ระเบียบการหลักสูตรปริญญาตรี 2013-2014

Page 1

คําอธิบายรายวิชา อักษรยอและหมายเลขประจําวิชา อักษรยอประจําวิชา จะเปนอักษรยอ 2 ตัว แสดงถึงหมวด วิชา สวนหมายเลขประจําวิชาจะเปนตัวเลข 3 หลัก ระหวาง 101-500 ตัวเลขหลักรอยหมายถึง ชัน้ ปโดยประมาณ แตไมควรเรียนกอนหรือ หลังชั้นปนั้นมากกวา 1 ป สวนตัวเลขหลักสิบและหลักหนวยหมาย ถึงลําดับวิชา หนวยกิต คําวา หนวยกิต หมายถึง หนวยทีแสดง ่ ปริมาณการศึกษา ซึ่งมหาวิทยาลัยจัดใหแกนักศึกษาวิชาที่ใชเวลาบรรยายสัปดาหละ 1 ชั่วโมง ตลอดหนึ่งภาคการศึกษาปกติ มีคาเปน 1 หนวยกิต วิชาที่ ใชเวลาปฏิบตั ทดลอง ิ 2 ชัว่ โมงตอ 1 สัปดาหตลอดหนึง่ ภาคการศึกษา ปกติ มีคาเปน 1 หนวยกิต ยกเวนบางสาขาวิชา ซึ่งอาจจะกําหนด เวลาใหเปนอยางอื่นไดตามความเหมาะสม

หมวดวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส อล. 211 อิเล็กทรอนิกส 1 (3 หนวยกิต) EL 211 Electronics I วิชาบังคับกอน: ฟส. 103 ฟสิกสทั่วไป 2 อุปกรณสารกึง่ ตัวนํา คุณลักษณะทางกระแส แรงดัน และ ความถี่ของอุปกรณสารกึ่งตัวนํา การวิเคราะหและออกแบบวงจรได โอด การวิเคราะหและออกแบบวงจรทรานซิสเตอรชนิดไบโพลาร และ มอส ออปแอมปและการประยุกตใชงาน

274 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

อล. 212 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 1 (1 หนวยกิต) EL 212 Electronics Laboratory I วิชาบังคับกอน: อล. 211 อิเล็กทรอนิกส 1 หรือเรียนควบคูกัน ปฏิบตั กิ ารทดลองในเรือ่ งทีส่ อดคลองกับวิชาอิเล็กทรอนิกส 1 อล. 221 อิเล็กทรอนิกส 2 (3 หนวยกิต) EL 221 Electronics II วิชาบังคับกอน: อล. 211 อิเล็กทรอนิกส 1 วงจรขยายสัญญาณดิฟเฟอเรนเชียล วงจรเปรียบเทียบ ออปแอมปและการใชงานเบือ้ งตน วงจรออสซิลเลเตอร การตอบสนอง ความถีข่ องวงจรขยายแบบปอนกลับ วงจรขยายความถีส่ งู วงจรกรอง ความถี่แบบแอคทีฟ วงจรกระแสคงที่ วงจรเรคกูเลเตอร คุณสมบัติ และการใชงานของฟลดเอฟเฟคทรานซิสเตอร มอสเฟท ไทรีสเตอร ยูเจที และ พียูที ไอจีบีที เอสซีอาร ไตรแอคและอุปกรณสารกึ่งตัวนํา ชนิดอื่นที่นาสนใจ วงจรไอซีชนิดเชิงเสนและชนิดลอจิก และการ ประยุกตใชงาน อล. 222 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 2 (1 หนวยกิต) EL 222 Electronics Laboratory II วิชาบังคับกอน: อล. 221 อิเล็กทรอนิกส 2 หรือเรียนควบคูกัน ปฏิ บั ติ การทดลองในเรื่ อ งที่ ส อดคล อ งกั บ วิ ช าอิ เ ล็ ก ทรอนิกส 2 อล. 253 ระบบดิจิทัล 1 (3 หนวยกิต) EL 253 Digital System I วิชาบังคับกอน: อล. 211 อิเล็กทรอนิกส 1 ระบบตรรกและพีชคณิตของบูลนี การออกแบบวงจรคอม บิเนชัน การวิเคราะหและการออกแบบวงจรซีเควนเชียล รีจิสเตอร วงจรนับ หนวยความจําชนิดตางๆ หลักการออกแบบวงจรที่ใชเกทไอ ซีที่มีความเร็วในการทํางานตางๆ กัน การแปลงสัญญาณอนาลอก เปนดิจิทัล และการแปลงสัญญาณดิจิทัลเปนอนาลอก


อล. 254 ปฏิบัติการระบบดิจิทัล 1 (1 หนวยกิต) EL 254 Digital System Laboratory I วิชาบังคับกอน: อล. 253 ระบบดิจิทัล 1 หรือเรียนควบคูกัน ปฏิบตั กิ ารทดลองในเรือ่ งทีส่ อดคลองกับวิชาระบบดิจทิ ลั 1

อล. 323 ปฏิบัติการระบบดิจิทัล 2 (1 หนวยกิต) EL 323 Digital System Laboratory II วิชาบังคับกอน: อล. 322 ระบบดิจิทัล 2 หรือเรียนควบคูกนั ปฏิบตั กิ ารทดลองในเรือ่ งทีส่ อดคลองกับวิชาระบบดิจทิ ลั 2

อล. 311 ระบบไมโครโปรเซสเซอร (3 หนวยกิต) EL 311 Microprocessor System วิชาบังคับกอน: อล. 253 ระบบดิจิทัล 1 ไมโครโปรเซสเซอรเบื้องตน สถาปตยกรรมของไมโคร โปรเซสเซอร เอแอลยู ริจิสเตอร แฟลก การจับเวลา คําสั่งและการ เขียนโปรแกรมดวยภาษาแอสเซมบลี การเชือ่ มตอหนวยความจํา การ เชือ่ มตอไมโครโปรเซสเซอรกบั วงจรภายนอก ระบบอินเทอรรพั ท ผล ของคําทั่งตอฮารดแวร

อล. 353 การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟา (3 หนวยกิต) EL 353 Electrical Instruments and Measurements วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 211 ทฤษฎีวงจรไฟฟา หนวยและมาตรฐานของการวัดทางไฟฟา ประเภทและ คุณลักษณะของเครื่องมือวัด การวิเคราะหการวัด การวัดกระแสและ แรงดันของทั้งไฟตรงและไฟสลับโดยใชมาตรวัดแบบแอนะลอกและ แบบดิจทิ ลั การวัดกําลัง ตัวประกอบกําลัง และพลังงาน การวัดความ ตานทาน ความเหนีย่ วนํา และความเก็บประจุ การวัดความถีแ่ ละชวง เวลา สัญญาณรบกวน ทรานสดิวเซอร

อล. 312 ปฏิบัติการไมโครโปรเซสเซอร (1 หนวยกิต) EL 312 Microprocessor Laboratory วิชาบังคับกอน: อล. 311 ระบบไมโครโปรเซสเซอร หรือเรียนควบคูก นั ปฏิบตั กิ ารทดลองในเรือ่ งทีส่ อดคลองกับวิชาระบบไมโคร โปรเซสเซอร อล. 322 ระบบดิจิทัล 2 (3 หนวยกิต) EL 322 Digital System II วิชาบังคับกอน: อล. 253 ระบบดิจิทัล 1 การออกแบบวงจรดิจิทัล ระดับรีจีสเตอร การออกแบบ สเตตมาชีน การควบคุมวงจรดิจิทัล ดวยวิธีฮารดไวรและไมโคร โปรแกรม การออกแบบวงจรดิจิทัล ดวยอุปกรณพีแอลดีและเอฟพีจี เอ การเขียนโปรแกรมวีเอชดีแอลและการจําลองการทํางาน โครงสราง ของคอมพิวเตอรเบือ้ งตน การออกแบบซีพยี ู ซึง่ ประกอบดวย เอแอล ยู รีจสี เตอรและหนวยควบคุม ดวยโปรแกรมวีเอชดีแอล การเชือ่ มโยง ระบบกับอุปกรณรอบนอก การใชแคดในการออกแบบวงจรดิจิทัล

อล. 433 การประมวลผลสัญญาณแบบดิจิตอล (3 หนวยกิต) EL 433 Digital Signal Processing วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 323 หลักการสื่อสาร ความรู พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ สั ญ ญาณและระบบการแปลง สัญญาณ แซดทรานสฟอรมและอินเวอรสแซดทรานสฟอรม การ ออกแบบวงจรกรองสัญญาณแบบดิจติ อล วงจรกรองสัญญาณดิจติ อล ในทางปฏิบัติ ฟูริเยรทรานสฟอรมแบบไมตอเนื่อง อล. 439 ออปโตอิเล็กทรอนิกส (3 หนวยกิต) EL 439 Opto-Electronics วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 351 สนามและคลื่นแมเหล็กไฟฟา หนวยที่ใชในการวัดแสง ทอนําคลืน่ เสนใยนําแสง แหลง กําเนิดแสงและอุปกรณรบั แสงแบบสารกึง่ ตัวนํา วงจรตางๆ ของระบบ รับ - สงแสง ระบบสื่อสารดวยแสง วงจรรวมออปติกส หลักสูตรปร ญญาตร 275


อล. 440 อิเล็กทรอนิกสชีวการแพทย (3 หนวยกิต) EL 440 Biomedical Electronics วิชาบังคับกอน: อล. 353 การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟา แหลงกําเนิดศักยชวี ไฟฟา ระบบการนําสัญญาณชีวไฟฟา และระบบประสาท หลั ก การของอิ เ ล็ ก โตรด วงจรสั ญ ญาณ อิเล็กทรอนิกสแบบตางๆ ทีน่ าํ มาใชทางชีวการแพทย แหลงจายไฟฟา ของอุปกรณชีวการแพทย วงจรปรับสภาวะของสัญญาณ วงจรแยก สวนทางไฟฟา อล. 453 การประมวลผลภาพและจดจํารูปแบบ (3 หนวยกิต) EL 453 Image Processing and Pattern Recognition วิชาบังคับกอน: คณ. 107 แคลคูลัส 3 และ คพ. 122 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร ศึกษาระบบการประมวลผลภาพการเห็นและแบบจําลอง คณิตศาสตรของภาพทฤษฎีการสุมตัวอยางและการใหคาเชิงตัวเลข ฟูเรียทรานฟอรมและคุณสมบัติภาพ การทําใหภาพดีขึ้น การทําให ภาพเรียบขึน้ การทําใหภาพคมชัดขึน้ การรูจ ดจํารูปแบบจากภาพถาย การประยุกตการประมวลผลภาพในงานดานอื่น อล. 454 ระบบสมองกลฝงตัว (3 หนวยกิต) EL 454 Embedded System วิชาบังคับกอน: ไมมี การออกแบบระบบสมองกลฝงตัวโดยใชไมโครคอมพิวเตอรและอุปกรณเชื่อมตอที่จําเปน การประเมินและเลือกอุปกรณที่ เหมาะสมตอการนําไปใชงานและคุมคาตอการลงทุน ศึกษาถึงระบบ ปฏิบตั กิ ารแบบเรียลไทม และการปรับระบบปฏิบตั กิ ารแบบเรียลไทม เพื่อใหทํางานไดบนระบบสมองกลฝงตัวที่ออกแบบขึ้น ศึกษาถึงหลัก การและวิธีการในการออกแบบซอฟตแวรบนระบบสมองกลฝงตัวบน หลักการของการออกแบบระบบแบบเรียลไทม และตัวอยางการใชงาน ตางๆ 276 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

อล. 461 ชีวสารสนเทศเบื้องตน (3 หนวยกิต) EL 461 Introduction to Bioinformatic วิชาบังคับกอน: ไมมี แนะนํ า ชี ววิ ท ยาระดั บ โมเลกุ ล พั น ธุ ศ าสตร ทฤษฏี วิวฒ ั นาการ เทคนิคและซอฟแวรสาํ หรับการสืบคนฐานขอมูล การจัด เรียงลําดับดีเอ็นเอ อารเอ็นเอ และโปรตีน การหายีน จีโนมและโปรตี โอมิกส การสรางและตีความหมายของภาพถายทางการแพทย อล. 462 ไบโอเซนเซอร (3 หนวยกิต) EL 462 Biosensors วิชาบังคับกอน: อล. 353 การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟา หลั ก การวั ด ปรากฏการณ ต า งๆ ทางเคมี แ ละชี ว วิทยา ความหมายของไบโอเซนเซอร องคประกอบและชนิดของไบ โอเซนเซอร หลักการออกแบบและการสรางไบโอเซนเซอรการ ประยุกตใชงานไบโอเซนเซอร อล. 464 วิศวกรรมชีวเวชเบื้องตน (3 หนวยกิต) EL 464 Introduction to Biomedical Engineering วิชาบังคับกอน: ไมมี ความหมายและความสําคัญของวิศวกรรมชีวเวช ความ รูพ นื้ ฐานเกีย่ วกับวงจรอิเล็กทรอนิกสและเทคนิคการประมวลสัญญาณ ที่ใชสําหรับวิศวกรรมชีวเวชการวัดและเครื่องมือวัดทางชีวเวช การ ประยุกตใชเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศในทางวิศวกรรมชีวเวช อล. 465 เทคโนโลยีเซนเซอร (3 หนวยกิต) EL 465 Sensor Technology วิชาบังคับกอน: อล. 353 การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟา หลักการและทฤษฏีของเซนเซอร เทคโนโลยีการประดิษฐ เซนเซอร การออกแบบระบบวัดสําหรับเซนเซอรการประยุกตใชงาน เซนเซอร เซนเซอรฟวชัน เซนเซอรอัจฉริยะการใชเซนเซอรในการ วัดระยะไกล


อล. 471 วิศวกรรมระบบเสียง (3 หนวยกิต) EL 471 Sound System Engineering วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 351 สนามและคลื่นแมเหล็กไฟฟา ระบบเกี่ยวกับเสียง คณิตศาสตรสําหรับระบบเกี่ยวกับ เสียง การเชื่อมตอระหวางระบบไฟฟากับระบบอะคูสติก ทิศทางและ การครอบคลุมของลําโพง อะคูสติกแวดลอม อะคูสติกสําหรับหอง ใหญ อะคูสติกสําหรับหองเล็ก ไมโครโฟน ลําโพง การใชอุปกรณ หนวงสัญญาณ เครือ่ งมือเกีย่ วกับเสียงและอะคูสติก การออกแบบและ ติดตั้งระบบเสียง

อล. 483 โครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส (2 หนวยกิต) สําหรับสหกิจศึกษา EL 483 Electronic Engineering Project for Cooperative Education (สําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับกอน: อล. 498 วิชาสหกิจศึกษาทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส เปนโครงงานที่ตอ เนื่องจากการดําเนินงานในวิชาสหกิจ ศึกษาทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส ซึง่ นักศึกษาตองนําผลงานที่ไดจาก การทําสหกิจศึกษามาสรางหรือปรับปรุงใหเสร็จบริบูรณ พรอมทั้งทํา รายงานและทดสอบผลงานตออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน

อล. 481 โครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 (2 หนวยกิต) EL 481 Electronic Engineering Project I วิชาบังคับกอน: นักศึกษาชั้นปที่ 4 และไดรับอนุมัติจากผูสอน วางแผนและออกแบบโครงงานและสรางอุปกรณ หรือ ระบบทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส (ในปสดุ ทาย) มีการเสนอโครงการ และรายงาน ตลอดจนเตรียมอุปกรณตางๆ ที่ตองการเพื่อดําเนินการ โครงงานวิศวกรรมไฟฟา 2

อล. 493 เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 (3 หนวยกิต) EL 493 Selected Topics in Electronics Engineering I วิชาบังคับกอน: ผานรายวิชาที่กําหนด และไดรับอนุมัติจาก หัวหนาภาควิชา หัวขอทีน่ า สนใจเกีย่ วกับพัฒนาการใหมๆ ทางวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส

อล. 482 โครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 2 (2 หนวยกิต) EL 482 Electronic Engineering Project II วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 481 โครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 เปนโครงงานที่ตอเนื่องจากโครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 ตองดําเนินการสรางอุปกรณตนแบบจนเสร็จบริบูรณ พรอมทั้งทํารายงานและทดสอบอุปกรณตนแบบตออาจารยที่ปรึกษา โครงการ

อล. 494 เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 2 (3 หนวยกิต) EL 494 Selected Topics in Electronics Engineering II วิชาบังคับกอน: ผานรายวิชาที่กําหนด และไดรับอนุมัติจาก หัวหนาภาควิชา หัวขอทีน่ า สนใจเกีย่ วกับพัฒนาการใหมๆ ทางวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส อล. 495 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 (3 หนวยกิต) EL 495 Special Problems in Electronics Engineering I วิชาบังคับกอน: ผานรายวิชาที่กําหนด และไดรับอนุมัติจาก หัวหนาภาควิชา ปญหาพิเศษ กรณีศึกษาที่นาสนใจทางดานวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส หลักสูตรปร ญญาตร 277


อล. 496 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 2 (3 หนวยกิต) EL 496 Special Problems in Electronics Engineering II วิชาบังคับกอน: ผานรายวิชาที่กําหนด และไดรับอนุมัติจาก หัวหนาภาควิชา ปญหาพิเศษ กรณีศึกษาที่นาสนใจทางดานวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส อล. 497 การฝกงานทางวิศวกรรม (1 หนวยกิต) EL 497 Engineering Practices (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับกอน: ไมมี การฝกงานวิศวกรรมในสาขาทีเ่ กีย่ วของ ภายใตการดูแล ของวิศวกรทีม่ ปี ระสบการณประจําบริษทั เอกชนหรือหนวยงานราชการ เปนเวลาอยางนอย 6 สัปดาห หรือ 180 ชัว่ โมง ทัง้ นี้โดยนักศึกษา ตองไดเกรดเปน S อล. 498 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส (6 หนวยกิต) EL 498 Cooperative Education in Electronic Engineering วิชาบังคับกอน: สศ. 301 วิชาเตรียมสหกิจศึกษา (สําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสรางใหนักศึกษามีความ พรอมดานงานอาชีพ จากการปฏิบตั งิ านพืน้ ฐาน อยางมีหลักการและ เปนระบบ นักศึกษาจะตองมีการฝกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห ซึง่ เปนงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเปนงานทีเ่ นนประสบการณทาํ งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เปนงานที่เปนประโยชนตอ องคกร รวมถึงมีการประเมินผลการทํางานจากคณาจารยรว มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน 278 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาวิศวกรรมไฟฟา ฟฟ. 211 ทฤษฎีวงจรไฟฟา (3 หนวยกิต) EE 211 Electric Circuit Theory วิชาบังคับกอน: ฟส. 103 ฟสิกสทั่วไป 2 องคประกอบวงจร การวิเคราะหโนดและเมซ ทฤษฎีวงจร ตัวตานทาน ตัวเหนี่ยวนํา และตัวเก็บประจุ วงจรอันดับที่หนึ่งและ อันดับที่สอง แผนภาพเฟสเซอร วงจรกระแสสลับ ระบบสามเฟส ฟฟ. 212 ปฏิบัติการวงจรไฟฟา (1 หนวยกิต) EE 212 Electric Circuit Laboratory วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 211 ทฤษฎีวงจรไฟฟา หรือเรียนควบคูกัน ปฏิบตั กิ ารทดลองในเรือ่ งทีส่ อดคลองกับทฤษฎีวงจรไฟฟา ฟฟ. 221 การวิเคราะหวงจรไฟฟา (3 หนวยกิต) EE 221 Electric Circuit Analysis วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 211 ทฤษฎีวงจรไฟฟา วงจรเชิงเสนที่ไมเปลีย่ นแปลงตามเวลา ทฤษฎีวงจรไฟฟา แบบกราฟ การวิเคราะหโดยใชโนดและเมช การวิเคราะหโดยอาศัยลูป และคัตเซต สมการของสถานะ การวิเคราะหวงจรไฟฟา ฟงกชนั ของ วงจรไฟฟา ทฤษฎีวงจรไฟฟาที่มีทางเขาออก 2 ทาง การวิเคราะห วงจรไฟฟาโดยวิธีอิมเมจ ฟฟ. 312 การแปรรูปพลังงานกลไฟฟา (3 หนวยกิต) EE 312 Electromechanical Energy Conversion วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 211 ทฤษฎีวงจรไฟฟา วงจรแม เ หล็ ก หลั ก การแปรผั น พลั ง งานกลไฟฟ า พลังงานและการแปลงพลังงานแมเหล็ก หมอแปลงไฟฟาแบบเฟส เดียวและสามเฟส หลักการทํางานของเครื่องจักรไฟฟากระแสตรง วงจรสมมูลของเครื่องจักรไฟฟากระแสตรง การเริ่มเดินเครื่องจักร ไฟฟากระแสตรง การควบคุมความเร็วของมอเตอรกระแสตรง


ฟฟ. 313 ปฏิบัติการการแปรรูปพลังงานกลไฟฟา (1 หนวยกิต) EE 313 Electromechanical Energy Conversion Laboratory วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 312 การแปรรูปพลังงานไฟฟา หรือเรียนควบคูก นั ปฏิ บั ติ การทดลองในเรื่ อ งที่ ส อดคล อ งกั บ การแปรรู ป พลังงานกลไฟฟา ฟฟ. 321 เครื่องจักรกลไฟฟา (3 หนวยกิต) EE 321 Electric Machines วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 312 การแปรรูปพลังงานกลไฟฟา โครงสรางของเครื่องจักรไฟฟากระแสสลับ ซิงโครนัส มอเตอร อินดัคชันมอเตอรแบบเฟสเดียวและสามเฟส เครือ่ งกําเนิด ไฟฟ า กระแสสลั บ แบบซิ ง โครนั ส วงจรสมมู ล ของเครื่ อ งจั กร ไฟฟากระแสสลับ การเริ่มเดินเครื่องจักรกลไฟฟากระแสสลับ การ ควบคุมความเร็วของมอเตอรกระแสสลับแบบซิงโครนัสและแบบอิน ดักชั่น การควบคุมการจายไฟฟากระแสสลับของเครื่องจักรกล ไฟฟ า กระแสสลั บ แบบซิ ง โครนั ส การซิ ง โครไนซ เ ครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟากระแสสลับเขาสูระบบไฟฟา ระบบปองกันของเครื่องจักร ฟฟ. 322 ปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟา (1 หนวยกิต) EE 322 Electrical Machines Laboratory วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 321 เครื่องจักรกลไฟฟา หรือเรียนควบคูกัน ปฏิบตั กิ ารทดลองในเรือ่ งทีส่ อดคลองกับวิชา เครือ่ งจักร กลไฟฟา ฟฟ. 323 หลักการสื่อสาร (3 หนวยกิต) EE 323 Communication Principles วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 351 สนามและคลื่นแมเหล็กไฟฟา ประวัตริ ะบบการสือ่ สาร หลักการของการสือ่ สารแบบตางๆ โทรเลข โทรศัพท วิทยุ การวิเคราะหสญั ญาณทางไฟฟาสือ่ สาร แอมป

ลิจูดมอดดูเลชัน ฟรีเควนซีและเฟสมอดดูเลชัน เครื่องสงและเครื่อง รับวิทยุ หลักการสงโทรทัศน การกระจายของคลืน่ วิทยุและสายอากาศ การสื่อสารโดยใชแสงไมโครเวฟ โทรสาร การสื่อสารระบบอนาลอก และการสื่อสารระบบดิจิทัล การสื่อสารดาวเทียม ฟฟ. 324 ระบบควบคุม (3 หนวยกิต) EE 324 Control System วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 211 ทฤษฎีวงจรไฟฟา แบบจําลองทางคณิตศาสตรของระบบ ระบบควบคุมแบบ ปอนกลับและแบบวงรอบเปด ฟงกชนั ถายโอน กราฟการไหลสัญญาณ การวิเคราะห โดเมนเวลาและโดเมนความถี่และการออกแบบระบบ ควบคุม โลกัสของราก การพล็อตไนควิสต การพล็อตโบเด เสถียรภาพ ของระบบ ฟฟ. 325 ปฏิบัติการระบบควบคุม (1 หนวยกิต) EE 325 Control System Laboratory วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 324 ระบบควบคุม หรือเรียนควบคูกัน ปฏิบตั กิ ารทดลองในเรือ่ งทีส่ อดคลองกับวิชาระบบควบคุม ฟฟ. 326 ระบบไฟฟากําลัง (3 หนวยกิต) EE 326 Electrical Power Systems วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 312 การแปรรูปพลังงานกลไฟฟา แนะนําระบบไฟฟากําลัง การสงผานพลังงานไฟฟา อิม พีแดนซของสายสง ความสัมพันธของกระแสและแรงดัน แนวคิดตอ หนวย การจําลองระบบไฟฟากําลัง ชนิดและการเขียนไดอะแกรม สําหรับระบบไฟฟากําลัง สมการและการวิเคราะหสมการในระบบ ไฟฟากําลัง การคํานวณระบบสายสงและสายจําหนาย การวิเคราะห ความผิดพรองแบบสมมาตร

หลักสูตรปร ญญาตร 279


ฟฟ. 351 สนามและคลื่นแมเหล็กไฟฟา (3 หนวยกิต) EE 351 Electromagnetic Fields and Waves วิชาบังคับกอน: ฟส. 103 ฟสิกสทั่วไป และคณ. 107 แคลคูลัส 3 สนามไฟฟาสถิต แรงของคูลอมป ความเขมของสนาม ไฟฟา เสนแรงของสนามไฟฟาและกฎของเกาส การวิเคราะหเวกเตอร และทฤษฎีไดเวอรเจนซ ตัวนําและไดอิเล็กตริก คาความจุไฟฟา พลังงานและศักย ไฟฟา กระแสการพาและกระแสการนํา สนามแม เหล็กสถิต สมการลาปลาซ กฎของแอมแปร แรงและแรงบิดในสนาม แมเหล็ก การเหนี่ยวนําและวงจรแมเหล็ก กระแสกระจัด สนามแม เหล็กไฟฟาที่แปรเปลี่ยนตามเวลา สมการแมกซเวล ทฤษฎีพอยนติง ทฤษฎีสายสง ทฤษฎีทอ นําคลืน่ การแผคลืน่ ของสนามแมเหล็กไฟฟา ที่แปรเปลี่ยนตามเวลา

ฟฟ. 431 การออกแบบระบบไฟฟา (3 หนวยกิต) EE 431 Electrical System Design วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 211 ทฤษฎีวงจรไฟฟา และ ฟฟ. 321 เครื่องจักรกลไฟฟา หรือเรียนควบคู หลักการพืน้ ฐานในการออกแบบ สัญลักษณและมาตรฐาน แผนภาพของระบบจําหนายไฟฟา ประเภทของสายไฟฟา ชนิดและ การใชงานทางเดินสาย อุปกรณและเครื่องมือทางไฟฟา การคํานวณ โหลด การปรับปรุงตัวประกอบกําลังและการออกแบบตัวเก็บประจุ การออกแบบระบบแสงสวางและอุปกรณ ไฟฟาตางๆ การออกแบบ ระบบทีป่ ระกอบดวยมอเตอร การจัดทําตารางโหลด สายปอนและสาย ปอนหลัก ระบบไฟฟาฉุกเฉิน การคํานวณการลัดวงจร ระบบการตอ ลงดินสําหรับการติดตั้งอุปกรณ ไฟฟา

ฟฟ. 412 การวิเคราะหระบบไฟฟากําลัง (3 หนวยกิต) EE 412 Electrical Power Systems Analysis วิชาบังกับกอน: ฟฟ. 326 ระบบไฟฟากําลัง การศึกษาเกี่ยวกับการไหลของกําลังไฟฟา การควบคุม การไหลของกําลังไฟฟา สวนประกอบสมมาตร การวิเคราะหความ ผิดพรองแบบไมสมมาตร เสถียรภาพของระบบไฟฟากําลัง การจาย โหลดอยางประหยัด แรงดันเกินขนาดในระบบไฟฟากําลังและขอ กําหนดของฉนวนไฟฟา อุปกรณปองกันระบบไฟฟากําลังเบื้องตน

ฟฟ. 433 วิศวกรรมสองสวาง (3 หนวยกิต) EE 433 Illumination Engineering วิชาบังคับกอน: อล. 353 การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟา ปริมาณของการแผรังสีทางแมเหล็กไฟฟาและของแสง สว า ง การวั ด แสงสว า ง การแผ รั ง สี จากวั ต ถุ ร  อ นจากการถ า ย ประจุไฟฟาในกาซและจากฟอสเฟอร หลอดไฟฟาและดวงโคมไฟฟา สมบัติทางแสงของวัสดุกอสราง การคํานวณแสงสวางภายในอาคาร และนอกอาคาร

ฟฟ. 413 โรงตนกําลังไฟฟาและสถานีไฟฟายอย (3 หนวยกิต) EE 413 Electric Power Plant and Substations วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 321 เครื่องจักรกลไฟฟา กราฟของโหลดตามชวงเวลา โรงไฟฟาแบบเครื่องยนต ดีเซล แบบพลังงานไอนํ้า แบบพลังงานกาซ แบบพลังงานความรอน รวม แบบพลังงานงานนํ้า แบบพลังงานนิวเคลียร แหลงที่มาของ พลังงานทดแทน ชนิดของสถานีไฟฟายอย อุปกรณตางๆ ที่ใชใน สถานีไฟฟายอย การออกแบบระบบสถานีไฟฟายอย การปองกันฟาผา และระบบการตอลงดินสําหรับสถานีไฟฟายอย 280 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ฟฟ. 435 วิศวกรรมไฟฟาแรงสูง (3 หนวยกิต) EE 435 High Voltage Engineering วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 351 สนามและคลื่นแมเหล็กไฟฟา และ ฟฟ. 221 การวิเคราะหวงจรไฟฟา การใชงานไฟฟาแรงดันไฟฟาสูงและแรงดันไฟฟาเกินใน ระบบไฟฟากําลัง การสรางแรงดันไฟฟาสูงสําหรับการทดสอบ เทคนิค การวัดแรงดันไฟฟาสูง ความเขมสนามไฟฟาและเทคนิคการฉนวน การศึกษาการเบรกดาวนในกาซ ของเหลวและในไดอิลก็ ตริกของแข็ง เทคนิคการทดสอบแรงดันไฟฟาสูง การประสานสัมพันธทางฉนวน


ฟฟ. 438 การปองกันระบบไฟฟากําลัง (3 หนวยกิต) EE 438 Power System Protection วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 326 ระบบไฟฟากําลัง สาเหตุของการเกิดความผิดพรอง หลักการพื้นฐานของ การปองกันในระบบไฟฟากําลัง หมอแปลงเครือ่ งมือวัดและทรานสดิว เซอร หลักการเบื้องตนของอุปกรณปองกันและระบบปองกัน การ ปองกันกระแสเกินและกระแสลงดิน การปองกันโดยอาศัยผลตางของ ปริมาณทางไฟฟา การปองกันระบบสงโดยใชรเี ลยแบบระยะทาง การ ปองกันระบบสงโดยใชรีเลยแบบไพลอต การปองกันมอเตอร การ ปองกันหมอแปลงไฟฟา การปองกันเครือ่ งกําเนิดไฟฟา การพิจารณา เขตการปองกัน ฟฟ. 441 การบริหารการใชพลังงานไฟฟา (3 หนวยกิต) EE 441 Electrical Energy Management วิชาบังคับกอน - ไมมี คําจํากัดความของการใชโหลดในระบบไฟฟา อัตราคา พลังงานไฟฟาที่การไฟฟาขายใหกับผูใชไฟประเภทตางๆ วิธีการ บริหารการใชพลังงานไฟฟาใหเกิดการประหยัดทีส่ ดุ สําหรับผูพ กั อาศัย ธุรกิจและอุตสาหกรรมตางๆ การควบคุมการจายพลังงานไฟฟาเพื่อ ใหเกิดการประหยัดที่สุด การเลือกใชอุปกรณไฟฟาเพื่อการประหยัด พลังงานไฟฟา การใชเทคโนโลยีสมัยใหมควบคุมระบบไฟฟา ฟฟ. 481 โครงงานวิศวกรรมไฟฟา 1 (2 หนวยกิต) EE 481 Electrical Engineering Project I วิชาบังคับกอน: นักศึกษาชั้นปที่ 4 และไดรับอนุมัติจากผูสอน วางแผนและออกแบบโครงงานและสรางอุปกรณ หรือ ระบบทางวิศวกรรมไฟฟา (ในปสุดทาย) มีการเสนอโครงการและ รายงาน ตลอดจนเตรียมอุปกรณตา งๆ ทีต่ อ งการเพือ่ ดําเนินการโครง งานวิศวกรรมไฟฟา 2

ฟฟ. 482 โครงงานวิศวกรรมไฟฟา 2 (2 หนวยกิต) EE 482 Electrical Engineering Project II วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 481 โครงงานวิศวกรรมไฟฟา 1 เปนโครงงานที่ตอเนื่องจากโครงงานวิศวกรรมไฟฟา 1 ตองดําเนินการสรางอุปกรณตนแบบจนเสร็จบริบูรณ พรอมทั้งทํา รายงานและทดสอบอุปกรณตนแบบตออาจารยที่ปรึกษาโครงการ ฟฟ. 483 โครงงานวิศวกรรมไฟฟาสําหรับสหกิจศึกษา (2 หนวยกิต) EE 483 Electrical Engineering Project for Cooperative Education (สําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับกอน: ฟฟ. 498 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมไฟฟา เปนโครงงานที่ตอเนื่องจากการดําเนินงานในวิชาสหกิจ ศึกษาทางวิศวกรรมไฟฟา ซึง่ นักศึกษาตองนําผลงานที่ไดจากการทํา สหกิจศึกษามาสรางหรือปรับปรุงใหเสร็จบริบรู ณ พรอมทัง้ ทํารายงาน และทดสอบผลงานตออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน ฟฟ. 493 เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมไฟฟา 1 (3 หนวยกิต) EE 493 Selected Topics in Electrical Engineering I วิชาบังคับกอน: ผานรายวิชาที่กําหนด และไดรับอนุมัติจาก หัวหนาภาควิชา หัวขอทีน่ า สนใจเกีย่ วกับพัฒนาการใหมๆ ทางวิศวกรรม ไฟฟา

หลักสูตรปร ญญาตร 281


ฟฟ. 497 การฝกงานทางวิศวกรรม (1 หนวยกิต) EE 497 Engineering Practices (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับกอน: ไมมี การฝกงานวิศวกรรมในสาขาที่เกี่ยวของ ภายใตการดูแล ของวิศวกรทีม่ ปี ระสบการณประจําบริษทั เอกชนหรือหนวยงานราชการ เปนเวลาอยางนอย 6 สัปดาห หรือ 180 ชัว่ โมง ทัง้ นี้โดยนักศึกษา ตองไดเกรดเปน S ฟฟ. 498 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมไฟฟา (6 หนวยกิต) EE 498 Cooperative Education in Electrical Engineering (สําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับกอน: สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสรางใหนักศึกษามีความ พรอมดานงานอาชีพ จากการปฏิบตั งิ านพืน้ ฐาน อยางมีหลักการและ เปนระบบ นักศึกษาจะตองมีการฝกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห ซึง่ เปนงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเปนงานทีเ่ นนประสบการณทาํ งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เปนงานที่เปนประโยชนตอ องคกร รวมถึงมีการประเมินผลการทํางานจากคณาจารยรว มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน

282 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คต. 111 ปฏิบัติการเบื้องตนสําหรับวิศวกรรม (1 หนวยกิต) คอมพิวเตอร CE 111 Fundamental Laboratory for Computer Engineering วิชาบังคับกอน: ไมมี หลักการเชิงปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วของกับระบบคอมพิวเตอรและ สวนประกอบสวนประกอบและอุปกรณคอมพิวเตอร การประกอบ คอมพิวเตอร การติดตัง้ /ยกเลิกโปรแกรมคอมพิวเตอร การติดตัง้ และ การใช ร ะบบปฏิ บั ติ การต า งๆ การสร า งสรรค ผ ลงานพื้ น ฐานใน คอมพิวเตอร เชน พัฒนาเว็บไซต ตกแตงภาพ การสรางไฟลนาํ เสนอ ผลงาน เปนตน การใชงานคอมพิวเตอรสําหรับงานวิศวกรรม เชน โปรแกรมสําหรับชวยคํานวณทางคณิตศาสตร โปรแกรมชวยในการ สรางแบบจําลองและวิเคราะหทางไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เปนตน คต. 221 คณิตศาสตรเต็มหนวย (3 หนวยกิต) CE 221 Discrete Mathematics วิชาบังคับกอน: อส. 211 คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร เซต คูลําดับ และฟงกชัน การพิสูจนทางตรรกศาสตร ความสัมพันธ ทฤษฎีการแจกแจง การนับ การเรียง การสับหมู การ เรียกซํ้า การเวียนบังเกิด ทฤษฎีตนไม ทฤษฎีกราฟ คต. 222 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) CE 222 Computer Organization and Architecture วิชาบังคับกอน: ไมมี ระบบคอมพิวเตอรจากอดีตถึงปจจุบนั คอมพิวเตอรแบบ ตาง ๆ อนาล็อกคอมพิวเตอร ดิจทิ ลั คอมพิวเตอร แนวคิดคอมพิวเตอร แบบ Von Neuman การจัดระบบคอมพิวเตอรสถาปตยกรรมของระบบ คอมพิวเตอร องคประกอบภายในคอมพิวเตอร เชน หนวยคํานวณ หนวยความจํา หนวยอินพุต-เอาตพุต การทํางานของคอมพิวเตอร


รูปแบบชุดคําสั่ง คอมพิวเตอรแบบ CISC และ RISC สถาปตยกรรม ของระบบคอมพิวเตอรสมรรถภาพสูง เชน คอมพิวเตอรแบบขนาน คอมพิวเตอรแบบซิสตอริค (Systolic)

ขอมูล การเขียนโปรแกรมแบบเวียนบังเกิด การเขียนโปรแกรมคนหา ขอมูล แบบตนไม แบบกราฟ การเขียนโปรแกรมแบบยอนหลัง

คต. 223 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร 2 (3 หนวยกิต) CE 223 Computer Programming II วิชาบังคับกอน: คพ. 122 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร ศึกษาหลักการเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรมอยาง นอย 1 ภาษา การเขียนโปรแกรมโครงสรางขอมูลแบบแถวลําดับ ตัวชี้และตัวอางอิง การเรียกซํ้า การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องตน การประยุกตการเขียนโปรแกรมสําหรับงานดานตางๆ อาทิเชน โปรแกรมคํานวณภาษีกา วหนา โปรแกรมคํานวณคาทางสถิติ เปนตน

คต. 313 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) CE 313 Operating System วิชาบังคับกอน: คต. 222 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอร หลักการเบื้องตนของระบบปฏิบัติการ ทรัพยากรของ คอมพิวเตอร วิธีการและแนวทางของระบบหลายโปรแกรม-หลายผู ใช พืน้ ฐานของการทํางานแบบหลายโปรแกรม-หลายผูใ ช การจัดสรร ทรัพยากรของระบบปฏิบัติการ การติดตอและประสานงานภายใน ระบบปฏิบัติการ การศึกษาถึงโครงสรางของระบบปฏิบัติการที่แพร หลาย

คต. 311 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม (3 หนวยกิต) CE 311 Data Structure and Algorithms วิชาบังคับกอน: คพ. 122 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร โครงสรางขอมูลแบบตางๆ เชน แถว ลําดับ เรียงทับซอน การเชื่อมโยง กราฟ ตนไม ตารางฯลฯ อัลกอริทึมสําหรับการเรียง ขอมูล การคนหาขอมูล การเวียนบังเกิด การคํานวณแบบไปขางหนา และแบบยอนหลัง การคํานวณหาประสิทธิภาพของอัลกอริทึม การ ประยุกตโครงสรางขอมูลใหอยูในรูปคอมพิวเตอร ตัวอยางอัลกอริทมึ สําหรับปญหาตางๆ

คต. 314 หลักการสื่อสาร (3 หนวยกิต) CE 314 Communication Principles วิชาบังคับกอน: ไมมี ประวัติระบบการสื่อสาร หลักการของการสื่อสารแบบ ตาง ๆ โทรเลข โทรศัพท วิทยุ การวิเคราะหสญั ญาณทางไฟฟาสือ่ สาร แอมพลิจูดมอดูเลชั่น ฟรีเควนซีและเฟสมอดูเลชั่น ดิจิทัลมอดูเลชั่น เครือ่ งสงและเครือ่ งรับวิทยุ หลักการสงโทรทัศน การกระจายคลืน่ วิทยุ และสายอากาศ การสือ่ สารโดยใชคลืน่ ไมโครเวฟ โทรสาร การสือ่ สาร แบบอนาล็อกและการสื่อสารแบบดิจิทัล การสื่อสารดาวเทียม

คต. 312 ปฏิบัติการโครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม (1 หนวยกิต) CE 312 Data Structure and Algorithm Laboratory วิชาบังคับกอน: คต. 311 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม หรือเรียนควบคูกัน ปฏิบัติการทดลองเขียนโปรแกรมในเรื่อง การเขียน โปรแกรมแบบโครงสราง การเขียนโปรแกรมจัดการหนวยความจํา ชนิด แถว ลําดับ เรียงทับซอน เชื่อมโยง การเขียนโปรแกรมเรียง หลักสูตรปร ญญาตร 283


คต. 315 การสื่อสารขอมูลและเครือขาย (3 หนวยกิต) คอมพิวเตอร 1 CE 315 Data Communication and Computer Network I วิชาบังคับกอน: อล. 211 อิเล็กทรอนิกส 1 และ อล. 253 ระบบดิจิทัล 1 องคประกอบของระบบเครือขาย มาตรฐานเครือขายชนิด ตาง ๆ คุณสมบัตขิ องเครือขายสือ่ สารคอมพิวเตอร รูปแบบของเครือ ขาย เทคนิคการสง-รับขอมูลในเครือขาย รูปแบบการสื่อสารภายใน เครือขายสถาปตยกรรมของโครงสรางเครือขายตามมาตรฐาน OSI กติกาของการสือ่ สารทีน่ ยิ มใชงาน วิธกี ารเชือ่ มตอเครือขาย เครือขาย สื่อสารแบบไรสาย เครือขายสื่อสารแบบไรสายสําหรับอุปกรณพกพา การใชประโยชนจากเครือขาย เชน อินทราเน็ต อินเทอรเน็ต คต. 316 การสื่อสารขอมูลและเครือขาย (3 หนวยกิต) คอมพิวเตอร 2 CE 316 Data Communication and Computer Network II วิชาบังคับกอน: คต. 315 การสื่อสารขอมูลและเครือขาย คอมพิวเตอร 1 หรือเรียนควบคู การสือ่ สารขอมูลและเครือขายคอมพิวเตอรเพิม่ เติม ราย ละเอียดของกติกาสื่อสารในระบบเปด เชน TCP/IP การวิเคราะห คุณภาพของระบบเครือขาย การโปรแกรมอุปกรณสวิตชชิ่งในเครือ ขาย การตรวจสอบและจัดการเครือขายดวยซอฟตแวร แอปพลิเคชัน่ เฉพาะสําหรับระบบเครือขาย คต. 317 เทคโนโลยีอินเตอรเน็ต (3 หนวยกิต) CE 317 Internet Technology วิชาบังคับกอน: คต. 315 การสือ่ สารขอมูลและเครือขายคอมพิวเตอร แนะนําเครือขายอินเตอรเน็ต พัฒนาการของอินเตอรเน็ต อินเตอรเน็ต II แอปพลิเคชั่นที่ปรากฏบนอินเตอรเน็ต ขอตกลงทาง เทคนิคการสื่อสาร (Protocol) ที่ปรากฏบนอินเตอรเน็ตเชน TCP/IP 284 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

HTTP FTP การจัดสรางโฮมเพจ ภาษามาตรฐานที่ใชสรางโฮมเพจ HTML และ JAVA ระบบสนับสนุนการจัดการขอมูลภายในอินเตอรเน็ต เชน Cookies เอเจนตในอินเตอรเน็ต เทคโนโลยีแบบพุช ระบบรักษา ความปลอดภัยสําหรับอินเตอรเน็ต เชน Firewall การจัดสราง อินทราเน็ตสําหรับองคกร การประยุกตใชงานอินเตอรเน็ตกับระบบ พาณิชยกรรมอิเล็กทรอนิกส คต. 318 ปฎิบัติการเครือขายคอมพิวเตอร (1 หนวยกิต) CE 318 Computer Network Laboratory วิชาบังคับกอน: คต. 315 การสื่อสารขอมูลและเครือขาย คอมพิวเตอร 1 หรือเรียนควบคูกัน ปฏิ บั ติ ก ารศึ ก ษาองค ป ระกอบของระบบเครื อ ข า ย มาตรฐานเครือขายชนิดตาง ๆ การสง-รับขอมูลในเครือขาย รูปแบบ การสือ่ สารภายในเครือขาย กติกาของการสือ่ สารทีน่ ยิ มใชงาน วิธกี าร เชื่อมตอเครือขาย เครือขายสื่อสารแบบไรสาย เครือขายสื่อสารแบบ ไรสายสําหรับอุปกรณพกพา การใชประโยชนจากเครือขาย เชน อินทราเน็ต อินเทอรเน็ต คต. 321 การออกแบบและโปรแกรมเชิงวัตถุ (3 หนวยกิต) CE 321 Object Oriented Design and Programming วิชาบังคับกอน: คต. 223 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร 2 แนวคิดการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุสาํ หรับ ซอฟตแวรสมัยใหม เทคโนโลยีสมัยใหมที่ใชแนวคิดเชิงวัตถุ คุณสมบัติ ของภาษาเชิงวัตถุไดแก วัตถุ ชั้น การซอนขอมูล การสืบทอดขอมูล และพหุลกั ษณ เทคนิคของการเขียนโปรแกรมดวยภาษาเชิงวัตถุ การ สรางและพัฒนาโปรแกรมประยุกตใชงานดวยภาษาเชิงวัตถุ การนํา แนวคิดเชิงวัตถุไปใชในงานฐานขอมูล


คต. 322 ปฏิบัติการออกแบบและโปรแกรมเชิงวัตถุ (1 หนวยกิต) CE 322 Object Oriented Design and Programming Laboratory วิชาบังคับกอน: คต. 321 การออกแบบและโปรแกรมเชิงวัตถุ หรือเรียนควบคูกัน ปฏิบตั กิ ารทดลองเขียนโปรแกรมในเรือ่ ง ไวยากรณภาษา การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุโดยอาศัย ชั้น ฟงกชันเมมเบอร คอนสตรักเตอรและดีสตรักเตอร การปกปองขอมูลของโปรแกรมแบบพับ พลิก ไพรเวท และโพรเทค การเขียนโปรแกรมเพือ่ สืบทอดขอมูล การ เขียนโปรแกรมแบบพหุลกั ษณ การเขียนโปรแกรมฟงกชนั เสมือน การ เขียนโปรแกรมบนสภาพแวดลอม Windows การพัฒนาโปรแกรมเชิง วัตถุบนสภาพแวดลอม Windows คต. 323 ระบบฐานขอมูล (3 หนวยกิต) CE 323 Database System วิชาบังคับกอน : คต. 311 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม แนวคิดของระบบฐานขอมูล ระบบฐานขอมูลแบบสัมพันธ แบบจําลองระบบฐานขอมูลและการออกแบบฐานขอมูล การลดความ ซํ้าซอนของฐานขอมูล ความถูกตองและความนาเชื่อถือของระบบ ฐานขอมูล ภาษาสําหรับจัดการฐานขอมูล ภาษาสืบคนขอมูล ระบบ ฐานขอมูลแบบอืน่ ๆ เชน ระบบฐานขอมูลแบบแมขา ย-ลูกขาย ระบบ ฐานขอมูลเชิงวัตถุ คต. 324 คอมพิวเตอรกราฟกและแบบจําลอง (3 หนวยกิต) เรขาคณิต CE 324 Computer Graphics and Geometric Modeling วิชาบังคับกอน: อส. 211 คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร และคต. 311 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม ศึกษาสวนประกอบของงานดานกราฟฟก การติดตอผูใ ช ดวยกราฟฟก อุปกรณคอมพิวเตอรสาํ หรับงานกราฟฟก คณิตศาสตร ของคอมพิวเตอรกราฟฟก เชน เสน พื้นผิว วัตถุ การแปลง

โคออรดเิ นตใน 2 มิติ การตัดขอบและการแสดงหนาตาง มโนภาพ ของ 3 มิติ การแปลงโคออรดิเนตใน 3 มิติ การตัดเสนที่มองไมเห็น มาตรฐานการใชไลบรารีคอมพิวเตอรกราฟฟก การประยุกต ใชงาน คอมพิวเตอรกราฟฟกกับอุตสาหกรรมสมัยใหม เชน สรางแบบจําลอง การทําภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ คต. 411 วิศวกรรมซอฟตแวร (3 หนวยกิต) CE 411 Software Engineering วิชาบังคับกอน: คต. 311 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม ปญหาของการออกแบบและผลิตซอฟตแวร ขัน้ ตอนการ ดําเนินการสําหรับผลิตซอฟตแวร เทคนิคและเครื่องมือของการ ออกแบบซอฟตแวร การวิเคราะหหนวยความจํา การวิเคราะหเวลา การประมวลผล การทดสอบโปรแกรม การจัดทําคูมือรายละเอียด ซอฟตแวร การจัดการและบริหารโครงการซอฟตแวร การออกแบบ ซอฟตแวรการบริหารเพื่อตัดสินใจอยางชาญฉลาด คต. 431 ตัวแปลภาษา (3 หนวยกิต) CE 431 Compiler วิชาบังคับกอน: คต. 311 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม และ คต. 313 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร ระบบตัวแปลภาษา โปรแกรมภาษาไฟไนทออรโตมาตา และการวิเคราะหพจนานุกรม รายละเอียดซินแทคติคของโปรแกรม ภาษา เทคนิควจีภาคเบื้องตน การสรางโดยอัตโนมัติของวจีภาคที่มี ประสิทธิภาพ การแปลซินแทคโดยตรง ตารางสัญลักษณ การสราง โคดที่ดีเลิศ การสรางวัฏจักรที่ดีเลิศ การวิเคราะหการไหลของขอมูล ตัวอยางการสรางคอมไพเลอรดวยโปรแกรม lex และ yacc

หลักสูตรปร ญญาตร 285


คต. 432 การออกแบบคอมพิวเตอรฮารดแวร (3 หนวยกิต) CE 432 Computer Hardware Design วิชาบังคับกอน: คต. 222 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอร และ อล. 322 ระบบดิจิตอล 2 ศึกษาเทคโนโลยีของคอมพิวเตอรสว นบุคคลและอุปกรณ เชื่อมตอภายใน/รอบขาง สถาปตยกรรมของคอมพิวเตอรสวนบุคคล มาตรฐานการเชื่อมตออุปกรณภายในและรอบขาง เชน หนวยความ จํา ระบบแคช ระบบบัส พอรตอนุกรม พอรตขนาน พอรต USB การ ออกแบบอุปกรณเชื่อมตอกับคอมพิวเตอรสวนตางๆ อาทิเชน การ เชื่อมตอระบบบัส การเชื่อมตอระบบหนวยความจํา การเชื่อมตอ จอภาพแสดงผล การเชื่อมตอกับพอรตชนิดตาง ๆ คต. 433 การวิเคราะหและออกแบบระบบ (3 หนวยกิต) สารสนเทศ CE 433 Information System Analysis and Design วิชาบังคับกอน: คต. 311 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม แนวคิดและความหมายของระบบ วงจรชีวิตของระบบ สารสนเทศ การเสนอ พิจารณาและคัดเลือกโครงการสารสนเทศ แนวคิดและการวิเคราะหและรวบรวมระบบขอมูล แผนภูมิของการ ไหลของขอมูล พจนานุกรม ขอมูลและตารางการตัดสินใจและพัฒนา ขอเสนอของระบบสารสนเทศ การออกแบบระบบชนิดโครงสราง การ ออกแบบซอฟตแวรและการจัดทําเอกสารสําหรับซอฟตแวร การ พัฒนาระบบสารสนเทศ การบริหารระบบสารสนเทศ คต. 434 เครือขายนิวรอนและปญญาประดิษฐ (3 หนวยกิต) CE 434 Neural Network and Artificial Intelligent วิชาบังคับกอน: อส. 211 คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร แนะนําระบบการเรียนรูข องสมองมนุษย แบบจําลองการ เรียนรูของสมองในรูปคณิตศาสตร แบบจําลองทางคณิตศาสตรของ เครือขายนิวรอนชนิดตางๆ เชน Supervised Hebb Widrow-Hoff Backpropagation ฯลฯ แนะนําระบบปญญาประดิษฐ การแทนปญหา 286 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

และแกปญหาโดยใชระบบปญญาประดิษฐ คต. 435 การประมวลผลภาพและจดจํารูปแบบ (3 หนวยกิต) CE 435 Image Processing and Pattern Recognition วิชาบังคับกอน: อส. 211 คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร และ คต. 311 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม ศึกษาระบบการประมวลผลภาพ การเห็นและแบบจําลอง คณิตศาสตรของภาพ ทฤษฎีการสุมตัวอยางและการใหคาเชิงตัวเลข ฟูเรียทรานฟอรมและคุณสมบัติภาพ การทําใหภาพดีขึ้น การทําให ภาพเรียบขึน้ การทําใหภาพคมชัดขึน้ การรูจ ดจํารูปแบบจากภาพถาย คต. 436 อาชญากรรมและการปองกันทาง (3 หนวยกิต) คอมพิวเตอร CE 436 Computer Crime and Security วิชาบังคับกอน: คต. 222 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอร และ คต. 313 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร ศึกษาถึงจุดออนของระบบคอมพิวเตอรทั้งระบบสวน บุคคลและระบบเครือขาย อาชญากรรมที่เกิดขึ้นบนคอมพิวเตอร กฎหมายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ระบบคอมพิ ว เตอร เทคนิ ค การป อ งกั น คอมพิวเตอรจากผูบุกรุก การเขารหัส-ถอดรหัสขอมูลคอมพิวเตอร มาตรการรักษาความปลอดภัยของคอมพิวเตอรทงั้ สวนบุคคลและศูนย คอมพิวเตอร คต. 437 หุนยนตเบื้องตน (3 หนวยกิต) CE 437 Principle of Robotic Systems วิชาบังคับกอน: คก. 222 หลักการกลศาสตรวิศวกรรม และ อส. 211 คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร แนะนําความรูพื้นฐานที่จะนําหุนยนต ไปใชงาน หุนยนต ทัว่ ไปและหุน ยนตอตุ สาหกรรม กลศาสตรเบือ้ งตนที่ใชสาํ หรับหุน ยนต แขนกลหุนยนต การควบคุมชิ้นสวนของหุนยนต เทคโนโลยีหุนยนต แบบตางๆ ตัวตรวจจับและตัวกระทําการที่ใชสําหรับหุนยนต


คต. 438 การติดตอระหวางมนุษยกับคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) CE 438 Computer-Human Interfaces วิชาบังคับกอน: คต. 313 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร สถาปตยกรรมคอมพิวเตอรและองคประกอบของมนุษย กรรมวิธีในสวนของการรับรู การตัดสินใจ ความจํา และการเรียนรู แนวคิดและตัวอยางระบบการติดตอระหวางมนุษยกบั คอมพิวเตอรใน รูปแบบตางๆ เชน นิวรอนเน็ตเวอรก ระบบผูเชี่ยวชาญ คต. 439 การประยุกตคอมพิวเตอรในการสื่อสาร (3 หนวยกิต) CE 439 Multimedia Communication วิชาบังคับกอน: คต. 324 คอมพิวเตอรกราฟกและ แบบจําลองเรขาคณิต สื่อชนิดตางๆ อาทิ สื่อสิ่งพิมพ สื่อภาพเคลื่อนไหว สื่อ เสียงและสือ่ ขอมูลชนิดอืน่ ๆ อุปกรณและเทคโนโลยีมลั ติมเี ดีย แนวคิด และการประยุกตกับงานมัลติมีเดีย การจัดการขอมูลมัลติมีเดีย การ บีบอัดขอมูลมัลติมเี ดีย การสงขอมูลไปในโครงขายโทรคมนาคม โครง ขายสื่อสารแถบความถี่กวางสําหรับมัลติมีเดีย ระบบสื่อสารและ อุปกรณพกพาแบบไรสายสําหรับมัลติมีเดีย คต. 440 การวิเคราะหอัลกอริทึมขั้นสูง (3 หนวยกิต) CE 440 Algorithm Analysis วิชาบังคับกอน: คต. 311 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม แนะนําการวิเคราะหอัลกอริทึม การหาประสิทธิภาพขอ งอัลกอริทึมประเภทตางๆ อัลกอริทึมสําหรับการแกปญหาชนิด ตางๆ แนะนําตัวอยางอัลกอริทมึ และการวิเคราะหเบือ้ งตน อัลกอริทมึ ที่มีความซับซอน เชน จีเนติคอัลกอริทึม การวิเคราะหอัลกอริทึมขึ้น สูง

คต. 441 คอมพิวเตอรชวยงานออกแบบ (3 หนวยกิต) และผลิต CE 441 Computer Aided Design and Manufacturing วิชาบังคับกอน: คก. 151 การเขียนแบบวิศวกรรม และ คณ. 106 แคลคูลัส 2 ศึกษาความกาวหนาทางวิชาการในสาขาวิศวกรรมการ ออกแบบ ทฤษฎีในการออกแบบ เชน คณิตศาสตรทางดานกราฟฟก การจําลองการออกแบบ การนําคอมพิวเตอรชว ยสําหรับงานผลิต เชน เครือ่ งจักรชวยผลิตอัตโนมัติ (CNC Machine) การโปรแกรม G-Code บนเครื่องจักรชนิด 3 แกน คต. 442 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอรชั้นสูง (3 หนวยกิต) CE 442 Advanced Computer Organization and Architecture วิชาบังคับกอน: คต. 222 สถาปตยกรรมคอมพิวเตอร ศึกษารายละเอียดสถาปตยกรรมคอมพิวเตอรชนั้ สูงแบบ ต า งๆ สถาป ต ยกรรมคอมพิ ว เตอร แ บบขนาน สถาป ต ยกรรม คอมพิวเตอรแบบคลัสเตอร สถาปตยกรรมซูเปอรคอมพิวเตอร อารเรยโปรเซสเซอร ระบบปฏิบตั กิ ารทีส่ นับสนุนการทํางานแบบขนาน ขบวนการแกปญหาสําหรับการทํางานแบบขนาน แนวทางการ ออกแบบซอฟตแวรสําหรับใชกับสถาปตยกรรมคอมพิวเตอรแบบ ขนาน คต. 443 การออกแบบฐานขอมูลขั้นสูง (3 หนวยกิต) CE 443 Advanced Database Design วิชาบังคับกอน: คต. 323 ระบบฐานขอมูล การวิเคราะหงานสําหรับการออกแบบฐานขอมูลในระบบ จริง การออกแบบฐานขอมูลบนซอฟตแวรที่นิยม กลไกตรวจสอบ ความถูกตองและนาเชื่อถือของฐานขอมูล แนะนําเครื่องมือสําหรับ ชวยออกแบบฐานขอมูล การออกแบบโปรแกรมสวนติดตอผูใ ช ระบบ ฐานขอมูลแบบกระจาย หลักสูตรปร ญญาตร 287


คต. 444 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอรขั้นสูง (3 หนวยกิต) CE 444 Advanced Operating System วิชาบังคับกอน: คต. 313 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร ศึกษาระบบปฏิบัติการแบบตางๆ เชน ระบบปฏิบัติการ สวนบุคคล ระบบปฏิบัติการแบบเครือขาย ระบบปฏิบัติการแบบ กระจาย ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอรที่นิยม เพื่อความเขาใจยิ่งขึ้น เทคนิคการโปรแกรมสําหรับระบบปฏิบัติการแตละสวน การแกไข ปญหาที่เกิดขึ้นสําหรับความตองการ การจัดสรรทรัพยากรในระบบ ปฏิบัติการ

คต. 447 ทฤษฏีการคํานวณ (3 หนวยกิต) CE 447 Theory of Computation วิชาบังคับกอน: คต. 221 คณิตศาสตรเต็มหนวย และ คต. 311 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม ออโตมาตาจํากัดเชิงกําหนดและเชิงไมกาํ หนด ภาษาและ ไวยากรณแบบปรกติ ออโตมาตาแบบกดลงและไวยากรณบริบท เครื่องจักรแบบ Counter แบบ Stack และแบบ Turing การคํานวณ ได ลําดับชั้นของวอมสกี การคํานวณไมไดและปญหาที่ตัดสินไมได การคํานวณแบบวนซํ้าและแบบเวียนบังเกิด การคํานวณแบบหาทาง เลือกดีที่สุด

คต. 445 การออกแบบใชงานไมโครคอนโทรลเลอร (3 หนวยกิต) CE 445 Embedded Microcontroller Design วิชาบังคับกอน: อล. 311 ไมโครโปรเซสเซอร และ อล. 322 ดิจิตอล 2 ศึ ก ษารายละเอี ย ดของไมโครคอนโทรลเลอร ต ระกู ล ต า งๆ การพั ฒ นาไมโครคอนโทรลเลอร การประยุ ก ต ไ มโคร คอนโทรลเลอรกับเครื่องใชไฟฟาประจําวัน การออกแบบและพัฒนา ไมโครคอนโทรลเลอรเฉพาะงาน

คต. 448 การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (3 หนวยกิต) CE 448 Natural Language Processing วิชาบังคับกอน: คต. 221 คณิตศาสตรเต็มหนวย รูปแบบและพัฒนาการทางภาษาของมนุษย การวิเคราะห ไวยากรณและขอกําหนดสําหรับภาษา ตัวกลางถายทอดภาษาระหวาง คอมพิวเตอรกับมนุษย การสังเคราะหภาษา ระบบการแปลภาษา

คต. 446 ซอฟตแวรระบบ (3 หนวยกิต) CE 446 System Software วิชาบังคับกอน: คต. 313 ระบบปฏิบัติการ และ คต. 321 การออกแบบและโปรแกรมเชิงวัตถุ การทํางานและการจัดการของซอฟตแวรระบบ หลักการ ออกแบบซอฟตแวรระบบ แอสเซมเบลอร ตัวบรรจุโปรแกรม ตัวเชือ่ ม โยง ตัวประมวลผลมาโคร การเรียกเขาสูซอฟตแวรระบบ ไดรเวอร สนับสนุนอุปกรณสําหรับซอฟตแวรระบบ

288 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

คต. 449 ทัศนศาสตรคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) CE 449 Computer Vision วิชาบังคับกอน: คต. 221 คณิตศาสตรเต็มหนวย และ คต. 311 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม แนวคิดการพัฒนาคอมพิวเตอรสําหรับการรับรูประสาท สัมผัสเชนเดียวกับมนุษย ศาสตรที่เกี่ยวของในการพัฒนา อุปกรณ สําหรับการรับรูชนิดตางๆ คณิตศาสตรและเทคนิคสําหรับการรับรู


คต. 450 วงจรอินทิเกรต (3 หนวยกิต) CE 450 Integrated Circuits วิชาบังคับกอน: อล. 322 ระบบดิจิตอล 2 การออกแบบวงจรอินทิเกรต ชิน้ สวนและอุปกรณสาํ หรับ วงจรอินทิเกรต กระบวนการผลิตแวนซิลิคอน กระบวนการแพรสาร ดวยความรอน กระบวนการออกซิเดชัน กระบวนการถายภาพละเอียด กระบวนการกัดสารกึง่ ตัวนําและการกัดออกไซด กระบวนการเกีย่ วกับ แผนฟลมบาง การบรรจุวงจรอินทิเกรต การผลิตทรานซิสเตอรแบบ เจ-เฟต และแบบไบโพลารการผลิตอุปกรณชนิดอื่นๆ ในวงจรอินทิ เกรต

คต. 483 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร (1 หนวยกิต) สําหรับสหกิจศึกษา CE 483 Computer Engineering Project for Cooperative Education (สําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจ) วิชาบังคับกอน: คต. 498 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร เปนโครงงานที่ตอเนื่องจากการดําเนินงานในวิชาสหกิจ ศึกษาทางวิศวกรรมมัลติมเี ดียและระบบอินเทอรเน็ต ซึง่ นักศึกษาตอง นําผลงานที่ไดจากการทําสหกิจศึกษามาสรางหรือปรับปรุงใหเสร็จ บริบูรณ พรอมทั้งทํารายงานและทดสอบผลงานนําแสดงตอคณะ กรรมการ

คต. 481 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 (2 หนวยกิต) CE 481 Computer Engineering Project I (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจ) วิชาบังคับกอน: เปนนักศึกษาชั้นปที่ 4 และไดรับอนุมัติจากผูสอน วางแผนและออกแบบโครงงานและสรางอุปกรณ หรือ ระบบทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร (ในปสุดทาย) มีการเสนอโครงงาน และรายงานตลอดจนเตรียมอุปกรณตางๆ ที่ตองการเพื่อดําเนินการ โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2

คต. 493 เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 (3 หนวยกิต) CE 493 Selected Topics in Computer Engineering I วิชาบังคับกอน: ผานรายวิชาที่กําหนด และไดรับอนุมัติจาก หัวหนาภาควิชา หัวขอที่นาสนใจเกี่ยวกับพัฒนาการใหมๆ ทางวิศวกรรม คอมพิวเตอร

คต. 482 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2 (2 หนวยกิต) CE 482 Computer Engineering Project II (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจ) วิชาบังคับกอน: คต. 481 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 เป น โครงงานที่ ต  อ เนื่ อ งจากโครงงานวิ ศ วกรรม คอมพิวเตอร 1 ตองดําเนินการสรางอุปกรณตน แบบจนเสร็จบริบรู ณ พรอมทั้งทํารายงานและทดสอบอุปกรณตนแบบตออาจารยที่ปรึกษา โครงงาน

คต. 494 เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2 (3 หนวยกิต) CE 494 Selected Topics in Computer Engineering II วิชาบังคับกอน: ผานรายวิชาที่กําหนด และไดรับอนุมัติจาก หัวหนาภาควิชา หัวขอทีน่ า สนใจเกีย่ วกับพัฒนาการใหม ๆ ทางวิศวกรรม คอมพิวเตอร คต. 495 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร 1 (3 หนวยกิต) CE 495 Special Problems in Computer Engineering I วิชาบังคับกอน: ผานรายวิชาที่กําหนด และไดรับอนุมัติจาก หัวหนาภาควิชา ปญหาพิเศษ กรณีศึกษาที่นาสนใจทางดานวิศวกรรม คอมพิวเตอร หลักสูตรปร ญญาตร 289


คต. 496 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2 (3 หนวยกิต) CE 496 Special Problems in Computer Engineering II วิชาบังคับกอน: ผานรายวิชาที่กําหนด และไดรับอนุมัติจาก หัวหนาภาควิชา ปญหาพิเศษ กรณีศึกษาที่นาสนใจทางดานวิศวกรรม คอมพิวเตอร คต. 497 การฝกงานทางวิศวกรรม (0 หนวยกิต) CE 497 Engineering Practices วิชาบังคับกอน: ไมมี การฝกงานวิศวกรรมในสาขาทีเ่ กีย่ วของ ภายใตการดูแล ของวิศวกรทีม่ ปี ระสบการณประจําบริษทั เอกชนหรือหนวยงานราชการ เปนเวลาอยางนอย 6 สัปดาห หรือ 180 ชั่วโมง ทั้งนี้โดยนักศึกษา ตองไดเกรดเปน S คต. 498 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร (6 หนวยกิต) CE 498 Cooperative Education in Computer Engineering (สําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับกอน: สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสรางใหนักศึกษามีความ พรอมดานงานอาชีพ จากการปฏิบตั งิ านพืน้ ฐาน อยางมีหลักการและ เปนระบบ นักศึกษาจะตองมีการฝกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไมนอ ยกวา 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห ซึง่ เปนงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเปนงานทีเ่ นนประสบการณทาํ งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เปนงานที่เปนประโยชนตอ องคกร รวมถึงมีการประเมินผลการทํางานจากคณาจารยรว มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน 290 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาวิศวกรรมมัลติมเี ดียและระบบอินเทอรเน็ต มอ. 121 ทักษะการสรางสรรคสื่อมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) MI 121 Creative Multimedia Skill วิชาบังคับกอน: ไมมี กระบวนการสรางสือ่ มัลติมเี ดียพืน้ ฐานดวยคอมพิวเตอร ทักษะการออกแบบสือ่ โดยใชหลักทัศนศาสตรและสุนทรียศาสตร การ ใชสี การออกแบบลายเสน ตัวอักษร ภาพกราฟกส ภาพเคลื่อนไหว โดยสื่อที่ไดจะประกอบดวยศิลปะและขอมูลที่ครบถวน การสงเสริม และแรงจูงใจ มอ. 211 พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) MI 211 Foundations of Computer System วิชาบังคับกอน: ไมมี ทฤษฏีโครงสรางของคอมพิวเตอรพนื้ ฐาน สถาปตยกรรม วอนนิวแมน พื้นฐานระบบดิจิทัลคอมพิวเตอร ตรรกศาสตรเบื้องตน การเก็บรหัสคําสัง่ ในคอมพิวเตอร ชนิดของหนวยความจําและการจัด เก็บขอมูล ชนิดของอุปกรณอนิ พุต-เอาตพตุ และการติดตอผูใ ช หนวย ประมวลผลกลางและการประมวลผลขอมูล ภาษาโปรแกรมและการ สั่งงานคอมพิวเตอร การประยุกตใชคอมพิวเตอรในงานตางๆ (3 หนวยกิต) มอ. 212 ทฤษฎีสญั ญาณและเสียง MI 212 Sound and Signal Theory วิชาบังคับกอน: ไมมี ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับสัญญาณ ทฤษฎีสัญญาณเสียง การกําเนิดของสัญญาณเสียง ขนาดและกําลังงานของสัญญาณเสียง ฮารโมนิกของสัญญาณเสียง เสียงดนตรี สัญญาณเสียงชนิดแอนะล็อก และดิจิทัล การรับรูเสียงของมนุษย การวิเคราะหสัญญาณเสียงเบื้อง ตน


มอ. 213 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) MI 213 Computer Programming วิชาบังคับกอน: ไมมี โครงสรางพืน้ ฐานของคอมพิวเตอร ความรูเ บือ้ งตนเกีย่ ว กับการประมวลผลขอมูลภาษาตางๆ ของคอมพิวเตอร หลักการเขียน โปรแกรม โครงสรางและแผนภูมิผังงานของโปรแกรม การเขียน โปรแกรมอยางนอย 1 ภาษา

มอ. 223 ปฏิบัติการผลิตสื่อมัลติมีเดีย (1 หนวยกิต) MI 223 Multimedia Production Laboratory วิชาบังคับกอน: มอ. 222 การผลิตสื่อมัลติมีเดีย หรือเรียนควบคูกัน ปฏิบัติการใชเครื่องมือในการผลิตสื่อมัลติมีเดีย การใช คอมพิวเตอรในการผลิตสือ่ มัลติมเี ดียวิธกี ารใชกลองบันทึกภาพนิง่ วิธี การใชกลองบันทึกภาพเคลื่อนไหว การบันทึกเสียง การจัดเตรียม ขอมูลเบื้องตน การนําเสนอขอมูลมัลติมีเดียผานระบบคอมพิวเตอร

มอ. 221 เทคโนโลยีอินเทอรเน็ต (3 หนวยกิต) MI 221 Internet Technology วิชาบังคับกอน: ไมมี แนะนําเครือขายอินเทอรเน็ต พัฒนาการของอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ต II แอปพลิเคชันที่ปรากฏบนอินเทอรเน็ต เกณฑวิธีการ สื่อสาร (Protocol) ที่ปรากฏบนอินเทอรเน็ตเชน TCP/IP HTTP FTP การจัดสรางโฮมเพจ ภาษามาตรฐานที่ใชสรางโฮมเพจ เชน HTML และ JAVA ระบบสนับสนุนการจัดการขอมูลภายในอินเทอรเน็ต เชน Cookies เอเจนตในอินเทอรเน็ต เทคโนโลยีแบบพุช ระบบรักษาความ ปลอดภัยสําหรับอินเทอรเน็ต เชน Firewall การจัดสรางอินทราเน็ต สําหรับองคกร การประยุกตใชงานอินเทอรเน็ตกับระบบพาณิชยกรรม อิเล็กทรอนิกส

มอ. 224 ระบบสื่อสารดวยมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) MI 224 Multimedia Communication วิชาบังคับกอน: มอ. 211 พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร ศึกษาสือ่ ชนิดตางๆ อาทิ สือ่ สิง่ พิมพ สือ่ ภาพเคลือ่ นไหว สื่อเสียงและสื่อขอมูลชนิดอื่นๆ อุปกรณและเทคโนโลยีมัลติมีเดีย แนวคิดและการประยุกตกบั งานมัลติมเี ดีย การจัดการขอมูลมัลติมเี ดีย การแปลงและบีบอัดขอมูลมัลติมีเดีย การจัดสงขอมูลไปในเครือขาย โทรคมนาคม เครือขายสื่อสารแถบความถี่กวางสําหรับมัลติมีเดีย ระบบสื่อสารและอุปกรณพกพาแบบไรสายสําหรับมัลติมีเดีย

มอ. 222 การผลิตสื่อมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) MI 222 Multimedia Production วิชาบังคับกอน: มอ. 121 ทักษะการสรางสรรคสื่อมัลติมีเดีย กระบวนการผลิตสื่อมัลติมีเดีย การออกแบบและพัฒนา สือ่ มัลติมเี ดีย การวิเคราะหงาน การวางผังงาน การวางโครงเรือ่ ง การ สรางสรรคผลงาน เครื่องมือในการผลิตสื่อมัลติมีเดีย การประยุกต แนวคิดเกี่ยวกับมัลติมีเดียไปใชในงานตางๆ เชน การฝกอบรมผาน คอมพิวเตอร ระบบการจําลองทางคอมพิวเตอร และการจัดแสงเพื่อ การถายภาพ เปนตน

มอ. 225 การเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) MI 225 Multimedia Programming วิชาบังคับกอน: มอ. 213 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร โครงสรางขอมูลแบบตางๆ เชน แถว ลําดับ เรียงทับซอน การเชื่อมโยง กราฟ ตนไม ตาราง ฯลฯ อัลกอริทึมสําหรับการเรียง ขอมูล การคนหาขอมูล การเวียนบังเกิด เพื่อรองรับการประยุกตใช กับระบบมัลติมีเดีย เชน การเขียนโปรแกรมแบบกราฟกสเชิงโตตอบ เปนตน

หลักสูตรปร ญญาตร 291


มอ. 226 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย (1 หนวยกิต) MI 226 Multimedia Programming Laboratory วิชาบังคับกอน: มอ. 225 การเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย หรือเรียนควบคูกัน ปฏิบัติการทดลองเขียนโปรแกรมในเรื่อง การเขียน โปรแกรมแบบโครงสราง การเขียนโปรแกรมจัดการหนวยความจํา ชนิด แถวลําดับ เรียงทับซอน เชือ่ มโยง การเขียนโปรแกรมเรียงขอมูล การเขียนโปรแกรมแบบเวียนบังเกิด การเขียนโปรแกรมใชงานระบบ มัลติมีเดีย

มอ. 313 เทคนิคพิเศษสําหรับมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) MI 313 Multimedia Special Effect วิชาบังคับกอน: มอ. 222 การผลิตสื่อมัลติมีเดีย ความเข า ใจเบื้ อ งต น ของเทคนิ ค พิ เ ศษสํ า หรั บ งาน มัลติมเี ดีย การนําเทคนิคพิเศษมาใชในงานมัลติมเี ดีย ตัวอยางเทคนิค พิเศษในงานมัลติมีเดีย เชน เทคนิคพิเศษดานภาพ เทคนิคพิเศษ ดานเสียง เทคนิคพิเศษดานการเคลื่อนไหว

มอ. 311 เทคโนโลยีเครื่องบริการเว็บ (3 หนวยกิต) MI 311 Web Server Technology วิชาบังคับกอน: มอ. 221 เทคโนโลยีอินเทอรเน็ต ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับเครื่องบริการเว็บ คําจํากัดความ และองคประกอบของเครื่องบริการและรับบริการ แฟมลงบันทึกเขา ออก (Log File) โปรแกรมคนหาและเครื่องมืออัตโนมัติ การเขียน โปรแกรมบนเว็บ แนวคิดเกีย่ วกับความปลอดภัยบนเครือ่ งบริการเว็บ ระบบความปลอดภัยบนเครือ่ งบริการและรับบริการแบบออนไลน การ ตรวจจับการบุกรุก การกูขอมูลคืนจากความบกพรอง การวัดและ ทดสอบสมรรถนะเครื่องบริการ

มอ. 314 ปฏิบัติการเทคนิคพิเศษสําหรับมัลติมีเดีย (1 หนวยกิต) MI 314 Multimedia Special Effect Laboratory วิชาบังคับกอน: มอ. 313 เทคนิคพิเศษสําหรับมัลติมีเดีย หรือเรียนควบคูกัน ปฏิบัติการสรางเทคนิคพิเศษในเรื่องเฉพาะของงาน มัลติมีเดีย การประยุกตอุปกรณและเครื่องมือตางๆ เพื่อใชสราง เทคนิคพิเศษเพิ่มเติม ปฏิบัติการเทคนิคพิเศษดานภาพ เชน การตัด ตอภาพ การทําภาพซอน การทําภาพแบบ Mosaic การตบแตงภาพ ปฏิบัติการเทคนิคพิเศษดานเสียง การใสเสียง การทํา Sound Effect การบั น ทึ ก เสี ย งหลายช อ งสั ญ ญาณ ปฏิ บั ติ การเทคนิ ค ด า นการ เคลื่อนไหว การสรางหุนจําลอง การพัฒนากลไกอยางงายสําหรับ เคลื่อนไหว

(3 หนวยกิต) มอ. 312 คอมพิวเตอรกราฟกสและอนิเมชัน MI 312 Computer Graphics and Animation วิชาบังคับกอน: อส. 212 คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอรเน็ต ศึกษาสวนประกอบของงานดานกราฟกสและอนิเมชัน การติดตอผูใ ชดว ยกราฟกส อุปกรณคอมพิวเตอร สําหรับงานกราฟก สและอนิเมชัน คณิตศาสตรของคอมพิวเตอรกราฟกสและอนิเมชัน เชน เสน พื้นผิว วัตถุ การแปลงโคออรดเิ นตใน 2 มิติ การตัดขอบ และการแสดงหนาตาง มโนภาพของ 3 มิติ การแปลงโคออรดิเนตใน 3 มิติ การตัดเสนที่มองไมเห็น มาตรฐานการใชไลบรารีคอมพิวเตอร กราฟกส

มอ. 315 ปฏิบัติการคอมพิวเตอรกราฟกส (1 หนวยกิต) และอนิเมชัน MI 315 Computer Graphics and Animation Laboratory วิชาบังคับกอน: มอ. 312 คอมพิวเตอรกราฟกสและอนิเมชัน หรือเรียนควบคูกัน ฝกทักษะปฏิบตั ิในการสรางสวนประกอบตางๆ ของงาน ดานกราฟกส เชน การสรางโมเดล การสรางฉาก การใสวัสดุพื้นผิว ใหกับวัตถุ การจัดองคประกอบของฉาก และการจัดแสง เปนตน การ ใชเครือ่ งมือสําหรับผลิตงานอนิเมชัน และการสรางไลบรารีสาํ หรับงาน คอมพิวเตอรกราฟกส

292 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


มอ. 321 ระบบสื่อสารแบบดิจิทัล (3 หนวยกิต) MI 321 Digital Communication Systems วิชาบังคับกอน: มอ. 221 เทคโนโลยีอินเทอรเน็ต ทฤษฎีการสุม สัญญาณ สัญญาณเชิงสุม และไมเชิงสุม การ แปลงสัญญาณระบบแอนะล็อกสูระบบดิจิทัล การควอนไทซ การมอ ดูเลตแบบพีซีเอ็ม เทคโนโลยีการติดตอสื่อสารแบบดิจิทัล ประเภท ตางๆ เชน เทคโนโลยีสอื่ สารระบบลําดับชัน้ การสงสัญญาณดิจทิ ลั แบบ ประสานเวลา (SDH) ระบบภาวะถายโอนแบบไมประสานเวลา (ATM) โครงขายบริการสื่อสารรวมระบบดิจทิ ัล (ISDN) มาตรฐานการรับสง สัญญาณดิจทิ ลั ของ ITU เทคโนโลยี DSL และระบบอืน่ ๆ การประยุกต ระบบสื่อสารแบบดิจิทัล เชน ระบบกําหนดตําแหนงบนโลก (GPS) การแพรสัญญาณวีดิทัศนแบบดิจิทัล (DVB) การรวมใชชองสัญญาณ แบบเขารหัส (CDMA) มอ. 322 การออกแบบและพัฒนาเกมคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) MI 322 Computer Game Design and Development วิชาบังคับกอน: มอ. 225 การเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย ทฤษฎีและประเภทของเกมคอมพิวเตอร การออกแบบ เกมประเภทตางๆ เทคโนโลยีที่ใชผลิตเกมคอมพิวเตอร ขบวนการ พัฒนาเกมคอมพิวเตอร การเขียนโปรแกรมเชื่อมตอกับ Game Engine การสรางตัวละครในเกม การสรางฉากในเกม การสรางเนือ้ เรือ่ ง เกม ตัวอยางการพัฒนาเกมคอมพิวเตอรตนแบบ มอ. 323 เทคโนโลยีการบันทึกสื่อมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) MI 323 Multimedia Recording Technology วิชาบังคับกอน: มอ. 222 การผลิตสื่อมัลติมีเดีย ทฤษฎี แ ม เ หล็ ก และทฤษฎี แ สงที่ ใ ช ใ นการบั น ทึ ก สื่ อ คุณสมบัติและคุณลักษณะของสื่อประเภทตางๆ หลักการแปลงขอมูล ที่ไดรับและจัดเก็บลงสื่อ การจัดเก็บและการคนหาขอมูลในสื่อชนิด ตางๆ สื่อบันทึกที่ใชในงานมัลติมีเดีย เชน เทป ดิสก ซีดีรอม เมโมรี

การ ด และอื่ น ๆ เทคโนโลยี ที่ ใ ช ใ นงานบั น ทึ ก ข อ มู ล มั ล ติ มี เ ดี ย มาตรฐานการบันทึกขอมูลลงบนสื่อประเภทตางๆ มอ. 325 สื่อสมัยใหมกับแนวคิดและการประยุกต (3 หนวยกิต) MI 325 New Media: Ideas and Applications วิชาบังคับกอน: มอ. 121 ทักษะการสรางสรรคสื่อมัลติมีเดีย แนวคิดเกี่ยวกับการสํารวจและการผลิตเนื้อหาเพื่อการ ประยุ ก ต ใ ช เ ทคโนโลยี ด า นดิ จิ ต อลและสื่ อ มั ล ติ มี เ ดี ย ต า งๆอย า ง สรางสรรค รวมถึงการพัฒนาและการสรางความเขาใจในการประยุกต การเขียนโปรแกรมดานมัลติมีเดียชั้นสูง เพื่อการผลิตนวัตกรรมและ สื่อการนําเสนอแบบปฏิสัมพันธ ในรูปแบบใหมที่มีความหลากหลาย และแตกตางจากสื่อนําเสนอในอดีต มอ. 411 วิศวกรรมระบบเสียงและภาพ (3 หนวยกิต) MI 411 Acoustic and Visual Engineering วิชาบังคับกอน: อส. 212 คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอรเน็ต โสตศาสตรและวิทยาการไดยิน คลื่นเสียงและการสั่น สะเทือน คลื่นเสียงและชุดของคลื่นเสียง โสตศาสตรตอจิตใจ การ ไดยนิ ของมนุษย โครงสรางของหู อุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสกบั ระบบเสียง การจําแนกความดังและระดับเสียง (Pitch) ระบบเสียงสเตอริโอ ระบบ เสียงรอบทิศทาง การจําแนกของคลื่นเสียง การสังเคราะหเสียง ทัศนศาสตรและวิทยาการมองเห็น แถบความถี่ของแสง ตอการมองเห็น การสะทอนและหักเหของแสง กระจกและเลนส ดวงตาและอวัยวะรับภาพของมนุษย การเห็นสี-แสง แผนผังของสี อุปกรณอิเล็กทรอนิกสกับระบบภาพ การวัดรายละเอียดของภาพ

หลักสูตรปร ญญาตร 293


มอ. 421 การปองกันและรักษาความปลอดภัย (3 หนวยกิต) ขอมูล MI 421 Data Security and Protection วิชาบังคับกอน: อส. 212 คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอรเน็ต แนวคิดเกีย่ วกับความปลอดภัยของขอมูลบนคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย ขัน้ ตอนการติดตอสือ่ สาร วิทยาการเขารหัสลับ (Cryptography) เทคโนโลยีการเขารหัส-ถอดรหัสขอมูล การสงขอมูลผาน เครือขายคอมพิวเตอร การตรวจสอบความผิดพลาดของขอมูล การ ลักลอบแกไขและการดักฟงขอมูล การปองกันไวรัสคอมพิวเตอร การ จูโจมคอมพิวเตอรแบบอื่นๆ การประเมินและจัดการความเสี่ยงของ ขอมูล มาตรการในการรักษาความปลอดภัยขอมูล มอ. 431 คอมพิวเตอรประสิทธิภาพสูงสําหรับ (3 หนวยกิต) งานมัลติมีเดีย MI 431 High Performance Computer for Multimedia วิชาบังคับกอน: มอ. 211 พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอรประสิทธิภาพสูงที่รองรับระบบงาน มัลติมีเดีย คอมพิวเตอรประสิทธิภาพสูงแบบตางๆ เชน มัลติ โพรเซสเซอร เวคเตอรโพรเซสเซอร และคลัสเตอรคอมพิวเตอร เครือ ขายความเร็วสูงสําหรับคอมพิวเตอรประสิทธิภาพสูง เทคนิคการเพิม่ ประสิทธิภาพคอมพิวเตอร การเขียนโปรแกรมเพือ่ ใชงานคอมพิวเตอร ประสิทธิภาพสูง มอ. 432 เทคโนโลยีสื่อสารแบบไรสาย (3 หนวยกิต) MI 432 Wireless Communication Technology วิชาบังคับกอน: มอ. 321 ระบบสื่อสารแบบดิจิทัล แนะนําเทคโนโลยีสื่อสารแบบไรสาย คุณสมบัติของคลื่น ที่ใชงานในระบบสื่อสารแบบไรสาย มาตรฐานของการสื่อสารแบบไร สาย ทฤษฎีการวางเครือขายระบบสื่อสารแบบไรสาย ขอตกลงทาง 294 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

เทคนิคสําหรับการตรวจสอบความถูกตองขอมูลในระบบสื่อสารแบบ ไรสาย มอ. 433 คอมพิวเตอรกราฟกสและอนิเมชันขั้นสูง (3 หนวยกิต) MI 433 Advanced Computer Graphics and Animation วิชาบังคับกอน: มอ. 312 คอมพิวเตอรกราฟกสและอนิเมชัน ศึกษาการประยุกตคอมพิวเตอรกราฟกสและอนิเมชันกับ อุตสาหกรรมสมัยใหม เชน การสรางภาพเคลื่อนไหวในภาพยนตร การสรางภาพเคลื่อนไหวในเกมคอมพิวเตอร การเขียนภาษาสคริปต ในโปรแกรมสรางภาพสามมิติ มอ. 434 การเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) และเครือขายขั้นสูง MI 434 Advanced Multimedia and Network Programming วิชาบังคับกอน: มอ. 225 การเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย ศึกษาการเขียนโปรแกรมดวยภาษาสมัยใหมเพื่อรองรับ ระบบสือ่ สารประเภทตางๆ การโปรแกรมระบบมัลติมเี ดียผานอุปกรณ สื่อสารไรสาย การโปรแกรมระบบสื่อสารผานระบบเครือขายไรสาย มอ. 435 การเขียนโปรแกรมภาษาจาวา (3 หนวยกิต) MI 435 Java Programming วิชาบังคับกอน: มอ. 225 การเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย พัฒนาการของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร แนวคิดของ ภาษาเชิงวัตถุ (Object-Oriented Language) คุณลักษณะที่ดีของ ภาษา Java ไวยากรณของภาษา Java ตัวดําเนินการของภาษา Java การนําภาษา Java ไปใชงานดานมัลติมีเดีย การนําภาษา Java ไปใช งานดานการโปรแกรมสื่อสารบนเครือขายอินเทอรเน็ต


มอ. 436 มัลติมีเดียสําหรับเทคโนโลยี (3 หนวยกิต) อิเล็กทรอนิกส MI 436 Multimedia for E-Technology วิชาบังคับกอน: มอ. 224 ระบบสื่อสารดวยมัลติมีเดีย การนํามัลติมีเดียไปประยุกต ใชในงานที่ ใชเทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร การวิเคราะหงาน การเลือกใช มัลติมีเดียที่เหมาะสม ขบวนการจัดสรางมัลติมีเดียสําหรับงาน ประเภทตางๆ กรณีศึกษาการจัดสรางอี-เลิรนนิ่ง (E-Learning) เพื่อ การเรียนรู กรณีศึกษาของการจัดการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (ECommerce) สําหรับการประกอบพาณิชยกรรม มอ. 438 การตอประสานระหวางมนุษยกับ (3 หนวยกิต) คอมพิวเตอร MI 438 Computer-Human Interfaces วิชาบังคับกอน: มอ. 211 พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร สถาปตยกรรมคอมพิวเตอรและองคประกอบของมนุษย กรรมวิธีในสวนของการรับรู การตัดสินใจ ความจํา และการเรียนรู แนวคิ ด และตั ว อย า งระบบการต อ ประสานระหว า งมนุ ษ ย กั บ คอมพิวเตอรในรูปแบบตางๆ เชน นิวรอนเน็ตเวอรก ระบบผูเ ชีย่ วชาญ มอ. 439 เทคโนโลยีเครื่องบริการ-รับบริการ (3 หนวยกิต) MI 439 Client/Server Technology วิชาบังคับกอน: คต. 323 ระบบฐานขอมูล ทฤษฎีของเครือขายเบื้องตน สถาปตยกรรมและการ ออกแบบระบบเครือ่ งบริการ-รับบริการ ประโยชนของการใชงานเครือ ขายรูปแบบเครือ่ งบริการ-รับบริการ การใชงานระบบเครือ่ งบริการและ รับบริการในงานตางๆ เชน งานสื่อสาร งานฐานขอมูล เปนตน การ พัฒนาระบบขอมูลแบบกระจายโดยอาศัยหลักการเครื่องบริการรับบริการ

มอ. 440 เทคโนโลยีเสมือนจริง (3 หนวยกิต) MI 440 Virtual Reality Technology วิชาบังคับกอน: มอ. 211 พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร ทฤษฎีการมองเห็นของมนุษย อุปกรณสาํ หรับเทคโนโลยี เสมือนจริง การสรางภาพเสมือนจริง ภาษาวีอารเอ็มแอล (VRML) การนําเทคโนโลยีเสมือนจริงไปใชงานดานตางๆ เชน การจําลอง สถานการณ (Simulation) การควบคุมระยะไกล (Remote Control) ผานระบบเสมือนจริง มอ. 441 การออกแบบวิศวกรรมระบบเสียง (3 หนวยกิต) และภาพขั้นสูง MI 441 Advanced Acoustic and Visual Engineering Design วิชาบังคับกอน: มอ. 411 วิศวกรรมระบบเสียงและภาพ ศึกษาทฤษฎีการออกแบบจัดสรางระบบภาพและเสียงขัน้ สูง เชน ระบบภาพและเสียงภายในสตูดิโอ ระบบภาพและเสียงในโรง ละคร โรงภาพยนตร ระบบภาพและเสียงแบบสาธารณะ ระบบภาพ และเสียงภายในบาน (Home Theater) มอ. 442 การเขารหัสและบีบอัดขอมูลขั้นสูง (3 หนวยกิต) MI 442 Advanced Coding and Compression วิชาบังคับกอน: มอ. 224 ระบบสื่อสารดวยมัลติมีเดีย ศึกษาทฤษฎีและเทคนิคขัน้ สูงสําหรับการเขารหัสและบีบ อัดขอมูล การวิเคราะหรปู แบบของการเขารหัสขอมูล การบีบอัดขอมูล แบบไมมีการสูญเสียรายละเอียดและแบบมีการสูญเสียรายละเอียด

หลักสูตรปร ญญาตร 295


มอ. 443 การจําลองทางคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) MI 443 Computer Simulation วิชาบังคับกอน: อส. 212 คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอรเน็ต หลักคณิตศาสตรสาํ หรับการจําลองเหตุการณ การจัดเก็บ ข อ มู ล และตั ว แปรสํ า หรั บ การจํ า ลองสถานการณ การจํ า ลอง สถานการณโดยใชคอมพิวเตอร เทคนิคการจําลองสถานการณแบบ ตางๆ การประเมินความถูกตองจากการจําลองสถานการณ โดยใช คอมพิวเตอร

มอ. 448 เครือขายแบบแสง (3 หนวยกิต) MI 448 Optical Network วิชาบังคับกอน: มอ. 321 ระบบสื่อสารแบบดิจิทัล การพัฒนาของแสงเลเซอร คุณสมบัติและคุณลักษณะ ของแสงเลเซอรยานความถี่ตางๆ สื่อเสนใยนําแสง การสื่อสารดวย แสงโดยตรง การสื่อสารผานเสนใยนําแสงในเครือขายแบบแสง การ ใชชองสัญญาณแสงสําหรับการสื่อสาร (WDM) การตรวจสอบเครือ ขายแบบแสง ระบบเครือขายแบบแสงของประเทศไทย

มอ. 445 เทคโนโลยีแสดงผลและการออกแบบ (3 หนวยกิต) MI 445 Display Technology and Design วิชาบังคับกอน: มอ. 312 คอมพิวเตอรกราฟกสและอนิเมชัน การรับภาพของมนุษย การแสดงผลในรูปแบบขอความ การแสดงผลในรูปแบบกราฟกส ชนิดและอุปกรณสาํ หรับการแสดงผล ระบบการแสดงผลในปจจุบัน มาตรฐานความละเอียดของการแสดง ผลขอมูล การออกแบบระบบแสดงผลที่เหมาะสมกับงาน

มอ. 450 การประมวลผลภาพและรูจําแบบ (3 หนวยกิต) MI 450 Image Processing and Pattern Recognition วิชาบังคับกอน: อส. 212 คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอรเน็ต ศึกษาระบบการประมวลผลภาพ การเห็นและแบบจําลอง คณิตศาสตรของภาพ ทฤษฎีการสุมตัวอยางและการใหคาเชิงตัวเลข ฟูเรียรทรานฟอรมและคุณสมบัติภาพ การทําใหภาพดีขึ้น การทําให ภาพเรียบขึ้น การทําใหภาพคมชัดขึ้น การรูจําแบบจากภาพถาย

มอ. 446 เทคโนโลยีสื่อบันทึกขอมูล (3 หนวยกิต) และการออกแบบ MI 446 Storage Media Technology and Design วิชาบังคับกอน: มอ. 323 เทคโนโลยีการบันทึกสื่อมัลติมีเดีย ทฤษฎีการจัดเก็บขอมูลทางคอมพิวเตอร วัสดุสาํ หรับจัด เก็บขอมูล การวิเคราะหสื่อบันทึกขอมูลที่ใชในปจจุบัน สื่อบันทึก ขอมูลที่ ใชการจัดเก็บขอมูลแบบถาวรและการจัดเก็บขอมูลแบบ เปลี่ยนแปลงแกไขได มาตรฐานความจุขอมูลของสื่อบันทึกประเภท ตางๆ สือ่ บันทึกทีส่ ามารถแกไขกูค นื ขอมูลได การออกแบบสือ่ ทีเ่ หมาะ สมกับงานสําหรับจัดเก็บขอมูล

296 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

มอ. 451 การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (3 หนวยกิต) MI 451 Natural Language Processing วิชาบังคับกอน: อส. 212 คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอรเน็ต รูปแบบและพัฒนาการทางภาษาของมนุษย การวิเคราะห ไวยากรณและขอกําหนดสําหรับภาษา ตัวกลางถายทอดภาษาระหวาง คอมพิวเตอรกับมนุษย การสังเคราะหภาษา ระบบการแปลภาษา


มอ. 452 การวิเคราะหและออกแบบ (3 หนวยกิต) ระบบสารสนเทศ MI 452 Information System Analysis and Design วิชาบังคับกอน: มอ. 225 การเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย แนวคิดและความหมายของระบบ วงจรชีวิตของระบบ สารสนเทศ การเสนอ พิจารณาและคัดเลือกโครงการสารสนเทศ แนวคิดและการวิเคราะหและรวบรวมระบบขอมูล แผนภูมิของการ ไหลของขอมูล พจนานุกรมขอมูลและตารางการตัดสินใจและพัฒนา ขอเสนอของระบบสารสนเทศ การออกแบบระบบชนิดโครงสราง การ ออกแบบซอฟตแวรและการจัดทําเอกสารสําหรับซอฟตแวร การ พัฒนาระบบสารสนเทศ การบริหารระบบสารสนเทศ

มอ. 482 โครงงานวิศวกรรมมัลติมีเดียและ (2 หนวยกิต) ระบบอินเทอรเน็ต 2 MI 482 Multimedia and Internet System Engineering Project II (ยกเวน สําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับกอน: มอ. 481 โครงงานวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอรเน็ต 1 เปนโครงงานทีต่ อ เนือ่ งจากโครงงานวิศวกรรมมัลติมเี ดีย และระบบอินเทอรเน็ต 1 ตองดําเนินการสรางอุปกรณตน แบบจนเสร็จ บริบูรณ พรอมทั้งทํารายงานและทดสอบอุปกรณตนแบบตออาจารย ที่ปรึกษาโครงงาน

มอ. 453 เทคนิคพิเศษขั้นสูงสําหรับมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) MI 453 Advanced Multimedia Special Effect วิชาบังคับกอน: มอ. 313 เทคนิคพิเศษสําหรับมัลติมีเดีย ศึกษาการสรางเทคนิคพิเศษขั้นสูงที่ใชในงานมัลติมีเดีย อาทิ การนําแบบจําลองสามมิติมาประยุกต ใชในภาพจริง การเพิ่ม เทคนิคพิเศษดานภาพใหกบั ตัวละครสามมิตทิ นี่ าํ มาใชรว มกับภาพจริง ศึกษาการสรางเทคนิคพิเศษใหมๆ จากตัวอยางภาพยนตร การพัฒนา ปลั๊กอินที่ใชในโปรแกรมสําหรับสรางเทคนิคพิเศษ เปนตน

มอ. 483 โครงงานวิศวกรรมมัลติมีเดีย (1 หนวยกิต) และระบบอินเทอรเน็ตสําหรับสหกิจศึกษา MI 483 Multimedia and Internet System Engineering Project for Cooperative Education (สําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับกอน: มอ. 498 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอรเน็ต เปนโครงงานที่ตอเนื่องจากการดําเนินงานในวิชาสหกิจ ศึกษาทางวิศวกรรมมัลติมเี ดียและระบบอินเทอรเน็ต ซึง่ นักศึกษาตอง นําผลงานที่ไดจากการทําสหกิจศึกษามาสรางหรือปรับปรุงใหเสร็จ บริบูรณ พรอมทั้งทํารายงานและนําแสดงผลงานตอคณะกรรมการ

มอ. 481 โครงงานวิศวกรรมมัลติมีเดียและ (2 หนวยกิต) ระบบอินเทอรเน็ต 1 MI 481 Multimedia and Internet System Engineering Project I (ยกเวน สําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับกอน: เปนนักศึกษาชั้นปที่ 4 และไดรับอนุมัติจากผูสอน วางแผนและออกแบบโครงงานและสรางอุปกรณ หรือ ระบบทางวิศวกรรมมัลติมเี ดียและระบบอินเทอรเน็ต (ในปสดุ ทาย) มี การเสนอโครงงานและรายงานตลอดจนเตรียมอุปกรณตางๆ ที่ ต อ งการเพื่ อ ดํ า เนิ น การโครงงานวิ ศ วกรรมมั ล ติ มี เ ดี ย และระบบ อินเทอรเน็ต 2

มอ. 493 เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) และระบบอินเทอรเน็ต 1 MI 493 Selected Topics in Multimedia and Internet System I วิชาบังคับกอน: ผานรายวิชาที่กําหนด และไดรับอนุมัติจาก หัวหนาภาควิชา หัวขอที่นาสนใจเกี่ยวกับพัฒนาการใหมๆ ทางวิศวกรรม มัลติมีเดียและระบบอินเทอรเน็ต หลักสูตรปร ญญาตร 297


มอ. 494 เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) และระบบอินเทอรเน็ต 2 MI 494 Selected Topics in Multimedia and Internet System II วิชาบังคับกอน: ผานรายวิชาที่กําหนด และไดรับอนุมัติจาก หัวหนาภาควิชา หัวขอที่นาสนใจเกี่ยวกับพัฒนาการใหมๆ ทางวิศวกรรม มัลติมีเดียและระบบอินเทอรเน็ต มอ. 495 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) และระบบอินเทอรเน็ต 1 MI 495 Special Problems in Multimedia and Internet System I วิชาบังคับกอน: ผานรายวิชาที่กําหนด และไดรับอนุมัติจาก หัวหนาภาควิชา ปญหาพิเศษ กรณีศึกษาที่นาสนใจทางดานวิศวกรรม มัลติมีเดียและระบบอินเทอรเน็ต มอ. 496 ปญหาพิเศษทางวิศวกรรมมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) และระบบอินเทอรเน็ต 2 MI 496 Special Problems in Multimedia and Internet System II วิชาบังคับกอน: ผานรายวิชาที่กําหนด และไดรับอนุมัติจาก หัวหนาภาควิชา ปญหาพิเศษ กรณีศึกษาที่นาสนใจทางดานวิศวกรรม มัลติมีเดียและระบบอินเทอรเน็ต

298 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

มอ. 497 การฝกงานทางวิศวกรรม (0 หนวยกิต) MI 497 Engineering Practices (ยกเวน สําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับกอน: ไมมี การฝกงานวิศวกรรมในสาขาทีเ่ กีย่ วของ ภายใตการดูแล ของวิศวกรทีม่ ปี ระสบการณประจําบริษทั เอกชนหรือหนวยงานราชการ เปนเวลาอยางนอย 6 สัปดาห หรือ 180 ชัว่ โมง ทัง้ นี้โดยนักศึกษา ตองไดเกรดเปน S มอ. 498 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมมัลติมีเดีย (6 หนวยกิต) และระบบอินเทอรเน็ต MI 498 Cooperative Education in Multimedia and Internet System Engineering (สําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับกอน: สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสรางใหนักศึกษามีความ พรอมดานงานอาชีพ จากการปฏิบตั งิ านพืน้ ฐาน อยางมีหลักการและ เปนระบบ นักศึกษาจะตองมีการฝกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห ซึง่ เปนงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเปนงานทีเ่ นนประสบการณทาํ งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เปนงานที่เปนประโยชนตอ องคกร รวมถึงมีการประเมินผลการทํางานจากคณาจารยรว มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน


หมวดวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ อส. 112 นวัตกรรมและธุรกิจทางวิศวกรรม (3 หนวยกิต) IE 112 Innovation and Engineering Enterprise วิชาบังคับกอน: ไมมี ขบวนการสําคัญที่ใชในการออกแบบวิธีการรวบรวมและ เสนอแนวคิดในการสรางผลงานที่ ใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมทาง วิศวกรรมเพือ่ สรางใหเกิดผลิตภัณฑตน แบบ การนําความรูจ ากหลาก หลายศาสตร ท างเทคโนโลยี แ ละวิ ศ วกรรมเพื่ อ หลอมรวมเป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ต  น แบบที่ ส ามารถนํ า ไปสู  การใช ง านจริ ง วางแผนใน กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม การทดสอบผลิตภัณฑและบริการ การจัดการและบริหารทรัพยสนิ ทางปญญาจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกร อส. 211 คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) IE 211 Mathematics for Computer Engineering วิชาบังคับกอน: คณ. 106 แคลคูลัส 2 อนุกรมฟูเรียร การแปลงฟูเรียร การแปลงลาปลาซและ การประยุกต สมการเชิงอนุพันธสามัญ สมการอนุพันธยอย การอิน เทอรโพเลชัน การกําจัดแบบเกาส การประยุกตคณิตศาสตรกบั ปญหา วิศวกรรม อส. 221 คณิตศาสตรวิศวกรรม (3 หนวยกิต) IE 221 Engineering Mathematics วิชาบังคับกอน: คณ. 107 แคลคูลัส 3 อนุกรมฟูเรียรและออยเลอร อินทิกรัลของฟูเรียรและการ ทรานฟอรมของฟูเรียร ลาปลาชทรานฟอรม ผลการแปลง Z เทคนิค การทรานฟอรมฟงกชั่นตอเนื่องและไมตอเนื่อง ทรานฟอรมฟงกชั่น และการประยุกตในการแกสมการอนุพนั ธ สมการอนุพนั ธยอ ยอันดับ หนึ่งและอันดับสองและการแกสมการวิธีการเชิงตัวเลข ฟงกชันเบส เสล ฟงกชันเลอจอง และฟงกชันอื่นๆที่ใชในงานวิศวกรรม การอิน

เทอรโพเลชั่น การกําจัดแบบเกาส การแกสมการอนุพันธโดยวิธี รุงเงง - กุตตา การแกสมการไมเชิงเสนโดยวิธีนิวตัน -ราฟสันและวิธี ของฮอเนอร การประยุกตคณิตศาสตรกับปญหาวิศวกรรม อส. 311 ความนาจะเปนและสถิติวิศวกรรม (3 หนวยกิต) IE 311 Probability and Engineering Statistics วิชาบังคับกอน: คณ. 106 แคลคูสัส 2 ความนาจะเปน ตัวแปรสุม การแจกแจงความนาจะเปน แบบไมตอเนื่องและแบบตอเนื่อง คาคาดหมายและโมเมนตฟงกชั่น การสุม ตัวอยาง การประมาณคาพารามิเตอร การทดสอบสมมุตฐิ าน การถดถอยและสหสัมพันธเชิงเสน การวิเคราะหความแปรปรวน การ ประยุกตสถิติกับระบบควบคุมอุตสาหกรรมและงานวิศวกรรม อส. 314 เทคโนโลยีอุบัติใหม (3 หนวยกิต) IE 314 Emerging Technology in Engineering วิชาบังคับกอน: ไมมี เทคโนโลยีทกี่ าํ ลังอุบตั ขิ นึ้ งานวิจยั และระดับการพัฒนา ในปจจุบนั พรอมทัง้ ใหตระหนักตอความสําคัญของเทคโนโลยีใหมตอ การดําเนินชีวิตของมนุษย ในอนาคต โดยมุงเนนเนื้อหาในประเด็น ตางๆ เชน ระบบการสื่อสาร พลังงาน การประยุกตความรูทาง วิศวกรรมศาสตรกับเทคโนโลยีทางการแพทย ความทาทายของงาน ทางวิศวกรรมตอการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม ความเชื่อมโยง เทคโนโลยีมัลติมีเดียกับงานทางวิศวกรรม

หลักสูตรปร ญญาตร 299


อส. 412 การจัดการสารสนเทศและบริการ (3 หนวยกิต) IE 412 Information and Service Management วิชาบังคับกอน: ไมมี หลักการจัดองคกรและการดําเนินงานในงานสารสนเทศ ทฤษฎีของการจัดการระบบสารสนเทศ ระบบขอมูลขาวสารดานการ บริหารและจัดการ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การวางแผนการปฏิบตั ิ งานเพื่อบริการสารสนเทศ การจัดหาบุคลากร และการจูงใจในการ ทํางาน การควบคุมการปฏิบตั งิ านและการประเมินผลงาน กรณีศกึ ษา ในการบริ ห ารงานด ว ยระบบสารสนเทศขององค กรต า งๆ ที่ มี ประสิทธิภาพ อส. 413 วิศวกรรมการบริหารจัดการนวัตกรรม (3 หนวยกิต) IE 413 Engineering Innovation Management วิชาบังคับกอน: ไมมี ความเชือ่ มโยงระหวางการสรางเทคโนโลยีและนวัตกรรม ทางวิศวกรรมกับการทําธุรกิจ โดยใหนกั ศึกษามีความเขาใชถงึ ขัน้ ตอน การพัฒนาผลิตภัณฑ/การบริการที่เกี่ยวของกับความรู ความคิด สรางสรรคและงานทางวิศวกรรม รวมถึงขั้นตอนการนําผลิตภัณฑ/ การบริการเขาสูก ารตอยอดเชิงพานิชย การบริหารจัดการตนทุน โดย ศึกษาถึงวิธีการวิเคราะหความตองการของตลาดและผูใชงาน การ วางแผนทางธุรกิจ ความสามารถในการทําการตลาด การดําเนินธุรกิจ จริยธรรมการดําเนินธุรกิจ และการปกปองทรัพยสินทางปญญา อส. 421 เศรษฐศาสตรวิศวกรรม (3 หนวยกิต) IE 421 Engineering Economics วิชาบังคับกอน: คณ. 105 แคลคูลัส 1 หรือ คณ. 108 แคลคูลัส 1 หลักเศรษฐศาสตรขนั้ พืน้ ฐาน การวิเคราะหการลงทุน คา ของเงินตามกาลเวลา การเปรียบเทียบทางเลือกตางๆ การเสือ่ มราคา การทดแทน การวิเคราะหจุดคุมทุน การตัดสินใจภายใตความเสี่ยง และความไมแนนอน 300 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาวิศวกรรมเคร$องกล คก. 112 การฝกฝมือชาง (1 หนวยกิต) ME 112 Workshop Practices วิชาบังคับกอน: ไมมี ปฏิบัติการเกี่ยวกับงานเครื่องมือกล ไดแก งานกลึง งาน ไส งานตกแตงผิว กัดเฟอง การปรับแตงงานเชือ่ มกาซและไฟฟา งาน เชื่อมเกี่ยวกับการประกอบอุปกรณความดันสูง งานโลหะแผน คก. 121 วัสดุวิศวกรรม (3 หนวยกิต) ME 121 Engineering Materials วิชาบังคับกอน: ไมมี การศึ ก ษาความสั ม พั น ธ ร ะหว า งโครงสร า งคุ ณ สมบั ติ กระบวนการผลิตและการประยุกต ใชวัสดุหลักทางวิศวกรรม เชน โลหะ พอลิเมอร เซรามิกสและวัสดุประกอบ แผนภูมิความสมดุล ของเฟสและการแปลความหมาย คุณสมบัติเชิงกลและการกัดกรอน ของวัสดุ คก. 151 การเขียนแบบวิศวกรรม (3 หนวยกิต) ME 151 Engineering Drawing วิชาบังคับกอน: ไมมี หลักการออกแบบและการเขียนแบบวิศวกรรมมาตรฐาน แบบของไทยและสากล หลักการเขียนตัวอักษร การเขียนภาพฉาย และภาพสามมิติในรูปแบบตางๆ รวมไปถึงมาตรฐานสากลที่ใชในการ บอกขนาดและความเที่ยงตรงของชิ้นงาน การเขียนภาพตัดและภาพ ชวยเพื่อแสดงรายละเอียดในแตละสวน การเขียนแบบดวยมือเปลา การวาดภาพประกอบ และการเขียนแบบโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร ขั้นพื้นฐาน


คก. 152 การเขียนแบบวิศวกรรมและทฤษฎีสี (3 หนวยกิต) ME 152 Engineering Drawing and Color Theory วิชาบังคับกอน: ไมมี หลักการออกแบบและการเขียนแบบวิศวกรรม มาตรฐาน การเขียนแบบของไทยและสากล การเขียนแบบราง การเขียนภาพ ฉาย การใหขนาด ภาพตัดขวาง ทักษะการวาดภาพดวยมือ และทฤษฎี สี รวมถึงความหมายและสุนทรียภาพในการใชสี การใชโปรแกรม คอมพิวเตอรประยุกตงานเขียนแบบรวมกับการสรางสื่อประสมในรูป แบบตางๆ

หมวดวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร

คก. 222 หลักการกลศาสตรวิศวกรรม (3 หนวยกิต) ME 222 Engineering Mechanics Principles วิชาบังคับกอน: ฟส. 101 ฟสิกสทั่วไป 1 และ คณ. 106 แคลคูลัส 2 ศึกษาหลักการเบื้องตนของกลศาสตร แรงและโมเมนต ของแรง ระบบแรง และผลลัพธของระบบแรง การสมดุลและการเขียน แผนภาพวัตถุอสิ ระ การวิเคราะหแรงในชิน้ สวนของโครงสราง ชิน้ สวน ของเครือ่ งจักรกล แรงภายใตของไหลทีอ่ ยูน งิ่ จลศาสตรและพลศาสตร ของอนุภาคและวัตถุ กฎขอสองของนิวตัน งานและพลังงาน การดล และโมเมนตัม

คพ. 300 วิทยาการคอมพิวเตอรพื้นฐาน (3 หนวยกิต) CS 300 Fundamentals of Computer Science ศึกษาพืน้ ฐานของวิทยาการคอมพิวเตอร ดานแนวความ คิดทฤษฎีของคอมพิวเตอร การพัฒนาซอฟตแวรโดยใชภาษาชั้นสูง ขัน้ ตอนวิธกี ารคิดแกปญ หาดวยคอมพิวเตอร การเขียนแผนภาพแสดง ระบบงาน การเขียนโปรแกรมเบื้องตน และการจัดทําเอกสารระบบ งาน รวมทั้งคําศัพทในแวดวงวิทยาการคอมพิวเตอร แนวความคิด อื่น เชน ดานฮารดแวร และดานซอฟตแวรประยุกตอื่น ๆ

คพ. 250 โครงสรางไมตอเนือ่ ง (3 หนวยกิต) CS 250 Discrete Structures ตรรกศาสตร ทฤษฎีเซต ความสัมพันธ ฟงกชัน ทฤษฎี และการพิสูจน ระบบพีชคณิต พีชคณิตบูลีน เซมิกรุป กรุป ทฤษฎี กราฟ กราฟแบบระบุทิศทาง กราฟแบบไมระบุทิศทาง ตนไม ปญหา ทางเดินของกราฟแบบระบุทิศทาง เครื่องทัวริง เครื่องสถานะจํากัด วงจรเชิงวิธีผสม

คพ. 310 หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร 1 (3 หนวยกิต) CS 310 Computer Programming I ระบบคอมพิวเตอรเบือ้ งตน การพัฒนาอัลกอริทึม เทคนิค ใน การ แก ปญหา การ เขียน ผัง งาน การ เขียน โปรแกรม โดย ใช ภาษา ระดับ สูง ชนิด ขอมูล คา คงที่ ตัวแปร นิพจน คํา สั่ง รับ ขอมูล และ แสดงผลลัพธ คําสัง่ กําหนดคา คําสัง่ ควบคุม การประมวลผลขอความ อารเรยโปรแกรมยอย การเรียงลําดับขอมูลและการคนหาขอมูล

หลักสูตรปร ญญาตร 301


คพ. 311 หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร 2 (3 หนวยกิต) CS 311 Computer Programming II พื้นความรู: สอบได คพ. 310 ลักษณะของการเขียนโปรแกรมทีด่ ี การทดสอบและแกไข ขอผิดพลาดในโปรแกรม หลักการพืน้ ฐานของ Data Abstraction และ encapsulation เชน แสตก คิว ลิงกลิสต ไบนารีทรี เปนตน เทคนิค ในการเขียนโปรแกรมขั้นสูง เชน ฟงกชันและชนิดขอมูลที่สามารถ กําหนดไดเอง การเปรียบเทียบ Recursion และ Iteration กลไกการ ผานคาตัวแปร เปนตน คพ. 317 การเขียนโปรแกรมเชิงเหตุการณ (3 หนวยกิต) CS 317 Event-Driven Programming หลัก พื้น ฐาน ของ การ เขียน โปรแกรม แบบ เชิงเหตุการณ สวน ประกอบ และ คุณลักษณะ การ ออกแบบ สราง ฟอรม และ เมนู การ ประมวล ผล ฐาน ขอมูล การ เขียน โปรแกรม โดย ใช ภาษา แบบเชิง เหตุการณสําหรับการพัฒนาโครงงาน คพ. 318 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (3 หนวยกิต) CS 318 Object-Oriented Programming พื้นความรู: สอบได คพ. 310 หลักการและแนวคิดของการโปรแกรมเชิงวัตถุ เชน เอน แคปซูเลชัน อินเฮอรรแิ ทนซ โพลิมอรฟซ มึ โอเวอรโหลดดิง การสราง โปรแกรมโดยใชคลาส ฟงกชนั เมมเบอร คอนสตรักเตอร และเดสตรัก เตอร การเขาถึงแบบพับลิก ไพรเวท และโพรเทค เมมเบอรแบบสแตติก และนอนสแตติก ฟงกชนั เสมือนจริง อินพุทและเอาทพทุ มาตรฐาน

302 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

คพ. 319 การเขียนโปรแกรมบนอินเทอรเน็ต (3 หนวยกิต) CS 319 Internet Programming พื้นความรู: สอบได คพ. 310 หลักพืน้ ฐานของการเขียนโปรแกรมบนอินเทอรเน็ต การ เขียนเว็บเพจพื้นฐาน และการเขียนเว็บเพจแบบพลวัต พัฒนาระบบ งานโดยใชสคริปทของฝงผูขอใชบริการ ฝงผูใหบริการผานการเชื่อม ตอฐานขอมูล คพ. 320 โครงสรางและสถาปตยกรรมคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) CS 320 Computer Organization and Architecture องคประกอบโครงสรางของระบบคอมพิวเตอร ภาษา แอสเซมบลี การออกแบบชุดคําสัง่ วิธกี ารอางถึงขอมูลในหนวยความ จํา การขัดจังหวะของ I/O ระบบบัส โครงสรางหนวยความจํา การจัด ลําดับชั้นของหนวยความจํา การทํางานของหนวยควบคุม คําสั่งการ ทํางานแบบสายทอ คําสั่งการทํางานแบบขนาน สถาปตยกรรมแบบ ซิสกและริสก ตัวประมวลผลแบบขนาน การเชือ่ มตอมัลติโปรเซสเซอร คพ. 350 โครงสรางขอมูล (3 หนวยกิต) CS 350 Data Structures พื้นความรู: สอบได คพ. 311 ทบทวนโครงสรางขอมูลแบบตาง ๆ ทั้งแบบเชิงเสนและ แบบไมเชิงเสน เชน อารเรย ลิงคลิสต แสตก คิว ตนไมและกราฟ เปนตน การพัฒนา Abstract data type ชนิดตางๆ เชน ลิสตแบบ เรียงและไมเรียงลําดับ แสตกและคิว โครงสรางลิสตแบบตางๆ ลิสต แบบ circular ลิสตแบบ doubly-linked การใชรเี คอรชนั กับโครงสราง ขอมูล ไบนารีเสิรซทรี โครงสรางตนไมขั้นสูง เทคนิคการเรียงขอมูล และการคนหาขอมูลชั้นสูง


คพ. 390 สหกิจศึกษา (3 หนวยกิต) CS 390 Cooperative Education พื้นความรู: สอบได สศ. 301 และ คพ. 436 ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสรางใหนักศึกษามีความ พรอมดานงานอาชีพ จากการปฏิบตั งิ านพืน้ ฐาน อยางมีหลักการและ เปนระบบ นักศึกษาจะตองมีการฝกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห ซึง่ เปนงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเปนงานทีเ่ นนประสบการณทาํ งาน ที่ตรงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือโครงงาน ที่เปนงานที่เปน ประโยชนตอ องคกร รวมถึงมีการประเมินผลการทํางานจากคณาจารย รวมกับสถานประกอบการ และนักศึกษาจะตองจัดทํารายงานสรุปผล การปฏิบัติงานสหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน

การนําระบบไปใชงานและการประเมินผลหลังจากใชงาน คพ. 410 โครงสรางภาษาคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) CS 410 Organization of Programming Languages พื้นความรู: สอบได คพ. 311 หลักของภาษาคอมพิวเตอร ไวยากรณภาษา ความหมาย ของคําสั่งหรือโครงสราง แนะนําการออกแบบหรือการสรางภาษา คอมพิวเตอรตนแบบ เชน ภาษาเชิงโครงสราง ภาษาเชิงวัตถุ ภาษา เชิงหนาที่ และภาษาทางตรรกะหรือภาษาทีม่ กี ฎพืน้ ฐาน มีการเปรียบ เทียบตนแบบและสาระสําคัญของแตละภาษาคอมพิวเตอร

คพ. 402 การใชคอมพิวเตอรทางดานธุรกิจ (3 หนวยกิต) CS 402 Computer Applications in Business พื้นความรู: สอบได คพ. 403 ธุรกิจการคาในรูปแบบตางๆ การเตรียมขอมูล การ ประยุกตโปรแกรมสําเร็จรูปกับระบบงาน โปรแกรมสําเร็จรูปเงินเดือน โปรแกรมสําเร็จรูปสินคาคงคลัง โปรแกรมสําเร็จรูปทางการวิเคราะห การเงิน รวมถึงระบบสารสนเทศที่ใชในองคกร เชน ระบบอีอารพี ระบบบริหารความสัมพันธลูกคา และธุรกิจเชี่ยวชาญ เปนตน

คพ. 411 การวิเคราะหและออกแบบ (3 หนวยกิต) โปรแกรมเชิงวัตถุ CS 411 Object-Oriented Analysis and Design พื้นความรู: สอบได คพ. 311 นิยามและคุณสมบัตของ ิ ภาษาเชิงวัตถุ ออบเจ็กต คลาส เอ็นแคบซูเลชัน อินเฮอริแทนซ และโพลีมอรฟซึม การออกแบบเชิง วัตถุแนวความคิด เทคนิคของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ การสราง และ การ พัฒนา ฐาน ขอมูล เชิง วัตถุ และ โปรแกรม ประยุกต หลัก การ ที่ใชในเทคโนโลยีเชิงวัตถุ รูปแบบจําลองความสัมพันธของวัตถุ รูป แบบ จําลอง พฤติกรรม ของ วัตถุ วิธี การ และ เทคนิค ของ การ พัฒนา ซอฟตแวรเชิงวัตถุ

คพ. 403 การวิเคราะหและการออกแบบระบบ (3 หนวยกิต) CS 403 Systems Analysis and Design พื้นความรู: สอบได คพ. 310 การวิเคราะหขั้นพื้นฐานของระบบงาน ศึกษาระบบงาน ตางๆ ที่ อาจ นํา มา ใช ปฏิบัติ ได การ หา จุด ประหยัด ของ ระบบ การ กําหนดรายละเอียดของระบบ วิธีการตางๆ และการออกแบบขั้นพื้น ฐาน วัตถุประสงค ใน การ ออกแบบ ระบบ การ เลือก และ การ ประเมิน ผลของฮารดแวรและซอฟตแวร การออกแบบ และพัฒนาซอฟตแวร

คพ. 413 ออโตมาตา การคํานวณได (3 หนวยกิต) และภาษาฟอรมอล CS 413 Automata, Computability, and Formal Languages พื้นความรู: สอบได คพ. 311 แนวคิด และ ทฤษฎี พื้น ฐาน ของ วิทยาการ คอมพิวเตอร ภาษา ฟอร มอล และ ทฤษฎี ออ โต มาตา การ ตรวจ สอบ หลัก ไวยากรณ ของภาษาฟอรมอล เครื่องสถานะจํากัดและเครื่องทัวริง ทฤษฎีและ ตัวอยางของภาษาไมพึ่งบริบท และพุชดาวนออโตมาตา หลักสูตรปร ญญาตร 303


คพ. 414 การสรางตัวแปลภาษา (3 หนวยกิต) CS 414 Compiler Construction พื้นความรู: สอบได คพ. 413 ทบทวนไวยากรณ ภาษา รูปแบบและความหมาย แนวคิด ของการแจงสวนและความหมายทีค่ ลุมเครือ รูปแบบแบคคัสนอเออร ไวยากรณปกติและการรูจํา ตัวกราดตรวจศัพท ตารางสัญลักษณ ตัว แจงสวน ทฤษฎีและตัวอยางของภาษาไมพึ่งบริบท และพุทดาวน ออโตมาตา เทคนิคแจงสวนแบบไมพึ่งบริบท การแปลภาษา เทคนิค การสรางและการปรับปรุงรหัสที่อิสระจากเครื่อง คพ. 415 การเขียนโปรแกรมอินเทอรเน็ตขั้นสูง (3 หนวยกิต) CS 415 Advanced Internet Programming พื้นความรู: สอบได คพ. 319 การ เขียน โปรแกรม อิน เทอร เน็ต ขั้น สูง เชน การ เขียน โปรแกรม ที่ ทํางาน แบบ พรอม กัน การ เขียนโปรแกรม เชิง วัตถุ การ เขียน โปรแกรม สําหรับ ฐาน ขอมูล สําหรับ อิน เทอร เน็ต ระบบ ความ ปลอดภัยและการนําขอมูลแสดงในเครือขาย การเขียนโปรแกรมฝง เครือ่ งใหบริการ เอกซเอมแอล เอกซเอ็ซแอลที ซีเอ็ซเอ็ซ Framework ทีเ่ ปนทีน่ ยิ มในการเขียนโปรแกรมบนอินเทอรเน็ต คพ. 416 การพัฒนาโปรแกรมสําหรับองคกร (3 หนวยกิต) CS 416 Enterprise Applications Development พื้นความรู: สอบได คพ. 403 การออกแบบและสรางโปรแกรมขนาดใหญสาํ หรับใชงาน ในองคกร และการพัฒนาโปรแกรมเว็บสําหรับองคกร รวมทัง้ สรางเปน ชุดโปรแกรมพรอมใช สถาปตยกรรมโปรแกรมที่ใชในองคกรยุคใหม เชน สถาปตยกรรมเชิงบริการ และสถาปตยกรรมเว็บเซอรวสิ เปนตน

304 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

คพ. 422 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) CS 422 Operating Systems นิ ย ามและความหมายของคํ า ว า ระบบปฏิ บั ติ ก าร วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการในยุคตางๆ โครงสรางพื้นฐานของ ระบบคอมพิวเตอร โครงสรางพื้นฐานโดยรวมของระบบปฏิบัติการ การจัดการกระบวนการ การจัดตารางการประมวลผลของซีพียู การ ทํางานรวมกันของกระบวนการ ระบบติดตาย การจัดการหนวยความ จํา หนวยความจําเสมือน โครงสรางระบบไฟลแบบตางๆ และการ สรางระบบไฟล ระบบ I/O โครงสรางของหนวยความจําสํารอง การ จัดตารางการใชงานของดิสก การจัดการพืน้ ที่ในหนวยความจําสํารอง การประยุกตใชทฤษฎีตางๆ ของระบบปฏิบัติการที่ทันสมัย คพ. 430 ระบบฐานขอมูล (3 หนวยกิต) CS 430 Database Systems พื้นความรู: สอบได คพ. 310 แนว ความ คิด พื้น ฐาน เกี่ยว กับ ระบบ บริหาร ฐาน ขอมูล สถาปตยกรรม ของ ฐาน ขอมูล รูป แบบ ของ ฐาน ขอมูล แบบ เชิง ชั้น แบบเครือขาย และแบบเชิงสัมพันธ ความขึ้นแกกันของขอมูล เคา ราง การ ทําใหอยู ใน รูป แบบ บรรทัดฐาน รูป แบบ บรรทัดฐาน ฐาน ขอมูล เชิง สัมพันธ การ สราง โมเดล จําลอง ความ สัมพันธ ของ ขอมูล แบบ อีอาร แบบ อี อี อาร พีชคณิต เชิง สัมพันธ ภาษา สอบถาม เชิง โครงสราง แคลคูลัสเชิงสัมพันธ การออกแบบฐานขอมูล ระบบรักษา ความปลอดภัยของขอมูล การเกิดภาวะพรอมกัน การปดกั้น การรู ขอมูล ความบูรณภาพของขอมูล พจนานุกรมขอมูล


คพ. 431 ระบบฐานขอมูลขั้นสูง (3 หนวยกิต) CS 431 Advanced Database Systems พื้นความรู: สอบได คพ. 430 ครอบคลุม เนื้อหา ระบบ ฐาน ขอมูล ที่ อยู ใน งาน วิจัย สมัย ใหม และ อยู ใน อุตสาหกรรม ซอฟตแวร เชน ระบบ ฐาน ขอมูล แบบ กระจาย เบื้อง ตน ระบบ ฐาน ขอ มูล มัล ติ มีเดีย เบื้อง ตน ระบบ วิธี การ คนหาขอมูล ระบบฐานขอมูลจํานวนมาก ระบบฐานขอมูลแบบกระจาย ระบบฐานขอมูลสําหรับเว็บ และหองสมุดดิจิตอล ในวิชานี้นักศึกษา ตองพัฒนาโครงการที่ใชระบบฐานขอมูลดวย คพ. 432 ระบบฐานขอมูลแบบกระจาย (3 หนวยกิต) CS 432 Distributed Database Systems พื้นความรู: สอบได คพ. 430 ศึกษา ทฤษฎี และ การ ออกแบบ ระบบ ฐาน ขอมูล แบบ กระจาย การควบคุมการทํางานแบบรวมกัน การแกปญหาของการรอ ตลอดกาลของโปรแกรม การจัดการขอมูลซํา้ ซอน วิธการ ี ดึงขอมูลจาก ระบบฐานขอมูลแบบกระจาย เครื่องจักรฐานขอมูลแบบขนาน ระบบ ฐานขอมูลแบบกระจายกับเครื่องใหบริการมัลติมีเดีย และระบบฐาน ขอมูลจํานวนมาก คพ. 433 การทําคลังขอมูล (3 หนวยกิต) CS 433 Data Warehousing พื้นความรู: สอบได คพ. 430 แนวคิดเกีย่ วกับดาตาแวรเฮาสซิง่ ลักษณะของดาตาแวร เฮาส ซิง่ อุปสรรค และ ขอ เสีย ขอ งดาตาแวร เฮาส ซิง่ สถาปตยกรรม ขอ ง ดาตาแวร เฮาส ซิ่ง การ ออกแบบ ขอมูล ภายใน ขอ งดาตาแวร เฮาส ซิ่ง โครงสรางการจัดเก็บขอมูลภายในดาตาแวรเฮาสซิ่ง การรวมขอมูล เพื่อ จัด เก็บ ดาตา แวร เฮาส ซิ่ง ความ ซับ ซอน และ เทคนิค การ สราง ขอมูลที่มีคุณภาพ ดาตามารท ดาตามายนิ่ง ดาตาเว็บเฮาสซิ่ง เว็บ มายนิ่ง

คพ. 434 การทําเหมืองขอมูล (3 หนวยกิต) CS 434 Data Mining พื้นความรู: สอบได คพ. 430 การทําเหมืองขอมูลและแมชชีนเลิรน นิงเบือ้ งตน แนวคิด ขอมูลเชิงรายการ ตัวแปรขอมูล วิธกี ารจําแนกขอมูล ตนไมชว ยตัดสิน ใจ การประเมินประสิทธิภาพ และความนาเชื่อถือของโมเดล การ ประเมินประสิทธิภาพดวยลิฟทและตนทุน การเตรียมขอมูลเพื่อการ คนหาความรู การจัดกลุมขอมูล การหากฎความสัมพันธ การแสดง ขอมูลภาพ การสรุปขอมูล การหาแนวโนมทีผ่ ดิ ปกติ การประยุกตกบั การตลาดแบบเจาะจงและโมเดลลูกคา การประยุกตกับการวิเคราะห ขอมูลไมโครอารเรย การประยุกตกบั เรือ่ งอืน่ ๆ ผลกระทบตอสังคมของ การทําเหมืองขอมูลกับแนวโนมในอนาคต และหัวขอเหมืองขอมูลขัน้ สูง คพ. 436 วิศวกรรมซอฟตแวร (3 หนวยกิต) CS 436 Software Engineering พื้นความรู: สอบได คพ. 311 วิศวกรรมซอฟตแวรเบือ้ งตน กระบวนการของซอฟตแวร การวิเคราะหความตองการของซอฟตแวร วิธีโมเดลระบบ การ ออกแบบสวนตอประสานกราฟกสกบั ผูใ ช การออกแบบสถาปตยกรรม ซอฟตแวร การทดสอบซอฟตแวร การบริหารโครงงานซอฟตแวร วิวัฒนาการซอฟตแวร การทวนสอบและการตรวจสอบความสมเหตุ สมผล การประมาณตนทุนซอฟตแวร การประกันคุณภาพซอฟตแวร โมเดลการปรับปรุงกระบวนการผลิตซอฟตแวรแบบบูรณาการ และ เครื่องมือสนับสนุนวิศวกรรมซอฟตแวร

หลักสูตรปร ญญาตร 305


คพ. 441 การวิเคราะหและออกแบบขั้นตอนวิธี (3 หนวยกิต) CS 441 Analysis and Design of Algorithms พื้นความรู: สอบได คพ. 311 การ วิ เคราะห อัล กอ ริ ทึม และ ปญหา การ วิเคราะห กรณี เฉลีย่ การเรียงลําดับ การเลือก ขอบเขตทางดานสูงและตํา่ ของความ ซับ ซอน ของ โปรแกรม การ โปรแกรม แบบ พลวัต โพ ลิ โน เมีย ล การ ประเมินฟงกชนั โพลิโนเมียล เวกเตอร และการคูณเมตริกซ การแปลง รูปแบบฟาสตฟูเรียร ปญหาแบบเอ็นพีอัลกอริทึมแบบขนาน คพ. 454 เครือขายสื่อสารคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) CS 454 Computer Communication Networks ทฤษฎี พื้ น ฐานของเครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร โทโปโล จี (Topology) ของเครือขาย วิธีการและหลักปฏิบัติในการใชเครือ ขายคอมพิวเตอรเพื่อการสื่อสาร องคประกอบของเครือขายสื่อสาร ทางกายภาพ และสถาปตยกรรม ระดับชั้นของขอมูลในเครือขาย สื่อสาร การนําเครื่องมือในการวินิจฉัย ออกแบบ ดําเนินการ และ วัดผลมาใชและปรับแตงเครือขายนั้น ๆ เปรียบเทียบขอแตกตางของ สถาปตยกรรมเครือขายแบบตาง ๆ และเปรียบเทียบเครื่องเมนเฟรม กับคอมพิวเตอรในแบบไทมแชร คพ. 457 ความมั่นคงในระบบคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) CS 457 Computer Security พื้นความรู: สอบได คพ. 454 วิธสร ี างความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร ระบบเครือ ขาย และขอมูลจากผูแอบเขาถึงขอมูล โดยไมไดรับอนุญาต หรือไม ไดตั้งใจ การลักลอบเปลี่ยนแปลงแกไขขอมูล การปองกันเมื่อระบบ ปฏิเสธ การใหบริการ การประเมินและการจัดการความเสี่ยง ทฤษฎี สารสนเทศ การลงรหัส คริปโตกราฟี กรรมวิธีรับรองความปลอดภัย ขอบเขตการปองกันจากซอฟตแวรที่ประสงครายตอระบบ ไวรัส ลอ จิกบอมบ วิธีการตรวจสอบ แกนของความปลอดภัย 306 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

คพ. 458 เครือขายระบบการสื่อสารไรสาย (3 หนวยกิต) และอุปกรณสื่อสารเคลื่อนที่ CS 458 Wireless and Mobile Networks พื้นความรู: สอบได คพ. 454 ศึกษา ระบบ เครือ ขาย ไร สาย อุปกรณ เคลื่อนที่ ใน เครือ ขาย ไร สาย ขอ กําหนด ตางๆ ใน เครือ ขาย ระบบ การ สื่อสาร ไร สาย และ อุปกรณ สื่อสาร เคลื่อนที่ การ จัดการ เครือ ขาย ระบบ ประกัน ประสิทธิภาพในการรับสงขอมูลในเครือขายไรสาย โปรแกรมประยุกต เครือ ขาย ระบบ การ สื่อสาร ไร สาย และ อุปกรณสื่อสาร เคลื่อนที่ เชน โปรแกรมประยุกตชนิดกระจาย โปรแกรมตัวกลางเชือ่ มตอ การจัดการ ขอมูลในอุปกรณเคลือ่ นที่ ระบบมัลติมีเดียในอุปกรณเคลือ่ นที่ และการ สั่งงานทางไกลผานอุปกรณไรสาย คพ. 459 การออกแบบและการจัดการ (3 หนวยกิต) ระบบเครือขาย CS 459 Network Design and Management พื้นความรู: สอบได คพ. 454 ศึกษาระบบเครือขายพืน้ ฐาน เชน การจําลองระบบเครือ ขาย การ ประเมิน ประสิทธิภาพ ระบบเครือ ขาย การ วิเคราะห ระบบ เครือ ขาย ใน เรื่อง ความเร็ว และ ความ ลาชา ใน การ รับ สง ขอมูล การ ออกแบบเครือขายแบบรวมศูนยและแบบกระจาย โปรแกรมประยุกต ใน ระบบ ไร สาย การ บริหาร และ จัดการ ระบบเครือ ขาย โปรโท คอล SMNP และสถาปตยกรรมและการจัดการระบบเครือขายแบบกระจาย คพ. 460 ปญญาประดิษฐ (3 หนวยกิต) CS 460 Artificial Intelligence พื้นความรู : สอบได คพ. 311 พฤติกรรม ฉลาด ซึ่ง เกิด ขึ้น โดย อัตโนมัติ สําหรับ การ รับ รู การ มี เหตุผล และ การ แสดงออก มา เปนการ กระทํา การ แก ปญหา การแทนความรูในคอมพิวเตอร การตัดสินใจ การเรียนรู การคนหา การเลนเกม การพิสูจนทฤษฎี การประมวลผลภาษาธรรมชาติ การ ควบคุมหุนยนต ระบบผูเชี่ยวชาญ


คพ. 469 คอมพิวเตอรซิมูเลชัน (3 หนวยกิต) CS 469 Computer Simulation พื้นความรู: สอบได คพ. 310 การ จําลอง สถานการณ โดย ใช คอมพิวเตอร เทคนิค การ สรางสถานการณจําลอง ความถูกตองของสถานการณจําลอง ขอจํากัด ของเทคนิคการจําลองสถานการณแบบตางๆ การเขียนโปรแกรมดวย ภาษาซิมูเลชัน

คพ. 481 การประมวลผลสัญญาณ (3 หนวยกิต) และภาพดิจิตอล CS 481 Digital Signal and Image Processing เทคนิคการประมวลผลสัญญาณและภาพดิจติ อล รูปแบบ แฟมขอมูลภาพดิจิตอล การปรับแตงภาพ การแกไขขอบกพรองของ ภาพ การบีบอัดภาพ การรูจําแบบรูป การแบงภาพ ความรูเบื้องตน เกี่ยวกับคอมพิวเตอรวิชัน

คพ. 470 กฎหมายและจริยธรรมดานเทคโนโลยี (3 หนวยกิต) สารสนเทศ CS 470 Legal and Ethical Aspects of Information Technology ศึ ก ษาหลั ก กฎหมายควบคู  กั บ จริ ย ธรรมของผู  ใ ช คอมพิวเตอรและนักเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเนนแนวคิดเบื้อง ตนที่เกี่ยวกับกฎหมายและลิขสิทธิ์ซอฟตแวร กฎหมายที่เกี่ยวของ กับการกระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร กฎหมายที่เกี่ยวของกับ สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แ ละอาชญากรรมทางคอมพิ ว เตอร กฎหมาย คุมครองขอมูลสวนบุคคล กฎหมายคุมครองผูบริโภคและการทํา อนุญาโตตุลาการผานอินเตอรเน็ท

คพ. 485 เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) CS 485 Multimedia Technology ความรูเบื  อ้ งตนเกีย่ วกับการใชคอมพิวเตอรสําหรับมัลติมเี ดีย การจัดเอกสารสื่อสิ่งพิมพ ไฮเปอรเท็กซ ไฮเปอรมีเดีย สื่อในการนํา เสนอ กราฟก ภาพ เคลื่อนไหว เสียง วิดี ทัศน เทคนิค การนํา เสนอ โดยใชมัลติมีเดีย

คพ. 480 คอมพิวเตอรกราฟกส (3 หนวยกิต) CS 480 Computer Graphics การประยุกตใชคอมพิวเตอรและเทคนิคตางๆ เพื่อใชใน การออกแบบและตกแตงภาพ 2 มิติทั้งแบบรัสเตอรเบสและเว็กเตอร เบส การแปลงใน 2 มิติและ 3 มิติ ขอบเขตและทางเลือกเฉพาะสวน ของภาพทีอ่ ยูในขอบเขตทีก่ าํ หนด หลักการของภาพใน 3 มิตแิ ละภาพ ในมุมมองตางๆ การลบเสนและพืน้ ผิวทีถ่ กู บัง การแรเงา แบบจําลอง ของสี การสรางแบบจําลอง การออกแบบซอฟตแวรกราฟกส มาตร ฐานกราฟกสทั่วไป โปรแกรมประยุกต

คพ. 490 สัมมนา (3 หนวยกิต) CS 490 Seminar พื้นความรู: สอบไดวิชาเอก-บังคับ อยางนอย 3 วิชา ใหนักศึกษาเสนอผลงานทีได ่ จากการศึกษาวิจยั หรือจาก การ ฝก ปฏิบัติ งาน จริง ใน หนวย งาน ดานคอมพิวเตอร ใน วง ราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนตามที่ไดกําหนดไว คพ. 491 หัวขอพิเศษ 1 (3 หนวยกิต) CS 491 Special Topics I พื้นความรู: สอบไดวิชาเอก-บังคับ อยางนอย 3 วิชา ศึกษาหัวขอที่นาสนใจ และเปนประโยชนเกี่ยวกับสาขา ตางๆ ในวิชาคอมพิวเตอร

หลักสูตรปร ญญาตร 307


คพ. 492 หัวขอพิเศษ 2 (3 หนวยกิต) CS 492 Special Topics II พื้นความรู: สอบไดวิชาเอก-บังคับ อยางนอย 3 วิชา ศึกษาหัวขอที่นาสนใจ และเปนประโยชนเกี่ยวกับสาขา ตางๆ ในวิชาคอมพิวเตอร ซึ่งแตกตางจาก คพ. 491 หั​ัวขอพิเศษ 1 คพ. 497 โครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร 1 (1 หนวยกิต) CS 497 Computer Science Project I พื้นความรู: สอบได คพ. 403 นักศึกษาตองดําเนินการ วางแผน และออกแบบโครงงาน เกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร มีการเสนอโครงงานและรายงานเพื่อ ดําเนินการใน คพ. 498 โครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร 2 คพ. 498 โครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร 2 (3 หนวยกิต) CS 498 Computer Science Project II พื้นความรู: สอบได คพ. 497 นักศึกษาตองดําเนินการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรในโครง งานใหเสร็จสมบูรณใชงานไดจริง จัดทําเอกสารประกอบโครงงานและ สอบปากเปลาเกี่ยวกับโครงงานที่ทํา

308 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ทส. 200 หลักสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ (3 หนวยกิต) IT 200 Fundamental of Information Technology ศึ ก ษาความรู ใ นภาพรวมของเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ประกอบไปดวย ภาพจําลองของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ความ สําคัญของขอมูลและสารสนเทศ การบริหารความซับซอน กระบวนการ การเปลีย่ นแปลงและประยุกตระบบเขาสูอ งคการ การบริหารโครงการ การบริ ห ารสารสนเทศ การประกั น และรั ก ษาความมั่ น คงของ สารสนเทศ เทคโนโลยีระบบสารสนเทศและการสื่อสาร การเปนนัก เทคโนโลยีสารสนเทศ และแขนงวิชาการอื่นที่เกี่ยวของ พัฒนาการ ของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร การปฏิสมั พันธกบั ผูใ ชอนิ เทอรเน็ต เวิลด ไวด เ ว็ บ ผลกระทบที่ เ กิ ด ต อ สั ง คม การประยุ ก ต ใ ช เ ทคโนโลยี สารสนเทศในดานตางๆ ทส. 201 คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ (3 หนวยกิต) IT 201 Computer and Intormation Technology ศึกษาพืน้ ฐานเบือ้ งตนของเครือ่ งคอมพิวเตอรทัง้ ในดาน ฮารดแวรและซอฟตแวร ศึกษาโปรแกรมประยุกต การนําเสนอสารสนเทศ ระบบเครือขายคอมพิวเตอร จดหมายอิเล็กทรอนิกส ความ ปลอดภัย ใน ระบบ คอมพิวเตอร บทบาท ของ คอมพิวเตอร ใน สังคม ปจจุบนั และเทคโนโลยีของคอมพิวเตอรในอนาคต รวมถึงการประยุกต ใช เทคโนโลยี สาร สนเทศ ใน องคกร ตางๆ ฝก ปฏิบัติ การ ใช โปรแกรม สําเร็จรูปที่สอดคลองกับเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหมอยางตอเนื่อง


ทส. 274 การประยุกตใชคอมพิวเตอรเพื่อการวิจัย (3 หนวยกิต) IT 274 Computer Applications for Research พื้นความรู: สอบได ทส. 207 หลัก การ ของ การ วิจัย เบื้อง ตน เทคนิค การ สุม ตัวอยาง การเปรียบเทียบขอมูล หลักการสรางแบบสอบถาม การลงรหัสขอมูล และ สถิติ พื้น ฐาน ประยุกต การ ใช โปรแกรม สําเร็จรูป ทาง สถิติ ใน การ วิเคราะหขอมูล ทส. 310 หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร 1 (3 หนวยกิต) IT 310 Computer Programming I ระบบคอมพิวเตอรเบือ้ งตน การพัฒนาอัลกอริทึม เทคนิค ในการแกไขปญหา การเขียนผังงาน การเขียนโปรแกรมโดยใชภาษา ระดับสูง โดยศึกษาถึงชนิดของขอมูล คาคงที่ ตัวแปร นิพจน คําสั่ง รับขอมูลและแสดงผลลัพธ การประมวลผลขอความ อารเรยโปรแกรม ยอย การเรียงลําดับขอมูลและการคนหาขอมูล ทส. 316 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (3 หนวยกิต) IT 316 Object-Oriented Programming หลักการและแนวคิดของการโปรแกรมเชิงวัตถุ เชน เอนแคปซูเลชัน อินเฮอรรแิ ทนซ โพลิมอรฟซ มึ โอเวอรโหลดดิง การ สรางโปรแกรมโดยใชคลาส ฟงกชันเมมเบอร คอนสตรักเตอร และ เดสตรักเตอร การเขาถึงแบบพับลิก ไพรเวท และโพรเทค เมมเบอร แบบสแตติก และนอนสแตติก ฟงกชันเสมือนจริง อินพุทและเอาท พุทมาตรฐาน ทส. 317 การเขียนโปรแกรมเชิงเหตุการณ (3 หนวยกิต) IT 317 Event-Driven Programming หลัก พื้น ฐาน ของ การ เขียน โปรแกรม แบบ เชิงเหตุการณ สวน ประกอบ และ คุณลักษณะ การ ออกแบบสราง ฟอรม และ เมนู การ ประมวล ผล ฐาน ขอมูล การ เขียน โปรแกรม โดย ใช ภาษา แบบ เชิง เหตุการณสําหรับการพัฒนาโครงงาน

ทส. 321 หลักการสืบคนสารสนเทศ (3 หนวยกิต) IT 321 Principles of Information Retrieval ทฤษฎีและวิธการ ี สืบคนขอมูล รูปภาพ กราฟก และเสียง ในรูปแบบบรรณานุกรมและฉบับสมบูรณ เนือ้ หาครอบคลุมเรือ่ งบูลีน และความนาจะเปนในการเขาถึงขอมูลเพือ่ การทําดัชนี รูปแบบการคิวรี การ จัด อันดับ ขอมูล กลวิธี กลั่น กรอง ขอมูล หลัก เกณฑ และ กลยุทธ ในการสืบคน รวมทั้งการใชเครื่องมือชวยคนประเภทตางๆ จากฐาน ขอมูลและระบบเครือขายใยแมงมุม ทส. 331 เทคโนโลยีแพลตฟอรมคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) IT 331 Computing Platform Technology พื้นความรู: สอบได ทส. 310 ศึ ก ษานํ า เบื้ อ งต น เกี่ ย วกั บ สถาป ต ยกรรมของระบบ คอมพิวเตอรและระบบปฏิบัติการ ประกอบดวย สวนประกอบทาง ฮารดแวร ไดแก หนวยประมวลผล ระบบบัสและระบบเชือ่ มตออุปกรณ ภายนอก หนวยความจํา หนวยเก็บบันทึกขอมูล ระบบปฏิบัติการ ไดแก สวนประกอบและหนาที่ภายในระบบปฏิบัติการ โดยใชกรณี ศึกษาระบบปฏิบตั กิ ารที่ใชในปจจุบนั การฝกปฏิบตั ิ หลักการและการ ฝกหัดดานการบริหารระบบ เชน การจัดการบัญชีผใู ช บริการการพิมพ การจัดสรรพื้นที่เก็บบันทึกขอมูล การเฝาสังเกตุและการแกไขปญหา ทส. 350 โครงสรางขอมูลและหลักพื้นฐาน (3 หนวยกิต) ของอัลกอริทึม IT 350 Data Structures and Fundamental Algorithms พื้นความรู: สอบได ทส. 311 ทบทวนโครงสราง ขอมูล แบบ ตาง ๆ ทั้ง แบบ เชิง เสน อารเรย ลิงคลิสต แสตก คิว และศึกษาแบบไมใชเชิงเสน ตนไม กราฟ เครือขาย การนําโครงสรางขอมูลไปประยุกตใชในงานตางๆ เทคนิค การเรียงลําดับและคนหาขอมูล หลักการออกแบบและการวิเคราะห อัลกอริทึมเบื้องตน เชน การหาโอตัวใหญ (Big-O) หลักสูตรปร ญญาตร 309


ทส. 364 ศิลปะสําหรับคอมพิวเตอรกราฟกส (3 หนวยกิต) IT 364 Art for Computer Graphics เรียนรูพ นื้ ฐานเบือ้ งตนเกีย่ วกับการวาดเสน การออกแบบ ภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ และทฤษฎีสีรวมทั้งแสงเงา ฝกการวาดภาพ โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร เรียนรูการออกแบบและการจัดองค ประกอบภาพเบื้องตนเพื่อใชในงานเทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อ มัลติมีเดีย ทส. 365 คอมพิวเตอรกราฟกส (3 หนวยกิต) สําหรับงานสารสนเทศ IT 365 Computer Graphics Applications for Information การประยุกตใชคอมพิวเตอรและเทคนิคตางๆ เพื่อใชใน การออกแบบและตกแตงภาพและตัวอักษร ฝกการสรางงานในลักษณะ ทีเป ่ นการออกแบบ 2 มิติ ทัง้ ทีเป ่ นรัสเตอรเบส และเว็กเตอรเบส เพือ่ ประยุกตใชในงานสารสนเทศ ทส. 366 ภาพสามมิติและภาพเคลื่อนไหว (3 หนวยกิต) IT 366 Three-Dimensional Images and Animations พื้นความรู: สอบได ทส. 365 ศึกษา ถึง วิธี การ สราง ภาพ สาม มิติ และ ภาพ เคลื่อนไหว กรรมวิธการ ี สรางขัน้ ตอนตัง้ แตเริม่ ตนจนจบขบวนการ ซึง่ รวมถึงการ ทําสตอรี่บอรต การทําโมเดลลิ่ง และการสรางเท็กซเจอรใหกับวัตถุ ตางๆ และฝกฝนการใชโปรแกรมประยุกตที่สอดคลองกับเนื้อหา

310 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ทส. 367 ภาพสามมิติและภาพเคลื่อนไหวขั้นสูง (3 หนวยกิต) IT 367 Advanced Three-Dimensional Images and Animations พื้นความรู: สอบได ทส. 366 ฝกฝนการสรางภาพสามมิติและภาพเคลื่อนไหวโดยใช เทคนิคขั้นสูง โดยใชโปรแกรมประยุกตที่ทันสมัยเพื่อใหไดภาพสาม มิติและภาพเคลื่อนไหวที่มีคุณภาพ เหมาะสมและสอดคลองกับงาน สื่อประสมประเภทตางๆ ทส. 368 วิดโี อและเสียงสําหรับเทคโนโลยีมลั ติมเี ดีย (3 หนวยกิต) IT 368 Video and Sound for Multimedia Technology พื้นความรู: สอบได ทส. 367 เรียนรูเรื่องเสียงที่มีผลกระทบตออารมณและความรูสึก ของผูฟง เทคนิคการเลือกเพลงและการใชเสียงในสถานที่ตางๆ เทคนิคการสรางเสียงสําหรับงานดานเทคโนโลยีมลั ติมเี ดีย การบันทึก เสียง การแกไข และการสรางเสียงพิเศษ เปนตน ทส. 390 สหกิจศึกษา (3 หนวยกิต) IT 390 Cooperative Education พื้นความรู: สอบได สศ. 301 และ ทส. 420 ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสรางใหนักศึกษามีความ พรอมดานงานอาชีพ จากการปฏิบัติงานพื้นฐาน อยางมีหลักการ และเปนระบบ นักศึกษาจะตองมีการฝกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห ซึง่ เปนงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเปนงานทีเ่ นนประสบการณทาํ งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เปนงานที่เปนประโยชนตอ องคกร รวมถึงมีการประเมินผลการทํางานจากคณาจารยรว มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน


ทส. 401 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (3 หนวยกิต) IT 401 Management Information Systems หลักการและหลักปฏิบัติในการบริหารระบบสารสนเทศ ในแวดวงธุรกิจ การฝกปฏิบัติเพื่อการจัดการ วิธีวิเคราะหระบบ การ จัดการแบบเปลีย่ นแปลง ปจจัยทางดานบุคลากร การวางแผนกลยุทธ สาร สนเทศ ผล กระทบ ตอ องคกร ใน ระบบ สาร สนเทศ จริยธรรม ดาน คอมพิวเตอร และ เทคโนโลยี การ สื่อสาร บทบาท การ จัดการ ใน การ บริหารระบบสารสนเทศในองคกร การเพิ่มศักยภาพการจัดการดวย คอมพิวเตอร ระบบของกระบวนการดานการดําเนินงาน ระบบรายงาน ดานการจัดการ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบขอมูลขาวสารดาน การบริหาร ระบบขอมูลขาวสารของสํานักงาน ระบบผูเชี่ยวชาญ ทส. 402 การพัฒนาโปรแกรมสําหรับองคกร (3 หนวยกิต) IT 402 Enterprise Applications Development พื้นความรู: สอบได ทส. 310 การออกแบบและสรางโปรแกรมขนาดใหญสาํ หรับใชงาน ในองคกร และการพัฒนาโปรแกรมเว็บสําหรับองคกร รวมทัง้ สรางเปน ชุดโปรแกรมพรอมใช สถาปตยกรรมโปรแกรมที่ใชในองคกรยุคใหม เชน สถาปตยกรรมเชิงบริการ และสถาปตยกรรมเว็บเซอรวสิ เปนตน ทส. 403 ระบบสารสนเทศทางการเงิน (3 หนวยกิต) IT 403 Financial Information Systems พื้นความรู: สอบได ทส. 201 หลักการและโครงสรางระบบสารสนเทศทางการเงินเบือ้ ง ตน การออกแบบ การนํามาใชของระบบสารสนเทศทางการเงิน การ วิเคราะหและควบคุมประมวลผลขอมูลในระบบการเงิน การแจกจาย ขอมูล ดาน การ เงิน การ รายงาน และ การ วัดผล และ แนว โนม ใน การ พัฒนาระบบสารสนเทศทางการเงิน

ทส. 410 การเขียนโปรแกรมบนอินเทอรเน็ต (3 หนวยกิต) IT 410 Internet Programming พืน้ ความรู: สอบได ทส. 310 ความรูเ บือ้ งตนเกีย่ วกับอินเทอรเน็ต จดหมายอิเล็กทรอนิกส การสงผานขอมูล เครือขายใยแมงมุม การสรางเว็บเพจ การเขียน โปรแกรมบนอินเทอรเน็ต เพือ่ ประยุกตใชทางธุรกิจโดยผานทางระบบ อินเทอรเน็ต เพือ่ ใชเปนพืน้ ฐานในพาณิชยอเิ ล็กทรอนิกส ทส. 411 เทคโนโลยีของอุปกรณการประมวลผล (3 หนวยกิต) แบบโมบาย IT 411 Mobile Devices Technology โปรโตคอลที่ใชกับการประมวลผลแบบโมบาย แวปไอโหมด โครงสรางการรับสงขอมูลอินเทอรเน็ต จะชวยเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการทํางานใหกับอุปกรณสื่อสารไรสายที่มีความจํากัดในขนาดและ แบนดวิดท ทําใหสามารถประยุกตใชกับงาน นัดหมาย การดูขอมูล ขาวสารไดทุกเวลาและทุกสถานที่ ทส. 412 การเขียนโปรแกรมอินเทอรเน็ตขั้นสูง (3 หนวยกิต) IT 412 Advanced Internet Programming พื้นความรู: สอบได ทส. 410 การเขียนโปรแกรมอินเทอรเน็ตขั้นสูง เชน การเขียน โปรแกรมที่ทํางานแบบพรอมกัน การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ การ เขียนโปรแกรมสําหรับฐานขอมูลสําหรับอินเทอรเน็ต ระบบความ ปลอดภัยและการนําขอมูลเสดงในเครือขาย การเขียนโปรแกรมฝง เครื่องใหบริการ เอ็กซเอมแอล เอ็กซเอ็ซแอลที ซีเอ็ซเอ็ซ จาวา สคริปท และการใหบริการของเว็บ

หลักสูตรปร ญญาตร 311


ทส. 420 การวิเคราะหและออกแบบระบบ (3 หนวยกิต) IT 420 Systems Analysis and Design พื้นความรู: สอบได ทส. 310 วงจรชีวิตเกี่ยวกับพัฒนาการของระบบซอฟตแวร การ วิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ การวิเคราะหขั้นพื้นฐานของ ระบบงาน ศึกษาระบบงานตาง ๆ ที่อาจนํามาใชปฏิบัติได การหาจุด ประหยัดของระบบ การกําหนดรายละเอียดของระบบ วิธีการตางๆ และการออกแบบขั้นพื้นฐาน วัตถุประสงคในการออกแบบระบบ การ เลือกและการประเมินผลของฮารดแวรและซอฟตแวร การออกแบบ และพัฒนาซอฟตแวร การนําระบบไปใชงานและการประเมินผลหลัง จากใชงาน ทส. 423 กลยุทธการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ (3 หนวยกิต) IT 423 Strategic Management of Information Technology พื้นความรู: สอบได ทส. 200 ศึกษา บทบาท ของ เทคโนโลยี สาร สนเทศ ใน เชิงกล ยุทธ และการจัดการในองกร การใชเทคโนโลยีสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพ ใน องคกร นํา กรณี ศึกษา มา ใช ร วม กั บ การ สอน เพื่อ สาธิต การ ใช เทคโนโลยีสารสนเทศใหเกิดการไดเปรียบทางการแขงขัน กลยุทธใน การจัดการหนาทีของ ่ เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร การใชเทคโนโลยี สารสนเทศใหเหมาะสมกับโครงสรางพืน้ ฐานและศักยภาพขององคกร ทส. 424 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (3 หนวยกิต) IT 424 Decision Support Systems พื้นความรู: สอบได ทส. 401 และ ทส. 420 ศึกษา แนวคิด ที่ ชวย ใน การ ตัดสิน ใจ ทาง ธุรกิจ ขั้น ตอน ในการตัดสินใจ การตัดสินใจเชิงสัมพันธ คุณลักษณะและพัฒนาการ ของ ระบบ สนับสนุน การ ตัดสิน ใจ กรอบ ใน การ พัฒนา ระบบ องค ประกอบของไดอะล็อก ขอมูล และแบบจําลอง ระบบสารสนเทศเพือ่ ผู บริหารระดับสูง (EIS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุม (GDSS) เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 312 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ทส. 425 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ (3 หนวยกิต) IT 425 Information Resource Management พื้นความรู: สอบได ทส. 401 ปญหา และ เทคนิค เกี่ยว กับ สาร สนเทศ เพื่อ การ จัดการ คํานิยามของระบบการประมวลผลขอมูลอิเล็กทรอนิกส การประเมิน ผล การ ติด ตั้ง ระบบ และ การ จัดการ ระบบ การ ประมวล ผล ขอมูล อิเล็กทรอนิกส อยาง ตอ เนื่อง วิธี การ ได มา การ จัด ระบบ ดูแล และ ควบคุม ทรัพยากรในระบบสารสนเทศ รวมทั้งการวางแผนโครงงาน การดูแลเรื่องบุคลากรและการจัดการในเรื่องทางเลือกของคาใชจาย ตางๆ ที่เกิดขึ้น ทส. 426 การจัดการศูนยสารสนเทศ (3 หนวยกิต) IT 426 Information Center Management พื้นความรู: สอบได ทส. 401 หลัก การ จัดการ ศูนย สาร สนเทศ วัตถุประสงค และ องค ประกอบของศูนยสารสนเทศ เรียนรูวิธีการจัดการองคกร การดําเนิน การการจัดการ และการประเมินผลศูนยสารสนเทศ การจัดการดาน บุคลากร การนําเสนอ การเตรียมงาน และการปฏิบตั งาน ิ ในศูนย สราง ความเขาใจและสามารถเลือกใชเทคโนโลยีทเหมาะ ี่ สมเพือ่ การดําเนิน งานและการพัฒนาศูนยใหดียิ่งขึ้น ทส. 427 ระบบการจัดเก็บขอมูลและการจัดการ (3 หนวยกิต) IT 427 Information Storage and Management ศึกษาสถาปตยกรรมและเทคโนโลยีการจัดเก็บขอมูลและ สารสนเทศ สถาปตยกรรมระบบการจัดเก็บขอมูลและศูนยกลางขอมูล ระบบเครื อ ข า ยการจั ด เก็ บ ข อ มู ล อุ ป กรณ จั ด เก็ บ ข อ มู ล โดยตรง (Direct-Attached Storage) ระบบเครือขายของหนวยเก็บขอมูล (Storage Area Network) รูปแบบการระบุตาํ แหนงในการคนหาขอมูล (Content-Addressed Storage) การจัดเก็บขอมูลแบบเสมือนจริง ความสามารถในการเขาถึงขอมูลในระบบธุรกิจ การสํารองและกูคืน


ขอมูล ความมัน่ คงปลอดภัยของการจัดเก็บขอมูล ปจจัยสําคัญในการ บริหารจัดการสารสนเทศ การจัดการวงจรการใชงานของขอมูล องค ประกอบของระบบการจัดเก็บขอมูล การปกปองขอมูล storage area การบริหารจัดการโครงสรางพื้นฐานการจัดเก็บขอมูล ทส. 435 เครือขายคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) และโทรคมนาคม IT 435 Computer Networks and Telecommunications พื้นความรู: สอบได ทส. 310 ความ รู เบื้อง ตน เกี่ยว กับ แนวคิดและ หลัก การ ของ เทคโนโลยี การ สื่อสาร ขอมูล รูป แบบ เครือ ขายระบบ เครือ ขาย ทอง ถิ่น (LANs) โปรโตคอล และมาตรฐานตาง ๆ เทคโนโลยีสวิทช โทรศัพท เทคนิคการสลับและเลือกเสนทาง การรักษาความปลอดภัยในระบบ เครือ ขาย และ การ จัดการ ทรัพยากร ของ โทรคมนาคม ระบบ ผู ให และ ผูร บั บริการเครือขายอินเทอรเน็ตแบบทีซีพี/ไอพี สถาปตยกรรม เครือ ขาย และระบบโทรคมนาคมตางๆ ทส. 436 การออกแบบและการจัดการระบบ (3 หนวยกิต) เครือขาย IT 436 Network Design and Management พื้นความรู: สอบได ทส. 435 ศึกษาระบบเครือขายพืน้ ฐาน เชน การจําลองระบบเครือ ขาย การประเมินประสิทธิภาพระบบเครือขาย การวิเคราะหระบบเครือ ขายในเรื่องความเร็วและความลาชาในการรับสงขอมูล การออกแบบ เครือขายแบบรวมศูนยและแบบกระจาย โปรแกรมประยุกตในระบบไร สาย การบริหารและจัดการระบบเครือขาย โพรโทคอล SMNP และ สถาปตยกรรมและการจัดการระบบเครือขายแบบกระจาย

ทส. 437 เครือขายระบบการสื่อสารไรสาย (3 หนวยกิต) และอุปกรณสื่อสารเคลื่อนที่ IT 437 Wireless and Mobile Networks พื้นความรู: สอบได ทส. 435 ศึกษาระบบเครือขายไรสาย อุปกรณเคลื่อนที่ในเครือ ขายไรสาย ขอกําหนดตางๆ ในเครือขายระบบการสื่อสารไรสาย และอุปกรณสื่อสารเคลื่อนที่ การจัดการเครือขาย ระบบประกัน ประสิทธิภาพในการรับสงขอมูลในเครือขายไรสาย โปรแกรมประยุกต เครือขายระบบการสื่อสารไรสายและอุปกรณสื่อสารเคลื่อนที่ เชน โปรแกรมประยุกตชนิดกระจาย โปรแกรมตัวกลางเชือ่ มตอ การจัดการ ขอมูลในอุปกรณเคลื่อนที่ ระบบมัลติมีเดียในอุปกรณเคลื่อนที่ และ การสั่งงานทางไกลผานอุปกรณ ไรสาย ทส. 440 ระบบการจัดการฐานขอมูล (3 หนวยกิต) IT 440 Database Management Systems พื้นความรู: สอบได ทส. 310 ระบบฐานขอมูล การออกแบบขอมูลทางกายภาพ ทาง ตรรกะและสถาปตยกรรม แบบจําลองความสัมพันธ เอ็นติตี้ และการ นอรมอลไลซ ครอบคลุมถึงฐานขอมูลทั้งหมด และการผสานขอมูล กับ โปรแกรม ความ ปลอดภัย และ ความ สมบูรณ ของ ขอมูล การ ใช ฐานขอมูลในการแกปญหาทางธุรกิจ และการบริหารฐานขอมูล มุง เนนการจัดการองครวมของขอมูลที่ตองการในองคกร

หลักสูตรปร ญญาตร 313


ทส. 441 การจัดการความปลอดภัย (3 หนวยกิต) ในระบบคอมพิวเตอร IT 441 Computer Security Management พื้นความรู: สอบได ทส. 435 วิธีสรางความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอรระบบเครือ ขายและขอมูล จากผูแอบเขาถึงขอมูลโดยไมไดรับอนุญาต หรือไม ไดตั้งใจ การลักลอบเปลี่ยนแปลงแกไขขอมูล การปองกันเมื่อระบบ ปฏิเสธการ ให บริการ การ ประเมิน และ การ จัดการ ความ เสี่ยง การ ลง รหัส คริปโตกราฟ กรรมวิธรัี บรองความปลอดภัย ขอบเขตการปองกัน จากซอฟตแวรทีประสงค ่ รายตอระบบ ไวรัส ลอจิกบอมบ วิธการ ี ตรวจ สอบแกนของความปลอดภัย

ทส. 446 ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) IT 446 Human-Computer Interaction พื้นความรู: สอบได ทส. 201 แนวความคิดเกีย่ วกับปจจัยของมนุษยและการออกแบบ อิน เทอร เฟส ที่ เกี่ยวของ กับ ศักยภาพ ของ ทั้ง มนุษย และ คอมพิวเตอร ระบบการใหความชวยเหลือเมือ่ มีปญหา รูปแบบการปฏิสัมพันธ และ หลักการออกแบบที่มองเห็นได แบบจําลองการอินเทอรเฟสของผูใช และเครื่องมือที่นํามาพัฒนา ผลกระทบของเทคโนโลยีที่มีตอมนุษย การวางแผน ใน การ เลือก ใช เทคโนโลยี การนํา มา ปฏิบัติ และ การ ใช เทคโนโลยีเพื่อใหผลกระทบปรากฏออกมาในเชิงบวก

(3 หนวยกิต) ทส. 442 การบริหารระบบ IT 442 System Administration พื้นความรู: สอบได ทส. 331 เครือ่ งมือและเทคนิคทีใช ่ ในการบริหารระบบคอมพิวเตอร การวางแผน ออกแบบผังระบบ การจัดการกับระบบโดยทัว่ ไป การติด ตั้งระบบ การบูทเครื่องและปดระบบ ระบบแฟมขอมูลและโครงสราง สิทธิในการครอบครองไดเรกทอรี่ การจัดสรรเนื้อที่ในหนวยความจํา สํารอง การจัดลําดับในการพิมพ การจัดการและวางโครงรางอุปกรณ การบริหารบัญชีผูใชบริการ ความปลอดภัย การใชคริปทขั้นสูงเพื่อ ชวยในงานการบริหารระบบตางๆ

ทส. 447 วิศวกรรมซอฟตแวร (3 หนวยกิต) IT 447 Software Engineering พื้นความรู: สอบได ทส. 420 เทคนิค การ ออกแบบ ซอฟตแวร การ บริหาร โครงการ พัฒนา ซอฟตแวร การ วางแผน โครง งาน คุณสมบัติ ของ ซอฟตแวร การ ออกแบบ สถาปตยกรรม การ วัด คุณภาพ ของ ซอฟตแวร เทคนิค การ ประมาณ ราคา ซอฟตแวร โครงสราง ของ การ จัด ทํา เอกสาร การ ออกแบบซอฟตแวร การทดสอบ การทํางานเปนกลุม ระเบียบวิธีใน การพัฒนาระบบ การประเมินผลและคัดเลือกเครื่องมือ CASE การ ใชเครื่องมือ CASE ในโครงงานพัฒนาซอฟตแวร

ทส. 443 ดาตาแวรเฮาสซิ่ง (3 หนวยกิต) IT 443 Data Warehousing พื้นความรู: สอบได ทส. 440 แนวคิดเกีย่ วกับดาตาแวรเฮาสซิง่ ลักษณะของดาตาแวร เฮาสซิง่ อุปสรรคและขอเสียของดาตาแวรเฮาสซิง่ สถาปตยกรรมของ ดาตาแวรเฮาสซิง่ การออกแบบขอมูลภายในดาตาแวรเฮาสซิง่ โครงสรางการจัดเก็บขอมูลภายในดาตาแวรเฮาสซิง่ การรวมขอมูลเพือ่ จัด เก็บในดาตาแวรเฮาสซิ่ง ความซับซอนและเทคนิค การสรางขอมูลที่ มีคุณภาพ ดาตามารท ดาตามายนิ่ง ดาตาเว็บเฮาสซิ่ง เว็บมายนิ่ง 314 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ทส. 448 การออกแบบเอกสาร (3 หนวยกิต) สําหรับโปรแกรมและระบบ IT 448 Software and System Documentation Design พื้นความรู: สอบได ทส. 420 ระบบ เอกสาร ที่ ใช ประกอบ โปรแกรม และ ระบบ คอมพิวเตอร แบบ ตางๆ คูมือ เอกสาร อางอิง เอกสาร การ ชวย เหลือ อิเล็กทรอนิกส การ สราง การ ใช และ ตัวอยาง การ ทํา เอกสาร ที่ เหมาะ สมกับระบบคอมพิวเตอร


ทส. 450 การวิเคราะหและออกแบบโปรแกรม (3 หนวยกิต) เชิงวัตถุ IT 450 Object-Oriented Analysis and Design พื้นความรู: สอบได ทส. 316 นิยามและคุณสมบัตของ ิ ภาษาเชิงวัตถุ ออบเจ็คต คลาส เอน แคป ซูเล ชัน อิน เฮ อร ริ แทน ซ และ โพ ลี มอรฟ ซึม การ ออกแบบ เชิง วัตถุ แนว ความ คิด และ เทคนิค ของ การ เขียน โปรแกรม เชิง วัตถุ การ สราง และการ พัฒนาฐานขอมูลเชิงวัตถุ โปรแกรม ประยุกต หลัก การ ที่ ใช ใน เทค โน ยี เชิง วัตถุ รูป แบบจําลอง ความ สัมพันธ ของ วัตถุ รูปแบบจําลองพฤติกรรมของวัตถุ วิธีการและเทคนิคของการพัฒนา ซอฟตแวรเชิงวัตถุ ทส. 451 การถายโอนเทคโนโลยี (3 หนวยกิต) IT 451 Technology Transfer พื้นความรู: สอบไดเอก-บังคับ อยางนอย 3 วิชา กลยุทธทีเปลี ่ ย่ นแปลงเพือ่ เอือ้ ตอการถายโอนเทคโนโลยี ความ คิด ใหมๆ และ เครื่อง มือ เพื่อ งานนวัต กรรม ดาน เทคโนโลยี ที่ สามารถออกแบบไดและผลิตได ประสบการณโดยตรงจากการจําลอง และการปฏิบัติในเหตุการณที่เอื้อตอการเปลี่ยนแปลง กรณีศึกษาถึง ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีทีมี่ ตอระบบและบุคคล เกี่ยวของ ทส. 452 การสือ่ สารทางวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ (3 หนวยกิต) IT 452 Information Technology Professional Communication พื้นความรู: สอบได ทส. 201 กระบวนการ นํา เสนอ ขอมูล ตั้ง แต เริ่ม ตน การ วางแผน การทําสตอรีบอรด ปจจัยตางๆ ที่มีผลตอการนําเสนอ ลักษณะของ กลุมผูฟง สถานที่ การเลือกประเภทของเทคโนโลยี การเตรียมพรอม กอน การนํา เสนอ การนํา เสนอ การ โตตอบ กับ ผู ฟง การ สรุป การนํา เสนอและการประเมินการนําเสนอ

ทส. 460 การประยุกตใชปญญาประดิษฐ (3 หนวยกิต) IT 460 Applications of Artificial Intelligence พื้นความรู: สอบได ทส. 310 ความ รู เบื้อง ตน เกี่ยว กับ ปญญา ประดิษฐ บทบาท ของ ปญญา ประดิษฐ แบบ ประยุกต ใน แวดวง ธุรกิจ ความ รู พื้น ฐาน เกี่ยว กับระบบผูเชี่ยวชาญ ระบบฐานความรู การตัดสินใจเพื่อการบริหาร เทคโนโลยีเกี่ยวกับการประมวลผลดวยภาษาธรรมชาติ คอมพิวเตอร ทัศน และหัวขอที่เกี่ยวของอื่นๆ ทส. 464 การบริหารเว็บ (3 หนวยกิต) IT 464 Web Administration ทฤษฎี และ เครื่อง มือ ที่ ใช ใน การ บริหาร ระบบ เว็บ เซิรฟเวอร การ วางแผน ออกแบบ ผัง ระบบ การ จัดการ ระบบ โดย ทั่วไป การ ติด ตั้ง ระบบ ระบบ แฟม ขอมูล และ โครงสราง สิทธิ ใน การ ครอบ ครองไดเรกทอรี่ การบริหารบัญชีผูใชบริการ ความปลอดภัย การใช สคริปทเพื่อชวยในงานการบริหารระบบตางๆ ทส. 465 การออกแบบและพัฒนาเว็บ (3 หนวยกิต) IT 465 Web Design and Implementation พื้นความรู: สอบได ทส. 201 วิชานี้อยูบนพื้นฐานของ HTML ภาพรวมการออกแบบ เว็บ การใชงาน ขอมูลการออกแบบ และกราฟกที่ใชในการเขียนเนื้อ หา บนเว็บ ความ รู เบื้อง ตน บน เทคโนโลยี เว็บ ไซต รวม ทั้ง การ สราง CSS และ Dynamic HTML ทส. 466 เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) IT 466 Multimedia Technology ความ รู  เบื้ อ ง ต น เกี่ ย ว กั บ การ ใช คอมพิ ว เตอร สําห รั บ มั ล ติมีเดีย การผลิตเอกสารสื่อสิ่งพิมพ ไฮเปอรเทกซ ไฮเปอรมีเดีย สื่อ ใน การนํา เสนอ ตัว อักษร กราฟก ภาพ นิ่ง ภาพ การ เคลื่อนไหว เสียง วิดีโอ เทคนิคการนําเสนอโดยใชมัลติมีเดีย หลักสูตรปร ญญาตร 315


ทส. 467 พาณิชยอิเล็กทรอนิกส (3 หนวยกิต) IT 467 Electronic Commerce พื้นความรู: สอบได ทส. 201 หลัก การ เบื้อง ตน ของ ระบบ อิน เทอร เน็ต โครงสราง พื้น ฐานของระบบการคาอิเล็กทรอนิกสและหลักการเบือ้ งตนในการจัดการ ทางธุรกิจรูปแบบใหม การคาแบบธุรกิจกับธุรกิจ การคาแบบธุรกิจกับ ลูกคา การคาแบบธุรกิจกับองคกรธุรกิจขนาดใหญ ระบบการรับ-จาย เงินบนอินเทอรเน็ต เรียนรูระบบความปลอดภัย ปญหาอุปสรรคของ ระบบการคาอิเล็กทรอนิกส การจัดตัง้ เว็บไซต การจดโดเมนเนม รวม ทั้ง ศึกษา เทคโนโลยี การ คา อิเล็กทรอนิกส ที่ อาจ จะ เกิด ขึ้น ใน อนาคต ประยุกตและแกปญหาทัง้ ในรูปแบบการทํารายงานและการพัฒนาเว็บไซต ทส. 468 กลยุทธการทําธุรกิจผานสือ่ อิเล็กทรอนิกส (3 หนวยกิต) IT 468 e-Business Strategy พื้นความรู: สอบได ทส. 200 ศึกษาเกีย่ วกับวิธกี ารออกแบบกระบวนการและการนําวิธี แกปญ หาไปใชสาํ หรับการทําธุรกรรมผานสือ่ อิเล็กทรอนิกส โดยอาศัย แนวคิดเชิงรูปแบบในทุกขั้นตอนของการพัฒนาระบบการทําธุรกรรม ผานสือ่ อิเล็กทรอนิกส รูปแบบทางธุรกิจประกอบดวยการแลกเปลีย่ น ขอมูลอิเล็กทรอนิกส และการจัดการลูกคาสัมพันธ ทส. 470 การวิจัยดําเนินงาน (3 หนวยกิต) IT 470 Operations Research พื้นความรู: สอบได คณ. 114 ความหมายและบทบาทของการวิจยั ดําเนินงาน การสราง ตัว แบบ การ โปรแกรม เชิง เสน การ จัดสรร ทรัพยากร รูป แบบ ปญหา ทางการ ขนสง รูป แบบ ปญหา การ จัด งาน ตัว แบบ การ ประสาน งาน การจัดลําดับงานและการกําหนดขั้นตอนของงาน

316 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ทส. 471 การวิจัยเชิงธุรกิจ (3 หนวยกิต) IT 471 Business Research Methods พื้นความรู: สอบได สถ. 207 ความรูเบื  อ้ งตนเกีย่ วกับวิธการ ี วิจยั ทางธุรกิจ การกําหนด ปญหา การ ตั้ง สมมติฐาน การ วางแผน และ การ ออกแบบ การ วิจัย ทรัพยากร และ เครื่อง มือ ใน การ วิจัย การ ออกแบบ ทฤษฎี สุม ตัวอยาง การทดสอบคาพารามิเตอรและนอนพารามิเตอรเพื่อการอางอิงทาง ดาน สถิติ การ รวบรวม การ วิเคราะห โดย นํา โปรแกรม ประยุกต ดาน สถิติมาใช การแปลความหมายขอมูล การสรุป การทํารายงานการ วิจัยและการเผยแพร ทส. 480 การออกแบบ (3 หนวยกิต) และพัฒนาเกมสคอมพิวเตอร IT 480 Computer Games Design and Development ความรูเบื  อ้ งตนเกีย่ วกับเกมสคอมพิวเตอร จิตวิทยาของ การออกแบบเกมส ปรัชญาของผูผลิ  ตและผูเล  นเกมส กระบวนการใน การพัฒนาเกมสประเภทตาง ๆ ทั้งที่เลนคนเดียวและเลนผานระบบ อินเทอรเน็ต การประเมินผลและการสรางเอกสารประกอบเกมส ทส. 481 การออกแบบปฏิสัมพันธบนอุปกรณไรสาย (3 หนวยกิต) IT 481 Interface Design for Wireless Devices ศึกษา กลยุทธ และ เทคนิค การ ออกแบบ สวน ตอ ประสาน กับผูใชในอุปกรณไรสาย เรียนรูสถาปตยกรรมสารสนเทศ กรอบหนา จอ การทดสอบความสามารถในการใชงานไดจริงบนอุปกรณตาง ๆ เชน อุปกรณสื่อสารแบบติดตามตัว อุปกรณสื่อสารแบบพกพา และ โทรศัพทเคลื่อนที่


ทส. 490 สัมมนา (2 หนวยกิต) IT 490 Seminar พื้นความรู: สอบไดวิชาเอก-บังคับ อยางนอย 3 วิชา นักศึกษาจะไดรับมอบหมายใหศึกษาเกีย่ วกับเทคโนโลยี สารสนเทศในแงมุมและสาขาตางๆ โดยทํารายงานนําเสนอผลงานและ อภิปรายเกี่ยวกับเนื้อหาที่นักศึกษาไดคนความา ทส. 491 การศึกษาอิสระ (2 หนวยกิต) IT 491 Independent Study พื้นความรู: นักศึกษาชั้นปที่ 4 และ สอบไดวิชาเอก-บังคับ อยางนอย 2 วิชา ศึกษาในหัวขออิสระพรอมกับทํารายงานสงในเรือ่ งเกีย่ ว กับ เทคโนโลยี สาร สนเทศ หัวขอ ที่ จะ ศึกษา จะ ตอง ได รับ อนุมัติ จาก อาจารยในภาควิชากอน ทส. 492 หัวขอพิเศษ 1 (3 หนวยกิต) IT 492 Special Topics I พื้นความรู: สอบไดวิชาเอก-บังคับ อยางนอย 3 วิชา ศึกษาเทคโนโลยีทีทั่ นสมัย และ/หรือหัวขอทีน่ าสนใจเกีย่ ว กับเทคโนโลยีสารสนเทศ ทส. 493 หัวขอพิเศษ 2 (3 หนวยกิต) IT 493 Special Topics II พื้นความรู: สอบไดวิชาเอก-บังคับ อยางนอย 3 วิชา ศึกษาเทคโนโลยีทีทั่ นสมัย และ/หรือหัวขอทีน่ าสนใจเกีย่ ว กับเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งแตกตางจาก ทส. 492 หัวขอพิเศษ 1

ทส. 494 กฎหมายและจริยธรรมดานเทคโนโลยี (3 หนวยกิต) สารสนเทศ IT 494 Legal and Ethical Aspects of Information Technology ศึ ก ษาหลั ก กฎหมายควบคู  กั บ จริ ย ธรรมของผู  ใ ช คอมพิวเตอรและนักเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเนนแนวคิดเบื้องตน ที่เกี่ยวกับกฎหมายและลิขสิทธิ์ซอฟตแวร กฎหมายที่เกี่ยวของกับ การ กระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร กฎหมายที่เกี่ยวของกับการทํา ธุรกรรมบนอิเล็กทรอนิกส ทส. 497 โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 (1 หนวยกิต) IT 497 Information Technology Project I พื้นความรู: สอบได ทส. 420 และ ทส. 440 นักศึกษาตองดําเนินการวางแผนและออกแบบโครงงาน ทีเกี ่ ย่ วกับเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการเสนอโครงงานและรายงานเพือ่ ดําเนินการในวิชา ทส. 498 โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ทส. 498 โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 (3 หนวยกิต) IT 498 Information Technoiogy Project II พื้นความรู: สอบได ทส. 497 เปนโครงงานตอเนื่องจากวิชา ทส. 497 โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 นักศึกษาตองดําเนินการพัฒนาระบบเทคโนโลยี สาร สนเทศ ใน โครง งาน ให เสร็จ สมบูรณ ใช งาน ได จริง จัด ทําเอกสาร โครงงานและสอบปากเปลาเกี่ยวกับโครงงานที่ทํา

หลักสูตรปร ญญาตร 317


หมวดวิชาวิศวกรรมซอฟตแวร วซ. 100 วิศวกรรมซอฟตแวรเบื้องตน (3 หนวยกิต) SE 100 Introduction to Software Engineering เนื้อหาวิชาครอบคลุมพื้นฐานทางวิทยาศาสตรสําหรับ วิศวกรรมซอฟตแวร โดยเรียนรูกระบวนการ  พัฒนาและวัฏจักรในการ พัฒนาซอฟตแวร ซึ่งมุงเนนไปที่การนําหลักการเชิงวัตถุมาใชกับรูป แบบ การ พัฒนา ซอฟตแวร แบบ ทํา ซํา และ แบบ เพิ่ม เติม รวม ทั้ง ครอบคลุม ถึง กลยุทธ ตางๆ ที่ ใช ใน การ พัฒนา ซอฟตแวร ไดแก กระบวนการ Personal Software การเขียนโปรแกรมแบบ Extreme และแบบ Agile ของการพัฒนาซอฟตแวรใหมีความกาวหนาและเกิด ผลงาน วซ. 110 คอมพิวเตอรและการโปรแกรม (3 หนวยกิต) SE 110 Computer and Programming ระบบคอมพิวเตอรเบือ้ งตน การพัฒนาอัลกอริทึม เทคนิค ในการแกปญหา การเขียนผังงาน การเขียนโปรแกรมโดยใชภาษา ระดับสูง ชนิดขอมูล คาคงที่ ตัวแปร นิพจน คําสัง่ รับขอมูลและแสดง ผลลัพธ คํา สั่ง กําหนด คา คํา สั่ง ควบคุม การ ประมวล ผล ขอความ อารเรยโปรแกรมยอย การเรียงลําดับขอมูลและการคนหาขอมูล วซ. 111 ชนิดขอมูลนามธรรมและการแกปญหา (3 หนวยกิต) SE 111 Abstract Data Type and Problem Solving พื้นความรู: สอบได วซ. 100 ศึกษาถึงชนิดขอมูลนามธรรม การกําหนดและการปกปด สารสนเทศโดยอาศัยโครงสรางขอมูลทีหลาก ่ หลาย นอกจากนียั้ งรวม ถึงความรูพื้นฐานเกี่ยวกับกลยุทธพื้นฐานการแกปญหาและหัวขอที่ เกี่ยวกับกลยุทธในการพัฒนาแบบสถิตและพลวัต

318 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

วซ. 200 ระบบฐานขอมูลและการออกแบบ (3 หนวยกิต) ระบบฐานขอมูล SE 200 Database Systems and Database Systems Design พื้นความรู: สอบได วซ. 311 แนวคิดเกีย่ วกับระบบฐานขอมูล การออกแบบระบบฐาน ขอมูล และการจัดการฐานขอมูล ศึกษาฟงกชนั ทีขึ่ น้ ตรงตอกัน การทํา บรรทัดฐาน การเรียกคนขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ การรักษาความ ปลอดภัยของระบบฐานขอมูล และการควบคุมการเขาใชงานพรอมกัน วซ. 201 โครงสรางคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) SE 201 Computer Organization เรี ย น รู วิ ธี การ ออกแบบ ไมโคร โพร เซส เซอร ศึ ก ษา โครงสรางของระบบโดยใชหนวยงานประมวลผล หนวยความจํา หนวย รับ และ แสดง ผล ขอมูล ศึกษา คํา สั่ง และ การ ใช งาน คํา สั่ง ใน ระบบ คอมพิวเตอร การทําไปปไลน ลําดับชั้นของหนวยความจํา และการ ออกแบบสถาปตยกรรมคอมพิวเตอรรวมถึงคําสั่งที่ใช วซ. 202 ระบบปฏิบัติการ (3 หนวยกิต) SE 202 Operating Systems พื้นความรู: สอบได วซ. 201 ศึกษาวิวฒ ั นาการของการออกแบบ และการใชงานระบบ ปฏิบตั การ ิ วัตถุประสงคของระบบปฏิบตั การ ิ โดยทัว่ ไป โครงสรางของ ระบบปฏิบตั การ ิ และสวนประกอบตางๆ ไดแก การดําเนินงานและการ ประมวลผล การซิงโครไนซ การจัดตารางงาน การจัดการหนวยความ จําและหนวยความจําเสมือน การจัดการทรัพยากร ระบบแฟมขอมูล การรักษาความปลอดภัย และการปองกันของระบบปฏิบัติการ


วซ. 204 กระบวนการซอฟตแวร (3 หนวยกิต) และการประกันคุณภาพ SE 204 Software Process and Quality Assurance พื้นความรู: สอบได วซ. 100 สวนประกอบของกระบวนการในการจัดทําซอฟตแวร เชน กิจกรรมที่เกิดขึ้นในการจัดทําซอฟตแวร วิธีการและการปฏิบัติ งาน ซึ่งนําไปสูการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการพัฒนาซอฟตแวร โดย ผล ที่ ได จาก กระบวนการ ตางๆ เหลา นี้ จะ เนน ไป ที่ การ สราง ซอฟตแวร การ วัดผล การ รับ ประกัน กระบวนการ ใน การ จัด ทํา ซอฟตแวร รวมทั้งคุณภาพของซอฟตแวรที่ไดกําหนดขอบเขตการ สราง การวัดผล การรับรองกระบวนการซอฟตแวร และผลิตภัณฑ

วซ. 211 สถาปตยกรรมสําหรับองคกร (3 หนวยกิต) SE 211 Enterprise Architecture พื้นความรู: สอบได วซ. 100 ศึกษาแนวคิด หลักการ และวิธีในสถาปตยกรรมสําหรับ องคกรขนาดใหญ เนื้อหารวมถึงรูปแบบตางๆ ของสถาปตยกรรม ภาษาที่ ใชในการอธิบายสถาปตยกรรม การเชื่อมตอซอฟตแวร สถาป ต ยกรรมแบบพลวั ต ร และการวิ เ คราะห แ ละออกแบบ สถาปตยกรรม ซึ่งจะทําใหทราบถึงหนาที่ของสถาปนิกผูออกแบบ ซอฟตแวร ในขั้นตอนของการรวมรวบความตองการ การออกแบบ ระบบ และการติดตั้งระบบ

วซ. 205 การปรับปรุงกระบวนการซอฟตแวร (3 หนวยกิต) SE 205 Software Process Improvement พื้นความรู: สอบได วซ. 204 แนวคิดเบื้องตนของกระบวนการซอฟตแวร และการ ปรับปรุงกระบวนการซอฟตแวรโดยใชแบบจําลองความสามารถของ กระบวนการซอฟตแวร เทคนิคการประเมินกระบวนการซอฟตแวร เนนการประยุกตใชแนวคิดของกระบวนการในงานอุตสาหกรรม

วซ. 212 การวิเคราะหและออกแบบเชิงอ็อบเจกต (3 หนวยกิต) SE 212 Object-Oriented Analysis and Design พื้นความรู: สอบได วซ. 210 เนือ้ หาวิชาสอนใหผูเรี ยนมองภาพรวมของการวิเคราะห และออกแบบเชิงวัตถุ เรียนรูที่จะวิเคราะหและออกแบบตนแบบของ วัตถุที่ตรงกับความตองการของระบบ ฝกทําตนแบบโดยใช UML สามารถระบุกรณีตัวอยางและขยายผล เพื่อนําไปสูการออกแบบที่ สมบูรณ สามารถขยายแนวคิดจากการวิเคราะห ไปสูการออกแบบซึ่ง พรอมที่จะนําไปใชสรางเปนซอฟตแวร

วซ. 210 การโปรแกรมเชิงอ็อบเจกต (3 หนวยกิต) SE 210 Object-Oriented Programming พื้นความรู: สอบได วซ. 110 เนื้อหาวิชาเนนเทคนิคการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ เรียน รูถึงคุณสมบัติการถายทอด โพลีมอรฟซึม และการซอนรายละเอียด ของวัตถุ

วซ. 213 โครงสรางไมตอเนื่อง (3 หนวยกิต) SE 213 Discrete Structures ตรรกศาสตร ทฤษฎีเซต ความสัมพันธ ฟงกชัน ทฤษฎี และการพิสูจน ระบบพีชคณิต พีชคณิตบูลีน เซมิกรุป กรุป ทฤษฎี กราฟ กราฟแบบระบุทิศทาง กราฟแบบไมระบุทิศทาง ตนไม ปญหา ทางเดินของกราฟแบบระบุทิศทาง เครื่องทัวริง เครื่องสถานะจํากัด วงจรเชิงวิธีผสม

หลักสูตรปร ญญาตร 319


วซ. 220 การกําหนดและการจัดการความตองการ (3 หนวยกิต) ทางซอฟตแวร SE 220 Software Requirements Specification and Management พื้นความรู: สอบได วซ. 100 ศึกษากระบวนการตางๆ ทีเกิ ่ ดขึน้ ในการพัฒนาซอฟตแวร ไมวาจะเปนการกําหนดความตองการของระบบ การวิเคราะหระบบ การตอรอง การกําหนดขอบเขตหรือสิ่งที่จําเปนสําหรับการพัฒนา ระบบ การทดสอบระบบ และการจัดการทําคํารองขอ ซึง่ กระบวนการ ตางๆ เหลานี้ไดอาศัยวิธีการ เทคนิค และเครื่องมือหลายชนิดในการ กําหนดความตองการ การจัดทําเอกสาร และการประกันความพึง พอใจของผูใชงาน วซ. 300 การสือ่ สารขอมูลและเครือขายคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) SE 300 Data Communication and Computer Networks ศึกษาความรูเบื  อ้ งตนเกีย่ วกับเครือขายคอมพิวเตอร การ สื่อสารขอมูล สื่อที่ใชในการขนสงขอมูล และอุปกรณที่ใชในการสื่อ สารผานระบบเครือขาย ความรูเบื้องตนในการออกแบบระบบเครือ ขาย รูปแบบการเชือ่ มตอเครือขาย โพรโตคอลแบบลําดับชัน้ อุปกรณ ที่ใชในการเลือกเสนทางขนสงขอมูลผานระบบเครือขาย การสลับวงจร ขอมูล การสลับกลุมขอมูล และการสลับสัญญาณขอมูล วซ. 301 กฎหมายและจริยธรรม (3 หนวยกิต) สําหรับวิศวกรซอฟตแวร SE 301 Laws and Ethics for Software Engineers ศึกษาเกี่ยวกับองคความรู ความเชี่ยวชาญ และทัศนคติ เกี่ยวกับวิศวกรซอฟตแวร เพื่อใหมีทั้งความรูความชํานาญ ความรับ ผิดชอบ รวมถึงจริยธรรม จรรยาบรรณในสาขาวิชาชีพ

320 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

วซ. 310 สถาปตยกรรมซอฟตแวร (3 หนวยกิต) SE 310 Software Architecture พื้นความรู: สอบได วซ. 100 รูปแบบตางๆ ของสถาปตยกรรมซอฟตแวร โดยพิจารณา ทัง้ ดานโครงสรางและลักษณะการทํางานของซอฟตแวร และศึกษาจุด แข็ ง และ จุ ด ด อ ย ของ วิ ธี การ ต า งๆ ที่ เกี่ ย วข อ ง กั บ การ พั ฒ นา สถาปตยกรรมซอฟตแวร และการนํารูปแบบสถาปตยกรรมและวิธการ ี ออกแบบในลักษณะตางๆ มาประยุกตเขากับสถาปตยกรรมซอฟตแวร ที่ตองการพัฒนาโดยใชการเรียนจากกรณีศึกษา วซ. 311 โครงสรางขอมูลและขั้นตอนวิธี (3 หนวยกิต) SE 311 Data Structure and Algorithms พื้นความรู: สอบได วซ. 110 ศึกษาวิธีการออกแบบอัลกอริทึมที่สามารถทํางานอยาง มีประสิทธิภาพ การประเมินประสิทธิภาพการทํางานของอัลกอริทึม แนวทางที่เปนไปไดสําหรับการกําหนดวิธีการวัดประสิทธิผลของอัล กอริทึมในแตละประเภท รวมทัง้ ความรูเกี  ย่ วกับการออกแบบและการ ใช งา นอัล กอ ริ ทึม แบบ เรียก ตัว เอง อัล กอ ริ ทึม ที่ เกี่ยว กับ การ ใช โครงสรางขอมูลพื้นฐานในการแกปญหา อัลกอริทึมสําหรับการจัด เรียงขอมูล และการคนหาขอมูลทีต่ องคํานึงถึงระยะเวลาและเนือ้ ที่ใน หนวยความจําที่ใชในระหวางการประมวลผล


วซ. 321 การพัฒนาและปรับปรุงซอฟตแวร (3 หนวยกิต) SE 321 Software Construction and Evolution พื้นความรู: สอบได วซ. 212 ความ รู ใน เรื่ อ ง การ แปลง ผล ที่ ได จาก การ ออกแบบ ซอฟตแวรไปเปนรูปแบบของชุดคําสัง่ ทีมี่ วิธการ ี เขียนแสดงออกไดใน หลายลักษณะ การจัดทําเอกสารตางๆ ทีเกี ่ ย่ วของกับขัน้ ตอนการเขียน โปรแกรม หรือ ที่ เรียกวา เอกสาร ของ โปรแกรม แนวคิด วิธี การ กระบวนการ และเทคนิคตางๆ ที่ทําใหซอฟตแวรที่พัฒนาขึ้นมานั้น รองรับ การ เปลี่ยนแปลง ที่ เกิด ขึ้น ใน อนาคต เชน วิศวกรรมดาน กระบวนการ การวิเคราะหผลกระทบ การโอนยายซอฟตแวรและการ ทําวิศวกรรมซอฟตแวรแบบยอนกลับ วซ. 322 การจัดการโครงแบบซอฟตแวร (3 หนวยกิต) SE 322 Software Configuration Management พื้นความรู: สอบได วซ. 100 ศึกษาฟงกชันทั้งหมดที่จําเปนตอการสนับสนุน ขั้นตอน การควบคุมและการบํารุงรักษาผลผลิตทีเกิ ่ ดจากการพัฒนาซอฟตแวร ใหมีบูรณภาพตลอดวงจรชีวิตของโครงงาน โดยสอนใหทราบถึงวิธี การสรางโปรแกรมจัดการโครงแบบซอฟตแวร การตรวจสอบโครงแบบ พืน้ ฐาน และความสามารถในการตรวจสอบแบบยอนกลับโดยใชเครือ่ ง มือที่เรียกวา CASE Tool วซ. 323 การพัฒนาซอฟตแวรเชิงคอมโพเนนต (3 หนวยกิต) SE 323 Component-Based Software Development พื้นความรู: สอบได วซ. 100 หลักการและพื้นฐานในการพัฒนาซอฟตแวรเชิงคอม โพเนนต (CBSD) และเทคโนโลยีทีเกี ่ ย่ วของโดยใชเครือ่ งมือและภาษา เชิงคอมโพเนนททีเกี ่ ย่ วของกับการพัฒนาซอฟตแวรเชิงคอมโพเนนท เชน การจัดทําแบบจําลอง การออกแบบการสราง การรวมองค ประกอบ การนําองคประกอบทีมี่ อยูแล  วในซอฟตแวรขององคกรกลับ มาใชงานใหม (COST)

วซ. 324 การตรวจสอบความสมเหตุสมผล (3 หนวยกิต) และทวนสอบซอฟตแวร SE 324 Software Validation and Verification พื้นความรู: สอบได วซ. 220 ศึกษาเกีย่ วกับคําศัพทและพืน้ ฐานสําหรับการประกันการ ทวนสอบและการทดสอบซอฟตแวรที่พัฒนาขึ้น โดยใชเทคนิคแบบ สถิตและแบบพลวัต และกลาวถึงการทดสอบซอฟตแวรแบบหลายขัน้ รวมทั้งการวิเคราะหปญหาและการจัดทํารายงานสรุป วซ. 325 การจัดการโครงการซอฟตแวร (3 หนวยกิต) SE 325 Software Project Management พื้นความรู: สอบได วซ. 100 ความ รู และ ความ เชี่ยวชาญ ใน การ วางแผน โครง การ ซอฟตแวร โดยสอนใหวิเคราะหเชิงประเมินงบประมาณในการพัฒนา ซอฟตแวรและการจัดตารางการทํางาน โดยอาศัยเครื่องมือประเมิน คา ใช จาย และ หลัก การ ทาง เศรษฐกิจ จุลภาค สามารถวางแผน การ จัดการ และ วิธี การ ใน เชิง วิธีการ ที่ ใช สําหรับ การ พัฒนา ซอฟตแวร สามารถประยุกต ใชทฤษฎีและวิธีการอยางเหมาะสมกับสถานการณ นอกจากนี้ยังครอบคลุมเนื้อหาในสวนของการจัดการที่อาจเกิดขึ้นใน ขัน้ ตอนการพัฒนาซอฟตแวร ไดแก การบงชีความ ้ เสีย่ ง การวิเคราะห ความเสีย่ ง การจัดลําดับความเสีย่ ง การวางแผนการจัดการความเสีย่ ง การแกไขความเสี่ยง และการควบคุมความเสี่ยง ซึ่งหัวขอเหลานี้เปน สิ่งที่ตองกระทําตลอดขั้นตอนการควบคุมและการพัฒนาซอฟตแวร รวม ถึง ทฤษฎี พื้น ฐาน และ รูป แบบ การ วัด คุณภาพ ของ ซอฟตแวร เกณฑ ในการวัดคุณภาพของซอฟตแวร เกณฑ ในการวัดคุณภาพ กระบวนการพัฒนาซอฟตแวร วิธีการในการรวบรวมขอมูลและการ ประเมินผล

หลักสูตรปร ญญาตร 321


วซ. 327 วิธีรูปนัย (3 หนวยกิต) SE 327 Formal Methods พื้นความรู: สอบได วซ. 100 ศึกษาเทคนิคตางๆ ดานคณิตศาสตรเพือ่ ใชในการกําหนด ความตองการ การพัฒนา และการตรวจสอบความถูกตองของ ซอฟตแวรและฮารดแวร วซ. 328 สถาปตยกรรมเชิงบริการ (3 หนวยกิต) SE 328 Service Oriented Architecture พื้นความรู: สอบได วซ. 310 ศึกษาแนวคิด รูปแบบการพัฒนาซอฟตแวร โดยใช แนวคิดแบบสถาปตยกรรมเชิงบริการ ทําใหแอพพลิเคชันตางๆ ซึ่ง อาจอยูคนละแพลตฟอรมสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกันได นอกจากนีแ้ อพพลิเคชันทีพ่ ฒ ั นาใหมสามารถเรียกใชบริการทีม่ อี ยูแ ลว วซ. 329 เทคโนโลยีการบริการเว็บ (3 หนวยกิต) SE 329 Web Services Technology พื้นความรู: สอบได วซ. 210 ปญหาในการวิเคราะหและออกแบบโปรแกรมประยุกต เว็ บ ตั้ ง แต ข นาดเล็ ก จนถึ ง ขนาดใหญ งานประยุ ก ต ร ะดั บ องค กร โปรแกรมประยุ ก ต ที่ กระจายในอิ น ทราเน็ ต เอกซ ท ราเน็ ต และ อินเทอรเน็ต มาตรฐานโพรโทคอลและมาตรฐานสวนตอประสาน สําหรับเว็บ ความมั่นคงของเว็บ ระเบียบวิธีเชิงวิศวกรรมของเว็บ สถาปตยกรรมและสวนประกอบของเว็บ โครงสรางพืน้ ฐานของพาณิชย อิเล็กทรอนิกส การบูรณาการระหวางเว็บและฐานขอมูล มาตรฐานและ เทคโนโลยีการบริการเว็บ การพัฒนางานประยุกตเชิงเว็บ

322 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

วซ. 334 การทําเหมืองขอมูลและปญญาประดิษฐ (3 หนวยกิต) ดานธุรกิจ SE 334 Business Intelligence and Data Mining พื้นความรู: สอบได วซ. 432 ศึกษาแนวคิด เทคนิคตางๆ การประยุกตใช และการฝกฝน การทําเหมืองขอมูลและปญญาประดิษฐดา นธุรกิจ เพือ่ ใหเขาใจบริบท ของการทําธุรกิจ ฟงกชนั ของการทําเหมืองขอมูลและปญญาประดิษฐ ดานธุรกิจ เชน การทํารายงาน OLAP การวิเคราะห การทําเหมือง ขอมูล การจัดการประสิทธิภาพของธุรกิจ การวัดและประเมินผล รวม ถึงการวิเคราะหเพือ่ คาดการณในอนาคตและนําไปสูก ารตัดสินใจ วซ. 335 มาตรวัดผลซอฟตแวร (3 หนวยกิต) SE 335 Software Metrics พื้นความรู: สอบได วซ.100 แนวคิดเบื้องตนเกี่ยวกับเทคนิคสําหรับการดําเนินการ และบริหารงานการวัดผลซอฟตแวร บทบาทของผูบริหาร และผู พัฒนา เทคนิคการวางแผนองคกร การควบคุมงาน การคํานวณตนทุน สําหรับการทดสอบ และบํารุงรักษาซอฟตแวร วซ. 400 สัมมนาวิศวกรรมซอฟตแวร (3 หนวยกิต) SE 400 Software Engineering Seminar พื้นความรู: สอบไดวิชาเอก-บังคับอยางนอย 3 วิชา การสัมมนาในหัวขอทีน่ าสนใจเกีย่ วกับวิศวกรรมซอฟตแวร


วซ. 401 ความมั่นคงของระบบเครือขาย (3 หนวยกิต) คอมพิวเตอร SE 401 Computer Network Security พื้นความรู: สอบได วซ. 300 วิธีสรางความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอรระบบเครือ ขายและขอมูลจากผูแอบเขาถึงขอมูลโดยไมไดรับอนุญาตหรือไมได ตั้งใจ การลักลอบเปลี่ยนแปลงแกไขขอมูล การปองกันเมื่อระบบ ปฏิเสธการใหบริการ การประเมินและการจัดการความเสี่ยง การลง รหัส คริปโตกราฟ กรรมวิธรี บั รองความปลอดภัย ขอบเขตการปองกัน จากซอฟตแวรทปี่ ระสงครา ยตอระบบ ไวรัส ลอจิกบอมบ วิธกี ารตรวจ สอบ แกนของความปลอดภัย วซ. 402 การใชคอมพิวเตอรทางดานธุรกิจ (3 หนวยกิต) SE 402 Computer Applications in Business พื้นความรู: สอบได วซ. 100 ธุรกิจการคาในรูปแบบตางๆ การเตรียมขอมูล การ ประยุกตโปรแกรมสําเร็จรูปกับระบบงาน โปรแกรมสําเร็จรูปเงินเดือน โปรแกรมสําเร็จรูปสินคาคงคลัง โปรแกรมสําเร็จรูปทางการวิเคราะห การเงิน รวมถึงระบบสารสนเทศที่ใชในองคกร เชน ระบบอีอารพี ระบบบริหารความสัมพันธลูกคา และธุรกิจเชี่ยวชาญ เปนตน

รวมถึงวิธีการนําระบบการใหบริการผานเว็บไปใชอยางเหมาะสมและ มีศักยภาพในกระบวนการทางธุรกิจ โดยศักยภาพในการใหบริการผาน เว็บเกีย่ วของกับความเหมาะสมในการออกแบบกระบวนการดานธุรกิจ และรูปแบบสถาปตยกรรมในการใหบริการผานเว็บ วซ. 411 เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (3 หนวยกิต) SE 411 Multimedia Technology พื้นความรู: สอบได วซ. 100 ความรู เ บื้ อ งต น เกี่ ย วกั บ การใช ค อมพิ ว เตอร สํ า หรั บ มัลติมีเดีย การผลิตเอกสารสื่อสิ่งพิมพ ไฮเปอรเทกซ ไฮเปอรมีเดีย สื่อในการนําเสนอ ตัวอักษร กราฟก ภาพนิ่ง ภาพการเคลื่อนไหว เสียง วิดีโอ เทคนิคการนําเสนอโดยใชมัลติมีเดีย วซ. 412 การเขียนโปรแกรมบนอินเทอรเน็ต (3 หนวยกิต) SE 412 Internet Programming พื้นความรู : สอบได วซ. 210 ความรูเ บือ้ งตนเกีย่ วกับการเขียนโปรแกรมบนอินเทอรเน็ต เพื่อประยุกตใชทางธุรกิจโดยผานทางระบบอินเทอรเน็ต เพื่อใช เปนพื้นฐานในพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

วซ. 410 การประสานการทําธุรกิจ (3 หนวยกิต) ผานสื่ออิเล็กทรอนิกส SE 410 Collaborative e-Business พื้นความรู: สอบได วซ. 312 ศึกษา เกี่ยว กับ โปร โต คอ ลมาตร ฐาน ของ ระบบ การ ให บริการผานเว็บ เชน XML, SOAP, ebXML, UDDI, WSDL และ เทคโนโลยีตาง ๆ ทีทํ่ าใหโปรแกรมติดตอกันไดบนอินเทอรเน็ต อธิบาย ถึงสวนประกอบมาตรฐานแตละชนิดของระบบการใหบริการผานเว็บ

หลักสูตรปร ญญาตร 323


วซ. 413 ระบบการสื่อสารไรสาย (3 หนวยกิต) และการพัฒนาแอพพลิเคชัน SE 413 Wireless Communication System and Application Development พื้นความรู: สอบได วซ. 300 ศึกษาระบบการสือ่ สารไรสาย ทัง้ ระบบโทรศัพทเซลลูลาร ระบบสือ่ สารสวนบุคคล และระบบเครือขายทองถิน่ แบบไรสาย เนือ้ หา ประกอบดวยการศึกษาคุณลักษณะของชองสัญญาณคลืน่ วิทยุ เทคนิค การเขาถึงชองสัญญาณในระบบไรสาย และการเขียนโปรแกรมควบคุม ขอผิดพลาด นักศึกษาจะไดเรียนรูใ นหัวขอวิเคราะหปรากฏการณการ สงสัญญาณของคลืน่ วิทยุ การสงผานคาพารามิเตอรและหลักการ และ ศึกษาแนวคิด หลักการ เครือ่ งมือและเทคนิคของการพัฒนาซอฟตแวร ประยุกตสาํ หรับระบบงานที่ใชกบั อุปกรณเคลือ่ นทีแ่ ละอุปกรณไรสาย เชน อุปกรณพกพา (Personal Digital Assistant: PDA) และโทรศัพท เคลื่อนที่ โดยอาศัยเทคนิคตามมาตรฐานเปด J2ME และ MIDP วซ. 420 สหกิจศึกษา (3 หนวยกิต) SE 420 Cooperative Education พื้นความรู: สอบได สศ. 301 การ ฝกงาน ทาง ดานวิศวกรรม ซอฟตแวร ใน บริษัท ที่ เกี่ยวของกับการพัฒนาซอฟตแวรอยางนอย 600 ชั่วโมง เพื่อเตรียม ความพรอมใหนักศึกษาปฏิบัติงานจริง วซ. 432 คลังขอมูล (3 หนวยกิต) SE 432 Data Warehouse พื้นความรู: สอบได วซ. 200 พืน้ ฐานของการสรางคลังขอมูล การวางแผนโครงการ การ นิยามขอกําหนดของธุรกิจ การสรางแบบจําลองมีมิติ สถาปตยกรรม เชิงเทคนิค ทางเลือกของโครงแบบเชิงกายภาพ การเลือกโครงการ การออกแบบฐานขอมูลกายภาพ การประมวลการจัดขั้นตอนขอมูล 324 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

เทคนิคการจัดขั้นตอนขอมูล งานประยุกตสําหรับผูใชเปาหมาย การ ใชคลังขอมูล การจัดการการเติบโตของระบบ วซ. 440 วิศวกรรมความรูและการจัดการความรู (3 หนวยกิต) SE 440 Knowledge Engineering and Knowledge Management พื้นความรู: สอบได วซ. 100 ลักษณะเฉพาะของความรู แนวคิดและกระบวนการเก็บ เกี่ยวความรู แหลงความรู สถาปตยกรรมของระบบอิงความรู เครื่อง มือสําหรับวิศวกรรมความรู การเรียนรูแ ละสมรรถนะในเศรษฐกิจความ รู วัฏจักรของความรู ความหลากหลายของงานดานความรู โอกาสใน การจัดการความรูในองคกรขนาดใหญ กลศาสตรการจัดการความรู ความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมองคกรกับการจัดการความรู วซ. 441 วิศวกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (3 หนวยกิต) SE 441 Electronic Commerce Engineering พื้นความรู: สอบได วซ. 100 เทคโนโลยีพาณิชยอิเล็กทรอนิกส การพัฒนาและสราง ระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส เทคโนโลยีเครือขายและทิศทางใน อนาคต เทคโนโลยีฐานขอมูล การเชือ่ มตอระหวางเว็บและฐานขอมูล ประเด็นดานความมั่นคง ระบบจายเงินอิเล็กทรอนิกส ขาวกรองทาง ธุรกิจ การจัดการความเชื่อถือ ตัวแทนการคา ความเปนสวนตัว ผลิตภัณฑทางสารสนเทศและการปองกันการลอกเลียน ความไมเทา เทียมเชิงดิจิทัล


วซ. 445 การทําเหมืองขอมูล (3 หนวยกิต) SE 445 Data Mining พื้นความรู: สอบได วซ. 432 แนวคิดพืน้ ฐานของการทําเหมืองขอมูล การประยุกตการ ทําเหมืองขอมูล เทคนิคและแบบจําลอง ประเด็นดานจริยธรรมและ ความเปนสวนตัว ชุดซอฟตแวรเหมืองขอมูล วิธีการทําเหมืองขอมูล ตารางการตัดสินใจ ตนไมการตัดสินใจ กฎการจําแนก การเขากลุม การสรางแบบจําลองเชิงสถิติและแบบจําลองเชิงเสน วซ. 446 ปฏิสมั พันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) ดวยวิธีการทางวิศวกรรมซอฟตแวร SE 446 Software Engineering Approach to Human Computer Interaction พื้นความรู: สอบได วซ. 100 วิชาพืน้ ฐานวิศวกรรมซอฟตแวรทอี่ ธิบายถึงพืน้ ฐานและ การออกแบบปฏิสมั พันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร หลักการทาง จิตวิทยาของการปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร การ ประเมินสวนติดตอกับผูใช วิศวกรรมดานประโยชนการใชงาน การ วิเคราะหงาน การออกแบบโดยคํานึงถึงผูใชเปนศูนยกลาง การทํา ตนแบบ แบบจําลองแนวความคิดและการใชคําเปรียบเทียบ เหตุผล ในการออบแบบซอฟตแวร การออกแบบหนาตาง เมนู และคําสั่ง การติดตอโดยใชเสียงพูดและภาษาธรรมชาติ การตอบกลับและการ ตอบสนอง การใชสี รูปสัญลักษณ เสียง การทําใหเปนสากล การทําให เขากับทองถิ่น สถาปตยกรรมและเอพีไอของสวนปฏิสัมพันธกับผูใช กรณีศึกษาและโครงงาน

วซ. 447 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (3 หนวยกิต) SE 447 Decision Support System พื้นความรู: สอบได วซ. 432 ระบบสนับสนุนการจัดการกระบวนการการตัดสินใจ คุณลักษณะและสวนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การสราง และการจัดการแบบจําลอง แบบจําลองระบบสนับสนุนการตัดสินใจกลุม วซ. 450 การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) SE 450 Independent Study พื้นความรู: สอบไดวิชาเอก-บังคับ อยางนอย 3 วิชา ศึกษาหัวขอที่นาสนใจเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟตแวรซึ่ง อาจเปนวิชาที่ ไมมี ในหลักสูตรหรือศึกษาเนื้อหาใหลึกซึ้งมากกวา หลักสูตรปกติที่เปดสอน วซ. 451 หัวขอพิเศษ 1 (3 หนวยกิต) SE 451 Special Topic I พื้นความรู: สอบไดวิชาเอก-บังคับ อยางนอย 3 วิชา ศึกษาหัวขอที่นาสนใจ และเปนประโยชนเกี่ยวกับสาขา ตางๆ ในวิชาการพัฒนาซอฟตแวร วซ. 452 หัวขอพิเศษ 2 (3 หนวยกิต) SE 452 Special Topic II พื้นความรู: สอบไดวิชาเอก-บังคับ อยางนอย 3 วิชา ศึกษาหัวขอที่นาสนใจ และเปนประโยชนเกี่ยวกับสาขา ตางๆ ในวิชาการพัฒนาซอฟตแวร ซึ่งแตกตางจาก วซ. 451 หัวขอ พิเศษ 1

หลักสูตรปร ญญาตร 325


วซ. 470 ปญญาประดิษฐ (3 หนวยกิต) SE 470 Artificial Intelligence พื้นความรู: สอบได วซ. 100 พฤติกรรมฉลาดซึ่งเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติสําหรับการรับรู การมีเหตุผล และการแสดงออกมาเปนการกระทํา การแกปญ หา การ แทนความรูในคอมพิวเตอร การตัดสินใจ การเรียนรู การคนหา การ เลนเกม การพิสจู นทฤษฎี การประมวลผลภาษาธรรมชาติ การควบคุม หุนยนต ระบบผูเชี่ยวชาญ วซ. 497 โครงงานวิศวกรรมซอฟตแวร 1 (1 หนวยกิต) SE 497 Software Engineering Project I พื้นความรู: สอบได วซ. 204 ผูเ รียนมีโอกาสในการจัดตัง้ บริหารและจัดการทีมพัฒนา ซอฟตแวรเพื่อดําเนินการโครงการพัฒนาซอฟตแวรที่สนใจ โดยผู เรียนจะไดศึกษาถึงผลกระทบทางดานที่เทคนิคมีตอสถาปตยกรรม การวิเคราะหและออกแบบในการพัฒนาซอฟตแวร รวมถึงประเด็น ดานการบริหารจัดการโครงการ การวางแผน การประกันคุณภาพ และ การบํารุงรักษาผลิตภัณฑซอฟตแวรตามหลักการวิศวกรรมซอฟตแวร วซ. 498 โครงงานวิศวกรรมซอฟตแวร 2 (3 หนวยกิต) SE 498 Software Engineering Project II พื้นความรู: สอบได วซ. 497 นักศึกษาตองดําเนินการพัฒนาโครงการพัฒนาซอฟตแวรทส่ี นใจใหเสร็จสมบูรณใชงานไดจริง จัดทําเอกสารประกอบโครงงาน และสอบปากเปลาเกี่ยวกับโครงงานที่ทํา

326 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาวิทยาศาสตร วท. 201 มนุษยกับสภาพแวดลอม (3 หนวยกิต) SC 201 Man and Environment ศึกษา พืี้น ฐาน เรื่อง สภาพ แวดลอม มา ประยุกต ให เกิด แนวคิดอยางวิทยาศาสตร โดยมุง เนนใหเกิดความเขาใจในเรือ่ งความ สัมพันธ ระหวาง สิ่ง มี ชีวิต กับ สิ่ง แวดลอม อัน เกี่ยว เนื่อง กับ การ จัด จําแนกสิ่ง มี ชีวิต วิวัฒนาการ พันธุ ศาสตร ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ ประชากรศาสตร พิษวิทยา รวมถึงระบบภูมิคุมกันเพื่อนําไป ประยุกตใชเปนแนวทางในการพิทกั ษสิง่ แวดลอม การพัฒนาจริยธรรม สิ่งแวดลอม สามารถเขาใจถึงแนวทางของการเกิดเทคโนโลยียุคใหม และการใชงานอยางถูกตอง ตลอดจนการสรางทัศนคติอันเหมาะสม ตอกฎหมายและอนุสัญญาวาดวยสิ่งแวดลอม

หมวดวิชาคณิตศาสตร คณ. 101 คณิตศาสตรพื้นฐาน (3 หนวยกิต) MA 101 Fundamental Mathematics เพื่อ ให นัก ศึกษา มี ความ รู เกี่ยว กับ คณิตศาสตร เบื้อง ตน ใหรูจักแนวความคิดและวิธีการแกปญหาทางคณิตศาสตร ใหมีความ รูพื้นฐานทางคณิตศาสตร เพื่อใชประโยชนในการศึกษาวิชาอื่นตอไป ศึกษา เกี่ยว กับ ระบบ จํานวน สมการ และ อสมการ เซต ฟงกชัน กราฟ เสน ตรง และ พาราโบลา เมตริก ซ และ ดี เทอร มิ เนน ท คณิตศาสตรการเงิน และการโปรแกรมเชิงเสนตรงเบื้องตน


คณ. 102 คณิตศาสตรธุรกิจ (3 หนวยกิต) MA 102 Business Mathematics เพื่อ ให นัก ศึกษา ได มี ความ รู ทาง คณิตศาสตร อยาง พอ เพียงในการศึกษาธุรกิจทัง้ ในทางทฤษฎีและการประยุกตโดยเนนวิชา แคลคูลัส ศึกษาฟงกชนั ความชันของสวนโคง สูตรการหาอนุพนั ธ ของฟงกชัน การหาคาสูงสุดและตํ่าสุดของฟงกชันที่สัมพันธกับทาง ธุรกิจอนุพนั ธบางสวน อินทิเกรชัน และการประยุกตในทางธุรกิจ เนน ในเรือ่ งทางธุรกิจ เชน การหาคารอยละ การอานความหมายของรอย ละ การคิดราคาสินคา การคิดสวนลดทางการคา การคิดดอกเบีย้ การ กูเงินและการคิดเงินรายงวด คณ. 105 แคลคูลัส 1 (3 หนวยกิต) MA 105 Calculus I ฟงกชัน ลิ มิต ความ ตอ เนื่อง และ อนุพันธ กฎ ลูกโซ อนุพันธอันดับสูง การประยุกตของอนุพันธ ฟงกชันทรานเซนเดลทัล การหาอนุพันธและอินทิกรัลของฟงกชันทรานเซนเดลทัล การอินทิเกรท อินทิกรัลจํากัดเขตและอินทิกรัลไมจํากัดเขต เทคนิคของการ อินทิเกรท เรขาคณิตวิเคราะห คณ. 106 แคลคูลัส 2 (3 หนวยกิต) MA 106 Calculus II พื้นความรู: สอบได คณ. 105 อินดีเทอรมิเนทฟอรม การประยุกตของอินทิกรัลจํากัด เขต การหาพื้นที่ใตเสนโคง พื้นที่ระหวางเสนโคง ปริมาตรของทรง ตัน อิมพรอบเปอรอินทิกรัล สมการอนุพันธยอย ทฤษฎีของเทเลอร และอนุกรมอนันต เวคเตอรและการวิเคราะหเวคเตอร เกรเดียนต ไดเวอรเจนท เคิรล เมตริกซและดีเทอรมิเนนท

คณ. 107 แคลคูลัส 3 (3 หนวยกิต) MA 107 Calculus III พื้นความรู: สอบได คณ. 106 ตัวแปร เชิงซอน ทฤษฎี ของ เด อมัวร ฟงกชัน วิเคราะห ของตัวแปรเชิงซอน การอินทิเกรทของฟงกชันเชิงซอน สมการเชิง อนุพันธ สามัญ อันดับ ที่ หนึ่ง และ ดีกรี หนึ่ง สมการ อนุพันธ แบบ โฮโม จีเนียส และ นอน โฮโม จีเนียส อิน ทิ เกรท ติ้ง แฟค เตอร สมการ เชิง อนุพันธเชิงเสนอันดับที่หนึ่ง สมการเบอรนูลี สมการเชิงอนุพันธเชิง เสนอันดับที่สอง สมการอนุพันธอันดับสูง วิธีการแกสมการอนุพันธ ทัง้ โดยวิธวี เิ คราะหและเชิงตัวเลข การอินทิเกรทสองชัน้ การอินทิเกรท สาม ชั้น การ ประยุกต กา รอิ นทิ เกรท สอง ชั้น และ สาม ชั้น เวคเตอร แคลคูลัส การอินทิเกรทเชิงเสน เชิงผิวและเชิงปริมาตร การประยุกต ใชเวคเตอร แคลคูลัส คณ. 108 แคลคูลัส 1 (3 หนวยกิต) MA 108 Calculus I วิชาบังคับกอน: ไมมี ฟงกชัน ลิ มิต ความ ตอ เนื่อง และ อนุพันธ กฎ ลูกโซ อนุพันธอันดับสูง การประยุกตของอนุพันธ ฟงกชันทรานเซนเดลทัล การหาอนุพันธและอินทิกรัลของฟงกชันทรานเซนเดลทัล การอินทิ เกรต อินทิกรัลจํากัดเขตและอินทิกรัลไมจํากัดเขต เทคนิคของการ อินทิเกรต เรขาคณิตวิเคราะห คณ. 109 แคลคูลัส 2 (3 หนวยกิต) MA 109 Calculus II วิชาบังคับกอน: คณ. 108 แคลคูลัส 1 อินดีเทอรมิเนทฟอรม การประยุกตของอินทิกรัลจํากัด เขต การหาพื้นที่ใตเสนโคง พื้นที่ระหวางเสนโคง ปริมาตรของทรง ตัน อิม พร อบ เปอร อิน ทิ กรั ล ทฤษฎี ของ เท เลอ ร และ อนุกรม อนันต เวคเตอรและการวิเคราะหเวคเตอร เมตริกซและดีเทอรมิเนนท หลักสูตรปร ญญาตร 327


คณ. 111 แคลคูลัส 1 (3 หนวยกิต) MA 111 Calculus I ฟงกชัน พีชคณิต ลิ มิต และ ความ ตอ เนื่อง การ หา คา อนุพันธ อนุพันธเชนรูล อนุพันธอันดับสูง เสนตรงและภาคตัดกรวย อิน ทิ เกรชั่น การ หา พื้น ที่ อิน เดฟฟ นิ ทอิ นที กรัล เดฟฟ นิ ทอิ นที กรัล การดิฟเฟอเรนซิเอทและการอินทิเกรททรานเซนเดนตัลฟงกชัน คณ. 112 แคลคูลัส 2 (3 หนวยกิต) MA 112 Calculus II พื้นความรู: สอบได คณ. 111 ทฤษฎีคากลางและการประยุกตใชเทคนิคการอินทีเกรท อนุ พันธบางสวน การจัดลําดับอินดีเทอมิเนทฟอรม อินพรอปเปอร อินทีกรัล อนุกรม อนุกรมของเทยเลอร คณ. 114 พีชคณิตเชิงเสน (3 หนวยกิต) MA 114 Linear Algebra เวค เต อรสเปซ ลิ เนียร ท ราน ฟอรเม ชัน เมตริก ซ ดีเทอรมีแนนท และสมการเชิงเสน (3 หนวยกิต) คณ. 200 คณิตศาสตรเบื้องตน MA 200 Basic Mathematics ทบทวนพื้นฐานทางคณิตศาสตร สมการ และอสมการ เซต เมตริกซ ฟงกชั่น ลิมิต และความตอเนื่องของฟงกชั่น อนุพันธ และการอินทิเกรชัน

328 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาเคมี คม. 101 เคมีทั่วไป (3 หนวยกิต) CH 101 General Chemistry พื้ น ฐานของอะตอม คุ ณ สมบั ติ ข องแก ส ของแข็ ง ของเหลว และสารละลาย การสมดุลทางเคมี การสมดุลของไอออน ในสารละลาย คม. 102 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป (1 หนวยกิต) CH 102 Laboratory in General Chemistry ทดลอง ใน หอง ปฏิบัติ การ สอดคลอง กับ เนื้อหา ในวิชา คม. 101 เคมีทั่วไป คม. 103 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป (1 หนวยกิต) CH 103 Laboratory in General Chemistry ปฏิบัติการทดลองในเรื่องการสังเคราะหและหาสูตรของ สารประกอบ การหาคาคงตัวของแกส การหามวลโมเลกุลของสาร โดยอาศัยการลดลงของจุดเยือกแข็งและการสูงขึน้ ของจุดเดือด ความ รอน การละลาย ผลของความเขมขนของสารตั้งตนที่มีตออัตราการ เกิดปฏิกริ ยิ าเคมี อินดิเคเตอร เกลือและสารละลายบัฟเฟอร การไตเตรด กรด-เบส เซลลกัลวานิกและเซลอิเล็กโตรไลต การวิเคราะหคุณภาพ


หมวดวิชาฟสิกส ฟส. 101 ฟสิกสทั่วไป 1 (3 หนวยกิต) PH 101 General Physics I หลักการของแมคคานิคส แมคคานิคสของของไหล ความ รอน การสั่นและคลื่นแมเหล็กไฟฟาเบื้องตน ฟส. 102 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 1 (1 หนวยกิต) PH 102 Laboratory in General Physics I ทดลองในหองปฏิบัติการ สอดคลองกับเนื้อหาวิชา ฟส. 101 ฟสิกสทั่วไป 1 ฟส. 103 ฟสิกสทั่วไป 2 (3 หนวยกิต) PH 103 General Physics II พื้นความรู: สอบได ฟส. 101 วงจร กระแส ไฟฟา สลับ หลัก การ ของ อิเล็กทรอนิกส ทัศนศาสตร ฟสิกสยุคใหม ฟส. 104 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 2 (1 หนวยกิต) PH 104 Laboratory in General Physics II พื้นความรู: สอบได ฟส. 102 ทดลองในหองปฏิบัติการ สอดคลองกับเนื้อหาวิชา ฟส. 103 ฟสิกสทั่วไป 2 ฟส. 105 ฟสิกสสมัยใหม (3 หนวยกิต) PH 105 Modern Physics กลศาสตร ของแข็ง และ ของไหล พลศาสตร ของ การ เคลื่อนที่ของงานและพลังงาน โมเมนตัมและการดล การชนใน 2-3 มิติ พลศาสตรของวัตถุแข็งเกร็ง สมดุลสถิตและสมบัตเชิ ิ งกลของสาร กลศาสตร ของไหล สมการแบร นูล ลี และ การนํา ไป ประยุกต ใช การ

เคลือ่ นที่แบบฮารโมนิกอยางงาย คลืน่ กล การเคลือ่ นที่ของคลืน่ คลืน่ นิง่ สมบัติความรอนของสาร การสงความรอน แมเหล็กไฟฟา แสง วงจร กระแส ไฟฟา สลับ หลัก การ ของ อิเล็กทรอนิกส เบื้อง ตน ทัศนศาสตร ทฤษฎีเลเซอร มลภาวะ แผนดินไหว ทฤษฎีดวงจันทร ฟสิกสยุคใหม ฟส. 106 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 1 (1 หนวยกิต) PH 106 Laboratory in Modern Physics I ทดลองในหองปฏิบัติการสอดคลองกับเนื้อหาวิชา ฟส. 105 ฟสกิ สสมัยใหม โดยประกอบดวยการทดลองเรือ่ งเครือ่ งกล แอต วูด สัมประสิทธิ์ ความ เสียด ทาน สม มูล จูล ความ หนา แนน และ ความถวงจําเพาะ วงจรอิเล็กทรอนิกสพื้นฐาน วงจรดิจิตอลพื้นฐาน เกรดดิ้งสเปคโตรมิเตอร ออย-ดรอปเอ็กซเปอริเมนต ฟส. 107 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 1 (1 หนวยกิต) PH 107 Laboratory in General Physics I ปฏิบัติ การ ทดลอง ใน เรื่อง การ วัด ความ ยาว เครื่อง กล แอตวูด สมดุล ของ แรง และ อนุภาค บน พื้น เอียง การ เคลื่อนที่ แบบ ซิมเปลฮารโมนิค สัมประสิทธิของ ์ แรงเสียดทาน ลูกตุม นาฬกา ความ หนา แนน และ ความถวงจําเพาะ สมมูล จาก ความ รอน ของ จูล หลอด อภินาท ความรอนแฝงของการหลอมเหลวของนํ้าแข็ง ฟส. 108 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 2 (1 หนวยกิต) PH 108 Laboratory in General Physics II วิชาบังคับกอน: ฟส. 107 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 1 ปฏิบัติ การ ทดลอง ใน เรื่อง การ วัด ประจุไฟฟา มัล ติมิ เต อร การ เคลื่อนที่ ของ อิ ออน ใน สนาม ไฟฟา ตัว เก็บประจุไฟฟา ดิจติ อลพืน้ ฐาน อิเล็กทรอนิกสพืน้ ฐาน กัมมันตภาพรังสี เกรตติง การ หาความยาวโฟกัสและรัศมีความโคงของเลนส ฟสิกสยุคใหม หลักสูตรปร ญญาตร 329


หมวดวิชาสถิติ สถ. 201 สถิติเบื้องตน (3 หนวยกิต) ST 201 Introduction to Statistics เพื่อใหนักศึกษาไดรูหลักสถิติและแนวความคิดพื้นฐาน ทางสถิติ เพื่อใชเปนเครื่องมือในการวิเคราะหขอมูล ศึกษาระเบียบวิธทาง ี สถิติ การวัดแนวโนมเขาสูส วนกลาง การวัดการกระจายของขอมูล ความนาจะเปน การแจกแจงความนา จะเปนแบบตอเนื่องและไมตอเนื่อง การสุมตัวอยาง การประมาณคา พารามิเตอร และการทดสอบสมมติฐานทางสถิติเกี่ยวกับ คามัชฌิม คาแปรปรวนและสัดสวน สถ. 202 สถิติธุรกิจ (3 หนวยกิต) ST 202 Business Statistics เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูถึงการนําขอมูลมาใชในการ วิเคราะห เพือ่ เปนเครือ่ งมือในการทําวิจยั ทางธุรกิจ และศึกษาระเบียบ วิธีที่จะนําขอมูลในอดีตมาใชในการพยากรณ ศึกษาถึงหลักการวิจัยทางธุรกิจ การทดสอบสถิติที่ไม ใชพารามิเตอร การวิเคราะหความแปรปรวน การใชเลขดัชนี การ วิเคราะหอนุกรมเวลา การวิเคราะหการถดถอยและสหสัมพันธ ทฤษฎี การตัดสินใจ และเทคนิคการวิเคราะหเชิงปริมาณ สถ. 203 สถิติเพื่อสังคมศาสตร (3 หนวยกิต) ST 203 Statistics for Social Sciences เพื่อใหนักศึกษาไดรูหลักสถิติและแนวความคิด พื้นฐาน ทางสถิติเพื่อเปนเครื่องมือในการทําวิจัยทางสังคมศาสตร ศึกษาถึงความหมาย ขอบเขต และความสําคัญของสถิติ เพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร การรวบรวมและการนําเสนอขอมูล การแจกแจงความถี่และการวิเคราะห การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง การวัดการกระจาย การสุมตัวอยาง การประมาณคา การทดสอบ 330 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

สมมติฐาน สถิติที่ไมใชพารามิเตอร การวิเคราะหการถดถอย ซึ่งจะ เปนแนวพื้นฐานในการเรียนวิชาระเบียบวิธีวิจัยตอไป สถ. 205 ความนาจะเปนและสถิติ (3 หนวยกิต) ST 205 Probability and Statistics การ แจกแจง ของ ตัวแปร เชิง สุม แบบ ไม ตอ เนื่อง การ แจกแจงแบบทวินามและแบบอื่น ๆ การแจกแจงของตัวแปรเชิงสุม แบบตอเนื่อง แบบปกติและแบบอื่น ๆ การแจกแจงรวมของตัวแปร เชิงสุม ความเปนอิสระของตัวแปรเชิงสุม การแจกแจงแบบมีเงื่อนไข คาคาดหวังและความแปรปรวน ฟงกชนั โมเมนตเจนเนอเรติง ฟงกชนั ของตัวแปรเชิงสุม เทคนิคฟงกชันการแจกแจง และเทคนิคอื่นๆ การ คาดคะเนทฤษฎีบทเกีย่ วกับลิมิตกลาง การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ เกี่ยวกับคามัชฌิม สถ. 207 สถิติสําหรับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (3 หนวยกิต) ST 207 Statistics for Science and Technology การประยุกต ใชความนาจะเปนเชิงวิยุต กับวิทยาการ คอมพิวเตอรพื้นฐานของสถิติพรรณนา การแจกแจงแบบปกติ การ แจกแจงแบบทวินาม และการแจกแจงแบบปวซอง วิธีกําลังสองนอย สุด สหสัมพันธ และการถดถอย การทดสอบทางสถิติสําหรับนัก วิศวกรรมซอฟตแวร ไดแก การทดสอบแบบทีเทสต แอนโนวา การ ทดสอบดวยไคกําลังสอง การออกแบบการทดลองและการทดสอบ สมมติฐาน การวิเคราะหขอ มูลเชิงสถิติ การประยุกตใชสถิตกิ บั ปญหา ทางวิศวกรรมซอฟตแวร เชน การวิเคราะหประสิทธิภาพ ความเชือ่ ถือ ได ความสะดวกในการใชงาน การประมาณตนทุน และการประเมิน การควบคุมวิธี


หมวดวิชาบัญชี บช. 100 ความรูเบื้องตนทางการบัญชีกับ (3 หนวยกิต) การประกอบธุรกิจขนาดยอม AC 100 Introduction to Accounting and Managing for Small Business พื้นความรู: ไมมี ศึกษาแนวทางการประกอบธุรกิจขนาดยอม ความสําคัญ ของการบัญชีในการบริหารงานของธุรกิจ เริม่ ตัง้ แตขอ พิจารณาในการ เลือกประกอบธุรกิจ ความหมาย ประเภทและรูปแบบของธุรกิจ การเลือก รูปแบบของธุรกิจทีเ่ หมาะสมและการจัดตัง้ ธุรกิจ การจัดโครงสรางของ องคกร ลักษณะงานและความรับผิดชอบของหนวยงานตางๆ ในองคกร หนวยงานของรัฐทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจขนาดยอม บทบาทของการบัญชี ทีม่ ตี อ ธุรกิจ ความสําคัญ และประโยชนของขอมูลทางการบัญชี ระบบ บัญชีและการควบคุมภายใน กระบวนการจัดทําบัญชี และเอกสารที่ใช ประกอบการบันทึกบัญชี งบการเงิน การเลือกใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการบัญชี ภาษีอากรและกฎหมายอืน่ ทีเ่ กีย่ วของกับการประกอบ ธุรกิจขนาดยอม ตลอดจนสิทธิประโยชนทางภาษีอากร กฎหมายประกัน สังคมและกฎหมายแรงงานของธุรกิจขนาดยอม บช. 201 หลักการบัญชี 1 (3 หนวยกิต) AC 201 Principles of Accounting I พื้นความรู: ไมมี ศึกษาความหมาย วัตถุประสงคของการบัญชี ประโยชน ของขอมูลทางการบัญชี แมบทการบัญชี จริยธรรมของวิชาชีพบัญชี หลักการและวิธกี ารบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีคู การบันทึกบัญชี ตามวงจรบัญชี การบันทึกรายการคาลงในสมุดบันทึกรายการขั้นตน การผานรายการไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไปและบัญชีแยกประเภท ยอย การจัดทํางบทดลอง กระดาษทําการ งบการเงินสําหรับกิจการให บริการ และกิจการซือ้ ขายสินคา รวมถึงการบันทึกรายการปรับปรุงและ แกไขขอผิดพลาดทางการบัญชีในสมุดรายวันทัว่ ไป หลักการบันทึกบัญชี เกีย่ วกับภาษีมลู คาเพิม่ ทีเ่ กีย่ วของกับกิจการแตละประเภท ตลอดจนการ ประยุกตใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีในการจัดทําบัญชี

บช. 202 หลักการบัญชี 2 (3 หนวยกิต) AC 202 Principles of Accounting II พื้นความรู: สอบได บช. 201 ศึกษาถึงกระบวนการบัญชีสําหรับกิจการอุตสหกรรม การบัญชีเกีย่ วกับเงินสดและเงินฝากธนาคาร ระบบเงินสดยอย ระบบ ใบสําคัญ การจัดทํางบกระแสเงินสด การบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้และตั๋ว เงินรับ การบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพยไมหมุนเวียน หมายเหตุประกอบ งบการเงินและนโยบายการบัญชี ตลอดจนการประยุกตใชโปรแกรม สําเร็จรูปทางการบัญชีในการจัดทําบัญชี บช. 311 การบัญชีสินทรัพย (3 หนวยกิต) AC 311 Asset Accounting พื้นความรู: สอบได บช. 202 ศึกษาหลักการและวิธีการบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย การ จําแนกประเภทสินทรัพย การรับรู การวัดมูลคาและการตีราคา สินทรัพย การจัดแบงสวนสินทรัพยเปนตนทุนและคาใชจายตาม หลักการบัญชี การดอยคาของสินทรัพย การแสดงรายการและการ เปดเผยขอมูลสินทรัพยในงบการเงิน บช. 312 การบัญชีหนี้สินและสวนของเจาของ (3 หนวยกิต) AC 312 Liability and Owner’s Equity Accounting พื้นความรู: สอบได บช. 202 ศึกษาหลักการและวิธีการบัญชีเกี่ยวกับหนี้สินและสวน ของเจาของ ประกอบดวย การจําแนกประเภทหนี้สิน การรับรู การ วัดมูลคาของหนี้สิน และการตีราคาหนี้สิน การบัญชีเกี่ยวกับการจัด ตั้งกิจการ การดําเนินงาน การแบงผลกําไรขาดทุน การเปลี่ยนแปลง สวนของเจาของ การเลิกกิจการ และการชําระบัญชีของหางหุน สวน บริษัทจํากัดและบริษัทมหาชนจํากัด การแสดงรายการและการ เปดเผยขอมูลหนี้สินและสวนของเจาของในงบการเงินตามหลักการ บัญชีที่รับรองทั่วไป และงบกระแสเงินสด หลักสูตรปร ญญาตร 331


บช. 315 การบัญชีตนทุน (3 หนวยกิต) AC 315 Cost Accounting พื้นความรู: สอบได บช. 202 ศึกษาความสําคัญและบทบาทของการบัญชีตนทุนที่มี ตอธุรกิจ ความหมายของตนทุนตางๆ ระบบบัญชีที่ใชบันทึกตนทุน วิธีการบัญชีและการควบคุม วัตถุดิบ แรงงาน คาใชจายการผลิต ระบบบัญชีตนทุนงานสั่งทํา ระบบตนทุนชวงการผลิต ระบบตนทุน มาตรฐาน การบัญชีตน ทุนผลิตภัณฑรว มและผลิตภัณฑพลอยได ของ เสีย ของสิ้นเปลือง งานที่บกพรอง เศษซาก และตนทุนฐานกิจกรรม การออกแบบและการเลือกใชระบบบัญชีตนทุนที่เหมาะสมกับกิจการ ตลอดจนการประยุกตขอ มูลจากระบบบัญชีตน ทุน เพือ่ ใชในการตัดสิน ใจวางแผนและควบคุมของฝายบริหาร บช. 321 การบัญชีชั้นสูง 1 (3 หนวยกิต) AC 321 Advanced Accounting I พื้นความรู: สอบได บช. 311 และ บช. 312 ศึกษาถึงนโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงทางการ บัญชีและขอผิดพลาด งบการเงินระหวางกาล การบัญชีสําหรับ รายการที่เปนเงินตราตางประเทศและการแปลงคางบการเงิน การ บัญชีสํานักงานใหญและสาขา ทั้งในและตางประเทศ สัญญากอสราง การบัญชีธรุ กิจฝากขาย การบัญชีธรุ กิจขายผอนชําระ การบัญชีธรุ กิจ ใหเชา การบัญชีธุรกิจอสังหาริมทรัพย และการบัญชีสําหรับการปรับ โครงสรางหนี้ บช. 322 การสอบบัญชี (3 หนวยกิต) AC 322 Auditing พื้นความรู: สอบได บช. 311 และ บช. 312 ศึกษาแนวคิดทั่วไป และแมบทของมาตรฐานการสอบ บัญชี กฏหมายและพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการสอบบัญชี จรรยา บรรณและความรับผิดชอบของผูส อบบัญชี การทุจริตและขอผิดพลาด 332 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

การวางแผนงานสอบบัญชี ความเสี่ยงในการสอบบัญชีและความมี สาระสําคัญ การประเมินความเสี่ยง หลักฐานการสอบบัญชี วิธีการ รวบรวมหลักฐานและวิธีการตรวจสอบ การเลือกตัวอยางในการสอบ บัญชี การทดสอบแบบแจงขอความของกรรมการ หรือผูเปนหุนสวน หรือผูจ ดั การ กระดาษทําการของผูส อบบัญชี การตรวจสอบสินทรัพย หนีส้ นิ สวนของผูถ อื หุน รายได และคาใชจา ย รายงานของผูส อบบัญชี รับอนุญาต รายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร แนวทาง การตรวจสอบบัญชีดว ยคอมพิวเตอร และการควบคุมคุณภาพการสอบ บัญชี ตลอดจนทราบถึงการใหบริการดานอื่นของผูสอบบัญชี บช. 401 การบัญชีภาษีอากร (3 หนวยกิต) AC 401 Tax Accounting พื้นความรู: สอบได กม. 301 บช. 311 และ บช. 312 ศึกษาแนวคิดและความแตกตางระหวางเกณฑการรับ รูรายไดและคาใชจายตามหลักการบัญชีและการภาษีอากร การจัดทํา กระดาษทําการเพือ่ คํานวณภาษีเงินไดตามประมวลรัษฎากร การปรับ ปรุงกําไรสุทธิทางการบัญชีเปนกําไรสุทธิทางภาษีอากร และศึกษา หลักการบันทึกบัญชีของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่เกี่ยวของ กับภาษีประเภทตางๆ รวมทั้งการจัดทํารายงานและการยื่นแบบ แสดงรายการภาษีตามประมวลรัษฎากร บช. 402 การบัญชีชั้นสูง 2 (3 หนวยกิต) AC 402 Advanced Accounting II พื้นความรู: สอบได บช. 311 และ บช. 312 ศึกษาการบัญชีสาํ หรับการรวมธุรกิจ การลงทุนในบริษทั ยอยและบริษัทรวม การบัญชีสําหรับกิจการรวมคา การจัดทํางบ การเงินรวม งบกระแสเงินสดรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของ ผูถือหุน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ การบัญชีสําหรับกิจการที่ดําเนิน ธุรกิจเฉพาะดานการลงทุน การจัดทํางบการเงินจากรายการทีบ่ นั ทึก ไวไมสมบูรณ กองทุนและกิจการไมหวังผลกําไร


บช. 403 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี (3 หนวยกิต) AC 403 Accounting Information Systems พื้นความรู: สอบได บช. 311 บช. 312 และ ทส. 201 ศึกษาลักษณะ สวนประกอบ และวิธีการของระบบ สารสนเทศทางการบัญชี หลักการจัดทําเอกสารของธุรกิจ หลักการ วิเคราะหและการออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชี วงจรทาง ธุร กิ จ ขั้ น พื้ น ฐาน ระบบย อ ยของระบบสารสนเทศทางการบั ญ ชี เกี่ยวกับวงจรรายได วงจรรายจาย วงจรการผลิต วงจรการบริหาร เงิน และรายงานทางการเงิน ประเภทของเอกสารและสารสนเทศ ที่ เ กี่ ย วข อ งในแต ล ะวงจร การควบคุ ม ภายใน ทางเดิ น เอกสาร และสารสนเทศทางการบัญชีที่เกี่ยวของ หลักเกณฑ ในการจัดทํา รายงานทางการเงินโดยใชขอมูลที่ผานการประมวลผลดวยมือและ คอมพิวเตอร และแสดงใหเห็นถึงความแตกตางของการประมวล ผลดังกลาว เทคนิคและเครื่องมือที่ใชในการประมวลผลขอมูล การ ประเมินความเสี่ยงของระบบสารสนเทศทางการบัญชี ตลอดจนการ วิเคราะหและพัฒนาระบบขอมูลตามกระบวนการทางการบัญชี รวม ถึงการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส บช. 404 การตรวจสอบและการควบคุมภายใน (3 หนวยกิต) AC 404 Internal Auditing and Control พื้นความรู: สอบได บช. 311 และ บช. 312 ศึ ก ษาถึ ง การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ วั ต ถุ ป ระสงค และ องคประกอบของการควบคุมภายใน การควบคุมภายในตามแนวคิด ของ COSO การจัดการความเสี่ยงขององคกร (Enterprise Risk Management: ERM) ตามแนวคิ ด ของ COSO การประเมิ น ประสิทธิภาพการควบคุมภายใน แนวคิดการตรวจสอบภายในและการ จัดตั้งหนวยงานตรวจสอบภายใน จริยธรรมและมาตรฐานการปฏิบัติ งานวิชาชีพตรวจสอบภายใน และขั้นตอนของงานตรวจสอบภายใน การตรวจสอบภายในกิจกรรมที่สําคัญขององคกรรวมทั้งหนาที่และ ความรับผิดชอบของผูตรวจสอบภายในตอการทุจริตในองคกร เพื่อ ใหสามารถนําไปประยุกตใชในการประกอบวิชาชีพได

บช. 414 การบัญชีเฉพาะกิจการ (3 หนวยกิต) AC 414 Specialized Accounting พื้นความรู: สอบได บช. 311 และ บช. 312 ศึกษาถึงลักษณะและรูปแบบการดําเนินงาน การควบคุม ภายในเกีย่ วกับสินทรัพย หนีส้ นิ สวนของเจาของ รายไดและคาใชจา ย รายงานผลการดําเนินงาน การแสดงฐานะทางการเงินของธุรกิจที่มี ลักษณะเฉพาะกิจการ โดยประเภทธุรกิจใหบริการ จะจัดใหมกี ารเรียน การสอนเกี่ยวกับ ธุรกิจประกันภัย การธนาคาร สถาบันการเงิน การ โรงแรม การบินพาณิชย การสื่อสารโทรคมนาคม เปนตน ประเภท ธุรกิจพาณิชยกรรม จะจัดใหมกี ารเรียนการสอนเกีย่ วกับธุรกิจพาณิชย อิเล็กทรอนิกส สหกรณเพื่อการเกษตร สหกรณรานคาและธุรกิจ ประเภทอื่นๆ ที่ทางคณะพิจารณาเห็นสมควรใหมีการเรียนการสอน ในภาคการศึกษานั้นๆ บช. 420 ขอมูลทางการบัญชีเพื่อการบริหาร (3 หนวยกิต) AC 420 Accounting Information for Management พื้นความรู: สอบได บช. 315 ศึกษาถึงการใชขอมูลตนทุนในการตัดสินใจ วางแผน และควบคุมการดําเนินงานกิจการภายใตสภาวการณที่แนนอนและ ไมแนนอน ความสัมพันธระหวางตนทุน ปริมาณและกําไร ระบบ ตนทุนรวม ระบบตนทุนผันแปร งบประมาณ งบประมาณยืดหยุน การกําหนดราคาสินคา การกําหนดราคาโอน การประเมินผลการ ปฏิบัติงานของหนวยงานภายในองคกร ตลอดจนแนวทางการเพิ่ม ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลโดยใชขอมูลทางการบัญชี

หลักสูตรปร ญญาตร 333


บช. 422 การตรวจสอบระบบบัญชีทใี่ ชคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) AC 422 Auditing Electronic Data Processing Systems พื้นความรู: สอบได บช. 322 และ ทส. 201 ศึกษาถึงแนวคิดและผลกระทบเนื่องจากการนําระบบ คอมพิวเตอรมาใชในการประมวลผลทางดานการบัญชี การควบคุม ภายในของระบบงานที่ใชคอมพิวเตอร การทุจริตทางคอมพิวเตอรและ มาตรการปองกัน การประเมินความเสี่ยงและการควบคุมภายใน การ วิเคราะหความนาเชื่อถือของการประมวลผลขอมูล เทคนิคและการ ตรวจสอบระบบบัญชีที่ใชคอมพิวเตอร และการใชโปรแกรมสําเร็จรูป ในการตรวจสอบระบบบัญชี บช. 423 การวางแผนภาษีอากร (3 หนวยกิต) AC 423 Tax Planning พื้นความรู: สอบได กม. 301 และ บช. 401 ศึกษาถึงการวางแผนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษี เงินไดนติ บิ คุ คล ภาษีเงินไดหกั ณ ทีจ่ า ย ภาษีมลู คาเพิม่ และภาษีอนื่ ๆ เพื่อใหการเสียภาษีเปนไปอยางประหยัดภายใตกรอบของกฎหมาย และความรับผิดชอบตอสังคม บช. 424 การฝกงานดานบัญชี (3 หนวยกิต) AC 424 Accounting Internship พื้นความรู: สอบได บช. 322 ศึกษาโดยเนนการฝกงานดานการจัดทําบัญชี การตรวจ สอบภายใน และการตรวจสอบบัญชีขององคกรธุรกิจตางๆ ไดแก ฝกปฏิบัติจากกรณีศึกษาที่ทางคณะไดจัดทําขึ้น ฝกปฏิบัติงานกับ หนวยงานภายนอก โดยจะตองฝกปฏิบัติงานในโครงการใดโครงการ หนึ่งติดตอกันจนครบตามจํานวนชั่วโมงและระยะเวลาที่กําหนด

334 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

บช. 425 สัมมนาการบัญชีการเงิน (3 หนวยกิต) AC 425 Seminar in Financial Accounting พื้นความรู: สอบได บช. 311 บช. 312 และ บช. 428 อภิปรายและวิเคราะหแนวทางการนําแมบทการบัญชี มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินไปใชในการ ปฏิบัติงานดานการบัญชีขององคกรประเภทตางๆ โดยใชกรณีศึกษา บทความ เอกสารทางวิชาการตางๆ ทีเ่ กีย่ วของทัง้ ในและตางประเทศ ตลอดจนประเด็นปญหาดานการบัญชีการเงินและจรรยาบรรณวิชาชีพ บช. 426 สัมมนาการบัญชีบริหาร (3 หนวยกิต) AC 426 Seminar in Managerial Accounting พื้นความรู: สอบได บช. 311 บช. 312 และ บช. 420 อภิปรายและวิเคราะหบทบาทของการบัญชีบริหารกับ สภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป การใชขอมูลทางการบัญชีในเชิง กลยุทธ การประยุกตการบัญชีตน ทุน และการวิเคราะหขอ มูลทางการ บัญชีเพือ่ การบริหาร ตลอดจนประเด็นทีน่ า สนใจ ปญหาพิเศษทางการ บัญชีบริหารตามสภาพแวดลอมปจจุบันและจรรยาบรรณวิชาชีพ บช. 427 การบัญชีสําหรับธุรกิจสงออกและนําเขา (3 หนวยกิต) AC 427 Accounting for Export and Import พื้นความรู: สอบได กม. 301 บช. 311 และ บช. 312 ศึกษาถึงความรูท วั่ ไปของธุรกิจสงออกและนําเขาในเรือ่ ง ตางๆ เชน หนวยงานที่เกี่ยวของกับธุรกิจสงออกและนําเขา การสง เสริมการลงทุน (BOI) ระบบการคาระหวางประเทศ ระบบการให สินเชื่อที่ไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐบาลและสถาบันการเงินใน ประเทศเกี่ยวกับ การเปด Letter of Credit, Trust Receipt, Letter of Guarantee /Shipping Guarantee รวมถึงการขอสินเชื่อ Packing Credit กฎหมายภาษีอากรในสวนที่เกี่ยวของกับธุรกิจ เชน ภาษี เงินไดนิติบุคคล ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีศุลกากร ภาษีสรรพสามิต สิทธิ ประโยชนดานภาษีที่ผูประกอบการจะไดรับขอยกเวนภาษีของธุรกิจ


ขอตกลงทางการคาเสรีระหวางประเทศ(FTA) รวมถึงศึกษาเกี่ยวกับ ระบบเอกสารตางๆ ทั้งในสวนของเอกสารที่เกี่ยวของกับพิธีการสง ออกและนําเขา ความหมายของคํายอ (INCO TERM), EXWORK, FOB, CIF, CIP, CFR, DDU เอกสารที่เกี่ยวของกับการบันทึกบัญชี การบันทึกบัญชีสําหรับธุรกิจสงออกและนําเขา การบันทึกบัญชีเกี่ยว กับอัตราแลกเปลีย่ น อัตราซือ้ อัตราขาย การรับรูร ายไดและคาใชจา ย ของผลตางอัตราแลกเปลี่ยน ตลอดจนศึกษาการจัดทํารายงานและ งบการเงินของธุรกิจ บช. 428 รายงานการเงินและการวิเคราะห (3 หนวยกิต) AC 428 Financial Reporting and Analysis พื้นความรู: สอบได บช. 311 และ บช. 312 ศึกษารายงานการเงิน และการเปดเผยขอมูลทางการ บัญชี วิธีการและเครื่องมือที่ ใชในการวิเคราะหรายงานการเงิน และขอมูลทางการบัญชีอื่นที่สําคัญตอการตัดสินใจ การวิเคราะห อุตสาหกรรม ผลกระทบตองบการเงินจากการเลือกใชนโยบายการ บัญชีทแี่ ตกตางกัน ตลอดจนการวิเคราะหงบการเงินรวม โดยเนนการ ใชกรณีศึกษาและเหตุการณจริง บช. 431 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) AC 431 Computer Programming พื้นความรู: สอบได บช. 311 บช. 312 และ ทส. 201 ศึกษาแนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรมแบบมาตรฐาน โดยใชภาษาปาสคาล มุง เนนทักษะการเขียนโปรแกรมทีด่ ี การพัฒนา อัลกอริทมึ ประเภทของขอมูล ตัวแปร คาคงที่ นิพจนทางคณิตศาสตร การแสดงผลขอมูลและการรับขอมูล การเขียนโปรแกรมแบบมีเงือ่ นไข โปรแกรมแบบทําซํ้า โปรแกรมยอย (โมดูล) การกําหนดชนิดขอมูล ไฟลพอยเตอรและลิงคลิสต ยูนิต การจัดเรียงขอมูล โพรซีเยอรและ ฟงกชนั มาตรฐาน กราฟก การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ เทคนิคการระบุ และการแกไขปญหา การเขียนโครงสรางและผังงานของโปรแกรมแบบ ตาง ๆ เพื่อใหสามารถเขียนโปรแกรมกับงานบัญชีได

บช. 432 การประยุกตคอมพิวเตอรใน (3 หนวยกิต) การรายงานทางธุรกิจ AC 432 Computer Applications in Business Reporting พื้นความรู: สอบได บช. 311 บช. 312 และ ทส. 201 ศึกษาหลักการประยุกตใชโปรแกรมประเภทสเปรดชีทใน การบริหารจัดการงานดานบัญชีการเงินและบัญชีบริหาร โดยมุงเนน การสรางและใชฐานขอมูล การสอบถามขอมูลจากฐานขอมูล การใช ฟงกชันฐานขอมูล การทํางานกับฟงกชันระดับสูง การเขียน Macro และ VBA รวมถึงการเตรียมความพรอมในการสอบ Microsoft Office Specialist Certification (Microsoft Office Excel Expert) บช. 434 โปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชี (3 หนวยกิต) AC 434 Accounting Software พื้นความรู: สอบได บช. 311 บช. 312 และ ทส. 201 ศึ ก ษาวิ ธี ก ารใช โ ปรแกรมสํ า เร็ จ รู ป ทางการบั ญ ชี (Accounting Software) ในการวิเคราะห ตีความ และตรวจสอบ สารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการตัดสินใจ โดยมุงศึกษาวิธีการติดตั้ง ซอฟตแวรทางการบัญชี การกําหนดบริษัทใหม การกําหนดขอมูล พืน้ ฐานสําหรับระบบตางๆ การบันทึกขอมูลรายการทางธุรกิจในระบบ ตาง ๆ การประมวลผลขอมูล การปดบัญชี การจัดพิมพรายงาน และ สงเสริมใหผูเรียนไดทบทวนแนวคิดและหลักการบัญชีที่ไดศึกษามา นอกจากนี้ ผูเรียนจะไดศึกษาถึงการทํางานรวมกันของโปรแกรม สําเร็จรูปทางการบัญชี กับโปรแกรมประเภท Spreadsheet เพื่อการ จัดเตรียมรายงานสําหรับผูใ ชขอ มูล รวมถึงการจัดทํางบประมาณ และ การสํารองขอมูลของโปรแกรม

หลักสูตรปร ญญาตร 335


บช. 435 การวิเคราะหและออกแบบระบบ (3 หนวยกิต) สารสนเทศทางการบัญชี AC 435 Accounting Information Systems Analysis and Design พื้นความรู: สอบได บช. 403 ศึกษาแนวคิด หลักการวิเคราะหและออกแบบสารสนเทศ ทางการบัญชี วัตถุประสงคในการออกแบบระบบ วงจรชีวิตเกี่ยวกับ พัฒนาการของระบบซอฟตแวร ศึกษาระบบงานตางๆ ที่อาจนํามา ใชปฏิบัติได การหาจุดประหยัดของระบบ การเลือกและการประเมิน ผลของฮารดแวรและซอฟตแวร การออกแบบและพัฒนาซอฟตแวร การศึกษาความเปนไปไดของโครงการ การจัดทําแบบนําเสนอ โครงการ การบริหารโครงการ เครื่องมือและเทคนิคในการวิเคราะห และออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชี โดยคํานึงถึงกระบวนการ ทางบัญชีและระบบการควบคุมภายใน การนําระบบไปใชงานและการ ประเมินผลหลังการใชงาน บช. 436 ความมั่นคงในระบบสารสนเทศ (3 หนวยกิต) และการควบคุม AC 436 Information Systems Security and Control พื้นความรู: สอบได บช. 403 ศึกษาวิธีการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ ระบบคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย และขอมูล การสรางระบบ การ ควบคุมระบบ และการประกันคุณภาพระบบสารสนเทศ การประเมิน และการจัดการความเสีย่ ง ทฤษฎีสารสนเทศ การลงรหัสคริปโตกราฟ กรรมวิธีรับรองความปลอดภัย ขอบเขต การปองกันจากซอฟตแวรที่ ประสงครายตอระบบ ไวรัส ลอจิกบอมบ และวิธีการตรวจสอบแกน ของความปลอดภัย

336 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

บช. 437 ระบบการจัดการฐานขอมูล (3 หนวยกิต) AC 437 Database Management Systems พื้นความรู: สอบได บช. 311 บช. 312 และ ทส. 201 ศึกษาโครงสรางหลัก องคประกอบของระบบฐานขอมูล รวมถึงวิธีการจัดโครงสราง วิธีการออกแบบระบบฐานขอมูลโดยใช แบบจําลองขอมูลเชิงสัมพันธ (Relational Data Model) วิธีการใช เครื่องมือสําหรับการจัดการฐานขอมูลในการออกแบบและพัฒนา ระบบบัญชี เพือ่ ใหเกิดความมัน่ ใจวาระบบดังกลาวสามารถใหขอ มูลที่ ถูกตอง ครบถวน และทันตอเวลา ทําใหผูใชสามารถนําไปใชเพื่อการ ตัดสินใจได โดยมุง เนนศึกษาแนวคิดพืน้ ฐานเกีย่ วกับระบบบริหารฐาน ขอมูล สถาปตยกรรมของฐานขอมูล รูปแบบของฐานขอมูล ความขึน้ แกกันและกันของขอมูล เคาราง การทําใหอยูในรูปแบบบรรทัดฐาน รูปแบบบรรทัดฐานของฐานขอมูลเชิงสัมพันธ การสรางโมเดลจําลอง ความสัมพันธ การออกแบบฐานขอมูลแบบอีอาร (Entity Relationship Diagram) แบบอีออี าร (Enhanced ER Diagram) พีชคณิตเชิงสัมพันธ ภาษาสอบถามเชิงโครงสราง แคลคูลัสเชิงสัมพันธ ระบบรักษาความ ปลอดภัยของขอมูล การเกิดภาวะพรอมกัน การปดกัน้ การกูค นื ขอมูล ความบูรณภาพของขอมูล และพจนานุกรมขอมูล บช. 441 สัมมนาการสอบบัญชี (3 หนวยกิต) AC 441 Seminar in Auditing พื้นความรู: สอบได บช. 322 อภิปราย วิเคราะหและคนควาเพื่อใหเกิดความรูและ ความเขาใจอยางลึกซึ้งในมาตรฐานการสอบบัญชี และปญหาในการ ปฏิบตั งิ านของผูส อบบัญชี ความแตกตางระหวางการตรวจสอบทุจริต กับการบัญชีเพื่อสืบหาหลักฐานขอมูลทางการเงิน แนวทางการแกไข ตลอดจนการเขาไปมีสวนรวมในกระบวนการฟองรองเพื่อดําเนินคดี ในศาล โดยใชกรณีศึกษา บทความและเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของทั้ง ในประเทศและตางประเทศ ตลอดจนประเด็นที่นาสนใจ ปญหาพิเศษ ดานการสอบบัญชี ดานบัญชีเพื่อสืบหาหลักฐานขอมูลทางการเงิน และจรรยาบรรณวิชาชีพ


บช. 442 สัมมนาการภาษีอากร (3 หนวยกิต) AC 442 Seminar in Taxation พื้นความรู: สอบได กม. 301 และ บช. 401 อภิปรายและวิเคราะหประเด็นที่นาสนใจทางภาษีอากร โดยใชกรณีศึกษา บทความ และเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งใน ประเทศและตางประเทศ ตลอดจนคําวินิจฉัยดานภาษีอากร และ คําพิพากษาของศาลภาษีอากรกลาง

งาน (Project Based Learning) ที่เปนงานที่เปนประโยชนตอองคกร รวมถึ ง มี การประเมิ น ผลการทํ า งานจากคณาจารย ร  ว มกั บ สถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบัติ งานสหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน

หมวดวิชาบริหารธุรกิจ บช. 443 สัมมนาเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศ (3 หนวยกิต) ทางการบัญชี AC 443 Seminar in Accounting Information Systems and Technology พื้นความรู: สอบได บช. 403 อภิปราย วิเคราะหปญหาและประเด็นปจจุบันเกี่ยวกับ การนําเทคโนโลยีมาใชกับระบบสารสนเทศทางการบัญชี โดยใชกรณี ศึกษา บทความ และเอกสารตาง ๆ ที่เกี่ยวของทั้งในประเทศและตาง ประเทศ ปญหาพิเศษดานเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศทางการ บัญชีและจรรยาบรรณวิชาชีพ แนวทางในการแกไขปญหา บช. 453 สหกิจศึกษาสําหรับนักบัญชี (3 หนวยกิต) AC 453 Cooperative Education for Accountant พื้นความรู: สอบได สศ. 301 และนักศึกษาตองลงทะเบียนและ สอบผานในกลุมวิชาเอก-บังคับแลวไมนอยกวา 30 หนวยกิต ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสรางใหนักศึกษามีความ พรอมดานงานอาชีพจากการปฏิบัติงานพื้นฐานอยางมีหลักการและ เปนระบบ นักศึกษาจะตองมีการปฏิบตั งิ านเต็มเวลาในสถานประกอบ การ โดยมีระยะเวลาไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห ซึง่ เปนงานทีม่ คี ณ ุ ภาพหรือเปนงานทีเ่ นนประสบการณทาํ งาน (Work Integrated Learning) ที่ตรงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือโครง

บธ. 111 การคิดแบบสรางสรรคเพื่อนวัตกรรม (3 หนวยกิต) BA 111 Creative Thinking for Innovation ศึกษา ความ หมาย ของ ความ คิด สรางสรรค ลักษณะ พื้น ฐาน ของ ผู มี ความ คิด สรางสรรค ลักษณะ ของ ความ คิด สรางสรรค กระบวนการและการพัฒนาความคิดสรางสรรค กลยุทธ และเทคนิค การพัฒนาความคิดสรางสรรค เพื่อเตรียมพรอมตอการเปนเจาของ ธุรกิจที่ตองเผชิญกับสถานการณหรือปญหาความซับซอนวุนวายใน ปจจุบัน โดย อาศัย การ พัฒนา แนวทาง แกไข ปญหา อยาง สรางสรรค เพื่อตอบสนองตอความตองการของกลุมเปาหมายในหลากหลายมิติ บธ. 113 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ (3 หนวยกิต) BA 113 Thai for Business Communications ศึกษาหลักและฝกทักษะการใชภาษาเพือ่ การสือ่ สารทาง ธุรกิจใหมีประสิทธิภาพ เชน ฝกการพูดเพื่อประชาสัมพันธงานดาน ธุรกิจฝกการเขียนและยอสรุปเอกสารทางธุรกิจ บทความธุรกิจ รวม ทั้งฝกเทคนิคเปนผูนําการประชุม ผูรวมประชุม และการจัดประชุม

หลักสูตรปร ญญาตร 337


บธ. 201 บัญชีทั่วไป (3 หนวยกิต) BA 201 General Accounting เพือ่ ใหนักศึกษาทราบถึงความสําคัญของการบัญชีในการ บริหารงานของธุรกิจ บทบาทของการบัญชีที่มีตอธุรกิจ ความสําคัญ และประโยชนของขอมูลทางการบัญชี ระบบบัญชี กระบวนการจัดทํา บัญชี เอกสารที่ใชประกอบการบันทึกบัญชี งบการเงิน และการ ประยุกตใชเทคโนโลยีกับงานบัญชี บธ. 202 เศรษฐศาสตรเบื้องตน (3 หนวยกิต) BA 202 Principles of Economics ครอบคลุม หลัก เศรษฐศาสตร พื้น ฐาน เพื่อ ใช ใน การ วิเคราะห และ เขาใจ การ ตัดสิน ใจ ของ บุคคล หนวย ธุรกิจ และ รัฐบาล ใน ระบบ เศรษฐกิจ การ ศึกษา ประกอบ ดวย การ วิเคราะห อุป สงค และ อุปทาน ทฤษฎีผูบริ  โภค และทฤษฎีผูผลิ  ต ตลอดจนศึกษาลักษณะของ โครงสรางตลาดชนิดตางๆ เชน ตลาดแขงขันสมบูรณ ตลาดผูกขาด ตลาด แขง ขัน กึ่ง ผูกขาด ตลาด ผู ขาย นอย ราย รวม ทั้ง อิทธิพล ของ โครงสรางตลาดตางๆ เหลานีที้ มี่ ตอการกําหนดราคาสินคาของหนวย ธุรกิจนอกจากนียั้ งศึกษาดานเศรษฐศาสตรมหภาค เชน ความสัมพันธ ระหวางระดับผลผลิต การจางงาน อัตราดอกเบี้ย ราคา ตลอดจนผล กระทบของนโยบายการเงินและการคลังทีมี่ ตอการตัดสินใจของหนวยธุรกิจ บธ. 203 หลักกฎหมายสําหรับเจาของธุรกิจ (3 หนวยกิต) BA 203 Legal Aspects in Entrepreneurship ศึกษาถึงหลักกฎหมายสําคัญทีเจ่ าของธุรกิจจะตองทราบ เพื่อประโยชนในการวางแผนเลือกประเภทองคการธุรกิจใหเหมาะสม กับการดําเนินงาน ทั้งรูปแบบของบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล รวม ถึง การ ดําเนิน ธุรกิจ โดย อาศัย นิติกรรม สัญญา เปน เครื่อง มือ ใน การ ประกอบกิจการ ซึ่งตองเขาใจถึงหลักกฎหมายที่สําคัญตามประมวล กฎหมาย แพง และ พาณิชย นอกจาก นี้ ยัง ศึกษา ถึง หลัก กฎหมาย ที่ เกี่ยวของกับตั๋วเงินในรูปแบบที่ใชกันอยางแพรหลายในปจจุบัน รวม ทั้งศึกษากฎหมายเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญา และกฎหมายอื่นๆ ที่ เกี่ยวของกับการจัดตั้งธุรกิจในรูปแบบตางๆ 338 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

บธ. 204 ภาษีธุรกิจ (3 หนวยกิต) BA 204 Business Taxation ศึกษาถึงหลักการของโครงสรางภาษีอากร วิธการ ี ประเมิน และ การ จัด เก็บ ภาษี อากร ตางๆ เชน ภาษี เงิน ได บุคคล ธรรมดา และ นิตบิ คุ คล ภาษีการคา และภาษีอืน่ ๆ ทีเกี ่ ย่ วของกับกิจการคาโดยทัว่ ไป รวมถึงวิธการ ี และหลักเกณฑการคํานวณภาษีอากรตามบทบัญญัตแห ิ ง ประมวลรัษฎากร เพือ่ นํามาตรการทางภาษีอากรมาใชใหเกิดประโยชน ในการวางแผนทางธุรกิจ นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงปญหาภาษีอากรทีเกิ ่ ด ขึน้ ในทางปฏิบตั ิ ขอแนะนําจากหนวยจัดเก็บภาษีของรัฐและแนวทาง การแกไขปญหาโดยใชกรณีศึกษาจริง บธ. 205 การวิเคราะหเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ 1 (3 หนวยกิต) BA 205 Analysis for Business Decision Making I เพื่อ ให นัก ศึกษา ได มี ความ รู ทาง คณิตศาสตร อยาง พอ เพียง ใน การ ศึกษา ธุรกิจ ทั้ง ใน ทฤษฎี และ การนํา ไป ประยุกต ใช ให นัก ศึกษา สามารถ นํา เทคนิค ทาง คณิตศาสตร มา ประยุกต เพื่อ การ วิเคราะห บริหาร งาน และ ตัดสิน ใจ ทาง ธุรกิจ และ ศึกษา เกี่ยว กับ เปอรเซ็นตและการประยุกตใชทางธุรกิจ การตั้งราคาสินคา สวนลด การคา สวนลดธนาคาร เงินรายงวด การประยุกตใชอนุพันธ และกา รอินทิเกรตในทางธุรกิจ บธ. 206 การวิเคราะหเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ 2 (3 หนวยกิต) BA 206 Analysis for Business Decision Making II เพือ่ ใหนักศึกษาไดเรียนรูแนวคิ  ดพืน้ ฐานทางสถิตทีิ เกี ่ ย่ ว กับการนําขอมูลมาวิเคราะหเพื่อใชในการพยากรณและการตัดสินใจ ทาง ธุรกิจ และ ศึกษา ระเบียบ วิธี ทาง สถิติ การ วัด แนว โนม เขา สู สวน กลาง การวัดการกระจายของขอมูล การประมาณคาพารามิเตอร การ ทดสอบสมมติฐานทางสถิตเกี ิ ย่ วกับคาเฉลีย่ เลขคณิตและสัดสวน การ ทดสอบสมมติฐานดวยสถิติไคสแควร การวิเคราะหความแปรปรวน การ วิเคราะห การ ถดถอย และ สห สัมพันธ เลข ดัชนี และ การ วิเคราะห อนุกรมเวลา


บธ. 207 การวิเคราะหทางสถิติเพื่อการตัดสินใจ (3 หนวยกิต) ทางธุรกิจ BA 207 Statistical Analysis for Business Decisions ศึกษาแนวคิดพืน้ ฐานทางสถิตทิ เี่ กีย่ วกับการนําขอมูลมา วิเคราะห เพือ่ ใชในการพยากรณและการตัดสินใจทางธุรกิจ โดยศึกษา วิธีการจัดเก็บขอมูล การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง การวัดการ กระจายของขอมูล ความนาจะเปน การประมาณคา การทดสอบ สมมติฐานทางสถิติเกี่ยวกับคาเฉลี่ยและสัดสวน การวิเคราะหความ แปรปรวน การทดสอบสมมติฐานดวยสถิติไคสแควร การวิเคราะห การถดถอยและสหสัมพันธ รวมถึงการวิเคราะหอนุกรมเวลา บธ. 211 ความรูเบื้องตนทางธุรกิจ (3 หนวยกิต) BA 211 Introduction to Business ศึกษา ถึง รูป แบบ การ จัด ตั้ง ธุรกิจ ซึ่ง ครอบคลุม ตั้ง แต กิจการแบบเจาของคนเดียว หางหุนสวน และบริษัทจํากัด ศึกษาถึง ลักษณะสภาพแวดลอมของธุรกิจ กิจกรรมทางธุรกิจดานการผลิต การ ตลาด การ เงิน การ บัญชี และ การ บริหาร ทรัพยากร มนุษย กฎหมาย ่ ย่ วของกับธุรกิจ สถาบันการเงิน เอกสารทางการคา และการ ตางๆ ทีเกี บริหารจัดการ เพื่อสรางพื้นฐานแนวคิดของการดําเนินธุรกิจและเพื่อ ใหเกิดความเขาใจในกิจกรรมแตละดานของธุรกิจ อันจะเปนประโยชน ตอการศึกษาวิชาการเปนเจาของธุรกิจตอไป บธ. 212 การเงินสําหรับเจาของธุรกิจ (3 หนวยกิต) BA 212 Entrepreneurial Finance พื้นความรู: บธ. 201 ศึกษาถึงรูปแบบในการดําเนินธุรกิจและแนวคิดทางการ เงินที่สําคัญซึ่งเจาของธุรกิจควรรู ไดแก การจัดหาเงินทุนในการทํา ธุรกิจแหลงเงินทุน งบการเงินของวิสาหกิจขนาดยอม การพยากรณ ทางการเงิน การบริหารเงินสด แนวคิดในการประเมินมูลคาของธุรกิจ การวัดความคุมทุน และผลตอบแทนจากการลงทุน การบริหารและ การตัดสินใจทางการเงินสําหรับธุรกิจในวงจรชีวิตที่แตกตางกัน และ การเงินที่เกี่ยวของกับการทําแผนธุรกิจ

บธ. 213 การบัญชีการเงินเพื่อการบริหาร (3 หนวยกิต) BA 213 Financial Accounting for Management พื้นความรู: บธ. 201 และ บธ. 212 เพื่อ ให นัก ศึกษา มี ความ รู ความ เขาใจ เกี่ยว กับ ขอมูล ทางการ บัญชี ซึ่ง ประกอบ ดวย งบ การ เงิน งบ ประมาณ ตนทุน และ ขอมูลทางการเงินอื่นๆ รวมทั้งสามารถประยุกตใชขอมูลเหลานี้ เพื่อ การบริหารงาน การวางแผน การควบคุม และการตัดสินใจทางธุรกิจ บธ. 214 การตลาดสําหรับเจาของธุรกิจ (3 หนวยกิต) BA 214 Entrepreneurial Marketing ศึกษา ถึง แนวคิด เบื้อง ตน เกี่ยว กับ การ ตลาด ความ หมายความสําคัญของการตลาด พฤติกรรมผูบริโภค การวิจัยตลาด และสิ่งแวดลอมตางๆ ที่สงผลกระทบตอการวางแผนการตลาดของผู ประกอบการ นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงลักษณะและรูปแบบของการแบง สวนตลาด การเลือกตลาดเปาหมาย การกําหนดตําแหนงผลิตภัณฑ และกลยุทธสวนประสมการตลาดอันประกอบไปดวยผลิตภัณฑ ราคา ชองทางการจําหนาย และการติดตอสือ่ สารการตลาดแบบบูรณาการ รวมทั้งศึกษาถึงแนวคิดและการทําการตลาดเพื่อสังคม บธ. 215 การบริหารทรัพยากรมนุษย (3 หนวยกิต) และพฤติกรรมองคการ BA 215 Human Resource Management and Organization Behavior ศึกษาถึงบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของฝาย บริหารทรัพยากรมนุษยในองคการ ทั้งในเรื่องของการออกแบบและ วิเคราะหงาน การวางแผนกําลังคน การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร การ พัฒนา บุคลากร การ ประเมิน ผล การ ปฏิบัติ งาน การ บริหาร คา ตอบแทน รวมถึงระบบสารสนเทศทีสามารถ ่ ประยุกตใชกับการบริหาร ทรัพยากรบุคคล นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงพฤติกรรมของบุคคล กลุม และองคการ รวมถึงการติดตอสือ่ สาร การจูงใจ ภาวะผูน าํ การตัดสิน ใจ การเปลีย่ นแปลงและความขัดแยงในองคการ ทัง้ นีเพื ้ อ่ ใหเกิดความ เขาใจพฤติกรรมของคนที่ทํางานในองคการรวมกัน หลักสูตรปร ญญาตร 339


บธ. 216 การบริหารการผลิต (3 หนวยกิต) BA 216 Production and Operations Management ศึกษาถึงความรูเบื  อ้ งตนและขอบเขตของการบริหารการ ผลิต การ คาด คะเน หรือ พยากรณ การ ผลิต การ ออกแบบ และ พัฒนา ผลิตภัณฑ การเลือกทําเลที่ตั้ง การวางผังโรงงาน การจัดซื้อ การ บริหารกําลัง การผลิต การบริหารสินคาคงคลัง การบริหารโครงการ การบริหารคุณภาพ และการบํารุงรักษาเครื่องจักร บธ. 217 การบริหารความสัมพันธแบบบูรณาการ (3 หนวยกิต) BA 217 Integrated Relationship Management ศึกษาถึงความหมาย ความสําคัญ องคประกอบ และ กลยุทธ ของ การ บริหาร ความ สัมพันธ แบบ บู รณา การ กับ ผู มี สวน เกี่ยวของกับการเปนเจาของธุรกิจ อาทิ บุคคล องคการ สถาบัน พนักงาน ผูถื อหุน ลูกคา ชุมชน สือ่ มวลชน และหนวยงานทีเกี ่ ย่ วของ ผานสือ่ บุคคล สือ่ สิง่ พิมพ สือ่ อิเล็กทรอนิกส สือ่ เทคโนโลยีใหมๆ เชน สื่อสังคมออนไลน สื่อมวลชน และสื่อพื้นบาน เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ดานการสรางความสัมพันธทียั่ ง่ ยืนระหวางเจาของธุรกิจและผูที มี่ สวน เกี่ยวของ บธ. 218 การจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส (3 หนวยกิต) BA 218 E-Business Management พื้นความรู: บธ. 211 ศึกษาถึงระบบเครือขาย องคประกอบพืน้ ฐาน โปรแกรม ประยุกต ตางๆ ที่ ใช ใน ระบบ ธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส และ ประเด็น ทาง กฎหมาย จริยธรรม ที่ เกี่ยวของ กับ ความ ปลอดภัย ของ ระบบ ธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส รวม ทั้ง วางแผน กลยุทธ ทาง ดาน การ ตลาด ของ ระบบ เครือ ขาย ตลอด จน การ บริหาร งาน ดาน ธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส นับ ตั้ง แตการวางแผน การจัดองคการ การสั่งการ และการควบคุมงานใน ระดับปฏิบัติการ

340 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

บธ. 301 ภาษาอังกฤษสําหรับเจาของธุรกิจ (3 หนวยกิต) ระดับโลก 1 BA 301 English for Entrepreneurs I พื้นความรู: สอบได บธ. 221 ศึกษาทักษะการใชภาษาอังกฤษที่ใชในแวดวงธุรกิจเพื่อ เตรียมตัวเปนเจาของธุรกิจในการแขงขันธุรกิจระดับโลก การนําเสนอ แผน ธุรกิจ การ ฝก ฟง และ พูด ภาษา อังกฤษ กับ บุคคล ที่ อยู ใน วงการ ธุรกิจ ตางๆ การ ฝกฝน การ เขียน โตตอบ ทาง ธุรกิจ และ การ ฝก อาน บทความตางๆ จากสิ่งพิมพทางธุรกิจ เปนตน บธ. 302 ภาษาอังกฤษสําหรับเจาของธุรกิจ (3 หนวยกิต) ระดับโลก 2 BA 302 English for Entrepreneurs II พื้นความรู: สอบได บธ. 301 วิชา ตอ เนื่องจาก วิชา บธ.301: ภาษา อังกฤษ สําหรับ เจาของธุรกิจระดับโลก 1 ใน รายวิชา นี้ นัก ศึกษา จะ ได ฝก การ สื่อสาร เปนภาษาอังกฤษในสถานการณทีใกล ่ เคียงกับความจริงมากทีส่ ดุ อยาง ตอ เนื่อง โดย เฉพาะ การนํา เสนอ รายงาน ทาง ธุรกิจ ที่ จําเปน สําหรับ ประกอบการธุรกิจในยุคปจจุบัน บธ. 311 สังคมปฏิสัมพันธ (3 หนวยกิต) BA 311 Social Interaction ศึกษา ถึง การ เสริม สราง และ พัฒนา บุคลิกภาพ ของ การ เปนนักธุรกิจมืออาชีพ เรียนรูการ  เขาสังคมอยางมัน่ ใจและถูกตองตาม กาลเทศะดวยกิจกรรมตางๆ ที่เหมาะสม อาทิ มารยาทการเขาสังคม การแตงกาย การเตนลีลาศเพือ่ สังคม การรวมงานสังคมประเภทตางๆ ตลอดจนการเลนกอลฟเพื่อสังคมธุรกิจ นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงการ สรางทักษะของการสื่อสาร การใชเสียง การเจรจาตอรอง และการใช ชีวิตอยูรวมกับบุคคลอื่น


บธ. 312 การพัฒนาบุคลิกภาพ (3 หนวยกิต) BA 312 Personality Development ศึกษาเกี่ยวกับบุคลิกภาพภายในและภายนอก ศึกษาถึง วิธีการปรับปรุงบุคลิกภาพในดานการแตงกายใหเหมาะสม การแตง กายของสุภาพบุรษุ และสุภาพสตรี การบํารุงรักษาสุขภาพ การวางตัว การปรากฏตัวตอทีชุ่ มชน การพัฒนาลักษณะนิสยั สวนตัว ศึกษาเกีย่ ว กับมนุษยสัมพันธ มารยาทไทย และมารยาทในการสมาคม การฝกพูด ในรูปแบบตางๆ บุคลิกภาพของการเปนผูน าํ บุคลิกภาพในการสมัคร งาน มารยาทในการประชุม ตลอดจนวัฒนธรรมและประเพณีไทย บธ. 313 ทักษะสําหรับนักธุรกิจ (3 หนวยกิต) BA 313 Business Professional Skills ศึกษาและฝกฝนทักษะดานตางๆ ที่จําเปนตอการเสริม สราง บุคลิกภาพ ของ ความ เปน นัก ธุรกิจ มือ อาชีพ ไดแก การ พูด ใน ที่ ชุมชน การนํา เสนอ ผล งาน การ ติดตอ สื่อสาร ทาง ธุรกิจ ใน รูป แบบ ของการพูด การฟง การอานและการเขียน เทคนิคการประชุมอยาง มีประสิทธิภาพ การพัฒนาบุคลิกภาพ มารยาททางสังคม ตลอดจน คุณธรรมและจรรยาบรรณของนักธุรกิจ บธ. 314 นรลักษณศาสตรและฮวงจุย (3 หนวยกิต) BA 314 Physiognomy and Fengshui ศึกษาถึงหลักวิชานรลักษณศาสตร ไดแก การแปลความ หมายของ ลักษณะ ของ รูป ราง และ หนาตา ทั้ง หา ประการ ไดแก คิ้ว หู ตา จมูก ปากและสวนประกอบจากใบหนา รูปราง อิริยาบถตางๆ เชน การเดิน ยืน นั่ง ลุก นอน การพูด เพื่อใชเปนขอมูลประกอบ การพิจารณาในการคัดเลือกบุคลากรเขาทํางานใหมีความเหมาะสมกับ ตําแหนงงาน รวมถึงการใชหลักนรลักษณศาสตรในการเจรจาตอรอง ทางธุรกิจ นอกจากนี้ยังศึกษาถึงหลักการขั้นพื้นฐานของวิชาฮวงจุย ในเชิงความรูทางดานวิทยาศาสตรธรรมชาติสิ่งแวดลอม และความ สัมพันธ ระหวาง มนุษย กับ ธรรมชาติ และ สิ่ง แวดลอม เพื่อ ใช ประกอบ การจัดองคการสํานักงาน

บธ. 315 ภาวะผูนําเชิงกลยุทธ (3 หนวยกิต) BA 315 Strategic Leadership ศึกษา ถึง บทบาท และ หนาที่ ของ ผูนํา เชิงกล ยุทธ ใน มุม มอง ของ การ เปน ผู ประกอบ การ การ บริหาร การ สราง ทีม ผู บริหาร การตัดสินใจเชิงกลยุทธของผูนําที่สอดคลองกับกลยุทธธุรกิจ สภาพ แวดลอม ภายนอก และ สภาพ แวดลอม ภายใน องคการ การ ติดตอ สื่อสาร กับ การ เปน ผูนํา เพื่อ การ สราง ความ รวม มือ ของ บุคลากร ทุก ระดับชั้นในองคการ การบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารความ ขัดแยงในองคกรการพัฒนาภาวะเปนผูน าํ เชิงกลยุทธเพือ่ ความสําเร็จ ในอนาคต การพัฒนาภาวะผูตาม  เพือ่ สรางศักยภาพในการเปนผูน าํ ใน อนาคต เปนตน บธ. 316 การบริหารสุขภาพทางกาย (3 หนวยกิต) และสุขภาพทางจิต BA 316 Physical and Spiritual Health Management ศึกษาถึงหลักการ และเทคนิคการดูแลสุขภาพ การทาน อาหารใหถูกหลักโภชนาการ การผอนคลายรางกาย และจิตใจ และ การลดความตึงเครียด เปนการเตรียมความพรอมทางกายและจิตให สมดุลกับพลังกายและพลังความคิดที่ใชในการดําเนินธุรกิจในแตละ วัน อีก ทั้ง ยัง เปนการ กระตุน และ สง เสริม พลัง กาย และ พลังจิต แหง การดําเนินชีวิตในโลกธุรกิจใหสอดคลองกับสภาวะรางกายและจิตใจ นอกจากนี้ ผูศึ กษายังจะไดรับการฝกฝนการปฏิบตั โยคะ ิ การทําสมาธิ การรํามวยจีน และการนวดกดจุดเพือ่ คลายเครียด ซึง่ ผูเรี ยนสามารถ นําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได บธ. 317 การบริหารเวลาเพื่อความสําเร็จทางธุรกิจ (3 หนวยกิต) BA 317 Time Management for Business Success ศึกษาถึงหลักการ และฝกฝนเทคนิคในการบริหารเวลา ใหสอดคลองกับรูปแบบการดําเนินชีวิต และการดําเนินธุรกิจ เพื่อให บรรลุ เปา หมาย ที่ ตั้ง ไว ของ ธุรกิจ นอกจาก นี้ ยัง ศึกษา เรียน รู ถึง การ บริหาร จัดสรร เวลา ใน การ บริหาร จัดการ ให เหมาะ กับ ชวง ตางๆ ของ หลักสูตรปร ญญาตร 341


การดําเนินธุรกิจ เชน ชวงเริ่มเตรียมการกอตั้งบริษัท ชวงบริษัทอยู ในระยะเริม่ เปดดําเนินการ ชวงบริษทั กําลังเติบโตและขยายธุรกิจ และ ชวงการเตรียมขยายธุรกิจใหม เปนตน บธ. 318 การวิเคราะหอัญมณีสําหรับชีวติ และธุรกิจ (3 หนวยกิต) BA 318 Gemology for Life and Business ศึกษาถึงหลักการพืน้ ฐานในการวิเคราะหอัญมณี และหิน สีลํา้ คาดวยวิธการ ี และเครือ่ งมืออยางงาย ทัง้ นี้ เพือ่ ใหผูเรี ยนสามารถ มีความรูพื้นฐานในการเลือกสรรอัญมณีมาใชในชีวิตประจําวัน เพื่อ เสริมบุคลิกภาพของการเปนผูนําและนักธุรกิจ นอกจากนี้ ผูเรียนยัง สามารถประยุกตความรูที ได ่ รับไปใชกับการดําเนินธุรกิจหรือการสราง ธุรกิจใหม บธ. 319 นพลักษณศาสตรสําหรับผูประกอบการ (3 หนวยกิต) BA 319 Enneagram for Entrepreneurs ศึกษาถึงศาสตรแหงการทําความเขาใจชีวติ จิตวิญญาณ ภายในของตนเอง บุคลิก ความนึกคิดและการแสดงออกของตนเอง ตลอดจนเชื่อมโยงถึงความสัมพันธกับผูอื่นในขั้นเบื้องตน ทั้งนี้เพื่อ ใหงายตอการรูจ กั ตนเองและเขาใจผูอื น่ และเพือ่ เปนการเตรียมความ พรอมใหผูประกอบการสามารถเรียนรูเกี่ยวกับตนเองและผูอื่น ทําให เขาใจถึงเหตุแหงแรงจูงใจในชีวิตอันจะนําไปสูการกระทําของบุคคล แตละคนอีกทั้งยังสามารถนําศาสตรนี้ไปประยุกตใชในการบริหารคน และ การ ให คํา ปรึกษา เพื่อ สง เสริม ศักยภาพ ที่ จะ ชวย ทําให ตนเอง มี ความสุขเมื่ออยูในสังคม และชวยเสริมสรางความเขาใจที่ดีระหวาง ทีมงาน เพื่อนรวมงาน และครอบครัว บธ. 320 การจัดการภาวะวิกฤตสําหรับเจาของธุรกิจ (3 หนวยกิต) BA 320 Crisis Management for Entrepreneurs ศึกษาถึงความหมายภาวะวิกฤต ปจจัยและสาเหตุของ การเกิดภาวะวิกฤตที่เกิดจากธรรมชาติหรือผลพวงของมนุษย และมี ผลกระทบตอความเชื่อมั่นระยะยาวขององคการตอสินคาและบริการ 342 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

รวมถึงความสามารถในการดําเนินการตามปกติของกิจการในภาวะ วิกฤต ศึกษาเรียนรูจากกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริงในโลกธุรกิจทั้งใน ประเทศและตางประเทศ เพือ่ เขาใจถึงกระบวนการจัดการ กระบวนการ ตัดสินใจในภาวะวิกฤต การเตรียมความพรอมเพื่อแกไขวิกฤต การ วางแผนกลยุทธเพื่อการฟนฟูกิจการภายหลังวิกฤต บธ. 325 การฝกงานดานผูประกอบการ (3 หนวยกิต) BA 325 Entrepreneurial Internship พื้นความรู: วิชาเอก-บังคับอยางนอย 3 วิชา หรือไดรับการอนุมัติจากคณบดี ศึ ก ษาถึ ง จิ ต วิ ญ ญาณของผู ป ระกอบการ ความคิ ด สรางสรรค การแสวงหาโอกาสในการลงทุนธุรกิจใหมๆ การจัดตั้ง องคการ การวางแผน การปฏิบัติงานจริง การบริหารธุรกิจอยางเปน ระบบ และหาแนวทางในการแกปญ หา โดยนักศึกษาจะตองฝกงานใน โครงการฝกงานของมหาวิทยาลัย ภายใตการดูแลของคณาจารยที่ ปรึกษาโครงการ หรือฝกงานในองคการตางๆ เปนจํานวนไมนอยกวา 200 ชั่วโมง และนักศึกษาตองจัดทํารายงานสรุปผลการฝกงานเมื่อ สิ้นสุดการฝกงาน บธ. 424 การจัดการเชิงกลยุทธและนโยบายธุรกิจ (3 หนวยกิต) BA 424 Strategic Management and Business Poicy พื้นความรู: บธ. 211 บธ. 212 บธ. 214 บธ. 215 และ บธ. 216 ศึกษาถึงทฤษฎี หลักการ กระบวนการวางแผนกลยุทธ สําหรับเจาของกิจการและธุรกิจใหมโดยการกําหนดเปาหมายและ พันธกิจขององคกร เพื่อ สราง ความ ได เปรียบ ทางการ แขง ขัน การ วิเคราะห สภาวะ แวดลอม ทั้ง ภายใน และ ภายนอก องคการ ที่ สง ผล ตอ การ กําหนด กลยุทธ ในองคการรวมถึงสําหรับธุรกิจทั้งทางดานการ ตลาด การเงิน การผลิต การจัดการ และการบริหารทรัพยากรมนุษย เพื่อนํากลยุทธสูขั้นตอนปฏิบัติ โดยเนนการนํากรณีศึกษามาใชเปน แนวทางในการวางแผนนวัตกรรม รวมถึงการจัดทําแผนกลยุทธธรุ กิจ และการติดตามประเมินผล


หมวดวิชาการตลาด ตล. 212 การตลาด (3 หนวยกิต) MK 212 Marketing ศึกษาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการตลาด ความหมาย ความสําคัญ หนาที่ทางการตลาด และศึกษาถึงสิ่งแวดลอมตาง ๆ ที่สงผลกระทบตอระบบการตลาด การบริหารการตลาดเบื้องตนเพื่อ เพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขัน การแบงสวนตลาด และการเลือก ตลาดเปาหมาย เพื่อใหเหมาะสมกับทรัพยากรขององคการ รวมถึง การศึกษาพฤติกรรมผูบริ  โภค การวิจยั ตลาดเพือ่ นําขอมูลมาประยุกต ใชทางการตลาด ตลอดจนศึกษาถึงเครือ่ งมือสําคัญทีจะ ่ ทําใหองคการ ประสบความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ ตล. 311 การจัดการผลิตภัณฑและราคา (3 หนวยกิต) MK 311 Product and Price Management พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษา ถึง แนวคิด เกี่ยว กับ การ บริหาร และ การ วางแผน กลยุทธผลิตภัณฑ การจัดประเภทผลิตภัณฑ สวนประสมผลิตภัณฑ ตราสินคา บรรจุภัณฑ ปายฉลาก วงจรชีวิตผลิตภัณฑ การพัฒนา ผลิตภัณฑ ใหม และนโยบายในการตั้งราคาทั้งในระดับผูผลิตและผู จัดจําหนาย ตลอดจนการวิเคราะหสภาพแวดลอมทางการแขงขัน เพือ่ สรางความพึงพอใจสูงสุดใหกับผูบริ  โภค และสรางความไดเปรียบ ทางการแขงขัน ตล. 312 การจัดการกระจายสินคาและโลจิสติกส (3 หนวยกิต) MK 312 Distribution and Logistics Management พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงความหมาย วัตถุประสงค ความสําคัญ สภาพ แวดลอม ที่ สง ผล กระทบ ตอ ชอง ทางการ จัดจําหนาย การ วางแผน โครงสรางของชองทางการจัดจําหนาย บทบาทและประเภทของพอคา

คนกลางรูปแบบใหมของการคาสงและการคาปลีก รวมทัง้ การจัดการ หวงโซอุปทาน การพยากรณและการบริหารคําสั่งซื้อ การบริหารการ จัดสง การบริหารคลังสินคา การจัดเก็บและเคลื่อนยายสินคา ศูนย กระจายสินคา ตลอดจนศึกษาถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใชใน ระบบการกระจายสินคา ตล. 313 การจัดการการสงเสริมการตลาด (3 หนวยกิต) MK 313 Promotion Management พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการสงเสริมการตลาด ความสําคัญของการสงเสริมการตลาดกับสวนประสมการตลาด ความ สัมพันธระหวางการสงเสริมการตลาดกับการบริหารกลยุทธทางการ ตลาด สวนประสมการสงเสริมการตลาด ซึง่ ประกอบดวย การโฆษณา การสงเสริมการขาย การประชาสัมพันธ การขายโดยพนักงานขาย และการตลาดทางตรง นอกจากนี้ยังศึกษาถึงการบริหารสวนประสม การสงเสริมการตลาด การวางแผนการสงเสริมการตลาด ตลอดจน การตลาดดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการและประเมินผลการสง เสริมการตลาด ตล. 314 พฤติกรรมผูบริโภค (3 หนวยกิต) MK 314 Consumer Behavior พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงหลักการและทฤษฎีพื้นฐานดานจิตวิทยาและ พฤติกรรม ผู บริโภค การ วิเคราะห ปจจัย ภายใน และ ภายนอก ที่ มี อิทธิพลตอพฤติกรรมผูบริโภค การวิเคราะหกระบวนการตัดสินใจซื้อ ซึ่งประกอบไปดวย การตระหนักถึงปญหา การรวบรวมขอมูล การ ประเมินทางเลือก การตัดสินใจซื้อ และการประเมินผลหลังการซื้อ ตลอดจนการศึกษาถึงการวิจัยพฤติกรรมผูบริโภคขั้นพื้นฐาน

หลักสูตรปร ญญาตร 343


ตล. 321 การวิจัยการตลาด (3 หนวยกิต) MK 321 Marketing Research พื้นความรู: ตล. 212 และ บธ. 207 ศึกษาถึงกระบวนการวิจยั การตลาด การออกแบบวิธการ ี วิจยั ใหเหมาะสมกับสถานการณและทรัพยากรทีมี่ อยู การสุม ตัวอยาง การวิเคราะหขอมูล การสรางแบบเก็บขอมูล วิธการ ี เก็บขอมูล การใช สถิตและ ิ โปรแกรมสําเร็จรูปในการประมวลผล การนําเสนอผลการวิจยั และการประยุกตใชผลงานวิจัยกับการวางแผนการตลาด

ตล. 324 การจัดการขาย (3 หนวยกิต) MK 324 Sales Management พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงความรูเบื  อ้ งตนเกีย่ วกับการบริหารการขาย การ วางแผนการขาย การพยากรณยอดขาย การจัดองคการฝายขาย รวม ทั้งการบริหารพนักงานขาย อันประกอบไปดวย การสรรหา การคัด เลือก การฝกอบรม การใหผลตอบแทน การจูงใจ การบริหารเวลา การจัดอาณาเขตการขาย การประเมินผล และการควบคุมพนักงาน ขาย ตลอดจนการเสริมสรางจรรยาบรรณเพื่อใหเปนนักขายที่ดี

ตล. 322 การบริหารลูกคาสัมพันธ (3 หนวยกิต) MK 322 Customer Relationship Management พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษา ถึง คํา นิยาม และ ขั้น ตอน ของ การ บริหาร ลูกคา สัมพันธ กลยุทธในการรักษาลูกคาเดิมและสรางลูกคาใหม บทบาท และหนาที่ของผูบริหาร พนักงาน เทคโนโลยี และขอมูลขาวสารที่มี ตอการบริหารลูกคาสัมพันธ ตลอดจนการนําเทคนิคการบริหารลูกคา สัมพันธ ไปใชในการสรางความสามารถในการแขงขันและความพึง พอใจใหกับผูบริ  โภค นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงประโยชนและขอผิดพลาด ที่เกิดขึ้นจากการบริหารลูกคาสัมพันธ โดยใชกรณีศึกษาขององคกร ธุรกิจตางๆ

ตล. 325 การตลาดสินคาแฟชั่น (3 หนวยกิต) MK 325 Fashion Marketing พื้นความรู: ตล. 212 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษาถึงประวัติที่เกี่ยวของกับแฟชั่นเครื่องแตงกายและ เครือ่ งประดับ สภาพแวดลอมทางการตลาด แนวโนมของอุตสาหกรรม และศัพทเทคนิคตาง ๆ ตลอดจนศึกษาถึงกลยุทธการแขงขันทางการ ตลาด ดานผลิตภัณฑ ราคา ชองทางการจัดจําหนาย และการสงเสริม การตลาดของสินคาแฟชั่นเครื่องแตงกายและเครื่องประดับ

ตล. 323 การจัดการตราสินคา (3 หนวยกิต) MK 323 Brand Management พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงองคประกอบและปจจัยทีมี่ อิทธิพลตอความสําเร็จ ของตราสินคา ชือ่ ตราสินคา เครือ่ งหมายตราสินคา เครือ่ งหมายการคา ลิขสิทธิ์ สัญลักษณ คําขวัญ การออกแบบบรรจุภัณฑและพิจารณาถึง รูปแบบของเครื่องมือที่ใชในการติดตอสื่อสาร เพื่อสรางการรับรูใน ตราสินคาใหเกิดขึ้นกับกลุมลูกคาเปาหมาย ตลอดจนกลยุทธและ กลวิธีในการสรางตราสินคาใหมีความแข็งแกรงและปรับตราสินคาให เปนที่ยอมรับในระดับสากล 344 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ตล. 326 การจัดการโฆษณา และบริษัทตัวแทน (3 หนวยกิต) MK 326 Advertising and Agency Management พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงประวัติ ความหมาย ความสําคัญ และประเภท ของ การ โฆษณา บทบาท หนาที่ ของ ฝายบริหาร งาน โฆษณา ของ บริษัทผูโฆษณา และบริษัทตัวแทนโฆษณา นอกจากนี้ยังศึกษาถึง การ สรางสรรคชิ้น งาน โฆษณา องค ประกอบ ของ ชิ้น งาน โฆษณา ประเภทสิ่งพิมพ การกระจายเสียงและการแพรภาพ การจัดการเกี่ยว กับสื่อโฆษณา การวางแผนและการรณรงคการโฆษณา การประเมิน ประสิทธิภาพการโฆษณา ตลอดจนกฎหมายขอบังคับที่เกี่ยวของกับ การโฆษณาและหนวยงานที่สนับสนุนการผลิตชิ้นงานโฆษณา


ตล. 327 การจัดซื้อและการเจรจาตอรอง (3 หนวยกิต) MK 327 Purchasing and Negotiations พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงความหมาย ความสําคัญ และหลักการของการ จัดซือ้ ขัน้ ตอนและกระบวนการทีเกี ่ ย่ วของการจัดซือ้ การวางแผนการ จัดหา และการเคลื่อนยายวัตถุดิบที่สงผลตอนโยบายการจัดซื้อ การ สํารวจขอมูลของผูจํ าหนาย ขอมูลผลิตภัณฑ และขอมูลตลาดอืน่ ๆ ที่ จําเปนตอนโยบายการสัง่ ซือ้ เครือ่ งมือและกลยุทธของการจัดซือ้ การ จัดการเอกสารสัญญาการจัดซื้อ ตลอดจนศึกษาถึงเทคนิคการเจรจา ตอรองทางธุรกิจเพื่อนําไปประยุกต ใชในการจัดซื้อและการดําเนิน กิจกรรมทางธุรกิจอื่นๆ ตล. 328 การตลาดบริการ (3 หนวยกิต) MK 328 Services Marketing พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงการตลาดที่เกี่ยวกับธุรกิจบริการตาง ๆ รวม ทั้ง ทฤษฎี และ แนว ความ คิด ของ การ ตลาด บริการ สมัย ใหม ตลอด จน ประเภท ของ ธุรกิจ บริการ การ กําหนด ลูกคา เปา หมาย และ พฤติกรรม ความ ตองการ ของ ลูกคา นอก จา กนี้ ยัง ศึกษา ถึง การ วิเคราะหสถานการณ และกําหนดกลยุทธของตลาดบริการ อาทิ การ วางตําแหนงบริการ การสรางความแตกตางของบริการ เปนตน รวม ตลอดถึงการศึกษาเรื่องของคุณภาพในการใหบริการ และการสราง ความสัมพันธที่ดีกับลูกคา เพื่อความสําเร็จของธุรกิจบริการ ตล. 329 การฝกงานดานการตลาด (3 หนวยกิต) MK 329 Marketing Internship พื้นความรู: สอบไดวิชาเอก-บังคับ อยางนอย 2 วิชา หรือ ไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษาถึงหลักการและแนวคิดทางการตลาดในการดําเนิน ธุรกิจ โดยการฝกภาคปฏิบตั จริ ิ งเพือ่ ประโยชนในการวางแผนงาน การ

