ​ศิ ล ปกรรม​ศาสตร์ มี​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​และ​ห้องเรียน​ที่​ ประกอบ​ด้วย​อุปกรณ์​เขียน​แบบ การ​พิมพ์ การ​ปั้น การ​วาด งาน​ไม้ โลหะ และ​พลาสติก ห้อง​ปฏิบัติ​การ​ค​อมพิว​เตอร์แม​คอิ​นทอช ห้อง​ ปฏิบัติ​การ​ภาพถ่าย​และ​สตู​ดิ​โอ​ถ่าย​ภาพ​ที่​ทัน​สมัย ส�ำหรับ​นัก​ศึกษา​ คณะ​ศิลปกรรม​ศาสตร์ คณะ​วิ ศ วกรรมศาสตร์ มี​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​และ​โรง​ฝึกงาน (Workshop) ของ​คณะ​วิศวกรรมศาสตร์ คณะ​สถาปัตยกรรม​ศาสตร์ มี​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​และ​ห้องเรียน​ ที่​ประกอบ​ด้วย ห้อง​ปฏิบัติ​การคอมพิวเตอร์ ​ห้อง​ปฏิบัติ​เขียนแบบ ศูนย์วจิ ยั และการออกแบบ ส�ำหรับน​ กั ศ​ กึ ษา​คณะ​สถาปัตยกรรม​ศาสตร์ คณะ​การสร้างเจ้าของธุรกิจและการบริหารกิจการ มี​ศูนย์ ปฏิบตั กิ ารทีม่ ชี อื่ ว่า “B3 Venture Accelerator” ซึง่ มีชอื่ ย่อมามาจาก ค�ำ ว่ า Bangkok University Babson College and Business Venture Accelerator เป็นศูนย์ภายใต้การดูแลของ BUSEM มีหน้า ทีใ่ ห้คำ� ปรึกษาแก่นกั ศึกษาในด้านการสร้างธุรกิจ และยังให้บริการด้าน การให้คำ� ปรึกษาแก่ศษิ ย์เก่าและบุคคลทัว่ ไปในการท�ำธุรกิจครบวงจร ตั้งแต่การช่วยสนับสนุนความคิด การช่วยหาแหล่งทุนและผู้ร่วมทุน ตลอดจนให้ค�ำปรึกษาเมื่อเกิดปัญหาต่างๆ สถาบันภาษา มี​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​ทาง​ภาษา​พร้อม​อุปกรณ์​โสต​ ทัศนูปกรณ์​ที่ทัน​สมัย English FreshUP Center และ International Center

หอ​ประชุม​และ​ห้อง​สัมมนา

นอกจาก​ภารกิจ​ใน​การ​จดั การ​เรียน​การ​สอน​แล้ว มหาวิทยาลัย​ ยัง​เป็น​สถาบัน​การ​ศึกษา​ที่​ท�ำ​หน้าที่​ส่ง​เสริม​และ​พัฒนา​ทาง​ด้าน​วิชา​ การ​เพือ่ ​ประโยชน์​ของ​นกั ​ศกึ ษา บุคลากร รวม​ไป​ถงึ ก​ าร​ให้​บริการ​สงั คม​ ใน​รูป​ของ​การ​จัด​ประชุม​และ​สัมมนา​ทาง​ด้าน​วิชา​การ การ​อบรม​เชิง​ ปฏิบตั ก​ิ าร​เพือ่ ​เสริม​สร้าง​ทกั ษะ​ความ​ร​ใู้ ห้​กา้ ว​ทนั ​กบั ​ความ​เปลีย่ นแปลง​ ที่​เกิด​ขึ้น​ตลอด​เวลา ทั้งนี้ มหาวิทยาลัย​จึงใ​ห้​มี​ห้อง​สัมมนา​และ​สถาน​ ที่​เพื่อ​รองรับ​การ​จัด​งาน​และ​กิจกรรม​ประเภท​ต่างๆ หลักสูตรปริญญาตรี 587


บริการ​การ​ปรึกษา​และ​สวัสดิการ บริการ​การ​ปรึกษา

การ​ให้​บริการ​การ​ปรึกษา​แก่​นัก​ศึกษา​นับ​เป็น​หน้าที่​หลัก​ของ​ มหาวิทยาลัย​อีก​ประการ​หนึ่ง​โดย​มี​วัตถุประสงค์​เพื่อ​คลี่คลาย​ปัญหา​ ต่าง ๆ ของ​นัก​ศึกษา ทั้ง​เรื่อง​การ​เรียน เรื่อง​ส่วน​ตัว และ​อาชีพ โดย​ นัก​ศึกษา​สามารถ​รับ​การ​ปรึกษา​ได้​จาก​อาจารย์​ที่​ปรึกษา​ประจ�ำ​คณะ​ และ​อาจารย์​ประจ�ำ​แผนก​แนะแนว​และ​จัดหา​งาน ซึ่ง​ได้​จัด​อาจารย์​ แนะแนว​ที่​จบ​ทาง​ด้าน​การ​ปรึกษา​เชิง​จิตวิทยา​ไว้​ให้การ​ปรึกษา​แก่​นัก​ ศึกษา​ตลอด​ระยะ​เวลา​ทศี่​ ึกษา​อยูใ่​น​มหาวิทยาลัย และ​มี​บริการ​ให้การ​ ปรึกษา​ด้าน​สุขภาพ​จิต โดย​จิตแพทย์ท​ ั้ง 2 วิทยาเขต ซึ่งน​ ัก​ศึกษา​ไม่​ ต้อง​เสีย​ค่า​ใช้​จ่าย​ใดๆ

บริการ​จัดหา​งาน

มหาวิ ท ยาลั ย ​ไ ด้ ​เปิด​โอกาส​ให้​นัก​ศึกษา​ที่​สนใจ​หา​ราย​ได้​ ระหว่าง​เรียน​สมัคร​ทำ� งาน​พเิ ศษ​ใน​หน่วย​งาน​ตา่ ง ๆ ของ​มหาวิทยาลัย เช่น ฝ่าย​รบั ​สมัคร​นกั ​ศกึ ษา ฝ่าย​บริการ​การ​ศกึ ษา​และ​สวัสดิการ ส�ำนัก​ ทะเบียน​นัก​ศึกษา ส�ำนัก​หอ​สมุด ศูนย์​คอมพิวเตอร์ เป็นต้น เพื่อ​ให้​ นัก​ศึกษา​ได้​เสริม​สร้าง​ประสบการณ์​ใน​การ​ท�ำงาน​และ​รู้จัก​ใช้​เวลา​ว่าง​ ให้​เกิด​ประโยชน์​ โดย​มีแ​ ผนก​แนะแนว​และ​จัดหา​งาน​เป็น​ผู้รับ​ผิด​ชอบ​ ท�ำ​หน้าที่​ประสาน​งาน​ใน​การ​รับส​ มัคร นอกจาก​นี้​แผนก​แนะ​แนว​และ​จัดหา​งาน​ยัง​จัด​บริการ​จัดหา​ งาน​ให้​นัก​ศึกษา​และ​บัณฑิต​ที่​ต้องการ​มี​งาน​ท�ำ โดย​ท�ำ​หน้าที่​เป็น​สื่อ​ กลาง​ระหว่าง​นัก​ศึกษา​และ​บัณฑิต​กับ​สถาน​ประกอบ​การ​ต่างๆ อีก​ ทั้ง​มหาวิทยาลัย​ยัง​จัด​ให้​มี​โครงการ​แนะแนว​อาชีพ​แก่​นัก​ศึกษา เพื่อ​ เตรียม​ความ​พร้อม​ก่อน​สมัคร​งาน​ด้วย​การ​อบรม​เชิง​ปฏิบัต​ิการ รวม​ ถึง​โครงการ​งาน​วัน​นัดพ​ บ​แรงงาน​เป็น​ประจ�ำ​ทุก​ปี

588 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กองทุน​เงิน​ให้​กู้​ยืม​เพื่อ​การ​ศึกษา​ของ​รัฐบาล

เพื่อ​เป็นการ​ขยาย​โอกาส​ใน​การ​ศึกษา​ให้​แก่​เยาวชน​ของ​ชาติ​ อย่าง​เท่าเ​ทียม​กนั รัฐบาล​จงึ ไ​ด้จ​ ดั ต​ งั้ ก​ องทุนเ​งินใ​ห้ก​ ย​ู้ มื เ​พือ่ ก​ าร​ศกึ ษา​ ขึน้ เพือ่ ใ​ห้​ผ​ทู้ ​จี่ ะ​ศกึ ษา​ใน​สถาบันอ​ ดุ มศึกษา​แต่​ขาดแคลน​ทนุ ​ทรัพย์ไ​ด้​ กู​ย้ มื ​เงิน​เป็นค​ า่ เ​ล่าเ​รียน และ​คา่ ใ​ช้จ​ า่ ย​ตา่ ง ๆ โดย​ให้​มหาวิทยาลัย​เป็น​ ผู้​ด�ำเนิน​การ​พิจารณา​คัด​เลือก​นัก​ศึกษา​ตาม​เงื่อนไข​ของ​รัฐบาล หาก​ นัก​ศกึ ษา​ท​มี่ ​คี วาม​ประสงค์​จะ​ขอ​ก​ยู้ มื ​เงิน​จาก​กอง​ทนุ ฯ สามารถ​ตดิ ต่อ​ ได้ที่​แผนก​ทุน​การ​ศึกษา

การ​ศึกษา​วิชา​ทหาร

มหาวิทยาลัยก​ รุงเทพ​เล็งเ​ห็นค​ วาม​ส�ำคัญข​ อง​การ​ศึกษา​วิชา​ ทหาร​จงึ ​ได้​ประสาน​งาน​กบั ห​ น่วย​บญั ชาการ​รกั ษาดินแดน จัด​ฝึกสอน​ วิชา​ทหาร (รด.) ขึ้น​ส�ำหรับ​นัก​ศึกษา​ชาย​ที่​ยัง​ไม่​เคย​ผ่าน​การ​บรรจุ​ ทหาร​กอง​ประจ�ำ​การ​มา​ก่อน ซึ่ง​นัก​ศึกษา​ที่​มี​ความ​ประสงค์​สมัคร​ เข้า​รับ​การ​ฝึก​ต้อง​ปฏิบัติ​ตาม​เกณฑ์​ที่​หน่วย​บัญชาการ​รักษาดินแดน ก�ำหนด โดย​ต้อง​ผ่าน​การ​สมัคร​และ​รับ​รายงาน​ตัว พร้อม​ทั้ง​ผ่าน​การ​ ทดสอบ​สมรรถภาพ​ร่างกาย​จาก​หน่วย​บัญชาการ​รักษาดินแดนว่า​มี​ สุขภาพ​แข็ง​แรง​สมบูรณ์​พอที่​จะ​ได้​รับ​การ​ฝึก ส�ำหรับนักศ​ ึกษา​ที่​เคย​ฝึก​วิชา​ทหาร​มา​จาก​สถาบัน​การ​ศึกษา​ เดิม​ก็​สามารถ​สมัคร​โอน​ย้าย​เข้า​ศึกษา​ใน​ชั้น​ต่อ​ไป​ที่​มหาวิทยาลัย​ กรุงเทพ​ได้​ทันที โดย​หน่วย​บัญชาการ​รักษาดินแดน​ได้​จัดการ​ฝึกสอน​ วิชา​ทหาร​ตงั้ ​แต่​ชนั้ ​ป​ที ี่ 1 ถึงช​ นั้ ​ป​ที ี่ 5 ทัง้ นี้ นัก​ศกึ ษา​ท​ผี่ า่ น​การ​ฝกึ ​วชิ า​ ทหาร (รด.) จะ​ได้​รับ​การ​ยกเว้น​เข้า​รับ​ราชการ​ทหาร​กอง​ประจ�ำ​การ การ​รบั เ​ลือก​เข้าร​บั ร​าชการ​ทหาร​กอง​ประจ�ำ​การ (เกณฑ์ท​ หาร) ถือเ​ป็น​หน้าที​ข่ อง​ชาย​ไทย​ทกุ ค​ น ส�ำหรับ​นกั ศ​ กึ ษา​ชาย​ท​มี่ อี ายุค​ รบ 20 ปีบ​ริ​บูรณ์และ​ไม่​ได้​ฝึก​วิชา​ทหาร​จะ​ต้อง​ไป​ท�ำการ​ตรวจ​เลือก​เข้า​รับ​ ราชการ​ทหาร​กอง​ประจ�ำ​การ​ตาม​พระ​ราช​บัญญัติ​ว่า​ด้วย​การ​เข้า​รับ​ ราชการ​ทหาร​ใน​ปี​ถัด​ไป ทั้งนี้น​ ัก​ศึกษา​จะ​ต้อง​มา​ยื่น​ค�ำร้อง​ต่อฝ​ ่าย​ บริ การ​การ​ศึ ก ษา​แ ละ​สวัสดิการ​เพื่อ​ให้​มหาวิทยาลัย​ด�ำเนิน​การ​ขอ​ ผ่อน​ผัน​การ​รับ​ราชการ​ทหาร​ต่อ​กระทรวง​กลาโหม โดย​นัก​ศึกษา​ภาค​ พิเศษ​ไม่มส​ี ทิ ธิส​์ มัคร​เข้าศ​ กึ ษา​วชิ า​ทหาร​แต่ส​ ามารถ​ยนื่ ค​ ำ� ร้อง​ขอ​ผอ่ น​ ผัน​การ​รับ​ราชการ​ทหาร​ผ่าน​มหาวิทยาลัย​ได้


การ​ให้บ​ ริการ​นักศ​ ึกษา​นานาชาติ

มหาวิ ท ยาลั ย ​กรุ ง เทพ​เป็ น ​ส ถาบั น ​การ​ศึกษา​ที่ ​เปิ ด​สอน หลักสูตร​นานาชาติ ท�ำให้​มี​นัก​ศึกษา​จาก​ต่าง​ประเทศ​จ�ำนวน​ไม่​น้อย​ สนใจ​สมัคร​เข้าศ​ กึ ษา​ใน​มหาวิทยาลัย จึง​จำ� เป็นอ​ ย่าง​ยงิ่ ​ท​ตี่ อ้ ง​ม​หี น่วย​ งาน​เพื่อ​ท�ำ​หน้าที่​ประสาน​งาน วิทยาลัย​นานาชาติ​ใน​ฐานะ​หน่วย​งาน​ รับ​ผิด​ชอบ​หลักสูตร​นานาชาติ มีหน้า​ที่​หลัก​ใน​การ​ให้​บริการ​ประสาน​ งาน​เรื่อง​ต่างๆ แก่​นัก​ศึกษา​นานาชาติ​นอก​เหนือ​จาก​การ​จัดการ​เรียน​ การ​สอน อาทิ บริการ​ออก​เอกสาร​รับรอง​เกี่ยว​กับ​การ​ขอ​พ�ำนัก​ใน​ ประเทศ​ไทย บริการ​ให้​ค�ำ​ปรึกษา​แนะ​แนว​ด้าน​การ​เรียน เรื่อง​ส่วน​ตัว​ และ​การ​ร่วม​กิจกรรม​ของ​นัก​ศึกษา

บริการ​ขอ​ลด​ค่า​รถไฟ

นัก ​ศึ ก ษา​ที่ ​เดิ น ​ท าง​ไป​ทัศนศึกษา​ต่าง​จังหวัด​เป็น​หมู่​คณะ หาก​ได้ร​ บั อ​ นุญาต​อย่าง​เป็นท​ างการ​จาก​อธิการบดีแ​ ล้ว สามารถ​ขอ​ให้​ มหาวิทยาลัยอ​ อก​หนังสือข​ อ​สว่ นลด​คา่ โ​ดยสาร​รถไฟ​จาก​การ​รถไฟ​แห่ง​ ประเทศ​ไทย​และ​นกั ​ศกึ ษา​ท​มี่ ​คี วาม​ประสงค์เ​ดินท​ าง​ไป​เยีย่ ม​ผ​ปู้ กครอง ซึ่ง​มี​ส�ำมะโนครัว​อยู่​ต่าง​จังหวัด​มี​สิทธิ์​ได้​รับ​ส่วนลด​ค่า​โดยสาร​รถไฟ​ ครึง่ ห​ นึง่ ​ ทงั้ นี้ นักศ​ กึ ษา​สามารถ​ขอรับบ​ ริการ​ได้ทฝ​ี่ า่ ย​บริการ​การ​ศกึ ษา​ และ​สวัสดิการ

บริการ​ประกัน​อุบัติเหตุ

มหาวิทยาลัย​ได้​เล็ง​เห็น​ความ​ส�ำคัญ​ใน​เรื่อง​อุบัติเหตุ​ที่​อาจ​ เกิด​ขึ้น​กับ​นัก​ศึกษา จึง​ได้​จัด​ให้​นัก​ศึกษา​ท�ำ​ประกัน​อุบัติเหตุ​ใน​อัตรา​ เบี้ย​ประกัน​ต�่ำ โดย​นัก​ศึกษา​จะ​ได้​รับ​การ​คุ้มครอง​ตลอด 24 ชั่วโมง ตลอด​ปี​การ​ศึกษา และ​ได้​รับ​ค่า​รักษา​พยาบาล​กรณี​บาด​เจ็บ รวม​ถึง​ ค่า​สินไหม​ทดแทน​กรณีส​ ูญ​เสีย​อวัยวะ​หรือ​เสีย​ชีวิต

บริการ​รักษา​พยาบาล

มหาวิทยาลัยไ​ด้จ​ ดั ห​ อ้ ง​​พยาบาล​เพือ่ ใ​ห้บ​ ริการ​รกั ษา​พยาบาล​ แก่​นัก​ศึกษา​ที่​เจ็บ​ป่วย​ตลอด​เวลา​ที่​มหาวิทยาลัย​เปิด​ท�ำการ โดย​มี​ แพทย์​และ​พยาบาล​ประจ�ำ​พร้อม​ให้​บริการ​รักษา​พยาบาล ใน​กรณี​ที่​มี​

การ​เจ็บ​ป่วย​เบื้อง​ต้น หาก​นกั ศ​ กึ ษา​ราย​ใด​ได้​รบั อ​ บุ ัตเิ หตุ​หรือ​เจ็บ​ป่วย​ ร้าย​แรง​ทาง​มหาวิทยาลัยจ​ ะ​นำ​ � สง่ โ​รง​พยาบาล​ประจ�ำ​ของ​มหาวิทยาลัย โดย​มหาวิทยาลัย​จะ​เป็น​ผู้​ออก​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​เบื้อง​ต้น กรณี​ที่​นัก​ศึกษา​ ได้​รั บ ​บ าด​เจ็ บ ​ห รือ ​เจ็ บ​ป่ ว ย​จาก​การ​ร่ วม​กิ จ กรรม​ใ น​นาม​สถาบัน มหาวิทยาลัย​จะ​เป็น​ผู้รับ​ผิด​ชอบ​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​รักษา​พยาบาล​

ห้อง​อาหาร

มหาวิทยาลัยก​ รุงเทพ วิทยาเขต​กล้วยน�ำ้ ไท​มโ​ี รง​อาหาร​ขนาด​ ใหญ่ 1 อาคาร และ​วิทยาเขต​รังสิต​มี​โรง​อาหาร​ขนาด​ใหญ่ 3 อาคาร​ ที่​เปิด​ให้​บริการ และ BU Cafeteria ในอาคาร BU Diamond รวม​ ถึง​ซุ้ม​อาหาร​ที่​กระจาย​อยู่​ตาม​จุด​ต่างๆ อย่าง​เพียง​พอ และ​ได้​มี​การ​ คัด​เลื อ ก​ผู้ ​ป ระกอบ​การ​ที่​มี ​ม าตรฐาน​ใน​เรื่อง​คุณภาพ​อาหาร​และ​ ความ​สะอาด​

หน่วย​งาน​บริการ​อื่นๆ

นอก​เหนือ​จาก​หน่วย​งาน​บริการ​ท​กี่ ล่าว​มา​แล้ว มหาวิทยาลัย​ ยัง​มี​หน่วย​งาน​บริการ​อื่นๆ ที่​จะ​รองรับ​นัก​ศึกษา​ที่​ต้องการ​ผ่อน​คลาย​ ความ​เคร่งเครียด​จาก​การ​เรียน อาทิ

ศูนย์​กีฬา

การ​ออก​กำ� ลัง​กาย​ถอื ​เป็น​ปจั จัย​สำ� คัญ​ท​สี่ ร้าง​เสริม​ให้​ทกุ ​คน​มี​ สุขภาพ​พลานามัยส​ มบูรณ์แ​ ข็ง​แรง มหาวิทยาลัยไ​ด้​ตระ​หนัก​ถงึ ​ความ​ ส�ำคัญ​ของ​การ​กฬี า​จงึ ไ​ด้​จดั ​ให้​ม​ศี นู ย์​สง่ ​เสริมสุขภ​ าพ (Fitness Center) ศูนย์ก​ ฬี า​ใน​รม่ และ​สนาม​กฬี า ไว้​ให้​บริการ​ท​วี่ ทิ ยาเขต​กล้วยน�ำ้ ไท​และ​ วิทยาเขต​รงั สิต อาทิ สนาม​ฟตุ บอล​ขนาด​มาตรฐาน สนาม​รกั บีฟ้ ตุ บอล สนาม​ฟุตซอล สนาม​กรีฑา สนาม​บาสเกตบอล สนาม​ตะกร้อ สนาม​ วอลเลย์บอล สนาม​เทนนิส สนาม​เปต​อง สนามฟุตบอล วอลเลย์บอล ชายหาด อาคาร​กีฬา​ใน​ร่ม อาคาร​อเนกประสงค์ (สนาม​ฝึก​ซ้อม​กีฬา​ มวย​สากล​สมัคร​เล่น ยูโด และเทควันโด) ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพกลาง แจ้ง และ​สวน​สขุ ภาพ เพือ่ ​ใช้​สำ� หรับ​เป็น​สถาน​ท​ฝี่ กึ ​ซอ้ ม​และ​ออก​กำ� ลัง​ กาย​ของ​นกั ​ศกึ ษา นักกีฬา​ของ​มหาวิทยาลัย และนัก​ศึกษา​ที่​ประกอบ​ หลักสูตรปริญญาตรี 589


กิจกรรม​ต่าง ๆ รวม​ถึงบ​ ุคลากร​ที่​ต้องการออก​กำ� ลัง​กาย​ดว้ ย​อปุ กรณ์​ ที่​ทัน​สมัย​ครบ​ครัน​และ​เพียง​พอ​ต่อ​ความ​ต้องการ นอกจาก​นี้ มหาวิทยาลัย​ยัง​ได้​ให้การ​สนับสนุน​และ​ส่ง​เสริม​ การ​แข่ง​ขัน​กีฬา​ภายใน​และ​กีฬา​ระหว่าง​สถาบัน โดย​ม​ีวัตถุประสงค์​ เพื่อ​ให้​นัก​ศึกษา​ได้​มี​โอกาส​ร่วม​กิจกรรม​โดย​แสดง​ความ​สามารถ​ทาง​ ด้าน​กีฬา การ​ใช้​เวลา​ว่าง​ให้​เป็น​ประโยชน์ ทั้ง​ยัง​เป็นการ​สร้าง​เสริม​ ความ​สามัคคี ความ​มี​น�้ำใจ​เป็นน​ ักกีฬา เพื่อ​ประโยชน์แ​ ก่​นักศ​ ึกษา​ใน​ อนาคต

หอ​ศิลป​มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ

ศิลปะ​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ของ​ชีวิต​ที่​จะ​ท�ำให้​มนุษย์​ที่​ได้​มี​โอกาส​ สั ม ผั ส ​อ ย่ า ง​ใกล้ ​ชิ ด ​รู้​ซึ้ง​ถึ ง​คุ ณค่ า ​แ ละ​โลก​ทัศน์​กว้า ง​ไ กล ดั ง​นั้ น​ มหาวิทยาลัย​จึง​มี​หอ​ศิลป​ฯ เพื่อ​จัด​นิทรรศการ​ศิลปะ​ของ​ศิลปิน​นัก ออกแบบทั้ง​ไทย​และ​ต่าง​ประเทศ​ให้​นัก​ศึกษา​และ​บุคคล​ทั่วไป​ได้​เข้า​ มา​สัมผัส​ผล​งาน​ทนี่​ ่า​สนใจ​และ​หลาก​หลาย​เหล่า​นี้ ปัจจุบนั ​หอ​ศลิ ป​มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ​จดั ​ให้​ม​กี าร​แสดง​ผล​งาน​ ด้าน​ศิลปกรรม 8 - 10 ครั้ง​ต่อ​ปี โดย​เปิด​บริการ​ให้​เข้า​ชม​ตั้ง​แต่​เวลา 09.00-19.00 น. นัก​ศกึ ษา​ท​สี่ นใจ​สามารถ​ตดิ ต่อข​ อ​ทราบ​กำ� หนดการ​ และ​เข้า​ชม​ได้ที่​หอ​ศิลป​มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ อาคาร​วิทยาลัย​นานาชาติ ชัน้ 2, 4 วิทยาเขต​กล้วยน�ำ้ ไท และ​หอ​ศลิ ป​มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ หอ​สมุด​สุ​รัตน์ โอ​สถาน​ุ​เคราะห์ ชั้น 2 วิทยาเขต​รังสิต

