ระเบียบการหลักสูตรปริญญาตรี 2013-2014

Page 1


l{ ur

Digital Accounting § ¥ !. 3 Òo¤ Ó l { ¡Ó ur ¥ i ¤l Ö i p ¤iÒo i |Ó s }Ö¥ Ö ¥ oi ¡Òi ¤ Ú i ur ¤ §l


บัญชีบัณฑิต (บช.บ.) Bachelor of Accountancy (B.Acc.) บทบาทของนักบัญชียุคใหม คือ การเปนที่ปรึกษาและที่พึ่ง ของธุรกิจ โดยตองสามารถใหขอ มูลทางการบัญชีทถี่ กู ตองและเชือ่ ถือ ไดแกธรุ กิจไดอยางมีประสิทธิภาพและทันตอเวลาทีจ่ ะใชในการตัดสิน ใจ ในขณะเดียวกันตองมีความสามารถในการวิเคราะหขอมูลและให คําแนะนําทีเ่ ปนประโยชนแกธรุ กิจไดอยางมีคณ ุ ธรรม ทัง้ นีเ้ พราะหลัก คุณธรรมเปนสิง่ ทีจ่ ะนําพาทัง้ ตนเอง วิชาชีพและธุรกิจไปสูค วามยัง่ ยืน อยางแทจริง ดวยความเปนมหาวิทยาลัยสรางสรรค (Creative University) คณะบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จึงมีความมุง มัน่ ในการผลิตนักบัญชี มื อ อาชี พ ที่ ส ามารถปรั บ ตั ว ให เ ข า กั บ สภาพแวดล อ มที่ มี ก าร เปลี่ยนแปลงไดอยางมั่นใจและมีคุณสมบัติพรอมอยูเคียงคูกับธุรกิจ โดยมุงเนนใหมีความเชี่ยวชาญทั้งดานการจัดทําและนําเสนอขอมูล ธุรกิจ การวิเคราะหขอมูล เทคโนโลยีและภาษาตางประเทศ รวมถึง การสงเสริมสนับสนุนใหบัณฑิตจากคณะบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ นําหลักคุณธรรมไปใชกํากับความเปนมืออาชีพ โดยผานระบบการ เรียนการสอนและกิจกรรมสรางสรรคในโครงการตางๆ ของคณะและ มหาวิทยาลัยอยางตอเนื่อง เพื่อใหบัญชีบัณฑิตจากมหาวิทยาลัย กรุงเทพ เปนผูที่เพียบพรอมดวยขีดสมรรถนะของความเปนนักบัญชี มืออาชีพ และยึดถือคุณธรรมเปนหลักปฏิบตั ทิ งั้ ในการดําเนินชีวติ และ ในการทํางาน เพื่อใหสามารถเปนที่พึ่งของธุรกิจ สังคมและประเทศ ชาติตอไป

โอกาสในการประกอบอาชีพ ตลอดระยะเวลาทีผ่ า นมา บัณฑิตของคณะบัญชี มหาวิทยาลัย กรุงเทพ ไดรบั การตอนรับจากตลาดแรงงานดวยดีเสมอมา ทัง้ นีพ้ บวา อัตราในการไดงานทําของบัณฑิตภายหลังสําเร็จการศึกษามีการเติบโต อยูในระดับสูงมาอยางตอเนือ่ ง โดยเสนทางการทํางานของบัณฑิตมิได จํากัดอยูเ ฉพาะการเปนพนักงานบัญชีเทานัน้ แตยงั สามารถกาวเขาสู เสนทางของการเปนผูบ ริหารในองคกรชัน้ นําทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน รวมถึงการประกอบอาชีพอิสระ และการเปนเจาของกิจการในอนาคต ไดอีกดวย เสนทางเดินในสายอาชีพ ขึน้ อยูก บั ความสนใจและความถนัด ของบัณฑิต ซึ่งอาจแบงไดดังนี้ เสนทางในธุรกิจทั่วไป: นักบัญชี นักวิเคราะหขอมูลทางการ เงิน ที่ปรึกษาทางการเงิน ที่ปรึกษาทางภาษีอากร ผูบริหารทางการ เงินและผูบริหารระดับสูงขององคกร เปนตน เสนทางในวิชาชีพบัญชี : ผูส อบบัญชีรบั อนุญาต ผูส อบบัญชี ภาษีอากร ผูตรวจสอบภายใน เปนตน เสนทางดานสารสนเทศ: นักวิเคราะหและออกแบบระบบ ผูตรวจสอบระบบสารสนเทศ ที่ปรึกษาดานระบบสารสนเทศทางการ บัญชี เปนตน นอกจากนีบ้ ณ ั ฑิตของคณะยังสามารถเลือกเสนทางดานการ เปนเจาของกิจการไดอกี ทางหนึง่ โดยคณะบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ไดเตรียมความพรอมในการเขาสูเสนทางดังกลาวตามปรัชญาของ มหาวิทยาลัยในการปลูกฝงจิตวิญญาณของการเปนผูป ระกอบการแก นักศึกษาตลอดระยะเวลาการศึกษา โดยหลังจากสั่งสมประสบการณ ในการทํางานแลว บัณฑิตสามารถเลือกเปดสํานักงานบัญชีเปนของ ตนเอง หรือสามารถนําความรูไปใชเพื่อจัดการระบบขอมูลของธุรกิจ ในครอบครัวใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

หลักสูตรปร ญญาตร 131


คุณสมบัติของผูเขาศึกษา

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หนวยกิต)

1. เปนผูสํ าเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ เทียบเทา หรือสําเร็จการศึกษาหลักสูตรอนุปริญญา (ปวส. หรือปวท.) สาขาการบัญชี หรือื สาขาวิชาทีเ่ กีย่ วของ ทัง้ นี้ใหเปนไปตามหลักการ เทียบโอนตามขอบังคับมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วาดวยการศึกษาระดับ ปริญญาตรี โดยพิจารณาเปนรายกรณี 2. ผานการสอบคัดเลือกของสํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาหรือมหาวิทยาลัยกรุงเทพ 3. เปน นัก ศึกษา ที่ ขอ โอน จาก สถาบัน อื่น ตาม ระเบียบ ของ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เรื่อง การรับโอนนักศึกษาจากสถาบันอื่น 4. สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาอืน่ จากสถาบันการ ศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ และก.พ. ใหการรับรอง

กลุมวิชาภาษาอังกฤษ (9 หนวยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

นัก ศึกษา คณะ บัญชี ที่ จะ ได รับ ปริญญา บัญชี บัณฑิต หรือ บช.บ. จะตองเรียนไมนอยกวา 135 หนวยกิต ในหมวดวิชาตางๆ โดยแยกออกเปน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต เทากับ 22 % หมวดวิชาเฉพาะ 99 หนวยกิต เทากับ 73 % กลุมวิชาแกน 51 หนวยกิต กลุมวิชาเอก-บังคับ 36 หนวยกิต กลุมวิชาเอก-เลือก 12 หนวยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต เทากับ 5 % รวม 135 หนวยกิต เทากับ 100 %

132 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หนวยกิต 3 3 3

กลุมวิชาบังคับ (15 หนวยกิต) ศท. 111 คุณคาแหงบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสรางสรรค 3 GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก 3 GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแหงชีวิต 3 GE 115 The Art of Life กลุมวิชาเลือก (6 หนวยกิต) ศท. 116 ทักษะความเปนผูนํา GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปญญาไทยและเศรษฐกิจสรางสรรค GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

3 3 3 3


หมวดวิชาเฉพาะ กลุมวิชาแกน (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 51 หนวยกิต) กลุมวิชาบัญชี บช. 201 หลักการบัญชี 1 AC 201 Principles of Accounting I บช. 202 หลักการบัญชี 2 AC 202 Principles of Accounting II กลุมวิชาเศรษฐศาสตร ศศ. 201 เศรษฐศาสตรจุลภาค EC 201 Microeconomics ศศ. 202 เศรษฐศาสตรมหภาค EC 202 Macroeconomics กลุมวิชากฎหมาย กม. 102 กฎหมายธุรกิจ LA 102 Business Law กม. 301 การภาษีอากร LA 301 Taxation กลุมวิชาเชิงปริมาณ สถ. 201 สถิติเบื้องตน ST 201 Introduction to Statistics สถ. 202 สถิติธุรกิจ ST 202 Business Statistics

กลุมวิชาบริหารธุรกิจ อม. 201 การจัดการองคการและทรัพยากรมนุษย OH 201 Organization and Human Resource Management กง. 212 การเงินธุรกิจ FI 212 Business Finance ตล. 212 การตลาด MK 212 Marketing จก. 212 การจัดการงานผลิตและการดําเนินงาน MG 212 Production and Operations Management จก. 222 การเปนผูประกอบการและการพัฒนาธุรกิจ MG 222 Entrepreneurship and Business Development จก. 424 การจัดการเชิงกลยุทธและนโยบายธุรกิจ MG 424 Strategic Management and Business Policy กลุมวิชาภาษา อก. 014 ภาษาอังกฤษสําหรับการเรียนรูโลก EN 014 English for Exploring the World อก. 331 ภาษาอังกฤษธุรกิจเชิงปฏิบัติ EN 331 Practical Business English อก. 332 ภาษาอังกฤษธุรกิจมืออาชีพ EN 332 Professional Business English กลุมวิชาเอก-บังคับ (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 36 หนวยกิต) บช. 311 การบัญชีสินทรัพย AC 311 Asset Accounting บช. 312 การบัญชีหนี้สินและสวนของเจาของ AC 312 Liability and Owner’s Equity Accounting บช. 315 การบัญชีตนทุน AC 315 Cost Accounting หลักสูตรปร ญญาตร 133


บช. AC บช. AC บช. AC บช. AC บช. AC บช. AC บช. AC บช. AC บช. AC

321 321 322 322 401 401 402 402 403 403 404 404 420 420 428 428 434 434

การบัญชีชั้นสูง 1 Advanced Accounting I การสอบบัญชี Auditing การบัญชีภาษีอากร Tax Accounting การบัญชีชั้นสูง 2 Advanced Accounting II ระบบสารสนเทศทางการบัญชี Accounting Information Systems การตรวจสอบและการควบคุมภายใน Internal Auditing and Control ขอมูลทางการบัญชีเพื่อการบริหาร Accounting Information for Management รายงานการเงินและการวิเคราะห Financial Reporting and Analysis โปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชี Accounting Software

กลุม วิชาเอก-เลือก (วิชาละ 3 หนวยกิต) ประกอบดวย วิชาสัมมนาไม นอยกวา 3 หนวยกิต และรายวิชาตางๆ โดยรวมกันแลวตองไมนอย กวา 12 หนวยกิต จากรายวิชาตอไปนี้ บช. 414 การบัญชีเฉพาะกิจการ AC 414 Specialized Accounting บช. 422 การตรวจสอบระบบบัญชีที่ใชคอมพิวเตอร AC 422 Auditing Electronic Data Processing Systems บช. 423 การวางแผนภาษีอากร AC 423 Tax Planning บช. 424 การฝกงานดานบัญชี AC 424 Accounting Internship 134 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

บช. AC บช. AC บช. AC บช. AC บช. AC บช. AC บช. AC บช. AC บช. AC บช. AC บช. AC

425 425 426 426 427 427 431 431 432 432 435 435 436 436 437 437 441 441 442 442 443 443

บช. AC สศ. CO

453 453 301 301

สัมมนาการบัญชีการเงิน Seminar in Financial Accounting สัมมนาการบัญชีบริหาร Seminar in Managerial Accounting การบัญชีสําหรับธุรกิจสงออกและนําเขา Accounting for Export and Import การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร Computer Programming การประยุกตคอมพิวเตอรในการรายงานทางธุรกิจ Computer Applications in Business Reporting การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชี Accounting Information Systems Analysis and Design ความมั่นคงในระบบสารสนเทศและการควบคุม Information Systems Security and Control ระบบการจัดการฐานขอมูล Database Management Systems สัมมนาการสอบบัญชี Seminar in Auditing สัมมนาการภาษีอากร Seminar in Taxation สัมมนาเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศทางการบัญชี Seminar in Accounting Information Systems and Technology สหกิจศึกษาสําหรับนักบัญชี Cooperative Education for Accountant เตรียมสหกิจศึกษา Pre-Cooperative Education


หมวดวิชาเลือกเสรี นักศึกษาจะตองเลือกเรียนวิชาเลือกเสรี จากรายวิชา ตางๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ และคณะอนุมัติใหเปนวิชา เลือกเสรี หรือจากรายวิชาเลือกเสรีของคณะ โดยเมื่อเลือกรวมแลว ตองไมนอยกวา 6 หนวยกิต วิชาเลือกเสรีในคณะ (วิชาละ 3 หนวยกิต) บช. 100 ความรูเบื้องตนทางการบัญชีกับการประกอบธุรกิจ ขนาดยอม AC 100 Introduction to Accounting and Managing for Small Business

หลักสูตรปร ญญาตร 135


l{ i p

l | ii } ¦p Ö|Ó i Ëi i pp o ¬ il ¤r ¬ r u i j j o i p Ó ¤ Ú i ¬ Ó o lÖ


บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) Bachelor of Business Administration (B.B.A.) คณะ บริหารธุรกิจ มี เปา หมาย ที่ จะ ผลิต บัณฑิต ที่ มี ความ รู ความ สามารถ เพื่อ ออก ไป ประกอบ อาชีพ ในวงการ ธุรกิจ ได อยาง มี ประสิทธิภาพ สูงสุด โดย ตระหนัก ถึง วิวัฒนาการ ทาง ดาน สังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี ดัง นั้น คณะ บริหารธุรกิจ จึง ได จัด วาง หลักสูตรโดยคํานึงถึงสิง่ ตาง ๆ ดังกลาว รวมถึงสถานการณทางธุรกิจ ในยุคปจจุบนั ทีมี่ การเปลีย่ นแปลงอยูตลอด  เวลา เพือ่ ใหนักศึกษาไดมี ความเขาใจในการดําเนินธุรกิจในยุคโลกาภิวัตน พรอมทั้งมีทักษะใน การบริหารอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหบัณฑิตของคณะฯ ไดรับการ ยอมรับจากองคกรตางๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน หลักสูตรของคณะบริหารธุรกิจยังไดรับการรับรองมาตรฐาน จาก สถาบั น ใน ต า ง ประเทศ ไม ว า จะ เป น สหรั ฐ อเมริ กา อั ง กฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ญี่ปุน เปนตน จึงเปนการเอื้อประโยชนตอ บัณฑิตที่เดินทางไปศึกษาตอตางประเทศทั้งในระดับปริญญาโทและ ปริญญาเอก ปจจุบันคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เปดสอน 6 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการเงิน สาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส นักศึกษาที่เลือกศึกษาในคณะบริหารธุรกิจทุกสาขาวิชาจะ ตองเรียนวิชาเอก-บังคับ วิชาเอก-เลือก และวิชาเลือกเสรี รวมกับวิชา ศึกษาทั่วไป และวิชาแกนแลวตองไมนอยกวา 135 หนวยกิต ดังนี้

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หนวยกิต) กลุมวิชาภาษาอังกฤษ (9 หนวยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หนวยกิต 3 3 3

กลุมวิชาบังคับ (15 หนวยกิต) ศท. 111 คุณคาแหงบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสรางสรรค 3 GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก 3 GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแหงชีวิต 3 GE 115 The Art of Life กลุมวิชาเลือก (6 หนวยกิต) ศท. 116 ทักษะความเปนผูนํา GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปญญาไทยและเศรษฐกิจสรางสรรค GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

3 3 3 3

หลักสูตรปร ญญาตร 137


หมวดวิชาชีพ (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 93 หนวยกิต) วิชาแกน (60 หนวยกิต) กลุมวิชาบัญชี (6 หนวยกิต) บช. 201 หลักการบัญชี 1 AC 201 Principles of Accounting I บช. 202 หลักการบัญชี 2 AC 202 Principles of Accounting II กลุมวิชาเศรษฐศาสตร (6 หนวยกิต) ศศ. 201 เศรษฐศาสตรจุลภาค EC 201 Microeconomics ศศ. 202 เศรษฐศาสตรมหภาค EC 202 Macroeconomics กลุมวิชากฎหมาย (6 หนวยกิต) กม. 102 กฎหมายธุรกิจ LA 102 Business Law กม. 301 การภาษีอากร LA 301 Taxation กลุมวิชาเชิงปริมาณ (6 หนวยกิต) คณ. 102 คณิตศาสตรธุรกิจ MA 102 Business Mathematics บธ. 207 การวิเคราะหทางสถิติเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ BA 207 Statistical Analysis for Business Decisions

138 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กลุมวิชาบริหารธุรกิจ (27 หนวยกิต) จก. 112 การจัดการ MG 112 Management กง. 212 การเงินธุรกิจ FI 212 Business Finance กง. 222 การบัญชีบริหาร FI 222 Management Accounting ตล. 212 การตลาด MK 212 Marketing อม. 212 การจัดการทรัพยากรมนุษย OH 212 Human Resource Management จก. 212 การจัดการงานผลิตและการดําเนินงาน MG 212 Production and Operations Management จก. 222 การเปนผูประกอบการและการพัฒนาธุรกิจ MG 222 Entrepreneurship and Business Development จก. 424 การจัดการเชิงกลยุทธและนโยบายธุรกิจ MG 424 Strategic Management and Business Policy ธป. 321 การจัดการธุรกิจระหวางประเทศ IB 321 International Business Management กลุมวิชาภาษา (9 หนวยกิต) อก. 014 ภาษาอังกฤษสําหรับการเรียนรูโลก EN 014 English for Exploring the World อก. 331 ภาษาอังกฤษธุรกิจเชิงปฏิบัติ EN 331 Practical Business English อก. 332 ภาษาอังกฤษธุรกิจมืออาชีพ EN 332 Professional Business English