คนหาปญหา การวิเคราะห และการหาแนวทางการแกไขปญหาทีเกิ ่ ด ขึน้ นักศึกษาจะตองฝกปฏิบตั งาน ิ ดานการตลาดในสถานประกอบการ ธุรกิจหรือในโครงการฝกงานของมหาวิทยาลัยภายใตการดูแลของ คณาจารยที่ปรึกษาโครงการเปนระยะเวลาไมนอยกวา 200 ชั่วโมง และนักศึกษาตองจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบัติงานเมื่อสิ้นสุดการ ฝกงาน ตล. 411 การตลาดระหวางประเทศและระดับโลก (3 หนวยกิต) MK 411 International and Global Marketing พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงความสําคัญของการตลาดระหวางประเทศและ ระดับ โลก สภาพ รวม การ คา โลก การ รวม กลุม ทาง เศรษฐกิจ ของ ประเทศตางๆ สภาวะแวดลอมในตางประเทศ โครงสรางและการ ดําเนินงานขององคกรระหวางประเทศ การวิจยั ตลาดระหวางประเทศ กลยุทธการตลาดระหวางประเทศ อันประกอบดวย กลยุทธผลิตภัณฑ และราคาสําหรับตลาดระหวางประเทศ การเขาสูตลาดตางประเทศ การสงเสริมการตลาดระหวางประเทศ การวางแผนและการใชสวน ประสมการตลาด ตลอดจนศึกษาถึงนโยบายการสงเสริมการคาตาง ประเทศทั้งของภาครัฐบาลและภาคเอกชน ตล. 412 การจัดกิจกรรมทางการตลาด (3 หนวยกิต) และการประชาสัมพันธ MK 412 Event Marketing and Public Relations พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงหลักการเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมทางการตลาด และการประชาสัมพันธที่เกี่ยวของกับการสรางภาพลักษณ ชื่อเสียง และความสัมพันธระหวางองคกรกับสาธารณะ ตลอดจนศึกษาถึง กลยุทธในการสงเสริมการตลาดกับการจัดกิจกรรมทางการตลาด และ การประชาสัมพันธเพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพในการสือ่ สารทางการตลาด แบบครบวงจร หลักสูตรปร ญญาตร 345


ตล. 413 การตลาดทางตรง (3 หนวยกิต) MK 413 Direct Marketing พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงหลักการของการตลาดทางตรง ความแตกตาง ระหวางการทําตลาดทางตรงกับการตลาดแบบดั้งเดิม วิธีการสราง ฐานขอมูลลูกคาจากแหลงภายในและภายนอก การกําหนดกลุม ลูกคา เปาหมาย การเลือกวิธการ ี ตลาดทางตรงทีเหมาะ ่ สมกับทรัพยากรและ สถานการณ ตลอดจนศึกษาถึงการออกแบบเครือ่ งมือที่ใชในการตลาด ทางตรงตาง ๆ กลยุทธและการวางแผนการใชการตลาดทางตรง เพือ่ เขาถึงกลุมลูกคา รวมทั้งการประเมินผลกลยุทธที่ใช ตล. 414 การพยากรณความตองการและยอดขาย (3 หนวยกิต) MK 414 Demand and Sales Forecasting พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงวิธการ ี พยากรณความตองการทางการตลาด วิธี การพยากรณความตองการและยอดขาย โดยใชเทคนิครูปแบบตาง ๆ ตลอดจนปจจัยภายในและภายนอกองคกรทีมี่ อิทธิพลตอการพยากรณ ยอดขาย นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงวิธีการควบคุมและวิเคราะหเปรียบ เทียบคาของการพยากรณกับผลที่เกิดขึ้นจริง เพื่อประโยชน ในการ วางแผนการขายและปรับปรุงแผนการขายในอนาคต ตล. 415 สถานการณปจจุบันทางการตลาด (3 หนวยกิต) MK 415 Current Issues in Marketing พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษา ถึง หัวขอ ขาว สาร ทางการ ตลาด ที่ นา สนใจ ใน ปจจุบันรวมถึงกลยุทธทางการตลาดสมัยใหม ในแวดวงธุรกิจ เพื่อ วิเคราะหอธิบาย ประเมินสถานการณ และคาดคะเน โดยการประยุกต ใชความรูทางการตลาด และการศึกษาคนควาเพิ่มเติม

346 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ตล. 416 การตลาดกีฬา (3 หนวยกิต) MK 416 Sports Marketing พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงหลักการ แนวคิด วิวัฒนาการของการตลาด กีฬาสภาวแวดลอมที่มีอิทธิพลตอการดําเนินงานของธุรกิจกีฬา การ เก็บรวบรวมขอมูลและการวิเคราะห พฤติกรรมผูบริโภค การกําหนด ลูกคา กลุมเปาหมาย การพัฒนาผลิตภัณฑ การบริหารราคา การจัด จําหนาย การสงเสริมการตลาด ตลอดจนการหาผูสนั  บสนุนในการจัด กิจกรรมที่เกี่ยวของกับตลาดกีฬา ตล. 417 การจัดการคาปลีก (3 หนวยกิต) MK 417 Retailing Management พื้นความรู: ตล. 212 ศึ ก ษา ถึ ง รู ป แบบ ของ ธุ ร กิ จ ค า ปลี ก ประเภท ต า ง ๆ พฤติกรรมการซือ้ ของลูกคา การทําธุรกิจคาปลีกแบบหลากหลายชอง ทาง การสรางกลยุทธทางการตลาดของธุรกิจคาปลีก อาทิ การเลือก แหลงและทําเลที่ตั้ง การบริหารระบบหวงโซอุปทานและเทคโนโลยี สารสนเทศ การบริหารลูกคาสัมพันธ เปนตน นอกจากนี้ ยังศึกษา ถึงการวางแผนและการจัดซื้อสินคา การคัดเลือกผลิตภัณฑเขาราน สวนประสมการสื่อสารทางการตลาดคาปลีก การบริหารกิจการราน การออกแบบและการตกแตงรานคา ตลอดจนการใหบริการและอํานวย ความสะดวกแกลูกคาในธุรกิจคาปลีก ตล. 418 การตลาดสําหรับการเปนผูประกอบการ (3 หนวยกิต) MK 418 Entrepreneurial Marketing พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงบทบาทและการบริหารทางการตลาดสําหรับ การเปนผูประกอบ  การ สิง่ แวดลอมภายในและภายนอกองคกรทีส่ งผล กระทบตอการดําเนินธุรกิจ การวางแผนกลยุทธทางการตลาดสําหรับ ผูประกอบการ อาทิ การแบงสวนตลาด การกําหนดตลาดเปาหมาย การวางตําแหนงทางการตลาด นโยบายดานผลิตภัณฑ ราคา ชอง ทางการจัดจําหนาย และการสงเสริมการตลาด


ตล. 419 การวิเคราะหเชิงปริมาณทางการตลาด (3 หนวยกิต) MK 419 Quantitative Analysis in Marketing พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะหเชิงปริมาณในรูปแบบตาง ๆ ทีเหมาะ ่ สมกับงานดานการตลาด โดยเนนการนําแนวคิดทางทฤษฎีที่ เกีย่ วของกับการวิเคราะหเชิงปริมาณไปใชในการตัดสินใจและวางแผน ดานการตลาด เชน การใชสมการถดถอยเชิงเสน การวิเคราะหการ แบงแยก การวิเคราะหอนุกรมของเวลา ทฤษฎีแถวคอย ตัวแบบการ จําลองสถานการณ การวิเคราะหการตัดสินใจ การหาจุดคุมทุน และ การวิเคราะหความเปนไปไดของโครงการ ตล. 421 สัมมนาทางการตลาด (3 หนวยกิต) MK 421 Seminar in Marketing พื้นความรู: วิชาเอก-บังคับ อยางนอย 2 วิชา ศึกษาถึงการดําเนินงานทางดานการตลาดขององคกร ธุรกิจจริง ทัง้ ทีเป ่ นองคกรในประเทศและตางประเทศ เพือ่ ใหทราบถึง ความสําเร็จและความลมเหลว ตลอดจนปญหาตาง ๆ และแนวทาง แกไขขององคกร นอกจากนี้ยังเรียนรูและฝกฝนการนําความรูที่เรียน มาประยุกต ใชเพื่อปรับปรุงแกไข โดยใชวิธีการระดมสมองและการ อภิปรายกลุม เพื่อเตรียมความพรอมกอนการปฏิบัติงานกับองคกร ภายนอกในอนาคต ตล. 422 กลยุทธการสงเสริมการขาย (3 หนวยกิต) MK 422 Sales Promotion Strategies พื้นความรู: ตล. 212 ศึ ก ษา ถึ ง ความ หมาย ความ สํ า คั ญ หน า ที่ และ วัตถุประสงคของการสงเสริมการขาย ทั้งการสงเสริมการขายที่มุงสูผู บริโภค การสงเสริมการขายที่มุงสูคนกลาง การสงเสริมการขายที่มุง สูพนักงานขายและการสงเสริมการขายโดยรานคาปลีก ขั้นตอนของ การวางแผนจะครอบคลุมถึงการวิเคราะหสถานการณ การวางแผน การสงเสริมการขาย การทดสอบแผนการสงเสริมการขาย การปฏิบตั ิ

การตามแผน และการประเมินผลกลยุทธการสงเสริมการขาย ตล. 423 การตลาดระหวางธุรกิจ (3 หนวยกิต) MK 423 Business-to-Business Marketing พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงหลักการ ความสําคัญ ประเภทของตลาดระหวาง ธุรกิจ พฤติกรรม และ กระบวนการ ตัดสิน ใจ ซื้อ การ บริหาร ความ สัมพันธระหวางธุรกิจ เทคนิคการเจรจาตอรอง การวิเคราะห การ วางแผน การกําหนดสวนประสมทางการตลาด และการประยุกตใช ระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ตลอดจนการประเมินผลและการควบคุม ตลาดระหวางธุรกิจ ตล. 424 นโยบายการตลาดเชิงกลยุทธ (3 หนวยกิต) MK 424 Strategic Marketing Policy พื้นความรู: วิชาเอก-บังคับอยางนอย 2 วิชา ศึกษาเกี่ยวกับการกําหนดนโยบายทางการตลาด โดย เนนการใชกรณีศึกษา และการนําไปประยุกตใชจริงในเชิงธุรกิจ เพื่อ ใหนักศึกษาสามารถแกไขปญหาและวางแผนไดอยางมีหลักการ รวม ทัง้ ศึกษาถึงความสําเร็จและลมเหลวของการใชนโยบายทางการตลาด ในหลากหลายรูปแบบ อาทิ นโยบายดานการแบงสวนตลาด การ กําหนดกลุมเปาหมายทางการตลาด การกําหนดตําแหนงผลิตภัณฑ และนโยบายดานสวนประสมการตลาด เปนตน ตล. 425 การศึกษาเฉพาะบุคคล (3 หนวยกิต) MK 425 Independent Study พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงหัวขอหรือปญหาทีนั่ กศึกษาสนใจ และเกีย่ วของ กับวิชาเอกทางดานการตลาด โดยหัวขอหรือปญหาที่นักศึกษาสนใจ นัน้ ตองไดรับการอนุมตั จาก ิ อาจารยทีปรึ ่ กษา ซึง่ นักศึกษาตองคนควา รวบรวมขอมูล จัดทําโครงการและนําเสนอผลงานในหัวขอหรือปญหา นั้น ๆ หลักสูตรปร ญญาตร 347


ตล. 426 การตลาดธุรกิจบันเทิง (3 หนวยกิต) MK 426 Entertainment Marketing พื้นความรู: ตล. 212 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษาถึงหลักการ บทบาท หนาที่ และการกําหนดเปา หมายทางการตลาด สวนประสมทางการตลาด และการวิจัยตลาดที่ เกี่ยวกับธุรกิจบันเทิง อาทิ ภาพยนตร ดนตรี กีฬา สวนสนุก ทอง เทีย่ วและสถานบันเทิง เปนตน ตลอดจนกลยุทธทางการตลาดทีเกี ่ ย่ ว กับการขาย การสงเสริมการขายการโฆษณา การประชาสัมพันธ และ การตลาดทางตรงที่มีผลตอความสําเร็จของธุรกิจบันเทิง เปนตน ตล. 427 การตลาดเทคโนโลยีชั้นสูง (3 หนวยกิต) MK 427 Hi-Tech Marketing พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงแนวคิด หลักการ ความสําคัญ และวิธีการนํา เทคโนโลยีชั้นสูงไปประยุกต ใชในการวางแผนการตลาด การพัฒนา ผลิตภัณฑใหม เพือ่ ใหสอดคลองกับความตองการของตลาดในปจจุบนั และเพื่อเปนแนวทางในการตัดสินใจทางการตลาดของผูบริหาร รวม ทั้งยังศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่สงผลกระทบตอการ กําหนดกลยุทธทางการตลาดขององคกร ตล. 428 การตลาดอิเล็กทรอนิกส (3 หนวยกิต) MK 428 E-Marketing พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงหลักการที่เกี่ยวกับการตลาดผานสื่ออิเล็ก-ทรอ นิกสและผานเครือขายอินเทอรเน็ต วิเคราะหรูปแบบการพาณิชย อิเล็กทรอนิกส และวิเคราะหความสัมพันธระหวางสมาชิกตาง ๆ ใน โครงสรางธุรกิจอิเล็กทรอนิกส ตลอดจนศึกษาถึงทฤษฎีเกี่ยวกับสวน ประสมทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส เพื่อนํามาประยุกตใชในองคกร ธุรกิจหรืออํานวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจ พรอมทั้งศึกษา

348 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หลักการวิเคราะหพฤติกรรมของผูบริโภค อันจะเปนประโยชนตอการ สรางความสัมพันธทางการตลาด ตล. 429 การจัดการธุรกิจบริการ (3 หนวยกิต) MK 429 Hospitality Business Management พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาภาพรวมของธุรกิจตอนรับและบริการ อันประกอบ ดวยธุรกิจโรงแรม ทองเที่ยว สายการบิน รานอาหาร สปา เปนตน ศึกษาระบบการบริหารจัดการ ปจจัยสิ่งแวดลอมภายในและภายนอก องคกรที่สงผลกระทบตอการจัดการและการดําเนินธุรกิจตอนรับและ บริการ ตลอดจนศึกษาการวางแผน การจัดโครงสรางองคกร การสั่ง การ การประสานงาน การควบคุม ภาวะความเปนผูนําและการสราง แรงจูงใจ การบริหารทรัพยากรมนุษย การตลาด และการใหบริการ นักเดินทาง นักทองเที่ยว และแขกผูมาเยือน ตลอดจนการศึกษาถึง การเขียนแผนการตลาดของธุรกิจตอนรับและบริการ ตล. 430 การจัดการเพื่อการสงออกและนําเขา (3 หนวยกิต) MK 430 Export-Import Management พื้นความรู: ตล. 212 ศึกษาถึงหลักการ ความสําคัญ ขั้นตอนเพื่อการสงออก และนําเขา กระบวนการตัดสินใจเลือกตลาดและสินคา กฎระเบียบ ขอ บังคับ ขอกําหนดที่เกี่ยวของกับการสงออกและนําเขา การทําสัญญา ซือ้ ขายเงือ่ นไขการสงมอบสินคา การชําระเงิน สินเชือ่ เพือ่ การสงออก และนําเขา พิธกี ารศุลกากร และการจัดการเอกสารการสงออกและนํา เขาอยางมีประสิทธิภาพ


ตล. 431 การพัฒนาและวางแผนผลิตภัณฑใหม (3 หนวยกิต) MK 431 New Product Planning and Development พื้นความรู: ตล. 212 ศึ ก ษาถึ ง กระบวนการพั ฒ นาและวางแผน การนํ า ผลิตภัณฑใหมเขาสูตลาด ทั้งในรูปแบบผลิตภัณฑนวัตกรรม ผลิตภัณฑปรับปรุงใหมผลิตภัณฑเลียนแบบ ดวยขั้นตอนการสรางแนว ความคิด การกลั่นกรองแนวความคิด การประเมินผลแนวความ คิด การวิเคราะหโอกาสทางธุรกิจ การพัฒนาผลิตภัณฑตนแบบ การทดสอบตลาด ตลอดจนการดําเนินธุรกิจจริงใหมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับสถานการณทางการตลาดในปจจุบัน

หมวดวิชาการเงิน กง. 212 การเงินธุรกิจ (3 หนวยกิต) FI 212 Business Finance พื้นความรู: บช. 201 ศึกษาถึงการบริหารการเงินในองคกรธุรกิจ เพือ่ ใหบรรลุ เปาหมายในการเพิ่มมูลคาแกองคกร โดยพิจารณาถึงบทบาทของผู บริหารในการจัดหาเงินทุนจากแหลงเงินทุนตาง ๆ การคํานวณตนทุน ของเงินลงทุน การบริหารสินทรัพยและหนีสิ้ น และการนําเงินมาลงทุน อยางมีประสิทธิภาพ ภายใตการวิเคราะหโครงการลงทุน รวมถึงการ ศึกษาแนวคิดเกีย่ วกับโครงสรางเงินทุน ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลง โครงสรางเงินทุนตอความเสีย่ งและผลตอบแทนของผูถื อหุน

กง. 222 การบัญชีบริหาร (3 หนวยกิต) FI 222 Managerial Accounting พื้นความรู: บช. 202 และ กง. 212 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี เพือ่ ใหนกั ศึกษามีความรูค วามเขาใจในงบการเงิน ตลอด จนการใชงบการเงินใหเปนประโยชนตอการบริหาร ศึกษาถึงแนวคิด เกี่ยวกับตนทุนเพื่อใชในการวางแผน ควบคุม และการตัดสินใจของ ฝายบริหาร กง. 311 การจัดการทางการเงิน (3 หนวยกิต) FI 311 Financial Management พื้นความรู: กง. 212 ศึกษาถึงกลยุทธ เทคนิค และวิธการ ี ในการจัดการทางการ เงิน โครงสรางของเงินทุน การวิเคราะหการจัดหาและการจัดสรรเงินทุน การวางแผนและการพยากรณทางการเงิน ตลอดจนนโยบาย ทางธุรกิจ ที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจในการบริหารการเงินภายใตสถานการณที่ แตกตางกัน การประยุกตใชแนวคิด ทฤษฎีทางการเงินในการวิเคราะห ถึงการตัดสินใจตางๆ ของผูบริ  หาร โดยการใชกรณีศึกษา กง. 312 ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน (3 หนวยกิต) FI 312 Financial Market and Institutions ศึกษาระบบการเงิน สินทรัพยทางการเงิน โครงสราง และ การ ดําเนิน งาน ของ ตลาด การ เงิน ธนาคาร พาณิชย ธนาคาร แหง ประเทศ ไทย ตลาดหลักทรัพย แหง ประเทศ ไทย สถาบัน การ เงินประเภทอื่นในประเทศไทย และสถาบันการเงินระหวางประเทศ นอกจากนี้ยังศึกษาถึงนโยบายการบริหาร การดําเนินงาน กฎหมาย ทีเกี ่ ย่ วของเครือ่ งมือทางการเงิน รวมตลอดถึงปจจัยทีมี่ ผลกระทบตอ ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน

หลักสูตรปร ญญาตร 349


กง. 313 การจัดการสินเชื่อและหนี้สิน (3 หนวยกิต) FI 313 Credit and Debt Management พื้นความรู: กง. 212 ศึกษา ถึง ลักษณะ และ ขอบเขต ของ การ บริหาร สิน เชื่อ และหนี้สิน ประเภทของสินเชื่อและหนี้สิน ความเสี่ยงในการใหสิน เชือ่ นโยบายการพิจารณาการใหสินเชือ่ การจัดการสินเชือ่ ทัง้ ในสวน ขององคกร ธุรกิจทั่วไปและสถาบันการเงิน การรวบรวมขอมูลเพื่อ ใชในการจัดการหนี้สิน วิธีการเรียกเก็บหนี้ การจัดชั้นหนี้ การปรับ โครงสรางหนี้ การบริหารหนี้ที่มีปญหาและหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได รวมทั้งกฎหมาย และพระราชบัญญัติตาง ๆ ที่เกี่ยวของ กง. 314 การวางแผนและควบคุมทางการเงิน (3 หนวยกิต) FI 314 Financial Planning and Control พื้นความรู: กง. 212 ศึกษาถึงกระบวนการวางแผนทางการเงิน การจัดเตรียม ขอมูลสําหรับการวางแผนและควบคุมทางการเงิน การปฏิบัติและ ติดตามผลการปฏิบตั งาน ิ ใหเปนไปตามแผนการ วิธการ ี แกปญหาและ การปรับแผนโดยใชความรูดานการจัดการ เครื่องมือในการวางแผน ทางการเงิน และเทคนิคการพยากรณทางการเงิน กง. 315 นโยบายการเงินและการคลัง (3 หนวยกิต) FI 315 Monetary and Fiscal Policy พื้นความรู: ศศ. 202 ศึกษาถึงทฤษฎีการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจ เปาหมาย และ เครื่อง มือ ใน การ ดําเนิน นโยบายเศรษฐกิจ มหภาค การ รักษา เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ นโยบายการเงินและการคลังของรัฐบาล วิวัฒนาการ ปจจัยตาง ๆ ที่เปนตัวกําหนดนโยบาย แนวคิดและเปา หมายในการใชนโยบาย ตลอดจนผลกระทบทางเศรษฐกิจตอการ ดําเนินงานของภาคธุรกิจ

350 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กง. 316 การวางแผนทางการเงินสวนบุคคล (3 หนวยกิต) FI 316 Personal Financial Planning ศึกษา ถึง ความ สําคัญ ของ การ วางแผน การ เงิน การ กําหนดเปาหมายทางการเงินที่ดี กระบวนการในการวางแผนการเงิน สวนบุคคล การจัดทํางบดุล งบรายได คาใชจาย และงบประมาณ เงินสดสวนบุคคล การจัดการสินทรัพยและหนี้สิน การวางแผนการ ลงทุน การออม การประกันภัย และการวางแผนทางภาษีสวนบุคคล การสรางวินยั ทางการเงินใหตนเอง รวมตลอดถึงการวางแผนการเงิน หลังเกษียณ กง. 321 หลักการลงทุน (3 หนวยกิต) FI 321 Principles of Investment พื้นความรู: กง. 212 และ กง. 312 ศึกษา ถึง หลัก การ เบื้อง ตน ใน การ ตัดสิน ใจ ลงทุน การ ประเมินมูลคาการลงทุน ความเสี่ยงภัยและผลตอบแทนที่ไดรับจาก การลงทุน ลักษณะและแหลงขอมูลที่ ใชในการวิเคราะหการลงทุน การวิเคราะห ปจจัยพื้นฐานและการวิเคราะหทางเทคนิค การลงทุน ในตราสารทางการเงินและหลักทรัพย รวมทัง้ การลงทุนในรูปแบบอืน่ ๆ กง. 322 การจัดการการเงินระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) FI 322 International Financial Management พื้นความรู: กง. 212 และ ศศ. 202 ศึกษาความรูพื้นฐานในการบริหารการเงินและดําเนิน ธุรกิจระหวางประเทศ ซึ่งประกอบไปดวย ทฤษฎีและระบบการเงิน ระหวางประเทศ ดุลการชําระเงิน ตลาดปริวรรตเงินตราตางประเทศ และกลไกและระบบอัตราแลกเปลีย่ น ตลอดจนการศึกษาประเภทของ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่มีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจ กลยุทธและเครื่องมือการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บทบาทของสถาบันการเงินระหวางประเทศ ตลาดเงินและตลาดทุน ระหวางประเทศ และการระดมทุนจากตลาดเงินและตลาดทุนระหวาง ประเทศ


กง. 323 การวิเคราะหรายงานทางการเงิน (3 หนวยกิต) FI 323 Financial Statement and Reporting Analysis พื้นความรู: กง. 212 ศึกษา ถึง แนวคิด และ หลัก การ ใน การ ใช ขอมูล ทางการ เงิน รายงานทางการเงิน วัตถุประสงคของการวิเคราะหทางการเงิน สําหรับธุรกิจประเภทตาง ๆ เชน ธุรกิจอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และธุรกิจบริการ รวมถึงศึกษาถึงเทคนิคในการวิเคราะหทางการเงิน และขอจํากัดในการวิเคราะหโดยใชขอมูลจากงบการเงิน เปนตน กง. 324 การจัดการระบบสารสนเทศทางการเงิน (3 หนวยกิต) FI 324 Financial Information Systems Management พื้นความรู: กง. 212 ศึกษาถึงหลักการ และความสําคัญของระบบสารสนเทศ ของธุรกิจ โครงสรางของระบบสารสนเทศทางการเงิน การพัฒนา และ การประยุกต ใชสารสนเทศทางการเงินสําหรับงานดานการวางแผน การพยากรณทางการเงิน การบริหารเงินทุน การควบคุมทางการเงิน เพือ่ การวางแผน การควบคุม การประเมินผลการปฏิบตั งาน ิ และการ ตัดสินใจทางธุรกิจ กง. 325 การเงินเพื่อการนําเขาและสงออก (3 หนวยกิต) FI 325 Import-Export Financing ศึกษาถึงหลักการคาระหวางประเทศ วิวฒ ั นาการทางการ คาระหวางประเทศของไทย มาตรการการกีดกันทางการคา สิทธิ ประโยชนและเงื่อนไขทางการคา และการชําระเงินระหวางประเทศ มาตรการสงเสริมการสงออก การบริการทางการเงิน วิธีการดําเนิน การทางการเงินเพื่อการนําเขาและสงออก สินเชื่อเพื่อการนําเขาและ สงออก ตลอดจนศึกษาถึงบทบาทของสถาบันการเงินในกระบวนการ นําเขาและสงออก นโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวของตาง ๆ

กง. 326 ตราสารหนี้และตลาดตราสารหนี้ (3 หนวยกิต) FI 326 Fixed-Income Securities and Market พื้นความรู: กง. 212 ศึกษาถึงตลาดตราสารหนี้ วิวฒ ั นาการของตลาดตราสาร หนี้ในประเทศไทย ประเภทตราสารหนี้ การกําหนดราคา ผลตอบแทน และโครงสรางอัตราผลตอบแทน รวมถึงความเสี่ยง และปจจัยที่มีผล กระทบตออัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ การวัดความแปรปรวน ของราคา การจัดอันดับเครดิตของตราสารหนี้ และการแปลงสินทรัพย ใหเปนหลักทรัพย กง. 327 ธุรกิจหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (3 หนวยกิต) แหงประเทศไทย FI 327 Securities Business and the Stock Exchange of Thailand พื้นความรู: กง. 212 ศึกษาถึงโครงสรางและบทบาทของตลาดหลักทรัพย วิวฒ ั นาการของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย การดําเนินงานและ การกํากับดูแลธุรกิจหลักทรัพย ลักษณะและประเภทของหลักทรัพย วิ ธี การปฏิ บั ติ ใ นการซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย ใ นตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย ตลอดจนระเบียบและพระราชบัญญัติที่เกี่ยวของ กง. 328 การเงินและการธนาคาร (3 หนวยกิต) FI 328 Money and Banking ศึกษาถึงวิวัฒนาการของเงินตรา ความสําคัญของเงินที่ มีตอระบบเศรษฐกิจ วิธีการจัดระบบเงินตราของประเทศไทย ปจจัย ที่มีผลกระทบตอปริมาณเงิน สภาวะเงินเฟอและเงินฝด กลไกในการ ควบคุมปริมาณเงิน ระบบการธนาคารในประเทศไทยและธนาคารตาง ชาติ รวมถึงหนาที่ในการกํากับดูแลธนาคารพาณิชยของธนาคารแหง ประเทศไทย หลักสูตรปร ญญาตร 351


กง. 329 การประเมินราคาอสังหาริมทรัพย (3 หนวยกิต) FI 329 Real Estate Appraisal พื้นความรู: กง. 212 ศึกษาประเภทอสังหาริมทรัพย แนวคิดในการประเมิน ราคาอสังหาริมทรัพย และปจจัยที่มีผลตอการประเมินราคา เชน ประเภทและลักษณะของอสังหาริมทรัพย สภาพแวดลอม สภาวะ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ตลอดจนกฎหมายทีเกี ่ ย่ วของกับการตัดสิน ใจประเมินราคาอสังหาริมทรัพย เพื่อใชเปนหลักประกันหรือเพื่อการ ลงทุน เปนตน

กง. 414 การประกันภัย (3 หนวยกิต) FI 414 Insurance พื้นความรู: กง. 212 ศึกษาถึงการประกอบธุรกิจการประกันภัย ประเภทของ ภัยตามทฤษฎีของการประกันภัย หนาที่ และความรับผิดชอบของ บริษัทประกัน ความหมายและหลักเกณฑ เงื่อนไขของการประกัน การคํานวณเบี้ยประกัน สิทธิที่จะไดรับความคุมครอง มูลคาเวนคืน กรมธรรม หนาที่และความรับผิดชอบของบริษัทประกัน รวมถึงสิทธิ ประโยชนที่ไดรับจากการประกัน

กง. 411 การจัดการความเสี่ยง (3 หนวยกิต) FI 411 Risk Management พื้นความรู: กง. 212 ศึกษา ถึง ความ เสี่ยง ใน การ ดําเนิน งาน และ ความ เสี่ยง ทางการเงิน ความสําคัญของการบริหารความเสี่ยงที่มีตอบริษัท และ สถาบันการเงิน ผลกระทบของความเสี่ยงตอมูลคาของบริษัท วิธีการ วัดความเสี่ยงในรูปแบบตาง ๆ แนวคิดเกี่ยวกับการกระจายความ เสี่ยงรวมถึงกลยุทธและเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง เชน การ ใชอนุพันธทางการเงิน เปนตน

กง. 415 สถานการณปจจุบันทางการเงิน (3 หนวยกิต) FI 415 Current Issues in Finance พื้นความรู: กง. 212 ศึกษาถึงหัวขอขาวสาร กรณีศึกษา และนวัตกรรมทางการ เงินทีน่ าสนใจในปจจุบนั พัฒนาการของตลาดเงิน ตลาดทุน และเครือ่ ง มือทางการเงินใหม ๆ ที่สําคัญ เพื่อวิเคราะห วิจารณ และประเมิน สถานการณ โดยนําความรูและทฤษฎีทางการเงินมาประยุกตใชและ ศึกษาคนควาเพิ่มเติม

กง. 412 การศึกษาความเปนไปได (3 หนวยกิต) และการประเมินโครงการ FI 412 Feasibility Study and Project Evaluation พื้นความรู: กง. 311 ศึกษาถึงหลักการ ขั้นตอน และเครื่องมือตาง ๆ เพื่อ ประเมินความเปนไปไดของโครงการลงทุน ทั้งดานการตลาด การ จัดการการผลิต การเงิน รวมถึงการติดตามและประเมินผลโครงการ ลงทุน โดยศึกษาทัง้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั พร ิ อมทัง้ จัดทําโครงการ และนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน เพื่อเปนประโยชนตอการตัดสินใจ ลงทุน 352 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กง. 416 การเงินและการลงทุนอสังหาริมทรัพย (3 หนวยกิต) FI 416 Real Estate Finance and Investment พื้นความรู: กง. 212 ศึกษาถึงการประยุกตแนวคิดทางการเงินเพื่อใชในการ ประเมินมูลคาอสังหาริมทรัพย และสินเชื่ออสังหาริมทรัพย วิเคราะห ความเสี่ยงของอสังหาริมทรัพย และสินเชื่อประเภทตาง ๆ รวมทั้ง ศึกษาถึงภาวะตลาดอสังหาริมทรัพย และวงจรของตลาด ตลอดจน การจัดหาเงินทุนจากอสังหาริมทรัพยในตลาดทุน และหลักทรัพยใน ตลาด เชน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย และการแปลงสินทรัพยให เปนหลักทรัพย เปนตน


กง. 421 สัมมนาทางการเงิน (3 หนวยกิต) FI 421 Seminar in Finance พื้นความรู: วิชาเอก-บังคับอยางนอย 2 วิชา ศึ ก ษา และ ประยุ ก ต ใช ทฤษฎี ทาง ด า น การ เงิ น เพื่ อ วิเคราะหประเมินผล และหาแนวทางแกไขโดยใชกรณีศึกษา นอกจาก นี้ ผูเรียนยังตองศึกษาคนควาเพิ่มเติมเพื่อนําเสนอผลการคนควาตอ หนาชั้นเรียน พรอมทั้งมีการอภิปราย และแสดงความคิดเห็นรวมกัน ภายใตการดูแลและการใหคําแนะนําของอาจารย ผูสอน  และผูท รงคุณ วุฒิจากหนวยงานภายนอก กง. 422 การเงินสําหรับผูประกอบการ (3 หนวยกิต) และธุรกิจขนาดยอม FI 422 Entrepreneurial and Small Business Finance พื้นความรู: กง. 212 ศึกษาถึงลักษณะตาง ๆ ของธุรกิจขนาดยอม ทฤษฎี ทางการเงินที่เกี่ยวของ การวางแผนทางการเงินตั้งแตเริ่มดําเนิน กิจการ การจัดเตรียมและวิเคราะหรายงานทางการเงินเพือ่ การบริหาร จัดการทางการเงิน การศึกษาและประเมินโครงการขนาดยอม การ วางแผนเพือ่ เตรียมขยายขนาดของธุรกิจ และการเตรียมการทางการ เงินเพื่อจัดหาเงินทุนจากแหลงเงินทุนภายนอก กง. 423 ตราสารอนุพันธและตลาดอนุพันธ (3 หนวยกิต) FI 423 Derivative Securities and Market พื้นความรู: กง. 212 ศึกษาถึงตราสารอนุพันธประเภทตาง ๆ เชน สัญญา ซื้อ ขาย ลวง หนา และ สิทธิ์ ใน การ ซื้อ ขายสินทรัพย อางอิง รวม ถึง วิวัฒนาการและกลไกของตลาดอนุพันธ องคกรที่เกี่ยวของในการ กํากับดูแลตลาดอนุพันธ การกําหนดราคาตราสารอนุพันธ ปจจัยที่มี ผลกระทบตอราคาของตราสาร และเทคนิคการใชตราสารอนุพันธใน การปองกันความเสี่ยง เปนตน

กง. 424 การวิเคราะหหลักทรัพย (3 หนวยกิต) และการจัดการกลุมหลักทรัพย FI 424 Securities Analysis and Portfolio Management พื้นความรู: กง. 212 และ กง. 312 ศึกษาหลักพื้นฐานในการลงทุน หลักการลงทุน การ วิเคราะห การ ลงทุน ใน หลัก ทรัพย ประเภท ของ หลัก ทรัพย ความ มี ประสิทธิภาพ ของ ตลาดหลักทรัพย วิธี การ ที่ ใช ใน การ วิเคราะห และประเมินราคาหลักทรัพย การวัดความเสี่ยงและการคํานวณผล ตอบแทน ปจจัย ที่ มี ผล กระทบ ตอ การ ตัดสิน ใจ ลงทุน ปจจัย ที่ มี ผล กระทบตอมูลคาหลักทรัพย การกระจายการลงทุนเพื่อลดความเสี่ยง และการลงทุนในกลุมหลักทรัพยอยางมีประสิทธิภาพ กง. 425 การศึกษาเฉพาะบุคคล (3 หนวยกิต) FI 425 Independent Study พื้นความรู: กง. 212 เปนการศึกษาเฉพาะรายบุคคลเกี่ยวกับหัวขอทางการ เงินที่นักศึกษาสนใจ โดยอาจารยผูสอนและผูศึกษาจะรวมกันกําหนด หัวขอรายงานหรืองานวิจยั เพือ่ ใหผูศึ กษาคนควาวิจยั ดวยตนเอง ภาย ใตการดูแลและการใหคําแนะนําจากอาจารยผูสอน กง. 426 การวิจัยทางการเงิน (3 หนวยกิต) FI 426 Research in Finance พื้นความรู: กง. 212 และ บธ. 207 ศึกษาถึงระเบียบวิธีวิจัย ขอบเขต และความสําคัญของ การวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ แลวใหนักศึกษานําปญหา ทางการเงินที่นาสนใจในขณะนั้นมาทําการวิจัย จัดทํารายงานและนํา เสนอผลสรุปการวิจัย รวมถึงการนําผลการวิจัยที่ไดมาประยุกตใชใน เชิงธุรกิจ หรือกําหนดเปนขอเสนอแนะสําหรับการศึกษาคนควาตอไป ในอนาคต หลักสูตรปร ญญาตร 353


กง. 428 การฝกงานทางการเงิน (3 หนวยกิต) FI 428 Financial Internship พื้นความรู: กง. 212 ฝกปฏิบัติงานทางดานการเงินในองคกรธุรกิจหรือฝก การวางแผน และวางระบบทางการเงินในธุรกิจ ที่ไดรับอนุมัติจาก ภาควิชาการเงิน โดยผานเกณฑการฝกงานตามที่หนวยงานและภาค วิชาการเงินกําหนด เพื่อใหนักศึกษาไดฝกฝน และประยุกตใชความรู ทางการเงินในการปฏิบตั งาน ิ จริงภายใตการควบคุมดูแล และประเมิน ผลการทํางานจากหัวหนาหนวยงาน นอกจากนีนั้ กศึกษาจะตองจัดทํา รายงานสรุปผลการฝกงานเมื่อสิ้นสุดการทํางาน

หมวดวิชาการจัดการธุรกิจสมัยใหม จก. 101 ความรูเบื้องตนทางธุรกิจ (3 หนวยกิต) MG 101 Introduction to Business ศึกษาถึงรูปแบบการจัดตั้งธุรกิจ ซึ่งครอบคลุมถึงกิจการ ตั้งแตเจาของคนเดียว หางหุนสวน และบริษัทจํากัด ลักษณะสภาพ แวดลอมของธุรกิจ กิจกรรมทางธุรกิจดานการผลิต การตลาด การ เงิน การบัญชี และการบริหารงานบุคคล กฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของ กับธุรกิจ สถาบันการเงิน เอกสารเครดิตตางๆ และการบริหารจัดการ เพื่อปูพื้นฐานแนวคิดของการบริหารธุรกิจและเพื่อใหเกิดความเขาใจ ในกิจกรรมแตละดานของธุรกิจ อันจะเปนประโยชนตอการศึกษาวิชา เฉพาะดานตอไป

354 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

จก. 112 การจัดการ (3 หนวยกิต) MG 112 Management ศึกษาถึงวิวฒ ั นาการของแนวความคิดและทฤษฎีทางการ จัดการ หลักและแนวคิดเกี่ยวกับหนาที่ทางดานการจัดการ อันไดแก การวางแผน การจัดองคการ การจัดคนเขาทํางาน การสั่งการ การ จูงใจ และการควบคุม รวมถึงศึกษาทฤษฎีการจัดการสมัยใหม สภาพ แวดลอมทีมี่ อิทธิพลตอการจัดการ ตลอดจนความรับผิดชอบตอสังคม และจริยธรรมทางธุรกิจ จก. 212 การจัดการงานผลิตและการดําเนินงาน (3 หนวยกิต) MG 212 Production and Operations Management ศึกษาถึงความรูเบื  อ้ งตนและขอบเขตของการบริหารการ ผลิต การคาดคะเนหรือพยากรณการผลิต การออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ การเลือกทําเลที่ตั้ง การวางผังโรงงาน การจัดซื้อ การ บริหาร กําลังการผลิต การบริหารสินคาคงคลัง การบริหารโครงการ การควบคุมคุณภาพและการบํารุงรักษาเครื่องจักร จก. 222 การเปนผูป ระกอบการและการพัฒนาธุรกิจ (3 หนวยกิต) MG 222 Entrepreneurship and Business Development พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงความหมาย บทบาท ประเภท และคุณลักษณะ พิเศษของผูป ระกอบการ การมองหาโอกาสใหมๆ ในการลงทุนในโลก ธุรกิจ การเริ่มตน ความกาวหนา การบริหารธุรกิจอยางเปนระบบ ความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจ และการกําหนดแนวทางการดําเนิน งานของธุรกิจในรูปแบบของแผนธุรกิจเพือ่ ผูป ระกอบการจะไดใชเปน ตัวกําหนดทิศทางในการดําเนินธุรกิจจริงได ปลูกจิตวิญญาณของการ เปนเจาของกิจการ และการทําหนาทีเ่ ปนทีป่ รึกษาใหกบั ผูป ระกอบการ ทั่วไป


จก. 311 การจัดการองคการและปจเจกบุคคล (3 หนวยกิต) MG 311 Management of Organizations and Individuals พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงวิธีการบริหารองคการในรูปแบบตางๆ โดยใช ความรู ความสามารถ ตลอดจนทักษะของผูน าํ ในการบริหารองคการ จิตวิทยาการเรียนรู การรับรูคานิยม ทัศนคติ บุคลิกภาพเพื่อเสริม สรางบรรยากาศและสภาพแวดลอมโดยทั่วไปขององคกร ตลอดจน เสริมสรางระบบยอยตางๆ ในการจัดการใหสอดคลองกับการสราง ทัศนคติและความรูส กึ ในการมีสวนรวมกับองคกรของบุคลากรภายใน จก. 313 การจัดการเชิงกลยุทธสมัยใหม (3 หนวยกิต) MG 313 Modern Strategic Management พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงความหมาย ทฤษฎี หลักการ ความสําคัญของ กลยุทธ รวมถึงเทคนิคในการวิเคราะหสภาวะแวดลอมทั้งภายในและ ภายนอก รวมทัง้ ศึกษาประเภทของกลยุทธทีผู่ บริ  หารใชในการกําหนด กลยุทธขององคกร การนําแผนกลยุทธไปปฏิบตั ิ การควบคุมและการ ประเมินผลเชิงกลยุทธ นอกจากนีย้ งั ศึกษาถึงเครือ่ งมือทางการจัดการ ที่ทันสมัยใหม เพื่อชวยผูบริหารสามารถจัดการเชิงกลยุทธไดอยางมี ประสิทธิภาพ จก. 314 การจัดการและพฤติกรรมองคการ (3 หนวยกิต) MG 314 Management and Organization Behavior พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงพฤติกรรมของบุคคล กลุม และองคการ ทางดาน สังคม จิตวิทยา มานุษยวิทยา คานิยม คุณคาขององคกร วัฒนธรรม องคกรทัง้ ทีเ่ ปนทางการและไมเปนทางการ การเปลีย่ นแปลงและความ ขัดแยงภายในองคกร เพื่อใหเกิดความเขาใจในพฤติกรรมของบุคคล กลุม และองคกรทีท่ าํ งานรวมกัน สามารถบริหารจัดการธุรกิจหรืองาน ตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

จก. 315 การจัดการสํานักงาน (3 หนวยกิต) MG 315 Administrative Office Management พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงแนวคิดและหลักการบริหารสํานักงานสมัยใหม การ จัด องคการ สํานักงาน การ บริหารพื้นที่ และ การ จัดการ สภาพ แวดลอมภายในสํานักงาน การบริหารพัสดุสํานักงาน การบริหาร เอกสารและการติดตอสื่อสารภายในสํานักงาน รวมทั้งการวิเคราะห พัฒนาระบบ การบริหารสํานักงาน การควบคุมงานสํานักงาน การ บริหาร สํานักงาน อัตโนมัติ ตลอด จน ศึกษา ถึง แนว โนม การ บริหาร สํานักงานในอนาคต จก. 316 การจัดการระบบการใหบริการ (3 หนวยกิต) MG 316 Service Operations Management พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาความหมาย ความสําคัญของงานบริการ การจัดการ งานบริการดานตาง ๆ เครื่องมือและเทคนิคสําหรับการจัดการงาน บริการ กลยุทธของการจัดการงานบริการ การออกแบบและพัฒนา งานบริการ การกําหนดนโยบายในธุรกิจบริการอยางเหมาะสม รวม ทั้งแนวความคิดในการควบคุมคุณภาพงานบริการ และแนวทางการ ปรับปรุงคุณภาพในงานบริการอยางตอเนือ่ งเพือ่ สรางคุณคาและความ พึงพอใจแกลูกคา จก. 317 การตอรองทางธุรกิจและการจัดการ (3 หนวยกิต) ความขัดแยง MG 317 Business Negotiation and Conflict Management พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงแนวคิด หลัก การและ เทคนิค ของการ ตอรอง ทางธุรกิจ การวางแผนการเจรจาตอรองอยางเปนระบบ การเลือก ใชกลยุทธและการประเมินกลยุทธในการเจรจาตอรอง นอกจากนี้ยัง ศึกษาถึงทักษะการติดตอสือ่ สารเพือ่ การเจรจาตอรองทีมี่ ประสิทธิภาพ ตลอดจนปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ในการเจรจาตอรอง หลักสูตรปร ญญาตร 355


จก. 318 กลยุทธการจัดการบริษัทขามชาติ (3 หนวยกิต) และบริษัทระดับโลก MG 318 Strategies in Global and Multinational Corporation Management พื้นความรู: จก.112 ศึกษาถึงทฤษฎี หลักการ แนวความคิดขององคความ รูดานการจัดการเชิงกลยุทธอยางเปนระบบในบริบทของการจัดการ องคกรขามชาติ โดยใหนักศึกษาเขาใจความหมาย ความสําคัญ และ ทฤษฎีในการบริหารทีม่ คี วามแตกตางกันในดานวัฒนธรรม ความเชือ่ ความคิด ตลอดจนเทคนิคการจัดการองคกรที่อยูในสภาพแวดลอม ทางวัฒนธรรมที่แตกตางกัน รวมถึงเรียนรูรูปแบบการจัดการองคกร และการบริหารองคกรขามชาติอยางมีประสิทธิภาพ เพือ่ เพิม่ ขีดความ สามารถในการวิเคราะหสภาพแวดลอม กําหนดกลยุทธการนําไป ปฏิบัติ รวมทั้งการควบคุม และประเมินผล นอกจากนี้แลวยังศึกษา ถึงตัวแบบของการประยุกตใชกลยุทธของธุรกิจขามชาติในบริบทที่มี ความหลากหลายและมีความรวมสมัย จก. 319 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ (3 หนวยกิต) สําหรับธุรกิจ MG 319 Business Information Technology Management พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงการใชประโยชนจากระบบสารสนเทศในงานดาน ตาง ๆ ของธุรกิจครอบคลุมเนื้อหาการใชประโยชนระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารทรัพยากร และกิจการขององคกร เชน บริหาร ทรัพยากรบุคคล บริหารการเงิน การบัญชี การผลิต และสินคาคงคลัง พาณิชยอิเล็กทรอนิกส งานขาย การบริการ การบริหารเครือขายผู ผลิตและการบริหารความสัมพันธกับลูกคา การใชระบบสารสนเทศ เพือ่ ดําเนินกิจการ เพือ่ สนับสนุนการตัดสินใจ เพือ่ สือ่ สารทัง้ ในองคกร นอกองคกรและระหวางองคกรดวยระบบอินเทอรเน็ตและอินทราเน็ต รวมถึงเทคโนโลยีใหม ๆ ที่ใชในธุรกิจหรือสังคม เปนตน 356 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

จก. 321 การวางแผนและควบคุมดานการจัดการ (3 หนวยกิต) MG 321 Management Planning and Control พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงความหมาย ความสําคัญของการวางแผน การ วางแผนนโยบาย วิธีการใชกระบวนการวางแผน กระบวนการตัดสิน ใจ และ การ ตัดสิน ใจ ใน การ บริหาร องคการ แนวคิด ใน การ กําหนด วัตถุประสงคและนโยบายองคการ ขัน้ ตอนการวางแผน ความสัมพันธ ของการวางแผนกับการควบคุมประเภท วิธการ ี และการออกแบบระบบ การควบคุม ตลอดจนการประเมินผลการปฏิบัติงาน จก. 322 การวิจัยธุรกิจ (3 หนวยกิต) MG 322 Business Research พื้นความรู: จก. 112 และ บธ. 207 ศึกษาถึงความหมาย ประเภทและขอบเขตของการวิจัย ธุรกิจ การเขียนโครงรางการวิจยั กระบวนการวิจยั การกําหนดปญหา และวัตถุประสงค การออกแบบวิจัยรวมถึงเทคนิคการวิจัยใหม ๆ และการนําเทคโนโลยีสมัยใหมมาเพิ่มประสิทธิภาพของการวิจัยและ คุณภาพของงานวิจยั การวิเคราะหขอมูลและการนําเสนอผลการวิจยั การนําผลวิจัยไปประยุกตใชในการกําหนดกลยุทธทางธุรกิจ ปญหาที่ มักพบในการวิจยั และแนวทางแกไข รวมตลอดถึงจริยธรรมและจรรยา บรรณของนักวิจัย จก. 323 ภาวะผูนําและการพัฒนาทีมงาน (3 หนวยกิต) MG 323 Leadership and Team Development พื้นความรู: จก. 112 ศท. 111 หรือ ศป. 221 ศึกษาถึงความหมายและรูปแบบของผูนํา บทบาทของ ผูนําในการสรางแรงจูงใจ และความรวมมือของบุคลากรทุกระดับ ชั้นในองคการ เพื่อใหเกิดการสรางและพัฒนาทีมงานที่ดี ดวยการ เสริมสรางบุคลิกภาพ มนุษยสัมพันธ รวมทั้งฝกฝนทักษะ และความ สามารถในการเปนผูบริหารและผูนําทีม เพื่อใหนักบริหารสามารถ กําหนดแนวทางและพัฒนาความสามารถในการเปนผูนําไดอยางมี ประสิทธิภาพ


จก. 324 การจัดการธุรกิจในครอบครัว (3 หนวยกิต) MG 324 Family Business Management พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงการดําเนินงานทีเกี ่ ย่ วกับธุรกิจในครอบครัวเพือ่ ชวยทําใหเกิดความคิดใหม ๆ ซึง่ สามารถนําไปพัฒนาในการวางแผน การดําเนินอาชีพรวมถึงการจัดการเกี่ยวกับโครงสรางและความเกี่ยว ดองของครอบครัว การลดความขัดแยง การเรียนรูถึงการสรางสรรค โอกาสตาง ๆ ใหเกิดขึ้น รวมถึงการสรางศักยภาพใหตนเองมีความ ไดเปรียบทางการคา อันจะสงผลใหครอบครัวประสบความสําเร็จ

และการสงมอบสินคาคงคลัง โดยเชื่อมโยงกับหลักของการบริหาร วัสดุและการวางแผนดานการผลิต เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปโดย เกิดประสิทธิภาพสูงสุด จก. 327 การสื่อสารในองคกร (3 หนวยกิต) MG 327 Organization Communication ศึกษาความสําคัญและปญหาของการสื่อสารภายในและ ภายนอกองคการ โดยเนนพฤติกรรมทางการสื่อสารของบุคคลที่มี ความหมายตอการสื่อสาร ตลอดจนรูปแบบของการสื่อสารที่เกิดขึ้น ในองคการ โครงสรางองคการที่มีผลตอลักษณะและรูปแบบของการ สื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

จก. 325 การฝกงานดานวิชาชีพ (3 หนวยกิต) MG 325 Professional Internship พื้นความรู: วิชาเอก-บังคับ อยางนอย 2 วิชา หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษาถึงการจัดตั้งองคการ การวางแผน การปฏิบัติงาน จริงและหาแนวทางในการแกปญหา โดยนักศึกษาจะตองฝกงานใน โครงการฝกงานของมหาวิทยาลัย ภายใตการดูแลของคณาจารยที่ ปรึกษาโครงการหรือฝกงานในองคการตาง ๆ เปนจํานวนไมนอยกวา 200 ชัว่ โมง และนักศึกษาตองจัดทํารายงานสรุปผลการฝกงานเมือ่ สิน้ สุดการฝกงาน

จก. 328 การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี (3 หนวยกิต) MG 328 Innovation and Technology Management พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงแนวความคิด ทฤษฎี ประเภทของนวัตกรรม และการประยุกตนวัตกรรมและเทคโนโลยีในงานธุรกิจ ทั้งดานการ วิจัย ดานการผลิต และดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ ยังศึกษา ถึงหลักการบริหารทรัพยสินทางปญญา อันไดแก สิทธิบัตร อนุสิทธิ บัตร ลิขสิทธิ์ความลับทางการคาและเครื่องหมายการคา

จก. 326 การจัดการสินคาและคลังสินคา (3 หนวยกิต) MG 326 Inventory and Warehouse Management พื้นความรู: จก. 212 ศึกษาถึงความหมาย วัตถุประสงคในการควบคุมสินคา คงคลัง การวางแผน การพยากรณ เทคนิคการควบคุมสินคาคงคลัง โดยวิธีตางๆ โดยเนนกิจการที่มีสินคามากชนิด และปริมาณสินคา คงคลังแตกตางกัน รวมทั้งศึกษาถึงทฤษฎี แนวคิด หลักการ และวิธี ปฏิบตั ิในการบริหารคลังสินคา การบริหารขอมูลทีเ่ กีย่ วกับคลังสินคา วิธีการวางระบบในการรับสินคาคงคลัง การเคลื่อนยายสินคาคงคลัง

จก. 329 การจัดการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ (3 หนวยกิต) MG 329 Information Technology Service Management พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงการบริหารบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศใน องคกร การจัดหา การเลือกผูใหบริการ ผูใช พฤติกรรมองคกร และ การบริหารองคกร ขอตกลงระดับการใหบริการ เทคโนโลยีและเทคนิค เพือ่ การใหบริการ การบริหารบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศ การ คิดตนทุนของการใหบริการ ปจจัยหลักของความสําเร็จ โดยผาน ตัวอยางกรณีศึกษาของหนวยงานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตรปร ญญาตร 357


จก. 331 ผูประกอบการเทคโนโลยีสารสนเทศ (3 หนวยกิต) MG 331 Information Technology Entrepreneurship พื้นความรู: จก. 112 ศึกษากระบวนการในการเริ่มตนเปนผูประกอบการ การ ประสบความสําเร็จของผูป ระกอบการการประเมินและการตระหนักถึง โอกาสของธุรกิจกลยุทธสําหรับกอตั้งและพัฒนาการลงทุนทางธุรกิจ สําหรับผูประกอบการวิชานี้ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของการลงทุนแบบ ใหมๆการลงทุนสําหรับวิสาหกิจของกลางและขนาดยอมรวมทั้งการ ลงทุนในองคกรที่มีขนาดใหญขึ้น จก. 332 การจัดการสื่อดิจิตอลออนไลน (3 หนวยกิต) MG 332 Online Digital Media Management พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงสื่อดิจิตอลออนไลนประเภทและชนิดตาง ๆ เทคนิคการสราง การเรียบเรียง และการจัดเก็บสื่อดิจิตอลในรูปแบบ มาตรฐาน การแปลงขอมูล การใชเครื่องมือทางซอฟตแวรเพื่อสราง สื่อดิจิตอลออนไลน เสียง ภาพนิ่ง วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว การสราง โปรแกรมเพือ่ ใชสอื่ เปนสวนประกอบทีเ่ หมาะสมกับการนําเสนอทัง้ บน สื่อจัดเก็บในคอมพิวเตอรและบนเครือขาย การใชโปรแกรมเพื่อสราง สื่อดิจิตอลประเภทตาง ๆ ที่เหมาะสมกับการใชงานในธุรกิจตางๆ จก. 333 การจัดการความเสีย่ งและการเปลีย่ นแปลง (3 หนวยกิต) MG 333 Risk and Change Management พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงการพัฒนาระบบปองกันบริหารความเสี่ยงใน องคกรที่มีประสิทธิภาพ ศึกษาถึงวิธีการเปลี่ยนแปลงองคการอยาง เปนระบบ เพื่อใหองคการมีประสิทธิภาพ สามารถปรับตัวเขากับการ เปลี่ยนแปลงทั้งจากภายในและภายนอกองคการ

358 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

จก. 411 การจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส (3 หนวยกิต) MG 411 E-Business Management พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงระบบเครือขาย องคประกอบพื้นฐาน โปรแกรม ประยุกตตางๆ ที่ ใชในระบบธุรกิจอิเล็กทรอนิกส และประเด็นทาง กฎหมาย จริยธรรม ที่ เกี่ยวของ กับ ความ ปลอดภัย ของ ระบบ ธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส รวมทั้งวางแผนกลยุทธดานการตลาดของระบบเครือ ขาย ตลอดจนการบริหารงานดานธุรกิจอิเล็กทรอนิกส นับตั้งแตการ วางแผน การจัดองคการ การสั่งการ และการควบคุมงานในระดับ ปฏิบัติการ จก. 412 การจัดการคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต (3 หนวยกิต) MG 412 Quality and Productivity Management พื้นความรู: จก. 112 และ บธ. 207 ศึกษาถึงความเปนมาของการบริหารคุณภาพ แนวคิด และปรัชญาการบริหารคุณภาพในแบบตางๆ เครื่องมือเทคนิคใน การบริหารงานคุณภาพ ชองทางในการบริหารคุณภาพภายในองคกร ศึกษาแนวทางในการเพิ่มผลิตใหกับองคกร เทคนิคการเพิ่มผลผลิต ระบบการผลิตเพื่อลดความสูญเปลาในการทํางาน การลดความสูญ เสียในการทํางาน ตลอดจนการการบูรณาการแนวคิด ปรัชญาการ บริหารคุณภาพและการเพิ่มผลิตในการปฏิบัติงานใหมีคุณภาพและ ประสิทธิภาพตอบสนองตอวัตถุประสงคขององคกร


จก. 413 การวิเคราะหเชิงปริมาณทางการจัดการ (3 หนวยกิต) MG 413 Quantitative Analysis for Management พื้นความรู: จก. 212 ศึกษาถึงแนวคิดและทฤษฎีของการวิจัยการดําเนินงาน เพื่อใชประกอบการตัดสินใจทางการบริหารและการดําเนินงานของ องคกร โดย เนน ศึกษา เรื่อง เกี่ยว กับ การ ตัดสิน ใจ ใน สถานการณ ที่ ไมแนนอน การวางแผนและควบคุมสินคาคงคลัง การประยุกต ใช โปรแกรมเสนตรงเพือ่ การตัดสินใจ การวางแผนการขนสง การบริหาร เครือขายและโครงการ รวมตลอดถึงการวิเคราะหจํานวนชองใหบริการ ที่เหมาะสมกับปริมาณลูกคา โดยมีการนําเอาโปรแกรมสําเร็จรูปมา ประยุกตใชในการเรียนการสอน จก. 414 การจัดการหวงโซอุปทานและโลจิสติกส (3 หนวยกิต) MG 414 Supply Chain and Logistics Management พื้นความรู: จก. 212 ศึกษาถึงความหมาย ความสําคัญ และกระบวนการใน การบริหารหวงโซอุปทาน และการจัดสงโดยเริ่มจากธุรกิจตนทาง จนถึงธุรกิจปลายทาง รวมทั้งศึกษาถึงความสําคัญของการไหลเวียน ของขอมูลการจัดสงและการไหลเวียนของเงิน อันจะเปนประโยชนตอ การสรางความไดเปรียบในการแขงขัน การบริการลูกคาและการเพิ่ม คุณคาใหกับธุรกิจ จก. 415 สถานการณปจจุบัน (3 หนวยกิต) ทางการจัดการธุรกิจสมัยใหม MG 415 Current Issues in Modern Business Management พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาและวิเคราะหประเด็นและเหตุการณตาง ๆ ที่เกิด ขึ้นในการบริหารงานในปจจุบัน อันจะสงผลตอการวางแผน การจัด องคการ การติดตอสื่อสาร การจัดคนเขาทํางาน การเปนผูนํา และ การควบคุมการดําเนินงาน นอกจากนี้ ยังมีการนําเอาแนวคิดและ

เทคนิคการจัดการสมัยใหมเขามาประยุกต ใชในการดําเนินงานเพื่อ ใหการบริหารงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด สอดคลองกับสภาวการณ การเปลี่ยนแปลงทางการบริหารที่เกิดขึ้นในปจจุบัน จก. 416 การวิเคราะหการลงทุนทางธุรกิจ (3 หนวยกิต) MG 416 Business Investment Analysis พื้นความรู: จก. 112 และ กง. 212 ศึกษา ถึง หลัก การ เบื้อง ตน ใน การ ลงทุน การ วิเคราะห ความเปนไปไดทางดานการลงทุน โดยพิจารณาถึงปจจัยภายในและ ปจจัยภายนอกที่มีผลกระทบตอการลงทุนในธุรกิจ ตลอดจนประเมิน ถึงประสิทธิภาพการใชทรัพยากร การจัดหาและจัดสรรแหลงเงินทุน ความเสี่ยงภัยและผลตอบแทนที่ไดรับจากการลงทุน โดยใชวิธีการ ศึกษาทั้งทางทฤษฎีและการออกภาคสนาม อันจะเปนประโยชนตอ การวางแผนและตัดสินใจทางธุรกิจ จก. 417 การประยุกตใชซอฟตแวรในธุรกิจ (3 หนวยกิต) MG 417 Software Applications in Business พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงความสําคัญและบทบาทของการนําซอฟตแวรมา ใชในการเพิม่ ประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจ ในดานการวางแผน การ บริหารงานและการควบคุม โดยเนนถึงการศึกษาโครงสรางและวิธการ ี ใชซอฟตแวรสําเร็จรูปทางธุรกิจทีนิ่ ยมในปจจุบนั สําหรับเครือ่ งไมโคร คอมพิวเตอร เชน ซอฟตแวรสําเร็จรูปเกีย่ วกับระบบการจัดซือ้ ระบบ สินคาคงคลัง ระบบการจัดการวัตถุดิบ เปนตน

หลักสูตรปร ญญาตร 359


จก. 418 ประสบการณทางธุรกิจ (3 หนวยกิต) MG 418 Business Experience พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงขอเท็จจริงเกีย่ วกับสภาพแวดลอมของธุรกิจ และ กลยุทธการดําเนินธุรกิจตาง ๆ โดยเรียนรูจากการดูงานจริง หรือใช กรณีศึกษาจริง ซึง่ จะมีการเชิญผูประกอบ  กิจการเปนวิทยากรผูท รงคุณ วุฒิ นักศึกษาจะไดรับมอบหมายใหจัดทําโครงการหรือรายงาน เพื่อ นําเสนอและอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน

จก. 423 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (3 หนวยกิต) MG 423 Management Intormation Systems พื้นความรู: จก. 112 และ ศท. 112 ศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎี หลักการ ความหมาย บทบาท ของระบบสารสนเทศ องคประกอบการพัฒนา การนําระบบสารสนเทศ มาใช นอกจากนีย้ งั ศึกษาถึงการจัดการเชิงกลยุทธในการนําระบบสาร สนเทศมาประยุกตใชในองคกร จรรยาบรรณในการใชระบบสารสนเทศ รวมตลอดถึงแนวโนมและทิศทางของระบบสารสนเทศในอนาคต

จก. 421 สัมมนาทางการจัดการธุรกิจสมัยใหม (3 หนวยกิต) MG 421 Seminar in Modern Business Management พื้นความรู: วิชาเอก-บังคับ อยางนอย 2 วิชา ศึกษาและวิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นทางดานการจัดการ เพือ่ เสนอแนวคิดในการแกไขปญหาและสงเสริมใหเปนไปในแนวทาง ที่วางไว นักศึกษาจะตองทําการอภิปราย ทํารายงานและแสดงความ คิดเห็นในปญหาของการจัดการโดยการใชกรณีศึกษา รวมถึงการเชือ่ ม โยงสถานการณปจจุบันเขากับหัวขอทางดานการจัดการ

จก. 424 การจัดการเชิงกลยุทธและนโยบายธุรกิจ (3 หนวยกิต) MG 424 Strategic Management and Business Policy พื้นความรู: จก. 112 จก. 212 ตล. 212 กง. 212 และ อม. 212 : จก. 212 ตล. 212 กง. 212 และ บม. 201 (สําหรับนักศึกษาคณะบัญชีรนุ ทีเ่ ขาศึกษาตัง้ แตป 2554) ศึกษาถึงทฤษฎี หลักการ กระบวนการวางแผนกลยุทธ เพือ่ สรางความไดเปรียบทางการแขงขันการวิเคราะหสภาวะแวดลอม ทัง้ ภายในและภายนอกองคการทีส่ งผลตอการกําหนดกลยุทธ โดยเนน การนํากรณีศึกษามาใชเปนแนวทางในการวางแผนนโยบายธุรกิจใน องคกรทั้งทางดานการตลาด การเงิน การผลิต การจัดการ และการ บริหารทรัพยากรมนุษย

จก. 422 จริยธรรมธุรกิจ (3 หนวยกิต) MG 422 Business Ethics พื้นความรู: จก. 112 ศึกษา ถึง ความ หมาย ของ จริยธรรม ความ สําคัญ ของ จริยธรรม การนําจริยธรรมมาประกอบการตัดสินใจทางดานธุรกิจ ตลอดจนศึกษากรณีศึกษาตาง ๆ ในแงมุมของจริยธรรม เพื่อนําไป ประยุกตใชในการดําเนินงานดานธุรกิจ และเพือ่ เปนประโยชนในชีวติ ประจําวันที่สอดคลองกับสังคมและวัฒนธรรมที่เปนอยู

360 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

จก. 425 การศึกษาเฉพาะบุคคล (3 หนวยกิต) MG 425 Independent Study พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาคนควาและรวบรวมขอมูลดานการจัดการเชิงกลยุทธในเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ ทีมี่ ความสําคัญเปนรายบุคคล โดยนักศึกษาจะ ตองกําหนดหัวขอรายงานหรืองานวิจยั และจัดทํารายงานดวยตนเอง อยางละเอียด และนําแสดงผลงานวิจยั หรือรายงานทีเสร็ ่ จสมบูรณตอ อาจารยผูสอน  โดยอาจารยผูสอน  จะเปนผูก าํ กับดูแลใหคําแนะนําเกีย่ ว กับการทํารายงานแกนักศึกษา


จก. 426 การวิเคราะหและการพยากรณธุรกิจ (3 หนวยกิต) MG 426 Business Forecasting and Analysis พื้นความรู: บธ. 207 ศึกษา ถึง ความ หมาย ประเภท และ ขอบเขต ของ การ วิเคราะหและการพยากรณธุรกิจ เทคนิคและเครื่องมือตาง ๆ สําหรับ การวิเคราะหธุรกิจ ความสัมพันธระหวางการวิเคราะหธุรกิจและการ พยากรณธุรกิจ การเก็บรวบรวมขอมูล เทคนิคและเครื่องมือตาง ๆ สําหรับการพยากรณ การประเมินคุณภาพของเครื่องมือ และการนํา ผลการพยากรณธุรกิจไปใชในการตัดสินใจทางธุรกิจ จก. 427 การจัดการโครงการ (3 หนวยกิต) MG 427 Project Management พื้นความรู: จก. 112 ตล. 212 กง. 212 และ อม. 212 หรือ ไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษาถึงความหมาย หลักการ และขอบเขตของการ บริหารโครงการ รวมถึงโอกาสหนาที่ของผูบริหารโครงการ โดยเนน ให เกิด ความ รู ความ เขาใจ ใน การ สราง และ แสวงหา โอกาส ใน การ สรางโครงการใหม ๆ และสามารถวิเคราะหปญหาอุปสรรคในการทํา โครงการ ตลอดจนการประเมินความเปนไปไดของโครงการ และเนน ใหผูเรียนไดประยุกตใชโปรแกรมสําเร็จรูป

จก. 430 สหกิจศึกษา (9 หนวยกิต) MG 430 Co-operative Education พื้นความรู: วิชาเอก-บังคับอยางนอย 3 วิชา หรือ ไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการธุรกิจ ในฐานะพนักงานของสถานประกอบการเพื่อเสริมสรางใหนักศึกษา มีความพรอมดวยงานอาชีพจากการปฏิบัติงานพื้นฐานอยางมีหลัก การและเปนระบบ นักศึกษาจะตองมีชั่วโมงการทํางานอยางเต็มเวลา รวมแลวไมนอยกวา 16 สัปดาห หรือ 1 ภาคการศึกษา รวมถึงมีการ ประเมินผลการทํางานจากอาจารยทีปรึ ่ กษารวมกับสถานประกอบการ ธุรกิจและนักศึกษาตองจัดทํารายงานสรุปผลการทํางานเมือ่ สิน้ สุดการ ทํางานจากสถานประกอบการ จก. 440 เกมหมากลอม (โกะ) : (3 หนวยกิต) การพัฒนาทักษะ การคิดเชิงกลยุทธ MG 440 Go: The Strategic Thinking Skill ศึกษาถึงกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธเพื่อสรางความ ไดเปรียบในการแขงขัน การคิดและวิเคราะหสภาพแวดลอมตางๆ ที่ มุง เนนการสรางและพัฒนาทักษะการคิดเชิงกลยุทธแบบเปนเหตุเปน ผล ตลอดจนการพัฒนาการคิดเพื่อคนหาแนวทางแกไขปญหา การ ศึกษาจะเนนรูปแบบการเรียนรูจากเกมหมากลอม โดยใหนักศึกษา ไดทดลองฝกปฏิบัติและฝกเลนจริง

จก. 428 สัมมนาหัวขอพิเศษสาขาวิชาการจัดการ (3 หนวยกิต) ธุรกิจสมัยใหม MG 428 Seminar in Selected Topics for Modern Business Management พื้นความรู: วิชาเอก-บังคับอยางนอย 2 วิชา ศึกษาและวิเคราะหหัวขอที่นาสนใจที่ถูกคัดเฉพาะ และ เปนประโยชนทางดานการจัดการ นักศึกษาจะตองทําการอภิปราย ทํารายงานและ แสดงความคิดเห็น โดยการใชกรณีศึกษา รวมถึงการ เชื่อมโยงสถานการณปจจุบันเขากับหัวขอทางดานการจัดการ หลักสูตรปร ญญาตร 361


หมวดวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย อม. 201 การจัดการองคการและทรัพยากรมนุษย (3 หนวยกิต) OH 201 Organization and Human Resource Management ศึกษากระบวนการจัดการองคการทางดานการวางแผน การจัดโครงสรางองคการ การมอบหมายงาน การประสานงานและ การควบคุมประเมินผลงาน การบริหารสภาพแวดลอมภายในองคการ กระบวนการในการจัดการทรัพยากรมนุษยตั้งแตการสรรหา การคัด เลือก การพัฒนา การธํารงรักษาตลอดจนการประเมินผลการปฏิบัติ งาน นอกจากนี้เนื้อหาของรายวิชายังครอบคลุมถึงการพัฒนาการ ปฏิบตั งิ านของบุคลากรในดานการทํางานเปนทีม การมีสว นรวม การ มอบหมายอํานาจหนาที่และการยอมรับการเปลี่ยนแปลง เพื่อให บุคลากรสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพทั้งในดานการปฏิบัติ งาน การตัดสินใจและการแกปญหา อม. 212 การจัดการทรัพยากรมนุษย (3 หนวยกิต) OH 212 Human Resource Management ศึกษา ถึง บทบาท หนาที่ และ ความ รับ ผิด ชอบ ของ ฝาย บริหาร ทรัพยากร บุคคล ใน องคการ ตาง ๆ ดาน การ ออกแบบ และ วิเคราะหงาน การวางแผนกําลังคน การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร การฝกอบรมและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การประเมินผลการ ปฏิบตั งาน ิ การบริหารคาตอบแทนและสวัสดิการ การแรงงานสัมพันธ ความปลอดภัยและสุขภาพ ตลอดถึงระบบสารสนเทศและการวิจยั ดาน การบริหารทรัพยากรบุคคล

362 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

อม. 311 การวางแผนทรัพยากรมนุษยเชิงกลยุทธ (3 หนวยกิต) OH 311 Strategic Human Resource Planning พื้นความรู: อม. 212 ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการการวางแผนและนโยบายการ บริหารทรัพยากรมนุษยขององคการ ในดานการวางแผนกําลังคนทั้ง ในระยะสั้นและระยะยาว การสรรหาและคัดเลือกเพื่อใหไดบุคลากรที่ สอดคลองกับความตองการขององคการ รวมถึงการสํารวจวิเคราะห ความรูความสามารถของตัวบุคลากรที่มีอยู ในปจจุบันเพื่อวางแผน พัฒนาความรู ความสามารถ และทักษะของบุคลากรใหสอดคลอง กับแผนกลยุทธขององคการ และศึกษาถึงวิธีการธํารงรักษาบุคลากร ที่มีคุณภาพขององคการ อม. 312 พฤติกรรมองคการ (3 หนวยกิต) OH 312 Organization Behavior พื้นความรู: จก. 112 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษาถึงพฤติกรรม บุคคล กลุม และองคการ ความรู ทางดานจิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา รวมถึงการติดตอสือ่ สาร การจูงใจ ภาวะผูนํา การตัดสินใจ การเปลี่ยนแปลงและความขัดแยง ในองคการ ทัง้ นี้ เพือ่ ใหเกิดความเขาใจพฤติกรรมของคนทีทํ่ างานใน องคการรวมกัน และการบริหารงานมีทัง้ ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ อม. 313 เทคนิคการสรางแรงจูงใจ (3 หนวยกิต) OH 313 Motivation Techniques พื้นความรู: จก. 112 และ อม. 212 ศึกษาถึงบทบาท สถานภาพของการจูงใจในหนวยงาน หรือองคการ ความหมายของการจูงใจ ความสําคัญของการจูงใจ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ ทฤษฎีแรงจูงใจทั้งที่เปนตัวเงิน และ ไม เปนตัว เงิน ปจจัย ที่ กอ ให เกิด แรง จูงใจ ใน การ ทํางาน แนว ความคิดเกีย่ วกับเรือ่ งเงินเดือน ตลอดจนการนําหลักการจูงใจไปปรับ ประยุกตใชใหเหมาะสมเพื่อเพิ่มผลผลิตขององคการ


อม. 315 การบริหารองคการอุตสาหกรรม (3 หนวยกิต) OH 315 Industrial Organization Management พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาแนวคิด วิธีการบริหารองคการในเชิงอุตสาหกรรม โดยพิจารณาถึง โครงสราง วัตถุดิบ รวมถึงปจจัยภายในที่เปนปจจัย นําเขาขององคการ ตลอดจนสภาพแวดลอมภายนอก องคประกอบ ทางกายภาพและเทคนิควิธีการจัดการเชิงปริมาณตาง ๆ อาทิ การ วางแผนและการบริหารความเสี่ยง การควบคุมคุณภาพในการผลิต ขององคการใหไดมาตรฐานและมีประสิทธิภาพสูงสุด อม. 316 จิตวิทยาองคกร (3 หนวยกิต) OH 316 Organizational Psychology พื้นความรู: ศท. 111 และ อม. 312 ศึกษา ถึง ลักษณะ ทาง จิตวิทยา ของ บุคคล กลุม และ องคการ ที่ เกี่ยวของ กับ บรรยากาศ และ วัฒนธรรม องคการ ความ ตองการและความแตกตางระหวางบุคคล ชนิดของกลุม และพฤติกรรม กลุม องคประกอบที่มีอิทธิพลตอประสิทธิภาพขององคการ การใช ภาวะผูนํา การสรางมนุษยสัมพันธในการทํางาน การสรางขวัญและ ความพึงพอใจในการทํางาน การบริหารความขัดแยงและความรวม มือ การออกแบบงานและสภาพแวดลอมในการทํางาน ตลอดจนการ จัดการกับความกดดัน ความเหนือ่ ยลา อุบตั เิ หตุและความไมปลอดภัย ตาง ๆ ในที่ทํางาน อม. 321 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย (3 หนวยกิต) OH 321 Human Resource Development พื้นความรู: อม. 212 ศึกษาถึงความหมาย ความสําคัญ ประเภท ตลอดจน วิธีการตาง ๆ ที่องคการใชในการพัฒนาความรูความสามารถของ บุคลากร เชน การฝกอบรม การพัฒนาผูบริหาร การพัฒนาอาชีพ ในสายงานการทํางานเปนทีม และองคการแหงการเรียนรู เพื่อให

บุคลากรปฏิบัติงานในหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ มีศักยภาพที่จะ เรียนรูและรับผิดชอบงานที่สูงขึ้นไดในอนาคต มีโลกทัศนใหม ๆ ใน การพัฒนางานและองคการ ตลอดจนสามารถปรับตัวเขากับสภาพ แวดลอมของการทํางานที่เปลี่ยนแปลงไปไดเปนอยางดี สงผลตอ ความสําเร็จและความเจริญกาวหนาของบุคคลและองคการ อม. 322 ทฤษฎีและการออกแบบองคการ (3 หนวยกิต) OH 322 Organization Theory and Design พื้นความรู: จก. 112 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษาถึงแนวความคิด ทฤษฎีองคการ องคประกอบของ องคการ โครงสรางองคการ การจัดแผนกงาน อํานาจหนาที่ การ ออกแบบงาน การออกแบบองคการ และศึกษาถึงความสัมพันธของ โครงสรางขององคการกับการทํางานของบุคคลในองคการ ซึ่งถูกนํา มาใชในการออกแบบองคการ เพื่อใหสอดคลองกับสภาพแวดลอม และทันตอการเปลี่ยนแปลง อม. 323 การบริหารผลงานและคาตอบแทน (3 หนวยกิต) OH 323 Compensation and Performance Management พื้นความรู: อม. 212 ศึกษาถึงกระบวนการในการกําหนดมาตรฐานและเปา หมาย ของ ผล งาน ให สอดคลอง กับ นโยบายและ กลยุทธ ธุรกิจ ของ องคการ วิธีการประเมินผลงานของบุคลากร การใหความดีความ ชอบ การปรับปรุง ผลงานในอนาคต รวมทั้งศึกษาถึงความหมาย หลักการ โครงสรางหลักเกณฑและวิธีการจายคาตอบแทน โดยอาศัย การประเมินคางานปจจัยดานสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอก องคการที่มีผลกระทบตอการกําหนดคาตอบแทน ตลอดจนเทคนิค การบริหารคาจางเงินเดือนและผลประโยชนเกื้อกูลรูปแบบตาง ๆ

หลักสูตรปร ญญาตร 363


อม. 325 การพัฒนาบุคลิกภาพ (3 หนวยกิต) OH 325 Personality Development ศึกษาเกี่ยวกับบุคลิกภาพภายในและภายนอก ศึกษาถึง วิธีการปรับปรุงบุคลิกภาพในดานการแตงกายใหเหมาะสม การแตง กายของสุภาพบุรษุ และสุภาพสตรี การบํารุงรักษาสุขภาพ การวางตัว การปรากฏตัวตอทีชุ่ มชน การพัฒนาลักษณะนิสยั สวนตัว ศึกษาเกีย่ ว กับมนุษยสัมพันธ มารยาทไทยและมารยาทในการสมาคม การฝกพูด ในรูปแบบตาง ๆ บุคลิกภาพของการเปนผูน าํ บุคลิกภาพในการสมัคร งาน มารยาทในการประชุม ตลอดจนวัฒนธรรมและประเพณีไทย อม. 326 การจัดการทรัพยากรมนุษยระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) OH 326 International Human Resource Management ศึกษา ถึง ความ หมาย และ ความ สําคัญ ของ การ บริหาร ทรัพยากร มนุษย ระหวาง ประเทศ ความ แตก ตาง ของ การ บริหาร ทรัพยากรมนุษยภายในประเทศกับการบริหารทรัพยากรมนุษยระหวาง ประเทศ โดย จะ เนน ถึง กระบวนการ สรรหา และ การ คัด เลือก การ ประเมินผลการปฏิบัติงาน การจูงใจ การฝกอบรมแรงงานสัมพันธ และการจัดสวัสดิการสําหรับการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ อม. 327 ระบบขอมูลขาวสารเพือ่ การบริหารองคการ (3 หนวยกิต) และทรัพยากรมนุษย OH 327 Organization and Human Resource Information Systems พื้นความรู: อม. 212 อม. 312 และ ศท. 112 ศึกษาถึงการประยุกต ใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การบริหารองคการ และการบริหารทรัพยากรมนุษยซึ่งจะชวยใหผู ทําหนาที่บริหารสามารถบริหารงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยการ ศึกษาวิชานี้เปนการศึกษาการบริหารจัดการองคกรในภาพรวมแลว อธิบายถึงความสําคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษยในองคการ โดย จะชี้ใหเห็นถึงประโยชนและความจําเปนของการใชระบบเทคโนโลยี 364 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

สารสนเทศในกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยขององคการตั้งแต การรับสมัครงานจนถึงการออกจากองคการ เชน การรับสมัครงาน ฐานขอมูลพนักงาน การจายคาจางเงินเดือน เปนตน อม. 411 การพัฒนาองคการและการเปลี่ยนแปลง (3 หนวยกิต) OH 411 Organization Development and Change พื้นความรู: จก. 112 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย และแนวคิดทฤษฎีของการ พัฒนาองคการ ความสําคัญของกระบวนการพัฒนาองคการ ตัวแปร เชิงพฤติกรรมที่สําคัญในการพัฒนาองคการ ผูนําการเปลี่ยนแปลง กับการพัฒนาองคการ การตอตานการเปลี่ยนแปลงในองคการ การ บริหารความขัดแยงในการพัฒนาองคการและการประเมินผลการ พัฒนาองคการเพือ่ ชวยใหองคการสามารถปรับเปลีย่ นรูปแบบเทคนิค การพัฒนาองคการใหมีความสอดคลองกับสภาพแวดลอมที่มีการ เปลี่ยนแปลง อม. 412 การจัดการแรงงานสัมพันธ (3 หนวยกิต) OH 412 Labor Relation Management พื้นความรู: อม. 212 ศึ ก ษา ถึ ง ปรั ช ญา ของ ไตรภาคี ทวิ ภาคี ประวั ติ การ กอ ตั้ง สหภาพแรงงาน สากล และ ใน ประเทศ แนวทาง การ กอ ตั้ง สหภาพแรงงาน การกําหนดขอบังคับสภาพการจางงาน ขอขัดแยง ระหวางนายจางกับลูกจาง กระบวนการเจรจาตอรอง กฎหมายแรงงาน เกี่ยวกับการนัดหยุดงาน การจัดทําขอตกลงรวมกัน และผลบังคับ ของขอตกลงรวมกัน ทั้งนี้ โดยการเนนใหเห็นถึงปญหาแรงงานใน ประเทศไทย


อม. 414 การบริหารองคการขามชาติ (3 หนวยกิต) OH 414 Multinational Organization Management พื้นความรู: จก. 112 ศึกษาถึงหลักและแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดองคการ ระหวาง ประเทศ การ ดําเนิน การ บริหาร งาน ของ องคการ ระหวาง ประเทศ ระเบียบบริหารและขอบังคับขององคการ การกําหนดนโยบาย การจัดการภายในองคการ บทบาทของหนวยงานที่ปรึกษาองคการ แนวทางการพัฒนาองคการระหวางประเทศ การทําโครงการตาง ๆ การจัดสรรงบประมาณ การบริหารงานบุคคลในองคการ เอกสิทธิและ ความคุมกันปญหาดานการบริหารองคการระหวางประเทศ การแก ปญหาและการปรับตัวเขาสูสภาพแวดลอม ดานกฎหมาย เศรษฐกิจ รวมทั้งการศึกษาถึงวัฒนธรรมขององคการระหวางประเทศ อม. 415 สถานการณปจจุบนั ทางการบริหารองคการ (3 หนวยกิต) และทรัพยากรมนุษย OH 415 Current Issues in Organization and Human Resource Management พื้นความรู: อม. 212 และ อม. 312 ศึกษาหัวขอขาวสารและเทคนิคการทํางานใหม ๆ ทางการ บริหารองคการและการบริหารทรัพยากรมนุษยที่นาสนใจในปจจุบัน พัฒนาการทางการบริหารองคการและทรัพยากรมนุษยที่สําคัญ เพื่อ วิเคราะหหาปญหาและแนวทางแกไขปญหา โดยนําความรูทางการ บริหารองคการและการบริหารทรัพยากรมนุษยมาประยุกตใชเพือ่ การ ศึกษาคนควาเพิ่มเติมในอนาคต อม. 416 จริยธรรมในการบริหารองคการ (3 หนวยกิต) และทรัพยากรมนุษย OH 416 Ethics in Organization and Human Resource Management พื้นความรู: อม. 212 อม. 312 และ ศท. 111 ศึกษาถึงจริยธรรม จรรยาบรรณของบุคคลในองคการ การนําจริยธรรมมาบริหารองคการและประกอบการตัดสินใจในการ

ดําเนิน งาน ดาน ธุรกิจ และ ดาน การ บริหาร องคการ และ ทรัพยากร มนุษย รวมถึงการนําหลักศาสนามาประยุกต ใชในการบริหารงาน เพือ่ ใหบุคคลในองคการไดตระหนักถึงความรับผิดชอบทีมี่ ตอองคการ เศรษฐกิจ สังคม และประเทศโดยรวม อม. 417 ทักษะสําหรับนักธุรกิจ (3 หนวยกิต) OH 417 Business Professional Skills ศึกษาและฝกฝนทักษะดานตาง ๆ ที่จําเปนตอการเสริม สรางบุคลิกภาพของความเปนนักธุรกิจมืออาชีพ ไดแก การพูดใน ที่ชุมชน การนําเสนอผลงาน การติดตอสื่อสารทางธุรกิจในรูปแบบ ของการพูด การฟง การอาน และการเขียน เทคนิคการประชุมอยาง มีประสิทธิภาพ การพัฒนาบุคลิกภาพ มารยาททางสังคม ตลอดจน คุณธรรมและจรรยาบรรณของนักธุรกิจ อม. 421 สัมมนาทางการบริหารองคการ (3 หนวยกิต) และทรัพยากรมนุษย OH 421 Seminar in Organization and Human Resource Management พื้นความรู: วิชาเอก-บังคับ อยางนอย 2 วิชา อภิปรายและวิเคราะหถึงการจัดการองคการ หลักในการ จัดการสมัยใหม การบริหารทรัพยากรมนุษยภายในองคการ การ ประยุกตแนวความคิดทฤษฎีมาใชในการปรับปรุงพัฒนาองคการและ ทรัพยากรมนุษย โดยศึกษาจากกรณีศึกษาตาง ๆ ที่เกี่ยวของ รวมถึง การเชิญผูท รงคุณวุฒภายนอก ิ ทีมี่ ประสบการณและความเชีย่ วชาญที่ หลากหลายในแตละหัวขอมาบรรยาย พรอมทั้งแลกเปลี่ยนความคิด เห็นและประสบการณกับผูเรียน นอกจากนี้ผูศึกษาจะตองวิเคราะห พรอมทั้งอภิปรายปญหาตาง ๆ และทํารายงานเกี่ยวกับปญหาการ บริหารองคการ และทรัพยากรมนุษยเพื่อนําเสนอในชั้นเรียน

หลักสูตรปร ญญาตร 365


อม. 422 กลยุทธการบริหารองคการ (3 หนวยกิต) และทรัพยากรมนุษย OH 422 Strategies in Organization and Human Resource Management พื้นความรู: อม. 212 และ อม. 312 ศึกษาถึงกลยุทธตาง ๆ ทางดานการบริหารองคการ ไดแก การวางแผนการจัดองคการ การวางแผนการจัดรูปงาน ภาวะผูน าํ แรง จูงใจ และการควบคุม รวมถึงกลยุทธตาง ๆ ในการบริหารทรัพยากร มนุษยภายในองคการ ไดแก การวางแผนกําลังคน การสรรหา การคัด เลือก การฝกอบรม การพัฒนาบุคลากร การประเมินผลการปฏิบตั งาน ิ ระบบคาจางเงินเดือนและสวัสดิการ แรงงานสัมพันธ ความปลอดภัย และสุขภาพของพนักงานในการทํางาน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผู ศึกษามีความเขาใจ และสามารถตัดสินใจเลือกใชกลยุทธตาง ๆ ใน การบริหารงานใหมีความสอดคลองกับสภาพแวดลอมทีองค ่ การเผชิญ อยู อม. 423 การวิจัยทางการบริหารองคการ (3 หนวยกิต) และทรัพยากรมนุษย OH 423 Research in Organization and Human Resource Management พื้นความรู: อม. 212 อม. 312 และ บธ. 207 ศึกษาถึงวัตถุประสงค รูปแบบ และกระบวนการวิจัยอัน ประกอบดวย การสุม ตัวอยาง เทคนิคตาง ๆ ในการเก็บรวบรวมขอมูล การประมวลผล และการวิเคราะหขอมูล รวมถึงการเลือกแบบวิธีการ วิจยั ใหเหมาะสมกับเหตุการณตาง ๆ เพือ่ นําผลการวิจยั มาชวยในการ ตัดสินใจวางแผนการดําเนินงานดานการบริหารองคการและทรัพยากร มนุษย

366 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

อม. 425 การศึกษาเฉพาะบุคคล (3 หนวยกิต) OH 425 Independent Study พื้นความรู: อม. 212 และ อม. 312 ศึกษาคนควาและรวบรวมขอมูลดานการบริหารองคการ และ ทรัพยากร มนุษย ใน เรื่อง ใด เรื่อง หนึ่ง ที่ มี ความ สําคัญ เปน ราย บุคคล โดยนักศึกษาจะตองกําหนดหัวขอรายงานหรืองานวิจัย และ จัดทํารายงานดวยตนเองอยางละเอียด และนําเสนอผลงานวิจัยหรือ รายงานที่เสร็จสมบูรณตออาจารยผูสอน โดยอาจารยผูสอนจะเปนผู กํากับดูแลใหคําแนะนําเกี่ยวกับการทํารายงานแกนักศึกษา อม. 426 กฎหมายแรงงาน (3 หนวยกิต) OH 426 Labor Law ศึกษาลักษณะของกฎหมายแรงงาน ประวัติและความ เปนมาของกฎหมายแรงงาน หลักสําคัญของกฎหมายแรงงานของ ไทยวาดวยความสัมพันธระหวางนายจางและลูกจาง การคุมครอง แรงงาน การแรงงานสัมพันธ การระงับขอพิพาทแรงงาน ตลอดจน การพิจารณาคดีที่เกี่ยวกับแรงงาน อม. 427 การฝกงานดานการบริหารองคการ (3 หนวยกิต) และทรัพยากรมนุษย OH 427 Organization and Human Resource Management Internship พื้นความรู: อม. 212 และ อม. 312 ศึกษาถึงวิธการ ี ปฏิบตั งาน ิ จริงในดานการบริหารองคการ และ ทรัพยากร มนุษย โดย ให นัก ศึกษาเขา ฝกงาน ใน องคการ หรือ หนวยงานภายนอกในสวนงานที่เกี่ยวของกับการบริหารองคการและ ทรัพยากรมนุษย โดยตรง เพื่อใหนักศึกษานําความรูในเชิงวิชาการ ดานการบริหารองคการและทรัพยากรมนุษยมาประยุกต ใชในการ ปฏิบตั งาน ิ จริงในองคการ ซึง่ นักศึกษาจะตองทํารายงานประกอบการ ฝกงาน นําเสนออาจารยผูสอน โดยอาจารยผูสอนจะทําการประเมิน ผลการฝกงานของนักศึกษารวมกับหนวยงานภายนอก


หมวดวิชาการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ ธป. 321 การจัดการธุรกิจระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) IB 321 International Business Management ศึกษา ถึง แนวคิด และ วิธี การ การ จัดการ ธุรกิจ ระหวาง ประเทศ การ วิเคราะห สภาพ แวดลอม ในการ ดําเนิน ธุรกิจ ระหวาง ประเทศ โดยเนนการจัดองคการ การตลาด การเงิน และการบริหาร ทรัพยากรมนุษยสําหรับธุรกิจระหวางประเทศ ปญหาและขอจํากัดใน การทําธุรกิจทั้งในดานนโยบายการคา และนโยบายภาษีตาง ๆ

ธป. 324 การจัดการองคการตางวัฒนธรรม (3 หนวยกิต) IB 324 Cross Cultural Organization Management พื้นความรู: ธป. 321 ศึกษา ถึง ความ หมาย ความ สําคัญ และ ทฤษฎี ใน การ บริหารองคการที่มีความแตกตางกันในดานวัฒนธรรม ความเชื่อ ความคิด และทัศนคติของผูบริหารและผูใตบังคับบัญชา ตลอดจน เทคนิคการจัดการองคการที่อยูในสภาพแวดลอมทางดานวัฒนธรรม ที่แตกตางกัน

ธป. 322 การจัดการการเงินระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) IB 322 International Financial Management พื้นความรู: กง. 212 และ ธป. 321 ศึกษาถึงความหมายและความสําคัญของการบริหารการ เงินระหวางประเทศ ระบบอัตราแลกเปลี่ยน และตลาดเงินระหวาง ประเทศ ปจจัยตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอการกําหนดอัตราแลกเปลี่ยน ศึกษาวิธการ ี บริหารความเสีย่ งดานอัตราแลกเปลีย่ นของธุรกิจ กลยุทธ และเครื่องมือปองกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เรียนรูหลัก เกณฑการระดมทุนของบริษัทขามชาติจากตลาดทุนระหวางประเทศ

ธป. 325 ประสบการณธุรกิจตางประเทศ (3 หนวยกิต) IB 325 Global Business Experience พื้นความรู: จก. 112 และ ธป. 321 ศึ ก ษา ถึ ง สภาพ แวดล อ ม ทาง ธุ ร กิ จ ระหว า ง ประเทศ เศรษฐกิจการเมือง สังคม วัฒนธรรมขามชาติและกลุยทธการดําเนิน ธุรกิจในตางประเทศ โดยเรียนรูจากประสบการณจริง โดยการศึกษา และดูงานในตางประเทศ หรือใชกรณีศึกษาจริงของบริษัทที่ดําเนิน ธุรกิจ ระหวาง ประเทศ ได ฟง บรรยาย จากวิทยากร ผูทรง คุณวุฒิ ที่ มี ประสบการณ ตรง นัก ศึกษา จะ ได รับ มอบ หมาย ให ทํา โครงการ หรือ รายงานตามหัวขอที่สอดคลองกับธุรกิจที่ศึกษา

ธป. 323 กลยุทธทางการตลาดระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) IB 323 International Marketing Strategies พื้นความรู: ตล. 212 และ ธป. 321 ศึกษาถึงความหมายและความสําคัญของการดําเนินงาน ทางการตลาดระหวางประเทศ บทบาทของสภาพแวดลอมทีแตก ่ ตาง ทางดานวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง และกฎหมาย ทีส่ งผลใหธุรกิจ ตองปรับกลยุทธการแบงสวนตลาด การกําหนดกลุมเปาหมาย การ กําหนดกลยุทธระหวางประเทศทางดานผลิตภัณฑ ราคา การเขาสู ตลาด ชองทางการจัดจําหนายและการสงเสริมการตลาด รวมไปถึง การวิจัยตลาดระหวางประเทศ

ธป. 421 เศรษฐศาสตรและนโยบายการคา (3 หนวยกิต) ระหวางประเทศ IB 421 International Economics and Trade Polices ศึ ก ษา ถึ ง แนวคิ ด และ ทฤษฎี การ ค า ระหว า ง ประเทศ นโยบายการเงินระหวางประเทศ ดุลการคา ดุลการชําระเงิน ระบบ ภาษี กลไกระบบอัตราแลกเปลีย่ นระหวางประเทศ การรวมตัวทางดาน เศรษฐกิจของกลุม ประเทศตาง ๆ ในโลก บทบาทและความสําคัญของ สถาบันการเงินระหวางประเทศ

หลักสูตรปร ญญาตร 367


ธป. 422 การวิจัยธุรกิจระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) IB 422 International Business Research พื้นความรู: บธ. 207 และ ธป. 321 ศึกษาถึงแนวคิด บทบาท และขั้นตอนการทําวิจัยสําหรับ ธุรกิจระหวางประเทศ ผลกระทบของสภาพแวดลอมที่แตกตางใน แตละประเทศทีมี่ ตอการวิจยั โดยเนนการกําหนดปญหา วัตถุประสงค การออกแบบงานวิจยั และเครือ่ งมือในการวิจยั ที่ใชในการเก็บรวบรวม ขอมูล การวิเคราะหและแปลผลการวิจัย เพื่อเปนประโยชน ในการ ตัดสินใจทางธุรกิจ ธป. 423 สัมมนาทางการจัดการธุรกิจระหวางเทศ (3 หนวยกิต) IB 423 Seminar in International Business Management พื้นความรู: วิชาเอก-บังคับอยางนอย 2 วิชา ศึกษาถึงประเด็นและปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในปจจุบันที่ มีผลตอการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ โดยมุง เนนทัง้ ปญหาในดาน การวางแผนการตลาด การจัดการองคการ การบริหารทรัพยากรมนุษย การจัดการทางการเงิน ขอบังคับทางกฎหมายทั้งในและตางประเทศ ตลอดจนการกีดกันทางการคานักศึกษาตองนําความรูจากวิชาที่เคย ศึกษามาประยุกตในการแกไขปญหาทางธุรกิจซึง่ อยูใน  รูปของกรณีศึกษา ธป. 424 พฤติกรรมผูบริโภคในตลาดตางประเทศ (3 หนวยกิต) IB 424 Consumer Behavior in Global Market พื้นความรู: ตล. 212 และ ธป. 321 ศึกษาถึงความหมายของพฤติกรรมผูบริโภค ตระหนักใน บทบาทของสภาพแวดลอมทางดานวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย และสภาพแวดลอมทางการตลาดอืน่ ๆ ทีส่ งผลใหเกิดความ แตกตางของพฤติกรรมผูบริโภคในดานการเรียนรู การรับรู ทัศนคติ ความเชื่อ และพฤติกรรมการซื้อสินคา รวมทั้งศึกษาลักษณะเฉพาะ ของพฤติกรรมผูบริ  โภคกลุม ตางๆ ทัว่ โลกทีมี่ ผลตอการแบงสวนตลาด การกําหนดกลุม เปาหมาย การวางตําแหนงทางการตลาด และกลยุทธ ทางการตลาด 368 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ธป. 425 การจัดการผลิตภัณฑ (3 หนวยกิต) และราคาระหวางประเทศ IB 425 International Product and Price Management พื้นความรู: ตล. 212 และ ธป. 321 ศึกษา ถึง ความ หมาย บทบาท และ ความ สําคัญ ของ นโยบายผลิตภัณฑและราคาระหวางประเทศการออกแบบผลิตภัณฑ การบริหาร ตราสินคา บรรจุภัณฑ และฉลากใหเหมาะสมกับความ ตองการของลูกคาตางประเทศ วงจรชีวิตผลิตภัณฑตางประเทศ ขั้น ตอนการพัฒนาผลิตภัณฑใหม ปญหาการละเมิดลิขสิทธิและ ์ การลอก เลียนแบบผลิตภัณฑในประเทศที่กําลังพัฒนา นอกจากนี้ยังศึกษาถึง นโยบายและเทคนิคในการตัง้ ราคาผลิตภัณฑภายใตขอจํากัดทางดาน การเมือง กฎหมาย สภาพเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของตางประเทศ ธป. 426 การจัดการหวงโซอุปทาน (3 หนวยกิต) และโลจิสติกสระหวางประเทศ IB 426 International Supply Chain and Logistics Management พื้นความรู: ตล. 212 และ ธป. 321 ศึกษาถึงความหมาย บทบาท และความสําคัญของการ บริหารหวงโซอุปทานและการจัดสงระหวางประเทศ การออกแบบ การควบคุมและขอจํากัดของระบบหวงโซอุปทานและการจัดสงในตาง ประเทศ การพยากรณและการบริหารคําสั่งซื้อ การขนสง การบริหาร สินคาคงคลัง คลังสินคา การบรรจุภัณฑ การจัดการวัสดุ ตลอดจน งานบริการอื่น ๆ ที่สนับสนุนการจัดสงระหวางประเทศ


ธป. 427 การจัดการสงเสริมการตลาด (3 หนวยกิต) ระหวางประเทศ IB 427 International Promotion Management พื้นความรู: ตล. 212 และ ธป. 321 ศึกษาถึงความหมาย บทบาท และความสําคัญของการสง เสริมการตลาดสําหรับธุรกิจระหวางประเทศ การวางแผน การจัดการ และการออกแบบสวนประสมการสงเสริมการตลาดอันประกอบไปดวย การโฆษณา การประชาสัมพันธ การสงเสริมการขาย การขายโดยใช พนักงานขาย และการตลาดทางตรง ใหสอดคลองกับผูบริ  โภคภายใต ขอจํากัดทางดานวัฒนธรรม การเมือง กฎหมายและปญหาอื่น ๆ ที่ ธุรกิจระหวางประเทศจะตองเผชิญในการบริหารการสงเสริมการตลาด ในประเทศตาง ๆ ธป. 428 กลยุทธชองทางการจัดจําหนาย (3 หนวยกิต) ระหวางประเทศ IB 428 International Distribution Strategies พื้นความรู: ตล. 212 และ ธป. 321 ศึกษาถึงทฤษฎี กลยุทธ ขอดีและขอเสียของวิธีการเขา สูตลาดตางประเทศในแตละประเภท ไดแก การสงออก การลงทุน ทางตรง การรวมทุน การใชตัวแทนจําหนายและบริษัทการคา ธุรกิจ สิทธิ บัตร ใน การ ดําเนิน การ แฟ รน ไชส สัญญา จาง ผลิต การ เปน พันธมิตรทางธุรกิจ รวมไปถึงการศึกษาบทบาทและหนาทีของ ่ องคกร ทีเกี ่ ย่ วของกับการบริหารชองทางการจัดจําหนายระหวางประเทศ ขัน้ ตอนการบริหารชองทางการจัดจําหนาย ตั้งแตการกําหนดทางเลือก ที่เปนไปได การประเมินทางเลือก การจูงใจ การจัดการความขัดแยง และการประเมินประสิทธิภาพของชองทางการจัดจําหนาย

ธป. 429 การบัญชีและภาษีระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) IB 429 International Accounting and Taxation พื้นความรู: ธป. 321 ศึกษาถึงระบบมาตรฐานทางบัญชีของตางประเทศ กฎขอ บังคับและวิธีการทําบัญชีสําหรับธุรกิจระหวางประเทศ การจัดทํางบ การเงินรวม อิทธิพลของอัตราเงินเฟอ อัตราแลกเปลี่ยน และอัตรา ภาษี ระหวางประเทศตอการจัดทํารายงานผลการดําเนินงานและฐานะ ทางการเงิน ธป. 430 การจัดการทรัพยากรมนุษย (3 หนวยกิต) ระหวางประเทศ IB 430 International Human Resource Management พื้นความรู: ธป. 321 ศึกษา ถึง ความ หมาย และ ความ สําคัญ ของ การ บริหาร ทรัพยากร มนุษย ระหวาง ประเทศ ความ แตก ตาง ของ การ บริหาร ทรัพยากรมนุษยภายในประเทศกับการบริหารทรัพยากรมนุษยระหวาง ประเทศ โดย จะ เนน ถึง กระบวนการ สรรหา และ การ คัด เลือก การ ประเมินผลการปฏิบัติงาน การจูงใจ การฝกอบรม แรงงานสัมพันธ และการจัดสวัสดิการสําหรับการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ ธป. 431 กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) IB 431 Legal Issues in International Business พื้นความรู: กม. 201 และ ธป. 321 ศึกษากฎหมาย ขอบังคับ ทีต่ องปฏิบตั ใน ิ การดําเนินธุรกิจ ระหวางประเทศโดยเปนกฎหมาย ขอบังคับ ขอตกลง และกรอบการ ดําเนินธุรกิจขององคกรการคาโลก (WTO) กฎหมายเกี่ยวกับการ ลงทุนระหวางประเทศ เชน วิเทศธนกิจทางการเงินระหวางประเทศ การ ประกัน ภัย สินคา และ การ บังคับ ตามสัญญา ทางการ คา ระหวาง ประเทศ การคุมครองทรัพยสินทางปญญา เปนตน หลักสูตรปร ญญาตร 369


ธป. 432 ธุรกิจระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) ในกลุมประเทศเอเชียแปซิฟค IB 432 International Business in Asia-Pacific Countries พื้นความรู: ธป. 321 ศึกษาถึงการดําเนินธุรกิจในกลุมประเทศเอเชียแปซิฟค โดยเนนถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมและสถานการณทาง ธุรกิจในปจจุบนั ทีมี่ ผลตอการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ โอกาสและ อุปสรรคทีพบ ่ ในแตละประเทศในแถบเอเชียแปซิฟค ตลอดจนแนวทาง แกไขปญหาดังกลาว การศึกษาจะเนนการเรียนรูจากกรณีศึกษา ธป. 433 ธุรกิจระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) ในกลุมประเทศยุโรป IB 433 International Business in European Countries พื้นความรู: ธป. 321 ศึกษาถึงการดําเนินธุรกิจในกลุมประเทศยุโรป โดยเนน ถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมและสถานการณทางธุรกิจใน ปจจุบนั ทีมี่ ผลตอการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ โอกาสและอุปสรรค ทีพ่ บในแตละประเทศในยุโรป ตลอดจนแนวทางแกไขปญหาดังกลาว การศึกษาจะเนนการเรียนรูจากกรณีศึกษา ธป. 434 ธุรกิจระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) ในกลุมประเทศลาตินอเมริกา IB 434 International Business in Latin American Countries พื้นความรู: ธป. 321 ศึกษาถึงการดําเนินธุรกิจในกลุมประเทศลาตินอเมริกา โดยเนนถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมและสถานการณทาง ธุรกิจในปจจุบันที่มีผลตอการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ โอกาส และอุปสรรคทีพบ ่ ในแตละประเทศในลาตินอเมริกา ตลอดจนแนวทาง แกไขปญหาดังกลาว การศึกษาจะเนนการเรียนรูจากกรณีศึกษา

370 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ธป. 435 การจัดการกลยุทธระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) IB 435 International Strategic Management พื้นความรู: ธป. 321 ศึ ก ษา เกี่ ย ว กั บ การ กํ า หนด วิ สั ย ทั ศ น ภารกิ จ ธุ ร กิ จ วัตถุประสงคและเปาหมาย สําหรับการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ การประเมินสถานการณและสิ่งแวดลอม การวางแผน การกําหนด นโยบายและกลยุทธตาง ๆ เกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ ในดานการตลาด การบริหารองคการและทรัพยากรมนุษย การเงิน และการผลิต รวมทัง้ การควบคุมใหเปนไปตามแผนและเปาหมายทาง ธุรกิจ โดยนักศึกษาจะตองสามารถประยุกตใชทฤษฎีที่ไดศึกษามาใช กับกรณีศึกษา ธป. 436 การจัดการกลุมหลักทรัพย (3 หนวยกิต) และการลงทุนระหวางประเทศ IB 436 International Investment and Portfolio Management พื้นความรู: กง. 212 และ ธป. 321 ศึกษา ถึง โครงสราง บทบาท และ การ ดําเนิน งาน ของ ตลาดหลักทรัพยภายในประเทศและตางประเทศ โดยเฉพาะประเทศ ที่พัฒนาแลวและประเทศที่เกิดใหม (Emerging Countries) ตลอด จนเทคนิคการประเมินและการวิเคราะหหลักทรัพย การจัดการการ จัดกลุมหลักทรัพย


ธป. 437 ประเด็นสําคัญในปจจุบันทางการจัดการ (3 หนวยกิต) ธุรกิจระหวางประเทศ IB 437 Current Issues in International Business Management พื้นความรู: ธป. 321 ศึกษาถึงประเด็นและขาวสารตาง ๆ ทางดานการจัดการ ธุรกิจระหวางประเทศทีน่ าสนใจในปจจุบนั ตลอดจนการเปลีย่ นแปลง สภาวะ แวดลอม ทาง ธุรกิจ ใน ตาง ประเทศ แนวคิด และ เทคนิค การ จัดการสมัยใหมเพื่อสามารถนํามาประยุกตกับธุรกิจระหวางประเทศ ใหสอดคลองกับภาวะปจจุบัน ธป. 438 การศึกษาเฉพาะบุคคล (3 หนวยกิต) IB 438 Independent Study พื้นความรู: ธป. 321 ศึกษาคนควา หรือทําวิจยั ในวิชา หรือหัวขอทีเกี ่ ย่ วของกับ การจัดการธุรกิจระหวางประเทศในหัวขอที่นักศึกษาสนใจ ภายใตคํา ปรึกษาและดูแลจากอาจารยที่ปรึกษาที่ไดรับมอบหมายจากภาควิชา ธป. 439 เทคโนโลยีสําหรับการจัดการธุรกิจ (3 หนวยกิต) ระหวางประเทศ IB 439 Technology for International Business Management พื้นความรู: ศท. 112 และ ธป. 321 ศึกษาถึงความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีทีมี่ ผลการ ดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ โดยเนนการบริหารเทคโนโลยีตัง้ แตการ แสวงหาเทคโนโลยี การเลือกการตัดสินใจใช การประเมินความคุม คา ทั้งดานฮารดแวร ซอฟตแวรที่จะนํามาใชในการดําเนินธุรกิจระหวาง ประเทศ ตลอดจนการศึกษาถึงวิธีทําการคาดวยอิเล็กทรอนิกสเพื่อ การพาณิชย

ธป. 440 การฝกงานทางดานธุรกิจระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) IB 440 International Business Internship พื้นความรู: วิชาเอก-บังคับอยางนอย 2 วิชา ฝกปฏิบตั งาน ิ จริงในดานตาง ๆ ทีเกี ่ ย่ วของกับการจัดการ ธุรกิจระหวางประเทศในองคกรธุรกิจที่ไดรับการอนุมัติจากภาควิชา โดยฝกงานเปนจํานวนไมนอยกวา 200 ชั่วโมง ธป. 441 การเสริมสรางประสบการณตางประเทศ (3 หนวยกิต) IB 441 International Experience Promotion พื้นความรู: วิชาเอก-บังคับอยางนอย 2 วิชา นักศึกษาจะตองเขารวมโครงการอบรมพิเศษซึง่ เปนความ รวมมือระหวางมหาวิทยาลัยกรุงเทพกับมหาวิทยาลัยในตางประเทศ เพื่อเปนการเพิ่มพูนความรูและประสบการณทางธุรกิจ การอบรมจะ ครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ สังคมและ การเมือง รูปแบบและการดําเนินธุรกิจนักศึกษาจะไดรับมอบหมาย ใหเปนที่ปรึกษาทางธุรกิจใหกับธุรกิจจริงในประเทศนั้น ดังนั้น เมื่อ สิ้นสุดโครงการอบรม นักศึกษาจะตองจัดทํารายงานและนําเสนอขอ เสนอแนะใหกับธุรกิจดังกลาว ธป. 442 การเปนผูประกอบการระดับโลก (3 หนวยกิต) IB 442 Global Entrepreneurship พื้นความรู: ธป. 321 ศึกษาถึงวิธีการสรางและพัฒนาธุรกิจของตัวเองใหกาวสู ตลาดโลก โดยมุง เนนเรือ่ งการเขาสูต ลาดตางประเทศ การสรางความ สามารถในการแขงขันอยางยั่งยืนใหกับธุรกิจของตัวเอง พรอมกับ ศึ ก ษาแง มุ ม และคุ ณ สมบั ติ ข องการเป น ผู ป ระกอบการระดั บ โลก กระบวนการของการเปนผูประกอบการระดับโลก การสรางสรรค นวัตกรรมเพื่อธุรกิจ การวิเคราะหโอกาสทางธุรกิจ จรรยาบรรณทาง ธุรกิจระดับโลก และความรับผิดชอบตอสังคมในระดับโลก

หลักสูตรปร ญญาตร 371


ธป. 443 การติดตอสื่อสารและการเจรจา (3 หนวยกิต) ขามวัฒนธรรม IB 443 Cross Cultural Communication and Negotiations พื้นความรู: ธป. 321 ศึกษาถึงหลักการ กระบวนการ กลยุทธ และเทคนิคเกี่ยว กับการติดตอสื่อสารและการเจรจากับบุคคลที่มาจากตางวัฒนธรรม นักศึกษาจะไดเรียนรูทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ดวยวิธีการบรรยาย อภิปราย กรณีศึกษา การแสดงบทบาทสมมติ การจําลองเหตุการณ เปนตน ธป. 444 ธุรกิจระหวางประเทศในกลุม (3 หนวยกิต) ประเทศตะวันออกกลาง IB 444 International Business in Middle Eastern Countries พื้นความรู: ธป. 321 ศึกษาถึงการดําเนินธุรกิจในกลุมประเทศตะวันออกกลาง โดยเนนถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมและสถานการณทาง ธุรกิจในปจจุบนั ทีม่ ผี ลตอการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ โอกาสและ อุปสรรคที่พบในแตละประเทศในตะวันออกกลาง ตลอดจนแนวทาง แกไขปญหาดังกลาว การศึกษาจะเนนการเรียนรูจากกรณีศึกษา ธป. 445 ธุรกิจระหวางประเทศในกลุม (3 หนวยกิต) ประเทศแอฟริกา IB 445 International Business in African Countries พื้นความรู: ธป. 321 ศึกษาถึงการดําเนินธุรกิจในกลุมประเทศแอฟริกา โดย เนนถึงการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดลอมและสถานการณทางธุรกิจ ในปจจุบันที่มีผลตอการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ โอกาสและ อุปสรรคที่พบในแตละประเทศในแอฟริกา ตลอดจนแนวทางแกไข ปญหาดังกลาว การศึกษาจะเนนการเรียนรูจากกรณีศึกษา

372 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ คธ. 310 การเขียนโปรแกรมประยุกตทางธุรกิจ (3 หนวยกิต) BC 310 Business Application Programming ศึ ก ษาการพั ฒ นาโปรแกรมประยุ ก ต ท างธุ ร กิ จ โดยใช เทคนิคการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสรางและเทคนิคการเขียนโปรแกรม เชิงวัตถุ เทคนิคการออกแบบโปรแกรม โครงสรางโปรแกรม และ เทคนิคการพัฒนาสวนตอประสาน คธ. 321 การใชไมโครคอมพิวเตอรในธุรกิจ (3 หนวยกิต) BC 321 Microcomputer Applications in Business ศึกษา ถึง การนํา โปรแกรม คอมพิวเตอร มา ใช ใน งาน ธุรกิจ โดยเนนถึงการใชโปรแกรมในการยายแฟมขอมูล การคัดลอก แฟมขอมูล การลบแฟมขอมูล การคนหาขอมูลที่ตองการ การเรียก โปรแกรมที่ตองการมาใชงาน การใชโปรแกรมสําเร็จรูปกับงานดาน การพิมพ การจัดรูปแบบเอกสาร การทําสเปรดชีท การพิมพผลลัพธ การสรางกราฟจากขอมูล การใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการสรางเว็บไซต คธ. 323 โครงสรางขอมูลและขั้นตอนวิธี (3 หนวยกิต) BC 323 Data Structures and Algorithm พื้นความรู: สอบได คธ. 310 ศึกษาพื้นฐานของประเภทขอมูลแบบนามธรรม เชน อารเรย คิว สแตก และ ตนไม ศึกษาโครงสรางการควบคุม การ ออกแบบแบบโมดูลาไรเซชัน และใชความรูดังกลาวในการออกแบบ โปรแกรม ศึกษาโครงสรางขอมูลและขั้นตอนวิธีโดยทั่วไป การเลือก โครงสรางขอมูลและขัน้ ตอนวิธที เี่ หมาะสมสําหรับแกปญ หาทางธุรกิจ


คธ. 324 การเขียนโปรแกรมภาษาโคบอล (3 หนวยกิต) BC 324 COBOL Programming พื้นความรู: สอบได คธ. 310 ศึกษาหลักเกณฑและวิธีเขียนคําสั่งตาง ๆ ในภาษาโคบอล การนิยามชื่อขอมูล การจัดระเบียบขอมูลและชนิดขอมูล การ สรางและการเรียกใชแฟมขอมูล โปรแกรมยอย การเขียนโปรแกรม แบบโครงสราง การแกไขขอผิดพลาด การทดสอบและแกไขปรับปรุง โปรแกรม คธ. 325 การเขียนและใชงานโปรแกรมประยุกต (3 หนวยกิต) ทางอินเตอรเน็ต BC 325 Internet Programming and Applications ศึกษาการเขียนโปรแกรมบนอินเทอรเน็ตเบื้องตน ดวย การใช HTML และ CSS เพื่อเปนเครื่องมือในการเขียนและออกแบบ เว็บเพจ ศึกษาเทคนิคการออกแบบเว็บเพจใหสวยงามและนาสนใจ รวมทั้งศึกษาการสรางโปรแกรมประยุกตบนเว็บ โดยใช PHP ในการ โปรแกรมดวยการติดตอขอมูลกับผูใช และการเขาถึงฐานขอมูล เพื่อ ใหไดงานสรางสรรคตางๆ บนเว็บ คธ. 327 ระบบมัลติมีเดียและการประยุกตใช (3 หนวยกิต) BC 327 Multimedia System and Applications ศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับ กราฟก เสียง และภาพเคลื่อนไหว เทคนิคเกีย่ วกับการผลิตสือ่ ดวยระบบดิจติ อล กระบวนการในการผลิต สือ่ ใหนาสนใจ โดยอาศัยระบบสือ่ ประสมทีทั่ นสมัย การนําสือ่ ผสม เชน เสียง ไฮเปอรเท็กซ วีดิทัศน และภาพนิ่ง รวมถึงภาพเคลื่อนไหวบน ระบบคอมพิวเตอรมาใชเพือ่ ชวยสรางงานทางดานศิลปะและทางดาน การคา เทคนิคการนําเสนอโดยใชมัลติมีเดีย

คธ. 422 ระบบฐานขอมูล (3 หนวยกิต) BC 422 Database Systems พื้นความรู: สอบได คธ. 424 ศึกษาโครงสรางฐานขอมูลเชิงสัมพันธ การออกแบบ ฐานขอมูลโดยการประยุกตใชตัวแบบเอนทิตี้และความสัมพันธ การ ปรับขอมูลใหอยูในรูปปกติ การรักษาความปลอดภัย ความคงสภาพ ของขอมูล การเกิดภาวะพรอมกัน การฟน คืนสภาพขอมูล การเขียน โปรแกรมภาษาสืบคนเชิงโครงสราง รวมถึงการศึกษาความหมายและ การใชงานคลังขอมูล คธ. 423 การวิเคราะหและออกแบบระบบ (3 หนวยกิต) BC 423 Systems Analysis and Design พื้นความรู: สอบได คธ. 424 ศึกษาการวิเคราะหระบบงาน การออกแบบและการใช ระบบสารสนเทศสําหรับหนวยงาน วงจรการพัฒนาระบบ เครื่องมือ สําหรับการวิเคราะหระบบงาน การวิเคราะหปญหาและการกําหนด วัตถุประสงคในการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร การพิจารณาความ เปนไปไดในการนําระบบคอมพิวเตอรมาใชในการจัดทําระบบงาน การพิจารณาเลือกฮารดแวรและซอฟตแวรที่เหมาะสม การเขียนขอ กําหนดรายละเอียดสําหรับโปรแกรม การออกแบบพัฒนาซอฟตแวร การนําระบบไปใชงานและการประเมินผลหลังการใชงาน คธ. 424 เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ (3 หนวยกิต) BC 424 Business Information Technology ศึกษาถึงเทคโนโลยีในปจจุบนั การประยุกตใชเทคโนโลยี ดัง กลาว รวม ถึง ระบบ สาร สนเทศ และ การนํา ไป ใช ใน การ บริหาร สํานักงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในดานตาง ๆ เชน งานประจําวัน หรือการวางแผนงานตาง ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานดาน การติดตอและแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางภายในและภายนอกองคกร เปนตน หลักสูตรปร ญญาตร 373


คธ. 425 การสือ่ สารขอมูลและเครือขายคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) BC 425 Data Communication and Networking ศึกษาถึงการสื่อสารขอมูลเบื้องตน สื่อและอุปกรณที่ใช สื่อสาร สถาปตยกรรมเครือขายและโพรโทคอล เทคโนโลยีเครือขาย คอมพิวเตอร การเพิ่มประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล การจัดการ การสื่อสารขอมูล แนวโนมในอนาคตของการสื่อสารขอมูลและเครือ ขายคอมพิวเตอร การรักษาความมัน่ คงในเครือขายคอมพิวเตอร รวม ทั้งการประยุกตใชกับงานธุรกิจ

คธ. 428 การวิจัยทางดานคอมพิวเตอรธุรกิจ (3 หนวยกิต) BC 428 Research in Business Computer พื้นความรู: บธ. 207 ศึกษาถึงลักษณะรูปแบบ วัตถุประสงค และกระบวนการ ทางวิจัย การเลือกแบบและวิธีการวิจัยใหเหมาะสมกับสถานการณ และทรัพยากร การสรางแบบเก็บขอมูล วิธีการสุมตัวอยาง การเก็บ รวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลโดยใชซอฟตแวรประยุกต เพื่อ วิเคราะหขอมูลทางสถิติ ทั้งสถิติเชิงพรรณนา และสถิติแบบอางอิง การเสนอรายงาน การนําการวิจัยประยุกตใชกับธุรกิจ

คธ. 426 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการ (3 หนวยกิต) โซอุปทานและโลจิสติกส BC 426 Information Technology for Supply Chain Management and Logistics พื้นความรู: สอบได จก. 212 ศึ ก ษาความสํ า คั ญ ของเทคโนโลยี เ พื่ อ การจั ด การโซ อุปทานและโลจิสติกส หัวขอทีศ่ กึ ษาประกอบดวยปจจัยในการเลือกใช เทคโนโลยีใหเหมาะสมกับงาน โดยมีการประยุกตใชโปรแกรมสําเร็จรูป หรือแบบจําลองตางๆ ในเรียนรู ตลอดจนการศึกษาถึงแนวโนมการ พัฒนาการดานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการโซอุปทานและ โลจิสติกสในอนาคต

คธ. 429 สัมมนาทางคอมพิวเตอรธุรกิจ (3 หนวยกิต) BC 429 Seminar in Business Computer พื้นความรู: สอบไดวิชาเฉพาะดานอยางนอย 3 วิชา ศึกษา กรณี และ ปญหา เกี่ยว กับ การ ใช คอมพิวเตอร กับ ระบบงานดานธุรกิจ เชน การตลาด การเงินการจัดการองคการและ ทรัพยากรบุคคล ความกาวหนาทางเทคโนโลยีเกี่ยวกับคอมพิวเตอร เพื่อนํามาใชในการวางแผนและการตัดสินใจของผูบริหารและผูใชใน ระดับตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองคการ ตามสภาพแวดลอม ทางธุรกิจที่เปลี่ยนไป ลักษณะการศึกษาจะใชอภิปรายกลุมและการ บรรยายจากผูเชี่ยวชาญและผูทรงคุณวุฒิ

คธ. 427 การประยุกตใชคอมพิวเตอรทางการเงิน (3 หนวยกิต) BC 427 Computer Applications in Finance พื้นความรู: สอบได กง. 212 ศึกษาถึงระบบงานและการประยุกตใชโปรแกรมสําเร็จรูป ทางการเงิน ไดแก การวิเคราะหอัตราสวน การวิเคราะหแนวโนมการ พยากรณ การจัดทํางบประมาณสําหรับวางแผนและควบคุม การ ดําเนินงาน การทํารายงานสําหรับการตัดสินใจลงทุน

คธ. 430 การจัดทําโครงงานทางคอมพิวเตอรธุรกิจ (3 หนวยกิต) BC 430 Project in Business Computer พื้นความรู: สอบไดวิชาเฉพาะดานอยางนอย 3 วิชา ศึกษาถึงการวิเคราะห ออกแบบ และวางแผนในการจัดทํา โครงงาน ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ พรอมทั้งสามารถนําความรู ที่ไดไปประยุกตใชกับกรณีศึกษาของธุรกิจจริง

374 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


คธ. 431 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (3 หนวยกิต) BC 431 Object Oriented Programming พื้นความรู: สอบได คธ. 310 ศึกษาถึงความหมายและหลักการของโปรแกรมเชิงวัตถุ หลักเกณฑและวิธีการเขียนคําสั่งโปรแกรมภาษาเชิงวัตถุบนระบบ ปฏิบตั กา ิ รวินโดวส โดยศึกษาโครงสรางและองคประกอบการแกไขขอ ผิดพลาด การทดสอบและการปรับปรุงโปรแกรม เนนการฝกทักษะใน การเขียนโปรแกรมที่ใชในธุรกิจทัว่ ไป เชน ระบบเงินเดือน ระบบบัญชี หรือสินคาคงคลัง เปนตน

คธ. 434 การเขียนโปรแกรมแบบวิชวล (3 หนวยกิต) BC 434 Visual Programming พื้นความรู: สอบได คธ. 322 ศึกษาหลักพืน้ ฐานและทฤษฎีของการเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ การเขียนโปรแกรมแบบวิชวล เชน Visual BASIC, Visual C++ หรือ Visual J++ การเขียนโปรแกรมเชิงโตตอบกับผูใช การออกแบบ สรางฟอรมและเมนู การจัดการฐานขอมูล รวมทัง้ การสรางและพัฒนา โปรแกรมประยุกตใชงานดวยภาษาแบบวิชวล

คธ. 432 การจัดการโครงงานซอฟตแวร (3 หนวยกิต) BC 432 Software Project Management พื้นความรู: สอบได จก. 112 ศึกษาถึงการจัดสราง การทดสอบ การติดตัง้ การนําเขาใช ในระบบงาน การบํารุงรักษา การบริหารโครงงาน และการบริหารโครง รางของซอฟตแวร การจัดรุน ของซอฟตแวร การวิเคราะหและจัดการ ความเสี่ยง การจัดการการเปลี่ยนแปลง การประมาณคาใชจาย และ การประกันคุณภาพของการพัฒนาซอฟตแวร การใชซอฟตแวรเพื่อ การจัดการโครงงาน การประเมินราคา เครื่องมือบริหารโครงรางและ รุนซอฟตแวร การเขียนเอกสารประกอบโครงงานพัฒนาซอฟตแวร

คธ. 435 การออกแบบงานทางคอมพิวเตอรกราฟก (3 หนวยกิต) BC 435 Computer Graphic Design ศึกษาพื้นฐานดานสี และการผสมสีเบื้องตน รูปแบบพื้น ฐานและองคประกอบของภาพ ประเภทอุปกรณใชงานคอมพิวเตอร กราฟก เชน เมาส ปากกาแสง เครือ่ งอานพิกดั เครือ่ งกวาดตรวจภาพ อุปกรณแสดงผลลัพธแบบแรสเตอรและแบบเวกเตอร วิธการ ี เชือ่ มใช งานและควบคุมอุปกรณการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรเพือ่ งานดาน กราฟก การลบเสนและพื้นผิวที่ถูกบัง การแรเงา แบบจําลองของสี การสรางแบบจําลอง การแปลงภาพใน 2 มิติ และ 3 มิติ ขอบเขต และทางเลือกเฉพาะสวนของภาพทีอยู ่  ในขอบเขตทีกํ่ าหนด หลักการ ของภาพใน 3 มิติ และภาพในมุมมองตาง ๆ การออกแบบซอฟตแวร กราฟก โปรแกรมประยุกตดานการออกแบบกราฟกในเชิงธุรกิจ

คธ. 433 หัวขอพิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ (3 หนวยกิต) BC 433 Selected Topics for Business Computer พื้นความรู: สอบไดวิชาเฉพาะดานอยางนอย 3 วิชา ศึกษาหัวขอที่นาสนใจที่ถูกคัดเฉพาะ และเปนประโยชน เกี่ยวกับสาขาในวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ

หลักสูตรปร ญญาตร 375


คธ. 436 การพัฒนาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส (3 หนวยกิต) BC 436 Electronic Business Development พื้นความรู: สอบได คธ. 424 ศึกษาความรูเบื  อ้ งตนในการพัฒนาธุรกิจทางอิเล็กทรอนิกส เพื่อประยุกต ใหสามารถใชงานรวมกับเทคโนโลยีที่มีอยูในปจจุบันได อยางถูกตองและรวดเร็ว รวมทัง้ ศึกษาถึงการแลกเปลีย่ นขอมูลผานสือ่ อิเล็กทรอนิกส การจัดการหวงโซอุปทาน ศึกษาถึงการบริหารจัดการ ดานลูกคาสัมพันธ รวมทัง้ การทําพาณิชยอิเล็กทรอนิกส เพือ่ อํานวย ความสะดวกในการทําธุรกิจผานสือ่ อิเล็กทรอนิกส และศึกษาหลักการ และเหตุผลในการวิเคราะหธุรกิจทางอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบตางๆ คธ. 437 การศึกษาเฉพาะบุคคล (3 หนวยกิต) BC 437 Indepentdent Study พื้นความรู: สอบได คธ. 310 การ ศึ ก ษา แบบ เฉพาะ ราย บุ ค คล ถึ ง หั ว ข อ ทาง ด า น คอมพิวเตอรธุรกิจ โดยอาจารยผูสอน  มีสวนในการกําหนดหัวขอศึกษา หรือวิจัย นักศึกษาเปนผูศึกษาคนควาวิจัยดวยตนเองภายใตการดูแล แนะนําและใหคําปรึกษาของอาจารยผูสอน คธ. 438 ความมั่นคงปลอดภัยของ (3 หนวยกิต) ระบบสารสนเทศ BC 438 Information Systems Security พื้นความรู: สอบได คธ. 424 ศึกษาระบบความปลอดภัย การเขารหัส การวิเคราะห รหัส มาตรฐานการเขารหัสขอมูลภัยรุกรานของระบบสารสนเทศ กลไกการโจมตีและการปองกัน นโยบายและการปฏิบัติเพื่อความ มั่นคงของระบบ มาตรฐานความปลอดภัยของระบบสารสนเทศการ พิสจู นทราบในระบบคอมพิวเตอร การวิเคราะหการรุกราน การจัดการ ดานความมั่นคง การบริหารระบบปองกันการบุกรุก ซอฟตแวรตอ ตานไวรัส โครงสรางพื้นฐานระบบกุญแจสาธารณะ 376 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

คธ. 439 เทคนิคการนําเสนอทางเทคโนโลยี (3 หนวยกิต) สารสนเทศทางธุรกิจ BC 439 Presentation Techniques in Business Information Technology ศึกษาถึงภาคปฏิบตั ขิ องทักษะการพูดในทีส่ าธารณะและ ทักษะการนําเสนอผลงานดานเทคนิค มีการประยุกตใชหลักการพื้น ฐานสําหรับการพูดในทีส่ าธารณะทัง้ สถานการณทเี่ ปนทางการและไม เปนทางการ เพื่อเสริมสรางทักษะในการพูด การสัมภาษณ การนํา เสนอผลงาน ทางดานเทคนิคและธุรกิจ เรียนรูการสรางสายสัมพันธ กับผูฟง จัดการกับการตอบคําถาม ปรับปรุงเสียง ทาทาง การแตง กาย การใช อารมณ ขั น อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถสร า งและประยุ ก ต ใ ช ซอฟตแวรประยุกตที่ใช เสียง ภาพ ในการนําเสนอผลงาน และรับการ วิเคราะหเกี่ยวกับการนําเสนอผลงานของตนเองจากผูสอนและเพื่อน ในชั้นเรียน คธ. 440 การตรวจสอบและประกันคุณภาพซอฟตแวร (3 หนวยกิต) BC 440 Software Assurance and Auditing พื้นความรู: สอบได คธ. 310 ศึกษาเกีย่ วกับความรูพ นื้ ฐานเรือ่ งการรับประกันคุณภาพ ซอฟตแวร มาตรฐานหรือโมเดลคุณภาพ ขั้นตอนการรับประกัน คุณภาพซอฟตแวร สภาวะแวดลอมของการตรวจสอบงานคอมพิวเตอร การควบคุมการพัฒนาระบบงาน การควบคุมความปลอดภัย และ เทคนิคการตรวจสอบงานคอมพิวเตอร


หมวดวิชาการจัดการโลจิสติกส กล. 311 การจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน (3 หนวยกิต) LM 311 Logistics and Supply Chain Management ศึกษาความหมายและหลักการการจัดการโลจิสติกสและ ซัพพลายเชน ความสําคัญของโลจิสติกสและซัพพลายเชนที่มีตอ องคกรและระบบเศรษฐกิจ องคประกอบของระบบโลจิสติกสและ ซัพพลายเชน เชน การจัดซื้อ การพยากรณอุปสงค การจัดการสินคา คงคลัง การผลิต การบรรจุภณ ั ฑ การขนสงและการกระจายสินคา การ ให บ ริ การลู ก ค า การติ ด ต อ สื่ อ สารด า นโลจิ ส ติ ก ส การจั ด การ โลจิ ส ติ ก ส แ ละซั พ พลายเชนระดั บ โลก รวมตลอดถึ ง การนํ า เอา เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต ใชในการจัดการโลจิสติกสและ ซัพพลายเชน กล. 312 การจัดการการจัดซื้อ (3 หนวยกิต) LM 312 Purchasing Management พื้นความรู: กล. 311 ศึ ก ษาถึ ง ความหมายและความสํ า คั ญ ของการจั ด ซื้ อ บทบาทของการจัดซื้อที่มีตอการจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชน หลักการของการจัดซือ้ ขัน้ ตอนและกระบวนการทีเ่ กีย่ วของกับการจัด ซื้อการพัฒนากลยุทธ ในการจัดซื้ออยางมีประสิทธิภาพ การสํารวจ ขอมูลของผูจัดจําหนาย ขอมูลผลิตภัณฑ และขอมูลตลาดอื่น ๆ ที่ จําเปนตอนโยบายการสั่งซื้อ รวมตลอดถึงการจัดการเอกสารและ สัญญาการจัดซื้อ

กล. 313 การจัดการสินคาคงคลังและคลังสินคา (3 หนวยกิต) LM 313 Inventory and Warehouse Management พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาเกีย่ วกับหลักการเบือ้ งตนและเนือ้ หาของการจัดการ สินคาคงคลัง ครอบคลุมถึงนโยบายและวัตถุประสงคของการจัดการ สินคาคงคลัง ตนทุนของสินคาคงคลัง ประเภทของสินคาคงคลัง ระบบ การควบคุมสินคาคงคลัง การกําหนดปริมาณของสินคาคงคลัง การ พยากรณความตองการ การวางแผนความตองการวัสดุ กลยุทธใน การควบคุมสินคาคงคลัง นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงกิจกรรมหลักของคลัง สินคา การออกแบบคลังสินคา วัตถุประสงคและพันธกิจของการ จัดการคลังสินคา กลยุทธการเลือกทําเลทีต่ งั้ ของคลังสินคา ประเภท ของคลังสินคา และประโยชนของคลังสินคา กล. 321 การจัดการการขนสงและ (3 หนวยกิต) การกระจายสินคา LM 321 Transportation and Distribution Management พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาเกีย่ วกับหลักการเบือ้ งตนของการขนสง ครอบคลุม ถึงหนาทีข่ องระบบการขนสง องคประกอบการขนสงหลายรูปแบบของ ระบบขนสงทั้งสวนทองถิ่นและระดับนานาชาติ รวมถึงเทคโนโลยี สารสนเทศสําหรับระบบขนสง นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงบทบาทและ ความสําคัญของการกระจายสินคา และชองทางการจัดจําหนาย การ จัดสรรสินคาคงคลัง การคลังสินคา กลยุทธชองทางการจัดจําหนาย การตัดสินใจเกีย่ วกับการออกแบบชองทางการจัดจําหนาย รวมตลอด ถึงการวิเคราะหตนทุนในการกระจายสินคา

หลักสูตรปร ญญาตร 377


กล. 322 การคาและโลจิสติกสระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) LM 322 International Trade and Logistics พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงทฤษฎีทางการคาและนโยบายทางการคาระหวาง ประเทศ ความสําคัญของโลจิสติกสที่มีตอธุรกิจระหวางประเทศและ หน า ที่ ที่ เ กี่ ย วข อ ง กลยุ ท ธ ใ นการจั ด การและการบริ ห ารระบบ โลจิสติกสระหวางประเทศ ระบบการคาอิเลคทรอนิกสและกฎหมายที่ เกี่ยวของ ขอมูลสารสนเทศตลอดจนเทคโนโลยีที่เกี่ยวของในการจัด การระบบโลจิสติกสระหวางประเทศ และกรณีศึกษาที่เกี่ยวของ กล. 323 การจัดการเพื่อการสงออกและนําเขา (3 หนวยกิต) LM 323 Export-Import Management พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงระเบียบ ขอบังคับ กฎเกณฑการสงออกและนํา เขาตลอดจนระเบียบพิธกี ารศุลกากร การจัดองคการของแผนกสงออก และนําเขาขององคการธุรกิจ กระบวนการตัดสินใจเลือกตลาดและ สินคา เทคนิคหรือวีการคิดคํานวณตนทุน และการตัง้ ราคาสินคา ขัน้ ตอนและวิธกี ารตางๆ ในการชําระเงิน สินเชือ่ ในการสงออกและนําเขา ความสําคัญของจดหมายสินเชื่อ (Letter of Credit) การหีบหอ การ สงเสริมการขาย การขนสง การประกันภัย และการเตรียมเอกสารใน การสงออกและนําเขา กล. 411 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อโลจิสติกส (3 หนวยกิต) LM 411 Information Technology for Logistics พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ฐานขอมูล และ การนําไปใชในการวางแผนและการดําเนินงานโลจิสติกส เชน การ ประยุกตใชโปรแกรม ERP โปรแกรมสําหรับการพยากรณ การจัดการ ตารางการผลิต การบริหารสินคาคงคลัง การคิดตนทุนและคาบริการ ขนสง การบริหารการจัดเก็บสินคาและเคลื่อนยายสินคา และการจัด ตารางเวลาการปฏิบตั งิ าน เปนตน รวมถึงการนําเทคโนโลยีสารสนเทศ 378 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

มาประยุกตใชในการพัฒนาและเพิม่ ประสิทธิภาพระบบโลจิสติกสภาค อุตสาหกรรม กล. 412 กลยุทธโลจิสติกสและโซอุปทาน (3 หนวยกิต) LM 412 Logistics and Supply Chain Strategy พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงแนวคิดและบทบาทของกลยุทธดานการจัดการ โลจิสติกสและซัพพลายเชน กลยุทธในการจัดการอุปสงคและอุปทาน การไหลเวียนของวัสดุและสินคาคงคลัง กลยุทธการจัดการคลังสินคา และการกระจายสิ น ค า ตลอดจนการเลื อ กทํ า เลที่ ตั้ ง เชิ ง กลยุ ท ธ นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงกลยุทธการขนสง กลยุทธการใชเทคโนโลยี สารสนเทศในการจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชน การวางแผน โลจิสติกสและซัพพลายเชนในระดับสากล รวมตลอดถึงการปรับ เปลีย่ นกลยุทธใหสอดคลองกับทิศทางและแนวโนมทางดานการพัฒนา โลจิสติกสและซัพพลายเชน กล. 413 การฝกงานทางดานการจัดการโลจิสติกส (3 หนวยกิต) LM 413 Logistics Management Internship พื้นความรู: กล. 311 ฝกปฏิบตั งิ านจริงในดานตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับการจัดการ โลจิสติกสในองคการธุรกิจที่ไดรบั การอนุมตั จิ ากภาควิชา โดยฝกงาน เปนจํานวนไมนอยกวา 200 ชั่วโมง กล. 414 การพยากรณความตองการและยอดขาย (3 หนวยกิต) LM 414 Demand and Sale Forecasting พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงความสําคัญของการพยากรณความตองการที่มี ตอการจัดการโลจิสติกส วิธีการพยากรณความตองการและยอดขาย โดยใชเทคนิครูปแบบตางๆ ตลอดจนปจจัยภายในและภายนอกองคกร ที่มีอิทธิพลตอการพยากรณยอดขาย นอกจากนี้ยังศึกษาถึงวิธีการ ควบคุมและวิเคราะหเปรียบเทียบคาของการพยากรณกบั ผลทีเ่ กิดขึน้ จริง เพื่อประโยชนในการวางแผนการขายและการจัดการโลจิสติกส


กล. 415 การจัดหาเชิงกลยุทธ (3 หนวยกิต) LM 415 Strategic Sourcing พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงความสําคัญและวัตถุประสงคของการจัดหา กระบวนการกํ า หนดความต อ งการและการวางแผนการจั ด หา กระบวนการในการจัดหาและประเมินผูจัดจําหนาย การวิเคราะหและ เปรียบเทียบการจัดหาภายในประเทศและการจัดหาจากตางประเทศ การเจรจาตอรองในการจัดหา การจัดเตรียมขอตกลงและสัญญา การ บริหารขอตกลงและความสัมพันธกับผูจัดจําหนาย รวมตลอดถึงการ วางแผนการจัดซือ้ จัดหา ทีส่ ง ผลของการสรางความไดเปรียบทางการ แขงขันขององคกร

กล. 421 สัมมนาทางดานการจัดการโลจิสติกส (3 หนวยกิต) LM 421 Seminar in Logistics Management พื้นความรู: วิชาเอกบังคับอยางนอย 2 วิชา ศึกษาถึงประเด็นและปญหาตางๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในปจจุบนั ทีม่ ี ผลตอการจัดการโลจิสติกส โดยมุงเนนทั้งปญหาในดานการจัดซื้อ สินคาคงคลัง การจัดการคลังสินคา การกระจายสินคาและการขนสง ขอบังคับทางกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับโลจิสติกส โดยนักศึกษาตองนํา ความรูจากวิชาตางๆ ที่ไดศึกษามาประยุกต ในการแกไขปญหาทาง ดานโลจิสติกสซึ่งอยูในรูปของกรณีศึกษา

กล. 416 การวิเคราะหเชิงปริมาณเพื่อ (3 หนวยกิต) การจัดการโลจิสติกส LM 416 Quantitative Methods for Logistics Management พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงเครือ่ งมือทางคณิตศาสตรและสถิตทิ สี่ ามารถนํา มาใชในการจัดการและแกไขปญหาทางดานโลจิสติกส อันประกอบไป ดวยโปรแกรมเชิงเสน ตัวแบบสินคาคงคลัง ตัวแบบการขนสง ตัวแบบ การจัดการการรอคอย การจัดคนเขาทํางาน และเทคนิคการพยากรณ

กล. 422 การประกันภัยเพื่อการดําเนินงาน (3 หนวยกิต) โลจิสติกส LM 422 Insurance for Logistics Operations พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาลักษณะและขอบเขตของธุรกิจประเภทตาง ๆ ที่ เกีย่ วของกับการดําเนินงานทางดานโลจิสติกส เชน ผูร บั จัดการขนสง ผูป ระกอบการขนสงสินคา ทาเรือและเทอรมนิ ลั ผูใ หบริการโลจิสติกส ผูนําเขาสงออก เปนตน เพื่อทราบลักษณะความเสี่ยงภัยในการ ประกอบธุรกิจและขอบเขตความคุมครองตามกรมธรรมประกันภัยที่ เกี่ยวของ

กล. 417 การจัดการความสัมพันธทาง (3 หนวยกิต) ดานโซอุปทาน LM 417 Supply Chain Relationship Management พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาหลักการในการจัดหาผูขายปจจัยการผลิต การ สรรหา การวิเคราะห การตัดสินใจในการเลือกผูขายปจจัยการผลิต การเจรจาตอรองกับผูข ายปจจัยการผลิต ตลอดจนเทคนิคและวิธกี าร ในการสรางความสัมพันธกบั ผูข ายปจจัยการผลิต นอกจากนี้ ยังศึกษา ถึงเทคนิคและวิธีการในการจัดการความสัมพันธกับลูกคา

กล. 423 การออกแบบและการดําเนินงานคลังสินคา (3 หนวยกิต) LM 423 Warehouse Design and Operations พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงการออกแบบคลังสินคาและการใชเทคโนโลยี สารสนเทศในการจัดการคลังสินคา อุปกรณการจัดเก็บและการยกขน สินคา การออกแบบพื้นที่ใชงานภายในตัวอาคารคลังสินคา ขั้นตอน การปฏิบัติการคลังสินคา การจัดสรรทรัพยากรภายในคลังสินคา เทคนิคการวิเคราะหการไหลเวียนของสินคา การออกแบบระบบและ การเลือกใชอุปกรณขนยายสินคา หลักสูตรปร ญญาตร 379


กล. 424 ความปลอดภัยและสภาพแวดลอม (3 หนวยกิต) ในการขนสง LM 424 Transport Safety and Environment พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงบทบัญญัตแิ ละขอบังคับทางความปลอดภัยและ สิ่งแวดลอมที่เกี่ยวกับการดําเนินการดานการขนสง การกําหนด มาตรการปองกันและแกไข การวิเคราะหปญหาและการประเมิน การ ควบคุมผลิต การจัดเก็บ การลําเลียงและการขนสงสินคาอันตราย เทคโนโลยีสมัยใหมในการจัดการดานสิ่งแวดลอม

กล. 427 กฎหมายเพื่อโลจิสติกส (3 หนวยกิต) LM 427 Legal Aspects for Logistics พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงกฎหมายและกฎเกณฑทเี่ กีย่ วของกับการจัดการ โลจิสติกส เชน การจัดซือ้ จัดจางสําหรับสินคาและบริการ การซือ้ ขาย สินคาระหวางประเทศ การชําระราคาในทางการคาระหวางประเทศ การขนสงสินคาระหวางประเทศ การขนสงสินคาตอเนือ่ งหลายรูปแบบ การนําเขาสินคาและการสงออกสินคา การจัดเก็บในคลังสินคาและ เทอรมินัล เปนตน

กล. 425 การลําเลียงวัสดุและการบรรจุภัณฑ (3 หนวยกิต) LM 425 Material Handling and Packaging พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงหนาที่ของการลําเลียงวัสดุและการบรรจุหีบหอ ซึ่งสงผลตอประสิทธิภาพในการจัดการโลจิสติกส การออกแบบและ การประยุกต ใชเทคโนโลยีสําหรับพัฒนาบรรจุภัณฑ การเลือกใช อุปกรณในการลําเลียงและขนยายอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงเทคนิค เชิงคุณภาพในการลดตนทุนของบรรจุภัณฑ

กล. 428 การตัดสินใจดานทําเลที่ตั้งเชิงกลยุทธ (3 หนวยกิต) LM 428 Strategic Location Decisions พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงปจจัยที่สงผลกระทบตอการเลือกทําเลที่ตั้งทาง ธุรกิจ รูปแบบของการเลือกทําเลที่ตั้งเชิงกลยุทธ การวิเคราะหการ ไหลของอุปสงคและอุปทานสําหรับสินคาหรือบริการผานในโครงขาย การตัดสินใจ แบบจําลองการตัดสินใจและวิธกี ารหาทําเลทีต่ งั้ ทีด่ ที สี่ ดุ เชน การหาทําเลที่ตั้งของรานคาปลีก ซุปเปอรสโตร คลังสินคา หรือ ศูนยกระจายสินคา เปนตน รวมถึงการศึกษาและวิเคราะหกรณีศึกษา ที่เกี่ยวของ

กล. 426 การจัดการการบริการโลจิสติกส (3 หนวยกิต) LM 426 Logistics Service Management พื้นความรู: กล. 311 ศึ ก ษาถึ ง ลั ก ษณะของการบริ ก ารธุ ร กิ จ ต า งๆ ใน อุตสาหกรรมบริการ การจัดการธุรกิจบริการของโลจิสติกส เชน การ ขนสงทางบก ทางนํ้า ทางอากาศ การใหบริการคลังสินคา การกระจายสินคา เปนตน ตลอดจนการนําโลจิสติกสมาประยุกต ใชใน อุตสาหกรรมบริการ เปนตน

380 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กล. 431 ประสบการณโลจิสติกส (3 หนวยกิต) LM 431 Logistics Experience พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงขอเท็จจริงเกี่ยวกับสภาพแวดลอมของอุตสาหกรรมโลจิสจิกต กลยุทธการดําเนินธุรกิจและการจัดการโลจิสติกส โดย เรียนรูจากการดูงานจริงหรือใชกรณีศึกษาจริง โดยจะมีการเชิญผู ประกอบกิจการทางดานโลจิสตกสมาเปนวิทยากรบรรยายพิเศษ นักศึกษาจะไดรับมอบหมายใหจัดทําโครงการหรือรายงานทางดาน การจัดการโลจิสติกส เพื่อนําเสนอและอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน


กล. 432 การวิจัยทางดานโลจิสติกส (3 หนวยกิต) LM 432 Logistics Research พื้นความรู: บธ. 207 กล. 311 ศึกษาถึงความหมาย ประเภทและขอบเขตของการวิจัย ความสําคัญของการวิจัยที่มีตอการจัดการโลจิสติกส การเขียนโครง รางการวิจยั กระบวนการวิจยั และการเลือกวิธกี ารวิจยั ใหเหมาะสมกับ การวิจัยทางดานโลจิสติกส การกําหนดปญหาและวัตถุประสงค การ ออกแบบวิจยั การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอ มูล และการนํา เสนอผลการวิจัย และการนําผลวิจัยไปใชในการตัดสินใจทางการจัด การโลจิสติกส รวมตลอดถึงการศึกษาจริยธรรมและจรรยาบรรณของ นักวิจัย กล. 433 การจัดการทาเรือและเทอรมินัล (3 หนวยกิต) LM 433 Port and Terminal Management พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงความสําคัญของทาเรือและเทอรมินัลที่มีตอ โลจิสติกส รูปแบบของการขนสงทางทะเลและรูปแบบของเทอรมินัล ประสิทธิภาพและการวัดประสิทธิภาพของการจัดการทาเรือและ เทอรมนิ ลั ความสัมพันธและการประสานงานของระบบปฏิบตั งิ านขน ถายสินคาในทาเรือและเทอรมินัล เทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับการ จัดการทาเรือและเทอรมินัล รวมตลอดถึงการจัดการระบบสินคา คงคลังที่เกี่ยวของกับทาเรือและเทอรมินัล กล. 434 การจัดการการขนสงทางบก (3 หนวยกิต) LM 434 Land Transportation Management พื้นความรู: กล. 311 ศึ ก ษาถึ ง ความสํ า คั ญ ของการขนส ง ทางบกที่ มี ต  อ โลจิสติกส ลักษณะและระบบการขนสงคนและสินคาทางถนน ทางราง และทางทอ ทฤษฎีการจราจรเบื้องตน การวิเคราะหความจุ การ ออกแบบลานจอดพาหนะและลานพักคอนเทนเนอร การพยากรณ

ความตองการและการจัดการการขนสงทางบก ระบบการขนสงทาง บกในเมืองและภูมิภาค ระบบการขนสงที่เชื่อมตอกันหลายประเทศ รวมทั้งศึกษาเกี่ยวกับโครงสรางของการขนสงและวิธีการในกําหนด คาขนสง กล. 435 การจัดการการขนสงทางอากาศ (3 หนวยกิต) LM 435 Air Transportation Management พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงความสําคัญของการขนสงทางอากาศที่มีตอ โลจิสติกส ลักษณะและประเภทของทาอากาศยาน การจัดการความจุ ของทาอากาศยาน รูปแบบและระบบของสายการบินทัง้ ภายในประเทศ และต า งประเทศ รู ป แบบการดํ า เนิ น งานและการปฏิ บั ติ ง านท า อากาศยานและสายการบิน รวมถึงการจัดการการขนสงสินคาทาง อากาศเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด กล. 436 การจัดการการขนสงทางนํ้า (3 หนวยกิต) LM 436 Water Transportation Management พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงบทบาทและความสําคัญของการขนสงทางนํ้า และทางทะเล ลักษณะและประเภทของการขนสงทางนํา้ ทัง้ ในและตาง ประเทศ ประเภทของเรือที่ใชในการขนสงทางนํา้ การดําเนินงานและ การจัดการการขนสงสินคาทางนํ้า รวมทั้งศึกษาถึงขั้นตอนการขนสง ทางนํา้ นับตัง้ แตการจองระวางเรือ การคิดคาระวาง การดําเนินการ ดานเอกสารการขนสงตางๆ และพิธีการทางดานศุลกากร

หลักสูตรปร ญญาตร 381


หมวดวิชากฎหมาย กล. 441 สถานการณปจจุบันทางดานการจัดการ (3 หนวยกิต) โลจิสติกส LM 441 Current Issues in Logistics Management พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงประเด็นและขาวสารตาง ๆ ทางดานการจัดการ โลจิสติกสที่นาสนใจในปจจุบัน แนวโนมและทิศทางของการพัฒนา โลจิสติกสทั้งในและตางประเทศ รวมตลอดถึงบทบาทของโลจิสติกส ที่มีตอการพัฒนชุมชน สังคม และประเทศชาติ

กม. 100* กฎหมายเบื้องตน (3 หนวยกิต) LA 100 Introduction to Law ศึกษาลักษณะแหงกฎหมาย ประเภทของกฎหมาย หลัก กฎหมายที่สําคัญและจําเปนสําหรับประชาชน อาทิ หลักกฎหมายที่ เกีย่ วกับบุคคล หลักกฎหมายเกีย่ วกับการทํานิตกิ รรมและสัญญา หลัก กฎหมายครอบครัว หลักกฎหมายมรดก หลักกฎหมายอาญา หลัก กฎหมายเกี่ยวกับหนี้ กฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายปกครอง

กล. 442 หัวขอพิเศษทางการจัดการโลจิสติกส (3 หนวยกิต) LM 442 Special Topics in Logistics Management พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาถึงหัวขอพิเศษที่นาสนใจดานการจัดการโลจิสติกส โดยหัวขอทีจ่ ะนํามาใชในการเรียนการสอนจะตองไดรบั ความเห็นชอบ จากหัวหนาภาควิชา