พิพิธภัณฑสถาน​เครื่อง​ถ้วย​เอเชีย​ตะวัน​ออก​เฉียง​ใต้

ในโลกยุคปัจจุบันแหล่งศึกษาหาความรู้มีอยู่มากมาย ไม่ จำ�กัดขอบเขต มหาวิทยาลัยกรุงเทพจึงได้จัดสร้างพิพิธภัณฑสถาน เครือ่ งถ้วยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ขนึ้ ทีว่ ทิ ยาเขตรังสิต โดยมีลกั ษณะ เป็นอาคารชั้นเดียว ตั้งอยู่ใต้ดิน ด้านหน้าหอสมุดสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ ภายในห้องนิทรรศการถาวรจัดแสดงเรื่องเครื่องปั้นดินเผา โบราณทีผ่ ลิตจากแหล่งผลิตในประเทศไทย ในประเทศเพือ่ นบ้านใกล้ เคียง และที่เป็นสินค้าออกจากประเทศจีนรวมกว่า 500 ชิ้น อาทิ 590 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

เครือ่ งปัน้ ดินเผาสุโขทัย เครือ่ งปัน้ ดินเผาล้านนา เครือ่ งปัน้ ดินเผาพม่า เครือ่ งปัน้ ดินเผาเขมร เครือ่ งปัน้ ดินเผาเวียดนาม หรือเครือ่ งปัน้ ดินเผา จีน นอกจากห้องนิทรรศการถาวรแล้ว ภายในยังมีห้องนิทรรศการ พิเศษ คลังบรรณาสารเครื่องปั้นดินเผาเพื่อการศึกษา ร้านจำ�หน่าย หนังสือและของที่ระลึก คลังศิลปโบราณวัตถุ ห้องปฏิบัติการอนุรักษ์ ศิลปะโบราณวัตถุ รวมทั้งห้องสมุดเฉพาะสาขาสำ�หรับภัณฑารักษ์ นักเรียน และนักศึกษาได้ใช้เป็นสถานที่ศึกษาค้นคว้า ทั้งนี้เพื่อ ประโยชน์ทางการศึกษา ตลอดจนเป็นแหล่งการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา และบุคคลทีส่ นใจ มหาวิทยาลัยยังมุง่ หวังให้พพิ ธิ ภัณฑสถาน เครือ่ งถ้วยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นศูนย์กลางแห่งการวิจยั ทีส่ ำ�คัญ และสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย

สมาคม​ศิษย์เ​ก่า​มหาวิทยาลัยก​ รุงเทพ

นับจ​ าก​วัน​ก่อ​ตั้ง​มหาวิทยาลัย​เป็นต้น​มา มีบ​ ัณฑิต​ส�ำเร็จ​การ​ ศึกษา​ไป​ประกอบ​วชิ าชีพ​ใน​วงการ​ตา่ งๆ มากมาย​สร้าง​ความ​ภาค​ภมู ิใจ​ แก่​สถาบัน​เป็น​อย่าง​ยิ่ง บัณฑิต​เหล่า​นี้​ล้วน​เป็น​ผู้​ที่​ได้​รับ​การ​ยอมรับ​ จาก​วงการ​ธรุ กิจ​และ​ประสบ​ความ​สำ� เร็จ​ใน​หน้าที​ก่ าร​งาน​สร้าง​ชอื่ ​เสียง​ แก่​มหาวิทยาลัย สมาคม​ศษิ ย์​เก่าฯ​ ก่อ​ตงั้ เ​พือ่ ​ทำ​ � หน้าที​เ่ ป็นศ​ นู ย์กลาง​ แห่ง​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ศิษย์​เก่า​ด้วย​กัน​และ​กับ​มหาวิทยาลัย​ ศิษย์​ เก่า​เหล่า​นี้​เปรียบ​เสมือน​กระจก​ส่อง​เงา​ให้​แก่​มหาวิทยาลัย​ได้​เห็น​ ผลิตผล​ว่า​มี​ความ​เหมาะ​สม​กับ​สังคม หรือ​สมควร​ให้​มี​การ​ปรับปรุง​ เพื่อ​ประโยชน์ต​ ่อ​คุณภาพ​ของ​การ​สร้าง​บัณฑิต​รุ่น​ต่อ​ไป​และ​เป็น​ก�ำลัง​ ส�ำคัญ​ใน​การ​พัฒนา​สถาบัน​ให้​เจริญ​ก้าวหน้า สมาคม​ศิษย์​เก่า​ฯ บริหาร​งาน​โดย​คณะ​กรรมการ​ท​ี่ได้​รับ​การ​ เลือก​ตั้ง​ใน​แต่ละ​วาระ ท�ำ​หน้าที่​ประสาน​งาน​ติดตาม​ความ​เคลื่อนไหว​ ของ​บัณฑิต​ และ​เสนอ​ข่าว​สาร​ใน​รูป​แบบ​วารสาร​ศิษย์​เก่า​ฯ วารสาร ออนไลน์ที่​มี​การ​เผย​แพร่​อย่าง​สม�่ำเสมอ นอกจาก​นี้​ทาง​สมาคม​ศิษย์​ เก่า​ฯ ยัง​ได้​จัด​ท�ำบัตร​สมาชิก​สมาคม​ศิษย์​เก่า​ฯ เพื่อ​เป็นการ​อำ� นวย​ ความ​สะดวก​ใน​การ​ประสาน​งาน​ระหว่าง​ศิษย์​เก่า​กับ​สมาคม​​ฯ และ​ น�ำ​ไป​ใช้​เป็น​สิทธิ​ประโยชน์​จาก​สถาน​ประกอบ​การ​ต่างๆ ที่​เข้า​ร่วม​ โครงการ​ของ​สมาคม​ศิษย์​เก่า​ฯ


กิจกรรม​นัก​ศึกษา มหาวิทยาลัยม​ นี โ​ย​บาย​สนับสนุนก​ าร​ทำ�​กจิ กรรม​ของ​นกั ศ​ กึ ษา​ นอก​เหนือ​จาก​การ​ส่ง​เสริม​ให้​นัก​ศึกษามี​ความ​รู้​ ความ​สามารถ​ทาง​ ด้าน​วิชา​การ ด้วย​มุ่ง​หวัง​ให้​นัก​ศึกษา​มี​ความ​รอบรู้​ใน​การ​ศึกษา​และ​ ความ​คล่องแคล่ว​ใน​เชิง​ปฏิบัติ โดย​จัดใ​ห้​มี​อาจารย์ท​ ี่​ปรึกษา​กิจกรรม​ ทำ�​หน้าที่​แนะนำ�​การ​ดำ�เนิน​งาน​ต่างๆ ของ​นัก​ศึกษา​ให้​เป็น​ไป​ตาม​ นโยบาย​และ​จุด​มุ่ง​หมาย​ที่​กำ�หนด​ไว้ พร้อม​ทั้ง​ให้การ​สนับสนุน​ทาง​ ด้าน​การ​เงินใ​น​การ​จดั ท​ ำ�​กจิ กรรม เพือ่ เ​ปิดโ​อกาส​ให้น​ กั ศ​ กึ ษา​ได้พ​ ฒ ั นา​ ตนเอง​ใน​ดา้ น​บคุ ลิกภาพ วุฒภ​ิ าวะ​ทาง​อารมณ์ สังคม ความ​รบั ผ​ ดิ ช​ อบ และ​ภาวะ​ความ​เป็น​ผู้นำ� โดย​กิจกรรม​จะ​แบ่ง​ออก​เป็น​ชมรม​และ​คณะ​ ภาย​ใต้​การ​บริหาร​งาน​ของ​คณะ​กรรมการบริหาร​งาน​สโมสร​นัก​ศึกษา ประธาน​ชมรม ประธาน​คณะ ซึ่งจ​ ัดใ​ห้ม​ ี​การ​เลือก​ตั้งข​ ึ้นเ​ป็นป​ ระจำ�ทุก​ ปีแ​ ละ​มส​ี ปั ดาห์ก​ จิ กรรม​เพือ่ ร​ บั ส​ มัคร​สมาชิกใ​หม่เ​ข้าช​ มรม​ตา่ งๆ ดังนี้ ชมรม​วิชา​การ ชมรม​ไอ​เซค ชมรม​ถ่าย​ภาพ ชมรม​การ​ตลาด ชมรม​ปาฐกถา​และ​โต้วาที ชมรม​นานาชาติ

ชมรม​ศิลป​วัฒนธรรม ชมรม​ศาสนา​และ​วัฒนธรรม​ไทย ชมรม​ดนตรี​และ​นาฏ​ศิลป์​ไทย ชมรม​ดนตรีส​ ากล ขับ​ร้อง​ และ​ประสาน​เสียง

ชมรม​นัก​ศึกษา​สัมพันธ์ ชมรม​เชียร์ ชมรม​กระจาย​เสียง ชมรม​วิทยุส​ มัคร​เล่น ชมรม​ทัศนศึกษา ​และ​การ​ท่อง​เที่ยว

ชมรม​บำ�เพ็ญ​ประโยชน์ ชมรม​โรตา​แรคท์ ชมรม​ค่าย​อาสา​พัฒนา ชมรม​อนุรักษ์​ธรรมชาติ​ และ​สิ่ง​แวดล้อม ชมรม​สร้างสรรค์​สังคม ​และ​คุ้มครอง​ผู้​บริโภค

ชมรม​กีฬา กิจกรรม​คณะ ชมรม​ยูโด คณะ​บัญชี ชม​รม​กรีฑา คณะ​บริหารธุรกิจ ชมรม​ตะกร้อ คณะ​นิเทศศาสตร์ ชมรม​เทนนิส คณะ​มนุษยศาสตร์ ชมรม​ฟันดาบ และการจัดการการท่องเที่ยว ชมรม​ฟุตบอล คณะ​นิติศาสตร์ ชมรม​รักบี้​ฟุตบอล คณะ​เศรษฐศาสตร์ ชมรม​บาสเกตบอล คณะ​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี ชมรม​แบดมินตัน คณะ​ศิลปกรรม​ศาสตร์ ชม​รม​เท​เบิล​เทนนิส คณะ​วิศวกรรมศาสตร์ ชมรม​หมาก​ล้อม คณะ​สถาปัตยกรรมศาสตร์ ชมรม​ยิง​ปืน วิทยาลัยน​ านาชาติ ชมรม​วอลเลย์บอล คณะการสร้างเจ้าของธุรกิจ และการบริหารกิจการ นอกจาก​นี้​มหาวิทยาลัย​ยัง​มี​กิจกรรม​นัก​ศึกษา​ที่​จัด​ตั้ง​ขึ้น​ใน​ รูป​แบบ​ของ​โครงการ อาทิ โครงการ​ละคร​เวทีก​ าร​กศุ ล ดำ�เนินโ​ครงการ​โดย​คณะ​กรรมการ​ นัก​ศึกษา​คณะ​นิเทศศาสตร์ เริ่ม​จัด​ให้​มี​ตั้ง​แต่​ปี​การ​ศึกษา 2531 เป็น​ ประจำ�​ต่อ​เนื่อง เพื่อ​เป็น​กิจกรรม​ที่​เปิด​โอกาส​ให้​นัก​ศึกษา​ภาค​วิชา​ ต่างๆ ของ​คณะ​นิเทศศาสตร์​เข้า​ร่วม​ใน​กิจกรรม อีก​ทั้ง​โครงการ​นี้​ยัง​ มี​วัตถุประสงค์เ​พื่อ​นำ�​ราย​ได้​ส่วน​หนึ่ง​ช่วย​เหลือ​สังคม​โดย​ผ่าน​องค์กร​ การ​กุศล​ต่างๆ

หลักสูตรปริญญาตรี 591


โครงการ​การ​แสดง​ของ​ภาค​วิชา​ศิลปะ​การ​แสดง ตลอด​ปี​การ​ ศึกษา ภาค​วชิ า​ศลิ ปะ​การ​แสดง คณะ​นเิ ทศศาสตร์​นำ�​เสนอ​ผล​งานการ​ แสดง​ทม​ี่ ค​ี ณ ุ ภาพ​และ​ได้ม​ าตรฐาน​ใน​หลาก​หลาย​รปู แ​ บบ ทัง้ ล​ ะคร​เวที​ ประจำ�​ปท​ี ส​ี่ ร้าง​บท​วรรณกรรม​ทรง​คณ ุ ค่า จนถึงง​าน​เชิงท​ ดลอง​ของ​นกั ​ ศึกษา​วชิ า​เอก​การ​แสดง​และ​การ​กำ�กับก​ าร​แสดง โดย​มศ​ี ลิ ปินร​ บั เ​ชิญท​ ​ี่ มีค​ วาม​สามารถ​ทงั้ ​ชาว​ไทย​และ​ชาว​ตา่ ง​ประเทศ​รว่ ม​กนั ​สร้างสรรค์​ผล​ งาน​ร่วม​กับ​นัก​ศึกษา ทั้งนี้​เพื่อ​เผย​แพร่​และ​ยก​ระดับ​มาตรฐาน​ศิลปะ​ การ​แสดง​สมัย​ใหม่​ใน​ประเทศ​ไทย โครงการ​ให้ค​ ำ�​แนะนำ�​และ​ปรึกษา​ดา้ น​กฎหมาย เป็นโ​ครงการ​ ของ​นั ก ​ศึ ก ษา​ค ณะ​นิ ติ ศ าสตร์ ​ใน​การ​ให้ ​บ ริ การ​ด้ า น​ก ฎหมาย​แ ก่ ​ ประชาชน​และ​ผส​ู้ นใจ​โดย​ไม่ค​ ดิ ค​ า่ ใ​ช้จ​ า่ ย​ใดๆ จัดเ​ป็นบ​ ริการ​เพือ่ ส​ งั คม​ ที่​นัก​ศึกษา​สามารถ​ใช้​เป็น​เวที​ใน​การ​ฝึกฝน​เชิง​ปฏิบัติ​การ​และ​ได้​รับ​ ประโยชน์​จาก​โครงการ​ดัง​กล่าว โดย​มี​อาจารย์​ผู้​มี​ความ​รู้​และ​ความ​ เชี่ยวชาญ​ทาง​กฎหมาย​ควบคุม​ดูแล​อย่าง​ใกล้​ชิด เพื่อ​ให้​บริการ​นี้​มี​ ประสิทธิภาพ​อย่าง​เต็ม​ที่ โครงการ Creative Entrepreneurial Marketing Project: CEMP เป็นโครงการที่มุ่งเน้นการเรียนรู้ด้วยความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) และการสร้างวิญญาณความเป็นเจ้าของธุรกิจ (Entrepreneurial Spirit) ให้กับนักศึกษา ดังนั้น ภาควิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ จึงมีแนวคิดการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนให้ สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าว โดยมีจุดเริ่มต้นจากความร่วมมือ ของภาควิชาการเงิน คอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ ภาควิชา โฆษณา คณะนิเทศศาสตร์ และภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ ซึ่งในอนาคตมีแผนจะต่อยอดเพื่อบูรณาการไปยัง คณะต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย โครงการนี้จัดให้มีการเรียนการสอน ที่ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ธุรกิจของ ตนเองโดยการศึกษาธุรกิจ วางแผนการตลาด ออกแบบสินค้า และ 592 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

บรรจุภัณฑ์ สร้างตรายี่ห้อสินค้า วางแผนสื่อโฆษณาและการทำ�การ ตลาดรูปแบบใหม่ๆ เพื่อฝึกให้นักศึกษามีความคิดสร้างสรรค์ในการ ดำ�เนินธุรกิจเพื่อเป็นเจ้าของธุรกิจในอนาคต โครงการ​แข่งข​ ัน​สิ่ง​ประดิษฐ์ เป็น​โครงการ​ของ​นัก​ศึกษา​คณะ​ วิศวกรรมศาสตร์ โดย​ได้​รับ​รางวัลร​ อง​ชนะ​เลิศ​ใน​การ​แข่ง​ขัน​หุ่น​ยนต์ TPA Robocon’98 ซึ่ง​จัด​โดย​สมาคม​ส่ง​เสริม​เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) และ​รางวัลช​ นะ​เลิศ (Winner) และ​รางวัล Best Performance ใน​ฐานะ​ ทีม​ตัวแทน​ประเทศ​ไทย​จาก​การ​แข่ง​ขัน​ประดิษฐ์​หุ่น​ยนต์​นานาชาติ Robocon’99 ณ ประเทศ​ญี่ปุ่น ซึ่ง​เป็น​ชัยชนะ​ครั้ง​แรก​ของ​ประเทศ​ ไทย และ​เพื่อ​เป็นการ​พัฒนา​ศักยภาพ​ผู้นำ�​นัก​ศึกษา ทาง​มหาวิทยาลัย​ได้​จัด​โครงการ​สัมมนา​ผู้นำ�​นัก​ศึกษา และโครงการเปิด โลกทัศน์ผู้นำ�นักศึกษา เพื่อความเป็นสากลเป็นประจำ�ทุกปี ทั้งนี้เพื่อ เสริมสร้างทักษะในการทำ�งานร่วมกับผูอ้ นื่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การ เป็นผู้นำ�นักศึกษาที่สร้างสรรค์ในระดับแนวหน้า และความเป็นสากล


ข้อค​ วรรู้เกี่ยวกับการศึกษา ระบบ​การ​ศึกษา

มหาวิทยาลัย​ดำ�เนิน​การ​ศึกษา ​โดย​การ​ประสาน​งาน​ด้าน​ วิชา​การ​ร่วม​กัน​ระหว่าง​คณะ​หรือ​ภาค​วิชา​ต่างๆ เพื่อ​ที่​จะ​อำ�นวย​การ​ ศึกษา​ให้​แก่นักศึกษาต่างคณะ ต่างภาควิชาได้มีโอกาสศึกษาร่วมกัน ในลักษณะวิชาเดียวกัน ระบบ​การ​ศึกษา​ของ​มหาวิทยาลัย​ใช้​ระบบ​ทวิภาค โดย​แบ่ง​ เวลา​การ​ศึกษา​ใน​หนึ่ง​ปี​การ​ศึกษา​ออก​เป็น​สอง​ภาค​การ​ศึกษา​ปกติ ได้แก่ ภาค​การ​ศึกษา​ที่​หนึ่ง​และ​ภาค​การ​ศึกษา​ที่​สอง มี​ระยะ​เวลาการ​ ศึกษา​ไม่​น้อย​กว่า​ภาค​การ​ศึกษา​ละ​สิบ​ห้า​สัปดาห์​และ​อาจ​มี​ภาค​การ​ ศึกษา​ฤดูร​อ้ นต่อจากภาคการศึกษาทีส่ องได้ โดยมีระยะเวลาการศึกษา​ ไม่​น้อย​กว่า​แปด​สัปดาห์ โดย​ให้​เพิ่ม​ชั่ว​โมง​การ​ศึกษา​ใน​แต่ละ​วิชา​ให้​ เท่ากับภ​ าค​การ​ศึกษา​ปกติ ภาค​การ​ศึกษา​ฤดู​ร้อน​เป็น​ภาค​การ​ศึกษา​ ที่​ไม่​บังคับ​สำ�หรับ​นัก​ศึก​ษา​หลักก​สูตร​ปริญญา​ตรี​ภาค​ปกติ สำ�หรับ​นัก​ศึกษา​หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​ภาคพิเศษ หลักสูตร​ ปริญญา​ตรีต​ อ่ เ​นือ่ ง​ทงั้ ภ​ าค​ปกติแ​ ละ​ภาค​พเิ ศษ ภาค​การ​ศกึ ษา​ฤดูร​ อ้ น​ เป็น​ภาค​การ​ศึกษา​บังคับ

ระยะ​เวลา​การ​ศึกษา

กำ�หนด​ระยะ​เวลา​ใน​การ​ศึกษา​ของ​นัก​ศึกษา​หลักสูตร ปริญญา​ตรี

• ภาค​ปกติ มี​กำ�หนด​ระยะ​เวลา​การ​ศึกษา​ไม่​น้อย​กว่า​สาม​ปี​ การ​ศึกษา​และ​อย่าง​มาก​ไม่​เกิน​แปด​ปี​การ​ศึกษา และ​ต้อง​เรียน​ให้​ได้​ หน่วยกิตค​ รบ​ตาม​หลักสูตร​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด • ภาค​พเิ ศษ มีก​ ำ�หนด​ระยะ​เวลา​การ​ศกึ ษา​ไม่น​ อ้ ย​กว่าส​ าม​ป​ี การ​ศกึ ษา​และ​อย่าง​มาก​ไม่เ​กินส​ บิ ส​ อง​ปก​ี าร​ศกึ ษา​ และ​ตอ้ ง​เรียน​ให้ไ​ด้​ หน่วยกิตค​ รบ​ตาม​หลักสูตร​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด

กำ�หนด​ระยะ​เวลา​ใน​การ​ศึกษา​ของ​นัก​ศึกษา​หลักสูตร​ ปริญญา​ตรี​ต่อ​เนื่อง

• ภาค​ปกติ มี​กำ�หนด​ระยะ​เวลา​การ​ศึกษา​ไม่​น้อย​กว่า​สอง​ ปี​การ​ศึกษา​และ​อย่าง​มาก​ไม่​เกิน​สี่​ปี​การ​ศึกษา​ และ​ต้อง​เรียน​ให้​ได้​ หน่วยกิต​ครบ​ตาม​หลักสูตร​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด • ภาค​พิเศษ มี​กำ�หนด​ระยะ​เวลา​การ​ศึกษา​ไม่​น้อย​กว่า​สอง​ ปี​การ​ศึกษา​และ​อย่าง​มาก​ไม่​เกิน​หก​ปี​การ​ศึกษา และ​ต้อง​เรียน​ให้​ได้​ หน่วยกิต​ครบ​ตาม​หลักสูตร​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด อนึ่ง ใน​กรณี​ที่​มี​เหตุผล​จำ�เป็น​นัก​ศึกษา​สามารถ​ยื่น​คำ�ร้อง​ ขอ​อนุมัติ​ขยาย​ระยะ​เวลา​การ​ศึกษา ​โดย​ผ่าน​การ​พิจารณา​จาก​คณบดี​ คณะที่​นัก​ศึกษา​สังกัด​และ​รอง​อธิการบดี​ฝ่าย​วิชา​การ​เห็น​สมควร นัก​ศึกษา​ทุก​หลักสูตร​สามารถ​ขอ​อนุมัติ​ขยาย​ระยะ​เวลา​การ​ศึกษา​ต่อ​ สภา​มหาวิทยาลัย​ได้​อีก​หนึ่ง​ปี​การ​ศึกษา หาก​นัก​ศึกษา​ยัง​ไม่​สำ�เร็จ​ การ​ศึกษา​ใน​ระยะ​เวลา​ดัง​กล่าว​ด้วย​เหตุ​จำ�เป็น​อัน​สมควร​อย่าง​ยิ่ง อธิการ​บดีอ​ าจ​พจิ​ ารณา​นำ�​เสนอ​สภา​มหาวิทยาลัย​เพื่อ​ขอ​อนุมัต​ขิ ยาย​ ระยะ​ะ​เวลา​การ​ศึกษา​ต่อ​ไป​ได้​อีก ทั้งนี้​ให้​อยู่​ใน​ดุลย​พินิจ​ของ​สภา​ มหาวิทยาลัย

การ​ขึ้น​ทะเบียน​นัก​ศึกษา

ผู้​ที่​ได้​รับ​การ​คัด​เลือก​เข้า​เป็น​นัก​ศึกษา​ต้อง​ขึ้น​ทะเบียน​นัก​ ศึกษา​ดว้ ย​ตนเอง​ตาม​วนั เวลา และ​สถาน​ทท​ี่ ม​ี่ หาวิทยาลัยก​ ำ�หนด​และ​ จะ​มี​สถานภาพ​เป็น​นัก​ศึกษา​ต่อ​เมื่อ​ได้​ขึ้น​ทะเบียน​นัก​ศึกษา​แล้ว โดย​ ต้อง​นำ�​หลัก​ฐาน​ต่าง ๆ ที่​กำ�หนด​ไว้​ไป​รายงาน​ตัว​ต่อ​ฝ่าย​รับ​สมัคร​นัก​ ศึกษา สำ�หรับภ​ าค​การ​ศกึ ษา​แรก​ทเ​ี่ ข้าเ​ป็นน​ กั ศ​ กึ ษา​จะ​ตอ้ ง​ลง​ทะเบียน​ เรียน​วิชา​ต่าง ๆ พร้อม​กับ​การ​ขึ้น​ทะเบียน​นัก​ศึกษา กรณี​ที่​ไม่อ​ าจ​ขึ้น​ ทะเบียน​นัก​ศึกษา​ตาม​วัน​เวลา​ที่​กำ�หนด จะ​ต้อง​แจ้ง​เหตุ​ขัดข้อง​ให้​ ฝ่าย​รบั ส​ มัคร​นกั ​ศกึ ษา​ทราบ​ลว่ ง​หน้า​เป็น​ลาย​ลกั ษณ์​อกั ษร​กอ่ น​วนั ข​ นึ้ ​ ทะเบียน​นัก​ศึกษา​ มิ​ฉะนั้น​จะ​ถือว่า​สละ​สิทธิ์ หลักสูตรปริญญาตรี 593