สาขาวิชาการตลาด (ภาคปกติและภาคพิเศษ) สาขาวิชาการตลาด มุงใหนักศึกษามีความรูความเขาใจและ ทักษะดานการวิเคราะห และวางแผนการตลาดขององคการตาง ๆ สามารถกําหนดกลยุทธดานการตลาด จัดโครงสรางหนวยงานและ ควบคุมการดําเนินงานการตลาดเพื่อใหบรรลุเปาหมายขององคกร ได นักศึกษาสาขาวิชาการตลาดจะไดศึกษาถึงหลักการตลาด พฤติกรรมผูบริโภค การวิจัยการตลาดการบริหารผลิตภัณฑ ราคา ชองทางการกระจายสินคา และการสงเสริมการตลาด ตลอดจนปญหา ตางๆ ทางการตลาดเพือ่ เตรียมความพรอมสําหรับการดําเนินงานดาน การตลาดไดอยางมีประสิทธิภาพ

โอกาสในการประกอบอาชีพ บัณฑิตสาขาวิชาการตลาด สามารถเลือกทํางานไดอยาง หลากหลายทั้งในองคกรธุรกิจ องคกรของรัฐ หรือองคกรดานสังคม ตางๆ ในชื่อตําแหนงที่เกี่ยวกับการตลาด การขาย การบริการ การ บริหารผลิตภัณฑ ตราสินคา การบริหารศูนยการคา ลูกคาสัมพันธ การวิจัยการตลาด การบริหารชองทางการจัดจําหนาย การโฆษณา และประชาสัมพันธ การจัดซื้อ การตลาดตางประเทศ การพาณิชย อิเล็กทรอนิกส ฯลฯ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจทีเลื ่ อกเรียนสาขาวิชาการตลาดจะ ไดรับปริญญาตรีบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด หรือ บธ.บ. (การ ตลาด) จะตองมีจํานวนหนวยกิตไมนอยกวา 135 หนวยกิต โดยแยก ออกเปน

วิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต วิชาชีพ 93 หนวยกิต กลุมวิชาแกน 60 หนวยกิต กลุมวิชาเอก-บังคับ 21 หนวยกิต กลุมวิชาเอก-เลือก 12 หนวยกิต วิชาเลือกเสรี 12 หนวยกิต รวม 135 หนวยกิต

เทากับ เทากับ

22 % 69 %

เทากับ 9 % เทากับ 100 %

วิชาเอก-บังคับ (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 21 หนวยกิต) ตล. 311 การบริหารผลิตภัณฑและราคา MK 311 Product and Price Management ตล. 312 การจัดการกระจายสินคาและโลจิสติกส MK 312 Distribution and Logistics Management ตล. 313 การจัดการสงเสริมการตลาด MK 313 Promotion Management ตล. 314 พฤติกรรมผูบริโภค MK 314 Consumer Behavior ตล. 321 การวิจัยการตลาด MK 321 Marketing Research ตล. 418 การตลาดสําหรับการเปนผูประกอบการ MK 418 Entrepreneurial Marketing ตล. 421 สัมมนาทางการตลาด MK 421 Seminar in Marketing วิชาเอก-เลือก (วิชาละ 3 หนวยกิต เลือกเรียน 4 วิชา รวม 12 หนวยกิต ยกเวนวิชา จก. 430 สหกิจศึกษา มีจํานวนหนวยกิต 9 หนวยกิต) ตล. 322 การบริหารลูกคาสัมพันธ MK 322 Customer Relationship Management ตล. 323 การบริหารตราสินคา MK 323 Brand Management หลักสูตรปร ญญาตร 139


ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล.

324 324 325 325 326 326 327 327 328 328 329 329 411 411 412

MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK

412 413 413 414 414 415 415 416 416 417 417 419 419 422 422

การบริหารการขาย Sales Management การตลาดสินคาแฟชั่น Fashion Marketing การบริหารการโฆษณาและบริษัทตัวแทน Advertising and Agency Management การจัดซื้อและการเจรจาตอรอง Purchasing and Negotiations การตลาดบริการ Services Marketing การฝกงานดานการตลาด Marketing Internship การตลาดระหวางประเทศและระดับโลก International and Global Marketing การจัดกิจกรรมทางการตลาด และการประชาสัมพันธ Event Marketing and Public Relations การตลาดทางตรง Direct Marketing การพยากรณความตองการและยอดขาย Demand and Sales Forecasting สถานการณปจจุบันทางการตลาด Current lssues in Marketing การตลาดกีฬา Sports Marketing การบริหารการคาปลีก Retailing Management การวิเคราะหเชิงปริมาณทางการตลาด Quantitative Analysis in Marketing กลยุทธการสงเสริมการขาย Sales Promotion Strategies

140 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK จก. MG สศ. CO บธ. BA จก. MG

423 423 424 424 425 425 426 426 427 427 428 428 429 429 430 430 431 431 325 325 301 301 325 325 430 430

การตลาดระหวางธุรกิจ Business-to-Business Marketing นโยบายการตลาดเชิงกลยุทธ Strategic Marketing Policy การศึกษาเฉพาะบุคคล Independent Study การตลาดธุรกิจบันเทิง Entertainment Marketing การตลาดเทคโนโลยีชั้นสูง Hi-Tech Marketing การตลาดอิเล็กทรอนิกส E-Marketing การบริหารธุรกิจโรงแรมและการทองเที่ยว Hotel and Tourism Management การจัดการเพื่อการสงออกและนําเขา Export-lmport Management การพัฒนาและวางแผนผลิตภัณฑใหม New Product Planning and Development การฝกงานดานวิชาชีพ Professional Internship เตรียมสหกิจศึกษา Pre-Cooperative Education การฝกงานดานผูประกอบการ Entrepreneurial Internship สหกิจศึกษา Co-operative Education

หมวดวิชาเลือกเสรี (12 หนวยกิต) นักศึกษาจะตองเลือกเรียนวิชาเลือกเสรี รวมแลวไมนอย กวา 12 หนวยกิต จากวิชาตาง ๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ซึ่งไมใชวิชาศึกษาทั่วไป และคณะอนุมัติใหเปนวิชาเลือกเสรี


สาขาวิชาการเงิน สาขาวิชาการเงิน มีเปาหมายที่จะผลิตบัณฑิตใหมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับงานตางๆ ทางการเงิน นักศึกษาของสาขาวิชา การเงินจะไดศึกษาถึงบทบาทหนาทีทางการ ่ เงิน แนวคิดและหลักการ ใชขอมูลทางการเงินเพือ่ การวิเคราะหและวางแผนทางธุรกิจโครงสราง และการบริหารสถาบันการเงินและตลาดหลักทรัพย หลักการลงทุน การวิเคราะหและการจัดการกลุมหลักทรัพย เครื่องมือทางการเงิน ประเภทตางๆ การประกันภัย วิวัฒนาการของระบบการเงินระหวาง ประเทศ นโยบายดานการเงินการคลังของรัฐบาล กฎหมายตางๆ ที่ เกี่ยวของ การวิเคราะหและการแกไขปญหาทางการเงินตลอดจนการ เรียนรูข อเท็จจริงเกีย่ วกับสภาวการณทางเศรษฐกิจ และการเงินทัง้ ใน อดีตและปจจุบัน

โอกาสในการประกอบอาชีพ บัณฑิตสาขาวิชาการเงิน สามารถทํางานไดหลากหลายทัง้ ใน ภาครัฐและภาคเอกชน อาทิ พนักงานฝายการเงิน พนักงานบริหาร สินเชือ่ เจาหนาทีบริ ่ หารเงิน นักวิเคราะหหลักทรัพย เจาหนาทีบริ ่ การ ลูกคาสินเชื่อ เจาหนาที่ดานการบริหารความเสี่ยง เจาหนาที่ดาน การพัฒนาตลาดพันธบัตร เจาหนาที่ประจําสํานักงานเศรษฐกิจการ คลัง เจาหนาที่ประเมินราคาสินทรัพย และเจาหนาที่ประจําสํานักงบ ประมาณแผนดิน เปนตน

วิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต วิชาชีพ 93 หนวยกิต กลุมวิชาแกน 60 หนวยกิต กลุมวิชาเอก-บังคับ 21 หนวยกิต กลุมวิชาเอก-เลือก 12 หนวยกิต วิชาเลือกเสรี 12 หนวยกิต รวม 135 หนวยกิต

เทากับ 22 % เทากับ 69 %

เทากับ 9 % เทากับ 100 %

วิชาเอก-บังคับ (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 21 หนวยกิต) กง. 311 การจัดการทางการเงิน FI 311 Financial Management กง. 312 ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน FI 312 Financial Market and Institutions กง. 321 หลักการลงทุน FI 321 Principles of Investment กง. 322 การเงินระหวางประเทศ FI 322 International Finance กง. 323 การวิเคราะหรายงานทางการเงิน FI 323 Financial Statement and Reporting Analysis กง. 411 การบริหารความเสี่ยง FI 411 Risk Management กง. 421 สัมมนาทางการเงิน FI 421 Seminar in Finance

นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจทีเลื ่ อกเรียนสาขาวิชาการเงินจะได รับปริญญาตรีบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการเงิน หรือ บธ.บ. (การเงิน) จะตองมีจํานวนหนวยกิตไมนอยกวา 135 หนวยกิต โดยแยกออกเปน

หลักสูตรปร ญญาตร 141


วิชาเอก-เลือก (วิชาละ 3 หนวยกิต เลือกเรียน 4 วิชา รวม 12 หนวยกิต ยกเวนวิชา จก. 430 สหกิจศึกษา มีจํานวนหนวยกิต 9 หนวยกิต) กง. 313 การบริหารสินเชื่อและหนี้สิน FI 313 Credit and Debt Management กง. 314 การวางแผนและการควบคุมทางการเงิน FI 314 Financial Planning and Control กง. 315 นโยบายการเงินและการคลัง FI 315 Monetary and Fiscal Policy กง. 316 การวางแผนทางการเงินสวนบุคคล FI 316 Personal Financial Planning กง. 324 การจัดการระบบสารสนเทศทางการเงิน FI 324 Financial Information Systems Management กง. 325 การเงินเพื่อการนําเขาและสงออก FI 325 Import-Export Financing กง. 326 ตราสารหนี้และตลาดตราสารหนี้ FI 326 Fixed-Income Securities and Market กง. 328 การเงินและการธนาคาร FI 328 Money and Banking กง. 329 การประเมินราคาอสังหาริมทรัพย FI 329 Real Estate Appraisal กง. 412 การศึกษาความเปนไปไดและการประเมินโครงการ FI 412 Feasibility Study and Project Evaluation กง. 414 การประกันภัย FI 414 Insurance กง. 415 สถานการณปจจุบันทางการเงิน FI 415 Current Issues in Finance กง. 416 การเงินและการลงทุนอสังหาริมทรัพย FI 416 Real Estate Finance and Investment

142 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กง. FI กง. FI กง. FI กง. FI กง. FI กง. FI สศ. CO บธ. BA จก. MG

422 422 423 423 424 424 425 425 426 426 428 428 301 301 325 325 430 430

การเงินสําหรับผูประกอบการธุรกิจขนาดยอม Entrepreneurial and Small Business Finance ตราสารอนุพันธและตลาดอนุพันธ Derivative Securities and Market การวิเคราะหหลักทรัพยและการจัดการกลุมหลักทรัพย Securities Analysis and Portfolio Management การศึกษาเฉพาะบุคคล Independent Study การวิจัยทางการเงิน Research in Finance การฝกงานทางการเงิน Financial Internship เตรียมสหกิจศึกษา Pre-Cooperative Education การฝกงานดานผูประกอบการ Entrepreneurial Internship สหกิจศึกษา Co-operative Education

หมวดวิชาเลือกเสรี (12 หนวยกิต) นักศึกษาจะตองเลือกเรียนวิชาเลือกเสรี รวมแลวไมนอยกวา 12 หนวยกิต จากวิชาตางๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ซึ่ง ไมใชวิชาศึกษาทั่วไป และคณะอนุมัติใหเปนวิชาเลือกเสรี


สาขาวิชาการจัดการ (ภาคปกติ และภาคพิเศษ) สาขาวิชาการจัดการ แบงออกเปน 2 กลุมวิชาเอก คือ กลุมวิชาเอกการจัดการธุรกิจสมัยใหมและกลุมวิชาเอกการจัดการ ทรัพยากรมนุษย กลุมวิชาเอกการจัดการธุรกิจสมัยใหมมุงเตรียม ความพรอมใหกับนักศึกษาไดมีความรูความเขาใจในหลักการบริหาร และดานการวางนโยบายธุรกิจ สามารถเขาใจสภาพของปญหาและ การเปลี่ยนแปลงของปจจัยที่สงผลกระทบตอธุรกิจบนพื้นฐานของ จริยธรรม กลุมวิชาเอกการจัดการทรัพยากรมนุษยมีจุดมุงหมายให นักศึกษาเปนผูบริหารที่มีความรูความเขาใจในหนาที่ตางๆ เกี่ยวกับ การจัดการบุคลากรในองคกร ไดแก การวางแผนกําลังคน การสรรหา คัดเลือกบุคคล การฝกอบรมและพัฒนา การประเมินผลงาน การจาย คาตอบแทน แรงงานสัมพันธและการสรางขวัญกําลังใจใหเกิดขึ้นกับ พนักงานในองคกร นอกจากนี้ทั้ง 2 กลุมวิชาเอกยังมุงเนนพรอมสง เสริมใหนักศึกษาไดรับประสบการณและทักษะเพื่อใชเปนแนวคิดและ แนวทางที่จะสามารถริเริ่มประกอบธุรกิจของตนเองได

โอกาสในการประกอบอาชีพ บัณฑิตที่เรียนสําเร็จหลักสูตรนี้จะสามารถนําความรูที่ไดไป ใชในการทําหนาที่บริหารจัดการงานและบุคลากรภายในองคกรได อยางมีประสิทธิภาพ บัณฑิตในกลุม วิชาเอกการจัดการธุรกิจสมัยใหม สามารถรับผิดชอบงานดานการควบคุมคุณภาพภายในองคกร การ จัดการระบบการทํางานและระบบสินคาคงคลัง สําหรับบัณฑิตในกลุม วิชาเอกการจัดการทรัพยากรมนุษยจะเปนบุคคลที่มีความเชื่อมั่นใน ตนเอง ทันตอเหตุการณเปนผูพัฒนาคนไปพรอมกับการพัฒนางาน สามารถเขาทํางานไดทั้งภาครัฐและเอกชน

นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจที่เลือกเรียนในสาขาวิชาการ จัดการ จะไดรับปริญญาตรีบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ หรือ บธ.บ. (การจัดการ) จะตองมีจํานวนหนวยกิตไมนอยกวา 135 หนวยกิต โดยแยกออกเปน วิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต เทากับ 22 % วิชาชีพ 93 หนวยกิต เทากับ 69 % กลุมวิชาแกน 60 หนวยกิต กลุมวิชาเอก-บังคับ 21 หนวยกิต กลุมวิชาเอก-เลือก 12 หนวยกิต วิชาเลือกเสรี 12 หนวยกิต เทากับ 9 % รวม 135 หนวยกิต เทากับ 100 % วิชาเอก-บังคับ (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 21 หนวยกิต) กลุมวิชาเอกการจัดการธุรกิจสมัยใหม จก. 311 การจัดการองคการและปจเจกบุคคล MG 311 Management of Organizations and Individuals จก. 313 การจัดการเชิงกลยุทธสมัยใหม MG 313 Modern Strategic Management จก. 321 การวางแผนและการควบคุมดานการจัดการ MG 321 Management Planning and Control จก. 322 การวิจัยธุรกิจ MG 322 Business Research จก. 411 การจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส MG 411 E-Business Management จก. 414 การจัดการหวงโซอุปทานและโลจิสติกส MG 414 Supply Chain and Logistics Management จก. 421 สัมมนาทางการจัดการธุรกิจสมัยใหม MG 421 Seminar in Modern Business Management

หลักสูตรปร ญญาตร 143


กลุมวิชาเอกการจัดการทรัพยากรมนุษย อม. 311 การวางแผนทรัพยากรมนุษยเชิงกลยุทธ OH 311 Strategic Human Resource Planning อม. 312 พฤติกรรมองคการ OH 312 Organization Behavior อม. 321 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย OH 321 Human Resource Development อม. 322 ทฤษฎีและการออกแบบองคการ OH 322 Organization Theory and Design อม. 323 การจัดการผลงานและคาตอบแทน OH 323 Compensation and Performance Management อม. 411 การพัฒนาองคการและการเปลี่ยนแปลง OH 411 Organization Development and Change อม. 421 สัมมนาทางการจัดการองคการและทรัพยากรมนุษย OH 421 Seminar in Organization and Human Resource Management วิชาเอก-เลือก (วิชาละ 3 หนวยกิต เลือกเรียน 4 วิชา รวม 12 หนวยกิต ยกเวนวิชา จก.430 สหกิจศึกษา มีจํานวน 9 หนวยกิต) กลุมวิชาเอกการจัดการธุรกิจสมัยใหม จก. 101 ความรูเบื้องตนทางธุรกิจ MG 101 Introduction to Business จก. 312 การจัดการองคความรูและองคการแหงการเรียนรู MG 312 Knowledge Management and Learning Organization จก. 314 การจัดการและพฤติกรรมองคการ MG 314 Management and Organization Behavior จก. 315 การจัดการสํานักงาน MG 315 Administrative Office Management 144 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

จก. MG จก. MG จก.