กม. 101* ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย (3 หนวยกิต) LA 101 Jurisprudence ศึกษาลักษณะแหงกฎหมาย ประเภทของกฎหมาย การ ใชและการยกเลิกกฎหมาย หลักกฎหมายที่สําคัญและจําเปนสําหรับ ประชาชน อาทิ หลักกฎหมายเกี่ยวกับบุคคล หลักกฎหมายเกี่ยวกับ การทํานิติกรรมและสัญญา หลักกฎหมายเกี่ยวกับหนี้

กล. 443 การศึกษาเฉพาะบุคคล (3 หนวยกิต) LM 443 Independent Study พื้นความรู: กล. 311 ศึกษาคนควา หรือทําวิจัยในหัวขอที่เกี่ยวของกับการจัด การโลจิสติกสในเรื่องที่นักศึกษาสนใจภายใตคําปรึกษา และการดูแล จากอาจารยที่ปรึกษาที่ไดรับมอบหมายจากภาควิชา

กม. 102* กฎหมายธุรกิจ (3 หนวยกิต) LA 102 Business Law ศึกษาถึงหลักกฎหมายที่มีความสําคัญและจําเปนในการ ประกอบธุรกิจ อันไดแก กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา หลัก กฎหมายเกีย่ วกับองคกรธุรกิจ กฎหมายเอกเทศสัญญาทีเ่ กีย่ วกับการ ประกอบธุรกิจ เชน สัญญาซื้อขาย สัญญากูยืมเงิน สัญญาคํ้าประกัน จํานอง จํานํา สัญญาเชาทรัพย เช็ค ตลอดจนกฎหมายอื่นๆ ที่ เกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจ

* เปดสอนใหนักศึกษาอื่นนอกจากคณะนิติศาสตร

382 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


กม. 103* ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายธุรกิจ (3 หนวยกิต) LA 103 Introduction to Business Law ศึกษาถึงความหมาย ความสําคัญและที่มาของกฎหมาย รวมทัง้ ศึกษาหลักกฎหมายทีม่ คี วามสําคัญและจําเปนในการประกอบ ธุรกิจ อาทิ กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา หลักกฎหมายเกี่ยว กับองคกรธุรกิจ กฎหมายเอกเทศสัญญาทีเ่ กีย่ วกับการประกอบธุรกิจ เชน สัญญาซื้อขาย สัญญากูยืมเงิน สัญญาคํ้าประกัน จํานอง จํานํา สัญญาเชาทรัพย เช็ค ตลอดจนกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการ ประกอบธุรกิจ กม. 104* กฎหมายรัฐธรรมนูญ (3 หนวยกิต) LA 104 Constitutional Law ศึ ก ษาถึ ง วิ วั ฒ นาการของแนวความคิ ด ทางกฎหมาย รัฐธรรมนูญ รัฐ ระบบรัฐบาล อํานาจอธิปไตย ความสัมพันธระหวาง องคกรผูใชอํานาจอธิปไตย สิทธิเสรีภาพของประชาชน กม. 209 ทักษะการศึกษาวิชานิติศาสตรเบื้องตน (2 ชั่วโมงตอสัปดาห) ไมนับหนวยกิต LA 209 Fundamental Legal Study Skills ศึกษาวิธีการสืบคนและเขาถึงฐานขอมูลเฉพาะทางดาน นิตศิ าสตร วิธกี ารใชฐานขอมูลทัว่ ไป การคนควาคําพิพากษาศาลฎีกา ราชกิจจานุเบกษา วารสารกฎหมาย ฝกทักษะการอาน การตีความ ภาษากฎหมาย การเขียนตอบ การวิเคราะหและการใหความเห็นทาง กฎหมาย ฝกทักษะเบื้องตนการใชศัพทภาษาอังกฤษเฉพาะทางดาน นิตศิ าสตร ตลอดจนการแนะนําทางเลือกในการประกอบวิชาชีพของ นักกฎหมาย การพัฒนาบุคลิกภาพ จริยธรรม และเจตคติของ นักศึกษา เพื่อเตรียมความพรอมในการศึกษากฎหมายและวางแผน ในการประกอบอาชีพตอไป

กม. 210 กฎหมายแพง: หลักทั่วไป (3 หนวยกิต) LA 210 Civil and Commercial Code: General Principles ศึกษาลักษณะทั่วไปของกฎหมายแพง การใชและการ ตีความกฎหมาย การอุดชองวางของกฎหมาย ผลบังคับทางกฎหมาย สิทธิหนาทีแ่ ละการใชสทิ ธิ สาระสําคัญของกฎหมายแพงตามทีป่ รากฏ ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 1 (นอกจากทีเ่ ปนเนือ้ หา ของ กม. 211) กม. 211 กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา (3 หนวยกิต) LA 211 Juristic Acts and Contract Law วิชาบังคับกอน: เคยศึกษาวิชา กม. 209 ทักษะการศึกษาวิชา นิติศาสตรเบื้องตน ศึ ก ษาหลั ก กฎหมายลั ก ษณะนิ ติ กรรมตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 1 ระยะเวลา อายุความ และหลัก กฎหมายลักษณะสัญญาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 2 ลักษณะ 2 กม. 212 กฎหมายลักษณะหนี้: หลักทั่วไป (4 หนวยกิต) LA 212 Law of Obligations: General Principles ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะหนี้ ตามประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย บรรพ 2 ลักษณะ 1 กม. 213 กฎหมายลักษณะละเมิด (3 หนวยกิต) จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได LA 213 Law of Tort, Management of Affairs without Mandate and Undue Enrichment ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 2 ลักษณะ 3, 4 และ 5 รวมถึงศึกษากฎหมายวาดวยความรับผิดทางละเมิดของ เจาหนาที่ หลักสูตรปร ญญาตร 383


กม. 214 กฎหมายลักษณะทรัพย (3 หนวยกิต) LA 214 Law of Property ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะทรัพยสิน ตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 4 กม. 220 กฎหมายอาญา: ภาคทั่วไป (3 หนวยกิต) LA 220 Criminal Law: General Provisions ศึ ก ษาหลั ก ทั่ ว ไปของกฎหมายอาญา ตามประมวล กฎหมายอาญา ภาคบทบัญญัติทั่วไป กม. 221 กฎหมายอาญา: ภาคความผิด (4 หนวยกิต) LA 221 Criminal Law: Offences วิชาบังคับกอน: สอบผานวิชา กม. 220 กฎหมายอาญา: ภาคทั่วไป) ศึกษาหลักกฎหมายอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาคความผิด และภาคลหุโทษ กม. 230 กฎหมายมหาชนเบื้องตน (2 หนวยกิต) LA 230 Introduction to Public Law ศึกษาวิวัฒนาการ บอเกิด ปรัชญา ความหมาย ลักษณะ ทัว่ ไป และประเภทของกฎหมายมหาชน ทฤษฎีการจัดโครงสรางทาง ปกครองในรัฐ อํานาจและทฤษฎีสําคัญเกี่ยวกับการใชอํานาจ โดย เฉพาะการแบงแยกการใชอํานาจอธิปไตย อํานาจดุลพินิจและอํานาจ ผูกพัน นิติกรรมทางปกครอง เขตอํานาจศาลปกครอง กม. 241 เอกเทศสัญญา 1 (4 หนวยกิต) LA 241 Specific Contracts I ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให เชา ทรัพย เชาซื้อ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3

384 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กม. 242 เอกเทศสัญญา 2 (3 หนวยกิต) LA 242 Specific Contracts II ศึกษากฎหมายลักษณะจางแรงงาน จางทําของ รับขน ยืม ฝากทรัพย ตัวแทน นายหนา ตามประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย บรรพ 3 กม. 243 กฎหมายลักษณะประกันดวยบุคคล (3 หนวยกิต) และทรัพย LA 243 Secured Transactions ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะคํ้าประกัน จํานองและจํานํา ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3 กม. 244 กฎหมายลักษณะประกันภัย (2 หนวยกิต) LA 244 Law of Insurance ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะประกันภัย ตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3 ตลอดจนศึกษากฎหมายอื่นที่ เกี่ยวของกับการประกันภัย กม. 245 กฎหมายรัฐธรรมนูญ (3 หนวยกิต) LA 245 Constitutional Law วิชาบังคับกอน: เคยศึกษาวิชา กม. 230 กฎหมายมหาชนเบื้องตน ศึ ก ษาวิ วั ฒ นาการของแนวความคิ ด ทางกฎหมาย รัฐธรรมนูญ รัฐ ระบบรัฐบาล อํานาจอธิปไตย ความสัมพันธระหวาง องคกรผูใ ชอาํ นาจอธิปไตย สิทธิเสรีภาพของประชาชน การควบคุมมิ ใหกฎหมายขัดตอรัฐธรรมนูญ ตลอดจนศึกษากฎหมายประกอบ รัฐธรรมนูญอื่นๆ


กม. 300 กฎหมายลักษณะหางหุนสวน บริษัท (3 หนวยกิต) และบริษัทมหาชน LA 300 Law of Partnerships, Corporation and Association and Law of Public Company ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะหุนสวน บริษัท และสมาคม ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 1 ลักษณะ 2 หมวด 2 และบรรพ 3 ลักษณะ 22 ตลอดจนศึกษากฎหมายวาดวยบริษทั มหาชน กม. 311 กฎหมายวาดวยตั๋วเงินและบัญชีเดินสะพัด (3 หนวยกิต) LA 311 Law of Negotiable Instruments and Current Account ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะตั๋วเงินและบัญชีเดินสะพัด ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3 ลักษณะ 19 และ ลักษณะ 21 กม. 312 กฎหมายลักษณะครอบครัว (3 หนวยกิต) LA 312 Law of Family ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะครอบครัว ตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 5 กม. 313 กฎหมายลักษณะมรดก (3 หนวยกิต) LA 313 Law of Succession ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะมรดก ตามประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย บรรพ 6 กม. 314 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง (4 หนวยกิต) LA 314 Law of Civil Procedures ศึกษาหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพงภาค 1 ภาค 2 และภาค 3

กม. 315 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง (3 หนวยกิต) ภาคบังคับคดี LA 315 Law of Civil Procedures - Provisional Measures and the Execution of Judgments วิชาบังคับกอน: เคยศึกษาวิชา กม. 314 กฎหมายวิธีพิจารณา ความแพง ศึกษาหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพงภาค 4 กม. 316 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (4 หนวยกิต) LA 316 Law of Criminal Procedures วิชาบังคับกอน: เคยศึกษาวิชา กม. 314 กฎหมายวิธีพิจารณา ความแพง ศึกษาหลักกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา ตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กม. 317 กฎหมายลักษณะพยาน (3 หนวยกิต) LA 317 Law of Evidence ศึกษากฎหมายวาดวยพยานหลักฐานตามบทบัญญัตขิ อง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงและประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญาเกี่ยวกับพยานหลักฐาน กม. 318 พระธรรมนูญศาลยุติธรรม (2 หนวยกิต) และระบบตุลาการ LA 318 Constitution of Courts of Justice and Judicial System ศึกษาพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ศาลยุติธรรม อํานาจ ศาล อํานาจผูพ พิ ากษาในการพิจารณาพิพากษาคดี และระบบตุลาการ

หลักสูตรปร ญญาตร 385


กม. 319 กฎหมายลมละลาย (3 หนวยกิต) LA 319 Bankruptcy Law ศึกษาวิวฒ ั นาการและวัตถุประสงคของกฎหมายลมละลาย วิธกี ารจัดการทรัพยสนิ ของลูกหนี้ การบังคับชําระหนี้ และการจัดสรร ชําระหนี้ บทบาทของเจาพนักงานพิทักษทรัพยและบุคคลอื่นที่ เกี่ยวของกับลูกหนี้ อํานาจศาล กระบวนพิจารณาคดีลมละลาย และ การฟนฟูกิจการของลูกหนี้

กม. 411 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง (3 หนวยกิต) LA 411 Public International Law ศึกษาหลักกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง บอ เกิดของกฎหมายระหวางประทศ การใชกฎหมายระหวางประเทศ สิทธิ และหนาที่ของรัฐ ดินแดนของรัฐ สนธิสัญญา การระงับขอพิพาท ระหวางรัฐ การทําสงครามและความสัมพันธอื่นๆ ตามกฎหมาย ระหวางประเทศ

กม. 320 กฎหมายทรัพยสินทางปญญา (3 หนวยกิต) LA 320 Intellectual Property Law ศึกษาแนวคิดและหลักการทัว่ ไปของทรัพยสนิ ทางปญญา โดยเนนเรื่องของลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการคา และความลับ ทางการคา ตลอดจนขอตกลงระหวางประเทศที่เกี่ยวของ

กม. 412 หลักวิชาชีพนักกฎหมาย (2 หนวยกิต) LA 412 Legal Profession ศึกษาวิวัฒนาการของวิชาชีพกฎหมาย ความรับผิดชอบ จริยธรรมและงานของนักกฎหมายในสาขาตางๆ มารยาทและอุดมคติ ของนักกฎหมายตลอดจนหนวยงานตางๆ ที่กอตั้งขึ้นเพื่อควบคุมผู ประกอบอาชีพทางกฎหมาย

กม. 321 กฎหมายปกครอง (3 หนวยกิต) LA 321 Administrative Law ศึกษาความหมายและขอบเขตของกฎหมายปกครอง ความแตกตางระหวางกฎหมายปกครองกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ หลัก ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดระเบียบบริหารของรัฐ สิทธิ และหนาที่ระหวาง รัฐกับเอกชน องคกรของฝายปกครอง วิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง และการควบคุมการใชอํานาจปกครอง

กม. 413 ภาษาอังกฤษพื้นฐานสําหรับนักกฎหมาย (2 หนวยกิต) LA 413 Fundamental English for Lawyers ศึกษาเกี่ยวกับการใชภาษาอังกฤษพื้นฐานดานกฎหมาย โดยจะเนนการอานและการทําความเขาใจขัน้ พืน้ ฐานเกีย่ วกับเอกสาร ทางกฎหมาย การใชศัพทและถอยคําทางกฎหมายที่จําเปน

กม. 410 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล (3 หนวยกิต) LA 410 Private International Law ศึกษาหลักกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล กฎหมายเกี่ยวกับสัญชาติของบุคคล การกําหนดสิทธิหนาที่และ สถานภาพของบุคคลในทางระหวางประเทศ สถานะของคนชาติและ คนตางดาว หลักวาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย โดยการศึกษา กฎหมายวาดวยสัญชาติ กฎหมายวาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย กฎหมายเกี่ยวกับคนตางดาว และอนุสัญญาที่เกี่ยวของ 386 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กม. 414 กฎหมายภาษีอากร (2 หนวยกิต) LA 414 Tax Law ศึกษาประมวลรัษฎากรในสวนที่วาดวยภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล การอุทธรณภาษี ตลอดจนปญหาเกี่ยว กับภาษีอากร


กม. 415 กฎหมายแรงงาน (2 หนวยกิต) LA 415 Labor Law ศึกษาหลักเกณฑของกฎหมายแรงงาน ตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย กฎหมายคุมครองแรงงาน กฎหมาย แรงงานสัมพันธ กฎหมายประกันสังคม รวมทัง้ การพิจารณาคดีทเี่ กีย่ ว กับแรงงาน

กม. 423 สัมมนากฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (2 หนวยกิต) LA 423 Seminar in Law of Criminal Procedures ศึกษาประเด็นปญหาในกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา ที่เกี่ยวกับการดําเนินกระบวนวิธีพิจารณาความอาญาในศาลชั้นตน ศาลอุทธรณ และศาลฎีกา โดยการสัมมนา เพือ่ ใหนกั ศึกษาไดคน ควา ฝกฝนการวิเคราะหและการใหความเห็นทางกฎหมาย

กม. 420 สัมมนากฎหมายแพงและพาณิชย (2 หนวยกิต) LA 420 Seminar in Civil and Commercial Law ศึกษาประเด็นปญหาในกฎหมายแพงและพาณิชยโดยการ สัมมนา เพื่อใหนักศึกษาไดคนควา ฝกฝนการวิเคราะหและการให ความเห็นทางกฎหมาย

กม. 424 กฎหมายเกี่ยวกับการกระทําความผิด (2 หนวยกิต) ของเด็กและเยาวชน LA 424 Law of Juvenile Delinquency ศึกษากฎหมายเกี่ยวกับสิทธิของเด็กและเยาวชน การ กระทําความผิดของเด็กและเยาวชน กระบวนการยุตธิ รรมสําหรับเด็ก และเยาวชน การแกไขและฟน ฟูจติ ใจของเด็กและเยาวชนทีก่ ระทําผิด ปญหาความรุนแรงภายในครอบครัว ตลอดจนการคุมครองเด็กและ เยาวชนตามกฎหมายการจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธี พิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว และพระราชบัญญัติอื่นๆ ที่ เกี่ยวของ

กม. 421 สัมมนากฎหมายอาญา (2 หนวยกิต) LA 421 Seminar in Criminal Law ศึกษาประเด็นปญหาในกฎหมายอาญาภาคทั่วไป ภาค ความผิด และภาคลหุโทษ โดยการสัมมนา เพือ่ ใหนกั ศึกษาไดคน ควา ฝกฝนการวิเคราะหและการใหความเห็นทางกฎหมาย กม. 422 สัมมนากฎหมายวิธีพิจารณาความแพง (2 หนวยกิต) LA 422 Seminar in Law of Civil Procedures ศึกษาประเด็นปญหาในกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพงที่ เกีย่ วกับขัน้ ตอนและกระบวนการดําเนินคดีแพงและการบังคับคดีแพง โดยการสัมมนา เพื่อใหนักศึกษาไดคนควา ฝกฝนการวิเคราะหและ การใหความเห็นทางกฎหมาย

กม. 425 อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา (2 หนวยกิต) LA 425 Criminology and Penology ศึกษาความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ลักษณะ และสาเหตุของอาชญากรรม การปองกันอาชญากรรม การแกไขและ ฟนฟูผูกระทําความผิด ความหมายและขอบเขตของทัณฑวิทยา ทฤษฏีและการปฏิบัติตอผูกระทําความผิดอาญา การรอการลงโทษ การคุมประพฤติ และการพักการลงโทษ กม. 426 กฎหมายอาชญากรรมทางธุรกิจ (2 หนวยกิต) LA 426 Law of Business Crime ศึกษาความหมายของอาชญากรรมทางธุรกิจ ลักษณะ และรูปแบบของอาชญากรรมทางธุรกิจ มาตรการและกลไกของรัฐใน การปราบปรามอาชญากรรมทางธุรกิจ หลักสูตรปร ญญาตร 387


กม. 427 การสืบสวนสอบสวนและนิติเวชศาสตร (2 หนวยกิต) LA 427 Investigation and Forensic Medicine ศึ ก ษาหลั ก การและกระบวนการทางกฎหมายในการ สืบสวนและสอบสวนการกระทําความผิดทางอาญา สิทธิของผูต อ งหา ตามรัฐธรรมนูญ ศึกษาการใชเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตรเพือ่ ประกอบ การสืบสวนสอบสวนและการรวบรวมพยานหลักฐาน ตลอดจนการ พิสูจนพยานหลักฐานสําหรับการดําเนินคดีตามกระบวนการยุติธรรม กม. 428 นิติปรัชญา (2 หนวยกิต) LA 428 Legal Philosophy ศึกษาแนวความคิดของนักปรัชญากฎหมายในสํานักตางๆ ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ศึกษาทฤษฎีอันเปนรากฐานของกฎหมาย ตลอดจนปรัชญาทีเ่ ปนเหตุผลในการบัญญัตกิ ฎหมาย เพือ่ ใหนกั ศึกษา สามารถนําแนวความคิดเหลานั้นไปประยุกต ใชในการรางกฎหมาย การใชและการตีความกฎหมายในสังคมปจจุบันไดอยางถูกตองและ เปนธรรม กม. 430 ประวัติศาสตรกฎหมาย (2 หนวยกิต) และกระบวนการยุติธรรมของไทย LA 430 History of Law and the Judicial Process of Thailand ศึกษาประวัตศิ าสตรทางวัฒนธรรมและสังคมไทยในอดีต แนวความคิดและอิทธิพลของระบบกฎหมายตางๆ ทีม่ ตี อ วิวฒ ั นาการ ของกฎหมายไทย ตลอดจนวิวัฒนาการของระบบกฎหมายไทยและ กระบวนการยุติธรรมของไทย ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน กม. 431 ภาษาไทยสําหรับนักกฎหมาย (2 หนวยกิต) LA 431 Thai for Lawyers ศึกษาทักษะการใชภาษาไทยสําหรับนักกฎหมาย ฝกการ อาน การวิเคราะหและตีความภาษากฎหมาย และการสรุปประเด็น จากเอกสารทางกฎหมาย เชน สัญญา บทความ คําพิพากษาของศาล 388 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

และเอกสารทางกฎหมายอืน่ ๆ ศึกษาความหมายของศัพทและสํานวน ที่มีลักษณะเฉพาะและการใชภาษากฎหมาย รวมทั้งฝกการเขียนการ ใชถอยคําภาษาใหถูกตองตามหลักภาษาไทยและหลักกฎหมาย กม. 432 การอานเอกสารทางกฎหมาย (2 หนวยกิต) ภาษาอังกฤษและการคนควา LA 432 English Legal Reading and Research วิชาบังคับกอน: สอบผานวิชา กม. 413 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน สําหรับนักกฎหมาย ศึกษาและฝกฝนการอานเอกสารวิชาชีพกฎหมาย เชน ตํารา บทความ รายงานคดี (Law Report) ของประเทศตางๆ และ ฝกฝนการคนควากฎหมายตางประเทศ กม. 433 การวาความและศาลจําลอง (2 หนวยกิต) LA 433 Advocacy and Moot Court ศึกษาเทคนิคและวิธกี ารในการเตรียมคดี การรางคําฟอง คําใหการ แถลงการณ คํารอง และเทคนิคการวาความในชั้นศาล ตลอดจนปญหาตางๆ ที่เกี่ยวกับการดําเนินคดี กม. 434 วิชาชีพใหคําปรึกษาดานกฎหมาย (2 หนวยกิต) และทนายความ LA 434 Legal Consultancy and Advocacy วิชาบังคับกอน: เคยศึกษาวิชา กม. 314 กฎหมายวิธีพิจารณา ความแพง และเคยหรือกําลังศึกษาวิชา กม. 316 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ศึกษาหลักการสําคัญในการจัดตัง้ สํานักงานกฎหมาย การ บริหารงาน และวิธีการใหคําปรึกษาแกลูกความ รวมทั้งมารยาท ทนายความ เพื่อใหนักศึกษาไดเตรียมความพรอมในการประกอบ วิชาชีพ


กม. 435 ทักษะในการปฏิบัติงานทางกฎหมาย (2 หนวยกิต) LA 435 Basic Skills in Legal Practice วิชาบังคับกอน: เคยศึกษาวิชา กม. 314 กฎหมายวิธีพิจารณา ความแพง และเคยหรือกําลังศึกษาวิชา กม. 316 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ศึกษาหลักการใหคําปรึกษาทางกฎหมายโดยทั่วไปและ การฝกภาคปฏิบัติ เชน การใหคําปรึกษาทางกฎหมาย การซักถาม ขอเท็จจริง การสรุปขอเท็จจริง การทําความเห็นเบือ้ งตนทางกฎหมาย เปนตน โดยมีการบรรยายสัปดาหละ 1 ชั่วโมง และฝกปฏิบัติตลอด หลักสูตรไมนอยกวา 14 ชั่วโมง กม. 436 การใชและการตีความกฎหมาย (2 หนวยกิต) LA 436 Application and Interpretation of Law ศึกษาหลักเกณฑการใชและการตีความกฎหมายลาย ลักษณอักษรและการใชกฎหมายแบบเทียบเคียง (Analogy) การใช กฎหมายจารีตประเพณี รวมทั้งศึกษาปญหาและหลักการใชและการ ตีความกฎหมายเฉพาะเรื่อง เชน กฎหมายอาญา กฎหมายมหาชน นิติกรรม สัญญา และเรื่องอื่นๆ กม. 437 กฎหมายเกี่ยวกับสุขภาพและการแพทย (2 หนวยกิต) LA 437 Health and Medical Law ศึกษากฎหมายเกีย่ วกับสิทธิผปู ว ย กฎหมายเกีย่ วกับหลัก ประกันสุขภาพ กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพดานการแพทย และการควบคุมสถานพยาบาล และกฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีดาน วิทยาศาสตรการแพทย

กม. 438 เตรียมสหกิจศึกษา (3 หนวยกิต) LA 438 Pre-cooperative Education (คูขนานวิชา สศ. 301: เตรียมสหกิจศึกษา) ศึ ก ษาแนวคิ ด และความเข า ใจของระบบสหกิ จ ศึ ก ษา ตลอดจนเปนการเตรียมความพรอมและทักษะดานตางๆ อาทิ การ เขียนจดหมายสมัครงาน การเลือกสถานประกอบการหรือหนวยงาน ราชการที่รองรับนักศึกษากฎหมาย เทคนิคการเขารับการสัมภาษณ งาน การพัฒนาทักษะในการสือ่ สาร วัฒนธรรมองคกร เทคนิคการคิด อยางสรางสรรค เทคนิคการเขียนรายงานและการนําเสนอผลงานทาง กฎหมาย ขอควรปฏิบัติ จรรยาบรรณและจริยธรรมที่ควรปฏิบัติใน ระหวางการปฏิบัติงานในฐานะนักกฎหมาย กม. 439 สหกิจศึกษา (6 หนวยกิต) LA 439 Cooperative Education วิชาบังคับกอน: สอบผานวิชา กม. 438 เตรียมสหกิจศึกษา ศึกษาระบบการทํางานจริงในศาล หนวยงานราชการหรือ หนวยงานเอกชนตางๆ ที่เกี่ยวของกับงานดานกฎหมายในฐานะ พนักงานของหนวยงานนัน้ ๆ เพือ่ เสริมสรางใหนกั ศึกษามีความพรอม ในการประกอบอาชีพจากการปฏิบัติงานอยางมีหลักการและมีระบบ นักศึกษาจะตองมีชั่วโมงการทํางานอยางเต็มเวลา รวมแลวไมนอย กวา 16 สัปดาห หรือ 1 ภาคการศึกษา รวมถึงมีการประเมินผลการ ทํางานจากอาจารยที่ปรึกษารวมกับหนวยงานที่นักศึกษาเขาทํางาน และนักศึกษาจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการทํางานเมื่อสิ้นสุดการ ทํางาน

หลักสูตรปร ญญาตร 389


กม. 440 กฎหมายทรัพยสินทางปญญา (2 หนวยกิต) เพื่อภูมิปญญาทองถิ่นและวัฒนธรรม LA 440 Intellectual Property Law for Traditional Knowledge and Culture วิชาบังคับกอน: เคยศึกษาวิชา กม. 320 กฎหมายทรัพยสิน ทางปญญา ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวของกับการคุมครองทรัพยสินทาง ปญญาที่เชื่อมโยงกับภูมิปญญาทองถิ่นซึ่งเปนพื้นฐานของเศรษฐกิจ สรางสรรคของไทย ไดแก สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร(Geographical Indication) ทรัพยากรพันธุกรรม (Genetic Resources) องคความ รูดั้งเดิม (Traditional Knowledge) และศิลปวัฒนธรรม (Folklore) กม. 441 กฎหมายเกี่ยวกับการแขงขันทางการคา (2 หนวยกิต) LA 441 Competition Law ศึกษาแนวคิดและกฎหมายวาดวยการแขงขันเสรี การ ผูกขาดทางการคา การกําหนดราคาสินคา ตลอดจนการแขงขันที่ไม เปนธรรม และผลกระทบตอผูบ ริโภค รวมทัง้ ศึกษาถึงกฎหมายวาดวย ขอสัญญาที่ไมเปนธรรม กม. 442 กฎหมายหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (2 หนวยกิต) LA 442 Securities Law and Regulations ศึกษากฎหมายเกีย่ วกับตลาดหลักทรัพย การบริหารงาน ของตลาดหลักทรัพยและสถาบันตางๆ ที่เกี่ยวของ ตลอดจนการ ควบคุมการประกอบธุรกิจหลักทรัพย การออกและการคาหลักทรัพย ตามพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และกฎหมายอืน่ ที่เกี่ยวของ

390 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กม. 443 การรางสัญญาและการเจรจาตอรอง (2 หนวยกิต) LA 443 Contractual Drafting and Negotiation ศึกษาหลักเกณฑและวิธีการยกรางนิติกรรมและสัญญา แบบตาง ๆ ตลอดจนการใชถอ ยคําภาษาใหถกู ตองตามกฎหมาย และ การฝกทักษะเตรียมการเจรจาตอรอง รวมทัง้ ศึกษาถึงกฎหมายวาดวย ขอสัญญาที่ไมเปนธรรม กม. 444 การจัดเตรียมเอกสารสําหรับ (2 หนวยกิต) องคกรธุรกิจใหม LA 444 Drafting Legal Documents for New Business วิชาบังคับกอน: เคยศึกษาวิชา กม. 300 กฎหมายลักษณะหางหุน สวน บริษัทและบริษัทมหาชน ศึกษาและฝกฝนการใชความรูเกี่ยวกับกฎหมายวาดวย องคกรธุรกิจมาปรับใชในการจัดเตรียมเอกสารตางๆ เพือ่ ใชในการจัด ตั้งองคกรทางธุรกิจใหม ทั้งในสวนที่เปนเอกสารราชการ และสัญญา ระหวางผูเปนหุนสวนหรือผูถือหุน รวมทั้งสัญญามาตรฐานอื่นๆ ที่ จําเปนตองใชสําหรับผูประกอบธุรกิจรายใหม กม. 445 การระงับขอพิพาททางเลือก (2 หนวยกิต) LA 445 Alternative Dispute Resolution ศึกษาแนวคิดและวิธีการระงับขอพิพาททางเลือก ไดแก การเจรจา การไกลเกลี่ย การไตสวน การประนีประนอม และการ อนุญาโตตุลาการ กม. 446 กฎหมายธุรกรรมการธนาคารและการเงิน (2 หนวยกิต) LA 446 Banking and Finance Transaction Law ศึกษาการทําธุรกรรมดานการเงิน การธนาคาร การกอ หนี้ การให ห ลั ก ประกั น ที่ เ กี่ ย วกั บ ธุ ร กรรมด า นการเงิ น ทั้ ง ใน ประเทศไทยและตางประเทศ


กม. 447 การบัญชีสําหรับนักกฎหมาย (2 หนวยกิต) LA 447 Accounting for Lawyers ศึกษาการนําหลักและกฎเกณฑทางบัญชีเขามาประกอบ การใชกฎหมาย ความสัมพันธระหวางหลักการบัญชีกับกฎหมายหุน สวนบริษัทและภาษีอากร การอานงบดุลและงบกําไรขาดทุนเพื่อการ ใหคําปรึกษาดานกฎหมาย กม. 448 กฎหมายคุมครองผูบริโภค (2 หนวยกิต) LA 448 Consumer Protection Law ศึ ก ษาแนวคิ ด หลั ก การเกี่ ย วกั บ สิ ท ธิ ข องผู  บ ริ โ ภค มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคตามพระราช บัญญัตคิ มุ ครองผูบ ริโภคและการดําเนินคดีเกีย่ วกับผูบ ริโภคตามพระ ราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ. 2551 กม. 449 กฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดของ (2 หนวยกิต) สินคาที่ไมปลอดภัย LA 449 Products Liability Law วิชาบังคับกอน: เคยศึกษาวิชา กม. 448 กฎหมายคุมครองผูบริโภค ศึกษาหลักการและเหตุผลของการรางกฎหมาย เนื้อหา รวมทัง้ ปญหาทีเ่ กิดขึน้ จากการบังคับใชกฎหมายเกีย่ วกับความรับผิด ของสินคาที่ไมปลอดภัย รวมทั้งวิธีพิจารณาคดีผูบริโภคที่จะนํามาใช กับการดําเนินคดีลักษณะนี้ รวมทั้งเปรียบเทียบกรณีศึกษาของ กฎหมายดังกลาวของตางประเทศและประเทศไทย กม. 450 กฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (2 หนวยกิต) LA 450 Information Technology Law ศึกษากฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ อินเทอรเน็ต ในรูปแบบตางๆ การกระทําความผิดโดยการใชเทคโนโลยี สารสนเทศ ความรับผิดของผูใชบริการและผูใหบริการ

กม. 451 กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทาง (2 หนวยกิต) อิเล็กทรอนิกส LA 451 Electronic Transaction Law ศึ ก ษากฎหมายเกี่ ย วกั บ ธุ ร กรรมทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ลายมื อ ชื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ธุ ร กิ จ บริ ก ารเกี่ ย วกั บ ธุ ร กรรมทาง อิเล็กทรอนิกส และธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ ตามพระราช บัญญัติธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ กม. 452 กฎหมายการลงทุน (2 หนวยกิต) LA 452 Law of Investment ศึกษาความสําคัญของการลงทุนในระบบเศรษฐกิจไทยใน ปจจุบนั นโยบายการสงเสริมการลงทุน (BOI) หลักเกณฑของกฎหมาย เกี่ยวกับการลงทุน กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของคน ตางดาว กฎหมายเกี่ยวกับสถาบันการเงินที่เกี่ยวของกับการลงทุน และกฎหมายอื่นที่มีผลกระทบโดยตรงตอการลงทุน รวมทั้งกฎหมาย เกี่ยวกับการลงทุนของตางประเทศ กม. 453 กฎหมายเกี่ยวกับการอุตสาหกรรม (2 หนวยกิต) LA 453 Industrial Law ศึกษาหลักเกณฑของกฎหมายที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรม กฎหมายควบคุมการประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม ระเบียบ กฎ เกณฑ และปญหาทางดานกฎหมายที่เกี่ยวของ กม. 454 กฎหมายศุลกากร (2 หนวยกิต) LA 454 Customs Law ศึกษานโยบายของรัฐเกี่ยวกับพิธีการศุลกากร ความรวม มือระหวางประเทศวาดวยศุลกากร การกําหนดและการชําระภาษีขา เขาและขาออก หลักเกณฑและวิธีการตรวจสอบหลังการตรวจปลอย พิธีการศุลกากรแบบไรเอกสาร (Paperless) ตลอดจนศึกษาระเบียบ กฎเกณฑที่เกี่ยวของ หลักสูตรปร ญญาตร 391


กม. 455 กฎหมายเกี่ยวกับการขนสงสินคา (2 หนวยกิต) และโลจิสติกส LA 455 Transportation Logistic and the Law ศึกษากฎหมายการจัดการดานขนสง ไดแก กฎหมายดาน การขนสงทางบก การขนสงทางทะเล การขนสงทางอากาศ และการ ขนสงตอเนือ่ งหลายรูปแบบ กฎหมายพาณิชยนาวี การจัดการดานคลัง สินคา รวมทัง้ กฎหมายทีส่ ง เสริมผูป ระกอบการธุรกิจโลจิสติกสไทย

กม. 459 กฎหมายเกี่ยวกับการควบรวมกิจการ (2 หนวยกิต) LA 459 Law of Mergers and Acquisitions ศึ ก ษาหลั ก เกณฑ รู ป แบบกฎหมายที่ เ กี่ ย วกั บ คณะ กรรมการบริษทั การควบรวมกิจการ (Take over) กฎหมายหลักทรัพย ที่เกี่ยวของกับการดําเนินการดังกลาว วิธีการรางสัญญาควบรวม กิจการ ภาษีทเี่ กีย่ วกับการควบรวมกิจการ และการนําบริษทั ออกจาก ตลาดหลักทรัพย

กม. 456 กฎหมายธุรกิจทองเที่ยว (2 หนวยกิต) LA 456 Law of Tourism Business ศึกษากฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับการประกอบธุรกิจทองเทีย่ ว ประเภทตางๆ เชน ธุรกิจนําเที่ยว มัคคุเทศก ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจ สถานบริการ ในประเด็นที่เกี่ยวกับหลักเกณฑ เงื่อนไขในการขอใบ อนุญาตประกอบอาชีพ รวมทัง้ ทําความเขาใจเนือ้ หาและศึกษารูปแบบ ของสัญญาประเภทตางๆ ที่จําเปน

กม. 460 กฎหมายเกี่ยวกับตราสารอนุพันธ (2 หนวยกิต) LA 460 Derivative Law ศึกษากฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับอนุพนั ธทางการเงินทีเ่ กีย่ ว เนื่องกับอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน

กม. 457 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ (2 หนวยกิต) โทรคมนาคม LA 457 Law of Telecommunication Business ศึกษาแนวนโยบายแหงรัฐในการประกอบกิจการดาน โทรคมนาคม บทบาทหนาทีข่ ององคกรอิสระในการกํากับดูแล ตลอด จนกฎหมายที่ เ กี่ ย วข อ งในการขออนุ ญ าตเพื่ อ ประกอบกิ จ การ โทรคมนาคม กม. 458 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ (2 หนวยกิต) อสังหาริมทรัพย LA 458 Law of Real Estate Business ศึกษากฎหมายการจัดสรรที่ดิน กฎหมายวาดวยอาคาร ชุ ด กฎหมายที่ ดิ น กฎหมายผั ง เมื อ ง และภาษี เ กี่ ย วกั บ ธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพยตลอดจนแนวนโยบายของรัฐในการสนับสนุนและสง เสริมการประกอบธุรกิจดังกลาว 392 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กม. 461 การบริหารจัดการทรัพยสนิ ทางปญญา (2 หนวยกิต) LA 461 Intellectual Property Management วิชาบังคับกอน: เคยศึกษาวิชา กม. 320 กฎหมายทรัพยสนิ ทางปญญา ศึกษากฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับการบริหารจัดการทรัพยสนิ ทางปญญาสําหรับเจาของสิทธิ์หรือผูประกอบธุรกิจ โดยมุงเนน กฎหมายสิทธิบตั ร กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายเครือ่ งหมายการคา และ กฎหมายอื่นๆ ในมุมมองการบริหารจัดการทรัพยสินทางปญญา กม. 462 สัมมนากฎหมายทรัพยสินทางปญญา (2 หนวยกิต) LA 462 Seminar in Intellectual Property Law วิชาบังคับกอน: เคยศึกษาวิชา กม. 320 กฎหมายทรัพยสนิ ทางปญญา ศึกษาประเด็นปญหาในกฎหมายทรัพยสนิ ทางปญญาและ ประเด็นใหมที่โตแยงในปญหาขอกฎหมาย โดยการสัมมนาเพื่อให นักศึกษาไดคนควา ฝกฝนการวิเคราะหและการใหความเห็นทาง กฎหมาย


กม. 463 กฎหมายสําหรับผูประกอบการ (2 หนวยกิต) LA 463 Entrepreneurship Law ศึกษากฎหมายที่จําเปนสําหรับผูประกอบการ เชน กฎหมายเกี่ยวกับการเลือกองคกรธุรกิจ กฎหมายตัวแทนนายหนา กฎหมายแรงงาน นอกจากนี้นักศึกษาจะไดศึกษาถึงประเด็นขอ กฎหมายทีส่ าํ คัญในสัญญาประเภทตางๆ ทีจ่ าํ เปนสําหรับการประกอบ ธุรกิจ เชน สัญญากูยืมเงิน สัญญากูเบิกเงินเกินบัญชี สัญญาจํานอง สัญญาตั้งตัวแทนจําหนาย สัญญาเชา สัญญาจางแรงงาน เลตเตอร ออฟเครดิต และทรัสตรีซีท เปนตน กม. 464 กฎหมายภาษีการบริโภค (2 หนวยกิต) LA 464 Consumption Tax วิชาบังคับกอน: เคยศึกษาวิชา กม. 414 กฎหมายภาษีอากร หลักการและแนวคิดของกฎหมายภาษีการบริโภค ภาษี ธุรกิจเฉพาะ ภาษีสรรพสามิต ภาษีมูลคาเพิ่ม และภาษีอื่นๆ ที่มี ลักษณะในทํานองเดียวกัน กม. 470 กฎหมายเลือกตั้งและรัฐสภา (2 หนวยกิต) LA 470 Election Law and Parliament ศึกษาระบบพรรคการเมือง ระบบการเลือกตัง้ ในดานของ ความเปนมา องคกรของรัฐ และกฎหมายที่มีความเกี่ยวของ ในสวน ของรัฐสภาจะศึกษาถึงความเปนมาของระบบรัฐสภา ความสัมพันธ ระหวางรัฐสภากับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย กระบวนการ ตราพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญและกระบวนการตราพระราช บั ญ ญั ติ โ ดยรั ฐ สภา ข อ บั ง คั บ การประชุ ม สภาผู  แ ทนราษฎร ข อ บังคับการประชุมวุฒิสภา ขอบังคับการประชุมรัฐสภา บทบาทของ รัฐสภาในการควบคุมการบริหารราชการแผนดิน และบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญและกฎหมายที่เกี่ยวของกับรัฐสภา

กม. 471 สิทธิมนุษยชน (2 หนวยกิต) LA 471 Human Rights ศึ ก ษาประวั ติ แ ละวิ วั ฒ นาการของแนวความคิ ด และ ปรัชญาวาดวยสิทธิมนุษยชน การคุม ครองสิทธิมนุษยชนโดยสันนิบาต ชาติและสหประชาชาติ การคุม ครองสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศใน ระดับภูมิภาค ตลอดจนการคุมครองสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมายไทย กม. 472 ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (2 หนวยกิต) LA 472 Administrative Court and Administrative Procedures ศึกษาถึงแนวคิดการควบคุมการใชอํานาจรัฐโดยองคกร ตุลาการ ศึกษาถึงที่มาในการจัดตั้งศาลปกครอง การจัดองคกรของ ศาลปกครอง เขตอํานาจศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง กม. 473 กฎหมายการคลัง (2 หนวยกิต) LA 473 Law of Public Finance ศึกษาทฤษฎีนโยบายการเงินและหลักเศรษฐศาสตรซึ่ง เกีย่ วกับการเงินและการคลังของรัฐ บทบาทและนโยบายของรัฐในการ ดําเนินการเศรษฐกิจ หลักกฎหมายที่เกี่ยวกับการเงินการคลัง วิธีการ งบประมาณ การกูหนี้และพันธบัตร ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวกับ นโยบายการเงินอื่นๆ กม. 474 สัญญาของรัฐ (2 หนวยกิต) LA 474 State Contract ศึกษาหลักเกณฑ องคประกอบ กระบวนการ รูปแบบและ การจัดทําสัญญาของรัฐตามกฎหมายแพง และกฎหมายปกครอง

หลักสูตรปร ญญาตร 393


กม. 475 การรางกฎหมายและกระบวนการ (2 หนวยกิต) นิติบัญญัติ LA 475 Legal Drafting and Legislative Process ศึกษาหลักเกณฑ วิธีการยกรางกฎหมาย การใชภาษา และถอยคําในกฎหมาย ตลอดจนกระบวนการนิติบัญญัติของไทยใน สวนที่เกี่ยวกับการเสนอรางกฎหมาย การพิจารณา และการประกาศ ใชกฎหมาย กม. 476 กฎหมายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ (2 หนวยกิต) และสิ่งแวดลอม LA 476 Natural Resources and Environmental Law ศึกษาแนวความคิดและหลักเกณฑทางกฎหมายเกีย่ วกับ การอนุรกั ษและใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลาย ทางชีวภาพ ศึกษาถึงมูลเหตุแหงการเกิดปญหาสิ่งแวดลอมและผล กระทบที่มีตอสิ่งมีชีวิตและสังคม การแกไขและปองกันโดยอาศัย มาตรการทางกฎหมายและนโยบายของรัฐในการอนุรักษสิ่งแวดลอม ตลอดจนการดําเนินคดีเพื่อเรียกคาสินไหมทดแทนความเสียหายอัน เกิดจากสิ่งแวดลอมเปนพิษ กม. 477 กฎหมายประกันสังคม (2 หนวยกิต) LA 477 Law of Social Security ศึกษาถึงแนวคิดพื้นฐานและประวัติความเปนมาของ กฎหมายประกันสังคม ระบบการประกันความเจ็บปวย การประกัน ความทุพพลภาพ การประกันความชราภาพ การประกันการมรณะ และการประกันการวางงาน ตลอดจนศึกษาถึงพัฒนาการและปญหา จากการใชระบบประกันสังคมในประเทศไทย

394 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กม. 478 กฎหมายเกี่ยวกับพลังงาน (2 หนวยกิต) LA 478 Energy Law ศึกษาหลักเกณฑของกฎหมายในการควบคุมและใช ประโยชนในแหลงพลังงานตางๆ รวมทั้งพลังงานทดแทน กม. 479 สัมมนากฎหมายมหาชน (2 หนวยกิต) LA 479 Seminar in Public Law ศึกษาประเด็นปญหาในทางกฎหมายมหาชนสาขาตางๆ เชน กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง และกฎหมายการคลัง เปนตน โดยการสัมมนาเพือ่ ใหนกั ศึกษาไดคน ควา ฝกฝนการวิเคราะห และการใหความเห็นทางกฎหมาย กม. 480 กฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจ (2 หนวยกิต) LA 480 Public Economic Law ศึกษาถึงหลักทั่วไปของกฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจ ความหมาย วิวฒ ั นาการ ลักษณะทัว่ ไปและหลักพืน้ ฐานของกฎหมาย มหาชนทางเศรษฐกิจ การจัดองคกรและการดําเนินการที่เกี่ยวกับ เศรษฐกิจของรัฐ ตลอดจนการควบคุมการแทรกแซงทางเศรษฐกิจ ของรัฐ กม. 490 กฎหมายวาดวยการคาระหวางประเทศ (2 หนวยกิต) LA 490 International Trade Law ศึกษาหลักกฎหมายการคาระหวางประเทศ กฎหมาย เศรษฐกิจระหวางประเทศที่มีผลกระทบตอการคาระหวางประเทศ กฎหมายที่ใชบังคับกับสัญญาการคาระหวางประเทศ ขอกําหนดใน การสงมอบสินคา การทําสัญญาซื้อขายระหวางประเทศ การขนสง และการประกันภัยสินคา การชําระเงินและการโอนเงินระหวางประเทศ และการระงับขอพิพาททางการคาระหวางประเทศ ตลอดจนสิทธิ ประโยชนทางภาษี


กม. 491 กฎหมายระหวางประเทศวาดวยทะเล (2 หนวยกิต) LA 491 International Law of the Sea ศึกษาหลักกฎหมายระหวางประเทศวาดวยทะเล ความ สําคัญของทะเลในทางเศรษฐกิจและการเมือง การครอบครองทะเล การแบงอาณาเขตทางทะเลของรัฐ การปองกันการแสวงหาประโยชน จนเกินควรทางทรัพยากรธรรมชาติใตทะเล พืน้ ดินใตทะเลซึง่ อยูน อก เหนือเขตอํานาจของรัฐ และการระงับปญหาขอพิพาทระหวางรัฐซึ่ง เกิดจากทะเล กม. 492 กฎหมายวาดวยองคการระหวางประเทศ (2 หนวยกิต) LA 492 Law of International Organization ศึกษาวิวัฒนาการโครงสราง อํานาจหนาที่และบทบาท ขององคการสหประชาชาติ ทบวงการชํานัญพิเศษและองคการตางๆ ของสหประชาชาติ รวมทัง้ องคการระหวางประเทศระดับภูมภิ าค เชน องคการอนามัยโลก กองทุนเพื่อเด็กแหงสหประชาชาติ องคการ สิ่งแวดลอมโลก เปนตน กม. 493 กฎหมายสหภาพยุโรป (2 หนวยกิต) LA 493 European Union Law ศึ ก ษาหลั ก ทั่ ว ไปของกฎหมายเกี่ ย วกั บ สหภาพยุ โ รป สถาบันของสหภาพยุโรป สิทธิและหนาทีข่ องรัฐภาคีภายใตพนั ธะของ สหภาพยุโรป อํานาจศาลแหงสหภาพยุโรป ปญหาและแนวโนมของ สหภาพยุโรป กม. 494 กฎหมายการเงินและการธนาคาร (2 หนวยกิต) ระหวางประเทศ LA 494 Law of International and Finance Transaction ศึ ก ษากฎหมายและวิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เ กี่ ย วกั บ การเงิ น การ ธนาคารระหวางประเทศ ทั้งในสวนของกฎหมายและขอสัญญา เชน สัญญากูเ งินระหวางประเทศ การออกหลักทรัพยระหวางประเทศ และ ตราสารอนุพันธทางการเงินระหวางประเทศ เปนตน

กม. 495 อนุญาโตตุลาการทางการคา (2 หนวยกิต) ระหวางประเทศ LA 495 International Commercial Arbitration ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการระงับขอพิพาท การระงับขอ พิพาททางธุรกิจการคา โดยการใชอนุญาโตตุลาการทางการคาระหวาง ประเทศ กระบวนการพิจารณา การทําคําวินิจฉัยชี้ขาด ความเห็น และการบังคับตามคําวินิจฉัย กม. 496 กฎหมายสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ (2 หนวยกิต) LA 496 International Environmental Law ศึกษาหลักเกณฑทางกฎหมายระหวางประเทศเกี่ยวกับ การอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม หลักการพืน้ ฐานของ อนุสัญญาดานสิ่งแวดลอมที่สําคัญ รวมทั้งองคกรเพื่อการจัดการ สิ่งแวดลอม และการระงับขอพิพาทดานสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ กม. 497 ประชาคมอาเซียน (2 หนวยกิต) LA 497 ASEAN Community ศึกษาเกีย่ วกับความเปนมาของอาเซียน กฎบัตรอาเซียน (Asean Charter) ซึ่งเปนขอตกลงในความรวมมือดานความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ทีม่ งุ สงเสริมสันติภาพและเสถียรภาพ ในกลุมประเทศอาเซียน ไดแก ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และประชาคมสังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC) กม. 498 หลักการภาษีอากรระหวางประเทศ (2 หนวยกิต) LA 498 International Taxation ศึกษาภาษีอากรทีม่ ผี ลกระทบตอธุรกรรมระหวางประเทศ การจัดเก็บภาษีเงินไดจากผูม ถี นิ่ ทีอ่ ยูในประเทศและจากผูม เี งินไดจาก แหลงในประเทศ การปองกันการเลี่ยงภาษีระหวางประเทศ หลักการ ตั้งราคาโอน ภาษีซอน การขจัดภาษีซอน การเวนการเก็บภาษีซอน หลักสูตรปร ญญาตร 395


ระหวางรัฐ กฎหมายภาษีเงินไดระหวางประเทศและขอตกลงการเวน การเก็บภาษีซอนของประเทศไทย

คลัง การคาระหวางประเทศ การจางงาน วงจรเศรษฐกิจ ตลอดจน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

กม. 499 กฎหมายองคการเศรษฐกิจ (2 หนวยกิต) ระหวางประเทศ LA 499 Law of International Economic Organizations ศึกษาวิวัฒนาการ โครงสราง อํานาจหนาที่ บทบาท และ หลักเกณฑของการเขาเปนสมาชิกองคการเศรษฐกิจระหวางประเทศ เชน องคการการคาโลก กองทุนการเงินระหวางประเทศ ธนาคารโลก กลุมแปดประเทศ เปนตน

ศศ. 103 คณิตศาสตรสําหรับนักเศรษฐศาสตร 1 (3 หนวยกิต) EC 103 Mathematics for Economist I ศึกษาระบบจํานวนจริง สมการและอสมการ ฟงกชนั และ กราฟของฟงกชันชนิดตางๆ ไดแก ฟงกชันเสนตรง ฟงกชันโพลีโน เมียล ฟงกชันเอกซโปเนนเชียล และฟงกชันลอการิซึม รวมทั้งการ หาอนุพนั ธและการอินทิเกรทของแตละชนิด การจัดลําดับอนุกรม โดย เนนการนําไปใชในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร

หมวดวิชาเศรษฐศาสตร ศศ. 101 เศรษฐศาสตรจุลภาค 1 (3 หนวยกิต) EC 101 Microeconomics I ศึกษาความหมายของเศรษฐศาสตร ระบบเศรษฐกิจ อุปสงคอปุ ทานและการกําหนดราคา ความยืดหยุน พฤติกรรมผูบ ริโภค วาดวยทฤษฎีอรรถประโยชนและเสนความพอใจเทากัน ความหมาย ของการผลิต ตนทุนและรายรับจากการผลิต ปจจัยตางๆ ที่ใชในการ ผลิตและผลตอบแทนของปจจัยเหลานัน้ การกําหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแขงขันสมบูรณและไมสมบูรณ ศศ. 102 เศรษฐศาสตรมหภาค 1 (3 หนวยกิต) EC 102 Macroeconomics I ศึกษาถึงความหมายของรายไดประชาชาติ การกําหนด รายไดประชาชาติและผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ พฤติกรรมของ การใชจายทางดานการบริโภค การออม การลงทุน และการใชจาย ของรัฐบาล การเงินและการธนาคาร นโยบายการเงินและนโยบายการ 396 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศศ. 104 คณิตศาสตรสําหรับนักเศรษฐศาสตร 2 (3 หนวยกิต) EC 104 Mathematics for Economist II พื้นความรู: สอบได ศศ. 103 ศึกษาเมทริกซ ดีเทอรมิแนนท และคําตอบของระบบ สมการเชิงเสน การหาคาตํ่าสุดและสูงสุดของฟงกชันทั้งที่มีเงื่อนไข และไมมเี งือ่ นไข การศึกษาอนุพนั ธยอ ยและอนุพนั ธยอ ยอันดับสูง อิน ทริกรัลหลายชั้น โดยเนนการนําไปใชในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร ศศ. 106 คณิตศาสตรสําหรับเศรษฐศาสตรธรุ กิจ (3 หนวยกิต) EC 106 Mathematics for Business Economics พื้นความรู: สอบได ศศ. 103 ศึกษาถึงการนําเทคนิคทางคณิตศาสตรเพื่อนําไปใช วิเคราะหปญ หาตาง ๆ ในทางเศรษฐศาสตรธรุ กิจทัง้ ในทางทฤษฎีและ การประยุกตใช เชน การหาคาความยืดหยุนชนิดตางๆ ของอุปสงค และอุปทาน การวิเคราะหฟงกชันการผลิตและฟงกชันตนทุนการหา คากําไรสูงสุดและขาดทุนตํ่าสุดภายใตขอจํากัด การสั่งซื้อโดยเสียคา ใชจายตํ่าสุด ทฤษฎีของเกมส PERT และ CPM ตลอดจนทฤษฎีการ ตัดสินใจภายใตความเสี่ยง เปนตน


ศศ. 107 สถิติเศรษฐศาสตรเบื้องตน (3 หนวยกิต) EC 107 Introduction to Economic Statistics ศึกษาความหมาย ขอบเขตความสําคัญของสถิติ วิธที าง สถิติ การรวบรวมและนําเสนอขอมูล การแจกแจงความถี่ การสุม ตัวอยาง การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง การวัดการกระจาย ความนา จะเปน การแจกแจงความนาจะเปนแบบตอเนื่องและแบบไมตอเนื่อง การประมาณคาและการทดสอบ สมมติฐานเบื้องตนเพื่อเปนพื้นฐาน ความรูท างสถิตใิ นการวิเคราะหขอ มูลทางเศรษฐศาสตรในลําดับทีส่ งู ขึน้

ศศ. 202 เศรษฐศาสตรมหภาค (3 หนวยกิต) EC 202 Macroeconomics เพื่อใหนักศึกษาไดทราบถึงหลักทั่วไปทางเศรษฐกิจที่ เกี่ยวกับเศรษฐกิจในดานสวนรวม ศึกษาถึงพฤติกรรมของปจจัยทาง เศรษฐกิจตางๆ ซึง่ เปนตัวกําหนดรายได การออม การลงทุน บทบาท ของรัฐบาล การวาจาง ทํางาน ระดับเงินเฟอและเงินฝด ภาพทางการ เงิน บทบาททางดานการคาระหวางประเทศ ความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการพัฒนาเศรษฐกิจ

ศศ. 200 เศรษฐศาสตรเพื่อชีวิตประจําวัน (3 หนวยกิต) EC 200 Practical Economics for Daily Life เพื่ อ ให นั ก ศึ ก ษาได เ รี ย นรู แ ละเข า ใจหลั ก การทาง เศรษฐศาสตรเบื้องตนสําหรับชีวิตประจําวันและมุงเนนใหนักศึกษามี ทักษะที่จะนําองคความรูที่ไดในชั้นเรียนไปพัฒนาใชไดเองโดยงาย โดยเนื้อหาจะมุงเนนถึงปรากฏการณที่เกิดขึ้นจริงในเวลานั้นและ อธิบายเนื้อหาโดยใชตัวอยางของสถานการณจริงที่เกิดขึ้นกับระบบ เศรษฐกิจ ทั้งนี้ครอบคลุมการศึกษาวงจรทางเศรษฐกิจในทุกระดับ ตั้งแตความรูเบื้องตนในทางเศรษฐศาสตร ตนทุนและกําไรจากการ ผลิต ตลาด ตลาดเงิน ตลาดทุน นโยบายรัฐบาล ปญหาเศรษฐกิจ การคาและการเงินระหวางประเทศ ตลอดจนความรูรอบตัวเกี่ยวกับ เศรษฐกิจ

ศศ. 203 เศรษฐศาสตรเบื้องตน (3 หนวยกิต) EC 203 Introduction to Economics เพื่ อ ให นั ก ศึ ก ษาได เ รี ย นรู แ ละเข า ใจหลั ก การทาง เศรษฐศาสตร ที่เกี่ยวกับปรากฏการณทางเศรษฐกิจในชีวิตประจําวัน ศึกษาถึงการกําหนดราคาสินคา ราคาปจจัยการผลิต ทฤษฎีการผลิต รายไดประชาชาติ สวนประกอบของรายไดประชาชาติ การเงิน การ คลัง การติดตอกับตางประเทศ ตลอดจนการใชนโยบายตางๆ เพื่อ ทําใหเกิดความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ

ศศ. 201 เศรษฐศาสตรจุลภาค (3 หนวยกิต) EC 201 Microeconomics เพื่อใหนักศึกษาเขาใจแนวความคิดและหลักวิชาทาง เศรษฐศาสตรอยางกวางๆ เพื่อนําไปใชวิเคราะหปญหาทางเศรษฐกิจ ที่เกิดขึ้นในภาคเอกชนและธุรกิจ ศึกษาความรูทั่วไปเกี่ยวกับ มูลคา ราคา การจัดสรรทรัพยากร พฤติกรรมของผูบริโภค พฤติกรรมของ ผูผ ลิต การกําหนดราคาในตลาดทีม่ กี ารแขงขันสมบูรณและไมสมบูรณ ตลอดจนการกําหนดราคาของปจจัยการผลิต

ศศ. 204 สถิติเศรษฐศาสตร (3 หนวยกิต) EC 204 Economic Statistics พื้นความรู: สอบได ศศ. 107 หรือ สถ. 201 ศึกษาการประมาณคาพารามิเตอรตา งๆ การทดสอบสถิติ ที่ใชพารามิเตอรและไมใชพารามิเตอร เชน ไคสแควร เปนตน การ วิเคราะหสมการถดถอย การวิเคราะหสหสัมพันธและความแปรปรวน การศึกษาเปรียบเทียบคาสถิติตางๆ กับผลที่ไดจากโปรแกรมสําเร็จ รูปทางสถิติ การใชเลขดัชนี รวมทัง้ การวิเคราะหอนุกรมเวลาเพือ่ การ พยากรณความเจริญเติบโตในระยะยาวและความแปรปรวนในระยะสัน้

หลักสูตรปร ญญาตร 397


ศศ. 211 เศรษฐศาสตรจุลภาค 2 (3 หนวยกิต) EC 211 Microeconomics II พื้นความรู: สอบได ศศ. 101 เคยเรียน ศศ. 104 หรือ ศศ. 106 ศึกษาทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค วิเคราะหความพอใจ ของผูบ ริโภคทัง้ แบบนับหนวย และแบบเรียงลําดับ หลักการสรางเสน อุปสงคและเสนอุปทาน ทฤษฎีการผลิต หลักการผสมปจจัยการผลิต หลักการเลือกผลผลิตรวม ทฤษฎีตน ทุนการผลิตโดยเนนสวนประกอบ ตนทุน การผลิตทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ลักษณะของโครงสราง ของตลาด เงื่อนไขดุลยภาพของตลาดประเภทตางๆ ตลอดจน เศรษฐศาสตรสวัสดิการ ศศ. 212 เศรษฐศาสตรมหภาค 2 (3 หนวยกิต) EC 212 Macroeconomics II พื้นความรู: สอบได ศศ. 102 ศึกษาวิธีคํานวณรายไดประชาชาติดานรายได รายจาย และดานผลผลิต ระบบบัญชีสังคม ทฤษฎีการกําหนดรายได สวน ประกอบของอุปสงครวมและอุปทานรวม ดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจ โดยแยกศึกษาปจจัยสําคัญตางๆ ดานผลผลิต ปริมาณเงินและการจาง งาน แนวทางการวิเคราะหเศรษฐศาสตรแบบคลาสสิคและแบบเคนส ดุลการชําระเงิน ดุลยภาพภายในและภายนอกของระบบเศรษฐกิจ ตลอดจนความเติบโตและการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ศศ. 213 ประวัติลัทธิเศรษฐกิจ (3 หนวยกิต) EC 213 History of Economic Thoughts พื้นความรู: ศศ. 101 และ ศศ.102 ศึกษาแนวความคิดของนักปราชญทางเศรษฐกิจสมัย โบราณ สํานักพาณิชยนิยม ฟซิโอแครตส แนวความคิดของสํานัก คลาสสิค นีโอคลาสสิค มารกซิสซึม และเคนส จนถึงแนวความคิด ของนักเศรษฐศาสตรในยุคปจจุบนั และเปรียบเทียบใหเห็นถึงลักษณะ ของระบบเศรษฐกิจตางๆ เชน ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม สังคมนิยม ฯลฯ 398 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศศ. 219 ธุรกิจระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) EC 219 International Business พื้นความรู: สอบได ศศ. 101 และ ศศ. 102 ศึกษาวัตถุประสงค และรูปแบบของธุรกิจระหวางประเทศ ปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม นโยบายของรัฐและบทบาทขององคกร ระหวางประเทศที่มีผลกระทบตอพฤติกรรมและการดําเนินงานของ ธุรกิจระหวางประเทศ ศึกษายุทธศาสตรและความสามารถในการ แขงขันของธุรกิจระหวางประเทศ วิเคราะหผลกระทบของธุรกิจ ระหวางประเทศตอเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ศศ. 222 เศรษฐกิจพอเพียง (3 หนวยกิต) EC 222 Sufficiency Economy ศึ ก ษาถึ ง ความหมาย ปรั ช ญาและหลั ก แนวคิ ด ของ เศรษฐกิจพอเพียง และการนําแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต ใชในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการดําเนินชีวิต ประจําวันภายใตกระแสโลกาภิวัตน โดยศึกษาบทเรียนจากเหตุการณ วิกฤตเศรษฐกิจของไทยใน ป 2540 ตลอดจนศึกษาความสัมพันธของ ทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดําริกับเศรษฐกิจพอเพียง สหกรณตาม แนวพระราชดําริ ซึง่ เปนแนวทางในการพัฒนาทีน่ าํ ไปสูค วามสามารถ ในการพึง่ ตนเองอยางมัน่ คงและยัง่ ยืนในระดับตางๆ อยางเปนขัน้ ตอน รวมไปถึงการศึกษานอกสถานที่ในกรณีศึกษาตางๆ ทั่วประเทศ ศศ. 309 เศรษฐมิติเบื้องตน (3 หนวยกิต) EC 309 Introduction of Econometrics พื้นความรู: ศศ. 204 ศึกษาการประยุกตใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคณู เพือ่ ศึกษาปญหาทางเศรษฐศาสตรและการวิเคราะหการถดถอยในรูปแบบ อื่นๆ ที่นอกเหนือจากสมการเชิงเสนตรง ไดแก สมการโพลีโนเมียล และสมการในรูปของลอก รวมทั้งปญหาทางสถิติที่เกิดขึ้นในการ วิเคราะหการถดถอยพหุคณ ู ดวยวิธกี าํ ลังทีน่ อ ยทีส่ ดุ ตลอดจนเทคนิค อื่นๆ ในการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ เชน การใชตัวแปรหุน การ


ใชตัวแปรลาชา เปนตน ทั้งนี้รวมไปถึงการศึกษาการใชโปรแกรม สําเร็จรูปทางสถิตเิ พือ่ วิเคราะหการถดถอยพหคูณในภาคปฏิบตั อิ กี ดวย ศศ. 310 ภาษาอังกฤษสําหรับเศรษฐศาสตร (3 หนวยกิต) EC 310 English for Economics พื้นความรู: สอบได อก. 212 ศศ. 101 และ ศศ. 102 ศึกษาแนวทางในการอานตํารา บทความ และเอกสาร ทางวิชาการดานเศรษฐศาสตรทเี่ ปนภาษาอังกฤษ เพือ่ ยกระดับความ สามารถในการอาน การจับประเด็นความสําคัญ ความเขาใจ การ ตีความหมาย และการสรุปเรื่องราวไดอยางถูกตอง ศศ. 311 หลักการพัฒนาเศรษฐกิจเบื้องตน (3 หนวยกิต) EC 311 Principles of Economic Development พื้นความรู: ศศ. 212 ศึกษาถึงความหมายของการพัฒนาและการเจริญเติบโต การวัดการขยายตัวและการพัฒนาเศรษฐกิจ ปจจัยตางๆ ที่กอใหเกิด การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ลักษณะของความดอยพัฒนา สาเหตุของ ความดอยพัฒนา และผลกระทบที่มีตอระบบเศรษฐกิจ ตัวแบบ (Models) ในการพัฒนาและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของนัก เศรษฐศาสตรตั้งแตสมัยคลาสสิคจนถึงสมัยปจจุบัน ศศ. 312 การคลังสาธารณะ (3 หนวยกิต) EC 312 Public Finance พื้นความรู: ศศ. 212 ศึกษาทางดานเศรษฐศาสตรเกีย่ วกับรายรับและรายจาย โดยเนนระบบภาษีอากร ตลอดจนการกอหนี้และการบริหารหนี้ของ รัฐบาล ศึกษาการใชจายงบประมาณแผนดินของรัฐบาล รวมทั้ง วัตถุประสงค และเครือ่ งมือของนโยบายการเงิน นโยบายการคลัง เพือ่ นําไปใชในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

ศศ. 313 เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) EC 313 International Economics พื้นความรู: ศศ. 101 และ ศศ. 102 ศึกษาถึงทฤษฎีและนโยบายการคา การลงทุน ความชวย เหลือระหวางประเทศ และระบบการเงินระหวางประเทศ โดยพิจารณา จากตนทุนการผลิตเปรียบเทียบ การคาเสรี การคาใหความคุมครอง ดุลการคา ดุลการชําระเงิน ตลอดจนองคการทางเศรษฐกิจระหวาง ประเทศ ศศ. 314 เศรษฐศาสตรการเงินการธนาคาร (3 หนวยกิต) EC 314 Economics of Money and Banking พื้นความรู: ศศ. 212 ศึกษาถึงบทบาทของเงินและสินเชื่อในระบบเศรษฐกิจ พิจารณาวิวัฒนาการของเงินและระบบการเงิน ทฤษฎีเงินตรา หนาที่ ของธนาคารกลาง ธนาคารพาณิชย ระบบธนาคารทีเ่ ปนธนาคารเดีย่ ว และธนาคารสาขา บทบาทของธนาคารตอปริมาณเงิน การสรางและ การทําลายเงินฝาก ตลอดจนตลาดและสถาบันการเงินอื่นๆ รวมทั้ง บทบาทของสถาบันการเงินในการพัฒนาเศรษฐกิจ ศศ. 316 เศรษฐศาสตรเมืองและภูมิภาค (3 หนวยกิต) EC 316 Urban Economics พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 311 หรือ เรียนพรอมกัน ศึกษาสาเหตุที่รวมตัวกันของกิจกรรมทางเศรษฐกิจขึ้น มาเปนเมือง โดยวิเคราะหถงึ ผลประโยชนและตนทุนในการรวมตัวกัน เปรียบเทียบรูปแบบเมืองที่มีอยูในปจจุบันกับรูปแบบของระบบเมือง ไทย โดยพิจารณาถึงปจจัยการเลือกทีต่ งั้ การใชทดี่ นิ การกําหนดราคา ทีด่ นิ ทฤษฎีและนโยบายเกีย่ วกับทีต่ งั้ ของเมืองรวมทัง้ ขนาดของเมือง ทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ ทฤษฎี นโยบายและการวางแผนเพือ่ พัฒนาภูมภิ าค การกระจายรายไดระหวางภูมภิ าค การตัง้ ถิน่ ฐาน การใชทดี่ นิ วิเคราะห ปญหาอันเกิดจากการขยายตัวของชุมชน เชน การขาดแคลนที่อยู หลักสูตรปร ญญาตร 399


อาศัย ความยากจนในเมือง สิ่งแวดลอม และการคมนาคม ฯลฯ การ วิเคราะหปจจัยพื้นฐานที่ทําใหเกิดอุตสาหกรรม และการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจของภูมิภาค ศศ. 317 เศรษฐศาสตรสําหรับประเทศกําลังพัฒนา (3 หนวยกิต) EC 317 Economics of Developing Countries พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 311 ศึกษาลักษณะและปญหาของประเทศกําลังพัฒนา การ เปลี่ยนแปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจโดยพิจารณาจากทฤษฎีและ ขอมูลทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง การวิเคราะหสาเหตุและผล ที่เกิดจากความลาหลัง เปาหมายและนโยบายเศรษฐกิจตางๆ ที่มีผล ตอความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นโยบายในการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศไทยตั้งแตแผนพัฒนาฉบับแรกจนถึงปจจุบัน รวมทั้ง นโยบายในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศกําลังพัฒนาอืน่ ๆ ศศ. 319 เศรษฐศาสตรการขนสง (3 หนวยกิต) EC 319 Economics of Transportation พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 101 ศึกษาถึงพัฒนาการและรูปแบบตาง ๆ ของการขนสง ทฤษฎี การกําหนดราคาของการขนสง ปจจัยที่กําหนดรูปแบบการ ขนสงและความสัมพันธของรูปแบบการขนสงเหลานั้น บทบาทของ รัฐในการสงเสริมการลงทุนและการควบคุมดานการขนสง ตลอดจน วิเคราะหผลกระทบของการขนสงตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ ศศ. 320 รายไดประชาชาติ (3 หนวยกิต) EC 320 National Income and Social Account พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 102 ศึกษาถึงความหมายและการกําหนดรายไดประชาชาติ ความหมายและความสําคัญของรายการตาง ๆ ในบัญชีประชาชาติ การคํานวณรายไดประชาชาติ ตลอดจนกฎเกณฑที่ใชในการคํานวณ รายไดประชาชาติโดยละเอียด 400 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศศ. 321 เศรษฐศาสตรแรงงานและแรงงานสัมพันธ (3 หนวยกิต) EC 321 Labor Economics and Labor Relation พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 101 และ ศศ. 102 ศึกษาถึงความหมายของแรงงาน ตลาดแรงงาน อุปสงค และอุปทานของแรงงาน การทํางานคาจางและชั่วโมงการทํางาน ปญหาการวางงาน ตําแหนงงานวาง แหลงผูว า งงานและกําลังหางาน ทํา รวมทั้งศึกษาถึงการกอตั้งสหภาพแรงงาน การเจรจารวมตอรอง ทฤษฎีสหภาพแรงงาน ความสัมพันธระหวางสหภาพแรงงาน และ แรงงานสัมพันธ ขอพิพาทแรงงานและการไกลเกลี่ย การประนีประนอม การอนุญาโตตุลาการ การประกันสังคม การใชแรงงานเด็ก และสตรี พระราชบัญญัติเกี่ยวกับแรงงานไทย ศศ. 323 ประวัติศาสตรเศรษฐกิจของไทย (3 หนวยกิต) EC 323 Thai Economic History ศึกษาถึงประวัติศาสตรเศรษฐกิจของไทยตั้งแตสมัย สุโขทัยถึงปจจุบนั โดยเนนสภาพเศรษฐกิจในสมัยตัง้ แตปลายสมัยกรุง ศรีอยุธยาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร ลักษณะการติดตอคาขายกับ ประเทศตางๆ การพัฒนาระบบเงินตราในสมัยตางๆ การคา การเก็บ ภาษี อากร และการหารายไดอื่นๆ ของประเทศในอดีต ศศ. 324 ทฤษฎีและนโยบายการคาระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) EC 324 International Trade and Policy พื้นความรู: สอบได ศศ. 313 ศึกษาถึงทฤษฎีการคาและความชํานาญระหวางประเทศ โดยพิ จารณาจากต น ทุ น เปรี ย บเที ย บสั ด ส ว นป จ จั ย การผลิ ต ผล ตอบแทนปจจัยการผลิต เปรียบเทียบทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากร มนุษย ทุน และเทคโนโลยีระหวางประเทศ ความสําคัญของการคา ระหวางประเทศ ตอการพัฒนาเศรษฐกิจ ปญหานโยบายและกลยุทธ ทางการคาระหวางประเทศของประเทศกําลังพัฒนาและของไทย


ศศ. 325 เศรษฐศาสตรการเงินระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) EC 325 Economics of International Monetary พื้นความรู: สอบได ศศ. 313 ศึกษาถึงดุลการชําระเงินระหวางประเทศ กลไกการปรับ ตัวของความไมสมดุลย ในดุลการชําระเงิน ตลาดเงินตราระหวาง ประเทศ การเคลื่อนยายเงินทุนระหวางประเทศ การลงทุนโดยตรง ระหวางประเทศ วิวฒ ั นาการของระบบการเงินระหวางประเทศ ความ สัมพันธของดุลการชําระเงิน และระบบการเงินตอการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยเนนถึงปญหาและผลกระทบที่มีตอเศรษฐกิจของประเทศ ศศ. 326 เศรษฐศาสตรสาธารณสุข (3 หนวยกิต) EC 326 Health Economics ศึกษาการประยุกตหลักเศรษฐกิจในงานสาธารณสุข โดย เน น ความสํ า คั ญ ความจํ า เป น ในการใช ท รั พ ยากรที่ มี อ ยู ใ ห ไ ด ผ ล ตอบแทนสูงสุด หรือมีประสิทธิภาพมากที่สุด รูปแบบของการให บริการสาธารณสุขในเชิงเศรษฐศาสตรตลอดจนความสัมพันธระหวาง งานสาธารณสุขกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ศศ. 327 เศรษฐศาสตรสิ่งแวดลอม (3 หนวยกิต) EC 327 Environmental Economics ศึ ก ษาป ญ หาสิ่ ง แวดล อ มโดยใช ก ารวิ เ คราะห เ ชิ ง เศรษฐศาสตร บทบาทของทฤษฎีเศรษฐศาสตรสมัยใหมในการแกไข ปญหาสิ่งแวดลอม ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับเศรษฐกิจ หลักเศรษฐศาสตรวาดวยการควบคุมภาวะมลพิษ นโยบายรัฐบาลใน การควบคุมภาวะมลพิษ หลักการวิเคราะหตนทุนและผลประโยชนที่ นํามาประยุกตใชกบั โครงการและมาตรการตางๆ เกีย่ วกับการสงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม หลักการวางนโยบายและมาตรการ เศรษฐศาสตรที่มีประสิทธิภาพในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม

ศศ. 328 ความสัมพันธและนโยบายตางประเทศ (3 หนวยกิต) ของไทย EC 328 Thai Foreign Affairs ศึกษาถึงความสัมพันธระหวางไทยกับตางประเทศในสมัย ต า งๆ พิ จ ารณาป จ จั ย และกระบวนการในการกํ า หนดนโยบาย แบบแผนของนโยบาย การดําเนินนโยบายตางประเทศ ตลอดจนผล การกระทบของนโยบายตางประเทศที่มีตอการเมืองภายในของไทย ศศ. 329 ความสัมพันธระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) EC 329 International Relations ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานของการเมืองระหวางประเทศ ธรรมชาติ และโครงสรางของระบบการเมืองระหวางประเทศ ปจจัย ทางดานการเมือง ทหาร การเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ตลอดจน อุดมการณทมี่ ผี ลตอแนวพฤติกรรมของรัฐ เครือ่ งมือที่ใชในการดําเนิน ความสัมพันธระหวางรัฐ ตลอดจนพัฒนาการความรวมมือระหวาง ประเทศในรูปตางๆ เชน ระเบียบปฏิบตั ิ กฎหมายและสถาบันระหวาง ประเทศ ศศ. 401 เศรษฐศาสตรการบริหาร (3 หนวยกิต) EC 401 Managerial Economics พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 201 ศศ. 202 หรือ ศศ. 101 ศศ. 102 เพื่ อ ให นั ก ศึ ก ษาได เ ข า ใจถึ ง การนํ า เอาทฤษฎี ท าง เศรษฐศาสตร ไปใชประโยชน ในการวิเคราะหการแกปญหา การวาง นโยบาย การบริหารและการตัดสินใจของธุรกิจ ศึกษาเกี่ยวกับการ เสี่ยงภัย การบริหารกําไร การวิเคราะห ตนทุน นโยบายการผลิต นโยบายการตลาด นโยบายการตั้งราคา และการบริหารเงินทุน

หลักสูตรปร ญญาตร 401


ศศ. 411 นโยบายและการวางแผนการพัฒนา (3 หนวยกิต) เศรษฐกิจ EC 411 Economic Development Planning and Policies พื้นความรู: สอบได ศศ. 311 ศึกษาหลักและทฤษฎีวาดวยการกําหนดนโยบายการ ลงทุนและการเลือกใชเทคนิคในการผลิต นโยบายการคาและความ ชวยเหลือระหวางประเทศ นโยบายการเงินและการคลัง นโยบายการ พัฒนาเกษตรและอุตสาหกรรม นโยบายเกี่ยวกับประชากร ตลอดทั้ง ขั้นตอนและกระบวนการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ เทคนิคและวิธีการ ในการวางแผนและการจัดทําโครงการพัฒนา การจัดองคการ และการ ประสานงานในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

ศศ. 414 เศรษฐศาสตรการเกษตร (3 หนวยกิต) EC 414 Agricultural Economics พื้นความรู: สอบได ศศ. 211 ศศ. 212 ศึ ก ษาลั ก ษณะและความสํ า คั ญ ของเศรษฐศาสตร การเกษตร ประวัติและขอบเขตของเศรษฐศาสตร การเกษตรแขนง ตางๆ ทฤษฎีและการใชทดี่ นิ ทางการเกษตร การผลิต การตลาด ราคา และรายไดทางการเกษตร สหกรณการเกษตร ตลอดจนทฤษฎีและ นโยบายในการพัฒนาการเกษตร โดยคํานึงถึงเปาหมายและโครงสราง ของประเทศด อ ยพั ฒ นาเป น หลั ก การพั ฒ นาการเกษตรของ ประเทศไทยที่ผานมา รวมทั้งนโยบายเพื่อใหบรรลุเปาหมายในการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

ศศ. 412 เศรษฐกิจไทย (3 หนวยกิต) EC 412 Thai Economy พื้นความรู: ศศ. 212 ศึกษาลักษณะโครงสรางและการเปลี่ยนแปลงโครงสราง ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในอดีตและกลไกของระบบเศรษฐกิจใน ปจจุบัน การพัฒนาการเกษตร การอุตสาหกรรม การพาณิชยกรรม และการบริการ ปญหาเศรษฐกิจที่สําคัญโดยเฉพาะอยางยิ่งความ ยากจน การกระจายรายได การพัฒนาชนบท การเงิน การคลังและ การคา

ศศ. 415 เศรษฐศาสตรองคกรอุตสาหกรรม (3 หนวยกิต) EC 414 Economics of Industrial Organization พื้นความรู: สอบได ศศ. 211 และ ศศ. 212 ศึกษาโครงสรางตลาด อํานาจตลาด พฤติกรรมของหนวย ธุรกิจ และการรวมตัวของหนวยธุรกิจในตลาดแขงขันไมสมบูรณ ศึกษากลยุทธทางดานราคาและกลยุทธที่ไมเกี่ยวของกับราคา เชน การแบงแยกราคาขาย การสรางความแตกตางในตัวสินคา การโฆษณา และเทคโนโลยี ตลอดจนศึกษาพฤติกรรมเชิงกลยุทธ การเขาสูตลาด และการออกจากตลาดของหนวยธุรกิจในตลาดแขงขันไมสมบูรณ

ศศ. 413 การศึกษาบทความดานเศรษฐศาสตร (3 หนวยกิต) EC 413 Reading in Development Economics พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 311 ศึกษาบทความที่ไดคัดเลือกแลวทางดานเศรษฐศาสตร การพัฒนา เพื่อใหนักศึกษาไดศึกษาดวยตนเอง โดยผูสอนจะเปน ผูมอบหมายบทความตางๆ ใหแกนักศึกษา

ศศ. 416 การจัดทําและการวิเคราะหโครงการ (3 หนวยกิต) EC 416 Project Preparation and Appraisal พื้นความรู: สอบไดวิชาเอกบังคับอยางนอย 3 วิชา ศึกษาถึงความหมายและความสําคัญของโครงการพัฒนา ขั้นตอน การจัดทําโครงการ ลักษณะ ขอบเขต อายุโครงการ วิธี วิเคราะหแบบ ตนทุนและผลประโยชนตอบแทน วิธีวิเคราะหแบบ อื่นๆ วิธีการประเมินผลโครงการ หลักเกณฑ ในการจัดลําดับความ สําคัญของโครงการ

402 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


ศศ. 417 สัมมนาปญหาการพัฒนาเศรษฐกิจ (3 หนวยกิต) และสังคม EC 417 Seminar in Economic and Social Development Problems พื้นความรู: สอบได ศศ. 317 และ ศศ. 411 ศึกษาพิจารณา อภิปราย และวิเคราะห ในหัวขอหรือ บทความเฉพาะทางดานเศรษฐศาสตร การพัฒนาที่เกี่ยวกับปญหา และแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทีเ่ กิดขึน้ ภายในประเทศ และผลกระทบที่มาจากตางประเทศ ศศ. 418 เศรษฐศาสตรทรัพยากรมนุษย (3 หนวยกิต) และกําลังคน EC 418 Human Resources and Manpower Economics พื้นความรู: สอบได ศศ. 211 และ ศศ. 212 ศึกษาถึงความหมายของทรัพยากรมนุษยและกําลังคน ปญหาของทรัพยากรมนุษย ปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมทีม่ อี ทิ ธิพล ตอประชากร การลงทุนทางการศึกษา และการวางแผนการศึกษาให สอดคลองกับแผนพัฒนาประเทศ การวิเคราะหและประเมินผลการ ลงทุนในทรัพยากรมนุษย รวมตลอดถึงทฤษฎีเศรษฐศาสตรวาดวย อัตราการเกิดและการตาย การเจริญพันธุ การยายถิ่นและผลกระทบ ตางๆ ของการยายถิ่นดวย ศศ. 419 การพัฒนาชนบทไทย (3 หนวยกิต) EC 419 Thai Rural Development พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 311 ศึกษาและวิเคราะหแนวความคิดในการพัฒนาชนบททัง้ ใน อดีตและปจจุบัน ตลอดจนโครงสรางของสังคมชนบท ปญหาและ อุปสรรคในการพัฒนาชนบท ศึกษาสาเหตุของปญหาทีเ่ กิดขึน้ ในชนบท ทัง้ ทางดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง นโยบายการพัฒนาชนบทของ รัฐบาล การจัดองคการและการบริหารงานในการพัฒนาชนบท

ศศ. 420 เศรษฐกิจของประเทศในเอเชีย (3 หนวยกิต) EC 420 Asian Countries Economy พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 311 ศึกษาถึงลักษณะโครงสรางทางเศรษฐกิจของประเทศใน เอเชียสถาบันและปจจัยตางๆ ที่มีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศนัน้ ๆ ศึกษากลไกเศรษฐกิจ นโยบายเศรษฐกิจ ตลอดจนความ สัมพันธทางเศรษฐกิจกับประเทศอื่นๆ ศศ. 421 เศรษฐกิจญี่ปุน (3 หนวยกิต) EC 421 Japanese Economy พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 311 ศึกษาถึงวิวัฒนาการและโครงสรางทางเศรษฐกิจของ ญี่ปุน ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน สถาบันและปจจัยตางๆ ที่มีอิทธิพล ตอการเปลี่ยนแปลงและความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของญี่ปุน บทบาท นโยบาย ความรวมมือและความชวยเหลือทางดานเศรษฐกิจ ที่ญี่ปุนมีตอประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ศศ. 422 กรณีศึกษาการบริหารการพัฒนา (3 หนวยกิต) EC 422 Case Study of Development Administration พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 411 หรือ ศึกษาพรอมกัน ศึกษาแนวคิดและหลักการบริหารงานตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม การจัดรูปองคการดานการพัฒนาเศรษฐกิจและ นโยบายทางเศรษฐกิจอื่นๆ โดยใชกรณีตัวอยางของประเทศไทยและ ประเทศอื่นๆ

หลักสูตรปร ญญาตร 403


ศศ. 423 เศรษฐศาสตรการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยี (3 หนวยกิต) EC 423 Economics of Technological Change พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 415 ศึกษาถึงความหมายของเทคโนโลยี วิวัฒนาการของ เทคโนโลยี ทฤษฎีและแนวความคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยีการผลิตในแงเศรษฐศาสตร กระบวนการนําเอาเทคโนโลยี มาใช การแพรกระจายเทคโนโลยี ทฤษฎีเกี่ยวกับการประดิษฐคิดคน และผลของการประดิษฐคิดคนที่มีตอองคการธุรกิจและตอระบบ เศรษฐกิ จ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บการพั ฒ นาและการเปลี่ ย นแปลง เทคโนโลยีทางดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรมอื่นๆ รวมทั้งการ พิจารณาปญหา นโยบายที่เหมาะสมสําหรับการพัฒนาเทคโนโลยีใน อนาคตดวย ศศ. 424 ระเบียบวิธีการวิจัยทางเศรษฐศาสตร (3 หนวยกิต) EC 424 Methodology of Economic Research พื้นความรู: สอบได ศศ. 211 ศศ. 212 และ ศศ. 204 ศึกษาถึงระเบียบวิธวี จิ ยั ในทางเศรษฐศาสตรในแงทฤษฎี และปฏิบตั โิ ดยอาศัยหลักวิธกี ารวิจยั ทางสังคมศาสตร ตลอดทัง้ วิธกี าร ทางเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ และการฝกทําวิจัย ศศ. 425 สัมมนาเศรษฐศาสตรระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) EC 425 Seminar in International Economics พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 324 และ ศศ. 325 สัมมนาและวิจัยในหัวขอเศรษฐศาสตรระหวางประเทศ ภายใตการควบคุมและแนะนําจากผูบรรยาย

404 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศศ. 426 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน (3 หนวยกิต) EC 426 Monetary Theory and Policy พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 314 ศึกษาทฤษฎีอปุ สงคของเงินของเคนส สํานักการเงินนิยม และสํานักนีโอคลาสสิค ทฤษฎีอุปทานของเงินและทุน บทบาทของ ธนาคารกลาง และธนาคารพาณิชยตอตัวแปรการเงิน กลไกการ ถายทอดทางการเงิน แนวความคิดของการปรับองคประกอบสินทรัพย การกําหนดเปาหมายของนโยบาย ขั้นตอนและยุทธวิธีทางการเงิน นโยบายการเงินกับการดํารงเสถียรภาพภายในและภาวะเงินเฟอ ผล กระทบของนโยบายการเงินตอดุลการชําระเงิน การเงินกับการพัฒนา เศรษฐกิจ ทั้งนี้ เนนถึงการนําทฤษฎีและนโยบายการเงินมาประยุกต ใชกับประเทศไทยศึกษาทฤษฎีอุปสงคของเงินของเคนส สํานักการ เงิ น นิ ย มและสํ า นั ก นี โ อคลาสสิ ค ทฤษฎี อุ ป ทานของเงิ น และทุ น บทบาทของธนาคารกลาง และธนาคารพาณิชยตอตัวแปรการเงิน กลไกการถายทอดทางการเงิน แนวความคิดของการปรับองคประกอบ สินทรัพย การกําหนดเปาหมายของนโยบาย ขั้นตอนและยุทธวิธี ทางการเงิน นโยบายการเงินกับการดํารงเสถียรภาพภายในและภาวะ เงินเฟอ ผลกระทบของนโยบายการเงินตอดุลการชําระเงิน การเงิน กับการพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งนี้ เนนถึงการนําทฤษฎีและนโยบายการ เงินมาประยุกตใชกับประเทศไทย ศศ. 427 การตลาดสินคาเกษตรราคาและนโยบาย (3 หนวยกิต) EC 427 Agricultural Marketing, Price and Policy พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 414 ศึกษาบทบาทและความสําคัญของราคาสินคาเกษตร ลักษณะอุปสงคและอุปทานของสินคาเกษตร การกําหนดราคาและ การวิเคราะหราคา การเปลีย่ นแปลงของราคาสินคาเกษตรกรรมในรูป แบบของเวลาและสถานที่ ที่ ต า งกั น วิ ธี ก ารศึ ก ษาการตลาด ประสิทธิภาพการตลาด ปญหาเกี่ยวกับการตลาดและราคาสินคา เกษตร ตลอดจนนโยบายของรัฐที่เกี่ยวกับการตลาดและราคาสินคา เกษตร


ศศ. 428 สัมมนาเศรษฐศาสตรธุรกิจ (3 หนวยกิต) EC 428 Seminar in Business Economics พื้นความรู: สอบได ศศ. 401 และ จก. 425 สัมมนาและคนควาเสนอรายงานเอกสารในหัวขอเกี่ยว กับเศรษฐศาสตรธุรกิจภายใตการควบคุมและแนะนําจากผูบรรยาย ศศ. 429 โลจิสติกส (แบบปกติ) (3 หนวยกิต) EC 426 Logistics พื้นความรู: เคยเรียน ศศ. 211 และ ศศ. 212 ศึกษาบทบาทของกระบวนการโลจิสติกส ในภาคธุรกิจ ระดับประเทศและนานาประเทศ ภาครัฐบาลคุณลักษณะของกิจกรรม โลจิสติกส และความสัมพันธระหวางกันภายในโซอุปทานกับหนวย งานภายนอก ศึกษาระบบโลจิสติกส การขนถายลําเลียงในสวนของ วัตถุดบิ ทีน่ าํ มาผลิต การกระจายสินคาหรือผลิตภัณฑไปยังลูกคา การ บริการลูกคา การจัดการสินคาคงคลัง การคลังสินคา การขนถาย ลําเลียงวัตถุดบิ และสินคาภายใน กระบวนการสัง่ ซือ้ และการไหลของ สารสนเทศ การบรรจุภัณฑ บทบาทของการขนสงที่มีตอโลจิสติกส และการควบคุมการปฏิบตั ทิ างดานโลจิสติกส กําหนดหลักเกณฑและ มาตรฐานการปฏิบตั งิ านเพือ่ ปรับปรุงผลดําเนินงานเพือ่ ลดตนทุนและ เพิม่ ระดับการบริการทีจ่ ะสรางความพึงพอใจใหแกลกู คาและความได เปรียบทางการแขงขัน เนนใหนกั ศึกษาพัฒนาทักษะการวิเคราะหและ การแกปญหาทางดานโลจิสติกส กําหนดกลยุทธทางดานโลจิสติกส ในสวนของสินคาใชแลวเพือ่ นํากลับมาใชใหม การกําจัดของเสีย การ ขนถายสินคากลับและการซอมบํารุง การวางเครือขายของระบบ โลจิสติกส และระบบสารสนเทศโลจิสติกส

ศศ. 430 สหกิจศึกษา (3 หนวยกิต) EC 430 Cooperative Education พื้นความรู: สอบได สศ. 301 ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสรางใหนักศึกษามีความ พรอมดานงานอาชีพ จากการปฏิบัติงานพื้นฐานอยางมีหลักการและ เปนระบบ นักศึกษาจะตองมีการฝกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห ซึง่ เปนงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเปนงานทีเ่ นนประสบการณทาํ งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เปนงานที่เปนประโยชนตอ องคกร รวมถึงมีการประเมินผลการทํางานจากคณาจารยรว มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน ศศ. 431 เศรษฐศาสตรประชากร (3 หนวยกิต) EC 431 Demographic Economics พื้นความรู: สอบได ศศ. 211 และ ศศ. 212 ศึ ก ษาวิ ช าประชากรศาสตร ซึ่ ง เกี่ ย วข อ งกั บ ขนาด โครงสราง และการกระจายตัวเชิงพืน้ ทีข่ องประชากร การเปลีย่ นแปลง ขนาด โครงสราง และการกระจายตัวเชิงพื้นที่ของประชากร และองค ประกอบของการเปลี่ยนแปลงทางประชากร อันไดแก การเจริญพันธุ การตาย และการยายถิ่น ตลอดจนศึกษาความสัมพันธระหวาง ประชากรและเศรษฐกิจ แนวคิดและทฤษฎีทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวของ กั บ การเปลี่ ย นแปลงทางประชากร และความเชื่ อ มโยงระหว า ง กระบวนการทางเศรษฐกิจ นโยบายทางเศรษฐกิจ กระบวนการทาง ประชากร และนโยบายทางประชากร

หลักสูตรปร ญญาตร 405


หมวดวิชาการเปนเจาของธุรกิจ จธ. 311 การเปนเจาของธุรกิจและ (3 หนวยกิต) การสรางกิจการใหม EP 311 Entrepreneurship and New Venture Creation พื้นความรู: บธ. 211 ศึกษาถึงความหมาย บทบาท ประเภท และคุณลักษณะ พิเศษของการเปนเจาของธุรกิจ วิเคราะหและประเมินสภาพแวดลอม ตางๆ ทั้งภายในและภายนอกองคการ อันประกอบดวยจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจ การวิเคราะหและ ประเมินโอกาสทางธุรกิจ และการนําเทคโนโลยีมาใช นอกจากนี้ ยัง ศึกษาถึงเงื่อนไขตางๆ ทางกฎหมาย แนวคิดตางๆ และกระบวนการ ในการจัดตั้งธุรกิจใหม การดําเนินงานและปญหาตางๆ ในการดําเนิน ธุรกิจ รวมถึงความสําคัญและขั้นตอนการเขียนแผนธุรกิจ ตลอดจน แนวทางในการวางแผนและพัฒนาธุรกิจใหยั่งยืน จธ. 312 การจัดการธุรกิจครอบครัว (3 หนวยกิต) EP 312 Family Business Management พื้นความรู: บธ. 211 ศึกษาถึงรูปแบบและการดําเนินงานธุรกิจแบบครอบครัว วัฒนธรรมองคการของธุรกิจแบบครอบครัว บทบาทและความสัมพันธ ของสมาชิกทุกคนในครอบครัว นอกจากนีย้ งั ศึกษาถึงการพัฒนาและ การวางแผนการดําเนินธุรกิจ การจัดโครงสรางองคการธุรกิจแบบ ครอบครัว การสื่อสาร กฏหมายและภาษี การปฏิบัติตอผูบริหารมือ อาชีพ ภาวะผูน าํ สําหรับธุรกิจครอบครัว การบริหารความขัดแยง การ สรางจุดแข็งและลดจุดออนเพื่อสรางทีมงานที่สามารถชวยใหธุรกิจ แบบครอบครัวประสบความสําเร็จ ตลอดจนศึกษาถึงการเตรียมความ พรอมรูปแบบ แผนการและกลวิธีในการสรางทายาททางธุรกิจเพื่อ สืบทอดธุรกิจและธรรมนูญครอบครัว 406 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

จธ. 313 การเขียนแผนธุรกิจสําหรับเจาของธุรกิจ (3 หนวยกิต) EP 313 Business Plan for Entrepreneurs พื้นความรู: จธ. 311 และ จธ. 312 ศึกษาถึงความสําคัญและกระบวนการเขียนแผนธุรกิจ สําหรับการจัดตัง้ ธุรกิจใหมและธุรกิจทีม่ กี ารดําเนินการอยูแ ลวเพือ่ ใช เปนเครื่องมือในการวางแผน และทบทวนแนวคิดในการดําเนินธุรกิจ ใหมีการดําเนินงานอยางเปนระบบและมีเอกภาพ รวมถึงเขาใจหลัก การการเขียนแผนธุรกิจและวิธีการนําเสนอแผนธุรกิจตอธนาคาร สถาบันการเงิน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อขอสนับสนุนทางดานเงินทุน หรือเชิญชวนผูอื่นใหมารวมทุน จธ. 321 การจัดการองคการสําหรับเจาของธุรกิจ (3 หนวยกิต) EP 321 Organization Management for Entrepreneurs พื้นความรู: บธ. 211 และ จธ. 311 ศึกษาถึงการบริหารองคการสําหรับผูประกอบการ เกี่ยว กับรูปแบบองคการ การเลือกรูปแบบองคการ อิทธิพลของสภาพ แวดลอมทัง้ ภายในและภายนอกทีม่ ตี อ รูปแบบและการจัดองคการ การ กําหนดกลยุทธ การศึกษาถึงวัฒนธรรมขององคการ และการสราง วัฒนธรรมองคการ ตลอดจนการจัดการขอมูลขาวสารเพื่อใชในการ บริหารองคการเพื่อดึงศักยภาพของบุคลากร และทรัพยากรของ องคการใหบรรลุเปาหมายของบริษัท


จธ. 322 การจัดการทางการตลาดเชิงกลยุทธ (3 หนวยกิต) สําหรับเจาของธุรกิจ EP 322 Strategic Marketing Management for Entrepreneurs พื้นความรู: บธ. 214 และ จธ. 311 ศึกษาถึงความหมาย แนวคิด และหนาที่ของการบริหาร การตลาดเชิงกลยุทธ การวิเคราะหปจจัยภายนอกองคการ เชน ผู บริโภค ลูกคา คูแขงขัน เปนตน และปจจัยภายในองคการ เชน ผู ประกอบการและกลุมธุรกิจในองคการ กลยุทธการแขงขันทางการ ตลาด รวมถึงกลยุทธหนวยธุรกิจตางๆ ที่มีผลกระทบกับการบริหาร การตลาดเชิงกลยุทธ เพือ่ สามารถนําไปกําหนดแผนการตลาดเชิงกล ยุทธ อาทิ กลยุทธการเปนผูน าํ ดานตนทุน กลยุทธการสรางความแตก ตาง กลยุทธการมุงเนน กลยุทธการขยายไปทําธุรกิจอื่น และกลยุทธ การตลาดระดับโลก รวมถึงกระบวนการในการบริหารและดําเนินงาน ดานการตลาดใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อสรางความไดเปรียบใน การแขงขัน จธ. 323 การจัดการทางการเงินสําหรับเจาของธุรกิจ (3 หนวยกิต) EP 323 Financial Management for the Entrepreneurial Venture พื้นความรู: บธ. 212 และ จธ. 311 ศึกษาถึงความแตกตางระหวางการบริหารเงินของเจาของ ธุรกิจและการบริหารเงินขององคการขนาดใหญ การกําหนดเปาหมาย ทางการเงินของธุรกิจ การวิเคราะหงบการเงิน การพยากรณรายรับ รายจาย และกระแสเงินสดของธุรกิจ ความสําคัญของโครงสรางเงิน ทุน การบริหารและการควบคุมทางการเงิน การจัดหาเงินทุนสําหรับ ธุรกิจที่อยูในชวงเจริญเติบโต การวางแผนทางการเงินในสถานการณ ที่เปลี่ยนไปไมวาจะเปนการขยาย การหดตัว การลดขนาดหรือการ เลิกกิจการ

จธ. 324 ประสบการณการเปนเจาของธุรกิจ (6 หนวยกิต) EP 324 Entrepreneurial Business Experience พื้นความรู: สอบได บธ. 201 บธ. 213 บธ. 214 บธ. 215 บธ. 216 และ จธ. 313 ศึกษาการทําธุรกิจจริงดวยการลงมือปฏิบตั แิ ละเรียนรูก าร เปนผูประกอบการธุรกิจโดยการลงทุนทําธุรกิจจริงเพื่อเรียนรูแบบ บู ร ณาการอยางถองแท นักศึกษาจะไดรับประสบการณจริงของ กระบวนการทําธุรกิจตัง้ แตการเริม่ ตนกิจการ การบริหารจัดการธุรกิจ อาจใชแผนธุรกิจทีเ่ รียนในวิชาแผนธุรกิจสําหรับผูเ ปนเจาของธุรกิจมา ดําเนินการจริงใหเกิดผลลัพธของการประกอบการ โดยมีทีมอาจารย ที่ปรึกษาคอยกํากับดูแล นักศึกษาจะไดรับมอบหมายใหทําโครงการ หรือรายงานสรุปผลการดําเนินธุรกิจเมื่อสิ้นสุดโครงการ จธ. 411 การประยุกตใชเทคโนโลยีสําหรับธุรกิจ (3 หนวยกิต) และกิจการใหม EP 411 Technology Applications for Business and New Venture พื้นความรู: ศท. 112 และ บธ. 211 ศึกษาถึงเทคโนโลยีสมัยใหมทงั้ ฮารดแวรและซอฟตแวรที่ ใชในการบริหารจัดการธุรกิจและกิจการใหมทงั้ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ โดยศึกษาจากทฤษฏีและกรณีศึกษาตางๆ เพื่อให นักศึกษาเขาใจวิธกี ารตัดสินใจเลือกและวิธกี ารใชงานเทคโนโลยีในเชิง ประยุกตเพือ่ การกําหนดกลยุทธ และนํามาใชบริหารจัดการกับกิจการ ไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

หลักสูตรปร ญญาตร 407


จธ. 412 การเปนเจาของธุรกิจในเศรษฐกิจโลก (3 หนวยกิต) EP 412 Entrepreneurship in the Global Economy พื้นความรู: บธ. 211 และ จธ. 311 ศึกษาถึงแนวทางการเปนเจาของธุรกิจในตลาดโลก โดย การวิเคราะหและประเมินปจจัยสภาพแวดลอมทางดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคม กฎหมาย และเทคโนโลยี ที่สงผลตอโอกาสและ อุปสรรคของการดําเนินงานทางธุรกิจ โดยศึกษาทั้งจากทฤษฏีและ กรณีศึกษาตาง ๆ เพื่อใหนักศึกษาเขาใจวิธีการวางแผนและประเมิน ความเปนไปไดในการพัฒนาธุรกิจในตลาดโลก รวมทั้งศึกษาวิธีการ จัดองคการ การตลาด การจัดการ การเงิน และการบริหารทรัพยากร มนุษย การจัดการความรู การจัดการวัฒนธรรมของบริษัทขามชาติ เพื่อประโยชนในการจัดการธุรกิจอยางมีประสิทธิภาพ

จธ. 414 การวิเคราะหและการพยากรณธุรกิจ (3 หนวยกิต) EP 414 Business Forecasting and Analysis พื้นความรู: จธ. 311 ศึกษาความสําคัญของการวิเคราะหและพยากรณเชิง ปริมาณตอการดําเนินธุรกิจ วิธีการพยากรณเพื่อการตัดสินใจทาง ธุรกิจ โดยศึกษาโมเดลตางๆ เชน ขอมูลอนุกรมเวลาของยอดขาย กําไร ราคาหุน ดัชนีทางเศรษฐกิจเพือ่ ใชทาํ นายแนวโนมของธุรกิจใน อนาคต ศึกษาเปรียบเทียบโมเดลตางๆ ที่นํามาประยุกต ใชเพื่อหา โมเดลที่ดีที่สุด นอกจากนี้นักศึกษาจะไดศึกษาวิธีการใชซอฟแวร สําเร็จรูปเพือ่ ประยุกตใชกบั การพยากรณทางธุรกิจ และศึกษาตัวอยาง จากกรณีศึกษาของบริษัทที่ใชการพยากรณในการดําเนินธุรกิจจริง

จธ. 413 กลยุทธการสรางธุรกิจใหม (3 หนวยกิต) และเครือขายธุรกิจ EP 413 New Venture Strategies and Business Network พื้นความรู: จธ. 311 ศึกษาถึงกลยุทธรปู แบบตางๆ ในการสรางธุรกิจใหม และ ปจจัยสําคัญที่มีผลตอกระบวนการกําหนด กลยุทธในการสรางธุรกิจ ใหม เชน ชวงเวลาทีเ่ หมาะสมในการตัง้ ธุรกิจใหม การประเมินโอกาส ของตลาด ขอบเขตของการสรางธุรกิจใหม เงื่อนไขของตลาด และ การวางแผนเชิงกลยุทธ เปนตน ตลอดจนศึกษาถึงการสรางเครือขาย ธุรกิจในรูปแบบตางๆ เชน แฟรนไชส รานสะดวกซื้อ ระบบธุรกิจขาย ตรงในรูปแบบตางๆ และปจจัยที่มีอิทธิพล แนวโนมในอนาคตตอการ ประกอบธุรกิจประเภทเครือขาย

จธ. 415 การพัฒนาผลิตภัณฑและบริการใหม (3 หนวยกิต) EP 415 New Product and Service Development พื้นความรู: บธ. 214 และ จธ. 311 ศึกษาถึงกระบวนการพัฒนาและวางแผนการนําผลิตภัณฑ และบริการใหมเขาสูต ลาด ความหมาย และความสัมพันธระหวางการ วิเคราะหโอกาสทางการตลาด การแสวงหาและประเมินโอกาสทาง ธุรกิจ ศึกษาแนวโนมและความตองการของตลาด การวิเคราะห ประเมินสภาพแวดลอมทางธุรกิจ นํามาสูก ารสรางแนวความคิด การก ลั่นกรองแนวความคิด การประเมินผลแนวความคิดในการคิดคน ผลิตภัณฑและบริการใหม นําไปสูการพัฒนาผลิตภัณฑตนแบบ การ ทดสอบตลาด และการนําผลิตภัณฑใหมเขาสูต ลาด รวมถึงการพัฒนา ผลิตภัณฑและบริการใหมหรือธุรกิจใหมอยางตอเนือ่ งใหสอดคลองกับ ความตองการของตลาด

408 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


จธ. 416 วิสาหกิจรวมทุนและธุรกิจเงินรวมทุน (3 หนวยกิต) EP 416 Private Equity and Venture Capitals พื้นความรู: บธ. 212 และ จธ. 311 ศึกษาถึงลักษณะและรูปแบบของกองทุนรวมเพื่อรวม ลงทุนในวิสาหกิจประเภทตางๆ ในรูปแบบของวิสาหกิจเงินรวมทุน และธุรกิจเงินรวมทุน เพือ่ ใหทราบถึงแหลงเงินทุนทีส่ ามารถระดมทุน มาใชในธุรกิจ การวิเคราะหโอกาสและการลงทุน วิธีการจัดการธุรกิจ รวมทุนตามสัดสวนของการลงทุน การจัดสรรผลประโยชนจากการทํา ธุรกิจรวมกัน กฎเกณฑ ในการแบงสวนของกิจการเมื่อตองการเลิก กิจการหรือขายทอดตลาด โดยใชกรณีศกึ ษาของกิจการรูปแบบตางๆ จธ. 421 สัมมนาการเปนเจาของธุรกิจ (3 หนวยกิต) EP 421 Seminar in Entrepreneurship พื้นความรู: วิชาเอก-บังคับ อยางนอย 2 วิชา ศึกษาถึงแนวทางการจัดตั้ง การดําเนินการธุรกิจ ทั้งใน เรื่องของแนวคิด การแสวงหาโอกาส ความเสี่ยง การวางแผน และ ผลตอบแทนของการเปนเจาของธุรกิจในตลาดโลก ตลอดจนการ วิเคราะหปญ หาและแนวทางแกไขทีเ่ กิดขึน้ จริงกับผูเ ปนเจาของธุรกิจ รวมถึงการจัดการองคกรแหงการเรียนรู และเครื่องมือในการจัดการ ความรูเพื่อนําไปใชเปนแนวทางในการดําเนินธุรกิจ ปรับปรุงแกไข และพัฒนาธุรกิจอยางเปนระบบ ดวยวิธกี ารเรียนรูจ ากกรณีศกึ ษา การ ระดมสมอง และการอภิปรายกลุม เพื่อเตรียมความพรอมกอนนําไป ประยุกตใชในการดําเนินธุรกิจจริง จธ. 422 การจัดการธุรกิจที่กําลังเจริญเติบโต (3 หนวยกิต) EP 422 Managing a Growing Business พื้นความรู: จธ. 312 ศึกษาถึงการดําเนินธุรกิจในชวงที่มีการเติบโต รวมถึง ลักษณะและความทาทายของการดําเนินธุรกิจในชวงเวลาดังกลาว เตรียมความพรอมของผูเปนเจาของธุรกิจและทีมงานในการสราง

ความสามารถที่จะเผชิญและรับมือกับการเติบโตทางธุรกิจ ตลอดจน ศึกษาถึงการสรางความไดเปรียบทางการแขงขันแบบยัง่ ยืนทางธุรกิจ และการสรางองคการธุรกิจใหเปนองคการแหงการเรียนรูแ ละสามารถ เผชิญหนากับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงราย ละเอียดในหัวขอตางๆ ที่เกี่ยวกับการเติบโตทางธุรกิจอยางรวดเร็ว อาทิ การจัดสรรกําลังคนและระบบในการทํางาน การบริหารทรัพยากร ทีม่ อี ยูจ าํ กัด และการวางแผนเรือ่ งเงินสดหมุนเวียนในองคการ เปนตน จธ. 423 การลงทุนของวิสาหกิจครอบครัว (3 หนวยกิต) EP 423 Financing Family Enterprises พื้นความรู: บธ. 212 และ จธ. 312 ศึกษาถึงลักษณะเฉพาะของธุรกิจที่เปนแบบวิสาหกิจ ครอบครัว วิเคราะหการดําเนินงาน รูปแบบการลงทุน และตัวขับ เคลื่อนที่สําคัญในการสรางมูลคาแกธุรกิจ ขอจํากัดของธุรกิจแบบ วิสาหกิจครอบครัวที่มีตอการจัดหาเงินทุน การวิเคราะหงบการเงิน การบริหารเงินทุนหมุนเวียน และลักษณะโครงสรางเงินทุนของ วิสาหกิจครอบครัว การประยุกตหลักการและทฤษฎีทางการเงินสําหรับ การบริหารธุรกิจแบบวิสาหกิจครอบครัว เชน การประเมินการลงทุน และการประเมินมูลคาธุรกิจ เปนตน จธ. 424 การจัดการนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง (3 หนวยกิต) EP 424 Innovation and Change Management พื้นความรู: บธ. 211 และ บธ. 424 ศึกษาบริบทดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยีทมี่ ผี ลกระทบตอการผลิตสินคาและบริการ กระบวนการ ดําเนินงาน และการสรางนวัตกรรมใหมๆ สําหรับธุรกิจผูป ระกอบการ อีกทั้งยังมุงเนนใหนักศึกษาไดฝกปฏิบัติการคิดกลยุทธ ในการสราง ความไดเปรียบทางการแขงขันใหกับธุรกิจผูประกอบการ และเรียนรู การพัฒนาบทบาทในการเปนผูน าํ การเปลีย่ นแปลงในธุรกิจผูป ระกอบ การ หลักสูตรปร ญญาตร 409


จธ. 425 พลวัตของธุรกิจครอบครัว (3 หนวยกิต) EP 425 Family Business Dynamics พื้นความรู: จธ. 312 ศึ ก ษาและเรี ย นรู กระบวนการวิ เ คราะห เ ชิ ง ลึ ก และ กระบวนการวิเคราะหเชิงวิพากษ เพือ่ นํามาใชใหเกิดประโยชนตอ การ เรียนรูและทําความเขาใจธรรมชาติของการดําเนินธุรกิจครอบครัว อยางแทจริง โดยเนนการวิเคราะหประเด็นดานการถือกรรมสิทธิ์ใน การเปนเจาของธุรกิจครอบครัว การสืบทอดมรดกทางธุรกิจครอบครัว การบริหารจัดการคาจางและคาตอบแทนพนักงาน การบริหารประเด็น ความขัดแยงทีเ่ กิดขึน้ ในการประกอบธุรกิจครอบครัว รวมถึงการศึกษา บทบาทความสําคัญของกระบวนการการสื่อสารอยางเปนทางการซึ่ง กี่ยวของกับกฎหมาย กฎเกณฑ และกฎระเบียบในการบริหารจัดการ ธุรกิจครอบครัว และการศึกษาวิธีการประเมินผลวงจรชีวิตของธุรกิจ ครอบครัว

จธ. 432 การวินิจฉัยสถานประกอบการและ (3 หนวยกิต) ใหคําปรึกษาธุรกิจ EP 432 Entrepreneurial Diagnosis and Business Consulting พื้นความรู: สอบได จธ. 313 และ จธ. 324 ศึกษาหลักการและกระบวนการวินิจฉัยและใหคําปรึกษา ธุรกิจ มุง เนนใหนกั ศึกษาฝกปฏิบตั กิ ารวินจิ ฉัยสถานประกอบการและ ใหคําปรึกษาทางธุรกิจ โดยนําความรูที่ไดจากการเรียนหลายๆ ดาน ไปประยุกต ในการสังเคราะหความรูใหม โดยเริ่มตั้งแตการศึกษา ป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ธุ ร กิ จ จริ ง ที่ เ ลื อ กมาเป น กรณี ศึ ก ษาจากสถาน ประกอบการจริง และใหนักศึกษาวิเคราะหสาเหตุของปญหาและหา วิธีการแกไขปญหา และนําสรุปวิธีการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น นําไปสู การสังเคราะหใหคาํ ปรึกษาแนวทางแกไขปญหาตอผูป ระกอบการและ อาจารยทปี่ รึกษากํากับดูแล นักศึกษาจะไดเรียนรูท ฤษฏีจากหองเรียน และไดลงมือปฏิบัติจริง ณ สถานประกอบการ

จธ. 431 การจัดการธุรกิจขนาดยอม (3 หนวยกิต) EP 431 Small Business Management พื้นความรู: บธ. 211 ศึกษาถึงความหมาย บทบาท ประเภท คุณลักษณะพิเศษ และการดําเนินงานของธุรกิจขนาดยอม การวิเคราะหและประเมิน สภาพแวดลอมตางๆ ทั้งในเรื่องของโอกาส อุปสรรค เงื่อนไขตางๆ ทางกฎหมาย พรอมทั้งแนวคิดตางๆ ในการจัดตั้งธุรกิจใหม การ ดําเนินงานและปญหาในการบริหารงาน ตลอดจนแนวทางในการ วางแผนและพัฒนาธุรกิจ

จธ. 433 การบริหารตราสินคา (3 หนวยกิต) EP 433 Brand Management พื้นความรู: บธ. 214 ศึกษาและทําความเขาใจถึงความสําคัญของการกําหนด จุดยืนและความแตกตางใหกบั สินคาและบริการสําหรับธุรกิจผูป ระกอบ การ เรียนรูระบบการบริหารชื่อสินคา การวางแผนปฏิบัติงาน การ ดําเนินงานเพื่อใหสอดคลองกับความตองการของตลาด การประเมิน และการวัดคาตราสินคา และการบริหารคุณคาตราสินคาใหเปนที่ ยอมรับในระยะยาว การสรางใหเกิดความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับ ประโยชนของการบริหารตราสินคาตอธุรกิจผูประกอบการ รวมทั้ง การนําเทคนิคการสื่อสารการตลาดมาใชในการสรางกลยุทธ ในการ พัฒนาคุณคาตราสินคา

410 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


จธ. 434 การพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ (3 หนวยกิต) และบริการ EP 434 Product and Service Design Development พื้นความรู: บธ. 214 ศึกษาบทบาทความสําคัญ ประเภทของการออกแบบบรรจุ ภัณฑและปายฉลาก มาตรฐานอุตสาหกรรมมาตรฐานดานคุณธรรม และจริยธรรม ระบบการตรวจสอบคุณภาพ กลยุทธและเทคนิคในการ ออกแบบบรรจุภัณฑและปายฉลากสินคาและบริการที่สอดคลองตา มกฏระเบียบของหนวยงานที่เกี่ยวของ ดวยการนําศิลปะเทคโนโลยี รวมสมัยมาประยุกตใชในธุรกิจผูป ระกอบการ โดยมุง เนนใหนกั ศึกษา ไดฝกฝนนําไปสูการพัฒนาทักษะในเชิงสรางสรรคนวัตกรรมและวิสัย ทัศนเชิงรุก และนํามาพัฒนาเปนมูลคาเพิม่ ในการออกแบบผลิตภัณฑ และบริการ จธ. 435 การวิจัยการเปนเจาของธุรกิจ (3 หนวยกิต) EP 435 Research in Entrepreneurship พื้นความรู: บธ. 206 จธ. 311 และ จธ. 312 ศึกษาถึงความหมาย ประเภทและขอบเขตของการวิจัย ความสําคัญของการวิจัยที่มีตอเจาของธุรกิจ การเขียนโครงรางการ วิจัย กระบวนการวิจัยและการเลือกวิธีการวิจัยใหเหมาะกับความ ตองการของเจาของธุรกิจ การกําหนดปญหาและวัตถุประสงค การ ออกแบบวิจยั การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอ มูล และการนํา เสนอผลการวิจัย และการนําผลวิจัยไปใชในการตัดสินใจทางธุรกิจ รวมถึงการศึกษาจริยธรรมและจรรยาบรรณของนักวิจัย

จธ. 441 เทคนิคการเจรจาตอรอง (3 หนวยกิต) สําหรับเจาของธุรกิจ EP 441 Entrepreneurial Negotiation Techniques พื้นความรู: บธ. 211 ศึกษาถึงแนวคิด หลักการ และเทคนิคของการเจรจาตอ รองทางธุรกิจ การวางแผนการเจรจาตอรองอยางเปนระบบ การเลือก ใชกลยุทธและการประเมินกลยุทธในการเจรจาตอรอง นอกจากนี้ยัง ศึกษาถึงทักษะการติดตอสือ่ สารเพือ่ การเจรจาตอรองทีม่ ปี ระสิทธิภาพ รวมถึงการศึกษาถึงปญหาและอุปสรรคตางๆ ในการเจรจาตอรองทาง ธุรกิจ และการหาวิธกี ารในการแกไขปญหาและเอาชนะหรือหลีกเลีย่ ง อุปสรรคตางๆ เหลานั้น จธ. 442 การจัดการหวงโซอุปทานและ (3 หนวยกิต) การจัดการโลจิสติกส EP 442 Supply Chain and Logistics Management พื้นความรู: บธ. 211 และ บธ. 216 ศึกษาถึงความหมาย ความสําคัญ และกระบวนการในการ บริหารหวงโซอุปทานและการจัดสง โดยเริ่มจากธุรกิจตนทางจนถึง ธุรกิจปลายทาง รวมทั้งศึกษาถึงความสําคัญของการไหลเวียนของ ขอมูลการจัดสง และการไหลเวียนของเงิน อันจะเปนประโยชนตอ การ สรางความไดเปรียบในการแขงขัน การบริการลูกคา และการเพิ่ม คุณคาใหกับธุรกิจ

หลักสูตรปร ญญาตร 411


จธ. 443 การบริหารผลงานและคาตอบแทน (3 หนวยกิต) สําหรับเจาของธุรกิจ EP 443 Compensation and Performance Management for Entrepreneurs พื้นความรู: บธ. 215 ศึกษาถึงกระบวนการในการกําหนดมาตรฐานและเปา หมายของผลงานใหสอดคลองกับนโยบายและกลยุทธธุรกิจของ ผูประกอบการ วิธกี ารประเมินผลงานของบุคลากร การใหความดีความ ชอบ การปรับปรุงผลงานในอนาคต รวมทัง้ ศึกษาถึงความหมาย หลัก การ โครงสราง หลักเกณฑ และวิธีการจายคาตอบแทนโดยอาศัยการ ประเมินคางาน ปจจัยดานสภาพแวดลอมทัง้ ภายในและภายนอกสถาน ประกอบการที่สงผลกระทบตอการกําหนดคาตอบแทน ตลอดจน เทคนิคการบริหารคาจางเงินเดือนและผลประโยชนเกื้อกูลรูปแบบ ตางๆ จธ. 444 สถานการณปจจุบันของการเปน (3 หนวยกิต) เจาของธุรกิจ EP 444 Current Issues in Entrepreneurship พื้นความรู: วิชาเอก-บังคับ อยางนอย 2 วิชา ศึกษาและวิเคราะหประเด็นและเหตุการณตา งๆ ทีเ่ กิดขึน้ กับเจาของธุรกิจในปจจุบัน อันจะสงผลตอการบริหารงานและการ ตัดสินใจดําเนินงานของเจาของธุรกิจ รวมถึงการศึกษาแนวคิดและ เทคนิคการจัดการสมัยใหมเพือ่ ใชเปนแนวทางในการวางแผนกลยุทธ ของการเปนเจาของธุรกิจเพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด สอดคลองกับ สภาพแวดลอมในปจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

412 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

จธ. 445 การศึกษาเฉพาะบุคคล (3 หนวยกิต) EP 445 Independent Study พื้นความรู: จธ. 311 และ จธ. 312 ศึกษา และคนควาเชิงลึก หรือทําวิจยั ในหัวขอทีเ่ กีย่ วของ กับการเปนเจาของธุรกิจทีน่ กั ศึกษาสนใจ ภายใตคาํ แนะนําและการดูแล จากอาจารยทป่ี รึกษา นักศึกษาจะเปนผูท าํ การศึกษาคนควาในศาสตร องคความรูเฉพาะดานดวยตนเองและนําเสนอตออาจารยที่ปรึกษา จธ. 446 การศึกษาประเทศอาเซียนสําหรับ (3 หนวยกิต) เจาของธุรกิจ EP 446 Asian Countries Study for Entrepreneurs พื้นความรู: บธ. 211 จธ. 311 และ จธ. 412 ศึกษาถึงปจจัยสภาพแวดลอมทางดานเศรษฐกิจ การเมือง ประชากรศาสตร สังคมและวัฒนธรรม กฎหมาย คูแ ขงขัน เทคโลโนยี พฤติกรรมผูบริโภคของกลุมประเทศในภูมิภาคอาเซียนและประเทศ ใกลเคียง รวมถึง ประเทศจีน ญี่ปุน ออสเตรเลีย อินเดีย เปนตน ที่ สงผลตอการพิจารณาโอกาสและอุปสรรคในการจัดตัง้ ธุรกิจ หรือขยาย ธุรกิจ รวมทั้งศึกษาแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค โดยศึกษาทั้งจาก ทฤษฏีและกรณีศกึ ษาตางๆ เพือ่ ใหนกั ศึกษาศึกษาและเขาใจถึงวิธกี าร จัดองคการ การตลาด การผลิต การจัดการ การเงิน การบริหาร ทรัพยากรมนุษย การจัดการโลจิสติกส ซึ่งเปนปจจัยที่มีผลตอความ สําเร็จในการดําเนินธุรกิจในภูมิภาคอาเซียนอยางมีประสิทธิภาพและ ไดเปรียบในเชิงแขงขัน


จธ. 447 การศึกษาประเทศตลาดใหมสําหรับ (3 หนวยกิต) เจาของธุรกิจ EP 447 New Emerging Market Countries Study for Entrepreneurs พื้นความรู: บธ. 211 และ จธ. 311 และ จธ. 412 ศึกษากระบวนการในการวิเคราะหและประเมินถึงปจจัย สภาพแวดลอมทางดานเศรษฐกิจ การเมือง ประชากรศาสตร สังคม และวัฒนธรรม กฎหมาย คูแขงขัน เทคโลโนยี ความเสี่ยง และ พฤติกรรมผูบ ริโภคของประเทศทีเ่ ริม่ เปดประเทศสูเ วทีการคาในตลาด โลก อาทิ กลุมประเทศสหรัฐอาหรับอิมิเรตส อินเดีย กลุมประเทศ ตะวันออกกลาง เปนตน โดยศึกษาทัง้ จากทฤษฏีและกรณีศกึ ษาตางๆ เพื่อใหเขาใจกระบวนการเขาสูตลาดตางประเทศและการจัดตั้งธุรกิจ โดยเตรียมพรอมในดานการจัดการองคการ การตลาด การผลิต การ จัดการ การเงิน การบริหารทรัพยากรมนุษย การจัดการโลจิสติกส ใน บริบทของการทําตลาดโลกซึ่งเปนปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการ ดําเนินธุรกิจในกลุมประเทศตลาดใหมอยางมีประสิทธิภาพและได เปรียบในเชิงแขงขัน จธ. 448 โอกาสทางการตลาดในกลุมประชาคม (3 หนวยกิต) เศรษฐกิจอาเซียนสําหรับเจาของธุรกิจ EP 448 Market Opportunity in ASEAN Economic Community for Entrepreneurs พื้นความรู: บธ. 211 และ จธ. 311 และ จธ. 412 ศึกษาถึงสาระสําคัญหลักของกฎบัตรประชาคมอาเซียน ไดแก ประชาคมดานการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมดาน เศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมดานสังคมและวัฒนธรรม เพื่อการ วิเคราะหและประเมินโอกาสทางการตลาดในการนําเสนอสินคาและ บริการนวัตกรรมใหมในกลุมอุตสาหกรรมตางๆ ของประเทศกลุม ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวมถึงศึกษาวิเคราะหปจจัยดานความ เสี่ยง นโยบายทางการคา ปญหาและแนวทางแกไขเพื่อการวางแผน

กระบวนการทําธุรกิจ ผลตอบแทนของการเปนเจาของธุรกิจให สอดคลองกับพฤติกรรมและความตองการของผูบริโภค โดยเรียนรู จากกรณีศึกษาของธุรกิจที่ประสบความสําเร็จและลมเหลว การระดม สมอง และการอภิปรายกลุม เพื่อเตรียมความพรอมกอนนําไป ประยุกตใชในการดําเนินธุรกิจจริง จธ. 449 การจัดการนวัตกรรมสําหรับ (3 หนวยกิต) ธุรกิจรูปแบบใหม EP 449 Innovation Management for New Business Model พื้นความรู: บธ. 424 และ จธ. 311 ศึกษาถึงบริบทพลวัตการเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมวัฒนธรรม พฤติกรรมผูบริโภค และเทคโนโลยีของ เศรษฐกิจสรางสรรค เพื่อกําหนดรูปแบบการทําธุรกิจที่ใหความได เปรียบในเชิงกลยุทธ ที่กอใหเกิดผลกําไร การกําหนดราคา ขอบเขต โครงสร า งเงิ น ทุ น และแหล ง ที่ ม าของรายได จากการประยุ ก ต ใ ช ทรัพยากรขององคกรอยางเต็มที่ อันจะกอใหเกิดผลกําไรสูงสุดและ เพิ่มมูลคาของสินคาและบริการในการพัฒนาสินคา ผลิตสินคา และ บริการใหม รวมถึงศึกษาความสัมพันธระหวางการคนหาโอกาสทาง ธุรกิจ กระบวนการนวัตกรรมและการพัฒนาธุรกิจใหม การประเมิน โอกาสการพัฒนาแนวคิดทางธุรกิจ และการดําเนินการตามแผนธุรกิจ ใหมโดยใชกรณีศึกษาและการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ

หลักสูตรปร ญญาตร 413


หมวดวิชาศิลปกรรมศาสตร ศก. 101 วาดเสน 1 (3 หนวยกิต) FA 101 Drawing I ศึกษาและปฏิบัติการวาดเสนในฐานะภาษาภาพ เพื่อให เขาใจแนวคิด หลักทฤษฎี และองคประกอบตางๆ ของการวาดเสน เชน เสน รูปทรง แสง-เงา พื้นผิว และการจัดองคประกอบภาพ ฯลฯ ฝกการรับรูและแสดงออกดวยเทคนิควิธีการใชเครื่องมือและวัสดุใน ลักษณะตางๆ เพือ่ ใหสามารถนําไปประยุกตใชเปนพืน้ ฐานของวิชาชีพ ศก. 102 วาดเสน 2 (3 หนวยกิต) FA 102 Drawing II พื้นความรู: สอบได ศก.101 ศึกษาและปฏิบตั กิ ารวาดเสนในฐานะภาษาภาพ เพือ่ ให เขาใจแนวคิด หลักทฤษฏี และองคประกอบตางๆ ของการวาดเสนตอ เนื่องจากเนื้อหาในวิชา ศก.101 วาดเสน 1 เรียนรูและฝกฝนการรับรู และการแสดงออกในแงของความคิดสรางสรรคในลักษณะตางๆ เพือ่ ใหสามารถนําไปประยุกตใชเปนพื้นฐานของวิชาชีพ ศก. 103 การออกแบบ 2 มิติ (3 หนวยกิต) FA 103 Two Dimensional Design ศึกษาความสอดคลองระหวางภาคปฏิบตั กิ ารและทฤษฎี พืน้ ฐานในการสรางงาน 2 มิติ อันประกอบดวย ความสัมพันธของทัศนะ ธาตุและหลักการจัดองคประกอบศิลปที่มีตอการออกแบบ เนนทักษะ ในการสือ่ สารทัง้ ทางถอยคําอธิบาย (Verbal) และการสือ่ สารดวยภาษา ภาพ (Visual) เพือ่ การสรางงานอยางมีเหตุผลและสามารถนําขอมูล และความรูตางๆ ไปประยุกต ใชในการสรางงานออกแบบ 2 มิติได อยางมีคุณคา

414 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศก. 104 การออกแบบ 3 มิติ (3 หนวยกิต) FA 104 Three Dimensional Design ศึกษาความสอดคลองระหวางภาคปฏิบตั กิ ารและทฤษฎี พื้นฐานในการสรางงาน 3 มิติ เนนทักษะในการสื่อสารทั้งทางถอยคํา อธิบาย (Verbal) และการสือ่ สารดวยภาษาภาพ (Visual) เพือ่ การสราง งานอยางมีเหตุผลและสามารถนําขอมูลและความรูต า งๆ ไปประยุกต ใชในการสรางงานออกแบบ 3 มิติไดอยางมีคุณคา ศก. 105 ประวัติศาสตรศิลปะ 1 (3 หนวยกิต) FA 105 History of Arts I ศึกษาประวัติศาสตรศิลปะตะวันตกตั้งแตกอนประวัติศาสตรมาจนถึงปลายยุคกลางโดยสังเขป และศึกษาประวัติศาสตร ศิ ล ปะตะวั น ตกตั้ ง แต ต น สมั ย ฟ น ฟู ศิ ล ปะวิ ท ยาจนถึ ง ปลายคริ ส ต ศตวรรษที่ 19 โดยเนนความเขาใจความสัมพันธระหวางปรัชญา ความ คิดหลักของยุคสมัย สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และรูปแบบของ ศิลปะ เพื่อเปนพื้นฐานในการเขาใจศิลปะตะวันตกอยางแทจริง ศก. 106 ประวัติศาสตรศิลปะ 2 (3 หนวยกิต) FA 106 History of Arts II พื้นความรู: สอบได ศก. 105 ศึกษาประวัติศาสตรศิลปะสมัยใหมของตะวันตกตั้งแต ปลายคริสตศตวรรษที่ 19 มาจนถึงสมัยสงครามโลกครัง้ ทีส่ องในปลาย ยุคสมัยใหม โดยเนนความเขาใจความสัมพันธระหวางปรัชญา ความ คิดหลักของยุคสมัย สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และรูปแบบของ ศิลปะ เพือ่ เปนพืน้ ฐานในการเขาใจศิลปะตะวันตกในยุคสมัยใหมอยาง แทจริง


ศก. 107 ทฤษฎีสี (3 หนวยกิต) FA 107 Color Theory ศึกษาทําความเขาใจเรื่องสีทั้งในทางทฤษฎีและปฏิบัติ อยางมีระบบ เพื่อใหเกิดความเขาใจในคุณสมบัติของสีทั้งในทาง กายภาพและจิตวิทยาที่มีผลตอความรูสึกของมนุษย รวมถึงความ หมายและสุนทรียภาพในการใชสี เพื่อใหสามารถนําหลักทฤษฏีมาใช เปนพื้นฐานในการสรางผลงานทางศิลปะและการออกแบบไดอยางมี เหตุและผล

ศก. 311 การศึกษาทฤษฎีของความรูผานแนวคิด (3 หนวยกิต) ของงานสถาปตยกรรมไทย FA 311 Epistemology through Thai Architecture ศึกษากระบวนการวิธีการแสวงหาความรู และการเกิด ของชุดความรู ในมิติทางดานวิทยาศาสตร และปรัชญา (Epistemology) โดยศึกษาผานบริบทของสังคมไทยที่สะทอนออกมาในงาน สถาปตยกรรมไทยวาอางอิงอยูกับปรัชญาและโลกทัศนแบบใด และ ดํารงตนอยูดวยปจจัยใด การเรียนการสอนเนนการสัมมนา เพื่อแลก เปลี่ยนแนวความคิด และการเขียนเพื่อถายทอดความคิด

ศก. 108 พื้นฐานคอมพิวเตอรเพื่อศิลปะ (3 หนวยกิต) และการออกแบบ FA 108 Basic Visual Computing ศึกษาและปฏิบัติในการใชเครื่องคอมพิวเตอร รวมถึง อุปกรณตอ พวงตางๆ ตลอดจนศึกษาการใชซอฟทแวรทมี่ อี ยูในระบบ เครือ่ งคอมพิวเตอร เพือ่ เปนพืน้ ฐานในการสรางผลงานทางศิลปะและ การออกแบบ

ศก. 312 ศิลปะการใชตัวพิมพเชิงทดลอง (3 หนวยกิต) FA 312 Experimental Typography คนควาและทดลองความเปนไปไดในการใชตวั พิมพทงั้ ที่ เกิดจากการสรางขึ้นเองใหม และตัวพิมพที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน โดยการตั้งสมมติฐาน วิเคราะห สรางความสัมพันธ เพื่อนําเสนองาน สรางสรรคที่นาสนใจ

ศก. 200 ประวัติศาสตรศิลปะและการออกแบบ (3 หนวยกิต) FA 200 History of Art and Design ศึกษาประวัตศิ าสตรศลิ ปะและการออกแบบของตะวันตก ตัง้ แตคริสตศตวรรษที่ 18 มาจนถึงสมัยสงครามโลกครัง้ ทีส่ องในปลาย ยุคสมัยใหม โดยเนนความเขาใจความสัมพันธระหวางปรัชญา ความ คิดหลักของยุคสมัย สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และรูปแบบของ ศิลปะและการออกแบบ เพื่อเปนพื้นฐานในการเขาใจศิลปะตะวันตก

ศก. 313 การออกแบบหนังสือเชิงทดลอง (3 หนวยกิต) FA 313 Experimental Book Design เรียนรูและฝกปฏิบัติเพื่อทําความเขาใจการออกแบบที่ เกีย่ วของกับหนังสือ ทัง้ ในเชิงทฤษฏี ปฏิบตั ิ หรือทดลองไดตามบริบท โดยพัฒนาการวิเคราะหและสรางสรรค ไดตามความสามารถเฉพาะ บุคคล ศก. 332 ศิลปะปริทัศน (3 หนวยกิต) FA 332 Survey of Art ศึกษาศิลปกรรมสําคัญของไทยจากการนําชมสถานทีจ่ ริง และภาพถาย เพือ่ ใหเขาใจและเห็นคุณคาในภูมปิ ญ ญาโบราณของไทย และเพื่อเปนการเสริมความรูท้งั ทางประวัติศาสตรและสุนทรียศาสตร หลักสูตรปร ญญาตร 415


ศก. 351 ศิลปกรรมพื้นบาน (3 หนวยกิต) FA 351 Folk Arts ศึกษาประวัติและวิวัฒนาการของงานศิลปกรรมพื้นบาน ของไทยในภูมิภาคตางๆ โดยสังเขป รวมทั้งวิเคราะหองคประกอบ ของศิ ล ปะแขนงต า งๆ ตลอดจนวั ฒ นธรรมและขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี เพื่อใหเขาใจและเห็นคุณคาในภูมิปญญาทองถิ่นของไทย ศก. 352 การนําเสนอผลงานสวนบุคคล (3 หนวยกิต) FA 352 Portfolio ศึกษาแนวทางการนําเสนอผลงานสวนบุคคล การเตรียม ผลงานและจัดทําผลงานสวนบุคคลเพื่อใชสมัครงาน และศึกษาตอใน อนาคต ศก. 431 การดําเนินธุรกิจการออกแบบ (3 หนวยกิต) FA 431 Design Management ศึกษาการดําเนินธุรกิจขนาดยอมและปญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงขอคิดตางๆ ในการกอตั้ง การดําเนินงาน การควบคุม และวัด ประสิทธิภาพของงาน ตลอดจนกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อเปน แนวทางสําหรับนักศึกษาที่คิดจะออกไปประกอบธุรกิจที่เกี่ยวของกับ งานศิลปะตอไป

416 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาการออกแบบนิเทศศิลป อน. 101 วาดเสนเพื่อการออกแบบ (3 หนวยกิต) CD 101 Design Drawing พื้นความรู: สอบได ศก.101 วาดเสน 1 ศึกษาและปฏิบตั กิ ารวาดเสนทีต่ อ เนือ่ งจากวิชา ศก.101 เรียนรูเกี่ยวกับการรับรู การสื่อสารความคิดสรางสรรคดวยเทคนิควิธี การใชเครื่องมือและวัสดุในลักษณะที่มีความซับซอนขึ้น เพื่อเปนพื้น ฐานสําหรับการนําไปประยุกตใชในวิชาชีพการออกแบบนิเทศศิลป อน. 102 พื้นฐานการออกแบบนิเทศศิลป (3 หนวยกิต) CD 102 Communication Design Fundamental ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับทฤษฎีพื้นฐานในการออกแบบ เรียนรูเรื่องการใชสี พื้นผิว วัสดุ การสรางรูปรางรูปทรงใหมดวยวิธี ตางๆ รวมถึงฝกปฏิบัติการทํางานออกแบบที่เปนงาน 2 มิติและ 3 มิติ เพื่อเปนพื้นฐานในการทํางานออกแบบนิเทศศิลป อน. 103 พื้นฐานการเขียนแบบสําหรับนิเทศศิลป (3 หนวยกิต) CD 103 Basic Technical Drawing for Communication Design ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการเขียนแบบขั้นพื้นฐาน เชน การเขียนรูปดานทัศนียภาพ แสงเงา การเขียน Isometric ของรูปทรง แบบตางๆ โดยเริ่มจากการเขียนแบบดวยมือไปจนถึงการเขียนแบบ ที่ใชโปรแกรมคอมพิวเตอร เพือ่ ใหนกั ศึกษาสามารถนําความรูท ี่ไดไป ใชในการทํางานออกแบบนิเทศศิลปไดอยางมีประสิทธิภาพ


อน. 104 คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบ (3 หนวยกิต) CD 104 Computer-Aided Design ศึกษาและฝกปฏิบตั พิ นื้ ฐานการใชโปรแกรมคอมพิวเตอร ทีเ่ กีย่ วของกับงานออกแบบนิเทศศิลปและการตกแตงภาพ โดยศึกษา เรี ย นรู เ ครื่ อ งมื อ พื้ น ฐานเพื่ อ นํ า ไปสร า งผลงานออกแบบ เข า ใจ คุ ณ ลั ก ษณะของไฟล แ ต ล ะชนิ ด รวมถึ ง การเตรี ย มไฟล สํ า หรั บ กระบวนการพิมพอยางถูกตอง อน. 121 การออกแบบนิเทศศิลป 1 (4 หนวยกิต) CD 121 Communication Design I ศึ ก ษาค น คว า และปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ ทฤษฎี พื้ น ฐานการ ออกแบบที่ใชในการสื่อสาร การสื่อความหมายดวยภาษาภาพ การ ออกแบบสัญลักษณภาพ (Pictogram) รวมถึงเรียนรูการนําเสนอผล งานออกแบบที่สื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ อน. 131 ตัวพิมพเพื่อการออกแบบ 1 (3 หนวยกิต) CD 131 Typography I ศึกษาพัฒนาการและพื้นฐานการใชตัวพิมพ โดยเรียนรู พื้นฐานเกี่ยวกับรูปแบบ ลักษณะ บุคลิก ตระกูลของตัวพิมพ รวมถึง ฝกปฎิบัติการใชตัวพิมพที่เนนการอานออกและสื่อสารไดอยางมี ประสิทธิภาพ (Readability and Legibility) อน. 133 การถายภาพ (3 หนวยกิต) CD 133 Photography ศึกษาทฤษฎีและหลักการพื้นฐานดานการถายภาพ ฝก ปฏิบัติเกี่ยวกับภาพขาว-ดําและภาพสี รวมทั้งการกําหนดแนวความ คิดและเนื้อหาในภาพถาย เพื่อนําไปใชในการออกแบบนิเทศศิลปได อยางมีประสิทธิภาพ

อน. 211 ประวัติศาสตรการออกแบบนิเทศศิลป (3 หนวยกิต) CD 211 History of Communication Design ศึกษาประวัติศาสตรการออกแบบนิเทศศิลป เรียนรู วิวฒ ั นาการ ผลกระทบ การเปลีย่ นแปลงสังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี ที่มผี ลตอการออกแบบนิเทศศิลปในแตละยุคสมัย อน. 222 การออกแบบนิเทศศิลป 2 (4 หนวยกิต) CD 222 Communication Design II พื้นความรู: สอบได อน.121 การออกแบบนิเทศศิลป 1 ศึกษาและปฏิบตั เิ กีย่ วกับการพัฒนาความคิดสรางสรรค ในการออกแบบสัญลักษณโดยคํานึงถึงการสือ่ สาร รวมถึงกระบวนการ ในการออกแบบสัญลักษณ เชน การหาขอมูล การพัฒนาความคิด การออกแบบ การใชกริด (Grid) เพื่อใหไดสัญลักษณที่สมบูรณ สามารถนําไปใชงานในสื่อตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ อน. 223 การออกแบบนิเทศศิลป 3 (4 หนวยกิต) CD 223 Communication Design III พื้นความรู: สอบได อน. 222 การออกแบบนิเทศศิลป 2 ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบเพือ่ สรางอัตลักษณองคกร (Corporate Identity) โดยเริม่ จากการศึกษาและวิเคราะหขอ มูล เพือ่ นํามากําหนดภาพรวมของการใชงานสัญลักษณและองคประกอบ กราฟกที่ครอบคลุมงานออกแบบในองคกรทั้งหมดอยางเปนระบบ รวมถึงออกแบบคูมืออัตลักษณองคกร (CI Manual) ดวย อน. 232 ตัวพิมพเพื่อการออกแบบ 2 (3 หนวยกิต) CD 232 Typography II พื้นความรู: สอบได อน. 131 ตัวพิมพเพื่อการออกแบบ 1 ศึกษาและฝกปฏิบตั กิ ารออกแบบจัดวางตัวพิมพในแบบ ตางๆ รวมถึงการเลือกตัวอักษรมาใชในงานออกแบบตางๆ และเลือก ตัวพิมพมาใชในงานออกแบบนิเทศศิลปไดอยางเหมาะสมกับเรือ่ งราว ในสื่อตางๆ และสื่อความหมาย หลักสูตรปร ญญาตร 417


อน. 234 ภาพประกอบ (3 หนวยกิต) CD 234 Illustration ศึกษาทฤษฎีพื้นฐานในการสรางภาพประกอบ และฝก ปฏิ บั ติ ก ารออกแบบภาพประกอบที่ ผ า นการตี ค วาม ถ า ยทอด จินตนาการจากเรื่องสูภาพใหสามารถสื่อสารไดอยางเหมาะสม และ ฝกทักษะในการสรางสรรคผลงานดวยเทคนิควิธีการตางๆ

อน. 238 การกํากับศิลป (3 หนวยกิต) CD 238 Art Direction ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการถายทอดแนวความคิดและ จินตนาการดวยภาพนิง่ และภาพเคลือ่ นไหว สามารถสือ่ สาร สรางมุม มองที่แตกตาง และดึงดูดความสนใจ ซึ่งเปนหัวใจสําคัญสําหรับการ สรางสรรคงานออกแบบตางๆ

อน. 235 การออกแบบเพื่อการสื่อสารขอมูล (3 หนวยกิต) CD 235 Information Graphic Design ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดระบบและเรียบเรียง ขอมูลประเภทตางๆ ผานกระบวนการคิดอยางมีเหตุผล เพื่อให สามารถสื่อสารขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยนําเสนอผานงาน ออกแบบดวยภาพ สัญลักษณ และตัวอักษร ที่ครอบคลุมตั้งแตสื่อสิ่ง พิมพ ไปจนถึงสื่ออิเล็กทรอนิกสอยางสรางสรรค

อน. 251 การนําเสนอผลงานสวนบุคคล (3 หนวยกิต) CD 251 Portfolio ศึกษาแนวทางการนําเสนอผลงานสวนบุคคล เตรียมผล งาน และจัดทําผลงานสวนบุคคล เพื่อใชสมัครงานและศึกษาตอใน อนาคต

อน. 236 การออกแบบสื่อภาพเคลื่อนไหว (3 หนวยกิต) CD 236 Time-based Media Design ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบสื่อที่เกี่ยวของกับมิติของ เวลา ตัง้ แตภาพเคลือ่ นไหวและเสียง ไปจนถึงสือ่ อินเตอรแอคทีฟดวย เครื่องมือและเทคนิควิธีการที่เหมาะสม อน. 237 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ (3 หนวยกิต) CD 237 Editorial Design ศึ ก ษาและปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การออกแบบสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ ประเภทตางๆ เชน นิตยสาร หนังสือ แผนพับ โดยเนนการจัดวาง ภาพ ตัวอักษร องคประกอบทีส่ ามารถสือ่ สารกับเนือ้ หาและแนวความ คิดของสื่อนั้นๆ

418 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

อน. 252 การพิมพซิลสกรีน (3 หนวยกิต) CD 252 Silk Screen ศึกษาทฤษฎีและปฎิบตั กิ ารพิมพซลิ สกรีนกับสือ่ สิง่ พิมพ บนวัสดุตา งๆ เพือ่ สามารถนํามาประยุกตใชในงานออกแบบนิเทศศิลป อน. 253 กระบวนการพิมพ (3 หนวยกิต) CD 253 Print Production ศึกษาหลักเกณฑ กระบวนการพิมพ และเทคโนโลยีการ พิมพในระบบตางๆ ที่จําเปนสําหรับการผลิตสื่อสิ่งพิมพในออกแบบ นิเทศศิลป การเตรียมไฟลงานกอนสงงานเขาโรงพิมพ รวมถึงเรียนรู เกี่ยวกับเทคนิคที่เกี่ยวของกับระบบการพิมพ อน. 254 การออกแบบกราฟกสําหรับบรรจุภัณฑ (3 หนวยกิต) CD 254 Graphic Design for Packaging ศึกษาวัตถุประสงคของการออกแบบบรรจุภัณฑ ฝก ปฏิบัติการออกแบบกราฟกที่มีความสัมพันธกับโครงสรางของบรรจุ ภัณฑ รวมทั้งเรียนรูเกี่ยวกับวัสดุและกระบวนการผลิตบรรจุภัณฑ ประเภทตางๆ โดยสังเขป


อน. 312 ประเด็นรวมสมัยในการออกแบบนิเทศศิลป (3 หนวยกิต) CD 312 Contemporary Issues in Communication Design ศึกษาอิทธิพลของการออกแบบนิเทศศิลปที่มีตอการ สื่อสารในชีวิตประจําวัน ความเชื่อ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม รวมทัง้ ศึกษาอิทธิพลของกระแสและแนวทางการออกแบบ นิเทศศิลปรวมสมัย อน. 313 วิธีวิจัยในการออกแบบนิเทศศิลป (3 หนวยกิต) CD 313 Research Methods in Communication Design ศึกษาความหมาย ประเภท แนวความคิดพื้นฐานของ การวิจยั การออกแบบ รวมถึงขัน้ ตอนการดําเนินการวิจยั การกําหนด ปญหานําวิจัย การศึกษาทบทวนทฤษฎี แนวความคิดและงานวิจัยที่ เกี่ยวของ เทคนิคการเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลและการ สรุปผลการวิจัยเพื่อนําไปสูงานออกแบบนิเทศศิลป อน. 314 การดําเนินธุรกิจและการตลาด (3 หนวยกิต) CD 314 Management and Marketing ศึกษาการดําเนินธุรกิจการออกแบบ การบริหารจัดการ การดําเนินงาน ควบคุม และวัดประสิทธิผลของงาน รวมถึงแนวคิด เกีย่ วกับการตลาด ปจจัยเบือ้ งตนและตัวแปรทีม่ อี ทิ ธิพลตอพฤติกรรม ผูบริโภคและมีอิทธิพลตอการออกแบบ เพื่อนํามาใชประโยชนในการ ออกแบบนิเทศศิลป

อน. 325 การออกแบบนิเทศศิลป 5 (4 หนวยกิต) CD 325 Communication Design V พื้นความรู: สอบได อน. 324 การออกแบบนิเทศศิลป 4 (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบที่เนนกระบวนการพัฒนา ความคิดสรางสรรคที่เนนรูปแบบของการวิจัย เชิงทดลอง โดยมีการ ศึกษาคนควาและนําทฤษฎีหรือขอมูลตางๆ มาใชในงานออกแบบเชิง ทดลองดวย อน. 326 การปฏิบัติงานวิชาชีพ (0 หนวยกิต) CD 326 Job Training พื้นความรู: สอบได อน. 325 การออกแบบนิเทศศิลป 5 (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาระบบการทํางาน การแกปญหา และการทํางาน รวมกับผูอ นื่ ดวยการฝกปฏิบตั งิ านในหนวยงานที่ไดรบั การอนุมตั จิ าก ภาควิชาฯ โดยใชเวลาฝกงานไมต่ํากวา 8 สัปดาห หรือประมาณ 320 ชั่วโมง ขอกําหนด 1. นักศึกษาทีจ่ ะฝกงานตองผานการศึกษามาแลวไมนอ ย กวา 6 ภาคการศึกษา 2. นั ก ศึ ก ษาที่ จ ะฝ ก งานต อ งสอบได อน.325 การ ออกแบบนิเทศศิลป 5 3. การวัดผลใหถือเกณฑ S และ U เปนเกณฑผานและ ไมผานตามลําดับ

อน. 324 การออกแบบนิเทศศิลป 4 (4 หนวยกิต) CD 324 Communication Design IV พื้นความรู: สอบได อน. 223 การออกแบบนิเทศศิลป 3 ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบกราฟกที่เกี่ยวของกับ สภาพแวดลอม (Environmental Graphic) โดยมีการศึกษา วิเคราะห ขอมูลเพือ่ นํามาสรางระบบในการออกแบบใหมคี วามสอดคลองและมี ลักษณะเฉพาะกับสภาพแวดลอมนั้น หลักสูตรปร ญญาตร 419


อน. 327 สหกิจศึกษาสําหรับ (7 หนวยกิต) การออกแบบนิเทศศิลป CD 327 Cooperative Education for Communication Design พื้นความรู: สอบได สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา อน. 324 การออกแบบนิเทศศิลป 4 และนักศึกษาตองลงทะเบียน และสอบผานในกลุมวิชาเอก-บังคับแลวไมนอยกวา 30 หนวยกิต (สําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการเพื่อเสริมสรางใหมีความพรอมดาน งานอาชีพจากการปฏิบตั งิ านทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาอยาง เปนระบบ นักศึกษาจะตองมีการปฏิบตั งิ านเต็มเวลาในสถานประกอบ การไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษาปกติหรือ 16 สัปดาห โดยมีการ ประเมินผลการทํางานจากคณาจารยรวมกับสถานประกอบการ และ นักศึกษาจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษาหลัง เสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน อน. 339 การออกแบบสื่อสงเสริมการขาย (3 หนวยกิต) CD 339 Visual Communication in Promotional Design ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบสื่อสงเสริมการขายและ บรรจุภัณฑ โดยเนนโครงสราง วัสดุ และการออกแบบกราฟก เพื่อ สรางบุคลิกลักษณะเฉพาะตัวใหกับสินคาหรือบริการ อน. 415 การประกอบวิชาชีพออกแบบนิเทศศิลป (3 หนวยกิต) CD 415 Professional Practice in Communication Design ศึกษาแนวทางในการประกอบวิชาชีพในการออกแบบ นิเทศศิลป หลักปฏิบัติวิชาชีพ การจัดการสํานักงานออกแบบ ปญหา ขอกําหนดตางๆ ความสัมพันธและความเกี่ยวของกับวิชาชีพอื่นๆ จรรยาบรรณและพันธะกรณีของผูประกอบวิชาชีพ เงื่อนไขในการ ประกอบธุรกิจ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วของเพือ่ เปนหลักการในการนําไป ใชประกอบวิชาชีพตอไป 420 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