การ​ลง​ทะเบียน​เรียน

มหาวิทยาลัย​จะ​จัด​ให้​มี​การ​ลง​ทะเบียน​เรียน​วิชา​ต่างๆ ใน​ แต่ละ​ภาค​การ​ศึกษา​ให้​เสร็จ​สิ้น​ก่อน​วัน​เปิด​ภาค​การ​ศึกษา​นั้นๆ ใน​ กรณี​มี​เหตุ​อัน​สมควร มหาวิทยาลัย​อาจ​ประกาศ​ปิด​วิชา​ใด​วิชา​หนึ่ง​ หรือ​จำ�กัด​จำ�นวน​นกั ​ศกึ ษา​ทล​ี่ ง​ทะเบียน​เรียน​วชิ า​ใด​วชิ า​หนึง่ ก​ ็ได้ การ​ ประกาศ​ปิด​วิชา​บาง​วิชา​ที่​มี​นัก​ศึกษา​ลง​ทะเบียน​เรียนไป​แล้ว​จะ​ต้อง​ กระทำ�​ภายใน​เจ็ดว​ ันแ​ รก​ของ​ภาค​การ​ศึกษา​ปกติห​ รือส​ าม​วันแ​ รก​ของ​ ภาค​การ​ศึกษา​ฤดู​ร้อน

จำ�นวน​หน่วยกิตท​ ี่​นักศ​ ึกษา​จะ​ลง​ทะเบียน​เรียน​ให้ก​ ระทำ�ตาม​ เกณฑ์​ต่อ​ไป​นี้ • หลั ก สู ต ร​ป ริ ญ ญา​ต รี ​ภาค​ป กติ ภาค​การ​ศึกษา​ปกติ นัก​ ศึกษา​ต้อง​ลง​ทะเบียน​เรียน​ไม่​ต�่ำ​กว่าสิบ​สอง​หน่วยกิต​และ​ไม่​เกิน​ยี่สิบ​ สอง​หน่วยกิต นัก​ศึกษา​รอ​พินจิ ต​ อ้ ง​ลง​ทะเบียน​เรียน​ไม่​ต�่ำ​กว่าส​ ิบ​สอง​ หน่วยกิตแ​ ละ​ไม่เ​กิน​สิบ​หก​หน่วยกิต ส�ำหรับ​ภาค​การ​ศึกษา​ฤดู​ร้อน​ลง​ ทะเบียน​เรียน​ได้​ไม่​เกินเ​ก้าหน่วยกิต • หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​ภาค​พิเศษ ภาค​การ​ศึกษา​ปกติ นัก​ ศึกษา​ต้อง​ลง​ทะเบียน​เรียน​ไม่​ต�่ำ​กว่า​เก้า​หน่วยกิต​และ​ไม่​เกิน​สิบ​แปด​ หน่วยกิต นัก​ศกึ ษา​รอ​พนิ จิ ​ตอ้ ง​ลง​ทะเบียน​เรียน​ไม่​ตำ​ �่ กว่าเ​ก้า​หน่วยกิต​ และ​ไม่เ​กินส​ บิ ​สาม​หน่วยกิต ส�ำหรับ​ภาค​การ​ศกึ ษา​ฤดูร​ อ้ น​ลง​ทะเบียน​ เรียน​ได้​ไม่​เกินเ​ก้าหน่วยกิต • หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​ต่อ​เนื่อง​ภาค​ปกติ ภาค​การ​ศึกษา​ปกติ นัก​ศึกษา​ต้อง​ลง​ทะเบียน​เรียน​ไม่​ต�่ำ​กว่า​สิบ​สอง​หน่วยกิต​และ​ไม่​เกิน​ ยี่สิบ​สอง​หน่วยกิต หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​ต่อ​เนื่อง​ภาค​พิเศษ ภาค​การ​ ศึกษา​ปกติ​ของ​ปี​การ​ศึกษา นัก​ศึกษา​ต้อง​ลง​ทะเบียน​เรียน​ไม่​ต�่ำ​กว่า​ เก้า​หน่วยกิต​และ​ไม่​เกิน​สิบ​แปด​หน่วยกิต ส�ำหรับ​ภาค​การ​ศึกษา​ฤดู​ ร้อน​ลง​ทะเบียน​เรียน​ได้​ไม่​เกิน​เก้า​หน่วยกิต • นัก​ศึกษา​ทุก​หลักสูตร​อาจ​ลง​ทะเบียน​เรียน​ตำ�่ หรือสูง​กว่า​ หน่วยกิต​ที่​ก�ำหนด​ไว้​ได้ ในกรณี​ที่​มีเหตุจ�ำเป็นอันสมควรหรือการ​ลง​ ทะเบียน​เรียน​เป็น​ภาค​การ​ศึกษา​สุดท้าย​ที่​คาด​ว่า​จะ​ส�ำเร็จ​การ​ศึกษา​ 594 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

โดย​ได้​รับ​อนุมัติจาก​คณบดี​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด สำ�หรับน​ กั ศ​ กึ ษา​ทเ​ี่ ข้าศ​ กึ ษา​ใน​ปก​ี าร​ศกึ ษา​แรก ให้ล​ ง​ทะเบียน​ เรียน​ตาม​จำ�นวน​หน่วยกิตท​ ม​ี่ หาวิทยาลัยก​ ำ�หนด​เฉพาะ​ภาค​การ​ศกึ ษา​ แรก โดย​ไม่มก​ี าร​ลด​วชิ า​หรือเ​พิม่ ว​ ชิ า​เรียน​ยกเว้นก​ าร​ขอ​เพิกถ​ อน​วชิ า การ​ลง​ทะเบียน​เรียน​แต่ละ​วิชา​ใน​แต่ละ​ภาค​การ​ศึกษา​จะ​ต้อง​ ไม่มเ​ี วลา​เรียน​และ​เวลา​สอบ​ตรง​กนั ย​ กเว้นไ​ด้ร​บั อ​ นุมตั จ​ิ าก​คณบดีค​ ณะ​ ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด​อยู่ และ​การ​ลง​ทะเบียน​เรียน​วิชา​ต่างๆ นัก​ศึกษา​จะ​ ต้อง​ลง​ทะเบียน​เรียน​วชิ า​พนื้ ค​ วาม​รู้ (Prerequisite) ก่อน ซึง่ ไ​ด้ก​ ำ�หนด​ ไว้​ใน​หลักสูตร นัก​ศึกษา​ต้อง​ลง​ทะเบียน​เรียน​ล่วง​หน้า (Preregistration) ตาม​วัน เวลา สถาน​ที่​พร้อม​ทั้ง​ชำ�ระ​ค่า​หน่วยกิต และ​ค่า​ธรรมเนียม​ ต่าง ๆ ตาม​ที่​กำ�หนด กรณี​ที่​นัก​ศึกษา​ไม่ไ​ด้​ลง​ทะเบียน​เรียน​ล่วง​หน้า​ ไว้ สามารถ​ขอ​อนุมัติ​ลง​ทะเบียน​เรียน​ล่าช้า​จาก​ผู้​อำ�นวย​การ​สำ�นัก​ ทะเบียน​นกั ศ​ กึ ษา​ได้ ภายใน​สปั ดาห์แ​ รก​นบั จ​ าก​วนั เ​ปิดภ​ าค​การ​ศกึ ษา​ ทุก​ภาค​การ​ศึกษา สำ�หรับ​ใน​กรณี​ที่​นัก​ศึกษา​ไม่ไ​ด้​ลง​ทะเบียน​เรียน​ใน​ ภาค​การ​ศึกษา​ใด (ยกเว้นภ​ าค​การ​ศึกษา​ฤดูร​ ้อน​ของ​หลักสูตร​ปริญญา​ ตรีภ​ าค​ปกติ) จะ​ตอ้ ง​ยนื่ ค​ ำ�ร้อง​ขอ​ลา​พกั ก​ าร​ศกึ ษา​เพือ่ ร​กั ษา​สถานภาพ​ นัก​ศึกษา​ต่อ​สำ�นัก​ทะเบียน​นัก​ศึกษา พร้อม​ทั้ง​ชำ�ระ​ค่า​ธรรมเนียม​ ภายใน​สามสิบว​ นั น​ บั จ​ าก​วนั เ​ปิดภ​ าค​การ​ศกึ ษา​จนกว่าจ​ ะ​พน้ ส​ ถานภาพ​ นัก​ศึกษา มิ​ฉะนั้น​จะ​ถูก​จำ�หน่าย​ชื่อ​ออก​จาก​ทะเบียน​นัก​ศึกษา

การ​ลง​ทะเบียน​เรียน​วชิ า​เป็น​พเิ ศษ​โดย​ไม่​นบั ​หน่วยกิต​รวม​ใน จำ�นวน​หน่วยกิต​ตาม​หลักสูตร (Audit) มี​หลัก​เกณฑ์​ ดัง​ต่อ​ไป​นี้

• ตอ้ ง​ได้ร​บั อ​ นุมตั จ​ิ าก​คณบดีค​ ณะ​ทน​ี่ กั ศ​ กึ ษา​สงั กัด และ​ชำ�ระ​ ค่า​หน่วยกิต​ตาม​ปกติ • ไม่​บังคับ​ให้​สอบ​และ​ไม่มี​ผล​การ​เรียน การ​บันทึก​รายวิชา​ ที่​ลง​ทะเบียน​เรียน​เป็น​พิเศษ​ใน​ช่อง​ผล​การ​เรียน​จะ​บัน​ทึก​สัญ​ลัก​ษณ์ “NC” เฉพาะ​ผู้​ที่​มเี​วลา​เรียน​ไม่น​ ้อย​กว่า​ร้อย​ละ​แปด​สิบ​ของ​เวลา​เรียน​ ทั้งหมด​ของ​วิชา​นั้น


• มหาวิทยาลัย​อาจ​อนุมัติ ​ให้​บุคคล​ภายนอก​ลง​ทะเบียน​ เรียน​วิชา​เป็น​พิเศษ​โดย​ไม่​นับ​หน่วยกิต​ได้​ เมื่อ​ได้​รับ​อนุมัติ​จาก​คณะ​ กรรมการ​พิจารณา​รับ​สมัคร​เข้า​เป็นน​ ัก​ศึกษา​พิเศษ การ​ลง​ทะเบียน​เรียน​เพือ่ ป​ รับค​ ะแนน​เฉลีย่ ส​ ะสม ให้น​ กั ศ​ กึ ษา​ ทุก​หลักสูตร​ที่​ลง​ทะเบียน​เรียน​วิชา​และ​สอบ​ได้​ตั้ง​แต่​สิบ​สอง​หน่วยกิต​ ขึ้น​ไป สามารถ​ลง​ทะเบียน​เรียน​วิชา​ที่​เคย​สอบ​ได้​ลำ�ดับ​ขั้น D หรือ D+ หรือ​วิชา​ใหม่ ทั้ง​ใน​หรือ​นอก​หลักสูตร​ของ​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด​ เพื่อ​ปรับ​คะแนน​เฉลี่ย​สะสม​ได้ ทัง้ นีก​้ าร​ลง​ทะเบียน​เรียน​เพือ่ ป​ รับค​ ะแนน​เฉลีย่ ส​ ะสม สำ�หรับ​ วิชา​ที่​ไม่ผ​ ่าน​วิชา​บังคับ​ก่อน​หรือ​พื้น​ความ​รู้ (Prerequisite) จะ​ต้อง​ได้​ รับ​อนุมัติ​จาก​คณบดี​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด และ​ต้อง​นำ�​ทุก​วิชา​ที่​ลง​ ทะเบียน​เรียน​ไป​รวม​ใน​การ​คำ�นวณ​คะแนน​เฉลี่ยส​ ะสม การ​ลง​ทะเบียน​เรียน​ข้าม​ภาค • ต้อง​เป็น​นัก​ศึกษา​ที่​ยัง​ไม่​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา​เมื่อ​พ้น​ภาค​การ​ ศึกษา​สุดท้าย​ที่​ควร​จะ​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา​ตาม​หลักสูตร​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​ สังกัด​ หรือ​เป็น​นัก​ศึกษา​ที่​ลง​ทะเบียน​เรียน​ใน​ภาค​การ​ศึกษา​นั้น​เป็น​ ภาค​การ​ศึกษา​สุดท้าย​ที่​จะ​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา​ตาม​หลักสูตร​คณะ​ที่​นัก​ ศึกษา​สังกัด ​หรือเ​ป็น​นัก​ศึกษา​ที่​ลง​ทะเบียน​เรียน​วิชา​ที่​มี​วิชา​ต่อ​เนื่อง​ ที่​ต้อง​เรียน​ใน​ภาค​การ​ศึกษา​ถัดไ​ป • จะ​ลง​ทะเบียน​เรียน​วชิ า​เดียวกันท​ งั้ ภ​ าค​ปกติแ​ ละ​ภาค​พเิ ศษ​ ไม่​ได้ ใน​กรณี​ทวี่​ ิชา​นั้นเ​ปิดส​ อน​พร้อม​กัน​ทั้ง​ภาค​ปกติแ​ ละ​ภาค​พิเศษ • กรณีท​ เ​ี่ ปิดส​ อน​วชิ า​เดียวกันท​ งั้ ภ​ าค​ปกติแ​ ละ​ภาค​พเิ ศษ นัก​ ศึกษา​ตอ้ ง​เลือก​ลง​ทะเบียน​เรียน​วชิ า​ทเ​ี่ ปิดส​ อน​ใน​ภาค​ทน​ี่ กั ศ​ กึ ษา​สงั กัด​ อยู่ เว้นแ​ ต่ม​ เ​ี หตุจ​ ำ�เป็นอ​ นั ส​ มควร​ให้อ​ ยู่ใ​น​ดลุ ย​พนิ จิ ข​ อง​คณบดีค​ ณะ​ท​ี่ นัก​ศึกษา​สังกัด • จำ�นวน​หน่วยกิตท​ น​ี่ กั ศ​ กึ ษา​ลง​ทะเบียน​เรียน​ทกุ ว​ ชิ า​รวม​กนั ​ แล้ว​ต้อง​ไม่เ​กินจ​ ำ�นวน​หน่วยกิตสูงสุด​ที่​กำ�หนด​ไว้ • ลง​ทะเบียน​เรียน​ข้าม​ภาค​ได้​เฉพาะ​ใน​ช่วง​การ​ลง​ทะเบียน​ เรียน​เพิ่ม-ลด​วิชา​ของ​ทุก​ภาค​การ​ศึกษา

การ​ศึกษา​ข้าม​สถาบัน

นัก​ศึกษา​ข้าม​สถาบัน หมาย​ถึง นัก​ศึกษา​มหาวิทยาลัย​ กรุงเทพ​ที่​ลง​ทะเบียน​รายวิชา​เพื่อ​ศึกษา​กับ​สถาบัน​อุดมศึกษา​อื่น​ทั้ง​ ภายใน​และ​ภายนอก​ประเทศ หรือ​นัก​ศึกษา​จาก​สถาบัน​อุดมศึกษา​อื่น​ ทีล​่ ง​ทะเบียน​รายวิชา​เพือ่ ศ​ กึ ษา​กบั ม​ หาวิทยาลัยก​ รุงเทพ โดย​ขอรับผ​ ล​ การ​ศึกษา​เพื่อ​โอน​หน่วยกิต เงื่อนไข​ของ​ผู้​มี​สิทธิ์​ลง​ทะเบียน​รายวิชา​เพื่อ​ศึกษา​กับ​มหาวิทยาลัย​ กรุงเทพ • เป็น​ผู้​ที่​กำ�ลัง​ศึกษา​อยู่ ​ใน​สถาบัน​ระดับ​อุดมศึกษา​อื่น​ทั้ง​ ภายใน​และ​ภายนอก​ประเทศ • นักศ​ กึ ษา​ตอ้ ง​ยนื่ ค​ ำ�ร้อง​ตอ่ ส​ ำ�นักท​ ะเบียน​นกั ศ​ กึ ษา​กอ่ น​เปิด​ ภาค​การ​ศกึ ษา​ไม่น​ อ้ ย​กว่าส​ อง​สปั ดาห์ เพือ่ ข​ อ​อนุมตั จ​ิ าก​รอง​อธิการบดี​ ฝ่าย​วิชา​การ • นักศ​ กึ ษา​ที่ไ​ด้ร​ บั อ​ นุมตั ิใ​ห้ล​ ง​ทะเบียน​ตอ้ ง​ชำ�ระ​คา่ ห​ น่วยกิต​ และ​คา่ ​ธรรมเนียม​ตาม​ขอ้ ​บงั คับ​ของ​มหาวิทยาลัยก​ รุงเทพ​ทกุ ​ประการ การ​ลง​ทะเบียน​รายวิชา​เพื่อ​ศึกษา​กับส​ ถาบัน​อุดมศึกษา​อื่น นั ก ​ศึ ก ษา​ม หาวิ ท ยาลั ย ​กรุ ง เทพ​ที่ ​มี ​ค วาม​ป ระสงค์ ​จ ะ​ล ง​ ทะเบียน​รายวิชา​เพื่อ​ศึกษา​กับ​สถาบัน​อุดมศึกษา​อื่น​ต้อง​มี​คุณสมบัติ​ ดังนี้ • เป็น​นัก​ศึกษา​ที่​ลง​ทะเบียน​ใน​ภาค​การ​ศึกษา​นั้น​เป็น​ภาค​ สุดท้าย​ที่​จะ​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา และ​มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ​มิได้​เปิด​สอน​ วิชา​นั้น​ทั้ง​ภาค​ปกติ​และ​ภาค​พิเศษ หรือ​เป็น​นัก​ศึกษา​โครงการ​แลก​ เปลี่ยน​ที่​ต้อง​เดิน​ทาง​ไป​ศึกษา​ใน​มหาวิทยาลัย​ต่าง​ประเทศ ทำ�ให้​การ​ เรียน​ไม่​เป็น​ไป​ตาม​เวลา​ใน​หลักสูตร • สถาบัน​อุดมศึกษา​นั้น​ต้อง​เป็น​สถาบัน​อุดมศึกษา​ที่​มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ​ให้​ความ​เห็น​ชอบ​และ​รับรอง​ระบบ​การ​วัดผล • นักศ​ กึ ษา​ทป​ี่ ระสงค์จ​ ะ​ใช้ส​ ทิ ธิด​์ งั ก​ ล่าว​ตอ้ ง​ยนื่ ค​ ำ�ร้อง​ทส​ี่ ำ�นัก​ ทะเบียน​นกั ศ​ กึ ษา​กอ่ น​เปิดภ​ าค​การ​ศกึ ษา​ไม่น​ อ้ ย​กว่าส​ อง​สปั ดาห์ เพือ่ ​ ขอ​อนุมัติ​จาก​รอง​อธิการบดี​ฝ่าย​วิชา​การ หลักสูตรปริญญาตรี 595


• นักศ​ กึ ษา​ทไี่​ด้ร​บั อ​ นุมตั ใิ​ห้ล​ ง​ทะเบียน​เพือ่ ศ​ กึ ษา​ขา้ ม​สถาบัน​ ต้อง​ปฏิบตั ต​ิ าม​ขอ้ บ​ งั คับว​ า่ ด​ ว้ ย​การ​ลง​ทะเบียน​ของ​สถาบันท​ น​ี่ กั ศ​ กึ ษา​ ไป​ลง​ทะเบียน​เรียน • เป็น​หน้าที่​ของ​นัก​ศึกษา​ที่​จะ​ต้อง​ติดตาม​ให้​สถาบัน​ที่​นัก​ ศึกษา​ไป​ลง​ทะเบียน ส่ง​ผล​การ​ศึกษา​โดยตรง​มา​ที่​รอง​อธิการบดี​ฝ่าย​ วิชา​การ ​มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ เพื่อ​ดำ�เนินก​ าร​โอน​หน่วยกิต​ตาม​ขั้น​ ตอน​ต่อ​ไป

การ​เทียบ​วิชา​และ​โอน​หน่วยกิต

นั ก ​ศึ ก ษา​ทุ ก ​ห ลั ก สู ต ร​ส ามารถ​เที ย บ​วิ ช า​เรี ย น​แ ละ​โ อน​ หน่วยกิตจ​ าก​การ​ศึกษา​ใน​ระบบ​ การ​ศึกษานอก​ระบบ และ​การ​ศึกษา​ ตาม​อธั ยาศัย เพือ่ ใ​ห้น​ กั ศ​ กึ ษา​ทกุ ค​ น​สามารถ​เทียบ​โอน​ผล​การ​เรียน​ได้ โดย​เฉพาะ​การ​ศึกษา​ใน​ระบบ​จะ​เป็นการ​เทียบ​วิชา​และ​โอน​หน่วยกิต​ ของ​นัก​ศึกษา​จาก​สถาบัน​อุดมศึกษา​ที่​ประสงค์​จะ​เข้า​ศึกษา​ต่อ​ใน​ มหาวิทยาลัย​แบ่ง​ออก​เป็น​สอง​ประเภท คือ การ​เทียบ​โอน​หน่วยกิต​ มา​ศกึ ษา​ตอ่ แ​ ละ​การ​ขอ​ศกึ ษา​ปริญญา​ทส​ี่ อง ส่วน​การ​ศกึ ษา​นอก​ระบบ​ และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย​เป็นการ​โอน​ความ​รู้​และ​ให้​หน่วยกิต​เข้า​สู่​ การ​ศึกษา​ใน​ระบบ

การ​ศึกษา​ใน​ระบบ

คุณสมบัติ​ของ​นัก​ศึกษา​ที่​ขอ​เทียบ​โอน​หน่วยกิต​มา​ศึกษา​ต่อต้อง​เป็น​ ไป​ตาม​หลักเ​กณฑ์ต​ ่อ​ไป​นี้ • เป็นผ​ ู้​มี​ความ​ประพฤติ​ดี • เป็ น ​ห รื อ ​เคย​เป็ น ​นั ก ​ศึ ก ษา​ใ น​ส ถาบั น ​อุ ด มศึ ก ษา ซึ่ ง​ สำ�นักงาน​คณะ​กรรมการ​การ​อุดมศึกษา​ให้การ​รับรอง การ​เทียบ​โอ​นหน่วยกิต​ให้​ใช้​เกณฑ์​ดังนี้ • หัวหน้าภ​ าค​วิชา​ที่​นักศ​ ึกษา​ขอ​เทียบ​โอน​เข้า​มา​ศึกษา​ต่อ​จะ​ เป็นผ​ พ​ู้ จิ ารณา​ราย​ละเอียด​วชิ า​และ​ทดสอบ​เพือ่ เ​ทียบ​โอน​หน่วยกิตโ​ดย​ ความ​เห็นช​ อบ​ของ​คณบดีคณะที่นักศึกษาสังกัด 596 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

• วิชา​ที่​ขอ​เทียบ​โอน​หน่วยกิต​ได้​นั้น จะ​ต้อง​เป็น​วิชา​ที่​มี​เนื้อ หา​วิชา​เทียบ​เคียง​กัน​ได้​หรือ​มี​เนื้อหา​สาระ​ครอบคลุม​ไม่​น้อย​กว่า​สาม​ ใน​สี่​ของ​วิชา​ที่​ขอ​เทียบ​โอน • การ​เทียบ​โอน​หน่วยกิต​เป็น​รายวิชา​หรือ​กลุ่ม​รายวิชา​ใน​ หลักสูตร​ปริญญา​ตรี จะ​ต้อง​สอบ​ได้​ไม่​ตำ​ �่ กว่า​ระดับ​คะแนน​ตัว​อักษร C หรือ​แต้ม​ระดับ​คะแนน 2.00 หรือ​เทียบ​เท่า หรือ​ได้​ระดับ​คะแนน​ ตัว​อักษร S • จำ�นวน​หน่วยกิตท​ ม​ี่ หาวิทยาลัยจ​ ะ​พจิ ารณา​รบั โ​อน​ได้ไ​ม่เ​กิน​ เก้า​สิบ​หน่วยกิต นัก​ศึกษา​ที่​ขอ​เทียบ​โอน​จะ​ต้อง​ใช้​เวลา​ศึกษา​ใน​มหาวิทยาลัย​ อีก​เป็น​ระยะ​เวลา​ไม่​น้อย​กว่า​หนึ่ง​ปี​การ​ศึกษา​จึง​จะ​มี​สิทธิ์​สำ�เร็จ​การ​ ศึกษา การ​คำ�นวณ​คะแนน​เฉลี่ย​สะสม​เพื่อ​การ​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา​และ​ ได้ร​บั ป​ ริญญา​ของ​มหาวิทยาลัยจ​ ะ​คำ�นวณ​คะแนน​เฉลีย่ ส​ ะสม​เฉพาะ​ผล​ การ​ศกึ ษา​ของ​วชิ า​ทศ​ี่ กึ ษา​ใน​มหาวิทยาลัยห​ ลังร​ บั โ​อน​หน่วยกิตเ​ท่านัน้ เอกสาร​ที่​ต้อง​นำ�​มา​แสดง • ใบ​รายงาน​ผล​การ​ศึกษา (Transcript) ที่​สถาบัน​อุดมศึกษา​ เดิม​ออก​ให้​เป็น​ทางการ • ราย​ละเอียด​ประจำ�​วชิ า (Course Description) ของ​สถาบัน​ อุดมศึกษา​เดิม • หนังสือร​ ับรอง​ความ​ประพฤติจ​ าก​อาจารย์​ใน​สถาบันอ​ ุดมศึกษา​เดิม ผู้​ที่​ประสงค์​จะ​ขอ​เทียบ​โอน​หน่วยกิต​มา​ศึกษา​ต่อ จะ​ต้อง​ ติดต่อ​แสดง​ความ​จำ�นง​กับ​ฝ่าย​รับ​สมัครนัก​ศึกษา​ล่วง​หน้า​เป็น​เวลา​ ไม่​น้อย​กว่า​หนึ่ง​เดือน ก่อน​เปิด​ภาค​การ​ศึกษา​ที่​ขอ​เทียบ​โอน