316 316 317 317 318

MG 318 จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG

319 319 323 323 324 324 325 325 326 326 327 327 328 328 329 329 331 331 332 332 333 333

การจัดการระบบการใหบริการ Service Operations Management การตอรองทางธุรกิจและการจัดการความขัดแยง Business Negotiation and Conflict Management กลยุทธการจัดการบริษัทขามชาติและ บริษัทระดับโลก Strategies in Global and Multinational Corporation Management การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับธุรกิจ Business Information Technology Management ภาวะผูนําและการพัฒนาทีมงาน Leadership and Team Development การจัดการธุรกิจในครอบครัว Family Business Management การฝกงานดานวิชาชีพ Professional Internship การจัดการสินคาและคลังสินคา Inventory and Warehouse Management การสื่อสารในองคการ Organization Communication การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี Innovation and Technology Management การจัดการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology Service Management ผูประกอบการเทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology Entrepreneurship การจัดการสื่อดิจิตอลออนไลน Online Digital Media Management การจัดการความเสี่ยงและการเปลี่ยนแปลง Risk and Change Management


จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG

412 412 413 413 415 415 416 416 417 417 418 418 422 422 423 423 425 425 426 426 427 427 428 428

จก. 430 MG 430 จก. 440 MG 440

การจัดการคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต Quality and Productivity Management การวิเคราะหเชิงปริมาณทางการจัดการ Quantitative Analysis for Management สถานการณปจจุบันทางการจัดการธุรกิจสมัยใหม Current Issues in Modern Business Management การวิเคราะหการลงทุนทางธุรกิจ Business Investment Analysis การประยุกตใชซอฟตแวรในธุรกิจ Software Applications in Business ประสบการณทางธุรกิจ Business Experience จริยธรรมธุรกิจ Business Ethics ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ Management Information Systems การศึกษาเฉพาะบุคคล Independent Study การวิเคราะหและการพยากรณธุรกิจ Business Forecasting and Analysis การจัดการโครงการ Project Management สัมมนาหัวขอพิเศษสาขาวิชาการจัดการธุรกิจสมัยใหม Seminar in Selected Topics for Modern Business Management สหกิจศึกษา Cooperative Education เกมหมากลอม (โกะ): การพัฒนาทักษะการคิดเชิง กลยุทธ Go: The Strategic Thinking Skill

สศ. CO บธ. BA

301 301 325 325

เตรียมสหกิจศึกษา Pre-Cooperative Education การฝกงานดานผูประกอบการ Entrepreneurial Internship

กลุมวิชาเอกการจัดการทรัพยากรมนุษย อม. 313 เทคนิคการสรางแรงจูงใจ OH 313 Motivation Technique อม. 316 จิตวิทยาองคการ OH 316 Organizational Psychology อม. 325 การพัฒนาบุคลิกภาพ OH 325 Personality Development อม. 326 การจัดการทรัพยากรมนุษยระหวางประเทศ OH 326 International Human Resource Management อม. 327 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการองคการ และทรัพยากรมนุษย OH 327 Organization and Human Resource Information Systems อม. 412 การจัดการแรงงานสัมพันธ OH 412 Labor Relations Management อม. 415 สถานการณปจจุบันทางการจัดการองคการ และทรัพยากรมนุษย OH 415 Current Issues in Organization and Human Resource Management อม. 416 จริยธรรมในการจัดการองคการและทรัพยากรมนุษย OH 416 Ethics in Organization and Human Resource Management อม. 417 ทักษะสําหรับนักธุรกิจมืออาชีพ OH 417 Business Professional Skills หลักสูตรปร ญญาตร 145


อม. 422 กลยุทธการจัดการองคการและทรัพยากรมนุษย OH 422 Strategies in Organization and Human Resource Management อม. 423 การวิจัยทางการจัดการองคการและทรัพยากรมนุษย OH 423 Research in Organization and Human Resource Development อม. 425 การศึกษาเฉพาะบุคคล OH 425 Independent Study อม. 426 กฎหมายแรงงาน OH 426 Labor Law อม. 427 การฝกงานดานการจัดการองคการ และทรัพยากรมนุษย OH 427 Organization and Human Resource Management Internship จก. 323 ภาวะผูนําและการพัฒนาทีมงาน MG 323 Leadership and Team Development จก. 325 การฝกงานดานวิชาชีพ MG 325 Professional Internship จก. 430 สหกิจศึกษา MG 430 Cooperative Education สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา CO 301 Pre-Cooperative Education บธ. 325 การฝกงานดานผูประกอบการ BA 325 Entrepreneurial Internship

หมวดวิชาเลือกเสรี (12 หนวยกิต) นักศึกษาจะตองเลือกเรียนวิชาเลือกเสรี รวมแลวไมนอ ยกวา 12 หนวยกิต จากรายวิชาตาง ๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ซึ่งไมใชวิชาศึกษาทั่วไป และคณะอนุมัติใหเปนวิชาเลือกเสรี

146 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหวางประเทศมีเปาหมายที่จะ ผลิตบัณฑิตใหมีความรูความเขาใจ ตลอดทั้งมีแนวคิดทางดานการ จัดการธุรกิจระหวางประเทศไดอยางมีระบบ และสามารถนําไปใช เปนแนวทางในการประกอบอาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพ พรอมกับ พัฒนาองคความรู เพื่อนําไปวิเคราะหแกไขปญหา และตัดสินใจใน เรือ่ งของการจัดการธุรกิจระหวางประเทศไดอยางถูกตองและมีเหตุผล นอกจากนีบั้ ณฑิตยังสามารถพัฒนาตนเองเพือ่ เปนนักวิชาการ นักวิจยั ทีมี่ ความเชีย่ วชาญทางดานการจัดการธุรกิจระหวางประเทศไดควบคู ไปกับการใชภาษาตางประเทศ

โอกาสในการประกอบอาชีพ บัณฑิต ที่ จบ สาขา วิชา การ จัด การ ธุ รกิ จระ หวา งประเทศ สามารถประกอบอาชีพไดดังนี้ 1. เปนนักธุรกิจดานนําเขาและสงออกสินคาและบริการ 2. เปนพนักงานในหนวยงานและองคกรดานการคาและธุรกิจ ระหวางประเทศ ทั้งภาคเอกชนและภาครัฐ 3. เปน ผู ชํานาญ การ และ ให คํา ปรึกษา ดาน ธุรกิจ ระหวาง ประเทศ 4. เปนพนักงานในสถาบันการเงิน ประจําฝายการเงินและสิน เชื่อระหวางประเทศ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจที่เลือกเรียนสาขาวิชาการจัดการ ธุรกิจระหวางประเทศไดรับปริญญาตรีบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการ จัดการธุรกิจระหวางประเทศ หรือ บธ.บ. (การจัดการธุรกิจระหวาง ประเทศ) จะตองมีจํานวนหนวยกิตไมนอยกวา 135 หนวยกิต โดย แยกออกเปน


วิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต วิชาชีพ 93 หนวยกิต กลุมวิชาแกน 60 หนวยกิต กลุมวิชาเอก-บังคับ 21 หนวยกิต กลุมวิชาเอก-เลือก 12 หนวยกิต วิชาเลือกเสรี 12 หนวยกิต รวม 135 หนวยกิต

เทากับ เทากับ

22 % 69 %

เทากับ 9 % เทากับ 100 %

ทั้งนี้นักศึกษาจะตองศึกษาวิชาศึกษาทั่วไป วิชาเฉพาะกลุม วิชา แกน และ วิชา เลือก เสรี ตาม ที่ คณะ ได จัด ให กับ นัก ศึกษา คณะ บริหารธุรกิจ หลักสูตรปกติ และนักศึกษาจะตองศึกษาวิชาเอก-บังคับ และวิชาเอก-เลือกตามรายวิชา ดังนี้ วิชาเอก-บังคับ (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 21 หนวยกิต) ธป. 322 การจัดการทางการเงินระหวางประเทศ IB 322 International Financial Management ธป. 323 กลยุทธการตลาดระหวางประเทศ IB 323 International Marketing Strategies ธป. 324 การจัดการองคการตางวัฒนธรรม IB 324 Cross Cultural Organization Management ธป. 421 เศรษฐศาสตรและนโยบายการคาระหวางประเทศ IB 421 International Economics and Trade Policies ธป. 422 การวิจัยธุรกิจระหวางประเทศ IB 422 International Business Research ธป. 423 สัมมนาทางการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ IB 423 Seminar in International Business Management ธป. 426 การจัดการหวงโซอุปทานและโลจิสติกสระหวางประเทศ IB 426 International Supply Chain and Logistics Management

วิชาเอก-เลือก (วิชาละ 3 หนวยกิต เลือกเรียน 4 วิชา รวม 12 หนวยกิต ยกเวนวิชา จก. 430 สหกิจศึกษา มีจํานวนหนวยกิต 9 หนวยกิต) ธป. 325 ประสบการณธุรกิจตางประเทศ IB 325 Global Business Experience ธป. 424 พฤติกรรมผูบริโภคในตลาดตางประเทศ IB 424 Consumer Behavior in Global Market ธป. 425 การจัดการผลิตภัณฑและราคาระหวางประเทศ IB 425 International Product and Price Management ธป. 427 การบริหารการสงเสริมการตลาดระหวางประเทศ IB 427 International Promotion Management ธป. 428 กลยุทธชองทางการจัดจําหนายระหวางประเทศ IB 428 International Distribution Strategies ธป. 429 การบัญชีและภาษีระหวางประเทศ IB 429 International Accounting and Taxation ธป. 430 การจัดการทรัพยากรมนุษยระหวางประเทศ IB 430 International Human Resource Management ธป. 431 กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจระหวางประเทศ IB 431 Legal Issues in International Business ธป. 432 ธุรกิจระหวางประเทศในกลุมประเทศเอเชียแปซิฟก IB 432 International Business in Asia-Pacific Countries ธป. 433 ธุรกิจระหวางประเทศในกลุมประเทศยุโรป IB 433 International Business in European Countries ธป. 434 ธุรกิจระหวางประเทศในกลุมประเทศลาตินอเมริกา IB 434 International Business in Latin American Countries ธป. 435 การจัดการกลยุทธระหวางประเทศ IB 435 International Strategic Management ธป. 436 การจัดการกลุมหลักทรัพยและการลงทุน ระหวางประเทศ IB 436 International Investment and Portfolio Management หลักสูตรปร ญญาตร 147


ธป. 437 ประเด็นสําคัญในปจจุบันทางการจัดการธุรกิจ ระหวางประเทศ IB 437 Current Issues in International Business Management ธป. 438 การศึกษาเฉพาะบุคคล IB 438 Independent Study ธป. 439 เทคโนโลยีสําหรับการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ IB 439 Technology for International Business Management ธป. 440 การฝกงานทางดานธุรกิจระหวางประเทศ IB 440 International Business Internship ธป. 441 การเสริมสรางประสบการณตางประเทศ IB 441 International Experience Promotion ธป. 442 การเปนผูประกอบการระดับโลก IB 442 Global Entrepreneurship ธป. 443 การติดตอสื่อสารและการเจรจาขามวัฒนธรรม IB 443 Cross Cultural Communication and Negotiations ธป. 444 ธุรกิจระหวางประเทศในกลุมประเทศตะวันออกกลาง IB 444 International Business in Middle Eastern Countries ธป. 445 ธุรกิจระหวางประเทศในกลุมประเทศแอฟริกา IB 445 International Business in African Countries ตล. 430 การจัดการเพื่อการสงออกและนําเขา MK 430 Export-Import Management บธ. 325 การฝกงานดานผูประกอบการ BA 325 Entrepreneurship Internship สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา CO 301 Pre-Cooperative Education จก. 430 สหกิจศึกษา MG 430 Co-operative Education กง. 325 การเงินเพื่อการนําเขาและสงออก FI 325 Import-Export Financing

148 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาเลือกเสรี (12 หนวยกิต) นักศึกษาจะตองเลือกเรียนวิชาเลือกเสรี รวมแลวไมนอยกวา 12 หนวยกิต จากวิชาตางๆ และวิชาทางดานภาษาตางประเทศทีเป ่ ด สอนในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ และคณะอนุมัติใหเปนวิชาเลือกเสรี

สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ มุงสรางความพรอมแกนักศึกษาใหเปนผูมีศักยภาพระดับ สูง ทั้ง ใน ดาน คอมพิวเตอร และ ดาน ธุรกิจ โดย มี ความ รู และ ความ เชี่ยวชาญในการใชโปรแกรมสําเร็จรูป การเขียนโปรแกรมดวยภาษา คอมพิวเตอรตาง ๆ นอกจากนี้ ยังมีความชํานาญเกี่ยวกับเทคโนโลยี สารสนเทศ (Information Technology) และการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-Commerce) รวมถึงการออกแบบและวิเคราะหระบบงาน การ ออกแบบฐานขอมูล การพัฒนาเว็บเพจ และสามารถนําความรูทาง ดานเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเหลานี้ไปประยุกตรวมกับความรูทาง  ดาน ธุรกิจ เชน การจัดการภายในองคกร การตลาดเกี่ยวกับสินคาอุปโภค บริโภคตางๆ การบริหารงานบุคคล และการบริหารกิจการทั้งขนาด กลางและขนาดยอม ฯลฯ ไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหสอดคลอง กับความตองการขององคกรธุรกิจตางๆ ในปจจุบัน

โอกาสในการประกอบอาชีพ บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา จะเปนผูมีความรูความเชี่ยวชาญ ทั้งทางดานคอมพิวเตอรและดานธุรกิจ พรอมทั้งสามารถนําความรู ดังกลาวไปประกอบอาชีพในองคกรธุรกิจตางๆ ในตําแหนงงานตอไป นี้ นักวิเคราะหทางดานธุรกิจ (Business Analyst) นักวิเคราะหระบบ งาน (System Analyst) โปรแกรมเมอร (Programmer) นักออกแบบ และพัฒนาเว็บเพจ (Web Developer) ทีปรึ ่ กษาทางดานคอมพิวเตอร (Computer Consultant) นักแกปญหาทางดานเทคนิค (Technical


Support) รวมทั้งยังสามารถนําความรูที่ไดศึกษาไปประกอบธุรกิจ สวนตัวไดสําเร็จเปนอยางดีดวย นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจทีเลื ่ อกเรียนสาขาวิชาคอมพิวเตอร ธุรกิจจะไดรับปริญญาตรีบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจจะ ตองมีจํานวนหนวยกิต 135 หนวยกิต โดยแยกออกเปน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต กลุมวิชามนุษยศาสตร 6 หนวยกิต กลุมวิชาภาษา 12 หนวยกิต กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 6 หนวยกิต กลุมวิชาสังคมศาสตร 6 หนวยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 99 หนวยกิต วิชาแกน 45 หนวยกิต วิชาเฉพาะดาน 42 หนวยกิต - กลุมประเด็นดานองคการและระบบสารสนเทศ 15 หนวยกิต - กลุมเทคโนโลยีเพื่องานประยุกต 12 หนวยกิต - กลุมเทคโนโลยีและวิธีการทาง ซอฟตแวร 9 หนวยกิต - กลุมโครงสรางพื้นฐานของระบบ 6 หนวยกิต วิชาเอก-เลือก 12 หนวยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต

กลุมวิชาบังคับ (15 หนวยกิต) หนวยกิต ศท. 111 คุณคาแหงบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสรางสรรค 3 GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก 3 GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแหงชีวิต 3 GE 115 The Art of Life กลุมวิชาเลือก (6 หนวยกิต) ศท. 116 ทักษะความเปนผูนํา GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปญญาไทยและเศรษฐกิจสรางสรรค GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

3 3 3 3

หมวดวิชาเฉพาะ (99 หนวยกิต) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หนวยกิต) กลุมวิชาภาษาอังกฤษ (9 หนวยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หนวยกิต 3 3 3

หมวดวิชาเฉพาะดานประกอบดวย 3 กลุมวิชา ดังตอไปนี้ วิชาแกน (45 หนวยกิต) บช. 201 หลักการบัญชี 1 AC 201 Principles of AccountingI ศศ. 203 เศรษฐศาสตรเบื้องตน EC 203 Introduction to Economics กม. 102 กฎหมายธุรกิจ LA 102 Business Law

3 3 3

หลักสูตรปร ญญาตร 149


กม. 301 LA 301 คณ. 102 MA 102 บธ. 207 BA 207 จก. 112 MG 112 กง. 212 FI 212 ตล. 212 MK 212 อม. 212 OH 212 จก. 212 MG 212 จก. 222 MG 222 จก. 424 MG 424 อก. 331 EN 331 อก. 332 EN 332

หนวยกิต การภาษีอากร 3 Taxation คณิตศาสตรธุรกิจ 3 Business Mathematics การวิเคราะหทางสถิติเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ 3 Statistical Analysis for Business Decisions การจัดการ 3 Management การเงินธุรกิจ 3 Business Finance การตลาด 3 Marketing การจัดการทรัพยากรมนุษย 3 Human Resource Management การจัดการงานผลิตและการดําเนินงาน 3 Production and Operations Management การเปนผูประกอบการและการพัฒนาธุรกิจ 3 Entrepreneurship and Business Development การจัดการเชิงกลยุทธและนโยบายธุรกิจ 3 Strategic Management and Business Policy ภาษาอังกฤษธุรกิจเชิงปฏิบัติ 3 Practical Business English ภาษาอังกฤษธุรกิจมืออาชีพ 3 Professional Business English

วิชาเฉพาะดาน (42 หนวยกิต) กลุมประเด็นดานองคการและระบบสารสนเทศ (15 หนวยกิต) หนวยกิต คธ. 422 ระบบฐานขอมูล 3 BC 422 Database Systems คธ. 424 เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ 3 BC 424 Business Information Technology คธ. 425 การสื่อสารขอมูลและเครือขายคอมพิวเตอร 3 BC 425 Data Communication and Networking คธ. 430 การจัดทําโครงงานทางดานคอมพิวเตอรธุรกิจ 3 BC 430 Project in Business Computer คธ. 438 ความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ 3 BC 438 Information Systems Security กลุมเทคโนโลยีเพื่องานประยุกต (12 หนวยกิต) คธ. 325 การเขียนและใชงานโปรแกรมประยุกต ทางอินเตอรเน็ต BC 325 Internet Programming and Applications คธ. 428 การวิจัยทางดานคอมพิวเตอรธุรกิจ BC 428 Research in Business Computer คธ. 429 สัมมนาทางดานคอมพิวเตอรธุรกิจ BC 429 Seminar in Business Computer คธ. 436 การพัฒนาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส BC 436 Electronic Business Development กลุมเทคโนโลยีและวิธีการทางซอฟตแวร (9 หนวยกิต) คธ. 310 การเขียนโปรแกรมประยุกตทางธุรกิจ BC 310 Business Application Programming คธ. 427 การประยุกตใชคอมพิวเตอรทางดานการเงิน BC 427 Computer Applications in Finance