อน. 428 การเตรียมโครงการออกแบบ (3 หนวยกิต) CD 428 Degree Project Proposal พื้นความรู: อน. 325 การออกแบบนิเทศศิลป 5 ศึกษาและวิเคราะหขอมูลหัวขอโครงงานสวนบุคคล ซึ่ง เปนโครงการทีน่ กั ศึกษาสนใจ จัดเตรียมขอมูลสําหรับนําเสนอเพือ่ ขอ อนุมัติตอคณะกรรมการ ซึ่งประกอบดวยคณาจารยและผูทรงคุณวุฒิ ในสาขาการออกแบบนิเทศศิลป รวมถึงนําขอมูลที่ไดมาเขียนโครงการ ออกแบบนิเทศศิลป ขอกําหนด 1. การวัดผลวิชานี้ใหถอื เกณฑ S และ U เปนเกณฑผา น และไมผานตามลําดับ 2. นักศึกษาที่เรียนวิชานี้ตองสอบได อน. 325 และผาน อน. 326 หรือ อน. 327 อน. 429 โครงการออกแบบนิเทศศิลป (6 หนวยกิต) CD 429 Degree Project in Communication Design พื้นความรู: อน. 428 การเตรียมโครงการออกแบบ ดําเนินการโครงการออกแบบนิเทศศิลปที่นําเสนอไวใน รายวิชา อน. 428 ซึง่ ผานการเห็นชอบจากคณะกรรมการของภาควิชา ใหดําเนินการไดตามขอกําหนดของการทําโครงการออกแบบนิเทศ ศิลป ขอกําหนด 1. นักศึกษาที่จะลงทะเบียนวิชานี้ตองผานวิชาแกนและ วิชาเอก-บังคับครบทุกวิชา และวิชาโทไมนอยกวา 12 หนวยกิต 2. ตองมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต 1.75 ขึ้นไป 3. การวัดผลถือระดับคะแนนตั้งแต 2.00 (เกรด C) ขึ้น ไปเปนเกณฑผาน 4. มีการนําเสนอผลงานสูสาธารณะ


อน. 3411 การถายภาพโฆษณา (3 หนวยกิต) CD 3411 Advertising Photography ศึกษาและเรียนรูห ลักการถายภาพวัตถุตา งๆ การจัดแสง และคุณภาพของแสงที่เหมาะสมกับวัตถุพื้นผิวตางๆ การจัดองค ประกอบภาพ การจัดสิ่งของประกอบฉาก รวมถึงการวางแนวคิดและ กําหนดเนื้อหาในการถายภาพ เพื่อนําไปใชในงานโฆษณาไดอยางมี ประสิทธิภาพ อน. 3421 การแตงภาพขั้นสูง (3 หนวยกิต) CD 3421 Advanced Photography Retouching ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเทคนิคการแตงหรือประกอบ ภาพถายใหดสู มจริง หรือเหนือจินตนาการแบบมืออาชีพดวยโปรแกรม คอมพิวเตอร รวมถึงการออกแบบสรางสรรคภาพโฆษณาเพื่อดึงดูด ความสนใจของผูชมอยางมีชั้นเชิง อน. 3431 การผลิตภาพยนตรวีดิโอ (3 หนวยกิต) CD 3431 Video Production (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาและปฏิบตั กิ ารผลิตสือ่ วีดโิ อและภาพยนตรสนั้ โดย ศึกษากระบวนการผลิตทัง้ หมดในการสรางงาน ตัง้ แตเครือ่ งมือ สถาน ที่ในการถายทํา การเตรียมการถายทํา การตัดตอ การลําดับภาพ และ การอัดเสียงประกอบ โดยเนนรูปแบบการสื่อสารและการดําเนินเรื่อง ทีแ่ ตกตางกันตามจุดมุง หมายของภาพยนตร เชน ภาพยนตรโฆษณา ภาพยนตรสารคดี ฯลฯ อน. 3441 การสรางสรรคงานโฆษณา 1 (3 หนวยกิต) CD 3441 Creative Advertising I (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาพืน้ ฐานการสรางสรรคงานออกแบบโฆษณา เรียน รูการวิเคราะหจุดเดนของสินคา บริการ กลุมเปาหมาย กระบวนการ

สรางสรรค การกําหนดแนวความคิด (Concept) และแนวคิดหลัก (Big Idea) รวมถึงวิธีการนําเสนอผลงานอยางมีประสิทธิภาพ อน. 4451 การสรางสรรคงานโฆษณา 2 (3 หนวยกิต) CD 4451 Creative Advertising II พื้นความรู: สอบได อน. 394-2 การสรางสรรคงานโฆษณา 1 ศึกษาการสรางสรรคงานออกแบบโฆษณาขัน้ สูง โดยเนน กระบวนการทํางานสําหรับสือ่ TVC (TV Commercial) และสือ่ โฆษณา อื่นๆ เชน Radio Spot, Ambient, Social Media, Innovation Media วิชาเอก-เลือกแอนิเมชั่น (Animation) อน. 3412 การเขียนสตอรี่บอรดสําหรับแอนิเมชั่น (3 หนวยกิต) CD 3412 Storyboard for Animation ศึกษาและปฏิบัติทักษะการเลาเรื่องผานการทําสตอรี่ บอรด (Storyboard) และพัฒนาเปนภาพเคลือ่ นไหว (Animatics) เพือ่ วางแผน ทดลอง พัฒนา และเตรียมความพรอมกอนการสรางภาพ เคลือ่ นไหวทีม่ ตี วั แปรคือ ความยาวของเวลาทีต่ า งกัน เพือ่ สือ่ สารผาน สื่อตางๆ ในลักษณะงานออกแบบไทมเบส (Time-Based Design) อน. 3422 การออกแบบคารแร็กเตอร (3 หนวยกิต) CD 3422 Character Design ศึกษาและปฎิบัติการออกแบบรูปลักษณของตัวละครใน จินตนาการ ตัง้ แตรปู รางหนาตา คุณลักษณะเฉพาะภายนอก ไปจนถึง การสรางบุคลิกลักษณะนิสัยใจคอ การสื่อสารและการแสดงออกทาง ความคิดและอารมณ เพื่อสรางชีวิตใหกับตัวละครที่สรางขึ้น สําหรับ การนําไปใชตอยอดประยุกตใชในสื่อตางๆ ตั้งแตบนหนากระดาษ 2 มิติ ในเสปซ 3 มิติ ไปจนถึงภาพเคลื่อนไหว 4 มิติ

หลักสูตรปร ญญาตร 421


อน. 3432 การออกแบบแอนิเมชั่น 2 มิติ (3 หนวยกิต) CD 3432 Classic Animation and Stop Motion (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาแนวคิดและหลักทฤษฎีของแอนิเมชั่น ฝกปฏิบัติ การสรางภาพเคลื่อนไหวโดยใชเทคนิคแบบดั้งเดิม ตั้งแตการวาดไป จนถึงการขยับทีละภาพ รวมถึงทดลองการใชเครื่องมือ วัสดุ ที่มี ลักษณะแตกตางกัน เชน ดินสอ ดินน้ํามัน ตุกตา สิ่งรอบตัว ไปจนถึง มนุษย อน. 3442 การออกแบบแอนิเมชั่น 3 มิติ (3 หนวยกิต) CD 3442 3D Modeling and Animation (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานการสรางภาพสามมิติ โดยการขึ้นรูปจําลอง (Model) เพื่อนําไปใชในการสรางงานออกแบบ 3 มิติ เชน ภาพยนตร เกมส มิวสิกวิดีโอ ดวยโปรแกรมการออกแบบ 3 มิติ เชน 3D Max และ Maya อน. 4452 การจัดองคประกอบภาพเคลื่อนไหว (3 หนวยกิต) CD 4452 Digital Compositing and Matte Painting ศึ ก ษาและปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การเรี ย บเรี ย งและจั ด องค ประกอบภาพเคลื่อนไหวที่เปนการนํามาจากแหลงตางๆ โดยเนนที่ การประกอบตกแตงภาพพื้นหลัง หรือการเปลี่ยนฉากสถานที่ที่ไมมี จริงใหเปนฉากประกอบในแอนิเมชั่น วิดีโอ หรือภาพยนตร วิชาเอก-เลือกการออกแบบสื่อวิดีโอและภาพเคลื่อนไหว (Digital Video Production and Moving Images) อน. 3412 การเขียนสตอรี่บอรดสําหรับแอนิเมชั่น (3 หนวยกิต) CD 3412 Storyboard for Animation ศึกษาและปฏิบัติทักษะการเลาเรื่องผานการทําสตอรี่ บอรด (Storyboard) และพัฒนาเปนภาพเคลือ่ นไหว (Animatics) เพือ่ 422 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

วางแผน ทดลอง พัฒนา และเตรียมความพรอมกอนการสรางภาพ เคลือ่ นไหวทีม่ ตี วั แปรคือ ความยาวของเวลาทีต่ า งกัน เพือ่ สือ่ สารผาน สื่อตางๆ ในลักษณะงานออกแบบไทมเบส (Time-Based Design) อน. 3431 การผลิตภาพยนตรวิดีโอ (3 หนวยกิต) CD 3431 Video Production ศึกษาและปฏิบตั กิ ารผลิตสือ่ วิดโี อและภาพยนตรสนั้ โดย ศึกษากระบวนการผลิตทัง้ หมดในการสรางงาน ตัง้ แตเครือ่ งมือ สถาน ที่ในการถายทํา การเตรียมการถายทํา การตัดตอ การลําดับภาพ และ การอัดเสียงประกอบ โดยเนนรูปแบบการสือ่ สารและการเลาเรือ่ งตาม จุดมุงหมายของสื่อแตละแบบ เชน ภาพยนตรสารคดี ภาพยนตร โฆษณา อน. 3433 การออกแบบภาพกราฟกเคลื่อนไหว (3 หนวยกิต) CD 3433 Motion Graphics Design (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาและปฏิบัติการสรางภาพกราฟกเคลื่อนไหวสําหรับ สื่อตางๆ ตั้งแตบนโทรศัพทมือถือไปจนถึงจอขนาดยักษ โดยผสม ผสานการใชภาพกราฟก วิดโี อ แอนิเมชัน่ เสียงและดนตรีเขาดวยกัน เพื่อสื่อสารใหขอมูลเลาเรื่อง สรางบรรยากาศ หรือใชรวมกับภาพ เคลื่อนไหวอื่นๆ อน. 3443 การออกแบบเทคนิคพิเศษสําหรับ (3 หนวยกิต) ภาพเคลื่อนไหว CD 3443 Visual Effect (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานการสรางเทคนิคพิเศษ ตางๆ สําหรับงานภาพเคลื่อนไหว โดยใชการผสมผสานกันระหวาง ภาพ 2 มิติและ 3 มิติ เพื่อสรางสรรคภาพเสมือนจริงหรือเหนือจริง สําหรับแอนิเมชั่น ภาพยนตร หรือมิวสิควิดีโอ


อน. 4452 การจัดองคประกอบภาพเคลื่อนไหว (3 หนวยกิต) CD 4452 Digital Compositing and Matte Painting ศึ ก ษาและปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การเรี ย บเรี ย งและจั ด องค ประกอบภาพเคลื่อนไหวที่เปนการนํามาจากแหลงตางๆ โดยเนนที่ การประกอบตกแตงภาพพื้นหลัง หรือการเปลี่ยนฉากสถานที่ที่ไมมี จริงใหเปนฉากประกอบในแอนิเมชั่น วิดีโอ หรือภาพยนตร วิชาเอก-เลือกภาพประกอบ (Illustration) อน. 3414 ภาพ ความคิด และการสื่อสาร (3 หนวยกิต) CD 3414 Image and Idea for Communication ศึกษาความรูเ บือ้ งตนเกีย่ วกับการใชแนวความคิดรวมกับ ภาพ การเชื่อมโยงระหวางภาพและขอความ โดยวิธีการนําเสนอให มองเห็นไดทงั้ แนวนามธรรมและรูปธรรม ฝกแกโจทยการใชภาพและ ความคิดในการสรางงานภาพประกอบ อน. 3424 ภาพประกอบเพื่อการเลาเรื่อง (3 หนวยกิต) CD 3424 Illustrative Storytelling ศึกษาวิเคราะหและทําความเขาใจกับสาระสําคัญของการ เลาเรือ่ งอยางเปนระบบ โดยเนนการตีความสามารถเลาเรือ่ งเปนภาษา ภาพอยางมีชนั้ เชิงทางความคิด และกระบวนการแสดงออก เพือ่ สราง ภาพประกอบที่มีความซับซอนขึ้น รวมถึงสอดคลองกับรูปแบบที่มี ลักษณะเฉพาะตัวของนักศึกษา อน. 3434 ภาพประกอบสําหรับสื่อสิ่งพิมพ (3 หนวยกิต) CD 3434 Illustration for Publishing (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาและปฏิบตั เิ กีย่ วกับการทํางานภาพประกอบที่ใชใน สือ่ สิง่ พิมพ เรียนรูล าํ ดับ กระบวนการในการผลิตผลงาน โดยประมวล ความรู ทักษะ นํามาปรับใชใหตรงกับวัตถุประสงค เพื่อกาวไปสูการ เปนนักภาพประกอบมืออาชีพ

อน. 3432 การออกแบบแอนิเมชั่น 2 มิติ (3 หนวยกิต) CD 3432 Classic Animation and Stop Motion ศึกษาแนวคิดและหลักทฤษฎีของแอนิเมชั่น ฝกปฏิบัติ การสรางภาพเคลื่อนไหวโดยใชเทคนิคแบบดั้งเดิม ตั้งแตการวาดไป จนถึงการขยับทีละภาพ รวมถึงทดลองการใชเครื่องมือ วัสดุ ที่มี ลักษณะแตกตางกัน เชน ดินสอ ดินน้ํามัน ตุกตา สิ่งรอบตัว ไปจนถึง มนุษย อน. 3442 การออกแบบคารแร็กเตอร (3 หนวยกิต) CD 3442 Character Design (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาและปฎิบัติการออกแบบรูปลักษณของตัวละครใน จินตนาการ ตัง้ แตรปู รางหนาตา คุณลักษณะเฉพาะภายนอก ไปจนถึง การสรางบุคลิกลักษณะนิสัยใจคอ การสื่อสารและการแสดงออกทาง ความคิดและอารมณ เพื่อสรางชีวิตใหกับตัวละครที่สรางขึ้น สําหรับ การนําไปใชตอยอดประยุกตใชในสื่อตางๆ ตั้งแตบนหนากระดาษ 2 มิติ ในสเปซ 3 มิติ ไปจนถึงภาพเคลื่อนไหว 4 มิติ วิชาเอก-เลือกการออกแบบสื่ออินเตอรแอคทีฟ (Interactive Media) อน. 3425 การออกแบบเว็บไซตและอินเตอรเฟซ (3 หนวยกิต) CD 3425 Web and Interface Design ศึกษาทฤษฎีและฝกปฏิบตั กิ ารออกแบบเว็บไซตโดยเนน การออกแบบเลยเอาท การวางผังโครงสราง การออกแบบอินเทอรเฟซ เทคนิคและโปรแกรมที่ใชในการออกแบบ รวมถึงหัวขอตางๆ เชน HTML, CSS, XML, FTP, CMS และอื่นๆ

หลักสูตรปร ญญาตร 423


อน. 3433 การออกแบบภาพกราฟกเคลื่อนไหว (3 หนวยกิต) CD 3433 Motion Graphics Design ศึกษาและปฏิบตั กิ ารสรางภาพกราฟกเคลือ่ นไหวสําหรับ สื่อตางๆ ตั้งแตบนโทรศัพทมือถือไปจนถึงจอขนาดยักษ โดยผสม ผสานการใชภาพกราฟก วิดโี อ แอนิเมชัน่ เสียงและดนตรีเขาดวยกัน เพื่อสื่อสารใหขอมูลเลาเรื่อง สรางบรรยากาศ หรือใชรวมกับภาพ เคลื่อนไหวอื่นๆ อน. 3435 การเขียนโปรแกรมเบื้องตน (3 หนวยกิต) สําหรับสื่ออินเตอรแอคทีฟ CD 3435 Interactive Media Programming (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาทฤษฎีและฝกปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเบื้องตน สําหรับการออกแบบสื่ออินเตอรแอคทีฟในรูปแบบเว็บไซต ซีดีรอม มัลติทัชสกรีน คีออส วิดีโอและสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของในบริบทที่มีการ ปฏิสัมพันธกับผูใช เชน การใช Flash Action Script สําหรับการ ออกแบบเว็บไซต อน. 3445 การออกแบบสื่ออินเตอรแอคทีฟ (3 หนวยกิต) CD 3445 Interactive Media Design (ยกเวนสําหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาทฤษฎีและฝกปฏิบตั เิ กีย่ วกับการออกแบบสือ่ ผสม และสื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ ที่เปนการผสมผสานระหวางตัวอักษร (Text) รูปภาพ (Image) เสียง (Sound) หรือภาพเคลือ่ นไหว (Moving Image) ในบริบทที่มีปฏิสัมพันธกับผูใช เชน สื่อเพื่อการเรียนรู วารสารอิเล็กทรอนิกส ซีดีรอม ภาพเคลื่อนไหวประกอบเพลง (VJ) หรืออื่นๆ ที่ใชการอินเตอรแอคทีฟบนคอมพิวเตอร

424 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

อน. 4455 การออกแบบสื่ออินเตอรแอคทีฟขั้นสูง (3 หนวยกิต) CD 4455 Advanced Interactive Media Design ศึกษาทฤษฎีและฝกปฏิบตั เิ กีย่ วกับการออกแบบสือ่ ผสม โดยใช เ ทคโนโลยีสมั ยใหม ผ สมผสานกั บ การเขี ย นโปรแกรมเพื่ อ สรางสรรคงานออกแบบที่ใชการอินเตอรแอคทีฟที่ไมจาํ กัดอยูแ คเมาส และคียบ อรด รวมถึงการศึกษาเทคนิคขัน้ สูงอืน่ ๆ ในขอบเขตของการ ออกแบบสื่ออินเตอรแอคทีฟ เชน Computer Vision

หมวดวิชาทัศนศิลป ทศ. 121 จิตรกรรม 1 (3 หนวยกิต) VA 121 Painting I ศึกษาและฝกปฏิบตั ปิ ญ หาระดับพืน้ ฐานของสือ่ จิตรกรรม ดวยสีอะครีลิก เพื่อใหเขาใจสุนทรียศาสตร ธรรมชาติ และลักษณะ เฉพาะของสื่อ และสามารถสรางงานจิตรกรรมในระดับพื้นฐานได ทศ. 122 จิตรกรรม 2 (3 หนวยกิต) VA 122 Painting II พื้นความรู: สอบได ทศ. 121 ศึกษาและฝกปฏิบตั ปิ ญ หาระดับพืน้ ฐานของสือ่ จิตรกรรม ดวยสีนา้ํ มัน เพือ่ ใหเขาใจสุนทรียศาสตร ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะ ของสื่อ และสามารถสรางงานจิตรกรรมในระดับพื้นฐานได


ทศ. 223 ประติมากรรม 1 (3 หนวยกิต) VA 223 Sculpture I ศึ ก ษาและฝ ก ปฏิ บั ติ ป ญ หาระดั บ พื้ น ฐานของสื่ อ ประติมากรรม เพื่อใหเขาใจสุนทรียศาสตร ธรรมชาติ และลักษณะ เฉพาะของสือ่ และสามารถสรางงานประติมากรรมในระดับพืน้ ฐานได โดยเรี ย นรู เ ทคนิ ค การทํ า แม พิ ม พ แ ละการหล อ รวมทั้ ง เรี ย นรู กระบวนการสรางผลงานดวยไม ทศ. 224 ภาพพิมพ 1 (3 หนวยกิต) VA 224 Printmaking I ศึกษาและฝกปฏิบตั ปิ ญ หาระดับพืน้ ฐานของสือ่ ภาพพิมพ เพือ่ ใหเขาใจสุนทรียศาสตร ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะของสือ่ และ สามารถสรางงานภาพพิมพในระดับพื้นฐานได โดยเรียนรูการสราง สื่อภาพพิมพ 2 กระบวนการหลักคือ แมพิมพรองลึก (Intaglio Process) และแมพิมพตะแกรงไหม (Silk–Screen) ในขอบเขตของการ สรางงานดวยมือ (Hand Drawn) ทศ. 225 ศิลปะภาพถาย (3 หนวยกิต) VA 225 Photography ศึกษาและฝกปฏิบตั ปิ ญ หาระดับพืน้ ฐานของสือ่ ภาพถาย เพือ่ ใหเขาใจสุนทรียศาสตร ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะของสือ่ และ สามารถสรางงานภาพถายในระดับพืน้ ฐานได โดยศึกษาหลักการและ ปฏิบัติการพื้นฐานของการถายภาพ อุปกรณและเครื่องมือตางๆ ฝก ปฏิบตั กิ ารลางอัด ขยายภาพ และเทคนิคตางๆ ของภาพถายขาว - ดํา ทศ. 226 ประติมากรรม 2 (3 หนวยกิต) VA 226 Sculpture II พื้นความรู: สอบได ทศ. 223 ศึ ก ษาและฝ ก ปฏิ บั ติ ป ญ หาระดั บ พื้ น ฐานของสื่ อ ประติมากรรม เพื่อใหเขาใจสุนทรียศาสตร ธรรมชาติ และลักษณะ

เฉพาะของสือ่ และสามารถสรางงานประติมากรรมในระดับพืน้ ฐานได โดยเรียนรูก ระบวนการสรางผลงานดวยโลหะไปจนถึงการทดลองวัสดุ และวิธีการใหมโดยเนนความคิดสรางสรรค ทศ. 227 ภาพพิมพ 2 (3 หนวยกิต) VA 227 Printmaking II พื้นความรู: สอบได ทศ. 224 ศึกษาและฝกปฏิบตั ปิ ญ หาระดับพืน้ ฐานของสือ่ ภาพพิมพ เพือ่ ใหเขาใจสุนทรียศาสตร ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะของสือ่ และ สามารถสรางงานภาพพิมพในระดับพื้นฐานได โดยเรียนรูการสราง สื่อภาพพิมพ 2 กระบวนการหลักคือ แมพิมพรองลึก (Intaglio Process) และ Serigraphy (Silk-Screen) ในรูปของการสรางหรือพัฒนา มาจากการใชเทคนิคภาพถาย ทศ. 228 มีเดียอารต (3 หนวยกิต) VA 228 Media Art ศึกษาและฝกปฏิบัติปญหาระดับพื้นฐานของมีเดียอารต เพื่อใหเขาใจสุนทรียศาสตร ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะของสื่อจน สามารถสรางงานมีเดียอารตในระดับพื้นฐานได รวมทั้งศึกษาความ เปนมาและพัฒนาการของมีเดียอารต โดยเรียนรูกระบวนการผลิต เทคนิควิธีการ และโปรแกรมคอมพิวเตอรท่จี ําเปนตางๆ ทศ. 231 ศิลปะรวมสมัยและประเด็นหลังสมัยใหม (3 หนวยกิต) VA 231 Contemporary Arts and Postmodern Issues พื้นความรู: สอบได ศก. 106 ศึกษาศิลปะรวมสมัยของตะวันตกตัง้ แตหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 จนถึงปจจุบัน เพื่อใหสามารถเขาใจและวิเคราะหความ สัมพันธระหวางรูปแบบ เนื้อหา และแนวคิดของงานศิลปะที่เกิดขึ้น ในโลกรวมสมัย โดยเนนความเขาใจความสัมพันธระหวางปรัชญา แนว ความคิดหลัก และประเด็นที่สําคัญของยุคสมัยกับรูปแบบศิลปะเพื่อ เปนพื้นฐานในการเขาใจศิลปะรวมสมัยอยางแทจริง หลักสูตรปร ญญาตร 425


ทศ. 232 ศิลปะรวมสมัยและประเด็นหลัง (3 หนวยกิต) สมัยใหมในเอเชีย VA 232 Contemporary Arts and Postmodern Issues in Asia สํารวจและศึกษาความเคลื่อนไหวทางศิลปะรวมสมัยใน เอเชีย เพื่อใหสามารถเขาใจและวิเคราะหความสัมพันธและเงื่อนไข ตางๆ ระหวางรูปแบบ เนื้อหา และแนวคิดของงานศิลปะที่เกิดขึ้นใน ยุคปจจุบัน เพื่อเปนพื้นฐานในการเขาใจศิลปะรวมสมัยของเอเชีย อยางแทจริง

ทศ. 335 สุนทรียศาสตร 2 (3 หนวยกิต) VA 335 Aesthetic II พื้นความรู: สอบได ทศ. 334 ศึกษาความหมายของปรัชญาศิลปะและสุนทรียศาสตร รวมสมัย โดยศึกษาแนวคิดและทฤษฏีของนักปรัชญาตางๆ ที่มี บทบาทสําคัญและมีอิทธิพลตอประวัติศาสตรและปรัชญาศิลปะรวม สมัย เพือ่ ใหนกั ศึกษาไดรจู กั เขาใจ และสามารถนําความรูจ ากปรัชญา ศิลปะแนวตางๆ ไปใชประกอบความคิดในการสรางสรรค วิเคราะห วิจารณ และทําความเขาใจผลงานศิลปกรรมรวมสมัย

ทศ. 333 การทําประเทศไทยใหเปนสมัยใหม (3 หนวยกิต) กับศิลปะ VA 333 Modernization and Thai Arts ศึกษาประวัติศาสตรศิลปะของไทยตั้งแตยุคของการทํา ประเทศไทยใหเปนสมัยใหม (ร.4) จนถึงปจจุบนั เพือ่ ใหเขาใจทีม่ าและ เงื่อนไขตางๆ ที่เปนตัวกําหนดแนวคิดทางศิลปะและสุนทรียศาสตร เพื่อเปนพื้นฐานในการเขาใจปญหาอัตลักษณของศิลปะไทยในยุค ปจจุบันอยางแทจริง

ทศ. 336 ศิลปะวิจารณ (3 หนวยกิต) VA 336 Art Criticism ศึกษาการวิจารณผลงานศิลปะและทฤษฏีการวิจารณ ศิลปะของสํานักความคิดตางๆ ใหเขาใจและเห็นคุณคาของศิลปะแนว ตาง ๆ ทีม่ อี ทิ ธิพลหรือมีบทบาทตอชีวติ มนุษยในสังคมรวมสมัย โดย ศึกษาหลักการวิจารณในเรื่องความหมาย ขอบขาย ระเบียบวิธีการ เพื่อใหสามารถวิจารณผลงานศิลปะไดดวยการพูดและการเขียน

ทศ. 334 สุนทรียศาสตร 1 (3 หนวยกิต) VA 334 Aesthetic I ศึกษาความหมายของปรัชญาศิลปะและสุนทรียศาสตร โดยศึกษาแนวคิดและทฤษฏีของนักปรัชญาตาง ๆ ที่มีบทบาทสําคัญ และมีอิทธิพลตอประวัติศาสตรและปรัชญาศิลปะสมัยใหม เพื่อให นักศึกษาไดรูจัก เขาใจ และสามารถนําความรูจากปรัชญาศิลปะแนว ตางๆ ไปใชประกอบความคิดในการสรางสรรค วิเคราะห วิจารณ และ ทําความเขาใจผลงานศิลปกรรมสมัยใหม

ทศ. 341 ทัศนศิลป 1 (4 หนวยกิต) VA 341 Visual Arts I พื้นความรู: สอบได ทศ. 121- ทศ. 122 และ ทศ. 223 - ทศ. 228 ศึกษาและทดลองปฏิบัติงานสรางสรรค โดยเนนการ สํารวจความสนใจ ความถนัด และธรรมชาติของนักศึกษาในฐานะ ปจเจกบุคคล เพื่อสํารวจและคนหาแนวคิดในการสรางสรรคผลงาน ศิลปะใหสอดคลองกับการแสดงออกดวยสื่อทัศนศิลปรวมสมัย รวม ทั้งสรางและพัฒนาความเขาใจ การมองปญหาและการแกปญหาใน การสรางสรรคและปฏิบัติงานของนักศึกษาแตละคนอยางเปนระบบ

426 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


ทศ. 342 ทัศนศิลป 2 (4 หนวยกิต) VA 342 Visual Arts II พื้นความรู: สอบได ทศ. 341 เปดโอกาสใหนักศึกษาเสนอชุดความคิด ตีความหมาย ของศิลปะและการสรางงานศิลปะเฉพาะบุคคลอยางเสรี ฝกการสํารวจ และตรวจสอบความคิดคูขนานไปกับการทําความเขาใจกระบวนการ สร า งสรรค แ ละการหาความเป น ไปได ใ นการสร า งผลงานภายใต ขอบเขตของชุดความคิดนัน้ พรอมไปกับการพัฒนาการวิเคราะหและ การแกปญหาในการสรางสรรคตามลักษณะเฉพาะของผลงานของ แตละบุคคล ทศ. 351 ภาพถายในสตูดิโอ (3 หนวยกิต) VA 351 Studio Photography ศึกษาและฝกฝนกระบวนการผลิตผลงานภาพถายในสตู ดิโอในระดับมืออาชีพ ตัง้ แตการจัดหุน การจัดแสง และเทคนิคเฉพาะ อื่นๆ ของภาพถาย ทศ. 352 การผลิตวิดีโอ (3 หนวยกิต) VA 352 Video Production ศึกษาและฝกฝนกระบวนการผลิตผลงานวิดีโอในระดับ มืออาชีพ ตั้งแตการถายทํา การตัดตอ ลําดับภาพ การบันทึกเสียง ประกอบ และเทคนิคเฉพาะอื่นๆ ของงานวิดีโอ ทศ. 361 การฝกทักษะสําหรับการดําเนินชีวิต (3 หนวยกิต) ในเชิงวิชาชีพ VA 361 Professional Preparation ฝกปฏิบัติการนําเสนอโครงการหรือผลงานสวนบุคคล การรวบรวมและจัดระบบขอมูล การเตรียมผลงาน การติดตอบุคคล หรือองคกรทางศิลปวัฒนธรรม เพื่อการแสดงผลงาน จัดนิทรรศการ

รวมไปถึงการจําหนายงานศิลปะและกฎหมายลิขสิทธิ์ เพื่อสรางองค ความรู แ ละทั ก ษะที่ จํ า เป น ในการประกอบอาชี พ ในวงการศิ ล ป วัฒนธรรมรวมสมัย ทศ. 362 การจัดการองคกรทางศิลปะ (3 หนวยกิต) VA 362 Art Management เรียนรูถึงความสําคัญในการจัดการหอศิลป พิพิธภัณฑ และองคกรทางศิลปวัฒนธรรมอืน่ ๆ ในโลกศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยใน แบบสหวิทยาการ โดยศึกษาแนวคิดและเทคนิคการแสดงงานโดย วิเคราะหพนื้ ทีแ่ ละองคประกอบอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของกับการจัดการหอศิลป และพิพธิ ภัณฑ เชน การมีสว นรวมของชุมชน การเงิน กฎหมาย แนว โนมดานเทคโนโลยี ความหลากหลายของพฤติกรรมและทัศนคติของ ผูบริโภค ฯลฯ โดยการใชประสบการณในการปฏิบัติงานจริง ทศ. 363 พิพิธภัณฑศึกษา (3 หนวยกิต) VA 363 Museum Studies ศึ ก ษาแนวคิ ด ของการจั ด การงานพิ พิ ธ ภั ณ ฑ ใ นเชิ ง วิเคราะหเปรียบเทียบ โดยสํารวจและทําความเขาใจแนวคิดและการ จัดการพิพธิ ภัณฑในโลกศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยเพือ่ ใหเขาใจแนวคิด และการบริหารจัดการพิพิธภัณฑในยุคปจจุบัน ทศ. 364 องคความรูเพื่อการเปนภัณฑารักษ (3 หนวยกิต) VA 364 Curatorial Knowledge ศึกษาหลักการ แนวคิด วิธีการในการวิเคราะห และการ จัดการงานศิลปะ โดยเรียนรูแนวคิด กระบวนการนําเสนอ การจัด แสดงนิทรรศการศิลปะ และการจัดสรางองคความรูในฐานะภัณฑารักษ เพื่อนํามาปรับใชตอการพัฒนาองคกรทางศิลปวัฒนธรรมใน ประเทศไทย

หลักสูตรปร ญญาตร 427


ทศ. 365 การตลาดสําหรับองคกรทาง (3 หนวยกิต) ศิลปวัฒนธรรม VA 365 Marketing for Art Organizations ศึกษากระบวนการการวางแผนการตลาด เพื่อใหเขาใจ หลักการวางแผน พฤติกรรมผูบ ริโภคทางศิลปะ การแขงขัน และการ วิจัยทางการตลาด ฯลฯ โดยฝกทักษะและวิเคราะหรูปแบบการเขียน ทัง้ การเขียนรายงาน การเขียนการนําเสนอโครงการ การเขียนและทํา โฆษณาประชาสัมพันธ ทศ. 366 ศิลปะไทยและอัตลักษณทางวัฒนธรรม (3 หนวยกิต) VA 366 Thai Arts and Cultural Identities ศึกษาวิธีคิดและกระบวนการสรางผลงานศิลปกรรมไทย ตั้งแตอดีตในเชิงวิเคราะหและเปรียบเทียบ ใหเขาใจถึงปรัชญา ภูมิปญญา และพัฒนาการของศิลปวัฒนธรรมไทย เพื่อใหสามารถใช เปนพื้นฐานในการทําความเขาใจประเด็นอัตลักษณไทย ทศ. 367 สัญวิทยา (3 หนวยกิต) VA 367 Semiotics ศึกษาศาสตรและองคประกอบตางๆ ของวิชาสัญวิทยา โดยเนนทีท่ ฤษฎี มุมมอง แนวคิด การประยุกตเปรียบเทียบ ฯลฯ เพือ่ ใหเกิดความเทาทันตอแนวคิดและปรากฏการณของโลกปจจุบัน ทศ. 368 สหกิจศึกษา (เฉพาะแผนสหกิจศึกษา) (6 หนวยกิต) VA 368 Cooperative Education พื้นความรู: สอบได สศ. 301 ศึ ก ษาระบบการทํ า งานจริ ง ในหน ว ยงานหรื อ สถาน ประกอบการในฐานะพนักงานของหนวยงานหรือสถานประกอบการ หรือกับศิลปนอาชีพในฐานะผูชวยศิลปน เพื่อเสริมสรางใหนักศึกษา มีความพรอมดานงานอาชีพจากการปฏิบัติงานพื้นฐานอยางมีหลัก การและเปนระบบ นักศึกษาจะตองมีการปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน 428 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห ซึง่ เปนงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเปนงานทีเ่ นนประสบการณทาํ งาน (Work Integrated Learning) ที่ตรงกับสาขาวิชาชีพเกี่ยวของ มีการ ประเมินผลการทํางานจากคณาจารยรวมกับสถานประกอบการ และ นักศึกษาจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษาหลัง เสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน ทศ. 437 วัฒนธรรมทางการเห็น (3 หนวยกิต) VA 437 Visual Culture ศึกษาและทําความเขาใจวัฒนธรรมทางการเห็นในแบบ สหวิทยาการ โดยเนนในการวิพากษทฤษฎีมุมมอง แนวคิด และ บทบาทของวัฒนธรรมทางการเห็นในโลกรวมสมัยทีม่ อี ทิ ธิพลตอโลก ศิลปะเพื่อใหเกิดความเทาทันตอแนวคิดและปรากฏการณของโลก ปจจุบัน ทศ. 443 ทัศนศิลป 3 (4 หนวยกิต) VA 443 Visual Arts III พื้นความรู: สอบได ทศ. 342 นักศึกษาเสนอชุดความคิด การตีความหมายของศิลปะ และกระบวนการสรางงานศิลปะเฉพาะบุคคลอยางเสรี รวมทั้งสํารวจ และตรวจสอบความคิดคูขนานไปกับกระบวนการสรางสรรคและ หาความเปนไปไดในการสรางผลงานภายใตขอบเขตของชุดความคิด นั้น พรอมไปกับการพัฒนาการวิเคราะหและการแกปญหาในการ สรางสรรคตามลักษณะเฉพาะของผลงานของแตละบุคคล โดยเนน พัฒนาการในเชิงลึก


ทศ. 444 การสัมมนาและวิเคราะหผลงานทัศนศิลป (4 หนวยกิต) VA 444 Seminar and Analyses in Visual Arts สรางกระบวนระบบผานการเรียนการสอนเชิงสัมมนาและ วิเคราะหผลงานทัศนศิลป โดยการเนนและใหความสําคัญกับการ เปรียบเทียบและบูรณาการแนวคิด ทฤษฎี วิธีวิทยา และประเด็นรวม สมัยคูขนานไปกับการสรางงานศิลปะเฉพาะบุคคล เพื่อใหนักศึกษา เขาใจและสามารถประยุกต นําหลักการ แนวคิดหรือวิธีวิทยาตางๆ ดังกลาวมาใชในการสรางสรรคผลงานของตนอยางเปนระบบและเปน รูปธรรม ทศ. 445 การเตรียมโครงการทัศนศิลป (3 หนวยกิต) VA 445 Degree Project Preparation ศึกษาและดําเนินการวิเคราะหขอมูลโครงการเพื่อสรุป แนวคิด จุดมุงหมาย กระบวนการและการนําเสนอผลงานสรางสรรค และถายทอดในรูปแบบของการเขียน เพื่อใหสามารถเขียนอธิบายวิธี คิด กระบวนการในการสรางสรรค รูปแบบ และเนื้อหาในผลงานของ ตนไดอยางชัดเจนและมีระบบ ทศ. 446 โครงการทัศนศิลป (6 หนวยกิต) VA 446 Degree Project in Visual Arts นักศึกษานําเสนอแนวคิดและผลงานของตัวเองที่สรุป รวบรวมเป น โครงการศิ ล ปะอย า งเป น ระบบมาจั ด แสดงเป น งาน นิทรรศการ พรอมทัง้ นําเสนอเอกสารประกอบ เพือ่ ใหเห็นถึงภาพรวม ของการศึกษาและการสรางสรรคผลงานที่มีลักษณะเฉพาะตัว โดย ปฏิบัติตามขอกําหนดในการทําโครงการทัศนศิลป ขอกําหนด 1. นักศึกษาที่จะลงทะเบียนวิชานี้ ตองผานวิชาแกนและ วิชาเอก-บังคับครบทุกวิชา ยกเวนวิชา VA 444 (การสัมมนาและ วิเคราะหผลงานทัศนศิลป) ที่ใหเรียนไปพรอมกันได และเรียนวิชา เอก-เลือกไมนอยกวา 6 หนวยกิต 2. ตองมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต 1.75 ขึ้นไป

3. การวัดผลถือระดับคะแนนตั้งแต 2.00 (เกรด C) ขึ้น ไปเปนเกณฑผาน 4. มีการนําเสนอผลงานสูสาธารณะ

หมวดวิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ อฟ. 121 การเขียนภาพประกอบการออกแบบแฟชัน่ (3 หนวยกิต) FD 121 Fashion Drawing and Illustration พื้นความรู: ไมมี ศึกษาและฝกปฏิบตั กิ ารวาดโครงสรางหุน และเครือ่ งแตง กาย เพือ่ นําเสนอผลงานการออกแบบแฟชัน่ ทีส่ ามารถสือ่ สารใหเขาใจ ถึงแนวคิดในการออกแบบไดอยางชัดเจน และมีคณ ุ ลักษณะความเปน ภาพประกอบที่งดงาม รวมถึงสามารถคลี่คลายผลงานการออกแบบ แฟชั่นเพื่อนําไปสรางแบบเสื้อผาสําหรับตัดเย็บที่ถูกตอง อฟ. 122 โครงสรางการออกแบบแฟชั่น 1 (3 หนวยกิต) FD 122 Fashion Construction I พื้นความรู: ไมมี ศึกษาและเรียนรูพื้นฐานโครงสรางการออกแบบแฟชั่น เพื่อนําไปใชในการตัดเย็บเสื้อผาเบื้องตน เรียนรูการกําหนดขนาด สัดสวน ขั้นตอนการสรางโครงเสื้อ ศึกษาและปฏิบัติฝกฝนการสราง แบบ การใชอปุ กรณ รวมทัง้ เทคนิคการวางผาและการตัดเย็บเบือ้ งตน

หลักสูตรปร ญญาตร 429


อฟ. 211 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 1 (4 หนวยกิต) FD 211 Fashion and Textile Design I พื้นความรู: สอบได อฟ. 122 ศึกษาขั้นตอนความเปนมา องคประกอบขั้นพื้นฐาน ทฤษฎี หลักการในการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ โดยใหความสําคัญ ตอกระบวนการคิด ขนาด สัดสวน คุณสมบัติของสิ่งทอ การแบง ประเภทของเครื่องแตงกาย และกระบวนการออกแบบ รวมทั้งฝกฝน ทักษะการเสนอความคิดและการนําเสนองาน

อฟ. 224 คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบแฟชั่น (3 หนวยกิต) และสิ่งทอ FD 224 Computer Aided Design for Fashion and Textile Application พื้นความรู: ไมมี ศึกษาและปฏิบัติการใชคอมพิวเตอรเพื่อนํามาประยุกต ใชในการสรางสรรคผลงานการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอทั้งในเชิง 2 มิติ และ 3 มิติ รวมถึงเรียนรูเทคนิคและพัฒนาทักษะการนําเสนอผล งานการออกแบบดวยคอมพิวเตอร

อฟ. 212 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 2 (4 หนวยกิต) FD 212 Fashion and Textile Design II พื้นความรู: สอบได อฟ. 211 ศึกษาตอเนือ่ งจากวิชา อฟ. 211 การออกแบบแฟชัน่ และ สิง่ ทอ 1 โดยเนนทีก่ ระบวนการศึกษาจากแนวความคิด โดยปฏิบตั จิ ริง จากการออกแบบโดยใชหุนลองเสื้อขนาดเทาคนจริงในการออกแบบ เครื่องแตงกาย การเลือกใชวัสดุสิ่งทอประเภทตางๆ วิเคราะหสภาพ ปญหาและการแกไขเชิง 3 มิติ รวมถึงเรียนรูเทคนิคที่สามารถนํามา ประยุกตใชใหเขากับแนวความคิดไดอยางเปนรูปธรรม

อฟ. 225 การออกแบบเครือ่ งประกอบเครือ่ งแตงกาย (3 หนวยกิต) FD 225 Accessories Design พื้นความรู: ไมมี ศึกษากระบวนการคิดและการออกแบบเครื่องประกอบ เครื่องแตงกายเบื้องตน เรียนรูวิธีการกําหนดขนาด สัดสวน รวมถึง เขาใจคุณสมบัติของวัสดุประเภทตางๆ ที่ใชในการออกแบบ และ สามารถเลือกใชไดอยางเหมาะสม ฝกฝนการสรางแบบและเรียนรู เทคนิคการผลิตเบื้องตนเพื่อสามารถนําไปพัฒนาผลงานตนแบบได

อฟ. 223 โครงสรางการออกแบบแฟชั่น 2 (3 หนวยกิต) FD 223 Fashion Construction II พื้นความรู : สอบได อฟ. 122 ศึกษาและเรียนรูตอเนื่องจาก อฟ.122 โครงสรางการ ออกแบบแฟชัน่ 1 โดยการฝกปฏิบตั กิ ารสรางแบบเสือ้ ผาประเภทตางๆ เพื่อนําไปใชในการตัดเย็บเสื้อผาขั้นสูง รวมถึงเทคนิคการตัดเย็บที่ หลากหลาย เพื่อสามารถนํามาพัฒนาการสรางแบบตัดเย็บที่ตอบ สนองกับแนวทางการออกแบบที่สมบูรณ

อฟ. 226 กระบวนการทอผา (3 หนวยกิต) FD 226 Weaving Design Process พื้นความรู: ไมมี เรียนรูกระบวนการทอผาเบื้องตน และขั้นตอนการสราง ผลงานโดยการฝกปฏิบัติการทอ ศึกษากระบวนการคิดและการ ออกแบบ รวมถึงการเลือกใชวัสดุ พรอมทั้งถายทอดผลงานดวยการ สรางลวดลายบนผืนผาทีส่ อดคลองกับแนวคิดในการออกแบบไดอยาง ชัดเจน และสามารถนําไปประยุกตใชในการสรางงานออกแบบเครือ่ ง แตงกายไดอยางเหมาะสม

430 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


อฟ. 231 ประวัติศาสตรการออกแบบแฟชั่น (3 หนวยกิต) และสิ่งทอ FD 231 History of Fashion and Textile พื้นความรู: ไมมี ศึ ก ษาประวั ติ ค วามเป นมาและวิ วั ฒ นาการของการ ออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน โดยใหเขาใจถึง อิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม และการพัฒนาทางเทคโนโลยี ที่มี ผลตอพัฒนาการในการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ อฟ. 232 ศิลปะสัญจรเครื่องแตงกายและสิ่งทอไทย( 3 หนวยกิต) FD 232 Survey of Thai Fashion and Textile พื้นความรู: ไมมี ศึกษา และสํารวจเพือ่ เรียนรูถ งึ ศิลปะการออกแบบเครือ่ ง แตงกายไทย และลายผาจากแตละทองถิน่ ของประเทศไทยในยุคสมัย ตางๆ เพื่อใหเขาใจถึงอิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม รวมถึง พัฒนาการทางเทคโนโลยีที่มีผลตอพัฒนาการในการออกแบบเครื่อง แตงกายและสิ่งทอไทย อฟ. 241 การตลาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น (3 หนวยกิต) และสิ่งทอ FD 241 Marketing for Fashion and Textile Design พื้นความรู: ไมมี ศึกษารูปแบบการตลาดและการจัดการธุรกิจดานแฟชั่น และสิ่งทอ ปจจัยพื้นฐานในการออกแบบที่มีผลตอการตลาด เพื่อให สามารถพัฒนางานออกแบบใหสอดคลองกับความตองการของตลาด เรียนรูข นั้ ตอนการวิเคราะหและดําเนินกิจกรรมทางการตลาดทีเ่ หมาะ สม และสอดคลองกับเปาหมายทางการตลาดขององคกรธุรกิจ

อฟ. 313 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 3 (4 หนวยกิต) FD 313 Fashion and Textile Design III พื้นความรู: สอบได อฟ. 212 ศึกษาตอเนือ่ งจากวิชา อฟ.212 การออกแบบแฟชัน่ และ สิ่งทอ 2 โดยฝกปฏิบัติการออกแบบรวมถึงทักษะการนําเสนอผลงาน เนนกระบวนการคิดและการวางแผนงานอยางเปนระบบ เรียนรูการ สรางคอลเลคชัน่ และวิเคราะหประเภทของสิง่ ทอทัง้ ทางดานกายภาพ และพฤติกรรมการใชงาน เพื่อใหเหมาะสมตามความตองการของ เครื่องแตงกายสตรีแตละประเภท รวมทั้งศึกษาเรื่องการตลาด ความ หมาย และปจจัยแวดลอมที่มีอิทธิพลตอการออกแบบแฟชั่นและ สิ่งทอ และการประกอบวิชาชีพ อฟ. 314 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 4 (4 หนวยกิต) FD 314 Fashion and Textile Design IV พื้นความรู: สอบได อฟ. 313 ศึกษาตอเนือ่ งจากวิชา อฟ. 313 การออกแบบแฟชัน่ และ สิ่งทอ 3 โดยฝกปฏิบัติการออกแบบรวมถึงทักษะการนําเสนอผลงาน เนนกระบวนการคิดและการวางแผนงานอยางเปนระบบ เรียนรูการ สรางคอลเลคชัน่ และวิเคราะหประเภทของสิง่ ทอทัง้ ทางดานกายภาพ และพฤติกรรมการใชงาน เพื่อใหเหมาะสมตามความตองการของ เครือ่ งแตงกายบุรษุ แตละประเภท การสรางแนวทางการออกแบบและ รูปแบบใหสอดคลองกับความตองการ โดยคํานึงถึงปจจัยตางๆ ที่มี ความสําคัญตอการประกอบวิชาชีพ การตลาด การวิเคราะห สํารวจ และเลือกตลาดเปาหมายเพื่อใหสอดคลองกับการออกแบบ

หลักสูตรปร ญญาตร 431


อฟ. 327 กระบวนการยอมและพิมพสิ่งทอ (3 หนวยกิต) FD 327 Print and Dying Design Process พื้นความรู: ไมมี ศึกษาระบบ กระบวนการยอมผาและเสนใยประเภทตางๆ และการพิมพผา โดยฝกปฏิบตั กิ ารออกแบบ การยอม การพิมพ เรียน รูการใชสี และวัสดุตางๆ ทั้งที่เปนวัสดุธรรมชาติ และวัสดุสังเคราะห รวมถึงคุณสมบัติเฉพาะของวัสดุที่สามารถนํามาใชประโยชน ในการ สรางงานออกแบบสิ่งทอและเครื่องแตงกาย อฟ. 328 การออกแบบสิ่งทอเชิงประยุกต (3 หนวยกิต) FD 328 Creative Textile Design พื้นความรู: ไมมี ศึกษากระบวนการและแนวคิดในการสรางสรรคสงิ่ ทอเชิง ประยุกต ฝกฝนทักษะและเรียนรูการใชวัสดุที่แปลกใหมเพื่อสราง สรรคงานสิ่งทอในเชิงทดลอง ซึ่งสามารถสื่อสารถึงแนวคิดในการ ออกแบบไดอยางชัดเจน ฝกปฏิบตั กิ ารผสมผสานเทคนิคการออกแบบ สิง่ ทอเพือ่ สรางความหลากหลาย และสามารถนําไปประยุกตใชในงาน ออกแบบดานอื่นๆ ไดอยางเหมาะสม อฟ. 342 การสรางตราสินคาแฟชั่นและสิ่งทอ (3 หนวยกิต) FD 342 Fashion and Textile Branding พื้นความรู: ไมมี ศึกษาองคประกอบและกระบวนการทางการตลาดที่ เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจทางดานการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ เรียนรูขั้นตอนในการจัดตั้งองคกรทางธุรกิจและการจัดการบริหาร องคกร การสรางตราสินคาแฟชั่นและสิ่งทอ รวมทั้งปจจัยแวดลอมที่ มีอิทธิพลตอการสรางตราสินคาใหประสบความสําเร็จ

432 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

อฟ. 343 การบริหารสินคาแฟชั่น (3 หนวยกิต) FD 343 Fashion Merchandising พื้นความรู: ไมมี ศึกษากระบวนการบริหารสินคาแฟชั่น การบริหารงบ ประมาณ การวางแผนการออกแบบคอลเลคชั่นเพื่อกําหนดรูปแบบ และสัดสวนการผลิตสินคาแตละประเภทในงบประมาณทีส่ อดคลองกับ เปา หมายทางการตลาดขององคกรธุรกิจ เรียนรูว ธิ กี ารจัดลําดับและ ขั้นตอนการกระจายสินคาออกสูตลาด ตลอดจนการจัดจําหนาย และ ฝกปฏิบัติการสงเสริมการขายดวยการจัดแสดงสินคา อฟ. 361 การปฏิบัติงานวิชาชีพ (0 หนวยกิต) FD 361 Job Training ฝกปฏิบัติงานในหนวยงานที่เกี่ยวของและไดรับการ อนุมัติจากภาควิชาฯ เพื่อศึกษาระบบการทํางานและการแกปญหา โดยใชเวลาฝกงานไมต่ํากวา 8 สัปดาหหรือประมาณ 320 ชั่วโมง ขอกําหนด 1. นักศึกษาทีจ่ ะฝกงานตองผานการศึกษามาแลวไมนอ ย กวา 6 ภาคการศึกษาปกติ 2. การวัดผลใหถือเกณฑ S และ U เปนเกณฑผานและ ไมผานตามลําดับ อฟ. 371 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ เอ FD 371 Major Design Elective A

(3 หนวยกิต)

อฟ. 372 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ บี FD 372 Major Design Elective B

(3 หนวยกิต)

อฟ. 373 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ ซี FD 373 Major Design Elective C

(3 หนวยกิต)

อฟ. 374 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ ดี FD 374 Major Design Elective D

(3 หนวยกิต)


อฟ. 415 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 5 (4 หนวยกิต) FD 415 Fashion and Textile Design V พื้นความรู: สอบได อฟ. 314 ศึกษาตอเนือ่ งจากวิชา อฟ. 314 การออกแบบแฟชัน่ และ สิ่งทอ 4 ศึกษาและปฏิบัติถึงกระบวนการออกแบบและเทคนิคในการ วางแผนงาน โดยเนนที่การศึกษาโดยวิจัยถึงความตองการที่กําหนด ขึ้น และมีความละเอียดซับซอนมากขึ้น เรียนรูการวางแผนงานการ วิเคราะหขอมูล การปฏิบัติงานที่ใชระยะเวลา ซึ่งมีขั้นตอนในการ ออกแบบ การวางแผนงานที่ละเอียด รวมถึงเทคนิคการนําเสนอผล งานในรูปแบบการจัดแสดง ตลอดจนวางนโยบายในการจัดการทางการ ตลาด และการพัฒนาผลิตภัณฑเขาสูตลาด อฟ. 416 การเตรียมโครงการออกแบบ (3 หนวยกิต) FD 416 Degree Project Preparation พื้นความรู: สอบได อฟ. 314 นําเสนอหัวขอโครงการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ เพื่อ ศึกษาและวิเคราะห โครงการ สรุปแนวความคิดของกระบวนการ สรางสรรค รูปแบบและเนื้อหา รวมทั้งจัดเตรียมขอมูลเพื่อใชในการ ออกแบบ การวัดผลวิชานี้ใหถือเกณฑ S และ U เปนเกณฑผานและ ไมผานตามลําดับ อฟ. 417 โครงการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ (6 หนวยกิต) FD 417 Degree Project in Fashion and Textile Design พื้นความรู: สอบได อฟ. 416 ดําเนินการออกแบบโครงการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ที่ไดเสนอไวแลวและผานการเห็นชอบจากภาควิชาฯ โดยปฏิบัติตาม ขอกําหนดในการทําโครงการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ขอกําหนด 1. นักศึกษาที่จะลงทะเบียนวิชานี้ ตองผานวิชาพื้นฐาน วิชาชีพและวิชาเอก-บังคับครบทุกวิชา และวิชาเอก-เลือกไมนอ ยกวา 6 หนวยกิต

2. ตองมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต 1.75 ขึ้นไป 3. การวัดผลถือระดับคะแนนตั้งแต 2.00 (เกรด C ) ขึ้น ไปเปนเกณฑผานเพื่อรับปริญญาตรี สําหรับผูที่ไดรับคะแนน 1.50 และ 1.00 (เกรด D+ และ D ) สามารถขอรับอนุปริญญาไดตามระเบียบ มหาวิทยาลัยกรุงเทพวาดวยการศึกษาขั้นปริญญาตรี เรื่องการให อนุปริญญา 4. มีการนําเสนอผลงานสูสาธารณะ อฟ. 430 สหกิจศึกษา (9 หนวยกิต) FD 430 Cooperative Education พื้นความรู: สอบได อฟ. 314 และไดรับการอนุมัติจากภาควิชาฯ ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการธุรกิจใน ฐานะพนักงานของสถานประกอบการธุรกิจ เพือ่ เสริมสรางใหนกั ศึกษา มีความพรอมดานงานวิชาชีพจากการปฏิบัติงานพื้นฐานอยางมีหลัก การและเปนระบบ นักศึกษาจะตองมีชั่วโมงการทํางานอยางเต็มเวลา ในสถานประกอบการธุรกิจรวมแลวไมนอยกวา 16 สัปดาห หรือ 1 ภาคการศึกษา รวมถึงมีการประเมินผลการทํางานจากอาจารยที่ ปรึกษารวมกับสถานประกอบการธุรกิจ และนักศึกษาตองจัดทํา รายงานสรุปผลการทํางานเมือ่ สิน้ สุดการทํางานจากสถานประกอบการ อฟ. 475 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ อี FD 475 Major Design Elective E

(3 หนวยกิต)

หลักสูตรปร ญญาตร 433


หมวดวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ อผ. 172 ความคิดสรางสรรคเพื่อการออกแบบ (3 หนวยกิต) ผลิตภัณฑ PD 172 Creative Thinking for Product Design เปดโลกทัศนแบบนักคิดนักสรางสรรค ปลูกฝงความ คิดริเริ่มสรางสรรค สงเสริมนักศึกษาใหเกิดพัฒนาการทางความคิด โดยนักออกแบบผลิตภัณฑผูมีประสบการณและผูประกอบการณ ใน ธุรกิจออกแบบผลิตภัณฑ เพื่อจุดประกายในการออกแบบและกระตุน จิตสํานึกในการเปนนักออกแบบผลิตภัณฑเรียนรูวิธีการนําความคิด สรางสรรค ไปใชในการออกแบบ นําความคิดมาพัฒนาหาทางแก ปญหาและสรางความเปนไปไดในการออกแบบผลิตภัณฑ เรียนรูห ลัก การทีส่ าํ คัญจาก นักคิดและนักออกแบบทัง้ ในประเทศและตางประเทศ

วัฒนธรรม โดยปฏิบตั จิ ริงจากการออกแบบ โดยออกแบบควบคูไ ปกับ การทําผลิตภัณฑตนแบบ วิเคราะหสภาพ ปญหาและการแกไขเชิง 3 มิติ รวมถึงการเพิ่มทักษะทางเทคนิคทางการคิดและการออกแบบที่ สามารถนํามาประยุกตใชกับการออกแบบผลิตภัณฑ อผ. 271 นวัตกรรมวัสดุ 1 (3 หนวยกิต) PD 271 Material Innovation I ศึกษาโครงสรางในกระบวนการผลิตพื้นฐานศึกษาวัสดุ ในกระบวนการการผลิตของผลิตภัณฑในอุตสาหกรรมประเภทตางๆ ที่สามารถพัฒนาตอยอดจากองคความรูพื้นฐานสูสากล โดยเรียนรู เกีย่ วการผลิตในระบบอุตสาหกรรมขนาดพืน้ บานและการผลิตในระบบ อุตสาหกรรมสากลสูร ะบบอุตสาหกรรมสรางสรรค ศึกษาและวิเคราะห ตัวอยางวัสดุที่ใชในระบบการออกแบบผลิตภัณฑในปจจุบัน

อผ. 251 การออกแบบผลิตภัณฑ 1 (4 หนวยกิต) PD 251 Product Design I ศึกษาขั้นตอนความเปนมา องคประกอบขั้นพื้นฐาน ทฤษฎี หลักการในการออกแบบผลิตภัณฑ โดยใหความสําคัญกับ กระบวนความคิด รูปราง รูปทรง สัดสวน และประโยชนใชสอย การ แบงประเภทของผลิตภัณฑ และกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ รวม ทั้งฝกฝนการวาดภาพประกอบผลิตภัณฑ โดยนําประเด็นสําคัญใน สังคม และเศรษฐกิจสรางสรรค สรางหัวขอที่ทันสมัยและรวมสมัย เพือ่ สรางทักษะ การนําเสนอแนวความคิดสรางสรรค และการนําเสนอ งานออกแบบ

อผ. 272 เทคนิคการเขียนแบบและ (3 หนวยกิต) การนําเสนองานสําหรับนักออกแบบผลิตภัณฑ PD 272 Drawing and Presentation Technic for Product Designer ศึกษาหลักการในการเขียนแบบเพื่อออกแบบผลิตภัณฑ โดยการฝกปฏิบตั กิ ารเขียนแบบและฝกการรางภาพ และลงสีอยางมือ อาชีพ เพือ่ นําไปใชในกระบวนการผลิตและนําเสนองานในระดับสากล รวมทั้งสามารถนํามาประยุกต ในการสรางสรรคผลงานการออกแบบ ผลิตภัณฑทั้งในเชิง 2 มิติและ 3 มิติ รวมถึงเรียนรูเทคนิค และพัฒนา ทักษะการออกแบบและผลิตผลิตภัณฑ

อผ. 252 การออกแบบผลิตภัณฑ 2 (4 หนวยกิต) PD 252 Product Design II พื้นความรู: สอบได อผ. 251 ศึกษาตอเนือ่ งจากวิชา อผ. 251 การออกแบบผลิตภัณฑ 1 โดยเนนที่กระบวนการคิดอยางสรางสรรค ศึกษาจากแนวความ คิดของทฤษฎีรวมสมัย ผสมผสานจากสภาวะเศรษฐกิจ สังคม และ

อผ. 273 ปฏิบัติการสรางตนแบบ 1 (3 หนวยกิต) PD 273 Studio Modeling I ศึกษากระบวนการสรางตนแบบจากการออกแบบและการ ผลิตผลิตภัณฑที่มีอยูในตลาด สรางความรู และความเขาใจในวิธีการ สรางตนแบบ รวมถึงความเขาใจคุณสมบัติของวัสดุประเภทตางๆ ที่ ใชในการออกแบบผลิตภัณฑ และสามารถเลือกใชไดอยางเหมาะสม

434 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


ฝกฝนการสรางตนแบบ และเรียนรูเทคนิคการผลิตเพื่อนําไปพัฒนา ผลงานตนแบบได อผ. 274 ปฏิบัติการสรางตนแบบ 2 (3 หนวยกิต) PD 274 Studio Modeling II ปฏิบัติการขั้นสูงในการสรางตนแบบจากวัสดุที่ใชจริงใน การออกแบบผลิตภัณฑ โดยการศึกษาวัสดุ และขัน้ ตอนการผลิตในขัน้ สูง เรียนรูก ารผสมผสานวัสดุธรรมชาติกบั วัสดุทางอุตสาหกรรม เรียนรู หลักการสรางสรรควสั ดุใหมๆ เพือ่ ตอบสนองเศรษฐกิจสรางสรรคและ นํามาพัฒนาตอยอดกับกระบวนการผลิตในอุตสหกรรม การเรียนรู เทคนิคที่สามารถนํามาประยุกตใชใหเขากับแนวความคิดรวมถึงการ พัฒนาแนวความคิดในการออกแบบวัสดุปฏิบัติ การสรางสรรควัสดุ ใหมๆ เพื่อพัฒนาตอยอดทางศิลปวัฒนธรรมและสรางนวัตกรรมโดย สรางงานที่มีคุณภาพ อผ. 275 การตอบสนองของมนุษยเพื่อ (3 หนวยกิต) การออกแบบผลิตภัณฑ PD 275 Human Sensibility Ergonomics in Product Design เรียนรูห ลักการวิเคราะหปจ จัยของมนุษย ทัง้ ทางกายภาพ และจินตภาพ อาทิ พื้นฐานทางครอบครัว (Family Background) พื้น ฐานความรู (Background of Knowledge) การเรียนที่ไดมาจากการก ลัน่ กรองและเก็บในรูปความรูด า นตางๆ ทีจ่ ะสงผลตอวิธคี ดิ วิธปี ฏิบตั ิ ความเชื่อ บุคลิกภาพทางความคิด ตลอดจนแนวทางแกปญหาตางๆ ประสบการณชีวิต (Experience of Life) บทเรียนตางๆ ที่ผานมาใน ชีวติ เราทุกวันนี้ไมวา จะเปนเรือ่ งเล็กหรือเปนเรือ่ งใหญ เปนขอมูลทีม่ ี ผลโดยตรงกับการทํางานของสมอง (Brain Functioning) สมองของ แตละคนที่เกิดมามีเอกลักษณเฉพาะตัว ที่ละเอียดออนที่ทําใหทุกคน มีเอกลักษณทางความรูส กึ นึกคิดและบุคลิกภาพ รวมทัง้ ศักยภาพดาน ตางๆ ไมเทากันตั้งแตเริ่มเกิดจนถึงโต วัฒนธรรม (Culture) เปนวิถี ชีวติ ทีม่ อี ทิ ธิพลตอความคิด ความเชือ่ และการปฏิบตั ขิ องคนอยางมาก จึงถือวาเปนปจจัยที่มีความสําคัญดานหนึ่ง จริยธรรม (Morality) ผูที่

มีจริยธรรมสูงยอมมีกรอบในการคิด การตัดสินใจ และการหาแนวทาง แกปญ หา การรับรู (Perception) เปนสภาวะทีเ่ ราตอบสนองตอสิง่ หนึง่ สิง่ ใดภายใตกลไกของสมอง จิตใจ ฯลฯ ทีม่ ผี ลตอวิธกี ารคิดของคนเปน อยางมาก สภาพแวดลอม (Environment) เพือ่ ใหสามารถพัฒนางาน ออกแบบใหสอดคลองกับอุปสงค และอุปทานของตลาดในปจจุบนั และ ในอนาคต เรียนรูขั้นตอนการวิเคราะห และดําเนินกิจกรรมทางการ ออกแบบที่เหมาะสม และสอดคลองกับเปาหมายทางการตลาดของ องคกรทางธุรกิจเพือ่ เขาถึงปจจัยของกลุม เปาหมายในภูมภิ าคอาเซียน และในภูมิภาคอื่นๆ อผ. 276 โปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อ (3 หนวยกิต) นักออกแบบผลิตภัณฑ PD 276 Applications for Product Designer ศึกษาและปฏิบตั กิ ารใชคอมพิวเตอรเพือ่ นํามาประยุกตใน การสรางสรรคผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ ทั้งในเชิง 2 มิติและ 3 มิติ ที่ใชอยางแพรหลาย และโปรแกรมที่จะสงเสริมประสิทธิภาพของ นักออกแบบผลิตภัณฑ รวมถึงเรียนรูเทคนิคและพัฒนาทักษะการนํา เสนอผลงานออกแบบดวยคอมพิวเตอรอยางมืออาชีพ อผ. 351 การออกแบบผลิตภัณฑ 3 (4 หนวยกิต) PD 351 Product Design III พื้นความรู: สอบได อผ. 252 ศึกษาตอเนือ่ งจากวิชา อผ. 252 การออกแบบผลิตภัณฑ 2 โดยการศึกษา ปฏิบัติการออกแบบโดยเนน กระบวนการคิด การ วางแผนงาน เรียนรูเ ทคนิคทีส่ ามารถนํามาประยุกต ใชใหเขากับแนว ความคิด รวมถึงการพัฒนาแนวความคิด และกระบวนการออกแบบให อยูบ นพืน้ ฐานของความตองการของการออกแบบผลิตภัณฑ ในแตละ ประเภทโดยไมลมื ทีจ่ ะคํานึงถึงสิง่ แวดลอม การตอบสนองของมนุษย และเศรษฐกิจ สรางสรรคเปนหลัก ฝกทักษะการนําเสนอผลงาน ศึกษา เรื่องการตลาด ความหมาย ขอบเขต และความสําคัญ อิทธิพลการ เปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอมที่มีผลตอตลาดผูบริโภค หลักสูตรปร ญญาตร 435


อผ. 352 การออกแบบผลิตภัณฑ 4 (4 หนวยกิต) PD 352 Product Design IV พื้นความรู: สอบได อผ. 253 ศึกษาตอเนือ่ งจากวิชา อผ. 253 การออกแบบผลิตภัณฑ 3 โดยการศึกษาเชิงวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ ปฏิบัติการออกแบบ เขาสูมาตรฐานสากล โดยเนนกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ การ ผลิต การวางแผนงาน เรียนรู เทคนิคที่สามารถนํามาประยุกต ใช ใหเขากับแนวความคิดรวมถึงการพัฒนาแนวความคิดสูตลาด และ กระบวนการออกแบบใหอยูบนพื้นฐานความตองการของการตลาด เชน ในกลุม อาเซียน กลุม อเมริกาเหนือ กลุม ยุโรป กลุม อาฟริกา กลุม ตะวันออกกลาง และอื่นๆ โดยคํานึงถึงวัฒนธรรมสากล การคํานึงถึง สิ่งแวดลอม และเศรษฐกิจสรางสรรคเปนหลัก ฝกทักษะการนําเสนอ ผลงาน ศึกษาเรื่องผูบริโภค ความหมาย ขอบเขต และความสําคัญ อิทธิพลของวัฒนธรรมเอเชีย และอื่นๆ วิเคราะห วิจัย ออกแบบ พัฒนาแบบ เตรียมการผลิต ผลิตตนแบบ และทดลองผลิตภัณฑสู ระบบอุตสาหกรรมสรางสรรค อผ. 361 ประวัติศาสตรการออกแบบผลิตภัณฑ (3 หนวยกิต) PD 361 History of Product Design ศึกษาและวิเคราะหประวัติความเปนมาและวิวัฒนาการ ของการออกแบบผลิตภัณฑในแตละทวีปตัง้ แตอดีตจนถึงปจจุบนั โดย สรางความเขาใจถึงอิทธิพลทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ตลอด จนการพัฒนาทางเทคโนโลยีที่มีผลตอพัฒนาการในการออกแบบ ผลิตภัณฑ สามารถวิเคราะหถงึ ทิศทางการออกแบบทีจ่ ะนําไปถึงการ เปลี่ยนแปลงในอนาคต อผ. 362 การสํารวจและวิเคราะหผลิตภัณฑ (3 หนวยกิต) อาเซียน FD 362 Survey and Analysis of ASEAN Product วิเคราะหแนวทางการพัฒนา ศึกษา และสํารวจเพี่อ เรียนรูถึงศิลปหัตถกรรมของผลิตภัณฑอาเซียน อันประกอบไปดวย 436 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หัตถกรรมทองถิน่ ของประเทศอาเซียนในยุคสมัยตางๆ เพือ่ สรางความ เขาใจ ถึงอิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงพัฒนาการทาง เทคโนโลยีที่มีผลตอพัฒนาการในการออกแบบผลิตภัณฑ ไทยควบคู กับศิลปหัตถกรรมของอาเซียน นําไปประกอบเปนองคความรูกับ แนวความคิดในการสรางสรรค ผลงานออกแบบผลิตภัณฑที่สามารถ แขงขันกับตลาดอุตสาหกรรมการออกแบบ ในปจจุบันและอนาคตได อผ. 371 นวัตกรรมวัสดุ 2 (3 หนวยกิต) PD 371 Material Innovation II การออกแบบนวัตกรรมวัสดุเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไดยากใน ปจจุบันวัสดุใหมๆ เปนสิ่งที่ระบบอุตสาหกรรมสรางสรรคตองใชใน การผลิตผลิตภัณฑใหมๆ และหาความเปนไปไดกับเทคนิคการผลิต ใหมๆ นักศึกษาตองเรียนรูโ ครงสรางในกระบวนการผลิตนวัตกรรมวัสดุ ศึกษานวัตกรรมวัสดุในกระบวนการการผลิตของผลิตภัณฑขั้นสูงที่ สามารถพัฒนาตอยอดจากองคความรูส ากลสูก ารออกแบบผลิตภัณฑ โดยเรียนรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตวัสดุในระบบสากล และการ ผลิตนวัตกรรมวัสดุในปจจุบันสูระบบอุตสาหกรรมสรางสรรคจากการ วิเคราะหและวิจัยทดลอง นําวัสดุเฉพาะของวัสดุในเอเชียและวัสดุ ทองถิน่ มาใชประโยชนในการสรางความเปนไปไดใหกบั งานออกแบบ ผลิตภัณฑสรางสรรค และพัฒนานวัตกรรมวัสดุใหมสูสาธารณะ อผ. 373 การออกแบบผลิตภัณฑสินคาบริโภค (3 หนวยกิต) PD 373 Consumer Product Design สินคาบริโภคเปนยุทธปจจัยของทุกประเทศ การออกแบบ ผลิตภัณฑสนิ คาบริโภคเปนปจจัยสําคัญในการคา และในการการดํารง ชีวติ ของมนุษย สินคาบริโภคและการออกแบบผลิตภัณฑสนิ คาบริโภค สามารถสรางแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศสงออกสูภูมิภาค อาเซียนและทั่วโลก นักศึกษาจะไดเรียนรูกระบวนการและแนวคิด ของผลิตภัณฑ สินคาบริโภคทั้งในประเทศและในตางประเทศ เรียน รูและวิเคราะหการออกแบบผลิตภัณฑ สินคาบริโภค ผลิตภัณฑเชิง


ประยุกต และฝกฝนทักษะการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑสินคา บริโภคเพือ่ สรางสรรคผลงานใหตอบรับกับความตองการของผูบ ริโภค ฝกสรางวิสัยทัศนของนักออกแบบใหมีความเขาใจสอดคลองกับมุม มองของผูบริโภคซึ่งจะสามารถเชื่อมตอแนวคิดในการออกแบบได อยางชัดเจนและตรงประเด็น ฝกปฏิบัติการผสมผสานมุมมองของผู บริโภค และการออกแบบผลิตภัณฑสนิ คาบริโภค เพือ่ สรางพัฒนาการ ใหกบั สินคาบริโภค และสามารถนําไปประยุกตใชความรูเ ชิงบูรณาการ ในงานออกแบบผลิตภัณฑดา นอืน่ ๆ ไดอยางเหมาะสม และตอบสนอง ปจจัยตางๆ ในความตองการของผูบริโภค อผ. 377 การออกแบบอัตลักษณผลิตภัณฑ (3 หนวยกิต) PD 377 Product Identity Design สรางความเขาใจถึงบทบาทและความสําคัญของการสราง อัตลักษณใหผลิตภัณฑ ศึกษาและวิเคราะหถึงปจจัยและความเกี่ยว เนือ่ งของอัตลักษณแบรนดสนิ คา บุคลิกภาพของผลิตภัณฑทมี่ คี วาม สอดคลองกับผูใช และสินคานั้นๆ โดยเรียนรูการออกแบบผลิตภัณฑ ศึกษาประวัติ ปรัชญา กระบวนการ และแนวคิดสรางสรรคของนัก ออกแบบมืออาชีพที่สามารถสรางสรรคผลงานออกแบบผลิตภัณฑที่ มีอัตลักษณ วิเคราะหอัตลักษณของนักออกแบบผลิตภัณฑมาผสม ผสานกับความเขาใจในโครงสรางพื้นฐานของการสรางอัตลักษณ ทางการออกแบบ ผลิตภัณฑ สงเสริมการคนหาศักยภาพและลักษณะ เดนในการออกแบบของนักศึกษา โดยศึกษาองคประกอบ กระบวนการ ออกแบบที่เกี่ยวของกับปจจัยทางดานการออกแบบผลิตภัณฑ เพื่อ สรางสรรคจุดแข็งในการออกแบบผลิตภัณฑ ใหตอบรับกับความเปน ไปไดในปจจุบันและในอนาคต อผ. 382 การปฏิบตั ิงานวิชาชีพ (0 หนวยกิต) PD 382 Job Training ฝกปฏิบตั งิ านในหนวยงานทีเ่ กีย่ วของและไดรบั การอนุมตั ิ จากภาควิชาฯ เพื่อศึกษาระบบการทํางาน และแกปญหาโดยใชเวลา ฝกงานไมตํ่ากวา 8 สัปดาห หรือประมาณ 320 ชั่วโมง

ขอกําหนด นักศึกษาทีจ่ ะฝกงานตองผานการศึกษามาแลวไมนอ ยกวา 6 ภาคการศึกษาปกติ การวัดผลใหถือเกณฑ S และ U เปนเกณฑ ผานและไมผานตามลําดับ อผ. 391 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ เอ PD 391 Major Design Elective A

(3 หนวยกิต)

อผ. 392 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ บี PD 392 Major Design Elective B

(3 หนวยกิต)

อผ. 393 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ ซี PD 393 Major Design Elective C

(3 หนวยกิต)

อผ. 394 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ ดี PD 394 Major Design Elective D

(3 หนวยกิต)

อผ. 395 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ อี PD 395 Major Design Elective E

(3 หนวยกิต)

หมวด Packaging Design & Development ศึ ก ษาเรี ย นรู การออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ โ ดยมุ ง เน น ให เกิดความชํานาญในเฉพาะดานและสามารถพัฒนาผสมผสานงาน ออกแบบผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ รวมถึงวิชาที่เกี่ยวของกับการ ออกแบบบรรจุภัณฑ ใหเเหมาะสมกับผูบริโภค เรียนรูเทคนิคและ ปฏิบตั กิ ารสํารวจความตองการของผูบ ริโภค และการวิเคราะหบรรจุภัณฑในตลาดสินคา เทคนิคการออกแบบบรรจุภณั ฑ ขัน้ ตอนการผลิต และการวัสดุที่เปนไปไดในการผลิต ริเริ่มการนํานวัตกรรมวัสดุ และ แนวคิดสรางสรรคมาใชในการออกแบบบรรจุภัณฑ โดยมุงเนนการ พัฒนาบรรจุภัณฑสําหรับผลิตภัณฑอาเซียน และผลิตภัณฑสากล หลักสูตรปร ญญาตร 437


หมวด Service Design ในปจจุบันและอนาคต Service Design เปนสิ่งที่สังคม และธุรกิจสรางสรรคมากมาย ตองการเปนอยางสูง Service Design สรางสรรคและพัฒนาการบริการเพื่อสรางประโยชน และตอบสนอง ความตองการของลูกคาและองคกรใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด การ ออกแบบผลิตภัณฑในปจจุบันและอนาคต ไมไดจํากัดอยูเพียงสินคา ทีจ่ บั ตองได หากแตตอ งคํานึงถึงการออกแบบการบริการซึง่ ถือวาเปน ผลิตภัณฑอยางหนึง่ ซึง่ ตองศึกษาการสรางปฎิสมั พันธกบั ลูกคา และ ตองศึกษาการออกแบบในการจัดการ การออกแบบทางการตลาด และ การออกแบบในการวิจัยปจจัยตางๆ ของลูกคาและองคกรนั้นๆ เพื่อ สรางนวัตกรรมใหมทางความสัมพันธระหวางองคกรและลูกคาโดย การสรางสรรคการบริการใหมๆ เพื่อการสรางความไดเปรียบในการแขงขันกับองคกร คูแขง สรางสัมพันธที่ดีขึ้นและสรางความจงรักภักดีของลูกคาที่มีให กับองคกร ผลพวงจาก Service Design สรางผลกําไรทีม่ ากขึน้ พัฒนา และสรางนวัตกรรมการบริการ ทําใหองคกรนั้นๆ เกิดพัฒนาการและ สรางเศรษฐกิจสรางสรรคอยางแทจริง Service Design เริม่ ตนใน Ko..ln International School of Design ประเทศเยอรมันมามากกวา 20 ป สู ประเทศอังกฤษและอิตาลีในเวลาตอมา ปจจุบนั มีมากกวา 23 ประเทศ ไดมกี ารศึกษาและนํา Service Design ไปพัฒนาจนสรางเศรษฐกิจให ยั่งยืนและเติบโต จุดเดนที่สุดจุดหนึ่งของประเทศไทยคือการบริการ การออกแบบทางการบริการคือปจจัยของเศรษฐกิจประเทศ และการ ออกแบบทางการบริการ เปนผลิตภัณฑที่ตองการการพัฒนาอยาง จริงจัง หมวด iDesign ปจจุบันและอนาคต โลกใชการสรางปฏิสัมพันธระหวาง สิ่งแวดลอมรอบตัวและมนุษย โดยสื่อผานเทคโนโลยี ซึ่งเปนตัวแปร สําคัญกับอุปสงคและอุปทาน นักศึกษาตองเรียนรูเรื่องการออกแบบ การสื่อสารระหวางเทคโนโลยีกับผูใช เรียนรูการวิเคราะหความ เหมาะสมทางกายภาพ และจินตภาพของผูใชผลิตภัณฑ และสื่อสาร 438 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กับสภาวะแวดลอมรอบตัว สรางกระบวนการคิดและกระบวนการ ออกแบบผลิตภัณฑที่มีปฏิสัมพันธกับกลุมเปาหมาย และระบบการ สื่อสารระหวางเทคโนโลยีกับผูใช เรียนรูกระบวนการผลิต หลักการ และเหตุผล โดยมุง เนนใหเกิดความชํานาญเฉพาะดาน เพือ่ ตอบสนอง การขยายตัวของการสือ่ สารระหวางเทคโนโลยีกบั ผูใ ชในปจจุบนั และใน อนาคต และทดลองนําองคความรูมาสูสังคมและสิ่งแวดลอม หมวด Invention Crafts ศึกษาเรียนรูเรื่องการออกแบบจากผลิตภัณฑพื้นบานสู การออกแบบรวมสมัยในระดับสากล และในทางกลับกันนําแนวคิด และทฤษฎีรวมสมัยและมุมมองของผูบริโภคในระดับสากลมาใช พั ฒ นากระบวนการคิ ด จากองค ค วามรู พื้ น บ า นและกระบวนการ ออกแบบและผลิตผลิตภัณฑของเอเชีย เรียนรูจากกระบวนการผลิต โดยใชวัสดุพื้นบานผสมผสานกับเทคนิคใหมๆ เสริมสรางความเปน ไปไดใหกับผลิตภัณฑสรางสรรค เรียนรูการพัฒนาผลิตภัณฑ โดย มุงเนนใหเกิดความชํานาญเฉพาะดานเพื่อตอบสนองกับปจจุบัน และอนาคต ศึกษาความตองการและสรางมิติใหมใหกับผูบริโภคตอ หัตถกรรมรวมสมัย เรียนรูการสรางจุดขายและศึกษาแนวทางการ จัดแสดงผลงานผลิตภัณฑ และขบวนการนําสื่อสารและเสนองาน เพื่อเพิ่มมูลคาของศิลปหัตถกรรม สรางแนวทางในการออกแบบ ผลิตภัณฑ ศิลปหัตถกรรมรวมสมัยซึ่งเปนปจจัยของเศรษฐกิจพอ เพียงและเศรษฐกิจสรางสรรค ศึกษาเรียนรูวิธีการและเทคนิคการนํา วัสดุในภูมิภาคอาเซียน และนํามาใชในการออกแบบผลิตภัณฑ หลัก การและเหตุผลในการใชวสั ดุจากธรรมชาติและวัสดุทเี่ หลือใช และการ ออกแบบโดยคํานึงถึงการอนุรักษทรัพยากรและการใชวัสดุอยางคุม คา นําเทคโนโลยีและนวัตกรรมวัสดุมาพัฒนาและออกแบบ เรียนรูว ธิ ี การออกแบบวัสดุเพื่อสรางทางเลือกใหม รวมถึงการวัสดุที่ใชในการ ออกแบบผลิตภัณฑเพือ่ สังคม โดยสรางความชํานาญเฉพาะทางดาน การวิจยั และพัฒนาวัสดุเพือ่ การออกแบบผลิตภัณฑในเชิงอนุรกั ษ และ นําเสนอวัสดุออกแบบควบคูก บั ผลิตภัณฑในประเทศและตางประเทศ


หมวด Innovation Design in Development & Management ปจจัยสําคัญที่นักออกแบบผลิตภัณฑขาดไมได ทั้งใน ปจจุบันและในอนาคต คือ การจัดการและการพัฒนานวัตกรรมลูกคา และผูบ ริโภคตางมองหาผลิตภัณฑและนวัตกรรมทีด่ กี วา การใชงานที่ ดีกวา และที่สําคัญคือ การสรางคุณคาสินคาที่ลูกคาตองการในธุรกิจ หลายประเภท ประสบความสําเร็จโดยสรางสรรคผลิตภัณฑที่ดีกวาคู แขงนักศึกษาตองเรียนรูหลักการการพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ ปจจัยที่จะทําใหการออกแบบผลิตภัณฑมีประสิทธิภาพสูงขึ้น สราง โอกาสในการออกแบบนวัตกรรมใหมๆ สรางความไดเปรียบทางการ ออกแบบ เรี ย นรู การจั ด การทางการออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ มุ ง เน น การจัดการเพื่อสรางแนวความคิดทางนวัตกรรม ในการบริหารการ ออกแบบผลิตภัณฑ จากการวิเคราะหประเมินความตองการของลูกคา สูตนแบบ (prototype) และทดลองสูตลาดสินคาเรียนรูและทําความ เขาใจระบบตางๆ ที่เกี่ยวของกับกระบวนการบริหารและจัดการ องคกรธุรกิจออกแบบสรางสรรค ทัง้ ทางดานการออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑการวิเคราะหและการบริหารธุรกิจการสรางสรรค ไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยนําหลักการมาปฏิรปู และบูรณาการ ทดลองแสวงหา การบริหารจัดการทีส่ รางสรรคใหเหมาะกับองคกรและผลิตภัณฑ เพือ่ เปนการสรางวิชาชีพทางดานการบริหารจัดการผลิตภัณฑ สามารถ สื่อสารจัดการและพัฒนานวัตกรรมกับระบบเศรษฐกิจสรางสรรค ใน บริบทของธุรกิจวิจัย ออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑนวัตกรรมใน ระบบสากล อผ. 430 สหกิจศึกษา (6 หนวยกิต) PD 430 Cooperative Education พื้นความรู: สอบได สศ.301 และไดรับการอนุมัติจากภาควิชาฯ ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการธุรกิจใน ฐานะพนักงานของสถานประกอบการธุรกิจ เพือ่ เสริมสรางใหนกั ศึกษา มีความพรอมดานงานวิชาชีพจากการปฏิบัติงานพื้นฐานอยางมีหลัก การและเปนระบบ นักศึกษาจะตองมีชั่วโมงการทํางานอยางเต็มเวลา ในสถานประกอบการธุรกิจ รวมแลวไมนอยกวา 16 สัปดาห หรือ

1 ภาคการศึกษา รวมถึงมีการประเมินผลการทํางานจากอาจารย ที่ปรึกษารวมกับสถานประกอบการธุรกิจ และนักศึกษาตองจัดทํา รายงานสรุปผลการทํางานเมือ่ สิน้ สุดการทํางานจากสถานประกอบการ อผ. 451 การออกแบบผลิตภัณฑ 5 (4 หนวยกิต) PD 451 Product Design V พื้นความรู: สอบได อผ. 354 ศึกษาตอเนือ่ งจากวิชา อผ. 354 การออกแบบผลิตภัณฑ 4 ศึกษาและปฏิบตั ถิ งึ กระบวนการออกแบบ และเทคนิคในการวางแผน งาน โดยเนนที่การศึกษาโดยวิจัยถึงความตองการที่กําหนดขึ้น และ มีความละเอียดซับซอนมากขึ้น เรียนรูการวางแผนงานการวิเคราะห ขอมูล การปฏิบัติงานที่ ใชระยะเวลาซึ่งมีขั้นตอนในการออกแบบ การวางแผนงานที่ละเอียด รวมถึงเทคนิคการนําเสนอผลงานในรูป แบบการจัดแสดง ตลอดจนวางนโยบายในการจัดการทางการตลาด และการพัฒนาผลิตภัณฑเขาสูตลาด อผ. 456 การเตรียมโครงการออกแบบผลิตภัณฑ (3 หนวยกิต) PD 456 Degree Project Preparation นําเสนอหัวขอโครงการออกแบบผลิตภัณฑ เพื่อศึกษา และวิเคราะหโครงการ และสรุปแนวความคิด กระบวน การสรางสรรค รูปแบบและเนือ้ หา รวมทัง้ จัดเตรียมขอมูลเพือ่ ใชในการออกแบบ การ วัดผลวิชานี้ใหถือเกณฑ S และ U เปนเกณฑผานและไมผานตาม ลําดับ อผ. 457 โครงการออกแบบผลิตภัณฑ (6 หนวยกิต) PD 457 Degree Project in Product Design ดําเนินการออกแบบโครงการออกแบบผลิตภัณฑที่ได เสนอไวแลวและผานการเห็นชอบจากภาควิชาฯ โดยปฏิบัติตามขอ กําหนดในการทําโครงการออกแบบผลิตภัณฑ ขอกําหนด 1.นักศึกษาที่จะลงทะเบียนวิชานี้ ตองผานวิชาพื้นฐาน วิชาชีพและวิชาเอก-บังคับครบทุกวิชา และวิชาเอก-เลือกไมนอ ยกวา หลักสูตรปร ญญาตร 439


6 หนวยกิต 2. ตองมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต 1.75 ขึ้นไป 3. การวัดผลถือระดับคะแนนตั้งแต 2.00 (เกรด C) ขึ้น ไปเปนเกณฑผานเพื่อรับปริญญาตรี สําหรับผูที่ ไดรับคะแนน 1.50 และ 1.00 (เกรด D+ และ D) โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) ไมถึง 2.00 สามารถขอรับอนุปริญญาไดตามขอบังคับมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วาดวยการศึกษาขั้นปริญญาตรี เรื่องการใหอนุปริญญา 4. มีการนําเสนอผลงานสูสาธารณะ

หมวดวิชาสถาปตยกรรมศาสตร กลุมวิชาพื้นฐาน สถพ. 161 การวาดเสนและแสดงผลงาน 1 (3 หนวยกิต) ARF 161 Drawing & Rendering I ศึกษาและปฏิบัติพื้นฐานของการวาดเสน เพื่อใหเขาใจ แนวคิด หลักทฤษฎี และองคประกอบตางๆ ของการวาดเสน เชน เสน นํา้ หนัก รูปทรง พืน้ ผิวชนิดตางๆ ฯลฯ ฝกการรับรูแ ละแสดงออก ดวยเทคนิควิธีการใชเครื่องมือและวัสดุในลักษณะตางๆ เรียนรูเกี่ยว กับการรับรูแ ละการแสดงออกในแงของความคิดสรางสรรคทกี่ วางขึน้ เพื่อใหสามารถนําความรูเหลานี้ไปประยุกต ใชเปนพื้นฐานของการ ออกแบบงานสถาปตยกรรมและงานออกแบบภายในตอไป สถพ. 162 การวาดเสนและแสดงผลงาน 2 (3 หนวยกิต) ARF 162 Drawing & Rendering II พื้นความรู: สอบได สถพ.161 การวาดเสนและแสดงผลงาน 1 ศึกษาและปฏิบัติการวาดเสนและฝกฝนเทคนิคการลงสี โดยอยูบนพื้นฐานแนวคิด หลักทฤษฎี และองคประกอบตางๆ ของ การวาดเสนและการลงสี และเทคนิคทีท่ าํ ใหเกิดพืน้ ผิวชนิดตางๆ ฯลฯ ฝกการรับรูและแสดงออกดวยเทคนิควิธีการใชเครื่องมือและวัสดุใน 440 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ลักษณะตางๆ เรียนรูเกี่ยวกับการรับรูและการแสดงออกในแงของ ความคิดสรางสรรคท่ีกวางขึ้น เพื่อใหสามารถนําความรูเหลานี้ไป ประยุกตใชเปนพื้นฐานของการออกแบบงานสถาปตยกรรมและงาน ออกแบบภายในตอไป สถพ. 163 การออกแบบเบื้องตน (3 หนวยกิต) ARF 163 Basic Design ศึกษาเกี่ยวกับความสอดคลองเชิงปฏิบัติและทฤษฎีพื้น ฐานในการออกแบบงาน 2 มิติ ไปจนถึง 3 มิติ รวมถึงความสัมพันธ ของทัศนธาตุและหลักการจัดองคประกอบศิลปที่มีตอการออกแบบ และศึกษาทําความเขาใจเรือ่ งสีทงั้ ในทางทฤษฏีและปฏิบตั ิ เพือ่ ใหเกิด ความเขาใจในคุณสมบัติของสีทั้งในทางกายภาพและจิตวิทยาที่มีผล ตอความรูส กึ ของมนุษย รวมถึงความหมายและสุนทรียภาพในการใช สีและการจัดองคประกอบในงาน 2 มิติและ 3 มิติ เพื่อใหสามารถนํา ความรูเหลานี้ไปประยุกตใชเปนพื้นฐานของวิชาชีพตอไป สถพ. 164 การเขียนแบบเบื้องตน (3 หนวยกิต) ARF 164 Basic Graphic and Drafting ศึกษาและปฏิบัติใหเกิดทักษะในการเขียนแบบ รูจกั และ ฝกใชอุปกรณเครื่องมือ และสัญลักษณงานเขียนแบบตางๆ ที่ใชใน ระบบสากล เพือ่ สรางเทคนิคการนําเสนอผลงานเบือ้ งตน รายละเอียด ยังครอบคลุมถึงการทําความเขาใจกับสภาพแวดลอมทีม่ นุษยสรางขึน้ ขนาดและสัดสวนของงานสถาปตยกรรม และวัสดุตางๆ ที่ใชในงาน สถาปตยกรรม สถพ. 165 วิทยาศาสตรและคณิตศาสตรในการออกแบบ(3 หนวยกิต) ARF 165 Science and Mathematics in Design ศึกษาและทําความเขาใจหลักการคํานวณพื้นฐานที่มี ความเกี่ยวเนื่องในงานสถาปตยกรรมและงานออกแบบ เชน สถิติ เรขาคณิต แคลคูลสั เบือ้ งตน ฯลฯ รวมไปถึงหลักการทางวิทยาศาสตร


พื้นฐาน เชน แรง กลศาสตร ฯลฯ เพื่อชวยใหนักศึกษามีความเขาใจ และสามารถเชือ่ มโยงหลักการดังกลาวเขากับการคํานวณในเรือ่ งของ โครงสรางและความปลอดภัยของอาคาร รวมไปถึงการสรางสรรครูป แบบและสัดสวนของงานออกแบบที่หลากหลายมากขึ้น สถพ. 166 ประวัติศาสตรสถาปตยกรรม (3 หนวยกิต) และการออกแบบ 1 ARF 166 History of Architecture and Design I ศึกษาประวัติศาสตรสถาปตยกรรมและการออกแบบ ตะวันตก ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับประวัติศาสตรศิลปะตั้งแตกอน ประวัติศาสตรมาจนถึงปลายคริสตศตวรรษที่ 19 โดยเนนความเขาใจ ความสัมพันธระหวางปรัชญา ความคิดหลักของยุคสมัย สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และรูปแบบของศิลปะ เพื่อเปนพื้นฐานในการ เขาใจทีม่ าของงานสถาปตยกรรมและแนวทางการออกแบบของตะวัน ตกอยางแทจริง สถพ. 167 ประวัติศาสตรสถาปตยกรรม (3 หนวยกิต) และการออกแบบ 2 ARF 167 History of Architecture and Design II พื้นความรู: สอบไดวิชา สถพ. 166 ประวัติศาสตรสถาปตยกรรม และการออกแบบ 1 ศึกษาประวัตศิ าสตรสถาปตยกรรมและการออกแบบตะวัน ตก ซึง่ มีความเกีย่ วเนือ่ งกับประวัตศิ าสตรศลิ ปะสมัยใหมของตะวันตก ตั้งแตปลายคริสตศตวรรษที่ 19 มาจนถึงสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ในปลายยุคสมัยใหม โดยเนนความเขาใจความสัมพันธระหวางปรัชญา ความคิดหลักของยุคสมัย สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และรูปแบบ ของศิลปะ เพือ่ เปนพืน้ ฐานความเขาใจงานสถาปตยกรรมและแนวทาง การออกแบบของตะวันตกในยุคสมัยใหมอยางแทจริง

สถพ. 361 สถาปตยกรรมไทย (3 หนวยกิต) ARF 361 Thai Architecture ศึกษาลักษณะลวดลายสถาปตยกรรมไทย ศิลปะการ ตกแตงและลักษณะสถาปตยกรรมไทย วิวฒ ั นาการของสถาปตยกรรม ไทย สวนประกอบและโครงสราง รวมถึงระบบการกอสรางของบาน ไทยและอาคารไทยแบบประเพณีนิยม ฝกหัดการเขียนแบบลวดลาย และรูปแบบอาคารดังกลาว

กลุมวิชาหลัก สถป. 151 การออกแบบสถาปตยกรรม 1 (4 หนวยกิต) ARC 151 Architectural Design I ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบชิน้ สวน 2 และ 3 มิติ พืน้ ที่ ใชสอย และที่วางตางๆ ใหมีความสัมพันธกับขนาดสัดสวนรางกาย มนุษย บุคลิกและพฤติกรรมสวนบุคคล กิจกรรมระหวางบุคคล ผาน กระบวนการทดลอง และวิเคราะหเพื่อเปนฐานขอมูลการออกแบบ เบื้องตน โดยคํานึงถึงหลักการจัดองคประกอบศิลป จิตวิทยาของสี และรูปทรง คุณคาเชิงสุนทรียภาพ กลไก และวัสดุประกอบโครงสราง ขั้นพื้นฐาน สถป. 152 การออกแบบสถาปตยกรรม 2 (4 หนวยกิต) ARC 152 Architectural Design II พื้นความรู: สอบได สถป. 151 การออกแบบสถาปตยกรรม 1 ศึกษาออกแบบและเขียนแบบอาคารขนาดเล็ก สรางพืน้ ที่ ใชสอยภายในและภายนอกอาคารใหมีความสัมพันธกับกิจกรรมเพื่อ การพักอาศัย วิถีทางการดําเนินชีวิต จิตวิทยาสถานพักอาศัย ทั้งใน แบบบุคคลและกลุม บุคคล ผานกระบวนการวิเคราะหปญ หาเพือ่ ความ เขาใจและแกไขดวยวิธีการออกแบบ โดยคํานึงถึงรายละเอียดงาน สถาปตยกรรมสภาพแวดลอมของที่ตั้ง และระบบโครงสรางอาคาร

หลักสูตรปร ญญาตร 441


สถป. 253 การออกแบบสถาปตยกรรม 3 (4 หนวยกิต) ARC 253 Architectural Design III พื้นความรู: สอบได สถป. 152 การออกแบบสถาปตยกรรม 2 ศึกษา ออกแบบและเขียนแบบอาคารขนาดเล็กถึงขนาด กลาง สรางพื้นที่ ใชสอยภายในและภายนอกอาคารที่สัมพันธกับ กิจกรรมของกลุม บุคคล ผสานระหวางกิจกรรมพักอาศัยและกิจกรรม เฉพาะ เนนกระบวนการคิด การคนควาขอมูลในปจจุบนั และวิเคราะห ป ญ หาเป น พื้ น ฐานการออกแบบ โดยคํ า นึ ง ถึ ง รายละเอี ย ดงาน สถาปตยกรรม สภาพแวดลอมของทีต่ งั้ กฎหมาย โครงสรางและระบบ ที่เกี่ยวของ

สถป. 356 การออกแบบสถาปตยกรรม 6 (4 หนวยกิต) ARC 356 Architectural Design VI พื้นความรู: สอบได สถป. 355 การออกแบบสถาปตยกรรม 5 ศึกษา ออกแบบและเขียนแบบอาคารขนาดกลางถึงขนาด ใหญ สรางพื้นที่ใชสอยภายใน ภายนอกอาคาร และผังบริเวณให สัมพันธกบั กิจกรรมทีห่ ลากหลายของกลุม คน มีความซับซอนของการ ใชสอยสวนกลาง และสวนสาธารณะ โดยคํานึงถึงรายละเอียดงาน สถาปตยกรรมกายภาพที่ตั้ง การจราจรภายในภายนอกโครงการ ผัง ชุมชน เศรษฐกิจ และสังคม วัฒนธรรม กฎหมาย โครงสรางและระบบ ที่เกี่ยวของ

สถป. 254 การออกแบบสถาปตยกรรม 4 (4 หนวยกิต) ARC 254 Architectural Design IV พื้นความรู: สอบได สถป. 253 การออกแบบสถาปตยกรรม 3 ศึกษา ออกแบบและเขียนแบบอาคารขนาดเล็กถึงขนาด กลาง สรางพื้นที่ ใชสอยภายในและภายนอกอาคารที่สัมพันธกับ กิจกรรมของกลุมบุคคลหลายกลุม ผสานระหวางกิจกรรมพักอาศัย และการพาณิชย มีการใชสอยรวมสวนกลางและสาธารณะ เนนการ คนควาขอมูลจริงวิเคราะห ใชเหตุผลเปนพื้นฐานการออกแบบ โดย คํานึงถึงรายละเอียดงานสถาปตยกรรมกายภาพทีต่ งั้ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม กฎหมาย โครงสรางและระบบที่เกี่ยวของ

สถป. 451 การออกแบบสถาปตยกรรมในกลุม (3 หนวยกิต) ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต ARC 451 Architectural Design in Southeast Asian Nations ศึกษาอาคารที่สะทอนถึงเอกลักษณดานสังคม ศิลป วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยีงานวิศวกรรมกอสราง ในกลุม ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทัง้ นีเ้ พือ่ สามารถวิเคราะหได ถึงความคลายและแตกตางในลักษณะเฉพาะของงานสถาปตยกรรมที่ มีความหลากหลายในแตละประเทศ รวมถึงสามารถสังเคราะหและ ออกแบบงานสถาปตยกรรมที่มีรูปแบบเฉพาะได

สถป. 355 การออกแบบสถาปตยกรรม 5 (4 หนวยกิต) ARC 355 Architectural Design V พื้นความรู: สอบไดส ถป.254 การออกแบบสถาปตยกรรม 4 ศึกษา ออกแบบและเขียนแบบแบบอาคารขนาดกลาง สรางพืน้ ที่ใชสอยภายในและภายนอกอาคารทีส่ มั พันธกบั กิจกรรมของ หลายกลุม คนเพือ่ การพาณิชยหรือกลุม องคกรฯ มีการใชสอยรวมสวน กลางและสาธารณะ เนนการวิเคราะหขอมูลจริงตามแนวโนมกระแส ของรูปแบบธุรกิจ โดยคํานึงถึงรายละเอียดงานสถาปตยกรรมกายภาพ ทีต่ งั้ เศรษฐกิจ และสังคม กฎหมาย โครงสรางและระบบทีเ่ กีย่ วของ 442 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

สถป. 452 วิธีการวางแผนและวิจยั โครงการ (3 หนวยกิต) ออกแบบสถาปตยกรรม ARC 452 Programming and Research Methods in Architecture ศึกษาวิธกี ารวางแผนและจัดทํารายละเอียดโครงการเพือ่ การออกแบบสถาปตยกรรม โดยสามารถวิเคราะหโครงการออกแบบ ดวยการศึกษาถึงกระบวนการคิด การตัง้ คําถาม การนิยามปญหา การ กําหนดเปาหมาย การวางแผน และเขาใจวิธีการคนควา ตลอดจน เขาใจถึงองคประกอบเหลานี้วามีความสัมพันธและเปนปจจัยที่สงผล ตอการกําหนดทิศทางในการออกแบบอยางไร


สถป. 457 การออกแบบสถาปตยกรรม 7 (4 หนวยกิต) ARC 457 Architectural Design VII พื้นความรู: สอบได สถป. 356 การออกแบบสถาปตยกรรม 6 ศึกษา ออกแบบ และเขียนแบบอาคารสูงหรืออาคารขนาด ใหญ สรางพื้นที่ใชสอยภายใน และภายนอกอาคาร และผังบริเวณให สัมพันธกับกิจกรรมที่มีความหลากหลายของคนจํานวนมาก มีความ ซับซอนของการใชสอยสวนแผนกเฉพาะ สวนกลาง และสวนสาธารณะ ผานกระบวนการคนควาและวิเคราะหเพื่อเปนฐานขอมูลใหมในการ ออกแบบ โดยคํานึงถึงผังการใชประโยชนที่ดิน ผังเมือง ระบบ สาธารณูปโภค กายภาพทีต่ งั้ สังคมและวัฒนธรรมในระดับเมือง การ จราจรภายในและภายนอกโครงการ กฎหมาย เทคโนโลยี ง าน วิศวกรรมกอสราง ทัง้ นี้ใหผเู รียนมีสว นรวมในการกําหนดรายละเอียด โครงการ และวิเคราะหความเปนไปไดของโครงการไปพรอมกัน สถป. 458 การออกแบบสถาปตยกรรม 8 (4 หนวยกิต) ARC 458 Architectural Design VIII พื้นความรู: สอบได สถป. 457 การออกแบบสถาปตยกรรม 7 ศึกษา ออกแบบ และเขียนแบบอาคารขนาดใหญหรือ ขนาดใหญพเิ ศษ สรางพืน้ ที่ใชสอยภายใน ภายนอกอาคาร ผังบริเวณ ผังแมบทของกลุมอาคารใหสัมพันธกับกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ของคนจํานวนมาก มีลกั ษณะเฉพาะและความซับซอนการใชพนื้ ทีส่ งู มีการใชประโยชนทดี่ นิ ทีห่ ลากหลาย มีความซับซอนของการใชพนื้ ที่ สาธารณะ ผานกระบวนการคนควาและวิเคราะหเพื่อเปนฐานขอมูล ใหมในการออกแบบ โดยคํานึงถึงผังการใชประโยชนที่ดิน ผังเมือง ระบบสาธารณูปโภค กายภาพที่ตั้ง สังคมและ วัฒนธรรมในระดับ ประเทศ การจราจรภายในและภายนอกโครงการ การจัดสรรหรือการ จัดรูปทีด่ นิ กฎหมาย เทคโนโลยีงานวิศวกรรมกอสราง ทัง้ นี้ใหผเู รียน มีสว นรวมในการกําหนดรายละเอียดโครงการ และวิเคราะหความเปน ไปไดของโครงการไปพรอมกัน

สถป. 551 การเตรียมวิทยานิพนธ (3 หนวยกิต) ARC 551 Thesis Preparation พื้นความรู: สําหรับนักศึกษาในหลักสูตรการศึกษาแบบปกติตอ งสอบ ได สถป. 458 การออกแบบสถาปตยกรรม 8 และ สถป. 452 วิธีการวางแผนและวิจัยโครงการออกแบบ สถาปตยกรรมและ สถป. 482 การปฏิบัติงานวิชาชีพ สําหรับนักศึกษาในหลักสูตรการศึกษาแบบสหกิจศึกษา ตองสอบได สถป. 459 สหกิจศึกษาในการประกอบวิชาชีพ สถาปตยกรรม และ สถป. 452 วิธีการวางแผนและ วิจัยโครงการออกแบบสถาปตยกรรม ศึกษาขอมูลที่เตรียมนักศึกษาใหมีความพรอมในการจัด ทําโครงการออกแบบสถาปตยกรรมอันนําไปสูวิธีการดําเนินการและ แนวทางการออกแบบในวิชา สถป. 552 วิทยานิพนธ ตอไปไดนกั ศึกษา ผูทําโครงการออกแบบฯ และอาจารยที่ปรึกษาจะตกลงกันในหัวขอ โดยนักศึกษาเปนผูร า งโครงรางการศึกษาโครงการออกแบบฯ นําเสนอ โครงรางโครงการออกแบบฯ และขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของตอการ ศึกษาโครงการออกแบบฯ ตอคณะกรรมการ และเรียบเรียงขอมูลที่ ศึกษาโดยเขียนเปนโครงรางวิทยานิพนธ การวัดผลสําหรับวิชานี้ให ถือระดับคะแนนตั้งแต 2.00 (เกรด C) ขึ้นไปเปนเกณฑสอบผาน สถป. 552 วิทยานิพนธ (9 หนวยกิต) ARC 552 Thesis พื้นความรู: สอบได สถป. 551 การเตรียมวิทยานิพนธ นักศึกษาดําเนินการทํางานตอเนือ่ งจากโครงรางโครงการ ออกแบบฯ ที่ไดรบั อนุมตั แิ ลวในวิชา สถป. 551 การเตรียมวิทยานิพนธ ในภาคออกแบบและนําเสนอผลงานตอคณะกรรมการตามขั้นตอนที่ ภาควิชาฯ กําหนด ผลงานสุดทายประกอบไปดวยภาคออกแบบและ ภาคเอกสารวิทยานิพนธที่เสร็จสมบูรณ และตองนําผลงานเสนอตอ สาธารณะ การวัดผลสําหรับวิชานี้ใหถอื ระดับคะแนนตัง้ แต 2.00 (เกรด C) ขึน้ ไปเปนเกณฑสอบผาน สําหรับนักศึกษาที่ไดระดับคะแนน 1.50 และ 1.00 (เกรด D+ และ D) โดยมีคะแนนเฉลีย่ สะสม (GPA) มากกวา หลักสูตรปร ญญาตร 443


2.00 สามารถขอรับอนุปริญญาได ตามระเบียบมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วาดวยการศึกษาขั้นปริญญาตรี เรื่องการใหอนุปริญญา

กลุมวิชาเทคโนโลยี สถป. 171 การกอสรางและวัสดุในงาน (3 หนวยกิต) สถาปตยกรรม 1 ARC 171 Construction and Material in Architecture I ศึกษาเกีย่ วกับงานโครงสรางไมตงั้ แตอดีตจนปจจุบนั เชน บานเรือนไทยในแตละภูมิภาค ภูมิปญญาทองถิ่น และบานโครงสราง ไมในปจจุบัน การกอสรางเกี่ยวกับโครงสรางไม รวมทั้งการประสาน งานและเตรียมพื้นที่อาคารสําหรับงานระบบ โดยผานการเขียนแบบ ในระบบทีเ่ ปนทีย่ อมรับในสากล การทําหุน จําลองอาคารและหุน จําลอง รายละเอียดเฉพาะสวนของอาคาร สถป. 272 การกอสรางและวัสดุในงาน (3 หนวยกิต) สถาปตยกรรม 2 ARC 272 Construction and Material in Architecture II พื้นความรู: สอบได สถป. 171 การกอสรางและวัสดุในงาน สถาปตยกรรม 1 ศึก ษาเกี่ยวกับงานโครงสร า งคอนกรี ตตั้ ง แต อ ดีต จน ปจจุบัน เทคโนโลยีการกอสรางเกี่ยวกับโครงสรางคอนกรีต การ กอสรางในระบบอุตสาหกรรม และการเตรียมพื้นที่อาคารสําหรับงาน ระบบในอาคารขนาดเล็กถึงขนาดกลางโดยผานการเขียนแบบอาคาร ในระบบที่เปนที่ยอมรับในสากลการทําหุนจําลองรายละเอียดเฉพาะ สวนของอาคาร

444 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

สถป. 273 การกอสรางและวัสดุในงาน (3 หนวยกิต) สถาปตยกรรม 3 ARC 273 Construction and Material in Architecture III พื้นความรู: สอบได สถป. 272 การกอสรางและวัสดุใน งานสถาปตยกรรม 2 ศึกษาเกี่ยวกับงานโครงสรางเหล็กตั้งแตอดีตจนปจจุบัน เทคโนโลยีการกอสรางเกี่ยวกับโครงสรางเหล็กและการเตรียมพื้นที่ อาคารสําหรับงานระบบในอาคารขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง โดยผาน การเขียนแบบอาคารในระบบทีเ่ ปนทีย่ อมรับในสากล การทําหุน จําลอง รายละเอียดเฉพาะสวนของอาคาร สถป. 274 การออกแบบและวิเคราะหโครงสราง 1 (3 หนวยกิต) ARC 274 Structural Design and Analysis I พื้นความรู: สอบได สถพ. 165 วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ในการออกแบบ ศึกษาการออกแบบและวิเคราะห โครงสรางและขอตอ ประเภทตางๆ ในอาคารขนาดเล็กถึงขนาดกลางศึกษาและจําลอง โครงสรางเพื่อคํานวณความเคน ความเครียด แรงเฉือนการดัด โมเมนตและการรับถายแรงในโครงสรางโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร สถป. 275 การออกแบบและวิเคราะหโครงสราง 2 (3 หนวยกิต) ARC 275 Structural Design and Analysis II พื้นความรู: สอบได สถป. 274 การออกแบบและวิเคราะห โครงสราง 1 ศึกษาการออกแบบและวิเคราะห โครงสรางและขอตอ ประเภทตางๆ ในอาคารสูงและอาคารชวงยาวศึกษาและจําลอง โครงสรางเพื่อคํานวณความเคน ความเครียด แรงเฉือนการดัด โมเมนต การสั่นและการรับถายแรงในโครงสรางโดยใชโปรแกรม คอมพิวเตอร


สถป. 276 งานระบบประกอบอาคาร 1 (3 หนวยกิต) ARC 276 Building System I ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ งานระบบประกอบอาคาร อั น ได แ ก วิศวกรรมระบบไฟฟาและแสงสวาง วิศวกรรมระบบสุขาภิบาล ระบบ วิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ สถป. 374 การกอสรางและวัสดุในงาน (3 หนวยกิต) สถาปตยกรรม 4 ARC 374 Construction and Material in Architecture IV พื้นความรู: สอบได สถป. 273 การกอสรางและวัสดุใน งานสถาปตยกรรม 3 ศึกษาเกี่ยวกับงานโครงสรางและเทคโนโลยีการกอสราง เกี่ยวกับโครงสรางชวงกวาง โครงสรางชวงยาว โครงสรางอาคารสูง โดยผานการเขียนแบบอาคารและรายละเอียดโครงสรางในระบบทีเ่ ปน ที่ยอมรับในสากลการศึกษาและวิเคราะห โครงสรางโดยการจําลอง โครงสรางดวยคอมพิวเตอร สถป. 377 งานระบบประกอบอาคาร 2 (3 หนวยกิต) ARC 377 Building System II พื้นความรู: สอบไดวิชา สถป. 276 งานระบบประกอบอาคาร 1 ศึกษาเกี่ยวกับงานระบบประกอบอาคาร อันเนื่องมาจาก การพัฒนาของเทคโนโลยีในปจจุบัน ไดแก การขนสงในอาคารหรือ การสัญจรในทางตั้ง เชน ระบบลิฟท บันไดเลื่อน ทางลาด เปนตน การออกแบบเสียงในอาคารและภายนอกอาคาร การออกแบบอาคาร เพื่อปองกันภัยจากอัคคีภัย การออกแบบอาคารใหเหมาะสมกับผู ทุพพลภาพและคนตางวัยโดยผานการศึกษาจากกรณีศึกษา รายงาน นําเสนอและการดูงาน

กลุมวิชาสนับสนุน สถป. 281 คอมพิวเตอรสําหรับการปฏิบัติ (3 หนวยกิต) งานออกแบบสถาปตยกรรม 1 ARC 281 Computer for Architectural Practice I ศึกษาและปฏิบตั กิ ารใชคอมพิวเตอร ตลอดจนศึกษาการ ใชซอฟตแวรเพือ่ การออกแบบตางๆ เพือ่ เปนพืน้ ฐานในการสรางและ การนําเสนอผลงาน และถายทอดแนวความคิดในการออกแบบงาน สถาปตยกรรมและการออกแบบภายในจนถึงการใชคอมพิวเตอรเพื่อ การออกแบบ (CAD) ขั้นพื้นฐาน สถป. 282 คอมพิวเตอรสําหรับการปฏิบัติ (3 หนวยกิต) งานออกแบบสถาปตยกรรม 2 ARC 282 Computer for Architectural Practice II พื้นความรู: สอบได สถป. 281คอมพิวเตอรสําหรับการปฏิบัติ งานออกแบบสถาปตยกรรม 1 ศึกษาและปฏิบตั กิ ารใชคอมพิวเตอรเพือ่ ใชเปนเครือ่ งมือ ในการออกแบบงานสถาปตยกรรมและการออกแบบภายในการเขียน แบบเบื้องตนทั้งในลักษณะ 2 มิติ และ 3 มิติ รวมถึงการนําขอมูลที่ ไดจากคอมพิวเตอรไปใชประโยชนตา งๆ เชน การนําเสนอผลงานและ การเขียนแบบเพื่อการกอสราง สถป. 381 กฎหมายและระเบียบขอบังคับอาคาร (3 หนวยกิต) ARC 381 Law and Building Codes ศึกษาและวิเคราะหกฎหมายควบคุมอาคารพระราช บัญญัติควบคุมอาคาร กฎหมายและพระราชบัญญัติอื่นๆ ที่เกี่ยวของ กั บ การปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ การออกแบบสถาป ต ยกรรม เปรี ย บเที ย บ กฎหมายและระเบียบขอบังคับอาคารในประเทศตางๆ เพือ่ สรางความ พรอมในการปฏิบัติวิชาชีพทั้งในและตางประเทศ

หลักสูตรปร ญญาตร 445


สถป. 382 การออกแบบตกแตงภายใน (3 หนวยกิต) ARC 382 Interior Design ศึกษาหลักการแนวคิดทฤษฎีทเี่ กีย่ วของกระบวนการและ เทคนิคในการออกแบบสภาพแวดลอมภายในอาคาร ศึกษาขอมูลพืน้ ฐานและวิธกี ารในการออกแบบตกแตงภายในงานสถาปตยกรรม รวมถึง การออกแบบเฟอรนเิ จอรและการออกแบบระบบแสงสวางภายในอาคาร สถป. 383 ภูมิสถาปตยกรรมและการวางผังบริเวณ (3 หนวยกิต) ARC 383 Landscape Architecture and Site Planning ศึกษาหลักการแนวคิดทฤษฎีทเี่ กีย่ วของกระบวนการและ เทคนิคในการวางผังบริเวณการออกแบบ พัฒนาและปรับปรุงภูมิ สถาป ต ยกรรมรวมถึ ง ศึ ก ษาหลั ก การเกี่ ย วกั บ พื ช พรรณและองค ประกอบตางๆ ในการออกแบบภูมิสถาปตยกรรม สถป. 384 การออกแบบผังเมือง (3 หนวยกิต) ARC 384 Urban Design ศึกษาหลักการและกระบวนการออกแบบ แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวของ และขอมูลพื้นฐานเพื่อการออกแบบชุมชนเมือง การ อนุรักษสถาปตยกรรมและชุมชน วิวัฒนาการงานสถาปตยกรรมและ ชุมชนตางๆ ของประเทศไทย การวิเคราะหสภาพแวดลอมทาง กายภาพ เศรษฐกิจและสังคม กลวิธีกําหนดนโยบาย วิธีการวางผัง และการออกแบบ รวมถึงการปฏิบตั กิ ารออกแบบชุมชนเมืองเบือ้ งตน (0 หนวยกิต) สถป. 482 การปฏิบตั ิงานวิชาชีพ ARC 482 Internship ฝกปฏิบตั งิ านในหนวยงานทีเ่ กีย่ วของและไดรบั การอนุมตั ิ จากภาควิชาฯ เพื่อศึกษาระบบการทํางานและการแกปญหา โดยใช เวลาฝกงานไมตํ่ากวา 8 สัปดาหหรือประมาณ 320 ชั่วโมง ขอกําหนด - นักศึกษาทีจ่ ะฝกงานตองผานการศึกษามาแลวไมนอ ย กวา 8 ภาคการศึกษา 446 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

- การวัดผลใหถือเกณฑ S และ U เปนเกณฑผาน และ ไมผานตามลําดับ สถป. 581 การประกอบวิชาชีพออกแบบ (3 หนวยกิต) สถาปตยกรรม ARC 581 Professional Practice in Architectural Design ศึกษาแนวทางในการประกอบวิชาชีพการออกแบบงาน สถาปตยกรรม ความเปนมาของวิชาชีพหลักปฏิบตั วิ ชิ าชีพ การจัดการ สํานักงานออกแบบความสัมพันธและความเกี่ยวของกับวิชาชีพอื่นๆ จรรยาบรรณและพันธะกรณีของผูประกอบวิชาชีพ เงื่อนไขในการ ประกอบธุรกิจ การขออนุญาตการกอสรางกฎหมายทีเ่ กีย่ วของ รวม ทั้งมาตรฐานและหลักวิชาชีพการออกแบบงานสถาปตยกรรมใน ประเทศตางๆ เพือ่ เปนหลักในการนําไปใชในการประกอบวิชาชีพตอไป

กลุมวิชาสหกิจศึกษา สถป. 459 สหกิจศึกษาในการประกอบวิชาชีพ (10 หนวยกิต) สถาปตยกรรม ARC 459 Cooperative Education in Architectural Practice พื้นความรู: สอบได สถป. 499 เตรียมสหกิจศึกษา ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสรางใหนักศึกษามีความ พรอมดานงานอาชีพอยางมีหลักการและเปนระบบ โดยมีการเรียนรู และการฝกฝนความชํานาญในดานตางๆ ที่ครอบคลุมหรือเทียบ เทากับเนื้อหาในวิชา สถป. 458 การออกแบบสถาปตยกรรม 8 นักศึกษาจะตองมีการฝกปฏิบตั งิ านเต็มเวลาในสถานประกอบการ โดย มีระยะเวลาไมนอ ยกวา 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห ซึง่ เปนงาน ทีม่ คี ณ ุ ภาพหรือเปนงานทีเ่ นนประสบการณทาํ งาน (Work Integrated Learning) ที่ตรงกับสาขาวิชาชีพสถาปนิกหรือการบริการวิชาชีพ สถาปตยกรรมที่เปนงานที่เปนประโยชนตอองคกร รวมถึงมีการ ประเมินผลการทํางานจากคณาจารยรวมกับสถานประกอบการ และ


นักศึกษาจะตองนําเสนอและจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน สถป. 499 เตรียมสหกิจศึกษา (3 หนวยกิต) ARC 499 Pre-Cooperative Education ศึกษาแนวคิดและความเขาใจของระบบสหกิจศึกษาตลอด จนเปนการเตรียมความพรอมและทักษะดานตางๆ อาทิ การเขียน จดหมายสมัครงาน การเลือกสถานประกอบการหรือหนวยงานที่ รองรับสหกิจศึกษา เทคนิคการเขารับการสัมภาษณงาน การพัฒนา ทักษะในการสื่อสาร วัฒนธรรมองคกร ความสัมพันธของวิชาชีพ สถาปนิกและความเกีย่ วของกับวิชาชีพอืน่ ๆ จรรยาบรรณ พันธะกรณี ของผูประกอบวิชาชีพ และแนวทางในการประกอบวิชาชีพการ ออกแบบงานสถาปตยกรรมทั้งในระดับชาติและสากล เพื่อเปนการ เตรียมความพรอมในการนําไปใชในการเรียนวิชาสหกิจศึกษาในการ ประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมตอไป นักศึกษาที่จะลงทะเบียนเรียนวิชา สถป.499 เตรียม สหกิจศึกษาไดตองมีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) ตั้งแต 2.50 ขึ้นไป

กลุมวิชา Architectural Design& Production Management สถป. 491 การจัดการองคกรและการออกแบบ (3 หนวยกิต) สถาปตยกรรม ARC 491 Architectural Design and Organization Management ศึกษาการจัดตั้งและจัดการองคกร การดําเนินธุรกิจให บริการการออกแบบสถาปตยกรรมทั้งในและระหวางประเทศ เรียนรู กลยุ ท ธ ท างการจั ด การสมั ย ใหม ที่ ใ ช ใ นการประกอบวิ ช าชี พ การ ออกแบบสถาปตยกรรม การออกแบบสถาปตยกรรมและความคิด สรางสรรค รวมทั้งขอคิดตางๆ ในการจัดการและบริหารการดําเนิน งาน การควบคุมและวัดประสิทธิภาพของงาน ตลอดจนนโยบายของ รัฐบาลทีม่ ผี ลตอการดําเนินธุรกิจและกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกระบวนการ จัดการที่เกิดขึ้นในองคกรทั้งในระดับประเทศและระหวางประเทศ

สถป. 492 การศึกษาความเปนไปไดโครงการ (3 หนวยกิต) ARC 492 Project Feasibility Study เพือ่ ศึกษาการจัดทําโครงการออกแบบ ศึกษาความเหมาะ สมของโครงการดานตางๆ ที่จะนํามาใชประโยชนตอการจัดการและ การวางแผนโครงการตางๆ ของธุรกิจออกแบบ ศึกษาความเปนไปได ของโครงการ การจัดทํางบประมาณโครงการและการวิเคราะหผล ตอบแทนการลงทุนจากโครงการ การวางแผนโครงการควบคุมการ ปฏิบัติงานและการประเมินผลของโครงการ สถป. 493 นวัตกรรมเทคโนโลยีในการวิเคราะห (3 หนวยกิต) และผลิตงานออกแบบ ARC 493 Innovative Technology in Design Analysis and Production ศึกษาถึงนวัตกรรมใหมของเทคโนโลยีทสี่ ามารถนํามาใช ในการผลิตและวิเคราะหงานออกแบบ เขาใจกระบวนการในการใช เครือ่ งมือทีท่ นั สมัยเพือ่ สราง วิเคราะหและพยากรณประสิทธิภาพของ งานออกแบบ รวมถึงการผลิตรูปทรงสามมิติดวยเทคโนโลยีเครื่อง สรางตนแบบอัตโนมัติ ทัง้ นีเ้ พือ่ สรางทางเลือกของการผลิตหุน จําลอง ที่สอดคลองกับเทคโนโลยีปจจุบัน รวมถึงเปนการผสานองคความรู ดานการออกแบบงานสถาปตยกรรมทีม่ คี วามซับซอนสูงกับการสราง หุนจําลองแบบเสมือนจริง สถป. 591 การจัดทําเอกสารประกอบโครงการ (3 หนวยกิต) ARC 591 Project Design Documentation เพื่อศึกษาการจัดทําและบริหารงานเอกสารประกอบ โครงการ ศึกษาวิธกี ารบันทึก การประมวลและการรายงานขอมูลตางๆ ตัง้ แตขนั้ ตอนกอนการออกแบบ งานขัน้ วางแผนแนวทางการออกแบบ และเสนอแนวความคิดในการออกแบบ งานออกแบบรางขัน้ ตนจนถึง การออกแบบขัน้ สุดทาย การจัดระบบแบบกอสรางและแบบทีเ่ ขียนขึน้ หลังจากการกอสรางเสร็จ รวมถึงขอมูลอื่นๆ ที่เปนประโยชนเพื่อการ บริหาร บํารุงรักษา ปรับปรุง ตอเติมหรือดัดแปลงอาคาร หลักสูตรปร ญญาตร 447


สถป. 592 การสื่อสารในการใหบริการวิชาชีพ (3 หนวยกิต) สถาปตยกรรม ARC 592 Communication in Architectural Services ศึกษาลักษณะและวิธีการสื่อสารกับลูกคา ผูรวมงานและ บุคคลอืน่ ๆ ทีม่ สี ว นเกีย่ วของในกระบวนการออกแบบ ศึกษาและเรียน รูเ ทคนิคการสือ่ สารเพือ่ เขาใจความตองการในการออกแบบของลูกคา การสือ่ สารความคิดในการออกแบบและการนําเสนองานออกแบบตอ บุคคลอืน่ ๆ ศึกษาลักษณะและวิธกี ารในการสือ่ สารเพือ่ การโนมนาวใจ และเพื่อการตอรองทางธุรกิจการออกแบบ รวมทั้งองคประกอบทาง ดานจิตวิทยาและสังคมวิทยา อันจะเปนประโยชนตอการพัฒนา บุคลิกภาพและการใหบริการวิชาชีพสถาปตยกรรม

คัดเลือกผูรับเหมา การทําและบริหารสัญญาจาง การพิจารณากรณี พิพาทในการกอสราง การปองกันและแกไขขอโตแยงอันเนื่องจาก เอกสารสัญญา สถป. 496 การบริหารงานกอสราง (3 หนวยกิต) ARC 496 Construction Management ศึกษาเกี่ยวกับหลักการเบื้องตนในการจัดทําแผนบริหาร โครงการ กําหนดหลักเกณฑโครงการ วินิจฉัยการวางแผนงานและ วิธกี อ สราง โครงสรางองคกรกอสรางและบทบาทขององคกรตางๆ ที่ รวมกันทํางานในโครงการกอสราง รวมถึงการควบคุมการกอสราง ดัดแปลง ซอมแซม รื้อถอนหรือเคลื่อนยายอาคาร และติดตามผลให เปนไปตามรูปแบบรายการ

กลุมวิชา Architectural Construction Management สถป. 494 การสํารวจปริมาณและการประมาณราคา (3 หนวยกิต) ARC 494 Quantity Survey and Cost Estimation ศึกษาองคความรูเ บือ้ งตนเกีย่ วกับการสํารวจปริมาณ และ การประมาณราคา การแบงประเภทงานกอสราง การวัดเนื้องาน การ กําหนดราคาตอหนวย การประมาณราคางานเตรียมการเบือ้ งตน การ สํารวจปริมาณและการประมาณราคางานโครงสราง การสํารวจ ปริมาณและการประมาณราคางานสถาปตยกรรม การสํารวจปริมาณ และการประมาณราคางานวิศวกรรมงานระบบในอาคาร การสํารวจ ปริมาณและการประมาณราคางานโยธา การสรุปราคาขัน้ สุดทายของ งานประมาณราคาคากอสราง การควบคุมและการติดตามโครงการ ดานงบประมาณและการเงิน การควบคุมและการติดตามผลการใชวสั ดุ ในหนวยงานสนาม สถป. 495 การจัดการเอกสารกอสราง (3 หนวยกิต) ARC 495 Construction Documentation ศึกษาเกี่ยวกับการจัดทําและการจัดการเอกสารสัญญาที่ เกีย่ วของกับการกอสราง สัญญาประเภทตางๆ การประกวดราคา การ 448 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

สถป. 594 คอมพิวเตอรสําหรับการบริหารงาน (3 หนวยกิต) กอสราง ARC 594 Computer Applications in Construction Management ศึกษาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการนําคอมพิวเตอรมาใช กับกระบวนการจัดการในแตละขั้นตอนของงานกอสรางตลอดจนการ เลือกใชโปรแกรม รวมถึงการประยุกตใชโปรแกรมตางๆ ใหเหมาะสม กับการจัดการระบบ สถป. 595 การจัดการระบบอาคาร (3 หนวยกิต) ARC 595 Building Service Management ศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการสินทรัพยอาคารในงาน สถาปตยกรรม ระบบอุปกรณอาคารประเภทตางๆ เทคนิคการกอสราง การวิเคราะหการทํางานและการจัดการ ดานการใชและการบํารุงรักษา อุปกรณตา งๆ ในงานสถาปตยกรรมทัง้ ทีก่ อ สรางใหม รวมถึงปรับปรุง ซอมแซม หรือบูรณะฟนฟู


กลุมวิชาการออกแบบภายใน กลุมวิชาหลัก อภน. 151 การออกแบบภายใน 1 (4 หนวยกิต) INT 151 Interior Design I ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบภายในเบื้องตน โดยใช กระบวนการคิดและวิเคราะหปญ หาการออกแบบ รวมถึงการทําความ เขาใจในการจัดพื้นที่และประโยชน ใชสอยเพื่อสรางสภาพแวดลอม ภายใน การเรียนการสอนเนนการศึกษาหาประสบการณผานผล งานการออกแบบทัง้ ในอดีตและทีม่ อี ยูในปจจุบนั ฝกฝนดวยการปฏิบตั ิ การในชัน้ เรียน และสามารถนําทักษะนัน้ ไปประยุกตใชในการออกแบบ นอกชั้นเรียน อภน. 152 การออกแบบภายใน 2 (4 หนวยกิต) INT 152 Interior Design II พื้นความรู: สอบไดวิชา อภน. 151 การออกแบบภายใน 1 ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบภายในพื้นที่เพื่อการอยู อาศัย โดยใชกระบวนการคิดและวิเคราะหปญหาการออกแบบ รวม ถึงการทําความเขาใจในการจัดพื้นที่และประโยชน ใชสอยเพื่อสราง สภาพแวดลอมภายในเพือ่ การอยูอ าศัยทีเ่ หมาะสม การเรียนการสอน เนนการศึกษาหาประสบการณผา นผลงานการออกแบบทัง้ ในอดีตและ ที่มีอยูในปจจุบัน ฝกฝนดวยการปฏิบัตกิ ารในชั้นเรียน และสามารถ นําทักษะนั้นไปประยุกตใชในการออกแบบนอกชั้นเรียน อภน. 251 ทฤษฎีและการวิพากษงานสถาปตยกรรม (3 หนวยกิต) ภายใน INT 251 Theory and Criticism of Interior Architecture ศึกษาแนวความคิดบางประการของกระบวนการทางการ ชาง ตอการสรางสรรครูปแบบงานสถาปตยกรรมภายในอาคารทาง ตะวันตกและตะวันออกสมัย หลังสงครามโลกครั้งที่สองจนถึงยุค ปจจุบัน เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูและทําความเขาใจถึงแนวความคิด อันจะนําไปสูก ารออกแบบงานสถาปตยกรรมภายในอาคารยุคปจจุบนั

อภน. 253 การออกแบบภายใน 3 (4 หนวยกิต) INT 253 Interior Design III พื้นความรู: สอบไดวิชา อภน. 152 การออกแบบภายใน 2 ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบภายในพื้นที่เพื่อการพัก อาศัยขนาดกลางถึงใหญ หรือที่มีพื้นที่การใชงานและรองรับกิจกรรม ของผูอ าศัยทีเ่ พิม่ ขึน้ การเรียนการสอนเนนการใชกระบวนการคิดและ วิเคราะหปญหาการออกแบบ การหาประสบการณผานงานออกแบบ จริง โดยนักศึกษาสามารถนําขอจํากัดของงานสถาปตยกรรมมา พิจารณาและวิเคราะหเพื่อสรางงานออกแบบภายในที่เหมาะสม สอดคลองกับความตองการของโจทย ได อีกทั้งยังเนนการฝกปฏิบัติ ทั้งภายในและภายนอกชั้นเรียน รวมถึงการพัฒนาเทคนิควิธีการนํา เสนอผลงานในระดับที่สูงขึ้น อภน. 254 การออกแบบภายใน 4 (4 หนวยกิต) INT 254 Interior Design IV พื้นความรู: สอบไดวิชา อภน. 253 การออกแบบภายใน 3 ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบภายใน พืน้ ทีส่ าธารณะเพือ่ การพาณิชยทเี่ ปนธุรกิจบริการเดีย่ วหรือทีผ่ สมกับพืน้ ทีพ่ กั อาศัย และ เพือ่ รองรับกิจกรรมใหมๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากแนวโนมของธุรกิจและเศรษฐกิจ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยูต ลอดเวลา การเรียนการสอนเนนการวิเคราะห การใชเหตุผล การแลกเปลีย่ นระหวางผูเ รียนและผูส อน กระตุน ใหเกิด การคนควานอกหองเรียน สัดสวนของการทํางานออกแบบภายในและ นอกชั้นเรียนขึ้นอยูกับประเด็นปญหาการออกแบบในเวลานั้นๆ อภน. 352 วิธีการวางแผนโครงการออกแบบภายใน (4 หนวยกิต) INT 352 Programming Methods in Interior Design ศึกษาวิธกี ารวางแผนและจัดทํารายละเอียดโครงการเพือ่ การออกแบบภายใน โดยสามารถวิเคราะหโครงการออกแบบภายใน ดวยการศึกษาถึงกระบวนการคิด การตัง้ คําถาม การนิยามปญหา การ กําหนดเปาหมาย การวางแผน และเขาใจวิธีการคนควา ตลอดจน หลักสูตรปร ญญาตร 449


เขาใจถึงองคประกอบเหลานี้วามีความสัมพันธและเปนปจจัยที่สงผล ตอการกําหนดทิศทางในการออกแบบอยางไร อภน. 355 การออกแบบภายใน 5 (4 หนวยกิต) INT 355 Interior Design V พื้นความรู: สอบไดวิชา อภน. 254 การออกแบบภายใน 4 ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบภายในพื้นที่เพื่อธุรกิจ บริการ ที่รองรับผูใชจํานวนมากและหลากหลาย ทั้งการใชพื้นที่เพื่อ กิจกรรมทีม่ หี ลากองคประกอบและทีม่ คี วามผสมผสานของวัฒนธรรม (Multi-culture) การเรียนการสอนเนนที่การแลกเปลี่ยนความคิดใน การออกแบบ สนับสนุนการวิเคราะหและวิจารณผลงานออกแบบ ทําความเขาใจและทํางานภายใตขอกําหนดทางสถาปตยกรรมของ อาคารขนาดใหญได การสรางผลงานเนนการเรียนรูและการทํางาน รวมกับผูอื่น อภน. 356 การออกแบบภายใน 6 (4 หนวยกิต) INT 356 Interior Design VI พื้นความรู: สอบไดวิชา อภน. 355 การออกแบบภายใน 5 ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบภายในพืน้ ทีม่ คี วามซับซอน ของหนวยงานภายในองคกร มีผูใชอาคารจํานวนมากและมีกิจกรรม ที่ละเอียดซับซอนและมีความสัมพันธเชื่อมโยงกันในหลายรูปแบบ การออกแบบตองการการคนควาเฉพาะดาน ยกตัวอยางเชน โรง พยาบาล สถาบันการศึกษา ศูนยการศึกษา สํานักงาน พิพิธภัณฑ รวมถึงหองปฏิบัติการตางๆ ฯลฯ การศึกษาเนนการคนควานอกชั้น เรียนที่ตองการการวางแผนการจัดระเบียบความคิดและระบบขอมูล รูจักวิเคราะห สังเคราะห และเลือกสรรสิ่งที่เปนประโยชนมาใชในการ ออกแบบไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถนําเสนอผลงานดวยเทคนิค การนําเสนองานในระดับที่สูงขึ้น สามารถสื่อสารไดอยางเขาใจและ ชัดเจน

450 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

อภน. 457 การเตรียมวิทยานิพนธ (3 หนวยกิต) INT 457 Thesis Preparation พื้นความรู: สอบไดวิชา อภน. 356 การออกแบบภายใน 6 เปนขัน้ ตอนการศึกษาทีเ่ ตรียมผูเ รียนใหมคี วามพรอมใน การทําวิทยานิพนธการออกแบบภายในในภาคการออกแบบ โดยผู เรียนเปนผูเสนอหัวขอหรือแนวทางที่ตนเองสนใจ โดยมีประเด็นใน การศึกษาที่ชัดเจนและสามารถเขียนโครงรางของโครงการได โดย สามารถกําหนดเปาหมาย วัตถุประสงค นิยามปญหาของงานออกแบบ อันนําไปสูวิธีการดําเนินการและแนวทางการออกแบบในวิชา อภน. 458 ตอไปได โดยนักศึกษาจะตองนําเสนอหัวขอโครงการฯ ไปจนถึง ขั้นการนําเสนอขอมูลสนับสนุนโครงการฯ ตอคณะกรรมการ โดยมี อาจารยที่ปรึกษาใหคําแนะนําในขั้นตอนตางๆ เมื่อหัวขอไดรับการ อนุมัติแลวจึงสามารถลงทะเบียนวิชา อภน. 458 เพื่อทํางานในภาค ออกแบบตอไป อภน. 458 วิทยานิพนธการออกแบบภายใน (9 หนวยกิต) INT 458 Thesis in Interior Design พื้นความรู: สอบไดวิชา อภน. 457 การเตรียมวิทยานิพนธ นักศึกษาดําเนินการทํางานตอเนือ่ งจากหัวขอวิทยานิพนธ การออกแบบภายในจนถึงสวนของขอมูลสนับสนุนโครงการฯ ที่ไดรบั อนุมตั แิ ลวในวิชา อภน. 457 ในภาคออกแบบและนําเสนอผลงานตาม ขั้นตอนที่ภาควิชาฯ กําหนด ผลงานสุดทายประกอบไปดวยภาค ออกแบบที่เสร็จสมบูรณ ภาคเอกสารที่สรุปผลการคนควา และตอง นําผลงานเสนอตอสาธารณะ นักศึกษาทีจ่ ะลงทะเบียนเรียนวิชานีต้ อ ง มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. สอบไดวิชาแกนและวิชาเอก-บังคับครบทุกวิชา และ 2. วิชาเอก-เลือก (วิชาโท) ตองเรียนมาแลวไมนอยกวา 9 หนวยกิต 3. จะตองมีคะแนนสะสมเฉลี่ยตั้งแต 1.75 ขึ้นไป การ วัดผลสําหรับวิชานี้ ใหถือระดับคะแนนตั้งแต 2.00 (เกรด C ) ขึ้นไป เปนเกณฑสอบผาน


4. สําหรับผูที่ไดระดับคะแนน 1.50 และ 1.00 (เกรด D+ และ D) โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) ไมถึง 2.00 สามารถขอรับ อนุปริญญาได ตามระเบียบมหาวิทยาลัยกรุงเทพวาดวยการศึกษาขัน้ ปริญญาตรี เรื่องการใหอนุปริญญา

กลุมวิชาเทคโนโลยี อภน. 271 วัสดุอุปกรณและการกอสราง (4 หนวยกิต) งานตกแตงภายใน INT 271 Materials and Interior Construction ศึกษาและทําความเขาใจโครงสรางภายในของเครือ่ งเรือน ทัง้ แบบลอยตัวและติดตาย รวมถึงการตกแตงบนผิวสัมผัสและทํางาน รวมกับงานสถาปตยกรรมเพื่อสรางสภาพแวดลอมที่นาอยู นักศึกษา สามารถเขียนแบบโครงสรางและรายการประกอบแบบเพือ่ สือ่ สารกับ ชางผูส รางงานได รูจ กั เลือกใชวสั ดุใหเหมาะสมกับงาน เขาใจผลดีผล เสียของวัสดุชนิดตางๆ และสามารถประกอบหรือติดตั้งไดถูกวิธี รูจัก การแกปญหาเพื่อใหไดงานออกแบบที่ผูออกแบบตองการมากที่สุด การเรียนการสอนเนนการใชหองปฏิบัติการเขียนแบบ และการไดมี ประสบการณจากการไดเห็นขั้นตอนการทํางานจริง หรือจากผู เชี่ยวชาญเฉพาะดาน ไดรับรูขอมูลขาวสารที่ทันสมัย และติดตาม เทคโนโลยีดานการผลิตวัสดุ อุปกรณอยูตลอดเวลา อภน. 372 การศึกษาโครงสรางงานสถาปตยกรรม (3 หนวยกิต) ภายในสาธารณะ INT 372 Public Interior Architectural Studies ศึกษาและเขาใจโครงสรางทางสถาปตยกรรมและวิธีการ กอสรางอาคารขนาดกลางถึงขนาดใหญ โดยผานการฝกปฏิบัติการ เขียนแบบงานสถาปตยกรรมเฉพาะสวนหรือแบบขยายที่สําคัญ รูจัก การเลื อ กใช วั ส ดุ อุ ป กรณ และเข า ใจรายการประกอบแบบ สถาปตยกรรม สามารถวิเคราะหลกั ษณะทางสถาปตยกรรมของอาคาร ประเภทตางๆ ได ทัง้ ลักษณะภายนอกและภายใน อันจะเปนประโยชน ตอการทํางานรวมกับสถาปนิก

อภน. 373 การออกแบบเครื่องเรือน (3 หนวยกิต) INT 373 Furniture Design ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบเครือ่ งเรือนเพือ่ การตกแตง ภายใน โดยมีเนื้อหาครอบคลุมถึงการทําความเขาใจในรูปแบบและ แนวความคิด ประวัตศิ าสตรการออกแบบเครือ่ งเรือน กายวิภาคและ กายภาพเชิงกล วัสดุและวิธีการผลิต นักศึกษาสามารถนําความรูไป ใชประกอบในการออกแบบภายในตอไป

กลุมวิชาสนับสนุน อภน. 283 ระเบียบวิธีวิจัยและกระบวนการ (4 หนวยกิต) ในการออกแบบ INT 283 Research Methodology and Process in Design ศึกษาถึงกระบวนการคิดของงานออกแบบสถาปตยกรรม ภายในเพื่อใหเขาใจถึงความหมายและการตีความผานกระบวนการ วิเคราะหงานออกแบบ (design critique) และในวิธคี ดิ แบบกระบวนการ วิจัย เพื่อใหผูเรียนไดเขาใจในกระบวนการคิดอยางเปนระบบและ สามารถถายทอดแนวความคิดสูงานออกแบบได อภน. 381 การปฏิบัติงานวิชาชีพ (0 หนวยกิต) INT 381 Internship 0 พื้นความรู: ตองสอบผานวิชาเอก-บังคับไมตํ่ากวา 53 หนวยกิต และจะตองลงทะเบียนเรียนวิชา อภน. 355 และวิชา อภน. 373 ในภาคเรียนกอนหนาที่จะมีการ ฝกงานอยางนอย 1 ภาค ฝกปฏิบตั งิ านในหนวยงานทีเ่ กีย่ วของและไดรบั การอนุมตั ิ จากภาควิชาฯ เพื่อศึกษาระบบการทํางานและการแกปญหา โดยใช เวลาฝกงานไมตํ่ากวา 8 สัปดาหหรือประมาณ 320 ชั่วโมง ขอกําหนด 1. นักศึกษาทีจ่ ะฝกงานตองผานการศึกษามาแลวไมนอ ย กวา 6 ภาคการศึกษา 2. การวัดผลใหถือเกณฑ S และ U เปนเกณฑผานและ ไมผานตามลําดับ หลักสูตรปร ญญาตร 451


อภน. 482 การประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมภายใน (3 หนวยกิต) และมัณฑนศิลป INT 482 Professional Practice in Interior Architecture ศึกษาแนวทางในการประกอบวิชาชีพการออกแบบภายใน ความเปนมาของวิชาชีพ หลักปฏิบัติวิชาชีพ การจัดการสํานักงาน ออกแบบ ความสัมพันธและความเกี่ยวของกับวิชาชีพอื่นๆ จรรยา บรรณ และพันธะกรณีของผูป ระกอบวิชาชีพ เงือ่ นไขในการประกอบ ธุรกิจ การขออนุญาตการปลูกสราง รวมทัง้ กฎหมายทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ เปนหลักในการนําไปใชในการประกอบวิชาชีพตอไป

กลุม Hospitality Design อภน. 391 การสรางแนวความคิดและนวัตกรรม (3 หนวยกิต) ในงานออกแบบพื้นที่การใหบริการ INT 391 Conceptual Thinking and Innovation in Hospitality Design ศึกษาแนวความคิดในการออกแบบและประเด็นรวมสมัย ของพื้นที่ใหบริการในประเภทตางๆ เชน โรงแรม รีสอรท สปา ราน อาหาร ฯลฯ และนวัตกรรมในงานออกแบบประเภทของพืน้ ที่ใหบริการ โดยมุงเนนใหผูเรียนสามารถรวบรวมและสรางแนวความคิดสําหรับ งานออกแบบและสามารถถายทอดแนวความคิดใหเปนรูปธรรมและ สามารถพัฒนาสูงานออกแบบตอไป อภน. 392 การออกแบบรีสอรทและสปา (3 หนวยกิต) INT 392 Resort and Spa Design ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบโครงการทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ ทางในดานธุรกิจการบริการ (Hospitality Business) ประเภทรีสอรท และสปา โดยเฉพาะการใหบริการทีเ่ ปนการบูรณาการควบคูก นั ระหวาง การบริการดานที่ พัก การทองเที่ยว และการบริการดานสุขภาพ รวม ถึงการบําบัดตางๆ ทัง้ แผนไทยและสากล การทําสปา และบริการดาน บําบัดอื่นๆ ทั้งกระบวนการและพฤติกรรมผูใช เพื่อออกแบบใหตอบ 452 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

สนองไดอยางเต็มที่และมีประสิทธิภาพในการใชงานรวมถึงความ เขาใจในเชิงธุรกิจการใหบริการ อภน. 393 สภาพแวดลอมในการออกแบบอาคาร (3 หนวยกิต) เพื่อการโรงแรม INT 393 Environments of Hospitality Design ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบสภาพแวดลอมภายในของ ธุรกิจการบริการดานการโรงแรม และอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเริ่ม ตัง้ แตการศึกษาพฤติกรรมผูใ ช การศึกษาและวิเคราะหสถานทีต่ งั้ และ สิ่งแวดลอม รวมไปถึงลักษณะทางธุรกิจ และการใหบริการและพื้นที่ สวนตางๆ เพื่อรองรับกิจกรรมที่เกิดขึ้นจากแนวโนมของธุรกิจที่ ตองการความแปลกใหม เพือ่ สรางแนวความคิดในการออกแบบสภาพ แวดลอมและสถาปตยกรรมเพื่อธุรกิจการ โรงแรม เพื่อใหผูเรียนเกิด ความเขาใจและสามารถออกแบบและวางโปรแกรมในการจัดสภาพ แวดลอมภายในของพื้นที่เพื่อการโรงแรม อภน. 491 การออกแบบและวางผังพื้นที่บริการ (3 หนวยกิต) อาหารและเครื่องดื่ม INT 491 Food and Beverage Space Planning and Design ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบโครงการทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ ทางในดานธุรกิจการบริการ ดานอาหารและเครื่องดื่ม (Food and Beverage Business) ในลักษณะตางๆ จากการศึกษากระบวนการใน การดําเนินธุรกิจที่มีการบูรณาการระหวางการสรางสรรคผลงาน ออกแบบทีแ่ ตกตางและโดดเดน และความเขาใจในธุรกิจการใหบริการ ดานอาหารและเครือ่ งดืม่ และพฤติกรรมการใชงานของลูกคา ลักษณะ เฉพาะของอาหาร วัฒนธรรม และรูปแบบของการใชพื้นที่และเครื่อง เรือนในแบบตางๆ เพือ่ การสรางความสัมพันธของพืน้ ทีต่ า งๆ ในธุรกิจ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม ตลอดจนสถานที่ดานความบันเทิง ตางๆ ที่เกี่ยวของ


อภน. 495 เอกสารงานกอสรางใน (3 หนวยกิต) งานออกแบบภายใน INT 495 Construction Document in Interior Design ศึกษาและปฏิบัติการทําเอกสารในขั้นตอนงานกอสราง ตั้ ง แต การเขี ย นแบบก อ สร า งและการประมาณราคาสํ า หรั บ งาน ออกแบบภายในจนถึ ง การสื่ อ สารระหว า งองค กรต า งๆ ตั้ ง แต กระบวนการออกแบบไปจนถึงขั้นตอนการกอสรางจนเสร็จสมบูรณ

อภน. 396 การออกแบบและจัดการพิพิธภัณฑ (3 หนวยกิต) INT 396 Museum Design and Management ศึกษาถึงงานการออกแบบและบริหารทรัพยากรกายภาพ ที่เกี่ยวของกับสภาพแวดลอมภายในของอาคารประเภทพิพิธภัณฑ และสถานที่จัดแสดงงานตางๆ โดยคํานึงถึงการจัดการพิพิธภัณฑใน แงของระบบการจัดการอาคาร สภาพแวดลอมภายใน การจัดแสดง นิทรรศการ ความปลอดภัยของวัตถุจัดแสดง งานศิลปะ และผูใช อาคาร ทั้งในแงของผูออกแบบและในฐานะของผูจัดการพิพิธภัณฑ

กลุม Exhibition Design and Event Management อภน. 394 การสรางแนวความคิดและนวัตกรรม (3 หนวยกิต) ในงานออกแบบนิทรรศการ INT 394 Conceptual Thinking and Innovation in Exhibition Design ศึกษาแนวความคิดในการออกแบบและประเด็นรวมสมัย ของพื้ น ที่ จั ด นิ ท รรศการในลั ก ษณะต า งๆ และนวั ต กรรมในงาน ออกแบบนิทรรศการ โดยมุงเนนใหผูเรียนสามารถรวบรวมและสราง แนวความคิดสําหรับงานออกแบบและสามารถถายทอดแนวความคิด ใหเปนรูปธรรมและสามารถพัฒนาสูงานออกแบบตอไป อภน. 395 การออกแบบนิทรรศการ (3 หนวยกิต) INT 395 Exhibition Design ศึกษาและปฏิบัติถึงหลักการและกระบวนการของการ ออกแบบนิทรรศการตั้งแตการออกแบบหองจัดแสดงงานศิลปะ นิทรรศการเคลือ่ นที่ การจัดแสดงทางการคาและเชิงพาณิชย ทัง้ แบบ ชัว่ คราวและถาวร โดยในกระบวนการเรียนรูต อ งคํานึงถึงองคประกอบ ตางๆ ตั้งแตการวางผัง การสรางแนวความคิด เทคนิควิธีการนํา เสนอ นวัตกรรมในการจัดแสดง มาตรฐานและความปลอดภัยในการ จัดการพืน้ ทีส่ าธารณะ โดยคํานึงถึงความเขาใจและการมีสว นรวมของ ผูเขาชมนิทรรศการ

อภน. 492 การบริหารการสรางสรรคกิจกรรม (3 หนวยกิต) INT 492 Event Management ศึ ก ษาการบริ ห ารการสร า งสรรค กิ จ กรรมในระดั บ ผลิตภัณฑและระดับองคกร โดยเรียนรูเกี่ยวกับประเภทและรูปแบบ ของกิจกรรม การออกแบบ การวางแผน การกําหนดเปาหมาย กลยุทธ การดําเนินงาน การประเมินผล และกระบวนการคิดกิจกรรมเชิง สรางสรรค อภน. 495 เอกสารงานกอสรางใน (3 หนวยกิต) งานออกแบบภายใน INT 495 Construction Document in Interior Design ศึกษาและปฏิบัติการทําเอกสารในขั้นตอนงานกอสราง ตั้ ง แต การเขี ย นแบบก อ สร า งและการประมาณราคาสํ า หรั บ งาน ออกแบบภายในจนถึ ง การสื่ อ สารระหว า งองค กรต า งๆ ตั้ ง แต กระบวนการออกแบบไปจนถึงขั้นตอนการกอสรางจนเสร็จสมบูรณ

หลักสูตรปร ญญาตร 453


กลุม Retail Space Design อภน. 397 การสรางแนวความคิดและนวัตกรรม (3 หนวยกิต) ในงานออกแบบพื้นที่คาปลีก INT 397 Conceptual Thinking and Innovation in Retail Space ศึกษาแนวความคิดในการออกแบบและประเด็นรวมสมัย ของพื้นที่คาปลีก และนวัตกรรมในงานออกแบบประเภทของพื้นที่คา ปลีก โดยมุงเนนใหผูเรียนสามารถรวบรวมและสรางแนวความคิด สําหรับงานออกแบบและสามารถถายทอดแนวความคิดใหเปนรูป ธรรมและสามารถพัฒนาสูงานออกแบบตอไป อภน. 398 การออกแบบพื้นที่คาปลีก (3 หนวยกิต) INT 398 Retail Space Design ศึกษาและปฏิบัติถึงแนวทางในการออกแบบพื้นที่เชิง พาณิชยประเภทคาปลีกโดยครอบคลุมตั้งแตพื้นที่คาปลีกใหม การ ขยายพื้นที่ และการปรับปรุงพื้นที่และภาพลักษณ โดยผูเรียนตอง คํานึงถึงองคประกอบตางๆ ในกระบวนการออกแบบตั้งแตในแงของ ความงาม มาตรฐานในเชิงสัดสวนทีเ่ หมาะสม และในแงของการตลาด เชน ลักษณะเฉพาะของสินคา แผนการตลาด อัตลักษณ กลยุทธ และตองสามารถสนับสนุนใหพื้นที่คาปลีกเหลานั้นสามารถมุงไป สูเปาหมายที่ตั้งไว อภน. 399 กลไกทางสังคมกับการออกแบบ (3 หนวยกิต) พื้นที่คาปลีก INT 399 Social Mechanism and Retail Space Designing ศึกษาแนวคิดในการกําหนดรูปแบบและการออกแบบพืน้ ที่ เพื่อการคา อันเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของการบริโภคในสังคมตะวันตกและสังคมตะวันออก รวมทั้งศึกษาพัฒนาการของการเปนพื้นที่เพื่อการแลกเปลี่ยนสินคา สูค วามเปนกลไกของสังคม อันจะนําไปสูค วามเขาใจในพัฒนาการของ 454 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