การ​ขอ​ศึกษา​ปริญญา​ที่​สอง ต้อง​เป็น​ไป​ตาม​หลัก​เกณฑ์​ต่อ​ไป​นี้ คุณสมบัติ​ของ​ผู้​ขอ​ศึกษา​ปริญญา​ที่​สอง • เป็นผ​ ส​ู้ ำ�เร็จก​ าร​ศกึ ษา​ขนั้ ป​ ริญญา​ตรีจ​ าก​สถาบันอ​ ดุ มศึกษา​ ที่​สำ�นักงาน​คณะ​กรรมการ​การ​อุดมศึกษา​รับรอง • เป็น​ผู้​ไม่มี​โรค​ติดต่อร​ ้าย​แรง​ โรค​สังคม​รังเกียจ และ​โรค​ที่​ จะ​เบียดเบียน​หรือข​ ัด​ขวาง​การ​ศึกษา • เป็น​ผู้​มี​ความ​ประพฤติด​ ี • การ​ขอ​ศกึ ษา​ปริญญา​ทส​ี่ อง​ตอ้ ง​เป็นส​ าขา​วชิ า​หรือป​ ริญญา​ ที่​มีชื่อ​ไม่​เหมือน​กับ​สาขา​วิชา​หรือปริญญา​เดิม​ที่​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา​มา​ แล้ว ชื่อ​สาขา​วิชา​หรือ​ปริญญา​ใช้​การ​แยก​คณะ​วิชา​ของ​มหาวิทยาลัย​ เป็น​เกณฑ์ • ได้ร​บั ย​ กเว้นก​ าร​เรียน​รายวิชา​ใน​หมวด​วชิ า​ศกึ ษา​ทวั่ ไป​ของ​ หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​ที่​ขอ​ศึกษา​ปริญญา​ที่​สอง ใน​กรณี​ทคี่​ ณบดีคณะที่ นักศึกษาสังกัด​พิจารณา​แล้ว​เห็น​ว่า​ผู้​ขอ​ศึกษา​ปริญญา​ทสี่​ อง ยัง​ขาด​ ความ​รู้​ใน​หมวด​วิชา​ศึกษา​ทั่วไป ก็​อาจ​กำ�หนด​ให้​ศึกษา​เพิ่ม​เติม​วิชา​ เหล่า​นั้น​โดย​ให้​นับ​หน่วยกิตต​ ่าง​หาก • ต้อง​ลง​ทะเบียน​เรียน​วิชา​เพิ่ม​เติม​อีก​ไม่​น้อย​กว่า​สามสิบ​ หน่วยกิต • ต้อง​ลง​ทะเบียน​เรียน​กระบวน​วิชา​บังคับ​ของ​สาขา​วิชา​ให้​ ครบ​ตาม​หลักสูตร​คณะ​ทนี่​ ัก​ศึกษา​สังกัด​ได้​กำ�หนด​ไว้ • การ​พิจารณา​กระบวน​วิชา​ที่​เคย​ศึกษา​มา​แล้ว​ใน​ปริญญา​ เดิม​ให้​อยู่​ใน​ดุลย​พินิจ​ของ​คณบดีคณะที่นักศึกษาสังกัด​และ​เป็น​ไป​ ตาม​ประกาศ​สำ�นักงาน​คณะ​กรรมการ​การ​อดุ มศึกษา เรือ่ ง​หลักเ​กณฑ์​ การ​เทียบ​วชิ า​เรียน​และ​โอน​หน่วยกิตส​ ำ�หรับห​ ลักสูตร​ระดับท​ ี่ไ​ม่ส​ งู ก​ ว่า​ ปริญญา​ตรี เพื่อเ​ข้า​ศึกษา​ใน​สถาบัน​อุดมศึกษา​เอกชน พ.ศ. 2542 • กรณี​ที่​คณบดีคณะที่นักศึกษาสังกัดพิจารณา​เห็น​ว่า ผู้​ขอ​ ศึกษา​ปริญญา​ที่​สอง​ยัง​ขาด​พื้น​ความ​รู้​ใน​บาง​วิชา​ก็​อาจ​กำ�หนด​ให้​ ศึกษา​เพิ่มเ​ติม​วิชา​เหล่า​นั้น​ได้ • ระยะ​เวลา​ใน​การ​ศกึ ษา​ปริญญา​ทส​ี่ อง​ไม่เ​กินห​ า้ ป​ ก​ี าร​ศกึ ษา สำ�หรับ​การ​ศึกษา​ภาค​ปกติ หรือ​ไม่​เกิน​เจ็ด​ปี​การ​ศึกษา​สำ�หรับ​การ​ ศึกษา​ภาค​พิเศษ

• การ​กำ�หนด​แผนการ​ศึกษา​ของ​นักศ​ ึกษา​ปริญญา​ทสี่​ อง​นั้น​ คณบดี​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด​จะ​เป็น​ผู้​กำ�หนด​ขึ้น โดย​พิจารณา​จาก​ กระบวน​วิชา​ของ​ปริญญา​เดิม​เป็น​เกณฑ์ เอกสาร​ที่​ต้อง​นำ�​มา​แสดง​ใน​วัน​สมัคร • หนังสือ​สำ�คัญ​รับรอง​วุฒิ เช่น ปริญญา​บัตร​หรือ​ใบรับ​รอง​ การ​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา • ใบ​รายงาน​ผล​การ​ศกึ ษา (Transcript) ที​ส่ ถาบัน​อดุ มศึกษา​ เดิม​ออก​ให้​เป็น​ทางการ • ราย​ละเอียด​ประจำ�​วิชา (Course Description) ของ​คณะ​ วิชา​ที่​ได้​รับ​ปริญญา​มา​แล้ว​จาก​สถาบัน​อุดมศึกษา​เดิม การ​สมัคร​เข้า​ศึกษา​ปริญญา​ที่​สอง ผู้​ที่​ประสงค์​จะ​สมัคร​เข้า​ ศึกษา​ปริญญา​ที่​สอง​จะ​ต้อง​ติดต่อ​แสดง​ความ​จำ�นง​กับ​ฝ่าย​รับ​สมัคร​ นัก​ศึกษา​ล่วง​หน้า​เป็น​เวลา​ไม่​น้อย​กว่า​หนึ่ง​เดือน​ ก่อน​เปิด​ภาค​การ​ ศึกษา​ที่​ขอ​ศึกษา​ปริญญา​ที่​สอง การ​เรียน การ​วัดผล​และ​การ​ประเมิน​ผล​การ​ศึกษา​ของ​นัก​ ศึกษา​ที่​ขอ​เทียบ​โอน​และ​นัก​ศึกษา​ปริญญา​ที่​สอง​ให้​เป็น​ไป​ตาม​ข้อ​ บังคับ​นี้

การ​ศึกษา​นอก​ระบบ และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย

การ​เทียบ​วชิ า​เรียน​และ​โอน​หน่วยกิตจ​ าก​การ​ศกึ ษา​นอก​ระบบ​ และ/หรือ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย ต้อง​เป็น​ไป​ตาม​หลัก​เกณฑ์​ต่อ​ไป​นี้ • เป็นผ​ ท​ู้ ผ​ี่ า่ น​การ​คดั เ​ลือก​เข้าเ​ป็นน​ กั ศ​ กึ ษา​ของ​มหาวิทยาลัย​ แล้ว​สามารถ​เทียบ​ความ​รู้​เป็น​รายวิชา​หรือ​กลุ่ม​รายวิชา​ตาม​หลักสูตร​ ของ​คณะ​วิชา​ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด • การ​เทียบ​ประสบการณ์จ​ าก​การ​ทำ�งาน​ให้ค​ ำ�นึงถ​ งึ ค​ วาม​รท​ู้ ​ี่ ได้​จาก​ประสบการณ์​เป็น​หลัก • คณบดี​เป็น​ผู้​กำ�หนด​วิธี​การ​ประเมิน​วิชา​ใน​สังกัด​ของ​คณะ​ วิชา เพื่อ​การ​เทียบ​โอน​ความ​รู้​ใน​แต่ละ​รายวิชา​หรือ​กลุ่ม​รายวิชา​และ​ เกณฑ์​การ​ตัดสิน​ของ​การ​ประเมิน​ใน​แต่ละ​วิธี เพื่อเ​ทียบ​โอน​หน่วยกิต หลักสูตรปริญญาตรี 597


โดย​ความ​เห็น​ชอบ​ของ​รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ หรือผู้ที่รอง อธิการบดีฝ่ายวิชาการมอบหมาย • ผล​การ​ประเมิน​ต้อง​ได้​ไม่​ต�่ำ​กว่า​ระดับ​คะแนน​ตัว​อักษร C หรือ​แต้ม​ระดับ​คะแนน 2.00 หรือ​เทียบ​เท่า หรือ​ระดับ​คะแนน​ตัว​ อักษร S และ​การ​ค�ำนวณ​คะแนน​เฉลี่ย​สะสม​เพื่อ​การ​ส�ำเร็จ​การ​ศึกษา​ จะ​คำ� นวณ​เฉพาะ​ผล​การ​ศกึ ษา​และ​วชิ า​ท​ศี่ กึ ษา​ใน​มหาวิทยาลัยเ​ท่านัน้ • การ​บนั ทึกผ​ ล​การ​เรียน​ให้บ​ นั ทึกต​ าม​วธิ ก​ี าร​ประเมิน ได้แก่ - หน่วยกิตจ​ าก​การ​ทดสอบ​มาตรฐาน​ให้​บันทึก “CS” (Credits from Standardized Test) - หน่วยกิต​จาก​การ​ทดสอบ​ที่​ไม่ใช่ก​ าร​ทดสอบ​มาตรฐาน​ให้​ บันทึก “CE” (Credits from Exam) - หน่วยกิต​จาก​การ​ประเมิน​การ​ศึกษา/อบรม​ทจี่​ ัด​ขึ้น โดย​ หน่วย​งาน​อื่น​ที่​ไม่ใช่​สถาบัน​อุดมศึกษาให้บ​ ันทึก “CT” (Credits from Training) - หน่วยกิต​จาก​การ​เสนอ​แฟ้ม​สะสม​ผล​งาน​ให้​บันทึก “CP” (Credits from Portfolio) นัก​ศึกษา​ที่​ขอ​เทียบ​โอน​จะ​ต้อง​ใช้​เวลา​ศึกษา​ใน​มหาวิทยาลัย​ เป็น​ระยะ​เวลา​ไม่​น้อย​กว่า​หนึ่ง​ปี​การ​ศึกษา และ​มหาวิทยาลัย​จะ​รับ​ เทียบ​โอน​หน่วยกิต​ไม่​เกิน​สาม​ใน​สี่​ของ​จำ�นวน​หน่วยกิต​รวม​ของ​ หลักสูตร​ระดับ​ปริญญา​ตรี

การ​เทียบ​ชั้น​ปี​ของ​นัก​ศึกษา

การ​เทียบ​ชั้น​ปี​ของ​นัก​ศึกษา​ให้​เทียบ​จาก​จำ�นวน​หน่วยกิต​ที่​ สอบ​ได้​ตาม​อัตราส่วน​ของ​หน่วยกิตของ​หลักสูตร​นั้น นัก​ศึกษา​หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​ทั้ง​ภาค​ปกติ​และ​ภาค​พิเศษ • นัก​ศกึ ษา​ท​สี่ อบ​ได้​ตำ​ �่ กว่า​สามสิบ​สาม​หน่วยกิต​ให้​เทียบ​เท่า​ เป็น​นัก​ศึกษา​ชั้น​ปี​ที่​หนึ่ง • นัก​ศึกษา​ที่​สอบ​ได้​ตั้ง​แต่​สามสิบ​สาม​หน่วยกิต​ขึ้น​ไป​แต่​ต�่ำ​ กว่า​หก​สิบ​หก​หน่วยกิตใ​ห้​เทียบ​เท่าเ​ป็น​นัก​ศึกษา​ชั้น​ปี​ทสี่​ อง 598 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

• นัก​ศกึ ษา​ท​สี่ อบ​ได้​ตงั้ ​แต่​หก​สบิ ​หก​หน่วยกิต​ขนึ้ ​ไป​แต่​ตำ​ �่ กว่า​ เก้า​สิบ​เก้า​หน่วยกิต​ให้​เทียบ​เท่า​เป็น​นัก​ศึกษา​ชั้น​ปี​ที่​สาม • นักศ​ กึ ษา​ทส​ี่ อบ​ได้ต​ งั้ แ​ ต่เ​ก้าส​ บิ เ​ก้าห​ น่วยกิตข​ นึ้ ไ​ป​ให้เ​ทียบ​ เท่า​เป็น​นัก​ศึกษา​ชั้น​ปี​ที่​สี่ นัก​ศึกษา​หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​ต่อ​เนื่อง​ทั้ง​ภาค​ปกติ​และ​ภาค​พิเศษ • นัก​ศกึ ษา​ท​สี่ อบ​ได้​ตำ​ �่ กว่า​สามสิบ​สาม​หน่วยกิต​ให้​เทียบ​เท่า​ เป็น​นัก​ศึกษา​ชั้น​ปี​ที่​สาม • นัก​ศึกษา​ที่​สอบ​ได้​ตั้ง​แต่​สามสิบ​สาม​หน่วยกิต​ขึ้น​ไป​ให้​ เทียบ​เท่า​เป็น​นัก​ศึกษา​ชั้น​ปี​ที่​สี่

นัก​ศึกษา​พิเศษ

การ​สมัคร​เข้าเ​ป็น​นัก​ศึกษา​พิเศษ

ผูส​้ มัคร​เข้าเ​ป็นน​ กั ศ​ กึ ษา​พเิ ศษ ต้อง​แสดง​ความ​จำ�นง​ตอ่ ค​ ณะ​ กรรมการ​พิจารณา​รับ​สมัคร​เข้า​เป็น​นัก​ศึกษา​พิเศษ​ของ​มหาวิทยาลัย​ ล่วง​หน้า​เป็น​เวลา​ไม่​น้อย​กว่า​หนึ่ง​เดือน​ก่อน​เปิด​ภาค​การ​ศึกษา โดย​ ระบุ​วิชา​ที่​ขอ​เข้า​ศึกษา​พร้อม​เหตุผล​ใน​การ​ขอ​ศึกษา โดย​นัก​ศึกษา​ พิเศษ​จะ​ต้อง​ลง​ทะเบียน​เรียน​ตาม​รายวิชา​ที่​ได้​รับ​อนุมัติ​พร้อม​ทั้ง​ ชำ�ระ​ค่า​ลง​ทะเบียน​เรียน​และ​ค่า​ธรรมเนียม​ต่างๆ ตาม​ประกาศ​ของ​ มหาวิทยาลัย การ​ขอรับ​ผล​การ​เรียน​ให้​ใช้​ข้อ​บังคับ​มหาวิทยาลัย​เกี่ยว​กับ​ การ​ศึกษา​ขั้น​ปริญญา​ตรี ทั้งนี้ นัก​ศึกษา​พิเศษ​ไม่ก่อให้เกิดสิทธิท์​ ี่​จะ​ เปลีย่ น​สถานภาพ​เป็นน​ กั ศ​ กึ ษา​ปกติข​ อง​มหาวิทยาลัย ยกเว้นแ​ ต่จ​ ะ​ได้​ รับอ​ นุมัตจิ​ าก​คณะ​กรรมการ​พิจารณา​รับส​ มัคร​เข้าเ​ป็นน​ ักศ​ ึกษา​พิเศษ​ เป็น​ราย​กรณี


การ​ขอ​เพิ่ม​วิชา การ​ขอ​ลด​วิชา และ​การ​ขอ​เพิก​ถอน​วิชา

การ​ขอ​เพิ่มว​ ิชา (Adding) และ​การ​ขอ​ลด​วิชา (Dropping)

ให้​กระทำ�​ได้​ภายใน​สัปดาห์​แรก​นับ​จาก​วัน​เปิดภ​ าค​การ​ศึกษา ทุก​ภาค​การ​ศึกษา และ​การ​ขอ​เพิ่ม​วิชา การ​ขอ​ลด​วิชา​นั้น​จะ​ต้อง​ไม่​ ขัด​กับ​จำ�นวน​หน่วยกิต​ตาม​ที่​มหาวิทยาลัย​กำ�หนด สำ�หรับ​รายวิชา​ที่​ ขอ​ลด​นั้นจ​ ะ​ไม่​บันทึก​ใน​ใบ​รายงาน​ผล​การ​ศึกษา

การ​ขอ​เพิกถ​ อน​วิชา (Withdrawal)

• การ​ขอ​เพิก​ถอน​วิชา จะ​กระทำ�​ได้​เมื่อ​พ้น​สาม​สัปดาห์​นับ​ จาก​วนั ​สนิ้ ​สดุ ​การ​สอบ​กลาง​ภาค​การ​ศกึ ษา​ที่​หนึง่ ​หรือ​ภาค​การ​ศกึ ษา​ท​ี่ สอง หรือ​เมื่อพ​ ้น​สัปดาห์​แรก​นับจ​ าก​วัน​สิ้น​สุดก​ าร​สอบ​กลาง​ภาค​ของ​ ภาค​การ​ศึกษา​ฤดู​ร้อน​จนถึง​วัน​สุดท้าย​ของ​การ​เรียน​การ​สอน​ใน​ภาค การศึกษา​นั้นๆ รายวิชา​ทขี่​ อ​เพิก​ถอน​นั้นจะบันท​ ึก​สัญลักษณ์ W ใน​ ใบ​รายงาน​ผล​การ​ศึกษา • การ​ขอ​เพิก​ถอน​วิชา​กรณีพ​ ิเศษ เกิด​ขึ้น​ใน​กรณีท​ ี่​นัก​ศึกษา​ ขาด​สอบ​ปลาย​ภาค นัก​ศึกษา​สามารถ​ยื่น​คำ�ร้อง​ขอ​อนุมัติ​เพิก​ถอน​ กรณี​พิเศษ​จาก​ผู้​อำ�นวย​การ​สำ�นัก​ทะเบียน​นัก​ศึกษา​ได้​ภายใน​ห้า​วัน​ ทำ�การ​นับ​จาก​วัน​ทขี่​ าด​สอบ เนื่องจาก​สาเหตุด​ ัง​ต่อ​ไป​นี้ - เจ็บป​ ว่ ย​หนักแ​ ละ​นอนพักร​กั ษา​ตวั ใ​น​โรง​พยาบาล​อย่าง​นอ้ ย 1 วัน โดย​ต้อง​มี​ใบรับ​รอง​แพทย์ระบุ​ชัดเจน​ว่า​ไม่​สามารถ​สอบ​ได้ - ประสบ​อุบัติเหตุ​ทำ�ให้​ได้​รับ​บาด​เจ็บ หรือ​ต้อง​อยู่​ใน​ที่​เกิด​ เหตุ​เพื่อแ​ ก้ไข​ปัญหา - บิดา/มารดา/หรือ​ผู้​ปกครอง​เจ็บ​ป่วย​หนัก​หรือ​ประสบ-​ อุบัติเหตุ​ร้าย​แรง​ต้อง​นอน​รักษา​ตัว​ใน​โรง​พยาบาล​หรือ​เสีย​ชีวิต - เกิด​ภัย​พิบัติ​แก่ท​ รัพย์​สิน​ของ​นัก​ศึกษา​หรือ​ครอบครัว

ค่า​หน่วยกิต​ และ​การ​คืน​เงิน​ค่า​หน่วยกิต

ค่าห​ น่วยกิต ค่า​บำ�รุง​และ​ค่า​ธรรมเนียม​ต่างๆ ให้​เป็น​ไป​ตาม​ ประกาศ​ของ​มหาวิทยาลัย การ​คืน​เงิน​ค่า​หน่วยกิต • นักศ​ กึ ษา​มส​ี ทิ ธิข​์ อ​คา่ ห​ น่วยกิตค​ นื ไ​ด้เ​ต็มจ​ ำ�นวน​ใน​รายวิชา​ ทีม​่ หาวิทยาลัยป​ ระกาศ​ปดิ ว​ ชิ าและ​ผท​ู้ ม​ี่ หาวิทยาลัยป​ ระกาศ​ผล​สอบ​ให้​ ทราบ​ภาย​หลัง​การ​ลง​ทะเบียน​เรียน ใน​กรณี​ดัง​ต่อ​ไป​นี้ พ้น​สถานภาพ​นัก​ศึกษา เนื่องจาก​คะแนน​เฉลี่ย​สะสม​ไม่​ถึง​ เกณฑ์​ที่​มหาวิทยาลัย​กำ�หนด​และ​ยื่น​เรื่อง​ขอ​เงิน​คืน​ภายใน​สี่​สัปดาห์ หลัง​จาก​มหาวิทยาลัย​ประกาศ​ราย​ชื่อ​นัก​ศึกษา​ที่​พ้น​สถานภาพ​นัก​ ศึกษา สำ�เร็จ​การ​ศึกษา นัก​ศึกษา​ที่​ลง​ทะเบียน​เรียน​ภาค​การ​ศึกษา​ ถัด​ไป​ไว้ล​ ่วง​หน้า​แล้ว และ​เมื่อ​มหาวิทยาลัย​ประกาศ​ผล​สอบ​ภาค​การ​ ศึกษา​ทผ​ี่ า่ น​มา​ทำ�ให้ส​ ำ�เร็จก​ าร​ศกึ ษา มหาวิทยาลัยจะคืนค่าห​ น่วยกิต​ ให้ภ​ ายใน​สส​ี่ ปั ดาห์ห​ ลังจ​ าก​สภา​มหาวิทยาลัยอ​ นุมตั ิใ​ห้เ​ป็นผ​ ส​ู้ ำ�เร็จก​ าร​ ศึกษา • นักศ​ กึ ษา​ทข​ี่ อ​ลด​วชิ า​ภายใน​สปั ดาห์แ​ รก​นบั จ​ าก​วนั เ​ปิดภ​ าค​ การ​ศึกษา​ทุก​ภาค​การ​ศึกษา มี​สิทธิ์​ที่​จะ​ขอ​ค่า​หน่วยกิต​วิชา​นั้น​คืน​ได้​ ร้อย​ละ​สี่​สิบ • นัก​ศึกษา​ที่​ได้​รับ​อนุมัติ​ให้​ลา​พัก​การ​ศึกษา​ภายใน​สัปดาห์​ แรก​นับ​จาก​วัน​เปิด​ภาค​การ​ศึกษา​ทุก​ภาค​การ​ศึกษา มีส​ ิทธิ์​ที่​จะ​ขอ​ค่า​ หน่วยกิต​คืน​ทุก​รายวิชา​ที่​ลง​ทะเบียน​เรียน​ได้​ร้อย​ละ​สสี่​ ิบ

การ​วัดผล และ​การ​ประเมิน​ผล​การ​ศึกษา

การ​สอบ นักศ​ กึ ษา​ทกุ ค​ น​ตอ้ ง​เข้าส​ อบ​ทกุ ค​ รัง้ ท​ ม​ี่ ก​ี าร​สอบ​ทกุ ​ ประเภท ได้แก่ การ​สอบ​ย่อย การ​สอบ​กลาง​ภาค และ​การ​สอบ​ปลาย​ ภาค หาก​ไม่​เข้า​สอบ​ให้​ถือว่า​นัก​ศึกษา​ได้​คะแนน​ศูนย์​ใน​การ​สอบ​ครั้ง​ นั้น หลักสูตรปริญญาตรี 599