150 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

3 3 3 3

3 3


คธ. 432 การจัดการโครงงานซอฟตแวร BC 432 Software Project Management กลุมโครงสรางพื้นฐานของระบบ (6 หนวยกิต) คธ. 323 โครงสรางขอมูลและขั้นตอนวิธี BC 323 Data Structures and Algorithm คธ. 423 การวิเคราะหและออกแบบระบบ BC 423 Systems Analysis and Design

หนวยกิต 3

3 3

วิชาเอก-เลือก ใหเลือกเรียนจากวิชาตอไปนี้ไมนอยกวา 12 หนวยกิต คธ. 321 การใชไมโครคอมพิวเตอรทางดานธุรกิจ 3 BC 321 Microcomputer Applications in Business คธ. 324 การเขียนโปรแกรมภาษาโคบอล 3 BC 324 COBOL Programming คธ. 327 ระบบมัลติมีเดียและการประยุกตใช 3 BC 327 Multimedia System and Applications คธ. 426 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการโซอุปทาน 3 และโลจิสติกส BC 426 Information Technology for Supply Chain and Logistics คธ. 431 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 3 BC 431 Object-Oriented Programming คธ. 433 หัวขอพิเศษเพื่อสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ 3 BC 433 Selected Topics for Business Computer คธ. 434 การเขียนโปรแกรมแบบวิชวล 3 BC 434 Visual Programming คธ. 435 การใชคอมพิวเตอรกราฟกเพื่อธุรกิจ 3 BC 435 Computer Graphic for Business

หนวยกิต คธ. 437 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3 BC 437 Independent Study คธ. 439 เทคนิคการนําเสนอทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 ทางธุรกิจ BC 439 Presentation Techniques in Business Information Technology คธ. 440 การตรวจสอบและประกันคุณภาพซอฟตแวร 3 BC 440 Software Assurance and Auditing บธ. 325 การฝกงานดานผูประกอบการ BA 325 Entrepreneurial Internship 3 สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา 3 CO 301 Pre-Cooperative Education จก. 430 สหกิจศึกษา 9 MG 430 Cooperative Education

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หนวยกิต) ใหนักศึกษาเลือกเรียน 2 รายวิชาที่เปดสอนในมหาวิทยาลัย กรุงเทพและคณะอนุมัติใหเปนวิชาเลือกเสรี

หลักสูตรปร ญญาตร 151


สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส มุง มัน่ ทีจ่ ะผลิตบัณฑิตใหเปน ผูที่มีความรูความสามารถ มีทักษะ มีความพรอมที่จะนําความรูไป ประยุกตใชกับการภาคธุรกิจ ทั้งระดับประเทศ และตางประเทศ อัน สงผลตอความเจริญ กาวหนาทางเศรษฐกิจของประเทศยิ่งขึ้น ซึ่งในปจจุบันสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส ไดกลายเปน ศาสตรแขนงหนึ่งที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของผู ประกอบการ และองคประกอบทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ในการพัฒนาระบบโลจิสติกส ใหมีประสิทธิภาพ คือ ทรัพยากรมนุษย ถือเปนผูที่จะนําองคความรู มาใชในการวางแผน การดําเนินการ และประยุกตใชระบบเทคโนโลยี สารสนเทศสําหรับการจัดการโลจิสติกส ภายใตความมุงมั่นของภาค วิชาที่จะผลิตบัณฑิตใหมีคุณภาพสูตลาดแรงงานตอไป

โอกาสในการประกอบอาชีพ บัณฑิตสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส สามารถเลือกทํางาน ไดในหลากหลายอาชีพหลังจากสําเร็จการศึกษา ดังนี้ 1. หนวยงานตางๆ ของภาคเอกชน ในดานการจัดซื้อ การ ผลิต การจัดสงและการบริหารคลังสินคา ตลอดจนนักวิเคราะหดาน โลจิสติกสและโซอุปทาน นักวางแผน วัตถุดิบ การผลิต หรือการ กระจายสินคา และนักวิเคราะหกระบวนการทางธุรกิจ 2. หนวยงานที่เปนองคกรของรัฐ กรมการขนสงทางนํ้าและ พาณิชยนาวี กรมประมง กรมการขนสงทางอากาศ กรมศุลกากร การ ทาเรือแหงประเทศไทย บริษัททาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) 3. สามารถสรางธุรกิจสวนตัวเพือ่ รองรับการเจริญเติบโตของ ระบบโลจิสติกสที่เกี่ยวกับดานการนําเขาและสงออก ผูใหบริการทาง ดานโลจิสติกส ตัวแทนขนสงสินคาทางบก ทางทะเล ทางอากาศ ทาเรือหรือทาเทียบเรือของเอกชน หรือผูป ระกอบการสถานีพกั สินคา ไดแก บริษทั การบินไทย จํากัด (มหาชน) และบริษทั การบินกรุงเทพ จํากัด ฯลฯ 152 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจที่เลือกเรียนสาขาวิชาการจัดการ โลจิสติกส จะไดรับปริญญาตรีบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ โลจิสติกส หรือ บธ.บ.(การจัดการโลจิสติกส) จะตองมีหนวยกิตไม นอยกวา 135 หนวยกิต โดยแยกออกเปน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาชีพ วิชาแกน วิชาเอก-บังคับ วิชาเอก-เลือก หมวดวิชาเลือกเสรี รวม

30 หนวยกิต 99 หนวยกิต 60 หนวยกิต 30 หนวยกิต 9 หนวยกิต 6 หนวยกิต 135 หนวยกิต

เทากับ 22 % เทากับ 74 %

เทากับ 4 % เทากับ 100 %

วิชาเอก-บังคับ (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 30 หนวยกิต) กล. 311 การจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน LM 311 Logistics and Supply Chain Management กล. 312 การจัดการการจัดซื้อ LM 312 Purchasing Management กล. 313 การจัดการสินคาคงคลังและคลังสินคา LM 313 Inventory and Warehouse Management กล. 321 การจัดการการขนสงและการกระจายสินคา LM 321 Transportation and Distribution Management กล. 322 การคาและโลจิสติกสระหวางประเทศ LM 322 International Trade and Logistics กล. 323 การจัดการเพื่อการสงออกและนําเขา LM 323 Export-Import Management กล. 411 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อโลจิสติกส LM 411 Information Technology for Logistics กล. 412 กลยุทธโลจิสติกสและโซอุปทาน LM 412 Logistics and Supply Chain Strategy


กล. LM กล. LM

413 413 421 421

การฝกงานทางดานการจัดการโลจิสติกส Logistics Management Internship สัมมนาทางดานการจัดการโลจิสติกส Seminar in Logistics Management

วิชาเอก-เลือก (วิชาละ 3 หนวยกิต เลือกเรียน 3 วิชา รวม 9 หนวยกิต ยกเวนวิชา จก. 430 สหกิจศึกษา มีจํานวน หนวยกิต 9 หนวยกิต) กล. 414 การพยากรณความตองการและยอดขาย LM 414 Demand and Sale Forecasting กล. 415 การจัดหาเชิงกลยุทธ LM 415 Strategic Sourcing กล. 416 การวิเคราะหเชิงปริมาณเพื่อการจัดการโลจิสติกส LM 416 Quantitative Methods for Logistics Management กล. 417 การจัดการความสัมพันธทางดานโซอุปทาน LM 417 Supply Chain Relationship Management กล. 422 การประกันภัยเพื่อการดําเนินงานโลจิสติกส LM 422 Insurance for Logistics Operations กล. 423 การออกแบบและการดําเนินงานคลังสินคา LM 423 Warehouse Design and Operations กล. 424 ความปลอดภัยและสภาพแวดลอมในการขนสง LM 424 Transport Safety and Environment กล. 425 การลําเลียงวัสดุและการบรรจุภัณฑ LM 425 Material Handling and Packaging กล. 426 การจัดการการบริการโลจิสติกส LM 426 Logistics Service Management กล. 427 กฎหมายเพื่อโลจิสติกส LM 427 Legal Aspects for Logistics กล. 428 การตัดสินใจดานทําเลที่ตั้งเชิงกลยุทธ LM 428 Strategic Location Decisions

กล. LM กล. LM กล. LM กล. LM กล. LM กล. LM กล. LM กล. LM กล. LM บธ. BA จก. MG สศ. CO

431 431 432 432 433 433 434 434 435 435 436 436 441 441 442 442 443 443 325 325 430 430 301 301

ประสบการณโลจิสติกส Logistics Experience การวิจัยทางดานโลจิสติกส Logistics Research การจัดการทาเรือและเทอรมินัล Port and Terminal Management การจัดการการขนสงทางบก Land Transportation Management การจัดการการขนสงทางอากาศ Air Transportation Management การจัดการการขนสงทางนํ้า Water Transportation Management สถานการณปจจุบันทางดานการจัดการโลจิสติกส Current Issues in Logistics Management หัวขอพิเศษทางการจัดการโลจิสติกส Special Topics in Logistics Management การศึกษาเฉพาะบุคคล Independent Study การฝกงานดานผูประกอบการ Entrepreneurial Internship สหกิจศึกษา Co-operative Education เตรียมสหกิจศึกษา Pre-Cooperative Education

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หนวยกิต) นักศึกษาจะตองเลือกเรียนวิชาเลือกเสรี รวมแลวไมนอ ยกวา 6 หนวยกิต จากวิชาตางๆ ทีเ่ ปดสอนในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ซึง่ ไมใช วิชาศึกษาทั่วไป และคณะอนุมัติใหเปนวิชาเลือกเสรี หลักสูตรปร ญญาตร 153


สาขาวิชาการตลาด (เนนกลุมวิชาเอกเลือกทางดาน ธุรกิจบริการและบันเทิง) (ภาคบายเรียนที่วิทยาเขตกลวยนํ้าไท 3 ปครึ่ง) เปนหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการตลาดที่มีอยูเดิม โดยจัดกลุมวิชาเนนทางดานธุรกิจบริการและบันเทิง ใหนักศึกษาได เรียนในกลุมวิชาเอกเลือก และวิชาเลือกเสรี พรอมเนนกิจกรรมฝก ประสบการณทางดานบริการและบันเทิง โดยจัดการเรียนการสอนให นักศึกษาสําเร็จการศึกษาภายใน 3 ปครึ่ง นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจที่เลือกเรียนสาขาวิชาการตลาด สําหรับธุรกิจบริการและบันเทิง สําหรับการโฆษณาและประชาสัมพันธ จะไดรับปริญญาตรีบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด สําหรับธุรกิจ บริการและบันเทิง จะตองมีจาํ นวนหนวยกิตรวมทัง้ หมด 135 หนวยกิต

วิชาเอก-บังคับ (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 21 หนวยกิต) ตล. 311 การบริหารผลิตภัณฑและราคา MK 311 Product and Price Management ตล. 312 การจัดการกระจายสินคาและโลจิสติกส MK 312 Distribution and Logistics Management ตล. 313 การจัดการสงเสริมการตลาด MK 313 Promotion Management ตล. 314 พฤติกรรมผูบริโภค MK 314 Consumer Behavior ตล. 321 การวิจัยการตลาด MK 321 Marketing Research ตล. 418 การตลาดสําหรับการเปนผูประกอบการ MK 418 Entrepreneurial Marketing ตล. 421 สัมมนาทางการตลาด MK 421 Seminar in Marketing

วันและเวลาเรียน จันทร-เสาร เวลา 11.20 -13.50 น. หรือ 14.00 -16.30 น. หรือ 17.00 -19.30 น. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาชีพ วิชาแกน วิชาเอก-บังคับ วิชาเอก-เลือก หมวดวิชาเลือกเสรี รวม

154 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

30 หนวยกิต 93 หนวยกิต 60 หนวยกิต 21 หนวยกิต 12 หนวยกิต 12 หนวยกิต 135 หนวยกิต

เทากับ 22 % เทากับ 69 %

เทากับ 9 % เทากับ 100 %

วิชาเอกเลือก (12 หนวยกิต) ตล. 322 การบริหารลูกคาสัมพันธ MK 322 Customer Relationship Management ตล. 323 การบริหารตราสินคา MK 323 Brand Management ตล. 324 การจัดการขาย MK 324 Sales Management ตล. 325 การตลาดสินคาแฟชั่น MK 325 Fashion Marketing ตล. 326 การบริหารการโฆษณาและบริษัทตัวแทน MK 326 Advertising and Agency Management ตล. 327 การจัดซื้อและการเจรจาตอรอง MK 327 Purchasing and Negotiations


ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK

328 328 329 329 411 411 412 412 413 413 414 414 415 415 416 416 417 417 419 419 422 422 423 423 424 424 425 425 426 426

การตลาดบริการ Services Marketing การฝกงานดานการตลาด Marketing Internship การตลาดระหวางประเทศและระดับโลก International and Global Marketing การจัดกิจกรรมทางการตลาดและการประชาสัมพันธ Event Marketing and Public Relations การตลาดทางตรง Direct Marketing การพยากรณความตองการและยอดขาย Demand and Sales Forecasting สถานการณปจจุบันทางการตลาด Current lssues in Marketing การตลาดกีฬา Sports Marketing การบริหารการคาปลีก Retailing Management การวิเคราะหเชิงปริมาณทางการตลาด Quantitative Analysis in Marketing กลยุทธการสงเสริมการขาย Sales Promotion Strategies การตลาดระหวางธุรกิจ Business to Business Marketing นโยบายการตลาดเชิงกลยุทธ Strategic Marketing Policy การศึกษาเฉพาะบุคคล Independent Study การตลาดธุรกิจบันเทิง Entertainment Marketing

ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK ตล. MK บธ. BA จก. MG สศ. CO จก. MG

427 427 428 428 429 429 430 430 431 431 325 325 325 325 301 301 430 430

การตลาดเทคโนโลยีขั้นสูง Hi-Tech Marketing การตลาดอิเล็กทรอนิกส E-Marketing การบริหารธุรกิจโรงแรมและการทองเที่ยว Hotel and Tourism Management การจัดการสงออกและนําเขา Export-Import Management การพัฒนาและวางแผนผลิตภัณฑใหม New Product Planning and Develoment การฝกงานดานผูประกอบการ Entrepreneurial Internship การฝกงานดานวิชาชีพ Professional Internship เตรียมสหกิจศึกษา Pre-Cooperative Education สหกิจศึกษา Cooperative Education

วิชาเลือกเสรี (12 หนวยกิต) เลือกเรียนวิชาเลือกเสรี 12 หนวยกิตที่เกี่ยวโยงกับธุรกิจ บริการและบันเทิงในสาขาวิชาการตลาดหรือคณะอื่นๆ อาทิ วิชา TM344 Leisure and Entertainment Business Management เปนตน

กิจกรรมเสริมหลักสูตร M Planet-โลกการตลาดธุรกิจบริการและบันเทิง นักศึกษาชั้นปที่ 3 ในภาคการศึกษาฤดูรอนของหลักสูตร นี้จะตองลงทะเบียนเรียนวิชา MK 329 Marketing Internship เพื่อ ทํากิจกรรมฝกงานในหลักสูตรกับโครงการ M Planet (โลกการตลาด ธุรกิจบริการและบันเทิง) โดยที่โครงการนีจ้ ะแบงกิจกรรมเปน 2 หมวด หลักสูตรปร ญญาตร 155


ใหญ คือ ธุรกิจบริการและธุรกิจบันเทิง นักศึกษาจะตองรวมทีม ๆ ละ ประมาณ 20-30 คน เพื่อจัดกิจกรรมใหญรวมกันในทีม โดยรูปแบบ กิจกรรมจะเปนกิจกรรมสรางสรรคทางการตลาดของธุรกิจบริการและ ธุรกิจบันเทิง ซึง่ จะมีการกําหนดกิจกรรมการตลาดในแตละปการศึกษา ที่แตกตางออกไป ตัวอยางกิจกรรม ไดแก Concert Golf Tournament Fashion Show Walk Rally Trade Show บริษัททัวรจําลอง การประกวดความสามารถระดับประเทศ ซึ่งกิจกรรมการตลาดแตละกิจกรรมจะตองจัดขึ้นอยางมี วัตถุประสงคและคํานึงถึงหลักบรรษัทภิบาล (Corporate Social Responsibility) และเปนโครงการที่สรางสรรคสังคมอยางชัดเจน

รายละเอียดการเรียนการสอน นักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชา MK 412 Event Marketing and Public Relations ในภาคการศึกษาที่ 2 ชั้นปที่ 3 เพื่อวางแผน และวางแนวคิดของกิจกรรมการตลาด นักศึกษาลงวิชา MK 329 Marketing Internship ในภาคการ ศึกษาที่ 3 ชั้นปที่ 3 เพื่อจัดกิจกรรมการตลาดในชวง Summer

อัตราคาเลาเรียน คาบํารุง และคาธรรมเนียม อัตราคาเลาเรียน คาบํารุง และคาธรรมเนียมใหเปนไปตาม อัตราปกติของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดยเก็บเพิ่มคาบํารุงโครงการ พิเศษ ภาคละ 2,000 บาท (เก็บเฉพาะภาคการศึกษาปกติเทานั้น ภาคฤดูรอนไมเก็บ รวมทั้งหมดเก็บ 7 ภาคการศึกษา คิดเปนจํานวน เงินเทากับ 14,000 บาท ตอคน) เพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมเสริม หลักสูตร M Planet 156 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ (เนนกลุม วิชาเอกเลือกทางดานการเปนผูป ระกอบการ และการจัดการระดับโลก) (ภาคบายเรียนที่วิทยาเขตกลวยนํ้าไท 3 ปครึ่ง) เปนหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ ระหวางประเทศที่มีอยูเดิม แตจะเพิ่มรายวิชาและกิจกรรมเสริมสราง ทักษะ วิสัยทัศน และการฝกประสบการณทางดานการเปนผูประกอบ การธุรกิจระดับโลกไปดวย โดยจัดการเรียนการสอนใหนกั ศึกษาสําเร็จ การศึกษาภายใน 3 ปครึ่ง

วันและเวลาเรียน จันทร-เสาร เวลา 12.40-15.10 น. และ 15.40-18.10 น. (เรียน 2 วิชาตอวัน พักระหวางวิชา 30 นาที)