งานสถาปตยกรรมและการออกแบบพืน้ ทีภ่ ายในของพืน้ ทีเ่ พือ่ การคา ในปจจุบันมากขึ้น อภน. 493 อัตลักษณและเรขศิลปในสภาพแวดลอม (3 หนวยกิต) ในงานออกแบบภายใน INT 493 Corporate Identity and Environmental Graphic in Interior Design ศึกษาถึงองคประกอบตางๆ ที่เกี่ยวของกับการออกแบบ สภาพแวดลอมภายในในสวนของอัตลักษณและเรขศิลป ภายในอาคาร ซึง่ เปนศาสตรทรี่ วมเอางานออกแบบกราฟฟค สถาปตยกรรม การจัด สภาพแวดลอมและการสรางพื้นที่ภายในเพื่อถายทอดงานออกแบบ ใหสะทอนถึงภาพลักษณขององคกร ผูเ รียนจะตองคํานึงถึงมุมมองใน สภาพแวดลอมที่สรางขึ้นผานองคประกอบตางๆ ในลักษณะของ เรขศิลป สัญลักษณสอื่ สาร ปายทางสัญจร และการปรับสภาพแวดลอม ใหสื่อถึงสถานที่และองคกร อภน. 495 เอกสารงานกอสรางใน (3 หนวยกิต) งานออกแบบภายใน INT 495 Construction Document in Interior Design ศึกษาและปฏิบัติการทําเอกสารในขั้นตอนงานกอสราง ตั้ ง แต การเขี ย นแบบก อ สร า งและการประมาณราคาสํ า หรั บ งาน ออกแบบภายในจนถึ ง การสื่ อ สารระหว า งองค กรต า งๆ ตั้ ง แต กระบวนการออกแบบไปจนถึงขั้นตอนการกอสรางจนเสร็จสมบูรณ


หมวดวิชานิเทศศาสตร นทศ. 101 การสื่อสารเบื้องตน (3 หนวยกิต) COM 101 Introduction to Communication ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีพนื้ ฐานทางการสือ่ สาร พรอมทัง้ องคประกอบและปจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลตอกระบวนการการสือ่ สารในบริบท ตางๆ เชน การสื่อสารระหวางบุคคล การสื่อสารองคกร การสื่อสาร ระหวางวัฒนธรรม การสือ่ สารมวลชน ฯลฯ รวมถึงการศึกษาบทบาท หนาที่ความรับผิดชอบ และจริยธรรมจรรยาบรรณในการสื่อสารเพื่อ ใหบรรลุวัตถุประสงคทั้งทางสังคมและธุรกิจ นทศ. 102 ความรูเบื้องตนทางกฎหมาย (3 หนวยกิต) สําหรับนิเทศศาสตร COM 102 Introduction to Law for Communication Arts ศึกษาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย ลักษณะของ กฎหมายแพงและกฎหมายอาญา ตลอดจนลักษณะของความรับผิด ชอบทางแพงและทางอาญา ศึกษาสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิด เห็น ขอบเขตของการใชสทิ ธิ และความรับผิดชอบทางกฎหมายของ สื่ อ มวลชน รวมทั้ ง การปู พื้ น ฐานสํ า หรั บ การศึ ก ษาประเด็ น ของ กฎหมายพิเศษอื่นที่เกี่ยวของกับสื่อมวลชน เชน พระราชบัญญัติจด แจงการพิมพ พระราชบัญญัตขิ อ มูลขาวสารของทางราชการ พระราช บัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และโทรคมนาคม พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค เปนตน

นทศ. 103 วาทวิทยา (3 หนวยกิต) COM 103 Speech ศึกษาหลักเกณฑและรูปแบบการพูดประเภทตางๆ การ เตรียมขอมูล การนําเสนอความคิดผานการพูด และการใชสอื่ ประกอบ การฝกฝนการพูดตามวัตถุประสงคและโอกาสที่แตกตางกัน เพื่อให สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันและการประกอบอาชีพไดอยางมี ประสิทธิภาพ นทศ. 104 การถายภาพดิจิทัล (3 หนวยกิต) COM 104 Digital Photography ศึกษาทฤษฎีและฝกปฏิบัติการถายภาพเบื้องตนในระบบ ดิจทิ ลั เพือ่ ใหมคี วามรูแ ละความเขาใจเกีย่ วกับกลองและอุปกรณตา งๆ ของกลองดิจทิ ลั สะทอนภาพเลนสเดีย่ ว ( DSLR) วิธกี ารปรับปริมาณ แสง เทคนิคการถายภาพพืน้ ฐาน การสือ่ สารผานภาพ โดยอาศัยองค ประกอบภาพที่สวยงาม และการตกแตงภาพถายโดยใชโปรแกรม จัดการภาพถายทีท่ นั สมัย เพือ่ ใหไดไฟลภาพทีม่ คี ณ ุ ภาพเหมาะสมกับ งานที่จะนําไปใชตามวัตถุประสงคของภาพถายนั้นๆ นทศ. 105 การวิจัยการสื่อสารเบื้องตน (3 หนวยกิต) COM 105 Introduction to Communication Research พื้นความรู: เคยเรียน สถ. 203 ศึกษาความหมาย ประเภท แนวคิดพืน้ ฐาน และประโยชน ของการวิจยั ทางนิเทศศาสตร ขัน้ ตอน การดําเนินการวิจยั การกําหนด ปญหานําวิจัย การสรางกรอบแนวคิดการวิจัย การทบทวนทฤษฏี แนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เทคนิคการเก็บรวบรวมขอมูล การ วิเคราะหขอมูล การสรุปผลการวิจัย และการนําเสนอ รวมถึงการนํา ความรูเชิงทฤษฎีไปสูการฝกปฏิบัติที่สอดแทรกประเด็นจรรยาบรรณ ในการวิจัย

หลักสูตรปร ญญาตร 455


นทศ. 106 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ (3 หนวยกิต) COM 106 Integrated Marketing Communications ศึกษาความหมาย ความสําคัญ และองคประกอบของการ สือ่ สารการตลาดแบบบูรณาการ กระบวนการการสือ่ สารการตลาดแบบ บูรณาการ การสรางความสัมพันธกับผูที่มีสวนเกี่ยวของผานการ สื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ความสําคัญพฤติกรรมผูบริโภคที่มี ตอการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ และเครื่องมือการสื่อสารการ ตลาดแบบตางๆ

นทศ. 112 วารสารศาสตรเบื้องตน (2 หนวยกิต) COM 112 Introduction to Journalism ศึกษาวิวัฒนาการ แนวคิด และปรัชญาพื้นฐานทาง วารสารศาสตร กระบวนการวารสารศาสตร ในบริบทของการหลอม รวมสื่อ กระบวนการของงานวารสารศาสตร ความหมายและองค ประกอบของขาว บทบาท หนาที่ สิทธิและเสรีภาพ ความรับผิดชอบ คุณสมบัติ และจรรยาบรรณของนักวารสารศาสตร รวมทั้งศึกษาถึง อิทธิพลของงานวารสารศาสตรที่มีตอสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ตลอดจนการนําเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาใชในงานวารสารศาสตร

นทศ. 107 สื่อมวลชนกับสังคม (3 หนวยกิต) COM 107 Mass Media and Society ศึกษาความเปนมา ลักษณะและธรรมชาติของสือ่ มวลชน องคประกอบและกระบวนการการผลิตสาร บทบาท หนาที่ จริยธรรม และความรับผิดชอบของสื่อมวลชนที่มีตอสังคม ผลกระทบตอผูรับ สาร อิทธิพลของสื่อมวลชนตอการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม โดยเนนการวิเคราะหวจิ ารณตามหลักทฤษฎีและแนวความ คิดทางดานการสื่อสาร

นทศ. 113 การโฆษณาเบื้องตน (2 หนวยกิต) COM 113 Introduction to Advertising ศึกษาความหมาย ประเภท บทบาท หนาที่ แนวคิดและ หลักพื้นฐานของกระบวนการการโฆษณา ในระบบตลาด รูปแบบใน การดําเนินธุรกิจการโฆษณา หลักการวางแผนการรณรงค โฆษณา ผลกระทบของการโฆษณาตอสังคม ตลอดจนการโฆษณาขามชาติ

นทศ. 111 การประชาสัมพันธเบื้องตน (2 หนวยกิต) COM 111 Introduction to Public Relations ศึกษาประวัตคิ วามเปนมา วิวฒั นาการของการประชาสัมพันธ ความหมาย องคประกอบและกระบวนการดําเนินงาน เครือ่ งมือสือ่ สาร เพื่ อ งานประชาสั ม พั น ธ ความสํ า คั ญ บทบาทหน า ที่ ข องฝ า ย ประชาสัมพันธ ในหนวยงานประเภทตางๆ และบริษัทที่ปรึกษาดาน การประชาสัมพันธ บทบาทของการประชาสัมพันธที่มีผลตอระบบ เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง คุณสมบัติและจรรยาบรรณของ นักประชาสัมพันธ ตลอดจนแนวโนมและชองทางในการประกอบ อาชีพนักประชาสัมพันธ

456 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

นทศ. 114 ศิลปะการแสดงเบื้องตน (2 หนวยกิต) COM 114 Introduction to Performing Arts ศึกษาประวัตแิ ละวิวฒ ั นาการของการแสดง การนําศิลปะ การแสดงมาใชเปนเครื่องมือในการสื่อสาร ทฤษฎีและความรูพื้นฐาน เกี่ยวกับโครงสราง องคประกอบ และรูปแบบตางๆ ของการแสดง ลั ก ษณะและความแตกต า งของการแสดงสดและการแสดงผ า น สือ่ มวลชนแตละประเภท รวมถึงศึกษาความสัมพันธของการแสดงกับ การเปลีย่ นแปลงทางสังคม ตลอดจนจรรยาบรรณในวิชาชีพศิลปะการ แสดง


นทศ. 115 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนเบือ้ งตน (2 หนวยกิต) COM 115 Introduction to Broadcasting ศึกษาวิวฒ ั นาการดานโครงสรางของการกระจายเสียงและ แพรภาพ แนวคิดทฤษฎีพนื้ ฐาน บทบาท หนาที่ และอิทธิพลของการ กระจายเสียงและแพรภาพในสังคมยุคขอมูลขาวสาร นทศ. 116 การภาพยนตรเบื้องตน (2 หนวยกิต) COM 116 Introduction to Film ศึกษาคุณคา บทบาท หนาที่ และกระบวนการสรางสรรค งานภาพยนตร ตําแหนงหนาที่ ความรับผิดชอบ และคุณสมบัติของ บุคลากรในอุตสาหกรรมภาพยนตร เพื่อเตรียมความพรอมในการ ศึกษาภาพยนตรดานการผลิตภาพยนตร การบริหารงานภาพยนตร ตลอดจนดานภาพยนตรศึกษาและการผลิตภาพยนตรทางเลือก นทศ. 117 การสื่อสารตราเบื้องตน (2 หนวยกิต) COM 117 Introduction to Brand Communications ศึกษาขอบเขต ความหมาย องคประกอบของแบรนด บทบาทและความสําคัญของแบรนดในชีวติ ประจําวัน ประเภทแบรนด ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับแบรนด เขาใจความแตกตางระหวางแบรนด ผลิตภัณฑ และเครื่องหมายการคา ปจจัยและกระบวนการที่ทําให แบรนดประสบความสําเร็จ โครงสรางบริษัทที่ปรึกษา และบริษัท ตัวแทนดานการสื่อสารตรา นทศ. 151 การประชาสัมพันธธุรกิจบันเทิง (3 หนวยกิต) COM 151 Public Relations for Entertainment Business ศึกษาบทบาทและความสําคัญของการประชาสัมพันธทมี่ ี ตอธุรกิจบันเทิง การกําหนดแนวความคิด ขั้นตอน และกลยุทธใน การวางแผนงานประชาสัมพันธ ในวงการธุรกิจบันเทิงตางๆ เชน ภาพยนตร ละคร ดนตรี ฯลฯ ตลอดจนศึกษาปญหาอุปสรรค แนวทาง การแกไข และจรรยาบรรณในการดําเนินงานประชาสัมพันธธุรกิจ บันเทิง

นทศ. 152 การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อวิชาชีพ (3 หนวยกิต) การประชาสัมพันธ COM 152 Personality Development for Public Relations Profession ศึกษาบทบาท และความสําคัญของบุคลิกภาพในวิชาชีพ การประชาสัมพันธ วิธกี ารพัฒนาบุคลิกภาพและลักษณะนิสยั มารยาท และการวางตัวใหเหมาะสมกับสังคมและวัฒนธรรม การปรากฏตัวและ การพูดในทีช่ มุ ชน ศึกษาเทคนิคการสรางมนุษยสัมพันธกบั ประชาชน กลุมตางๆ บุคลิกภาพของการเปนผูนํา นทศ. 153 การประชาสัมพันธเพื่อธุรกิจขนาดกลาง (3 หนวยกิต) และขนาดยอม COM 153 Public Relations for Small and Medium Business Enterprises ศึกษาทฤษฎี และแนวคิด เกี่ยวกับบทบาทและวิธีการ ดําเนินงานประชาสัมพันธสาํ หรับหนวยงานธุรกิจขนาดกลางและขนาด ยอม การจัดรูปหนวยงานประชาสัมพันธ การสรางภาพลักษณและ การจัดกิจกรรมเพื่อประชาสัมพันธกับกลุมเปาหมายที่เกี่ยวของ นทศ. 154 การประชาสัมพันธอุตสาหกรรม (3 หนวยกิต) สรางสรรค COM 154 Public Relations for Creative Industries ศึกษาความหมาย ความสําคัญ ยุทธศาสตร และแนวทาง การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรค ภาพรวมของอุตสาหกรรมสรางสรรค ในประเทศไทย คุณคาและบทบาทของการประชาสัมพันธในการขับ เคลือ่ นและสรางโอกาสใหกบั ผูป ระกอบการในอุตสาหกรรมสรางสรรค รวมทัง้ การนํากลยุทธและกลวิธดี า นการประชาสัมพันธมาพัฒนาทักษะ และความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการไทยใหมีความคิด สรางสรรค และสามารถตอยอดความไดเปรียบจากความหลากหลาย และเอกลั ก ษณ ข องวั ฒ นธรรมและภู มิ ป  ญ ญาไทยไปสู  การสร า ง นวัตกรรมเพือ่ ตอบสนองความตองการของตลาดและกาวทันตอกระแส การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก หลักสูตรปร ญญาตร 457


นทศ. 155 การเจรจาตอรองและการแกปญหา (3 หนวยกิต) ความขัดแยง COM 155 Negotiation and Conflict Resolution ศึกษาศิลปะของนักประชาสัมพันธ ในการเจรจาตอรอง ระหวางองคกรกับผูที่เกี่ยวของ ทฤษฎีและกระบวนการเจรจาตอรอง ที่นํามาใชแกปญหาที่ผูบริหารองคกรธุรกิจเผชิญอยูเพื่อลดปญหา ความขัดแยง ทัง้ ในระดับบุคคลและองคกร ศึกษาทฤษฎีความขัดแยง และการแกไขความขัดแยง การสรางเสริมความสามารถในการคิดเชิง วิเคราะห การตัดสินใจอยางสรางสรรค ทักษะการตัดสินใจ ทักษะการ แกปญ หา ทักษะการจัดการกับอารมณ การสรางเสริมความมัน่ คงทาง อารมณ และความสามารถในการควบคุมตนเองตลอดจนการสราง ทักษะ การสื่อสารระหวางบุคคล นทศ. 156 การประชาสัมพันธทางการเมือง (3 หนวยกิต) COM 156 Political Public Relations ศึกษาลักษณะ บทบาท และวิธีการดําเนินงานประชาสัมพันธเพื่อกิจกรรมทางการเมืองรูปแบบตางๆ อาทิ การใหความรู ทางการเมือง การสรางความมีสวนรวมทางการเมือง การทําประชา พิจารณ การจัดกิจกรรมรณรงคทางการเมือง กลยุทธการสรางภาพ ลักษณใหกับนักการเมืองและพรรคการเมือง นทศ. 157 การประชาสัมพันธธุรกิจสันทนาการ (3 หนวยกิต) COM 157 Public Relations for Recreation ศึกษาความสําคัญ บทบาท หลักการและแนวทางการ ดําเนินงานประชาสัมพันธธุรกิจสันทนาการ การกําหนดกลยุทธ การ วางแผนประชาสัมพันธอยางสรางสรรคเพื่อสรางมูลคาเพิ่มทาง เศรษฐกิจใหกับองคการที่ประกอบธุรกิจสันทนาการ เชน ธุรกิจสปา และสุขภาพ สถานเสริมความงาม ธุรกิจดานการพักผอนและทองเทีย่ ว สถานบันเทิง

458 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

นทศ. 158 การสื่อสารเพื่อสุขภาพ (3 หนวยกิต) COM 158 Health Communication ศึกษาการใชกลยุทธการสือ่ สารการประชาสัมพันธในการ ถายทอดขอมูลขาวสารสุขภาพจากองคกรทัง้ ภาครัฐและเอกชนไปยัง บุคคลและสังคม เพื่อชวยใหบุคคลและสังคมไดตระหนักถึงประเด็น การเสริมสรางสุขภาพทั้งทางดานรางกายและจิตใจ สถานการณ สุขภาพในปจจุบนั ภาวะเสีย่ งทางสุขภาพตางๆ ไดรบั ขอมูลสุขภาพที่ ถูกตอง สมํา่ เสมอ และนาเชือ่ ถือ รวมถึงการเปดรับสือ่ ประชาสัมพันธ และการใชขอ มูลเกีย่ วกับสุขภาพเพือ่ สงเสริมและแกไขปญหาสุขภาพ นทศ. 159 การประชาสัมพันธบุคคลผูมีชื่อเสียง (3 หนวยกิต) COM 159 Public Relations for Celebrity ศึกษาถึงความหมาย ความสําคัญ และบทบาทของการ ดําเนินงานประชาสัมพันธใหกบั บุคคลผูม ชี อื่ เสียง หรือผูป ระสบความ สําเร็จในทุกสายอาชีพ เชน ผูบริหารองคกร นักการเมือง ดารา นักแสดง นักรอง นักกีฬา หรือพิธีกร การกําหนดกลยุทธการ ประชาสัมพันธ การวางแผนการประชาสัมพันธ วิธีการสรางและ การเลือกใชเครือ่ งมือประชาสัมพันธเพือ่ สรางการรับรู การยอมรับ ชือ่ เสียงและมีภาพลักษณที่ดี รวมทั้งศึกษาถึงประเภท อิทธิพล และวิธี การนําบุคคลผูมีชื่อเสียงมาใชในการดําเนินงานประชาสัมพันธเพื่อ สรางภาพลักษณแกองคการและสินคา นทศ. 160 การเขียนเชิงสรางสรรคสําหรับ (3 หนวยกิต) งานกิจกรรมและการนําเสนอ COM 160 Creative Writing for Event and Presentation ศึกษาถึงหลักการและเทคนิคการเขียนเชิงสรางสรรคเพือ่ งานกิจกรรมในรูปแบบตางๆ เชน บทวีดิทัศนเพื่อการนําเสนอ กําหนดการ บทกํากับเวที บทพิธีกร บทสุนทรพจน ฯลฯ ที่เหมาะสม สําหรับกิจกรรมประเภทตางๆ เชน กิจกรรมสงเสริมการตลาด กิจกรรม สรางเสริมภาพลักษณองคกร กิจกรรมเพือ่ สังคม กิจกรรมเฉลิมฉลอง กิจกรรมบันเทิง เปนตน


นทศ. 161 การวางแผนและการบริหารกิจกรรม (3 หนวยกิต) เชิงสรางสรรค COM 161 Creative Event Planning and Management ศึกษาถึงหลักการสรางสรรคและการวางแผนการสื่อสาร ดวยกิจกรรมประเภทตางๆ ตัง้ แตการทําความเขาใจโจทย การวิเคราะห สภาพการณ การกําหนดเปาหมาย การกําหนดกลยุทธ การสรางสรรค รายละเอียดกิจกรรม การคาดการณถึงปจจัยตอความสําเร็จและผล กระทบของกิจกรรม การบริหารจัดการกิจกรรมในมิติตางๆ ตลอดจน วิธีการประเมินผลกิจกรรม เทคนิคการจัดทําและการเขียนแผนโครง งานกิจกรรมประเภทตางๆ รวมทัง้ ฝกทักษะโดยการนําแผนไปประยุกต ปฏิบัติจริง นทศ. 251 ทักษะการเปนผูประกาศ (3 หนวยกิต) COM 251 Newscaster Performance ศึกษาเกีย่ วกับเทคนิคในการเปนผูบ รรยาย ผูป ระกาศขาว รายงานขาว และผูดําเนินรายการ โดยเนนที่วิธีออกเสียงที่ถูกตอง เหมาะสม การพูดออกอากาศ การลงเสียง (Voice Over) เรียนรูและ ฝกปฏิบัติการใชเสียงที่เหมาะสมกับรูปแบบรายการตางๆ นทศ. 252 ประวัติศาสตรวารสารศาสตร (3 หนวยกิต) COM 252 History of Journalism ศึกษาประวัติศาสตรและวิวัฒนาการวารสารศาสตร ใน ประเทศไทยและตางประเทศ ปจจัย ทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ทีม่ ผี ลตอการดําเนินงานทางดานวารสารศาสตร ตลอด จนศึกษาประเด็นตางๆ ทีน่ า สนใจ เชน วิวฒ ั นาการของขาว การหลอม รวมสื่อ เสรีภาพของสื่อมวลชน การเซ็นเซอร ความสัมพันธของ วารสารศาสตรกับประวัติศาสตรสังคม เชน บทบาทในการเรียกรอง ประชาธิปไตย เปนตน

นทศ. 253 การรายงานขาวกีฬา (3 หนวยกิต) COM 253 Sport Reporting ศึกษาพัฒนาทักษะ และเทคนิคในการเก็บรวบรวมขอมูล การสัมภาษณทงั้ ใน และนอกสนามแขงขัน เพือ่ นําไปใชในการรายงาน ขาวกีฬาแตละประเภท รวมไปถึงการนําเสนอขอมูลขาวสารในรูปแบบ อืน่ ๆ เชน การเขียนสารคดีเชิงสัมภาษณ บทความ คอลัมนประจําฯลฯ โดยสามารถนําเนื้อหาไปนําเสนอไดในสื่อหลายประเภท นทศ. 254 การรายงานขาวเทคโนโลยีสารสนเทศ (3 หนวยกิต) COM 254 ICT Reporting ศึกษาพัฒนาทักษะ และเทคนิคในการเก็บรวบรวมขอมูล การสัมภาษณ เพื่อนําไปใชในการรายงานขาวเทคโนโลยีสารสนเทศ แตละประเภท รวมไปถึงการนําเสนอขอมูลขาวสารในรูปแบบอื่นๆ เชน การเขียนสารคดีเชิงสัมภาษณ บทความ คอลัมนประจําฯลฯ โดย สามารถนําเนื้อหาไปนําเสนอไดในสื่อหลายประเภท นทศ. 255 การแปลขาว (3 หนวยกิต) COM 255 News Translation ศึกษาหลักการและฝกปฏิบัติแปลขาวจากภาษาอังกฤษ เปนภาษาไทยและจากภาษาไทยเปนภาษาอังกฤษภายใตขอ จํากัดเรือ่ ง เวลา ตลอดจนเทคนิคการรายงานขาวตางประเทศ ทั้งในประชาคม อาเซียน และภูมิภาคอื่นๆ โดยคํานึงถึงภาษา วัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง นทศ. 256 ศิลปะและสุนทรียศาสตรเพื่อ (3 หนวยกิต) งานวารสารศาสตร COM 256 Arts and Aesthetics for Journalism ศึกษา วิเคราะห แนวคิดและความหมายของงานศิลปะ รวมถึงสุนทรียศาสตรเพื่อใหเขาใจถึงธรรมชาติลักษณะและแกนแท ของงานศิลปะในรูปแบบที่แตกตางกันทั้งในโลกตะวันตก และตะวัน ออก เพื่อใหเกิดแรงบันดาลใจ และการริเริ่มสรางสรรคศิลปะใน หลักสูตรปร ญญาตร 459


งานการผลิต และอุตสาหกรรมสือ่ วารสารศาสตร ทีเ่ หมาะสมกับบริบท ทางสังคมและวัฒนธรรม นทศ. 257 การผลิตสารคดีเชิงขาว (3 หนวยกิต) COM 257 News Documentary Production ศึกษาเทคนิค วิธกี าร และกระบวนการผลิตสารคดีเชิงขาว ในสื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน ในแงมุมขาวเชิงสืบสวน สอบสวน เจาะลึกในเนือ้ หา การสอดแทรกขอมูลทีบ่ อกถึงภูมหิ ลังทีม่ า ของเรื่อง การใชภาษาบรรยายภาพ และเสียงประกอบไดอยาง สอดคลองและกลมกลืน นทศ. 258 การสื่อขาวเฉพาะทาง (3 หนวยกิต) COM 258 Specialized Reporting ศึกษาทฤษฎีและฝกปฏิบัติการสื่อขาวเฉพาะทาง อาทิ ขาวการเมือง เศรษฐกิจ กีฬา สิง่ แวดลอม ตางประเทศ ศิลปวัฒนธรรม โดยเนนใหนกั ศึกษารูจ กั กระบวนการในการรวบรวมขอมูล เทคนิคการ สื่อขาวเฉพาะทาง นทศ. 351 การโฆษณาสําหรับผูประกอบการ (3 หนวยกิต) ขนาดกลางและขนาดยอม COM 351 Advertising for SMEs ศึกษาแนวคิด ประเภท บทบาทและความสําคัญของการ โฆษณาตอการทําธุรกิจและการเปนผูประกอบการขนาดกลางและ ขนาดยอม พรอมทั้งศึกษาถึงการพัฒนาแนวคิดและกลยุทธการ โฆษณาเพื่อสรางสรรคและออกแบบงานโฆษณาที่จะชวยสรางคุณคา ตราสินคาซึง่ ครอบคลุมถึงการวิเคราะหสถานการณทางการตลาดและ ตราสินคา การแขงขัน พฤติกรรมผูบ ริโภคทีส่ ง ผลตอการทําธุรกิจและ การโฆษณา และศึกษาถึงการวางแผนกลยุทธและวิธีการสื่อสาร โฆษณาเพื่อสนับสนุนการทําธุรกิจ ตลอดจนการสรางสรรคชอง ทางการสื่อสารใหมๆ ที่เหมาะสมกับธุรกิจและตราสินคาเพื่อเขาถึง ผูบริโภคเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 460 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

นทศ. 352 แฟมผลงานสรางสรรค (3 หนวยกิต) COM 352 Creative Portfolio ศึกษาแนวคิดและฝกปฏิบัติเกี่ยวกับการสรางแฟมสะสม ผลงานสวนบุคคล เทคนิคในการเตรียม การออกแบบและสรางสรรค แฟมสะสมผลงานใหมคี วามนาสนใจ โดยการใชโปรเเกรมคอมพิวเตอร ในการออกเเบบ รวมไปถึงการประยุกตนําวัสดุอื่นๆ มาใชสรางสรรค ใหเกิดความหลากหลาย โดยใหนักศึกษารวบรวมผลงานของตนเอง มาสรางแฟมสะสมผลงาน เพื่อนําไปใชประกอบการสมัครงานและ ศึกษาตอในอนาคต นทศ. 353 การออกแบบเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) COM 353 Communication Design ศึกษาและวิเคราะหแนวทางการใชงานออกแบบกราฟก ทัง้ 2 มิตแิ ละ 3 มิติ เพือ่ การสือ่ สารความหมายอยางเปนสากลในชีวติ ประจําวัน และฝกปฏิบัติการวางแผนการออกแบบเพื่อการสื่อสาร สําหรับการจัดวางสินคา (Merchandising) การตกแตงรานคา (Shop Decoration) การจัดแสดงสินคา (Display) งานนิทรรศการ (Exhibition) มหกรรมการแสดงสินคา (Exposition) และกิจกรรมพิเศษเชิงการ ตลาด (Event Marketing) โดยเนนกระบวนการพัฒนาความคิด สรางสรรค เพือ่ สือ่ สารอัตลักษณองคกร (Corporate Identity) ไดอยาง มีประสิทธิภาพ นทศ. 354 การโฆษณาเพื่อการคาสมัยใหม (3 หนวยกิต) COM 354 Advertising for Modern Trade ศึกษาความหมาย บทบาท ความสําคัญของชองทางการ จัดจําหนายผานการคาสมัยใหมที่มีผลจากการเปลี่ยนแปลงดาน เศรษฐกิจ ขอตกลงทางการคา สังคมและวัฒนธรรม ทั้งในประเทศ และตางประเทศทีส่ ง ผลตอการวิเคราะหปจ จัยทีน่ าํ ไปสูค วามสําเร็จใน การสื่อสารการตลาดเพื่อการวางแผนและการดําเนินงานโฆษณาเพื่อ ใหสอดคลองกับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินคาของกลุมเปาหมาย


นทศ. 355 การถายภาพในสตูดิโอ (3 หนวยกิต) COM 355 Studio Photography ศึกษาทฤษฎีและฝกปฏิบัติการในสตูดิโอถายภาพ แนว ความคิด และการจัดวาง มุมภาพ การจัดแสงและฉาก อาทิ ภาพ สินคา ภาพอาหาร ภาพบุคคล ภาพแฟชั่น ดวยกลองดิจิทัลสะทอน ภาพเลนสเดีย่ ว (DSLR) โดยใชงานรวมกับโปรแกรมคอมพิวเตอรและ ไฟแฟลชอิเล็กทรอนิกสแบบที่ใชในสตูดิโอไดอยางถูกวิธี นทศ. 356 การสรางภาพเคลื่อนไหวในงานโฆษณา (3 หนวยกิต) COM 356 Motion Graphics in Advertising ศึกษาเชิงแนวคิดและการฝกปฏิบตั ขิ นั้ พืน้ ฐานในการสราง ภาพเคลือ่ นไหวดวยคอมพิวเตอรเพือ่ นําไปใชในงานโฆษณาใหมคี วาม นาสนใจ โดยศึกษากระบวนการการสรางสรรคงานดวยคอมพิวเตอร อาทิ การวาดภาพ การสรางหุน การสรางสื่อประสม และสรางภาพ เคลื่อนไหวใหตรงตามความมุงหมายของงานโฆษณา นทศ. 357 กิจกรรมพิเศษทางการตลาด (3 หนวยกิต) COM 357 Event Marketing ศึกษาแนวคิด ความสําคัญ รูปแบบ กระบวนการจัด กิจกรรมพิเศษเพือ่ สนับสนุนการโฆษณา ทัง้ แนวคิดและฝกปฏิบตั ิ โดย ครอบคลุมการวางแผน กระบวนการในการสรางสรรค และดําเนินการ จัดกิจกรรมพิเศษ เพื่อสนับสนุนการโฆษณาใหตรงกับความตองการ ของลูกคา ภายใตงบประมาณและระยะเวลาที่จํากัด เพื่อสราง ประสบการณและสรางความสัมพันธกับผูบริโภคกลุมเปาหมายและผู สนับสนุน (Sponsorship) อยางมีประสิทธิภาพ นทศ. 358 การฝกงานโฆษณา (3 หนวยกิต) COM 358 Advertising Internship ศึกษาและฝกปฏิบัติในรูปแบบของการฝกงานกับบริษัท ตัวแทนโฆษณา (Advertising Agency) บริษัทตัวแทนดานสื่อโฆษณา (Media Agency) บริษทั ผลิตภาพยนตรโฆษณา (Production House)

หรื อ หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การโฆษณา เพื่ อ ให นั ก ศึ ก ษามี ประสบการณในงานดานตางๆ อาทิ การบริหารงานลูกคา การวางแผน กลยุทธโฆษณา การสรางสรรคโฆษณา การวางแผนสื่อโฆษณา การ ผลิตงานโฆษณา หรือกิจกรรมทางการตลาดเพื่อการโฆษณา โดย นักศึกษาจะตองทํารายงานประกอบการฝกงาน ซึง่ การประเมินผลการ ฝกงานของนักศึกษาจะเปนการพิจารณารวมกันระหวางภาควิชาการ โฆษณาและหนวยงานภายนอก หมายเหตุ *** ไมเขารวมกับสหกิจศึกษา นทศ. 359 ทักษะทางภาษาสําหรับผูประกอบ (3 หนวยกิต) วิชาชีพโฆษณา COM 359 Language Skills for Advertising Practitioner ศึกษาและพัฒนาทักษะภาษาไทยและภาษาอังกฤษทัง้ ดาน การพูด การฟง การอาน และการเขียนที่จําเปนสําหรับผูประกอบ วิชาชีพโฆษณา ศึกษาสํานวนภาษาและศัพทเฉพาะทางที่ใชในวงการ โฆษณา ตลอดจนศึกษาหลักการและฝกฝนการนําเสนอแผนงาน โฆษณาและการเขียนรายงานรูปแบบตางๆ ของสายงานบริการลูกคา และสายงานสรางสรรค เพื่อสามารถสื่อสารกับลูกคาทั้งชาวไทยและ ชาวตางประเทศไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในบริบทตางๆ นทศ. 360 ศึกษาเชิงประสบการณธุรกิจโฆษณา (3 หนวยกิต) ระหวางประเทศ COM 360 International Field Study in Advertising ศึกษาและสรางเสริมประสบการณในวิชาชีพโฆษณาจาก การอบรม สัมมนา และดูงานกับองคกรวิชาชีพที่เกี่ยวของกับแวดวง โฆษณา ทัง้ ทีเ่ ปนธุรกิจโฆษณาในประเทศและธุรกิจโฆษณาระดับขาม ชาติ ใหสามารถนําหลักการหรือทฤษฎีเกีย่ วกับการโฆษณาทัง้ ศาสตร และศิลปในธุรกิจโฆษณามาประยุกต ใชใหเกิดการเรียนรูการทํางาน ตามกระแสการแขงขันทางการตลาดใหสอดคลองกับพฤติกรรมของผู บริโภคในภูมิภาคตางๆ ทั่วโลก โดยผูเรียนสามารถเลือกประเด็นหรือ ลักษณะหนาทีท่ สี่ นใจและทําการศึกษาเจาะลึกทําเปนรายงานประกอบ หลักสูตรปร ญญาตร 461


นทศ. 461 การแตงหนาสําหรับการแสดง (3 หนวยกิต) COM 461 Theatre Make - up ศึกษาทฤษฎีและปฏิบัติเกี่ยวกับการแตงหนาสําหรับการ แสดง การเรียนรูโ ครงสราง จุดเดนจุดดอยของใบหนาเพือ่ เลือกวิธกี าร แตงหนาทีเ่ หมาะสม ฝกออกแบบการแตงหนาเพือ่ สือ่ ถึงบุคลิกลักษณะ ของตัวละคร

นทศ. 465 ละครหุน (3 หนวยกิต) COM 465 Puppetry ศึกษาประวัตคิ วามเปนมาและวิวฒ ั นาการการแสดงละคร หุน ทัง้ ในประเทศไทยและทวีปเอเชีย การสรางหุน การทดลองเชิดหุน การนําละครหุนมาใชในการแสดงรวมสมัยหรือใชรวมกับมัลติมีเดีย ตางๆ

นทศ. 462 การแตงหนาสําหรับการแสดงขั้นสูง (3 หนวยกิต) COM 462 Advanced Theatrical Make - up ศึกษาทฤษฎีขั้นสูงของการแตงหนาเพื่อการแสดง โดย เนนทีก่ ารแตงหนาเทคนิคพิเศษแบบตางๆ โดยเรียนรูเ ครือ่ งมือเครือ่ ง ใช เทคนิค ตลอดจนการรูจ กั ประยุกตวสั ดุอปุ กรณเพือ่ นํามาใชในการ แตงหนาเทคนิคพิเศษ

นทศ. 466 ละครใบ (3 หนวยกิต) COM 466 Mime ศึกษาประวัตคิ วามเปนมาของละครใบ วิธฝี ก รางกายเพือ่ ใชในการสือ่ ความหมายตามวิธกี ารของละครใบ ฝกแสดงละครใบเรือ่ ง สั้นๆ โดยนักศึกษาเปนผูกําหนดโครงเรื่องและประเด็นความคิดที่ ตองการสื่อสารกับผูชม

นทศ. 463 การออกแบบมัลติมีเดียสําหรับการแสดง (3 หนวยกิต) บนเวที COM 463 Multimedia Design for Live Performance ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบภาพเคลื่อนไหว สําหรับการแสดงบนเวทีประเภทตางๆ เชน ละครเวที ละครเพลง บัลเลต คอนเสิรต เรียนรูวิธีใชอุปกรณอิเลกโทรนิคที่เกี่ยวของขั้น พื้นฐาน รวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอรที่จําเปนตองานที่ผลิตออกมา

นทศ. 467 นาฏลีลารวมสมัย (3 หนวยกิต) COM 467 Contemporary Dance ศึกษาประวัตแิ ละวิวฒ ั นาการของระบํารวมสมัย ฝกทักษะ ขัน้ พืน้ ฐานของระบํารวมสมัย แนววิธกี ารฝกฝน การนําเสนอของคณะ ระบํารวมสมัยทีม่ คี วามสําคัญ การวิจารณและตีความหมายระบํารวม สมัย

นทศ. 464 การสรางอุปกรณประกอบฉาก (3 หนวยกิต) COM 464 Props Makins ศึกษากระบวนการขั้นตอนการทําอุปกรณประกอบฉาก ตั้งแตโครงสรางและวัสดุพื้นฐานที่มักใชกับการทําอุปกรณประกอบ ฉาก รวมทั้งเทคนิคตางๆ ที่เกี่ยวของ เชน เทคนิคการหลอ เปนตน

นทศ. 468 นาฏศิลปไทย (3 หนวยกิต) COM 468 Thai Dance ศึกษาขนบธรรมเนียม ประเพณีนิยม สุนทรียะของ นาฏศิลปไทย วรรณกรรมการแสดง ลีลาความหมายของทารํา ดนตรี เครื่องแตงกาย การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนนาฏศิลป ไทยใน ปจจุบัน ตลอดจนศึกษาสถานภาพของนาฏศิลปไทยในสังคมปจจุบัน เพื่อนําไปสูการวิเคราะหปญหาและแนวทางในการสงเสริมนาฏศิลป ไทย

462 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


นทศ. 469 แนวโนมศิลปะในละคร โทรทัศน (3 หนวยกิต) และภาพยนตร COM 469 Art Trend in Theatre, Television and Film ศึกษาแนวโนมของศิลปนิยม เทคนิควิธี และเทคโนโลยีที่ ใชในละครเวที ละครโทรทัศน และภาพยนตรในสมัยปจจุบันของไทย และตางประเทศ การนําศิลปะมาประยุกต ใชในแงของนักแสดง ผู กํากับการแสดง และผูออกแบบฝายตางๆ

นทศ. 473 การออกแบบเครื่องแตงกาย (3 หนวยกิต) COM 473 Costume Design ศึกษาทฤษฎีการออกแบบเครื่องแตงกาย ประเภทและ คุณสมบัตขิ องเนือ้ ผา ความหมายของสี เสน ลาย การออกแบบเครือ่ ง แตงกายสําหรับละครแนวตางๆ โดยเนนการสือ่ ความหมายถึงลักษณะ นิสัยของตัวละคร การเลือกใชเครื่องประดับ และการออกแบบ โดย คํานึงถึงความเปนเอกภาพรวมกับการออกแบบฉากและแสง

นทศ. 470 วาดสีฉาก (3 หนวยกิต) COM 470 Scene Painting ศึกษาเทคนิคพืน้ ฐานและทดลองใชวสั ดุพนื้ ผิวแบบตางๆ ที่สามารถนํามาปรับใชในการวาดระบายสีฉากได

นทศ. 474 ประวัติการละคร (3 หนวยกิต) COM 474 History of Theatre ศึ ก ษาวิ วั ฒ นาการของการละครและบทละครตั้ ง แต จุดกําเนิดของละครตะวันตก กรีก โรมัน สมัยฟนฟูศิลปวิทยาการ จนถึงละครสมัยใหม ตลอดจนวิวัฒนาการของละครตะวันออก เชน อินเดีย จีน ญี่ปุน และไทย โดยเปรียบเทียบคานิยม ศาสนา สังคม และวัฒนธรรมที่มีผลตอความแตกตางของการละคร

นทศ. 471 การออกแบบฉาก (3 หนวยกิต) COM 471 Scenic Design ศึกษาหลักเกณฑและทฤษฎีเกีย่ วกับการออกแบบฉากและ เวทีเพื่อการแสดงประเภทตางๆ เชน ละครแนวสัจจนิยม ธรรมชาติ นิยม สัจจนิยมประยุกต และแนวตอตานสัจจนิยม คอนเสิรต บัลเลต ตลอดจนฉากสําหรับรายการโทรทัศน ฝกทักษะการออกแบบโดยคํานึง ถึงวัตถุประสงคของการแสดง การจัดแสง การใชเทคโนโลยีตางๆ ขอ จํากัดดานสถานที่ ตลอดจนการคํานวณงบประมาณ นทศ. 472 การออกแบบแสง (3 หนวยกิต) COM 472 Lighting Design ศึ ก ษาทฤษฎี การออกแบบแสง เรี ย นรู  วั ส ดุ อุ ป กรณ ประเภทและคุณสมบัติของโคมไฟ มุมและการติดตั้ง การออกแบบ แสงสําหรับการแสดงประเภทตางๆ โดยคํานึงถึงความเปนเอกภาพ รวมกับศิลปะแขนงอื่นๆ ในการแสดง

นทศ. 475 การศึกษาการแสดงสากล (3 หนวยกิต) COM 475 World Performing Arts Studies ศึกษาการแสดงแบบประเพณีนยิ มของชาติตา งๆ ในเอเชีย ยุโรป อเมริกา แอฟริกา ในดานวิวัฒนาการ รูปแบบ สุนทรียะและ อิทธิพลของสังคมและวัฒนธรรมที่นําไปสูรูปแบบการแสดงรวมสมัย นทศ. 476 ละครตะวันออก (3 หนวยกิต) COM 476 Oriental Drama ศึกษาประวัตแิ ละวิวฒ ั นาการของละครตะวันออก รูปแบบ การแสดง การนําเสนอ วรรณกรรมการละคร และนักการละครทีส่ าํ คัญ ทั้งของไทย อินเดีย จีน ญี่ปุน อินโดนีเซีย และประเทศใกลเคียงใน เขตภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

หลักสูตรปร ญญาตร 463


นทศ. 477 โอเปรา (3 หนวยกิต) COM 477 Opera ศึกษาประวัติและวิวัฒนาการของละครโอเปรา บทละคร ทีม่ คี วามสําคัญและเปนทีน่ ยิ ม คีตกวี กลวิธกี ารประพันธ ลักษณะของ ทวงทํานอง การฝกฝนของนักแสดง วัฒนธรรมการชมละครโอเปรา และโรงละครโอเปรา นทศ. 478 ละครเบรคชท (3 หนวยกิต) COM 478 Brechtian Theatre ศึกษาทฤษฎีและวรรณกรรมการละครของแบรทอลท เบรคชท (Bertolt Brecht) กลวิธีการสื่อสารเพื่อชี้ปญหาและแนวทาง การแกปญหาเรื่องสังคมและศีลธรรม ระบบวิธีการแสดง อิทธิพล ทฤษฎีการละครของเบรคชทที่มีตอการละครรวมสมัยของตะวันตก และของไทย นทศ. 479 ละครแอบเสิรด (3 หนวยกิต) COM 479 Adsurd Theatre ศึกษาทฤษฎีและวรรณกรรมการละครแนวแอบเสิรดนัก เขียนบทละครแอบเสิรด ความสัมพันธระหวางละครแอบเสิรดกับ สังคมและศาสนา การนําเสนอละครแอบเสิรด และปฏิกิริยาผูชมใน ตะวันตกและในประเทศไทย นทศ. 480 ผูหญิงในละคร (3 หนวยกิต) COM 480 Women in Drama and Theatre ศึกษาบทบาทสถานภาพของผูห ญิงทีส่ ะทอนออกมาทาง วรรณกรรมการละคร ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ศึกษาความนิยม แนวคิดของนักเขียนบทละครหญิง ตลอดจนการทํางานของผูหญิงที่ เกี่ยวของกับการแสดง

464 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

นทศ. 481 ละครในการศึกษา (3 หนวยกิต) COM 481 Theatre in Education ศึกษาทฤษฎีของละครในการศึกษา หลักและแนวทาง ปฏิบัติของละครในการศึกษาในตะวันตก ขั้นตอนการสํารวจปญหา การสรางสรรค พัฒนาการการเรียนรูของผูรวมงาน การสื่อสารและ วิเคราะหปฏิบัติกิริยาของผูชม รวมทั้งศึกษาผลงานของกลุมละครใน การศึกษาในประเทศไทย เพือ่ ใหทราบถึงปญหาในการสรางสรรคและ การดําเนินงาน นทศ. 482 การแสดงเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ (3 หนวยกิต) COM 482 Acting for Personality Development ศึกษาและฝกฝนทักษะพื้นฐานของการแสดง เนนการ สํารวจตนเองเพือ่ เรียนรูแ ละเขาใจวัตถุดบิ พืน้ ฐานของนักแสดง ไดแก รางกาย เสียง ประสาทสัมผัส อารมณความรูสึก จิตนาการ เหตุผล และแรงจูงใจทีก่ อ ใหเกิดการกระทํา เพือ่ ใหเกิดความมัน่ ใจในศักยภาพ การแสดงออกของตนเอง และสามารถจะนําไปใชในการปรับปรุง บุคลิกภาพ ประยุกตใชกับสายงานที่เกี่ยวของหรือในชีวิตประจําวัน นทศ. 483 การอานเพื่อสื่อความหมาย (3 หนวยกิต) COM 483 Oral Interpretation ศึกษาทฤษฎี เทคนิควิธี และฝกฝนการอานออกเสียง เพือ่ สื่อความหมายการแสดงในสื่อตางๆ โดยเนนความถูกตองทางภาษา ความหมายของบท ภาพพจน อารมณ และบรรยากาศที่แฝงอยูใน บท นทศ. 484 ละครสําหรับเด็ก (3 หนวยกิต) COM 484 Theatre for Children ศึกษารูปแบบ เนื้อหา และฝกปฏิบัติการนําเสนอละคร สั้นๆ โดยมีกลุมเปาหมายหลักคือ เด็กและเยาวชน


นทศ. 485 ทฤษฎีการแสดงและการกํากับการแสดง (3 หนวยกิต) COM 485 Theories of Acting and Directing ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการแสดงและการกํากับการแสดง ของนักการละครทีม่ คี วามสําคัญของการละครสมัยใหม วิธกี ารทํางาน ของนักแสดงและผูกํากับการแสดงที่สําคัญ ความสัมพันธระหวาง ทฤษฎีการแสดงและการกํากับการแสดง

นทศ. 489 สุขนาฏกรรม (3 หนวยกิต) COM 489 Comedy ศึกษาลักษณะ โครงสรางและองคประกอบของบทละคร สุขนาฏกรรม ประเภทของละครสุขนาฏกรรม เปรียบเทียบละคร สุขนาฏกรรมทีมีความสําคัญในยุคสมัยตางๆ

นทศ. 486 ละครแนวทดลอง (3 หนวยกิต) COM 486 Experimental Theatre ศึกษาวิวัฒนาการของละครแนวทดลองในยุคของละคร สมัยใหมมาจนถึงปจจุบัน และแนวโนมในอนาคต การกําหนด วัตถุประสงคและวิธีการทดลอง การประเมินผลสําเร็จของละครแนว ทดลอง

นทศ. 490 การศึกษาแนวโนมศิลปะการแสดงรวมสมัย (3 หนวยกิต) COM 490 Contemporary Trend in Performing Arts ศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวคิด และการนําเสนอศิลปะ การแสดงรวมสมัย อันเปนแนวโนมหลักของการแสดงระดับสากล ผาน ทฤษฎีสงั คมในยุคตางๆ อาทิ ปรัชญายุคคลาสสิค ปรัชญายุคสมัยใหม และปรัชญายุคหลังสมัยใหม อันนําไปสูการวิเคราะหทฤษฎีวิพากษ ทางดานศิลปะการแสดง

นทศ. 487 เชคสเปยรในสังคมรวมสมัย (3 หนวยกิต) COM 487 Shakespeare in Contemporary Society ศึกษาบทละครของวิลเลี่ยม เชคสเปยร โดยวิเคราะหถึง ความรวมสมัยในประเด็นความคิดเกี่ยวกับสังคม การเมือง ศีลธรรม การตีความบทละครของเชคสเปยรเพือ่ สือ่ สารกับผูช มรวมสมัย ตลอด จนศึกษาประวัติและแนวคิดในการนําบทละครของเชคสเปยรมาจัด แสดงในลักษณะละครรวมสมัยทั้งในตางประเทศและในประเทศไทย รวมทั้งปฏิกิริยาของผูชม

นทศ. 491 ละครไทยในสังคมรวมสมัย (3 หนวยกิต) COM 491 Thai Drama in Contemporary Society ศึกษาละครไทยปจจุบัน ทั้งละครโทรทัศนและละครเวที ในดานเนื้อหา แนวคิด และคุณธรรมที่สะทอนผานเรื่องราวและตัว ละคร เพื่อวิเคราะหภาพสะทอนของสังคมไทยรวมสมัยคานิยมของ คนในสังคมตลอดจนความสัมพันธระหวางละครและสังคมรวมสมัยที่ มีอิทธิพลตอกัน

นทศ. 488 โศกนาฏกรรม (3 หนวยกิต) COM 488 Tragedy ศึกษาลักษณะ โครงสรางและองคประกอบของบทละคร โศกนาฏกรรม เปรียบเทียบละครโศกนาฏกรรมที่มีความสําคัญในยุค สมัยตางๆ นับแตโศกนาฏกรรมกรีกจนถึงโศกนาฏกรรมสมัยใหม

นทศ. 551 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนเพือ่ สังคม (3 หนวยกิต) COM 551 Social Broadcasting ศึ ก ษาความสํ า คั ญ ของสื่ อวิ ท ยุ กระจายเสี ย งและวิ ท ยุ โทรทัศนตลอดจนสื่อสมัยใหม อาทิ โซเชียลเน็ตเวิรคมาใชเพื่อการ พัฒนาสังคม โดยมีเปาหมายเพือ่ นําเทคโนโลยีทงั้ สองระบบมาเปนสือ่ ในการพัฒนาชุมชน รณรงคใหเกิดความรวมมือตางๆ ในสังคม ตลอด จนเรียนรูถึงบทบาทของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนและสื่อ สมัยใหมที่มีผลตอความเจริญกาวหนาของประเทศ หลักสูตรปร ญญาตร 465


นทศ. 552 การผลิตรายการสารคดี (3 หนวยกิต) COM 552 Documentary Production ศึกษาเทคนิค วิธีการ การเลาเรื่อง และกระบวนการผลิต สารคดีประเภทตางๆ ทางสื่อวิทยุโทรทัศน การเขียนบทสารคดี การ สรางสรรครูปแบบสารคดีใหมๆ ใหเหมาะสมกับวัตถุประสงค กลุมผู ชม และเวลาออกอากาศ นทศ. 553 การผลิตรายการกีฬา (3 หนวยกิต) COM 553 Sports Production ศึกษาเทคนิค วิธีการ และกระบวนการผลิตรายการกีฬา ประเภทตางๆ ทางวิทยุโทรทัศน การเขียนบทรายการกีฬา การ สรางสรรครูปแบบรายการใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคและกลุมเปา หมายตลอดจนเวลาในการออกอากาศ นทศ. 554 การออกแบบแสงสําหรับงานวิทยุโทรทัศน (3 หนวยกิต) COM 554 Lighting Design For Television ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและฝกปฏิบัติเพื่อการออกแบบแสง สําหรับผลิตรายการโทรทัศนในรูปแบบตางๆ ทั้งในและนอกสถานที่ อาทิ รายการขาว รายการวาไรตี้ รายการละคร โดยออกแบบแสงให เหมาะสมกับวัตถุประสงคของรายการ และกลุมเปาหมาย นทศ. 555 การใชเสียงในงานวิทยุกระจายเสียงและ (3 หนวยกิต) วิทยุโทรทัศน COM 555 Voice Work in Broadcasting ศึกษาเทคนิควิธีการใชเสียง และการออกเสียงใหถูก อักขรวิธเี พือ่ ใชในงานวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน ในรูปแบบตางๆ เชน การประกาศรายการ การบรรยายเหตุการณ การสัมภาษณ การ ดําเนินรายการ การพากย ฯลฯ รวมทั้งฝกฝนใหเกิดความชํานาญ

466 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

นทศ. 556 การผลิตงานวิดีทัศนระบบ 3 มิติ (3 หนวยกิต) COM 556 3D Video Production ศึกษาแนวคิดทฤษฎี และฝกปฏิบัติเพื่อการผลิตงาน วีดิทัศนในรูปแบบสามมิติ ศึกษามุมมองของงานวีดิทัศนสามมิติใน รูปแบบตางๆ ตลอดจนการสรางสรรครูปแบบงานวีดิทัศนสามมิติ ให เหมาะสมกับวัตถุประสงคและกลุมเปาหมาย ตลอดจนเหมาะสมกับ สภาพเศรษฐกิจและสังคม นทศ. 557 การควบคุมการผลิตในงานวิทยุโทรทัศน (3 หนวยกิต) และสื่อสมัยใหม COM 557 Producing for Television and New Media ศึกษาเทคนิคและวิธกี ารควบคุมการผลิตรายการโทรทัศน และสือ่ สมัยใหม การออกแบบรูปแบบรายการ การกําหนดงบประมาณ การหาแหลงเงินทุนเพือ่ การผลิตรายการ เทคนิคการนําเสนองานและ การขาย ตลอดจนศึกษาดานทรัพยสินทางปญญาสําหรับสื่อวิทยุ โทรทัศนและสื่อสมัยใหม นทศ. 558 ระบบสื่อมวลชนโลก (3 หนวยกิต) COM 558 Global Media System ศึกษาวิวัฒนาการ แนวคิด และปรัชญาของสื่อมวลชน และอุ ต สาหกรรมวิ ท ยุ กระจายเสี ย ง วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น ในประเทศ สหรัฐอเมริกา ยุโรป ละติน อเมริกา แอฟริกา และเอเชีย มีการ วิเคราะหการออกแบบการผลิตรายการ วิธีการนําเสนอ เนื้อหา เพื่อ ใหเขาใจถึงแนวทางการผลิตรายการในตางประเทศ อันสะทอนถึงวิถี ชีวิต และวิธีคิดของคนในชาตินั้นๆ


นทศ. 559 ดนตรีในงานสื่อสารมวลชนรวมสมัย (3 หนวยกิต) COM 559 Music in Contemporary Mass Media ศึ ก ษาแนวโน ม และบทบาทของดนตรี ใ นงานสื่ อ สาร มวลชนรวมสมัย ศึกษาลักษณะ รูปแบบของดนตรีประเภทตางๆ การ เลือกใชดนตรีประกอบเพื่อบริบททางการสื่อสารมวลชนตางๆ อาทิ รายการวิทยุกระจายเสียง ภาพยนตร วีดทิ ศั นเพือ่ การนําเสนอ สารคดี และรายการวิทยุโทรทัศน ประเภทตางๆ เปนตน นทศ. 651 การแสดงสําหรับภาพยนตร (3 หนวยกิต) COM 651 Acting for Film ศึกษาหลักการแสดงสําหรับงานภาพยนตรเพื่อใหเขาใจ ลักษณะการแสดงที่ถูกตอง ฝกการแสดงเบื้องตนโดยมุงเนนความ เขาใจในตัวละคร ตลอดจนเขาใจปญหาทางการแสดงจากประสบการณ ตรงของตนเอง รวมทั้งการแกปญหาเฉพาะหนาเมื่ออยูในเหตุการณ ความเขาใจในเรือ่ งมุมกลอง และลักษณะเฉพาะของการแสดงเพือ่ งาน ภาพยนตร เพือ่ พัฒนาไปสูก ารกํากับนักแสดงหรือการแสดงขัน้ สูงตอ ไป นทศ. 652 เทคนิคการแสดงขัน้ สูงสําหรับงานภาพยนตร (3 หนวยกิต) COM 652 Acting for the Cameras: Advanced Techniques ศึ ก ษาศิ ล ปะการแสดงขั้ น สู ง สํ า หรั บ งานภาพยนตร ภาพยนตรโฆษณา และละครโทรทัศน โดยใชบทภาพยนตรและบท ละครโทรทัศน ในการฝกฝน เรียนรูลักษณะเฉพาะตัวของเครื่องมือ อุปกรณ และเทคนิคการถายทํารูปแบบตางๆ เพื่อประโยชน ในการ แสดง นทศ. 653 ปฏิบัติการการเลาเรื่องในภาพยนตร (3 หนวยกิต) COM 653 Film Narrative Workshop ศึกษาแนวคิดและเทคนิคการเลาเรื่องในภาพยนตรแบบ ตางๆ เรียนรูขั้นตอนการพัฒนาจากบทภาพยนตร ไปสูการสราง

ภาพยนตร ฝกปฏิบัติการตีความบทภาพยนตร การหารูปแบบและ แนวทางภาพยนตรที่เหมาะสมกับบทภาพยนตร นทศ. 654 ปฏิบัติการการสรางดนตรีประกอบ (3 หนวยกิต) สําหรับภาพยนตร COM 654 Scoring for Film Workshop ศึกษาทฤษฎีและหลักการทําดนตรีประกอบภาพยนตร ฝก ปฏิบัติการการสรางสรรคดนตรีประกอบภาพยนตร นทศ. 655 การตกแตงฉากและเครื่องประกอบ (3 หนวยกิต) การแสดง COM 655 Set Decoration and Props ฝกออกแบบ สรางฉาก จัดและตกแตงฉาก เพื่อใชในการ ถายทําภาพยนตร ตลอดจนการออกแบบ จัดหา และสรางเครื่อง ประกอบการแสดง นทศ. 656 กราฟกและภาพเคลื่อนไหว (3 หนวยกิต) COM 656 Graphics and Animation ศึกษาหลักการออกแบบและสรางสรรคงานกราฟกและ ภาพเคลื่อนไหวสําหรับภาพยนตร เทคนิควิธี การใชเครื่องมือ และ ฝกปฏิบัติจริง นทศ. 657 วิวัฒนาการภาพยนตรเอเชีย (3 หนวยกิต) COM 657 Surveys of Asian Films ศึกษาประวัติศาสตรและวิวัฒนาการของภาพยนตรจาก ภูมิภาคเอเชีย แนวโนมทางศิลปะและผลกระทบทางสังคมที่มีตองาน ภาพยนตร เปรียบเทียบและวิเคราะหความแตกตางทางความคิด คา นิยมของแตละชาติที่สะทอนในงานภาพยนตร ศึกษาแนวความคิดผู กํากับภาพยนตรและผลงานที่สําคัญ

หลักสูตรปร ญญาตร 467


นทศ. 658 วิวัฒนาการภาพยนตรยุโรปและอเมริกา (3 หนวยกิต) COM 658 Surveys of European and American Films ศึกษาประวัติศาสตรและวิวัฒนาการของภาพยนตรจาก ทวีปยุโรปและอเมริกา แนวโนมทางศิลปะและผลกระทบทางสังคมที่ มีตอ งานภาพยนตร เปรียบเทียบและวิเคราะหความแตกตางทางความ คิด คานิยมของแตละชาติทสี่ ะทอนในงานภาพยนตร ศึกษาแนวความ คิดผูกํากับภาพยนตรและผลงานที่สําคัญ นทศ. 659 วิวัฒนาการภาพยนตร (3 หนวยกิต) เอเชียตะวันออกเฉียงใต COM 659 Surveys of South East Asian Films ศึกษาประวัติศาสตรและวิวัฒนาการของภาพยนตรจาก ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะภาพยนตร ไทย แนวโนม ทางศิลปะและผลกระทบทางสังคมทีม่ ตี อ งานภาพยนตร เปรียบเทียบ และวิเคราะหความแตกตางทางความคิด คานิยมของแตละชาติที่ สะทอนในงานภาพยนตร ศึกษาแนวความคิดผูกํากับภาพยนตรและ ผลงานที่สําคัญ นทศ. 660 ปฏิบัติการการผลิตภาพยนตรทดลอง (3 หนวยกิต) COM 660 Experimental Filmmaking Workshop ศึกษาประวัติศาสตร พัฒนาการทางความคิด รูปแบบ ผลงานของนักสรางภาพยนตรแนวทดลองคนสําคัญ ขัน้ ตอนการผลิต ภาพยนตรทดลอง โดยเริม่ ตัง้ แตการหาแรงบันดาลใจ การพัฒนาความ คิด การถายทํา เพื่อใหสําเร็จเปนภาพยนตรทดลองที่สมบูรณ นทศ. 661 ปฏิบัติการการผลิตภาพยนตรสารคดี (3 หนวยกิต) COM 661 Documentary Filmmaking Workshop ศึกษาขั้นตอนการผลิตภาพยนตรสารคดี โดยเริ่มตั้งแต การหาประเด็น การคนควาหาขอมูล การคิดประเด็น การเขียนบท การวางแผนการถายทํา การถายทํา การสัมภาษณ การตัดตอ และ 468 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กระบวนการหลังการถายทํา เพื่อใหสําเร็จเปนภาพยนตรสารคดีที่ สมบูรณ นทศ. 662 สัมมนากระบวนการทํางานของนักสราง (3 หนวยกิต) ภาพยนตรไทย COM 662 Thai Filmmaker Master Class ศึ ก ษาวิ ธี คิ ด แรงบั น ดาลใจ ทั ศ นคติ ใ นการทํ า งาน กระบวนการพัฒนาความคิดผลงาน ประสบการณการทํางาน เทคนิค เฉพาะตัวในการสรางภาพยนตรของผูกํากับภาพยนตร ไทย นทศ. 663 การควบคุมความตอเนือ่ งในงานภาพยนตร (3 หนวยกิต) COM 663 Continuity in Film หลักการ ความสําคัญของการควบคุมความตอเนื่องใน งานภาพยนตร ขั้นตอน และวิธีการ ตลอดจนฝกปฏิบัติ นทศ. 664 เทคนิคการตัดตอภาพยนตรขั้นสูง (3 หนวยกิต) COM 664 Advanced Digital Editing Techniques ศึกษาศิลปะและเทคนิคการตัดตอภาพยนตรขนาดยาว กรณีศึกษารูปแบบและสไตลการตัดตอภาพยนตรในปจจุบัน การจัด เตรียมและปฏิบตั งิ านการตัดตอภาพยนตรขนาดยาว การแกไขปญหา ทางเทคนิคในภาพและเสียง ฝกปฏิบตั งิ านตัดตอภาพยนตรขนาดยาว ตามที่ผูสอนกําหนด นทศ. 665 เทคนิคพิเศษและการประกอบภาพ (3 หนวยกิต) COM 665 Special Effects and Digital Compositing for Film ศึกษาเทคนิคและฝกปฏิบัติกระบวนการประกอบภาพ ระหวางภาพที่สรางขึ้นจากคอมพิวเตอร (computer-generated imagery) กับภาพวีดิทัศนและภาพยนตร การถายทํา blue screen และ green screen การปรับแตงสี (color correction) การวิเคราะห และกําหนดกระบวนการทํางานตามแบบอุตสาหกรรมภาพยนตร


นทศ. 666 งานเก็บภาพยนตรและภาพเคลื่อนไหว (3 หนวยกิต) COM 666 Film Archive Studies ศึกษาประวัติศาสตร แนวคิดและหลักปฏิบัติในการเก็บ รั ก ษาภาพเคลื่ อ นไหว เทคโนโลยี การเก็ บ รั ก ษาสื่ อ บั น ทึ ก ภาพ เคลื่อนไหวชนิดตางๆ กรณีศึกษางานอนุรักษภาพเคลื่อนไหวใน ประเทศไทยและตางประเทศ นทศ. 751 สื่อดิจิทัลเพื่อการสื่อสารตรา (3 หนวยกิต) COM 751 Digital Media for Brand Communications ศึกษาบทบาท ความสําคัญ ความหมายและประเภทของ สือ่ ดิจทิ ลั พัฒนาการของสือ่ ตัง้ แตอดีตจนถึงยุคของสือ่ สมัยใหม (New Media Technology) พฤติกรรมผูบริโภคที่เปดรับสื่อดิจิทัล การ กําหนดกลยุทธและเนื้อหาสารของตราผานสื่อดิจิทัลหรือชองทาง ตางๆ อาทิ สื่อสังคม (Social Media) เกมออนไลน แอพพลิเคชั่นบน โทรศัพทเคลือ่ นที่ เขาใจถึงขอดีและขอดอย ปญหาและอุปสรรคของ การสือ่ สารผานสือ่ ดิจทิ ลั ในรูปแบบตางๆ เพือ่ นํามาปรับประยุกตใชใน การสื่อสารตราไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล นทศ. 752 การสรางความสัมพันธตราเชิงกลยุทธ (3 หนวยกิต) COM 752 Strategic Brand Relationships ศึกษากลยุทธการสรางและการจัดการความสัมพันธ ระหวางตรากับผูบ ริโภคทัง้ ในสวนของตราองคการและตราผลิตภัณฑ ความสัมพันธ (Relations) และความเกี่ยวของ (Relevance) กับตรา ในเชิงปจเจก (Self) ความสัมพันธในเชิงกลุม (Collective) การเปน กลุมสังคมของตรา (Brand Community) การมีพันธสัญญาตอตรา (Brand Commitment) โดยใชกลยุทธการบริหารประสบการณและ ความสัมพันธกับลูกคาเพื่อการสรางสรรคคุณคาเพิ่มรวมกัน (Creating Shared Value) ระหวางตรากับผูบริโภค

นทศ. 753 สุนทรียภาพเพื่อการสื่อสารตรา (3 หนวยกิต) COM 753 Aesthetics in Brand Communications ศึ ก ษากลยุ ท ธ การสื่ อ สารตราในแง มุ ม ของการสร า ง เอกลักษณและภาพลักษณ โดยการนําแนวคิด สุนทรียภาพ (Aesthetics) และลีลา (Style) ซึ่งใชศิลปะของความงามเปนเครื่องมือการ สื่อสารการตลาดสูความสําเร็จของการสรางตรา การศึกษาความ งดงามดานการออกแบบผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑ และกราฟก ที่ตอง พิจารณาถึงการใชงานและรูปแบบ รวมถึงการสื่อสารไปยังผูบริโภค โดยกําหนดสาระของการสื่อสาร และการสรางวิธีการสื่อสารเพื่อ สรางสรรคตราใหมคี วามงดงามและการชืน่ ชม วิธกี ารใชองคประกอบ ศิลป การวิเคราะหเชิงสัญญะวิทยา การสรางความหมาย ความงดงาม ในแงมุมศิลปะ เพื่อความมีรสนิยมที่ดี นทศ. 754 การสรางตราแฟชั่น (3 หนวยกิต) COM 754 Fashion Branding ศึกษาความหมาย ประเภทหรือขอบเขตของธุรกิจแฟชัน่ ความแตกตางระหวางการสรางตราสินคาทัว่ ไปกับการสรางตราสินคา แฟชั่น แนวโนมของธุรกิจแฟชั่น พฤติกรรมการบริโภคสินคาแฟชั่น กระบวนการของการสรางตราสินคาแฟชัน่ กลยุทธการตลาดและการ สรางตราสินคาแฟชัน่ องคประกอบและปจจัยทีส่ ง เสริมคุณคาตราสิน คาแฟชัน่ กรณีศกึ ษาของตราสินคาแฟชัน่ ตางๆ ทัง้ ในและตางประเทศ (3 หนวยกิต) นทศ. 755 การสรางตราผูมีชื่อเสียง COM 755 Celebrity Branding กลยุทธในการสรางตราผูมีชื่อเสียงโดยทําการศึกษาใน 2 มุมมอง คือ มุมมองของการสรางบุคคลใหกลายเปนผูม ชี อื่ เสียง การ คนหาคุณคาในตัวตน การวิเคราะหจดุ ออนจุดแข็ง รวมถึงการพัฒนา ศักยภาพ เพื่อการนําตราบุคคลไปประยุกต ใชในวงการตางๆ เชน วงการกีฬา วงการบันเทิง วงการธุรกิจ การเมือง และมุมมองดานการ ใชผูมีชื่อเสียงมาทําการสรางตรา โดยศึกษาถึงอิทธิพล หลักการ แนวทางการวางแผน และขอจํากัดในการใชผูมีชื่อเสียงมาใชเปน เครื่องมือในการสงเสริมภาพลักษณตรา หลักสูตรปร ญญาตร 469


นทศ. 756 การสรางตราในธุรกิจทองเที่ยว (3 หนวยกิต) COM 756 Tourism Branding ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการ ออกแบบกลยุทธตราสินคาและบริการทีเ่ กีย่ วของกับอุตสาหกรรมทอง เที่ยว โรงแรม และสายการบิน รวมถึงกระบวนการการสื่อสารตรา แบบบูรณาการ การบริหารประสบการณลูกคาและการสรางคุณคาให กับตราสินคาและบริการในอุตสาหกรรมทองเที่ยว นทศ. 757 การสื่อสารตรากับสังคม (3 หนวยกิต) COM 757 Brand Communications and Society ศึกษาผลกระทบของการสื่อสารตราในโลกยุคปจจุบันทั้ง ผลกระทบทีส่ ง ผลตอปจเจกและผลกระทบกับสังคม เรียนรูก ารเปนนัก สื่อสารตราที่มีจริยธรรม (Ethic) บทบาทของตราในเชิงสังคม การ กํากับดูแลตนเอง (Self Regulation) ขอควรระวังที่เกิดจากการสราง ตรา ขอบังคับและกฏหมายที่เกี่ยวของกับการสื่อสารตรา รวมถึงการ พัฒนาตราองคกรที่เปนบรรษัทภิบาล (Corporate Enterprise) และ ธุรกิจเพือ่ สังคม (Social Enterprise) โดยมุง เนนการเรียนการสอนและ ฝกฝนใหผูเรียนใชกระบวนการคิดเชิงวิพากษ นทศ. 758 การสรางตราธุรกิจบันเทิง (3 หนวยกิต) COM 758 Entertainment Branding ศึกษาขอบเขตและประเภทของธุรกิจบันเทิง บทบาท ความสําคัญ แนวทางในการสรางตราธุรกิจบันเทิง อาทิ ธุรกิจเพลง ภาพยนตร ศิลปะการแสดงและการละคร รวมถึงการกําหนดกลยุทธ ในการสื่อสาร การเลือกชองทางที่เหมาะสมเพื่อเขาถึงกลุมเปาหมาย นทศ. 759 เรื่องเฉพาะทางการสื่อสารตรา (3 หนวยกิต) COM 759 Selected Topics in Brand Communications ศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎี และกลยุทธที่ไดรับความสนใจ ในปจจุบัน รวมถึงแนวโนมในอนาคตในขอบเขตที่เกี่ยวกับกับการ สือ่ สารตรา โดยมุง เนนใหผเู รียนไดเขาใจลึกซึง้ ในเรือ่ งเฉพาะดังกลาว 470 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

นทศ. 851 การคนควาอิสระ (3 หนวยกิต) COM 851 Independent Study ศึกษาคนควาอยางละเอียด หรือวิจัยในหัวขอ ประเด็น หรือปญหาทางนิเทศศาสตรที่นักศึกษาใหความสนใจเปนพิเศษ โดย จัดทํารายงานภายใตการควบคุมของอาจารยที่ปรึกษา นทศ. 852 การสื่อสารมวลชนระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) COM 852 International Mass Communication ศึกษาระบบการสือ่ สารมวลชนของประเทศตางๆ และการ สื่อสารมวลชนระหวางชาติ เปรียบเทียบความเหมือนและความแตก ตางโดยเนนทางดานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน วิเคราะห โครงสรางของระบบในแตละประเทศที่มีความสัมพันธตอสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง นทศ. 853 การสื่อสารเพื่อการพัฒนา (3 หนวยกิต) COM 853 Development Communication ศึกษาบทบาทหนาที่ของการสื่อสารที่มีตอการพัฒนา บุคคล ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ปญหาอุปสรรคในการสื่อสาร เพือ่ พัฒนาและแนวทางแกไข ศึกษาและวิเคราะหนโยบายการสือ่ สาร แหงชาติกับการพัฒนาบุคคล ชุมชน สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง รวมทั้งคนหาแนวทางการนําการสื่อสารไปใชพัฒนาประเทศไดอยาง มีประสิทธิผล นทศ. 854 สันติภาพศึกษา (3 หนวยกิต) COM 854 Peace Studies ศึกษาแนวคิด วิธีการในการสรางสรรคและธํารงไวซึ่ง สันติภาพในระดับบุคคล ชุมชน สังคม และประเทศ แนวทางการแกไข ขอขัดแยงโดยสันติวิธี การเสริมสรางสัมพันธภาพและการใชการ สื่อสาร และสื่อมวลชนเพื่อสงเสริมสันติภาพใหเกิดขึ้นในสังคม


นทศ. 855 การสื่อสารระหวางบุคคล (3 หนวยกิต) COM 855 Interpersonal Communication ศึกษาความหมาย ความสําคัญ และทฤษฎีทเี่ กีย่ วของกับ การสือ่ สารระหวางบุคคล รวมทัง้ ศึกษาสาเหตุ และแนวทางแกไขความ ขัดแยง โดยอาศัยแนวความคิดของการสื่อสารระหวางบุคคล ตลอด จนการนําเทคนิคการสือ่ สารระหวางบุคคลมาสรางความสัมพันธอนั ดี กับบุคคลอื่นๆ ในสังคม นทศ. 856 เพศในวัฒนธรรมนิยม (3 หนวยกิต) COM 856 Sex in Popular Culture ศึกษาวิเคราะหประวัตศิ าสตร และวิวฒ ั นาการการนําเสนอ เรื่องเพศในสื่อประชานิยมประเภทตางๆ เชน ภาพยนตร ละคร บทเพลง เสรีภาพในการนําเสนอ จริยธรรมและความรับผิดชอบ ตลอด จนความสัมพันธระหวางการนําเสนอเรือ่ งเพศกับสังคม โดยเนนกรณี ศึกษา นทศ. 857 โครงการบริการวิชาการแกสังคม (3 หนวยกิต) แบบบูรณาการ COM 857 Integrated Academic Social Responsibility Project ศึกษา เรียนรู และฝกปฏิบัติการจัดโครงการบริการ วิชาการแกชุมชนและสังคมในรูปแบบตางๆ เชน การใหคําปรึกษา การอบรม การจัดประชุม การจัดเวทีเสวนา และการจัดกิจกรรมตางๆ ที่มีการบูรณาการเชิงสหวิทยาการรวมกับการเรียนการสอน การวิจัย และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โดยมุงเนนการสรางความมีสวน รวม และการประสานสัมพันธกับผูที่มีสวนไดสวนเสียในการพัฒนา กระบวนการมีสวนรวม เรียนรู รวมคิด รวมทํา รวมสรางสรรคคุณ ประโยชนในดานตางๆ ที่ตอบสนองตอความตองการและสอดคลอง กับบริบทขององคการภาครัฐและเอกชน องคการอิสระ องคการ สาธารณะชุมชน องคการวิชาชีพ และสังคมโดยกวางอยางเปน รูปธรรม

หมวดวิชาการประชาสัมพันธ ปชส. 201 การบริหารความสัมพันธผมู สี ว นไดสว นเสีย (3 หนวยกิต) PRT 201 Stakeholder Relationship Management ศึกษาทฤษฎี แนวคิด ความหมาย ความสําคัญของการ สราง รักษา และพัฒนาความสัมพันธอยางยั่งยืน ระหวางองคกรกับ กลุ ม ผู มี ส ว นได ส ว นเสี ย กลุ ม ต า งๆ ทั้ ง ผู บ ริ ห ารองค กร ผู ถื อ หุ น พนักงาน สื่อมวลชน ผูบริโภค รัฐบาล คูแขงขัน สาธารณะและสังคม บทบาทของนักประชาสัมพันธ ในการบริหารความสัมพันธ โดยการ วิเคราะหความตองการ ความคาดหวัง อิทธิพลและผลประโยชนของ กลุมผูมีสวนไดสวนเสียกลุมตางๆ ที่มีตอการดําเนินงานขององคกร เพื่อนําขอมูลมาเปนแนวทางในการพัฒนาความสัมพันธระหวาง องคกรกับกลุมผูมีสวนไดสวนเสียในรูปแบบตางๆ อยางเหมาะสม สอดคลองกับความตองการ อาทิ พนักงานสัมพันธ นักลงทุนสัมพันธ ลูกคาสัมพันธ ชุมชนสัมพันธ สื่อมวลชนสัมพันธ วิสาหกิจสัมพันธ รัฐกิจสัมพันธ เพือ่ กอใหเกิดประโยชนสงู สุดระหวางองคกรและกลุม ผู มีสวนไดสวนเสีย สะทอนการสรางสรรคการสรางคุณคาเพิ่มรวมกัน ใหกับสังคม และสรางความผูกพันธระหวางองคกรและกลุมผูมีสวน ไดสวนเสียอยางยั่งยืน ปชส. 202 การประชาสัมพันธเพื่อการประกอบการ (3 หนวยกิต) ธุรกิจ PRT 202 Public Relations for Business Enterprises ศึกษาทฤษฏีและแนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการประชาสัมพันธเพือ่ การประกอบการธุรกิจ ที่นําหลักการประชาสัมพันธมาใชสื่อสารเกี่ยว กับสินคา บริการ หรือองคกรเพือ่ มุง บรรลุเปาหมายทางการตลาด โดย เรียนรูถึง ความสําคัญ บทบาท หลักการและรูปแบบของการดําเนิน งานประชาสัมพันธการตลาด รวมทั้งการบริหารความสัมพันธลูกคา กระบวนการการประชาสัมพันธการตลาด การวิเคราะหสถานการณ และกลุม เปาหมาย การกําหนดกลยุทธ เนือ้ หาสาระ เทคนิคและเครือ่ ง หลักสูตรปร ญญาตร 471


มือการประชาสัมพันธอยางสรางสรรคเพื่อเขาถึงกลุมเปาหมายและ สรางคุณคาความเปนขาว การดําเนินงานและการประเมินผลการ ประชาสัมพันธการตลาด ประกอบตัวอยางและกรณีศึกษาที่นาสนใจ ปชส. 203 การประชาสัมพันธองคกร (3 หนวยกิต) PRT 203 Corporate Public Relations ศึกษาทฤษฏีและแนวคิดเกีย่ วกับการประชาสัมพันธองคกร บทบาทและความสําคัญของการประชาสัมพันธตอการสรางภาพ ลักษณและชือ่ เสียงแกองคกร การวิเคราะหประชาชนผูม สี ว นเกีย่ วของ การสื่อสารองคกรทั้งภายในและภายนอก การดําเนินงานเกี่ยวกับ ความรับผิดชอบขององคกรตอสังคม อันเปนหัวใจของการดําเนิน กิจการสําหรับทุกองคกรที่จะนําไปสูความเชื่อมั่นศรัทธา ความรวม มือสนับสนุน และความสัมพันธอยางยั่งยืน ปชส. 204 การวิจัยและการประเมินผล (3 หนวยกิต) เพื่อการประชาสัมพันธ PRT 204 Public Relations Research and Evaluation พื้นความรู: เคยเรียนวิชา นศท.111 การประชาสัมพันธเบือ้ งตน และ นศท.105 การวิจัยการสื่อสารเบื้องตน ศึกษาถึงบทบาท ความสําคัญและประโยชนของการวิจัย และการประเมินผลที่มีตอการดําเนินงานประชาสัมพันธ ความหมาย ประเภทการวิจัย ขั้นตอนของการวิจัย การกําหนดปญหานําการวิจัย การตั้ ง สมมุ ติ ฐ านการวิ จั ย การเก็ บ รวบรวมข อ มู ล การกํ า หนด ประชากรและกลุม ตัวอยาง การสรางเครือ่ งมือในการวิจยั การวิเคราะห ขอมูลสถิติและโปรแกรมเพื่อวิเคราะหผลการวิจัย การเขียนรายงาน การวิ จั ย จรรยาบรรณการวิ จั ย การประยุ ก ต ใ ช ง านวิ จั ย ในการ ประชาสัมพันธ

472 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ปชส. 205 การเขียนงานประชาสัมพันธขั้นพื้นฐาน (3 หนวยกิต) PRT 205 Fundamental Public Relations Writing พื้นความรู: เคยเรียนวิชา การประชาสัมพันธเบื้องตน ศึกษาถึงหลักการและฝกทักษะดานการเขียนประเภทตางๆ อั น เป น พื้ น ฐานของานเขี ย นประชาสั ม พั น ธ ที่ มุ ง ตอบสนอง วัตถุประสงคในการสรางความรูความเขาใจ สรางภาพลักษณ สราง ความสัมพันธระหวางองคกรกับประชาชนผูมีสวนเกี่ยวของ เชน การ เขียนคําบรรยายภาพขาวประชาสัมพันธ การเขียนขาวประชาสัมพันธ การแตงคําขวัญ ขอความประชาสัมพันธทางโปสเตอร ตลอดจนการ จัดทําเอกสารประกอบการแถลงขาวโดยเนนการคิดวิเคราะหและ ฝกฝนทักษะดานการเขียน ปชส. 301 การออกแบบเนื้อหา (3 หนวยกิต) และการผลิตสื่อประชาสัมพันธ PRT 301 Message Design and Public Relations Material Production พื้นความรู: เคยเรียนวิชาการประชาสัมพันธเบื้องตน ผานการอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอรพ้นื ฐานเพื่อ การออกแบบ ศึกษาทฤษฎี หลักการ และฝกปฏิบตั เิ กีย่ วกับการออกแบบ เนื้อหาสาร การสรางสรรคและกระบวนการผลิตสื่อประชาสัมพันธ การถายภาพเพือ่ การประชาสัมพันธ และการนําภาพถายไปใชงานรวม กับสือ่ ประชาสัมพันธอนื่ ๆ การผลิตสือ่ สิง่ พิมพเพือ่ การประชาสัมพันธ เชน โปสเตอร แผนพับ ใบปลิว เพื่อใหนักศึกษามีความรูและทักษะ ในการออกแบบเนือ้ หา และการผลิตสือ่ สิง่ พิมพเพือ่ การประชาสัมพันธ ไดอยางสรางสรรค


ปชส. 302 สื่อดิจิทัลและการผลิตสื่อประชาสัมพันธ (3 หนวยกิต) PRT 302 Digital Media and Public Relations Production พื้นความรู: เคยเรียนวิชา ปชส. 301 การออกแบบเนื้อหาและ การผลิตสื่อประชาสัมพันธ ศึกษาทฤษฎี หลักการและฝกปฏิบตั เิ กีย่ วกับสือ่ ดิจทิ ลั เพือ่ การประชาสัมพันธ เชน สื่อวิทยุ สื่อวีดิทัศน สื่ออินเทอรเน็ต สื่อ เทคโนโลยีสมัยใหม ตลอดจนสื่อพิเศษตางๆ เพื่อการประชาสัมพันธ การผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อการประชาสัมพันธ การวางแผนเและการ ประเมินผลสื่อประชาสัมพันธ รวมถึงจริยธรรม จรรยาบรรณในการ สรางสรรคและการเผยแพรสอื่ ประชาสัมพันธ เพือ่ ใหนกั ศึกษามีความ รู แ ละทั ก ษะในการผลิ ต สื่ อ ดิ จิ ทั ล เพื่ อ การประชาสั ม พั น ธ ไ ด อ ย า ง สรางสรรค ปชส. 311 การเขียนเชิงกลยุทธเพือ่ การประชาสัมพันธ (3 หนวยกิต) PRT 311 Strategic Public Relations Writing พื้นความรู: เคยเรียนวิชา ปชส. 205 การเขียนงานประชาสัมพันธ ขั้นพื้นฐาน ศึกษาทฤษฎี หลักการ และฝกฝนทักษะดานการเขียน เชิงกลยุทธเพือ่ การประชาสัมพันธ ทีม่ งุ นําไปประยุกตใชกบั งานเขียน ประชาสัมพันธรูปแบบตางๆ เชน การเขียนเพื่อชี้แจงขอเท็จจริงและ แกไขความเขาใจผิด การเขียนสารคดีและบทความชิงวิเคราะห การ เขียนเพื่อสงเสริมการตลาด การเขียนสารและสุนทรพจน ในโอกาส ตางๆ การเขียนโครงการประชาสัมพันธ เปนตน ปชส. 312 สื่อนวัตกรรมเพื่อการประชาสัมพันธ (3 หนวยกิต) PRT 312 Innovative Media for Public Relations ศึ ก ษาทฤษฏี แ ละแนวคิ ด ที่ เ กี่ ย วกั บ นวั ต กรรมด า น เทคโนโลยีการสื่อสาร ชองทางการสื่อสารสมัยใหมที่สงผลกระทบตอ การเปลีย่ นแปลงของสังคมและกลุม ผูร บั สารทัง้ ในดานการดําเนินชีวติ การรับรู และพฤติกรรมการสื่อสาร ตลอดจนรูปแบบการดําเนินงาน

ประชาสั ม พั น ธ ที่ เ ปลี่ ย นไป เรี ย นรู ถึ ง บทบาท ประโยชน และ แนวทางการประยุกตใชนวัตกรรมดานเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อการ ประชาสัมพันธ ใหเหมาะสมกับสภาพขององคกร วัตถุประสงคการ ดําเนินงาน กลุมผูรับสารเปาหมายและพื้นที่การสื่อสาร เกิด บูรณาการในการใชเครื่องมือสื่อสาร และการสื่อสารสองทางแบบมี ปฏิสัมพันธ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อสรางความพึงพอใจและ ประโยชนสูงสุดตอทั้งองคการและประชาชนผูมีสวนเกี่ยวของ ปชส. 313 ความคิดสรางสรรคเพื่อการประชาสัมพันธ (3 หนวยกิต) PRT 313 Creativity for Public Relations ศึกษาทฤษฏีและแนวคิดที่เกี่ยวกับการคิดสรางสรรคเพื่อ การประชาสัมพันธ ทั้งความหมาย ความสําคัญ ลักษณะของความ คิดสรางสรรค วิธีการสงเสริมพัฒนาความคิดสรางสรรค ขั้นตอนและ วิธกี ารในการพัฒนาความคิดสรางสรรค และการนําไปประยุกตปฏิบตั ิ จรรยาบรรณของการสรางสรรค เทคนิควิธกี ารในการพัฒนาความคิด สร า งสรรค การพั ฒ นาความคิ ด สร า งสรรค เ พื่ อ การดํ า เนิ น งาน ประชาสัมพันธ โดยเนนการคิดวิเคราะหเชิงวิพากษและการฝกฝน ทักษะดานการคิดสรางสรรค ปชส. 314 การประชาสัมพันธระดับสากล (3 หนวยกิต) PRT 314 Global Public Relations ศึ ก ษาทฤษฎี แนวคิ ด ลั ก ษณะการดํ า เนิ น งาน ประชาสัมพันธของประเทศตางๆ ทัง้ ในระดับภูมภิ าค และระดับสากล ตลอดจนการประชาสัมพันธระหวางประเทศ กระบวนการโลกาภิวตั น ปจจัยแวดลอมที่แตกตางกันทางดานการเมือง กฎหมาย ศาสนา เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และพฤติกรรมของผูร บั สารทีม่ ผี ลตอการ กําหนดวิสัยทัศน ภารกิจ เปาหมาย นโยบาย และกลยุทธการดําเนิน การประชาสัมพันธขององคการตางๆ โดยเนนการคิดวิเคราะห วิพากษ และประยุกตทฤษฎีเขากับกรณีศึกษาทางการประชาสัมพันธ ในตาง ประเทศที่โดดเดนและทันยุคสมัย หลักสูตรปร ญญาตร 473


ปชส. 315 การบริหารประเด็นและการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในภาวะวิกฤติ PRT 315 Issue Management and Crisis Communication ศึกษาถึงการบริหารประเด็นที่มีผลกระทบตอการดําเนิน งานขององคกร และการจัดการกับภาวะวิกฤตที่สงผลกระทบตอชื่อ เสียง ภาพลักษณขององคกร ตั้งแตการวิเคราะหประชาชนผูมีสวน เกี่ยวของ การวิเคราะหถึงสาเหตุและผลกระทบของประเด็นปญหา การบริหารประเด็นเพื่อสรางโอกาสสําหรับการประชาสัมพันธเชิงรุก การจัดการกับภาวะวิกฤตเมื่อตองประชาสัมพันธเชิงรับเพื่อกอบกู สถานการณ ชื่อเสียง ภาพลักษณขององคกรใหกลับคืนมาโดยเนน การประยุกตทฤษฎีเขากับกรณีศกึ ษาเพือ่ ใหเกิดการเรียนรูแ ละการคิด วิเคราะหเชิงวิพากษ ปชส. 321 การสื่อสารดวยกิจกรรมเบื้องตน (3 หนวยกิต) PRT 321 Introduction to Event Communication ศึกษาทฤษฏีและแนวคิดดานการสื่อสารดวยกิจกรรม ความสําคัญและบทบาทหนาที่ของการสื่อสารดวยกิจกรรมที่มีตอ องคการ แบรนด และประชาชนผูมีสวนเกี่ยวของ องคประกอบ ประเภทและรูปแบบของกิจกรรม ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จของ กิจกรรม ตลอดจนผลกระทบทีเ่ กิดจากการจัดกิจกรรม เพือ่ ใหสามารถ วิเคราะหและตัดสินใจเลือกใชการสื่อสารดวยกิจกรรมประเภทตางๆ อยางเหมาะสมและมีความรับผิดชอบโดยเนนกรณีศึกษาตางๆ เพื่อ สงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห ปชส. 322 กิจกรรมเชิงสรางสรรคกับการสื่อสาร (3 หนวยกิต) แบบบูรณาการ PRT 322 Creative Event and Integrated Communications ศึกษาแนวความคิดและหลักการของการสือ่ สารแบบบูรณา การขั้นสูง เครื่องมือการสื่อสารแบบบูรณาการประเภทตางๆ ทั้ง ออนไลนและออฟไลน แนวทางในการบูรณาการกิจกรรมเขากับเครือ่ ง 474 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

มือในการสื่อสารอื่นๆ อยางสอดคลอง สงเสริมซึ่งกันและกันไดอยาง เหมาะสม รวมเปนแผนการสือ่ สารแบบบูรณาการทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพือ่ บรรลุเปาหมายของแบรนดหรือองคกร ปชส. 323 หลักการสรางสรรคและเทคโนโลยี (3 หนวยกิต) สําหรับกิจกรรม PRT 323 Creative Direction and Event Technology ศึกษาแนวคิดและหลักการออกแบบกิจกรรมเชิงสรางสรรค ตัง้ แตการทําความเขาใจตอโจทยขององคการหรือแบรนด ความเขาใจ ตอสถานการณและกลุม เปาหมาย แนวคิดและกลยุทธของการสือ่ สาร แลวจึงสรางสรรค ออกแบบสวนประกอบตางๆ ของกิจกรรม เชน การ ออกแบบภาพลักษณสําหรับการสื่อสาร การออกแบบงานผลิต งาน ตกแตง การเลือกใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคลองและสงเสริม เนื้อหาของการสื่อสารดวยกิจกรรมใหชัดเจนและโดดเดน ปชส. 401 การวางแผนการประชาสัมพันธเชิงกลยุทธ (3 หนวยกิต) PRT 401 Strategic Public Relations Planning พื้นความรู: เคยเรียนวิชาการวิจัยและการประเมินผล เพื่อการประชาสัมพันธ ศึกษาทฤษฏีและแนวคิดทีเ่ กีย่ วกับ ความสําคัญ ประโยชน ของการวางแผนกลยุทธ และการวางแผนประชาสัมพันธเชิงกลยุทธ เรียนรูก ระบวนการขัน้ ตอนการวางแผนการประชาสัมพันธเชิงกลยุทธ ในทุกขั้นตอน ตั้งแตการรวบรวมขอมูล การวิเคราะหสถานการณ การกําหนดวัตถุประสงค กลุม เปาหมาย กลยุทธและกลวิธกี ารสือ่ สาร การดําเนินงาน การประเมินผล ตลอดจนประโยชนและขั้นตอนการ วางแผนประชาสัมพันธประเภทตางๆ เชน การวางแผนรณรงค การ วางแผนสรางภาพลักษณ การวางแผนประชาสัมพันธการตลาด การ วางแผนเพือ่ การบริหารประเด็น การวางแผนภาวะวิกฤติ โดยเนนการ คิดวิเคราะหรว มกับการฝกฝนทักษะการเขียนแผนประชาสัมพันธจาก กรณีศึกษา และการนําแผนไปประยุกตปฏิบัติจริง


ปชส. 402 สัมมนาวิชาชีพการประชาสัมพันธ (3 หนวยกิต) PRT 402 Seminar in Public Relations พื้นความรู: มีหนวยกิตสะสมไมนอยกวา 108 หนวยกิต สอบผานวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือกไมนอยกวา 10 วิชา ศึ ก ษาและวิ เ คราะห ถึ ง แนวความคิ ด ประเด็ น ป ญ หา จริยธรรมในการดําเนินงานประชาสัมพันธ รวมถึงประเด็นดานการ ประชาสัมพันธทนี่ า สนใจในปจจุบนั โดยการศึกษาจากผูม ปี ระสบการณ ในสาขาวิชาชีพการประชาสัมพันธรวมกับการวิเคราะหประเด็นและ ประยุกตนาํ เสนอแนวทางการดําเนินงานประชาสัมพันธทเี่ หมาะสมกับ สถานการณ ทันยุคสมัย คํานึงถึงจริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ มี ความรับผิดชอบตอสังคมและประเทศชาติ ปชส. 403 การฝกงานวิชาชีพการประชาสัมพันธ (3 หนวยกิต) PRT 403 Public Relations Professional Internship พื้นความรู: มีหนวยกิตสะสมไมนอยกวา 108 หนวยกิต สอบผานวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือกไมนอยกวา 10 วิชา และมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต 2.3 ขึ้นไป ฝกงานดานการประชาสัมพันธกบั หนวยงานภายนอกเปน ระยะเวลาไมนอยกวา 320 ชั่วโมง ใหผูเรียนไดนําความรูไปประยุกต ปฏิบัติเพื่อสรางเสริมประสบการณ ในวิชาชีพ โดยลักษณะของการ ฝกงานจะตองสอดคลองกับการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพ เชน การ ประชาสัมพันธการตลาด การสื่อสารองคกร การประชาสัมพันธ ระหวางประเทศ ฯลฯ พรอมทัง้ จัดทํารายงานประกอบการนําเสนอผล งาน ทั้งนี้ การศึกษาจะตองอยูภายใตการควบคุมและการประเมินผล ของคณาจารยในภาควิชารวมกับหนวยงานภายนอก

ปชส. 404 โครงการประชาสัมพันธ (3 หนวยกิต) PRT 404 Public Relations Project พื้นความรู: มีหนวยกิตสะสมไมนอยกวา 108 หนวยกิต สอบผานวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือกไมนอ ยกวา 10 วิชา บูรณาการความรูที่เรียนมาประยุกต ใชโดยนําบริบททาง สังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม ภูมปิ ญ ญาทองถิน่ ขององคการ ชุมชน สังคม ประเทศ มาสรางสรรคเปนโครงการประชาสัมพันธเพื่อ การสงเสริมเผยแพร ใหเกิดการพัฒนา ความสําเร็จ ความเจริญ กาวหนาอยางยัง่ ยืน สรางมูลคาเพิม่ และความสามารถในการแขงขัน ทางการตลาดแกองคการ ชุมชน สังคม ดวยการศึกษาคนควา คิด วิเคราะห แลวจึงสรางสรรควางแผนประชาสัมพันธผานกระบวนการ และขัน้ ตอนของการวิจยั อยางมีระบบ โดยจัดทําเปนรายงานโครงการ ประชาสัมพันธตามรูปแบบรายงานการวิจัย ตลอดจนสรางสรรค ผลิตผลงานประชาสัมพันธจริงทีเ่ ปนนวัตกรรมทางการประชาสัมพันธ ปชส. 405 สหกิจศึกษาสําหรับนักประชาสัมพันธ (6 หนวยกิต) PRT 405 Cooperative Education for Public Relations สําหรับนักศึกษาที่เลือกเรียน แบบสหกิจศึกษา พื้นความรู: สอบผานวิชา สค. 301 เตรียมสหกิจศึกษา มีหนวยกิต สะสมไมนอยกวา 99 หนวยกิต และวิชาเอกบังคับวิชาเอกเลือกไมนอยกวา 9 วิชา มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ตั้งแต 2.3 ขึ้นไป ศึกษาถึงการทํางานประชาสัมพันธอยางมีหลักการและ เปนระบบ โดยการปฏิบตั งิ านดานการประชาสัมพันธกบั สถานประกอบ การในฐานะพนั ก งานของสถานประกอบการ เพื่ อ เสริ ม สร า งให นักศึกษามีความพรอมสําหรับอาชีพนักประชาสัมพันธ นักศึกษาจะ ตองมีชั่วโมงการปฏิบัติงานอยางเต็มเวลาในสถานประกอบการรวม แลวไมนอยกวา 16 สัปดาห หรือ 640 ชั่วโมง มีการประเมินผลการ ปฏิบัติงานโดยเจาหนาที่ของสถานประกอบการ และเมื่อสิ้นสุดการ ปฏิบตั งิ านนักศึกษาตองจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ านนําเสนอ ภายใตการดูแลของอาจารยที่ปรึกษา หลักสูตรปร ญญาตร 475


ปชส. 420 การสื่อสารดวยกิจกรรมเชิงสรางสรรค (3 หนวยกิต) และโครงการสนับสนุน PRT 420 Creative Event and Sponsorship Communication ศึกษาทฤษฎี แนวคิดและฝกทักษะประสบการณเกี่ยวกับ กระบวนการคิดสรางสรรค การออกแบบ และการจัดกิจกรรมพิเศษ ตางๆ เพือ่ สรางเสริมภาพลักษณแกองคการหรือแบรนด เพือ่ สงเสริม การตลาดแกสินคาและบริการ ตลอดจนการสรางเสริมความสัมพันธ กับพันธมิตรและผูสนับสนุนกิจกรรม เพื่อรวมกันบรรลุเปาหมายที่ กํ า หนดไว โดยคํ า นึ ง ถึ ง จริ ย ธรรมและจรรยาบรรณแห ง วิ ช าชี พ ประชาสัมพันธ ปชส. 421 การสรางสรรคกิจกรรมสงเสริมการตลาด (3 หนวยกิต) PRT 421 Creative Direction for Marketing Events ศึกษาทฤษฎี แนวคิดและลักษณะเฉพาะของการสื่อสาร ดวยกิจกรรมทางการตลาด การสรางสรรคกิจกรรมเพื่อการตลาด ประเภทตางๆ ตัง้ แตการวิเคราะหสถานการณเพือ่ กําหนดวัตถุประสงค แนวคิดและกลยุทธทางการสื่อสาร การออกแบบสรางสรรคองค ประกอบต า งๆ ของกิ จ กรรมให เ หมาะสมกั บ สิ น ค า หรื อ บริ ก าร สอดคลองกับความสนใจ ความตองการกลุมผูบริโภค และตอบสนอง เปาหมายทางการตลาดที่วางไว ปชส. 422 การสรางสรรคกิจกรรมสงเสริมองคกร (3 หนวยกิต) PRT 422 Creative Direction for Corporate Events ศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของการสือ่ สารดวยกิจกรรมเพือ่ ประชาสัมพันธองคกร หลักการการสรางสรรคกิจกรรมประเภทตางๆ เพื่อสงเสริมองคกร ตั้งแตการวิเคราะหสถานการณเพื่อกําหนด วัตถุประสงค แนวคิดและกลยุทธทางการสื่อสาร การออกแบบ สรางสรรคองคประกอบตางๆ ของกิจกรรมใหสอดคลองกับอัตลักษณ ขององคกร เหมาะสมกับประชาชนผูมีสวนเกี่ยวของกลุมตางๆ ตอบ สนองเปาหมายขององคการ นํามาซึง่ ภาพลักษณ ชือ่ เสียง และความ สัมพันธอยางยั่งยืนระหวางองคกรกับประชาชนผูเกี่ยวของ 476 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาวารสารศาสตร วสศ. 201 การหลอมรวมสื่อทางวารสารศาสตร (2 หนวยกิต) CJR 201 Convergence Journalism พื้นความรู: เคยเรียน นทศ. 112 ศึกษาพัฒนาการของเนือ้ หาและสือ่ ทางวารสารศาสตรใน ยุคการหลอมรวมสื่อ ปจจัยที่สงผลกระทบตอการปฏิบัติงานของนัก วารสารศาสตร ลักษณะเนือ้ หาทีจ่ ะตองใชในการนําเสนอของสือ่ วาจะ มีการเปลีย่ นแปลงอยางไรบาง การบริหารเนือ้ หาและรูปแบบในการนํา เสนอขององคกรสือ่ รวมถึงศึกษาผลกระทบของขาวทีม่ ตี อ สังคมและ ปจเจกบุคคล และจริยธรรมของการนําเสนอขาว วสศ. 202 การสื่อขาวและการเขียนขาว 1 (3 หนวยกิต) CJR 202 News Reporting I ศึกษาและฝกเขียนขาว การสืบคนขอมูล ภูมหิ ลังของขาว การสัมภาษณ การคิดประเด็น และการวางแผนการทําขาว โครงสราง ขาวในสือ่ วารสารศาสตรทกุ ประเภท รวมถึงจริยธรรมในการรายงาน ขาว วสศ. 203 การสื่อขาวและการเขียนขาว 2 (3 หนวยกิต) CJR 203 News Reporting II พื้นความรู: เคยเรียน วสศ. 202 ศึกษาและฝกเขียนขาว โดยเนนไปทีก่ ลวิธกี ารรายงานขาว เชิงลึก การรายงานขาวเชิงตีความ การรายงานขาวเชิงสืบสวน สอบสวน ผานกรณีศึกษาในประเด็นตางๆ อาทิ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม ฯลฯ รวมถึงจริยธรรมในการรายงานขาว


วสศ. 204 การวิเคราะหสถานการณปจจุบัน (2 หนวยกิต) CJR 204 Current Affairs ศึกษาสภาวะ ภูมิหลัง ความสัมพันธ และอิทธิพลของ วิ ก ฤตการณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง ในและต า งประเทศอั น ส ง ผลกระทบต อ การเมือง เศรษฐกิจ สังคมของโลกปจจุบัน เพื่อนํามาใชในงาน วารสารศาสตร วสศ. 205 การบรรณาธิการวารสารศาสตรสิ่งพิมพ (2 หนวยกิต) CJR 205 Print Journalism Editing พื้นความรู: เคยเรียน วสศ. 202 ศึ ก ษาหลั ก ทฤษฎี แ ละฝ ก ปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การผลิ ต สื่ อ วารสารศาสตร วิธีการคัดเลือกขาว การพาดหัวขาว การพิสูจนอักษร การคัดเลือกภาพขาวที่เปนภาพนิ่ง การใชตัวอักษร เพื่อนําไปใชใน การผลิตงานวารสารศาสตรสิ่งพิมพและสื่อออนไลน วสศ. 211 การเขียนเชิงวารสารศาสตร (3 หนวยกิต) CJR 211 Journalistic Writing ศึกษาถึงหลักเกณฑและเทคนิคการเขียน วิธกี ารวางโครง เรื่อง วิธีการนําเสนอ การใชถอยคํา ภาษาและประโยคที่ถูกตองของ บทความและสารคดีทปี่ รากฏในสือ่ วารสารศาสตร อาทิ บทบรรณาธิการ บทความแสดงความคิดเห็น บทวิเคราะห บทวิจารณ ตลอดจน จริยธรรมในการเขียน วสศ. 301 การถายภาพวารสารศาสตร (3 หนวยกิต) CJR 301 Photojournalism พื้นความรู: เคยเรียน นทศ. 104 ศึกษาหลักการการสื่อสารดวยภาพ และปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักการถายภาพวารสารศาสตร ประเภทของภาพ และการนําภาพ ไปใชในงานวารสารศาสตรสงิ่ พิมพ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน และออนไลน การเลาเรื่องดวยภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว การ

สร า งสรรค ภ าพเชิ ง วารสารศาสตร คุ ณ ลั ก ษณะของภาพข า ว วารสารศาสตร จรรยาบรรณและความรับผิดชอบของชางภาพ วารสารศาสตร วสศ. 302 เทคนิคการผลิตรายการขาว (2 หนวยกิต) วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน CJR 302 Broadcast News Technique ศึกษาทฤษฎีและฝกปฏิบัติเกี่ยวกับการใชอุปกรณในการ ผลิตขาวของสื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน วสศ. 303 การออกแบบ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ และเว็บเพจ (3 หนวยกิต) CJR 303 Publication and Web Design Production พื้นความรู: ผานการอบรมคอมพิวเตอรพื้นฐานเพื่อการออกแบบ ศึกษาทฤษฎีและฝกปฏิบัติออกแบบจัดหนาสื่อสิ่งพิมพ เชน หนังสือพิมพ นิตยสารและเว็บไซต องคประกอบศิลป การใช กราฟกภาพประกอบ การเลือกใชตัวอักษร ขนาดตัวอักษร การใชสี และอื่นๆ ในการออกแบบ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ และเว็บไซต วสศ. 304 การบริหารงานสื่อวารสารศาสตร (2 หนวยกิต) เชิงหลอมรวม CJR 304 Convergence Journalism Management ศึกษาลักษณะการบริหารองคกรทางวารสารศาสตร การ กําหนดนโยบาย แผนการบริหารงานแตละหนวยภายในองคกร การ จัดการองคกร การจัดหาบุคลากร ปญหาและอุปสรรคในการดําเนิน ธุรกิจ การนําเอาเทคโนโลยีใหมมาใชในงานวารสารศาสตร ผลกระทบ ของสภาวะสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองทีม่ ตี อ การการบริหารเนือ้ หา และการปรับตัวขององคกรทางวารสารศาสตร

หลักสูตรปร ญญาตร 477


วสศ. 305 การบรรณาธิการวารสารศาสตร (2 หนวยกิต) เพื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน CJR 305 Broadcast Journalism Editing พื้นความรู: เคยเรียน วสศ. 202 และ วสศ. 302 ศึ ก ษาหลั ก ทฤษฎี แ ละฝ ก ปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การผลิ ต สื่ อ วารสารศาสตร วิธกี ารคัดเลือกขาว การพิสจู นอกั ษร การคัดเลือกภาพ ขาวที่เปนภาพเคลื่อนไหว การใชตัวอักษร เพื่อนําไปใชในการผลิต งานวารสารศาสตรเพื่อวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และสื่อ ออนไลน

วสศ. 401 ประเด็นในงานวารสารศาสตร (3 หนวยกิต) เชิงหลอมรวม CJR 401 Special Topics in Convergence Journalism พื้นความรู: นักศึกษาชั้นปที่ 4 ขึ้นไป หรือมีหนวยกิตสะสมไมนอย กวา 99 หนวยกิต ศึกษาและวิเคราะหแนวความคิด ประเด็น ปญหา และ จริยธรรมในการดําเนินงานทางวารสารศาสตร โดยเนนกรณีศึกษาที่ นาสนใจ และมีคุณคาจากผูที่มีความรู และประสบการณในวิชาชีพ วารสารศาสตร

วสศ. 311 การเขียนเชิงวารสารศาสตรผานสื่อ (3 หนวยกิต) หลากหลายประเภท CJR 311 Journalistic Writing across Media พื้นความรู: เคยเรียน วสศ. 202, วสศ. 203 และ วสศ. 211 ฝกวิเคราะหประเด็น และเขียนเนื้อหาทางดานวารสารศาสตร โดยคํานึงถึงวัตถุประสงค รูปแบบของตัวสาร และกลุม เปาหมาย เพื่อนําเสนอผานสื่อวารสารศาสตรประเภทตางๆ

วสศ. 402 การฝกงานวารสารศาสตร (3 หนวยกิต) CJR 402 Journalism Internship พื้นความรู: สอบผานวิชาเอกเลือกและเอกบังคับไมนอยกวา 9 วิชา และมีเกรดเฉลี่ยนไมตํ่ากวา 2.4 ฝกงานทางดานวารสารศาสตรกบั หนวยงานภายนอก เพือ่ ใหผเู รียนไดมโี อกาสทดลองใชหลักวิชาการทีเ่ รียนมา ตลอดจนใหรถู งึ สภาพของการปฏิบตั งิ านทีแ่ ทจริง และการหาทางแกปญ หาอันอาจจะ เกิดได โดยนักศึกษาจะตองทํารายงานประกอบการฝกงาน ทัง้ จะตอง อยูภ ายใตการควบคุมและประเมินผลของสาขาวิชารวมกับหนวยงาน ภายนอก

วสศ. 312 วารสารศาสตรเชิงวิจัย (3 หนวยกิต) CJR 312 Precision and Data Journalism พื้นความรู: เคยเรียน สถ. 203 ศึกษาความสําคัญของงานวิจัยตองานวารสารศาสตร เรียนรูถ งึ การจัดการกับขอมูลขาวสารทีม่ คี วามหลากหลาย ทักษะใน การแสวงหา กลัน่ กรอง เลือกสรร จัดการและวิเคราะหขอ มูล เทคนิค ในการนําเสนอขอมูลขาวสาร ตัวเลขสถิติ โดยประยุกตวธิ วี จิ ยั มาเปน เครือ่ งมือในการรวบรวม รวมทัง้ การนําเสนอผลการวิจยั ทีม่ อี ยูแ ลวมา นําเสนอเปนขาว หรือการตั้งประเด็นการวิจัยแลวดําเนินการวิจัยเอง จนสามารถนําเสนอผลวิจัยเปนขาวหรือบทความเพื่อนําไปใชในงาน วารสารศาสตร

478 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

วสศ. 403 การศึกษาเฉพาะเรื่อง (3 หนวยกิต) CJR 403 Individual Study พื้นความรู: สอบผานวิชาเอกเลือกและเอกบังคับไมนอยกวา 9 วิชา นักศึกษาศึกษาคนควาเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่มีความสําคัญ และเปนประโยชนในเชิงวิชาการและ/หรือวิชาชีพวารสารศาสตร และ ทํารายงานอยางละเอียด การศึกษาจะอยูภายใตการควบคุมและการ ประเมินผลของอาจารยประจําสาขาวิชา


วสศ. 411 การปฏิบัติการดานหนังสือพิมพ (3 หนวยกิต) CJR 411 Newspaper Workshop พื้นความรู: เคยเรียน วสศ. 205, วสศ. 303 และ วสศ. 311 จัดทําหนังสือพิมพและหนังสือพิมพออนไลนภาคปฏิบัติ โดยมีการจัดโครงสรางการดําเนินงานเปนฝายตางๆ อาทิ ฝาย บรรณาธิการ ฝายผลิต และฝายจัดการ วสศ. 412 การปฏิบัติการดานวารสารศาสตร (3 หนวยกิต) ทางวิทยุกระจายเสียง CJR 412 Radio Journalism Workshop พื้นความรู: เคยเรียน วสศ. 302, วสศ. 305 และ วสศ. 311 จัดทําสถานีขาววิทยุกระจายเสียงภาคปฏิบัติ โดยมีการ จัดโครงสรางการนําเสนองานเปนฝายตางๆ อาทิ ฝายบรรณาธิการ ฝายผลิต และฝายจัดการ

หมวดวิชาการโฆษณา ฆษณ. 201 ความคิดเชิงวิพากษ (3 หนวยกิต) และความคิดสรางสรรค ADV 201 Critical and Creative Thinking ศึกษาความหมาย ทฤษฎี และแนวคิดเกี่ยวกับความคิด เชิงวิพากษและการพัฒนาความคิดสรางสรรค องคประกอบของความ คิดสรางสรรค ประโยชนของความคิดสรางสรรค ปจจัยที่สงผลตอ ความคิดสรางสรรค ตลอดจนฝกปฏิบตั แิ ละการสรางประสบการณเพือ่ สงเสริมความคิดสรางสรรค

วสศ. 413 การปฏิบัติการดานนิตยสาร (3 หนวยกิต) CJR 413 Magazine Workshop พื้นความรู: เคยเรียน วสศ. 205, วสศ. 303 และ วสศ. 311 จัดทํานิตยสารและนิตยสารออนไลนภาคปฏิบตั ิ โดยมีการ จัดโครงสรางการดําเนินงานเปนฝายตางๆ อาทิ ฝายบรรณาธิการ ฝาย ผลิต และฝายจัดการ

ฆษณ. 202 การโฆษณาและพฤติกรรมผูบริโภค (3 หนวยกิต) ADV 202 Advertising and Consumer Behavior ศึ ก ษาทํ า ความเข า ใจแนวคิ ด ทฤษฎี ท างจิ ต วิ ท ยา สังคมวิทยาทีเ่ กีย่ วกับพฤติกรรมผูบ ริโภค ปจจัยทีส่ ง ผลตอกระบวนการ ตัดสินใจซือ้ กระบวนการตัดสินใจซือ้ ของผูบ ริโภค พฤติกรรมผูบ ริโภค ประเภทตางๆ และแนวทางการประยุกตใชพฤติกรรมผูบ ริโภคเพือ่ การ โฆษณา เชน การกําหนดวัตถุประสงคการโฆษณา (Advertising Objective) การกําหนดกลุมเปาหมายสําหรับการสื่อสาร (Target Audience) การสรางสรรคงานโฆษณา (Advertising Creative) การ วางแผนชองทางโฆษณา (Advertising Channel Planning)

วสศ. 414 การปฏิบัติการดานวารสารศาสตร (3 หนวยกิต) ทางวิทยุโทรทัศน CJR 414 Television Journalism Workshop พื้นความรู: เคยเรียน วสศ. 302, วสศ. 305 และ วสศ. 311 จัดทําสถานีขาววิทยุโทรทัศนภาคปฏิบัติ โดยมีการจัด โครงสรางการนําเสนองานเปนฝายตาง ๆ อาทิ ฝายบรรณาธิการ ฝาย ผลิต และฝายจัดการ

ฆษณ. 203 การโฆษณากับสังคม (3 หนวยกิต) ADV 203 Advertising in Contemporary Society ศึกษางานโฆษณารวมสมัยและวิเคราะหความสัมพันธ ระหวางงานโฆษณากับบริบทตางๆ ในสังคม รวมถึงผลกระทบของ งานโฆษณาตอสังคม ศิลปวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา รวมทั้งศึกษาถึงขอบังคับ กฏระเบียบ กฏหมาย และหนวยงานที่ เกี่ยวของกับวิชาชีพดานงานโฆษณา

หลักสูตรปร ญญาตร 479


ฆษณ. 204 ความคิดสรางสรรคในการโฆษณา (3 หนวยกิต) ADV 204 Creativity in Advertising ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับความคิดสรางสรรคแลวนํามา ประยุกตใชในการกําหนดกลยุทธความคิดสรางสรรคงานโฆษณา อาทิ การกําหนดกลุม ผูร บั สารเปาหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด กลยุทธ และกลวิธีดานการสรางสรรคบนพื้นฐานของคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อเปดโอกาสใหฝกปฏิบัติ ในการสรางสรรคงานโฆษณาผานสื่อ ประเภทตางๆ โดยนักศึกษาจะไดฝกปฏิบัติจากกรณีศึกษา ฆษณ. 305 การวิจัยการโฆษณา (3 หนวยกิต) ADV 305 Advertising Research พื้นความรู: เคยเรียน นทศ. 105 การวิจัยการสื่อสารเบื้องตน ศึกษากระบวนการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพทั้ง ทฤษฎีและปฏิบัติ อาทิ การวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค การตลาด การ โฆษณา ตัง้ แตการกําหนดปญหาการวิจยั การทบทวนวรรณกรรม การ สรางสมมติฐาน การออกแบบการวิจัย การเก็บรวบรวมขอมูล การ วิเคราะหขอ มูล และหลักการเขียนรายงานผลการวิจยั การโฆษณา เพือ่ นําผลการวิจัยมาใชประกอบการวางแผนการโฆษณา และประเมิน ประสิทธิผลการโฆษณา ฆษณ. 306 การสรางตราเชิงกลยุทธ (3 หนวยกิต) ADV 306 Strategic Branding ศึกษาถึงความหมาย บทบาท ความสําคัญของตราและ การสรางตรา ประเภทของตรา การสรางคุณคาของตรา ความสัมพันธ ระหวางการโฆษณากับการสรางตรา กระบวนการการสรางตราเชิง กลยุทธ ปญหาและอุปสรรคของการสรางตรา รวมถึงกรณีศึกษาตรา ที่ประสบความสําเร็จและลมเหลว

480 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ฆษณ. 311 การออกแบบกราฟกและการผลิตโฆษณา (3 หนวยกิต) ADV 311 Graphic Design and Advertising Production พื้นความรู: สอบผานวิชา ฆษณ. 204 ความคิดสรางสรรค ในการโฆษณา และผานการอบรมคอมพิวเตอรพื้นฐาน เพื่อการออกแบบ ศึกษาหลักการออกแบบกราฟก องคประกอบของการ ออกแบบกราฟก และการประยุกตใชหลักการออกแบบกราฟกเพือ่ การ ผลิตงานโฆษณาทั้งที่เปนงาน 2 มิติ และงาน 3 มิติ โดยมีการสมมติ กรณีศึกษา เพื่อใหนักศึกษาไดนําเสนอความคิดและเทคนิคดานการ ผลิตในรูปแบบของสื่อโฆษณาทางหนังสือพิมพ นิตยสาร สื่อโฆษณา กลางแจง สื่อโฆษณาเคลื่อนที่ สื่อโฆษณา ณ จุดขาย และสื่อสมัย ใหม ฆษณ. 312 การผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อการโฆษณา (3 หนวยกิต) ADV 312 Digital Media Production for Advertising พื้นความรู: สอบผานวิชา ฆษณ. 204 ความคิดสรางสรรค ในการโฆษณา และผานการอบรมคอมพิวเตอรพื้นฐาน เพื่อการออกแบบ ศึกษาหลักเกณฑ กระบวนการผลิตงานโฆษณา การ กําหนดเสียง ภาพ มุมกลอง การตัดตอภาพ การลําดับภาพ เทคนิค ในการเตรียม และผลิตสื่อจริง โดยมีการสมมติกรณีศึกษาเพื่อให นักศึกษาไดนําเสนอความคิดและเทคนิค รวมถึงการดําเนินการผลิต งานโฆษณาเพื่อเผยแพรผานสื่อตางๆ รวมถึงสื่อสมัยใหม ฆษณ. 313 การเขียนขอความโฆษณา (3 หนวยกิต) ADV 313 Copywriting พื้นความรู: สอบผาน ฆษณ. 204 ความคิดสรางสรรคในการโฆษณา ศึกษาแนวคิดและฝกปฏิบัติการเขียนขอความโฆษณา อาทิ การเขียนพาดหัวเรื่อง (Headline) เนื้อเรื่อง (Body Copy) บท โฆษณา (Script) ขอความสําคัญ (Key Message) และขอความปด


ทาย (Tagline) เพื่อนําเสนอใหสอดคลองตามแนวคิดหลักของการ โฆษณา (Advertising Concept) ในสื่อตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ และทํางานรวมกับผูกํากับศิลปในงานโฆษณาไดอยางมืออาชีพ โดย คํานึงถึงคานิยม สังคม และวัฒนธรรมของไทยภายใตกฎหมายและ กฎระเบียบของสังคม ฆษณ. 314 การสรางสรรคสื่อรูปแบบใหม (3 หนวยกิต) ADV 314 Innovative Approach of New Media Landscapes ศึกษาความสําคัญของกลยุทธและกลวิธีในการสรางสรรค สื่อนวัตกรรม (Innovative Media) สื่ออินเตอรแอคทีฟ (Interactive Media) สื่อแฝงในบรรยากาศ (Ambient Media) และสื่อทางเลือก (Alternative Media) เพื่อใหสอดคลองกับวิถีการดําเนินชีวิต และ พฤติกรรมในการเปดรับสือ่ ของกลุม ผูบ ริโภคเปาหมายทีเ่ ปลีย่ นแปลง ไป รวมถึงศึกษาการใชสื่อนวัตกรรมในบริบทการสื่อสารการตลาด ตางๆ อาทิ การตลาดแบบบอกตอ (Buzz Marketing) การตลาดแบบ กองโจร (Guerrilla Marketing) เพื่อใหเขาถึงกลุมเปาหมายเฉพาะได อยางมีประสิทธิภาพ

ฆษณ. 316 การบริหารงานลูกคา (3 หนวยกิต) ADV 316 Client Management การศึกษา ทําความเขาใจบทบาทหนาที่ ความรับผิดชอบ และคุณสมบัติของฝายบริหารงานลูกคา (Account Executive) ใน บริษัทตัวแทนโฆษณา (Advertising Agency) เรียนรูองคประกอบที่ สําคัญของทักษะตางๆ (Skills) ของผูท จี่ ะทํางานฝายบริหารงานลูกคา อาทิ การวิเคราะหสถานการณดานการตลาดเพื่อการโฆษณา (Marketing Snapshot for Advertising) การพัฒนาบุคลิกภาพ (Personal Development) การพัฒนาทักษะทางดานการสื่อสารทั้งดานการพูด และการเขียน (Communication Skill Development) เชน การพูด คุยกับลูกคา การเจรจาตอรอง การนําเสนองาน การเขียนรายงานการ ประชุม (Call Report) การจัดทํารายงานรายละเอียดของการตราสิน คาเพื่อการโฆษณา (Advertising Brief) การจัดทําแผนการโฆษณา (Advertising Plan) รวมถึงการสรางกลยุทธการบริหารจัดการเวลา (Time Schedule) งบประมาณ (Budget Allocated) และการทํางาน โฆษณาของบริษัทตัวแทนโฆษณาใหสอดคลองกับความตองการของ ลูกคา

ฆษณ. 315 การวิเคราะหการตลาดเพื่อการโฆษณา (3 หนวยกิต) ADV 315 Marketing Analysis for Advertising การคนควา ศึกษา วิเคราะหสวนประสมทางดานการ ตลาด เพือ่ นําขอมูลที่ไดไปใชประกอบการกําหนดกลยุทธการโฆษณา ไดแก การวิเคราะหปจจัยภายในและภายนอกองคการธุรกิจ การ วิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรคของตราสินคาผูทํา โฆษณา (Self-Analysis) ตราสินคาคูแขง (Competitors Analysis) การวิเคราะหผูบริโภค (Consumer Analysis) และการจัดทํารายงาน รายละเอียดของการตราสินคาเพื่อการโฆษณา (Advertising Brief) สําหรับเปนขอมูลในการวางแผนโฆษณา

ฆษณ. 407 การวางแผนชองทางการโฆษณา (3 หนวยกิต) ADV 407 Advertising Channel Planning ศึกษาหลักการและแนวทางการวางแผนสื่อโฆษณา การ วิเคราะหสถานการณทางการตลาด ผูบ ริโภค แบรนด ผลิตภัณฑ รวม ถึงการวิเคราะหสื่อและจุดสัมผัสแบรนด (Brand Touch Point) ทั้งใน เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ตลอดจนปจจัยที่สงผลตอการกําหนด กลยุทธและกลวิธีเชิงสรางสรรค ในการวางแผนสื่อโฆษณาและการ สือ่ สารการตลาดแบบบูรณาการ (Integrated Marketing Communication) โดยผานการฝกปฏิบัติการวางแผนชองทางการโฆษณาอยาง เปนกระบวนการ เพื่อกอใหเกิดประสิทธิผลทางการสื่อสาร

หลักสูตรปร ญญาตร 481


ฆษณ. 408 การจัดการโฆษณา (3 หนวยกิต) ADV 408 Advertising Management ศึกษาการกําหนดกลยุทธและการดําเนินงานของบริษัท ตัวแทนโฆษณา อาทิ ลักษณะโครงสรางของบริษทั ตัวแทนโฆษณาและ ธุรกิจที่เกี่ยวของในแวดวงโฆษณา การบริหารความสัมพันธระหวาง บริษัทตัวแทนโฆษณากับผูโฆษณา รวมถึงแนวโนมการจัดการธุรกิจ โฆษณาขามชาติ และผลกระทบของสภาวะแวดลอมทางการตลาดที่ มีอิทธิพลตอการจัดการโฆษณา เพื่อนําขอมูลไปประกอบการจัดการ ธุรกิจของบริษัทตัวแทนโฆษณา ฆษณ. 409 แผนรณรงคโฆษณา (3 หนวยกิต) ADV 409 Advertising Campaign พื้นความรู: สอบผานวิชา ฆษณ. 204 ความคิดสรางสรรค ในการโฆษณา วิชา ฆษณ. 305 การวิจัยการโฆษณา และวิชา ฆษณ. 407 การวางแผนชองทางการโฆษณา ศึกษาหลักการและวิธีการ รวมถึงกระบวนการวางแผน รณรงคโฆษณา ตัง้ แตการรับขอมูลและวิเคราะหสถานการณทางการ ตลาด การวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค วัตถุประสงคของแผน โฆษณา กลยุทธและกลวิธีการวางแผนสื่อ กลยุทธและกลวิธีการ สรางสรรคงานโฆษณา และการสือ่ สารการตลาดแบบบูรณาการ (Integrated Marketing Communication) ตลอดจนการนําเสนอและแนวทาง การประเมินผล โดยนักศึกษาจะไดฝก ปฏิบตั จิ ากกรณีศกึ ษาจริง ฆษณ. 410 สัมมนาการโฆษณา (3 หนวยกิต) ADV 410 Seminar in Advertising พื้นความรู: นักศึกษาชั้นปที่ 4 หรือ มีหนวยกิตสะสมไมนอยกวา 99 หนวยกิต ศึกษาและจัดสัมมนาเพือ่ ใหนกั ศึกษามีความรูใ นประเด็น ตางๆ ของสาขาวิชาชีพโฆษณาหรือทีเ่ กีย่ วของ แนวโนม ทิศทางและ จริยธรรม จากวิทยากรทีม่ คี วามรูค วามเชีย่ วชาญและประสบการณใน 482 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

วิชาชีพโฆษณาและสาขาทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ นําความรูท ี่ไดจากกรณีศกึ ษา และประสบการณของวิทยากรมาฝกวิเคราะหและเตรียมความพรอม สูการทํางาน ฆษณ. 417 การกํากับศิลปในงานโฆษณา (3 หนวยกิต) ADV 417 Art Directions in Advertising เรียนรูความคิดสรางสรรคงานโฆษณา เพื่อออกแบบภาพ ประกอบ (Illustrate) ออกแบบหรือเลือกใชแบบตัวอักษร (Typography) ภาษาของพื้นที่ (Language of Space) ทฤษฎีสี (Principle of Color) แสงและเงา การกําหนดภาพและองคประกอบภาพ-ฉาก เครื่องแตงกาย โดยมีหลักการทางศิลปะ เพื่อการกํากับศิลปและ สรางสรรคงานโฆษณาผานสือ่ ตางๆ โดยสามารถสือ่ สารและสรางการ จดจําตราสินคาไดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนทํางานรวมกับ นักเขียนบทโฆษณาไดอยางมืออาชีพ ฆษณ. 418 การโฆษณาระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) ADV 418 International Advertising เพื่ อ ศึ ก ษาบทบาทและความสํ า คั ญ ของการโฆษณา ระหวางประเทศตอธุรกิจขามชาติ กลยุทธ และการวางแผนงาน โฆษณาระหวางประเทศ การบริหารงานภายในองคกรของบริษัท ตัวแทนโฆษณาขามชาติ โดยฝกวิเคราะหสถานการณของงานโฆษณา ระหวางประเทศ ภายใตความรูความเขาใจเกี่ยวกับสภาวะเศรษฐกิจ โลก กระแสโลกาภิวัตน ตลอดจนปจจัยและเงื่อนไขทางการเมือง เศรษฐกิจ กฎหมาย ศาสนา สังคม วัฒนธรรม การตลาด และ พฤติกรรมผูบ ริโภค ทีม่ ผี ลตอการสรางสรรคงานโฆษณา การวางแผน สื่อ และการสื่อสารขามวัฒนธรรม


หมวดวิชาศิลปะการแสดง ศปส. 100 ปริทัศนงานสรางละคร (1 หนวยกิต) PFA 100 Introduction to Theatre Production ฝกปฏิบัติหนาที่ตางๆ ขั้นพื้นฐานในหนวยงานการแสดง ของโครงการการแสดงทีจ่ ดั ขึน้ โดยภาควิชา ผูล งทะเบียนจะตองเลือก หนวยงานที่ตนสนใจ เชน ฝายฉาก ฝายแสง ฝายเครื่องแตงกายและ แตงหนา ฝายเครื่องประกอบการแสดง ฝายประชาสัมพันธ ฝาย สถานที่และตอนรับ โดยอยูภายใตการดูแลและการประเมินผลของ อาจารยผูควบคุมวิชา ศปส. 101 งานสรางละคร 1 (1 หนวยกิต) PFA 101 Theatre Production I (บุรพวิชา ศปส. 100) ฝกปฏิบตั แิ ละรับผิดชอบหนาทีต่ า งๆ ในโครงการ Degree Project Festival อันเปนการปฏิบัติการเพื่อสรางงานศิลปะการแสดง นิพนธของนักศึกษาชั้นปที่ 4 (สาขาการแสดง/การกํากับการแสดง) เพือ่ จบการศึกษา นักศึกษาทีล่ งทะเบียนจักตองฝกปฏิบตั ติ ามสายงาน ที่ตนสนใจ ภายใตการดูแลประเมินผลของอาจารยผูควบคุมรายวิชา ตามสายที่ตนเองศึกษา ศปส. 102 งานสรางละคร 2 (1 หนวยกิต) PFA 102 Theatre Production II (บุรพวิชา ศปส. 101) ฝกปฏิบตั แิ ละรับผิดชอบหนาทีต่ า งๆ ในการปฏิบตั กิ ารขัน้ สูง ในโครงการละครเวทีประจําปของภาควิชานักศึกษาที่ลงทะเบียน จักตองฝกปฏิบัติงานในขั้นสูงตามสายงานที่ตนเองศึกษา ภายใตการ ดูแลและประเมินผลของอาจารยผูควบคุมรายวิชา

ศปส. 103 งานสรางละคร 3 (1 หนวยกิต) PFA 103 Theatre Production III (บุรพวิชา ศปส. 102) ฝกปฏิบตั แิ ละรับผิดชอบหนาทีต่ า งๆ ในการปฏิบตั กิ ารขัน้ สูง ในโครงการ Degree Project Festival นักศึกษาที่ลงทะเบียนจัก ตองฝกปฏิบตั งิ านในขัน้ สูงตามสายงานทีต่ นเองศึกษา ภายใตการดูแล และประเมินผลของอาจารยผูควบคุมรายวิชา ศปส. 104 งานสรางละคร 4 (1 หนวยกิต) PFA 104 Theatre Production IV (บุรพวิชา ศปส. 103) ฝกปฏิบัติและรับผิดชอบหนาที่ตางๆ ในการจัดโครงการ ละครเวทีประจําปของภาควิชาตามสายเฉพาะที่ตนเลือกศึกษา โดย ปฏิบัติงานในขั้นการควบคุมปฏิบัติงาน ภายใตการดูแลและประเมิน ผลของอาจารยผูควบคุมรายวิชา ศปส. 105 งานสรางละคร 5 (1 หนวยกิต) PFA 105 Theatre Production V (บุรพวิชา ศปส. 104) ฝกปฏิบัติและรับผิดชอบหนาที่ตางๆ ในการจัดโครงการ Degree Project Festival ตามสายเฉพาะทีต่ นเลือกศึกษา โดยปฏิบตั ิ งานในขั้นการควบคุมปฏิบัติงาน ภายใตการดูแลและประเมินผลของ อาจารยผูควบคุมรายวิชา ศปส. 106 ศิลปะการแสดงนิทรรศน (2 หนวยกิต) PFA 106 Aspects of Performing Arts ศึกษาศิลปะการแสดงในมิติ แงมมุ ตางๆ ไมเพียงแตเฉพาะ ในฐานะงานศิลปะ แตรวมถึงปจจัยและองคประกอบของการแสดงที่ มีอยูในชีวิตประจําวันหรือประเพณี ศึกษาบทบาทและประโยชนของ ศิลปะการแสดงทีม่ ตี อ มิตทิ างสังคมวิทยา มนุษยศาสตร มานุษยวิทยา การศึกษา และวิทยาศาสตร ความสําคัญของศิลปะการแสดงในการ พัฒนามนุษยและสังคม หลักสูตรปร ญญาตร 483


ศปส. 107 งานฉากและเวที (2 หนวยกิต) PFA 107 Stagecraft ศึกษาหลักเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับงานดานฉากและเวที การเลือกและการใชวัสดุในการสรางฉากและเวทีโดยคํานึงถึงองค ประกอบดานการจัดแสงเพือ่ ใหสอดคลองกับบรรยากาศทางการแสดง ประเภทตางๆ การจัดเตรียมอุปกรณประกอบฉาก และอุปกรณ ประกอบการแสดงสําหรับการแสดงบนเวที การแสดงทางวิทยุโทรทัศน และภาพยนตร ศปส. 110 พื้นฐานการแสดง (2 หนวยกิต) PFA 110 Fundamental Acting ศึกษาทฤษฎีการแสดง และสรางความเขาใจเกีย่ วกับศิลปะ การแสดงที่ถูกตองโดยมุงเนนแนวคิดเกี่ยวกับความจริงในการแสดง ความจริงใจของนักแสดง ฝกปฏิบัติการแสดงขั้นพื้นฐาน คือ การ ใชรางกายของนักแสดง การผอนคลาย การหายใจ การเคลื่อนไหว การใชเสียงในการแสดงอยางถูกวิธี และการฝกประสาทสัมผัส ศปส. 111 การเตรียมความพรอมของนักแสดง 1 (1 หนวยกิต) PFA 111 Actor’s Tools Preparation I วินัยและความรับผิดชอบของนักแสดง การเตรียมความ พรอมรางกายและเสียงซึ่งถือเปนเครื่องมือสําคัญของนักแสดง การ หายใจ การผลิตเสียงที่ถูกวิธี แบบฝกหัดอุนเครื่องรางกายที่ใชในการ แสดง นักศึกษาตองสรางวินัยในตนเองดวยการฝกพัฒนาเครื่องมือ ทุกวัน วันละอยางนอย 1 ชั่วโมงกอนเริ่มเรียนวิชาการแสดงอื่นๆ จนเปนกิจวัตรของนักแสดง

484 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศปส. 112 การเตรียมความพรอมของนักแสดง 2 (1 หนวยกิต) PFA 112 Actor’s Tools Preparation II (บุรพวิชา ศปส. 111) วินัยและความรับผิดชอบของนักแสดง การเตรียมความ พรอมรางกายและเสียงซึ่งถือเปนเครื่องมือสําคัญของนักแสดง แบบ ฝกหัดทางการแสดงแบบตางๆ เพื่อแกปญหาทางกายภาพ รวมทั้ง ปญหาดานการพูด การออกเสียง การฝกสําเนียงและการลดสําเนียง นักศึกษาตองสรางวินยั ในตนเองดวยการฝกพัฒนาเครือ่ งมือทุกวัน วัน ละอยางนอย 1 ชัว่ โมงกอนเริม่ เรียนวิชาการแสดงอืน่ ๆ จนเปนกิจวัตร ของนักแสดง ศปส. 113 การเตรียมความพรอมของนักแสดง 3 (1 หนวยกิต) PFA 113 Actor’s Tools Preparation III (บุรพวิชา ศปส. 112) วินัยและความรับผิดชอบของนักแสดง การเตรียมความ พรอมรางกายและเสียงซึ่งถือเปนเครื่องมือสําคัญของนักแสดง การ หายใจ การผลิตเสียงที่ถูกวิธี แบบฝกหัดขั้นสูงทางการแสดง การ วิเคราะหปญ หาเฉพาะบุคคลและการแกปญ หา การฝกสอนและการนํา แบบฝกหัดทางการแสดง นักศึกษาตองสรางวินยั ในตนเองดวยการฝก พัฒนาเครือ่ งมือทุกวัน วันละอยางนอย 1 ชัว่ โมงกอนเริม่ เรียนวิชาการ แสดงอื่นๆจนเปนกิจวัตรของนักแสดง ศปส. 120 พื้นฐานการเขียนบทละคร (2 หนวยกิต) PFA 120 Fundamental Dramatic Writing ศึกษาองคประกอบ รูปแบบ และหลักการเขียนบทเพื่อ การแสดง ทั้งบทละครเวที บทละครโทรทัศน บทภาพยนตร ขอแตก ตางในวิธกี ารสือ่ สารของบททีผ่ า นสือ่ ตางชนิด ตลอดจนฝกทักษะการ เขียนเพื่อการแสดงสําหรับผานสื่อประเภทตางๆ


ศปส. 130 ปริทัศนงานออกแบบเพื่อการแสดง (2 หนวยกิต) PFA 130 Introduction to Scenography ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเบือ้ งตนสําหรับงานออกแบบเพือ่ การแสดง องคประกอบทางศิลปะ ความหมายและอิทธิพลของเสน สี แสง เงา เอกภาพในงานออกแบบเพื่อการแสดง โดยเรียนรูหลักการ พิจารณาภาพรวมของการออกแบบทัง้ ฉาก แสง เสียง เครือ่ งแตงกาย และการแตงหนา ศปส. 140 ปริทัศนการละครเพื่อการพัฒนา (2 หนวยกิต) PFA 140 Introduction to Theatre for Development ศึกษาความเปนมา ระบบวิธีการแสดง พัฒนาการของ ละครทีเ่ ปนเครือ่ งมือสือ่ สารกับชุมชน กลวิธชี ปี้ ญ หาสังคมโดยใชศลิ ปะ การละคร แนวทางในการทํางานระหวางละครกับสังคม ตลอดจน ตัวอยางรูปแบบของละครที่มีบูรณาการอันหลากหลาย เชน ละคร สรางสรรค (Creative Drama) ละครในการศึกษา (DIE) ละครชุมชน (Community Theatre) ละครเบรคชท (Brechtian Theatre) ละคร ของผูถูกกดขี่ (Theatre of the oppressed) และละครบําบัด (Dramatherapy) ศปส. 150 ปริทัศนประวัติศาสตรการละครสากล (3 หนวยกิต) PFA 150 Introduction to Historiography of World Theatre ศึกษาวิวัฒนาการของการละครและบทละครตั้งแตจุด กําเนิดของละครตะวันตก กรีก โรมัน สมัยฟนฟูศิลปวิทยาการ จนถึง ละครสมัยใหม ตลอดจนวิวัฒนาการของละครตะวันออก เชน อินเดีย จีน ญี่ปุน และไทย โดยเปรียบเทียบคานิยม ศาสนา สังคม และ วัฒนธรรมที่มีผลตอความแตกตางของการละคร

ศปส. 151 วรรณกรรมการละครสากล 1 (3 หนวยกิต) PFA 151 World Dramatic Literature I ศึกษาวรรณกรรมการละครเอกของโลก โดยเลือกจากบท ละครสําคัญของตะวันตกและตะวันออกทีเ่ ปนแบบอยางในดานรูปแบบ การประพันธ แนวคิด คานิยมแหงยุคสมัย และคุณคาทางสังคม ศปส. 152 วรรณกรรมการละครสากล 2 (3 หนวยกิต) PFA 152 World Dramatic Literature II (บุรพวิชา: ศปส. 151) ศึกษาวรรณกรรมการละครเอกของโลก โดยเลือกจากบท ละครสําคัญของตะวันตกและตะวันออกทีเ่ ปนแบบอยางในดานรูปแบบ การประพันธ แนวคิด คานิยมแหงยุคสมัย และคุณคาทางสังคม ตลอดจนวิเคราะหเปรียบเทียบปจจัยดานศาสนา สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ที่สงผลใหเกิดความแตกตางระหวางวรรณกรรมตะวันตก และตะวันออก รวมทั้งอิทธิพลความคิดที่วรรณกรรมทั้งสองประเภท มีตอกัน ศปส. 153 ทฤษฎีและการวิจารณการแสดง (3 หนวยกิต) PFA 153 Performance Theory and Criticism ศึกษาทฤษฎีการละครและทฤษฎีวิจารณเพื่อนํามาใชใน การวิจารณศิลปะการแสดง ศึกษาตัวอยางบทวิจารณที่มีคุณคา การ เขียนบทวิจารณเชิงสรางสรรค ศปส. 211 การแสดง 1: แกนมนุษยและงานแสดง (2 หนวยกิต) PFA 211 Acting I: Human Essence and the Craft of Acting (บุรพวิชา ศปส. 120) การสํ า รวจวั ต ถุ ดิ บ ภายในของนั ก แสดง เพื่ อ ค น พบ ประสบการณ สัญชาตญาณ อารมณความรูสึก ความตองการ และ ยอมรับตนเองในฐานะมนุษย เรียนรู “ความจริง” และ “ความจริงใจ” ในการแสดง และความงดงามในจิตใจของนักแสดงตระหนักถึงความ สําคัญและพันธกิจของตนในฐานะนักแสดงและมนุษยทพี่ งึ มีตอ สังคม หลักสูตรปร ญญาตร 485


ศปส. 212 การแสดง 2: วิถีเพื่อการแสดงละคร (2 หนวยกิต) สัจนิยมและธรรมชาตินิยม PFA 212 Acting II: Approach for Realism and Naturalism (บุรพวิชา ศปส. 211) เรียนรูและฝกการแสดงละครแนวสัจนิยมและธรรมชาติ นิยม ศึกษามรดกทฤษฎีการแสดงของคอนสแตนติน สตานิสลาฟสกี้ ทฤษฎีและแนวการฝกการแสดงของนักการละครรุนหลังที่ไดรับอิทธิ พลจากสตานิสลาฟสกี้ ความเหมาะสมและวิธีการใชเทคนิคของสตา นิสลาฟสกี้ ปญหาทางการแสดงเฉพาะบุคคล วิธีการแกปญหา เพื่อ การสรางตัวละครอยางสมจริง

ศปส. 220 วัตถุดิบ แรงบันดาลใจ และความคิด (2 หนวยกิต) สรางสรรคในการเขียนบทเพื่อการแสดง PFA 220 The Art of Dramatic Writing ฝกการเขียนบทเพือ่ การแสดงโดยใชวตั ถุดบิ จากแหลงทีม่ า ตางๆ รวมทั้งแรงบันดาลใจและความคิดสรางสรรค ศปส. 221 การเขียนองคประกอบสําคัญของบทละคร (2 หนวยกิต) PFA 221 Writing Workshop on Elements of a Play ศึกษาและฝกเขียนองคประกอบสําคัญของบทละคร โดย สังเกตจากวรรณกรรมการละครสําคัญเปนแบบอยาง ศิลปะของการ เขียนโครงเรือ่ ง การสรางลักษณะนิสยั ตัวละคร การนําเสนอแกนความ คิดหลักของเรื่อง และการเขียนบทสนทนา

ศปส. 213 การอานออกเสียงเพื่อตีความหมาย (2 หนวยกิต) PFA 213 Oral Interpretation (บุรพวิชา ศปส. 212) ศึกษาทฤษฎี เทคนิควิธี และฝกฝนการอานออกเสียง เพือ่ สื่อความหมายการแสดงในสื่อตางๆ โดยเนนความถูกตองทางภาษา ความหมายของบท ภาพพจน อารมณ และบรรยากาศที่แฝงอยูใน บท

ศปส. 222 การเขียนบทละคร 1 (2 หนวยกิต) PFA 222 Playwriting I ศึกษาองคประกอบของบทละคร การกําหนดแกนความ คิดของเรื่อง การวางโครงเรื่อง การสรางลักษณะนิสัยของตัวละคร การสรางบทสนทนา ฝกเขียนบทละครเวทีองกเดียว (One-Act Play)

ศปส. 214 ประเภทและแนวละคร: จากบทสูก ารแสดง (2 หนวยกิต) PFA 214 Genres and Styles of Plays: From Text to Performance (บุรพวิชา ศปส. 212) ฝกการแสดงละครประเภทตางๆ โดยศึกษาจากวรรณกรรม การละครตางประเภททัง้ โศกนาฏกรรม สุขนาฏกรรม ละครในยุคสมัย ตางๆ เชน ละครเชคสเปยร

ศปส. 223 วรรณคดีสุนทรียนิยม (3 หนวยกิต) PFA 223 Aesthetic Appreciation of Literature ทฤษฎีวรรณคดีเบื้องตน ศึกษาสุนทรียภาพในวรรณคดี เปรียบเทียบลักษณะเหมือนและแตกตางระหวางวรรณคดีแตละ ประเภท ทั้งรอยแกว รอยกรอง บทละคร การวิเคราะหนาฏการใน วรรณคดี ศึกษาวรรณกรรมรวมสมัยที่มีความสําคัญทั้งของไทยและ ตางประเทศ

486 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


ศปส. 224 นักเขียนบทละครและการสรางสรรคงาน (2 หนวยกิต) PFA 224 Playwrights on Playwriting ศึกษาประวัตแิ ละผลงานของนักเขียนบทละครสําคัญ แรง บันดาลใจของนักเขียนในการสรางผลงาน เอกลักษณและแนวการ เขียน เพื่อนํามาสูการวิเคราะหการเขียนบทของตนเอง และฝกสราง ผลงานที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว ศปส. 225 ละคร ภาพยนตร นวนิยาย: (2 หนวยกิต) ศิลปะเปรียบเทียบ PFA 225 Theatre, Film, Narrative: Transformation of Style ศึกษาความแตกตางในวิธีการนําเสนอเรื่องราวเดียวกัน ผานทางละครเวที ภาพยนตร และนวนิยาย การแปรรูปจากสื่อหนึ่ง ไปสูสื่อตางชนิด วิเคราะหวิธีการกําหนดโครงสราง การดําเนินเรื่อง การปรับเปลี่ยน เพิ่มเติม หรือลดทอน เพื่อใหเหมาะสมกับธรรมชาติ ของสื่อที่มีขอดีและขอจํากัดที่แตกตางกัน โดยคงนัยสําคัญและแกน ความคิดหลักของเรื่องไวไดอยางครบถวน ศปส. 226 ละครกับสังคม (2 หนวยกิต) PFA 226 Drama and Society ความสัมพันธระหวางละครและสังคม ศึกษาบทละคร บท ภาพยนตร ทัง้ ของไทยและตางประเทศในทุกยุคสมัยทีแ่ สดงใหเห็นถึง อิทธิพลที่มีตอกันของละครกับสังคม

ศปส. 231 วาดภาพระบายสี (2 หนวยกิต) PFA 231 Drawing and Painting ฝกทักษะวาดรูปขั้นพื้นฐาน การวาดรูปทัศนียภาพ การ วาดรูปคน และฝกทักษะการระบายสี ศปส. 232 ผัสสะแหงแสงสี (2 หนวยกิต) PFA 232 Perception of Light and Colour ศึกษาทฤษฎีการออกแบบแสง ประเภทและคุณสมบัตขิ อง โคมไฟ เรียนรูความแตกตางระหวางสีของวัตถุและสีของแสง ฝก ทักษะการใชวัสดุอุปกรณที่ถูกตองและปลอดภัย ศปส. 233 อารมณของผิวสัมผัสและสี (2 หนวยกิต) PFA 233 Feeling of Texture and Colour ศึกษาลักษณะพื้นผิว สี ลวดลายของวัสดุที่มีอยูรอบตัว ประเภทและคุณสมบัตขิ องเนือ้ ผา การสรางลวดลายบนเนือ้ ผาเพือ่ นํา มาสรางรูปแบบเสื้อผาที่สื่อความหมายลักษณะนิสัยของตัวละครได อยางสรางสรรค ศปส. 234 พื้นที่และการสรางภาพบนเวที (2 หนวยกิต) PFA 234 Sense of Space and Stage Picturing ศึกษาโรงละครแบบตางๆ ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับองค ประกอบในโรงละคร ฝกการจัดองคประกอบภาพบนเวที และฝกทักษะ การสรางหุนจําลอง

ศปส. 230 ประวัติศาสตรศิลป (2 หนวยกิต) PFA 230 History of Art ศึกษาประวัติศาสตรศิลปะตะวันตกและไทยในภาพรวม ตัง้ แตอดีตถึงปจจุบนั ทัง้ ทางดานทัศนศิลป สถาปตยกรรม และศิลปะ การแสดง

หลักสูตรปร ญญาตร 487


ศปส. 235 เทคนิคระบายสีและจําลองภาพ (2 หนวยกิต) ในการออกแบบเพื่อการแสดง PFA 235 Painting and Rendering Techniques in Scenography ศึกษาเทคนิคการระบายสีและสรางพื้นผิวฉากแบบตางๆ การจําลองภาพหรือลายที่ตองการลงบนงานออกแบบ ตลอดจนการ ดัดแปลงภาพหรือลายดัง้ เดิมใหเกิดความแตกตาง นาสนใจ สอดคลอง กับแนวทางของศิลปะที่กําหนดในละครแตละเรื่อง โดยยังคงความ หมายหรือนัยประหวัดของภาพและลายดั้งเดิมอยู ศปส. 240 ละครสรางสรรค (2 หนวยกิต) PFA 240 Creative Drama ฝกฝนทักษะและเรียนรูก ลวิธขี องกิจกรรมละครสรางสรรค เชน การแสดงละครสด การเลานิทาน ละครหุน ละครเงา การใชลีลา ทาใบ และการใชจนิ ตนาการ ผูเ รียนวิชานีจ้ ะตองฝกฝนการทํากิจกรรม ละครสรางสรรคจนสามารถลงปฏิบตั ภิ าคสนามจริงกับกลุม เด็กทีเ่ ปน เปาหมาย โดยนํากลวิธีเหลานี้มาพัฒนาเด็กใหเปนผูรูจักคิด รูจัก ตนเอง กลาแสดงออก รูจักการทํางานรวมกับผูอื่น รับฟงผูอื่น มี เหตุผล และพัฒนาการเรียนรูในดานตางๆ ได ศปส. 241 ละครบําบัดเบื้องตน (2 หนวยกิต) PFA 241 Fundamental of Dramatherapy ศึกษาหลัก กระบวนการ และทฤษฎีในการนําศิลปะการ ละครมาพัฒนาและประยุกต ใชเพื่อประโยชนทางดานการฟนฟูและ บําบัดรักษา นักศึกษาจะมีโอกาสทํางานกับกระบวนการสวนบุคคล ผานเทคนิคของละครบําบัดในการเรียนรูแ ละสํารวจตนเอง รวมทัง้ ได ศึกษาหลักการเบื้องตน เทคนิค และโครงสรางของละครบําบัด ทฤษฎีทางจิตวิทยาที่เกี่ยวของ และหลักการของความสัมพันธในรูป แบบการบําบัดรักษา

488 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศปส. 242 ระบบการศึกษาเปรียบเทียบ (3 หนวยกิต) PFA 242 Comparative Education System ศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหวางระบบการศึกษาของไทย อังกฤษ อเมริกา ประเทศในกลุมอาเซียน และประเทศอื่นๆ ในเอเชีย วิเคราะหจุดเดน จุดดอย ปญหา และแนวทางการพัฒนาคุณภาพการ ศึกษา ศปส. 243 ละครและการศึกษา: บูรณาการ (2 หนวยกิต) เพื่อการพัฒนามนุษย PFA 243 Drama and Education: The Integration for Human Development ศึกษาความสําคัญของละครที่มีตอการพัฒนาการศึกษา ของชาติ กระบวนการบูรณาการทางการละครเขากับโครงสรางและ สาระของหลักสูตรการศึกษาในประเทศไทย ฝกออกแบบหลักสูตร การ เรียนการสอน การประเมินผล และปฏิบัติการจริงในชั้นเรียนของ โรงเรียนในพื้นที่จริง ศปส. 251 การละครชาติพันธุและ (3 หนวยกิต) ประวัติศาสตรศึกษา: ประเด็นและกระบวนวิธี PFA 251 Theatre Ethno-Historiography Studies: Issues and Methods การศึกษาประวัติศาสตรการละครโดยพิเคราะหถึงปจจัย ดานชาติพันธุวรรณนา การกําหนดประเด็นศึกษาวิจัยและกระบวนวิธี ในการศึกษาวิจัย ฝกปฏิบัติการศึกษาวิจัยในพื้นที่จริง