การ​คิด​คะแนน ใน​ภาค​การ​ศึกษา​หนึ่งๆ จะ​ต้อง​มี​การ​สอบ​ใน​ วิชา​ที่​เรียน​อย่าง​น้อย​สอง​ครั้ง​และ​การ​คิด​คะแนน​สอบ​โดย​ปกติ​ให้​คิด​ ตาม​หลัก​เกณฑ์ ดังนี้ • การ​สอบ​กลาง​ภาค​และ​คะแนน​ทำ�การ​ตา่ งๆ รวม​แล้วไ​ม่เ​กิน​ ร้อย​ละ​สี่​สิบ • การ​สอบ​ปลาย​ภาค คิดค​ ะแนน​อย่าง​ต�่ำ​ร้อย​ละ​หก​สิบ อนึ่ง หาก​อาจารย์​ผู้​สอน​เห็น​สมควร​ให้​คิด​คะแนน​แตก​ต่าง​ ไป​จาก​ข้อบ​ ังคับน​ ี้ ก็​ให้อ​ นุโลม​เป็นอ​ ย่าง​อื่นไ​ด้แ​ ต่ต​ ้อง​ให้ร​ ับอ​ นุมัตจิ​ าก ​ รอง​อธิการบดี​ฝ่าย​วิชา​การ ผล​การ​สอบ​แต่ละ​วิชา​จะ​จัด​ออก​เป็น​ลำ�ดับ​ขั้น​ซึ่ง​มี​หน่วย​ คะแนน​ประจำ�​ดังนี้ ลำ�ดับข​ ั้น ความ​หมาย แต้ม​ระดับ​คะแนน A ดี​เยี่ยม 4.00 B+ ดี​มาก 3.50 B ดี 3.00 C+ ค่อน​ข้าง​ดี 2.50 C พอใช้ 2.00 D+ ค่อน​ข้าง​อ่อน 1.50 D อ่อน 1.00 F ตก 0 การ​ให้ F จะ​กระทำ�​ได้​ดังต​ ่อ​ไป​นี้ - นัก​ศึกษา​เข้า​สอบ​แต่​สอบ​ตก - นัก​ศึกษา​ขาด​สอบ​โดย​มิได้​ดำ�เนิน​การ​ยื่น​คำ�ร้อง​ขอ​เพิก​ ถอน​ก่อน - นัก​ศึกษา​ทำ�​ผิด​ระเบียบ​การ​สอบ​และ​ได้​รับ​การ​ตัดสิน​ให้​ สอบ​ตก นอกจาก​ลำ�ดับ​ขั้น​ดัง​กล่าว​แล้ว ผล​การ​ศึกษา​ของ​วิชา​หนึ่งๆ อาจ​จะ​แสดง​ได้​ด้วย​สัญลักษณ์ดัง​ต่อไ​ป​นี้ 600 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

W (Withdrawal) หมายความ​ว่า การ​ขอ​เพิก​ถอน​วิชา​โดย​ได้​ รับ​อนุมัติ​หรือ​ถูก​มหาวิทยาลัย​เพิก​ถอน​วิชา​และ​ไม่​นับ​หน่วยกิต I (Incomplete) หมายความ​ว่า การ​วัดผล​ยัง​ไม่​สมบูรณ์ S (Satisfactory) หมายความ​ว่า การ​เรียน​เป็น​ที่​น่า​พอใจ นัก​ศึกษา​สอบ​ผ่าน​วิชา​นั้น U (Unsatisfactory) หมายความ​ว่า การ​เรียน​ไม่​เป็น​ที่​น่า​ พอใจ นัก​ศึกษา​จะ​ต้อง​ลง​ทะเบียน​เรียนซ�้ำ​เพื่อ​เปลี่ยน U เป็น S NC (No Credit) หมายความ​ว่า การ​ลง​ทะเบียน​เรียน​วิชา​นั้น​ เป็น​กรณี​พิเศษ​และ​ไม่น​ ับ​หน่วยกิต CS (Credits from Standardized Test) หมายความ​ว่า หน่วยกิต​จาก​การ​ทดสอบ​มาตรฐาน CE (Credits from Exam) หมายความ​ว่า หน่วยกิต​จาก​การ​ ทดสอบ​ที่​ไม่ใช่​การ​ทดสอบ​มาตรฐาน CT (Credits from Training) หมายความ​ว่า หน่วยกิต​จาก​ การ​ประเมินก​ าร​ศกึ ษา/อบรม​ทจ​ี่ ดั ข​ นึ้ โดย​หน่วย​งาน​อนื่ ท​ ี่ไ​ม่ใช่ส​ ถาบัน​ อุดมศึกษา CP (Credits from Portfolio) หมายความ​ว่า หน่วยกิต​จาก​ การ​เสนอ​แฟ้ม​สะสม​ผล​งาน สำ�หรับ​การ​ให้ W จะ​กระทำ�​ได้​เฉพาะ​วิชา​ที่​นัก​ศึกษา​ได้​ลง​ ทะเบียนเรียน​ไว้แ​ ล้ว โดย​จะ​ต้อง​เป็น​ไป​ตาม​หลัก​เกณฑ์​ดัง​ต่อ​ไป​นี้ - นัก​ศึกษา​ขอ​เพิก​ถอน​วิชา​นั้น​ตาม​เงื่อนไข​ที่​ระบุ​ไว้​ใน​เรื่อง​ การ​ขอ​เพิก​ถอน​วิชา - นัก​ศึกษา​ขอ​เพิก​ถอน​วิชา​ที่​ลง​ทะเบียน​เรียน​ทุก​วิชา​โดย​มี​ เหตุผล​อัน​สมควร​และ​ได้​รับ​อนุมัติ​จาก​คณบดี​คณะที่​นัก​ศึกษา​สังกัด - นัก​ศึกษา​ขอ​เพิก​ถอน​วิชา​นั้น​เนื่องจาก​ป่วย​ใน​วัน​ที่​มี​การ​ สอบ​โดย​มีใ​บรับร​ อง​แพทย์แ​ สดง​เป็นห​ ลักฐ​ าน​หรือม​ เ​ี หตุจ​ ำ�เป็นส​ ดุ วิสยั ​ ตาม​ที่​กำ�หนด​ไว้​ใน​ข้อ​บังคับ​เรื่อง​การ​ขอ​เพิก​ถอน​วิชา​กรณี​พิเศษ และ​ ยื่น​คำ�ร้อง​ภายใน​ห้า​วัน​ทำ�การ​นับ​จาก​วัน​ที่​ขาด​สอบ และ​ได้​รับ​อนุมัติ​ จาก​ผู้​อำ�นวย​การ​สำ�นัก​ทะเบียน​นัก​ศึกษา


- นัก​ศึก​ษาทำ�​ผิด​ระเบียบ​การ​สอบ​และ​มหาวิทยาลัย​มี​คำ�​สั่ง​ ให้​เพิกถ​ อน​วิชา - นัก​ศึกษา​ไม่มี​สิทธิ์​เข้า​สอบ เนื่องจาก​ได้​รับ​การ​ตัดสิน​ว่า​มี​ เวลา​เรียน​ไม่ถ​ ึง​ร้อย​ละ 80 ใน​วิชา​นั้น

ทีศ​่ กึ ษา​ทงั้ หมด นักศ​ กึ ษา​ทล​ี่ ง​ทะเบียน​เรียน​วชิ า​ใด​มาก​กว่าห​ นึง่ ค​ รัง้ ใ​ห้​ นับห​ น่วยกิตส​ ะสม​ได้เ​พียง​ครัง้ เ​ดียว​และ​ให้น​ ำ�​ผล​การ​ศกึ ษา​ครัง้ ส​ ดุ ท้าย​ มา​ใช้​ใน​การ​คำ�นวณ​คะแนน​เฉลี่ย​สะสม

การ​ให้ I จะ​กระทำ�​ได้​ดัง​ต่อ​ไป​นี้ - อาจารย์ผ​ ส​ู้ อน​เห็นส​ มควร​ให้ร​อ​ผล​การ​ศกึ ษา เพราะ​นกั ศ​ กึ ษา​ ทำ�งาน​ที่​เป็น​ส่วน​ประกอบ​ของ​วิชา​นั้น​ยัง​ไม่​สมบูรณ์ ทั้งนีต้​ ้อง​ได้​รับ​ อนุมัติ​จาก​คณบดี​ทเี่​กี่ยวข้อง - นัก​ศึกษา​ที่​ได้​รับ​สัญลักษณ์ I ใน​วิชา​ใด​จะ​ต้อง​รีบ​ติดต่อ​กับ​ ผูส​้ อน​ใน​วชิ า​นนั้ ห​ รือค​ ณบดีท​ เ​ี่ กีย่ วข้อง เพือ่ ห​ า​ทาง​ทำ�ให้ก​ าร​สอบ​มผ​ี ล​ สมบูรณ์ภ​ ายใน​สาม​สัปดาห์ นับต​ ั้ง​แต่​วัน​ประกาศ​ผล​การ​สอบ​ใน​วิชา​ นั้นๆ มิ​ฉะนั้น สัญลักษณ์ I จะ​เปลี่ยน​เป็น F โดย​อัตโนมัติ หาก​มิได้​รับ​ การ​อนุมตั เ​ิ ป็นล​ าย​ลกั ษณ์อ​ กั ษร​ให้ต​ อ่ เ​วลา​จาก​คณบดีค​ ณะ​ทเ​ี่ กีย่ วข้อง

นักศ​ กึ ษา​ตอ้ ง​เข้าเ​รียน​ทกุ ​ชวั่ โมง​การ​สอน หาก​ปว่ ย​หรือ​ม​ธี รุ ะ​ จ�ำเป็น สามารถ​ขาด​เรียน​ได้​แต่​ต้อง​ไม่​เกิน​ร้อย​ละ​ยี่สิบ​ของ​เวลา​เรียน​ ใน​วิชา​นั้น การ​ขาด​เรียน​ใน​กรณี​ที่​ป่วย​จะ​ต้อง​ยื่น​ใบลา​ต่อ​อาจารย์​ผู้​ สอน​วิชา​นั้น​ทันที​และ​มี​ใบรับ​รอง​แพทย์​ประกอบ​ด้วย หาก​เวลา​เรียน​ ของ​นกั ​ศกึ ษา​ไม่​ครบ​รอ้ ย​ละ​แปด​สบิ ​ใน​วชิ า​ใด​อาจ​ถกู ​ตดั ​สทิ ธิ​ส์ อบ​พร้อม​ กับ​บันทึก W และ​ต้อง​ลง​ทะเบียน​เรียน​วิชา​นั้น​ซ�้ำ

การ​ประเมินผ​ ล​การ​ศึกษา

• การ​ประเมิน​ผล​การ​ศึกษา ให้​กระทำ�​เมื่อ​สิ้น​ภาค​การ​ศึกษา​ แต่ละ​ภาค • การ​นับ​จำ�นวน​หน่วยกิต​สะสม​ของ​นัก​ศึกษา​เพื่อ​ให้​ครบ​ หลักสูตร​ให้​นับ​เฉพาะ​หน่วยกิตท​ สี่​ อบ​ได้​เท่านั้น • คะแนน​เฉลี่ย​ให้​แสดง​ผล​โดย​ใช้​จุดทศนิยม​สอง​ตำ�แหน่ง โดย​ปดั เศษ​ทงิ้ ไ​ป​ใน​ทกุ ก​ รณี ซึง่ ก​ าร​คำ�นวณ​คะแนน​เฉลีย่ ม​ ส​ี อง​ประเภท​ คือ คะแนน​เฉลี่ยป​ ระจำ�​ภาค (Grade Point Average) คำ�นวณ​ จาก​ผล​การ​ศึกษา​ของ​นัก​ศึกษา​ใน​ภาค​การ​ศึกษา​นั้น โดย​เอา​ผล​รวม​ ของ​ผล​คณ ู ข​ อง​หน่วยกิตก​ บั แ​ ต้มร​ ะดับค​ ะแนน​ของ​ทกุ ว​ ชิ า​หาร​ดว้ ยผล​ รวม​ของ​หน่วยกิต​ของ​ทุก​วิชา​ที่​ศึกษา​ใน​ภาค​การ​ศึกษา​นั้นๆ คะแนน​เฉลี่ย​สะสม (Cumulative Grade Point Average) คำ�นวณ​จาก​ผล​การ​ศึกษา​ของ​นัก​ศึกษา​ตั้ง​แต่​เริ่มเข้า​ศึกษา​จนถึง​การ​ สอบ​ครัง้ ส​ ดุ ท้าย โดย​เอา​ผล​รวม​ของ​ผล​คณ ู ข​ อง​หน่วยกิตก​ บั แ​ ต้มร​ ะดับ​ คะแนน​ของ​วชิ า​ทศ​ี่ กึ ษา​ทงั้ หมด​หาร​ดว้ ย​ผล​รวม​ของ​หน่วยกิตข​ อง​วชิ า​

การ​เข้า​ชั้น​เรียน

การ​เรียน​ซ�้ำ​ใน​กรณี​ที่​สอบ​ตก

• นัก​ศกึ ษา​ท​สี่ อบ​ตกใน​วชิ า​บงั คับจ​ ะ​ตอ้ ง​ลง​ทะเบียน​เรียน​วชิ า​ นั้น​ซ�้ำ​จนกว่า​จะ​สอบ​ได้ • นัก​ศึกษา​ที่​สอบ​ตกใน​วิชา​เอก​เลือก (Major Elective) หรือ​ วิชาโท (Minor) หรือ​วิชา​เลือก​อิสระ (Free Elective) จะ​ลง​ทะเบียน​ เรียน​วิชา​นั้น​ซ�้ำ​อีก​หรือ​เลือก​วิชา​อื่น​แทน​ได้​โดย​ขอ​อนุมัติ​ลง​ทะเบียน​ เรียน​และ​เปลี่ยน​วิชา​เดิม​จาก​คณบดี​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด

การ​ขอ​สอบ​ปลาย​ภาค​กรณี​พิเศษ

ใน​กรณี​ที่​นัก​ศึกษา​ไม่​สามารถ​มาส​อบ​กลาง​ภาค​หรือ​สอบ​ ปลาย​ภาค​ได้ นัก​ศึกษา​สามารถ​ยื่น​คำ�ร้อง​พร้อม​หลัก​ฐาน​ประกอบ​ต่อ​ สำ�นัก​วิชากา​รภายใน​ห้า​วัน​ทำ�การ​นับ​จาก​วัน​ขาด​สอบ เพื่อ​ขอ​สอบ​ ปลาย​ภาค​กรณี​พิเศษ​หรือข​ อ​สอบ​ชดเชย​ปลาย​ภาค เนื่องจาก​สาเหตุ​ ดัง​ต่อ​ไป​นี้ • นักศ​ กึ ษา​เข้าร​บั ก​ าร​ผา่ ตัด หรือเ​จ็บป​ ว่ ย​หนักถ​ งึ ข​ นั้ ต​ อ้ ง​นอน​ พักร​ กั ษา​ตวั ใ​น​โรง​พยาบาล โดย​มีใ​บรับ​รอง​แพทย์​และ​หลัก​ฐาน​ใน​การ​ เข้า​รับ​การ​รักษา หลักสูตรปริญญาตรี 601


• นัก​ศึกษา​ประสบ​อุบัติเหตุท​ ำ�ให้​ได้​รับ​บาด​เจ็บ หรือ​ต้อง​อยู่​ ใน​ทเี่​กิด​เหตุ​เพื่อแ​ ก้ไข​ปัญหา • บิดา​มารดา​หรือ​ผู้​ปกครอง​ซึ่ง​ให้​ความ​อุปการะ​ทางการ​ เงิน​หรือ​บุคคล​อื่น​ที่​สำ�คัญ​ใน​ครอบครัว​ของ​นัก​ศึกษา​เจ็บ​ป่วย​อย่าง​ หนัก หรือ​ประสบ​อุบัติเหตุ​ร้าย​แรง​จนถึง​ขั้น​ต้อง​นอน​รักษา​ตัว​อยู่​ที่​ โรง​พยาบาล​หรือ​เสียช​ ีวิต • เกิด​ภัย​พิบัติ​แก่ท​ รัพย์​สิน​ของ​นัก​ศึกษา นักศ​ กึ ษา​หรือ​ผป​ู้ กครอง​สามารถ​ยนื่ ​คำ�ร้อง​พร้อม​หลักฐ​ าน​ ประกอบ​ต่อ​สำ�นัก​วิชากา​ร​ทันที​หรือ​อย่าง​ช้า​ภายใน​ห้า​วัน​ทำ�การ​นับ​ จาก​วัน​ทขี่​ าด​สอบ หาก​ใน​ขณะ​ที่​ยื่น​คำ�ร้อง​นั้น​ยัง​มหี​ ลัก​ฐาน​ไม่​พร้อม​ ก็​สามารถ​ขอ​ผ่อน​ผัน​ยื่นหลักฐานภายหลังได้​และผู้อำ�นวยการสำ�นัก​ วิชากา​รจะ​พจิ ารณา​คำ�ร้อง​ของนักศ​ กึ ษา​ให้เ​สร็จส​ นิ้ ภ​ ายใน​สอง​สปั ดาห์​ หลัง​การ​สอบ​กลาง​ภาค หรือ​สอบ​ปลาย​ภาค • นักกีฬา​ทมี ช​ าติท​ ต​ี่ อ้ ง​ไป​แข่งข​ นั ต​ า่ ง​ประเทศ​หรือน​ กั ศ​ กึ ษา​ ที่​ได้​รับ​ทุน​แลก​เปลี่ยน​ที่​ต้อง​เดิน​ทาง​ไป​ต่าง​ประเทศ หรือ​นัก​ศึกษา​ ที่​ต้อง​ไป​ปฏิบัติ​งาน​ตาม​คำ�​สั่ง​ของ​ราชการ​ใน​ช่วง​สอบ​ให้​ทำ�​คำ�ร้อง​ ทันที​ท​ที่ ราบ​วา่ ​ตอ้ ง​เดิน​ทาง ผ่าน​ผ​อู้ ำ�นวย​การ​สำ�นัก​กฬี า​และ​กจิ กรรม​ นัก​ศึกษา​หรือ​คณบดี​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด แล้ว​แต่​กรณี​เพื่อ​เสนอ​ รอง​อธิการบดี​ฝ่าย​วิชา​การ​พิจารณา​สั่ง​การ อนึ่ง​สำ�หรับ​นัก​ศึกษา​ที่​ได้​รับ​อนุมัติ​ให้​สอบ​ปลาย​ภาค​กรณี​ พิเศษ​หรือข​ อ​สอบ​ชดเชย​ปลาย​ภาค แต่น​ กั ศ​ กึ ษา​ขาด​สอบ​ไม่ว​ า่ จ​ ะ​ดว้ ย​ สาเหตุ​ใด นัก​ศกึ ษา​จะ​ถกู ​บนั ทึก​สญั ลักษณ์ F สำ�หรับ​วชิ า​ที่ไ​ม่​เข้า​สอบ​ นั้น

602 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

การ​ย้าย​คณะ เปลี่ยน​ภาค​วิชา​ หรือ​การ​ขอ​ย้าย​รอบ การ​ย้าย​คณะ​หรือ​เปลี่ยน​ภาค​วิชา

นัก​ศึกษา​หลักสูตร​ปริญญา​ตรี • นัก​ศึกษา​ภาค​ปกติ ต้อง​ศึกษา​อยู่​ใน​คณะ​หรือ​ภาค​วิชา​เดิม​ ไม่​น้อย​กว่า​สอง​ภาค​การ​ศึกษา​ปกติ ทั้งนี้​ไม่​นับ​ภาค​การ​ศึกษา​ที่​ได้​รับ​ อนุมัติ​ให้​ลา​พัก​การ​ศึกษา​หรือ​ถูก​มหาวิทยาลัย​ให้​พักก​ าร​ศึกษา • นักศ​ กึ ษา​ภาค​พเิ ศษ ต้อง​ศกึ ษา​อยู่ใ​น​คณะ​หรือภ​ าค​วชิ า​เดิม​ ไม่​น้อย​กว่า​หนึ่ง​ปี​การ​ศึกษา ยกเว้น​นัก​ศึกษา​ที่​เริ่ม​เข้า​ศึกษา​ใน​ภาค​ การ​ศึกษา​ที่​สอง ต้อง​ศึกษา​อยู่​ใน​คณะ​หรือ​ภาค​วิชา​เดิม​ไม่​น้อย​กว่า​ สอง​ภาค​การ​ศึกษา ทั้งนี้​ไม่​นับ​ภาค​การ​ศึกษา​ที่​ได้​รับ​อนุมัติ​ให้​ลา​พัก​ การ​ศึกษา​หรือ​ถูก​มหาวิทยาลัย​ให้​พัก​การ​ศึกษา • ใน​การ​ยนื่ ค​ ำ�ร้อง​ขอ​ยา้ ย​คณะ​หรือเ​ปลีย่ น​ภาค​วชิ า นักศ​ กึ ษา​ ต้อง​แสดง​เหตุผล​ประกอบ และ​อยู่​ใน​ดุลย​พินิจ​ของ​คณบดี​ที่​เกี่ยวข้อง​ จะ​พจิ ารณา​อนุมตั ​เิ ป็น​ราย​กรณี โดย​การ​ยา้ ย​คณะ​หรือ​เปลีย่ น​ภาค​วชิ า​ จะ​สามารถ​กระทำ�​ได้​ไม่​เกิน​สอง​ครั้ง​ตลอด​การ​มี​สถานภาพ​เป็น​นัก​ ศึกษา โดย​ยื่น​คำ�ร้อง​ขอ​อนุมัติ​จาก​คณบดี​ที่​เกี่ยวข้อง​และ​ต้อง​ดำ�เนิน​ การ​ให้​เสร็จ​สิ้นก​ ่อน​การ​ลง​ทะเบียน​เรียน​ประจำ�​ภาค​การ​ศึกษา​นั้น ๆ • เมื่อ​นัก​ศึกษา​ได้​รับ​อนุมัติ​ให้​ย้าย​คณะ​หรือ​เปลี่ยน​ภาค​วิชา​ ใหม่​แล้ว นัก​ศึกษา​ต้อง​แสดง​ความ​จำ�นง​ว่า​วิชา​ต่างๆ ที่​ได้​ศึกษา​มา​ แล้วว​ ชิ า​ใด​จะ​นำ�​มา​คำ�นวณ​เพือ่ ห​ า​คา่ ค​ ะแนน​เฉลีย่ ​สะสม โดย​ผา่ น​การ​ อนุมัติ​จาก​คณบดี​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​ขอ​ย้าย​เข้า​สังกัด​ใหม่ การ​คำ�นวณ​ คะแนน​เฉลี่ย​สะสม​ใหม่​จะ​คำ�นวณ​เมื่อ​คะแนน​ของ​คณะ​หรือ​ภาค​วิชา​ ใหม่​ได้​แสดง​ผล​การ​เรียน​แล้ว • นัก​ศึกษา​ที่​ย้าย​คณะ​หรือ​เปลี่ยน​ภาค​วิชา จะ​ต้อง​ชำ�ระ​ค่า​ ธรรมเนียม​ตาม​ที่​มหาวิทยาลัยกำ�หนด นัก​ศึกษา​หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​ต่อเ​นื่อง • ต้อง​ศกึ ษา​อยู่ใ​น​คณะ​หรือภ​ าค​วชิ า​เดิมไ​ม่น​ อ้ ย​กว่าห​ นึง่ ภ​ าค​ การ​ศึกษา ทั้งนี้​ไม่น​ ับ​ภาค​การ​ศึกษา​ที่​ได้​รับ​อนุมัติ​ให้​ลา​พัก​การ​ศึกษา​ หรือ​ถูก​มหาวิทยาลัย​ให้​พัก​การ​ศึกษา


• การ​ย้าย​คณะ​หรือ​เปลี่ยน​ภาค​วิชา จะ​กระทำ�​ได้​ต่อ​เมื่อ​มี​ คุณสมบัตร​ิ ะดับอ​ นุปริญญา​ครบ​ถว้ น​สำ�หรับค​ ณะ​หรือภ​ าค​วชิ า​นนั้ แ​ ละ​ กระทำ�​ได้เ​พียง​ครัง้ เ​ดียว​โดย​ยนื่ ค​ ำ�ร้อง​ขอ​อนุมตั จ​ิ าก​คณบดีท​ เ​ี่ กีย่ วข้อง​ และ​ตอ้ ง​ดำ�เนินก​ าร​ให้เ​สร็จส​ นิ้ ก​ อ่ น​การ​ลง​ทะเบียน​เรียน​ประจำ�​ภาค​การ​ ศึกษา​นั้นๆ • เมื่อ​นัก​ศึกษา​ได้​รับ​อนุมัติ​ให้​ย้าย​คณะ​หรือ​เปลี่ยน​ภาค​วิชา​ ใหม่​แล้ว นัก​ศึกษา​ต้อง​แสดง​ความ​จำ�นง​ว่า​วิชา​ต่างๆ ที่​ได้​ศึกษา​มา​ แล้ว​วิชา​ใด​จะ​นำ�​มา​คำ�นวณ​เพื่อ​หา​คะแนน​เฉลี่ย​สะสม โดย​ผ่าน​การ​ อนุมัติ​จาก​คณบดี​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​ขอ​ย้าย​เข้า​สังกัด​ใหม่ การ​คำ�นวณ​ คะแนน​เฉลี่ย​สะสม​ใหม่​จะ​คำ�นวณ​เมื่อ​คะแนน​ของ​คณะ​หรือ​ภาค​วิชา​ ใหม่​ได้​แสดง​ผล​การ​เรียน​แล้ว • นัก​ศึกษา​ที่​ย้าย​คณะ​หรือ​เปลี่ยน​ภาค​วิชา จะ​ต้อง​ชำ�ระ​ค่า​ ธรรมเนียม​ตาม​ทมี่​ หาวิทยาลัยกำ�หนด