โอกาสในการประกอบอาชีพ บัณฑิตที่จบสาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ (การ เปนผูประกอบการและการจัดการระดับโลก) สามารถประกอบอาชีพ ไดดังนี้ 1. ผูประกอบการหรือผูบริหารธุรกิจระหวางประเทศ เชน ธุรกิจนําเขา-สงออกสินคาหรือบริการ ธุรกิจแฟรนไชสระหวาง ประเทศ ธุรกิจตัวแทนผูร บั จัดการขนสงสินคาระหวางประเทศ (Freight Forwarder) เปนตน 2. ผูจดการหรือผูบริหารในบรรษัทขามชาติตางๆ 3. ที่ปรึกษาธุรกิจระหวางประเทศ 4. นักวิจัยธุรกิจระหวางประเทศ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจที่เลือกเรียนสาขาวิชาการจัดการ ธุรกิจระหวางประเทศ (การเปนผูป ระกอบการและการจัดการระดับโลก) จะไดรับปริญญาตรีบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหวาง


ประเทศ จะตองมีจํานวนหนวยกิตรวมทั้งหมด 135 หนวยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต เทากับ 22 % หมวดวิชาชีพ 93 หนวยกิต เทากับ 69 % วิชาแกน 60 หนวยกิต วิชาเอก-บังคับ 21 หนวยกิต วิชาเอก-เลือก 12 หนวยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 12 หนวยกิต เทากับ 9 % รวม 135 หนวยกิต เทากับ 100 % วิชาเอก-บังคับ (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 21 หนวยกิต) ธป. 322 การจัดการทางการเงินระหวางประเทศ IB 322 International Financial Management ธป. 323 กลยุทธการตลาดระหวางประเทศ IB 323 International Marketing Strategies ธป. 324 การจัดการองคการตางวัฒนธรรม IB 324 Cross Cultural Organization Management ธป. 421 เศรษฐศาสตรและนโยบายการคาระหวางประเทศ IB 421 International Economics and Trade Policies ธป. 422 การวิจัยธุรกิจระหวางประเทศ IB 422 International Business Research ธป. 423 สัมมนาทางการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ IB 423 Seminar in International Business Management ธป. 426 การจัดการหวงโซอปุ ทานและโลจิสติกสระหวางประเทศ IB 426 International Supply Chain and Logistics Management วิชาเอก-เลือก (วิชาละ 3 หนวยกิต เลือกเรียน 4 วิชา รวม 12 หนวยกิต) ธป. 325 ประสบการณธุรกิจตางประเทศ IB 325 Global Business Experience ธป. 424 พฤติกรรมผูบริโภคในตลาดตางประเทศ IB 424 Consumer Behavior in Global Market

ธป. IB ธป. IB ธป. IB ธป. IB ธป. IB ธป. IB ธป. IB ธป. IB ธป. IB ธป. IB ธป. IB ธป IB ธป. IB ธป. IB ธป IB

425 425 427 427 428 428 429 429 430 430 431 431 432 432 433 433 434 434 435 435 436 436 437 437 438 438 439 439 440 440

การจัดการผลิตภัณฑและราคาระหวางประเทศ International Product and Price Management การจัดการการสงเสริมการตลาดระหวางประเทศ International Promotion Management กลยุทธชองทางการจัดจําหนายระหวางประเทศ International Distribution Strategies การบัญชีและภาษีระหวางประเทศ International Accounting and Taxation การจัดการทรัพยากรมนุษยระหวางประเทศ International Human Resource Management กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจระหวางประเทศ Legal Issues in International Business ธุรกิจระหวางประเทศในกลุมประเทศเอเชียแปซิฟค International Business in Asia-Pacific Countries ธุรกิจระหวางประเทศในกลุมประเทศยุโรป International Business in European Countries ธุรกิจระหวางประเทศในกลุมประเทศลาตินอเมริกา International Business in Latin American Countries การจัดการกลยุทธระหวางประเทศ International Strategic Management การจัดการกลุม หลักทรัพยและการลงทุนระหวางประเทศ International Investment and Portfolio Management สถานการณปจจุบันทางการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ Current Issues in International Business Management การศึกษาเฉพาะบุคคล Independent Study เทคโนโลยีสําหรับการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ Technology for International Business Management การฝกงานทางดานธุรกิจระหวางประเทศ International Business Internship หลักสูตรปร ญญาตร 157


ธป IB ธป IB ธป. IB ธป. IB ธป. IB ตล. MK กง. FI จก. MG จก. MG

441 441 442 442 443 443 444 444 445 445 430 430 325 325 325 325 430 430

การเสริมสรางประสบการณตางประเทศ International Experience Promotion การเปนผูประกอบการระดับโลก Global Entrepreneurship การติดตอสื่อสารและการเจรจาขามวัฒนธรรม Cross Cultural Communication and Negotiations ธุรกิจระหวางประเทศในกลุมประเทศตะวันออกกลาง International Business in Middle Eastern Countries ธุรกิจระหวางประเทศในกลุมประเทศแอฟริกา International Business in African Countries การจัดการเพื่อการสงออกและนําเขา Export-Import Management การเงินเพื่อการนําสินคาเขาและสงสินคาออก Import - Export Financing การฝกงานดานวิชาชีพ Professional Internship สหกิจศึกษา Cooperative Education

วิชาเลือกเสรี (12 หนวยกิต) เลือกเรียนวิชาเลือกเสรี 12 หนวยกิตที่เกี่ยวโยงกับการเปน ผูประกอบการและการจัดการระดับโลก โดยเลือกจากวิชาตาง ๆ ที่ อยูในกลุมวิชาเอกเลือก หรือวิชาในสาขาการเปนเจาของธุรกิจ หรือ วิชาในสาขาการจัดการธุรกิจสมัยใหม หรือวิชาอื่น ๆ ที่เปดสอนใน มหาวิทยาลัย นักศึกษาอาจเลือกรายวิชาในกลุมวิชาเอกเลือกขางตนหรือ รายวิชาตอไปนี้เปนวิชาเลือกเสรี จธ. 311 การเปนเจาของธุรกิจและการสรางกิจการใหม EP 311 Entrepreneurship and New Venture Creation

158 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

จธ. EP จธ. EP จธ. EP จธ. EP จธ. EP จธ. EP จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG

312 312 313 313 412 412 415 415 422 422 424 424 311 311 313 313 411 411 317 317 323 323

การจัดการธุรกิจในครอบครัว Family Business Management การเขียนแผนธุรกิจ Business Plan for Entrepreneurs การเปนเจาของธุรกิจในเศรษฐกิจโลก Entrepreneurship in the Global Economy การพัฒนาผลิตภัณฑใหมและโอกาสทางการตลาด New Product Development and Market Opportunity การจัดการธุรกิจที่กําลังเจริญเติบโต Managing a Growing Business การบริหารนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง Innovation and Change Management การจัดการองคการและปจเจกบุคคล Management of Organizations and Individuals การจัดการเชิงกลยุทธสมัยใหม Modern Strategic Management การจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส E-Business Management การตอรองทางธุรกิจและการจัดการความขัดแยง Business Negotiation and Conflict Management ภาวะผูนําและการพัฒนาทีมงาน Leadership and Team Development

กิจกรรมเสริมหลักสูตร 1. การจัดอบรมหรือบรรยายโดยวิทยากรทีม่ ชี อื่ เสียงในหัวขอ ตางๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพหรือประเด็นที่สําคัญเกี่ยวกับการ จัดการธุรกิจระหวางประเทศ โดยจะจัดภาคการศึกษาละ 1 ครัง้ (เฉพาะ ภาคการศึกษาปกติ) หัวขอการบรรยายพิเศษ อาทิ - การเขียนแผนธุรกิจระหวางประเทศ - การจัดการธุรกิจสงออกสินคาแบบครบวงจร


-

การประกันภัยขนสงสินคาทางทะเล การจัดการหวงโซอุปทานและโลจิสติกส กฎหมายธุรกิจระหวางประเทศ การติดตอสื่อสารกับนักธุรกิจตางชาติ การเจรจาตอรองกับนักธุรกิจตางชาติ การสรางความสัมพันธทางธุรกิจกับนักธุรกิจตางชาติ มารยาทในการติดตอสือ่ สารและการเขาสังคมกับนักธุรกิจ

ตางชาติ 2. การศึกษาดูงานภายในประเทศและตางประเทศในรายวิชา IB 325 Global Business Experience โดยนักศึกษาจะไดเยี่ยมชม ธุรกิจสงออกและธุรกิจขามชาติทั้งในและตางประเทศ เชน มาเลเซีย ลาว พมา สิงคโปร อินโดนีเซีย เปนตน 3. จัดสอนเสริมภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่น (เชน จีน เกาหลี ญี่ปุน เปนตน) ใหสองครั้ง (เทียบเทา 2 วิชา) เพื่อเตรียมความพรอม สูการทํางานในโลกธุรกิจสากลโดยไมคิดคาใชจายเพิ่มเติม โดยจัดให เรียนเสริมในชั้นปที่ 3 ทั้งสองภาคการศึกษา ภาคการศึกษาละ 1 วิชา โดยใหนกั ศึกษาเลือกวาจะเรียนภาษาอะไร (อาจใหนกั ศึกษาเลือกเรียน ระหวางภาษาอังกฤษกับภาษาจีน) หมายเหตุ กิจกรรมเสริมหลักสูตรขางตนนี้ จะอยูภายใตงบประมาณ คาบํารุงโครงการพิเศษ ที่เก็บจากนักศึกษาภาคการศึกษาละ 2,000 บาท รวมตลอดหลักสูตรเปนจํานวนเงินเทากับ 14,000 บาทตอคน

อัตราคาเลาเรียน คาบํารุง และคาธรรมเนียม อัตราคาเลาเรียน คาบํารุง และคาธรรมเนียมใหเปนไปตาม อัตราปกติของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดยเก็บเพิ่มคาบํารุงโครงการ พิเศษ ภาคละ 2,000 บาท (เก็บเฉพาะภาคการศึกษาปกติเทานัน้ ภาค ฤดูรอนไมเก็บ) เพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร

สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส (ภาคบายเรียนที่วิทยาเขตกลวยนํ้าไท 3 ปครึ่ง) เป น หลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการจั ด การ โลจิสติกสที่มุงเนนการจัดอบรมหรือบรรยายโดยวิทยากรที่มีชื่อเสียง ในหัวขอตางๆ ทีเ่ กีย่ วกับการพัฒนาวิชาชีพหรือประเด็นทีส่ าํ คัญเกีย่ ว กับการจัดการโลจิสติกส และมีรูปแบบการเรียนการสอนใหนักศึกษา สามารถสําเร็จการศึกษาไดภายใน 3 ปครึ่ง

วันและเวลาเรียน จันทร-เสาร เวลา 14.00-16.35 น. และ 17.00-19.30 น. (เรียน 2 วิชาตอวัน พักระหวางวิชา 30 นาที)

โอกาสในการประกอบอาชีพ การจัดการโลจิสติกส มีจุดมุงหมายที่จะสอนใหนักศึกษามี ความรูแ ละความเขาใจเกีย่ วกับงานทางดานการวิเคราะห และวางแผน ทางดานการจัดการโลจิสติกสขององคการธุรกิจ เพื่อใหบรรลุถึงเปา หมายทางดานการจัดการโลจิสติกส นอกจากนี้ยังมุงเนนการสอนให นักศึกษาเขาใจถึงการบริหารงานโลจิสติกสของบริษัทในดานตางๆ เชน การคลังสินคา การขนสง การกระจายสินคา การพยากรณอปุ สงค การจัดการวัสดุ การคาระหวางประเทศและอื่นๆ ทั้งนี้ ทางสาขาวิชา ไดปรับปรุงหลักสูตรของสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส เพือ่ ใหบณ ั ฑิต มีความรูทันกับเหตุการณและวิทยาการอันทันสมัย ดังนั้น บัณฑิตที่ จบจากสาขานีจ้ ะสามารถทํางานดานโลจิสติกสทงั้ ของภาครัฐบาลและ เอกชนไดเปนอยางดี นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจที่เลือกเรียนสาขาวิชาการจัดการ จัดการโลจิสติกส จะไดรับปริญญาตรีบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัด การโลจิสติกส จะตองมีจํานวนหนวยกิตรวมทั้งหมด 135 หนวยกิต

หลักสูตรปร ญญาตร 159


หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาชีพ วิชาแกน วิชาเอก-บังคับ วิชาเอก-เลือก หมวดวิชาเลือกเสรี รวม

30 หนวยกิต 99 หนวยกิต 60 หนวยกิต 30 หนวยกิต 9 หนวยกิต 6 หนวยกิต 135 หนวยกิต

เทากับ 22 % เทากับ 74 %

เทากับ 4 % เทากับ 100 %

วิชาเอก-บังคับ (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 30 หนวยกิต) กล. 311 การจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน LM 311 Logistics and Supply Chain Management กล. 312 การจัดการการจัดซื้อ LM 312 Purchasing Management กล. 313 การจัดการสินคาคงคลังและคลังสินคา LM 313 Inventory and Warehouse Management กล. 321 การจัดการการขนสงและการกระจายสินคา LM 321 Transportation and Distribution Management กล. 322 การคาและโลจิสติกสระหวางประเทศ LM 322 International Trade and Logistics กล. 323 การจัดการเพื่อการสงออกและนําเขา LM 323 Export-Import Management กล. 411 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อโลจิสติกส LM 411 Information Technology for Logistics กล. 412 กลยุทธโลจิสติกสและโซอุปทาน LM 412 Logistics and Supply Chain Strategy กล. 413 การฝกงานทางดานการจัดการโลจิสติกส LM 413 Logistics Management Internship กล. 421 สัมมนาทางดานการจัดการโลจิสติกส LM 421 Seminar in Logistics Management

160 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

วิชาเอก-เลือก (วิชาละ 3 หนวยกิต เลือกเรียน 3 วิชา รวม 9 หนวยกิต ยกเวนวิชา จก.430 สหกิจศึกษา มีจาํ นวน 9 หนวยกิต) กล. 414 การพยากรณความตองการและยอดขาย LM 414 Demand and Sale Forecasting กล. 415 การจัดหาเชิงกลยุทธ LM 415 Strategic Sourcing กล. 416 การวิเคราะหเชิงปริมาณเพื่อการจัดการโลจิสติกส LM 416 Quantitative Methods for Logistics Management กล. 417 การจัดการความสัมพันธทางดานโซอุปทาน LM 417 Supply Chain Relationship Management กล. 422 การประกันภัยเพื่อการดําเนินงานโลจิสติกส LM 422 Insurance for Logistics Operations กล. 423 การออกแบบและการดําเนินงานคลังสินคา LM 423 Warehouse Design and Operations กล. 424 ความปลอดภัยและสภาพแวดลอมในการขนสง LM 424 Transport Safety and Environment กล. 425 การลําเลียงวัสดุและการบรรจุภัณฑ LM 425 Material Handling and Packaging กล. 426 การจัดการการบริการโลจิสติกส LM 426 Logistics Service Management กล. 427 กฎหมายเพื่อโลจิสติกส LM 427 Legal Aspects for Logistics กล. 428 การตัดสินใจดานทําเลที่ตั้งเชิงกลยุทธ LM 428 Strategic Location Decisions กล. 431 ประสบการณโลจิสติกส LM 431 Logistics Experience กล. 432 การวิจัยทางดานโลจิสติกส LM 432 Logistics Research กล. 433 การจัดการทาเรือและเทอรมินัล LM 433 Port and Terminal Management


กล. LM กล. LM กล. LM กล. LM กล. LM กล. LM บธ. BA จก. MG สศ. CO

434 434 435 435 436 436 441 441 442 442 443 443 325 325 430 430 301 301

การจัดการการขนสงทางบก Land Transportation Management การจัดการการขนสงทางอากาศ Air Transportation Management การจัดการการขนสงทางนํ้า Water Transportation Management สถานการณปจจุบันทางดานการจัดการโลจิสติกส Current Issues in Logistics Management หัวขอพิเศษทางดานการจัดการโลจิสติกส Special Topics in Logistics Management การศึกษาเฉพาะบุคคล Independent Study การฝกงานดานผูประกอบการ Entrepreneurial Internship สหกิจศึกษา Cooperative Education เตรียมสหกิจศึกษา Pre-Cooperative Education

Water Transport Management Implementation of Logistics & Supply Chain Management 2. มีกจิ กรรมศึกษาดูงานภายในประเทศและตางประเทศ โดย นักศึกษาจะไดเยี่ยมชมธุรกิจสงออกและธุรกิจขามชาติทั้งในและตาง ประเทศในแถบประเทศเพื่อนบาน เชน ลาว เวียดนาม พมา เปนตน (กิจกรรมนีค้ ณะบริหารธุรกิจ ไดรบั ความรับมือกับสภาอุตสาหกรรมฯ) หมายเหตุ กิจกรรมเสริมหลักสูตรขางตนนี้ จะอยูภายใตงบประมาณ คาบํารุงโครงการพิเศษ ที่เก็บจากนักศึกษาภาคการศึกษาละ 2,000 บาท รวมตลอดหลักสูตรเปนจํานวนเงินเทากับ 14,000 บาทตอคน

อัตราคาเลาเรียน คาบํารุง และคาธรรมเนียม อัตราคาเลาเรียน คาบํารุง และคาธรรมเนียมใหเปนไปตาม อัตราปกติของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดยเก็บเพิ่มคาบํารุงโครงการ พิเศษ ภาคละ 2,000 บาท เพือ่ สนับสนุนการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร

วิชาเลือกเสรี (6 หนวยกิต) เลือกเรียนวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิตที่เกี่ยวของกับสาขา วิชาการจัดการโลจิสติกส หรือวิชาอื่น ๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัย

กิจกรรมเสริมหลักสูตร 1. การจัดอบรมหรือบรรยายโดยวิทยากรทีม่ ชี อื่ เสียงในหัวขอ ตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพหรือประเด็นที่สําคัญเกี่ยวกับการ จัดการโลจิสติกส โดยจะจัดภาคการศึกษาละ 1 ครัง้ หัวขอการบรรยาย อาทิ Modern Purchasing Management Warehouse Management หลักสูตรปร ญญาตร 161