ศปส. 252 ภูมิหลังและวิวัฒนาการการละครไทย (3 หนวยกิต) PFA 252 Background and Development of Thai Theatre ศึกษาประวัติศาสตร วิวัฒนาการ และภูมิหลังการละคร ไทยนับแตยุคกอนอารยธรรมลายลักษณมาจนถึงปจจุบัน การศึกษา ละครไทยผานขอมูลทางประวัติศาสตร วรรณคดี ศึกษารูปแบบการ แสดง และการนําเสนอรวมทั้งวรรณกรรมการละครไทยทั้งแบบราช สํานักและแบบพืน้ ถิน่ รวมทัง้ แบบประเพณีนยิ ม และแบบประชานิยม อันนําไปสูค วามเขาใจทางสุนทรียศาสตรนาฏศิลปและศิลปะการแสดง ของไทย ที่นําไปสูความเขาใจในสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงรูปแบบ การแสดงรวมสมัย ศปส. 253 การละครเอเชียตะวันออกเฉียงใตศึกษา (3 หนวยกิต) PFA 253 Sotheast Asian Theatre Studies ศึกษาประวัติ วิวฒ ั นาการ รูปแบบการแสดง การนําเสนอ และวรรณกรรมการละครรวมทัง้ นักการละครทีส่ าํ คัญในภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต เพื่อความเขาใจถองแทในรากเหงาแหงประชาคม อาเซียน รวมทัง้ การฝกปฏิบตั ภิ าคสนามของศิลปะการแสดงในภูมภิ าค ศปส. 312 การแสดง 3: ศิลปะการแสดงละครเวที (2 หนวยกิต) PFA 312 Acting III: The Art of Stage Acting (บุรพวิชา ศปส. 212) ฝกแสดงละครเวที ขั้นตอนการตีความหมายบทละคร วิเคราะหตวั ละคร และวิเคราะหปญ หาทางการแสดงและการแกปญ หา ศปส. 322 การเขียนบทละคร 2 (2 หนวยกิต) PFA 322 Playwriting II (บุรพวิชา ศปส. 321) ฝกการเขียนบทละครเวที โดยกําหนดองคประกอบสวน ตางๆ ของละครใหมีความลึกซึ้งมากขึ้น ศึกษาแนวทางการเขียนบท ละครแนวตางๆ เชน แนวสัจนิยม แนวตอตานสัจจนิยม โดยเขียนเปน บทละครเวทีขนาดยาว

ศปส. 331 ออกแบบฉาก 1 (2 หนวยกิต) PFA 331 Set Design I ศึกษาพืน้ ฐานในการออกแบบฉากสําหรับละครเวที เรียน รูกระบวนการออกแบบตั้งแตการตีความบทละคร การหาขอมูล การ เขียนแบบ การสรางหุนจําลอง การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสามมิติ โดยมุงเนนที่การออกแบบสําหรับละครฉากเดียว ศปส. 332 ออกแบบฉาก 2 (2 หนวยกิต) PFA 332 Set Design II พัฒนาแนวคิดในการออกแบบโดยมุงเนนที่การออกแบบ สําหรับละครหลายฉาก เชน ละครเพลง โอเปรา ฝกออกแบบฉาก ละครที่มีการใชสื่อผสมหรือบูรณาการความรูนําเอาศิลปะไทยมา ประยุกตใชไดอยางสรางสรรคและทันสมัย ศปส. 341 ปฏิบัติการละครประเด็นศึกษา 1 (2 หนวยกิต) PFA 341 Theatre in Education Practicum I ศึกษาทฤษฎีและกลวิธีของละครประเด็นศึกษาหลักและ แนวทางในการทํางานเบือ้ งตน ฝกฝนเครือ่ งมือทางการแสดงสําหรับ งานละครประเด็นศึกษาและละครชุมชน เชน ละครใบ การเลานิทาน ละครเงา ดนตรี รองเพลง ระบํา งานศิลปะเด็ก การออกแบบคาย ตลอดจนเกมสละคร (Theatre Games) อันจําเปนตอการทํางานใน ชุมชน และปฏิบัติการจริงในพื้นที่จริง ศปส. 342 ปฏิบัติการละครประเด็นศึกษา 2 (2 หนวยกิต) PFA 342 Theatre in Education Practicum II ฝกการวางแผนโครงการ การศึกษาพื้นที่ การกําหนด ประเด็น การเตรียมงานสรางสรรค รูปแบบวิธกี ารนําเสนอ การลงพืน้ ที่จริง การควบคุม แกไขปญหาเฉพาะหนา การสรุปและประเมินผล ละครประเด็นศึกษา

หลักสูตรปร ญญาตร 489


ศปส. 343 ปฏิบัติการละครชุมชน (2 หนวยกิต) PFA 343 Community Theatre Practicum ศึกษาลักษณะ แนวทาง และกระบวนการของละครชุมชน ฝกฝนการทํางานละครเพื่อพัฒนาชุมชน หรือการละครเพื่อการ แสดงออกเชิงสรางสรรคของชุมชน ละครกับการพัฒนามิติรอบดาน ของชุมชน การสรางความเขาใจและสัมพันธภาพอันดีตอสมาชิก ชุมชน การสรางคุณคาใหกบั ศิลปนของชุมชน และการปลูกฝงกิจกรรม ทางการละครใหยั่งยืนในชุมชน

ศปส. 354 ความบันเทิงวัฒนธรรมกระแสนิยม (3 หนวยกิต) PFA 354 Popular Entertainment ศึกษาหลักการ ทฤษฎีและแนวคิดของความบันเทิงที่ได รับความนิยมในแตละยุคสมัยและในแตละภูมิภาคของโลก อาทิ การ แสดงในงานวัด คารนิวัล ขบวนพาเหรด สุนทรียศาสตร วัฒนธรรม การเมือง-การปกครอง ความเชื่อศาสนาจักเปนองคประกอบและ อิทธิพลหลักทีน่ าํ มาวิเคราะหประกอบการทําความเขาใจทฤษฎีประชา นิยม อันนําไปสูค วามเขาใจในตัวตนของผูค นในภูมภิ าคตางๆ ในระดับ สากล

ศปส. 351 การละครและการเมือง (3 หนวยกิต) PFA 351 Theatre and Politics ความสํ า คั ญ และความสั ม พั น ธ ร ะหว า งการละครและ การเมือง ศึกษาตัวอยางจากนักเขียนบทละคร กลุม เคลือ่ นไหวทางการ ละคร และบทละครของประเทศตางๆ ที่เกิดขึ้นในฐานะปฏิกิริยาทาง สังคมที่มีตอการเมือง หรือการละครที่ใชเปนสื่อทางการเมืองทั้งของ ประเทศตางๆ และของไทย

ศปส. 355 อุตสาหกรรมบันเทิงสากล (3 หนวยกิต) PFA 355 Survey of World Entertainment Industry สํารวจลักษณะและความแตกตางของระบบอุตสาหกรรม บันเทิงในแตละภูมภิ าคของโลก อิทธิพลในโลกยุคไรพรมแดน ปญหา ในอุตสาหกรรมบันเทิง ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวของ

ศปส. 352 การละครตะวันออกและอาฟริกัน (3 หนวยกิต) PFA 352 Oriental and African Theatre ศึกษาประวัติ วิวฒ ั นาการ รูปแบบการแสดง การนําเสนอ และวรรณกรรมการละครรวมทัง้ นักการละครทีส่ าํ คัญ ทัง้ ในทวีปเอเชีย ตะวันออก และอาฟริกา โดยมุงเนนประเทศที่มอี ิทธิพลทางดานศิลป วัฒนธรรมตางๆ ในโลก อาทิ อินเดีย จีน ญี่ปุน เกาหลี เคนยา ศิลปะ การแสดงของชนเผาตางๆ และการแสดงที่ไดรับอิทธิพลจากคริสต ศาสนาในอาฟริกา ศปส. 353 ภูมิหลังและวิวัฒนาการการละครอเมริกัน (3 หนวยกิต) PFA 353 Background and Development of American Theatre ศึกษาภูมหิ ลังทางประวัตศิ าสตร และวิวฒ ั นาการของละคร ในประเทศสหรัฐอเมริกา ทั้งในดานรูปแบบ เนื้อหา วรรณกรรมการ ละคร และสุนทรียศาสตรที่เปนเอกลักษณ 490 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศปส. 356 ประเด็นคัดสรรทางมานุษยวิทยา (3 หนวยกิต) ศิลปะการละคร PFA 356 Selected Issues in Theatre Anthropology (บุรพวิชา ศปส. 450) ศึ ก ษาตั ว อย า งงานวิ จั ย และประเด็ น ที่ มี คุ ณ ค า ทาง มานุษยวิทยาศิลปะการละคร เพื่อนําไปสูการวิเคราะห วิพากษ และ การตอยอดการศึกษาวิจัย


ศปส. 357 สัมมนาอัตวิสัยจริงแทในงานวิจัย (3 หนวยกิต) ศิลปะการแสดง PFA 357 Authentic Subjectivity in Performing Arts Research: Seminar (บุรพวิชา ศปส. 450) สัมมนาเชิงวิเคราะห วิพากษ งานศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ดานศิลปะการแสดงทีแ่ สดงใหเห็นถึงอัตวิสยั จริงแทอยางประจักษชดั ความถูกเที่ยง เชื่อถือไดของอัตวิสัยจริงแท ตลอดจนคุณคา คุณ ประโยชนของงานวิจยั ดานศิลปะการแสดงทีม่ อี ตั วิสยั จริงแทตอ ความ เขาใจมนุษยและสังคม ศปส. 358 โครงการศิลปะการแสดงสากล (4 หนวยกิต) PFA 358 World Performance Project ฝกปฏิบัติการในการสรางความเขาใจในศิลปะการแสดง ในซีกโลกตางๆ ทั้งการทําวิจัยขอมูล การออกแบบภาคสนาม และจัด ทําโครงการละครยอย หรือการอบรมยอยสูส าธารณะ ภายใตการดูแล ควบคุมและใหคําปรึกษาของอาจารยที่ดูแลรายวิชา ศปส. 359 สรางเสริมประสบการณศิลปะ (4 หนวยกิต) การแสดงนานาชาติ PFA 359 International Performing Arts Internship การศึกษา ดูงาน ฝกฝนเพื่อสรางเสริมประสบการณและ ความรูดานศิลปะการแสดงนานาชาติในสถาบันการศึกษา หรือคณะ ละครต า งประเทศที่ มี ค วามร ว มมื อ กั บ ภาควิ ช าศิ ล ปะการแสดง นักศึกษาตองไดรบั อนุมตั จิ ากภาควิชาศิลปะการแสดงกอนลงทะเบียน

ศปส. 411 การแสดง 4: ศิลปะการแสดงสําหรับ (2 หนวยกิต) ละครโทรทัศนและภาพยนตร PFA 411 Acting IV: The Art of Acting for Television and Film (บุรพวิชา ศปส. 212) เรียนรูค วามแตกตางของสือ่ ภาพยนตร วิทยุโทรทัศน กับ ละครเวที เรียนรูเทคนิคและฝกการแสดงสําหรับภาพยนตรและละคร โทรทัศน โดยยังคงไวซึ่ง “ความจริง” และ “ความจริงใจ” ในการแสดง ศปส. 412 การแสดง 5: ละครสมัยใหมหลังจาก (2 หนวยกิต) แนวสัจนิยม และธรรมชาตินิยม PFA 412 Acting V: Departure from Realism and Naturalism (บุรพวิชา ศปส. 212) ศึกษาและฝกแสดงละครแนวตอตานสัจนิยมและธรรมชาติ นิยม ตัง้ แต สัญลักษณนยิ ม เอ็กสเปรสชัน่ นิสม ละครเอพิคหรือ ละคร วิภาษวิธี ละครแอบเสิรด จนถึงเทคนิคและแนวการแสดงแบบไบโอ แมคานิคของมายาโฮลด และเธียเตอร ออฟ ครูเอลตี้ ของอารโทด และพัวร เธียเตอร ของโกรโทวสกี้ ศปส. 421 การเขียนละครเพลง (2 หนวยกิต) PFA 421 Musical Theatre Writing (บุรพวิชา ศปส. 322) ศึกษาลักษณะของละครเพลง หนาที่ของเพลงในละคร เพลง การเขียนเนือ้ เรือ่ ง การเขียนคํารอง เขียนบทละครเพลง 1 เรือ่ ง

หลักสูตรปร ญญาตร 491


ศปส. 422 การดัดแปลงบทสําหรับเวที โทรทัศน (2 หนวยกิต) และภาพยนตร PFA 422 Script Adaptation for Stage, TV and Screen (บุรพวิชา ศปส. 322) ศึกษาวิธกี ารและฝกเขียนบทดัดแปลง โดยใชวตั ถุดบิ จาก นวนิยาย เรื่องสั้น หรือเรื่องที่มาจากแหลงอื่นๆ เพื่อดัดแปลงเปนบท ละครเวที บทละครโทรทัศน หรือบทภาพยนตร ตลอดจนการดัดแปลง บทละครเวทีไปเปนบทโทรทัศน และบทภาพยนตร ศปส. 423 การเขียนบทภาพยนตร (2 หนวยกิต) PFA 423 Screenwriting (บุรพวิชา ศปส. 322) ศึกษารูปแบบและโครงสรางของบทภาพยนตร การสราง โครงเรือ่ ง การกําหนดลักษณะตัวละคร การเขียนบทสนทนา เนนความ สําคัญของการสือ่ ความหมายและการดําเนินเรือ่ งดวยภาพและบท โดย คํ า นึ ง ถึ ง ป จ จั ย ที่ เ ป น องค ป ระกอบของการผลิ ต และการถ า ยทํ า ภาพยนตร ฝกทักษะการเขียนบทภาพยนตรที่สรางโครงเรื่องและตัว ละครขึ้นเอง ศปส. 424 การเขียนบทละครโทรทัศน (2 หนวยกิต) PFA 424 Television Drama Writing (บุรพวิชา ศปส. 322) ศึกษารูปแบบ และโครงสรางของบทละครโทรทัศน การ สรางโครงเรือ่ งโดยคํานึงถึงกลุม เปาหมาย วัตถุประสงค แกนของเรือ่ ง ความยาวและระยะเวลาในการออกอากาศ อุปกรณทจี่ ะใชประกอบการ ผลิตรายการและการถายทํา ฝกทักษะการเขียนบทละครที่สรางโครง เรื่องและตัวละครขึ้นเอง

492 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศปส. 431 ออกแบบเครื่องแตงกาย 1 (2 หนวยกิต) PFA 431 Costume Design I ศึ ก ษาพื้ น ฐานการออกแบบเครื่ อ งแต ง กาย เรี ย นรู  กระบวนการขั้นตอนในการออกแบบ ฝกการหาขอมูล ฝกทักษะการ วาดรูประบายสี วิเคราะหตัวละครจากบริบทแวดลอม มุงเนนการสื่อ ความหมายถึงลักษณะนิสัยของตัวละครเปนสําคัญ ศปส. 432 ออกแบบเครื่องแตงกาย 2 (2 หนวยกิต) PFA 432 Costume Design II ศึกษาการออกแบบเครือ่ งแตงกายเพือ่ การแสดงแบบตางๆ ฝกการออกแบบเสื้อผาแนวจินตนิมิต มีการบูรณาการความรูนําเอา ศิลปะไทยมาประยุกตใชไดอยางสรางสรรคและทันสมัย ศปส. 433 การออกแบบภาพรวมเพื่อสื่อบันทึกภาพ (3 หนวยกิต) PFA 433 Scenography for Recorded Media ศึกษาหนาที่ของสื่อบันทึกภาพ คุณสมบัติของกลองถาย ทํา และการทําเอฟเฟคพิเศษในกระบวนการหลังถายทํา โดยเนนไป ที่แนวคิดในการออกแบบเพื่อสื่อบันทึกภาพแบบตางๆ เชน โทรทัศน ภาพยนตร มิวสิควิดีโอ ศปส. 440 สื่อพื้นบานของไทย (2 หนวยกิต) PFA 440 Thai Traditional Media ฝกฝนทักษะการแสดงสือ่ พืน้ บานของผูเ รียนอันเปนเครือ่ ง มือสําคัญในการทํากิจกรรมตางๆ กับชุมชน เรียนรูขนบธรรมเนียม ประเพณีนิยม สุนทรียะของสื่อพื้นบาน ฝกการแสดงขั้นพื้นฐาน วิธี การแสดงสื่อพื้นบานประเภทตางๆ กับศิลปนพื้นบาน เชน หนังตะลุง ฉอย ลําตัด ลิเก เพลงพืน้ บานตางๆ รวมถึงการละเลนพืน้ บาน ตลอด จนสามารถเรียนรูว ธิ คี ดิ และประยุกตศลิ ปะการแสดงของไทยมาใชเปน เครื่องมือสื่อสารกับผูชมและสังคมรวมสมัย


ศปส. 441 สื่อพื้นบานในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (2 หนวยกิต) PFA 441 Southeast Asian’s Traditional Media ศึกษารูปแบบของการแสดงพืน้ บานของประเทศในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต การกอเกิด การดํารงอยู การสืบสาน การผสมผสาน และการปรับตัวเพื่อความอยูรอดของสื่อพื้นบาน เทคนิคการแสดง ทักษะเฉพาะ ฝกการแสดงสื่อพื้นบานของประเทศตางๆ และการนํา มาใช หรือประยุกตใชในละครเพื่อการพัฒนา ศปส. 450 มานุษยวิทยาศิลปะการละคร (3 หนวยกิต) PFA 450 Theatre Anthropology การสรางความเขาใจ ตีความ และวิเคราะหศลิ ปะการแสดง ผานทฤษฎีทางมานุษยวิทยาทั้งในแงชาติพันธุวิทยา และวัฒนธรรม ศึกษา ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาจะเปนแนวคิดหลักในการวิเคราะหการ ละเลน พิธีกรรม การกีฬา และศิลปะการแสดง ศปส. 451 วิจัยดนตรีชาติพันธุ (4 หนวยกิต) PFA 451 Ethnomusicology Research (บุรพวิชา ศปส. 450) การปฏิบัติงานในพื้นที่จริงเพื่อศึกษาวิจัยดนตรีชาติพันธุ ตามกระบวนการมานุษยวิทยาศิลปะการละคร ศปส. 452 วิจัยละครชาติพันธุ (4 หนวยกิต) PFA 452 Ethnotheatre Research (บุรพวิชา ศปส. 450) การปฏิบัติงานในพื้นที่จริงเพื่อศึกษาวิจัยละครชาติพันธุ ตามกระบวนการมานุษยวิทยาศิลปะการละคร

ศปส. 453 พิธีกรรม ละคร และการแสดง (4 หนวยกิต) PFA 453 Ritual, Theatre and Performance ศึกษาความสัมพันธระหวางพิธีกรรม ความเชื่อ ที่เกี่ยว เนือ่ งผูกพันกับละครและการแสดง ความหมายและนัยยะทีม่ ตี อ สังคม ปฏิบัติงานในพื้นที่จริงเพื่อศึกษาวิจัยพิธีกรรม ละคร และการแสดง ศปส. 457 ศิลปะการแสดงของไทย: โครงการ (4 หนวยกิต) อนุรักษมรดกวัฒนธรรม PFA 457 Thai Performing Arts: Cultural Heritage Conservation Project การศึกษาเชิงสํารวจศิลปะการแสดงของไทยที่ ใกลสูญ สลายหรือแปรเปลี่ยนไปจากขนบเดิม การวิเคราะห สาเหตุและ แนวทางในการอนุรกั ษอยางยัง่ ยืน จัดทําโครงการเพือ่ การอนุรกั ษโดย การเผยแพรความรู การสรางกระบวนการสืบสานอยางยั่งยืน ศปส. 510 พื้นฐานการกํากับการแสดง (2 หนวยกิต) PFA 510 Fundamental Directing (บุรพวิชา ศปส. 212) ฝกกํากับการแสดงละครสัจนิยมและธรรมชาตินิยมฉาก สั้นๆ ศึกษาทฤษฎีและฝกการสอนการแสดง การสื่อสารอยางมี ประสิทธิภาพระหวางผูกํากับการแสดงกับนักแสดง ศปส. 511 การกํากับการแสดง 1: ละครสัจนิยม (2 หนวยกิต) และธรรมชาตินิยม PFA 511 Directing I: Realism and Naturalism (บุรพวิชา ศปส. 510) กํากับการแสดงละครแนวสัจนิยมและธรรมชาตินยิ ม หรือ สัจนิยมประยุกต 1 เรือ่ ง โดยมุง ใหความสําคัญทัง้ กระบวนการคนควา วิจัย การเตรียมตัวกอนการกํากับการแสดง การวิเคราะหและตีความ บทละคร การออกแบบ กระบวนการซอม การกํากับการแสดง และ การแกปญหาการแสดงใหกับนักแสดง หลักสูตรปร ญญาตร 493


ศปส. 512 การกํากับการแสดง 2: ละครสมัยใหมหลัง (2 หนวยกิต) จากแนวสัจนิยมและธรรมชาตินิยม PFA 512 Directing II: Departure from Realism and Naturalism (บุรพวิชา ศปส. 511) ศึกษาและฝกกํากับการแสดงละครแนวตอตานสัจนิยมและ ธรรมชาตินิยม เชน สัญลักษณนิยม เอ็กสเปรสชั่นนิสม ละครเอพิค หรือละครวิภาษวิธี ละครแอ็บเสิรด ตลอดจนแนวโนมทางการกํากับ การแสดงละครสมัยใหม และหลังสมัยใหม ศปส. 531 ออกแบบแสง 1 (2 หนวยกิต) PFA 531 Lighting Design I ศึกษากระบวนการออกแบบแสง ตัง้ แตการหาขอมูลเกีย่ ว กับอุปกรณแสงที่มีในโรงละครนั้นๆ การแบงพื้นที่บนเวทีเพื่อคํานวณ จํานวนโคมไฟที่ใช การเขียนแบบ การสรางคิวไฟ ฝกวิเคราะหบท ละคร ใชอุปกรณ ไฟพื้นฐานในการออกแบบ และฝกใช Lighting Console ไดอยางมีประสิทธิภาพ ศปส. 532 ออกแบบแสง 2 (2 หนวยกิต) PFA 532 Lighting Design II ศึกษาการออกแบบแสงเพื่อการแสดงแบบตางๆ เชน บัลเลต ละครเพลง การเตนรําแบบรวมสมัย ศึกษาอุปกรณ ไฟแบบ Moving light ในแงคณ ุ สมบัติ สีของแสง วิธกี ารควบคุม ฝกทักษะการ ใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการออกแบบแสง ศปส. 550 วรรณคดีเปรียบเทียบเพื่อนาฏกรรมพินิจ (3 หนวยกิต) PFA 550 Comparative Literature for Dramaturgy นาฏกรรมพินจิ โดยใชวธิ กี ารทางวรรณคดีเปรียบเทียบ การ ศึกษาเชิงเปรียบเทียบบทละครที่จะใชในการพินิจกับวรรณกรรมการ ละครและวรรณกรรมประเภทอื่นๆ เพื่อนําไปสูความเขาใจรอบดาน และลุมลึกทั้งในมิติดานสังคม การเมือง ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ศาสนา 494 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศปส. 551 ทฤษฎีและวรรณกรรมการละครสมัยใหม (3 หนวยกิต) PFA 551 Modern Dramatic Theory and Literature ศึกษาทฤษฎีการละครสมัยใหม และวรรณกรรมการละคร สมัยใหม ทั้งดานรูปแบบ เนื้อหา ปรัชญา และแนวคิด ตลอดจนมุม มองในการนําเสนอตอสังคม ศปส. 552 จิตวิทยาในวรรณกรรมการละคร (3 หนวยกิต) PFA 552 Psychology in Dramatic Literature ศึกษาจิตวิทยาในงานวรรณกรรมการละคร ศึกษาบท วิเคราะหหรือการใชจติ วิเคราะหกบั ตัวละครสําคัญทีม่ บี คุ ลิกภาพหรือ สภาวะทางจิตไมปกติ เพื่อนําไปสูความเขาใจตัวละครที่มีความซับ ซอนไดอยางลุมลึก ศปส. 553 วรรณกรรมการละครตะวันออก (3 หนวยกิต) PFA 553 Eastern Dramatic Literature ศึกษาวรรณกรรมการละครตะวันออกตั้งแตอดีตจนถึง ปจจุบนั โดยเฉพาะอยางยิง่ วรรณกรรมการละครของจีน ญีป่ นุ อินเดีย ศปส. 554 วรรณกรรมการละครไทย (3 หนวยกิต) PFA 554 Thai Dramatic Literature ศึกษาวรรณกรรมการละครของไทยตั้งแตสมัยอยุธยา รัตนโกสินทรตอนตน พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว และบทละครสมัยปจจุบัน ศปส. 555 ปฏิบัติการวิจารณการละครขั้นสูง (2 หนวยกิต) PFA 555 Advanced Drama and Theatre Criticism Workshop หลักและทฤษฎีการวิจารณการละครขั้นสูง ทั้งในทฤษฎี เชิงวรรณกรรมวิจารณ และการละคร ฝกเขียนบทวิจารณการละครที่ มีคุณคาและสาระทางวิชาการ


ศปส. 556 ปฏิบัติการนาฏกรรมพินิจ (2 หนวยกิต) PFA 556 Dramaturgy Workshop ฝกปฏิบตั กิ ารนาฏกรรมพินจิ ใหกบั ละครในโครงการศิลปะ การแสดงนิพนธ

ศปส. 713 นาฏลีลา 3 (2 หนวยกิต) PFA 713 Dance Technique III (บุรพวิชา ศปส. 711, 712) ศึกษาเทคนิคนาฏศิลปสากลประเภทตางๆ

ศปส. 611 ขับรองและดนตรี 1 (2 หนวยกิต) PFA 611 Musical Performance I ศึกษาเทคนิคการขับรองและดนตรีแนวตางๆ

ศปส. 714 นาฏลีลา 4 (2 หนวยกิต) PFA 714 Dance Technique IV (บุรพวิชา ศปส. 711, 712) ศึกษาเทคนิคนาฏศิลปสากลประเภทตางๆ

ศปส. 612 ขับรองและดนตรี 2 (2 หนวยกิต) PFA 612 Musical Performance II ศึกษาเทคนิคการขับรองและดนตรีแนวตางๆ ศปส. 613 ขับรองและดนตรี 3 (2 หนวยกิต) PFA 613 Musical Performance III (บุรพวิชา ศปส. 611, 612) ศึกษาเทคนิคการขับรองและดนตรีแนวตางๆ ศปส. 614 ขับรองและดนตรี 4 (2 หนวยกิต) PFA 614 Musical Performance VI (บุรพวิชา ศปส. 611,612) ศึกษาเทคนิคการขับรองและดนตรีแนวตางๆ ศปส. 711 นาฏลีลา 1 (2 หนวยกิต) PFA 711 Dance Technique I ศึกษาเทคนิคนาฏศิลปสากลประเภทตางๆ

ศปส. 811 การกํากับเวที 1 (2 หนวยกิต) PFA 811 Stage Management I ศึกษาหลักและฝกปฏิบตั ิในตําแหนงผูก าํ กับเวทีละครของ คณะละครมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ศปส. 812 การกํากับเวที 2 (2 หนวยกิต) PFA 812 Stage Management II ปฏิบัติงานในตําแหนงผูกํากับเวทีหลักในละครของคณะ ละครมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ศปส. 813 การควบคุมและลําดับการแสดง (2 หนวยกิต) PFA 813 Show Mastering (บุรพวิชา ศปส. 811, 812) ปฏิบตั งิ านในหนาทีผ่ คู วบคุมลําดับการแสดง และบริหาร งานการกํากับเวทีใหกับคณะละครมหาวิทยาลัยกรุงเทพ นักศึกษาลง ทะเบียนไดเมื่อไดรับอนุญาตจากภาควิชาเทานั้น

ศปส. 712 นาฎลีลา 2 (2 หนวยกิต) PFA 712 Dance Technique II ศึกษาเทคนิคนาฏศิลปสากลประเภทตางๆ หลักสูตรปร ญญาตร 495


ศปส. 814 การอํานวยการสรางและการบริหารจัดการ (2 หนวยกิต) ศิลปะการแสดง PFA 814 Performing Arts Producing and Administration (บุรพวิชา ศปส. 811, 812) ปฏิบัติงานในหนาที่อํานวยการแสดงในละครของคณะ ละครมหาวิทยาลัยกรุงเทพ นักศึกษาลงทะเบียนเมือ่ ไดรบั อนุญาตจาก ภาควิชาเทานั้น ศปส. 911 การเตรียมโครงการศิลปะการแสดงนิพนธ (3 หนวยกิต) PFA 911 Degree Project in Performing Arts Preparatory การเตรียมโครงการศิลปะการแสดงนิพนธดานการแสดง การกํากับการแสดง การขับรองและดนตรี นาฏลีลา การออกแบบเพือ่ การแสดง การบริหารจัดการศิลปะการแสดง ศิลปะการละครเพื่อการ พัฒนา เพื่อนําเสนอตอสาธารณชน ตามระเบียบปฏิบัติที่ภาควิชา ศิลปะการแสดงกําหนด โดยผานความเห็นชอบและการควบคุม คุณภาพจากภาควิชาศิลปะการแสดง นักศึกษาจะลงทะเบียนไดตอ เมื่อไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการที่แตงตั้งโดยภาควิชาศิลปะการ แสดงแลวเทานั้น ศปส. 912 ศิลปะการแสดงนิพนธ (4 หนวยกิต) PFA 912 Degree Project in Performing Arts (บุรพวิชา ศปส. 911) การพัฒนาโครงการศิลปะการแสดงนิพนธดานการแสดง การกํากับการแสดง การขับรองและดนตรี นาฏลีลา การออกแบบเพือ่ การแสดง การบริหารจัดการศิลปะการแสดง ศิลปะการละครเพื่อการ พั ฒ นา ไปสู  ค วามสมบู ร ณ พ ร อ มและเป ด แสดงต อ สาธารณชน นักศึกษาจะลงทะเบียนไดตอ เมือ่ ไดรบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการทีแ่ ตง ตั้งโดยภาควิชาศิลปะการแสดง และไดแสดงผลความกาวหนาจาก การเตรียมการโครงการในระดับมาตรฐานตามที่ภาควิชาศิลปะการ แสดงกําหนดแลวเทานั้น 496 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศปส. 950 การศึกษาและวิจัยเอกเทศศิลปะ (2 หนวยกิต) การแสดงนานาชาติ PFA 950 Individual Study and Research in International Performing Arts (บุรพวิชา ศปส. 358 หรือ 359 หรือ 451 หรือ 452 หรือ 453 หรือ 457) การศึกษาและวิจยั เอกเทศในประเด็นทีผ่ ศู กึ ษาสนใจเกีย่ ว กับศิลปะการแสดงในระดับลึกซึ้งขึ้นจากที่เคยไดเริ่มงานไวแลวใน รายวิชาบุรพวิชาและมีความกาวหนาเปนที่นาพอใจ และไดรับอนุมัติ จากภาควิชาศิลปะการแสดง

หมวดวิชาวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน วสท. 201 การเปนผูประกาศรายการทาง (3 หนวยกิต) วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน BRC 201 Broadcast Announcing ศึกษาและฝกทักษะการออกเสียง การผลิตเสียง และการ ใชเสียงอยางถูกตองตามอักขรวิธี การแกไขขอบกพรองในการออก เสียง โดยมุงเนนการฝกเปนผูประกาศ และเทคนิคการเปนผูประกาศ ทางวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศนเพือ่ รายการประเภทตางๆ ทัง้ รายการสาระความรู รายการบันเทิง และรายการขาว วสท. 202 การเขียนบทรายการขาวและสารคดี (2 หนวยกิต) BRC 202 Non Fictional Writing for Broadcasting ศึกษาและฝกปฏิบตั กิ ารเขียนบทรายการวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศนโดยเนนแนวคิดพื้นฐาน รูปแบบ โครงสราง และ เนือ้ หาของรายการขาวและรายการสารคดี ตลอดจนคนควาหาขอมูล การถายทอดเรื่องราว กระบวนการคิดสรางสรรค และการใชภาษาใน การถายทอดเรื่องราวทางดานภาพและเสียงที่เหมาะสม


วสท. 203 การออกแบบสรางสรรคงานผลิตรายการ (3 หนวยกิต) BRC 203 Broadcast Production Design ศึกษาแนวคิดพื้นฐานดานออกแบบสรางสรรคงานผลิต รายการโทรทัศน ทั้งในเชิงสุนทรียศาสตร และในเชิงเทคนิคภายใต เงื่อนไขสภาวการณทางสังคม และตลาดกลุมผูบริโภคเปาหมาย เพื่อ สรางความหมายดานการเลาเรื่องโดยการถายทอดแนวความคิดการ ผลิตรายการ ผานการตีความ การสรางทิศทางการกํากับศิลป นําไป สูการออกแบบองคประกอบดานการผลิตรายการ อาทิ การออกแบบ เทคนิคดานภาพ ดานเสียง การออกแบบเพื่อการจัดฉาก และการจัด แสง รวมถึงการออกแบบการลําดับภาพ และการสรางผลพิเศษทาง ภาพในการผลิตรายการ วสท. 204 การเขียนบทรายการสาระบันเทิงและละคร (2 หนวยกิต) BRC 204 Fictional Writing for Broadcasting ศึกษาและฝกปฏิบตั กิ ารเขียนบทรายการวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศนในกลุมสาระบันเทิงและละคร โดยเนนการคนควา ขอมูล กระบวนการคิดสรางสรรค การใชจินตนาการ ศิลปะในการ ถายทอดเรื่องราว การใชภาษาที่เหมาะสม และสอดคลองกับกลุม เปาหมาย วสท. 205 เทคนิคการผลิตงานในสื่อดิจิทัล (3 หนวยกิต) BRC 205 Digital Media Production Techniques ศึกษาทฤษฎี ฝกปฏิบตั แิ ละศึกษาดูงานดานเทคนิคขัน้ พืน้ ฐานการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน การใช อุปกรณดิจิทัลสมัยใหม เพื่อใหกาวทันตอเทคโนโลยีการผลิตรายการ ที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว ศึกษาประเภทและรูปแบบของเครื่อง มือ อุปกรณตางๆ ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพตอลักษณะการผลิต รายการใหสอดคลองกับสภาพสังคมและวัฒนธรรม

วสท. 301 การสรางสรรคภาพเพื่อการเลาเรื่อง (3 หนวยกิต) สําหรับงานวิทยุโทรทัศน BRC 301 Creating the Visual Story for Television ศึกษาและฝกทักษะในกระบวนการสรางแนวความคิดดาน ภาพ การพัฒนาและการถายทอดมโนทัศนทางความคิด จินตนาการ การเลาเรื่อง และการนําเสนอดวยภาพผานเทคนิควิธีการตางๆ เพื่อ เปนทักษะพื้นฐานการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน วสท. 302 การประยุกตงานวิจัยในงาน (2 หนวยกิต) วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน BRC 302 Applied Research in Broadcasting พื้นความรู: สอบผาน นทศ. 105 ศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคและฝกปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการ วิจยั การวิเคราะหผรู บั สาร เพือ่ ใชในการวางแผนการผลิตรายการ การ พัฒนาและปรับปรุงรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน ภาย ใตกรอบของจริยธรรมและวิชาชีพ วสท. 303 การวิพากษรายการวิทยุกระจายเสียง (3 หนวยกิต) และวิทยุโทรทัศน BRC 303 Broadcast Criticism ศึกษาทฤษฎี หลักเกณฑ และแนวทางการวิพากษรายการ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนรูปแบบตางๆ ตลอดจนจรรยา บรรณของนักวิพากษ รวมทั้งผลกระทบของสื่อใหมที่มีตอสื่อวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน

หลักสูตรปร ญญาตร 497


วสท. 311 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง (2 หนวยกิต) BRC 311 Radio Production พื้นความรู: สอบผาน วสท. 205 ศึกษากระบวนการ เทคนิค และวิธีการผลิตรายการวิทยุ กระจายเสียงขั้นพื้นฐาน ศึกษาประเภท รูปแบบรายการ เทคนิคการ ควบคุม การตัดตอ และการผสมเสียง ตลอดจนฝกผลิตรายการวิทยุ กระจายเสียงประเภทตางๆ ที่มีเนื้อหาอันเปนประโยชนแกผูรับสาร วสท. 312 ฝกปฏิบัติการบริหารจัดการ (2 หนวยกิต) สถานีวิทยุกระจายเสียงในระบบดิจิทัล 1 BRC 312 Digital Radio Station Operations I พื้นความรู: สอบผาน วสท. 205, วสท. 311 ฝกปฏิบตั กิ ารผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงในสภาพการณ จริง โดยนักศึกษาจะไดรับมอบหมายหนาที่การผลิตรายการวิทยุ กระจายเสียงตลอดจนการควบคุมการผลิตรายการที่เหมาะสมตอ สถานีวทิ ยุกระจายเสียงในระบบดิจทิ ลั ทีท่ นั สมัย ออกอากาศผานคลืน่ ความถีข่ องสถานีวทิ ยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยกรุงเทพ 107.25 MHz และออกอากาศผานระบบอินเทอรเน็ต ตลอดภาคการศึกษาที่ 1 วสท. 313 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน (2 หนวยกิต) ความคมชัดสูง 1 BRC 313 High Definition TV Production I พื้นความรู: สอบผาน วสท. 205 ศึกษาและฝกปฏิบตั กิ ารผลิตรายการวิทยุโทรทัศนในระบบ ความคมชัดสูง ขั้นตอนการผลิตรายการ การใชเทคนิคการถายทอด เรื่องราวที่เหมาะสมกับรูปแบบรายการและเทคโนโลยีโทรทัศนความ คมชัดสูง ทัง้ รายการเชิงพาณิชย และรายการเพือ่ ประโยชนสาธารณะ ที่ มี คุ ณ ค า และเป น ประโยชน กั บ ผู  รั บ สารสอดรั บ กั บ สภาพสั ง คม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม

498 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

วสท. 321 การประยุกตงานเสียงและดนตรีเพื่อ (2 หนวยกิต) สื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน BRC 321 Sound and Music Application in Broadcasting ศึกษาและฝกปฏิบัติการประยุกตศาสตรและศิลปในงาน เสียงและงานดนตรีเพือ่ การถายทอดเรือ่ งราวผานสือ่ วิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน โดยมุงเนนการนําเสนอเสียงผานการผลิตจิงเกิ้ล รายการ ไตเติ้ลรายการ การนําเขารายการ การผลิตสปอรตโฆษณา การผสมเสียงเพื่องานพากย การใชเสียงและดนตรีเพื่อความเหมาะ สมตอผูร บั สาร รวมถึงการประยุกตใชงานเสียงและดนตรีใหสอดคลอง ตอสภาพการณทางสังคมและวัฒนธรรม วสท. 322 การผลิตรายการโทรทัศน (2 หนวยกิต) ในระบบเสมือนจริง BRC 322 Virtual Studio System for Television Production ศึกษาและฝกปฏิบัติการผลิตรายการโทรทัศน ในระบบ เสมือนจริง โดยเนนศึกษาถึงหลักการพื้นฐานของโปรแกรมการผลิต รายการโทรทัศนเสมือนจริง การสรางภาพกราฟฟกเสมือนจริง 2 มิติ และ 3 มิติ การสรางภาพเคลื่อนไหว การซอนภาพในระบบโครมาคีย การจัดแสงและการจัดองคประกอบภาพในงานโทรทัศนเสมือนจริง ตลอดจนฝกปฏิบตั ผิ ลิตรายการโทรทัศนในระบบเสมือนจริงทีม่ คี วาม คมชัดสูง (High Definition) ในรายการโทรทัศนประเภทตางๆ โดย คํานึงถึงความเหมาะสมกับวัตถุประสงคและกลุมเปาหมายของ รายการ


วสท. 323 การสรางภาพเคลื่อนไหวสําหรับ (2 หนวยกิต) งานโทรทัศนและสื่อสมัยใหม BRC 323 Motion Graphic for Television and New Media พื้นความรู: ผานการอบรมคอมพิวเตอรพื้นฐาน ศึกษากระบวนการของการออกแบบกราฟกภาพนิ่งและ ภาพเคลื่อนไหว สําหรับนําไปใชในงานโทรทัศน โดยศึกษาการสราง ภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ การสรางภาพเคลื่อนไหวและการตัดตอภาพ ดวยคอมพิวเตอร ตลอดจนศึกษากระบวนการเปลีย่ นรูปแบบงานภาพ เคลื่อนไหวใหเหมาะสมกับการนําเสนอผานสื่อสมัยใหม เชน สถานี โทรทัศนดาวเทียม เว็บไซตและโทรศัพทมือถือ วสท. 401 การบริหารและการเปน (3 หนวยกิต) เจาของธุรกิจในสื่ออิเล็กทรอนิกส BRC 401 Electronic Media Management and Entrepreneurship ศึกษาความหมาย บทบาทของการเปนผูป ระกอบการทาง ดานสือ่ อิเล็กทรอนิกสซงึ่ ครอบคลุมทัง้ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และสือ่ สมัยใหม ตลอดจนศึกษาโครงสรางการบริหาร และการดําเนิน งานขององคกรผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกสในสวนตางๆ เชน การบริหาร งานนโยบายองคกร การจัดระบบการจัดรายการ การวิเคราะหกลุม ผูร บั สารเปาหมาย การจัดการดานธุรกิจ การตลาด โดยเนนใหทกุ สวน สอดคลองกับปรัชญาการดําเนินงานขององคกร วสท. 402 สัมมนาในงานวิทยุกระจายเสียง (3 หนวยกิต) และวิทยุโทรทัศน BRC 402 Seminar in Broadcasting พื้นความรู: นักศึกษาชั้นปที่ 4 ขึ้นไป และมีหนวยกิตสะสม ไมนอยกวา 99 หนวยกิต ศึกษาวิเคราะหถึงประเด็นปญหา แนวคิด รวมถึงผล กระทบดานพัฒนาการและความเปลี่ยนแปลง ตลอดจนแนวโนมดาน สื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน ในประเด็นที่นาสนใจ มีคุณคา

และเปนประโยชนในเชิงประสบการณทางวิชาชีพจากผูมีความรูและ ประสบการณในวิชาชีพ โดยเนนการศึกษาวิเคราะหเปนกรณีศึกษา วสท. 403 การฝกงานวิทยุกระจายเสียง (3 หนวยกิต) และวิทยุโทรทัศน BRC 403 Broadcast Internship พื้นความรู: นักศึกษาชั้นปที่ 4 ขึ้นไป สอบผานวิชาเอกเลือก และเอกบังคับไมนอ ยกวา 9 วิชา /เกรดเฉลีย่ ไมตาํ่ กวา 2.3 การฝกงานกับสถานีวทิ ยุกระจายเสียง สถานีวทิ ยุโทรทัศน ตลอดจนหนวยงาน หรือองคกรผลิตรายการ เพื่อใหนักศึกษามี ประสบการณในงานดานตางๆ เชน การดําเนินงานผลิตรายการ การ จัดรายการ การกํากับรายการ การถายทํา การผลิต การเขียนบท เปนตน โดยนักศึกษาจะตองทํารายงานประกอบการฝกงาน ทั้งนี้จะ ตองอยูภายใตการควบคุมและการประเมินผลของภาควิชารวมกับ หนวยงานภายนอก วสท. 404 โครงการเฉพาะดานวิทยุกระจายเสียง (3 หนวยกิต) และวิทยุโทรทัศน BRC 404 Broadcasting Project พื้นความรู: นักศึกษาชั้นปที่ 4 ขึ้นไป สอบผานวิชาเอกเลือก และเอกบังคับไมนอยกวา 9 วิชา การนําทฤษฎีและหลักการทีเ่ รียนมาเพือ่ ผลิตชิน้ งาน โดย การศึกษาคนควา นําเสนอโครงการและผลิตชิ้นงานที่มีลักษณะริเริ่ม สรางสรรคโดยจะอยูภ ายใตการควบคุมและการประเมินผลของอาจารย ผูควบคุมวิชา

หลักสูตรปร ญญาตร 499


วสท. 411 ฝกปฏิบัติการบริหารจัดการ (2 หนวยกิต) สถานีวิทยุกระจายเสียงในระบบดิจิทัล 2 BRC 411 Digital Radio Station Operations II พื้นความรู: สอบผาน วสท. 205, วสท. 311 และ วสท. 312 ฝกปฏิบตั กิ ารผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงในสภาพการณ จริง โดยนักศึกษาจะไดรับมอบหมายหนาที่การผลิตรายการวิทยุ กระจายเสียงตลอดจนการควบคุมการผลิตรายการที่เหมาะสมตอ สถานีวทิ ยุกระจายเสียงในระบบดิจทิ ลั ทีท่ นั สมัย ออกอากาศผานคลืน่ ความถีข่ องสถานีวทิ ยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยกรุงเทพ 107.25 MHz และออกอากาศผานระบบอินเทอรเน็ต ตลอดภาคการศึกษาที่ 2 วสท. 412 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน (3 หนวยกิต) ความคมชัดสูง 2 BRC 412 High Definition TV Production II พื้นความรู: สอบผาน วสท. 205 และ วสท. 313 ศึกษาและฝกปฏิบตั กิ ารผลิตรายการวิทยุโทรทัศนในระบบ ความคมชัดสูงทั้งรายการเชิงพาณิชย และรายการเพื่อประโยชน สาธารณะ การวางแผนการนําเสนอโครงการ ขัน้ ตอนการผลิตรายการ เทคนิคและศิลปะการถายทอดเรื่องราว เนนการคิดและการพัฒนา รายการที่สรางสรรค แปลกใหม มีคุณคา และมีประโยชนตอผูรับสาร และสั ง คมโดยรวม โดยคํ า นึ ง ถึ ง ป จ จั ย แวดล อ มการผลิ ต อาทิ โครงสรางทางสังคมและวัฒนธรรม วัตถุดิบในการผลิต ตลาด ฯลฯ วสท. 421 การบรรยายเหตุการณพิเศษ (2 หนวยกิต) BRC 421 Special Events Announcing and Commentary พื้นความรู: สอบผาน วสท. 205 ศึกษาและฝกปฏิบตั กิ ระบวนการรายงานเหตุการณพเิ ศษ การรายงานเหตุการณนอกสถานที่ โดยเนนเทคนิควิธีการคนควา ขอมูลจากแหลงขอมูล การพัฒนาแนวความคิดในการนําเสนอ ตลอด จนเทคนิควิธีการแกปญหาเฉพาะหนา 500 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

วสท. 422 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศนนอกสถานที่ (2 หนวยกิต) BRC 422 Broadcast Field Production พื้นความรู: สอบผาน วสท. 205 ศึกษาแนวคิดทฤษฎี และฝกปฏิบัติเพื่อการวางแผนการ ถายทํานอกสถานที่ และเทคนิควิธีการถายทํานอกสถานที่ เทคนิควิธี การถายทํากลองเดีย่ ว เทคนิควิธกี ารถายทําหลายกลอง ตลอดจนองค ประกอบพื้นฐานในการถายทํารายการวิทยุโทรทัศนนอกสถานที่ วสท. 423 การผลิตรายการขาววิทยุกระจายเสียง (2 หนวยกิต) และวิทยุโทรทัศนในยุคใหม BRC 423 Newscast Production in New Age พื้นความรู: สอบผาน วสท. 205 ศึกษาและฝกปฏิบตั กิ ารผลิตรายการขาววิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน โดยศึกษาถึงเทคนิควิธกี ารสือ่ ขาวโดยใชเทคโนโลยี สมัยใหม กระบวนการรายงานขาวประเภทตางๆ เชน ขาวการเมือง ขาวสังคม และขาวเศรษฐกิจ ขาวบันเทิง ขาวกีฬา ผานการนําเสนอ ทางรายการขาววิทยุกระจายเสียง และรายการวิทยุโทรทัศน และสื่อ ใหม เชน โซเชียลเน็ตเวิรค รวมถึงศึกษารูปแบบรายการขาวตางๆ อาทิ รายการขาว รายการวิเคราะหขาว รายการอภิปราย รวมถึงรูป แบบรายการที่มีคุณคาตอสังคม


หมวดวิชาภาพยนตร ภพย. 101 สุนทรียศาสตรแหงภาพยนตร (3 หนวยกิต) FLM 101 Film Aesthetics ศึกษาภาพยนตร ในฐานะที่เปนสื่อสารมวลชนและศิลปะ โดยพิ จารณาภาพกว า งทางประวั ติ ศ าสตร แ ละวิ วั ฒ นาการของ ภาพยนตร จากแนวโนมทางศิลปะและผลกระทบทางสังคมตามยุค สมัย ตลอดทัง้ ศึกษาองคประกอบภาพยนตรในแงสนุ ทรียะ ภาพ เสียง การเคลือ่ นไหว มุมกลอง ทีป่ ระกอบสรางขึน้ เปนภาษาภาพยนตรเพือ่ ใหผูเรียนเขาใจภาพยนตรในระดับลึกซึ้งขึ้น ภพย. 102 เทคนิคภาพยนตร (2 หนวยกิต) FLM 102 Film Techniques ศึกษาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเครื่องมือที่ใชในการผลิต ภาพยนตร ขัน้ ตอนการผลิตภาพยนตร หนาทีค่ วามรับผิดชอบในสาย งานการผลิตภาพยนตร ตลอดจนฝกปฏิบัติการใชอุปกรณถายทํา ภาพยนตรเบื้องตน ภพย. 203 ประวัติศาสตรภาพยนตร (3 หนวยกิต) FLM 203 Film History ศึกษาประวัติศาสตรและวิวัฒนาการของภาพยนตรจาก จุดกําเนิดจนถึงปจจุบัน แนวโนมทางศิลปะ และผลกระทบทางสังคม ที่มีตองานภาพยนตร เปรียบเทียบและวิเคราะหความแตกตางทาง ความคิด คานิยมของแตละชาติทสี่ ะทอนในงานภาพยนตร ศึกษาแนว ความคิดผูกํากับภาพยนตรและผลงานที่สําคัญในแตละยุคสมัย ภพย. 204 ศิลปะการเลาเรื่อง (2 หนวยกิต) FLM 204 Arts of Storytelling ศึกษาคุณลักษณะของเรื่องราวที่นํามาถายทอดในงาน ศิลปะและวรรณกรรมประเภทตางๆ โครงสรางและองคประกอบของ

เรื่องราว ความสําคัญของนาฏการ (Dramatic Action) กลวิธีการเลา เรื่องในลักษณะตางๆ ศึกษาตัวอยางจากบทภาพยนตร บทประพันธ และงานสรางสรรครูปแบบตางๆ ภพย. 205 ปฏิบัติการงานเขียนบทภาพยนตร (2 หนวยกิต) FLM 205 Screenwriting Workshop พื้นความรู: ภพย. 204 ศึ ก ษาหลั ก การเขี ย นบทภาพยนตร ทั้ ง ด า นรู ป แบบ โครงสรางและองคประกอบของบทภาพยนตร การสื่อสารความคิด อารมณ ความรูสึกผานภาพ และองคประกอบอื่นๆ ของภาพยนตร ฝกปฏิบตั กิ ารเขียนบทภาพยนตร โดยเริม่ จากการเขียนโครงราง โครง เรื่องขยาย การสรางลักษณะนิสัยตัวละคร และการพัฒนาเรื่องราวไป สูบทภาพยนตรขนาดสั้นที่สมบูรณ ภพย. 206 ปฏิบัติการงานออกแบบและภาพรวม (2 หนวยกิต) ในงานภาพยนตร FLM 206 Design and Visualization Workshop for Film ศึกษาทฤษฎีเบื้องตนทางศิลปะเพื่อการออกแบบในงาน ภาพยนตร เสน สี แสง เงา องคประกอบ การจัดวาง ตลอดจนความ มีเอกภาพทางศิลปะ ศึกษาผลงานภาพยนตรที่มีความโดดเดนดาน องคประกอบศิลป ฝกปฏิบัติการเขียนกรอบแสดงเรื่องราวที่สมบูรณ ของภาพยนตร (Storyboard) การถายภาพเคลื่อนไหวดวยภาพนิ่ง (Still Cinematography) การออกแบบใบปดภาพยนตร (Poster) ภพย. 207 การถายภาพยนตร (2 หนวยกิต) FLM 207 Cinematography ศึกษาทฤษฎีและหลักปฏิบัติในการถายภาพยนตรดวย กลองประเภทตางๆ การจัดแสงเบือ้ งตน การจัดองคประกอบภาพ การ ใชอุปกรณที่เกี่ยวของกับกลองถายภาพยนตร ฝกปฏิบัติการถายทํา ภาพยนตรขั้นพื้นฐาน หลักสูตรปร ญญาตร 501


ภพย. 208 อุตสาหกรรมภาพยนตรนานาชาติ (3 หนวยกิต) FLM 208 International Film Industry ศึกษาภาพกวางของระบบ รูปแบบ โครงสราง และภาพ รวมการบริหารงานของอุตสาหกรรมภาพยนตร ไทย และนานาชาติที่ สําคัญ บทบาทขององคกรทีเ่ กีย่ วของทัง้ ภาครัฐและเอกชน กฏหมาย ควบคุมและสงเสริมตางๆ พระราชบัญญัติภาพยนตร รวมถึงจรรยา บรรณที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมภาพยนตร

ภพย. 311 ศิลปะนิยมเพื่องานภาพยนตร (3 หนวยกิต) FLM 311 Art Appreciation for Film ศึกษาสุนทรียศาสตร ประวัติศาสตร เนื้อหาและรูปแบบ ของศิลปะยุคตางๆ ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ตลอดจนการสราง ประสบการณทางดานสุนทรียะในการเสพศิลปะ เพื่อเปนพื้นฐานการ สรางสรรคการเลาเรื่อง และสื่อความหมายในภาพยนตร

ภพย. 300 การกํากับภาพ (2 หนวยกิต) FLM 300 Directing for the Screen ศึกษาหลักการการเลาเรื่องผานองคประกอบภาพ การ กําหนดมุมภาพ ความสําคัญของการจัดองคประกอบภาพ ทิศทาง และการเคลือ่ นไหวของกลอง เพือ่ สือ่ สารความคิด อารมณ ความรูส กึ ฝกตีความบทภาพยนตรเพื่อถายทอดความหมายใหเปนภาพ

ภพย. 312 ปฏิบัติการการออกแบบภาพยนตร (2 หนวยกิต) FLM 312 Production Design Workshop พื้นความรู: ภพย. 310 ศึ ก ษาทฤษฎี แ ละฝ ก ปฏิ บั ติ ก ารออกแบบงานสร า ง ภาพยนตร การประดิษฐอุปกรณจําลองเฉพาะฉาก การคนควาหา ขอมูล การควบคุมภาพรวมในสายงานออกแบบงานสราง การทํางาน รวมกับผูกํากับและผูกํากับภาพเพื่อกําหนดทิศทางการเลาเรื่อง สื่อ ความหมายและอารมณ ผานองคประกอบตางๆ อาทิ ฉาก อุปกรณ ประกอบฉาก สถานที่ เสื้อผา เครื่องแตงกาย

ภพย. 309 การวิเคราะหวิจารณภาพยนตร (3 หนวยกิต) FLM 309 Film Analysis and Criticism ศึกษาทฤษฎีภาพยนตร และทฤษฎีการวิจารณภาพยนตร การเขียนบทวิจารณภาพยนตร จรรยาบรรณของนักวิจารณ ฝก วิเคราะหวิจารณภาพยนตร ภพย. 310 การกํากับศิลป (2 หนวยกิต) FLM 310 Art Direction ศึกษาทฤษฎีและหลักการกํากับศิลป หนาที่ทีมงาน ฝก ปฏิบตั กิ ารออกแบบ การเลือกวัสดุ การจัดฉาก การทําอุปกรณประกอบ ฉาก การแตงหนาและการออกแบบทรงผม การออกแบบเครื่องแตง กาย การสรางเทคนิคพิเศษ ตลอดจนการจัดองคประกอบในฉากให สอดคลองกับเรื่องราว

502 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ภพย. 320 การบันทึกเสียงสําหรับงานภาพยนตร (2 หนวยกิต) FLM 320 Sound Recording for Film ศึกษาทฤษฎีและหลักการบันทึกเสียงในงานภาพยนตร ขั้นตอนการทํางานดานการบันทึกเสียงในการถายทําภาพยนตร การ เลือกใชอปุ กรณบนั ทึกเสียงในรูปแบบตางๆ ฝกปฏิบตั กิ ารบันทึกเสียง เพื่อใชในงานภาพยนตร ภพย. 321 ดนตรีวิจักษเพื่องานภาพยนตร (3 หนวยกิต) FLM 321 Music Appreciation For Film ศึกษาสุนทรียศาสตร ประวัติศาสตร เนื้อหาและรูปแบบ ของดนตรีสไตลตางๆ ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ตลอดจนการสราง ประสบการณทางดานสุนทรียะในการรับฟงดนตรี เพือ่ เปนพืน้ ฐานการ สรางสรรค การเลาเรื่อง และสื่อความหมายในภาพยนตร


ภพย. 322 ปฏิบัติการการผลิตเสียง (2 หนวยกิต) ในงานภาพยนตร FLM 322 Audio Post Production Workshop พื้นความรู: ภพย. 320 ศึ ก ษาขั้ น ตอน และกระบวนการผลิ ต เสี ย งในงาน ภาพยนตร การบันทึกเสียงหลังการถายทํา การตัดตอเสียง On-line และ off-line เสียงประกอบในภาพยนตร (Foley) การทํา ADR (Automated Dialogue Replacement) การออกแบบเสียง (Sound Design) ภพย. 330 การถายภาพยนตรขั้นสูง (2 หนวยกิต) FLM 330 Advanced Cinematography ศึกษาทฤษฎีและการถายภาพยนตรขั้นสูง การเลือกใช อุปกรณถา ยทําภาพยนตรทมี่ คี วามซับซอนมากขึน้ การจัดแสง ศึกษา คุณสมบัติ ศักยภาพ ตลอดจนสามารถเปรียบเทียบผล และความแตก ตางของอุปกรณที่ใชในการถายทําภาพยนตร ได ภพย. 332 การจัดแสงสําหรับงานภาพยนตร (2 หนวยกิต) FLM 332 Lighting for Film ศึกษาจิตวิทยาการจัดแสง การเลือกใชอุปกรณดานแสง ฝกจัดแสง และใชเทคนิคพิเศษ เพื่อใหเกิดแสงและบรรยากาศที่ ตองการ ฝกปฏิบัติการจัดแสงเพื่อเลาเรื่องและสื่อความหมาย ภพย. 340 การกํากับนักแสดงสําหรับ (2 หนวยกิต) งานภาพยนตร FLM 340 Directing Actors for Film ศึกษาหลักการกํากับการแสดง การตีความบทภาพยนตร การประเมินศักยภาพนักแสดง การแกไขปญหาของนักแสดงเพื่อใช ในการถายทําภาพยนตร ฝกปฏิบตั กิ ารทํางานรวมกับนักแสดงในการ กํากับภาพยนตร

ภพย. 341 ผูกํากับภาพยนตรในฐานะประพันธกร (3 หนวยกิต) FLM 341 Film Authorship ศึกษาผลงานของผูก าํ กับภาพยนตร จากการมองผูก าํ กับฯ ในฐานะประพันธกรผูม อี ทิ ธิพลสําคัญทีส่ ดุ ในการสรางสรรคอตั ลักษณ เฉพาะตัวที่ปรากฏในงานภาพยนตร โดยศึกษาชีวิตของผูกํากับฯ แตละคนควบคูไปกับปจจัยรายรอบที่กอใหเกิดจุดเริ่มตนและพัฒนา การของความคิดสรางสรรคและรูปแบบเฉพาะตัวดังกลาว ภพย. 342 ปฏิบัติการงานเขียนบทภาพยนตรขั้นสูง (2 หนวยกิต) FLM 342 Advanced Screenwriting Workshop ศึ ก ษาหลั ก การและเทคนิ ค การปฏิ บั ติ ก ารเขี ย นบท ภาพยนตรขนาดยาว ปฏิบัติการเขียนบทภาพยนตร ทั้งดานรูปแบบ โครงสราง และองคประกอบอื่นๆ ของภาพยนตร ฝกปฏิบัติการเขียน บทภาพยนตรโดยเนนการพัฒนาเอกลักษณเฉพาะตัวซึ่งผสมผสาน อยางลงตัวทั้งดานเนื้อหา สไตลและรูปแบบ โดยเริ่มจากการเขียน โครงราง โครงเรื่องขยาย การสรางลักษณะนิสัยตัวละคร การพัฒนา เรื่องราวไปสูบทภาพยนตรขนาดยาวที่สมบูรณ ภพย. 350 การตัดตอภาพยนตร (3 หนวยกิต) FLM 350 Film Editing ศึกษาศิลปะและหลักการตัดตอภาพยนตร พัฒนาการทาง ความคิดดานการลําดับภาพเพื่อเลาเรื่องและสื่อความหมาย ศึกษา งานของนักตัดตอคนสําคัญ ขั้นตอนการทํางานและเทคนิควิธีการใช งานอุปกรณเพื่อการตัดตอ ฝกตัดตอภาพยนตร

หลักสูตรปร ญญาตร 503


ภพย. 351 การสรางผลพิเศษทางภาพสําหรับ (2 หนวยกิต) งานภาพยนตร FLM 351 Visual Effects for Film ฝกปฏิบัติการสรางเทคนิคพิเศษทางภาพ การสรางภาพ 3 มิติ การเคลื่อนไหว การสรางพื้นผิว การจัดแสง เทคนิคการซอน ภาพ การทําโรโตสโคปปง (Rotoscoping) โมชันแคปเจอรเบื้องตน (Motion Capture)

ภพย. 362 การบริหารงานเทศกาลภาพยนตร (3 หนวยกิต) FLM 362 Film Curating and Exhibition ศึกษากระบวนการจัดงานนิทรรศการภาพยนตร แนวทาง การสรางเครือขาย การวิเคราะหแนวคิด รวบยอดของงาน การติดตอ ประสานงาน การเลือกภาพยนตรเขาฉาย รวมถึงการศึกษาตลาด ภาพยนตรทั้งในและตางประเทศ การทําโฆษณาและประชาสัมพันธ ภาพยนตร การจัดงานเทศกาลภาพยนตร

ภพย. 352 ปฏิบัติการกระบวนการหลังการผลิต (2 หนวยกิต) FLM 352 Post Production Workshop ศึกษาขั้นตอนและกระบวนการหลังการผลิต รวมทั้งฝก ปฏิบตั งิ านจริงในหองปฏิบตั กิ ารทางภาพยนตร เพือ่ ฝกการตัดตอ การ บันทึกเสียง การสรางเทคนิคพิเศษขั้นพื้นฐาน

ภพย. 370 แนวคิดรวมสมัยในภาพยนตร (3 หนวยกิต) และทฤษฎีภาพยนตร FLM 370 Contemporary Themes in Film: Theory and Practice ศึกษาแนวคิดตางๆ ที่นาสนใจในภาพยนตรรวมสมัย ซึ่ง เป น ผลมาจากกระแสความตื่ น ตั ว สถานการณ ท างสั ง คม และ พัฒนาการหรือความเปลีย่ นแปลงของทฤษฎีภาพยนตรทอี่ ยูเ บือ้ งหลัง และมีอิทธิพลตอความคิดสรางสรรค ศึกษาวิเคราะหความนิยม และ การตอบรับภาพยนตรที่เกิดขึ้นในปจจุบัน เชน ความรุนแรงใน ภาพยนตร (Violence) ภาพยนตรของเพศที่สาม (Queer Film) ภาพยนตรโลกที่สาม (Third World Cinema) เปนตน

ภพย. 360 การบริหารและการจัดจําหนายภาพยนตร (3 หนวยกิต) FLM 360 Film Administration and Distribution ศึกษาหลักในการบริหารงานดานภาพยนตร โครงสราง อุตสาหกรรมภาพยนตร กระบวนการพัฒนาโครงการภาพยนตร ศึกษา แผนและความเปนไปไดของโครงการ การกําหนดและควบคุมงบ ประมาณ การวางแผนการผลิต การควบคุมการผลิต การประชาสัมพันธ ภาพยนตร การสงเสริมการขาย การจัดจําหนายภาพยนตร ภพย. 361 การวางแผนการผลิตภาพยนตร (2 หนวยกิต) FLM 361 Production Planning for Film ศึกษาหลักและขัน้ ตอนในการวางแผนการผลิตภาพยนตร ตําแหนงหนาที่ตางๆ ในกองถายภาพยนตร การจัดการและบริหาร งานภายในกองถายภาพยนตร การประสานงาน ธุรกิจ การจัดเตรียม บท และการวางแผนเพื่อการถายทํา ทั้งในดานเวลาและงบประมาณ โดยจะฝกปฏิบัติรวมกับกับรายวิชาการผลิตภาพยนตร

504 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ภพย. 371 สุนทรียศาสตรขั้นสูงในงานภาพยนตร (3 หนวยกิต) FLM 371 Advanced Film Aesthetics พื้นความรู: ภพย. 101 ศึกษาพัฒนาการทางศิลปะและสุนทรียศาสตรแบบใหม (New Aesthetics) ของภาพยนตรศิลปะ ภาพยนตรทดลอง ภาพยนตรคัลท (Cult Film) หรือภาพยนตรที่มีความสุดขอบ (Cuttingedge) ทางศิลปะ และสุนทรียะ วิเคราะหผลงานของผูส รางภาพยนตร ที่ไดรับอิทธิพลจากแนวคิดหลังสมัยใหม (Post-modernism) และ สถานการณทางสังคมปจจุบัน


ภพย. 372 พื้นที่ เวลา เสียงและภาพเคลื่อนไหว (2 หนวยกิต) FLM 372 Space, Time, Sound, and Moving Images ศึกษาความสําคัญของการใชพื้นที่ เวลา เสียงและภาพ เคลื่อนไหวในงานภาพยนตรรูปแบบตางๆ พัฒนาการทางความคิด และผลงานของนักสรางภาพยนตรคนสําคัญ ความกาวหนาทาง เทคโนโลยีทมี่ ตี อ การขยายขอบเขตของศิลปะภาพยนตรไปสูค วามเปน สือ่ ใหม (New Media) ฝกปฏิบตั กิ ารสรางผลงานจากประสบการณการ ฟงและการเห็น (Listening & Seeing) และการทํางานในรูปแบบศิลปะ เฉพาะพื้นที่ (Site-Specific Art) ภพย. 373 ภาพยนตรและคนดู (3 หนวยกิต) FLM 373 Film and Spectatorship ศึกษาตัวบท การตีความและการสรางความหมายรวมกัน ระหวางผูสรางภาพยนตรและผูชม โดยพิจารณาจากปจจัยดานความ แตกตางระหวางเพศ วัย เชื้อชาติ ผานแนวคิดจิตวิเคราะห (Psychoanalysis) และหลังโครงสรางนิยม (Post-structuralism) ภพย. 400 สัมมนาภาพยนตรเชิงวิชาชีพและสังคม (3 หนวยกิต) FLM 400 Seminar in Film and Society สัมมนาความเคลื่อนไหวของวงการภาพยนตร วิเคราะห ปญหาและหนทางแกไข แนวโนมของภาพยนตรในอนาคต เนื้อหา และแนวคิ ด ที่ เ ป น ผลสะท อ นมาจากสั ง คม ตลอดจนวิ เ คราะห ปฏิสัมพันธระหวางภาพยนตรกับสังคม ภพย. 431 กลยุทธสรางสรรคเพื่อความเปน (2 หนวยกิต) ผูประกอบการในธุรกิจบันเทิง FLM 431 Creative Strategies for Entrepreneurship in Entertainment Business ศึกษาแนวคิดและกลยุทธการสรางสรรคโอกาสในธุรกิจ บันเทิง อันประกอบไปดวยชองทางอันหลากหลาย การเปนผูป ระกอบ

การ การติดตอเจรจา การนําเสนอโครงการ การมองหาตลาด การจัด ตัง้ และดําเนินงานธุรกิจ การสรางเครือขาย การบริหารความเสีย่ ง และ กฎหมายลิขสิทธิ์ทางปญญา ตลอดจนจรรยาบรรณในวิชาชีพ ฝก ปฏิบัติการสรางแผนธุรกิจดานภาพยนตร และดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ภพย. 433 การผลิตภาพยนตร (2 หนวยกิต) FLM 433 Film Production ศึกษาเทคนิคการเลาเรือ่ งและสือ่ ความหมายดวยภาพ ขัน้ ตอนการผลิตภาพยนตร และฝกกํากับภาพยนตรขนาดสัน้ ดวยอุปกรณ ระดับพืน้ ฐาน โดยเริม่ ตัง้ แตการเขียนบท การวางแผนการถายทํา การ ถายทํา การตัดตอ และกระบวนการหลังการถายทํา เพือ่ ใหสาํ เร็จเปน ภาพยนตรขนาดสั้นที่สมบูรณ ภพย. 434 ปฏิบัติการการผลิตภาพยนตรดิจิทัล (2 หนวยกิต) FLM 434 Digital Film Production Workshop พื้นความรู: ภพย. 433 ฝกปฏิบัติการการสรางภาพยนตรดิจิทัลดวยอุปกรณที่มี ความซับซอนมากขึ้น การเลาเรื่องและสื่อความหมายดวยภาพ ขั้น ตอนการผลิตภาพยนตรในรูปแบบดิจิทัล โดยเริ่มตั้งแตการเขียนบท การวางแผนการถายทํา การถายทํา การตัดตอ และกระบวนการหลัง การถายทําอื่นๆ เพื่อใหสําเร็จเปนภาพยนตรดิจิทัลที่สมบูรณ ภพย. 435 ปฏิบัติการการเตรียมการ (2 หนวยกิต) โครงการสารนิพนธ FLM 435 Degree Project Preparation Workshop นําเสนอหัวขอโครงการสารนิพนธที่สนใจ เพื่อศึกษา วิเคราะห วางแผน หาขอมูล และงบประมาณ เตรียมการสําหรับการ ผลิตโครงการสารนิพนธ การวัดผลวิชานี้ใหถือเกณฑ S และ U เปน เกณฑผานและไมผานตามลําดับโครงการสารนิพนธภาพยนตร (Degree Project in Film) หลักสูตรปร ญญาตร 505


ภพย. 436 โครงการสารนิพนธภาพยนตร (3 หนวยกิต) FLM 436 Degree Project in Film ดําเนินการผลิตโครงการสารนิพนธที่ผานเกณฑ โดย ปฏิบัติตามขอกําหนดในการทําโครงการผลิตสารนิพนธภาพยนตร ดังนี้ 1. นักศึกษาทีจ่ ะลงทะเบียน ตองผานวิชาพืน้ ฐานวิชาชีพ และวิชาเอกบังคับครบทุกวิชา และวิชาเอกเลือกไมนอยกวา 6 หนวยกิต 2. ตองมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต 1.75 ขึ้นไป 3. การวัดผลถือระดับคะแนนตั้งแต 2.00 (เกรด C) ขึ้น ไปเปนเกณฑผาน 4. มีการนําเสนอผลงานสูสาธารณะ ภพย. 437 การฝกงานภาพยนตร (3 หนวยกิต) FLM 437 Film Internship พื้นความรู: เกรดเฉลี่ยสะสมป 3 เทอม 1 ไมตํ่ากวา 2.5 สอบผานวิชาเอกเลือกและเอกบังคับไมนอยกวา 9 วิชา การฝกงานกับบริษัทผลิตภาพยนตร สตูดิโอภาพยนตร บริษทั ใหเชาอุปกรณ (Equipment Rental Company) โปรดักชัน่ เฮาส ที่ผลิตภาพยนตร โฆษณา หรือสถานีโทรทัศน เพื่อใหนักศึกษามี ประสบการณ ในงานดานตางๆ เชน การผลิตภาพยนตร การผลิต สารคดี การผลิตภาพยนตรโฆษณา การเขียนบท เปนตน โดยนักศึกษา จะตองทํารายงานประกอบการฝกงาน ทั้งนี้จะตองอยูภายใตการ ควบคุมและการประเมินผลของภาควิชารวมกับหนวยงานภายนอก

506 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ภพย. 441 การอํานวยการสรางภาพยนตร (2 หนวยกิต) FLM 441 Producing for Film ศึกษาบทบาทของผูอ าํ นวยการสราง หลักการบริหารงาน การจัดการเพื่อการอํานวยการผลิตภาพยนตรอยางสรางสรรคและมี ประสิทธิภาพ จรรยาบรรณของผูผลิตภาพยนตร การจัดการการเงิน การจัดหาเงินทุน การกําหนดและควบคุมงบประมาณ การวางแผน กลยุทธประชาสัมพันธและสงเสริมการขาย ฝกปฏิบัติการอํานวยการ สรางภาพยนตรรวมกับรายวิชาการผลิตภาพยนตรดิจิทัล ภพย. 471 ปฏิบัติการการผลิตภาพยนตรทางเลือก (2 หนวยกิต) FLM 471 Alternative Filmmaking Workshop ศึกษารูปแบบการเลาเรื่องและประเภทของภาพยนตรที่ หลากหลาย ศึกษาขั้นตอนการผลิตภาพยนตรในรูปแบบและประเภท ดังกลาว โดยเริ่มตั้งแตการเขียนบท การวางแผนการถายทํา การตัด ตอ และกระบวนการหลังการถายทํา เพือ่ ใหสาํ เร็จเปนภาพยนตรทาง เลือกที่สมบูรณ


หมวดวิชาการสื่อสารตรา สสต. 201 การพัฒนากลยุทธตรา (3 หนวยกิต) BDC 201 Brand Strategy Development ศึกษาหลักการและแนวคิดของกลยุทธการสือ่ สารตราแบบ องครวม เขาใจถึงองคประกอบของการสือ่ สารตราในภาพรวมทัง้ หมด ตั้งแตการกําหนดวิสัยทัศนของตรา (Brand Vision) แกนแทของตรา (Brand Essence) การกําหนดตําแหนงตรา (Brand Positioning) คุณคาตรา (Brand Value) ขอสัญญาของตรา (Brand Promise) บุคลิกภาพตรา (Brand Personality) คุณลักษณะของตรา (Brand Attribute) เอกลักษณและภาพลักษณของตรา (Brand Identity & Image) สสต. 202 ความคิดสรางสรรคเพื่อการสื่อสารตรา (3 หนวยกิต) BDC 202 Creativity for Brand Communications ศึกษาความหมายของความคิดสรางสรรค ธรรมชาติและ ที่มาของความคิดสรางสรรค เทคนิคและวิธีการคิดแบบตางๆ ระบบ และกลวิธีในการคิดเพื่อใหเกิดความคิดสรางสรรคเพื่อนําไปสราง แนวคิดและกลยุทธในการวางแผนงานตางๆ ศึกษาและฝกฝนการคิด เชิงวิพากษ (Critical Thinking) การคิดเพื่อแกปญหา ตั้งแต กระบวนการ แนวคิด และเทคนิคตางๆเพือ่ นํามาปรับใชกบั สถานการณ ทางการสื่อสารตราตางๆ เพื่อถายทอดออกมาทั้งในรูปแบบภาพ เนื้อหาสาร โดยการเรียนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติทั้งรูปแบบกลุมและราย บุคคล สสต. 203 การจัดการคุณคาตรา (3 หนวยกิต) BDC 203 Brand Equity Management ศึกษาความหมายคุณคาตรา ความสําคัญของการจัดการ คุณคาตรา ทฤษฎีคณุ คาตราโดยประเมินจากลูกคา (Customer-based Brand Equity) ปจจัยหรือองคประกอบตางๆ ที่มีผลกระทบตอการ

สรางคุณคาตรา แนวทางการวัดคุณคาตรา วิธีการบริหารจัดการเพื่อ สรางคุณคาตราผานเกณฑหรือองคประกอบของคุณคาตราตางๆ สสต. 204 กลยุทธชองทางการสื่อสาร (3 หนวยกิต) และสัมผัสแหงตรา BDC 204 Brand Channels and Sense Strategy ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี รูปแบบ คุณลักษณะของเครื่องมือ หรือชองทางการสือ่ สารตราทุกรูปแบบเพือ่ สรางจุดสัมผัสตรา (Brand Touch Points) ใหสอดคลองกับบุคลิกภาพและเอกลักษณของตราและ สือ่ สารไปยังกลุม เปาหมายผานประสาทสัมผัสของผูบ ริโภค ทัง้ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสรวมถึงการสรางประสบการณ ในตราใหเกิดความ ประทับใจ ครอบคลุมถึงชองทางการสื่อสารตรากอนการตัดสินใจซื้อ ชองทางการสื่อสารตราขณะการตัดสินใจซื้อ (Moment of Truth) และ ชองทางการสือ่ สารตราหลังการซือ้ รวมถึงชองทางการสือ่ สารรูปแบบ ใหม อาทิ สื่อแฝงในบรรยากาศ (Ambient Media) โดยมุงเนนฝก ปฏิบตั ิในการสรางสรรคชอ งทางการสือ่ สารตราอยางมีประสิทธิผลและ มีประสิทธิภาพกับลูกคาเปาหมาย สสต. 301 การวิจัยการสื่อสารตรา (3 หนวยกิต) BDC 301 Brand Communications Research พื้นความรู: สอบผาน COM 105 ศึกษาถึงบทบาท ความสําคัญ รูปแบบ ประเภทของการ วิจยั เพือ่ การสือ่ สารตรา รวมถึงเรียนรูแ ละเขาใจถึงระเบียบวิธกี ารวิจยั วิธกี ารวิเคราะห สรุปผลและการจัดทําโครงการวิจยั การสือ่ สารตราทัง้ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ไมวาจะเปนการวิจัยผูบริโภค การวิจัย เพือ่ ตรวจสอบสุขภาพตรา การวิจยั ทีเ่ กีย่ วของกับองคการ ผลิตภัณฑ และบริการตางๆ จากนัน้ จึงดําเนินการวิจยั ภาคสนามและการนําเสนอ ผลการวิจัยเพื่อนําไปใชประโยชนตอไป

หลักสูตรปร ญญาตร 507


สสต. 302 การออกแบบเอกลักษณตรา (3 หนวยกิต) BDC 302 Brand Identity Design พื้นความรู: สอบผานคอมพิวเตอรพื้นฐานเพื่อการออกแบบ ศึ ก ษาความหมาย ความสํ า คั ญ และบทบาทของการ ออกแบบตราที่มีตอการสรางเอกลักษณ ใหกับตราทั้งดานแกนของ เอกลักษณ (Core Identity) และสวนขยายเอกลักษณ (Extended Identity) ไดแก องคประกอบของคํา ภาพลักษณ ความคิดและรูป แบบที่เกี่ยวของกับสิ่งที่ผูบริโภคไดรับจากตราสินคา โดยสามารถ สรางสรรค อธิบาย และปฏิบัติการออกแบบดวยคอมพิวเตอรเพื่อ สื่อสารถึงองคประกอบที่จับตองได และจับตองไมไดของเอกลักษณ ตราสินคาตามขัน้ ตอนการออกแบบซึง่ รวมถึง จินตนาการ นวัตกรรม การนําไปปฏิบัติ การปรับปรุงเอกลักษณตราสินคา และการนําไปใช สสต. 303 การผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารตรา (3 หนวยกิต) BDC 303 Media Production for Brand Communications พื้นความรู: สอบผานคอมพิวเตอรพื้นฐานเพื่อการออกแบบ ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและฝกปฏิบัติในการสรางสรรคและ ผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกสเพื่อการสื่อสารตราทั้งสื่อโทรทัศน สื่อวิทยุ กระจายเสียง วีดทิ ศั น สือ่ อืน่ ๆ ที่ใชเพือ่ ในการสือ่ สารตรา ศึกษาเทคนิค การผลิต การสื่อความหมายทางดานภาพผานมุมกลอง การกําหนด องคประกอบศิลป การควบคุมการลําดับภาพหรือตัดตอ และการผสม เสียงโดยคํานึงถึงความสอดคลองกับเนื้อหาและเอกลักษณของตรา สสต. 311 การวิเคราะหและทําความเขาใจเชิงลึก (3 หนวยกิต) ผูที่เกี่ยวของ BDC 311 Stakeholder Insight and Analysis ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีทเี่ กีย่ วของกับการวิเคราะหและศึกษา ผูที่เกี่ยวของกับตราและองคการ ไดแก กระบวนการเรียนรูและ ประมวลขอมูล ปจจัยสวนบุคคลและปจจัยภายนอกที่มีผลตอการรับ รู ทัศนคติ และพฤติกรรม เทคนิคการวิจยั เชิงคุณภาพเพือ่ นําไปสูก าร 508 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ทําความเขาใจเชิงลึก การวิเคราะหผทู เี่ กีย่ วของเพือ่ ใชในการออกแบบ กลยุทธตรารวมถึงการบริหารประสบการณและความสัมพันธ สสต. 312 ทักษะการนําเสนองาน (3 หนวยกิต) และการเจรจาตอรอง BDC 312 Negotiation and Presentation Skills ศึกษาความสําคัญของการนําเสนองานและการเจรจาตอ รอง ประเภทการนําเสนองานทั้งในรูปแบบวาจาและเอกสาร องค ประกอบและปจจัยทีม่ ผี ลตอการนําเสนองาน การใชอปุ กรณประกอบ การนําเสนองาน อุปสรรคในการนําเสนองานและฝกปฏิบัติการนํา เสนองาน ศึกษาถึงหลักการ แนวคิด และฝกฝนทักษะในการเจรจาตอ รองในหลากหลายรูปแบบ ลักษณะและธรรมชาติของการเจรจาตอรอง การโน ม น า วใจ การสร า งอํ า นาจในการเจรจาต อ รอง ขั้ น ตอน กระบวนการ และการดําเนินงานบริหารจัดการ การกําหนดกลยุทธ กลวิธีการเจรจาตอรอง ปญหาและอุปสรรคในการเจรจาตอรอง สสต. 313 การสื่อสารตราองคการ (3 หนวยกิต) BDC 313 Corporate Brand Communications ศึกษาความหมาย ความสําคัญ รูปแบบ และกระบวนการ สื่อสารเพื่อการสรางตราองคการ กลยุทธการสื่อสารทั้งภายในและ ภายนอก (Internal and External Communication Strategy) เพื่อ การสรางและรักษาชือ่ เสียงขององคการ เชน การกําหนดจุดยืนตราที่ สอดคลองกับกลยุทธธุรกิจขององคการ (Business Strategy) การ สร า งตราโดยใช ค วามรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คม (Corporate Social Responsibility) การสรางตราผานพนักงาน (Employee Branding) การสรางตราผานผูบริหาร (CEO Branding) และกรณีศึกษาของตรา องคการที่มีการปรับเปลี่ยนกลยุทธตรา (Re-Branding) ทั้งตรา องคการของไทยและตางประเทศ


สสต. 401 การวางแผนรณรงคการสื่อสารตรา (3 หนวยกิต) BDC 401 Brand Communications Campaign Planning ศึกษาความหมายการรณรงค บทบาทการรณรงคในการ สื่อสารตรา แนวคิดการบูรณาการที่จะถูกนํามาประยุกต ใชกับแผน รณรงคการสือ่ สารตรา เรียนรูท งั้ ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิในการวางแผน รณรงค การสื่อสารตราแบบบูรณาการจากกรณีศึกษาจริง ตั้งแตการ วิเคราะหปจจัยแวดลอมที่มีผลกระทบตอการวางแผน การตรวจ สุขภาพตรา (Brand Health Check) การกําหนดกลุมเปาหมาย (Target Group Identification) การออกแบบตราและเอกลักษณของ ตรา (Brand Design and Identity) การกําหนดกลยุทธเนือ้ หาสารของ ตรา (Brand Message Strategy) การสรางสรรคจดุ สัมผัสตรา (Brand Touch Points) เพือ่ สือ่ สารไปยังกลุม เปาหมาย แนวทางในการประเมิน ผลตรา (Brand Evaluation) สสต. 402 การฝกงานวิชาชีพดานการสื่อสารตรา (3 หนวยกิต) BDC 402 Brand Communications Professional Internship พื้นความรูและเงื่อนไข: สอบผานวิชาเอกไมนอยกวา 9 วิชา และ ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมตํ่ากวา 2.30 ศึกษาประสบการณวชิ าชีพดวยการฝกงานในหนวยงานที่ เกี่ยวของกับการสื่อสารตรา ผูเรียนตองนําสาระประโยชน ความรูที่ ไดจากการฝกงานมาศึกษา วิเคราะหเชิงเปรียบเทียบและอภิปรายกับ แนวคิด ทฤษฎีที่เรียนมาโดยมุงเนนการประมวลสาระความรู ผูเรียน จะตองสะทอนหรือถายทอดคุณคาที่ไดจากการฝกงานไมวาจะเปน ภาระหนาที่ขณะฝกงาน ประโยชนที่ไดรับ ปญหา อุปสรรคและ แนวทางแกไขปญหา จัดทําอยูในรูปแบบรายงานการฝกงานภายใต การควบคุมดูแลและการประเมินผลของผูสอนรวมกับตัวแทนของ หนวยงานที่ผูเรียนฝกงาน

สสต. 403 โครงการสื่อสารตรา (3 หนวยกิต) BDC 403 Brand Communications Project พื้นความรูและเงื่อนไข: สอบผานวิชาเอกเลือกและเอกบังคับ ไมนอยกวา 9 วิชา การนําหลักการ แนวคิดและทฤษฎีดา นการสือ่ สารตรามา ใชเปนกรอบในการดําเนินการโครงงาน และ/หรือ การวางแผนและ กําหนดแนวทางดําเนินงานการสื่อสารตราใหกับหนวยงานภายนอก หรือโครงงานทีผ่ สู อนกําหนดขึน้ ตัง้ แตกระบวนการคิดเชิงกลยุทธ การ สรางสรรคผลงานและถายทอดผลงานจนเปนรูปธรรม โดยนําเสนอ ผลงานพรอมทัง้ จัดทํารายงานประกอบการนําเสนอผลงาน การศึกษา จะตองอยูภายใตการควบคุมและการประเมินผลของผูสอน และ/หรือ กรรมการภายนอก สสต. 404 สัมมนาการสื่อสารตรา (3 หนวยกิต) BDC 404 Seminar in Brand Communications ศึ ก ษาถึ ง บทบาท ความสํ า คั ญ ของการสั ม มนา การ วิเคราะหสภาพปญหาตางๆ ทางดานการสื่อสารตราทั้งในระดับ ประเทศและระดับนานาชาติ ศึกษาคนควาแนวคิด ประเด็นตางๆ ที่ อยูในความสนใจในแวดวงการสือ่ สารตรา เพือ่ นํามาจัดการสัมมนาใน หั ว ข อ ต า งๆ โดยเชิ ญ วิ ท ยากรผู  ท รงคุ ณวุ ฒิ แ ละมี ค วามรู  ค วาม เชีย่ วชาญทางดานการสือ่ สารตราหรือขอบเขตทีเ่ กีย่ วของมาใหความ รู มุมมองและถายทอดประสบการณ กรณีศึกษาตางๆ และใหผูเรียน อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางผูสอนกับผูเรียน ระหวางผู เรียนดวยกันเอง

หลักสูตรปร ญญาตร 509


สสต. 411 การจัดการการสื่อสารตราเชิงกลยุทธ (3 หนวยกิต) BDC 411 Strategic Brand Communications Management ศึกษาการวางแผนการจัดการกลยุทธ ในการสื่อสารตรา รวมถึงกระบวนการและขั้นตอนในการวางแผนกลยุทธ การปรับ กลยุทธตามสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไปตามวงจรชีวิตตรา (Brand Life Cycle) มีการฝกพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะหขอ มูลเพือ่ ประเมิน สถานการณ การวิเคราะหกลุมเปาหมาย กําหนดวัตถุประสงค เพื่อ ออกแบบและตัดสินใจเลือกใชกลยุทธการสื่อสารตราที่เหมาะสม เชน กลยุทธสรางคุณคา (Value Creation) กลยุทธเชิงนวัตกรรม (Value Innovation) กลยุทธเชิงยุทธวิธี และสามารถนําไปประยุกตใชในการ สื่อสารตราแตละประเภท เชน ตราผลิตภัณฑ ตราบริการ ตราบุคคล และตราองคการ เพื่อสรางความไดเปรียบในการสื่อสาร สสต. 412 การสื่อสารตราระดับโลก (3 หนวยกิต) BDC 412 Global Brand Communications ศึกษาทฤษฎีและกลยุทธการสรางตราและการสือ่ สารการ ตลาดระดับโลกตลอดจนปจจัยแวดลอมตางๆ ที่สงผลตอความสําเร็จ ของตรา การสื่อสารขามวัฒนธรรม การสรางสาร (Message) ที่มี ความเปนสากล และเรียนรูกรณีศึกษาของตราระดับโลก

หมวดวิชาภาษาตางประเทศ กล. 101 ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี 1 (3 หนวยกิต) KR 101 Korean Language and Culture I ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี โดย เนนเรื่องการสื่อสารในชีวิตประจําวัน กล. 102 ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี 2 (3 หนวยกิต) KR 102 Korean Language and Culture II พื้นความรู: กล. 101 ศึกษา โครงสราง ของ ภาษา วัฒนธรรม หลัก ไวยากรณ คําศัพท สํานวนการฟง พูด อาน และเขียน เพื่อเปนพื้นฐานในการ ศึกษาในขั้นสูงตอไป กล. 311 ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจทองเที่ยว KR 311 Communicative Korean for Tourism Business พื้นความรู: กล. 102 ศึกษา สํานวน โครงสราง และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจ การ ทอง เที่ยว โดย เนน ทักษะ การ ฟง การ พูด เพื่อ การ สื่อสาร ที่ มี ประสิทธิภาพ กล. 312 ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจโรงแรม KR 312 Communicative Korean for Hotel Business พื้นความรู: กล. 102 ศึกษา สํานวน โครงสราง และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจ โรงแรม โดยเนนทักษะการฟง การพูด เพือ่ การสือ่ สารทีมี่ ประสิทธิภาพ

510 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


กล. 313 ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจสายการบิน KR 313 Communicative Korean for Airline Business พื้นความรู: กล. 102 ศึกษา สํานวน โครงสราง และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจ สาย การ บิน โดย เนน ทักษะ การ ฟง การ พูด เพื่อ การ สื่อสาร ที่ มี ประสิทธิภาพ

ญป. 101 ภาษาญี่ปุน 1 (3 หนวยกิต) JP 101 Japanese I ศึกษา โครงสราง พื้น ฐาน และ ศัพท ที่ ใช กัน ทั่วๆ ไป ฝก ทักษะในดานการฟง พูด อาน และเขียน เพือ่ เปนพืน้ ฐานในการศึกษา ขั้นสูงตอไป

ภอล. 201 ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี 1 (3 หนวยกิต) ELK 201 Korean and Culture I ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมเกาหลีในชีวิตประจําวัน

ญป. 102 ภาษาญี่ปุน 2 (3 หนวยกิต) JP 102 Japanese II พื้นความรู: สอบผาน ญป. 101 ศึกษาโครงสรางและศัพทที่ใชกันอยางกวางขวางในชีวิต ประจําวัน ฝกการฟง พูด อาน และเขียน ในระดับที่สูงขึ้น

ภอล. 202 ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี 2 (3 หนวยกิต) ELK 202 Korean and Culture II ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี ในการคนควาทาง วิชาการ

ญป. 111 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 1 (3 หนวยกิต) JP 111 Japanese Language and Culture I ศึกษาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน โดยเนนเรื่องการสื่อสารในชีวิตประจําวัน

ภอล. 301 ภาษาเกาหลีเพื่อการใชงานในสํานักงาน (3 หนวยกิต) ELK 301 Korean for Office Work ศึกษาการใชภาษาเกาหลี เพื่อการใชงานในสํานักงาน

ญป. 112 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 2 (3 หนวยกิต) JP 112 Japanese Language and Culture II พื้นความรู: ญป. 111 ศึกษา โครงสราง ของ ภาษา วัฒนธรรม หลัก ไวยากรณ คํา ศัพท สํานวน การ ฟง พูด อาน และ เขียน เพื่อ เปน พื้น ฐาน ใน การ ศึกษาในขั้นสูงตอไป

ภอล. 302 ภาษาเกาหลีเพื่องานบริการ (3 หนวยกิต) ELK 302 Korean for Service Careers ศึกษาการใชภาษาเกาหลีในงานบริการดานตางๆ ภอล. 401 เกาหลีศึกษา (3 หนวยกิต) ELK 401 Korean Studies ศึกษา คนควา ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณี วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงของประเทศเกาหลี

ญป. 201 ภาษาญี่ปุน 3 (3 หนวยกิต) JP 201 Japanese III พื้นความรู: สอบผาน ญป. 102 ศึกษา โครงสราง ของ ภาษา หลัก ไวยากรณ คํา ศัพท สํานวน การฟง พูด อาน และเขียน เพื่อสื่อสารและการฝกใชอยาง ถูกตอง หลักสูตรปร ญญาตร 511


ญป. 202 ภาษาญี่ปุน 4 (3 หนวยกิต) JP 202 Japanese IV พื้นความรู: สอบผาน ญป. 201 ศึกษา โครงสราง ของ ภาษา หลัก ไว ยา ภรณ คํา ศัพท สํานวน การฟง พูด อาน เขียน ที่ซับซอนขึ้น ฝกแปลขอความสั้นๆ จากภาษาไทยเปนภาษาญี่ปุน และจากภาษาญี่ปุนเปนภาษาไทย

ญป. 313 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจสายการบิน JP 313 Communicative Japanese for Airline Business พื้นความรู: ญป. 112 ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจสายการบิน โดยเนนทักษะการฟงและการพูดเพื่อการสื่อสารที่ มีประสิทธิภาพ

ญป. 301 ภาษาญี่ปุนเพื่อการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) JP 301 Japanese Tourism พื้นความรู: ญป. 201 ศึกษาการใชภาษาญี่ปุน และฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนที่ใชในธุรกิจทองเที่ยว มีการฝกนอกสถานที่

ภอญ. 201 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 1 (3 หนวยกิต) ELJ 201 Japanese Language and Culture I ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุนในชีวิตประจําวัน

ญป. 311 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจทองเที่ยว JP 311 Communicative Japanese for Tourism Business พื้นความรู: ญป. 112 ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจการทองเที่ยว โดยเนนทักษะการฟงและการพูดเพื่อการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพ ญป. 312 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจโรงแรม JP 312 Communicative Japanese for Hotel Business พื้นความรู: ญป. 112 ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจ โรงแรม โดย เนน ทักษะ การ ฟง และ การ พูด เพื่อ การ สื่อสาร ที่ มี ประสิทธิภาพ

512 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ภอญ. 202 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 2 (3 หนวยกิต) ELJ 202 Japanese Language and Culture II ศึ ก ษาภาษาและวั ฒ นธรรมญี่ ปุ  น ในการค น คว า ทาง วิชาการ ภอญ. 301 ภาษาญี่ปุนเพื่อการใชงานในสํานักงาน (3 หนวยกิต) ELJ 301 Japanese for Office Work ศึกษาการใชภาษาญี่ปุน เพื่อการใชงานในสํานักงาน ภอญ. 302 ภาษาญี่ปุนเพื่องานบริการ (3 หนวยกิต) ELJ 302 Japanese for Service Careers ศึกษาการใชภาษาญี่ปุนในงานบริการดานตางๆ ภอญ. 401 ญี่ปุนศึกษา (3 หนวยกิต) ELJ 401 Japanese Studies ศึกษา คนควา ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณี วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงของประเทศญี่ปุน


นว. 101 ภาษาและวัฒนธรรมนอรเวย 1 (3 หนวยกิต) NW 101 Norwegian Language and Culture I ความรูเบื  อ้ งตนเกีย่ วกับภาษาและวัฒนธรรมนอรเวย โดย เนนเรื่องการสื่อสารในชีวิตประจําวัน นว. 102 ภาษาและวัฒนธรรมนอรเวย 2 (3 หนวยกิต) NW 102 Norwegian Language and Culture II พื้นความรู: นว. 101 ศึกษา โครงสราง ของ ภาษา วัฒนธรรม หลัก ไวยากรณ คําศัพท สํานวนการฟง พูด อาน และเขียน เพื่อเปนพื้นฐานในการ ศึกษาในขั้นสูงตอไป บธ. 121 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 (3 หนวยกิต) BA 121 English Foundation I ฝกทักษะการใชภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร โดยผานการ ทํากิจกรรมที่เสริมสรางการเรียนรูดวยตนเองหลากหลายรูปแบบทั้ง ในและนอกหองเรียน และเปดโอกาสใหผูเรียนเลือกอาน พรอมฝก เขียนยอความของบทอานที่ใชจริงในชีวิตประจําวันตามที่ตนสนใจ บธ. 122 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 (3 หนวยกิต) BA 122 English Foundation II พื้นความรู: สอบได บธ. 121 ฝ ก ทั ก ษะการใช ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สารและทํ า กิจกรรมเสริมสรางการเรียนรูดวยตนเองทั้งในและนอกหองเรียนใน ระดับที่ซับซอนขึ้น ฝกเขียนโตตอบในบันทึกประจําวันแบบออนไลน และเปดโอกาสใหผูเรียนเลือกอานหนังสือนอกเวลาที่ตนสนใจพรอม ทั้งฝกเขียนแสดงความคิดเห็นตอสิ่งที่อาน

บธ. 221 ภาษาอังกฤษเพื่อความเขาใจโลก (3 หนวยกิต) BA 221 English for Global Perspectives ฝกฝนเพื่อเพิ่มความสามารถในการเรียนรูและสํารวจ ความเปนไปของสิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัว เชน เรื่องของนวัตกรรมของ โลก ความแตกตางกันของคนในโลกนี้ ทั้งในดานวัฒนธรรมและแนว ความคิด โดยผานทางการใชภาษาอังกฤษในทักษะตางๆ ทั้งในและ นอกหองเรียน บธ. 301 ภาษาอังกฤษสําหรับผูประกอบการ 1 (3 หนวยกิต) BA 301 English for Entrepreneurs I ศึกษาทักษะการใชภาษาอังกฤษที่ใชในแวดวงธุรกิจเพื่อ เตรียมตัวเปนผูประกอบการ การนําเสนอแผนธุรกิจ การฝกฟงและ พูดภาษาอังกฤษกับบุคคลที่อยูในวงการธุรกิจตางๆ การฝกฝนการ เขียนโตตอบทางธุรกิจ และการฝกอานบทความตางๆ จากสิ่งพิมพ ทางธุรกิจ เปนตน บธ. 302 ภาษาอังกฤษสําหรับผูประกอบการ 2 (3 หนวยกิต) BA 302 English for Entrepreneurs II วิชาตอเนื่องจากวิชาบธ. 301: ภาษาอังกฤษสําหรับผู ประกอบการ1 ในรายวิชานี้นักศึกษาจะไดฝกการสื่อสารเปนภาษา อังกฤษในสถานการณที่ใกลเคียงกับความจริงมากที่สุดอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการนําเสนอรายงานทางธุรกิจที่จําเปนสําหรับผูประกอบ การธุรกิจในยุคปจจุบัน ฝศ. 101 ภาษาฝรั่งเศส 1 (3 หนวยกิต) FR 101 French I ศึกษาโครงสรางพืน้ ฐานทีใช ่ กันทัว่ ๆ ไป ฝกทักษะในดาน การฟง พูด อาน และเขียน เพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษาขั้นสูงตอไป

หลักสูตรปร ญญาตร 513


ฝศ. 102 ภาษาฝรั่งเศส 2 (3 หนวยกิต) FR 102 French II พื้นความรู: สอบผาน ฝศ. 101 ศึกษาโครงสรางและศัพทที่ใชกันอยางกวางขวางในชีวิต ประจําวัน ฝกการฟง พูด อาน และเขียนในระดับที่สูงขึ้น ฝศ. 111 ภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส 1 (3 หนวยกิต) FR 111 French Language and Culture I ความรูเบื  อ้ งตนเกีย่ วกับภาษาและวัฒนธรรมฝรัง่ เศส โดย เนนเรื่องการสื่อสารในชีวิตประจําวัน ฝศ. 112 ภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส 2 (3 หนวยกิต) FR 112 French Language and Culture II พื้นความรู: ฝศ. 111 ศึกษาโครงสรางของภาษา วัฒนธรรม หลักไวยากรณ คํา ศัพท สํานวนการฟง พูด อานและเขียน เพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษา ในขั้นสูงตอไป ฝศ. 201 การใชภาษาฝรั่งเศส (3 หนวยกิต) FR 201 French Usage ศึกษาโครงสรางของภาษา หลักไวยากรณ คําศัพทสํานวน เพือ่ ใชในการฟง พูด อาน เขียน ในระดับทีสู่ งขึน้ ฝกการแปลขอความ จากภาษาฝรั่งเศสเปนภาษาไทย และภาษาไทยเปนภาษาฝรั่งเศส ฝศ. 202 ภาษาฝรั่งเศสในชีวิตประจําวัน (3 หนวยกิต) FR 202 French for Daily Life ศึกษาภาษาฝรัง่ เศสทีใช ่ ในสถานการณตางๆ ในชีวติ ประจํา วัน เพือ่ ฝกการฟง พูด อาน เขียนในการสือ่ สารประจําวันไดอยางถูกตอง

514 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ฝศ. 301 ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการใชงาน (3 หนวยกิต) ในสํานักงาน FR 301 French for Office Work ฝก ทักษะ การ อาน เขียน และ พูด ภาษา ฝรั่งเศส ที่ ใช ใน สํานักงาน เชน การอานจับใจความและการเขียนตอบจดหมาย โทรสาร บัตรเชิญ การโตตอบบทสนทนาและจดบันทึกทางโทรศัพท ฝศ. 302 ภาษาฝรั่งเศสเพื่องานบริการ (3 หนวยกิต) FR 302 French for Service Careers ฝกทักษะการฟง พูด อาน เขียนภาษาฝรัง่ เศสทีใช ่ ในธุรกิจ บริการ เชน งานบริการบนเครื่องบิน งานโรงแรมภัตตาคาร และงาน ธุรกิจทองเที่ยวเปนตน ฝศ. 311 ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจทองเที่ยว FR 311 Communicative French for Tourism Business พื้นความรู: ฝศ. 112 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เท คนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจการทองเทีย่ ว โดยเนนทักษะ การฟง และการพูด เพือ่ การสือ่ สาร ที่มีประสิทธิภาพ ฝศ. 312 ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจโรงแรม FR 312 Communicative French for Hotel Business พื้นความรู: ฝศ. 112 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เท คนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจโรงแรม โดยเนนทักษะ การฟง และการพูด เพื่อการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพ


ฝศ. 313 ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจสายการบิน FR 313 Communicative French for Airline Business พื้นความรู: ฝศ. 112 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เท คนิคที่ ใช ใน ธุรกิจสายการบิน โดยเนนทักษะ การฟง และการพูด เพื่อการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพ ฝศ. 401 ภาษาฝรั่งเศสและการศึกษาวัฒนธรรม (3 หนวยกิต) FR 401 French Language and Culture Studies ศึกษา ประวัติ ความ เปน มา ของ ประเทศ ฝรั่งเศส แนว ความ คิด วัฒนธรรม ประเพณี ศิลปะ และ วิถี ชีวิต ความ เปน อยู ของ ชาวฝรัง่ เศสเพือ่ ประโยชนในการสือ่ สารและสรางความสัมพันธกับชาว ฝรั่งเศสในอนาคต ฟน. 101 ภาษาและวัฒนธรรมฟนแลนด 1 (3 หนวยกิต) FN 101 Finnish Language and Culture I ความ รู เบื้อง ตน เกี่ยว กับ ภาษา และ วัฒนธรรม ฟนแลนด โดยเนนเรื่องการสื่อสารในชีวิตประจําวัน ฟน. 102 ภาษาและวัฒนธรรมฟนแลนด 2 (3 หนวยกิต) FN 102 Finnish Language and Culture II พื้นความรู: ฟน. 101 ศึกษา โครงสราง ของ ภาษา วัฒนธรรม หลัก ไวยากรณ คําศัพท สํานวนการฟง พูด อาน และเขียน เพื่อเปนพื้นฐานในการ ศึกษาในขั้นสูงตอไป

ภจ. 101 ภาษาจีนกลาง 1 (3 หนวยกิต) CN 101 Chinese I ศึกษาภาษาจีนขั้นพื้นฐาน สัทอักษรระบบ Pinyin ระบบ เสียงภาษาจีนกลาง ศัพทเกีย่ วกับการนับจํานวนเลข การทักทาย การ เดิน ทาง การ แลก เปลี่ยน เงิน ตรา โครงสราง และ รูป ประโยค พื้น ฐาน ความรูอักษรจีนระดับ 500 ตัว ภจ. 102 ภาษาจีนกลาง 2 (3 หนวยกิต) CN 102 Chinese II พื้นความรู: สอบผาน ภจ. 101 ภาษาจีนกลาง 1 ศึกษาศัพทเกี่ยวกับการโตตอบสนทนาในชีวิตประจําวัน ศัพท เกี่ยว กับ เครื่อง แตง กาย เครื่อง ใชสอย เครื่อง เรือน โครงสราง และรูปประโยคที่สําคัญ ความรูอักษรจีนเพิ่มขึ้น 500 ตัว ภจ. 111 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 1 (3 หนวยกิต) CN 111 Chinese Language and Culture I ความรูเบื  อ้ งตนเกีย่ วกับภาษาและวัฒนธรรมจีน โดยเนน เรื่องการสื่อสารในชีวิตประจําวัน ภจ. 112 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 2 (3 หนวยกิต) CN 112 Chinese Language and Culture II พื้นความรู: ภจ. 111 ศึกษาโครงสรางของภาษา วัฒนธรรม หลักไวยากรณ คําศัพท สํานวนการฟง พูด อาน และเขียน เพื่อเปนพื้นฐานในการ ศึกษาในขั้นสูงตอไป ภจ. 301 ภาษาจีนกลางเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ (3 หนวยกิต) CN 301 Chinese for Business Communication พื้นความรู: สอบผาน ภจ. 102 ภาษาจีนกลาง 2 ศึกษาศัพทและสํานวนที่ใชในวงการธุรกิจ การเจรจาตอ รอง การนําเสนอสินคา การเปนตัวแทนจําหนายสินคา การตอนรับ ลูกคา ความรูศัพททางดานธุรกิจ 500 คํา หลักสูตรปร ญญาตร 515


ภจ. 303 การอานภาษาจีนเบื้องตน (3 หนวยกิต) CN 303 Fundamental Chinese Reading พื้นความรู: สอบผาน ภจ. 102 ภาษาจีนกลาง 2 ฝกการอานบทความภาษาจีน โดยเนนทักษะการอานจับ ประเด็นและสามารถอานบทความทีมี่ ความยาวประมาณ 200-300 ตัว อักษร

ภจ. 313 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจสายการบิน CN 313 Communicative Chinese for Airline Business พื้นความรู: ภจ. 112 ศึกษา สํานวน โครงสราง และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจสายการบิน โดยเนนทักษะการฟง การพูด เพื่อการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพ

ภจ. 304 ภาษาจีนสําหรับการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) CN 304 Chinese for Tourism พื้นความรู: สอบผาน ภจ. 102 ภาษาจีนกลาง 2 ศึกษา คํา ศัพท ขั้น พื้น ฐาน และ สํานวน ภาษา จีน เกี่ยว กับ การทองเที่ยว ศึกษาแหลงทองเที่ยว โบราณสถานที่สําคัญของไทย และแหลงทัศนาจรที่สําคัญของจีน โดยเนนทักษะการฟงและการพูด

ยม. 101 ภาษาเยอรมัน 1 (3 หนวยกิต) GR 101 German I ศึกษา โครงสราง พื้น ฐาน และ ศัพท ที่ ใช กัน ทั่วๆ ไป ฝก ทักษะในดานการฟง พูด อาน และเขียน เพือ่ เปนพืน้ ฐานในการศึกษา ขั้นสูงตอไป

ภจ. 311 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจทองเที่ยว CN 311 Communicative Chinese for Tourism Business พื้นความรู: ภจ. 112 ศึกษา สํานวน โครงสราง และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจ การ ทอง เที่ยว โดย เนน ทักษะ การ ฟง การ พูด เพื่อ การ สื่อสาร ที่ มี ประสิทธิภาพ ภจ. 312 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจโรงแรม CN 312 Communicative Chinese for Hotel Business พื้นความรู: ภจ. 112 ศึกษา สํานวน โครงสราง และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจ โรงแรม โดยเนนทักษะการฟง การพูด เพือ่ การสือ่ สารทีมี่ ประสิทธิภาพ

516 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ยม. 102 ภาษาเยอรมัน 2 (3 หนวยกิต) GR 102 German II พื้นความรู: สอบผาน ยม. 101 ศึกษาโครงสรางและศัพทที่ใชกันอยางกวางขวางในชีวิต ประจําวัน ฝกการฟง พูด อาน และเขียนในระดับที่สูงขึ้น ยม. 111 ภาษาและวัฒนธรรมเยอรมัน 1 (3 หนวยกิต) GR 111 German Language and Culture I ศึกษา ความ รู เบื้อง ตน เกี่ยว กับ ภาษา และ วัฒนธรรม เยอรมัน โดยเนนเรื่องการสื่อสารในชีวิตประจําวัน ยม. 112 ภาษาและวัฒนธรรมเยอรมัน 2 (3 หนวยกิต) GR 112 German Language and Culture II พื้นความรู: ยม. 111 ศึกษาโครงสรางของภาษา วัฒนธรรม หลักไวยากรณ คํา ศัพท สํานวนการฟง พูด อานและเขียน เพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษา ในขั้นสูงตอไป


ยม. 201 ภาษาเยอรมัน 3 (3 หนวยกิต) GR 201 German III พื้นความรู: สอบผาน ยม. 102 ศึกษา โครงสราง ของ ภาษา หลัก ไวยากรณ คํา ศัพท สํานวนการฟง พูด อาน และเขียน เพื่อเปนการสื่อสาร และการฝก ใชอยางถูกตอง ยม. 202 ภาษาเยอรมัน 4 (3 หนวยกิต) GR 202 German IV พื้นความรู: สอบผาน ยม. 201 ศึกษา โครงสราง ของ ภาษา หลัก ไวยากรณ คํา ศัพท สํานวน การ ฟง พูด อาน และ เขียน ที่ ซับ ซอน ขึ้น ฝก แปล ขอความ สั้นๆ จาก ภาษา ไทย เปน ภาษา เยอรมัน และ จาก ภาษา เยอรมัน เปน ภาษาไทย

ยม. 312 ภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจโรงแรม GR 312 Communicative German for Hotel Business พื้นความรู: ยม. 112 ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจ โรงแรม โดย เนน ทักษะ การ ฟง และ การ พูด เพื่อ การ สื่อสาร ที่ มี ประสิทธิภาพ ยม. 313 ภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจสายการบิน GR 313 Communicative German for Airline Business พื้นความรู: ยม. 112 ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจสายการบิน โดยเนนทักษะการฟงและการพูดเพื่อการสื่อสารที่ มีประสิทธิภาพ

ยม. 301 ภาษาเยอรมันเพื่อการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) GR 301 German for Tourism พื้นความรู: สอบผาน ยม. 201 ศึกษาการใชภาษาเยอรมันและฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนที่ใชในธุรกิจการทองเที่ยว มีการฝกนอกสถานที่

รซ. 101 ภาษาและวัฒนธรรมรัสเซีย 1 (3 หนวยกิต) RS 101 Russian Language and Culture I ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมรัสเซีย โดย เนนเรื่องการสื่อสารในชีวิตประจําวัน

ยม. 311 ภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจทองเที่ยว GR 311 Communicative German for Tourism Business พื้นความรู: ยม. 112 ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจการทองเที่ยว โดยเนนทักษะการฟงและการพูดเพื่อการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพ

รซ. 102 ภาษาและวัฒนธรรมรัสเซีย 2 (3 หนวยกิต) RS 102 Russian Language and Culture II พื้นความรู: รซ. 101 ศึกษาโครงสรางของภาษา วัฒนธรรม หลักไวยากรณ คํา ศัพท สํานวนการฟง พูด อาน และเขียน เพือ่ เปนพืน้ ฐานในการศึกษา ในขั้นสูงตอไป

หลักสูตรปร ญญาตร 517


รซ. 311 ภาษารัสเซียเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจทองเที่ยว RS 311 Communicative Russian for Tourism Business พื้นความรู: รซ.102 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เท คนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจการทองเที่ยว โดยเนนทักษะการฟงและการพูด เพื่อการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพ รซ. 312 ภาษารัสเซียเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจโรงแรม RS 312 Communicative Russian for Hotel Business พื้นความรู: รซ.102 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เท คนิคที่ ใช ใน ธุรกิจ โรงแรม โดย เนน ทักษะการ ฟงและ การ พูด เพื่อ การ สื่อสาร ที่ มี ประสิทธิภาพ รซ. 313 ภาษารัสเซียเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจสายการบิน RS 313 Communicative Russian for Airline Business พื้นความรู: รซ. 102 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เท คนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจสายการบิน โดยเนนทักษะการฟงและการพูด เพื่อการสื่อสารที่ มีประสิทธิภาพ วน. 101 ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนาม 1 (3 หนวยกิต) VN 101 Vietnamese Language and Culture I ความ รู เบื้อง ตน เกี่ยว กับ ภาษา และ วัฒนธรรม เวียดนาม โดยเนนเรื่องการสื่อสารในชีวิตประจําวัน

518 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

วน. 102 ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนาม 2 (3 หนวยกิต) VN 102 Vietnamese Language and Culture II พื้นความรู: วน. 101 ศึกษาโครงสรางของภาษา วัฒนธรรม หลักไวยากรณ คํา ศัพท สํานวนการฟง พูด อาน และเขียน เพือ่ เปนพืน้ ฐานในการศึกษา ในขั้นสูงตอไป ภอว. 201 ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนาม 1 (3 หนวยกิต) ELV 201 Vietnamese Language and Culture I ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมเวียดนามในชีวิตประจําวัน ภอว. 202 ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนาม 2 (3 หนวยกิต) ELV 202 Vietnamese Language and Culture II ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมเวียดนามในการคนควาทาง วิชาการ ภอว. 301 ภาษาเวียดนามเพื่อการใชงาน (3 หนวยกิต) ในสํานักงาน ELV 301 Vietnamese for Office Work ศึกษาการใชภาษาเวียดนาม เพื่อการใชงานในสํานักงาน ภอว. 302 ภาษาเวียดนามเพื่องานบริการ (3 หนวยกิต) ELV 302 Vietnamese for Service Careers ศึกษาการใชภาษาเวียดนามในงานบริการดานตาง ๆ ภอว. 401 เวียดนามศึกษา (3 หนวยกิต) ELV 401 Vietnamese Studies ศึกษา คนควา ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณี วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงของประเทศเวียดนาม


สด. 101 ภาษาและวัฒนธรรมสวีเดน 1 (3 หนวยกิต) SD 101 Swedish Language and Culture I ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมสวีเดน โดย เนนเรื่องการสื่อสารในชีวิตประจําวัน สด. 102 ภาษาและวัฒนธรรมสวีเดน 2 (3 หนวยกิต) SD 102 Swedish Language and Culture II พื้นความรู: สด. 101 ศึกษาโครงสรางของภาษา วัฒนธรรม หลักไวยากรณ คํา ศัพท สํานวนการฟง พูด อาน และเขียน เพือ่ เปนพืน้ ฐานในการศึกษา ในขั้นสูงตอไป สป. 101 ภาษาสเปน 1 (3 หนวยกิต) SP 101 Spanish I ศึกษา โครงสราง พื้น ฐาน และ ศัพท ที่ ใช กัน ทั่วๆ ไป ฝก ทักษะในดานการฟง พูด อาน และเขียน เพือ่ เปนพืน้ ฐานในการศึกษา ขั้นสูงตอไป สป. 102 ภาษาสเปน 2 (3 หนวยกิต) SP 102 Spanish II พื้นความรู: สอบผาน สป. 101 ศึกษาโครงสรางและศัพทที่ใชกันอยางกวางขวางในชีวิต ประจําวัน ฝกการฟง พูด อาน และเขียน ในระดับที่สูงขึ้น สป. 111 ภาษาและวัฒนธรรมสเปน 1 (3 หนวยกิต) SP 111 Spanish Language and Culture I ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมสเปน โดย เนนเรื่องการสื่อสารในชีวิตประจําวัน

สป. 112 ภาษาและวัฒนธรรมสเปน 2 (3 หนวยกิต) SP 112 Spanish Language and Culture II พื้นความรู: สป. 111 ศึกษาโครงสรางของภาษา วัฒนธรรม หลักไวยากรณ คํา ศัพท สํานวนการฟง พูด อานและเขียน เพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษา ในขั้นสูงตอไป สป. 201 ภาษาสเปน 3 (3 หนวยกิต) SP 201 Spanish III พื้นความรู: สอบผาน สป. 102 ศึกษา โครงสราง ของ ภาษา หลัก ไวยากรณ คํา ศัพท สํานวน การฟง พูด อาน และเขียน เพื่อสื่อสารและการฝกใชอยาง ถูกตอง สป. 202 ภาษาสเปน 4 (3 หนวยกิต) SP 202 Spanish IV พื้นความรู: สอบผาน สป. 201 ศึกษา โครงสราง ของ ภาษา หลัก ไวยากรณ คํา ศัพท สํานวน การฟง พูด อาน เขียน ที่ซับซอนขึ้น ฝกแปลขอความสั้นๆ จากภาษาไทยเปนภาษาสเปน และจากภาษาสเปนเปนภาษาไทย สป. 301 ภาษาสเปนเพื่อการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) SP 301 Spanish for Tourism พื้นความรู: สป. 201 ศึกษาการใชภาษาสเปน และฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนที่ใชในธุรกิจการทองเที่ยว มีการฝกนอกสถานที่

หลักสูตรปร ญญาตร 519


สป. 311 ภาษาสเปนเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจทองเที่ยว SP 311 Communicative Spanish for Tourism Business พื้นความรู: สป. 112 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เท คนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจการทองเที่ยว โดยเนนทักษะการฟงและการพูด เพื่อการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพ สป. 312 ภาษาสเปนเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจโรงแรม SP 312 Communicative Spanish for Hotel Business พื้นความรู: สป.112 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เท คนิคที่ ใช ใน ธุรกิจ โรงแรม โดย เนน ทักษะการ ฟงและ การ พูด เพื่อ การ สื่อสาร ที่ มี ประสิทธิภาพ สป. 313 ภาษาสเปนเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจสายการบิน SP 313 Communicative Spanish for Airline Business พื้นความรู: สป. 112 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษา สํานวน โครงสราง ภาษา และ ศัพท เท คนิคที่ ใช ใน ธุรกิจ สาย การ บิน โดย เนน ทักษะการ ฟงและ การ พูด เพื่อ การ สื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพ อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ (3 หนวยกิต) EN 011 English in Action เรียนรูภาษาอังกฤษผานการทํากิจกรรมหลากหลายรูป แบบที่ฝกฝนทักษะดานการอานจับใจความ การเขียนยอความ การ เขียนถายทอดความคิดแบบอิสระ และการใชคําศัพทและไวยากรณ พื้นฐาน พรอมทั้งการฝกฝนทักษะดานการฟง การพูด และการออก 520 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

เสียงโดยใชโปรแกรมการเรียนรูภ าษาอังกฤษดวยตนเองในหองปฏิบตั ิ การทางภาษา อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน (3 หนวยกิต) EN 012 English for Daily Life พัฒนาความรูดานคําศัพทและไวยากรณที่สามารถนําไป ใชไดจริง ฝกฝนทักษะดานการอานและเขียนแสดงความคิดเห็นโตตอบ ตอเรือ่ งทีอ่ า นอยางมีเหตุผล พรอมทัง้ ฝกฝนทักษะดานการฟง การออก เสียงและการพูดโตตอบเรือ่ งทัว่ ไปในชีวติ ประจําวันโดยใชโปรแกรมการ เรียนรูภ าษาอังกฤษดวยตนเองในหองปฏิบตั กิ ารทางภาษา อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถายทอดความคิด (3 หนวยกิต) EN 013 English for Expressing Ideas ฝกฝนทักษะดานการอานและเขียนเรียงความสั้นเพื่อ แสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผลตอเรือ่ งทีอ่ ยูในความสนใจในปจจุบนั เรียนรูหลักการและฝกทักษะดานการนําเสนอ รวมทั้งทํากิจกรรมการ เรียนรูภ าษาอังกฤษดานการฟงและการพูดเพือ่ ติดตอสือ่ สารในสังคม โดยใชโปรแกรมการเรียนรูภาษาอังกฤษดวยตนเองในหองปฏิบัติการ ทางภาษา อก. 014 ภาษาอังกฤษสําหรับการเรียนรูโลก (3 หนวยกิต) EN 014 English for Exploring the World พัฒนาความสามารถในการเรียนรู และสํารวจความเปน ไปของโลก เชน ดานนวัตกรรม ดานวัฒนธรรมและแนวความคิด โดย การอานและเขียนภาษาอังกฤษและการใชเทคโนโลยีประกอบการเรียน รูทั้งในและนอกหองเรียน รวมทั้งฝกทักษะดานการฟงและพูดใน สถานการณทหี่ ลากหลายจากการเรียนรูด ว ยตนเองในหองปฏิบตั กิ าร ทางภาษา


อก. 101 ทักษะพื้นฐานในการเรียน (3 หนวยกิต) วิชาภาษาอังกฤษ EN 101 English Study Skills ศึกษาและฝกทักษะพืน้ ฐานในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ เชน ลักษณะภาษาที่ใชในชั้นเรียน การใชพจนานุกรม การจดบันทึก ขอมูล การยอความ การใชหองสมุด การศึกษาดวยตนเอง ตลอดจน การใชสื่อออนไลนของมหาวิทยาลัย และเนนคุณธรรมจริยธรรมใน การเรียน อก. 111 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 (3 หนวยกิต) EN 111 Fundamental English l การฟงและการพูด ศึกษาและฝกฝนทักษะการฟงและการ พูดภาษาอังกฤษที่ใชในชีวิตประจําวันรวมทั้งเกณฑในการออกเสียง การอาน ศึกษาการอานเบื้องตน การอานอยางคราวๆ และการเดาความหมายของคําศัพทจากประโยค ไวยากรณ ศึกษาและฝกฝนกฎไวยากรณพื้นฐาน เชน โครงสรางของประโยคและกาล รวมทั้งการเขียนพื้นฐานโดยใช ไวยากรณที่เรียน อก. 112 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 (3 หนวยกิต) EN 112 Fundamental English ll พื้นความรู: สอบได อก. 111 การฟงและการพูด ศึกษาและฝกฝนทักษะการฟง เชน การฟงเพือ่ จับความคิดหลัก และรายละเอียดการจดบันทึก และทักษะ โดยการพูดในหัวขอประจําวัน การอาน ศึกษาทักษะการอาน เชน การอางถึง การใช อุปสรรคและปจจัย ไวยากรณ ศึกษากฎไวยากรณ เชน ประเภทตาง ๆ ของ ประโยค รวมทั้งการเขียนไวยากรณที่เรียน

อก. 131 ไวยากรณภาษาอังกฤษ 1 (3 หนวยกิต) EN 131 English Grammar I ศึกษาไวยากรณภาษาอังกฤษระดับพื้นฐานโดยเนนเรื่อง ชนิดของคํา และโครงสรางประโยค อก. 132 ไวยากรณภาษาอังกฤษ 2 (3 หนวยกิต) EN 132 English Grammar II พื้นความรู: อก. 131 ศึกษาไวยากรณภาษาอังกฤษโดยเนนโครงสรางทีม่ คี วาม ซับซอน อก. 140 พื้นฐานการเขียน (3 หนวยกิต) EN 140 Essentials of Writing ศึกษาทักษะการเขียนเบือ้ งตน การเขียนประโยคใจความ สําคัญ การเรียบเรียงขอความ โดยเนนความเปนเอกภาพและความ ตอเนื่องของเนื้อความ ตลอดจนการใชคําเชื่อมตางๆ อก. 211 ภาษาอังกฤษระดับกลาง (3 หนวยกิต) EN 211 Intermediate English พื้นความรู: สอบได อก. 112 การฟงและการพูด ศึกษาและฝกฝนทักษะการฟงบท สนทนาและบทพูดคนเดียวที่ยาวขึ้น และทักษะการพูดโดยใชหัวขอ สนทนาที่ซับซอนมากขึ้น การอาน ศึกษาการอาน เชน การหาประโยคหัวขอประโยค สนับสนุนและความคิดหลัก ไวยากรณ ศึกษากฎไวยากรณ เชน วลี ประโยคเงื่อนไข รวมทั้งการเขียนโดยใชไวยากรณที่เรียน

หลักสูตรปร ญญาตร 521


อก. 212 ภาษาอังกฤษระดับสูง (3 หนวยกิต) EN 212 Advanced English พื้นความรู: สอบได อก. 211 การฟงและการพูด การศึกษาและฝกฝนทักษะการฟงและ การพูด เกี่ยวกับเหตุการณปจจุบันและหัวขอที่นาสนใจ การอาน ศึกษาทักษะการอานทีซ่ บั ซอนมากขึน้ บทความ เกี่ยวกับเหตุการณปจจุบันและหัวขอที่นาสนใจ ไวยากรณ ศึกษาไวยากรณที่ซับซอนมากขึ้น รวมทั้งการ เขียนโดยไวยากรณที่เรียน

อก. 253 การฟงและการพูด (3 หนวยกิต) EN 253 Listening and Speaking ฝกทักษะการฟงและการพูด โดยเนนการสนทนาแบบที่ มิไดเตรียมการลวงหนา การอภิปราย และทักษะการนําเสนอเบือ้ งตน

อก. 223 วรรณกรรมเบื้องตน (3 หนวยกิต) EN 223 Introduction to Literature ศึกษาองคประกอบและลักษณะทั่วไปของงานเขียนรอย แกวและรอยกรอง

อก. 262 สัทศาสตรภาษาอังกฤษ (3 หนวยกิต) EN 262 English Phonetics ศึกษาฐานสําคัญที่ใชในการออกเสียง ฝกออกเสียงและฟง เพื่อแยกแยะเสียงตางๆ ในคํา รวมถึงฝกการใชสัทอักษรแทนเสียงใน ภาษาอังกฤษ

อก. 242 การเขียนยอหนา (3 หนวยกิต) EN 242 Paragraph Writing พื้นความรู: อก. 140 ศึกษาองคประกอบและรูปแบบของการเขียนยอหนา ประเภทตางๆ เชน การพรรณนาโวหาร การเลาเรื่อง การบรรยาย ตามลําดับเหตุการณ การเขียนเชิงเหตุและผล และการเปรียบเทียบ

อก. 281 กลยุทธการอาน (3 หนวยกิต) EN 281 Reading Strategies ศึกษากลยุทธการอาน เชน การใชบริบท การจับใจความ หลัก การสรุปความ และการถายทอดความเขาใจจากการอาน

อก. 244 การเขียนเรียงความ (3 หนวยกิต) EN 244 Essay Writing พื้นความรู: อก. 242 ศึกษาหลักและกระบวนการเขียนเรียงความ และลักษณะ ของเรียงความประเภทตางๆ รวมถึงเสริมสรางความมัน่ ใจในการแสดง ความคิด และคนหาวิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

522 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

อก. 261 ภาษาทัศนา (3 หนวยกิต) EN 261 Introduction to Language ศึกษาลักษณะของภาษา และภาษาศาสตรสาขาตางๆ รวม ถึงวิวัฒนาการของภาษา

อก. 282 การพัฒนาการอาน (3 หนวยกิต) EN 282 Reading Development พื้นความรู: อก. 281 ศึกษากลยุทธการอานในระดับสูง เชน การวิเคราะห โครงสราง การแยกขอเท็จจริงกับความคิดเห็น การตีความ และการ แสดงความคิดเห็นในเรื่องที่อาน


อก. 310 ภาษาอังกฤษทางเทคนิค (3 หนวยกิต) EN 310 Technical English ศึกษาการสื่อสารภาษาอังกฤษทางเทคนิคและอาชีพ ทั้ง การพูดและการเขียน ฝกการเขียนจดหมายสมัครงาน ประวัติยอ จดหมายธุรกิจ บันทึกภายใน รายงานขนาดสั้น และเขียนขอเสนอ รวมทัง้ ฝกทักษะการพูดทางเทคนิค เชน การสัมภาษณ การเสนองาน และการติดตองาน อก. 311 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 1 (3 หนวยกิต) EN 311 English for Business Purposes l การสนทนา ศึกษาเพื่อการใชติดตอสื่อสารทางธุรกิจใน หัวขอตางๆ ไดแก การแนะนําตัว การรับโทรศัพท บทสนทนาทาง สังคม การอธิบายลักษณะผลิตภัณฑ บทสนทนาที่เกี่ยวกับการเดิน ทางเพื่อติดตอธุรกิจ ฯลฯ การอาน ศึกษาศัพทที่ ใชในวงการธุรกิจ และฝกอาน บทความธุรกิจขนาดสั้นๆ การเขียน ศึกษาและฝกเขียนจดหมายธุรกิจชนิดตางๆ เชน การเขียนจดหมายหาขอมูล จดหมายสัง่ ซือ้ สินคา จดหมายสมัคร งาน และการเขียนประวัติสวนตัวเพื่อสมัครงาน อก. 312 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 (3 หนวยกิต) EN 312 English for Business Purposes ll พื้นความรู: สอบได อก. 311 การสนทนา ศึกษาเพื่อการใชติดตอสื่อสารทางธุรกิจใน ระดับสูง ไดแก การอธิบายเกี่ยวกับลักษณะกิจการ การรายงาน ตางๆ การประชุม การอาน ศึกษาคําศัพทที่ใชในวงการธุรกิจ และฝกอาน บทความทางธุรกิจขนาดยาว การเขียน ศึกษาและฝกเขียนจดหมายธุรกิจชนิดตางๆ เชน การเขียนจดหมายรองเรียน จดหมายตอบรับการรองเรียนของ ลูกคา การเขียนบันทึกภายใน วาระการประชุม และรายงานการประชุม

อก. 313 การอานและเขียนภาษาอังกฤษ (3 หนวยกิต) สําหรับนักวิชาชีพนิเทศศาสตร EN 313 English Reading & Writing for Communication Arts Professionals พื้นความรู: สอบได อก. 112 การเรียนภาษาอังกฤษโดยเนนทักษะดานการอานและการ เขียนที่เกี่ยวของกับวิชาชีพนิเทศศาสตร เชน การศึกษาศัพทเทคนิค และสํานวนตางๆ การตีความหมายจากขาว บทโฆษณา บทความ ขอมูลที่มาจากการวิจัย การจับใจความ การสรุปยอ การแปลขาว ตลอดจนการเรียนรูพื้นฐาน การเขียนขาว บทความ สารคดี อก. 314 การพูดภาษาอังกฤษสําหรับ (3 หนวยกิต) นักวิชาชีพนิเทศศาสตร EN 314 English Speaking for Communication Arts Professionals พื้นความรู: สอบได อก. 112 การเรียนภาษาอังกฤษโดยเนนทักษะดานการพูดอัน เกี่ยวของกับวิชาชีพนิเทศศาสตร เชน การนําเสนองานดานการพูด การพูดในทีส่ าธารณะ การพูดในโอกาสตางๆ การสัมภาษณ การแถลง ขาว เปนตน อก. 323 ภูมิหลังทางวรรณคดีอังกฤษ (3 หนวยกิต) EN 323 Background of English Literature ศึกษาอิทธิพลของเหตุการณประวัตศิ าสตร สังคม ศาสนา วัฒนธรรม และแนวความคิดทีม่ ตี อ วรรณคดีองั กฤษในสมัยตาง ๆ และ เรียนรูถ งึ ลักษณะทีส่ าํ คัญของวรรณคดีในแตละสมัยรวมทัง้ กวีนพิ นธ อังกฤษที่สําคัญ

หลักสูตรปร ญญาตร 523


อก. 324 ภูมิหลังทางวรรณคดีอเมริกัน (3 หนวยกิต) EN 324 Background of American Literature ศึกษาวรรณคดีอเมริกันตั้งแตสมัยอาณานิคมจนถึงสมัย ปจจุบัน ศึกษาลักษณะและแนวความคิดที่สําคัญในแตละสมัย รวม ทั้งงานของกวี นักเขียนเรื่องสั้น นักเขียนนวนิยาย และนักเขียนบท ละครอเมริกันที่สําคัญ อก. 325 การอานวรรณกรรม (3 หนวยกิต) EN 325 Reading Literature ฝกวิเคราะหและตีความงานเขียนประเภทรอยแกวและ รอยกรอง อก. 326 การอานวรรณกรรมขามวัฒนธรรม (3 หนวยกิต) EN 326 Reading across Cultures ศึกษาวรรณกรรมและเรื่องสั้นจากประเทศตางๆ ที่เขียน หรือแปลเปนภาษาอังกฤษ โดยเนนที่เนื้อหาดานวัฒนธรรมและการ ใชภาษา

อก. 335 ภาษาอังกฤษสําหรับการจัดการ (3 หนวยกิต) ในสํานักงาน EN 335 English for Office Management ศึกษาภาษาที่ใชในสถานการณตางๆ ในสํานักงาน รวม ทั้งฝกใชภาษาเพื่อการปฏิบัติงาน เชน การตอนรับลูกคา การติดตอ สื่อสารทางโทรศัพท การนัดหมาย การจดบันทึก และการเขียน กําหนดการ อก. 336 ภาษาอังกฤษสําหรับธุรกิจการบิน (3 หนวยกิต) EN 336 English for Airline Industry ศึกษาศัพท สํานวน และเนื้อหาที่เกี่ยวกับธุรกิจการบิน รวมทั้งฝกใชภาษาเพื่อการปฏิบัติงาน สําหรับพนักงานตอนรับบน เครื่องบินและพนักงานภาคพื้นดิน อก. 337 การพัฒนาทักษะการอภิปราย (3 หนวยกิต) EN 337 Discussion Skills Development ศึกษาและฝกฝนการนําเสนอ การอภิปราย รวมทั้งการ แสดงความคิดเห็น ตอสถานการณปจจุบันหรือประเด็นที่นาสนใจ

อก. 331 ภาษาอังกฤษธุรกิจเชิงปฏิบัติ (3 หนวยกิต) EN 331 Practical Business English เรียนรูและฝกใชภาษาอังกฤษธุรกิจเพื่อติดตอสื่อสารให ไดผลตามที่ตองการ เชน การใชภาษาอังกฤษเพื่อการขอขอมูล การ สัง่ ซือ้ สินคาทางจดหมายหรืออินเทอรเน็ต และการใชภาษาอังกฤษใน การสื่อสารภายในองคกร เปนตน

อก. 340 ภาษาอังกฤษสําหรับนิเทศศาสตรมอื อาชีพ 1 (3 หนวยกิต) EN 340 English for Professional Communication Arts I เรียนรูและฝกการใชภาษาอังกฤษที่เกี่ยวของกับวิชาชีพ นิเทศศาสตรโดยผานสื่อที่เปนจริง ในสาขาวารสารศาสตร สาขาการ โฆษณา และสาขาการประชาสัมพันธ

อก. 332 ภาษาอังกฤษธุรกิจมืออาชีพ (3 หนวยกิต) EN 332 Professional Business English เรียนรูแ ละฝกการใชภาษาอังกฤษธุรกิจไดอยางมืออาชีพ เพื่อนําไปใชติดตอสื่อสารทางธุรกิจในสถานการณตางๆ เชน การใช ภาษาอังกฤษเพื่อการเจรจาตอรองทางการคา การใชภาษาอังกฤษใน การนําเสนอสินคาและบริการ เปนตน

อก. 341 ภาษาอังกฤษสําหรับนิเทศศาสตรมอื อาชีพ 2 (3 หนวยกิต) EN 341 English for Professional Communication Arts II เรียนรูและฝกการใชภาษาอังกฤษที่เกี่ยวของกับวิชาชีพ นิเทศศาสตรโดยผานสื่อที่เปนจริง ในสาขาการสื่อสารแบรนด สาขา วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน สาขาศิลปะการแสดง และสาขา ภาพยนตร

524 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


อก. 344 การเขียนเรียงความระดับสูง (3 หนวยกิต) EN 344 Advanced Writing ฝกทักษะการเขียนระดับสูง ไดแก การเขียนเชิงวิเคราะห การเขียนเชิงวิจารณและการเขียนเชิงสาธก ฝกการเขียนยอความและ ถอดความ อก. 358 การพัฒนาทักษะการฟง (3 หนวยกิต) EN 358 Listening Skills Development ศึกษาและฝกฝนทักษะการฟง รวมทัง้ กลวิธีในการฟง เชน การฟงเพือ่ จับความหมายหลัก จับสาระสําคัญ และการฟงแบบตีความ โดยเนนการฟงจากสถานการณจริง อก. 359 การสนทนาเชิงธุรกิจ (3 หนวยกิต) EN 359 Business Speech Communication ฝกการพูดเชิงธุรกิจเพือ่ ใชในสถานการณตา งๆ ทัง้ ภายใน และภายนอกสํานักงาน อก. 362 โครงสรางภาษาอังกฤษ (3 หนวยกิต) EN 362 Structure of English ศึ ก ษาหลั ก และฝ กวิ เ คราะห โ ครงสร า งประโยคภาษา อังกฤษระดับสูง เพื่อพัฒนาทักษะการอานและการเขียน อก. 369 การออกเสียงภาษาอังกฤษ (3 หนวยกิต) EN 369 English Pronunciation ศึกษาและฝกการออกเสียงภาษาอังกฤษ โดยเนนที่การ เนนเสียงในคําและประโยค จังหวะ และทํานองประโยค

อก. 371 การแปลอังกฤษเปนไทย (3 หนวยกิต) EN 371 English-Thai Translation ศึกษาหลักเบื้องตนของการแปล ปญหาและการแกไข ป ญ หาในการแปล รวมถึ ง ความแตกต า งในด า นโครงสร า งและ วัฒนธรรม พัฒนาทักษะการแปลภาษาอังกฤษเปนภาษาไทย โดยเนน การแปลงานเขียน เชน ขาว เพลง สารคดี และบันเทิงคดี อก. 372 การแปลไทยเปนอังกฤษ (3 หนวยกิต) EN 372 Thai-English Translation ศึกษาหลักเบื้องตนของการแปลภาษาไทยเปนภาษา อังกฤษ ปญหาและการแกไขปญหาในการแปล รวมถึงความแตกตาง ในดานโครงสรางและวัฒนธรรม ฝกแปลในระดับประโยคพืน้ ฐานจนถึง ขอความที่ยาวขึ้น โดยเนนการแปลงานเขียน เชน ขาว เพลง สารคดี และบันเทิงคดี อก. 390 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารจาก (3 หนวยกิต) ประสบการณในตางประเทศ EN 390 Communicative English through Overseas Experiences ฝกฝนทักษะภาษาอังกฤษและศึกษาวัฒนธรรมในประเทศ เจาของภาษา เพือ่ พัฒนาการสือ่ สารดานการฟง การพูด การอานและ การเขียนที่นักศึกษาจําเปนตองใชในการสื่อสารจริงในชีวิตประจําวัน เพื่อความเขาใจภาษาอังกฤษไดอยางลึกซึ้ง อก. 392 การสื่อสารภาษาอังกฤษ (3 หนวยกิต) กับเทคโนโลยีสารสนเทศ EN 392 English Communication and IT ศึกษาทักษะภาษาและรูปแบบการนําเสนองานตางๆ ใน สื่อสารสนเทศ และฝกเขียน

หลักสูตรปร ญญาตร 525


อก. 400 สหกิจศึกษา (3 หนวยกิต) EN 400 Cooperative Education พื้นความรู: สอบได สศ. 301 การฝกปฏิบัติงานในหนวยงานหรือบริษัทที่เกี่ยวของ กับลักษณะวิชาเอก โดยไดรับความเห็นชอบจากสาขาวิชา และตอง มีชั่วโมงปฏิบัติงานไมนอยกวา 16 สัปดาห ทั้งนี้ผูศึกษาตองเสนอ รายงานการฝกปฏิบัติงานตามที่สาขาวิชากําหนด อก. 401 ภาษาอังกฤษในโลกไซเบอร (2 หนวยกิต) EN 401 English in Cyber Space ฝกการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางอินเทอรเน็ต โดยผานโปรแกรมการสนทนาตางๆ เรียนรูค าํ ศัพทภาษาอังกฤษในโลก ของชาวไซเบอร พรอมทั้งเขียนนําเสนอความคิดไดอยางมีประสิทธิภาพ อก. 402 ภาษาอังกฤษจากเพลงและภาพยนตร (2 หนวยกิต) EN 402 English in Music and Movies เรียนรูและซาบซึ้งกับสํานวนภาษา สนุกกับการตีความ หมายพรอมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเพลงและภาพยนตร อก. 403 การสนทนาภาษาอังกฤษในสถานทีท่ าํ งาน (3 หนวยกิต) EN 403 English Speaking at Work ฝกทักษะการฟงและพูดเพื่อการทํางานในสถานการณที่ หลากหลาย เชน การสื่อสารทางโทรศัพท การตอนรับ การนัดหมาย และการแกไขปญหาผานกิจกรรมการเรียนรูและสถานการณจําลอง อก. 404 การอานภาษาอังกฤษเพือ่ ความเพลิดเพลิน (2 หนวยกิต) EN 404 English Reading for Pleasure เพลิดเพลินกับการอานนวนิยาย เรื่องสั้น การตูนภาษา อังกฤษทีผ่ เู รียนสนใจ แลกเปลีย่ นและนําเสนอความคิดเห็นตอเรือ่ งที่ อานได 526 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

อก. 405 สนุกกับคําภาษาอังกฤษ (2 หนวยกิต) EN 405 Fun with English Words สนุกสนานกับคําศัพท คําแสลง และสํานวนภาษาอังกฤษ แลกเปลี่ยนเรียนรูเทคนิคใหมๆ ในการจําคําศัพทตามบริบทผาน กิจกรรมและเกมการแขงขัน อก. 406 ภาษาอังกฤษสําหรับการนําเสนออยาง (3 หนวยกิต) สรางสรรค EN 406 Creative English Presentations เรียนรูเ ทคนิคการนําเสนออยางสรางสรรคและสามารถใช ภาษาอังกฤษในการนําเสนอไดอยางมั่นใจ อก. 407 ภาษาอังกฤษเพื่อการบริการชุมชน (3 หนวยกิต) EN 407 English for Community Service มุงเนนใหผูเรียนนําความรูภาษาอังกฤษไปทําประโยชน ใหแกชมุ ชนตางๆ โดยผานกิจกรรมตามความถนัดของนักศึกษา เชน การสอนหนังสือใหกับเด็กดอยโอกาสในชุมชน การอานหนังสือเสียง ใหกับคนตาบอด แลวนําประสบการณที่ไดมานําเสนอในรูปแบบของ รายงานและการนําเสนอหนาชั้นเรียน อก. 408 ภาษาอังกฤษเพื่อวิถีไทย (3 หนวยกิต) EN 408 English for Thai Life เรียนรูและฝกฝนทักษะภาษาอังกฤษตางๆ เพื่อสื่อสาร เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย อก. 409 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ระหวางประเทศ EN 409 English for International Communication เรียนรูแ ละฝกฝนภาษาอังกฤษเพือ่ การนําเสนอผลงานใน งานประชุมสัมมนาทางวิชาการในระดับนานาชาติ


อก. 410 การฝกอบรมการสอนภาษาอังกฤษ (3 หนวยกิต) เพื่อการสื่อสาร EN 410 Training for Communicative English Teaching ฝกอบรมดานเทคนิคการสอนภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร การสรางสื่อการสอนที่ทันสมัยและการจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับ ความสนใจของผูเรียน อก. 411 การสนทนาภาษาอังกฤษ (3 หนวยกิต) EN 411 Business Conversation ศึกษาและฝกการพูดในสถานการณทางธุรกิจตางๆ ฝก การสอบสัมภาษณเพื่อใหไดงาน การโตวาที การพูดสุนทรพจน และ การนําเสนอรูปแบบตางๆ อก. 412 การสนทนาเพื่อการติดตอทั่วไปในสังคม (3 หนวยกิต) EN 412 Conversation for Social Interaction ศึกษาและฝกการแสดงความคิดเห็น การอภิปรายใน หัวขอตางๆ ที่คัดเลือกจากเรื่องราวและสถานการณปจจุบันที่กําลัง เปนที่สนใจ อก. 425 วรรณกรรมเยาวชน (3 หนวยกิต) EN 425 Children’s Literature ศึกษาวรรณกรรมเยาวชน เชน นิทาน นิยาย หนังสือเด็ก รวมทั้งวรรณกรรมของนักเขียนรวมสมัย อก. 442 การเขียนเชิงวิชาการ (3 หนวยกิต) EN 442 Academic Writing พื้นความรู: สอบได อก. 344 ศึกษาหลักและฝกการเขียนเชิงวิชาการตั้งแตเริ่มตนจน สิ้นสุดกระบวนการ เชน การสืบคนขอมูล การนําเสนองาน การเขียน อธิบายความ และทํารายงาน

อก. 446 การเขียนเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ (3 หนวยกิต) EN 446 Business Writing ศึกษาหลักและฝกการเขียนเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจรูป แบบตางๆ เชน จดหมายธุรกิจประเภทตางๆ บันทึกภายใน รายงาน การประชุม และไปรษณียอิเล็กทรอนิกส อก. 451 การฟงเชิงวิชาการ (3 หนวยกิต) EN 451 Academic Listening Skills ศึกษาและฝกทักษะการฟงเชิงวิชาการ เชน การฟง บรรยายในชั้นเรียน การฟงเพื่อจับใจความสําคัญ รวมถึงฝกหัดการ จดบันทึกในชั้นเรียน อก. 456 กลยุทธการนําเสนอ (3 หนวยกิต) EN 456 Presentation Strategies ศึกษาหลักการและกลยุทธในการนําเสนองาน พรอมดวย การฝกฝนการประมวลความคิด การเตรียมการนําเสนอและการนํา เสนอผลงานสูสาธารณะเพื่อสื่อสารกับผูฟง อก. 468 ภาษาและสังคม (3 หนวยกิต) EN 468 Language and Society ศึกษาความสัมพันธระหวางภาษาและสังคม โดยศึกษา ปจจัยทางสังคมที่มีผลตอการใชภาษา เชน ชนชั้น เพศ วัย เปนตน อก. 471 การแปลภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ (3 หนวยกิต) EN 471 Business English Translation ฝกแปลเอกสารตางๆที่ใชในธุรกิจ เชน โฆษณา แผนพับ จดหมาย บทความ จากภาษาอังกฤษเปนภาษาไทย และภาษาไทย เปนภาษาอังกฤษ

หลักสูตรปร ญญาตร 527


อก. 472 การแปลขั้นสูง (3 หนวยกิต) EN 472 Advanced Translation ศึกษาและฝกการแปลในระดับสูง วิเคราะหขอผิดพลาด และแกปญหาในการแปล โดยเนนการแปลงานประเภทตางๆ เชน บทความจากหนังสือพิมพและนิตยสาร บทภาพยนตร และงาน วรรณกรรม อก. 481 สัมมนาประเด็นปจจุบัน (3 หนวยกิต) EN 481 Seminar in Contemporary Issues ฝกคิดวิเคราะห วิจารณ อภิปราย และแสดงความคิดเห็น อยางมีเหตุมผี ล ตอประเด็นทีเ่ ปนทีน่ า สนใจในปจจุบนั จากสาขาวิชา ตางๆ เชน ภาษา ภาษาศาสตร วรรณคดี การเมือง อก. 484 การสอนภาษาอังกฤษแกนักเรียนไทย (3 หนวยกิต) EN 484 Teaching English to Thai Students ศึกษาปญหาตาง ๆ ของการสอนภาษาอังกฤษแกนกั เรียน ไทย ทั้งทางดานทฤษฎีการสอนและวิธีสอน ฝกเลือกแบบเรียนและ อุปกรณการเรียนการสอนที่เหมาะสม ฝกทําโครงการสอนบันทึกการ สอนและการประเมินผล เพื่อใชในการสาธิตการสอน อก. 486 การอานเชิงธุรกิจ (3 หนวยกิต) EN 486 Reading in Business ฝกทักษะการอานและวิเคราะหบทความเชิงธุรกิจจากสื่อ สิ่งพิมพตางๆ เชน หนังสือพิมพ นิตยสาร หรือสื่อสารสนเทศ อก. 491 วัฒนธรรมกับการสื่อสาร (3 หนวยกิต) EN 491 Intercultural Communication ศึกษาความหลากหลายของวัฒนธรรมตางๆ เพื่อความ เขาใจและการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ

528 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

อก. 492 ภาพยนตรวิจักษณ (3 หนวยกิต) EN 492 Movie Appreciation ศึกษาเนื้อเรื่อง การใชภาษา และความหมายที่ถายทอด ผานภาพยนตร อร. 111 ภาษาและวัฒนธรรมอาหรับ 1 (3 หนวยกิต) AR 111 Arabic Language and Culture I ความรูเบื  อ้ งตนเกีย่ วกับภาษาและวัฒนธรรมอาหรับ โดย เนนเรื่องการสื่อสารในชีวิตประจําวัน อร. 112 ภาษาและวัฒนธรรมอาหรับ 2 (3 หนวยกิต) AR 112 Arabic Language and Culture II พื้นความรู: อร. 111 ศึกษาโครงสรางของภาษา วัฒนธรรม หลักไวยากรณ คํา ศัพท สํานวนการฟง พูด อาน และเขียน เพือ่ เปนพืน้ ฐานในการศึกษา ในขั้นสูงตอไป อร. 311 ภาษาอาหรับเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจทองเที่ยว AR 311 Communicative Arabic for Tourism Business พื้นความรู: อร. 112 ศึกษา สํานวน โครงสราง และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจ การ ทอง เที่ยว โดย เนน ทักษะ การ ฟง การ พูด เพื่อ การ สื่อสาร ที่ มี ประสิทธิภาพ


อร. 312 ภาษาอาหรับเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจโรงแรม AR 312 Communicative Arabic for Hotel Business พื้นความรู: อร. 112 ศึกษา สํานวน โครงสราง และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจ การ โรงแรม โดย เนน ทักษะ การ ฟง การ พูด เพื่อ การ สื่อสาร ที่ มี ประสิทธิภาพ อร. 313 ภาษาอาหรับเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจสายการบิน AR 313 Communicative Arabic for Airline Business พื้นความรู: อร. 112 ศึก ษา สํ า นวน โครงสร า ง และ ศัพท เทคนิค ที่ ใช ใน ธุรกิจสายการบิน โดยเนนทักษะการฟง การพูด เพื่อการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพ อล. 101 ภาษาและวัฒนธรรมอิตาเลียน 1 (3 หนวยกิต) IL 101 Italian Language and Culture I ความ รู เบื้อง ตน เกี่ยว กับ ภาษา และ วัฒน ธรรม อิ ตา เลียน โดยเนนเรื่องการสื่อสารในชีวิตประจําวัน อล. 102 ภาษาและวัฒธรรมอิตาเลียน 2 (3 หนวยกิต) IL 102 Italian Language and Culture II พื้นความรู: อล. 101 ศึกษาโครงสรางของภาษา วัฒนธรรม หลักไวยากรณ คํา ศัพท สํานวนการฟง พูด อาน และเขียน เพือ่ เปนพืน้ ฐานในการศึกษา ในขั้นสูงตอไป

ภอม. 201 ภาษาและวัฒนธรรมมลายู 1 (3 หนวยกิต) ELM 201 Malay Language and Culture I ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมมลายูในชีวิตประจําวัน ภอม. 202 ภาษาและวัฒนธรรมมลายู 2 (3 หนวยกิต) ELM 202 Malay Language and Culture II ศึ ก ษาภาษาและวั ฒ นธรรมมลายู ใ นการค น คว า ทาง วิชาการ ภอม. 301 ภาษามลายูเพื่อการใชงานในสํานักงาน (3 หนวยกิต) ELM 301 Malay for Office Work ศึกษาการใชภาษามลายู เพื่อการใชงานในสํานักงาน ภอม. 302 ภาษามลายูเพื่องานบริการ (3 หนวยกิต) ELM 302 Malay for Service Careers ศึกษาการใชภาษามลายูในงานบริการดานตางๆ ภอม. 401 มลายูศึกษา (3 หนวยกิต) ELM 401 Malay Studies ศึกษา คนควา ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณี วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงของประเทศมาเลเซีย ภอศ. 201 วัฒนธรรมเอเชียตะวันออก (3 หนวยกิต) EAS 201 Eastern Asia Culture ศึกษาอารยธรรมตะวันออกที่โดดเดนในเอเชียตัง้ แตอดีต จนถึงปจจุบนั เนนเนือ้ หาทีก่ อ ใหเกิดความภูมิใจ สรางความเปนสากล และเอกภาพระหวางชนชาติตางๆ ในเอเชีย

หลักสูตรปร ญญาตร 529


ภอศ. 202 ศิลปะเอเชียรวมสมัย (3 หนวยกิต) EAS 202 Asian Contemporary Arts ศึกษาศิลปะเอเชียรวมสมัยแขนงตางๆ ทีน่ า สนใจและกอ ใหเกิดความคิดสรางสรรค เพือ่ กระตุน ใหผเู รียนคิดสรางนวัตกรรมทาง ศิลปะได ภอศ. 301 เอเชียยุคใหมในสังคมโลก (3 หนวยกิต) EAS 301 Modern Asia in the World ศึกษาความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีในเอเชีย เพือ่ ใหผเู รียนมีความรูค วามเขาใจในอัตลักษณ ของภูมิภาคเอเชียยุคใหม ภอศ. 302 ความรวมมือทางธุรกิจในอาเซียน (3 หนวยกิต) EAS 302 Business Cooperation in ASEAN ศึกษาลักษณะของธุรกิจทีเ่ กิดจากความรวมมือกันระหวาง ชาติตางๆ ในภูมิภาคอาเซียน เพื่อกระตุนใหผูเรียนตระหนักถึงความ สําคัญของการอยูรวมกับผูอื่น ความสามัคคี ความคิดสรางสรรคและ การมีจิตวิญญาณของผูประกอบการ ภอศ. 401 ปรัชญาตะวันออก (3 หนวยกิต) EAS 401 Eastern Philosophy ศึ ก ษาแก น ความคิ ด ที่ สํ า คั ญ และเป น แบบฉบั บ ของ ปรัชญาตะวันออก เพือ่ ใหผเู รียนเขาใจ และซาบซึง้ ในความเปนเอเชีย รวมถึงสามารถนําหลักความคิดไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน และ อยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางสรางสรรค

หมวดวิชาภาษาไทย ทย. 102 กลยุทธการเรียน (3 หนวยกิต) TH 102 Learning Strategies การวางแผนการเรียน การทํางานกลุม การใชเทคโนโลยี สารสนเทศในการสืบคนขอมูล และการเขียนรายงานวิชาการ ทย. 103 การพัฒนาทักษะการอาน (3 หนวยกิต) TH 103 Reading Skills Development หลักการอาน กลวิธกี ารอานทีด่ ี การพัฒนาทักษะการอาน อยางมีประสิทธิภาพ ทย. 141 อัตลักษณวรรณกรรมไทย (3 หนวยกิต) TH 141 Identity of Thai Literature อัตลักษณของวรรณกรรมไทยแตละสมัย ดานรูปแบบ ภาษา แนวความคิด และเนื้อหา ทย. 204 การสรุปความ (3 หนวยกิต) TH 204 Summary Writing การอานสรุปความ และฝกเขียนสรุปความจากแหลงความ รูตางๆ ทย. 205 การอานทางธุรกิจ (3 หนวยกิต) TH 205 Business Reading การอานและวิเคราะหงานเขียนทางธุรกิจประเภทตางๆ ทย. 206 การอานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต (3 หนวยกิต) TH 206 Reading for Better Living หลักการอานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม

530 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


ทย. 221 ภาษากับวัฒนธรรม (3 หนวยกิต) TH 221 Language and Culture ความสัมพันธระหวางภาษาซึง่ สะทอนวัฒนธรรมไทย และ วัฒนธรรมไทยซึ่งกําหนดการใชภาษา

ทย. 283 สุนทรียภาพในศิลปะไทย (3 หนวยกิต) TH 283 Thai Art Appreciation การรับรูทางสุนทรียศาสตร และตระหนักถึงคุณคาของ ศิลปะไทย

ทย. 242 วรรณกรรมไทยสมัยปจจุบัน (3 หนวยกิต) TH 242 Modern Thai Literature วรรณกรรมไทยตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 ถึงสมัยปจจุบัน ใน แงของประเภท รูปแบบ แนวคิด เนื้อหา คุณคา และแนวโนมของ วรรณกรรมไทย

ทย. 306 ศิลปะการพูด (3 หนวยกิต) TH 306 The Art of Speaking หลักการพูด องคประกอบของการพูด การวิเคราะหผูฟง การพูดแบบตางๆ และการประเมินผลการพูด

ทย. 243 ลีลาภาษาในงานเขียน (3 หนวยกิต) TH 243 Styles in Literary Works ลีลาภาษาในงานเขียน และวิเคราะหลีลาภาษาของนัก เขียน ทย. 261 ศิลปะการเขียนรอยแกว (3 หนวยกิต) TH 261 The Art of Prose Writing หลักและศิลปะการเขียน กลวิธีการสรางสรรคงานเขียน รอยแกวประเภทตางๆ ทย. 262 การใชภาษาไทยในสื่อมวลชน (3 หนวยกิต) TH 262 Thai Usage in Mass Media ลักษณะการใชภาษาไทยในสื่อมวลชนประเภทตางๆ ใน เชิงสารคดีและบันเทิงคดี ทย. 263 การเขียนเพื่อธุรกิจ (3 หนวยกิต) TH 263 Writing for Business หลักการเขียนทางธุรกิจประเภทตางๆ ฝกเขียนและ วิเคราะหใหมีประสิทธิภาพ

ทย. 307 กลยุทธการนําเสนอ (3 หนวยกิต) TH 307 Presentation Strategies หลักการและกลยุทธการนําเสนอผลงานสูส าธารณะในรูป แบบตางๆ การใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีประกอบการนําเสนอ ทย. 322 ภาษาศาสตรภาษาไทย (3 หนวยกิต) TH 322 Thai Linguistics ลักษณะทัว่ ไปของระบบเสียง ระบบคํา ประโยค และความ หมายในภาษาไทย ทย. 324 ภาษาตางประเทศในภาษาไทย (3 หนวยกิต) TH 324 Foreign Languages in Thai คํา ลําดับของคําในประโยค สํานวนในภาษาไทยที่รับมา จากภาษาตางประเทศ การบัญญัตศิ พั ท สํานวน และการเปลีย่ นแปลง ทั้งดานความหมายและเสียง ทย. 344 ภาพสะทอนทางวัฒนธรรมจาก (3 หนวยกิต) วรรณกรรมไทย TH 344 Cultural Reflection on Thai Literary Works ความสัมพันธระหวางวรรณกรรมกับสังคม วิถชี วี ติ และคา นิยมของสังคมในวรรณกรรม หลักสูตรปร ญญาตร 531


ทย. 364 การเขียนทางวารสารศาสตร (3 หนวยกิต) TH 364 Journalistic Writing กลวิธีการเขียน ลักษณะภาษาที่ปรากฏในหนาหนังสือพิมพและนิตยสาร ทย. 365 สื่อสิ่งพิมพ (3 หนวยกิต) TH 365 Publications กระบวนการจัดทําสื่อสิ่งพิมพประเภทตางๆ การคัดเลือก และการตรวจแกไขตนฉบับ ศัพทเฉพาะเกี่ยวกับเทคนิคการพิมพ ทย. 366 การเขียนบทความและสารคดี (3 หนวยกิต) TH 366 Article and Feature Writing ลักษณะ รูปแบบ วิธีการวางโครงเรื่อง กลวิธีการเขียน บทความและสารคดี ฝกเขียนบทความและสารคดีประเภทตางๆ ทย. 367 การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ (3 หนวยกิต) TH 367 Writing for Public Relations หลักการเขียนเพือ่ การประชาสัมพันธและการโฆษณาทาง สื่อมวลชนประเภทตางๆ ทย. 368 ศิลปะการเขียนรอยกรอง (3 หนวยกิต) TH 368 The Art of Poetry Writing หลักและศิลปะการเขียน กลวิธีการสรางสรรคงานเขียน รอยกรองประเภทตางๆ ทย. 370 การวิจัยเบื้องตนทางภาษา (3 หนวยกิต) และวรรณกรรมไทย TH 370 Basic Research Methodology in Thai Language and Literature ระเบียบวิธวี จิ ยั โดยสังเขป ขัน้ ตอนการวิจยั ทางภาษาและ วรรณกรรมไทย 532 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ทย. 400 สหกิจศึกษา (สําหรับแผนสหกิจศึกษา) (6 หนวยกิต) TH 400 Cooperative Education การฝกปฏิบัติงานในหนวยงานหรือบริษัทที่เกี่ยวของกับ ลักษณะวิชาเอก โดยไดรับความเห็นชอบจากสาขาวิชาและตองมี ชั่วโมงปฏิบัติงานไมนอยกวา 16 สัปดาห ทั้งนี้ผูศึกษาตองเสนอ รายงานการฝกปฏิบัติงาน ทย. 408 ศิลปะการใชภาษาไทยในชีวิตประจําวัน (3 หนวยกิต) TH 408 The Art of Thai Usage in Daily Life ศิลปะการใชภาษาไทยดานการเขียนและการพูดเพือ่ นําไป ใชในชีวิตประจําวันใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และสามารถประยุกตใช ในการประกอบอาชีพในอนาคต ทย. 425 ความรูพื้นฐานทางภาษาบาลีและสันสกฤต (3 หนวยกิต) TH 425 Introduction to Pali and Sanskrit ศึกษาหลักไวยากรณภาษาบาลีและสันสกฤตเบื้องตน ตลอดจนการใชคําภาษาบาลี และสันสกฤตในภาษาไทย ทย. 426 สํานวนในภาษาไทยปจจุบัน (3 หนวยกิต) TH 426 Modern Thai Expressions ศึ ก ษาลั ก ษณะสํ า นวนในภาษาไทยป จ จุ บั น และองค ประกอบสําคัญที่ทําใหเกิดสํานวนลักษณะตางๆ ทย. 427 การแปลภาษาตางประเทศเปนภาษาไทย (3 หนวยกิต) TH 427 Translation from a Foreign Language into Thai หลักการแปลเบือ้ งตน วิเคราะหขอ ความภาษาตางประเทศ ในดานศัพท สํานวน การตีความและเรียบเรียงเปนภาษาไทย


ทย. 445 มรดกวรรณกรรมไทย (3 หนวยกิต) TH 445 Thai Literary Heritage คุณคา กลวิธีการสรางสรรควรรณกรรมไทยที่เปนมรดก ทางวัฒนธรรมของชาติในแตละสมัย

ทย. 452 วรรณกรรมการแสดง (3 หนวยกิต) TH 452 Thai Dramatic Literature ประเภทและลักษณะของวรรณกรรมที่เกี่ยวกับการแสดง ในดานเนื้อเรื่อง สํานวนภาษา วิธีการดําเนินเรื่อง

ทย. 447 ศิลปะการวิจารณ (3 หนวยกิต) TH 447 The Art of Criticism ทฤษฎีและศิลปะการวิจารณวรรณกรรม งานวิจารณของ นักวิจารณไทย และฝกวิจารณวรรณกรรม

ทย. 453 วรรณกรรมทองถิ่น (3 หนวยกิต) TH 453 Local Literary Works ลักษณะของวรรณกรรมทองถิ่นของไทย ทั้งวรรณกรรม มุขปาฐะ และวรรณกรรมลายลักษณ

ทย. 448 วรรณกรรมประวัติศาสตร (3 หนวยกิต) TH 448 Thai Historical Literature วรรณกรรมสําคัญที่สะทอนภาพทางประวัติศาสตรของ ไทย คุณคาแหงวรรณกรรมในดานศิลปะ ภาษาและเหตุการณ ใน ประวัติศาสตร

ทย. 455 วรรณกรรมสําหรับเด็ก (3 หนวยกิต) TH 455 Children Literature วรรณกรรมสําหรับเด็กประเภทตางๆ หลักเกณฑการสราง วรรณกรรมสําหรับเด็ก

ทย. 449 วรรณกรรมศาสนา (3 หนวยกิต) TH 449 Religious Literature ลักษณะเฉพาะและวิวฒ ั นาการของวรรณกรรมทางศาสนา อิทธิพลของวรรณกรรมศาสนาที่มีตอสังคมไทย ทย. 450 วรรณกรรมประเพณี (3 หนวยกิต) TH 450 Literature Related to Thai Customs and Traditions วรรณกรรมที่ มี เ นื้ อ หาเกี่ ย วกั บ ขนบธรรมเนี ย มและ ประเพณีไทย ในดานสาระ ภาษา สํานวน และรสวรรณคดี ทย. 451 วรรณกรรมนิราศ (3 หนวยกิต) TH 451 Niras ลักษณะและประเภทของนิราศ วิวัฒนาการของนิราศ วิเคราะหคําประพันธและสํานวนที่นิยมใชในการเขียนนิราศ

ทย. 456 วรรณกรรมไทยเพื่อการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) TH 456 Thai Literature for Tourism ประวัติความเปนมา เนื้อหาของวรรณกรรมมุขปาฐะและ วรรณกรรมลายลักษณ เพื่อนําไปประยุกตใชในธุรกิจการทองเที่ยว ทย. 457 พัฒนาการเพลงไทย (3 หนวยกิต) TH 457 Development of Thai Song ประเภท รูปแบบ ภาษา แนวคิด เนื้อหาของเพลงไทยใน อดีตจนถึงปจจุบัน ทย. 458 วรรณศิลปในเพลง (3 หนวยกิต) TH 458 Literary Arts in Song ความงามทางภาษาและโลกทัศนจากเพลงไทย

หลักสูตรปร ญญาตร 533


ทย. 459 วรรณกรรมขามวัฒนธรรม (3 หนวยกิต) TH 459 Cross-cultural Literature ประวัติ เนื้อหา ภาษา และวัฒนธรรม ในวรรณกรรมไทย ที่แปลหรือมีเคาเรื่องมาจากวรรณกรรมตางชาติ

ทย. 481 การศึกษาเฉพาะเรื่อง (3 หนวยกิต) TH 481 Study in Special Topics คนควาเรือ่ งทีน่ กั ศึกษาสนใจเปนพิเศษทางดานภาษาหรือ วรรณกรรมไทย และทํารายงานนําเสนอ

ทย. 469 สัมมนาการใชภาษาไทยในปจจุบัน (3 หนวยกิต) TH 469 Seminar in Thai Usage การสัมมนาและอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู ทัศนะเกี่ยว กับการใชภาษาไทยปจจุบัน

ทย. 482 ภูมิปญญาไทยกับวรรณกรรม (3 หนวยกิต) TH 482 Thai Wisdom and Literature ความรูเกี่ยวกับภูมิปญญาไทยแขนงตางๆ ความสัมพันธ ระหวางภูมิปญญาไทยกับวรรณกรรมไทย

ทย. 470 ศิลปะการอานออกเสียง (3 หนวยกิต) TH 470 The Art of Oral Reading องคประกอบและศิลปะการอานออกเสียงทีเ่ ปนธรรมชาติ การใชนํ้าเสียงใหสอดคลองกับชนิดของสาร

ทย. 483 อิทธิพลของสังคมโลกที่มตี อภาษา (3 หนวยกิต) และวรรณกรรมไทย TH 483 Impact of Globalization on Thai Language and Literature ลักษณะภาษาและวรรณกรรมไทยทีเ่ ปลีย่ นไปตามอิทธิพล ของสังคมโลก

ทย. 471 การเขียนบันเทิงคดี (3 หนวยกิต) TH 471 Fiction Writing หลักและกลวิธีการเขียนบันเทิงคดีประเภทตางๆ ทย. 472 การจัดการประชุม (3 หนวยกิต) TH 472 Conference Organizing หลักการ และวิธีการจัดการประชุมประเภทตางๆ อยางมี ประสิทธิภาพ ทย. 473 วาทศิลป (3 หนวยกิต) TH 473 Rhetoric ศิลปะการพูดอยางเปนทางการและไมเปนทางการ เขียน บทพูดและฝกพูด เพื่อการประกอบอาชีพ

534 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


หมวดวิชาภาษาจีนเพ)อการทองเที่ยวและการโรงแรม หมวดวิชาภาษาจีนเพื่อธุรกิจระหวางประเทศ ภอจ. 110 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1 (3 หนวยกิต) ELC 110 Chinese for Communication I ศึกษาความรูพ นื้ ฐานการใชภาษาจีน หลักการฟง พูด อาน และเขียน เพื่อนําไปใชติดตอสื่อสารในชีวิตประจําวัน

ภอจ. 140 การเขียนภาษาจีน (3 หนวยกิต) ELC 140 Chinese Writing ศึกษาโครงสรางและฝกทักษะการเขียนอักษรจีน คํา วลี และประโยค ภอจ. 201 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 1 (3 หนวยกิต) ELC 201 Chinese Language and Culture I ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมจีนในชีวิตประจําวัน

ภอจ. 111 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 2 (3 หนวยกิต) ELC 111 Chinese for Communication II ศึกษาการใชภาษาจีน หลักการฟง พูด อาน และเขียน เพื่อยกระดับความสามารถในการติดตอสื่อสารใหมีประสิทธิภาพ

ภอจ. 202 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 2 (3 หนวยกิต) ELC 202 Chinese Language and Culture II ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมจีนในการคนควาทางวิชาการ

ภอจ. 120 การออกเสียงภาษาจีน (3 หนวยกิต) ELC 120 Chinese Phonetics ศึกษาการออกเสียงในภาษาจีน เนนสาระสําคัญในการ ออกเสียง ลักษณะพิเศษของเสียงในภาษาจีนเปนหลัก

ภอจ. 222 การฟงและการพูดภาษาจีน 2 (3 หนวยกิต) ELC 222 Chinese Listening and Speaking II ฝกทักษะการฟงและการพูดเพือ่ ยกระดับความสามารถใน การสื่อสารภาษาจีนใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ภอจ. 121 การฟงและการพูดภาษาจีน 1 (3 หนวยกิต) ELC 121 Chinese Listening and Speaking I ฝกทักษะการฟงและการพูดโดยเนนทีก่ ารฝกทักษะสนทนา ภาษาจีนเบื้องตนในชีวิตประจําวัน

ภอจ. 231 การอานภาษาจีน 2 (3 หนวยกิต) ELC 231 Chinese Reading II ศึกษาและฝกทักษะการอานภาษาจีน โดยเนนการฝก ปฏิบตั ิในการอานภาษาจีนอยางมีขนั้ ตอน เพือ่ ใหนกั ศึกษารูเ ทคนิคใน การอานภาษาจีนอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ภอจ. 130 การอานภาษาจีน 1 (3 หนวยกิต) ELC 130 Chinese Reading I ศึกษาและฝกทักษะในการอาน โดยเนนการเลือกขอมูล การอานที่นาสนใจและหลากหลาย เพื่อใหนักศึกษาสามารถอาน บทความภาษาจีนไดอยางมีประสิทธิภาพ

ภอจ. 232 การอานขาว (3 หนวยกิต) ELC 232 News Reading ศึกษาความเคลื่อนไหว และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ผานการติดตามขาวสารจากสื่อตางๆ

หลักสูตรปร ญญาตร 535


ภอจ. 241 ไวยากรณภาษาจีน 1 (3 หนวยกิต) ELC 241 Chinese Grammar I ศึกษาไวยากรณภาษาจีนขั้นพื้นฐาน เพื่อใหนักศึกษา เขาใจกฎไวยากรณของภาษาจีนในเบื้องตนได ภอจ. 242 ไวยากรณภาษาจีน 2 (3 หนวยกิต) ELC 242 Chinese Grammar II ศึกษาไวยากรณภาษาจีน ทีเ่ นนประโยคภาษาจีนทีซ่ บั ซอน ขึน้ เพือ่ ใหนกั ศึกษาสามารถใชความรูท างไวยากรณไปแกไขปญหาที่ พบในการสื่อสารทางภาษาทั้งดานการฟง พูด อาน และเขียน ไดดี ยิ่งขึ้น ภอจ. 250 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ (3 หนวยกิต) ELC 250 Chinese for Business Communication ฝกทักษะการสื่อสารเชิงธุรกิจที่มีประสิทธิภาพ ดวยรูป แบบและเนื้อหาที่หลากหลาย ภอจ. 260 วัฒนธรรมจีน (3 หนวยกิต) ELC 260 Chinese Culture ศึกษาสภาพความเปนอยู ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่มีการปฏิบัติตอๆ กันมา รวมถึงทัศนคติของชาวจีนที่มีตอ ขาวสาร หรือเรื่องราวตางๆ เพื่อใหนักศึกษาเขาใจในวัฒนธรรมของ ชาวจีน ภอจ. 301 ภาษาจีนเพื่อการใชงานในสํานักงาน (3 หนวยกิต) ELC 301 Chinese for Office Work ศึกษาการใชภาษาจีน เพื่อการใชงานในสํานักงาน

536 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ภอจ. 302 ภาษาจีนเพื่องานบริการ (3 หนวยกิต) ELC 302 Chinese for Service Careers ศึกษาการใชภาษาจีนในงานบริการดานตางๆ ภอจ. 401 จีนศึกษา (3 หนวยกิต) ELC 401 Chinese Studies ศึกษา คนควา ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณี วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงของสาธารณรัฐประชาชนจีน ภอจ. 467 ศึกษาดูงาน (3 หนวยกิต) ELC 467 Field Trip ศึกษาภาษาและศิลปวัฒนธรรมจีนผานการทัศนศึกษาใน ประเทศไทยหรือในสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อใหนักศึกษามีแรง กระตุนในการนําภาษาจีนไปใชในชีวิตประจําวัน ภจธ. 350 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจจีนเบื้องตน (3 หนวยกิต) ECB 350 Chinese for Business Introduction ศึกษาธุรกิจจีนเบื้องตน เนนคําศัพทและสํานวนในภาษา จีนทีเ่ กีย่ วของกับวัตถุประสงคและความรับผิดชอบของหนวยงานทาง ธุรกิจ ภจธ. 351 ภาษาจีนเพื่อหลักการจัดการ (3 หนวยกิต) ECB 351 Chinese for Management Principles ศึกษาภาษาจีนที่ใชในหลักการจัดการทีส่ าํ คัญ ซึง่ ประกอบ ดวยนโยบาย การจัดการองคกร และการจัดการดานทรัพยากรบุคคล


ภจธ. 352 ภาษาจีนเพื่อหลักการตลาด (3 หนวยกิต) ECB 352 Chinese for Marketing Principles ศึกษาภาษาจีนที่ใชในหลักการตลาด ปญหาที่เกี่ยวของ กับการขนสงสินคาและการบริการจากผูผลิตถึงผูบริโภค แรงจูงใจใน การซือ้ สินคา นโยบายการผลิต การจัดจําหนาย และการตัง้ ราคาสินคา รวมถึงการพัฒนาการตลาดใหมีประสิทธิภาพ ภจธ. 353 ภาษาจีนเพื่อการจัดการผลิตภัณฑ (3 หนวยกิต) และราคาระหวางประเทศ ECB 353 Chinese for International Product and Price Management ศึกษาภาษาจีนที่เกี่ยวของกับการจัดการผลิตภัณฑและ ราคาระหวางประเทศใหเหมาะสมกับความตองการของลูกคาตาง ประเทศ ภจธ. 354 ภาษาจีนเพื่อเศรษฐกิจและการคาของจีน (3 หนวยกิต) ECB 354 Chinese for Chinese Economy and Trade ศึกษาภาษาจีนที่เกี่ยวของกับทิศทางและนโยบายทาง เศรษฐกิจและการคาของจีนในปจจุบัน เนนการใชกรณีศึกษาเพื่อฝก ใหนักศึกษามีทักษะในการแกไขปญหาเฉพาะหนา เพื่อปูพื้นฐาน นักศึกษาใหมีความสามารถในการทําธุรกิจกับชาวจีนไดอยางมี ประสิทธิภาพในอนาคต ภจธ. 355 ภาษาจีนเพือ่ ธุรกิจการเงินและการธนาคาร (3 หนวยกิต) ECB 355 Chinese for Finance and Banking ศึกษาภาษาจีนที่ใชในธุรกิจการเงินและการธนาคาร ภจธ. 360 บุคลิกภาพของนักธุรกิจยุคใหม (3 หนวยกิต) ECB 360 Personality of Businessman in New Era ศึกษาทฤษฎีการพัฒนาบุคลิกภาพของนักธุรกิจในยุค ปจจุบัน

ภจธ. 361 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารในสํานักงาน (3 หนวยกิต) ECB 361 Chinese for Office Communication ศึกษาภาษาจีนที่ใชในสํานักงาน เพื่อใหสื่อสารไดอยางมี ประสิทธิภาพ ภจธ. 362 ภาษาจีนเพื่อการนําเสนอ (3 หนวยกิต) และการเจรจาตอรองทางธุรกิจ ECB 362 Chinese for Business Presentation and Negotiation ศึกษาทักษะการนําเสนอและการเจรจาตอรองทางการคา ดวยภาษาจีนไดอยางมีประสิทธิภาพ ภจธ. 363 ภาษาจีนเพื่อการโฆษณา (3 หนวยกิต) และการประชาสัมพันธ ECB 363 Chinese for Advertising and Public Relations ศึกษาภาษาจีนที่ใชในการโฆษณา และการประชาสัมพันธ ภจธ. 400 สหกิจศึกษา (สําหรับแผนสหกิจศึกษา) (6 หนวยกิต) ECB 400 Cooperative Education พื้นความรู: สอบได สศ. 301 การฝกปฏิบัติงานในหนวยงานหรือบริษัทที่เกี่ยวของกับ ลักษณะวิชาเอก โดยไดรับความเห็นชอบจากสาขาวิชา และตองมี ชั่วโมงปฏิบัติงานไมนอยกวา 16 สัปดาห ทั้งนี้ผูศึกษาตองเสนอ รายงานการฝกปฏิบัติงานตามที่สาขาวิชากําหนด ภจธ. 412 การแปลลามภาษาจีนเชิงธุรกิจ (3 หนวยกิต) ECB 412 Chinese Interpretation for Business ศึกษาหลักการแปลภาษาจีนแบบลาม เพื่อใหผูเรียน สามารถนําไปประยุกตใชในงานดานธุรกิจ

หลักสูตรปร ญญาตร 537


ภจธ. 456 ภาษาจีนเพื่อโลจิสติกสระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) ECB 456 Chinese for International Logistics ศึกษาภาษาจีนสําหรับการบริหารงานของฝายจัดซื้อที่ เกี่ยวของกับการวิเคราะหแหลงที่จะซื้อสินคาและการขนสง

ภจธ. 466 การคนควาอิสระ (3 หนวยกิต) ECB 466 Independent Studies ศึกษาคนควาหรือทําวิจัยในหัวขอที่เกี่ยวของกับธุรกิจ ระหวางประเทศ โดยมีอาจารยเปนที่ปรึกษา

ภจธ. 457 ภาษาจีนเพื่อการจัดการธุรกิจนําเขา (3 หนวยกิต) และสงออก ECB 457 Chinese for Import-Export Management ศึกษาภาษาจีนที่สัมพันธกับหลักการและแนวปฏิบัติที่ถูก ตองของธุรกิจสงออกและนําเขาของบริษัทใหญๆ ในสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ซึ่งประกอบไปดวยกฎหมาย และกฎเกณฑตางๆ ที่ เกี่ยวของ

ภจร. 333 การอานภาษาจีนเพื่อธุรกิจการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) และการโรงแรม ECH 333 Chinese Reading for Tourism and Hospitality ฝ ก ทั ก ษะการอ า นภาษาจี น ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ธุ ร กิ จ การ ทองเที่ยวและการโรงแรม

ภจธ. 458 ภาษาจีนเพื่อการจัดการธุรกิจ (3 หนวยกิต) ระหวางประเทศในสถานการณปจจุบัน ECB 458 Chinese for International Business Management in Current Issues ศึกษาภาษาจีนที่สัมพันธกับขาวสารตางๆ ทางดานการ จัดการธุรกิจระหวางประเทศที่นาสนใจในสถานการณปจจุบัน ภจธ. 464 ภาษาจีนเพื่อพฤติกรรมผูบริโภคชาวจีน (3 หนวยกิต) ECB 464 Chinese for Chinese Consumer Behavior ศึกษาภาษาจีนที่เกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภคชาวจีน เนน ทีก่ ลุม ของผูบ ริโภคทีม่ คี วามแตกตางกันทางดานสังคม ถิน่ ทีอ่ ยูอ าศัย วัฒนธรรม และทัศนคติ ภจธ. 465 สัมมนาธุรกิจระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) ECB 465 Seminar in international Business ศึกษาปญหา แลกเปลี่ยนความรูความคิดในดานธุรกิจ ระหวางประเทศ 538 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ภจร. 343 การเขียนภาษาจีนเพื่อธุรกิจการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) และการโรงแรม ECH 343 Chinese Writing for Tourism and Hospitality ฝกทักษะการเขียนภาษาจีนที่ใชในธุรกิจการทองเทีย่ วและ การโรงแรม ภจร. 351 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจทองเที่ยว 1 (3 หนวยกิต) ECH 351 Chinese for Tourism I ศึกษาภาษาจีนที่ใชในการสื่อสารเพื่อธุรกิจการทองเที่ยว คําศัพทเฉพาะทางวิชาชีพ ตลอดจนรูปแบบของภาษาจีนที่ใชในธุรกิจ การทองเทีย่ ว ทําใหนกั ศึกษามีความรูค วามสามารถทางภาษาจีนที่ใช ในธุรกิจนี้ไดเปนอยางดี ภจร. 352 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการทองเที่ยว 2 (3 หนวยกิต) ECH 352 Chinese for Tourism II ศึกษาและฝกทักษะการสื่อสารภาษาจีนในเชิงธุรกิจการ ทองเที่ยว รูปแบบของบทสนทนาในวิชานี้ จําลองมาจากสถานการณ จริง ทําใหนักศึกษาคอยๆ ซึมซับและจับหลักความเขาใจ เทคนิค ตางๆ จากบทสนทนาได


ภจร. 353 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการโรงแรม 1 (3 หนวยกิต) ECH 353 Chinese for Hospitality I ศึกษาภาษาจีนที่ใชในดานการจัดการในธุรกิจการโรงแรม คําศัพทเฉพาะทางวิชาชีพ ตลอดจนรูปแบบของภาษาจีนที่ใชในธุรกิจ การโรงแรม เพือ่ ใหนกั ศึกษามีความรูค วามสามารถทางภาษาจีนที่ใช ในธุรกิจนี้ไดเปนอยางดี ภจร. 354 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการโรงแรม 2 (3 หนวยกิต) ECH 354 Chinese for Hospitality II ศึกษาและฝกทักษะการสื่อสารภาษาจีนในเชิงธุรกิจการ โรงแรม รวมถึงทักษะการใชภาษาจีนในการติดตอบุคคลตางๆ ลูกคา ระหวางองคกรและพนักงาน เปนตน โดยรูปแบบของบทสนทนาใน วิชานี้ จําลองมาจากสถานการณจริง ภจร. 355 ภาษาจีนเพื่อการโฆษณา (3 หนวยกิต) และการประชาสัมพันธ ECH 355 Chinese for Advertising and Public Relations ศึกษาภาษาจีนที่ใชในการโฆษณาและการประชาสัมพันธ ภจร. 356 ภาษาจีนเพื่อการปฏิบัติงานฝายหองพัก (3 หนวยกิต) ECH 356 Chinese for Room Division Operation ศึกษาภาษาจีนเพื่อการปฏิบัติงานในแผนกตางๆ ของ โรงแรม เชน แผนกตอนรับ แผนกแมบาน รวมไปถึงการใชภาษาจีน เพื่อติดตอสื่อสารกับลูกคาและประสานงานกับแผนกอื่นที่เกี่ยวของ ภจร. 361 ภาษาจีนเพือ่ การบริการอาหารและเครือ่ งดืม่ (3 หนวยกิต) ECH 361 Chinese for Food and Beverage Service ศึกษาการใชศัพทเฉพาะและสํานวนภาษาจีน เพื่อการ บริการอาหารและเครื่องดื่ม โดยมุงพัฒนาการพูดและการฟงเพื่อให นักศึกษามีทักษะในการสนทนาสามารถฟงและโตตอบได

ภจร. 362 ภาษาจีนเพื่อการบริการในธุรกิจ (3 หนวยกิต) สถานพยาบาล ECH 362 Chinese for Health Services ศึกษาการใชศพั ทเฉพาะทางและสํานวนภาษาจีน เพือ่ การ ปฏิบตั งิ านและการใหบริการในสถานพยาบาล โดยมุง พัฒนาทักษะการ พูดและการฟงเพื่อใหนักศึกษามีทักษะในการสนทนาสามารถฟงและ โตตอบได ภจร. 400 สหกิจศึกษา (สําหรับแผนสหกิจศึกษา) (6 หนวยกิต) ECH 400 Cooperative Education พื้นความรู: สอบได สศ.301 การฝกปฏิบัติงานในหนวยงานหรือบริษัทที่เกี่ยวของกับ ลักษณะวิชาเอก โดยไดรับความเห็นชอบจากสาขาวิชา และตองมี ชั่วโมงปฏิบัติงานไมนอยกวา 16 สัปดาห ทั้งนี้ผูศึกษาตองเสนอ รายงานการฝกปฏิบัติงานตามที่สาขาวิชากําหนด ภจร. 412 การแปลลามภาษาจีนเพื่อธุรกิจการบริการ (3 หนวยกิต) ECH 412 Chinese Interpretation for Service Businesses ศึกษาหลักการแปลภาษาจีนแบบลาม เพื่อใหผูเรียน สามารถนําไปประยุกตใชในงานดานธุรกิจการบริการ ภจร. 457 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการบิน (3 หนวยกิต) ECH 457 Chinese for Airline Industry ศึกษาคําศัพทที่เกี่ยวกับธุรกิจการบิน รวมทั้งฝกใชภาษา เพือ่ การปฏิบตั งิ านสําหรับพนักงานตอนรับบนเครือ่ งบิน และพนักงาน ภาคพื้นดิน ภจร. 458 ภาษาจีนสําหรับมัคคุเทศก (3 หนวยกิต) ECH 458 Chinese for Tour Guide ศึกษาการใชภาษาจีนเพื่องานมัคคุเทศก หลักสูตรปร ญญาตร 539


ภจร. 459 ภาษาจีนเพื่อการบริการในธุรกิจ (3 หนวยกิต) การทองเที่ยวและการโรงแรม ECH 459 Chinese for Services in Tourism and Hospitality Business ศึกษาภาษาจีนเพือ่ การใหบริการตามหลักมาตรฐานสากล ดวยการจําลองสถานการณ และฟงการบรรยายจากผูมีประสบการณ ตรงในธุรกิจการทองเที่ยวและการโรงแรม

ทีป่ รากฏในธุรกิจการทองเทีย่ วและการโรงแรม โดยนักศึกษาจะไดรบั ฟงปญหาการใชภาษาจีนจากผูทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ เพื่อนํา ความรูและทฤษฎีที่เรียนมาประยุกตใชกับกรณีศึกษา

หมวดวิชาการจัดการการโรงแรม ภจร. 463 ทรัพยากรการทองเที่ยวของไทยและจีน (3 หนวยกิต) ECH 463 Tourism Resources in Thailand and China ศึกษาความสําคัญ และลักษณะของทรัพยากรการทอง เที่ยวของไทยและจีน คุณคาของแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร ศิลปะ โบราณสถาน ศาสนสถาน และแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ ภจร. 464 จีนศึกษาเพื่อการนําเที่ยว (3 หนวยกิต) ECH 464 Chinese Studies for Tour Guide ศึกษาสภาพการเมือง การปกครอง สังคม วัฒนธรรม ตลอดจนงานประเพณีและมรดกทางภูมิปญญาของจีน เพื่อนําไป ประยุกตใชในธุรกิจการทองเที่ยว ภจร. 465 วรรณกรรมจีนเพื่อการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) ECH 465 Chinese Literature for Tourism ศึกษาวรรณกรรมจีนในดานประวัติศาสตรความเปนมา และเนื้อหา เพื่อนําไปประยุกตใชในธุรกิจการทองเที่ยว ภจร. 466 สัมมนาการใชภาษาจีนเพื่อการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) และการโรงแรม ECH 466 Seminar in Chinese Usage for Tourism and Hospitality ศึกษาการใชภาษาจีนทั้งภาษาแบบแผนและไมแบบแผน 540 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กร. 211 การจัดการงานสวนหนา (3 หนวยกิต) HM 211 Front Office Operations and Management ศึกษาระบบการจัดการงานสวนหนา โดยศึกษาโครงสราง ของการบริหารงานสวนหนาของโรงแรม ตําแหนงและหนาทีข่ องแตละ แผนกในงานสวนหนา จรรยาบรรณของพนักงาน รูจักและใชอุปกรณ ตางๆ เรียนรูขั้นตอนการรับจอง การตอนรับ การลงทะเบียนเขาพัก การจัดหาหองพัก การรับโทรศัพท การบริการดานขอมูลขาวสาร การ ติดตอสือ่ สารกับลูกคา และการแกไขปญหาเฉพาะหนา ตลอดจนการ ประสานงานกับแผนกอื่นที่เกี่ยวของ กร. 212 การจัดการงานแมบาน (3 หนวยกิต) HM 212 Housekeeping Operations and Management ศึกษาระบบการจัดการงานแมบาน โดยศึกษาโครงสราง ของการบริหารงานแผนกแมบาน ตําแหนงและหนาที่ของแตละสวน ในงานแมบาน จรรยาบรรณของพนักงาน รูจักและใชอุปกรณตางๆ เอกสารทีเ่ กีย่ วของในงานแมบา น ขัน้ ตอนในการปฏิบตั งิ านของแตละ แผนก ฝกปฏิบตั กิ ารทําความสะอาดหองพักและพืน้ ทีส่ าธารณะทัว่ ไป การจัดดอกไม ความรูเ กีย่ วกับหองผา การติดตอสือ่ สารกับลูกคา และ การแกไขปญหาเฉพาะหนา ตลอดจนการประสานงานกับแผนกอื่นที่ เกี่ยวของ


กร. 222 การบริการอาหารและเครื่องดื่ม (3 หนวยกิต) HM 222 Food and Beverage Services ศึกษาโครงสราง หนาที่และความรับผิดชอบของฝาย บริการอาหารและเครือ่ งดืม่ ประเภทของอาหารและเครือ่ งดืม่ รูปแบบ การจัดเลี้ยง ฝกทักษะการใหบริการอาหารและเครื่องดื่ม การจัดโตะ อาหาร การเสิรฟอาหารและเครื่องดื่มประเภทตางๆ การเก็บและ ทําความสะอาดโตะ ตลอดจนการทําความสะอาดและจัดเก็บอุปกรณ ที่ใชในการบริการอาหารและเครื่องดื่ม กร. 224 การประกอบอาหารเบื้องตน (3 หนวยกิต) HM 224 Introduction to Culinary Operations ศึกษาหลักการพื้นฐานของงานครัว อุปกรณตางๆ ที่ใช ในครัว รูจักชนิดและประเภทของวัตถุดิบตางๆ รวมถึงหลักการคัด เลือกวัตถุดิบที่จะนํามาใชในการประกอบอาหารใหถูกตองตามหลัก โภชนาการและสุขอนามัยในการประกอบอาหาร โดยเนนการฝกปฏิบตั ิ จริง กร. 231 การจัดการการโรงแรม (3 หนวยกิต) HM 231 Hotel Management ศึกษาโครงสราง รูปแบบการจัดองคการและการดําเนิน งานของธุรกิจโรงแรม ประเภท ลักษณะของโรงแรมและที่พักแรม หนาทีแ่ ละความรับผิดชอบของแผนกตางๆ ในโรงแรม รวมถึงจรรยา บรรณในแตละตําแหนงงาน ระบบการบริหารจัดการการโรงแรม กลยุทธ การวางแผน ศาสตรและศิลปในการบริหารจัดการ ศิลปะการ เปนผูนํา จรรยาบรรณของผูบริหาร กฎหมายและกฎระเบียบที่ เกี่ยวของกับธุรกิจโรงแรม รวมถึงการจัดการดานสิ่งแวดลอม ปญหา และแนวทางแกปญหาในการบริหารงานโรงแรม ตลอดจนแนวโนม ของธุรกิจโรงแรมในอนาคต

กร. 234 เทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรม (3 หนวยกิต) การโรงแรม HM 234 Information Technology in Hotel Industry ศึกษาการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมการ โรงแรม โดยเฉพาะการใชโปรแกรมสําเร็จรูปตางๆ ระบบการสํารอง หองพัก ระบบการสั่งอาหารในภัตตาคาร จัดการเรียนการสอนใน หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร กร. 241 การจัดการธุรกิจสปา (3 หนวยกิต) HM 241 Spa Operations and Management ศึกษาประวัตคิ วามเปนมา ประเภท การจัดการธุรกิจสปา วิธีการบําบัดและเครื่องมือ รวมทั้งผลิตภัณฑตางๆ ที่ใชในธุรกิจสปา การผสมผสานธุ ร กิ จ สปากั บ การรั ก ษาสุ ข ภาพและการท อ งเที่ ย ว กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับธุรกิจสปา กร. 321 การจัดการการจัดเลี้ยง (3 หนวยกิต) HM 321 Banquet and Catering Management ศึกษารูปแบบ หลักการบริหาร กระบวนการจัดงาน และ การวางแผนการจัดเลี้ยงทั้งในและนอกสถานที่ การติดตอลูกคา การ แกไขปญหาและอุปสรรคในการจัดงาน ตลอดจนแนวโนมของธุรกิจ การจัดเลี้ยง กร. 322 การจัดการภัตตาคาร (3 หนวยกิต) HM 322 Restaurant Management พื้นความรู: กร. 224 ศึกษาความเปนมา วิวัฒนาการ โครงสราง รูปแบบการ จัดองคการ ประเภทของภัตตาคาร กฎหมายและกฎระเบียบที่ เกี่ยวของกับธุรกิจภัตตาคาร จรรยาบรรณและหนาที่ของบุคลากรใน ภัตตาคาร หลักการวางแผนและควบคุมรายการอาหาร การจัดซื้อ การตรวจรับสินคา การจัดเก็บและการเบิกจายวัตถุดบิ การผลิตอาหาร และการบริการ หลักการคํานวณที่เกี่ยวของกับกิจการภัตตาคาร ฝก ปฏิบัติจริงในภัตตาคารจําลอง หลักสูตรปร ญญาตร 541


กร. 333 กลยุทธทางการตลาดสําหรับธุรกิจโรงแรม (3 หนวยกิต) HM 333 Strategic Hotel Sales and Marketing พื้นความรู: ทร. 293 ศึกษาหลักการและการวางแผนเชิงกลยุทธเพื่อการขาย และการตลาดสําหรับธุรกิจโรงแรม การกําหนดนโยบาย การเลือก กลยุทธ การตลาดที่เกี่ยวกับการขาย โครงสรางธุรกิจอิเล็กทรอนิกส การตลาดผานสื่ออิเล็กทรอนิกส และผานเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อ สรางความไดเปรียบทางการแขงขัน กร. 336 พฤติกรรมองคการในอุตสาหกรรม (3 หนวยกิต) บริการ HM 336 Organization Behavior in Hospitality Industry ศึกษาการจัดโครงสรางและพัฒนาองคการในโรงแรม ภัตตาคาร เรือสําราญ สถานพยาบาล และสถานบริการสุขภาพ พฤติกรรมของบุคคล กลุมและองคการ วัฒนธรรมองคการ รวมถึง การติดตอสื่อสาร ภาวะผูนํา การตัดสินใจ สภาพแวดลอมที่มีอิทธิพล ตอองคการ การเปลี่ยนแปลงและการจัดการกับความขัดแยงใน องคการ เพื่อใหสามารถทํางานรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ กร. 342 กายวิภาคศาสตรสําหรับ (3 หนวยกิต) การนวดแผนไทย HM 342 Anatomy for Thai Massage ศึกษาความรูพ นื้ ฐานเกีย่ วกับสรีระรางกายมนุษย ขอตอ จุดตางๆ ในรางกาย ซึ่งบงบอกถึงสุขภาพ และศึกษาความปลอดภัย ในการนวดแผนไทยสําหรับการผอนคลายและรักษาสุขภาพ ขอหาม และขอควรระวังในการนวด ฝกปฏิบัติการนวดแผนไทย

542 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กร. 362 การผสมเครื่องดื่ม (3 หนวยกิต) HM 362 Bartending ศึ ก ษาเครื่ อ งดื่ ม และส ว นผสมประเภทต า งๆ ทั้ ง ที่ มี แอลกอฮอลและไมมีแอลกอฮอล การเลือกใชอุปกรณ ลีลาการผสม เครื่องดื่ม และการเสิรฟ การคํานวณสวนผสมของเครื่องดื่ม เนนการ เรียนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติควบคูกันไปเพื่อใหผูเรียนสามารถนํา ความรูที่เรียนมาไปสรางสรรคเครื่องดื่มชนิดใหมๆ ได กร. 363 การแกะสลัก (3 หนวยกิต) HM 363 Food Carving ศึกษาเทคนิคและรูปแบบการแกะสลักผักและผลไม การ เลือกและเตรียมวัตถุดบิ การใชอปุ กรณและการดูแลรักษา การนําหลัก ศิลปะมาประยุกตใชในการแกะสลัก โดยเนนการเรียนภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติควบคูกันไปเพื่อใชในการประดับตกแตงอาหาร และภาชนะใส อาหารใหดูสวยงาม กร. 364 ศิลปะการตกแตงอาหาร (3 หนวยกิต) HM 364 Food Styling ศึกษาเทคนิคและวิธีการตกแตงอาหารในรูปแบบและ วัฒนธรรมตางๆ การประยุกต ใชวัตถุดิบและวัสดุตางๆ มาจัดแตง อาหารและโตะอาหาร เนนการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั คิ วบคู กันไปเพื่อใหผูเรียนสามารถนําความรูที่เรียนมาไปสรางสรรคศิลปะ การตกแตงอาหารและการจัดโตะอาหารได กร. 366 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับไวน (3 หนวยกิต) HM 366 Introduction to Wine ศึกษาประวัติความเปนมา ถิ่นกําเนิด ประเภทและชนิด ของไวน ขั้นตอนการผลิต การเก็บรักษา การอานฉลากและการเลือก ซื้อ รวมถึงการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะกับไวนแตละชนิด รสชาติของไวน การเก็บรักษาไวน การเปดและเสิรฟ ไวน ความรูเ รือ่ ง ไวนกับสุขภาพ มีการศึกษานอกสถานที่


กร. 369 ศิลปะในการชงกาแฟ (3 หนวยกิต) HM 369 The Arts of Coffee Making ศึกษารูปแบบการจัดโครงสรางองคการ ประเภท ลักษณะ ของธุรกิจรานกาแฟ ความรูเ บือ้ งตนเกีย่ วกับกาแฟ ประเภท และชนิด ของกาแฟ การเลือกเมล็ดกาแฟ การเลือกอุปกรณและการดูแลรักษา เทคนิคการชงกาแฟรูปแบบตางๆ โดยเนนการเรียนภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติควบคูกันไปเพื่อใหผูเรียนสามารถนําความรูไปประยุกต ใชกับ ธุรกิจกาแฟได มีการศึกษานอกสถานที่ กร. 371 การจัดดอกไมเบื้องตน (3 หนวยกิต) HM 371 Basic Flower Arrangement ศึกษาทฤษฎีและองคประกอบตางๆ หลักการและความ รูเบื้องตนในการจัดดอกไม ลักษณะและการดูแลรักษาดอกไมชนิด ตางๆ อุปกรณ ในการจัดดอกไม การเลือกรูปทรงของแจกันเพื่อให สอดคลองกับรูปแบบการจัดดอกไมทั้งแบบตะวันออกและตะวันตก เนนการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติควบคูกันไปเพื่อใหผูเรียน สามารถนําความรูที่เรียนมาไปสรางสรรคการจัดดอกไมในรูปแบบ ตางๆ ได กร. 372 การจัดดอกไมขั้นสูง (3 หนวยกิต) HM 372 Advanced Flower Arrangement พื้นความรู: กร. 371 หรือไดรับอนุมัติจากคณบดี ศึกษาทฤษฎีและองคประกอบตางๆ หลักการในการจัด ดอกไมขั้นสูง การจัดดอกไมใหเหมาะสมกับเทศกาลตางๆ การนํา วัสดุอื่นๆ มาประยุกตในการจัดแตงดอกไม การคํานวณตนทุนคาใช จายในแตละแจกัน ฝกปฏิบตั กิ ารจัดดอกไมรปู แบบตางๆ เนนการเรียน ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั คิ วบคูก นั ไปเพือ่ ใหผเู รียนสามารถนําความ รูที่เรียนมาไปสรางสรรคการจัดดอกไมในรูปแบบตางๆ ในขั้นสูงได

กร. 385 การศึกษาเฉพาะเรื่องในอุตสาหกรรม (3 หนวยกิต) การโรงแรม HM 385 Independent Studies in Hotel Industry พื้นความรู: กร. 231 การศึกษาคนควาในหัวขอหรือประเด็นทีน่ า สนใจและเปน ประโยชน ในเชิงวิชาการและหรือวิชาชีพในธุรกิจโรงแรมและธุรกิจที่ เกี่ยวของ และทํารายงานอยางละเอียด นักศึกษาสามารถจะศึกษา คนควาไดทั้งในประเทศและตางประเทศ การศึกษาจะอยูภายใตการ ควบคุมและการประเมินของอาจารยประจําสาขาวิชา กร. 391 ภาษาอังกฤษสําหรับการปฏิบัติงาน (3 หนวยกิต) ฝายหองพัก HM 391 English for Room Division Operations ศึกษาการใชสํานวนภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติงานใน แผนกตางๆ ของโรงแรม โดยมุงศึกษาสํานวนภาษาอังกฤษที่จําเปน สําหรับการปฏิบัติงานในแผนกตางๆ ของโรงแรม ในแผนกตอนรับ แมบาน โดยเนนใหผูเรียนรูจักสํานวนตางๆ และฝกทักษะการอาน เขียนจากเอกสารทีเ่ กีย่ วของกับงานในแผนกตางๆ และฝกทักษะการ ฟง พูด จากสถานการณจําลอง รวมทั้งฝกใหนักศึกษามีทักษะในการ สนทนา สามารถฟงและโตตอบได กร. 392 ภาษาอังกฤษสําหรับการโรงแรม (3 หนวยกิต) HM 392 English for Hotel ศึกษาการใชสํานวนภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติงานใน แผนกตางๆ ของโรงแรม โดยมุงศึกษาสํานวนภาษาอังกฤษที่จําเปน สําหรับการปฏิบัติงานในแผนกอาหารและเครื่องดื่ม การขายและการ ตลาด ประชาสัมพันธ ฝกทักษะการอาน เขียน โดยเนนทักษะการ เขียนเพือ่ ติดตอธุรกิจ ฝกการอานและเขีนจดหมายโตตอบและบันทึก ติดตอภายใน การเขียนขาวประชาสัมพันธ และฝกทักษะการฟง พูด จากสถานการณจําลอง หลักสูตรปร ญญาตร 543


กร. 435 การเปนผูประกอบการในอุตสาหกรรม (3 หนวยกิต) โรงแรม HM 435 Entrepreneurship in Hotel Industry ศึกษาบทบาท ประเภทและคุณลักษณะของการเปน เจาของธุรกิจ การวางแผนธุรกิจ การวิเคราะหและประเมินสภาพ แวดลอมตางๆ ทั้งภายในและภายนอกองคการ รวมถึงแนวทางและ โอกาสในการเปนเจาของธุรกิจในอุตสาหกรรมการโรงแรม กร. 441 การนวดแผนไทย (3 หนวยกิต) HM 441 Thai Massage พื้นความรู: กร. 342 ศึกษาความเปนมาของการนวดแผนไทย ความปลอดภัย เทคนิคตาง ๆ ที่ใชในการนวดแผนไทยเพือ่ สุขภาพและการผอนคลาย รวมทั้งขอหาม ขอควรระวังในการนวด มารยาทและจรรยาบรรณใน การนวด ฝกปฏิบตั กิ ารนวดแผนไทยเพือ่ ผอนคลาย การคลายเสน การ ดัด การยืด การประคบและการอบสมุนไพร กร. 465 การฝกงาน (6 หนวยกิต) HM 465 Internship พื้นความรู: กร. 211 หรือ กร. 212 หรือ กร. 222 นักศึกษาสามารถฝกงานไดทงั้ ในประเทศและตางประเทศ การฝกงานเปนการศึกษาภาคปฏิบัติเพื่อใหโอกาสนักศึกษาไดนําเอา ความรู ความเขาใจที่ไดเรียนไปใชในสถานการณจริงในการปฏิบตั งิ าน โรงแรม ภัตตาคาร เรือสําราญ สปา สมาคมโรงแรมไทย สภา หอการคาไทย รวมทั้งหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ และจะจบหลักสูตร ไดตอเมื่อมีชั่วโมงฝกงานไมนอยกวา 400 ชั่วโมง การศึกษานี้จะอยู ภายใตการควบคุมดูแลและประเมินผลของสาขาวิชารวมกับหนวยงาน ที่รับนักศึกษาเขาฝกงาน

544 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กร. 466 สหกิจศึกษาในอุตสาหกรรมโรงแรม (6 หนวยกิต) HM 466 Cooperative Education in Hotel Industry พื้นความรู: สอบได CO 301 ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสรางใหนักศึกษามีความ พรอมดานงานอาชีพ จากการปฏิบตั งิ านพืน้ ฐาน อยางมีหลักการและ เปนระบบ นักศึกษาจะตองมีการฝกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไมนอ ยกวา 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห ซึง่ เปนงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเปนงานทีเ่ นนประสบการณทาํ งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เปนงานที่เปนประโยชนตอ องคกร รวมถึงมีการประเมินผลการทํางานจากคณาจารยรว มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน กร. 468 สัมมนาในอุตสาหกรรมโรงแรม (3 หนวยกิต) HM 468 Seminar in Hotel Industry พื้นความรู: กร. 465 หรือ กร. 466 ศึกษาและวิเคราะหปญหาตางๆ ที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรม บริการ รวมทั้งแนวโนมของธุรกิจโรงแรม ภัตตาคาร เรือสําราญ สปา และธุรกิจบริการอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ โดยนักศึกษาจะไดรบั ฟงการบรรยาย จากผูท รงคุณวุฒแิ ละมีประสบการณ ในสาขาวิชาชีพตางๆ ทีเ่ กีย่ วของ และหัวขอที่นักศึกษาสนใจ เพื่อนําความรูที่ไดจากวิทยากร ตลอดจน ทฤษฎีที่ไดเรียนมาประยุกตใชกับกรณีศึกษา กร. 470 อาหารไทย (3 หนวยกิต) HM 470 Thai Cuisine ศึกษาลักษณะของอาหารไทย วัตถุดิบตางๆ ในการ ประกอบอาหารไทย รวมถึงเทคนิคในการประกอบอาหารไทย โดย เนนการเรียนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติควบคูกันไป


กร. 472 ขนมหวานไทย (3 หนวยกิต) HM 472 Thai Dessert ศึกษาลักษณะของขนมหวานไทย วัตถุดิบตางๆ ในการ ประกอบขนมหวานไทย รวมถึงเทคนิคในการประกอบขนมหวานไทย โดยเนนการเรียนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติควบคูกันไป กร. 473 ขนมหวานแบบจัดใสถวยและจาน (3 หนวยกิต) HM 473 Verrines and Plated Dessert ศึกษาเทคนิคการจัดขนมหวานใสถวยและจาน ซอส ประเภทตางๆ สําหรับแตงจาน การวาดลายสําหรับตกแตงจาน การ ทําของตกแตง โดยเนนการเรียนทัง้ ภาคทฤษฎีและปฏิบตั คิ วบคูก นั ไป กร. 474 ขนมอบขั้นพื้นฐาน (3 หนวยกิต) HM 474 Basic Patisserie ศึกษาความรูพ นื้ ฐานในการทําขนมอบ รูจ กั สวนผสมและ อุปกรณตางๆ ที่จําเปนในการทําขนม ลักษณะของขนมอบประเภท ตางๆ หลักการพื้นฐาน และเทคนิคตางๆ ในการทําขนม โดยเนนการ เรียนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติควบคูกันไปเพื่อใหผูเรียนสามารถทํา ขนมอบแบบงายได

กร. 491 ภาษาอังกฤษสําหรับอุตสาหกรรมบริการ (3 หนวยกิต) HM 491 English for Hospitality Industry ศึกษาการใชภาษาอังกฤษที่ใชในอุตสาหกรรมการบริการ ในระดับที่เนนใหผูเรียนรูจักคําศัพทตางๆ ที่ใชในอุตสาหกรรมการ บริการ โรงแรม เรือสําราญ ภัตตาคาร สปา ฝกทักษะการอาน เขียน จากบทความที่เกี่ยวของ และฝกทักษะการฟง พูด จากสถานการณ จําลอง รวมทั้งฝกใหนักศึกษามีทักษะในการสนทนา สามารถฟงและ โตตอบได กร. 492 ภาษาอังกฤษสําหรับเชฟ (3 หนวยกิต) HM 492 English for Chef ศึกษาการใชภาษาอังกฤษที่ใชในครัวเพื่อใหผูเรียนรูจัก คําศัพทตางๆ โดยเนนทักษะการฟง การพูด การอาน และการเขียน กร. 493 ภาษาอังกฤษสําหรับพนักงานสปา (3 หนวยกิต) HM 493 English for Spa Personnel ศึกษาการใชภาษาอังกฤษที่ใชสปาเพื่อใหผูเรียนรูจักคํา ศัพทตางๆ โดยเนนทักษะการฟง การพูด การอาน และการเขียน

กร. 475 อาหารฟวชั่น (3 หนวยกิต) HM 475 Fusion Food ศึกษาจุดเดนของอาหารจากวัฒนธรรมทีห่ ลากหลายเพือ่ ใหผูเรียนรูจักนําอาหารจากวัฒนธรรมตางๆ มาประยุกตเปนอาหาร ฟวชั่นไดโดยเนนการเรียนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติควบคูกันไป

หลักสูตรปร ญญาตร 545


หมวดวิชาการจัดการการทองเที่ยว ทท. 203 การทองเที่ยวเชิงสรางสรรค (3 หนวยกิต) TM 203 Creative Tourism ศึกษาหลักเบื้องตนของการทองเที่ยว การทองเที่ยว ลักษณะเฉพาะในรูปแบบตางๆ และการทองเทีย่ วแนวใหมๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในปจจุบัน ตลอดจนการนําเสนอนวัตกรรมทางการทองเที่ยวรูปแบบ ใหมอยางสรางสรรค

การทองเทีย่ วเพือ่ เปนรางวัล หนวยงานและองคกรทีส่ นับสนุนการจัด ประชุม การจัดนิทรรศการ และการทองเทีย่ วเพือ่ เปนรางวัล และแนว โนมของการเจริญเติบโตของแตละธุรกิจ ทท. 231 อารยธรรมโลกเพื่อการนําเที่ยว (3 หนวยกิต) TM 231 World Civilization for Tour Guiding ศึกษาพัฒนาการของอารยธรรมตะวันตก อารยธรรม ตะวันออก และอารยธรรมไทย ในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ความเชื่อ วรรณคดี และศิลปะ

ทท. 204 การทองเที่ยวเฉพาะทาง (3 หนวยกิต) TM 204 Niche Tourism ศึกษาลักษณะเฉพาะและการจัดการการทองเทีย่ วเฉพาะ ทางในรูปแบบของการทองเที่ยวเพื่อสุขภาพ การทองเที่ยวเพื่อกีฬา การทองเทีย่ วเชิงนิเวศ การทองเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม การทองเทีย่ วเชิง ผจญภัย การทองเทีย่ วเพือ่ การศึกษา และการทองเทีย่ วเฉพาะทางใน รูปแบบอื่นๆ ที่อยูในความสนใจของนักทองเที่ยว

ทท. 232 ศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อการนําเที่ยว (3 หนวยกิต) TM 232 Arts and Cultures for Tour Guiding ศึ ก ษาลั ก ษณะและรู ป แบบของศิ ล ปกรรมตะวั น ตก ศิลปกรรมตะวันออก และศิลปกรรมไทยในแตละยุคสมัย โดยมุงเนน ทีค่ วามเชือ่ ความศรัทธาทางศาสนา วิถชี วี ติ ในแตละแหลงวัฒนธรรม ซึ่งมีอิทธิพลตอการสรางสรรคงานศิลปกรรมทุกแขนง

ทท. 211 การจัดการธุรกิจนําเที่ยว (3 หนวยกิต) และธุรกิจตัวแทนทองเที่ยว TM 211 Tour Operator and Travel Agency Management ศึกษาประเภท หลักการบริหารจัดการ การวางแผน และ การดําเนินงานของธุรกิจนําเที่ยวและธุรกิจตัวแทนทองเที่ยว ตลอด จนความแตกตางระหวางธุรกิจทั้งสองประเภท

ทท. 241 การจัดการธุรกิจเพื่อการพักผอน (3 หนวยกิต) และบันเทิง TM 241 Leisure and Entertainment Business Management ศึกษารูปแบบ ประเภท และลักษณะการประกอบธุรกิจที่ เกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อการใชเวลาวาง และการ พักผอน และแนวโนมของธุรกิจแหลงทองเที่ยวแบบครบวงจร

ทท. 221 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ (3 หนวยกิต) การจัดการการประชุม การจัดนิทรรศการ และการทองเที่ยวเพื่อเปนรางวัล TM 221 Introduction to MICE Management ศึกษาความหมาย ความสําคัญ ลักษณะ รูปแบบ และ ความแตกตางของธุรกิจการจัดประชุม ธุรกิจการจัดนิทรรศการ ธุรกิจ

ทท. 306 การวางแผนการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (3 หนวยกิต) TM 306 Sustainable Tourism Planning ศึกษารูปแบบการจัดการ แนวคิดการพัฒนา การวางแผน การวางเปาหมายและวัตถุประสงคของการทองเทีย่ วทีน่ าํ ไปสูแ นวคิด เกี่ยวกับการจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน โดยคํานึงถึงผลกระทบ ตอเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสิ่งแวดลอมของทองถิ่นรวมถึงบทบาท ของภาครัฐและภาคเอกชนในการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน

546 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


ทท. 314 เทคนิคการขายและการตลาด (3 หนวยกิต) สําหรับสินคาทางการทองเที่ยว TM 314 Selling and Marketing Techniques for Tourism Products ศึกษาบทบาทหนาทีข่ องพนักงานขาย ขัน้ ตอนการดําเนิน งาน การทําการตลาด และเทคนิคการขายอยางเปนระบบและมี ประสิทธิภาพ กลยุทธในการบริหารจัดการลูกคา และการสรางความ ประทับใจใหแกลูกคา ทท. 324 การจัดการงานอีเวนท (3 หนวยกิต) TM 324 Event Management ศึ ก ษารู ป แบบและหลั ก การบริ ห ารการจั ด งาน และ กระบวนการการจัดงานรูปแบบตางๆ การจัดงานประชุม สัมมนา นิทรรศการ งานแสดงสินคา การดําเนินการจัดเลีย้ งทัง้ ในสถานทีแ่ ละ นอกสถานที่ การติดตอลูกคา การแกไขปญหาและอุปสรรคในการจัด งาน ตลอดจนแนวโนมของธุรกิจรับจัดงานในอนาคตโดยมีการฝก ปฏิบัติในรายวิชา ทท. 333 ไทยศึกษาเพื่อการนําเที่ยว (3 หนวยกิต) TM 333 Thai Studies for Tour Guiding ศึกษาถึงลักษณะพืน้ ฐานความเปนไทย โดยพิจารณาทัง้ ทางดานกลุมชาติพันธุ การกอตั้งอาณาจักรตางๆ รวมถึงสภาพ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ศิลปกรรม ความ เชื่อ ศาสนา วรรณคดี วรรณกรรม นาฏศิลป ดนตรีไทย อาหารไทย ตลอดจนงานประเพณีและมรดกทางภูมิปญญาไทย เริ่มตั้งแตกอน สมัยประวัตศิ าสตรจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร เพือ่ นํามาประยุกตใช ในธุรกิจการทองเที่ยว โดยมีการฝกปฏิบัติและศึกษานอกสถานที่

ทท. 341 กิจกรรมนันทนาการเพื่อการพักผอน (3 หนวยกิต) และบันเทิง TM 341 Recreational Activities for Leisure and Entertainment ศึกษาหลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ และฝกทักษะการ เปนผูนํากิจกรรมเพื่อสรางความสนุกสนานใหแกนักทองเที่ยว โดย เฉพาะการเลือกใชกจิ กรรมทีเ่ หมาะสมกับกลุม นักทองเทีย่ ว เพือ่ เสริม สรางมนุษยสัมพันธกบั นักทองเทีย่ วและเทคนิคการแกไขปญหาเฉพาะ หนา ทท. 402 การอานและการเขียนภาษาอังกฤษ (3 หนวยกิต) เพื่อการทองเที่ยว TM 402 English Reading and Writing for Tourism ฝกทักษะการอานภาษาอังกฤษที่ใชในธุรกิจทองเทีย่ ว โดย เนนการอานบทความที่เกี่ยวกับแหลงทองเที่ยว รายการทองเที่ยว โฆษณาที่เกี่ยวของกับธุรกิจทองเที่ยว ตลอดจนฝกทักษะการเขียน ภาษาอังกฤษที่ใชในธุรกิจการทองเทีย่ ว โดยเนนการกรอกแบบฟอรม การเขียนโนตยอ การบันทึกขอความ และการเขียนรายการเดินทาง ทองเที่ยว ทท. 403 การเปนผูประกอบการ (3 หนวยกิต) ในอุตสาหกรรมทองเที่ยว TM 403 Entrepreneurship in Tourism Industry ศึกษาแนวทางการจัดการของผูประกอบการธุรกิจใน อุตสาหกรรมทองเที่ยว การจัดทําแผนธุรกิจ การเสริมสรางความคิด สรางสรรคทางธุรกิจ และการกําหนดกลยุทธทางการตลาดเพื่อความ สําเร็จของธุรกิจการทองเที่ยว โดยมีการฝกปฏิบัติที่หองปฏิบัติการ บริษัททัวรจําลอง

หลักสูตรปร ญญาตร 547


ทท. 411 ภาษาอังกฤษเบื้องตนเพื่อการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) TM 411 Basic English for Tourism ศึกษาคําศัพทเทคนิคที่เกี่ยวกับการทองเที่ยว ศิลปะ วั ฒ นธรรม ภู มิ ศ าสตร ประวั ติ ศ าสตร นาฏศิ ล ป ดนตรี และ สถาปตยกรรม ทท. 412 ภาษาอังกฤษขั้นสูงเพื่อการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) TM 412 Advanced English for Tourism ศึกษาการใชภาษาอังกฤษเพื่อการบริหารงานและการ บริการทางการทองเทีย่ ว ศัพทเทคนิคทีเ่ กีย่ วกับการทองเทีย่ ว ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมศิ าสตร ประวัตศิ าสตร นาฏศิลป ดนตรี สถาปตยกรรม การฟง พูด อาน เขียน การจับใจความสําคัญจากเอกสาร บทความ และ หนังสือทีเ่ กีย่ วของกับการทองเทีย่ ว การสนทนาทางธุรกิจการทองเทีย่ ว ทท. 415 ภาษาอังกฤษสําหรับธุรกิจ (3 หนวยกิต) ตัวแทนทองเที่ยว TM 415 English for Travel Agency ฝกทักษะการสือ่ สารภาษาอังกฤษ โดยมุง เนนการฟงและ การพูดจากบทสนทนาที่จําลองมาจากสถานการณตางๆ ในธุรกิจนํา เที่ยว รวมถึงการอานและเขียนเอกสารที่เกี่ยวของกับธุรกิจนําเที่ยว ทท. 425 การจัดนิทรรศการ (3 หนวยกิต) TM 425 Exhibition Management ศึกษาหลักการจัดนิทรรศการ กระบวนการจัดนิทรรศการ การวางแผนและการเตรียมการ การเลือกสถานที่จัดนิทรรศการ การ ออกแบบนิทรรศการ ธุรกิจการจัดนิทรรศการ ผูแสดงสินคาและผูชม งาน ผลกระทบของการจัดนิทรรศการ การประสานงานกับหนวยงาน ที่เกี่ยวของ โดยมีการฝกปฏิบัติในรายวิชา

548 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ทท. 428 ภาษาอังกฤษสําหรับมัคคุเทศก (3 หนวยกิต) TM 428 English for Tour Guide ศึ ก ษาการใช ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ งานมั ค คุ เ ทศก ศัพ ท เทคนิคที่เกี่ยวของกับอาชีพมัคคุเทศก ไดแก ศิลปะ วัฒนธรรม นาฏศิลป ดนตรี สถาปตยกรรม รวมทั้งมุงเสริมทักษะการฟง พูด อาน และเขียนในการสื่อสารในชีวิตประจําวัน ทท. 435 หลักการมัคคุเทศก (3 หนวยกิต) TM 435 Principles of Tour Guide พื้นความรู: ทท. 333 ศึกษาบทบาท หนาที่ จรรยาบรรณของมัคคุเทศก ฝก ทักษะการเปนผูนํากิจกรรมเพื่อสรางความสนุกสนานใหแกนักทอง เที่ยว หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ การวางแผนและการเตรียม การกอนการเดินทาง และธรรมเนียมปฏิบตั ิในการเขาชมสถานทีท่ อ ง เทีย่ ว เทคนิคการแกไขปญหาเฉพาะหนารวมถึงความรูเ กีย่ วกับแหลง ทองเทีย่ วทีส่ าํ คัญทัง้ ในและตางประเทศ ตลอดจนอารยธรรมของโลก ศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อการนําเที่ยว โดยมีการฝกปฏิบัติและศึกษา นอกสถานที่ ทท. 444 กลยุทธการตลาดสําหรับแหลงทองเที่ยว (3 หนวยกิต) TM 444 Strategic Destination Marketing พื้นความรู: ทร. 263 ศึกษาปจจัยทีม่ ผี ลกระทบตอการตัดสินใจเลือกแหลงทอง เที่ยว แนวโนมและการแขงขันในธุรกิจทองเที่ยว รวมถึงโอกาสทาง ธุรกิจที่จะนํากลยุทธทางการตลาดเพื่อดึงดูดนักทองเที่ยว ทท. 445 การจัดการธุรกิจเรือสําราญ (3 หนวยกิต) TM 445 Cruise Business Management ศึกษาวิวัฒนาการ สิ่งอํานวยความสะดวก วิธีการดําเนิน งาน กิจกรรมนันทนาการ กลยุทธการตลาด กลุมธุรกิจที่เกี่ยวของ และแนวโนมของธุรกิจเรือสําราญ


ทท. 452 การจัดการงานเทศกาล (3 หนวยกิต) TM 452 Festival Management ศึกษาการวางแผน การออกแบบ การประสานงาน การ ทํ า การตลาดสํ า หรั บ การจั ด งานเทศกาลต า งๆ การแก ป ญ หา สถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการจัดงานเทศกาล และการ ประเมินผลการจัดงาน โดยมีการฝกปฏิบัติในรายวิชา ทท. 453 การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม (3 หนวยกิต) TM 453 Cultural Heritage Management ศึกษาแนวทางการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม การ พัฒนารูปแบบและกิจกรรมการทองเที่ยวทางวัฒนธรรม และการ วางแผนการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอยางยั่งยืน ทท. 454 การทองเที่ยวระหวางประเทศ (3 หนวยกิต) TM 454 International Tourism ศึกษาการวางแผน การขาย การทําการตลาดการทอง เที่ยวระหวางประเทศ เพื่อเพิ่มพูนประสบการณการจัดการทองเที่ยว ระหวางประเทศ นักศึกษาจะไดมีโอกาสเรียนรูการนําเที่ยว พิธีการ การเขาออกประเทศ การปฏิสมั พันธระหวางเจาบานกับผูม าเยือน และ การแกไขปญหาเฉพาะหนาในระหวางการนําเที่ยว ทท. 455 ประสบการณวัฒนธรรมตางชาติ (3 หนวยกิต) TM 455 Cross-Cultural Experience ฝกฝนทักษะการใชภาษาตางประเทศกับเจาของภาษา เรียนรูวิถีชีวิตความเปนอยูศิลปวัฒนธรรมของผูคนในประเทศนั้นๆ โดยมีการศึกษาหรือฝกงานในตางประเทศ

ทท. 456 การทองเที่ยวภายในประเทศ (3 หนวยกิต) TM 456 Domestic Tourism ศึกษาการวางแผน การขาย การทําการตลาดสําหรับการ ทองเที่ยวภายในประเทศ เพื่อเพิ่มพูนประสบการณการจัดการทอง เที่ยวภายในประเทศ นักศึกษาจะไดมีโอกาสเรียนรูการนําเที่ยว การ ปฏิสมั พันธระหวางนักทองเทีย่ วกับคนในทองถิน่ และการแกไขปญหา เฉพาะหนาในระหวางการนําเที่ยว โดยมีการฝกภาคปฏิบัติการจัดนํา เที่ยวภายในประเทศ ทท. 457 การคนควาอิสระ (3 หนวยกิต) TM 457 Independent Study ศึกษาและคนควาในประเด็นทางการทองเทีย่ วทีน่ กั ศึกษา มีความสนใจเปนพิเศษ ภายใตการดูแลและการใหคําที่ปรึกษาของ อาจารยผูสอน ทท. 458 เศรษฐศาสตรเบื้องตนเพื่อการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) TM 458 Basic Economics for Tourism ศึกษาความหมาย ความสําคัญและความเชื่อมโยงของ แนวคิดทางเศรษฐศาสตรที่มีตอธุรกิจการทองเที่ยว รวมถึงปจจัยที่มี อิทธิพลตออุปสงคและอุปทานของการทองเที่ยว ตลอดจนบทบาท อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศที่มีตอธุรกิจการทองเที่ยว โดย การประยุกตหลักเศรษฐศาสตรเขากับธุรกิจการทองเทีย่ วในภาคตางๆ เชน โรงแรม รานอาหาร และสายการบิน เปนตน รวมทั้งผลกระทบ ของธุรกิจการทองเทีย่ วทีม่ ตี อ ภาวะเศรษฐกิจโดยรวม โดยใชตวั อยาง ของการทองเที่ยวทั้งในและตางประเทศ

หลักสูตรปร ญญาตร 549


ทท. 465 การฝกงาน (6 หนวยกิต) TM 465 Internship พื้นความรู: ทท. 211 เปนการศึกษาภาคปฏิบัติเพื่อใหโอกาสนักศึกษาไดนํา ความรู ความเขาใจที่ไดเลาเรียนไปใชในสถานการณจริง นักศึกษา สามารถฝกงานในธุรกิจการทองเทีย่ วหรือหนวยงานทีเ่ กีย่ วของไดทงั้ ในประเทศและตางประเทศ การศึกษานี้จะอยูภายใตการควบคุมดูแล และประเมินผลของสาขาวิชารวมกับหนวยงานที่รับนักศึกษาเขา ฝกงาน ทท. 466 สหกิจศึกษาในอุตสาหกรรมการทองเทีย่ ว (6 หนวยกิต) TM 466 Cooperative Education in Tourism Industry พื้นความรู: สอบได สศ. 301 ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสรางใหนักศึกษามีความ พรอมดานงานอาชีพจากการปฏิบัติงานพื้นฐานอยางมีหลักการและ เปนระบบ นักศึกษาจะตองมีการฝกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห ซึง่ เปนงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเปนงานทีเ่ นนประสบการณทาํ งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เปนงานที่เปนประโยชนตอ องคกร รวมถึงมีการประเมินผลการทํางานจากคณาจารยรว มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน

550 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ทท. 468 สัมมนาในอุตสาหกรรมการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) TM 468 Seminar in Tourism Industry พื้นความรู: ทท. 465 หรือ ทท. 466 ศึกษา วิเคราะห อภิปรายแนวโนมและประเด็นทางการ ทองเที่ยว ซึ่งมีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจการทองเที่ยว เพื่อ แสวงหาโอกาสทางธุรกิจ แนวทางแกไข และการปรับกลยุทธเพื่อให เกิดความไดเปรียบในการแขงขัน โดยนักศึกษาจะไดรบั ฟงการบรรยาย จากผูทรงคุณวุฒิและมีประสบการณในวิชาชีพ

หมวดวิชาการทองเที่ยวและการโรงแรม ทร. 160 อุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการบริการ (3 หนวยกิต) เบื้องตน HT 160 Introduction to Tourism and Hospitality Industry ศึกษาวิวัฒนาการ รูปแบบ ประเภท โครงสราง และ ลักษณะของอุตสาหกรรมการทองเทีย่ วและการบริการ ใหผเู รียนเขาใจ ถึงลักษณะการทํางานและความสัมพันธของธุรกิจบริการประเภทตางๆ เพื่อเปนพื้นความรูในการศึกษาดานอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและ การบริการในระดับที่สูงขึ้น ทร. 162 กฎหมายและจรรยาบรรณในอุตสาหกรรม (3 หนวยกิต) การทองเที่ยวและการบริการ HT 162 Law and Ethics in Tourism and Hospitality Industry ศึกษากฎหมายทีเ่ กีย่ วกับการประกอบธุรกิจโรงแรม ธุรกิจ นําเทีย่ ว และผูป ระกอบอาชีพมัคคุเทศก เชน กฎหมายทีเ่ กีย่ วกับภาษี อากร ศุลกากร การคมนาคมขนสง และกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับสิง่ แวดลอม ฯลฯ นอกจากนี้ยังศึกษาจรรยาบรรณที่ผูประกอบธุรกิจดานการทองเที่ยว และการบริการพึงมี


ทร. 164 บุคลิกภาพสําหรับบุคลากร (3 หนวยกิต) ในอุตสาหกรรมบริการ HT 164 Personality for Service Professionals ศึกษาบทบาทและความสําคัญของบุคลิกภาพที่มีตอ บุคลากรในอุตสาหกรรมบริการ รวมทั้งหลักในการพัฒนาบุคลิกภาพ ดานตางๆ เชน การติดตอสื่อสาร การแตงกาย มารยาททางสังคม และการสรางมนุษยสัมพันธ ทร. 190 อุตสาหกรรมการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) และการโรงแรมเบื้องตน HT 190 Introduction to Tourism and Hotel Industry ศึกษาวิวัฒนาการ รูปแบบ ประเภท โครงสราง และ ลักษณะของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการโรงแรม ใหผูเรียน เขาใจถึงลักษณะการทํางานและความสัมพันธของธุรกิจบริการประเภท ตางๆ เพือ่ เปนพืน้ ความรูใ นการศึกษาดานอุตสาหกรรมการทองเทีย่ ว และการโรงแรมในระดับที่สูงขึ้น ทร. 192 กฎหมายและจรรยาบรรณในอุตสาหกรรม (3 หนวยกิต) การทองเที่ยวและการโรงแรม HT 192 Law and Ethics in Tourism and Hotel Industry ศึกษากฎหมายทีเ่ กีย่ วกับการประกอบธุรกิจโรงแรม ธุรกิจ นําเทีย่ ว และผูป ระกอบอาชีพมัคคุเทศก เชน กฎหมายทีเ่ กีย่ วกับภาษี อากร ศุลกากร การคมนาคมขนสง และกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับสิง่ แวดลอม ฯลฯ นอกจากนี้ยังศึกษาจรรยาบรรณที่ผูประกอบธุรกิจดานการทอง เที่ยวและการโรงแรมพึงมี

ทร. 224 ภูมิศาสตรการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) HT 224 Geography for Tourism ศึกษาภูมิศาสตรของโลกและของประเทศไทย สภาพ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ชาติพันธุ ความสัมพันธของสภาพภูมิศาสตร กั บ การจั ด การท อ งเที่ ย ว ศึ ก ษาแหล ง ท อ งเที่ ย วที่ สํ า คั ญ ๆ ใน ประเทศไทยและตางประเทศ โดยมุง เนนแหลงทองเทีย่ วทางธรรมชาติ สถานทีส่ าํ คัญทางประวัตศิ าสตร วิถชี วี ติ ความเปนอยู เพือ่ การวางแผน การจัดการนําเที่ยวอยางมีประสิทธิภาพ และมีการศึกษานอกสถานที่ ทร. 234 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) และการบริการ HT 234 Information Technology for Tourism and Hospitality ศึกษาความเปนมา และความสําคัญของระบบสํารองที่ นัง่ รวมทัง้ ฝกฝนการใชระบบเพือ่ ทํางานตางๆ เชน การสืบคนขอมูล ของเที่ยวบิน การสํารองที่นั่งของสายการบิน การคํานวณราคาคา บัตรโดยสาร การใชระบบเพือ่ จองรถเชา หองพัก รถไฟ และเรือสําราญ นอกจากนี้ยังศึกษาระบบตางๆ ที่ใชในการจัดการแผนกตางๆ ของ โรงแรม จัดการเรียนการสอนในหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร ทร. 261 จิตวิทยาบริการ (3 หนวยกิต) HT 261 Service Psychology ศึ ก ษาแนวคิ ด และทฤษฎี ท างจิ ต วิ ท ยาที่ เ กี่ ย วข อ งใน อุตสาหกรรมบริการ หลักมนุษยสัมพันธ ในการบริการ ปจจัยที่มี อิทธิพลตองานบริการ การประยุกตใชหลักการทางจิตวิทยาเพือ่ พัฒนา กระบวนการบริการเพื่อใหเกิดประสิทธิผลสูงสุด

หลักสูตรปร ญญาตร 551


ทร. 263 การตลาดเพื่อการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) และการบริการ HT 263 Marketing for Tourism and Hospitality ศึกษาลักษณะเฉพาะของสินคาทางธุรกิจการทองเที่ยว และการบริการ และหลักการตลาดเพื่อนํามาใชในธุรกิจดังกลาว เชน การวิเคราะหตลาด การวางแผนการตลาด กลยุทธทางการตลาด และ การสงเสริมแผนการตลาดในดานตางๆ ทร. 264 พฤติกรรมผูบริโภคในอุตสาหกรรม (3 หนวยกิต) การทองเที่ยวและการบริการ HT 264 Consumer Behavior in Tourism and Hospitality Industry ศึกษาบทบาทและความสําคัญของความแตกตางทาง วัฒนธรรมของผูบริโภคในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการบริการ ที่มีผลตอการปฏิบัติงานของพนักงานในธุรกิจบริการ เนนศึกษาและ เปรียบเทียบวัฒนธรรมของชนชาติตางๆ ปญหาที่เกิดจากความแตก ตางทางวัฒนธรรม รวมถึงการปรับตัวใหเขากับสถานการณทาง วัฒนธรรมที่แตกตางไดอยางเหมาะสม ทร. 265 วัฒนธรรมขามชาติเพื่ออุตสาหกรรม (3 หนวยกิต) การทองเที่ยวและการบริการ HT 265 Intercultural Studies for Tourism and Hospitality Industry ศึกษาบทบาทและความสําคัญของความแตกตางทาง วัฒนธรรมของผูบริโภคในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการบริการ ที่มีผลตอการปฏิบัติงานของพนักงานในธุรกิจบริการ เนนศึกษาและ เปรียบเทียบวัฒนธรรมของชนชาติตางๆ ปญหาที่เกิดจากความแตก ตางทางวัฒนธรรม รวมถึงการปรับตัวใหเขากับสถานการณทาง วัฒนธรรมที่แตกตางไดอยางเหมาะสม

552 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ทร. 266 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน (3 หนวยกิต) สําหรับธุรกิจการทองเที่ยวและการบริการ HT 266 Accounting and Financial Management for Tourism and Hospitality Industry (สําหรับนักศึกษาการจัดการการธุรกิจสายการบิน) ศึกษาความรูพื้นฐานทั่วไปทางการบัญชีเพื่อใหสามารถ นําขอมูลทางการบัญชีไปใชประโยชน ในการวางแผน ตัดสินใจและ ควบคุมการดําเนินงานของธุรกิจการทองเที่ยวและการบริการเพื่อกอ ใหเกิดประโยชนสูงสุดแกองคกร โดยจะศึกษาเกี่ยวกับขอมูลทางการ บัญชี การควบคุมภายในเพือ่ สงเสริมใหเกิดธรรมาภิบาลในองคกร การ วิเคราะหรายงานทางการเงินของธุรกิจ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับตนทุน การวิเคราะหระหวางตนทุน - ปริมาณ - กําไร และการวิเคราะหจุด คุม ทุน การจัดทํางบประมาณเพือ่ การวางแผนกําไรและการลงทุน และ ความรูท วั่ ไปเกีย่ วกับภาษีอากร เพือ่ การวางแผนกําไรและการบริหาร งานในธุรกิจการทองเที่ยวและการบริการ ทร. 266 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน (3 หนวยกิต) สําหรับอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการบริการ HT 266 Accounting and Financial Management for Tourism and Hospitality Industry (สําหรับนักศึกษาการจัดการการทองเที่ยว) ศึกษาความรูพื้นฐานทั่วไปทางการบัญชีเพื่อใหสามารถ นําขอมูลทางการบัญชีไปใชประโยชน ในการวางแผน ตัดสินใจและ ควบคุมการดําเนินงานของธุรกิจการทองเที่ยวและการบริการเพื่อกอ ใหเกิดประโยชนสูงสุดแกองคกร โดยจะศึกษาเกี่ยวกับขอมูลทางการ บัญชี การควบคุมภายในเพือ่ สงเสริมใหเกิดธรรมาภิบาลในองคกร การ วิเคราะหรายงานทางการเงินของธุรกิจ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับตนทุน การวิเคราะหระหวางตนทุน - ปริมาณ - กําไร และการวิเคราะหจุด คุม ทุน การจัดทํางบประมาณเพือ่ การวางแผนกําไรและการลงทุน และ ความรูท วั่ ไปเกีย่ วกับภาษีอากร เพือ่ การวางแผนกําไรและการบริหาร งานในธุรกิจการทองเที่ยวและการบริการ


ทร. 269 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการบริการ HT 269 Communicative English for Tourism and Hospitality Industry พื้นความรู: อก. 251 (สําหรับนักศึกษาการจัดการการธุรกิจสายการบิน) ฝ ก ทั ก ษะการสื่ อ สารภาษาอั ง กฤษเบื้ อ งต น ที่ ใ ช ใ น อุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการบริการ โดยมุงเนนทักษะการฟง และการพูด และศึกษาบทสนทนาขั้นพื้นฐานที่นํามาจากการจําลอง สถานการณตางๆ ที่มักเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการ บริการ ทร. 269 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการบริการ HT 269 Communicative English for Tourism and Hospitality Industry พื้นความรู: อก. 253 (สําหรับนักศึกษาการจัดการการทองเที่ยว) ฝ ก ทั ก ษะการสื่ อ สารภาษาอั ง กฤษเบื้ อ งต น ที่ ใ ช ใ น อุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการบริการ โดยมุงเนนทักษะการฟง และการพูด และศึกษาบทสนทนาขั้นพื้นฐานที่นํามาจากการจําลอง สถานการณตางๆ ที่มักเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการ บริการ

ทร. 296 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน (3 หนวยกิต) สําหรับอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการโรงแรม HT 296 Accounting and Financial Management for Tourism and Hotel Industry ศึกษาความรูพื้นฐานทั่วไปทางการบัญชีเพื่อใหสามารถ นําขอมูลทางการบัญชีไปใชประโยชน ในการวางแผน ตัดสินใจและ ควบคุมการดําเนินงานของธุรกิจการทองเทีย่ วและการโรงแรมเพือ่ กอ ใหเกิดประโยชนสูงสุดแกองคกร โดยจะศึกษาเกี่ยวกับขอมูลทางการ บัญชี การควบคุมภายในเพือ่ สงเสริมใหเกิดธรรมาภิบาลในองคกร การ วิเคราะหรายงานทางการเงินของธุรกิจ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับตนทุน การวิเคราะหระหวางตนทุน - ปริมาณ - กําไร และการวิเคราะหจุด คุม ทุน การจัดทํางบประมาณเพือ่ การวางแผนกําไรและการลงทุน และ ความรูท วั่ ไปเกีย่ วกับภาษีอากร เพือ่ การวางแผนกําไรและการบริหาร งานในธุรกิจการทองเที่ยวและการโรงแรม ทร. 298 พฤติกรรมผูบริโภคในอุตสาหกรรม (3 หนวยกิต) การทองเที่ยวและการโรงแรม HT 298 Consumer Behavior in Tourism and Hotel Industry ศึกษาบทบาทและความสําคัญของความแตกตางทาง วัฒนธรรมของผูบ ริโภคในอุตสาหกรรมการทองเทีย่ วและการโรงแรม ที่มีผลตอการปฏิบัติงานของพนักงานในธุรกิจบริการ เนนศึกษาและ เปรียบเทียบวัฒนธรรมของชนชาติตางๆ ปญหาที่เกิดจากความแตก ตางทางวัฒนธรรม รวมถึงการปรับตัวใหเขากับสถานการณทาง วัฒนธรรมที่แตกตางไดอยางเหมาะสม

ทร. 293 การตลาดเพื่อการทองเที่ยวและการโรงแรม HT 293 Marketing for Tourism and Hotel ศึกษาลักษณะเฉพาะของสินคาทางธุรกิจการทองเที่ยว และการโรงแรม และหลักการตลาดเพือ่ นํามาใชในธุรกิจดังกลาว เชน การวิเคราะหตลาด การวางแผนการตลาด กลยุทธทางการตลาด และ การสงเสริมแผนการตลาดในดานตางๆ หลักสูตรปร ญญาตร 553


ทร. 299 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) ในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการโรงแรม HT 299 Communicative English for Tourism and Hotel Industry พื้นความรู: อก. 012 ฝ ก ทั ก ษะการสื่ อ สารภาษาอั ง กฤษเบื้ อ งต น ที่ ใ ช ใ น อุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการโรงแรม โดยมุงเนนทักษะการฟง และการพูด และศึกษาบทสนทนาขั้นพื้นฐานที่นํามาจากการจําลอง สถานการณตางๆ ที่มักเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการ โรงแรม ทร. 363 การจัดการทรัพยากรมนุษย (3 หนวยกิต) ในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการบริการ HT 363 Human Resource Management in Tourism and Hospitality Industry (สําหรับนักศึกษาการจัดการการทองเที่ยว) ศึกษาหลักในการบริหารทรัพยากรมนุษยในอุตสาหกรรม การทองเที่ยวและการบริการ โดยศึกษาการวางแผนกําลังคน การ สรรหาและคัดเลือกบุคลากร การฝกอบรมและพัฒนาบุคลากร การ ทํางานเปนทีม การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน การบริหารคาตอบแทน และสวัสดิการ การธํารงรักษาบุคลากร การแรงงานสัมพันธและ กฎหมายที่เกี่ยวของ ทร. 363 การบริหารทรัพยากรมนุษย (3 หนวยกิต) ในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการบริการ HT 363 Human Resource Management in Tourism and Hospitality Industry (สําหรับนักศึกษาการจัดการการธุรกิจสายการบิน) ศึกษาหลักในการบริหารทรัพยากรมนุษยในอุตสาหกรรม การทองเที่ยวและการบริการ โดยศึกษาการวางแผนกําลังคน การ 554 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

สรรหาและคัดเลือกบุคลากร การฝกอบรมและพัฒนาบุคลากร การ ทํางานเปนทีม การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน การบริหารคาตอบแทน และสวัสดิการ การธํารงรักษาบุคลากร การแรงงานสัมพันธและ กฎหมายที่เกี่ยวของ ทร. 365 การจัดการกลยุทธและนวัตกรรม (3 หนวยกิต) ในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการบริการ HT 365 Strategy and Innovation Management in Tourism and Hospitality Industry (สําหรับนักศึกษาการจัดการการทองเที่ยว) ศึกษาบริบทดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยีที่มีผลกระทบตออุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการ บริการ กระบวนการดําเนินงาน กลยุทธในการสรางความไดเปรียบ ทางการแขงขันและการสรางนวัตกรรมใหมๆ สําหรับธุรกิจการทอง เที่ยวและการบริการ ทร. 365 การบริหารกลยุทธและนวัตกรรม (3 หนวยกิต) ในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการบริการ HT 365 Strategy and Innovation Management in Tourism and Hospitality Industry (สําหรับนักศึกษาการจัดการการธุรกิจสายการบิน) ศึกษาบริบทดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยีที่มีผลกระทบตออุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการ บริการ กระบวนการดําเนินงาน กลยุทธในการสรางความไดเปรียบ ทางการแขงขันและการสรางนวัตกรรมใหมๆ สําหรับธุรกิจการทอง เที่ยวและการบริการ


ทร. 369 การจัดการการขนสงผูโดยสาร (3 หนวยกิต) HT 369 Managing Passenger Logistics (สําหรับนักศึกษาการจัดการการทองเที่ยว) ศึกษาหลักทัว่ ไปและองคประกอบของการจัดการขนสงผู โดยสาร ทัง้ ทางบก ทางนํา้ และทางอากาศ การวางแผน การตัง้ ราคา การบริหารการตลาด การจัดจําหนาย และการพัฒนาการบริการ ตลอดจนหนวยงานและกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของ ทร. 369 การขนสงผูโดยสารเบื้องตน (3 หนวยกิต) HT 369 Introduction to Passenger Transportation (สําหรับนักศึกษาการจัดการการธุรกิจสายการบิน และการจัดการ การโรงแรม) ศึกษาหลักทั่วไปและองคประกอบของการจัดการขนสง ผูโดยสาร ทั้งทางบก ทางนํ้า และทางอากาศ การวางแผน การตั้ง ราคา การบริหารการตลาด การจัดจําหนาย และการพัฒนาการบริการ ตลอดจนหนวยงานและกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของ ทร. 393 การจัดการทรัพยากรมนุษย (3 หนวยกิต) ในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการโรงแรม HT 393 Human Resource Management in Tourism and Hotel Industry ศึกษาหลักในการบริหารทรัพยากรมนุษยในอุตสาหกรรม การทองเที่ยวและการโรงแรม โดยศึกษาการวางแผนกําลังคน การ สรรหาและคัดเลือกบุคลากร การฝกอบรมและพัฒนาบุคลากร การ ทํางานเปนทีม การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน การบริหารคาตอบแทน และสวัสดิการ การธํารงรักษาบุคลากร การแรงงานสัมพันธและ กฎหมายที่เกี่ยวของ

ทร. 395 การจัดการกลยุทธและนวัตกรรม (3 หนวยกิต) ในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการโรงแรม HT 395 Strategy and Innovation Management in Tourism and Hotel Industry ศึกษาบริบทดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยีที่มีผลกระทบตออุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการ โรงแรม กระบวนการดําเนินงาน กลยุทธในการสรางความไดเปรียบ ทางการแขงขันและการสรางนวัตกรรมใหมๆ สําหรับธุรกิจการทอง เที่ยวและการโรงแรม ทร. 461 การวิจัยเพื่ออุตสาหกรรมการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) และการบริการ HT 461 Research for Tourism and Hospitality Industry ศึกษาขัน้ ตอนและประโยชนของการวิจยั ในอุตสาหกรรม การทองเทีย่ วและการบริการ การตัง้ ปญหาการวิจยั การออกแบบการ วิจยั การสุม ตัวอยาง การสรางเครือ่ งมือที่ใชในการเก็บขอมูล การเก็บ ขอมูล การใชโปรแกรมสถิตเิ พือ่ วิเคราะหขอ มูล ตลอดจนการนําเสนอ ขอมูลเพื่อนําไปพัฒนาธุรกิจในดานตางๆ ทร. 491 การวิจัยเพื่ออุตสาหกรรมการทองเที่ยว (3 หนวยกิต) และการโรงแรม HT 491 Research for Tourism and Hotel Industry ศึกษาขัน้ ตอนและประโยชนของการวิจยั ในอุตสาหกรรม การทองเทีย่ วและการโรงแรม การตัง้ ปญหาการวิจยั การออกแบบการ วิจยั การสุม ตัวอยาง การสรางเครือ่ งมือที่ใชในการเก็บขอมูล การเก็บ ขอมูล การใชโปรแกรมสถิตเิ พือ่ วิเคราะหขอ มูล ตลอดจนการนําเสนอ ขอมูลเพื่อนําไปพัฒนาธุรกิจในดานตางๆ

หลักสูตรปร ญญาตร 555


หมวดวิชาธุรกิจสายการบิน ธบ. 200 ธุรกิจสายการบิน ( 3 หนวยกิต) AB 200 Airline Business ศึกษาความเปนมาและความสําคัญของธุรกิจสายการบิน ขอมูลที่ใชในการใหบริการการบิน ภูมิศาสตรการบิน การจัดตาราง เวลา บัตรโดยสารและการคํานวณคาโดยสาร การใหบริการผูโดยสาร ทั่วไป การสํารองที่นั่ง ระเบียบพิธีการเขา-ออกระหวางประเทศ การ ขนสงสินคาทางอากาศและขอตกลงระหวางประเทศที่เกี่ยวของกับ ธุรกิจสายการบิน ธบ. 201 การจัดการและการดําเนินงาน (3 หนวยกิต) ทาอากาศยาน AB 201 Airport Management and Operations ศึ ก ษารู ป แบบการจั ด การและการดํ า เนิ น งานท า อากาศยาน การจัดการบริการดานการบิน การบริการผูโดยสารและ สินคา การจัดการลูกคาสัมพันธ และการบริการซอมบํารุงเครื่องบิน มีการศึกษานอกสถานที่ ธบ. 205 ศัพทเทคนิคในธุรกิจสายการบิน (3 หนวยกิต) AB 205 Aviation Terminology ศึกษาศัพทเทคนิคที่ใชในการปฏิบัติงานดานตางๆ ของ สายการบิน ทั้งที่เกี่ยวของกับผูโดยสาร เครื่องบิน ตลอดจนอุปกรณ และสถานทีป่ ฏิบตั งิ าน เพือ่ เตรียมความพรอมในการปฏิบตั งิ านอยาง มีประสิทธิภาพ ธบ. 206 การประชาสัมพันธเพื่อธุรกิจสายการบิน (3 หนวยกิต) AB 206 Public Relations for Airline Business ศึกษาบทบาทและความสําคัญของการประชาสัมพันธทมี่ ี ตอธุรกิจสายการบิน กระบวนการประชาสัมพันธ องคประกอบ เทคนิค และวิธีการดําเนินงานประชาสัมพันธ ในธุรกิจสายการบิน ตลอดจน ศึกษาปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานที่อาจเกิดขึ้น 556 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ธบ. 221 การบริการผูโดยสารภาคพื้น (3 หนวยกิต) AB 221 Ground Passenger Service ศึกษาบทบาทและความสําคัญของพนักงานตอนรับภาค พื้น วิธีการบริการผูโดยสารขาเขาและขาออก รวมทั้งผูโดยสารผาน เชน การลงทะเบียนผูโดยสาร การควบคุมนํ้าหนักกระเปา การรับผู โดยสารขาเขา และหนาที่อื่นๆ ที่ตองเตรียมการ รวมถึงการเตรียม เอกสารและการประสานงานกับหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของในการให บริการ เรียนในหองปฏิบัติการ ธบ. 231 การบริการผูโดยสารบนเครื่องบิน (3 หนวยกิต) AB 231 In-flight Passenger Service ศึกษาบทบาทและความสําคัญของพนักงานตอนรับบน ิ ทัง้ ในดานการบริการอาหารและเครือ่ งดืม่ เครือ่ งบิน วิธการ ี ปฏิบตั งาน การดูแลความปลอดภัย รวมถึงหนาที่อื่นๆ ที่ตองเตรียมกอนนักบิน นําเครือ่ งขึน้ ระหวางเทีย่ วบิน และหลังเครือ่ งบินลงจอด มีกรณีศึกษา เพื่อฝกการแกปญหาในสถานการณตางๆ เรียนในหองปฏิบัติการ ธบ. 251 เทคนิคการติดตอสื่อสารระหวางบุคคล (3 หนวยกิต) AB 251 Interpersonal Communication Techniques ศึกษาเทคนิคการสื่อสารระหวางบุคคลทั้งในวัฒนธรรม เดียวกันและตางวัฒนธรรมจากทฤษฎีที่เกี่ยวของเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการติดตอสื่อสารทั้งภายในและภายนอกองคการ ธบ. 252 การพัฒนาบุคลิกภาพและการสรางเสริม (3 หนวยกิต) ภาพลักษณ AB 252 Personality Development and Image Grooming ศึกษาความรูทั่วไปเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ เชน ปจจัยที่มีอิทธิพลตอบุคลิกภาพ การมีภาพลักษณที่ดีของบุคลากร ในธุรกิจสายการบิน มารยาทในที่สาธารณะ การสรางปฏิสัมพันธที่ดี การสรางทัศนคติที่ดีตองานบริการ การแกไขสถานการณเฉพาะหนา


ธบ. 309 ภาษาอังกฤษเพื่อบุคลากรสายการบิน (3 หนวยกิต) AB 309 English for Airline Personnel ศึกษาสํานวน โครงสรางภาษา และศัพทเทคนิคที่ใชใน ธุรกิจสายการบิน ทั้งการปฏิบัติงานในสํานักงาน ทาอากาศยาน และ บนเครื่องบิน โดยเนนทักษะทั้ง 4 ดาน ไดแก การฟง การพูด การ อาน และการเขียน ธบ. 311 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสํารองที่นั่ง (3 หนวยกิต) สายการบิน AB 311 Information Technology for Airline Reservation พื้นความรู: ธบ. 200 ศึกษาความเปนมาและความสําคัญของระบบสํารองทีนั่ ง่ ฝกปฏิบตั เพื ิ อ่ ใชระบบในการสืบคนขอมูลและสํารองทีนั่ ง่ ของสายการ บิน จัดการเรียนการสอนในหองปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศ ธบ. 319 ภาษาอังกฤษเพื่อการสํารองที่นั่งและ (3 หนวยกิต) การจัดจําหนายบัตรโดยสาร AB 319 English for Reservation and Ticketing ศึกษาการใชภาษาอังกฤษเพื่องานสํารองที่นั่งและการ จําหนายบัตรโดยสาร คําศัพท รหัสและโครงสรางประโยคที่ใชในการ ทํางาน เนนทักษะการฟงและพูด ธบ. 329 ภาษาอังกฤษเพื่อการบริการผูโดยสาร (3 หนวยกิต) ภาคพื้น AB 329 English for Ground Passenger Service ศึกษาการใชภาษาอังกฤษเพื่อการบริการผูโดยสารภาค พืน้ ในขัน้ ตอนตางๆ ฝกทักษะการฟง การพูด การอาน และการเขียน มีการจําลองสถานการณจริงในหองปฏิบัติการ

ธบ. 339 ภาษาอังกฤษเพื่อการบริการผูโดยสาร (3 หนวยกิต) บนเครื่องบิน AB 339 English for In-flight Passenger Service ฝกทักษะการใชภาษาอังกฤษเพื่อการบริการผูโดยสาร บนเครื่องบินในหัวขอตางๆ เชน การบริการอาหารและเครื่องดื่มบน เครื่องบิน การบอกเวลา การประกาศเตือนภาวะฉุกเฉิน และการ ปฐมพยาบาลเบื้องตน เนนทักษะการฟงและการพูด มีการจําลอง สถานการณจริงในหองปฏิบัติการ ธบ. 341 การขนสงสินคาทางอากาศ (3 หนวยกิต) AB 341 Air Cargo Management ศึกษาหลักการจัดการขนสงสินคาทางอากาศ การบรรจุ หีบหอ วิธีการรับสินคาประเภทตางๆ การปฏิบัติตอสินคาอันตราย การกําหนดราคา การคํานวณอัตราภาษีศุลกากร กฎหมายและขอ บังคับเกี่ยวกับการขนสงสินคาทางอากาศระหวางประเทศ ธบ. 349 ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการอาหาร (3 หนวยกิต) ในธุรกิจสายการบิน AB 349 English for Airline Catering Management ฝกทักษะการใชภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการอาหารและ เครือ่ งดืม่ ในธุรกิจสายการบิน ศึกษาศัพททเี่ กีย่ วกับอาหารที่ใชในธุรกิจ สายการบิน ตลอดจนวิธีและขั้นตอนของการบริการอาหารนานาชาติ ธบ. 351 ความปลอดภัยของผูโดยสารสายการบิน (3 หนวยกิต) AB 351 Airline Passenger Safety ศึ ก ษา ทฤษฎี และ หลั ก ปฏิ บั ติ เกี่ ย ว กั บ การ ให ความ ปลอดภัยแกผูโดยสารและสัมภาระในขณะใหบริการดานตางๆ ของ สายการบิน ฝกปฏิบัติการชวยเหลือกูชีพผูโดยสารและการกูภัยใน สถานการณตางๆ

หลักสูตรปร ญญาตร 557


ธบ. 401 การจัดการความสัมพันธกับลูกคา (3 หนวยกิต) AB 401 Customer Relations Management ศึกษาบทบาทและความสําคัญของความสัมพันธกบั ลูกคา ในธุรกิจการบริการ ทฤษฎีทเี่ กีย่ วของกับการบริการและความสัมพันธ กับลูกคา คุณภาพของการบริการ การบริหารความพึงพอใจ การ จัดการขอรองเรียนและฝกแกไขปญหาที่เกิดขึ้นโดยใชกรณีศึกษา

ธบ. 407 การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) AB 407 Independent Study ศึกษาและคนควาในหัวขอที่เกี่ยวของกับธุรกิจสายการ บินและธุรกิจที่เกี่ยวของ โดยอยูภายใตการดูแลและประเมินผลของ อาจารยที่ปรึกษา

ธบ. 402 การจัดการสายการบินเชิงกลยุทธ (3 หนวยกิต) AB 402 Strategic Airline Management ศึกษาความหมาย ทฤษฎี และความสําคัญของการจัดการ เชิงกลยุทธ ในธุรกิจสายการบิน การประเมินสถานการณและปจจัย แวดลอมทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งแนวโนมและการแขงขันใน ธุรกิจ การวางแผน การกําหนดนโยบายขององคการและแผนกตางๆ ในองคการ การควบคุมและการประเมินผล

ธบ. 408 การบริหารทรัพยากรการบิน (3 หนวยกิต) AB 408 Crew Resource Management ศึกษาหลักการบริหารทรัพยากรการบินเพื่อใหเกิดความ ปลอดภัยและประสิทธิภาพสูงสุดในการจัดการการบินโดยใหความ สําคัญกับการพัฒนาบุคลากรใหมคี วามรู ทักษะ และทัศนคติทจี่ าํ เปน ตลอดจนพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค เชน การตระหนักถึงสถานการณและ ภาวะแวดลอม การทํางานเปนทีม การตัดสินใจในภาวะวิกฤติ การ แกไขปญหา การสื่อสารระหวางบุคคล มีการฝกปฏิบัตินอกสถานที่

ธบ. 404 กฎหมายและขอบังคับในธุรกิจการบิน (3 หนวยกิต) AB 404 Aviation Law and Regulations ศึ ก ษากฎหมายไทยและกฎหมายระหว า งประเทศที่ เกี่ยวของกับการจัดการธุรกิจการบิน การประยุกตใช ตลอดจนขอ บังคับตางๆ ที่ออกโดยหนวยงานที่เกี่ยวของกับธุรกิจการบินระหวาง ประเทศ เชน สมาคมการขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (IATA) และองคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ (ICAO)

ธบ. 411 ราคาและบัตรโดยสาร (3 หนวยกิต) AB 411 Fares and Tickets พื้นความรู: ธบ. 311 ศึกษาหลักเบือ้ งตนเกีย่ วกับราคาและการออกบัตรโดยสาร ปจจัยที่มีผลกระทบตอการตั้งราคา การคํานวณราคาบัตรโดยสาร ตลอดจนภาษีประเภทตางๆ ทีเ่ กีย่ วของ การออกและอานบัตรโดยสาร เนนการฝกปฏิบัติในหองปฏิบัติการสารสนเทศ

ธบ. 405 การจัดการบริการสายการบินตนทุนตํ่า (3 หนวยกิต) AB 405 Budget Airline Service Management ศึ ก ษาหลั ก เบื้ อ งต น เกี่ ย วกั บ ธุ ร กิ จ สายการบิ น ต น ทุ น ตํ่า องคประกอบ และรูปแบบการบริการ ตลอดจนศึกษาโครงสราง การบริหารงาน มาตรฐานการใหบริการ บุคลากรในแผนกตางๆ การกําหนดกลยุทธการบริหารที่มีประสิทธิภาพ หลักการโฆษณา ประชาสัมพันธ การสงเสริมการขายและการตลาด

ธบ. 465 การฝกงาน (3 หนวยกิต) AB 465 Internship พื้นความรู: ธบ. 200 นําความรูและทักษะตางๆ ที่ไดศึกษาไปประยุกต ใชใน การฝกงานในบริษัทสายการบินและหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ทา อากาศยานและบริษทั จัดจําหนายบัตรโดยสารสายการบิน ภายใตการ ควบคุมและประเมินผลของคณาจารยรว มกับหนวยงานภายนอกทีร่ บั นักศึกษาเขาฝกงาน

558 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


ธบ. 466 สหกิจศึกษาในธุรกิจสายการบิน (6 หนวยกิต) AB 466 Cooperative Education in Airline Business พื้นความรู: สอบได สศ. 301 ศึกษาระบบการทํางานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสรางใหนักศึกษามีความ พรอมดานงานอาชีพ จากการปฏิบัติงานพื้นฐานอยางมีหลักการ และเปนระบบ นักศึกษาจะตองมีการฝกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห ซึง่ เปนงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเปนงานทีเ่ นนประสบการณทาํ งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เปนงานที่เปนประโยชนตอ องคกร รวมถึงมีการประเมินผลการทํางานจากคณาจารยรว มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน

หมวดวิชาศิลปศาสตร ศป. 101 จิตวิทยาทั่วไป (3 หนวยกิต) LB 101 General Psychology ศึกษาความรูขั น้ พืน้ ฐานเกีย่ วกับพฤติกรรมและธรรมชาติ ของมนุษย ความเปนมาของวิชาจิตวิทยาสาขาตาง ๆ สรีรวิทยาเบือ้ ง ตนที่ เกี่ยวของ กับ พฤติกรรม ความ เจริญ และ พัฒนาการ ดาน ตางๆ แรงจูงใจ การรับรู กระบวนการเรียนรู ทัศนคติ สติปญญา บุคลิกภาพ สุขภาพจิต และการมีมนุษยสัมพันธ

ธบ. 468 สัมมนาธุรกิจสายการบิน (3 หนวยกิต) AB 468 Seminar in Airline Business พื้นความรู: ธบ. 465 หรือ ธบ. 466 ศึกษาและวิเคราะหปญ หาตางๆ รวมถึงแนวโนมของธุรกิจ สายการบิน โดยนักศึกษาจะไดรบั ฟงการบรรยายจากผูท รงคุณวุฒแิ ละ มีประสบการณในวิชาชีพรวมแสดงความคิดเห็น ตลอดจนอภิปรายใน ประเด็นปญหาตางๆ เพื่อเสนอแนะแนวทางแกไข

ศป. 102 มนุษยกับสังคม (3 หนวยกิต) LB 102 Man and Society เพือ่ ใหนักศึกษาไดรูและ  เขาใจถึงระเบียบและวิธการ ี เบือ้ ง ตนทางสังคมวิทยา ลักษณะโครงสรางของสังคมมนุษย ความสัมพันธ ระหวาง มนุษย กับ สังคม และ อิทธิพล ที่ มี ตอ กัน ความ รับ ผิด ชอบ ตอ สังคมตลอดจนปญหา และวิธีการแกปญหาทางสังคมศึกษา ความรู เบื้อง ตน เกี่ยว กับ วิชา สังคมวิทยา ลักษณะ ทั่วไป ของ สังคม มนุษย โครงสรางและหนาที่ตางๆ ของสังคม การจัดระเบียบทางสังคม การ อบรมใหรูระเบียบของสังคม สถาบันสังคมการจัดระดับชั้นทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมความรับผิดชอบตอสังคม วิเคราะห สังคม แบบ ตางๆ รวม ทั้ง ปญหา สังคม ที่ สําคัญๆ ในปจจุบัน โดยเนนปญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทย

ธบ. 469 การพัฒนาทักษะผานประสบการณ (3 หนวยกิต) ในตางประเทศ AB 469 Skills Development through International Experience ฝกฝนและพัฒนาทักษะตางๆ ที่จําเปนตอการประกอบ อาชีพในธุรกิจสายการบิน เชน การใชภาษาตางประเทศ และการเขาใจ มุมมองและวัฒนธรรมของชาวตางชาติ โดยการเดินทางไปศึกษาและ ใชชีวิตในตางประเทศ

ศป. 103 อารยธรรมเปรียบเทียบ (3 หนวยกิต) LB 103 Comparative Civilization เพือ่ ใหนักศึกษาไดมีความรูและ  เขาใจเกีย่ วกับวิวฒ ั นาการ อารยธรรมของโลกในอดีตจนถึงปจจุบนั ศึกษาเปรียบเทียบวิวฒ ั นการ ของอารยธรรมตะวันตกและตะวันออกตัง้ แตเริม่ แรกถึงปจจุบนั ความ ขัดแยงและการผสมผสานระหวางอารยธรรมตะวันตกและตะวันออก ทาง ดาน การเมือง การ ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม ที่ หลักสูตรปร ญญาตร 559


เกิดขึ้นในคริสตศตวรรษที่ 16 จนถึงคริศตศตวรรษที่ 20 ซึ่งไดหลอ หลอมเปนพื้นฐานของอารยธรรมโลกปจจุบัน ศป. 104 การเรียนในสถาบันอุดมศึกษา (1 หนวยกิต) LB 104 Higher Education Studies เพื่อ ให นัก ศึกษา ได มี ความ รู และ ความ เขาใจ ใน วิธี การ ศึกษา ใน ระดับ อุดมศึกษา อัน เปน ประโยชน ตอ การ เรียน และ การ ปรับ ตนเองศึกษาถึงวิธการ ี และแนวทางในการศึกษาระดับอุดมศึกษา เชน การคิดคะแนนสะสม วิธีการจดคําบรรยาย การใชหองสมุด การเขียน รายงาน วิธีการทําวิจัยอยางงายๆ เปนตน ศป. 105 ทักษะการศึกษา (3 หนวยกิต) LB 105 Study Skills ศึกษา และ เพิ่มพูน ทักษะ ใน การ ศึกษา ระดับ อุดมศึกษา โดยศึกษาการใชเวลาใหเหมาะสม ศึกษาวิธฟี งและจดคําบรรยาย การ อานตํารา การเตรียมตัวสอบ วิธทํี าขอสอบ การใชหองสมุด การศึกษา คนควา รวมทัง้ ระเบียบและวิธการ ี ในการเขียนรายงานหรือภาคนิพนธ ศป. 106 จริยธรรมและทักษะการศึกษา (3 หนวยกิต) LB 106 Ethics and Study Skills เพื่อ ให นัก ศึกษา เรียน รู และ เขาใจ วิธี การ ดําเนิน ชีวิต ที่ เหมาะสม ทั้งในและนอกมหาวิทยาลัย ศึกษาหลักจริยธรรม บทบาท และ หนาที่ ของ แตละ บุคคล เพื่อ ให รูจัก ตัดสิน ปญหา และ ปฏิบัติ ตน อยางมีคุณธรรม สามารถดําเนินชีวติ อยางเปนประโยชนตอตนเองและ สังคม ศึกษาและเพิ่มพูนทักษะในการเรียนระดับอุดมศึกษา เชน การ ใชเวลาอยางเหมาะสม การรวมกิจกรรมนอกหลักสูตร การทํางานรวม กับผูอื น่ การคิดคะแนนสะสม การเตรียมตัวสอบ การศึกษาคนควาใน หองสมุด การเขียนรายงาน

560 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศป. 111 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) LB 111 Thai for Communication ศึกษา เกี่ยว กับ ความ หมาย ของ คํา การ ใช คํา ให ถูก ตอง หลักการอานเพือ่ จับสาระสําคัญของขอความอยางมีวัตถุประสงค หลัก และศิลปะในการเขียน การถอดความ การสรางยอหนา การใชสํานวน โวหาร ภาพพจน และการเขียนเพื่อโนมนาวจูงใจผูอาน ศป. 112 ภาษาไทยขั้นสูงเพื่อการสื่อสาร (3 หนวยกิต) LB 112 Advanced Thai for Communication พื้นความรู: เคยเรียน ศป. 111 เพื่อ ให นัก ศึกษา มี ความ รู ใน การ ใช ภาษา ไทย อัน จะ เปน เครื่องมือชวยในการสื่อสาร ศึกษาเนนหนักในดานการใชภาษาไทย เพือ่ ประโยชนตอ อาชีพดานสือ่ สารมวลชน วาดวยหลักกระบวนความพรรณนา กระบวน ความเชิงอธิบาย การเขียนเรียงความ การเขียนคําขวัญ สุนทรพจน การ ใช ภาษา ไทย ทาง สื่อมวลชน ประเภท ตางๆ รวม ทั้ง ความ รู ทั่วไป เกี่ยวกับวรรณกรรมและวรรณกรรมวิจารณ วิธีพินิจหนังสือ ตลอดทั้ง การวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับการใชภาษาไทยในปจจุบัน ศป. 141 หลักการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ (2 หนวยกิต) LB 141 Principles of Exercise for Health ศึกษาทฤษฎีและหลักปฏิบัติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพและสามารถนําหลักการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพไปใช ใน ชีวิต ประจํา วัน ได รูจัก การ ใช อุปกรณ และ เครื่อง มือ ตางๆ ใน การ ออกกําลังกายไดถูกตองและเหมาะสมกับตนเอง สามารถจัดโปรแกรม ออกกําลังกายเพื่อสุขภาพใหกับตนเองและผูอื่นได รูจักการใชเครื่อง มือในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย และสามารถใหคําแนะนําหลัก การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพใหกับผูอื่นไดอยางถูกตอง


ศป. 142 กีฬาเพื่อสุขภาพ (2 หนวยกิต) LB 142 Sports for Health ศึกษาหลักปฏิบตั ใน ิ การนํากีฬามาใชเปนสือ่ กลางในการ ออกกําลังกายที่ถูกตอง รูจักการประยุกตกีฬาแตละชนิดมาใชในการ จัด โปรแกรม การ ออก กําลัง กาย ได อยาง เหมาะ สม เชน การนํา กีฬา บาสเกตบอล วอลเลยบอล เทเบิลเทนนิส เปนตน มาจัดเปนโปรแกรม การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพและรูจักคุณคาในเกมการแขงขันของ กีฬา แตละ ชนิด รวม ทั้ง กติกา การ เลน วิธี เลน มารยาท ใน การ เปน ผู เลนและผูชม  ทีดี่ ในกีฬาแตละชนิด และรูจ กั วิธการ ี ปองกันการบาดเจ็บ ที่เกิดจากการเลนกีฬาแตละชนิด ศป. 143 การออกกําลังกายดวยการยกนํ้าหนัก (2 หนวยกิต) LB 143 Weight Training ศึกษาทฤษฎีและหลักปฏิบตั ใน ิ การออกกําลังกายดวยการ ยกนํา้ หนักขัน้ พืน้ ฐาน เพือ่ เปนการสงเสริมและสนับสนุนการออกกําลัง กายและเพื่อเสริมสรางสุขภาพรางกายใหแข็งแรง และสามารถนําไป ใชในชีวติ ประจําวันไดอยางถูกตองและเหมาะสมกับตนเอง ซึง่ เปนการ ศึกษา ถึง หลัก การ และ ขั้น ตอน การ ฝก ยก นํ้า หนัก ที่ ถูก ตอง รวม ทั้ง ทาทางการเคลื่อนไหวในการยกนํ้าหนักที่ถูกหลักวิธี ศป. 144 ความรูเบื้องตนทางวิทยาศาสตรการกีฬา (3 หนวยกิต) LB 144 Introduction to Sports Science ศึกษาความหมาย ความสําคัญ และทฤษฎีทเ่ี กีย่ วของกับ ความรูเ บือ้ งตนทางดานวิทยาศาสตรการกีฬา โดยสามารถประยุกตใช หลักวิทยาศาสตรการกีฬาซึ่งประกอบดวยความรูท่ัวไปทางดาน สรีรวิทยาการกีฬา จิตวิทยาการกีฬา โภชนาการการกีฬา กีฬา เวชศาสตร ชีวกลศาสตรการกีฬา เพือ่ นํามาพัฒนาศักยภาพในการเลน กีฬาและการออกกําลังกายในชีวติ ประจําวันไดอยางถูกตองเหมาะสม

ศป. 145 โภชนาการเพื่อสุขภาพและการดํารงชีวิต (3 หนวยกิต) LB 145 Nutrition for Health and Living ศึกษาทฤษฎี หลักโภชนาการ อาหาร พลังงาน การรับ ประทานอาหารอยางถูกสุขลักษณะ ความสัมพันธของอาหารกับชีวิต ประจําวัน อาหารเพื่อเสริมสุขภาพและปองกันโรคภัยไขเจ็บ อาการ ขาดสารอาหาร ความสําคัญของสารอาหารแตละชนิดตอรางกาย การ ประเมินปริมาณสารอาหารและพลังงานที่รางกายไดรับ และการ กําหนดอาหารเพื่อใหพอเหมาะกับความตองการของรางกาย ศป. 146 การจัดการแขงขันกีฬา (3 หนวยกิต) LB 146 Organization of Sport Competition ศึกษาความหมาย ลักษณะขอบขาย ความมุงหมาย ปรัชญาและอุดมการณ ประวัติความเปนมาของการแขงขันกีฬาที่ สําคัญ หลักการแขงขันกีฬา ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการจัดการแขงขัน กีฬา คณะกรรมการจัดการแขงขันกีฬา ขอบังคับและระเบียบการ แขงขันกีฬา และการจัดแขงขันแบบตางๆ ศป. 147 การจัดการกิจกรรมการออกกําลังกาย (3 หนวยกิต) และการกีฬา LB 147 Exercise and Sports Management ศึกษาหลักการบริหารจัดการบุคคล สถานที่ และอุปกรณ กีฬาใหสามารถนําหลักวิชาการไปใชในการจัดกิจกรรมการออกกําลัง กายและการกีฬาไดอยางถูกตอง เหมาะสมกับบุคคลทุกเพศทุกวัย ศป. 148 การจัดการและบริหารนันทนาการ (3 หนวยกิต) LB 148 Recreation Management ศึกษาความหมาย ลักษณะขอบขาย และความสําคัญของ การบริหารจัดการนันทนาการ โดยมุงเนนใหผูเรียนไดมีความรูความ เขาใจถึงหลักการบริหารจัดการทางนันทนาการ ซึ่งมีความแตกตาง กันไปหลากหลายรูปแบบ และสามารถนําไปประยุกต ใชกับงานที่ เกี่ยวของตอตนเอง ชุมชน สังคม และประเทศชาติตอไป หลักสูตรปร ญญาตร 561


ศป. 201 ภาษาไทยธุรกิจ (3 หนวยกิต) LB 201 Business Thai ศึกษาเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการเขียนอยางกวางๆ ทั้ง การ เขียน ติดตอ ทาง ราชการ และ ทาง ธุรกิจ เชน หนังสือ ราชการ ตางๆ จดหมายธุรกิจ รายงานทางวิชาการ รายงานทางธุรกิจ ศป. 202 อารยธรรมไทย (3 หนวยกิต) LB 202 Thai Civilization ศึกษา ประวัติ ความ เปน มา และ ลักษณะ อารยธรรม ของ ชนชาติไทยตัง้ แตเริม่ แรกตัง้ ถิน่ ฐานจนเปนราชอาณาจักรทีมี่ เอกภาพ และ ความ มั่นคง ความ เจริญ รุงเรือง ของ อารยธรรม ของ ไทย ใน ดาน ตางๆ เชน เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง และศิลปวัฒนธรรม การ รับอิทธิพลจากอารยธรรมเขมร มอญ อินเดีย และจีน การเขามาของ ชนชาติตะวันตก และอิทธิพลของอารยธรรมตะวันตก ตลอดจนการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม การเมือง และปญหาความคิดของคนรุนใหม ในสังคมไทยปจจุบัน ศป. 211 ตรรกวิทยา (3 หนวยกิต) LB 211 Logic เพื่อใหรูจักกฎพื้นฐานและวิธีใชเหตุผลในชีวิตประจําวัน รูจักวิจารณเหตุผลอยางถูกประเด็น และถูกเปาหมาย กับทั้งรูจักฟง และเคารพเหตุผลของกันและกันจนสามารถรวมมือกันได ศึกษาความ สัมพันธระหวางภาษากับเหตุผลโครงสรางของเหตุผลนิรนัยและอุปนัย การ แสดงออก ของ เหตุผล ใน รูป นิรนัย (Syllogism) และ เหตุผล ยอ (Enthyme) เหตุผล วิบัติ (Fallacy) หลัก เบื้อง ตน ของ ตรรก วิทยา สัญลักษณ คุณคาของการพิสูจนและการประยุกตตรรกวิทยา

562 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศป. 212 ปรัชญา (3 หนวยกิต) LB 212 Philosophy เพื่อ รูจัก มอง ปญหา ซึ่ง บาง ครั้ง คน ทั่วไป มอง ขาม เพื่อ รูจ กั พิจารณาทุกคําตอบทีเป ่ นไปได เพือ่ รูจ กั เก็บสวนดีจากทุกคําตอบ มาใชใหเกิดประโยชนเพื่อฝกใหรูจักฟงและเคารพความเห็นของกัน และกันจนสามารถรวมมือกันได และมีหลักจริยธรรมอันเหมาะสมกับ ปญญาชนไวเปนหลักยึดเหนีย่ วตลอดชีวติ ศึกษาความรูเบื  อ้ งตนเกีย่ ว กับปรัชญา วิวัฒนาการของความคิด ปรัชญาอยางยอ ความคิดเห็น ทีสํ่ าคัญในอภิปรัชญา ญาณปรัชญา ปรัชญาศาสนา ปรัชญาการเมือง ขอบขายของจริยศาสตร ทฤษฎีความดี จริยธรรมสวนตัวและจริยธรรม สังคม จริยธรรมแหงการใชเสรีภาพ ศป. 213 ความรูเบื้องตนทางมนุษยศาสตร (3 หนวยกิต) LB 213 Introduction to Humanities ศึกษา แนว ความ คิด และ ปรัชญา ของ สาขา วิชา มนุษยศาสตรตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน รวมทั้งลักษณะจุดมุงหมาย และวิธี การศึกษาของวิชาตางๆ ในสาขามนุษยศาสตร ศป. 214 การใชเหตุผล (3 หนวยกิต) LB 214 Reasoning ศึกษา กฎ เกณฑ การ ใช เหตุผล โครงสราง ของ การ อาง เหตุผล แบบ นิรนัย และ อุปนัย ความ สัมพันธ ระหวาง ภาษา กับ การ ใช เหตุผลเกณฑตัดสินความสมเหตุสมผล การหาขอความที่ละไว การ สรุปจากตัวอยาง การหาสาเหตุ การพิจารณาความนาเชื่อถือของขอ สรุป ขอบกพรองในการใชเหตุผล การวิเคราะหการใชเหตุผลในชีวิต ประจําวัน


ศป. 215 จริยศาสตร (3 หนวยกิต) LB 215 Ethics ศึกษา ความ รู พื้น ฐาน ทาง ปรัชญา และ จริยศาสตร โลกทัศนแบบจิตนิยม สสารนิยม ธรรมชาตินิยม จุดหมายของชีวิตตาม อุดมคติ การ แสวงหา ความ สุข ปญหา เกี่ยว กับ ความ ดี เสรีภาพ และ ความ รับ ผิด ชอบ เกณฑ ตัดสิน จริยธรรม ทฤษฎี จริยศาสตร ที่ สําคัญ การวิเคราะห ปญหาจริยธรรมรวมสมัย ศป. 221 จิตวิทยาสังคม (3 หนวยกิต) LB 221 Social Psychology เพื่อ ให แนวทาง ของ การ ศึกษา ใน ดาน จิตวิทยา และ จิตวิทยาสังคมอันจะกอใหเกิดประโยชนการอยูร วมกับสังคม ศึกษาถึง จิตวิทยาขั้นพื้นฐานและจิตวิทยาสังคมเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย สัมพันธภาพระหวางบุคคลและกลุม คน วัฒนธรรมการรับรูทาง  สังคม การ มี ตัว ตน และ การ ปรับ ตน คา นิยม ความ เชื่อ และ ทัศนคติ การ โฆษณาชวนเชื่อรวมทั้งอํานาจหนาที่และความเปนผูนํา ศป. 222 กระบวนการกลุม (3 หนวยกิต) LB 222 Group Processes ศึกษา ทฤษฎี ของ กลุม ธรรมชาติ และ ตัวประกอบ ตางๆ ที่มีอิทธิพลตอการรวมกลุม การพัฒนากลุม โครงสรางของกลุม และ การปฏิสัมพันธของสมาชิกในกลุม ศป. 231 ความรูเบื้องตนทางรัฐศาสตร (3 หนวยกิต) LB 231 Introduction to Political Science เพือ่ ใหนักศึกษาไดเรียนรูและ  เขาใจถึงทฤษฎีและหลักการ ตางๆ อันเกี่ยวเนื่องกับลักษณะและหนาที่โดยทั่วๆ ไปของรัฐ ศึกษา ถึงลักษณะของวิชารัฐศาสตรวิเคราะหโครงสรางของรัฐอํานาจอธิปไตย รูป รัฐบาล อํานาจ กระบวนการ และ ลัทธิ ทางการ เมือง กฎหมาย ประชาธิปไตย มติมหาชน การมีสวนรวมในการปกครอง พฤติกรรม ทางการเมืองและความสัมพันธระหวางประเทศ

ศป. 232 การเมืองการปกครองของไทย (3 หนวยกิต) LB 232 Thai Politics and Government ศึกษา วิวัฒนาการ ของ ระบบ การ ปกครอง ของ ไทย กระบวนการ ทางการ เมือง และ บทบาท ของ สถาบัน การ ปกครอง ของ ไทย เชน องคการฝายนิติบัญญัติ ฝายบริหาร ฝายตุลาการ รวมทั้ง สถาบันอื่นที่มีอิทธิพลตอการเมืองการปกครองของไทย ศป. 233 การเมืองและเศรษฐกิจในสังคม (3 หนวยกิต) LB 233 Politics and Economics in Society ศึกษา ถึง ลัทธิ ทางการ เมือง และ ระบบ เศรษฐกิจ ที่ สําคัญ ความ สัมพันธ ระหวาง การเมือง และ เศรษฐกิจ เปรียบ เทียบ ระบบ การเมืองและเศรษฐกิจในสังคมที่มีรูปแบบการปกครองแตกตางกัน และศึกษาถึงผลกระทบที่เกิดจากระบบการเมืองและเศรษฐกิจที่มีตอ สังคม ศป. 303 ศิลปวัฒนธรรมไทย (3 หนวยกิต) LB 303 Thai Culture ศึกษา ถึง ความ สัมพันธ ระหวาง วัฒนธรรม ไทย กับ ความ เปน ชาติ ไทย อัน ไดแก ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณี ประเพณี เทศกาล ความ รู ทั่วไป ทาง จิตรกรรม และ ประ ฏิ มา กรรม ไทย ประวัติ ศิลปะไทย ดุริยางคศิลป นาฏศิลปไทย ฯลฯ ศป. 304 การครองเรือน (3 หนวยกิต) LB 304 Family Studies ศึกษา ถึง ขอ เท็จ จริง และ ปญหา ใน ดาน ความ รับ ผิด ชอบ ของชีวิตการครองเรือน ดานความเปนบิดามารดา และในดานสังคม ศป. 305 สังคีตนิยม (3 หนวยกิต) LB 305 Music Appreciation ศึกษา ดนตรี ใน แบบ ตางๆ ของ โลก เนน ใน เรื่อง ความ เขาใจในลักษณะดนตรีไทยและสากล เปรียบเทียบใหเห็นความแตก ตางและคลายคลึงกัน เพือ่ ใหสามารถชืน่ ชมและเห็นคุณคาของดนตรี หลักสูตรปร ญญาตร 563


ศป. 306 ภูมิศาสตรเศรษฐกิจ (3 หนวยกิต) LB 306 Economics Geography ศึกษาลักษณะแหลงทรัพยากรและหลักทรัพยากร ซึ่งมี ผลตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจ แหลงอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมที่ สําคัญของโลก ตลอดจนการคาระหวางประเทศ

ศป. 312 จิตวิทยาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต (3 หนวยกิต) LB 312 Psychology for Quality of Life หลัก และ วิธี การ ศึกษา เกี่ยว กับ พฤติกรรม มนุษย ปฏิสัมพันธระหวางบุคคล และระหวางกลุม คนเพือ่ พัฒนาใหเกิดความเขาใจ ตนเอง เขาใจบุคคลอืน่ อันนําไปสูการ  สงเสริมคุณภาพชีวติ ของบุคคล

ศป. 307 บุคลิกภาพและการปรับตัว (3 หนวยกิต) LB 307 Personality and Adjustment ศึกษาความหมาย ลักษณะ และประเภทของบุคลิกภาพ ป จ จั ย ดา น พั น ธุ กรรม และ สิ่ ง แวดลอ ม ที่ มี อิทธิพล ต อ การ พัฒ นา บุคลิกภาพของบุคคล วิเคราะหทฤษฎีบุคลิกภาพตามแนวคิดจิตวิทยา ที่สําคัญ ศึกษาการประเมินบุคลิกภาพ ความหมายและประเภทของ บุคลิกภาพผิดปกติ ความเครียด และการปรับตัว การพัฒนาและสง เสริมบุคลิกภาพที่เหมาะสมทั้งดานรางกายและจิตใจ ตลอดจนความ สัมพันธของบุคลิกภาพกับการสรางมนุษยสัมพันธ เพือ่ สามารถนําไป ใช ประโยชน ใน การ ประกอบ อาชีพ และ การ ดํารง ชีวิต อยู ใน สังคม ได อยางมีประสิทธิภาพ

ศป. 313 จิตวิทยาเพื่อพัฒนาภาวะผูนํา (3 หนวยกิต) LB 313 Psychology for Leadership ทฤษฎี หลักการของภาวะผูนํา บทบาทความสําคัญของ ผูน าํ และผูตาม  ผูน าํ ทีมี่ ประสิทธิภาพและไมมประสิ ี ทธิภาพ คุณสมบัติ ของผูนํา ประเภทของผูนํา ผูนํากับการทํางานรวมกับผูอื่นและนํา ทฤษฎีทางจิตวิทยามาพัฒนาภาวะผูนําในตนเอง

ศป. 309 การเสริมสรางวิชาชีพ (3 หนวยกิต) LB 309 Practical Skills Development ศึกษาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับศิลปะประดิษฐ เชน การ จัดดอกไม การทําเทียนหอม การทําผาบาติก การเพนทลวดลายบน ภาชนะ และ อื่นๆ เพื่อ ให เกิด แนวคิด สรางสรรค ซึ่ง สามารถ นํา ไป ใช ประโยชน ใน การ ดําเนิน ชีวิต อยาง มี คุณภาพ ทั้ง ดาน สวน ตัว และ การ ประกอบอาชีพ โดยศึกษาทั้งภาคทฤษฎีและฝกปฏิบัติ ศป. 311 จิตวิทยาเพื่อชีวิตและการทํางาน (3 หนวยกิต) LB 311 Psychology for Life and Work การ ประยุ ก ต หลั ก การ ทาง จิ ต วิ ท ยา ใน การ พั ฒ นา ประสิทธิภาพของตนเองเพื่อนําไปสูการทํางาน ปจจัยทางจิตวิทยาที่ มีอิทธิพลชวยใหประสบความสําเร็จ ในการเลือกอาชีพและการทํางาน ใหเหมาะสมกับตนเอง 564 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศป. 331 ไทยศึกษา (3 หนวยกิต) LB 331 Thai Studies ศึกษาถึงลักษณะพืน้ ฐานของความเปนไทยอยางรอบดาน โดยพิจารณาทั้งทางดานประวัติศาสตร พัฒนาการทางการเมือง การ ปกครอง ความสัมพันธกับตางประเทศ โครงสรางทางเศรษฐกิจ และ สังคม วัฒนธรรม ศิลปกรรม วรรณกรรม พุทธปรัชญา และภูมปิ ญญา ไทยตลอดจนพิจารณาการปรับเปลีย่ นและรักษาความเปนไทยในดาน ตาง ๆ ของสังคมไทยที่กําลังเปลี่ยนแปลงในสมัยปจจุบัน ศป. 355 ศึกษาวัฒนธรรมตางชาติ (3 หนวยกิต) LB 355 Cross-Cultural Studies เปนการศึกษาภาษาตางประเทศนอกสถานที่ นักศึกษา จะ มี โอกาส ฝกฝน ภาษา อยาง จริงจัง อาจ จะ เปนการ ศึกษา ภายใน ประเทศกับเจาของภาษาโดยใชสถานการณจําลองในรูปแบบของ Language Work Camp หรือเปนการศึกษาและดูงานในตางประเทศ วิชา นี้ มุง เนน ให นัก ศึกษา ฝกฝน ทักษะ การ ใช ภาษา และเรียน รู ศิลปวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง สังคม รวม ทั้ง ความ เปน อยู การ ใช ชีวิต และความเชื่อของคนในประเทศนั้นๆ


ศป. 401 วิทยาการทหาร (3 หนวยกิต) LB 401 Military Science ความมั่นคงแหงชาติ ศึกษาถึงความหมายของความ มั่นคงแหงชาติ ยุทธศาสตรชาติ โครงสรางและความสัมพันธระหวาง ความมั่นคงแหงชาติกับยุทธศาสตรชาติ โครงสรางยุทธศาสตร พลัง อํานาจ ของ ชาติ การ พัฒนา นโยบาย ความ มั่นคง แหง ชาติ ความ สัมพันธระหวางพลังอํานาจทางทหารกับพลังอํานาจอื่นๆ ของชาติ และตัวอยางการแกปญหาขอขัดแยงในสถานการณ โลกปจจุบันโดย เนนเอเชียตะวันออกเฉียงใต พืน้ ฐานทางทหาร ศึกษาถึงการจัดและการดําเนินงานทาง ทหาร การจัดดินแดน หลักนิยมของการปฏิบตั การ ิ ของแตละเหลาทัพ ความสัมพันธระหวางผูบั งคับบัญชาและฝายอํานวยการ เทคนิคในการ แกปญหาทางทหารและการตัดสินใจของผูบังคับบัญชา วิวัฒนาการทางทหาร ศึกษาประวัติศาสตรทหาร ความ สัมพันธ ระหวาง กิจ กการ ทหาร กับ กิจการ พลเรือน ทั้ง ใน อดีต และ ปจจุบันลักษณะผูนํา หลักการสงคราม ความสัมพันธระหวางกิจการ ทหารกับการพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การจัดและการ ดําเนินการหนวยกึง่ ทหารพรอมทัง้ เยีย่ มชมหรือดูงานหนวยทหารตาม ความเหมาะสม ศป. 402 การพัฒนาความมั่นคงแหงชาติ (3 หนวยกิต) LB 402 National Security Development ศึกษาใหเกิดความรูความเขาใจในเรื่องความรูทั่วไปทาง ทหารความมั่นคงปลอดภัยแหงชาติและยุทธศาสตร รวมทั้งใหมอง เห็นถึงความจําเปนของการรวมมือและการประสานการปฏิบตั ระหว ิ าง พลเรือนและทหาร อันจะกอใหเกิดความมั่นคงปลอดภัยแหงชาติ ศป. 433 สังคมวิทยาการเมือง (3 หนวยกิต) LB 433 Political Sociology ศึกษาความเกี่ยวของและผลกระทบเบื้องตนที่มีตอกัน ระหวางการเมืองกับสังคม อธิบายปรากฏการณความสัมพันธเชิง

พื้นฐานของสังคมกับพฤติกรรมทางการเมืองในสังคมสมัยใหม ภาย ใตกรอบแนวความคิดเชิงทฤษฎีดานสังคมวิทยาการเมือง รวมถึง วัฒนธรรมทางการเมือง มิตและ ิ ความสัมพันธของอํานาจทางการเมือง กระบวนการขัดเกลาทางการเมือง พฤติกรรมการมีสวนรวมและการ คัดคานทางการเมือง ความไมเทาเทียมกันทางสังคมและการเมือง ประชาสังคม และโลกาภิวัฒน ศป. 444 สัมมนาปญหาของประเทศ (3 หนวยกิต) ในเอเชียอาคเนย LB 444 Seminar on SEA Problems ศึกษาปญหาหลักของประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต โดยการอภิปรายเนนทางดานความสัมพันธและการเมือง ระหวางประเทศ ปญหาการเมืองภายในประเทศ ปญหาเขตแดน ปญหาความมั่นคงของประเทศ อาทิ ปญหาคอรัปชั่น ความยากจน ตลอดจนศึกษาพัฒนาการทางดานเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม รวม ทั้งปญหาสิ่งแวดลอม ศป. 455 สังคมวิทยาศาสนา (3 หนวยกิต) LB 455 Religious Sociology ศึกษาศาสนาในฐานะสถาบันทางสังคม โครงสรางของ ศาสนาและการจัดองคกรทางศาสนา ความเชื่อและการแสดงออก ทางพฤติกรรมทางศาสนา ที่มีอิทธิพลตอการเมือง เศรษฐกิจ และ การเปลีย่ นแปลงเชิงสังคมและวัฒนาธรรม อีกทัง้ ศึกษาความสัมพันธ ระหวางศาสนากับสถาบันอื่นๆ ทางสังคม ศป. 502 ปรัชญาจีน (3 หนวยกิต) LB 502 Chinese Philosophy ศึกษาลักษณะทั่วไปของปรัชญาจีน ความคิดของนัก ปรัชญาคนสําคัญ และแนวโนมในปจจุบนั ศึกษาทฤษฎีของลัทธิขงจือ๊ ลัทธิเตา และพุทธศาสนานิกายตางๆ ในประเทศจีน หลักสูตรปร ญญาตร 565


ศป. 503 ปรัชญาญี่ปุน (3 หนวยกิต) LB 503 Japanese Philosophy ศึกษาลักษณะทั่วไปของปรัชญาญี่ปุน ความคิดของนัก ปรัชญาคนสําคัญ และแนวโนมในปจจุบันศึกษาทฤษฎีของลัทธิชินโต และสาขาสําคัญ 2 สาขาของพุทธศาสนานิกายเซน ศป. 505 พุทธศาสนากับสังคมไทย (3 หนวยกิต) LB 505 Buddhism and Thai Society ศึกษาคําสอนทางสังคมของพุทธศาสนา อิทธิพลที่มีตอ สังคมไทยดานตาง ๆ ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน พุทธศาสนากับการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมในสังคมไทยปจจุบัน ศป. 509 พุทธจริยศาสตร (3 หนวยกิต) LB 509 Buddhist Ethics ศึกษาความหมายและความสําคัญของพุทธจริยศาสตร ความ สัมพันธ ระหวาง พุทธ จริยศาสตร กับ ชีวิต และ สังคม ระบบ จริยศาสตรของศาสนา จริยศาสตรกับการดําเนินชีวิต และการแก ปญหาสังคมในปจจุบัน โดยเนนพุทธจริยศาสตรเถรวาทแบบไทย

หมวดวิชาพลศึกษาและนันทนาการ พน. 101 กิจกรรมเขาจังหวะ (1 หนวยกิต) PE 101 Rhythmic Activities ศึกษาประวัติความเปนมา และความรูเบื้องตนในการ ฝกทักษะกิจกรรมการออกกําลังกายที่ใชการเคลือ่ นไหวอิรยิ าบถแบบ ตางๆ ตามเสียงดนตรี จังหวะเพลง และการเตนรําพืน้ เมืองแบบตางๆ ไดอยางถูกตอง และสวยงาม พน. 102 การลีลาศ (1 หนวยกิต) PE 102 Social Dance ศึกษาประวัติความเปนมา ประโยชน และหลักปฏิบัติที่ ถูกตองของการลีลาศ รวมถึงวิธการ ี และจังหวะของการลีลาศประเภท ตางๆ ทั้งนี้เพื่อสามารถใชเปนกิจกรรมในการออกกําลังกาย และเปน พื้นฐานในการเขาสังคม พน. 103 วอลเลยบอล (1 หนวยกิต) PE 103 Volleyball ศึกษาประวัตความ ิ เปนมา วิวฒ ั นาการ และประโยชนของ กีฬาวอลเลยบอล และเรียนรูทั กษะพืน้ ฐาน หลักวิธการ ี ในการเลนกีฬา วอลเลยบอลอยางถูกตอง รวมถึงทักษะในการเลนเปนทีมและกติกา การแขงขัน พน. 104 บาสเกตบอล (1 หนวยกิต) PE 104 Basketball ศึกษาประวัตความ ิ เปนมา วิวฒ ั นาการ และประโยชนของ กีฬาบาสเกตบอล และเรียนรูทั กษะพืน้ ฐาน หลักวิธการ ี ในการเลนกีฬา บาสเกตบอลอยางถูกตอง รวมถึงทักษะในการเลนเปนทีมและกติกา การแขงขัน

566 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ


พน. 105 แบดมินตัน (1 หนวยกิต) PE 105 Badminton ศึกษาประวัติความเปนมา วิวัฒนาการ และประโยชน ของกีฬาแบดมินตัน และเรียนรูทักษะพื้นฐาน วิธีการและเทคนิคการ เลนแบดมินตันตามหลักสากลนิยม รวมถึงการเลนประเภทตางๆ และ กติกาการแขงขัน พน. 106 ปงปอง (1 หนวยกิต) PE 106 Table Tennis ศึกษาประวัตความ ิ เปนมา วิวฒ ั นาการ และประโยชนของ กีฬาปงปอง และเรียนรูทักษะพื้นฐาน วิธีการและเทคนิคพื้นฐานใน การเลนกีฬาปงปอง รวมถึงการเลนประเภทตางๆ และกติกาการแขงขัน พน. 107 เกมนันทนาการ (1 หนวยกิต) PE 107 Games Activities ศึกษาคุณลักษณะ คุณคาและประโยชนของการเลนเกม เพื่อนันทนาการ รวมถึงเรียนรูเทคนิคในการเปนผูนําเกม ประเภท ของเกม และความปลอดภัยในการเลนเกม เพื่อความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และการออกกําลังกายเพื่อมีสุขภาพอนามัยที่ดี พน. 108 เทนนิส (1 หนวยกิต) PE 108 Tennis ศึกษาประวัติความเปนมา และประโยชน ในการเลน เทนนิสและเรียนรูทั กษะเบือ้ งตน ทักษะ พืน้ ฐานและวิธกี ารเลน รวม ถึงกติกาการแขงขัน และมารยาทในการเลนเทนนิส พน. 109 กอลฟ (1 หนวยกิต) PE 109 Golf ศึกษาประวัตความ ิ เปนมา และประโยชนในการเลน และ เรียนรูคําศัพทในกีฬากอลฟ เครื่องมือในการเลน ทักษะเบื้องตนใน การเลน การเลนแบบแบงกลุม การออกรอบ การนับคะแนน กติกา

กอลฟ รวมถึงขอแนะนําในการฝกกอลฟตามสนามฝก และมารยาท ในการเลนกอลฟ พน. 110 มวยไทย (1 หนวยกิต) PE 110 Thai Boxing ศึกษาความหมาย ความสําคัญ ประโยชน และประวัติ ความเปนมาของกีฬามวยไทย และเรียนรูหลักเบื้องตนในการฝก ทักษะศิลปะมวยไทย การแตงกายของมวยไทย การไหวครู ทาราย รํามวยไทย และกติกาเมืองไทย พน. 111 ตะกรอ (1 หนวยกิต) PE 111 Sepak Takraw and Takraw ศึกษาประโยชน และประวัตความ ิ เปนมาของกีฬาตะกรอ การเตรียมตัวและอุปกรณกอน เริม่ ฝกตะกรอ เรียนรูประเภท  ของกีฬา ตะกรอ หลักทัว่ ไปของการเลนตะกรอ ลักษณะการเตะตะกรอทาตางๆ กติกากีฬาตะกรอ รวมถึงมารยาทและความปลอดภัยในการเลนตะกรอ ประเภทตางๆ พน. 112 นาฏศิลปไทย (1 หนวยกิต) PE 112 Thai Classical Dance ศึกษาหลักการเบื้องตนของนาฏศิลปไทยทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ทารํามาตรฐานที่จะเปนพื้นฐานของนาฏศิลปชั้นสูง เพลงและการละเลนพื้นเมือง เพื่อใหเห็นคุณคาและความสําคัญของ นาฏศิลปไทย ซึง่ เปนศิลปวัฒนธรรมประจําชาติ และสามารถเผยแพร ตอชุมชน พน. 113 ผูนํานันทนาการ (2 หนวยกิต) PE 113 Recreation Leader ศึกษาความรูพื้นฐานเกี่ยวกับกิจกรรมเพื่อนันทนาการ รวมทั้งปจจัยสําคัญและคุณลักษณะของการเปนผูนํานันทนาการ หลักสูตรปร ญญาตร 567


หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ศท. 111 คุณคาแหงบัณฑิต (3 หนวยกิต) GE 111 Value of Graduates ศึกษาวิธกี ารพัฒนาคุณภาพชีวติ ของการเปนบัณฑิตทีม่ ี คุณธรรม จริยธรรม และบุคลิกภาพ ตามปรัชญาของมหาวิทยาลัย กรุงเทพ มุง เนนการพัฒนาทักษะการดําเนินชีวติ การรูจ กั ตนเองความ สัมพันธระหวางบุคคล สังคม สิ่งแวดลอม ทามกลางกระแสการ เปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต (3 หนวยกิต) GE 112 Information Technology and the Future World ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ บทบาท ความสํ า คั ญ ของเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยมุง เนนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศผสมผสานกับหลัก การทางคณิตศาสตรและสถิติเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดในการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพชีวิตในสังคมสมัยใหม ตลอดจนศึกษาผล กระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีตอการดําเนินชีวิต ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสรางสรรค (3 หนวยกิต) GE 113 Thai Language for Creativity ศึกษาภาษาไทย พลวัตในการใชภาษาเพื่อสื่อสารไดถูก ตองเหมาะสมกับสถานการณตางๆ ในชีวิตประจําวันและสังคม มุง เนนทักษะการฟงและการดู การพูด การอาน การเขียน การตัง้ คําถาม ทีพ่ ฒ ั นาทักษะดานการคิดวิเคราะหอยางมีวจิ ารณญาณและสรางสรรค ตลอดจนประยุ ก ต ใ ช ใ ห เ กิ ด ประโยชน ใ นการดํ า เนิ น ชี วิ ต อย า งมี ประสิทธิผล

568 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก (3 หนวยกิต) GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศึกษาความหมายและลักษณะที่ดีของการเปนพลเมือง ไทยและพลเมืองโลก เพือ่ พัฒนาใหนกั ศึกษามีทกั ษะในการอยูร ว มกับ ผูอ นื่ ทีม่ คี วามแตกตางกันทางเชือ้ ชาติ ความเชือ่ ภาษาและวัฒนธรรม การศึกษาจะเนนเรือ่ งความเสมอภาค ความสามัคคี ความรับผิดชอบ ตอตนเองและผูอ นื่ ในวิถชี วี ติ แบบสังคมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และใหมีความตระหนักในการเปนสมาชิก สังคมที่มีจิตกุศล ตลอดจนมีจิตอาสาเพื่อพัฒนาสังคม ศท. 115 สุนทรียภาพแหงชีวิต (3 หนวยกิต) GE 115 The Art of Life ศึกษาวิธกี ารพัฒนาสุนทรียภาพแหงชีวติ พัฒนาทัศนคติ เชิงบวก และสัมพันธภาพระหวางบุคคลและกลุม คน ศึกษาดานศิลปะ ดนตรี วรรณกรรม การศึกษาประกอบดวยการบรรยาย กรณีศึกษา การศึกษาดูงาน และการฝกปฏิบัติจริง ศท. 116 ทักษะความเปนผูนํา (3 หนวยกิต) GE 116 Leadership Skills ศึกษาความสําคัญของการมีภาวะผูนําในแงมุมขององค ประกอบ คุณลักษณะ ความสามารถ กระบวนการคิด ศักยภาพ ที่สง เสริมใหเกิดความสําเร็จในการเปนผูนําระดับตางๆ การตระหนักถึง อุดมคติแหงการเปนผูนําที่ดี มีจิตสาธารณะ และสามารถจัดการกับ ปญหาโดยใชหลักธรรมาภิบาล รวมถึงการพัฒนาทักษะ ประสบการณ เพื่อนําไปประยุกต ใชกับสถานการณ ในทางสรางสรรค ตลอดจน สามารถอยูรวมกับผูอื่นในฐานะที่เปนผูนําและผูตามที่ดี


ศท. 117 คณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน (3 หนวยกิต) GE 117 Mathematics for Daily Life ศึกษาพัฒนาการทางคณิตศาสตร ความหมายของตัวเลข และสัญลักษณทพี่ บในชีวติ ประจําวัน คณิตศาสตรกบั ศิลปะและความ งาม คณิตศาสตรสันทนาการ และการนําคณิตศาสตร ไปประยุกตใช ในการดํ า เนิ น ชี วิ ต อาทิ การคํ า นวณดั ช นี ม วลกาย การคิ ด ค า สาธารณูปโภค การคํานวณภาษีเงินได การวางแผนเงินออมและการ คํานวณดอกเบี้ยเงินฝาก เงินกูจากสถาบันการเงินตางๆ เปนตน ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ (3 หนวยกิต) GE 118 Life and Health ความรู ค วามเข า ใจเชิ ง บู ร ณาการเกี่ ย วกั บ วงจรชี วิ ต พฤติกรรม การดูแลสุขภาพของตนเอง อาหารและยา การออกกําลัง กาย การสงเสริมสุขภาพจิต การประกันชีวิตและสุขภาพ การปองกัน ตัวจากอุบัติภัย และโรคอุบัติใหม รวมทั้งเรื่องของสิทธิมนุษยชน

หมวดวิชาสหกิจศึกษา สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา (3 หนวยกิต) CO 301 Pre-Cooperative Education วิชาบังคับกอน: ไมมี ศึกษาความหมาย ความสําคัญ ประโยชน และแนวคิด ของสหกิจศึกษา เพือ่ เปนการเตรียมความพรอมของทักษะดานตางๆ กอนออกไปปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการ อาทิ การเขียน จดหมายสมัครงาน การเลือกสถานประกอบการ เทคนิคการสัมภาษณ งาน การพัฒนาบุคลิกภาพ การใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การ ทํางานเปนทีม วัฒนธรรมองคกร เทคนิคการคิดอยางสรางสรรค การเขียนรายงาน การบริหารความเสี่ยง การนําเสนอ และคุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ

ศท. 119 ภูมิปญญาไทยและเศรษฐกิจสรางสรรค (3 หนวยกิต) GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy ศึกษาภูมิปญญาไทยที่เกี่ยวกับ มนุษยกับมนุษย มนุษย กับธรรมชาติ มนุษยกับสิ่งเหนือธรรมชาติและองคความรูเกี่ยวกับ เศรษฐกิจสรางสรรค เพื่อปลุกจิตสํานึกความเปนไทย และการดํารง ชีวติ อยูไ ดอยางมีความสุข ตลอดจนสามารถนําความรู ดานภูมปิ ญ ญา ไทยมาสร า งมู ล ค า เพิ่ ม ทางเศรษฐกิ จ โดยประยุ ก ต เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการจัดการทางการตลาด เพื่อประโยชนของบุคคล กลุมชน และประเทศชาติ

หลักสูตรปร ญญาตร 569


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.