การ​ขอ​ย้าย​รอบ

นัก​ศึกษา​ขอ​ย้าย​รอบ​จาก​ภาค​ปกติ​ไป​เรียน​ภาค​พิเศษ หรือ​ จาก​ภาค​พิเศษ​ไป​เรียน​ภาค​ปกติไ​ด้ โดย​มี​หลัก​เกณฑ์ด​ ังนี้ • ลง​ทะเบียน​เรียน​มา​แล้ว​ไม่​ต�่ำ​กว่า​สิบ​แปด​หน่วยกิต​ไม่​นับ​ วิชา​ทขี่​ อ​เพิก​ถอน (W) และ​สอบ​ได้​คะแนน​เฉลี่ยส​ ะสม​ไม่​ต�่ำ​กว่า 2.00 • การ​ขอ​ย้าย​รอบ​จะ​กระทำ�​ได้​เพียง​ครั้งเ​ดียว โดย​ยื่น​คำ�ร้อง​ ขอ​อนุมัติ​จาก​คณบดี​ที่​เกี่ยวข้อง​ผ่าน​สำ�นัก​ทะเบียน​นัก​ศึกษา​ภายใน​ สัปดาห์​แรก​ของ​เดือน​มิถุนายน​ของ​ทุก​ปี​การ​ศึกษา และ​เมื่อ​ได้​รับ​ อนุมัติ​ให้​ย้าย​แล้ว​จะ​ขอ​ย้าย​กลับ​ไม่​ได้​โดย​เด็ดข​ าด • นักศ​ กึ ษา​ชาย​ทไี่​ด้ร​บั อ​ นุมตั ใิ​ห้ย​ า้ ย​รอบ​จะ​ไม่มส​ี ทิ ธิเ​์ รียน​วชิ า​ ทหาร • เมื่อไ​ด้​รับ​อนุมัติ​ให้​ย้าย​รอบ​แล้ว จะ​ต้อง​มวี​ ิชา​ที่​ลง​ทะเบียน​ เรียน​ตอ่ อ​ ย่าง​นอ้ ยห​นงึ่ ป​ ก​ี าร​ศกึ ษา​ตาม​หลักสูตร​คณะ​ทน​ี่ กั ศ​ กึ ษา​สงั กัด นัก​ศึกษา​ขอ​ย้าย​รอบ​ที่​มี​ผล​การ​เรียน​ดี มี​สิทธิ์​ได้​รับ​ปริญญา​ เกียรติน​ ยิ ม​ตาม​ขอ้ บ​ งั คับก​ ำ�หนด สำ�หรับน​ กั ศ​ กึ ษา​ภาค​พเิ ศษ​ทย​ี่ า้ ย​ไป​ เรียน​ภาค​ปกติ วิชา​ทเ​ี่ คย​เรียน​ใน​ภาค​การ​ศกึ ษา​ฤดูร​ อ้ น​ของ​ภาค​พเิ ศษ​ ให้​ถือ​เป็นส​ ่วน​หนึ่งข​ อง​ภาค​การ​ศึกษา​ปกติ​ของ​หลักสูตร​ภาค​พิเศษ

การ​ลา​พัก​การ​ศึกษา

การ​ลา​พัก​การ​ศึกษา หมาย​ถึง การ​ขอ​รักษา​สถานภาพ​นัก​ ศึกษา​ใน​กรณีท​ น​ี่ กั ศ​ กึ ษา​มค​ี วาม​ประสงค์จ​ ะ​ไม่ล​ ง​ทะเบียน​เรียน​ใน​แต่ละ​ ภาค​การ​ศึกษา​หลังจ​ าก​ที่ไ​ด้ศ​ ึกษา​ใน​มหาวิทยาลัยม​ า​แล้วอ​ ย่าง​น้อย ห​นึ่ง​ภาค​การ​ศึกษา ยกเว้น​จะ​ได้​รับ​อนุมัติ​เป็น​กรณี​พิเศษ​จาก​คณบดี คณะที่นักศึกษาสังกัด ซึ่ง​นัก​ศึกษา​จะ​ต้อง​ยื่น​คำ�ร้อง​เพื่อ​ขอ​รักษา​ สถานภาพ​นัก​ศึกษา​ต่อ​สำ�นัก​ทะเบียน​นัก​ศึกษา

นัก​ศึกษา​ขอ​ลา​พัก​การ​ศึกษา​ได้​ใน​กรณี​ดัง​ต่อ​ไป​นี้

• เจ็บ​ป่วย​จน​ต้อง​รักษา​ตัว​เป็น​เวลา​นาน​ตาม​คำ�​สั่ง​แพทย์ โดย​มี​ใบรับ​รอง​แพทย์​จาก​โรง​พยาบาล​หรือ​สถาน​พยาบาล​ของ​รัฐ​หรือ​ เอกชน • ได้​รับ​ทุน​แลก​เปลี่ยน​นัก​ศึกษา​ระหว่าง​ประเทศ​หรือ​ทุน​อื่น​ ใด​ซึ่ง​มหาวิทยาลัย​เห็น​สมควร​สนับสนุน • นัก​ศึกษา​ที่​ไม่​ได้​ลง​ทะเบียน​เรียน​ใน​แต่ละ​ภาค​การ​ศึกษา​ ตามที่​มหาวิทยาลัย​กำ�หนด หรือ​มี​เหตุ​จำ�เป็น​สุดวิสัย​ที่​คณบดีคณะที่ นักศึกษาสังกัดพิจารณา​แล้วเ​ห็น​สมควร

นัก​ศึกษา​ที่​ขอ​ลา​พัก​การ​ศึกษา​จะ​ต้อง​ปฏิบัติ​ดัง​ต่อ​ไป​นี้

• ระหว่าง​ที่​ได้​รับ​อนุมัติ​ให้​ลา​พัก​การ​ศึกษา นัก​ศึกษา​จะ​ ต้อง​ชำ�ระ​ค่า​รักษา​สถานภาพ​นัก​ศึกษา​ทุก​ภาค​การ​ศึกษา​จนกว่า​จะ​ พ้น​สถานภาพ​นัก​ศึกษา มิ​ฉะนั้น​จะ​ถูก​จำ�หน่าย​ชื่อ​ออก​จาก​ทะเบียน ​ นัก​ศึกษา • การ​นับ​ระยะ​เวลา​การ​ศึกษา​ให้​นับ​ระยะ​เวลา​ที่​ขอ​ลา​พัก​การ​ ศึกษา​ทุก​ครั้ง​อยู่​ใน​ระยะ​เวลา​การ​ศึกษา​ตาม​ที่​มหาวิทยาลัย​กำ�หนด​ ยกเว้นน​ กั ศ​ กึ ษา​ทข​ี่ อ​ลา​พกั ก​ าร​ศกึ ษา​เนือ่ งจาก​ถกู เ​กณฑ์เ​ข้าร​บั ร​าชการ​ ทหาร • นัก​ศึกษา​ที่ ​ได้​รับ​อนุมัติ ​ให้​ลา​พัก​การ​ศึกษา​เมื่อ​จะ​กลับ​ เข้า​ศึกษา​ต่อ​ต้อง​รายงาน​ตัว​ต่อ​สำ�นัก​ทะเบียน​นัก​ศึกษา​ก่อน​ที่​จะ​ลง​ ทะเบียน​เรียน หลักสูตรปริญญาตรี 603


กรณี​ขอ​ลา​พักก​ าร​ศึกษา​ระหว่าง​ภาค​การ​ศึกษา

• หาก​นกั ศ​ กึ ษา​ขอ​ลา​พกั ก​ าร​ศกึ ษา​ภายใน​สปั ดาห์แ​ รก​นบั จ​ าก​ วันเ​ปิดภ​ าค​การ​ศกึ ษา​ทกุ ภ​ าค​การ​ศกึ ษา วิชา​ทล​ี่ ง​ทะเบียน​เรียน​ทงั้ หมด​ จะ​ไม่บ​ ันทึก​ใน​ใบ​รายงาน​ผล​การ​ศึกษา • หาก​นกั ศ​ กึ ษา​ขอ​ลา​พกั ก​ าร​ศกึ ษา​ภาย​หลังก​ ำ�หนด​เวลา​ขา้ ง​ ต้น และ​ได้ร​บั อ​ นุมตั จ​ิ าก​คณบดีคณะทีน่ กั ศึกษาสังกัด วิชา​ทล​ี่ ง​ทะเบียน​ เรียน​ทั้งหมด​จะบัน​ทึก​สัญลักษณ์ W ใน​ใบ​รายงาน​ผล​การ​ศึกษา

สถานภาพ การ​จำ�แนก และ​การ​พ้นส​ ถานภาพ​ นัก​ศึกษา สถานภาพ​นักศ​ ึกษา​และ​การ​จำ�แนก​สถานภาพ​นัก​ศึกษา

นัก​ศกึ ษา​หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​ท​สี่ อบ​ได้​คะแนน​เฉลีย่ ​สะสม​ตำ​ �่ กว่า 1.75 แต่​ไม่​ต�่ำ​กว่า 1.50 เมื่อส​ ิ้น​ปี​การ​ศึกษา​มี​สถานภาพ​เป็น​นัก​ ศึกษา​รอ​พนิ จิ ซึง่ ​การ​จำ� แนก​สถานภาพ​รอ​พนิ จิ ​ของ​นกั ​ศกึ ษา​จะ​กระท�ำ​ เมือ่ ​นกั ​ศกึ ษา​ได้​ศกึ ษา​ครบ​รอบ 1 ปี นับแ​ ต่​แรก​เข้า​และ​ทกุ ​รอบ​ปต​ี งั้ ​แต่​ ปี​แรก​เป็นต้น​ไป ส�ำหรับ​นัก​ศึกษา​หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​ต่อ​เนื่อง​ไม่ม​ี สถานภาพ​รอ​พินิจ การ​พ้น​สถานภาพ​นักศ​ ึกษา​มี​กรณี​ดัง​ต่อ​ไป​นี้ • นัก​ศึกษา​ที่​สอบ​ได้​คะแนน​เฉลี่ยส​ ะสม​ต�่ำ​กว่า 1.50 การ​พ้น​ สถานภาพ​นกั ​ศกึ ษา​จะ​กระท�ำ​เมือ่ ​สนิ้ ​ภาค​การ​ศกึ ษา​ปกติ​แต่ละ​ภาค​การ​ ศึกษา ยกเว้นน​ ัก​ศึกษา​ที่​เข้า​ศึกษา​เป็น​ปี​แรก ซึ่ง​การ​พ้น​สถานภาพ​จะ​ กระท�ำ​เมื่อ​สิ้น​ภาค​การ​ศึกษา​ฤดู​ร้อน​ของ​ปี​การ​ศึกษา​แรก​ที่​เข้า​ศึกษา หรือส​ ิ้นภ​ าค​การ​ศึกษา​ที่​หนึ่ง​ของ​ปีก​ าร​ศึกษา​ถัดไ​ป​จาก​ปีแ​ รก​ที่เ​ข้า​ ศึกษา​แล้ว​แต่​กรณี ทั้งนี้​โดย​การ​นับ​ให้​นัก​ศึกษา​ใหม่​ได้​มี​โอกาส​ศึกษา​ จน​ครบ​รอบ 1 ปี​เป็น​เกณฑ์ • นัก​ศึกษา​รอ​พินิจ​ที่​สอบ​ได้​คะแนน​เฉลี่ย​สะสม​ต�่ำ​กว่า 1.75 เมื่อ​สิ้น​ภาค​การ​ศึกษา​ฤดู​ร้อน​ของ​ปี​การ​ศึกษา​ที่​มี​สถานภาพ​รอ​พินิจ​ หรือ​สิ้น​ภาค​การ​ศึกษา​ที่​หนึ่ง​ของ​ปี​การ​ศึกษา​ถัด​ไป​ที่​มี​สถานภาพ​รอ​ พินิจ

604 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

• นัก​ศึกษา​ที่​มี​ระยะ​เวลา​การ​ศึกษา​ครบ​ตาม​ข้อ​บังคับ​ที่​ มหาวิทยาลัยก​ ำ�หนด แต่ส​ อบ​ได้ห​ น่วยกิตย​ งั ไ​ม่ค​ รบ​ตาม​หลักสูตร​คณะ​ ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด • นักศ​ กึ ษา​ทถ​ี่ กู ต​ ดั ค​ ะแนน​ความ​ประพฤติค​ รัง้ เ​ดียว​หรือห​ ลาย​ ครั้ง​รวม​กัน​เกิน​ยี่สิบ​คะแนน • สำ�เร็จ​การ​ศึกษา​ตาม​หลักสูตร • ตาย • ลา​ออก • ถูก​ถอน​สถานภาพ​นัก​ศึกษา​หรือ​ถูก​จำ�หน่าย​ชื่อ​ออก​จาก​ ทะเบียน​นัก​ศึกษา เพราะ - ใช้​หลัก​ฐาน​การ​ศึกษา​ปลอม​สมัคร​เข้า​เป็น​นัก​ศึกษา - ประพฤติ​ผิด​ข้อ​ขัง​คับ​ของ​มหาวิทยาลัย​อย่าง​ร้าย​แรง - ไม่​ลง​ทะเบียน​เรียน​และ​ไม่ไ​ด้​ขอ​ลา​พักก​ าร​ศึกษา

การ​กลับ​เข้า​มา​ศึกษา​ใหม่

นักศ​ ึกษา​ที่​พ้นส​ ถานภาพ​การ​เป็นน​ ักศ​ ึกษา สามารถ​กลับเ​ข้า​ มา​ศึกษา​ใหม่​ได้ คุณสมบัตขิ​ อง​ผู้​มสี​ ิทธิก์​ ลับ​เข้า​มา​ศึกษา​ใหม่ • มี​ความ​ประพฤติ​เรียบร้อย • ได้ค​ ะแนน​เฉลี่ยส​ ะสม​จนถึงภ​ าค​การ​ศึกษา​สุดท้าย​ก่อน​พ้น​ สถานภาพ​การ​เป็น​นัก​ศึกษาไม่​ต�่ำ​กว่า 1.75 • ไม่​เป็น​ผู้​ที่​พ้น​สถานภาพ​การ​เป็น​นัก​ศึกษา เนื่องจาก​ถูก​ ลงโทษ​ทาง​วินัย การ​ยนื่ ค​ ำ�ร้อง​ขอก​ลบั เ​ข้าม​ า​ศกึ ษา​ใหม่ นักศ​ กึ ษา​จะ​ตอ้ ง​ตดิ ต่อ​ กับ​สำ�นัก​ทะเบียน​นัก​ศึกษา​ล่วง​หน้า​อย่าง​น้อยห​นึ่ง​เดือน​ก่อน​วัน​เปิด​ ภาค​การ​ศึกษา​โดย​แจ้ง​เหตุผล​ประกอบ​การ​ขอก​ลับ​เข้า​มา​ศึกษา​ใหม่ เมือ่ ไ​ด้ร​ บั อ​ นุมตั ิใ​ห้ก​ ลับเ​ข้าม​ า​ศกึ ษา​ใหม่ นักศ​ กึ ษา​จะ​ได้ร​ บั ร​ หัสป​ ระจำ�​ ตัวน​ กั ศ​ กึ ษา​ใหม่แ​ ละ​จะ​ตอ้ ง​ชำ�ระ​คา่ ห​ น่วยกิตแ​ ละ​คา่ ธ​ รรมเนียม​ตา่ ง ๆ


ใน​อตั รา​เดียวกันก​ บั ท​ ม​ี่ หาวิทยาลัยเ​รียก​เก็บจ​ าก​นกั ศ​ กึ ษา​ใหม่ใ​น​ปก​ี าร​ ศึกษา​นั้นๆ หน่วยกิตแ​ ละ​หลักสูตร นักศ​ กึ ษา​ทก​ี่ ลับเ​ข้าม​ า​ศกึ ษา​ใหม่น​ นั้ ใ​ห้​ เรียน​จน​ครบ​หน่วยกิต​ตาม​หลักสูตร​เดิมท​ ี่​เข้า​มา​ศึกษา หรือ​หลักสูตร​ ปัจจุบนั ข​ อง​คณะ​ทน​ี่ กั ศ​ กึ ษา​สงั กัด หาก​มว​ี ชิ า​ใด​ทล​ี่ ง​ทะเบียน​เรียน​และ​ สอบ​ได้​แล้ว​แต่​ไม่​อาจ​จะ​ปรับ​เข้า​กับ​หลักสูตร​นั้น​ได้​ก็​ให้​เรียน​วิชา​เพิ่ม​ เติม ซึ่ง​คณบดี​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด​จะ​เป็น​ผู้​ให้​คำ�​ปรึกษา​ใน​การ​จัด​ แผนการ​ศึกษา​ให้ การ​นบั ร​ ะยะ​เวลา​ใน​การ​ศกึ ษา เมือ่ ก​ ลับเ​ข้าม​ า​ศกึ ษา​ใหม่ การ​ นับ​ระยะ​เวลา​ที่​เหลือ​จนถึง​การ​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา​ให้​นับ​ต่อ​จาก​ภาค​การ​ ศึกษา​ท​ลี่ ง​ทะเบียน​เรียน​ครัง้ ​สดุ ท้าย ทัง้ นี​เ้ มือ่ ​รวม​ระยะ​เวลา​ท​เี่ รียน​ทงั้ ​ สิ้นต​ ้อง​ไม่​เกินท​ ี่​มหาวิทยาลัย​กำ�หนด​ไว้

การ​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา

การ​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา ใน​ภาค​การ​ศึกษา​สุดท้าย​ที่​นักศ​ ึกษา​ลง​ ทะเบียน​เรียน​วิชา​ต่างๆ ครบ​ตาม​หลักสูตร​ตลอด​จน​ข้อ​กำ�หนด​ของ​ คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด และ​ทำ�​กิจกรรม​นอก​หลักสูตร​ครบ​ถ้วน​ตาม​ที่​ มหาวิทยาลัย​กำ�หนด​พร้อม​ทั้ง​ขอ​แจ้ง​จบ​แล้ว​ถ้า​นัก​ศึกษา​มี​คะแนน​ เฉลี่ย​สะสม​ตั้ง​แต่ 2.00 ขึ้น​ไป จึง​ถือว่า​เรียน​สำ�เร็จก​ าร​ศึกษา​หลักสูตร​ ระดับปริญญา​ตรี การ​ให้ป​ ริญญา นักศ​ กึ ษา​ทจ​ี่ ะ​รบั ป​ ริญญา​ตอ้ ง​มค​ี ณ ุ สมบัตด​ิ งั นี้ - สอบ​ได้​จำ�นวน​หน่วยกิตค​ รบ​ตาม​หลักสูตร​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​ สังกัด - ได้​คะแนน​เฉลี่ย​สะสม​ตั้ง​แต่ 2.00 ขึ้น​ไป จากระบบ 4 ระดับ คะแนนหรือเทียบเท่า - มีค​ วาม​ประพฤติ​เรียบร้อย​เหมาะ​สม​กับป​ ริญญา​ที่​จะ​ได้​รับ - ไม่มพี​ ันธะ​ด้าน​หนี้​สิน​ใดๆ กับม​ หาวิทยาลัย

นักศ​ กึ ษา​ทส​ี่ อบ​ได้ห​ น่วยกิตค​ รบ​ตาม​หลักสูตร​แต่ค​ ะแนน​เฉลีย่ ​ สะสม​ไม่ถ​ งึ 2.00 จะ​รบั ป​ ริญญา​ได้​ก็​ตอ่ ​เมือ่ ล​ ง​ทะเบียน​เรียน​วชิ า​ซงึ่ น​ กั ​ ศึกษา​เคย​สอบ​แล้ว​ได้​ลำ�ดับ​ขั้น D หรือ D+ หรือ​จะ​ลง​ทะเบียน​เรียน​ วิชา​ใหม่​ที่​ได้​รับ​อนุมัติ​จาก​คณบดี​คณะ​ที่​นัก​ศึกษา​สังกัด จนกว่า​จะ​ทำ�​ คะแนน​เฉลี่ย​สะสม​ได้​ถึง 2.00 ขึ้น​ไป ภายใน​ระยะ​เวลา​ตาม​ข้อ​บังคับ​ มหาวิทยาลัย

การ​ให้​ปริญญา​เกียรติ​นิยม

ปริญญา​เกียรติน​ ิยม​อันดับ​หนึ่ง จะ​ต้อง​มี​คุณสมบัตดิ​ ังนี้ - เป็น​ผู้​ที่​สอบ​ได้​คะแนน​เฉลี่ย​สะสม​ตั้ง​แต่ 3.50 ขึ้น​ไป โดย​ ไม่ ​เคย​สอบ​วิชา​ใด​ไ ด้​ล�ำดับ​ขั้ น D หรื อ D+ หรือ F หรือ U ไม่​เคย​ ลง​ทะเบียน​เรียน​ซ�้ำ​ใน​วิชา​ใด และ​ลง​ทะเบียน​เรียน​ทั้ง​สิ้น​ไม่​เกิน 150 หน่วยกิต - สอบ​ได้​หน่วยกิต​ครบ​ตาม​ที่​กำ�หนด​ไว้​ภายใน​สี่​ปี​การ​ศึกษา​ สำ�หรับ​นัก​ศึกษา​หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​ภาค​ปกติ​ หรือ​ภายใน​ห้า​ปี​การ​ ศึกษา​สำ�หรับน​ กั ศ​ กึ ษา​หลักสูตร​ปริญญา​ตรีภ​ าค​พเิ ศษ ทัง้ นี้ไ​ม่น​ บั ภ​ าค​ การ​ศึกษา​ที่​ได้​รับ​อนุมัติ​ให้​ลา​พัก ปริญญา​เกียรติน​ ิยม​อันดับ​สอง จะ​ต้อง​มี​คุณสมบัติ​ดังนี้ - เป็น​ผู้​ที่​สอบ​ได้​คะแนน​เฉลี่ย​สะสม​ตั้ง​แต่ 3.25 ขึ้น​ไป​โดย​ไม่​ เคย​สอบ​วชิ า​ใด​ได้ล​ ำ� ดับข​ นั้ F หรือ U ไม่เ​คย​ลง​ทะเบียน​เรียน​ซำ​ �้ ใน​วชิ า​ ใด และ​ลง​ทะเบียน​เรียน​ทั้ง​สิ้น​ไม่​เกิน 150 หน่วยกิต - สอบ​ได้​หน่วยกิต​ครบ​ตาม​ที่​กำ�หนด​ไว้​ภายใน​สี่​ปี​การ​ศึกษา​ สำ�หรับ​นัก​ศึกษา​หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​ภาค​ปกติ หรือ​ภายใน​ห้า​ปี​การ​ ศึกษา​สำ�หรับน​ กั ศ​ กึ ษา​หลักสูตร​ปริญญา​ตรีภ​ าค​พเิ ศษ ทัง้ นี้ไ​ม่น​ บั ภ​ าค​ การ​ศึกษา​ที่​ได้​รับ​อนุมัติ​ให้​ลา​พัก อนึ่ง นัก​ศึกษา​ที่​ขอ​เทียบ​โอน นัก​ศึกษา​ที่​ขอ​ศึกษา​ปริญญา​ ที่​สอง นัก​ศึกษา​หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​ต่อ​เนื่อง นัก​ศึกษา​หลักสูตร​ ปริญญา​ตรี​สำ�หรับ​ผู้​จบ​อนุปริญญา​หรือ​เทียบ​เท่า และ​นัก​ศึกษา​เรียน​ ข้าม​สถาบัน​ไม่มี​สิทธิ์​ได้​รับ​ปริญญา​เกียรติ​นิยม ทั้งนี้​ไม่​รวม​ถึง​นัก​ ศึกษา​ที่​ไป​ใน​โครงการ​แลก​เปลี่ยน​กับ​สถาบัน​ต่าง​ประเทศ และ​เทียบ​ โอน​หน่วยกิต​กลับ​มา หลักสูตรปริญญาตรี 605