ENTREPRENEURSHIP AND MANAGEMENT l{ i Ó o¤pÓ j o i p¥ i i pi i ¡} ¤| § ¤ ¨ ¬ z i ¡} Ó o lÖ Ò i ?@QML !MJJCEC |Ó i ¤ Ú ¤pÓ j o i p | ¬oj o ¤ i


บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) สาขาวิชาการเปนเจาของธุรกิจ Bachelor of Business Administration Program in Entrepreneurship B.B.A. (Entrepreneurship) จากสภาวะการแขงขันทางธุรกิจในปจจุบันที่ทวีความรุนแรง มากขึ้นรวมถึงสภาวะแวดลอมทางธุรกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงอยาง กาวกระโดดตลอดเวลา ผูประกอบการธุรกิจถือไดวามีบทบาทสําคัญ ตอการพัฒนาประเทศ เนื่องจากสรางรายไดจํานวนมหาศาลใหกับ ประเทศในแตละป วิธีการที่จะเริ่มตนดําเนินธุรกิจ ถายทอด สงมอบ ธุรกิจสูรุนลูกใหประสบความสําเร็จ และสามารถพัฒนาธุรกิจไดอยาง ยั่งยืนนั้น จึงเปนสิ่งสําคัญยิ่งสําหรับผูที่เปนเจาของธุรกิจหรือรับมอบ ธุรกิจ ซึง่ ตองอาศัยการพัฒนาองคความรู ทักษะทางธุรกิจ และฝกฝน ใหเกิดประสบการณจริงในการทําธุรกิจอยางเปนระบบมากขึ้นกวา ในอดีต ดวยเหตุนี้ คณะการสรางเจาของธุรกิจและการบริหารกิจการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จึงมีความมุงมั่นที่จะผลิตบัณฑิตที่มีความรู ความสามารถดานการประกอบธุรกิจเชิงสรางสรรค สงเสริมใหผเู รียน สามารถกอตั้งธุรกิจและบริหารธุรกิจสวนตัวไดอยางมีประสิทธิภาพ และมีความสามารถในการเปนผูประกอบการเพื่อนําไปสูการเปน เจาของธุรกิจในอนาคต ตลอดจนพัฒนาศักยภาพของผูเรียนใหมี วิสัยทัศนกวางขึ้นในการเปนผูประกอบการ โดยพัฒนาหลักสูตรจาก การบูรณาการศาสตรตางๆ ที่เกี่ยวของอยางมีวิสัยทัศนเพื่อเพิ่ม ศักยภาพของผูป ระกอบการในการแขงขันทัง้ ตลาดภายในประเทศและ ระดับนานาชาติ อีกทั้งชวยสรางบัณฑิตใหมีความเชี่ยวชาญในสาขา วิชานีเ้ พือ่ กอใหเกิดประโยชนตอ การพัฒนาประเทศทัง้ ในปจจุบนั และ อนาคต

หลักสูตรของคณะการสรางเจาของธุรกิจและการบริหาร กิจการในระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการเปนเจาของธุรกิจ จึงเปน สาขาวิชาทีม่ งุ เนนการสรางองคความรูอ ยางเปนระบบทีม่ ิใชการเรียน รูในตําราเพียงอยางเดียว หากแตเปนการเรียนรูหนทางของการกาว สูการเปนเจาของธุรกิจ ที่ประสบความสําเร็จในอนาคต โดยอิงอยูบน พื้นฐานของปรัชญาและวัตถุประสงค ในการผลิตบัณฑิตที่มีความรู ทักษะศักยภาพและความสามารถที่พรอมจะเปนเจาของธุรกิจที่ตรง กับความตองการของสังคมและประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งมีการ พัฒนาเนื้อหาหลักสูตรใหมีความทันสมัย ซึ่งหลักสูตรดังกลาวไดรับ การประยุ ก ต ม าจากแนวทางของ Babson College ซึ่ ง เป น มหาวิทยาลัยชั้นนําของประเทศสหรัฐอเมริกาที่ไดรับการยอมรับวา เปนมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ในการสรางผูประกอบการ 19 ปซอน (จัด อันดับโดย U.S. News) ดังนั้น หลักสูตรสาขาวิชาการเปนเจาของ ธุรกิจจึงเหมาะอยางยิ่งสําหรับผูที่มีความใฝฝนและมีความปรารถนา อยางแรงกลาทีจ่ ะมีธรุ กิจเปนของตนเองหรือนําความรูท ี่ไดไปพัฒนา ธุรกิจของครอบครัวหรือสรางธุรกิจในฝนใหมปี ระสิทธิภาพในดานการ แขงขันและกาวไปขางหนาอยางยั่งยืนและแข็งแกรง นักศึกษาที่ศึกษาในสาขาวิชาการเปนเจาของธุรกิจจะตอง เรียนวิชาเอก-บังคับ วิชาเอก-เลือก และวิชาเลือกเสรี รวมกับวิชา ศึกษาทั่วไปและวิชาแกนตองไมนอยวา 132 หนวยกิต ดังนี้

หลักสูตรปร ญญาตร 163


สาขาวิชาการเปนเจาของธุรกิจ มีเปาหมายทีจ่ ะผลิตบัณฑิตใหมคี วามรูค วามเขาใจ ตลอดจน แนวคิดในดานจัดตั้งธุรกิจและการประกอบธุรกิจไดอยางมีระบบ และ สามารถนําไปใชประกอบอาชีพการเปนเจาของธุรกิจหรือนําองค ความรูไปพัฒนาธุรกิจของครอบครัวไดอยางมีประสิทธิภาพ

โอกาสในการประกอบอาชีพ บัณฑิตของสาขาวิชาการเปนเจาของธุรกิจสามารถประกอบ อาชีพไดหลากหลาย เชน เจาของธุรกิจสวนตัว ผูบริหารระดับสูงใน ธุรกิจสวนตัว (สืบทอดธุรกิจครอบครัว) ที่ปรึกษาดานการประกอบ ธุรกิจ นักวิจยั ระบบธุรกิจ นักวางแผนนโยบายธุรกิจ นักเสีย่ ง นักลงทุน นักประกอบการ นักพัฒนาธุรกิจ นักบริหารระดับตน นักธุรกิจทั่วไป ผูจัดการทั่วไป ผูจัดการดานการตลาด ฯลฯ

• Business Fair เปนการนําธุรกิจที่นักศึกษาดําเนินการจริง ไปออกงาน Fair เพื่อใหนักศึกษาไดฝกฝนและเรียนรูการขายและการ ประชาสัมพันธธุรกิจของตน • CEO Speaker เปนการเชิญผูประกอบการที่มีช่อื เสียงมา เลาประสบการณและขอเสนอแนะกับนักศึกษาอยางสมํา่ เสมอ เพือ่ ให นักศึกษาไดสัมผัสประสบการณจริงในการทําธุรกิจ • การทัศนศึกษาดูงานเพือ่ ใหนกั ศึกษาไดเพิม่ พูนความรูจ าก การไปเยี่ยมชมสถานประกอบการและเปนการเปดโลกทัศน ใหกับ นักศึกษา

คุณสมบัติของผูเขาศึกษาและหลักเกณฑการคัดเลือก 1. เปนผูสําเร็จการศึกษาชั้นประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทา 2. ผานการสอบคัดเลือกกลางของสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาหรือมหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กิจกรรมเสริมหลักสูตร • Entrepreneurship Club เปนการจัดตั้งชมรมการเปน เจาของธุรกิจ เพื่อใหนักศึกษาไดมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาความรูและทักษะทางดานการเปนเจาของ ธุรกิจ ตลอดถึงการจัดกิจกรรมเพื่อสังคม • Retail Fair เปนการจัดงานออกรานขายปลีกดวยการนํา สินคามาขาย เพือ่ ใหนกั ศึกษาไดเขาใจถึงกระบวนการในการทําธุรกิจ จริง • Business Plan Competition เปนการจัดประกวดแผนธุรกิจ ในระดับสถาบันและระดับประเทศ โดยรวมมือกับสํานักงานสงเสริม วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย อ มและตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย เพื่อใหนักศึกษาไดฝกฝนทักษะในการเขียนแผนธุรกิจที่ มีความเปนไปไดจริง

164 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ระบบการศึกษา ระบบ การ ศึกษา หลักสูตร ปริญญา ตรี ภาค ปกติ แบง เวลา การ ศึกษา ใน หนึ่ง ป การ ศึกษา เปน สอง ภาค การ ศึกษา ปกติ ไดแก ภาคการศึกษาที่หนึ่งและภาคการศึกษาที่สอง มีระยะเวลาการศึกษา ไมนอยกวาภาคการศึกษาละสิบหาสัปดาหและอาจมีภาคการศึกษาฤดู รอนตอจากภาคการศึกษาที่สองได โดยมีระยะเวลาการศึกษาไมนอย กวาแปดสัปดาห โดยใหเพิ่มชั่วโมงการศึกษาในแตละวิชาใหเทากับ ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาฤดูรอนเปนภาคการศึกษาที่ ไม บังคับสําหรับหลักสูตรปริญญาตรี ภาคปกติ

อัตราคาเลาเรียน คาบํารุง คาธรรมเนียม คาหนวยกิตจะคิดแบบเหมาจายตลอดหลักสูตร 396,000 บาท (โดยรวมคาตําราเรียน เสื้อสูท และคาทัศนศึกษาในประเทศ 2 ครั้ง) โดยนักศึกษาจะจายเปนรายภาคการศึกษา ภาคการศึกษาละ


49,500 บาท สวนคาประกันความเสียหาย 2,000 บาท ชําระเพิ่มใน ภาคเรียนแรก และมหาวิทยาลัยจะคืนคาประกันความเสียหายหลังหัก คาใชจาย คาเสียหาย หรือภาระหนี้สินใด ๆ ที่มีตอมหาวิทยาลัย เมื่อ สําเร็จการศึกษาภายใน 1 เดือน นับจากวันทีน่ กั ศึกษาไดรบั อนุมตั จิ าก สภามหาวิทยาลัยใหเปนผูสําเร็จการศึกษา

หลักสูตร หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเปนเจาของธุรกิจ มีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร เทากับ 132 หนวยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต เทากับ 22.72 % หมวดวิชาชีพ 96 หนวยกิต เทากับ 72.73 % วิชาแกน 57 หนวยกิต วิชาเอก-บังคับ 27 หนวยกิต วิชาเอก-เลือก 12 หนวยกิต วิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต เทากับ 4.55 % รวม 132 หนวยกิต เทากับ 100.00 %

ศท. GE ศท. GE ศท. GE

113 113 114 114 115 115

ภาษาไทยเพื่อการสรางสรรค Thai Language for Creativity พลเมืองไทย พลเมืองโลก Thai Citizens, Global Citizens สุนทรียภาพแหงชีวิต The Art of Life

กลุมวิชาเลือก (6 หนวยกิต) ศท. 116 ทักษะความเปนผูนํา GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปญญาไทยและเศรษฐกิจสรางสรรค GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

หนวยกิต 3 3 3

3 3 3 3

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หนวยกิต) กลุมวิชาภาษาอังกฤษ (9 หนวยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หนวยกิต 3 3

หมวดวิชาชีพ (96 หนวยกิต) วิชาแกน (57 หนวยกิต) กลุมวิชาบัญชี (3 หนวยกิต) บธ. 201 บัญชีทั่วไป BA 201 General Accounting

3

กลุมวิชาเศรษฐศาสตร (3 หนวยกิต) บธ. 202 เศรษฐศาสตรเบื้องตน BA 202 Principles of Economics

3

3

กลุมวิชาบังคับ (15 หนวยกิต) ศท. 111 คุณคาแหงบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World

หลักสูตรปร ญญาตร 165


กลุมวิชากฎหมาย (6 หนวยกิต) บธ. 203 หลักกฎหมายสําหรับเจาของธุรกิจ BA 203 Legal Aspects in Entrepreneurship บธ. 204 ภาษีธุรกิจ BA 204 Business Taxation กลุมวิชาเชิงปริมาณ (6 หนวยกิต) บธ. 205 การวิเคราะหเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ 1 BA 205 Analysis for Business Decision Making I บธ. 206 การวิเคราะหเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ 2 BA 206 Analysis for Business Decision Making II

หนวยกิต 3 3

3 3

กลุมวิชาบริหารธุรกิจ (30 หนวยกิต) บธ. 111 การคิดเชิงสรางสรรคเพื่อนวัตกรรม 3 BA 111 Creative Thinking for Innovation บธ. 211 ความรูเบื้องตนทางธุรกิจ 3 BA 211 Introduction to Business บธ. 212 การเงินสําหรับเจาของธุรกิจ 3 BA 212 Entrepreneurial Finance บธ. 213 การบัญชีการเงินเพื่อการบริหาร 3 BA 213 Financial Accounting for Management บธ. 214 การตลาดสําหรับเจาของธุรกิจ 3 BA 214 Entrepreneurial Marketing บธ. 215 การจัดการทรัพยากรมนุษยและพฤติกรรมองคการ 3 BA 215 Human Resource Management and Organization Behavior บธ. 216 การจัดการงานผลิตและการดําเนินงาน 3 BA 216 Production and Operations Management บธ. 217 การบริหารความสัมพันธแบบบูรณาการ 3 BA 217 Integrated Relationship Management 166 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

บธ. BA บธ. BA

218 218 424 424

หนวยกิต การจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส 3 E-Business Management การจัดการเชิงกลยุทธและนโยบายธุรกิจ 3 Strategic Management and Business Policy

กลุมวิชาภาษา (9 หนวยกิต) บธ. 113 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ BA 113 Thai for Business Communications บธ. 301 ภาษาอังกฤษสําหรับเจาของธุรกิจระดับโลก 1 BA 301 English for Global Entrepreneurs I บธ. 302 ภาษาอังกฤษสําหรับเจาของธุรกิจระดับโลก 2 BA 302 English for Global Entrepreneurs II

3 3 3

วิชาเอก-บังคับ (27 หนวยกิต) จธ. 311 การเปนเจาของธุรกิจและการสรางกิจการใหม 3 EP 311 Entrepreneurship and New Venture Creation จธ. 312 การจัดการธุรกิจครอบครัว 3 EP 312 Family Business Management จธ. 313 การเขียนแผนธุรกิจสําหรับเจาของธุรกิจ 3 EP 313 Business Plan for Entrepreneurs จธ. 321 การจัดการองคการสําหรับเจาของธุรกิจ 3 EP 321 Organization Management for Entrepreneurs จธ. 322 การจัดการทางการตลาดเชิงกลยุทธสําหรับ 3 เจาของธุรกิจ EP 322 Strategic Marketing Management for Entrepreneurs จธ. 323 การจัดการทางการเงินสําหรับเจาของธุรกิจ 3 EP 323 Financial Management for the Entrepreneurial Venture


หนวยกิต จธ. 411 การประยุกตใชเทคโนโลยีสําหรับธุรกิจ 3 และกิจการใหม EP 411 Technology Applications for Business and New Venture จธ. 412 การเปนเจาของธุรกิจในเศรษฐกิจโลก 3 EP 412 Entrepreneurship in the Global Economy จธ. 421 สัมมนาการเปนเจาของธุรกิจ 3 EP 421 Seminar in Entrepreneurship วิชาเอก-เลือก (12 หนวยกิต) จธ. 324 ประสบการณการเปนเจาของธุรกิจ 6 EP 324 Entrepreneurial Business Experience จธ. 413 กลยุทธการสรางธุรกิจใหมและเครือขายธุรกิจ 3 EP 413 New Venture Strategies and Business Network จธ. 414 การวิเคราะหและการพยากรณธุรกิจ 3 EP 414 Business Forecasting and Analysis จธ. 415 การพัฒนาผลิตภัณฑและบริการใหม 3 EP 415 New Product and Service Development จธ. 416 วิสาหกิจรวมทุนและธุรกิจเงินรวมลงทุน 3 EP 416 Private Equity and Venture Capitals จธ. 422 การจัดการธุรกิจที่กําลังเจริญเติบโต 3 EP 422 Managing a Growing Business จธ. 423 การลงทุนของวิสาหกิจครอบครัว 3 EP 423 Financing Family Enterprises จธ. 424 การจัดการนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง 3 EP 424 Innovation and Change Management จธ. 425 พลวัตของธุรกิจครอบครัว 3 EP 425 Family Business Dynamics จธ. 431 การจัดการธุรกิจขนาดยอม 3 EP 431 Small Business Management

หนวยกิต จธ. 432 การวินิจฉัยสถานประกอบการและ 3 ใหคําปรึกษาธุรกิจ EP 432 Entrepreneurial Diagnosis and Business Consulting จธ. 433 การบริหารตราสินคา 3 EP 433 Brand Management จธ. 434 การพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑและบริการ 3 EP 434 Product and Service Design Development จธ. 435 การวิจัยการเปนเจาของธุรกิจ 3 EP 435 Research in Entrepreneurship จธ. 441 เทคนิคการเจรจาตอรองสําหรับเจาของธุรกิจ 3 EP 441 Entrepreneurial Negotiation Techniques จธ. 442 การจัดการหวงโซอปุ ทานและการจัดการโลจิสติกส 3 EP 442 Supply Chain and Logistics Management จธ. 443 การบริหารผลงานและคาตอบแทนสําหรับ 3 เจาของธุรกิจ EP 443 Compensation and Performance Management for Entrepreneurs จธ. 444 สถานการณปจจุบันของการเปนเจาของธุรกิจ 3 EP 444 Current Issues in Entrepreneurship จธ. 445 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3 EP 445 Independent Study จธ. 446 การศึกษาประเทศอาเซียนสําหรับเจาของธุรกิจ 3 EP 446 Asian Countries Study for Entrepreneurs จธ. 447 การศึกษาประเทศตลาดใหมสําหรับเจาของธุรกิจ 3 EP 447 New Emerging Market Countries Study for Entrepreneurs จธ. 448 โอกาสทางการตลาดในกลุมประชาคมเศรษฐกิจ 3 อาเซียนสําหรับเจาของธุรกิจ EP 448 Market Opportunity in ASEAN Economic Community for Entrepreneurs หลักสูตรปร ญญาตร 167