การ​ให้อ​ นุปริญญา นัก​ศึกษา​ทจี่​ ะ​ยื่น​คำ�ร้อง​ขอรับ​อนุปริญญา​ ได้​จะ​ต้อง​เป็น​ผทู้​ ี่​มี​คุณสมบัติ​ดังนี้ • มี​ความ​ประพฤติเ​รียบร้อย • เป็น​ผู้​ที่​มี​ผล​การ​ศึกษา​ตาม​ข้อ​ใด​ข้อ​หนึ่ง​ดังต​ ่อ​ไป​นี้ - ศึกษา​และ​สอบ​ได้ห​ น่วยกิตส​ ะสม​ไม่ต​ �่ำ​กว่าท​ ี่​หลักสูตร​อนุปริญญา​ที่​คณะ​ก�ำหนด​และ​ได้​คะแนน​เฉลี่ย​สะสม​ตั้ง​แต่ 2.00 ขึ้น​ไป​หรือ - ศึกษา​และ​สอบ​ได้​หน่วยกิต​ครบ​ถ้วน​ตาม​หลักสูตร​ ระดับป​ ริญญา​ตรีแ​ ละ​จำ� เป็นต​ อ้ ง​ยตุ ก​ิ าร​ศกึ ษา​โดย​ได้ค​ ะแนน​เฉลีย่ ส​ ะสม​ ไม่​ถึง 2.00 แต่​ไม่ต​ �่ำ​กว่า 1.75 อนึ่ง นัก​ศึกษา​หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​ต่อ​เนื่อง และ​นัก​ศึกษา​ หลักสูตร​ปริญญา​ตรี​สำ�หรับ​ผู้​จบ​อนุปริญญา​หรือ​เทียบ​เท่า​ไม่มี​สิทธิ์​ ยื่น​คำ�ร้อง​ขอรับ​อนุปริญญา

การ​อนุมัตใิ​ห้​ปริญญา

• โดย​ปกติ​สภา​มหาวิทยาลัย​จะ​พิจารณา​อนุมัติ​ให้​ปริญญา​ ปี​ละ​สาม​ครั้ง คือ เมื่อ​สิ้น​ภาค​การ​ศึกษา​ทหี่​ นึ่ง ภาค​การ​ศึกษา​ที่​สอง​ และ​ภาค​การ​ศึกษา​ฤดู​ร้อน • มหาวิทยาลัย​จะ​จัด​ให้​มี​พิธี​ประสาท​ปริญญาบัตร​ปี​ละ​หนึ่ง​ ครั้ง ซึ่ง​จะ​ประกาศ​ให้​ทราบ​เป็นคราวๆ ไป

606 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


การ​รับ​สมัคร​นัก​ศึกษา​ใหม่

ในปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยจะเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ระดับปริญญาตรี โครงการต่างๆ ดังนี้ • โครงการสมัครโดยใช้ผลการเรียน GPA • โครงการคัดเลือกตรงในระบบ ADMISSIONS (GAT- PAT) ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ • โครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระบบกลาง (ADMISSIONS) ร่วมกับสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) • โครงการทุนนักกีฬาดีเด่น • โครงการทุนประกายเพชร • โครงการทุนการศึกษา BU CREATIVE • โครงการรับสมัครนักศึกษาภาคพิเศษ • โครงการรับสมัครนักศึกษาเทียบโอนและนักศึกษาปริญญาตรีที่สอง • โครงการทุนการศึกษาสำ�หรับนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ (ทุนศิลปิน)

โครงการสมัครโดยใช้ผลการเรียน GPA

รับสมัครผู้สำ�เร็จการศึกษา หรือกำ�ลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ที่มีคะแนน เฉลี่ยสะสม (GPA) จากโรงเรียนที่ตนศึกษา โดยสามารถใช้ผลการเรียน สมัครในหลักสูตรภาษาไทยได้ทุกคณะ ยกเว้นคณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จะต้องมาสมัครและสอบสัมภาษณ์ด้วยตนเองที่มหาวิทยาลัย ทั้งสองวิทยาเขต และนำ�แฟ้มสะสมผลงาน (ถ้ามี) มาประกอบ การสมัคร

โครงการคัดเลือกตรงในระบบ Admissions (GAT-PAT) ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ได้พิจารณาให้นำ�วิธีการคัดเลือกในระบบ Admissions กลาง ซึ่งประกอบด้วยคะแนน GPAX คะแนน O-NET (8 กลุม่ สาระ) คะแนน GAT-PAT ยืน่ สมัครโดยตรงได้ทมี่ หาวิทยาลัยกรุงเทพ โดยไม่ตอ้ งสอบคัดเลือก ตามข้อกำ�หนดการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ต่อในสถาบันอุดมศึกษาปีการศึกษา 2553 ของสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา แต่ทั้งนี้ผู้สมัครต้องมีเอกสารประกอบการสมัครครบถ้วน ตามที่มหาวิทยาลัยกำ�หนด

หลักสูตรปริญญาตรี 607


ตารางแสดงรายละเอียดการคัดเลือกนักศึกษาใหม่ โครงการคัดเลือกในระบบ ADMISISONS (GAT/PAT) ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะ/สาขาวิชา อัตราส่วน บัญชี บริหารธุรกิจ การสร้างเจ้าของธุรกิจและการบริหารกิจการ 1. GPAX 20 % นิเทศศาสตร์ นิติศาสตร์ มนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว 2. O-NET 30 % เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ 3. GAT 50 % สาขาวิชามัลติมีเดียและระบบอินเทอร์เน็ต วิทยาลัยนานาชาติ วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 1. GPAX 20 % สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า 2. O-NET 30 % สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3. GAT 35 % 4. PAT3 15 % วิ ช าทดแทน (PAT1, PAT2, PAT3) ศิลปกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ แบบ A 1. GPAX 20 % แบบ B 1. GPAX สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ 2. O-NET 30 % 2. O-NET 3. GAT 20 % 3. GAT 4. PAT4 30 % 4. PAT6 ศิลปกรรมศาสตร์ สาขาวิชาทัศนศิลป์ 1. GPAX 20 % สาขาวิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 2. O-NET 30 % 3. GAT 20 % 4. PAT6 30 % สถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม 1. GPAX 20 % 2. O-NET 30 % 3. GAT 20 % 4. PAT4 30 % สถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการออกแบบภายใน แบบ A 1. GPAX 20 % แบบ B 1. GPAX 2. O-NET 30 % 2. O-NET 3. GAT 20 % 3. GAT 4. PAT4 30 % 4. PAT6 หมายเหตุ: PAT (Professional and Academic Aptitude Test) 1. PAT1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ PAT2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ 4. PAT4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ PAT6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์

608 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

PAT3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์

20 % 30 % 20 % 30 %

20 % 30 % 20 % 30 %


ระยะ​เวลา​การ​รับ​สมัครโครงการ​คัด​เลือก​ตรง​ใน​ระบบ ADMISSIONS (GAT/PAT) มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ ภาค​เรียน​ที่ 1 ระยะ​เวลา​รับ​สมัคร ประกาศ​ผล​สอบ​คัด​เลือก/รายงาน​ตัว ลง​ทะเบียน​นัก​ศึกษา​ใหม่ ภาค​เรียน​ที่ 2 ระยะ​เวลา​รับ​สมัคร ประกาศ​ผล​สอบ​คัด​เลือก/รายงาน​ตัว ลง​ทะเบียน​นัก​ศึกษา​ใหม่

} }

ต้น​เดือนกันยายน 2556 ถึงสิ้นเดือนกรกฎาคม 2557

ต้น​เดือนกันยายน 2557 ถึงสิ้นเดือนธันวาคม 2557

ขั้น​ตอน​การ​รับ​สมัคร​นัก​ศึกษา

ไม่​ผ่าน​การ​คัด​เลือก เปิด รับสมัคร

เทียบ​คะแนน

ประกาศ ผลสอบ

ขึ้นทะเบียน

มี​สถานภาพ​เป็น นัก​ศึกษา​สมบูรณ์ ลงทะเบียน

หลักสูตรปริญญาตรี 609


โครงการ​คดั เ​ลือก​บคุ คล​เข้าศ​ กึ ษา​ใน​ระบบ​กลาง (ADMISSIONS) ร่วม​กบั ส​ �ำ นักงาน​คณะ​กรรมการ​การ​อดุ มศึกษา (สกอ.)

มหาวิทยาลัย​จะ​จัดส​ อบ​คัด​เลือก​ร่วม​กับส​ ำ�นักงาน​คณะ​กรรมการ​การ​อุดมศึกษา​เป็น​ประจำ�​ทุก​ปี โดย​ใช้​หลัก​เกณฑ์​เช่น​เดียว​กับ​ที่​สำ�นักงาน​ คณะ​กรรมการ​การ​อดุ มศึกษา​ก�ำ หนด โดย​หาก​ผส​ู้ อบ​ผา่ น​การ​คดั เ​ลือก​สามารถ​รายงาน​ตวั /สัมภาษณ์​และ​ขนึ้ ​ทะเบียน​เป็น​นกั ​ศกึ ษา​ของ​มหาวิทยาลัย​ ได้​ทันที การ​รายงาน​ตัว​และ​การ​ขึ้น​ทะเบียน​นัก​ศึกษา​จะ​อยู่​ใน​ช่วง​กลาง​เดือน​กรกฎาคม​ของ​แต่ละ​ปี ขั้น​ตอน​และ​ระยะ​เวลา​การ​รับ​สมัคร​นัก​ศึกษา​โครงการ​สอบ​คัด​เลือก​บุคคล​เข้า​ศึกษา​ใน​ระบบ​กลาง (ADMISSIONS) ร่วม​กับ​สำ�นักงาน​คณะ​กรรมการ​ การ​อุดมศึกษา (สกอ.) ร​ ายงาน​ตัว/ขึ้นทะเบียนนักศึกษา ผู้​สอบ​ผ่าน​จาก​สำ�นักงาน​คณะ​กรรมการ​การ​อุดมศึกษา

มี​สถานภาพ​เป็น นัก​ศึกษา​สมบูรณ์

ลงทะเบียน กลาง​เดือน ก.ค.

กลาง​เดือน ก.ค.

โครงการ​ทุน​นักกีฬา​ดเี​ด่น

ด้วย​มหาวิทยาลัย​มีน​โย​บาย​ส่ง​เสริม​และ​สนับสนุน​กิจกรรม​ทาง​ด้าน​กีฬา จึง​เปิด​รับ​สมัคร​ผู้​ที่​มีความ​สามารถ​ด้าน​การ​กีฬา​ใน​ระดับ​ชาติ เยาวชน​ทีม​ชาติ นักเรียนอาเซียน นักเรียนไทย กีฬา​แห่ง​ชาติ และ​กีฬา​เยาวชน​แห่ง​ชาติ​เข้า​ศึกษาต่อ​ใน​ระดับ​ปริญญา​ตรี และระดับปริญญาโท โดย​ ได้​รับ​ทุนก​ าร​ศึกษา​และ​สวัสดิการ​ต่างๆ ฟรี​ตลอด​หลักสูตร ทั้งนี้ ผูส้​ มัคร​ขอรับทุน​จะ​ต้อง​ผ่าน​การ​สอบ​ข้อ​เขียน การ​ทดสอบ​ความ​สามารถ​ทาง​ด้าน​ การ​กีฬา​และ​การ​สอบ​สัมภาษณ์ กำ�หนดการ​รบั ส​ มัคร​ระหว่าง​เดือน​ตลุ าคม​ถงึ ป​ ลายเดือน​พฤศจิกายน​ของ​ทกุ ป​ ี สอบ​คดั เ​ลือกสอบสัมภาษณ์กลาง​เดือน​มกราคม ประกาศ​ผล​ สอบ​คัด​เลือก​และขึ้นทะเบียนนักศึกษากลาง​เดือนกุมภาพันธ์ ลง​ทะเบียน​ช่วง​ต้น​เดือนมีนาคม ขั้น​ตอน​และ​ระยะ​เวลา​การ​รับ​สมัคร​นัก​ศึกษา​โครงการ​ทุน​นักกีฬา​ดี​เด่น มี​สถานภาพ​เป็น ไม่​ผ่าน​การ​คัด​เลือก นัก​ศึกษา​สมบูรณ์ รับสมัคร 610 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ทดสอบทักษะ ความสามารถ ด้านกีฬา

สอบ​คัด​เลือก เทียบ​คะแนน สอบสัมภาษณ์

ประกาศ ผลสอบ

ขึ้นทะเบียน นักศึกษา

ลงทะเบียน


โครงการ​ทุน​ประกาย​เพชร

มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ ได้​เล็งเ​ห็นค​ วาม​ส�ำ คัญใ​น​การ​พฒ ั นา​เยาวชน ซึง่ ​เป็น​ทรัพยากร​ทส​่ี �ำ คัญ​ของ​ประเทศ จึง​ได้จ​ ดั ท​ �​ ำ โครงการ​ทนุ ป​ ระกาย​เพชร เพือ่ ​รบั ​นกั ศ​ กึ ษา​ท​ม่ี ​คี วาม​สามารถ​โดด​เด่น และ​ม​คี วามประพฤติ​ด​เี ข้าศ​ กึ ษา​ตอ่ ใ​น​ระดับ​ปริญญา​ตรี ซึง่ ​ลกั ษณะ​ของ​ทนุ ​การ​ศกึ ษา มี​ราย​ละเอียด​ดงั นี้ 1. เป็น​ทุนป​ ระเภท​ให้เ​ปล่า ไม่มี​พันธะ​ผูกพัน 2. นัก​ศึกษา​จะ​ได้​รับ​ทุน​ตั้ง​แต่​เริ่ม​เข้า​จน​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา 3. ได้​รับ​การ​ยกเว้นค​ ่า​เล่า​เรียน​และ​ค่าธ​ รรมเนียม​การ​ศึกษา 4. ได้​รับ​ค่า​ใช้​จ่าย​ประจำ�​เดือน​และ​ค่าอ​ ุปกรณ์​การ​ศึกษา เงื่อนไข​การ​รับ​ทุน 1. มี​คะแนน​เฉ​ลี่​ย​ทุก​ภาค​การ​ศึกษา​ขณะ​ที่​ศึกษา​ใน​มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ​ไม่​ต�่ำ​กว่า 3.00 และ​สอบผ่าน​ทุก​วิชา 2. หาก​คะแนน​เฉลี่ย​ประจ�ำ​ภาค​การ​ศึกษา​ใด​ต�่ำ​กว่า 3.00 มหาวิทยาลัย​จะ​งด​ให้​ทุน​การ​ศึกษาจนกว่า​จะ​ท�ำ​คะแนน​เฉลี่ย​สะสม​ได้ 3.00 ขึ้น​ ไป จึง​จะ​มี​สิทธิไ์​ด้​รับ​ทุน​การ​ศึกษา​ใน​ภาค​การ​ศึกษา​ต่อ​ไป คุณสมบัติ​ทั่วไป​ของ​ผู้​สมัคร​โครงการ​ทุน​ประกาย​เพชร 1. มี​สัญชาติ​ไทย 2. กำ�ลังศ​ กึ ษา​ใน​ระดับช​ นั้ ม​ ธั ยมศึกษา​ปท​ี ี่ 6 หรือส​ �ำ เร็จก​ าร​ศกึ ษา​ชนั้ ม​ ธั ยมศึกษา​ปท​ี ี่ 6 สาย​สามัญจาก​สถาบันก​ าร​ศกึ ษา​ทก​ี่ ระทรวง​ศกึ ษาธิการ​ รับรอง​วิทย​ฐานะ 3. มี​คะแนน​เฉลี่ยส​ ะสม​ใน​ระดับช​ ั้น​มัธยมศึกษา​ปี​ที่ 4 ปี​ที่ 5 และ​ปี​ที่ 6 ตั้ง​แต่ 3.50 ขึ้น​ไป 4. ใน​กรณี​ที่​มี​คะแนน​เฉลี่ย​สะสม​ไม่​ถึง 3.50 แต่​ไม่​ต�่ำ​กว่า 3.00 และ​มี​ความ​สามารถ​โดด​เด่น​ทางวิชา​การ​เป็น​ที่​ประจักษ์ ระดับ​ชาติ หรือ​ นานาชาติ ให้​อยู่​ใน​ดุล​พินิจ​ของ​คณะ​กรรมการ​คัดเ​ลือกของ​มหาวิทยาลัย 5. มี​หนังสือ​รับรอง​ความ​ประพฤติจ​ าก​โรงเรียน 6. ไม่มโี​รค​ติดต่อร​ ้าย​แรง​ที่​ขัดข​ วาง​ต่อ​การ​ศึกษา กำ�หนดการ​รับ​สมัครประมาณต้นเดือนกันยายน 2556 ถึงสิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2557 ประกาศ​ราย​ชื่อ​ผู้​มี​สิทธิส์​ อบสัมภาษณ์ สอบสัมภาษณ์ ประกาศ​ผล​สอบ รับ​รายงาน​ตัว และ​ลง​ทะเบียน​นัก​ศึกษาประมาณปลายเดือน​มีนาคม 2557 มี​สถานภาพ​เป็น นัก​ศึกษา​สมบูรณ์

ไม่​ผ่าน​การ​คัด​เลือก รับสมัคร ทางไปรษณีย์

รับสมัคร ด้วยตนเอง

ประกาศรายชื่อ ผู้มีสิทธิ์สอบ สัมภาษณ์

สอบ สัมภาษณ์

ประกาศ ผลสอบ

ลงทะเบียน นักศึกษา

ลงทะเบียน

หลักสูตรปริญญาตรี 611


โครงการทุนการศึกษา BU CREATIVE

มหาวิทยาลัยได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จึงได้จดั โครงการทุนการศึกษา “BU Creative” ที่ยกเว้นค่าหน่วยกิต เป็นเวลา 4 ปีการศึกษาแก่นักเรียนและนักศึกษาทั่วประเทศที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ หรือสิ่งที่ต่อยอดได้ เพียงมีคะแนนเฉลี่ยสะสมใน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้งสายสามัญ และสายอาชีพ ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป และมีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่แสดงถึงความสามารถโดด เด่นทางด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ให้มีโอกาสได้รับทุนการศึกษา BU Creative ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดยนักศึกษาที่ได้รับทุนนี้จะผ่าน กระบวนการบ่มเพาะอันเข้มข้นตลอดระยะเวลาที่ศึกษาอยู่ในรั้วมหาวิทยาลัย เพื่อเพิ่มศักยภาพทางความคิดสร้างสรรค์ที่ตอบโจทย์และสร้างสรรค์ ผลงาน (Portfolio) ที่โดดเด่น เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าทำ�งาน

โครงการรับสมัครนักศึกษาภาคพิเศษ

มหาวิทยาลัยเปิดรับนักศึกษาที่ปัจจุบันกำ�ลังทำ�งาน และมีความประสงค์จะเรียนในภาคพิเศษ เพื่อเพิ่มพูนคุณวุฒิและความสามารถใน การทำ�งาน คัดเลือกโดยการสอบสัมภาษณ์

โครงการรับสมัครนักศึกษาเทียบโอนและนักศึกษาปริญญาตรีที่สอง

มหาวิทยาลัยเปิดรับนักศึกษาประเภทเทียบโอนวิชาและโอนหน่วยกิต สำ�หรับนักศึกษาที่กำ�ลังศึกษาหรือเคยเป็นนักศึกษาในสถาบัน อุดมศึกษา ซึ่งสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง และรับสมัครผู้สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีแล้วและประสงค์จะเรียนในต่างคณะ วิชาเป็นปริญญาตรีที่สอง

คุณสมบัตทิ​ ั่วไป​ของ​ผู้​สมัคร

1. สำ�เร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า หรือ 2. ส�ำเร็จการศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือ 3. ก�ำลังศึกษาในระดับปริญญาตรี หรือ ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีแล้ว และต้องการศึกษาในระดับปริญญาตรีสาขาอืน่ ทีม่ หาวิทยาลัย เปิดสอน 4. สถาบันการศึกษาของผู้สมัคร จะต้องได้รับการรับรองวิทยฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการ 5. เป็นผู้ที่ไม่มีโรคติดต่อร้ายแรงหรือขัดขวางต่อการศึกษา 6. ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง หรือถูกไล่ออกจากสถาบันการศึกษาอื่นเพราะความประพฤติ 7. ส�ำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ จะต้องส�ำเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ (ม.6) สาขาวิทยาศาสตร์ หรือส�ำเร็จประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาที่ เกี่ยวข้อง เช่น สาขาไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีโทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ เป็นต้น

612 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


เอกสาร​ประกอบ​การ​สมัคร

1. หลัก​ฐาน​การ​ศึกษา (รบ.1 หรือ ปพ. 1:4) ที่​ระบุร​ ะดับ​คะแนน​เฉลี่ย​สะสม พร้อม​ถ่าย​สำ�เนา 1 ฉบับ 2. รูป​ถ่าย​หน้า​ตรง ไม่ส​ วม​หมวก และ​แว่นตา​ดำ� ขนาด 1 นิ้ว จำ�นวน 3 รูป แต่ละ​รูป​จะ​ต้อง​เป็นรูป​ถ่าย​ครั้ง​เดียวกัน และ​ถ่าย​มา​แล้ว​ ไม่​เกิน 6 เดือน 3. สำ�เนา​บัตร​ประชาชน ทั้ง 2 ด้าน จำ�นวน 1 ฉบับ 4. หลัก​ฐาน​การ​เปลี่ยน​ชื่อ หรือ​ชื่อ​สกุล ฯลฯ ใน​กรณี​ที่​มี​การ​เปลี่ยนแปลง 5. ใบรับร​ อง​ความ​ประพฤติ​จาก​โรงเรียน​ทก​ี่ ระทรวง​ศกึ ษาธิการ​รบั รอง​วทิ ย​ฐานะ (เฉพาะ​ผส​ู้ มัครใน​โครงการ​เพชร​ใน​ชยั พฤกษ์ และ​โครงการ​ ทุน​ประกาย​เพชร) 6. เอกสาร​แสดง​ผล​การ​เรียน (GPAX) และ​เอกสาร​ผล​การ​สอบ O-NET ซึ่ง​ต้อง​ตรง​กับข้อ​กำ�หนด​ของ​คณะ​ที่​ผู้​สมัคร​ต้องการ​เข้า​ศึกษา​ พร้อม​ถ่าย​สำ�เนา 1 ฉบับ (เฉพาะ​ผู้​สมัคร​โครงการ​คัด​เลือก​ตรง​ใน​ระบบ ADMISSIONS ของ​มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ) 7. เอกสาร​คะแนน​สอบ​วิชา O-NET ซึ่ง​รายวิชา​เหล่า​นั้น​ต้อง​ตรง​กับ​ข้อ​กำ�หนด​ของ​คณะที่​ผู้​สมัคร​ต้องการ​สอบ​คัด​เลือก พร้อม​ถ่าย​สำ�เนา 1 ฉบับ (เฉพาะ​ผสู้​ มัคร​ใน​โครงการ​คัด​เลือก​ตรง​ใน​ระบบ ADMISSIONS ของ​มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ) 8. สำ�เนา​หลักฐ​ าน​ทแ​ี่ สดง​ถงึ ค​ ณ ุ สมบัตก​ิ าร​เป็นน​ กั กีฬา​ใน​ชนิดน​ นั้ ๆ เช่น หนังสือร​ บั รอง​วฒ ุ บ​ิ ตั ร ฯลฯ (เฉพาะ​ผส​ู้ มัคร​ใน​โครงการ​ทนุ น​ กั กีฬา​ ดี​เด่น) ทั้งนี้ เอกสาร​ทถี่​ ่าย​สำ�เนา​ทุก​ฉบับ ต้อง​ถ่าย​ลง​บน​กระดาษ A4 เท่านั้น

ทุนศิลปิน

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดให้มีทุนการศึกษาส�ำหรับผู้ที่มีความสามารถพิเศษทางด้านการแสดง ด้านศิลปวัฒนธรรม เช่น นักแสดง นักร้อง นักดนตรี ที่มีผลงานอย่างต่อเนื่องย้อนหลังไม่เกิน 3 ปี โดยจัดท�ำเป็นแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) เสนอคณะกรรมการพิจารณาขอรับทุนการ ศึกษา เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี โครงการทุนศิลปิน ซึ่งเป็นทุนประเภทให้เปล่า ไม่มีพันธะผูกพัน ผู้ที่ได้รับทุนฯ จะได้รับการยกเว้น ค่าเล่าเรียนและค่าธรรมเนียมการศึกษาตลอดหลักสูตร

คุณสมบัติทั่วไปของผู้สมัคร

1. ก�ำลังศึกษาหรือส�ำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญและสายอาชีพหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่กระทรวง ศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ 2. มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ซึ่งแสดงถึงความสามารถโดดเด่นทางด้านการแสดง ด้านศิลปวัฒนธรรม โดยมีผลงานอย่างต่อเนื่อง ย้อนหลังไม่เกิน 3 ปี 3. กรณีเป็นนักศึกษาปัจจุบันของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต�่ำกว่า 2.00 4. ไม่มีโรคติดต่อร้ายแรงที่ขัดขวางต่อการศึกษา หลักสูตรปริญญาตรี 613