หนวยกิต จธ. 449 การจัดการนวัตกรรมสําหรับธุรกิจรูปแบบใหม 3 EP 449 Innovation Management for New Business Model

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หนวยกิต) นักศึกษาจะตองเลือกเรียนวิชาเลือกเสรี รวมแลวไมนอ ยกวา 6 หนวยกิต โดยเลือกเรียนจากวิชาตางๆ ของมหาวิทยาลัยทีเ่ ปดสอน หรือเลือกเรียนจากรายวิชาเลือกเสรีที่ปรากฏในหลักสูตร ดังนี้ บธ. 311 สังคมปฏิสัมพันธ 3 BA 311 Social Interaction บธ. 312 การพัฒนาบุคลิกภาพ 3 BA 312 Personality Development บธ. 313 ทักษะสําหรับนักธุรกิจ 3 BA 313 Business Professional Skills บธ. 314 นรลักษณศาสตรและฮวงจุย 3 BA 314 Physiognomy and Fengshui บธ. 315 ภาวะผูนําเชิงกลยุทธ 3 BA 315 Strategic Leadership บธ. 316 การบริหารสุขภาพทางกายและสุขภาพทางจิต 3 BA 316 Physical and Spiritual Health Management บธ. 317 การบริหารเวลาเพื่อความสําเร็จทางธุรกิจ 3 BA 317 Time Management for Business Success บธ. 318 อัญมณีศาสตรสําหรับชีวิตและธุรกิจ 3 BA 318 Gemology for Life and Business บธ. 319 นพลักษณศาสตรสําหรับเจาของธุรกิจ 3 BA 319 Enneagram for Entrepreneurs บธ. 320 การจัดการภาวะวิกฤตสําหรับเจาของธุรกิจ 3 BA 320 Crisis Management for Entrepreneurs

168 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ



l{ } } Ö

¤jÓ jÓ l ¡Óiv ¥ o }Ò o Ò o Ó o lÖ p ii w } o p o ¤ ï iÓ ¡Ò iiv ¥ Òo¦ i l}


นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) Bachelor of Laws (LL.B.) หลักสูตร ปริญญา ตรี นิติศาสตร มหาวิทยาลัย กรุงเทพ มี วัตถุประสงคเพื่อผลิตนิติศาสตรบัณฑิตที่มีความรูความสามารถใน วิชากฎหมายทัว่ ไปและความรูใน  กฎหมายเฉพาะดาน อาทิ กฎหมาย ธุรกิจ กฎหมายมหาชน กฎหมายระหวางประเทศ ทั้งนี้ เพื่อให นิติศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ เปนบัณฑิตที่รอบรูทัน สมัยสอดคลองและตอบสนองตอทิศทางการพัฒนาทางเศรษฐกิจของ ประเทศอันจะเปนประโยชนแกผูสํ าเร็จการศึกษาทีจะ ่ ประกอบวิชาชีพ กฎหมายไดหลากหลายมากขึ้น

โครงสรางหลักสูตร โครงสรางหลักสูตรแบบปกติ จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 142 หนวยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 กลุมวิชาภาษาอังกฤษ 9 กลุมวิชาบังคับ 15 กลุมวิชาเลือก 6 หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน ไมนับหนวยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 106 กลุมวิชากฎหมายบังคับ 90 กลุมวิชากฎหมายเลือก 16 หมวดวิชาเลือกเสรี 6

หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต

โอกาสในการประกอบอาชีพ หลักสูตรของคณะนิติศาสตรจะทําใหบัณฑิตเปนผูที่มีความ เชี่ยวชาญ ใน กฎหมาย หลาย ดาน สามารถ ประกอบ อาชีพ ได หลาก หลายไมวาจะเปนผูพิพากษา อัยการ ทนายความ ที่ปรึกษากฎหมาย หรือนิติกร ในหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน อีกทั้งจะชวยพัฒนาให บัณฑิตของคณะนิติศาสตรสามารถปรับตัวเขากับการเปลี่ยนแปลง ของสังคมไดและพรอมที่จะศึกษากฎหมายในขั้นสูงตอไป นอกจากนี้ ยังมุง หมายใหบัณฑิตของคณะนิตศิ าสตรมีความรับผิดชอบในวิชาชีพ มีความหนักแนนมัน่ คงอยูในกรอบจรรยาบรรณของนักกฎหมายและมี ความรับผิดชอบตอสังคมดวยดี

โครงสรางหลักสูตรแบบสหกิจศึกษา จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 142 หนวยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 กลุมวิชาภาษาอังกฤษ 9 กลุมวิชาบังคับ 15 กลุมวิชาเลือก 6 หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน ไมนับหนวยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 106 กลุมวิชากฎหมายบังคับ 90 กลุมวิชากฎหมายเลือก 16 หมวดวิชาเลือกเสรี 6

หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต

หมายเหตุ โครงสรางหลักสูตรของทางเลือกแบบปกติและแบบสหกิจ ศึกษานั้นมีจํานวนหนวยกิตที่นักศึกษาตองลงทะเบียนเรียนและสอบ ผานเทากัน แตจะแตกตางกันตรงที่นักศึกษาที่เลือกเรียนแบบสหกิจ ศึกษานั้น จะตองลงทะเบียนและสอบผานวิชา กม. 438 และ กม. 439 ซึ่งอยูในหมวดวิชากฎหมายเลือกและนับหนวยกิตเปนวิชากฎหมาย หลักสูตรปร ญญาตร 171


เลือก เมื่อนักศึกษาสอบผานวิชาดังกลาวแลวจะนับหนวยกิตสําหรับ หมวดวิชากฎหมายเลือกได 9 หนวยกิต ดังนั้น หนวยกิตที่เหลือใน หมวดวิชากฎหมายเลือกอีก 7 หนวยกิตที่นักศึกษาตองเลือกใหครบ โดยนักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนวิชากฎหมายเลือกวิชาใดก็ไดที่ คณะฯ เปดสอน สวนหมวดวิชาอื่นๆ มีโครงสรางเหมือนทางเลือก แบบปกติทุกปรระการ

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หนวยกิต) กลุมวิชาภาษาอังกฤษ (9 หนวยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หนวยกิต 3

หนวยกิต 3 3 3 3

หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน (ไมนับหนวยกิต) 3

กม. 209 ทักษะการศึกษาวิชานิติศาสตรเบื้องตน (ไมนับหนวยกิต) LA 209 Fundamental Legal Study Skills

3

กลุมวิชาบังคับ (15 หนวยกิต) ศท. 111 คุณคาแหงบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสรางสรรค 3 GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก 3 GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแหงชีวิต 3 GE 115 The Art of Life

172 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

กลุมวิชาเลือก (6 หนวยกิต) ศท. 116 ทักษะความเปนผูนํา GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปญญาไทยและเศรษฐกิจสรางสรรค GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

หมวดวิชาเฉพาะ (106 หนวยกิต) กลุมวิชากฎหมายบังคับ (90 หนวยกิต) กม. 210 กฎหมายแพง: หลักทั่วไป 3 LA 210 Civil and Commercial Code : General Principles กม. 211 กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา 3 LA 211 Juristic Acts and Contract Law กม. 212 กฎหมายลักษณะหนี้: หลักทั่วไป 4 LA 212 Law of Obligations: General Principles กม. 213 กฎหมายลักษณะละเมิดจัดการงานนอกสั่งและ 3 ลาภมิควรได LA 213 Law of Tort, Management of Affairs without Mandate and Undue Enrichment กม. 214 กฎหมายลักษณะทรัพย 3 LA 214 Law of Property กม. 220 กฎหมายอาญา: ภาคทั่วไป 3 LA 220 Criminal Law: General Provisions


กม. LA กม. LA กม. LA กม. LA กม. LA กม. LA กม. LA กม.

221 221 230 230 241 241 242 242 243 243 244 244 245 245 300

LA 300 กม. 311 LA 311 กม. LA กม. LA กม. LA

312 312 313 313 314 314

หนวยกิต กฎหมายอาญา: ภาคความผิด 4 Criminal Law: Offences กฎหมายมหาชนเบื้องตน 2 Introduction to Public Law เอกเทศสัญญา 1 4 Specific Contracts I เอกเทศสัญญา 2 3 Specific Contracts II กฎหมายลักษณะประกันดวยบุคคลและทรัพย 2 Secured Transactions กฎหมายลักษณะประกันภัย 2 Law of Insurance กฎหมายรัฐธรรมนูญ 3 Constitutional Law กฎหมายลักษณะหางหุนสวน บริษัท 3 และบริษัทมหาชน Law of Partnerships, Corporation and Association and Law of Public Company กฎหมายวาดวยตั๋วเงินและบัญชีเดินสะพัด 3 Law of Negotiable Instruments and Current Account กฎหมายลักษณะครอบครัว 3 Law of Family กฎหมายลักษณะมรดก 3 Law of Succession กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง 4 Law of Civil Procedures

หนวยกิต กม. 315 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพงภาคบังคับคดี 3 LA 315 Law of Civil Procedures-Provisional Measures and the Execution of Judgments กม. 316 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 4 LA 316 Law of Criminal Procedures กม. 317 กฎหมายลักษณะพยาน 3 LA 317 Law of Evidence กม. 318 พระธรรมนูญศาลยุติธรรมและระบบตุลาการ 2 LA 318 Constitution of Courts of Justice and the Judicial System กม. 319 กฎหมายลมละลาย 3 LA 319 Bankruptcy Law กม. 320 กฎหมายทรัพยสินทางปญญา 3 LA 320 Intellectual Property Law กม. 321 กฎหมายปกครอง 3 LA 321 Administrative Law กม. 410 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล 3 LA 410 Private International Law กม. 411 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง 3 LA 411 Public International Law กม. 412 หลักวิชาชีพนักกฎหมาย 2 LA 412 Legal Profession กม. 413 ภาษาอังกฤษพื้นฐานสําหรับนักกฎหมาย 2 LA 413 Fundamental English for Lawyers กม. 414 กฎหมายภาษีอากร 2 LA 414 Tax Law กม. 415 กฎหมายแรงงาน 2 LA 415 Labor Law หลักสูตรปร ญญาตร 173


กลุมวิชากฎหมายเลือก (16 หนวยกิต) สาขาวิชากฎหมายแพงและอาญา กม. LA กม. LA กม. LA กม. LA กม.

420 420 421 421 422 422 423 423 424

LA กม. LA กม. LA กม. LA กม. LA

424 425 425 426 426 427 427 428 428

สัมมนากฎหมายแพงและพาณิชย Seminar in Civil and Commercial Law สัมมนากฎหมายอาญา Seminar in Criminal Law สัมมนากฎหมายวิธีพิจารณาความแพง Seminar in Law of Civil Procedures สัมมนากฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา Seminar in Law of Criminal Procedures กฎหมายเกี่ยวกับการกระทําความผิดของเด็ก และเยาวชน Law of Juvenile Delinquency อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา Criminology and Penology กฎหมายอาชญากรรมทางธุรกิจ Law of Business Crime การสืบสวนสอบสวนและนิติเวชศาสตร Investigation and Forensic Medicine นิติปรัชญา Legal Philosophy

หนวยกิต 2 2 2 2 2 2 2 2 2

สาขาวิชาพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ กม. 430 ประวัติศาสตรกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม 2 ของไทย LA 430 History of Law and the Judicial Process of Thailand กม. 431 ภาษาไทยสําหรับนักกฎหมาย 2 LA 431 Thai for Lawyers 174 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หนวยกิต กม. 432 การอานเอกสารทางกฎหมายภาษาอังกฤษ 2 และการคนควา LA 432 English Legal Reading and Research กม. 433 การวาความและศาลจําลอง 2 LA 433 Advocacy and Moot Court กม. 434 วิชาชีพใหคําปรึกษาดานกฎหมายและทนายความ 2 LA 434 Legal Consultancy and Advocacy กม. 435 ทักษะในการปฏิบัติงานทางกฎหมาย 2 LA 435 Basic Skills in Legal Practice กม. 436 การใชและการตีความกฎหมาย 2 LA 436 Application and Interpretation of Law กม. 437 กฎหมายเกี่ยวกับสุขภาพและการแพทย 2 LA 437 Health and Medical Law สาขาวิชากฎหมายธุรกิจ กม. 440 กฎหมายทรัพยสินทางปญญา 2 เพื่อภูมิปญญาทองถิ่นและวัฒนธรรม LA 440 Intellectual Property Law for Traditional Knowledge and Culture กม. 441 กฎหมายเกี่ยวกับการแขงขันทางการคา 2 LA 441 Competition Law กม. 442 กฎหมายหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 2 LA 442 Securities Law and Regulations กม. 443 การรางสัญญาและการเจรจาตอรอง 2 LA 443 Contractual Drafting and Negotiation กม. 444 การจัดเตรียมเอกสารสําหรับองคกรธุรกิจใหม 2 LA 444 Drafting Legal Documents for New Business กม. 445 การระงับขอพิพาททางเลือก 2 LA 445 Alternative Dispute Resolution


กม. LA กม. LA กม. LA กม.

446 446 447 447 448 448 449

LA กม. LA กม. LA กม. LA กม. LA กม. LA กม. LA กม. LA กม. LA กม.

449 450 450 451 451 452 452 453 453 454 454 455 455 456 456 457 457 458

LA 458

หนวยกิต กฎหมายธุรกรรมการธนาคารและการเงิน 2 Banking and Finance Transaction Law การบัญชีสําหรับนักกฎหมาย 2 Accounting for Lawyers กฎหมายคุมครองผูบริโภค 2 Consumer Protection Law กฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดของ 2 สินคาที่ไมปลอดภัย Products Liability Law กฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 Information Technology Law กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส 2 Electronic Transaction Law กฎหมายการลงทุน 2 Law of Investment กฎหมายเกี่ยวกับการอุตสาหกรรม 2 Industrial Law กฎหมายศุลกากร 2 Customs Law กฎหมายเกี่ยวกับการขนสงสินคาและโลจิสติกส 2 Transportation Logistic and the Law กฎหมายธุรกิจทองเที่ยว 2 Law of Tourism Business กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจโทรคมนาคม 2 Law of Telecommunication Business กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ 2 อสังหาริมทรัพย Law of Real Estate Business

กม. LA กม. LA กม. LA กม. LA กม. LA กม. LA

459 459 460 460 461 461 462 462 463 463 464 464

กฎหมายเกี่ยวกับการควบรวมกิจการ Law of Mergers and Acquisitions กฎหมายเกี่ยวกับตราสารอนุพันธ Derivative Law การบริหารจัดการทรัพยสินทางปญญา Intellectual Property Management สัมมนากฎหมายทรัพยสินทางปญญา Seminar in Intellectual Property Law กฎหมายสําหรับผูประกอบการ Entrepreneurship Law กฎหมายภาษีการบริโภค Consumption Tax

สาขาวิชากฎหมายมหาชน กม. 470 กฎหมายเลือกตั้งและรัฐสภา LA 470 Election Law and Parliament กม. 471 สิทธิมนุษยชน LA 471 Human Rights กม. 472 ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง LA 472 Administrative Court and Administrative Procedures กม. 473 กฎหมายการคลัง LA 473 Law of Public Finance กม. 474 สัญญาของรัฐ LA 474 State Contract กม. 475 การรางกฎหมายและกระบวนการนิติบัญญัติ LA 475 Legal Drafting and Legislative Process

หนวยกิต 2 2 2 2 2 2

2 2 2 2 2 2

หลักสูตรปร ญญาตร 175


หนวยกิต กม. 476 กฎหมายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ 2 และสิ่งแวดลอม LA 476 Natural Resources and Environmental Law กม. 477 กฎหมายประกันสังคม 2 LA 477 Law of Social Security กม. 478 กฎหมายเกี่ยวกับพลังงาน 2 LA 478 Energy Law กม. 479 สัมมนากฎหมายมหาชน 2 LA 479 Seminar in Public Law กม. 480 กฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจ 2 LA 480 Public Economic Law

กม. LA กม. LA

498 498 499 499

หนวยกิต หลักการภาษีอากรระหวางประเทศ 2 International Taxation กฎหมายองคการเศรษฐกิจระหวางประเทศ 2 Law of International Economic Organizations

สําหรับนักศึกษาที่เลือกแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา กม. 438 เตรียมสหกิจศึกษา LA 438 Pre-cooperative Education กม. 439 สหกิจศึกษา LA 439 Cooperative Education

3 6

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หนวยกิต) สาขาวิชากฎหมายระหวางประเทศ กม. 490 กฎหมายวาดวยการคาระหวางประเทศ 2 LA 490 International Trade Law กม. 491 กฎหมายระหวางประเทศวาดวยทะเล 2 LA 491 International Law of the Sea กม. 492 กฎหมายวาดวยองคการระหวางประเทศ 2 LA 492 Law of International Organization กม. 493 กฎหมายสหภาพยุโรป 2 LA 493 European Union Law กม. 494 กฎหมายการเงินและการธนาคารระหวางประเทศ 2 LA 494 Law of International and Finance Transaction กม. 495 อนุญาโตตุลาการทางการคาระหวางประเทศ 2 LA 495 International Commercial Arbitration กม. 496 กฎหมายสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ 2 LA 496 International Environmental Law กม. 497 ประชาคมอาเซียน 2 LA 497 ASEAN Community 176 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

นักศึกษาจะตองเลือกเรียนวิชาเลือกเสรีรวมแลวไมนอ ยกวา 6 หนวยกิต จากรายวิชาตางๆ ทีเ่ ปดสอนในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ และ คณะอนุมัติใหเปนวิชาเลือกเสรี



l{ ¤ x } Ö ¤ Ó ¤l Ö¤ xi p Ëil ||Ó o ¥ ¤pÓ j oi pi ¤ ï i o oi ¤o Ò o r


เศรษฐศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.) Bachelor of Economics (B.Econ.) หลักสูตรของคณะเศรษฐศาสตรจะสอนใหนักศึกษามีความ รูความเขาใจถึงกลไกการปรับตัวในเรื่องตาง ๆ ทางเศรษฐกิจทั้งใน และระหวางประเทศ ไมวาจะเปนดานการเงิน การคลัง การคาระหวาง ประเทศ การเกษตร การอุตสาหกรรม การพัฒนาประเทศ ตลอดจน การวิเคราะหการลงทุนในโครงการตาง ๆ เมื่อนักศึกษาไดเรียนรูตาม หลักสูตรดังกลาวแลวก็จะสามารถนําความรูที ่ไดรับไปใชประโยชน ทัง้ ในแงการประยุกตใชในการประกอบอาชีพ หรือแมแตการศึกษาตอใน ระดับที่สูงขึ้นไปทั้งในและตางประเทศก็สามารถกระทําไดดวยความ มั่นใจ นัก ศึกษา ที่ เลือก เรียน หลักสูตร เศรษฐศาสตร จะ ได เปรียบ นักศึกษาอื่น ๆ ในแงที่สามารถมองเห็นและเขาใจสภาพเศรษฐกิจใน ภาพกวาง จึงรูซึ้งถึงปญหาและแนวโนมของปญหา ตลอดจนวิธีการ แกไขหรือปรับตัวใหทันกับเหตุการณทางเศรษฐกิจไดอยางถูกตอง โดยมีหลักเกณฑอางอิงได ปจจุบนั คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เปดสอน 2 สาขาวิชา เพือ่ ตอบสนองความสนใจของนักศึกษาทีแตก ่ ตางกันไป คือ สาขาวิชาเศรษฐศาสตรระหวางประเทศ สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตรทุกสาขาวิชาทีจะ ่ ตองเรียนหมวด วิชาตาง ๆ ดังนี้ ปริญญาตรีเศรษฐศาสตรทัง้ 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาเศรษฐศาสตรระหวางประเทศ และเศรษฐศาสตรธุรกิจ จะตองมีจํานวน หนวยกิตไมนอยกวา 132 หนวยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ วิชาแกน วิชาเอก-บังคับ วิชาเอก-เลือก หมวดวิชาเลือกเสรี รวม

30 หนวยกิต 96 หนวยกิต 63 หนวยกิต 27 หนวยกิต 6 หนวยกิต 6 หนวยกิต 132 หนวยกิต

เทากับ เทากับ

23 % 73 %

เทากับ 4 % เทากับ 100 %

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หนวยกิต) กลุมวิชาภาษาอังกฤษ (9 หนวยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หนวยกิต 3 3 3

กลุมวิชาบังคับ (15 หนวยกิต) ศท. 111 คุณคาแหงบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสรางสรรค 3 GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก 3 GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแหงชีวิต 3 GE 115 The Art of Life

หลักสูตรปร ญญาตร 179


กลุมวิชาเลือก (6 หนวยกิต) ศท. 116 ทักษะความเปนผูนํา GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปญญาไทยและเศรษฐกิจสรางสรรค GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

หนวยกิต 3 3 3 3

สาขาวิชาเศรษฐศาสตรระหวางประเทศ จะมุง เนนใหนักศึกษามีความรูความ  เขาใจเกีย่ วกับการคาขาย ระหวางประเทศ ระบบการคาระบบการเงิน ระบบอัตราแลกเปลี่ยน ตลอด จน ความ สัมพันธ ของ กลุม เศรษฐกิจ ตางๆ เพื่อ ให นัก ศึกษา มองเห็นโอกาสในการทําธุรกิจคาขายกับตางประเทศ หรือสามารถ วิเคราะหแนวโนมเศรษฐกิจของประเทศไทยที่เกี่ยวของกับเศรษฐกิจ โลกไดอยางถูกตองชัดเจนอันเปนประโยชนอยางมากกับนักศึกษาที่ เรียนในสาขานี้

โอกาสในการประกอบอาชีพ บัณฑิต ที่ จบ ใน สาขา นี้ จะ มี ความ รู ความ สามารถ ใน การ วิเคราะหเศรษฐกิจปจจุบัน โดยเฉพาะในดานการคา การลงทุนและ การเงินระหวางประเทศ ซึ่งจะทําใหสามารถประกอบอาชีพไดดีมาก ในหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และธุรกิจเอกชนที่เกี่ยวของกับ ธุรกิจการนําเขาและสงออกสินคาตางๆ ธุรกิจการเงินระหวางประเทศ หรือเจาหนาที่วิเคราะหเศรษฐกิจระหวางประเทศ ซึ่งถือเปนจุดเดน ของสาขานี้ นอกเหนือจากอาชีพอื่นๆ ที่สามารถทําไดดีเชนเดียวกับ บัณฑิตเศรษฐศาสตรในสาขาอื่นๆ 180 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตรที่เลือกเรียนสาขาวิชาเศรษฐศาสตรระหวางประเทศจะตองเรียนหมวดวิชาตางๆ ดังนี้ ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร สาขาวิชาเศรษฐศาสตรระหวาง ประเทศ หรือ ศ.บ. (เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ) จะตองมีจํานวน หนวยกิตไมนอยกวา 132 หนวยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต เทากับ 23 % หมวดวิชาเฉพาะ 96 หนวยกิต เทากับ 73 % วิชาแกน 63 หนวยกิต วิชาเอก-บังคับ 27 หนวยกิต วิชาเอก-เลือก 6 หนวยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต เทากับ 4 % รวม 132 หนวยกิต เทากับ 100 %

หมวดวิชาเฉพาะ (96 หนวยกิต) วิชาแกน (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 63 หนวยกิต) (แบบปกติ และ แบบสหกิจศึกษา) บช. 201 หลักการบัญชี 1 AC 201 Principles of Accounting I ศศ. 101 เศรษฐศาสตรจุลภาค 1 EC 101 Microeconomics I ศศ. 102 เศรษฐศาสตรมหภาค 1 EC 102 Macroeconomics I ศศ. 103 คณิตศาสตรสําหรับนักเศรษฐศาสตร 1 EC 103 Mathematics for Economist I ศศ. 104 คณิตศาสตรสําหรับนักเศรษฐศาสตร 2 EC 104 Mathematics for Economist II ศศ. 107 สถิติเศรษฐศาสตรเบื้องตน EC 107 Introduction to Economic Statistics ศศ. 204 สถิติเศรษฐศาสตร EC 204 Economic Statistics


ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC อก. EN อก. EN อก. EN กม. LA จก. MG

211 211 212 212 213 213 309 309 311 311 312 312 313 313 314 314 412 412 014 014 331 331 332 332 100 100 112 112

เศรษฐศาสตรจุลภาค 2 Microeconomics II เศรษฐศาสตรมหภาค 2 Macroeconomics II ประวัติลัทธิเศรษฐกิจ History of Economic Thoughts เศรษฐมิติเบื้องตน Introduction to Econometrics หลักการพัฒนาเศรษฐกิจเบื้องตน Principles of Economic Development การคลังสาธารณะ Public Finance เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ International Economics เศรษฐศาสตรการเงินการธนาคาร Economics of Money and Banking เศรษฐกิจไทย Thai Economy ภาษาอังกฤษสําหรับการเรียนรูโลก English for Exploring the World ภาษาอังกฤษธุรกิจเชิงปฏิบัติ Practical Business English ภาษาอังกฤษธุรกิจมืออาชีพ Professional Business English กฎหมายเบื้องตน Introduction to Law การจัดการ Management

วิชาเอก-บังคับ (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 27 หนวยกิต) (แบบปกติ และแบบสหกิจศึกษา) ศศ. 219 ธุรกิจระหวางประเทศ EC 219 International Business ศศ. 324 ทฤษฎีและนโยบายการคาระหวางประเทศ EC 324 International Trade Theory and Policy ศศ. 325 เศรษฐศาสตรการเงินระหวางประเทศ EC 325 Economics of International Monetary ศศ. 414 เศรษฐศาสตรการเกษตร EC 414 Agricultural Economics ศศ. 415 เศรษฐศาสตรองคกรอุตสาหกรรม EC 415 Economics of Industrial Organization ศศ. 424 ระเบียบวิธีการวิจัยทางเศรษฐศาสตร EC 424 Methodology of Economic Research ศศ. 425 สัมมนาเศรษฐศาสตรระหวางประเทศ EC 425 Seminar in International Economics ศศ. 426 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน EC 426 Monetary Theory and Policy ศศ. 429 โลจิสติกส (เฉพาะแบบปกติ) EC 429 Logistics สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา (เฉพาะแบบสหกิจศึกษา) CO 301 Pre-Cooperative Education วิชาเอก-เลือก (วิชาละ 3 หนวยกิต เลือก 2 วิชา จากรายชื่อวิชา ดังตอไปนี้ รวม 6 หนวยกิต ยกเวนแผนการศึกษาแบบสหกิจศึกษา วิชาละ 6 หนวยกิต) แบบปกติ ศศ. 310 ภาษาอังกฤษสําหรับเศรษฐศาสตร EC 310 English for Economics ศศ. 316 เศรษฐศาสตรเมืองและภูมิภาค EC 316 Urban and Regional Economics หลักสูตรปร ญญาตร 181


ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC

317 317 319 319 320 320 321 321 411 411 416 416 418 418 419 419 420 420 421 421 431 431

เศรษฐศาสตรสําหรับประเทศกําลังพัฒนา Economics of Developing Countries เศรษฐศาสตรการขนสง Economics of Transportation รายไดประชาชาติ National Income and Social Account เศรษฐศาสตรแรงงานและแรงงานสัมพันธ Labor Economics and Labor Relation นโยบายและการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจ Economic Development Planning and Policies การจัดทําและการวิเคราะหโครงการ Project Preparation and Appraisal เศรษฐศาสตรทรัพยากรมนุษยและกําลังคน Human Resources and Manpower Economics การพัฒนาชนบทไทย Thai Rural Development เศรษฐกิจของประเทศในเอเชีย Asian Countries Economy เศรษฐกิจญี่ปุน Japanese Economy เศรษฐศาสตรประชากร Demographic Economics

แบบสหกิจศึกษา ศศ. 430 สหกิจศึกษา EC 430 Cooperative Education

182 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หนวยกิต) นักศึกษาจะตองเลือกเรียนวิชาเลือกเสรี รวมแลวไมนอ ยกวา 6 หนวยกิต จากวิชาตางๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ และ รายวิชาของคณะเศรษฐศาสตร ดังนี้ ศศ. 200 เศรษฐศาสตรเพื่อชีวิตประจําวัน EC 200 Practical Economics for Daily Life ศศ. 222 เศรษฐกิจพอเพียง EC 222 Sufficiency Economy

สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ จะมุงเนนใหนักศึกษามีความรูความเขาใจหลักทฤษฎีตางๆ ทีอธิ ่ บายสภาพเศรษฐกิจและสามารถนํามาวิเคราะหใหเปนประโยชน เกื้อหนุนตอการประกอบธุรกิจไดเปนอยางดี เนื่องจากมีวิชาตางๆ ที่ เกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจบรรจุไวในหลักสูตร บัณฑิตสาขาวิชา เศรษฐศาสตรธุรกิจ จึงสามารถดําเนินธุรกิจใหเหมาะสมสอดคลองกับ สภาพเศรษฐกิจโดยรวมได

โอกาสในการประกอบอาชีพ บัณฑิต ที่ จบ ใน สาขา นี้ จะ มี ความ รู ใน ภาพ กวาง ของ ระบบ เศรษฐกิจที่ดําเนินอยู และลงลึกถึงทฤษฎีทางธุรกิจ ทําใหสามารถที่ จะทํางานไดดีทัง้ ในภาครัฐและเอกชนทีเกี ่ ย่ วของกับการคาการลงทุน การเงินการธนาคาร ธุรกิจอุตสาหกรรมและเกษตรอุตสาหกรรม โดย เฉพาะอยางยิง่ เรือ่ งการวิเคราะหโครงการลงทุนทางธุรกิจทุกชนิด จึง เหมาะสมกับการเปนเจาหนาที่วิเคราะหสินเชื่อของสถาบันการเงิน หรือเปนเจาของธุรกิจเอง


นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตรที่เลือกเรียนสาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจจะตองเรียนหมวดวิชาตางๆ ดังนี้ ปริญญาเศรษฐศาสตร สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ หรือ ศ.บ. (เศรษฐศาสตรธุรกิจ) จะตองมีจํานวนหนวยกิตไมนอยกวา 132 หนวยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ วิชาแกน วิชาเอก-บังคับ วิชาเอก-เลือก หมวดวิชาเลือกเสรี รวม

30 หนวยกิต 96 หนวยกิต 63 หนวยกิต 27 หนวยกิต 6 หนวยกิต 6 หนวยกิต 132 หนวยกิต

เทากับ 23 % เทากับ 73 %

เทากับ 4 % เทากับ 100 %

หมวดวิชาเฉพาะ (96 หนวยกิต) วิชาแกน (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 63 หนวยกิต) บช. 201 หลักการบัญชี 1 AC 201 Principles of Accounting I ศศ. 101 เศรษฐศาสตรจุลภาค 1 EC 101 Microeconomics I ศศ. 102 เศรษฐศาสตรมหภาค 1 EC 102 Macroeconomics I ศศ. 103 คณิตศาสตรสําหรับนักเศรษฐศาสตร 1 EC 103 Mathematics for Economist I ศศ. 106 คณิตศาสตรสําหรับนักเศรษฐศาสตรธุรกิจ EC 106 Mathematics for Business Economics ศศ. 107 สถิติเศรษฐศาสตรเบื้องตน EC 107 Introduction to Economic Statistics ศศ. 204 สถิติเศรษฐศาสตร EC 204 Economic Statistics

ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC อก. EN อก. EN อก. EN กง. FI กม. LA จก. MG ตล. MK อม. OH

211 211 212 212 309 309 313 313 314 314 412 412 014 014 331 331 332 332 212 212 100 100 112 112 212 212 212 212

เศรษฐศาสตรจุลภาค 2 Microeconomics II เศรษฐศาสตรมหภาค 2 Macroeconomics II เศรษฐมิติเบื้องตน Introduction to Econometrics เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ International Economics เศรษฐศาสตรการเงินการธนาคาร Economics of Money and Banking เศรษฐกิจไทย Thai Economy ภาษาอังกฤษสําหรับการเรียนรูโลก English for Exploring the World ภาษาอังกฤษธุรกิจเชิงปฏิบัติ Practical Business English ภาษาอังกฤษธุรกิจมืออาชีพ Professional Business English การเงินธุรกิจ Business Finance กฎหมายเบื้องตน Introduction to Law การจัดการ Management การตลาด Marketing การจัดการทรัพยากรมนุษย Human Resource Management

หลักสูตรปร ญญาตร 183


วิชาเอก-บังคับ (วิชาละ 3 หนวยกิต รวม 27 หนวยกิต) ศศ. 324 ทฤษฎีและนโยบายการคาระหวางประเทศ EC 324 International Trade Theory and Policy ศศ. 325 เศรษฐศาสตรการเงินระหวางประเทศ EC 325 Economics of International Monetary ศศ. 401 เศรษฐศาสตรการบริหาร EC 401 Managerial Economics ศศ. 424 ระเบียบวิธีการวิจัยทางเศรษฐศาสตร EC 424 Methodology of Economic Research ศศ. 428 สัมมนาเศรษฐศาสตรธุรกิจ EC 428 Seminar in Business Economics กง. 311 การจัดการทางการเงิน FI 311 Financial Management จก. 212 การจัดการงานผลิตและการดําเนินงาน MG 212 Production and Operations Management จก. 424 การจัดการเชิงกลยุทธและนโยบายธุรกิจ MG 424 Strategic Management and Business Policy ศศ. 416 การจัดทําและการวิเคราะหโครงการ (เฉพาะแบบปกติ) EC 416 Project Preparation and Appraisal สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา (เฉพาะแบบสหกิจศึกษา) CO 301 Pre-Cooperative Education วิชาเอก - เลือก (วิชาละ 3 หนวยกิต เลือก 2 วิชา จากรายชื่อวิชาดัง ตอไปนี้ รวม 6 หนวยกิต ยกเวนแผน ข วิชาละ 6 หนวยกิต)) แบบปกติ ศศ. 219 ธุรกิจระหวางประเทศ EC 219 International Business ศศ. 310 ภาษาอังกฤษสําหรับเศรษฐศาสตร EC 310 English for Economics

184 มหาว ทยาลัยกรุงเทพ

ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC ศศ. EC กง. FI กง. FI

312 312 321 321 414 414 415 415 426 426 429 429 431 431 324 324 327 327

กง. FI กม. LA จก. MG จก. MG จก. MG จก. MG

411 411 301 301 222 222 313 313 321 321 411 411

การคลังสาธารณะ Public Finance เศรษฐศาสตรแรงงานและแรงงานสัมพันธ Labor Economics and Labor Relation เศรษฐศาสตรการเกษตร Agricultural Economics เศรษฐศาสตรอุตสาหกรรม Economics of Industrial Organization ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy โลจิสติกส Logistics เศรษฐศาสตรประชากร Demographic Economics การจัดการระบบสารสนเทศทางการเงิน Financial Information Systems Management ธุรกิจหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย Securities Business and the Stock Exchange of Thailand การจัดการความเสี่ยง Risk Management การภาษีอากร Taxation การเปนผูประกอบการและการพัฒนาธุรกิจ Entrepreneurship and Business Development การจัดการเชิงกลยุทธสมัยใหม Modern Strategic Management การวางแผนและควบคุมดานการจัดการ Management Planning and Control การจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส E-Business Management


ตล. MK อม. OH

328 328 322 322

การตลาดบริการ Services Marketing ทฤษฎีและการออกแบบองคการ Organization Theory and Design

แบบสหกิจศึกษา ศศ. 430 สหกิจศึกษา EC 430 Cooperative Education

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หนวยกิต) นักศึกษาจะตองเลือกเรียนวิชาเลือกเสรี รวมแลวไมนอ ยกวา 6 หนวยกิต จากวิชาตางๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ และ รายวิชาของคณะเศรษฐศาสตร ดังนี้ ศศ. 200 เศรษฐศาสตรเพื่อชีวิตประจําวัน EC 200 Practical Economics for Daily Life ศศ. 222 เศรษฐกิจพอเพียง EC 222 Sufficiency Economy

หลักสูตรปร ญญาตร 185


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.