เงื่อนไขการได้รับทุน

1. นักศึกษาที่ได้รับทุนศิลปิน จะได้รับการยกเว้นค่าเล่าเรียนและค่าธรรมเนียมการศึกษา แต่นักศึกษาจะต้องเสียค่าประกันความเสียหาย และค่าประกันอุบัติเหตุ (ค่าประกันความเสียหาย จะได้รับคืนเมื่อสำ�เร็จการศึกษา หรือพ้นสภาพนักศึกษา) 2. กรณีที่เป็นนักศึกษาปัจจุบัน จะได้รับการยกเว้นค่าเล่าเรียนและค่าธรรมเนียมการศึกษาตลอดหลักสูตรที่เหลืออยู่ 3. ทุนศิลปิน เป็นทุนการศึกษาที่มหาวิทยาลัยให้ปีต่อปี โดยพิจารณาจากการให้ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย 4. นักศึกษาที่ได้รับทุนต้องช่วยเหลือกิจกรรมด้านการประชาสัมพันธ์ระดับคณะวิชา และระดับมหาวิทยาลัย โดยมหาวิทยาลัยจะไม่จ่าย ค่าตอบแทนให้กับนักศึกษา ผู้จัดการส่วนตัว และบริษัทที่นักศึกษาสังกัด 5. ผู้จัดการส่วนตัว และบริษัทที่นักศึกษาสังกัด รับทราบและยอมรับเงื่อนไขการได้รับทุนศิลปินของมหาวิทยาลัย 6. นักศึกษาช่วยประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัย ผ่านสื่อมวลชนต่างๆ ในโอกาสที่สามารถทำ�ได้ 7. นักศึกษาต้องปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยอย่างเคร่งครัด 8. นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนตามแผนการศึกษาของแต่ละคณะวิชาที่กำ�หนดไว้ในคู่มือวางแผนการเรียน โดยสามารถขอคำ�ปรึกษา จากอาจารย์ที่ปรึกษาศิลปิน

การ​รับ​นัก​ศึกษา​เทียบ​โอน

ใน​แต่ละ​ปกี​ าร​ศึกษา มหาวิทยาลัยจ​ ะ​เปิด​รับน​ ัก​ศึกษา​โอน​ต่าง​สถาบัน​ทั้ง​ภาค​ปกติ ภาค​พิเศษ โดยผูท้​ ี่​สนใจ​สมัคร​เป็น​นัก​ศึกษา​โอน​จะ​ต้อง​ มี​คุณสมบัติ​ดัง​ต่อ​ไป​นี้ 1. เป็น​ผมู้​ ี​ความ​ประพฤติด​ ี 2. เป็น​หรือเ​คย​เป็น​นักศ​ ึกษา​ใน​สถาบันอ​ ุดมศึกษา ซึ่ง​สำ�นักงาน​คณะ​กรรมการ​การ​อุดมศึกษา​รับรอง 3. ไม่​เป็น​ผทู้​ ี่​ถูก​คัด​ชื่อ​ออก​หรือ​ถูกไ​ล่​ออก​จาก​สถาบันอ​ ุดมศึกษา​เดิม เนื่องจาก​ถูก​ลงโทษ​ทาง​วินัย

เอกสาร​ประกอบ​การ​รับ​สมัคร​นัก​ศึกษา​เทียบ​โอน

1. ใบ​รายงาน​ผล​การ​ศึกษา (Transcript) ทีส่​ ถาบัน​อุดมศึกษา​เดิม​ออก​ให้​เป็น​ทางการ 2. ราย​ละเอียด​ประจำ�​วิชา (Course Description) ของ​สถาบัน​อุดมศึกษา​เดิม 3. หนังสือ​รับรอง​ความ​ประพฤติจ​ าก​อาจารย์​ใน​สถาบัน​อุดมศึกษา​เดิมจำ�นวน 2 ท่าน 4. รูป​ถ่าย​ขนาด 1 นิ้ว จำ�นวน 3 รูป

614 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


ขั้น​ตอน​การ​รับส​ มัคร​นัก​ศึกษา​เทียบ​โอน​ต่าง​สถาบัน รับ​สมัครและขึ้นทะเบียน นัก​ศึกษา​เทียบโอน

ประกาศ​ผล การ​เทียบโอน

ลงทะเบียน

มี​สถานภาพ​เป็น นัก​ศึกษา​สมบูรณ์

การ​สมัคร​สอบ​คัด​เลือก​ทาง​ไปรษณีย์

มหาวิทยาลัย​ได้​อำ�นวย​ความ​สะดวก​แก่​ผู้​สมัคร​ที่​ไม่​สามารถ​สมัคร​ด้วย​ตนเอง​ได้​โดย​จะ​รับ​สมัคร​ทางไปรษณีย์​ทุก​โครงการ​ผู้​สมัคร​จะ​ต้อง​ ปฏิบัติ​ดังนี้ 1. ส่ง​ใบ​สมัคร​ของ​มหาวิทยาลัย​ที่​กรอก​ข้อความ​ครบ​ถ้วน​ทุก​รายการ 2. ส่ง​เอกสาร​ประกอบ​การ​สมัคร​ตาม​ทรี่​ ะบุ​ไว้ข​ ้าง​ต้นใ​ห้​ครบ​ถ้วน

การ​สมัคร​ผ่าน​ทาง​ระบบ​อิน​เทอร์​เน็ต

มหาวิทยาลัย​ได้​อำ�นวย​ความ​สะดวก​แก่​ผู้​สมัคร โดย​ให้​ผู้​สมัคร​สามารถ​สมัคร​ผ่าน​ทาง​ระบบ​อิน​เทอร์​เน็ต โดย​เข้า​เว็บ​ไซต์​ของ​มหาวิทยาลัย http://www.bu.ac.th/occasion/pre-online_admission

หลักสูตรปริญญาตรี 615


อัตรา​ค่า​เล่าเ​รียน ค่า​บำ�รุง และ​ค่า​ธรรมเนียม นัก​ศึกษา​จะ​ต้อง​ชำ�ระ​ค่า​เล่า​เรียน​และ​ค่า​ธรรมเนียม​ต่างๆ ดังนี้ 1. หมวด​ค่า​เล่า​เรียน 1.1 ค่า​หน่วยกิตว​ ิชา หน่วยกิตล​ ะ 1,400 บาท 1.2 ค่า​หน่วยกิตว​ ิชาชีพ 1.2.1 คณะ​บริหารธุรกิจ หน่วยกิตล​ ะ 1,700 บาท รหัส คธ. 1.2.2 คณะนิเทศศาสตร์ หน่วยกิตล​ ะ 1,700 บาท รหัสวิชา นศ. ปช. วส. ฆณ. ศส. วย. ภย. และ สต. 1.2.3 คณะ​วทิ ยาศาสตร์แ​ ละ​เทคโนโลยี หน่วยกิต​ละ 1,700 บาท รหัสวิชา คพ. ทส. วซ. และ​คณ. 115 1.2.4 คณะศิลปกรรมศาสตร์ รหัสวิชา ศก. หน่วยกิตล​ ะ 1,900 บาท รหัสวิชา อผ. อน. ทศ. อฟ. หน่วยกิต​ละ 2,000 บาท 1.2.5 คณะ​วิศวกรรมศาสตร์ หน่วยกิตล​ ะ 1,700 บาท รหัสวิชา คต. ฟฟ. อล. อส. ศก. และ มอ. 1.2.6 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รหัสวิชา สถพ. หน่วยกิตล​ ะ 1,900 บาท รหัสวิชา สถป. อภน. หน่วยกิตล​ ะ 2,000 บาท 1.3 ค่า​หน่วยกิต​วิชา​โครงงาน/โครงการ 1.3.1 คณะ​วทิ ยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี หน่วยกิต​ละ 3,000 บาท รหัส​วิชา ทส. 497 ทส. 498 คพ. 291 คพ. 292 คพ. 497 คพ. 498 วซ. 497 และ วซ. 498 ​ 1.3.2 คณะ​ศิลปกรรม​ศาสตร์ หน่วยกิต​ละ 3,500 บาท รหัสวิชา อภ. 408 ทศ. 406 อน. 458 อฟ. 457 อผ. 457

616 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

1.3.3 คณะ​วิศวกรรมศาสตร์ หน่วยกิต​ละ 3,000 บาท รหัส​วิชา​คต. 481 คต. 482 ฟฟ. 481 ฟฟ. 482 อล. 481 อล. 482 มอ. 481 มอ. 482 1.3.4 คณะ​สถาปัตยกรรมศาสตร์ หน่วยกิต​ละ 3,500 บาท รหัส​วิชาโครงงาน​สถป. 552 อภน. 458 2. หมวด​ค่า​เล่าเรียนเหมาจ่าย - คณะการสร้างเจ้าของธุรกิจและการบริหารกิจการ สาขาวิชาการเป็นเจ้าของธุรกิจ ค่าหน่วยกิตคิดแบบเหมาจ่าย ตลอดหลักสูตร 396,000 บาท โดยแบ่งจ่าย ภาคการศึกษาละ 49,500 บาท - คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสมัยใหม่ และสาขาวิชาการตลาด ค่าหน่วยกิตคิดแบบเหมาจ่ายตลอดหลักสูตร 195,000 บาท โดยแบ่งจ่ายภาคการศึกษาปกติภาคละ 20,500 บาท ภาคฤดูร้อนภาคละ 11,000 บาท 3. หมวด​ค่า​บำ�รุง​และค่าธรรมเนียมประจำ�ภาค ค่าธรรมเนียมการศึกษา - หลักสูตรภาษาไทย ภาคปกติ-ภาคบ่าย ภาคละ 11,000 บาท - หลักสูตรภาษาไทย ภาคพิเศษ ภาคละ 9,100 บาท


4. หมวดค่าบำ�รุงพิเศษ ก. ค่าบำ�รุงการเรียนภาคปฏิบัติ 4.1 สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ สาขาวิชาการออกแบบ นิเทศศิลป์ สาขาวิชาทัศนศิลป์ และสาขาวิชาการออกแบบ แฟชั่นสิ่งทอ 4.1.1 สตูดิโอเขียนแบบ ภาคละ 1,100 บาท 4.1.2 สตูดิโอถ่ายภาพ วิชาละ 1,500 บาท 4.1.3 เวอร์คชอป 1-7 วิชาละ 1,000 บาท 4.1.4 ห้องคอมพิวเตอร์ เรียกเก็บรายวิชา วิชาละ 1,500 บาท เรียกเก็บรายภาค วิชาละ 4,000 บาท 4.1.5 ทัศนศึกษานอกสถานที่ วิชาละ 2,500 บาท 4.2 สาขาวิชาศิลปะการแสดง 4.2.1 ห้องสตูดิโอทางการแสดง และห้องงานฉาก วิชาละ 3,000 บาท 4.2.2 โรงละคร BUCA (Black Box) Theatre วิชาละ 3,000 บาท 4.2.3 ห้องงานฉาก ห้องแต่งหน้าและแต่งตัวการแสดง วิชาละ 3,000 บาท 4.2.4 วิชาเตรียมศิลปะการแสดงนิพนธ์ วิชาละ 5,000 บาท 4.2.5 วิชาศิลปะการแสดงนิพนธ์ วิชาละ 7,000 บาท

4.3 สาขาวิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 4.3.1 ห้องวิทยุกระจายเสียง วิชาละ 2,000 บาท 4.3.2 ห้องวิทยุโทรทัศน์ วิชาละ 2,500 บาท 4.3.3 ห้องบันทึกเสียง และห้องตัดต่อวิทยุโทรทัศน์ วิชาละ 2,500 บาท 4.3.4 ห้องคอมพิวเตอร์เพื่องานเอนิเมชั่น วิชาละ 2,000 บาท 4.4 สาขาวิชาภาพยนตร์ 4.4.1 ห้องเตรียมการผลิต วิชาละ 1,500 บาท 4.4.2 ห้องคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแแบบฉาก (Mac) วิชาละ 2,500 บาท 4.4.3 วิชาเตรียมสารนิพนธ์ วิชาละ 3,000 บาท 4.4.4 อุปกรณ์ปฏิบัติงานถ่ายทำ�และตัดต่อภาพยนตร์ วิชาละ 4,000 บาท 4.5 สาขาวิชาวารสารศาสตร์ สาขาวิชาการโฆษณา สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ และสาขาวิชาการสื่อสารตรา 4.5.1 ห้องปฏิบัติการวารสารศาสตร์ วิชาละ 2,000 บาท 4.5.2 ห้องคอมพิวเตอร์เพื่องานกราฟฟิก (Mac) วิชาละ 2,000 บาท 4.5.3 ห้องสตูดิโอถ่ายภาพ วิชาละ 1,500 บาท 4.5.4 กิจกรรมประกอบหลักสูตร วิชาละ 1,200 บาท 4.5.5 อุปกรณ์ปฏิบัติงานถ่ายทำ�และตัดต่อวิดีโอ วิชาละ 2,500 บาท

หลักสูตรปริญญาตรี 617


4.6 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.6.1 ห้องคอมพิวเตอร์ วิชาละ 1,000 บาท 4.6.2 ห้องปฏิบัติการเคมี วิชาละ 700 บาท 4.6.3 ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ วิชาละ 500 บาท

4.9 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 4.9.1 วิชาที่ใช้ห้องคอมพิวเตอร์ วิชาละ 1,000 บาท 4.9.2 วิชาโครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิชาละ 3,000 บาท

4.7 สาขาวิชาการจัดการการโรงแรม สาขาวิชาการจัดการ การท่องเที่ยว และสาขาวิชาการจัดการธุรกิจสายการบิน 4.7.1 ห้องปฏิบัติงานโรงแรม วิชาละ 1,500 บาท 4.7.2 ภัตตาคารจำ�ลอง วิชาละ 4,000 บาท 4.7.3 การศึกษานอกสถานที่ วิชาละ 6,000 บาท 4.7.4 ค่าปฏิบัติการพิเศษ วิชาละ 3,000 บาท 4.7.5 วิชาที่ใช้ห้องคอมพิวเตอร์ วิชาละ 1,500 บาท 4.7.6 ค่าปฏิบัติการการจัดการการท่องเที่ยว วิชาละ 1,500 บาท

4.10 สาขาวิชาวิศวกรรมมัลติมีเดียและระบบอินเทอร์เน็ต 4.10.1 ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมตัดต่อและเทคนิคพิเศษ วิชาละ 2,000 บาท 4.10.2 ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์กราฟฟิกและเอนิเมชั่น วิชาละ 2,000 บาท 4.10.3 วิชาที่ใช้ห้องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช วิชาละ 1,000 บาท 4.10.4 วิชาโครงงานวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอร์เน็ต วิชาละ 3,000 บาท

4.8 สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม / สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า 4.8.1 ห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม / ไมโครโปรเซสเซอร์ / ดิจิตอล / วงจรไฟฟ้า วิชา 1 หน่วยกิต วิชาละ 2,000 บาท วิชา 2 หน่วยกิต วิชาละ 2,500 บาท วิชา 3 หน่วยกิต วิชาละ 3,000 บาท 4.8.2 ห้องปฏิบัติการเครื่องจักรไฟฟ้า / การแปรรูปพลังงานกลไฟฟ้า / ระบบควบคุม วิชาละ 3,000 บาท 4.8.3 ห้องปฏิบัติการฝีมือช่าง วิชาละ 2,500 บาท 4.8.4 ห้องปฏิบัติการเขียนแบบ วิชาละ 900 บาท 4.8.5 ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทางวิศวกรรมศาสตร์ ภาคละ 2,400 บาท

4.11 วิชาฝึกงานวิศวกรรม วิชาละ 1,700 บาท รหัสวิชา อล.497 ฟฟ.497 คต.497 และ มอ.497

618 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

4.12 วิชาที่ใช้ห้องปฏิบัติการทางภาษา วิชาละ 1,000 บาท 4.13 ห้องคอมพิวเตอร์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิชาละ 1,000 บาท 4.14 สาขาสถาปัตยกรรม และสาขาวิชาการออกแบบภายใน 4.14.1 ปฏิบัติการออกแบบ วิชาละ 700 บาท 4.14.2 ปฏิบัติการเฉพาะทาง วิชาละ 1,200 บาท 4.14.3 ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ วิชาละ 2,000 บาท 4.14.4 ปฏิบัติการก่อสร้าง วิชาละ 1,200 บาท 4.14.5 ทัศนศึกษานอกสถานที่ วิชาละ 2,500 บาท 4.14.6 ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เรียกเก็บรายภาค ภาคละ 4,000 บาท


ข. ค่ากิจกรรมวิชา กลุ่มวิชาบังคับและกลุ่มวิชาเลือก วิชาละ 600 บาท ค. ค่าบำ�รุงโครงการพิเศษ คณะบริหารธุรกิจ - สาขาการตลาด ภาคละ 2,000 บาท กลุ่มวิชาเอกเลือกทางด้านธุรกิจบริการและบันเทิง - สาขาวิชาการจัดการระหว่างประเทศ ภาคละ 2,000 บาท กลุ่มวิชาเอกเลือกด้านเป็นผู้ประกอบการ และการจัดการระดับโลก - สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ภาคละ 2,000 บาท ง. ค่าธรรมเนียมการศึกษาภาคฤดูร้อน (สำ�หรับนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน) - หลักสูตรภาษาไทยภาคปกติ-ภาคบ่าย ภาคละ 2,500 บาท - หลักสูตรภาษาไทย ภาคพิเศษ ภาคละ 2,000 บาท

7. หมวดอื่นๆ 7.1 ค่าประกันความเสียหาย (คืนให้เมื่อพ้นสภาพนักศึกษา) 2,000 บาท 7.2 บัตรประจำ�ตัวนักศึกษา ฉบับละ 400 บาท 7.3 ค่าใบรายงานผลการศึกษา ฉบับละ 40 บาท 7.4 ค่าออกใบรับรองอื่น ๆ ฉบับละ 20 บาท 7.5 ค่าปฐมนิเทศ 300 บาท 7.6 ค่าประกันอุบัติเหตุ (ตามอัตราที่กำ�หนดในแต่ละปี)

5. หมวดค่าธรรมเนียมปกติ 5.1 ค่าขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา 1,000 บาท 5.2 ค่าขึ้นทะเบียนบัณฑิต (ตามอัตราที่กำ�หนดในแต่ละปี) 6. หมวดค่าธรรมเนียมพิเศษ 6.1 ค่าธรรมเนียมย้ายคณะ 6.2 ค่ารักษาสถานภาพนักศึกษา 6.3 ค่าทำ�บัตรทดแทน - กรณีบัตรเดิมชำ�รุด - กรณีสูญหาย

ครั้งละ 1,000 บาท ภาคละ 1,000 บาท ฉบับละ ฉบับละ

400 บาท 400 บาท หลักสูตรปริญญาตรี 619


ผู้ก่อตั้ง​มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ

THE FOUNDERS OF BANGKOK UNIVERSITY อาจารย์​สุรัตน์ โอ​สถาน​ุ​เคราะห์ และ อาจารย์​ปองทิพย์ โอ​สถาน​ุ​เคราะห์

สภา​มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ BOARD OF TRUSTEES

ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ นายกสภา • ศาสตราภิชาน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ประธานกรรมการ บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • อดีตรองนายกรัฐมนตรี • อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง • อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ศาสตราจารย์ ดร.พจน์ สะเพียรชัย อุปนายก • ที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ • ประธานกรรมการบริหารสถาบันคลังสมองของชาติ • อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ • อดีตประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 620 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


อาจารย์เพชร โอสถานุเคราะห์ อุปนายก • ประธานคณะกรรมการบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • ผู้รับใบอนุญาต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • ประธานกรรมการ บริษัท ชิเซโด้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท โอสถสภา จ�ำกัด ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ กรรมการ • ที่ปรึกษาอาวุโสผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ • อุปนายกและกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล • อุปนายกและกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหาสารคาม • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี • อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.เจริญ คันธวงศ์ กรรมการ • อธิการบดีกิตติคุณก่อตั้ง มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการพลังงาน • อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์

ดร.ธนู กุลชล กรรมการ • อธิการบดีกิตติคุณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • ประธานกรรมการ บริษัท ไทยโพลีคอนส์ จ�ำกัด (มหาชน) • อดีตสมาชิกวุฒิสภา • อดีตประธานกรรมการพัฒนาระบบการประเมิน คุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา ส�ำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) • อดีตนายกสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่ง ประเทศไทย อาจารย์สุรี บูรณธนิต กรรมการ • ที่ปรึกษาสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย • กรรมการบริหารโรตารี่กรุงเทพ-คลองเตย • ผู้ประนีประนอมประจ�ำศาลจังหวัดธัญบุรีและศาลอุทธรณ์ • กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไอที ซิตี้ จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท เอเชีย เมทัล จ�ำกัด (มหาชน) นายนิธิ สถาปิตานนท์ กรรมการ • ประธานกรรมการ บริษัทในเครือ 49 กรุ๊ป • ประธานกรรมการ บริษัท สถาปนิก 49 จ�ำกัด • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการอ�ำนวยการ วชิราวุธวิทยาลัย • อดีตเลขาธิการสภาสถาปนิก • อดีตนายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์

หลักสูตรปริญญาตรี 621


นางพรศิริ มโนหาญ กรรมการ • ที่ปรึกษาคณะกรรมการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) • กรรมการองค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • กรรมการองค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช • กรรมการ บริษัท อสมท จ�ำกัด (มหาชน) • รองประธานกรรมการ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. แมนเนจเม้นท์ แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ กรรมการ • ปลัดกระทรวงยุติธรรม • ประธานกรรมการโครงการก�ำลังใจในพระด�ำริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา กระทรวงยุติธรรม • กรรมการสภาที่ปรึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์แนล ประเทศสหรัฐอเมริกา • กรรมการเนติบัณฑิตยสภา • กรรมการบริหารสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย ดร.อรรชกา สีบุญเรือง กรรมการ • อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม • เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน • ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม • ที่ปรึกษาด้านการลงทุน (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบาย และแผน 10 ชช) • อดีตรองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม 622 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

นายศุภชัย เจียรวนนท์ กรรมการ • กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานคณะผู้บริหาร บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ทรู วิชั่นส์ จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทรู มูฟ จ�ำกัด • กรรมการกลางมูลนิธิรามาธิบดี ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี • ประธานคณะอนุกรรมการหาทุนศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย นายชาติศิริ โสภณพนิช กรรมการ • กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานสมาคมธนาคารไทย • กรรมการสภามหาวิทยาลัย Singapore Management University • กรรมการ บริษัท โพสต์ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) • อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ นายสาระ ล�่ำซ�ำ กรรมการ • กรรมการผู้จัดการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) • นายกสมาคมประกันชีวิตไทย • กรรมการ บริษัท ที.ไอ.ไอ. จ�ำกัด (สถาบันประกันภัยไทย) • กรรมการสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย • ที่ปรึกษาตลาดหลักทรัพย์ใหม่


ดร.มัทนา สานติวัตร กรรมการ (อธิการบดี) • อธิการบดีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ • รองประธานสมาคมสถาบันการศึกษาขั้นอุดมแห่ง ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ประเทศไทย) • กรรมการบริหารสมาคมติดตามการพัฒนาสตรี ในประเทศไทย • กรรมการผู้ประเมินภายนอกระดับอุดมศึกษา ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพรัตน์ วงษ์เจริญ กรรมการ (ผู้แทนคณาจารย์) • รองอธิการบดีอาวุโสด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • กรรมการผู้ประเมินภายนอกระดับอุดมศึกษา ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) • Senior Member, Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE) • Vice President, The Optical Society of America (OSA) • Vice President, Institute of Electrical and Electronics Engineers - Lasers and Electro-Optics Society (IEEE-LEOS) รองศาสตราจารย์ ดร.บุญศิริ อนันตเศรษฐ กรรมการ (ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ) • กรรมการพัฒนาหลักสูตรและกรรมการวิจัย สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • กรรมการสภามหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต • กรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ • กรรมการก�ำกับมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

รองศาสตราจารย์ ดร.ชลลดา หลวงพิทักษ์ กรรมการ (ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ) • รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • อดีตรองหัวหน้าภาควิชาเศรษฐศาสตร์ ฝ่ายประสานกิจและ สารสนเทศ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • อดีตรองหัวหน้าภาควิชาเศรษฐศาสตร์ ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • อดีตประธานคณะกรรมการด�ำเนินการโครงการปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ ภาคพิเศษ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์กิติมา สุรสนธิ กรรมการ (ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ) • ผู้อ�ำนวยการบริหารโครงการบริการสังคม คณะวารสารศาสตร์ และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ประธานคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • คณะกรรมการก�ำกับมาตรฐานทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ รองศาสตราจารย์ลักษณา สตะเวทิน เลขานุการ • รองอธิการบดีอาวุโสด้านสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • ที่ปรึกษาคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม ของสถาบันการประชาสัมพันธ์ กรมประชาสัมพันธ์ • กรรมการอ�ำนวยการการตัดสินรางวัลโทรทัศน์ทองค�ำ • อดีตคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ การประชาสัมพันธ์แห่งชาติ หลักสูตรปริญญาตรี 623


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.